612031135 การพัฒนาสมรรถนะครูภาษาไทย ในการจัดการเรียนรู้แบบ active learning ระดับประถมศึกษา

Page 1

1 หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู 1. ชื่อหลักสูตร:

การพัฒนาสมรรถนะครู ภาษาไทย ในการจัดการเรี ยนรู้ แบบ Active Learning ระดับประถมศึกษา

Curriculum Theme:

Competency Development of Thai Language Teachers in Primary Levels through Active Learning

2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 3.1นางสาวศิริพร โอฬารสฤษดิก์ ลู ประธานกรรมการ 3.2 นางสาวรสสุคนธ์ อุทธโย

กรรมการ

4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนกลุม่ สาระภาษาไทย ระดับประถมศึกษา จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): Competency Development of Thai Language Teachers, Active Learning, Primary Levels, ภาษาไทย, เทคนิคการสอนภาษาไทย 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ กาหนดจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาต้ องเป็ นไปเพื่อ พัฒนาคนไทยให้ เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทงร่ ั ้ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดารงชีวิต สามารถอยูร่ ่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุข โดยยึดหลักให้ ผ้ เู รี ยนทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู้ และพัฒนา ตนเองได้ ซึง่ Active Learning เป็ นกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางที่ม่งุ เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ และส่งเสริ มให้ เกิดการพัฒนาทักษะการคิดขันสู ้ งของผู้เรี ยน โดยเปิ ดโอกาสให้ ผู้เรี ยนมีส่วนร่ วมในกระบวนการเรี ยนรู้ สามารถสร้ างองค์ความรู้และจัดระบบการเรี ยนรู้ได้ ด้วยตนเอง ซึง่ สอดคล้ องการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรี ยนแห่ง ศตวรรษที่ 21 ในยุค THAILAND 4.0 ครู ภาษาไทยต้ องปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาทักษะ การเรี ยนรู้สอดคล้ องกับปั จจุบนั ด้ วยแนวคิด Active Learning (AL) ที่เน้ นการลงมือปฏิบตั ิมากกว่าการฟั งบรรยาย การ เรี ยนรู้แบบนี ้ผู้เรี ยนจะเปลีย่ นบทบาทจากผู้รับความรู้ (receiver) ไปสูก่ ารมีสว่ นร่วมสร้ างความรู้ (co-creators) ซึง่ จะทาให้ ผู้เรี ยนเกิดความคงทนในการเรี ยนรู้มากกว่าการจัดการเรี ยนรู้แบบ Passive Learning ที่ปฏิบตั ิกนั มาในอดีต ด้ วยเหตุนี ้ บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในฐานะองค์กรเอกชนที่เป็ นผู้นานวัตกรรมสื่อการเรี ยนรู้ แห่งศตวรรษที่ 21 และมีส่ว นร่ วมในพัฒนาองค์ ค วามรู้ ให้ ค รู ผ้ ูสอนอย่า งต่อเนื่องตลอดมา จึง ได้ จัด โครงการอบรมเชิ งปฏิ บัติ การ “การพัฒนาสมรรถนะครูภาษาไทย ในการจัดการเรี ยนรู้แบบ Active Learning” ขึ ้น เพื่อส่งเสริ มให้ ครูภาษาไทยนาความรู้


