CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 1
ฉบับเดือนสิงหาคม 2559-ปักษ์แรก
บันทึกหลังสอน เพื่อการพัฒนาศักยภาพนักเรียนและการจัดการเรียนการสอนของครู ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอน(CKK-MIS) ตามที่ทางกลุ่มงานบริหารวิชาการกาหนดส่งคะแนนวัดผลกลางภาค (คะแนนรายหน่วยอย่างน้อย 1 หน่วยและ คะแนนสอบกลางภาค) ด้วยระบบ CKK-MIS ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป โดยโอนคะแนนจาก BookMark Version 4.0 เข้าระบบ CKK-MIS ซึ่งครูได้ออกแบบการวัดประเมินผลการเรียนให้สอดคล้องกัน ให้น้าหนักคะแนนแยกตาม มาตรฐานตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และ KPA จากผลการดาเนินการดังกล่าว ทาให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาครูผู้สอนและพัฒนานักเรียน ได้แก่ 1) ครูผู้สอนนาไปจัดทาผลงานทางวิชาการ เช่น บันทึกหลังการสอน รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ รายงานการ ใช้สื่อหรือนวัตกรรมอื่นๆ และข้อมูลประกอบการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน และ 2) เป็นเครื่องมือสะท้อนกลับ(Reflection) ใน กระบวนการนิเทศการสอน สาหรับครูกัลยาณมิตร หัวหน้ากลุ่มสาระ วิชาการหรือผู้ได้รับมอบหมาย โดยอาศัยค่าสถิติจาก ระบบ CKK-MIS ดังนี้
รายงานสรุปคะแนนวัดประเมินผลระหว่างเรียน (ดังรูป 1) เป็นข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงค่าสถิติคะแนนหน่วยที่ 1 และคะแนนกลางภาค จากการวัดผลครั้งที่ 1 ซึง่ ครูใช้เป็นข้อมูลเขียนเป็นข้อเสนอแนะในการพัฒนานักเรียนในบันทึกหลัง สอนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1-2 รวมทั้งแบบรายงานในข้อ 2 – 4
รูป 1
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 2
จากรูปค่าสถิติของรายงานดังกล่าว สรุป อธิบายและแปลผล ได้ดังนี้ 1.
ร้อยละของคะแนนเต็ม หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยกับคะแนนเต็ม ซึ่งควรมีค่ามากกว่าร้อยละ 60
2.
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานควรต่า เพราะสูงแสดงถึงนักเรียนอ่อน-เก่งต่างกันมาก
3.
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย จากสูตร 𝐶𝑉 =
𝑆𝐷 𝑥̅
× 100
เป็นค่าทีบ่ ่งบอกถึงประสิทธิภาพการสอนของครู
(รายละเอียดตามบทความที่เกี่ยวข้อง) ค่าและความหมายระดับคุณภาพ 1 - 5 =ดีมาก
6 - 10=ดี 11 – 15=พอใช้
>15=ควรปรับปรุง
ประโยชน์จาก CV สูงเกิน 15 ของคะแนนหน่วยที่ 1 - 2 หรือคะแนนสอบกลางภาค ตามรายงานใน CKK-MIS ถือเป็นโอกาสดีของครูผู้สอนที่จะนาไปต่อยอดเป็นผลงานทางวิชาการโดยไม่ต้องสร้างหลักฐานใหม่ CV ที่เกิน 15 และหรือค่าเฉลี่ย( ต่่า(ต่ากว่า 50%) เป็นเหตุผลที่ต้องพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของ ครูผู้สอน เพราะเกิดจากคะแนนนักเรียนมีความแตกต่างกันภายในห้องหรือเป็นนักเรียนกลุ่มต้น เช่น เรียนรู้ช้า ขาดวินัยใน ตนเอง ไม่มีความรับผิดชอบ ครูผู้สอนสามารถใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้มาแก้ปัญหาเพื่อพัฒนานักเรียนดังกล่าว เช่น ใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ เทคนิควิธีการสอน หรือรูปแบบการวัดผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เป็นต้น แล้วรายงานผลการพัฒนาด้วยรายงานครั้งที่ 2 สิ้นภาคเรียน (จากรูป 2 วผ2 คือคะแนนพัฒนาจากการโอนครั้งที่ 2 ) ซึ่งจะแสดงร้อยละคะแนนพัฒนาการรายบุคคล และรายชั้นเรียนเปรียบเทียบครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 ซึ่งตามปกติค่าเฉลี่ย( ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่า CV. ย่อมดีขึ้นเป็นปกติอยู่แล้ว บันทึกหลังสอนและวิจัยในชั้นเรียน ครูผู้สอนนาข้อมูลเหล่านี้ไปอ้างอิงได้ ทั้งข้อมูลรายบุคคลตามหน่วยการ เรียน และคะแนนสอบกลางภาค(รูป 2) รายงานสรุปการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้( รูป 3) และรายงาน สรุปการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้( รูป 4) ในการอ้างอิงความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.2551 และหลักสูตรสถานศึกษา ตัวอย่างการบันทึกประกอบรายงานสรุปคะแนนวัดประเมินผลระหว่างเรียน (เพื่อนาไปแนบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้) ครูผู้สอน : ได้จัดการเรียนรู้ด้วย(แผนจัดการเรียนรู้/สื่อการเรียนรู้/เทคนิคการสอน/.....