612111064 การออกแบบการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้ร

Page 1

1 หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู 1. ชื่อหลักสูตร:

การออกแบบการเรี ยนรู้ กลุม่ สาระสังคมศึกษา ที่เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดแห่ง ศตวรรษที่ 21 โดยใช้ รูปแบบการสอน PCBL‛ ระดับประถมศึกษา

Curriculum Theme:

Instruction Design in Social Studies to Develop Thinking Skills of the 21st Century Using PCBL Model

2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 1. นางสาว ฐาปนรัตน์ จันทร์ นมุ่

ประธานกรรมการ

2. นายศตวรรษ อินทร

กรรมการ

4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนกลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประถมศึกษา ในระดับชันประถมศึ ้ กษา จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): Develop Thinking Skills of the 21st Century, Thinking Skills Using PCBL Model, Instruction Design in Social Studies 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ วของโลกในศตวรรษที่ 21 ทาให้ นกั การศึกษาและผู้ปกครองเป็ นห่วงว่า ผู้เรี ยนในศตวรรษนี ้จะสามารถดารงชีวติ ต่อไปอย่างมีคณ ุ ภาพ และควรมีการพัฒนาทักษะที่จาเป็ นอะไรในการดารงชีวิตใน ยุคดังกล่าว เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมีคณ ุ ภาพและความสามารถตามที่มงุ่ หวัง Partnership for 21st Century Skills (2013) เสนอ ว่า ทัก ษะที่จ าเป็ นสาหรั บ ศตวรรษที่ 21 แบ่ง ออกเป็ น 3 ด้ า น คือ ทักษะชี วิตและการท างาน ทัก ษะการเรี ย นรู้ และ นวัตกรรม และ ทักษะด้ านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้ วพบว่า ทักษะดังกล่าวมีทกั ษะการคิดเป็ น รากฐานสาคัญ ประกอบกับปั ญหาคุณภาพการศึกษาของไทย การพัฒนาทักษะการคิดจึงเป็ นประเด็นเร่งด่วนที่ผ้ เู กี่ยวข้ อง ในระบบการศึกษาไทยต้ องใส่ใจ สาหรับเด็กไทยส่วนใหญ่ยงั ขาดทักษะการใช้ ความคิดระดับสูงที่เน้ นการนาไปใช้ การ วิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อให้ เด็กมีกระบวนการการคิดขันสู ้ งเป็ น สิง่ ที่พฒ ั นาและฝึ กฝนได้ หากทุกฝ่ ายอันได้ แก่ภาครัฐ โรงเรี ยน ผู้ผลิต สื่อการเรี ยนการสอน ครู ผู้ปกครอง รวมถึงสถาบัน ผลิตครูร่วมมือกันสามารถพัฒนากระบวนการ ‚สอนคิด‛ เพื่อให้ เด็ก ‘คิดเป็ น’ ได้ ซึ่งท้ ายที่สดุ แล้ ว ก็จะเชื่อมโยงไปสูก่ าร พัฒนาการศึกษาและสังคมที่มีคณ ุ ภาพต่อไป แต่อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษาสภาพ ปั ญหาและความต้ องการของครูในการพัฒนาการสอนคิดในศตวรรษที่ 21 สังกัดสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3 (รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ , 2559) พบว่า ครูสว่ นใหญ่มีการจัด


