20190321 abpif ar2018 th

Page 1

รายงานประจำปี

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์(ABPIF)

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์(ABPIF)

สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561

รายงานประจำปี

ณ 31 ธันวาคม 2561


สารบัญ

สาส์นจากบริษัทจัดการ ส่วนสรุปข้อมูลสำคัญของกองทุนรวม ส่วนการดำเนินกิจการของกองทุนรวม การจัดการและกำกับดูแลกิจการที่ดี ประวัติการจ่ายเงินปันผล โครงสร้างการจัดการ รายงานฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน รายงานความเห็นของผู้ดูแลผลประโยชน์ การรับรองความถูกต้องของข้อมูล รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม รายละเอียดแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภท กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ สรุปมูลค่าทรัพย์สิน ทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ รายชื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องที่มีการทำธุรกรรมกับ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ รายชื่อผู้จัดการกองทุน เอกสารแนบ 1 - รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต - งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน

1 4 6 17 22 23 54 56 57 58 63 93 95 95 99 99


สาส์ นจากบริษัทจัดการ เรี ยน ท่านผู้ถือหน่วยลงทุน บริ ษั ท หลัก ทรั พ ย์ จัด การกองทุน กสิก รไทย จ ากัด (“บริ ษั ท ”) ขอน าส่ง รายงานประจ าปี 2561 สาหรั บ การ ดาเนินงานของกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ ภายใต้ การจัดการของบริ ษัท ประจางวด ระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มายังผู้ถือหน่วยลงทุนทุกท่าน โดยในรายงานประจาปี ฉบับนี ้ประกอบด้ วย รายละเอียดการลงทุนของกองทุน รายงานผลการดาเนินงาน และรายละเอียดทรัพย์สินของกองทุน พร้ อมทังงบการเงิ ้ นที่ได้ รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี เพื่อให้ ทา่ นผู้ถือหน่วยลงทุนได้ ทราบข้ อมูลและผลการดาเนินงาน ของกองทุนในรอบบัญชีประจาปี 2561 ที่ผา่ นมา ปี 2561 เป็ นปี ที่มีปัจจัยลบต่างประเทศเข้ ามาต่อเนื่อง ทังนโยบายการเงิ ้ นของสหรัฐที่ตึงตัวขึ ้นต่อเนื่อง และข้ อ พิพาททางการค้ าระหว่างสหรัฐกับจีนที่เพิ่ มมากขึ ้นมาตังแต่ ้ กลางปี ส่งผลให้ เศรษฐกิจและการค้ าโลกชะลอตัวมาเป็ น ลาดับจากต้ นปี ส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทยในครึ่ งปี หลังขยายตัวชะลอตัวในทิศทางเดียวกับภูมิภาค ส่วนอุปสงค์ ในประเทศทยอยดีขึ ้นจากทังภาคเอกชนและภาครั ้ ฐ แต่ยงั ไม่กระจายตัว ประกอบกับมีแรงกระตุ้นทางการคลังเข้ ามาช่วย สนับสนุนการเติบโตบางส่วน ส่งผลให้ เศรษฐกิจไทยขยายตัวชะลอตัวลงจากร้ อยละ 4.9 ในไตรมาสแรก ซึ่งเป็ นอัตราการ ขยายตัว ที่ สูง สุด ในรอบ 5 ปี ก่ อ นจะชะลอตัว ลงตามเศรษฐกิ จ โลกเหลือ ร้ อยละ 4.6 และ 3.3 ในไตรมาส 2 และ 3 ตามลาดับ เมื่อรวม 9 เดือนแรกเศรษฐกิจไทยขยายตัวร้ อยละ 4.3 จากปี ก่อน ยังคงสูงกว่าร้ อยละ 3.9 ในช่วงเดียวกันปี ก่อน ไตรมาสแรก เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้ อยละ 4.9 เร่ งตัวขึ ้นจากร้ อยละ 4.0 ไตรมาสก่อน สูงเกินคาดการณ์ ของ ตลาด มีแรงหนุนจากการบริ โภคภาคเอกชนดีขึ ้นมาสนับสนุนการเติบโตเพิ่มเติมจากส่งออกและท่องเที่ยว ที่ดีต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุนภาครัฐทยอยปรับตัวดีขึ ้นหลังจากหน่วยงานภาครัฐมีความเข้ าใจ พ.ร.บ.จัดซื ้อจัดจ้ างใหม่ที่เริ่ มตังแต่ ้ เดือนส.ค.ปี ก่อน ส่วนการบริ โภคภาคเอกชนขยายตัวดีขึน้ เป็ นไตรมาสที่ ส อง ทัง้ นีส้ ินค้ าไม่คงทนและกึ่งคงทนเริ่ ม มี สัญญาณดีขึ ้นจากปี ก่อน มีรายได้ นอกภาคเกษตรขยายตัวต่อเนื่องสนับสนุนการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ แม้ ว่า รายได้ ภาคเกษตรยังคงหดต่อเนื่องเหตุจากราคายางลดลงจากฐานสูงปี ก่อน แต่ภาครัฐมีมาตรการให้ ความช่วยเหลือผู้มี รายได้ น้อยและเกษตรกรช่วยสนับสนุนการใช้ จ่ายในประเทศให้ ขยายตัวต่อเนื่อง นอกจากนี ้ มูลค่าการส่งออกไตรมาสแรก ขยายตัวเกือบร้ อยละ 10 ยังคงดีตอ่ เนื่องมา 3 ไตรมาส ประกอบกับดุลบริ การเกินดุลเพิ่มขึ ้นในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ส่งผล ให้ ดลุ บัญชีเดินสะพัดเกินดุล 16.8 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ เพิ่มขึ ้นจากช่วงเดียวกันปี ก่อนที่เกินดุล 15.2 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ ประกอบกับมีเงินทุนไหลเข้ าตลาดพันธบัตรและตลาดหุ้นสุทธิกว่า 6 หมื่นล้ านบาท มาเป็ นปั จจัยสนับสนุนเงินบาท แข็งค่าขึ ้นมาปิ ดที่ 31.2 บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนมี.ค. แข็งค่าร้ อยละ 4.4 จากปลายปี ก่อน จัดว่าแข็งค่าเป็ น อันดับสองในอาเซียน รองจากค่าเงินมาเลเซียที่แข็งค่าร้ อยละ 4.7 ขณะที่คา่ เงินอินโดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์ออ่ นค่าลงร้ อยละ 1.4 และ 4.3 ตามลาดับในช่วงเวลาเดียวกัน


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ไตรมาสสอง เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้ อยละ 4.6 ชะลอลงจากร้ อยละ 4.9 แต่สงู กว่าคาดการณ์ของตลาด โดยมี การส่งออก การลงทุน และการบริ โภคภาคเอกชนเร่งตัวขึ ้น ขณะที่การใช้ จ่ายภาครัฐชะลอเล็กน้ อย การบริ โภคภาคเอกชน เร่ งตัวขึ ้น ขยายตัวในทุกกลุม่ สินค้ า นาโดยยอดขายรถยนต์เร่งตัวหลังโครงการรถยนต์คนั แรกทยอยครบอายุ รวมทังมี ้ การ เปิ ดตัวโมเดลใหม่ของรถยนต์หลายยี่ห้อและการส่งเสริ มการการขายที่จงู ใจ ขณะที่การส่งออกขยายตัวเร่งตัวขึ ้นเป็ นผลมา จากการค้ าโลกที่ยงั คงขยายตัวดีและราคาน ้ามันตลาดโลกเพิ่มขึ ้น ส่วนภาคการท่องเที่ยวขยายตัวชะลอลงเหลือต่ากว่า ร้ อยละ 10 เนื่องจากเป็ นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวและมีเทศกาลฟุตบอลโลกที่รั สเซีย แม้ ว่า อัตราเงินเฟ้ อทัว่ ไปเร่ งตัวขึ ้น กลับมาอยู่ในกรอบเป้าหมายของกนง.(ช่วงร้ อยละ 1-4) สาเหตุจากราคาพลังงานเร่ งตัวขึ ้น แต่อุปสงค์ในประเทศยังฟื น้ ตัวอย่างเปราะบาง ส่งผลให้ กนง.ยังคงอัตราดอกเบี ้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.5 ต่อไป เพื่อประคองการฟื น้ ตัวของอุปสงค์ใน ประเทศให้ มีความมัน่ คงมากขึ ้น อย่างไรก็ตาม ความกังวลต่อการปรับเพิ่มดอกเบี ้ยสหรัฐมากกว่าคาดและการอ่อนค่าของ ค่าเงิ นจี นเข้ ามากดดันค่าเงิ นในกลุ่มตลาดเงิ นใหม่ให้ อ่อนค่า โดยเงิ นบาทพลิกมาอ่อนค่าลงมาปิ ดที่ 33.12 บาทต่อ ดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนมิ.ย. หรื ออ่อนค่าร้ อยละ 6.2 จากไตรมาสก่อน แต่เมื่อเทียบปลายปี ก่อนอ่อนค่าลงร้ อยละ 1.64 ยัง คงอ่อ นค่าน้ อ ยกว่าค่าเงิ น อิ นโดนี เซี ยและฟิ ลิป ปิ นส์ ที่ อ่อ นค่าลงร้ อยละ 5.3 และ 6.4 ตามลาดับ เนื่ อ งจากไทยมี เสถียรภาพทางด้ านต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีทนุ สารองในระดับสูงกว่า 3 เท่าของหนี ้ระยะสันได้ ้ ช่วยบรรเทาแรง กดดันต่อค่าเงินลงบางส่วน ไตรมาสสาม เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้ อยละ 3.3 ชะลอลงจากร้ อยละ 4.6 ไตรมาสก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ ของตลาด เป็ นผลจากการส่งออกและการท่องเที่ยวชะลอตัว มีแรงหนุนจากการบริ โภคภาคเอกชนเร่ งตัวขึ ้นมาขยายตัว ร้ อยละ 5 จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ช่วยสนับสนุนการขยายตัวไตรมาสนี ้ นาโดยยอดขายรถยนต์ที่ยงั คงขยายตัวดีต่อเนื่อง แต่ ยอดขายสินค้ าไม่คงทนยังคงเปราะบาง เนื่องจากผลผลิตเกษตรหดตัวจากสภาพอากาศไม่เอื ้ออานวยกดดันการใช้ จ่ายใน กลุ่มฐานราก อนึ่งการส่งออกขยายตัวชะลอลงสอดคล้ องกับภูมิภาค เป็ นผลจากฐานสูงปี ก่อนและข้ อพิพาททางการค้ า ระหว่างสหรัฐและจีนที่ทยอยเก็บภาษี ระหว่างกันเพิ่มขึ ้น ประกอบกับจานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวชะลอตัวลง เป็ นผลจาก นักท่องเที่ยวจีนหดตัวจากเหตุการณ์เรื อล่มที่ภเู ก็ตแต่มีนกั ท่องเที่ยวมาเลเซียและฮ่องกงเพิ่มขึ ้นมาชดเชยกันไปบางส่วน ส่งผลให้ ดุลบัญชี เดินสะพัดยังคงเกิ นดุลแต่ลดลง ซึ่งยังคงช่วยสนับสนุนเงิ นบาทให้ แข็งค่าขึน้ มาปิ ดที่ 32.3 บาทต่อ ดอลลาร์ สหรัฐ ณ สิ ้นเดือนก.ย. แข็งค่าขึ ้นร้ อยละ 2.4 จากสิ ้นเดือนมิ.ย. ซึ่งเงินบาทแข็งค่าสุดในภูมิภาคท่ามกลางความ ผันผวนของค่าเงินในตลาดเกิดใหม่ สวนทางกับค่าเงินอาเซี ยนซึง่ อ่อนค่าลงในช่วงร้ อยละ 1.3-3.8 ทาให้ กนง.ยังคงอัตรา ดอกเบี ้ยนโยบายต่อเนื่องจากปี ก่อนที่ร้อยละ 1.5 ซึง่ สวนทางกับบางประเทศเช่น อินโดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์ที่มีเร่งปรับเพิ่ม ดอกเบี ้ยนโยบายมาตังแต่ ้ เดือนพ.ค เพื่อลดแรงกดดันต่อเงินทุนเคลื่อนย้ ายและช่วยให้ ค่าเงิ นให้ มีเสถียรภาพมากขึ ้นใน สภาวะที่มีความผันผวนกระแสเงินทุนเคลือ่ นย้ ายในตลาดการเงินโลก อย่างไรก็ตาม ตังแต่ ้ เดือนก.ค. ธปท.เริ่ มส่งสัญญาณ ปรับดอกเบี ้ยเพื่อให้ มีช่องว่างทางนโยบายสาหรับรองรับความเสีย่ งในอนาคตและดูแลเสถียรภาพในระบบการเงินมาอย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลให้ ตลาดมีการปรับตัวสะท้ อนการปรับเพิ่มดอกเบี ้ยในระยะข้ างหน้ าไปบางส่วน ไตรมาสสี่ เครื่ องชี ้เศรษฐกิจไทยเร่ งตัวขึ ้นจากไตรมาสก่อนที่เศรษฐกิจอ่อนแรงลง ดีขึ ้นแบบกระจายตัว โดยการ ส่งออก ท่องเที่ยวและการลงทุนภาคเอกชนปรั บตัวดีขึน้ จากไตรมาสสาม ส่วนการบริ โภคภาคเอกชนชะลอตัว ลง แต่


                                                        

        

                                  

      

                   


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ส่ วนที่ 1 สรุ ปข้ อมูลสาคัญของกองทุนรวม สาระสาคัญของกองทุนรวม ชื่อกองทุน กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ (Amata B. Grimm Power Power Plant Infrastructure Fund) ชื่อย่อ

ABPIF

ประเภทกองทุน

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน ประเภทไม่รับซื ้อคืนหน่วยลงทุน

เงินทุนจดทะเบียน

6,300 ล้ านบาท (หกพันสามร้ อยล้ านบาท)

อายุกองทุน

ไม่กาหนดอายุโครงการ ทังนี ้ ้ หากกองทุนรวมไม่มกี ารลงทุนเพิ่มเติม สัญญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิจการไฟฟ้าที่กองทุนลงทุนในครัง้ แรกจะสิ ้นสุดในวันที่ 27 กันยายน 2565

ชื่อบริ ษัทจัดการกองทุน

บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด

ผู้ดแู ลผลประโยชน์

ธนาคารทหารไทย จากัด(มหาชน)

สรุ ปข้ อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับทรัพย์ สินกองทุนรวม รายละเอียดทรัพย์สนิ ผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ าของโรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 และ โรงไฟฟ้ า อมตะ บี . กริ ม เพาเวอร์ 2 ที่ ม าจากการด าเนิ น งานผลิ ต ไฟฟ้ าและขายให้ กับ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย และผู้ใช้ ไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรม ผู้ดาเนินการ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด และ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด เลขที่ 5 ถนนกรุงเทพกรี ฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 สิทธิ์ ในการรับผลประโยชน์ตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ ากับ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด สิ ้นสุด วันที่ 16 กันยายน 2562 และบริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด สิ ้นสุด วันที่ 27 กันยายน 2565 ชื่อบริ ษัทประเมินค่าทรัพย์สนิ บริ ษัท ดิสคัฟเวอร์ แมเนจเม้ นท์ จากัด ราคาประเมินของทรัพย์สนิ 4,175,215,000 บาท วันที่ประเมินค่าทรัพย์สนิ 27 มกราคม 2562 วิธีการประเมินค่าทรัพย์สนิ วิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) โดยวิธีการคิดลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow) ประเภทของทรัพย์สนิ


การจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนของกองทุนรวมย้ อนหลัง ประจาปี เงินลดทุน (บาทต่อหุ้น) 2556* 1.0115 2557 0.6516 2558 0.6882 2559 0.8116 2560 0.7300 2561* 0.5113

เงินปั นผล (บาทต่อหุ้น) 0.5440 0.6314 0.5663 0.9094 0.8699 0.2067

หมายเหตุ: ปี 2556 เป็ นอัตราผลตอบแทนสาหรับ 19 ก.ย. 2556 – 31 ธ.ค. 2556 ปี 2561 เป็ นอัตราผลตอบแทนสาหรับ 1 ม.ค.2561 - 30 มิ .ย. 2561

สรุ ปค่ าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมการจัดการ ค่าใช้ จา่ ยอื่นๆ

จานวนเงิน (พันบาท) 12,719.74 9,497.37

ร้ อยละของมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิ 0.26 0.19

ความเสี่ยงที่สาคัญของการลงทุนในกองทุนรวม  ความเสี่ยงโดยทั่วไป ภาวะทางเศรษฐกิ จและธุ ร กิ จ โดยทั่ว ไป ซึ่ง รวมถึ ง อัต ราเงิ น เฟ้ อ อัต ราดอกเบี ย้ อัต ราแลกเปลี่ย นเงิ นตรา ราคาค่าไฟฟ้ า ราคาก๊ าซธรรมชาติ และนโยบายทางการเงิ นและการคลังของรั ฐบาล ธนาคารแห่งประเทศไทย และ หน่วยงานราชการอื่นรวมถึงปั จจัยทางการเมืองของประเทศมีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงาน สถานะทางการเงินและการ ลงทุนของกองทุนรวม และภาวะตกต่าทางเศรษฐกิจโดยทัว่ ไป ตลอดจนการลดลงของความต้ องการของผู้บริ โภคอาจ ส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อผลการดาเนินงานและสถานะทางการเงินของกองทุนรวมหรื อบี.กริ ม 1 และ/ หรื อ บี.กริ ม 2 ซึง่ จะมีผลต่อรายได้ ของกองทุนรวม  ความเสี่ยงเกี่ยวกับหน่ วยลงทุน ความเสี่ยงเกี่ยวกับหน่วยลงทุน อาทิ (ก) ราคาของหน่วยลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ภายหลังการเสนอขาย (ข) การขาดสภาพคล่องในการซื ้อขายหน่วยลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ค) การใช้ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ (NAV) ของกองทุนรวมในการกาหนดราคาซื ้อขายหน่วยลงทุนหรื อ (ง) มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิต่อหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ซึ่งอาจมีมูลค่าลดลงได้ หากราคาของหน่วยลงทุนที่ออกและเสนอขายเพิ่มเติมมีราคาที่ ต่ากว่ามูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ต่อ หน่วยลงทุนของกองทุนรวมในช่วงเวลาก่อนที่จะมีการออกและเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ส่ วนที่ 2 การดาเนินกิจการของกองทุน 1. ข้ อมูลกองทุน 1.1 ชื่อกองทุน

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ (Amata B. Grimm Power Power Plant Infrastructure Fund)

1.2 ชื่อย่อ

ABPIF

1.3 ประเภทกองทุน

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน ประเภทไม่รับซื ้อคืนหน่วยลงทุน

1.4 เงินทุนจดทะเบียน

6,300,000,000 บาท

1.5 อายุกองทุน

ไม่ก าหนดอายุโ ครงการ ทัง้ นี ้ หากกองทุน รวมไม่มี ก ารลงทุน เพิ่ ม เติ ม สัญ ญาโอน ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่กองทุนลงทุนในครัง้ แรกจะสิ ้นสุดในวันที่ 27 กันยายน 2565

1.6 ชื่อบริ ษัทจัดการกองทุน

บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด

1.7 ผู้ดแู ลผลประโยชน์

ธนาคารทหารไทย จากัด(มหาชน)

2. นโยบาย ภาพรวมการประกอบธุรกิจ และการจัดหาผลประโยชน์ 2.1 วัตถุประสงค์ นโยบายการลงทุน และการจัดหาผลประโยชน์ เพื่อระดมเงินทุนจากนักลงทุนทัว่ ไป ทังในประเทศ ้ และ/หรื อต่างประเทศ ซึ่งกองทุนรวมจะนาเงินที่ได้ จากการ ระดมทุนไปลงทุนในทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึง่ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานดังกล่าวเป็ นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะ ในวงกว้ างของประเทศไทย โดยกองทุนรวมได้ เข้ าทาสัญญาเพื่อให้ ได้ มาซึง่ ทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน นอกจากนี ้ กองทุนรวมจะจัดหาผลประโยชน์จากกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่เข้ าลงทุน เพื่อก่อให้ เกิดรายได้ และผลตอบแทนแก่กองทุน รวมและผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม รวมถึงการลงทุนในทรัพย์สนิ อื่น และ/หรื อหลักทรัพย์อื่น และ/หรื อการหาดอกผล อื่นใดตามที่กฎหมายหลักทรัพย์ และ/หรื อกฎหมายอื่นใดกาหนด ในการลงทุนครั ง้ แรก กองทุนรวมมีก ารลงทุนในสัญญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ ากับ บริ ษัท อมตะ บี. กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด (บี.กริ ม 1) และ บริ ษัท อมตะ บี. กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด (บี.กริ ม 2) ซึ่งประกอบ กิจการโรงไฟฟ้ าในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี โดยบี.กริ ม 1 ตังอยู ้ ท่ ี่ 700/370 หมู่ 6 นิคมอุตสาหกรรมอมตะ นคร (เฟส 5) ถนนบางนา-ตราด ไฮเวย์ 34 ตาบล หนองไม้ แดง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และบี.กริ ม 2 ตังอยู ้ ่ที่ 700/371 หมู่ 6 นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร (เฟส 5) ถนนบางนา-ตราด ไฮเวย์ 34 ตาบล หนองไม้ แดง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าจะเริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่กองทุนรวมชาระราคา ซื ้อให้ แก่ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 • บี.กริ ม 1 วันสิ ้นสุดระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์ หมายถึงวันที่ 16 กันยายน 2562 • บี.กริ ม 2 วันสิ ้นสุดระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์ หมายถึงวันที่ 27 กันยายน 2565


บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ตกลงโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่เกี่ยวข้ องกับสัญญาขายไฟฟ้ า กับ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย สัญญาซื ้อขายไฟฟ้ ากับลูกค้ าภาคอุตสาหกรรม และสัญญาซื ้อขายไอน ้า รวมถึง สัญญาที่จดั ทาขึ ้นใหม่ภายในระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ซึ่งคานวณตามสูตร ดังต่อไปนี ้ ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า = กระแสเงินสดรับที่ได้ จากรายได้ ของโรงไฟฟ้ า – กระแสเงินสดที่จ่าย สาหรับรายจ่ายของโรงไฟฟ้ า + การเปลีย่ นแปลงรายการตังส ้ ารอง + เงินสดคงเหลือต้ นงวด – เงินสดคงเหลือขันต ้ ่า ทังนี ้ ้ การคานวนดังกล่าวจะคิดจากผลประกอบการราย 6 เดือน คือรอบการดาเนินงานเดือนมกราคมถึงมิถนุ ายน และ เดื อ นกรกฎาคมถึ ง ธัน วาคม โดยกองทุน รวมจะได้ รั บ โอนประโยชน์ ภายในเดื อ นมี น าคมและสิง หาคมของแต่ ล ะปี ทังนี ้ ้รายละเอียดจะต้ องเป็ นไปตามที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า กองทุนรวมจะจ่ายคืนผลประโยชน์แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนในรู ปเงินลดทุน และ/หรื อเงินปั นผล โดยเงินลดทุนจะอิง ตามเอกสารแนบในสัญญาโอนผลประโยชน์ ผลประโยชน์ในส่วนที่เกินเงินลดทุนจะนามาหักลบค่าใช้ จ่ายของกองทุนรวม และคืนผลตอบแทนแก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนในรูปของเงินปั นผล 2.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาคัญ กองทุนรวมไม่มีการเปลีย่ นแปลงผู้จดั การกองทุน ผู้ดแู ลผลประโยชน์ และผู้ดาเนินการ 2.3 โครงสร้ างของการบริหารจัดการกองทุนรวม

1

2

จ่ายค่าตอบแทนตามสัญญาซื ้อ ขายไฟฟ้าและไอน ้า

กฟผ. / ลูกค้ า ภาคอุตสาหกรรม

(4) ผลตอบแทน

บี.กริม 1 และ บี.กริม 2

(1) ชาระค่าใช้ จ่ายที่เกิดจาก

(2) ชาระค่าใช้ จ่ายทางการเงิน

การประกอบกิจการไฟฟ้ า

กองทุนรวม

นักลงทุน

(3) โอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ภายหลังหักค่าใช้ จ่ายที่เกิดจากการประกอบกิจการ ไฟฟ้ าตามสูตรที่กาหนดไว้ ในสัญญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุน

คู่สัญญา

เจ้ าหนี ้


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

2.4 ข้ อมูลทรัพย์ สนิ ของกองทุน 2.4.1 สรุ ปมูลค่ าทรั พย์ สิน ทรั พย์ สินสุทธิ และมูลค่ าหน่ วยลงทุน กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโรงไฟฟ้า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิ (บาท) 7.4125 มูลค่าทรัพย์สนิ ตามราคาตลาด (บาท) 6.15 2.4.2 รายละเอียดเกี่ยวกับทรั พย์ สินของกองทุนรวม บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2538 และ วันที่ 4 มิถนุ ายน 2542 ตามลาดับ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ประกอบธุรกิจในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer: SPP) ประเภทโรงไฟฟ้ าพลังความ ร้ อนร่ วม (Cogeneration) ที่ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื ้อเพลิงหลัก โดยมีการซื ้อก๊ าซธรรมชาติภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายกับ บริ ษัท ปตท. จากัด (มหาชน) รายละเอียดทรัพย์สนิ โดยสรุป ดังนี ้ รายละเอียดทรัพย์สนิ ผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ าของโรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 และ โรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 ที่มาจากการดาเนินงาน ผลิต ไฟฟ้ าและขายให้ กับ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย และผู้ใช้ ไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรม ผู้ดาเนินการ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด และ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด เลขที่ 5 ถนนกรุงเทพกรี ฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพ 10240 ประเภทของทรัพย์สนิ สิทธิ์ในการรับผลประโยชน์ตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบ กิ จการไฟฟ้ ากับ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด สิ ้นสุด วันที่ 16 กันยายน 2562 และบริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด สิ ้นสุด วันที่ 27 กันยายน 2565 ชื่อบริ ษัทประเมินค่าทรัพย์สนิ บริ ษัท ดิสคัฟเวอร์ แมเนจเม้ นท์ จากัด ราคาประเมินของทรัพย์สนิ 4,175,215,000 บาท วันที่ประเมินค่าทรัพย์สนิ 27 มกราคม 2562 วิธีการประเมินค่าทรัพย์สนิ วิ ธี พิ จ ารณาจากรายได้ (Income Approach) โดยวิ ธี ก ารคิ ด ลดกระแส เงินสด (Discounted Cash Flow) 2.4.3 รายละเอียดเกี่ยวกับการลงทุนในทรั พย์ สินเพิ่มเติมของกองทุนรวมในรอบปี บัญชี กองทุนรวมไม่มีการลงทุนในทรัพย์สนิ ใดเพิ่มเติม 2.4.4 รายละเอียดเกี่ยวกับการจาหน่ ายอสังหาริมทรั พย์ หรือสิทธิการเช่ า ในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมา ไม่มีการจาหน่ายหรื อโอนทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม 2.5 การจัดหาผลประโยชน์ สรุปสาระสาคัญของสัญญาจัดหาผลประโยชน์มีรายละเอียดตามข้ อ 2.1


2.6 การกู้ยมื เงิน กองทุนรวมไม่มีนโยบายในการกู้ยืม ตลอดอายุของสัญญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ า ที่กองทุนรวมเข้ าลงทุนในครัง้ แรก อย่างไรก็ดี หากกองทุนรวมมีการลงทุนเพิ่มเติม กองทุนรวมอาจพิจารณากู้ยืมเงิน โดย จะดาเนินการตามกฎเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด 3. ภาพรวมของธุรกิจการประกอบกิจการไฟฟ้า 3.1 ภาพรวมของธุรกิจการประกอบกิจการไฟฟ้า อุต สาหกรรมไฟฟ้ าในประเทศไทยถื อ เป็ นระบบสาธารณูป โภคพื น้ ฐานที่ ถูกก ากับ ดูแ ลการด าเนิ น งานโด ย คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ( “กพช.”) กระทรวงพลังงานและคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน ( “กกพ.”) โดยมีวตั ถุประสงค์หลักในการพัฒนาและจัดหาพลังงานไฟฟ้ าให้ มีความมัน่ คงเชื่อถือได้ ในราคาที่เหมาะสม มีคุณภาพ มาตรฐานระดับสากล และส่งเสริ มให้ เอกชนมีสว่ นร่ วมในการผลิตไฟฟ้ าเพื่อลดภาระของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศ ไทย (“กฟผ.”) ในการลงทุนก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าเพื่อรองรับความต้ องการใช้ ไฟฟ้าของประเทศที่คาดว่าจะเพิ่มขึ ้นในอนาคต

