10062311110016 12070611114333

Page 1


ประวัตคิ วามเป็ นมาของพระพุทธศาสนา

 พระพุทธศาสนา คือ คำาสังสอนของพระพุ ่ ทธเจ้า (พระพุทธเจ้า คือ

ท่านผูต้ รัสรู้ หรือผูร้ อู้ ย่างแจ่มแจ้ง) ซึง่ แนะนำาให้ยกฐานะของ มนุษยชาติขน้ึ สูค่ วามบริสทุ ธิ ์ สะอาด (ด้วยศีล) ความสงบระงับ (ด้วย สมาธิ) และความเข้าใจแจ่มแจ้ง (ด้วยปญั ญา)  พระพุทธศาสนา เป็ นทัง้ ปรัชญาและการปฏิบตั ิ แม้จะยอมรับความมี อยูข่ องเทพ แต่กม็ ไิ ด้สอนให้เชือ่ ในเทพผูย้ งิ่ ใหญ่วา่ เป็ นส่วนสำาคัญของ ศาสนา แต่กลับสอนผูน้ บั ถือให้มคี ณ ุ ธรรม เช่น ความละอายใจทีจ่ ะ ทำาความชัว่ (หิริ) และความเกรงกลัวทีจ่ ะทำาความชัว่ (โอตตัปปะ) อันเป็ นคุณธรรมทีท่ าำ ให้คนเป็ นเทพแทน


ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาอุบตั ขิ น้ึ ในประเทศอินเดีย ประมาณ

๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว เมือ่ เจ้าชายสิทธัตถะตรัสรูพ้ ระสัมมา สัมโพธิญาณ และเป็ นทีร่ จู้ กั กันในนามของพระสัมมาสัม พุทธเจ้า


 ธรรมราชิกสถูป ทีพ ่ ระอัญญาโกณฑัญญะบรรลุอรหันต์

พระมูลคันธกุฏิ กุฏหิ ลังแรกทีพ่ ระพุทธองค์จาำ พรรษาเป็ นพรรษาแรก เสาพระเจ้าอโศกทีม่ จี ารึกอักษรพราหม หมูส่ งั ฆารามกุฏสิ งฆ์กว่า 1,000 หลัง สถูปพระยสกุลบุตรสวนกวาง อันเป็ นทีม่ าของชือ่ “อิสปิ ตนมฤคทายวัน” นมัสการพระบรมสารีรกิ ธาตุ ทีอ่ นั เชิญมาจากเมืองคัน ธาระ ประดิษฐานในมูลคันธกุฏวิ หิ าร ซึง่ จำาลองแบบมาจากซากคันธ กุฏหี ลังเดิม คารวะรูปหล่อท่านอนาคาริกธรรมปาละ ผูต้ ่อสูเ้ พือ่ นำา พระพุทธ ศาสนาคืนสูพ่ ทุ ธภูมิ


ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา  ศาสนาพุทธเป็ นศาสนาทีส่ อนให้รจู้ กั การเอือ้ เฟื้อเผือ่ แผ่ การช่วยเหลือ

ซึง่ กันและกัน อันเป็ นการช่วยผดุงสังคมมิให้เสือ่ มโทรมและก่อให้เกิด ความเจริญงอกงานแก่สงั คมส่วนรวมประเทศชาติ ดังนัน้ จึงพอสรุป ความสำาคัญสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประการ  1. ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะผดุงสังคม  2. ความสำาคัญของพระพุทธศาสนในฐานะที่เป็ นศาสตร์แห่ง การศึกษา


1. ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะผดุง สังคม  พระพุทธศาสนามีความสำาคัญในทุก ๆ ระดับ ตัง้ แต่ บุคคล

สังคม ประเทศชาติ รวมทัง้ ชาวโลกด้วย

 ความสำาคัญในระดับบุคคล มีหลักธรรมคำาสอนเกี่ยวกับความ ประพฤติ และข้อปฎิบตั ิ ที่ดีงามสามารถนำาไปเป็ นแนวทางในการ ดำาเนินชิวิตได้

 ความสำาคัญในระดับสังคม จะเน้ นเรื่องการทำาความดีละเว้น ความชัว่ ความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ช่วยหรือซึ่งกันและกัน


ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะผดุง สังคม  ความสำาคัญในระดับประเทศ เป็ นหลักในการสังสอนอบรมให้ ่ คนในชาติเป็ นคนดี มีศลี

