1 หลักสูตรพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนาครู 1. ชื่อหลักสูตร:
STEAM Education “นวัตกรรมการบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอน เน้ นทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์” ระดับมัธยมศึกษา
Curriculum Theme:
STEAM Education: “Integrated Innovation in Teaching and Learning Management Focusing on Creative Thinking” Secondary Levels
2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร (Curriculum Level): หลักสูตรระดับพื ้นฐาน (Basic level) 3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (In charge committees of curriculum): 3.1 นายติณณภพ สุริยาวงษ์ ประธานกรรมการ 3.2 นายทวีศกั ดิ์ สมอพันธ์ กรรมการ 4. พืน้ ฐานและเงื่อนไขของครูท่ จี ะเข้ าอบรมในหลักสูตร ครูผ้ สู อนระดับระดับมัธยมศึกษา จานวน 150 คน 5. กาหนดคาสาคัญ (Keywords): STEAM Education, Integrated Innovation in Teaching and Learning, ทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ 6. หลักการและที่มาของหลักสูตร (Need Assessments) สะเต็มศึกษา (STEM Education)
เป็ นแนวทางการจัดการศึกษาที่เน้ นการบูรณาการด้ าน วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้ นการนาความรู้ ไปใช้ ในการแก้ ปัญหาในชีวิตจริ ง รวมทังการพั ้ ฒนา กระบวนการผลิตใหม่ ที่เป็ นประโยชน์ ต่ อการดาเนินชี วิตและการทางาน การจัดการเรี ยนรู้ แบบสะเต็มศึกษานับเป็ น รากฐานสาคัญของการพัฒนาทักษะด้ านนวัตกรรม (Innovation skills) ซึ่งประกอบด้ วย การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) ความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ (Creativity) การสื่อสาร (Communication) และการทางานร่ วมกัน (Collaboration) ซึง่ ทักษะเหล่านี ้เป็ นทักษะสาคัญในการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในยุคสมัย แห่งประชาคมเศรษฐกิ จแห่งอาเซียน (AEC) นอกจากนี ้ สะเต็มศึกษาสามารถเป็ นกลไกสาคัญในการช่วยยกระดับ เศรษฐกิจไทยจากระดับรายได้ ปานกลาง มาอยูใ่ นระดับรายได้ สงู ที่ได้ รับการขับเคลือ่ นจากนวัตกรรมใหม่ ๆ ในระยะยาว จาก STEM Education มาสู่ STEAM Education ซึ่งเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการเนื ้อหาและทักษะ ความรู้ ที่เพิ่ม “ศิลปะ” (Arts) เข้ าไป บนพื ้นฐานของการสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการคิดวิเคราะห์ แก้ ปัญหาด้ วยความคิด สร้ างสรรค์ (Creativity) สามารถเชื่อมโยงความรู้กบั ชีวิตจริ ง และสร้ างบรรยากาศการเรี ยนรู้ที่สนุกสนาน ส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนมี ความรู้ที่คงทน สร้ างทักษะแห่งความสาเร็ จและพัฒนาพื ้นฐานการสร้ างนวัตกรรมในอนาคตอย่างมีคณ ุ ภาพ บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) ในฐานะผู้นานวัตกรรมสื่อ การเรี ยนรู้แห่งศตวรรษ ที่ 21 เล็งเห็นถึงความจาเป็ นในการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้ มีความรู้ ความสามารถ เพื่อ ช่วยขับเคลื่อนระบบการศึกษาของไทยต่อไป จึงจัดให้ มีโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการหลักสูตร “STEAM EDUCATION
2
นวัตกรรมการบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอน เน้ นทักษะกระบวนการคิดสร้ างสรรค์ ” เพื่อเป็ นการสร้ างความรู้ ความ เข้ าใจแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ ในรู ปแบบ STEAM EDUCATION ให้ กับครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้ สามารถ นาไปใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู้ ในชันเรี ้ ยนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มงุ่ หวังพัฒนาเยาวชนไทยให้ พร้ อมต่อการเป็ นพลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 7. วัตถุประสงค์ ของโครงการ 7.1 เพื่อจัดกิจกรรมให้ ครู ได้ รับความรู้ ทางวิชาการและฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ แบบ บูรณาการแบบ STEAM EDUCATION และสามารถออกแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการตาม มาตรฐานตัวชี ้วัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 7.2 เพื่อให้ ครู ผ้ สู อนสามารถพัฒนาวิธีการสอนให้ นกั เรี ยนสามารถเชื่อมโยงความรู้ ได้ ง่ายและเข้ าใจเนื ้อหาใน ระดับลึกได้ อย่างครอบคลุมเพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนาความคิ ดสร้ างสรรค์คิดค้ นประดิษฐ์ สิ่งใหม่และสามารถ นาไปใช้ ประโยชน์ได้ จริ ง 7.3 เพื่อจัดกิจกรรมให้ ครู สามารถนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ กิจกรรม STEAM EDUCATION ในการจัดการเรี ยน การสอนและกิจกรรมในช่วงลดเวลาเรี ยน เพิ่มเวลารู้ได้ 8. ตัวชีว้ ัดการสาเร็จของการเรียนรู้ของครูตามหลักสูตร 8.1 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาทักษะจะต้ องมีเวลาเข้ าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 80 ของเวลา ตามที่ระบุในหลักสูตร 8.2 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาทักษะ จะต้ องมีคะแนนการทดสอบหลังการอบรมสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนการอบรม 8.3 ครูผ้ เู ข้ ารับการพัฒนาทักษะสามารถนาความรู้ที่ได้ ไปประเมินผลการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนในห้ องเรี ยนได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ 9. กรอบความคิดของหลักสูตร (Curriculum Conceptual Framework) หลักสูตร STEAM Education “นวัตกรรมการบูรณาการการจัดการเรี ยนการสอน เน้ นทักษะกระบวนการคิด สร้ างสรรค์ ” ระดับมัธ ยมศึกษา) เป็ นแนวทางการจัดการศึก ษาที่ เน้ นการบูรณาการด้ าน วิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเน้ นการนาความรู้ไปใช้ ในการแก้ ปัญหาในชีวิตจริ ง พร้ อมด้ วยสาระการบูรณาการ การสอนสาระเฉพาะ (PCK) ระดับมัธยมศึกษา ผนวกบูรณาการเนื ้อหาและทักษะความรู้ ที่เพิ่ม “ศิลปะ” (Arts) เข้ าไป บน พื ้นฐานของการสนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการคิดวิเคราะห์ แก้ ปัญหาด้ วยความคิดสร้ างสรรค์ (Creativity) ตลอดจนติดตาม ความสาเร็ จของครูใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือ ซึง่ นับเป็ นการสนับสนุนเพื่อพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษาและการพัฒนาผู้เรี ยน
3
10. สาระการพัฒนา หัวข้ อ (Knowledge)
สาระที่พัฒนา
กิจกรรม
สาระเนือ้ หา (Content)
สาระที่เป็ นศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องการ จัดการเรียนรู้ (Pedagogy)
1) การวิเคราะห์
การสอนเนื ้อหาสาระ
- บรรยาย
(1)วิทยาศาสตร์
(1)การสอนใน
มาตรฐานตัวชี ้วัดกลุม่
เฉพาะ
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
(18)บูรณาการ
ศตวรรษที่ 21
สาระการเรียนรู้
รายบุคคล
สาระ
(4)การจัดการชัน้
วิทยาศาสตร์ ในเรื่ อง
- การแลกเปลีย่ น
ของ STEAM
เรี ยนรู้
Education
- การเรี ยนรู้ร่วมกัน
เรี ยน
เป็ นกลุม่ ใหญ่ 2) การออกแบบ
การสอนเนื ้อหาสาระ
- บรรยาย
(1)วิทยาศาสตร์
(1)การสอนใน
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วย เฉพาะ
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
(18)บูรณาการ
ศตวรรษที่ 21
นวัตกรรมสือ่ ที่
รายบุคคล
สาระ
(4)การจัดการชัน้
หลากหลาย ตาม
- การแลกเปลีย่ น
มาตรฐานตัวชี ้วัดและ
เรี ยนรู้
การเขียนแผนการ
- การเรี ยนรู้ร่วมกัน
จัดการเรี ยนรู้ที่
เป็ นกลุม่ ใหญ่
เรี ยน
สอดคล้ องกับมาตรฐาน ตัวชี ้วัด 3) การวัดและ
การหลอมรวมเทคโนโลยี
- บรรยาย
(18)บูรณาการ
(9)การวัดประเมินผล
ประเมินผลการเรียนรู้
สารสนเทศเข้ ากับการ
- กิจกรรมปฏิบตั ิ
สาระ
การเรี ยนรู้
ผู้เรี ยนสอดคล้ องกับ
สอนเนื ้อหาสาระเฉพาะ
รายบุคคล
มาตรฐานตัวชี ้วัดของ
- การแลกเปลีย่ น
กระทรวงศึกษาธิการ
เรี ยนรู้ - การเรียนรู้ร่วมกัน เป็ นกลุม่ ใหญ่
4
11. กระบวนการพัฒนาและตารางการจัดกิจกรรมและแผนการจัดกิจกรรม 11.1 ตารางการจัดกิจกรรม วันที่
เวลา
จานวน ชั่วโมง
เรื่อง/สาระการพัฒนา
วันที่ 1
9.00-12.00 น.