 การผลิตและระบบส่ งไฟฟ้า กฟผ ถือเป็ นรัฐวิสาหกิจด้ านพลังงาน อยู่ภายใต้ การกากับดูแลของกระทรวงพลังงาน โดย กฟผ. เป็ นทังผู ้ ้ ผลิต ไฟฟ้าและผู้รับซื ้อไฟฟ้ าแบบขายส่งหลัก เพื่อตอบสนองความต้ องการใช้ ไฟฟ้าของทังประเทศ ้ ปั จจุบนั โรงไฟฟ้ าของ กฟผ. ตังอยู ้ ่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ นอกจากนี ้ กฟผ.ยังรับซื ้อไฟฟ้ าจากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่และผู้ผลิตไฟฟ้ า เอกชนรายเล็ก รวมถึงรับซื ้อจากผู้ผลิตไฟฟ้ าในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและประเทศมาเลเซีย กฟผ.จะ จาหน่ายไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ.และรับซื ้อจากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนที่กล่าวมาข้ างต้ นให้ แก่การไฟฟ้ านครหลวง (“กฟน.”) การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค (“กฟภ.”) และผู้ใช้ ไฟฟ้ าที่รับซื ้อโดยตรงจาก กฟผ. ผ่านทางระบบส่งไฟฟ้ าของกฟผ. ที่มี โครงข่ายครอบคลุมทัว่ ประเทศ ที่ระดับแรงดันต่างๆ ตังแต่ ้ 69 กิโลโวลต์ ไปจนถึง 500 กิโลโวลต์ โดย กฟน. และ กฟภ. จะ เป็ นผู้ดาเนินการระบบจาหน่ายและการค้ าปลีกไฟฟ้ าของประเทศ โดยนาไฟฟ้ าไปจาหน่ายให้ แก่ผ้ ใู ช้ ไฟฟ้ ารายย่อย ลูกค้ า ธุรกิจ และลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศต่อไป นอกจากนี ้ กฟผ.ยังมีการจาหน่ายไฟฟ้ าให้ กบั ประเทศเพื่อนบ้ านอีก ด้ วย ได้ แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและประเทศมาเลเซีย ตังแต่ ้ ปี 2535 รัฐบาลมีนโยบายเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในการผลิตไฟฟ้ า และเปิ ดโอกาสผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชน ร่วมประมูลแข่งขันการสร้ างโรงไฟฟ้ าใหม่ได้ เพื่อช่วยลดภาระการลงทุนของ กฟผ. ในการผลิตไฟฟ้ า  การรับซือ้ ไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer: SPP) กฟผ. มีการรับซื ้อไฟฟ้ าเข้ าระบบจากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้ าของผู้ผลิต ไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กจะใช้ ระบบพลังความร้ อนร่ วม (Cogeneration) ซึ่งจะใช้ ก๊าซธรรมชาติหรื อถ่านหินเป็ นเชื ้อเพลิงหลัก และระบบพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ซึ่งจะใช้ กาก หรื อ เศษวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรเป็ นเชือ้ เพลิง สาหรับพลังไฟฟ้ าส่วนที่เหลือจากการจาหน่ายให้ กฟผ. ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กจะนาไปใช้ ในโรงงานของตนเอง หรื อ ขายให้ โรงงานอุตสาหกรรมบริ เวณใกล้ เคียง การรับซื ้อไฟฟ้าของ กฟผ. จากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กจะมีการทาสัญญา ซื ้อขายไฟฟ้ า 2 ประเภท คือ สัญญาประเภท Firm ซึ่งจะมีการทาสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าอายุระหว่าง 20 – 25 ปี และมีการ กาหนดค่าพลังงานไฟฟ้ า (Energy Payment) และสัญญาประเภท Non-Firm ซึ่งจะไม่มีการกาหนดค่าพลังงานไฟฟ้ า ซึง่ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 เป็ นหนึง่ ในผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็กที่มีสญ ั ญาซื ้อขายไฟฟ้ าประเภท Firm อายุ 25 ปี


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

 การผลิตและความต้ องการใช้ ไฟฟ้ารวมของประเทศ จากข้ อมูลของสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2562 ณ สิ ้นเดือน พฤศจิกายน 2561 กาลังการผลิตไฟฟ้ าในระบบอยู่ที่ 43,275 เมกะวัตต์ แบ่งเป็ นกาลังการผลิตจาก กฟผ. ผู้ผลิตไฟฟ้ า เอกชนรายใหญ่ ผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก และ จากการนาเข้ าและแลกเปลี่ยน ในสัดส่วนร้ อยละ 36 35 20 และ 9 ตามลาดับ การผลิตไฟฟ้ า (ไม่รวมการผลิตของผู้ผลิตไฟฟ้ าใช้ เอง) 11 เดือนแรกของปี 2561 (มกราคม – พฤศจิกายน 2561) ตัวเลขเบื ้องต้ นอยูท่ ี่ 187,885 กิกะวัตต์ชวั่ โมง เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.1 จากปี ก่อนหน้ า โดยเพิ่มขึ ้นจากการผลิตไฟฟ้ าจาก พลังน ้า พลังงานหมุนเวียน รวมทังไฟฟ ้ ้ านาเข้ า ขณะที่การผลิตไฟฟ้าจากก๊ าซธรรมชาติ ถ่านหินนาเข้ า/ลิกไนต์ และน ้ามัน ลดลง ในส่ว นของการใช้ ไ ฟฟ้ า (ไม่ร วมการใช้ ไ ฟฟ้ าของผู้ผ ลิต ไฟฟ้ าใช้ เ อง) 11 เดื อ นแรกของปี 2561 (มกราคม – พฤศจิกายน 2561) ตัวเลขเบื ้องต้ นอยูท่ ี่ 172,709 กิกะวัตต์ชวั่ โมง เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.1 จากปี ก่อนหน้ า ส่วนหนึง่ เกิดจากการ ขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจท่องเที่ยว โดยจานวนนักท่องเที่ยวจีนเริ่ มฟื น้ ตัวตังแต่ ้ ช่วงลอยกระทงที่ผา่ น มา อีกทังมี ้ นโยบายกระตุ้นการท่องเที่ยวเพิ่มขึ ้น แต่ทงนี ั ้ ้มีปัจจัยที่ทาให้ การใช้ ไฟฟ้ าไม่สงู มากนัก ได้ แก่สภาพอากาศที่ หนาวเย็นในช่วงต้ นปี และมีฝนตกนอกฤดูกาล ประกอบกับมีผ้ ผู ลิตไฟฟ้ าใช้ เองเพิ่มขึ ้น ทังนี ้ ้ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรื อน ซึง่ เป็ นภาคเศรษฐกิจสาคัญ มีการใช้ เพิ่มขึ ้นเล็กน้ อยที่ร้อยละ 0.1 จากการใช้ ไฟฟ้ าของภาคอุตสาหกรรม โดยที่กลุม่ เหล็กและโลหะพื ้นฐานใช้ ไฟฟ้ าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.5 ตามความต้ องการใช้ ในการก่อสร้ างโครงสร้ างพื ้นฐาน และ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.0 ตามความต้ องการใช้ สินค้ าอิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที่กลุ่มอาหารลดลงร้ อยละ 1.1 การใช้ ไฟฟ้ าของภาคธุ ร กิ จ เพิ่ ม ขึน้ ร้ อยละ 3.0 ตามการขยายตัว ของการบริ โ ภคภาคเอกชนและการท่อ งเที่ ย ว โดย ห้ างสรรพสินค้ า อพาร์ ทเมนต์และเกสต์เฮาส์ และโรงแรม มีการใช้ ไฟเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.9 3.9 และ 2.8 ตามลาดับ ในขณะที่ ภาคครัวเรื อนมีการใช้ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.2 ส่วนหนึง่ เป็ นผลมาจากสภาพอากาศที่ไม่ร้อนและมีฝนตกนอกฤดูกาล ส่งผลให้ มี การใช้ เครื่ องปรับอากาศไม่สงู นัก โดยความต้ องการพลังไฟฟ้ าสูงสุด ของประเทศ (Peak) เกิดขึ ้นเมื่อ วันที่ 24 เมษายน 2561 เวลา 13.51 น. ที่ระดับ 34,317 เมกะวัตต์ เพิ่มขึ ้นเพียงร้ อยละ 0.6  ค่ าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ค่าไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Ft) จะมีการปรับปรุ งทุก 4 เดือน โดยคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน เพื่อสะท้ อนการ เปลี่ยนแปลงของต้ นทุนที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้ า คือ ค่าใช้ จ่ายด้ านเชื ้อเพลิง ค่าซื ้อไฟฟ้ า และผลกระทบ จากค่าใช้ จ่ายตามนโยบายของรัฐที่เปลีย่ นแปลงไปจากระดับค่าไฟฟ้าพื ้นฐานใหม่ โดยให้ สง่ ผ่านค่าใช้ จ่ายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็ นธรรมต่อผู้ใช้ ไฟฟ้า โดยสถิติคา่ Ft ขายปลีกตามรอบเดือนเรี ยกเก็บมีรายละเอียดดังนี ้ รอบเดือนเรียกเก็บ เดือน มิ.ย.55- ส.ค.55 เดือน ก.ย.55– ธ.ค.55 เดือน ม.ค.56- เม.ย.56 เดือน พ.ค.56 - ส.ค.56 เดือน ก.ย.56 - ธ.ค.56 เดือน ม.ค.57 - เม.ย.57 เดือน พ.ค.57 – ส.ค.57 เดือน ก.ย.57 - ธ.ค.57 เดือน ม.ค.58 - เม.ย.58

10

Ft ขายปลีก (บาท/หน่ วย) 0.3000 0.4800 0.5204 0.4692 0.5400 0.5900 0.6900 0.6900 0.5896

เปลี่ยนแปลง (บาท/หน่ วย) + 0.3000 + 0.1800 + 0.0404 - 0.0512 + 0.0708 + 0.0500 + 0.1000 0.0000 - 0.1004


เดือน พ.ค.58 – ส.ค.58 เดือน ก.ย.58 – ต.ค.58 เดือน พ.ย.58 – ธ.ค.58 เดือน ม.ค.59 - เม.ย.59 เดือน พ.ค.59 – ส.ค.59 เดือน ก.ย.59 – ธ.ค.59 เดือน ม.ค.60 - เม.ย.60 เดือน พ.ค.60 – ส.ค.60 เดือน ก.ย.60 – ธ.ค.60 เดือน ม.ค.61 - เม.ย.61 เดือน พ.ค.61 – ส.ค.61 เดือน ก.ย.61 – ธ.ค.61

0.4961 0.4638 -0.0323 -0.0480 -0.3329 -0.3329 -0.3729 -0.2477 -0.1590 -0.1590 -0.1590 -0.1590

-0.1586 -0.0651 -0.4961 -0.0157 -0.2849 0.0000 -0.0400 +0.1252 +0.0887 0.0000 0.0000 0.0000

ทีม่ า : การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)

3.2 นโยบายการตลาดและการแข่ งขัน เนื่องจากปั จจุบนั โรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ ดาเนินการเดินเครื่ องเพื่อผลิตไฟฟ้ าภายใต้ สญ ั ญาซื ้อ ขายไฟฟ้ าอย่างเต็มกาลังการผลิตแล้ ว บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จึงมีการบริ หารจัดการไฟฟ้ าโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต ลดต้ นทุนการดาเนินงานและรักษามาตรฐานการดาเนินงานที่ดี 4. ปั จจัยความเสี่ยง ข้ อความดังต่อไปนี ้แสดงถึงปั จจัยความเสี่ยงที่มีนยั สาคัญบางประการอันอาจมีผลกระทบต่อกองทุนรวมหรื อ มูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวม นอกเหนือจากปั จจัยความเสีย่ งที่ปรากฏในรายงานฉบับนี ้แล้ วยังอาจมีปัจจัยความเสีย่ ง อื่นๆ ซึง่ กองทุนรวมไม่อาจทราบได้ ในขณะนี ้ หรื อเป็ นความเสีย่ งที่กองทุนรวมพิจารณาในขณะนี ้ว่าไม่เป็ นสาระสาคัญ แต่ ความเสี่ยงดังกล่าวอาจเป็ นปั จจัยความเสี่ยงที่มีความสาคัญต่อไปในอนาคต ความเสี่ยงที่ปรากฏในรายงานฉบับนี ้และ ความเสีย่ งที่อาจมีขึ ้นในอนาคต อาจมีผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อธุรกิจ ผลการดาเนินงาน และสถานะทางการเงินของ กองทุนรวม ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถศึกษาปั จจัยความเสีย่ งอื่นๆเพิ่มเติมได้ จากโครงการจัดการกองทุนรวม คาอธิบายเกี่ยวกับแนวทางการบริ หารเพื่อลดความเสีย่ ง มาตรการรองรับความเสีย่ ง และ/หรื อความสามารถของ กองทุนรวมในการลดความเสีย่ งข้ อใดข้ อหนึง่ ไม่ถือเป็ นคารับรองของกองทุนรวมว่า กองทุนรวมจะดาเนินมาตรการรองรับ ความเสีย่ งตามที่กาหนดไว้ ได้ ทงหมดหรื ั้ อบางส่วน และไม่ถือเป็ นข้ อยืนยันว่าความเสีย่ งต่างๆ ตามที่ระบุในรายงานฉบับนี ้ จะลดลงหรื ออาจไม่เกิดขึ ้น ทังนี ้ ้ เนื่องจากความสาเร็ จ และ/หรื อความสามารถในการลดความเสี่ยงยังขึ ้นอยู่กบั ปั จจัย หลายประการที่อยูน่ อกเหนือจากการควบคุมของกองทุนรวม 4.1 ความเสี่ยงจากการพึ่งพารายได้ จาก กฟผ. กฟผ.เป็ นลูกค้ ารายใหญ่ที่ สดุ ของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดย กฟผ.ตกลงซื ้อไฟฟ้ าจากบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายไฟฟ้ าระยะยาวกับบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จานวน 2 ฉบับ ซึ่งสัญญาดังกล่าวจะสิ ้นสุดในเดือน กันยายน 2562 และ เดือนกันยายน 2565 สาหรับบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตามลาดับ สัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าดังกล่าวนับว่า

11


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

เป็ นสัญญาที่มีความสาคัญต่อธุรกิจของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยมีมลู ค่าร้ อยละ 46.09 และ 42.67 ของรายได้ จากการ ขายในปี 2561 ของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม กฟผ. มีสถานะทางธุรกิจและการเงินที่แข็งแกร่ง อีกทัง้ กฟผ.ยังเป็ นผู้นาในธุรกิจไฟฟ้ าในภูมิภาค เอเชี ยและเป็ นผู้มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในกิจการไฟฟ้ าของประเทศ โดยนอกจากเป็ นผู้รับซื ้อไฟฟ้ าและควบคุมการ จ าหน่ายไฟฟ้ าในตลาดขายส่งของประเทศแล้ ว กฟผ.ยังเป็ นผู้ผลิตไฟฟ้ ารายใหญ่ ที่สุดของประเทศอีก ด้ วย กฟผ.มี ความสาคัญต่อความมัน่ คงทางพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย และมีการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีกระทรวงการคลังเป็ น ผู้ถือหุ้นทังหมด ้ 4.2 ความเสี่ยงจากความสามารถในการจ่ ายชาระค่ าไฟฟ้าของลูกค้ าภาคอุตสาหกรรม การผิดสัญญาซือ้ ขาย ไฟฟ้ าของลู ก ค้ าภาคอุ ต สาหกรรม ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่ ลดลง หรื อ การไม่ สามารถจั ด หาลู ก ค้ า ภาคอุตสาหกรรมเมื่อไม่ มีการต่ อสัญญา รายได้ จากการจาหน่ายไฟฟ้าให้ ลกู ค้ าภาคอุตสาหกรรม ของ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ในปี 2561 มีมลู ค่าร้ อยละ 53.84 และร้ อยละ 55.63 ของรายได้ จากการขายของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ตามลาดับ โดยจะมีการต่อสัญญาซื ้อขาย ไฟฟ้ ากับ ลูก ค้ า ภาคอุต สาหกรรมทุก 3 - 5 ปี แม้ ว่ า บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 จะท าสัญ ญาซื อ้ ขายไฟฟ้ ากับ ลูก ค้ า ภาคอุตสาหกรรมหลายราย แต่หากลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมดังกล่าวมีปัญหาทางการเงินซึง่ ส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการจ่ายชาระค่าไฟฟ้ า หรื อยอมเลิกสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าก่อนกาหนด และทางบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่สามารถจัดหา ลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมเข้ าทาสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าใหม่มาทดแทนได้ ส่งผลให้ ปริ มาณความต้ องการพลังไฟฟ้ าที่จาหน่าย ให้ แก่ลกู ค้ าภาคอุตสาหกรรมอาจลดลง นอกจากนี ้ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้าที่ลดลงของลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมยังอาจส่งผล กระทบต่อปริ มาณค่าพลังงานไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ที่จาหน่ายให้ แก่ลกู ค้ า ซึ่งจากสาเหตุดงั กล่าวอาจส่งผล กระทบต่อผลประกอบการของ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และอาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจ่ายเงินปั นผลของ กองทุนรวมในที่สดุ อย่างไรก็ดี ลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 เป็ นบริ ษัทที่มีฐานะทางธุรกิจที่มนั่ คง หลายแห่ง เป็ นบริ ษัทย่อยหรื อบริ ษัทร่ วมของบรรษัทข้ ามชาติ และมีคุณภาพเครดิตที่น่าเชื่อถือ โดยบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่เคย ประสบปั ญหาการเรี ยกเก็บเงินหรื อข้ อพิพาทกับลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมอย่างมีนยั สาคัญ นอกจากนี ้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ยังมีการบริ หารจัดการลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมให้ มีการกระจายตัวที่ดี เพื่อลดความเสี่ยงในการพึ่งพารายได้ จากการ จาหน่ายไฟฟ้ าให้ กบั ลูกค้ ารายใดรายหนึง่ อย่างมีนยั สาคัญ 4.3 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการจัดหาก๊ าซธรรมชาติโดย ปตท. เพียงรายเดียว ปตท. เป็ นผู้จดั จาหน่ายเชื ้อเพลิงในประเทศในลักษณะผูกขาด และเป็ นผู้ประกอบการเพียงรายเดียวที่สามารถ จัดส่งก๊ าซธรรมชาติในปริ มาณที่เพียงพอต่อการประกอบธุรกิจของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ หากปตท. ไม่สามารถจัดส่ง ก๊ าซธรรมชาติได้ ในปริ มาณที่กาหนดในสัญญาซื ้อขายก๊ าซธรรมชาติระยะยาวกับ ปตท. อาจทาให้ ธุรกิจของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 หยุดชะงักได้ แม้ ในสัญญาซื ้อขายก๊ าซธรรมชาติดงั กล่าวมีข้อกาหนดให้ ปตท.ชาระค่าชดเชยหากไม่สามารถ จัดส่งก๊ าซธรรมชาติในปริ มาณที่กาหนดในสัญญาได้ โดยเป็ นค่าชดเชยเฉพาะในส่วนของปริ มาณก๊ าซธรรมชาติที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ใช้ ในการผลิตไฟฟ้ าเพื่อจาหน่ายให้ กฟผ.เท่านัน้ ไม่ได้ รวมถึงในส่วนของการผลิตเพื่อจาหน่ายให้ แก่ลกู ค้ า ภาคอุตสาหกรรม แม้ ว่าโรงไฟฟ้าของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะได้ รับการออกแบบให้ สามารถใช้ น ้ามันดีเซลเป็ นเชื ้อเพลิง ได้ แต่การเปลี่ยนไปใช้ นา้ มันดีเซลในการผลิตจะทาให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีค่าใช้ จ่ายสูงและส่งผลให้ การผลิตมี

12


ประสิทธิภาพต่าลง นอกจากนี ้ การผลิตไฟฟ้ าโดยใช้ น ้ามันดีเซลจะสิ ้นเปลืองเชื ้อเพลิงดีเซลในอัตราที่สงู กว่าอัตราที่ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะสามารถจัดหาเพิ่มเติมเพื่อทดแทนกลับคืนในถังเก็บได้ ดังนัน้ จึงไม่สามารถใช้ น ้ามันดีเซลเป็ นเชื ้อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้ าเป็ นระยะเวลานานได้ ดังนัน้ ความเสี่ยงจากการหยุดชะงักการจัดส่งก๊ าซธรรมชาติ ซึ่งอาจเกิดจาก ข้ อบกพร่องในระบบท่อส่งหรื อเมื่อมีการปิ ดซ่อมบารุง หรื อจากเหตุการณ์อื่นๆ ที่อยูน่ อกเหนือการควบคุมของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 อาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อการประกอบธุรกิจ สถานะทางการเงิน และผลประกอบการของ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยความเสีย่ งดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลาที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ดาเนินการผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าและไอนา้ มา กว่า 10 ปี บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มิได้ ประสบปั ญหาการขาดแคลนเชื ้อเพลิงดังกล่าวข้ างต้ น ทังนี ้ ้ จากการที่ ปตท.เป็ น ผู้ผลิตก๊ าซธรรมชาติชนน ั ้ าของประเทศที่มีความน่าเชื่อถือ อีกทัง้ ปตท.ยังดาเนินการปฎิบตั ิตามข้ อกาหนดหลักในสัญญา ซื ้อขายก๊ าซธรรมชาติด้วยดีมาโดยตลอด บริ ษัทจัดการจึงไม่มีเหตุผลใดที่จะทาให้ เชื่อว่า ปตท.จะไม่สามารถดาเนินการส่ง มอบก๊ าซธรรมชาติให้ กบั บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ตามสัญญา 4.4 ความเสี่ยงจากการขาดนา้ ในการผลิตไฟฟ้าและไอนา้ ในกระบวนการผลิตไฟฟ้ าจาเป็ นต้ องใช้ น ้าดิบที่ผ่านกระบวนการกาจัดแร่ ธาตุ (Demineralization) เพื่อนาไปใช้ ในกระบวนการหล่อเย็นและระบบหม้ อไอนา้ ความเสี่ยงจากการขาดแคลนนา้ ดิบอาจส่งผลให้ การผลิตกระแสไฟฟ้ า หยุดชะงัก ซึ่งความเสี่ยงดังกล่าวอาจมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอ ากาศ โดยในบางปี อาจมีปริ มาณน ้าฝนน้ อยกว่าปกติ หรื อฝนไม่ตกต้ องตามฤดูกาล จนทาให้ ปริ มาณน ้าดิบไม่เพียงพอต่อการผลิตไฟฟ้ า อย่างไรก็ดี บริ ษัท อมตะ วอเตอร์ จากัด ซึ่งเป็ นผู้ให้ บริ การจัดหาน ้าให้ กบั ทางบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ มีการ บริ หารจัดการแหล่งน ้าดิบให้ มีปริ มาณที่ เพียงพอ และมีการเพิ่มปริ มาณการกักเก็บน ้าสาหรับปี ที่คาดว่าปริ มาณฝนน้ อย กว่าปกติ นอกจากนี ้ บริ ษัท อมตะ คอร์ ปอเรชัน จากัด (มหาชน) ตกลงที่จะให้ บริ การจัดหาน ้าให้ กบั ทางบี.กริ ม 1 และ บี. กริ ม 2 หากบริ ษัท อมตะ วอเตอร์ จากัด หยุดการให้ บริ การ 4.5 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการบริหารจัดการโรงไฟฟ้าโดยบี.กริม 1 และบี.กริม 2 กองทุนรวมมีความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการบริ หารจัดการ การบารุ งซ่อมแซมโรงไฟฟ้ าและความเชี่ยวชาญของ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 เพื่อให้ มีประสิทธิ ภาพในการผลิตอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทัว่ ไป ซึ่งหากโรงไฟฟ้ าไม่สามารถรักษา ประสิทธิภาพในการผลิตไว้ ได้ เช่น ถ้ าระดับความพร้ อมจ่ายต่ากว่าที่กาหนดไว้ อาจส่งผลให้ ต้องเสียค่าปรับให้ แก่ กฟผ. หรื อในกรณีร้ายแรงอาจถูกยกเลิกสัญญาได้ อย่างไรก็ตาม ตังแต่ ้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 เริ่ มดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้ าจนถึงปั จจุบันเป็ นระยะเวลากว่า 10 ปี บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีผลการดาเนินการอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานของธุรกิจโรงไฟฟ้ าประเภทพลังความร้ อนร่วมที่กาหนดไว้ ในสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ ากับ กฟผ. มาโดยตลอด นอกจากนี ้ บริ ษัทจัดการได้ มีมาตรการรองรับความเสี่ยงดังกล่าว โดย อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ ได้ ทาสัญญาตกลงกับกองทุนรวม เพื่อดาเนินธุรกิจตามมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานวิศวกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรม อันเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปของการประกอบกิจการโรงไฟฟ้ า (Prudent Utility Practice) รวมถึงข้ อ สัญญาตกลงเกี่ยวกับการไม่ประกอบธุรกิจแข่งขันกับบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 นอกจากนี ้ การเข้ ามามีสว่ นได้ เสียในกองทุนรวมของอมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ เป็ นการควบคุมประสิทธิภาพในการ บริ หารจัดการกิจการโรงไฟฟ้าของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ให้ อยูใ่ นเกณฑ์ที่ดีและสามารถสร้ างผลกาไรให้ กบั บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 โดยอมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ และ/หรื อกลุม่ บุคคลเดียวกันของอมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ จะเป็ นผู้ถือหน่วยลงทุนราย

13


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ใหญ่ของกองทุนรวม โดยจะถือหน่วยลงทุนในสัดส่วนไม่เกินหนึ่งในสามของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ ของกองทุนรวม 4.6 ความเสี่ยงจากอุปกรณ์ เครื่องจักรเสื่อมสภาพเร็วกว่ ากาหนด ปั จ จัย ที่ มี ผลสาคัญ อย่า งยิ่ ง ต่อ ปริ มาณการผลิต ไฟฟ้ าและไอน า้ คื อ สภาพของอุป กรณ์ เครื่ อ งจัก รหลัก ของ โรงไฟฟ้ า ได้ แ ก่ หน่ว ยผลิต ไฟฟ้ ากังหัน ก๊ าซ (Gas Turbine Generator : GTG) หน่ว ยผลิต ไฟฟ้ ากังหัน ไอน า้ (Steam Turbine Generator : STG) และเครื่ องผลิตไอน ้าจากพลังงานความร้ อน (Heat Recovery Steam Generator : HRSG) แม้ ผลจาก การศึกษารายละเอียดของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระทางด้ านเทคนิคของกองทุนรวม (Independent Technical Advisor) พบว่าสภาพของอุปกรณ์หลักเหล่านี ้ยังอยูใ่ นสภาพดีและมีอายุการใช้ งานครอบคลุมเกินกว่าอายุของ สัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้า แต่อาจมีโอกาสที่อปุ กรณ์เครื่ องจักรหลักเหล่านี ้เสื่อมสภาพเร็ วกว่า ปกติหากการบริ หารจัดการซ่อมบารุ งไม่เป็ นไปตามแผนหรื อไม่ได้ คณ ุ ภาพ ส่งผลให้ ปริ มาณไฟฟ้ าที่ผลิตได้ อาจลดลง ซึ่ง อาจมีผลกระทบในทางลบต่อการประกอบธุรกิจ สถานะทางการเงิน และผลประกอบการของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และ อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจ่ายเงินปั นผลของกองทุนรวม อย่างไรก็ดี บริ ษัทจัดการเชื่อว่าบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 มีมาตรการรองรับความเสีย่ งดังกล่าว โดยบี.กริ ม 2 ได้ ลง นามในสัญญาว่าจ้ างกับ บริ ษัท จีอี ประเทศไทย จากัด เพื่อเป็ นผู้จดั หาและรับประกันอะไหล่ชิ ้นส่วน รวมถึงการบริ การ ซ่อมแซมและการสนับสนุนทางด้ านเทคนิค เนื่องจากบริ ษัท จีอี ประเทศไทย จากัด เป็ นผู้ผลิตอุปกรณ์เครื่ องจักรส่วนหนึง่ ในโรงไฟฟ้ าของ บี . กริ ม 2 ท าให้ มี ค วามเข้ า ใจในเทคโนโลยี โ รงไฟฟ้ าของ บี . กริ ม 2 เป็ นอย่ า งดี และเป็ นบริ ษั ท มี ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการบารุงรักษาโรงไฟฟ้ าทัว่ โลกมายาวนาน ส่วนของบี.กริ ม 1 ใช้ เครื่ องจักรจากบริษัท ซีเมนส์ เอจี จากัด ซึ่งเป็ นบริ ษัทที่มีชื่อเสียงในระดับสากล นอกจากนี ้ บี.กริ ม 1 ยังให้ ความสาคัญกับการดูแลเครื่ องจักร เป็ นอย่างดี โดยมีแผนการซ่อมบารุงครัง้ ใหญ่ทกุ ๆ 3 - 6 ปี เพื่อลดความเสีย่ งจากการเสือ่ มก่อนกาหนดของอุปกรณ์ตา่ งๆ 4.7 ความเสี่ ย งจากการที่ไม่ ไ ด้ รับความคุ้ มครองตามกรมธรรม์ ป ระกันภัย หรื อ เงิน ค่ า สิ นไหมทดแทนจาก กรมธรรม์ ประกันภัย แม้ ว่า บริ ษัทจัดการจะจัดให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีกรมธรรม์ประกันภัยที่ครอบคลุมทังทรั ้ พย์สินของโรงไฟฟ้ า และความรับผิดที่เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยบริ ษัทจัดการเชื่อว่าเงื่อนไขความ คุ้มครองและจานวนเงินเอาประกันของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 เป็ นไปตามแนวปฏิบตั ิทวั่ ไปในอุตสาหกรรมโรงไฟฟ้ า แต่ การจัด ท าประกัน ภัย ดัง กล่า วอาจไม่ส ามารถครอบคลุม ความเสีย หายที่ อ าจเกิ ดขึน้ ได้ ทุก ประเภท เนื่ อ งจากบริ ษัท ประกันภัยจากัดความคุ้มครองความเสียหายเฉพาะบางกรณีเท่านั น้ นอกจากนี ้ เงื่อนไขการรับประกันภัยที่อยู่นอกเหนือ การควบคุมของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และกองทุนรวม อาจจากัดขอบเขตของการได้ รับความคุ้มครองภายใต้ กรมธรรม์ ประกันภัยที่ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และกองทุนรวมจะสามารถจัดหาหรื อมีความสามารถที่จะจัดหามาภายใต้ เงื่อนไขของ อัตราเบี ้ยประกันภัยที่เหมาะสม ทังนี ้ ้ ความชารุดบกพร่องที่เกิดกับสิง่ ก่อสร้ างของโรงไฟฟ้ า หรื อความชารุดบกพร่องที่มอง ไม่เห็นของโรงไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์เครื่ องจักรในโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 อาจทาให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ได้ รับความคุ้มครองจากกรมธรรม์ นอกจากนี ้ ความเสีย หายบางอย่างอาจเกี่ ยวข้ อ งกับ หลายหน่วยงาน เช่ น เจ้ า หน้ าที่ สารวจความเสียหาย (Loss Adjuster) นิติวิศวกร (Forensic Engineer) ผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคนิคหรื อด้ านอื่นๆ แล้ วแต่กรณี หรื ออาจต้ องเข้ าสู่

