“ใหญ่”
สวัสดี ท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ท่านอาจจะเคยไปท่องเที่ยวในประเทศไทย มาแล้วหลายต่อหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น ภูเขา ทะเล น้ําตก หรือตามสถานที่ต่างๆ มาแล้ว มากมาย แต่พวกเราอยากจะแนะนําท่านมา ท่องเที่ยวตามลําน้ําดูสักครั้งหนึ่ง มาสัมผัส กลิ่นอาย บรรยากาศที่เงียบสงบ เยือนวิถี ชีวิตเก่าที่เคียงคู่มานานกับริมน้ําเจ้าพระยา “คลองบางกอกใหญ่ ” อาจจะเป็ น คํ า ตอบ หนึ่งที่สามารถตอบคําถามเหล่านี้ได้ บรรณาธิการ
Explore
3
History
6
Culture
9
People
10
Insight
12
Design
15
Food
21
Impression
23
Temple
26
Travel
29
EXPLORE ลอยตามคลองบางกอกใหญ่ ในโลกยุคปัจจุบัน ความเร่งรีบ เร่งด่วน เร่งร้อน เร่งเร้า เร่ง ... ถือเป็นวิถี ชีวิตปกติของคนเมืองอย่างเราๆ ไปเสียแล้ว แล้วจะมีที่ไหนหนอในป่าคอนกรีตแห่งนี้ ที่จะพาเราย้อนเวลากลับไปหาวันวานในอดีตสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่าย ใช้ชีวิตสบายๆ ริม สายน้ํา สัมผัสสายลม ฝูงปลาแหวกว่ายผิวน้ํา เสียงกระดิ่งลมดังกรุ๊งกริ๊งๆ ใน ครั้ ง นี้ เ ราขอเป็ น เพื่ อ นร่ ว มทางของคุ ณ และพาคุ ณ ย้ อ นเวลาหาอดี ต ใช้ ชี วิ ต แบบ Slow life ณ ริมคลองบางกอกใหญ่กันคะ ในทริ ป นี้ เ ราขอนํ า คุ ณ ลอยไปตามสายน้ํ า จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ท่ า เรื อ สาธร ริ ม แม่ น้ํ า เจ้ า พระยา ใต้ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน ความพิเศษของท่าน้ํา นี้ เ ป็ น ท่ า น้ํ า ริ ม แม่ น้ํ า เจ้ า พระยาเพี ย งแห่ ง เดี ย วที่ เชื่อมต่อกั บรถไฟฟ้า BTS สายสีลม สถานีสะพาน ตากสิน แต่สิ่งที่ตัวฉั นประทับใจที่สุด นั่นคือ ในยาม เช้า พระสงฆ์ บริ เวณนี้ ท่า นเดิน บิณฑบาตกั นอย่า ง ขวัก ไขว่ ตอนแรกฉั นเห็นพระ คาดว่าคงตัก บาตรไม่ ทั น แน่ ๆ แต่ เมื่ อฉั นอ อ ก จ าก 7-11 ก ลั บพ บพ ร ะ บิณฑบาตตรงหน้าจึงนําอาหารเช้ามาใส่บาตรทันที ฉันปลื้มมาก พระสงฆ์บิณฑบาตมากขนาดนี้แสดงว่า พระพุทธศาสนายังคงเจริญรุ่งเรือง แหม...แค่เริ่ม เดินทางก็เป็นสิริมงคลแล้ว ทริปนี้คงไม่ธรรมดาแน่ๆ หลั ง จาก ขึ้ น เรื อ ลอยไปแม่ น้ํ า เจ้ า พระ ยา สายน้ําจะไหลจากเหนือลงสู่อ่าวไทย เคยสงสัยไหม? ว่าฝั่งไหนเป็นฝั่งธนบุรีหรือพระนคร ขอบอกเลยว่า แอบงงมากคะ และได้ทราบว่าถ้าหันหน้าไปทางอ่าว ไทย ฝั่งซ้ายเป็นฝั่งธนบุรี ฝั่งขวาเป็นฝั่งพระนครคะ ลอยตามน้ํามาเรื่อยๆก็ถึ งปากคลองบางกอกใหญ่
แล้ ว คะ จุ ด ที่ น่ าตื่ น ตา ตื่ น ใจ มาก ๆ ในก า ร ล่ อ งเรื อ ครั้ ง นี้ คื อ เราได้ เ ห็ น การทํ า งานของ ประตูน้ํา เนื่องจากคลองบางกอกใหญ่ในยาม เช้าน้ําจะลงมากกว่าแม่น้ําเจ้าพระยา จึงต้องมี การลดระดับน้ํา ซึ่งมี 2 ประตูน้ํา เรือลําน้อย ของเราจะเข้าผ่านประตูบานแรกและปิดลง โดย ประตูบานที่สองปิดอยู่ก่อนแล้ว จากนั้นน้ําจะ ลดระดับลงให้เท่ากั บระดับน้ําคลองบางกอก ใหญ่ แล้วจึงเปิดประตูบานที่สองเข้าไปในคลอง ได้คะ ถ้าไม่ทําเช่นนี้น้ําในแม่น้ําเจ้าพระยาจะล้น ทะลั ก เข้ า ไปในคลองได้ ถั ด จากนี้ เ ราแล่ น ใน คลองบางกอกใหญ่กันคะ ในลํ า คลองบางกอกใหญ่ จ ะเห็ น ริ ม สองฝั่งคลองที่ทําให้หวนคิดถึงวิถีชีวิตชาวไทย ครั้นสมัยอดีตที่มีสายน้ําเป็นชีวิต บ้านเรือนใน สมั ย ก่ อนจะหัน หน้ ามาทางลํ า คลองเพราะใช้ การสัญจรทางน้ําเป็นหลัก สองข้างฝั่งคลอง มีวัดอยู่มากมาย และทุกวัดมีท่าน้ําให้เรือจอด เทียบท่าได้ นั่นหมายความว่าคนไทยสมัยอดีต ไม่ ใ ช่ ผู ก พั น กั บ สายน้ํ า เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ยั ง ผูกพันกับวัดวาอารามอีกด้วย
โดยท่ า แรกที่ เ ราลงเที ย บท่ า นั้ น คื อ ท่ า วั ด อิ น ทา ราม ซึ่ ง เป็ น วั ดตั้ ง แต่ ส มั ยกรุ งศรี อ ยุธ ยา และได้ รับ การ บูรณปฏิสังขรณ์ โดยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คาด ว่ า เ ป็ น วั ด ที่ ท่ า น ไ ด้ ใ ช้ เ ป็ น ส ถ า น ที่ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น กู้ ประเทศชาติกลับมา ทําให้คนในละแวกนี้นับถือท่านมาก จึง มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่เพื่อระลึกถึงวีรกรรมของท่าน เป็นประจําทุกปี
