1st msu contemporary art network exhibition catalog

Page 1








1. ชือ่ โครงการ : โครงการนิทรรศการเครือข่ายศิลปะร่วมสมัยมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ครัง้ ที่ 1 (1st MSU Contemporary Art Network Exhibition) 2. งบประมาณสนับสนุน โครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม “โครงการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมแบบมุง่ เป้า” ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 3. ชือ่ หน่วยงาน ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม 4. หลักการและเหตุผล ศิลปะร่วมสมัย หมายถึงผลงานศิลปะที่สะท้อนปรากฏการณ์สังคมใน มิ ติ ต่ างๆด้ ว ยภาษาที่ มี ลั ก ษณะเป็ น สากล ผ่ า นสื่ อ ศิ ล ปะประเภทจิ ต รกรรม (Painting) ประติ ม ากรรม (Sculpture) ศิ ล ปะภาพพิ ม พ์ (Printmaking) ศิ ล ปะ สื่อ ผสม (Multimedia Arts) และศิลปะไทย (Thai Arts) เป็ นต้น ศิ ลปะเหล่านี้ ถูก สร้ า งสรรค์ ขึ้ น โดยศิ ล ปิ น ร่ ว มสมั ย ที่ ผ่ านกระบวนการศึ ก ษาด้ านศิ ล ปะจาก สถาบันการศึกษา และการศึกษาด้วยตนเอง ความหลากหลายทางความคิดและ รู ปแบบของศิ ลปะร่ ว มสมั ย เป็ นเครื่ อ งบ่ งชี้ กระบวนการแลกเปลี่ยน ที่ ก้าวข้ าม พรหมแดนของเชื้อชาติและวัฒนธรรม เป็นสังคมที่มีความทันสมัย ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ภ ารกิ จ การจั ด การเรี ย นการสอนด้ า นศิ ล ปะร่ ว มสมั ย ใน ระดับอุดมศึกษา ซึ่งในแต่ละปี คณาจารย์ นิสิตปัจจุบัน และศิษย์เก่า ได้สร้างสรรค์ ผลงานที่มีคุณภาพสูงออกสู่สาธารณชน โดยเฉพาะในวงการประกวด แข่งขัน ระดับชาติ อย่างประสบความสาเร็จอย่างสูงยิ่ง ดังเป็นที่ปรากฏตามหลักฐานการ ประกวดแข่งขัน และพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยบทบาทของมหาวิ ทยาวิทยาลัย ที่วางตัวอยู่ใน กลุ่มของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและภูมิภาค ประกอบด้วยภารกิจ การเรียนการสอน การวิจัย การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และบริการวิชาการ ในส่ว นของภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จึงเล็งเห็ นความจ าเป็ น อย่ างยิ่ ง ที่จะผนึกสรรพกาลัง ด้านศิลปกรรมของบุคลากรในสาขาวิ ชา โดย ผนวกรวมกับ ศิลปินเครือข่าย ประกอบด้วยศิลปินแห่งชาติ ศิลปินคนสาคัญของ อีสาน ศิลปินศิษย์เก่าดีเด่น ศิลปินเครือข่ายครูศิลปะ และเครือข่ายศิลปินเพื่อนบ้าน อาเซียน จัดสร้างและนาเสนอผลงานศิลปะร่วมสมัย เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน ทั้งในระบบการนิทรรศการในห้องแสดงงาน การนาเสนอผ่านระบบดิจิทัล และ ใน รู ป เอกสารสิ่ ง พิ ม พ์ ในนาม “โครงการนิ ท รรศการเครื อ ข่ ายศิ ล ปะร่ ว มสมั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ครั้ ง ที่ 1” (The 1st MSU Contemporary Art

Network Exhibition) เพื่ อ ประโยชน์ ด้ านการเรียนการสอน การวิจั ย การทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย รวมทั้งการสร้างเครือข่ายศิลปะร่วมสมัย เพื่อ ยกระดับให้มหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นศูนย์กลางศิลปะร่วมสมัยในภูมิภาคต่อไป 5. วัตถุประสงค์ 1. สร้ างกิ จ กรรม นิ ท รรศการศิ ล ปะเพื่ อ พั ฒ นาเครื อ ข่ ายความ ร่ ว มมื อ ระหว่ างคณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ กั บ เครื อ ข่ า ยศิ ล ปิ น ครู ศิ ล ปะ ศิ ล ปิ น ผู้ ทรงคุ ณ วุฒิ ในเขตภาคอี สาน รวมถึ งเครือ ข่ายความร่ว มมื อ ในกลุ่มประเทศ CLMTV 2. จัดแสดงนิทรรศการผลงานศิลปะร่วมสมัย พร้อมกับจัดทาสื่อ สิ่งพิ มพ์ และ สื่ อ Virtual Exhibition (การเผยแพร่ ด้ ว ยระบบอิ เลคทรอนิ กส์ ) เผยแพร่สู่สาธารณะชน 3. เพื่ อจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนระหว่างคณาจารย์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ อาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ และครูผู้สอนระดับมัธยม ในหัวข้อ “การพัฒนาผู้เรียนทัศนศิลป์ในศตวรรษที่ 21” 6.ผู้เข้าร่วมโครงการ - คณาจารย์ ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ศิลปินเครือข่ายศิษย์เก่าดีเด่นด้านทัศนศิลป์ - ศิลปินเครือข่ายในประเทศอาเซียนกลุ่ม CLMV - เครือข่ายครูศิลปะดีเด่นด้านทัศนศิลป์ในภาคอีสาน - ศิลปินผู้ทรงคุณวุฒิในภาคอีสาน 7. สถานทีด่ าเนินการ หอศิลป์พระพิฆเนศวร 1 และหอศิลป์พระพิฆเนศวร 2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 8. ระยะเวลาดาเนินการ วันเริ่มต้นโครงการ 16 มิถุนายน 2560 ถึง 15 กรกฎาคม 2560


9. คณะกรรมการอานวยการ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ รองคณบดีฝ่ายอานวยการ ประกันคุณภาพและวิเทศสัมพันธ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาวิชาการ วิจัยและบัณฑิตศึกษา รองคณบดีฝ่ายพัฒนานิสิตและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม รองคณบดีฝ่ายพัฒนาพื้นที่ บริการวิชาการและกิจการหอศิลป์ หัวหน้าภาควิชาทัศนศิลป์ หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง 10. ผูท้ รงคุณวุฒพิ จิ ารณาผลงานสร้างสรรค์ รองศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ จิตรกรรมประติมากรรมและ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย์ ดร.สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ รองศาสตราจารย์ ดร.จิรวัฒน์ พิระสันต์ คณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 11. คณะกรรมการดาเนินงาน คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์และสิง่ พิมพ์ อาจารย์ ดร.ประสิทธิ์ พวงบุตร นายอนุรักษ์ โคตรชมภู อาจารย์สันติ สิงห์สุ นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะกรรมการฝ่ายสถานทีแ่ ละนิทรรศการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป สุธาทองไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาคม เสงี่ยมวิบูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตนุพล เอนอ่อน อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม คณะกรรมการฝ่ายขนส่งผลงานและติดตัง้ ผลงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตนุพล เอนอ่อน อาจารย์ปรีชา นวลนิ่ม อาจารย์อดิศักดิ์ ภูผา อาจารย์สันติ สีดาราช นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ รองศาสตราจารย์บุญทัน เชษฐสุราษฎร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธิต เทศนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา ไพกะเพศ อาจารย์อดิศักดิ์ ภูผา