14


กระบวนการอนุญ าโตตุล าการ (Arbitration) ซึ่ง อาจท าให้ ใ ช้ ร ะยะเวลานานเพื่ อ แก้ ไ ขข้ อ พิ พ าทในการเรี ย กร้ องเพื่อ เอาประกันภัย ดังนัน้ กองทุนรวมมีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจากเหตุปัจจัยดังกล่าวข้ างต้ น โดยแบ่งเป็ นสองกรณี คือ กรณีที่ ทรัพย์สนิ ได้ รับความเสียหายแต่เพียงบางส่วน หากเงินค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัยที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับ นันไม่ ้ เพียงพอต่อการซ่อมแซมทรัพย์สินที่เสียหาย เป็ นเหตุให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติมในการซ่อมแซม ทรัพย์สินเพื่อให้ สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ และกรณีที่ทรัพย์สินเสียหายทังหมด ้ (Total Loss) หรื อทรัพย์สินเสียหาย อย่างมีนยั สาคัญ (Significant Loss) หากเงินค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัยที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับนันไม่ ้ เพียงพอ ทาให้ กองทุนรวมสูญเสียเงินทุนบางส่วนหรื อทังหมดที ้ ่ได้ ลงทุนในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบ กิ จการไฟฟ้ า เนื่องจากกองทุนรวมจะได้ รับเงินชดเชยความเสียหายในกรณีดังกล่าวภายหลังจากกลุ่มเจ้ าหนีส้ ถาบัน การเงินของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ซึง่ ได้ รับเงินชดเชยเต็มจานวนตามสัญญาเงินกู้ 4.8 ความเสี่ยงจากการจัดสรรกระแสเงินสด กองทุนรวมมีความเสีย่ งจากการที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีเจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน ซึง่ ในสัญญาเงินกู้ยืมกับเจ้ าหนี ้ สถาบันการเงินจะกาหนดลาดับการจัดสรรกระแสเงิน สดของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะต้ อง ชาระค่าใช้ จ่ายในการดาเนินงาน เงินต้ น ดอกเบี ้ย และค่าธรรมเนียมอื่นสาหรับการกู้ยืม รวมถึงบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ต้ อง จัดให้ มีการตังเงิ ้ นสารองสาหรับการชาระเจ้ าหนี ้ทังในส่ ้ วนเงินต้ นและดอกเบี ้ยสาหรับงวดถัดไป และสารองสาหรับการซ่อม บารุงโรงไฟฟ้ าครัง้ ใหญ่ ก่อนที่จะมีการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวม บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากเจ้ าหนี ้สถาบันการเงินเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทุกครัง้ หรื อมี สัดส่วนเงินสดคงเหลือต่อจานวนเงินต้ นและดอกเบี ้ยที่ต้องจ่ายชาระคืนใน 6 เดือน ข้ างหน้ าสูงกว่า 1.2:1 บี.กริ ม 1 และ บี. กริ ม 2 จึงจะโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าให้ แก่กองทุนรวม หากเจ้ าหนี ้สถาบันการเงินใช้ เวลานานในการ พิจารณาอนุมตั ิการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวม หรื อเงินสดคงเหลือของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ไม่เพียงพอต่อการชาระคืนเงินต้ นและดอกเบี ้ยในอีก 6 เดือน ข้ างหน้ า กองทุนรวมจะได้ รับการจัดสรรกระแสเงิน สดล่าช้ า อี ก ทัง้ ระยะเวลาในการโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ านี ใ้ ห้ แ ก่ กองทุน รวม โดยคิ ด จากผล ประกอบการราย 6 เดือน พิจารณาจากช่วงเวลาการชาระเงินและการรับเงินของโรงไฟฟ้ า เนื่องจากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ต้ องชาระค่าก๊ าซให้ แก่ ปตท. ก่อนได้ รับเงินได้ จาก กฟผ. และลูกค้ าภาคอุตสาหกรรม จึงต้ องมีเงินทุนหมุนเวียนเพื่อรองรับ ระยะเวลาการรับ-จ่ายเงินที่ไม่สมั พันธ์ กนั ดังกล่าว นอกจากนี ้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีความจาเป็ นในการสารองเงินทุน หมุนเวียนภายในบริ ษัทสาหรับการซ่อ มบารุ ง ถึงแม้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะมีการกาหนดแผนการซ่อมบารุ งที่ชดั เจน อย่างไรก็ตาม หากมีความจาเป็ นในการซ่อมบารุงนอกเหนือจากแผนการซ่อมบารุงที่กาหนดไว้ เนื่องจากเกิดความเสียหาย ของชิ ้นส่วนของเครื่ องจักรบางชิ ้นก่อนกาหนดอายุเวลา โดยจานวนค่าใช้ จา่ ยในการซ่อมบารุงดังกล่าวไม่สามารถประมาณ การเพื่อทาการตังเงิ ้ นสารองในส่วนนี ้ได้ อย่างไรก็ดี กองทุนรวมได้ รับการจัดสรรกระแสเงินสดเป็ นลาดับที่สองถัดจากเจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน และได้ รับ การจัดสรรกระแสเงินสดก่อนที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะจ่ายเงินปั นผลให้ กบั ผู้ถือหุ้นหรื อชาระค่าใช้ จ่ายอื่นที่ไม่จาเป็ นต่อ การดาเนินงานของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยระหว่างระยะเวลาในการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าซึง่ โอนปี ละ 2 ครัง้ มีการจัดการกระแสเงินสดรายรับและกระแสเงินสดรายจ่ายที่ชดั เจนตามที่กาหนดในสัญญาสินเชื่อ

15


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

นอกจากนี ้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 สามารถสร้ างกระแสเงินสดที่มนั่ คงมาโดยตลอดเป็ นระยะเวลากว่า 10 ปี ที่ดาเนินกิจการโรงไฟฟ้ า โดยมีการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นอย่างสม่าเสมอ อีกทังบี ้ .กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ เข้ าทา สัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าระยะยาวกับ กฟผ.และลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมเพื่อสร้ างความมัน่ คงด้ านรายได้ ประกอบกับการ บารุ งรักษาโรงไฟฟ้ าอย่างสม่าเสมอ และมีการทาสัญญาว่าจ้ างกับ บริ ษัท จีอี ประเทศไทย จากัด ให้ เป็ นผู้จดั หาอะไหล่ ชิ ้นส่วน โดยมีการจากัดอัตราการขึ ้นราคาสูงสุดในแต่ละปี เพื่อลดความผันผวนด้ านค่าใช้ จ่ายในการซ่อมบารุงโรงไฟฟ้ า 4.9 ความเสี่ยงจากการที่เจ้ าหนีส้ ถาบันการเงินมีสิทธิในหลักประกันเป็ นลาดับแรก กองทุนรวมมีความเสี่ยงจากการที่ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีเจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน ซึ่งในสัญญาเงินกู้กบั สถาบัน การเงินดังกล่าว บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ตกลงให้ หลักประกันเพื่อเป็ นการประกันหนี ้ตามสัญญาเงินกู้แก่เจ้ าหนี ้สถาบัน การเงิน กล่าวคือ การจานองที่ดินพร้ อมสิ่งปลูกสร้ างและทรัพย์สินเครื่ องจักรหลักสาหรับการประกอบกิจการโรงไฟฟ้ า การโอนสิทธิในกรมธรรม์และใบสลักหลังกรมธรรม์ การโอนสิทธิในเอกสารโครงการแบบมีเงื่อนไข การโอนสิทธิในบัญชี แบบมีเงื่อนไข และการจานาบัญชีของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยที่เจ้ าหนี ้สถาบันการเงินมีสิทธิในหลักประกันดังกล่าว เป็ นลาดับแรกก่อนเจ้ าหนี ้รายอื่นของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 กองทุ น รวมอาจมี ค วามเสี่ ย งหากบี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 กระท าการใดๆ อัน เป็ นเหตุ ผิ ด นัด ช าระหนี ้ (Event of Default) ตามสัญญาเงินกู้ และอาจส่งผลให้ เจ้ าหนี ้สถาบันการเงินใช้ สิทธิบงั คับเอาหลักประกัน และส่งผลให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่สามารถประกอบธุรกิจและโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าตามสัญญาที่ทาไว้ กบั กองทุนรวมได้ หรื อจานวนเงินที่กองทุนรวมได้ รับหลังจากชาระคืนเงินกู้เจ้ าหนี ้สถาบันการเงินนันไม่ ้ เพียงพอกับเงินลงทุนที่ กองทุนรวมลงทุนไว้ ในสัญญาโอนผลประโยชน์ ทาให้ กองทุนรวมอาจสูญเสียเงินทุนบางส่วนหรื อทังหมดที ้ ่ได้ ลงทุนใน สัญญาโอนผลประโยชน์ ในการทาสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าระหว่างบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 กับกองทุนรวม บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ตกลงทาสัญญาจานองที่ดินพร้ อมสิง่ ปลูกสร้ างและทรัพย์สนิ เครื่ องจักรหลักสาหรับการประกอบ กิจการโรงไฟฟ้ า เพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า อย่างไรก็ตาม กองทุนรวมไม่มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สนิ ดังกล่าวระหว่างระยะเวลาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ยกเว้ นแต่ กรณีบงั คับเอาหลักประกัน หากเกิดกรณีผิดสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการ อันจะทาให้ กองทุนรวมมีสทิ ธิ บังคับหลักประกันได้ โดยกองทุนรวมมีสทิ ธิในหลักประกันดังกล่าวเป็ นลาดับสองรองจากเจ้ าหนี ้สถาบันการเงินที่มีสิทธิใน หลักประกันเป็ นลาดับแรก แต่ก่อนเจ้ าหนี ้รายอื่นของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 5. ข้ อพิพาททางกฏหมาย กองทุนรวมไม่มีคดีความ ข้ อพิพาทในชันอนุ ้ ญาโตตุลาการ หรื อข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลสาคัญอื่น ผู้ ถื อหน่ ว ยลงทุ น สามารถศึ ก ษาข้ อมู ล เพิ่ ม เติ ม ของก องทุ น รวมได้ ที่ เว็ บ ไซต์ ของบริ ษั ท จั ด การ ทีh่ ttp://www.kasikornasset.com หรื อทีเ่ ว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ http://www.settrade.com

16


            

 

   





 

  





 

         

    







 











 











 











 

















              

 

 



   







 













17


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

5

ธนาคารกรุงศรี อยุธยา จากัด (มหาชน)

13,100,000

2.18%

6

บริ ษัท เมืองไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน)

12,820,700

2.14%

7

บริ ษัท อาคเนย์ ประกันชีวิต จากัด (มหาชน)

9,837,700

1.64%

8

บริ ษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จากัด (มหาชน)

4,217,100

0.70%

9

นางจิราภรณ์ ศรี วฒ ั นานุกลู กิจ

3,560,000

0.59%

10

นายปรี ดา ตันรัตนาวงศ์

2,362,400

0.39%

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 30 พฤศจิ กายน 2561

7.4 การจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนของกองทุนรวม 7.4.1 หลักเกณฑ์ การจ่ ายประโยชน์ ตอบแทนของกองทุนรวม ในการเข้ า ลงทุน ในสัญ ญาโอนผลประโยชน์ จ ากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ ากับ บี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 นัน้ ตามมาตรฐานบัญชีแล้ วได้ มีการบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวในลักษณะเดียวกับการกู้ยืมเงินคือถือเสมือนว่าทางกองทุนรวม ได้ ให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 กู้ยืมเงินเท่ากับจานวนเงินลงทุน 6,202,000,000 บาท โดยประมาณการจ่ายคืนเงินต้ นในแต่ ละปี จะอิงตามเอกสารแนบในสัญญาโอนผลประโยชน์ แต่ทงนี ั ้ ้ ไม่ได้ เป็ นการรับประกันเงินต้ นแต่อย่างใด ส่วนดอกเบี ้ยเป็ น การคานวณตามผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่กองทุนรวมได้ รับในแต่ละงวดหักลบส่วนของเงินต้ นในแต่ละ งวดตามสัญญาโอนผลประโยชน์ที่กล่าวไว้ ในข้ างต้ น ตามหลักการบันทึกบัญชีของกองทุนรวมนันกองทุ ้ นรวมสามารถบันทึกเฉพาะส่วนของดอกเบี ้ยเป็ นรายได้ จาก การลงทุนในงบกาไรขาดทุนและนามาหักลบค่าใช้ จ่ายของกองทุนรวมเพื่อคานวณเป็ นกาไรสุทธิและคืนผลตอบแทนแก่ ผู้ถือหน่วยลงทุนในรูปของเงินปั นผล โดยกองทุนรวมมีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนดังนี ้ 1. โครงการมีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนไม่เกินปี ละ 2 ครัง้ 2. การจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนจะเป็ นไปตามข้ อกาหนดดังต่อไปนี ้ (1) บริ ษัทจัดการจะจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุน เมื่อรวมแล้ วในแต่ละรอบปี บัญชีไม่น้อยกว่าร้ อยละ 90 ของกาไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ ว (2) การคานวณกาไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ ว บริ ษัทจัดการจะคานวณโดยหักกาไรสุทธิของกองทุนรวมด้ วยรายการ ดังต่อไปนี ้ (ก.) กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ ้น (unrealized gain) จากการประเมินราคาทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานของ กองทุนรวมรวมทังการปรั ้ บปรุ งด้ วยรายการอื่นตามแนวทางที่สานักงานกาหนด เพื่อให้ สอดคล้ อง กับสถานะเงินสดของกองทุนรวม (ข.) เงินสารองที่กนั ไว้ เพื่อซ่อมแซม บารุ งรักษา หรื อปรับปรุ งกิจการโครงสร้ า งพื ้นฐานของกองทุนรวม ตามแผนที่กาหนดไว้ อย่างชัดเจนในโครงการของกองทุนรวมและหนังสือชี ้ชวน หรื อที่บริ ษัทจัดการ ได้ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้ า

18


(ค.) เงินสารองที่กนั ไว้ เพื่อการจ่ายชาระหนี ้เงินกู้ยืมหรื อภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการ กู้ยืมเงินที่กาหนดไว้ อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี ้ชวนหรื อที่บริ ษัทจัดการ ได้ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้ า ในกรณี ที่กองทุนรวมมีค่าใช้ จ่ายที่ไม่ใช่เ งิ นสด เช่น ค่าใช้ จ่ายที่ทยอยตัดจ่ายหรื อผลขาดทุนที่ยังไม่เ กิ ด ขึน้ (unrealized loss) เป็ นต้ น บริ ษัทจัดการจะหักรายการตาม (ข) และ (ค) จากกาไรสุทธิของกองทุนรวมได้ ตามมูลค่าของ รายการดังกล่าวเฉพาะส่วนที่เกินกว่าค่าใช้ จ่ายที่ไม่ใช่เงินสดเท่านัน้ (3) ในกรณี ที่ ก องทุน รวมยัง มี ย อดขาดทุน สะสมอยู่ บริ ษั ท จัด การจะไม่จ่ า ยเงิ น ปั น ผล บริ ษั ท จัด การจะ ดาเนินการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนภายใน 90 วัน นับตังแต่ ้ วนั สิ ้นรอบระยะเวลาบัญชี ที่มีการจ่ายเงินปั นผลนันหรื ้ อวันสิ ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปั นผลนัน้ แล้ วแต่กรณี เว้ นแต่ กรณี ที่มีเหตุจาเป็ นให้ ไม่สามารถจ่ายเงิ นปั นผลได้ ในระยะเวลาดังกล่าว บริ ษัทจัดการจะแจ้ งให้ สานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต.และผู้ถือหน่วยลงทุนทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (4) เงื่อนไขเพิ่มเติม : (ก) ในการพิจารณาจ่ายเงินปั นผล ถ้ าเงินปั นผลที่จะประกาศจ่ายต่อหน่วยลงทุนระหว่างปี มีมลู ค่าต่า กว่าหรื อเท่ากับ 0.10 บาท บริ ษัทจัดการสงวนสิทธิที่จะไม่จ่ายเงินปั นผลในครัง้ นัน้ และให้ สะสมเงิน ปั นผลดังกล่าวเพื่อนาไปจ่ายรวมกับเงินปั นผลที่จะให้ มีการจ่ายในงวดถัดไป (ข) สาหรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าว บริ ษัทจัดการจะดาเนินการให้ เป็ นไปตามที่ระบุไว้ เว้ น แต่ กรณีที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรื อหน่วยงานอื่นใดที่มี อานาจตามกฏหมาย ได้ มีการแก้ ไขเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ประกาศกาหนด สัง่ การ เห็นชอบ และ/ หรื อ ผ่อนผันเป็ นอย่างอื่น บริ ษัทจัดการจะดาเนินการให้ เป็ นไปตามนัน้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทจัดการขอสงวน สิทธิ ที่จะดาเนินการดังกล่าวได้ โดยไม่ต้องได้ รับมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน โดยถื อว่าได้ รับความ เห็นชอบจากผู้ถือหน่วยลงทุนแล้ วทุกประการ และไม่ถือเป็ นการแก้ ไขเพิ่มเติมโครงการการจ่ายเงิน ปั นผล ในส่วนของเงินจากการรับโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่นบั เป็ นเงินต้ นนัน้ ทางกองทุนรวมจะมี การบันทึกเป็ นการลดลงของเงินลงทุน ซึ่งหากกองทุนไม่มีนโยบายในการลงทุนสินทรัพย์ใหม่และมีสภาพคล่องส่วนเกิน จากเงินสดดังกล่าว กองทุนรวมจะพิจารณาจ่ายคืนแก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนในรู ปแบบของการลดทุน ซึ่ง ในการลดเงินทุนของ กองทุนรวม บริ ษัทจัดการจะปฏิบตั ิดงั นี ้ 1. บริ ษัทจัดการจะลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม เฉพาะเมื่อเข้ ากรณีดงั ต่อไปนี ้ (1) กองทุนรวมมีสภาพคล่องส่วนเกินจากการได้ รับโอนผลประโยชน์ ตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการ ประกอบกิจการไฟฟ้ าจากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 สาหรับผลการดาเนินงานในงวดการดาเนินงานตังแต่ ้ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน และผลการดาเนินงานในงวดการดาเนินงานตังแต่ ้ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี โดยบริ ษัทจัดการจะดาเนินการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม โดยอ้ างอิงจาก ประมาณการผลประโยชน์จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ า โดยวิธีคิดลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow) ซึง่ ประมาณการการลดทุนเงินจดทะเบียนโดยเหตุดงั กล่าวมีรายละเอียดดังนี ้

19


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ปี (พ.ศ.) เงินลดทุนจด

2557 2558 2559 2560 2561 2562

2563 2564 2565

391

648

413

487

438

616

1150

695

757

ทะเบียน (หน่วย:ล้ านบาท) หมายเหตุ : ผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้าคานวณจากกระแสเงิ นสดที ่ได้รับจากรายได้ของโรงไฟฟ้า และกระแสเงิ นสดจ่าย สาหรับรายจ่ายของโรงไฟฟ้า รายละเอียดดังนี ้

ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า = กระแสเงินสดรับที่ได้ จากรายได้ ของโรงไฟฟ้ า - กระแสเงินสดจ่ายสาหรับ รายจ่ายของโรงไฟฟ้ า + การเปลีย่ นแปลงรายการตังส ้ ารอง + เงินสดคงเหลือต้ นงวด - เงินสดคงเหลือขันต ้ ่า โดยคิดจากผลประกอบการรายหก (6) เดือน ในรอบเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถนุ ายน และรอบเดือนกรกฎาคม ถึง เดือนธันวาคม ของทุกปี โดยชาระภายในวันที่ 31 ของเดือนมีนาคม และภายในวันที่ 30 ของเดือนกันยายนของแต่ละปี ตลอดระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าจากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ในกรณีที่ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่บี .กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ โอนให้ แก่กองทุนรวมในช่วง ระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง มีจานวนมากกว่าประมาณการผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ าสาหรั บ ช่ ว ง ระยะเวลานัน้ ให้ ถือว่ากองทุนรวมได้ รับผลประโยชน์ที่เป็ นส่วนเกินดังกล่าวด้ วย ในกรณีที่ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่บี .กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ โอนให้ แก่กองทุนรวมในช่วง ระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง มีจานวนน้ อยกว่าประมาณการผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ าสาหรั บ ช่ ว ง ระยะเวลานัน้ ส่วนที่ขาดดังกล่าวจะถูกยกยอดไปชาระในรอบการลดทุนถัดไปจนกว่ากองทุนรวมจะได้ รับชาระ เมื่อครบวันสิ ้นสุดสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าจากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 และบี.กริ ม 1 และ/หรื อบี.กริ ม 2 ไม่มีภาระหนี ้ ค่าเสียหาย หรื อเงินจานวนอื่นใดค้ างชาระแก่กองทุนรวม นอกเหนือจากส่วนที่ขาดค้ าง ของผลประโยชน์จากการประกอบ กิจการไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ/หรื อบี.กริ ม 2 ตามที่กล่าวข้ างต้ นสาหรับช่วงระยะเวลา ใดก็ตาม ให้ ถือว่าสิทธิและหน้ าที่ของกองทุนรวม และบี.กริ ม 1 และ/หรื อบี.กริ ม 2 เกี่ยวกับส่วนที่ขาดค้ างอยู่ดงั กล่าวเป็ น อันสิ ้นสุดลง ทังนี ้ ้ บริ ษัทจัดการจะจ่ายคืนสภาพคล่องส่วนเกินดังกล่าวให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนภายใน 90 วันนับตังแต่ ้ วนั สิ ้น รอบการดาเนินงานในแต่ละงวด โดยบริ ษัทจัดการจะพิจารณาจานวนเงินทุนจดทะเบียนและจานวนเงินทุนจดทะเบียน ต่อหน่วยลงทุนที่จะลดลง เมื่อได้ รับหนังสือนาส่งผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าจากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ซึง่ บริ ษัทจัดการจะได้ รับหนังสือนาส่งดังกล่าวภายใน 45 วันนับตังแต่ ้ วนั สิ ้นรอบการดาเนินงานในแต่ละงวด ทังนี ้ ้ ก่อนการลด เงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมทุกครัง้ บริ ษัทจัดการจะประกาศให้ ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนทราบถึงจานวนเงินทุนจดทะเบียน ของกองทุนรวมและจานวนเงินทุนจดทะเบียนต่อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่จะลดลงต่อไป (2) กองทุนรวมมีสภาพคล่องส่วนเกินที่เหลืออยู่ ภายหลังจากการจาหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน และการจ่ายเงินปั นผล ทังนี ้ ้ ต้ องปรากฏข้ อเท็จจริ งด้ วยว่ากองทุนรวมไม่มีกาไรสะสมเหลืออยูแ่ ล้ ว (3) กองทุนรวมมีรายการค่าใช้ จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด และไม่มีเหตุต้องนาไปใช้ ในการคานวณกาไรสุทธิที่ปรับปรุ ง แล้ วของกองทุนรวม (4) กรณีอื่นใดที่มีมติของผู้ถือหน่วยลงทุนให้ ลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม

20


2. บริ ษัทจัดการจะดาเนินการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยไม่ชกั ช้ า ในกรณีที่กองทุนรวมมีการเพิ่มเงิ นทุน จดทะเบียนเพื่อลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานเพิ่มเติมแล้ ว แต่ปรากฏเหตุขดั ข้ องในภายหลังอันทาให้ ไม่สามารถได้ มาซึง่ ทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานดังกล่าวได้ 3. การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมที่เป็ นกรณีตามข้ อ (2) (3) และ (4) บริ ษัทจัดการจะขอมติของผู้ถือหน่วย ลงทุน 4. การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริ ษัทจัดการอาจกระทาโดยการลดมูลค่าหน่วยลงทุน หรื อลดจานวนหน่วย กองทุน และจะเฉลี่ยเงินคืนแก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิ ดสมุ ดทะเบียนพักการโอนหน่ว ย ลงทุนโดยไม่หกั เงินที่เฉลีย่ คืนดังกล่าวจากกาไรสะสมของกองทุนรวม

21


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 7.4.2 ประวัติการลดทุนจดทะเบียนและจ่ ายเงินปั นผล เงินทุนจดทะเบียนก่ อนลด เงินทุนจดทะเบียนหลังลด มูลค่ าหน่ วยลงทุนที่ลดลง มูลค่ าหน่ วยลงทุน มูลค่ าหน่ วยลงทุน เงินทุนจด มูลค่ าต่ อ เงินทุนจด มูลค่ าต่ อ เงินทุนจด มูลค่ าต่ อ ทะเบียน หน่ วย (บาท) ทะเบียน (บาท) หน่ วย (บาท) ทะเบียน (บาท) หน่ วย (บาท) (บาท) 19ก.ย.2556 – 31ธ.ค.2556 6,300,000,000 10.5000 606,900,000 1.0115 5,693,100,000 9.4885 1ม.ค.2557 - 30มิ.ย.2557 5,693,100,000 9.4885 195,480,000 0.3258 5,497,620,000 9.1627 1ก.ค.2557 - 31ธ.ค.2557 5,497,620,000 9.1627 195,480,000 0.3258 5,302,140,000 8.8369 1ม.ค.2558 - 30มิ.ย.2558 5,302,140,000 8.8369 206,460,000 0.3441 5,095,680,000 8.4928 1ก.ค.2558 - 31ธ.ค.2558 5,095,680,000 8.4928 206,460,000 0.3441 4,889,220,000 8.1487 1ม.ค.2559 - 30มิ.ย.2559 4,889,220,000 8.1487 243,480,000 0.4058 4,645,740,000 7.7429 1ก.ค.2559 - 31ธ.ค.2559 4,645,740,000 7.7429 243,480,000 0.4058 4,402,260,000 7.3371 1ม.ค.2560 - 30 มิ.ย.2560 4,402,260,000 7.3371 219,000,000 0.3650 4,183,260,000 6.9721 1ก.ค.2560 - 31ธ.ค.2560 4,183,260,000 6.9721 219,000,000 0.3650 3,964,260,000 6.6071 1ม.ค.2561 - 30มิ.ย.2561 3,964,260,000 6.6071 307,980,000 0.5133 3,656,280,000 6.0958

ครัง้ ระยะเวลาการดาเนินงาน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

22

เงินปั นผลจ่ าย จานวนเงิน ปั นผล (บาท) 326,400,000 196,680,000 182,160,000 160,680,000 179,100,000 174,000,000 371,640,000 152,340,000 369,600,000 124,020,000

อัตราปั นผล ต่ อหน่ วย (บาท) 0.5440 0.3278 0.3036 0.2678 0.2985 0.2900 0.6194 0.2539 0.6160 0.2067

วันปิ ดสมุด ทะเบียน

วันที่ดาเนินการ เฉลี่ยเงินคืน

20 มี.ค. 2557 18 ก.ย. 2557 23 มี.ค. 2558 18 ก.ย. 2558 22 มี.ค. 2559 20 ก.ย. 2559 22 มี.ค. 2560 19 ก.ย. 2560 21 มี.ค. 2561 14 ก.ย. 2561

