Courtwatch report 2013

Page 1


รายงานโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาล ในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ประจําป 2555 – 2556

โดย สถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย (AIHR) คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


Preface In May 2013, Law Faculties of University of Chiangmai, University of Mae-faluang, University of Thaksin and University of Ubon Ratchathani, organized a national public seminar on ‘Cases of Human Rights: Rights to Fair Trial’. The objective of the seminar was to share the findings of around 120 law students who observed courts and trials during the academic year from the perspective of fair trial principles. Officers from the Courts of Justice, Commissioners from National Human Rights Commission of Thailand, Law Reform Commission of Thailand, human rights lawyers and activists, students and law professors participated in the discussions. The seminar was organized as part of the Court Watch Project that was initiated by Asian Institute for Human Rights in 2009 in collaboration with Universities in Thailand. The present report gives a brief description of the Court Watch Project, its objectives, history and process. It also gives a description of the activities that were undertaken during 2012-2013, the tools developed under the program to facilitate observing of trials and hearings, and a summary of findings under the project. Finally it presents, the feelings of some of the students who participated in the program. Kalpalata Dutta Director, Asian Institute for Human โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

๏ก


ข๏

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


สารบัญ คํานํา สารบัญ บทที่ 1 จุดเริ่มตนของโครงการการเรียนรูและสังเกตการณ กระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) บทที่ 2 ภาพรวมของโครงการ Court Watch พ.ศ. 2556 บทที่ 3 ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยเชียงใหม บทที่ 4 ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยทักษิณ บทที่ 5 ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง บทที่ 6 ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภาคผนวก

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

1 21 32 43 56 70 79

๏ค


1

จุดเริ่มตนโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาล ในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

กอนจะเปน Court Watch เมื่อแรกกอตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย (Asian Institute for Human Rights: AIHR) ในป พ.ศ.2548 ทางสถาบันฯ ไดมีสวนรวมกับโครงการ Access to justice ของมูลนิธิผสานวัฒนธรรม ผานกระบวนการเสริมสราง ศักยภาพใหกับภาคประชาสังคมในพื้นสามจังหวัดชายแดนภาคใต เนื่องจาก ขณะนั้นมีปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่มากมาย เชน การบังคับใหหาย สาบสูญโดยไมสมัครใจ,การจับกุมคุมขังโดยพลการ, การซอมทรมาน ตัว อยางคดี ดังเชน คดีทนายสมชาย นีละไพจิตร, คดีตากใบ,คดีกรือเสะ, คดีอิหมามยะผา คดี ทั้งหลายลวนเปนคดีที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ยังเปนคดีที่เกี่ยวของกับ การปฏิบัติหนาที่ของภาครัฐ ทําใหภาคประชาสังคมตองเขามามีสวนติดตาม ตรวจสอบกระบวนการยุติธรรม เพื่อใหแนใจวาผูตองหาและผูเสียหายไดรับความ เปนธรรมจากกระบวนการทางศาล โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 1


สถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย, มูลนิธิผสานวัฒนธรรม, มูลนิธิศูนย ทนายความมุสลิม, Working group for justice และคณะกรรมการนิติศาสตร สากล รวมถึงภาคประชาสังคมอื่นๆในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรวมกัน ติดตามกระบวนการยุติธรรมดวยการไปสังเกตการณคดีในชั้นศาล โดยมีตัวแทน จากองคกรดังกลาวเขาไปในหองพิจารณาคดี ผลจากการไปสังเกตการณดังกลาว ทําใหพบปญหาและเกิดการตั้งคําถามมากมายกับกระบวนการยุติธ รรม ภายใต กรอบสิ ท ธิ ใ นกระบวนการยุ ติ ธ รรมทั้ ง ตามกฎหมายสู ง สุ ด ในประเทศอย า ง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และหลักการในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชน ระหวางประเทศ ขอคนพบจากการติดตามคดีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตนั้น ทํา ใหเห็นความเปนจริงในการปฏิบัติกับมาตรฐานการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม กลาวคือ ปญหาเรื่องลามภาษาถิ่น อยางภาษามลายู หรือภาษายาวีนั้นไมสามารถ แปลความอยางตรงไปตรงมา มีการตัดความและแปลผิดความหมาย, ปญหาเรื่อง การบังคับใหผูตองหารับสารภาพของผูพิพากษา เพื่อใหมีการลดโทษ และปญหา ผูพิพากษาตัดเนื้อความเมื่อบันทึกคําใหการของพยานในชั้นศาล ป ญ หาเหล า นี้ ทํ า ให ภ าคประชาสั ง คมในพื้ น ที่ ต ระหนั ก และต อ งการ รวบรวมและสะทอนสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในชั้นศาล เพื่อใหสังคมไดรับรูและมีความหวัง ในการเปลี่ยนแปลงระบบที่ไมเปนธรรมใหเปนธรรมกับประชาชนผูถูกละเมิดสิทธิ มนุษยชน นอกจากนี้ภาคประชาสังคมมีความเชื่อวา หากมีผูสังเกตการณคดีอยู ในหองพิจารณาคดี โดยเฉพาะอยางยิ่งผูสังเกตการณคดีที่เปนชาวตางชาติ จะ สงผลตอทาทีของผูพิพากษาและผูปฏิบัติงานในหองพิจารณาคดีใหเครงครัดกับ หลักการการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม และปฏิบัติตอคูความด วยการไมเลือก ปฏิบัติ ดวยเหตุผลดังกลาว กลุมภาคประชาสังคมทั้งในพื้นที่และองคกรจาก 2 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


กรุงเทพมหานคร รวมถึงองคกรระหวางประเทศทั้งหลายไดจัดใหมีกิจกรรมการ ไปสังเกตการณคดีในชั้นศาลอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม แมวาการสังเกตการณคดีนั้นเปนสิ่งที่กระทําไดภายใต หลักการพิจารณาคดีอยางเปดเผย อีกทั้งก็ไมขัดกับกฎหมาย หากแตยังเกิดการ ตั้งคําถามจากนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนวา การสังเกตการณคดีนั้นจะเปนการ หมิ่นอํานาจศาลหรือไม? หรือวา การวิพากษวิจารณศาลนั้นจะกระทําไดหรือ? เพราะสภาพปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนไมไดพบแค ในพื้นที่ภาคใต แตกลับพบเรื่องเหลานี้ในภาคเหนือดวย เมื่อไดมี การสนทนากับทนายความสิทธิ มนุษยชนในพื้นที่ภาคเหนือ ทนายสุมิตรชัย หัต ถสาร ก็พบปญหาเรื่องลามภาษา ทองถิ่นเชนเดียวกัน กลาวคือในพื้นที่ภาคเหนือมีชนชาติพันธุอาศัยอยูมาก เมื่อ กลุมคนเหลานี้เขาสูกระบวนการยุติธรรมมักเกิดปญหาการเขาใจทางภาษา และ ไมไดรับความเปนธรรมจากกระบวนการทางศาล การติ ด ตามตรวจสอบกระบวนการยุ ติ ธ รรมทางศาล จึ ง ริ เ ริ่ ม เป น โครงการที่จะเอื้อตอการติดตามตรวจสอบการทํางานของกระบวนการศาลขึ้น จากการเรียนรูและประสบการณการทํางานที่มีสวนเกี่ยวของกับศาล

เริ่มเปน Court Watch จุดเริ่มตนของการติดตามสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (Monitoring rights to fair trail) จึงเกิดขึ้น จากรายงาน “ทําความเขาใจระบบยุติธรรมใน ประเทศไทย” รศ.มรว.พฤทธิสาณ ชุมพล ประธานสถาบันสิทธิมนุษยชนแหง เอเชีย ไดเขียนเกริ่นนําในรายงาน “ทําความเขาใจระบบยุติธรรมในประเทศ ไทย โครงการเฝาระวังศาล 2551 (Court Watch Program)” รายละเอียด โครงการไวดังนี้ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 3


ในป พ.ศ.2551 สถาบั น สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง เอเชี ย ได ริ เ ริ่ ม ดํ า เนิ น “โครงการเฝาระวังศาล (Court Watch Program)” ที่ถือเปนโครงการนํารอง วาดวยการทําความเขาใจระบบยุติธรรมในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ  ทําความเขาใจองคประกอบสิทธิมนุษยชนสากลในการไดรับการ พิจารณาคดีอยางเปนธรรม และสิทธิในการเขาถึงความยุติธรรมซึ่งมีบทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยระบุไวเชนกัน  เพื่อสํารวจวากลุมผูยากจนและชายขอบในสังคมสามารถเขาถึงความ ยุติธรรมและไดรับการคุมครองสิทธิและเสรีภาพหรือไม  เพื่อสรางความเขาใจในบรรดานักกิจกรรมภาคประชาสังคมและนิสิต นักศึกษาเกี่ยวกับกลไกการทํางานของระบบยุติธรรม  เพื่อสงเสริมการปฏิรูปภายในระบบยุติธรรม โดยไดจัดการอบรมวาดวย “มาตรฐานการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม เพื่อคุมครองและสงเสริมสิทธิของกลุมชายขอบ” โดยเปนการจัดรวมกันของ สถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชียและโครงการเอเชียแปซิฟก ของคณะกรรมการ นักนิติศาสตรสากล (Asia Pacific Program, International Commission of Jurists) ระหวางวันที่ 22-27 มีนาคม 2551 ที่ นครนายก ผูกลาวเปดงานไดแก นายชาญเชาว ไชยานุกิจ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม และวิทยากรไดแก ดร.คณิต ณ นคร อดีตอัยการสูงสุดและคณบดีคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจ บั ณ ฑิ ต ย ดร.สุ น ทรี ย า เหมื อ นพะวงศ ผู พิ พ ากษา นายวสั น ต พานิ ช อดี ต กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในการนี้ผูเชี่ยวชาญสิทธิมนุษยชนสากลจาก โครงการเอเชียแปซิฟกของคณะกรรมการนักนิติศาสตรสากลไดใหความรูเกี่ยวกับ มาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล ทั้งยังมีการเดินทางไปดูงานที่ศาลจังหวัดนครนายก 4 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ระหวางการดูงาน ผูพิพากษาหัวหนาศาลจังหวัดไดกลาวแนะนําองคประกอบของ ศาลในประเทศไทย มีผูเขารวมการอบรมจํานวน 30 คน หลั ง การอบรม นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษามาจากศู น ย ศึ ก ษาการพั ฒ นาสั ง คม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และนักกิจกรรมดานแรงงานพลัด ถิ่น เชน จากคลินิกกฎหมายแรงงานและสภาทนายความแหงพมา อําเภอแมสอด ผูชวยทนายความซึ่งทํางานใหกับศูนยทนายความมุสลิม จังหวัดยะลา และนัก กิจ กรรมซึ่ง ทํา งานกั บเครื อข ายคนพื้น เมื องได เข าร วมสัง เกตการพิจ ารณาคดี ระหว า งเดื อ นเมษายน-ตุ ล าคม 2551 หลั ง จากนั้ น ผู สั ง เกตการณ ไ ด แ บ ง ป น ประสบการณ จ ากการสั ง เกตการณ ก ารพิ จ ารณาคดี ร ว มกั บ ทนายความจาก ประเทศไทยและต า งประเทศ ในการประชุ ม ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ระหว า งวั น ที่ 1 -2 พฤศจิกายน 2551 ที่กรุงเทพฯ สุดทายมีการแบงปนประสบการณรวมกับนายวุฒิ ชัย หรูจิตตวิวัฒน ผูพิพากษาในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2551 ในรายงาน“ทําความเขาใจระบบยุติธรรมในประเทศไทย โครงการเฝา ระวังศาล 2551 (Court Watch Program)” สรุปขอคนพบจากผูสังเกตการณ การพิจารณาคดีไดดังนี้  ผูพิการนั่งรถเข็นไมสามารถเขาถึงบริเวณศาลได  ปญหาลามแปลภาษา ผูตองหาที่ไมเขาใจภาษาไทย ไมมีการ จัดเตรียมลามให หรือหากมีลาม ลามก็แปลความไดไมครบถวน ไมมีการแปล ทวนให กั บ พยาน ไม มี ก ารแปลคํ า พิ พ ากษา และมี ก รณี ที่ ล า มแสดงอคติ กั บ ผูตองหา  บทบาทของทนายขอแรง ที่ไมใสใจตอคดีที่ตนรับผิดชอบมากนัก ไม มีการพบกับผูตองหากอนจะเขาสู ขั้นตอนการพิจารณาของศาล ซึ่งสงผลดานลบ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 5


ตอคดี บางครั้งทนายแสดงอคติตอกลุมชาติพันธุ หรือ แรงงานขามชาติ ดวยการ ใชคําพูดดูถูกเหยียดหยามศักดิ์ศรีความเปนมนุษย  บทบาทของอัยการ พนักงานอัยการ จะเนนงานเชิงรับเปนสวนใหญ และเดินเขาออกหองพิจารณาคดีอยูเสมอ ไมฟงการสืบพยานของอีกฝาย  บทบาทของผูพิพากษา การพิจารณาคดีสวนใหญมักจะเริ่มชา องค คณะไมครบ แตจะมีผูพิพากษาหลักอยู 1 ทาน หากเปนคดีที่เปนแรงงานขามชาติ เรียกรองคาชดเชย ผูพิพากษามักใหไกลเกลี่ย และแรงงานขามชาติมักไมมีอํานาจ ในการตอรอง เมื่อมีการอานคําบันทึกการใหการ ผูพิพากษาบางทานอานเสียง เบา และอานเร็ว จนทําใหพยานฟงและตรวจสอบไมทัน  บทบาทของเจาพนักงานศาล คอนขางมีทัศนคติเชิงลบกับคนจน และบางครั้งไมอธิบายขั้นตอนในหองพิจารณาคดี สงผลใหผูอยูในหองพิจารณา คดีปฏิบัติตัวไมถูก และถูกศาลตําหนิ ประโยชนที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการนี้ คือการเรียนรูของผูเขารวม โครงการและไดสงเสริมความเขาใจการทํางานของระบบยุติธรรม ไดใกลชิดการ ทํ า งานกั บ ฝ า ยตุ ล าการ อั น จะเป น ส ว นหนึ่ ง ในการปฏิรู ป ระบบยุ ติ ธ รรม โดย จะตองมีการปฏิรูปในระดับนโยบาย เพื่อใหทุกคนสามารถเขาถึงความยุติธรรม และองคกรภาคประชาสังคมมีบทบาทสําคัญที่จะทําใหเกิดการสะทอนประเด็น ปญหาเพื่อปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมในอนาคต จากความสําเร็จในป 2551 สงผลใหทางโครงการพัฒนารูปแบบการ ดําเนินกิ จกรรม โดยรวมมือกั บสถาบัน อุดมศึกษาและองคกรพัฒนาเอกชนที่ ทํางานในระดับพื้นที่ เกิดเปนการดําเนินงานโครงการในป 2552 จนกระทั่งถึง ปจ จุ บั น คื อ ป 2556 โครงการได ดํ าเนิ น งานใน 3 พื้ น ที่ ประกอบด วย พื้ น ที่ ภาคเหนื อ ภาคอี สาน และภาคใต บนพื้ น ฐานความหลากหลายของประเด็ น 6 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ปญหา และความสนใจของอาสาสมัครในแตละพื้นที่ โดยมุงเนนการเสริมสราง ศั ก ยภาพให กั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา คณะนิ ติ ศ าสตร แ ละคณะอื่ น ๆ เช น คณะ มนุษยศาสตร คณะรัฐศาสตร ในสถาบันอุดมศึกษา และนักกิจกรรมที่ทํางาน เกี่ยวของกับประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งในระดับบุคคลและระดับชุมชน เพื่อนรวมโครงการ ประกอบดวยคณะนิติศาสตรม หาวิทยาลัยเชียงใหม เริ่มดําเนินโครงการกอน ในป 2552 โดยมี สํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแม ฟาหลวง เขามาสังเกตการณการประชุม,การอบรมรวมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม และเริ่มโครงการ ในป 2553 ซึ่งเปนปเดียวกับ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และในป 2555 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ ก็ไดเขาร วม โครงการ

พัฒนาพื้นที่แหงการเรียนรู เมื่อจบโครงการในป 2551 ทางสถาบันฯ ก็ดําเนินโครงการตอเนื่องในป 2552 ยกระดับจากภาคประชาสังคม นักศึกษาผูสนใจ สูการหาความรวมมือใน ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย และเปลี่ ย นชื่ อ โครงการเป น “โครงการการเรี ย นรู แ ละ สังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน” โดยมีจุดมุงหมาย ของโครงการ คือ ใหนิสิต นักศึกษา คณะนิติศาสตร และภาคประชาสังคมที่สนใจ เรื่องสิทธิมนุษยชน และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม เกิดกระบวนการเรียนรู ทํา ความเขาใจกระบวนการพิจารณาคดีในศาล และเพิ่มความสามารถในการเขาถึง กระบวนการยุติธรรมมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการบันทึกเหตุการณ ตั้งขอสังเกต กับการพิจารณาคดีในชั้นศาล ตามหลักสิทธิในกระบวนการยุติธรรมและการ พิจารณาคดีอยางเปนธรรม อีกทั้งยังมุงหวังการรวบรวมขอมูลปญหาและอุปสรรค

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 7


ในการเขาถึงความยุติธรรมและการรับรองสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ผาน กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการของนักศึกษา ประสานความรวมมือกับคณะนิติศาสตรในมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค มุงเนนการเสริมสรางความรูและการมีสวนรวมของผูเขารวมโครงการในการ แลกเปลี่ยนประเด็นตางๆ ทั้ง นิสิต นักศึกษา อาสาสมัครนักสังเกตการณคดี นั ก กิจกรรม อาจารย นักวิชาการและผูที่มีสวนเกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม อีก ทั้งยังสรางเสริมศักยภาพในทางทฤษฎีผานการอบรมดานสิทธิมนุษยชน และ เอื้ออํานวยใหเกิดการเรียนรูภาคปฏิบัติผานวิธีการสังเกตการณคดีในชั้นศาล ซึ่ง ทั้งสองกระบวนการ สงเสริมใหเกิดการตระหนักถึงการนํา หลักทฤษฎีไปใชให สอดคลองกับ หลักปฏิบัติ และจากกระบวนการดังกลาวจะสงผลใหเกิดการ รวบรวมฐานขอมู ล ที่สะท อนความเปน จริ งของการเข าถึ งความยุติ ธรรมของ ประชาชนในชั้นศาล อีกทั้งยังสรางพื้นที่แลกเปลี่ยนประสบการณ ที่ชวยใหเกิด ความเขาใจปญหาตางๆ ของกระบวนการพิจารณาคดีในศาล โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในคดี ที่ เ กี่ ย วกั บ ผู ที่ อ าจถู ก ละเมิ ด สิ ท ธิ ไ ด ง า ย ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากโครงการจะถู ก ประมวลเปนขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการพัฒนากระบวนการยุติธรรม โครงการเรี ย นรู แ ละสั ง เกตการณ ก ระบวนการศาลในมุ ม มองสิ ท ธิ มนุษยชน ไดเริ่มดําเนิ นโครงการกับมหาวิทยาลัย ตั้งแต พ.ศ.2552 เปนตนมา และดํา เนิน การตอ เนื่ องจนถึ ง ป 2554 ไดรั บการสนับ สนุ นงบประมาณ จาก Open Society Foundation (OSF) บริหารงบประมาณโดยสถาบันสิทธิ มนุษยชนแหงเอเชีย จากประสบการณการดําเนินโครงการอยางตอเนื่องกวา 3 ป ทําใหคณาจารย คณะและมหาวิทยาลัยเห็นรวมกันวาควรดําเนินโครงการตอ โดย ใหเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชาสิทธิมนุษยชน และกิจกรรมภายใตศูนย ชวยเหลือประชาชนทางกฎหมาย 8 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จากนั้ น ในป 2555 เครื อ ข า ยมหาวิ ท ยาลั ย ก็ ไ ด ยื่ น ขอสนั บ สนุ น งบประมาณจาก Open Society Foundation (OSF) เอง โดยมีตัวแทนคือ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวงเปนผูบริหารโครงการ ภายใตการรวมกันทํางานระหวาง มหาวิทยาลัยและ สถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชียเปนผูหนุนเสริมโครงการและ จัดกระบวนการเรียนรูเรื่องสิทธิมนุษยชน

กระบวนการทํางาน กระบวนการทํางานได ป ระสานความรวมมือกับสถาบัน อุด มศึกษาที่ สนใจรวมดําเนินโครงการ โดยเนนกลุมอาจารยที่สอนวิชาสิทธิมนุษยชน และ อาจารยที่สนใจ อาทิเชน รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ อาจารยสอนวิชากฎหมายกับสังคม คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เริ่ม ดําเนินโครงการกับนักศึกษาในวิชากอน เชนเดียวกับ อาจารยดามร คําไตรย และ อาจารยโศภิต ชีวะพานิชย ที่สอนวิชาสิทธิมนุษยชน ในสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง สวนอาจารยขรรคเพชร ชายทวีป ไดดําเนินโครงการ ผ า นศู น ย ช ว ยเหลื อ ประชาชนทางกฎหมาย (ศชปก.) คณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสุ ดทายคือมหาวิทยาลัยทักษิณ นําโดยอาจารย เสาวนีย แกวจุลกาญจน นํากิจกรรมโครงการเขาสูการเรียนการสอนวิชาสิทธิ มนุษยชน จัดการประชุมกันระหวางอาจารย 4 สถาบัน และผูประสานสถาบันสิทธิ มนุษยชนแหงเอเชีย อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีองคกรภาคประชาสังคมใน พื้นที่อยาง ศูนยพิทักษและฟนฟูสิทธิชุมชนทองถิ่น องคกรที่ชวยเหลือชาวบาน และชุ ม ชนในเรื่ อ งกฎหมาย โดยเฉพาะคดี สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน คดี ป า ไม ที่ ดิ น ให คําปรึกษาทางกฎหมายและชวยเหลือดานกระบวนการยุติธรรม เขามามีสวนรวม โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 9


ในการแลกเปลี่ยนประสบการณการทํางานในชั้นศาล เติมประเด็นการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในพื้นที่ กอเกิดเปนพื้นที่แลกเปลี่ยนประสบการณทํางานโครงการ การ เรียนการสอนวิชาสิทธิมนุษยชน และการแลกเปลี่ยนทางวิชาการขนาดยอมๆ ขึ้น เมื่อไดขอสรุปวา การดําเนินโครงการตองสอดคลองกับภาคการศึกษา ของนักศึกษา ก็วางแผนการอบรมในแตละมหาวิ ทยาลัย ตามกรอบเงื่อนไขของ วิชา และภาคการศึกษา สวนใหญ วิชาสิทธิมนุษยชนนั้นจะสอนในภาคการศึกษา ที่ 2 ซึ่งโครงการ Court Watch ก็เริ่มกิจกรรมอบรมเรื่อง “การตรวจสอบการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม” หลังจากเปดภาคการศึกษาที่ 2 นั่นเอง

10 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ตารางการจัดอบรมเรื่อง การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในกระบวนการยุติธรรม

ลําดับ

มหาวิทยาลัย

จํานวนผูเขา รวม

วันที่จัดอบรม

22

30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2552

64

4–5 ธันวาคม 2553

47

20-21 พฤศจิกายน 2553

อุบลน้ําซับรีสอรท อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย

สถานที่ โรงแรมอิมพีเรียลเชียงใหม สปอรตคลับ รีสอรท อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม โรงแรมอิมพีเรียลเชียงใหม สปอรตคลับ อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม

1

มหาวิทยาลัย เชียงใหม

2

มหาวิทยาลัย เชียงใหม และ มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง

3

มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

4

มหาวิทยาลัย เชียงใหมและ มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง

86

19 – 20 พฤศจิกายน 2554

5

มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

40

28 – 30 ตุลาคม 2554

กิจตรงวิลรีสอรท อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

6

มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

30

8-9 ธันวาคม 2555

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 11


ลําดับ

มหาวิทยาลัย

จํานวนผูเขา รวม

วันที่จัดอบรม

สถานที่

7

มหาวิทยาลัย เชียงใหม

33

15 ธันวาคม 2555

ศิรินาถ การเดนท อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

8

มหาวิทยาลัย ทักษิณ

30

20-21 ธันวาคม 2555

มหาวิทยาลัยทักษิณ

9

มหาวิทยาลัย แมฟาหลวง

30

22 ธันวาคม 2555

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จังหวัด เชียงราย

ในป 2552 เนื้อหาการอบรมจะมุงเนนที่ การทําความเขาใจหลักการ พิจารณาคดีอยางเปนธรรม ทั้งในระดับชาติและระดับสากล การเสริมทักษะ การ สืบ คน ข อเท็ จจริง และการบั นทึ กข อ มูลเพื่อ ใชใ นกระบวนการตรวจสอบ การ ละเมิดสิทธิมนุษยชน และการเขาสังเกตการณในชั้นศาล ในป 2553-2554 มุงเนนการทําความเขาใจประเด็นปญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชนในพื้นที่ ดวยการเชิญผูถูกละเมิดตัวจริง มาใหความรู และฝกใหผู เขาอบรม ไดเรียนรูการสัมภาษณ เก็บขอมูล และตั้งคําถามกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับ ความเปนจริงในกระบวนการยุติธรรม โดยไมทิ้งเนื้อหาสิทธิมนุษยชน หลักการ พิจารณาคดีอยางเปนธรรมและสิทธิในกระบวนการยุติธรรม เนื้อหาเชิงกฎหมาย อีกทั้งยังพัฒนาแบบบันทึกการสังเกตการณคดีขึ้นมา เพื่อใหผูสังเกตการณได นําไปใช ในป 2555 มีการพัฒนาหลักสูตรเพื่อใหกระชับและนําไปใชไดจริงเมื่อ ไปสั ง เกตการณ ค ดี ใ นศาล เริ่ ม ด ว ยการทบทวนความรู ค วามเข า ใจเรื่ อ งสิ ท ธิ มนุษยชนเบื้องตนใหกับผูเขาอบรม เพื่อเปนการเชื่อมโยงหลักการสิทธิมนุษยชน พื้นฐาน ใหผูเขารวมไดตระหนักถึงความสํา คัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชน อธิบาย 12 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


หลักการพิจารณาคดีที่เปนธรรมและสิทธิในกระบวนการยุติธรรม การใชแบบ บันทึกการสังเกตการณคดี และการแนะนําการเตรียมตัวไปศาล เมื่อผูสังเกตการณไดผานการอบรมแลว ก็ถึงขั้นตอนของการไปศาล นิสิต นักศึกษา จะไปสังเกตการณคดีตลอดภาคการศึ กษาที่ 2 คือในชวงเดือน ตุลาคม ถึง มีนาคม ระหวางนั้นมีการติดตามการไปสังเกตการณคดีดวยการจัดวง สนทนากับกลุมผูไปสังเกตการณคดี เพื่อใหผูไปสังเกตการณเลาประสบการณ รวมถึงวิเคราะหปญหาอุปสรรคในการเก็บขอมูล จากนั้นก็รวบรวมและวิเคราะห ขอมูลจากรายงานการสังเกตการณของอาสาสมัคร ป 2552 จัดทํารายงานการบันทึกเรื่องเลาและจัดทําหนังสั้น เรื่อง“กระบวนการ ศาลในมุมมองของนักสังเกตการณ” ป 2553 ใชแบบบันทึกการสังเกตการณคดีที่พัฒนาจากขอมูล ป 2552 สถาบัน จํานวนคดีที่เขาสังเกตการณ ม.เชียงใหม 374 ม.อุบลราชธานี 210 ป 2554 ใชแบบบันทึกการสังเกตการณคดีที่พัฒนาจากแบบบันทึกในป 2553 สถาบัน จํานวนคดีที่เขาสังเกตการณ ม.เชียงใหม 119 ม.แมฟาหลวง 243 ม.อุบลราชธานี 97

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 13


ป 2555 ใชแบบบันทึกการสังเกตการณคดี รวมกันที่พัฒนาจากแบบบันทึก ป 2554 สถาบัน จํานวนคดีที่เขาสังเกตการณ ม.เชียงใหม 285 ม.แมฟาหลวง 235 ม.อุบลราชธานี 239 ม.ทักษิณ 177 จัดเวทีสัมมนาวิชาการ “การเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการศาลใน มุมมองสิทธิมนุษยชน” เพื่อเผยแพรขอมูลและประชาสัมพันธโครงการในระดับ มหาวิทยาลัย โดยมีรายละเอียดการจัดงานดังตอไปนี้ วันพุธที่ 14 กรกฎาคม 2553 การสัมมนาวิชาการ“การเรียนรูและ สังเกตการณกระบวนการศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน” ณ หองประชุมชั้น 4 อาคารปฏิบัติการ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในงานนี้ไดมีการเปด วีดีทัศน เรื่อง“กระบวนการศาลในมุมมองของนักสังเกตการณ ” ที่จัดทําโดย ผูเขารวมโครงการ นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ตอมามีการ เสวนา “กระบวนการศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน” โดย อาจารยทศพล ทรรศนกุลพันธ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คุณสุมิตรชัย หัตถสาร ผูอํานวยการศูนยพิทักษและฟนฟูสิทธิชุมชนทองถิ่น คุณกฤษณพชร โสมณ-วัตร (ตัวแทนภาคเหนือ) และคุณอัญชนา หีมมิหนะ (ตัวแทนภาคใต) อาสาสมัครผู สังเกตการณคดี

14 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


วันศุกรที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2555 ณ โรงแรมศิรินาถ การเดนท จังหวัดเชียงใหม การสัมมนาเรื่อง “สิทธิในกระบวนการยุติธรรม: หลักการและ ความเปนจริง” ชวงเชามีการเสวนาเรื่อง “ความเปนจริงในชั้นศาล กับการเขาถึง สิทธิในกระบวนการยุติธรรม” โดยผูรวมสัมมนา คือ คุณสืบสกุล กิจนุกร ตัวแทน ชาวบาน กรณีที่ดินจังหวัดลําพูน คุณพูนสุข พูนสุขเจริญ ทนายความดานสิทธิ มนุษยชน ตัวแทนผูชวยทนายความจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต อาจารย สมบัติ วอทอง คณะนิติ ศาสตร มหาวิท ยาลัย อุบลราชธานี ผูดําเนินรายการ อาจารยขรรคเพชร ชายทวีป และอาจารยทศพล ทรรศนกุลพันธุ ชวงบาย เปนการนําเสนอผลงานนักศึกษาจากการเขารวมโครงการ ใน หัวขอ “ความเปนจริงในชั้นศาลจากการสังเกตการณของนักศึกษา” โดยนักศึกษา จากคณะนิ ติศาสตร มหาวิท ยาลัยเชี ยงใหม, มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง และประมวลภาพรวมความเปนจริงในชั้นศาล โดย รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล ปดทายดวย การเสวนาเรื่อง “ความเปนจริงในชั้นศาล กับการปกปอง สิทธิมนุษยชน” โดย ประธานสภาทนายความเชียงใหม, ผูพิพากษา, อัยการ จังหวัด, คุณสมชาย หอมลออ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย เปนผูรวมเสวนา สวนผูดําเนินรายการคือ อาจารยดามร คําไตรย และอาจารยโศภิต ชีวะพาณิชย มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ในปนี้เอง ไดมีกิจกรรมพานิสิตนักศึกษา ไปศึกษาพื้ นที่ และแลกเปลี่ยนกระบวนการปฏิรูปที่ดินกับ เครือขายปฏิรูปที่ดินโดยชุมชน บาน โปง ตําบลแมแฝก อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม วันเสารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2555 วันอาทิตยที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2556 จัดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรูประสบการณการสังเกตการณคดีของแตละมหาวิทยาลัย และเตรียมความ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 15


