ห้องเรียนมิตใิ หม่ สูก่ ารเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21
คานา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1544610 การนาเสนอและจัดการ ฐานข้อมูลภาษาไทยเพือ่ การเรียนรู ้ ผูจ้ ดั ทาได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดย ผูจ้ ดั ทามีความเชื่อว่าสภาพแวดลอ้ มเป็ นปัจจัยสาคัญต่อการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ดังนัน้ ผูจ้ ดั ทาจึงเลือกที่ จะนาเสนอข้อมูลในเรื่องห้องเรียนมิติใหม่สู่การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เนื่องด้วยยุคสมัยที่เปลีย่ นไป ทาให้ตอ้ งมีการปรับเปลีย่ นสภาพแวดลอ้ มหรือบรรยากาศภายในห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียน การสอนของครูและการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จะมีประโยชน์แก่ผูท้ ่สี นใจและเป็ น ประโยชน์ต่อการศึกษาไม่มากก็นอ้ ย หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขออภัยไว้ ณ ที่น้ ดี ว้ ย
อนุสรา บัวแสน ผูจ้ ดั ทา
สารบัญ เรื่อง
หน้า
ห้องเรียนแห่งอนาคต
1-2
ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21
3
ห้องเรียนในอนาคตของประเทศไทย
4
การเตรียมห้องเรียน
5-6
การศึกษาในศตวรรษที่ 21
7
ห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom)
8
ข้อเปรียบเทียบของการเรียนแบบเดิมกับการเรียนแบบกลับด้าน
9
การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ( Flipped Classroom )
10
ประโยชน์ทเ่ี กิดจากการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน
11-12
บรรณานุกรม
13
ผูจ้ ดั ทา
14
1
ห้องเรียนมิติใหม่สูก่ ารเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ห้องเรียนแห่งอนาคต.... ห้องเรียนแห่งอนาคตในศตวรรษที่ 21 เป็ นที่สนใจในสถาบันทางการศึกษาต่าง ๆ ทัว่ โลกและขยายตัวมากขึ้น มีการ ปรับการเรียนการสอนอย่างบูรณาการ มีนวัตกรรม ICT ที่มคี ุณสมบัติทางด้านเทคโนโลยีโดยใช้ระบบเครือข่ายสังคม ออนไลน์ยุคใหม่ (Social Network ) มาสนับสนุนการเรียนรูแ้ ละการบริหารจัดการทัง้ ด้าน วิชาการ บุคคล งบประมาณ และการบริหารงานทัว่ ไป เพือ่ พัฒนาคุณภาพเด็กยุคใหม่ดว้ ยสารสนเทศรอบด้าน โรงเรียนที่มคี วามพร้อมสูงจัดแหล่งเรียนรู ้ ด้วยระบบ E-Classroom , E-Learning ,E-Library ,E-office, E-Student และE-Service เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน ด้วยเทคโนโลยีการจัดการห้องเรียน ห้องสมุด การเรียนการสอน และสือ่ สังคมสมัยใหม่ สามารถยกระดับสู่คุณภาพ สถานศึกษายุคใหม่ท่มี ปี ระสิทธิภาพ สร้างความเท่าเทียมกันทางการศึกษา
