home utilities catalog

Page 1

สาระนารูเรื่องการอนุรักษพลังงาน


เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยทัว่ ไป “เครือ่ งใชไฟฟ้า” ภายในบ้าน มักมีการใชพลังงานสูงแทบทุกชนิด ดังนัน้ ผู้ ใชควรต้องมีความรูแ้ ละทราบถึงวิธกี ารใชเครือ่ งใชไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ลดค่าไฟฟ้าภายในบ้านและปัญหาในเรือ่ งการใชพลังงานอย่างผิดวิธดี ว้ ย ในทีน่ จี้ ะกล่าวถึงเครือ่ งใชไฟฟ้า 8 ประเภททีม่ ใี ชกันทัว่ ไป คือ เครือ่ งทำน้ำอุน่ ไฟฟ้า เตารีด ตูเ้ ย็น โทรทัศน์ พัดลม กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ปมั น้ำ และเครือ่ งดูดฝุน่

1. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า

ส่วนประกอบและการทำงาน

เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า สามารถแบ่ง ตามลักษณะของการใชงานได้ 2 ประเภท คือ 1. เครื่องทำน้ำอุ่นแบบจุดเดียว 2. เครื่องทำน้ำอุ่นแบบหลายจุด ซึ่ง

ผลิตน้ำร้อนได้มาก แต่ ใชไฟฟ้ามากกว่าแบบ จุดเดียว

เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ทีทำให้น้ำร้อนขึ้น โดยอาศัยการพา

ความร้อนจากขดลวดความร้อน (Electrical Heater) ขณะทีกระแสน้ำไหลผ่าน

ส่วนประกอบหลักของเครื่องทำน้ำอุ่น คือ ฉนวน ทางระบายอากาศ ตัวถังน้ำ จะบรรจุน้ำซึ่งจะถูกทำให้ร้อน ขดลวดความร้อน เป็นอุปกรณ์ที่ ให้ความร้อน กับน้ำ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม อุ ณ หภู มิ จะทำหน้ า ที ต ั ด กระแสไฟฟ้าเมื่ออุณหภูมิของน้ำถึงระดับที่เรา ตั้งไว้

ท่อกันน้ำหยด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ขดลวดความร้อน ฝาครอบกันน้ำปั่นป่วน วาล์วชนิดน้ำไหลทางเดียว วาล์วควบคุม ท่อน้ำเย็น น้ำอุ่นออก


การใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นให้เหมาะสมกับการใช้ สำหรับบ้านทั่วไปเครื่องทำ น้ำอุ่นขนาดไม่เกิน 4,500 วัตต์ ก็น่าจะเพียงพอ ซึ่งจะชวยทั้งประหยัดไฟฟ้าที่ ใชใน เครื่องทำน้ำอุ่นและปัมน้ำ • ตั้งอุณหภูมิน้ำไม่สูงจนเกินไป (ปกติอยู่ ในชวง 35-45 C) • ใชหัวฝักบัวชนิดประหยัดน้ำ เพราะประหยัดน้ำได้ถึง 25-75% • ใชเครือ่ งทำน้ำอุน่ ทีม่ ถี งั น้ำภายในตัวเครือ่ งและมีฉนวนหุม้ เพราะสามารถ ลดการใชพลังงานได้มากกว่าชนิดที่ ไม่มีถังน้ำภายใน 10-20% • ปิดวาล์วน้ำและสวิตซ์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน • ไม่เปิดเครือ่ งตลอดเวลาขณะฟอกสบูอ่ าบน้ำ หรือขณะสระผม ประหยัดทัง้ น้ำ และไฟฟ้า

การดูแลรักษา • หมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งระบบความปลอดภัยของเครื่อง • ตรวจดูระบบท่อน้ำและรอยต่ออย่าให้มีการรั่วซึม • เมื่อพบความผิดปกติในการทำงานของเครื่อง ควรให้ช่างผู้ชำนาญ ตรวจสอบ


