20160419 amatav ar2015 th

Page 1

vietnamThe New Phase

of Success

รายงาน ประจำ�ปี 2558 บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน)


ทุกธุรกิจต้องการสถานที่ในการลงทุนอย่างเป็นหลัก แหล่ง ถ้าคุณก�ำลังมองหาสถานที่ตั้งฐานการผลิตใน ประเทศเวียดนาม อมตะ วีเอ็น มีค�ำตอบให้คุณ เราคือผู้น�ำด้านการพัฒนาและการจัดการเมือง อุตสาหกรรมระดับโลก เรามุ่งมั่นที่จะสร้างให้อมตะ เป็นฐานการผลิตในอุดมคติของนักลงทุน ที่เพียบ พร้อมไปด้วยบริการทางธุรกิจมากมาย มีทีมสนับสนุนด้านธุรกิจและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตที่สมบูรณ์พร้อม

วิ ส ั ย ทั ศ น์

พั น ธกิ จ วิสัยทัศน์: ผู้น�ำการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมระดับโลก

พันธกิจ:

B

Vietnam-The New Phase of Success

สร้างศาสตร์แห่งศิลป์ทางธุรกิจที่น่าเชื่อถือและยั่งยืน


สารบัญ 94 105 111

137 175 185 187

ปัจจัยความเสี่ยง

115 123 125

ข้อมูลทั่วไป

132

คณะกรรมการ

ประวัติคณะกรรมการ

นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ

21 48 54 58 61 62

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ผู้ถือหุ้น

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

โครงสร้างการจัดการ

การก�ำกับดูแลกิจการ

ความรับผิดชอบต่อสังคม

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง

รายการระหว่างกัน

งบการเงิน ประวัติผู้บริหาร

รายละเอี ย ดการด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ของ ผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ ในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ของบริษัทย่อย

ข้อมูลทางการเงินที่สำ� คัญ

การวิเคราะห์ และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ประจ�ำปี 2558

133 136

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

สารจากประธานคณะกรรมการ

1

2 4 6 15


สารจากประธาน

2

Vietnam-The New Phase of Success

คณะกรรมการ

(ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ)


เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

นอกจากนี้ อมตะยังเน้นการลงทุนในธุรกิจต่อเนื่อง เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าในนิคมฯ เช่น การศึกษา การสื่อสาร และโทรคมนาคม รวมทั้งการ ให้บริการก๊าซอุตสาหกรรม โดยร่วมทุนกับพันธมิตร ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญในแต่ละกิจการ ซึง่ จะสร้างรายได้ เพิ่มขึ้นให้กับอมตะเพื่อรองรับการลงทุนดังกล่าว บริษทั ย่อยได้มกี ารระดมทุนผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่ง

การขยายการลงทุนเป็นไปตามวิสัยทัศน์ ผู้น�ำการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมระดับโลก ที่เน้นการลงทุน ในธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยว เนื่องกับธุรกิจนิคมฯ ตามแนวทางการพัฒนาอย่าง ยัง่ ยืน ภายใต้หลักบรรษัทภิบาลทีด่ ี และพัฒนานิคมฯ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ในโอกาสนีก้ ระผมขอขอบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน พันธมิตรทางธุรกิจ ลูกค้า รวมถึงผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ทั้งหมด ที่ได้ให้การสนับสนุนธุรกิจของเราด้วยดีมา โดยตลอด และขอขอบคุณอย่างยิง่ ต่อคณะผูบ้ ริหาร พนักงานทุกคนส�ำหรับความพยายามทุ่มเทในการ ท�ำงาน

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

อย่างไรก็ตามอมตะก็มิได้ย่อท้อ แต่มุ่งมั่นขยายการ ลงทุนท�ำธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมเพิ่มเติมในประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามซึ่ง เป็นประเทศที่ กลุ่มอมตะเชื่อมั่นว่าจะประสพความส�ำเร็จเพราะ มี ประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจกว่า 20 ปี เวียดนาม เป็นประเทศที่มีศักยภาพสูงในการดึงดูดนักลงทุน ต่างประเทศและในการท�ำธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ดังจะ เห็นได้จากตัวเลขการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ที่ ต ่ อ เนื่ อ งและมี ป ริ ม าณสู ง ขึ้ น ในแต่ ล ะปี เวียดนามถือได้ว่าเป็นอนาคตที่สดใสของอมตะ

ประเทศไทยโดย บริษทั อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด ได้ขายกรรมสิทธิและสิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร โรงงานแก่ทรัสตีซึ่งกระท�ำในนามของกองทรัสต์เพื่อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอมตะ ซัมมิทโกรท ซึ่งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ รับเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนแล้ว

3

ปี 2558 เป็นปีทบี่ ริษทั ได้รบั ผลกระทบจาก การชะลอ ตัวของเศรษฐกิจโลกและ การส่งออกของไทย ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยมีผลโดยตรงต่อภาคการผลิต


คณะ

4

Vietnam-The New Phase of Success

กรรมการ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ • ประธานกรรมการ

Dr. Huynh Ngoc Phien • รองประธานกรรมการ

ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม • กรรมการ

นางสมหะทัย พานิชชีวะ • กรรมการ • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


Mr. Mats Anders Lundqvist • กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ

Mr. Do Ngoc Son • กรรมการ • กรรมการตรวจสอบ

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ • กรรมการ • ประธานกรรมการตรวจสอบ

นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ • กรรมการ

5

นายกัมพล ตติยกวี • กรรมการ • ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ


ประวัติ

คณะกรรมการ

6

Vietnam-The New Phase of Success

ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ประธานกรรมการ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 11 สิงหาคม 2558 อายุ • 66

การศึกษา • ปริญญาตรีศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) วิทยาลัยแคลร์มอน • ปริญญาโทรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด • ปริญญาเอกภูมิภาคตะวันออกกลางศึกษา มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 122/2015 ประสบการณ์การท�ำงาน • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันพระปกเกล้า • อดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ • อาจารย์พิเศษประจ�ำศูนย์อิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด • เลขาธิการ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการ บมจ. สโตนวัน • ประธาน The International Institute for Democracy and Electoral Assistance (IDEA) • ประธานกรรมการ บจ. อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด์) • กรรมการที่ปรึกษา The Centre for Humanitarian Dialogue • ธรรมศาสตราภิชาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประธาน สถาบันออกแบบอนาคตประเทศไทย (The Future Innovative Thailand Institute) • ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ บริษทั บางกอก เดคคอน จ�ำกัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 2/5 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 5 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบ ปีที่ผ่านมา


บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 72

7

Dr. Huynh Ngoc Phien รองประธานกรรมการ

การศึกษา • Bachelor’s degree of Science in Mathematical Education, Hue University, Vietnam • Bachelor’s degree of Art in Mathematics, School of Science, Hue University, Vietnam • Master’s degree of Science in Water Resources Engineering, Asian Institute of Technology, Thailand • Doctor’s degree of TechnicalScience in Water Resources Engineering, Asian Institute of Technology, Thailand การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 108/2014 ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการผู้จัดการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการ Amata(Vietnam) Joint Stock Company การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4/5 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 0/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 6,249,760 หุ้น (0.67%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนใน รอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทใน รอบปีที่ผ่านมา


8

Vietnam-The New Phase of Success

ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม กรรมการ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 66

การศึกษา • ปริญญาตรี นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Kellogg School of Management, Northwestern University, สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ University of Illinois at Urbana-Champaign, สหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ธรุ กิจ, University of Illinois at Urbana-Champaign, สหรัฐอเมริกา การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • หลักสูตร The Role of Chairman (RCM) • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยเรทติง้ แอนด์อนิ ฟอร์เมชัน่ เซอร์วสิ จ�ำกัด (ทริส) • กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ประธานกรรมการบมจ. ปริญสิริ ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการบจ. พันธวณิช • กรรมการผู้จัดการ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (IRDP) การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4/5 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 340,000 หุ้น (0.04%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบ ปีที่ผ่านมา


บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 50

9

นางสมหะทัย พานิชชีวะ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

การศึกษา • ปริญญาตรี ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 104/2008 ประสบการณ์การท�ำงาน • ประธานเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ บริษัท เอทีพี 30 จ�ำกัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการและPresident Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ บริษัท ชีวาทัย จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ชีวาทัย อินเตอร์เชนจ์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ชาติชีวะ จ�ำกัด การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 5/5 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 2,805,600 หุ้น (0.30%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนใน รอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทใน รอบปีที่ผ่านมา


10 Vietnam-The New Phase of Success

นายกัมพล ตติยกวี กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 7 สิงหาคม 2557 อายุ • 56

การศึกษา • ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาหการ University of Texas at Arlington การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP), รุ่นที่ 74/2549 ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บจ. พัทยาฟู๊ด อินดัสตรี้ • กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. อาหารสยาม ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการอิสระ บมจ. เมืองไทยลีสซิ่ง • กรรมการ บมจ. วีรีเทล ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ Amata City Long Thanh Joint Stock Company การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 5/5 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 1 ปี 5 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบ ปีที่ผ่านมา


ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 54

11 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ กรรมการ

การศึกษา • ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP),รุ่น 100/2013 ประสบการณ์การท�ำงาน • ผู้อำ� นวยการฝ่ายการตลาดและการขาย บมจ.อมตะ คอร์ปอเรชัน ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ Amata Global Ltd. การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 5/5 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 340,000 หุ้น (0.04%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนใน รอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทใน รอบปีที่ผ่านมา


12 Vietnam-The New Phase of Success

นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 69

การศึกษา • ปริญญาตรี เภสัชศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจUniversity of Wisconsin at Madison, U.S.A การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP), รุ่นที่ 89/2007 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 56/2006 ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการบริหารธนาคารสินเอเซีย จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการตรวจสอบบรรษัทประกันสินเชื่อขนาดย่อม • กรรมการธนาคารออมสิน ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ บจ. พีแอนด์พี อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 5/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 4/4 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 0/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 240,000 หุ้น (0.04%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบ ปีที่ผ่านมา


ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 14 ธันวาคม 2555 อายุ • 70

13 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

Mr. Mats Anders Lundqvist กรรมการ กรรมการตรวจสอบ

การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, Stockholm School of Economics, Sweden การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 108/2014 ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการ บมจ. สแกนดิเนเวีย ลีสซิ่ง ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการผู้จัดการ บจ. จัดหางาน แปซิฟิค 2000 • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Pacific 2000 (Singapore) International Recruitments Pte. Ltd. • กรรมการ บจ. สไปคา การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 4/4 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 0/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี การถือหุ้นในบริษัท • 280,000 หุ้น (0.03%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนใน รอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทใน รอบปีที่ผ่านมา


14 Vietnam-The New Phase of Success

Mr. Do Ngoc Son กรรมการ กรรมการตรวจสอบ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริษทั ตามทีก่ ำ� หนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ • 30 สิงหาคม 2555 อายุ • 65

การศึกษา • Bachelor’s degree, Faculty of Letras y Artes, University of La Habana, Cuba การอบรมหลักสูตรกรรมการ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 108/2014 ประสบการณ์การท�ำงาน • Assistant Minister, Director General, Foreign Services • Ambassador, Foreign Services ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับ ธุรกิจของบริษัท • ไม่มี การเข้าประชุมปี 2558 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 3/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 3/4 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 0/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ • 3 ปี 4 เดือน การถือหุ้นในบริษัท • 340,000 หุ้น (0.04%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบ ปีที่ผ่านมา


นโยบาย

และภาพรวมการประกอบธุรกิจ ประวัติความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ

บริษัทฯได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2555 ในรูปบริษัทมหาชนจ�ำกัดมีวัตถุประสงค์เพื่อการประกอบธุรกิจการ ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) โดยมีธุรกิจหลักคือ การพัฒนาและประกอบกิจการเมืองอุตสาหกรรมและกิจการที่เกี่ยวเนื่อง ในประเทศเวียดนามซึ่งปัจจุบัน ด�ำเนินธุรกิจโดยบริษัทย่อย 1 บริษัท คืออมตะ เวียดนาม และบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 89.99 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและช�ำระแล้วปัจจุบันบริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 467,500,000บาท อมตะ เวียดนามได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2537โดยจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเวียดนามในรูปแบบของบริษัท ร่วมทุน (Joint Venture Company) ด้วยทุนจดทะเบียนเริม่ แรก 17,000,000 เหรียญสหรัฐ เพือ่ ประกอบธุรกิจการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ในเมืองเบียนหัว ภายใต้ชอื่ นิคม Amata City (Bien Hoa) โดยเป็นการร่วมทุนระหว่างกลุม่ นักลงทุนไทยซึง่ ประกอบด้วย บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) (“อมตะ คอร์ป”) เป็นผูถ้ อื หุน้ หลักในสัดส่วนร้อยละ 55.30 และพันธมิตรทางธุรกิจของ อมตะ คอร์ปรวมกัน ในสัดส่วนร้อยละ 14.70 (“กลุ่มนักลงทุนไทย”) และ Sonadezi Corporation (“Sonadezi”) ในสัดส่วนร้อยละ 30.00 ทั้งนี้ Sonadezi เป็นรัฐวิสาหกิจซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นโดยมติของ People’s Committee of Dong Nai Province ทั้งนี้ Sonadezi ประกอบธุรกิจหลักคือการ ลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในจังหวัดดองไน ประเทศเวียดนาม รวมถึงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม และการพัฒนาที่ดิน เพื่อที่อยู่อาศัย นอกจากนี้ Sonadezi ยังมีการลงทุนในการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาในจังหวัดดองไน รวมถึงบริการอื่นๆ เช่น การ บริหารท่าเรือ และการบริหารจัดการของเสียเป็นต้น ต่อมาอมตะ เวียดนาม ได้มีการปรับโครงสร้างการถือหุ้นโดยมีการซื้อขายหุ้นระหว่าง อมตะ คอร์ปและกลุ่มนักลงทุนไทยบางกลุ่ม และในปี 2552 อมตะ เวียดนามได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 17,000,000 เหรียญสหรัฐ เป็น 20,400,000 เหรียญสหรัฐเพื่อขยายไป ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาทีด่ นิ เพือ่ การพาณิชย์และทีอ่ ยูอ่ าศัยในบริเวณพืน้ ทีด่ า้ นหน้าของนิคมอุตสาหกรรม จึงเป็นผลให้ อมตะ คอร์ปและ บริษัทย่อย ซึ่ง อมตะ คอร์ป ถือหุ้นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน คือ บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด (“อมตะ วอเตอร์”) และ Amata Asia Ltd. (“อมตะ เอเชีย”) (เดิมชื่อ Amata Hong Kong Ltd.) ถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมใน อมตะ เวียดนาม รวมร้อยละ 62.88 และกลุ่มนักลงทุนไทยจ�ำนวน 9 ราย รวมกันในสัดส่วนร้อยละ 7.22

ทั้งนี้ เนื่องจาก อมตะ คอร์ป ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพการเติบโตของธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนาม อมตะ คอร์ป จึงมี นโยบายทีจ่ ะน�ำหุน้ สามัญของบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Spin-off) เพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถหาแหล่ง เงินทุนเพื่อการขยายธุรกิจได้ด้วยตนเอง และเป็นการลดภาระที่จะต้องพึ่งแหล่งเงินทุนจาก อมตะ คอร์ป โดยได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการของ อมตะ คอร์ป ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ของ อมตะ คอร์ป ครัง้ ที่ 7/2555 เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2555 แล้ว ในเดือนมกราคม 2556 อมตะ คอร์ป ได้มีมติอนุมัติให้อมตะ เอเชีย ขายหุ้นที่ถือในบริษัทฯ จ�ำนวนร้อยละ 1.50 ในราคาเท่ากับมูลค่า ที่ตราไว้ ให้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของอมตะ คอร์ป บริษัทฯ และอมตะ เวียดนาม เพื่อเป็นการแรงจูงใจในการท�ำงาน รวมถึงเป็นการสร้างความมีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของท�ำให้มีวัตถุประสงค์เป็นหนึ่งเดียวกับผู้ถือหุ้น อีกทั้งยังเป็นการรักษาบุคลากร

15 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ในเดือนกันยายนปี 2555 อมตะ เวียดนาม ได้ทำ� การปรับโครงสร้างการถือหุน้ โดย อมตะ คอร์ป และบริษทั ย่อยและกลุม่ นักลงทุนไทย ซึง่ ถือหุน้ อยู่ใน อมตะ เวียดนาม รวมกันร้อยละ 70.00 ได้ทำ� การขายหุน้ ร้อยละ 69.99 ใน อมตะ เวียดนาม ให้แก่บริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ ได้ทำ� การช�ำระราคาด้วยหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ (Share Swap) จึงส่งผลให้บริษทั ฯ กลายเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ อมตะ เวียดนาม โดยถือหุ้นทั้งหมดร้อยละ 69.99 และขณะเดียวกัน อมตะ คอร์ป และบริษัทย่อย และกลุ่มนักลงทุนไทยนั้นกลายเป็นผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ แทน นอกจากนี้อมตะ คอร์ปได้เข้าซื้อหุ้นทั้งหมดที่อมตะ วอเตอร์ ถืออยู่ในบริษัทฯ ภายหลังจากการท�ำ Share Swap ทั้งนี้ ภายหลังการปรับโครงสร้างแล้วจึงมีผลให้ อมตะ คอร์ป และอมตะ เอเชีย ถือหุ้นในบริษัทฯ รวมร้อยละ 89.83 และกลุ่มนักลงทุนไทย ถือหุ้นรวมกันในสัดส่วนร้อยละ 10.17


ที่มีความรู้ความสามารถให้ทำ� งานกับกลุ่มบริษัทฯ ในระยะยาวอีกด้วย ทั้งนี้ภายหลังการขายหุ้นในครั้งนี้ มีผลให้ อมตะ คอร์ปและ อมตะ เอเชีย ถือหุ้นในบริษัทฯ รวมร้อยละ 88.33 กลุ่มนักลงทุนไทยถือหุ้นรวมกันในสัดส่วนร้อยละ 10.17 และกลุ่มกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของอมตะ คอร์ปบริษัทฯ และอมตะ เวียดนาม ถือหุ้นรวมกันในสัดส่วนร้อยละ 1.50 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญในส่วนที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ มีดังต่อไปนี้ ธันวาคม 2537

กันยายน 2539 พฤษภาคม 2550

สิงหาคม 2550

กุมภาพันธ์ 2551 เมษายน 2552 กันยายน 2554

16 Vietnam-The New Phase of Success

สิงหาคม 2555 กันยายน 2555

อมตะ เวียดนาม จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั ภายใต้ชอื่ Joint Venture Corporation for the Development of Long Binh Modern Industrial Park ในรูปแบบของบริษัทร่วมทุน (Joint Venture Company)ตาม ใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate)ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2537 โดยอมตะ เวียดนามได้รับ อนุมัติให้ประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ในพื้นที่ 100 เฮกตาร์ (ไม่รวมพื้นที่สำ� หรับถนนและ โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ) อมตะ เวียดนาม ได้ลงทุนใน Amata Power (Bien Hoa)Ltd. ในสัดส่วนร้อยละ 10.00 เพื่อด�ำเนิน ธุรกิจการผลิตไฟฟ้าและรับซื้อไฟฟ้าจาก Vietnam Electricity (EVN) เพื่อจ�ำหน่ายต่อให้แก่โรงงาน อุตสาหกรรมในนิคม Amata City (Bien Hoa) อมตะ เวียดนามจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทใหม่ในรูปแบบของ Limited Liability Company เพือ่ ประกอบ กิจการภายใต้กฎหมาย Enterprise Law และ Investment Lawและได้ท�ำการเปลี่ยนชื่อเป็น Amata (Vietnam) Co., Ltd. โครงการ Amata City (Bien Hoa) ได้รับอนุมัติพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพิ่มเติมส�ำหรับโครงการระยะ ที่ 1 และ 2 รวมพื้นที่โครงการทั้งสิ้นเป็น 361.98 เฮกตาร์ อมตะ เวียดนามได้รับใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate)ส�ำหรับโครงการ Amata Commercial Complex โดยได้รับอนุมัติพื้นที่โครงการทั้งหมด 19.07 เฮกตาร์ อมตะ เวียดนาม เพิ่มทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 3,400,000 เหรียญสหรัฐรวมทั้งหมดเป็น 20,400,000 เหรียญสหรัฐ โครงการ Amata City (Bien Hoa) ได้รับอนุมัติพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพิ่มเติมส�ำหรับโครงการระยะ ที่ 2 รวมพื้นที่โครงการทั้งสิ้นเป็น 494.68 เฮกตาร์ อมตะ เวียดนามแปลงสภาพเป็น Joint Stock Company และเปลี่ยนชื่อเป็น Amata (Vietnam) Joint Stock Company โครงการ Amata City (Bien Hoa) ได้รับอนุมัติพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพิ่มเติมส�ำหรับโครงการระยะ ที่ 3 รวมพื้นที่โครงการทั้งสิ้นเป็น 513.01 เฮกตาร์ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ) เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2555ในรูป บริษัทมหาชนจ�ำกัด ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 15,000 บาท อมตะ เวียดนาม ท�ำการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นโดยบริษัทฯ เข้าซื้อหุ้นเกือบทั้งหมดจาก อมตะ คอร์ป และบริษัทย่อย และกลุ่มนักลงทุนไทย รวมร้อยละ 69.99 โดยช�ำระราคาเป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ บริษทั ฯ ส่งผลให้ทนุ จดทะเบียนของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ เป็น 384,315,000 บาท แบ่งเป็น 38,431,500 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท


มกราคม 2556

พฤศจิกายน 2557

พฤษภาคม 2558

กรกฏาคม 2558

ตุลาคม 2558 ธันวาคม 2558

บริษทั ฯ เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 384,315,000 บาทเป็น 460,000,000 บาท พร้อมกับเปลีย่ นแปลง มูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ สามัญจากหุน้ ละ 10.00 บาทเป็นหุน้ ละ 0.50 บาท เพือ่ วัตถุประสงค์ในการเสนอ ขายหุ้นเพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไปและเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเพื่อ เสนอขายต่อกรรมการและพนักงานของบริษัทและบริษัทย่อย รวมถึงเสนอขายแก่บุคคลในวงจ�ำกัด คณะกรรมการของ อมตะ คอร์ป ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของ อมตะ คอร์ป ครั้งที่ 7/2555 เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2555 มีมติอนุมตั ิให้นำ� หุน้ สามัญของบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (Spin-off) คณะกรรมการของ อมตะ คอร์ป ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของ อมตะ คอร์ป ครั้งที่ 1/2556 เมือ่ วันที่ 30 มกราคม 2556 อนุมตั ิให้บริษทั ฯ ยกเลิกการจัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจ�ำนวน 11,537,600 หุ้น เพื่อเสนอขายต่อกรรมการและพนักงานของบริษัทและบริษัทย่อย รวมถึงเสนอขายแก่บุคคลใน วงจ�ำกัด และให้อมตะ เอเชียขายหุ้นในอมตะ วีเอ็น จ�ำนวน 11,537,600 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 1.50ของ ทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและช�ำระแล้ว มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 0.50บาท ในราคาหุน้ ละ 0.50 บาท รวมมูลค่า ทั้งสิ้น 5,768,800 บาท ให้แก่บุคคลในวงจ�ำกัด ซึ่งได้แก่ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของอมตะ คอร์ปบริษัทฯ และอมตะ เวียดนาม บริษัทฯ ลดทุนจดทะเบียนเพื่อตัดหุ้นที่ยังไม่ได้จ�ำหน่ายของบริษัทฯ ออกไปจากเดิมทุนจดทะเบียน 460,000,000 บาท เป็น 384,315,000 บาท และเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั อีกจ�ำนวน 83,185,000 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 384,315,000 บาท เป็นจ�ำนวน 467,500,000 บาท โดยการออกหุ้น สามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 935,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาทเพื่อรองรับการออกและ เสนอขายหุ้นต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (Initial Public Offering) คณะกรรมการของบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของ อมตะ วีเอ็น ครั้งที่ 4/2557 เมื่อ วันที่ 11 พฤษจิกายน 2558 อนุมติการพิจารณาอนุมัติการเข้าประมูลราคา (Bidding) เพื่อซื้อหุ้นของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศเวียดนามจากผู้ถือหุ้น ได้แก่ Sonadezi บริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นของ Sonadezi ในสัดส่วนร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วและด�ำเนิน การจดทะเบียนกับหน่วยงานราชการแล้วเสร็จในวันที่ 30 มิถุนายน 2558 ซึ่งการท�ำธุรกรรมครั้งนี้ ท�ำให้บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือหุน้ ใน อมตะ เวียดนาม ในสัดส่วนร้อยละ 90 ของทุนจดทะเบียนทีช่ ำ� ระ แล้ว Amata City Long Thanh Joint Stock Companyจดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2558 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,213,305.2 ล้านด่งมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10,000 ด่งซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่าง บริษัทฯ และ อมตะ เวียดนาม ในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 35 และร้อยละ 65 ตามล�ำดับ เพื่อพัฒนา โครงการนิคมอุตสาหกรรมและโครงการพาณิชยกรรมภายใต้ชอื่ Amata City Long Thanh และ Amata Service City Long Thanhในเมือง Long Thanh จังหวัดดองไน บริษัทฯ ได้มีมติเพิ่มทุนใน Amata City Long ThanhJoint Stock Company เพื่อลงทุนเพิ่มเติมใน โครงการ Amata Service City Long Thanh ในเมือง Long Thanh จังหวัดดองไนดังกล่าว ซึ่งจะท�ำให้ ทุนจดทะเบียนภายหลังการเพิ่มทุนเป็นจ�ำนวน 1,494,328.0 ล้านด่ง คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญของบริษทั ฯ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม 2558

17 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ธันวาคม 2555


โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯและบริษัทย่อย โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ ปัจจุบัน สามารถสรุปได้ดังนี้ 100%

อมตะ คอร์ป

100%

อมตะ วอเตอร์

อมตะ เอเซีย 36.21%

36.87% 100 หุ้น 0.0003%

อมตะ วีเอ็น

(ทุนจดทะเบียน 467.5 ล้านบาท)

35%

Sonadezi 10%

89.99%

อมตะ เวียดนาม

(ทุนจดทะเบียน 365,996.4 ล้านด่ง) 10%

Amata Power (Bien Hoa) Ltd.

18 Vietnam-The New Phase of Success

(ทุนจดทะเบียน 705,333.3 ล้านด่ง)

65%

Amata City Long Thanh JSC (ทุนจดทะเบียน 1,213,305.2 ล้านด่ง)


ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ อมตะ คอร์ป เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน อมตะ วีเอ็น โดยอมตะ คอร์ป และบริษัทย่อยของอมตะ คอร์ป (นอกเหนือจากบริษัทฯ) ปัจจุบันประกอบธุรกิจ การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยและธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ทัง้ นี้ หากในอนาคตกลุม่ อมตะจะมีการขยายธุรกิจไปยังประเทศอืน่ นอกเหนือจากประเทศเวียดนาม อมตะ คอร์ป และ/หรือบริษัทย่อยของอมตะ คอร์ป (นอกเหนือจากบริษัทฯ) จะเป็นผู้เข้าไปลงทุน โดยอมตะ คอร์ปไม่มีนโยบายเข้าไปประกอบธุรกิจแข่งขันในประเทศเวียดนาม ด้วยตัวเอง หรือ โดยบริษัทย่อยอื่น

อมตะ วีเอ็น เป็นบริษัทย่อยของ อมตะ คอร์ป ซึ่งประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) โดย ณ ปัจจุบันบริษัทฯ มีนโยบาย การลงทุนในบริษัทที่มีโครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศเวียดนาม โดยมิได้จ�ำกัดอยู่ ในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง ทัง้ นี้ ณ ปัจจุบนั บริษัทฯ ไม่มีนโยบายการลงทุนในบริษทั ที่มโี ครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและโครงการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์นอกเหนือจากในประเทศเวียดนามแต่อย่างใด

อมตะ เวียดนาม เป็นบริษัทย่อยใน อมตะ วีเอ็น ซึ่งถือหุ้นโดย อมตะ วีเอ็น และ Sonadezi ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของจังหวัดดองไนที่มุ่งเน้นการลงทุน ในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดดองไนเป็นหลัก ในสัดส่วน 89.99% และ 10% ตามล�ำดับโดย ณ ปัจจุบัน อมตะ เวียดนามจึงมีนโยบายที่จะด�ำเนินธุรกิจการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานิคม อุตสาหกรรมในจังหวัดดองไนเป็นหลัก ซึ่งรวมถึงโครงการ Amata City (Bien Hoa) และ Amata Commercial Complex ปัจจุบัน และรวมถึงส่วนขยายในอนาคตและโครงการใหม่ในจังหวัดดองไน

Amata City Long Thanh Joint Stock Company Amata City Long Thanh Joint Stock Company (“Amata City Long Thanh JSC”) เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัทฯ และ อมตะ เวียดนามซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรมภายใต้ชื่อ Amata City Long Thanh ในเมือง Long Thanh จังหวัดดองไน บนพื้นที่ประมาณ 410 เฮกตาร์ หรือ 2,562.5 ไร่ และโครงการพาณิชยกรรมภายใต้ชื่อ Amata Service City Long Thanh ในเมือง Long Thanh จังหวัดดองไนบนพื้นที่ประมาณ 122 เฮกตาร์ หรือ 762 ไร่ ทั้งนี้ ในปัจจุบันโครงการทั้งสองอยู่ ในระหว่างกระบวนการเวนคืนที่ดินจากรัฐบาลและพัฒนาสาธารณูปโภค เนือ่ งจากบริษทั ฯ ประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษทั อืน่ (Holding Company) ดังนัน้ บริษทั ฯ จ�ำเป็นต้องพิจารณาคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ การออกและเสนอขายหุ้นใหม่ ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และประกาศส�ำนักงาน ก.ล.ต. ที่ ส.จ. 20/2555 เรื่อง การพิจารณาขนาด ของบริษทั ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการอนุญาตให้บริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจโดยการถือหุน้ ในบริษทั อืน่ (Holding Company) เสนอขายหุน้ ทีอ่ อก ใหม่ ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2555 รวมทั้งที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม (รวมเรียกว่า “ประกาศ Holding Company”) ซึ่งก�ำหนดให้บริษัทที่ จะเข้าจดทะเบียนในลักษณะ Holding Company มีคณ ุ สมบัตติ ามประกาศ Holding Company ซึง่ เมือ่ ค�ำนวณแล้ว บริษทั ฯ มีคณ ุ สมบัติ ตามประกาศทุกประการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

19 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

การพิจารณาขนาดของบริษัทในการขออนุญาตเข้าจดทะเบียนในลักษณะ Holding Company


ขนาดบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ (สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ หัก เงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทอื่น) สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ ขนาดบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลักเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ (สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ หัก เงินลงทุนในบริษัทอื่น) สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ ขนาดบริษัทอื่นเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทฯ (เงินลงทุนในบริษัทอื่น) สินทรัพย์รวมของบริษัทฯ

ข้อก�ำหนดตามประกาศ Holding Company

คุณสมบัติของบริษัทฯ

>ร้อยละ 25.0

ร้อยละ 98.5

>ร้อยละ 75.0

ร้อยละ 98.5

<ร้อยละ 25.0

ร้อยละ 1.5

หมายเหตุ: ค�ำนวณจากงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยเงินลงทุนในบริษัทอื่น คือ เงินลงทุนใน Amata Power (Bien Hoa) Ltd. (71.8 ล้านบาท)

เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ คือการเป็นผู้พัฒนาและบริหารนิคมอุตสาหกรรมชั้นน�ำของประเทศเวียดนาม โดยบริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะรักษาคุณภาพของนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯ ที่ได้มาตรฐานระดับสากล และมีคุณภาพสูง รวมถึงการให้บริการอย่าง ครบวงจร เพื่อให้นิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯ เป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ของผู้ประกอบการโรงงานชั้นน�ำต่างๆ และท�ำให้บริษัทฯ สามารถรักษาการตัง้ ราคาทีส่ งู กว่านิคมอุตสาหกรรมทัว่ ไปได้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีเป้าหมายทีจ่ ะขยายพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมของ บริษัทฯ อย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความต้องการของผู้ประกอบการโรงงานชั้นน�ำที่ต้องการเข้ามาลงทุนในประเทศเวียดนาม และเพื่อ เป็นการสร้างรายได้ที่ต่อเนื่องของบริษัทฯ ทั้งนี้ นอกเหนือจากการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมให้ได้มาตรฐานระดับสากลและมีคุณภาพสูงแล้ว บริษัทฯ ยังค�ำนึงถึงความรับผิด ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก จึงมุ่งเน้นการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมภายใต้แนวคิด “Perfect Smart City” ซึ่งท�ำให้โรงงาน และชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนานิคมอุตสาหกรรมสู่เมืองที่พร้อมสรรพ และมีการบริหารทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า

20 Vietnam-The New Phase of Success

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ สูค่ วามเป็นสากล เน้นการบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลทีด่ ดี ำ� เนินธุรกิจทีค่ วบคูก่ บั ความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ น ได้เสียอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน เพื่อเป้าหมายในการมุ่งสร้างความมั่งคั่งและมูลค่าในระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้น


ลักษณะ

การประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย

เนื่องจากบริษัทฯ ประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company) โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีรายได้จากอมตะ เวียดนาม เพียง บริษัทเดียว โดยบริษัทฯ เองไม่มีรายได้จากการประกอบธุรกิจอื่น ดังนั้น โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ จึงสามารถพิจารณาได้จาก โครงสร้างรายได้ของ อมตะ เวียดนาม เป็นหลัก โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ สามารถสรุปได้ดังนี้ ส�ำหรับรอบปีสิ้นสุด วันที่

รายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 1/ รายได้จากการให้เช่าและบริการ 2/ ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รายได้อื่น รายได้รวม

31 ธ.ค. 2556 ล้านบาท

329.69 308.96 82.09 1.33 1.01 723.08

31 ธ.ค. 2557

31 ธ.ค. 2558

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

45.6 42.7 11.4 0.2 0.1 100.0

180.92 367.97 80.98 0.49 25.37 655.73

27.6 56.1 12.3 0.1 3.9 100.0

320.15 407.72 40.72 2.56 38.50 809.65

39.5 50.4 5.0 0.3 4.8 100

หมายเหตุ :

1/

รวมรายได้จากการให้เช่าทีด่ นิ ระยะยาวในเขตอุตสาหกรรมและการให้เช่าทีด่ นิ ระยะยาวในเขตพาณิชยกรรมและ ที่อยู่อาศัย

2/

รวมรายได้จากการให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูป การให้บริการเช่าอาคารส�ำนักงาน และการให้บริการสาธารณูปโภค

ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

การประกอบธุรกิจของ อมตะ เวียดนาม สามารถแบ่งได้เป็น 5 ธุรกิจหลัก ดังนี้ 1. การให้เช่าที่ดินระยะยาวในเขตนิคมอุตสาหกรรม 2. การให้บริการเช่าโรงงานส�ำเร็จรูป (Ready Built Factories) 3. การให้เช่าที่ดินระยะยาวในเขตพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย 5. การให้บริการสาธารณูปโภค

จากพื้นที่ที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมดของโครงการประมาณ 700.0 เฮกตาร์ หรือ 4,375 ไร่ นั้น อมตะ เวียดนาม ได้รับการอนุมัติ Investment Certificate จาก Dong Nai Industrial Zone Authority (DIZA) แล้วบนพื้นที่ 532 เฮกตาร์ หรือ 3,325 ไร่ โดยได้ ก�ำหนดเป็นพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 513.0 เฮกตาร์ หรือ 3,206 ไร่ และพื้นที่สำ� หรับโครงการพาณิชยกรรม ภายใต้โครงการ Amata Commercial Complex 19.1 เฮกตาร์ หรือ 119 ไร่ ทั้งนี้อมตะอยู่ในระหว่างการขออนุมัติ Investment Certificate ส�ำหรับพื้นที่อีก 30.0 เฮกตาร์ หรือ 188 ไร่ ซึ่งคาดว่าจะได้รับการอนุมัติภายในปี 2559

21 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

4. การให้บริการเช่าอาคารส�ำนักงาน


22 Vietnam-The New Phase of Success

อย่างไรก็ตามพื้นที่อีกประมาณ 138.0 เฮกตาร์ หรือประมาณ 863 ไร่ นั้น อมตะ เวียดนาม ยังมิได้พิจารณาที่จะขออนุมัติการ ประกอบธุรกิจในโครงการเพิ่มเติมดังกล่าว โด ยอมตะ เวียดนาม จะพิจารณาการด�ำเนินการขออนุมัติเมื่อ อมตะ เวียดนาม ต้องการและตามความเหมาะสม ทั้งนี้การนับอายุของใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) ของพื้นที่ที่เหลือดังกล่าว จะเริ่มก็ต่อเมื่อ อมตะ เวียดนาม ด�ำเนินกระบวนการขอใบรับรองการลงทุนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วเสร็จ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส�ำหรับพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมทั้งหมดประมาณ 513 เฮกตาร์ หรือ 3,206 ไร่ ซึ่งประกอบด้วย โครงการระยะที่ 1 2A 2B 2D 2E และ 3A อมตะ เวียดนามมีการลงนามเช่าที่ดินกับหน่วยงานรัฐของจังหวัดดองไนเพื่อพัฒนา โครงการแล้วเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้นประมาณ 423 เฮกตาร์ หรือ 2,644 ไร่ โดยมีพื้นที่ที่เหลือประมาณ 90 เฮกตาร์ หรือประมาณ 750 ไร่ ในพื้นที่ในโครงการระยะที่ 2E และ 3A ที่ อมตะ เวียดนาม ยังมิได้มีการลงนามในสัญญาเช่าเนื่องจากอยู่ในระหว่าง กระบวนการเวนคืนทีด่ นิ จากการทีม่ ผี บู้ กุ รุกเข้ามาอาศัยอยู่ในพืน้ ทีด่ งั กล่าว ทัง้ นี้ อมตะ เวียดนาม คาดว่าจะสามารถเวนคืนทีด่ นิ และลงนามในสัญญาเช่าทีด่ นิ รวมถึงส่งมอบทีด่ นิ เพิม่ เติม ส�ำหรับโครงการระยะที่ 3A ดังกล่าวคิดเป็นพืน้ ทีร่ วมทัง้ หมดประมาณ 64.5 เฮกตาร์ ได้ภายในปี 2559

ส�ำหรับกระบวนการอนุมัติและจัดสรรที่ดินนั้น อมตะ เวียดนาม ได้รับการอนุมัติและจัดสรรทีด่ ินจาก Dong Nai Industrial Zone Authority (DIZA) ในแต่ละระยะโครงการตามพื้นที่ที่ DIZA ก�ำหนด ทั้งนี้ภายหลัง อมตะ เวียดนาม ได้รับการจัดสรรที่แล้วนั้น หน่วยงานรัฐจะเป็นผูด้ ำ� เนินกระบวนการเวนคืนทีด่ นิ จากการทีม่ ผี บู้ กุ รุกเข้ามาอาศัยอยู่ในพืน้ ที่ โดยภายหลังกระบวนการเวนคืน ทีด่ นิ แล้วเสร็จ อมตะ เวียดนาม จึงเข้าท�ำสัญญาเช่าทีด่ นิ จากหน่วยงานรัฐทีเ่ กีย่ วข้องส�ำหรับพืน้ ทีส่ ว่ นดังกล่าว อย่างไรก็ดี พืน้ ที่ ตามที่อมตะ เวียดนาม ได้รับการจัดสรรอาจมีความแตกต่างจากพื้นที่ตามสัญญาเช่าซึ่งเกิดขึ้นจากในบางกรณีพื้นที่ตามที่ได้ จากการวัดตามขอบเขตทีด่ นิ จริงอาจมีความแตกต่างจากทีร่ ะบุในสัญญา หรือในบางกรณีหน่วยงานรัฐอาจยังไม่สามารถเวนคืน ที่ดินได้ทั้งหมด ทั้งนี้ หากเกิดกรณีดังกล่าว อมตะ เวียดนาม ก�ำลังจะเจรจากับหน่วยงานรัฐเพื่อปรับตัวเลขพื้นที่ตามสัญญา เช่าให้เป็นไปตามพื้นที่จริงที่ อมตะ เวียดนาม ได้รับ

การให้เช่าที่ดินระยะยาวในเขตนิคมอุตสาหกรรม

อมตะ เวียดนาม ประกอบธุรกิจหลักคือการพัฒนาที่ดินในเขตนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทฯ พร้อมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน และระบบสาธารณูปโภค เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการโรงงานเช่าทีด่ นิ ระยะยาวและด�ำเนินการลงทุนก่อสร้างโรงงานบนทีด่ นิ ผืนดังกล่าว ด้วยตนเอง ทัง้ นี้ เนือ่ งจากระยะเวลาประกอบโครงการแต่ละระยะของ อมตะ เวียดนาม นัน้ อยูท่ ี่ 50 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ได้รบั อนุมตั ิ พื้นที่ส�ำหรับโครงการระยะนั้นๆ กอปรกับที่ดินในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม นั้นเป็นที่ดินที่เช่ามาจาก หน่วยงานรัฐของจังหวัดดองไนเป็นระยะเวลา 50 ปี อมตะ เวียดนาม จึงไม่สามารถขายที่ดินให้แก่ผู้ประกอบการโรงงานได้ แต่ เป็นลักษณะการให้เช่าระยะยาวโดยมีการช�ำระค่าเช่าในคราวเดียว ทั้งนี้ระยะเวลาของสัญญาเช่าที่ดินกับผู้ประกอบการโรงงาน นั้น จะก�ำหนดให้สิ้นสุดในปีเดียวกับปีที่อายุของใบรับรองการลงทุนหรือ Investment Certificate ของพื้นที่นั้นๆ สิ้นสุดลง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 นิคม Amata City (Bien Hoa) มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วเสร็จจ�ำนวน 423.0 เฮกตาร์ หรือ 2,644 ไร่ ซึ่งประกอบด้วย โครงการระยะที่ 1 2A 2B 2D และ 2E ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม มีนโยบายในการจัดสรรพื้นที่ ประมาณร้ อ ยละ 30 - 35 ของพื้ น ที่ ใ นเขตนิ ค มอุ ต สาหกรรมเพื่ อ เป็ น พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ระบบสาธารณู ป โภคและ พื้นที่สีเขียว ดังนั้น อมตะ เวียดนาม จึงมีพื้นที่ให้เช่าสุทธิประมาณร้อยละ 65 - 70 ของพื้นที่ที่ระบุไว้ในสัญญาลงนามเช่าที่ดิน กับหน่วยงานรัฐ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อมตะ เวียดนาม มีพื้นที่เช่าสุทธิ เท่ากับ 308.0 เฮกตาร์ หรือ 1,925 ไร่


รายละเอียดของพื้นที่โครงการนิคม Amata Ciy (Bien Hoa) ของ อมตะ เวียดนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถสรุป ได้ดังนี้ หน่วย: เฮกตาร์

โครงการที่พัฒนาแล้วเสร็จ โครงการที่ยังมิได้พัฒนา (อยู่ในระหว่างการเวนคืน) รวมทั้งหมด

พื้นที่ตามสัญญาเช่าที่ดิน จากรัฐบาล (1)

พื้นที่ส�ำหรับระบบสาธารณูปโภค และพื้นที่สีเขียว (2)

พื้นที่เพื่อการให้เช่า (1)-(2)

423.0

115.0

308.0

90.0

40.9

49.1

513.0

155.9

357.1

ส�ำหรับพื้นที่เพื่อการให้เช่า อมตะ เวียดนาม ได้แบ่งขายให้บุคคลภายนอกเป็นพื้นที่เท่ากับ 265.2 เฮกตาร์ และจัดสรร เพื่อสร้างโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่า 19.9 เฮกตาร์ คิดเป็นร้อยละ 86.1 และร้อยละ 6.5 ของพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด ตามล�ำดับ นอกจากนีย้ งั มีพนื้ ทีท่ ถี่ กู จองแล้วโดยลูกค้าอีกจ�ำนวน 6.2 เฮกตาร์ ส่งผลให้มพี นื้ ทีค่ งเหลือส�ำหรับการขายเป็นจ�ำนวน 10.8 เฮกตาร์ คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด โดยรายละเอียดตามตารางด้านล่าง พื้นที่เพื่อการให้เช่าระยะยาว พื้นที่ที่ให้เช่าระยะยาวแล้วแก่บุคคลภายนอก พื้นที่ส�ำหรับโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่า พื้นที่ที่มีการจอง พื้นที่ที่ไม่สามารถให้เช่าได้ พื้นที่คงเหลือให้เช่าระยะยาว

เฮกตาร์

ร้อยละ

308.0 265.2 19.9 6.2 5.9 10.8

100.0 86.1 6.5 2.0 1.9 3.5

การให้บริการเช่าโรงงานส�ำเร็จรูป (Ready Built Factories)

นอกเหนือจากการให้เช่าที่ดินระยะยาวแก่ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเข้ามาลงทุนสร้างโรงงานเองแล้ว อมตะ เวียดนาม ยังมีการพัฒนาโรงงานส�ำเร็จรูปเพือ่ ให้เช่า เป็นทางเลือกให้แก่ลกู ค้าของ อมตะ เวียดนาม โดย อมตะ เวียดนาม ได้จดั ให้มกี ารสร้างโรงงานมาตรฐานทีม่ คี ณุ ภาพระดับสากลเพือ่ ให้เช่าบนพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม เพือ่ เป็นการตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการทีจ่ ะเข้ามาตัง้ ฐานการผลิตและต้องการทางเลือกทีม่ คี วามยืดหยุน่ คล่องตัว รวมถึงมีความรวดเร็วและสะดวกสบาย หรือผู้ประกอบการที่ไม่ต้องการใช้เงินลงทุนที่สูงในการลงทุนในที่ดินและโรงงาน ในระยะแรก และเป็นลดความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ลูกค้าในกลุม่ นีข้ อง อมตะ เวียดนาม ประกอบ ด้วยผู้ประกอบกิจการโรงงานขนาดเล็กถึงกลางที่ยังต้องการคุณภาพของโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคที่ได้ มาตรฐาน รวมทัง้ ผูป้ ระกอบกิจการจากต่างชาติซงึ่ อยู่ในช่วงทดลองตลาด ทีต่ อ้ งการจ�ำกัดความเสีย่ งในการลงทุน เป็นต้น

นอกจากจะเป็นการน�ำเสนอทางเลือกในการลงทุนแก่ลูกค้าของ อมตะ เวียดนาม แล้ว การให้บริการเช่าโรงงานส�ำเร็จรูป ยังเป็นการเพิ่มรายได้และกระแสเงินสดที่ต่อเนื่องและมั่นคง (Recurring Income) ให้แก่ อมตะ เวียดนาม อีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากรายได้และกระแสเงินสดหลักของอมตะ เวียดนาม ทีม่ าจากการให้เช่าทีด่ นิ ซึง่ จะรับรูใ้ นแต่ละปีทมี่ กี ารปล่อยเช่า นอกจากนี้ การให้บริการเช่าโรงงานส�ำเร็จรูปยังเป็นกลยุทธ์เพื่อการบริหารจัดการที่ดินของ อมตะ เวียดนาม โดย อมตะ เวียดนาม สามารถน�ำทีด่ นิ ทีอ่ าจมีขนาด รูปร่าง หรือต�ำแหน่งที่ไม่เอือ้ อ�ำนวยนักมาพัฒนาเป็นโรงงานส�ำเร็จรูปและสามารถ ให้เช่าแก่ลูกค้าของอมตะ เวียดนาม ในกลุ่มที่ไม่ต้องการที่ดินที่ขนาดใหญ่

23 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


รายละเอียดของโรงงานส�ำเร็จรูปของ อมตะ เวียดนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถสรุปได้ดังนี้ จ�ำนวน (ยูนิต)

โรงงานส�ำเร็จรูปที่ทำ� การขายไปแล้ว โรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่าที่สร้างเสร็จแล้ว มีการเช่าแล้ว จอง ว่าง รวม จ�ำนวนโรงงานส�ำเร็จรูปทั้งหมด

พื้นที่ทั้งหมด (ตารางเมตร)

พื้นที่ใช้สอยรวมใน โรงงาน (ตารางเมตร)

21

107,319

48,754

51 1 3 55 76

189,711 2,290 6,871 198,872

103,727 1,524 4,571 109,822

อมตะ เวียดนาม มีนโยบายการพัฒนาโรงงานส�ำเร็จรูปโดยค�ำนึงถึงอุปสงค์และอุปทาน โดยเมือ่ โรงงานส�ำเร็จรูปของอมตะ เวียดนาม มีการเช่าเต็มแล้ว อมตะ เวียดนาม จะมีการสร้างโรงงานส�ำเร็จรูปเพิ่มเติมอีกคราวละประมาณ 3-6 โรงเพื่อ รองรับความต้องการของลูกค้ารายใหม่ในอนาคต

24 Vietnam-The New Phase of Success

ตัวอย่างลูกค้าในโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่า ของ อมตะ เวียดนาม


การให้เช่าที่ดินในเขตพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย

อมตะ เวียดนาม ได้รับอนุมัติจาก People’s Committee of Dong Nai Province ในปี 2550 ให้ดำ� เนินการพัฒนาที่ดิน เพื่อจัดสรรให้แก่โครงการพาณิชยกรรมและโครงการที่อยู่อาศัย ในพื้นที่ 19.1 เฮกตาร์ โดยมีระยะเวลาในการด�ำเนิน โครงการ 50 ปี สิน้ สุดวันที่ 21 สิงหาคม 2600

อมตะ เวียดนาม ด�ำเนินโครงการนี้ภายใต้ชื่อโครงการว่า Amata Commercial Complex โดยที่ดินที่ อมตะ เวียดนาม ได้ จัดสรรไว้ส�ำหรับเขตพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยนั้น อยู่บริเวณทางเข้านิคม Amata City (Bien Hoa) โดยอยู่ติดกับถนน ทางหลวงหมายเลข 1 นอกจากนี้ โครงการ Amata Commercial Complex ยังอยู่ในเมือง Bien Hoa ซึ่งมีประชากรกว่า 1,000,000 คน และอยู่ห่างจากใจกลางเมือง Bien Hoa เพียง 5 กิโลเมตร จึงเป็นท�ำเลที่เหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับประกอบ โครงการพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย

อมตะ เวียดนาม ได้ริเริ่มพัฒนาโครงการ Amata Commercial Complex ขึ้นมาเพื่อเกื้อหนุนธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม โดยมีจุดประสงค์เพื่อยกระดับนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม ให้เป็นเมืองที่สมบูรณ์แบบตาม แนวคิด “Perfect Smart City” ทัง้ นี้ โครงการ Amata Commercial Complex จะประกอบด้วยพืน้ ทีส่ ำ� หรับการพาณิชยกรรม เช่น ร้านค้า โชว์รมู และร้านอาหาร พืน้ ทีส่ ำ� หรับโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย เช่น อพาร์ทเม้นท์ และวิลล่าส�ำหรับผูบ้ ริหาร ตลอดจน อาคารส�ำนักงาน โรงแรม โรงพยาบาล/คลินิก โรงเรียน และ ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ เป็นต้น

ภาพถ่ายไฮเปอร์มาร์เก็ต Lotte Mart

25 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ภาพถ่ายโชว์รูมฮอนด้า


รายละเอียดของพื้นที่ในเขตพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัยของ อมตะ เวียดนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถสรุป ได้ดังนี้ พื้นที่ (ตารางเมตร)

โครงการเพื่อการพาณิชย์และ อาคารส�ำนักงาน โครงการที่อยู่อาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล/คลินิก ศูนย์กีฬาและนันทนาการ รวมพื้นที่ให้เช่า พื้นที่ส่วนกลาง ถนนภายในโครงการ พื้นที่ถนนสาธารณะ รวม

66,648 43,660 8,062 6,900 5,460 130,730 38,410 14,420 7,100 190,660

พื้นที่ที่เช่าระยะยาวแล้ว (ตารางเมตร) (ร้อยละ)

23,558 1/ 23,558

35.3 35.3

พื้นที่คงเหลือให้เช่าระยะยาว (ตารางเมตร) (ร้อยละ)

43,090 43,660 8,062 6,900 5,460 107,172

64.7 100.0 100.0 100.0 100.0 82.0

หมายเหตุ: 1/ รวมพื้นที่ของโครงการ Amata Service Center จ�ำนวน 6,640 ตารางเมตร

26 Vietnam-The New Phase of Success

การให้บริการเช่าอาคารส�ำนักงาน

อมตะ เวียดนาม ให้บริการเช่าพื้นที่ในอาคารส�ำนักงานซึ่ง อมตะ เวียดนาม เป็นผู้ลงทุนก่อสร้างขึ้นเองในพื้นที่โครงการ Amata Commercial Complex โดยใช้ชื่อตึกว่า Amata Service Center อาคารส�ำนักงานที่ อมตะ เวียดนาม ก่อสร้าง ขึ้นเป็นอาคารสูง 5 ชั้น ตั้งอยู่บนที่ดินเนื้อที่ 6,640 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด 7,286 ตารางเมตร ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม ได้มกี ารใช้พนื้ ทีบ่ างส่วนในอาคารส�ำนักงาน เป็นส�ำนักงานของ อมตะ เวียดนาม เอง นอกเหนือจากพืน้ ทีอ่ าคาร ส�ำนักงานให้เช่าแล้ว อมตะ เวียดนาม มีการใช้พื้นที่ในอาคารส�ำนักงานประมาณ 230 ตารางเมตร ในการท�ำเป็น ห้องประชุมและห้องจัดสัมมนาให้เช่า เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เช่าส�ำนักงานและเป็นการเพิ่มรายได้ของ อมตะ เวียดนาม อีกทางหนึ่ง


ปัจจุบัน อาคารส�ำนักงานมีผู้เช่าจ�ำนวน 17 รายไม่รวม อมตะ เวียดนาม โดยรายละเอียดของพื้นที่อาคารส�ำนักงานให้ เช่าของ อมตะ เวียดนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถสรุปได้ดังนี้ พื้นที่

พื้นที่ใช้โดย อมตะ เวียดนาม พื้นที่เช่าแล้ว พื้นที่ที่มีการจอง พื้นที่คงเหลือให้เช่า รวมพื้นที่เช่า ห้องประชุมและสัมมนา พื้นที่ส่วนกลาง รวมพื้นที่ทั้งหมด

(ร้อยละ)

780 3,459 850 5,089 92 2,104 7,285

15.3 68.0 16.7 100.0

การให้บริการสาธารณูปโภค

อมตะ เวียดนาม มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคที่มีคุณภาพเพื่อรองรับความต้องการของผู้ประกอบ กิจการโรงงานระดับนานาชาติ โดยรายละเอียดของโครงสร้างพืน้ ฐานและสาธารณูปโภคใน Amata City (Bien Hoa) สามารถ สรุปได้ดังนี้ ระบบถนน

: ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กที่ได้มาตรฐานและมีความแข็งแรงและทนทานสูง ขนาดกว้าง 52 เมตร ส�ำหรับถนนเส้นหลัก และ 24 เมตร ส�ำหรับถนนเส้นรอง โดยมีความ กว้าง 2 - 4 เลน ระบบไฟฟ้า : ไฟฟ้าจาก Vietnam Electricity (EVN) ซึง่ เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจทีร่ บั ผิดชอบด้านไฟฟ้า ของประเทศเวียดนาม ผ่านสถานีไฟฟ้าย่อยที่ตั้งอยู่ในนิคมโดยมีกำ� ลังไฟฟ้า 120 MVA ไฟฟ้าส�ำรองจาก Amata Power ( Bien Hoa ) Ltd. โดยมีกำ� ลังการผลิต 12 MW ระบบน�้ำประปา : น�ำ้ ประปาจาก Dong Nai Water Supply Construction Company โดยมีกำ� ลังการจ่ายน�้ำ ประปา 31,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อ วัน ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย : อมตะ เวียดนาม มีการลงทุนก่อสร้างโรงบ�ำบัดน�้ำเสียที่ได้มาตรฐานระดับสากล โดยมี ความสามารถในการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย 12,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อ วัน ระบบโทรคมนาคม : ผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน 3 ราย โดยรองรับคู่สายได้ไม่จำ� กัด

