1
หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู การใช้ กระบวนการวิจยั และนวัตกรรมการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนสู่ Thailand 4.0” Using Research Process and Learning Innovations to Develop Learner's Quality toward Thailand 4.0 2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 1. ชื่อหลักสูตร: Curriculum Theme:
3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 3.1 นางสาวธรภัสสรณ์ ศักดาบวรเลิศ
ประธานกรรมการ
3.2 นางสาวปริ ชญา วัชรพันธุ์
กรรมการ
4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1-6 จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): Research Process, Learning Innovations, Thailand 4.0, กระบวนการวิจยั , นวัตกรรม, การพัฒนาคุณภาพ 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้ มีความรู้ ความสามารถในการวิจัยนัน้ ถือได้ ว่าเป็ นองค์ประกอบสาคัญ ประการหนึง่ ที่จะทาให้ การพัฒนาการศึกษาของชาติมีความก้ าวหน้ า เพราะกระบวนการวิจยั เป็ นกระบวนการที่ทาให้ ได้ มา ซึ่งสิ่งใหม่ๆ ความรู้ ใหม่ๆ หรื อแม้ แต่นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเป็ นแนวทางในการแก้ ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ ดังจะเห็นได้ จาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุไว้ ในหมวด 4 มาตรา30 ว่า ให้ สถานศึก ษาพัฒ นากระบวนการเรี ย นการสอนที่ มี ป ระสิท ธิ ภาพ รวมทัง้ ส่ง เสริ ม ให้ ผ้ ูสอนสามารถท าวิจัย เพื่ อ พัฒนาการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรี ยนในแต่ละระดับการศึกษาและมาตรา 24 (5) ที่ให้ สง่ เสริ มสนับสนุนให้ ครู สามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้ อม สื่อการเรี ยนและสื่ออานวยความสะดวกเพื่อให้ นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ รวมทังสามารถใช้ ้ การ วิจยั เป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรี ยนรู้ อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาพบว่าครู ส่วนใหญ่นากระบวนการวิจัยมาใช้ ในการพัฒนาการจัดการเรี ยนรู้ น้ อยมาก ซึง่ ครูควรนากระบวนการวิจยั มาใช้ เป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนรู้ ทังในด้ ้ านของการวิจยั เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ เหมาะสมกับผู้เรี ยน ตลอดจนการนาผลวิจยั มาใช้ ในการปรับปรุงการเรี ยนการสอนและการแก้ ปัญหาหรื อพัฒนาการเรี ยนรู้ สนับ สนุน ให้ ค รู มี ค วามรู้ ความสามารถในการท าวิ จัย เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึน้ ในชัน้ เรี ย นและน ามาปรั บ ปรุ ง และ พัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบ ซึง่ นอกจากนี ้ ครูยงั สามารถนาผลการวิจยั มาพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่ นาไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้ได้ อีกด้ วย โครงการอบรมเชิ งปฎิบตั ิการหลักสูตร “การใช้ กระบวนการวิจัยและนวัตกรรมการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรี ยนสู่ Thailand 4.0” จึงได้ จดั ทาขึ ้น เพื่อส่งเสริ มให้ ครู สามารถพัฒนาตนเองในด้ านกระบวนการวิจยั ต่อไปได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถต่อยอดสูก่ ารเลือ่ นวิทยฐานะได้
2
7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อให้ ครูมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับกระบวนการวิจยั 7.2 เพื่อให้ ครูสามารถนากระบวนการวิจยั มาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน 7.3 เพื่อให้ ครูสามารถสร้ างนวัตกรรมการเรี ยนรู้และนามาใช้ ในชันเรี ้ ยนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 7.4 เพื่อให้ ครูสามารถจัดทางานวิจยั เพื่อการเลือ่ นวิทยฐานะได้ 8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ครูที่เข้ ารับการพัฒนาต้ องมีเวลาเข้ าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ของเวลาตามหลักสูตร 8.2 ครูที่เข้ ารับการพัฒนามีคะแนนทดสอบหลังการอบรมของสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนอบรม 8.3. ครูที่เข้ ารับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการอบรมเชิงปฏิบตั ิการในภาพรวมอยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ น้ ไป 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตร “การใช้ กระบวนการวิจยั และนวัตกรรมการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรี ยนสู่ Thailand 4.0” นาเนื ้อหา ที่เป็ นสาระวิชา (content) ทางด้ านการวิจยั และพัฒนาการเรี ยนการสอน ที่สอดคล้ องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ผนวกกับเนื ้อหาสาระที่เป็ นศาสตร์ ทางวิชาชีพครู (Pedagogy) เพื่อยกระดับกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยน ทังในด้ ้ าน ของการวิจยั เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรี ยน ตลอดจนการนาผลวิจยั มาใช้ ในการปรับปรุ งการเรี ยน การสอนและการแก้ ปัญหาหรื อพัฒนาการเรี ยนรู้ สนับสนุนให้ ครู มีความรู้ ความสามารถในการทาวิจยั เพื่อแก้ ไขปั ญหาที่ เกิดขึ ้นในชันเรี ้ ยนและนามาปรับปรุ งและพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบ ซึ่งนอกจากนี ้ ครู ยงั สามารถนา ผลการวิจยั มาพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่นาไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู้ได้ อีกด้ วย
3 10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ
สาระที่พัฒนา
กิจกรรม
(Knowledge)
สาระเนือ้ หา (Content)
1) ความรู้เบื ้องต้ น
การสอนเนื ้อหาสาระ
เกี่ยวกับ
เฉพาะ
กระบวนการวิจยั
- บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิ
(15) กิจกรรม
(1)การสอนในศตวรรษ
พัฒนาผู้เรี ยน
ที่ 21
รายบุคคล
กระบวนการ วิจยั ในชัน้ เรี ยน และการสร้ าง
- การแลกเปลีย่ น
นวัตกรรม
เรี ยนรู้
สาระที่เป็ นศาสตร์ ท่ ี เกี่ยวข้ องการจัดการ เรียนรู้ (Pedagogy)
(4)การจัดการชันเรี ้ ยน
- การเรี ยนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่ 2ความรู้เกี่ยวกับการ
การสอนเนื ้อหาสาระ
ประยุกต์ใช้
เฉพาะ
กระบวนการวิจยั และ
- บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิ
(15) กิจกรรม
(1)การสอนในศตวรรษ
พัฒนาผู้เรี ยน
ที่21
รายบุคคล
การใช้ นวัตกรรมเพื่อ
(4)การจัดการชันเรี ้ ยน
- การแลกเปลีย่ น
พัฒนาคุณภาพผู้เรี ยน
เรี ยนรู้ - การเรี ยนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่ 3) Workshop: การวัด
การหลอมรวมเทคโนโลยี
และประเมินผลการ
สารสนเทศเข้ ากับการ
เรี ยนรู้และการพัฒนา
สอนเนื ้อหาสาระเฉพาะ
เครื่ องมือวัด
- บรรยาย - กิจกรรมปฏิบตั ิราย กลุม่ - การแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้
(15) กิจกรรม
(3) จิตวิทยาการแนะ
พัฒนาผู้เรี ยน
แนว/จิตวิทยาการ จัดการเรี ยนรู้ (8) การใช้ สอื่ และ เทคโนโลยีในการจัดการ เรี ยนรู้
4 11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่
เวลา
จานวน
เรื่อง/สาระการพัฒนา
วิทยากร
ชั่วโมง วันที่ 1
9.00 – 12.00 น.
3
ความรู้เบื ้องต้ นที่เกี่ยวข้ องกับ กระบวนการวิจยั ในชันเรี ้ ยน การ สร้ างและการประยุกต์ใช้ นวัตกรรม
13.00 – 16.00 น.
3
เทคนิคการวัดและประเมินผลการ เรี ยนรู้และการพัฒนาเครื่ องมือวัด ประเมินผล
วันที่ 2
9.00-12.00 น.
3
การสร้ างนวัตกรรมการเรี ยนรู้ การ นามาประยุกต์ใช้ การเขียนรายงาน การวิจยั และการประเมินโครงการ
13.00 -.16.00 น.
3
การนาเสนอผลงานเพื่อการศึกษา และวิจยั Case Study
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรื องเดช ศิริกิจ ดร.นวริ นทร์ ตาก้ านทอง ดร.มยุรี เสือคาราม ดร.อุไร จักษ์ ตรี มงคล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรื องเดช ศิริกิจ ดร.นวริ นทร์ ตาก้ านทอง ดร.มยุรี เสือคาราม ดร.อุไร จักษ์ ตรี มงคล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรื องเดช ศิริกิจ ดร.นวริ นทร์ ตาก้ านทอง ดร.มยุรี เสือคาราม ดร.อุไร จักษ์ ตรี มงคล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรื องเดช ศิริกิจ ดร.นวริ นทร์ ตาก้ านทอง ดร.มยุรี เสือคาราม ดร.อุไร จักษ์ ตรี มงคล
5 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่ วันที่ 1
เวลา 9.00 – 12.00 น.
เรื่อง/สาระการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนา
วิทยากร
สื่อ
เครื่องอานวยความ สะดวก
ความรู้เบื ้องต้ นที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการวิจยั - ทดสอบก่อนเรียน
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์
1. PowerPoint Slides
1.คอมพิวเตอร์
ในชันเรี ้ ยน การสร้ างและการประยุกต์ใช้
- บรรยาย
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เรืองเดช ศิริกิจ
2. เอกสารประกอบการ
2. visualizer
นวัตกรรม
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดร.นวรินทร์ ตาก้ านทอง
บรรยาย
3. เครื่องฉาย LCD
ดร.มยุรี เสือคาราม
4. ไมโครโฟน
ดร.อุไร จักษ์ ตรีมงคล 13.00 – 16.00 น.
เทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้และ
- บรรยาย
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์
1. PowerPoint Slides
1.คอมพิวเตอร์
การพัฒนาเครื่องมือวัดประเมินผล
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เรืองเดช ศิริกิจ
2. เอกสารประกอบ การ
2. visualizer
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดร.นวรินทร์ ตาก้ านทอง
บรรยาย
3. เครื่องฉาย LCD
- การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่
ดร.มยุรี เสือคาราม
3. ตัวอย่างกิจกรรม
4. ไมโครโฟน
ดร.อุไร จักษ์ ตรีมงคล วันที่ 2
9.00-12.00 น.
การสร้ างนวัตกรรมการเรียนรู้ การนามา
- บรรยาย
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์
1. PowerPoint Slides
1. กระดาษ Flip Chart
ประยุกต์ใช้ การเขียนรายงานการวิจยั และการ
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เรืองเดช ศิริกิจ
2. เอกสารประกอบ การ
2. กระดาษ A4
ประเมินโครงการ
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ดร.นวรินทร์ ตาก้ านทอง
บรรยาย
3. ปากกาเมจิก
ดร.มยุรี เสือคาราม
3. ตัวอย่างกิจกรรม
ดร.อุไร จักษ์ ตรีมงคล 13.00 -.16.00 น.
การนาเสนอผลงานเพื่อการศึกษาและวิจยั
- นาเสนอผลงาน สรุปกิจกรรม
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดา มิตรานันท์
Case Study
- มอบหมายงาน และนัดหมายการ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เรืองเดช ศิริกิจ
2. กระดาษ A4
ติดตามครูที่เข้ ารับการพัฒนา
ดร.นวรินทร์ ตาก้ านทอง
3. ปากกาเมจิก
- มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม
ดร.มยุรี เสือคาราม ดร.อุไร จักษ์ ตรีมงคล
1. PowerPoint Slides
1. กระดาษ Flip Chart
6
12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ า ในการดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และรับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ข องหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดา มิตรานันท์ 13.1.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรื องเดช ศิริกิจ 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 ดร.นวริ นทร์ ตาก้ อนทอง 13.2.2 ดร.มยุรี เสือคาราม 13.2.3 ดร.อุไร จักษ์ ตรี มงคล 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร จานวนครูต่อกลุ่ม (คน) ระดับพื ้นฐาน
150
7
15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
1) ด้ านความรู้ (K)
แบบทดสอบ
2) ด้ านทักษะ (S)
1. การทดสอบ
คะแนนการทดสอบ 1. เพื่ อ ให้ ค รู มี ค วามรู้ หลังการอบรมสูง
ความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ
เรี ยนรู้
กว่าก่อนการอบรม
กระบวนการวิจยั
1. การพัฒนา
1. ผลงานกิจกรรม
ผลงาน
พัฒนาการกิจกรรม 2.เพื่อให้ ครูสามารถนา ที่เกี่ยวข้ องกับการ กระบวนการวิจัยมาใช้ ในการพัฒนาคุณภาพ วิจยั และพัฒนา ผู้เรี ยน นวัตกรรม
กิจกรรม
2. ผลงาน
1.ทักษะกระบวนการ 1.การพัฒนา
ครูที่เข้ ารับการ
คิด
นวัตกรรม
พัฒนาทังหมดเข้ ้ า
2.การแลกเปลีย่ น
2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม
ร่วมกิจกรรมตาม
เรี ยนรู้
อบรม
หลักสูตรไม่น้อย กว่าร้ อยละ 80
4) ด้ านความพึง พอใจ
ความสอดคล้ องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตร
2. การแลกเปลีย่ น
2. การนาเสนอ
3) ด้ านเจตคติ (A)
เกณฑ์ การ ประเมิน (ผ่ าน)
การสอบถาม
แบบสอบถาม
ครูที่เข้ ารับการ พัฒนามีความพึง พอใจต่อการอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารใน ภาพรวมอยูใ่ น ระดับพอใช้ ขึ ้นไป
3.เพื่ อ ให้ ครู ส ามารถ สร้ างนวั ต กรรมการ เรี ยนรู้ และนามาใช้ ใ น ชั ้น เ รี ย น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ
8
16. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการ ด้ านการศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลัก ขององค์กร คือ การมุง่ พัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรูปแบบใหม่ ซึง่ ครูจะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึ กษา โดยมี ผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้อย่างแท้ จริ งและเป็ นการ พัฒนาทักษะการทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ยนรู้ และการ จัดการเรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรี ยน ครู และผู้เรี ยนทัว่ ประเทศ สื่อการเรี ยนรู้ เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนังสือการศึกษา สื่อดิจิทลั ของเล่น เพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศ กว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครู ผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมที่หลากหลาย เช่น เทคนิ ค และวิ ธี ก ารสอน การสร้ างเครื่ องมื อ เพื่ อ การเรี ย นรู้ สาระความรู้ ในแต่ละสาขาวิ ช า และการพัฒ นาวิ ช าชี พ นอกจากนี ้ยังจัดทาคูม่ ือครู ซึง่ ประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ าง คาถามชวนคิด และแนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครู ผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครูผ้ สู อนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 3,800 บาท / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรั พย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุ ณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ -นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณ ติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)