คณะกรรมการฝ่ายธุรการและปฏิคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประทับใจ สุวรรณธาดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ์ นิธิรัฐพัฒน์ อาจารย์ ดร.เมตตา ศิริสุข อาจารย์จรรยาภรณ์ กิตติกูลคุณานนท์ นางสาววรรณิษา สีสงกา นางสาวญาณี เหล่าพิลัย นางสาวเจษฎาภรณ์ สมีพันธ์ นางสาวขนิษฐา วงศ์คาตา นางสาวอัญธิกา ตันปาน นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะกรรมการประสานเครือข่าย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อดุลย์ บุญฉ่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตนุพล เอนอ่อน อาจารย์จรรยาภรณ์ กิตติกูลคุณานนท์ คณะกรรมการฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป สุธาทองไทย อาจารย์อนุรักษ์ โคตรชมภู นายวินัย คุ้มพวก นายศุภวัฒน์ นามปัญญา นายศาสตรา ศรีสุเพชรกุล นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะกรรมการฝ่ายติดตามและประเมินผล ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชาย สิกขา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ สุขนา อาจารย์ ดร.วุฒพิ งษ์ โรจน์เขษมศรี รองศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ น้อยวังคลัง นิสิตชั้นปีที่ 2



"คณะศิลปกรรมศาสตร์ มมส กับยุทธศาสตร์การจัดการเรียนการสอนศิลปะในบริบทประชาคมอาเซียน" การที่เราจะบอกว่า ‚เราเป็นใคร‛ จาเป็นต้องบ่งชี้มิติสัมพันธ์กับ บริ บ ทและสถานการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จึ ง จะท าให้ เ ห็ น และเข้ า ใจ ‚อั ต ลั ก ษณ์ ‛ (Identity) และ ‚เอกลักษณ์‛ (Unique) แห่งตน ในการทางานสร้างสรรค์ศิลปะ และการจัดการเรียนการสอนศิลปกรรมศาสตร์ก็เช่นกัน ในอดีต ศาสตร์ของ พวกเราจะผูกพัน ในมิติของท้องถิ่น รัฐชาติ และ กระแสโลก หรือ โลกาภิวัตน์ หรือ ‘สากล’ เป็นสาคัญ ตามหลักการของความเป็นรัฐชาติ (Nation State) ที่ จักต้องแสวงลักษณะเฉพาะที่บ่งบอก ‘ความเป็นชาติประเทศ’ ต่อโลกภายนอก หนึ่งในนั้นคือการนาเสนอ ‚ศิลปะของชาติ ‛ ซึ่งได้ถูกประกอบสร้างโดยศิลปิน ของชาติ กลุ่มต่ าง ๆ ท้ ายที่ สุด ความเป็ นประเทศชาติ ก็ ได้ สถาปนา ‚ศิ ลปิ น แห่งชาติ‛ ขึ้นดังปรากฏในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ตั้ งแต่ปี 2558 เป็นต้นมาก 10 ประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็ได้รวมตัวกันสถาปนา ‚ประชาคมอาเซียน‛ หรือ Association of South East Asian Nations ที่รู้จักกันย่อ ๆว่า ASEAN มี 3 ก้ อ นเส้ า หลั ก คื อ 1. ประชาคมการเมื อ งความมั่ น คงอาเซี ย น (ASEAN POLITICAL-SECURITY COMMUNITY หรือ APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN ECONOMIC COMMUNITY หรือ AEC) และ 3. ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN SOCIO-CULTURAL COMMUNITY หรือ ASCC) ในส่วนของ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หรือ ASCC นี้ มุ่งหวังให้เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เป็นสังคมที่เอื้ออาทร และ แบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) ซึ่งในกรณีหลังนี้ ได้ ใ ช้ ฐ านด้ านศิ ล ปะ และศิ ลปกรรมศาสตร์ เ ป็ นกลไกส าคั ญ อาเซี ยนจึ ง ได้ มี โครงการและกิจกรรมทางศิลปะต่าง ๆ นานา เกิดขึ้นในแต่ละประเทศมากมาย โดยเฉพาะการส่งเสริมให้ศิลปินได้รู้จักซึ่งกันและกัน ดังนั้น ‘มุมมอง’ ‘วิถีทัศน์’ ของศิลปินในอาเซียน จึงถูกสยายและ ปลดล็อกความเป็น ‘ปัจเจกบุคคล’ ให้กลายเป็น ‘สัมพันธลักษณ์’ ระหว่างกัน เพื่อให้ผลงานศิลปะได้ทาหน้าที่เป็นสื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจระหว่างกันของ ผู้คนในอาเซียน สภาพการณ์ข้างต้น จึงได้กลายเป็น ‘กระบวนทัศน์’ หรือ

Paradigm ใหม่ในทิศทางการจัดการศึกษาศิลปกรรมศาสตร์ ของทุกสถาบัน โดยเฉพาะสถาบันระดับอุดมศึกษาของแต่ละชาติ ซึ่งเงื่อนไขข้างต้น ในส่วนของ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ ปรับแต่งกระบวนทัศน์ หรือ Paradigm Shift เป็นที่เรียบร้อย ด้วยการทาหน้าที่ เป็นศูนย์กลางในการ สานสร้ างความสั ม พั นธ์ การเรี ยนรู้ ความเข้ าใจ และความร่ ว มมื อ กั นทาง ศิลปกรรมศาสตร์ กั บเพื่อ นบ้ านอาเซี ยนตอนบน ในกลุ่ม CLMTV ด้ ว ย หลักการ ‚Mutual Understanding and Collaboration‛ โดยมีความร่วมมือ กันด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างรอบด้านกับ กัมพูชา สปป.ลาว สหภาพเมียน มาร์ และ เวียดนาม อย่างเข้ มข้ น พร้อ มทั้ งรองรั บการปรั บหลักสูตร การ จัดการศึกษา การแลกเปลี่ยน และ การร่วมมือ ทางศิลปกรรม รวมทั้ง การ นิทรรศการ 1st MSU Contemporary Arts Network Exhibition ในครั้งนี้ ซึ่งนอกจากจะเป็นการร่วมมือดังกล่าวแล้ว จักสังเกตได้ว่า คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต้องการใช้นิทรรศการดังกล่าว เป็น ‘ตัว บท’ ของการเรียนรู้ การศึกษา การวิจัย การสร้างสรรค์ทางศิลปกรรม ศาสตร์ ให้กับชุมชนวิชาการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย และประเทศไทย โดยตรง ในนามคณะวิชาศิลปกรรมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เราได้ปรับกระบวนทัศน์การจัดการเรียนการสอนศิลปะ และได้ก้าวเดินไปข้างหน้า ไประยะหนึ่งแล้ว บนฐานความปณิธาน ที่ปรารถนาจะสร้างเส้นทางให้ศิลปิน และ สถาบั น การศึ ก ษาในอี สาน และ ประเทศไทยรวมทั้ ง อาเซี ย นโดยเฉพาะกลุ่ ม CLMTV ได้ใช้ร่วมกันอย่างมั่นคง รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