ต่ อ มาเดิ น ไปอี ก หน่ อ ย ติ ด กั บ วั ด อิ น ทา รามจะเจอตลาดพลูที่ชื่อนี้เพราะอดีตเป็นสวนปลูกต้นพลู และขายใบพลู ซึ่งเป็นตลาดอีกแห่งหนึ่งที่ให้กลิ่นอายความ เป็ น ไทยในอดี ต ใกล้ ๆ กั บ วั ด อิน ทรารามจะพบวัด ที่ มี รู ป วาดที่หน้าบันไม่เหมือนใครรูปคล้ายเครื่องบูชาของชาวจีน ผนัง โบสถ์ ที่มี รูป วาดที่ ให้ ความรู้ สึก ถึ ง ความเป็ นจี น เช่ น แจกันดอกโบตั๋น ถ้วยชาม ไม่ต้องสงสัยเลยเพราะนั่นคือวัด จั น ทรารามวรวิ ห าร หรื อ วั ด กลาง ที่ เ ป็ น ศิ ล ปะในสมั ย รัชกาลที่ 3
ถัดจากวัดกลางจะพบวัดราชคฤห์วรวิหาร หรือ วัด บางยี่ เ รื อ มอญ คาดว่ ามาจากคํ า ว่ า “บั ง ยิ ง เรื อ ” เนื่ อ งจากแม่ น้ํ า สายนี้ เ ป็ น จุ ด อั บ ที่ เ กิ ด จากน้ํ า วน จึ ง เหมาะแก่ ก ารซุ่ ม ยิ ง เรื อ วั ด บางยี่ เ รื อ มอญเป็ น วั ด ที่ มี อนุ ส าวรี ย์ พ ระยาพิ ชั ย ดาบหั ก ทหารเอกของพระเจ้ า ตาก โดยพระยาพิชัยดาบหัก ได้พาทหารมาดักซุ่มโจมตี พม่าที่นี่ และยังมีพระนอนที่ต่างจากพระนอนที่เราเคย เห็นทั่วไป เพราะพระพุทธรูปไม่ได้นอนตะแคง แต่ท่านนอน หงาย หรือ เรี ย กว่า พระพุ ทธรู ป ปางนอนหงาย เป็ น พระปางถวายพระเพลิง
และวั ด สุ ด ท้ า ยที่ จ ะขอแนะนํ า เป็ น วั ด ประจํ า ตระ กู ล “บุ ญ นาค ” ตระ กู ลที่ มี ค วามสํ า คั ญ ในสมั ย รัตนโกสินทร์ แต่ไม่ได้อยู่ในคลองบางกอกใหญ่นะคะ เป็น ทางผ่านจากคลองบางกอกใหญ่มาท่าเรือสาธร ติ ด แม่น้ําเจ้าพระยาและสะพานพุทธยอดฟ้า ได้แก่ วัดประยุร วงศาวาสวรวิหาร หรือวัดรั้วเหล็ก ที่เรียกขานเช่น นี้ เพราะมีรั้วเหล็กสีแดงเป็นกําแพงวัด แถมยังมีอุทยานเขา มอ หรือเขาเต่า ให้อาหารเต่าได้นะคะ รวมทั้งในเขาเต่ามี ปืนใหญ่ 3 กระบอก ซึ่ง บ่ง บอกว่ าสถานที่แ ห่ง นี้เ คยมี การผ่ า ตั ด ครั้ ง แรกในประเทศไทย โดยหมอบ รั ด เล ความน่าสนใจไม่ได้มีเพียงเท่านี้วัดนี้ยังได้รับรางวัลยอด เยี่ยม (อันดับ 1) รางวัลอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมระดับ ภู มิภ าค ปี 2556 จากยูเนสโก ซึ่งประเทศไทยไม่เคยได้ รางวั ลอัน ดับ 1 มาก่ อน ได้จ ากการบู รณะแกนกลาง เจดี ย์ และ ยั ง มี พ ระ บรม สารี ริ ก ธาตุ ใ ห้ ทุ ก ท่ า นไ ด้ สักการบูชาด้วยคะ จึงเป็นอีกหนึ่งวัดที่ไม่อยากให้พลาด คะ
เป็ น อย่ า งไรบ้ า งคะกั บ ทริ ป “ลอยตามคลอง บางกอกใหญ่” ในครั้งนี้ ทั้งชมบรรรยากาศริมน้ํา รับ ลมแบบชิวๆ ไปพร้อมกับสายน้ํา และแถมได้อิ่มบุญกันไป ทั่วหน้า เลย ถื อว่าเป็นการสํารวจเกื อ บทุก ซอกทุก มุ ม เลยของคลองนี้เลย เราจึงอยากให้ทุกท่านได้ลองไหลไป ตามสายน้ํา หาความสุขในวันสบายๆ สักครั้งหนึ่งคะ
History Khlong Bangkok Yai
“คลองบางกอกใหญ่” มี ชื่ อ เรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า “คลองบางหลวง” ในสมั ย ก่ อ น “คลองบางกอกใหญ่ ” เคยเป็ น เส้นทางของแม่น้ําเจ้าพระยาสายเก่า ตัวคลอง เองเป็นแม่น้ําที่มีลักษณะโค้ง อ้อมไปอ้อมมากิน พื้ น ที่ เ ป็ น บริ เ วณกว้า ง ซึ่ง ทํ า ให้ เ สี ย เวลามาก เมื่อ จะเดิ น ทางผ่ า นแม่ น้ํ า สายนี้ ดั ง นั้ น ในสมั ย พ ร ะ ชั ย ร า ช า ธิ ร า ช ( พ . ศ . 2 0 6 5 ) พระองค์ ท รงโปรดเกล้า ให้ ขุ ด คลองเชื่อ ม เพื่ อ ร่ น ระยะทาง แต่ ภ ายหลั ง จากขุ ด คลองแล้ ว คลองที่ขุดกลับมีขนาดใหญ่ขึ้น จากกระแสน้ําที่ ไหลมากั ด เซาะชายฝั่ ง ขณะที่ แ ม่ น้ํ า สายเดิ ม ค่ อ ยๆเล็ ก ลง จนกลายสภาพเป็ น คลองสาย หนึ่งเท่านั้น
เหตุใด..?? คลองบางกอก ใหญ่ต้อง “บาง” “ บ า ง ” ใ น พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. 2542 คื อ ทางน้ํ า เล็ ก ๆ ทางน้ํ า เล็ ก ที่ ไ หลขึ้ น ลง ตามระดั บ น้ํ า ในแม่ น้ํ า ลํ า คลอง หรื อ ทะเลแต่มีการสันนิษฐานว่า “บาง” อาจ กลายเสียงมาจากคําว่า “บัง” ในภาษา มอญ หมายถึ ง เรื อ หรื อ ย่ า นหรื อ สถานที่ จ อดและขึ้ น ลงเรื อ รวมไปถึ ง ชุมชนที่อ ยู่ โดยรอบ ดังนั้ น “บาง” อาจ หมายถึ ง สถานที่ หรื อ ชุ ม ชนใดชุ ม ชน หนึ่งที่น่าจะมีลําคลอง แม่น้ํา หรือทาง น้ํ าพาดผ่ าน หรือ สิ้น สุ ด ลง กลายเป็ น ย่านชุมชนที่มีผู้คนอยู่รวมกัน