อมตะ เวียดนาม มีการคิดค่าบริการสาธารณูปโภค (Management Fee) กับผู้ประกอบการโรงงานที่เช่าที่ดินในเขตนิคม อุตสาหกรรม ผู้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูป และผู้เช่าที่ดินในเขตพาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย โดย อมตะ เวียดนาม จะเก็บ ค่าบริการสาธารณูปโภคเป็นรายเดือนตามพื้นที่ที่มีการเช่า ส�ำหรับค่าน�ำ้ ประปา อมตะ เวียดนาม จะจัดเก็บกับผู้เช่าตาม ที่ใช้จริงด้วยอัตราตามที่ อมตะ เวียดนาม ก�ำหนด นอกจากนี้ อมตะ เวียดนาม ยังมีการเก็บค่าบ�ำบัดน�้ำเสียตามปริมาณ การใช้นำ�้ ของผู้ประกอบการโรงงานแต่ละราย อย่างไรก็ตาม ในส่วนของค่าไฟฟ้าผู้ประกอบการโรงงานจะท�ำการจ่ายตรง แก่ Amata Power (Bien Hoa) ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโดยตรง

27 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

(ตารางเมตร)


ทั้งนี้ รายได้จากการให้บริการสาธารณูปโภคเป็นการสร้างรายได้และกระแสเงินสดที่ต่อเนื่องและมั่นคงให้กับ อมตะ เวียดนาม โดย อมตะ เวียดนาม จะมีการเก็บค่าบริการสาธารณูปโภคจากลูกค้าเป็นรายเดือน โดยอมตะ เวียดนาม จะมี การปรับขึ้นค่าบริการสาธารณูปโภคทุกปีตามอัตราที่ อมตะ เวียดนาม และผู้ให้บริการสาธารณูปโภคก�ำหนด

การตลาดและภาวะการแข่งขัน

นโยบายและลักษณะทางการตลาด ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ลูกค้าหลักและกลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลักของ อมตะ เวียดนาม คือบริษัทข้ามชาติ (Multinational Corporation) และ บริษทั ต่างชาติทตี่ อ้ งการคุณภาพของโครงสร้างพืน้ ฐานและสาธารณูปโภคที่ได้มาตรฐานระดับสากล ทัง้ นี้ กลุม่ ลูกค้าหลัก ของอมตะ เวียดนาม นั้นจะอยู่ในอุตสาหกรรมที่ต้องการเทคโนโลยีในการผลิตที่ค่อนข้างสูง และใช้เครื่องจักรในการผลิต เป็นหลัก

28 Vietnam-The New Phase of Success

ตัวอย่างลูกค้าในธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม

ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยผูป้ ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำนวน 148 ราย โดยเป็นผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมจากประเทศญี่ปุ่นเป็นหลัก โดยมีจ�ำนวน 68 ราย คิดเป็น ร้อยละ 46.0 และเป็นผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมจาประเทศไต้หวัน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.0 และเกาหลี 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.0


ประเทศ

ญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา เวียดนาม สิงคโปร์ ไทย อินเดีย เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย เยอรมัน อื่นๆ รวม

46 12 9 6 6 4 2 1 1 1 1 1 10 100

ในเชิงประเภทของอุตสาหกรรมที่ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนามประกอบธุรกิจอยู่นั้น ค่อนข้างมีความ หลากหลาย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สามารถจ�ำแนกได้ดังต่อไปนี้ ประเภทอุตสาหกรรม

ยานยนต์ เครื่องจักร และ เหล็ก พลาสติก และยาง เสื้อผ้า และสิ่งทอ เคมีภัณฑ์ และ สี อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า แปรรูปอาหาร และเครื่องดื่ม สินค้าอุปโภค และบริโภค บรรจุภัณฑ์ และสื่อสิ่งพิมพ์ เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์ไม้ ขนส่งและบริการ อื่นๆ รวม

ร้อยละ

36 15 12 9 6 6 5 3 3 5 100

29 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ร้อยละ


30 Vietnam-The New Phase of Success

การจ�ำหน่ายและช่องทางการจ�ำหน่าย และกลยุทธ์ทางการตลาด

อมตะ เวียดนาม ใช้กลยุทธ์ในการท�ำตลาดทางตรง โดยผ่านทีมงานฝ่ายขายของ อมตะ เวียดนาม โดยมีการแยกทีมขาย ส�ำหรับธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจการให้เช่าทีด่ นิ ในเขตพาณิชยกรรมและทีอ่ ยูอ่ าศัย เนือ่ งจากกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ของทัง้ สองธุรกิจมีความแตกต่างกันจึงต้องใช้กลยุทธ์ทเี่ หมาะสมต่อแต่ละธุรกิจเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากการ ท�ำการตลาดทางตรงผ่านทางทีมขายของ อมตะ เวียดนาม แล้วนั้น อมตะ เวียดนาม ยังมีการใช้บริษัทนายหน้าในการ หาลูกค้าอีกทางหนึ่ง โดยมีการให้ค่าตอบแทนในลักษณะค่าคอมมิชชั่น

ด้วยการที่ อมตะ เวียดนาม เป็นผู้ด�ำเนินธุรกิจการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเป็นรายแรกๆ ของจังหวัดดองไน กอปรกับ การที่นิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม เป็นนิคมอุตสาหกรรมที่ได้คุณภาพและมาตรฐานสูง จึงถือเป็นการสร้าง ชือ่ เสียงทีด่ ีให้แก่จงั หวัดดองไนทางหนึง่ ดังนัน้ อมตะ เวียดนาม จึงมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั จังหวัดดองไน และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเช่น Dong Nai Industrial Zone Authority (DIZA) หน่วยงานส่งเสริมการลงทุน ส�ำนักงานการค้าต่างๆ และ หน่วยงานอืน่ ๆ ตลอดจนได้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานดังกล่าวอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนี้ เพือ่ เป็นการโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ อมตะ เวียดนาม ยังมีการใช้สื่อออนไลน์ สื่อสิ่งพิมพ์ รวมถึงการเข้าร่วมในงานแสดงนิทรรศการต่างๆ ใน บางโอกาส

นอกจากนี้ อมตะ เวียดนาม มีนโยบายในการมุง่ เน้นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีในระยะยาวกับลูกค้าของอมตะ เวียดนาม ทั้งจากการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพสูงและสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี และการ มุ่งเน้นการให้บริการที่ดีทั้งก่อนและหลังการขายอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งรวมถึงการให้การปรึกษาและค�ำแนะน�ำในด้านต่างๆ อาทิ การช่วยเหลือและประสานงานให้ลูกค้าของอมตะ เวียดนาม ในการขอใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) และใบอนุญาตอืน่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็นในการประกอบธุรกิจของลูกค้า ทัง้ นี้ จากคุณภาพอันเป็นเลิศของนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม และการให้บริการแบบครบวงจรที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี จึงท�ำให้ลูกค้าของ อมตะ เวียดนาม มีความพึงพอใจกับการให้บริการของอมตะ เวียดนาม มาอย่างสม�ำ่ เสมอ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้าง การประชาสัมพันธ์ให้แก่ลูกค้ารายใหม่จากการแนะน�ำของลูกค้ารายเดิม และเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าของ อมตะ เวียดนาม อีกทางหนึ่ง

ปัจจุบัน อมตะ เวียดนาม ได้เริ่มโครงการท�ำตลาดร่วมกันกับ อมตะ คอร์ป เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางทางการตลาดและ เป็นการใช้ทรัพยากรของกลุ่มอมตะ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยหากมีลูกค้าในฐานลูกค้าของอมตะ คอร์ป ซึ่งอยากขยาย ไปลงทุนในประเทศเวียดนาม อมตะ คอร์ป ก็จะท�ำการแนะน�ำตลอดจนประสานงานกับทีมขายของ อมตะ เวียดนาม อย่าง ใกล้ชิด ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม คาดว่าการท�ำการตลาดร่วมกันระหว่างกลุ่มนั้น จะช่วยเพิ่มจ�ำนวนลูกค้าและยอดขาย ให้แก่บริษัทฯ ได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม จะมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ อมตะ คอร์ป ในลักษณะ ค่าคอมมิชชัน่ โดยปฎิบตั เิ สมือนว่า อมตะ คอร์ป เป็นบริษทั นายหน้าแห่งหนึง่ นอกจากนีอ้ มตะ เวียดนาม ยังท�ำการตลาด ร่วมกับพันธมิตรของบริษัทฯ รวมถึง Sonadezi และ ITOCHU Corporation ในลักษณะการเป็นนายหน้าให้แก่อมตะ เวียดนาม อีกด้วย

ด้วยนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม ที่มีคุณภาพที่เป็นเลิศ ประกอบกับบริการที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าอย่างครบวงจร จึงท�ำให้นคิ มอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม เป็นนิคมอุตสาหกรรมระดับพรีเมีย่ ม และสามารถ ตัง้ ราคาของบริการต่างๆ ของอมตะ เวียดนาม ได้ในระดับทีส่ งู กว่านิคมอุตสาหกรรมส่วนมากในพืน้ ที่ใกล้เคียงกัน ในขณะ ที่ราคาเช่าที่ดินระยะยาวของนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่ของจังหวัดดองไนนั้นมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างสม�่ำเสมอ ดังนั้น อมตะ เวียดนาม จึงมีนโยบายในการวิเคราะห์อุปสงค์และอุปทานของที่ดินนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม เพื่อ ตัง้ เป้าการปล่อยเช่าทีด่ นิ ระยะยาวในแต่ละปี ตลอดจนก�ำหนดราคาการให้เช่าทีด่ นิ ของอมตะ เวียดนาม เพือ่ ให้ได้ประโยชน์ สูงสุดต่อบริษทั ฯ นอกจากการก�ำหนดราคาโดยใช้อปุ สงค์และอุปทานแล้ว อมตะ เวียดนาม ยังพิจารณาจากความสามารถ ในเชิงการแข่งขันของราคาที่ดินให้เช่าระยะยาวของอมตะ เวียดนาม เปรียบเทียบกันนิคมอุตสาหกรรมใกล้เคียงเพื่อ ประกอบการก�ำหนดราคาเช่นเดียวกัน ทัง้ นี้ อมตะ เวียดนาม จะมีการประเมินทีด่ นิ คงเหลือของอมตะ เวียดนาม ประกอบ กับราคาทีด่ นิ ในนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ เพือ่ ปรับราคาเช่าทีด่ นิ ระยะยาวของอมตะ เวียดนาม ให้เหมาะสมอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน แนวโน้มอุตสาหกรรม เนือ่ งจากนิคมอุตสาหกรรมถือเป็นปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในการจัดตัง้ โรงงานการผลิตของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรม ต่างๆ แนวโน้มของแต่ละอุตสาหกรรมจึงส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะอุตสาหกรรมการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศ เวียดนามอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ทั้งนี้ ความเจริญรุ่งเรืองของอุตสาหกรรมต่างๆ นั้น นอกจากจะขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจ ภายในประเทศแล้ว ยังขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจโลกด้วยโดยเฉพาะประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจและการค้าแบบเสรีดังเช่น ประเทศเวียดนาม สภาวะเศรษฐกิจที่อยู่ในเกณฑ์ดีจะส่งผลให้ประชาชนเพิ่มอัตราการบริโภค ท�ำให้ผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมต่างๆ มีแนวโน้มทีจ่ ะลงทุนขยายพืน้ ที่โรงงานเพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิตให้สามารถผลิตสินค้าได้เพียงพอกับความ ต้องการของผู้บริโภค ส่งผลให้ความต้องการพื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมมีแนวโน้มที่ดีขึ้น

ภาพรวมเศรษฐกิจและการลงทุนของประเทศเวียดนาม

ประเทศเวียดนามตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอินโดจีน มีพื้นที่ประมาณ 331,150 ตารางกิโลเมตร โดย ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันตกติดกับประเทศลาว ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตดิ กับประเทศกัมพูชา และทิศตะวันออก มีชายฝั่งทะเลยาวติดกับทะเลจีนใต้ เมืองหลวงของประเทศเวียดนามคือ กรุงฮานอย ซึ่งเป็นศูนย์กลางการบริหาร ประเทศและเป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าทางภาคเหนือ อย่างไรก็ตาม เมืองเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของประเทศเวียดนาม คือ นครโฮจิมินห์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าและการบริการ การน�ำเข้าส่งออก และการลงทุน ประเทศเวียดนาม มีรูปแบบการปกครองระบอบสังคมนิยม โดยมีพรรคการเมืองเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม ประชากร เวียดนามมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 91 ล้านคน อยู่ในอันดับ 3 ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (“ภูมิภาคฯ”) รองจาก ประเทศอินโดนีเซียและประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นอันดับที่ 14 ของโลก ภาษาราชการคือ ภาษาเวียดนาม โดยมี ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง

นิคมอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ในประเทศเวียดนามเป็นเขตพืน้ ทีท่ รี่ ฐั บาล ผูป้ ระกอบการภาคเอกชน หรือกิจการร่วมทุน ระหว่างรัฐบาลกับเอกชนจัดสรรทีด่ นิ ไว้สำ� หรับโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้ามาด�ำเนินกิจการอยู่ในบริเวณเดียวกันอย่าง เป็นระบบ และมีการจัดสรรระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ไว้บริการโรงงานอุตสาหกรรมและ บุคลากรในนิคมอุตสาหกรรม อันได้แก่ ถนน ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดวางผังเมืองที่เหมาะสม แก้ไขปัญหา สิง่ แวดล้อมและความแออัดในตัวเมือง นอกจากนีย้ งั เป็นการกระจายรายได้และความเจริญไปสูภ่ มู ภิ าคอีกด้วย ปัจจุบนั ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนามอยู่ในช่วงขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งและมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อีกในอนาคต โดยมีแรงขับเคลือ่ นมาจากการขยายการลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment : FDI) เพือ่ ตอบสนองความต้องการของการบริโภคภายในประเทศทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่าง ต่อเนื่องและการขยายตัวของตลาดส่งออก โดย ณ ปี 2557 Market Potential Index ของหน่วยงานวิจัยและศูนย์ ข้อมูล Global Business Knowledge ของมหาวิทยาลัย Michigan State University ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ท�ำการวิเคราะห์ความน่าลงทุนของประเทศต่างๆ ในโลกจากปัจจัยพื้นฐานหลายปัจจัยเช่น ขนาดของประเทศ และประชากร ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน ความเสี่ยงเฉพาะของประเทศ อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจและ การบริโภค เป็นต้น โดยให้คะแนนความน่าลงทุนของเวียดนามอยู่ที่ 24 คะแนน ซึ่งสูงเป็นอันดับ 50 ของโลกและ 15 ของทวีปเอเชีย ใกล้เคียงกับคู่แข่งในภูมิภาคฯ ซึ่งได้แก่ อินโดนีเซียซึ่งอยู่ที่อันดับ 39 ไทยซึ่งอยู่ที่อันดับ 45 และ ฟิลปิ ปินส์ซงึ่ อยูท่ อี่ นั ดับ 47 อย่างไรก็ตาม หากวัดจากอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจเป็นหลัก เวียดนามจะได้คะแนน สูงเป็นอันดับ 7 ของโลกและเอเชีย ซึ่งโดดเด่นกว่าประเทศไทย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ซึ่งอยู่ที่ล�ำดับ 11, 13, และ 17 ตามล�ำดับ

31 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


32 Vietnam-The New Phase of Success

นอกจากนี้ ปัจจัยส�ำคัญอีกประการทีจ่ ะช่วยส่งเสริมผลการด�ำเนินงานของผูป้ ระกอบการนิคมอุตสาหกรรมในอนาคต คือ นโยบายของภาครัฐในการก�ำกับดูแล ประกอบไปด้วยการจ�ำกัดจ�ำนวนนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รบั อนุญาตให้ดำ� เนิน กิจการในอนาคตและการก�ำหนดให้โรงงานในประเทศเวียดนามจ�ำนวนมากทีต่ งั้ อยูน่ อกนิคมอุตสาหกรรมย้ายเข้าไป ด�ำเนินการภายในนิคมอุตสาหกรรม เพือ่ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของประเทศและเพือ่ เสริมสร้างคุณภาพชีวติ ของ ประชาชน ทั้งนี้ ในปัจจุบัน โรงงานส่วนใหญ่ที่ยังคงตั้งอยู่นอกนิคมอุตสาหกรรมนั้น ด�ำเนินการโดยผู้ประกอบการ ภาคเอกชนภายในประเทศ ขณะที่โรงงานของนักลงทุนต่างชาติส่วนใหญ่จะอยู่ภายในเขตนิคมอุตสาหกรรม

จากการเปิดเผยของ Foreign Investment Agency พบว่าในปี 2557 ประเทศเวียดนามมีมูลค่าการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศ ประมาณ 21,920 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยกว่าร้อยละ 24 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา

การที่ประเทศเวียดนามมีอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนอย่างต่อเนื่องและกลายเป็นประเทศที่น่าสนใจ ของต่างชาติในการเข้ามาลงทุน เป็นผลมาจากศักยภาพทางเศรษฐกิจทีส่ งู และขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง จากการปฏิรปู เศรษฐกิจและสังคมตามนโยบาย “โด่ย เหมย” (Doi Moi) ซึง่ เริม่ ต้นขึน้ ตัง้ แต่ปี 2529 โดยมีการปรับตัวให้เข้ากับระบบ เศรษฐกิจแบบเสรีของโลกเพื่อเปิดตลาดสินค้า การบริการ และการลงทุนให้กับต่างประเทศจากการปรับปรุงแก้ไข กฎระเบียบ กฎหมาย และกลไกภาครัฐให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดขององค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การการค้า โลก (World Trade Organization: WTO) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations: ASEAN) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็นต้น ขณะเดียวกัน ประเทศ เวียดนามยังคงมีนโยบายปกป้องการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สนิ และทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศ รวมทัง้ คุม้ ครอง กิจการของประเทศบางประเภท อาทิ อุตสาหกรรมสื่อสารและโทรคมนาคม อุตสาหกรรมอาวุธและยุทโธปกรณ์ เป็นต้น

อีกปัจจัยที่ช่วยดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศคือ สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่หลากหลายของประเทศ เวียดนามท�ำให้เวียดนามเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำ� คัญ อาทิ ก๊าซธรรมชาติ น�้ำมัน และสินแร่ต่างๆ เช่น ถ่านหิน เหล็ก ทองแดง อีกทั้งยังเหมาะแก่การท�ำเกษตรกรรมโดยประเทศเวียดนามถือเป็นผู้ ส่งออกพริกไทยด�ำและกาแฟอันดับ 1 ของโลก และเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศไทย

นอกจากนี้เวียดนามยังเข้าท�ำข้อตกลงทางการค้าเสรีต่างๆ ที่ส�ำคัญได้แก่เขตการค้าเสรีกับประเทศในทวีปยุโรป (Vietnam-EU Trade Agreement - FTA) และเข้าร่วมในข้อตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement - TPP) อีกด้วย โดยการลงนามในข้อตกลงต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้เวียดนามสามารถดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศเพื่อการส่งออกเพิ่มมากขึ้น

ทัง้ นี้ ทีผ่ า่ นมาตลาดการส่งออกของประเทศเวียดนามได้เติบโตอย่างต่อเนือ่ งคิดเป็นอัตราการเติบโตโดยเฉลีย่ ร้อยละ 21 ต่อปีในช่วง 2552-2557 โดยมูลค่าส่งออกของประเทศเวียดนามในปี 2557 มีมูลค่าทั้งสิ้นประมาณ 150,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ สูงทีส่ ดุ เป็นประวัตกิ ารณ์ โดยส่วนใหญ่เป็นการส่งออกสินค้าทีผ่ ลิตโดยผูป้ ระกอบการต่างชาติ ที่มาลงทุนในประเทศเวียดนาม

อีกประการหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ประเทศเวียดนามสามารถเป็นฐานการผลิตสินค้าเพือ่ การส่งออกและดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจาก นักลงทุนต่างชาติ คือ ค่าจ้างแรงงานที่ตำ�่ กว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียหลายประเทศ โดยในปี 2557 ค่าแรง ขั้นต�่ำของประเทศเวียดนามเท่ากับ 1,220 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี ซึ่งต�่ำที่สุดเป็นล�ำดับที่ 4 ของประเทศที่มีศักยภาพ ในการแข่งขันในเอเชีย รองจากประเทศอินโดนีเซีย อินเดีย และลาว นอกจากค่าจ้างแรงงานที่ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยแล้ว


ประเทศเวียดนามยังเต็มไปด้วยประชากรที่อยู่ในวัยท�ำงาน (มีอายุตั้งแต่ 15 ถึง 64 ปี) ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนกว่า ร้อยละ 70 ของจ�ำนวนประชากรทั้งหมด

ทั้งนี้รัฐบาลยังให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาความรู้และทักษะของประชากรอย่างต่อเนื่อง พิจารณาได้จากอัตราการรู้ หนังสือของประชากรเวียดนามยังอยู่ในระดับสูงกว่าร้อยละ 90.3 และอัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของประเทศ เวียดนามที่ร้อยละ 39.5 ซึ่งสูงกว่าหลายประเทศในภูมิภาคฯ

นอกจากความได้เปรียบทางด้านทรัพยากรแรงงานของเวียดนามนัน้ ระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์เป็นอีกปัจจัย หนึง่ ทีส่ ำ� คัญเป็นอย่างยิง่ ต่อการลงทุนของชาวต่างประเทศ ข้อได้เปรียบหนึง่ ของประเทศเวียดนามคือ การมีอาณาเขต ทางทิศตะวันออกยาวถึง 3,444 กิโลเมตรติดกับทะเลจีนใต้ ซึ่งเป็นเส้นทางการเดินเรือขนส่งสินค้าที่สำ� คัญของโลก ในการเชื่อมต่อกับตลาดภูมิภาคเอเชียตะวันออก ชายฝั่งทะเลที่ทอดตัวยาวเป็นรูปตัว S นี้จึงเหมาะสมอย่างยิ่งใน การสร้างระบบโลจิสติกส์ทางเรือ รวมถึงท่าเรือน�ำ้ ลึก เพื่อรองรับการส่งออกสินค้าไปยังประเทศใกล้เคียง อาทิ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย จีน ฮ่องกง ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และตลาดโลก ตามคู่มือการค้าและ การลงทุนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งจัดท�ำโดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์พบว่า ปัจจุบัน ประเทศเวียดนามมีท่าเรือพาณิชย์ทั้งหมด 17 แห่ง รองรับสินค้าได้ 15 ล้านตันต่อวัน โดยมีท่าเรือส�ำคัญ คือ 1. ท่าเรือไซ่ง่อน เป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ตั้งอยู่ในนครโฮจิมินห์ ทางทิศใต้ของประเทศ สามารถรองรับ การขนส่งสินค้าได้ 10 ล้านตันต่อปี 2. ท่าเรือดานัง เป็นท่าเรือส�ำคัญของภาคกลาง ตั้งอยู่ในเมืองดานัง สามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ 8 ล้านตัน ต่อปี ปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายผลักดันท่าเรือแห่งนี้ให้มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลก 3. ท่าเรือไฮฟอง เป็นท่าเรือที่ใหญ่อนั ดับสองของประเทศ ตัง้ อยู่ในเมืองไฮฟอง ทางตอนเหนือของประเทศ สามารถ รองรับการขนส่งสินค้าได้ 7-10 ล้านตันต่อปี 4. ท่าเรือตันก๋าง ก๊ายแม๊บ เป็นท่าเรือส�ำคัญของภาคใต้ ตัง้ อยูบ่ นปากแม่นำ�้ ก๊ายแม๊บจังหวัดบาเรีย - หวุงเต่า สามารถ รองรับการขนส่งสินค้าได้ 1-2 ล้านตันต่อปี ส�ำหรับการขนส่งทางอากาศนัน้ ประเทศเวียดนามมีสนามบินนานาชาติทงั้ หมด 4 แห่งรวมถึงสนามบินทีก่ ำ� ลังพัฒนา อยู่ ได้แก่ 1. Tan Son Nhat International Airport เป็นสนามบินที่ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ ห่างจากนครโฮจิมนิ ห์เพียง 7 กิโลเมตร มีความสามารถในการขนส่งสินค้าประมาณ 600,000 ตันในปี 2010 ตามรายงานของ Airports Council International 2. Da Nang International Airport ตัง้ อยู่ในเมืองดานังซึง่ อยูท่ างตอนกลางของประเทศ ห่างจากใจกลางเมืองดานัง ประมาณ 2.5 กิโลเมตร 3. Noi Bai International Airport ห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 30 กิโลเมตร ทางตอนเหนือของประเทศ 4. Long Thanh International Airport ตั้งอยู่ที่จังหวัด Dong Nai ทางภาคใต้ของเวียดนาม อยู่ห่างจากนคร โฮจิมินห์ราว 30 กิโลเมตรเมื่อก่อสร้างพร้อมใช้งานระยะที่หนึ่งในปี 2566 จะเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่าจะรองรับผู้โดยสารได้ปีละ 80-100 ล้านคนและรองรับการขนส่งสินค้าได้ราว 5 ล้านตันต่อปี

33 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


34 Vietnam-The New Phase of Success

ระบบเครือข่ายการขนส่งทางบกเป็นสิ่งส�ำคัญที่ช่วยเชื่อมต่อระบบการขนส่งทางน�้ำและทางอากาศ รวมถึงช่วย เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบโลจิสติกส์ภายในประเทศ ปัจจุบนั ประเทศเวียดนามมีระบบเครือข่ายทางถนนยาว 2.1 แสนกิโลเมตร ประกอบด้วยทางหลวงแผ่นดินยาวประมาณ 14,935 กิโลเมตร เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ ทิศเหนือเชื่อมต่อกับประเทศจีน ซึ่งเป็นตลาดขนาดใหญ่และมีศักยภาพที่ส�ำคัญของโลก และทิศตะวันตก เชือ่ มต่อกับประเทศลาว ซึง่ มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตาม ด้วยความแออัดของการจราจร บนท้องถนนในเขตเมืองและโครงข่ายถนนทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างเมืองต่างๆ ซึง่ ยังไม่กว้างขวางเพียงพอ อันเป็นอุปสรรค ส�ำคัญต่อการขนส่งภายในประเทศ รัฐบาลจึงมีแผนการก่อสร้างทางด่วนพิเศษหลายแห่งและสร้างเครือข่ายถนน เพิม่ เติม รวมทัง้ มีการปรับปรุงถนนหลวงทุกสายให้มมี าตรฐาน นอกจากการพัฒนาระบบเครือข่ายการขนส่งทางบก ในประเทศแล้ว รัฐบาลของประเทศเวียดนามยังมีแผนร่วมกับรัฐบาลของประเทศอื่นๆ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง 4 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า ในการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) เชื่อมโยงประเทศเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า โดยมีปลายทางอยู่ที่เมืองดานัง ประเทศเวียดนาม และเมืองเมาะละแหม่ง ประเทศพม่า ซึ่งถือว่าเป็นเส้นทางเชื่อมโยงระหว่างทะเลจีนใต้กับทะเล อันดามันอันเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำ� คัญของโลก นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) เชื่อมโยงประเทศเวียดนาม กัมพูชา ไทย และพม่า โดยมีปลายทางอยู่ที่เมืองหวุงเต่า และเมืองกวีเญิน ประเทศเวียดนาม และเมืองทวาย ประเทศพม่า การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจทั้งสองโครงการนั้น นอกจากจะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งแล้ว ยังส่งผลให้เกิดการลงทุนในประเทศเวียดนามเพิ่ม มากขึ้น เพื่อตอบสนองการขยายตัวของการค้าตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจ การค้าภายในภูมิภาคฯ และการส่งออกไป ยังตลาดโลก

เพื่อส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม รัฐบาล สนับสนุนให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศ โดยอนุญาตนักลงทุนต่างชาติสามารถถือหุ้นในหลายกิจการ ได้ถงึ ร้อยละ 100 ขณะเดียวกัน ก็ได้มกี ารให้สทิ ธิประโยชน์ดา้ นภาษีแก่นกั ลงทุนภาคเอกชนในประเทศและนักลงทุน ต่างชาติ

นอกจากปัจจัยข้างต้นทีแ่ สดงถึงศักยภาพของประเทศเวียดนามแล้ว ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) ซึ่งจะเกิดขึ้นในปี 2558 ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญที่จะช่วยเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศเวียดนามยิ่งขึ้นไปอีก โดยประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นการรวมตัวของประเทศใน ภูมภิ าคฯ จ�ำนวน 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพือ่ ความเป็นหนึง่ เดียวกันทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก ซึง่ ช่วยเพิม่ อ�ำนาจต่อรองและเพิม่ บทบาทในเวที เศรษฐกิจโลก โดยมีแผนงานทีส่ ำ� คัญ 4 ด้านคือ 1) ท�ำให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน 2) สร้างขีดความสามารถทางเศรษฐกิจให้อยู่ในระดับสูง 3) สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และ 4) บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ การบรรลุแผนงานดังกล่าวครอบคลุมไปถึงเรื่องการเปิดเสรีด้านการค้าและ การบริการ การอ�ำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายเงินทุนและแรงงาน รวมไปถึงการปรับกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน อาทิ นโยบายทางเศรษฐกิจ กฎเกณฑ์ทางศุลกากร และมาตรฐานคุณภาพสินค้า เป็นต้น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนนัน้ นอกจากจะส่งผลให้เกิดการลงทุนเพิม่ มากขึน้ ของนักลงทุนในประเทศและนักลงทุนต่างประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของฐานผู้บริโภคขนาดใหญ่ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีประชากรรวมทั้งสิ้น 621 ล้านคนแล้ว ยังจะท�ำให้เกิดการย้ายฐานการผลิตจากประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคฯ มายังประเทศเวียดนามมากขึ้น เพื่อได้รับประโยชน์จากจุดแข็งหลายประการของประเทศเวียดนาม อาทิ ต้นทุนค่าแรงต�่ำ ทรัพยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ และระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพในการส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีนและตลาดโลก


ภาพรวมของศูนย์กลางเศรษฐกิจในประเทศเวียดนาม

เขตเศรษฐกิจตอนเหนือ (Northern Key Economic Region)

เขตเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Key Economic Region)

เขตเศรษฐกิจตอนกลาง (Central Key Economic Region)

ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศเวียดนามอยู่ใน 3 ภาค ได้แก่

1. เขตเศรษฐกิจตอนเหนือ พื้นที่ภาคเหนือแบ่งออกเป็น 26 จังหวัด โดยศูนย์กลางเศรษฐกิจประกอบไปด้วย 7 จังหวัดได้แก่ Ha Noi, Quang Ninh, Hai Phong, Hai Duong, Hung Yen, Vinh Phuc และ Bac Ninh โดยเขตเศรษฐกิจ ตอนเหนือมีจดุ เด่นทีอ่ ยูต่ ดิ กับพรมแดนสาธารณรัฐประชาชนจีน อีกทัง้ เป็นทีต่ งั้ ของเมืองส�ำคัญได้แก่ Hanoi ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศและ Hai Phong ซึ่งเป็นเมืองอุตสาหกรรมและท่าเรือที่ส�ำคัญ ทั้งนี้ อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการลงทุนได้แก่ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องจักร ชิ้นส่วนยานยนต์ วัตถุดิบก่อสร้าง เป็นต้น

2. เขตเศรษฐกิจตอนกลาง

3. เขตเศรษฐกิจตอนใต้ พื้นที่ภาคเหนือแบ่งออกเป็น 19 จังหวัด โดยศูนย์กลางเศรษฐกิจประกอบไปด้วย 8 จังหวัดได้แก่ Ho Chi Minh City, Binh Duong, Ba Ria - Vung Tau, Dong Nai, Tay Ninh, Binh Phuoc และ Long An โดยมีนครโฮจิ มินห์เป็นภูมภิ าคทีส่ ามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้มากทีส่ ดุ ในประเทศ โดยในปี 2557 เขตเศรษฐกิจ ตอนใต้ถือเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีส่วนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจมากที่สุด โดยดึงดูดกว่าร้อยละ 58 ของการ ลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และคิดเป็นกว่าร้อยละ 40 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ

35 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

พื้ น ที่ ภาคกลางแบ่ ง ออกเป็ น 19 จั ง หวั ด โดยศู น ย์ ก ลางเศรษฐกิ จ ประกอบไปด้ ว ย 5 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ Thua Thien Hue, Quang Nam, Quang Ngai, Binh Dinh และ Da Nang City โดยเขตเศรษฐกิจ ตอนกลางมีจดุ เด่นทีท่ ศั นียภาพสวยงามและทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ์ โดยมีเมืองทีเ่ ป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ ส�ำคัญคือ Da Nang ทั้งนี้ อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการลงทุนได้แก่ ปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลาสติก อุตสาหกรรมหนัก ธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง


36 Vietnam-The New Phase of Success

ภาพรวมการลงทุนของจังหวัดดองไน

หากพิจารณาจังหวัดที่โดดเด่นและเป็นเป้าหมายของนักลงทุนที่ต้องการลงทุนในประเทศเวียดนามนั้น นอกจาก นครโฮจิมนิ ห์ซงึ่ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของประเทศและกรุงฮานอยซึง่ เป็นศูนย์กลางการค้าของภาคเหนือ แล้ว จังหวัดดองไนถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีศักยภาพสูงในการลงทุน พิจารณาได้จากจ�ำนวนโครงการและมูลค่า การลงทุนของนักลงทุนต่างประเทศที่ทยอยเข้าไปลงทุนในจังหวัดดองไนในช่วงที่ผ่านมามีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยในปี 2557 มีจำ� นวนโครงการจากนักลงทุนรายใหม่ทั้งสิ้น 86 โครงการ ซึ่งมีมูลค่ารวมถึง 638 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นอันดับที่ 7 ของจังหวัดที่มีการลงทุนโดยตรงจากชาวต่างชาติสูงสุด

ทั้งนี้จากสถิติของ General Statistic Office of Vietnam ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2558 จังหวัดดองไนมีเม็ดเงิน ลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ คิดเป็นมูลค่าทุนจดทะเบียน 1.26 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ มีจำ� นวนโครงการจากนักลงทุนรายใหม่ทงั้ สิน้ 88 โครงการ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพการแข่งขันและความพร้อมของ การเป็นฐานการลงทุนที่พัฒนาขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ

นอกจากมูลค่าการลงทุนภายในจังหวัดแล้ว มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดดองไนก็เป็นเครื่องชี้วัดอีกอย่าง หนึง่ ทีส่ ามารถบ่งบอกถึงความส�ำคัญของจังหวัดต่อเศรษฐกิจของประเทศเวียดนาม โดยในปี 2557 มูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมของจังหวัดดองไนเท่ากับประมาณ 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ดองไนได้เติบโตเพิ่มอย่างต่อเนื่อง ในอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยร้อยละ 12 ต่อปี ในช่วง 2553-2557 อุตสาหกรรม ส�ำคัญที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดดองไน ประกอบด้วย อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมการบริการ และ อุตสาหกรรมการเกษตรและประมง

จังหวัดดองไนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศและอยู่ในใจกลางเขตเศรษฐกิจการค้าของภาคใต้ มีพื้นที่ รวมทัง้ สิน้ 5,907 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 11 เมือง โดยมีเมือง Bien Hoa เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม จังหวัดดองไนห่างจากนครโฮจิมินห์ซึ่งเป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำ� คัญที่สุดของประเทศเพียง 30 กิโลเมตรทางทิศตะวันตก ท�ำให้อยูท่ า่ มกลางเครือข่ายคมนาคมขนส่งทางบกทีเ่ ชือ่ มต่อกับถนนสายส�ำคัญอืน่ ๆ ของ ประเทศ รวมถึงถนนที่เชื่อมต่อกับท่าเรือและสนามบินที่สำ� คัญ อาทิ เชื่อมต่อกับท่าเรือไซ่ง่อนด้วยระยะทางเพียง 32 กิโลเมตรและเชื่อมต่อกับ Tan Son Nhat International Airport ด้วยระยะทางเพียง 35 กิโลเมตร

จังหวัดดองไนมีประชากรทั้งสิ้น 2.8 ล้านคนในปี 2557 คิดเป็นอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยต่อปีตั้งแต่ปี 2553-2557 เท่ากับร้อยละ 2.6 ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โดยส่วนหนึ่งมาจากการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้าสู่จังหวัดดองไน ของประชากรในจังหวัดอื่นๆ จากจ�ำนวนประชากรทั้งหมดดังกล่าว มีประชากรจ�ำนวนทั้งสิ้น 1.9 ล้านคน ซึ่งร้อยละ 69.3 อยู่ในวัยท�ำงาน และประมาณร้อยละ 58 อยู่ในตลาดแรงงาน ปัจจัยดังกล่าวท�ำให้จงั หวัดดองไนกลายเป็นตลาด แรงงานขนาดใหญ่ อยู่ในอันดับที่ 5 ของประเทศ แรงงานดังกล่าวนอกจากจะมีประสิทธิภาพและมีการศึกษาที่ดี เทียบเท่ากับแรงงานในจังหวัดส�ำคัญของประเทศ เช่น กรุงฮานอย และนครโฮจิมนิ ห์แล้ว ค่าแรงงานของจังหวัดดองไน ยังต�ำ่ กว่าค่าแรงงานในนครโฮจิมนิ ห์ กรุงฮานอย และจังหวัดอืน่ ๆ หลายจังหวัดในประเทศอีกด้วย นอกจากนี้ การที่ จังหวัดดองไนมีอาณาเขตติดกับนครโฮจิมินห์ซึ่งเป็นศูนย์กลางการศึกษาของประเทศเวียดนามนั้น ท�ำให้การหา แรงงานที่มีคุณภาพและมีการศึกษาขั้นสูง เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญของบริษัท โดยเฉพาะต�ำแหน่งผู้บริหารระดับ กลางและระดับสูงไม่ยากนัก ด้วยอาณาเขตที่ติดต่อกับแหล่งความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งค่าครองชีพ ที่ถูกกว่าในนครโฮจิมินห์ อาทิ ค่าอาหาร ค่าเช่าที่อยู่อาศัย ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค และราคาที่ดิน ท�ำให้แรงงาน จ�ำนวนมากตัดสินใจท�ำงานในจังหวัดดองไน โดยเฉพาะในเมือง Bien Hoa ซึง่ เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและสังคม ของจังหวัดและมีการพัฒนาด้านที่อยู่อาศัยเป็นอย่างมาก เมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดในเขตเศรษฐกิจตอนใต้ ดองไนถือเป็นจังหวัดที่มีประชากรมากเป็นอันดับสองรองจากนครโฮจิมินห์


การสร้างฐานการผลิตในจังหวัดดองไนนั้น นอกจากจะช่วยประหยัดค่าแรงงาน ซึ่งมีประสิทธิภาพและการศึกษา ใกล้เคียงกับจังหวัดส�ำคัญอืน่ ๆ แล้ว นักลงทุนยังสามารถลดค่าใช้จา่ ยในการลงทุนด้านอืน่ ๆ เมือ่ เทียบกับการลงทุนใน จังหวัดอืน่ ๆ โดยเฉพาะนครโฮจิมนิ ห์ทมี่ อี าณาเขตติดกัน อาทิ ค่าเช่าทีด่ นิ ค่าเช่าพืน้ ทีอ่ าคารส�ำนักงาน ค่าเช่าพืน้ ที่ อาคารพาณิชย์ และค่าใช้จา่ ยด้านสาธารณูปโภค เป็นต้น แม้วา่ โครงสร้างพืน้ ฐานของจังหวัดดองไนจะมีประสิทธิภาพ ด้อยกว่าจังหวัดส�ำคัญของประเทศ เช่น นครโฮจิมินห์และกรุงฮานอย แต่โครงสร้างสาธารณูปโภคดังกล่าวก็ถือว่ามี คุณภาพใกล้เคียงกับจังหวัดเหล่านั้นและมีประสิทธิภาพสูงกว่าจังหวัดอื่นๆ หลายจังหวัด โดยรัฐบาลได้มีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา รวมถึงมีแผนการพัฒนาระยะยาวร่วมกับภาคเอกชนและ นักลงทุนต่างชาติให้ครอบคลุมสาธารณูปโภคที่ส�ำคัญ เช่น ไฟฟ้า ประปา การสื่อสารและโทรคมนาคม อีกด้วย นอกจากนี้ ในช่วงที่ผ่านมา หน่วยงานราชการของจังหวัดดองไนสนับสนุนการลงทุนเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการ ปรับปรุงนโยบายและมาตรการต่างๆทีเ่ อือ้ ต่อการลงทุน อาทิ การลดขัน้ ตอนการขอใบอนุญาตลงทุน การลดขัน้ ตอน การติดต่อกับหน่วยงานราชการ และการลดขั้นตอนในการขออนุมัติโครงการ เป็นต้น

การที่จังหวัดดองไนมีประชากรอาศัยอยู่จ�ำนวนมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 3.1 ของประชากรทั้งหมดและสูงเป็นอันดับ ที่ 5 ของประเทศนัน้ ยังเป็นปัจจัยส�ำคัญอีกประการส�ำหรับนักลงทุนภาคเอกชนในประเทศและนักลงทุนต่างประเทศ เลือกตั้งฐานการผลิตในจังหวัดดองไนเพื่อสนองความต้องการของตลาดขนาดใหญ่ ประชากรในจังหวัดดังกล่าว นอกจากจะมีจำ� นวนมากแล้ว ยังมีกำ� ลังซือ้ สูงกว่าค่าเฉลีย่ ของจังหวัดอืน่ ๆ ในประเทศเวียดนาม สังเกตได้จากรายได้ ประชาชาติตอ่ หัว (GDP Per Capita) ทีม่ จี ำ� นวนเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา โดยในปี 2557 รายได้ ประชาชาติต่อหัวของประชากรจังหวัดดองในเท่ากับ 2,778 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี โดยจ�ำนวนดังกล่าวสูงกว่าค่าเฉลี่ย ของทั้งประเทศซึ่งเท่ากับประมาณ 2,052 เหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้จากการรายงานของกระทรวงแรงงานของประเทศ เวียดนาม จังหวัดดองไนได้ประสบความส�ำเร็จในการลดอัตราประชากรทีม่ ฐี านะยากจนเมือ่ เทียบกับประชากรทัง้ หมด จากร้อยละ 7 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 1.9 ในปี 2556 แสดงให้เห็นถึงความเป็นอยู่ของประชากรในจังหวัดดองไนที่ดี ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ นอกจากนีเ้ มือ่ เปรียบเทียบกับจังหวัดในเขตเศรษฐกิจตอนใต้ ดองไนถือเป็นจังหวัดทีส่ ร้างมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมเป็นอันดับสองรองจากนครโฮจิมินห์

นอกจากมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดและรายได้ประชาชาติต่อหัว (GDP Per Capita) ของจังหวัดดองไนที่ เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องแล้ว มูลค่าการบริโภคระดับครัวเรือนของจังหวัดดองในยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องจากก�ำลัง การซื้อของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น โดยในระหว่าง 2553-2557 อัตราการเติบโตเฉลี่ยของมูลค่าการบริโภคระดับ ครัวเรือนเท่ากับร้อยละ 16 โดย ณ ปี 2014 ของมูลค่าการบริโภคระดับครัวเรือนในดองไนสูงเป็นอันดับ 3 ในภาคใต้ ของเวียดนาม รองจากนครโฮจิมินห์ (HCMC) และจังหวัดบินเดือง (Binh Duong)

โดยมูลค่าการบริโภคระดับครัวเรือนในดองไนนั้นส่วนใหญ่มาจากเมือง Bien Hoa ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจังหวัด ดองไนและเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและการบริหารของจังหวัดดองไน โดย ณ ปี 2557 จ�ำนวนประชากรเมือง (Urban population) สูงถึง 904,000 คนคิดเป็นอัตราประชากรเมืองต่อประชากรทั้งหมด (Urbanization rate) กว่าร้อยละ 90 โดยความเจริญที่ขยายมาจากใจกลางเมืองหลวงนี่เองที่ท�ำให้บางเมืองในจังหวัดดองไนเริ่มมีการพัฒนาพื้นที่ เพื่อการอยู่อาศัย ทั้งนี้กว่าร้อยละ 93 ของมูลค่าการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยยังเป็นการซื้อขาย ทีด่ นิ เปล่า (Land plot) โดยธุรกรรมการซือ้ ขายส่วนใหญ่จะเกิดขึน้ ในบริเวญใกล้เคียงพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพในการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับประชากรที่เติบโตอย่างต่อเนื่องจากเมืองอุตสาหกรรมที่พัฒนาขึ้น ทั้งนี้ ณ ไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 ราคาซื้อขายที่ดินเปล่าเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยในจังหวัดดองไนอยู่ในช่วงราคาตั้งแต่ 108 ถึง 471 เหรียญสหรัฐต่อตารางเมตร โดยราคาขายจะแตกต่างไปตามทีต่ งั้ และความเจริญของโครงสร้างพืน้ ฐานในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ โดยราคาซื้อขายที่ดินเปล่าเฉลี่ยในเมือง Bien Hoa และ Long Thanh อยู่ที่ 199 และ 336 เหรียญสหรัฐต่อ ตารางเมตร ตามล�ำดับ

37 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


แนวโน้มอุตสาหกรรมในจังหวัดดองไน

การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมแต่ละแห่งในอดีตนั้น จะด�ำเนินการโดยรัฐบาลของประเทศเวียดนามแต่เพียงผู้เดียวผ่านทาง รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ Sonadezi เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เข้ามาด�ำเนินกิจการอยู่ใน บริเวณเดียวกันอย่างเป็นระบบ โดยมีการจัดสรรระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ไว้บริการโรงงาน อุตสาหกรรมและบุคลากรในนิคมอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม หลังจากทีร่ ฐั บาลได้ด�ำเนินนโยบายการปฏิรูปเศรษฐกิจและ สังคมมาในระยะหนึ่ง โดยมีการเปิดเสรีการค้าและการบริการระหว่างประเทศ รวมถึงการอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถลงทุนในประเทศเวียดนามได้อย่างสะดวกมากขึน้ ท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศเวียดนามและก�ำลังซือ้ ของประชาชน เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งนักลงทุนต่างชาติเริ่มเข้ามาตั้งฐานการผลิตในประเทศเวียดนาม เพื่อส่งออกสินค้าไปยัง ตลาดโลก เพือ่ ตอบสนองต่ออุปสงค์ทเี่ พิม่ ขึน้ ดังกล่าว นักลงทุนภาคเอกชนในประเทศและต่างประเทศจึงจ�ำเป็นต้องขยาย การลงทุนในประเทศเวียดนามเพิ่มขึ้น ท�ำให้พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมที่ดำ� เนินการโดยรัฐบาลแต่เพียงผู้เดียวไม่เพียงพอต่อ ความต้องการของนักลงทุน รัฐบาลจึงเริม่ อนุญาตให้ผปู้ ระกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมภาคเอกชนทัง้ ภายในประเทศ และต่างประเทศด�ำเนินธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนาม โดยรัฐบาลได้ร่วมลงทุนกับผู้ประกอบการภาค เอกชนผ่านทางหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจต่างๆ ในบางโครงการ นอกจากนี้ ในหลายโครงการ รัฐบาลยังอนุญาต ให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนเป็นเจ้าของและผู้บริหารโครงการแต่เพียงผู้เดียวอีกด้วย ดังนั้น การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ในปัจจุบันสามารถกระท�ำได้ทั้งสิ้น 4 แนวทางหลักตามลักษณะความเป็นเจ้าของและผู้บริหารโครงการ คือ 1. นิคมอุตสาหกรรมที่รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของและผู้บริหารโครงการ 2. นิคมอุตสาหกรรมที่ผู้ประกอบการภาคเอกชนภายในประเทศเป็นเจ้าของและผู้บริหารโครงการ 3. นิคมอุตสาหกรรมทีผ่ ปู้ ระกอบการภาคเอกชนต่างประเทศร่วมเป็นเจ้าของและร่วมบริหารโครงการกับรัฐวิสาหกิจหรือ หน่วยงานของรัฐ

38 Vietnam-The New Phase of Success

4. นิคมอุตสาหกรรมทีผ่ ปู้ ระกอบการภาคเอกชนต่างประเทศร่วมเป็นเจ้าของและร่วมบริหารโครงการกับผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชนภายในประเทศ

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลของประเทศเวียดนามไม่มนี โยบายให้นคิ มอุตสาหกรรมทีร่ ฐั วิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐเป็นเจ้าของ และผู้บริหารโครงการขายที่ดินให้แก่ลูกค้าเป้าหมาย โดยอนุญาตเพียงการให้เช่าที่ดินในระยะเวลาไม่เกิน 50 ปีเท่านั้น ส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรมประเภทที่ 2 ถึง 4 นั้น รัฐบาลของประเทศเวียดนามมิได้ให้กรรมสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของที่ดินแก่ ผู้ประกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม รัฐบาลเพียงแต่ให้เช่าที่ดินระยะยาวดังกล่าวเพื่อน�ำมาพัฒนาโครงการนิคม อุตสาหกรรมเท่านั้น โดยระยะเวลาในการอนุญาตให้เช่าที่ดินแก่ผู้ประกอบการแต่ละรายก็แตกต่างกัน ซึ่งระยะเวลาสูงสุด ในการอนุญาตให้เช่าที่ดิน คือ 50 ปี ดังนั้น การให้สิทธิ์การใช้ที่ดินภายในนิคมอุตสาหกรรมแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของ ผูป้ ระกอบการนิคมอุตสาหกรรมทุกรายทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะอยู่ในรูปแบบการให้เช่าทีด่ นิ ระยะยาว โดยมีระยะเวลา การเช่าไม่เกิน 50 ปี

ในปี 2558 ประเทศเวียดนามมีจ�ำนวนนิคมอุตสาหกรรมทัง้ หมด 299 แห่ง ซึง่ มีพนื้ ทีร่ วมกันทัง้ สิน้ 84,000 เฮกตาร์ กระจาย อยู่ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ อย่างไรก็ตาม นิคมอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่ในภาคใต้ของประเทศ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการในภาคการผลิตทีก่ ระจุกตัวอยู่ในภาคใต้ของประเทศ โดยเฉพาะในเมืองเศรษฐกิจ และการค้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ นครโฮจิมินห์ จังหวัดดองไน จังหวัดบาเรีย - หวุงเต่า และจังหวัดใกล้เคียงอื่นๆ ท�ำให้ในภาคใต้ มีจ�ำนวนนิคมอุตสาหกรรมและมูลค่าโครงการโดยรวมสูงกว่าภาคอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด


อย่างไรก็ตาม จากความต้องการพืน้ ที่ในนิคมอุตสาหกรรมของนักลงทุนภาคการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้จำ� นวน พืน้ ทีข่ ายหรือให้เช่าของนิคมอุตสาหกรรมในกรุงฮานอยและนครโฮจิมนิ ห์ปจั จุบนั เริม่ ไม่เพียงพอทีจ่ ะรองรับความต้องการ ที่คาดการณ์ ในอนาคต และท�ำให้ราคาขายที่ดินและค่าเช่าที่ดินระยะยาวภายในนิคมอุตสาหกรรมในกรุงฮานอยและ นครโฮจิมนิ ห์มจี ำ� นวนสูงขึน้ นอกจากนี้ การก่อตัง้ นิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่หรือการขยายพืน้ ที่ในนิคมอุตสาหกรรมแห่งเดิม สามารถกระท�ำได้อย่างจ�ำกัด เนือ่ งจากพืน้ ทีห่ ลายแห่งถูกน�ำไปพัฒนาเป็นเขตทีอ่ ยูอ่ าศัยหรือ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงเรียน โรงพยาบาล และศูนย์ราชการ เป็นต้น เพื่อพัฒนาสู่สังคมเมืองเต็มรูปแบบ จากความไม่ สมดุลของอุปสงค์และอุปทานดังกล่าว รัฐบาลและผูป้ ระกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมภาคเอกชนจึงได้ขยายการลงทุน เพิ่มเติมในพื้นที่ใกล้เคียงกรุงฮานอยและนครโฮจิมินห์ อีกทั้งยังขยายการลงทุนในภาคอื่นๆ ที่มีศักยภาพของประเทศ ทั้ง การก่อตั้งนิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่และการขยายพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรมแห่งเดิม

เมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ ในภาคใต้นั้น จังหวัดดองไนถือเป็นจังหวัดหนึ่งที่โดดเด่นและเป็นเป้าหมายของนักลงทุน ภาคการผลิต จากท�ำเลที่ตั้งที่ติดกับนครโฮจิมินห์ ความพร้อมด้านแรงงาน และระบบคมนาคมที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยัง มีคา่ เช่าทีด่ นิ ระยะยาวทีถ่ กู กว่าทีด่ นิ ในเมืองเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญ เช่น นครโฮจิมนิ ห์ และกรุงฮานอย ท�ำให้จงั หวัดดองไนเป็น จังหวัดที่มีศักยภาพสูงในการลงทุนพัฒนานิคมอุตสาหกรรมของรัฐบาลและผู้ประกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ภาคเอกชน โดยในปี 2557 ดัชนีความสามารถในการแข่งขัน (Provincial Competitiveness Index) ของจังหวัดดองไน เท่ากับ 57.3 อยู่ในอันดับที่ 7 ของจังหวัดในภาคใต้ของประเทศเวียดนาม ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของจังหวัด ดองไนอยู่อันดับ 42 ของประเทศทั้งในปี 2557

ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จังหวัดดองไนมีนิคมอุตสาหกรรมรวมทั้งสิ้น 32 แห่ง โดยมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นประมาณ 9,970 เฮกตาร์ ปัจจุบัน มีพื้นที่สำ� หรับเช่าประมาณ 6,330 เฮกตาร์และมีการเช่าพื้นที่แล้วประมาณ 4,520 เฮกตาร์ คิด เป็นอัตราการเช่าร้อยละ 72.71 ของพื้นที่สำ� หรับเช่าทั้งหมด ทั้งนี้ หากพิจารณาอัตราการเช่าของนิคมอุตสาหกรรมใน แต่ละเมือง พบว่านิคมอุตสาหกรรมในเมือง Dinh Quan ซึ่งมีผู้ประกอบการเพียงรายเดียวมีอัตราการเช่าเท่ากับร้อยละ 100 สูงที่สุดในจังหวัดดองไน ในขณะที่อันดับที่ 2 ของจังหวัด ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมในเมือง Bien Hoa ซึ่งมีผู้ประกอบ การทั้งสิ้น 4 รายมีอัตราการเช่าเท่ากับร้อยละ 97

นิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดดองไนส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ที่ติดต่อกับนครโฮจิมินห์และจังหวัด Binh Duong อาทิ เมือง Bien Hoa Nhon Trach, Long Thanh และ Bien Hoa โดยในเมือง Nhon Trach มีจำ� นวนนิคมอุตสาหกรรมสูงที่สุด ด้วยจ�ำนวน 10 แห่ง มีพื้นที่ที่สามารถปล่อยเช่าระยะยาวได้รวมทั้งสิ้นประมาณ 2,258 เฮกตาร์ คิดเป็นร้อยละ 35.3 ของ พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมทั้งหมดของจังหวัดดองไน ในขณะที่เมือง Long Thanh มีจ�ำนวนนิคมอุตสาหกรรม 6 แห่ง มีพื้นที่ ทีส่ ามารถปล่อยเช่าระยะยาวได้รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 1,311 เฮกตาร์คดิ เป็นร้อยละ 20.5 ของพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมทัง้ หมด ของจังหวัดดองไน และเมือง Bien Hoa มีจำ� นวนนิคมอุตสาหกรรม 4 แห่ง มีพื้นที่ที่สามารถปล่อยเช่าระยะยาวได้รวม ทั้งสิ้นประมาณ 1,022 เฮกตาร์คิดเป็นร้อยละ 16.1 ของพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมทั้งหมดของจังหวัดดองไน 39 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


อัตราค่าเช่าระยะยาวเฉลี่ยของนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดดองไน ณ ไตรมาส 2 ปี 2558

หน่วย: เหรียญสหรัฐ / ตรม.