พรอมในการนําเสนอผลงานในวันรุงขึ้น ณ วีเทรน อินเตอรเนชั่นแนลเฮาส เขต ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2556 การสัมมนาเวทีสาธารณะเรื่อง “คดีสิทธิมนุษยชน กรณีการพิจารณาคดีดวยความเปนธรรม” ชวงเชา เปนการ นําเสนอผลงานนักศึกษาจากการเขารวมโครงการในหัวขอ “ความเปนจริงในชั้น ศาลจากการสั ง เกตการณ ข องนั ก ศึ ก ษา” โดย นั ก ศึ ก ษาจากคณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง และ มหาวิทยาลัยทักษิณ และประมวลภาพรวมความเปนจริงในชั้นศาล โดย รศ. สมชาย ปรีชาศิลปกุล ในชวงบาย เสวนาเรื่อง “กระบวนการยุติธรรมกับการ ปกปองสิทธิมนุษยชน” ผูรวมเสวนาคือ นายแพทยนิรันดร พิทักษวัชระ คณะ กรรมสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ , คุ ณ ไพโรจน พลเพชร คณะกรรมการปฏิ รู ป กฎหมาย, ผูพิพากษา สราวุธ เบญจกุล รองเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม, ทนายแสงชัย รัตนเสรีวงศ ตัวแทนจากสภาทนายความ และ ร.ต.ท.ดร.อุทัย อาทิ เวช อัยการผูเชี่ยวชาญพิเศษ ฝายคุมครองสิทธิประชาชนระหวางประเทศ และ กลาวปจฉิมคาถา โดย ศ.ดร.คณิต ณ นคร ประธานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย เมื่ อ จั ด กิ จ กรรมหลั ก ของโครงการแล ว สิ้ น คณะทํ า งานและตั ว แทน นัก ศึ ก ษาก็ ร ว มกั นถอดบทเรี ย น สรุป ประสบการณ การดํ า เนิน โครงการ และ รวมกันวางแผนการเพื่อดําเนินการในปตอไป

16 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


รูปภาพการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณการสังเกตการณคดี วันที่ 26 พฤษภาคม 2556 ณ วีเทรน อินเตอรเนชั่นแนลเฮาส กรุงเทพ

รูปภาพการสัมมนาเวทีสาธารณะเรื่อง “คดีสทิ ธิมนุษยชน กรณีการพิจารณา คดีดวยความเปนธรรม”วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ณ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 17


แผนภาพ แสดงขั้นตอนการดําเนินโครงการเรียนรูและสังเกตการณ กระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน

วางแผนร่วมกัน ระหว่าง มหาวิทยาลัย

ประสานกับ มหาวิทยาลัย

สรุปผลการ ดําเนินงาน

จัดอบรม

นิสติ นักศึกษา ไปสังเกตการ คดีในศาล

จัดสัมมนา วิชาการร่วมกัน สรุปผลแบบ บันทึกการ สังเกตการณ์คดี

18 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


และตอยอดสูสังคม กระบวนการเรียนรูและเขาใจสิทธิมนุษยชน ดวยการศึกษาจากของจริง การปฏิบัติจริง เปนอีกสวนของการศึกษา นอกเหนือจากการเรียนในหองเรียน และการไปสัมผัส คลุกคลีกับสิ่งนั้น เปนการทําใหเยาวชนคนรุนใหม โดยเฉพาะ นักศึกษาวิชานิติศาสตร ไดเรียนรูปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการ ยุติธรรม ที่เปนผลลัพธของโครงการการเรียนรูแ ละสังเกตการณทางศาลในมุมมอง สิทธิมนุษยชน (Court Watch Program) นิสิต นักศึกษา กวา 300 คน ที่ผานกระบวนการในโครงการ และเขาไป สังเกตการณคดีกวา 2,000 คดี สงเสริมใหเกิดการเรียนรูและการตั้งคําถามกับ กระบวนการยุ ติ ธ รรมตามหลั ก การพิ จ ารณาคดี ที่ เ ป น ธรรม และสิ ท ธิ ใ น กระบวนการยุติธรรม ขอคนพบจากการไปสังเกตการณที่ผานมา คือ  การบริหารงานยุติธรรมในศาล ทั้งเรื่อง การบังคับใชกฎ ระเบียบ ขอบังคับและการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ ศาล ตอบุคคลที่ไปติดตอราชการ เปนไปอยางเลือกปฏิบัติและตองมีลักษณะเปนทางการเทานั้นจึงจะสามารถเขา ประสานงานกับศาลได  ป ญ หาเรื่ อ งความไม ต รงต อ เวลาในการพิ จ ารณาคดี แ ละการ พิจารณาคดีในคราวเดียวกัน จํานวนองคคณะของผูพิพากษาที่ปรากฏขณะการ พิจารณาคดี ไมเปนไปตามหลักการ  ปญหาเรื่องลาม ที่ ไมมีการลงทะเบียน หรือรับรองลามภาษา พิเศษ เชน ภาษาทองถิ่น, ภาษามือ สงผลใหการพิจารณาคดีมีขอจํากัดและลาชา ในการพิจารณาคดี  ในประเด็ น สิ ท ธิ ใ นการเข า ถึ ง กระบวนยุ ติ ธ รรม ระหว า งการ พิจารณาคดี พบวา บทบาทของทนายขอแรงไมใหความสนใจในคดีมากนัก ซึ่ง โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 19


สงผลเสียตอจําเลย ในขณะที่บทบาทของผูพิพากษามักจะใชอํานาจหนาที่ในการ บังคับกฎหมายอยางเขมงวด โดยการใชดุลพินิจที่อิงตามหลักกฎหมายมากกวา หลักความเปนจริงทางสังคม มีลักษณะของการขมขู และอคติตอผูตองสงสัย  ในส ว นของการบั น ทึ ก ข อ มู ล ในขณะสื บ พยาน บางครั้ ง ไม ไ ด บันทึกขอความตามที่ไดสืบพยาน และประเด็นสุดทายคือ เรื่องลาม ที่ศาลไมมี การจัดหา กรณีที่มีลามก็มักเกิดปญหาในการสื่อความและแปลความ การศึกษาของโครงการอาจเปนจํานวนนอย เมื่อเทียบกับจํานวนคดี ความที่เขาสูศาลที่ปหนึ่งๆ หากแตสิ่งที่โครงการตองการสื่อสารคือ แมจํานวน เพียงนอยนิดจากการไปสังเกตการณคดีของนิสิต นักศึกษา แตก็สะทอนใหเห็นถึง ความเปนจริงที่เกิดขึ้นในชั้นศาล กับหลักการที่ยังไมสอดคลองกัน การสรางกระบวนการสนทนากับองคกรยุติธรรม ผานการจัดการสัมมนา วิชาการ นั้นถือเปนการสงตอขอ มูล และรวมเรียนรูกับความเปนจริงที่เกิดขึ้นใน กระบวนการยุติธรรม วามีปญหาอุปสรรคอยางไร อีกทั้งทางโครงการมีความหวัง อยางยิ่งวาจะชวยเปนผูบันทึกปรากฏการณที่เกิดขึ้นในศาลยุติธรรม ทั้งในดาน บวกและดานลบ โดยหวังวาเมื่อมีขอมูลเหลานี้เกิดขึ้นในสังคม องคกรที่มีสวนใน กระบวนการยุติธรรมจะไดนําขอสะทอนของโครงการไปใชในการปรับปรุงจุดดอย ใหกลายเปนจุดเดน เพื่อเปาหมายในการปกปองสิทธิเสรีภาพของประชาชนใน อนาคต

20 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


2

ภาพรวมของโครงการ Court Watch พ.ศ. 2556

บทนํา โครงการการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิ มนุษยชนเปนสวนหนึ่งของความพยายามตอการทําความเขาใจกระบวนการในชั้น ศาลที่ปรากฏในความเปนจริง ซึ่งในระบบการศึกษากฎหมายในสังคมไทยสวน ใหญ จ ะเน น ที่ ก ารศึ ก ษาในบทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายที่ แ ม อ าจทํ า ให เ ข า ใจถึ ง โครงสรางและระบบของกระบวนการในชั้นศาล แตก ารศึกษาในลักษณะดังกลาว ไมอาจทําใหเขาใจถึงปรากฏการณที่เกิดขึ้นจริงและกลายเปนปญหาอยางสําคัญที่ ถูกวิพากษวิจารณกันอยางกวางขวาง ในระยะตน สถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย (AIHR) เปนองคกรที่ริเริ่ม โครงการดังกลาวดวยการนําเสนอและแลกเปลี่ยนความเห็นกับสถาบั นการศึกษา ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันการศึกษาที่อยูนอกพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งไดรับความ รวมมือจากสถาบันการศึกษาตางๆ เปนอยางดีนับตั้งแต พ.ศ. 2551 เปนตนมา สําหรับโครงการการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 21


มนุ ษ ยชนประจํ า ป 2556 มี 4 สถาบั น การศึก ษาเข า ร วม คือ คณะนิ ติ ศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ และสํานักวิชานิติศาสตรมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง เปาหมายหลักของโครงการนี้ก็เพื่อทําใหผูเขารวมโครงการซึ่งสวนใหญ เปนนักศึกษาทางดานกฎหมาย และนักศึกษาทางดานอื่นๆ สามารถเขาใจถึง กระบวนการทางศาลที่เกิดขึ้นจริงโดยพิจารณาจากมุมมองทางดานสิทธิมนุษยชน ในการสั ง เกตการณ ก ระบวนการทางศาลจะเริ่ ม ต น จากการจั ด อบรมให แ ก นักศึกษาที่เขารวมโครงการ โดยมีเนื้อหาที่สําคัญ 2 สวน คือ ส ว นที่ ห นึ่ ง เนื้ อ หาของการอบรมจะประกอบไปด ว ยการทบทวนถึ ง กระบวนการทํางานและขอบเขตอํานาจหนาที่ขององคกรตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อ ทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับขั้นตอนของกระบวนการทางศาล และจะมีการ อธิ บ ายถึ ง แนวคิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในกระบวนการทางศาลจากผู มี ค วามรู แ ละ ประสบการณ จ ากการปฏิ บั ติ ง านจริ ง ซึ่ ง เนื้ อ หาในส ว นนี้ จ ะทํ า ให ผู เ ข า ร ว ม โครงการสามารถที่จะทําความเขาใจกับหลักการพื้นฐานทางกระบวนการทางศาล และแนวความคิดสิทธิมนุษยชน เนื้อหาสวนที่สอง เนื่องจากโครงการนี้จะเปนการสังเกตการณในชั้นศาล ดวยการใชแบบสํารวจ (Checklist) ซึ่งมีทั้งแบบที่เปนคําตอบใหเลือกและแบบ ปลายเปด จึงตองมีการทําความเขาใจกับแบบสํารวจที่ทางผูดําเนินโครงการได จัดทําเอาไวเปนเครื่องมือไวให โดยสถาบันการศึกษาทั้งหมดที่เขา รวมจะใชแบบ สํารวจชุดเดียวกันในโครงการ อันจะทําใหผลของการสํารวจมีโครงสรางของ คําถามและคําตอบในลักษณะเชนเดียวกัน

22 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ผลการสังเกตการณ ในโครงการของชวงป 2555 – 2556 มีสถาบันการศึกษา 4 แหงเขารวม คือ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง พื้นที่ที่ใชในการ สัง เกตการณ จ ะอยู ในเขตจั ง หวั ด ซึ่ งเป นที่ ตั้ ง ของสถาบั นการศึก ษาแต ละแห ง สําหรับในสวนของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื่องจากนักศึกษาที่เขา รวมโครงการมีภูมิลําเนาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ทําใหจะมีแบบสํารวจ จํานวนหนึ่งที่ไดทําในพื้นที่นอกเขตจังหวัดสงขลา ลักษณะของคดีที่เขาสังเกตการณมีทั้งสิ้น 936 ครั้ง ซึ่งประกอบดวยทั้ง คดีแพงและคดีอาญา แตคดีสวนมากในการสังเกตการณจะเปนคดีอาญาโดยมี จํานวนตั้งแต 68 ถึง 100 เปอรเซ็นต สาเหตุสวนหนึ่งมาจากสมมติฐานวาการ ละเมิด ตอสิ ทธิ มนุษ ยชนน าจะปรากฏชัด เจนในคดี อาญามากกวา คดีท างแพ ง อยางไรก็ตาม จํานวนของคดีขึ้นอยูประเภทของคดีที่ไดดําเนินการในชั้นศาลใน ขณะนั้นซึ่งเปนปจจัยที่อยูนอกเหนือการควบคุมของโครงการนี้ โดยในจํานวนคดี ที่เขาสังเกตการณจะพบวาคดีที่มีเปนจํานวนมากใน 3 ลําดับแรกของทุกแหงจะ อยูในกลุมของคดีทางดานยาเสพติด ความผิดตอทรัพยและความผิด ตอชีวิตและ รางกาย ทั้งนี้ในรายงานการเรียนรูและสังเกตการณทางชั้นศาลในมุมมองสิทธิ มนุษยชนจะประกอบไปดวย 3 ประเด็นสําคัญ การเขาบริเวณพื้นที่ศาล การเขา หองพิจารณาคดี หลักการพิจารณาอยางเปนธรรม ซึ่งในประเด็นสุดทายจะไดแบง ออกเปนบทบาทของผูพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร บทบาท ของอัยการหรือทนายฝายโจทก บทบาทของทนายฝายจําเลย โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 23


1. การเขาบริเวณพื้นที่ศาล จากขอมูลของแบบสํารวจพบวาการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตอบุคคล ที่มาติด ตอและเขา ไปยัง สถานที่บ ริเวณศาลดํ าเนินไปโดยไมปรากฏการเลือ ก ปฏิบัติอยางชัดเจน จะมีการตรวจคนและผานเครื่องตรวจคนกอนเขาสูบริเวณ พื้นที่ดานในของศาล ผูสังเกตการณแมไมไดแตงกายในชุดนักศึกษาก็ไดรับการ ปฏิบัติโดยไมมีความแตกตาง แมวาอาจมีในบางแหงที่จะปรากฏการเลือกปฏิ บัติ ระหว า งประชาชนทั่ ว ไปกั บ บุ ค คลที่ มี เ ครื่ อ งแบบ ไม ว า จะเป น นั ก ศึ ก ษา ทนายความ หรือขาราชการ แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ แตมีขอสังเกต วาในบางแหงอาจจะมีการตรวจอยางเขมงวดกับกลุมชาติพันธุมากกวาปกติ รวมทั้ ง ในบริ เ วณพื้ น ที่ ศ าลก็ จ ะมี ก ารจั ด ทํ า สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ แ ละ จัดเตรียมขอมูลในหลากหลายรูปแบบเพื่ออํานวยความสะดวกแกประชาชนที่ไป ติดตอ อยางไรก็ตาม มีปญหาบางประการเกิดขึ้น เชน มีการจัดเตรียมเครื่อง คอมพิวเตอรไวแตไมไดเปดเครื่องไว มีเสียงตามสายแตคุณภาพของเสียงไมชัดเจน ทําใหไมสามารถรับฟงไดอยางชัดเจน 2. การเขาหองพิจารณาคดี ตามหลักการของกระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลประการหนึ่งคือ ตองเปดเผยตอสาธารณะ อยางไรก็ตาม เมื่อผูสังเกตการณเขาสูหองพิจารณาคดี ในแทบทุกแหงจะพบวาเจาหนาที่ศาลจะทําการสอบถามวาเปนใครและมีความ เกี่ยวของกับคดีอยางไร โดยมีสัดสวนคิดเปนตั้งแต 20 – 40 เปอรเซ็นต แมวาจะ ไมไ ดห ามผู สัง เกตการณ แต ก็อาจสะท อนใหเ ห็นถึ งสภาวะทั่ วไปที่ จะไมคอยมี บุคคลภายนอกเขามารวมรับฟงการพิจารณาคดีในชั้นศาลแตอยางใด ในบางแหง ก็ มี ก ารตั้ ง คํ า ถามถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องการมาเข า ฟ ง และไม อ นุ ญ าตให เข า สัง เกตการณด ว ยท า ทีที่ สะท อ นให เห็ น ถึง ความไม เ ขา ใจต อ หลัก การเรื่ อ งการ พิ จ ารณาคดี ที่ ต อ งเป ด เผยต อ สาธารณะโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง กั บ เจ า หน า ที่ ที่ 24 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ปฏิ บั ติ ง านอยู ใ นห อ งพิ จ ารณาคดี ที่ ดู เ หมื อ นจะมี ค วามไม เ ข า ใจถึ ง หลั ก การ พิจารณาที่ตองเปดเผยตอสาธารณะ อยางไรก็ตาม หากแสดงตนวาเปนนักศึกษา ก็จะไดรับอนุญาตใหสามารถเขาฟงได สําหรับการแตงกาย การปฏิบัติตัวในหองพิจารณาคดี จะมีการจัดทํา ปายบอกไวอยางชัดเจนถึงขอหามในการกระทําลักษณะตางๆ รวมทั้งเจาหนาที่ ศาลเองก็ไดมีการแจงดวยวาจาอีกครั้งหนึ่งในเรื่องของการปฏิบัติตางๆ

ตัวอยางปายหนาหองพิจารณาคดี ขอสังเกตประการสําคัญก็คือ จะพบปายหนาหองพิจารณาคดีที่เขียนใน ลักษณะวาเปนพื้นที่หวงหามซึ่งจะเขาไดเฉพาะบุคคลที่ไดรับอนุญาตเทานั้น เชน เขตหวงหามเฉพาะ เฉพาะเจาหนาที่ เปนตน แตปายดังกลาวจะไมไดติดเอาไวใน ทุ ก ห อ งพิ จ ารณาคดี จากแบบสํ า รวจพบว า โดยมี สั ด ส ว นเป น จํ า นวนถึ ง 40 เปอรเซ็นต การติดปายที่มีขอความในลักษณะดังกลาวนี้อาจเปนสิ่งที่ทําใหเกิด ความเขาใจไดวาบุคคลที่จะเขาฟงการพิจารณาคดีไดนั้นตองไดรับอนุญาตจาก

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 25


เจาหนาที่อยางเปนทางการกอน และมีผลใหญาติของจําเลยบางคนไมอยากเขาไป ในหองพิจารณาคดีแมวาจะมาอยูในบริเวณศาลก็ตาม 3. หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม 3.1 บทบาทของผูพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา ในกรณีที่จําเลยไมมีทนายความ ขอมูลการสํารวจพบวามีจํานวน 5 ถึง 18 เปอรเซ็นตที่ศาลไมไดตั้งทนายความขอแรงใหกับจําเลย ขอมูลของทุกจังหวัด มี ข อ มู ล ต่ํ า กว า 5 เปอร เ ซ็ น ต ที่ ศ าลไม ไ ด ส อบคํ า ให ก ารของจํ า เลย (ไม ว า รั บ สารภาพหรือปฏิเสธ) กอนการพิจารณาคดี และในการบันทึกคําใหการของจําเลย ไมตรงกับ คําเบิกความของพยานพบวามีสัดสว นไม เกิน 5 เปอร เซ็น ต ยกเว น จังหวัดอุบลราชธานีที่ผูสังเกตการณบันทึกไว 16 เปอรเซ็นต นับเปนจํานวนที่สูง ที่สุด อยางไรก็ตาม พบวาศาลสวนใหญไดเปดโอกาสใหมีการตรวจสอบคําใหการ และโตแยงเนื้อหาที่ไดบันทึกไวกอนที่จะมีการลงนามรับรอง สําหรับการสาบานตนกอนการสืบพยานพบวาศาลไมไดมีคําสั่งใหสาบาน ตนตั้ ง แต 5 ถึ ง 33 เปอร เ ซ็ น ต อี ก ทั้ ง ในการนํ า สาบานตนก็ ป ระกอบไปด ว ย เจาหนาที่ศาล ทนายความ ลาม อัยการ การสาบานตนจึงไมเปนการปฏิบัติที่ ชัดเจนวาบุคคลใดตองทําหนาที่ในการนําสาบาน 3.2 บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ ในการทํ า หน า ขององค ค ณะผู พิ พ ากษาจะพบป ญ หาสํ า คั ญ ก็ คื อ ผู พิพากษาไมครบองคคณะตั้งแตเริ่มตนการพิจารณาจนจบ โดยมีเปอรเซ็นตอยูใน ระดับที่สูงประมาณ 40 เปอรเซ็นต ยกเวนในพื้นที่ภาคใตที่มีจํานวนผูพิพากษา ครบองคคณะในการพิจารณาคดีต่ํากวาที่อื่นๆ นอกจากนั้นเวลาเริ่มการพิจารณา ก็ไมเปนไปตามกํา หนดการซึ่งพบวาในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมมีคดีเริ่มตรงเวลา 26 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


เพีย ง 11 เปอรเ ซ็น ต ขณะที่ การสํารวจที่ อุบ ลราชธานีต รงเวลามากที่ สุด เป น จํานวน 59 เปอรเซ็นต ในบางแหงเจาหนาที่ศาลจะรอใหทุกฝายมาพรอมกันแลว จึงโทรศัพทแจงผูพิพากษาใหมาที่หองพิจารณา สําหรับการปฏิ บัติหนาที่ของผูพิพากษาที่รวมเปนองคคณะพิจารณา พบวาผูพิพากษาสวนใหญมีสมาธิตอในระหวางการปฏิบัติหนาที่ โดยการหยิบ สํานวนคดีอื่น การนั่งเหมอลอย หรือเลนโทรศัพทมือถือระหวางการพิจารณาคดี มีขอมูลปรากฏเปนจํานวนนอย อยางไรก็ตาม พบวาจะไมคอยปรากฏบทบาท ของผู พิ พ ากษาที่ ร ว มเป น องคคณะในการร ว มซั ก ถามเพิ่ ม เติ ม ในระหว า งการ สืบพยาน สําหรับการปฏิบัติหนาที่ซึ่งอาจมีผลเปนการจูงใจใหจําเลยรับสารภาพ ไม ว า จะโดยการหว า นล อ มหรื อ อธิ บ ายถึ ง ผลของคํ า พิ พ ากษาหากจํ า เลยรั บ สารภาพ เช น “หากฝนสูคดี ตอ ศาลจะไมร อลงอาญาและจะพิ จ ารณาลงโทษ หนัก”, บอกฝายทนายจําเลยวา “หากยังฝนตอสู ศาลจะไมรอลงอาญาและจะ พิพากษาลงโทษหนัก เพราะเพียงแคดูจากพยานเอกสารก็สามารถลงโทษไดทันที เลยโดยไมจําตองมีการสืบพยานก็ได ” เปนตน แมจะพบวามีอยูเปนจํานวนนอย แตก็เปนการกระทําที่จะมีผลอยางสําคัญตอการตัดสิ นใจในการสูคดีของทางฝาย จํ า เลย อย า งไรก็ ต าม การกระทํ า ในลั ก ษณะดั ง กล า วในกรณี ข องจั ง หวั ด อุบลราชธานีซึ่งพบวามีการอธิบายถึงผลของคําพิพากษาเพื่อชักจูงจําเลยสูงถึง 28 เปอรเซ็นต อันเปนขอมูลที่แตกตางจากจังหวัดอื่นๆ อยางสําคัญ ในการวางตั ว เป น กลางเพื่ อ ให จํ า เลยได มี โอกาสต อ สู หั ก ล า ง พยานหลักฐานตางๆ อยางเทาเทียมกับโจทก พบวาตัวเลขโดยเฉลี่ยจะอยูใน ระดับที่มากกวา 60 เปอรเซ็นต แมวาจะเปนจํานวนที่มากแตในขณะเดียวกันก็มี ข อ มู ล แสดงให เ ห็ น ถึ ง การไม เ ป ด โอกาสอย า งเต็ ม ที่ แ ก ฝ า ยจํ า เลยสู ง ถึ ง 30 โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 27


เปอรเซ็นต ในจังหวัดอุบลราชธานีและเชียงราย และพบวาในศาลทุกแหงจะ ปรากฏการพิจารณาคดีซ้ําซอนในหองพิจารณาคดีเดียว โดยมีการดําเนินกระบวน พิจารณาคดีหลายคดีควบคูกันไปในขณะเดียวกันเกิดขึ้น บางแหงที่การพิจารณา คดีถึง 3 คดีพรอมกันไป บางแหงขณะที่กําลังมี การอานคําพิพากษาในคดีหนึ่งอยู อีกคดีหนึ่งก็ดําเนินการสอบพยาน แมสัดสวนของตัวเลขจะอยูในระดับที่ต่ําแตก็ นากังวลวาการปฏิบัติหนาที่ในลักษณะเชนนี้อาจมีผลโดยตรงตอการอํานวยความ ยุติธรรมใหบังเกิดขึ้น นอกจากนี้ ยั ง ปรากฏข อ มู ล ว า ผู พิ พ ากษาพยายามที่ จ ะเร ง รั ด การ พิจารณาโดยรวบรัดประเด็นที่แมอาจเปน ประโยชนกับทางฝายจําเลย ซึ่งมีขอมูล แสดงตั้งแต 6 เปอรเซ็นต ถึง 33 เปอรเซ็นต ขอสังเกตประการหนึ่งก็คือจะพบวามีการแสดงออกของผูพิพากษาใน การสั่ ง สอนถึ ง บาปบุ ญ ปรากฏอยู เ ป น จํ า นวนไม น อ ย ทั้ ง นี้ มี ตั ว เลขตั้ ง แต 16 จนกระทั่ง 44 เปอรเซ็นต อันนับวาเปนขอ มูลที่มากมิใชนอยและอาจสะทอนให เห็ น ถึ ง บทบาทของผู พิ พ ากษาที่ เ หลื่ อ มๆ กั บ การปกป อ งคุ ณ งามดี ท างด า น ศีลธรรม 3.3 บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร บทบาทของศาลในกรณีที่จําเลยมีขอจํากัดในการสื่อสารซึ่งจะมีสัดสวน เปนจํานวนที่ไมมาก พบวาผูพิพากษาไดมีการสอบถามและจัดหาลามใหแกจําเลย ในกรณีที่เปนภาษา “สากล” เชน อังกฤษ ญี่ปุน ฝรั่งเศส ฯ อาจสามารถจัดหา ลามที่มีความรูมาเปนผูดําเนินการได อยางไรก็ตาม ความยุงยากที่เกิด ขึ้นจะเปน ปญหากับกลุมชาติพันธุซึ่งไมมีการขึ้นทะเบียนเปนลามไวกับศาล ทําใหมีการนํา บุคคลอื่นซึ่งถูก “เขาใจ” วาเปนผูมีความรูทั้งภาษาไทยและภาษาเฉพาะของกลุม ชาติพันธุ แตไมมีหลักฐานใดปรากฏชัดเจนยืนยันถึงความสามารถดังกลาว ไมวา 28 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จะเปนนักโทษ ญาติของจําเลย เปนตน อันไมมีหลักประกันใดวาบุคคลเหลานี้จะ สามารถสื่อสารความหมายที่จําเลยตองการจะสื่อออกมาไดอยางถูกตองและตรง กับความหมาย นอกจากนี้ จะปรากฏปญหาในกรณีที่ บุคคลนั้นฟ งภาษาไทยได แตไ ม สามารถสื่อสารไดอยางดี หรือเปนบุคคลที่สามารถฟงภาษาไทยกลางไดแตสื่อสาร เปนภาษาทองถิ่น เชน ภาษาคําเมือง และไมไดมีการใชลามในการแปลภาษาซึ่ง อาจทําใหผูพิพากษาที่ไมไดมีความรูภาษาทองถิ่นไมเขาใจความหมายที่จําเลย อธิบายมาอยางแทจริง 3.4 บทบาทของอัยการหรือทนายฝายโจทก การปฏิบัติหนาที่ของอัยการหรือทนายฝายโจทกพบวาจะมีจํานวนตั้งแต 27 ถึง 40 เปอรเซ็นต ที่มาหองพิจารณาไมตรงเวลา ในแงนี้การเริ่มการพิจารณา คดีที่ไมตรงเวลาของศาลจึงไมใชเพียงเฉพาะผูพิพากษาเทานั้น หากบุคลากรที่ เกี่ยวของกับกระบวนพิจารณาคดีในศาลมีแนวโนมที่จะไมใหความสําคัญกับเวลา อยางจริงจัง ในระหวางการพิจารณาคดี อัยการหรือทนายฝายโจทกมีการแสดงทาที อันเปนการเหยียดหยามหรือละเมิดสิทธิมนุ ษยชนของฝายตรงขามในระดับที่ต่ํา โดยมีจํานวน 1 ถึง 8 เปอรเซ็นตเทานั้น แมจะแสดงใหเห็นบทบาทในดานบวก ของอัยการหรือทนายฝายโจทก แตหากพิจารณาขอมูลถึงความใสใจในคดีของ อั ย การหรื อ ทนายฝ า ยโจทก ก็ จ ะพบว า มี อ ยู ใ นระดั บ ประมาณ 43 ถึ ง 62 เปอรเซ็นต หรือประมาณครึ่งหนึ่งเทานั้น นอกจากนั้นก็ยังพบวาอัยการหรือทนาย ฝายโจทกทํากิจกรรมอื่นๆ ในขณะที่มีการพิจารณาคดี เชน การใชโทรศัพทมือถือ การเดินเขาออกหองพิจารณา บางคดีไดมีขอมูลวาอัยการนั่งหลับ รวมถึงการสลับ ไปทําหนาที่ในอีกคดีในหองพิจารณาอื่นซึ่งเปนขอเท็จจริงที่มีใหเห็นอยางบอยครั้ง โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 29