ในห้องเรียนแห่งศตวรรษที่ 21 บรรยากาศการเรียนรู ้ จะเป็ นแบบกลุม่ การเรียนรูท้ ่มี กี ารโต้ตอบแสดงความรูค้ วาม คิดเห็นแบบไดนามิคที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ มี ชีวติ ชีวา คล่องแคล่ว และมีพลัง มุง่ เน้นไปที่การให้ ความสาคัญกับสังคม การสื่อสาร เท่าๆกับการแลกเปลีย่ น ความคิดและการเรียนรูร้ ่วมกัน ห้องเรียนแห่งศตวรรษที่ 21 เป็ นการเรียนรูด้ ว้ ย ประสบการณ์ของผูเ้ รียน ผูเ้ รียนสามารถสร้างความรูข้ ้นึ ใน ตนเองได้ เรียกว่าเป็ นการเรียนรูด้ ว้ ยวิธีลงมือปฏิบตั ิดว้ ย ตนเองหรือที่รูจ้ กั กันดีวา่ Learning by Doing…
2
ห้องเรียนแห่งอนาคต เป็ นการใช้เทคโนโลยีเข ้ามาจัดระบบในการจัดการเรียนรูท้ ุกขัน้ ตอน โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู ้ Project Based Learning (PBL) ทักษะที่สาคัญและจาเป็ นที่สุดของห้องเรียนแห่งอนาคต คือ ทักษะ การใช้เทคโนโลยี ที่ครูยุคใหม่ตอ้ งมี หากใช้เทคโนโลยีไม่เป็ น นักเรียนอาจไม่เชื่อมันในตั ่ วครู และคิดว่าตัวเองเก่งและ คิดถูกต้องกว่าครู ดังนัน้ ครูตอ้ งใช้เทคโนโลยีได้และแนะแนวทางในการสืบค้นได้เป็ นอย่างดี
ผลดี - ทาให้นกั เรียนเกิดทักษะการใช้เทคโนโลยี ทักษะ ในการคิด การใช้ชีวติ และการทางาน - มีความพร้อมในการเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ท่มี คี ุณภาพ ในอนาคต - ส่งเสริมและกระตุน้ ให้นกั เรียนได้แบ่งปันความรู ้ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นได้อย่างทัว่ ถึงและรวดเร็ว - นักเรียนมีความสะดวกในการรับรูข้ ้อมูลข่าวสาร
ผลเสีย - การใช้เทคโนโลยีก็ส่งผลเสียในเรื่องของสุขภาพ ร่างกายและสายตา เช่น ปวดกล ้ามเนื้อ สายตาสัน้ - ส่งผลเสียต่อทักษะการเขียนของนักเรียน ทาให้ เขียนหนังสือไม่เป็ น
3
ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 1. ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่าง แข็งขัน คาว่า “กิจกรรมการเรียนรูเ้ ป็ นกิจกรรมที่ ออกแบบมาโดยครูผูส้ อนเพือ่ สร้างเงือ่ นไขสาหรับ การเรียนรู”้ ซึง่ อาจมีหลายรูปแบบ เช่น กิจกรรม การสารวจ (Exploring learning activity), กิจกรรมแบบโครงงาน (Project Based Learning) หรือกิจกรรมพัฒนาสมอง (BBL), กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบการช่วยเหลือเกื้อกูลและ การเรียนรูร้ ่วมกัน (Cooperative and Collaborative learning), กิจกรรมลูกเสือ, กิจกรรมจิตอาสาต่างๆ ฯลฯ 3. เป็ นกิจกรรมการเรียนรูท้ ่มี กี ารโต้ตอบ แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างครูกบั นักเรียน และ นักเรียนเป็ นศูนย์กลาง (student centered หรือ Child Centered) คุณครูจะเป็ นผูก้ ระตุน้ ให้ นักเรียนเผยสิ่งที่ตนเองรู ้ เข ้าใจ และสงสัยอยู่ใน ใจ การถาม-ตอบระหว่างครูกบั นักเรียนจึงเป็ น สิ่งจาเป็ น อีกทัง้ นักเรียนเป็ นผูท้ าการเรียนรูด้ ว้ ย ตนเอง (Self-learning) เป็ นผูห้ าประสบการณ์เอง (Own experience) และเป็ นผูเ้ รียนรูด้ ว้ ยการ กระทา (Learning by doing) คุณครูทาหน้าที่ เป็ นผูแ้ นะแนวทาง เปรียบเสมือนคุณครูทาหน้าที่ เป็ นผูฝ้ ึ กสอน (Coach)