อายุที่ดินที่เหลือเฉลี่ย (ปี)

120 100

90

88 78

80 60 40

40

75 42

44

55

38

46

45

33

30

37

42 38

37

25

25

25

Dinh Quan

Xuan Loc

Tan Phu

20 0

Bien Hoa

Long Thanh

Nhon Trach

Vinh Cuu

Trang Bom

Thong Nhat

อัตราค่าเช่าเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ / ตรม.)

Long Khanh

70 65 60 55 50 45 40 35 30 25 20

อายุที่ดินที่เหลือเฉลี่ย (ปี)

ที่มา: Savills Reseach & Consultancy

ทั้งนี้นิคมอุตสาหกรรมใน Bien Hoa มีอายุที่ดินที่เหลือเฉลี่ยเท่ากับประมาณ 33 ปี ซึ่งน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับเมืองอื่นๆ ภายในจังหวัด โดยนอกจากนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม แล้ว นิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ อีก 3 แห่งมีระยะเวลา ให้เช่าที่เหลือน้อยกว่า 40 ปี โดยมีเพียงนิคม Agtex Long Binh เพียงแห่งเดียวเท่านั้นที่มีระยะเวลาให้เช่าที่เหลือมากกว่า 40 ปี สัดส่วนของนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดดองไนอายุที่ดินคงเหลือ ณ ไตรมาส 2 ปี 2558 10%

26%

28-34 ปี 35-39 ปี 40-44 ปี

40 Vietnam-The New Phase of Success

42%

23%

45-47 ปี

ที่มา: Savills Reseach & Consultancy

จากข้อมูลของ Savills Research & Consultancy พบว่าสามเมืองนิคมอุตสาหกรรมหลักของจังหวัดดองไน วัดจากพื้นที่ ให้เช่าระยะยาวได้แก่เมือง Nhon Trach, Bien Hoa และ Long Thanh ซึง่ คิดเป็นพืน้ ทีร่ อ้ ยละ 72 ของพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรม ทัง้ หมดในจังหวัดดองไน และเป็นเมืองทีม่ รี าคาเช่าระยะยาวเฉลีย่ สูงทีส่ ดุ ในจังหวัดดองไน โดยเมือง Long Thanh เป็นเมือง ทีม่ อี ตั ราการเติบโตเฉลีย่ สูงสุดในช่วง 2554 ถึง ไตรมาส 2 ปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 14 ตามมาด้วยเมือง Bien Hoa คิดเป็น ร้อยละ 13 และ Nhon Trach คิดเป็นร้อยละ 3


ราคาเช่าที่ดินระยะยาวในเมืองอุตสาหกรรมหลักในดองไน

หน่วย: เหรียญสหรัฐ / ตรม.

110 100 90 80 70 60 50 40

2554

2556 Long Thanh

Bien Hoa

Nhon Trach

สภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมภายในจังหวัดดังกล่าวถือว่าไม่สูงมากนัก เนื่องจากการประกอบ กิจการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมให้ประสบความส�ำเร็จนัน้ นอกจากจะต้องอาศัยความเชีย่ วชาญในการบริหารโครงการจาก ประสบการณ์อนั ยาวนานและเงินลงทุนจ�ำนวนมากแล้ว ยังต้องอาศัยความสัมพันธ์ทดี่ กี บั รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐอืน่ ๆ อีกด้วย ปัจจัยดังกล่าวถือเป็นอุปสรรคส�ำคัญของผู้ประกอบการรายใหม่ที่จะเข้ามาแข่งขันในธุรกิจการพัฒนานิคม อุตสาหกรรม (barrier of entry) ด้วยเหตุดังกล่าว ท�ำให้ในจังหวัดดองไน มีจ�ำนวนนิคมอุตสาหกรรมรวมทั้งสิ้นเพียง 32 โครงการ โดยปัจจุบันโครงการของอมตะ เวียดนาม ถือเป็นนิคมอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของจังหวัด และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของนิคมอุตสาหกรรมภายในจังหวัดซึ่งเท่ากับ 300 เฮกตาร์ นอกจากนี้ โครงการดังกล่าวยังมีมูลค่า การลงทุนอยู่ในอันดับที่ 1 ของจังหวัด ทั้งนี้ การแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการแต่ละรายเป็นไปอย่างจ�ำกัด เนื่องจากนิคม อุตสาหกรรมทีบ่ ริหารโดยผูป้ ระกอบการหลายรายบางโครงการไม่มพี นื้ ทีว่ า่ งเหลืออยูห่ รือมีพนื้ ที่ให้เช่าเหลืออยูไ่ ม่มากนัก 10 อันดับนิคมอุตสาหกรรมที่มีโครงการใหญ่ที่สุดในจังหวัดดองไน

หน่วย: เฮกตาร์ 900 800 700 600 500 400 300 200 100 0

823

529

Ong Keo

Giang Dien

ที่มา: : Savills Research & Consultancy

513

Amata

500

Bau Xeo

498

Loc An Binh Son

488

Long Thanh

447

Nhon Trach I

365

351

347

Bien Hoa II

Nhon Trach III - Phase2

Nhon Trach II

41 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2Q2558


10 อันดับนิคมอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าโครงการปัจจุบันสูงที่สุดในจังหวัดดองไน

หน่วย: เหรียญสหรัฐ / ตรม. 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

40.4

40.3 32.6 22.8

Amata

Nhon Trach III - Phase1

Giang Dien

Long Thanh

22.0

Nhon Trach VI

20.9

Loteco

17.1

Bau Xeo

17.0

Nhon Trach III - Phase2

16.6

Nhon Trach I

13.8

Bien Hoa II

ที่มา: : Savills Research & Consultancy

42 Vietnam-The New Phase of Success

ผู้ประกอบการที่บริหารพื้นที่ให้เช่าขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดดองไนคือ Sonadezi ซึ่งเป็นผู้บริหารพื้นที่ให้เช่าในโครงการ นิคมอุตสาหกรรมทั้งสิ้นร้อยละ 30 ของขนาดพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด โดยมีบริษัท Tin Nghia และบริษัท VRG ตามมาเป็น อันดับที่ 2 และ 3 ด้วยสัดส่วนร้อยละ 25 และร้อยละ 14 ของขนาดพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด ตามล�ำดับ ส�ำหรับอมตะ เวียดนาม นั้น อยู่ในอันดับที่ 5 ด้วยสัดส่วนร้อยละ 6 ของขนาดพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด แม้ว่าในจังหวัดดองไนมีผู้ประกอบการนิคม อุตสาหกรรมจ�ำนวนหลายราย แต่มีนิคมอุตสาหกรรมที่มีผู้ประกอบการภาคเอกชนต่างประเทศร่วมลงทุนเพียง 3 แห่ง ได้แก่ (1) นิคม Amata City (Bien Hoa) ซึ่งเป็นนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม (2) นิคม Loteco ซึ่งด�ำเนินการ โดย Sojitz Corporation บริษทั ชัน้ น�ำด้านการค้าและการลงทุนจากประเทศญีป่ นุ่ ร่วมกับ Thai Son Corporation (Thasimex) รัฐวิสาหกิจภายใต้ Ministry of Defense ในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 60 และ 40 ตามล�ำดับ และ (3) นิคม Long Duc ซึ่ง ด�ำเนินการโดย Sojitz Corporation ร่วมกับ Daiwa House Industry Company Limited (Daiwa) บริษัทก่อสร้างและ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชนั้ น�ำจากประเทศญีป่ นุ่ Kobelco Eco-Solutions Company Limited (Kobelco Eco) บริษทั พัฒนา ระบบการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมชั้นน�ำจากประเทศญี่ปุ่น และDong Nai Import Export Processing Agricultural Products and Foods Company (DONAFOODS) รัฐวิสาหกิจซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นโดยมติของ People’s Committee of Dong Nai Province เพื่อผลิตและส่งออกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ นิคม Loteco ดังกล่าวมีสัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นทั้งสี่ราย ในสัดส่วนร้อยละ 57.3 22.0 8.7 และ 12 ตามล�ำดับ


สัดส่วนการบริหารพื้นที่ให้เช่าของผู้ประกอบการในจังหวัดดองไน ณ ไตรมาส 2 ปี 2558 Sonadezi Tin Nghia

25% 30%

VRG Idico 14%

Amata Thong Nhat JSC

12% 5%

6%

8%

Others

ที่มา: Savills Reseach & Consultancy

ภาวะการแข่งขันของนิคมอุตสาหกรรมในเมือง Bien Hoa และเมือง Long Thanh

เนื่องจากประมาณการรายได้หลักของอมตะ เวียดนาม และ อมตะ ซิตี้ ลองถั่น ในอนาคตจะมาจากการให้เช่าที่ดินระยะ ยาวในโครงการนิคมอุตสาหกรรมในเมือง Bien Hoa และเมือง Long Thanh นั้น การศึกษาตลาดและผู้แข่งขันจึงเป็น สิ่งส�ำคัญในการวางแผนกลยุทธ์การตลาด นิคมอุตสาหกรรมในเมือง Bien Hoa ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ชื่อนิคม

Amata City (Bien Hoa) Bien Hoa 2 Bien Hoa 1 Loteco

พื้นที่ทั้งหมด (เฮกตาร์)

พื้นที่เพื่อการให้เช่า ระยะยาว (เฮกตาร์)

อัตราค่าเช่า ระยะยาวเฉลี่ย (เหรียญ / ตรม.)

อัตราเช่าเฉลี่ย (ร้อยละ)

อายุคงที่ดิน คงเหลือ (ปี)

อมตะ เวียดนาม Sonadezi Sonadezi Sojitz

308 261 248 205

90 100 100 100

92.4% 100.0% 100.0% 100.0%

29 30 35 31

Source: Savills Research & Consultancy

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เมือง Bien Hoa มีพื้นที่สำ� หรับการเช่าระยะยาวประมาณ 1022 เฮกตาร์ ใน 4 นิคมคิดเป็น พื้นที่ที่ถูกเช่าระยะยาวแล้วประมาณ 979 เฮกตาร์ คิดเป็นอัตราเช่าถัวเฉลี่ยร้อยละ 97 (ปรับขึ้นจากอัตราเช่าเฉลี่ยในปี 2556 ที่ร้อยละ 90) นิคมอุตสาหกรรมในเมือง Bien Hoa มีอยู่ 4 แห่งรวมนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม ซึ่ง เป็นนิคมอุตสาหกรรมเดียวที่ยังมีพื้นที่ขายหลงเหลืออยู่

43 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


นิคมอุตสาหกรรมในเมือง Long Thanh ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ชื่อนิคม

พื้นที่ทั้งหมด (เฮกตาร์)

พื้นที่ที่หมด (เฮกตาร์)

อัตราค่าเช่า ระยะยาวเฉลี่ย (เหรียญ / ตรม.)

อัตราเช่าเฉลี่ย (ร้อยละ)

อายุคงที่ดินคง เหลือ (ปี)

Long Thanh Long Duc Tam Phouc An Phouc Loc An - Binh Son Go Dau

Sonadezi Sojitz Tin Nghia Tin Nghia VRG Sonadezi

283 200 215 140 336 137

95 90 120 63 68 100

96.0% 27.0% 100.0% 29.0% 11.0% 100.0%

38 42 38 37 45 30

44 Vietnam-The New Phase of Success

Source: Savills Research & Consultancy

ณ ไตรมาส 2 ปี 2558 เมือง Long Thanh มีพื้นที่สำ� หรับการเช่าระยะยาวประมาณ 1,311 เฮกตาร์ ใน 6 นิคมคิดเป็น พื้นที่ที่ถูกเช่าระยะยาวแล้วประมาณ 760 เฮกตาร์ คิดเป็นอัตราการเช่าถัวเฉลี่ยร้อยละ 58 (ปรับขึ้นจากอัตราเช่าเฉลี่ยใน ปี 2556 ที่ร้อยละ 52) ยังไม่รวมโครงการ Amata City Long Thanh ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้างและคาดว่าจะแล้วเสร็จใน ปี 2560 ซึ่งจะเห็นได้ว่านิคมอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาสาธารณูปโภคในคุณภาพสูง (อัตราค่าเช่าระยะยาวเฉลี่ยสูงกว่า 90 เหรียญต่อตารางเมตร) มีเพียง 3 แห่งได้แก่นิคม Long Thanh ของ Sonadezi, นิคม Long Duc ของ Sojitz และ Go Dau ของ Sonadezi ซึ่งมีเพียงนิคม Long Duc เท่านั้นที่ยังมีพื้นที่เหลือและมีอัตราเช่าเฉลี่ยเพียงร้อยละ 27

ทัง้ นี้ อมตะ เวียดนาม มีจดุ แข็งเหนือผูแ้ ข่งขันรายอืน่ ๆ ในด้านการมีฐานเงินทุนขนาดใหญ่ในปัจจุบนั จากการสนับสนุนของ อมตะ คอร์ป ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ของอมตะ เวียดนาม ในช่วงที่ผ่านมา นอกจากนี้ อมตะ เวียดนามจะได้รับการสนับสนุน ด้านเงินทุนอย่างต่อเนื่องจากบริษัทฯ ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของอมตะ เวียดนาม ในปัจจุบัน เนื่องจากบริษัทฯ สามารถระดม ทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้อย่างต่อเนื่องภายหลังการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ฐานเงินทุนขนาดใหญ่ดังกล่าว ท�ำให้อมตะ เวียดนาม มีสถานะทางการเงินทีแ่ ข็งแกร่ง พร้อมส�ำหรับการลงทุนขยายพืน้ ที่ในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ในโครงการที่บริหารอยู่ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่องและการลงทุนจัดสร้างนิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่ในอนาคต เพื่อรองรับ โอกาสทางธุรกิจและการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากอมตะ เวียดนาม จะมีสถานะ ทางการเงินทีแ่ ข็งแกร่งแล้ว อมตะ เวียดนาม ในฐานะผูป้ ระกอบการทีม่ ปี ระสบการณ์มาอย่างยาวนานในการประกอบธุรกิจ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนามยังประกอบด้วยบุคลากรมืออาชีพจ�ำนวนมากที่มีความเชี่ยวชาญด้านการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมและการบริหารโครงการเป็นอย่างดี โดยมีผู้บริหารและพนักงานบางส่วนเคยร่วมงานกับอมตะ คอร์ป ซึง่ เป็นบริษทั แม่ของบริษทั ฯ และเป็นผูป้ ระกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมชัน้ น�ำของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน ท�ำให้อมตะ เวียดนาม สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดีด้วยคุณภาพการให้บริการชั้นเลิศ นอกจากนี้ ยังท�ำให้อมตะ เวียดนาม มีความสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องอีกด้วย


นอกจากจุดแข็งของอมตะ เวียดนาม มีที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว อมตะ เวียดนาม ยังได้เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้วยการวางกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจหลายประการ ดังนี้ 1. อมตะ เวียดนาม มีนโยบายในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่แตกต่างจากผู้ประกอบการรายอื่นๆ โดยมีการพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปโภคทีม่ คี ณ ุ ภาพชัน้ เลิศในโครงการควบคูไ่ ปกับการพัฒนาทีด่ นิ เพือ่ ให้เช่า ระยะ ยาว ท�ำให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่าจะสามารถด�ำเนินการทางธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องหากโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคที่ให้บริการโดยภาครัฐเกิดเหตุขดั ข้อง ตัวอย่างของโครงสร้างพืน้ ฐานที่ อมตะ เวียดนาม ให้บริการแก่ ลูกค้าภายในนิคมอุตสาหกรรม ได้แก่ น�ำ้ ประปา ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และไฟฟ้า เป็นต้น นโยบายของอมตะ เวียดนาม ดังกล่าวแตกต่างจากนโยบายของผูป้ ระกอบการรายอืน่ ๆ ที่ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทีด่ นิ เพือ่ ให้เช่าระยะยาวหรือ ขายเป็นหลัก ถึงแม้บางโครงการจะมีการจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค แต่คุณภาพของระบบ ดังกล่าวก็ไม่ได้มาตรฐานระดับสากล นอกจากนี้ ผู้ประกอบการบางรายก็มิได้จัดสร้างโครงสร้างพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคไว้ใช้ภายในโครงการ ท�ำให้การด�ำเนินการทางธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งของลูกค้ามีความเสีย่ งสูง โดยเฉพาะ ลูกค้าที่ใช้ระบบการผลิตสินค้าแบบต่อเนื่อง 2. อมตะ เวียดนาม ได้จัดสรรที่ดินบางส่วนที่ได้รับการพัฒนาแล้วให้แก่โครงการพาณิชยกรรมและโครงการที่อยู่อาศัย ในเขตบริเวณนิคมอุตสาหกรรม อาทิ ร้านค้า โชว์รูม ร้านอาหาร โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์กีฬาและนันทนาการ อพาร์ทเม้นท์ วิลล่าส�ำหรับผู้บริหาร โรงแรม และอาคารส�ำนักงาน เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับนิคม อุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนามให้เป็นเมืองที่สมบูรณ์แบบตามแนวคิด “Perfect Smart City” ที่มีสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกครบครันส�ำหรับผู้บริหารและพนักงานของผู้ประกอบการภายในนิคมอุตสาหกรรม นโยบายดังกล่าวได้สร้าง ความแตกต่างระหว่างนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม กับนิคมอุตสาหกรรมของผูป้ ระกอบการรายอืน่ ๆ อย่าง ชัดเจน ท�ำให้โครงการของอมตะ เวียดนาม สามารถดึงดูดลูกค้าเป้าหมายระดับบนได้ ดังนัน้ โครงการดังกล่าวจึงถือ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยเกื้อหนุนธุรกิจหลักของอมตะ เวียดนาม อย่างแท้จริง 3. อมตะ เวียดนาม ได้จดั สรรทีด่ นิ บางส่วนส�ำหรับการก่อสร้างโรงงานส�ำเร็จรูปในนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ เวียดนาม เพื่อให้เช่าแก่ผู้ประกอบการที่ต้องการความรวดเร็วและความสะดวกสบายในการเริ่มประกอบธุรกิจผู้ประกอบการที่ ไม่ต้องการใช้เงินลงทุนจ�ำนวนมากเพื่อเช่าที่ดินระยะยาวและก่อสร้างโรงงานในระยะแรกเพื่อลดความเสี่ยงจากการ ประกอบธุรกิจ และผู้ประกอบการขนาดกลางหรือขนาดเล็กที่มีเงินลงทุนค่อนข้างจ�ำกัด นโยบายดังกล่าวนอกจาก จะช่วยให้อมตะ เวียดนาม มีกลุ่มลูกค้าและแหล่งที่มาของรายได้ที่หลากหลาย ซึ่งท�ำให้ผลประกอบการของอมตะ เวียดนาม มีความมัน่ คงแล้ว กลยุทธ์ดงั กล่าวแตกต่างกับกลยุทธ์ของผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ในจังหวัดดองไน โดยมี นิคมอุตสาหกรรมเพียง 12 แห่งทีม่ บี ริการให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูป ดังนัน้ อมตะ เวียดนาม จึงมีความได้เปรียบในการ ดึงดูดลูกค้าบางกลุ่มเหนือคู่แข่ง 4. อมตะ เวียดนาม มุ่งเน้นการให้บริการที่ดีที่สุดภายใต้มาตรฐานสากลแก่ลูกค้าทุกรายทั้งก่อนและหลังการท�ำสัญญา เช่าระยะยาว โดยมีการให้ค�ำปรึกษาด้านต่างๆ อาทิ การช่วยเหลือลูกค้าในการขอใบอนุญาตประกอบกิจการ (Investment Certificate) และการขอใบอนุญาตอื่นๆ ที่จำ� เป็นในการประกอบธุรกิจของลูกค้า เป็นต้น จากการให้ บริการดังกล่าวแบบครบวงจรซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ลูกค้าพึงพอใจกับ การให้บริการของอมตะ เวียดนาม มาโดยตลอดและท�ำให้อมตะ เวียดนาม รักษาความสัมพันธ์อันดีในระยะยาวกับ ลูกค้าได้ นโยบายดังกล่าวจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการประชาสัมพันธ์ข้อดีต่างๆ ของนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม ระหว่างลูกค้ารายเดิมและลูกค้าเป้าหมายรายใหม่ ซึ่งช่วยให้อมตะ เวียดนาม มีฐานลูกค้าที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

45 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


ด้วยจุดแข็งของอมตะ เวียดนาม และกลยุทธ์การแข่งขันที่โดดเด่นดังกล่าว ท�ำให้โครงการนิคมอุตสาหกรรมที่บริหารโดย อมตะ เวียดนาม ถือเป็นโครงการระดับพรีเมีย่ มเพียงไม่กรี่ ายในจังหวัดดองไน โดยอมตะ เวียดนาม มีคา่ เช่าทีด่ นิ ระยะยาว และค่าบริการสาธารณูปโภคต่างๆ ประมาณ 85-90 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตารางเมตร ซึ่งสูงกว่าผู้ประกอบการทุกรายใน จังหวัดดองไนและสูงกว่าค่าเช่าทีด่ นิ ระยะยาวเฉลีย่ ของนิคมอุตสาหกรรมในแต่ละเมืองภายในจังหวัด รวมถึงสูงกว่าค่าเช่า ที่ดินระยะยาวเฉลี่ยของจังหวัดดองไนซึ่งเท่ากับประมาณ 70-80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตารางเมตรอีกด้วย

ด้วยอัตราค่าเช่าที่ดินระยะยาวและค่าบริการสาธารณูปโภคต่างๆ ที่สูงกว่านิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ นิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม จึงเน้นเจาะกลุ่มลูกค้าระดับบนเป็นหลัก โดยเฉพาะบริษัทชั้นน�ำในอุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีการผลิต ค่อนข้างสูงจากประเทศญี่ปุ่นและไต้หวัน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่ Dong Nai Industrial Zone Authority (DIZA) ต้องการดึงดูดให้เข้ามาลงทุนในจังหวัดดองไนภายใต้แผนการปัจจุบัน นอกจากอมตะ เวียดนาม แล้ว ผู้ประกอบการ รายอืน่ ๆ ในจังหวัดดองไนจะบริหารโครงการระดับกลางและระดับล่าง ซึง่ มิได้ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพของโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปโภคมากนัก รวมถึงไม่มีการพัฒนาโครงการพาณิชยกรรมและโครงการที่อยู่อาศัยในเขตบริเวณ นิคมอุตสาหกรรม นอกจากนี้คุณภาพการบริการยังด้อยกว่าโครงการระดับพรีเมี่ยมเช่น อมตะ เวียดนาม ท�ำให้นิคม อุตสาหกรรมดังกล่าวมีกลยุทธ์การแข่งขันด้านราคาเป็นหลักและเน้นเจาะกลุม่ ลูกค้าระดับกลางหรือระดับล่างทีม่ เี ทคโนโลยี การผลิตไม่สูงมากนัก ซึ่งถือว่าเป็นคนละกลุ่มเป้าหมายกับอมตะ เวียดนาม

46 Vietnam-The New Phase of Success

การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ การจัดหาที่ดิน

ในการจัดหาทีด่ นิ ของผูป้ ระกอบการนิคมอุตสาหกรรมนัน้ เนือ่ งจากตามกฎหมายของประเทศเวียดนามนัน้ บุคคลต่างชาติ ไม่สามารถครอบครองที่ดินได้ ดังนั้นผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมส่วนมากจะได้รับการจัดสรรที่ดินให้เช่าจากหน่วย งานรัฐ โดยมีระยะเวลาการเช่า 50 ปี และมีการจ่ายค่าเช่าที่ดินให้แก่หน่วยงานรัฐเป็นรายปีหรือครั้งเดียวเมื่อเซ็นสัญญา โดย อมตะ เวียดนาม จะท�ำการผลักภาระค่าเช่านี้ให้แก่ผู้ประกอบกิจการโรงงานที่มาเช่าที่ดินระยะยาวในเขตนิคม อุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม (Pass through)

ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม ได้รับการจัดสรรพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 700 เฮกตาร์ หรือ 4,375 ไร่ ส�ำหรับพัฒนาโครงการของ อมตะ เวียดนาม อย่างไรก็ดี เมื่อ อมตะ เวียดนาม ต้องการจะขยายพื้นที่โครงการ อมตะ เวียดนาม จะต้องท�ำการขอ อนุมัติการประกอบธุรกิจของแต่ละระยะโครงการจาก Dong Nai Industrial Zone Authority (DIZA) ตามใบรับรองการ ลงทุน (Investment Certificate) โดยปัจจุบัน อมตะ เวียดนาม ได้รับอนุมัติพื้นที่ตามใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) แล้วส�ำหรับโครงการระยะที่ 1 2A 2B 2D 2E 3A และ โครงการ Amata Commercial Complex รวมพื้นที่ จ�ำนวน 532.1 เฮกตาร์ หรือ 3,326 ไร่ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้


พื้นที่ที่ได้รับอนุมัติตาม Investment Certificate (เฮกตาร์)

โครงการระยะที่ 1 โครงการระยะที่ 2A โครงการระยะที่ 2B โครงการระยะที่ 2D โครงการระยะที่ 2E โครงการระยะที่ 3A รวมพื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรม โครงการ Amata Commercial Complex รวมพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ที่อยู่ระหว่างการขอใบอนุญาต

347.0 46.1 55.4 64.5 513.0 19.1 532.1 30.0

วันที่สิ้นสุดโครงการ

31 ธันวาคม 2587 5 กุมภาพันธ์ 2601 9 กันยายน 2604 21 สิงหาคม 2600

ทั้งนี้ พื้นที่อีกประมาณ 137 เฮกตาร์ หรือ 856 ไร่ นั้น อมตะ เวียดนาม ยังมิได้พิจารณาที่จะขออนุมัติการประกอบธุรกิจ ตามใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) ในโครงการเพิ่มเติมดังกล่าว โดย อมตะ เวียดนาม จะพิจารณาการ ด�ำเนินการขออนุมัติเมื่ออมตะ เวียดนาม ต้องการและตามความเหมาะสม

นิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม นั้นสร้างขึ้นโดยตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก โดยเทคโนโลยีที่ อมตะ เวียดนาม เลือกใช้การพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานนั้นล้วนแล้วแต่เป็นเทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานระดับสากล จึงสามารถลดผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อมได้อยู่ในระดับทีต่ ำ�่ อมตะ เวียดนาม มีระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียระบบ Activated Sludge System และ Sequential Batch Reactor System ซึ่งมีคุณภาพสูงและได้มาตรฐานตามที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก�ำหนด นอกจากนี้ อมตะ เวียดนาม ยัง มีการก�ำหนดคุณภาพของน�้ำเสียที่ปล่อยออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม ให้ อยู่ในระดับที่ อมตะ เวียดนาม ก�ำหนดไว้ ก่อนที่ อมตะ เวียดนาม จะน�ำมาผ่านกระบวนการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เพื่อให้มั่นใจได้ว่า คุณภาพน�้ำเสียของ อมตะ เวียดนาม จะอยู่ในระดับที่ได้มาตรฐาน ทั้งนี้ อมตะ เวียดนาม ยังมีการติดตั้งระบบตรวจสอบและ ติดตามผลคุณภาพน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของ อมตะ เวียดนาม แบบอัตโนมัติโดยจะรายงานผลมาที่ อมตะ เวียดนาม และส่งผ่านต่อไปที่ Dong Nai Department of Natural Resources and Environment ทุกๆ 5 นาที นอกจากนี้ Dong Nai Department of Natural Resources and Environment ยังมีการสุ่มตรวจคุณภาพน�ำ้ ที่ผ่านการบ�ำบัดจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของ อมตะ เวียดนาม ทุกๆ เดือน ทัง้ นี้ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา อมตะ เวียดนามเคยละเมิดระเบียบและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับสิง่ แวดล้อมแต่ประการใด นอกจากนี้ อมตะ เวียดนาม ยังมีการจัดให้มพี นื้ ทีส่ เี ขียวในนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม เพื่อเป็นการลดมลภาวะทางอากาศและสร้างทัศนียภาพที่สวยงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมของ อมตะ เวียดนาม อีกทางหนึ่ง

47 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


ปัจจัย

ความเสี่ยง บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษัทอื่น โดยลงทุนในธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่องในประเทศเวียดนาม บริษัทฯ ได้พิจารณาปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการ ฐานะการเงิน หรือ ผลการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในอนาคต อย่างไรก็ตามอาจมีปจั จัยเสีย่ งอืน่ ๆซึง่ บริษทั ฯ ไม่อาจทราบได้ในขณะนีห้ รือเป็นปัจจัยเสีย่ ง ที่บริษัทฯ พิจารณาในขณะนี้ว่ายังไม่เป็นสาระส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risks)

ลักษณะธุรกิจที่มีความสัมพันธ์กับการผันผวนของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจประเทศเวียดนาม

การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกมักส่งผลต่อการตัดสินใจลงทุน ซึ่งอาจท�ำให้ความต้องการในพื้นที่อุตสาหกรรมลดลงหรืออาจ กดดันด้านราคาเพื่อกระตุ้นอุปสงค์ที่ซบเซา ทั้งนี้อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อผลประกอบการของอมตะ เวียดนาม ที่ขึ้นอยู่กับ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัทข้ามชาติ

อย่างไรก็ตาม จากตัวเลขทางเศรษฐกิจ แม้ว่าทิศทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคชะลอตัว ประเทศเวียดนามยังคงมีการส่งออกที่ แข็งแกร่งและมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอัตราสูง ซึ่งส่งผลให้ยอดขายของอมตะเวียดนามในแง่การจองที่ดินในปีที่ ผ่านมาดีขึ้น

นอกจากปัจจัยด้านการเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวมแล้ว อัตราเงินเฟ้อของประเทศเวียดนามอยู่ในระดับสูง โดยในช่วงปี 2551 ถึง 2556 ซึ่งอยู่ในอัตราเฉลี่ยที่ร้อยละ 11 ต่อปีนั้น สะท้อนความผันผวนของค่าเงินสกุลด่งที่อมตะ เวียดนามอาจได้รับผลกระ ทบในอนาคต ทั้งนี้ รัฐบาลเวียดนามได้ตระหนักถึงปัญหาและมีการก�ำหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหาอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นหลาย มาตรการเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุน ซึ่งรัฐบาลก็ประสบความส�ำเร็จในการลดอัตราเงินเฟ้อเป็นร้อยละ 4.1 ในปี 2557 จากร้อยละ 18.7 ในปี 2554 ซึ่งท�ำให้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) คาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อของประเทศเวียดนามจะ มีแนวโน้มคงที่อยู่ที่ร้อยละ 4-5 ในอนาคต 25% 23.1% 20%

18.7%

15%

48 Vietnam-The New Phase of Success

10%

9.1% 9.2%

5%

6.6%

6.7%

5.2%

4.9%

4.7%

E2558

E2559

E2560

4.1%

0%

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

ที่มา: IMF (World Economic Outlook Database) และ The World Bank

อัตราเงินเฟ้อของเวียดนามในปี 2551-2557 และคาดการณ์ปี 2558-2560


แม้ว่าบริษัทฯ ไม่สามารถควบคุมความเสี่ยงดังกล่าวได้ แต่ได้มีการติดตามดัชนีเศรษฐกิจและเล็งเห็นศักยภาพการลงทุนใน ประเทศเวียดนามมากขึน้ โดยประเทศเวียดนามมีความน่าสนใจในการเป็นจุดหมายการลงทุนของต่างชาติเนือ่ งจากข้อได้เปรียบ ทางภูมศิ าสตร์ และประชากรวัยแรงงานจ�ำนวนมาก ซึง่ มีคา่ แรงในระดับต�ำ่ รวมถึงการทีป่ ระเทศเวียดนามมีการเข้าร่วมข้อตกลง ทางเศรษฐกิจระหว่างภูมิภาค ลักษณะประชากรและวัฏจักรการพัฒนาประเทศ อีกทั้งความหลากหลายในรายการสินค้าและ ตลาดส่งออก ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศเวียดนามขยายตัวสูงขึน้ ในขณะเดียวกันยังช่วยเพิม่ ความต้องการพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม เพื่อรองรับการขยายตัว ซึ่งส่งผลดีต่อผลประกอบการของอมตะ เวียดนาม

ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายภาครัฐ

การที่ประเทศเวียดนามถูกปกครองภายใต้ระบบสังคมนิยม โดยมีพรรคการเมืองเดียวเป็นองค์กรที่มีอ�ำนาจสูงสุดในการบริหาร ประเทศตามรัฐธรรมนูญมาอย่างยาวนาน ท�ำให้การก�ำหนดนโยบายและการก�ำกับดูแลในภาพรวมเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่าง ต่อเนื่อง โดยไม่เคยมีปัญหาการประท้วงหรือการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่รุนแรงเพื่อล้มล้างระบบการปกครองดังกล่าว ดังนั้น ความเป็นไปได้ที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหรือการเปลี่ยนแปลงทิศทางนโยบายที่ส�ำคัญ จนส่งผลกระทบต่อภาวะ เศรษฐกิจและการลงทุนโดยรวมของประเทศเวียดนามอย่างรุนแรงนั้นมีไม่มากนัก

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลเวียดนามได้กระจายอ�ำนาจสูอ่ งค์การปกครองของจังหวัดต่างๆ ในการก�ำหนดกฎระเบียบการบริหารจัดการ ด้านการค้าและการลงทุน โดยแต่ละจังหวัดมีกฎระเบียบที่ต่างกันอีกด้วย ท�ำให้อมตะ เวียดนาม ต้องติดตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างใกล้ชิดเพื่อให้สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างทันท่วงที

อมตะ เวียดนาม ได้มีการตั้งคณะท�ำงาน ซึ่งประกอบด้วยบุคคลที่มีความรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมในประเทศและความเชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการตลาด ข้อก�ำหนดและกฎเกณฑ์ และการแข่งขันในอุตสาหกรรม เพื่อท�ำความเข้าใจและปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์หรือเมื่อบริษัทฯ มองหาโอกาส การลงทุนในจังหวัดอื่นๆ นอกจากนี้นโยบายของรัฐบาลเวียดนามมีการส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศจากข้อตกลงทาง การค้าและเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อเป็นฐานการผลิตที่ส�ำคัญส�ำหรับการส่งออก ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของประเทศเวียดนาม ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงทางกฎระเบียบส่วนใหญ่จะเป็นไปเพื่อส่งเสริม และดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศซึ่งส่งผลดีต่ออมตะ เวียดนาม

ความเสี่ยงเกี่ยวกับการจัดหาที่ดินเพื่อให้เช่าระยะยาว

อมตะ เวียดนามด�ำเนินธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมโดยการเช่าทีด่ นิ ระยะยาวจากหน่วยงานรัฐของเวียดนามเพือ่ น�ำมาพัฒนา เป็นนิคมอุตสาหกรรม พร้อมทั้งจัดหาระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ไว้บริการภายในนิคมอุตสาหกรรม ทั้งนี้ เนื่องจากเมืองเบียนหัวเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดดองไน ท�ำให้มีความเจริญอย่างมาก โดยมีการ พัฒนาเขตที่อยู่อาศัยและเขตการค้าอย่างต่อเนื่อง เช่น สถานศึกษา โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า และ ธนาคาร เป็นต้น

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา รัฐบาลสนับสนุนให้พัฒนาพื้นที่เป็นนิคมอุตสาหกรรมในเมืองเบียนหัวมากขึ้น ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ พื้นที่ว่างส�ำหรับการก่อตั้งนิคมอุตสาหกรรมมีจ�ำนวนลดลง หรือท�ำให้ขั้นตอนการขออนุมัติใบรับรองการลงทุนมีความล่าช้า เนื่องจากความยากล�ำบากในกระบวนการเวนคืนที่ดินจากประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งรัฐบาลต้องใช้ระยะเวลาใน การท�ำความเข้าใจและการด�ำเนินการรื้อถอน รวมถึงอาจมีประชาชนบางส่วนคัดค้านการด�ำเนินการดังกล่าว ดังนั้น อมตะ เวียดนามจึงมีความเสีย่ งในการขยายพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมเพือ่ ให้เช่าระยะยาว ซึง่ จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของอมตะ เวียดนาม

49 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risks)


50 Vietnam-The New Phase of Success

ในการรองรับความเสี่ยงจากข้อจ�ำกัดในการขยายการลงทุนโครงการในเมืองเบียนหัว อมตะ เวียดนามได้ดำ� เนินการขยายการ ลงทุนในโครงการที่เมืองลองถั่น จังหวัดดองไน โดยโครงการนี้ได้รับอนุมัติจัดสรรที่ดินแล้ว และบางส่วนของโครงการได้รับ อนุมตั กิ ารประกอบธุรกิจตามใบรับรองการลงทุน โดยพืน้ ทีข่ องโครงการใหม่จะเพิม่ เป็นสองเท่า ท�ำให้มโี อกาสทีผ่ ลประกอบการ ของบริษัทฯ จะเพิ่มขึ้น

ความเสี่ยงจากการที่ใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) หมดอายุ

อมตะ เวียดนามได้รับอนุมัติให้ประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมภายใต้ใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) ส�ำหรับแต่ละระยะโครงการโดยใบรับรองการลงทุนดังกล่าวมีกำ� หนดระยะเวลาการประกอบกิจการทั้งสิ้น 50 ปี ทั้งนี้ปัจจุบันยัง ไม่มีใบรับรองการลงทุนของผู้ประกอบการรายใดที่หมดอายุ จึงยังไม่มีกรณีตัวอย่างในการอ้างอิง

ทั้งนี้ รัฐบาลของประเทศเวียดนามยังมิได้ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินการอย่างชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการขออนุมัติและเงื่อนไขการต่อ อายุหลังจากที่ใบรับรองการลงทุนฉบับปัจจุบันของผู้ประกอบการหมดอายุ ดังนั้น อมตะ เวียดนาม จึงมีความเสี่ยงเรื่องการ ต่ออายุใบรับรองหรือการด�ำเนินธุรกิจภายหลังใบรับรองการลงทุนฉบับปัจจุบันหมดอายุ

อย่างไรก็ตาม อมตะ เวียดนาม คาดว่าภาครัฐยังมีระยะเวลาเพียงพอทีจ่ ะก�ำหนดวิธกี ารขออนุมตั แิ ละเงือ่ นไขการประกอบธุรกิจ ภายหลังจากที่ใบรับรองการลงทุนฉบับปัจจุบนั ของอมตะ เวียดนาม หมดอายุ นอกจากนี้ หากกฎเกณฑ์ดงั กล่าวยังคงไม่ชดั เจน อาจส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติในการลงทุนซึ่งจะส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศเวียดนามในภาพ รวมได้ ทั้งนี้ อมตะ เวียดนามคาดว่าจะได้รับอนุมัติให้ประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนามต่อไปภายใต้ เงือ่ นไขและวิธกี ารขออนุมตั ดิ งั กล่าว เนือ่ งจากอมตะ เวียดนามมีคณ ุ สมบัตทิ คี่ รบถ้วนสมบูรณ์ทกุ ประการและไม่เคยมีประวัตกิ าร กระท�ำผิดกฎเกณฑ์ของใบรับรองการลงทุนฉบับปัจจุบัน

ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของโครงการในอนาคต

บริษัทฯ มีโครงการใหม่ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาภายใต้ Amata City Long Thanh JSC ประกอบด้วยโครงการ Amata City Long Thanh ซึ่งมีพื้นที่ในการพัฒนาประมาณ 410 เฮกตาร์ หรือ 2,562.5 ไร่ และโครงการ Amata Service City Long Thanh ซึ่ง มีพื้นที่ในการพัฒนาประมาณ 122 เฮกตาร์ หรือ 762.5 ไร่ โดยโครงการ Amata City Long Thanh ได้รับการอนุมตั ิการประกอบ ธุรกิจตามใบรับรองการลงทุนและอยูร่ ะหว่างกระบวนการเวนคืนทีด่ นิ ในขณะที่โครงการ Amata Service City Long Thanh คาดว่า จะได้รับการอนุมัติใบรับรองการลงทุนในปี พ.ศ. 2559

โดยการลงทุนข้างต้นมีความเสี่ยงในการด�ำเนินงานหากการด�ำเนินโครงการไม่เป็นไปตามแผนและส่งผลให้เงินลงทุนในการ ด�ำเนินการสูงกว่าที่บริษัทฯ คาดการณ์ ไว้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบให้บริษัทฯ ไม่สามารถรับรู้รายได้ตามแผนการ และไม่ได้รับ ผลตอบแทนตามที่คาดการณ์ไว้

บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญในการจัดการโครงการและได้แต่งตัง้ คณะท�ำงาน ซึง่ ประกอบด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญและผูบ้ ริหารทีม่ ปี ระสบการณ์ ในการติดตามความคืบหน้าของโครงการและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงจากความล่าช้าหรือความเสี่ยงจาก ต้นทุนที่สูงกว่าที่คาดการณ์ โดยคณะท�ำงานได้มีการจัดประชุมทุกสัปดาห์เพื่อรายงานผลความคืบหน้าต่อผู้บริหาร

ความเสี่ยงจากกลุ่มผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่คือ กลุ่มบริษัทอมตะ ซึ่งถือหุ้นจ�ำนวน 683,264,780 หุ้น หรือคิดเป็น ร้อยละ 73 อมตะ คอร์ปอเรชัน และบริษัทย่อย ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ได้ส่งตัวแทนเข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหาร และกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามของบริษัทฯ


การทีอ่ มตะ คอร์ปอเรชัน มีอำ� นาจควบคุมอย่างมีนยั ส�ำคัญในบริษทั ฯ ท�ำให้อมตะ คอร์ปอเรชันมีอทิ ธิพลต่อการก�ำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการบริษัทฯ โดยสามารถควบคุมมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นในเรื่องต่างๆ อาทิ การเลือกตั้งกรรมการ การจ่ายและ ก�ำหนดเวลาการจ่ายเงินปันผล และการอนุมัติการท�ำรายการต่างๆ ให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของตนที่อาจขัดแย้งกับผล ประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ ของบริษทั ฯ โดยทีผ่ ถู้ อื หุน้ รายอืน่ ๆ อาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพือ่ ตรวจสอบและถ่วงดุล กับผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อี ำ� นาจควบคุมได้ ยกเว้นในเรือ่ งทีก่ ฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องหรือข้อบังคับของบริษทั ฯ ก�ำหนดให้ตอ้ งได้รบั คะแนนเสียง เกินกว่า 3 ใน 4 ของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือเรือ่ งทีก่ ลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่มสี ว่ นได้สว่ นเสีย ซึง่ ท�ำให้กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ไม่สามารถ ลงคะแนนเสียงในวาระดังกล่าวได้

อย่างไรก็ตาม เพือ่ ให้การบริหารงานของบริษทั ฯ มีความโปร่งใสและมีการถ่วงดุลอ�ำนาจในการบริหารงาน บริษทั ฯ จึงได้กำ� หนด โครงสร้างธรรมาภิบาลให้เหมาะสมและมีการก�ำหนดขอบเขตการด�ำเนินงานและการมอบอ�ำนาจแก่กรรมการและผูบ้ ริหารอย่าง ชัดเจน อีกทั้งยังมีการแต่งตั้งกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน จากกรรมการทั้งหมด 9 ท่านในคณะกรรมการบริษัท เพื่อถ่วงดุล การตัดสินใจในการพิจารณาอนุมัติรายการต่างๆของคณะกรรมการบริษัทก่อนน�ำเสนอต่อผู้ถือหุ้น

ความเสี่ยงจากการเป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น

เนื่องจากบริษัทฯ ประกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) กระแสเงินสดและรายได้เกือบทั้งหมดที่ ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการขึ้นอยู่กับการจ่ายเงินปันผลของอมตะ เวียดนาม ซึ่งเป็นบริษัทย่อย โดยที่บริษัทย่อยมีความ เสี่ยงทางธุรกิจที่อาจกระทบต่อผลประกอบการภายใต้กฎหมายว่าด้วยบริษัทของประเทศเวียดนาม และมาตรฐานการบัญชีของ เวียดนาม ซึ่งอาจท�ำให้การจ่ายเงินปันผลไม่เป็นไปตามที่คาด และส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ เนื่องจากความสามารถในการจ่าย เงินปันผลของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับก�ำไรสุทธิงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ มิได้ขึ้นอยู่กับก�ำไรในงบการเงินรวม

นอกจากนี้ ภายใต้พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 เกีย่ วกับการจ่ายเงินปันผล บริษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปันผล จากเงินประเภทอืน่ นอกจากเงินก�ำไรสุทธิและไม่สามารถจ่ายเงินปันผลได้หากบริษทั ฯ ยังมีผลขาดทุนสะสมในงบการเงินเฉพาะ กิจการ นอกจากนี้ การจ่ายเงินปันผลต้องค�ำนึงถึงข้อก�ำหนดและเงื่อนไขทางการเงินที่ระบุในตราสารหนี้และข้อตกลงสินเชื่อ ของแต่ละบริษัทด้วย

อมตะ เวียดนาม ได้มกี ารจัดท�ำประมาณการประจ�ำปี ซึง่ ต้องได้รบั การพิจารณาและอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริษทั โดยบริษทั ฯ มีอ�ำนาจควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญในบริษัทย่อย เนื่องจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทย่อยเป็นกลุ่มเดียวกับคณะกรรมการ บริษัทฯ นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการประชุมระดับผู้บริหารทุกสัปดาห์เพื่อติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน เพื่อช่วยในการ ระบุและจัดการความเสี่ยงได้อย่างทันท่วงที

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

รายได้และต้นทุนส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ มาจากการประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนามทัง้ ในส่วนของการ ให้เช่าที่ดิน การให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูป และการให้บริการสาธารณูปโภคหรือสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆเป็นสกุลเงินด่ง แม้ว่า จะมีการใช้ราคาอ้างอิงในขัน้ ต้นเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ การตกลงเจรจาและเสนอราคาอย่างเป็นทางการได้ทำ� ในสกุลเงินด่ง ดังนั้นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินด่งและสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯจึงอยู่ใน ระดับต�่ำ จากข้อมูลทางสถิติระหว่างปีพ.ศ. 2553 - 2555 ประเทศเวียดนามได้ลดค่าเงินด่งอย่างต่อเนื่องท�ำให้มีความผันผวน ในทางบวกกับรายได้ของบริษัทฯ

51 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ความเสี่ยงด้านการเงิน


52 Vietnam-The New Phase of Success

ส�ำหรับการจัดท�ำงบการเงินรวม บริษัทฯ รายงานโดยใช้สกุลเงินบาท แม้ว่าอมตะ เวียดนามซึ่งเป็นบริษัทย่อยในต่างประเทศ ได้จัดท�ำงบการเงินโดยใช้สกุลเงินด่งซึ่งเป็นสกุลเงินท้องถิ่น ดังนั้นบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการแปลงค่าของรายการทาง บัญชีในงบการเงิน ตามนโยบายบัญชีในการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่อยู่ในสกุลเงินต่างประเทศให้อยู่ในสกุลที่บริษัทฯ ใช้จัดท�ำงบการเงินรวม

แม้วา่ ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นต่อการด�ำเนินงานอยู่ในระดับต�ำ่ บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งดังกล่าวและเตรียมการ จัดการอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะการลดค่าเงินด่ง โดยการติดตามการเปลี่ยนแปลงค่าเงินอย่างต่อเนื่องและลดช่วงระยะเวลา ระหว่างการท�ำสัญญาและการโอนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ส�ำหรับการจ่ายเงินปันผล บริษทั ย่อยได้จา่ ยเงินปันผลเป็นสกุลเงินด่ง รายการ ดังกล่าวอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน อย่างไรก็ตาม รายการดังกล่าวจะท�ำการช�ำระภายในหนึ่งวันท�ำการ ท�ำให้ผล กระทบจากความเสี่ยงดังกล่าวอยู่ในระดับต�ำ่

ตามมาตรฐานรายงานทางการเงินไทย สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นผลกระทบจาก การแปลงค่าเงินระหว่างสกุลเงินด่งและสกุลเงินบาททีร่ ายงานในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็นจ�ำนวนเงิน 72.8 ล้านบาท ถือเป็น ร้อยละ 9 ของรายได้ทั้งหมด

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ท�ำการวิจัย และวางแผนเพิ่มผลตอบแทนในการลงทุนเพื่อลดผลกระทบจากการลดค่าเงิน รวมถึงการ ควบคุมความเสี่ยงดังกล่าวให้อยู่ในระดับที่จัดการได้

ความเสี่ยงจากมาตรฐานบัญชีที่แตกต่างกันต่อการจ่ายเงินปันผล

อมตะ เวียดนาม ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเวียดนาม ได้จัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีของเวียดนาม ในขณะทีบ่ ริษทั ฯ ซึง่ ถือหุน้ ร้อยละ 89.99 ของทุนช�ำระแล้วทัง้ หมดในอมตะ เวียดนาม ได้จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั ภายใต้กฎหมาย ไทย ท�ำให้ต้องจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย (TFRS) อย่างไรก็ดี ผลการด�ำเนินงานทางการเงิน ที่รายงานในงบการเงินเฉพาะของอมตะ เวียดนาม และที่รายงานในงบการเงินรวมของบริษัทฯ มีความแตกต่างกัน เนื่องจาก มาตรฐาน TFRS และ VAS นั้นแตกต่างกันในเรื่องของการรับรู้รายได้และต้นทุนจากการขายอสังหาริมทรัพย์ โดยงบการเงิน ตามมาตรฐาน VAS จะทยอยรับรูร้ ายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ตามระยะเวลาเช่าทีเ่ หลืออยู่ให้สอดคล้องกับตารางการเช่า ขณะที่งบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยตีความว่า กรรมสิทธิ์และความเสี่ยงถูกโอนไปยังลูกค้าแม้ว่าจะ เป็นการให้เช่าระยะยาว ดังนั้นจึงสามารถรับรู้รายได้เสมือนการขายในครั้งเดียวเต็มจ�ำนวน

ทั้งนี้ การรับรู้รายได้ที่แตกต่างกันดังกล่าวอาจส่งผลต่อการวิเคราะห์ข้อมูลของนักลงทุน โดยเฉพาะความสามารถในการจ่าย เงินปันผลของอมตะ เวียดนาม ซึ่งจะพิจารณาจากงบการเงินเฉพาะกิจการของอมตะ เวียดนาม ทั้งนี้ รายได้และก�ำไรตาม งบการเงินเฉพาะกิจการของอมตะ เวียดนาม ซึ่งจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐาน VAS นั้นจะน้อยกว่าตัวเลขตามงบการเงินรวมของ บริษัทฯ โดยในปี 2558 อมตะ เวียดนาม รายงานก�ำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการ 119,562 ล้านด่ง หรือคิดเป็น 185.8 ล้านบาท ในขณะที่งบการเงินรวมของบริษัทฯ รายงานก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 121.4 ล้านบาท ดังนั้น ใน การวิเคราะห์ข้อมูลของบริษัทฯ และความสามารถในการจ่ายเงินปันผล นักลงทุนควรตระหนักถึงความแตกต่างในมาตรฐาน บัญชีดังกล่าว


ความเสี่ยงจากการหาแหล่งเงินทุนได้อย่างเพียงพอ

การขยายแผนธุรกิจในการลงทุนในโครงการ อมตะ ซิตี้ ลองถัน่ ท�ำให้บริษทั ฯ จ�ำเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนทีเ่ พียงพอในต้นทุน ที่เหมาะสม เพื่อลงทุนขยายธุรกิจและเพิ่มความคล่องตัวในการด�ำเนินงาน

ความสามารถในการเพิ่มทุนหรือการเข้าถึงตลาดทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อโครงการที่ด�ำเนินงานในปัจจุบันและ โครงการในอนาคต หากมีการจัดหาเงินทุนไม่เพียงพออาจส่งผลต่อการขยายระยะเวลาโครงการที่ก�ำหนดหรือโอกาสที่ต้นทุน ทางการเงินของบริษัทฯ จะเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจท�ำให้เกิดปัญหาสภาพคล่องและกระทบผลตอบแทนและอัตราก�ำไรของโครงการได้

อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ทยอยพัฒนาโครงการโดยภาระค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ ในเบื้องต้นจะมีเพียงต้นทุนการพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานสาธารณูปโภคและค่าใช้จา่ ยในกระบวนการเวนคืนทีด่ นิ ซึง่ ส�ำหรับค่าใช้จา่ ยในกระบวนการเวนคืนทีด่ นิ นัน้ หน่วยงานรัฐ จะเป็นผู้รับผิดชอบ และในภายหลังบริษัทจะได้รับคืนโดยหักจากค่าเช่าที่ดินที่ต้องจ่ายให้รัฐบาล ทั้งนี้ภาระต้นทุนในการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภคจะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ ก็ต่อเมื่อบริษัทฯ ได้ทำ� การขายที่ดินและโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ผู้ประกอบ การ

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการลงทุนอย่างรอบคอบโดยค�ำนึงถึงแหล่งเงินทุนและโครงสร้างเงินทุนของบริษัทฯ ในปัจจุบัน เพื่อรักษาอัตราส่วนทางการเงิน เช่น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อทุน หรืออัตราส่วนความสามารถในการจ่าย ดอกเบี้ยในระดับที่เหมาะสม เพื่อช่วยรักษาความเพียงพอและความเหมาะสมของแหล่งเงินทุนเพื่อใช้ขยายธุรกิจในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินกู้ยืมระยะยาวมีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 6 ของมูลค่าสินทรัพย์ทั้งหมด อัตราส่วนหนี้สินที่ มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อทุน มีค่าเท่ากับ 0.31 เท่า และมีเงินสดจ�ำนวน 1,689 ล้านบาท บริษัทฯ ได้มีการติดตามฐานะทางการ เงิน ระดับหนีส้ นิ ในปัจจุบนั และจ�ำนวนเงินสดในมือ ว่าบริษทั ฯ มีเงินทุนเพียงพอส�ำหรับการลงทุนในโครงการต่างๆเพือ่ ลดความ เสี่ยงทางการเงิน

53 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


ข้อมูล

ทั่วไป บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ส�ำนักงานใหญ่

: : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ โฮมเพจ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : :

Holding Company 30 สิงหาคม 2555 0107555000325 หุ้นสามัญ 935,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม. 10310 02-792-0000 02-318-1096 www.amatavn.com somhatai@amata.com นางสมหะทัย พานิชชีวะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นอย่างน้อย 10%

54 Vietnam-The New Phase of Success

1. Amata (Vietnam) Joint Stock Company ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะ วีเอ็น ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : : : : : :

การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมศูนย์พาณิชยกรรมและที่พักอาศัย 31 ธันวาคม 2537 1100/ GP และ472033000132 365,996.40 ล้านด่ง 89.9997% Long Binh Ward, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam (84) 61-3991-007 (84) 61-3891-251 marketing@amata.com นางสมหะทัย พานิชชีวะ (กรรมการผู้จัดการ)


2. Amata City LongThanh JSC ประเภทของกิจการ

: พัฒนาโครงการเมืองอุตสาหกรรมและโครงการเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของ ผู้ประกอบการในสวนอุตสาหกรรม High Tech Industrial Park โดยการเช่า ที่ดิน 50 ปีจากจังหวัด ดองไน เพื่อพัฒนาสาธารณูปโภค และสิ่งอ�ำนวยความ สะดวก แล้วให้เช่าช่วงสิทธิการเช่าแก่ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ วันที่จดทะเบียนบริษัท : 25 มิถุนายน 2558 เลขที่จดทะเบียนบริษัท : 472033001249 ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว : 1,213,305.20 ล้านด่ง สัดส่วนการถือหุน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมโดย : 93.50% บมจ. อมตะวีเอ็น ส�ำนักงานใหญ่ : Long Binh Ward, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam โทรศัพท์ : (84) 61-3991-007 แฟกซ์ : (84) 61-3891-251 อีเมล์ : marketing@amata.com ผู้บริหาร : นายสุรกิจ เกียรติธนากร (กรรมการผู้จัดการ)

บุคคลอ้างอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหุ้นบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด :

โทรศัพท์ โทรสาร

: :

