Narit บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ2015

Page 1


ค�ำนิยม หอดูดาวแห่งชาติเป็ นโครงสร้ างพื ้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทสี่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของชาติไทย ที่ได้ รับพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็ นล้ นพ้ นจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระราชทานนาม “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา” และจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงติดตามการพัฒนาทางดาราศาสตร์ ของ ประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ทรงรับโครงการหอดูดาวแห่งชาตินี ้เป็ นโครงการในพระราชด�ำริ ฯ บทความของ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำ� นวยการสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ ฉบับนี ้ได้ รวบรวมจากความทรงจ�ำทีต่ วั ผู้เขียนทีป่ ระทับใจกับท้ องฟ้าเมือ่ ครังที ้ ไ่ ด้ ไปสังเกตการณ์ ดาวหางเฮล บอพพ์เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 และมีแรงบันดาลใจทีจ่ ะให้ มหี อดูดาวในระดับมาตรฐาน สากลบนยอดดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนได้ ชี ้ให้ เห็นว่า ผู้เขียนและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยว ข้ องได้ ใช้ ความพยายามเป็ นอย่างมากในการผลักดัน ประสบกับปั ญหาอุปสรรคมากมายใน ช่วงเวลาสิบกว่าปี ที่ผา่ นมา แต่ด้วยความตังใจและมุ ้ ง่ มัน่ การก่อสร้ างหอดูดาวแห่งชาติแห่งนี ้ จึงประสบความส�ำเร็จในที่สดุ หอดูดาวแห่งชาติก�ำหนดเปิ ดอย่างเป็ นทางการในวันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556 โดยได้ รับพระมหากรุ ณาธิคณ ุ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็ นองค์ประธานในพิธีเปิ ดหอดูดาวแห่งชาติ ความยากล�ำบากในการก่อตังหอดู ้ ดาวแห่งชาติในอดีตที่ผ้ เู ขียนสาธยายออกมาจาก ความทรงจ�ำนัน้ คงเทียบไม่ได้ กบั คุณปู การที่จะได้ รับจากการมีหอดูดาวแห่งชาติในอนาคต หอดูดาวแห่งนี ้เป็ นหอดูดาวระดับมาตรฐานโลก มีกล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร และเครื่องวัดสัญญาณทีท่ นั สมัยพร้ อมทีจ่ ะรองรับงานวิจยั ทางดาราศาสตร์ ในระดับ แนวหน้ า ท�ำให้ ประเทศไทยมีโครงการความร่ วมมือด้ านการวิจยั และวิชาการทังในระดั ้ บ ประเทศและนานาชาติ รวมทังเป็ ้ นแหล่งเรี ยนรู้ทางวิชาการด้ านดาราศาสตร์ แก่เยาวชนและ ประชาชนทัว่ ประเทศ ดังนันการมี ้ หอดูดาวแห่งชาติจงึ เป็ นความภาคภูมิใจของผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการก่อตัง้ หอดูดาวแห่งนี ้รวมทังผู ้ ้ ทปี่ ฏิบตั งิ านของสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติและชาวไทยทุกคน ตลอดไป

(ศ.ดร.ไพรั ช ธัชยพงษ์ ) ประธานคณะกรรมการบริ หาร สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ 2

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

(รองศาสตราจารย์ บุญรั กษา สุนทรธรรม) ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ


ค�ำน�ำ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา (หอดูดาวแห่งชาติ) เป็ นหอดูดาวที่ มีความทันสมัย ติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ที่มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ซึง่ ใหญ่ที่สดุ ใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ นหอดูดาวแห่งแรกในประเทศไทยทีม่ ขี ดี ความสามารถใน การศึกษาวิจยั ทัดเทียมกับหอดูดาวชันน� ้ ำในต่างประเทศ โครงการนี ้เป็ นการยกระดับขีดความ สามารถทางด้ านวิทยาศาสตร์ พื ้นฐานของประเทศ ให้ มคี วามก้ าวหน้ ายิง่ ขึ ้นไป นับเป็ นความ ภาคภูมิใจของคนไทยทังประเทศ ้ แต่แรกเมือ่ ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ขอให้ ผ้ เู ขียนได้ เขียนหนังสือ บันทึกเรื่ องราวความเป็ นมาว่าหอดูดาวแห่งชาตินนั ้ มี ความเป็ นมาเช่นไร เพราะไม่บ่อยนัก ที่จะมีการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานทางวิทยาศาสตร์ แบบนี ้ในประเทศไทย ผู้เขียนคิดว่า การบันทึกเรื่ องราวความเป็ นมาของหอดูดาวแห่งชาตินนั ้ น่าจะเป็ นประโยชน์ และท�ำให้ คนรุ่ นต่อไป มีก�ำลังใจที่จะช่วยกันผลักดันให้ มีการพัฒนา ดาราศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ พื ้นฐานในสาขาอื่นๆ ให้ มีความก้ าวหน้ า จะเห็นได้ ชดั ว่า การเกิดขึ ้นของหอดูดาวแห่งชาตินีไม่ ้ ใช่เป็ นผลงานของผู้ใดผู้หนึง่ แต่ เกิดจากความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ของผู้คนหลายคน ในบางครัง้ วิกฤตก็กลับกลายเป็ น โอกาส บางครัง้ ความล่าช้ ากลับกลายเป็ นความลงตัว และด้ วยความพยายาม ความฝั นก็ กลายเป็ นความจริ งขึ ้นมาได้ ผู้เขียนรู้สกึ ภาคภูมใิ จ ทีไ่ ด้ มสี ว่ นร่วมผลักดันโครงสร้ างพื ้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ทสี่ ำ� คัญ ของประเทศนี ้ ตลอดระยะเวลา 15 ปี และรู้สกึ ภาคภูมิใจและนับเป็ นเกียรติที่ได้ มีโอกาสร่วม งานกับหลายท่านที่ได้ กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี ้ สุดท้ ายนี ้ขอขอบคุณ คุณกัลยา ถาเปี ยง ทีไ่ ด้ ชว่ ยสืบค้ นข้ อมูลต่างๆ ทีบ่ างครัง้ อาจจะ ถูกหลงลืมไป คุณศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ที่ได้ ชว่ ยในด้ านการจัดท�ำรูปเล่ม และค้ นหาภาพต่างๆ หลายภาพที่เกี่ยวข้ องในหนังสือเล่มนี ้ และคุณธนา ธนาเจริ ญพร ที่ได้ ตรวจการใช้ ค�ำ และให้ ความเห็นอื่นๆ ศรั ณย์ โปษยะจินดา สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ 2 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

3


บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำ� นวยการ สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ

ดาวหางเฮล-บอพพ์ ย้ อนหลัง ไปในปี พ.ศ. 2540 มี ดาวหางสว่ า งใหญ่ ซ่ึ ง ถู ก ค้ นพบโดย นักดาราศาสตร์ ชาวอเมริ กัน 3 ปี ก่อน หน้ านัน้ ได้ แก่ ดาวหางเฮล-บอพพ์ (Comet C/1995 O1 (Hale-Bopp)) จะมาปรากฏ ในท้ องฟ้าซีกโลกเหนือ ซึง่ เห็นได้ ชดั ด้ วย ตาเปล่า ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ซึ่ ง ในช่ ว งเดื อ นดัง กล่ า ว เป็ นที่ ท ราบกั น ดี ว่ า หลายภู มิ ภ าคใน ประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนื อและ ตะวันออกเฉียงเหนือ จะประสบกับภาวะ หมอกควัน ที่ เ กิ ด ขึน้ เป็ นประจ� ำในช่วง ฤดูร้อน ผ้ เู ขียนและเพื่อนนักดาราศาสตร์ สมั ค รเล่ น ประกอบด้ วย น.ท.ฐากู ร เกิดแก้ ว (ยศในขณะนัน) ้ และคุณสุวิทย์ พิพิธวณิชธรรม ซึง่ มักจะรวมตัวกันดูดาว ภาพถ่ายดาวหางเฮล-บอพพ์ (Comet C/1995 O1 (Hale-Bopp)) เป็ นประจ�ำทีห่ อดูดาวเกิดแก้ ว (อ.บ่อพลอย ณ บริเวณยอดดอยอินทนนท์ ในวันที่ 5 เมษายน 2540 จ.กาญจนบุรี) ซึง่ เป็ นหอดูดาวของคุณฐากูร ตังแต่ ้ ต้นปี พ.ศ. 2539 ในช่วงที่มีดาวหางสว่างใหญ่ อีกดวงมาปรากฏ ได้ แก่ ดาวหาง เฮียกูตาเกะ (Comet C/1996 B2 (Hyakutake)) จึงต้ องการหาสถานที่ดแู ละถ่ายภาพ ดาวหางเฮล-บอพพ์ ในช่วงต้ นเดือน เมษายน และพฤษภาคม พ.ศ. 2540 ในช่วงหัวค�่ำ ซึง่ ปราศจากแสงจันทร์ รบกวน และท้ องฟ้ าใสพอที่เราจะเห็นหางแก๊ สเป็ นทางยาวได้ และ จากประสบการณ์ของคุณฐากูร ซึง่ ขณะนันเป็ ้ นนักบินของกองทัพอากาศ บอกผู้เขียนว่า ระดับ ความสูง ที่ ห มอกควันหรื อ ฟ้าหลัวมัก จะขึน้ ไปถึง จะอยู่ไ ม่เ กิ น ระดับความสูง 4

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ภาพ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา และเพื่อนนักดาราศาสตร์สมัครเล่น น.ท.ฐากูร เกิดแก้ว และคุณสุวิทย์ พิพิธวณิชธรรม ในการร่วมไปชมปรากฏการณ์ดาวหางเฮล-บอพพ์ ณ บริเวณหน่วยพิทักษ์ยอดดอยอินทนนท์ (เรียงจากขวาไปซ้าย)

2,000 เมตร จากระดับน� ้ำทะเลปานกลางพวกเราจึงคิดว่า คงจะมีสถานที่แห่งเดียวใน ประเทศไทย ก็คือยอดดอยอินทนนท์ ที่พวกเราจะสามารถตังกล้ ้ องและอุปกรณ์ตา่ งๆ เพื่อบันทึกการปรากฏของดาวหางดวงนี ้ได้ คุณสุวิทย์ ซึง่ มีน้องสาวท�ำงานที่กรมป่ าไม้ (คุณปิ ยะทิพย์ พิพิธวณิชธรรม) จึงได้ ตดิ ต่อขออนุญาตทางอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ก่อนหน้ านันพวกเราเคยมี ้ ประสบการณ์ดดู าวในสภาพท้ องฟ้ามืดในที่ตา่ งๆ แต่ก็ไม่เคย ขึ ้นไปดูดาวที่ระดับความสูงขนาดนัน้ เว้ นแต่จากหน้ าต่างเครื่ องบิน จ�ำได้ ว่าพวกเรา เดินทางไปถึงเชียงใหม่ในวันที่ 3 เมษายน และขึ ้นไปถึงยอดดอยอินทนนท์ในวันถัดมา ทัง้ นี ม้ ี อาจารย์ สาลิน วิรบุตร์ จากท้ องฟ้าจ� ำลองกรุ งเทพ และ มร.มาร์ ติน จอร์ จ (Mr. Martin George) ผู้อ�ำนวยการ ท้ องฟ้าจ�ำลองทัสเมเนีย ประเทศออสเตรเลีย ตามไปสมทบ ร่ วมกับคุณปิ ยะทิพย์ และเพื่อนอีกหลายคนจากกรมป่ าไม้ หนึ่งในนันคื ้ อ คุณเกรี ยงศักดิ์ ถนอมพันธุ์ ซึ่งต่อมาได้ เป็ น หัวหน้ าอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ร่วมไปชมปรากฏการณ์ ครัง้ นี ้ด้ วย บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