2. มีบรรยากาศแห่งการเรียนรูท้ ่เี ป็ นประชาธิปไตย กลุม่ การเรียนรูม้ ี ความสาคัญต่อการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21 อย่างยิ่ง เพราะเป็ นการ ฝึ กนิสยั ของตนเอง ยอมรับความเท่าเทียมในความเป็ นคนของผูอ้ ่นื ฝึ กฝนความเป็ นผูใ้ ห้และความเป็ นผูร้ บั ด้วยความเป็ นธรรม รวมทัง้ การยอมรับความคิดเห็นต่างๆด้วยเหตุผล และสามารถแสดง ความคิดต่างๆด้วยเหตุผล 4. คุณครูตอ้ งส่งเสริมและแนะแนวทางวิธีหาความรูข้ องนักเรียนจาก แหล่งความรูต้ ่างๆ ทัง้ โลกแห่งความเป็ นจริงและโลกจากการสื่อสาร ไร้พรมแดนที่สรรพวิทยาการหลังไหลมาจากทั ่ ว่ ทุกมุมโลก ทัง้ จาก คอมพิวเตอร์, โทรศัพท์มอื ถือ และการสื่อสาร ICT หรือเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 5. คุณครูแห่งศตวรรษที่ 21 และนักเรียนจะปรึกษาหารือในการเลือก รูปแบบการเรียนการสอนเพือ่ ตอบสนองวัตถุประสงค์และตัวชี้วดั จะ มีการเลือกระหว่างเทคนิคการสอนแบบดัง้ เดิม “Traditional approach” กับการเรียนรูด้ ว้ ยประสบการณ์ “Experience approach” โดยพิจารณาว่ารูปแบบใดสามารถสร้างคุณค่าให้แก่ ผูเ้ รียนมากที่สุด ก็ให้เลือกรูปแบบนัน้ มาออกแบบการเรียนการสอน ในบริบทและเนื้อหานัน้ ๆ ต่อไป และรูปแบบการเรียนการสอนไม่ควร ซา้ ซากจาเจเพราะมันสร้างความเบือ่ หน่ายและไม่น่าสนใจ
4
ห้องเรียนในอนาคตของประเทศไทย
ห้องเรียนในอนาคตของประเทศไทยจะต้องเป็ นห้องเรียนที่มคี วามพร้อมทางด้านเทคโนโลยี โดยสถาบันการศึกษา จะต้องสนับสนุนให้นกั เรียนได้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนได้อย่างทัว่ ถึงและเต็มประสิทธิภาพ มีการบูรณาการ วิชาต่างๆให้เข้ากับเทคโนโลยีเพือ่ เปิ ดโลกกว้างทางการเรียนรูใ้ ห้แก่นกั เรียน ด้วยเทคโนโลยีในอนาคตจะทาให้นกั เรียน สามารถเรียนรูไ้ ด้อย่างไร้ขดี จากัด สามารถหาประสบการณ์การเรียนรูไ้ ด้หลากหลายและชัดเจน เป็ นการเรียนรูท้ ่ี เข้าถึงขอ้ มูลได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา สิ่งเหล่านี้จะทาให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู ้ ได้แสวงหาประสบการณ์ใหม่ๆ ได้ พัฒนาทักษะต่างๆที่จะส่งเสริมให้นกั เรียนเป็ นอนาคตของชาติได้
5
การเตรียมห้องเรียน การเตรียมห้องเรียน มีดงั นี้ 1. เอาใจใส่รายละเอียดที่มผี ลต่อการรับรู ้ “สัมผัส” ของห้องเรียน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ข ้อพึง ตระหนักคือ เด็กมีความไวในการรับรูม้ ากกว่าผูใ้ หญ่ ดังนัน้ สัมผัสที่ไม่พงึ ประสงค์ หรือไม่เป็ นผลดีต่อการเรียน อาจส่งผลร้ายต่อเด็กมากกว่าที่คิด เพลง ครูสามารถเอามาเป็ นเครื่องมือสร้างบรรยากาศในการเรียนรูไ้ ด้มากมาย หลักการคือ ต้องทาให้สภาพของห้องเรียนมีคุณสมบัติ 4 อย่าง คือ มีประโยชน์ใช้สอย (functional), ให้ ความรูส้ กึ สบาย (comfortable), ดึงดูดให้เข ้ามาในห้อง (welcoming) และสร้างแรงบันดาลใจ (inspiring) ผนังห้องไม่ควรปล่อยให้เปล่าเปลือย เพราะไม่ช่วยกระตุน้ ความสนใจใคร่รูข้ องเด็ก การตกแต่งด้วย รูปธรรมชาติ รูปคน ภาษิตคาคม ฯลฯ จะช่วยกระตุน้ จินตนาการและแรงบันดาลใจของเด็ก 2. การจัดที่นงั ่ เรียน การจัดโต๊ะนักเรียนจัดได้หลายแบบ โดยมี หลักการสาคัญคือ ให้เกิดความสะดวกต่อการเรียนของเด็ก ให้ เด็กมองจอ กระดานหน้าห้อง จอทีวี และจอมอนิเตอร์(ถ้ามี) เห็นหมดทุกคน และเพือ่ ความสะดวกของครูในการเคลือ่ นไหว ไปทุกส่วนของห้องได้อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ ไม่ให้เกิดมุมอับ สาหรับเด็กเบือ่ เรียน สามารถหลบครูไปทาอย่างอื่น การจะจัด ห้องเรียนนัน้ ขึ้นกับขนาดรูปร่างของห้องและจานวนนักเรียน เป้ าหมายของการจัดคือ เพือ่ ให้เกิดผลดีต่อการเรียนรูข้ อง เด็ก สร้างความรูส้ กึ มีแรงบันดาลใจต่อการเรียน และสร้าง ปฏิสมั พันธ์ท่ดี รี ะหว่างนักเรียนกับนักเรียน และระหว่างนักเรียน กับครู พึงตระหนักว่า วิธีจดั โต๊ะในห้องมีผลต่อบรรยากาศใน ห้องเรียนมาก การจัดแบบชัน้ เรียน (classroom) ทาให้เกิด ความรูส้ กึ เป็ นทางการ เน้นกฎระเบียบ การจัดเป็ นรูปวงกลม เป็ นกลุม่ ๆ หันหน้าไปทางหน้าห้องจะให้ความรูส้ กึ อิสระ มากกว่า การจัดเป็ นแบบสตูดโิ อจะบ่งบอกว่า ห้องเรียน คือห้อง ทางานร่วมกันของนักเรียน
6
3. ห้องเรียนต้องมีวสั ดุช่วยเรียนหรือช่วยสอน จึงต้องกาหนดที่วาง มีตูห้ รือที่เก็บ ที่นกั เรียนจะต้องช่วยกันเก็บ หรือ มีเวรเก็บของนักเรียน เรื่องเล็กๆ น้อยๆ เหล่านี้เป็ นการเรียนรูแ้ ละการฝึ กวินยั ให้แก่นกั เรียนทัง้ สิ้น
4. ข้อมูล ข่าวสาร สาหรับนักเรียน ครูตอ้ งสือ่ สารกับนักเรียนอยู่เสมอทัง้ โดยวาจาและเอกสารประกาศ จึงต้องเตรียม สถานที่และระบบติดประกาศที่เหมาะสม เพือ่ ให้นักเรียนเห็นง่าย ไม่ตกข่าว ครูควรคิดเรื่องนี้อย่างรอบคอบ เป้ าหมายสาคัญคือ ใช้เป็ นเครื่องมือกระตุน้ ความใฝ่ รูข้ องนักเรียน กระตุน้ บรรยากาศตื่นตัวหรือแรงบันดาลใจในการ เรียนรู ้ เทคนิคอย่างหนึ่งคือ ประกาศแผนการเรียนวันถัดไปไว้ล่วงหน้า หากประกาศไว้ล่วงหน้าทัง้ สัปดาห์ หรือทัง้ เดือน เพราะจะช่วยนักเรียนที่ขาดเรียนบางวัน และช่วยนักเรียนที่ตอ้ งการวางแผนการเรียนของตนไว้ล่วงหน้า การทา ตารางเรียนดังกล่าว ควรทาให้อ่านง่าย มีระบบสีท่แี ตกต่างกัน สาหรับกิจกรรมต่างกลุม่ รวมทัง้ อาจใช้ตารางเป็ น ตัวกระตุน้ หรือสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
7