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 93 ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10400 (02) 02-009-9999 (02) 02-009-9991 55 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ที่อยู่


ผู้สอบบัญชี นางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ ชื่อบริษัท ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร

: 3844 : บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (เดิมชื่อ “บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด”) : บริษัท ส�ำนักงาน อีวายจ�ำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตยกรุงเทพฯ 10110 : (02) 264-0777, (02) 661-9190 : (02) 264-0789-90, (02) 661-9192

ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย ชื่อบริษัท ที่อยู่

56 Vietnam-The New Phase of Success

โทรศัพท์ โทรสาร

: บริษัท กุดั่น แอนด์ พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด : 973 อาคารเพรสิเด้นท์ ทาวเวอร์ ชั้นที่ 14 ยูนิต 14 ซี ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 : (02) 656 - 0818 : (02) 656 - 0819

ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่ แสดงไว้ในwww.sec.or.th หรือ www.amatavn.com


ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนที่ออกและช�ำระแล้วเพิ่มเป็น 467,500,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้น สามัญจ�ำนวนทั้งสิ้น 935,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อมตะ เวียดนาม มีทุนจดทะเบียน 365,996,400,000 ด่ง มีทุนที่ออกและช�ำระแล้ว จ�ำนวน 365,996,400,000 ด่ง แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวนทั้งสิ้น 36,599,640 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10,000 ด่ง

Amata City Long Thanh Joint Stock Company

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 Amata City Long Thanh JSC มีทุนจดทะเบียน 1,213,305,200,000 ด่ง หรือเทียบเท่า 56,432,800 เหรียญสหรัฐฯ มีทุนที่ออกและช�ำระแล้วจ�ำนวน 1,213,305,200,000 ด่ง แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวนทั้งสิ้น 121,330,520 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10,000 ด่ง

57 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว บมจ.อมตะ วีเอ็น


ผู้ถือหุ้น บมจ.อมตะ วีเอ็น ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2558 โครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หลังการเสนอขายหุ้นต่อประชาชน สามารถสรุปได้ดังนี้ ล�ำดับ

58 Vietnam-The New Phase of Success

1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9

ผู้ถือหุ้น

กลุ่มอมตะ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อมตะ เอเซียจ�ำกัด1/ นายวิกรม กรมดิษฐ์2/ นางสมหะทัย พานิชชีวะ2/ น.ส.วิภาวี กรมดิษฐ์2/ นายวิฑูรย์ กรมดิษฐ์2/ นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์2/ นายวิวัฒน์ กรมดิษฐ์2/ นายวิทิต กรมดิษฐ์2/

จ�ำนวนหุ้น

694,401,710 342,864,560 338,536,220 7,652,400 2,805,600 1,430,000 890,310 180,000 40,000 2,620

ร้อยละ

74.27 36.67 36.21 0.82 0.30 0.15 0.10 0.02 -


ล�ำดับ

ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้น

ร้อยละ

กลุ่มสหพัฒน์ 23,058,000 2.47 7,686,000 0.82 บริษัท สหพัฒนพิบูลจ�ำกัด (มหาชน)3/ บริษัทสหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)3/ 7,686,000 0.82 7,686,000 0.82 บริษัท ไอ.ซี.ซี.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)3/ ตระกูลสิหนาทกถากุล 9,716,000 1.04 นางวรี สิหนาทกถากุล 7,915,640 0.85 นายอนุชา สิหนาทกถากุล 1,414,932 0.15 นายมนตรี สิหนาทกถากุล 249,800 0.03 นางนภารัตน์ สิหนาทกถากุล 135,628 0.01 บริษัท อี.ซี.ไอ.กรุ๊ป จ�ำกัด 9,500,000 1.02 Mr. Harald Link 7,686,000 0.82 Dr. Lin Wei Tong 7,686,000 0.82 กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพทิสโก้มาสเตอร์ร่วมทุน ซึ่งจดทะเบียนแล้ว 6,593,100 0.71 Dr. Huynh Ngoc Phien 6,249,760 0.67 กองทุนเปิดทิสโก้ Mid/Small Cap อิควิตี้ 4,400,200 0.47 The Hongkong and Shanghai Banking Corporation Limited, Fund Service Department 4,000,000 0.43 รวม 773,290,770 82.70 1/ บริษัท อมตะ เอเซีย จ�ำกัด (ชื่อเดิม บริษัท อมตะ ฮ่องกง จ�ำกัด) เป็นบริษัทย่อยที่ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน หมายเหตุ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 100 2/ นายวิกรม กรมดิษฐ์ เป็นกรรมการและผู้บริหารของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) นางสมหะทัย พานิชชีวะ น.ส.วิภาวี กรมดิษฐ์ นายวิฑรู ย์ กรมดิษฐ์ นายวิบลู ย์ กรมดิษฐ์ นายวิวฒ ั น์ กรมดิษฐ์ นายวิทติ กรมดิษฐ์ เป็นน้องของนายวิกรม กรมดิษฐ์ ทัง้ นีก้ ารจัดกลุม่ นีเ้ พือ่ ให้เป็นไปตามนิยามผูท้ เี่ กีย่ วข้องตามประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กจ. 17/2551 ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เท่านั้น มิใช่การจัดกลุ่มตาม มาตรา 258 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงที่มีการแก้ไข) แต่อย่างใด 3/ บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยบริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)

59 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2 2.1 2.2 2.3 3 3.1 3.2 3.3 3.4 4 5 6 7 8 9 10


Amata (Vietnam) Joint Stock Company (บริษัทย่อย)

ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 โครงสร้างผู้ถือหุ้นของอมตะ เวียดนาม สามารถสรุปได้ดังนี้ ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้น

ร้อยละ

1. บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) 32,939,576 89.9997** 2. Sonadezi Corporation 3,659,964 10.000 3. บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด 100 0.0003* รวม 36,599,640 100.00 หมายเหตุ: *ตามกฎหมายเวียดนาม นิติบุคคลที่เป็น Joint Stock Company จะต้องมีผู้ถือหุ้นขั้นต�ำ่ สามราย **บริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นในอมตะ เวียดนามเพิ่มจากSonadezi ในสัดส่วนร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว ในเดือน พฤษภาคม 2558 ซึ่งท�ำให้ปัจจุบันบริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นใน อมตะ เวียดนาม ในสัดส่วนร้อยละ 90 ของทุนจด ทะเบียนที่ช�ำระแล้ว

Amata City Long Thanh Joint Stock Company (บริษัทย่อย)

ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 โครงสร้างผู้ถือหุ้นของ Amata City Long Thanh JSC มีดังนี้ ผู้ถือหุ้น

1. บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) 2. Amata (Vietnam) Joint Stock Company

จ�ำนวนหุ้น

ร้อยละ

42,465,679 78,864,838 3

34.9999975 65.000000

60 Vietnam-The New Phase of Success

0.0000025* 3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 121,330,520 100.00 รวม หมายเหตุ: *ตามกฎหมายเวียดนาม นิติบุคคลที่เป็น Joint Stock Company จะต้องมีผู้ถือหุ้นขั้นต�่ำสามรายทั้งนี้ บริษัทฯ อยู่ใน ระหว่างการด�ำเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนของ Amata City Long Thanh JSC ต่อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องของ ประเทศเวียดนามภายหลังได้รับมติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2558 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2558


นโยบาย

การจ่ายเงินปันผล

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีของบริษัทโดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลได้เป็นครั้งคราวเมื่อเห็นว่าบริษัทมีผลก�ำไรสมควร พอจะท�ำเช่นนั้นได้ แล้วให้รายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บมจ. อมตะ วีเอ็น บริษทั ฯ จะจ่ายเงินปันผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรองตามกฎหมายตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทฯ อย่างไรก็ดี คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นเป็นหลัก เช่น การ ด�ำรงเงินไว้เพื่อลงทุนในอนาคต หรือเพื่อจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืม หรือเป็นเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัทฯ

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company อมตะ เวียดนาม จะจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรองตามกฎหมายตาม งบการเงินเฉพาะกิจการตามมาตราฐานการบัญชีเวียดนามของ อมตะ เวียดนาม อย่างไรก็ดี คณะกรรมการบริษทั ของอมตะ เวียดนาม และ/หรือผูถ้ อื หุน้ ของอมตะ เวียดนาม จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลโดยพิจารณาตามความเหมาะสมของสภาพธุรกิจ เช่น พิจารณาจาก แผนการลงทุนในการขยายกิจการของอมตะ เวียดนาม เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากงบการเงินของอมตะ เวียดนาม จัดท�ำตามมาตราฐานการบัญชีเวียดนามซึ่งมีความแตกต่างจากมาตราฐานการบัญชี ไทยจึงท�ำให้ก�ำไรสุทธิตามงบการเงินของ อมตะ เวียดนาม มีความแตกต่างจากก�ำไรสุทธิทนี่ �ำมาบันทึกในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ กล่าวคือ แม้ว่าอมตะ เวียดนาม จะเก็บค่าเช่าครั้งเดียวตอนเริ่มต้นสัญญาเช่าที่ดิน แต่การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามมาตราฐาน บัญชีเวียดนามจะทยอยรับรูร้ ายได้และค่าใช้จา่ ยตามอายุสญั ญาเช่าทีด่ นิ ในขณะทีต่ ามมาตราฐานการบัญชีไทยสามารถรับรายได้และ ค่าใช้จ่ายได้ทั้งจ�ำนวนครั้งเดียวตอนเริ่มต้นสัญญาเช่าที่ดินได้ ส่งผลให้ก�ำไรสุทธิทางบัญชีตามมาตราฐานการบัญชีเวียดนามต�่ำกว่า ก�ำไรสุทธิตามมาตราฐานการบัญชีไทย ทั้งนี้ เงินปันผลของ อมตะ เวียดนาม จะจ่ายตามก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและหลังหักส�ำรอง ตามกฎหมายตามงบการเงิน อมตะ เวียดนาม ตามมาตราฐานการบัญชีเวียดนาม

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company บริษัทฯ จะก�ำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ Amata City Long Thanh JSC โดยอิงตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ อมตะ เวียดนาม และบริษัทฯ ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่มีอำ� นาจควบคุม Amata City Long Thanh JSC ไม่มี นโยบายให้ Amata City Long Thanh JSC จ่ายเงินปันผลเป็นทรัพย์สินอื่นๆ นอกจากเงินสดหรือหุ้น เว้นแต่จะพิจารณาแล้วเห็นถึง ความจ�ำเป็น

61 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นอกจากนี้ กฎหมายประเทศเวียดนามก�ำหนดให้บริษัทเวียดนามสามารถจ่ายเงินปันผลเป็นทรัพย์สินอื่นนอกจากเงินสดหรือหุ้นได้ แตกต่างจากกฎหมายประเทศไทยที่กำ� หนดให้บริษัทจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสดหรือหุ้นเท่านั้น ดังนั้น หากอมตะ เวียดนาม มีการจ่าย เงินปันผลเป็นทรัพย์สินอื่น อาจท�ำให้เงินสดที่บริษัทฯ สามารถจ่ายเป็นเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นมีจำ� นวนน้อยลง อย่างไรก็ดี การจ่าย เงินปันผลของอมตะ เวียดนาม ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งบริษัทฯ ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ที่มีอ�ำนาจควบคุมอมตะ เวียดนาม ไม่มีนโยบายให้อมตะ เวียดนาม จ่ายเงินปันผลเป็นทรัพย์สินอื่นๆ นอกจากเงินสดหรือหุ้น เว้นแต่จะพิจารณาแล้วเห็นถึง ความจ�ำเป็น


โครงสร้าง

การจัดการ โครงสร้างองค์กรของบมจ. อมตะวีเอ็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ทีมผู้ตรวจสอบภายใน* ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

62 Vietnam-The New Phase of Success

* บมจ. อมตะ วีเอ็น ได้ว่าจ้าง A&C Auditing and Consulting Co., Ltd. เพื่อประเมินระบบควบคุมภายในของ อมตะ เวียดนาม และ รายงานผลตรงที่คณะกรรมการตรวจสอบของ อมตะ วีเอ็น และรายงานให้คณะกรรมการบริษัท อมตะ เวียดนาม เพื่อรับทราบและ ด�ำเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับระบบควบคุมภายในจากผลการตรวจสอบของทีมผู้ตรวจสอบภายในต่อไป


โครงสร้างคณะกรรมการของ บมจ. อมตะ วีเอ็น โครงสร้างกรรมการ บมจ. อมตะ วีเอ็น ประกอบด้วย คณะกรรมการจ�ำนวน 2 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการ ตรวจสอบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

คณะกรรมการบริษัท บมจ. อมตะ วีเอ็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 9 ท่าน โดยมีนางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็น เลขานุการคณะกรรมการ บมจ. อมตะ วีเอ็น ต�ำแหน่ง

1. นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ

ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ

2. Dr. Huynh Ngoc Phien

รองประธานกรรมการ

3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ

กรรมการ

4. นายกัมพล ตติยกวี

กรรมการ

5. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม

กรรมการ

6. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์

กรรมการ

7. นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ

8. Mr. Do Ngoc Son

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

9. Mr. Mats Anders Lundqvist กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ: นายกัมพล ตติยกวี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2557 แทนนายชูชาติ สายถิ่นที่ลาออกจากต�ำแหน่ง นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2558 เมื่อวัน ที่ 11 สิงหาคม 2558 แทนนายวิกรม กรมดิษฐ์ ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการทุกท่านได้ผา่ นการอบรมหลักสูตร Director Certified Program (DCP)หรือ Director Accredited Program (DAP)จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว โดย ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษมได้ผ่านการอบรม หลักสูตรRole of the Chairman Program (RCP), The Role of Chairman (RCM) และหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) แล้ว อนึ่ง นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นประธานกรรมการของบริษัทฯยังมีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ ดังนั้น ด้วยองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทที่ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 7 คน ในขณะที่ กรรมการที่เป็นผู้บริหารมีจำ� นวนเพียง 2 คน โดยมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 คน จะท�ำให้เกิดการถ่วงดุลในการออกเสียง เพื่อพิจารณาในเรื่องต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ และหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลซึ่งส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงหลักเกณฑ์อื่นใดซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้กำ� หนดขึ้น

63 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

รายชื่อ


กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทน บมจ. อมตะ วีเอ็น กรรมการสองคนลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั บมจ. อมตะ วีเอ็น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มีมติอนุมัติการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1. มีความเข้าใจถึงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างชัดเจน เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้เป็น ไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และมติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ย ความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต 2. พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษัทและบริษัทย่อย ตามที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและฝ่าย จัดการจัดท�ำ 3. ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใด ๆ ซึง่ ได้รบั มอบหมายให้ ท�ำหน้าที่ดังกล่าว เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด 4. ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษัท 5. ด�ำเนินการให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยน�ำระบบงานบัญชีทเี่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทัง้ จัดให้มรี ะบบควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดให้มีการท�ำงบการเงิน ณ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัท และลงลายมือชื่อเพื่อรับรองงบการเงินดังกล่าว เพื่อน�ำเสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิ จารณาให้ ค วามเห็ น ชอบการคั ด เลื อ กและเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี และพิ จารณาค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสม ตามที่ คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ

64 Vietnam-The New Phase of Success

8. จัดให้มนี โยบายเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร และการปรับใช้นโยบายดังกล่าวอย่าง มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่าบริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม 9. พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละไม่มคี ณ ุ สมบัตติ อ้ งห้ามตามทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ และการก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการเพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 10. แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หรือคณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�ำหนด อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 11. พิจารณาแต่งตั้งผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท รวมทั้ง พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารดังกล่าว


12. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม 13. ส่งเสริมให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ใน หลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารนั้น ทั้งนี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือมอบ อ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริษัทหรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัทสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัท ย่อยของบริษัทฯ ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติไว้

การคัดเลือกกรรมการบริษัท แม้ว่าบริษัทฯ จะไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) ในการคัดเลือกบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการ แต่ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการโดยพิจารณาจากปัจจัยหลายประการ เช่น ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ วิสัยทัศน์ และความน่าเชื่อถือ รวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมาย ก�ำหนด โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการดังนี้ 1. คณะกรรมการของบริษัทฯ มีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่น ที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ โดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ ก. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจ�ำนวนหุ้นที่ตนถือ ข. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูเ่ ลือกตัง้ บุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้

3. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้เป็น 3 ส่วนไม่ ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีที่สองภายหลังจดทะเบียน บริษัทนั้น ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการผู้ออกจากต�ำแหน่งในวาระนั้นอาจได้รับเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัทฯ การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัท 5. ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องห้าม เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อย กว่า 2 เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน

65 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ค. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด


6. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามใน สี่ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถือ โดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

การคัดเลือกกรรมการอิสระ ในการคัดเลือกกรรมการอิสระจะต้องมีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และจะต้องไม่ต�่ำกว่า 3 ท่าน หลักเกณฑ์ ในการคัดเลือกกรรมการอิสระอิงตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการบริษัท โดยผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกเข้ามาด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการอิสระจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1.0 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน พนักงาน ที่ปรึกษาที่ ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นวันได้รบั แต่งตัง้ ให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ อิสระ 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้ ง คู ่ ส มรสของบุ ต ร ของผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม หรื อ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การเสนอให้ เ ป็ น ผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มอ�ำนาจควบคุมขอ งบริษทั ฯ ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง้ ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันได้รับแต่งตั้งให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ

66 Vietnam-The New Phase of Success

5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้มีอ� ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันได้รับแต่งตั้งให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมขอ งบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันได้รับแต่งตั้งให้เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วนที่มี นั ย ในห้ า งหุ ้ น ส่ว น หรือ เป็น กรรมการที่มีส่ว นร่วมบริหารงานลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ� ำ หรื อ


ถือหุ้นเกินร้อยละ 1.0 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

การประชุมคณะกรรมการบริษัท รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัท ในรอบปี 2557 และปี 2558 มีดังนี้ รายชื่อ

1. นายวิกรม กรมดิษฐ์ 2. นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ 3. Dr. Huynh Ngoc Phien 4. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 5. นายกัมพล ตติยกวี 6. ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม 7. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 8. นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ 9. Mr Do Ngoc Son 10. Mr. Mats Anders Lundqvist

ปี 2557 จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

ปี 2558 จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

4/4 3/4 4/4 1/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4

3/5 2/5 4/5 5/5 5/5 4/5 5/5 5/5 3/5 4/5

หมายเหตุ: นายกัมพล ตติยกวี ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2557 เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2557 แทนนายชูชาติ สายถิ่น ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง นายวิกรม กรมดิษฐ์ ได้ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการ โดยนายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธาน กรรมการตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2558 เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม 2558 แทน นายวิกรม กรมดิษฐ์ ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง

คณะกรรมการตรวจสอบบมจ. อมตะ วีเอ็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Do Ngoc Son Mr. Mats Anders Lundqvist

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

67 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


โดยมี นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริและ Mr. Mats Anders Lundqvist เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทาน งบการเงิน และ นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. อมตะ วีเอ็น

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ได้มีมติอนุมัติขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจ สอบ ดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย หรือเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้า ร่วมประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 68 Vietnam-The New Phase of Success

- จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


การคัดเลือกกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบจะต้องได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และต้องมีจำ� นวน 3 ท่านเป็นอย่างน้อย กรรมการ ตรวจสอบแต่ละรายต้องเป็นกรรมการอิสระ และต้องไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ให้ตัดสินใจในการ ด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมขอ งบริษัทฯ และไม่เป็นกรรมการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน เฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน โดย กรรมการตรวจสอบต้องมีคณ ุ สมบัตติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ก�ำหนดว่าด้วยคุณสมบัติและขอบเขตการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจหรือมีประสบการณ์ด้านการบัญชีหรือการเงินที่เพียงพอที่จะ สามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน รวมถึงการท�ำหน้าที่อื่นในฐานะกรรมการตรวจสอบได้

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปี 2557 และปี 2558 มีดังนี้ รายชื่อ

1. นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ 2. Mr. Do Ngoc Son 3. Mr. Mats Anders Lundqvist

ปี 2557

ปี 2558

จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

4/4 4/4 4/4

4/4 3/4 4/4

คณะผู้บริหาร บมจ. อมตะ วีเอ็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯมีคณะผู้บริหารจ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้ 1. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 2. นายกัมพล ตติยกวี 3. Ms. Pham Thi Thanh Huong 4. นางสาวสุภาพร อัศรัสกร

ต�ำแหน่ง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

หมายเหตุ: นางสาวสุภาพร อัศรัสกร ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีเมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2557 แทน นางสาวกรรณทิมา ดีบกุ ที่ลา ออกจากต�ำแหน่ง และMs. Pham Thi Thanh Huong ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2558

69 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

รายชื่อ


ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. อมตะ วีเอ็น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มีมติอนุมัติขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความ รับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ดังนี้ 1. ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ โดยรวมเพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 2 ก�ำหนดกลยุทธ์และแผนการทางธุรกิจ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์และ แผนการทางธุรกิจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 3. ด�ำเนินการและปฏิบัติภารกิจที่คณะกรรมการมอบหมายและตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท 4. สั่งการ ออกระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย 5. ประสานงานผู้บริหารและพนักงานเพื่อปฏิบัติตามนโยบายและทิศทางทางธุรกิจที่ได้รับจากคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาการน�ำสิทธิและทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ ไปก่อภาระผูกพันใดกับบุคคล บริษทั ห้าง ร้าน หรือสถาบันการเงิน เพือ่ น�ำเสนอ คณะกรรมการอนุมัติ 7. พิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานปกติในวงเงินตามที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติมอบหมายไว้ ดังนี้ 7.1 ค่าใช้จ่ายทั่วไป วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท 7.2 ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน (Operating Expenditure) นอกงบประมาณ วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท 7.3 ค่าใช้จ่ายฝ่ายทุน (Capital Expenditure) นอกงบประมาณ วงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท 8. พิจารณาอนุมตั กิ ารลงทุนในตราสารและหลักทรัพย์หรือเงินฝากเพือ่ บัญชีบริษทั ฯ ในวงเงินตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั อนุมตั มิ อบ หมายไว้ 9. พิจารณาการลงทุนในการขยายธุรกิจ ตลอดจนการร่วมทุนกับผูป้ ระกอบกิจการอืน่ ๆ และน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั ิ ในที่ประชุมคราวถัดไป

70 Vietnam-The New Phase of Success

10. อนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงินลงทุนทีส่ ำ� คัญๆ ที่ได้กำ� หนดไว้ในงบประมาณรายจ่ายส�ำหรับปี หรือทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้เคยมีมติอนุมตั ิ ในหลักการไว้แล้ว 11. ดูแลการท�ำงานของพนักงานให้เป็นไปตามนโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงการปฏิบัติงานด้วยหลักธรรมาภิบาลใน การท�ำธุรกิจ 12. ส่งเสริมพัฒนาความรู้ความสามารถ และศักยภาพของพนักงานเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กร 13. พิจารณาแต่งตั้งที่ปรึกษาต่างๆ ที่จำ� เป็นต่อการด�ำเนินการของบริษัทฯ 14. พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีเ่ ป็นเงือ่ นไขปกติทางการค้า เช่น ซือ้ ขายสินค้าด้วยราคาตลาด การคิดค่าธรรมเนียม บริการในอัตราค่าธรรมเนียมปกติ และการให้เครดิตเทอมเหมือนลูกค้าทั่วไป เป็นต้น ทั้งนี้ภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท 15. อนุมัติการแต่งตั้ง โยกย้าย และเลิกจ้างพนักงานและผู้บริหารของบริษัทฯ


16. ด�ำเนินกิจการงานอืน่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั เป็นกรณีๆ ไป ทัง้ นีป้ ระธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารไม่มอี ำ� นาจ ในการอนุมัติเรื่องหรือรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่ใช่เป็นเงื่อนไขปกติทางการค้า รายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ส�ำคัญขอ งบริษัทฯ และ/หรือ รายการที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ ใ นลั ก ษณะอื่ น ใดที่ จ ะท� ำ ขึ้ น กั บ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ยกเว้ น เป็ น รายการที่ เ ป็ น เงื่ อ นไขปกติ ท างการค้ า ที่ ได้มีการก�ำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ โดยได้อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ บริษัทได้พิจารณาอนุมัติไว้และได้ขอความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น ในการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่ง สินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่อง ดังกล่าว

เลขานุการบริษัท บมจ. อมตะ วีเอ็น ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มีมติแต่งตั้ง นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็น เลขานุการบริษัท บมจ. อมตะ วีเอ็น โดยมีหน้าที่ให้การสนับสนุนการจัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม ท�ำหนังสือเชิญประชุม ดูแล และจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ และการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งจัดท�ำรายงานการประชุมคณะ กรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการต่างๆ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมาย ก�ำหนด และให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติของคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อีก ทัง้ ดูแลให้กรรมการและบริษทั ฯ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องครบถ้วนและโปร่งใส โดยเลขานุการบริษทั ทีค่ ณะกรรมการ แต่งตั้งขึ้นนี้เป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่ามีความเหมาะสมมีความรู้ ความสามารถในการบริหารงานเลขานุการบริษัท

การสรรหากรรมการและผู้บริหารของ บมจ. อมตะ วีเอ็น

กลไกก�ำกับดูแลบริษัทย่อย เนือ่ งจากบริษทั ฯ ประกอบธุรกิจโดยการถือหุน้ ในบริษทั อืน่ (Holding Company) และไม่มกี ารประกอบธุรกิจอย่างมีนยั ส�ำคัญเป็นของ ตนเอง โดยมีบริษัทย่อยเป็นผู้ประกอบธุรกิจโดยตรง เพื่อให้บริษัทฯ สามารถควบคุมดูแลให้บริษัทย่อยของบริษัทฯ น�ำแนวนโยบาย ที่ถูกก�ำหนดโดยบริษัทฯ ไปด�ำเนินการ รวมไปถึงเพื่อให้บริษัทย่อยสามารถปฏิบัติตาม กฎหมาย ประกาศ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ จึงได้มีนโยบายและมาตราการซึ่งเป็นกลไกในการก�ำกับดูแลบริษัทย่อย รายละเอียดดังนี้

71 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บมจ. อมตะ วีเอ็น ไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) เมื่อกรรมการที่ดำ� รงต�ำแหน่งครบวาระ หรือมี เหตุจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องแต่งตัง้ กรรมการเพิม่ คณะกรรมการทีด่ �ำรงต�ำแหน่งในปัจจุบนั จะหารือร่วมกันเพือ่ พิจารณาคัดเลือกกรรมการโดย ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา โดยพิจารณาถึงความรู้ความสามารถ รวมถึงประสบการณ์การท�ำงาน ประกอบการพิจารณาเพื่อ ก�ำหนดตัวบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมทัง้ ด้านประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯเข้ามาเป็นกรรมการ ทัง้ นี้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการของ บมจ. อมตะ วีเอ็น จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามมาตรา 68 แห่งพระราช บัญญัติมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) กฎหมายอืน่ และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง โดยภายหลังจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการมีมติแต่ง ตั้งแล้ว จะเสนอรายชื่อกรรมการดังกล่าวต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (ตามแต่ละกรณี) ทั้งนี้ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน


บริษัทฯ จะส่งบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในแขนงหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อย เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือ ผู้บริหาร ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทในบริษัทย่อย ซึ่งการส่งบุคคลดังกล่าวเข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหาร ของบริษัทย่อยจะต้องได้รับมติเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ก�ำหนดขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคลที่บริษัทส่งเข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทย่อยอย่างชัดเจน ทัง้ นีส้ ำ� หรับ อมตะ เวียดนาม บริษทั ฯ มีการส่งบุคคลไปเป็นกรรมการในบริษทั ย่อยตามสัดส่วนการถือหุน้ คือ 5 ท่านโดยเป็นกรรมการ ของบริษัทฯ ทั้งหมด

กรรมการบริษัทฯ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในอมตะเวียดนาม 1. Dr. Huynh Ngoc Phien 2. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 3. นายกัมพล ตติยกวี 4. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 5. Mr. Do Ngoc Son ทั้งนี้กรรมการทั้งหมดได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Certified Program (DCP) หรือ Director Accredited Program (DAP)จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว บริษทั ฯ มีการก�ำหนดกรอบอ�ำนาจในการใช้ดลุ พินจิ ของบุคคลซึง่ บริษทั ฯ ส่งเข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผูบ้ ริหารใน อมตะ เวียดนาม ในเรื่องส�ำคัญซึ่งต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ และเพื่อความชัดเจน ว่าเรือ่ งส�ำคัญเรือ่ งใดบ้างของบริษทั ย่อยต้องได้รบั มติจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการ/ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ จึงได้มกี ารก�ำหนด นโยบายอ�ำนาจอนุมัติในการอนุมัติของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งจะได้น�ำเสนอเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทฯ และที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป บริษทั ฯ จะติดตามดูแลให้บริษทั ย่อยมีการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน การเข้าท�ำรายการระหว่าง กัน และการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินที่มีนัยส�ำคัญอย่างครบถ้วนถูกต้อง

72 Vietnam-The New Phase of Success

บริษัทฯ จะติดตามดูแลให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อยปฏิบัติให้เป็นไปตามหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่กฎหมาย ก�ำหนด บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายการควบคุมและกลไกการก�ำกับดูแลบริษัทย่อย โดยก�ำหนดว่า หากเกิดการท�ำรายการ เกี่ยวโยง การได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ หรือการท�ำรายการส�ำคัญอื่นใดของบริษัทย่อย จะต้องน�ำเสนอข้อมูลการ ท�ำรายการดังกล่าวกับบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการก�ำหนดให้ อมตะ เวียดนาม บังคับใช้นโยบายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึ่ง สินทรัพย์ และนโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันไว้ใน Asset Acquisition and Disposition Procedures และ Connected Transaction Policies and Procedures ซึง่ จะก�ำหนดเกณฑ์การท�ำรายการดังกล่าวในลักษณะและขนาดเดียวกันกับ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งได้ รั บ มติ จากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการหรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ตามประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุนที่ และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้อง โดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557ของ อมตะ เวียดนาม เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2557 ได้มมี ติอนุมตั นิ โยบายการได้มาจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ และนโยบาย การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ดังกล่าว


นอกจากนีก้ ารท�ำรายการส�ำคัญอืน่ ใดของบริษทั ย่อยจะก�ำกับโดยการก�ำหนดนโยบายอ�ำนาจในการอนุมตั ขิ องบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ่งจะก�ำหนดรายการที่สำ� คัญที่ อมตะ เวียดนาม ต้องได้รับมติจากคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ก่อนที่จะสามารถด�ำเนินการได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้

เรื่องที่จะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ (ก) การแต่งตั้งหรือเสนอชื่อบุคคลเป็นกรรมการ หรือผู้บริหารในบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วมอย่างน้อยตามสัดส่วนการถือหุ้น ของบริษทั ในบริษทั ย่อย และ/หรือบริษทั ร่วม โดยให้กรรมการและผูบ้ ริหารทีบ่ ริษทั เสนอชือ่ หรือแต่งตัง้ มีดลุ ยพินจิ ในการพิจารณา ออกเสียงในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วมในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั่วไปและด�ำเนิน ธุรกิจตามปกติของบริษทั ย่อย และ/หรือบริษทั ร่วมได้ตามแต่ทกี่ รรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ย่อย และ/หรือบริษทั ร่วมจะเห็น สมควรเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท บริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วม เว้นแต่เรื่องที่จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของ บริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท (แล้วแต่กรณี)

ทัง้ นี้ กรรมการหรือผูบ้ ริหารตามวรรคข้างต้นที่ได้รบั การเสนอชือ่ นัน้ ต้องเป็นบุคคลทีม่ รี ายชือ่ อยู่ในระบบข้อมูลรายชือ่ กรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์ (White List) รวมถึง และมีคณุ สมบัตบิ ทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ตลอดจนไม่มี ลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการก�ำหนดลักษณะขาด ความไม่น่าไว้วางใจของกรรมการ และผู้บริหารของบริษัท

(ข) การพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี และเงินปันผลระหว่างกาล (หากมี) ของบริษัทย่อย (ค) การแก้ไขข้อบังคับของบริษัทย่อย เว้นแต่การแก้ไขข้อบังคับในเรื่องที่มีนัยส�ำคัญตามข้อ (2) (ฉ) (ง) การพิจารณาอนุมัติงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทย่อย (จ) การแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ย่อย จะต้องสังกัดส�ำนักงานสอบบัญชีทเี่ ป็นสมาชิกประเภทเต็มรูปแบบ (full member) ในเครือ ข่ายเดียวกันกับผู้สอบบัญชีของบริษัท รายการตั้งแต่ข้อ (ฉ) ถึงข้อ (ฑ) นี้เป็นรายการที่ถือว่ามีสาระส�ำคัญ และหากเข้าท�ำรายการจะมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย ดังนั้น จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทก่อน ทั้งนี้ ต้อง เป็นกรณีทเี่ มือ่ ค�ำนวณขนาดรายการทีบ่ ริษทั ย่อยจะเข้าท�ำรายการเปรียบเทียบกับขนาดของบริษทั (โดยน�ำหลักเกณฑ์การค�ำนวณ รายการตามทีก่ ำ� หนดไว้ในประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรือ่ ง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน และ/หรือ เรื่อง การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (แล้วแต่กรณี) มาบังคับใช้โดยอนุโลม) แล้ว อยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งรายการดังต่อไปนี้คือ

(ฉ) กรณีทบี่ ริษทั ย่อยตกลงเข้าท�ำรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ย่อย หรือรายการทีเ่ กีย่ วกับการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สินของบริษัทย่อย (ช) การโอนหรือสละสิทธิประโยชน์ รวมตลอดถึงการสละสิทธิเรียกร้องที่มีต่อผู้ที่ก่อความเสียหายแก่บริษัทย่อย (ซ) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทย่อยทั้งหมดหรือบางส่วนที่ส�ำคัญให้แก่บุคคลอื่น (ฌ) การซื้อหรือการรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเป็นของบริษัทย่อย (ญ) การเข้าท�ำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วกับการให้เช่ากิจการของบริษทั ย่อยทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำ� คัญ การมอบหมายให้บคุ คล อื่นเข้าจัดการธุรกิจของบริษัทย่อย หรือการรวมกิจการของบริษัทย่อยกับบุคคลอื่น

73 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


(ฎ) การเช่า หรือให้เช่าซื้อกิจการหรือทรัพย์สินของบริษัทย่อยทั้งหมดหรือส่วนที่มีสาระส�ำคัญ (ฏ) การกู้ยืมเงิน การให้กู้ยืมเงิน การให้สินเชื่อ การค�ำ้ ประกัน การท�ำนิติกรรมผูกพันบริษัทย่อยให้ต้องรับภาระทางการเงินเพิ่มขึ้น หรือการให้ความช่วยเหลือด้านการเงินในลักษณะอื่นใดแก่บุคคลอื่น และมิใช่ธุรกิจปกติของบริษัทย่อย (ฐ) การเลิกกิจการของบริษัทย่อย (ฑ) รายการอื่นใดที่ไม่ใช่รายการธุรกิจปกติของบริษัทย่อยและเป็นรายการที่จะมีผลกระทบต่อบริษัทย่อยอย่างมีนัยส�ำคัญ

เรื่องที่จะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ธุรกรรมต่างๆ ซึ่งแต่ละบริษัทย่อยจะต้องน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติมีดังต่อไปนี้ (ก) กรณีทบี่ ริษทั ย่อยตกลงเข้าท�ำรายการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ย่อย หรือรายการทีเ่ กีย่ วกับการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ ทรัพย์สินของบริษัทย่อย ทั้งนี้ ต้องเป็นกรณีที่เมื่อค�ำนวณขนาดของรายการที่บริษทั ย่อยจะเข้าท�ำรายการเปรียบเทียบกับขนาด ของบริษัท (โดยน�ำหลักเกณฑ์การค�ำนวณรายการตามที่ก�ำหนดไว้ในประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาบังคับใช้โดยอนุโลม) แล้วอยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมติจากที่ ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท (ข) การเพิม่ ทุนโดยการออกหุน้ เพิม่ ทุนของบริษทั ย่อยและการจัดสรรหุน้ รวมทัง้ การลดทุนจดทะเบียนซึง่ ไม่เป็นไปตามสัดส่วนการ ถือหุน้ เดิมของผูถ้ อื หุน้ อันจะเป็นผลให้สดั ส่วนการใช้สทิ ธิออกเสียงลงคะแนนของบริษทั ทัง้ ทางตรงและ/หรือทางอ้อม ในทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยไม่ว่าในทอดใดๆ ลดลงเกินกว่าร้อยละสิบ (10) ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของบริษัทย่อยนั้น หรือเป็นผล ให้สัดส่วนการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัท ทั้งทางตรงและ/หรือทางอ้อมในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยไม่ว่าใน ทอดใดๆ ลดลงเหลือน้อยกว่าสัดส่วนที่กำ� หนดในกฎหมายซึ่งใช้บังคับกับบริษัทย่อยอันมีผลให้บริษัทไม่มีอำ� นาจควบคุมบริษัท ย่อยนั้น

74 Vietnam-The New Phase of Success

(ค) การด�ำเนินการอื่นใดอันเป็นผลให้สัดส่วนการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัท ทั้งทางตรงและ/หรือทางอ้อมในที่ประชุมผู้ ถือหุ้นของบริษัทย่อยไม่ว่าในทอดใดๆ ลดลงเกินกว่าร้อยละสิบ (10) ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของบริษัทย่อย หรือเป็นผลให้ สัดส่วนการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัท ทั้งทางตรงและ/หรือทางอ้อมในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยไม่ว่าในทอด ใดๆ ลดลงเหลือน้อยกว่าสัดส่วนทีก่ ำ� หนดในกฎหมายซึง่ ใช้บงั คับกับบริษทั ย่อยในการเข้าท�ำรายการอืน่ ใด ทีม่ ิใช่ธรุ กิจปกติของ บริษัทย่อย (ง) การเลิกกิจการของบริษทั ย่อย ทัง้ นี้ ต้องเป็นกรณีทเี่ มือ่ ค�ำนวณขนาดของกิจการบริษทั ย่อยทีจ่ ะเลิกนัน้ เปรียบเทียบกับขนาดของ บริษัท (โดยน�ำหลักเกณฑ์การค�ำนวณรายการตามที่กำ� หนดไว้ในประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และประกาศคณะ กรรมการการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน มาบังคับใช้โดยอนุโลม) แล้วอยู่ใน เกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท (จ) รายการอืน่ ใดที่ไม่ใช่รายการธุรกิจปกติของบริษทั ย่อยและรายการทีจ่ ะมีผลกระทบต่อบริษทั ย่อยอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทัง้ นี้ ต้องเป็น กรณีที่เมื่อค�ำนวณขนาดรายการนั้นเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัท (โดยน�ำหลักเกณฑ์การค�ำนวณรายการตามที่กำ� หนดไว้ใน ประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การได้มาหรือ จ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน มาบังคับใช้โดยอนุโลม) แล้วอยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการพิจารณาอนุมติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท (ฉ) การแก้ไขข้อบังคับของบริษทั ย่อยในเรือ่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและการผลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดเพียง การแก้ไขข้อบังคับของบริษัทย่อยที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนของบริษัท


ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ย่อย และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อย หรือการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย เป็นต้น บริษัทฯ ได้ก�ำหนดหน้าที่ของกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทย่อยไว้ใน ข้อบังคับของบริษัทฯ อย่างชัดเจน ดังนี้ (1.) กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ฐานะทางการเงิ น และผลการ ด�ำเนินงาน การท�ำรายการระหว่างกันของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ตลอดจนการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่มีนัย ส�ำคัญให้แก่บริษัทฯ ทราบโดยครบถ้วน ถูกต้อง และภายในก�ำหนดเวลาที่สมควรตามที่บริษัทฯ ก�ำหนด อนึ่ง ให้คณะกรรมการ บริษัทของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย พิจารณาการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่มีนัย ส�ำคัญของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย โดยน�ำไปประกาศที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาใช้บังคับโดยอนุโลม (2.) กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ต้องเปิดเผยและน�ำส่งข้อมูลส่วนได้เสียของตนและบุคคลที่มีความ เกีย่ วข้องต่อคณะกรรมการของบริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อย ให้ทราบถึงความสัมพันธ์ และการท�ำธุรกรรมกับบริษทั ฯ ในลักษณะ ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ และหลี ก เลี่ ย งการท� ำ รายการที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ หรือ บริษัทฯ โดยคณะกรรมการของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย มีหน้าที่แจ้งเรื่องดังกล่าวให้คณะกรรมการขอ งบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ทราบภายในก�ำหนดเวลาที่บริษัทฯ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาตัดสินหรืออนุมัติใดๆ ซึ่งการพิจารณานั้นจะค�ำนึงถึงประโยชน์โดยรวมของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย เป็นส�ำคัญ

ทั้งนี้ กรรมการของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ต้องไม่มีส่วนรวมอนุมัติในเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสียหรือความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมนั้นด้วย

อนึ่ง การกระท�ำดังต่อไปนี้ซึ่งเป็นผลให้กรรมการ ผู้บริหารหรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ได้ รับประโยชน์ทางการเงินอื่นนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือเป็นเหตุให้บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ได้รับความเสียหาย ให้สันนิษฐานว่าเป็นการกระท�ำที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ (ก) การท�ำธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย กับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องโดยมิได้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ของการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (ข) การใช้ขอ้ มูลของบริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อย หรือ บริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อยทีล่ ว่ งรูม้ า เว้นแต่เป็นข้อมูลทีเ่ ปิดเผยต่อ สาธารณชนแล้ว

(3.) กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ต้องรายงานแผนการประกอบธุรกิจ การขยายธุรกิจ โครงการลงทุน ขนาดใหญ่ตลอดจนการเข้าร่วมลงทุนกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ ต่อบริษัทผ่านรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน และเข้า ชี้แจงหรือน�ำส่งเอกสารประกอบการพิจารณากรณีดังกล่าวในกรณีที่บริษัทร้องขอ (4.) กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ต้องน�ำส่งข้อมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวด้วยการด�ำเนินงานให้กับบริษัทฯ เมื่อได้รับการร้องขอตามความเหมาะสม (5.) กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อย ต้องชีแ้ จงหรือน�ำส่งเอกสารประกอบแก่บริษทั ฯ ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ตรวจ พบประเด็นที่มีนัยส�ำคัญใดๆ

75 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

(ค) การใช้ทรัพย์สินหรือโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ในลักษณะเดียวกันกับที่บริษัทฯ และ/หรือ บริษัท ย่ อ ย (แล้ ว แต่ กรณี ) กระท� ำ และเป็ น การฝ่ า ฝื น หลั ก เกณฑ์ ห รื อ หลั ก ปฏิ บั ติ ทั่ ว ไปตามที่ ค ณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุนประกาศก�ำหนด


(6.) กรรมการของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอเพื่อป้องกันการ ทุจริตที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ รวมทั้งควรจัดให้มีระบบงานที่ชัดเจน เพื่อแสดงได้ว่าบริษัทฯ มีระบบเพียงพอในการเปิดเผย ข้อมูล การท�ำรายการที่มีนัยส�ำคัญตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดได้อย่างต่อเนื่อง และน่าเชื่อถือ และมีช่องทางให้กรรมการและผู้ บริหารของบริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อย สามารถได้รบั ข้อมูลของบริษทั ฯ ในการติดตามดูแลผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน การ ท�ำรายการระหว่างบริษัทกับกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ การท�ำรายการระหว่างบริษัทย่อยกับกรรมการและผูบ้ ริหารของ บริษทั ย่อย และการท�ำรายการทีม่ นี ยั ส�ำคัญของบริษทั ฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ต้องจัดให้มกี ลไกในการตรวจสอบระบบ งานดังกล่าวในบริษัทฯ โดยให้ทีมงานผู้ตรวจสอบภายในและกรรมการอิสระของบริษัทฯ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง และ ให้มีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกล่าวให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อยเพื่อให้มั่นใจได้ ว่าบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย มีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดท�ำไว้อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2558 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2558 ได้มีมติอนุมัติโดยหลักการให้ด�ำเนินการแก้ไข ข้อบังคับของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company (“Amata City Long Thanh JSC”) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษทั ฯ ทีเ่ พิง่ จัดตัง้ ขึน้ และบริษทั ย่อยใดๆ ทีบ่ ริษทั อาจจัดตัง้ ขึ้นในอนาคต เพื่อให้ข้อบังคับของบริษทั ย่อย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้อง เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกฎหมายของประเทศนั้นๆ เพื่อให้บริษัทฯ มีกลไลในการก�ำกับดูแล บริษัทย่อย เช่น สิทธิในการตั้งกรรมการตามสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อย รายการต่างๆ ที่ส�ำคัญของบริษัทย่อยต้องได้รับอนุมัติ จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ก่อนการเข้าท�ำรายการดังกล่าว และในกรณีที่บริษัทย่อย เป็นบริษัทต่างประเทศ กรรมการของบริษัทย่อยดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งคนต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย เป็นต้น

76 Vietnam-The New Phase of Success

ในส่วนของการแก้ไขข้อบังคับของ Amata City Long Thanh JSC บริษัทฯ จะด�ำเนินการให้ Amata City Long Thanh JSC แก้ไขข้อ บังคับบริษัท ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวโดยเร็ว โดยในระหว่างการด�ำเนินการแก้ไขข้อบังคับของบริษัทย่อย หาก บริษัทฯ ต้องด�ำเนินการใช้สิทธิควบคุมในเรื่องใดๆ จะใช้สิทธิผ่านกรรมการที่บริษัทฯ เป็นผู้แต่งตั้งโดยการท�ำรายการใดๆ ของบริษัท ย่อย บริษัทฯ จะก�ำกับดูแลผ่านกรรมการที่บริษัทฯ แต่งตั้งเข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทย่อย เพื่อดูแลให้การท�ำรายการต่างๆ ของ บริษัทย่อยเป็นไปตามกฎเกณฑ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเป็นไปตามกลไกในการก�ำกับดูแลบริษัทย่อยและข้อบังคับของบริษัทฯ


โครงสร้างองค์กรของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 Board of Directors Internal Audit team* President

Vice President

Vice President Senior Marketing & Sales Manager

Facilities Management Manager

Accounting & Finance Manager

HR & Admin Manager

Engineer Manager

Legal Manager

Water Management Manager

Land & Government Affairs Manager

77 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

* บมจ. อมตะ วีเอ็น ได้ว่างจ้าง A&C Auditing and Consulting Co., Ltd. เพื่อประเมินระบบควบคุมภายในของ อมตะ เวียดนาม และ รายงานผลตรงที่คณะกรรมการตรวจสอบของ อมตะ วีเอ็น และรายงานให้คณะกรรมการบริษัท อมตะ เวียดนาม เพื่อรับทราบและ ด�ำเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับระบบควบคุมภายในจากผลการตรวจสอบของทีมผู้ตรวจสอบภายในต่อไป


โครงสร้างการจัดการของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งเป็นบริษัท ที่ประกอบธุรกิจหลัก

คณะกรรมการบริษัท Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ โดยมี Ms. Pham T. Thu Thuy เป็น เลขานุการคณะกรรมการ อมตะ เวียดนาม รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

78 Vietnam-The New Phase of Success

1. Dr. Huynh Ngoc Phien* ประธานกรรมการ 2. Mr. Do Ngoc Son* กรรมการ 3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ* กรรมการ 4. นายกัมพล ตติยกวี* กรรมการ 5. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์* กรรมการ หมายเหตุ:* เป็นกรรมการจาก อมตะ วีเอ็น และซึ่งถูกแต่งตั้งให้เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการใน อมตะ เวียดนาม ตามมติที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 และ มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้ง ที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2557 Ms. Pham Thi Thanh Huongลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2558 Mr. Chu Thanh Son และMr. Nguyen Minh Huyลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2558 ซึ่งเป็นการปรับคณะกรรมการภายหลังที่บริษัทฯ ถือหุ้นใน อมตะ เวียดนาม เพิ่ม เป็นร้อยละ 89.99 นายอนุชา สิหนาทกถากุลลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2558 ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษมลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2558

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทน Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ตัวแทนทางกฎหมายของบริษทั (Legal Representative) คือ นางสมหะทัย พานิชชีวะลงลายมือชือ่ และประทับตราส�ำคัญของบริษทั

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั เป็นไปตามข้อบังคับ (Charter) ของบริษทั โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ในการจัดการและก�ำหนดทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทคณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจ โดยสมบูรณ์ในการใช้สิทธิต่างๆ ในนามของบริษัท ยกเว้นอ�ำนาจที่เป็นของที่ประชุมผู้ถือหุ้น


2. คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้จัดการอื่นๆ 3. หน้าที่และภาระผูกพันของคณะกรรมการบริษัทถูกก�ำหนดโดยกฎหมาย กฎบัตร กฎเกณฑ์ภายในของบริษัทและมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจและหน้าที่โดยเฉพาะเจาะจง ดังต่อไปนี้ 1. ก�ำหนดแผนส�ำหรับพัฒนาธุรกิจและการผลิตประจ�ำปี และงบประมาณประจ�ำปี 2. ก�ำหนดวัตถุประสงค์การด�ำเนินงานบนพื้นฐานของวัตถุประสงค์ทางกลยุทธ์ซึ่งได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. แต่งตั้งและเพิกถอนผู้จัดการของบริษัทตามที่มีการร้องขอจากกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ก�ำหนดเงินเดือนของผู้จัดการ 4. ก�ำหนดโครงสร้างองค์กรของบริษัท 5. จัดการข้อเรียกร้องทีเ่ สนอโดยบริษทั ทีเ่ กีย่ วกับผูจ้ ดั การ และเลือกตัวแทนของบริษทั เพือ่ ด�ำเนินการตามกระบวนการ ทางกฎหมายกับผู้จัดการคนดังกล่าว 6. เสนอประเภทหุ้นที่ออกและจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดในแต่ละประเภทที่ออก 7. เสนอการออกหุ้นกู้, หุ้นกู้ที่แปลงสภาพเป็นทุนและสิทธิทางหลักทรัพย์อื่นๆ ที่ให้สิทธิเจ้าของหลักทรัพย์ซื้อหุ้นของ บริษัทได้ในราคาที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า 8. ก�ำหนดราคาหุ้นกู้ หุ้น และหลักทรัพย์แปลงสภาพที่จะออกเสนอขาย 9. แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย กรรมการผู้จัดการ, ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร, ผู้จัดการ หรือ ตัวแทนของบริษัทที่ คณะกรรมการบริษัทเห็นว่าจะเป็นประโยชน์สูงสุดกับบริษัท โดยการโยกย้ายจะต้องไม่เป็นการขัดแย้งกับสิทธิตาม สัญญา (ถ้ามี) ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง 10. เสนออัตราการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี และก�ำหนดอัตราเงินปันผลระหว่างกาล และจัดการการจ่ายเงินปันผลและ 11. เสนอการปรับโครงสร้างหรือการเลิกกิจการของบริษัท 4. คณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจในการอนุมัติเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. จัดตั้งสาขาหรือส�ำนักงานตัวแทนของบริษัท 2. จัดตั้งบริษัทย่อย 3. คณะกรรมการบริษัทอาจตัดสินใจเป็นครั้งคราวเรื่องการด�ำเนินการ การแก้ไขหรือการยกเลิกสัญญาขนาดใหญ่ของ บริษัท (รวมถึงสัญญาการซื้อ การขาย การควบรวมกิจการ การซื้อกิจการ และสัญญาร่วมลงทุน) ภายใต้ขอบเขต ข้อ 108.2 แห่งกฎหมายบริษัท (The Law on Enterprises) 60/2005/QH11 ที่ออกโดย National Assembly เมื่อ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2549 (“กฎหมายบริษัท”) ยกเว้นกรณีที่ระบุในข้อ 120.3 ของกฎหมายบริษัทที่ต้องอนุมัติโดย การประชุมผู้ถือหุ้น 4. แต่งตั้ง และถอดถอนบุคคลที่บริษัทมอบอ�ำนาจให้เป็นตัวแทนทางด้านการค้า หรือทนายของบริษัท 5. การกู้ยืมเงิน และการปฏิบัติตามจ�ำนอง ค�ำรับรอง การรับประกัน การจ่ายเงินชดเชยโดยบริษัท

79 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


6. การลงทุนที่ไม่รวมอยู่ในแผนธุรกิจ หรือการลงทุนที่เกิน 10%ของมูลค่าในแผนธุรกิจ และงบประมาณธุรกิจประจ�ำปี 7. การซื้อ หรือการขายหุ้นของบริษัทอื่นๆ ที่ตั้งในเวียดนามหรือต่างประเทศ 8. การประเมินมูลค่าสินทรัพย์ซึ่งไม่ใช่เงินที่ให้กับบริษัท เนื่องจากการออกหุ้นหรือหุ้นกู้ของบริษัท รวมถึงทอง สิทธิ การใช้ที่ดิน ทรัพย์สินทางปัญญา เทคโนโลยี และความรู้ทางด้านเทคโนโลยี 9. การซื้อ หรือซื้อคืนหุ้นโดยบริษัทที่ไม่มากกว่า 10% ของหุ้นในแต่ละประเภท 10. เรื่องทางธุรกิจ หรือธุรกรรมที่คณะกรรมการบริษัทเห็นควรต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และเรื่อง หรือธุรกรรมดังกล่าวอยู่ภายใต้ขอบอ�ำนาจ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 11. ก�ำหนดราคาในการซื้อ หรือซื้อคืนหุ้นของบริษัท 5. คณะกรรมการบริษัทต้องรายงานการด�ำเนินการของคณะกรรมการบริษัทซึ่งเกี่ยวกับการท�ำหน้าที่ควบคุมดูแลกรรมการ ผูจ้ ดั การหรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและผูจ้ ดั การอืน่ ๆต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ภายในปีงบประมาณการเงิน ถ้าคณะกรรมการ บริษทั ไม่ได้สง่ รายงานดังกล่าวต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ให้ถอื ว่างบการเงินประจ�ำปีของบริษทั เป็นโมฆะ และถือว่าไม่ได้รบั การ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 6. คณะกรรมการบริษัทอาจจะแต่งตั้งคณะกรรมการย่อย มอบให้คณะกรรมการย่อยท�ำหน้าที่แทนตามอ�ำนาจของคณะ กรรมการบริษัท สมาชิกของคณะกรรมการย่อยอาจจะประกอบไปด้วยกรรมการบริษัทหนึ่งคนหรือมากกว่าหนึ่งคน และ บุคคลที่ไม่ได้เป็นคณะกรรมการบริษัทหนึ่งคนหรือมากกว่านั้น ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัท โดย คณะกรรมการย่อยต้องปฎิบัติตามกฎที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมการบริษัท 7. คณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจในการแต่งตั้งหนึ่งในกรรมการของบริษัทหรือบุคคลอื่นเป็นกรรมการผู้จัดการหรือประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และเข้าท�ำสัญญาก�ำหนดเงินเดือน ค่าตอบแทน ผลประโยชน์ และเงื่อนไขอื่นๆที่เกี่ยวกับการว่าจ้าง 8. สมาชิกของคณะกรรมการบริษัทจะต้องรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงหน้าที่ในการเป็นสมาชิกในคณะกรรมการ ย่อยของคณะกรรมการบริษัทอย่างซื่อสัตย์ สุจริต และโปร่งใส เพื่อเป็นประโยชน์สูงสุดกับบริษัท โดยท�ำหน้าที่เยี่ยงบุคคล ทั่วไปพึงกระท�ำในต�ำแหน่งนั้น ในสถานการณ์เช่นเดียวกัน 9. สมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ทีล่ ะเมิดต่อภาระผูกพันทีต่ อ้ งปฏิบตั อิ ย่างซือ่ สัตย์สจุ ริตหรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่าง รอบคอบ ขยัน และและด�ำเนินการอย่างผู้เชี่ยวชาญจะต้องรับผิดชอบส�ำหรับความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดนั้นๆ