2. โทรทัศน์ ในอดีตโทรทัศนใชเทคโนโลยีแบบหลอดภาพ Cathode Ray Tube (CRT) ที่มีการใชพลังงานสูง แต่ ในปัจจุบันมีวิวัฒนาการซึ่งทำใหโทรทัศนใชพลังงานน้อยลง ดังจะเห็นได้จากโทรทัศน์ประเภท Plasma และ LCD ซึ่งเริ่มมีการผลิตและใชอย่าง แพร่หลายในปัจจุบนั ในแง่การใชพลังงานกว่า 70% ใชไปกับการแสดงภาพบนหน้าจอ โทรทัศน์

ส่วนประกอบและการทำงาน โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ทีแปลงสัญญาณคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกสทีมีความซับซอน ส่วนประกอบของโทรทัศน์พอสรุปให้เห็นได้ชัดเจน ดังนี้ คือ 1. ส่วนประกอบภายนอก คือ ตัวโครงทีห่ มุ้ ห่ออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ จอภาพ ซึ่งจะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่มหรือสวิตซต่างๆ และจุดเสียบสายอากาศ เป็นต้น 2. ส่วนประกอบภายใน คือ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ตัวรับเปลีย่ นสัญญาณทีม่ า

ในรูปของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพและเสียง ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียง รวมทั้งลำโพง เป็นต้น


พลังงานที่ใช้ในโทรทัศน์ จะขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีและขนาดของ โทรทัศน์ โดยขนาดของโทรทัศน์ ระบุด้วยความยาวเส้นทะแยงของ มุมจอภาพ

* มีหน่วยเป็นวัตต์

การเลือกใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคำนึงถึงความต้องการใช้งาน โดยพิจารณา จากขนาดและการใชกำลังไฟฟ้า สำหรับเทคโนโลยีเดียวกัน โทรทัศน์ที่มีขนาดใหญ่ ยิ่งกินไฟมากขึ้น • อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายใน อยูต่ ลอดเวลา จะทำให้สนิ้ เปลืองไฟ และอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะเกิดฟ้าแลบได้ • ปิดและถอดปลัก๊ ทันทีเมือ่ ไม่มคี นดู หากใครทีช่ อบหลับหน้าโทรทัศน์บอ่ ยๆ ควรใชโทรทัศน์รุ่นที่ตั้งเวลาปิดโดยอัตโนมัติ เพื่อชวยประหยัดไฟฟ้า


• หากชมโทรทัศน์ชองเดียวกันควรดูดว้ ยกัน ประหยัดทั้งค่าไฟ อบอุ่นใจได้

อยูด่ ว้ ยกันทัง้ ครอบครัว • เลิกเปิดโทรทัศน์ลว่ งหน้าเพือ่ รอดูรายการทีช่ น่ื ชอบ เปิดดูรายการเมือ่ ถึงเวลา ออกอากาศ • ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไปและไม่เปลี่ยนช่องบ่อย เพราะ

จะทำให้หลอดภาพมีอายุสั้น และสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น ดูชองเดียวกัน ดูดว้ ยกัน ทั้งมันทั้งสนุก สานสัมพันธ์ครอบครัว

การดูแลรักษา การดูแลรักษาและใช ทรทัศนให้ถูกวิธี นอกจากจะชวยใหโทรทัศน์เกิดความ คงทน ภาพทีได้คมชัด และมีอายุการใชงานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่ง

ก็คือประหยัดพลังงาน • ควรวางโทรทัศน์ ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี เพือให้เครือง สามารถระบายความร้อนได้สะดวก • หมั่นทำความสะอาดเป็นประจำเพื่อลดปริมาณฝุน่ ละอองที่เกาะบน จอภาพ ซึ่งจะชวยให้ ไม่ต้องเพิ่มความสว่างของจอภาพ และสามารถลดพลังงานได้ • ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครื่องโทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่าง อ่อน หรือ น้ำยาล้างจานผสมกับน้ำ เช็ดเบาๆ จากนั้นเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดย

ไม่ลืมถอดปลั๊กออกก่อนทำความสะอาด


3. พัดลม พัดลมที่ใชในบ้านเป็นอุปกรณ์หลัก ที่ชวยในการหมุนเวียนอากาศ และระบาย ความร้อนภายในบ้าน ในปัจจุบนั พัดลมที่ใช

มีหลากหลายลักษณะและประเภทขึ้นอยู่กับ การใชงาน

ส่วนประกอบและการทำงาน สวนประกอบหลักของพัดลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรงคลุมใบพัด มอเตอร์ ไฟฟ้า สวิตชควบคุมการทำงาน และกลไกควบคุมการหมุนและสาย หัวมอเตอร์

ใบพัด

ตะแกรงหน้า ตะแกรงหลัง ตัวยึดใบพัดกับแกนมอเตอร์ สวิตซ์เปิด - ปิด และปรับความแรง

ของพัดลม

ปัจจุบันมีการกำหนดฉลากประสิทธิภาพพลังงาน พัดลมทีประหยัดพลังงาน จะต้องมีฉลากเบอร์ 5 เนืองจากพัดลมสามารถชวยสร้างความสบายให้กับผู้อาศัย ภายในบ้านได้ ดังนัน้ หากเป็นไปได้การใชพัดลมแทนการเปิดเครือ่ งปรับอากาศจะชวย ลดค่าไฟฟ้าในบ้านลงได้อย่างมาก


การใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • เลือกใช้ความแรงของลมให้เหมาะกับความต้องการ ความแรงของลม ยิ่งมากยิ่งเปลืองไฟ • ปิดพัดลมทันทีเมื่อไม่ใช้งาน • ในกรณีทีพัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรล อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะจะมี ไฟฟ้าหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดเวลา • ควรวางพัดลมในที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใชหลักการ

ดูดอากาศจากบริเวณรอบๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสูด้านหน้า

เชน ถ้าอากาศบริเวณรอบพัดลมมีการถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรืออับชื้น เราก็จะได้รับ

ลมเย็นและรู้สึกสบายและยังทำให้มอเตอร์ยังสามารถระบายความร้อนได้ดี ยืดอายุ การใชงาน

การดูแลรักษา การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอ จะชวยให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และยังชวยยืดอายุการทำงาน • หมัน่ ทำความสะอาดตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบ ใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และต้อง ดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหักหรือ ชำรุด หรือโค้งงอผิดส่วนจะทำให้ลมทีออกมา มีความแรงของลมลดลง

• หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็น

ชองระบายความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองไฟฟ้ามากขึ้น


4. กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า เป็นอุปกรณไฟฟ้า ทีส่ นิ้ เปลืองไฟฟ้าสูงประเภทหนึง่ หากเรารู้จักใช อย่างถูกวิธกี จ็ ะชวยให้ประหยัดค่าใชจ่าย ใชไฟฟ้า ได้น้อยลงได้

ส่วนประกอบและการทำงาน ส่วนประกอบหลักของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าประกอบด้วยขดลวดความร้อน (Electrical Heater) อยู่ด้านล่างของกระติกและอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ (Thermostat) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทำงาน • หลักการทำงานของกระติกน้ำร้อน คือ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะเกิด ความร้อน และถ่ายเทไปยังน้ำภายในกระติก ทำให้นำ้ มีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ จนถึงจุดเดือด อุปกรณ์ ควบคุมอุณหภูมจิ ะตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรหลัก ออกไป แต่ยงั คงมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด ความร้อน โดยไหลผ่านหลอดไฟสัญญาณอุ่น ซึง่ หลอดไฟสัญญาณอุน่ จะสว่างขึน้ เมือ่ อุณหภูมิ ของน้ำร้อนภายในกระติก ลดลงจนถึงจุดๆหนึง่ อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะทำงานโดยปล่อย ให้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดความร้อนเต็มที่ทำ ให้น้ำเดือดอีกครั้ง

ที่กดน้ำ ตัวหมุนล๊อคที่กดน้ำ ปุ่มล๊อค ฝาปิดด้านใน ตัวกระติกด้านใน เคลือบด้วยสาร Poly-Flon