โดยมีขอมูลตั้งแต 7 ถึง 23 เปอรเซ็นต จึงเปนประเด็นใหตั้งคําถามไดวาการ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นลั ก ษณะเช น นี้ จ ะสามารถเอื้ อ อํ า นวยความยุ ติ ธ รรมได อ ย า งมี ประสิทธิภาพแบบที่ควรจะเปนหรือไม 3.5 บทบาทของทนายฝายจําเลย ในการปฏิบัติหนาที่ของทนายฝ ายจําเลยพบวาจะมีความตรงตอเวลา มากกวาอัยการหรือทนายฝายโจทก แตก็ยังคงมีสวนที่ไมตรงตอเวลาอยู โดยมี สัดสวนตั้งแต 17 ถึง 27 เปอรเซ็นต และการปฏิบัติหนาที่ในหองพิจารณาคดีที่มี ลักษณะเปนการเหยียดหยามอีกฝายก็อยูในระดับที่ต่ํา ในระหวางการพิจารณาคดี ทนายฝายจําเลยมีการแสดงออกถึงความใส ใจตอการดําเนินคดีในสัดสวนที่ใกลเคียงกับอัยการหรือทนายฝายโจทก ขอมูลอยู ระหวา ง 43 ถึ ง 58 เปอรเ ซ็นต และในระหว างพิจ ารณาคดีท นายจํ าเลยก็ทํ า กิจกรรมอื่นๆ เชนกัน ไมวาการใชโทรศัพทมือถือ การเดินเขาออกหองพิจารณา อยา งไรก็ ตาม การสลับไปทํ าหนา ที่ใ นหอ งพิ จารณาคดีอื่ นมีป รากฏให เห็ นใน อั ต ราส ว นที่ ต่ํ า ตั้ ง แต 0.8 ถึ ง 9 เปอร เ ซ็ น ต ยกเว น ที่ เ ชี ย งรายซึ่ ง มี จํ า นวน ทนายความปฏิบัติหนาที่สลับไปมาใหเห็นถึง 25 เปอรเซ็นต แตกตางจากจังหวัด อื่นอยางมีนัยยะสําคัญ

บทสรุป เนื่ อ งจากกระบวนการพิ จ ารณาคดี ใ นชั้ น ศาลเป น ขั้ น ตอนหนึ่ ง ที่ มี ความสําคัญตอการวินิจฉัยชี้ขาดและสั่งลงโทษบุคคล กฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อ รองรับกระบวนการดังกลาวแมจะมุงที่จะทําใหสามารถคนหาผูกระทําความผิดแต ในขณะเดียวกันก็ตองคุมครองบุคคลจากการถูกตัดสินลงโทษอยางไมชอบธรรม และโดยเฉพาะอยางยิ่งจากการกระทําอันเปนการละเมิดหลักการสิทธิมนุษยชน 30 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ในการศึกษาทางดานกฎหมายของสังคมไทยโดยสวนใหญมักจะเปน การศึกษาจากบทบัญญัติในกฎหมาย การศึกษาในลักษณะเชนนี้แมจะสามารถทํา ใหผูเรียนเขาใจถึงเนื้อหาและขอบเขตของกฎหมายอยางชัดเจน แตก็มีขอจํากัดที่ อาจทําใหไมสามารถเขาถึงความเปนจริงที่ปรากฏขึ้นอยูซึ่งอาจมีความแตกตางไป อยางมีนัยสําคัญ ผลของโครงการเรี ย นรู แ ละสั ง เกตการณ ท างชั้ น ศาลในมุ ม มองสิ ท ธิ มนุษยชนทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูของนักศึกษาในสภาพความเปนจริง และ ทําใหพบเห็นถึงอุปสรรคของกระบวนพิจารณาคดีในชั้นศาลที่อาจไมไดเปนไป ตามที่บทบัญญัติของกฎหมายไดบัญญัติเอาไว หรือรวมทั้งอาจเปนปรากฏการณที่ ไมมีกฎหมายใดรองรับไวเลย และอาจเปนสิ่งที่เปนอุปสรรคตอการอํานวยความ ยุติธรรมใหบังเกิดขึ้น ขอมูลจากการสังเกตการณทางชั้นศาลนอกจากจะเปน ประโยชนตอกระบวนการเรี ยนรูของนักศึกษากฎหมายแลว ขอมูลที่ไดมาก็อาจ ชวยสะทอนใหเห็นถึงความบกพรองที่ปรากฏอยูในกระบวนการทางชั้นศาล อนึ่ ง โครงการเรี ย นรู แ ละสั ง เกตการณ ท างชั้ น ศาลในมุ ม มองสิ ท ธิ มนุษยชนนี้ตองการแสดงใหเห็นถึงปรากฏการณของกระบวนการในชั้นศาลที่ เกิดขึ้นในพื้นที่ที่ไดมีการสังเกตการณเทานั้น ซึ่งในพื้นที่อื่นก็อาจมีลักษณะที่คลาย หรือแตกตางไปจากปรากฏการณที่เกิดขึ้นจากการสํารวจในโครงการนี้ ขอมูลที่ นํามาเสนอจึงเปนเพียงภาพสะทอนสวนหนึ่งของปรากฏการณการพิจารณาในชั้น ศาลที่อาจชวยสะทอนภาพความเปนจริงบางสวนที่กําลังเกิด ขึ้นซึ่งจะสามารถ นําไปเปนแนวทางตอการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพไดมาก ยิ่งขึ้น

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 31


3

ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยเชียงใหม

บทนํา ในการดําเนินโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลใน มุ ม มองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ในป 2555-2556 ทางคณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหมไดใหนักศึกษาผูเขารวมโครงการสังเกตการณคดีเขาไป สังเกตการณกระบวนการทางศาลในศาลจังหวัดเชียงใหม ศาลแขวงเชียงใหมและ ศาลเยาวชนและครอบครั ว จั ง หวั ด เชี ย งใหม โดยใช แ บบบั น ทึ ก การเข า สังเกตการณคดี จํานวน 320 ชุด และนัก ศึกษาผูสังเกตการณได เ ขาไป สังเกตการณคดีจํานวน 285 คดี ซึ่งจําแนกเปนคดีอาญา 218 ชุด คิดเปนรอยละ 68.1 คดีแพง 94 ชุด คิดเปนรอยละ 29.4 และคดีอื่นๆ เชน คดีผูบริโภค 8 ชุด คิดเปนรอยละ 2.5 โดยพบวาคดีที่เขาสังเกตการณเปนจํานวนมากใน 3 ลําดับ แรก คือ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย ความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ และความผิดทางแพง 32 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จากการเขารวมสังเกตกระบวนการพิจารณาของศาล โดยนักศึกษาคณะ นิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม พบวามีอุปสรรคในทางปฏิบัติในการรับรอง สิทธิมนุษยชนของจําเลย ในกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาลจํานวนไมนอย ซึ่ง สามารถสรุปตามขั้นตอนการพิจารณาคดีได ดังนี้

ผลการสังเกตการณ 1. การเขาบริเวณพื้นที่ศาล การเข า ไปสัง เกตการณ พิ จ ารณาคดี ข องศาลนั้ น อุ ป สรรคแรกที่ เ ป น อุปสรรคในการขัดขวางการเขาถึงกระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลนั้น คือ “ระบบการรักษาความปลอดภัยในศาล” การจะเขาไปในศาลไดจะตองมีการ แลกบัตรประชาชนและตรวจคนอาวุธโดยเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยของศาล เบื้องตนอาจมองวาเปนเรื่องที่สมเหตุสมผลในการปองกันความปลอดภัยของ บุคคลากรในศาลและประชาชนทั่วไป หากแตการปฏิบัติของเจาหนาที่ศาล มิได เปนไปตามความเสมอภาค มีการเลือกปฏิบัติวา บุค คลใดตองตรวจคน แลกบัตร บุคคลใดไมตองแลกบัตร จากความเห็นของผูสังเกตการณเกือบทั้งหมด สรุป ตรงกันวา การแตงกายเปนปจจัยตอการตรวจคน แลกบัตรของเจาหนาที่ศาล ซึ่ง บุคคลใดแตงกายภูมิฐาน ดูมีฐานะ ก็ไมตองแลกบัตร แตบุคคลใดแตงตัวธรรมดา เปนชาวบาน โดยเฉพาะถาเปนกลุมชาติพันธุ จะถูกจับตามองจากเจาหนาที่ศาล และทําการตรวจคน แลกบัตรทุกคน จะเห็นไดวา แคกาวเขาสูศาล ก็พบกับการ เลือกปฏิบัติของเจาหนาที่แลว

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 33


รูปภาพการอบรมหลักการปฏิบัติตนในชั้นศาลความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติธรรมในชั้นศาล และหลักการกรอกแบบสํารวจขอมูล วันที่ 15 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรมศิรินาถ การเดนท จังหวัดเชียงใหม 34 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


มีกรณีหนึ่งที่ผูสังเกตการณ ไดทดลองนําเครื่องใชที่สามารถใชเปนอาวุธ ไดเขาไปในศาล แลวเดินผานเครื่องตรวจสอบโลหะ อาวุธ และมีสัญญาณเตือน แตเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยของศาลไมทําการตรวจคนแตอยางใด ทําใหเกิด ขอสงสัยวา การตรวจคน แลกบัตร เพื่อรักษาความปลอดภัย เปนมาตรการที่ใช ไดผลจริงหรือไม? ในเมื่อเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยเลือกที่จะตรวจคน แลก บัตรประชาชนเฉพาะบุคคลที่ตนคิดวานาสงสัย ไมนาไวใจ เปนชาวบานและกลุม ชาติพันธุเทานั้น การตรวจคนและการแลกบัตร หากบัตรผูติดตอศาลที่เจาหนาที่ ศาลใหแลกหมดแลวก็จะไมมีการแลกบัตรอีก อุ ป สรรคประการต อ มา “เรื่ อ งของการประชาสั ม พั น ธ แ ละการ ใหบริการทางคดีของศาลตอคูความ หรือบุคคลทั่วไป” จากการสังเกตการณ พบวา ปายประกาศนัดหมายคดี หองพิจารณา พิมพตัวอักษรขนาดเล็ก ทําใหไม สามารถคนหาคดีและหองพิจารณาไดงายและบางคดีที่แทรกเขามาพิจารณาไมมี ระบุ ใ นป า ยประกาศนั ด พิ จ ารณาคดี ทํ า ให ไ ม ท ราบว า คดี ที่ แ ทรกเข า มานั้ น พิจารณาคดีในหองพิจารณาคดีใด และการบริการสืบคนคดีโดยคอมพิวเตอรนั้น ใชงานลําบาก อีกทั้งเครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการมีเพียง 2 เครื่องเทานั้น บาง วั น ก็ ไ ม ส ามารถใช บ ริ ก ารสื บ ค น ข อ มู ล โดยคอมพิ ว เตอร ไ ด เนื่ อ งจากเครื่ อ ง คอมพิวเตอรไมไดมีการเปดเครื่องไว การประกาศเสียงตามสายประชาสัมพันธภายในศาล ไมคอยไดยินเรื่อง ที่ประกาศ เนื่องจากมีประชาชนที่มาศาลจํานวนมาก ทําใหเกิดเสียงรบกวนการ ประกาศเสียงตามสาย อีกทั้งผูประกาศพูดดวยน้ําเสียงราบเรียบจนไมสามารถได ยินและเขาใจได

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 35


รูปภาพ ตัวอยางปายกระดาษหนาหองพิจารณา การที่มีปายกระดาษขนาด A4 ปดประกาศไวหนาหองพิจารณาโดยมี ขอความวา “หามมิใหบุคคลผูไมมีสวนเกี่ยวของเขา ” หรือ “หามบุคคลภายนอก ที่ไมไดรับอนุญาตเขา ” หรือ “ที่หวงหามเฉพาะบุคคลที่ไดรับอนุญาต” ทําใหผู สังเกตการณทุกคนตั้งขอสังเกตวา ตนเองจะสามารถเขาไปฟงการพิจารณาคดีใน หองพิจารณาคดีที่ติดประกาศปายดังกลาวไดหรือไม ทั้งที่ทราบวา การพิจารณา คดี ต อ งเป น ไปโดยเป ด เผยก็ ต าม ซึ่ ง เป น ที่ น า สั ง เกตว า แม ก ระทั่ ง นั ก ศึ ก ษา กฎหมายที่มีความรูดานกฎหมายในระดับหนึ่งแลวนั้น ยังตองพิจารณาวาตน สามารถเข า ไปในห อ งพิ จ ารณาคดี ที่ มี ป า ยดั ง กล า วติ ด ไว ไ ด ห รื อ ไม หากเป น ประชาชน ชาวบานที่เปนญาติหรือผูมีสวนเกี่ยวของกับคดี เมื่อเห็นปายดังกลาว อาจทําใหเกิดการเขาใจผิดวาตนไมสามารถเขาฟงการพิจารณาคดีได จึงไมเขา หองพิจารณาคดี การติดประกาศปายที่มีขอความไมใหผูมีสวนเกี่ยวของเขารวม 36 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ฟง การพิ จ ารณานั้ น เป น การจํ า กั ด สิท ธิข องประชาชน, ชาวบ า นหรื อ ผูมี สว น เกี่ยวของในคดี ซึ่งมีสิทธิที่จะเขาไปรับฟงการพิจารณาคดีเพื่อการรักษาสิทธิของ จําเลยที่จะไดรับการพิจารณาอยางเปนธรรม 2. การเขาหองพิจารณาคดี ตามหลักการของกระบวนการพิจารณาคดีในชั้นศาลประการหนึ่งคือ การพิ จ ารณาคดี ต อ งเป ด เผยต อ สาธารณะ โดยหลัก การดํ า เนิ น กระบวนการ พิจารณาอยางเปดเผยนั้น เปนหลักการดําเนินกระบวนพิจารณาในฐานะเปน กิ จ การสาธารณะที่ มี ข อ ยกเว น เพี ย งบางกรณี ใ นแง ค วามสงบเรี ย บร อ ยและ ศีลธรรมอันดีเทานั้น เชน การคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือความเปนอยู สวนตัว จากการสังเกตการณ คดี พบวา เจ าหน าที่ หน า บัลลัง ก จะสอบถามผู สังเกตการณอยางละเอียดวา มีความเกี่ยวของกับคดีหรือไม มาจากหนวยงาน อะไร เปนนักศึกษาหรือไม ซึ่งถาตอบวาเปนบุคคลทั่วไปเขามาขอดูการพิจารณา คดี จ ะถู ก ปฏิ เ สธโดยอ า งว า เป น บุ ค คลภายนอกที่ ไ ม เ กี่ ย วข อ งกั บ คดี แต ถ า ผู สังเกตการณต อบวา เปนนั กศึกษามาดูง านการพิ จารณาคดี คําตอบและการ ปฏิบัติของเจาหนาที่หนาบัลลังกตอผูสังเกตการณจะมีความเปนมิตรมากขึ้น โดย คิดเปน รอยละ 41.3 ของแบบบันทึ กการสังเกตการณคดี และเจาหน าที่ศาล จะแจงศาลใหทราบดวยวามีนักศึกษามาดูงานการพิจารณาคดี การพิ จ ารณาคดี ข องศาล ในห อ งพิ จ ารณาแต ละห อ งพิ จ ารณานั้ น ผู สังเกตการณเห็นวา ขนาดของหองพิจารณาคดี มีขนาดคับแคบ ซึ่งภายในหอง พิจารณาคดี มีเกาอี้สําหรับฝายโจทก และฝายจําเลยเพียงฝายละสองตัว และ เกาอี้แตละตัวนั่งไดไมเกิน 4 คน ในการพิจารณาคดีนั้นหองพิจารณาหองหนึ่ง ไมไดพิจารณาคดีเพียงคดีเดียวแตพิจารณาหลายคดีดวยกัน ทําใหมีคูความบางคดี โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 37


ตองออกมานั่งรอขางงนอกหองพิจารณา มีการเขาออกหองพิจารณาบอยครั้ง ทํา ใหเกิดความวุนวายในหองพิจารณา ขอสังเกตเพิ่มเติมของผูสังเกตการณคดี พบวา การพิจารณาคดีในหอง พิจารณาคดีหองใดหองหนึ่งนั้นไมไดมีการพิจารณาคดีเพียงคดีเดียวแตมักจะ พิจารณาหลายคดี ทําใหองคคณะของศาลมีการแบงความรับผิดชอบในคดีตาม หนาที่ของตน จากการสังเกตการณคดีรอยละ 19.4 มีผูพิพากษาทําหนาที่ซ้ําซอน กั น ในห อ งพิ จ ารณาคดี เ ดี ย วกั น ซึ่ ง การทํ า หน า ที่ ใ นแต ล ะคดี ข องศาลในห อ ง พิจารณาเดียวกันนั้น อาจสงผลตอการพิจารณาคดีที่อํานวยความเปนธรรมแก คูความทั้งสองฝายก็เปนได เห็นไดจาก ในระหวางที่ผูพิพากษาองคคณะรอพยาน เขามาสืบพยาน ผูพิพากษาอีกทานก็อานคําพิพากษาอยางรวดเร็วในระหวางรอ พยาน หากไมฟงอยางตั้งใจแลวจะไมเขาใจเนื้อหาของคําพิพากษา เปนตน เนื่องจากการพิจารณาคดีในหองพิจารณาหนึ่งไมไดพิจารณาเพียงคดี เดี ย วแต จ ะพิ จ ารณาหลายคดี ทํ า ให อ งค ค ณะของศาลก็ จ ะมี ก ารแบ ง ความ รับผิดชอบในคดีตามหนาที่ของตน ในระหวางที่ผูพิพากษา องคคณะรอพยานเขา มาสืบพยาน ผูพิพากษาอีกทานก็อานคําพิพากษาอยางรวดเร็ว หากไมตั้งใจฟง แลวจะไมเขาใจเนื้อหาของคําพิพากษา 3. หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม 3.1 บทบาทของผูพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา เรื่ องเวลาในการนั่ งบั ลลัง กข องศาล ซึ่ ง ในตารางนัด ระบุ วา ภาคเช า 09.00 น. ภาคบาย 13.30 น. แตในทางปฏิบัติแลว ศาลจะเริ่มพิจารณาคดี ประมาณเวลา 10.00 น.ในภาคเชา และ เวลา 14.00 น.ในภาคบาย ซึ่งในรอยละ 85.9 ที่ศาลไมเริ่มการพิจารณาคดีตรงตามเวลาที่ระบุไวในตารางนัดหมายซึ่งศาล 38 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ไดใหเหตุผลของการนั่งพิจารณาคดีชากวากําหนดเวลานั ด เนื่องจากศาลจะเริ่ม พิจารณาคดี หลังจากที่ทนายความฝายโจทกและจําเลยมาพรอมกันแลว บทบาทของศาลในการพิจารณาคดี สวนใหญศาลทําตามหนาที่ ระเบียบ ตามกฎหมายอยางเครงครัด แตมีบางกรณีที่ผูสังเกตการณเห็นวาเปนการกระทํา ที่กอใหเกิดความไมเปนธรรม ละเมิดสิทธิของผู ตองหา จําเลย ตัวอยางเชน กรณี ที่ศาลใหหนาบัลลังกนําคําพิพากษาที่จะอานใหฟงมาใหทนายโจทก และใหทํา การคัดลอกสําเนา กอนที่จะบอกวาใหมาคัดสําเนาตัวคําพิพากษาในวันหลัง โดยที่ ศาลไมนั่งบัลลังกอานคําพิพากษาใหฟง หรือกรณีที่ผูพิพากษามีการโนมนาวให จําเลยรับสารภาพ เชน คดีที่จําเลยสรางโรงเรือนรุกล้ําที่ปาไมในอุทยานแหงชาติ ศาลบอกวามีแนวคําพิพากษาอยูแลว หากสูคดีแลวไมชนะคดีศาลจะไมรอลง อาญา และจะลงโทษสถานหนัก นักศึกษาผูสังเกตการณคดี ใหขอสังเกตเพิ่มเติมวา ในหนึ่งหองพิจารณา มีการพิจารณาคดีหลายคดี และไมมีความชัดเจนวาจะพิจารณาคดีใดกอนหรือ หลังนั้น ซึ่งศาลอาจจะนําคดีใดมาพิจารณากอนก็ได ทําใหคูความในแตละคดีตอง รอฟงอยูในหองพิจารณาตลอดเวลา บางวันมีคดีจํานวนมากคูความบางคดีตอง ออกมาอยูนอกหองพิจารณาคดี เนื่องจากหองพิจารณาคดีคับแคบ 3.2 บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ เรื่ององคคณะของศาลในการพิจารณาคดี กฎหมายไดบัญญัติใหการ พิจารณาคดีของศาลจังหวัดตองมีผูพิพากษา 2 ทานเปนองคคณะ แตในทาง ปฏิบัติการนั่งพิจารณาของศาลพรอมกันสองทานเปนเพียงแบบพิธี กลาวคือ ผู พิพากษาที่เปนองคคณะนั้นตางก็เปนเจาของสํานวนคนละคดีกัน ตางนั่งพิจารณา คดีของตนเทานั้น นักศึกษาผูสังเกตการณคดี พบวา ศาลจะนั่งครบองคคณะ ตั้งแตเริ่มการพิจารณาคดีจนจบการพิจารณาคดี คิดเปนรอยละ 58.1 แตมีจํานวน โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 39


ไมนอยที่ศาลนั่งไมครบองคคณะตลอดการพิจารณาคดี คิดเปนรอยละ 41.3 การ นั่งไมครบองคคณะของศาลมีลักษณะ 2 ประการ กลาวคือ ประการแรกในการ เริ่มพิจารณาคดีศาลจะนั่งครบองคคณะ แตเมื่อพิจารณาคดีไปชวงระยะเวลาหนึ่ง องคคณะที่ไมใชเจาของสํานวนจะออกไปจากหองพิจารณาคดีหรือเมื่อองคคณะ ใดที่พิจารณาคดีเสร็จเรียบรอยแลวก็จะออกจากหองพิจารณาคดี ไมอยูใหครบ องคคณะตลอดการพิจารณาคดี และอีกประการหนึ่ง ศาลไมไดนั่งพิจารณาคดี โดยครบองคคณะตั่งแตเริ่มจนเสร็จสิ้นการพิจารณาคดี 3.3 บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร ประเด็นเรื่องลามสําหรับบุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร ในการขึ้น ทะเบี ย นผู ที่ จะเป น ล า มส ว นใ หญจะมี ก าร ขึ้ นทะเบี ย นเพียง ล า มใ น ภาษาต า งประเทศ ภาษาสากลที่ เ ป น ทางการ เช น ภาษาจี น ภาษาอั ง กฤษ ภาษาญี่ปุน เปนตน แตในสวนของภาษากลุมชาติพันธุยังไมมีการขึ้นทะเบียนผู เปนลามไว ทําใหไมมีหลักประกัน การแปลหรือการเปนลามในภาษาของกลุมชาติ พันธุใหแกพยานหรือจําเลยได โดยสวนใหญแลว คูความจะเปนผูจัดหาลามภาษา ชาติพันธุมาเอง ทําใหไมสามารถทราบไดวาผูที่มาเปนลามภาษากลุมชาติพันธุมี ความรู ความเชี่ ย วชาญด า นภาษากลุ ม ชาติ พั น ธุ ม ากน อ ยเพี ย งใด และ ความสามารถในการสื่อความหมายไดตรงตามที่คูความหรือพยานตองการหรือไม ผูสังเกตการณ พบวา กรณีจําเลยเปนกลุมชาติพันธุ ไมสามารถสื่อสาร ภาษาไทยไดและศาลไมไดจัดหาลามภาษากลุมชาติพันธุให เนื่องจากไมมีการขึ้น ทะเบียนลามภาษากลุมชาติพันธุ แตใชวิธีการใหบุคคลที่มาพรอมกับจําเลยหรือ นักโทษที่สามารถเขาใจภาษากลุมชาติพันธุ มาเปนลามในแปลความการเบิกความ ของจําเลยหรือพยานใหศาลฟง จากการสังเกตการณรอยละ 1.6 ศาลไดเรียกใช บุคคลอื่นที่ไมไดขึ้นทะเบียนลามไวกับศาลมาทําหนาที่เปนลามแทน นอกจากนี้ ผู สังเกตการณเห็นวาการใหนักโทษหรือญาติของจําเลยมาเปนลามในการแปลความ 40 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จะมีหลักประกันไดอยางไรวา การแปลความของผูที่เปนลามจะแปลความหมาย ไดตรงตามที่จําเลยไดเบิกความครบถวน ถูกตองอยางแทจริง ประเด็นเรื่องการสื่อสารสําหรับบุคคลที่มีขอจํากัดดานการสื่อสาร ไมได จํากัดเฉพาะภาษากลุมชาติพันธุเทานั้น หากแตภาษาทองถิ่นก็เปนปญหาในการ สื่อสารเชนกัน เนื่องจากภาษาทองถิ่นคําหนึ่งคําหรือประโยคหนึ่งประโยคอาจ แปลความหมายไดหลากหลายลักษณะ ผูสังเกตการณเห็นวา การขึ้นทะเบียนและ การจั ด หาล า มให กั บ บุ ค คลที่ มี ข อ จํ า กั ด ด า นการสื่ อ สาร ไม ค วรจํ า กั ด เพี ย ง ภาษาสากลที่เปนทางการ แตควรใหมีลามในภาษาของกลุม ชาติพันธุ รวมถึง ภาษาท อ งถิ่ น ด ว ย เพื่ อ เป น หลั ก ประกั น ในการสื่ อ สาร สื่ อ ความหมายที่ มี ประสิทธิภาพใหกับคูความหรือพยาน 3.4 บทบาทของอัยการหรือทนายฝายโจทก จากการสังเกตการณของผูสังเกตการณพบวา อัยการ และทนายความ ทั้งฝายจําเลย ฝายโจทก มีบทบาทอยางมากตอผลการพิจารณาคดี ความเอาใจใส ลูกความ การรักษาผลประโยชนลูกความ และการทําหนาที่ของตนอยางเต็ม ความสามารถนั้ น เป น สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ที่ อั ย การ ทนายความควรจะมี ซึ่ ง อั ย การ ทนายความสวนใหญทําหนาที่ไดอยางดี เต็มความสามารถ แตมีสวนนอยที่ไมทํา หน า ที่ ข องตนอย า งเต็ ม ที่ ทํ า ให ลู ก ความต อ งได รั บ ความเสี ย หาย เช น กรณี ทนายความไมใหพยานอานคําใหการ แลวใหลงลายมือชื่อ ทนายความไมมาศาล ทิ้งใหจําเลยตองรับการพิจารณาคดีเพียงลําพัง หรือทนายความไมอุทธรณคํา พิพากษาภายในกําหนดระยะเวลาอุทธรณ ทําใหจําเลยตองถูกจําคุก เปนตน อีก ทั้งอัยการและทนายความบางคนไดวาความหลายคดีในวันเวลาเดียวกัน ทําให ตองเขาออกหองพิจารณาคดีบอยๆ เพื่อไปวาความในอีกหองพิจารณาคดีหนึ่ง ทํา ใหเห็นวา การรักษาผลประโยชนของลูกความ การทําหนาที่ไดอยางไมเต็มที่ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 41


การปฏิบัติตัวของอัยการและทนายความในหองพิจารณาคดี ไดละเลย การปฏิบัติตามขอปฏิบัติในหองพิจารณา เชน ใชโทรศัพทในหองพิจารณา การ เขาออกหองพิจารณาบอยครั้ง เปนตน เห็นไดการสังเกตการณคดีรอยละ 29.4 ในกรณีอัยการและทนายความฝายโจทก และรอยละ 15.6 ของทนายความฝาย จําเลยที่ทํากิจกรรมอื่นๆระหวางการพิจารณาคดี 4. การกระทําอื่นๆ ในศาลที่ไมปกปองสิทธิ หรือการละเมิดสิทธิของ ผูตองหาและจําเลย การใสกุญแจมือ โซตรวนของผูตองหาที่มาศาลนั้น ผูสังเกตการณทุกคน เห็นวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน แมวาจะอางวาเพื่อความปลอดภัยก็ตาม ซึ่งมี วิธี การอีก มากมายที่สามารถนํา มาใช เพื่ อป อ งกั นการหลบหนี หรือ เพื่ อ ความ ปลอดภัยได อีกทั้งการใสกุญแจมือ โซตรวจทําใหประชาชนทั่วไปที่มาศาลมอง ผูตองหาดวยความหยามเหยียด ดูถูก ลดคาความเปนมนุษย

42 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


4

ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยทักษิณ

บทนํา จากการที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเอเชียไดจัดโครงการ เรียนรู สังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน “Court Watch 2012” ซึ่งในการนี้ทางคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ ก็ไดรับเกียรติ ใหเขา รวมโครงการฯดีๆเชนนี้เปนปแรก ทั้งยังไดมีมหาวิทยาลัยอีก 3 สถาบันเขารวม คือ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแม ฟาหลวง คณะนิ ติศาสตร มหาวิ ทยาลัยอุ บลราชธานี ซึ่ง โครงการฯนี้ ถือ เป น โครงการที่มีความนาสนใจและเปนประโยชนแกนิสิตที่กําลังศึกษาในสาขาวิชา นิ ติ ศ าสตร และสอดคล อ งกั บ การจั ด การเรี ย นการสอนของคณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ เนื่องจากทางคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณไดจัดใหมี การเรียนการสอนในรายวิชา สิทธิมนุษยชน ฉะนั้นโครงการฯ นี้จึงเปนกิจกรรมที่ สามารถเปนสื่อในการเรียนรู สังเกตกระบวนการยุติธรรมในมุมมองของหลัก โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 43


กฎหมายสิทธิมนุษยชน อันเปนการขยายมุมมอง มิติในการเรียนรู ทั้งยั งมีการ ปฏิ บั ติ ก ารณ ล งพื้ น ที่ สั ง เกตการณ แ ละ ได ป ระสบพบเจอกั บ เหตุ ก ารณ จ ริ ง ขอเท็จจริงอันแตกตางจากตัวบทกฎหมายที่ไดรับรูและร่ําเรียนมา ซึ่งถือเปน ประโยชนอยางมากในรูปแบบการเรียนรู ที่นอกจากการเรียนรูกฎหมายสี่มุมเมือง และกฎหมายตางๆ เพียงแตในตัวบทตํารากฎหมาย โดยในโครงการฯนี้ทางคณะ นิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ ไดรับสมัครนิสิตเขารวมโครงการฯ ซึ่งปรากฏวามี นิสิตเขารวมโครงการ เปนจํานวน 30 คน ประกอบไดดวยนิสิต คณะนิติศาสตร ชั้นปที่ 4 จํานวน 15 คน และนิสิตคณะนิติศาสตร ชั้นปที่ 3 จํานวน 15 คน ในการดําเนินโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลใน มุมมองสิทธิมนุษยชน ทางคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ ผูประสานงาน ตลอดจนคณาจารยที่รับผิดชอบโครงการในครั้งนี้ไดเตรียมความพรอมใหนิสิตชั้น ปที่ 3และ4 ที่เขารวมโครงการ โดยการทํากิจกรรมละลายพฤติกรรมและสราง ความสัมพันธระหวางกันเพื่อเปนรากฐานในการทํางานรวมกัน รวมทั้งใหนิสิตเขา รับการอบรมหลักการปฏิบัติตนในชั้นศาล ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติ ธ รรมในชั้ นศาลและหลัก การกรอกแบบสํา รวจข อมู ล จากท า นผูพิ พากษา พนักงานอัยการ ทนายความ ตลอดจนตัวแทนผูประสานงานโครงการ อันจะ ส ง ผลให นิ สิ ต ทุ ก คนสามารถกรอกแบบข อ มู ล ได อ ย า งถู ก ต อ งและตรงตาม วัตถุประสงคของโครงการฯ หลั ง จากนิ สิต ไดรั บ การอบรมเรีย บรอ ยแลว นิสิต แตละคนได ทํา การ สังเกตการณในศาลจังหวัดตางๆ ตามที่นิสิตมีภูมิลําเนาอยู ประกอบดวย ศาล จังหวัดสงขลา ศาลจังหวัดสุราษฎรธานี ศาลจังหวัดยะลา ศาลจังหวัดปตตานี ศาลจังหวัดนราธิวาส ศาลจังหวัดนาทวี และในการสังเกตการณในศาลดังกลาว นิสิตที่ไปสังเกตการณไดแตงกายทั้งชุดนิสิตและชุดลําลอง จึงทําใหนิสิตเห็นถึง ความแตกตางในการเลือกปฏิบัติของเจาหนาที่ประจําศาล กลาวคือนิสิตที่แตง 44 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