5


คืนแรกที่เห็นท้ องฟ้าที่ระดับความสูง 2,565 เมตร นัน้ พวกเราทุกคนมีความ ประทับใจในความงดงามของท้ องฟ้าที่ยอดดอยอินทนนท์ ดาวหางเฮล-บอพพ์ อวดหาง สองหางทัง้ หางฝุ่ นและหางแก๊ ส สว่างเห็นชัดด้ วยตาเปล่า พวกเราตังกล้ ้ องดูดาวที่ บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยหลายกล้ อง เช่น กล้ องแบบสะท้ อนแสงขนาดเส้ นผ่าน ศูนย์กลาง 10 นิ ้ว ของคุณสุวิทย์ กล้ องแบบสะท้ อนแสงขนาด 8 นิ ้ว ของผู้เขียน และกล้ อง แบบหักเหแสงขนาด 4 นิ ้ว ของคุณฐากูร นอกจากความประทับใจในความงดงามของ ดาวหาง เรายังได้ มีความสุขในการดูดาวและวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ จากสถานที่ที่ฟ้าใสที่สดุ ในประเทศไทยอย่างไม่ต้องสงสัย การที่ดาวฤกษ์ แทบจะไม่กระพริ บเมื่อดูด้วยตาเปล่า เป็ นเครื่ องชี ้สภาพทัศนวิสยั ทางดาราศาสตร์ ที่ดีเยี่ยมของดอยอินทนนท์ ซึง่ มีความสูง และอากาศเบาบางเทียบเท่าสถานที่ตงหอดู ั ้ ดาวชันน� ้ ำในโลก หลังจากคืนแรกผ่านไป ผู้เขียนได้ โทรศัพท์ไปชวน อาจารย์ ม.ล.อนิวรรต สุขสวัสดิ์ อาจารย์ดาราศาสตร์ ประจ�ำภาควิชาฟิ สกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็ นนักถ่ายภาพดาราศาสตร์ มาร่ วมดูดาวหางดวงนีด้ ้ วยกันที่ยอดดอย ผู้เขียน บรรยายความมหัศจรรย์ของท้ องฟ้าที่นนั่ จนอาจารย์หม่อม ต้ องขึ ้นมาร่ วมกับพวกเรา ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2540 นัน้ ผู้เขียนจ�ำได้ ว่าท้ องฟ้าในคืนนัน้ ใสที่สุด และเห็น หางแก๊ สได้ อย่างชัดเจนยาวไปถึงกลุม่ ดาวค้ างคาว ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือในช่วงหัวค�ำ่ หลังดวงอาทิตย์ตกได้ ไม่นาน หลังจากผ่านไป 4 คืน ก่อนจะกลับกรุงเทพฯ พวกเราก็เริ่ มวางแผนส�ำหรับการกลับ มาดูดาวหางดวงนี ้อีกครัง้ ในช่วงที่ปราศจากแสงจันทร์ รบกวนต้ นเดือนถัดมา ระหว่างนัน้ ดาวหางเฮล-บอพพ์ มีความสว่างสดใสเห็นได้ แม้ จากในเมืองที่มีแสงรบกวน เช่น กรุงเทพฯ แต่ก็ไม่สามารถเห็นหางแก๊ สยาวพาดไปยังทิศทางตรงข้ ามกับดวงอาทิตย์ได้ เพราะสภาพท้ องฟ้าไม่ดีพอ เห็นได้ แต่หางฝุ่ นซึง่ มีความสว่างมากเท่านัน้ ในช่วงต้ นเดือนพฤษภาคมนันเอง ้ พวกเราก็ได้ กลับไปติดตามสังเกตการณ์และ ถ่ า ยภาพดาวหางดวงนี ท้ ี่ ย อดดอยอิ นทนนท์ อี ก เป็ นเวลา 5 คื นด้ ว ยกัน ในช่ว งนัน้ ดาวหางเริ่ มถอยห่างจากดวงอาทิตย์ ความสว่างลดลงอย่างเห็นได้ ชดั เมื่อเทียบกับเดือน ก่อนหน้ า แต่แม้ กระนัน้ ที่หน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยอินทนนท์ เราก็ยงั ได้ เห็นความมหัศจรรย์ ของดาวหางดวงนี ้อีกครัง้ คราวนี ้หางแก๊ สเริ่ มแผ่ออกกว้ างแต่ก็ยงั เห็นได้ ชดั เจน และ เช่นเคย นอกจากดาวหางแล้ วเราก็ยงั ได้ ตื่นตากับวัตถุท้องฟ้ าอื่นๆ รวมถึงบริ เวณใจกลาง 6

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ทางช้ างเผือกในบริ เวณกลุม่ ดาวคนยิงธนู ซึง่ ปรากฏสว่างเป็ นปุยขาวเหมือนเมฆ ให้ เรา ได้ ตื่นเต้ นอีกด้ วย ในคืนสุดท้ าย ผู้เขียนได้ ชวน รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม ซึง่ เป็ นอาจารย์ประจ�ำภาค วิชาฟิ สกิ ส์เช่นกัน ขึ ้นไปดูดาวหางดวงนี ้ ในคืนนันเพื ้ ่อนๆ นักดูดาวคนอื่นกลับไปกรุงเทพ แล้ ว โชคไม่ดีที่คืนนันท้ ้ องฟ้ามีเมฆ แต่อาจารย์บญ ุ รักษาก็ยงั ได้ มีโอกาสเห็นดาวหาง ดวงนี ้ผ่านช่องว่างระหว่างเมฆเช่นกัน ้ แม้ พวกเราจะแยกย้ ายกันกลับไปปฏิบตั งิ าน แต่ความประทับใจใน ถัดจากนันมา ภาพดาวหาง ท้ องฟ้าที่ใสและดาวนับพันดวงที่เห็นได้ ด้วยตาเปล่าที่ยอดดอยอินทนนท์ ท�ำให้ พวกเราเกิดความฝั นว่า หากประเทศไทยมีหอดูดาวและกล้ องโทรทรรศน์อนั ทันสมัย ติดตังอยู ้ ่ที่ยอดดอยอินทนนท์ ที่ระดับความสูงกว่า 2,500 เมตร จากระดับน�ำ้ ทะเล การวิจยั ทางดาราศาสตร์ ในประเทศไทยคงจะเกิดขึ ้นได้ อย่างจริ งจัง นักดาราศาสตร์ ไทย ที่จบการศึกษาขัน้ สูง จะได้ มีอุปกรณ์ ที่ใช้ ในการศึกษาวิจัยได้ จริ งจัง ไม่ต้องพึ่งพา ต่างประเทศ ในเมื่อเรามีสถานที่ที่มีท้องฟ้าที่มีคณ ุ ภาพไม่แพ้ หอดูดาวชันน� ้ ำอื่นๆ ในโลก

โอกาสครั้งแรก ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 นัน้ ประเทศไทยประสบวิกฤตทางเศรษฐกิจอย่าง รุนแรง ค่าของเงินบาทซึง่ แต่เดิมมีอตั ราแลกเปลี่ยนคงที่เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สหรัฐ เปลี่ยนเป็ นอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวในวันที่ 2 กรกฎาคม อย่างไรก็ดี ในวันที่ 4 กรกฎาคม ได้ มีเหตุการณ์ครัง้ ส�ำคัญในการส�ำรวจอวกาศ องค์การบริ หารการบินและอวกาศของ สหรัฐอเมริ กา หรื อองค์การนาซา ได้ สง่ ยานอวกาศมาร์ สพาธไฟเดอร์ (Mars Pathfinder) ไปลงจอดบนดาวอังคารได้ ส�ำเร็ จ นับเป็ นครัง้ แรกในช่วงเวลา 21 ปี หลังจากที่ยาน อวกาศไวกิ ้ง (Viking Landers) 2 ล�ำไป ลงจอดบนดาวอังคารได้ ส�ำเร็ จในปี พ.ศ. 2519 และในขณะเดียวกันนัน้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้ อม นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ มีก�ำหนดการ แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ซึง่ รวมถึงความส�ำคัญของการส�ำรวจ นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

7


ดาวอังคารที่มีต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ คุณบ�ำรุ ง ไตรมนตรี ประชาสัมพันธ์ ของ กระทรวงฯ ได้ ตามผู้เขียนให้ ไปพบท่านรัฐมนตรี (ในขณะนันผู ้ ้ เขียนเป็ นนักวิจยั สังกัดศูนย์ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)) เพื่อให้ ข้อมูลความเป็ นมาของโครงการมาร์ สพาธไฟเดอร์ รวมถึงภารกิจต่างๆ ในการส�ำรวจดาวอังคารของโครงการนี ้ ท่านรัฐมนตรีให้ ความสนใจอย่างมากกับเรื่องราว ทางดาราศาสตร์ และการส�ำรวจอวกาศ ระหว่างการสนทนา ท่านรัฐมนตรี ตงข้ ั ้ อสงสัยว่า เพราะเหตุใด กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ จึงไม่มีหน่วยงานที่ท�ำหน้ าที่ค้นคว้ าวิจัยทาง ดาราศาสตร์ เลย ทังที ้ ่พวกเราทุกคนยอมรับในพระปรี ชาสามารถทางด้ านดาราศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ฯ พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ ไทย ท่านรัฐมนตรี ซักถามผู้เขียนถึงสถานภาพทางด้ านโครงสร้ างพื ้นฐานทางดาราศาสตร์ ของประเทศ ซึง่ ในขณะนันมี ้ กล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 16 นิ ้ว เป็ นขนาดใหญ่ที่สดุ ติดตังอยู ้ ห่ ลายแห่ง เช่น หอดูดาวสิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หอดูดาวเกิดแก้ ว และ กล้ องของมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็ นต้ น ค�ำถามที่ทา่ นรัฐมนตรี ถามผู้เขียนอีกค�ำถามก็คือ แล้ วกระทรวงฯ ควรจะต้ องท�ำอะไรเกี่ยวกับโครงสร้ างพืน้ ฐานทางด้ านดาราศาสตร์ ผู้เขียนรี บตอบทันทีว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ควรสร้ างหอดูดาวที่ทันสมัย ติดตัง้ เครื่ องมืออุปกรณ์ที่ใช้ ในการวิจยั ให้ นกั ดาราศาสตร์ ไทยใช้ ท�ำงานได้ และหอดูดาวนี ้ ต้ องตังอยู ้ บ่ นยอดเขาสูงที่มีสภาพท้ องฟ้าดีพอกับการวิจยั ขันสู ้ งได้ ผู้เขียนได้ เล่าให้ ฟัง ถึงประสบการณ์การไปดูดาวหางเฮล-บอพพ์ ที่ดอยอินทนนท์ แล้ วในที่สดุ สิง่ ที่ผ้ เู ขียน อยากได้ ยินก็มาถึง เมื่อท่านรัฐมนตรี พดู ว่า “คุณไปเขียนโครงการมา”

8

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization) กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 นิ้ว ซึ่งเป็นกล้องที่ติดตั้งอยู่ ณ หอดูดาวสิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ในการแถลงข่าวครัง้ นัน้ นอกจากท่านรัฐมนตรี ยิ่งพันธ์ จะแถลงข่าวเรื่ องโครงการ ยานอวกาศมาร์ สพาธไฟเดอร์ แล้ ว ท่านยังได้ บอกกับนักข่าวด้ วยว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ จะสร้ างหอดูดาวที่ยอดดอยอินทนนท์ ซึง่ ปรากฏอยู่ในหน้ าหนังสือพิมพ์หลายฉบับใน เวลาต่อมา บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

9


ข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ “กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯสร้างหอดูดาวที่ยอดดอยอินทนนท์ถวายในหลวง ซึ่งปรากฏอยู่ในหน้าหนังสือพิมพ์หลายฉบับ (ภาพจากหนังสือพิมพ์มติชน 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2540)

หลังจากได้ รับค�ำบัญชาจากท่านรัฐมนตรี ยิ่งพันธ์ ผู้เขียนจึงรายงานให้ รศ.ดร.หริ ส สูตะบุตร ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุทราบ อาจารย์หริ สให้ การสนับสนุน อย่างเต็มที่เนื่องจากทราบและเข้ าใจในความจริ งจังและความใฝ่ ฝั นทางดาราศาสตร์ ของผู้เขียนเป็ นอย่างดี ระหว่างนันผู ้ ้ เขียนได้ ตดิ ต่ออาจารย์บญ ุ รักษา และ คุณฐากูร ให้ มาร่วมในโครงการนี ้อีกด้ วย ในโครงการได้ มีการวางแผนให้ หอดูดาวเป็ นส่วนหนึง่ ของส�ำนักงานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มีการติดต่อบริ ษัทผู้ผลิตกล้ องโทรทรรศน์ อุปกรณ์รับ สัญญาณและผู้ผลิตโดม โดยวางแผนที่จะใช้ งบประมาณอย่างจ�ำกัด ไม่เกิน 40 ล้ านบาท กล้ องโทรทรรศน์หลักเป็ นกล้ องแบบสะท้ อนแสงขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.8 เมตร ติดตังบนระบบฐานแบบอี ้ เควทอเรี ยล ควบคุมการท�ำงานกล้ องด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ โดย สวทช. ได้ มอบให้ ศ.ดร.นักสิทธิ์ คูวฒ ั นาชัย รองผู้อ�ำนวยการ ดูแลการร่างโครงการนี ้ และก�ำหนดจะน�ำเข้ าพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (กวทช.) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2540 นัน่ เอง ในระหว่างนัน้ ผู้เขียน ได้ พาอาจารย์นกั สิทธิ์ และ คุณประพนธ์ อิสสริ ยะกุล เดินทางมาดูสถานที่ที่ยอดดอย อินทนนท์ และอาจารย์บญ ุ รักษา ยังได้ พาคณะเยี่ยมชม หอดูดาวสิรินธร ที่ดอยสุเทพ ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2540 อีกด้ วย 10

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


อาจารย์บุญรักษา สุนทรธรรม ได้พาคณะ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ศ.ดร.นักสิทธิ์ คูวัฒนาชัย และคุณประพนธ์ อิสสริยะกุล (เรียงจากซ้ายไปขวา) เยี่ยมชมหอดูดาวสิรินธร ที่ดอยสุเทพ ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2540