ประสบการณ์สนุ ทรีย์ โชคชัย ตักโพธิ์ หลายคนที่เป็นห่วง “วงการศิลปะอีสาน” พยายามมองข้างหน้าว่า ในอนาคตอีก 5 ปี 10 ปี วงการศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์ มีวิธีจัดการ การบริหารอย่างที่เป็นอยู่หรือจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ รวมทั้งปัญหา ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมที่เกีย่ วข้องกับการ เป็นผู้นา “ผู้ขับเคลื่อน” ความพยายามของคนในวงการศิลปะมีความพยายามจะมองไปข้างหน้าด้วยความรู้สกึ ที่แตกต่าง หัวใจของความคิดสร้างสรรค์สอดคล้อง “วลี” ที่วา่ “ความสามารถมองเห็นในสิ่งทีม่ องไม่เห็น” ดังเช่น “ณ บัดนี”้ พลังของการมองเห็น วัฒนธรรมรูปภาพหรือ Visual Culture ที่กาลังครองโลก1วงการทัศนศิลป์ “เชิงขนบ” มีวิธี “ไฮบริด” (ผสมผสาน) เพื่อจัดเรียงระเบียบความรู้ที่ เปลี่ยนแปลงโฉมความคิดสร้างสรรค์อย่างไร ระหว่าง การประยุกต์องค์ความรู้เดิม กับ ความรู้เทคนิคบนฐานเทคโนโลยี (ที่เราซื้อเข้ามา) ที่เรา สมาทาน รับเข้ามา “รับใช้ศิลปะ” รวมทัง้ วงการศิลปะอีสาน มี “ปฏิกิริยาตอบสนอง” ความแตกต่างที่เปลีย่ นแปลงไปตามทัศนคติ ความเชื่อ ศรัทธา อันเนื่องมาจาก การต่อต้านพร้อมตั้งคาถาม ซึ่งวงการศิลปะต้องเจอ เนื่องเพราะ “ฐานคิดของศตวรรษที่ 21” ให้ความสาคัญจากจุดประเด็น “ตั้งคาถาม” หัวใจของการ ตั้งคาถามคู่กบั “การตั้งโจทย์ใหม่” เพื่อนาไปสูก่ าร “ขบคิด” กระบวนการเพื่อได้ผลลัพธ์ทแี่ ตกต่าง การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 ของโลกเริ่มต้นปี พ.ศ. 2513 เมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในการปฏิวัติอตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4 โลกจะถูกผลักเข้าสูก่ ฎว่าด้วย “คาร์บอน” Carborn Law2 คู่กบั ทัศนคติ นิเวศน์จิตวิญญาณ เข้ามาเป็น “ดุลย์ถ่วง” ให้เกิดความสมดุลย์ อันจุดกระแส “การพัฒนายั่งยืน” ทั้งนี้ รวมทัง้ ทัศน ความเชื่อ ความศรัทธา ทางสร้างสรรค์ด้วยวิธีการผสมผสาน จุดเด่นของ “มุมมอง” คือ การสังเกตความแตกต่างตามวิธี “เห็นคู่ตรงข้าม” อันวางตัวบน “อุดมการณ์” คือ มีความคิดแบ่งแยก “จริง-เท็จ” “งาม-ไม่งาม” “ดี-ไม่ดี” สาหรับไว้ใช้ “เลือกทางเลือก” รวมทั้ง “ฟันธง” “ใช่-ไม่ใช่” แง่ “เลือกข้าง” ผมเห็นว่า “ความรู้-ทักษะ-ทัศนคติ” ของผู้สาเร็จการศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ ควรเตรียมตัวเด็กให้พัฒนาความถนัด อัตลักษณ์3 ให้ ดารงอยู่ได้ เอาตัวรอดได้เนื่องจากเพราะตระหนักเห็นความสาคัญของการมองระบบ และตัง้ คาถามได้แก่ระบบเชิงพลวัตของวิชาชีวิตศิลปวัฒนธรรมเข้าใจ การเปลี่ยนแปลง และมีการเคลื่อนไหวอยูต่ ลอดเวลา ซึ่งก็สอดคล้อง “การศึกษา” ควรจะหมายความว่า กระบวนการที่จะทาให้รู้จักตัวเองอย่างแท้จริง จนกระทัง่ สามารถ “ดูตัวเองออก” บอกตัวเองได้ ใช้ตัวเองเป็น เห็นตัวอย่างชัด จัดวางตัวเองถูก อันสอดคล้องตามคานิยามในภาษาบาลีที่วา่ “สยอิกฺขตี ติ สิกฺขา” แปลว่า “การศึกษาหมายความว่าการ (ตื่นขึน้ มา) รู้จักตัวเอง” ระบบการศึกษาใดก็ตาม ที่ทาให้คนไม่รู้จักตัวเอง ว่าเราเป็นใคร (Who are you) เกิดมาในโลกทาไม (What are you Looking) ยังไม่ใช่ระบบการศึกษา (ว.วชิรเมธี คาถาชีวิต 2 Booksmile, หน้า 29) ประเทศฟินแลนด์พัฒนาระบบ และจัดการศึกษาของเขาอย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะ มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ ไม่เลียนแบบใครแต่กลับได้รับ การจัดอาดับให้เป็นที่หนึง่ ของโลก4 และให้ความสาคัญแก่ “ครู” มาก่อน และกระบวนการสอนก็สอดคล้องนิยามทีก่ ล่าวไว้ข้างต้น คือ แนะให้ผู้เรียนตืน่ ขึ้นมา รู้จักตัวเอง การรู้จักพัฒนาความสนใจตามถนัดของตัวเอง มีนัย “ซ้อน” “คา” พรสวรรค์ หมายถึง นัยความรู้จากการสังเกตปัญหาต่อเนื่องการสืบเสาะ อันสอดคล้องวลีที่ว่า “พรสวรรค์” คือ การทาผิดพันหนก่อนใคร และแง่การเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม ก็สอดคล้อง “ทิศทาง” ตามวลีที่วา่ อัตฉริย คือ บุคคลทีส่ ามารถผสมผสาน หลายอย่างลงตัว “ทาได้หลายอย่าง” และแตกต่างพรสวรรค์ที่เป็นความสามารถเฉพาะทาง5 สังคมปัจจุบนั ต้องการ “สมรรถนะ” คนเดียวที่มคี วามสามารถหลายด้าน เพื่อเป็นฐานรองรับการเปลีย่ นแปลง ทัง้ นี้รวมทั้งวงการศิลปะ หัวใจของการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อ แต่ละคน “ดึง” ความรู้แตกต่างของแต่ละคนเอามารวบรวมไว้ที่ “เรา” หลอมรวมไว้ที่ “ฐานความคิด” “ข้อมูล สะสม” สาหรับเราเพื่อใช้พลัง (ข้อมูลสะสม) ขับเคลื่อนตัวเองให้ก้าวหน้า วิธีการเรียนรู้ร่วมกันของชาวพุทธ สอดคล้องการศึกษาแนวทาง โยนิโสมนสิการ แต่ในที่นผี้ มจะใช้วิธีการ “สุนทรียสนทนา” แง่ศลิ ปะ “คา” สุนทรียมีจุดเริ่มต้นที่รู้ได้ด้วยผัสสะ (ก) ผัสสะแง่ การศึกษาวัตถุนยิ ม คือ ผัสความรู้ทมี่ าจากการสังเกต และการสังเกตความรู้ของการสร้างสรรค์ เริ่มต้นที่ ตีความการรับรูก้ าร มองเห็น ตีความว่า “เห็นอะไร” อ้างเข้าหาหลักการมองเห็นอะไรบ้าง (ทฤษฎี) การแปลความ คือ แปลความอะไร? ที่ว่านี้ หมายถึง ความจริงที่เห็นเป็น “ตัวตน” อะไร และมีวิธี แปล/ความ คือ ตั้งโจทย์วางเงื่อนไขเพื่อโยงเข้าสู่ ลาดับความรู้พร้อมขั้นตอน ตามลาดับกระบวนการอย่างไร “ศาสตร์” การ แสวงหาความรู้ ตามวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ มักมีลาดับกระบวนการสอดคล้อง (พัฒนาการ) “คา” สาคัญได้แก่