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ครูจะต้องปรับแนวทางการ เรียนการสอน (pedagogy) โดยครูจะต้องทาให้เด็กรักที่จะ เรียนรูต้ ลอดชีวติ และมีเป้ าหมายในการสอนที่จะทาให้เด็กมี ทักษะชีวติ ทักษะการคิด และทักษะด้านไอที ซึง่ ไอทีในที่น้ ี ไม่ได้หมายถึงใช้คอมพิวเตอร์เป็ น แต่หมายถึงการที่เด็กรูว้ า่ เมือ่ เขาอยากรูเ้ รื่องใดเรื่องหนึ่งเขาจะไปตามหาข้อมูล (data) เหล่านัน้ ได้ท่ไี หน และเมือ่ ได้ข ้อมูลมาเด็กต้องวิเคราะห์ได้วา่ ข้อมูลเหล่านัน้ มีความน่าเชื่อถือเพียงใด และสามารถแปลง ข้อมูลเป็ นความรู ้ (knowledge) ได้ ซึง่ สิ่งเหล่านี้ตอ้ งเกิดจาก การฝึ กฝน ครูจะต้องให้เด็กได้มโี อกาสทดลองด้วยตนเอง
จุดมุง่ หมายหลักของ “การเรียนการสอนแห่งศตวรรษที่ 21 ” ก็คือสอนให้นกั เรียนรูจ้ กั วิธีหาความรู ้ learn how to learn โดยการฝึ กอบรมให้ผูเ้ รียนมีความคิดริเริ่ม สร้างความรูจ้ ากประสบการณ์ดว้ ยตนเอง
8
ห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ครูจะต้องปรับแนวทางการเรียนการ สอน (pedagogy) โดยครูจะต้องทาให้เด็กรักทีจ่ ะเรียนรูต้ ลอดชีวติ และมี เป้ าหมายในการสอนที่จะทาให้เด็กมีทกั ษะชีวติ ทักษะการคิด และทักษะ ด้านไอที ซึง่ ไอทีในที่น้ ไี ม่ได้หมายถึงใช้คอมพิวเตอร์เป็ น แต่หมายถึงการที่ เด็กรูว้ า่ เมือ่ เขาอยากรูเ้ รื่องใดเรื่องหนึ่งเขาจะไปตามหาข้อมูล (data) เหล่านัน้ ได้ท่ไี หน และเมือ่ ได้ข ้อมูลมาเด็กต้องวิเคราะห์ได้วา่ ข ้อมูลเหล่านัน้ มีความน่าเชื่อถือเพียงใด และสามารถแปลงข ้อมูลเป็ นความรู ้ (knowledge) ได้ ซึง่ สิ่งเหล่านี้ตอ้ งเกิดจากการฝึ กฝน ครูจะต้องให้เด็กได้มี โอกาสทดลองด้วยตนเอง Flipped Classroom เป็ นการเรียนแบบ "กลับหัวกลับหาง" หรือ "พลิกกลับ" โดยเปลีย่ นรูปแบบวิธีการสอนจากแบบเดิมที่เริ่มจากครูผูส้ อน ในห้องเรียน นักเรียนกลับไปทาการบ ้านส่ง เปลีย่ นเป็ นนักเรียนเป็ นผู ้ ค้นคว้าหาความรูด้ ว้ ยตนเองผ่าน "เทคโนโลยี" ที่ครูจดั หาให้ก่อนเข ้าชัน้ เรียนและมาทากิจกรรม โดยมีครูคอยแนะนาในชัน้ เรียนแทน การเรียนการสอนวิธีน้ ี ถือว่าเป็ นการเรียนการสอนที่เน้นในรูปธรรมให้ นักเรียนได้เห็นและปฏิบตั ิจากประสบการณ์จริง ซึง่ จะทาให้นกั เรียนมีการ จดจาและเกิดทักษะการเรียนรูไ้ ด้ดกี ว่าที่เรียนแบบนามธรรม แต่ในมุมมอง อีกด้านหนึ่งกว่าจะสอนให้นกั เรียนรูจ้ กั วิเคราะห์ เลือกใช้ส่อื ที่ถกู ต้อง รูจ้ กั เลือกศึกษาค้นคว้าในเรื่องต่างๆ ที่ตนเองสนใจนัน้ ก็จะมีส่อื ที่ไม่เหมาะสม กับนักเรียนแทรกอยู่บนหน้าจอเหมือนกัน ดังนัน้ ในการใช้ส่อื ต่างๆในด้าน ของไอที ก็ควรที่แนะนาให้เข ้าใจอย่างแท้จริง และในระยะแรกก็ตอ้ งมีผูค้ อย ให้คาแนะนาที่ดี ไม่วา่ จะเป็ นผูป้ กครองและครูเองก็ตอ้ งมีส่วนร่วมกันสร้าง ภูมคิ มุ ้ กันให้กบั นักเรียนด้วยเช่นกัน
9