31 มี.ค. 2557 26 ก.ย. 2557 31 มี.ค. 2558 28 ก.ย. 2558 30 มี.ค. 2559 28 ก.ย. 2559 31 มี.ค. 2560 28 ก.ย. 2560 30 มี.ค.2561 28 ก.ย. 2561


8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 บริษัทจัดการ 8.1.1 ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร เว็บไซต์ ของบริษัทจัดการกองทุน ชื่อ : บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ที่อยู่ : 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชัน้ 6 และชัน้ 12 ถนนพหลโยธิน แขวงสามแสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ10400 โทรศัพท์ : 026733988 โทรสาร : 026733988 อีเมล : ka.customer@kasikornasset.com เว็บไซต์ : www.kasikornasset.com 8.1.2 โครงสร้ างการถือหุ้น ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) ถือหุ้นในสัดส่วน ร้ อยละ 100 8.1.3 โครงสร้ างองค์ กร- บริษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุน กสิกรไทย จากัด

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 1 กรกฎาคม 2561

23


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

8.1.4 หน้ าที่และความรั บผิดชอบ ของบริษัทจัดการและผู้จัดการกองทุน บริ ษัทจัดการมีหน้ าที่ และความรับผิดชอบตามที่ระบุในโครงการจัดการกองทุนรวมดังต่อไปนี ้ (1) นาเงินของกองทุนรวมไปลงทุนในทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานหรื อทรัพย์สนิ อื่น รวมทังจั ้ ดหาผลประโยชน์ การให้ เช่า ให้ สทิ ธิ ให้ ผ้ อู ื่นดาเนินการ จาหน่าย โอนสิทธิการเช่า ขาย สัง่ โอน และเปลีย่ นแปลงเพิ่มเติมปรับปรุ ง ทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานหรื อทรัพย์สินอื่นที่ลงทุนไว้ ตามนโยบาย วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการที่กาหนดในโครงการ โดยเป็ นไปตามข้ อกาหนดและหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ ประกาศสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ด้ วย (2) ในกรณีที่ปรากฏข้ อเท็จจริ งแก่บริ ษัทจัดการ ว่ามีบคุ คลใดหรื อกลุม่ บุคคลเดียวกันใดถือหน่วยลงทุน ณ ขณะใด ขณะหนึ่ ง ภายหลัง การเสนอขายหน่ ว ยลงทุ น ของกองทุ น รวมเกิ น กว่ า อัต ราที่ ก าหนดไว้ ในข้ อ 8.1.2 ข้ อ 8.1.4 และข้ อ 8.1.5 แล้ ว แต่ก รณี บริ ษั ท จัด การจะดาเนิ น การตามที่ สานัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด (3) บริ หารและจัดการกองทุนรวมด้ วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สจุ ริ ต เพื่อประโยชน์ของ ผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทัง้ ต้ องปฏิบัติให้ เป็ นไปตามกฎหมายโครงการจัดการกองทุนรวม ข้ อผูกพันระหว่าง ผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริ ษัทจัดการ และมติผ้ ถู ือหน่วยลงทุนด้ วย (4) ดาเนินการและควบคุมดูแลให้ การจัดการทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน เป็ นไปตามสาระสาคัญที่ได้ ระบุไว้ ในโครงการจัดการกองทุนรวม (5) ปฏิบตั ิตามโครงการจัดการกองทุนรวม ข้ อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมกับบริ ษัทจัดการ และ พระราชบัญ ญัติ ห ลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลักทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ตลอดจนประกาศ กฎ และค าสั่ง ที่ อ อกโดย อาศัยอานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ทังนี ้ ้ ในกรณีที่ข้อกาหนดในโครงการจัดการกองทุนรวมขัดหรื อแย้ งกับ หลักเกณฑ์ในกฎหมาย ประกาศ กฎ หรื อคาสัง่ ดังกล่าว หากบริ ษัทจัดการได้ ดาเนินการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ประกาศ กฎ หรื อคาสัง่ นัน้ ให้ ถือว่าบริ ษัทจัดการได้ ปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวมแล้ ว (6) จัดให้ มีการรับ จ่ายค่าธรรมเนียมและค่าใช้ จ่ายต่างๆ และ/หรื อเงินตอบแทนอื่นใด ตามที่กาหนดไว้ ในโครงการ (7) จัดสรรผลกาไรของกองทุนรวมเพื่อจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนด ในโครงการ และเป็ นไปตามที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด (8) จั ด ให้ มี ก ารประกั น ภั ย ของกองทุ น รวม ตามข้ อก าหนดและหลั ก เกณฑ์ ข องประกาศส านั ก งาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. (9) จัดให้ มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ตามข้ อกาหนดและหลักเกณฑ์ประกาศสานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. (10) จัดให้ มีระบบงานสาหรับการบริ หารและจัดการกองทุนรวม อย่างน้ อยในเรื่ องดังต่อไปนี ้ (ก.) การคัดเลือกและดูแลบุคลากรที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินการของกองทุนรวม ให้ มีความรู้ความสามารถที่ เหมาะสมกับการบริ หารและจัดการกองทุนรวม (ข.) การวิเคราะห์และศึกษาความเป็ นไปได้ ของการจัดตังกองทุ ้ นรวม รวมทังการตรวจสอบและสอบทาน ้ (การทา Due diligence) ทรั พย์ สินกิ จการโครงสร้ างพืน้ ฐานที่จะลงทุน ตลอดจนการเปิ ดเผยข้ อมูล เกี่ ยวกับการจัดตัง้ กองทุนรวมและทรั พย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่ถูกต้ อง และเพียงพอต่อการ ตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน

24


(11) (12) (13) (14)

(15) (16) (17)

(18) (19)

(20) (21)

(22)

(ค.) การกากับดูแลบริ หารและจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อให้ เ ป็ นไป ตามโครงการจัดการกองทุนรวม และเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน ดาเนินการแยกทรั พย์ สินของกองทุน รวมไว้ ต่างหากจากทรั พย์ สินของบริ ษัทจัดการ และนาทรั พย์ สิน ของ กองทุนรวมไปฝากไว้ กบั ผู้ดแู ลผลประโยชน์ และ/หรื อ บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด จัดทาบัญชี แสดงการลงทุนของกองทุน รวมไว้ โดยถูกต้ องและจัดทารายงานการลงทุน ของกองทุน รวมให้ ผู้ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวมทราบ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกาหนด จัด ให้ ได้ มาซึ่งรายได้ และผลประโยชน์ ของกองทุน รวม และน าเงิ น ได้ และผลประโยชน์ ดังกล่าวฝากไว้ กับ ผู้ดแู ลผลประโยชน์ แต่งตังผู ้ ้ ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวมซึง่ มีคณ ุ สมบัติตามประกาศสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. รวมถึง การเปลี่ย นตัว ผู้ดูแ ลผลประโยชน์ ข องกองทุน และแต่ง ตัง้ ผู้ดูแ ลผลประโยชน์ อื่ น แทนตามเงื่ อ นไขในการ เปลี่ ย นตั ว ผู้ ดู แ ลผลประโยชน์ ที่ ก าหนดไว้ ในโครงการ ทั ง้ นี ้ โดยได้ รั บ อนุ ญ าตจากส านั ก งาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. จัดให้ มีคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน แต่งตังผู ้ ้ จดั การกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อทาหน้ าที่ตดั สินใจลงทุนหรื อจาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการ โครงสร้ างพื ้นฐาน แต่งตัง้ ผู้จัดการกองทุน เพื่อทาหน้ าที่ตัดสินใจลงทุนหรื อจาหน่ายไปซึ่งทรั พย์ สินอื่นที่มิใช่ทรั พย์ สินกิ จการ โครงสร้ างพื น้ ฐาน ทั ง้ นี ้ ผู้ จั ด การกองทุ น ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั ง้ ต้ องได้ รั บ ค วามเห็ น ชอบจากส านัก งาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่งตังผู ้ ้ ติดต่อกับผู้ลงทุนเพื่อทาหน้ าที่ขายหน่วยลงทุนหรื อให้ คาแนะนาแก่ผ้ ลู งทุน ทังนี ้ ้ ผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนที่ ได้ รับการแต่งตังต้ ้ องได้ รับความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่ ง ตัง้ นายทะเบี ย นผู้ถื อ หน่ ว ยลงทุน และจัด ให้ มี ท ะเบี ย นผู้ถื อ หน่ว ยลงทุน ตามหลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก าร ที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด และเก็บรักษาไว้ ซงึ่ ทะเบียนของผู้ถือหน่วยลงทุนรวมถึงการเปลีย่ นตัว นายทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุน และแต่งตังนายทะเบี ้ ยนหน่วยลงทุนอื่นที่มีคุณสมบัติตามที่สานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนดแทน และแจ้ งการแต่งตังดั ้ งกล่าวให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทราบ แต่งตัง้ บริ ษัทประเมินค่าและจัดให้ มีการประเมินค่า ทรั พย์ สินกิ จการโครงสร้ างพืน้ ฐาน ตามหลักเกณฑ์ ที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด จัดให้ มีผ้ ูสอบบัญชี ของกองทุนรวม ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามข้ อกาหนดแห่งประกาศ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เรื่ องหลักเกณฑ์ การให้ ความเห็นชอบผู้ส อบบัญชี รวมถึงการเปลี่ยนตัว ผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม และแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีอื่นที่มีคุณสมบัติครบถ้ วนตามที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนดแทน และแจ้ งการแต่งตังดั ้ งกล่าวให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่งตังผู ้ ้ จัดจาหน่ายหน่วยลงทุนและผู้สนับสนุนการขายหน่วยลงทุนเพื่อทาหน้ าที่จาหน่ายหน่วยลงทุนของ กองทุน รวม ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท จัด การประสงค์ จ ะตัง้ บริ ษั ท จัด จ าหน่ า ยหน่ ว ยลงทุน เป็ นผู้ท าหน้ า ที่ ใ นการ จัดจาหน่ายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม บริ ษัทจัดจาหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวต้ องไม่มีความสัมพันธ์กบั ผู้ที่จะ จาหน่าย จ่าย โอน ให้ เช่า หรื อให้ สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนในลักษณะ ของการเป็ นกลุม่ บุคคลเดียวกัน

25


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(23) แต่งตังที ้ ่ปรึ กษา(ถ้ ามี) ซึ่ง มีหน้ าที่ให้ คาปรึ กษาหรื อคาแนะนาแก่บริ ษัทจัดการเกี่ยวกับการจัดตังกองทุ ้ นรวม หรื อการจัดการกองทุนรวม เช่น ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางวิศวกรรม ที่ปรึกษาในการตรวจสอบทรัพย์สิน ที่ปรึกษาเฉพาะด้ าน เป็ นต้ น (24) แต่งตังบุ ้ คคลอื่นใดเพื่อทาหน้ าที่ตา่ งๆ ที่เกี่ยวกับกองทุน อาทิ ที่ปรึกษา ผู้ควบคุมงานก่อสร้ าง ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ผู้จดั ทาประมาณการ ผู้ตรวจรับอาคาร ผู้ดแู ลรักษาความสะอาดสถานที่ ผู้รับเหมาก่อสร้ าง เป็ นต้ น (25) รวบรวม ติดตาม ดาเนินการ และสัง่ ให้ ผ้ มู ีหน้ าที่ตา่ งๆ ตามสัญญาแต่งตัง้ อาทิ ที่ปรึกษา ผู้คมุ งานก่อสร้ าง เป็ น ต้ น จั ด เตรี ย ม จั ด ส่ ง จั ด ท ารายงานต่ า งๆ และ/หรื อ ด าเนิ น การต่ า งๆ ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ในสัญ ญาแต่ ง ตัง้ และ/หรื อตามที่คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน และ/หรื อผู้ถือหน่วยลงทุน และ/หรื อผู้มีอานาจตามกฎหมาย ร้ องขอ (26) ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่เป็ นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ ในอนาคตหรื อสิทธิ ตามสัญญาแบ่งรายได้ บริ ษัทจัดการต้ องดาเนินการดังต่อไปนี ้ด้ วย (ก.) ติดตามและตรวจสอบความถูกต้ องครบถ้ วนของส่วนแบ่งรายได้ ที่กองทุนรวมได้ รับอย่างสม่าเสมอ (ข.) หากพบความผิดพลาดหรื อข้ อบกพร่องที่อาจทาให้ กองทุนรวมไม่ได้ รับส่วนแบ่งรายได้ ที่ถกู ต้ องครบถ้ วน ตามข้ อตกลง ต้ องดาเนินการหรื อมอบหมายให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญดาเนินการให้ ผ้ ปู ระกอบกิจการโครงสร้ าง พื ้นฐานปรับปรุงแก้ ไขข้ อผิดพลาดดังกล่าว (27) ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานตามข้ อ 6.1.1 (1) ถึง (4) บริ ษัทจัดการจะจัดให้ มีข้อกาหนด ในเอกสารสัญญาที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ ผ้ เู ช่า ผู้รับสิทธิ หรื อผู้รับจ้ างที่นาทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานของ กองทุน รวมไปจัด หาผลประโยชน์ มี ห น้ า ที่ ร ายงานข้ อ เท็ จ จริ ง และเหตุผ ลต่ อ บริ ษั ท จัด การโดยไม่ชัก ช้ า เมื่อมีเหตุการณ์หรื อการเปลีย่ นแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน (28) ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่กองทุนลงทุนด้ วยการเข้ าถือหุ้นของบริ ษัทที่ประกอบธุรกิจ โครงสร้ างพืน้ ฐาน บริ ษัทจัดการต้ องจัดให้ มีมาตรการหรื อกลไกที่จะทาให้ บริ ษัทจัดการสามารถดูแลและ ควบคุมให้ บริ ษัทดังกล่าวมีการประกอบกิจการที่เป็ นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวม และตามหลักเกณฑ์ใน ประกาศนี ้และประกาศอื่นที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ เป็ นไปในทานองเดียวกับการปฏิบตั ิของกองทุนรวมโดยอนุโลม ซึง่ รวมถึงการดาเนินการของบริ ษัทจัดการดังต่อไปนี ้ (ก.) ส่งบุคลากรเข้ าร่ วมบริ หารในกิจการของบริ ษัทนัน้ โดยบุคลากรดังกล่าวต้ องเป็ นผู้จดั การกองทุนรวม โครงสร้ างพื ้นฐานที่ได้ รับความเห็นชอบจากสานักงาน (ข.) ดาเนินการตามอานาจหน้ าที่ของตนเพื่อให้ ผ้ ูบริ หารและบุคคลผู้มีอานาจควบคุมกิ จการโครงสร้ าง พื น้ ฐาน มี คุณ สมบัติ แ ละไม่มี ล ัก ษณะต้ อ งห้ า มตามที่ ก าหนดไว้ ใ นประกาศคณะกรรมการก ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้ วยการกาหนดลักษณะขาดความน่าไว้ วางใจของกรรมการและ ผู้บริ หารของบริ ษัท (ค.) การดาเนินการตามอานาจหน้ าที่ของตนเพื่อให้ การกู้ยืมเงินและการก่อภาระผูกพันของบริ ษัทดังกล่าว ( ถ้ ามี) เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ในประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวม และ การก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สนิ ของกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโดยอนุโลม (ง.) การจัดให้ มีมาตรการที่จะทาให้ ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์สามารถตรวจสอบการดาเนินการของบริ ษัทจัดการ เพื่อให้ เป็ นไปตามมาตรการหรื อกลไกที่บริ ษัทจัดการได้ วางไว้ ตามข้ อกาหนดนี ้

26


การดาเนินการของบริ ษัทจัดการเพื่อให้ บริ ษัทตามวรรคหนึ่งมีการประกอบกิจการในทานองเดียวกับการปฏิบตั ิของ กองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง มิให้ รวมถึงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ในข้ อ 6.1.8 (1) โดยบริ ษัทดังกล่าวอาจประกอบกิจการ โครงสร้ างพื ้นฐานเองได้ (29) กากับดูแลและตรวจสอบให้ บคุ ลากรของตนปฏิบตั ิงานตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลัก เกณฑ์ ที่ ออกตามกฎหมายดังกล่าว รวมทัง้ มาตรฐานการปฏิ บัติงานที่ ส มาคมกาหนดโดยได้ รับ ความเห็นชอบจากสานักงาน (30) อานวยความสะดวกแก่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์หรื อบุคคลที่ได้ รับมอบหมายจากผู้ดแู ลผลประโยชน์ เพื่อให้ บคุ คล ดังกล่าวสามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนในส่วนที่เกี่ยวกับกองทุนรวมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (31) ดาเนินการขาย จาหน่าย จ่าย โอน ทรัพย์สนิ บางส่วนหรื อทังหมดของกองทุ ้ นรวมตามที่เห็นสมควร (32) ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของบริ ษัทจัดการ (33) คานวณและเปิ ดเผยมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเป็ นรายไตร มาสภายใน 45 วันนับแต่วนั สิ ้นไตรมาส ทังนี ้ ้ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ สาหรับกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ที่ ออกตามมาตรา 117 โดยอนุโลม (34) ในกรณีที่กองทุนรวมมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่เป็ นสิทธิในการรับประโยชน์ จากรายได้ ในอนาคต หรื อสิทธิ ต ามสัญญาแบ่งรายได้ ในอนาคตตามข้ อ 6.1.1 (3) หากกองทุนรวมมิได้ เป็ น บุคคลเดียวที่มีสิทธิได้ รับรายได้ ในอนาคตทังจ ้ านวน บริ ษัทจัดการจะวิเคราะห์สิทธิได้ เสียทางทรัพย์สินของ ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิด โดยเปรี ยบเทียบกับสิทธิของเจ้ าหนี ้หรื อผู้มีสิทธิอื่นในรายได้ ในอนาคตนั น้ พร้ อมทัง้ แสดงบทวิเคราะห์และความเห็นทางกฎหมายในเรื่ องดังกล่าวไว้ ในหนังสือชี ้ชวน (35) รายงานพร้ อมด้ วยเหตุผลต่อสานักงานโดยไม่ชกั ช้ า เมื่อปรากฏเหตุการณ์หรื อการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมี ผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนหรื อมีไว้ อ ย่างมีนยั สาคัญ หรื อตามที่ ส านั ก งานประกาศก าหนด โดยในกรณี ที่ ห น่ ว ยลงทุ น ของกองทุ น รวมมี ก ารจดทะเบี ย นซื อ้ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัทจัดการจะจัดส่งรายงานดังกล่าวให้ ตลาดหลักทรัพย์ด้วย (36) นาส่งงบการเงินรายไตรมาสที่ผ้ สู อบบัญชีได้ สอบทานแล้ วภายใน 45 วันนับแต่วนั สุดท้ ายของแต่ละไตรมาส และงบการเงินประจางวดการบัญชีที่ผ้ สู อบบัญชีได้ ตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ วภายใน 3 เดือน นับแต่ วันสิ ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม โดยงบการเงินของกองทุนรวมที่จัดทาขึน้ จะต้ องเป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด ในกรณีที่ หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการ จดทะเบียนซื ้อขายในตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัทจัดการจะส่งงบการเงินดังกล่าวให้ ตลาดหลักทรัพย์ด้วย (37) ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนหรื อมีไว้ ซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่เป็ นหุ้นหรื อตราสารแห่งหนี ้ ที่ออก โดยบริ ษัทตามข้ อ 6.1.1 (5) บริ ษัทจัดการจะดาเนินการเกี่ยวกับงบการเงินเป็ นการเพิ่มเติมตามหลักเกณฑ์ที่ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด (38) ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่เป็ นโครงการที่ไม่แล้ วเสร็ จ บริ ษัทจัดการจะ จัดทารายงานความคืบหน้ าของโครงการทุกๆ 6 เดือน นับแต่มีการลงทุนในทรั พย์ สินนัน้ และส่งรายงาน ดังกล่าวให้ สานักงานภายใน 30 วัน นับแต่วันสุดท้ ายของกาหนดเวลา 6 เดือน โดยรายงานความคืบหน้ า ของโครงการดังกล่าวต้ องมีข้อมูลอย่างน้ อยตามที่สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด ในกรณีที่

27


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(39)

(40)

(41) (42) (43) (44) (45) (46) (47)

(48) (49)

หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการจดทะเบียนซื ้อขายในตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัทจัดการจะจัดส่งรายงานดังกล่าว ให้ ตลาดหลักทรัพย์ด้วย จัดทาและนาส่งรายงานประจาปี ของกองทุนรวมให้ ผ้ ูถือหน่วยลงทุนและสานักงานภายใน 4 เดือน นับแต่ วันสิ ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม โดยรายงานดังกล่าวต้ องมีรายการอย่า งน้ อยตามที่สานักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด จัดให้ มีการขอมติโดยการเรี ยกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อมีผ้ ถู ือหน่วยลงทุนซึง่ ถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อย กว่าร้ อยละ 10 ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมดของกองทุ ้ นรวม เข้ าชื่อกันทาหนังสือขอให้ บริ ษัทจัดการเรี ยกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน เปลี่ยนแปลง หรื อแก้ ไขเพิ่มเติมโครงการ หรื อวิธีจัดการกองทุน ตามข้ อกาหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ ที่ระบุไว้ ในโครงการ ด าเนิ น การเพิ่ มเงิ น ทุน และลดเงิ น ทุน ตามข้ อ ก าหนดเงื่ อ นไข หลัก เกณฑ์ ที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นโครงการ และ/หรื อ ดาเนินการตามที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรื อสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาหนด กระทานิติกรรมสัญญาใดๆ ในนามของกองทุน ซึง่ บริ ษัทจัดการมีอานาจกระทาได้ ภายในขอบเขตของกฎหมาย ดาเนินการฟ้องร้ อง หรื อแก้ ตา่ งคดีแพ่ง หรื อคดีอาญาแทนกองทุนรวม รวมถึงการแต่งตังตั ้ วแทนเพื่อกระทาการ ดังกล่าว เข้ าร่ วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนเกี่ยวกับทรั พย์สิน สิทธิ หรื อผลประโยชน์ ใดๆ ในส่วนที่กองทุนรวม ถือหลักทรัพย์อยูเ่ ท่าที่จาเป็ น เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน ยกเลิกกองทุนรวมตามข้ อกาหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ ที่ระบุไว้ ในโครงการ แต่งตังผู ้ ้ ชาระบัญชีกรณีเลิกกองทุนรวม เพื่อทาหน้ าที่รวบรวมและแจกจ่ายทรัพย์สินให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุน ของกองทุนรวม รวมทังท ้ าการอย่างอื่นตามแต่จาเป็ นเพื่อชาระบัญชีให้ เสร็ จสิ ้น และแจ้ งให้ ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ ทราบ ได้ รับค่าตอบแทนในการจัดการโครงการ ตามอัตราที่ระบุไว้ ในโครงการที่ ได้ รับอนุมัติ และค่าธรรมเนี ย ม ค่าใช้ จ่าย และ/หรื อเงินตอบแทนอื่นใด ตามที่กาหนดไว้ ในโครงการ ปฏิบตั ิการอื่นๆ เพื่อให้ ถึงซึง่ วัตถุประสงค์ของโครงการ และรักษาไว้ ซงึ่ ผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุ นตามที่ กาหนดไว้ ในโครงการ โดยไม่ขดั ต่อกฎหมายไทยและประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และประกาศของ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ อง

8.2 ผู้ประกอบกิจการโครงสร้ างพืน้ ฐาน 8.2.1 ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร ชื่อ : บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 1 จากัด และ บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ 2 จากัด ที่อยู่ : 5 ถนนกรุงเทพกรี ฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ : 027103400 โทรสาร : 023794245

28


8.2.2 โครงสร้ างการถือหุ้น

8.2.3 หน้ าที่และความรั บผิดชอบของผู้ประกอบกิจการโครงสร้ างพื้นฐาน หน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบโดยสรุ ป ของบี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 ตามที่ ร ะบุใ นโครงการจัด การกองทุน รวม มีดงั ต่อไปนี ้ การโอน บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 ตกลงโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ านีใ้ ห้ แก่ ผลประโยชน์ กองทุน รวมโดยคิ ดจากผลประกอบการราย 6 เดื อ น โดยช าระประมาณภายในเดือน มีนาคมและเดือนสิงหาคมของแต่ละปี ทัง้ นี ้ รายละเอียดจะต้ องเป็ นตามที่กาหนดใน สัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า กรณีสญ ั ญาขาย ในกรณี ที่สญ ั ญาขายไฟฟ้ ากับลูกค้ าภาคอุตสาหกรรมฉบับใดฉบับหนึ่งครบระยะเวลา ไฟฟ้าครบ การปฏิบัติตามสัญญาหรื อมีการบอกเลิก สัญ ญาก่อ นครบระยะเวลาที่กาหนดภายใน ระยะเวลาหรื อมี ระยะเวลาของสัญญา แล้ วแต่กรณี (ไม่รวมสัญญาของ กฟผ.) บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 การบอกเลิก จะแจ้ งให้ กองทุนรวมทราบเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร รวมถึงจะดาเนินการจัดหาผู้ซื ้อไฟฟ้ า สัญญาก่อนครบ รายใหม่เพื่อทดแทนผู้ซื ้อเดิมโดยไม่ชกั ช้ า ระยะเวลา ทัง้ นี ้ เมื่ อ บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 ได้ ด าเนิน การดังกล่าวข้ างต้ น แล้ ว ให้ บี . กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 เข้ าทาสัญญาขายไฟฟ้ าฯ กับผู้ซือ้ รายใหม่โดยต้ องมี เงื่ อนไขโดยรวมไม่ด้ อ ย ไปกว่าสัญญาขายไฟฟ้ าฯ เดิม โดยในกรณีที่สญ ั ญาขายไฟฟ้ าฯ กับผู้ซื ้อรายใหม่มีเงื่อนไข ที่ด้อยไปกว่าเดิม เงื่อนไขที่ด้อยไปกว่าเดิมนันต้ ้ องไม่มีนยั สาคัญและบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 จะชีแ้ จงให้ กองทุนรวมทราบถึงเหตุจาเป็ นในการทาสัญญามีเงื่อนไขที่ด้ อยไปกว่าเดิม ดังกล่าว ซึ่งเหตุจาเป็ นนันอาจมาจากภาวะตลาดและสภาพเศรษฐกิ ้ จ สังคมและการเมือง และบี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 ต้ อ งแจ้ ง ให้ ก องทุน รวมทราบถึง รายละเอีย ดของสัญญา ขายไฟฟ้ าฯ ดังกล่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษรภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ได้ เข้ าทา สัญญาซื ้อขายไฟฟ้าฯ

29


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

บัญชีสารองเพื่อ ชาระเป็ น ค่าธรรมเนียม ของกองทุนรวม

30

บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 และกองทุ น รวมตกลงว่ า บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 จะจ่ า ย ค่าธรรมเนียมดังต่อไปนี ้ให้ แก่กองทุนรวม อันเนื่องมาจากผลประโยชน์ที่กองทุนรวมได้ รับ ตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าโดยการชาระค่าธรรมเนี ยม ดังกล่าวจะอยูภ่ ายใต้ เงื่อนไขดังต่อไปนี ้ (ก) บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 และกองทุนรวมตกลงให้ กองทุนรวมหักเงิ นจานวน 100 ล้ าน บาท จากราคาซื ้อและโอนไปฝากไว้ ยงั บัญชีประเภทออมทรัพย์ชนิดมีดอกเบี ้ย ซึ่งเปิ ดโดย บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 ในวั น ที่ มี ก ารช าระราคาซื อ้ (“บั ญ ชี ส ารองเพื่ อ ช าระเป็ น ค่าธรรมเนียมของกองทุนรวม”) ทังนี ้ ้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 (แล้ วแต่กรณี) จะเป็ นผู้มี อ านาจลงนามบัญ ชี สารองเพื่ อช าระเป็ นค่า ธรรมเนี ย มของกองทุน รวม และมี สิท ธิ ใน ดอกเบี ้ยหรื อผลประโยชน์อื่นใดที่เกี่ยวข้ องกับบัญชีสารองเพื่อชาระเป็ นค่าธรรมเนียมของ กองทุน รวม ทัง้ นี ้ ให้ ถื อ ว่ า บัญ ชี ส ารองเพื่ อ ช าระเป็ นค่ า ธรรมเนี ย มของกองทุน รวม เป็ นส่วนหนึง่ ของหลักประกันของกองทุนรวม (ข) ทุกครัง้ ที่มีการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวมตาม รายละเอียดที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 จะนาเงินที่อยู่ในบัญชีสารองเพื่อชาระเป็ นค่าธรรมเนียมของกองทุนรวม ก าหนดจ านวนเท่ า กับ อัต ราภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะร้ อยละ 3.3 ที่ ก องทุน รวมจะต้ อ งจ่ า ย อันเนื่องมาจากผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าที่กองทุนรวมได้ รับตามสัญญา ฉบับนี ้ โดยชาระให้ แก่กองทุนรวมพร้ อมกับการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการ ไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวม โดยไม่ถือว่าเงินในส่วนนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของผลประโยชน์จากการ ประกอบกิจการไฟฟ้า (ค) ในระหว่างระยะเวลาของสัญญา หากปรากฏว่า ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการ ไฟฟ้ าที่กองทุนรวมได้ รับตามสัญญาฉบับนีไ้ ม่ถือเป็ นรายรั บที่ต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ คูส่ ญ ั ญาตกลงว่าบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ไม่มีหน้ าที่ตามข้ อนี ้ และหากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ เริ่ มปฏิบตั ิหน้ าที่ตามข้ อนี ้แล้ วให้ หน้ าที่ดงั กล่าวสิ ้นสุด ลงและบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 มีสิทธิ ได้ รับเงินจานวนที่คงเหลือในบัญชีสารองดังกล่าว พร้ อมทัง้ ดอกเบี ย้ และผลประโยชน์ ที่ เ กิ ด ขึ น้ ทัง้ หมด (ถ้ ามี ) ทัง้ นี ้ เพื่ อ ประโยชน์ ข อง กองทุนรวม กองทุนรวมและบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 จะต้ องร่วมกันดาเนินการอย่างใดๆ ที่ จาเป็ นเพื่อให้ ผลประโยชน์ที่กองทุนรวม ได้ รับตามสัญญาฉบับนี ้ได้ รับการยกเว้ นภาษีธรุ กิจ เฉพาะจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ องโดยไม่ลา่ ช้ า (ง) ในระหว่า งระยะเวลาของสัญ ญา หากเงิ น คงเหลือ ในบั ญ ชี สารองเพื่ อ ช าระเป็ น ค่าธรรมเนียมของกองทุนรวม มีจานวนไม่พอที่จะชาระให้ แก่กองทุนรวม ตามจานวนที่ ก าหนดในข้ อ (ข) ข้ างต้ น ให้ บริ ษั ท มี ห น้ าที่ ช าระค่ า ธรรมเนี ย มส่ ว นที่ ข าดดัง กล่า ว โดยไม่ถือเป็ นค่าใช้ จ่ายในการคานวณผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า