KHLONG BANGKOK YAI
CULTURE
ต้นกําเนิดของแหล่ง วัฒนธรรม “คลองบางกอกใหญ่” เนื่ อ งจากในอดี ต “คลองบางกอกใหญ่ ” หรื อ “คลองบางหลวง” เคยเป็น แม่น้ํ า เจ้ า พระยาสาย เดิมมาก่อน แต่เมื่อมีการขุดคลองลัดบางกอกขึ้น เพื่ อ ย่ น ระยะทางและอํ า นวยความสะดวกให้ กั บ บรรดาพ่ อ ค้ า ทู ต านุ ทู ต ชาวตะวั น ตก ชาว แขก ชาวจี น ที่ เ ริ่ ม เข้ า มาติ ด ต่ อ ค้ า ขาย อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ที่ตั้งของบรรดา ไพร่พล ขุนนาง ข้าราชการ ที่ เคยช่วยเหลือกอบกู้บ้านเมืองเมื่อครั้งที่กรุงธนบุรี เ ป็ น ร า ช ธ า นี จึ ง ทํ า ใ ห้ ค ล อ ง บ า ง ก อ กใ ห ญ่ กลาย เป็ นบ ริ เ วณ ที่ มี ค วา มเ จริ ญรุ่ งเ รื อ ง ท า ง ก า ร ค้ า อ ย่ า ง ม า ก ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก ลุ่ ม ช น หลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมเลือก ที่จะเข้ามาตั้งถิ่นฐานและสร้างสรรค์วัฒนธรรมที่ หลากหลายจนได้ ชื่ อ ว่ า ย่ า นชุ ม ชนคลองบาง หลวงซึ่งเป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่สําคัญในย่าน ฝั่งธนบุรี
ใ น ส มั ย ค รั้ ง ต้ น ก รุ ง รั ต น โ ก สิ น ท ร์ กรุ ง เทพมหานครถู ก ขนานนามว่ า “เวนิสตะวันออก” โดยสมัยนั้นใช้การ สัญจรทางน้ําเป็นส่วนใหญ่ และคลอง บางกอกใหญ่ หรือคลองบางหลวง ก็ เป็ น เส้ น ทางสั ญ จรสํ า คั ญ ในสมั ย นั้ น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ที่ ตั้ ง ชุ ม ชนเก่ า แก่ เป็ น ที่ พํ า นั ก ขอ งบรรดา ขุ น นาง ผู้ ดี และ เศรษฐีในสมัยก่อน ตลอดสองข้างทาง เต็มไปด้วยเรื่องราวการตั้งถิ่นฐานที่มี ทั้ ง เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง วิ ถี ชี วิ ต เ ชื้ อ ช า ติ ศาสนาที่ แ ตกต่ า งกั น และมี ก ารผสม กลมกลืนทางวัฒนธรรมและประเพณี มีทั้งวั ดไทย วัดจี น มัสยิด และศาลเจ้ า ฯลฯ ซึ่งล้วนแต่มีเรื่องราวที่หลากหลาย ข อ ง ช า ติ พั น ธุ์ ที่ น่ า ส น ใ จ
ในปัจจุบัน “คลองบางกอกใหญ่” ถือ เป็ น เส้ น ทางสั ญ จรทางระบายน้ํ า แ ล ะ ยั ง เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วัฒนธรรมที่สําคัญอย่างมาก โดย มีศาสนสถานตั้ง อยู่อ ย่า งหนาแน่ น ทั้ ง สองฝั่ ง วั ด และมั ส ยิ ด ริ ม คลอง บางกอกใหญ่ ได้ แ ก่ วั ด โมลี โ ลกยา ราม วั ด หงส์ รั ต นาราม โบสถ์ อินทรสารเพชร วัดสังข์กระจาย วัด ประดิษฐาราม วัดเวฤราชิน วัดอิน ทาราม วั ด ราชคฤห์ วั ด ประดู่ ใ น ท ร ง ธ ร ร ม วั ด น ว ล น ร ดิ ศ วั ด ป า ก น้ํ า วั ด คู ห า ส ว ร ร ค์ วัดกัลยาณมิตร วัดวิจิตรการนิมิต มั ส ยิ ด บางหลวง (กุ ฎี ข าว) มั ส ยิ ด ต้นสน
Who
People @ Bangkok Yai
“ชุ ม ชนบางหลวง” หรื อ ที่ เ รารู้ จั ก กั น ในชื่ อ “บางกอก ใหญ่ ” เป็ น สถานที่ ที่ ม ากไปด้ ว ยผู้ ค นหลากหลายเชื้ อ ชาติ หลากหลายศาสนา ทั้ ง ไทยพุ ท ธ มุ ส ลิ ม จี น ฝรั่ ง ล้ ว นมี ที่ ม า หลากหลายแตกต่างทั้งด้านวัฒนธรรมและประเพณี แต่สิ่งที่พบ เห็ น ในชุม ชนนี้ คื อ การพึ่ งพาอาศั ย ซึ่งกัน และกัน ความต่ างของ วัฒ นธรรมไม่ ใช่ปั ญหาของคนในชุม ชนนี้ มี ความเป็ นอยู่ ที่เ รี ย บ ง่ายและยั งคงความเป็ นอยู่ ที่ มี เอกลั กษณ์ เ อาไว้ นั่ น คื อสิ่ งที่ เ รา สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในชุมชนแห่งนี้
“ทําไม” สภาพการเป็นอยูห ่ รือใช้ชีวิตในชุมชน “บางกอกใหญ่” ถึงไม่เปลีย ่ นแปลงนัก คําตอบอาจมีได้หลายสาเหตุ แต่สรุปรวมได้ใจความเดียวกันคือ จิตใจที่รักในสิ่งที่เคยทําอยู่ เชิดชูประวัติศาสตร์ และถ่ายทอดให้ชน รุ่นหลัง ถือได้ว่าคนในชุมชนบางกอกใหญ่เป็นเหตุผลสําคัญทีท ่ าํ ให้ วั ฒ นธรรม ประเพณี ป ฏิ บั ติ ยั ง สามารถคงอยู่ ใ ห้ ค นรุ่ น ลู ก รุ่ น หลานได้ชื่นชมกันต่อไป
ความเป็น อยู่ ของผู้ คนที่ นี่เ รีย บง่ าย ส่ วนใหญ่ แล้ วทํ าอาชีพ ค้าขายบ้างก็ขายเปิดร้านขายของของใช้ในชีวิตประจําวันหรือ ที่ เ รี ย กว่ า “โชห่ ว ย” ( โชห่ ว ย เป็ น คํ า ที่ ม าจากภาษาจี น
