YMSF | Young Muslim Society for the Future
27 เมษายน 2557 ณ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ่
สรุปประชุม ยมสอ สู่อนาคต LEADER
2
สรุปประชุม ยมสอ สู่อนาคต | 27 เมษายน 2557
กาหนดการ 08.30 - 08.50 09.00 – 09.10 09.10 – 09.15 09.15 – 09.45 09.45 – 10.00 10.00 – 10.15 10.15 – 11.15 11.20 – 11.30 11.30 – 11.40 11.40 – 11.50 11.50 – 12.00 12.00 – 13.10
ลงทะเบียน พบปะทักทายพี่น้อง พิธีกรแนะนาตัวและกล่าวถึงจุดประสงค์และ ที่มาของงานในวันนี้ เปิดงานด้วยการอ่านพระมหาคัมภีร์ อัลกุรอ่าน โดย วาดิ๊ด วิทยาพันธุ์ Talk Show “ความเป็นมาของ ยมสอ” โดย ดาวุด ลาวัง & ฟาฮัด ยิ้มใย ชีแจงปัญหาและความท้าทายของ ยมสอ ในปัจจุบันและอนาคต โดย ชารีฟ ยิ้มใย Coffee Break 1 (สนับสนุนโดย Smaya Story) เวิร์คชอป “ยมสอ.สร้างเรา เราสร้าง ยมสอ.” การนาเสนอไอเดียของ Gen 1 โดย รอสลัน นารอยี การนาเสนอไอเดียของ Gen 2 โดย โยฮัน มาหะมะ การนาเสนอไอเดียของ Gen 3 โดย อับดุลลาตีฟ สาลี สุนทรพจน์อาลาตาแหน่งของอมีร ยมสอ คนปัจจุบัน โดย ลุกมาน ยูนุ ละหมาดดุฮฺริ - พักทานอาหารกลางวัน -
13.10 – 13.30 13.30 – 15.00
กิจกรรม & สันทนาการกระชับความเป็น พี่น้อง โดย มุฮัมหมัดก็อดดัร ศรีสง่า & ชากิร ตอเล็บ กิจกรรมเลือกชูรอ และ อมีร นาโดย ชารีฟ ยิ้มใย
ชารีฟ ยิ้มใย สุนทร พิมเสน (ซอและห์) รอสลัน นารอยี อาดัม พรภาพงาม ชานนท์ ยิ้มใย (ฟาฮัด)
สุทธิณัฐ สัจติประเสริฐ (ดาน ชุมพล ลาวัง (ดาวุด) ปิยะณัฐ ศรีสง่า (ม.ก็อดดัร) กฤติน ตอเล็บ (ชากิร) กิติยา หมัดนุรกั ษ์ (นัจญวา) อลิสา มีสมรรถ (ฮาริษะฮ์) ชริสา หมัดนุรักษ์ (ญีฮาน)
ยมสอ สู่ อนาคต
ผู้เข้าร่วมประชุม
นิช)
ลุกมาน ยูนุ
ปริยทรรศน์ บรอฮีมี (อัศรอน)
โยฮัน มาหะมะ
ฮานีฟ ปารามัล
ปวีณ วิทยาพันธุ์ (อัชรอฟ)
สุเมธ คาสนพิทักษ์ (อับดุลการีม)
ไซนุ้ลอาบีดีน สุขถาวร
ปณิฐ วิทยาพันธุ์ (วาดิด๊ )
มารุต เมฆลอย (ไฟซอล)
อนิรุต สาลี (อับดุลลาตีฟ)
อัชนันท์ รติปาณ (อชิ)
สิรวิชญ์ มิตรจิตร์
อนัส บิลโอะ
ประสิทธิ์ โพธิ์ทอง
มุตลลาพี เจ๊ะมะ คณุตม์ บุญเรืองขาว คณิน บุญเรืองขาว นริศา บุญมั่น (อั๊บร้อร) ธัญชนก จาตุรนต์ (อามีเราะฮ์) กุสุมา สุลัยหมัด (อากีดะห์) พัชรี โพธิ์โซ๊ะ
สิรินาท บูท่ อง (สุรอยยา) อารีนา น้อยนงเยาว์ เสาวณีย์ เซ๊ะวิเศษ (นูรร่อมะฮ์) อัยณี รอมาลี ลลิตา หมัดอาดา (รุจญาอ้า) ปณิฐา วิทยาพันธุ์ (วีดาส) วรัญญา ริดมัด (นัจมี) เรณู สุภีชะวี (นูรียะห์) ซอฟา โมฮาเมด อาเมด