ข้ อตกลงเกี่ยวกับ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงรักษาลูกค้ าที่เป็ นลูกค้ าภาคอุตสาหกรรม ของ บี.กริ ม 1 และ การรักษาลูกค้ า บี.กริ ม 2 สัญญาขายไฟฟ้ าระหว่าง บี.กริ ม 1 และผู้ซือ้ และสัญญาขายไฟฟ้ าระหว่า ง บี.กริ ม 2 และผู้ซื ้อ รวมถึงลูกค้ าที่เป็ นคู่สญ ั ญาของสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าฯ ที่จดั ทาขึ น้ ใหม่ เพื่อไม่ให้ มีผลในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อความสามารถในการโอนผลประโยชน์จากการ ประกอบกิจการไฟฟ้าให้ แก่กองทุนรวมภายใต้ สญ ั ญาฉบับนี ้ ในกรณีที่กาลังการผลิตไฟฟ้ ารวมยังมีเหลือ เช่น สัญญาขายไฟฟ้ าฯฉบับใดมีการบอกเลิก สัญญาก่อนวันครบกาหนดระยะเวลาการขายไฟฟ้ าตามที่ระบุ ในหัวข้ อ 4.5.1.1.1 สัญญา ขายไฟฟ้ าระหว่าง บี.กริ ม 1 และผู้ซื ้อ และหัวข้ อ 4.5.1.2.1 สัญญาขายไฟฟ้ าระหว่าง บี. กริ ม 2 และผู้ซื ้อ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงใช้ ความพยายามในการจัดหาลูกค้ าซึง่ เป็ น ลูกค้ าภาคอุตสาหกรรม เพื่อเข้ าทาสัญญาซื ้อขายไฟฟ้ าฯ ที่จดั ทาขึ ้นใหม่กบั บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตามกาลังการผลิตไฟฟ้ ารวมทังนี ้ ้ กองทุนอาจกาหนดกรณียกเว้ นของข้ อตกลงนี ้ ไว้ ในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 รายงาน บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงส่งมอบเอกสารและรายงานดังต่อไปนี ้ให้ แก่กองทุนรวม (ก) ส่งงบการเงินรายไตรมาสของ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ซึง่ สอบทานโดยผู้สอบบัญชีแล้ ว ทังนี ้ ้ ภายใน 45 วันนับแต่วนั สิ ้นไตรมาส (ข) ส่งงบการเงินประจาปี ของ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ซึ่งตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีแล้ ว ภายใน 60 วัน นับแต่วนั สิ ้นปี (ค) ประมาณการรายรับและรายจ่ายของโครงการ และประมาณการค่าใช้ จ่ายส่วนทุน (Capital Expenditure Budget) ของโครงการ สาหรับรอบปี บัญชีถดั ไป ทังนี ้ ้ ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน ของทุกปี (“ประมาณการรายรับรายจ่าย”) กองทุนรวมตกลงจะพิจารณาอนุมัติเอกสารในข้ อ (ค) ดังกล่าวให้ แล้ วเสร็ จภายใน 30 (สามสิบ) วันนับจากวันที่กองทุนรวมได้ รับมอบเอกสารดังกล่าวจากบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ถ้ า กองทุน รวมไม่แ จ้ งผลการอนุมัติภายในระยะเวลาดังกล่า ว ให้ ถื อ ว่า การไม่แ จ้ งผล การอนุมัติ นัน้ เป็ นการอนุมัติ เ อกสารในข้ อ (ค) ของกองทุน รวม ตามที่ บี . กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ ยื่นเสนอทุกประการ หากกองทุนรวมมีความเห็นว่าสมควรที่จะให้ มีการแก้ ไขข้ อมูลส่วนใดส่วนหนึ่งในเอกสาร ในข้ อ (ค) ดังกล่าว ให้ กองทุนรวมแจ้ งให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ทราบเป็ นลายลักษณ์ อักษรพร้ อมรายละเอียดชัดเจน และให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ดาเนินการแก้ ไขตามที่ กองทุนรวม บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงร่วมกัน ทังนี ้ ้ หากกองทุนรวม บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ไม่สามารถตกลงรายละเอียดทางการเงิน ที่ปรากฏในเอกสารในข้ อ (ค) ดังกล่าว กองทุนรวม บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงที่จะหา บุคคลภายนอกซึ่งมีความรู้ ความเชี่ ยวชาญในเรื่ องการประกอบธุรกิ จกิ จการโรงไฟฟ้ า มาพิจารณาตัดสินโดยจะต้ องดาเนินการให้ แล้ วเสร็ จภายในวันที่ 15 มกราคม ของรอบปี บัญชีถัดจากปี ที่กองทุนรวมได้ รับรายละเอียดทางการเงินที่ปรากฏในเอกสารในข้ อ (ค) ดังกล่าวข้ างต้ น

31


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ประมาณการรายรับรายจ่าย บี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 ตกลงด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท โดยมี ค่ า ใช้ จ่ า ยของโครงการ ( Operating Expense) แ ล ะ / ห รื อ ร า ย จ่ า ย ส่ ว น ทุ น ( Capital Expenditure) (ที่นอกเหนือจากรายจ่ายส่วนทุนที่เกี่ ยวกับการบารุ งรั กษาเครื่ องจักรต่างๆ ที่เกี่ ยวกับ กิจการผลิตไฟฟ้ า (ตามที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า) จากกระแสเงินสดซึ่งเป็ นรายได้ ของโรงไฟฟ้ า ตามประมาณการรายรับรายจ่ายที่กองทุน รวม พิจารณาอนุมตั ิตามเงื่อนไขที่กาหนดภายใต้ สญ ั ญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบ กิจการไฟฟ้า (“ประมาณการรายรับรายจ่ายที่กองทุนรวมอนุมตั ิ”) ในกรณีที่บี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 มีจานวนรายจ่ายของโรงไฟฟ้ าสูงกว่าประมาณการรายรับ รายจ่ายที่กองทุนรวมอนุมตั ิ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 (แล้ วแต่กรณี) ตกลงจะดาเนินการตาม เงื่อนไขดังต่อไปนี ้ (ก) ในกรณีค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเกี่ยวข้ องกับต้ นทุนก๊ าซธรรมชาติที่บี .กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ซื ้อจาก ปตท. ภายใต้ สญ ั ญาซื ้อขายก๊ าซธรรมชาติ ฉบับลงวันที่ 1 มกราคม 2542 และฉบับ ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2543 ตามลาดับ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 สามารถชาระค่าใช้ จ่าย ดังกล่าวได้ ตามจานวนที่เกิดขึ ้นจริ ง โดยจะต้ องแจ้ งให้ กองทุนรวม ทราบถึงรายละเอียด ดังกล่าวทันที (ข) ในกรณีการซื ้อขายไฟฟ้ า และ/หรื อไอน ้า ระหว่างบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 กับบริ ษัทใน เครื อ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 สามารถกาหนดราคาซื ้อหรื อราคาขาย แล้ วแต่กรณี ได้ ใน จานวนเท่ากับราคาขายไฟฟ้ าและ/หรื อไอน ้าเฉลีย่ ทัง้ นี ้ ความหมายของ “ราคาขายไฟฟ้ าและ/หรื อไอนา้ เฉลี่ย ” เป็ นไปตามที่ตกลงกันใน สัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า (ค) ในกรณี ที่ค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเกิดขึ ้นนอกเหนือจากรายการที่กาหนดในข้ อ (ก) และ ข้ อ (ข) ข้ างต้ น บี .กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 สามารถชาระค่าใช้ จ่ายได้ ตามที่ระบุในประมาณ การรายรั บ รายจ่ายที่ กองทุนรวมอนุมั ติ รวมกับ จ านวนที่ ไ ม่เ กิ น ร้ อยละ 5 ของจ านวน ดังกล่าวทังนี ้ ้ เว้ นแต่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะได้ รับความยินยอมล่วงหน้ าจากกองทุนรวม เป็ นลายลักษณ์อกั ษร

32


หลักประกัน

สิทธิการเลิก สัญญาของ กองทุนรวม

บริ ษั ท ตกลงจัด ให้ มี ห ลัก ประกัน ดัง ต่อ ไปนี ้ เพื่ อ เป็ นประกัน การช าระหนี ท้ ัง้ ปวงทัง้ ใน ปั จจุบนั และในอนาคตที่บริ ษัทมีอยูก่ บั กองทุนรวม (ก) จานองลาดับที่สองสาหรั บโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ/หรื อโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 2 รวมถึงที่ดินซึง่ เป็ นที่ตงของโรงไฟฟ ั้ ้ าดังกล่าว และเครื่ องจักรที่เกี่ยวข้ องของโรงไฟฟ้ า (ข) จานาและโอนสิทธิเรี ยกร้ องแบบมีเงื่อนไขในบัญชีสารองเพื่อชาระเป็ นค่าธรรมเนียม ของกองทุน รวม (หากหน้ า ที่ข องบริ ษัท เกี่ ยวกับ การด ารงบัญ ชี ดังกล่า วตามที่ กาหนด ในสัญญา ยังไม่สิ ้นสุดลง) (ค) จานาและโอนสิทธิเรี ยกร้ องแบบมีเงื่อนไขในบัญชีลกู หนี ้สาหรับเงินผลประโยชน์ของ กองทุนรวม (ง) ด าเนิ น การให้ ก องทุน รวม เป็ นผู้รั บ ประโยชน์ ร่ ว มในกรมธรรม์ ป ระกัน ภัย รวมถึ ง ประกัน ภัย ความเสี่ ย งทุก ชนิ ด และประกัน ภัย ธุ ร กิ จ หยุด ชะงัก ทัง้ นี ้ การเข้ า เป็ นผู้รั บ ประโยชน์ร่วมในกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวและสิทธิในการรับเงินค่าสินไหมทดแทนให้ เป็ นไปตามข้ อตกลงระหว่างบี.กริ ม 1 บี.กริ ม 2 กองทุนรวม และ/หรื อ เจ้ าหนีเ้ งินกู้ของ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 (หากมี) (ก) กรณีการผิดสัญญาที่ทาให้ กองทุนรวมมีสิทธิบอกเลิก กองทุนรวมมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีตอ่ ไปนี ้ 1. บี.กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2 ไม่โอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุน รวมในวันครบกาหนดที่ระบุในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าโดย ไม่มีเหตุอนั ควร 2. บี.กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2 จงใจหยุดประกอบกิจการไฟฟ้ าถาวรโดยไม่มีเหตุอนั ควร เว้ นแต่ กรณี ที่ บี . กริ ม 1 และ บี . กริ ม 2 จ าเป็ นต้ อ งหยุดประกอบกิ จการไฟฟ้ าอัน เนื่องมาจาก ทรัพย์สนิ เสียหาย หรื อทรัพย์สนิ ถูกเวนคืนหรื อบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 หยุดประกอบกิจการ ไฟฟ้ าชั่ว คราวเพื่อ การบ ารุ งรั กษา หรื อ หยุด ประกอบกิ จการไฟฟ้ าเนื่อ งจากคาสัง่ ของ หน่วยงานรัฐ 3. บี.กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2 ถูกศาลสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ ล้ มละลายหรื อฟื น้ ฟูกิจการ เมื่อมีการ บอกเลิกสัญญา บี.กริ ม 1 และ/หรื อบี.กริ ม 2 (แล้ วแต่กรณี) จะต้ องคืนเงินค่าชดเชยความ เสียหายให้ แก่กองทุนรวมตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการ ประกอบกิจการไฟฟ้า (ข) กรณีการผิดสัญญาที่กองทุนรวมไม่ มีสิทธิบอกเลิก หากเกิดกรณีใดกรณีหนึง่ ดังต่อไปนี ้ 1. บี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ไม่ปฏิบตั ิตามข้ อตกลงกระทาการของบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 หรื อไม่ยดึ ถือตามข้ อผูกพัน ข้ อปฏิบตั ิ หรื อข้ อละเว้ นใดๆ ที่เป็ นสาระสาคัญตามที่มีอยู่ตาม สัญ ญา (นอกเหนื อ จากเหตุที่ ร ะบุ ใ นข้ อ (ก)) และกองทุ น รวมได้ รั บ ความเสี ย หาย อย่างมีนยั สาคัญ 2. คารับรองของบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ที่บี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ให้ ไว้ แก่กองทุนรวมตาม สัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า หรื อตามเอกสารหลักประกันไม่วา่

33


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ทัง้ หมดหรื อบางส่วน เป็ นคารั บรองที่ไม่เป็ นความจริ ง ไม่ถูกต้ อง หรื อชวนให้ เข้ าใจผิด ในสาระสาคัญใดๆ เมื่ อ เกิ ด เหตุก ารณ์ ต ามที่ ร ะบุไ ว้ ใ นข้ อ (ข) แล้ ว กองทุน รวมต้ อ งแจ้ ง ให้ บี . กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2 ทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรถึงการผิดสัญญาพร้ อมรายละเอียดที่ชดั เจนเกี่ยวกับ การผิดสัญญาของบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 และให้ โอกาสบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ดาเนินการ แก้ ไขการผิดสัญญาดังกล่าวเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ได้ รั บ หนังสือบอกกล่าวจากกองทุนรวม โดยหากบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ไม่ได้ ดาเนินการแก้ ไข การผิ ด สัญ ญาภายในระยะเวลาดังกล่าว กองทุน รวมจึงมีสิท ธิ ฟ้องร้ องบี . กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2 ให้ ปฏิบตั ิการชาระหนี ้โดยเฉพาะเจาะจงตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการ ประกอบกิ จการไฟฟ้ า และ/หรื อเรี ยกร้ องค่าเสียหายตามกฎหมาย รวมถึงกองทุนรวม มีสิทธิเรี ยกให้ บี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 ชาระดอกเบี ้ยตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ในสัญญา โอนผลประโยชน์ จ ากการประกอบกิ จการไฟฟ้ า ทัง้ นี ้ กองทุน รวม ตกลงจะไม่ใ ช้ สิทธิ บอกเลิก ยกเลิก หรื อเพิกถอนสัญญาฉบับนี ้แต่ประการใด ทรัพย์สนิ เสียหาย

34

(ก) โดยให้ “ความเสียหายทังหมดหรื ้ ออย่างมีนยั สาคัญ ” หมายถึง ความเสียหายที่เกิดขึ ้นแล้ ว และ ผู้ประเมินที่แต่งตังโดยบริ ้ ษัทประกันภัยที่เ กี่ยวข้ องได้ ประเมินความเสียหายแล้ วและให้ เจ้ าของทรัพย์สินดาเนินการรื อ้ ถอน โดยไม่สามารถดาเนินการขออนุญาตซ่อมแซมหรื อ ปรับปรุ งเพื่อให้ ทรัพย์สินมีสภาพหรื อลักษณะการใช้ ประโยชน์เช่นเดิม หรื อ ความเสียหาย ที่เกิดขึ ้นแล้ ว แม้ หากดาเนินการซ่อมแซมทรัพย์สินดังกล่าว กาลังการผลิตไฟฟ้ าภายหลัง การซ่อมแซมยังคงลดลงตังแต่ ้ กึ่งหนึง่ ของกาลังการผลิตไฟฟ้ าก่อนเกิดความเสียหาย “ความเสียหายแต่เพียงบางส่วน” หมายถึงความเสียหายที่เกิ ดขึน้ ต่อทรั พย์ สินซึ่ง ไม่มี ลักษณะเป็ นความเสียหายทังหมดหรื ้ ออย่างมีนยั สาคัญ “ทรัพย์สิน” หมายถึงโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ/หรื อโรงไฟฟ้ าของบี.กริ ม 2 รวมถึงวัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ ในการดาเนินกิจการโรงไฟฟ้ าดังกล่าว (ข) ในกรณีที่ทรัพย์สินได้ รับความเสียหายแต่เพียงบางส่วน ไม่ว่าด้ วยเหตุใดๆ โดยยังคง สามารถใช้ ทรั พย์สินบางส่วนเพื่อประโยชน์ในการดาเนินธุรกิจตามสัญญาขายไฟฟ้ าฯ ต่อ ไปได้ บี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 มี ห น้ า ที่ ต้ องซ่อ มแซมทรั พย์ สิน โดยน าเงิ นค่าสินไหม ทดแทนจากการประกันภัยที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับมาใช้ ในการดาเนินการซ่อมแซม ทรั พย์ สินดังกล่าว ทัง้ นี ้ การบริ หารจัดการเงินค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวให้ เป็ นไปตาม เงื่อนไขที่กาหนดในสัญญาระหว่างเจ้ าหนี ้และกองทุนรวม และ/หรื อข้ อตกลงอื่นๆ ระหว่าง บี.กริ ม 1 บี.กริ ม 2 กองทุนรวม และ/หรื อ เจ้ าหนี ้เงินกู้ของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 (หากมี) (ค) ในกรณีที่ทรัพย์สินได้ รับความเสียหายทังหมดหรื ้ ออย่างมีนยั สาคัญไม่วา่ ด้ วยเหตุใดๆ และ


ทรัพย์สนิ ถูก เวนคืน

1. กรณี ที่ทรั พย์สินที่ได้ รับความเสียหายทังหมดหรื ้ ออย่างมีนัยสาคัญเป็ นของบี.กริ ม 1 คู่สญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายตกลงว่า บี.กริ ม 1 จะคืนราคาซื ้อคงเหลือของ บี.กริ ม 1 ตามอัตรา ที่ ก าหนดในสัญ ญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ าให้ แ ก่ก องทุนรวม ทังนี ้ ้ ไม่ว่าในกรณีใดๆ จานวนที่กองทุนรวม จะได้ คืนดังกล่าวรวมแล้ วจะมีจานวนไม่เกิน เงินค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัยทังหมดที ้ ่บี.กริ ม 1 ได้ รับภายหลังจากหักชาระ หนี ้สินเชื่อค้ างชาระแก่เจ้ าหนี ้สินเชื่อ (หากมี ) โดยกองทุนรวมจะได้ รับคืนราคาซื ้อดังกล่าว ตามรายละเอียดที่กาหนดในสัญญาระหว่างเจ้ าหนี ้และกองทุนรวม และ/หรื อข้ อตกลงอื่นๆ ระหว่างบี.กริ ม 1 บี.กริ ม 2 กองทุนรวม และ/หรื อ เจ้ าหนี ้เงินกู้ของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 (หากมี) เมื่อบี.กริ ม 1 ได้ ชาระราคาซื ้อดังกล่าวตามเงื่อนไขที่ระบุข้างต้ นแก่กองทุนรวมแล้ ว ให้ ถือ ว่าบี.กริ ม 1 ไม่มีหน้ าที่ภายใต้ สญ ั ญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าต่อไป 2. กรณี ที่ทรั พย์สินที่ได้ รับความเสียหายทังหมดหรื ้ ออย่างมีนัยสาคัญเป็ นของบี.กริ ม 2 คู่สญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายตกลงว่า บี.กริ ม 2 จะคืนราคาซื ้อคงเหลือของ บี.กริ ม 2 ตามอัตราที่ กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวม ทังนี ้ ้ ไม่ ว่ า ในกรณี ใ ดๆ จ านวนที่ ก องทุ น รวมจะได้ คื น ดัง กล่ า วรวมแล้ ว จะมี จ านวนไม่ เ กิ น เงินค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัยทังหมดที ้ ่บี.กริ ม 2 ได้ รับ ภายหลังจากหักชาระหนี ้ สินเชื่อค้ างชาระแก่เจ้ าหนี ้สินเชื่อ (หากมี) โดยกองทุนรวมจะได้ รับคืนราคาซื ้อดังกล่าวตาม รายละเอียดที่กาหนดในสัญญาระหว่างเจ้ าหนี ้และกองทุนรวม และ/หรื อข้ อตกลงอื่นๆ ระหว่างบี.กริ ม 1 บี.กริ ม 2 กองทุนรวม และ/หรื อ เจ้ าหนี ้เงินกู้ของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 (หากมี) เมื่ อ บี . กริ ม 2 ได้ ช าระราคาซื อ้ ดัง กล่า วตามเงื่ อ นไขที่ ร ะบุข้ า งต้ น แก่ ก องทุน รวมแล้ ว ให้ ถือว่าบี.กริ ม 2 ไม่มีหน้ าที่ภายใต้ สญ ั ญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ต่อไป (ก) การเวนคืนไม่มีนยั สาคัญต่อการประกอบกิจการไฟฟ้ า ในกรณีที่ทรัพย์สนิ ถูกเวนคืนโดยหน่วยงานรัฐ และบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 และกองทุนรวม เห็นว่าการเวนคืนดังกล่าวไม่มีนยั สาคัญต่อการประกอบกิจการไฟฟ้ าของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ภายใต้ สญ ั ญาขายไฟฟ้ าฯ และบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ยังสามารถปฏิบตั ิตาม สัญญาขายไฟฟ้ าฯ ต่อไปได้ และกาลังการผลิตไฟฟ้ าไม่ลดลงอย่างมีนยั สาคัญจากกาลัง การผลิ ต ไฟฟ้ าก่ อ นเกิ ด การเวนคื น คู่ ส ัญ ญาทั ง้ สองฝ่ ายตกลงว่ า สิ ท ธิ แ ละหน้ าที่ ของคู่สญ ั ญาตามสัญญาฉบับนี ้ยังคงมีผลต่อไป และบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 มีสิทธิได้ รับ เงินทดแทนการเวนคืนที่ได้ รับจากหน่วยงานรัฐ (ข) การเวนคืนทรั พย์สินของบี.กริ ม 1 หรื อบี.กริ ม 2 มีนยั สาคัญต่อการประกอบกิจการ ไฟฟ้า ในกรณีที่ทรัพย์สนิ ถูกเวนคืนโดยหน่วยงานรัฐ และบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 และกองทุนรวม เห็นว่าการเวนคืนดังกล่าวมีนยั สาคัญต่อการประกอบกิจการไฟฟ้ าของ บี.กริ ม 1 และ

35


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

บี.กริ ม 2 ภายใต้ สญ ั ญาขายไฟฟ้ าฯ หรื อทาให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ไม่สามารถปฎิบตั ิ ตามสัญญาขายไฟฟ้ าฯ ต่อไปได้ และกาลังการผลิตไฟฟ้ าลดลงอย่างมีนยั สาคัญจากกาลัง การผลิตไฟฟ้ าก่อนเกิดการเวนคืน คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายตกลงว่า 1. กรณี ที่ทรั พย์ สินถูกเวนคืนเป็ นของบี.กริ ม 1 คู่สญ ั ญาทัง้ สองฝ่ ายตกลงว่า บี.กริ ม 1 จะคืนราคาซื ้อคงเหลือของ บี.กริ ม 1 ตามอัตราที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จาก การประกอบกิจการไฟฟ้ าให้ แก่กองทุนรวม ทังนี ้ ้ ไม่ว่าในกรณีใดๆ จานวนที่กองทุนรวม จะได้ คืนดังกล่าวรวมแล้ วจะมีจานวนไม่เกินเงินทดแทนการเวนคืนทังหมดที ้ ่บี.กริ ม 1 ได้ รับ จากหน่วยงานรั ฐ ภายหลังจากหักชาระหนีส้ ินเชื่ อค้ างชาระแก่เจ้ า หนี ส้ ินเชื่ อ (หากมี) โดยบี.กริ ม 1 จะนาส่งเงินดังกล่าวภายในเวลา 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ได้ รับเงิน ทดแทนจากหน่วยงานรัฐ ทังนี ้ ้ เมื่อ บี.กริ ม 1 ได้ สง่ มอบเงินทดแทนการเวนคืนตามเงื่อนไข ที่ ร ะบุ ข้ างต้ นแก่ ก องทุน รวมแล้ ว ให้ ถื อ ว่ า บี . กริ ม 1 ไม่ มี ห น้ าที่ ภ ายใต้ สัญ ญาโอน ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าต่อไป 2. กรณี ที่ ท รั พ ย์ สินถูกเวนคืน เป็ นของบี . กริ ม 2 คู่ส ัญ ญาทัง้ สองฝ่ ายตกลงว่าบี . กริ ม 2 จะคื น ราคาซื อ้ คงเหลือ ของ บี . กริ ม 2 ตามอัต ราที่ ก าหนดในสัญ ญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ าให้ แก่ ก องทุ น รวม ทัง้ นี ้ ไม่ ว่ า ในกรณี ใ ดๆ จ านวนที่ กองทุนรวม จะได้ คืนดังกล่าวรวมแล้ วจะมีจานวนไม่เกินเงินทดแทนการเวนคืนทังหมดที ้ ่ ได้ รับจากหน่วยงานรัฐ ภายหลังจากหักชาระหนี ้สินเชื่อค้ างชาระแก่เจ้ าหนี ส้ ินเชื่อ (หากมี) โดยบี.กริ ม 2 จะนาส่งเงิ นดังกล่าวภายในเวลา 30 (สามสิบ) วันนับจากวันที่ได้ รับเงิ น ทดแทนจากหน่วยงานรัฐ ทังนี ้ ้ เมื่อบี.กริ ม 2 ได้ สง่ มอบเงินทดแทนการเวนคืนตามเงื่อนไข ที่ ร ะบุ ข้ างต้ นแก่ ก องทุ น รวมแล้ ว ให้ ถื อ ว่ า บี . กริ ม 2 ไม่ มี ห น้ าที่ ภ ายใต้ สัญ ญาโอน ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าต่อไป กองทุนรวมตกลงว่ากองทุนรวมไม่มีสิทธิ บอกเลิกสัญญาฉบับนี ้หรื อเรี ยกค่าเสียหายใดๆ จากบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 โดยอาศัยเหตุตามข้ อ (ข) นี ้ (ค) การเวนคืนทรัพย์สินของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีนยั สาคัญต่อการประกอบกิจการ ไฟฟ้า ในกรณีที่ทรัพย์สินถูกเวนคืนเป็ นของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 และกองทุน รวมเห็ น ว่า การเวนคื น ดัง กล่า วมี นัย ส าคัญ ต่อ การประกอบกิ จ การไฟฟ้ า ของบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ภายใต้ สญ ั ญาขายไฟฟ้ าฯ หรื อทาให้ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ ส ามารถปฎิ บัติ ต ามสัญ ญาขายไฟฟ้ าฯ ต่ อ ไปได้ และก าลัง การผลิ ต ไฟฟ้ าลดลง อย่างมีนยั สาคัญจากกาลังการผลิตไฟฟ้ าก่อนเกิดการเวนคืน คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายตกลงว่า บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะชาระคืนราคาซื ้อคงเหลือของ บี.กริ ม 1 และราคาซื ้อคงเหลือของ บี.กริ ม 2 ตามอัตราที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิ จการไฟฟ้ า ให้ แก่กองทุนรวม ทังนี ้ ้ จานวนที่กองทุนรวม จะได้ คืนดังกล่าวรวมแล้ วจะมีจานวนไม่เกิน เงินทดแทนการเวนคืนทังหมดที ้ ่ได้ รับจากหน่วยงานรัฐ ภายหลังจากหักชาระหนี ้สินเชื่อ ค้ างชาระแก่เจ้ าหนี ้สินเชื่อ (หากมี) โดยบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 นาส่งเงินดังกล่าวภายใน