ก่อนที่โครงการจะเข้ าสูก่ ารพิจารณาของ กวทช. วิกฤตเศรษฐกิจของไทยลุกลาม ใหญ่โต ค่าเงินบาทผันผวนหนัก และเมื่อโครงการเข้ าสูว่ าระการพิจารณาของ กวทช. ซึง่ มีทา่ นรัฐมนตรี ยิ่งพันธ์เป็ นประธานนัน้ กวทช. มีมติเห็นชอบในหลักการ แต่ยงั ไม่เห็น ควรให้ ด�ำเนินการในขณะนัน้ ขอให้ รอจนสภาพเศรษฐกิจของประเทศมีความพร้ อมมาก กว่านี ้ โดยเฉพาะความเห็นของกรรมการ กวทช. ท่านหนึง่ ได้ แก่ ศ.ดร.สิปปนนท์ เกตุทตั ที่สนับสนุนและเห็นว่าโครงการนี ้จะเป็ นการพัฒนาวิทยาศาสตร์ พื ้นฐานของประเทศ ในสาขาที่ยงั ได้ รับความสนใจน้ อยในขณะนัน้

NARIT

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

11


อดทน ไม่สิ้นหวัง แม้ จะไม่ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ด�ำเนินการโครงการ แต่ผ้ เู ขียนและเพื่อนนักดาราศาสตร์ สมัครเล่น ก็ยงั ติดใจในสภาพท้ องฟ้าที่ยอดดอยอินทนนท์ ได้ เดินทางไปดูดาวที่หน่วย พิทกั ษ์ ยอดดอยกันอีกครัง้ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ในครัง้ นันได้ ้ มี คุณเขียน และ คุณวัลยา สินธทียากร เพื่อนนักดาราศาสตร์ สมัครเล่น รวมถึง ดร.บุษบา หุตระวรากร ซึง่ เพิ่งจะจบการศึกษาระดับปริ ญญาเอกด้ านดาราศาสตร์ วิทยุ จากมหาวิทยาลัยแมน เชสเตอร์ สหราชอาณาจักร ร่วมเดินทางไปด้ วย ในการเดินทางไปดูดาวที่หน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยอินทนนท์ครัง้ นี ้ นอกจากเราจะ ได้ ตื่นเต้ นกับสภาพท้ องฟ้าที่ใส ดาวเต็มฟ้า คุณเขียนยังได้ แนะน�ำว่า เราควรจะมีสว่ น ช่วยในการให้ ความรู้ ความเข้ าใจแก่คนทัว่ ไปถึงความส�ำคัญของดอยอินทนนท์ต่อการ ศึกษาดาราศาสตร์ ของประเทศไทยต่อไป ดร.บุษบาและผู้เขียนจึงได้ ชว่ ยกันท�ำโปสเตอร์ ขนาด A0 จ�ำนวน 4 โปสเตอร์ โดยมีเรื่ องราวที่เกี่ยวกับการติดตามสังเกตการณ์ดาว หางเฮล-บอพพ์ ภาพถ่ายดาราศาสตร์ ฝีมือคนไทย ภาพถ่ายจากกล้ องโทรทรรศน์ อวกาศฮับเบิล และโปสเตอร์ เรื่ องจากจักรวาลสูย่ อดดอยอินทนนท์ ทังนี ้ ้ได้ ตดิ ต่อและ ได้ รับความอนุเคราะห์จากผู้ชว่ ยหัวหน้ าอุทยานฯ ในขณะนันคื ้ อ คุณชิตพิ ทั ธ์ โพธิ์รักษา โปสเตอร์ ทัง้ สี่ได้ ถูกติดตัง้ ที่หน่วยพิทักษ์ ยอดดอยอินทนนท์ ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2541 เป็ นต้ นมาเป็ นเวลาหลายปี ด้ วยกัน

โปสเตอร์เรื่องการติดตามสังเกตการณ์ดาวหางเฮล-บอพพ์ โปสเตอร์ภาพถ่ายดาราศาสตร์ฝีมือคนไทย และโปสเตอร์จากจักรวาลสู่ยอดดอยอินทนนท์ ถูกติดตั้งที่หน่วยพิทักษ์ยอดดอยอินทนนท์

12

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


โอกาสครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2544 ขณะนัน้ ผู้เขียนเป็ นอาจารย์ ประจ�ำส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ได้ มีโอกาสมาร่ วมสัมมนาทางวิชาการที่ ภาควิชาฟิ สกิ ส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในครัง้ นันได้ ้ พบกับอาจารย์บญ ุ รักษา และ ดร.บุษบา ทัง้ นี ไ้ ด้ รับ ค� ำ บอกเล่า จาก ดร.บุษ บา ว่า หลัง จากที่ RGO (Royal Greenwich Observatory) สหราชอาณาจักร ได้ ถกู ปิ ดลง นักดาราศาสตร์และวิศวกรจ�ำนวนหนึง่ ทีเ่ คย ปฏิบตั งิ านที่ RGO ได้ ย้ายไปท�ำงานทีม่ หาวิทยาลัยลิเวอร์พลู จอห์นมัวร์ (Liver pool John Moores University) และมหาวิทยาลัยได้ จดั ตังบริ ้ ษัท TTL (Telescope Technologies Limited) เพื่อสร้ างกล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1.8 - 2.4 เมตร ในเชิงการค้ า และได้ ตดิ ตังกล้ ้ องดังกล่าวแล้วทีเ่ กาะลาปาลมา (La Palma) ประเทศสเปน กล้องโทรทรรศน์ ที่บริ ษัท TTL สร้ างนี ้ สามารถท�ำงานโดยการควบคุมระยะไกลในโหมดโรโบติก (Robotic Telescope) ได้ ด้วย และในขณะนันก� ้ ำลังสร้ างกล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร อีก 3 กล้ อง เพื่อติดตังที ้ ่ ฮาวาย ออสเตรเลีย และอินเดีย รวมถึงขนาดเส้ น ผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ของหอดูดาวเกาเหมยกู่ สาธารณรัฐประชาชนจีน

NARIT

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร สร้างโดยบริษัท TTL (Telescope Technologies Limited)

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

13


ในปี นัน้ เอง คณะผู้บริ หารจากมหาวิทยาลัยลิเวอร์ พูลฯ น�ำโดยอธิ การบดีและ ผู้บริ หารท่านอื่นรวมถึง ศาสตราจารย์ ไมเคิล โบด (Professor Michael Bode) ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจยั ฟิ สกิ ส์ดาราศาสตร์ (Astrophysical Research Centre - ARC) และ ดร.คริ ส มอสส์ (Dr.Chris Moss) ซึง่ เป็ นผู้แทนของบริ ษัท TTL ได้ ร่วมเดินทางมา ด้ วย คณะผู้บริ หารดังกล่าว ยังได้ เดินทางไปเยี่ยมชมกิจการของโครงการหลวงที่ดอย อินทนนท์ โดย ดร.บุษบา ได้ ตดิ ต่อให้ ผ้ เู ขียนได้ พบกับ ดร.คริ ส มอสส์ ซึง่ ได้ พดู คุยกันถึง กล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร ที่บริ ษัท TTL สร้ าง ซึง่ กล้ องโทรทรรศน์ ของบริ ษัท ถูกติดตังภายในอาคารที ้ ่มีหลังคารูปทรงเปลือกหอย (Clamshell Enclosure) ง่ายต่อการใช้ งานในโหมดโรโบติกโดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับการหมุนของโดมที่เปิ ดแบบ ม่านชัตเตอร์ ดร.มอสส์ ซึง่ เป็ นอาจารย์ประจ�ำ ARC ด้ วย ยังได้ แจ้ งว่ากล้ องโทรทรรศน์ ของบริ ษัท มีราคาประมาณ 180 ล้ านบาท (ตามอัตราแลกเปลี่ยนขณะนัน) ้ ยังไม่รวม ถึงค่าก่อสร้ างอาคารและหลังคารูปทรงเปลือกหอยอีกประมาณ 50 ล้ านบาท

อาคารหอดูดาวรูปทรงเปลือกหอย (Clamshell Enclosure) ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร ของมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล จอห์นมัวร์ ที่หอดูดาว Observatorio del Rogue de los Muchachos เกาะลาปาลมา (La Palma) ประเทศสเปน

14

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


หลังจากได้ รับทราบข้ อมูลดังกล่าวจากบริ ษัท TTL อาจารย์บญ ุ รักษา ดร.บุษบา และผู้เขียน ได้ หารื อกันถึงความเป็ นไปได้ ที่จะน�ำโครงการเดิม ซึง่ ผ่านการเห็นชอบใน หลักการของ กวทช. แต่ถกู พักไว้ เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจของประเทศในขณะนันไม่ ้ เอื ้ออ�ำนวย กลับมาปั ดฝุ่ นน�ำเสนอใหม่ อย่างไรก็ดี การด�ำเนินการภายใต้ สวทช. คง เกิดขึ ้นได้ ล�ำบากเนื่องจากขณะนันผู ้ ้ เขียนมิได้ เป็ นนักวิจยั ประจ�ำ สวทช. แล้ ว มีเพียง ดร.บุษบา ซึง่ เป็ นนักวิจยั ประจ�ำศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) เท่านัน้ ผู้เขียนจึงได้ ติดต่อ คุณประพนธ์ อิสสริ ยะกุล เพื่อหารื อถึงช่องทาง ต่างๆ ที่เป็ นไปได้ คุณประพนธ์ แนะน�ำว่า เราควรจะน�ำร่ างโครงการเดิมมาปรับปรุ ง และน�ำเสนอ นายสนธยา คุณปลื ้ม รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใหม่อกี ครัง้ หนึง่ นอกจากนี ้ คุณประพนธ์ ได้ ตดิ ต่อให้ ผ้ เู ขียนได้ พบกับ นายสง่า ธนสงวนวงศ์ ที่ปรึกษารัฐมนตรี ฯ คุณสง่า ให้ ความเห็นว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ควรจะด�ำเนินการ โครงการนี ้และได้ เรี ยนให้ ท่านรัฐมนตรี ฯ ทราบ ซึง่ ท่านรัฐมนตรี ได้ มีบญ ั ชาให้ ยกร่ าง โครงการการสร้ างหอดูดาวแห่งชาตินี ้เสนอเพื่อน�ำเข้ าสูท่ ี่ประชุม ครม. ต่อไป ปลายปี พ.ศ. 2544 ระหว่างการยกร่างโครงการ คณะทีป่ รึกษารัฐมนตรีได้ ร่วมหารือ กับผู้เขียนหลายครัง้ ถึงรู ปแบบการบริ หารจัดการหอดูดาว และในช่วงแรกได้ มีความ เห็นว่า หอดูดาวแห่งชาตินีค้ วรจัดตังขึ ้ น้ ภายใต้ ส�ำนักงานเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ (สทอภ.) ซึง่ เป็ นองค์การมหาชนแห่งแรกที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ จดั ตัง้ ขึ ้น แต่เมื่อผู้เขียนได้ มีโอกาสหารื อกับ ดร.สุวิทย์ วิบลู ย์เศรษฐ์ ผู้อ�ำนวยการ สทอภ. ใน ขณะนัน้ ก็มีความเห็นตรงกันว่า ลักษณะงานวิจยั ทางดาราศาสตร์ กบั งานรี โมทเซ็นซิงส์ (Remote Sensing) ซึง่ เป็ นภารกิจหลักของ สทอภ. มีความแตกต่างกันมาก ดร.สุวิทย์ ให้ ความเห็นว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ควรจะจัดตังหน่ ้ วยงานขึ ้นมาใหม่เพื่อด�ำเนิน การตามโครงการนี ้และจะเรี ยนให้ คณะที่ปรึกษารัฐมนตรี ทราบ ซึง่ ในเวลาต่อมา คณะ ที่ปรึ กษารัฐมนตรี ได้ แจ้ งให้ ผ้ เู ขียนทราบว่าสมควรที่กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ จะจัดตัง้ หน่วยงานขึ ้นใหม่เพื่อด�ำเนินการโครงการ และให้ ผ้ เู ขียนท�ำการยกร่างน�ำเสนอตามค�ำ แนะน�ำดังกล่าว ผู้เขียนจึงได้ แจ้ งให้ อาจารย์บญ ุ รักษาทราบ และช่วยกันท�ำการยกร่าง โครงการจัดตังสถาบั ้ นวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ เพื่อน�ำเสนอท่านรัฐมนตรี ตอ่ ไป โดย ในร่ างโครงการดังกล่าว ก�ำหนดให้ มีการสร้ างหอดูดาวแห่งชาติที่บริ เวณยอดดอย อินทนนท์ พร้ อมทัง้ ติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์ กลาง 2 เมตร พร้ อม อุปกรณ์รับสัญญาณ บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

15


ต้ นปี พ.ศ. 2545 หลังจากผู้เขียนได้ น�ำร่ างโครงการดังกล่าวเสนอคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรี ได้ ไม่นานก็มีการปรับคณะรัฐมนตรี โดยท่านรัฐมนตรี สนธยา ได้ ถกู ปรับให้ ไปว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในขณะนันกระทรวงวิ ้ ทยาศาสตร์ ฯ ยังมิได้ น�ำ โครงการเสนอ ครม. แต่อย่างใด และเนื่องจากโครงการนี ้มีต้นเรื่ องเป็ นไม่เป็ นทางการ คือคณะที่ปรึกษารัฐมนตรี ชดุ ก่อน โครงการนี ้จึงไม่สามารถถูกน�ำเสนอต่อไปได้