ฯลฯ) พบว่านักเรียนได้ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ........จากคะแนนเต็ม.........คะแนน คิดเป็นร้อยละ..........ของคะแนนเต็ม ซึ่ง(สูง/เท่ากับ/ต่่ากว่า) เกณฑ์ ที่ตั้งไว้/เกณฑ์ที่น่าพอใจ นักเรียนมีการเรียนรู้ (ดี/ปานกลาง ใกล้เคียงกัน/ต่างกัน)จากค่า S.D.=…….. และ C.V.=………… ซึ่ง (แสดงถึงประสิทธิภาพของ ................/จะน่าผลดังกล่าวไปพัฒนานักเรียนที่มีผลการเรียนอ่อนจ่านวน......คนดังรายละเอียด รายงานคะแนนการพัฒนานักเรียน ด้วย(สื่อ/นวัตกรรม/เทคนิคการสอน/ฯลฯ)) หัวหน้ากลุ่มสาระ : เป็นการจัดการเรียนรู้ท(ี่ มีประสิทธิภาพ/ดี/ควรพัฒนานักเรียนอ่อน/ทั้งห้อง ฯลฯ) ผช.รอง กลุ่มงานบริหารวิชาการ : สมควรยกย่องเป็นแบบอย่างดี/รับทราบการวางแผนพัฒนานักเรียน ฯลฯ
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 3
รูป 2
สรุปแนวทางประกอบการบันทึกหลังสอน การวิจัยในชั้นเรียน และการนิเทศสอน ที่ 1 2 3 4
ค่าเฉลี่ยสูงกว่า 60% ของคะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ยสูงกว่า 60% ของคะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ยต่ากว่า 50% ของคะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ยต่ากว่า 50% ของคะแนนเต็ม
S.D.
C.V.
S.D.ต่า S.D. สูง
CV <= 10 ดี CV >10-15 ปานกลาง CV >10-15
S.D. ต่า
CV ต่ากว่า 15
S.D. สูง
CV สูงเกิน 15
ความหมาย
แนวทางการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพดี
รักษาคุณภาพ
-การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพปานกลาง -นักเรียนเก่ง-อ่อนแตกต่างกัน -เป็นนักเรียนกลุ่มต้น(นักเรียนอ่อน) -การจัดการเรียนรู้ประสิทธิภาพพอใช้ -นักเรียนอ่อน-เก่งแตกต่างกัน -การจัดการเรียนรู้ประสิทธิภาพต้อง ปรับปรุง
พัฒนานักเรียนอ่อน พัฒนานักเรียนทั้งห้อง -พัฒนานักเรียนอ่อน -เสริมนักเรียนเก่ง
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 4
รายงานการพัฒนาคุณภาพนักเรียนรายหน่วยการเรียนและสอบกลางภาค เป็นรายงานที่แสดงค่าเฉลี่ยที่เกิดจากครูผู้สอนได้พัฒนานักเรียนอ่อนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับเพื่อนๆ จะเห็นได้จาก ค่า
, S.D. และ C.V. ดีขึ้นเมื่อเทียบกับการวัดผลครั้งที่
รูป 3
1 ในหน่วยที่ 1 – 2 และสอบกลางภาค (ดังรูป 2)
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 5
รายงานการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นรายงานแสดงค่าสถิติเมื่อสิ้นภาคเรียน แยกตามมาตรฐานการเรียนรู้ ทาให้เห็นถึงน้าหนักคะแนนในแต่ละ มาตรฐานว่าครูผู้สอนเน้นหนักการจัดการเรียนรู้ไปในมาตรฐานใด สอดคล้องกับมาตรฐานที่ สทศ.แนะนาให้ปรับปรุงในการ ทดสอบ O-NET หรือไม่
รูป 4
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 6
แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพนักเรียนตามสาระการเรียนรู้ เป็นรายงานแสดงค่าสถิติเมื่อสิ้นภาคเรียน แยกตามสาระการเรียนรู้ ทาให้เห็นถึงน้าหนักคะแนนในแต่ละสาระฯว่า ครูผู้สอนเน้นหนักการจัดการเรียนรู้ไปในสาระฯใด สอดคล้องกับสาระฯที่ สทศ.แนะนาให้ปรับปรุงในการทดสอบ O-NET หรือไม่
รูป 5
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 7
สรุปรายงานในการโอนครั้งที่ 2 (สิ้นภาคเรียน)
รูป 6
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 8