กายด ว ยชุ ด นิ สิ ต ได รั บ การปฏิบั ติ เ มื่ อ ไปสูศ าลได ดี ก ว า นิ สิ ต ที่ แต ง กายด ว ยชุ ด ลําลอง

ผลการสังเกตการณ ในการดําเนินโครงการฯ ของคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณในป 2555-2556 นั้น ไดกําหนดใหนักศึกษาผูเขารวมโครงการทําการสังเกตการณคดี ในศาลจังหวัดสุราษฎรธานี ศาลจังหวั ดสงขลา ศาลจังหวัดยะลา ศาลจังหวัด ปตตานี ศาลจังหวัดนราธิวาส และศาลจังหวัดนาทวี ใชแบบสอบถามรวมทั้งสิ้น 177 ชุด ซึ่งผลจากการสังเกตการณของนักศึกษา จําแนกไดเปน คดีอาญา 129 ชุด คิดเปนรอยละ 72.9 คดีแพง 35 ชุด คิดเปนรอยละ 19.8 คดีอื่นๆ จํานวน 7 ชุด คิดเปนรอยละ4.0 และไมระบุจํานวน 6 ชุด คิดเปนรอยละ3.4 โดยจํานวน ฐานความผิ ด ที่ ไ ด เ ข า สั ง เกตการณ สามอั น ดั บ แรกคื อ ความผิ ด ตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ ถึงรอยละ 29.4 ตามมาดวยความผิดตาม พระราชบัญญัติปาไม อุทยานแหงชาติ ปาสงวน รอยละ 1.7 และความผิด เกี่ยวกับทรัพย รอยละ 10.2 1. บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ เรื่องขององคคณะผูพิพากษาในศาลจังหวัด มีบทบัญญัติของกฎหมาย บั ญ ญั ติ ไ ว อ ย า งชั ด เจนในพระราชบั ญ ญั ติ พ ระธรรมนู ญ ศาลยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 “ภายใตบังคับตาม มาตรา 25 ในการพิจารณา พิพากษาคดี ของศาลชั้นตน นอกจากศาลแขวงและศาลยุติธรรมอื่น ซึ่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลนั้นกําหนดไวเปนอยางอื่น ตองมีผู พิพากษาอยางนอยสองคนและตองไมเปน ผูพิพากษาประจําศาล เกินหนึ่งคน จึงเปนองคคณะที่มีอํานาจพิจารณาพิ พากษา คดี แ พ ง หรื อ คดี อาญาทั้ งปวง” กล าวโดยสรุ ปคื อ องค คณะผู พิ พากษาศาลชั้ นต น นอกจากศาลแขวง อยางนอย 2 คน โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 45


รูปภาพการอบรมหลักการปฏิบัติตนในชั้นศาลความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติธรรมในชั้นศาลและหลักการกรอกแบบสํารวจขอมูล วันที่ 20-21 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ตองไมใชผูพิพากษาประจําศาลเกิน 1 คน และนั่นก็หมายรวมถึงศาลจังหวัดดวย มีคําพิพากษาศาลฎีกาอยูเรื่องหนึ่งที่นาสนใจเกี่ยวกับองคคณะผูพิพากษาซึ่ง จะ ยกขึ้นเปนกรณีศึกษาของการนั่งไมครบองคคณะ ฎ.7651/52 “โจทกฟองขอให 46 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ลงโทษจําเลยตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 326, 328 ซึ่งตามมาตรา 328 การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลชั้นตนตองมีผูพิพากษา อย า งน อ ยสองคนจึ ง เป น องค ค ณะที่ มี อํ า นาจพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ตามพระ ธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 26 แมโจทกจะขอใหลงโทษตาม ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 326 ซึ่งผูพิพากษาคนเดียวมีอํานาจพิจารณา พิพากษาคดี ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 25(5) มาดวย แตโจทกฟอง วา จําเลยกระทําผิดเพียงกรรมเดียวตอศาลชั้นตนซึ่งเปนศาลจังหวัด ศาลชั้นตน พิพากษายกฟองโดยผูพิพากษาคนเดียวเปนผูพิจารณาพิพากษาคดี จึ งเปนการไม ชอบดวยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 25(5)และ มาตรา 26” จากการที่นักศึกษาไดไปสังเกตการณ ณ ศาลจังหวัดสงขลา ศาลจังหวัด ยะลา ศาลจังหวัดปตตานี ศาลจังหวัดนราธิวาสและศาลจังหวัดสุราษฎรธานี กลับ พบวาไมมีศาลใดเลยที่ผูพิพากษาจะนั่งครบองคคณะดังที่กฎหมายบัญญัติไว ซึ่ง ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใตโดยสวนใหญจะเปนคดีเกี่ยวกับความมั่นคง เปนคดีที่มีอัตราโทษสูงซึ่งถือไดวาคดีเหลานี้มีความละเอียดออน จึงมีความจําเปน อยางยิ่งที่การพิจารณาคดีในแตละครั้งผูพิพากษาจะตองนั่งใหครบองคคณะเพื่อ รวมกันวินิจฉัยและพิจารณาคดี หากแตความเปนจริงที่ปรากฏกลับพบวาไมมีคดี ใดเลยที่ผูพิพากษาจะนั่งครบองคคณะ นอกจากจะเปนการพิจารณาที่ไมชอบดวย กฎหมายตามคํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก าดั ง กล า วแล ว ยั ง ส ง ผลกระทบต อ สิ ท ธิ ข อง ประชาชนโดยตรงอีกดวย และในโอกาสนี้เอง นักศึกษาจึงลองสอบถามทานผู พิพากษาศาลจังหวัดยะลาทานหนึ่งถึงเหตุผลในการนั่งไมครบองคคณะ และทาน ก็ ไ ด ใ ห คํ า ตอบว า ศาลยะลาเป น ศาลที่ มี ค ดี ค วามเยอะแต ใ นทางกลั บ กั น มี ผู พิพากษาเพียงไมกี่นายซึ่งนับวานอยมาก ไมพอตอการพิจารณาคดีในแตละครั้งจึง จําเปนตองแยกกันนั่งพิจารณาในแตละคดี อีกทั้ง ในเรื่องของทฤษฎีที่เรียนมัน มักจะแตกตางกับหลักปฏิบัติจริงเสมอ นั่นก็คือเหตุผลที่ ทานผูพิพากษาไดยกให โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 47


นักศึกษาฟง คําอธิบายดังกลาวจะพอฟงเปนเหตุผลไดหรือไมก็ขึ้นอยูกับดุลยพินิจ ของแตละคนจะพิจารณาดู แตสําหรับ นักศึกษาที่เปนผูสังเกตการณเห็นวา ไมมี เหตุผลใดที่จะมาบั่นทอดความยุติธรรมใหนอยลงได เมื่อไดฟงก็รูสึกสลดใจ เพราะ คําพูดเหลานี้มันออกมาจากปากของผูที่ไดชื่อวา ผูทรงบังคับใชกฎหมาย แมแตผู ทรงบั ง คั บ ใช ก ฎหมายยั ง ไม ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายแล ว นั บ ประสาอะไรกั บ ประชาชนธรรมดาจะถือปฏิบัติตาม นอกจากมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 แล ว กฎหมายสู ง สุ ด ของประเทศกล า วคื อ กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ ยั ง ได บัญญัติถึงสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรมไวอยางชัดเจน ในมาตรา 40 “บุคคลยอมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี้ (1) สิทธิเขาถึงกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมได โ ดยง า ย สะดวก รวดเร็ ว และทั่ ว ถึ ง (2) สิ ท ธิ พื้ น ฐานในกระบวน พิจารณา ซึ่งอยางนอยตองมีหลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่องการไดรับการพิจารณา โดยเปดเผย การไดรับทราบขอเท็จจริงและตรวจเอกสารอยางเพียงพอ การเสนอ ขอเท็จจริง ขอโตแยง และพยานหลักฐานของตน การคัดคานผูพิพากษาหรือตุลา การ การไดรับการพิจารณาโดยผูพิพากษาหรือตุลาการที่นั่งพิจารณาคดีครบองค คณะ และการไดรั บทราบเหตุ ผลประกอบคําวิ นิจ ฉัย คําพิ พากษา หรื อคําสั่ง (3)บุคคลยอมมีสิทธิที่จะใหคดีของตนไดรับการพิจารณาอยางถูกตอง รวดเร็วและ เปนธรรม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย” จะบทมาตราดังกลาวที่บัญญัติวา “...การไดรับการพิจารณาโดยผูพิพากษาหรือตุลาการที่นั่งพิจารณาคดีครบองค คณะ...” ทานผูพิพากษาจะใชเหตุผลตางๆมาลบลางหรือลดหยอนกฎหมายสูงสุด ของประเทศกระนั้นหรือ และถาหากวาทานผูพิพากษาที่นั่งพิจารณาทุกคนใช เหตุผลเชนนี้มาลดหยอนกฎหมายกันหมด ประชาชนที่มาขอรับความเปนธรรม จะรับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมอยางเต็มที่ไดอยางไรกัน

48 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


แทนที่ จ ะใช วิ ธี แ ก ป ญ หาโดยการลดหย อ นกฎหมาย นั ก ศึ ก ษาผู สังเกตการณ ขออนุญาตแนะนําและแสดงความเห็นใหกระทรวงยุติธรรมหรือ หนอยงานที่เกี่ยวของจัดสรรผูพิพากษาใหเพียงพอตามความเหมาะสมของจํานวน คดีความในแตละศาล โดยการเปดรับผูพิพากษาเพิ่มเติม หรือวิธีอื่นใดที่กระทบ กับสิทธิของประชาชนใหนอยที่สุด และควรมีการตรวจสอบการทํางานของผู พิพากษาใหชัดเจนเพื่อจะปองกันปญหาเหลานี้ไมใหเกิดขึ้นอีก เพราะหากเปน เชนนี้อยูทุกครั้ง ผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรงก็คือประชาชนตาดําๆที่ตองการพึ่งพิง กระบวนการยุติธรรมอยางชั้นศาลซึ่งเปนตัวเลือกสุดทายในการที่พวกเคาเหลาน นั้นจะไดรับความเปนธรรมอยางแทจริง 2. บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร ป.วิ.อ. มาตรา 13* การสอบสวน ไตสวนมูลฟอง หรือ พิจารณา ใหใช ภาษาไทย แตถา มี ความจําเปน ตองแปล ภาษาไทยทองถิ่น หรือ ภาษาถิ่น หรือ ภาษาตางประเทศ เปนภาษาไทย หรือ ตองแปลภาษาไทย เปน ภาษาไทยทองถิ่น หรือ ภาษาถิ่น หรือ ภาษาตางประเทศ ใหใชลามแปล ในกรณีที่ ผูเสียหาย ผูตองหา จําเลย หรือ พยาน ไมสามารถ พูดหรือ เขาใจ ภาษาไทย หรือ สามารถพูดหรือเขาใจ เฉพาะ ภาษาไทยทองถิ่น หรือ ภาษาถิ่น และ ไมมีลาม ให พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือ ศาล จัดหา ลามให โดยมิชักชา ในกรณีที่ ผูเสียหาย ผูตองหา จําเลย หรือ พยานไมสามารถ พูดหรือได ยิ น หรื อ สื่ อ ความหมายได และ ไม มี ล า มภาษามื อ ให พนั ก งานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือ ศาล จัดหา ลามภาษามือ ให หรือ จัดใหถาม ตอบ หรือ สื่อ ความหมาย โดยวิธีอื่น ที่เห็นสมควรเมื่อมีลาม แปลคําใหการ คําพยาน หรือ อื่น โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 49


ๆ ลาม ตองแปล ใหถูกตอง ลาม ตองสาบาน หรือ ปฏิญาณตนวา จะทําหนาที่ โดยสุจริตใจ จะไม เพิ่มเติม หรือ ตัดทอน สิ่งที่แปลให ลาม ลงลายมือชื่อ ในคํา แปลนั้นให พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือ ศาล สั่งจาย คาปวยการ คา พาหนะเดินทาง และ คาเชาที่พัก แก ลาม ที่จัดหาให ตาม มาตรานี้ ตามระเบียบ ที่ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สํานักงาน อัยการสูงสุด หรือ สํานักงานศาลยุติธรรม แลวแตกรณี กําหนด โดยไดรับ ความ เห็นชอบ จาก กระทรวงการคลัง โดยเนื้อความในมาตราขางตนนี้เปนมาตราที่กลาววาดวยเรื่องของสิทธิ ของการไดรับการบริการในกระบวนการยุติธรรมทางศาล คือ การที่ศาลจะตอง จัดหาลามมาเพื่อแปลภาษาใหกับตัวพยานที่มาเบิกความอันเกี่ยวดวยคดี อันจะ เกิ ด ทางปฏิ บั ติ ที่ ส อดคล อ งกั บ หลั ก การของกฎหมายในส ว นที่ ว า “การ สอบสวน ไตสวนมูลฟอง หรือ พิจารณา ใหใช ภาษาไทย”จึงทําใหการพิจารณา พิพากษาอรรถคดีของศาลในประเทศไทย จะพิจ ารณาอรรถคดีโดยใชภาษาอื่น มิได จากหลักกฎหมายเรื่อง การจัดการบริการ ลาม ในกระบวนการยุติธรรม นี้ จากการไดรวมโครงการในครั้งนี้ จึงไดประสบกับแงคิดหรือความบกพรอง ของ ตัวล ามอันเปน หน วยของการดํา เนิ นกระบวนการทางศาล อัน เป นบุคคลซึ่ง มี ความสําคัญในการที่จะเปน สื่อกลางในการแปลภาษาที่ทางตัวพยานไดเบิกความ อันไมใชภาษาไทย อยางที่กฎหมายวางหลักเกณฑไว ซึ่งหากศาลรับฟงไปโดยไมมี การแปลโดยบุ ค คลที่ มี ค วามรู ความเข า ใจก็ ย อ มต อ งเกิ ด ความคลาดเคลื่ อ น เปลี่ยนความหมาย อันจะสงผลตอรูปคดี อีกทั้งยังเปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย แตกตา งจากที่ กฎหมายกํ าหนดไว โดยในสวนป ญหาเรื่อง ลาม ดัง กลาวมานี้ ประเด็นปญหาที่ทางกลุมของขาพเจาไดประสบมา ขอแบงแยกอธิบายเปน 2 ตอไปนี้ 50 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


1. - ประเด็นในเรื่องมาตรฐานของลาม ในการบริการแกคูความใน กระบวนการยุติธรรม 2. - ประเด็นในเรื่องจํานวนของลาม กับความเพียงพอตอคดีในศาล 1. ประเด็ น ในเรื่ อ งมาตรฐานของล า มในการ บริ ก ารแก คู ค วามใน กระบวนการยุติธรรม จากความเขาใจโดยสวนตัวกอนที่จะเริ่มเขารวมโครงการ Court Watch ในครั้งนี้ พึงเขาใจวา บุคคลที่จะสามารถมาปฏิบัติหนาที่ ลาม ใน กระบวนการยุติธรรม อันเปนตําแหนงหนาที่ที่มีความสําคัญยิ่ง หรืออาชีพที่มีผล อยางยิ่งตอ ความเปน ความตายของตัวคูความ เพราะต องเป นผูทํ าหนา ที่เป น สื่อกลางของเชื่อมกลางระหวางตัวพยานซึ่งไมสามารถจะเบิกความเปนภาษาไทย ตามที่กฎหมายกําหนดกฎเกณฑไว กับทางตัวผูพิพากษาหรือศาล เพื่อยังผลให การพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การพิสูจนหาขอเท็จจริงเปนไปดวยความถูกตอง และเที่ยงธรรม โดยหลังจากเขารวมโครงการและลงพื้นที่จริงในการสังเกตการณคดี จึง ทําใหพบวาในกระบวนการยุติธรรมของไทย ในประเด็นปญหาเรื่องลามนี้ ยังมี ขอสังเกตทีนาสนใจในเรื่องของมาตรฐานของลาม ในกระบวนการยุติธรรมของ ไทย ซึ่งจากการลงไปสังเกตการณคดีพบวา ลามในพื้นที่ที่การลงไปสังเกตการณ คดีนี้ คือ สามจังหวัดชายแดนภาคใต ( ปตตานี ยะลา นราธิวาส ) ซึ่งโดยสวนมาก แลวประชาชนในพื้นที่จะสามารถพูด ฟง และเขาใจภาษา มาลายูทองถิ่นไดดีกวา หรือแทบจะไมสามารถฟง พูด อาน เขี ยน ภาษาไทยไดเลยแมแตนิดเดียวดังนั้น เมื่อบุคคลเชนวานี้ ตองเขารับการดําเนินการทางศาลหรือตองเขามาเกี่ยวของกับ คดี ไมวาในฐานะใดๆก็ตาม ประเด็นในเรื่องการแปลภาษา จากการเบิกความก็ ย อ มจะต อ งเกิ ด ขึ้ น ในส ว นนี้ จ ากการประสบพบเหตุ ก ารณ ใ นระหว า งการ สังเกตการณคดี อันเปนขอสังเกตชี้ชัดวาการบริการดาน ลาม ในกระบวนการ ยุติธรรมของศาลไทย ยังมีขอผิดพลาด ขอปรับปรุงอยู อาทิ เชน โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 51


- ผูปฏิบัติหนาที่ลาม มิไดทําการสาบานตนกอนปฏิบัติหนาที่ ซึ่งอาจเกิด จากความเคยตัวหรือความสนิทสนมคุนชินกับทางศาลเอง ซึ่งโดยทางรูปคดีแลว หากมองผิวเผินก็มิไดสงตอคดีแตอยางใด แตหากมองในแงของจรรยาบรรณของ การปฏิบัติหนาที่ ที่มีความสําคัญนี้ การสาบานตนกอนเริ่มปฏิบัติหนาที่ก็ถือวามี ผลในแงของหลักความเชื่อ การปฏิบัติหนาที่โดยสุจริต ไมแปลเอนเอียง เขาขาง ฝายใดฝายหนึ่ง - ผูปฏิบัติหนาที่ลาม มิสามารถจดจําคําพูดที่พยานเบิกความตอบได หมดทุกคําพูด เหตุอาจเกิดจากปจจัยแวดลอม เชน สําเนียง เสียงพูดที่เบา หรือ อาจเกิดจากความไมมีสมาธิของตัวลามเอง อันสงผลกอใหเกิดประเด็นวา ตัวลาม นั้น มิไดแปลคําพูดที่พยานเบิกความแกศาล ไดถูกตองครบถวนไม แตกลับไปแปล ความขาดตกบกพรอง ในสวยที่เปนสาระสําคัญ จนทําใหทนายฝายของตัวพยาน ที่ เ บิ ก ความถ ว งติ ง และเสนอขอเปลี่ ย นตั ว ผู ทํ า หน า ที่ ลา มแปล โดยเสนอขอ อนุญาตใหตนเปนผูปฏิบัติหนาที่เปนลามแปลความเอง - ผูปฎิบัติหนาที่ลาม ขาดซึ่งมาตรฐานหรืออบรมมีเปนหลักเกณฑที่เปน หลักสูตรที่ไดรับการยอมรับ หรือแมจะมีการอบรมกอนเขามาทําหนาที่ลามก็ตาม แตเนื่องจากแตละทองที่ ทองถิ่น แมจะหางกันเพียง หนึ่งกิโลเมตรหรือสองกิโม เมตร ก็อาจจะมีคําเรียก ของหรือวัตถุ บางสิ่งบางอยางตางชื่อเรียกกัน หรือมี ความเขาใจถึงความหมายของ คําๆนั้น ลึกซึ่งแตกตางกันไป เชน มีกรณีที่ ลามไป แปลคําเบิกความของพยานที่ไดใหการวาไดยินผูตองหาที่ 1 และ 2 พูดคุยใน ระหวางการตรวจคนวา “ ฆากู ” ซึ่งคําๆนี้ หากตัวผูตองหาที่พูด พูดโดยลาก เสียงสั้น จะแปลวา “ยอมรับ” แตหากผูพูดลากเสียงยาวจะแปลวา “จะยอมรับ ไหม” ซึ่งจะเห็นวา แคการลากเสียงสั้นหรือลากเสียงยาวแคนี้ ความหมายของ คําๆนี้ ก็จะเปลี่ยนแปลงไป แตกตางไปอยางสิ้นเชิง อันจะสงผลตอรูปคดีได 52 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


2. ประเด็นในเรื่องจํานวนของลาม กับความเพียงพอตอคดีในศาล ซึ่ง จากการเขารวมโครงการครั้งนี้ และไดลงไปสังเกตการณคดีทั้งยังสามารถมองเห็น ถึงกระบวนการยุติธรรมของศาลในมุมมองที่กวางขึ้นมาก นอกจากการศึกษาจาก กฎเกณฑทฤษฎีในตํารากฎหมาย โดยประเด็นเรื่องลามในสวนนี้จะเกี่ยวของวา ดวยเรื่อง จํานวนของผูมีหนาที่หรือประกอบอาชีพลามในกระบวนการยุติธรรมตอ จํานวนคดีที่ต องการ การรับ บริก ารเรื่อ งลา มแปลภาษา ซึ่ง จากการสอบถาม เจาหนาที่ของศาล ไดความวาการจะเรียกใชลามของศาล จะไมสามารถระบุได แนนอนวาวันนี้ ศาลบัลลังกไหนหรือหองพิจารณาใดจะเรียกใชลามแปลภาษา เมื่อไรเวลาใด แตจะขึ้นอยูกับตัวพยานผูมาเบิกความวาจะไมสามรถเบิกความ ฟง อาน เขียน อันเกี่ยวกับการดําเนินการในกระบวนการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี โดยทางเจาหนาที่หนาบัลลังกจะเปนผูโทรตามลามประจําศาล มาปฏิบัติหนาที่ ณ บัลลังกที่ตองการลามแปลภาษานั้นๆ ซึ่งจากการเขาสังเกตการณคดี กลุมของ ขาพเจาไดพบเห็นขอเท็จจริงในทางปฏิบัติของศาล วาเมื่อปรากฏวาหากวันนั้น มี คดีที่ตองการลามแปลภาษาหลายหองพิจารณา และจํานวนลามประจําของศาล หรือลามของศาลนั้นๆ ไมเพียงพอกับความตองการ ทางศาลก็จะแกปญหาโดย การหาล ามจําเปน โดยทางผูพิพากษาประจํา บัลลังก นั้นๆ ก็ จะใหบุ คคลที่อ ยู ภายในหองพิจ ารณาที่พอจะสามารถแปลภาษาดั งกลาวได ปฏิบัติหน าที่ลา ม แปลภาษาโดยจําเปน เพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีในขณะนั้น ไมสะดุดหยุด ลงตอเนื่องสืบตอกันไปซึ่งหากหันมาพิจาณาดานคุณภาพหรือความรูความเขาใจ ของล า มจํ า เป น หรื อ หลั ก การวางตั ว เป น กลางของล า มจํ า เป น อี ก ทั้ ง หามี หลักประกันใดๆ ประกันวาลามจําเปนที่ศาลใชอํานาจตั้งขึ้นนั้น จะแปลภาษาเปน กลางไมเอนเอียงเขาขางฝงของตนเองหรือฝงตรงกันขาม ถึงแมวาจะมีกฎหมายอยูหลายฉบับในการคุมครองสิทธิของผูตองหาใน การที่จะมีลามเพื่ออํานวยความยุติธรรมในระหวางการพิจารณาคดี แตในทาง โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 53


ปฏิ บั ติ นั้ น กลั บ ไม ส ามารถคุ ม ครองถึ ง สิ ท ธิ เ หล า นี้ ไ ด อ ย า งจริ ง จั ง โดยเฉพาะ จริยธรรมของลามแปลภาษา และการปฏิบัติหนาที่ของลามจําเปน จึงสงผลให คูความตกเปนเหยื่อของกระบวนการยุติธรรมที่ไมชอบ ฉะนั้นจึงควรใหทุกฝายที่ เกี่ยวของรวมมือแกไขเยียวยาปญหานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. บทบาทของทนายฝายจําเลย ทนายความขอแรง คือ ทนายความที่ศาลแตงตั้งใหจําเลยในคดีอาญา ในกรณีที่เมื่อศาลถามเรื่องสิทธิการมีทนายความของจําเลย ซึ่งจําเลยตองการ ทนายความที่ศาลแตงตั้งให เนื่องจากเหตุซึ่งปจจัยทางฐานะของตัวจําเลยเอง โดย จํ า เลยไม ต อ งเสี ย ค า ใช จ า ยใดๆ ทั้ ง สิ้ น โดยทางศาลจะมี ค า ตอบแทนให แ ก ทนายความ โดยคํ า นึ ง ถึ ง สภาพแห ง คดี แ ละภาวะทางเศรษฐกิ จ ทั้ ง นี้ ตาม ระเบียบที่ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธ รรมกําหนด โดยความเห็นชอบ จากกระทรวงการคลัง ซึ่งการไดมาซึ่งทนายความขอแรง คือ ทนายความจะไปลง ชื่อแจงความจํานงไวที่ศาลและเมื่อมีคดีที่ตองมีทนายความ เจาหนาที่ก็จะเลือก ตามรายชื่อและเสนอศาลเพื่อมีหนังสือแจงทนายความ จําเลยก็ไดทนายความ ตามกฎหมาย แตจ ะเป นทนายความที่ มีป ระสบการณอ ยา งไม พีย งใด จึ งเป น ปญหาที่ขาพเจาไดประสบพบเห็นมาในกระบวนการพิจารณาคดีในศาล ป ญ หาดั ง กล า วได เ กิ ด ขึ้ น ในคดี อ าญาคดี ห นึ่ ง ซึ่ ง เป น ฐาน พยายามฆาผูอื่นโดยเจตนา เหตุเกิดขึ้นในศาลจังหวัดสงขลา ซึ่งวันนั้นเปนวัน สืบพยานนัดแรก อัยการฟองจําเลยในขอหาดังกลาว ศาลไดตั้งทนายความขอแรง ใหแกจําเลย ซึ่งปญหาที่พบ ทนายความไมเคยพบเจอกันมากอนเลย มาเจอครั้ง แรกในวั น สื บ พยาน และแค พู ด คุ ย กั น ก อ นที่ ศ าลจะขึ้ น บั ล ลั ง ก แม แ ต ตั ว ทนายความเองยังไมไดอานสํานวนของอัยการที่จายใหแกจําเลย เห็นไดชัดวา ทนายความมิได ทําหนาที่เสมือนการเปนทนายความแตอยางใด ยิ่งไปกวานั้นเมื่อ ศาลไดขึ้นบัลลังกแลว เมื่อศาลอานความผิดที่จําเลยไดทํา และศาลถามจําเลยวา 54 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จะรับสารภาพหรือปฏิเสธ จําเลยตองการที่จะปฏิเสธ แตตัวทนายความไดบอก จําเลยวา ใหรับสารภาพซะ คดีจะไดจบๆ ไมตองมาเรื่องมากอยู ถึงอยางไรตัวของ จําเลยเองก็ไมมีพยานหลักฐานที่จะมาหักลางพยานของโจทยไดเลย และ ถารับ สารภาพแลวโทษจะลดลงเหลือครึ่งหนึ่ง อาจจะจําคุกมากสุดแลก็ไมเกิน 8-10 ป และขูจําเลยดวยคําที่ไมเหมาะสมและเหยียดยามความเปนมนุษยของจําเลย ยิ่ง ไปกวานั้นพนักงานอัยการที่เปนโจทยยัง ชี้นําใหตัวจําเลยรับสารภาพอีกดวย จน สุดทายจําเลยตองรับสารภาพ เมื่อจําเลยรับสารภาพแลวศาลใหพนักงานอัยการ สื บ พยานบุ ค คลแค ป ากเดี ย ว คื อ ตั ว ผู เ สี ย หายนั้ น เอง เมื่ อ สื บ พยานจบ ทนายความมิไดซักคานแตอยางใด และศาลจึงนัดฟงคําพิพากษา ในกรณี นี้ จึ ง เห็ น ได ชั ด ว า ทนายความขอแรงมิ ไ ด ทํ า หน า ที่ ทนายความไดอยางเต็มความสามารถ มิไดปกปองลูกความแตอยางใด ทั้งยังใชคํา เหยียดยามลูกความอีกดวย ทนายความขอแรงคิดเพียงแตจะวาคดีใหเสร็จไป อยางเดียว ซึ่งเปนปญหาอยางมากในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 55


5

ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

บทนํา สํ า นั ก วิ ช านิ ติ ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ า หลวง ได เ ข า ร ว มโครงการ เรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชนมาเป น ระยะเวลา 3 ป โดยไดรวมกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงเอเชีย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และในป ลาสุด คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณไดเขารวมดวย ในการดําเนินโครงการ นั้น ไดรับการสนับสนุนจากองคกร Open Society Foundation (OSF) การเขา รวมโครงการฯ ของสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มีเจตนารมณที่ จะใหการดําเนินการในโครงการฯ เปนสวนหนึ่งของวิชากฎหมายสิทธิมนุษยชน เพื่ อ ให นั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช าดั ง กล า ว ได มี ค วามรู ค วามเข า ใจในกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมไทย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนใน กระบวนการยุ ติ ธ รรม นั ก ศึ ก ษาจะได เ รี ย นรู จ ากสถานการณ จ ริ ง โดยการ 56 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


สังเกตการณคดีในศาลดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหนักศึกษาไดเขาใจถึงสภาพปญหา การคุมครองสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมในความเปนจริงไดเปนอยางดี จึงผนวกการดําเนินโครงการฯดังกลาว ไวในรายวิชากฎหมายสิทธิมนุษยชน แต มิไดกําหนดใหนักศึกษาทุกคนเขารวมโครงการ โดยในป 2555-2556 นักศึกษาที่ เขารวมโครงการเปนนักศึกษาที่สนใจและสมัครเขารวมโครงการ จํานวน 42 คน ในการดําเนินโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลใน มุ ม มองสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของสํ า นั ก วิ ช านิ ติ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ า หลวง ผู ประสานงานโครงการไดเตรียมความพรอมของนักศึกษาผูเขารวมโครงการโดย จัดการอบรมนักศึกษาในประเด็นเรื่องหลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม ซึ่ง รวมถึงหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความในศาล และอบรมวิธีการบันทึกแบบสํารวจ ข อ มู ล การอบรมดั ง กล า วได มี ก ารจั ด ขึ้ น เช น เดี ย วกั น ในสถาบั น เครื อ ข า ยทุ ก สถาบัน ทั้งนี้ เพื่ออธิบายใหนักศึกษาผูเขารวมโครงการไดทราบถึงวัตถุประสงคใน การสํารวจขอมูล อันจะสงผลใหนักศึกษาทุกคนสามารถทําการบันทึกแบบสํารวจ ขอ มูล ได ตรงตามความเปน จริ ง และตรงตามเปา ประสงคที่กํ า หนดไวสําหรั บ โครงการฯ หลั ง จากการที่ นั ก ศึ ก ษาผ า นการอบรมเป น ที่ เ รี ย บร อ ย นั ก ศึ ก ษา อาสาสมัครที่ไดรับการอบรม จะเขาทําการสังเกตการณในศาลจังหวัดเชียงราย อย า งเช น ประชาชนผูม าใช บ ริ ก ารที่ ศ าลทั่ ว ไป เพื่ อ ให ข อ มู ลที่ ไ ด เ ป น ข อ มู ล ที่ ใกลเคียงกับสิ่งที่ปรากฏกับบุคคลธรรมดาทั่วไปที่ไปศาลมากที่สุด อยางไรก็ดี ดวย เหตุที่นักศึกษาหลายคนมีภารกิจที่จะตองเดินทางกลับมาเขาชั้นเรียน จึงทําให นั ก ศึ ก ษานิ ย มใส ชุ ด นั ก ศึก ษาไปเข า สัง เกตการณ คดี ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปศาลจั ง หวั ด เชียงรายมักจะตอนรับนักศึกษาฝกงานเปนประจําอยูแลว จึงทําใหนักศึกษาที่ เดินทางไปศาลสวนใหญในชุดนักศึกษาไดรับการปฏิบัติในการเขาสูศาลจังหวัด เชียงรายเปนอยางดี โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 57


