การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (ฺBasic of Tissue culture)(Thai lang.)

Page 1

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ปจจุบันเทคนิคการเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อพืชจัดเปนเทคนิคพืน้ ฐานที่นํามาใชประโยชนในดาน การขยายพันธุพืช การศึกษา และการคนควาวิจัยในทุกสาขาที่เกี่ยวของกับพืช สวนใหญนํามาใช ผลิตและขยายพันธุพืช ใชในการผลิตเชิงการคา เนื่องจากสามารถผลิตพืชใหมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ ไดปริมาณมาก ในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อเทียบกับวิธีการขยายพันธุแบบไมใชเพศอื่นๆ การเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อไดถูกนํามาใชจนเกิดผลเปนรูปธรรมกับพืชหลายชนิด ตัวอยางพืชที่ ทําเปนการคาประสบผลสําเร็จ และใหผลตอบแทนมาก คือพวกไมเนื้อออน เชน กลวยไม หนาวัว ลิลลี่ เบญจมาศ กลอกซิเนีย เยอบีรา เปนตน ความหมาย การเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อพืช เปนวิธีการขยายพันธุพืชแบบไมใชเพศวิธีหนึง่ ปฏิบัติภายใต สภาพที่ควบคุม เรื่องความสะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิและแสง ดวยการนําชิ้นสวนของพืชที่ยัง มีชีวิต เชน ลําตน ยอด ตาขาง กานชอดอก ใบ กานใบ อับละอองเกสร ฯลฯ มาเพาะเลีย้ งบนอาหาร สังเคราะห และชิ้นสวนนั้นสามารถเจริญและพัฒนาเปนตนพืชที่สมบูรณมีทั้งสวนใบ ลําตน และ รากสามารถนําออกไปปลูกในสภาพธรรมชาติได ที่ผานมามีการนําเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชประยุกตใชกับดานเภสัชวิทยา และ ชีววิทยา แตปจ จุบันมีการพัฒนา และนํามาใชแกปญหา หรือเพื่อประโยชนในทางดานภาคเกษตร และอุตสาหกรรมกันมากขึน้ เชน ดวยการนําเมล็ดไผมาผลิต ขยายดวยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออีก ดวย เปนตน ประโยชน 1. สามารถผลิตตนพันธุพืชปริมาณมากในระยะอันรวดเร็ว 2. ตนพืชที่ผลิตไดจะปลอดโรค โดยเฉพาะโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย ดวย การตัดเนื้อเยื่อที่เจริญอยูบริเวณปลายยอดของลําตน ซึ่งยังไมมีทออาหาร อันเปนทางเคลื่อนยาย ของเชื้อโรคดังกลาว 3. ตนพืชที่ผลิตได จะมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนตนแม คือมีลักษณะตรงตามพันธุ ดวยการใชเทคนิคของการเลี้ยงจากชิ้นตาพืชพัฒนาเปนตนโดยตรง หลีกเลี่ยงขั้นตอนการเกิดกลุม กอนเซลลที่เรียกวา แคลลัส 4. ตนพืชที่ผลิตไดจะมีขนาดสม่ําเสมอ ผลผลิตที่ไดมีมาตรฐานและเก็บเกี่ยวไดคราวละ มากๆ พรอมกันหรือในเวลาเดียวกัน 5. เพื่อการเก็บรักษาหรือแลกเปลี่ยนพันธุพชื ระหวางประเทศ