3
4
สรุปประชุม ยมสอ สู่อนาคต | 27 เมษายน 2557
ยมสอ สู่ อนาคต เริ่มประชุมเวลา 9.35 น. ประธานในที่ประชุม (ชารีฟ ยิ้มใย) กล่าวถึงวัตถุประสงค์และที่มาของการ ประชุมครั้งนี้ ดังนี้ ”การประชุมใหญ่ ยม สอ สู่ อนาคต” เป็นการประชุมใหญ่ สามัญประจาปีของ ยมสอ เพื่อปรับปรุง และพัฒนาศักยภาพของชมรมฯ ให้ดียิ่งขึ้น ในด้านโครงสร้าง กระบวนการบริหาร และการดาเนินงาน พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นอยู่ ซึ่งยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งการเลือกอมีรคนใหม่ของชมรมฯ" เปิดการประชุมด้วย พระมหาคัมภีร์อัลกุรอ่าน โดย วาดิ๊ด วิทยาพันธ์ 9.40 น. Talk Show “ความเป็นมาของ ยมสอ” เล่าถึงประวัติความเป็นมา เหตุการณ์ สาคัญและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ตั้งแต่การก่อตั้งชมรมฯจนถึงปัจจุบัน ผ่าน Presentation “เปิดบันทึก’ลึกลับ’ ยมสอ” โดย บังดาวุด ลาวัง และ บังฟาฮัด ยิ้มใย
ยมสอ สู่ อนาคต
5
แหล่งสร้างคน ฝึกฝนการทางาน สร้างรากฐานเยาวชนมุสลิม
จากนั้น เป็นการชี้แจงปัญหาต่าง ๆ ที่ ผ่านมาของ ยมสอ และสิ่งที่อยากให้ เป็นไปในอนาคต โดยประธานในที่ประชุม ได้ชี้แจงปัญหาทั้ง 10 ข้อที่คณะทางาน ชุดนี้ร่วมกันหารือในการประชุมระหว่าง คณะบริหารและชูรอ ที่รา้ น Smaya Story เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2557 ปัญหาทั้ง 10 ข้อดังกล่าวมีดังนี้ 1) ไม่สามารถดึงคนกลุ่มใหม่มาแทนคน รุ่นเก่า ๆ ได้ 2) จานวนกิจกรรมมากไปในแต่ละปี 3) คน ยมสอ ทากิจกรรมให้ ยมสอ เฉพาะงาน ไม่ผูกพันกับ ยมสอ 4) ขาดทักษะในการทางาน 5) ขาดการปรึกษาหารือกัน 6) ขาดการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ 7) ช่องว่างระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้องกว้าง 8) ความอบอุ่นใน ยมสอ ลดน้อยลง 9) คนรุ่นใหม่มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นน้อย 10) ไม่มีการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรม
6
สรุปประชุม ยมสอ สู่อนาคต | 27 เมษายน 2557
กิจกรรมใน ยมสอ ที่ประทับใจมากที่สุด
ปัญหา
ค่ายติว ยมสอ เพราะ ได้พบปะพีน่ ้อง ทาให้สนิทกันมากขึ้น เป็นญะมะอะฮ์ที่อบอุ่น มีความหลากหลาย ของบุคคลที่มารวมกัน ทาให้เป็นญะมะอะฮ์ ที่มีเสน่ห์ในแบบของยมสอ ได้ฝึกนัฟซูของ ตนเอง ทาให้มีความอดทนมากขึ้น ได้เรียนรู้ และพัฒนาทักษะในการวางแผน การทางาน เป็นทีม