80 Vietnam-The New Phase of Success

10. คณะกรรมการบริษัทจะต้องซื่อสัตย์และหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. สมาชิกของคณะกรรมการบริษทั จะไม่ได้รบั อนุญาตให้นำ� เอาโอกาสทางธุรกิจทีส่ ามารถสร้างผลก�ำไรได้ของบริษทั มา มาใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง และไม่อนุญาตให้ใช้ข้อมูลที่รับรู้จากต�ำแหน่งหน้าที่การงานของตนมาสร้าง ผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือแก่ผู้อื่น 2. สมาชิกของคณะกรรมการบริษทั และผูจ้ ดั การจะมีหน้าที่ในการแจ้งต่อคณะกรรมการบริษทั ถึงเรือ่ งผลประโยชน์ตา่ งๆ ที่อาจจะขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัท หรือผลประโยชน์ที่อาจได้รับผ่านนิติบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือ ผ่านการท�ำธุรกรรมส่วนตัวอื่น โดยบุคคลที่กล่าวถึงข้างต้นจะได้รับอนุญาตให้น�ำเอาโอกาสดังกล่าวไปใช้ได้ต่อเมื่อ สมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ที่ไม่มผี ลประโยชน์ทเี่ กีย่ วข้องด้วยตัดสินใจทีจ่ ะไม่ทำ� การตรวจสอบประเด็นดังกล่าว


3. ไม่อนุญาตให้บริษทั ให้กยู้ มื เงิน ค�ำ้ ประกัน หรือให้สนิ เชือ่ กับสมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ผูจ้ ดั การและครอบครัว ของบุคคลเหล่านั้น หรือนิติบุคคลที่บุคคลข้างต้นมีผลประโยชน์ทางการเงินอยู่ เว้นแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะมีความ เห็นแตกต่างเป็นอย่างอื่น 4. สัญญาหรือธุรกรรมใดๆระหว่างบริษทั กับสมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ผูจ้ ดั การ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับสมาชิกของ คณะกรรมการหรือผู้จัดการ หรือบริษัท หุ้นส่วน สมาคม หรือองค์การที่สมาชิกของคณะกรรมการบริษัท ผู้จัดการ หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับสมาชิกของคณะกรรมการหรือผูจ้ ดั การเป็นสมาชิกหรือมีผลประโยชน์ทางการเงินทีเ่ กีย่ วโยง กันจะไม่ตกเป็นโมฆะเพียงเพราะความสัมพันธ์ดังกล่าว หรือเพราะข้อเท็จจริงที่ว่าสมาชิกของคณะกรรมการบริษัท หรือผู้จัดการดังกล่าวได้ไปปรากฏตัวเข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้องหรือท�ำหน้าที่เป็นคณะกรรมการบริษัทหรือคณะ กรรมการย่อยที่ได้รับอนุญาตให้เข้าท�ำสัญญาหรือเข้าท�ำธุรกรรมดังกล่าว หรือได้รับอนุญาตให้รวมเอาคะแนนเสียง ของบุคคลที่ออกเสียงลงคะแนนเหล่านั้นในวัตถุประสงค์ดังกล่าวเอาไว้ด้วย หากได้มีการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ (ก.) ปัจจัยส�ำคัญที่เกี่ยวกับสัญญาหรือธุรกรรม และความสัมพันธ์และผลประโยชน์ของผู้จัดการหรือสมาชิกของ คณะกรรมการบริษัทได้ถูกรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการย่อย และในขณะเดียวกัน คณะ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการย่อยอนุมัติการด�ำเนินการตามสัญญา หรือ ธุรกรรมด้วยเสียงข้างมากของ สมาชิกคณะกรรมการบริษทั โดยปราศจากผลประโยชน์ทเี่ กีย่ วข้อง ในกรณีทสี่ ญั ญามีมลู ค่า 20% หรือน้อยกว่า มูลค่ารวมของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุด หรือ (ข.) ปจั จัยส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับสัญญาหรือธุรกรรม และความสัมพันธ์และผลประโยชน์ของผูจ้ ดั การหรือสมาชิกของคณะ กรรมการบริษัทได้ถูกรายงานต่อผู้ถือหุ้นที่ไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง และมีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนใน เรื่องสัญญาหรือธุรกรรมดังกล่าว และผู้ถือหุ้นได้โหวตให้ท�ำสัญญาหรือด�ำเนินการดังกล่าว ในกรณีที่สัญญามี มูลค่ามากกว่า 20% ของมูลค่ารวมของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุด

การคัดเลือกกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่เกิน 10 คน คณะกรรมการมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งห้า (5) ปี ทัง้ นี้ กรรมการ คนหนึ่งมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการไม่เกินห้า (5) ปี กรรมการอาจได้รับการแต่งตั้งให้ดำ� รงต�ำแหน่งได้อีกโดยไม่ จ�ำกัดจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และจ�ำนวนรวมของสมาชิกคณะกรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการอิสระและไม่ได้เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการบริษัทจะต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจ�ำนวนสมาชิกทั้งหมดของคณะกรรมการบริษัท

สมาชิกของคณะกรรมการบริษัทจะต้องได้รับการแต่งตั้งโดยผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้ก่อตั้งตามสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นที่ เป็นผู้ก่อตั้งมีสิทธิรวมสัดส่วนการถือหุ้นของตนเพื่อการเสนอชื่อบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท

ผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ อย่างน้อย 5% ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงเป็นระยะเวลาติดต่อกันอย่างน้อยหก (6) เดือน มีสทิ ธิทจี่ ะรวมสิทธิออก เสียงของตนเข้ากับผูถ้ อื หุน้ อืน่ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกัน เพือ่ เสนอชือ่ บุคคลทีม่ สี ทิ ธิได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั และผูถ้ อื หุน้ หรือ กลุ่มผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้น 10% หรือน้อยกว่า 10% ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงเป็นระยะเวลาติดต่อกันอย่างน้อยหก (6) เดือนมีสิทธิ เสนอชื่อบุคคลที่มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทได้หนึ่งคน และผู้ถือหุ้นหรือกลุ่มผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นมากกว่า 10% แต่ไม่ ถึง 30% ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลที่มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทได้สองคน และผู้ถือหุ้นหรือ

81 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

5. องค์การที่ปรึกษาอิสระได้ตรวจสอบสัญญาหรือธุรกรรมดังกล่าวแล้วพบว่าเป็นธรรมและสมเหตุสมผลในทุกๆด้านที่ เกีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ณ เวลาทีอ่ นุมตั ิให้มกี ารท�ำสัญญาหรือธุรกรรมดังกล่าวหรือ พบว่าสัญญาหรือธุรกรรม ดังกล่าวได้ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการย่อยภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการของ บริษัท หรือผู้ถือหุ้น


กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ มากกว่า 30% แต่ไม่ถงึ 50% ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงมีสทิ ธิเสนอชือ่ บุคคลทีม่ สี ทิ ธิได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการ บริษัทได้สามคน และผู้ถือหุ้นหรือกลุ่มผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นมากกว่า 50% แต่ไม่ถึง65% ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงมีสิทธิเสนอชื่อ บุคคลทีม่ สี ทิ ธิได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ได้สคี่ น และผูถ้ อื หุน้ หรือกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ มากกว่า 65% ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออก เสียง มีสิทธิเสนอชื่อบุคคลที่มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทได้เท่ากับจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดที่จะได้รับการแต่งตั้ง

หากจ�ำนวนบุคคลทีม่ สี ทิ ธิได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ไม่ครบตามจ�ำนวน หลังจากได้มกี ารสมัครขอรับการแต่งตัง้ หรือได้รบั เสนอชือ่ จากผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการอาจเสนอชือ่ บุคคลทีม่ สี ทิ ธิได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั เพิม่ เติม หรือชะลอการแต่งตัง้ ไว้กอ่ นโดยเป็นไป ตามกฎที่บริษัทก�ำหนดไว้ ทั้งนี้ กฎในการแต่งตั้งหรือวิธีการที่คณะกรรมการบริษัทใช้ในการเสนอชื่อบุคคลที่มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทจะต้องมีการประกาศไว้อย่างชัดแจ้งและต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนจะมีการเสนอชื่อความเป็น กรรมการในคณะกรรมการบริษัทจะสิ้นสุดลงในกรณีดังต่อไปนี้

(ก) กรรมการคนดังกล่าวขาดคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกคณะกรรมการบริษัทตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท หรือมีลักษณะต้อง ห้ามตามกฎหมายที่จะเป็นกรรมการได้ (ข) กรรมการคนดังกล่าวยื่นหนังสือขอลาออกจากการเป็นกรรมการไปยังส�ำนักงานใหญ่ของบริษัท (ค) กรรมการคนดังกล่าวกลายเป็นคนวิกลจริต และกรรมการคนอืน่ ๆ ในคณะกรรมการได้ด�ำเนินการให้ผเู้ ชีย่ วชาญพิสจู น์การ สูญเสียความสามารถในการกระท�ำการทางแพ่ง (ง) กรรมการคนดังกล่าวไม่ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทเป็นระยะเวลาติดต่อกันหก (6) เดือน และคณะกรรมการ บริษัทไม่ได้อนุญาตให้กรรมการคนดังกล่าวขาดประชุมได้ภายในระยะเวลาดังกล่าวและคณะกรรมการบริษัทได้มีมติให้ กรรมการคนดังกล่าวพ้นจากต�ำแหน่ง และ

82 Vietnam-The New Phase of Success

(จ) กรรมการคนดังกล่าวถูกให้ออกจากคณะกรรมการ โดยได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งกรรมการคนใหม่เพื่อมาแทนต�ำแหน่งทีว่ ่างลงได้ และกรรมการคนที่ได้รับเลือกต้องได้รับความ เห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นครั้งถัดไป เมื่อได้รับความเห็นชอบดังกล่าว ให้ถือว่าการแต่งตั้งกรรมการใหม่นั้นมีผลใช้บังคับ นับแต่วันที่คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้งกรรมการคนดังกล่าว

การแต่งตัง้ สมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ต้องได้รบั การประกาศตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สมาชิก ของคณะกรรมการบริษัทไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท


การประชุมคณะกรรมการบริษัท

รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัทของ อมตะ เวียดนาม ในรอบปี 2557 และปี 2558 มีดังนี้ รายชื่อ

1. Dr. Huynh Ngoc Phien 2. Mr. Chu Thanh Son** 3. Mr. Nguyen Minh Huy** 3. Ms. Pham Thi Thanh Huong** 4. Mr. Do Ngoc Son 5. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 6. นายอนุชา สิหนาทกถากุล** 7. นายกัมพล ตติยกวี* 8. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 9. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์

ปี 2557

ม.ค. – ธ.ค. 2558

จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม / จ�ำนวนประชุมทั้งหมด

4/4 4/4 4/4 1/4 4/4 4/4 4/4 1/4 4/4 4/4

3/4 2/4 2/4 2/4 4/4 4/4 2/4 4/4 2/4 4/4

หมายเหตุ: *นายกัมพล ตติยกวี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2557 แทนนายชูชาติ สายถิ่น ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง ** Ms. Pham Thi Thanh Huongลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2558 ** Mr. Chu Thanh Son และMr. Nguyen Minh Huy ลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2558 ซึง่ เป็นการปรับคณะกรรมการภายหลังทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ใน อมตะ เวียดนาม เพิม่ เป็นร้อยละ 89.99 ** นายอนุชา สิหนาทกถากุลลา ออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2558 ** ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม ลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2558

คณะกรรมการตรวจสอบ (Inspection Committee) Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ณ วันที 3่ 1 ธันวาคม 2558 อมตะ เวียดนาม มีคณะกรรมการตรวจสอบ (Inspection Committee) จ�ำนวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นางสาวเด่นดาว โกมลเมศ 2. นางสาวจินดารัตน์ อังศุกุลชัย 3. Miss Cao Thi Thu

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ: - นางสาวจินดารัตน์ อังศุกลุ ชัย ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตรวจสอบตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2557 เมือ่ วันที่ 5 สิงหาคม 2557 - Miss Cao Thi Thu ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตรวจสอบตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2557 เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2557

83 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

รายชื่อ


ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของตรวจสอบ (Inspection Committee) Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั เป็นไปตามข้อบังคับ (Charter) ของบริษทั โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีอิสระ ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้ง หรือถอดถอนผู้สอบบัญชีอิสระของบริษัท 2. หารือกับผู้สอบบัญชีถึงขอบเขตการท�ำงานของผู้สอบบัญชีก่อนที่จะมีการเริ่มท�ำงาน 3. หารือกับที่ปรึกษาอิสระหรือที่ปรึกษาทางกฎหมาย เพื่อให้ที่ปรึกษาจากภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ใน ด้านต่างๆ มีส่วนให้คำ� ปรึกษากับบริษัทเมื่อมีความจ�ำเป็น 4. สอบทานงบการเงินประจ�ำปี ประจ�ำครึ่งปี และประจ�ำไตรมาสก่อนน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา 5. หารือกับผู้สอบบัญชีในประเด็นปัญหาที่พบในผลการตรวจสอบประจ�ำปีและประจ�ำครึ่งปี 6. พิจารณาข้อสังเกตจากการตรวจสอบงบการเงินของผู้สอบบัญชีอิสระและค�ำชี้แจงจากคณะกรรมการบริษัท 7. พิจารณารายงานเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทก่อนที่จะน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 8. สอบทานผลของการตรวจสอบภายในและข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริษัท

คณะผู้บริหาร Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อมตะ เวียดนามมีคณะผู้บริหารจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

84 Vietnam-The New Phase of Success

1. นางสมหะทัย พานิชชีวะ

ต�ำแหน่ง

President

2. Ms. Pham Thi Thanh Huong

Vice President

3. นายสุรกิจ เกียรติธนากร

Vice President

4. Mr. Osamu Sudo Senior Manager - Sales and Marketing 5. Ms. Lam Thi Dan An Manager - Accounting and Finance หมายเหตุ: นายสุรกิจ เกียรติธนากร ด�ำรงต�ำแหน่ง Vice President ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2558 แทนนายชูชาติ สายถิน่ ทีล่ าออกจากต�ำแหน่ง Mr. Osamu Sudo ด�ำรงต�ำแหน่ง Senior Manager ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มีนาคม 2558


ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Amata (Vietnam) Joint Stock Company 1. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอำ� นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. ด�ำเนินการการตามมติของคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น และด�ำเนินการตามแผนธุรกิจและแผนการ ลงทุนของบริษัทที่อนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ที่ไม่จ�ำเป็นต้องมีมติของคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งการลงนามในสัญญาทางการเงินและ การผลิต และสัญญาทางการค้าในนามของบริษัท และบริหารจัดการธุรกิจปกติของบริษัทและกิจกรรมการผลิตโดย ยึดหลักการบริหารจัดการที่ดี 3. ให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับจ�ำนวนและประเภทของผูจ้ ดั การทีบ่ ริษทั จ�ำเป็นต้องว่าจ้าง เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั เพือ่ แต่ง ตัง้ หรือถอดถอนตามความจ�ำเป็นเพือ่ ให้สามารถกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถปรับใช้โครงสร้าง การบริหารจัดการตามทีเ่ สนอโดยคณะกรรมการบริษทั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพือ่ ให้คำ� แนะน�ำกับคณะกรรมการ บริษัทในการก�ำหนดเงินเดือน ค่าตอบแทน ผลประโยชน์ และการจัดการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับสัญญาว่าจ้างผู้จัดการของ บริษัท 4. ปรึกษากับคณะกรรมการบริษัทเพื่อที่จะก�ำหนดจ�ำนวนพนักงาน เงินเดือน ค่าเบี้ยเลี้ยง ผลประโยชน์ การแต่งตั้ง และการปลดออกจากต�ำแหน่ง และรายละเอียดอื่นที่เกี่ยวกับสัญญาจ้างงาน 5. ในวันที่ 31 ตุลาคม ของแต่ละปี กรรมการผูจ้ ดั การหรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารต้องส่งรายละเอียดแผนธุรกิจส�ำหรับ ปีทางการเงินปีถัดไปต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติบนพื้นฐานของความเหมาะสมของ งบประมาณและแผนทางการเงินใน 5 ปี 6. ด�ำเนินการตามแผนธุรกิจประจ�ำปีที่อนุมัติโดยการที่ประชุมผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการบริษัท 7. เสนอมาตรการเพื่อปรับปรุงการด�ำเนินงานและการจัดการของบริษัท 8. เตรียมประมาณการรายเดือน รายปี และระยะยาวของบริษัท (ในที่นี่เรียกว่า “การประมาณการ”) เพื่อรองรับการ จัดการกิจกรรมรายเดือน รายปี และระยะยาวของบริษทั ตามแผนธุรกิจ ทัง้ นี้ งบประมาณการรายปี (รวมทัง้ ประมาณ การงบดุล การรายงานกิจกรรมทางธุรกิจและการผลิต และรายงานกระแสเงินสด) ส�ำหรับปีทางการเงินในแต่ละปีที่ ต้องส่งให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่อท�ำการอนุมัติจะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลตามที่กำ� หนดในกฎของบริษัท 9. ด�ำเนินการกิจกรรมอื่นๆ ตามกฎบัตรของบริษัท กฎระเบียบของบริษัท มติของคณะกรรมการบริษัท สัญญาว่าจ้าง ของกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกฎหมายของเวียดนาม 2. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะรับผิดชอบต่อการด�ำเนินงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และอ�ำนาจ ก่อนคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น และต้องรายงานการด�ำเนินงานดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ ประชุมผู้ถือหุ้นหากจ�ำเป็น 3. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะรับผิดชอบส�ำหรับการกระท�ำในหน้าที่ของตน รวมถึงหน้าที่ในฐานะ สมาชิกในคณะกรรมการย่อยของคณะกรรมการบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท และมี ความโปร่งใสเยี่ยงบุคคลอื่นในสถานการณ์เดียวกัน

85 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


4. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารที่ปฎิบัติตามอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบด้วยความไม่ซื่อสัตย์ ไม่ รอบคอบ ไม่มีความหมั่นเพียร หรือไม่เป็นมืออาชีพ จะต้องรับผิดชอบส�ำหรับความเสียหายที่เกิดจากการละเมิดนั้นๆ 5. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะซื่อสัตย์และหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะไม่ได้รับอนุญาตให้น�ำเอาโอกาสทางธุรกิจทีส่ ามารถสร้างผลก�ำไร ได้ของบริษัทมามาใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง และไม่อนุญาตให้ใช้ข้อมูลที่รับรู้จากต�ำแหน่งหน้าที่การงานของตน มาสร้างผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือแก่ผู้อื่น 2. กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะมีหน้าที่ในการแจ้งต่อคณะกรรมการบริษัทถึงเรื่องผลประโยชน์ ต่างๆ ทีอ่ าจจะมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ หรือผลประโยชน์ทอี่ าจได้รบั ผ่านนิตบิ คุ คลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ หรือผ่านการท�ำธุรกรรมส่วนตัวอื่น โดยบุคคลที่กล่าวถึงข้างต้นจะได้รับอนุญาตให้น�ำเอาโอกาสดังกล่าวไปใช้ได้ต่อ เมื่อสมาชิกในคณะกรรมการบริษัทที่ไม่มีผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องด้วยตัดสินใจที่จะไม่ท�ำการตรวจสอบประเด็น ดังกล่าว 3. ไม่อนุญาตให้บริษทั ให้กยู้ มื เงิน ค�ำ้ ประกัน หรือให้สนิ เชือ่ กับสมาชิกคณะกรรมการบริษทั ผูจ้ ดั การและครอบครัวของ บุคคลเหล่านั้น หรือนิติบุคคลที่บุคคลข้างต้นมีผลประโยชน์ทางการเงินอยู่ เว้นแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะมีความเห็น แตกต่างเป็นอย่างอื่น 4. สัญญาหรือธุรกรรมใดๆ ระหว่างบริษทั กับสมาชิกของคณะกรรมการบริษทั ผูจ้ ดั การ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับสมาชิกของ คณะกรรมการหรือผู้จัดการ หรือบริษัท หุ้นส่วน สมาคม หรือองค์การที่สมาชิกของคณะกรรมการบริษัท ผู้จัดการ หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับสมาชิกของคณะกรรมการหรือผูจ้ ดั การเป็นสมาชิกหรือมีผลประโยชน์ทางการเงินทีเ่ กีย่ วโยง กันจะไม่ตกเป็นโมฆะเพียงเพราะความสัมพันธ์ดังกล่าว หรือเพราะข้อเท็จจริงที่ว่าสมาชิกของคณะกรรมการบริษัท หรือผู้จัดการดังกล่าวได้ไปปรากฏตัวเข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้องหรือท�ำหน้าที่เป็นคณะกรรมการบริษัทหรือ คณะกรรมการย่อยทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้เข้าท�ำสัญญาหรือเข้าท�ำธุรกรรมดังกล่าว หรือได้รบั อนุญาตให้รวมเอาคะแนนเสียง ของบุคคลที่ออกเสียงลงคะแนนแหล่านั้นในวัตถุประสงค์ดังกล่าวเอาไว้ด้วย หากได้มีการด�ำเนินการดังต่อไปนี้

86 Vietnam-The New Phase of Success

(ก.) ปัจจัยส�ำคัญที่เกี่ยวกับสัญญาหรือธุรกรรม และความสัมพันธ์และผลประโยชน์ของผู้จัดการหรือสมาชิกของ คณะกรรมการบริษัทได้ถูกรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการย่อย และในขณะเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการย่อยอนุมัติการด�ำเนินการตามสัญญา หรือ ธุรกรรมด้วยเสียงข้างมาก ของสมาชิกคณะกรรมการบริษทั โดยปราศจากผลประโยชน์ทเี่ กีย่ วข้อง ในกรณีทสี่ ญั ญามีมลู ค่า 20% หรือน้อย กว่ามูลค่ารวมของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุด หรือ (ข.) ปัจจัยส�ำคัญที่เกี่ยวกับสัญญาหรือธุรกรรม และความสัมพันธ์และผลประโยชน์ของผู้จัดการหรือสมาชิกขอ งคณะกรรมการบริษทั ได้ถกู รายงานต่อผูถ้ อื หุน้ โดยปราศจากผลประโยชน์ทเี่ กีย่ วข้อง และสิทธิในการออกเสียง ในเรื่องนั้นๆ และผู้ถือหุ้นได้โหวตให้ท�ำสัญญาหรือด�ำเนินการดังกล่าว ในกรณีที่สัญญามีมูลค่ามากกว่า 20% ของมูลค่ารวมของสินทรัพย์ตามงบการเงินล่าสุด (ค.) องค์การที่ปรึกษาอิสระได้ตรวจสอบสัญญาหรือธุรกรรมดังกล่าวแล้วพบว่าเป็นธรรมและสมเหตุสมผลในทุกๆ ด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ณ เวลาทีอ่ นุมตั ิให้มกี ารท�ำสัญญาหรือธุรกรรมดังกล่าวหรือ พบว่าสัญญา หรือธุรกรรมดังกล่าวได้ผา่ นการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการย่อยภายใต้การควบคุมของคณะ กรรมการของบริษัท หรือผู้ถือหุ้น


การก�ำหนดอ�ำนาจอนุมตั วิ งเงินของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร Amata (Vietnam) Joint Stock Company

บริษทั มีการก�ำหนวงเงินค่าใช้จา่ ยของฝ่ายบริหารตามประเภทวัตถุประสงค์การใช้เงินในงบประมาณประจ�ำปีซงึ่ จะสอดคล้องกับ การบริหารจัดการทั่วไปของบริษัท เพื่อให้ธุรกิจสามารถด�ำเนินตามปกติโดยไม่ติดขัด โดยงบประมาณประจ�ำปีดังกล่าวจะต้อง ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี อย่างไรก็ตามหากมีรายการที่นอกเหนือจากขอบเขตที่ก�ำหนดไว้ใน รายการประจ�ำปี รายการเหล่านั้นจะถูกน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา

ทั้งนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอ�ำนาจพิจารณาเบิกค่าใช้จ่ายนอกงบประมาณตามวงเงินดังต่อไปนี้ 1. การสั่งซื้อเครื่องใช้สำ� นักงานและอุปกรณ์ที่มีมูลค่าไม่เกิน 300,000,000เวียดนามด่ง 2. การสั่งซื้อทรัพย์สินอื่นๆ ที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,000,000,000เวียดนามด่ง

เลขานุการบริษัทของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company

คณะกรรมการบริษทั อมตะ เวียดนาม ได้แต่งตัง้ เลขานุการบริษทั (Secretary of the Company) โดยมีหน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ให้การสนับสนุนการจัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม ท�ำหนังสือเชิญประชุม ดูแลและจัดการประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ และการประชุมผู้ถือหุ้น ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการ ตรวจสอบ 2. จัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการต่างๆ 3. ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการด�ำเนินการประชุม 4. จัดเตรียมข้อมูลทางการเงิน ส�ำเนารายงานการประชุม และข้อมูลอื่นๆ ที่กี่ยวข้องให้กับกรรมการบริษัท 5. รับผิดชอบในการเก็บรักษาข้อมูลความลับตามที่ระบุในข้อบังคับ (Charter) และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทต้องแต่งตั้งประธานและรองประธานคณะกรรมการ โดยเลือกจากกรรมการใน คณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ ประธานคณะกรรมการจะต้องไม่ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษทั ในขณะเดียวกัน เว้นแต่ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะมีมติเป็นประการอืน่ โดยการด�ำรงต�ำแหน่งของประธานคณะ กรรมการบริษทั ควบคูไ่ ปกับการเป็นกรรมการผูจ้ ดั การหรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของบริษทั ต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ประธานคณะกรรมการมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดประชุมและเป็นประธานในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการ บริษัท และในเวลาเดียวกัน ให้ประธานคณะกรรมการมีสิทธิและหน้าที่อื่นๆ ตามที่ก�ำหนดในกฎบัตรและตามกฎหมายว่า ด้วยบริษทั และให้รองประธานคณะกรรมการมีสทิ ธิและหน้าทีเ่ ช่นเดียวกันกับประธานคณะกรรมการเมือ่ รองประธานคณะ กรรมการได้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนประธานคณะกรรมการ เฉพาะในกรณีทปี่ ระธานคณะกรรมการได้แจ้งให้คณะ กรรมการบริษัททราบว่าตนจะไม่เข้าร่วมประชุมหรือต้องขาดประชุมด้วยเหตุสุดวิสัยหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ใน กรณีดังกล่าวข้างต้น เมื่อประธานคณะกรรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ประธานคณะกรรมการจะมิได้เป็นผู้แต่งตั้ง รองประธานคณะกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่แทนตน แต่ให้กรรมการที่เหลืออยู่ในคณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้แต่งตั้งรอง ประธานคณะกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานคณะกรรมการ ทั้งนี้ หากทั้งประธานและรองประธานคณะกรรมการ ไม่สามารถปฏิบัติของตนได้ชั่วคราว เนื่องด้วยเหตุผลบางประการ คณะกรรมการบริษัทอาจแต่งตั้งบุคคลอื่นจากคณะ กรรมการบริษัทตามหลักการเสียงข้างมากให้ท�ำหน้าที่เป็นประธานคณะกรรมการได้

87 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

การสรรหากรรมการและผู้บริหารของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company


ประธานคณะกรรมการต้องด�ำเนินการให้คณะกรรมการบริษทั จัดส่งงบการเงินประจ�ำปี รายงานผลประกอบการของบริษทั รายงาน การสอบบัญชี และรายงานการตรวจสอบของคณะกรรมการบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้น

หากทั้งประธานและรองประธานคณะกรรมการลาออกหรือถูกถอดถอนจากต�ำแหน่ง คณะกรรมการต้องแต่งตั้งบุคคลใดๆ มา ด�ำรงต�ำแหน่งแทนประธานและรองประธานคณะกรรมการภายในระยะเวลาสิบ (10) วัน

การแต่งตั้ง การถอดถอน หน้าที่และอ�ำนาจของกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

คณะกรรมการต้องแต่งตั้งกรรมการหนึ่งคนหรือบุคคลอื่นใดมาปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร และต้องเข้าท�ำสัญญาเพื่อก�ำหนดเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และข้อก�ำหนดอื่นๆ เกี่ยวกับการจ้างงาน ทั้งนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง และสิทธิประโยชน์ต่างๆ ของกรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะ ต้องถูกรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ และต้องมีการระบุถึงข้อมูลดังกล่าวในรายงานประจ�ำปีของบริษัท

กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารไม่จ�ำเป็นต้องเป็นประธานคณะกรรมการ ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการหรือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งสาม (3) ปี เว้นแต่คณะกรรมการจะก�ำหนดเป็นประการอื่นใด และ กรรมการผูจ้ ดั การหรือประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาจได้รบั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งไปอีกวาระหนึง่ ก็ได้ การแต่งตัง้ อาจเป็น โมฆะและสิ้นผลลงตามข้อก�ำหนดในสัญญาจ้างงานได้ ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการหรือประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะต้อง ไม่เป็นบุคคลที่ต้องห้ามตามกฎหมายไม่ให้ด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าว อันได้แก่ ผู้เยาว์ บุคคลผู้ไร้ความสามารถในทางแพ่ง บุคคลผูเ้ คยถูกต้องโทษคุมขังหรือถูกลงโทษให้จำ� คุก เจ้าหน้าที่ในกองทัพ ข้าราชการ หรือเป็นลูกจ้างผูซ้ งึ่ ศาลมีคำ� วินจิ ฉัยว่า เป็นผู้ที่ท�ำให้บริษัทซึ่งบุคคลดังกล่าวเคยเป็นเจ้าหน้าที่ ล้มละลาย

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

88 Vietnam-The New Phase of Success

บมจ. อมตะ วีเอ็น

บมจ. อมตะ วีเอ็น ไม่มีการจัดตั้งคณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน (Remuneration Committee) คณะกรรมการ บริษัทจะพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท จากผลการด�ำเนินงาน ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการแต่ละคณะ รวมถึงความเหมาะสมของค่าตอบแทนเมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน แล้วเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558ได้มีมติอนุมัติการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทประจ�ำปี 2558 โดย มีรายละเอียดดังนี้

1. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท 1.1) ค่าตอบแทนรายเดือน ให้จ่ายทุกเดือน

-

ประธานกรรมการ

-

รองประธานกรรมการ เดือนละ 25,000 บาท

-

กรรมการท่านอื่น

เดือนละ 35,000 บาท เดือนละ 20,000 บาท


1.2) ค่าตอบแทนเป็นค่าเบี้ยประชุม ให้จ่ายเป็นรายครั้งเฉพาะเมื่อมาเข้าประชุม

-

ประธานกรรมการ

ครั้งละ 50,000 บาท

-

รองประธานกรรมการ ครั้งละ

40,000 บาท

-

กรรมการท่านอื่น

30,000 บาท

ครั้งละ

2. ค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ ให้จ่ายเฉพาะค่าเบี้ยประชุมเป็นรายครั้งเมื่อมาเข้าร่วมประชุม ดังนี้

-

ประธานกรรมการตรวจสอบ ครั้งละ

-

กรรมการตรวจสอบท่านอื่น

50,000 บาท

ครั้งละ 30,000 บาท

ทั้งนี้หากท่านใดเป็นพนักงานของบริษัท ก็ให้ค่าตอบแทนกรรมการนี้เป็นส่วนเพิ่มเติมจากค่าจ้างปกติของพนักงานแต่ละ ท่านในปี 2556-2557 และปี 2558 มีการจ่ายค่าผลตอบแทนให้แก่กรรมการของบริษัทฯ ตามรายละเอียด ดังนี้ รายชื่อ

ปี2556 เงินเดือน เบี้ยประชุม (บาท) (บาท)

ปี 2557 เงินเดือน เบี้ยประชุม (บาท) (บาท)

ปี 2558 เงินเดือน เบี้ยประชุม (บาท) (บาท)

1. นายวิกรม กรมดิษฐ์ 280,000 50,000 420,000 200,000 256,667 150,000 2. นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ 163,333 100,000 3. Dr. Huynh Ngoc Phien 200,000 120,000 300,000 120,000 300,000 160,000 4. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 160,000 90,000 240,000 120,000 240,000 150,000 5. นายชูชาติ สายถิ่น 160,000 90,000 144,000 60,000 6. นายกัมพล ตติยกวี 96,000 30,000 240,000 150,000 160,000 90,000 240,000 120,000 240,000 120,000 7. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 8. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 160,000 90,000 240,000 120,000 240,000 150,000 9. นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ 160,000 240,000 240,000 320,000 240,000 350,000 10. Mr. Do Ngoc Son 160,000 180,000 240,000 240,000 240,000 180,000 11. Mr. Mats Anders Lundqvist 160,000 180,000 240,000 240,000 240,000 240,000 รวม 1,600,000 1,130,000 2,400,000 1,570,000 2,400,000 1,750,000 หมายเหตุ: - นายกัมพล ตติยกวี ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2557 เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2557 แทนนายชูชาติ สายถิน่ ทีล่ าออกจากต�ำแหน่ง - นายวิกรม กรมดิษฐ์ ได้ลาออกจากการเป็นประธานกรรมการ โดยนายสุรนิ ทร์ พิศสุวรรณ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธาน กรรมการตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2558 เมือ่ วันที่ 11 สิงหาคม 2558 แทนนายวิกรม กรมดิษฐ์ ทีล่ าออกจากต�ำแหน่ง

89 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ในปี 2556-2557และปี 2558 มีการจ่ายค่าผลตอบแทนให้แก่กรรมการของอมตะ เวียดนาม ตามรายละเอียด ดังนี้ รายชื่อ

1. Dr. Huynh Ngoc Phien 2. Mr. Chu Thanh Son 3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 4. Ms. Pham Thi Thanh Huong 5. นายชูชาติ สายถิ่น 6. นายอนุชา สิหนาทกถากุล 7. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 8. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 9. Mr. Nguyen Minh Huy 10. Mr. Do Ngoc Son รวม

90 Vietnam-The New Phase of Success

รายชื่อ

เงินเดือน (พันด่ง) (บาท)

ปี 2556 เบี้ยประชุม1) (พันด่ง) (บาท)

โบนัส (พันด่ง)

(บาท)

175,829 256,417 90,169 131,496 224,302 327,106 125,842 183,519 41,795 60,951 138,860 202,505 125,592 183,155 64,406 93,926 160,215 233,647 104,556 152,478 59,911 87,371 160,215 233,647 125,592 183,155 64,406 93,926 160,215 233,647 125,696 183,307 52,330 76,315 130,175 189,839 125,696 183,307 52,330 76,315 130,175 189,839 125,696 183,307 39,183 57,141 130,175 189,839 104,868 152,933 46,516 67,836 115,700 168,728 104,868 152,933 46,516 67,835 115,711 168,745 1,244,235 1,814,511 557,562 813,112 1,465,743 2,137,542 เงินเดือน (พันด่ง) (บาท)

ปี 2557 เบี้ยประชุม1) (พันด่ง) (บาท)

โบนัส (พันด่ง)

(บาท)

1. Dr. Huynh Ngoc Phien 177,584 268,596 91,069 137,742 226,542 342,644 2. Mr. Chu Thanh Son 152,089 230,035 56,376 85,269 140,247 212,124 3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 126,951 192,013 65,049 98,387 161,815 244,746 4. Ms. Pham Thi Thanh Huong 126,741 191,696 46,980 71,058 116,876 176,775 5. นายชูชาติ สายถิ่น 73,836 111,677 32,363 48,949 161,815 244,746 6. นายอนุชา สิหนาทกถากุล 126,741 191,696 52,853 79,939 132,788 200,841 126,741 191,696 39,705 60,054 132,788 200,841 7. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 8. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 126,741 191,696 52,853 79,939 132,788 200,841 9. Mr. Nguyen Minh Huy 126,741 191,696 46,980 71,058 116,876 176,775 10. Mr. Do Ngoc Son 126,741 191,696 46,980 71,058 116,867 176,761 11. นายกัมพลตติยกวี 31,869 48,202 26,558 40,168 รวม 1,322,775 2,000,699 557,766 843,621 1,439,402 2,177,094 หมายเหตุ: 1) ในการจัดประชุมแต่ละครัง้ ประธานกรรมการจะได้รบั ค่าเบีย้ ประชุมจ�ำนวน USD 750 ต่อครัง้ และคณะกรรมการ จะได้รบั ค่าเบีย้ ประชุมจ�ำนวน USD 500 ต่อครัง้ 2) นายกัมพล ตติยกวี ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2557 เมือ่ วันที่ 7 สิงหาคม 2557 แทนนายชูชาติ สายถิน่ ทีล่ าออกจากต�ำแหน่ง


ปี 2558 รายชื่อ

เงินเดือน (พันด่ง)

เบี้ยประชุม1) (บาท)

(พันด่ง)

(บาท)

โบนัส (พันด่ง)

(บาท)

1. Dr. Huynh Ngoc Phien 185,216 289,531 48,935 77,121 233,402 361,772 2. Mr. Chu Thanh Son 90,382 136,873 28,754 43,854 144,494 223,966 3. นางสมหะทัย พานิชชีวะ 131,912 206,211 67,977 106,272 166,715 258,409 4. Ms. Pham Thi Thanh Huong 75,480 114,312 28,717 43,916 166,715 258,409 5. นายอนุชา สิหนาทกถากุล* 86,155 130,857 26,824 40,914 135,456 209,957 6. ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 153,505 238,618 41,123 65,119 135,456 209,957 7. นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ 187,180 292,498 68,370 107,387 135,456 209,957 8. Mr. Nguyen Minh Huy 75,318 114,061 23,962 36,545 120,415 186,644 9. Mr. Do Ngoc Son 187,180 292,498 62,402 98,049 120,406 186,629 10. นายกัมพล ตติยกวี 187,180 292,498 68,369 107,387 135,456 209,957 รวม 1,359,508 2,107,957 465,433 726,564 1,493,972 2,315,657 หมายเหตุ: ** Ms. Pham Thi Thanh Huongลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2558 ** Mr. Chu Thanh Son และMr. Nguyen Minh Huyลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2558 ซึง่ เป็นการปรับคณะกรรมการภายหลังทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ใน อมตะ เวียดนาม เพิม่ เป็นร้อยละ 89.99 ** นายอนุชา สิหนาทกถากุลลาออกจากการเป็นกรรมการของ อมตะ เวียดนาม เมือ่ วันที่ 1 กรกฏาคม 2558

ค่าตอบแทนอืน่

ในปี 2556 ได้มีการจ่ายค่าตอบแทนอื่นให้แก่กรรมการของบริษัทฯ และอมตะ เวียดนาม ได้แก่หุ้นสามัญของบริษัทฯ ที่ ราคาตราไว้ 0.50 บาทต่อหุ้น รายละเอียดดังนี้ รายชื่อ

นางสมหะทัย พานิชชีวะ นายชูชาติ สายถิ่น Dr. Huynh Ngoc Phien นายอนุชา สิหนาทกถากุล ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ Mr. Do Ngoc Son นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Mats Anders Lundqvist รวม

จ�ำนวนหุ้น

2,800,000 876,600 563,600 500,000 340,000 340,000 340,000 240,000 240,000 6,240,200

มูลค่า(บาท)

1,400,000 438,300 281,800 250,000 170,000 170,000 170,000 120,000 120,000 3,120,100

91 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในปี 2556-2557 และปี 2558 บริษัทฯ และ อมตะ เวียดนาม มีการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารในรูปแบบของเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอื่นๆ อาทิ เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ (ไม่รวมค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของผู้บริหาร บางท่าน) ตามรายละเอียดดังนี้ ปี 2556 ค่าตอบแทนรวม (ล้านบาท)

จ�ำนวน (คน)

13.39

4

8.60

4

11.42

4

8.58

5

9.28

5

10.99

5

บมจ. อมตะ วีเอ็น Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ปี 2557 ค่าตอบแทนรวม (ล้านบาท)

จ�ำนวน (คน)

ปี 2558 ค่าตอบแทนรวม จ�ำนวน (คน) (ล้านบาท)

บุคลากร

จ�ำนวนบุคลากร บมจ. อมตะ วีเอ็น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีพนักงานรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 4 คน

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อมตะ เวียดนาม มีพนักงานรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 129 คน และ 128 คนตามล�ำดับ (ไม่นับรวมผู้บริหารจ�ำนวน 5 คน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

92 Vietnam-The New Phase of Success

สายงาน

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายบัญชีและการเงิน ฝ่ายขายและการตลาด ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายโรงงาน ฝ่ายที่ดิน ฝ่ายบริหารจัดการน�้ำ ฝ่ายธุรการ รวม

จ�ำนวนพนักงาน (คน) 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาค 2558

3 5 8 8 60 5 19 21 129

2 6 9 9 58 5 19 20 128


ค่าตอบแทนบุคลากร บมจ. อมตะ วีเอ็น

บริษัทฯ ไม่มีบุคลากรอื่นที่ไม่ใช่กรรมการและผู้บริหาร

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ในปี 2556-2557 และปี 2558 อมตะ เวียดนาม จ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงาน (ไม่รวมผู้บริหาร) จ�ำนวน 22,767 ล้านด่ง หรือเทียบเท่า 33.20 ล้านบาท 23,379 ล้านด่ง หรือเทียบเท่า 35.36 ล้านบาท และ 23,055 ล้านด่ง หรือเทียบเท่า 36.08 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเป็นค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือน โบนัส ค่าล่วงเวลา เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และ สวัสดิการอื่นๆ

ข้อพิพาทด้านแรงงานที่ส�ำคัญในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา

ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานที่สำ� คัญในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา

นโยบายการพัฒนาบุคลากร

บริษัทฯ และ อมตะ เวียดนาม มุ่งเน้นการพัฒนาบุคคลากรซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำ� คัญอย่างยิ่งในการด�ำเนินธุรกิจและ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลจะต้องกระท�ำควบคูไ่ ปกับการพัฒนาธุรกิจเพือ่ รองรับกับการเติบโตขององค์กรในอนาคต บริษทั ฯ และ อมตะ เวียดนามมีนโยบายในการรักษาบุคคลากรที่ดีของบริษัท โดยการให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเหมาะสม สามารถแข่งขันได้กับผลตอบแทนโดยเฉลี่ยของอุตสาหกรรม และยังจัดให้บุคคลากรมีสวัสดิการ และผลประโยชน์อื่นๆ ที่ เหมาะสม รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรโดยส่งเสริมให้บุคคลากรได้รับการฝึกอบรมต่างๆ ทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร โดยวางแผนการฝึกอบรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับบุคคลากรในแต่ละสายงาน ทัง้ นีน้ อกเหนือจากการพัฒนา ในด้านความรู้ในแต่ละด้านของบุคคลากร บริษัทฯ และ อมตะ เวียดนาม ยังส่งเสริมการพัฒนาด้านทักษะ และปลูกฝัง วัฒนธรรมขององค์กรให้กับบุคลากรอีกด้วย

โครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการจัดการของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company

โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 3 ท่าน รายชื่อ

1. นายสุรกิจ เกียรติธนากร 2. นายกัมพล ตติยกวี 3. Ms. Pham Thi Thanh Huong

ต�ำแหน่ง

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทฯ อยู่ในระหว่างพิจารณาโครงสร้างคณะผู้บริหาร และการก�ำหนดนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยจะก�ำหนดให้เป็น ไปตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องของส�ำนักงาน ก.ล.ต.

93 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

Amata City Long Thanh Joint Stock Company (“Amata City Long Thanh JSC”) ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน 2558 โดย เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัทฯ และ อมตะ เวียดนาม ในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 35 และร้อยละ 65 ตามล�ำดับ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรมและโครงการพาณิชยกรรมภายใต้ชื่อ Amata City Long Thanhและ Amata Service City Long Thanh ในเมือง Long Thanh จังหวัดดองไน


การก�ำกับ

ดูแลกิจการ อมตะ วีเอ็น เชื่อมั่นว่าธุรกิจที่ดีไม่ใช่การหวังผลเพียงแค่ก�ำไรว่าเป็นเป้าหมายทางธุรกิจเท่านั้น แต่การด�ำเนินมาเพื่อให้ได้ผลก�ำไร เหล่านั้น ก็เป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน หรือแม้กระทั่งส�ำคัญกว่า หากมองในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทจึงมี ความพยายามและมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นองค์กรที่มีการด�ำเนินธุรกิจโดยยึดหลักบรรษัทภิบาลที่ดี ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้บริษทั ย่อยมีการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ ได้นำ� นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการให้คณะกรรมการของบริษทั ย่อยพิจารณา อนุมัติเพื่อถือแนวทางปฏิบัติของบริษัทย่อยเช่นกัน

นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการ

บริษัทฯ ได้ร่างขึ้นโดยอ้างอิงหลักการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยปี 2549 เรื่องการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียน โดยบริษทั ฯ ได้เทียบเคียงหลักการดังกล่าวกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ตี ามแนวทางของ OECD (The Organization for Economic Co-operation and Development) โดยแบ่งออกเป็นหมวดหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

สิทธิของผู้ถือหุ้น (The Rights of Shareholders)

คณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อยให้ความส�ำคัญและเคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้นและปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียม กัน ผู้ถือหุ้นทุกรายทั้งในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย์และในฐานะเจ้าของบริษัทฯ และบริษัทย่อยพึงได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานอย่าง เท่าเทียมกัน อันได้แก่ - สิทธิในการซื้อ ขาย โอนหุ้นและสิทธิในการรับใบหุ้น - สิทธิในการที่ได้รับข้อมูล ข่าวสารอย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา ในรูปแบบที่เหมาะสมในการตัดสินใจ - สิทธิในการรับส่วนแบ่งผลก�ำไรของกิจการ - สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อร่วมตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่ส�ำคัญของ กิจการ

94 Vietnam-The New Phase of Success

- สิทธิในการเลือกตั้งและถอดถอนกรรมการ รวมทั้งการก�ำหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการ - สิทธิในการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี

บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ก�ำหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี ของกิจการ และหากมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพเิ ศษซึง่ เป็นเรือ่ งทีก่ ระทบหรือเกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ของ ผูถ้ อื หุน้ หรือเกีย่ วกับเงือ่ นไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บงั คับทีต่ อ้ งได้รบั การอนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ แล้ว บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะเรียกประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นกรณีไป หรือในท�ำนองเดียวกันผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่าหนึง่ ในห้าของจ�ำนวน หุ้นที่จ�ำหน่ายได้ทั้งหมดหรือผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 25 คนซึ่งมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้ ทั้งหมดจะเข้าชื่อกันท�ำหนังสือขอให้คณะกรรมการเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้ โดยต้องระบุเหตุผล ในการขอเรียกประชุมให้ชัดเจนในหนังสือดังกล่าวด้วย ในกรณีเช่นนี้คณะกรรมการต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นภายในหนึ่ง


เดือนนับแต่วนั ได้รบั หนังสือจากผู้ถอื หุน้ ทัง้ นี้ ผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ ทุกคนมีสิทธิออกเสียงตามจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื อยู่ โดยหุน้ แต่ละ หุ้นมีสิทธิออกเสียงหนึ่งเสียง และไม่มีหุ้นใดมีสิทธิพิเศษที่เป็นการจ�ำกัดสิทธิของผู้ถือหุ้นรายอื่น นอกเหนือจากสิทธิพนื้ ฐานต่างๆ ข้างต้นแล้ว บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะได้ดำ� เนินการในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ ป็นการส่งเสริม และอ�ำนวย ความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในทุกปี เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้พจิ ารณาและออกเสียงในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อย จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้ง เอกสารประกอบการประชุมแก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าเพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีระยะเวลาเพียงพอในการศึกษาข้อมูลของการประชุม ผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะจัดส่งให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายทีม่ รี ายชือ่ ปรากฏในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ณ วันปิดทะเบียน ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ และบริษัทย่อยทั้งนี้ เอกสารประกอบการประชุมที่บริษัทฯ ได้ส่งให้ผู้ถือหุ้นนั้น ประกอบด้วย รายละเอียดวาระการประชุม รายงานประจ�ำปี งบการเงิน และหนังสือมอบฉันทะ ซึง่ เป็นเอกสารทีม่ ขี อ้ มูลครบถ้วนเพียงพอ ให้ผู้ถือหุ้นใช้ประกอบการตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ และได้ท�ำการประกาศลงหนังสือพิมพ์รายวัน ติดต่อกันไม่น้อย กว่า 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน เพื่อบอกกล่าวเรียกประชุมผู้ถือหุ้น 2. บริษทั ฯ จะด�ำเนินการเผยแพร่ขอ้ มูลประกอบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าประมาณ 1 เดือนก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ใน เว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จะชี้แจงสิทธิของผู้ถือหุ้นในการเข้าประชุมและสิทธิออกเสียงลงมติของผู้ถือหุ้นไว้ด้วย 3. ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษัทฯ เปิดโอกาสให้สามารถมอบฉันทะให้กรรมการหรือบุคคล อื่น เข้าร่วมประชุมแทนตนได้ โดยให้ใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทฯ ได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือ นัดประชุม นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถ Download หนังสือมอบฉันทะผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ได้อกี ทางหนึง่ ด้วย

ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุนสถาบันหรือผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้ลงทุนต่างประเทศและแต่งตั้งให้ คัสโตเดียน (Custodian) ใน ประเทศไทย เป็นผูร้ บั ฝากและดูแลหุน้ บริษทั ได้ประสานงานเรือ่ งเอกสารและ หลักฐานทีจ่ ะต้องแสดงก่อนเข้าร่วมประชุม เป็นการล่วงหน้า เพื่อให้การลงทะเบียนในวันประชุมเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

4. สนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง ผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบค�ำถามและรับทราบความเห็นของ ผู้ถือหุ้น 5. ในการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือ ตั้งค�ำถามในวาระต่างๆ อย่างอิสระก่อนการลงมติในทุกวาระ โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จัดเตรียมบุคคลากรที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาเป็นผู้ให้ค�ำตอบภายใต้ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อย ส�ำหรับตอบค�ำซักถามทีผ่ ถู้ อื หุน้ มีในทีป่ ระชุม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะจัดเตรียมข้อมูลรายละเอียดของระเบียบวาระ ที่จะพิจารณาให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างเพียงพอก่อนเริ่มการประชุมด้วย นอกจากนี้ ในการประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้งบริษัทฯ และ บริษัทย่อยจะจัดให้มีการบันทึกการประชุมให้ถูกต้องครบถ้วนด้วย 6. บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถส่งค�ำถามทีต่ อ้ งการให้ชแี้ จงในประเด็นของระเบียบวาระทีน่ ำ� เสนอได้ ล่วงหน้าโดยส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือโทรสาร เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากการประชุม รวมทัง้ เป็นการ รักษาสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ 7. บริษัทฯ ได้จัดท�ำวีดีทัศน์ บันทึกภาพการประชุมผู้ถือหุ้นตลอดระยะเวลาการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่มีข้อสงสัยสามารถ ติดตามเหตุการณ์ในระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้นได้ 8. บริษัทฯ มีการแจ้งมติที่ประชุมผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ภายในวันท�ำการถัดไป

95 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


9. บริษัทฯ มีการจัดท�ำรายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่งได้ส่งให้ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและกระทรวงพาณิชย์ภายในระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนดและเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ

ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น (The Equitable Treatment of Shareholders)

การสร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นกับผู้ถือหุ้นทุกรายทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย ผู้ถือหุ้นที่เป็น ผู้บริหาร นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ ต่างก็เป็นเรื่องที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยค�ำนึงถึงและพยายามสร้างเครื่องมือ ที่ช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง โดยเฉพาะกับผู้ถือหุ้นรายย่อย เช่น 1. การก�ำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง 2. ส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นนั้นบริษัทฯ ได้จัดท�ำหนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนได้ตาม แบบที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด โดยบริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือมอบฉันทะดังกล่าวไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กับกรรมการอิสระของบริษัทฯ ได้ด้วย ทั้งนี้ บริษัทฯ จะระบุรายชื่อกรรมการอิสระ ดังกล่าวไว้ในหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมภายหลังจากได้เริ่มประชุมแล้ว มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนส�ำหรับวาระที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้มีการลงมติและนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่ วาระที่ได้เข้าประชุมและออกเสียงเป็นต้นไป เว้นแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะมีความเห็นเป็นอย่างอื่น 3. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นอื่นทราบล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลของระเบียบวาระการประชุมก่อนลงมติ 4. ในวาระการเลือกตั้งกรรมการ บริษัทได้ใช้วิธีเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล 5. เพื่อความสะดวกของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้จัดให้มีการลงทะเบียนโดยใช้ระบบบาร์โค้ดที่แสดงถึงเลขทะเบียนของผู้ถือหุ้น แต่ละรายที่บริษัทฯ ได้จัดพิมพ์ไว้บนหนังสือมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับความสะดวกสบายในการประชุม และท�ำให้ ขัน้ ตอนการลงทะเบียนเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ในการใช้สทิ ธิออกเสียงแต่ละวาระ บริษทั ฯ จะใช้วธิ เี ก็บบัตรลงคะแนน ของผู้ถือหุ้นทุกใบเพื่อน�ำมาค�ำนวณผลการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ และยืนยันการลงคะแนนทั้งเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงโดย เมื่อจบการประชุม ผู้ถือหุ้นสามารถขอตรวจสอบความถูกต้องได้

96 Vietnam-The New Phase of Success

6. บริษัทฯ จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่มีสัดส่วนการถือหุ้นขั้นต�ำ่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.05 ของหุ้นบริษัทฯ ที่ชำ� ระแล้วทั้งหมด และถือหุ้นดังกล่าวต่อเนื่องมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 12 เดือนสามารถเสนอระเบียบวาระการประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้น ประจ�ำปีรวมทั้งเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าเป็นกรรมการเพื่อพิจารณาแต่งตั้งได้ 7. ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ หมายถึง คณะกรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูง และพนักงานในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับข้อมูลของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย (รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว) ดังนี้ 1. ห้ามบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องท�ำการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ภายใน 2 สัปดาห์กอ่ นมีการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว (Blackout Period) 2. ในกรณีทที่ ราบข้อมูลใดๆ ทีย่ งั ไม่เปิดเผยสูส่ าธารณะ ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ต้องไม่ทำ� การ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ จนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชัว่ โมง นับแต่ได้มกี ารเปิดเผยข้อมูลนัน้ สูส่ าธารณะทัง้ หมด แล้วรวมทั้งห้ามมิให้ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่ได้รับทราบข้อมูลภายในเปิดเผยข้อมูลภายในแก่บุคคลภายนอกหรือ บุคคลที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้นำ� ข้อมูลภายในไปใช้ในทางมิชอบ


3. ในกรณีที่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งหมายรวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ จะต้องแจ้งรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2533 ภายใน 3 วันท�ำการนับจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน 4. บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ทุกครั้ง 8. คณะกรรมการบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้กำ� หนดนโยบายเกีย่ วกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการทีว่ า่ การตัดสิน ใจใดๆ ของบุคคลากรทุกระดับในการด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจ ต้องท�ำเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เท่านัน้ และถือเป็นหน้าทีข่ องบุคคลากรทุกระดับทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการมีสว่ นเกีย่ วข้องทางการเงิน และ/หรือความสัมพันธ์กบั บุคคลภายนอกอื่นๆ ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยต้องเสียผลประโยชน์ หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งในด้าน ผลประโยชน์ หรือขัดขวางการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวโยงกับรายการ ทีพ่ จิ ารณา ต้องแจ้งให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยทราบถึงความสัมพันธ์หรือการเกีย่ วโยงของตนในรายการดังกล่าว และต้อง ไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไม่มีอำ� นาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ และในการอนุมัติใดๆ ส�ำหรับกรณีดังกล่าวต้อง ยึดถือหลักการและไม่ให้มีการก�ำหนดเงื่อนไขหรือข้อก�ำหนดพิเศษจากปกติ

คณะกรรมการตรวจสอบจะน�ำเสนอรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษัทฯ ต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ความเหมาะสมและรอบคอบส�ำหรับการพิจารณารายการดังกล่าว และเพือ่ ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนดและมีการเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ด้วย