ธรรม มีนำ้าใจ รักจักหน้าทีข่ องการเป็ นพลเมืองดี เคารพต่อกฎระเบียบและกฎหมาย บ้านเมือง  ความสำาคัญระดับโลก จะเห็นได้วา่ ปจั จุบนั มีชาวต่างชาติทงั ้ ยุโรปและเอเชีย หันมา ศึกษาพระพุทธศาสนามาขึน้ เพราะเชือ่ ว่าเป็นทางทีส่ งบและสุข


2. ความสำาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็ น ศาสตร์ แห่งการศึกษา พระพุทธศาสนาถือเป็ นรากฐานของการพัฒนาการ

ศึกษาจากอดีตถึงปจั จุบนั จึงสามารถจำาแนกได้ 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านกระบวนการสอน 2. ด้านวิธีการสอน 3. เนื้ อหาการสอน


ด้ านกระบวนการสอน

 จะต้องอาศัยความสัมพันธ์กนั ระหว่างปัจจัยสองสิ่ง

1. สิ่งแวดล้อม เกิดจากประสบการณ์หรือคำาแนะนำาหรือการถ่ายทอดความรู้

จนทำาให้เกิดความรู้ที่ถกู ต้อง และสามารถที่จะดำาเนินชีวิตไปในทางที่ถกู ต้องได้ ด้วยดีหรือเรียกว่า “สัมมาทิฐิ”

2. ปัจจัยการเรียนรู้ ปัจจัยภายนอก ได้แก่ คำาแนะนำา คำาสังสอน ่ คำาบอกเล่า หรือคำาอธิบายจาก บุคคลอื่น ปัจจัยภายใน คือ การพิจารณาอย่างถ่องแท้หรือคิดอย่างมีระบบนัน้ เอง


ด้ านวิธีการสอน

 วิธกี ารสอนของพระพุทธเจ้าทรงมีทงั ้ ศาตร์และศิลป์อย่างครบถ้วน  ทรงมีเทคนิคในการสังสอน ่  “ อุนุตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ” เป็ นผูส้ ามารถฝึกบุรษ ุ ทีส่ มควรฝึกได้

อย่างไม่มใี ครยิง่ กว่า  “ สัตถา เทวะมะนุสสานัง” เป็ นครูผสู้ อนของเทวดาและมนุษย์ทงั ้ หลาย  ทรงมีจิตวิทยายในการสอน เพราะทรงรูจ้ กั ภูมหิ ลังของผูฟ้ งั เป็ น อย่างดี จึงทรงกำาหนดเนื้อหาสาระของเรือ่ งทีจ่ ะสอนได้เหมาะสม ถูก ต้อง


เนื ้อหาการสอน

 1. ศีล ก่อให้เกิดการพัฒนาในสิง่ ทีเ่ กือ้ กูลแก่ตนเองและบุคคลอื่น  2. สมาธิ ก่อให้เกิดความสงบของจิตใจ  3. ปญั ญา ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในสิง่ ทัง้ ปวงตามความจริง


ระดับของจริ ยธรรมในพระพุทธศาสนา สามารถแบ่งไว้เป็ น 2 ระดับ ระดับโลกียธรรม ระดับโลกุตรธรรม


ระดับโลกียธรรม “โลกียธรรม” หมายถึง ธรรมอันเป็ นวิสยั ของโลก

เป็ นธรรมะในระดับเบือ้ งต้นของบุคคล เช่น การอยู่ รวมกันอย่างสันติสขุ ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ทำาแต่กรรมดีละเว้นกรรมชัว่


ระดับโลกุตรธรรม โลกุตรธรรม คือ ธรรมทีพ ่ น้ วิสยั โลก เป็ นธรรมใน

ระดับสูง หรือธรรมสำาบุคคลทีม่ สี ติปญั ญาแก่กล้า เข้าใกล้ความเป็ นอริยบุคคลหรือผูห้ ลุดพ้นจากกิเลส


ความสัมพันธ์ของจริ ยธรรมกับพระพุทธศาสนา

 ศาสนานับเป็ นบ่อเกิดทีส่ าำ คัญของจริยธรรม ฉะนัน้ หลักธรรมคำาสอนในศาสนาจึงมีสว่ น

สำาคัญในฐานะเป็ นแหล่งทีม่ าของจริยธรรมทัง้ หลาย  ด้วยเหตุทห่ี ลักธรรมในพระพุทธศาสนามีมากมาย ยกตัวอย่างดังนี้