2

กิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนได้ คิดในแต่ละชั่วโมง แต่กลับพบว่าทักษะกระบวนการคิดของนักเรี ยนยังไม่น่าพอใจ สะท้ อนได้ จากผลการประเมินคุณภาพผู้เรี ยนทัง้ O-NET และการประเมินคุณภาพภายนอกมาตรฐานการคิดไม่ผา่ นเกณฑ์ มาตรฐาน นันก็ ้ แสดงให้ เห็นว่าการสอนทักษะกระบวนการคิดขาดประสิทธิภาพ ทิศนา แขมมณี (2557) ได้ ศึกษาสาเหตุ สาคัญที่ทาการสอนกระบวนการคิดขาดประสิทธิ พบว่า ผู้สอนยังขาดความรู้ ความเข้ าใจที่เพียงพอในสาระสาคัญของ ทักษะกระบวนการสอนคิด โดยเฉพาะการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ประกอบกับครู คิดว่าทั กษะการคิดเป็ น ทักษะที่ยากมีความเป็ นนามธรรมวัดและประเมินผลยากทักษะการคิดมีหลายประเภท และที่สาคัญทักษะการคิดเป็ น ทักษะที่ครูไม่เคยได้ เรี ยนรู้ ด้ วยเหตุนี ้ บริ ษัท อักษรอินสไปร์ จากัด ในฐานะองค์กรเอกชนที่เป็ นผู้นานวัตกรรมสื่อการเรี ยนรู้ แห่งศตวรรษที่ 21 และมีสว่ นร่ วมในพัฒนาองค์ความรู้ ให้ ครู ผ้ สู อนอย่างต่อเนื่องตลอดมา จึงได้ จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ “การ ออกแบบการเรี ยนรู้กลุม่ สาระสังคมศึกษา ที่เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้ รูปแบบการสอน PCBL‛ ระดับประถมศึกษา” ขึ ้น เพื่อพัฒนาครูในสถานศึกษา ให้ เกิดการคิด การวางแผนการสอน สังเกตการณ์สอนและวิเคราะห์ การสอนร่ วมกันเรี ยนรู้ ร่ วมกันเป็ นทีมจากการลงมือปฏิบตั ิ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมสู่การเป็ นครู มืออาชีพ และสามารถ พัฒนาผู้เรี ยนในยุคศตวรรษที่ 21ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อพัฒนาครูให้ มคี วามรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับรูปแบบการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้ นการ พัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ได้ 7.2 เพื่อพัฒนาให้ ครูเห็นคุณค่าและเกิดความตระหนักในความสาคัญของการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ตามรูปแบบการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 (รูปแบบ PCBL) ได้ 7.3 เพื่อพัฒนาให้ ครูสามารถเขียนแผนการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับแนวคิดวิธีการและขันตอนการสอนรู ้ ปแบบการ ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ( รูปแบบการสอน PCBL) สาหรับนาไปปฏิบตั ิการสอนจริ งในชันเรี ้ ยนได้ 7.4 เพื่อพัฒนาให้ ครูความสามารถจัดการเรี ยนการสอนตามรูปแบบการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ( รูปแบบ PCBL) ได้ 7.5 เพื่อพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ของนักเรี ยน


3

8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาความรู้และทักษะ จะต้ องมีเวลาเข้ าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 80 ของเวลาตามที่ระบุในหลักสูตร 8.2 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาความรู้ และทักษะ จะต้ องมีคะแนนการทดสอบหลังการอบรมสูงกว่าคะแนนทดสอบ ก่อนการอบรม 8.3 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาความรู้ และทักษะสามารถนาความรู้ที่ได้ ไปประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรี ยนใน ห้ องเรี ยนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 8.4 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาความรู้ และทักษะมีความพึงพอใจต่อการเข้ าร่ วมการอบรมอยูใ่ นระดับกลาง (พอใช้ ) ขึ ้นไป 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตรการอบรมเน้ น เนื ้อหาสาระที่เป็ นสาระรายวิชา (Content) สังคมศึกษา ครู ผ้ เู ข้ ารับการอบรมสามารถ ฝึ กทักษะกระบวนการคิดที่จาเป็ นสาหรับผู้เรี ยนในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการใช้ เทคนิคการสอนผสมกับเนื ้อหาสาระที่เป็ น ศาสตร์ ทางวิชาชีพ (Pedagogy) ได้ อย่างเหมาะสม เน้ นการพัฒนาครู ให้ สามารถใช้ คาถามเป็ นเครื่ องชี ้นาการคิด ตามวิธี สอนคิดแบบ PCBL โดยพัฒนาครูในสถานศึกษา มีการวางแผนการสอน สังเกตการณ์สอนและวิเคราะห์การสอนร่ วมกัน เรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นทีมจากการลงมือปฏิบตั ิ ร่วมกับการจัดระบบให้ คาปรึ กษาและความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ครู ผ้ สู อน โดยผู้เชี่ยวชาญ ผู้ร้ ู ผู้ชานาญ หรื อการนิเทศติดตามผ่าน internet หรื อผ่านสื่ออื่นๆ ซึ่งถือว่าเป็ นการเตรี ยมครู มืออาชีพสู่ สาหรับการพัฒนาผู้เรี ยนในยุคศตวรรษที่ 21


4

10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ (Knowledge)

สาระที่พัฒนา

กิจกรรม

1) ความรู้เบื ้องต้ น การสอนเนื ้อหาเฉพาะ เกี่ยวกับองค์ความรู้ ใน การพัฒนาทักษะ ทางการคิดรายวิชา สังคมศึกษา