ฮกเกี้ยน สําหรับเรียกร้านขายของชํา สะดวกซื้อ สารพัดสิ่ง ที่ มั ก มี ลั ก ษณะอยู่ ใ นตึ ก แถวหนึ่ ง ห้ อ ง โดยมากเป็ น กิจ การ เล็กๆ ปัจจุบัน ลดน้อยลงไปมาก เพราะความที่เป็นกิจการ เล็กๆ ในครัวเรือน จึงอาจจะมีสภาพเก่า เชย ไม่แตกต่างจาก ร้านสมัยโบราณ และมีคู่แข่งที่เป็นร้านสะดวกซื้อ ติดแอร์ เปิด ตลอดวัน มาแข่งขัน ) บ้างก็ขายอาหาร ขายของสดในตลาด เปิ ด ร้ า นกาแฟเป็ น จุ ด รวมพลของคนในชุ ม ชน ได้ ม าพบปะ
พูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนคติหรือสิ่งที่ไปพบเห็นในแต่ละวันซึ่งกัน และกันมีตั้งแต่รุ่นหนุ่มสาว จนอายุเลยเกษียร พวกเค้าได้แจก รอยยิ้มและความเป็นกันเองให้แก่กัน และยังให้ความเป็นมิตรที่
Who
People @ Bangkok Yai
จริงใจแก่นักท่องเที่ยวนับเป็นสิ่งที่หาได้ยากในย่านชุมชนที่มี ผู้คนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ที่มีแต่ผู้คนก้มหน้าก้มตาทํามา หากินจนลืมอัตลักษณ์ที่เคยมี
Who
People @ Bangkok Yai
ภาพที่นักเดินทางอย่างเราได้พบเห็นยามเช้าในชุมชนบางกอกใหญ่คือการจับจ่ายซื้อของภายในตลาด ทั้งสองฝั่งของทางเดิน ของชุมชน คนที่มาจ่ายตลาดส่วนใหญ่พักอาศัยบริเวณนั้นหรือเป็นคนในชุมชน และยังมีคนจากชุมชนข้างเคียงที่ติดใจกลิ่น อายและบรรยากาศในการใช้ชีวิตของคนชุมชนบางกอกใหญ่ คนที่นี่ไม่ดูรีบร้อนเหมือนคนในเมือง กินอยู่ตามอัตภาพใช้ชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ช่วยเหลือเกื้อกูลกันแม้จะคนละเชื้อชาติ ศาสนา โดยเมื่อถึง เทศการจั ด งานบุ ญที่ วัด ไหน คนในชุม ชนไม่ ว่า จะไม่ ไ ด้ นั บ ถือ ศาสนาพุ ท ธต่ างก็ม าช่ว ยจั ด เตรี ย มงานจนสํ าเสร็ จ ด้ ว ยดี เช่นเดียวกับเมื่อมีงานทางศาสนาคริสต์หรืออิสลาม ทุกๆคนได้พร้อมใจไม่ว่าจะด้วยแรงกายหรือปัจจัยต่างๆ สะท้อนให้เห็น ถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติมาโดยตลอด โดยวิถี ชิวิตเหล่านี้ไม่ได้เสื่อมหายตามกาลเวลาแต่อย่างใด ความศรัทธาในด้าน ศาสนายังคงมีอ ย่างเด่นชัด ดั งจะเห็นได้จากการที่สมาชิกในชุม ชนต่างเข้าไปกราบไหว้บู ชาศาสนาที่ตนนับถือ ฟังธรรม
สวดมนต์ หรือปฏิบัติธรรมตามแนวทางที่ตนศรัทธา รวมทั้งการบริจาคทําบุญทําทานให้แก่ผู้ยากไร้ และการลงทรัพย์เพื่อ ใช้ในการบูรณะศาสนสถานให้ยังคงอยู่และดําเนินต่อไป รับรองได้ว่านักท่องเที่ยวที่ได้มีโอกาสมาเที่ยวที่นี่แล้วย่อมได้กลับมา เยือนชุมชนแห่งนี้อีกด้วยความประทับใจอย่างแน่นอน
INSIGHT
BANGKOK YAI
Watrajkrueh Worawihan วัดราชคฤห์ วรวิหาร ณ คลองบางกอกใหญ่
นามเดิม ชื่อวัดวังน้าวน เพราะวัดตั้งอยู่ติด คลองน้า๓ สาย คือ ๑. คลองบางกอกใหญ่ (อยู่ ด้านทิ ศเหนื อคื อของวัด ) ๒. คลองบาง น้าชน (อยู่ทิศตะวันตกของวัด) ๓. คลองท่า พระ (อยู่ ด้ า นทิ ศ พายั พ ของวั ด ) มาจดชน ติ ด กั น เป็ น เหมื อ นสี่ แ ยก ทาให้ น้ า เกิ ด การ หมุ น เวี ย นเป็ น วั ง วนขึ้ น ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย ก สถานที่แถบ นั้นว่าวัง น้าวน เมือชาวบ้านได้ สร้างวัดขึ้นจึงเรียกวัดนั้นว่า "วัดวังน้าวน" เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยกรุง ศรีอยุธยา ตอนปลายหรื อ ก่ อ นสมั ย กรุ ง ธนบุ รี โดย พวกนายกองมอญที่ อ พยพเข้ า มาพึ่ ง พระ บรมโพธิสมภาร และ ตั้งบ้านเรือนอยู่ในแขวง บางยี่ เ รื อ เป็ น ผู้ ส ร้ า ง สื บ ไม่ ไ ด้ ค วามว่ า นายกอง ผู้นั้นชื่ออะไร
เมื่อสร้างเสร็จแล้วมี ชื่อเรียกตามสถาน ที่ตั้งว่า “วัดบางยี่เรือ” บางทีก็ เรียกว่า “วั ด บางยี่ เ รื อ มอญ” หรื อ “วั ด มอญ” เฉยๆ ที่เรียกเช่นนี้คงสืบเนื่องมาจากเดิม มีพระ มอญจาพรรษาอยู่นั่นเอง ต่อมา พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้ า ให้ ส ถาปนา วั ด บางยี่ เ รื อ มอญ หรื อ “ วั ด ม อญ ” ขึ้ น เป็ นพร ะ อารามหลวง พระราชทานนามว่ า วั ด ราชคฤห์