ค่ายปูทาง สร้างเยาวชน ครั้งที่ 4 ณ นาคนาวาฟาร์ม เพราะ มีกิจกรรมฝึกการพูด ทาให้เห็น ความสาคัญของการพูด และได้พฒ ั นา ทักษะในด้านการพูดของตนเอง
กิจกรรมละศีลอด เดือนรอมฎอน เพราะ ทาให้ลดอคติบางอย่างที่เคยมีกับ ชมรมฯ ยอมรับ และเข้าใจในความเป็น ยมสอ มากขึ้น
การประชุมใหญ่ ยมสอ สู่อนาคต เพราะ ทาให้ได้รู้ประวัติความเป็นมาของ ยมสอ ที่แท้จริง ได้มีสว่ นร่วมในการ เปลี่ยนแปลง ยมสอ และอะไรบ้างที่ตนเอง สามารถช่วยพัฒนาชมรมฯ ได้
the seeds of
ไม่มีการประเมินผลงานค่ายติว ทั้งในเรื่องของ การดาเนินงานของค่ายปีที่ผ่านมา และการ สอบติดเข้ามหาวิทยาลัยของน้องรุ่นต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของคนในยมสอ ทั้งระหว่างรุน่ พี่ ด้วยกันเอง รุ่นน้องด้วยกันเอง และระหว่าง รุ่นพี่กับรุ่นน้อง การกาหนดคุณสมบัตขิ องบุคคลที่ชมรมฯ ต้องการมาทางาน เพือ่ ให้ได้คนที่เหมาะสมกับ งาน และมีนิสัยที่สามารถทางานร่วมกันได้ เป้าหมาย และอัตลักษณ์ของ ยมสอ ยังไม่ ชัดเจน ขาดคนมาประชุมงานในแต่ละครั้ง การทาสื่อประชาสัมพันธ์ยังไม่ดีพอ ไม่ว่า จะเป็นภาพโปสเตอร์ หรือวิดีโอต่าง ๆ ยังไม่ สามารถสร้างแรงจูงใจให้แก่รุ่นน้องในการ มาร่วมงานกับ ยมสอ ได้ การให้ความสาคัญกับเวลา ทั้งในการประชุม และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลทาให้การ ทางานดูเฉื่อยชา การยอมรับกันด้วยเหตุผล ไม่ยอมรับกันด้วย ใจ ยังไม่สามารถแยกแยะระหว่างเรื่องงาน กับเรื่องส่วนตัวออกจากกันได้ ไม่มีการส่งต่องานที่เป็นรูปธรรมจากรุน่ สู่รนุ่ ทาให้กิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละปีต้องเริ่มใหม่ ทั้งหมด
แล
การนาเสนอความคิดเห็นของ Gen 3
f the future
ละ
อยากเห็น ยมสอ เป็นอย่างไรในอนาคต
ข้อเสนอแนะ
ควรมีการจัดเก็บข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางใน การปรับปรุงค่ายในปีต่อ ๆ ไป ควรจัดให้มกี ิจกรรมกระชับความสัมพันธ์ การกาหนดคุณสมบัตขิ องบุคคลที่ชมรมฯ ต้องการมาทางาน เพือ่ ให้ได้คนที่เหมาะสม กับงาน และมีนิสัยที่สามารถทางานร่วมกันได้ กาหนดเป้าหมาย และอัตลักษณ์ของ ยมสอ ให้ชัดเจน ควรใช้วิธีการโทรตามจากอมีรและ คณะทางาน จะได้ใจมากกว่าการนัดงาน ผ่านทางเฟสบุค ซึ่งจะสร้างแรงจูงใจใน