-

2) เทคนิคการจัดการ การสอนเนื ้อหาเฉพาะ เรี ยนการสอนและ วิธีการจัดการเรียนการ สอนที่มีความเหมาะสม

-

3) ปลูกฝั งเจตคติที่ดตี อ่ การสอนเนื ้อหาเฉพาะ การเรี ยนรู้และฝึ กฝน ทักษะจัดการเรี ยนการ สอน ให้ แก่นกั เรี ยน

-

-

-

-

การบรรยาย กิจกรรมการปฏิบตั ิ รายกลุม่ กิจกรรมรายบุคคล การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้ การบรรยาย กิจกรรมการปฏิบตั ิ รายกลุม่ กิจกรรมรายบุคคล การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้ การบรรยาย กิจกรรมการปฏิบตั ิ รายกลุม่ กิจกรรมรายบุคคล การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้

สาระเนือ้ หา (Content)

สาระที่เป็ นศาสตร์ ท่ ี เกี่ยวข้ องการจัดการ เรียนรู้ (Pedagogy) (11)สังคมศึกษา (1)การสอนในศตวรรษ ที่ 21

(11)สังคมศึกษา (1)การสอนในศตวรรษ ที่ 21

(11)สังคมศึกษา (1)การสอนในศตวรรษ ที่ 21 / (3) จิตวิทยาการ จัดการเรี ยนรู้ / (10) การออกแบบการเรียนรู้


5 11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่

เวลา

วันที่ 1

9.00 – 10.00 น.

วันที่ 2

จานวน เรื่อง/สาระการพัฒนา ชั่วโมง 1 ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้ ใน การพัฒนาทักษะทางการคิดรายวิชา สังคมศึกษา

10.00 – 12.00 น.

2

กิจกรรมการเรียนรู้ และ กระบวนการวิจยั ในชันเรี ้ ยน

13.00 – 16.00 น.

3

เทคนิคการจัดการเรี ยนการสอนและ วิธีการจัดการเรียนการสอนที่มคี วาม เหมาะสม

9.00-12.00 น.

3

เทคนิคการเก็บรวบรวมข้ อมูล การ สร้ างเครื่ องมือวัดประเมินผล

13.00 – 16.00 น.

3

เจตคติที่ดตี อ่ การเรี ยนรู้และฝึ กฝน ทักษะจัดการเรี ยนการสอน ให้ แก่ นักเรี ยน

วิทยากร ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริ น เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริ น เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริ น เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริ น เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริ น เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา


6 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่ วันที่ 1

วันที่ 2

เวลา

เรื่อง/สาระการพัฒนา

กิจกรรมการพัฒนา

9.00 – 10.00 น.

ความรู้เบื ้องต้ นเกี่ยวกับองค์ความรู้ ใน การพัฒนาทักษะทางการคิดรายวิชา สังคมศึกษา

- ทดสอบก่อนเรียน - บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

10.00 – 12.00 น.

กิจกรรมการเรียนรู้ และกระบวนการวิจยั ในชันเรี ้ ยน

13.00 – 16.00 น.

เทคนิคการจัดการเรียนการสอนและ วิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีความ เหมาะสม

- บรรยาย - สาธิตการออกแบบกิจกรรม - กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ - บรรยาย - สาธิตการออกแบบกิจกรรม - กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ - บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - นาเสนอสื่อ/วิธีการสอนหน้ าชันเรี ้ ยน

9.00-12.00 น.

เทคนิคการเก็บรวบรวมข้ อมูล การสร้ าง เครื่องมือวัดประเมินผล

13.00 – 16.00 น.

เจตคติที่ดีตอ่ การเรียนรู้และฝึ กฝนทักษะ จัดการเรียนการสอน ให้ แก่นกั เรียน

- ทดสอบหลังเรียน - การติดตามครูที่เข้ ารับการพัฒนา - มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม

วิทยากร ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริน เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริน เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริน เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริน เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ ดร.วัฒนา อัคคพานิช อาจารย์รสริน เจิมไธสง อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา

สื่อ

เครื่องอานวยความสะดวก

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบการ บรรยาย

1.คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องฉาย LCD 3. ไมโครโฟน

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบการ บรรยาย 3. ใบงาน

1.คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องฉาย LCD 3. ไมโครโฟน

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบการ บรรยาย 3. ตัวอย่างกิจกรรม