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (The Role of Stakeholders)

บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ให้ความส�ำคัญในการดูแลและค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ และ บริษัทย่อย ตั้งแต่ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และพนักงาน รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1 ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสโดยค�ำนึงถึง การเจริญเติบโตของมูลค่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยในระยะยาว มีผลตอบแทนที่ดี และให้ข้อมูลข่าวสารแก่ทุกฝ่ายอย่าง เท่าเทียมกัน

3. คู่ค้าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเอื้อประโยชน์ร่วมกันและปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้า อย่างเคร่งครัดรวมทั้งปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเสมอภาคบนพื้นฐานของการแข่งขันที่เป็นธรรม 4. คู่แข่งบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่ท�ำลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วย การกล่าวหาในทางร้ายโดยปราศจากซึ่งมูลความจริง 5. เจ้าหนี้บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะรักษาและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด 6. ลูกค้าบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กับลูกค้า เพื่อให้ได้รับบริการที่ดี

97 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2. พนักงานบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยความส�ำเร็จของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะสนับสนุนพัฒนาความสามารถในการท�ำงานให้เป็นระดับมืออาชีพ และให้ความมั่นใจในคุณภาพชีวิตการท�ำงานอย่าง เท่าเทียม โดยไม่คำ� นึงถึง เพศ สัญชาติเชื้อชาติ ศาสนาหรือ ความเชื่อ และมีสถานที่ท�ำงานที่ปลอดภัยและมีสุขอนามัย ที่ดี พนักงานได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสมเป็นธรรม ไม่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน


7. ชุมชนและสังคมบริษัทฯ และบริษัทย่อยตระหนักและห่วงใยถึงความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพสังคม ชีวิตของชุมชน รวมทั้งให้ความส�ำคัญต่อกิจกรรมของชุมชนและสังคมอย่างสม�่ำเสมอ โดยปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของ กฎหมายและกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด 8. สิ่งแวดล้อมบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม สาธารณูปโภคและให้บริการแก่ นักลงทุนจากต่างประเทศ และในประเทศที่มาลงทุนประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ ขณะเดียวกันก็ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการรักษาสภาพแวดล้อมของชุมชน อย่างจริงจัง 9. เรือ่ งอืน่ ๆ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยยึดถือความสุจริตเป็นหลักในการด�ำเนินธุรกิจ และด�ำเนินธุรกิจโดยถูกกฎหมาย บริษทั ฯ และบริษัทย่อยไม่มีนโยบายที่จะสนับสนุนการทุจริตหรือจ่ายสินบนเพื่อประโยชน์ของธุรกิจ นอกจากนี้บริษัทฯ และบริษัท ย่อยยังเคารพและไม่สนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ของผู้อื่น

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เปิดช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถแสดงความเห็นผ่านช่องทางการสื่อสารกับคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ข้อแนะน�ำอันเป็นประโยชน์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับบริษัทฯ ได้ดังนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์

cs@amatavn.com คณะกรรมการบริษัท บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

โดยเลขานุการบริษัทฯ จะเป็นผู้รับผิดชอบในการรับจดหมายดังกล่าวและส่งให้คณะกรรมการชุดย่อยหรือกรรมการที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ผ่านฝ่ายจัดการ เพื่อตรวจสอบข้อมูล โดยค�ำร้องเกี่ยวกับรายงานทางบัญชีและการเงินการควบคุมภายใน การบริหาร ความเสีย่ ง การปฏิบตั ติ ามกฎหมายจะได้รบั การส่งต่อให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทัง้ นี้ ในกรณีทเี่ ป็นการร้องเรียน หรือประเด็น ที่อ่อนไหวอื่นๆ บริษัทฯ จะรักษาข้อมูลของผู้ให้ข้อมูล และความเห็นต่างๆ ไว้เป็นความลับ และจะมีการตอบกลับเป็นการ ส่วนตัวภายใน 15 วันนับจากวันที่บริษัทฯ ได้รับทราบข้อมูล

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)

98 Vietnam-The New Phase of Success

บริษัทฯ มีนโยบายในการเปิดเผยรายงานทางการเงินหรือสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อยต่อสาธารณะผ่านช่องทางต่างๆ ตามเงือ่ นไขทีก่ ฎหมายก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ครบถ้วน โปร่งใสและตรงเวลา บริษทั ฯ ได้เปิดเผยข้อมูลเพื่อแสดงถึงความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ ดังนี้ 1. เปิดเผยข้อมูลการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใสทันเวลา 2. จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินและแสดงไว้คู่กับรายงาผู้สอบบัญชีในรายงาน ประจ�ำปี 3. ก�ำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยต้องเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย่ ว ข้อง ในกรณีทมี่ สี ว่ นได้เสียเกีย่ วข้องกับบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย โดยให้กรรมการและผูบ้ ริหารจัดท�ำรายงานตามทีค่ ณะกรรมการ ของบริษัทฯ ก�ำหนด ทั้งนี้จะต้องรายงานครั้งแรกภายใน 30 วันนับจากวันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และภายใน 15 วันนับจาก วันที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล และภายในวันที่ 31 มกราคมของทุกปี แล้วส่งให้เลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้เก็บรักษา


4. เปิดเผยโครงสร้างการด�ำเนินงานและการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอย่างชัดเจน 5. เปิดเผยรายชือ่ และบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดต่างๆ จ�ำนวนครัง้ ของการประชุมและจ�ำนวนครัง้ ที่กรรมการเข้าร่วมประชุม 6. เปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการ ซึ่งเป็นไปตามมติที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการได้เปิดเผยข้อมูลไว้ในหัวข้อค่าตอบแทนกรรมการ 7. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งท�ำหน้าที่สอบทานรายงานทางการเงิน และน�ำเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะ กรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวมของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อย งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชี มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทีส่ ำ� คัญ ทัง้ ข้อมูลทางการ เงินและไม่ใช่การเงิน ด�ำเนินการบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนและสม�่ำเสมอ 8. เปิดเผยนโยบายการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทั้งผลการปฏิบัติงานตามนโยบายดังกล่าว

ทัง้ นี้ ข้อมูลต่างๆ เหล่านีน้ อกจากจะได้เปิดเผยสูส่ าธารณะผ่านทางส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังได้เปิดเผยทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอีกด้วย

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้าง และคณะอนุกรรมการต่างๆ (The Responsibilities of the Board, Structure, and the Subcommittees) โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อยประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีความรู้ความสามารถเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ โดย เป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยโดยร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูงวางแผนการด�ำเนินงาน ทั้งระยะสั้น ระยะยาว ตลอดจนก�ำหนดนโยบายการเงิน การบริหารความเสี่ยง และภาพรวมขององค์กร มีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยและผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหาร ระดับสูงให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นอิสระ

ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัทฯ มีจ�ำนวน 9 คน ประกอบไปด้วยกรรมการที่มาจากฝ่ายบริหาร 2 คนกล่าวคือ นางสมหะทัย พานิชชีวะและนายกัมพล ตติยกวี และกรรมการที่ไม่ได้มาจากฝ่ายบริหาร 7 ท่าน ซึ่งได้แก่ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ Dr. Huynh Ngoc Phien ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Do Ngoc Son Mr. Mats Anders Lundqvist

(ประธานกรรมการ) (รองประธานกรรมการ)

(กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ) (กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ) (กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ)

โครงสร้างคณะกรรมการที่ประกอบไปด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นอิสระจ�ำนวน 4 คน กล่าวคือ นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Do Ngoc Son และ Mr. Mats Anders Lundqvist รวมถึงนายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ ยังเป็นกรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการอิสระจะช่วยท�ำให้เกิดความถ่วงดุลในการออกเสียงพิจารณาเรือ่ งต่างๆ เพือ่ ให้

99 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ และหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ที่ก�ำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องมีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด รวม ถึงหลักเกณฑ์อื่นใดซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ก�ำหนดขึ้นทั้งนี้ แม้ว่าโครงสร้างกรรมการของบริษัทฯ ประกอบไปด้วย กรรมการอิสระน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด อย่างไรก็ดี กรรมการที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ของบริษทั ฯ 2 ท่าน ได้แก่ ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม และ Dr. Huynh Ngoc Phien ซึง่ เป็นกรรมการที่ไม่ได้ดำ� รงต�ำแหน่ง เป็นกรรมการหรือผู้บริหารในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) อีกทั้งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในอุตสาหกรรม เป็น ผูท้ มี่ คี วามเป็นมืออาชีพและมีจรรยาบรรณในการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พียงพอ เพือ่ ให้บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ มัน่ ใจได้วา่ การตัดสินใจ ของคณะกรรมการบริษัท จะเป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม

100 Vietnam-The New Phase of Success

ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับ ผู้บริหารระดับสูง (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/กรรมการผู้จัดการ) อย่างชัดเจน โดยกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่ในการก�ำหนด นโยบายและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของผู้บริหารระดับสูงในระดับนโยบาย ขณะที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/กรรมการ ผู้จัดการท�ำหน้าที่บริหารงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยในด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายที่กำ� หนด ดังนั้น ประธาน กรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/กรรมการผู้จัดการจึงเป็นบุคคลคนละคนกัน

การสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท

บริษทั ฯ ไม่มคี ณะสรรหาโดยเฉพาะ แต่คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีส่ รรหาบุคคลผูท้ รงคุณวุฒแิ ละเป็นบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ครบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 เรือ่ งการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 มาเป็นกรรมการ หรือผูบ้ ริหารแทนกรรมการหรือผูบ้ ริหารทีค่ รบก�ำหนดออกตามวาระหรือในกรณีอนื่ ๆ โดยคณะกรรมการบริษทั จะพิจารณา คัดเลือกบุคคลทีจะมาเป็นกรรมการหรือผู้บริหารโดยใช้หลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ วิสัยทัศน์ และ ความน่าเชื่อถือ รวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฏหมายก� ำหนด โดยบุคคลที่ได้รับการ คัดเลือกจะถูกเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่ได้กำ� หนดอายุของกรรมการบริษทั ทีจ่ ะไม่ถกู เสนอชือ่ เข้ารับการเลือกตัง้ ในวาระถัดไป หรือจ�ำนวน บริษัทฯ ที่กรรมการบริษัทฯ แต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่ง เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเชื่อว่าความสามารถ ทางธุรกิจและความเชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ ของกรรมการบริษัทไม่ได้ขึ้นอยู่กับอายุหรือจ�ำนวนบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ตราบเท่าที่ยังมีความสามารถและอุทิศเวลาให้กับบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้อย่างเต็มที่ สามารถช่วยก�ำหนดนโยบาย ให้ ค�ำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจได้ตามมาตรฐานที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยคาดหวังไว้ เช่นเดียว กับการก�ำหนดจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันสูงสุดของกรรมการบริษัท เพราะบริษัทฯ และบริษัทย่อยเชื่อว่า อ�ำนาจในการตัดสินใจในการเลือกตัง้ บุคคลเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั นัน้ เป็นสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยแท้ทจี่ ะคัดเลือก บุคคลเข้าท�ำหน้าทีแ่ ทนตนในการก�ำหนดนโยบายและควบคุมบริษทั ฯ ทีต่ นเป็นเจ้าของ ยกเว้นการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ตรวจสอบเท่านัน้ ทีร่ ะยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบไม่ควรเกิน 3 วาระติดต่อกันเว้นแต่กรรมการตรวจสอบ คนใดมีความเหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งนานกว่านั้นคณะกรรมการจะพิจารณาความเป็นอิสระและประสิทธิภาพของการ ปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการตรวจสอบรายดังกล่าว

ทัง้ นี้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ยังไม่มคี ณะกรรมการค่าตอบแทน อย่างไรก็ตามบริษทั ฯ มีกรอบแนวทางในการก�ำหนดค่าตอบแทน ของกรรมการและผู้บริหารดังต่อไปนี้


1. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสมและอยู่ในระดับที่สามารถเทียบเคียงได้กับบริษัทฯ ใน กลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันทั้งนี้จะต้องพิจารณาประกอบกับประสบการณ์ บทบาท ขอบเขตและภาระหน้าที่ของ กรรมการและผู้บริหาร รวมไปถึงประโยชน์ที่บริษัทฯ คาดว่าจะได้รับจากกรรมการและผู้บริหารแต่ละคนอีกด้วย

ทั้งนี้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558 ได้มีมติอนุมัติการก�ำหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการและคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยรายละเอียดของค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารปรากฏในหน้า xx

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

ในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะคณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อย กรรมการควรจะต้องทราบถึงลักษณะการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ดังนัน้ โดยเฉพาะในกรณีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงหรือมีกรรมการเข้าใหม่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะจัดปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เพื่อแนะน�ำให้รับทราบลักษณะและแนวทางการด�ำเนินงานในภาพรวมของบริษัทฯ รวมทั้ง ให้ข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบจัดการปฐมนิเทศ

การประชุมคณะกรรมการบริษัท

การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทย่อยถือเป็นหน้าที่ส�ำคัญในฐานะกรรมการบริษัทที่ต้องเข้าร่วมประชุมคณะ กรรมการบริษัทอย่างสม�ำ่ เสมอ เพื่อรับทราบและร่วมกันตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย โดยใน แต่ละปีจะมีการจัดประชุมอย่างน้อย 5 ครั้ง แต่ละครั้งจะมีการก�ำหนดวาระการประชุมล่วงหน้าไว้ชัดเจน และอาจมีการ ประชุมครั้งพิเศษเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความส�ำคัญเร่งด่วน คณะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารสามารถจัดประชุม ระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็นเพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความสนใจโดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วม ด้วยและรายงานให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทราบถึงผลการประชุม

ในการประชุมแต่ละคราว ประธานกรรมการบริษทั และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร/กรรมการผูจ้ ดั การ เป็นผูร้ ว่ มกันก�ำหนด วาระการประชุมและพิจารณาเรื่องเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถ เสนอเรือ่ งต่างๆ เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ ทัง้ นี้ เมือ่ มีการก�ำหนดวาระการประชุมดังกล่าวแล้ว บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะจัดส่งเอกสารประกอบวาระการประชุมล่วงหน้าเพือ่ ให้กรรมการบริษทั มีเวลาทีจ่ ะศึกษาข้อมูลในเรือ่ งต่างๆ อย่างเพียงพอ

อย่างไรก็ดี ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการบริษัทซึ่งท�ำหน้าที่ประธานในที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้กรรมการ แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ทัง้ นี้ ในการลงมติให้ถอื ตามเสียงข้างมาก โดยให้กรรมการคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ เสียง และ กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเพื่อเป็นเสียงชี้ขาด

ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ อาจเข้าร่วมประชุมด้วยเพือ่ ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์และ รับทราบนโยบายโดยตรง เพือ่ ให้สามารถน�ำไปปฏิบตั อิ ย่างมีประสิทธิภาพ เว้นแต่ในบางวาระทีป่ ระชุมเฉพาะคณะกรรมการ บริษัทหรือเฉพาะคณะกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ของคณะ กรรมการ

101 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2. ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารจะเป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการก�ำหนดภายใต้กรอบ แนวทางที่ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น และเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ


102 Vietnam-The New Phase of Success

เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทเป็นผู้ที่มีหน้าที่จัดท�ำรายงานการประชุม และจัดส่งให้ประธานกรรมการบริษัท พิจารณาลงลายมือชือ่ รับรองความถูกต้องโดยเสนอให้ทปี่ ระชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครัง้ ถัดไป ทัง้ นี้ กรรมการ บริษัทสามารถแสดงความคิดเห็นขอแก้ไขเพิ่มเติมรายงานการประชุมให้มีความละเอียดถูกต้องมากที่สุดได้

รายงานการประชุมที่ที่ประชุมรับรองแล้วจะถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบในรูปแบบของเอกสารชั้นความลับของบริษัทฯ และ บริษทั ย่อย ณ ส�ำนักงานบริษทั หรือบริษทั ย่อย และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์พร้อมกับเอกสารแนบประกอบ วาระการประชุมต่างๆ เพื่อสะดวกในการสืบค้นอ้างอิง

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อร่วมกันพิจารณาและ สรุปผลการประเมินงานและน�ำมาทบทวนการปฏิบตั งิ าน ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ และร่วมกันหาแนวทางปรับปรุง แก้ไข เพือ่ ให้การท�ำงานของคณะกรรมการมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ โดยบริษทั ฯ ได้กำ� หนดให้มกี ารประเมินตนเองของคณะกรรมการ ในรูปแบบการประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะ

การพัฒนากรรมการ

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดต่างๆ บริษัทฯ และบริษัทย่อยสนับสนุนให้คณะกรรมการ บริษัท และผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งพบปะแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงขององค์กรต่างๆ อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรที่จัดโดยหน่วยงาน ที่ดูแลการฝึกอบรมพนักงานของบริษัทฯ และหลักสูตรที่จัดโดยหน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ หรือองค์กรอิสระ เช่น หลักสูตรกรรมการบริษัทของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ก�ำหนดให้กรรมการของบริษทั จดทะเบียนต้องผ่านการอบรมอย่างน้อยหนึง่ หลักสูตร ซึง่ ได้แก่ Directors Certification Program (DCP), Directors Accreditation Program (DAP) และ Audit Committee Program (ACP) ทั้งนี้ เพื่อน�ำความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาบริษัทฯ ต่อไป

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญในเรื่องการจัดการเกี่ยวกับความขัดแย้งของ ผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ เป็นธรรม และโปร่งใส หากมีรายการที่เกี่ยวโยงกันจะต้องพิจารณาอย่าง รอบคอบ เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวอย่างชัดเจนและทันเวลาเพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยโดยรวมเป็นส�ำคัญ

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะปกป้องความลับของลูกค้าและของผู้ถือหุ้น รักษาความเชื่อถือของลูกค้า โดยให้ความมั่นใจว่า จะรักษาความลับทางธุรกิจของลูกค้า นอกจากว่าจะได้รับความยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลได้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้นำ� เอาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการสือ่ สารภายใน เพือ่ เป็นการประหยัดและเพิม่ ประสิทธิภาพ และได้มกี ารก�ำหนดมาตรการ และกฎระเบียบต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมูลและเอกสารอย่างไม่ถูกต้องการใช้ข้อมูลอย่างผิดกฎหมาย ไม่เหมาะสม และผิดจริยธรรม หรือใช้ไม่ถูกต้องตามอ�ำนาจหน้าที่จะมีผลให้ถูกลงโทษตามกฎระเบียบของบริษัทฯ และบริษัทย่อย นอกจากนี้ยังห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงเวลาที่ก�ำหนด (Blackout Period) ซึ่งนอกจากจะเป็นการรักษา สิทธิของผู้ถือหุ้นแล้วยังเป็นการป้องกันความขัดแย้งของผลประโยชน์อีกทางหนึ่งด้วย


บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีโครงสร้างการถือหุ้นชัดเจน โปร่งใส ไม่มีการถือหุ้นไขว้กันกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จึงท�ำให้ไม่มี ความขัดแย้งของผลประโยชน์ นอกจากนี้ยังแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจนระหว่างคณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น จึงปราศจากปัญหาการก้าวก่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่กรรมการบริษัทหรือผู้บริหาร คนหนึ่งคนใดมีส่วนได้ส่วนเสียกับผลประโยชน์ในเรื่องที่กำ� ลังพิจารณา กรรมการหรือผู้บริหารรายดังกล่าวก็จะไม่เข้าร่วม ประชุมหรืองดออกเสียง เพื่อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารเป็นไปอย่างยุติธรรมและเพื่อ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง

เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้ง นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการบริษัทเพื่อท�ำหน้าที่ให้การสนับสนุนการจัด เตรียมระเบียบวาระการประชุม ท�ำหนังสือเชิญประชุม ดูแลและจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการชุด ต่างๆ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ จัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการต่างๆ รายงานการ ประชุมผู้ถือหุ้นรายงานประจ�ำปี ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายก�ำหนดและให้คำ� ปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติของ คณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งดูแลให้กรรมการและบริษัทฯ มีการ เปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องครบถ้วนและโปร่งใส โดยเลขานุการบริษทั ทีค่ ณะกรรมการแต่งตัง้ ขึน้ นีเ้ ป็นผูท้ คี่ ณะ กรรมการเห็นว่ามีความเหมาะสมมีความรู้ ความสามารถในการบริหารงานเลขานุการบริษัท

กรรมการชุดย่อย โครงสร้างกรรมการบริษัท และบริษัทย่อย ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการแต่ละชุดอยู่ในหัวข้อโครงสร้างการจัดการหน้า 62

การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด อยู่ในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ การคัดเลือกกรรมการบริษัท หน้า 65 การคัดเลือกกรรมการอิสระ หน้า 66 การคัดเลือกกรรมการตรวจสอบ หน้า 69 การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด หน้า 71

103 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย ตามรายละเอียดในหน้า 71


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีนโยบายป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในและก�ำกับดูแลกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน (รวมถึงคูส่ มรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ซึ่งได้รับทราบข้อมูลของบริษัทฯ และบริษัทย่อยดังต่อไปนี้ 1. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน (รวมถึงคู่สมรสและบุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยที่ได้ รับทราบข้อมูลภายใน ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทภายในระยะเวลาสองสัปดาห์ ก่อนการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี ข้อห้ามดังกล่าวนี้ให้ครอบคลุมถึงระยะการห้ามมิให้ซื้อขายหลักทรัพย์ (Blackout Period) (24ชั่วโมง หลังจากเปิดเผยงบการเงิน) 2. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ซึง่ ได้รบั ทราบข้อมูลภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึง่ อาจจะมีผลกระทบต่อราคา ในการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จนกว่าจะครบระยะเวลา 24 ชั่วโมงนับแต่ข้อมูลดังกล่าว ได้เปิดเผย ทั้งนี้ ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เปิดเผยข้อมูลภายในของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยแก่บุคคลภายนอกบริษัทฯ หรือบุคคลอื่นซึ่งมิได้ท�ำหน้าที่ในการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ 3. คณะกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึง คู่สมรสและบุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง สัดส่วนการถือหุน้ ต้องจัดท�ำและส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ� นวนเงินรวม -0- บาท - ส�ำนักงานสอบบัญชีทผี่ สู้ อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ อบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชีทผี่ สู้ อบ บัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม 3,072,207.11 บาท

ค่าบริการอื่น (non-audit fee)

104 Vietnam-The New Phase of Success

บริษัทและบริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ให้แก่ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม -0- บาท และไม่มีค่าจ่ายในอนาคตอันเกิดจาก การตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา - ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชี ดั ง กล่ า ว ในรอบปี บั ญ ชี ที่ ผ ่ า นมามี จ� ำ นวนเงิ น รวม -0- บาท และจะต้ อ งจ่ า ยในอนาคตอั น เกิ ด จาก การตกลงที่ยัง ให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ� นวนเงินรวม -0- บาท


ความรับผิดชอบ

ต่อสังคม

หลักการด�ำเนินธุรกิจ

วิสัยทัศน์

บริษทั มุง่ เน้นการลงทุนในบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ภายใต้แนวคิด เมืองทีส่ มบูรณ์แบบ รับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม บริษทั มิได้ตอ้ งการเพียงการขยายพืน้ ทีน่ คิ มอุตสากรรมเท่านัน้ แต่ตอ้ งการพัฒนานิคมให้เป็น “เมืองทีส่ มบูรณ์แบบ” ซึ่งท�ำให้โรงงานและชุมชนสามารถอยู่ด้วยกันได้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนานิคมอุตสาหกรรมสู่เมืองที่พร้อมสรรพ

พันธกิจ มุ่งพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ มุ่งสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ลงทุนทั้งความปลอดภัยทางด้านทรัพย์สินและตัวบุคคล ร่วมทุน ลงทุนและขยายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลัก มุ่งสร้างความมั่งคั่งและมูลค่าในระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้น ปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน เน้นการด�ำเนินธุรกิจที่ควบคู่กับความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นสากล

ค่านิยม ท�ำงานเป็นทีม รักและภักดีต่อองค์กร เคารพ ช่วยเหลือและเอื้ออาทรต่อกัน ร่วมเผชิญและแก้ปัญหาร่วมกัน บนความเชื่อที่ว่า “ทุกปัญหามีทางออก” ประหยัดและรู้คุณค่าของเงิน เป็นมิตรกับผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างจริงใจไม่ใช่เพื่อภาพลักษณ์

บริษัทและบริษัทย่อยด�ำเนินธุรกิจบนพื้นฐานจริยธรรมทางธุรกิจและได้ใช้หลักบรรษัทภิบาลที่ดีเป็นบรรทัดฐานในการควบคุม การบริหารจัดการธุรกิจให้มีความโปร่งใส และมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะแข่งขันได้ในระดับสากล เพื่อที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับผู้ถือหุ้น และเป็นการเติบโตอย่างยั่งยืน

105 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

แนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ


แนวทางเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยได้ให้ความส�ำคัญในการดูแลและค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในและ ภายนอกบริษัท ตั้งแต่ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และพนักงาน รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยเครื่องมือและวิธีการในการ บริหารจัดการต่างๆ ผ่านกิจกรรมของบริษัท เช่น การเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็น การส�ำรวจความพึงพอใจหรือข้อเสนอแนะต่างๆ ระบบการรับข้อร้องเรียน รวมถึงการประชุมร่วมกัน เป็นต้น จากการด�ำเนินการตามวิธีดังกล่าว บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) สามารถน�ำข้อคิดเห็นต่างๆ มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการด�ำเนินงาน เพื่อตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ของบริษัทได้อย่างต่อเนื่อง มีผลโดยตรงต่อการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืนและหลักบรรษัทภิบาลของการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ผู้ถือหุ้น หน่วยงาน ราชการ เปิดเวทีรับฟัง ความคิดเห็น

เจ้าหนี้

สื่อมวลชน

พนักงาน ส�ำรวจความพึงพอใจ หรือข้อเสนอแนะ

เยี่ยมเยียน open house

รับข้อร้องเรียน

106 Vietnam-The New Phase of Success

จัดประชุมร่วมกัน ชุมชน

ลูกค้า

ภาคประชาสังคม นักวิชาการ

คู่ค้า

คู่แข่ง


ผู้มีส่วนได้เสีย

แนวปฏิบัติและกลยุทธที่ใช้ดูแล

ผู้ถือหุ้น

ด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส ตามหลักบรรษัทภิบาล โดยค�ำนึงถึงการเติบโตทางธุรกิจ และเปิดเผย ข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน

พนักงาน

พัฒนาศักยภาพเพือ่ ความมัน่ คงในอาชีพ ดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย ส่งเสริมศีลธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนด้วยความเท่าเทียม

คู่ค้า

สร้างสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันตามสัญญาและจรรยาบรรณ ปฏิบัติตามกรอบการแข่งขันที่เป็นธรรม

คู่แข่ง

ปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่ทำ� ลายชื่อเสียงทางการค้าของคู่แข่ง

ภาคประชาสังคมนักวิชาการ

เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่วมสร้างเครือข่ายทางวิชาการ เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน

ลูกค้า

สร้างความพึงพอใจ พร้อมตอบสนองด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาสินค้าและบริการให้ครบวงจรเพื่อ เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สมบูรณ์รองรับความเจริญของประเทศ

ชุมชน

ตระหนักถึงสุขภาพ ความปลอดภัย ร่วมสร้างสรรค์คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน

สื่อมวลชน

เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ และโปร่งใส

เจ้าหนี้

ปฏิบัติตามเงื่อนไขและสัญญาอย่างเคร่งครัด

หน่วยงานราชการ

ด�ำเนินการท�ำธุรกรรมกับรัฐ ตามเจตนารมย์ของกฎหมาย

ประเด็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน

107 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กรที่รักษาความสมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจ การอยู่ร่วมกันใน สังคมและชุมชน ควบคู่กับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ในการก�ำหนดประเด็นการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558 นี้ เป็นปีแห่งการเริ่มต้น ของบริษัทในการประยุกต์แนวทางการวิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาตามคู่มือ GRI Sustainability Reporting Guidelines (GRI-G4) เพือ่ จัดท�ำ “Materiality Matrix” หรือสรุปประเด็นด้านการพัฒนาอย่างยัน่ ยืนตามระดับทีม่ นี ยั ส�ำคัญ เพือ่ น�ำไปประกอบการจัดท�ำแผนงาน ด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนของบริษัทต่อไป ดังแสดงในตาราง


Stakeholder

Air Emission Indigenous Rights Local Commuunity Public Policy

Land Development Economic Performance Energy Management Water Management Waste Management Anti-Corruption

Freedom of Association and Collective Bargaining Biodiversity Non-Discrimination Investment

Market Presence Procurement Practices Employment Training and Education Marketing Communication

Amata จากการวิเคราะห์ประเด็นในการพัฒนาอย่างยั่นยืนในตาราง บริษัทได้น�ำมาด�ำเนินการโครงการต่างๆ ของบริษัทตลอดปี 2558 โดย แบ่งออกเป็น 3 ด้านหลัก ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิง่ แวดล้อม ในการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายใต้นนั้ จะได้รบั ความร่วมมือจากกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท และบริษัทย่อยเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี

การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ - การเติบโตอย่างยั่งยืนในประชาคมอาเซียน 108 Vietnam-The New Phase of Success

บริษัทและบริษัทย่อยเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจให้กับภูมิภาคอาเซียน ผ่านการสร้างเมืองอุตสาหกรรมที่ ครบวงจร ค�ำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมของพื้นที่อย่างยั่งยืน ท�ำให้เกิดการลงทุนจากนักลงทุนและการหมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิจ

- สิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมกันและความหลากหลาย

บริษัทและบริษัทย่อยให้ความส�ำคัญในการเคารพในสิทธิมนุษยชน สิทธิของพนักงานและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม ยึดถือเป็น แนวปฏิบตั ขิ นั้ พืน้ ฐาน ตามหลักการด้านสิทธิมนุษยชนทีร่ ะบุไว้ตามกฎหมายและเป็นมาตรฐานระดับสากล อันเกีย่ วข้องกับการ เลือกปฏิบตั ิ เสรีภาพการรวมกันเป็นสมาคม การบังคับใช้แรงงานและการใช้แรงงานเด็ก เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท


บริษัทและบริษัทย่อยเปิดโอกาสและให้ความเท่าเทียมกันของบุคคลทุกเชื้อชาติ ศาสนา เพศ อายุ ชนชั้น ภูมิล�ำเนา การศึกษา สาขาวิชา ไม่จ�ำกัดบุคคลพิการ เพื่อให้ได้บุคลากรที่หลากหลายตามความจ�ำเป็นในแต่ละลักษณะงาน ความต้องการของลูกค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เข้ามาร่วมงานกับบริษัทและบริษัทย่อย เกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อพนักงาน องค์กร และสังคมโดยรวม ปัจจุบัน มีพนักงานที่มีสัญชาติต่างๆ นอกจากไทยได้แก่ ญี่ปุ่น เวียดนาม เป็นต้น

การด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

Blood Donation

Terry Fox Run for Fund

Terry Fox Run for Fund

การด�ำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทและบริษัทย่อย ตระหนักถึงความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการรักษาสภาพ แวดล้อมอย่างจริงจัง โดยผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อย มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและมีเจตจ�ำนงค์ที่จะด�ำเนินการต่างๆ ภายใต้ ความมุ่งมั่น ดังนี้ 1. บริษัทและบริษัทย่อย จะปฏิบัติตามข้อกฎหมายและกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 2. บริษัทและบริษัทย่อย มุ่งเน้นที่จะป้องกันปัญหาก่อนเกิดเหตุ 3. บริษัทและบริษัทย่อย มุ่งมั่นที่จะลดการเกิดของเสียให้ได้มากที่สุด และจะน�ำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. บริษัทและบริษัทย่อย มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ 5. บริษทั และบริษทั ย่อย จะพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นระบบการจัดการน�ำ้ ระบบการจัดการขยะ ให้ดีขึ้นอยู่เสมอ 7. ประชาสัมพันธ์นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมแก่สาธารณะ

109 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

6. ปลูกจิตส�ำนึกของพนักงานทุกคนให้ตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิด “Green and Clean”


แนวทางปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่น บริษัทและบริษัทย่อยต่อต้านการคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ ด้วยตระหนักดีว่าการให้สินบนและการคอร์รัปชั่นนั้นเป็นภัยร้ายแรงที่ท�ำลาย การแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม รวมทั้งก่อให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อมตะไม่มีนโยบายเสนอเงิน สิง่ จูงใจ ของก�ำนัลในรูปแบบใดๆ แก่หน่วยงานภายนอกหรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐเพือ่ ประโยชน์หรือความได้เปรียบทางธุรกิจ รวมทัง้ ไม่มี นโยบายการจ่ายเงินอื่นใดเพื่อเร่งการด�ำเนินการหรืออ�ำนวยความสะดวก บริษัทและบริษัทย่อยมีการประเมินความเสี่ยงจากการให้สินบนและคอร์รัปชั่น ตลอดจนทบทวนมาตรการ จัดการความเสี่ยง เพื่อให้ มั่นใจว่ายังมีความเหมาะสม และได้จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงานให้ได้รับทราบถึงการให้สินบนในรูปแบบต่างๆ ทั้งจากตนเองและ บุคคลอืน่ เพือ่ ให้สามารถหลีกเลีย่ งการกระท�ำดังกล่าว พร้อมทัง้ จัดช่องทางแจ้งเบาะแสการรายงานเพือ่ สนับสนุนให้พนักงานเฝ้าระวัง และรายงานการพบเห็นหรือสงสัยว่ามีการให้สนิ บนหรือคอร์รปั ชัน่ เกิดขึน้ ก�ำหนดขัน้ ตอนการลงโทษต่อผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับการให้สนิ บน และคอร์รัปชั่นรวมถึงกระบวนการขั้นตอนการปกป้องผู้แจ้งเบาะแสโดยความสุจริต

110 Vietnam-The New Phase of Success

บริษทั และบริษทั ย่อยมีการสอบทานระบบการควบคุมภายในเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีประสิทธิผลในการต่อต้านการให้สนิ บนและการคอร์รปั ชัน่ จัดให้มีระบบการติดตามเพื่อให้มั่นใจว่านโยบายและขั้นตอนปฏิบัตินั้นมีประสิทธิผลและได้สื่อสารนโยบายต่อต้านการให้สินบนและ การคอร์รัปชั่นให้แก่ผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้า/ผู้ให้บริการ และผู้รับเหมาทราบ ตั้งแต่เริ่มต้นความสัมพันธ์ทางธุรกิจและในภายหลังตาม ความเหมาะสม


การควบคุมภายใน

และการบริหารจัดการความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในของ บมจ. อมตะ วีเอ็น

บริษัทฯ ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ปัจจุบันบริษัทฯ ลงทุนในอมตะ เวียดนาม โดย บริษัทฯ ไม่ได้ประกอบธุรกิจอื่นใด ดังนั้นการควบคุมภายในของบริษัทฯ จึงมุ่งเน้นที่การควบคุมภายในของ อมตะ เวียดนาม ซึ่งเป็น บริษัทย่อยเป็นหลัก ในการประชุมคณะกรรมการ ครัง้ ที่ 1/2555 เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2555 มีการแต่งตัง้ กรรมการและผูบ้ ริหารไปท�ำหน้าทีก่ รรมการในบริษทั ย่อยโดยบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อการควบคุมภายในมาอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ สอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายในบริษทั ย่อยและเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ก�ำหนดแนวทางการก�ำกับ ดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในด้านต่างๆ ได้แก่ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติ การของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม เพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนี้

ส่วนที่ 1 องค์กรและสภาพแวดล้อม

บริษัทฯ ค�ำนึงถึงการมีโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งเป็นรากฐานที่ส�ำคัญของระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องมีกลไกซึ่งท�ำให้ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อยด�ำเนินไปได้ตามที่บริษัทฯ มุ่งหวัง และส่งเสริมให้ทุกคนรับทราบและเข้าใจถึงรายละเอียดหลักๆ ของระบบการควบคุมภายในดังต่อไปนี้ คณะกรรมการของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้จดั การดูแลให้มกี ารก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจอย่างชัดเจน โดยมีการ ประชุมร่วมกันของฝ่ายบริหาร เพื่อก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอยู่ตลอด เพื่อที่จะน�ำเอาธุรกิจ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเป็นไปดังที่ได้ตงั้ เป้าหมายไว้และพิจารณาก�ำหนดเป็นงบประมาณประจ�ำปี อีกทัง้ มีการแจ้งให้ ผู้บริหารแต่ละฝ่ายรับทราบ เพื่อบริหารงานภายในให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้พิจารณาทบทวนถึงการตั้งเป้าหมายของการท�ำงานในแต่ละหน้าที่อย่างรอบคอบ โดยทบทวน ถึงผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา สภาวะเศรษฐกิจ และปัจจัยต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดการปฏิบัติหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ และเกิดแรงจูงใจหรือผลตอบแทนแก่พนักงานอย่างเหมาะสม บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการก�ำหนดโครงสร้างองค์กร โดยค�ำนึงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กร และมีการ ประกาศให้พนักงานทราบโดยทั่วกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการจัดท�ำข้อก�ำหนดเกี่ยวกับจริยธรรม (Code of Conduct) ข้อก�ำหนด ระเบียบการปฏิบัติและ บทลงโทษของฝ่ายบริหารและพนักงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายเกี่ยวกับหลักการก�ำกับกิจการที่ดี (Corporate Governance) และมีการก�ำหนด หลักเกณฑ์พร้อมทั้งแผนการปฏิบัติงาน โดยค�ำนึงถึงความเป็นธรรมในการด�ำเนินธุรกิจกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและผู้มี ส่วนได้เสีย

111 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการก�ำหนดนโยบายและระเบียบในการอนุมัติธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ และการบริหาร สินทรัพย์ เพื่อป้องกันการทุจริต


ส่วนที่ 2 การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ และบริษทั ย่อยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ทชี่ ัดเจน ทัง้ วัตถุประสงค์ระดับองค์กรและวัตถุประสงค์ระดับกิจกรรมให้ สอดคล้องกันเพือ่ ทีจ่ ะสามารถท�ำงานให้สำ� เร็จด้วยงบประมาณประจ�ำปีที่ได้รบั การอนุมตั แิ ละทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างเหมาะสม อีกทั้งบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ฝ่ายบริหารจึงก�ำหนดให้มีการด�ำเนินการอย่างสม�่ำเสมอดังต่อไปนี้ ประชุมเพือ่ ประเมินถึงความเสีย่ งในการด�ำเนินธุรกิจอย่างสม�ำ่ เสมอและวิเคราะห์ถงึ สาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดเป็นความเสีย่ ง ตลอดจน มีการติดตามสถานการณ์ที่เป็นสาเหตุของความเสี่ยง เพื่อก�ำหนดมาตรการป้องกันหรือลดความเสี่ยงดังกล่าว แจ้งให้ผบู้ งั คับบัญชาของแต่ละฝ่ายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบตั ติ ามนโยบาย การบริหารความเสีย่ ง เพือ่ น�ำไปถ่ายทอด แก่พนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้อง และได้ติดตามผลการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่กำ� หนดไว้

ส่วนที่ 3 การควบคุมการปฏิบัติงานโดยฝ่ายบริหาร

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานที่ท�ำให้มั่นใจว่านโยบายที่ฝ่ายบริหารได้ก�ำหนดไว้ได้รับการตอบสนอง และปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัทฯ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และวงเงินอ�ำนาจอนุมัติของฝ่ายบริหารในแต่ละระดับไว้อย่าง ชัดเจน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีมาตรการดูแลการท�ำธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหารหรือกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง อย่างรัดกุมและชัดเจน โดยมีการก�ำหนดให้การท�ำรายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่สมเหตุสมผล หรือเงื่อนไขการค้าปกติ หรือราคาตลาด โดยจะต้องน�ำเสนอการท�ำรายการ ดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นรายไตรมาส เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับความ สมเหตุสมผลในการท�ำรายการนั้นๆ หากมีการท�ำรายการระหว่างกันที่ไม่เป็นรายการทางการค้าปกติ จะก�ำหนดให้ต้อง น�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ พิจารณาความเหมาะสม เพื่อเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี เพื่ออนุมัติรายการก่อนเข้าท�ำรายการ ซึ่งการอนุมัติจะกระท�ำโดยผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสียในธุรกรรม นั้นเท่านั้น โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นส�ำคัญ

112 Vietnam-The New Phase of Success

ในกรณีที่มีการท�ำธุรกรรมกับผู้ที่เกี่ยวข้องในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทฯ และบริษัทย่อยในระยะยาวบริษัทฯ และบริษัท ย่อยก�ำหนดให้ต้องมีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ และให้รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อ ทบทวนความเหมาะสมของรายการตลอดระยะเวลาของสัญญา อีกทั้งคณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาครอบคลุมถึง การป้องกันไม่ให้ผู้เกี่ยวข้องน�ำโอกาสหรือผลประโยชน์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวด้วย บริษทั ฯ ได้ก�ำหนดให้มกี ารติดตามดูแลการบริหารจัดการในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมอยูเ่ สมอรวมทัง้ มีการก�ำหนดทิศทาง ให้บุคคลที่บริษัทฯ แต่งตั้งให้เป็นกรรมการหรือผู้บริหารในบริษัทดังกล่าวถือปฏิบัติเพื่อให้การด�ำเนินการของบริษัทย่อย และบริษัทร่วมเป็นไปตามเป้าหมายของบริษัทฯ ตลอดจนมีการก�ำหนดนโยบายตรวจสอบติดตามการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม ให้สอดคล้องเป็นไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และบริษทั ฯ มีมาตรการแก้ไขและป้องกัน มิให้เกิดการฝ่าฝืนกฎหมาย


ส่วนที่ 4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครอบคลุมการปฏิบัติงานทั้งในระดับองค์กร ระดับการรายงาน ทางการเงิน ระดับหน่วยปฏิบัติการ ระดับการปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบปฏิบัติต่างๆ ที่ใช้ในการควบคุม เพื่อให้มั่นใจ ว่ามีการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กรได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นการสื่อสารข้อมูล ดังกล่าวไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งและเป็นสิ่งที่จะช่วยให้เกิดมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จัดให้มีข้อมูลที่ส�ำคัญต่างๆ อย่างเพียงพอเพื่อให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดย เฉพาะข้อมูลที่มีนัยส�ำคัญ โดยจะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการมีเวลาศึกษาข้อมูลต่างๆ อย่างเพียงพอ เว้นแต่ในกรณีมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนซึ่งท�ำให้ไม่สามารถ จัดส่งเอกสารล่วงหน้าเช่นนั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยก�ำหนดให้มีการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการโดยมีเนื้อหารายละเอียดตามควร ซึ่งเป็น เนื้อหาส�ำคัญต่อการตัดสินใจในแต่ละเรื่อง อีกทั้งยังมีการบันทึกข้อซักถาม ความเห็น และข้อสังเกตของกรรมการในเรื่อง ที่พิจารณา รวมทั้งความเห็นของกรรมการในการประชุม บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีต่างๆ ไว้ครบถ้วนเป็นหมวดหมู่สะดวกต่อ การตรวจสอบ และมีการก�ำหนดนโยบายบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยให้สอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจหลักของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยเป็นส�ำคัญ และไม่ขัดต่อหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

ส่วนที่ 5 ระบบการติดตาม

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการติดตามงานที่ได้ด�ำเนินการไปอย่างสม�่ำเสมอ รวมถึงมีการตรวจสอบ ปรับปรุง และแก้ไขระบบ ควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไป และเพื่อให้ข้อบกพร่องต่างๆ ได้รบั การแก้ไข อย่างทันท่วงที โดยมีสาระส�ำคัญดังต่อไปนี้

เนือ่ งจากบริษทั ฯ เป็นบริษทั ซึง่ ลงทุนด้วยการเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมิได้มกี ารแต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบภายใน ของบริษัทฯ อย่างไรก็ดี บริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้แต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายในเพื่อท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของ ทุกหน่วยงานของบริษัทย่อยและรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร/กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ฝา่ ยบริหารสามารถแก้ไขปัญหาเร่งด่วนได้ทนั การ และรับการประเมินผลงาน จากคณะกรรมการตรวจสอบด้วย ทั้งนี้เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ จะเป็นผู้ดูแลและประสานงาน ระหว่างผู้ตรวจสอบภายใน และคณะกรรมการตรวจสอบ

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในทุกไตรมาส เพื่อรายงานความคืบหน้าของการตรวจสอบระบบควบคุม ภายในด้านต่างๆ พร้อมทัง้ ซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร หน่วยงานตรวจสอบภายใน และเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการ บริษัทฯ มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของ อมตะ เวียดนาม มีความเพียงพอและเหมาะสมกับขนาดของกิจการและ สภาวการณ์ปจั จุบนั ของอมตะ เวียดนาม อีกทัง้ คณะกรรมการบริษทั ฯยังได้ตระหนักถึงการควบคุมความเสีย่ งต่างๆ ของบริษทั ฯ และได้มีมาตรการที่เหมาะสมมาใช้ในการป้องกันความเสี่ยงนั้นๆ และได้ด�ำเนินการปรับปรุงระบบการควบคุมเพื่อที่สามารถ น�ำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

113 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการติดตามประเมินผลระบบควบคุมภายในโดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานจริง บริษัทฯ และ บริษัทย่อยได้จัดการประชุมอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อพิจารณาผลการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้นว่ามีความแตกต่างจากเป้าหมายที่ ก�ำหนดไว้หรือไม่ ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบตั ทิ จี่ ำ� เป็น เพือ่ ทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะได้ดำ� เนินการแก้ไขข้อบกพร่อง ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม


ระบบการควบคุมภายในของ Amata (Vietnam) Joint Stock ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมา บริษัทฯ ได้ว่าจ้าง A&C Auditing and Consulting Co., Ltd (“A&C”) ในการตรวจสอบระบบควบคุมภายใน ของอมตะ เวียดนาม ในทุกไตรมาส ซึ่งการตรวจสอบระบบควบคุมภายในจะเป็นลักษณะการตรวจสอบทุกระบบของกระบวนการ ท�ำงานในรอบปีนนั้ ๆ ตามแนวทางการประเมินของ COSO ภายใต้ขอบเขตของระบบปฏิบตั กิ าร 5 ด้าน ได้แก่ 1) องค์กรและสภาพแวดล้อม 2) การบริหารความเสีย่ ง 3) การควบคุมการปฏิบตั งิ านโดยฝ่ายบริหาร 4) ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล 5) ระบบการติดตาม ทั้งนี้ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มีมติให้ A&C รายงานผลการตรวจสอบ ภายในให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ รับทราบเป็นรายไตรมาส โดยบริษัทฯ ได้ว่าจ้าง A&C Auditing and Consulting Co., Ltd (“A&C”) ในการตรวจสอบระบบควบคุมภายในของ อมตะ เวียดนาม ซึ่งมี หัวหน้างานตรวจสอบภายในและทีมงานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ดังนี้

ชื่อ

ต�ำแหน่ง

Vo Hung Tien Chief Excutive Officer

Nguyen Ngoc Thanh Consulting Partner

Duong Thi Hong Huong Consulting Manager

Hoang Lan Huong Team Leader

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณารายงานผลการตรวจสอบระบบควบคุมภายในทุกไตรมาส ลดทัง้ นี้ จากผลการตรวจสอบ ระบบควบคุมภายในตั้งแต่ปี 2557 จนถึง ไตรมาสที่ 4 ปี 2558 โดย A&C Auditing and Consulting Co., Ltd นั้น อมตะ เวียดนาม ได้ทำ� การแก้ไขปรับปรุงประเด็นต่างๆ ตามทีผ่ ตู้ รวจสอบภายในได้ให้ขอ้ เสนอแนะไว้ในไตรมาสก่อนๆ ไว้ครบถ้วนแล้ว ส่วนไตรมาสที่ 4 ทางผู้ตรวจสอบภายในได้ตรวจสอบถึงประเด็นต่างๆ โดยไม่มีประเด็นที่เป็นความเสี่ยงใดๆ ต่อบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นว่าการตรวจสอบนั้นครบถ้วนและเหมาะสมแล้ว นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชี ได้แก่ Ernst & Young Vietnam Limited ได้ตรวจสอบงบการเงินส�ำหรับปีของ อมตะ เวียดนาม และได้ พิจารณาประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการและระบบควบคุมภายในทางการบัญชีอีกทางหนึ่งด้วย

114 Vietnam-The New Phase of Success

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้ายผู้ดำ� รงต�ำแหน่งหัวหน้างาน ตรวจสอบภายใน

การแต่งตัง้ ถอดถอน และโยกย้ายผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ ต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็นไปตามทีก่ ำ� หนดไว้ในหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ และได้รบั การอนุมตั โิ ดยมติทปี่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555


ลักษณะรายการ

115 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2. รายได้จาก ค่าบริหารจัดการ (Management Fee) การให้ บริ ก ารน�้ ำ ประปาและการ บ�ำบัดน�้ำเสีย

รายได้ค่าเช่าและ 1. ร า ย ไ ด ้ จา ก กา ร ใ ห ้ เ ช ่ า ค่าบริการ สินทรัพย์เพือ่ การจัดจ�ำหน่าย ไฟฟ้า (transmission assets) ประกอบไปด้วยเสาไฟ และ สายส่งขนาด 110 kV

รายการ

3.05

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

1.33

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

1.73

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. เนื่ อ งจากกรรมสิ ท ธิ์ ข องเสาฟ้ า และ 1. ก ารให้ เ ช่ า สิ น ทรั พ ย์ เ พื่ อ การจั ด สายส่งเป็นของ อมตะ เวียดนาม และ จ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า (transmission APBH เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า assets) เป็นรายการธุรกรรมปกติ ภายในนิคมอุตสาหกรรม จึงมีความ ของอมตะ เวียดนาม โดยอัตราค่าเช่า จ�ำเป็นต้องเช่าสินทรัพย์ดังกล่าว โดย และเงือ่ นไขเป็นไปตามอัตราทีร่ ะบุไว้ อมตะ เวียดนามคิดอัตราค่าเช่าเป็น ในสัญญา และหากพิจารณาอัตรา อัตราตามที่ตกลงกันตามสัญญา ค่าเช่าและเงื่อนไข จะเห็นได้ว่าอัตรา ดังกล่าวสามารถเทียบเคียงได้กับที่ อมตะ เวียดนามเรียกเก็บจากบุคคล ภายนอก ดังนั้นจึงถือได้ว่ารายการ ดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

Amata Power (Bien Hoa) Limited (“APBH”) ประกอบธุรกิจเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรม โดย APBH เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นบริษัทร่วมและเป็น นิติบุคคลที่ผู้ถือหุ้นใหญ่มีอำ� นาจควบคุมร่วมกันได้แก่ บริษัท อมตะ บีกริมเพาเวอร์ จ�ำกัด ซึง่ ถือหุน้ ใน APBH ร้อยละ 60 และมี บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูถ้ อื หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 15

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

Amata Power (Bien Hoa) Limited

รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับบริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้อง ส�ำหรับปี 2556-2558 สามารถสรุปได้ดังนี้

รายการระหว่างกันกับบริษัท/บุคคลที่เกี่ยวข้อง

ระหว่างกัน

รายการ


ค่าไฟฟ้าให้กบั APBH เนือ่ งจาก APBH เป็นผูใ้ ห้บริการผลิตและ จ� ำ ห น ่ า ย ไ ฟ ฟ ้ า ใ น นิ ค ม อุตสาหกรรม

ค่าใช้จ่าย

เจ้าหนี้การค้า

ลูกหนี้การค้ารายได้จาก ค่า บริหารจัดการ (Management Fee) การให้บริการน�้ำประปา และการบ�ำบัดน�้ำเสีย

ลักษณะรายการ

ลูกหนี้การค้า

รายการ

116 Vietnam-The New Phase of Success

0.51

4.76

0.28

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

0.61

6.01

0.02

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

0.45

5.22

0.02

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

2. APBH ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้า 2. การให้บริการบริหารจัดการ การให้ ในเป็ น หนึ่ ง ในผู ้ เ ช่ า ที่ ดิ น ในนิ ค ม บริการน�ำ้ ประปาและการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย อุ ต สาหกรรมจึ ง มี ก ารเรี ย กเก็ บ เป็นรายการธุรกรรมปกติของอมตะ ค่าบริหารจัดการ (Management Fee) เวียดนาม และหากพิจารณาอัตรา การให้บริการน�้ำประปาและการบ�ำบัด ค่าบริการ และเงือ่ นไขจะเห็นได้วา่ อัตรา น�ำ้ เสียแก่ APBH โดยเก็บในอัตราเดียว ดั ง กล่ า วสามารถเที ย บคี ย งได้ กั บ กับที่เรียกเก็บกับลูกค้ารายอื่นในนิคม อัตราค่าบริการและเงื่อนไขที่อมตะ อุตสาหกรรม เวี ย ดนามเรี ย กเก็ บ จากบุ ค คล ภายนอก ดังนั้นจึงถือได้ว่ารายการ ดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล เนื่องจาก APBH เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่าย รายการการซื้อไฟฟ้าถือเป็นรายการ ไฟฟ้าภายในนิคมอมตะ เวียดนาม จึงซือ้ ธุ ร กรรมปกติ แ ละเกิ ด ขึ้ น ตามความ ไฟฟ้าผ่าน APBH เพื่อน�ำไฟฟ้าไปใช้ใน จ�ำเป็น โดยอัตราค่าไฟฟ้าและเงื่อนไข พืน้ ทีส่ ว่ นกลางในนิคมอุตสาหกรรม รวม ที่อมตะ เวียดนาม ได้รับเป็นอัตรา ถึงใช้ในส่วนการผลิตน�ำ้ ประปา และบ�ำบัด ค่าไฟฟ้าและเงือ่ นไขที่ APBH เรียกเก็บ น�ำ้ เสีย จากบุคคลภายนอก ดังนั้นจึงถือได้ว่า รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ


0.06

-

ยกมา 3.00 เพิ่มขึ้น ช�ำระคืน (3.00) คงเหลือ . - . 0.07

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

-

-

-

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

บริษทั ฯ มีการกูย้ มื ระยะสัน้ ยกมา จาก อมตะ คอร์ป ส�ำหรับ เพิ่มขึ้น 3.90 หมุนเวียนในกิจการ ช�ำระคืน (0.90) คงเหลือ . 3.00 . 0.07

117 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ดอกเบี้ยค้างจ่าย

ดอกเบี้ยจ่าย

เงินกู้ยืมระยะสั้น

ลักษณะรายการ

เนือ่ งจากบริษทั ฯ เพิง่ ก่อตัง้ อีกทัง้ ประกอบ กิจการลงทุนในบริษทั อืน่ และในช่วงแรกยัง ไม่มรี ายได้ จึงท�ำให้บริษทั ฯ มีสภาพคล่อง ไม่เพียงพอจึงมีความจ�ำเป็นต้องกู้ยืมเงิน ระยะสัน้ จาก อมตะ คอร์ป ในอัตราดอกเบีย้ ระหว่างร้อยละ 3.00 - 5.25 ซึ่งเป็นต้นทุน ทางการเงิ น /ต้ น ทุ น ค่ า เสี ย โอกาสของ อมตะ คอร์ป

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

รายการดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น ตามความจ� ำ เป็ น อัตราดอกเบีย้ ทีเ่ รียกเก็บเป็นอัตราตามต้นทุน ทางการเงิน/ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ อมตะ คอร์ป ดังนั้นจึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล ปัจจุบนั จ่ายช�ำระคืนทัง้ จ�ำนวนแล้ว

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) (อมตะ คอร์ป) ประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรม โดย อมตะ คอร์ป เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ที่ถือหุ้นในบริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อมร้อยะละ 73

รายการ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)


บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายค้าง จ่ายให้กับ อมตะ คอร์ป