อดี ต ครั้งโบราณการจะสร้า งพระพุ ท ธรู ป จะ นิยมสร้างพระพุทธรูป 4 อริยะบทด้วยกัน คือ ปางนั่ง ปางนอน ปางยืน และปางลีลา เหตุที่มี การสร้างพระพุทธรูป 4 ปาง เช่นนี้ เพื่อถือเป็น การเตือนให้มีสติกากับเตือนใจใน ทุกๆ อริยะบท ของตนเอง ซึ่งทั้ง 4 ปางนี้เป็น ปางพื้นฐานที่มี โดยทั่วไปแต่ที่วัดแห่งนี้มี การสร้างพระพุทธรูป ที่ แ ปลกออกไปจากปกติ พื้ น ฐาน คื อ มี ก าร สร้ า งพระพุ ท ธรู ป นอนหงายหรื อ ที่ ค นแถวนี้ เรียกว่า “หลวงพ่อสุขใจ”
โดยพระนอนที่ยาว ที่ สุ ด มี 5 อั น ดั บ อั น ดั บ 1 คื อ พระ นอนที่ วั ด ขุ น อิ น ท ป ร ะ มู ล จั ง ห วั ด อ่างทอง ยาว 50 เมตร อันดับ 2 คือ พระนอนจั ก รสี ห์ จั ง ห วั ด สิ ง ห์ บุ รี ยาว 47 เมตร อั น ดั บ 3 คื อ พระ นอนวั ด โพธิ์ ยาว 46 เมตร อั น ดั บ 4 คือ พระนอนวัด พระพุ ท ธไสยาสน์ จั ง ห วั ด เ พ ช ร บุ รี ยาว 43 เมตร อั น ดั บ 5 คื อ วั ด สะตือ
DESIGN
Chinese art in Thai temple ศิลปะจีนในวัดไทย...แตกต่างอย่างลงตัว
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ริ่ ม มี ก า ร ติ ด ต่ อ ค้ า ข า ย กั บ ช า ว จี น ม า น า น ขณะเดียวกันชาวจีนบางส่วนก็เริ่มเข้ามาตั้งรกรากลงหลักปัก ฐานอยู่ที่เมืองไทย ดังนั้นจึงเกิดผสมกลมกลืนของวัฒนธรรม ของทั้งสองชาติ หนึ่งในตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “ศิลปะ” เราจะ เห็ น ศิ ล ปะจี น นั้ น แทรกตั ว อยู่ ร่ ว มกั บ ศิ ล ปะไทยได้ อ ย่ า งลงตั ว โดยเฉพาะตามวั ด หลายๆแห่ ง ในช่ ว งสมั ย รั ช กาลที่ 3 มี ก าร เรียกศิลปะแบบจีนที่มาผสมกับศิลปะไทยตามวัดวาอารามนี้ว่า ศิลปะ “พระราชนิยม” ซึ่งจะมีจุดเด่นตรงที่หลังคาของโบสถ์หรือ วิหารในส่วนที่เป็นหน้าบันนั้นจะเป็นแบบเรียบๆ ตัดส่วนที่เป็นช่อ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ หรือที่เรียกว่าเครื่องบนออกทั้งหมดแต่ ได้มีการประดับหน้าบันด้วยกระเบื้องเคลือบเป็นลวดลาย เช่น ดอกไม้ หรือสัตว์ต่างๆ ตามแบบจีน
Wat Chantharam Worawihan วัดจันทารามวรวิหาร เป็นอีกวัดหนึ่งที่มีการ ใช้ศิลปะจีนมาผสมกับศิลปะไทย ทั้งตัวหลังคา ของโบสถ์ห รือ วิห าร ส่ว นที่เ ป็ น หน้ าบั น หรือ แม้ ก ระทั้ ง ภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ภาพที่ เ ห็ น เป็ น ภาพเครื่ อ งสู ง ของมงคลต่ า งๆที่ ช าวจี น เคารพ โดยภาพเขี ย นนั้ น แสดงถึ ง ลายเส้ น ที่ ป ร ะ ณี ต ส ว ย ง า ม เ นื้ อ ห า ใ น จิ ต ร ก ร ร ม สามารถบอกถึ ง ความเชื่ อ ของมงคลต่ า งๆ ของคนจี น ได้ โ ดยสะท้ อ นผ่ า นสัญลัก ษณ์ “ฮก ลก ซิ่ว” “ฮก ลก ซิ่ว ” เป็ นความเชื่อ อย่ า งหนึ่ ง ของคน จี น ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งราวของสิ่ ง มงคล สาม ประการ คื อ ความมั่ ง คั่ ง ร่ํ า รวย ความ เจริญก้าวหน้า และความมีสุขภาพดีและมีอายุ มั่น ขวั ญยื น เป็ น สัญลั ก ษณ์ ที่ แทนคํ า อวยพร ซึ่งเป็นสิริมงคลในชีวิตของชาวจีน “ฮก” ใช้สัญลักษณ์ กวางดาว ผลทับทิม ดอก เบญจมาศ ลายคลื่น ส่วน “ลก” ใช้สัญลักษณ์ ค้ า งคาว ดอกโบตั๋ น หรื อ ดอกพุ ด ตาน ผล ส้มมือ ลายกระจัง ลายคอเสื้อ ขณะที่ “ซิ่ว” ใช้ สั ญ ลั ก ษณ์ นกกระเรี ย น กา ต้ น สน ลู ก ท้ อ ลายประแจจีน แม้ จ ะมี ศิ ล ปะจี น เข้ า มาผสมในศิ ล ปะไทย แต่ คุณค่ า ของความเป็ น ไทยก็มิ ไ ด้ ลดลง แต่ ก ลับ เป็ น การผสมกลมกลื น กั น จนกลายมาเป็ น ศิ ล ปะที่ ส วยงามลงตั ว ซึ่ ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ สะท้ อนถึง ความผู กพั นที่ ดีระหว่างกัน ทั้งสอง ประเทศ
FOOD Eating Talat Phlu
หากถามหาแหล่ง ของกิ น บริ เ วณ คลองบางกอกใหญ่ พลาดไม่ไ ด้ ที่ จ ะ ต้ อ ง แ ว ะ ม า ช๊ ฮ ป ชิ ม ชิ ว กั น ที “ตลาดพลู ” ไม่ ว่ า จะเป็ น ของคาว ข องหวาน เริ่ ม ต้ น ร้ านค้ า ที่ จ ะ แนะนําที่พลาดไม่ได้เมื่อมาตลาดพลู คือ ร้ านกุ๋ ยช่ ายร้า นอร่ อยตั้ง อยู่ หน้ า โรงรั บ จํ า นํ า ปากซอยเทิ ด ไท 25 ขายตั้งแต่ 11:20 น. แต่มีคนต่อ คิ ว ก่ อ นที่ ห นุ่ ม ผมยาวคนนี้ จ ะเข็ น ออกมาขายเสียด้ วยซ้ํ า ขายเพีย ง แค่ วัน ละ 600 ชิ้ นต่ อ วัน เท่ า นั้น มี เพี ย งใส้ เ ดี ย วคื อ ไส้ กุ๋ ย ช่ า ย ขาย เพียง 20 นาทีก็ทําให้คนที่ตั้งตา ต่ อ แถวรอคอยฝั น สลายไปตามๆ กั น มี บ ริ ก ารรั บ ออร์ เ ดอร์ ท าง โทรศัพท์ด้วยแต่จะเก็บไว้ให้เพียง 10 นาที เ ท่ า นั้ น หากมาช้ า แกก็ จ ะแกะ ขายทันทีค่ะ (หยุดทุกวันจันทร์)