2

ไปปฏิบตั ิและสร้ างสรรค์ชมุ ชนแห่งการเรี ยนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ซึง่ จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนให้ สูงขึ ้น 7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อให้ ครู ภาษาไทยมีความรู้ ความเข้ าใจ และสมรรถนะในการจัดการเรี ยนรู้ แบบ active learning เพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน 7.2 เพื่อให้ ครู ภาษาไทยสามารถพัฒนาหน่วยการเรี ยนรู้ หน่วยกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ และแผนการจัดการเรี ยนรู้ แบบ active learning ให้ แก่ผ้ เู รี ยนได้ 7.3 เพื่อให้ ครู ภาษาไทยนาแนวคิดดารจัดการเรี ยนรู้ แบบ active learning ไปปฏิบตั ิจริ ง โดยการสร้ างสรรค์ ชุมชนแห่งการเรี ยนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ในบริ บทของโรงเรี ยนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู้ ของ ผู้เรี ยน 8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ครูภาษาไทยมีความรู้ความเข้ าใจ และสมรรถนะในการจัดการเรี ยนรู้แบบ active learning 8.2 ครู ภาษาไทยสามารถพัฒ นาหน่ว ยการเรี ยนรู้ หน่ว ยกิ จกรรมเพิ่ ม เวลารู้ และแผนการจัด การเรี ย นรู้ แบบ active learning ได้ 8.2 ครูภาษาไทยนาแนวคิดดารจัดการเรี ยนรู้ แบบ active learning ไปปฏิบตั ิจริ ง โดยการสร้ างสรรค์ชุมชนแห่ง การเรี ยนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในบริ บทของโรงเรี ยนได้ 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะครู ภาษาไทย ในการจัดการเรี ยนรู้ แบบ Active Learning ระดับประถมศึกษา” เป็ นนาเนื ้อหาที่เป็ นสาระวิชา (content) ทางด้ านภาษาไทยตามแนวทาง Active Learning ที่สอดคล้ องกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ผนวกกับเนื ้อหาสาระที่เป็ นศาสตร์ ทางวิชาชีพครู (Pedagogy) เพื่อยกระดับกระบวนการจัดการ เรี ยนรู้ ให้ ผ้ เู รี ยน สามารถพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนให้ สอดคล้ องกับการเรี ยนรู้ ในปั จจุบนั (AL) ที่เน้ นการลงมือ ปฏิบตั ิมากกว่าการฟั งบรรยาย ผู้เรี ยนจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้ (receiver) ไปสู่การมีส่วนร่ วมสร้ างความรู้ (co-creators) เพื่อส่งเสริ มให้ ครู ภาษาไทยนาความรู้ ไ ปปฏิบตั ิและสร้ างสรรค์ชุมชนแห่งการเรี ยนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ซึ่ง จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนให้ สงู ขึ ้น


3 10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ (Knowledge)

สาระที่พัฒนา

กิจกรรม

สาระเนือ้ หา (Content) (3) ภาษาไทย

สาระที่เป็ นศาสตร์ ท่ ี เกี่ยวข้ องการจัดการ เรี ยนรู้ (Pedagogy)

1) ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับ

การสอนเนื ้อหาสาระ

- บรรยาย

(1)การสอนใน

องค์ความรู้ เทคนิคจัดการ

เฉพาะ

- กิจกรรมปฏิบตั ิ

ศตวรรษที่21

เรียนการสอนภาษาไทย

รายบุคคล

(4)การจัดการชัน้

ตามแนวทาง Active

- การแลกเปลี่ยน

เรียน

Learning

เรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่

2) การพัฒนาหน่วยการ

การสอนเนื ้อหาสาระ

- บรรยาย

(3) ภาษาไทย

เรียนรู้ หน่วยกิจกรรมเพิ่ม

เฉพาะ

- กิจกรรมปฏิบตั ิ

ศตวรรษที่21

เวลารู้ และแผนการจัดการ

รายบุคคล

(4)การจัดการชัน้

เรียนรู้แบบ active

- การแลกเปลี่ยน

เรียน

learning 1ที่สอดคล้ องกับ

เรียนรู้

นโยบายของ

- การเรียนรู้ร่วมกัน

กระทรวงศึกษาธิการ

เป็ นกลุม่ ใหญ่

3) เพื่อให้ ครูภาษาไทยนา

การสอนเนื ้อหาสาระ

- บรรยาย

แนวคิดดารจัดการเรียนรู้

เฉพาะ

- กิจกรรมปฏิบตั ิ

ศตวรรษที2่ 1

แบบ active learning ไป

รายบุคคล

(4)การจัดการชัน้

ปฏิบตั ิจริง โดยการ

- การแลกเปลี่ยน

เรียน

สร้ างสรรค์ชมุ ชนแห่งการ

เรียนรู้

เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

- การเรียนรู้ร่วมกัน

ในบริบทของโรงเรียน

เป็ นกลุม่ ใหญ่

4) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การ การสอนเนื ้อหาสาระ

- บรรยาย

เรียนรู้และฝึ กฝนทักษะ

- กิจกรรมปฏิบตั ิ

ศตวรรษที่21

จัดการเรียนการสอน

รายบุคคล

(4)การจัดการชัน้

ภาษาไทยตามแนวทาง

- การแลกเปลี่ยน

เรียน

Active Learning ให้ แก่

เรียนรู้

นักเรียน

- การเรียนรู้ร่วมกัน

เฉพาะ

เป็ นกลุม่ ใหญ่

(3) ภาษาไทย

(1)การสอนใน

(3) ภาษาไทย

(1)การสอนใน

(1)การสอนใน


4 11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่

เวลา

จานวน ชั่วโมง

วันที่ 1

9.00-12.00 น.

3

เรื่อง/สาระการพัฒนา ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้ เทคนิคจัดการเรี ยนการสอนภาษาไทย ตามแนวทาง Active Learning

วันที่ 2

13.00-16.00 น.

3

การพัฒนาหน่วยการเรี ยนรู้ หน่วย

9.00-16.00 น.

6

แนวคิดการจัดการเรี ยนรู้แบบ active

วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้ ดร.พิณพนธ์ คงวิจิตต์ อาจารย์ปาริ ฉตั ร พลสมบัติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ และแผนการจัดการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้ เรี ยนรู้แบบ active learning ที่ ดร.พิณพนธ์ คงวิจิตต์ สอดคล้ องกับนโยบายของ อาจารย์ปาริ ฉตั ร พลสมบัติ กระทรวงศึกษาธิการ learning ไปปฏิบตั ิจริ ง โดยการ สร้ างสรรค์ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ในบริ บทของโรงเรียน และปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การเรี ยนรู้ และฝึ กฝนทักษะจัดการเรี ยนการสอน ภาษาไทยตามแนวทาง Active Learning ให้ แก่นกั เรี ยน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้ ดร.พิณพนธ์ คงวิจิตต์ อาจารย์ปาริ ฉตั ร พลสมบัติ


5 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่ วันที่ 1

เวลา 9.00-12.00 น.

เรื่อง/สาระการพัฒนา

กิจกรรมการพัฒนา

ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้ เทคนิค

- ทดสอบก่อนเรียน

จัดการเรียนการสอนภาษาไทยตามแนวทาง

- บรรยาย

Active Learning

- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่

13.00-16.00 น.

วิทยากร

สื่อ

เครื่องอานวยความ สะดวก

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน ดร.ภาสพงศ์ ผิวพอใช้ ดร.พิณพนธ์ คงวิจติ ต์ อาจารย์ปาริฉตั ร พลสมบัติ

1. PowerPoint Slides

1.คอมพิวเตอร์

2. เอกสารประกอบ

2. visualizer

การบรรยาย

3. เครื่องฉาย LCD

3. ใบงาน

4. ไมโครโฟน

การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ หน่วยกิจกรรม

- บรรยาย

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน

1. PowerPoint Slides

1.คอมพิวเตอร์

เพิ่มเวลารู้ และแผนการจัดการเรียนรู้แบบ

- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน

2. เอกสารประกอบ

2. visualizer

active learning ที่สอดคล้ องกับนโยบายของ

- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ดร. ภาสพงศ์ ผิวพอใช้

การบรรยาย

3. เครื่องฉาย LCD

กระทรวงศึกษาธิการ

- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่

ดร. พิณพนธ์ คงวิจิตต์

3. ตัวอย่างแบบคัด

4. ไมโครโฟน

อ. ปาริฉัตร พลสม

กรอง 4. ใบงาน

วันที่ 2

9.00-16.00 น.

แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบ active learning - บรรยาย

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน

1. PowerPoint Slides

1.คอมพิวเตอร์

ไปปฏิบตั ิจริง โดยการสร้ างสรรค์ชมุ ชนแห่ง

- กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน

2. เอกสารประกอบ

2. visualizer

การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในบริบทของ

- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ดร. ภาสพงศ์ ผิวพอใช้

การบรรยาย

3. เครื่องฉาย LCD

โรงเรียนและปลูกฝั งเจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้

- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่

ดร. พิณพนธ์ คงวิจิตต์

3. ใบงาน

4. ไมโครโฟน

และฝึ กฝนทักษะจัดการเรียนการสอน

- ทดสอบหลังเรียน

อ. ปาริฉัตร พลสม

ทางการเรียนรู้

5. กระดาษ Flip Chart

ภาษาไทยตามแนวทาง Active Learning

- มอบหมายงาน และนัดหมายการ

6. กระดาษ A4

ติดตามครูที่เข้ ารับการพัฒนา

7. ปากกาเมจิก

- มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม

8. วัสดุ เช่น กรรไกร กาว คัตเตอร์ ฯลฯ


6

12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และ รับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพย์ แข็งขัน 13.1.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รังสิพนั ธุ์ แข็งขัน 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 ดร. ภาสพงศ์ ผิวพอใช้ 13.2.2 ดร. พิณพนธ์ คงวิจิตต์ 13.2.3 อาจารย์ปาริ ฉตั ร พลสม 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร ระดับพื ้นฐาน

จานวนครูต่อกลุ่ม (คน) 150


7

15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน 1) ด้ านความรู้ (K)

วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

1. การทดสอบ

แบบทดสอบ

2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

เกณฑ์ การประเมิน (ผ่ าน)

ความสอดคล้ องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตร

คะแนนการทดสอบ

1. เพื่อให้ ครูที่เข้ ารับการ

หลังการอบรมสูงกว่า

อบรมมีความรู้และความ

ก่อนการอบรม

เข้ าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ เทคนิคจัดการเรียนการ สอนภาษาไทยตาม แนวทาง Active Learning

2) ด้ านทักษะ (S)

3) ด้ านเจตคติ (A)

1. การสังเกต

1. แบบบันทึกการสังเกต

สามารถพัฒนาหน่วย

2.เพื่อให้ ครูสามารถพัฒนา

2. การนาเสนอผลงาน

2. ผลงาน

การเรียนรู้ หน่วย

หน่วยการเรียนรู้ หน่วย

กิจกรรมเพิ่มเวลารู้

กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ และ

และแผนการจัดการ

แผนการจัดการเรียนรู้แบบ

เรียนรู้แบบ active

active learning ที่

learning ได้ อย่าง

สอดคล้ องกับนโยบายของ

ถูกต้ อง

กระทรวงศึกษาธิการ

1.การแจงนับ

1.แบบตรวจสอบรายการ ครูที่เข้ ารับการพัฒนา

3.เพื่อให้ ครูเป็ นผู้ปลูกฝั ง

2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม

ทังหมดเข้ ้ าร่วม

เจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้

อบรม

กิจกรรมตามหลักสูตร

และฝึ กฝนทักษะจัดการ

ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80

เรียนการสอนภาษาไทย ตามแนวทาง Active Learning ให้ แก่นกั เรียน

4) ด้ านความพึงพอใจ

การสอบถาม

แบบสอบถาม

ครูที่เข้ ารับการพัฒนา มีความพึงพอใจต่อ การอบรมเชิง ปฏิบตั ิการในภาพรวม อยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ ้นไป


8

16. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการด้ าน การศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลักขององค์กร คือ การมุ่งพัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรู ปแบบใหม่ ซึ่งครู จะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึ กษา โดยมีผ้ เู รี ยนเป็ น ศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่ วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้ อย่างแท้ จริ งและเป็ นการพัฒนาทักษะ การทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ย นรู้ และการจัดการ เรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรี ยน ครู และผู้เรี ยน ทัว่ ประเทศ สื่อการเรี ยนรู้ เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนังสือการศึกษา สื่อดิจิทลั ของเล่นเพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศกว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครู ผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมที่หลากหลาย เช่น เทคนิค และวิธีการสอน การสร้ างเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู้ สาระความรู้ในแต่ละสาขาวิชา และการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี ้ยังจัดทา คู่มือครู ซึ่งประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ างคาถามชวนคิด และ แนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครูผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครู ผ้ สู อน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 3,800 บาท / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุ ณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุ ณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ -นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของ ท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.