ลักษณะรายการ

0.02

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

2.00

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

0.10

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

ส�ำหรับยอดคงเหลือในงวดปี 2558 เกิด จากค่าใช้จ่ายค้างจ่ายซึ่งทดรองจ่ายโดย อมตะ คอร์ ป ได้ แ ก่ ค ่ า ใช้ จ ่ า ยจาก การใช้ ร ถยนต์ ข องผู ้ บ ริ ห ารได้ แ ก่ นางสมหะทัย พานิชชีวะ เช่น ค่าน�ำ้ มันรถ จ�ำนวน 95,442 บาท

ส�ำหรับยอดคงเหลือในงวดปี 2557 เกิด จากค่าใช้จ่ายค้างจ่ายซึ่งทดรองจ่ายโดย อมตะ คอร์ป ได้แก่ค่าเช่าและค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับรถยนต์ผบู้ ริหารของนางสมหะทัย พานิชชีวะ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 โดย ไม่ได้ถูกตั้งเป็นหนี้สินในปี 2555 และ 2556 ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวแบ่งเป็นค่า เช่ารถยนต์ผู้บริหารคิดเป็น 1,728,050 บาท และค่าใช้จ่ายจากการใช้รถยนต์ของ ผู้บริหาร อาทิเช่น ค่าน�้ำมันรถ ค่าจอดรถ ค่าทางด่วน ฯลฯ จ�ำนวนรวม 267,216.10 บาท

ส�ำหรับยอดคงเหลือในงวดปี 2556 เกิด จากค่าใช้จา่ ยซึง่ ทดรองจ่ายโดย อมตะ คอร์ป ได้แก่ค่าใช้จ่ายส�ำนักงานและค่าใช้จ่าย สันทนาการของผู้บริหาร

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

รายการดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น ตามความจ� ำ เป็ น อัตราทีเ่ รียกเก็บเป็นอัตราตามที่ อมตะ คอร์ป จ่ายจริงให้กับบุคคลภายนอก ดังนั้นจึงถือได้ ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัทฯ จะเป็นผู้จ่ายค่าใช้จ่ายจากการใช้รถยนต์เหล่านี้โดยตรงตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นไป

เนือ่ งจาก อมตะ คอร์ป เป็นผูเ้ ข้าท�ำสัญญาเช่ารถยนต์ผบู้ ริหารให้นางสมหะทัย พานิชชีวะ อมตะ คอร์ป จะเป็นผูท้ ดรองจ่ายรายการค่าเช่ารถยนต์ผบู้ ริหารจ�ำนวน 69,112 บาทต่อเดือนให้บริษทั ฯ ซึง่ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าว จะปรากฏในเป็นเจ้าหนีอ้ นื่ ในงบการเงินของบริษทั ฯ จนถึงเดือนมกราคม 2558 ทัง้ นี้ สัญญาเช่ารถยนต์ฉบับนี้ได้เปลีย่ นคูส่ ญั ญาจาก อมตะ คอร์ป เป็นชือ่ บริษทั ฯ ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไปโดยรายการเจ้าหนี้ ดังกล่าวระหว่าง อมตะ คอร์ป และ บริษทั ฯ จะยังคงมีตอ่ ไปจนกว่าสัญญาเช่ารถยนต์ฉบับนีส้ นิ้ อายุ

เจ้าหนี้อื่น

รายการ

118 Vietnam-The New Phase of Success


-

เนือ่ งจากบริษทั ฯ เพิง่ ก่อตัง้ อีกทัง้ ประกอบ กิจการลงทุนในบริษทั อืน่ และในช่วงแรกยัง ไม่มีรายได้ จึงท�ำให้บริษัทฯ มีสภาพคล่อง ไม่เพียงพอจึงมีความจ�ำเป็นต้องกู้ยืมเงิน ระยะสัน้ จาก อมตะ ซิตี้ ทีม่ สี ภาพคล่องส่วน เกิน ในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.00 - 5.25 ซึ่งเป็น ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ อมตะ ซิตี้

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

รายการดังกล่าวเกิดขึ้นตามความจ�ำเป็น อัต ราดอกเบี้ยที่เ รียกเก็บ เป็นอัต ราตาม ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ อมตะ ซิตี้ ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล ปัจจุบันจ่ายช�ำระคืนทั้งจ�ำนวนแล้ว

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

ลูกหนี้อื่นจากการคืน เงินปันผลส่วนเกิน

ลักษณะรายการ

119 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ลูกหนี้อื่น

รายการ

0.35

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

-

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

-

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

บริษัทฯ การจ่ายเงินปันผลให้กับอมตะ เอเซีย แต่เนื่องจากความผิดพลาดในการ ค� ำ นวณอั ต ราแลกเปลี่ ย นท� ำ ให้ จ� ำ นวน เงินปันผลจ่ายเกินจ�ำนวนที่อมตะ เอเซีย ควรได้ รั บ จึ ง มี การเรี ย กคื น เงิ น จ� ำ นวน ดังกล่าวจากอมตะ เอเซีย และอยู่ระหว่าง ขั้นตอนในการด�ำเนินการจ่ายคืน

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

รายการดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น เนื่ อ งจากข้ อ ผิดพลาด และบริษัทฯ ได้มีการด�ำเนินการ เพื่อเรียกเงินจ�ำนวนดังกล่าวคืนแล้ว ทั้งนี้ รายการความผิดพลาดดังกล่าวไม่ควรเกิด ขึ้นอีกในอนาคต

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท อมตะ เอเซีย จ�ำกัด (“อมตะ เอเซีย”) ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) โดยอมตะ เอเซียเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นผู้ถือ หุ้นใหญ่ของบริษัทฯ โดยถือหุ้นร้อยละ 36 และมีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกันได้แก่ AMATA

-

ยกมา เพิ่มขึ้น 5.00 ช�ำระคืน (5.00) คงเหลือ . - . 0.01

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

0.04

ยกมา 22.00 ยกมา 5.00 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 10.00 ช�ำระคืน (17.00) ช�ำระคืน (15.00) คงเหลือ . 5.00 . คงเหลือ . - . 0.13 0.21

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

บริษัท อมตะ เอเซีย จ�ำกัด

บริ ษั ท ฯ มี ก ารกู ้ ยื ม ระยะสั้นจากอมตะ ซิตี้ ส�ำหรับหมุ น เวี ย นใน กิจการ

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

ดอกเบี้ยค้างจ่าย

ดอกเบี้ยจ่าย

เงินกู้ยืมระยะสั้น

ลักษณะรายการ

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด (“อมตะ ซิตี้”) ประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรม โดยอมตะซิตี้ เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นบริษัทย่อยที่ผู้ถือหุ้นใหญ่ได้แก่ AMATA ถือหุ้น ร้อยะละ 84

รายการ

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด


รายการดังกล่าวเกิดขึ้นตามความจ�ำเป็น อัตราดอกเบีย้ ทีเ่ รียกเก็บเป็นอัตราทีเ่ หมาะ สมตามต้นทุนทางการเงิน/ต้นทุนค่าเสีย โอกาสของ อมตะ ฟาซิลิตี้ ดังนั้นจึงถือได้ ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล ทั้งนี้ บริษัทฯ จะช�ำระคืนเงินกู้ดังกล่าวเมื่อ ได้รับอนุมัติวงเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ดอกเบี้ยจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย

เงินกู้ยืมระยะสั้น

รายการ

บริ ษั ท ฯ มี ก ารกู ้ ยื ม ระยะสั้ น จาก อมตะ ว อ เ ต อ ร ์ ส� ำ หรั บ หมุนเวียนในกิจการ

ลักษณะรายการ

ยกมา เพิ่มขึ้น ช�ำระคืน คงเหลือ . . -

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

ยกมา เพิ่มขึ้น ช�ำระคืน คงเหลือ . . -

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

ยกมา เพิ่มขึ้น 6.00 ช�ำระคืน (6.00) คงเหลือ . - . 0.02 -

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

เนือ่ งจากบริษทั ฯ อยู่ในระหว่างการรออนุมตั ิ วงเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน บริษทั ฯ จึงมี ความจ�ำเป็นต้องกูย้ มื เงินระยะสัน้ จาก อมตะ วอเตอร์ ซึ่งเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง ในอัตรา ดอกเบีย้ ทีเ่ หมาะสมทีร่ อ้ ยละ 4.00 ซึง่ เป็นต้น ทุนทางการเงิน/ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ อมตะ วอเตอร์

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของ รายการ

รายการดังกล่าวเกิดขึ้นตามความจ�ำเป็น อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ เ รี ย กเก็ บ เป็ น อั ต ราที่ เหมาะสมตามต้นทุนทางการเงิน/ต้นทุน ค่าเสียโอกาสของ อมตะ วอเตอร์ ดังนั้น จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล ทั้งนี้ บริษัทฯ จะช�ำระคืนเงินกู้ดัง กล่ า วเมื่ อ ได้ รั บ อนุ มั ติ ว งเงิ น กู ้ ยื ม จาก สถาบันการเงิน

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด (“อมตะ วอเตอร์”) ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับน�ำ้ เพื่อการอุตสาหกรรม การบริโภค อุปโภค หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งแปรสภาพจากน�ำ้ เพื่อการบริโภค หรือ อุปโภค เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นบริษัทย่อยที่ผู้ถือหุ้นใหญ่ได้แก่ AMATA ถือหุ้นร้อยละ 100

เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ อยู ่ ใ นระหว่ า งการรอ อนุ มั ติ ว งเงิ น กู ้ ยื ม จากสถาบั น การเงิ น บริษทั ฯ จึงมีความจ�ำเป็นต้องกูย้ มื เงินระยะ สั้นจาก อมตะ ฟาซิลิตี้ ซึ่งเป็นบริษัทที่ เกี่ยวข้อง ในอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมที่ ร้อยละ 4.00 ซึ่งเป็นต้นทุนทางการเงิน/ ต้นทุนค่าเสียโอกาสของ อมตะ ฟาซิลิตี้

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

-

0.43

ยกมา เพิ่มขึ้น 45.00 ช�ำระคืน (45.00) คงเหลือ . - .

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 58

บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด

-

-

ยกมา เพิ่มขึ้น ช�ำระคืน คงเหลือ . .

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 57

-

ดอกเบี้ยค้างจ่าย

ยกมา เพิ่มขึ้น ช�ำระคืน - . คงเหลือ . .

รอบปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 56

-

บริ ษั ท ฯ มี ก ารกู ้ ยื ม ระยะสัน้ จาก อมตะ ฟา ซิลติ ี้ ส�ำหรับหมุนเวียน ในกิจการ

ลักษณะรายการ

ดอกเบี้ยจ่าย

เงินกู้ยืมระยะสั้น

รายการ

บริษทั อมตะ ฟาซิลติ ี้ เซอร์วสิ จ�ำกัด (“อมตะ ฟาซิลติ ”ี้ ) ประกอบธุรกิจให้บริการบริหารจัดการพืน้ ทีส่ ว่ นกลางในนิคมอุตสาหกรรม โดย อมตะ ฟาซิลติ ี้ เป็นบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง เนือ่ งจาก เป็นบริษัทย่อยที่ผู้ถือหุ้นใหญ่ได้แก่ AMATA ถือหุ้นร้อยละ 91

ขนาดของรายการ (ล้านบาท)

บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด

120 Vietnam-The New Phase of Success


ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน ในอดีตบริษัทฯ มีการท�ำธุรกรรมการค้าที่เป็นรายการระหว่างกันกับบริษัทและบุคคลที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น การเช่าที่ดิน และรายการ ค่าบริการสาธารณูปโภค เป็นต้น อย่างไรก็ตามรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นธุรกรรมการ ค้าทีเ่ กิดขึน้ ตามความจ�ำเป็นเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และบริษทั ย่อย และเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้าปกติเสมือนลูกค้าธุรกิจทัว่ ไป โดยผู้บริหารบริษัทฯได้ก�ำหนดขั้นตอนในการอนุมัติธุรกรรมดังกล่าวเสมือนการด�ำเนินการค้ากับลูกค้าปกติทั่วไปและไม่มีการเลือก ปฏิบัติ โดยมีนโยบายให้ธุรกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างกันเป็นไปตามกลไกราคาตลาด คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารพิจารณารายการระหว่างกันระหว่างบริษทั ฯกับบริษทั และบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องแล้ว และมีความเห็นว่ามี ความจ�ำเป็นและสมเหตุสมผล ตลอดจนเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ (สามารถดูรายละเอียดของแต่ละรายการได้ในข้อ 11.1)

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน ทีผ่ า่ นมาบริษทั ฯ ยังไม่มขี อ้ ก�ำหนดเกีย่ วกับการท�ำรายการระหว่างกันของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต จึงไม่ได้ผ่านการพิจารณาและให้ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ อย่างไรก็ตามบริษัทฯโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง้ ที่ 1/2555 เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มมี ติกำ� หนดนโยบายการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและการด�ำเนินการของบริษทั เมือ่ มีรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้มีการน�ำยโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติใช้ที่บริษัทย่อย ได้แก่ อมตะ เวียดนาม โดยที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัทของ อมตะ เวียดนาม ครั้งที่ 3/2012 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ได้มีมติกำ� หนดนโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยง กันและการด�ำเนินการของบริษทั เมือ่ มีรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้การท�ำรายการระหว่างกันของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยกับบุคคล ที่เกี่ยวโยงกับบริษัทฯและบริษัทย่อย มีกลไกในการพิจารณาและขั้นตอนการด�ำเนินการที่ชัดเจน โดยได้ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของ บริษัทฯ เป็นส�ำคัญ อีกทั้งเพื่อให้บริษัทฯ สามารถควบคุมดูแลให้ อมตะ เวียดนาม ปฏิบัติตามนโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการด�ำเนินการของบริษัทเมื่อมีรายการที่เกี่ยวโยงกัน และป้องกันมิให้คณะกรรมการบริษัทของ อมตะ เวียดนาม สามารถ เปลีย่ นแปลงแก้ไขนโยบายดังกล่าวโดยไม่ผา่ นความเห็นชอบจากบริษทั ฯ โดยทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 ของ อมตะ เวียดนาม เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ได้มีมติอนุมัตินโยบายดังกล่าวแล้ว

รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ในอนาคต บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความจ�ำเป็นและความเหมาะสม ของรายการนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะให้ผู้ เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ

121 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นโยบายการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและการด�ำเนินการของบริษทั เมือ่ มีรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้มกี ารก�ำหนด นิยามของบุคคลที่เกี่ยวโยง บุคคลที่เกี่ยวโยง ประเภทของรายการที่เกี่ยวโยง นโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยง การด�ำเนินการเมื่อ มีรายการทีเ่ กีย่ วโยง การอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยง รวมไปถึงการเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยง เพือ่ ให้บริษทั ฯและบริษทั ย่อย สามารถปฏิบตั ิให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ หรือข้อก�ำหนดของคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากบริษทั ฯประกอบธุรกิจลงทุนในบริษทั อืน่ จึงมีการก�ำหนดนโยบาย และการด�ำเนินการดังกล่าวเพือ่ เป็นกลไกก�ำกับดูแลให้การท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงระหว่างบริษทั ย่อยและบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกับบริษทั ฯ มี การด�ำเนินการตามขั้นตอนที่ถูกต้อง และได้รับมติจากที่ประชุมคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ โดยหากบริษัทย่อย มีรายการที่เกี่ยวโยงกับบุคคลที่เกี่ยวโยงของบริษัทฯ เลขานุการบริษัทของบริษัทย่อยมีหน้าที่ต้องแจ้งมายังเลขานุการบริษัทฯ เพื่อ พิจารณาประเภทและขนาดของรายการและด�ำเนินการตามขั้นตอนต่อไป


ของคณะกรรมการบริษทั และ/หรือคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี ซึง่ ผูท้ อี่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียในการท�ำรายการ จะไม่มีสิทธิออกเสียงในการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทฯจะเปิดเผย รายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รบั การตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริษทั รายงานประจ�ำปี และแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปีของบริษัท (แบบ 56-1)

นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต

นโยบายของบริษัทและบริษัทย่อยในการท�ำรายการระหว่างกันมีดังนี้ 1. กรรมการและผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อยจัดท�ำรายงานการมีส่วนได้เสียของตนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องและแจ้งให้ บริษัททราบ เพื่อให้บริษัทมีข้อมูลส�ำหรับใช้ประโยชน์ภายในในการด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการท�ำรายการที่ เกี่ยวโยงกัน 2. หลีกเลี่ยงการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3. ในกรณีที่จ�ำเป็นต้องท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการที่เกี่ยวโยงกันทุกรายของบริษัทและบริษัทย่อยต้องน�ำเสนอและ ขออนุมตั กิ ารเข้าท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันดังกล่าวต่อฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) 4. ปฏิบัติตามขั้นตอนการด�ำเนินการของบริษัทและบริษัทย่อยเมื่อมีรายการที่เกี่ยวโยงกัน และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ ส�ำนักงานก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด 5. ก�ำหนดราคาและเงื่อนไขของรายการที่เกี่ยวโยงกันเสมือนท�ำรายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s length basis) ซึ่งต้อง เป็นธรรม สมเหตุสมผล โดยต้องเปรียบเทียบราคาสินค้าหรือบริการกับราคาภายนอก ภายใต้เงื่อนไขที่เหมือนหรือ คล้ายคลึงกัน

122 Vietnam-The New Phase of Success

6. ในการพิจารณาการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทหรือบริษัทย่อยอาจแต่งตั้งผู้ประเมินอิสระเพื่อท�ำการประเมินและ เปรียบเทียบราคาส�ำหรับรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ส�ำคัญ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการที่เกี่ยวโยงกันดังกล่าว สมเหตุสมผล และเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและบริษัทย่อย

แนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต

แม้วา่ บริษทั และบริษทั ย่อยจะมีนโยบายหลีกเลีย่ งการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แต่ บริษทั และบริษทั ย่อยอาจจะยังคงต้องมีการท�ำรายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งอย่างต่อเนือ่ งในอนาคต ซึง่ เป็น รายการที่มีความจ�ำเป็นและเป็นไปตามความต่อเนื่องของสัญญา

ทั้งนี้ รายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้นบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะต้อง ปฏิบัตินโยบายการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการด�ำเนินการของบริษัทเมื่อมีรายการที่เกี่ยวโยงกันที่คณะกรรมการบริษัทได้ ก�ำหนด และปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกีย่ วโยง และการได้มาหรือจ�ำหน่ายทรัพย์สินของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่ก�ำหนดโดยสมาคม นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย


123 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย อัตราหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาช�ำระหนี้ วงจรเงินสด

อัตราส่วนทางการเงินที่สำ� คัญ

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า) (วัน) (เท่า) (วัน) (เท่า) (วัน) (วัน)

ทางการเงินที่ส�ำคัญ

ข้อมูล

2.71 2.18 0.71 8.49 43 0.34 1,065 4.25 86 1,022

17.60 13.18 0.96 4.69 78 0.21 1,700 4.25 86 1,692

15.38 11.70 2.04 5.95 61 0.29 1,242 4.13 88 1,215

1.47 1.47 (0.03) -

14.75 12.81 (3.28) -

0.80 0.16 (3.10) -

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม 2558 2557 2556 2558 2557 2556


อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร อัตราก�ำไรขัน้ ต้น - จากการขายอสังหาริมทรัพย์ อัตราก�ำไรขั้นต้น - จากการให้เช่าและบริการ อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงาน อัตราส่วนเงินสดต่อการท�ำก�ำไร อัตราก�ำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย อั ต ราส่ ว นความสามารถช� ำ ระภาระผู ก พั น (Cash Basis) อัตราการจ่ายเงินปันผล

124 Vietnam-The New Phase of Success

4.67 0.25 0.24 579.18

3.18 0.21 0.49 19.21 0.17 -

(%) (เท่า)

(เท่า) (เท่า)

(เท่า) (%) 0.75 24.71

54.08 34.94 22.67 59.98 18.97 8.23

56.37 38.85 16.67 199.86 14.99 5.27

(%) (%) (%) (%) (%) (%)

1.30 17.77

0.26 121.92

7.09 0.30

67.44 40.92 27.10 85.35 23.93 12.74

(0.01) -

0.66 0.52

(3.28) 0.00

22.75 (3,798.11) (4.99)

(0.72) 37.27

0.01 (78.85)

19.89 0.25

80.01 (27.01) 79.89 20.36

(0.88) 110.39

0.03 (139.06)

7.12 0.13

54.47 (97.06) 54.43 7.31

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม ณ 31 ธันวาคม 2558 2557 2556 2558 2557 2556


การวิเคราะห์

และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ ประวัติขององค์กรและภาพรวมธุรกิจ

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2555 ในรูปแบบบริษัทมหาชน มีวัตถุประสงค์ เพือ่ การประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษทั อืน่ (Holding Company) โดยธุรกิจหลักคือ การพัฒนาและประกอบกิจการนิคมอุตสาหกรรม และกิจการเกี่ยวเนื่องในประเทศเวียดนาม ซึ่งด�ำเนินธุรกิจโดยบริษัทย่อย คือ Amata (Vietnam) Joint Stock Company Amata (Vietnam) Joint Stock Company ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทขึ้นในปี 2537 โดยจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเวียดนามในรูปแบบ บริษัทร่วมทุน (Joint Venture Company) เพื่อประกอบธุรกิจการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในเมืองเบียนหัว ภายใต้ชื่อนิคม Amata City (Bien Hoa) Industrial Estate โดยการร่วมทุนระหว่างกลุ่มนักลงทุนไทยซึ่งประกอบด้วย บริษัท อมตะคอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และ Sonadezi Corporation ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมของรัฐในจังหวัดดองไน ประเทศเวียดนาม ณ เดือนมิถุนายน 2558 โครงสร้างการถือหุ้น Amata (Vietnam) Joint Stock Company มีผู้ถือหุ้นหลักเป็น บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ในสัดส่วนร้อยละ 89.99 และ Sonadezi Corporation ในสัดส่วนร้อยละ 10 โดยธุรกิจหลักคือ การพัฒนา และ ประกอบกิจการนิคมอุตสาหกรรมในเมืองเบียนหัว ภายใต้ชื่อนิคม Amata City (Bien Hoa) Industrial Estate ใน เมืองเบียนหัว จังหวัดดองไน Amata City (Bien Hoa) Industrial Estate บริการเต็มรูปแบบของผลิตภัณฑ์ และบริการ ที่รองรับทุกความต้องการของลูกค้า และ เพื่อสังคม ซึ่งรวมถึงการให้เช่าที่ดินระยะยาวในเขตนิคมอุตสาหกรรม, การให้บริการเช่าโรงงานส�ำเร็จรูป, การให้เช่าที่ดินระยะยาว ในเขตพาณิชย์กรรม และที่อยู่อาศัย, การให้บริการเช่าอาคารส�ำนักงาน และการให้บริการสาธารณูปโภค โรงงานส�ำเร็จรูปที่สร้างขึ้นตั้งแต่ขนาด 1,000 ถึง 5,000 ตารางเมตร เพื่อให้เช่า โดยมีทางเลือกให้กับลูกค้าในการเข้าสู่ตลาด ที่มีการลงทุนน้อย โดยที่ Amata (Vietnam) Joint Stock Company บันทึกรายได้กลุ่มนี้เป็นรายได้จากการให้เช่า อาคารเชิงพาณิชย์ จะได้รับการพัฒนาภายใต้การให้บริการและที่อยู่อาศัยในเขตเมือง มีเป้าหมายเพื่อตอบสนองความต้องการ ไม่เพียงแต่นกั ลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนท้องถิน่ ในธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม แต่ยงั ต้องการขยายการเจริญเติบโตเพิม่ ขึน้ ส�ำหรับ ลูกค้าคนท�ำงาน นักท่องเที่ยวและนักเดินทางที่มาเมืองเบียนหัว

125 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

Amata City (Bien Hoa) Industrial Estate เป็นหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัยที่สุดและดีที่สุดและมีอุปกรณ์ครบครัน ในเวียดนาม น�ำเสนอบริการโครงสร้างพืน้ ฐานคุณภาพสูง รวมทัง้ โครงสร้างพืน้ ดินแข็งทีส่ ร้างขึน้ โดยเฉลีย่ 40 เมตรสูงกว่าระดับ น�ำ้ ทะเลเพือ่ การป้องกันปัญหาน�้ำท่วมทีอ่ าจเกิดขึน้ ภูมปิ ระเทศเป็นพืน้ ทีร่ าบสูงและดินแข็งเป็นอย่างดีและเหมาะสมส�ำหรับการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรม มีถนนคอนกรีตที่มีคุณภาพสูง แหล่งจ่ายไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ น�้ำประปาเพียงพอ และของเสียจาก ระบบการบริหารจัดการน�้ำ และมีมาตรฐานสากลของการสื่อสารโทรคมนาคม


การวิเคราะห์รายได้ บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยมีรายได้รวมส�ำหรับปี 2558 เป็นจ�ำนวนเงิน 810 ล้านบาท ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังต่อไปนี้

รายได้

777

2554

810

685

723

656

2555

2556

2557

2558

ก) รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

ส�ำหรับปี 2558, บริษทั ฯ ขายทีด่ นิ เป็นจ�ำนวนเงิน 320.2 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2557 ซึง่ มีรายได้จากการขายทีด่ นิ เป็น จ�ำนวนเงิน 180.9 ล้านบาท รายได้เติบโตเพิม่ ขึน้ เป็นจ�ำนวนเงิน 139.2 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ เท่ากับร้อยละ 77 ซึง่ รายได้ดงั กล่าว มาจากบริษัทย่อย Amata (Vietnam) Joint Stock Company การเติบโตที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวเราสามารถดูผลกระทบโดยรวมของ ภาคการลงทุนที่เพิ่มขึ้นโดยตรงจากต่างประเทศเข้ามาลงทุนในเวียดนาม ที่มีอัตราที่เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับ ปี 2557

Amata (Vietnam) Joint Stock Company มีที่ดินถูกจองส�ำหรับ ปี 2558 จ�ำนวน 18.24 เฮกตาร์หรือคิดเป็น 114 ไร่ เมื่อ เปรียบเทียบกับปี 2557 มีที่ดินถูกจอง 6.24 เฮกตาร์หรือคิดเป็น 39 ไร่ ซึ่งแสดงถึงการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ 192.3

ข) รายได้อื่น ๆ (หน่วย: ล้านบาท) 126 Vietnam-The New Phase of Success

รายได้

รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้จากการให้เช่า ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น รวม

ปี 2558

215.7 192.0 40.7 41.1 489.5

ปี 2557

186.0 181.9 81.0 25.9 474.8

เปลี่ยนแปลง

29.6 10.1 (40.3) 15.2 14.7

ร้อยละ

15.9 5.6 (49.7) 58.8 3.1


ตารางข้างต้นนี้แสดงให้เห็นถึงรายได้อื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ 1. รายได้จากค่าสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 โดยที่ร้อยละ 12.4 เป็นรายได้ที่เกิดจากการให้บริการด้านน�้ำ และร้อยละ 3.5 เกิดจากรายได้คา่ บริการ ซึง่ จากการเติบโตของธุรกิจให้บริการด้านน�ำ้ สะท้อนให้เห็นถึงอุปสงค์ทเี่ พิม่ สูงขึน้ ของปริมาณ การใช้น�้ำดิบ และการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เนื่องมาจากจ�ำนวนของลูกค้าที่เพิ่มขึ้นในนิคมอุตสาหกรรม 2. การเติบโตอย่างต่อเนื่องของรายได้จากการให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูป โดยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 5.6 เนื่องมาจากความต้องการ โรงงานส�ำเร็จรูปของลูกค้าในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น 3. รายได้ดอกเบี้ยที่ลดลง เนื่องมาจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากในประเทศเวียดนามที่ลดลงจาก 5.1% - 8.0% ต่อปี เป็น 4.3% - 6.5% ต่อปี 4. รายได้อื่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 58.8 ซึ่งรายได้หลักส่วนใหญ่เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (โรงงานส�ำเร็จรูป พร้อมที่ดิน)

การวิเคราะห์กำ� ไรขั้นต้น รายได้

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้จากการให้เช่า รวม

320.2 215.7 192.0 727.9

ปี 2558 ก�ำไรขั้นต้น

180.5 42.6 115.8 338.9

ร้อยละ

56.4% 19.8% 60.3% 46.6%

รายได้

180.9 186.0 181.9 548.9

ปี 2557 ก�ำไรขั้นต้น

97.8 29.0 99.6 226.4

ร้อยละ

54.1% 15.6% 54.7% 41.2%

เปลี่ยนแปลง จ�ำนวนจุด

2.3 4.2 5.6 5.3

ในปี 2558 มีก�ำไรขั้นต้นรวม 338.9 ล้านบาท เติบโตเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 49.7 จากปี 2557 อัตราก�ำไรขั้นต้นของปี 2558 และ ปี 2557 เป็นร้อยละ 46.6 และ ร้อยละ 41.2 ตามล�ำดับ โดยมีสาเหตุหลักมาจากก�ำไรขั้นต้นของรายได้จากการขายที่ดิน

โดยรวมเกี่ยวกับรายได้ที่อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับตัวเพิ่มขึ้น เกิดจากรายได้ค่าสาธารณูปโภคและรายได้การให้เช่ารวมกันจะได้ถึง อัตราร้อยละ 38.9 หรือเทียบเท่ากับเพิ่มขึ้น 4.0 จุด เมื่อเทียบกับปี 2557 ทั้งธุรกิจบริการสาธารณูปโภคและค่าเช่าได้ท�ำให้มี สัดส่วนการเติบโตของอัตราก�ำไรขั้นต้นดังกล่าวในตาราง

127 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย (หน่วย: ล้านบาท) ค่าใช้จ่าย

ปี 2558

ปี 2557

เปลี่ยนแปลง

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส�ำรองหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รวม

10.4 91.2 15.8 20.0 11.5 23.5 67.6 240.0

4.8 83.3 8.9 0.3 49.4 146.7

5.6 7.9 15.8 20.0 2.6 23.3 18.2 93.4

ร้อยละ

117.6 9.4 29.4 8,337.3 36.9 63.6

1. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารส�ำหรับปี 2558 เป็นจ�ำนวนเงิน 101.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.3 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิด เป็นร้อยละ 15.3 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 การเพิ่มขึ้นดังกล่าวส่วนใหญ่เกิดจากค่าใช้จ่ายการตลาดและการส่งเสริม การขาย, ค่านายหน้าการขาย, เงินเดือนและค่าจ้าง รวมทั้งสวัสดิการพนักงาน 2. การบันทึกค่าเผื่อผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการด้อยค่าเป็นจ�ำนวนเงิน 20 ล้านบาท ส�ำหรับการลงทุนใน Amata Power (Bien Hoa) 3. ต้นทุนทางการเงินคิดเป็น 23.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 23.3 ล้านบาทเมื่อเทียบกับจ�ำนวนเงิน 0.3 ล้านบาท จาก ปี 2557 มี สาเหตุหลักจากการใช้เงินกูใ้ นการซือ้ หุน้ สามัญ Amata (Vietnam) Joint Stock Company คืนในส่วนที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุม และการเวนคืนที่ดินเพื่อการลงทุนในกิจการนิคมอุตสาหกรรม Amata City Long Thanh Joint Stock Company

การวิเคราะห์ทางการเงิน

128 Vietnam-The New Phase of Success

(หน่วย: ล้านบาท) รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สิน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

ปี 2558

ปี 2557

เปลี่ยนแปลง

4,915.2 1,625.1 3,290.1

2,713.3 516.9 2,196.4

2,201.9 1,108.2 1,093.7

ร้อยละ

81.1 214.4 49.8

.1. ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวมมีจำ� นวนเงิน 4,915.2 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ 2,201.9 ล้านบาทต่อปีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 81.1 การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญของส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์ในปี 2558 มีรายละเอียดดังนี้ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น 1,695.1 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 จ�ำนวนนี้เป็นต้นทุนในการได้มา ซึง่ อสังหาริมทรัพย์โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาเป็นนิคมอุตสาหกรรมและต้นทุนในการพัฒนาอืน่ เช่น ค่าปรับปรุง ที่ดิน และค่าก่อสร้าง เป็นต้น


2. ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมเป็นจ�ำนวนเงิน 1,625.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,108.2 ล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นคิดเป็นร้อยละ 214.4 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสินเชื่อเงินกู้ยืมจากสถาบันการ เงินจ�ำนวน 1,021 ล้านบาท วัตถุประสงค์หลักของเงินกู้ยืมส�ำหรับการเวนคืนที่ดินและค่าใช้จ่ายในการพัฒนารอบนิคม อุตสาหกรรมอมตะในประเทศเวียดนาม

การวิเคราะห์บัญชีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ และ บริษัทย่อย มีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ๆ เป็นจ�ำนวนเงิน 79.9 ล้านบาท โดยหลักๆ เป็นลูกหนี้การค้า-กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน จํานวนเงิน 53.8 ล้านบาท และลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นจ�ำนวนเงิน 26.1 ล้านบาท ดังมีรายละเอียดอายุของลูกหนี้ดังต่อไปนี้: ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ เป็นจ�ำนวนเงิน 33.1 ล้านบาท ค้างช�ำระไม่เกิน 3 เดือน เป็นจ�ำนวนเงิน 4.4 ล้านบาท ค้างช�ำระนานกว่า 3 ถึง 9 เดือน เป็นจ�ำนวนเงิน 16.2 ล้านบาท ส�ำหรับลูกหนีก้ ารค้า-กิจการที่ไม่เกีย่ วข้องกันส�ำหรับปี 2558 จ�ำนวนเงิน 53.8 ล้านบาท บริษทั ได้ตงั้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญจ�ำนวนเงิน 16.2 ล้านบาท และ เนื่องจากบริษัทฯ มีนโนบายและมีมาตรการในการติดตามหนี้ที่ดี ท�ำให้บริษัทฯ ไม่มีหนี้สูญจากการเรียกเก็บเงิน จากลูกค้าไม่ได้

การวิเคราะห์กระแสเงินสด (หน่วย: ล้านบาท) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

ปี 2558

ปี 2557

เปลี่ยนแปลง

372.8 361.0 (946.4) 1,840.3 1,306.0 1,678.8

491.3 111.9 (146.4) (8.4) (72.5) (118.5) 372.8

(118.5) 249.1 (800.0) 1,848.7 72.5 1,424.5 1,306.0

ร้อยละ

(24.1) 222.6 546.4 (22,086.8) (100.0) (1,201.9) 350.3

1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานในปี 2558 เป็นจ�ำนวนเงิน 361.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 249.1 ล้านบาท จากปี 2557 การเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญในกระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และ หนี้สินที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นในจากหัวข้อการวิเคราะห์ทางการเงิน 2. กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนใน ปี 2558 จ�ำนวนเงิน 946.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 800.0 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากเงินสดที่จ่ายออกไปส�ำหรับค่าใช้จ่ายด้านอสังหาริมทรัพย์การเวนคืนที่ดินและอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ ลงทุน และประกอบกับการลดลงของเงินฝากไว้กับสถาบันการเงิน แทนที่ด้วยเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

129 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


3. กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เป็นจ�ำนวนเงิน 1,840.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 1,848.7 ล้านบาท เกิด จากเงินสดที่ได้รับจากสถาบันการเงินส�ำหรับเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว และเงินสดรับจากการเพิ่มทุน ส่วนในด้าน เงินสดจ่ายออกหลักๆ ส่วนใหญ่สำ� หรับการลงทุนในบริษทั ย่อย การช�ำระหนีบ้ างส่วนของเงินกูร้ ะยะยาว และดอกเบีย้ จ่าย

การวิเคราะห์สัดส่วนทางการเงิน อัตราส่วนก�ำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า)

ปี 2558

ปี 2557

เปลี่ยนแปลง

15.0 5.3 3.2 0.49

19.0 8.2 4.7 0.24

(4.0) (3.0) (1.5) 0.25

น่าพอใจ / ไม่น่าพอใจ

ไม่น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ

* อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (%) = ก�ำไรสุทธิของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่*100 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ (เฉลี่ย)

130 Vietnam-The New Phase of Success

* * อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) = ก�ำไรสุทธิของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่*100 รวมสินทรัพย์ (เฉลี่ย)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ และ บริษัทย่อย มีส่วนท�ำให้มีก�ำไรสุทธิเป็นจ�ำนวนเงิน 121.4 ล้านบาทเมื่อเทียบกับก�ำไร สุทธิของปี 2557 ลดลงเป็นจ�ำนวนเงิน 3.0 ล้านบาท หรือคิดเป็นลดลงในอัตราร้อยละ 2.4

การลดลงของก�ำไรสุทธิ มีผลจากตัวขับเคลือ่ นหลักๆ ดังนีค้ อื ค่าใช้จา่ ยครัง้ เดียวทีเ่ กิดขึน้ ในโครงการเฟสที่ 1 ในการพัฒนาของ ถนน ปรับปรุงท่อน�้ำประปา, การปรับปรุงท่อระบายน�้ำเพื่อการรองรับน�ำ้ ฝนจากพายุ, ค่าเผื่อผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการ ด้อยค่าส�ำหรับการลงทุนใน Amata Power (Bien Hoa), การตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ซึง่ เป็นสาเหตุให้อตั ราก�ำไรสุทธิในปี 2558 ได้อัตราร้อยละ 15 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2557 ได้อัตราร้อยละ 19

อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน อยู่ที่ร้อยละ 0.49:1 ณ สิ้นปี 2558 และอยู่ที่ร้อยละ 0.24:1 ณ สิ้นปี 2557 เพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการกู้ยืม เงินระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน ด้วยอัตตราส่วนหนี้สินต่อทุนของบริษัทฯ อยู่ในเกณฑ์ที่ตำ�่ เมื่อเทียบกับบริษัท อื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยการที่มีอัตราหนี้สินต่อทุนต�่ำ สะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างเงินทุนที่แข็งแกร่งมีความยืดหยุ่น ซึ่งสามารถปรับเข้ากับสถานการณ์ต่างๆ ได้


การเปลี่ยนแปลงการลงทุนระหว่างปี

ในปี 2558 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (“อมตะ วีเอ็น”) ได้รับเงินจากการเสนอขายหุ้นสามัญแก่ประชาชนทั่วไป (Initial Public Offering) จ�ำนวน 166 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาทในราคาเสนอขายหุ้นละ 7.50 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน ทัง้ สิน้ 1,248 ล้านบาท ในการออกจ�ำหน่ายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าว บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเสนอขายหุ้น ดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 47 ล้านบาท บริษทั ฯ รับสุทธิรวม 1,201 ล้านบาท จากการขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุน บริษทั ฯ ได้จดทะเบียน เปลีย่ นแปลงทุนช�ำระแล้วเป็น 468 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 935 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท) กับกระทรวงพาณิชย์แล้วใน วันที่ 9 ธันวาคม 2558 และได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์”) ด้วยท�ำการซื้อขาย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2015

ในปี 2558 อมตะ วีเอ็น ลงทุน 424,657 ล้านด่ง (คิดเป็น 712 ล้านบาท) ในหุ้นสามัญของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company เป็นบริษทั ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ในประเทศเวียดนามเพือ่ ประกอบกิจการในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม (คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 35 ของทุนที่เรียกช�ำระแล้วของบริษัทดังกล่าว) หุ้นสามัญส่วนที่เหลือของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company ถือโดย Amata (Vietnam) Joint Stock Company (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65 ของหุ้นที่เรียกช�ำระแล้วของบริษัท ดังกล่าว)

131 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

เรื่องอื่นๆ


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

ต่อรายงานทางการเงินประจ�ำปี 2558 งบการเงินของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่นำ� มาจัดท�ำงบการเงินรวมได้ปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป และใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอ ตลอดจนมีการพิจารณาถึงความสมเหตุสมผลและจัดท�ำ งบการเงินอย่างรอบคอบ เพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไป ทีจ่ ะได้รบั ทราบข้อมูลทีแ่ สดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน ที่ครบถ้วนเป็นจริงและสมเหตุผล ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อรายงานงบการเงินที่บริษัทฯ จัดท�ำขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ข้างต้น คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบทีม่ คี ณุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ให้เข้ามาท�ำหน้าที่ สอบทานให้บริษัทฯมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องเพียงพอ รวมทั้งมีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องและครบถ้วน สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล สอบทานการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดตลาดหลักทรัพย์ ข้อผูกพันที่มีไว้กับบุคคลภายนอกและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งและเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี จากโครงสร้างการบริหารและระบบการควบคุมภายในดังกล่าว และผลการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ท�ำให้คณะกรรมการ ของบริษัทเชื่อได้ว่า งบการเงินของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ได้แสดงฐานะ การเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตราฐานการรายงานทางการเงิน

(ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ)

132 Vietnam-The New Phase of Success

ประธานกรรมการ

(นายกัมพล ตติยกวี) กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ


รายงาน

ของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นคณะกรรมการ อิสระทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อก�ำหนด และแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบด้วย นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ Mr. Mats Anders Lundqvist และ Mr. Do Ngoc Son เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมี นาง วราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่ง สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปีบญั ชี 2558 ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 4 ครั้ง และในปี 2559 จนถึงวันที่รายงาน จ�ำนวน 1 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยนางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ และ Mr. Mats Anders Lundqvist เข้าร่วมประชุมครบถ้วนทุกครั้ง Mr. Do Ngoc Son, Mr. Do Ngoc Sonเข้าร่วมประชุม 4 ครั้ง และเป็นการร่วมประชุม กับผู้บริหาร ผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายในตามความเหมาะสมซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2558 โดยได้สอบถามและรับฟัง ค�ำชี้แจงจากผู้บริหาร และผู้สอบบัญชี ในเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงรับทราบแผนการสอบบัญชีของ ผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2558 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินดังกล่าวมีความ ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานข้อมูลการด�ำเนินงานและระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายในอันจะช่วยส่งเสริมให้การด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดยพิจารณาจากการสอบทานผลการ ประเมินระบบการควบคุมภายในร่วมกับผู้สอบบัญชี และ ผู้ตรวจสอบภายใน ไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ นอกจากนี้ได้ประเมินระบบ การควบคุมภายในตามแนวทางทีก่ ำ� หนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยผูส้ อบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน มีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้อง กับผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน รวมทั้งมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของบริษัท ย่อยอย่างเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล

4. สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของบริษัทฯ และข้อผูกพันที่บริษัทฯมีไว้กับบุคคล ภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�ำหนด และข้อผูกพันที่บริษัทฯมีไว้กับบุคคลภายนอก

133 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณาภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ ของ A&C Auditing and Consulting Co., Ltd ซึ่งเป็น ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทย่อย อีกทั้งได้พิจารณาทบทวนและอนุมัติการ แก้ไขกฏบัตรงานตรวจสอบภายในให้เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้องกับคูม่ อื แนวทางการตรวจสอบภายในของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และได้อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจ�ำปี ทีจ่ ดั ขึน้ ตามความเสีย่ งระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นว่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ พียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล เป็นไปตามมาตราฐานสากล


5. สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยง ให้มีความเชื่อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื่อจัดการความเสี่ยงทั่วทั้งบริษัทฯ โดย ได้พิจารณาสอบทานนโยบาย ปัจจัยความเสี่ยง แนวทางการบริหารความเสี่ยง รวมถึงความคืบหน้าของการบริหารความเสี่ยง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบการบริหารความเสี่ยง โดยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์บ่งชี้ความเสี่ยง ประเมินความเสีย่ ง จัดการความเสีย่ ง และติดตามผลความคืบหน้า มีการก�ำหนดดัชนีชวี้ ดั ความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ (Key Risk Indicator -KRI) ซึ่งถือเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้า ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ มีการก�ำหนดความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) 6. สอบทานและให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล ของรายการดังกล่าว ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่ารายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและแสดงรายการใน งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชี รวมทั้งมี ความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งมีการ เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 7. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี ประจ�ำปี 2559 เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯให้อนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2559 ซีง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาผลการปฏิบตั งิ าน ความเป็นอิสระและความเหมาะสม ของค่าตอบแทนแล้ว เห็นควรเสนอแต่งตั้ง นางสาว สุพรรณี ตริยานันทกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4498 หรือ นาย ศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3930 หรือ นางสาววราพร ประภาศิริกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4579 แห่งบริษัทส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2559 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็น จ�ำนวนเงินรวม 550,000 บาท โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี่ยวกับการเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีดังกล่าวดังนี้ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ปฏิบัติงานด้วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบ การควบคุมภายในและความเสี่ยงต่างๆ รวมทั้งมีความเป็นอิสระในการปฏบัติงาน ค่าตอบแทนทีเ่ สนอมาเป็นอัตราทีเ่ หมาะสม โดยได้เสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีเป็นจ�ำนวน 550,000 บาท ซึง่ สูงกว่าปี 2558 จ�ำนวน 500,000 บาทหรือเพิ่มขึ้น 10% มีการปฏิบตั สิ อดคล้องกับข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในเรือ่ งการก�ำหนด ให้บริษัทจดทะเบียนต้องจัดให้มีการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีที่ลงลายมือชื่อรับรองงบการเงินทุก 5 รอบปีบัญชี ทั้งนี้หาก นางสาว สุพรรณี ตริยานันทกุล ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2559 จะจัดเป็นปีแรกของผู้สอบบัญชี

134 Vietnam-The New Phase of Success

ผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับบริษัทฯ และบริษัทย่อย


ความเห็น/ข้อสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยสรุปในภาพรวมแล้วคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามที่ได้ระบุไว้ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีรายงานข้อมูลทางการเงินและการด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง มีระบบ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามกฏหมาย ข้อก�ำหนด และข้อผูกพันต่างๆ มีการเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันอย่างถูกต้องและมีการปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องกับระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดีอย่างเพียงพอ โปร่งใส และเชื่อถือได้รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพดีขึ้นและเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

135 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 16 กุมภาพันธ์ 2559


รายงานของ

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน รวมถึง หมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทสี่ ำ� คัญและหมายเหตุเรือ่ งอืน่ ๆ และได้ ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามทีค่ วรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่

136

Vietnam-The New Phase of Success

การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึง การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบ วิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม


ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการด�ำเนินงานและ กระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกันของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844

137

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 16 กุมภาพันธ์ 2559


งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2558

2557

7 1,678,775,736 372,788,579 1,161,491,636 8 241,849,600 975,900,770 9 63,717,262 107,838,450 763,552 10 414,644,480 400,642,900 71,720,649 87,021,759 19,061 2,470,707,727 1,944,192,458 1,162,274,249

43,044,707 6,523,015 49,567,722

11 12 13 14

71,758,862 513,691,528 158,325,424

138

2557

- 1,456,772,818 91,758,862 502,823,337 171,044,799 42,019

384,300,000 59,130

10 1,695,077,915 5,623,303 3,509,811 5,323,877 2,444,477,032 769,136,809 1,462,138,714 4,915,184,759 2,713,329,267 2,624,412,963

2,978,961 387,338,091 436,905,813

Vietnam-The New Phase of Success

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อาคารและอุปกรณ์ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ - สุทธิจากส่วนที่หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2558

2557

2558

2557

15

711,753,575 103,814,886

79,450,233

711,753,575 17,607,377

3,359,302

16

60,000,000

-

60,000,000

-

23,076,038 7,298,879

16,949,119 9,073,494

-

-

5,894,260 911,837,638

5,009,181 110,482,027

789,360,952

3,359,302

- 250,000,000 82,474,670 35,811,644 195,730,158 84,274,132 8,146,105 3,261,455 406,436,709 253,261,455 516,918,736 1,042,622,407

2,502,250 2,502,250 5,861,552

17

16

250,000,000 113,169,497 36,468,297 21 220,017,774 17 87,180,774 6,447,000 713,283,342 1,625,120,980

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

139

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี รายได้รับล่วงหน้าที่ถึงก�ำหนดรับรู้เป็น รายได้ภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย ค่าเช่าที่ดินค้างจ่ายที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินมัดจ�ำการเช่าและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า รายได้รับล่วงหน้า หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557

2558

140

Vietnam-The New Phase of Success

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 935,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท 467,500,000 467,500,000 467,500,000 ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 935,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท (2557: หุ้นสามัญ 768,630,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท) 18 467,500,000 384,315,000 467,500,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 18 1,117,734,742 - 1,117,734,742 ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย 19 5,516,985 5,516,985 5,516,985 ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม) 371,324,885 249,955,274 (8,961,171) องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น 1,084,541,703 917,500,412 ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 3,046,618,315 1,557,287,671 1,581,790,556 ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทย่อย 243,445,464 639,122,860 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 3,290,063,779 2,196,410,531 1,581,790,556 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 4,915,184,759 2,713,329,267 2,624,412,963

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2557

467,500,000

384,315,000 5,516,985 41,212,276 431,044,261 431,044,261 436,905,813


งบก�ำไรขาดทุน

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) รายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและบริการ รายได้เงินปันผล ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนจากการให้เช่าและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หนี้สงสัยจะสูญ 9 ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 12 ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 21 ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย ก�ำไรต่อหุ้น 22 ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ

2558

2557

2558

2557

320,154,111 407,718,072 40,719,386 41,061,428 809,652,997

180,914,803 367,967,562 80,978,881 25,864,721 655,725,967

1,319,456 912 1,320,368

103,102,155 121,462 22,552 103,246,169

139,675,361 249,307,751 10,419,787 91,191,923 15,774,063

83,071,467 239,411,042 4,787,503 83,334,349 -

27,953,722 -

20,479,435 -

20,000,000 11,482,858 537,851,743

8,872,665 419,477,026

27,953,722

20,479,435

271,801,254 (23,540,093) 248,261,161 (67,623,208) 180,637,953

236,248,941 (278,527) 235,970,414 (49,407,249) 186,563,165

(26,633,354) (23,540,093) (50,173,447) (50,173,447)

82,766,734 (278,527) 82,488,207 82,488,207

121,369,611

124,410,031

(50,173,447)

82,488,207

59,268,342 180,637,953

62,153,134 186,563,165

0.16

0.16

(0.06)

0.11

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

141

งบการเงินรวม


งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี

2558

2557

2558

2557

180,637,953

186,563,165

(50,173,447)

82,488,207

72,814,796 72,814,796

(3,133,785) (3,133,785)

-

-

253,452,749

183,429,380

(50,173,447)

82,488,207

185,865,870

122,216,382

(50,173,447)

82,488,207

67,586,879 253,452,749

61,212,998 183,429,380

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่า งบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

142

Vietnam-The New Phase of Success

การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


- 124,410,031 (2,193,649) - (30,745,200)

-

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่ายให้กับผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 25) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 384,315,000

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

143

-

-

- 4,124,410 (4,124,410) - 5,516,985 249,955,274 48,727,411

-

- 124,410,031 - (2,193,649)

-

-

ยังไม่ได้ จัดสรร

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

จัดสรรแล้ว

- 1,392,575 160,414,853 50,921,060

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ

ผลต่างจาก การแปลงค่า งบการเงิน ที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ

ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 384,315,000

ทุนที่ออก และช�ำระเต็ม มูลค่าแล้ว

ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

ส่วนเกินจาก การเปลี่ยนแปลง การรวมกิจการ สัดส่วน ภายใต้การควบคุม เงินลงทุน เดียวกัน ในบริษัทย่อย

-

-

-

-

22,442,281 846,330,720

-

-

-

-

22,442,281 846,330,720

ส�ำรองส�ำหรับ การจ่าย โดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

ส่วนของผู้มี ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวม ของบริษัทย่อย ส่วนของผู้ถือหุ้น

- (30,745,200)

- (41,767,843) (41,767,843) - (30,745,200)

-

61,212,998 183,429,380

62,153,134 186,563,165 (940,136) (3,133,785)

- 917,500,412 1,557,287,671 639,122,860 2,196,410,531

-

-

- (2,193,649) 122,216,382

- 124,410,031 - (2,193,649) (2,193,649)

- 919,694,061 1,465,816,489 619,677,705 2,085,494,194

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


Vietnam-The New Phase of Success

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น สามัญ จัดสรรแล้ว

ยังไม่ได้ จัดสรร

ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

ผลต่างจาก การแปลงค่า งบการเงิน ที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 467,500,000 1,117,734,742 5,516,985 371,324,885 113,223,670

ส่วนเกินจาก การเปลี่ยนแปลง การรวมกิจการ สัดส่วน ภายใต้การควบคุม เงินลงทุน เดียวกัน ในบริษัทย่อย รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

ส่วนของผู้มี ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวม ของบริษัทย่อย ส่วนของผู้ถือหุ้น

- 102,545,032 102,545,032 102,545,032 (463,264,275) (360,719,243)

- 917,500,412 1,557,287,671 639,122,860 2,196,410,531 - 121,369,611 59,268,342 180,637,953 - 64,496,259 64,496,259 8,318,537 72,814,796 - 64,496,259 185,865,870 67,586,879 253,452,749 - 1,200,919,742 - 1,200,919,742

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

22,442,281 846,330,720 102,545,032 1,084,541,703 3,046,618,315 243,445,464 3,290,063,779

-

22,442,281 846,330,720 -

ส�ำรองส�ำหรับ การจ่าย โดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 384,315,000 - 5,516,985 249,955,274 48,727,411 ก�ำไรส�ำหรับปี - 121,369,611 ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - 64,496,259 ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี - 121,369,611 64,496,259 ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 18) 83,185,000 1,117,734,742 ส่วนเกินในบริษัทย่อยซึ่งเกิดจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทย่อยในราคา ที่ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ซื้อ (หมายเหตุ 11) -

ทุนที่ออก และช�ำระเต็ม มูลค่าแล้ว

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

144


งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ก�ำไรสะสม ทุนที่ออก และช�ำระ เต็มมูลค่าแล้ว

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ

384,315,000 -

-

-

-

384,315,000

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน (หมายเหตุ 18) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

384,315,000 83,185,000 1,117,734,742 467,500,000 1,117,734,742

ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

1,392,575 -

(6,406,321) 82,488,207

379,301,254 82,488,207

- (30,745,200) (30,745,200) 4,124,410 5,516,985

(4,124,410) 41,212,276

431,044,261

5,516,985 41,212,276 431,044,261 - (50,173,447) (50,173,447) - 1,200,919,742 5,516,985 (8,961,171) 1,581,790,556

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

145

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 25) โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรเป็น ส�ำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

จัดสรรแล้ว


งบกระแสเงินสด

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท)

146

Vietnam-The New Phase of Success

งบการเงินรวม

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน เงินปันผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทย่อย ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ก�ำไร (ขาดทุน) จากการด�ำเนินงานก่อน การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ด�ำเนินงาน สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้นทุนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์อื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและหนี้สินอื่น เงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

248,261,161

235,970,414

(50,173,447)

82,488,207

91,103,377 16,239,250 (32,084,943)

81,002,162 (21,016,565)

17,110 -

16,911 -

20,000,000 759,205 (40,719,386) 23,540,093

(545,313) (80,978,881) 278,527

327,098,757

214,710,344

(27,176,495)

(20,985,285)

27,881,939 (23,332,953) 15,301,110 (2,113,491)

18,416,636 (57,055,870) (5,104,099) (1,711,679)

(763,194) 6,503,598 (2,344,916)

361,026 68,660 (2,955,466)

61,295,777 406,131,139 (45,110,207) 361,020,932

(11,223,860) 158,031,472 (46,125,339) 111,906,133

12,367,389 (11,413,618) (11,413,618)

1,232,233 (22,278,832) (22,278,832)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

- (103,102,155) 759,205 (545,313) (1,319,456) (121,462) 23,540,093 278,527


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ 40,719,386 เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงินลดลง (เพิ่มขึ้น) 734,051,170 เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินปันผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทย่อย ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (80,319,868) ซื้ออุปกรณ์ (1,499,126) เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน 49,711,210 เงินสดจ่ายต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (1,689,070,235) เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน (946,407,463) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 711,753,575 ดอกเบี้ยจ่าย (21,659,408) เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน 56,000,000 ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (56,000,000) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว 350,000,000 ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว (40,000,000) เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย (หมายเหตุ 11) (360,719,243) เงินสดรับค่าหุน้ สามัญเพิม่ ทุน (หมายเหตุ 18) 1,200,919,742 เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทย่อย เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน 1,840,294,666 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) 51,079,022 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 1,305,987,157 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 372,788,579 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี 1,678,775,736 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2557