ผลการสังเกตการณ ในการดําเนินโครงการฯ ของสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟา หลวงในป 2555-2556 นั้น ไดกําหนดใหนักศึกษาผูเขารวมโครงการทําการ สังเกตการณคดีในศาลจังหวัดเชียงราย โดยใชแบบสอบถามรวมทั้งสิ้น 235 ชุด ซึ่งผลจากการสังเกตการณของนักศึกษา จําแนกไดเปน คดีอาญา 200 ชุด คิด เปนรอยละ 85.1 และคดีแพง 35 ชุด คิดเปนรอยละ 14.9 โดยจํานวนฐาน ความผิดที่ไดเขาสังเกตการณ สามอันดับแรกคือ ความผิดตามพระราชบัญญัติยา เสพติดใหโทษ ถึงรอยละ 33.61 ตามมาดวยความผิดตอชีวิตและรางกาย รอยละ 17.02 และความผิดเกี่ยวกับทรัพย รอยละ 14.46 1. การเขาบริเวณพื้นที่ศาล จากการสังเกตการณคดี พบวา ผูเดินทางเขามายังศาลบางคน ต องผาน การตรวจกระเปาและแลกบัตรในขณะที่บางคนก็สามารถผานเขาไปได โดยไมไดมี การตรวจตราดังกลาวแตอยางได ขอมูลจากการสังเกตการณ พบวา ลักษณะ ดังกลาวนี้เกิดขึ้นจากความไมตอเนื่องของความเขมงวดในการตรวจตรามากกวา จะเปนการเลือกปฏิบัติตอบุคคลหนึ่งบุคคลใดอยางมีนัยสําคัญ นอกจากนี้ พบวา รอยละ 68.51ของผูสังเกตการณที่แตงกายลําลองเขาสังเกตการณคดีไดรับการ ปฏิบัติจากเจาหนาที่เปนอยางดี การแตงกายจึงมิใชปจจัยหลักที่ทําใหเจาหนาที่ เลือกปฏิบัติตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ ในสวนของการประชาสัมพันธ ผู เข า สั ง เกตการณ ไ ด รั บ ข อ มู ลผ า นทางบอร ด ประชาสั ม พั น ธ เ ป น หลัก (ร อ ยละ 94.47) ตามมาดวยเสียงตามสาย (รอยละ 66.38) และการประชาสัมพันธของ เจาหนาที่ (รอยละ 61.70) ผูสังเกตการณรอยละ 64.26 พบวา มีคอมพิวเตอร สําหรับคนฐานขอมูลคดีใหบริการ แตสังเกตวาเครื่องคอมพิวเตอรดังกลาวไมได เปดสําหรับบริการ สวนสปอรตโฆษณา ผูสังเกตการณพบวาแทบจะไมถูกใชเปน ชองทางการประชาสัมพันธของศาลเลย 58 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


รูปภาพการอบรมหลักการปฏิบัติตนในชั้นศาลความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติธรรมในชั้นศาลและหลักการกรอกแบบสํารวจขอมูล วันที่ 22 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 59


2. การเขาหองพิจารณาคดี ผูสั งเกตการณ สามารถเข าฟ งการพิจ ารณาคดี ในหอ งพิ จารณาคดีไ ด ตามปกติ มีเพียงรอยละ 22.35 ที่เจาหนาที่ศาลไดซักถามผูสังเกตการณกอนหรือ ระหวางการพิจารณาคดี ในสวนบริเวณหองพิจารณาคดี ผูสังเกตการณสวนใหญ สังเกตเห็นปายขอความเตือนใหแตงกายสุภาพและปดอุปกรณสื่อสาร และมีเพียง จํานวนนอยที่สามารถสังเกตเห็นปายขอความ (หรือไมสังเกตเห็นเลย) ใหสวม รองเทาหุมสน หรือหามสวมรองเทาแตะ หามรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม หามเคี้ยวหมากฝรั่ง และหามนั่งไขวหางและกอดอกขณะพิจารณาคดี อยางไรก็ ตาม เจาหนาที่ศาลจะไดว ากลาวตักเตือนแกกรณีเหลานี้เสมอ ในระหวางการ พิจารณาคดี เจาหนาที่บัลลังก ไดหามหรือเตือนมิใหผูสังเกตการณคดี มิใหปฏิบัติ ตนฝาฝนขอหามและคําเตือนตางๆตามที่มีปายบอกไวเปนสัดสวนไมเกินรอยละ 30 ยกเวนแตกรณีปดเครื่องมือสื่อสาร (รอยละ 30.65) และการหามพูดคุยเสียง ดังในหองพิจารณาคดี (รอยละ 32.35) ที่จะไดรับการเตือนอยางเขมงวด นอกจากนี้ พบวา มีปายที่ติดวาหองพิจารณาคดีเปนเขตหวงหามเฉพาะติดอยูเปน เพียงบางหองพิจารณาคดีเทานั้น 3. หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม 3.1 บทบาทของผูพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา โดยปกติศาลจะอธิบายฟอง และขอกลาวหาในวันที่ฟองคดี หรือวันนัด พรอมใหจําเลยฟง โดยจากการสังเกตการณในวันนัดพรอม หรือวันที่ฟองคดี พบวา ศาลอธิบายฟอง และขอกลาวหา รอยละ 29.79 (จากรอยละ 33 ของ จํานวนคดีที่สังเกตการณ) ในขณะที่ศาลไมไดอธิบายฟอง และขอกลาวหา รอยละ 2.55 ที่นาสังเกตคือ ผลในสวนของการสังเกตการณในวันนัดพรอม ศาลมิไดถาม จําเลยวามีทนายความหรือไมกอนการสอบถามคําใหการ (ในคดีที่มีโทษประหาร 60 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ชีวิต หรือจําเลยมีอายุไมเกิน 18 ป) เปนจํานวนถึงรอยละ 5.96 (จากรอยละ 20 ของคดีที่สังเกตการณในกรณีดังกลาว) และในสวนของการแตงตั้งทนายขอแรง ใหกับจําเลยที่ไมมีทนายความนั้น ผูสังเกตการณไดสังเกตวา ศาลมิไดตั้งทนายขอ แรงเปนสัดสวนสูงถึงรอยละ 16.17 จากจํานวนคดีที่สังเกตการณในวันนัดพรอม หรือวันฟองคดี ขอมูลดานการสอบคําใหการจํา เลยกอนการพิจารณาคดีนั้น พบวาศาล ไดสอบคําใหการ (รับสารภาพหรือปฏิเสธ) ของจําเลยกอนการพิจารณาคดี คิด เปนรอยละ 26.81 (จากจํานวนรอยละ 31 ที่ไดสังเกตการณในวันพิจารณาคดี) และศาลไดบันทึกคําใหการตรงตามคําเบิกความของพยานใหการสูงถึงรอยละ 39.57 (จากประมาณรอยละ 46 ที่ไดสังเกตการณในวันพิจารณาคดี) ในการที่ศาลสั่งใหพยานสาบานตนนั้น คิดเปนจํานวนรอยละ 27.66 (จากจํานวนประมาณรอยละ 40 ที่ไดสังเกตการณในวันพิจารณาคดี) โดยในการ นําสาบานตนหรือกลาวคําปฏิญาณนั้น ศาลใหผูนําการสาบาน ไดแก หนาบัลลังก ทนายความ อัยการ และลาม ตามแตที่ศาลเห็นสมควร ขอสังเกตเพิ่มเติมของนักศึกษา คือ ในบางคดีที่สังเกตการณศาลจะสั่งให มีผูนําการสาบานตอเมื่อพยานอานหนังสือไมออก มองเห็นไมชัด หรือกรณีเปน ผูสูงอายุเทานั้น และบางคดีก็พบวาพยานที่เบิกความไมตรวจสอบคําใหการตนเอง แตจะลงนามในคําใหการนั้นเลย นอกจากนั้นในบางคดีเมื่อศาลอานคําพิพากษา เสร็จแลว ยังไดมีการกลาวตักเตือนสั่งสอนจําเลยไมใหกระทําความผิดอีก 3.2 บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ เปนที่นาสังเกตวาจากขอมูลทั้งหมดประมาณรอยละ 99 ที่มีการบันทึก การสั งเกตการณ ศาลนั่ งไม ครบองคคณะตั้ งแต เ ริ่ม ต น การพิ จ ารณาจนจบ มี สัดสวนที่สูงถึงรอยละ 60.42 และยังพบอีกวาศาลนั่งพิจารณาคดีไมตรงเวลา โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 61


(09.00 น. และ 13.30 น.) สูงถึงรอยละ 59.15 ของขอมูลที่มีการสังเกตการณ ทั้งหมด นอกจากนี้ พบวาองคคณะผูไมใชเจาของสํานวนมีสวนชวยในการซักถาม พยานเพิ่มเติมสูงถึงรอยละ 84.68 จากจํานวนทั้งสิ้นประมาณรอยละ 95 ของคดี ที่สังเกตการณ และยังพบวาโดยปกติผูพิพากษาซึ่งไมใชเจาของสํานวน ในศาล จังหวัดเชียงรายมีสมาธิดีตอการพิจารณาคดีแมจะไมใชคดีของตนเองก็ตาม อาจมี การหยิบเอกสารคดีอื่นมาอานบาง ไมมีสมาธิในบางชวงบาง ทํากิจกรรมอื่นๆ บาง แตก็ไมไดแสดงปริมาณมากอยางมีนัยสําคัญสักเทาไร ในสวนของการใชคําพูดของศาลเพื่อชักจูงโดยหวังใหจําเลยรับสารภาพ นั้น พบวามีในปริมาณที่นอยมาก เชนเดียวกันกับการที่ศาลอธิบายถึงผลที่จะ ตามมาหลังจากที่จําเลยรับสารภาพ (เชน หากสารภาพจะไดรับ การลดโทษ หรือ ใหรอลงอาญา) ก็มีอัตราสวนที่นอยเชนกัน ที่นาสังเกตคือ แมจะไมมีการชักจูงให จําเลยรับสารภาพแตศาลก็แสดงออกถึงการสั่งสอนจําเลย โดยกลาวถึงบาป บุญ คุณ โทษ สู งถึ งร อยละ 22.55 ในขณะที่ บางคดีศาลได แสดงอาการข มขู หรื อ อากัปกิริยารุนแรงในหองพิจารณาคดี แตอยูในสัดสวนที่นอย เพียงรอยละ 0.85 ของคดีที่มีการสังเกตการณทั้งหมด นอกจากนี้แลว นักศึกษาผูสังเกตการณยังมีขอสังเกตเพิ่มเติมในบาง ประเด็น เชน ในบางคดีผูพิพากษาอางวาที่ขึ้นพิจารณาชาเพราะโจทกและจําเลย มาสาย ในคดีหนึ่งทนายจําเลยมิไดมาตามนัดในการพิจารณาคดีของศาล ศาลได ใชเพียงพยานเอกสารในการพิจารณาคดีเทานั้น ในบางคดีการพิจารณาคดีใชเวลา ประมาณ 4 ชั่วโมง และมีการพิจารณาคดีซ้ําซอนในเวลาเดียวกันถึง 3 คดี โดยมี การพิจารณาเนื้อหาและการซักถามพยานที่วกวนไปมา จนบางครั้งพยาน หรือ จําเลยมีการเขาใจเนื้อหาในคําถามที่ผิดเพี้ยนไป ในสวนของการที่ศาลวากลาว ตักเตือน สั่งสอนจําเลยนั้น บางครั้งมีการบอกนักศึกษาผูสังเกตการณดวยวาอยา เอาเปนเยี่ยงอยาง ในขณะที่บางคดีศาลไดพูดกับจําเลยวาหนีกฎหมายอาจจะหนี 62 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ได แตหนีบาปบุญคุณโทษนั้นหนีไมได ในบางคดี ระหวางพิจารณาคดีจะมี การ พิจารณาคดีซ้ําซอนกัน คือ มีการอานคําพิพากษาในขณะที่มีการสืบพยานในอีก คดีหนึ่ง 3.3 บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร เนื่องจากการสังเกตการณในสวนนี้จะบันทึกขอมูลเฉพาะกรณีที่จําเลย หรือพยาน ไมสามารถสื่อสารดวยภาษาไทยได จึงทําใหสถิติที่ได อาจไมมีความ ชัดเจนเทาที่ควร อยางไรก็ดี ในประมาณรอยละ 3.5 จากจํานวนคดีที่นักศึกษาได สังเกตการณ เปนกรณีที่ศาลตองจัดหาลามใหกับจําเลยที่ไมสามารถพูดภาษาไทย ได พบวา ศาลไดจัดลามให ประมาณรอยละ 1.70 ในขณะที่ไมไดจัดลามให รอย ละ 0.85 โดยลามที่ใชในชั้นศาลจากการสังเกตการณ ไดแก ทนายความ เพื่อน นักโทษ และคนที่รูจักกับจําเลย เปนสัดสวนเทากัน ลําดับรองลงมือการใชพยาน เปนลาม ซึ่งแสดงนัยใหเห็นวาการใชลามนั้นเปนไปตามความสะดวกของศาลใน การหาผูแปลภาษา สวนในกรณีที่จําเลย หรือ พยาน ไมสามารถอานและเขาใจ ขอความเอกสารที่ใชระหวางการดําเนินคดี ศาลไดมีการจัดใหมีลามอธิบาย ที่นา สังเกตคือ ในกรณีที่คูความหูหนวกเปนใบและจะตองมีการจัดหาลามภาษามือ ซึ่ง คิดเปนจํานวนประมาณ รอยละ 2.5 ของคดีที่สังเกตการณมาทั้งหมดนั้น พบวา ศาลจัดลามภาษามือใหเพียงรอยละ 0.85 ทําใหนาสงสัยวาการสื่อสารในศาลจะ ดําเนินการไปไดอยางไร ขอสังเกตเพิ่มเติมจากนักศึกษาที่เขารวมการสังเกตการณ ไดแก ในบาง คดีทนายความมีการใชคําถามใหจําเลยเกิดความสับสน และในคดีดังกลาวจําเลย เปนชนเผาที่เขาใจภาษาไทยไดแตออกเสียงไมชัด ในบางคดีจําเลยเปนชาวพมาไม เขาใจภาษาไทย ศาลจึงใหนักโทษมาเปนลามให

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 63


3.4 บทบาทของอัยการหรือทนายฝายโจทก ผูสังเกตการณคดี พบวา พนักงานอัยการ หรือทนายฝายโจทก เขาหอง พิจารณาไมตรงเวลาในอัตรารอยละ 27.66 ซึ่งเปนอัตราที่มากกวาการเขาหอง พิจารณาคดีไมตรงเวลาของทนายฝายจําเลย (รอยละ 18.72) แตนอยกวาการเขา หองพิจารณาคดีไมตรงเวลาของผูพิพากษา (รอยละ 40.85) พนักงานอัยการ แสดงท าทางข มขู หรื อ เหยี ยดศัก ดิ์ ศรี ความเป นมนุ ษย ข องพยานต่ํ า มาก โดย ปรากฏเพียงรอยละ 1.70 อยางไรก็ตาม ผูสังเกตการณไดสังเกตวา มีการแสดง ทาทีดุดันและสรางความกดดันใหจําเลย รวมถึงการตัดบทจําเลยในการสืบพยาน ในระหวางการพิจารณาคดี พบวา พนักงานอัยการ หรือทนายฝายโจทก ตั้งใจฟง และจดบันทึกขณะการสืบพยาน รอยละ 62.98 แตปรากฏความกระตือรือรนของ การทําหนาที่ในระดับต่ํา เชน การทักทวงเพื่อประโยชนของจําเลย ปรากฏเพียง รอยละ 6.81 และการใชคําถามนํา ปรากฏเพียงรอยละ 32.34 ซึ่งนาที่จะเปน เรื่องปกติของอัยการหรือทนายฝายโจทก นอกจากนี้ จากการสังเกตการณ พบวา มากกวารอยละ 20 ของคดีที่เขาสังเกตการณ อัยการ หรือทนายฝายโจทก ไดทํา กิจกรรมอื่นๆนอกหนาที่ในระหวางการพิจารณาคดี และการสลับสับเปลี่ยนไป ปฏิบัติหนาที่ในหองพิจารณาคดีอื่นนั้น อยูในสัดสวนที่ใกลเคียงกันดวย 3.5 บทบาทของทนายฝายจําเลย ผูสังเกตการณ พบวา ทนายฝายจําเลยมาหองพิจารณาคดีไมตรงเวลา รอยละ 18.72 ซึ่งเปนอัตราที่ต่ํากวาการเขาหองพิจารณาไมตรงเวลาของอัยการ หรือทนายฝายโจทก (รอยละ 27.66) ทนายความแสดงความกระตือรือรนใน ระหวางการพิจารณาคดีมากกวาอัยการ หรือทนายฝายโจทก เชน มีการถามคาน ถามนํา ถึงรอยละ 40.85 อยางไรก็ตาม การทักทวงการปฏิบัติหนาที่เพื่อรักษา ผลประโยชนใหจําเลยนั้น อยูในระดับต่ํา เพียงรอยละ 13.62 นอกจากนี้ การที่ ทนายแสดงทาทางขมขู หรือเหยียดหยามศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตอพยานฝาย 64 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ตรงขาม ก็อยูในระดับต่ํามากเชนเดียวกับอัยการหรือทนายฝายโจทก หรือเพียง รอยละ 1.28 เทานั้น ในระหวางการพิจารณาคดีนั้น ทนายจําเลยตั้งใจฟงและจด บันทึกในระดับที่ใกลเคียงกับอัยการ หรือทนายฝายโจทก ไดแก รอยละ 58.30 เปนที่นาสังเกตวา นอกจาก ทนายฝายจําเลย รอยละ 11.49 เสียสมาธิระหวาง การพิจารณาคดี เนื่องจากการทํากิจกรรมอื่นนอกหนาที่แลว ทนายความยังมีการ สลับสับเปลี่ยนไปปฏิบัติหนาที่ในหองพิจารณาอื่นถึงรอยละ 25.11 โดยอัตรานี้ เปนอัตราที่สูงกวาในพื้นที่อื่นๆอยางมีนัยสําคัญดวย 4. การกระทําอื่นๆ ในศาลที่ไมปกปองสิทธิ หรือการละเมิดสิทธิของ ผูตองหาและจําเลย ในเรื่องการใสตรวนกับผูตองหาหรือจําเลยนั้น พบวามีการใสตรวนรอย ละ 28.09 ซึ่งอยูในสัดสวนที่ไมมาก นัก เมื่อเปรียบเทียบกับขอ มูลที่สํารวจมา ทั้งหมด เชนเดียวกับการใสกุญแจมือผูตองหาหรือจําเลย ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 25.96 สําหรับการปลอยตัวชั่วคราวโดยไมมีการวางหลักประกันนั้น พบวามีเพียง รอยละ 9.79 ของขอมูลทั้งหมดที่สังเกตการณเทานั้นที่มีการปลอยตัวชั่วคราวโดย ไมมีการวางหลักประกัน ในขณะที่รอยละ 82.98 ของขอมูลที่สังเกตการณ ศาล จะปลอยตัวชั่วคราวตอเมื่อมีการวางหลักประกัน ทั้งนี้การที่ศาลไมอนุญาตให ประกันตัว ประกอบดวยเหตุผลตั้งแตการขาดทุนทรัพย ขาดหลักประกัน กลัวการ หลบหนี และกลัวไปยุงเกี่ยวกับคดี แตทั้งหมดอยูในอัตราสวนที่นอ ยเมื่อเทียบกับ สัดสวนคดีที่มีการสังเกตการณทั้งหมด นอกจากนั้ น แล ว ข อ สั ง เกตอื่ น ๆ ที่ ม าจากนั ก ศึ ก ษาผู เ ข า ทํ า การ สังเกตการณคดี เชน ในบางคดีมีการใสโซตรวนผูตองหาผูชายแตไมมีการใสโซ ตรวนแกผูตองหาหญิง ในคดีหนึ่งจําเลยเปนชาวตางชาติ เริ่มแรกที่ศาลอานคํา พิพากษา จําเลยใหการปฏิเสธ แตพอศาลบอกวาโทษไมไดหนักอะไร เพียงแค โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 65


รายงานความประพฤติ แ ละชดใช ค า เสี ย หายเท า นั้ น จํ า เลยก็ ใ ห ก ารยอมรั บ สารภาพ

บทสรุป จากการสั ง เกตการณ ค ดี ใ นศาลจั ง หวั ด เชี ย งราย พบว า ศาลจั ง หวั ด เชี ย งรายให การต อนรั บนั ก ศึก ษาจากทางมหาวิ ทยาลัย เปน อย า งดี เนื่ องจาก คุนเคยกับการรับนักศึกษาฝกงานเปนอยางดี และดวยความที่นักศึกษาสวนใหญ นิยมใสเครื่องแบบนักศึกษาไปสังเกตการณคดีที่ศาล ดังนั้นประเด็นในการเขาสู ศาลจึงเกิดจากการสังเกตพฤติการณที่เกิดขึ้นกับบุคคลอื่นๆ เปนหลัก ซึ่งโดยสรุป พบวาการตรวจตรากอนเข าศาลนั้น มักจะเกิดจากความไมตอเนื่องของความ เขมงวดในการตรวจตรามากกวาจะเปนการเลือกปฏิบัติตอบุคคลหนึ่งบุคคลใด อยางมีนัยสําคัญ และศาลจังหวัดเชียงราย มีการประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ รวมถึงการใหบริการฐานขอมูลคดีผานทางระบบคอมพิวเตอร อยางไรก็ตาม อาจ มีปญหาในเรื่องความพรอมของอุปกรณดังกลาว ในสวนของการเขาฟงการพิจารณาคดี การเขาถึงหองพิจารณาคดีเปนไป โดยสะดวก ในบริเวณหองพิจารณาคดีมีปายขอความเตือนตางๆทั้งที่สังเกตเห็นได ชัดเจนและสังเกตเห็นไดไมชัด (หรือที่อาจไมมีอยูเลยในหองพิจารณาคดี) พบวา แมปายเตือนที่เห็นไมชัดเจน หรือที่อาจไมมีอยูเลย เชน การหามนั่งไขวหาง การ หามเคี้ยวขนม เจาหนาที่ของศาลไดเตือนใหผูเขาฟงการพิจารณาคดีปฎิบัติตาม คําเตือนเหลานั้นเสมอ ปายขอความกรณีปดเครื่องมือสื่อสาร และการหามพูดคุย เสี ย งดั ง ในห อ งพิ จ ารณาคดี เป น กรณี ที่ เ จ า หน า ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามอย า งเข ม งวด นอกจากนี้ สังเกตไดวา ปายที่ติดวาเขตหวงหามเฉพาะ ได ปรากฏอยูตามหอง พิจารณาคดีเพียงไมกี่หองเทานั้น 66 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


สําหรับบทบาทของศาล การอธิบายคําฟองและขอกลาวหาโดยศาล เปนไปโดยไมปรากฏกรณีที่ผิดปกติ อยางไรก็ตาม การถามวามีทนายความหรือไม กอนการสอบถามคําใหการในคดีที่มีอัตราโทษสูง และการตั้งทนายขอแรงใหแก จําเลย ยังเปนประเด็นที่นากังวล เนื่องจากแมจํานวนคดีที่ผูสังเกตการณไดบันทึก วาไมไดปฏิบัติตามหลักการดังกลาว มีอยูในสัดสวนที่ไมสูงมากนัก แตเปนกรณีที่ กระทบสิทธิผูตองหาหรือจําเลยอยางชัดเจน สวนการสอบคําใหการ (รับสารภาพ หรื อ ปฏิ เ สธ) ของจํ า เลยก อ นการพิ จ ารณาคดี เป น ไปโดยปกติ ในการบั น ทึ ก คําใหการของศาลตรงตามคําเบิกความของพยาน อยูในสัดสวนที่สูง กรณีการนํา สาบาน ผู นํา สาบานอาจเปน หนา บัลลัง ก ทนายความ อัย การ และลา ม ทั้ง นี้ แลวแตที่ศาลเห็นสมควร สําหรับการนั่งครบองคคณะ เปนที่นาสังเกตวา กรณีที่ศาลนั่งไมครบ องคคณะ (ตั้งแตเริ่มตนการพิจารณาจนจบ) มีสัดสวนที่สูง รวมถึงการนั่งพิจารณา คดีไมตรงเวลา องคคณะผูไมใชเจาของสํานวนมีสวนชวยในการซักถามพยาน เพิ่มเติมสูง และสมาธิดีตอการพิ จารณาคดีแมจะไมใชคดีของตนเองก็ตาม การใช คํา พูด ของศาลเพื่อ ชัก จูง โดยหวั งใหจํ าเลยรับ สารภาพ การอธิ บายถึ งผลที่ จ ะ ตามมาหลังจากที่จําเลยรับสารภาพ (เชน หากสารภาพจะไดรับการลดโทษ หรือ ใหรอลงอาญา) พบวา อยูในสัดสวนที่ต่ํา อยางไรก็ตาม ยังปรากฏกรณีที่ศาล แสดงออกถึงการสั่งสอนจําเลย โดยกลาวถึงบาป บุญ คุณ โทษ ในสัดสวนที่สูง สวนการแสดงอาการขมขู หรืออากัปกิริยารุนแรงในหองพิจารณาคดีมี ปรากฏ เพียงไมกี่กรณีเทานั้น กรณีบุคคลที่มีปญหาการสื่อสาร พบวา ศาลไดจัดลามให โดยลามที่ใช ในชั้นศาล อาจเปน ทนายความ เพื่อนนักโทษ และคนที่รูจักกับจําเลย รองลงมา คือ การใชพยานเปนลาม ซึ่งแสดงนัยใหเห็นวาการใชลามนั้นเปนไปตามความ สะดวกของศาลในการหาผูแปลภาษา และจากการสังเกตการคดี ผูสังเกตการณ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 67


ยังมีขอสงสัยเกี่ยวกับการดําเนินการของศาลกรณีลามภาษามือ ซึ่งไมชัดเจนใน แนวทางการสื่อสารระหวางการพิจารณาคดี นอกจากนี้ ยังพบขอสังเกตเกี่ยวกับ กรณีชนเผาที่พูดภาษาไทยได แตไมสามารถใชภาษาไทยไดดี ซึ่งอาจจะเขาขาย ของการเปนบุคคลที่มีปญหาในการสื่อสารดวย สําหรับความตรงเวลาในการเขาหองพิจารณาคดี พบวาทั้งผูพิพากษา พนั ก งานอั ย การหรื อ ทนายฝ า ยโจทก และทนายความฝ า ยจํ า เลย เข า ห อ ง พิจารณาคดีไมตรงเวลาในสัดสวนที่สูง โดยผูพิพากษาเขาหองพิจารณาไมตรง เวลาเปนสัดสวนสูงสุด ตามมาดวย พนักงานอัยการหรือทนายฝายโจทก และ ทนายความ ตามลําดับ พนั ก งานอั ย การหรื อ ทนายฝา ยโจทก และทนายฝา ยจํ า เลย ได แสดง ทาทางขมขู หรือเหยียดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของพยานในสัดสวนที่ต่ํามาก ซึ่ง เป น ผลดี ต อ การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของพยาน อย า งไรก็ ต าม ในขณะที่ ผู สังเกตการณพบวา พนักงานอัยการหรือทนายฝายโจทก และทนายความฝาย จําเลย ตางตั้งใจฟงและจดบันทึกขณะการสืบพยานในสัดสวนที่สูง แตในส วนของ ความกระตือรือรนในการทํางานของบุคคลดังกลาว กลับ ปรากฏในสัดสวนที่ต่ํา โดยสังเกตไดจากคดีจํานวนนอยที่มีการทักทวงเพื่อประโยชนของจําเลย หรือการ ใชคําถามนําระหวางการสืบพยาน นอกจากนี้ ในระหวางการพิจารณาคดี แมวาทั้งอัยการหรือทนายฝาย โจทกและทนายความ ใชสมาธิในการทําหนาที่ระหวางการพิจารณาคดีในสัดสวน ที่ สู ง พอสมควร ผู สั ง เกตการณ พบว า ทั้ ง อั ย การหรื อ ทนายฝ า ยโจทก และ ทนายความ ตางทํากิจกรรมอื่นๆนอกหนาที่ในระหวางการพิจารณาคดีดวย เชน การใช โ ทรศั พ ท มื อ ถื อ หรื อ การเดิ น ออกนอกห อ ง โดยสั ด ส ว นของกลุ ม แรก มากกวาถึง กลุมที่สองถึงหนึ่งเทาตัว สวนการสลับสับเปลี่ยนไปปฏิบัติหนาที่ใน 68 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


หองพิจารณาคดีอื่นนั้น อยูในสัดสวนที่สูงของทั้งสองกลุม และมีอัตราที่ใกลเคียง กัน ในสวนของการกระทําอื่นๆ ในศาลที่ไมปกปองสิทธิ หรือการละเมิดสิทธิ ของผูตองหาและจําเลย จากการสังเกตการณคดี พบวา ประมาณหนึ่งในสามของ คดีที่เขาสังเกตการณ มีการใสตรวน หรือการใสกุญแจมือผูตองหาหรือจําเลย และอยูในสัดสวนที่ใกลเคียงกัน ในสวนของการปลอยตัวชั่วคราว พบวา คดีที่มี การปลอยตัวชั่วคราวสวนใหญ จะเปนการปลอยตัวชั่วคราวอยางมีหลักประกัน ทั้งนี้การที่ ศาลไมอนุญาตใหประกันตัว ประกอบดวยเหตุผลตั้งแตการขาดทุน ทรัพย ขาดหลักประกัน กลัวการหลบหนี และกลัวไปยุงเกี่ยวกับคดี