3
1) การวิเคราะห์มาตรฐานตัวชี ้วัดกลุม่
วิทยากร
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในเรื่อง
กมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง
ของ STEAM Education
ณัฐพล บัวอุไร ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์ สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
13.00-16.00 น.
วันที่ 2
9.00-16.00 น.
3
6
2) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย นวัตกรรมสือ่ ที่หลากหลาย ตาม
กมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง
มาตรฐานตัวชี ้วัดและการเขียน
ณัฐพล บัวอุไร
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับ
ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์
มาตรฐานตัวชี ้วัด
สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
3) การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ ผู้เรี ยนสอดคล้ องกับมาตรฐานตัวชี ้วัด ของกระทรวงศึกษาธิการ
กมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง ณัฐพล บัวอุไร ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์ สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
5 11.2 แผนการจัดกิจกรรม วันที่ วันที่ 1
เวลา
เรื่อง/สาระการพัฒนา
9.00 – 12.00 น. 1) การวิเคราะห์มาตรฐานตัวชี ้วัดกลุม่
กิจกรรมการพัฒนา - ทดสอบก่อนเรี ยน
วิทยากร
1. PowerPoint
1.คอมพิวเตอร์
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในเรื่องของ - ชมวิดีทศั น์
Slides
2. visualizer
STEAM Education
- บรรยาย
ณัฐพล บัวอุไร
2. เอกสารประกอบ
3. เครื่ องฉาย LCD
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล
ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์
การบรรยาย
4. ไมโครโฟน
- การแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้
สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
3. วิดีทศั น์
13.00 – 16.00 น. 2) การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย - บรรยาย
4. ใบงาน กมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง
1. PowerPoint
1.คอมพิวเตอร์
Slides
2. visualizer
มาตรฐานตัวชี ้วัดและการเขียนแผนการ - การแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้
ณัฐพล บัวอุไร
2. เอกสารประกอบ
3. เครื่ องฉาย LCD
จัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับมาตรฐาน
ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์
การบรรยาย
4. ไมโครโฟน
สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
3.. ใบงาน 1. PowerPoint
1.คอมพิวเตอร์
Slides
2. visualizer
นวัตกรรมสือ่ ที่หลากหลาย ตาม
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายบุคคล - การเรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่
ตัวชี ้วัด 9.00-16.00 น.