2558

2557

80,978,881

1,319,456

121,462

(152,901,362) (68,174,084) (50,562,485)

(711,753,575) -

103,102,155 (21,400)

44,246,090 (146,412,960)

(710,434,119)

103,202,217

- 711,753,575 (370,247) (21,659,408) 10,000,000 56,000,000 (18,000,000) (56,000,000) - 350,000,000 - (40,000,000) - (360,719,243) - 1,200,919,742 (30,745,200) -

(370,247) 10,000,000 (18,000,000) (30,745,200)

(41,767,843) (80,883,290) 1,840,294,666 (3,133,785) -

(39,115,447) -

(118,523,902) 1,118,446,929 491,312,481 43,044,707 372,788,579 1,161,491,636

41,807,938 1,236,769 43,044,707

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

147

งบการเงินรวม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งขึ้นและมีภูมิล�ำเนาในประเทศไทย โดยมี บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ ในประเทศไทยเป็นบริษทั ใหญ่ ธุรกิจของบริษทั ฯ คือการประกอบธุรกิจการลงทุนในบริษทั อืน่ (Holding Company) โดยมีธรุ กิจหลักคือการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนาม และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯ อยู่ที่ 2126 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

บริษัทฯ ได้น�ำหุ้นสามัญของบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2558

2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการ ในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจาก งบการเงินฉบับภาษาไทยนี้

งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิม เว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก)

งบการเงินรวมนี้ได้จดั ท�ำขึน้ โดยรวมงบการเงินของบริษทั อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า “บริษทั ฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ อัตราร้อยละของการถือหุ้น

148

Vietnam-The New Phase of Success

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

Amata (Vietnam) Joint Stock Company (“เอวีเอ็น”) พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Amata City Long Thanh Joint Stock Company (“เอซีแอลที”) พัฒนานิคมอุตสาหกรรม (ถือหุ้นโดยบริษัทฯ ร้อยละ 35 และเอวีเอ็น ร้อยละ 65)

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

2558 ร้อยละ

2557 ร้อยละ

เวียดนาม

90.0

70.0

เวียดนาม

93.5

-

ข)

บริษัทฯ จะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรือบริษัทย่อยได้ หากบริษัทฯ มีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสียใน ผลตอบแทนของกิจการทีเ่ ข้าไปลงทุน และสามารถใช้อำ� นาจในการสัง่ การกิจกรรมทีส่ ง่ ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อ จ�ำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได้

ค)

บริษทั ฯ น�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อยจนถึงวันที่บริษัทฯสิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น

ง)

งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

จ)

สินทรัพย์และหนีส้ นิ ตามงบการเงินของบริษทั ย่อยซึง่ จัดตัง้ ในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย รายเดือน ผลต่างซึง่ เกิดขึน้ จากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็น เงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

ญ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีม่ สี าระส�ำคัญได้ถกู ตัดออกจากงบการเงินรวมนีแ้ ล้ว ช)

ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นใน งบแสดงฐานะการเงินรวม

2.3 บริษัทฯ จัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการโดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้

ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเ่ ริม่ มีผลบังคับใช้ในปีปจั จุบนั

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้น�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2557) และฉบับใหม่ที่ออกโดย สภาวิชาชีพบัญชี ซึง่ มีผลบังคับใช้สำ� หรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐาน การรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทาง การเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยค�ำและค�ำศัพท์การตีความและการให้แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีกบั ผูใ้ ช้ มาตรฐาน การน�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบัตินี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงิน ของบริษัทฯและบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามที่กล่าวข้างต้นบางฉบับมีการเปลี่ยนแปลง หลักการส�ำคัญซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

มาตรฐานฉบับปรับปรุงนีก้ ำ� หนดให้กจิ การต้องรับรูร้ ายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ในขณะทีม่ าตรฐานฉบับเดิมอนุญาตให้กจิ การเลือกรับรูร้ ายการดังกล่าวทันทีในก�ำไรขาดทุน หรือในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรู้ในก�ำไรขาดทุนก็ได้

มาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกล่าวไม่มผี ลกระทบต่องบการเงินนี้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ รับรูร้ ายการก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นอยู่แต่เดิมแล้ว

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 ก�ำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดท�ำงบการเงินรวม โดยใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับ การบัญชีสำ� หรับงบการเงินรวมทีเ่ ดิมก�ำหนดอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 เรือ่ ง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับนีเ้ ปลีย่ นแปลงหลักการเกีย่ วกับการพิจารณาว่าผูล้ งทุนมีอำ� นาจการควบคุมหรือไม่ กล่าวคือ ภายใต้มาตรฐาน ฉบับนี้ผู้ลงทุนจะถือว่าตนควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนได้ หากตนมีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที่ เข้าไปลงทุน และตนสามารถใช้อ�ำนาจในการสั่งการกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ถึงแม้ว่าตนจะมี สัดส่วนการถือหุน้ หรือสิทธิในการออกเสียงโดยรวมน้อยกว่ากึง่ หนึง่ ก็ตาม การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญนีส้ ง่ ผลให้ฝา่ ยบริหารต้องใช้ ดุลยพินจิ อย่างมากในการทบทวนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอำ� นาจควบคุมในกิจการทีเ่ ข้าไปลงทุนหรือไม่และจะต้องน�ำบริษทั ใด ในกลุ่มกิจการมาจัดท�ำงบการเงินรวมบ้าง

149

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

150

Vietnam-The New Phase of Success

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

การเปลีย่ นแปลงหลักการนีไ้ ม่มผี ลกระทบต่องบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 ใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ซึ่งได้ถูก ยกเลิกไป มาตรฐานฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการที่ลงทุนในกิจการใดๆ ต้องพิจารณาว่าตนมีการควบคุมร่วม (Joint control) กับ ผูล้ งทุนรายอืน่ ในกิจการนัน้ หรือไม่ หากกิจการมีการควบคุมร่วมกับผูล้ งทุนรายอืน่ ในกิจการทีถ่ กู ลงทุนนัน้ แล้วให้ถอื ว่ากิจการนัน้ เป็นการร่วมการงาน (Joint arrangement) หลังจากนัน้ กิจการต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการก�ำหนดประเภทของการร่วมการงานนัน้ ว่า เป็นการด�ำเนินงานร่วมกัน (Joint operation) หรือ การร่วมค้า (Joint venture) และบันทึกส่วนได้เสียจากการลงทุนให้เหมาะสม กับประเภทของการร่วมการงาน กล่าวคือ หากเป็นการด�ำเนินงานร่วมกัน ให้กิจการรับรู้ส่วนแบ่งในสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่ายแต่ละรายการของการด�ำเนินงานร่วมกันตามส่วนที่ตนมีสิทธิตามสัญญาในงบการเงินเฉพาะกิจการของตน แต่ หากเป็นการร่วมค้า ให้กิจการรับรู้เงินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธีส่วนได้เสียในงบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย หรืองบการเงินรวม (หากมี) และรับรู้เงินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ

การเปลีย่ นแปลงหลักการนีไ้ ม่มผี ลกระทบต่องบการเงินของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น

มาตรฐานฉบับนีก้ ำ� หนดเรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ย่อย การร่วมการงาน บริษทั ร่วม รวมถึงกิจการที่มีโครงสร้างเฉพาะตัว มาตรฐานฉบับนี้จึงไม่มีผลกระทบทางการเงินต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม

มาตรฐานฉบับนีก้ ำ� หนดแนวทางเกีย่ วกับการวัดมูลค่ายุตธิ รรมและการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับการวัดมูลค่ายุตธิ รรม กล่าวคือ หากกิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สินใดตามข้อก�ำหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องอื่น กิจการจะต้อง วัดมูลค่ายุติธรรมนั้นตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี้และใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไปในการรับรู้ผลกระทบจากการเริ่มใช้ มาตรฐานนี้

มาตรฐานฉบับนี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย

ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับในอนาคต

ในระหว่างปีปจั จุบนั สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี จ�ำนวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มีเนื้อหาเท่าเทียม กับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯและบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับปรับปรุงและฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ทิ างบัญชีดงั กล่าวจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงิน เมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ

4. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 4.1 การรับรู้รายได้

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

รายได้จากการขายส่วนได้เสียในอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานพร้อมระบบสาธารณูปโภครับรู้ เป็นรายได้ทั้งจ�ำนวนเมื่อมีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนัยส�ำคัญของความเป็นเจ้าของให้กับผู้ซื้อแล้ว


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

รายได้ค่าบริการ

รายได้ค่าบริการรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความส�ำเร็จของงาน

รายได้จากการให้เช่า

รายได้จากการให้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน บริษัทย่อยรับรู้รายได้ตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า

ดอกเบี้ยรับ

ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง

เงินปันผลรับ

เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง ก�ำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงิน และการวิเคราะห์อายุหนี้ 4.4 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ส่วนได้เสียในอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานพร้อมระบบสาธารณูปโภคแสดงในราคาทุน เฉพาะเจาะจงหรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึง ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และระบบสาธารณูปโภค (แสดงอยูภ่ ายใต้รายการ “ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์” ในงบการเงินรวม) 4.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึง่ แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ การด้อยค่า

ข)

เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน

บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน 4.6 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

บริษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริม่ แรกของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนในราคาทุนซึง่ รวมต้นทุนการท�ำรายการ หลังจากนัน้ บริษทั ย่อย จะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ 35 - 44 ปี ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

151

ก)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัทย่อยรับรู้ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินที่ได้รับสุทธิจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุนในงวดที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 4.7 อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา

อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี)

ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ ดังนี้ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องใช้ส�ำนักงาน อื่นๆ

- - - -

3 - 40 ปี 2 - 7 ปี 3 - 5 ปี 3 - 15 ปี

ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับงานระหว่างก่อสร้าง

บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดรายการอาคารและอุปกรณ์ออกจากบัญชี เมื่อจ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ จะรับรูใ้ นส่วน ของก�ำไรหรือขาดทุนเมือ่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัดรายการสินทรัพย์นนั้ ออกจากบัญชี 4.8 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับบริษทั ฯและบริษทั ย่อย หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี ำ� นาจควบคุมบริษทั ฯและบริษทั ย่อย หรือถูกบริษัทฯและบริษัทย่อยควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย

นอกจากนีบ้ คุ คลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันยังหมายรวมถึงบุคคลทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึง่ ท�ำให้มอี ทิ ธิพล อย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษัทฯและบริษัทย่อย ผู้บริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อยที่มีอ�ำนาจ ในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย 4.9 สัญญาเช่าระยะยาว

152

Vietnam-The New Phase of Success

สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบัน สุทธิของจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน จะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้ มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า

สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือ เป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตามวิธี เส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

4.10 เงินตราต่างประเทศ

บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายการต่างๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนั้น

รายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็น ตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน 4.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์

ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าสินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย หากมีขอ้ บ่งชีว้ า่ สินทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมือ่ มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ของสินทรัพย์มมี ลู ค่าต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ทัง้ นีม้ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุน ในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า

ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน

โครงการสมทบเงิน

บริษัทฯ และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯ จ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ เงินทีบ่ ริษทั ฯ จ่ายสมทบ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ

โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน

บริษทั ฯ มีภาระส�ำหรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั ฯ ถือว่าเงินชดเชย ดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ท�ำการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย

ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของ พนักงานจะรับรู้ทันทีในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

153

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าเป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน 4.12 ผลประโยชน์ของพนักงาน


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

4.13 ประมาณการหนี้สิน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไว้ในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึน้ แล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯ และบริษัทย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.14 ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน

บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณ จากก�ำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ณ วันสิน้ รอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ โดยใช้อตั ราภาษีทมี่ ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิน้ รอบ ระยะเวลารายงาน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษีทกุ รายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจ�ำนวนเท่าที่มี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทย่อยจะมีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้ หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น

บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะ ท�ำการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าว หากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะไม่มกี ำ� ไรทางภาษีเพียงพอ ต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ หากภาษีทเี่ กิดขึน้ เกีย่ วข้องกับรายการ ที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 4.15 การวัดมูลค่ายุติธรรม

154

Vietnam-The New Phase of Success

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากจากการขายสินทรัพย์หรือเป็นราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อโอนหนี้สินให้ผู้อื่น โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย (ผู้ร่วมในตลาด) ณ วันที่วัดมูลค่า บริษัทฯและ บริษัทย่อยใช้ราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินซึ่งมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องก�ำหนดให้ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาดที่มีสภาพคล่องส�ำหรับ สินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกันหรือไม่สามารถหาราคาเสนอซือ้ ขายในตลาดทีม่ สี ภาพคล่องได้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อย จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ข้อมูลที่สามารถ สังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด

ล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วัดมูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินในงบการเงินออกเป็นสามระดับ ตามประเภทของข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ระดับ 1 ใช้ข้อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง

ระดับ 2 ใช้ข้อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม

ระดับ 3 ใช้ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น

ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประเมินความจ�ำเป็นในการโอนรายการระหว่างล�ำดับชั้นของมูลค่า ยุติธรรมส�ำหรับสินทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจ�ำ ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการในเรือ่ ง ทีม่ คี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล่าวนีส้ ง่ ผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและ ต่อข้อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการที่ส�ำคัญมีดังนี้

สัญญาเช่า

ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทย่อยได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้

ในการประมาณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะ เกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ ในขณะนั้น เป็นต้น

ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุนเมือ่ มีขอ้ บ่งชีข้ องการด้อยค่า โดยใช้การพิจารณากระแสเงินสด ในอนาคตที่คาดว่าจะได้รับจากเงินลงทุนคิดลดด้วยอัตราที่เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง

อาคารและอุปกรณ์ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และค่าเสื่อมราคา

ในการค�ำนวณค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณ อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมือ่ เลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนและต้องทบทวน อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น

นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของอาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

155

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำ� หรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและขาดทุนทางภาษี ที่ไม่ได้ใช้เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จาก ผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องประมาณการว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยควรรับรู้จ�ำนวน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละ ช่วงเวลา

6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไป ตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

นโยบายการก�ำหนดราคา

2558

2557

รายการธุรกิจกับบริษัทใหญ่ ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ดอกเบี้ยจ่าย

168

67 -

1,731 462

1,331 212

ค่าไฟฟ้า

5,224

6,012

ร้อยละ 5.25 ต่อปี ราคาที่ตกลงร่วมกัน ราคาตามสัญญาหรือราคาที่ตกลงร่วมกัน ร้อยละ 4.00 และ 4.50 ต่อปี (2557: อัตราร้อยละ 3.50 - 5.25 ต่อปี) ราคาตลาด (หน่วย: พันบาท)

156

Vietnam-The New Phase of Success

งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายการธุรกิจกับบริษัทใหญ่ ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยจ่าย

2558

2557

168

67 -

462

212

นโยบายการก�ำหนดราคา

อัตราร้อยละ 5.25 ต่อปี ราคาที่ตกลงร่วมกัน ร้อยละ 4.00 และ 4.50 ต่อปี (2557: อัตราร้อยละ 3.50 - 5.25 ต่อปี)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558

2557

2558

2557

21 21

19 19

-

-

95

1,995

95

1,995

453 548

609 2,604

95

1,995

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 9) กิจการที่เกี่ยวข้องกัน Amata Power (Bien Hoa) Limited รวม เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 15) บริษัทใหญ่ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) กิจการที่เกี่ยวข้องกัน Amata Power (Bien Hoa) Limited รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ยอดคงค้างของเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และการเคลื่อนไหว ของเงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

เพิ่มขึ้น

ลดลง

45,000 6,000 5,000 56,000

(45,000) (6,000) (5,000) (56,000)

ยอด คงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด รวม

ในระหว่างปี

157

ยอด คงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ในระหว่างปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีคา่ ใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการ และผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

30,377 1,456 31,833

25,718 675 26,393

13,730 1,456 15,186

11,579 675 12,254

7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

1,254 1,677,522 1,678,776

347 372,442 372,789

15 1,161,477 1,161,492

2557

28 43,017 43,045

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินฝากธนาคารมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.5 ถึง 5.0 ต่อปี (2557: ร้อยละ 0.4 ถึง 5.0 ต่อปี) (เฉพาะบริษัทฯ: ร้อยละ 0.5 ถึง 1.3 ต่อปี 2557: ร้อยละ 0.4 ถึง 0.5 ต่อปี)

8. เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงิน

158

Vietnam-The New Phase of Success

จ�ำนวนเงินดังกล่าวเป็นเงินฝากธนาคารในประเทศเวียดนามของบริษทั ย่อยทีม่ กี ำ� หนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาตัง้ แต่ 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยได้รบั ดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 4.3 ถึง 6.5 ต่อปี ส�ำหรับเงินฝากในสกุลเงินเวียดนามด่ง (2557: ร้อยละ 5.1 ถึง 8.0 ต่อปี) และอัตราร้อยละ 1.8 ถึง 2.3 ส�ำหรับเงินฝากในสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา (2557: ร้อยละ 1.8 ถึง 2.3 ต่อปี)


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วย (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ - สุทธิ

2558

2557

21 53,779 26,156 79,956 (16,239) 63,717

19 75,284 32,535 107,838 107,838

2558

2557

764 764 764

-

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) อายุหนี้ค้างช�ำระ

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน มากกว่า 3 - 9 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2557

2558

2557

21 21

19 19

-

-

33,098

71,872

-

-

4,442 16,239 53,779 (16,239)

3,412 75,284 -

-

-

37,540 37,561

75,284 75,303

-

-

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม

159

งบการเงินเฉพาะกิจการ


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

10. ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

จ�ำนวนนีเ้ ป็นต้นทุนในการได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาเป็นนิคมอุตสาหกรรมและต้นทุนในการพัฒนาอืน่ เช่น ค่าปรับปรุงที่ดินและค่าก่อสร้าง เป็นต้น ยอดคงเหลือของต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วย (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ -หมุนเวียน ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สุทธิจากส่วนที่หมุนเวียน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

2,109,722 (414,644)

400,643 (400,643)

-

-

1,695,078

-

-

-

11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย 11.1 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) บริษัท

ทุนเรียกช�ำระแล้ว

สัดส่วนเงินลงทุน

2558 2557 (ล้านเวียดนามด่ง)

Amata (Vietnam) Joint Stock Company Amata City Long Thanh Joint Stock Company

160

Vietnam-The New Phase of Success

2558 (ร้อยละ)

2557 (ร้อยละ)

ราคาทุน 2558

2557

เงินปันผลที่บริษัทฯ รับระหว่างปี* 2558

2557

365,996 365,996

90.0

70.0 745,019 384,300

- 103,102

424,657

35.0

- 711,754 1,456,773 384,300

- 103,102

-

*บริษัทย่อย จ่ายเงินปันผลจากก�ำไรตามงบการเงินที่บริษัทย่อยใช้เป็นทางการตามกฎหมายของประเทศเวียดนาม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

11.2 รายละเอียดของบริษัทย่อยซึ่งมีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมที่มีสาระส�ำคัญ (หน่วย: ล้านบาท)

บริษัท

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

สัดส่วนที่ถือโดย ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในบริษัทย่อย สะสม

ก�ำไรที่แบ่งให้กับ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในบริษัทย่อย ในระหว่างปี

เงินปันผลจ่ายให้กับ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในระหว่างปี

2558 (ร้อยละ)

2557 (ร้อยละ)

2558

2557

2558

2557

2558

2557

10.0

30.0

245

639

70

61

-

42

11.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทย่อยที่มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมที่มีสาระส�ำคัญ ซึ่งเป็นข้อมูล ก่อนการตัดรายการระหว่างกัน

สรุปรายการฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หน่วย: พันบาท) Amata (Vietnam) Joint Stock Company

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน

2557

2,292,929 744,033 122,451 456,836

1,892,166 766,099 107,123 398,291

สรุปรายการก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หน่วย : พันบาท)

รายได้ ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

2558

2557

807,913 320,936 73,887 304,823

655,582 207,177 (3,134) 204,043

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

161

2558


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

สรุปรายการกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 (หน่วย : พันบาท) Amata (Vietnam) Joint Stock Company

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ

2558

2557

386,057 (388,617) 10,462 7,902

179,817 (192,342) (143,928) (3,879) (160,332)

11.4 ในระหว่างไตรมาสทีส่ ามของปีปจั จุบนั บริษทั ฯได้ลงทุนหุน้ สามัญใน Amata City Long Thanh Joint Stock Company ซึง่ เป็นบริษทั ที่จัดตั้งขี้นในประเทศเวียดนาม และด�ำเนินธุรกิจในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเป็นจ�ำนวนเงิน 424,657 ล้านเวียดนามด่ง (เทียบเท่า 712 ล้านบาท) (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35 ของทุนที่เรียกช�ำระแล้วของบริษัทดังกล่าว) หุ้นสามัญส่วนที่เหลือของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company ถือโดย Amata (Vietnam) Joint Stock Company (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 65 ของทุนที่เรียกช�ำระแล้วของบริษัทดังกล่าว) ดังนั้นบริษัทฯ จึงรวมงบการเงินของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company ในงบการเงินรวมตั้งแต่ไตรมาสที่สามของปีปัจจุบัน 11.5 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ เข้าประมูลราคา เพื่อซื้อหุ้นของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company จากกิจการที่ไม่เกีย่ วข้องกันแห่งหนึง่ ในประเทศเวียดนามเป็นจ�ำนวน 7,319,928 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 32,500 เวียดนามด่ง รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 237,898 ล้านเวียดนามด่ง (เทียบเท่า 361 ล้านบาท) ทัง้ นีก้ ารด�ำเนินการ เพื่อซื้อหุ้นดังกล่าวได้แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 ซึ่งท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯใน Amata (Vietnam) Joint Stock Company เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70 เป็นร้อยละ 90 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายแล้วทั้งหมดของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company

162

Vietnam-The New Phase of Success

การเข้าซื้อหุ้นสามัญดังกล่าวมีผลท�ำให้บริษัทฯมีสัดส่วนการถือหุ้นใน Amata (Vietnam) Joint Stock Company เพิ่มขึ้น ตั้งแต่วันที่ซื้อ แต่เนื่องจากฝ่ายบริหารได้ประเมินว่า สินทรัพย์และหนี้สินของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ณ วันทีซ่ อื้ และวันที่ 30 มิถนุ ายน 2558 ไม่แตกต่างกันอย่างเป็นสาระส�ำคัญ บริษทั ฯ จึงได้บนั ทึกผลต่างจากการซือ้ เงินลงทุน ในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2558 จ�ำนวน 103 ล้านบาท ไว้ภายใต้รายการ “ส่วนเกินทุนจากการ เปลี่ยนแปลงสัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทย่อย” ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

12. เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

จ�ำนวนนี้เป็นเงินลงทุนใน Amata Power (Bien Hoa) Limited ซึ่งประกอบกิจการโรงไฟฟ้าในนิคมอุตสาหกรรมของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวร้อยละ 10 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

เงินลงทุนในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ

2558

2557

91,759 (20,000) 71,759

91,759 91,759

13. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

พื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม อาคารโรงงานให้เช่า งานระหว่างก่อสร้าง รวม

2558

2557

5,398 459,176 49,117 513,691

4,415 445,079 53,329 502,823

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนส�ำหรับปี 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้ 13.1 พื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม

(หน่วย: พันบาท) 2557

4,415 1,211 (371) 143 5,398

3,039 1,704 (328) 4,415

163

มูลค่าตามบัญชีต้นปี โอนมาจากต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาระหว่างปี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน มูลค่าตามบัญชีปลายปี

2558

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

13.2 อาคารโรงงานให้เช่า

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชีต้นปี ซื้อเพิ่ม โอนมาจากงานระหว่างก่อสร้าง โอนมาจากต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โอนไปอาคารและอุปกรณ์ - ราคาตามบัญชี จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - ราคาตามบัญชี ค่าเสื่อมราคาระหว่างปี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน มูลค่าตามบัญชีปลายปี

2558

2557

445,079 3,587 68,125 5,421 (9,095) (68,298) 14,357 459,176

451,718 2,664 30,598 26,101 (119) (30) (65,853) 445,079

13.3 งานระหว่างก่อสร้าง

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชีต้นปี ซื้อเพิ่ม โอนไปเป็นต้นทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โอนไปเป็นอาคารโรงงานให้เช่า จ�ำหน่ายสินทรัพย์ - ราคาตามบัญชี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน มูลค่าตามบัญชีปลายปี

164

Vietnam-The New Phase of Success

2558

2557

53,329 76,733 (6,008) (68,125) (8,531) 1,719 49,117

41,616 65,510 (30,598) (23,199) 53,329

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม

พื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรมและอาคารโรงงานให้เช่า

2558

2557

1,615

1,197


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

มูลค่ายุติธรรมประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ ทั้งนี้มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์ไม่ได้ถูกประเมินโดยใช้ราคาซื้อขาย ในตลาด เนือ่ งจากลักษณะเฉพาะของอสังหาริมทรัพย์และการขาดแคลนข้อมูลเชิงเปรียบเทียบผูป้ ระเมินอิสระจึงใช้แบบจ�ำลอง ในการประเมินมูลค่ามาใช้ เช่น วิธกี ารเปรียบเทียบโดยตรง วิธคี ำ� นวณมูลค่าปัจจุบนั ของรายได้ทเ่ี ป็นกระแสเงินสด และวิธคี ดิ ผลตอบแทนทางตรง เป็นต้น ซึง่ เป็นการวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรมระดับ 3 ตามล�ำดับชัน้ ของมูลค่ายุตธิ รรม ข้อสมมติฐานหลัก ที่ใช้ในการประเมินดังกล่าวประกอบด้วย อัตราตอบแทน อัตราเงินเฟ้อ อัตราพืน้ ทีว่ า่ งระยะยาว และอัตราการเติบโตของค่าเช่า

14. อาคารและอุปกรณ์ (หน่วย: พันบาท)

222,776 50,562 (559) 1,582 119 274,480 1,499 2,700 8,762 287,441 88,614 14,821 103,435 22,434 3,247 129,116 171,045 158,325 14,821 22,434

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

ราคาทุน 1 มกราคม 2557 173,540 30,571 6,027 12,253 385 ซื้อเพิ่ม 672 984 128 - 48,778 โอน 48,898 (46) (230) (18) (49,163) โอนมาจากต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,582 โอนมาจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 119 31 ธันวาคม 2557 224,811 31,509 5,925 12,235 ซื้อเพิ่ม 488 1,011 โอนมาจากต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 2,700 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 7,236 1,001 137 388 31 ธันวาคม 2558 234,747 32,998 7,073 12,623 ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 65,988 9,589 4,132 8,905 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 10,120 3,323 529 849 31 ธันวาคม 2557 76,108 12,912 4,661 9,754 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 17,369 3,518 712 835 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 2,439 401 99 308 31 ธันวาคม 2558 95,916 16,831 5,472 10,897 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 148,703 18,597 1,264 2,481 31 ธันวาคม 2558 138,831 16,167 1,601 1,726 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2557 (10 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนจากการให้เช่าและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร) 2558 (17 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนจากการให้เช่าและบริการ ส่วนทีเ่ หลือรวมอยู่ในค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร)

รวม

165

งบการเงินรวม อาคารและ เครื่องจักร เครื่องใช้ สินทรัพย์ งานระหว่าง สิ่งปลูกสร้าง และอุปกรณ์ ส�ำนักงาน อื่น ก่อสร้าง


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องใช้ส�ำนักงาน

รวม

64 21 85 85

64 21 85 85

9 17 26 17 43

9 17 26 17 43

59 42

59 42

ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2557 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2557 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2558 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร)

17 17

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำ� นวนหนึง่ ซึง่ ตัดค่าเสือ่ มราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่า ตามบัญชีกอ่ นหักค่าเสือ่ มราคาสะสมของสินทรัพย์ดงั กล่าวมีจำ� นวนเงินประมาณ 39 ล้านบาท (2557: 34 ล้านบาท)

15. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

166

Vietnam-The New Phase of Success

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้างจ่าย รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

453 41,631 95 59,756 1,880 103,815

609 35,036 1,995 41,810 79,450

95 15,632 1,880 17,607

1,995 1,364 3,359


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

16. เงินกู้ยืมระยะยาว (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินกู้ยืมระยะยาว หัก ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

2558

2557

310,000 (60,000) 250,000

-

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 บวก กู้เพิ่ม หัก จ่ายคืนเงินกู้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

350,000 (40,000) 310,000

เงินกู้วงเงิน 350 ล้านบาท ตามที่แสดงไว้ข้างต้นนี้เป็นเงินกู้ยืมที่บริษัทฯได้รับจากธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง เพื่อซื้อหุ้น ของบริษัทย่อยจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินกู้ยืมดังกล่าวคิดดอกเบี้ยในอัตรา MLR ลบอัตรา คงทีต่ อ่ ปี มีกำ� หนดช�ำระดอกเบีย้ เป็นประจ�ำทุกเดือนและช�ำระคืนเงินต้นเป็นประจ�ำทุก 6 เดือน เป็นระยะเวลา 10 งวด ซึง่ จะสิน้ สุด ภายในเดือนมีนาคม 2563

ภายใต้สญั ญาเงินกูย้ มื ฉบับดังกล่าวก�ำหนดให้บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการตามทีร่ ะบุในสัญญา เช่น การด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นและอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ ให้เป็นไปตามอัตราที่ก�ำหนด ในสัญญา เป็นต้น รวมถึงบริษัทฯ จะไม่น�ำทรัพย์สินของบริษัทฯ และหุ้นที่ออกโดยบริษัทย่อยที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัทฯ ไปจ�ำหน่ายจ่ายโอนหรือก่อภาระผูกพันในทรัพย์สินกับบุคคลอื่นตลอดอายุสัญญาเงินกู้

17. ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย 18. ทุนเรือนหุ้น

เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ ได้รบั เงินจากการเสนอขายหุน้ สามัญแก่ประชาชนทัว่ ไป (Initial Public Offering) จ�ำนวน 166 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ในราคาเสนอขายหุ้นละ 7.50 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 1,248 ล้านบาท ในการออกจ�ำหน่ายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนดังกล่าว บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับการเสนอขายหุน้ ดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 47 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้แสดงหักจากส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ บริษัทฯ ได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนช�ำระแล้วเป็น 468 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 935 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท) กับกระทรวงพาณิชย์แล้วในวันที่ 9 ธันวาคม 2558

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

จ�ำนวนนีค้ อื ค่าเช่าทีด่ นิ รายปีทบี่ ริษทั ย่อยมีภาระต้องจ่ายแก่หน่วยงานรัฐบาลส�ำหรับทีด่ นิ ที่ได้มกี ารขายและรับเงินจากผูซ้ อื้ แล้ว

167


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ มีมติอนุมัติในเรื่องที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ ก) อนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียนโดยการตัดหุน้ สามัญทีย่ งั ไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษทั จ�ำนวน 75,685,000 บาท หรือคิดเป็น จ�ำนวนเท่ากับ 151,370,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 460,000,000 บาทเป็น ทุนจดทะเบียน 384,315,000 บาท บริษัทฯ ได้จดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2557 และ ข) อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนจ�ำนวนโดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 83,185,000 บาท หรือคิดเป็นจ�ำนวนเท่ากับ 166,370,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 384,315,000 บาทเป็นทุนจดทะเบียน 467,500,000 บาท เพือ่ รองรับการจัดสรรหุน้ เพิม่ ทุนให้แก่ประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรก (Initial Public Offering) บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2557

19. ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ส่วนหนึง่ ไว้เป็นทุนส�ำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้ จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้

20. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2558 2557

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าเช่า ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย อื่นๆ

45,168 3,366 17,957 5,369 29,752

38,759 3,105 18,623 5,952 21,683

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

17,507 1,073 17 9,357

12,832 1,697 17 5,933

21. ภาษีเงินได้

168

Vietnam-The New Phase of Success

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2558 2557

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

43,335

38,447

-

-

24,288 67,623

10,960 49,407

-

-


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

รายการกระทบยอดระหว่างก�ำไรทางบัญชีกับค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้มีดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล ของปีก่อน ผลกระทบทางภาษีส�ำหรับค่าใช้จ่ายต้องห้าม ผลกระทบจากก�ำไรทางภาษีที่ยังไม่รับรู้จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ ผลกระทบทางภาษีส�ำหรับการส่งเสริมการลงทุน ผลกระทบทางภาษีส�ำหรับค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้น ผลกระทบภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากความแตกต่าง ชั่วคราว อื่นๆ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

248,261

235,970

(50,173)

82,488

ร้อยละ 20 (10,035)

ร้อยละ 20 16,498

ร้อยละ 20, 22 ร้อยละ 20, 22 60,022 52,326

2557

6,144 5,016

6,484

214

570

(25,495) (13,579) (8,080)

(13,951) (8,817) -

(8,080)

(20,620)

24,288 19,307 67,623

10,960 2,405 49,407

148 17,753 -

3,552 -

ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

2558

2557

2558

2557

(480) (272,966) 2,199 25,086 3,573 22,570 (220,018)

(5,711) (236,502) 1,862 25,220 19,401 (195,730)

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯมีรายการผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้จ�ำนวน 135 ล้านบาท (2557: 45 ล้านบาท) ทีบ่ ริษทั ฯ ไม่ได้บนั ทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนือ่ งจากบริษทั ฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าบริษทั ฯ อาจไม่มกี ำ� ไรทางภาษี

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับ รายได้รับล่วงหน้า ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่าที่ดินค้างจ่าย ค่าเผื่อสงสัยจะสูญ อื่นๆ รวมหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

169

งบการเงินรวม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะน�ำผลขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ขา้ งต้นมาใช้ประโยชน์ได้ ผลขาดทุนทางภาษีดงั กล่าวจะทยอยสิน้ สุด ระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2563

22. ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีทเ่ี ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ) ด้วยจ�ำนวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานแสดงการค�ำนวณได้ดังนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น ของบริษัทใหญ่ (พันบาท) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (พันหุ้น) ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

121,370 782,760 0.16

124,410 768,630 0.16

(50,173) 782,760 (0.06)

82,488 768,630 0.11

170

Vietnam-The New Phase of Success

23. ส่วนงานด�ำเนินงาน

ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงานที่น�ำเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทฯและบริษัทย่อยที่ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุด ด้านการด�ำเนินงานได้รบั และสอบทานอย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ ใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ส่วนงานและประเมินผล การด�ำเนินงานของส่วนงาน

บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการก�ำหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ข้อมูลรายได้ ก�ำไร และสินทรัพย์รวมของส่วนงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) ส่วนงานพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ 2558

ส่วนงานให้เช่า ทรัพย์สิน

2557

2558

2557

ส่วนงานบริการ สาธารณูปโภค 2558

2557

รวม 2558

2557

รายได้ 320,154 180,915 192,040 181,923 215,678 186,044 727,872 548,882 ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ตามส่วนงาน 180,479 97,843 115,792 99,590 42,618 28,967 338,889 226,400 รายได้และค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่ได้ปนั ส่วน: ดอกเบี้ยรับ 40,719 80,979 รายได้อื่น 41,062 25,865 ค่าใช้จ่ายในการขาย (10,420) (4,788) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (91,192) (83,334) หนี้สงสัยจะสูญ (15,774) ขาดทุนจากการด้อยค่าของ เงินลงทุนในบริษัทที่ เกี่ยวข้องกัน (20,000) ค่าใช้จ่ายอื่น (11,483) (8,873) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (23,540) (279) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (67,623) (49,407) ก�ำไรส�ำหรับปี 180,638 186,563 (หน่วย: พันบาท)

ต้นทุนการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์เพื่อ การลงทุน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ส่วนกลาง รวมสินทรัพย์

2557

2,109,722 400,643

2558

2557

-

ส่วนงานบริการ สาธารณูปโภค 2558

รวม

2557

-

-

- 513,691 502,823 138,831 148,703 -

19,453

2558

- 2,109,722 22,283

2557

400,643

513,691 502,823 158,284 170,986 2,133,488 1,638,877 4,915,185 2,713,329

บริษัทฯและบริษัทย่อยด�ำเนินธุรกิจในเขตภูมิศาสตร์เดียว คือประเทศเวียดนาม ดังนั้นรายได้และสินทรัพย์ที่แสดงอยู่ใน งบการเงิน จึงถือเป็นการรายงานตามเขตภูมิศาสตร์แล้ว

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

2558

ส่วนงานให้เช่าทรัพย์สิน

171

ส่วนงานพัฒนา อสังหาริมทรัพย์


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

24. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

บริษทั ฯ และพนักงานบริษทั ฯ ได้รว่ มกันจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 15 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรอง เลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวมกสิกรไทย จ�ำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ พนักงานนัน้ ออกจาก งานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ ในระหว่างปี 2558 บริษทั ฯ รับรูเ้ งินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จา่ ยจ�ำนวน 1 ล้านบาท (2557: 1 ล้านบาท)

25. เงินปันผล

เงินปันผลส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบด้วย (หน่วย: พันบาท) เงินปันผล

อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

(บาท) เงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับปี 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557 รวมเงินปันผลส�ำหรับปี 2557

30,745 30,745

0.04 0.04

26. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 26.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมีรายจ่ายฝ่ายทุนจ�ำนวนเงิน 62 ล้านบาท (2557: 147 ล้านบาท) ที่เกี่ยวข้องกับ การก่อสร้างโรงงานให้เช่า และระบบระบายน�้ำ 26.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาระยะยาว

172

Vietnam-The New Phase of Success

บริษทั ย่อยมีภาระทีจ่ ะต้องจ่ายค่าเช่าทีด่ นิ ให้กบั หน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนามโดยจะต้องจ่ายช�ำระค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับ การเช่าพื้นที่ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดในสัญญาเช่าในอัตราค่าเช่าดังนี้

พื้นที่จ�ำนวน 241.04 เฮคแทร์ ในอัตรา 1,000 เหรียญสหรัฐต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี และจะปรับเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 15 ทุกๆ 5 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549

พืน้ ทีจ่ ำ� นวน 0.47 เฮคแทร์ ในอัตรา 58 ล้านเวียดนามด่งต่อพืน้ ที่ 1 เฮคแทร์ตอ่ ปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจากนัน้ จะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม

พื้นที่จ�ำนวน 140.75 เฮคแทร์ ในอัตรา 145 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจาก นั้นจะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม

พื้นที่จ�ำนวน 67.97 เฮคแทร์ ในอัตรา 20.995 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และ หลังจากนั้นจะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม

พื้นที่จ�ำนวน 17.10 เฮคแทร์ ในอัตรา 36.225 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และ หลังจากนั้นจะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

พื้นที่พาณิชยกรรมจ�ำนวน 15.39 เฮคแทร์ ในอัตรา 750 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจากนั้นจะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม

27. สัญญาเช่าด�ำเนินงานซึ่งบริษัทย่อยเป็นผู้ให้เช่า

บริษัทย่อยมีสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการให้เช่าที่ดิน อาคารโรงงานและอาคารส�ำนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สัญญาเช่าด�ำเนินงานดังกล่าวจะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขั้นต�่ำในอนาคตดังนี้ (หน่วย: พันบาท) ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

2558

2557

193,110 349,362 69,314

93,611 172,464 178,539

28. เครื่องมือทางการเงิน เครือ่ งมือทางการเงินทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯและบริษทั ฯย่อยตามทีน่ ยิ ามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและ ลูกหนีอ้ นื่ เงินลงทุนระยะสัน้ เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ นื่ และเงินกูย้ มื บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับเครือ่ งมือ ทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้

ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชือ่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ นื่ ฝ่ายบริหารควบคุมความเสีย่ งนี้ โดยการก�ำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่คาดว่าจะได้รับ ความเสียหายทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญจากการให้สนิ เชือ่ นอกจากนีก้ ารให้สนิ เชือ่ ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจาก บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้าทีห่ ลากหลายและมีอยูจ่ ำ� นวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุดทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยอาจต้อง สูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงินและเงินกู้ยืม สินทรัพย์ และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตรา ตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยจึงอยู่ในระดับต�่ำ

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

บริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ ำ� คัญอันเกีย่ วเนือ่ งจากมีเงินฝากเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทย่อยมียอดคงเหลือของเงินฝากที่เป็นสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกาจ�ำนวน 8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2557: 3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา)

173

บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

28.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

28.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

เนือ่ งจากเครือ่ งมือทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงประมาณ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน

29. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ คือการจัดให้มซี งึ่ โครงสร้างทุนทีเ่ หมาะสมเพือ่ สนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วน หนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.49:1 (2557: 0.24:1) และเฉพาะบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.66:1 (2557: 0.01:1)

30. การอนุมัติงบการเงิน

174

Vietnam-The New Phase of Success

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559


อายุ (ปี)

คุณวุฒิทางการศึกษา

175 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

57 ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตรพัฒนาเลขานุการ บริษัทรุ่นที่3/2003 จากสมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Effective Minute Taking จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย Board Reporting Program จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย Ms. Pham Thi Thanh Huong 44 Bachelor’s degree,Accounting, ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ Banking University of Ho Chi Minh City, Vietnam Master’s degree, International Business Management, Curtin University, Australia

นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

-

-

0.03%

-

ความ สัดส่วน สัมพันธ์ทาง การถือหุ้น ครอบครัว ในบริษัท* ระหว่าง (31/12/58) ผู้บริหาร

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารของบมจ. อมตะ วีเอ็น

ผู้บริหาร

ประวัติ

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ

Amata City Long Thanh Joint Stock Company

2558 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนา บมจ. อมตะ วีเอ็น ธุรกิจ

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

2550 - ปัจจุบัน Vice President

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน อสังหาริมทรัพย์ ในรูป ของการพัฒนานิคม อุตสาหกรรมเพื่อขายให้ แก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

ประเภทธุรกิจ

2553 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท

ชื่อบริษัท

บมจ. อมตะ วีเอ็น

ต�ำแหน่ง

2555 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

38 ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปริญญาโท การเงิน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

อายุ (ปี)

หมายเหตุ: นับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

นางสาวสุภาพร อัศรัสกร ผู้จัดการฝ่ายบัญชี

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

176 Vietnam-The New Phase of Success

-

-

ความ สัดส่วน สัมพันธ์ทาง การถือหุ้น ครอบครัว ในบริษัท* ระหว่าง (31/12/58) ผู้บริหาร

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

2557 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บมจ. อมตะ วีเอ็น ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น จ�ำกัด

ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บริษัท โอเอชทีแอล จ�ำกัด โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ (มหาชน)

2554 - 2557 2550 - 2554

ขายยาอารักขาพืช

ประเภทธุรกิจ

ต�ำแหน่ง

ชื่อบริษัท

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 108/2014

Doctor’s degree of Technical Science in Water Resources Engineering, Asian Institute of Technology, Thailand

Master’s degree of Science in Water Resources Engineering, Asian Institute of Technology, Thailand

Bachelor’s degree of Art in Mathematics, School of Science, Hue University, Vietnam

72 Bachelor’s degree of Science in Mathematical Education, Hue University, Vietnam

177 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

Dr. Huynh Ngoc Phien ประธานกรรมการ

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

อายุ (ปี)

ไม่มี

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

2548 - 2555

บมจ. อมตะ วีเอ็น

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company

กรรมการผู้จัดการ Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Company

2555 - ปัจจุบัน กรรมการ

2555 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Company

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company


คุณวุฒิทางการศึกษา

Mr. Do Ngoc Son กรรมการ

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 108/2014

Master’s degree, International Business Management, Curtin University, Australia 65 Bachelor’s degree, Faculty of Letras y Artes, University of La Habana, Cuba

Ms. Pham Thi Thanh Huong 44 Bachelor’s degree, Vice President Accounting, Banking University of Ho Chi Minh City, Vietnam

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

อายุ (ปี)

178 Vietnam-The New Phase of Success

-

-

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

Amata (Vietnam) Joint StockCompany

ชื่อบริษัท

-

Ambassador

2549 - 2553

Foreign services

-

Minister, Director Foreign services General

2545 - 2554

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

Amata (Vietnam) Joint StockCompany

Amata City Long Thanh Joint Stock Company

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

ประเภทธุรกิจ

2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. อมตะ วีเอ็น กรรมการตรวจสอบ Assistant

2552 - ปัจจุบัน กรรมการ

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ

2558 - ปัจจุบัน ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนา บมจ. อมตะ วีเอ็น ธุรกิจ

2550 - ปัจจุบัน Vice President

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 104/2008

50 ปริญญาตรี ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

179 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นางสมหะทัย พานิชชีวะ กรรมการประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

อายุ (ปี)

ไม่มี

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร ต�ำแหน่ง

ชื่อบริษัท

ให้บริการที่ปรึกษาและลงทุนใน บริษัทอื่น บริษัท ชาติชีวะ จ�ำกัด

2540 - ปัจจุบัน กรรมการ

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

ให้บริการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย บริษัท โกลบอล เอ็นไวรอน เมนทอล เทคโนโลยี จ�ำกัด

2554 - ปัจจุบัน กรรมการ

ผู้อำ� นวยการอาวุโส บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน สายพัฒนาธุรกิจ

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน

2555 - ปัจจุบัน ประธานคณะ กรรมการการ ลงทุน

2549 - 2550

ประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริษัท ชีวาทัย อินเตอร์เชนจ์ จ�ำกัด

2556 - ปัจจุบัน กรรมการ

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

ประกอบกิจการขนส่งและขนถ่าย สินค้า และคนโดยสาร ทั้งทาง บก ทางน�ำ้ ทางอากาศ

บริษัท เอทีพี 30 จ�ำกัด (มหาชน)

2557 - ปัจจุบัน กรรมการ

ประธานเจ้าหน้าที่ บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน พัฒนาธุรกิจ

บริษัท ชีวาทัย จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อที่อยู่อาศัย และธุรกิจโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่า

2551 - ปัจจุบัน กรรมการ

2550 - 2555

Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Company

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

ประเภทธุรกิจ

2547 - ปัจจุบัน กรรมการ President

2555 - ปัจจุบัน กรรมการประธาน บมจ. อมตะ วีเอ็น เจ้าหน้าที่บริหาร

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


นายกัมพล ตติยกวี กรรมการ

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

คุณวุฒิทางการศึกษา

หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 74/2549

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวเคมี)จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร

56 ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาห การ University of Texas at Arlington

อายุ (ปี)

180 Vietnam-The New Phase of Success

Amata City Long Thanh Joint Stock Company บมจ. ทรีซิกตี้ไฟว์

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ

กรรมการประธาน บจ. พัทยาฟู๊ด อินดัสตรี้ เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการ บมจ. อาหารสยาม ใหญ่ กรรมการผู้จัดการ บจ. คิมบอล อิเล็คทรอนิคส์ (ประเทศไทย)

2551 - 2553 2549 - 2551 2546 - 2549

ผลิตและค้าชิ้นส่วน อิเล็คทรอนิคส์

อุตสาหกรรมอาหาร

อุตสาหกรรมอาหาร

-

กรรมการ

2553 - 2555

คณะกรรมการก�ำกับนโยบาย รัฐวิสาหกิจกระทรวงการคลัง

พัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์

2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. วีรีเทล 2553 - 2556 ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร

ที่ปรึกษาด้านประชาสัมพันธ์ และสื่อโฆษณา

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ประเภทธุรกิจ

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ

ชื่อบริษัท

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

ต�ำแหน่ง

2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. อมตะ วีเอ็น 2556 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), รุ่นที่ 100/2013

54 ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Master of Science, Communication & DSP Imperial College University of London

-

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร

49 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

181 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ กรรมการ

นายสุรกิจ เกียรติธนากร Vice President

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

อายุ (ปี)

2550- ปัจจุบัน ผู้อำ� นวยการฝ่าย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน การตลาดและ การขาย

บมจ. อมตะ วีเอ็น

2555 - ปัจจุบัน กรรมการ

Nokia Siemens Network Company Amata (Vietnam) Joint Stock Company

Head of Sales

2550 - 2555

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

จ�ำหน่ายสินค้าและบริการเกี่ยว กับเครือข่ายการสื่อสาร โทรคมนาคม พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

บริษัท ล็อกซเล่ย์ ไวร์เลส จ�ำกัด จ�ำหน่ายสินค้าโทรคมนาคม และ (มหาชน) บริการส่งข้อมูลผ่านระบบ คอมพิวเตอร์วิทยุคมนาคม

2555 - ปัจจุบัน กรรมการ

Senior Vice President Business Development

2555 - 2557

2557 - ปัจจุบัน Deputy of CBO บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน

Amata City Long Thanh Joint พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Stock Company

ประเภทธุรกิจ

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ

ชื่อบริษัท

Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Company

ต�ำแหน่ง

2558 - ปัจจุบัน Vice President

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

44 Bachelor’s degree, University of Economics, Ho Chi Minh City, Vietnam

-

-

-

ความสัมพันธ์ สัดส่วนการถือ ทางครอบครัว หุ้นในบริษัท ระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร

หมายเหตุ: นับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

Ms. Lam Thi Dan An Accounting and Finance manager

Mr. Osamu Sudo 38 Bachelor’s degree of Senior Marketing and sales Russian Literature, Soka Manager University, Japan

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

อายุ (ปี)

182 Vietnam-The New Phase of Success

ต�ำแหน่ง

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

Marketing Executive

2547 - ปัจจุบัน Finance and Accounting manager

2550 - 2558

อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อขาย ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Company

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน

2558 - ปัจจุบัน Senior Marketing Amata (Vietnam) Joint Stock พัฒนานิคมอุตสาหกรรม and sales Company Manager

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวเคมี) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 74/2549

56 ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาห การ University of Texas at Arlington

อายุ (ปี)

183 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

นายกัมพล ตติยกวี กรรมการ

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

-

-

สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทาง ในบริษัท ครอบครัวระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กรรมการ

กรรมการประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการ ใหญ่ กรรมการผู้จัดการ

2558 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน 2556 - ปัจจุบัน 2553 - ปัจจุบัน 2553 - 2556

2551 - 2553 2549 - 2551 2546 - 2549

2553 - 2555

กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการ

ต�ำแหน่ง

2557 - ปัจจุบัน 2556 - ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

ประเภทธุรกิจ

อุตสาหกรรมอาหาร

อุตสาหกรรมอาหาร

-

พัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์

ที่ปรึกษาด้านประชาสัมพันธ์ และสื่อโฆษณา

บจ. คิมบอล อิเล็คทรอนิคส์ ผลิตและค้าชิ้นส่วน อิเล็คทรอนิคส์ (ประเทศไทย)

บมจ. อาหารสยาม

บจ. พัทยาฟูด๊ อินดัสตรี้

คณะกรรมการก�ำกับ นโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง

บมจ. วีรีเทล

บมจ. ทรีซิกตี้ไฟว์

Amata City Long Thanh พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Joint Stock Company

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

บมจ. อมตะ วีเอ็น

ชื่อบริษัท

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ Amata City Long Thanh Joint Stock Company


Ms. Pham Thi Thanh Huong กรรมการ

นายสุรกิจ เกียรติธนากร กรรมการ

ชื่อ-สกุล / ต�ำแหน่ง

คุณวุฒิทางการศึกษา

Master’s degree, International Business Management, Curtin University, Australia

-

-

-

สัดส่วนการถือหุ้น ความสัมพันธ์ทาง ในบริษัท ครอบครัวระหว่าง *(31/12/58) ผู้บริหาร

44 Bachelor’s degree, Accounting, Banking University of Ho Chi Minh City, Vietnam

Master of Science, Communication & DSP Imperial College University of London

49 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

อายุ (ปี)

184 Vietnam-The New Phase of Success

Head of Sales

2550 - 2555

กรรมการ

ลงทุนในบริษัทอื่น (Holding Company)

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

Amata City Long Thanh พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Joint Stock Company

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนา บมจ. อมตะ วีเอ็น ธุรกิจ

2558 - ปัจจุบัน 2558 - ปัจจุบัน

Vice President

2550 - ปัจจุบัน

Amata (Vietnam) Joint StockCompany

Nokia Siemens Network จ�ำหน่ายสินค้าและบริการ Company เกีย่ วกับเครือข่ายการสื่อสาร โทรคมนาคม

Senior Vice บริษัท ล็อกซเล่ย์ ไวร์เลส จ�ำหน่ายสินค้าโทรคมนาคม President Business จ�ำกัด (มหาชน) และบริการส่งข้อมูลผ่านระบบ Development คอมพิวเตอร์วิทยุคมนาคม

2555 - 2557

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน อสังหาริมทรัพย์ในรูปของการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อ ขายให้แก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม

Amata City Long Thanh พัฒนานิคมอุตสาหกรรม Joint Stock Company

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม

ประเภทธุรกิจ

Deputy of CBO

กรรมการ

2558 - ปัจจุบัน

Amata (Vietnam) Joint Stock Company

ชื่อบริษัท

2557 - ปัจจุบัน

Vice President

ต�ำแหน่ง

2558 - ปัจจุบัน

ช่วงเวลา

ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง


M

M

/, *

/, //, D /, //, ///

/ /, //, ///

/

C, / /

X, /, //

บริษัทฯ

M M

* *

/

/ /

/,** X

185 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

/ /

/

5 X /

6 /

7 /

8 /

/

10

**

11

C

12

y = รองประธานกรรมการ C = ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร / = กรรมการ // = กรรมการอิสระ * = ผู้อำ� นวยการ ** = กรรมการผู้จัดการ M= ผู้จัดการ

*

X, /, //

4 X

9

3

1

2

บริษัทที่เกี่ยวข้อง*

บริษัทย่อย*

X = ประธานกรรมการ D = ประธานกรรมการตรวจสอบ /// = กรรมการตรวจสอบ *** = รองผู้อ�ำนวยการ

หมายเหตุ

นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ นางสมหะทัย พานิชชีวะ Dr. Huynh Ngoc Phien ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ Mr. Do Ngoc Son นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Mats Anders Lundqvist นายกัมพล ตติยกวี นางสาวสุภาพร อัศรัสกร นายสุรกิจ เกียรติธนากร Ms. Pham Thi Thanh Huong Mr. Osamu Sudo Ms. Lam Thi Dan An

รายชื่อ

รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหารและผู้มีอำ� นาจควบคุมบริษัทฯในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

ผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯในบริษัทที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหารและ

/

13

/

14

X

15

X

16

/

17


บริษัทย่อย* 1. Amata (Vietnam) Joint Stock Company

2. Amata City Long Thanh Joint Stock Company

บริษัทที่เกี่ยวข้อง* 3. บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน 4. บมจ. สโตนวัน 5. บจ. อิงเกรสอินดัสเตรียล (ไทยแลนด์) 6. บมจ. ชีวาทัย จ�ำกัด 7. บมจ. เอทีพี 30 8. บจ. ชีวาทัย อินเตอร์เชนจ์ 9. บจ. โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี 10. บจ. พีแอนด์พี อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น 11. บจ. จัดหางาน แปซิฟิค 2000 12. Pacific2000 (Singapore) International Recruitments Pte. Ltd. 13. บจ. สไปคา 14. บจ. ชาติชีวะ 15. บจ. พันธวณิช 16. บมจ. ปริญสิร ิ 186 Vietnam-The New Phase of Success

17. บมจ. วีรีเทล


รายละเอียด

เกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย รายชื่อกรรมการ Dr. Huynh Ngoc Phien นางสมหะทัย พานิชชีวะ นายกัมพล ตติยกวี นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ Mr. Do Ngoc Son Mrs. Pham Thi Thanh Huong นายสุรกิจ เกียรติธนากร X

= ประธานกรรมการ

/

/ / /

= กรรมการ

// = กรรมการบริหาร

187 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ

Amata (Vietnam) JSC X / / / /

บริษัทย่อย Amata City Long Thanh JSC


บริษัท อมตะ วีเอ็น จำ�กัด (มหาชน) 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ (02) 792-0000 แฟกซ์ (02) 318-1096


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.