ที่ดูระดับน้ำ ไฟแสดงการต้ม ไฟแสดงการอุ่น


• การปล่อยน้ำออกจากกระติกทำไดโดยกดทีฝ่ ากดอากาศ ซึง่ อยูท่ างด้านบน อากาศจะถูกอัดเข้าไปภายในกระติกโดยผ่านทางรูระบายอากาศของฝาปิดภายในของ กระติก ดังนัน้ ภายในกระติกจึงมีแรงกดดันทีม่ ากพอทีจ่ ะทำให้นำ้ ทีอ่ ยูภ่ ายในวิง่ ขึน้ ไป ตามท่อและออกทางพวยกระติกได้ กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าโดยทัว่ ไปทีม่ จี ำหน่ายในท้องตลาดจะมีขนาดความจุตงั้ แต่ 2-4 ลิตรและใชกำลังไฟฟ้าระหว่าง 500-1,300 วัตต์

การใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน • เลือกซื้อรุ่นที่มีตรามาตรฐานอุตสาหกรรม • ใส่น้ำให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับที่กำหนดไว้ เพราะนอกจากไม่ประหยัดพลังงาน ยังทำให้กระติกเกิดความเสียหาย ไม่เอาน้ำเย็น ใส่กระติกน้ำร้อนทันที

นะครับ เครื่องต้อง ทำงานหนักและเปลืองไฟ

• ระวังอย่าให้นำ้ แห้ง หรือ ปล่อยให้ระดับน้ำต่ำกว่าขีดทีก่ ำหนด เพราะเมือ่ น้ำแห้งจะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรในกระติกน้ำร้อน เป็นอันตรายอย่างยิ่ง • ถอกปลั๊กเมื่อเลิกใช้น้ำร้อนแล้ว เพื่อลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไม่ควร เสียบปลั๊กตลอดเวลา แต่หากมีความต้องการใชน้ำร้อนเป็นระยะๆ ติดต่อกัน เชน

ในที่ทำงานบางแห่งที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขกกไม่ควรดึงปลั๊ก ออกบ่อยๆ เพราะทุกครัง้ เมือ่ ดึงปลัก๊ ออกอุณหภูมขิ องน้ำจะค่อยๆ ลดลง กระติกน้ำร้อน ไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อจะใชงานใหม่ก็ต้องเสียบปลักและเริ่มต้มน้ำใหม่ ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน


• อย่านำสิ่งใดๆ มาปิดช่องไอน้ำออก • ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ ให้อยู่ในสภาพใชงาน ได้เสมอ • ไม่ควรตั้งไว้ในห้องที่มีการปรับอากาศ

การดูแลรักษา การดูแลรักษากระติกน้ำร้อนให้มอี ายุการใชงานนานขึน้ ลดการใชพลังงานลง และป้องกันอุบัติเหตุ หรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น • หมั่นตรวจดูสายไฟฟ้าและขั้วปลั๊ก • ควรต้มน้ำที่สะอาดเท่านั้น มิฉะนั้นผิวในกระติกอาจเปลี่ยนสี เกิดคราบ สนิมและตะกรัน • หมั่นทำความสะอาดตัวกระติกด้านใน อย่าให้มีคราบตะกรัน ซึ่งจะเป็น ตัวต้านทานการถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้ำ เพิ่มเวลาการต้มน้ำ

และสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ • เมื่อไม่ต้องการใชกระติก ควรล้างกระติกด้านในให้สะอาด แล้วคว่ำ กระติกลง เพื่อให้น้ำออกจากตัวกระติก แล้วใชผ้าเช็ดด้านในให้แห้ง • ควรทำความสะอาดส่วนต่างๆ ของกระติก ตามคำแนะนำต่อไปนี้ - ตัวและฝากระติก ใชผ้าชุบน้ำ บิดให้ กระติกน้ำร้อน