การเดา การคิด การดู การลองดู พิสูจน์ กลายเป็น ทฤษฎี หมายถึง ชุดข้อมูลที่รอการพิสูจน์ และพิสูจน์ของศิลปะแตกต่างจากวิธีพิสูจน์อื่น อย่างไร

นอกจากนี้ ก็ยงั มี “คา” “รวบรวมข้อมูลทาความเข้าใจข้อมูล” จัดลาดับโดยตีความเข้าหาว่าวัตถุประสงค์ จัดลาดับขั้นตอนทดลองตามกระบวนการ ปรับปรุง-ลดทอนเสริม-เพิ่ม หรืออาจ “รื้อสร้าง” เพื่อให้ได้ผลลัพธ์สอดคล้องเป้าหมาย ความคิดสร้างสรรค์วางบนฐานคิดเหล่านี้ แตกต่างที่ “นักศึกษา-ศิลปิน” ต้องวางลาดับ “สารตัง้ ต้น” ของตัวเองให้ได้กอ่ น ความรู้ตกผลึกเหล่านี้ จึงเป็น “พลังสะสม” หนุนเสริม “สุนทรียะ” ของเราให้รู้สึกได้ทาง “สมรรถนะ” ร่องรอยความรู้ อันซ่อนตัวอยู่ (ข) ผัสสะแง่ ความซาบซึ้ง “อันซึมซาบใจ” คือ สุนทรียะทีส่ ะสมจากประสบการณ์แยกแยะ “รสสุนทรี” ตามลาดับพัฒนา การมองเห็นรสนิยม รูปแบบความงามตามฐานประวัตศิ าสตร์ศิลปะ รวมกับการเห็นลึกซึ้งด้านใน ทัศนคติ ความเชื่อ ศรัทธา อันซ่อนตัวอยู่ในศิลปะ “ว่ามัน” มีพัฒนาการทาง วัฒนธรรมการมองเห็นพร้อมวิถีวิธีการแสดงออก “ตามนิยาม” คาศิลปะที่มี จุดเริ่มต้น สืบต่อ ถึงปัจจุบันอย่างไร เหล่านี้คือจุดร่วมของ “รู้สึกได้” ทาง สุนทรียะ ในที่นี้ผมจะอาศัย “คา” สุนทรียสนทนา เพื่อเป็นข้อสังเกตสาหรับ “หาจุดร่วม” คิดหาทางเลือกหลายๆ ทางเพื่อนาไปใช้ พัฒนาวงการศิลปะ ร่วมสมัยทางอีสาน และข้อมูลที่อ้างถึงต่อไปนี้ ผม ตัดทอน-ปรับเพิม่ -เสริมต่อมาจาก David Bohm on Dialogue ว่าด้วย สุนทรียสนทนา เดวิท โบห์ม แปล เพชร พง์เจริญสุข บรรณาธิการ พจนา จันทรสันติ สุนทรียสนทนา เป็นพื้นที่ความรูท้ ี่ปราศจากข้อพิสูจน์ และทาให้เกิดแบบแผนของการสื่อสารขึน้ ใหม่ (= นักศึกษาศิลปะสร้างไอเดียลักษณะ เชื่อมต่อการสร้างความหมายตัวตนขึ้นใหม่) การแสดงออกที่ปราศจากข้อจากัดของรูปแบบ เพราะมันแสดงออกอิสระได้ตั้งอยู่บนความรูท้ ี่เปลีย่ นแปลง ตามสภาวะความจริง ตัง้ อยู่ ดับไป (เหมาะกับนักศึกษาที่สร้างงานได้ แต่อธิบายสับสนเพราะ เข้าใจ “คา” ไม่สอดคล้องการสื่อสาร) การสื่อสาร ภาษาลาติน Commun และเติมปัจจัย “IC” คล้าย FIE ที่หมายถึง ทา หรือ กระทา (ดังนั้นการแสดงออกของ วิธีการความรู้ เทคนิคของนักศึกษา) ดังนัน้ การสื่อสารจึงหมายถึง การ “ทาให้บางสิง่ กลายเป็นเรื่องร่วมกัน” (อ้างแล้ว) เช่นเดียวกับเทคนิคความรู้แสดงออก “เส้น” กลายเป็น “ทัศนธาตุ” ปรากฏ รูปรวมทัง้ เทคนิคความรู้ดงึ คนดูร่วมงานกลายเป็น ปฏิสัมพันธ์ศิลปะเชื่อมฐานความคิดที่วางไว้ สอดคล้อง “หัวข้อ-เรื่อง” ครูศิลปะ มีหลายฐานความคิด นักศึกษาศิลปะ-ศิลปินมี หลาย D.N.A ถึงแม้วา่ มีความแตกต่าง “อัตลักษณ์” พลังอิสระแต่ละอัตลักษณ์ มัน เกิดขึ้นในพื้นที่เดียวกัน ภูมศิ าสตร์วัฒนธรรมมันวางระเบียบในตัวมันเอง ขับเคลือ่ นจุดมุ่งหมายสร้างสรรค์ร่วมกัน โดยใช้เทคนิค “ตั้งคาถาม” สาหรับ เชื่อม ดึงคาตอบแสดงออกมา “สิ่งซ่อนเร้น” TACIT หมายถึง สิง่ ที่ไม่เอ่ยออกมาเป็นคาพูด ไม่อาจอธิบายได้ แต่ว่า ธรรมชาติของ ตัวศิลปะ “รู้สึกได้” ผ่าน “รูป” ซึ่ง “รูป” ดูดดึงความคิดที่ “ซ่อน” และ “ซ้อน” นามาเล่าสูก่ ันฟังอย่าง สุนทรียสนทนา ปัจเจกบุคคลรับรูศ้ ิลปะ ตีความศิลปะตาม “ชื่อผลงานพร้อมแนวคิด” ซึ่งดึงเอาไปรวมกับประสบการณ์เดิม “สังคม” ตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของการ รับรู้ความหมายร่วมกัน ซึ่งประกอบขึน้ เป็นวัฒนธรรม “ความจริง” เป็นชุดของความหมายร่วมกัน ความหมายร่วมกัน คือ ตัวเชื่อมประสาน (อ้างแล้ว) บทบาทของผูส้ ร้างสรรค์จึงเริม่ ที่ ตัง้ โจทย์ทแี่ ตกต่าง เพื่อผลลัพธ์ที่แตกต่าง ทัง้ แง่ความหมาย “ซ่อน” พร้อมแนวคิด “ซ้อน” เพื่อเชื่อมพันธสัญญาอะไร ระหว่าง ทัศน ความเชื่อ ความศรัทธา อันรวมเป็นมุมมองซึ่งกลายเป็น กระบวนทัศน์ (Paradigm) หมายถึง การสะท้อนความจริงบนพื้นฐานการมองโลก ความจริงแบบเรา การทาหน้าที่การใช้งาน รูปแทนความคิด เพื่อตั้งปัญหา “การตัง้ ปัญหา” ต้องระวังความสับสนระหว่าง ปัญหา ที่เกิดจากการ “ตั้งปัญหา” หรือตั้งคาถาม คือ ความสับสนระหว่าง กระบวนการทัศน์ หรือ ระหว่างมนุษย์ความจริงของเรา เพราะว่า มุมมองของเราไม่ใช่ปัญหาเพราะ พืน้ ที่ สุนทรีย สนทนา เป็นพื้นที่ความรูท้ ี่ปราศจากข้อพิสูจน์ “ใครๆ” ก็มีส่วนร่วม ความรักทีป่ รากฏรูป ลักษณะแสดงออกตามถนัด เป็นความจาเป็นต่อการสืบต่อ “จานงใจ” เกื้อกูลกัน นี่คือ สมองศิลปะ สมองพุทธะ ช่วงเวลานี้ นโยบายประเทศใช้คาว่า “ไทยแลนด์ 4.0” ก็หมายถึงประเทศไทยต้อง “ใหม่” “ของใหม่” คือ นวัตกรรม มาขับเคลื่อนไอเดีย มี ความคิดสร้างสรรค์เป็นตัวขาย วัฒนธรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีเทคโนโลยีเป็นตัวช่วย เมื่อโลกเปลี่ยน ไทยต้องปรับตัว (ตัดทอน บทสัมภาษณ์รอง นายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ ดร.สมคิด จาตุศรีพิทกั ษ์) วงการศิลปกรรมของอีสาน “ต้องปรับตัวอย่างไรบ้าง” และผมเห็นว่า “เรา” ควรโยงสิง่ แวดล้อมของโลกที่เปลีย่ นไป นามาประกอบ “สุนทรีย สนทนา” ได้แก่ข้อมูลสาคัญดังนี้ 1. เสรีนิยม หรือ โลกาภิวัตน์ มี 3 ด้าน