เครื่องอานวยความ สะดวก
เกมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง
- การเรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่
วันที่ 2
สื่อ
3) การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
- บรรยาย
ผู้เรี ยนสอดคล้ องกับมาตรฐานตัวชี ้วัด
- กิจกรรมปฏิบตั ิรายกลุม่
กมลรัตน์ ฉิมพาล เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง
ของกระทรวงศึกษาธิการ
- การแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้
ณัฐพล บัวอุไร
2. เอกสารประกอบ
3. เครื่ องฉาย LCD
- การเรี ยนรู้ร่วมกันเป็ นกลุม่ ใหญ่
ปิ ยะภรณ์ สาริ บรู ณ์
การบรรยาย
4. ไมโครโฟน
- ทดสอบหลังเรี ยน
สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์
3. ใบงาน
5. กระดาษ Flip Chart
- มอบเกียรติบตั รแก่ผ้ เู ข้ าอบรม
6. กระดาษ A4
6
12. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่ วมกับครู ใช้ การ OC (Online Coaching) และกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) โดยการจัดทา Closed Group ใน Facebook รวมไปถึงระบบสือ่ สารออนไลน์รูปแบบอื่นตามความเหมาะสม นิเทศติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินงานของครู ผ้ เู ข้ าอบรม เพื่อให้ คาแนะนาช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานของครู ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน และ รับคาแนะนาจากคณะวิทยากรอย่างต่อเนื่อง สอดคล้ องตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพัฒนาครู สูก่ ารยกผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนรู้ของนักเรี ยนต่อไป 13. วิทยากร (ดังเอกสารแนบ) 13.1 วิทยากรหลัก 13.1.1 ดร.กมลรัตน์ ฉิมพาลี 13.1.2 ดร. สุภาภรณ์ เสาร์ สงิ ห์ 13.2 คณะวิทยากร 13.2.1 อาจารย์เอกสิทธิ์ ปิ ยะแสงทอง 13.2.2 อาจารย์ณฐั พล บัวอุไร 13.2.3 อาจารย์ปิยะภรณ์ สาริ บรู ณ์ 14. การกาหนดจานวนครูท่ จี ะเข้ าร่ วมการพัฒนาต่ อกลุ่ม ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร
จานวนครูต่อกลุ่ม (คน)
ระดับพื ้นฐาน
150
7
15. วิธีการวัดและประเมินผล รายการประเมิน 1) ด้ านความรู้ (K)
วิธีการประเมิน
เครื่องมือ
1. การทดสอบ
แบบทดสอบ
2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เกณฑ์ การประเมิน (ผ่ าน)
ความสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ หลักสูตร
คะแนนการทดสอบ
1.เพื่อจัดกิจกรรมให้ ครูได้ รับความรู้
หลังการอบรมสูงกว่า
ทางวิชาการและฝึ กอบรมเชิง
ก่อนการอบรม
ปฏิบตั ิการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการแบบ STEAM EDUCATION และสามารถ ออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการตามมาตรฐานตัวชี ้วัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2) ด้ านทักษะ (S)
1. การสังเกต
1. แบบบันทึกการสังเกต
ตรวจผลงานโดยใช้
2)เพื่อให้ ครูผ้ สู อนสามารถพัฒนา
2. การนาเสนอผลงาน
2. ผลงาน
เกณฑ์รูบริค 4 ระดับ
วิธีการสอนให้ นกั เรียนสามารถ
โดยต้ องผ่านเกณฑ์
เชื่อมโยงความรู้ได้ งา่ ยและเข้ าใจ
ร้ อยละ 80 ขึ ้นไป
เนื ้อหาในระดับลึกได้ อย่างครอบคลุม เพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนาความคิด สร้ างสรรค์คดิ ค้ นประดิษฐ์ สิ่งใหม่ และสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ จริง
3) ด้ านเจตคติ (A)
1.การแจงนับ
1.แบบตรวจสอบรายการ ครูที่เข้ ารับการพัฒนา
3)เพื่อจัดกิจกรรมให้ ครูสามารถนา
2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. ใบเซ็นชื่อเข้ าร่วม
ทังหมดเข้ ้ าร่วม