6. เพื่อประโยชนดานการสกัดสารจากตนพืช นํามาใชประโยชนดานตางๆ เชน ยาฆา แมลง ยารักษาโรค เปนตน 7.ใชเพาะเลี้ยงพืชที่ไมสามารถงอกในธรรมชาติได เชน กลวย กลวยไม เปนตน นอกจากนี้ยังมีคุณประโยชนอีกหลายประการ เชน เพื่อการผลิตพืชทนทานตอ สภาพแวดลอม ทนกรด ทนเค็ม ฯลฯ หรือการใชประโยชนเกีย่ วกับการศึกษาทางชีวเคมี และ สรีรวิทยาของพืช เปนตน ในสวนของของกรมสงเสริมการเกษตรไดนําประโยชนขอ 1-4 มาเปน ขอกําหนดคุณลักษณะพันธุพ ืชที่ผลิตดวยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ กอนนําเขาระบบสงเสริมสู เกษตรกร คือ ตนพันธุพืชทีผ่ ลิตไดตองปลอดโรค ลักษณะตรง ตามพันธุ และสามารถขยายได ปริมาณมาในเชิงอุตสาหกรรม นับเปนหนวยงานแรกของภาครัฐที่มีการนําเทคโนโลยีเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อมาพัฒนาการใชงานขยายพันธุพืชเศรษฐกิจในเชิงพาณิชยอยางเปนรูปธรรมและพรอม นําไปใชในระบบสงเสริม ตัวอยางพันธุพชื เพาะเลี้ยงทีม่ กี ารทดลองนํารองปลูกในสภาพไร และ ประสบผลสําเร็จเปนอยางดี ไดแก หนอไมฝรั่ง กลวย ออย สับปะรด ไผ เบญจมาศ และ สตรอเบอรี่ เปนตน อุปกรณและเครื่องมือที่ใช อุปกรณที่ใชกบั งานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อคอนขางมีมากชนิด การจัดวางเครื่องมือตองคํานึงถึง ความสะดวกในการใชตอพืน้ ที่ใหเกิดประโยชนมากที่สดุ ถากําหนดชนิดของเครื่องมือตาม ตําแหนงของการใชงานภายในหองปฏิบัติการจะแบงออกเปน 3 หองใหญๆ คือ 1. หองเตรียมอาหาร 2. หองถายเนือ้ เยื่อ 3. หองเลี้ยงเนือ้ เยื่อ หองปฏิบตั ิการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืช หองปฏิบัติการประกอบดวยสวนที่สําคัญ 3 สวน คือ 1.หองเตรียมอาหาร ควรเปนหองที่มีโตะสําหรับเตรียมสารเคมี อางน้ํา ตูเย็นสําหรับเก็บ สารเคมี และ/ละลายเขมขน หมอนึ่งฆาเชื้อจุลินทรียแบบความดันไอน้ํา เครื่องชั่ง เครื่องวัดความเปน กรด-ดาง เตาหลอมอาหาร 2.หองถายเนื้อเยื่อ เครื่องมือที่ใชในหองนีค้ ือ ตูสําหรับเลี้ยงหรือถายเนื้อเยื่อ ซึ่งเปนตูที่มี อากาศถายเทผานแผนกรอง ที่สามารถกรองเชื้อจุลินทรียไ วไดตลอดเวลา ทําใหอากาศภายใน บริเวณตูเ ปนอากาศบริสุทธิ์