ก. เศรษฐกิจ ถือลัทธิตลาด และบรรษัทเป็นใหญ่ ข. ทางการเมือง ถือลัทธิประชาธิปไตย ลัทธิมนุษย์ธรรม ค. ทางสังคมและค่านิยม ได้แก่ ลัทธิปัจเจกชน ลัทธิบริโภค แทรกแซง คุกคาม ลงโทษ การเปลีย่ นระบบ เพื่อให้โลกยอมรับการนา ลัทธิเสรีนยิ มใหม่ (NEO LIBERALISM) ให้ความสาคัญรัฐทีส่ ิทธิมนุษย์ชน ปัญหาสิ่งแวดล้อม การเคารพความแตกต่าง และยอมรับความ หลากหลายทางเพศ และ โลกาภิวตั น์ในความเป็น “โลกไร้พรมแดน” กับกลายเป็นกาเนิดชนชั้นนาใหม่ และประเด็น ความเป็นสากลนิยม คู่กบั การกลับไปสู่ ชาตินิยม รวมทั้งภูมิภาคนิยม (ตัดทอน : ยุทธบทความ สุชาติ บารุง 2016 การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์ 2017, การแก้แค้นประวัตศิ าสตร์, มติชนสุด สัปดาห์, 10-16 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 50) อีกตัวแปรที่ ควรนาไปประกอบ “แปร/ความ” ประเด็นอนาคตได้แก่ มองโลกปี 2017 และ หลังจากนั้น การคาดการณ์เหตุการณ์ระยะไกล (ความจริงเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน) เป็นสามเหตุการณ์ (ระดับ) ได้แก่ฉากเหตุการณ์ “เกาะ” พลวัต และ การ เปลี่ยนแปลงในระดับชาติเพื่อสร้างระเบียบการเมืองใหม่ (ประยุกต์ แปร/ความ การสร้างระเบียบศิลปะร่วมสมัยอีสานใหม่ ฯลฯ ) ฉากเหตุการณ์ “วงโคจร” เป็นความสัมพันธ์ของมหาอานาจทีส่ ร้างศูนย์กลางอานาจของตนในภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งกลุม่ ระดับต่ากว่ารัฐด้วย (“คา” วงจรได้ “ผู้นา” ใหม่ของอเมริกาที่ “เปลี่ยนโลก” / กรณี วงโคจร ควรตีความอย่างไรให้สอดคล้องผลลัพธ์ของการพัฒนาที่พงึ ประสงค์ของ วงการศิลปวัฒนธรรม) ฉากเหตุการณ์ “ประชาคมโลก” เป็นการปรองดอง การ “ยื่นหมูยนื่ แมว” เพื่อแก้ปัญหาโลกบางอย่าง เช่น การเปลี่ยนแปลงพูมิอากาศ (ก) การเจริญเติบโตที่อ่อนแอ ท่ามกลางการแย่งชิงทรัพยากร “ลูกค้า” ประสิทธิภาพคุณภาพลดลง เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา “คุณภาพ มาตรฐาน” (ข) กระแสการกีดกัน และ แยกตัว (ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม ฯลฯ) (ค) การรวมตัวยากลาบาก ปัญหาความไว้ใจ การแตกขัว้ (ง) การเสี่ยงจากการ “ขยายตัว” ของโลกเทคโนโลยี ทาลายโครงสร้างเทคโนโลยีเดิม (ความรู้เทคโนโลยีใหม่ ทาลายโครงสร้างของ ร่องรอย ความรู้ของระเบียบความรู้เทคโนโลยีเดิม ซึ่งเทคโนโลยีเดิม ก็ทาลายโครงสร้าง ระเบียบความรู้เทคนิคแสดงออกดัง้ เดิม “เรา” ควรตัง้ คาถาม วางโจทก์ ตัง้ โจทย์เพื่อ ไฮบริด (Hybrid) ผสมผสานให้ “ยังประโยชน์” เพื่อการดารงอยู่ ระหว่าง อนุรกั ษ์/สืบสาน/พัฒนา “เพื่อสืบต่อ” ต่อไปอย่างไร) “วิกฤติ ศตวรรษที่ 21” มองโลกปี 2017 และหลังจากนั้น, มติชนสุดสัปดาห์, 10-16 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 47, ข้อความในวงเล็บเป็นของผู้เขียน) สุนทรียสนทนา ระหว่าง “เรากับตัวเรา” ระหว่าง เรา กับ คนอื่น ทาให้ “เห็น” ในสิ่งที่เผลอลืมไปบ้างระหว่างทางมา เพื่อปรับทิศทาง ก้าวไป ข้างหน้าร่วมกันครับ อ้างอิง 1. 2. 3. 4. 5.