การทางานหรือการประชุมน้อยกว่า เนื่องจาก น้อง ๆ ในยุค Gen 3 ยังไม่มีความรู้สึกผูกพัน กับ ยมสอ มากนัก ควรมีการพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ให้ทันตาม ยุคสมัย ควรมีข้อตกลงหรือมาตรการร่วมกัน ในการนัดหมาย และควรคานึงถึงความรู้สกึ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้วย เช่น นัดเช้าเกินไป คนบ้านอยู่ไกลมาไม่ทัน เป็นต้น อยากให้ยอมรับกันด้วยเหตุผล ควรมีการจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมต่าง ๆ เป็นลายลักษณ์อักษรให้น้องได้เรียนรู้จากและ ปรับปรุงข้อบกพร่องทีม่ ีอยู่ในงานเดิม
ภาพการทางานต่าง ๆ โดยรวมของ ยมสอ ดีอยู่แล้ว อยากให้มีตาแหน่งให้ คนแต่ละ Gen ได้มีสว่ นร่วมทางาน พี่เก่า Gen 1 ก็จะทาหน้าที่เป็นชูรอ คนยุคกลาง Gen 2 ก็จะเป็นนัก บริหาร และ น้อง Gen 3 ก็จะเป็นผู้รับผิดชอบใน กิจกรรมต่าง ๆ แต่สิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมคือ อยาก ได้อมีรที่ให้ใจกับการทางานอย่าง แท้จริง ที่สามารถประสานใจของคน ในแต่ละ Gen ให้ทางานร่วมกันได้
อยากให้มีฝ่ายที่ปรึกษาด้านศาสนา และมีการกาหนดฝ่ายของชูรอให้ ชัดเจน เช่น เมื่อน้องมีปัญหาด้าน ศาสนาต้องปรึกษาชูรอคนไหน มีปัญหาเรื่องหาทุนต้องปรึกษาชูรอคน ไหน เป็นต้น
อยากให้มีฝ่ายบุคคลทาหน้าที่เก็บ ข้อมูลบุคคลในยมสอ ประชาสัมพันธ์ ข่าวสารต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และมี กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ให้กับ น้อง ๆ และคนทางานที่อาจหายหน้า หายตาไปได้รับรู้ความเคลื่อนไหว และได้กลับมาร่วมงานกับ ยมสอ อีก
7
8
สรุปประชุม ยมสอ สู่อนาคต | 27 เมษายน 2557
the youthfulness
กิจกรรมใน ยมสอ ที่ประทับใจมากที่สุด ค่ายติว ยมสอ เพราะ เป็นกิจกรรมที่รวมความหลากหลายทั้ง ด้านศาสนาและสามัญ มีครบทุกรสเป็นการ ทางานที่เกี่ยวกับวัยรุ่น ซึ่งเป็นปัญหาสาคัญ ของสังคม มีความอบอุ่น รู้สึกถึงความเป็นพี่ น้อง พี่น้องมีความใส่ใจกัน รู้ว่าเราชอบอะไร หรือไม่ชอบอะไร ทาให้รู้สึกประทับใจ พี่ ๆ ให้ความสนิทสนมกับน้อง ไม่มีการแบ่งแยก และคอยถามไถ่ตลอด เป็นสิ่งที่ประทับใจที่สุด
ปัญหา
ค่ายเป็นกระบวนการสร้างคนอย่างแท้จริง ได้เรียนรู้อะไรหลายอย่างจากค่ายโดยเฉพาะ การเสียสละ การให้ผู้อื่น การช่วยเหลือกัน ซึ่ง ส่งผลไปถึงหลังค่าย ไม่ว่าพี่น้องมีปัญหาอะไร ก็ยังได้รับความช่วยเหลือจากพี่น้องตลอด