1. กระดาษ Flip Char , กระดาษ A4 2. ปากกาเมจิก 3. วัสดุ เช่น กรรไกร กาว คัต เตอร์ ฯลฯ 1. กระดาษ Flip Char , กระดาษ A4 2. ปากกาเมจิก 3. วัสดุ เช่น กรรไกร กาว คัต เตอร์ ฯลฯ 1.คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องฉาย LCD 3. ไมโครโฟน

1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบ การ บรรยาย 3. ตัวอย่างกิจกรรม 1. PowerPoint Slides 2. เอกสารประกอบการ บรรยาย 3. ตัวอย่างกิจกรรม


7 12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และ รับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 ดร.รุ่งทิวา จันทน์วฒ ั นวงษ์ 13.1.2 ดร.ไพศาล แน่นอุดร 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 อาจารย์รสริ น เจิมไธสง 13.2.2 อาจารย์ สุทธิศกั ดิ์ นันทวิทย์ 13.2.3 อาจารย์ ดวงใจ วัฒกปั ญญา 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร ระดับพื ้นฐาน

จานวนครูต่อกลุ่ม (คน) 150


8 15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

1) ด้ านความรู้ (K)

1. การทดสอบ 2. การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้

แบบทดสอบ

2) ด้ านทักษะ (S)

1. กิจกรรม 2. การนาเสนอ ผลงาน

1. ตัวอย่างกิจกรรม 2. ผลงาน

3) ด้ านเจตคติ (A)

1.การพัฒนาทักษะ ทางการคิด 2.การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้

1.ผลของการ ออกแบบกิจกรรม 2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม อบรม

4) ด้ านความพึง พอใจ

การสอบถาม

แบบสอบถาม

เกณฑ์ การ ประเมิน (ผ่ าน)

ความสอดคล้ องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตร คะแนนการทดสอบ เพื่อพัฒนาให้ ครูมี หลังการอบรมสูง ความรู้ ความเข้ าใจ กว่าก่อนการอบรม เกี่ยวกับการออกแบบ กิจกรรมการเรียนการ สอนที่เน้ นการพัฒนา ทักษะการคิดใน ศตวรรษที่ 21 ความสามารถใน เทคนิคการออกแบบ การออกแบบ กิจกรรมแนวคิด กิจกรรมทีเ่ น้ นการ วิธีการ ขันตอนการ ้ พัฒนาทักษะการ ออกแบบกิจกรรมการ คิดในศตวรรษที่ 21 เรี ยนการสอน ครูที่เข้ ารับการ ความเข้ าใจในการจัด พัฒนาทังหมดเข้ ้ า กิจกรรมการเรียนการ ร่วมกิจกรรมตาม สอนที่เพิ่มมากขึ ้น หลักสูตรไม่น้อย กว่าร้ อยละ 80 ครูที่เข้ ารับการ พัฒนามีความพึง พอใจต่อการอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารใน ภาพรวมอยูใ่ น ระดับพอใช้ ขึ ้นไป


9

16. รหัสหลักสูตรที่เคยได้ รับการรับรองจากสถาบันคุรุพัฒนา 60204001 การออกแบบการเรี ยนรู้กลุม่ สาระสังคมศึกษา ที่เน้ นการพัฒนาทักษะการคิดแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้ รูปแบบการสอน PCBL ระดับประถมศึกษา 17. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการด้ าน การศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลักขององค์กร คือ การมุ่งพัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรู ปแบบใหม่ ซึ่งครู จะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึ กษา โดยมีผ้ เู รี ยนเป็ น ศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่ วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้ อย่างแท้ จริ งและเป็ นการพัฒนาทักษะ การทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ยนรู้ และการจัดการ เรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรี ยน ครู และผู้เรี ยน ทัว่ ประเทศ สื่อการเรี ยนรู้ เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนังสือการศึกษา สื่อดิจิทลั ของเล่นเพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศกว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครู ผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมที่หลากหลาย เช่น เทคนิค และวิธีการสอน การสร้ างเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู้ สาระความรู้ในแต่ละสาขาวิชา และการพัฒนาวิ ชาชีพ นอกจากนี ้ยังจัดทา คู่มือครู ซึ่งประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ างคาถามชวนคิด และ แนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครูผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครู ผ้ สู อน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 3,800 บาท / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุ ณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุ ณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ -นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของ ท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.