3.หองเลี้ยงเนือ้ เยื่อ อุปกรณที่สําคัญในหองนี้คือ ชั้นวางขวดเนื้อเยื่อ เครื่องเขยา ระบบให แสงสวาง พรอมเครื่องปด-เปดไฟอัตโนมัติ และเครื่องปรับอากาศ การแบงพื้นทีอ่ อกเปน 3 สวนดังกลาวนั้น สวนเลี้ยงเนื้อเยื่อควรอยูด านในสุดที่ไมมกี าร เดินผานจากผูที่ไมเกี่ยวของ สวนตัดเนื้อเยือ่ จะอยูตรงกลาง และสวนเตรียมอาหาร ควรอยูดาน นอกสุด เพราะความรอนจากการตมอาหาร จะทําใหเกิดไอน้ําและทําใหอุณหภูมหิ องสูงขึ้น ซึ่งเปน สภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอสวนตัดเนื้อเยื่อและสวนเลี้ยงเนื้อเยื่อ สภาพแวดลอมที่เหมาะสมในการเลี้ยงเนื้อเยื่อจะแตกตางกันสําหรับพืชแตละชนิด โดยทั่วไปมักจะปรับสภาพแวดลอมภายในหองใหมีอุณหภูมิประมาณ 25 องศาเซลเซียส ระยะเวลาใหแสงประมาณ 12 – 16 ชั่วโมง / วัน ความเขมของแสง 1,000 – 3,000 ลักษ การสรางหองปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มีหลักการปฏิบัติดังนี้ 1. แบงพื้นที่ออกเปน 3 สวน ดังที่อธิบายขางตน 2. กําหนดงบประมาณที่จะใชและพยายามประยุกตวัสดุหรือของที่มีอยูใชตามความจําเปน 3. หาความรูเกีย่ วกับพืชที่ตองการขยาย ทั้งนี้ควรเริ่มฝกปฏิบัติ เพื่อหาประสบการณจาก ชนิดพืชที่มีผูสําเร็จแลว เพื่อเปนกําลังใจกับการทําพืชชนิดอื่นตอไป 4. เมื่อเขาสูขั้นตอนปฏิบัติ ตองปฏิบัติตามหลักการของเทคนิคปลอดเชื้อ ตั้งแต ชิ้นสวน ของพืชที่ใช การฟอกฆาเชือ้ สูตรอาหารกับการเพิ่มปริมาณและชักนําราก เมื่อดําเนินการตามลําดับ ถึงขั้นตอนที่ 4 หมายถึง ทานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชไดแลว แตยัง ไมไดหมายถึงทําเปนการคาได เพระมีรายละเอียดและขอจํากัดอีกมากที่จําเปนตองรู ทั้งดาน เศรษฐศาสตร และวิชาการทีต่ องควบคูไปจนถึงจุดคุมทุนและกําไรในที่สุด อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ปจจัยที่สําคัญมากอยางหนึ่งที่จะทําใหการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประสบความสําเร็จ คือสูตร อาหารที่เหมาะสม ซึ่งตองประกอบดวยอาหารที่พืชสามารถนําไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ มักมี การเรียกอาหารที่ใชเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อแตกตางกันไป เชน อาหารวิทยาศาสตร อาหารสังเคราะห อาหารวุน ฯลฯ ใหเขาใจวาเปนอาหารทีใ่ ชกับการขยายพันธุพืช ดวยการเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อ เหมือนกัน อาหารที่นิยมใชมีหลายสูตรแตละสูตรจะเรียกตามชื่อผูทคี่ ิดคนสูตรอาหารนั้นๆ ซึ่งจะ ถูกปรับใหใกลเคียงกับธาตุอาหารที่พืชไดรับในสภาพธรรมชาติมากที่สุด โดยเพิ่มในสวนของสาร ควบคุมการเจริญเติบโต น้ําตาล วิตามิน เชน สูตร MS ( Murashige & Skoog , 1962) สูตร Gamborg (B – 5 , 1970) สูตร VW ( Vacin & Went , 1949 ) และสูตร WPM ( Gloyd and McCown , 1980 ) เปนตน การเลือกใชอาหารสูตรใดขึน้ อยูกับความเหมาะสมของชนิดพืชและ วัตถุประสงคที่ใช แตกตางกันตามชนิดหรือพันธุพืช หรือตามพัฒนาการของเนื้อเยือ่ สวนประกอบ