ที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย เดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ในการประชุมทีป่ ระชุมคณบดีวทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็ นเจ้ าภาพ ผู้เขียนซึง่ ขณะนันปฏิ ้ บตั หิ น้ าที่ ในต�ำแหน่งรักษาการคณบดีส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ เข้ า ร่วมประชุมด้ วย และได้ มีโอกาสพูดคุยกับ คุณกอบแก้ ว อัครคุปต์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ คุณกอบแก้ ว ซึง่ ทราบเรื่ องความพยายามผลักดันการสร้ างหอดูดาวแห่งชาตินี ้ดี ได้ ให้ ค�ำแนะน�ำที่ ส�ำคัญที่ท�ำให้ การน�ำเสนอโครงการสามารถด�ำเนินต่อไปได้ กล่าวคือ ท่านได้ แนะน�ำให้ ผู้เขียนน�ำโครงการนี ้เสนอที่ประชุมคณบดีฯ เพื่อให้ เป็ นโครงการของที่ประชุมคณบดีฯ น�ำเสนอกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ต่อไป หลังจากที่ได้ มีการหารื อกับคณบดีวิทยาศาสตร์ หลายท่านในการประชุมครัง้ ต่อ มาอีกสองครัง้ คณบดีวิทยาศาสตร์ ที่เป็ นนักฟิ สกิ ส์หลายท่าน อาทิ ศ.ดร.ประสาท สืบค้ า (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ) รศ.ดร.ธวัช ชิตระการ (มหาวิยาลัยสงขลานคริ นทร์ ) รศ.ดร.วันชัย สุม่ เล็ก (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) รศ.ดร.ชัยวิทย์ ศิลาวัชนาไนย (มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์) รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) รวมถึงคณบดีวิทยาศาสตร์ ที่มาจากสาขาวิชาอื่น อาทิ ศ.ดร.อมเรศ ภูมิรัตน์ (มหาวิทยาลัยมหิดล) และตัวผู้เขียน เอง ได้ มีความเห็นตรงกันที่จะเสนอให้ ที่ประชุมคณบดีฯ เป็ นต้ นเรื่ องน�ำเสนอกระทรวง วิทยาศาสตร์ ฯ ทังนี ้ ้เนื่องจากโครงการจัดตังหอดู ้ ดาวแห่งชาตินี ้ เมื่อแล้ วเสร็ จ จะเป็ น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ พื ้นฐานของประเทศไทย โดยเฉพาะการ เรี ยนการสอนและการวิจยั ด้ านดาราศาสตร์ ของประเทศ ซึง่ ยังล้ าหลังอยู่มาก อีกทัง้ เป็ นเรื่ องยากที่มหาวิทยาลัยแห่งใดแห่งหนึ่งจะริ เริ่ มด�ำเนินโครงการนี ้เองได้ สมควร ที่จะมีการจัดตังหน่ ้ วยงานภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ท�ำหน้ าที่เสมือนเป็ นห้ อง ปฏิบตั กิ ารกลางให้ หน่วยงานการศึกษาต่างๆ ในประเทศได้ ใช้ ประโยชน์ร่วมกัน 16

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


โครงการจัดตังสถาบั ้ นวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ได้ ถกู บรรจุในวาระการประชุม ที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทยเป็ นครั ง้ แรก ในการประชุมที่สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ เป็ นเจ้ าภาพ การประชุมจัดขึ ้นในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 ในช่วงการประชุม วทท.2545 ที่ศนู ย์การประชุมแห่งชาติสริ ิ กิติ์ ในการประชุม ครัง้ นัน้ ประธานที่ประชุม ได้ แก่ รศ.ดร.วันชัย โพธิพิจิตร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) มี ความเห็นว่า คณบดีวิทยาศาสตร์ หลายท่านที่ไม่ได้ มาจากสายวิชาฟิ สิกส์ อาจจะยัง ไม่มีความเข้ าใจเพียงพอ สมควรที่จะให้ คณบดีได้ กลับไปศึกษาให้ รอบคอบว่าสมควร เป็ นบทบาทของที่ประชุมคณบดีหรื อไม่ ที่จะผลักดันโครงการนี ้ การประชุมที่ประชุมคณบดีฯ ครัง้ ต่อมา จัดขึ ้นที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ผศ.ดร.วรวรรณ พันธุมนาวิน เลขานุการที่ประชุม ได้ ชว่ ยบรรจุ โครงการนี ้ให้ เป็ นวาระเพื่อพิจารณาในล�ำดับต้ นๆ และที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ ฯ มีมติเห็นชอบให้ น�ำโครงการนี ้เสนอต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ น�ำเสนอคณะรัฐมนตรี ทังนี ้ ้เนื่องจากในปี พ.ศ. 2547 จะตรงกับวโรกาสครบรอบ 200 ปี แห่งการพระราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ฯ พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ ไทย โครงการนี ้ น่าจะเป็ นโครงการส�ำคัญของกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ในการเฉลิมฉลองวโรกาสดังกล่าว บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

17


ผลักดันสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ในช่วงปี พ.ศ. 2546 หลังจากทีก่ ระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ รับข้ อเสนอโครงการจัดตัง้ สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติจากที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ มีการปรับปรุ ง โครงการให้ มีความเหมาะสม และได้ รับการสนับสนุนอย่างดีจาก นายสันทัด สมชีวิตา ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในขณะนัน้ การเตรี ยมการน�ำเข้ าสูท่ ี่ประชุม คณะรัฐมนตรี ในช่วงนันแม้ ้ จะมีความล่าช้ าบ้ าง แต่ก็มีการประสานงานกันเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจ้ าหน้ าที่ ที่มีบทบาทส�ำคัญในช่วงนันได้ ้ แก่ คุณกอบแก้ ว อัครคุปต์ ผอ.ส�ำนักนโยบายฯ คุณภารณี วิภาตะศิลปิ น และคุณสุนีย์ เลิศเพียรธรรม โครงการได้ รับการน�ำเสนอทีป่ ระชุม ครม. ครัง้ แรก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 แต่ยงั ไม่ทนั ได้ รับการพิจารณา ท่านรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ (นายพินจิ จารุสมบัต)ิ ได้ ถอนเรื่ องจากการพิจารณาเสียก่อน ต่อมามีการเปลี่ยนตัวรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงฯ เป็ น พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร ผู้แทนของที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ ฯ ประกอบด้ วย อาจารย์ประสาท อาจารย์บญ ุ รักษา และผู้เขียน ได้ เข้ าพบท่านรัฐมนตรี ฯ เพื่อชี ้แจง ความเป็ นมาของโครงการ แต่ยงั ไม่ทนั ได้ รับการน�ำเสนอ ครม. ก็ได้ มีการเปลี่ยนแปลง ตัวรัฐมนตรี วา่ การฯ อีกครัง้ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 คณะผู้แทนทีป่ ระชุมคณบดีวทิ ยาศาสตร์ฯ ประกอบด้ วย ศ.ดร.ประสาท รศ.ดร.ชัยวิทย์ รศ.ดร.วันชัย และผู้เขียน ได้ เดินทางไปดูสถานที่ ที่หน่วย พิทกั ษ์ ยอดดอยฯ รวมถึงได้ พบกับผู้บญ ั ชาการศูนย์ควบคุมและรายงานดอยอินทนนท์ (สถานีเรดาร์ ) รวมถึงพบกับคุณสุรชัย ท้ วมสมบูรณ์ หัวหน้ าอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ และได้ แจ้ งให้ หวั หน้ าอุทยานฯ ทราบถึงโครงการ ซึง่ ได้ รับความร่วมมือเป็ นอย่างดี ผู้เขียน ยังจ�ำค�ำพูดของหัวหน้ าฯ สุรชัย ในวันนันได้ ้ ดีที่กล่าวว่า “หากเป็ นเรื่ องการศึกษาวิจยั และศาสนา อุทยานยินดีให้ ความร่วมมือ” ต่อมา คณะผู้แทนที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ มีโอกาสเข้ าชี ้แจงต่อ นายกร ทัพพะรังสี รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ จนน�ำไปสู่การน�ำเสนอโครงการต่อ ครม. และในที่สดุ ครม. ก็มีมติเห็นชอบโครงการจัดตังสถาบั ้ นวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ในโครงการดังกล่าว มีการอนุมตั ใิ นหลักการ ให้ จดั ตัง้ หอดูดาวแห่งชาติที่ยอดดอยอินทนนท์ ในวงเงินงบประมาณ 312 ล้ านบาท

18

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หลังจากมีมติ ครม. กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ แต่งตังคณะกรรมการโครงการ ้ จัดตังสถาบั ้ นฯ ประกอบด้ วย ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ เป็ นประธาน มีกรรมการ หลายท่าน ประกอบด้ วยผู้แทนที่ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์ ฯ 3 คน นายกสมาคม ดาราศาสตร์ ไทย (คุณอารี สวัสดี) และเจ้ าหน้ าทีจ่ ากส�ำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ การประชุมคณะกรรมการครัง้ แรก มีขึ ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2547 ประธานทีป่ ระชุม คือ นายสันทัด สมชีวิตา ได้ แต่งตังอนุ ้ กรรมการทางเทคนิค โดยมอบให้ อาจารย์บญ ุ รักษา เป็ นประธาน เพื่อพิจารณาคุณสมบัติของกล้ องโทรทรรศน์ และสถานที่ในการสร้ าง อาคารของหอดูดาวและอาคารประกอบอื่นๆ ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2547 คณะวิศวกรจากบริ ษัท TTL ได้ เดินทางมาดูสถานที่ บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอย อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ และมีความเห็นว่าบริ เวณ หน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยค่อนข้ างจะคับแคบ หากจะสร้ างหอดูดาวและติดตังหลั ้ งคารู ป ทรงเปลือกหอย จะต้ องใช้ พื ้นที่แนวราบ (Foot Print) มาก การก่อสร้ างอาจจะยากล�ำบาก เนื่องจากต้ องมีการตัดต้ นไม้ ในบริ เวณนันลงจ� ้ ำนวนหนึง่ หลังจากที่คณะกรรมการโครงการจัดตังสถาบั ้ นฯ ซึง่ มีประธาน (ปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์ ฯ) ท่านใหม่คือ ศ.ดร.ไพรัช ธัชชยพงษ์ ได้ แต่งตังอาจารย์ ้ บญ ุ รักษา เป็ น ผู้อ�ำนวยการโครงการ และให้ ผ้ เู ขียนเป็ นรองผู้อ�ำนวยการโครงการ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้ ไม่นาน คณะผู้แทนจากบริษทั EOS Space Systems Pty. (EOSSS) ประเทศ ออสเตรเลีย ได้ ขอเข้ าพบ และได้ น�ำเสนอกล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร รวมถึงระบบโดมขนาดกระทัดรัดที่พื ้นภายในอาคาร 3 ชัน้ หมุนตามกล้ องโทรทรรศน์ ได้ ข้ อดีของกล้ องโทรทรรศน์ที่ออกแบบและสร้ างโดยบริ ษัท EOS อีกประการ ได้ แก่ การใช้ ระบบโรลเลอร์ แบริ่ ง (Roller Bearing) รองรับน� ้ำหนักกล้ องโดยไม่ต้องมีระบบแบริ่ ง แบบไฮโดรสแตติก (Hydrostatic Bearing) ที่ต้องใช้ น� ้ำมันไฮโดรลิกปริ มาณมากและ อาจก่อให้ เกิดการปนเปื อ้ นกับสิง่ แวดล้ อมได้ และในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เป็ น ครัง้ แรกที่ท่านรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ นายกร ทัพพะรังสี เดินทางไปดู สถานที่บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยอินทนนท์ National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization) บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

19


กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร

(ภาพบนซ้าย) (ภาพซ้ายล่าง) (ภาพขวา)

กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.8 เมตร สร้างโดยบริษัท EOS ที่หอดูดาวเมาท์สตรอมโล (Mount Stromlo Observatory) อาคารของกล้องโทรทรรศน์ที่มีหลังคารูปทรงเปลือกหอย (Clamshell Enclosure) กล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร สร้างโดยบริษัท TTL (Telescope Technologies Limited)

หลังจากท�ำการศึกษาทางเลือกทางเทคนิคต่างๆ ในการสร้ างหอดูดาวและศึกษา คุณสมบัติเฉพาะทางเทคนิค (Technical Specifications) อื่นๆ เป็ นเวลาอีกหลายเดือน คณะอนุกรรมการทางเทคนิคก็ได้ มคี วามเห็นว่า กล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร มีความเหมาะสมมากที่สุด เนื่องจากมีก�ำลังรวมแสง (Light Gathering Power) มากกว่ากล้ องขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร ถึงร้ อยละ 44 แต่ใช้ งบประมาณ มากกว่าเพียงประมาณร้ อยละ 10 เนื่องจากสามารถใช้ ระบบโดม โครงสร้ างกล้ องและ ระบบขับเคลื่อนกล้ องโทรทรรศน์ในขนาดเดียวกันกับกล้ องขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร ได้ นอกจากนี ้ยังมีอีกหลายบริ ษัทในโลกที่สามารถสร้ างและออกแบบกล้ อง โทรทรรศน์ขนาดนี ้ได้ เช่นกัน เพียงแต่จะมีราคาสูงกว่าสองบริ ษัทนี ้