ค่ายเด็ก เพราะ เป็นกิจกรรมที่ให้ประสบการณ์ แตกต่างไปจากค่ายติว คือ ได้เรียนรู้วิถีชีวิต ของบุคคลในท้องถิ่นนั้น ๆ และการอยู่ใน ร่วมกัน ณ ตรงนั้น ทาให้ทุกคนร่วมมือร่วมใจ ช่วยกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ฮัลเกาะห์ เพราะ ทาให้ได้เรียนรู้ศาสนา ได้ใกล้ชิด ศาสนามากขึ้น รู้สึกอบอุ่น และอยากเรียนรู้ ศาสนาเพิ่มขึ้น อื่น ๆ เช่น แนะแนวออนทัวร์ และกิจกรรม ช่วยเหลือสังคม
วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และระบบการทางาน ของยมสอ ยังไม่ชัดเจน อัตลักษณ์ของ ยมสอ ไม่ชัดเจน ยมสอ ไม่กล้าเปลี่ยนแปลง ก้าวข้ามขั้น สถานะโรงเรียนอนุบาลไปเป็นโรงเรียน ประถม มัธยม หรืออุดมศึกษา ในบางครั้ง ยึดมั่นในตัวผู้นามากเกินไป ทาให้ ต้องปรับเปลี่ยนระบบอยู่ตลอดเวลา ไม่มีระบบส่งต่องานให้น้องรุ่นต่อไปและ การทางานแต่ละปีขึ้นอยู่กับผู้นา น้องที่มา รับหน้าที่งานใหม่ ต้องเริ่มงานใหม่ตั้งแต่แรก ซึ่งกิจกรรมบางอย่าง ของเดิมนั้นเป็น กิจกรรมทีต่ รงตามวัตถุประสงค์ดีอยู่แล้ว หรืออาจมีข้อบกพร่องบางอย่าง ซึ่งกิจกรรม ที่คิดขึ้นมาใหม่ อาจไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ เท่ากับกิจกรรมเก่าที่มอี ยู่ ยมสอ ไม่มีที่เก็บของ หรือไฟล์การทางานที่ เป็นหลักแหล่ง ยมสอ ไม่มีระบบการหาเงินทุนที่มาสนับสนุน กิจกรรมที่มีเสถียรภาพ
แล
การนาเสนอความคิดเห็นของ Gen 2
s for the future
ละ
อยากเห็น ยมสอ เป็นอย่างไรในอนาคต
ข้อเสนอแนะ
ยมสอ ควรมีวิสัยทัศน์ และเป้าหมายที่ชัดเจน คนในชมรมฯ มีความเข้าใจที่ตรงกันในเป้าหมายนั้น พร้อมทั้งสร้างความรัก ความเข้าใจให้เกิดขึ้นใน ชมรมฯ ตั้งเป้าหมายการทางานของชมรมฯ วางระบบการ ทางาน ควรมีโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน โดยใช้อิสลามใน การจัดโครงสร้างขององค์กร อาจมีอายะห์กุรอาน ประจาชมรมฯ เพื่อเป็นเป้าหมายและกาลังใจใน การทางานของคนในชมรมฯ เช่น สนท. จะใช้ อายะห์กุรอานที่กล่าวไว้ว่า “แท้จริง บรรดาผู้ ศรัทธานั้นคือพี่น้องกัน” โดยใช้สโลแกนว่า “we are all brothers” หรือ Change to Goal จะใช้อายะห์กุรอานที่กล่าวไว้ความว่า “พระองค์ จะไม่ทรงเปลี่ยนแปลงชนกลุ่มใด จนกว่าพวกเขาจะ เปลี่ยนสภาพของตัวพวกเขาเอง” เป็นต้น ควรมีการจัดการคนที่ดี มีกิจกรรมที่พัฒนาคนไปที ละขั้น ๆ เปิดโอกาสให้เขาทาในสิ่งที่อยากทา