36


เวลา 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ได้ รับเงินทดแทนจากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้ อง ในการนี ้ เมื่อบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ส่งมอบเงิ นทดแทนการเวนคืนตามเงื่ อนไขที่ระบุข้างต้ น แก่กองทุนรวมแล้ ว ให้ ถือว่าสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าเป็ นอั น เลิกกันและคูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายไม่มีสทิ ธิเรี ยกค่าเสียหายต่อกันโดยอาศัยเหตุตามข้ อ (ค) นี ้ ก ร ณี บี .ก ริ ม 1 เมื่อบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับหนังสือบอกเลิกสัญญาของกฟผ. ฉบับใดฉบับหนึ่งจาก และ/หรื อ บี . กริ ม กฟผ. เพื่อใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขที่กาหนดในสัญญาของ กฟผ. ซึง่ กฟผ. ได้ ให้ 2 มี ข้ อ พิ พาทกับ โอกาสบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 แก้ ไขเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 90 (เก้ าสิบ) วันแล้ ว (“หนังสือ กฟผ. บอกเลิกของกฟผ.”) บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะแจ้ งให้ กองทุนรวมทราบเป็ นลายลักษณ์ อัก ษร และกองทุน รวมจะให้ โ อกาสบี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 ด าเนิ น การแก้ ไ ขเป็ นเวลา ไม่น้อยกว่า 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่ได้ รับหนังสือบอกกล่าวฯจากกองทุนรวม หรื อ ระยะเวลาตามที่คสู่ ญ ั ญาตกลงกัน (“ระยะเวลาแก้ ไขการบอกเลิกสัญญาของ กฟผ.”) โดย หากบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่สามารถดาเนินการแก้ ไขภายในเวลาดังกล่าว คู่สญ ั ญาทัง้ สองฝ่ ายตกลงกันดังต่อไปนี ้ (ก) กองทุนรวมมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ทนั ทีภายหลังจากระยะเวลาแก้ ไขการบอกเลิก สัญ ญาของ กฟผ. ได้ สิ น้ สุด ลง โดยให้ ถื อ เป็ นเหตุเ ลิ ก สัญ ญาโดยไม่ใ ช่ ค วามผิ ด ของ บี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 ในการนี ้ บี . กริ ม 1 และบี . กริ ม 2 จะคื น ราคาซื อ้ คงเหลือของ บี.กริ ม 1 และราคาซื ้อคงเหลือของบี.กริ ม 2 ตามอัตราที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์ จากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ าให้ แ ก่ก องทุน รวม ภายใน 15 (สิบ ห้ า ) วัน นับ จากวันที่ บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับหนังสือแจ้ งความประสงค์การใช้ สิทธิ บอกเลิกสัญญาจาก กองทุนรวมหรื อนับจากวันที่ กฟผ. ไม่ชาระค่าซื ้อไฟฟ้ าให้ แก่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ว่า ทังหมดหรื ้ อบางส่วน อันเนื่องมาจากกรณีที่ กฟผ.ใช้ สิทธิ บอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขที่ กาหนดในสัญญาของ กฟผ. แล้ วแต่กรณีใดจะเกิดขึ ้นทีหลัง ทังนี ้ ้ เมื่อบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ส่งมอบเงินดังกล่าวแก่กองทุน รวมแล้ ว ให้ ถือสัญญา โอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าเป็ นอันเลิกกันและคู่สญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายไม่มี สิทธิเรี ยกค่าเสียหายต่อกันโดยอาศัยเหตุตามข้ อ (ก) นี ้ (ข) ในกรณีที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ได้ รับหนังสือแจ้ งความประสงค์การใช้ สทิ ธิบอกเลิก สัญญาตามข้ อ (ก) ข้ างต้ นจากกองทุนรวมภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับจากระยะเวลาแก้ ไข การบอกเลิกสัญญาของ กฟผ. ได้ สิ ้นสุดลง ให้ ถือว่ากองทุนรวมประสงค์ จะรอผลการ ดาเนินกระบวนการระงับข้ อพิพาทเกี่ยวกับการใช้ สิทธิการบอกเลิกสัญญาของ กฟผ. ทังนี ้ ้ เมื่อกระบวนการระงับข้ อพิพาทได้ มีคาชี ้ขาดเป็ นที่สิ ้นสุดแล้ ว ปรากฏว่า 1. บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ ยอมรับและตกลงจะปฏิบตั ิตามหนังสือบอกเลิกของ กฟผ. บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 จะต้ องคืนเงินค่าชดเชยความเสียหายให้ แก่กองทุนรวม ตามอัตราที่ ก าหนดในสัญ ญาโอนผลประโยชน์ จ ากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ าให้ แ ก่ ก องทุน รวม ภายใน 30 (สามสิบ) วันนับจากวันที่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ได้ รับหนังสือบอกเลิกสัญญา จากกองทุน รวม โดยการค านวณเงิ น ค่า ชดเชยความเสียหายดังกล่าวให้ นับจากวันที่

37


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

คาเสนอเพื่อขอ เลิกสัญญาโดย บี.กริ ม 1 หรื อ บี.กริ ม 2

38

บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ รับหนังสือบอกเลิกของกฟผ. หรื อนับจากวันที่ กฟผ. ไม่ชาระ ค่าซื ้อไฟฟ้ าให้ แก่บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ว่าทังหมดหรื ้ อบางส่วน อันเนื่องมาจากกรณีที่ กฟผ. ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขที่กาหนดในสัญญาของ กฟผ. แล้ วแต่กรณีใดจะ เกิดขึ ้นทีหลัง หรื อ 2. บี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ไม่ต้องปฏิบตั ิตามหนังสือบอกเลิกของ กฟผ. ในกรณีดงั กล่าวให้ สิทธิ และหน้ าที่ของคู่สญ ั ญาตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ยังคงมีผลต่อไป และหากคาชี ้ขาดของกระบวนการระงับข้ อพิพาทกาหนดให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ รับเงินค่าสินไหมทดแทนใดๆ จาก กฟผ. ให้ ถือว่าบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 มีสทิ ธิ แต่เพียงผู้เดียวในเงินค่าสินไหมทดแทนดังกล่าว เมื่อมีเหตุอนั สมควรหรื อเมื่อมีข้อเท็จจริ งทางสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 อาจทาคาเสนอเพื่อขอเลิกสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า แก่ ก องทุน รวม เพื่ อ ให้ ก องทุน รวมพิ จารณาเห็น ชอบโดยคานึงถึ งประโยชน์ สูงสุดของ กองทุน รวมและสภาพธุร กิ จที่ เ ปลี่ยนแปลงไปดังกล่าว ในการนี ้ กองทุน รวมตกลงจะ พิจารณาและเจรจาร่วมกับบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 บนพื ้นฐานการเจรจาและการหาข้ อสรุป ร่วมกันโดยสุจริ ต ทังนี ้ ้ ในระหว่างการเจรจาของคูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ าย คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ าย ยังคงต้ องปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนตามสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ า ต่อไปทุกประการ ในกรณีที่กองทุนรวม (โดยมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ) เห็นชอบคาเสนอของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ดังกล่าว กองทุนรวมจะแจ้ งให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ทราบเป็ นลายลักษณ์ อักษรทันที บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตกลงคืนเงินราคาซื ้อในส่วนที่เหลือตามที่คู่สญ ั ญา ทังสองฝ่ ้ ายจะตกลงกัน ให้ แก่กองทุนรวม ภายใน 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ รับหนังสือแจ้ งความเห็นชอบจากกองทุนรวม โดยการคานวณราคาซื ้อ ในส่ ว นที่ เ หลื อ ให้ นับ จากวัน ที่ บ ริ ษั ท ได้ รั บ หนัง สื อ แจ้ งความเห็ น ชอบดัง กล่ า วจาก กองทุนรวม ในกรณีที่กองทุนรวม (โดยมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน) ไม่เห็นชอบคาเสนอของบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ดังกล่าว กองทุนรวมจะแจ้ งให้ บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ทราบเป็ นลายลักษณ์ อักษรทันที โดยไม่ถือว่ากองทุนรวมปฏิบตั ิผิดสัญญาหรื อทาให้ บริ ษัทได้ รับความเสียหาย รวมถึง ไม่ถือเป็ นกรณีที่กองทุนรวมใช้ สทิ ธิโดยไม่สจุ ริ ตแต่ประการใด ทังนี ้ ้ เมื่อบี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ได้ ส่งมอบราคาซื ้อในส่วนที่เหลือข้ างต้ นแก่กองทุนรวม แล้ ว ให้ ถือว่าสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าเป็ นอันเลิกกัน และ คู่สญ ั ญาทัง้ สองฝ่ ายไม่มีสิทธิ เรี ยกค่าเสียหายต่อกัน นอกจากนี ้ กองทุนรวมตกลงปลด หลักประกันทังหมดของบริ ้ ษัทตามรายละเอียดที่กาหนดในสัญญาโอนผลประโยชน์จาก การประกอบกิ จ การไฟฟ้ า รวมถึ ง ด าเนิ น การจดทะเบี ย นที่ เ กี่ ยวข้ อ ง ภายในเวลา 30 (สามสิบ) วัน นับจากวันที่สญ ั ญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ ามีผลเป็ น การเลิกกัน


ข้ อตกลงห้ ามก่อ บี.กริ ม 1 และ/หรื อ บี.กริ ม 2 ตกลงว่าจะไม่ก่อหนีใ้ ดๆ เพิ่มเติม เว้ นแต่ได้ รับความยินยอม หนี ้เพิ่ม ล่วงหน้ าเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุนรวม ซึ่งไม่รวมถึงการก่อหนี ้ในกรณีการดาเนิน ธุรกิจทางการค้ าตามปกติของบี.กริ ม 1 และ/หรื อ บี.กริ ม 2 หรื อหนี ้ตามสัญญาเกี่ยวกับ สินเชื่อของเจ้ าหนี ้สถาบันการเงิน 8.3 ผู้ดูแลผลประโยชน์ 8.3.1 ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ชื่อ : ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน) ที่อยู่ : 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : 022991000 8.3.2 โครงสร้ างผู้ถอื หุ้น ลาดับ

ผู้ถอื หน่ วย

จานวน (หน่ วย)

ร้ อยละ

1

กระทรวงการคลัง

11,364,282,005

25.92%

2

ING BANK N.V

10,970,893,359

25.02%

3

บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด

5,043,971,032

11.50%

4

SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED

920,694,178

2.10%

5

นางสมพร จึงรุ่งเรื องกิจ

560,000,000

1.28%

6

กองทัพบก

546,489,860

1.25%

7

THE BANK OF NEW YORK MELLON

460,785,098

1.05%

8

STATE STREET EUROPE LIMITED

440,049,446

1.00%

9

กองทุนเปิ ด บัวหลวงหุ้นระยะยาว

397,110,200

0.91%

10

กองทุนสารองเลี ้ยงชีพ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง ประเทศไทย ซึง่ จดทะเบียนแล้ ว

328,328,100

0.75%

11

ผู้ถือหุ้นอื่น

12,819,289,832

29.23%

43,851,893,110

100.00%

รวม หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที ่ 30 พฤศจิ กายน 2561

8.3.3 หน้ าที่และความรั บผิดชอบ ผู้ดแู ลผลประโยชน์มีหน้ าที่ และความรับผิดชอบตามที่ระบุในโครงการจัดการกองทุนรวม ดังต่อไปนี ้ (1) ตรวจสอบและถ่วงดุลการบริ หารจัดการกองทุนรวมของบริ ษัทจัดการอย่างเคร่ งครัด ด้ วยความซื่อสัตย์สจุ ริ ต โดยใช้ ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้มีวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สดุ ของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม (2) หน้ า ที่ ต ามที่ก าหนดไว้ ในพระราชบัญ ญัติห ลักทรั พ ย์ แ ละตลาดหลักทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ตลอดจนประกาศ ที่กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดตังและจั ้ ดการกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน

39


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(3) ได้ รั บ ค่ า ตอบแทนจากการท าหน้ าที่ เ ป็ นผู้ ดู แ ลผลประโยชน์ ต ามอั ต ราที่ ก าหนดไว้ ในสัญ ญาแต่ ง ตัง้ ผู้ดแู ลผลประโยชน์ที่ทาขึ ้นกับบริ ษัทจัดการ (4) ดูแลให้ บริ ษัทจัดการปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวมที่ได้ รับอนุมตั ิ ตลอดจนข้ อผูกพันที่ ทาไว้ กบั ผู้ถือหน่วยลงทุน ภายใต้ บทบัญญัติในมาตรา125 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และประกาศส านัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อ อกตาม พระราชบัญญัติดงั กล่าว ทังที ้ ่มีอยูใ่ นปั จจุบนั และที่แก้ ไขเพิ่มเติมในอนาคตโดยเคร่งครัด หากบริ ษัทจัดการมิได้ ปฏิบตั ิตาม ให้ แจ้ งบริ ษัทจัดการโดยทันที (5) จัด ท ารายงาน และส่ง รายงานต่อ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในกรณี บ ริ ษั ท จัด การกระทาการหรื อ งดเว้ นกระทาการจนก่อให้ เกิดความเสียหายแก่กองทุนรวม หรื อไม่ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามบทบัญญัติในมาตรา 125 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 5 วัน นับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันที่ผ้ ดู ูแล ผลประโยชน์ได้ ทราบถึงเหตุการณ์ดงั กล่าว (6) รับฝาก ดูแล และเก็บรักษาทรั พย์สินของกองทุนรวม โดยแยกทรัพย์สินของกองทุนรวมออกจากทรัพย์สินของ ผู้ดูแลผลประโยชน์ และทรั พย์ สินของลูกค้ าอื่นๆ ภายใต้ การดูแลของผู้ดูแลผลประโยชน์ พร้ อมทัง้ ดูแลการ เบิกจ่ายทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม ให้ เป็ นไปตามที่ตกลงกันระหว่างบริ ษัทจัดการและผู้ดแู ลผลประโยชน์ (7) จัดทาบัญชี และรั บรองความถูกต้ องของทรั พย์สินของกองทุนรวมที่รับฝากไว้ รวมทัง้ จัดทาบัญชีแสดงการ รับจ่ายทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม (8) รั บมอบ ตรวจนับและจัดทาบัญชี รวมของทรั พย์ สินกิ จการโครงสร้ างพื น้ ฐานของกองทุนรวม และในกรณี ทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่ลงทุนเป็ นอสังหาริ มทรัพย์ ผู้ดแู ลผลประโยชน์ต้องเก็บรักษาโฉนดที่ดินหรื อ เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในอสังหาริ มทรัพย์นนั ้ หนังสือกรมธรรม์ประกันภัย เอกสารอื่นใดที่เกี่ยวข้ องกับทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้ าง พื น้ ฐาน และในกรณี ท รั พ ย์ สิ น กิ จ การโครงสร้ างพื น้ ฐานที่ ล งทุน เป็ นสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ ผู้ดูแ ล ผลประโยชน์ต้องเก็บรักษาเอกสารแสดงสิทธิการเช่าในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานนัน้ เอกสารอื่นใดที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ สิ ท ธิ ก ารเช่ า ทรั พ ย์ สิ น กิ จ การโครงสร้ างพื น้ ฐาน ตลอดจนเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การจัด หา ผลประโยชน์จากสิทธิ การเช่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานดังกล่าวเช่น สัญญาเช่าหรื อสัญญาโอนสิทธิ การเช่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน เป็ นต้ น ยกเว้ นในการเก็บทรัพย์สนิ ที่โดยสภาพไม่สามารถเก็บรักษา ไว้ ที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ได้ หรื อบริ ษัทจัดการและผู้ดแู ลผลประโยชน์ตกลงกันเป็ นอย่างอื่น (9) รับมอบหรื อส่งมอบเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ ดงั กล่าวข้ างต้ นเกี่ยวกับการลงทุนหรื อจาหน่ายทรัพย์สินกิจการ โครงสร้ างพื น้ ฐานโดยกองทุนรวม และรั บ มอบหรื อ ส่ง มอบเอกสารแสดงสิท ธิ ก ารเช่ าในทรั พย์ สิน กิ จการ โครงสร้ างพื ้นฐานดังกล่าวข้ างต้ นเกี่ยวกับการลงทุนหรื อจาหน่ายสิทธิการเช่าทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน โดยกองทุนรวม เพื่อให้ เป็ นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวมและประกาศของสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (10) ช าระเงิ น และ/หรื อ ทรั พ ย์ สิ น และ/หรื อ ผลประโยชน์ อื่ น ใด ให้ แก่ ผ้ ู ถื อ หน่ ว ยลงทุ น โ ดยจ่ า ยเข้ าบัญ ชี เพื่อจ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วย ตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ ในกรณีที่มีการจ่ายเงินปั นผล หรื อลดเงินทุนของกองทุน รวม หรื อตามผลของกฎหมายหรื อเป็ นไปตามคาสัง่ ของหน่วยงานราชการใดๆ ที่เกี่ยวข้ อง และมีผลบังคับใช้ (11) รับเงินที่ได้ จากการจาหน่ายหน่วยลงทุนในกรณีที่มีการจาหน่ายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม หรื อในกรณีเพิ่มทุนจาก บริ ษัทจัดการ เพื่อเข้ าบัญชีเงินฝากของกองทุนรวม

40


(12) แจ้ งให้ บ ริ ษั ท จัด การทราบ หากบริ ษั ท จัด การมี ก ารด าเนิ น การใดๆ ที่ มิ ไ ด้ เป็ นไปตามโครงการจัด การ กองทุนรวม และ/หรื อตามกฎหมาย ก.ล.ต. (13) จัดเตรี ยมและส่งรายงานและเอกสารดังต่อไปนี ้ให้ บริ ษัทจัดการ (ก.) รายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ การรั บ จ่ า ยเงิ น จากบัญ ชี เ งิ น สด เงิ น ฝากธนาคาร ทุก สิ น้ วัน ท าการที่ ต ลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและธนาคารพาณิชย์เปิ ดทาการในประเทศไทย (“วันทาการ”) (ข.) รายงานเกี่ ย วกับ เงิ น ลงทุน ของกองทุ น รวม แยกตามประเภทและสถานะของหลัก ทรั พ ย์ ทุ ก สิ น้ วันทาการ (ค.) รายงานรายละเอียดเจ้ าหนี ้ค่าซื ้อหลักทรัพย์ และลูกหนี ้ค่าขายหลักทรัพย์ (ถ้ ามี) (ง.) รายงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วกับ การบริ ห ารจัด การกองทุน ตามที่ ต กลงร่ วมกัน ระหว่า งสัญ ญาหรื อตามที่ กฎหมายประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนดให้ ผ้ ดู ผู ลประโยชน์มีหน้ าที่ต้องจัดทา (14) เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทารายงานข้ างต้ น ผู้ดแู ลผลประโยชน์จะใช้ ข้อมูลซึง่ ได้ จากบริ ษัทจัดการหรื อบุคคล ใดๆ ที่บริ ษัทจัดการกาหนด (15) รายงานที่ได้ จัดทาโดยผู้ดูแลผลประโยชน์ข้างต้ นให้ ถือว่าได้ รับความเห็นชอบจากบริ ษั ทจัดการ หากบริ ษัท จัดการมิได้ ทกั ท้ วงภายใน 180 วันนับจากวันที่ในรายงาน (16) ด าเนิ นการฟ้ องร้ องในนามของกองทุนรวม ให้ บ ริ ษั ทจัด การปฏิ บัติ ตามหน้ าที่ ของตน ตามที่ กาหนดไว้ ใน โครงการจัดการกองทุนรวม และ/หรื อตามที่กาหนดไว้ ในกฎหมาย ก.ล.ต. และ/หรื อฟ้ องร้ องเรี ยกค่าสินไหม ทดแทนความเสียหายจากบริ ษัทจัดการ เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนทุกคน หรื อเมื่อได้ รับคาสัง่ จาก สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทัง้ นี ้ ค่าใช้ จ่ายที่เกิ ดขึน้ ในการฟ้ องร้ องบังคับคดี ให้ ผ้ ูดูแลผลประโยชน์ เรี ยกร้ องจากทรัพย์สนิ ของกองทุนรวมได้ (17) ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท จัด การได้ แต่ ง ตัง้ ผู้ ช าระบัญ ชี เ พื่ อ การเลิ ก กองทุ น รวม ผู้ ดู แ ลผลประโยชน์ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ ค่าตอบแทนตามอัตราที่จะได้ ตกลงกันและจะดาเนินการ ดังต่อไปนี ้ (ก.) เมื่อได้ รับแจ้ งการแต่งตังผู ้ ้ ชาระบัญชีจากบริ ษัทจัดการ ให้ ส่งมอบบรรดาบัญชีและเอกสารอื่นๆ ของ กองทุนรวมแก่ผ้ ชู าระบัญชีภายใน 5 วันทาการนับจากวันเลิกกองทุนรวม (ข.) ดูแลรับฝากทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม จนกว่าการชาระบัญชีจะเสร็ จสิ ้น (ค.) ดูแ ลให้ ผ้ ูช าระบัญ ชี ป ฏิ บัติ ต ามมาตรา 130 ของพระราชบัญ ญัติ ห ลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ในกรณี ที่ ผ้ ูช าระบัญ ชี ก ระท าการ หรื องดเว้ น กระท าการตามมาตราดัง กล่า ว ผู้ดูแ ล ผลประโยชน์จะรายงานให้ สานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทราบโดยไม่ชกั ช้ า (ง.) แจกจ่ายเงิน และ/หรื อทรัพย์สินอื่นให้ แก่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม ตามสมุดทะเบียนเมื่อได้ รับคาสัง่ จากผู้ชาระบัญชี (18) ดูแล รับเงินฝาก และรักษาทรัพย์สินของกองทุนรวม รับเงินที่ได้ จากการดาเนินงานของกองทุนรวม และนาเข้ า ฝากในบัญชีออมทรัพย์ และ/หรื อบัญชีทรัพย์สนิ ของกองทุนรวมตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ (19) จ่ายค่าใช้ จ่ายของกองทุนรวมตามคาสัง่ ของบริ ษัทจัดการ (20) ในการรั บ และจ่ า ยเงิ น จากบัญ ชี เ งิ น ฝากของกองทุน รวมตามค าสั่งของบริ ษั ท จัด การ ผู้ดูแ ลผลประโยชน์ จะด าเนิ น การรั บ หรื อจ่ า ยเงิ น ให้ แล้ วเสร็ จภายในก าหนดเวลาตามที่ ก าหนดไว้ ในวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน (Work Procedure) นับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากบริ ษัทจัดการเป็ นหนังสือและได้ รับเอกสารประกอบการรับหรื อ

41


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(21) (22)

(23) (24)

(25) (26) (27)

(28)

(29)

42

จ่ า ยเงิ น ดังกล่าวถูก ต้ อ งครบถ้ วน ยกเว้ น ในกรณี ที่เ ป็ นไปตามผลของกฎหมายหรื อ เป็ นไปตามค าสั่งของ หน่ ว ยงานราชการใดๆ หรื อ ในกรณี อื่ น ใด เช่ น เป็ นค าสั่ง จากธนาคารแห่ ง ประเทศไทย หรื อ ส านัก งาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบแก่ ก องทุ น รวมในการขยายระยะเวลาเข้ า ลงทุ น ในทรั พ ย์ สิ น ที่ ก องทุ น รวม เข้ าลงทุนครัง้ แรก ตามรายละเอียดที่กาหนดในสัญญาที่เกี่ยวข้ องกับการเข้ าลงทุนของกองทุนรวม ดูแล ทวงถาม ติดตามทรัพย์สนิ หรื อรักษาสิทธิในทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม เพื่อผลประโยชน์ในการเข้ าประชุมผู้ ถื อ หุ้น การรั บ เงิ น ปั น ผล การรั บ ดอกเบี ย้ หน่ว ยลงทุ น และ/หรื อ ทรั พ ย์ สิน อื่ น ใด การจองหุ้น เพิ่ ม ทุน การ เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น และการได้ รับสิทธิ ประโยชน์อื่นใดที่กองทุนรวมพึงจะได้ รับ รวมทังด ้ าเนินการรับหรื อ จ่ายเงินตามสิทธิ นนๆ ั ้ รวมทังแจ้ ้ งให้ บริ ษัทจัดการทราบเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรในกรณีที่มีความจาเป็ นที่ต้อง ป้องกันการเสียสิทธิที่มีอยู่อนั เกี่ยวกับ หรื อเกี่ยวเนื่องกับหลักทรัพย์หรื อทรัพย์สินนันๆ ้ หรื อมีการเปลี่ยนแปลง อื่นใดที่มีผลต่อการถือครองทรัพย์สนิ ของกองทุนรวม มีสทิ ธิ หน้ าที่ และความรับผิดชอบอื่นตามที่กาหนดในสัญญาแต่งตังผู ้ ้ ดแู ลผลประโยชน์ ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นใดตามที่กฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กาหนด โดยปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรื อ ประกาศสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ทัง้ ที่มีอยู่ในปั จจุบนั และ ที่แก้ ไขเพิ่มเติมในอนาคต ยื่นคาขอต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อขอให้ พิ จารณารับหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเป็ นหลักทรัพย์ จดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วนั จดทะเบียนกองทุนรวม ด าเนิ น การเพิ่ ม หรื อ ลดเงิ น ทุน ของกองทุน รวมตามที่ ก าหนดไว้ ในโครงการ และด าเนิ น การจดทะเบี ย น เพิ่มหรื อลดจานวนเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมกับสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ไม่นาทรัพย์สนิ ของกองทุนรวมไปก่อให้ เกิดสิทธิยดึ หน่วง จานอง จานา ข้ อผูกมัดหรื อภาระผูกพันใดๆ ทังสิ ้ ้น อีก ทังจะไม่ ้ ให้ ผ้ ใู ดยืม หรื ออนุญาตให้ ผ้ ใู ดครอบครองทรัพย์สิน และ/หรื อเอกสาร และ/หรื อหลักฐานเกี่ยวกับการ ลงทุนใดๆ ของกองทุนรวม โดยไม่ได้ รับความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากบริ ษัทจัดการก่อน ยกเว้ นกรณี การตรวจสอบเฉพาะหลัก ฐานการลงทุน ทางบัญ ชี ห รื อ การตรวจสอบโดยผู้ต รวจสอบภายในของผู้ดูแ ล ผลประโยชน์เอง หรื อการตรวจสอบโดยผู้มีอานาจที่ ได้ รับการแต่งตังตามกฎหมายเท่ ้ านัน้ รับผิดชอบต่อความเสียหายแก่บริ ษัทจัดการ และ/หรื อต่อความสูญเสีย เสียหาย และค่าใช้ จ่ายต่างๆ ที่เกิด ขึ น้ กับ บริ ษั ท จัด การ และ/หรื อ กองทุน รวม จากการที่ ผ้ ูดูแ ลผลประโยชน์ ก ระท า หรื อ ละเว้ น การกระท า ภายใต้ สญ ั ญา หรื อตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และซึ่งเกิดขึ ้นจากความ ประมาทเลินเล่อหรื อการไม่กระทาตามหน้ าที่โดยเจตนาทุจริ ตของผู้ดแู ลผลประโยชน์ หรื อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ ลูกจ้ าง บริ วารหรื อบุคคลอื่นใดที่ทางานให้ แก่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์ ความเสียหายดังกล่าว รวมถึงความเสียหายที่ เกิดขึ ้นจากความล่าช้ าโดยไม่มีเหตุอนั สมควรในขันตอนการขออนุ ้ มตั ิภายในของผู้ดแู ลผลประโยชน์ในเรื่ อง ต่างๆ ที่ผ้ ดู แู ลผลประโยชน์จะต้ องดาเนินการภายใต้ สญ ั ญา หรื อตามโครงการจัดการกองทุนรวม ตกลงให้ ผ้ ูแ ทนของบริ ษั ท จัด การ รวมถึ ง ผู้ถื อ หน่ ว ยลงทุน ของกองทุน รวม หรื อ ผู้ส อบบัญ ชี ข องกองทุน เข้ า ตรวจนับ ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ตรวจสอบบัญ ชี แ ละเอกสารต่ า งๆ ของกองทุน รวมที่ เ ก็ บ รั ก ษาไว้ ห รื อ อยู่ใ น ความครอบครองของผู้ดูแ ลผลประโยชน์ ไ ด้ ต ลอดเวลา ภายในเวลาท าการของผู้ดูแ ลผลประโยชน์ และ