การตลาดของคนที่ดีก็ ดีใช่ย่อยนะ คะ เมื่อกุ๋ยช่ายร้านดังได้ขายหมดก็ มีร้านอื่นๆมาตั้งขายบริเวณที่ร้าน ดั ง นั้ น ขาย ทํ า ให้ ค นบางคนอาจ เข้ า ใจผิ ด ได้ ว่ า เป็ น ร้ า นที่ ค นต่ อ คิ ว ซื้อตั้งแต่ก่อนขาย
ถั ด จากร้ า นกุ๋ ย ช่ า ยชื่ อ ดั ง มี ร้ า น ขายทอดมั น เล็ ก ๆที่ ชิ้ น ไม่ เ ล็ ก เป็ น ทอดมั น ปลาก รายเนื้ อ นุ่ ม หอม ทอดด้วยน้ํามันที่ร้อนกําลังดี เนื้อ ท อ ด มั น เ มื่ อ โ ด น น้ํ า มั น ก็ ขึ้ น ฟู ส ว ย ง า ม เ ส มื อ น ชี วิ ต ค้ า ข า ย ที่ เจริ ญ รุ่ ง เรื อ งโด่ ง ดั ง ขายชุ ด ละ 50 บาท แม่ค้าก็ใจดีเป็นกันเอง ไม่ มี วั น หยุ ด ตั้ ง แต่ 10:00 น.จน ขายหมด (5:00 น.) หากใครยังไม่ อิ่ ม กั บ กุ๋ ย ช่ า ย ก็ อ ย่ า ลื ม แ ว ะ ม า อุดหนุนร้านทอดมันปลาข้างๆกั น ได้นะคะ รับรองไม่เหมือนทอดมันที่ อื่นค่ะ
ถั ด ไ ป อี ก เ ล็ ก น้ อ ย มี ร้ า น น้ํ า ดื่ ม สมุนไพรทําเอง เปิดขายมาหลายปี เริ่ ม จากขายข้ า วแกงเล็ ก ๆน้ อ ย เนื่องลูกค้ามักรับประทานข้าวแกง เผ็ดๆ จึงหันมาขายน้ําสมุนไพรดับ ร้อนหอมหวาน ด้วยกรรมวิธีการ ทําที่คิดค้นด้วยตัวเองและทําจนได้ น้ํ า สมุ น ไพรที่ ห อมหวาน เหมาะ อ ย่ า ง ยิ่ ง กั บ อ า ก า ศ ร้ อ น ใ น เมืองไทย
น้ํ า ที่ ผู้ ค นแถวนี้ นิ ย มดื่ ม มากที่ สุ ด คื อ น้ํ า จั บ เลี้ ย ง นอกจากนั้ น ยั ง มี น้ํ า รากบั ว เก็ ก ฮวย กระเจี๊ ย บ ล้ ว นแล้ ว แต่ มี ป ระโยชน์ พ ร้ อ มดั บ กระหายได้ดียิ่งนัก
ติดๆกันมีร้านขนมที่คนต่อคิวเยอะ ที่สุด ขายขนมไทยต่างๆเช่นขนมชั้น ขนมถั่ วตัด สังขยาฟัก ทอง ลูก ค้า ส่ ว นมากเป็ น ขาประจํ า ราคาไม่ แพงเริ่ ม ต้น ที่ 10 บาทเท่ านั้ น เปิ ด หลังเที่ยงจนกว่าของหมด เวลาซื้อ ในวันเสาร์-อาทิตย์ต้องทําใจนิดนึง นะคะ เนื่องจากคนเยอะมาก และ ต่ า งคนก็ อ ยากจะสั่ ง ซื้ อ ไปลิ้ ม รส ความอร่ อ ยที่ ถู ก ล่ํ า ลื ม มานาน จํานวนมาก
FOOD Eating Talat Phlu
นุ่ม ต้ ม จนเปื่อ ยได้ ที่ ขายเพี ย งชาม ละ 25 บาท เกาเหลา 30 บาทค่ะ เปิดตั้งแต่ 10:30 – 18:30 น.
ของอร่อยยังไม่หมดเท่านี้ค่ะ มาดู ร้ า นอร่ อ ยแถวบริ เ วณข้ า งราง รถไฟ เริ่มั้งแต่ข้าวหมูแดงตลาดพลู เป็นที่เลื่องลือ กินกับน้ําราดสีหมูสี แดงๆ พร้ อมกั บ พริ ก ดองและซี อิ๊ ว ดํา อร่อยเด็ดด้วยน้ําราด และหมู ที่ นุ่ ม กํ า ลั ง ห่ อ บะเร่ อ เพี ย ง 25 บาทเท่ า นั้ น จะซื้ อ หมู กั บ น้ํ า ราด แยกต่างหากก็มีขายเป็นขีด ด้วยค่ะ เปิดขายตั้งแต่เช้ายันค่ําเลย
ถัดจากร้านหมูแดง เป็นร้านบะหมี่ “ ต ง เ ล้ ง ” ร้ า น นี้ มี จุ ด เ ด่ น ที่ เ ส้ น เหนียวนุ่ม น้ําซุปใสหอมอร่อย ขาย คู่ กั บ ก๋ ว ยจั๊ บ น้ํ า ใสและ เกาเหลา เครื่ อ งใน รั บ รองไปร้ า นเดี ย วอิ่ ม คุ้ม
ร้านที่ 2 เลยออกมาทางด้านริ ม ถนน ร้าน ต. จันทร์เพ็ญ เป็นร้าน เก่าแก่ เปิดมากว่า 50 ปี เริ่มต้นที่ ชามละ 30 บาท จนถึ ง 60 บาท จุดเด่นอยู่ที่เกาเหลาเนื้อเปื่อยสูตร ดั้ ง เ ดิ ม ตั้ ง แ ต่ บ ร ร พ บุ รุ ษ ค ร บ เครื่องด้วยลูกชิ้น เนื้อสด เนื้อเปื่อย ตับ เอ็ น ผ้ า ขี้ริ้ ว และอื่น ๆอีก มาก น้ํ า ซุ ป ต้ ม กระดู ก เคี่ ย วจนเข้ ม ข้ น หอม ราก ผั ก ชี รั บปร ะ ทา นกั บ น้ําจิ้ม เพิ่มรสชาติให้แซบมากยิ่งขึ้น
ต่อไปมาเอาใจคนทางเนื้อค่ ะ ร้า น ก๋วยเตี๋ยวเนื้อ มีที่น่าอร่อยด้วยกัน 2 ร้ า น ร้ า นแรกตั้ ง อยู่ ริ ม ทาง รถไฟ เป็ น ห้ อ งแถวขนาดเล็ ก ขาย มาแล้ ว เป็ น รุ่ น ที่ 2 น้ํ า ซุ ป เป็ น แบบ ซุปข้น หากต้องการเป็นน้ําตกร้าน นี้ก็มีนะคะ เน้อเหนียว
7 IMPRESSION
ก า ร ไ ป ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม กั บ ร า ย วิ ช า GEN 441 ในครั้งนี้ทาให้ดิฉัน เกิดความ ประทับใจขึ้นหลาย อย่าง เรื่องแรกเลย คือ การ เดิ น ทางด้ ว ยยานพาหนะที่ เป็น เรือ โดย ส่วนตัวเป็นคน เดิ น ทางด้ ว ย รถ มาตลอด ไม่ค่อยจะได้เดินทางด้วย เรือ ค รั้ ง นี้ จึ ง เ ห มื อ น เ ป็ น ประสบการณ์ ค รั้ ง หนึ่ ง ใน ชี วิ ต ก็ ว่ า ได้ ได้ นั่ ง เรื อ ชมวิ ว กินลม ผ่านคลองเจ้าพระยา ไป คลองบางกอกใหญ่ มั น เป็ น ความรู้ สึ กที่ ดี ช่ว งหนึ่ ง ก็ ว่าได