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 69


6

ผลการสังเกตการณของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทนํา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดรวมโครงการเรียนรูและ สังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชนในป 2555 และ 2556 โดยมีนักศึกษาชั้นปที่ 3 และ 4 เขารวมโครงการจํานวน 30 คน การสังเกตการณ เปนการสังเกตการณ ณ ศาลจังหวัดอุบลราชธานี ในชวงระหวางเดือนธันวาคม 2555 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2556 โดยการสังเกตการณนั้นไดกําหนดใหนักศึ กษา สังเกตการณในคดีอาญา ซึ่งนักศึกษาไดสงแบบบันทึกการสังเกตการณจํานวน ทั้งสิ้น 239 ชุด เนื่องจากแบบบันทึกการสังเกตการณซึ่งใชบันทึกการสังเกตการณคดี เปนแบบที่มีเนื้อหาที่จะตองเก็บขอมูลเปนแบบเดียวกันแมวากระบวนพิจารณา ของศาลในวันที่มีการสังเกตการณนั้ นจะมีกระบวนการพิจารณาที่แตกตางกัน เชน กระบวนพิจารณาในวันฟองที่แตกตางกับกระบวนพิจารณาในวันอานคํา 70 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


พิ พ ากษาในประเด็ น เกี่ ย วกั บ การสอบถามคํ า ให ก ารและการสอบถามความ ตองการทนายความ ซึ่งผูสรุปเห็นวาเมื่อนําขอมูลจากแบบบันทึกการสังเกตการณ ไปสรุปในภาพรวมของแตละกระบวนพิจารณาแลวอาจจะสะทอนข อมูลของ ภาพรวมในรายละเอียดของแตละกระบวนพิจารณาไดไมสมบูรณอยางที่ควรจะ เปน จากแบบบั น ทึ ก การสั ง เกตการณ พ บว า เป น การสั ง เกตการณ ใ นวั น พิพากษาคดีจํานวน 77 ชุด วันสืบพยานนัดแรกจํานวน 22 ชุด วันฟองคดีจํานวน 10 ชุด วันสืบประกอบคํารับสารภาพจํานวน 1 ชุด วันฟงคําพิพากษาศาลอุทธรณ 2 ชุด วันนัดพรอม 74 ชุด และวันสืบพยานตอเนื่อง 53 ชุด

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 71


รูปภาพการอบรมหลักการปฏิบัติตนในชั้นศาลความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ ยุติธรรมในชั้นศาลและหลักการกรอกแบบสํารวจขอมูล วันที่ 8-9 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

72 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


การสรุปผลการสังเกตการณตามแบบบันทึกการสังเกตการณคดีของ นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในปนี้จะนําเสนอในประเด็น เกี่ยวกับ 1.การเขาไปในพื้นที่อาคารศาลและหองพิจารณาคดีซึ่งเปนประเด็นที่จะ สะทอนถึงหลักในการพิจารณาคดีโดยเปดเผยของศาล 2.การพิจารณาคดีอยางเปนธรรมซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับ (1) การปฏิบัติ หนาที่ของศาล (2) การทําหนาที่ของผูพิพากษาซึ่งเปนองคคณะ (3) บทบาทของ พนักงานอัยการหรือทนายโจทก และ (4) บทบาทของทนายจําเลย ซึ่งจะเปน ประเด็นที่สะทอนถึงคุณภาพขององคกรและกระบวนการพิจารณาวาจะเปนไป ตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไดบัญญัติเพื่อคุมครองสิทธิเอาไว หรือไม 3.การกระทําอืน่ ๆในศาลที่ถือเปนการไมปกปองสิทธิหรือละเมิดสิทธิของ ผูตองหาหรือจําเลย เปนประเด็นที่สะทอนถึงองคประกอบอื่นๆ ที่ไมไดเกี่ยวกั บ เนื้อหาของคดีโดยตรงแตอาจมีการกระทําที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน และ 4.ประเด็นอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชนและกระบวนการยุติธรรม ซึ่งไมใชประเด็นตาม 1-3

ผลการสังเกตการณ 1. การเขาบริเวณพื้นที่ศาล ในการเข า สู บ ริ เ วณอาคารศาลแม จ ะพบว า มี ก ารเลื อ กตรวจเฉพาะ ประชาชนทั่วไป ทนายความหรือนักศึกษาจะไมมีการตรวจก็ตาม แตการเลือก ตรวจดังกลาวก็ไมปรากฏวาศาลจังหวัดอุบลราชธานีมีการเลือกปฏิบัติที่ชัดเจน หรือมีนัยยะสําคัญอันจะเปนอุปสรรคในการเขาถึงศาลแตอยางใด โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 73


ในสวนของการประชาสัมพันธเพื่อใหขอมูลแกประชาชนของศาลพบวา ศาลจังหวัดอุบลราชธานีมีการจัดทําปายประชาสัมพันธเพื่อแนะนําถึงการปฏิบัติ ตัวในศาลและขั้นตอนการฟองคดี แตเปนการจัดทําไวที่ชั้น 2 ของอาคาร และมี เจาหนาที่ของศาลคอยใหคําแนะนํากอนเขาไปภายในอาคารศาล 2. การเขาหองพิจารณาคดี การเขาสังเกตการณคดีของนักศึกษาหากเปนการเขาฟงการพิจารณาคดี โดยไมแตงกายในชุดนักศึกษา เจาหนาที่ศาลจะไมสอบถามถึงหนังสือแจงถึงการ เข า สั ง เกตการณ ค ดี จ ากคณะนิ ติ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี แต ห าก นักศึกษาแตงกายในชุดนักศึกษาเจาหนาที่ศาลจะสอบถามถึงหนังสือแจงจาก คณะนิติศาสตร และเมื่อมีหนังสือแจงจากทางคณะแลวเจาหนาที่ศาลจะใหความ รวมมือกับผูสังเกตการณมากขึ้นอยางชัดเจนถึงรอยละ 97.50 ทั้งเจาหนาที่ของ ศาลไดขอใหนักศึกษาแสดงหนังสือแจงของคณะถึงรอย 35.14 ซึ่งอาจเกิดจาก การที่เจาหนาที่พบวาเปนเรื่องที่ไมปกติที่พบนักศึกษาไปศาลมากกวา ปกติ แต ปรากฏการณดังกลาวก็สะทอนถึงความไมเขาใจถึงหลักในการพิจารณาคดีอยาง เปดเผยของศาลที่ประชาชนสามารถที่จะเขาฟงการพิจารณาคดีของศาลไดของ เจาหนาที่ของศาล อยางไรก็ดีมีขอสังเกตจากนักศึกษาผูสังเกตการณวามีการให คําแนะนําจากเจาหนาที่ศาลถึงขอมูลเกี่ ยวกับคดีที่กําลังพิจารณาและการปฏิบัติ ตัวของผูสังเกตการณในหองพิจารณาคดี 3. หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม 3.1 บทบาทของผูพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา การปฏิบัติหนาที่ของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จากแบบบันทึกพบวาสวนใหญศาลไดอธิบายฟองและขอกลาวหาใหจําเลยฟงรอย 74 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ละ 49.79 และไมไดอธิบายฟองและขอกลาวหาใหจําเลยฟงรอยละ 5.43 ในกรณี ที่จําเลยไมมีทนายความศาลไมตั้งทนายความขอแรงใหแกจําเลยเปนจํานวนถึง รอยละ 15.89 ซึ่งถือวาเปนสัดสวนที่สูง สําหรับการบันทึกถอยคําพยานพบวา ศาลบันทึกถ อยคําพยานไมตรงกับคําเบิกความถึงรอยละ 16.73 ซึ่งถือวาเปน สั ด ส ว นที่ สู ง อย า งไรก็ ดี จ ากแบบบั น ทึ ก พบว า ศาลได เ ป ด โอกาสให พ ยานได ตรวจสอบและโตแยงกอนลงนาม และสําหรับการทําหนาที่นําสาบานมีบุคคลที่ เปนผูนําสาบานหลากหลาย มีทั้งที่เปนเจาหนาที่หนาบัลลังก ทนายความ อัยการ และลาม อันถือวาเปนการปฏิบัติที่ไมชัดเจนเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่นําสาบาน ซึ่งแทจริงแลวหนาที่นําสาบานดังกลาวควรดําเนินการอยางเปนทางการและมี ผูนําสาบานที่ชัดเจน 3.2 บทบาทของผูพิพากษาและองคคณะ จากแบบบันทึกการออกนั่งพิจารณาของศาลพบวาศาลออกนั่งพิจารณา ไมครบองคคณะตามที่กฎหมายบัญญัติอยูในสัดสวนที่สูงถึงรอยละ 56.06 ซึ่งผล ดังกลาวสวนหนึ่งอาจจะเกิดการสังเกตการณที่เปนการสังเกตการณในวันอานคํา พิพากษาถึงรอยละ 33.05 (79 ชุด) ศาลออกนั่งพิจารณาไมตรงเวลาอยูในสัดสวน ที่สูงถึงรอยละ 59.42 ซึ่งจะออกนั่งพิจารณาในเวลาประมาณ 10.00 น. โดย ในทางปฏิบัติเจาหนาที่หนาบัลลังกจะโทรศัพทแจงใหศาลทราบเมื่อพนักงาน อัยการ ทนายความและพยานมาพรอมแลว การออกนั่งพิจารณาลาชาดังกลาว อาจจะสงผลใหมีการเรงรัดในการพิจารณาคดีและการสืบพยาน การทําหนาที่ของศาลที่รวมเปนองคคณะไมมีบทบาทในการชวยซักถาม เพิ่มเติมในการสืบพยานในสัดสวนที่สูงถึงรอยละ 62.76 แตอยางไรก็ตามผูรวม เปนองคคณะดังกลาวยังมีการกระทําที่แสดงออกถึงการไมมีสมาธิในการพิจารณา เชน การนําสํานวนหรือเอกสารของคดีอื่นอาน การนั่งเหมอลอย หรือการใช โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 75


โทรศัพทมือถือในขณะออกนั่งพิจารณามาอยูในสัดสวนที่ต่ําระหวางรอยละ 1.67 – 4.19 ในการหองพิจารณาผูพิพากษาไดใหขอมูลเกี่ยวกับผลของคดีหากจําเลย ใหการรับสารภาพ เชนการจะพิพากษาลดโทษหรือรอลงอาญาถึงรอยละ 28.47 ทั้งมีการกระทําที่เปนการแสดงออกที่เปนการสั่งสอนจําเลยในเรื่ องบาปบุญคุณ โทษถึงรอยละ 44.35 ซึ่งถือวาเปนสัดสวนดังกลาวถือวาเปนสัดสวนที่สูงอยางมี นัยยะสําคัญ เพราะการใหขอมูลเกี่ยวกับผลของคดีเปนการจูงใจใหจําเลยรับ สารภาพ ทั้งการสั่งสอนจําเลยก็ไมใชบทบาทหนาที่ตามกฎหมายของศาลแตอยาง ใด 3.3 บทบาทของอัยการหรือทนายฝายโจทก การมาศาลของพนั ก งานอั ย การหรื อ อั ย การจากแบบบั น ทึ ก การ สังเกตการณคดีพบวามาศาลไมตรงเวลาถึงรอยละ 40.58 ซึ่งผลดังกลาวนี้ยอม เปนสวนหนึ่งที่สงผลตอการเริ่มพิจารณาคดีที่ลาชาของศาล และเมื่อพิจารณาถึง ความตั้งใจฟงการเบิกความและจดบันทึกขณะที่พยานเบิกความพบวาอยูในระดับ ร อ ยละ 43.51 ส ว นการเดิ น เข า ออกห อ งพิ จ ารณาและการใช โ ทรศั พ ท ข อง พนักงานอัยการในระหวางการสืบพยานซึ่งอาจจะสงผลตอการมีสมาธิในระหวาง การพิจารณาคดีของพนักงานอัยการพบวามีการกระทําดังกลาวมีอยูในระดับที่ต่ํา 3.4 บทบาทของทนายฝายจําเลย จากแบบบันทึกการสังเกตการณคดี 339 ชุด ทนายของจําเลยในคดี แบงเปนทนายที่จําเลยจัดหาเองจํานวน 215 ชุด และเปนทนายขอแรงจํานวน 24 ชุด พบวาทนายจําเลยมาศาลตรงเวลารอยละ 62.34 และมาศาลไมตรงเวลารอย ละ 17.57 ในสวนของการทําหนาที่ของทนายความพบวาทนายความของจําเลยมี ความตั้งใจฟงคําเบิกความและจดบันทึกเปนจํานวนรอยละ 43.51 ซึ่งเปนสัดสวน 76 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ที่สูง อยางไรก็ตามยังพบวาทนายจําเลยทํากิจกรรมอื่นๆในระหวางการพิจารณา คดี เชน การใชโทรศัพทมือถือ การเดินเขาออกหองพิจารณาดวยเปนจํานวนถึง รอยละ 25.10 สวนการสลับไปปฏิบัติหนาที่ในหองพิจารณาอื่นมีจํานวนนอย เพียงรอยละ 0.83 4. การกระทําอื่นๆในศาลที่ถือเปนการไมปกปองสิทธิหรือละเมิดสิทธิ ของผูตองหาหรือจําเลย ในประเด็นเกี่ยวกับการใชเครื่องพันธนาการในการควบคุมผูตองหาหรือ จําเลยนั้น พบวาเปนการพันธนาการโดยใชโซตรวนเปนจํานวนรอยละ 32.65 ใช กุ ญ แจมื อ ร อ ยละ 30.12 ส ว นประเด็ น เกี่ ย วกั บ การปล อ ยชั่ ว คราวนั้ น พบว า ผูต องหาหรื อจํ าเลยได รับ การปลอ ยชั่ วคราวโดยไม ตอ งทํ าสัญญาประกัน เป น จํานวนรอยละ 20.08 สําหรับประเด็นเกี่ยวกับเหตุที่ผูตองหาหรือจําเลยไมไดรับอนุญาตจาก ศาลให ป ล อ ยชั่ ว คราวเมื่ อ มี ก ารร อ งขอให ป ล อ ยชั่ ว คราวนั้ น พบว า มี ส าเหตุ เนื่ องจากการขาดทุ นทรัพ ย เป นจํ า นวนร อยละ 2.1 การขาดนายประกั นเป น จํานวนรอยละ 2.92 การกลัววาจะหลบหนีจํานวนรอยละ 1.25 และกลัวจะไปยุง กับเกี่ยวแกคดีจํานวนรอยละ 3.34 ทั้งสวนหนึ่งก็มีสาเหตุจากการเปนคดีที่มี ความผิดรุนแรง ซึ่งจากขอมู ลดังกลาวนี้แสดงใหเห็นวาสวนใหญผูตองหาหรือ จําเลยไดรั บอนุญ าตใหป ลอ ยชั่ว คราว อย างไรก็ ตามจากแบบสอบบัน ทึก การ สังเกตการณคดีพบวาผูสังเกตการณไมไดบันทึกขอมูลในประเด็นนี้เปนสัดสวนที่ สูงถึงรอยละ 95 ขึ้นไป ขอมูลที่ปรากฏจึงอาจจะไมสะทอนขอเท็จจริงที่ เกิดขึ้น อยางที่ควรจะเปน

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 77


ภาพตัวแทนนักศึกษาเขารวมนําเสนอผลงานในการสัมมนาเวทีสาธารณะเรื่อง “คดีสิทธิมนุษยชน กรณีการพิจารณาคดีดวยความเปนธรรม” วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ณ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

78 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ภาคผนวก

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 79


สรุปโครงการการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาล ในมุมมองสิทธิมนุษยชน โดย คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สวนที่ 1 ขอมูลคดีทั่วไป สถาบัน จํานวนคดีที่เขาสังเกตการณ ม.ทักษิณ 177 ม.อุบลราชธานี 239 ม.เชียงใหม 285 ม.แมฟาหลวง 235

สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

แพง 19.8 0 29.4 14.9

ประเภทของคดี อาญา 72.9 100 68.1 85.1

อื่น 4.0 0 1.9 0

80 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

ไมระบุ 3.4 0 0.6 0


บุกรุก

เพศ

ชีวิตและรางกาย

เสรีภาพและชื่อเสียง

ละเมิด

อืน่ ๆ

ไมตอบ

1.7

0

10.2

0

1.7

19.2

2.3

2.3

27.1

6.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4.7

0.3

15.3

0.9

0.6

6.6

0

4.4

36.9

2.5

0.43 14.46

1.7

5.96 17.02

ทรัพย

พรบการคนเขาเมือง

ม.ทักษิณ 29.4 ม. อุบลราชธานี ม.เชียงใหม 14.7 ม.แมฟา 33.61 หลวง

พรบปาไม ฯ

สถาบัน

พรบยาเสพติด

ขอหา

1.28

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 81


สวนที่ 2 การบริหารงานธุรการในศาลยุตธิ รรม 2.1 กอนเขาหองพิจารณาคดี 1. เจาหนาที่เลือกปฏิบัติในการตรวจบุคคลที่เขาในบริเวณศาลหรือไม สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 45.8 52.5 1.7 ม.อุบลราชธานี 8.37 89.53 2.1 ม.เชียงใหม 21.9 74.4 2.2 1.6 ม.แมฟาหลวง 31.06 69.09 0.85 2. เจาหนาทีศ่ าลใหความรวมมือกับผูสงั เกตการณ เมื่อมหาวิทยาลัยไดสง หนังสือขออนุญาตจากศาลลวงหนา สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 54.8 22.6 22.6 ม.อุบลราชธานี 97.5 1.25 1.25 ม.เชียงใหม 9.1 33.8 27.8 29.4 ม.แมฟาหลวง 38.30 51.06 10.64

82 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3. เจาหนาทีศ่ าลขอใหผูสังเกตการณแสดงจดหมายขออนุญาตกอนเขา สังเกตการณคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 19.2 74.6 6.2 ม.อุบลราชธานี 35.14 60.67 4.19 ม.เชียงใหม 4.1 70.9 12.8 12.2 ม.แมฟาหลวง 8.09 88.94 2.97 4. เจาหนาทีศ่ าลปฏิบัติตอผูสังเกตการณที่ไมสวมชุดนักศึกษาหรือสวมชุด ลําลองเปนอยางดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 53.7 37.9 8.5 ม.อุบลราชธานี 34.30 61.51 4.19 ม.เชียงใหม 72.8 15.6 5.0 6.6 ม.แมฟาหลวง 68.51 31.06 0.43

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 83


2.2 การเขาหองพิจารณาคดี 1. เจาหนาทีศาลซักถามผูสังเกตการณกอนหรือระหวางการอยูในหอง พิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 33.9 62.7 3.4 ม.อุบลราชธานี 62.35 36.82 0.83 ม.เชียงใหม 41.3 57.5 0.0 1.3 ม.แมฟาหลวง 22.35 77.22 0.43 2. ในบริเวณหองพิจารณาคดี มีปายขอความดังตอไปนี้ ติดไว 2.1 โปรดแตงกายสุภาพ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ม.ทักษิณ 61 32.2 6.8 ม.อุบลราชธานี 75.74 20.5 3.76 ม.เชียงใหม 85.9 13.1 0 ม.แมฟาหลวง 83.82 15.75 0.43

ไมระบุ

0.9

2.2 กรุณาสวมรองเทาหุมสน หรือ หามสวมรองเทาแตะ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 63.3 29.9 6.8 ม.อุบลราชธานี 72 25.52 2.48 ม.เชียงใหม 74.7 21.3 0 4.1 ม.แมฟาหลวง 40 59.15 0.85 84 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


2.3 ปดอุปกรณอิเล็กทรอนิคส และเครื่องมือสื่อสาร ทุกชนิดกอนการพิจารณา คดี เชน โทรศัพทมือถือ, แทปเลต, คอมพิวเตอร ฯลฯ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 75.1 20.9 4 ม.อุบลราชธานี 82 12.14 5.86 ม.เชียงใหม 94.1 5.3 0 0.6 ม.แมฟาหลวง 73.19 23.83 2.98 2.4 หามรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ม.ทักษิณ 38.4 52.5 9 ม.อุบลราชธานี 41.84 54.39 3.77 ม.เชียงใหม 23.4 71.6 0.3 ม.แมฟาหลวง 36.17 63.40 0.43

สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

2.5 หามเคี้ยวหมากฝรั่ง ใช ไมใช ไมทราบ 27.1 63.8 9 34.31 61.92 3.77 13.8 77.8 1.3 32.76 66.39 0.85

ไมระบุ

4.7

ไมระบุ

7.2

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 85


2.6 หามพูดคุยสงเสียงดังในหองพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ม.ทักษิณ 66.1 27.1 6.8 ม.อุบลราชธานี 62.76 34.35 2.92 ม.เชียงใหม 77.5 17.2 0.6 ม.แมฟาหลวง 64.68 34.47 0.85

ไมระบุ

4.7

2.7 หามนั่งไขวหาง และกอดอกขณะผูพพิ ากษาพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 53.1 39 7.9 ม.อุบลราชธานี 38.91 51.89 9.2 ม.เชียงใหม 79.7 16.6 0.3 3.4 ม.แมฟาหลวง 45.53 54.04 0.43 2.8 หามจดบันทึกหรือบันทึกภาพและเสียงขณะผูพิพากษาพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 48 43.5 8.5 ม.อุบลราชธานี 59.02 38.5 2.48 ม.เชียงใหม 15.9 75 3.1 5.9 ม.แมฟาหลวง 68.51 30.64 0.85

86 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3. เจาหนาทีห่ นาบัลลังก หรือเจาหนาที่ศาล ไดกลาวตักเตือนผูเขารวมฟงการ พิจารณาคดี รวมถึงผูส ังเกตการณ เมื่อ 3.1 แตงกายไมสุภาพ เชน สวมกางเกงขาสั้น ฯลฯ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 18.6 64.4 16.9 ม.อุบลราชธานี 28.04 62.76 9.2 ม.เชียงใหม 6.9 64.7 12.8 15.6 ม.แมฟาหลวง 25.97 70.21 3.82

สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

3.2 สวมรองเทาแตะ ใช ไมใช ไมทราบ 47.5 37.3 15.3 46.44 48.96 4.6 7.2 68.4 10.6 27.67 69.36 2.97

ไมระบุ

13.8

3.3 มีการเปดอุปกรณอิเล็กทรอนิคส และเครือ่ งมือสื่อสาร ทุกชนิดกอนการ พิจารณาคดี เชน โทรศัพทมอื ถือ, แทปเลต, คอมพิวเตอร ฯลฯ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 49.7 33.3 16.9 ม.อุบลราชธานี 41.84 52.3 5.86 ม.เชียงใหม 30.3 52.2 2.8 14.7 ม.แมฟาหลวง 30.65 66.38 2.97 โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 87


สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

3.4 รับประทานอาหารและเครื่องดื่ม ใช ไมใช ไมทราบ 14.1 66.7 19.2 17.99 75.31 6.7 5.3 62.8 12.8 27.23 68.52 4.25

สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

3.5 เคี้ยวหมากฝรั่ง ใช ไมใช ไมทราบ 16.9 63.8 19.2 17.15 76.99 5.86 7.2 61.6 12.5 19.16 77.44 3.40

สถาบัน ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

3.6 สงเสียงดังในหองพิจารณาคดี ใช ไมใช ไมทราบ 48 35.6 16.4 41.84 53.13 5.03 11.9 57.2 12.2 32.35 63.40 4.25

88 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

ไมระบุ

19.1

ไมระบุ

18.8

ไมระบุ

18.8


3.7 นั่งไขวหาง และกอดอกขณะผูพพิ ากษาพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 41.8 41.8 15.4 ม.อุบลราชธานี 32.63 63.67 3.76 ม.เชียงใหม 14.1 64.4 8.4 13.1 ม.แมฟาหลวง 27.67 68.08 4.25 3.8 จดบันทึกหรือบันทึกภาพและเสียงขณะผูพิพากษาพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 26.6 54.8 18.6 ม.อุบลราชธานี 46.02 52.73 1.25 ม.เชียงใหม 7.5 67.5 9.7 15.3 ม.แมฟาหลวง 27.67 68.93 3.40 4. มีปายติดทีห่ นาหองพิจารณาคดี เปนที่หวงหามเฉพาะบุคคลที่ไดรับอนุญาต เทานั้น สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 39 50.3 10.7 ม.อุบลราชธานี 45.18 51.05 3.76 ม.เชียงใหม 47.8 43.1 1.9 7.2 ม.แมฟาหลวง 45.55 50.63 3.82

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 89


สวนที่ 3 หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม 3.1 บทบาทของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1.ศาลไดอธิบายฟอง และขอหาในวันที่ฟอ งคดี หรือ วันนัดพรอมใหจําเลยฟง สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 15.3 1.1 83.6 ม.อุบลราชธานี 49.79 5.43 44.78 ม.เชียงใหม 31.3 2.5 0.0 66.3 ม.แมฟาหลวง 29.79 2.55 67.66 2.ศาลไดถามวาจําเลยมีทนายความกอนการสอบถามคําใหการ (ในคดีที่มีโทษ ประหาร ชีวิต หรือจําเลยมีอายุไมเกิน 18 ป) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 5.1 6.8 88.1 ม.อุบลราชธานี 51.88 4.18 43.94 ม.เชียงใหม 7.2 15.3 4.4 73.1 ม.แมฟาหลวง 14.89 5.96 79.15

90 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3. ศาลไดบันทึกคําใหการตรงตามคําเบิกความพยานที่ใหการ (ฟงหรือสังเกต จากการที่ศาลพูดใสเครื่องบันทึกเสียง) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 32.8 2.8 64.4 ม.อุบลราชธานี 51.04 16.73 32.23 ม.เชียงใหม 38.4 3.1 0.3 0 ม.แมฟาหลวง 39.57 5.54 54.89 4. ศาลสั่งใหพยานสาบานตนหรือกลาวคําปฏิญาณ กอนการสืบพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 27.7 7.3 65 ม.อุบลราชธานี 28.03 33.47 38.50 ม.เชียงใหม 34.1 5.3 0.3 60.3 ม.แมฟาหลวง 27.66 12.34 60.00 5. ศาลเปดโอกาสใหพยานไดตรวจสอบคําใหการและมีการโตแยงกอน การลงนาม สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 0 0 0 0 ม.อุบลราชธานี 52.30 2.10 45.60 ม.เชียงใหม 30.9 2.8 0.6 65.6 ม.แมฟาหลวง 31.06 4.68 64.26

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 91


6. ศาลอานคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลโดยเปดเผยในวันที่เสร็จการพิจารณา หรือภายใน 3 วันนับแตวันเสร็จสิ้นการพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 20.9 13 66.1 ม.อุบลราชธานี 68.20 14.22 17.58 ม.เชียงใหม 10.6 3.1 2.2 84.1 ม.แมฟาหลวง 21.70 1.28 77.02 7. ศาลอานคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลภายใน 15 ดวยมีเหตุอันสมควรในการ เลือนการพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 11.3 13 75.7 ม.อุบลราชธานี 19.68 58.15 22.17 ม.เชียงใหม 2.2 7.2 3.8 86.9 ม.แมฟาหลวง 6.81 14.89 78.30 8. ศาลอานคําพิพากษา หองเดี่ยวกับหองที่มีการพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ม.ทักษิณ 16.9 19.2 63.8 ม.อุบลราชธานี 3.35 84.10 12.55 ม.เชียงใหม 6.3 9.4 0 ม.แมฟาหลวง 15.74 5.96 78.30

92 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

ไมระบุ

84.4


3.2 บาทหนาที่ของศาลและองคคณะ 1. ศาลนั่งครบองคคณะจนจบการพิจารณาคดีในวันนั้น (กรณีศาลแขวง 1 ทาน, ศาลสถาบันมี 2 ทาน , ศาลแรงงาน 3ทาน, ศาลเยาวชน 3 ทาน) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 23.7 67.2 9 ม.อุบลราชธานี 41.42 56.06 2.52 ม.เชียงใหม 58.1 41.3 0 0.6 ม.แมฟาหลวง 39.15 60.42 0.43 2 การนั่งพิจารณาคดีของศาลตรงเวลา (09.00 น. และ 13.30 น.) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 20.9 68.9 10.2 ม.อุบลราชธานี 59.42 37.23 3.35 ม.เชียงใหม 11.3 85.9 0.9 1.9 ม.แมฟาหลวง 40.85 59.15 0.00

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 93


3. สมาธิของศาลตอการพิจารณาคดี 3.1 องคคณะผูไมใชสํานวนชวยกันซักถามเพิ่มเติมในขณะที่มีการสืบพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 5.6 57.1 37.3 ม.อุบลราชธานี 9.63 62.76 27.61 ม.เชียงใหม 20 67.5 0.6 11.9 ม.แมฟาหลวง 10.64 84.68 4.68 3.2 องคคณะผูไ มใชเจาของสํานวนใหความสนใจคดีอื่น หรือ หยิบเอกสารของคดีอื่นขึ้นมาอาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 2.8 61 36.2 ม.อุบลราชธานี 3.35 80.75 15.9 ม.เชียงใหม 28.8 60 0.6 10.6 ม.แมฟาหลวง 23.40 73.62 2.98

3.3 องคคณะทีไ่ มใชเจาของสํานวนไมมีสมาธิระหวางการพิจารณาคดี ชน นั่งหลับ ,เหมอลอย เปนตน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 1.1 62.7 36.2 ม.อุบลราชธานี 1.67 80.75 17.58 10 77.8 0.9 11.3 ม.เชียงใหม่ 2.98 95.32 1.70 ม.แม่ ฟ้าหลวง 94 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3.4 องคคณะทํากิจกรรมอื่นๆขณะพิจารณาคดี เชน ใชโทรศัพทมือถือขณะมีการพิจารณาคดี เปนตน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 0 0 0 0 ม.อุบลราชธานี 4.19 75.31 20.50 ม.เชียงใหม 4.4 84.1 0.9 10.6 ม.แมฟาหลวง 5.11 93.19 1.70 4. ศาลไดใชคําพูดชักจูงโดยหวังผลเพื่อใหจําเลยรับสารภาพ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ม.ทักษิณ 6.8 67.8 25.4 ม.อุบลราชธานี 5.03 88.70 6.27 ม.เชียงใหม 2.2 89.7 0 ม.แมฟาหลวง 1.28 94.89 3.83

ไมระบุ

8.1

5. ศาลไดอธิบายถึงผลของคําพิพากษา หากจําเลยรับสารภาพ ตัวอยางเชน หากจําเลย รับสารภาพจะไดลดโทษ, หากรับสารภาพ จะใหรอลงอาญา สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 9 58.8 32.2 ม.อุบลราชธานี 28.47 63.59 7.94 ม.เชียงใหม 4.7 85.3 0 10 ม.แมฟาหลวง 15.74 80.00 4.26

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 95


6. ศาลเปดโอกาสใหฝายจําเลยไดอธิบายเหตุผล และนําสืบพยานประกอบคดี เทาเทียมโจทก สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 46.3 22 31.6 ม.อุบลราชธานี 63.17 33.48 3.35 ม.เชียงใหม 73.4 10.3 2.5 13.8 ม.แมฟาหลวง 62.98 31.91 5.11 7. ศาลพยามกระชับ หรือเรงรัดการพิจารณาคดี โดยการรวบรัดตัดประเด็นที่ เปนประโยชนตอจําเลย. สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 13.6 62.1 24.3 ม.อุบลราชธานี 6.27 71.98 21.75 ม.เชียงใหม 11.3 80.3 0.3 8.1 ม.แมฟาหลวง 31.07 65.53 3.40 8. ศาลแสงดงออกถึงการสัง่ สอนจําเลย โดยกลาวถึงบาป บุญ คุณ โทษ สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 18.1 58.8 23.2 ม.อุบลราชธานี 44.35 49.7 5.95 ม.เชียงใหม 16.9 74.7 0 8.4 ม.แมฟาหลวง 22.55 75.32 2.13