หมาดแล้วเช็ดอย่างระมัดระวัง ขนาด 2.5 ลิตร 600 วัตต์ - ฝาปิดด้านใน ใชน้ำหรือน้ำยาล้างจาน หากต้มน้ำทีละครึ่งกระติก จะประหยัดกว่าต้มน้ำ

ล้างให้สะอาด เต็มกระติกถึง 46% (ถ้ า เสียบปลั๊กตลอดเวลา) - ตัวกระติกด้านใน ใชฟองน้ำชุบน้ำ

เช็ดให้ทว่ั ล้างให้สะอาดด้วยน้ำ โดยอย่าราดน้ำ

ลงบนสวนอื่นของตัวกระติก นอกจากภายใน กระติกเท่านัน้ อย่าใชของมีคมหรือฝอยขัดหม้อขูด หรือขัดตัวกระติกด้านใน เพราะจะทำให้สารเคลือบ หลุดออกได้


6. เตารีดไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้าเป็นเครื่องใชไฟฟ้าที่มีใชกัน แทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับเครื่องใช

ไฟฟ้าอื่นๆ เตารีดจัดเป็นเครื่องใชไฟฟ้าที่ ใชกำลัง ไฟฟ้ า สู ง การทราบแนวทางการเลื อ กซื้ อ และ

ใชงานอย่างถูกวิธีจะสามารถลดการใชไฟฟ้าลงได้ ในท้ อ งตลาด เตารี ด สามารถแบ่ง ได้

3 ลักษณะ คือ เตารีดแบบธรรมดา แบบมีไอน้ำ และแบบกดทับ

รีดผ้าครั้งละมากๆ

ช่วยประหยัดไฟค่ะ

ส่วนประกอบและการทำงาน เตารีดแต่ละประเภทมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ • ไส้เตารีด ทำมาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิลและโครเมียม ทำหน้าที

ให้กำเนิดความร้อนเมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า โดยความร้อนจะมากหรือน้อยขึ้นกับ

ส่วนผสมของโลหะและความยาวขดลวด • เทอร์มอสแตต ทำหน้าทีป่ รับความร้อนของไส้เตารีดให้สม่ำเสมอกับระดับ

ที่ ได้ตั้งไว้ • แผ่นโลหะด้านล่างของเตารีด ทำหน้าที่เปนตัวกดทับเวลารีด


การใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน ในการใชเตารีดอย่างประหยัดพลังงาน เราไม่ควรที่จะลดปริมาณความร้อน ที่ ใชในการรีดลง แต่ควรใชเตารีด รีดผ้าอย่างรวดเร็วที่ระดับความร้อนที่เหมาะสม กับความหนาและชนิดของผ้า รวมทั้งควรปฏิบัติดังนี้ • ควรเก็บผ้าที่รอรีดให้เรียบร้อย และให้ผ้ายับน้อยที่สุด • ควรแยกประเภทผ้าหนาและผ้าบาง เพื่อความสะดวกในการรีด • ควรรวบรวมผ้าทีจ่ ะรีดแต่ละครัง้ ให้มากพอ การรีดผ้าครัง้ ละชุดทำให้สนิ้ เปลือง ไฟฟ้ามาก • ไม่ควรพรมน้ำมากจนเกินไป เพราะจะทำให้สญู เสียความร้อนจากการรีดมาก • ควรเริม่ รีดจากผ้าบางๆ หรือต้องการความร้อนน้อยก่อน จากนัน้ จึงรีดผ้า

ทีต่ อ้ งการความร้อนสูง และควรเหลือผ้าที่ต้องการความร้อนน้อยส่วนหนึ่ง ไว้รีด

ในตอนท้าย • ควรถอดปลั๊กก่อนเสร็จสิ้นการรีด 3-4 นาที

การดูแลรักษา • ตรวจดูหน้าสัมผัสเตารีด หากพบคราบสกปรก ให้ ใชฟองน้ำชุบน้ำยา ทำความสะอาดเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเป็นตัวต้านทานความร้อน ทำให้