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ กิจกรรม
อบรม
กิจกรรมตามหลักสูตร
STEAM EDUCATION ในการ
ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80
จัดการเรียนการสอนและกิจกรรม ในช่วงลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ได้
4) ด้ านความพึงพอใจ
การสอบถาม
แบบสอบถาม
ครูที่เข้ ารับการพัฒนา มีความพึงพอใจต่อ การอบรมเชิง ปฏิบตั ิการในภาพรวม อยูใ่ นระดับพอใช้ ขึ ้นไป
8
16. ข้ อมูลประกอบที่สะท้ อนความสาเร็จของหน่ วยพัฒนาครู บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ในเครื อของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นผู้นาองค์กรธุรกิจการด้ าน การศึกษาระดับปฐมวัยถึงมัธยมศึกษาที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภารกิจหลักขององค์กร คือ การมุ่งพัฒนาการศึกษาไทยให้ เป็ นห้ องเรี ยนรู ปแบบใหม่ ซึ่งครู จะเป็ นผู้สนับสนุนและให้ คาปรึ กษา โดยมีผ้ เู รี ยนเป็ น ศูนย์กลางการเรี ยนรู้ ผ่านการคิดวิเคราะห์ การทางานร่ วมกัน เพื่อให้ เข้ าถึงแก่นความรู้ อย่างแท้ จริ งและเป็ นการพัฒนาทักษะ การทางานที่สาคัญอีกด้ วย ผลิตภัณฑ์ด้านการศึกษาของ บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) เน้ นให้ บริ การด้ านการเรี ยนรู้ และการจัดการ เรี ยนการสอนอย่างเป็ นระบบครบวงจร ด้ วยสือ่ การเรี ยนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้ องการของโรงเรี ยน ครู และผู้เรี ยน ทัว่ ประเทศ สื่อการเรี ยนรู้ เหล่านัน้ ได้ แก่ หนังสือเรี ยน หนังสือห้ องสมุด หนั งสือการศึกษา สื่อดิจิทลั ของเล่นเพื่อการศึกษา และสือ่ ที่เน้ นการเรี ยนรู้อย่างเป็ นรูปธรรม รวมไปถึงโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพครู ในแต่ละปี บริ ษัท อักษร เอ็ดดูเคชัน่ จากัด (มหาชน) จัดให้ มีกิจกรรมและการอบรมด้ านการศึกษาทัว่ ประเทศกว่า 400 ครัง้ เพื่อสร้ างแรงบันดาลใจให้ กบั ครู ผ้ สู อนมากกว่า 70,000 คน โดยมีเนื ้อหาในการอบรมที่หลากหลาย เช่น เทคนิค และวิธีการสอน การสร้ างเครื่ องมือเพื่อการเรี ยนรู้ สาระความรู้ในแต่ละสาขาวิชา และการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนี ้ยังจัดทา คู่มือครู ซึ่งประกอบไปด้ วย การสร้ างแรงบันดาลใจ แนวทางการจัดการเรี ยนการสอน เทคนิคการสร้ างคาถามชวนคิด และ แนวทางสร้ างเครื่ องมือช่วยจัดการเรี ยนการสอนมอบให้ กบั ครูผ้ สู อนทัว่ ประเทศมากกว่า 1,000,000 เล่มต่อปี เพื่อให้ ครู ผ้ สู อน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ กบั นักเรี ยนและชันเรี ้ ยนได้ ตามความเหมาะสม ค่ าธรรมเนียมการอบรม 2,000 / ท่าน (ไม่รวมค่าที่พกั และค่าเดินทาง) การชาระค่ าธรรมเนียม กรุ ณาชาระค่าลงทะเบียนในนาม บริ ษัท อักษร อินสไปร์ จากัด ธนาคารกรุ งไทย สาขาถนนข้ าวสาร บัญชี ออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 027-0-24448-4 (กรุ ณาแฟกซ์หลักฐานการชาระเงินพร้ อมระบุชื่อ -นามสกุล และรหัสหลักสูตร ของ ท่าน มาที่ คุณติณณภพ 02-622-2999 กด 1691 หรื อ email : admintraining@aksorn.com) หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียน กรณีผ้ สู มัครยกเลิกการลงทะเบียน, ไม่เข้ าอบรมตามกาหนดการ หากมีการยกเลิกโครงการโดยคณะผู้จดั งาน จะคืนค่าลงทะเบียนให้ ผ้ สู มัครเต็มจานวน สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมที่ คุณติณณภพ โทรศัพท์ 02-622-2999 ต่อ 1212 ระยะเวลาการรับสมัคร กรุณาติดตามประกาศจากสถาบันคุรุพฒ ั นา (ขอสงวนสิทธิ์ปิดรับสมัคร เมื่อมีผ้ สู มัครครบจานวน)