สร้างกิจกรรมให้มีความรักในชมรมฯ และดึงดูดให้ เขาอยากมาร่วมงานกับยมสอ ไม่ใช่มาแค่ครั้งสอง ครั้ง แล้วก็หายไป ควรสร้างระบบงานให้ชัดเจน มีการบริหารจัดการ องค์ความรู้ และส่งต่องานรุ่นต่อรุ่น ให้ระบบ ทางานให้กับเรา ให้อมีรแต่ละปีสานต่องานกัน เพื่อให้ชมรมฯบรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ให้ได้ โดย ไม่ยึดติดที่ตัวผู้นา รวมทั้งมีผู้คอยดูแลการทางาน โดยรวมของชมรมฯ ว่าเป็นไปตามเป้าหมายหรือไม่ และกระจาย ประชาสัมพันธ์ให้ทั้งคนในและคน ภายนอก ได้รับทราบ
ใช้ระบบอิสลามในการสร้างโครงสร้าง ของชมรมฯ
ให้มีโครงสร้างหลักของ ยมสอ ได้แก่ ชูรอ อมีร และทีมบริหาร
ชูรอเป็นผู้วางวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวางระบบการทางาน โดยไม่มี บทบาทในการตัดสินใจในเรื่องของ กิจกรรมที่จดั ในระหว่างปี เพียงแต่ คอยสอดส่องการทางาน ระบบงานให้ เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
อมีรและคณะบริหารเป็นผู้ใช้ระบบ และมีหน้าที่ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ กิจกรรม
9
10
สรุปประชุม ยมสอ สูอ่ นาคต | 27 เมษายน 2557
the experienced
กิจกรรมใน ยมสอ ที่ประทับใจมากที่สุด
ปัญหา
ค่ายติว ยมสอ เพราะ มีกิจกรรมหลากหลาย ทั้งติว แนะแนว สันทนาการ วิชาการ และรวม ผู้คนจากหลากหลายกลุ่ม เป็นเหมือน สัญลักษณ์และจุดแข็งของ ยมสอ เป็นการทากิจกรรมที่บรู ณาการอิสลามและ ความคิดสร้างสรรค์ในการทากิจกรรม
มหกรรมการศึกษามุสลิม ครั้งที่ 1 เพราะ เป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา สมาชิก ทุกคนได้ร่วมมือกันทางานอย่างเต็มที่ และ ได้แสดงศักยภาพในการบริการจัดการที่ดี เป้นที่ประจักษ์แก่คนทัว่ ไป
อื่น ๆ ได้แก่ ค่ายปูทางสร้างเยาวชน การแนะแนวการศึกษาในต่างจังหวัด (หาดใหญ่) หรือการช่วยเหลือพี่น้องมุสลิม ในช่วงน้าท่วมใหญ่ ’54
การจัดหางบประมาณในการทากิจกรรม ช่องว่างระหว่างรุ่นมีมาก ความผูกพัน ระหว่างสมาชิดลดน้อยลง การส่งต่องานให้กับน้อง ๆ รุ่นใหม่ ขาดการปรึกษาหารือ การพูดคุย และความ สนิทสนมผูกพันระหว่างพี่น้องในชมรมฯ มีกิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมจัดขืน้ ตามกระแส ขาดทักษะในการดาเนินกิจกรรม
แล
การนาเสนอความคิดเห็นของ Gen 3
d for the future
ละ
อยากเห็น ยมสอ เป็นอย่างไรในอนาคต
ข้อเสนอแนะ