ข้อเปรียบเทียบของการเรียนแบบเดิมกับการเรียนแบบกลับด้าน แนวคิดของห้องเรียนกลับด้านมาในเบื้องต้นนัน้ มีบทสรุปเปรียบเทียบให้เห็นถึงรูปแบบของการจัดการ เรียนการสอนแบบกลับด้าน (Flipped Learning) กับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบเดิม (Traditional Learning) กล่าวคือการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับทางนัน้ จะมุง่ เน้นการ สร้างสรรค์องค์ความรูด้ ว้ ยตัวผูเ้ รียนเองตามทักษะ ความรูค้ วามสามารถและสติปญั ญาของเอกัตบุคคล (Individualized Competency) ตามอัตราความสามารถทางการเรียนแต่ละคน (Self-Paced)จากมวล ประสบการณ์ท่คี รูจดั ให้ผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT หลากหลายประเภทในปัจจุบนั และเป็ นลักษณะการเรียนรู ้ จากแหล่งเรียนรูน้ อกชัน้ เรียนอย่างอิสระทัง้ ด้านความคิดและวิธีปฏิบตั ิซง่ึ แตกต่างจากการเรียนแบบเดิมที่ครู จะเป็ นผูป้ ้ อนความรูป้ ระสบการณ์ให้ผเรีู ้ ยนในลักษณะของครูเป็ นศูนย์กลาง (Teacher Center) ดังนัน้ การ สอนแบบกลับทางจะเป็ นการเปลีย่ นแปลงบทบาทของครูอย่างสิ้นเชิง กล่าวคือครูไม่ใช่ผูถ้ า่ ยทอดความรูแ้ ต่จะ ทาบทบาทเป็ นติวเตอร์ (Tutors) หรือโค้ช (Coach) ที่จะเป็ นผูจ้ ดุ ประกายและสร้างความสนุกสนานในการ เรียน รวมทัง้ เป็ นผูอ้ านวยความสะดวกในการเรียน (Facilitators)ในชัน้ เรียนนัน้ ๆ
ภาพเปรียบเทียบห้องเรียนแบบเดิม กับห้องเรียนแบบกลับด้าน
10
การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ( Flipped Classroom ) การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ( Flipped Classroom ) ซึง่ เป็ นนวัตกรรมการเรียนการ สอนรูปแบบใหม่ในการสร้างผูเ้ รียนให้เกิดการเรียนรูแ้ บบรอบด้านหรือ Mastery Learning นัน้ จะมีองค์ประกอบ สาคัญที่เกิดขึ้น 4 องค์ประกอบที่เป็ นวัฏจักร ( Cycle ) หมุนเวียนกันอย่างเป็ นระบบ ซึง่ องค์ประกอบทัง้ 4 ที่ เกิดขึ้นได้แก่
1. การกาหนดยุทธวิธีเพิม่ พูนประสบการณ์ ( Experiential Engagement ) โดยมีครูผูส้ อนเป็ นผู ้ ชี้แนะวิธีการเรียนรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียนเพือ่ เรียนเนื้อหาโดยอาศัยวิธีการ ที่หลากหลายทัง้ การใช้กิจกรรมที่กาหนดขึ้นเอง เกม สถานการณ์ 2. การสืบค้นเพือ่ ให้เกิดมโนทัศน์รวบยอด ( Concept จาลอง สื่อปฏิสมั พันธ์ การทดลอง Exploration ) โดยครูผูส้ อนเป็ นผูค้ อยชี้แนะให้กบั ผูเ้ รียนจากสื่อ หรืองานด้านศิลปะแขนงต่างๆ หรือกิจกรรมหลายประเภทเช่น สือ่ ประเภทวิดโี อบันทึกการบรรยาย การใช้ส่อื บันทึกเสียงประเภท Podcasts การใช้ส่อื Websites หรือสือ่ ออนไลน์ Chats 3. การสร้างองค์ความรูอ้ ย่างมีความหมาย ( Meaning Making ) โดยผูเ้ รียนเป็ นผูบ้ ูรณาการสร้าง ทักษะองค์ความรูจ้ ากสื่อที่ได้รบั จากการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองโดย การสร้างกระดานความรูอ้ เิ ล็กทรอนิกส์ (Blogs ) การใช้ แบบทดสอบ ( Tests ) การใช้ส่อื สังคมออนไลน์และกระดาน 4. การสาธิตและประยุกต์ใช้ ( Demonstration & สาหรับอภิปรายแบบออนไลน์ ( Social Networking & Application ) เป็ นการสร้างองค์ความรูโ้ ดยผูเ้ รียนเองในเชิง Discussion Boards ) สร้างสรรค์ โดยการจัดทาเป็ นโครงงาน ( Project ) และผ่าน กระบวนการนาเสนอผลงาน ( Presentations ) ที่เกิดจากการ รังสรรค์งานเหล่านัน้