20

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2548 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ สง่ คณะผู้แทนประกอบด้ วย ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ตรี เดช รองปลัดกระทรวงฯ อาจารย์ บุญรั กษา คุณเสาวณี ย์ มุสิแดง ดร.กริ ชผกา บุญเฟื่ อง และผู้เขียน ไปศึกษากล้ องโทรทรรศน์ ที่สร้ างโดยบริ ษัทต่างๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเป็ นประเทศที่มีการติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ ขนาดเส้ นผ่าน ศูนย์กลาง 1.8 เมตร สร้ างโดยบริ ษัท EOS ที่หอดูดาวเมาท์สตรอมโล (Mount Stromlo Observatory) กรุ งแคนเบอร์ ร่า และกล้ องโทรทรรศน์ฟอล์คเซาท์ (Faulkes South Telescope) ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เมตร สร้ างโดยบริ ษัท TTL ที่หอดูดาวไซดิง สปริ ง (Siding Spring Observatory) รัฐนิวเซ้ าท์เวลส์

คณะผู้แทนของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ประกอบด้วยรองปลัดกระทรวงฯ (ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช) อาจารย์บุญรักษา คุณเสาวณีย์ มุสิแดง ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง และดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา ไปศึกษากล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 1.8 เมตร สร้างโดยบริษัท EOSSS และ EOST ประเทศออสเตรเลีย ณ หอดูดาวเมาท์สตรอมโล (Mount Stromlo Observatory) กรุงแคนเบอร์ร่า

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

21


การเดินทางไปศึกษาดูงานในครัง้ นัน้ ท�ำให้ ผ้ เู ขียนได้ เข้ าใจในการท�ำงานของกล้ อง โทรทรรศน์ขนาดใหญ่มากขึ ้น ขณะเดียวกันก็ท�ำให้ เข้ าใจข้ อดีข้อเสียรวมถึงข้ อจ�ำกัดต่างๆ ของกล้ องโทรทรรศน์ที่ออกแบบและสร้ างโดยบริ ษัทต่างๆ ซึง่ มีสว่ นท�ำให้ การตัดสินใจใน การก�ำหนดคุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคของกล้ องโทรทรรศน์ทจี่ ะติดตังในประเทศไทย ้ ท�ำได้ งา่ ยขึ ้น ในช่วงเวลาเดียวกัน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ วา่ จ้ างให้ สถานบริการวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็ นทีป่ รึกษาในการออกแบบอาคารหอดูดาว รวมถึงอาคารควบคุม กล้ องโทรทรรศน์ อาคารศูนย์บริ การข้ อมูลสารสนเทศและฝึ กอบรมทางดาราศาสตร์ และบ้ านพักนักดาราศาสตร์ ซึง่ สองอาคารนี ้จะสร้ างที่บริ เวณที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ โดยก�ำหนดวงเงินของอาคารทังหมดไว้ ้ ที่ 25 ล้ านบาท ซึง่ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ผู้เขียนได้ น�ำคณะประกอบด้ วย อาจารย์ธนวิชญ์ ชุลกิ าวิทย์ (ผ.อ.สถานบริการ วิศวกรรมฯ) และ คุณอนุพร อินทะพันธ์ (สถาปนิก) ไปดูลกั ษณะอาคารติดตังกล้ ้ อง โทรทรรศน์ทที่ างสถานบริการวิศวกรรมฯ จะต้ องออกแบบ ทีป่ ระเทศออสเตรเลียอีกครัง้ หนึง่ ในครัง้ นี ้ ได้ มีคณ ุ อารี สวัสดี (นายกสมาคมดาราศาสตร์ ไทย) คุณเขียน สินธทียากร และ คุณสมสวัสดิ์ รัตนสูรย์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ร่วมเดินทางไปด้ วย

อาคารศูนย์บริการข้อมูลสารสนเทศและฝึกอบรมทางดาราศาสตร์ บริเวณที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์

22

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ช่วงต้ นปี พ.ศ. 2549 กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ได้ ตงคณะกรรมการจั ั้ ดซื ้อกล้ อง โทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร พร้ อมระบบโดม โดยให้ ดร.สุจนิ ดา โชติพานิช (รองปลัดกระทรวงฯ) เป็ นประธาน ได้ มีการก�ำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ กล้ องโทรทรรศน์ นี ้ มีระบบขับเคลื่อนแบบขับตรง (Direct Drive) ใช้ ระบบโรลเลอร์ แบริ่ ง และติดตังใน ้ อาคารที่มีโดม โดยให้ พื ้นของชันท� ้ ำงานภายในโดมหมุนตามกล้ องได้ ในขณะที่ติดตาม วัตถุเพื่อให้ โดมมีขนาดกระทัดรัด ไม่เสียพื ้นที่ในการสร้ างอาคารมากนัก และเนื่องจาก ระเบียบข้ อบังคับในขณะนัน้ จ�ำเป็ นต้ องมีการประกวดราคาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) ซึง่ ก็ไม่มีผ้ ใู ดมายื่นเสนอราคา ต่อมาทางกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ จึงได้ อนุมตั ใิ ห้ ท�ำการ จัดซื ้อด้ วยวิธีพิเศษ เนื่องจากเป็ นการซื ้อโดยตรงจากผู้ผลิตในต่างประเทศ คณะกรรมการ ได้ เปรียบเทียบข้ อเสนอต่างๆ จากบริษทั ในต่างประเทศและในทีส่ ดุ ได้ เลือกกล้ องโทรทรรศน์ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร พร้ อมระบบโดม ที่ออกแบบและสร้ างโดย บริ ษัท EOS Space Systems Pty. (EOSSS) ประเทศออสเตรเลีย ในวงเงิน 6,294,000 เหรียญสหรัฐ การลงนามในสัญญาดังกล่าวเกิดขึ ้นในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยมี ดร.ศักดิ์สทิ ธิ์ ตรี เดช (ปลัดกระทรวงฯ) เป็ นผู้ลงนามฝ่ ายไทย Mr. Fred Bart ประธาน กรรมการบริ หารของกลุ่มบริ ษัท EOS เป็ นผู้ลงนาม โดยมี Mr. Sean Riley ผู้แทน AUSTRADE ประจ�ำสถานฑูตออสเตรเลีย ประเทศไทย ให้ เกียรติมาเป็ นพยานด้ วย บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

23


พิธีลงนามสัญญาจัดซื้อและติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับบริษัท EOS Space Systems Pty. (EOSSS) ประเทศออสเตรเลีย ในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

เตรียมการสร้างหอดูดาว ย้ อนกลับไปในช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 ก่อนทีจ่ ะมีการลงนามในสัญญาระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ และบริษัท EOSSS นัน้ ทางโครงการจัดตังสถาบั ้ นวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ได้ มีหนังสือถึงกองทัพอากาศ เพื่อแจ้ งให้ ทราบถึงโครงการที่จะมีการสร้ างหอดู ดาวที่บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยอินทนนท์ กองทัพอากาศ ได้ สง่ คณะเจ้ าหน้ าที่น�ำโดย พลอากาศตรี ทวิเดนศ อังศุสงิ ห์ มาท�ำการศึกษาผลกระทบของอาคารหอดูดาว ที่อาจมี ต่อการท�ำงานของสถานีเรดาร์ ของกองทัพอากาศที่ยอดดอยอินทนนท์ และในวันที่ 18 เมษายน นันเอง ้ อาจารย์บญ ุ รักษา ผู้เขียนและเจ้ าหน้ าที่สถาบัน ได้ พบกับคณะของพล อากาศตรี ทวิเดนศ ซึง่ ได้ รับทราบข้ อมูลเบื ้องต้ นว่า จากการวัดการรบกวนการท�ำงานของ เรดาร์ หอดูดาวจะต้ องสร้ างในต�ำแหน่งที่ใกล้ กบั ถนนและไม่ควรมีความสูงจากพื ้นเกิน 8 เมตร เนื่องจากจะบดบังการตรวจจับอากาศยานของเรดาร์ ได้ National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

24

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


กองทัพอากาศ ได้สง่ คณะเจ้าหน้าทีน่ ำ� โดย พลอากาศตรีทวิเดนศ อังศุสงิ ห์ มาท�ำการศึกษาผลกระทบของอาคารหอดูดาว ที่อาจมีต่อการท�ำงานของสถานีเรดาร์ของกองทัพอากาศที่ยอดดอยอินทนนท์ ในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2549

อย่างไรก็ดี ในช่วงนันยั ้ งไม่มีการลงนามในสัญญากับบริ ษัทผู้สร้ างกล้ องโทรทรรศน์ ทางสถาบันจึงยังไม่มีข้อมูลทางเทคนิคที่ส�ำคัญในการสร้ างอาคารและติดตัง้ กล้ อง โทรทรรศน์นี ้ ภายหลังจากการลงนามในสัญญาไม่นาน ผู้เขียนได้ หารื อทางด้ านเทคนิคโดย ละเอียดกับวิศวกรของบริ ษัท และท�ำให้ ทราบว่าอาคารหอดูดาวแบบที่ใช้ โครงสร้ าง คอนกรี ตที่สถานบริ การวิศวกรรมฯ ออกแบบไปก่อนหน้ านัน้ อาจจะไม่สามารถติดตัง้ กล้ องโทรทรรศน์ได้ เนื่องจากการหล่อคอนกรี ตให้ มีความแม่นย�ำเพียงพอต่อการติดตัง้ ระบบโดมอาจจะท�ำได้ ยาก รวมถึงความสูงที่ทางกองทัพอากาศก�ำหนดไว้ เพียง 8 เมตร จะท�ำให้ ระดับพื ้นชันล่ ้ างของอาคาร ต้ องอยูต่ �่ำกว่าระดับถนน

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

25


ผู้เขียนและคุณประพนธ์ อิสสริยะกุล (เข้ ามาร่วมงานกับโครงการในกลางปี พ.ศ. 2549) ได้ เดินทางไปประเทศออสเตรเลีย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 เพือ่ หารือในรายละเอียดกับ วิศวกรของบริ ษัท เกี่ยวกับแบบที่เหมาะสมของอาคาร รวมถึงการเตรี ยมการติดตังกล้ ้ อง โทรทรรศน์ อย่างละเอียด ทางบริ ษัทแนะน�ำให้ ท�ำการสร้ างอาคารที่มีผนังวงแหวน (Ring Wall) ที่เป็ นโครงสร้ างเหล็กกล้ า ใช้ ชิ ้นส่วนที่ท�ำการผลิตตามแบบที่บริ ษัทใช้ ใน การสร้ างหอดูดาวที่เมาท์สตรอมโล อย่างไรก็ดี ความจ�ำกัดในเรื่ องความสูงของอาคาร จะท�ำให้ การท�ำฐานรากและการใช้ งานหอดูดาวมีปัญหาอยู่ดี เนื่องจากต้ นไม้ สงู ใหญ่ ในบริ เวณยอดดอยจะบดบังท้ องฟ้าค่อนข้ างมาก ซึง่ เป็ นปั ญหาที่จะต้ องมีการวางแผน รองรับที่ดีพอเพื่อไม่ให้ การท�ำงานของกล้ องโทรทรรศน์มีปัญหายุ่งยากในอนาคต รวม ถึงระยะห่างจากถนน ควรมีมากพอสมควรเพื่อไม่ให้ เกิดการสัน่ สะเทือนขณะใช้ งาน หรื อมีฝนจากยานพาหนะมารบกวนก่ ุ่ อให้ เกิดความเสียหาย จากการหารื อร่วมกับวิศวกรของบริ ษัทผู้สร้ างกล้ อง ยังท�ำให้ ทราบว่า หอดูดาวนี ้ จะท�ำงานได้ อย่างดี จะต้ องมีความสูงจากพื ้นถึงส่วนบนของอาคารไม่น้อยกว่า 11.5 เมตร ทังนี ้ ้เนื่องจากการติดตังพื ้ ้นอาคารชันล่ ้ างของโดม ไม่ควรอยูต่ �่ำกว่าระดับพื ้นดิน ซึง่ จะ ก่อให้ เกิดปั ญหาในการติดตัง้ ปั ญหาการควบคุมความชื ้น และการท�ำฐานรากของอาคาร ในการนี ้สถาบันฯได้ เชิญคณะของ พลอากาศตรี ทวิเดนศ อังศุสงิ ห์ มาท�ำการตรวจสอบ อีกครัง้ หนึง่ เพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ ในการเพิ่มความสูงของอาคารเป็ น 11.5 เมตร ตามที่วิศวกรของบริ ษัทเสนอ คณะของพลอากาศตรี ทวิดเนศ ได้ เดินทางมาพบอาจารย์ บุญรักษา ผู้เขียน และคุณประพนธ์ อีกครัง้ หนึง่ ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 และได้ รับ ทราบข้ อเสนอของสถาบันฯ ต่อมาคุณประพนธ์ ซึง่ ได้ มีโอกาสหารื อกับเจ้ าหน้ าที่ของสถานีเรดาร์ หลายครัง้ ได้ เสนอว่า ภายในบริ เวณสถานีเรดาร์ มีพื ้นที่เหมาะสมทางด้ านทิศตะวันตก ที่ระดับ ความสูงประมาณ 2,550 เมตร จากระดับน� ้ำทะเลเฉลี่ย ซึง่ ต�่ำกว่าที่หน่วยพิทกั ษ์ ยอด ดอยประมาณ 15 เมตร หากสร้ างหอดูดาวได้ ก็จะได้ ความสูงตามที่ต้องการ และไม่ กีดขวางสัญญาณเรดาร์ นอกจากนี ้ยังมีระยะห่างจากถนนที่ยานพาหนะจะรบกวนได้ ด้ วยเหตุผลทางด้ านเทคนิคนี ้เอง อาจารย์บญ ุ รักษา ผู้เขียน และคุณประพนธ์ จึงได้ เข้ า หารื อกับ พลอากาศโทอิทธิพร ศุภวงศ์ เจ้ ากรมยุทธการทหารอากาศ โดยการประสาน งานให้ เข้ าพบของคุณฐากูร เกิดแก้ ว ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 ทีก่ รมยุทธการทหารอากาศ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ดอนเมือง ทังนี ้ ้ ในวันดังกล่าว สถาบันฯได้ ยื่นหนังสือขอ อนุญาตให้ สถาบันฯ ใช้ พื ้นที่ดงั กล่าวในการสร้ างหอดูดาวอย่างเป็ นทางการอีกด้ วย 26