ให้ ความร่ วมมือใดๆ แก่บริ ษัทจัดการในการดาเนินการตามที่กาหนดในสัญญา หรื อในโครงการจัดการกองทุน รวม รวมถึงการส่งมอบเอกสารต่างๆ ตามที่บริ ษัทจัดการ ผู้ถือหน่วยลงทุน หรื อผู้มีอานาจตามกฎหมายร้ องขอ (30) รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ ้นกับกองทุนรวม เพราะการกระทาหรื อการละเว้ นกระทาโดยทุจริ ต ประมาทเลินเล่อ หรื อไม่กระทาการตามหน้ าที่โดยไม่มีเหตุอนั ควร หรื อโดยเจตนาของผู้ดแู ลผลประโยชน์ หรื อ เจ้ าหน้ าที่ พนักงาน ลูกจ้ าง หรื อตัวแทนของผู้ดแู ลผลประโยชน์เอง หรื อการไม่ปฏิบตั ิตามที่ได้ ตกลงไว้ กบั บริ ษัท จัดการ (31) พิจารณาให้ ความเห็นชอบการเข้ าทา แก้ ไข หรื อยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน กิ จ การโครงสร้ างพื น้ ฐาน ตามประกาศส านั ก งาน คณะกรรมการก.ล.ต. และ/หรื อ ประกาศอื่ น ใด ที่กาหนดให้ เป็ นหน้ าที่ของผู้ดแู ลผลประโยชน์ ที่จะต้ องให้ ความเห็นชอบ (32) ให้ ความเห็นในเรื่ องที่ขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน และผลกระทบที่ผ้ ถู ือหน่วยลงทุนอาจได้ รับจากการลงมติใน เรื่ องดังกล่าวประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุน 8.4 คณะกรรมการลงทุน 8.4.1 รายชื่อคณะกรรมการลงทุน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) - นายวิทวัส อัจฉริ ยวนิช - นายเขมชาติ - นางสาวสุนิดา มีชกู ลุ - นายสุรศักดิ์ - นายนพเดช

สุวรรณกุล โตวนิชย์

กรรณสูต

8.4.2 หน้ าที่และความรั บผิดชอบ คณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนของกองทุนรวมมีสิทธิ หน้ าที่ และความรับผิดชอบในกองทุนรวม ในการพิจารณา และ/หรื อวินิจฉัยเรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริ หารกองทุน ตามที่ระบุในโครงการจัดการกองทุนรวมดังนี ้ (1) ให้ ค าปรึ ก ษาและค าแนะน าในการลงทุน ซื อ้ เช่ า เช่ า ช่ ว ง ให้ เ ช่ า ให้ เ ช่ า ช่ ว ง จ าหน่า ย โอน หรื อ รั บ โอน ซึง่ ทรัพย์สนิ กิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน (2) ด าเนิ น การอื่ น ใดตามมติ ข องผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น ทัง้ นี จ้ ะต้ องไม่ ขัด กั บ ประกาศคณะกรรมก าร ก.ล.ต. ประกาศส านัก งานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และกฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อง ทั ง้ ที่ มี อ ยู่ แ ล้ วและที่ จ ะมี ขึ น้ ในภายหน้ า (3) กรรมการทุกท่านจะต้ องเก็บรักษาข้ อมูลจากการประชุมเป็ นความลับ และไม่นาไปเปิ ดเผยให้ บคุ คลใดๆ ทราบ และ/หรื อใช้ เพื่ อ ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ที่ มิ ใ ช่ ป ระโยชน์ ข องกองทุ น เว้ นแต่ จ ะมี ก ฎหมายก าหนดโดย ชัดแจ้ งให้ เปิ ดเผย หรื อข้ อมูลดังกล่าวเป็ นข้ อมูลที่ได้ ถกู เปิ ดเผยให้ ผ้ ลู งทุนทัว่ ไปทราบแล้ ว (4) ในการให้ คาปรึ กษาและคาแนะนา คณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนจะต้ องกระทาด้ วยความโปร่ งใส สุจริ ต และตังอยู ้ ่บนพื ้นฐานของการปฏิบตั ิตามโครงการและกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้ องทังที ้ ่มีอยู่แล้ วและจะมีขึ ้นใน ภายหน้ า โดยคานึงถึงประโยชน์ของกองทุนรวมเป็ นสาคัญ

43


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

8.5 ผู้สอบบัญชี นายทะเบียนหน่ วยลงทุน บริษัทประเมินค่ าทรัพย์ สิน ที่ปรึกษากองทุน 8.5.1 ผู้สอบบัญชี ชื่อ : บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส จากัด ที่อยู่ : ชัน้ 15 อาคารบางกอกซิตี ้ทาวเวอร์ ถนนสาธรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาธร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 022869999 8.5.2 นายทะเบียนหน่ วยลงทุน ชื่อ : บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ที่อยู่ : 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 022292800 8.5.3 บริษัทประเมินค่ าทรั พย์ สิน ชื่อ : บริ ษัท ดิสคัฟเวอร์ แมเนจเม้ นท์ จากัด ที่อยู่ : 888/151 ชัน้ 15 อาคารมหาทุนพลาซ่า ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 026154447 8.5.4 ที่ปรึกษาทางเทคนิค ชื่อ : บริ ษัท แทรคเทเบล เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด ที่อยู่ : 142 อาคาร ทู แปซิฟิค เพลส, ชัน้ 19 ห้ อง 1903-05 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 021187200 9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ("คณะกรรมการบริ ษัท") ตระหนักดีว่าการดาเนิน ธุรกิจจัดการลงทุนจะประสบความสาเร็ จได้ ก็ตอ่ เมื่อบริ ษัทได้ รับความไว้ วางใจและความเชื่อมัน่ จากประชาชน คณะกรรมการ บริ ษัทมัน่ ใจเป็ นอย่างยิ่งว่ากระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดีจะยกระดับผลการดาเนินงานของบริ ษัทอย่างยัง่ ยืน และเป็ นหัวใจ สาคัญที่นาไปสู่ความสาเร็ จและบรรลุเป้าหมายที่สาคัญของบริ ษัท อันได้ แก่ การเพิ่มความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้ าและการ เพิ่มมูลค่าสูงสุดให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นโดยยึดมัน่ นโยบายในการดาเนินการจัดการลงทุนอย่างเป็ นอิสระ และเพื่อผลประโยชน์ของผู้ ลงทุนเป็ นสาคัญก่อนผลประโยชน์ของบริ ษัท พนักงาน และผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ด้ วยมีการกาหนดมาตรการป้องกันความขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์ และเน้ นความโปร่งใส โดยยึดแนวปฏิบตั ิในการกากับดูแลกิจการของบริ ษัท ได้ จดั ให้ มีโครงสร้ างที่เอื ้อต่อการ ทาให้ เป้าหมายข้ างต้ นบรรลุผล ขณะเดียวกันจะช่วยทาให้ มนั่ ใจได้ ว่าธุรกิจและกิจกรรมใด ๆ ของบริ ษัทสามารถแข่งขันได้ ดี ภายใต้ การดาเนินการอย่างมีจรรยาบรรณ และเป็ นไปตามกฎหมาย ในฐานะที่บริ ษัทเป็ นบริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุนชันน ้ าของประเทศไทย คณะกรรมการบริ ษัทยึดมัน่ ในการปฏิบตั ิ ตามคุณลักษณะหลักของกระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดี อันประกอบด้ วย - ความรับผิดชอบต่อผลประโยชน์ของลูกค้ าเหนือผลประโยชน์อื่นใด

44


- ความซื่อสัตย์ - ความโปร่งใส - ความเป็ นอิสระ - ความรับผิดรับชอบ - ความรับผิดชอบต่อภาระหน้ าที่ - ความเป็ นธรรม - ความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทนี ้ สะท้ อนถึงคุณค่า แนวปฏิบตั ิ และทิศทางที่ใช้ ปฏิบตั ิภายในของบริ ษัท ตามที่ ได้ กาหนดและได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท ทังนี ้ ้บริ ษัทยังได้ ปลูกฝั งผู้บริ หารและพนักงานทุกระดับ ให้ มีจิตสานึกใน จรรยาบรรณ และยึดมัน่ ความสาคัญของการกากับดูแลตนเอง นอกจากนี ้บริ ษัทยึดถือหลักในการมีบทบาทสาคัญอันเป็ นกลไกสนับสนุน ส่งเสริ มให้ บริ ษัทจดทะเบียนและบริ ษัท ผู้ออกหลักทรัพย์มีการบริ หารจัดการที่ดีตามหลักกากับดูแลกิจการที่ดี โดยการที่บริ ษัทในฐานะผู้แทนกองทุนใช้ สทิ ธิ ออกเสียง ในการประชุมผู้ถือหุ้นในนามของกองทุน (Proxy voting) เพื่อรักษาผลประโยชน์สงู สุดของกองทุน 9.2 คณะกรรมการชุดย่ อย คณะกรรมการบริ ษัท ประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถที่เป็ นประโยชน์ต่อบริ ษัท คณะกรรมการ บริ ษัทได้ แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงองค์ ก ร เพื่อช่วย ปฏิบตั ิงานในการศึกษาและกลัน่ กรองเรื่ องสาคัญที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ ชิดและเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ มีอานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ (1) ทบทวนและสอบทานรายงานการตรวจสอบภายในที่เสนอโดยตรงจากหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษัท (2) กากับดูแลหน่วยงานกากับการปฏิบตั ิงานและหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษัท (3) รับแจ้ งข้ อเท็จจริ งจากผู้สอบบัญชีบริ ษัทเกี่ยวกับพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่า กรรมการ หรื อบุคคลซึง่ รับผิดชอบในการ ด าเนิ น งานของบริ ษั ท ได้ กระท าความผิ ด ตามมาตรา281/2 วรรคสอง มาตรา305 มาตรา306 มาตรา308 มาตรา 309 มาตรา310 มาตรา311 มาตรา312 มาตรา313 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เพื่อดาเนินการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบในเบื อ้ งต้ นให้ แก่ สานักงานกากับ หลัก ทรั พย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีบริ ษัททราบภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชีบริ ษัท (มาตรา 89/25) (4) ปฏิบตั ิหน้ าที่อื่นใดตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท (5) ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั กล่าวข้ างต้ นให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท

(1)

คณะกรรมการบริ หารความเสีย่ งองค์กร มีอานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี ้ พิจารณาให้ ความเห็นชอบเพื่อกาหนดนโยบายการบริ หารความเสี่ยง และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อ พิจารณาในเรื่ องการบริ หารความเสี่ยงโดยรวม โดยครอบคลุมความเสี่ยงด้ านต่างๆที่เกี่ยวข้ อง อาทิ ความเสี่ยงด้ าน เครดิต ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่อง ความเสี่ ยงด้ านการปฏิบตั ิการ ความเสี่ยงด้ านชื่อเสียง และ/หรื อความเสีย่ งอื่นๆที่มีนยั สาคัญ

45


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(2)

(3)

(4) (5)

กาหนดกลยุทธ์ โครงสร้ างองค์กร และทรัพยากรที่ใช้ ในการบริ หารความเสี่ยง ให้ สอดคล้ องกับนโยบายบริ หารความ เสี่ยงของบมจ.ธนาคารกสิกรไทย โดยสามารถวิเคราะห์ ประเมิน วัดผลและติดตามกระบวนการ การบริ หารความ เสีย่ งได้ อย่างมีประสิทธิผล กากับดูแล ทบทวน และให้ ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริ ษัทเกี่ยวกับนโยบายการบริ หารความเสี่ยง วิธีปฎิบตั ิที่ เป็ นมาตรฐาน กลยุทธ์และการวัดความเสีย่ งโดยรวม เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ กลยุทธ์การบริ หารความเสีย่ งได้ นาไปปฏิบตั ิ อย่างเหมาะสม สาหรับการบริ หารความเสี่ยงด้ านการลงทุนเพื่อกองทุนภายใต้ การบริ หารจัดการ คณะกรรมการฯ มีหน้ าที่อนุมตั ิ กรอบความเสีย่ ง (Risk Framework) และขอบเขตความเสีย่ งที่กาหนด (Risk Limit) ให้ มิติตา่ งๆ ที่มีความสาคัญ พิจารณาเรื่ องอื่นใดที่จาเป็ นและเกี่ยวข้ องกับการบริ หารความเสี่ยง ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ในข้ อ (1) ถึง (4)

9.3 การประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน บริ ษัทจัดการจะจัดให้ มีคณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนของกองทุนรวม เพื่อทาหน้ าที่ให้ คาปรึ กษาหรื อคาแนะนา เกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ตลอดจนการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่กองทุนรวม ลงทุน โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 9.3.1 องค์ ประกอบ 9.3.1.1 คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน ต้ องประกอบด้ วยบุคคลดังต่อไปนี ้ (1) ผู้แทนจากบริ ษัทจัดการ โดยผู้แทนอย่างน้ อย 1 รายต้ องเป็ นผู้จดั การกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานที่ได้ รับความ เห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (2) ผู้ทรงคุณวุฒิหรื อผู้มีประสบการณ์ในกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ าม ตามที่ กาหนดไว้ ในประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์ ว่าด้ วยการกาหนดลักษณะขาด ความน่าไว้ วางใจของกรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัท 9.3.1.2 การดารงตาแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนของกองทุนรวม จะมีกาหนด ระยะเวลาคราวละ 3 ปี โดยกรรมการที่ พ้ นวาระไปแล้ วอาจได้ รั บการแต่งตัง้ ให้ ดารงตาแหน่ง กรรมการได้ อีก นอกจากนี ้บริ ษัทจัดการมีสทิ ธิถอดถอนกรรมการก่อนครบวาระก็ได้ 9.3.1.3 หากตาแหน่งกรรมการใดๆ เกิดว่างลงไม่ว่าด้ วยเหตุใด บริ ษัทจัดการอาจแต่งตังกรรมการเข้ ้ าดารง ตาแหน่งแทนกรรมการที่ว่างลงตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ข้างต้ น โดยให้ มีเวลาอยู่ในตาแหน่งเพียง เท่าที่กรรมการผู้ออกไปนันชอบที ้ ่จะอยูไ่ ด้ 9.3.1.4 กรรมการของกองทุน รวมจะต้ อ งมี ห น้ า ที่ คุณ สมบัติ แ ละไม่มี ล ัก ษณะต้ อ งห้ า มตามกฎหมาย หลักทรัพย์ และ/หรื อกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้ องกาหนด รวมถึงต้ องไม่เป็ นบุคคลล้ มละลาย คนไร้ ความสามารถ หรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ และไม่เคยรับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้ จาคุกในความผิดทางอาญาใดๆ 9.3.1.5 บริ ษั ท จั ด การขอสงวนสิ ท ธิ ใ นการพิ จ ารณาถอดถอนกรรมการ และเปลี่ ย นแปลงจ านวน คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน เท่าที่ไม่ขดั ต่อเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ในข้ อ 9.3.1.1

46


9.3.2 รูปแบบการตัดสินใจ 9.3.2.1 การเรี ยกประชุม ในการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน ให้ กรรมการคนใดคนหนึง่ เรี ยกประชุมคณะกรรมการที่ปรึ กษา การลงทุนเพื่อพิจารณาและลงมติตามวิธีการที่กาหนดไว้ ในโครงการ โดยบริ ษัทจัดการจะส่งหนังสือเชิญประชุมซึ่ง ระบุถึง วัน เวลา สถานที่ และวาระของการประชุม โดยทางจดหมาย หรื อโทรสาร หรื อทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ตามควรแก่กรณี ให้ แก่กรรมการทุกท่านทราบล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 5 วันทาการก่อนวันประชุม เว้ นแต่กรณีฉกุ เฉินไม่ จาเป็ นต้ องส่งหนังสือเชิญประชุม ในกรณีที่ไม่มีการส่งหนังสือเชิญประชุม หากกรรมการได้ เข้ าร่วมในการประชุมแล้ ว ให้ ถือว่ากรรมการท่านดังกล่าวสละสิทธิในการได้ รับหนังสือเชิญประชุม 9.3.2.2 กาหนดการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษาการลงทุน จะจัด ให้ มี ก ารประชุม อย่ า งน้ อ ย ปี ละ 1 ครั ง้ หรื อ ตามที่ ก าหนดโดย คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน 9.3.2.3 องค์ประชุม ในการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนจะต้ องประกอบไปด้ วยกรรมการจานวนเกินกว่ากึง่ หนึง่ ของ จ านวนกรรมการทัง้ หมดเข้ าร่ ว มประชุ ม ทัง้ นี ้ โดยมี ตัว แทนของบริ ษั ท จั ด การซึ่ ง ได้ รั บ ความเห็ น ชอบเป็ น ผู้จดั การกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน จานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนกรรมการทังหมดที ้ ่เข้ าร่วมประชุม จึงจะ ครบเป็ นองค์ประชุม ทังนี ้ ้ ในการประชุมนันอาจเป็ ้ นในลักษณะการนัง่ ประชุมรวมกัน หรื อการประชุมทางโทรศัพท์ (Telephone Conference) ก็ได้ โดยคณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนของกองทุนรวมจะดาเนินการตามมติโดย เสียงข้ างมากของคณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนของกองทุนรวมที่เข้ าร่วมประชุม ทังนี ้ ้ กรรมการ 1 คนมีสทิ ธิออก เสียง 1 เสียง และกรรมการผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียจะไม่มีสทิ ธิออกเสียง คณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนอาจประชุมโดยจัดให้ มีการประชุมหรื อลงมติโดยไม่ต้องจัดประชุมก็ได้ โดยเสนอมติที่ทาขึ ้น เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเวียนให้ คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนพิจารณาและลงนามในมติดงั กล่าว 9.3.2.4 มติของที่ประชุม (ก.) กรณีจดั ให้ มีการประชุม ในการพิจารณาลงมติใดๆ จะต้ องได้ รับมติเสียงข้ างมากซึ่งคิดจากจานวนกรรมการที่เข้ าประชุม ถ้ าคะแนน เสียงเท่ากันให้ ประธานในที่ประชุมมีสทิ ธิออกเสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด (ข.) กรณีไม่จดั ให้ มีการประชุม คณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนอาจลงมติโดยการเวียนลงนามในมติ ที่ทาขึ ้นเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยมติ ดังกล่าวจะต้ องมีกรรมการลงนามรับทราบ และ/หรื อให้ ความเห็นชอบรวมกันเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทังหมด ้ ทังนี ้ ้ กรรมการสามารถจัดส่งมติที่ได้ ลงนามแล้ วมายังบริ ษัทจัดการทางโทรสาร ซึ่งบริ ษัทจัดการจะถือเอาประโยชน์ จากสาเนามติที่ลงลายมือชื่อโดยกรรมการซึง่ ส่งทางโทรสารถึงบริ ษัทจัดการเป็ นการลงมติที่มีผลสมบูรณ์ในทันที โดย กรรมการที่นาส่งมติทางโทรสารดังกล่าวจะต้ องนาส่งต้ นฉบับของมติให้ บริ ษัทจัดการต่อไปเพื่อบริ ษัทจัดการจะเก็บ รักษาต้ นฉบับของมติที่ได้ รับมาไว้ เป็ นหลักฐานที่บริ ษัทจัดการ ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากันให้ ประธานกรรมการมีสิทธิออก เสียงเพิ่มขึ ้นอีกเสียงหนึง่ เป็ นเสียงชี ้ขาด 9.3.2.5 กรณีมีสว่ นได้ เสีย

47


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ในการพิจารณาลงมติของคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนทุกครัง้ บริ ษัทจัดการจะดาเนินการให้ กรรมการซึง่ มี ส่วนได้ เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อมในเรื่ องใด ปฎิบตั ิดงั นี ้ (1) แจ้ งการมีสว่ นได้ เสียในเรื่ องที่พิจารณา (2) ไม่เข้ าร่วมพิจารณาและออกเสียงลงคะแนนในเรื่ องนัน้ 9.3.2.6 สิทธิยบั ยังพิ ้ เศษ (Veto Right) หากมติเสียงข้ างมากของคณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุน หรื อการดาเนินการตามมติของคณะกรรมการที่ ปรึกษาการลงทุนอาจเป็ นการขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ ตลอดจนคาสัง่ ใดๆ ตามที่หน่วยงานที่มีอานาจตาม กฎหมายประกาศกาหนด และ/หรื อจรรยาบรรณ หรื อเป็ นเหตุให้ บริ ษัทจัดการอาจเสื่อมเสียชื่อเสียงหรื อเกิดความ เสียหาย หรื อขัด หรื อแย้ งกับผลประโยชน์ของกองทุนหรื อผู้ถือหน่วยลงทุน กรรมการซึง่ เป็ นตัวแทนของบริ ษัทจัดการ มีสิทธิ ใช้ สิทธิ ยบั ยังพิ ้ เศษ (Veto Right) โดยแจ้ งให้ คณะกรรมการที่ปรึ กษาการลงทุนทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และให้ ถือว่ามติดงั กล่าวไม่มีผลผูกพันกับบริ ษัทจัดการ 9.3.2.7 ประธานที่ประชุม บริ ษั ท จั ด การจะแต่ ง ตั ง้ กรรมการรายใดรายหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ นตั ว แทนของบริ ษั ท จั ด การท าหน้ าที่ เ ป็ น ประธานกรรมการ และเป็ นประธานในที่ประชุม ประธานในที่ประชุมมีอานาจและหน้ าที่ในการดาเนินการประชุมให้ เป็ นไปโดยเรี ยบร้ อย และถูกต้ องตามที่กาหนดไว้ ในโครงการ 9.3.2.8 รายงานการประชุม บริ ษัทจัดการจะต้ องทารายงานการประชุมกรรมการให้ ประธานในที่ประชุมครัง้ นันลงนามรั ้ บรองและเก็บรักษา ไว้ ที่บริ ษัทจัดการ รวมทังจั ้ ดให้ มีสาเนาเพื่อให้ กรรมการตรวจสอบได้ ณ สานักงานใหญ่ของบริ ษัทจัดการในวันและ เวลาทาการของบริ ษัทจัดการ 9.4 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ได้ กาหนดแนวทางในการป้องปรามการใช้ ข้อมูลภายในของกองทุน โดยการจัดให้ มีระบบ Chinese wall เพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้ อมูลลูกค้ า โดยมีการกาหนดรายชื่อบุคคลที่สามารถเข้ าถึง ข้ อมูลภายในของกองทุน มีการควบคุมและตรวจสอบการติดต่อสื่อสารของกลุม่ บุคคลดังกล่าว รวมถึงจัดให้ มีพื ้นที่ปฏิบตั ิงาน แยกต่างหากซึง่ มีระบบควบคุมมิให้ บคุ คลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ องผ่านเข้ าออกได้ บริ ษัทมีการกาหนดระเบียบปฏิบตั ิเกี่ยวกับการซื ้อขายหลักทรัพย์ของพนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ มีผลใช้ บงั คับ กับกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกระดับชัน้ หากบริ ษัทพบว่าพนักงานมีการนาข้ อมูลภายในไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตน บริ ษัทจะลงโทษทางวินยั ขันรุ ้ นแรง 9.5 การพิจารณาตัดสินใจลงทุน และการบริหารจัดการกองทุน กองทุนรวมมีนโยบายลงทุนในกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึง่ เป็ นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะในวงกว้ างของประเทศไทย เพื่อก่อให้ เกิดรายได้ และผลตอบแทนแก่กองทุนรวมและผู้ถือหน่วยตามที่กฎหมายหลักทรั พย์ และ/หรื อกฎหมายอื่นใดที่ เกี่ยวข้ องกาหนด ซึ่งต้ องผ่านการตรวจสอบหรื อสอบทาน (การทา Due diligence) โดยร่ วมกับที่ปรึ กษาทางการเงินในการจัด ให้ มีการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น ข้ อมูลด้ านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็ นต้ น และมีความเห็นว่ากิจการโครงสร้ าง พื ้นฐานที่จะลงทุนนันมี ้ ความเหมาะสมสาหรับการลงทุนของผู้ลงทุนทัว่ ไป โดยมีศกั ยภาพในการสร้ างผลตอบแทนเพื่อเป็ น

48


รายได้ ให้ แก่กองทุนรวมได้ อย่างต่อเนื่อง และมีเอกสารสิทธิหรื อเอกสารสัญญาที่ครบถ้ วน ชัดเจน บังคับได้ ตามกฎหมาย และ เพียงพอต่อการที่กองทุนรวมจะใช้ ดาเนินการหรื อจัดหาผลประโยชน์ได้ ในกรณีที่กิจการโครงสร้ างพื ้นฐานที่จะลงทุนเป็ นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ ในอนาคตหรื อสิทธิตามสัญญา แบ่งรายได้ ต้ องมีกลไกให้ กองทุนรวมสามารถเข้ าตรวจสอบหรื อสอบยันความถูกต้ องครบถ้ วนของส่วนแบ่งรายได้ ที่กองทุน รวมจะได้ รับตามข้ อตกลง ตลอดจนจัดส่งรายงานหรื อข้ อมูลที่เกี่ ยวข้ องเพื่อใช้ ในการติดตามและตรวจสอบความถูกต้ อง ครบถ้ วนของส่วนแบ่งรายได้ 9.6 การคัดเลือกผู้ประกอบกิจการโครงสร้ างพืน้ ฐาน กองทุนรวมมีนโยบายลงทุนในกิจการโครงสร้ างพื ้นฐานซึง่ เป็ นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะในวงกว้ างของประเทศไทย บริ ษัทจัดการได้ มีการประเมินและวิเคราะห์ประสบการณ์ ชื่อเสียง และผลงานในอดีต ซึ่งผู้ประกอบกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน นันๆ ้ ต้ องมีประวัติการดาเนินงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีความเชี่ยวชาญในการบริ หารธุรกิจ มีโครงสร้ างทางการเงินที่มีความเสีย่ ง จากการกู้เงินในระดับต่า มีความมัน่ คงของรายได้ และกระแสเงินสด และมีการดาเนินธุรกิจด้ วยความรับผิดชอบต่อสังคม 9.7 การติดตามดูแลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบกิจการโครงสร้ างพืน้ ฐาน กองทุน รวมได้ มี ก ารก าหนดเกณฑ์ ก ารตรวจสอบหรื อ สอบทานความถูก ต้ อ งของส่ว นแบ่ง รายได้ จ ากการโอน ผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้ าของกองทุนตามสัญญา นอกจากนี ้ กองทุนรวมมีการว่าจ้ างที่ปรึ กษาด้ านเทคนิค เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าและปั จจัยที่สง่ ผลกระทบต้ นทุนและค่าใช้ จ่ายของโรงไฟฟ้ า โดยที่ปรึกษาด้ านเทคนิค จะจัดส่งรายงานการตรวจสอบให้ กบั กองทุนรวมเป็ นรายไตรมาส 9.8 การติดตามดูแลผลประโยชน์ ของกองทุน บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 จะต้ องนาส่งงบประมาณรายรับรายจ่ายและประมาณการค่าใช้ จ่ายส่วนทุนให้ แก่กองทุนรวม กองทุน รวมจะท าการอนุมัติ โ ดยพิ จ ารณาความเหมาะสมและความสมเหตุผ ลของงบประมาณรายรั บ รายจ่ า ยจาก ผลประกอบการที่ผ่านมา และจะพิจารณาเหตุผลประกอบของบริ ษัทในกรณีที่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญ ในส่วนของ ประมาณการค่าใช้ จ่ายส่วนทุน กองทุนรวมจะพิจารณาความสมเหตุผลของงบประมาณและรายการการซ่อมบารุ ง โดยใช้ ความเห็นของที่ปรึ กษาเทคนิคเป็ นสาคัญ และจะพิจารณาเหตุผลประกอบของบริ ษัทในเรื่ องของความจาเป็ นของการซ่อม บารุงและงบประมาณที่เสนอในกรณีที่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญ ในแต่ละไตรมาส กองทุนรวมจะทาการตรวจสอบรายรับรายจ่ายตามแต่ละรายการ เปรี ยบเทียบระหว่างประมาณ การที่อนุมตั ิกบั รายรับรายจ่ายที่เกิดขึ ้นจริ งตามรายงานงบการเงิน บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 สามารถชาระค่าใช้ จ่ายได้ ตามที่ ระบุในประมาณการรายรับรายจ่ายที่ได้ รับอนุมตั ิรวมกับจานวนที่ไม่เกินร้ อยละ 5 ในกรณี ที่ บี.กริ ม 1 และ/หรื อ บี.กริ ม 2 มี ความจาเป็ นต้ องชาระค่าใช้ จ่ายเกินกว่ากาหนดดังกล่าว บี.กริ ม 1 และ/หรื อ บี.กริ ม 2 จะต้ องขอและได้ รับความยินยอมเป็ น ลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุนรวมก่อนดาเนินการ ยกเว้ นต้ นทุนก๊ าซธรรมชาติที่สามารถชาระได้ ตามจานวนที่เกิดขึ ้นจริ งโดย จะต้ องแจ้ งให้ กองทุนรวมทราบถึงรายละเอียดดังกล่าว และการซื ้อขายไฟฟ้ าและ/หรื อไอน ้าระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้ องกันที่ สามารถกาหนดราคาซื ้อหรื อราคาขาย (แล้ วแต่กรณี) ได้ ในจานวนเท่ากับราคาขายไฟฟ้ าและ/หรื อไอน ้าเฉลีย่ ทังนี ้ ้ ในกรณีที่มี เหตุที่ทาให้ กองทุนรวมเชื่อได้ ว่าอาจมีความผิดปกติของค่าใช้ จ่ายในหมวดใด ทางกองทุนรวมจะสอบถามและให้ บี.กริ ม 1 และ/หรื อ บี.กริ ม 2 ทาการชี ้แจง พร้ อมทังเอกสารประกอบ ้ (ถ้ ามี)