บทความที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (ดร.กาญจนา วัฒายุ, การอบรม : หลักสูตรเทคนิคการจัดการเรียนรู้ การออกแบบการ จัดการเรียนรู้แบบ Backward Design และนาผลการวิจัยไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน ระหว่างวันที่ : 2-3 สิงหาคม 2551 ณ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม) เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://kruchalao.blogspot.com/2008_08_03_archive.html : เข้าถึง 21 ก.ค.59 สรุปความ ดังนี้ 1. การเขียนกิจกรรมเสนอแนะและบันทึกหลังสอนนาผลที่ได้จากการจัดการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยมาพิจารณาค่า S.D. ถ้ามีการกระจายมาก (สูงมาก) นามาเขียนกิจกรรมเสนอแนะ แล้วดาเนินการสอนใหม่ สอบใหม่ จากนั้นจึงนาผลที่ได้มา เขียนบันทึกหลังสอน โดยพิจารณา 1. ถ้าค่าเฉลี่ยของคะแนนต่า ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสูง ให้พัฒนาเฉพาะนักเรียนที่เรียนอ่อน 2. ถ้าค่าเฉลี่ยของคะแนนต่า ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนต่า ให้พัฒนานักเรียนทั้งห้อง คุณภาพของการสอนที่ดีนั้น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสูง (ในระดับที่พอใจ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนต่า ยิ่งใกล้ 0 เท่าไรยิ่งดี 2. การหาคุณภาพของการสอน นอกจากการพิจารณาที่ผลอันเกิดจากการจัดการเรียนการสอนโดยดูที่ผลการเรียนของ นักเรียนแล้ว ครูผู้สอนควรพิจารณาคุณภาพการสอนของตนเอง เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าผู้สอนได้ดาเนินการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพจริงหรือไม่ โดยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) หลังเรียนในแต่ละหน่วย การตรวจสอบประสิทธิภาพการสอน หมายถึง การประเมินความสามารถในการสอน โดยประเมินคุณภาพการสอน หรือคุณภาพของผู้เรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้หรือตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่กาหนด ถ้า ค่า C.V. ต่ากว่า 10% คุณภาพการสอนดี ถ้า ค่า C.V. ระหว่าง 10-15% คุณภาพการสอนปานกลาง ถ้า ค่า C.V. สูงกว่า 15% คุณภาพการสอนต้องปรับปรุง ***กรณีที่ทาผลงานทางวิชาการ คุณภาพการสอนต้องอยู่ในระดับ ดี และ ค่า C.V. ที่สูงกว่า 10% ต้องเขียนในกิจกรรม เสนอแนะ เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน แล้วจึงนาผลที่ได้ไปเขียนในบันทึกหลังสอน*** การวิเคราะห์ผลใน 1 หน่วยการเรียนรู้ 1. หาค่า
, S.D. และ C.V. ทีละแผน
2. หาค่า , S.D. และ C.V. ในหน่วยการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่าง , S.D. และ C.V. · ค่า C.V. ต่ากว่า 10% แสดงว่าคุณภาพการสอนดี · แต่ C.V. จะต่าได้ ต้องสูง (ในระดับที่พอใจ) และ S.D. ต้องต่า (ยิ่งใกล้ 0 ยิ่งดี)
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 9
· แต่การที่ S.D. จะต่าได้ ครูต้องพัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ใกล้เคียงกัน จากค่า C.V. ที่ต้องปรับปรุง จะปรับปรุงอย่างไร - ไปดูที่คะแนนดิบหลังเรียนเพื่อค้นหาว่ามีนักเรียนคนใดที่ยังมีคะแนนต่ามาก (เด็กอ่อน) - ดาเนินการแก้ปัญหา ปรับปรุงและส่งเสริมให้นักเรียนคนนั้นมีพัฒนาการที่ดีขึ้นโดยการสอนด้วยวิธีการ นวัตกรรม ใหม่ และวัดผลใหม่เฉพาะกลุ่ม โดยใช้แบบวัดประเมินผลชุดเดิมเพื่อดูผลการพัฒนา การน่าผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน - ให้ดูค่า ว่าพอใจหรือไม่ ถ้าไม่พอใจต้องพัฒนาผู้เรียน - จะพัฒนาอย่างไร ให้ดูที่ค่า S.D. ถ้า S.D. สูง ให้พัฒนาเฉพาะที่เรียนอ่อน โดยใช้นวัตกรรมใหม่ แล้วสอบใหม่ เฉพาะกลุ่ม - นาผลหลังการพัฒนามาหาค่า และ S.D. ใหม่ เมื่อพอใจแล้วจึงนาไปเขียนบันทึกหลังสอน
การเขียนบันทึกหลังสอน ให้เขียนผลที่เกิดครั้งแรกก่อนแล้วบอกว่าพัฒนานักเรียนด้วยนวัตกรรมอะไร นักเรียน กี่คน เลขที่อะไรบ้าง แล้วจึงเขียนผลหลังการพัฒนา โดยแสดงค่า , S.D. และ C.V.