สิ้นเปลืองไฟฟ้ามากขึ้นในการเพิ่มความร้อน • สำหรับเตารีดไอน้ำ น้ำที่ ใชควรเป็นน้ำกลั่นเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน ซึ่งตะกรันจะเป็นสาเหตุของการเกิดความต้านทานความร้อน • เมื ่ อ เกิ ด การอุ ด ตั น ของชองไอน้ ำ ซึ ่ ง เกิ ด จากตะกรั น ในเตารี ด ไอน้ ำ

เราสามารถกำจัดได้ โดยเติมน้ำส้มสายชูในห้องเก็บน้ำ แล้วเสียบสายไฟให้เตารีด ร้อนเพื่อทำให้น้ำส้มสายชูกลายเป็นไอ จากนั้นเติมน้ำลงไป เพื่อล้างน้ำส้มสายชูออก ให้หมด แล้วจึงใชแปรงเล็กๆ ทำความสะอาดชองไอน้ำ • การใชเตารีดไปนานๆ แม้ว่าจะไม่เกิดการเสียหายชำรุด ก็ควรมีการตรวจ หรือเปลีย่ นอุปกรณ์ภายในบางอย่าง รวมทัง้ สายไฟทีต่ อ่ กันอยูซ่ ง่ึ อาจชำรุด เสือ่ มสภาพ ทำให้วงจรภายในทำงานไม่สมบูรณ์


8. ตู้เย็น ตั้งตู้เย็นให้ห่าง

จากผนังไม่นอ้ ยกว่า 10 เซนติเมตรครับ

ตู้เย็น เป็นอุปกรณ์ที่มีใช แพร่หลายในครัวเรือน เป็นอุปกรณ์ ทำความเย็นเพือ่ ถนอมอาหารโดยการ ลดอุณหภูมิ ตูเ้ ย็นเป็นอุปกรณ์ท่ีใช พลังงานตลอด 24 ชัว่ โมง ดังนัน้ การเลือกและใชตูเ้ ย็นอย่างเหมาะสม จะชวยประหยัดพลังงานได้มาก

ส่วนประกอบและการทำงาน อุปกรณ์หลักๆ ทีท่ ำให้ภายในตูเ้ ย็นเกิดความเย็น ประกอบด้วย • คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ ในการอัดและดูดสารทำความเย็นให้หมุนเวียน

ในระบบของตูเ้ ย็น • แผงทำความเย็น มีหน้าทีก่ ระจายความเย็นภายในตูเ้ ย็น • แผงระบายความร้อน เป็นส่วนที่ ใชระบายความร้อนของสารทำความเย็น แผงระบายความร้อนนีต้ ดิ ตัง้ อยูด่ า้ นหลังของตูเ้ ย็น • ตัวตูเ้ ย็น ทำจากโลหะและอัดฉีดโฟมอยูร่ ะหว่างกลาง เพือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นฉนวน กันความร้อนจากภายนอก โดยปกติ เราระบุขนาดของตูเ้ ย็นเป็นคิว หรือลูกบาศก์ฟตุ • อุปกรณ์อื่นๆ เชน อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ สวิตชโอเวอรโหลด พัดลม กระจายความเย็น ฯลฯ การทำความเย็นของตู้เย็นต้องอาศัยวงจรทำความเย็น เมื่อเราเสียบปลั๊ก ไฟฟ้าให้กบั ตูเ้ ย็น คอมเพรสเซอร์จะดูดและอัดไอสารทำความเย็นให้มคี วามดันสูงขึน้ และ ไหลไปยังแผงระบายความร้อนเพื่อถ่ายเทความร้อนสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกและเปลี่ยน สถานะเป็นของเหลว หลังจากนั้นจะไหลผ่านวาล์วควบคุมสารทำความเย็นเพื่อลด

ความดัน และไหลต่อไปที่แผงทำความเย็นเพื่อดูดความร้อนจากอาหารและเครื่องดื่ม

ทีแ่ ชอยู่ในตูเ้ ย็น ณ จุดนี้ สารทำความเย็นก็จะเปลีย่ นสถานะกลายเป็นไอและกลับไปยัง คอมเพรสเซอร์เพือ่ เริม่ วงจรทำความเย็นใหม่อกี ครัง้


การใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน

• ค่าไฟฟ้าจะเพิ่มตามจำนวนครั้งของการเปิด-ปิดตู้เย็น เพราะเมื่อเปิด

ตูเ้ ย็นความร้อนภายนอกจะไหลเข้าตูเ้ ย็น ทำให้คอมเพรสเซอร์ตอ้ งทำงานหนักมากขึน้ เพื่อรักษาอุณหภูมิภายในตูเ้ ย็นให้คงเดิมตามที่ตั้งไว้ • ถ้าอุณหภูมิโดยรอบสูงขึ้น ปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็น มากขึน้ เป็นการเพิม่ ภาระให้กบั ระบบทำความเย็น ดังนัน้ จึงไม่ควรติดตัง้ ตูเ้ ย็นใกล้กบั แหล่งกำเนิดความร้อนใดๆ หรือรับแสงอาทิตย์โดยตรง • ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทำให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่ สม่ำเสมอ ควรให้มีชองว่าง เพื่อให้อากาศภายในไหลเวียนได้สม่ำเสมอ • ถ้านำอาหารที่มีอุณหภูมิสูงไปแชในตูเ้ ย็นจะส่งผลกระทบดังนี้ - ทำให้อาหารต่างๆ ทีอ่ ยู่ในบริเวณข้างเคียงเสือ่ มคุณภาพหรือเสียได้ - หากตู้เย็นกำลังทำงานเต็มที่จะทำให้ ไอสารทำความเย็นก่อนเข้า เครื่องอัดร้อนจนไม่สามารถทำหน้าที่หล่อเย็นคอมเพรสเซอร์ ได้เพียงพอ และส่งผลให้อายุคอมเพรสเซอร์สั้นลง - สูญเสียพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น • เมือ่ ดึงปลัก๊ ออกแล้วไม่ควรเสียบปลัก๊ ใหม่ทนั ที เพราะเมือ่ เครือ่ งหยุด สาร ทำความเย็นจากส่วนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางที่มีความดันต่ำจนความดันภายใน วงจรเท่ากัน ดังนั้นถ้าคอมเพรสเซอร์เริ่มทำงานทันที สารทำความเย็นยังไหลกลับ

ไม่ทนั เครือ่ งจึงต้องออกแรงฉุดมากเพือ่ เอาชนะแรงเฉือ่ ยและแรงเสียดทาน ซึง่ จะส่งผล ให้มอเตอร์ของเครือ่ งอัดทำงานหนัก และเกิดการชำรุดหรืออายุการใชงานสัน้ ลง

การดูแลรักษา

• หมั่นทำความสะอาดแผงระบายความร้อนตู้เย็นสม่ำเสมอ ถ้ามีฝุ่นเกาะ สกปรกมาก จะระบายความร้อนไม่ดี มอเตอร์ต้องทำงานหนัก เปลืองไฟมากขึ้น • อย่าให้ขอบยางประตูมีจุดชำรุดหรือเสื่อมสภาพ เพราะความร้อน

จะไหลเข้าตู้เย็น ทำให้มอเตอร์ต้องทำงานหนักและเปลืองไฟฟ้ามาก ตรวจสอบโดย เสียบกระดาษระหว่างขอบยางประตูแล้วปิดประตู ถ้าสามารถเลื่อนกระดาษไปมาได้ แสดงว่าขอบยางเสื่อมสภาพ ควรติดต่อชางมาเปลี่ยนขอบยาง • อุปกรณ์ระบายความร้อน จะติดตั้งอยู่ด้านหลังตู้เย็น เพื่อให้สามารถ ระบายความร้อนได้ดี ควรวางตูเ้ ย็นให้มีระยะห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 10 ซม. ด้าน บนไม่น้อยกว่า 30 ซม. ด้านข้างไม่น้อยกว่า 2 - 10 ซม. ด้านบนไม่น้อยกว่า

30 ซม. ด้านข้างไม่นอ้ ยกว่า 2 ซม.


EP/05/51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.