บทความ : ประชา สุวรี านนท์. “วิชวลคัลเจอร์” มติชนสุดสัปดาห์. 3 - 9 ก.พ. 60, หน้า 43. บทความ : ทวีศักดิ์ บุตรตัน. สิ่งแวดล้อม “โลกร้อนเพราะมือเรา”, มติชนสุดสัปดาห์. 27 ม.ค. 59 - 2 กพ. 60, หน้า 46. บทความ : นิธิ เอียวศรีวงศ์. “อดีตและอนาคตของมหาวิทยาลัย”, มติชนสุดสัปดาห์. 3 - 9 ก.พ. 60, หน้า 30. บทความ : จุมพล พลูภักรชีวิน. “ปฏิรูปการศึกษาไทย การสะท้อนการเรียนรู้” มติชนรายวัน. วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 16. ฉันทิมา อ่องสุรักษ์. ศิลปะพืน้ ทีค่ วามงามและความสุข. 2557 ไม่ระบุสาหนักพิมพ์ จัดทาเป็นวิทยาทานนอกกรอบ, พรสววรค์ (gift และ talent) ความสามารถของแต่ละบุคคล ใช้คู่กับอัจฉริย,อัจฉริยภาพ (genius)พลังความสามารถสติปญ ั า และการสร้างสรรค์ อาเธอร์โซเปนเฮาเออร์ (1788-1860) ระบุวา่ คนมีพรสวรรค์ “ยิงโดนเป้าที่ผู้อื่นยิงไม่โดน” [ขณะที]่ อัจฉริยยิงโดนเป้าผู้อื่นมองไม่เห็น, หน้า 96-97. “คาอ้าง” พรสวรรค์จากงานวิจัยอาชีวศึกษาในสหรัฐอเมริกา เป็นข้อมูลสรุปจากข้อมูลต่อเนื่อง 20 ปี




ทัศนะจากการดูผลงานในโครงการนิทรรศการเครือข่ายศิลปะร่วมสมัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ครัง้ ที่ 1 การทางานศิลปะและการเผยแพร่ผลงาน เป็นพันธกิจที่สาคัญอย่าง หนึ่งของผู้เป็นอาจารย์สอนศิลปะในระดับอุดมศึกษา เพราะการกระทาเช่นนั้นคือ การทาวิจัย ค้นคว้าหาความรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ด้วยการคิดและลงมือทา ซึ่ง จะช่วยให้อาจารย์ที่ทางานและเผยแพร่ผลงานศิลปะมีความรู้ใหม่ทันสมัย สามารถ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่นิสิตและนักศึกษา การจั ด นิ ท รรศการของคณาจารย์ ภาควิ ช าทั ศ นศิ ล ป์ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และศิลปินเครือข่ายศิษย์เก่าดีเด่น ด้านทัศนศิลป์ และเครือข่ายครูศิลปะดีเด่นด้านทัศนศิลป์ในภาคอีสาน ในโครงการ นิ ท รรศการเครื อ ข่ า ยศิ ล ปะร่ ว มสมั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ครั้ ง ที่ 1 นอกจากจะแสดงศักยภาพการทางานสร้างสรรค์ในระดับส่วนบุคคลแล้ว ยังแสดง ให้เห็นถึงศักยภาพขององค์กร ที่สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สร้างเครือข่ายร่วม แรงร่ ว มใจกั นสร้ างปฏิ สัมพั นธ์ กับสังคมคนดู ที่สนใจเข้าร่ ว มในกิ จกรรมของ โครงการอี ก ด้ ว ย นอกจากนั้ น แล้ ว ผลงานของแต่ ล ะบุ ค คลที่ เ ข้ า ร่ ว มใน นิทรรศการยังแสดงให้เห็นถึงกระแสความคิด ความเชื่อและความเป็นไปของคนใน สังคมอย่างมีนัยสาคัญ เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ นถึ งคุ ณค่ าและลักษณะของผลงานสร้ างสรรค์ ใ น โครงการนี้ ผู้เขียนขอแบ่งกลุ่มผลงานออกเป็นกลุ่มทางรูปแบบและเนื้อหาดังนี้ รูปแบบสากล ที่นาเสนอประเด็นเนือ้ หาทีเ่ ป็นสากล สาหรับกลุ่มแรก วิธีการ เทคนิค วัสดุ รูปแบบและเนื้อหาของศิลปะ ร่ว มสมั ยที่ ไ ด้ กลายเป็ นสื่อ และเนื้ อ หาที่เ ป็ นสากลของโลกนี้ ไ ปแล้ว คื อ ลักษณะ สาคัญของศิลปินในกลุ่มนี้ จิตรกรรมของ กนกวรรณ์ นิธิรัฐพัฒน์ แสดงถึง ชีวิตในเมืองที่แผ่ขยายออกไปเรื่อยๆ งานวาดเส้นของ ปรีชา นวลนิ่ม นาเสนอ ภาพเหล่าผู้นาโลกที่คุ้นตากับสภาพเมืองที่แออัด สาธิต เทศนา ภาพสัตว์อย่างเช่น ม้าและนก ถูกนาเสนอออกมาอย่างงดงามในภาพเชิงนามธรรม และนามธรรมแท้ๆ จะปรากฏในผลงานของ สันติ สีดาราช และ กิตติภูมิ ผลวิเศษสิทธิ์ สาหรับผลงานของ อนุรักษ์ โคตรชมพู จะเป็นลักษณะกึ่งนามธรรม กึ่งเล่าเรื่อง ภาพทิวทัศน์ที่แสดงความงามในธรรมชาติแบบก้ากึ่งระหว่างความ จริงกับจินตนาการของศิลปิน ปรากฏในผลงานของ เมตตา ศิริสุข, ศิริ สัตถาผล และ ศุภ ชัย สิงห์ ยะบุศย์ จิตรกรรมที่ ถ่ายทอดถึงความงามในธรรมชาติ อย่ าง ตรงไปตรงมาจะพบในผลงานของ ชาตรี ปราณีธรรม, ภูมินทร์ ขันเงิน, เรื อง เดช พร้อมวงศ์ และสมเกียรติ เสียงวังเวง ผลงานที่ต่างไปจากคนอื่นอยู่มากคือ จิตรกรรมแนวพ็อพที่นาเสนอภาพลักษณ์ที่คุ้นตาคนทั่วโลกของ จรรยาภรณ์ กิตติกูลคุณานนท์ นอกจากนี้แ ล้วศิ ลปิ นที่จัดว่ าอยู่ ใ นกลุ่มแรกนี้ ยังมี ศิ ริรั ตน์ จาเริญรักษ์, พีระพงษ์ วงศ์ศรีจันทร, เกรียงไกร ประทุมซ้าย, สุนันทา ผาสม วงศ์ และสุรศักดิ์ แสนโหน่ง รูปแบบสากล ที่นาเสนอประเด็นเนือ้ หาทีเ่ ป็นท้องถิน่ ไทยในระดับภาพรวมของ ประเทศ สาหรั บ กลุ่ม ที่ ส อง แม้ ว่ าจะมี รู ป แบบที่ เ ป็ น สากล แต่ จ ะมี เ นื้ อ หาที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วั ฒ นธรรมในท้ อ งถิ่ น ของไทยในระดั บ ภาพรวมของประเ ทศ ตัวอย่างเช่น ผลงานจิตรกรรมเทคนิคผสมที่นาเสนอเรื่องราวของโลกทั้งสาม