พื้นฐานของสูตรอาหารประกอบดวย ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง เกลือแร และวิตามิน ตางๆ สารอาหารอื่นๆ ที่จําเปน ไดแก กรดอะมิโน สาควบคุมการเจริญเติบโต หรือสารสกัดจากพืช ซึ่งมี ผลตอการเพิ่มจํานวน และการพัฒนาของเซลลพืช ชนิดของอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช อาหารเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อ มี 2 รูปแบบภายใตสูตรเดียวกัน แลวแตผูปฏิบตั ิเห็นวาในระยะ ไหนควรใชอาหารรูปแบบใดแลวสงผลดีตอการพัฒนาของชิ้นพืชไดดีกวา ไดแก 1. อาหารแข็ง ( Solid medium) เปนเพียงการผสมวุนลงในอาหาร ประมาณ 0.7 -1 % หรือ 7-10 กรัม ตออาหาร 1 ลิตร เพื่อชวยพยุงชิน้ พืชใหสามารถเจริญเติบโตอยูบนอาหารได 2. อาหารเหลว ( Liquid medium) เปนอาหารที่ไมมีสวนผสมของวุน ชิ้นพืชที่เลี้ยงใน อาหารเหลวมักจะมีการเจริญเติบโตที่ดี และคอนขางรวดเร็ว แตตองระวังเรื่องการถายเทอากาศ ของชิ้นพืช ถาเลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารเหลว จําเปนตองเลี้ยงบนเครื่องเขยา (Shaker) ควบคูกันไป เสมอ ทั้งนี้เครื่องเขยาจะเคลื่อนไหวดวยการหมุนในแนวขนานกับพืน้ โลก อัตรา 100- 120 รอบ ตอนาที การเขยาตลอดเวลาจะชวยใหออกซิเจนละลายลงในอาหารสงผลดีตอการเจริญเติบโตของ เนื้อเยื่อพืชบนอาหารเหลวเปนเวลานานพืชอาจมีการฉ่ําน้าํ หากพบอาการดังกลาว ควรหยุดการใช อาหารเหลว และเปลี่ยนไปใชอาหารแข็งจะสามารถลดอาการฉ่ําน้ําของพืชลดลงได สูตรอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การที่จะตัดสินใจวาจะเลือกอาหารสูตรใด รูปแบบไหนเพื่อมาทําการเพาะเลี้ยง ตองคํานึงถึง สายพันธุ อายุพืช ชิ้นสวนทีใ่ ช โดยเฉพาะอยางยิ่งวัตถุประสงคของการเพาะเลีย้ ง ถาเพื่อการ ปรับปรุงพันธุ จะใชสูตรอาหารที่แตกตางจากการเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อ เพื่อใหตนทีไ่ ดมีลกั ษณะเหมือน ตนแม ในที่นจี้ ะขอยกตัวอยางสูตรอาหารที่เปนที่นิยม และใชไดผลดีเปนตัวอยาง 8 สูตร ดังนี้ 1. สูตร VW (Vacin and Went, 1949) ใชกบั การเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อกลวยไม 2. สูตร MS (Murashige and Skoog; 1962) สามารถใชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3. สูตร Hidebrandt (1962) ใชเพาะเลี้ยงแคลลัสยาสูบ 4. สูตร White (1963) ใชเพาะเลี้ยงสวนราก 5. สูตร Miller (1963) ใชเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรของขาว 6. สูตร Y 3 (Eeuwens; 1967) ใชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อตระกูลปาลม เชน มะพราวกะทิ อินทผาลัม ปาลมน้ํามัน เปนตน 7. สูตร B 5 (Gamborg; 1970) ใชเพาะเลี้ยงพืชสําคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด เชน ถัว่ เหลือง เปนตน 8. สูตร WPM (Lloyd and McCown: 1980) ใชเพาะเลี้ยงพืชที่เปนไมเนื้อแข็ง (Woody species)


การพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช

ชิ้นสวนพืชที่ผานการฟอกฆาเชื้อและเลีย้ งบนอาหารวุนจะมีการพัฒนาเปนหนอเล็กๆ ภายใน 1-2 เดือนแรก เมื่อทําการตัดยายอาหารเปลี่ยนอาหาร เนื้อเยือ่ เหลานี้จะเจริญเติบโตและ มีการพัฒนาเปนหนอเล็กๆ ภายใน 1 – 2 เดือนแรก เมื่อมีการเปลีย่ นอาหาร เนือ้ เยื่อเหลานี้จะ เจริญเติบโตและมีการพัฒนาจนสามารถเพิ่มปริมาณโดยเฉลี่ย 3-5 เทา ภายใน 30 วัน เมื่อได ปริมาณตนตามตองการจึงเปลี่ยนสูตรอาหารวุน เพื่อชักนําการเกิดราก จนกระทั่งไดตนพืชที่ สมบูรณ มีทั้งสวนลําตน ใบ และราก สามารถยายออกปลูกในสภาพธรรมชาติได ปญหาและอุปสรรคที่พบในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

เมื่อมีการนําไปปฏิบัติจริง โดยเฉพาะเพื่อการขยายผลในเชิงการคามักไมเปนไปตาม เปาหมาย เชน คาการลงทุนที่คอนขางสูง ความผิดพลาดในการชั่งตวงวัด การเตรียมอาหาร ความผิดปกติที่เกิดกับตนพืช การปนเปอนของเชื้อรา และเชื้อแบคทีเรีย ในขวดเนื้อเยื่อพืช

สนใจขอมูลเพิ่มเติมที่

กลุมงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สวนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุพืช สํานักพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุพืช โทร 082-5614661


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.