ร่วมมือกับ World Orphan Fund Inc. โดย แลกเปลี่ยนทุนทรัพย์และทรัพยากรมนุษย์ มีการพบปะสังสรรค์กนั โดยจัดให้มกี ิจกรรม หลากหลายมากขึ้น สร้าง concept ของชมรมฯ ให้ชัด ดึงจุดเด่น ของชมรมฯ ให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ และกล้าชักชวนผู้อื่นมาร่วมงาน ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการพูดคุย ปรึกษาหารือ หรือสานสัมพันธ์กนั ปลูกฝังวัฒนธรรมการปรึกษาหารือ พัฒนาชมรมฯ สู่ความเป็นมืออาชีพ เช่น พัฒนาหลักสูตรติวของยมสอ ลดจานวนกิจกรรมหลักเหลือเพียงภาค การศึกษาละ 1 กิจกรรม เพื่อเน้นให้เป็น highlight ของชมรมฯ มุ่งเน้นงานนอก งานช่วยเหลือองค์กรอื่น พัฒนาความรู้ความเข้าใจในอิสลามร่วมกัน เป็นเครื่องเชื่อมโยงจิตใจให้สนิทสนมกันด้วย ศาสนา เหนียตทางานให้ดี เช่น สร้างสรรค์งานให้ เป็นประโยชน์แก่มุสลิม มีการจัดการความรู้ (KM) รู้จักใช้การวิจัยอย่างง่าย
ควรจดทะเบียนองค์กร เพื่อประโยชน์ ที่อาจได้รับตามมา โดยเฉพาะด้าน งบประมาณ
มี concept การทางานที่ชัดเจน พร้อมที่จะเป็นมืออาชีพ โดยเฉพาะ ค่ายติวที่จัดมาแล้ว 16 ครั้ง
มีการจัดการความรู้ และการวิจัย ที่เหมาะสม สามารถส่งต่องานให้ รุ่นน้องเป็นลายลักษณ์อักษร ได้อย่างเป็นระบบ
สมาชิกชมรมฯ มีความสนิทสนม ผูกพันกัน
สมาชิกชมรมฯ มีทักษะในการทางาน มากขึ้น และสร้างสรรค์ผลงานดี ๆ เพื่อสังคมมุสลิมได้
11
12
สรุปประชุม ยมสอ สูอ่ นาคต | 27 เมษายน 2557
c ผู้นา ยมสอ สู่ อนาคต
อมีร ยมสอ ปีการศึกษา 2557 คณุตม์ บุญเรืองขาว (อักรอม) อดีตประธานชมรมนิสิตมุสลิมเกษตรศาสตร์ อดีตหัวหน้าฝ่ายติวเตอร์ค่ายติวครั้งที่ 15
คณะชูรอ ยมสอ ปีการศึกษา 2557 อ.ปิยะณัฐ ศรีสง่า (บังก็อดดัร) ผู้จัดการวิทยาลัยเทคโนโลยีมีนบุรีโปลีเทคนิค
โยฮัน มาหะมะ อดีตประธาน ยมสอ ปี 2555
อัชนันท์ รติปาณ (อชิ) อดีตประธานแนะแนวออนทัวร์ ปี 2556
นริศา บุญมั่น (อั๊บร้อร) ชูรอ ยมสอ ปีการศึกษา 2556 อดีตอามีเราะห์ค่ายติวครั้งที่ 14
ซอฟา โมฮาเมด อาเมด ประธานฝ่ายมุสลิมะห์งานกีฬา ปี 2556
(อัลลอฮุมมะ ลา สะฮฺละ อิลลา มา ญะอัลตะฮู สะฮฺลา วะอันตะ ตัญอะลุล หัซฺนะ อิซา ซิตะ สะฮฺลา )
โ อ้ . . . อั ล ล อ ฮฺ !! ไม่มีสิ่งใด ง่ า ย ด า ย เว้นแต่พระองค์ทาให้ มั น ง่ า ย ด า ย และพระองค์ทรงทาให้ความเศร้าโศก.... ความยากลาบากเป็น เ รื่ อ ง ง่ า ย ด า ย เ มื่ อ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ป ร ะ ส ง ค์