ของ บุญทัน เชษฐ์สุราษฎร์ ประติมากรรมเชื่อมโลหะที่นาเสนอใบหน้าคล้ายยักษ์ ไทยของ พิสิษฐ์ หัตถกรวิจิตร ลวดลายแบบไทยแต่ถูกนาเสนอออกมาในวัสดุร่วม สมัยของ ภณิตา เกื้อกระโทก เรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศาสนาปรากฏในภาพใบหน้า คนที่มุ่งนาเสนอแนวคิดแบบพุทธในผลงาน 2 มิติของ พิทักษ์ น้อยวังคลัง และ ผลงานที่แสดงความสนใจที่คล้ายคลึงกันของ สันติสุข แหล่งสนาม, กฤษณา โมคศิริ, ณรงค์ศักดิ์ โฉมดี และที่แสดงแนวคิดในทางพุทธศาสนาแต่โน้มเอียงไปใน เชิ งนามธรรมอย่ างผลงานของ ยุ ท ธนา ไพกะเพศ และที่ เ ป็นนามธรรมอย่ าง ชัดเจนในผลงาน 2 มิติของ อดุลย์ บุญฉ่า และวุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี ที่ ใช้วัสดุ เพื่อแสดงเรื่องความไม่เที่ยงของชีวิต ผลงานที่ แ สดงถึ ง ความผู ก พั น และความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น พระมหากษัตริย์ของคนไทยทั้งประเทศ พบได้ในผลงานของ อาคม เสงี่ยมวิบูล ที่ นาเสนอภาพพระราชกรณียกิจของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่เสด็จภาคอีสานครั้ง แรก พระบรมรูปเหมือนประสิทธิ์ วิชายะ พระบรมสาทิสลักษณ์โดย นภัสสร ผล วิเศษสิทธิ์ และอานนต์ วงษ์พินิจ รูปแบบสากล ที่นาเสนอประเด็นเนือ้ หาทีเ่ ป็นท้องถิน่ ไทยในระดับภูมภิ าคอีสาน ศิ ลปิ นในกลุ่ มที่ สาม ใช้ รู ป แบบและสื่ อ ที่ เ ป็ น สากลน าเสนอประเด็ น เนื้อหาที่เป็นท้องถิ่นไทยในระดับภูมิภาคอีสาน ภูมิภาคที่ศิลปินในโครงการเกือบ ทั้งหมดใช้เ ป็นที่ พานักอาศั ย ศักชัย อุทธิโ ท แสดงภาพความเป็นอยู่ที่อบอุ่นใน ชนบทอีสานแต่ก็แฝงไว้ด้วยความลึกลับ สุชาติ สุขนา และอดิศักดิ์ ภูภา ใช้วัสดุและ เทคนิคในท้องถิ่นมานาเสนอผลงานที่ดูเป็นสากลผสมท้องถิ่นอีสาน ประทีป สุธา ทองไทย ใช้สื่อภาพถ่ายนาเสนอภาพและเรื่องราวของการฟ้อนราอีสาน สันติ สิงห์สุ ใช้วัสดุสาเร็จ รูป เช่น เชือกและผ้ามาสร้างเป็นภาพการถักทอผ้าของชาว อีสาน ซึ่งแสดงถึงทั้ งชีวิตของชาวชนบทในทั่ว ไปและความผู กพันส่วนตั วของ ศิลปินกับผู้เป็นแม่ รูปแบบประเพณีหรือแนวประเพณี ทีน่ าเสนอประเด็นเนือ้ หาทีเ่ ป็นท้องถิน่ ไทยใน ระดับภูมภิ าคอีสาน กลุ่มที่สี่ มีลักษณะที่โดดเด่นในด้านการใช้รูปแบบประเพณีหรือแนว ประเพณีเพื่อนาเสนอประเด็นเนื้อหาที่เป็ นท้องถิ่นไทยในระดับอีสาน ศิลปินที่สร้าง ผลงานในลักษณะดังกล่าวอย่างตรงไปตรงมาคือ ศักดิ์ชาย สิกขา และประทับใจ สุวรรณธาดา ทั้งสองใช้ผ้าทอพื้นบ้านนาเสนอคุณค่าตัวตนของตัวมันเอง คล้าย กับการกล่าวว่างานประเพณียังทรงคุณค่าเหมือนเดิมไม่เสื่อมคลาย สาหรับ ตนุ พล เอนอ่อน มรดกประเพณีอีสานไม่ใช่สิ่งที่อยู่นิ่ง แต่ มันผันแปรปรับเปลี่ยนไป ตามยุคสมัย ไม่ว่าเราจะยินยอมหรือขัดขืน เท่าใดวัฒนธรรมที่ไม่ตายจะถูกพัฒนา ไปตลอดเวลา มิถนุ ายน 2560 รองศาสตราจารย์สธุ ี คุณาวิชยานนท์ หัวหน้าภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร



Chhim Sothy First action 50 x 50 cm. Oil color on canvas Cambodia Artist


Khamsouk Keomingmeuang (National Artist Lao PDR) Love of Lane Xang 37 x 40 cm. Oil color on canvas Laos Artist


Nwe Ni Soe Waysandaya Jataka 50 x 100 cm. Painting Myanmar Artist


Boonton Chettasurat (Associate Professor) Untitle 60 x 82 cm. Mixed Media Painting Thailand Artist


Hung Ngo Thanh The rice field in Danang 46 x 46 cm. Oil color on canvas Vietnam Artist




ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ์ นิธิรัฐพัฒน์ Land of life 2 90 x 130 ซม. ภาพพิมพ์เทคนิคผสม


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตนุพล เอนอ่อน ฮูปแต้ม 2017 80 x 120 ซม. สีอะคริลิคบนผ้าใบ


จรรยาภรณ์ กิตติกูลคุณานนท์ นานแล้ว ยังจำได้ (Marilyn Monroe) 125 x 125 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ ดร.ประสิทธิ์ พวงบุตร mass production Digital Painting


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประทับใจ สุวรรณธาดา ผู้ไทยล้ำค่า ตระการตาลายขิด 30 x 150 ซม. การทอผ้าและสร้างสรรค์ลายด้วยกรรมวิธีเก็บขิด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชาย สิกขา เก็บขิด สอดเส้นสร้างลายศรีโคตรบูรณ์-ล้านช้าง 40 x 180 ซม. การทอผ้าฝ้ายย้อมสีลูกมะเกลือ และสร้างสรรค์ลายด้วยกรรมวิธีเก็บขิด


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป สุธาทองไทย พะลัก พะลาม 34.2 x 28 ซม. ฟิล์มสไลด์ ติดตั้งในกล่องไฟ LED


ประสิทธิ์ วิชายะ พระเจ้าแผ่นดิน 26 x 26 x 166 ซม. ประติมากรรมลอยตัว


ปรีชา นวลน่ิม มโนภาพจากผู้นำ จินตภาพที่เลื่อนลอย 43 x 34 ซม. ปากกาบนกระดาษ สันติ สิงห์สุ จังหวะของแม่ 150 x 180 ซม. จิตกรรมผสม


รองศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ น้อยวังคลัง ธาตุดิน 21 x 30 ซม. วาดเส้นบนกระดาษ


สันติ สีดาราช Free Form (Sketch) 26 x 37 ซม. / ชิ้น ประกอบไม้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิสิฐ์ หัตถกรวิจิตร เดือนดับ 100 x 100 ซม. เชื่อมโลหะ


ดร.เมตตา ศิริสุข เส้น 69 x 79 ซม. แม่พิมพ์วัสดุ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา ไพกะเพศ ภาวนา 80 x 100 ซม. หมึกจีนบนกระดาษสา