การพิจารณาประสิทธิภาพการสอนแบบง่าย (www.kroobannok.com/blog/40620 : เข้าถึง 21 ก.ค.59) การพิจารณาว่าการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่เราสามารถดูได้จากค่าเฉลี่ย
, S.D, C.V. โดยเปรียบเทียบ
จากการทดสอบ ก่อนสอน หลังสอน โดยพิจารณาตามลักษณะต่อไปนี้ 1. ค่าเฉลี่ยหลังสอน สูงกว่าก่อนสอน S.D หลังสอนมีค่าเท่าเดิมหรือใกล้เคียงกับ S.D เดิม แสดงว่า การจัดการเรียนการสอนของครู ช่วยให้นักเรียนทุกคนมีความรู้เพิ่มเท่ากัน แต่คุณภาพการสอนไม่สูงนัก 2. ค่าเฉลี่ยหลังสอน สูงกว่าก่อนสอน S.D หลังสอน สูงกว่า S.D ก่อนสอน แสดงว่า ยิ่งสอนความรู้ยิ่งต่างกัน เก่งยิ่งเก่ง เรียนอ่อนยิ่งได้คะแนนน้อย ครูสอนแบบปล่อยปละละเลย สอนไม่ดี 3. ค่าเฉลี่ยหลังสอน สูงกว่า ก่อนสอน S.D หลังสอน น้อยกว่า S.D ก่อนสอน แสดงว่า ครูพยายามสอนให้นักเรียนได้รับความรู้สูงสุด เท่าที่แต่ละคนสามารถจะรับได้เด็กเรียนอ่อนพัฒนามาก พวกเก่งถูกจากัดด้วยคะแนนเต็ม จึงไม่ต่างกันนัก เป็นการสอนได้คุณภาพที่สุด การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย , S.D.,C.V. 1. ค่าเฉลี่ย จะบอกสภาพรวมของนักเรียนภายในชั้นว่ามีผลการเรียนอยู่ในระดับใด มาตรฐานอยู่ที่ 60% 2. ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) ค่า S.D. จะบ่งบอกถึงความแตกต่างของนักเรียนในชั้นว่ามีความแตกต่างกันมาก น้อยเท่าใด และบอกถึงพฤติกรรมของครูว่าครูให้ความสนใจสอนเด็กเก่ง เด็กอ่อน แตกต่างกันแค่ไหน S.D. มีค่า ต่า จะ ดี แสดงให้เห็นว่า คะแนนเด็กไม่กระจาย เด็กมีความสามารถทัดเทียมกันเก่ง เก่งเท่า ๆ กัน อ่อน อ่อนเท่า ๆ กัน
CKK-MIS Info v.08-2016 หน้า 10
3. สัมประสิทธิ์ของการกระจาย (C.V.) ค่า C.V. จะบอกคุณภาพของการเรียนการสอน ค่า C.V. มีความหมายดังนี้ 1 - 5 ~ ดีมาก 6 - 10 ~ ดี 11 - 15 ~ พอใช้ 15+ ~ ควรปรับปรุง การพิจารณาการสอนของครูว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด พิจารณาจาก ค่าเฉลี่ย สูงขึ้นเพียงใด S.D. ลดลงหรือไม่ C.V. ต่ากว่าร้อยละ 15 หรือไม่ ถ้าเป็นไปดังนี้ ถือว่าการสอนของครูมีประสิทธิภาพ ในการประเมินจะดูผลเปรียบเทียบจาก นักเรียนในกลุ่มเดียวกัน