เรื่ อ งประทั บ ใจเรื่ อ งที่ ส อง คือ การได้เข้าวัด ทาบุญ ได้ ไปสักการะ พระพุทธรูปนอน หงาย ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่ไม่ เคยมี ที่ ไ หน โดยมี ที่ วั ด ร า ช ค ฤ ห์ ที่ เ ดี ย ว มี ค ว า ม แปลก แต่ก็น่า สักการะ ได้ไป รดน้าดาหัวพระพุทธรูปเนื่อง ในโอกาสขึ้ น ปี ใ หม่ ไ ทยหรื อ เทศกาลสงกานต์ นั่นเอง ได้ เห็ น ชาวบ้ า นแถวนั้ น มาทา บุ ญ ซึ่ ง เป็ น ความรู้ สึก ที่ ปลื้มปิติ พ่อแม่พาลูกๆ มาเข้า วัดกัน
เรื่ อ งประทั บ ใจเรื่ อ งที่ ส าม คื อ ก า ร ที่ เ ร า ไ ด้ รั บ รู้ เรื่องราวประวัติความเป็นมา ในหลายๆๆ สถานที่ที่เราอาจ ไม่เคยได้ รู้จัก หรือสนใจ ทั้ง ๆ ที่ ส ถานที่ นั้ น เป็ น สถานที่ ใ น ระแวงที่ เ ราเคย ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นมาเป็ น เวลานาน เช่ น สถานที่ของสกุล บุนนาค
เรื่องประทับใจเรื่องที่สี่ คือ การที่เราได้ออกไปเปิดโลก ภ า ย น อ ก ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ไ ด้ พยายามพู ด และคุ ย กั บ คน ภายนอกมากขึ้น เช่น การ ที่ ดิ ฉั น ไ ด้ ไ ป ส อ บ ถ า ม รายละเอี ย ดการตั้ ง ร้ า น สุ ริ ย า ก า แ ฟ ใ น ต ล า ด วั ด กลาง ซึ่งร้านกาแฟสุริยานี้ เปิดมาเป็นเวลากว่า 70 ปี แล้ ว โดยได้ ท ากิ จ การนี้ ม า เป็ น รุ่ น ที่ 2 แล้ ว คุ ณ ตาที่ เป็ น เจ้ า ของกิ จ การน่ า รั ก มาก ยินดีให้คาตอบในทุกๆ เรื่องที่เราถาม มีความเป็น มิ ต รมาก ซึ่ ง ตรงนี้ ท าให้ ดิฉันประทับใจมากเป็นพิเศษ
ความประทับใจเรื่องที่ห้า คือ เหมือนกับไปเป็นเด็กอีกครัง้ ได้ เหมื อ นได้ ไ ปทั ศ นศึ กษาในอี ก ช่ ว ง อ า ยุ ห นึ่ ง ไ ด้ เ กิ ด กา ร ร วม ตั วจ า กเ ด็ กที่ จ บ จ า ก โรงเรี ย นศึ ก ษานารี (มี อี ก หลายคนแต่ ท ริ ป นี้ มี เ พี ย ง 4 คน)
ความประทับใจเรื่องที่หก คือ ได้กลับไปสถานที่เดิม เช่น วัด ประยุ ร วงศาวาส ไปเขามอ ไปให้อาหารเต่า
ความประทั บ ใจเรื่ อ งที่ เ จ็ ด คื อ ก า ร ไ ด้ ไ ป กิ น อ า ห า ร กลางวั น ที่ ต ลาดพลู ได้ ลิ้ ม ลองรสชาติ อ าหารที่ ถื อ ว่ า อร่อยหลายๆ อย่าง และได้ไป ยืนกลางรางรถไฟที่ยังใช้งาน อยู่ในทุกวันนี้
THANK YOU
TEMPLE วัด...วัฒน์(ธรรม) เป็นเรือ ่ งของ
รู้หรือไม่?
รู้หรือไม่? Q: วั ด ในแต่ ล ะภู มิ ภ าคใช้ วั ส ดุ ใ นการสร้ า ง วัดต่างกันตามภูมิภาคที่สามารถหาวัสดุ นั้นได้ง่าย ดังนั้นในแต่ละภาคใช้วัสดุอะไร กันบ้าง?
A: ภ า ค เ ห นื อ ใ ช้ แ ก้ ว ผ ลึ ก หิ น ปู น ภ า ค ก ล า ง ใ ช้ หิ น ท ร า ย ภาคอีสาน ใช้ไม้
Q: ท่ า นั่ ง ส มา ธิ มี กี่ ท่ า
รู้หรือไม่? Q: ในอดีตประเทศไทยเต็มไปด้วยต้นไม้ แ ล้ ว ท ร า บ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ว่ า บริเวณไหนมีวัดวัง หรือชุมชน?
ท่ า ที่ นิ ย ม ท่ า นั่ ง ส ม า ธิ ร า บ ท่ า นั่ ง สมาธิเพชร
เจดีย์
ชุ ม ชน จะเห็ น ต้ น ไม้ 4 ชนิ ด ได้ แ ก่ มะพร้าว ไม้ไผ่ กล้วย ข้าว
รู้หรือไม่? Q: พระพุทธรูปมีกี่ อิริยาบถ อะไรบ้าง?
A: มี 4 อิริยาบถ
Q: มีพระพุทธรูปปางที่ทําท่าคล้ายตัวการ์ตูน
ได้แก่ นั่ง ยืน นอน และเดิน
ท่าชาร์ตพลังคลื่นเต่า ด้วยจริงหรือ?
A: นั่ น คื อ ปางประสานบาตร
เกิ ด จากพ่ อ ค้ า เกวี ย น คื อ ตปุ ส สะ กั บ ภั ล ลิ ก ะ เดิ น ทางไป ค้ า ขาย และได้ ผ่ า นมาพบพระผู้ มี พ ระภาเจ้ า เกิ ด ความเลื่ อ มใส จึ ง ได้ น้ อ มถวายข้ า วสั ต ตุ ก้อนสัตตุผง แต่เนื่องจากพระองค์ไม่มีบาตร ในกาลนั้ น ท้ า วจตุ โ ลกบาลทั้ ง 4 จึ ง ได้ นํ า บาตรทํา ด้ วยศิล ามีสี เขี ยว มาจากทิศ ทั้ง 4 น้อมถวาย แด่พระองค์เพื่อรักษาศรัทธาปสา ทะพระองค์จึงรับทั้ง 4 แล้ว ทรงอธิษฐานเข้า เป็นลูกเดียวกัน
A: 2
A: วัด สิ่งที่โผล่พ้นยอดไม้จะเป็นยอด วัง สิ่ ง ที่ โ ผล่ พ้ น ยอดไม้ จ ะเป็ น พระ มหาปราสาท
รู้หรือไม่?
มีอะไรบ้าง?