96 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


9. ผูพิพากษาทําหนาทีซ่ ้ําซอนในเวลาเดี่ยวกัน ในหองพิจารณาคดีเดียวกัน เชนอานคําพิพากษาคดีหนึ่ง ในขณะทีผ่ ูพิพากษาทานอืน่ กําลังพิจารณาคดี อีกคดีหนึ่ง สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 7.9 67.8 24.3 ม.อุบลราชธานี 2.11 45.18 52.71 ม.เชียงใหม 19.4 71.9 0 8.8 ม.แมฟาหลวง 21.71 74.89 3.40 10. ศาลไดแสดงอาการขมขู หรืออากัปกิริยารุนแรงในหองพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 1.7 77.4 20.9 ม.อุบลราชธานี 0.41 94.14 5.45 ม.เชียงใหม 1.9 92.2 0 5.9 ม.แมฟาหลวง 0.85 97.45 1.70

3.3 บุคคลที่มีขอจํากัดในการสื่อสาร 1. กรณีที่“จําเลย”ไมสามารถฟงและพูดภาษาไทยได ศาลไดจัดลามให สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 3.4 6.8 89.8 ม.อุบลราชธานี 1.67 0.83 97.5 ม.เชียงใหม 0.6 2.2 0.0 97.2 ม.แมฟาหลวง 1.70 0.85 97.45 โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 97


2. ศาลไดเรียกใชบุคคลอื่นที่ไมไดขึ้นทะเบียนลามไวกับศาลมาทําหนาที่เปน ลามแทน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี 2.92 0.83 96.25 ม.เชียงใหม 0.3 0.6 0.3 97.2 ม.แมฟาหลวง 5.53 0.00 94.47 3. ลามไดสาบานตนตอหนาศาล สถาบัน ใช ม.ทักษิณ 1.1 ม.อุบลราชธานี 3.34 ม.เชียงใหม 1.3 ม.แมฟาหลวง 2.13

ไมใช 7.9 0.41 1.3 1.28

ไมทราบ 91 96.25 0 96.59

98 ๏ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

ไมระบุ

97.5


4. กรณีที่ “จําเลย”ไมสามารถอาน และเขาใจ เอกสารที่ใชระหวางการ ดําเนินคดีศาลไดสั่งใหจัดทําการแปลเอกสารหรือ มีลามอธิบาย ความหมายเหลานั้น สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 1.7 6.8 91.5 ม.อุบลราชธานี 2.10 0.41 97.49 ม.เชียงใหม 2.2 0.6 0 97.2 ม.แมฟาหลวง 1.70 1.28 97.02 5. กรณีที่ “พยาน”ไมสามารถอาน และเขาใจ เอกสารที่ใชระหวางการ ดําเนินคดีศาลไดสั่งใหจัดทําการแปลเอกสารหรือ มีลามอธิบายความหมาย เหลานั้น สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 2.3 5.6 92.1 ม.อุบลราชธานี 2.10 0.83 97.07 ม.เชียงใหม 0.6 0.6 0 98.8 ม.แมฟาหลวง 2.13 1.28 96.59

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 99


6. กรณีที่คูความหูหนวกและหรือเปนใบ ศาลไดจัดลามภาษามือให (ตอบ เฉพาะกรณีคูความ หรือพยานหูหนวกและหรือเปนใบเทานั้น) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 1.7 3.4 94.9 ม.อุบลราชธานี 3.34 0.41 96.25 ม.เชียงใหม 0 0.6 0 99.4 ม.แมฟาหลวง 0.85 1.70 97.45

3.4 บทบาทของอัยการ หรือ ทนายฝายโจทก 1. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกมาหองพิจารณาคดีไมตรงเวลา สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 33.3 45.2 21.5 ม.อุบลราชธานี 40.58 30.96 28.46 ม.เชียงใหม 33.1 55.9 1.9 9.1 ม.แมฟาหลวง 27.66 65.53 6.81 2. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกใชคําถามนํา (คําถามที่ตอ งการคําตอบวา ใชหรือไม) ระหวางการสืบพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 25.4 34.5 40.1 ม.อุบลราชธานี 12.57 68.61 18.82 ม.เชียงใหม 19.1 53.1 7.5 20.3 ม.แมฟาหลวง 32.34 57.45 10.21 100 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3. เพื่อรักษาผลประโยชนใหโจทก อัยการมีการทําผิดกระบวนการพิจารณาคดี ระหวางการสืบพยานเชน มีการทักทวงการปฏิบัติหนาที่ของอีกฝาย สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 5.1 56.5 38.4 ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม 14.1 55.6 7.5 22.8 ม.แมฟาหลวง 6.81 82.13 11.06 4. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกแสดงทาทางขมขู หรือเหยียดศักดิ์ศรีความ เปนมนุษยตอพยานฝายตรงขามและใชคําพูดกดดันพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 2.3 61.6 36.2 ม.อุบลราชธานี 8.38 66.10 25.52 ม.เชียงใหม 3.1 73.4 5.9 20.6 ม.แมฟาหลวง 1.70 86.38 11.92 5. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกตั้งใจฟงและจดบันทึกระหวางการถามของ ทนายฝายจําเลย ขณะทําการสืบพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 46.9 15.3 37.9 ม.อุบลราชธานี 43.51 35.56 20.93 ม.เชียงใหม 51.9 21.6 5.9 20.6 ม.แมฟาหลวง 62.98 26.38 10.64 โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 101


6. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกทํากิจกรรมอื่นๆระหวางการพิจารณาคดี เชน ใชอุปกรณสื่อสารหรืออิเล็คทรอนิคส, โทรศัพทมือถือ, เดินออกนอก หองฯลฯ ขณะมีการพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 30.5 40.7 28.8 ม.อุบลราชธานี 9.64 66.52 23.84 ม.เชียงใหม 29.4 56.9 0.6 13.1 ม.แมฟาหลวง 22.98 70.21 6.81 7. พนักงานอัยการหรือทนายโจทกมีการสลับสับเปลี่ยนไปปฏิบัติหนาที่ในหอง พิจารณาคดีอื่น สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 7.3 64.4 28.2 ม.อุบลราชธานี 8.38 75.60 16.02 ม.เชียงใหม 16.6 71.6 1.3 10.6 ม.แมฟาหลวง 23.40 69.79 6.81

102 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


3.5 บทบาทของทนายฝายจําเลย 1. ทนายจําเลยมาหองพิจารณาคดีไมตรงเวลา สถาบัน ใช ไมใช ม.ทักษิณ 27.1 53.1 ม.อุบลราชธานี 17.57 62.34 ม.เชียงใหม 19.7 61.3 ม.แมฟาหลวง 18.72 71.49

ไมทราบ 19.8 20.09 2.5 9.79

ไมระบุ

16.6

2. ระหวางการสืบพยานทนายถามคําถามทั้งซักถาม ถามคาน (การถาม เพือ่ ใหไดคําตอบที่ตนตองการ) และถามติง (การถามที่ใหเขาประเด็นของ ฝายตัวเองมากที่สุด) สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 33.9 26 40.1 ม.อุบลราชธานี 24.68 30.56 44.76 ม.เชียงใหม 40.9 24.4 5.6 29.1 ม.แมฟาหลวง 40.85 49.36 9.79

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 103


3. เพื่อรักษาผลประโยชนใหจําเลย ทนายมีการทําผิดกระบวนการพิจารณาคดี ระหวางการสืบพยานเชน มีการทักทวงการปฏิบัติหนาที่ของอีกฝาย สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 4 58.2 37.9 ม.อุบลราชธานี 10.47 49.79 39.74 ม.เชียงใหม 19.1 48.4 5.9 26.6 ม.แมฟาหลวง 13.62 73.62 12.76 4. ทนายจําเลยแสดงทาทางขมขู หรือเหยียดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตอพยาน ฝายตรงขามและใชคําพูดกดดันพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 1.7 61.6 36.7 ม.อุบลราชธานี 4.2 60.66 35.14 ม.เชียงใหม 0.9 70.3 5.3 23.4 ม.แมฟาหลวง 1.28 83.83 14.89 5. ทนายจําเลยตั้งใจฟงและจดบันทึกระหวางการถามของทนายฝายจําเลย ขณะทําการสืบพยาน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 53.1 10.7 36.2 ม.อุบลราชธานี 43.51 23.84 32.65 ม.เชียงใหม 50.3 18.4 5 26.3 ม.แมฟาหลวง 58.30 30.64 11.06 104 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


6. ทนายจําเลยทํากิจกรรมอื่นๆระหวางการพิจารณาคดี เชน ใชอุปกรณ สื่อสาร หรืออิเล็คทรอนิคส, โทรศัพทมือถือ, เดินออกนอกหอง ฯลฯ ขณะมี การพิจารณาคดี สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 20.9 50.3 28.8 ม.อุบลราชธานี 25.10 46.02 28.88 ม.เชียงใหม 15.6 65 0.6 18.8 ม.แมฟาหลวง 11.49 78.30 10.21 7. ทนายจําเลยมีการสลับสับเปลี่ยนไปปฏิบัติหนาที่ในหองพิจารณาคดีอื่น สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 4 67.2 28.8 ม.อุบลราชธานี 0.83 77.82 21.35 ม.เชียงใหม 9.4 70.9 2.2 17.5 ม.แมฟาหลวง 25.11 65.10 9.79

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 105


สวนที่ 4 การกระทําอื่นๆในศาล ที่ถือเปนการไมปกปองสิทธิ หรือ ละเมิด ของผูตองหาและจําเลย 1. มีการใสโซตรวนกับผูตองหาหรือจําเลย สถาบัน ใช ไมใช ม.ทักษิณ 49.2 35 ม.อุบลราชธานี 32.65 44.76 ม.เชียงใหม 25.3 64.7 ม.แมฟาหลวง 28.09 64.68

ไมทราบ 15.8 22.59 0.6 7.23

ไมระบุ

2. ผูตองหาหรือจําเลยถูกใสกญ ุ แจมือ สถาบัน ใช ไมใช ม.ทักษิณ 53.7 29.4 ม.อุบลราชธานี 30.12 55.64 ม.เชียงใหม 14.1 73.4 ม.แมฟาหลวง 25.96 68.08

ไมทราบ 16.9 14.24 0.6 5.96

ไมระบุ

9.4

11.9

3. ผูตองหาหรือจําเลยไดรับการปลอยตัวชั่วคราวโดยไมมีการวางหลักประกัน สถาบัน ใช ไมใช ไมทราบ ไมระบุ ม.ทักษิณ 11.3 50.3 38.4 ม.อุบลราชธานี 20.08 42.67 37.25 ม.เชียงใหม 5 61.9 2.2 30.9 ม.แมฟาหลวง 9.79 82.98 7.23 106 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ไมระบุ

0 2.92 0 0.43

อื่นๆ

5.6 2.1 0.6 1.70

กลัวไปยุง เกี่ยวกับคดี

ม.ทักษิณ ม.อุบลราชธานี ม.เชียงใหม ม.แมฟาหลวง

กลัวการ หลบหนี

สถาบัน

ขาดทุน ทรัพย ขาดนาย ประกัน

4. กรณีที่ผูตองหาไดดําเนินการขอประกันตัว แตศาลไมอนุญาตใหผูตองหา ประกันตัว โปรดระบุเหตุผลของศาลที่ไมอนุญาต ดังตอไปนี้

8.5 1.25 4.1 2.13

0 3.34 0.3 2.99

1.1 0 2.5 23.83

84.7 87.8

สถาบัน

ไมมีทุนทรัพย

ทรัพยไมพอ

จําเลยไมมีที่อยู เปนหลักแหลง

กลัวไปยุง เหยิงกับ พยานหลักฐาน

อื่นๆ

ไมระบุ

5.กรณีที่จําเลยไมไดรับอนุญาตปลอยตัวชั่วคราว

ม.ทักษิณ

10.2

1.1

1.1

2.3

3.4

81.9

ม.อุบลราชธานี

2.1

1.68

1.25

3.34

0

ม.เชียงใหม

2.2

0

3.4

1.3

4.1

89.1

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 107


ประสบการณจากการเขารวมโครงการการเรียนรูและสังเกตการณ กระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)

108 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


การเขารวมโครงการการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลใน มุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch ) นั้น เห็นวาโดยโครงการดังกลาว นับวาเปน โครงการที่ดีและมีประโยชน ทั้งตอตนเองและตอสังคม ซึ่งเปนโครงการที่เปดโอกาส ใหกับนักศึกษาที่เรียนกฎหมายไดเขามามีสวนในกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง โดย ศึกษาจากการสังเกตการณในชั้นศาล และมีมุมองในดานสิทธิมนุษยชน จึงนับวาเปน โครงการที่สรางสรรคและเกิดประโยชนอยางมาก จากการเขารวมโครงการซึ่ง เปนการเรียนรูจากประสบการณโดยตรงของ ตนเอง ซึ่งขาพเจามีโอกาสเขารวมโครงการดังกลาวตั้งแตเรียนอยูคณะนิติศาสตรในชั้น ปที่ 2 และปที่3 ทําใหเกิดการเรียนรูและเกิดความเขาใจในกระบวนการยุติธรรมและ กระบวนการทางศาลมากขึ้น ซึ่งขาพเจามองวาเปนเรื่องที่ดีเพราะนอกจากขาพเจาจะ ไดเรียนรูดวยตนเองแลว ยังถือว าเปนการเรียนรูนอกหองเรียนที่ขาพเจาสามารถนําไป ตอยอดใหแกตนเองได ทั้งความรูและประสบการณนอกเหนือจากการเรียนในหองเรียน เพียงอยางเดียว อีกทั้งยังชวยใหขาพเจาเกิดความเขาใจในความเปนจริงที่เกิดขึ้นใน สังคม ในมุมมองดานตางๆ เชน มุมมองดานสิทธิมนุษยชนในการที่ทุกคนจะสามารถ เขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดอยางเทาเทียมกัน และมุมมองทางดานกฎหมาย ที่ไม เพียงแตจะศึกษาตามตัวบทกฎหมาย แตหากจะตองควรคํานึงถึงความเปนมนุษยของ ทุกคนในสังคมดวย จึงจะนับวาเปนการเรียนรูอยางแทจริง และเกิดความเขาใจ โครงการดังกลาวจึงทําใหไดมีโอกาสเรียนรูเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมใน ชั้ น ศาล ตามความเป น จริ ง จากการสั ง เกตการณ ได เ ห็ น กระบวนการทํ า งาน เห็ น กระบวนการพิจารณาคดี ซึ่งการพิจารณาคดีในชั้นศาลนั้นตองเปนไปโดยเปดเผย ตาม หลักการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม. เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม

นางสาวชนะจิต รอนใหม นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 109


ปจจุบัน “สิทธิมนุษยชน” เปนเรื่องที่คนสวนใหญใหความสําคัญเปนอยาง มาก ทั้งระดับสากลและระดับประเทศ โครงการนี้จึงเปนโครงการหนึ่งที่มีความนาสนใจ มาก โดยเฉพาะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิม นุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางศาล ซึ่ง เปนโครงการที่มีประโยชนทั้งตอผูรวมโครงการและผูที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม ทางศาล จะเห็นไดจากการศึกษาถึงหลักสิทธิมนุษยชนเบื้องตนวามีความเปนมาอยางไร มีค วามสํา คั ญอยา งไร กระบวนยุติธรรมมีขั้นตอนกระบวนการอยา งไรบ า ง รวมถึง ปญหาเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรมที่เกิดขึ้นในสังคมไทย จึงทําให ตระหนักถึงปญหาดังกลาว ที่จะหาแนวทางรวมกันแกไขปญหานี้ตอไป โครงการนี้นับวาเปนการเปดโอกาสใหผูรวมโครงการไดเขาถึงกระบวนการ ยุติธรรมทางศาล เพื่อเขาไปสังเกตการณ คนหาจุดบกพรองในกระบวนการยุติธรรมของ ศาล วายังมีการกระทําหรือพฤติการณที่ถือวาเปนการละเมิดสิทธิหรือไม เมื่อผูรวมโครงการจากพื้นที่ตางๆ รวบรวมขอมูลไดแลว ก็จะนํามาซึ่งการคิด วิเคราะหแลกเปลี่ยนและรับฟงความคิดเห็นรวมกัน ทําใหผูเขารวมโครงการมีความรู และประสบการณที่แปลกใหมเพิ่มขึ้น นํามาซึ่งวิธีการและการหาทางออกรวมกัน โดย ยึดหลักสิทธิมนุษยชน ที่เกิดจากความรวมมือของทุกฝาย ดังนั้น โครงการนี้ไมเพียงแตใหความรูในเรื่องสิทธิมนุษยชนในดานตางๆ แลว ยังกอใหเกิดการตกผลึกทางความคิดมากมายเกี่ยวกับกระบวนการศาลยุติธรรมใน มุมมองสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้เพื่อใหกระบวนการยุติธรรมมีประสิทธิภาพ และผดุงความ ยุติธรรมใหยั่งยืนสืบไป

นางสาวศลิษา เพชรแกวสุข นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

110 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จากการที่ขาพเจาไดเขารวมกิจกรรมโครงการ court watch หรือโครงการ เรียนรูและสังเกตการณทางชั้นศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน นั้นถือไดวาเปนโอกาสอันดี ครั้งหนึ่งในชีวิตนักศึกษา ที่ไดมีโอกาสเปดมุมมองใหมในเรื่องของสิทธิมนุษยชน โดยมี การเขาถึงประสบการณโดยตรงไมเพียงการศึกษาคนควาในตําราหรือจากทานผูรูเพียง เทานั้น แตเปนประสบการณจริง ที่ผูสังเกตการณไดประสบมาโดยตรง ซึ่งจากประสบการณโดยตรงในครั้งนี้ อันมาจากการที่ขาพเจาไดเขารวมฟง การพิจารณาคดีของศาล สงผลใหขาพเจา มีทักษะในการสังเกตการณตางๆมากขึ้น และเมื่อขาพเจาไดเขารวมการสัมมนากับเพื่อนๆทั้ง 4 สถาบันการณศึกษา ก็เปนโอกาส อันดีอีกครั้งที่ชวยเปดมุมมองในเรื่องของความแตกตางทางวัฒนธรรมและในเรื่องของ มนุษยสัมพันธ ทําใหขาพเจามีเพื่อนใหม เพิ่มขึ้น และทั้งนี้ขาพเจาไดรับความรูใหมๆ เพิ่ ม มากขึ้ น ข า พเจ า จะจดจํ า ประสบการณ ต า งๆเหล า นี้ ทั้ ง ในด า นความรู แ ล ะ ประสบการณมาปรับใชในการศึกษาของขาพเจาตอไป ในโอกาสนี้ขาพเจาขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของในโครงการนี้ทุกทานที่มอบ โอกาสดีดีใหกับขาพเจาและเพื่อนผูสังเกตการณของขาพเจาทุกคน ไดมีโอกาสศึกษา จากประสบการณจริง อันเปนประสบการณที่หาไมไดจากตํารา หรือการฟงตอกันมา และที่สําคัญขาพเจาอยากใหโครงการที่ดีแบบนี้มีตอไป เพื่อใหนักศึกษากฎหมายรุน ต อ ไปได มี โ อกาสค น คว า จากประสบการณ จ ริ ง เช น เดี ย วกั บ ที่ ข า พเจ า และเพื่ อ นผู สังเกตการณไดไปศึกษามา อันจะเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะชวยสงเสริมสังคมไทยใหมี บุคลากรทางดานกฎหมายที่มีคุณภาพตอไปในอนาคต

นางสาวสุกัญญา ปญญามาก นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 111


จากการที่ขาพเจาไดเขารวมกิจกรรมในโครงการ court watch นับเปนอีก หนึ่งประสบการณใหมๆในชีวิตของขาพเจา ในชีวิตของนักศึกษาคนหนึ่งซึ่งตระหนักถึง มุมมองแหงสิทธิมนุษยชนอยูมิใชนอย แตจากการเขารวมเปนสวนหนึ่งของโครงการนี้ ทําใหขาพเจามองคําวาสิทธิมนุษยชนเปลี่ยนไป โดยทั่วไปของนักศึกษาแลวจะมองสิทธิ มนุษยชนผานสายตา คําพูดของอาจารยผูสอน ตระหนักเพียงบริบทของตัวกฎหมายใน หองเรียนเทานั้นซึ่งเปนมิติแ นวระนาบมองเปนเสนตรงเห็นเพียงเหตุและผลโดยมิได เจาะลึกถึงบริบททางสังคม วัฒนธรรม และความเปนจริง ที่แตกตางหลากหลาย อัน นําไปสูความไมเทาเทียมอยางมาก ดวยเหตุนี้การเขารวมโครงการจึงทําใหขาพเจาไดมีโอกาสเขาไปศึกษาความ เปนจริงทางสังคมผานกระบวนการพิจารณาคดีในศาล เปนผลใหขาพเจาและผูเขารวม โครงการทุกคนไดเล็งเห็นถึงกระบวนการในทางปฏิบัติจริงที่มิไดบัญญัติไวในตําราเลม ใดๆ มีภาพและเสียงแหงความเปนกระบวนการยุติธรรม จึงทําใหขา พเจามองสิทธิ มนุษยชนหลากหลายมิติมากขึ้น โดยเฉพาะดานกระบวนการยุติธรรม ในชวงเขารวมโครงการมีกิจกรรมมากมายที่เสริมทักษะตางๆของขาพเจา ให มีโอกาสทําอะไรหลายๆอยางมากมายที่ไมเคยไดทํา นับเปนการเปดโลกทัศนของชีวิต นักศึกษาคนหนึ่ง ใหพบกับสิ่งใหมๆ เรื่องราวใหมๆ ความรูใหมๆ และขาพเจาจะจดจํา ประสบการณรวมทั้งแนวคิดที่ไดรับเหลานี้มาปรับใชในชีวิตประจําวันตอไป สุดทายนี้ก็ขอขอบคุณทุกทานที่ทําใหขาพเจาไดมีโอกาสเปนสวนหนึ่งของ โครงการดีๆนี้ และขอใหโครงการดีๆเชนนี้ดําเนินกิจกรรมตอไปอีกเพื่อใหนักศึกษารุน นองมีโอกาสดีๆอยางขาพเจา ทั้งยังทําใหสังคมตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนมากขึ้นกว าที่ เปนอยูปจจุบัน เพื่อใหนําไปสูการแกไข ปรับปรุง พัฒนา เพื่อใหการเหลื่อมล้ําทางสิทธิ จางหายไปจากประเทศไทยของเรา

นางสาวกมลชนก กอนสมบัติ นักศึกษาคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 112 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ความรูสึกของกระผมที่ไดเขารวมสัง เกตการณคดีใน โครงการเรียนรูและ สังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิม นุษยชน นับวาเปนโครงการที่ดีเปน ประโยชนอยางมากที่ทําใหกระผมไดเรียนรูและเขาใจในกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล มากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการที่ไดศึกษาเหลาเรียนมาในหองเรียน กลาวคือทําใหกระผม ไดรูถึงสภาพปญหาความจริงในกระบวนการยุติธรรมของศาลไทยวามีความยุติ ธรรม มากนอยเพียงใด และจากการเขาสังเกตการณคดีในศาลครั้งนี้นับวาไดขอมูลสําคัญที่จะ สะทอนใหเห็นถึงกระบวนการยุติธรรมของศาลไทยวา มีความยุติธรรมหรือไม และ ขอมูลเหลานี้ที่ไดจากการเขาสังเกตการณคดีในศาล สามารถนําเสนอเปนแนวทางใน การแก ไ ขป ญ หากระบวนการยุ ติ ธ รรมในชั้ น ศาลให กั บ องค ก รที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ น กระบวนการยุติธรรม ใหมีความเปนธรรมตอผูที่อยูในกระบวนการยุติธรรม และสุดทาย นี้กระผมอยากใหโครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิ มนุษยชน จัดขึ้นอีกในปตอๆไปเพื่อเปนเสียงสะทอนในกระบวนการยุติธ รรมของศาล ไทยใหมีความเปนธรรมและเปนที่ยอมรับของผูที่เปนคูความในกระบวนการยุติธรรม การเขารวมโครงการในครั้งนี้ของกระผมนับเปนประสบการณที่ดีที่สุดในชีวิตก็วาได ที่ ทําใหกระผมเล็งเห็นถึงความสําคัญในกระบวนการยุติธรรมในศาล

นายมุฆลิศ อารง คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 113


จากการที่ ไ ด มี โ อกาสได เ ข า ร ว มในโครงการการเรี ย นรู แ ละสั ง เกตการณ กระบวนการศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ถือวาเปนโอกาสที่ดีเยี่ยมที่ ทําใหขาพเจาไดรับประสบการณอยางมากมายหลายๆดาน ไมใชเพียงแคดานกฎหมาย อยางเดียวแตรวมทั้งในดานการทํางานและสังคมอีกดวย พูดถึงความรูสึกและประสบการณตั้งแตแรกเริ่มที่เขามาทําโครงการนี้ ตอน แรกคิดวาก็เปนแคการที่จะไดไปสัมผัสกับการพิจารณาคดีในชั้นศาลตามปกติธรรมดา ที่อาจจะเคยไดเขาไปนั่งฟงการพิจารณาอยูแลว แตหลังจากที่ไดเขามาทําโครงการตรง นี้อยางจริงจังก็ทําใหรูสึกวาไดเห็นอะไรใหมๆ เปดมุมมองใหมๆเพราะในครั้งนี้เราไม ได เขาไปแคนั่งฟงการพิจาณาเพียงอยางเดียวแตเราเขาไปเพื่อที่จะศึกษา วิเคราะหใน มุมมองของสิทธิมนุษยชน เพื่อมองถึงปญหาและรวมกันหาแนวทางแกไขปญหาที่เรา พบเจอเหลานั้น เพื่อที่จะไดเกิดกระบวนการพัฒนาขึ้นมาภายในวงการกฎหมายของเรา ถึ ง แม จ ะไม รู ว า โครงการที่ เ ราได เ ข า มาร ว มทํ า ในครั้ ง นี้ จะทํ า ให เ กิ ด การแก ไ ข เปลี่ยนแปลง หรือพัฒนามากนอยเพียงใด เพราะพวกเรายังเปนแคจุดเล็กๆในวงการ กฎหมาย แต ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น เราก็ ยั ง เชื่ อ ว า สิ่ ง เหล า นี้ จ ะสามารถทํ า ให เ กิ ด กระแส วิพากษวิจารณถึงปญหาเหลานี้ได เพื่อจะนําไปสูการแกไขปญหาเหลานั้นตอไป และหลังจากที่ไดทําโครงการนี้แลว ก็มาถึงเวลาที่ตองนํามานําเสนอใหแก หนวยงานตางๆที่มีสวนเกี่ยวของเพื่อที่จะนําเสนอใหเห็นถึงประเด็นตางๆที่เราไดมาจาก การทําโครงการนี้ โดยไดไปนําเสนองานพรอมกับนักศึกษาอีกสามมหาวิทยาลัยคือ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งการที่ ไดนําเสนองานที่กรุงเทพมหานครในครั้งนี้ทํา ใหประสบการณ ที่ดีมากๆหลายอยา ง อยางหนึ่งก็คือไดรูจักกับนักศึกษากฎหมายจากมหาวิทยาลัยอื่นๆที่มีอุดมการณรวมกัน ดังนั้นจึงทําใหไดมิตรภาพใหมๆที่ดีเยี่ยมจากนักศึกษาทุกคน และจากการานําเสนองาน ที่เห็นนั้น ทุกมหาวิทยาลัยตั้งใจที่จะนําเสนอถึงมุมมองของตนเองเกี่ยวกับโครงการนี้ให หนวยงานตางๆไดรับรู ซึ่งขาพเจาไดเห็นมุมมองใหมๆจากการนําเสนองานในครั้งนี้ที่คิด วาเปนประโยชนอยางมากกับการศึกษากฎหมาย และการทํางานในวงการกฎหมายใน อนาคต กลาวคือ ขาพเจาไดเห็นมุมมองของนักศึกษาในแตละทองที่ ซึ่งในแตละทองที่ก็ 114 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


มีป ญ หาในรู ป แบบที่ แตกต า งกั น ถึ ง แม ว า ข า พเจ า จะรู ปญ หาเหล า นั้ น แตก็ ยั ง ไม ไ ด มองเห็นปญหาเหลานั้นไดใกลชิดเทากับคนในพื้นที่ที่เกิดปญหาเหลานั้น เชน ปญหาใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งอยูใกลกับพื้นที่ เหลานั้นจะเห็นถึงปญหาไดที่จริงมากกวา ซึ่งสิ่งเหลานี้ทําใหไดขอคิดก็คือ การที่เราจะ เห็นถึงปญหาเหลานั้นไดอยางแทจริง เราตองเขาไปเห็นและสัมผัสกับมันเองเพื่อที่จะ สามารถเห็นปญหา เพื่อจะนําไปสูการแกไขปญหาเหลานั้นไดอยางถูกตองและตรงจุด ตอไป

นายณัฐวัฒน กอปกิจวรการ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 115


ความรูสึกของกระผมที่มีตอโครงการนี้ คือ จากการที่ไดเขารวมโครงการครั้ง นี้อยางหนึ่งที่กระผมคิดนั้นก็ คือ เมื่อเขาไปแลวจะตองเก็บรายละเอียดใหไดมากที่สุด เพื่อเราจะไดนําเอาองคความรูตรงนั้นมาปรับใชหรือบังคับใชตอไป ซึ่งสิ่งที่ ไดรับมาก ที่สุด คือ วิธีการนําปญหาตางๆที่เราไมเคยรูมากอนมาศึกษาดูวาความจริงเปนเชนไร มี การบังคับใชถูกตองจริงหรือไม และมีการใหความชวยเหลืออยางไรบาง ซึ่งกระผมเอง รูสึกดีมากๆที่ไดเขาเปนสวนหนึ่งในโครงการนี้เพราะชวงเวลาที่เขารวมโครงการนี้ เป น ชวงเดียวกันกับเวลาที่กระผมลงฝกงานกับมูลนิธิศูนยทนายความมุสลิมในสามจังหวัด ชายแดนใตอยูดวย เลยทําใหกระผมไดรับรูถึงปญหาของบุคคลหรือชาวบานที่ไดรับ ความเดือดรอน ดานกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล เชนการเลือกปฏิบัติตอบุคคลหรือ ชาวบานที่จะเขามาในบริเวณศาลและไมมีลามแปลภาษาในชั้นสืบพยาน เปนตน ซึ่ง ตรงนี้เองกระผมเองก็เล็งเห็นวาอาจสงผลเสียตอบุคคลหรือชาวบานที่ไดรับความเปน ธรรมในกระบวนการยุติธรรม และไดรูวิธีการหรือกระบวนการตางๆจากผูหลักผูใหญ หรือวิทยากรที่มีชื่อเสียง ถึงปญหาและแนวทางแกปญหา จากขอสรุปที่มหาลัยที่ขารวม โครงการไดทําการสังเกตการณและไดสรุปออกมาวามีปญหาอะไรบางนั้นดวย ไดรูจัก เพื่อนตางสถาบันตางสถานที่ตางความคิดตางอุดมการณ และไดรูจักวิธีการอยูรวมกัน ในสังคมที่ใหญ ที่สําคัญไดแลกเปลี่ยนองคความรูที่ไดจากการเขารวมโครงการครั้งนี้ นอกจากในหองเรียนแลวเปนออกนอกหองเรียนเปนตน และไดรูจักกับองคกรที่คอยให ความชวยเหลือประชาชน อยางองคกรสิทธิมนุษยชน ขอความสันติจงมีแดทุกทาน