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


NARIT

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

การเตรี ยมการส�ำคัญอีกอย่างหนึง่ ในช่วงเวลานัน้ ได้ แก่ การศึกษาสภาพท้ องฟ้า ในบริเวณทีจ่ ะท�ำการสร้ างหอดูดาว ในการนี ้ สถาบันฯได้ ดำ� เนินการติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 14 นิ ้ว (35 ซม.) เพื่อท�ำการวัดค่าทัศนวิสยั ทางดาราศาสตร์ (Astronomical Seeing Measurement) และค่าความสว่างของท้ องฟ้าที่เป็ นฉากหลัง อย่างเป็ นระบบในช่วงระยะเวลาต่อเนื่องอย่างน้ อยสองปี ซึง่ จะเป็ นข้ อมูลที่ส�ำคัญใน การวางแผนการใช้ งานกล้ องโทรทรรศน์ การศึกษาในช่วงแรกเริ่ มด�ำเนินการในปลายปี พ.ศ. 2549 โดยมี คุณศุภฤกษ์ คฤหานนท์ คุณสิทธิพร เดือนตะคุ และคุณธงชัย สถาพร เป็ นผู้ขึ ้นไปตรวจวัดค่าทัศนวิสยั ทางดาราศาสตร์ นี ้ ในปี ถัดมา มีคณ ุ สุวนิตย์ วุฒสังข์ เข้ ามาร่วมอีกคนหนึง่ ผลการตรวจวัดค่าทัศนวิสยั ทางดาราศาสตร์ ได้ คา่ เฉลี่ยประมาณ 0.8 อาร์ ควินาที ตลอดช่วงระยะเวลาสองปี ที่ท�ำการตรวจวัด ซึง่ ถือว่าเป็ นค่าที่ดีมาก ใกล้ เคียงกับหอดูดาวที่ติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่อื่นๆ ที่ตงอยู ั ้ ่ที่ระดับความสูง ใกล้ เคียงกัน

สถาบันฯ ได้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 นิ้ว เพื่อท�ำการวัดค่าทัศนวิสัยทางดาราศาสตร์ (Astronomical Seeing Measurement) และค่าความสว่างของท้องฟ้า บริเวณหน่วยพิทักษ์ยอดดอย อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

27


ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 นายปฐม แหยมเกตุ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ ซึง่ ได้ รับแต่งตังให้ ้ เป็ นประธานคณะกรรมการตรวจรับกล้ องโทรทรรศน์ในขณะนัน้ และ ผู้เขียน ได้ เดินทางไปเยี่ยมชมโรงงานผลิตกล้ องโทรทรรศน์ ของบริ ษัท ที่เมืองทูซอน (Tucson) มลรัฐอริ โซนา สหรัฐอเมริ กา เพื่อติดตามความคืบหน้ า ในการไปเยี่ยมชม โรงงานในครัง้ นัน้ ได้ มีโอกาสเห็นการประกอบกล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ของหอดูดาวลิกค์ (Lick Observatory) ซึง่ มีชื่อกล้ องว่า Automated Planet Finder (APF) กล้ องดังกล่าวมีความคล้ ายคลึงกับกล้ องของประเทศไทยมาก ต่างกัน เพียงแค่ กล้ อง APF จะถูกใช้ งานในการค้ นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanets) เป็ นหลัก โดยนักดาราศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์ เนีย

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นายปฐม แหยมเกตุ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา และคุณวิภู รุโจปการ (จากซ้ายไปขวา) ได้เดินทางไปเยี่ยมชมโรงงานผลิตกล้องโทรทรรศน์ของบริษัท ที่เมืองทูซอน (Tucson) มลรัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา

28

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


นอกจากนี ้ คุณวิภู รุ โจปการ ในขณะนัน้ เป็ นนักเรี ยนทุนรั ฐบาลในโครงการ พสวท. ศึกษาในระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชาฟิ สิกส์ ดาราศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัย อริ โซนา เมืองทูซอนนี ้เอง คุณวิภู ได้ มีบทบาทส�ำคัญในการติดต่อประสานงานกับ บริ ษัท EOS Technologies (EOST) ที่โรงงานสร้ างกล้ องในเมืองทูซอน รวมทังให้ ้ ค�ำ แนะน�ำทางเทคนิคต่างๆ แก่ผ้ เู ขียน ตลอดกระบวนการสร้ างกล้ องโทรทรรศน์ จนกระทัง่ กล้ องผ่านการทดสอบและตรวจรับที่โรงงานดังกล่าวในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553

การคัดค้านการสร้างหอดูดาวที่บริเวณหน่วยพิทักษ์ยอดดอย ในช่วงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ได้ ปรากฏข่าวทางหน้ าหนังสือพิมพ์หลายฉบับ เนื่องจากมีกลุม่ บุคคลที่คดั ค้ านการสร้ างหอดูดาวแห่งชาติที่ยอดดอยอินทนนท์ ทังนี ้ ้มี การอ้ างผลกระทบทางด้ านสิ่งแวดล้ อมที่จะเกิดกับระบบนิเวศน์ในบริ เวณรอบหอดูดาว จนในที่สดุ กลุม่ บุคคลดังกล่าวน�ำโดย ศาสตราจารย์เฉลิมพล แซมเพชร ประธานภาคี คนฮักเชียงใหม่ และ นายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนวนิชย์ ประธานชมรมอนุรักษ์ นกและ ธรรมชาติล้านนา ได้ จดั ท�ำประชาพิจารณ์ขึ ้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยได้ เชิญ รศ.อุทิศ กุฏอินทร์ อดีตคณบดี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มาร่วมท�ำประชาพิจารณ์ด้วย ซึง่ กลุม่ ดังกล่าวแสดงความห่วงใยถึงผล กระทบที่อาจจะเกิดขึ ้นจากการก่อสร้ างและการใช้ งานของหอดูดาว อาจารย์บญ ุ รักษา ได้ ชี ้แจงถึงความใส่ใจและการระวัดระวังผลกระทบที่สถาบันฯด�ำเนินการอย่างรัดกุม รวมถึงการวางแผนเลือกกล้ องโทรทรรศน์ และออกแบบอาคารหอดูดาวที่จะเกิ ดผล กระทบต่อระบบนิเวศน์ น้อยที่สุด ทัง้ นีน้ ักดาราศาสตร์ เองก็มีความห่วงใยธรรมชาติ เช่นเดียวกัน อาจารย์อทุ ิศ ให้ ความเห็นในการเสวนาครัง้ นันว่ ้ า การใช้ ประโยชน์จาก อุทยานในแง่ของการศึกษาวิจยั น่าจะกระท�ำได้ หากการด�ำเนินการท�ำด้ วยความรอบคอบ และอาจารย์บญ ุ รักษา ได้ ให้ ความมัน่ ใจกับที่ประชุมว่าสถาบันฯ จะด�ำเนินการอย่าง รอบคอบและปฏิบตั ติ ามกฎหมายทุกประการ ในช่วงที่มีการคัดค้ านนัน้ ผู้เขียนต้ องท�ำหน้ าที่ชี ้แจงท�ำความเข้ าใจเกี่ยวกับโครงการ และเขียนบทความชี ้แจงต่างๆ หลายครัง้ รวมทังได้ ้ เขียนเปรี ยบเทียบกับกรณีการคัดค้ าน การก่อสร้ างหอดูดาววาติกนั ที่ตดิ ตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร (Vatican Advanced Technology Telescope) ที่ภเู ขาเกรแฮม (Mount Graham)

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

29


มลรัฐอริ โซนา สหรัฐอเมริ กา ในครัง้ นัน้ พระสันตะปาปา จอห์น ปอล ที่ 2 ได้ กล่าวไว้ ซึง่ ผู้เขียนขอน�ำมาบันทึกไว้ โดยไม่ขอแปลว่า “This new telescope under construction on Mt. Graham will be the first in a series of instruments which will enable scientists to see ten times further into the universe than ever before. In order to function as efficiently as possible, these telescopes must be located on remote mountain sites, many of which are treasured ecological zones. I know that, as scientists, you cherish and respect nature. Hence, while striving to fathom the ultimate frontiers of the Universe, you have sought to interfere as little as possible in the natural processes of the earth, that small but precious part of the Universe from which you observe.”

เปลี่ยนสถานที่ก่อสร้าง และรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม หลังจากมีการคัดค้ านไม่นาน ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 กองทัพอากาศ ได้ มี หนังสือตอบอย่างเป็ นทางการ ไม่อนุญาตให้ สถาบันฯ ใช้ พื ้นที่ภายในสถานีเรดาร์ สร้ าง หอดูดาวได้ และเนื่องด้ วยเหตุผลทางเทคนิคเกี่ยวกับความสูงของอาคารและต�ำแหน่ง หอดูดาวที่ใกล้ กบั ถนนที่หน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยซึ่งอาจจะเป็ นปั ญหาในการใช้ งานของ หอดูดาว จ�ำเป็ นอย่างยิ่งที่สถาบันฯจะต้ องหาสถานที่ที่เหมาะสมมากกว่าในการก่อสร้ าง ผู้เขียนได้ พิจารณาอีกที่หนึ่งคือ บริ เวณสถานีทวนสัญญาณของบริ ษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ผู้เขียนเคยเข้ าไปส�ำรวจหลายครัง้ และพบว่ามีที่วา่ งประมาณ 1 ไร่เศษ แต่ ก็มสี งิ่ กีดขวางทีส่ ำ� คัญก็คอื ตัวเสาอากาศทีส่ งู ถึง 110 เมตร แต่หากวางต�ำแหน่ง ตัวอาคาร และสร้ างอาคารได้ สงู เพียงพอ การกีดขวางมุมมองจากกล้ องโทรทรรศน์ก็จะมีไม่มากนัก

30

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


บริเวณสถานีทวนสัญญาณทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) กม.44.4 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

หลังจากการหารื อภายในสถาบันฯไม่นาน ผู้เขียนได้ โทรศัพท์ตดิ ต่อ คุณอารี สวัสดี นายกสมาคมดาราศาสตร์ ไทย คุณอารี ในขณะนันเป็ ้ น ผู้บริ หารระดับสูงของ บริ ษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) ได้ ประสานงานให้ อาจารย์บญ ุ รักษาและผู้เขียน ได้ เข้ าพบกับ คุณกิตติพงศ์ เตมียะประดิษฐ์ รักษาการกรรมการผู้จดั การใหญ่ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 เพื่อหารื อใน เรื่ องการใช้ สถานที่ในเขตสถานีทวนสัญญาณ สร้ างหอดูดาวแห่งชาติ ซึง่ ทางบริ ษัท ทีโอที ได้ แจ้ งว่ายินดีให้ สถาบันฯสร้ างหอดูดาวได้

NARIT

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

31


ต่อมาสิ่งที่ต้องด�ำเนินการอย่างเร่ งด่วนก็คือการทดสอบสภาพท้ องฟ้าในบริ เวณ สถานีทวนสัญญาณ การทดสอบความเหมาะสมของชันดิ ้ นเพื่อสร้ างฐานรากของอาคาร การทดสอบการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่ออกมาจากเสาอากาศในช่วงความ ยาวคลื่นต่างๆ ซึง่ อาจจะรบกวนการท�ำงานของกล้ องโทรทรรศน์และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ได้ รวมถึงยังจ�ำเป็ นจะต้ องด�ำเนินการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้ อม เพื่อน�ำเสนอขออนุมตั ิใช้ พื ้นที่จากคณะรัฐมนตรี เนื่องจากพื ้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื ้นที่ลมุ่ น� ้ำ ชัน้ 1 เอ อยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ สถาบันฯได้ ท�ำการทดสอบสภาพท้ องฟ้าทันทีที่เกิดแนวคิดเรื่ องการย้ ายสถานที่ สร้ างหอดูดาว ข้ อมูลเบื ้องต้ นเป็ นที่นา่ พอใจเนื่องจากค่าทัศนวิสยั ทางดาราศาสตร์ และ ความสว่างท้ องฟ้าที่เป็ นฉากหลัง แทบจะไม่ต่างจากค่าที่วดั ได้ ที่บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอยอินทนนท์ เลย การทดสอบสภาพท้ องฟ้านีด้ �ำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงช่วง ต้ นปี พ.ศ. 2552 นอกจากนี ้ สถาบันฯยังได้ ตดิ ตังอุ ้ ปกรณ์เก็บข้ อมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยา และ กล้ องถ่ายภาพทัว่ ท้ องฟ้า (All Sky Camera) เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพ ท้ องฟ้าที่บริ เวณสถานที่สร้ างหอดูดาว เป็ นการถาวรอีกด้ วย ในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2551 สถาบันฯได้ วา่ จ้ างให้ บริษัท เกษมดีซายน์ แอนด์ คอน ซัลแตนท์ จ�ำกัด (KACON) เพื่อท�ำการเจาะส�ำรวจดิน บริ เวณที่จะท�ำการสร้ างหอดูดาว ซึง่ จะมีผลต่อฐานรากของอาคารหอดูดาว ผลการเจาะส�ำรวจดินพบว่า ระดับความลึก ของฐานรากที่จะรองรับอาคารหอดูดาว และฐานกล้ องโทรทรรศน์ จะต้ องมีความลึกถึง 23 เมตร เลยทีเดียว ทังนี ้ ้จากการขุดเจาะดินทุกหลุม ไม่พบชันหิ ้ น เหมือนกับที่บริ เวณ หน่วยพิทกั ษ์ ยอดดอย และเนื่องจากลักษณะของพืน้ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมค่อน ข้ างมาก จึงจ�ำเป็ นจะต้ องมีการออกแบบอาคารหอดูดาวและอาคารห้ องควบคุมกล้ อง โทรทรรศน์เสียใหม่ ซึง่ ต่อมาสถาบันฯได้ ว่าจ้ างบริ ษัท KACON นี ้ให้ ท�ำการออกแบบ อาคารทังสองให้ ้ เหมาะสมกับพื ้นที่โดยค�ำนึงถึงการใช้ งานของกล้ องโทรทรรศน์เป็ นหลัก และแบบอาคารที่ ได้ นีจ้ ะต้ องน� ำไปใช้ ในการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบ สิง่ แวดล้ อมในล�ำดับถัดไป ในส่วนของสภาพแวดล้ อมทางแม่เหล็กไฟฟ้า สถาบันฯได้ ว่าจ้ าง ศูนย์ทดสอบ ผลิตภัณฑ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) ซึง่ เป็ นหน่วยงานของ สวทช. มาท�ำ การตรวจวัดในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ผลการตรวจวัด ไม่พบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากเสาอากาศต่างๆ จะรบกวนการท�ำงานของกล้ องโทรทรรศน์และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ แต่อย่างใด 32

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ระดับความลึกของฐานรากที่จะรองรับอาคารหอดูดาว และฐานกล้องโทรทรรศน์มีความลึกถึง 23 เมตร

การด�ำเนินการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมเริ่ มขึ ้นในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 กระบวนการใช้ เวลานานหลายเดือนเนื่องจากขันตอนตามกฎหมาย ้ ในการนี ้ สถาบันฯได้ วา่ จ้ างบริ ษัท ธารา คอนซัลแตนท์ จ�ำกัด เป็ นผู้ด�ำเนินการจัดท�ำ รายงาน และสถาบันฯได้ น�ำรายงานส่งให้ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้ อม ซึง่ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 คณะกรรมการผู้ช�ำนาญการฯ มีมติให้ ความเห็นชอบรายงานดังกล่าว รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้ อมได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2553 และน�ำไปสู่การอนุมัติใช้ พืน้ ที่ สร้ างหอดูดาวจากคณะรัฐมนตรี ในเวลาต่อมา

NARIT

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

33


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทอดพระเนตรสถานที่ ทรงรับเป็นโครงการในพระราชด�ำริและได้รบั พระราชทานชือ่ หอดูดาว

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรสถานที่สร้างหอดูดาวแห่งชาติ ที่บริเวณสถานีทวนสัญญาณของบริษัท ทีโอที

ในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ เสด็จพระราชด�ำเนิ นมาทรงเปิ ดอาคารศูนย์ ฝึกอบรมและบริ การสารสนเทศทาง ดาราศาสตร์ ที่บริ เวณที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ หลังจากนัน้ ได้ เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทอดพระเนตรสถานที่ ส ร้ างหอดู ด าวแห่ ง ชาติ ที่ บ ริ เ วณสถานี ทวนสัญญาณของบริ ษัท ทีโอที เนื่องจากระยะทางจากที่ท�ำการอุทยานฯ ถึงบริ เวณสถานีทวนสัญญาณ ต้ องผ่าน ภูเขาสูงชัน ผู้บริ หารกระทรวงวิทยาศาสตร์ ประกอบด้ วย คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช อาจารย์บญ ุ รักษา รวมถึงผู้บริ หารท่านอื่นๆ ไม่สามารถเดินทางตามขบวนเสด็จได้ ทนั จึงมีเพียง นายชุมพร แสงมณี รองผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้บริ หารระดับสูงจาก บริ ษัท ทีโอที ซึง่ น�ำโดย คุณกิตติพงศ์ อาจารย์ ม.ล.อนิวรรต และผู้เขียน เฝ้ารับเสด็จ 34

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


สมเด็จพระเทพฯ ได้ ทอดพระเนตรการทดสอบสภาพท้ องฟ้า ผู้เขียนได้ กราบทูลถึงผล การทดลองและคุณภาพของท้ องฟ้าในบริ เวณนัน้ ว่ามีความเหมาะสมในการสร้ างหอดู ดาวแห่งชาติ ก่อนเสด็จพระราชด�ำเนินกลับ ได้ ทรงปลูกต้ นกุหลาบพันปี ไว้ อีกด้ วย

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทอดพระเนตร การทดสอบสภาพท้องฟ้า ก่อนเสด็จพระราชด�ำเนินกลับ ได้ทรงปลูก ต้นกุหลาบพันปีไว้ ณ สถานที่สร้างหอดูดาวแห่งชาติ

หลังจากนันไม่ ้ นาน ผู้เขียนและคุณประพนธ์ ได้ มีโอกาสเข้ าพบ คุณสว่าง กองอินทร์ ผู้อ�ำนวยการส่วนฟื น้ ฟูและพัฒนาพื ้นที่อนุรักษ์ ในเรื่ องการจัดท�ำรายงานผลกระทบ สิ่งแวดล้ อม ที่ส�ำนักงานบริ หารพืน้ ที่อนุรักษ์ ที่ 16 (เชียงใหม่) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช คุณสว่าง ได้ เล่าให้ ฟังว่า ในวันที่สมเด็จพระเทพฯ เสด็จพระราช ด�ำเนินไปที่สถานีทวนสัญญาณนัน้ คุณสว่างเป็ นผู้ขบั รถพระที่นงั่ และให้ ค�ำแนะน�ำว่า สถาบันฯ ควรจะน�ำเรื่องกราบบังคมทูล ขอให้ ทรงรับโครงการการจัดตังหอดู ้ ดาวแห่งชาตินี ้ บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

35


ไว้ เป็ นโครงการในพระราชด�ำริ เนื่องจากทรงสนพระทัย และติดตามความก้ าวหน้ าของ โครงการตลอดมา ต่อมาอาจารย์บญ ุ รักษา จึงได้ ท�ำหนังสือกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระมหา กรุ ณาธิคณ ุ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับหอดูดาว แห่งชาติเป็ นโครงการในพระราชด�ำริ เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552 น�ำความปลื ้ม ปิ ติมาสูเ่ จ้ าหน้ าที่สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติทกุ คน ในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ได้ รับพระราชทาน ชื่อหอดูดาวจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ฯ ว่า “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา”

การสร้างหอดูดาวและติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ภายหลังจากคณะรัฐมนตรี มีมติให้ ใช้ พื ้นที่ในสถานีทวนสัญญาณ สร้ างหอดูดาว ได้ สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์ แห่งชาติ ได้ วา่ จ้ างให้ บริ ษัท แคปิ ตัล มารี น ไฟเบอร์ กลาส จ�ำกัด (CMF) ท�ำการก่อสร้ างอาคารหอดูดาวและอาคารควบคุม รวมถึงท�ำการติดตัง้ ระบบโดม และจัดหาอุปกรณ์ที่ใช้ ในการติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ทังนี ้ ้เนื่องจากตามสัญญาซื ้อกล้ องโทรทรรศน์และระบบโดมนัน้ สถาบันฯจะ ต้ องด�ำเนินการสร้ างอาคารทรงกระบอก (Ring Wall) ที่มีขนาดแม่นย�ำพอที่จะติดตัง้ ระบบโดมได้ นอกจากนี ้จะต้ องสร้ างฐานกล้ อง (Pier) และด�ำเนินการติดตังระบบโดม ้ จากชิ ้นส่วนที่บริ ษัท EOSSS ผลิต โดยบริ ษัท EOSSS จะส่งวิศวกรมาควบคุมการติดตัง้ ในส่วนของกล้ องโทรทรรศน์นนั ้ ความรับผิดชอบในการติดตังเป็ ้ นของบริ ษัท EOST แต่ สถาบันฯจะต้ องจัดหาอุปกรณ์และเครื่ องจักรที่จ�ำเป็ น เช่น เครนที่มีขีดความสามารถ ในการยกกล้ องเข้ าไปในอาคารหอดูดาวได้ ก่อนหน้ านี ้ ในปี พ.ศ. 2551 บริษทั EOSSS ได้ วา่ จ้ างให้ บริษทั CMF ท�ำการผลิตชิ ้น ส่วนไฟเบอร์ กลาส และโครงสร้ างโดม ตามแบบที่ EOSSS ได้ ออกแบบไว้ ซึง่ โครงสร้ าง โดมที่เป็ นเหล็กกล้ าทังหมด ้ รวมถึงแผ่นไฟเบอร์ กลาสที่เป็ นผิวนอกของโดม ได้ ผลิตขึ ้น โดยฝี มือคนไทย ที่โรงงานของ บริ ษัท CMF และ บริ ษัท ไอ.ดี.ไอ. เอ็นจิเนียริ่ ง จ�ำกัด (IDI) จังหวัดสมุทรสาคร ทังนี ้ ้เนื่องจากความพิถีพิถนั ในการผลิตชิ ้นส่วนดังกล่าว Mr. Mark Blundell ผู้จดั การโครงการของ EOSSS ได้ บอกกับผู้เขียนว่า ในบรรดาโดมที่ EOSSS 36

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ผลิตขึ ้นมาทังหมด ้ โดมของหอดูดาวแห่งชาตินี ้ เป็ นโดมที่ดีที่สดุ และมีปัญหาน้ อยที่สดุ ในการติดตัง้ รวมถึงการทดลองประกอบโครงสร้ างโดมที่โรงงานของบริ ษัท IDI ท�ำให้ มัน่ ใจว่า การประกอบที่สถานที่จริ ง จะท�ำได้ รวดเร็ว ซึง่ ปกติก่อนหน้ านี ้ EOSSS จะไม่ ทดลองประกอบชิ ้นส่วนโครงสร้ างโดมเข้ าด้ วยกัน แต่จะใช้ วิธีแก้ ปัญหาที่หน้ างาน หาก มีปัญหาเกิดขึ ้น

โครงสร้างโดม ตามแบบที่ EOSSS ได้ออกแบบไว้ ซึ่งโครงสร้างโดมที่เป็นเหล็กกล้าทั้งหมด รวมถึงแผ่นไฟเบอร์กลาสที่เป็นผิวนอก ของโดม ได้ผลิตขึ้นโดยฝีมือคนไทย ที่โรงงานของ บริษัท CMF และ บริษัท ไอ.ดี.ไอ. เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (IDI) จังหวัดสมุทรสาคร

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

37


การสร้ างฐานรากซึง่ ใช้ วธิ ีทำ� เข็มเจาะ เริ่มต้ นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 แม้ จะเป็ น ในช่วงฤดูฝน แต่บริ ษัท CMF ก็มีการเตรี ยมการมาเป็ นอย่างดี ในส่วนของผนังวงแหวน มีการใช้ เสาเข็มเจาะจ�ำนวน 9 ต้ น และฐานกล้ องใช้ เข็มอีก 13 ต้ น รวมความสามารถ ในการรับน� ้ำหนักของฐานรากทังหมดมากกว่ ้ า 1,000 ตัน อีกความน่าภาคภูมิใจที่ควรกล่าวถึง ได้ แก่ การสร้ างผนังวงแหวนโดยใช้ โครงสร้ าง คอนกรี ตเสริ มเหล็ก อย่างไรก็ดี การหล่อคอนกรี ตด้ วยวิธีปกติ จะท�ำการควบคุมขนาด ให้ มีความคลาดเคลื่อนได้ ยาก ผู้ออกแบบคือ KACON และ CMF ได้ มีความเห็นร่วม กันที่จะใช้ แผ่นไฟเบอร์ กลาสเป็ นแม่พิมพ์ในการเทคอนกรี ต โดยการควบคุมขนาดของ แผ่นไฟเบอร์ กลาส ซึง่ เมื่อเทคอนกรี ตแล้ วก็จะกลายเป็ นผิวด้ านนอกและด้ านในของ ผนังวงแหวน วิธีการนี ้ท�ำให้ มนั่ ใจได้ วา่ ขนาดของผนังวงแหวนจะเป็ นไปตามที่ผ้ อู อกแบบ ระบบโดมก�ำหนด และสามารถประกอบโดมเข้ าด้ วยกันได้

การสร้างผนังวงแหวนโดยใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก และแผ่นไฟเบอร์กลาสเป็นแม่พิมพ์ในการเทคอนกรีต

38

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


การสร้ างผนังวงแหวนและฐานกล้ อง เริ่มด�ำเนินการในเดือนมกราคม และไปสิ ้นสุด ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 ในระหว่างนันมี ้ การสร้ างอาคารห้ องควบคุมกล้ องโทรทรรศน์ ควบคูก่ นั ไป การประกอบโครงสร้ างโดม เริ่ มด�ำเนินการในเดือน กรกฎาคม และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 วิศวกรจากบริษัท EOSSS ก็ได้ เดินทางมาควบคุมการติดตังระบบควบคุ ้ มและ ขับเคลื่อนโดม ในช่วงนี ้แม้ จะเลยฤดูฝนปกติไปแล้ ว แต่ก็ยงั มีฝนตกมาก และตรงกับช่วง เวลาที่เกิดมหาอุทกภัยในภาคกลางของประเทศ ในปลายปี พ.ศ. 2554 นัน่ เอง ซึง่ ตลอด ทังปี ้ พ.ศ. 2554 นี ้ ที่บริ เวณสถานีทวนสัญญาณ วัดปริ มาณน� ้ำฝนได้ มากถึง 4,600 มม. เลยทีเดียว

การประกอบโครงสร้างโดม เริ่มด�ำเนินการในเดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2554

กล้ องโทรทรรศน์ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ถูกส่งจากท่าเรื อที่แคลิฟอร์ เนีย มาถึงท่าเรือน� ้ำลึกแหลมฉะบัง ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 แต่อปุ สรรคในขณะนันก็ ้ คอื ถนนสายหลักในภาคกลางของประเทศถูกน� ้ำท่วมหนัก การขนส่งกล้ องโทรทรรศน์มา ยังดอยอินทนนท์ ยังไม่สามารถท�ำได้ บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

39


ในส่วนของกระจกสะท้ อนแสงขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ถูกส่งมาทาง อากาศ โดยสายการบิน โคเรี ยน แอร์ และมาถึงประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 เช่นกัน

การขนส่งกล้องโทรทรรศน์และกระจกสะท้อนแสง จากท่าเรือแหลมฉะบัง มายังสถานที่ก่อสร้างหอดูดาวแห่งชาติ

เมื่อระดับน� ้ำท่วมในภาคกลางของประเทศลดลง การขนส่งกล้ องโทรทรรศน์และ กระจกสะท้ อนแสง จากท่าเรื อแหลมฉะบังก็สามารถท�ำได้ อย่างไรก็ดี เนื่องจากกล่อง บรรจุกล้ องมีความกว้ างมากกว่า 4.5 เมตร รถบรรทุกกล้ องไม่สามารถวิ่งผ่านด่านเก็บ ค่าผ่านทางในเส้ นทางหลักจากท่าเรื อแหลมฉะบังมายังเชียงใหม่ได้ จ�ำเป็ นจะต้ องใช้ ทางอ้ อม ซึง่ รถบรรทุกกล้ องต้ องเดินทางมากกว่า 1,000 กม. จึงจะถึงบริ เวณทางเข้ า ดอยอินทนนท์ และเนื่องจากความชันของทางขึ ้นสูย่ อดดอย ต้ องใช้ เวลานานกว่า 4 ชม. กว่าที่รถบรรทุกกล้ องจะเดินทางไปถึงหอดูดาว ซึง่ ก็ได้ รับการอ�ำนวยความสะดวกจาก เจ้ าหน้ าที่อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์เป็ นอย่างดี การประกอบกล้ องโทรทรรศน์ เริ่ มด�ำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เป็ นไป อย่างราบรื่น จะมีปัญหาก็เฉพาะในช่วงทีม่ กี ารยกกล้ องโทรทรรศน์ ซึง่ มีน� ้ำหนักถึง 17 ตัน 40

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


เข้ าไปในโดม ซึง่ ต้ องใช้ เครนที่สามารถยกน� ้ำหนักได้ ถงึ 120 ตัน มายกขึ ้นไปที่ความสูง มากกว่า 20 เมตร ก่อนจะค่อยๆ หย่อนลงไปในโดมอย่างแม่นย�ำ ในการประกอบ กล้ องทุกขันตอน ้ ทีมวิศวกรของสถาบันฯได้ ท�ำการติดตามและเก็บรวบรวมข้ อมูลทาง เทคนิค เพื่อการใช้ งานและท�ำการบ�ำรุงรักษาในอนาคต

การยกกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งมีน�้ำหนักถึง 17 ตัน เข้าไปในโดม ซึ่งต้องใช้เครนที่สามารถยกน�้ำหนักได้ถึง 120 ตัน เพื่อยกกล้องโทรทรรศน์ขึ้นไปที่ความสูงมากกว่า 20 เมตร

การประกอบกล้ องโทรทรรศน์ใช้ เวลาไม่ถงึ 5 สัปดาห์ ก็แล้ วเสร็จ วิศวกรของ EOST และ EOSSS ร่ วมกับเจ้ าหน้ าที่ของส�ำนักปฏิบตั ิการ น�ำโดย คุณอภิชาติ เหล็กงาม คุณสมสวัสดิ์ รัตนสูรย์ คุณอภิรัตน์ ประสิทธิ์ และเจ้ าหน้ าที่อื่นๆ อีกหลายท่าน ได้ ท�ำการ ทดสอบกล้ องแล้ วเสร็จในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555 ซึง่ เป็ นไปตามคุณลักษณะเฉพาะ ที่ก�ำหนดไว้ ในสัญญาทุกประการ ในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2555 หลังจากที่ได้ มีการทดสอบกล้ องและได้ รับแสงแรก (First Light) ที่ดอยอินทนนท์นนั ้ อาจารย์บญ ุ รักษาและผู้เขียน ก็ได้ เดินทางไปชมหอ ดูดาวนี ้ ความรู้สกึ ในขณะนันคงยากที ้ ่จะบรรยาย ผู้เขียนคิดย้ อนไปถึงครัง้ แรกที่ได้ ขึ ้น บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

41


มาติดตามสังเกตการณ์ดาวหางเฮล-บอพพ์ ที่ยอดดอยอินทนนท์นี ้ เป็ นเวลาเกือบ 15 ปี เต็ม ซึง่ ถือได้ ว่าเป็ นครึ่ งหนึ่งของชีวิตการท�ำงานของคนๆ นึงเลยทีเดียว และในวัน เดียวกันนันเอง ้ อาจารย์บญ ุ รักษาก็ได้ เปิ ดแชมเปญขวดที่เก็บไว้ เป็ นเวลานาน เพื่อดื่ม ฉลองหอดูดาวแห่งชาติของประเทศไทยกัน

(ภาพซ้าย) ภาพถ่ายดาวพฤหัสบดีจากกล้องโทรทรรศน์ 2.4 เมตร หลังจากที่ได้มีการทดสอบกล้อง (ภาพโดย ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา) (ภาพขวา) ภาพถ่ายกระจุกดาว M13 จากกล้องโทรทรรศน์ 2.4 เมตร หลังจากที่ได้มีการทดสอบกล้อง (ภาพโดย สมสวัสดิ์ รัตนสูตร)

42

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถือเป็นสิ้นสุดการสร้างหอดูดาวและติดตั้งกล้องโทรทรรศน์โดยสมบูรณ์

ในส่วนของการตรวจรับงานการสร้ างอาคารหอดูดาวและการติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์ ของบริษัท CMF นัน้ เกิดขึ ้นในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555 ซึง่ ถือเป็ นการสิ ้นสุดการสร้ าง หอดูดาวและติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์โดยสมบูรณ์ อย่างไรก็ดี การสิ ้นสุดการสร้ างหอดูดาวและติดตังกล้ ้ องโทรทรรศน์นนั ้ เป็ นเพียง จุดเริ่ มต้ นของการท�ำงานของหอดูดาวเท่านัน้ ความส�ำเร็ จในอนาคตของหอดูดาว แห่งชาตินี ้ ยังคงขึ ้นอยู่กบั การพัฒนาสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ไม่ว่าจะเป็ น ทีมบุคลากร นักดาราศาสตร์ วิศวกร นักสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ หรื อบุคลากรที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ รวมถึงเครื่ องมือวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ และห้ องปฏิบตั ิการที่จะสนับสนุนการท�ำงาน ของหอดูดาวนี ้ต่อไปในอนาคต

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

43


ข้อมูลเชิงเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร ระบบทัศนศาสตร์

กระจกปฐมภูมิท�ำจากวัสดุ กลาสเซรามิก (Glass Ceramic) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2,400 มม. มีความหนา 150 มม. เคลือบด้วยอลูมินัม

รู ปแบบของทัศนศาสตร์ ของกล้ องเป็ นแบบ ริ ชชี-เครเทียน ที่มีพอร์ ตนาสมิธคู่ (Dual Nasmith Ritchey-Chretian) กระจกปฐมภูมิท�ำจากวัสดุ กลาสเซรามิก (Glass Ceramic) ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2,400 มม. มีความหนา 150 มม. เคลือบด้ วย อลูมินมั อัตราส่วนทางยาวโฟกัส (Focal Ratio) เท่ากับ 1.5 ใช้ ระบบรองรับกระจกแบบ Whiffle Tree 27 จุด

44

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


กระจกทุติยะภูมิขนาดเส้ นผ่านศูนย์ กลาง 560 มม. ท�ำจากวัสดุ บอโรซิลิเกต (Borosillicate) น� ้ำหนักเบา เคลือบด้ วยอลูมินมั และให้ คา่ อัตราส่วนทางยาวโฟกัสทัง้ ระบบเท่ากับ 10

มีชอ่ งติดอุปกรณ์รับสัญญาณที่ตดิ ตังบน ้ Field Derotator ทังหมด ้ 4 ช่อง รองรับ น� ้ำหนักอุปกรณ์รับสัญญาณรวมได้ 500 กก. บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

45


ระบบการโฟกัสภาพและควบคุมการ Tip/Tilt ของกระจกทุติยะภูมิ ท�ำได้ ในระยะ 10 มม. ที่ความละเอียด 1 ไมครอน

ระบบขับเคลื่อนกล้อง เป็ นระบบอัลตะซิมธุ (Altazimuth) ขับตรง (Direct Drive) ในแกนหมุนทังสอง ้ แกน มี Encoder วัดต�ำแหน่งที่มีความละเอียดสูง ดีกว่า 0.01 อาร์ ควินาที ในทังสอง ้ แกน ความเร็ วสูงสุดของการขับเคลื่อนของแกนอะซิมธุ เท่ากับ 4 องศาต่อวินาที และ แกนมุมเงย (Elevation) เท่ากับ 2 องศาต่อวินาที แกนหมุนทังสองแกนรองรั ้ บด้ วยโรล เลอร์ แบริ่ ง ความสามารถในการชี ้เป้า ดีกว่า 3 อาร์ คนาที RMS และติดตามการเคลื่อนที่ของ วัตถุท้องฟ้าที่อตั ราความเร็วไซเดอเรี ยลได้ ดีกว่า 0.5 อาร์ ควินาที ในช่วงเวลาที่ติดตาม วัตถุ 10 นาที

อุปกรณ์รับสัญญาณ (Detectors) National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

46

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ


1. 2k x 2k Electronically-cooled CCD camera 13 micron pixel size (Apogee U-42) 2. 4k x 4k Liquid nitrogen-cooled CCD camera 15 micron pixel size (Advanced Research Cameras, Inc.) with custom-designed shutter and filter wheel (Astronomical Consultants and Equipment, Inc.) (February 2013) 3. Medium resolution Echelle Spectrograph (R=10,000-13,000) with spectral range 380-900 nm (built by Nanjing Institute of Astronomical Optics and Technology) (Late 2013) 4. Meaburn Spectrograph (donated by Prof.John Meaburn, University of Man chester) 5. Fast read-out CCD camera (ULTRASPEC) with 1k x 1k EMCCD (collaboration between NARIT and Universities of Sheffield and Warwick, UK) (February 2013)

หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ ๗ รอบพระชนมพรรษา

ศาสตราจารย์ ดร.ระวี ภาวิไล เข้าเยี่ยมชม กล้องโทรทรรศน์ ณ หอดูดาวแห่งชาติ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555

บันทึกการจัดตั้งหอดูดาวแห่งชาติ

47



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.