รู้หรือไม่? Q: ความเชื่อเรื่องการกําเนิดแม่น้ําโขง? A: นาค 2 ตนเป็นเพื่อนรักกัน มีสิ่งใดจึงนํามาแบ่งกันเสมอ ครั้งหนึ่งนาคตนหนึ่งแบ่งช้าง อีก ตนแบ่งเม่น เกิดความไม่ เท่าเทียม ทะเลาะกัน จึงประลองกัน ใครไปถึงทะเลก่อนตน นั้นชนะ ทะเลแม่น้ําโขงจึงเกิดจากเลื้อยของนาค
รู้หรือไม่?
รู้หรือไม่?
Q: พระพุทธรูปปางตะเบ๊ะ มีจริงหรือ? A: ปางนี้มีชื่อว่า “ปางเกศธาตุ” เกิดจาก ในสมัยพุทธกาล มีพ่อค้า 3 คนมี ค วามศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ต่ อ มาเมื่ อ พ่ อ ค้ า ได้ เ ข้ า ไป กราบทูลพระพุทธเจ้าว่า อยากได้ตัวแทนของพระพุทธเจ้ากลับไปยัง ประเทศเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนาแต่ พระพุทธเจ้าไม่มีอะไรจะมอบ ให้จึงใช้พระหัตถ์ลูบพระเกศา และได้พระเกศามแปดเส้น จึงประทาน ให้ กั บ พ่ อ ค้ า ทั้ ง 3 คนไป จากนั้ น พ่ อ ค้ า จึ ง นํ า พระเกศากลั บ ไป ประดิ ษ ฐานที่ ป ระเทศศรี ลั ง กาโดยได้ ส ร้ า งพระเจดี ย์ ค รอบไว้ ม า จนถึงปัจจุบัน
รู้หรือไม่?
Q: สวรรค์มีกี่ชั้น? A: 6 ชั้น ได้แก่
รู้หรือไม่? Q: A:
1. จาตุมหาราชิกา 2. ดาวดึงส์ 3. ยามา 4. ดุสิตา 5.นิมมานรดี 6. ปรนิมมิตวสวัตตี
Q: แล้วสวรรค์ชั้น 7 คืออะไร? A: สวรรค์ที่ว่านี้เป็นตึกอาคาร 7
พระพุทธศาสนาแบ่งเป็นกี่นิกาย อะไรบ้าง? แบ่งเป็น ๒ นิกาย ใหญ่ ได้แก่ 1. มหายาน หรื อ อาจาริ ย วาท เป็ น นิ ก ายที่ มี การแก้ไขคําสอนในพระพุทธศาสนา ให้ผันแปรไป ตามลําดับ "มหายาน" แปลว่า "ยานใหญ่" พาคน พ้ น ทุ ก ข์ จ ากการเวี ย นว่ า ยตายเกิ ด ได้ ค รั้ ง ละ มากๆ 2. หีนยาน หรือ เถรวาท เป็นนิกายที่มุ่งสอนให้ พระสงฆ์ปฏิ บัติเพื่อดับกิเลสของตนเองก่ อน และ ห้ามเปลี่ยนแลงแก้ไขพระธรรมวินัยอย่างเด็ดขาด
ชั้น ด้วย ความสูงและความทันสมัยจึงเป็นสารพัด ส ถ า น บ ริ ก า ร ตั้ ง แ ต่ ภั ต ต า ค า ร ร้ า นอาหาร ห้ า งสรรพสิ น ค้ า โรงแรม บ่อน ไปจนถึงที่ขึ้นชื่อที่สุดบนชั้น 7 ก็คือ "ซ่องโสเภณี" สํานวน "สวรรค์ชั้น 7" ก็ เกิดขึ้นในตอนนั้นเอง......
Q: พระอั ค รสาวกที่ อ ยู่ ข้ า งพระ ประธาน ยื น หรื อ นั่ ง พนมไหว้ พระประธานสองข้าง คือใคร?
A: ตามมหายาน พระอัครสาวก เบื้องซ้ายได้แก่พระอานนท์มหา เถ ระ เบื้ อ งข วา ได้ แ ก่ พร ะ มหากัสสปมหาเถระ ซึ่งเป็นผู้มี คุณูปการต่อพระพุทธศาสนา ในเรื่องการทําสังคายนาพระ ธรรมวินัยครั้งแรกของโลก ตามหี น ยาน พระอั ค รสาวก เบื้องซ้าย ได้แก่ พระโมคคัลลา นะ เบื้อขวา ได้แก่พระสารีบุตร ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รง ยก ย่ อ งว่ า เป็ นอั คร สา ว ก เบื้องซ้ายและขวา
รู้หรือไม่? Q: พระบรมสารีริกธาตุ พระธาตุ ต่างกันอย่างไร? A: พ ร ะ บ ร ม ส า รี ริ ก ธ า ตุ คื อ ก ร ะ ดู ก ข อ ง พ ร ะ สัมมาสั ม พุทธเจ้า พระธาตุ คือ กระดูก ของพระ อรหันต์
TRAVEL
KHLONG BANGKOK YAI “All journeys have secret destinations of which the traveler is unaware.” ทุกการเดินทางมีจุดหมายปลายทางซ่อนอยู่ จุดหมายที่นักเดินทางไม่เคยคาดคิดมาก่อนเลย
1 . จ อ ด ร ถ ที่ วั ด คู ห า สวรรค์ สุ ดซอยเพชร เกษม 28 จากวั ดให้ เดิ น เลียบคลองมาเรื่อยๆ จะ พ บ กั บ บ้ า น เ รื อ น แ ล ะ ร้านค้าต่างๆ 2. จอดรถที่ วั ด กํ า แพง อยู่สุดซอยเพชรเกษม 20 สะพาน แล้ วจะเจอตรอก ทางขวามื อ เพื่ อ เดิ น ไป ทางสะพานคลองบาง หลวงน้อย 3ต่อรถมาลง ปากซอยจรัญสนิทวงศ์
3. จากนั้นใช้บริการนั่งรถ สองแถว สีแดงจากปาก ซอย หรื อนั่ งมอเตอร์ ไซค์ เข้ า มาจนสุ ด ซอย จะเห็ น ซอยเล็ กๆ ให้ เดิ นเข้ าไปจะ เจอสะพานคลองบางหลวง น้อย 4 . ถ้ า ม า ท า ง เ รื อ ก็ สามารถเหมาเรือจากท่า ช้างมายังคลองบางกอก ใหญ่ได้เช่นเดียวกัน
HOW TO GO?
HOW TO GO?
1. ขึ้นรถ Subaru ตรงถนนลาด หญ้าหรือวงเวียนใหญ่ ค่าบริการ คนละ 6 บาท นั่ ง ผ่า นถนนเทอดไท ไปสักพัก ก็จะถึงย่าน“ตลาดพลู” 2. ถ้ า ขึ้ น BTS ให้ ไ ปลงที่ สถานี ตลาดพลูได้เลย
3. ถ้ า ขั บ รถไปเองให้ ไ ปจอดรถที่ ใ ต้ สะพานตลาดพู ล หรื อ แถ วท่ า น้ํ า คลองบางกอกใหญ่
VACATION IN THONBURI
Thank you
Bangkok-yai