ดร.วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี ฮ้องขวัญ 50 x 60 ซม. ผสมวัสดุธรรมชาติ


ศักชัย อุทธิโท แสงแห่งความสุขในวิถีชีวิตชนบทอีสาน 110 x 130 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ


รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ Red Color 2017, Black Color 2017 100 x 130 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ


สันติสุข แหล่งสนาม ความกังวลใต้สำนึก “ป๊ะ ป๊ะ ป๊ะ” 30 x 55 x 115 ซม. หล่อไฟเบอร์กลาส


ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธิต เทศนา เมื่อจิตเคลื่อน 2016 94 x 164 ซม. acrylic and oil on canvas


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ สุขนา ข้าวใหม่ปลามัน (The Kiss No.1) 45 x 35 ซม. แกะสลัก ต่อประกอบไม้


อดิศักดิ์ ภูผา THE ROCKET FESTIVAL (บักแบ้น) 60 x 80 ซม. Mixed Techniques


ผู้ช่วยศาสตราจารย์อดุลย์ บุญฉ่ำ เวลา - ความเปลี่ยนแปลง 8 100 x 160 ซม. สื่อผสม (ถ่านบด เถ้า และกระดูกสัตว์ เผาบดบนผ้าใบ)


อนุรักษ์ โคตรชมภู "The scale of gold II" 55 x 75 ซม. mixed media (Bone, Plaster, Gunpowder)


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาคม เสงี่ยมวิบูล In Memory of HM on First Trip to Isan, 1995 113 x 88 ซม. ผสมบนแผ่นโลหะ


Gordon R. Bakker Germination 1-3 77x 105 cm. Conte on aluminum



เจษฎา คงสมมาศ One world one family 40 x 60 ซม. สีอะคริลิคบนผ้าใบ

เพลิง วัตสาร เทพนาคา 60 x 80 ซม. สีอะครีลิคทองคำเปลวบนผ้าใบ


ณรงค์ วรรณสา One world one family 125 x 150 ซม. สีอะคริลิคบนผ้าใบ

ภัฏ พลชัย เทพนาคา 58 x 78 ซม. หล่อไฟเบอร์กลาส


วรสิทธิ์ พรมจอม ขันต์ทั้ง 5 รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน" ความตายนี้แขวนคอทุกบาด ย่างตื่นมื้อเช้าเห็นหน่าจั่งว่ายัง 270 × 70 ซม. ผสม สุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย เด็กข้างถนน 140 x 160 ซม. สีอะคริลิค


บริรักษ์ ศุภตรัยวรพงศ์ เสียง...สงบสุข 161 x 161 ซม. ผสม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาพร ศุภตรัยวรพงศ์ ฟักทอง 21 x 23 ซม. สีผสม



เกรียงไกร ประทุมซ้าย Self Portrait 50 x 75 ซม. Photography

ไตรรัตน์ ศรีบุรินทร์ Building 90x110 ซม. วาดเส้นปากกาบนผ้าใบ


ธนธร สรรพกิจจำนง แม่พิมพ์ 60x80 ซม. พิมพ์ดีดบนกระดาษ นิลยา บรรดาศักดิ์ love you self 85x120 ซม. ผสม(เย็บปัก,วัสดุ)


บุญนำ สาสุด กองฟาง 25 x 20 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ

พรสวรรค์ นนทะภา ความทรงจำในวิถีชีวิตชนบทอีสาน 145 x 65 ซม. สูง x กว้าง เทคนิค เครื่องปั้นดินเผา


เพชร เชิดกลิ่น อ้อมกอดแห่งรัก 70 x 70 ซม. สีน้ำมัน วารี แสงสุวอ Mine Reflection. 100x150 ซม. ภาพพิมพ์สื่อผสม


สุนันทา ผาสมวงค์ อ้อมกอดแห่งรัก 70 x 70 ซม. สีน้ำมัน สุระศักดิ์ แสนโหน่ง ดินแดนแห่งความสุข หมายเลข 1 60 x 70 x 100 ซม. เครื่องปั้นดินเผา



กฤษณา โมคศิริ สิ่งยึดเหนี่ยวของจิต 100 x 130 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ กิตติภูมิ ผลวิเศษสิทธิ์ ดวงตาผู้เห็นธรรม 40 x 60 ซม. แกะไม้ระบายสี


จรรยาพร ฉิมนอ ดอกดาหลา 60 × 80 ซม. สีอะคริลิค

ชาตรี ปราณีธรรม สัมพันธภาพในธรรมชาติ 8 60 x 80 ซม. ปากกาบนผืนผ้าใบ


ณรงค์ศักดิ์ โฉมดี หลวงปู่ทวด 50 X 60 ซม. สีชอล์คบนกระดาษ นภัสสร ผลวิเศษสิทธิ์ พ่อภูมิพล 30 x 40 ซม. ภาพพิมพ์กาวนูน


ประชาธิป มากมูล ร่มดอกไม้ 50 x 70 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ

ปริญญา ธัญทะพิพงศ์ ภูมิสถานแห่งรัก หมายเลข1 100 x 100 ซม. สีอะคริลิคบนผ้าใบ


พสิษฐ์ เอี่ยมพานิชกุล พญามังกร 60 x 32 ซม. ดินสอบนกระดาษ ปิดทองคำเปลว

พาฝัน กล่อมสาร รองเท้านารี 40 × 60 ซม. สีอะครีลิค


พีระพงษ์ วงศ์ศรีจันทร์ artscape 50 x 160 ซม. ดินเผา

ภณิตา เกื้อกระโทก ตัวตนแห่งตน 56 × 92 ซม. ประติมากรรม พลาสวูด


ภู่กัน เจ๊กไธสง น้องหญิง 60x30x32 ซม. หล่อทองเหลือง ภูมินทร์ ขันเงิน ผางามกองลอ 40 × 50 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ


มานะชัย วงษ์ประชา วิถีอีสาน 37 x 83 ซม. ภาพพิมพ์แกะไม้ เรืองเดช พร้อมวงศ์ ภุผาป่าไม้ (บ.นาพง เมืองปากกะดิง แขวงบอลิคำไซ สปป.ลาว ) 35 x 75 ซม. สีน้ำบนกระดาษ


วรออง วันระหา สีสันความทรงจำในวัยเด็ก 40 × 60 ซม. สีอะครีลิค ศิริ สัตถาผล ปลายฝนต้นหนาว 70 X 80 ซม. สีอะครีลิค


ศิริรัตน์ จำเริญรักษ์ Shadow 46 × 46 ซม. Blue Print สมเกียรติ เสียงวังเวง บ้านโคกขุนสมาน 61 × 87 ซม. สีน้ำมันบนผ้าใบ


สมปอง ภูเลียนสี เส้นสี 40 × 180 ซม. สื่อผสม

สุริชัย ศิริบูรณ์ ความสุขในแผ่นดินของพ่อ 60 × 80 ซม. ผสมแกะไม้ระบายสี


อานนต์ วงษ์พินิจ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 120 × 135 ซม. สีน้ำมัน ปราโมทย์ ศากยโรจน์ เส้นสาย...ลวดลาย...สีสัน 50 × 35 ซม. สีโปสเตอร์/ปากกาสี


ทรงศักดิ์ ไชยเสน เปรี้ยว 2017 90 × 130 ซม. สื่อผสม

อุทัย นนตะบุตร อนิจจัง 40 × 60 ซม. สื่อผสม












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.