ธรรมมีอปุ การะมาก

 เพราะเป็ นคุณธรรมทีท่ าำ ให้การดำาเนินชีวติ ก้าวหน้าและสูงส่ง ธรรมมีอุปการะมาก      

สามารถแบ่งได้ 2 ประการ คือ สติ คือ ความระลึกได้ไม่พลัง้ เผลอ สัมปชัญญะ คือ ความรูต้ วั ควบคุมจิตใจให้เป็นปกติมคี วามระมัดระวัง แนวทางปฎิบตั ิ - ก่อนจะทำาสิง่ ใด พูดสิง่ ใด หรือคิดสิง่ ใด ต้องไตร่ตองให้รอบครอบ - ขณะทีท่ าำ พูด คิด จิตใจต้องมุง่ จดจ่อต่อสิง่ นัน้ โดยมันคงและสม่ ่ าำ เสมอ - ฝึ กหัดตนเองให้มนี ิสยั ใจคอเยือกเย็น สงบ ไม่ฟุ้ งซ่าน


 ประโยชน์  งานทีท่ าำ คำาทีพ ่ ดู เรื่องทีค่ ดิ ไม่ผดิ พลาดบกพร่อง ได้ผลสมบูรณ์  ป้องกันจิตใจมิให้ฟ้ ุงซ่าน ทำาให้จติ ใจสุขมุ เยือกเย็นเหมาะกับงานสำาคัญ


ธรรมคุ้มครองโลก

 หริ คือ ความละอายแก่บาปไม่ประพฤติในสิง่ ชัวทั ่ ง้ ต่อหน้าและลับหลัง  โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่อปาบ ไม่ทาำ ความผิดทัง้ ในทีล่ บั หรือทีแ่ จ้ง  แนวทางปฎิบตั ิ  -สำานึกในหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ด้วยความสุจริตใน  -วางตนเปิ ดเผย ตรงไปตรงมา มีเหตุมผี ล  ยึดมันในความดี ่ รักเกรียติและศักดิ ์ศรีของความเป็ นมนุษย์

ประโยชน์ เป็ นบุคคลทีน่ ่ ายกย่อง ลดปญั หาอาชญากรรม สังคมร่มเย็นเป็ นสุข และมนุษย์อยูร่ ว่ มกันได้ดว้ ยความผาสุข


ธรรมอันทำาให้ งาม เหตุทไ่ี ด้ชอ่ื ว่าธรรมอันทำาให้งามเพราะ เป็ นธรรมทีเ่ สริม

สร้างความเป็ นผูม้ คี วามอดทน ไม่ยอ่ ท้อต่ออุปสรรคใด ๆ ทัง้ ปวง ธรรมอันทำาให้งามมีอยูด่ ว้ ยกันอยู่ 2 ประการ ขันติ คือ ความอดทน อดกลัน้ โสรัจจะ คือ ความสงบเสงีย่ ม


ธรรมอันเป็ นคุณเครื่ องให้ สำาเร็ จประสงค์  ๑. ฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในสิ่ งนัน้

๒. วิ ริยะ ความพากเพียรในสิ่ งนัน้ ๓. จิ ตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ ในสิ่ งนัน้ ๔. วิ มงั สา ความหมันสอดส่ ่ องในเหตุผลของสิ่ งนัน้

ฉันทะ คือความพอใจ ในฐานะเป็ นสิ่ งที่ ตนถือว่า ดีที่สดุ ที่มนุษย์เรา ควรจะได้ ข้อนี้ เป็ นกำาลังใจ อัน แรก ที่ทาำ ให้เกิ ด คุณธรรม ข้อต่อไป ทุกข้อ

วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การการะทำาที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็ นระยะยาว จนประสบ ความ สำาเร็จ คำานี้ มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วย ส่วนหนึ่ ง

จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้ ง สิ่ งนัน้ ไปจากความรู้สึก ของตัว ทำาสิ่ งซึ่งเป็ น วัตถุประสงค์ นัน้ ให้เด่น ชัด อยู่ในใจเสมอ คำานี้ รวมความหมาย ของคำาว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มที่

วิมงั สา หมายถึงความสอดส่องใน เหตุและผล แห่งความสำาเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนัน้ ๆ ให้ลึกซึ้งยิ่ งๆ ขึน้ ไป ตลอดเวลา คำานี้ รวมความหมาย ของคำาว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มที่


ธรรมของฆราวาส 1.สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์ 2.ทมะ คือ การฝึกตน 3.ขันติ คือ ความอดทน 4.จาคะ คือ ความเสียสละ


พรมวิหารธรรม  เมตตา>>ความปรารถนาให้ผอ้ ู ื่นได้รบั สุข  กรุณา>>ความปรารถนาให้ผอ้ ู ื่นพ้นทุกข์  มุทิตา>>ความยินดีเมื่อผูอ้ ื่นได้ดี  อุเบกขา>>การรูจ้ กั วางเฉย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.