นายอิสมาแอล บูแม คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ 116 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ขาพเจารูสึกดีใจที่ไดมีสวนรวมในการเปนสวนหนึ่งที่ไดรวมโครงการเรียนรู และสังเกตการณทางชั้นศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชนภายใตความรวมมือระหวาง 4 สถาบั น การศึ ก ษาด า นกฎหมายและสถาบั น สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง เอเชี ย ซึ่ ง เป น ประสบการณชีวิตของขาพเจาอยางหนึ่งที่ครั้งหนึ่งไดมีโอกาสสังเกตการณกระบวนการ ยุติธรรมในชั้นศาลและไดรับรูถึงปญหาตางๆเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมในศาลซึ่งแต ละมหาลัยที่เขารวมโครงการมีปญหาแตกตางกันและแตละภาคพื้นที่ตางประสบปญหา ที่แตกตางกันเชนพื้นที่ในสามจังหวัดชายแดนใตหรือที่อยูในการสังเกตการของมหาลัย ทักษิณจะพบปญหาในเรื่องลา มทางดานแปลภาษา สวนพื้นที่ภาคเหนือซึ่งอยูในเขตสั่ง เกตการณของมหาวิทยาลัยเชียงใหมก็พบปญหาของชาติพันธุเปนตน และที่สําคัญเปน การแลกเปลี่ ย นป ญ หาหรื อ แชร ป ญ หาของแต ละภาคพื้ น ที่ วา ควรจะมี วิธี ก ารแก ไ ข อยางไรหรือมีการแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะไหกระบวนการยุติ ธรรมในชั้นศาล นั้นควรไดรับความเปนธรรมอยางจริงๆจังๆและที่สําคัญรูสึกเปนเกรียติที่จะไดเปนสวน หนึ่งในการที่แกไขขอบกพรองหรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการในชั้นศาลไหมีความเปน ธรรมไหสมกับเปนสถานที่ที่ประชาชนควรจะไดรับความเปนธรรมมากที่สุดไหสมกับ เปนสถานที่ที่ประชาชนจะไววางใจไดและเพื่อพัฒนากระบวนการยุติธรรมไหกาวหนา เพื่อทัดเทียบกับตางประเทศและที่สําคัญไดรูจักเพื่อนตางสถาบันไดมิตรภาพที่ดีและได ความรูใหมๆนอกเหนือจากตําราเรียนและทําไหมองเห็นภาพไดอยางชัดเจนและอีก ความประทับใจอยา งหนึ่งในชีวิตคือไดพบกับ ผูทรงคุณวุฒิทางดานกฎหมายซึ่งเปน โอกาสยากมากที่จ ะไดพบบุ ค คลเหล า นี้และไดรับฟง การบรรยายจากผู ทรงคุ ณ วุ ฒิ ทั้งหลายในทางดานกฎหมายหรือเรียกอีกอยางหนึ่งคือมาแลกเปลี่ยนกันและเชื่อวา ความรูเหลานี้สามารถนํามาใช ในชี วิตประจํา วันได และสุดทายนี้หากขาพเจา ไดมี โอกาสก็อยากจะเขารวมอีกเพราะมันไดประโยชนตอตัวเราเองและก็อยากเสนอเชิญ ชวนไหนักเรียนรุนๆตอไปเขารวมโครงการนี้เพราะเชื่อวาจะเปนประโยชนอยางมาก และอยากเสนอไหมีรูปแบบโครงการนี้ที่แตกตางและหลากหลายมากกวานี้เพื่อที่จะ

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 117


นําไปสูการพัฒนากระบวนการยุติธรรมของบานเราไหมีความเปนธรรมเทียบเทากับ นานาประเทศ

นายสุไลมาน เวาะเซ็ง คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ

118 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ชวงระยะเวลาที่เรียนนิติศาสตรนั้นไมคอยมีโอกาสเขาศึกษากระบวนการ ยุ ติ ธ รรมทางศาลว า เป น อย า ไร ซึ่ ง ทํ า ให เ รานั้ น ไม รู ว า ตามทฤษฏี ที่ เราเรี ย นนั้ น เหมือนกับการปฏิบัติหนาที่ตามความเปนจริงหรือไม และเมื่อไดทราบวามีการรับสมัคร ผูขารวม โครงการเรียนรูและสังเกตการณทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน ผมก็ไม ปลอยใหโอกาสดีๆ แบบนี้หลุดมือไปได ซึ่งจากการที่ไดไปสังเกตการณศาลตางๆ ใน พื้นที่ก็ทําใหเห็นถึงกระบวนการทํางานของศาลนับตั้งแตจะเขาถึงตัวศาล ซึ่งบางศาลก็มี การเลื อ กปฏิ บั ติ ต อ ประชาชนที่ ม าศาล ซึ่ ง ทํ า ให ป ระชาชนไม ไ ว ใ จถึ ง กระบวนการ ยุติธรรมทางศาล บางเหตุการณที่ไดไปสังเกตการณที่ศาล ผูพิพากษาบางทานมีการ เกลี่ยกลอมใหจําเลยรับสารภาพ ซึ่งทําใหจําเลยเกิดความสงสัยในกระบวนการของศาล สวนบางกรณีที่ผูพิพากษาแนะนําใหจําเลยถึงแนวทางการตอสูคดี วาถาผิดก็รับสารภาพ แตถาไมผิดก็ไมควรรับสารภาพซึ่งทําใหผมรูสึกประทับใจถึงแนวทางที่ศาลแนะนํา ซึ่ง ทําใหผมมีทัศนคติตอศาลไปอีแนวหนึ่ง ซึ่งมิใชเพียงแควาศาลจะเอาผิดต อจําเลยเพียง อยางเดียว ซึ่งทําใหรูวาแมกระบวนการยุติธรรมเองก็มีปญหาตางๆ ถาหากแกปญหาใน กระบวนการยุติธรรมได ก็จะทําใหประชาชนมีความไววางใจในกระบวนการยุติธรรม มากขึ้น

นายอีรฟาน ซาฟรุ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 119


ดิฉันรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมีโอกาสเขารวมโครงการ court watch ใน ครั้งนี้ จากนักศึกษาคนหนึ่งที่ไมเคยมีโอกาสเขาไปฟงการพิจารณาในศาล แตเมื่อเขา รวมโครงการนี้ทําใหดิฉันไดเขาถึงกระบวนการพิจารณาของศาลตั้งแตชั้นไตสวนมูลฟอง ชั้ นสืบพยาน หรือแมกระทั่ง ชั้ นพิพากษาคดี ศาลที่ดิ ฉันเลือ กสัง เกตการณ คื อ ศาล จังหวัดเชียงราย คดีที่ดิฉันไดไปสังเกตการณที่ตองเก็บรายละเอียดทุกอยางที่ศาลปฏิบัติ ตั้งแตเขาสูศาล ในหองพิจารณา จนถึงเสร็จการพิจารณาพิพากษาคดี โดยมีทั้งคดีแพง และคดีอาญา แตละคดีก็มีความแตกตางหลายๆดาน เชน การปฏิบัติของเจา หนาที่ศาล ตลอดจนถึงผูพิพากษาศาล หรือแมกระทั่งตัวคูความทั้งสองฝาย จากการสังเกตการณ คดีที่ศาล ดิฉันเห็นวา ชนกลุมนอยเปนผูที่เขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดนอยที่สุด ซึ่ง เปนสิ่งที่คนสวนใหญมองขามไป แตอาจเปนสิ่งที่กระทบถึงสภาพจิตใจของบางคนผูมา ใชบริการทางศาลก็เปนได เมื่อไดเดินทางไปสรุปโครงการที่กรุงเทพฯ ดิฉันดีใจมากที่ได พบปะเพื่อนใหมและไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนนักศึกษาอีกสามมหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและมหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งการ สรุปโครงการทําใหดิฉันไดเห็ นถึงปญหาตางๆดานสิทธิมนุษยชนที่ไมเทาเทียมกัน การ เลือกปฏิบัติ การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในศาลแตละจังหวัด และการไมสามารถเขาถึง กระบวนการทางศาลของประชาชนทั่วไปที่มิไดเรียนรูกฎหมาย

นางสาวธนัชญา ฉิมพาลี นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

120 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


การไปอบรมในโครงการนี้ ขาพเจามีความรูสึกประทับใจเปนอยางมาก ซึ่งทํา ให ข า พเจ า ได รั บ หลายๆสิ่ ง จากโครงการนี้ ข า พเจ า จึ ง ดี ใ จอย า งยิ่ ง ที่ ไ ด เ ข า ร ว มใน โครงการนี้ ทั้งในเรื่อง การไดรับความรูเรื่องสิทธิมนุษยชน การไดพบปะผูคน รูจักเพื่อน ใหม จากมหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆของประเทศไทย และการแสดงความคิ ด เห็ น และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากการที่ไดไปทําโครงการ Court watch การไดรับความรู เรื่องสิทธิมนุษยชน ขาพเจาดีใจอยางยิ่งที่ไดทํากิจกรรมเพื่อไดรับความรูในเรื่องสิทธิ มนุษยชน ซึ่งทําใหขาพเจาไดรับความรู ใหมๆในหลายๆเรื่อง และไดรับความรูจากการ ฟงการบรรยายของทานวิทยากรเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีวิทยากรจากหนวยงาน ตางๆมาใหความรูในเรื่องนี้ ทําใหขาพเจามีความรูใหมๆในสิ่งที่ไมเคยรู จากการมีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางวิทยากร จากการเขารวมโครงการนี้ และไดรับความ รูจักเพื่อนตางมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในแตละภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งเปนประสบการที่ ดีมากครั้งหนึ่งในชีวิตของขาพเจา ทั้งทําใหขา พเจ าไดรูจั กสิทธิมนุษยชนมากยิ่งขึ้น เชนนี้จึงทําใหขาพเจามีความรูสึกดีใจอยางยิ่งในการเขารวมโครงการที่ดีเชนนี้

นางสาวนิชนันท เลอศักดิ์อนุสร นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 121


จากการเขารวมกิจกรรม Court Watch ครั้งนี้ ตอนแรกที่ไดฟงจากอาจารย ก็นึกภาพไมออกวาจะตองทําอะไรบาง แตพอไดไปที่ศาล ไดไปศึกษาสถานการณจริง ดวยตนเองก็ทําใหทราบวา สิ่งที่คนภายนอกมองวาศาลเปนสถานที่ตองหาม ที่บุคคล ธรรมดาเขาไปไมถึง ความจริงเปนสถานที่ราชการที่ใหสิทธิบุคคลทุกคนอยางเทาเทียม กัน แมวา ภายในศาลนั้นยัง มีพื้นที่ที่จํ า กัดตอการเขา ถึง อยูบา ง แตก็ไมใ ช สถานที่ ที่ บุคคลภายนอกจะเขาไปดูกระบวนการพิจารณาไมไดแตอยางใด สิ่งที่ประทับใจประการ หนึ่งจากการเขารวมกิจกรรมนี้ คือ การที่ไดเปดมุมมองดานกฎหมายสิทธิมนุษยชน ได แลกเปลี่ยน ไดศึกษาแนวคิดใหมๆ ทําใหรูวา การที่เราทุกคน รูจักสิทธิของตนเองนั้น เปนเรื่องที่สําคัญมากตอการใชชีวิตในสังคม แมจะเปนเพียงเรื่องเล็กนอย ก็ไมควร มองขาม ไดศึกษาปญหาสิทธิมนุษยชนใหเรื่องใหมๆที่เกิดขึ้นเพราะความแตกตางทาง ถิ่นที่อยูอาศัย ซึ่งถาไมไดเขารวมกิจกรรมครั้งนี้ ก็คงไมสามารถทราบไดเลยวา ภูมิภาค อื่นๆ ประสบปญหาดานใดบาง และไดรับการคุมครองจากกฎหมายและความยุติธรรม อยางไร ถือวา เปนความรูใหมที่เปนประโยชนไมนอย ตองขอขอบคุณทุกๆฝาย และ อาจารยทุกทานที่ไดจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนเชนนี้ขึ้นมาคะ

นางสาวสายสุนีย มูลสถาน นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

122 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


โครงการ Court watch เปนโครงการหนึ่งที่มอบโอกาสและประสบการณ ความรูเกี่ยวกับการสังเกตการณพิจารณาคดีของศาลวามีขั้นตอนกระบวนการในการ พิจารณาคดีเปนอยางไร ใหความยุติธรรมตอประชาชนหรือไม การปฏิบัติของเจาหนาที่ ศาลวามีการเลือกปฏิบัติหรือไม ในกระบวนการดังกลาวนั้นทํา ใหดิฉันไดรับรูถึงการ ปฏิบัติงานของศาลในการพิจารณาคดีวาถูกตองตามกระบวนการหลักกฎหมายหรือไม จากการไดไปเขารวมโครงการ Court watch รวมกับสถาบันอื่น ทําใหดิฉันไดรับรูถึง ปญหาตางๆที่เกิดจาการสังเกตการณของแตละสถาบันนั้น โดยการชวยกันเสนอปญหา เพื่อจะไปเปนแนวทางการแกไขปญหานั้นได ทําใหดิฉันประทับใจตอความแสดงความ คิดเห็นของแตละสถาบันและเสนอแนวทางตางๆตอกันในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในการสังเกตการณพิจารณาคดีในชั้นศาล นอกจากนี้ดิฉันดีใจที่ไดรูจักเพื่อนตางสถาน บันตางถิ่น ตางภาษา มารวมกันในสังคม ทําใหเกิดมิตรภาพที่ดีตอกันและตอสถาบันอื่น อี ก ด ว ยและได รู จั ก กั บ องค ก รสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน อี ก ทั้ ง นี้ ค วามรู ที่ ไ ด จ ากการเข า ร ว ม โครงการมีความคิดตางแง ตางอุดมการณ จึงทําใหไดนําความรูนี้มาพัฒนาตอยอดใน โครงการCourt watch อีกครั้งถามีโอกาส

นางสาวอรทัย เครืออินทร นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 123


การเขารวมโครงการในครั้งนี้ ไดสรางประสบการณครั้งยิ่งใหญใหกับขาพเจา และเพื่อนๆหลายๆอยาง ทั้งใหโอกาสเราไดเปนตัวแทนในการเขารวมแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการทางยุติธรรมว าศาลที่แตละมหาวิทยาลัยไปสังเกตการณมี สิ่งที่เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร นอกจากนั้น ยังมีโอกาสเขาไปเยี่ยมชมหนวยงาน ตางๆของรัฐ และไดมีโอกาสนําเสนอผลงานจากการสังเกตการณกระบวนการทางศาล ยุติธรรมใหกับผูหลักผูใหญดานสิทธิมนุษยชน และอาจารยของมหาวิทยาลัยต างๆ ซึ่ง ทําใหขาพเจามีความกลาแสดงออกตอหนาผูคนมากมายที่รอฟงผลงานของพวกเราอยู และตองขอบคุณทุกทานที่ตั้งใจฟงการนําเสนอผลงานของพวกเราในครั้งนี้ ในสวนสิ่ง อํานวยความสะดวกถือวาจัดการไดอยางดีทีเดียว ขาพเจาและเพื่อนๆรูสึกดีทุกครั้งที่ได คิดยอนไปในชวงเวลาดังกลาว ที่เราไดรับแตสิ่งดีๆกลับมา ไดรับโอกาสตางๆที่ยากจะ ไดม า ได รับ ประสบการณ ในหลายๆด า น สุด ทา ยนี้ ตองขอขอบคุ ณ เพื่อ นๆพี่ๆ ตา ง มหาวิทยาลัยที่เราอยูดวยกันดวยความเปนเพื่อน ขอขอบคุณพี่ๆทีมงานทุกคน ขอบคุณ คณะครูอาจารยทุกคนที่คอยใหคําแนะนํา ตลอดจนการใหคําปรึกษาในทุกๆเรื่อง และที่ ลืมไมไดเลยคือพี่มะตูม ที่คอยสรางเสียงหัวเราะ และจัดกิจกรรมทั้งเกมตางๆใหเราได คลายเครียดตลอดการสัมมนา ขอบคุณมากคะ

นางสาวพรนิภา ทํามา นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

124 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


จากการที่ขาพเจาไดเขารวมโครงการ Court watch สังเกตการณคดีตางๆ โครงการนี้ทําใหขาพเจารูสึกวา ทุกคนยอมมีสิทธิเทาเทียมกัน มีสิทธิ เสรีภาพ อิสระ ทั้ง ดานความคิด หนาที่ตางๆ ภายในสังคมและการที่ขาพเจาไดพบเจอกับเพื่อนนักศึกษา อีกสามมหาวิทยาลัย ทําใหไดแลกเปลี่ยนความคิด ทั ศนะคติ และปรับเปลี่ยนมุมมอง ตางๆไดยิ่งกวา เดิม ซึ่ง การแลกเปลี่ยนความรูนี้ทํา ใหขา พเจา สามารถนํา ไปตอยอด ความรูอื่นตอไปได พรอมกันนั้นปจจุบันประเทศไทยกําลัง กาวเขา สูอาเซียน ดังนั้น ปญหาตางๆจากการที่ขาพเจาไดเขาไปฟงการพิจารณาคดีทําใหรูถึงปญหาเรื่ องการขาด แคลนลาม ซึ่งจะสงผลกระทบตอการตอสูคดีความของคูความในชั้นศาลอันผูนั้นเปน บุคคลตางชาติ หากเรามองมุมกลับถาเราเปนบุคคลตางชาติเชนนั้นแลวพวกเราจะไดรับ ความยุติธรรมหรือการเลือกปฏิบัติอยางที่ขาพเจาไดประสบพบเจอในการสังเกตการณ คดี ห รื อ ไม และ ข า พเจ า ได เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ป ญ หาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการที่ ผู มี อํ า นาจใน กระบวนการยุติธรรมขมเหงผูที่ถูกหาวากระทําความผิด ในเรื่องนี้ ตองคํานึงถึงผูถูก กลาวหาวากระทําความผิดวามีจิตใจเหมือนบุคคลธรรมดาทั่วไปคนหนึ่งที่มีความรูสึก และยังมีความเปนมนุษย และขาพเจายังไดเล็งเห็นถึงการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม อื่นในชั้นศาลที่ทุกคนตองรู แตในความเปนจริงแลว ประชาชนสวนมากที่ไมไดศึกษา กฎหมายหรือเรียนหนังสือทําใหพวกเขาไมสามารถเขาถึงกระบวนการยุติธรรมอยาง เต็มที่และรูเทาไมถึงการณ ดังนั้นปญหาตางๆที่ขาพเจาไดพบเจอนั้ น เราทุกคนตอง ชวยกันแกปญหา มิใชแคกลุมบุคคล หรือองคกรที่ตองเรียกรองและแกปญหาในดานนี้ เทานั้น

นางสาวแสงระวี เคาโคน นักศึกษาสํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง

โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 125


การนําเสนอขาวโครงการ “การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม” ภายใต โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน Student Project Scrutinizes Absence of Human Rights in Court Wed, 29/05/2013 - 07:29 | by prachatai Suluck Lamubol Law students from four universities in three regions spent their semesters observing trials conducted in Thailand’s courts, and concluded that most of the time the trial process does not fulfil legal requirements set by the constitution and human rights principles. 120 students from law schools in Chiang Mai University, Mae Fah Luang University, Ubon Ratchathani University and Thaksin University participated in a Court Watch project observing the process in 936 criminal trials during 2012-2013 from a basic law and human rights framework. Trials were observed in various courts in Chiang Mai, Ubon Ratchathani, Songkhla, Pattani, Yala and Narathiwat provinces, and were mostly drug related but also included national security cases in the Deep South of Thailand. Ethnic minorities in the northern provinces as well as those in the Deep South are most affected by unfair trials due to language problems and the lack of qualified translators, the research finds. “In some cases the judge even asked fellow prisoners, relatives of the defendant or court employees to act as impromptu translators,” a 126 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


student from Chiang Mai University announced from her findings in a public forum at the National Human Rights Commission on Monday. “This of course raises the questions of possible vested interests or the quality of the translation, which could affect the outcome of the trial,” she said. Another prominent issue raised by the students is that trials often proceed with only one judge on the bench, even though the basic law stipulates that at least two judges must preside over the trial, except in the case of misdemeanours. The research also found that only 11% of trials in Chiang Mai court start on time, while in Ubon Ratchathani trials that start punctually amount to 59%. “Justice delayed is justice denied,” said Sophit Cheewapanit, a law lecturer from Mae Fah Luang University who supervised the project. He added that it is common in Thai courts for judges to be at least 30 minutes to one hour late. Sophit said this could affect the quality and justice of the hearing as the schedule becomes tighter, and affects the defendant’s rights to a fair trial. Kittipan Malila, student from Thaksin University in Songkhla told Prachatai that every time he went to observe national security related cases in Yala court, he always saw one judge presiding over the trial, even if it is considered a serious crime carrying a heavy penalty. “I know this is common in the court since there are too many cases, while there are too few judges,” he said. “But from a human rights perspective this is illegitimate from the beginning of the trial.” โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 127


“The application of law in reality just conflicts so much with the legal texts we learn in classroom,” Kittipan said of the Court Watch project initiated by the Bangkok-based Asian Institute of Human Rights. Sarawut Benjagul, Deputy Secretary-General of the Courts of Justice said that new rules will be circulated to court personnel next month to prohibit the use of any kinds of electronic devices, responding to the students’ finding that judges and attorneys use their cell phones for personal use during trials. He also said that judges who show up late to trials will be punished and barred from promotion for one year. Takato Mitsunaga contributed to this report. ที่มา : http://www.prachatai.com/english/node/3605

128 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


ISRA Institute Thai Press Development Foundation เปดผลวิจัย5สถาบันชี้ขอบกพรองคดีชุมชนในกระบวนยุติธรรม ‘จูงจําเลยสารภาพขาดลามภาษาถิ่น’ เตรียมหามใชมือถือ-แท็บเล็ตในศาล 60% คดีรองกสม.ผิดหลัก มนุษยชน

วันที่ 27 พ.ค. 56 ที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) สถาบัน สิทธิมนุษยชนแหงเอเชียรวมกับคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยทักษิณและสํานักวิช านิติศ าสตร มหาวิทยาลัยฟา หลวง รายงานผลการศึกษา ‘โครงการเรียนรูและสังเกตการณทางชั้นศาลในมุมมองนักสิทธิ มนุษยชนระหวางป 2555 – 2556’ ในพื้นที่ที่สถาบันการศึกษาทั้ง 4 ตั้งอยูและพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต โดยนักศีกษาเขาสังเกตการณการพิจารณาคดีตางๆ จํานวน 936 ครั้ง สวนใหญเปนคดีอาญา โดยมีผลการศึกษาที่นาสนใจ เชน 1.)เจาหนาที่ในหองพิจารณาคดีไมเขาใจกระบวนการพิจารณาคดีของศาลที่ตองเปดเผย ตอสาธารณะซึ่งประชาชนมีสิทธิเขาฟงไดยกเวนคดีลับ โดยรอยละ 40 มีการติดปาย โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 129


หามบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขา เปนผลใหญาติจําเลยบางคนไมกลาเขารวมฟงการพิจารณา คดีทั้งที่มีสิทธิ ขณะที่บางพื้นที่เจาหนาที่มีการเลื อกปฏิบัติตอผูมาขึ้นศาลโดยดูจากการ แตงกาย หรือ ฐานะทางสังคม 2.)ผูพิพากษานั่งไมครบองคคณะในการพิจารณาคดีมาก ถึงรอยละ 40 (ยกเวนพื้นที่ภาคใตซึ่งผูพิพากษานั่งครบองคคณะมากกวาพื้นที่อื่น ) ซึ่ง ขัดตอบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญและมีผลตอความเปนธรรม 3.)บางกรณีทนายความขอแรงฝายจําเลยและผูพิพากษามีการจูงใจใหจําเลยรับ สารภาพเพื่อรวบรัดคดี โดยใชคําอาง เชน “หากฝนสูคดีตอศาล จะไมรอลงอาญา และจะพิจารณาโทษหนัก ” โดยการกระทําดังกลาวเกิดขึ้นมากที่สุดจ.อุบลราชธานี รอยละ 28 5.)ศาลขาดลามแปลภาษาถิ่น เชน ภาษามาลายู หรื อ ภาษาปกา กะญอ โดยบางกรณีเมื่อศาลไมมีลามจดทะเบียนซึ่งมีความรูและเปนกลางประจํา ศาลก็ใชนักโทษ แมบาน หรือจําเลยในการชวยแปล ทําใหไมมีหลักประกันไดวาสิ่งที่ จําเลยตองการอธิบายจะสื่อออกมาไดตรงความหมายหรือไม และ6. อัยการและ ทนายฝายโจทกมีความใสใจในการพิ จารณาคดีอยูที่ระดับรอยละ 43-62 โดยมักทํา กิจกรรมอื่นขณะพิจารณาคดีเชน เลนโทรศัพทมือถือ เดินเขาออกหองพิจารณา ซึ่ง กรณีปญหาทั้งหลายนี้นําไปสูการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม ผูสื่อขาวรายงานวาในงานเดียวกันมีการจัดเวทีสาธารณะ เรื่อง‘คดีสิทธิมนุษยชน กรณี การพิจารณาคดีดวยความเปนธรรม’ โดย นายสราวุธ เบญจกุล รองเลขาธิการ สํานักงานศาลยุติธรรม กลาวถึงประเด็นนําเสนอในผลการวิจัยวา ศาลพรอมนอมรับ และนํ า ข อ ติ ต า งๆมาแก ไ ข สํ า หรั บ ประเด็ น การใช โ ทรศั พ ท มื อ ถื อ ในระหว า งการ พิจารณาคดีนั้นภายในเดือนมิถุนายนนี้ คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมจะออก หนั ง สื อ เวี ย นห า มใช เ ครื่ อ งมื อ สื่ อ สารในห อ งพิ จ ารณาคดี เพื่ อ แก ไ ขป ญ หา ดังกลาว และสําหรับประเด็นการขาดลามผูเชี่ยวชาญภาษาถิ่นในการพิจารณาคดีนั้น เปนเรื่องที่ตองตรวจสอบแกไขตอไปเนื่องจากขัดตอประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 13 ซึ่งศาลตองจัดหาลามไวใหพรอมในการพิจารณาคดี นายแพทยนิรันดร พิทักษวัชระ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) กลาว วาสังคมไทยปจจุบันอยูในยุคเปลี่ยนผานความตองการดานความเปนธรรม โดยสาเหตุ 130 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


สําคัญ ประการหนึ่งที่ ประชาชนออกมาเรี ยกร อ งความเปนธรรมในกระบวนการ ยุติธรรม คือ การถูกละเมิดสิทธิชุมชน ซึ่งเปนประเด็นที่มีการรองเรียนเขามายัง กสม.มากที่สุดถึงรอยละ 50-60 โดยเฉพาะคดีเรื่องที่ดิน ซึ่งรัฐธรรมนูญมาตรา 66 และ 67 ใหสิทธิชุมชนในการใชประโยชนและจัดการทรัพยากรอยางชอบธรรม แต พบวาหนวยงานรัฐเพิกเฉยตอขอบัญญัตินี้ โดยยึดอํานาจตามกฎหมายของหนวยงานตน เปนใหญ ประกาศเขตปาทับที่ทํากินของชาวบานซึ่งสวนใหญอาศัยอยูมากอน ขณะที่การตอสูเพื่อใหไดมาซึ่งการกระจายที่ทํากินของเกษตรกรยากจนขาดที่ทํากิน ซึ่ง ปจจุบันมีมากราว2 ลานครอบครัว ยังนําไปสูการถูกคุกคามด านชีวิตและความ ปลอดภัยจากฝมือของนายทุนคูขัดแยงและหนวยงานรัฐที่จัดการปญหาไมได ขณะที่ รัฐบาลเองก็คุกคามประชาชนดานสิทธิพลเมืองและการเมืองตามดวยการใชกฎหมาย ละเมิดสิทธิ เชน การใชพ.ร.บ.คอมพิวเตอรฯ หรือ ม.112 โดยไมเปนธรรม หรือ แมกระทั่งการเตรียมออกกฎหมายปรองดองที่อาจนําไปสูความแตกแยกมากขึ้นเพราะ ขาดการมีสวนรวมของประชาชน ด า นนายแสงชั ย รั ต นเสรี ว งษ สภาทนายความ ในฐานะอนุ ก รรมการสิ ท ธิ มนุษยชน กลาววา ปจจุบันการสละอํานาจการจัดการทรัพยากรของรัฐบาลใหแก วิสาหกิจผูกขาดและเอกชนในรูปของสัมปทาน เชน สัมปทานแร เสนทางคมนาคม หรือคลื่นความถี่ ทําใหประชาชนถูกละเมิดสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรมาก ขึ้น ขณะที่ผูพิพากษาก็ไมกลาตัดสินคดีโดยยึดหลักสิทธิชุมชนตามที่ชาวบานเรียกรอง โดยอางวาหลักการดังกลาวยังไมชัดเจนเพราะยังไมมีกฎหมายลูกออกมารองรับ ดังนั้น สังคมจึงควรเรียกรองใหศาลมีความกลาหาญใชกฎหมายรัฐธรรมนูญพิจารณาคดีควบคู กับกฎหมายลูกของหนวยงานตางๆ นายคณิต ณ นคร ประธานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.)กลาวปดทายวา หากพิจารณาตามตัวกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมไทยสามารถคุมครองสิทธิมนุษยชน ไดดีพอสมควร แตในทางปฏิบัติเจ าหนาที่กลับละเมิดสิทธินั้นบอยครั้งดวยดวยความไม เขาใจในคุณคาของหลักสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ การปฏิรูปกฎหมายจึงตองทํา พรอมกัน 3 ประการ คือ ปฏิรูปตัวบทกฎหมายใหสมบูรณขึ้นอีกเล็กนอย, เนนปฏิรูป โครงการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch) ๏ 131


คนที่บังคับใชกฎหมาย และปฏิรูปความคิดของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมใหเขาใจ หลักกระบวนการยุติธรรมที่แทจริง โดยควรปรับระบบการเรียนการสอนนิติศาสตรให อยูบนพื้นฐานหลักสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญมากขึ้น ที่มา: http://www.isranews.org/component/content/article/21410humanright270513.html

132 ๏ โครงการเรียนรูแ ละสังเกตการณกระบวนการทางศาลในมุมมองสิทธิมนุษยชน (Court Watch)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.