49


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

นอกจากนี ้ กองทุนรวมได้ มอบหมายให้ ที่ปรึ กษาด้ านเทคนิคทาการตรวจสอบผลการดาเนินการของแต่ละโรงไฟฟ้ า ว่าได้ มีการดาเนินการให้ เกิ ดการใช้ ประโยชน์ สูงสุดแล้ วหรื อไม่ รวมทัง้ อาจนาเสนอข้ อเสนอในการดาเนินการเพื่อให้ เกิด ประโยชน์สงู สุด ในการซ่อมแซมบารุงรักษา และงบประมาณที่จาเป็ นและเหมาะสม 9.9 ค่ าตอบแทนของบริษัทจัดการ บริ ษัทจัดการมีสิทธิ ได้ รับค่าธรรมเนียมการจัดการกองทุนรวมเป็ นรายเดือน ในอัตราไม่เกินร้ อยละ 1.0 ต่อปี ของ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวมซึง่ ได้ รับการรับรองโดยผู้ดแู ลผลประโยชน์ โดยบริ ษัทจัดการจะคานวณค่าธรรมเนียมการ จัดการเป็ นรายเดือนทุกวันสุดท้ ายของเดือนและเรี ยกเก็บจากกองทุนรวมโดยการตัดจ่ายจากบัญชีกองทุนรวมเป็ นรายเดือน ทังนี ้ ้ บริ ษัทจัดการมีสทิ ธิได้ รับค่าธรรมเนียมการจัดการจากกองทุนรวมเป็ นจานวนทังสิ ้ ้นไม่ต่ากว่า 12,500,000 บาทต่อปี 9.10 การเปิ ดเผยข้ อมูล/สารสนเทศต่ อผู้ถอื หน่ วย กองทุนรวมให้ ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารทังข้ ้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน โดย มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ การเปิ ดเผยข้ อมูลต่อผู้ถือหน่วยลงทุน รวมถึงสาธารณชนทัว่ ไป เป็ นไปอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ทัว่ ถึง ทันการณ์ รวมทังสอดคล้ ้ องกับกฎหมาย ข้ อกาหนดของทางการและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยบริ ษัทจัดการมีการเปิ ดเผย ข้ อมูลทังกรณี ้ ตามที่โครงการจัดการกองทุนรวม หรื อกฎหมายกาหนด เช่น งบการเงิน รายงานประจาปี และกรณีที่มีเหตุการณ์ สาคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาของหลักทรัพย์ที่ได้ รับการตรวจสอบและอนุมตั ิจากผู้มีอานาจดาเนินการ โดยการเผยแพร่ ผ่านระบบเผยแพร่ ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริ ษัทจัดการ ทังนี ้ ้ การเปิ ดเผยเป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ของสานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 9.11 การจัดประชุมผู้ถอื หน่ วย 9.11.1 บริ ษัทจัดการอาจขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยลงทุน หรื อโดยการ เรี ยกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ในการขอมติจากผู้ถือหน่วย บริ ษัทจัดการจะแสดงข้ อมูลเพื่อประกอบการ ตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างเพียงพอในหนังสือนัดประชุมหรื อหนังสือแจ้ งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ ซึง่ รวมถึงความเห็นของบริ ษัทจัดการและผู้ดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรวมในเรื่ องที่ขอมติและผลกระทบที่ ผู้ถือหน่วยอาจได้ รับจากการลงมติดงั กล่าว 9.11.2 บริ ษัทจัดการจะจัดให้ มีการขอมติโดยการเรี ยกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อมีผ้ ถู ือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วย ลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมดของกองทุ ้ นรวม เข้ าชื่อ กันทาหนังสือขอให้ บริ ษัทจัดการเรี ยกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนโดยระบุเหตุผลในการขอให้ เรี ยกประชุมอย่าง ชัดเจน ทังนี ้ ้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดของสานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ตามโครงการจัดการกองทุนรวม 10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม 10.1 ความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้ อม บริ ษัทหลักทรั พย์ จัดการกองทุน กสิกรไทย จากัด เป็ นบริ ษัทในเครื อของธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเป็ นธนาคารที่มี นโยบายในการพัฒนาด้ านสังคมและสิง่ แวดล้ อม ดังนี ้

50


10.1.1 การพัฒนาด้ านสังคม การด าเนิ น งานด้ า นการพัฒ นาศัก ยภาพเยาวชน สัง คม และสาธารณะประโยชน์ ต่า งๆ ธนาคารมุ่ง มั่น สร้ าง ความเข้ มแข็งให้ แก่สงั คมและชุมชน โดยเฉพาะการพัฒนาเยาวชนไทยให้ เติบโตมาเป็ นประชากรที่มีคณ ุ ภาพ ซึ่งจะเป็ นกาลัง สาคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป โดยการพัฒนาศักยภาพเยาวชน สังคม และสาธารณประโยชน์ต่างๆ จะมีการร่ วมมือ กั น ระหว่ า งภาคี เ ครื อ ข่ า ยทัง้ ชุ ม ชน, หน่ ว ยงานราชการ, และภาคประชาชน เพื่ อ ร่ ว มกัน พัฒ นาให้ ความเป็ นอยู่แ ละ สภาพแวดล้ อมของชุมชนในสังคมดีขึ ้น 10.1.2 การพัฒนาด้ านสิ่งแวดล้ อม (ก.) การด าเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ นมิ ต รและค านึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ธนาคารยึ ด มั่น ในการด าเนิ น งาน ด้ านสิ่งแวดล้ อม ด้ วยการสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม และมุ่งเน้ นการลดการปล่อย ก๊ าซเรื อนกระจกจากการดาเนินงานของธนาคารลง รวมถึงให้ ความสาคัญกับการดาเนินงานทุกขันตอน ้ เพื่อให้ มัน่ ใจว่าทุกกระบวนการของธุรกิจตังอยู ้ บ่ นรากฐานของการใส่ใจดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อม (ข.) การดาเนินนโยบายอนุรักษ์ และลดการใช้ ทรัพยากรและการลดของเสี ย ธนาคารส่งเสริ มและดาเนินการอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้ เกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าในทุกขันตอนการด ้ าเนินงาน ทังในเรื ้ ่ องการใช้ ทรัพยากรน ้า ไฟฟ้า และการลดของเสีย 10.2 การต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั่น บริ ษัทหลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จากัด ได้ ลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้ านการทุจริ ต ซึง่ ดาเนินการโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย หอการค้ าไทย หอการค้ านานาชาติ แห่งประเทศไทย สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อผลักดันให้ เกิดการต่อต้ านการทุจริ ตในวงกว้ าง และได้ รับประกาศนียบัตรรับรองฐานะการ เป็ นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ิฯ จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านการทุจริ ต ในปี 2556 บริ ษัทกาหนดเรื่ องการต่อต้ านการทุจริ ตทุกรูปแบบ ห้ ามรับ หรื อให้ สนิ บนและสิง่ จูงใจไว้ ในจรรยาบรรณของพนักงาน ซึง่ กรรมการและพนักงานจะต้ องยึดถือปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด นอกจากนี ้ ในปี 2556 คณะกรรมการบริ ษัทได้ อนุมตั ินโยบายการ ป้องกันการหาผลประโยชน์ในหน้ าที่โดยมิชอบ ซึง่ ครอบคลุมเรื่ องสินบนและสิง่ จูงใจ ของขวัญและผลประโยชน์ การบริ จาคเพือ่ การกุศลและการให้ เงินสนับสนุนกิจกรรมและการมีสว่ นร่วมทางการเมือง 11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 11.1 ความเห็นของหัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัท (1) ความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในฯ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในของการบริ หารจัดการกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน โรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ โดยการซักถามและสอบทานเอกสารหลักฐานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องแล้ ว สรุ ปได้ ว่าจาก การประเมินระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทในด้ านต่างๆที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารจัดการกองทุน ระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม

51


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

(2) ข้ อบกพร่องเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน จากการสุ่ม ตรวจสอบการบริ ห ารจั ด การกองทุ น รวมโครงสร้ างพื น้ ฐานโรงไฟฟ้ า อมตะ บี . กริ ม เพาเวอร์ ช่วงไตรมาส 3 ปี 2559 ถึงไตรมาส 1 ปี 2560 หน่วยงานตรวจสอบภายในไม่พบว่ามีข้อบกพร่ องเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายในที่มีนยั สาคัญใดๆ 11.2 หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัทจัดการ ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท หลัก ทรั พ ย์ จัด การกองทุ น กสิ ก รไทย จ ากัด เมื่ อ วัน ที่ 17 ตุล าคม 2555 ครั ง้ ที่ 7/2555 ได้ แต่งตัง้ น.ส.จุไรพร สุขวรรณวิทย์ เป็ นผู้รับผิดชอบสูงสุดของหน่วยงานที่ทาหน้ าที่ในการกากับดูแลการ ปฏิบตั ิงานและตรวจสอบภายในของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของหน่วยงานทางการที่กากับดูแลการประกอบธุรกิจของ บริ ษัท เนื่องจากมีประสบการณ์ในการปฏิ บตั ิงานด้ านการกากับดูแลและตรวจสอบภายในในธุรกิจจัดการลงทุน มาเป็ นระยะ เกือบ 20 ปี และมีความเข้ าใจในกิจกรรมและการดาเนินงานของบริ ษัท จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมที่จะปฏิบตั ิหน้ าที่ดงั กล่าว ได้ อย่างเหมาะสมเพียงพอ ทังนี ้ ้ การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้ ายผู้รับผิดชอบสูงสุดของหน่วยงานที่ทาหน้ าที่ในการกากับดูแล การปฏิบตั ิงานดังกล่าวข้ างต้ น จะต้ องผ่านการอนุมตั ิหรื อได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัท หรื อผู้ได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษัทและแจ้ งให้ คณะกรรมการบริ ษัททราบ 12. การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ 12.1 รายชื่อบุคคลที่เกี่ยวข้ องที่มีการทาธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสร้ างพืน้ ฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ สาหรับงวดตัง้ แต่ วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 - ไม่มีการทาธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ อง ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถตรวจสอบรายละเอียดการทาธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ องกับกองทุนรวมได้ ที่บริ ษัทจัดการ โดยตรงหรื อที่ เ ว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท จั ด การที่ http://www.kasikornasset.com หรื อที่ เ ว็ บ ไซต์ ข องส านั ก งาน ก.ล.ต. ที่ http://www.sec.or.th 12.2 นโยบายการทาธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ องและมาตรการการป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ในการทาธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ อง บริ ษัทจัดการจะปฏิบตั ิให้ เป็ นไปตามประกาศที่กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การกระทาที่อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม และมีหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี ้ เป็ น ธุรกรรมที่ใช้ ราคาที่เป็ นธรรม เป็ นธุรกรรมที่บคุ คลที่มีสว่ นได้ เสียกับการทาธุรกรรมไม่ มีสว่ นร่ วมในการตัดสินใจเข้ าทาธุรกรรม และการคิดค่าใช้ จ่ายที่เกิดขึ ้นจากการเข้ าทาธุรกรรมจากกองทุนรวมอยูใ่ นอัตราที่เป็ นธรรมและเหมาะสม บริ ษัทจัดการจะจัด ให้ มีการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน ในกรณี (ก) การเข้ า ท าธุ ร กรรมกับ บุค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ เ ป็ นการได้ ม าเพิ่ ม เติ ม หรื อการจ าหน่า ยไปซึ่ง ทรั พ ย์ สิน กิ จ การ โครงสร้ างพื ้นฐาน ซึ่งมีมลู ค่าของทรัพย์สินไม่น้อยกว่า 20,000,000 บาท หรื อไม่น้อยกว่าร้ อยละ 3 ของมูลค่า ทรัพย์สนิ สุทธิของกองทุนรวม แล้ วแต่จานวนใดจะสูงกว่า เว้ นแต่เป็ นกรณีที่ต้องปฏิบตั ิตามข้ อตกลงหรื อสัญญา ที่มีกบั ภาครัฐ ซึง่ ได้ ระบุไว้ เป็ นการเฉพาะเจาะจงแล้ วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การเข้ าทา แก้ ไข หรื อยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึง่ มี มูลค่าของสัญญาไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ ใน (ก)

52


(ค) การตกลง ยินยอม หรื อใช้ สทิ ธิออกเสียง เพื่อให้ บริ ษัทที่กองทุนรวมเป็ นผู้ถือหุ้นทาธุรกรรมตาม (ก) หรื อ (ข) กับ บุคคลที่เกี่ยวข้ อง 12.3 แนวโน้ มการทาธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้ องในอนาคต บริ ษัท อมตะ บี.กริ ม เพาเวอร์ จากัด (“อมตะ บี.กริ ม”) ซึ่งเป็ นผู้ถือหุ้นร้ อยละ 98 และ ร้ อยละ 100 ใน บี.กริ ม 1 และ บี.กริ ม 2 ตามลาดับ และเป็ นผู้ถือหน่วยลงทุนร้ อยละ 29.97 ของกองทุนรวม อยู่ระหว่างการพิจารณาการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ า แห่งใหม่ ในบริ เวณพืน้ ที่ข้างเคียงของโรงไฟฟ้ าบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 ซึ่งอาจต้ องดาเนินการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าแห่งใหม่ บางส่วนบนพื ้นที่ของโรงไฟฟ้ าบี.กริ ม 1 และบี.กริ ม 2 โดยตามสัญญาโอนผลประโยชน์และสัญญาตกลงกระทาการ หาก อมตะ บี.กริ มจะดาเนินตามแผนข้ างต้ น จะต้ องดาเนินการยื่นขอคายินยอมจากกองทุนรวมเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรก่อน จึง สามารถดาเนินการได้

53


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

            

          

           

    

         

         

                                 

54

 

    

    

    

  

  

  














                                                                                                                                                      55


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

15. ความเห็นของผู้ดูแลประโยชน์ เกี่ยวกับการดาเนินงานของกองทุนรวมในรอบระยะเวลาหนึ่งปี ที่ผ่านมา

56


57


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

58


59


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

60


61


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

62


63


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

64


65


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

66


67


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

68


69


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

70


71


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

72


73


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

74


75


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

76


77


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

78


79


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

80


81


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

82


83


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

84


85


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

86


87


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

88


89


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

90


91


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

92


แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม ของรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุน* (Fund's Direct Expense)

ค่าธรรมเนียมการจัดการ (Management Fee) ค่าธรรมเนียมผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee Fee) ค่านายทะเบียน (Registrar Fee) ค่าที่ปรึกษาการลงทุน (Advisory Fee) ค่าตรวจสอบบัญชี (Audit Fee) ค่าใช้จ่ายในการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ (Market Valuation Fee) ค่าธรรมเนียมรายปีของตลาดหลักทรัพย์ (SET Annual Listing Fee) ค่าบริการงานทะเบียนหน่วยลงทุน (Registrar service Expense) ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ในช่วงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ภายหลังเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (Other Expenses)** รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Total Fund’s Direct Expenses)***

จำนวนเงิน ร้อยละของมูลค่า (พันบาท) ทรัพย์สินสุทธิ 6,120.10 979.22 857.45 342.40 756.16

0.13 0.02 0.02 0.01 0.02

520.11

0.01

566.94

0.01

445.52

0.01

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี 174.66 10,762.56

ไม่มี 0.00 0.23

* ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่หักจากกองทุนรวมได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ** ค่าใช้จ่ายอื่นที่ < ร้อยละ 0.01 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ *** ไม่รวมค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายหลักทรัพย์

93


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

แบบแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุนรวม ของรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากกองทุน* (Fund's Direct Expense)

ค่าธรรมเนียมการจัดการ (Management Fee) ค่าธรรมเนียมผู้ดูแลผลประโยชน์ (Trustee Fee) ค่านายทะเบียน (Registrar Fee) ค่าที่ปรึกษาการลงทุน (Advisory Fee) ค่าตรวจสอบบัญชี (Audit Fee) ค่าใช้จ่ายในการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ (Market Valuation Fee) ค่าธรรมเนียมรายปีของตลาดหลักทรัพย์ (SET Annual Listing Fee) ค่าใช้จ่ายในการจ่ายเงินปันผล (Dividend Payment Expense) ค่าบริการงานทะเบียนหน่วยลงทุน (Registrar service Expense) ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ในช่วงเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการขาย ภายหลังเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (Other Expenses)** รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด (Total Fund’s Direct Expenses)***

จำนวนเงิน ร้อยละของมูลค่า (พันบาท) ทรัพย์สินสุทธิ 12,719.74 2,035.16 1,700.91 684.80 1,500.00

0.26 0.04 0.04 0.01 0.03

1,052.17

0.02

1,182.74

0.02

243.07

0.01

897.55

0.02

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี 200.97 22,217.11

ไม่มี 0.00 0.45

* ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่หักจากกองทุนรวมได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ** ค่าใช้จ่ายอื่นที่ < ร้อยละ 0.01 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ *** ไม่รวมค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายหลักทรัพย์

94


รายละเอียดแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภท กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประเภท มูลค่าเงินลงทุน ร้อยละของ มูลค่าเงินลงทุน ร้อยละของ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ 4,175,215,000.00 93.88 4,930,644,000.00 91.73 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 85,256,407.00 1.92 90,504,641.65 1.68 ลูกหนี้จากสัญญาโอนผลประโยชน์ 207,777,076.00 4.67 369,828,314.40 6.88 จากการประกอบกิจการไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี 557,699.00 0.01 615,798.41 0.01 รวมทรัพย์สิน 4,468,806,182.00 100.47 5,391,592,754.46 100.30 หนี้สิน (21,289,711.00) (0.47) (16,228,224.00) (0.30) มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 4,447,516,471.00 100.00 5,375,364,530.46 100.00

สรุปมูลค่าทรัพย์สิน ทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลค่าทรัพย์สิน 4,468,806,182.00 บาท มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 4,447,516,471.00 บาท จำนวนหน่วย 600,000,000.0000 หน่วย มูลค่าต่อหน่วยลงทุน 7.4125 บาท อัตราส่วนหมุนเวียนการลงทุนของกองทุนรวม (PTR) : N/A

95


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์

ประเภทโครงการ อายุโครงการ

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานประเภทไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน ไม่ ก ำหนดอายุ โ ครงการ อย่ า งไรก็ ดี หากกองทุ น รวมไม่ มี ก าร

ลงทุนเพิ่มเติม สัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการ

ไฟฟ้าที่กองทุนลงทุนในครั้งแรกจะสิ้นสุดในวันที่ 27 กันยายน

พ.ศ. 2565 19 กันยายน 2556 3,656.28 ล้านบาท (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2561) 600 ล้านหน่วย สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี

วันที่จดทะเบียนกองทุน มูลค่าโครงการ จำนวนหน่วยลงทุน รอบระยะเวลาบัญชี วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อระดมเงินทุนจากนักลงทุนทั่วไป ทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลทั้งในประเทศ

และ/หรือ ต่างประเทศซึ่งกองทุนรวมจะนำเงินที่ ได้จากการระดมทุนไปลงทุนในทรัพย์สินกิจการ โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานซึ่ง เป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะในวงกว้างของประเทศไทยโดยกองทุนรวมจะเข้าทำสัญญาเพื่อให้ ได้ ม าซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น กิ จ การโครงสร้ า งพื้ น ฐาน นอกจากนี้ ก องทุ น รวมจะจั ด หาผลประโยชน์ จ าก

ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมเข้าลงทุนเพื่อก่อให้เกิดรายได้และผลตอบแทนแก่ กองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม รวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินอื่น และ/หรือ

หลักทรัพย์อื่น และ/หรือ การหาดอกผลอื่นใดตามที่กฎหมายหลักทรัพย์ และ/หรือ กฎหมายอื่นใด

ที่เกี่ยวข้องกำหนด นโยบายการลงทุน ในการลงทุนครั้งแรก กองทุนรวมจะทำการลงทุนในสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบ กิจการไฟฟ้ากับ บี.กริม 1 และ บี.กริม 2 ซึ่งประกอบกิจการโรงไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ นคร จังหวัดชลบุรี โดยระยะเวลาของสัญญาโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าจะเริ่ม ตั้งแต่วันที่กองทุนรวมชำระราคาซื้อให้แก่บี.กริม 1 และ บี.กริม 2 • สำหรับ บี.กริม 1 วันสิ้นสุดระยะเวลาการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าหมาย ถึงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2562 • สำหรับ บี.กริม 2 วันสิ้นสุดระยะเวลาการโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าหมาย ถึงวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2565 96


บี.กริม 1 และ บี.กริม 2 ตกลงโอนผลประโยชน์จากการประกอบกิจการไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกัน คำนวณตามสูตรดังต่อไปนี้ ให้แก่กองทุนรวม โดยคิดจากผลประกอบการราย 6 เดือน ในรอบ มกราคมถึงมิถุนายน และรอบกรกฎาคมถึงธันวาคมโดยโอนภายในเดือนมีนาคมและเดือนสิงหาคม ของแต่ละปี ผลประโยชน์ จ ากการประกอบกิ จ การไฟฟ้ า = กระแสเงิ น สดรั บ ที่ ไ ด้ จ ากรายได้ ข อง

โรงไฟฟ้า - กระแสเงินสดที่จ่ายสำหรับรายจ่ายของโรงไฟฟ้า + การเปลี่ยนแปลงรายการตั้งสำรอง + เงินสดคงเหลือต้นงวด – เงินสดคงเหลือขั้นต่ำ นโยบายการจ่ายเงินปันผล 1. โครงการมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่เกินปีละ 2 ครั้ง 2. การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนจะเป็นไปตามข้อกำหนดดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการจะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อรวมแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกำไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ว (2) การคำนวณกำไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ว บริษัทจัดการจะคำนวณโดยหักกำไรสุทธิของกองทุน รวมด้วยรายการดังต่อไปนี้ (ก) กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized gain) จากการประเมินราคาทรัพย์สินกิจการ โครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวม รวมทั้งการปรับปรุงด้วยรายการอื่นตามแนวทาง ที่สำนักงานกำหนด เพื่อให้สอดคล้องกับสถานะเงินสดของกองทุนรวม (ข) เงินสำรองที่กันไว้เพื่อซ่อมแซม บำรุงรักษา หรือปรับปรุงกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ของกองทุนรวมตามแผนที่กำหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการของกองทุนรวมและ หนังสือชี้ชวน หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ค) เงินสำรองที่กันไว้เพื่อการจ่ายชำระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตาม นโยบายการกู้ยืมเงินที่กำหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและ หนังสือชี้ชวนหรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า ในกรณีที่กองทุนรวมมีค่าใช้จ่ายที่ ไม่ ใช่เงินสด เช่น ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจ่ายหรือผล ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss) เป็นต้น บริษัทจัดการจะหักรายการตาม (ข) และ (ค) จากกำไรสุทธิของกองทุนรวมได้ตามมูลค่าของรายการดังกล่าวเฉพาะส่วนที่เกิน กว่าค่าใช้จ่ายที่ ไม่ ใช่เงินสดเท่านั้น (3) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ บริษัทจัดการจะไม่จ่ายเงินปันผล 3. บริษัทจัดการจะดำเนินการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนภายใน 90 วันนับตั้งแต่ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผลนั้นหรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่าย เงินปันผลนั้น แล้วแต่กรณี เว้นแต่ กรณีที่มีเหตุจำเป็นให้ ไม่สามารถจ่ายเงินปันผลได้ ในระยะ เวลาดังกล่าวบริษัทจัดการจะแจ้งให้สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และผู้ถือหน่วยลงทุนทราบ เป็นลายลักษณ์อักษร 97


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4. เงื่อนไขเพิ่มเติม : (1) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผล ถ้าเงินปันผลที่จะประกาศจ่ายต่อหน่วยลงทุนระหว่างปี

มีมูลค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับ 0.10 บาท บริษัทจัดการสงวนสิทธิที่จะไม่จ่ายเงินปันผลในครั้ง นั้น และให้สะสมเงินปันผลดังกล่าวเพื่อนำไปจ่ายรวมกับเงินปันผลที่จะให้มีการจ่ายใน งวดถัดไป (2) สำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว บริษัทจัดการจะดำเนินการให้เป็นไปตามที่ระบุ ไว้ เว้นแต่ กรณีที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/หรือหน่วย งานอื่นใดที่มีอำนาจตามกฏหมาย ได้มีการแก้ ไขเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ประกาศ กำหนด สั่งการ เห็นชอบ และ/หรือ ผ่อนผันเป็นอย่างอื่น บริษัทจัดการจะดำเนินการให้เป็นไป ตามนั้น ทั้งนี้ บริษัทจัดการขอสงวนสิทธิที่จะดำเนินการดังกล่าวได้ โดยไม่ต้องได้รับมติ จากผู้ถือหน่วยลงทุน โดยถือว่าได้รับความเห็นชอบจากผู้ถือหน่วยลงทุนแล้วทุกประการ และไม่ถือเป็นการแก้ ไขเพิ่มเติมโครงการการจ่ายเงินปันผล ผู้ดูแลผลประโยชน์ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) นายทะเบียน บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด

98


รายชือ่ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ กี ารทำธุรกรรมกับ กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ สำหรับระยะเวลาตัง้ แต่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ไม่มีการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบรายละเอียดการทำธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม ได้ที่บริษัทจัดการโดยตรง หรือที่ website ของบริษัทจัดการที่ http://www.kasikornasset.com หรือที่ Website ของสำนักงาน ก.ล.ต. ที่ http://www.sec.or.th รายชื่ อ ผู้ จั ด การกองทุ น (หลั ก และสำรอง) ของกองทุ น รวมโครงสร้ า งพื้ น ฐานโรงไฟฟ้ า อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ สุนิดา มีชูกุล ชัชชัย สฤษดิ์อภิรักษ์ ชัยพร ดิเรกโภคา ทรงพร สืบสายไทย

การรับผลประโยชน์ตอบแทนเนื่องจากที่กองทุนใช้บริการบุคคลอื่น (Soft Commission)

ไม่มี

99


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ บลจ. กสิกรไทย จำกัด ประวัต ิ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด เป็นบริษัทในเครือธนาคารกสิกรไทย ที่ ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ

หลักทรัพย์ ประเภทการจัดการลงทุนจากกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2535 ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการจัดการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพในเดือนมิถุนายน 2543 และได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคลในเดือนมีนาคม 2544 ในปัจจุบัน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด เป็นบริษัทจัดการลงทุนที่มีความพร้อมทั้งในด้านการให้บริการ

การวิจัย และการจัดการลงทุน โดยดำเนินธุรกิจจัดการกองทุนด้วยบุคลากรที่มีคุณภาพพร้อมกับ ข้อมูล ข่าวสาร ระบบงานและเทคโนโลยี ในการจั ดการลงทุนที่ทันสมัย และยึดมั่นในจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด เพื่อรักษาความเป็นบริษัทจัดการลงทุนที่มีคุณภาพตลอดไป สถานที่ตั้งสำนักงาน บลจ. กสิกรไทย จำกัด ตั้งอยู่เลขที่ 400/22 อาคารธนาคารกสิกรไทย ชั้น 6 และชั้น 12 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน

เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2673 3888 โทรสาร 0 2673 3988 ทุนจดทะเบียน จำนวน แบ่งออกเป็น เรียกชำระแล้ว

135,771,370.00 27,154,274.00 135,771,370.00

บาท บาท มูลค่าหุ้นละ 5 บาท บาท

ผู้ถือหุ้น บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ถือหุ้นร้อยละ 99.99 กรรมการบริษัท 1. นางสาวขัตติยา อินทรวิชัย 2. นายวศิน วณิชย์วรนันต์ 3. นายสุรเดช เกียรติธนากร 4. นายประสพสุข ดำรงชิตานนท์ 5. นางรัตนาพรรณ ศรีมณีกุลโรจน์ 6. นางนิศานาถ อู่วุฒิพงษ์

ผู้บริหารระดับสูง 1. นายวศิน วณิชย์วรนันต์ 2. นายสุรเดช เกียรติธนากร 3. นายเกษตร ชัยวันเพ็ญ 4. นางสาวยุพาวดี ตู้จินดา 5. นายนาวิน อินทรสมบัติ 6. นายชัชชัย สฤษดิ์อภิรักษ์ 7. นางสาวธิดาศิริ ศรีสมิต 8. นายวิทวัส อัจฉริยวนิช 9. นายเขมชาติ สุวรรณกุล 10. นางสาวเอื้อพันธ์ เพ็ชราภรณ์ 11. นางสาวเบญจรงค์ เตชะมวลไววิทย์ 12. นางหทัยพัชร์ ชูโต 13. นางสาวชนาทิพย์ รุ่งคุณานนท์ 14. นางอรอร วงศ์พินิจวโรดม

100

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนต่างประเทศ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนตราสารหนี้ รองกรรมการผู้จัดการและประธานบริหารการลงทุนตราสารทุน รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2561


เอกสารแนบ 1 รายงานผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกำไรขาดทุน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน


กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์



กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโรงไฟฟ้าอมตะ บี.กริม เพาเวอร์




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.