11
ประโยชน์ท่เี กิดจากการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้าน Bergmann และ Sams กล่าวไว้ในหนังสือของเขาที่ช่อื Flip Your Classroom : Reach Every Student in Every Class Every Day สรุปได้ดงั นี้
1. เพือ่ เปลีย่ นวิธีการสอนของครู จากการบรรยายหน้าชัน้ เรียนหรือจากครูสอนไปเป็ นครูฝึก ฝึ กการทา แบบฝึ กหัดหรือทากิจกรรมอื่นในชัน้ เรียนให้แก่ศิษย์เป็ นรายบุคคลหรืออาจเรียกว่าเป็ นครูติวเตอร์ 2. เพือ่ ใช้เทคโนโลยีการเรียนที่เด็กสมัยใหม่ชอบ โดยใช้ส่อื ICT ซึง่ กล่าวได้วา่ เป็ นการนาโลกของโรงเรียนเขา้ สู่ โลกของนักเรียนซึง่ เป็ นโลกยุคดิจติ อล 3. ช่วยเหลือเด็กที่มงี านยุ่ง เด็กสมัยนี้มกี ิจกรรมมาก ดังนัน้ จึงต้องเข ้าไปช่วยเหลือในการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้บท สอนที่สอนด้วยวีดทิ ศั น์อยู่บนอินเทอร์เน็ต ( Internet ) ช่วยให้เด็กเรียนไว้ล่วงหน้าหรือเรียนตามชัน้ เรียนได้งา่ ย ขึ้น รวมทัง้ เป็ นการฝึ กเด็กให้รูจ้ ดั การจัดเวลาของตนเอง 4. ช่วยเหลือเด็กเรียนอ่อนให้ขวนขวายหาความรู ้ ในชัน้ เรียนปกติเด็กเหล่านี้จะถูกทอดทิ้งแต่ในห้องเรียนกลับ ด้านเด็กจะได้รบั การเอาใจใส่จากครูมากที่สุดโดยอัตโนมัติ 5. ช่วยเหลือเด็กที่มคี วามสามารถแตกต่างกันให้กา้ วหน้าในการเรียนตามความสามารถของตนเอง เพราะเด็ก สามารถฟัง-ดูวดี ทิ ศั น์ได้เองจะหยุดตรงไหนก็ได้ กรอกลับ ( Review ) ก็ได้ตามที่ตนเองพึงพอใจที่จะเรียน 6. ช่วยให้เด็กสามารถหยุดและกรอกลับครูของตนเองได้ ทาให้เด็กจัดเวลาเรียนตามที่ตนพอใจ เบือ่ ก็หยุดพักได้ สามารถแบ่งเวลาในการดูเป็ นช่วงได้
12
7. ช่วยให้เกิดปฏิสมั พันธ์ระหว่างเด็กกับครูเพิม่ ขึ้น ตรงกันข้ามกับการที่เรียนแบบออนไลน์ การเรียนแบบ ห้องเรียนกลับด้านยังเป็ นรูปแบบการเรียนที่นกั เรียนยังคงมาโรงเรียนและนักเรียนพบปะกับครู ห้องเรียนกลับด้าน เป็ นการประสานการใช้ประโยชน์ระหว่างการเรียนแบบออนไลน์ และการเรียนระบบพบหน้า ช่วยเปลีย่ นและเพิม่ บทบาทของครูให้เป็ นทัง้ พีเ่ ลี้ยง (Mentor) เพือ่ น เพือ่ นบ้าน (Neighbor) และผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert) 8. ช่วยให้ครูรูจ้ กั นักเรียนดีข้นึ หน้าที่ของครูไม่ใช่เพียงช่วยให้ศิษย์ได้ความรูห้ รือเนื้อหา แต่ตอ้ งกระตุน้ ให้เกิดแรง บันดาลใจ (Inspire) ให้กาลังใจ รับฟังและช่วยเหลือ ส่งเสริมผูเ้ รียนซึง่ เป็ นมิติสาคัญที่จะช่วยเสริมพัฒนาการ ทางการเรียนของเด็ก 9. ช่วยเพิม่ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างเพือ่ นนักเรียนด้วยกันเอง จากกิจกรรมทางการเรียนที่ครูจดั ประสบการณ์ข้นึ มานัน้ ผูเ้ รียนสามารถที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลซึง่ กันและกันได้ดี เป็ นการปรับเปลีย่ นกระบวนทัศน์ของนักเรียนที่เคยเรียน ตามคาสัง่ ครูหรือทางานให้เสร็จตามกาหนด เป็ นการเรียนเพือ่ ตนเองไม่ใช่คนอื่น ส่งผลต่อเด็กที่เอาใจใส่การเรียน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันจะเพิม่ ขึ้นโดยอัตโนมัติ 10. ช่วยให้เห็นคุณค่าของความแตกต่าง ตามปกติแล ้วในชัน้ เรียนเดียวกันจะมีเด็กที่มคี วามแตกต่างกันมาก มี ความถนัดและความชอบที่แตกต่างกัน ดังนัน้ การจัดกิจกรรมการสอนแบบห้องเรียนกลับทางจะช่วยให้ครูเห็น จุดอ่อนจุดแข็งของผูเ้ รียนแต่ละคน เพือ่ ด้วยกันก็เห็น และช่วยเหลือกันด้วยจุดแข็งของแต่ละคน 11. เป็ นการปรับเปลีย่ นรูปแบบการจัดการห้องเรียน ช่วยเปิ ดช่องให้ครูสามารถจัดการชัน้ เรียนได้ตามความ ต้องการที่จะทา ครูสามารถทาหน้าที่ของการสอนที่สาคัญในเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ สร้างคุณภาพแก่ชนั้ เรียน ช่วยให้ เด็กรูอ้ นาคตของชีวติ ได้ดที สี ุด 12. ประสานความสัมพันธ์ท่ดี รี ะหว่างโรงเรียนกับผูป้ กครอง ซึง่ การรับทราบและแลกเปลีย่ นความรูร้ ่วมกันจะทา ให้เด็กเกิดการเรียนรูท้ ่ดี ไี ด้ 13. ช่วยให้เกิดความโปร่งใสในการจัดการศึกษา การใช้หอ้ งเรียนแบบกลับทางโดยนาสาระความรูไ้ ปไว ้ในวีดทิ ศั น์ นาไปเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เป็ นการเปิ ดเผยเนื้อหาสาระทางการเรียนให้สาธารณชนได้ทราบ สร้างความเชื่อมัน่ ในคุณภาพการเรียนการสอนให้ผูป้ กครองทราบ
13
บรรณานุ กรม ธารา อิสสระ. 2558. “ความโดดเด่นของการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://blog.eduzones.com/rangsit/153065 (22 พฤศจิกายน 2559). Emmy Nichanan. 2559. “ห้องเรียนแห่งศตวรรษที่ 21.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://blog.eduzones.com/training/168290 (22 พฤศจิกายน 2559). สุรศักดิ์ ปาเฮ. 2556. “ห้องเรียนกลับทาง : ห้องเรียนมิติใหม่ในศตวรรษที่ 21.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://phd.mbuisc.ac.th/academic/flipped%20classroom2.pdf (23 พฤศจิกายน 2559). ปาจรีย ์ คืนชัยภูม.ิ “การศึกษาศตวรรษที่ 21 (21ST CENTURY EDUCATION).” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5620602125/page7.html (23 พฤศจิกายน 2559).
14
ผูจ้ ดั ทา นางสาวอนุสรา บัวแสน รหัสนักศึกษา 5610111250036 นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 4 สาขาการประถมศึกษา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1544610 การนาเสนอและจัดการฐานข้อมูลภาษาไทยเพือ่ การเรียนรู ้ เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ สุริโยธิน วิทยาลัยการฝึ กหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร