สรุปผลการสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของประเทศไทยประจําปี 2554 และประมาณการปี 2555
สรุปผลการสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ประจําปี 2554 และประมาณการปี 2555 Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012 เอกสารเผยแพร่ ISBN 978-616-12-0053-4 พิ มพ์ครัง้ ที่ 1 (เมษายน 2555) สงวนลิขสิทธิ ์ พ.ศ. 2555 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ ์ พ.ศ. 2537 โดย ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ไม่อนุ ญาตให้คดั ลอก ทําซํ้า และดัดแปลงส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือฉบับนี้ นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากเจ้าของลิขสิทธิ ์เท่านัน้ Copyright©2012 by: National Science and Technology Development Agency Software Industry Promotion Agency (Public Organization)
จัดทําโดย: ฝ่ ายวิ จยั นโยบาย สํานักงานพัฒนาวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 112 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2564-6900 ต่อ 2353 โทรสาร 0-2564-6860 http://www.nstda.or.th/prs/ สํานักงานส่งเสริ มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เลขที่ 120 หมูท่ ่ี 3 ชัน้ 9 อาคารรวมหน่วยงานราชการ บี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0-2141-7100 โทรสาร : 0-2143-8051 เว็บไซต์ http://www.sipa.or.th
สารบัญ ภาพรวม
A1 ถึง A6
ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
1-1 ถึง 1-23
ตลาดสือ่ สาร
2-1 ถึง 2-35
ตลาดคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์
3-1 ถึง 3-17
กรอบนิยาม และวิธกี ารสํารวจ
4-1 ถึง 4-13
คณะทํางาน และคณะทีป่ รึกษาโครงการ
5-1 ถึง 5-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ภาพรวม (ICT Market Overview) ศูน ย์เ ทคโนโลยีอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์แ ละคอมพิว เตอร์แ ห่ ง ชาติ (NECTEC) สํา นัก งาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA) และสํา นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (SIPA) ร่วมกับหน่ วยงานพันธมิตร ได้แก่ สมาคม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) สมาคมสมองกลฝงั ตัวไทย (TESA) สมาคม เคเบิ้ล ลิ่ง ไทย (TCA) สมาคมอุต สาหกรรมคอมพิว เตอร์ไทย (ATCM) สถาบันเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ อุตสาหกรรม และสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจ การโทรทัศ น์ และกิจ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (NBTC) จัด ให้ม ีก ารสํา รวจตลาด เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร (Information and Communications Technology: ICT) ของประเทศไทยประจําปี 2554 และประมาณการมูลค่าตลาดปี 2555 ขึน้ เพื่อให้ได้มา ซึง่ ข้อมูลอันเป็ นประโยชน์ต่อการวางแผนนโยบายต่างๆของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐ และเอกชน ตลอดจนประชาชนทัวไปที ่ ส่ นใจ กิจกรรมการสํา รวจตลาดในปี 2554 นัน้ เป็ นกิจกรรมต่ อเนื่องจากการสํา รวจซึ่ง ดําเนินการต่อเนื่องทุกปี นับแต่ปี 2549 เป็ นต้นมา โดยตลาด ICT ทีท่ าํ การสํารวจ ประกอบ ด้วย ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Computer Hardware) ตลาดสือ่ สาร (Communications) และตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ (Software and Software Services)1 การจัดเก็บ ข้อมูลมีขน้ึ ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2554 – มีนาคม 2555 ด้วยวิธกี ารสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ป ระกอบการรายหลัก ของตลาด (Key players) ผนวกกับ การ สํา รวจด้ว ยแบบสอบถาม และการใช้ข้อมูลสนับสนุ นจากแหล่งต่ างๆ ที่มคี วามน่ าเชื่อถือ ได้แก่ ข้อมูลจากหน่ วยงานภาครัฐ รายงานประจําปี และข่าวสารต่างๆ รวมทัง้ การจัดประชุม ร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญในภาคอุตสาหกรรมเพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 1 ในปี 2554 ได้ทาํ การปรับปรุงวิธกี ารศึกษามูลค่าตลาด ICT ใหม่ โดยไม่นบั รวมมูลค่าตลาดบริการ ด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Services) ดังเช่นปีทผ่ี า่ นมา แต่ได้นําบริการบางส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับ ซอฟต์แวร์ไปรวมอยูใ่ นตลาดซอฟต์แวร์ แล้วเปลีย่ นชื่อเรียกใหม่เป็ น ตลาดซอฟต์แวร์ และบริการ ซอฟต์แวร์ (Software and Software Services) A-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ในปี 2554 ทีผ่ า่ นมานัน้ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศมีทศิ ทางการเติบโตที่ ดีตงั ้ แต่ต้นปี ซึ่งเป็ นผลดีต่อการใช้จ่ายสํา หรับสินค้าและบริการทางด้าน ICT ของประเทศ แต่ทว่าการประสบภาวะอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในเขตภาคกลางของประเทศช่วงปลายปี ได้ส่งผล กระทบต่อการชะลอตัวของการผลิตสินค้าและบริการทางด้าน ICT รวมถึงกําลังซื้อและการ บริโภคของภาคครัวเรือน และการลงทุนภาคเอกชนหดตัว จึงทําให้อตั ราการเติบโตของตลาด ICT ตํ่ากว่าทีค่ าดการณ์ไว้เดิม นอกจากนี้ เนื่องจากคณะวิจยั ได้มกี ารปรับปรุงวิธกี ารศึกษา ขอบเขตการศึกษา และ กรอบนิยามในตลาดซอฟต์แวร์2 ทําให้ภาพรวมตลาด ICT ในปี น้ไี ม่สามารถเปรียบเทียบกับปี ก่อนได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม หากปรับฐานการประมาณการของซอฟต์แวร์ตามวิธกี ารของปี นี้ พบว่าประเทศไทยมีมลู ค่าตลาด ICT โดยรวมประมาณ 531,853 ล้านบาท เติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ถึงร้อยละ 6.33 ทัง้ นี้ สัดส่วนมูลค่าตลาดในกลุ่มต่างๆ ยังคงในรูปแบบเดิม กล่าว คือ มูลค่าตลาดส่วนใหญ่อยู่ในตลาดสื่อสาร ซึ่งคิดเป็ น ร้อยละ 76.9 (มูลค่าราว 4 แสนล้าน บาท) ขณะทีล่ าํ ดับรองลงมา ได้แก่ ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ และ ตลาดซอฟต์แวร์และ บริการซอฟต์แวร์ โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 17.6 และ 5.5 ของมูลค่าตลาด ICT ตามลําดับ และ คาดว่าในปี 2555 ตลาด ICT จะมีการเติบโตจากปี 2554 ไปในทิศทางทีด่ ขี น้ึ เนื่องจากแนว โน้มการใช้งานอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ทงั ้ แบบใช้สาย และแบบไร้สายขยายตัวมากขึน้ ส่งผล ให้ความต้องการอุปกรณ์ทร่ี องรับการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิม่ สูงขึน้ นอกจากนี้การลงทุนทาง ด้าน IT ของภาครัฐและภาคเอกชนยังคงมีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการใช้งาน IT เพือ่ รองรับ การทํา งานเมื่อ เกิด สภาวะพิบ ัติภ ยั ซึ่ง เป็ น ป จั จัย ที่จ ะผลัก ดัน ให้ต ลาด ICT ของปี 2555 เติบโตร้อยละ 11.2 หรือคิดเป็ นมูลค่าตลาดประมาณ 5.9 แสนล้านบาท
2 สามารถอ่านรายละเอียดได้ในหัวข้อตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ 3 อย่างไรก็ดี หากเปรียบเทียบกับฐานประมาณการโดยกรอบนิยามและวิธกี ารศึกษาเดิมนัน้ ตลาด ICT ปี 2553 มีมลู ค่าตลาดเท่ากับ 606,213 ล้านบาท ซึง่ จะทําให้มลู ค่าตลาด ICT ปี 2554 เติบโตลดลง ร้อยละ 12.3 A-2
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ A-1: มูลค่าตลาด ICT* ของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555 ตลาด
มูลค่า (ล้านบาท) สัดส่วนตลาด ICT (%) การเติบโต (%) 2554 2555f 2554 2555f 53/54 54/55
1.Computer Hardware
93,589
112,705
17.6
19.1
2.9
20.4
2.Communication 3.Software & Software Services** รวมตลาด ICT
408,846
444,385
76.9
75.1
6.9
8.7
29,418 531,853
34,481 591,571
5.5
5.8 100
10.1 6.3
17.2 11.2
100
หมายเหตุ: * นิยามของแต่ละตลาดกล่าวไว้ใน “กรอบ นิยามและวิธกี ารสํารวจ” และการสํารวจในปี 2554 ไม่รวมตลาดบริการด้าน คอมพิวเตอร์ทไ่ี ม่ใช่บริการซอฟต์แวร์ ** มูลค่าซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ในตารางเป็ นมูลค่าการผลิต และมูลค่าซอฟต์แวร์ในทีน่ ้ไี ม่รวมมูลค่า Embedded System Software
เมื่อ พิจ ารณาเฉพาะตลาด IT (Information Technology: IT) (ตารางที่ A-2) ซึ่ง ประกอบด้วยตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารข้อมูล (Data Communication Equipment) และตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ พบว่า ตลาด IT ในปี 2554 โดยรวม มีมลู ค่า 155,549 ล้านบาท และคาดว่าในปี 2555 ตลาด IT จะเติบโต อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 18.7 โดยมี มูลค่าเป็น 182,327 ล้านบาท ตารางที่ A-2: มูลค่าตลาด IT* ของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555 ตลาด 1.Computer Hardware 2.Data Communication Equipment 3.Software & Software Services** รวมตลาด IT
มูลค่า (ล้านบาท) 2554 2555f
สัดส่วนตลาด IT (%) 2554 2555f
การเติบโต (%) 53/55 54/55
93,589
112,705
61.0
61.8
2.9
20.4
30,542
35,141
19.9
19.3
10.7
15.1
29,418
34,481
19.2
18.9
10.1
17.2
153,549
182,327
100
100
4.9
18.7
หมายเหตุ : * ตลาด IT = ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ + ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารข้อมูล + ตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ** มูลค่าซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ในตารางเป็ นมูลค่าการผลิต และมูลค่าซอฟต์แวร์ในที่น้ีไม่รวมมูลค่า Embedded System Software
A-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
เมือ่ พิจารณาส่วนแบ่งทางการตลาดในกลุม่ ตลาด IT พบว่า ในปี 2554 ตลาด คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์มสี ดั ส่วนการถือครองตลาดสูงสุด ด้วยสัดส่วนร้อยละ 61 รองลงมา ได้แก่ ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สาร และ ตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ โดยมีสดั ส่วนคิดเป็ น ร้อยละ 19.9 และ 19.1 ตามลําดับ สังเกตได้วา่ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์มสี ดั ส่วนมูลค่าตลาดสูง มากในตลาด IT อันเนื่องมาจากตัวเลขของตลาดสือ่ สารทีน่ ํามาคํานวณในตลาด IT มีเพียง อุปกรณ์สอ่ื สารข้อมูลประเภท Wireline และ Wireless ซึง่ มีมลู ค่าตลาดไม่สงู มากนักเมือ่ เปรียบเทียบกับตลาดสือ่ สารโดยรวม (สามารถดูรายละเอียดได้ในหัวข้อตลาดสือ่ สาร) ตารางที่ A-3: มูลค่าการใช้จา่ ย ICT ปี 2554 จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก
ตลาด
1.Computer Hardware
สัดส่วน (%)
ภาคผูใ้ ช้หลัก
ภาคผูใ้ ช้หลัก
Government Corporate SOHO* and and State Household Enterprise 12,714
2.Communication** 3.Software & Software Services***
มูลค่า (ล้านบาท)
24,612
162,720 9,149
20,269
Total
56,263
93,589
246,126
408,846
NA
29,418
Government Corporate SOHO* and and State Household Enterprise 13.6
26.3 39.8
31.1
68.9
Total
60.1
100
60.2
100
NA
100
หมายเหตุ: * SOHO = Small Office and Home Office ** ตลาดสื่อสาร (Communication) จะมีการจัดแบ่งกลุ่มเศรษฐกิจทีแ่ ตกต่างจากตลาด ICT อื่นๆ โดยตลาดดัง กล่ า วจํา แนกภาคเศรษฐกิจ ออกเป็ น 3 กลุ่ ม คือ กลุ่ ม Corporate, Small Office and Home Office (SOHO) and Household และ Operator ผูซ้ ้อื ในกลุ่มสุดท้ายมีการใช้อุปกรณ์ส่อื สารประกอบกิจการทางด้านโครงข่ายของตนเอง ใน ขณะเดียวกันก็มกี ารขายอุปกรณ์ ต่อไปยังภาครัฐด้วย จึงทํา ให้ไม่สามารถแยกค่าใช้จ่ายของกลุ่มภาครัฐออกจากภาค Corporate ดังเช่นตลาดอื่น การนําเสนอในครัง้ นี้จงึ รวมภาคเศรษฐกิจดังกล่าวไว้ดว้ ยกัน *** มูลค่าซอฟต์แ วร์แ ละบริการซอฟต์แวร์ในตารางเป็ นมูลค่าการผลิต และมูลค่าซอฟต์แวร์ในที่น้ีไ ม่รวม มูลค่า Embedded System Software
เมื่อพิจารณาการใช้จ่ายด้าน ICT ในปี 2554 จําแนกตามภาคเศรษฐกิจ ได้แก่ ภาค รัฐและรัฐวิสาหกิจ (Government and State Enterprise) ภาคเอกชน (Corporate) และภาค ครัวเรือนและธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็ก (SOHO and Household) ดังตารางที่ A-3 พบว่า ภาค A-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ครัว เรือ นมีส ัด ส่ ว นการใช้ จ่ า ยในสิน ค้ า และบริก ารด้ า น ICT ที่ค่ อ นข้า งสู ง ทัง้ ในตลาด คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ และตลาดสือ่ สาร (ประมาณร้อยละ 60) แต่เมื่อพิจารณาในเชิงมูลค่า แล้ว พบว่าการใช้จ่ายของภาคครัวเรือนในตลาดสื่อสารสูงถึง 246,126 ล้านบาท ซึ่งสูงกว่า การใช้จ่ายในตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทม่ี เี พียงมูลค่า 56,263 ล้านบาท นอกจากนี้ จาก การศึก ษาพบว่า มูล ค่า ตลาดที่เ กิด จากภาคเอกชนในตลาดคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์ และ ซอฟต์แวร์และบริการคอมพิวเตอร์มสี ดั ส่วนสูงกว่ามูลค่าทีเ่ กิดจากภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ตารางที่ A-4: มูลค่าการใช้จา่ ย IT ปี 2554 จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก
ตลาด
1.Computer Hardware
สัดส่วน (%)
ภาคผูใ้ ช้หลัก
ภาคผูใ้ ช้หลัก
Government Corporate SOHO and and State Household Enterprise 12,714
2.Data Communication Equipment* 3.Software & Software Services**
มูลค่า (ล้านบาท)
24,612
26,751 9,149
20,269
Total
56,263
93,589
3,821
30,572
NA
29,418
Government Corporate SOHO and and State Household Enterprise 13.6
26.3 87.5
31.1
68.9
Total
60.1
100
12.5
100
NA
100
หมายเหตุ: *ตลาดอุปกรณ์ ส่อื สารข้อมูล (Data Communications Equipment) จะมีการจัดแบ่งกลุ่มเศรษฐกิจที่แตกต่างจาก ตลาด ICT อื่น ๆ โดยตลาดดัง กล่ า วจํา แนกภาคเศรษฐกิจ ออกเป็ น 3 กลุ่ ม คือ กลุ่ม Corporate, Small office and Home Office (SOHO) and Household และ Operator ผู้ซ้อื ในกลุ่มสุดท้ายมีการใช้อุปกรณ์ ดงั กล่าวประกอบกิจการ ทางด้านโครงข่ายของตนเองในขณะเดียวกันก็มกี ารขายอุปกรณ์ต่อไปยังภาครัฐด้วย จึงทําให้ไม่สามารถแยกค่าใช้จา่ ย ของกลุม่ ภาครัฐออกจากกลุม่ ของ Corporate ดังเช่นตลาดอื่น การนําเสนอในครัง้ นี้ จึงรวมภาคเศรษฐกิจดังกล่าวไว้ดว้ ย กัน ่ ้ีไม่รวมมูลค่า ** มูลค่าซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ในตารางเป็ นมูลค่าการผลิต และมูลค่าซอฟต์แวร์ในทีน Embedded System Software
เมื่อพิจารณาการใช้จ่ายตามภาคผูใ้ ช้หลักของตลาด IT (ตารางที่ A-4) พบว่า ในปี 2554 ภาครัฐและภาคเอกชนเป็ นกลุม่ ทีม่ กี ารใช้จา่ ยในตลาดอุปกรณ์สอ่ื สาร สูงถึงร้อยละ 87.5 หรือ 26,751 ล้านบาท ในขณะทีภ่ าคครัวเรือนมีการใช้จ่ายทางด้านอุปกรณ์สอ่ื สารข้อมูลอยู่ท่ี A-5
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ร้อยละ 12.5 หรือเพียง 3,821 ล้านบาท สาเหตุทภ่ี าคครัวเรือนมีการใช้จา่ ยในส่วนของตลาด อุปกรณ์ ส่อื สารข้อมูลน้ อยมาก เป็ นผลมาจากสินค้าส่วนใหญ่ของตลาดดังกล่าวมีมูลค่าสูง เป็ นสินค้าหรือบริการเพือ่ ใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตาม กลุ่มครัวเรือนจะเป็ นผูใ้ ช้จา่ ย หลักของตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (ร้อยละ 60.1 ของการใช้จ่ายทัง้ หมด) เนื่องจาก สินค้า ส่วนใหญ่เป็ นสินค้าทีเ่ หมาะสําหรับการใช้งานทัง้ ในระดับครัวเรือนและระดับองค์กร ผนวกกับ ปจั จุบนั ผูบ้ ริโภคระดับครัวเรือนค่อนข้างมีบทบาทในการชี้นําผูผ้ ลิตและผูพ้ ฒ ั นาเทคโนโลยี ตามทีต่ นต้องการ ดังนัน้ สินค้าทีต่ อบสนองการใช้งานสําหรับผูใ้ ช้ระดับครัวเรือนจึงมีให้เลือก อย่างมากมาย และผูผ้ ลิตสินค้าคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์เริม่ ผลิตสินค้าเพือ่ ตอบสนองการใช้งาน ของผู้บริโภคระดับ ครัวเรือนก่อนการใช้งานในระดับองค์กร ดังเช่น แท็บเล็ตพีซี เป็ นต้น สําหรับรายละเอียดผลการศึกษาจากการสํารวจรายตลาดนัน้ จะได้กล่าวในส่วนต่อไป
A-6
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การสํารวจตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 แบ่งผลิตภัณฑ์ออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1. กลุม่ ซิสเท็ม (System) 2. กลุม่ คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (Personal Computer: PC) 3. กลุม่ อุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral) ภาพรวมตลาดคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์ปี 2554 มีมูล ค่ า ทัง้ สิ้น 93,589 ล้า นบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตจากปี 2553 ร้อยละ 2.9 จากการประมาณมูลค่าตลาดในปี 2555 คาดว่ า มูล ค่า ตลาดจะเติบ โตจากปี 2554 สูง ถึง ร้อ ยละ 20.4 หรือ คิดเป็ น มูล ค่ า ตลาดรวม 112,705 ล้านบาท (แผนภาพที่ 1-1) แผนภาพที่ 1–1: มูลค่าและอัตราการเติบโตของตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2554
2.9
1-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 มีการเติบโตต่อเนื่องจากปี ท่ผี ่านมาเล็กน้ อย เนื่องจากได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี และส่วนหนึ่งเกิดจากการ ปรับเปลีย่ นนิยามผลิตภัณฑ์ของคณะวิจยั โดยการตัดผลิตภัณฑ์กล้องดิจทิ ลั ออกจากตลาด คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์1 แม้ว่าเศรษฐกิจไทยมีทศิ ทางการเติบโตทีด่ ใี นช่วงไตรมาสที่ 1 ถึง 3 ของปี ทัง้ ภาคการเกษตรและภาคอุ ต สาหกรรม 2 ทํา ให้ก ารใช้จ่ า ยทางด้า น IT ของภาค ครัวเรือน และการลงทุนของภาคธุรกิจเอกชนมีมากขึน้ ก็ตาม จึงอาจกล่าวได้ว่าอุทกภัยทีเ่ กิด ขึน้ ได้ไปชะลอการเติบโตของตลาดทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงก่อนหน้า เมื่อพิจารณาในช่วงก่อนเกิดอุทกภัย พบว่ากํา ลังซื้อของผู้บริโภค และการลงทุน ทางด้าน IT ขององค์กรต่างๆ ขยายตัวมากขึน้ ตลอดช่วงไตรมาสที่ 1 ถึง 3 ทัง้ การลงทุน ทางด้ า นเทคโนโลยีป ระมวลผลกลุ่ ม เมฆ (Cloud Computing) และเทคโนโลยี เ สมือ น (Virtualization) ในองค์กรขนาดใหญ่ เนื่องจากหลายองค์กรเริม่ เรียนรูแ้ ละเล็งเห็นประโยชน์ จากเทคโนโลยีดงั กล่าว พร้อมทัง้ ผลิตภัณฑ์แท็บเล็ต (Tablet PC) กําลังได้รบั ความนิยม และ ขยายตัวเพิม่ มากขึน้ อันเนื่องจากความสะดวกในการพกพา การใช้งาน ตลอดจนคอนเทนท์ เกมและแอพพลิเคชันที ่ ร่ องรับการใช้งานบนแท็บเล็ตมีให้เลือกอย่างหลากหลาย และหลาย คอนเทนท์ผใู้ ช้สามารถดาวน์โหลดได้โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ในส่ว นของภาครัฐ เองยัง คงมีการลงทุ น ทางด้า น IT อย่างต่ อ เนื่ อ ง ทัง้ การสังซื ่ ้อ ครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วง และการวางระบบโครงข่าย IT สํา หรับใช้ภายใน หน่ ว ยงาน และสํา หรับ ให้บ ริก ารในพื้น ที่ส าธารณะในสถานที่ร าชการและชุ ม ชนต่ า งๆ ตลอดจนการขยายพืน้ ที่ให้บริการระบบ 3G ในเชิงพาณิชย์บนคลื่นความถี่เดิม (800 MHz. และ 900 MHz.) ในช่วงครึ่งปี หลังของปี 2554 ของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่3 เป็ น อีก ปจั จัยทีก่ ระตุน้ ให้การใช้จา่ ยด้านคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ของประเทศไทยมีการเติบโต ขณะเดีย วกัน การทํา ธุร กิจ หรือ ทํา การตลาดบนเครือ ข่า ยสัง คมออนไลน์ (Social Network Marketing) เป็ นที่นิยมอย่างสูงในปี น้ี เพื่อใช้เป็ นช่องทางในการสื่อสารและติดต่อ 1 เนื่องจากเป็ นการจําหน่ ายผ่านกลไกร้านกล้องโดยตรงมากกว่าจะเป็ นผูป้ ระกอบการด้านไอที 2 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. “คาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาส 4 ตลอดทัง้ ปี 2554 และปี 2555.” ธันวาคม 2555. 3 ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย. “ธุรกิจบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีป่ ี 2555…ยอดใช้ดาต้าโตก้าวกระโดดกว่า 38% ผลักดันมูลค่า ตลาดเกิน 170,000 ล้านบาท” อ้างใน http://www.thaipr.net/communication/385642
1-2
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ระหว่างผูข้ ายและผูซ้ ้อื และยังช่วยให้สนิ ค้าของผูข้ ายเป็ นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างได้อย่างรวดเร็ว ดังนัน้ ความต้องการผลิตภัณฑ์ทร่ี องรับการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์จงึ มีความต้องการ เพิม่ สูงขึน้ ตามไปด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 2554 มีเหตุการณ์ พบิ ตั ภิ ยั รุนแรงเกิดขึน้ ที่ส่งผลกระทบต่อ ประเทศไทย ซึ่งเหตุการณ์แรกคือ สึนามิในประเทศญี่ปุ่น ทํา ให้การนํา เข้าสินค้าจากญี่ปุ่น หยุดชะงักลงในระยะเวลาหนึ่ง แต่เหตุการณ์น้ีไม่สง่ ผลกระทบต่อตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ของไทยเท่าใดนัก เหตุการณ์ทส่ี อง คือการเกิดภาวะอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในประเทศในไตรมาส ที่ 4 ส่ง ผลกระทบค่ อ นข้า งรุ น แรงต่ อ ตลาดคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์ โดยเฉพาะการผลิต ฮาร์ด ดิส ก์ภ ายในประเทศต้ อ งหยุ ด ชะงัก จึง เกิด ภาวะขาดแคลนอุ ป ทานฮาร์ด ดิส ก์ ท ัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากไทยเป็ นผูส้ ่งออกฮาร์ดดิสก์รายสําคัญของโลก และยัง ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ฮาร์ดดิสก์มรี ะดับราคาทีส่ งู เพิม่ ขึน้ ตลอดจนปญั หาเส้นทางการคมนาคม ถูกตัดขาด ทํา ให้ผู้ผลิต และผู้จาํ หน่ ายผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ไม่สามารถจัดส่ง สินค้าไปยังผูซ้ อ้ื ได้4 ดังนัน้ จึงทําให้เม็ดเงินจากการใช้จา่ ยในไตรมาสนี้สญ ู หายไปเป็ นจํานวน มาก สํา หรับส่วนแบ่งมูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์จาํ แนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ในปี 2554 พบว่า กลุ่มคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลมีสดั ส่วนมูลค่าตลาดสูงถึงร้อยละ 70.6 โดยคิดเป็ น มูลค่า 66,120 ล้านบาท รองลงมาได้แก่ กลุ่มอุปกรณ์ ต่อพ่วงมีสดั ส่วนมูลค่าตลาดร้อยละ 19.8 คิดเป็ นมูลค่า 18,539 ล้านบาท และกลุ่มซิสเท็มมีสดั ส่วนมูลค่าตลาดร้อยละ 9.6 หรือ คิดเป็ นมูลค่า 8,930 ล้านบาท (แผนภาพที่ 1-2)
4 ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. ยักษ์ไอทีงานเข้าวิกฤตนํ้าท่วมลามฮาร์ดดิสก์ขาดตลาดดันต้นทุนพุง่ ดับมูด้ จับจ่าย. 26 ตุลาคม 2554.
1-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 1–2: สัดส่วนมูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 จําแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์
จากส่วนแบ่งมูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ข้างต้นสามารถจํา แนกเป็ นมูลค่า ตลาดผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์รายการต่างๆ ได้ดงั นี้ (ตารางที่ 1-1)
1-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 1 – 1: มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2553 – 2554 และประมาณการปี 2555 ปี 2553 Categories System 1.1 Large scale systems 1.2 Medium scale systems 1.3 Small scale systems 1.4 Special Purpose Equipment 2 Personal Computer 2.1 Desktop PC 2.2 Notebook/Netbook 2.3 Tablet PC* 2.4 Tablet PC (One Tablet PC Per Child) 3 Peripherals 3.1 Monitor LCD & LED 3.2 Printer** 3.2.1 Dot Matrix 3.2.2 Inkjet 3.2.2.1 Single Inkjet 3.2.2.2 Multifunction Inkjet 3.2.3 Laser 3.2.3.1 Single Laser 3.2.3.2 Mutifunction Laser 3.3 External Data Storage 3.3.1 External Hard Disk 3.3.2 Enterprise Storage 3.3.2.1 Entry Level 3.3.2.2 High-End Level 3.4 Other Peripherals 3.4.1 Scanner 3.4.2 Projector 3.4.3 UPS 3.4.4 Digital Camera*** Total Computer Hardware Market 1
Unit NA NA NA NA NA 3,180,000 1,290,000 1,890,000 NA 1,600,000 1,530,000 57,000 1,160,000 440,000 720,000 313,000 245,000 68,000 NA NA NA NA NA 1,294,000 25,000 79,000 NA 1,190,000 NA
Avg. Price Value (Baht) (Mil. Baht) NA 8,320 NA 720 NA 1,800 NA 2,980 NA 2,820 54,780 NA 16,000 20,640 18,500 34,140 NA 27,815 3,900 6,240 4,305 NA 9,500 542 NA 2,244 1,500 660 2,200 1,584 NA 1,519 4,200 1,029 7,200 490 NA 4,750 NA 2,500 NA 2,250 NA 850 NA 1,400 NA 12,520 5,000 125 20,000 1,580 NA 1,890 7,500 8,925 NA 90,915
ปี 2555f
ปี 2554 Unit NA NA NA NA NA 3,820,000 1,320,000 2,020,000 480,000 NA 1,100,000 1,652,500 56,500 1,270,000 430,000 840,000 326,000 240,000 86,000 NA NA NA NA NA 114,000 24,000 90,000 NA NA
Avg. Price Value YTY (%) (Baht) (Mil. Baht) in Quantity NA 8,930 NA NA 770 NA NA 1,950 NA NA 3,200 NA NA 3,010 NA NA 66,120 20.1 16,000 21,120 2.3 18,000 36,360 6.9 18,000 8,640 NA 18,539 NA 3,500 3,850 -31.3 NA 4,559 8.0 8,500 480 -0.9 NA 2,493 9.5 1,500 645 -2.3 2,200 1,848 16.7 NA 1,586 4.2 4,100 984 -2.0 7,000 602 26.5 NA 6,000 NA NA 3,200 NA NA 2,800 NA NA 1,100 NA NA 1,700 NA NA 4,130 NA 5,000 120 -4.0 19,000 1,710 13.9 NA 2,300 NA NA 93,589 NA
*Tablet PC เริม ่ เก็บข้อมูลในปี 2554 ่ ง **Printer (Inkjet และ Laser) ปี 2553 มีการปรับปรุงข้อมูลตัวเลขจํานวนเครือ ***Digital Camera ปี 2554 ยกเลิกการเก็บข้อมูล
1-5
YTY (%) in Value 7.3 6.9 8.3 7.4 6.7 20.7 2.3 6.5 -33.3 -38.3 5.9 -11.4 11.1 -2.3 16.7 4.4 -4.4 22.9 26.3 28.0 24.4 29.4 21.4 -67.0 -4.0 8.2 21.7 2.9
Unit NA NA NA NA NA 5,850,000 1,200,000 2,250,000 1,500,000 900,000 NA 900,000 1,788,000 55,000 1,395,000 385,000 1,010,000 338,000 235,000 103,000 NA NA NA NA NA 126,000 24,000 102,000 NA NA
Avg. Price Value YTY (%) YTY (%) (Baht) (Mil. Baht) in Quantity in Value NA 9,960 NA 11.5 11.7 NA 860 NA 12.8 NA 2,200 NA 9.4 NA 3,500 NA 13.0 NA 3,400 NA NA 82,800 53.1 25.2 -11.9 15,500 18,600 -9.1 11.4 18,000 40,500 11.4 143.1 14,000 21,000 212.5 3,000 2,700 NA 19,945 NA 7.6 3,500 3,150 -18.2 -18.2 NA 4,669 8.2 2.4 -6.0 8,200 451 -2.7 6.7 NA 2,660 9.8 -16.4 1,400 539 -10.5 14.8 2,100 2,121 20.2 -1.8 NA 1,558 3.7 -4.5 4,000 940 -2.1 2.7 6,000 618 19.8 NA 7,450 NA 24.2 31.3 NA 4,200 NA 16.1 NA 3,250 NA 18.2 NA 1,300 NA 14.7 NA 1,950 NA NA 4,676 NA 13.2 0.0 5,000 120 0.0 7.4 18,000 1,836 13.3 18.3 NA 2,720 NA NA 112,705 NA 20.4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
1. ตลาดซิสเท็ม (System) ตลาดซิสเท็มเป็ นตลาดทีม่ อี ตั ราการเติบโตเชิงมูลค่าอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ดังจะ เห็น ได้จ ากปี 2553 มีก ารเติบ โตร้ อ ยละ 5.4 ปี 2554 ร้อ ยละ 7.3 และประมาณการว่ า ในปี 2555 จะมีอ ตั ราการเติบโตเพิม่ ขึ้น คิดเป็ น ร้อ ยละ 11.5 (แผนภาพที่ 1-3) ทัง้ นี้ มูลค่า ตลาดรวมดังกล่าวประกอบด้วยกลุ่ม Medium scale systems ซึง่ มีอตั ราการเติบโตเชิงมูลค่า สูงสุดคือร้อยละ 8.3 รองลงมาคือกลุ่ม Small scale systems ร้อยละ 7.4 และ Large scale systems ร้อ ยละ 6.9 ส่ ว นกลุ่ ม Special Purpose Equipment มีอ ัต ราการเติบ โตคิด เป็ น ร้อ ยละ 6.7 ตามลํา ดับ ทัง้ นี้ เ ป็ น ผลมาจากภาวะเศรษฐกิจ ที่ม ีก ารฟื้ น ตัว อย่า งต่ อ เนื่ อ ง การเปิ ดสาขาเพิม่ ขึ้นของธนาคาร ตลอดจนการลงทุนเพิม่ ขึ้นในส่วนของภาคเอกชนและ ผูป้ ระกอบการร้านค้าทัวไป ่ รวมถึงการเกิดวิกฤตนํ้าท่วมในช่วงปลายปี 2554 ทําให้อุปกรณ์ และระบบต่างๆ เกิดความเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ จึงจําเป็ นต้องมีการวางระบบและจัด ซือ้ อุปกรณ์ใหม่ซง่ึ เป็ นปจั จัยหนึ่งทีท่ าํ ให้มลู ค่าตลาดซิสเท็มจะมีการเติบโตเพิม่ ขึน้ ในปี 2555 แผนภาพที่ 1-3: มูลค่าตลาดและอัตราการเติบโตของตลาดซิสเท็ม ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555 มูลค่า (ล้านบาท)
อัตราการเติบโต (ร้อยละ)
10,500
11.5
10,000 7.3 5.4
7,500
8 9,960
8,500 8,000
12 10
9,500 9,000
14
4
8,930
2
8,320
2553
6
2554
1-6
2555f
0
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2. ตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ตลาดคอมพิว เตอร์ส่ว นบุ ค คลเป็ น ส่ว นหนึ่ ง ของตลาดคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์ท่ีม ี ปริมาณการจํา หน่ ายและมูลค่าตลาดสูงที่สุดกล่าวคือ ในปี 2553 มียอดจํา หน่ ายเครื่องรวม ทัง้ สิน้ 3,180,000 เครื่อง เพิม่ ขึน้ เป็ นจํา นวน 3,820,000 เครื่อง ในปี 2554 หรือคิดเป็ นการ เติบโตเชิงปริมาณร้อยละ 20.1 และประมาณการว่าในปี 2555 ปริมาณการจํา หน่ ายเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจะสูงถึง 5,850,000 เครื่อง หรือเป็ นการเติบโตเชิงปริมาณร้อยละ 53.1 และเมื่อพิจารณาในเชิงมูลค่าพบว่า ในปี 2554 มีอตั ราการเติบโตร้อยละ 20.7 หรือ คิดเป็ นมูลค่า 66,120 ล้านบาท และในปี 2555 ประมาณการว่าจะมีการเติบโตร้อยละ 25.2 หรือ คิด เป็ น มู ล ค่ า 82,800 ล้ า นบาท (แผนภาพที่ 1-4) ทัง้ นี้ ในปี 2555 คาดว่ า ตลาด คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลทีม่ กี ารเติบโตทัง้ ในเชิงปริมาณและมูลค่ามากทีส่ ุดคือ ตลาดแท็บเล็ต พีซี รองลงมาคือ ตลาดคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค/เน็ตบุ๊ค และตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ทอป ตาม ลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้ แผนภาพที่ 1-4: ภาพรวมมูลค่าตลาดและอัตราการเติบโตของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555
1-7
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ทอป ในปี 2554 พบว่า มีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณและ มูลค่าในอัตราทีเ่ ท่ากันคือร้อยละ 2.3 และในปี 2555 ประมาณการว่าจะมีอตั ราการเติบโตใน เชิงปริมาณและมูลค่าที่ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 โดยมีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณลดลง หรือติดลบร้อยละ 9.1 และอัตราการเติบโตเชิงมูลค่าติดลบร้อ ยละ 11.9 ซึ่งป จั จัยที่ทาํ ให้ ตลาดคอมพิวเตอร์เดสก์ทอปมีแนวโน้ มการเติบโตลดลงนัน้ มาจากผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ยงั คง นิยมใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คและแท็บเล็ตพีซเี พิม่ มากขึน้ ตลาดคอมพิวเตอร์โน้ ตบุค๊ /เน็ ตบุค๊ มีอตั ราการเติบโตอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด แม้จะมีอตั ราการเติบโตทีล่ ดลงบ้างในช่วงปี 2554 และปี 2555 ก็ตาม โดยในปี 2554 มีอตั รา การเติบโตเชิงปริม าณเพิม่ ขึ้น ร้อยละ 6.9 หรือ จํา นวน 2,020,000 เครื่อง และมีอตั ราการ เติบโตเชิงมูลค่าร้อยละ 6.5 หรือคิดเป็ นมูลค่า 36,360 ล้านบาท และในปี 2555 ประมาณการ ว่าจะมีอตั ราเติบโตเชิงปริมาณและมูลค่าทีเ่ ท่ากันคือร้อยละ 11.4 เนื่องจากระดับราคาเฉลีย่ ต่อเครือ่ งในปี 2554 และปี 2555 ยังคงไว้ในราคาเดิมคือ 18,000 บาทต่อเครือ่ ง สําหรับปจั จัย ทีท่ าํ ให้การเติบโตของตลาดคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค/เน็ตบุ๊คลดลงเนื่องจากผูบ้ ริโภคบางส่วนหัน ไปซือ้ เครือ่ งแท็บเล็ตพีซแี ทน อันเนื่องมาจากกระแสแท็บเล็ตทีม่ าแรงและได้รบั ความนิยมสูง รวมทัง้ คอมพิวเตอร์เน็ตบุ๊คได้รบั ความนิยมลดลงเนื่องจากมีขอ้ จํากัดในการใช้งาน แท็บเล็ตพี ซี เป็ นผลิตภัณฑ์ในกลุ่มคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มกี ารขยายตัวทัง้ เชิง ปริมาณและมูลค่าอย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้จากผลการสํารวจในปี 2554 พบว่า แท็บเล็ตพีซี มีอ ตั ราการเติบ โตเชิง ปริม าณสูง ถึง 480,000 เครื่อ ง คิด เป็ น มูล ค่ า 8,640 ล้า นบาท และ ในปี 2555 ประมาณการว่าแท็บเล็ตพีซจี ะมีอตั ราการเติบโตอย่างมาก โดยมียอดจําหน่ ายสูง ถึง 2,400,000 เครื่อง5 หรือมีอตั ราการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 400 เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2554 โดยคิดเป็ นมูลค่ารวมทัง้ สิน้ 23,700 ล้านบาท (รวมโครงการแท็บเล็ตพีซขี องภาครัฐ ) ดังแผนภาพที่ 1-5 ปจั จัยทีส่ ง่ ผลให้ยอดจําหน่ายแท็บเล็ตขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วมาจาก แท็บเล็ตพีซมี คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ เช่น จอภาพแบบสัมผัส (touch screen) เป็ นอุปกรณ์พกพาทีม่ ี นํ้า หนักเบา พกพาสะดวก และเหมาะสํา หรับการใช้งานอินเทอร์เน็ ต และการแสดงภาพ ชิน้ งาน (display) ทีส่ ะดวกต่อการใช้งาน 5 รวมจํานวนเครือ่ งแทบเล็ตพีซที ภ่ี าครัฐแจกให้กบั นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ภายใต้โครงการ One Tablet PC Per Child จํานวน 900,000 เครือ่ ง
1-8
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 1-5: มูลค่าตลาดเดสก์ทอป โน้ ตบุค๊ /เน็ตบุค๊ และแท็บเล็ตพีซี ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555
3. ตลาดอุปกรณ์ ต่อพ่วง (Peripheral) 3.1 จอภาพแอลซีดีและแอลอีดี (LCD & LED Monitor) จากผลการสํารวจข้อมูลพบว่า จอภาพแอลซีดแี ละแอลอีดมี ปี ริมาณจํา หน่ ายที่ลดลง จากปี 2553 อย่างเห็นได้ชดั โดยมีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณติดลบคิดเป็ นร้อยละ 31.3 หรือจํา นวน 1,100,000 จอภาพ จึงทํา ให้มูลค่าตลาดจอภาพลดลงตามไปด้วยโดยมีมูลค่า ตลาด 3,850 ล้านบาท หรือติดลบร้อยละ 38.3 และประมาณการว่าในปี 2555 ยอดจําหน่ าย จะลดลงอย่างต่อเนื่องเป็ น 900,000 จอภาพ หรือติดลบร้อยละ 18.2 อย่างไรก็ตาม ราคา เฉลีย่ ต่อจอภาพในปี 2554 และปี 2555 ไม่มกี ารปรับราคาขึน้ -ลงโดยยังคงไว้ท่ี 3,500 บาท ต่อจอภาพ (แผนภาพที่ 1-6) ทําให้มลู ค่าตลาดลดลงในสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน สําหรับปจั จัยทีท่ าํ ให้ ปริมาณจําหน่ ายและมูลค่าตลาดลดลงในปี 2554 และปี 2555 เนื่องจากการซื้อจอภาพเพื่อ ทดแทนจอภาพแบบ CRT ลดลงและเกือ บถึง จุ ด อิ่ม ตัว ผนวกกับ ผู้บ ริโ ภคเปลี่ย นไปใช้ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คและแท็บเล็ตเพิม่ ขึน้ 1-9
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 1-6: ปริมาณการจําหน่ าย มูลค่าตลาด และอัตราการเติบโตเชิงมูลค่า ของจอภาพคอมพิวเตอร์ ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555
3.2 พริ้นเตอร์ (Printer) จากการสํา รวจพบว่า ภาพรวมของตลาดพริ้น เตอร์ใ นปี 2554 มีปริม าณจํา หน่ า ย 1,652,500 เครือ่ ง เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2553 มีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณร้อยละ 8.0 และ เมือ่ พิจารณาในเชิงมูลค่าพบว่ามีมลู ค่า 4,559 ล้านบาท เป็ นอัตราการเติบโตเชิงมูลค่าร้อยละ 5.9 เมื่อจํา แนกรายประเภทผลิตภัณฑ์พบว่า พริ้นเตอร์ประเภท Dot Matrix มีปริมาณการ จําหน่าย 56,500 เครือ่ ง มีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณลดลงร้อยละ 0.9 โดยมีมลู ค่า 480 ล้าน บ าท ห รื อ มี มู ล ค่ า ก ารเ ติ บ โ ต ใ น อั ต ร าที่ ล ด ลง /ติ ด ล บร้ อ ยละ 11.4 ในส่ ว นของ พริ้น เตอร์ป ระเภท Inkjet มีป ริม าณการจํา หน่ า ย 1,270,000 เครื่อ ง มีอ ัต ราการเติบ โต เชิง ปริม าณร้อ ยละ 9.5 โดยมีมูล ค่ า 2,493 ล้า นบาท ซึ่ง เป็ น อัต ราการเติบ โตเชิง มูล ค่ า ร้อยละ 11.1 และพริน้ เตอร์ประเภท Laser มีปริมาณการจําหน่ าย 326,000 เครือ่ ง เป็ นอัตรา การเติบ โตเชิง ปริม าณร้อ ยละ 4.2 โดยมีมูล ค่ า 1,586 ล้า นบาท หรือ มีอ ัต ราการเติบ โต เชิงมูลค่าร้อ ยละ 4.4 (แผนภาพที่ 1-7) สํา หรับปจั จัยที่เป็ นผลทํา ให้ตลาดพริ้น เตอร์ยงั คง 1-10
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
เติบโตได้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในช่วงไตรมาส 1 ถึง 3 มาจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ เริม่ ฟื้ นตัว การเพิม่ ช่องทางการจัดจําหน่ ายของผูป้ ระกอบการ และคุณสมบัตกิ ารใช้งานได้ หลากหลายในเครื่องเดียวกันของพริน้ เตอร์ประเภท Multifunction จึงทําให้ได้รบั ความนิยม และมีย อดจํา หน่ า ยเพิ่ม ขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งทัง้ แบบ Multifunction Inkjet และ Multifunction Laser โดยอัตราการเติบ โตเชิง ปริม าณ และอัต ราการเติบ โตเชิง มูลค่า ของ Multifunction Inkjet เท่ากับร้อยละ 16.7 ขณะที่ Multifunction Laser มีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณร้อยละ 26.5 และอัตราการเติบโตเชิงมูลค่าเท่ากับร้อยละ 22.9 แม้วา่ ตลาดพริน้ เตอร์ในปี 2554 จะมีการเติบโตแต่เป็ นการเติบโตในอัตราทีล่ ดลง ทัง้ นี้ เนื่องมาจากวิกฤตนํ้าท่วมในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีทาํ ให้เศรษฐกิจชะลอตัว ภาคธุรกิจและ ผูบ้ ริโภคชะลอการลงทุน/การซื้อ ซึง่ ส่งผลต่อเนื่องถึงปี 2555 และประมาณการว่าในปี 2555 ตลาดพริน้ เตอร์จะมีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณร้อยละ 8.2 และมีการเติบโตเชิงมูลค่าคิดเป็ น ร้อ ยละ 2.4 โดยประมาณการปริม าณจํา หน่ า ยของพริ้น เตอร์ ป ระเภท Inkjet มีจาํ นวน 1,395,000 เครื่อง คิดเป็ นมูลค่า 2,660 ล้านบาท ส่วนพริน้ เตอร์ประเภท Laser จะมีปริมาณ จํา หน่ าย 338,000 เครื่อง โดยคิด เป็ น มูลค่า 1,558 ล้านบาท และพริ้น เตอร์ประเภท Dot Matrix คาดว่าจะมีปริมาณจําหน่าย 55,000 เครือ่ ง คิดเป็ นมูลค่า 451 ล้านบาท ซึง่ แนวโน้ม ตลาดพริ้นเตอร์ในปี 2555 จะยังคงมีการเติบโตในผลิตภัณฑ์ประเภท Multifunction Inkjet และ Multifunction Laser คิด เป็ น ร้อ ยละ 14.8 และ 2.7 ตามลํา ดับ ป จั จัย ที่ทาํ ให้ต ลาดปี 2555 เติบโตเนื่องจากพฤติกรรมการใช้งานของผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลงไป รวมทัง้ การเติบโต อย่ า งรวดเร็ว ของ Mobile Device ทัง้ โน้ ต บุ๊ ค สมาร์ท โฟน และแท็บ เล็ต ส่ ง ผลให้ค วาม ต้องการพิมพ์ชน้ิ งานผ่านระบบ Cloud Computing ขยายตัวเพิม่ ขึน้ ซึง่ ผูใ้ ช้สามารถสังพิ ่ มพ์ จากอุปกรณ์ใดๆ ก็ได้ทร่ี องรับการใช้งาน
1-11
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 1-7: อัตราการเติบโตเชิงมูลค่าของตลาดเครือ่ งพริ้นเตอร์ ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555 อัตราการเติบโต (ร้อยละ)
25 20
2 0 .4
15 .9 16 10 5
1 1 .1 6. 7 4 .4
3 .6
0 2553 -5
- 1 .8 2555f
2554
- 6 .1
-10 - 1 1 .3
-15
Dot Matrix
Inkjet Printer
Laser Printer
3.3 อุปกรณ์สาํ หรับจัดเก็บข้อมูลภายนอก (External Data Storage) External Hard Disk ตลาด External Hard Disk เป็ นตลาดทีม่ กี ารขยายตัวสูงมากในปี ทผ่ี ่านมา โดยในปี 2553 มีการขยายตัวสูงถึงร้อยละ 47.1 และจากผลการสํารวจปี 2554 พบว่า ตลาด External Hard Disk มีอ ัต ราการเติบ โตที่ล ดลงเหลือ เพีย งร้อ ยละ 28.0 หรือ คิด เป็ น มูล ค่ า 3,200 ล้านบาท ปจั จัยที่ส่งผลให้การขยายตัวลดลงนัน้ มาจากการเกิดอุทกภัยในช่วงปลายปี ซ่ึง ส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมการผลิตฮาร์ดดิสก์ ทํา ให้สนิ ค้ามีการปรับราคาสูงขึน้ ั หาด้า นการขนส่ ง ทํา ให้ผู้บ ริโ ภคชะลอการซื้อ อย่ า งไรก็ต าม ในปี 2555 ตลอดจนป ญ ประมาณการว่า มูลค่าตลาด External Hard Disk จะมีการปรับตัวสูงขึ้นจากปี 2554 เป็ น ร้อยละ 31.3 หรือ คิดเป็ นมูลค่า 4,200 ล้านบาท (แผนภาพที่ 1-8) อันเนื่องจากผลกระทบ ของวิก ฤตนํ้า ท่ ว มปลายปี 2554 ยัง คงส่ ง ผลต่ อ เนื่ อ งถึง ต้ น ปี 2555 ทํา ให้ โ รงงานผลิต ฮาร์ดดิสก์ ยังไม่สามารถดําเนินการผลิตได้ตามปกติ ทัง้ นี้คาดว่ากําลังการผลิตจะสามารถกลับ 1-12
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
เข้าสูส่ ภาวะปกติประมาณปลายไตรมาสทีส่ องหรือไตรมาสทีส่ ามของปี 2555 อย่างไรก็ตาม แม้ผลกระทบของปญั หานํ้า ท่วมจะทํา ให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ในบางโรงงาน แต่ยงั คงมี สินค้าในสต๊อกเหลืออยู่ในระดับทีพ่ อจะตอบสนองต่อความต้องการของตลาดได้ในระดับหนึ่ง ดังนัน้ เมื่อประเมินสถานการณ์ของตลาด External Hard Disk ของปี 2555 จึงคาดว่ามูลค่า ตลาด External Hard Disk จะยังไม่สามารถเติบโตได้มากนัก แผนภาพที่ 1-8: มูลค่าตลาดและอัตราการเติบโตของตลาด External Hard Disk ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555 มูลค่า (ล้านบาท) 4,500
อัตราการเติบโต (ร้อยละ)
47.1
4,200
4,000 3,500
3,200
3,000
2,500
28.0
2553
2554
2,500
31.3
2,000 1,500 1,000 500
มูลค่า (ล้านบาท)
2555f
50.0 45.0 40.0 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0
อัตราการเติบโต (ร้อยละ)
Enterprise Storage จากการสํา รวจพบว่ า ปี 2554 ตลาด Enterprise Storage มีมูล ค่ า 2,800 ล้า นบาท เพิม่ สูงขึ้นจากปี ท่ผี ่านมาคิดเป็ นร้อ ยละ 24.4 โดยอัตราการเติบโตของกลุ่ม Entry Level คิดเป็ นร้อยละ 29.4 และกลุ่ม High-End Level6 ร้อยละ 21.4 เป็ นผลมาจากปจั จุบนั ปริมาณ ข้อมูลมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่ อ เนื่อง ประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อ มูลที่ดีข้นึ รวมทัง้ การให้บ ริก ารของผู้ป ระกอบการจะให้บ ริก ารโดยคิด ค่ า ใช้จ่ า ยตามการใช้ง านจริง หรือ ตามความต้องการ ทําให้เกิดการประหยัดค่าใช้จา่ ยต่อผูใ้ ช้ ดังนัน้ ภาคธุรกิจจึงหันมาใช้บริการ 6 ดูนิยามของ Entry Level และ High-End Level ในหัวข้อกรอบนิยาม
1-13
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
มากขึน้ ส่งผลให้การลงทุนทางด้าน Enterprise Storage เพิม่ ขึน้ ในปี 2555 ประมาณการว่าตลาด Enterprise Storage จะมีอตั ราการเติบโตที่ลดลง เมื่อเทียบกับปี 2554 เหลือเพียงร้อยละ 16.1 หรือคิดเป็ นมูลค่า 3,250 ล้านบาท โดยกลุ่ม Entry Level มีการเติบโตร้อยละ 18.2 และกลุ่ม High-End Level ร้อยละ 14.7 (แผนภาพที่ 1-9) แผนภาพที่ 1-9: อัตราการเติบโตของตลาด Enterprise Storage ปี 2554 และประมาณการปี 2555
ั หาอุ ท กภัย ช่ ว งไตรมาส สาเหตุ ท่ีม ีอ ัตราการเติบ โตที่ล ดลงนัน้ เป็ น ผลมาจากป ญ สุดท้ายของปี 2554 ทําให้องค์กรทีป่ ระสบภัยอาจจะต้องชะลอการลงทุนทางด้าน IT โดยหัน ไปปรับปรุงและซ่อมแซมในส่วนทีจ่ าํ เป็ นก่อน ตลอดจนการขาดแคลนอุปกรณ์ และชิ้นส่วน ประกอบในการผลิต Storage ซึง่ คาดว่าผลกระทบดังกล่าวจะต่อเนื่องมาถึงในช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 และภายหลังจากนี้ความต้องการซือ้ ของตลาดจะกลับสูภ่ าวะปกติ ส่วนปจั จัยที่ ทําให้ตลาดเติบโตนัน้ มาจากการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ของข้อมูลอย่างต่อเนื่องหรือข้อมูลขนาดใหญ่ 1-14
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
(Big Data) รวมถึง มีการลงทุ นด้า นประมวลผลกลุ่ม เมฆ (Cloud) ประเภท Private Cloud สําหรับองค์กรขนาดกลางและขนาดใหญ่เพิม่ ขึน้ 3.4 อุปกรณ์ ต่อพ่วงอื่นๆ (Other Peripherals) ตลาดอุ ป กรณ์ ต่ อ พ่ ว งอื่น ๆ ในปี 2554 ประกอบด้ ว ย 3 ผลิต ภัณ ฑ์ ห ลัก ได้ แ ก่ สแกนเนอร์ (Scanner) โปรเจกเตอร์ (Projector) และเครื่องสํา รองไฟฟ้า (Un-interruptible Power Supply: UPS) จากตารางที่ 1-1 พบว่ า ตลาดอุ ป กรณ์ ต่ อ พ่ ว งอื่น ๆ ในภาพรวม ปี 2554 มีมลู ค่าทัง้ สิน้ 4,130 ล้านบาท มีอตั ราการเติบโตทีล่ ดลงร้อยละ 67.0 สาเหตุทท่ี าํ ให้ อัต ราการเติบ โตลดลงอย่ า งมากเนื่ อ งจาก 7 การสํา รวจในปี น้ี ไ ม่ ร วมข้อ มู ล ในส่ ว นของ กล้องดิจทิ ลั และเมือ่ พิจารณาแยกตามรายผลิตภัณฑ์จะเห็นว่า ผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่าสูงสุดคือ ตลาดเครื่องสํา รองไฟฟ้า โดยมีมูลค่า 2,300 ล้านบาท รองลงมาคือ ตลาดโปรเจกเตอร์ มีมลู ค่า 1,710 ล้านบาท และตลาดสแกนเนอร์ มูลค่า 120 ล้านบาท ตามลําดับ ขณะเดียวกัน ในปี 2555 ประมาณการว่าตลาดอุ ป กรณ์ ต่อ พ่วงจะมีอ ตั ราการเติบ โตเพิ่ม ขึ้น เป็ น 4,676 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 13.2 โดยเมื่อจําแนกรายผลิตภัณฑ์ พบว่า เครื่องสํารองไฟฟ้า จะเติบโตร้อยละ 18.3 โปรเจคเตอร์เติบโตร้อยละ 7.4 และสแกนเนอร์มมี ูลค่าตลาดคงทีห่ รือ เท่ากับปี 2554 (แผนภาพที่ 1-9) ดังรายละเอียดต่อไปนี้ สแกนเนอร์ (Scanner) ตลาดสแกนเนอร์มสี ดั ส่วนลดลงอย่างต่ อเนื่ องเมื่อกับปี ท่ผี ่านมา จะเห็นได้ว่าในปี 2554 มีอตั ราการเติบโตเชิงปริมาณและเชิงมูลค่าลดลงในอัตราทีเ่ ท่ากันคือร้อยละ 4.0 หรือ คิดเป็ นมูลค่า 120 ล้านบาท และประมาณการว่าในปี 2555 มูลค่าตลาดไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง หรือมีอตั ราการเติบโตในอัตราทีค่ งทีเ่ ช่นเดียวกับปี 2554 ปจั จัยทีท่ าํ ให้การเติบโตในปี 2554 เติบโตในอัตราทีล่ ดลงเนื่องจาก ผูใ้ ช้ได้หนั ไปซือ้ เครือ่ งพริน้ เตอร์ประเภท Multifunction ซึง่ มี ฟงั ก์ชนการใช้ ั่ งานครบวงจรสามารถทํางานได้หลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ นงานโทรสาร ทําสําเนา เอกสาร และสแกนเอกสารได้ในเครื่องเดียว นอกจากนี้ปญั หาอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 7 ในปี 2554 ยกเลิกการจัดเก็บข้อมูลในส่วนของกล้องดิจทิ ลั (Digital Camera) เนื่องจากปจั จุบนั การจํา หน่ ายกล้อง ดิจทิ ลั มีช่องทางการจัดจํา หน่ ายที่เปลี่ยนไป ซึ่งส่วนใหญ่จะมีรา้ นตัวแทนจํา หน่ ายกล้องดิจทิ ลั โดยตรงไม่ผ่านตัวแทน จําหน่ายสินค้าด้านไอที
1-15
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ยังทําให้เศรษฐกิจชะลอตัว ดังนัน้ ผูบ้ ริโภคทัง้ ภาครัฐและเอกชนชะลอการลงทุนใหม่ๆ ในช่วง เวลานัน้ ลง ตลอดจนการซื้อเพื่อทดแทนเครื่องเดิมมีจาํ นวนลดลง ซึ่งผลกระทบดังกล่าวจะ ส่ ง ผลมาถึง ปี 2555 ด้ว ย และแนวโน้ ม ตลาดสแกนเนอร์ใ นปี 2555 คาดว่ า มูล ค่ า ตลาด จะทรงตัวหรือไม่เปลีย่ นแปลงจากปีทผ่ี า่ นมา โปรเจกเตอร์ (Projector) ตลาดโปรเจกเตอร์ม ีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อ ง เนื่องจากหน่ วยงานต่างๆ มีก ารนํา โปรเจกเตอร์มาใช้ภายในหน่ วยงานเพิม่ มากขึ้น ภายหลังจากเศรษฐกิจภายในประเทศมี การฟื้ นตัวทําให้เกิดการลงทุนในด้าน IT เพิม่ ขึน้ ทัง้ หน่ วยงานภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ในสถาบัน การศึก ษาของรัฐ และเอกชนมีก ารนํา โปรเจกเตอร์มาใช้เพื่อ การเรีย น การสอนอย่างแพร่หลายมากขึน้ ดังจะเห็นได้จากปี 2554 มีปริมาณการจําหน่ ายเพิม่ ขึน้ เป็ น 90,000 เครื่อ ง หรือ เติบ โตเชิง มู ล ค่ า ร้อ ยละ 8.2 และในปี 2555 ประมาณการว่ า ตลาด โปรเจกเตอร์จะยังคงเติบโตแต่อยูใ่ นอัตราทีล่ ดลงเล็กน้อยเป็ นร้อยละ 7.4 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ปี 2554 อันเนื่ อ งมาจากปญั หาอุ ท กภัยในช่วงปลายปี ซ่ึง ส่ง ผลกระทบต่ อ ภาวะเศรษฐกิจ ภายในประเทศ ทําให้ผบู้ ริโภคชะลอการซือ้ ลง เครือ่ งสํารองไฟฟ้ า (Un-interruptible Power Supply: UPS) ตลาดเครื่อ งสํา รองไฟฟ้ า (UPS) ประกอบด้ว ยกลุ่ม ผู้ใ ช้ห ลัก 2 กลุ่ ม คือ กลุ่ ม ผู้ใ ช้ ่ และกลุ่มองค์ก ร จากการสํา รวจมูลค่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือใช้งานตามบ้านทัวไป เครือ่ งสํารองไฟฟ้าในปี 2554 พบว่ามีมลู ค่าทัง้ สิน้ 2,300 ล้านบาท หรือเป็ นการเติบโตในเชิง มูลค่าเมื่อเทียบกับปี ทผ่ี ่านมาคิดเป็ นร้อยละ 21.7 และประมาณการว่าในปี 2555 จะมีมลู ค่า การเติบโตต่อเนื่องเป็ น 2,720 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 18.3 โดยปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการขยายตัว คือ การขยายตัว ทางด้ า น IT ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน เช่ น ธนาคาร บริษัท ประกัน ภัย โรงพยาบาล สถาบัน การศึก ษา และกลุ่ ม ร้ า นบริก ารทางด้ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต /กลุ่ ม ที่ใ ช้ คอมพิวเตอร์เพื่อการเล่นเกมส์ ตลอดจนบริษทั ห้างร้านต่างๆ ทีเ่ พิม่ การลงทุนในอุปกรณ์ท่ี จําเป็ นต้องติดตัง้ เครื่องสํารองไฟฟ้าเพื่อสํารองไฟฟ้าหรือป้องกันการเกิดไฟกระชาก อันจะ ทําให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงอืน่ ๆ ได้รบั ความเสียหาย
1-16
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 1-9: อัตราการเติบโตของมูลค่าตลาดสแกนเนอร์ โปรเจกเตอร์ และเครือ่ งสํารองไฟฟ้ า ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555 อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 30
21.7
18.3
258.0 20 15 10 5
5.3 7.8
7.4
8.2
0 2553 -5
0.0 2555f
2554-4.0
-10
Scanner
Projector
UPS
การใช้จ่ายจําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก เมื่อพิจารณามูลค่าการใช้จ่ายของผูบ้ ริโภคตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์โดยจําแนก ตามผูใ้ ช้หลักพบว่า ภาคครัวเรือนและธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็ก (SOHO: Small Office and Home Office) เป็ น กลุ่ ม ที่ม ีก ารใช้จ่ า ยด้ า นคอมพิว เตอร์ ฮ าร์ด แวร์ สูง ที่สุ ด โดยมีมู ล ค่ า 56,262.6 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 60.1 รองลงมาได้แก่ ภาคองค์กรเอกชนมีมลู ค่าการใช้จา่ ย 24,611.9 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 26.3 และในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจมีมูลค่าการใช้ จ่ า ย 12,714.6 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น สัด ส่ ว นร้ อ ยละ 13.6 ของมู ล ค่ า การใช้ จ่ า ยในตลาด คอมพิว เตอร์ฮ าร์ ด แวร์ท ัง้ หมด (ตารางที่ 1-2) เมื่อ เปรีย บเทีย บกับ ปี ท่ีผ่ า นมาพบว่ า ภาคองค์กรเอกชนมีสดั ส่วนการใช้จ่ายเพิม่ มากขึน้ ขณะทีภ่ าคครัวเรือนและธุรกิจครัวเรือน ขนาดเล็ก และภาครัฐและรัฐวิสาหกิจมีสดั ส่วนการใช้จา่ ยด้านคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ลดลง
1-17
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 1-2: มูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก ผลิ ตภัณฑ์ 1. Systems 2. Desktop PC 3. Notebook/Netbook 4. Tablet PC 5. Monitor 6. Printer 7. External Hard Disk 8. Enterprise Storage 8. Scanner 9. Projector 10. UPS รวมตลาดคอมพิ วเตอร์ฮาร์ดแวร์
ครัวเรือนและธุรกิ จครัว เอกชน ราชการและรัฐวิ สาหกิ จ เรือนขนาดเล็ก มูลค่า มูลค่า มูลค่า สัดส่วน (%) สัดส่วน (%) สัดส่วน (%) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 893.0 10 6,697.5 75 1,339.5 15 9,504.0 45 6,336.0 30 5,280.0 25 29,088.0 80 5,454.0 15 1,818.0 5 7,776.0 90 691.2 8 172.8 2 3,272.5 85 192.5 5 385.0 10 1,823.6 40 1,595.7 35 1,139.7 25 2,720.0 85 320.0 10 160.0 5 280.0 10 1,540.0 55 980.0 35 18.0 15 66.0 55 36.0 30 427.5 25 684.0 40 598.5 35 460.0 20 1,035.0 45 805.0 35 56,262.6 60.1 24,611.9 26.3 12,714.5 13.6
รวม 8,930 21,120 36,360 8,640 3,850 4,559 3,200 2,800 120 1,710 2,300 93,589
กลุ่ม ครัว เรือนและธุร กิจ ครัว เรือนขนาดเล็ก หรือ ตลาดคอนซูเ มอร์ เป็ น ตลาดที่ม ี สัด ส่ ว นการใช้ จ่ า ยด้ า นคอมพิว เตอร์ ฮ าร์ ด แวร์ สู ง ที่สุ ด ซึ่ ง ในหลายผลิ ต ภัณ ฑ์ ได้ แ ก่ คอมพิวเตอร์เดสก์ทอป คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ตพีซี จอภาพ และ External Hard Disk มีสดั ส่วนการใช้จ่ายจากกลุ่มครัวเรือนและธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็กมากกว่าร้อยละ 80 ทําให้ การแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดในกลุ่มนี้จงึ มีค่อนข้างสูง ทัง้ นี้จากผลกระทบของอุทกภัยในช่วง ปลายปี 2554 ทํา ให้ กาํ ลัง ซื้อ ของผู้ใ ช้ ก ลุ่ ม นี้ ห ดตัว ลง ส่ ง ผลให้ส ัด ส่ ว นการใช้ จ่ า ยด้ า น คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ของกลุม่ ครัวเรือนและธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็กลดลงจากปี ทผ่ี า่ นมา กลุ่มองค์กรเอกชนมีสดั ส่วนการใช้จ่ายทางด้านคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์เพิม่ ขึน้ ในปี น้ี อันเนื่องมาจากความชัดเจนทางการเมือง ทํา ให้ภาคเอกชนเกิดความมันใจในการลงทุ ่ น ด้านต่างๆ อีกทัง้ การพัฒนาระบบ IT ขององค์กรเพือ่ ให้บุคลากรขององค์กรสามารถทํางานได้ ในทีต่ ่างๆ ในกรณีท่ไี ม่สามารถเข้าไปทํางานในองค์กรได้ ซึ่งเป็ นการเรียนรูผ้ ลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงการเติบโตของการใช้ขอ้ มูล (Data) และเทคโนโลยี 1-18
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ประมวลผลกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) ทําให้องค์กรเอกชนหลายแห่งมีการลงทุนทางด้าน Server ซึ่งอยู่ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ System และ Storage เพิม่ มากขึน้ สํา หรับปญั หาอุทกภัย ที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อการใช้จ่ายด้านคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ของภาคเอกชนระดับหนึ่ง เท่ า นัน้ เนื่ อ งจากการจัด ซื้อ ของเอกชนทํา ในรูป แบบโครงการที่ม ีก ารทํา ข้อ ตกลงกัน ไว้ ล่วงหน้าก่อนแล้ว ในส่ว นของกลุ่ม ผู้ใช้ภ าคราชการและรัฐ วิส าหกิจ ยัง คงมีก ารลงทุน จากโครงการ ต่อเนื่องจากปี ทผ่ี า่ นมา ทัง้ ด้านการจัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์ของกระทรวงต่างๆ และการลงทุนทางด้าน ระบบ IT เพือ่ ยกระดับการให้บริการ และการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างทัวถึ ่ ง นอกจากนี้ นโยบายทางด้า น IT ของรัฐ บาลชุ ด ใหม่ใ ห้ค วามสนใจต่ อ การใช้ผ ลิต ภัณ ฑ์ค อมพิว เตอร์ ฮาร์ด แวร์ล งไปถึง ระดับ เด็ก เล็ก และการพัฒ นามาตรฐานบริก ารของรัฐ ด้ว ย IT ดัง นั น้ ภาคราชการและรัฐวิสาหกิจจึงมีบทบาทไม่น้อยในการกระตุ้นการใช้จ่ายทางด้าน IT ของ ประเทศ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 มีทศิ ทางการเติบโตทีด่ มี าตัง้ แต่ตน้ ปี อันเนื่อง มาจากเศรษฐกิจของประเทศฟื้นตัวต่อเนื่อง การส่งออกของประเทศมีแนวโน้มทีด่ ี โดยเฉพาะ การส่งออกสินค้าเกษตร ตลอดจนความเชื่อมันขององค์ ่ กรเอกชน และผูบ้ ริโภคทัวไปมี ่ มาก ขึน้ จากความชัดเจนทางด้านการเมือง แต่อย่างไรก็ดี ปญั หาภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทงั ้ สึนามิ ในประเทศญี่ปุ่นทีเ่ กิดขึน้ ช่วงต้นปี และปญั หาอุทกภัยในประเทศไทยที่เกิดขึน้ ช่วงปลายปี ส่งผลให้ต ลาดคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์เ ติบ โตได้ไม่เต็ม ที่นัก ดังที่ก ล่า วไปแล้ว ข้างต้น แต่ อย่างไรก็ดี จากการประมาณการในปี 2555 คาดว่าตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์จะกลับมา เติบโตได้อย่างน่ าสนใจภายหลังผลกระทบของอุทกภัยจากปี 2554 ได้สน้ิ สุดลง โดยปจั จัยที่ คาดว่าจะมีอทิ ธิพลต่อตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ในปี 2555 มีดงั ต่อไปนี้ ปัจจัยบวก ั หาอุ ท กภัย ในปี 2554 ทํา ให้เ กิด ความ 1. การซื้อ เพื่อ ทดแทนของเดิม จากป ญ เสียหายในหลายพืน้ ที่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทใ่ี ช้ภายในบ้าน อาคาร และโรงงานที่ ประสบปญั หาได้รบั ความเสียหายเป็ นจํานวนมาก ดังนัน้ ผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบดังกล่าวจึงต้องมี 1-19
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การซื้อ ของใหม่ ท ดแทนของเดิม ที่ไ ด้ร ับ ความเสีย หาย เนื่ อ งจากอุ ป กรณ์ ค อมพิว เตอร์ ฮาร์ดแวร์มคี วามจําเป็ นสูง โดยเฉพาะผูป้ ระกอบกิจการทีม่ คี วามจําเป็ นต้องใช้อุปกรณ์ IT ใน การดําเนินธุรกิจ 2. การส่งเสริมการใช้ IT ของภาครัฐ โดยรัฐบาลต้องการให้ประชาชนสามารถเข้าถึง การบริการทางด้าน IT อย่างทัวถึ ่ ง จึงได้มนี โยบายขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ในระดับชุมชน เพือ่ ให้เกิดการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การเกษตร และสาธารณสุข 8 เป็นต้น รวมถึงการส่งเสริมรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ จึงต้องมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน IT รวมถึง โครงการระบบประมวลผลกลุ่ ม เมฆของรัฐ (Government Cloud Service) เพื่อ ให้บ ริก าร อิเล็กทรอนิกส์แก่ประชาชน9 ดังนัน้ ตลาดเครื่องแม่ข่าย (Server) ในกลุ่ม System และตลาด Storage จะมีแนวโน้ ม ที่ดียิ่ง ขึ้น ภายหลัง จากผลกระทบที่ต่ อ เนื่ อ งจากเหตุ ก ารณ์ อุ ท กภัย คลีค่ ลายลง ตลอดจนนโยบายแท็บเล็ตสําหรับนักเรียนของรัฐบาลจะเป็ นตัวกระตุน้ ตลาดให้ ตื่นตัวยิง่ ขึน้ อีกด้วย 3. การตลาดและการประชาสัมพันธ์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network Marketing) เช่ น Facebook Marketing e-mail Marketing และ Blog Marketing เป็ นต้ น ซึ่ง เป็ น ช่ อ งทางการประชาสัม พัน ธ์ และการจํา หน่ า ยสิน ค้า ที่สาํ คัญ อย่ า งสูง ในป จั จุ บ ัน เนื่องจากผูบ้ ริโภคเชื่อมันการสั ่ งสิ ่ นค้าทางระบบออนไลน์ มากขึน้ ดังนัน้ การนําเสนอสินค้าที่ รวดเร็วจึงเป็ นโอกาสของผู้ประกอบการ ทํา ให้ผลิตภัณฑ์คอมพิว เตอร์ฮาร์ดแวร์ประเภท คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลจึงยังคงมีความต้องการจากผูใ้ ช้กลุม่ นี้อย่างต่อเนื่อง 4. กระแสความนิ ยมแท็บ เล็ต การใช้อุ ปกรณ์ พกพา (Mobile Device) มีแนวโน้ ม เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะแท็บเล็ตทีก่ ลายเป็ นกระแสแฟชัน่ เนื่องจากสามารถเชือ่ มต่อ ระบบออนไลน์ได้อย่างรวดเร็ว ใช้เป็ นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เล่มเกม ตลอดจนใช้เป็ นหน้าจอ สําหรับแสดงภาพ (Display) ซึง่ เป็ นทีน่ ิยมในกลุม่ ผูข้ ายสินค้า 5. การแข่งขันให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 8 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. “กระทรวงเกษตรฯ จับมือไอซีที หนุน “นโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ” พัฒนาเชื่อมโยง ข้อมูลการเกษตร รวมระบบบริหารจัดการโลจิสติกส์ พร้อมสร้างเครือข่ายการเรียนรูใ้ ห้เกษตรกรผ่านชุมชน.” ข่าวสารการเกษตร, 20 ม.ค. 2554. 9 ไทยรัฐ. “ไอซีทนี ําร่องระบบ 'คลาวด์' ภาครัฐหวังลดงบ 30%.” 5 มกราคม 2555.
1-20
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
มีการแข่งขันการให้บริการสัญญาณระบบ 3G และ wifi มากขึน้ เพื่อรองรับความต้องการ ใช้งานเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายในพืน้ ทีต่ ่างๆ ซึง่ เป็ นการผลักดันให้เกิดความต้องการซื้อ อุปกรณ์พกพาต่างๆ ทีส่ ามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตไร้สายเพิม่ มากยิง่ ขึน้ 6. กํา ลัง ซื้อ ของผู้บ ริโ ภคฟื้ น ตัว โดยภายหลัง จากเหตุ ก ารณ์ อุ ท กภัย สงบลงและ สถานการณ์ เข้า สู่ภาวะปกติ จะทํา ให้ก ารใช้จ่ า ยของผู้บ ริโ ภคที่ห ยุ ด ชะงัก กลับ ฟื้ น ตัว ขึ้น เนื่องจากสินค้า IT โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้กลายเป็ นสินค้าจําเป็ นในชีวติ ประจําวันในปจั จุบนั ปัจจัยลบ 1. ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ยังคงเป็ นปจั จัยเสีย่ งที่มผี ลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ รวมถึงตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ขณะเดียวกันแนวทางป้อ งกัน และการ จัดการเมือ่ เกิดภัยพิบตั ติ ่างๆ จะมีผลต่อความเชื่อมันด้ ่ านการลงทุน และการบริโภคทางด้าน IT เพราะหากนักลงทุนไม่มคี วามเชื่อมันในมาตรการหรื ่ อระบบป้องกันภัยพิบตั ขิ องประเทศ ก็อาจจะย้ายฐานการลงทุนไปยังประเทศอืน่ ทําให้เศรษฐกิจของประเทศหดตัว และการลงทุน ด้าน IT ภายในประเทศก็จะหดตัวตามไปด้วย เช่นเดียวกับการบริโภคสินค้าด้าน IT จะลดลง เนื่องจากมิได้เป็ นสินค้าจําเป็ น และผูบ้ ริโภคยังสามารถใช้ผลิตภัณฑ์ทต่ี นเองมีอยู่แต่เดิมได้ รวมถึงงบประมาณในการจัดซื้อของภาครัฐอาจจะถูกจัดสรรให้ก บั บางผลิต ภัณฑ์น้ อ ยลง เนื่องจากต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อการป้องกันภัยพิบตั มิ ากขึน้ นอกจากนี้ผลกระทบจาก อุทกภัยในปี 2554 ทํา ให้อุป ทานฮาร์ดดิสก์ไม่เพียงพอกับอุปสงค์ในช่วงไตรมาสแรกของ ปี 2555 ดังนัน้ ผลิตภัณฑ์ฮาร์ดดิสก์ และผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ฮาร์ดดิสก์เป็ นส่วนประกอบจะยังคงมี ระดับราคาสูงอยู่ ซึง่ คาดว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสูภ่ าวะปกติในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 2. ปญั หาเศรษฐกิจตกตํ่าในสหรัฐอเมริกา และยุโรป ซึง่ เป็ นแรงกดดันให้เศรษฐกิจ ภูมภิ าคอื่นๆ ทัวโลกได้ ่ รบั ผลกระทบตามไปด้วยรวมถึงประเทศไทย ทํา ให้การลงทุนด้าน ต่างๆ รวมถึงการลงทุนทางด้านคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ของธุรกิจภายในประเทศ โดยเฉพาะ ั ่ นตกอาจจะชะลอตัวลง กลุม่ ธุรกิจส่งออก และธุรกิจข้ามชาติจากฝงตะวั 3. ปญั หาทางด้านการเมืองของประเทศ แม้ว่าสถานการณ์ทางการเมืองจะมีความ ชัดเจนภายหลังจากการเลือกตัง้ ในเดือนกรกฎาคม 2554 แต่ทว่าแนวคิดทางการเมืองยังคง 1-21
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
มีก ารแบ่ ง กลุ่ ม ผู้ส นับ สนุ น ที่ม ีค วามคิด เห็น แตกต่ า งกัน อย่า งชัด เจน ดัง นั น้ ความขัด แย้ง ทางการเมืองอาจเป็ นจุดเปราะบางทีอ่ าจก่อให้เกิดความไม่สงบขึน้ ได้ ซึง่ อาจจะส่งผลกระทบ ต่อสภาวะการลงทุนและสภาพธุรกิจของประเทศ 4. ปญั หาเงินเฟ้อภายในประเทศ เนื่องจากระดับราคาสินค้ามีแนวโน้ มเพิม่ สูงขึ้น โดยเฉพาะสินค้าเกษตร จากปญั หาอุทกภัยทําให้พน้ื ทีก่ ารเกษตรได้รบั ความเสียหาย ทําให้ ผลผลิตทางการเกษตรขาดแคลน รวมถึงราคานํ้ามันซึง่ เป็ นต้นทุนการขนส่งมีแนวโน้มเพิม่ สูง ขึน้ ตามราคาในตลาดโลก และการเพิม่ การเก็บเงินเข้ากองทุนนํ้า มัน ดังนัน้ มูลค่าของเงินที่ ลดลงจากภาวะราคาสินค้าทีส่ งู ขึน้ นี้ อาจทําให้ผบู้ ริโภคปรับวิถกี ารใช้จ่ายตามภาวะเศรษฐกิจ โดยเลือกใช้จ่ายกับสินค้าทีม่ คี วามจําเป็ นมากขึน้ และลดจํานวนเงินสําหรับใช้จ่ายผลิตภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ซง่ึ มีความจําเป็นน้อยกว่า แนวโน้ มเทคโนโลยี ทิศทางของเทคโนโลยีค อมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์ท่ีน่ าสนใจในปี 2555 ยังคงมีค วาม คล้ายคลึงกับปี ทผ่ี ่านมา โดยเน้นการใช้งานเชื่อมต่อ และการจัดการข้อมูลสารสนเทศต่างๆ บนโลกออนไลน์ สามารถสรุปเป็ นเทคโนโลยีทส่ี าํ คัญ ดังนี้ 1. เทคโนโลยีเ สมือ น (Virtualization Technology) เป็ น เทคโนโลยีจาํ ลองเครื่อ ง เสมือ นเพื่อ ช่ว ยให้ค อมพิว เตอร์ส ามารถใช้ง านระบบปฏิบ ตั ิก าร และแอพพลิเ คชันต่ ่ างๆ ได้อย่างหลากหลายบนทรัพยากรด้าน IT เช่น CPU Memory และ Hard Disk เดียวกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเทคโนโลยีเสมือนสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 แบบ คือ 1) การใช้ ฮาร์ดแวร์ขนาดใหญ่ให้สามารถทํางานหรือประมวลผลแบบฮาร์ดแวร์ขนาดเล็กหลายๆ เครือ่ ง ขนานกันไป หรือการควบคุมการทํางานหลายๆ ระบบไว้บนฮาร์ดแวร์เพียงเครื่องเดียว และ 2) การใช้ฮาร์ดแวร์ขนาดเล็กมาใช้ทาํ งานร่วมกันให้เสมือนเป็ นฮาร์ดแวร์ขนาดใหญ่ การใช้ งานเทคโนโลยีเ สมือ นทํา ให้เ กิด การรวม Storage และ Server เข้า มาอยู่ ท่ีจุ ด เดีย วกัน เป็ นการรวมศูนย์ของการบริหารทรัพยากร IT และยังช่วยประหยัดพลังงาน และค่าใช้จ่ายแก่ องค์กรต่างๆ 2. ระบบประมวลผลกลุ่ม เมฆ (Cloud Computing) เป็ นรูปแบบการนํา ทรัพ ยากร ทางด้า นฮาร์ด แวร์ และซอฟต์ แ วร์ม าแบ่ ง ป นั ในลัก ษณะการให้บ ริก าร (Software as a Service: SaaS) โดยใช้เทคโนโลยีเสมือ น (Virtualization) เป็ นโครงสร้างพื้นฐานของการ 1-22
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ทํา งาน ซึ่งการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆนี้เป็ นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และ ลดต้นทุนของผูใ้ ช้ ซึง่ ผูใ้ ช้ไม่จาํ เป็ นต้องลงทุนทางด้านฮาร์ดแวร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูง หรือค่าใช้ จ่ายซอฟต์แวร์และแอพพลิเคชัน่ เนื่องจากเป็ นการประมวลผลบนอินเทอร์เน็ต โดยเสียค่าใช้ จ่ายในรูปของค่าบริการตามการใช้งานจริง ทัง้ นี้ ระบบประมวลผลกลุม่ เมฆ แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 1) ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆส่วนตัว (Private Cloud Computing) 2) ระบบ ประมวลผลกลุ่ ม เมฆสาธารณะ (Public Cloud Computing) และ 3) ระบบประมวลผล กลุ่ ม เมฆแบบลู ก ผสม (Hybrid Cloud Computing) สํา หรับ การใช้เ ทคโนโลยีป ระมวลผล กลุม่ เมฆในประเทศไทยเริม่ เป็นทีน่ ิยมมากขึน้ ทัง้ ในส่วนขององค์กรภาคธุรกิจ และภาครัฐเอง ได้เริม่ ลงทุนในเทคโนโลยีน้ีเช่นกัน 3. แท็บ เล็ต พีซี (Tablet PC) เป็ น อุ ป กรณ์ ช นิ ด พกพา สัง่ งานด้ ว ยระบบสัม ผัส ปากกาอิเล็กทรอนิกส์ หรือต่ออุปกรณ์ คยี ์บอร์ด ซึ่งเหมาะสํา หรับการใช้งานอินเทอร์เน็ ต แอพพลิเคชันต่ ่ างๆ และการแสดงภาพชิน้ งาน (Display) เนื่องจากมีน้ําหนักเบา สะดวก และ พร้อมใช้งานทีร่ วดเร็วกว่าเครื่องโน้ตบุ๊คและเน็ตบุ๊ค แนวโน้มกลุ่มผูใ้ ช้งานเริม่ ขยายตัวจาก ผูใ้ ช้ครัวเรือนไปสูผ่ ใู้ ช้ในภาคองค์กรธุรกิจมากขึน้ โดยมีระบบปฏิบตั กิ ารแบบแอนดรอยด์ และ วินโดวส์ ตามความนิยมของผู้ใช้ สํา หรับในปี 2555 เครื่องแท็บเล็ตจะถูกนํา มาใช้เป็ นสื่อ การเรียนการสอนสําหรับนักเรียนตัง้ แต่ชนั ้ ประถม และถูกนํามาเป็ นของขวัญให้กนั มากขึน้ เนื่องจากเครื่องราคาตํ่าจะถูกนําเข้ามาจําหน่ ายมากขึน้ ดังนัน้ จึงมีแนวโน้มทีเ่ ครื่องแท็บเล็ต พีซจี ะเป็นอุปกรณ์พกพาประจําตัวเช่นเดียวกับโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 4. อัลตราบุ๊ ค (Ultrabook) เป็ นโน้ ต บุ๊ค แบบใหม่ท่มี ีข นาดบางลง ด้ว ยเทคโนโลยี การอุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลแบบ Solid State Drive (SSD) และหน่วยประมวลผลทีม่ ขี นาดเล็ก ทําให้มนี ้ําหนักเบากว่าโน้ตบุ๊ตแบบเดิมอยูม่ าก แต่มปี ระสิทธิภาพการทํางานหรือการประมวล ผลเทียบเท่าหรือดีกว่าโน้ตบุ๊คแบบเดิม และประหยัดพลังงานมากขึน้ เนื่องจากอัลตราบุ๊คเป็ น เทคโนโลยีใหม่จงึ มีราคาค่อนข้างสูง แต่มแี นวโน้มทีร่ ะดับราคาลดลงเรือ่ ยๆ ซึง่ อัลตราบุ๊คนี้จะ เป็ น ผลิต ภัณ ฑ์ท่ีม าทํา ให้เ น็ ต บุ๊ ค สูญ ออกจากตลาด และจะเป็ น คู่แ ข่ง สํา คัญ ของโน้ ต บุ๊ ค แบบเดิมและแท็บเล็ตทีก่ าํ ลังเป็นทีน่ ิยมอยูใ่ นปจั จุบนั
1-23
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การศึกษามูลค่าตลาดสื่อสารในปี 2554 คณะวิจยั ยังคงใช้เกณฑ์การจํา แนกตลาด ตามนิ ย ามและการแบ่ ง ประเภทเช่น เดีย วกัน กับ ปี 2553 เนื่ อ งจากการเปลี่ย นแปลงของ เทคโนโลยีสอ่ื สารและสภาพแวดล้อมโดยรวมไม่ได้มคี วามแตกต่างจากปี ทผ่ี ่านมาอย่างมีนัย สําคัญแต่อย่างใด ทัง้ นี้ ตลาดสือ่ สารในรายงานผลการสํารวจฉบับนี้สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุม่ ตลาดย่อย ได้แก่ 2.1 ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สาร (Communication Equipment) 2.2 ตลาดบริการสือ่ สาร (Communication Service) จากการสํารวจมูลค่าตลาดสื่อสารปี 2554 พบว่า ภาพรวมของตลาดสื่อสารมีมูลค่า รวมประมาณ 408,846 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 6.9 จากปี ทผ่ี ่านมา โดยแรง ขับเคลื่อนสํา คัญยังคงมาจากตลาดบริการสื่อสารเป็ นหลัก ซึ่งคิดเป็ นมูลค่าทัง้ สิ้น 263,442 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 64.4 ของตลาดสื่อสารทัง้ หมด ขณะที่อกี ร้อยละ 35.6 มาจาก ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สาร ซึง่ คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 145,404 ล้านบาท (แผนภาพที่ 2-1) แผนภาพที่ 2–1 มูลค่าและอัตราการเติบโตของตลาดสื่อสาร ปี 2553 - 2554 และประมาณการปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั 2-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ทัง้ นี้ คณะวิจยั คาดการณ์ ว่าในปี 2555 ตลาดสื่อสารโดยรวมจะมีอตั ราการเติบโต เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.7 หรือคิดเป็ นมูลค่าตลาดสื่อสารรวมทัง้ สิน้ 444,385 ล้านบาท โดยตลาด บริการสือ่ สารยังคงเป็ นตลาดหลักของมูลค่าตลาดสือ่ สารรวมในปี 2555 ซึง่ คาดการณ์ว่าจะมี อัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ที่อตั ราการเติบโตร้อยละ 7.8 หรือคิดเป็ นมูลค่าตลาด บริการสือ่ สารประมาณ 283,966 ล้านบาท นอกจากนัน้ ทางด้านของตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารก็ คาดว่าจะมีการเติบโตเพิม่ ขึน้ เช่นเดียวกัน โดยคิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 10.3 จากปี 2554 หรือคิดเป็ นมูลค่าประมาณ 160,419 ล้านบาท ทัง้ นี้ รายละเอียดของการสํารวจมูลค่า ตลาดสือ่ สารทีส่ าํ คัญ มีดงั ต่อไปนี้ (ตารางที่ 2-1) ตารางที่ 2-1: มูลค่าตลาดสื่อสารปี 2553-2554 และประมาณการปี 2555 มูลค่า ประเภทอุปกรณ์และบริ การสื่อสาร (ล้านบาท) 2553 2554 2555f 1 Communication Equipment 133,780 145,404 160,419 1.1 Telephone Handset 58,774 62,092 68,145 1.1.1 Fixed Line Handset 2,897 2,980 3,019 - Conventional Fixed Handset 1,236 1,303 1,381 - IP Phone 1,170 1,254 1,296 - Fax 491 423 342 1.1.2 Mobile Handset 55,877 59,112 65,126 - Conventional Mobile Handset 30,983 29,992 27,931 - Smart Phone 24,894 29,120 37,195 1.2 Core Network Equipment 45,725 50,376 54,916 1.2.1 Core Network 33,222 35,710 37,986 1.2.2 Infrastructure Cabling 12,503 14,666 16,930 1.3 Wireline Equipment 13,723 14,640 15,490 1.3.1 Access Equipment 5,345 6,147 6,741 1.3.2 LAN Cabling 2,904 3,438 4,166 1.3.3 PBX/PABX 5,474 5,055 4,583 - Conventional PBX 4,312 3,799 3,262 2-2
อัตราการเติ บโต (%) 53/54 54/55f 8.7 10.3 5.6 9.7 2.9 1.3 5.4 6.0 7.2 3.3 -13.8 -19.1 5.8 10.2 -3.2 -6.9 17.0 27.7 10.2 9.0 7.5 6.4 17.3 15.4 6.7 5.8 15.0 9.7 18.4 21.2 -7.7 -9.3 -11.9 -14.1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ประเภทอุปกรณ์และบริ การสื่อสาร - IP PBX 1.4 Wireless Equipment 2 Communication Service 2.1 Fixed Line Service 2.2 Mobile Service 2.2.1 Mobile Voice 2.2.2 Mobile Non Voice 2.3 Internet Service 2.3.1 Internet Gateway 2.3.2 Internet Access Service 2.4 International Telephone Service 2.4.1 IDD/VoIP 2.4.2 Calling Card 2.5 Data Communication Service 2.5.1 Leased Circuit 2.5.2 Others Total Communication Market
มูลค่า อัตราการเติ บโต (ล้านบาท) (%) 2553 2554 2555f 53/54 54/55f 1,162 1,256 1,321 8.1 5.2 15,558 18,295 21,868 17.6 19.5 248,729 263,442 283,966 5.9 7.8 23,211 22,444 21,363 -3.3 -4.8 153,221 162,486 176,626 6.0 8.7 126,274 127,832 130,121 1.2 1.8 26,947 34,654 46,505 28.6 34.2 33,098 36,096 40,155 9.1 11.2 9,612 10,126 11,035 5.3 9.0 23,486 25,970 29,120 10.6 12.1 15,694 16,617 17,793 5.9 7.1 14,536 15,422 16,586 6.1 7.5 1,158 1,195 1,207 3.2 1.0 23,505 25,799 28,029 9.8 8.6 10,856 11,678 12,652 7.6 8.3 12,649 14,121 15,377 11.6 8.9 382,509 408,846 444,385 6.9 8.7
2.1 ตลาดอุปกรณ์ สื่อสาร (Communication Equipment) สํา หรับการศึกษาลง รายละเอียดในกลุ่มตลาดนี้ คณะวิจยั ได้จาํ แนกตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่เช่น เดียวกับปี ทผ่ี ่านมา ได้แก่ 1) ตลาดเครือ่ งโทรศัพท์หรือเครื่องลูกข่าย (Telephone Handset) 2) ตลาดอุ ป กรณ์ โ ครงข่า ย (Core Network Equipment) 3) ตลาดอุ ป กรณ์ ส่ือ สารใช้ส าย (Wireline Equipment) ซึ่งได้นับรวมตลาดตู้ชุมสายหรือตู้สาขาโทรศัพท์ (PBX/PABX) รวม อยู่ในกลุ่มอุปกรณ์ส่อื สารใช้สายเช่นเดียวกันกับปี ท่ผี ่านมา และ 4) ตลาดอุปกรณ์ส่อื สารไร้ สาย (Wireless Equipment) โดยมูลค่าตลาดในแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังนี้
2-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2.1.1 ตลาดเครือ่ งโทรศัพ ท์ห รือ เครือ่ งลูก ข่า ย (Telephone Handset) โดยตลาด เครือ่ งโทรศัพท์สามารถจําแนกออกเป็ นตลาดย่อยได้อกี 2 กลุม่ หลัก กล่าวคือ ตลาดโทรศัพท์ ประจําที่ (Fixed Handset) และตลาดเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Handset) โดยแต่ละ ตลาดก็ยงั จําแนกออกเป็ นรายผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากตารางที่ 2-1 เมื่อศึกษาถึงภาพรวมของ ตลาดเครื่อ งโทรศัพ ท์ทุก ประเภท พบว่ า ในปี 2554 ตลาดเครื่อ งโทรศัพ ท์ใ นภาพรวมมี มูลค่า 62,092 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี ่านมาคิดเป็ นอัตราส่วนการเติบโตร้อยละ 5.6 จากปี 2553 และคาดการณ์ว่าในปี 2555 จะมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ อีกคิดเป็ นร้อยละ 9.7 หรือคิด เป็ นมูลค่า 68,145 ล้านบาท โดยแรงขับเคลื่อนสําคัญของตลาดเครือ่ งโทรศัพท์ทม่ี กี ารเติบโต สูงในปี 2555 เป็ นผลมาจากการเติบโตอย่างก้าวกระโดดในกลุ่มของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ (แผนภาพที่ 2-2) แผนภาพที่
เมื่อพิจารณาลงรายละเอียดของตลาดเครื่องโทรศัพท์ประจํา ที่ พบว่า ในปี 2554 ตลาดเครื่องโทรศัพท์ประจํา ที่มมี ูลค่าทัง้ สิ้น 2,980 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ท่ผี ่านมาร้อยละ 2.9 ซึ่งปจั จัยสําคัญที่ทาํ ให้ตลาดเครื่องโทรศัพท์ประจํา ที่ในปี น้ีมกี ารเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี ท่ี ผ่านมา เป็ นผลมาจากการทีภ่ าคธุรกิจและผูใ้ ช้ครัวเรือนซื้อเครื่องโทรศัพท์ประจําทีท่ ดแทน เครื่องเดิมหลังจากเกิดอุทกภัยในไตรมาส 4 ของปี 2554 และปจั จัยนี้ยงั คงส่งผลต่อเนื่องไป จนถึงต้นปี 2555 อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 คาดการณ์ว่ามูลค่าตลาดเครือ่ งโทรศัพท์ประจําที่ จะมีแนวโน้มการเติบโตลดลงเหลือร้อยละ 1.3 หรือคิดเป็ นมูลค่า 3,019 ล้านบาท อันเป็ นผล 2-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
สืบเนื่องมาจากเครือ่ งโทรศัพท์ประจําทีท่ ใ่ี ช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (IP Phone) ในปี น้ี มีทศิ ทางการเติบโตลดลงอย่างมาก เนื่องจากปจั จัยทางด้านของราคาทีย่ งั สูงอยู่แม้ว่าจะได้ม ี การปรับลดราคาลงประมาณร้อยละ 10 ภายในปี ท่ผี ่านมา ประกอบกับภาคธุรกิจประสบ ปญั หาจากอุทกภัยทําให้กาํ ลังซือ้ ลดลง นอกจากนัน้ ยังมีแอพพลิเคชันที ่ ส่ นับสนุ นการใช้งาน โทรศัพท์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ออกมาสู่ตลาดเป็ นจํา นวนมาก ทํา ให้ตลาดเครื่องโทรศัพท์ ประจําทีผ่ ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือ IP Phone ในปี 2555 คาดว่าจะมีอตั ราการเติบโตที่ ลดลงจากร้อยละ 7.2 ในปี 2554 เหลือเพียงร้อยละ 3.3 ในปี 2555 หรือคิดเป็ นมูลค่าตลาด 1,296 ล้านบาท ทางด้า นตลาดโทรศัพ ท์เ คลื่อ นที่ (Mobile Handset) ซึ่ง จํา แนกออกเป็ น 2 กลุ่ ม ผลิตภัณฑ์ คือ เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบธรรมดา (Conventional Mobile Handset) และ เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ท โฟน (Smart Phone) โดยความแตกต่างของการจํา แนก ประเภทดัง กล่ า วข้า งต้น คณะวิจ ัย พิจ ารณาจากป จั จัย ในเรื่อ งของระบบปฏิบ ัติก ารและ ประสิทธิภาพในการใช้งานของเครื่องโทรศัพท์เป็ นเกณฑ์ในการจําแนกประเภท โดยเครื่อง โทรศัพ ท์ท่ีม ีระบบปฏิบ ตั ิก าร UIQ, Bada, Android, iOS, RIM และ Windows Mobile ถือ เป็ นเครื่องโทรศัพท์ป ระเภทสมาร์ท โฟน ทัง้ นี้ จากภาพรวมของการศึก ษาตลาดเครื่อ ง โทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกประเภทในปี 2554 พบว่า มีมูลค่ารวม 59,112 ล้านบาท หรือมีอตั รา การเติบโตจากปี 2553 ร้อยละ 5.8 และคาดการณ์ ว่าอัตราการเติบโตจะเพิม่ ขึ้นถึงร้อยละ 10.2 ในปี 2555 หรือคิดเป็นมูลค่าตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ วม 65,126 ล้านบาท เมื่อพิจารณารายละเอียดของโทรศัพท์เคลื่อนที่จากแผนภาพที่ 2-3 พบว่า ตลาด เครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบธรรมดา (Conventional Mobile Handset) มีอตั ราการเติบโตลด ลงอย่างต่อเนื่องจากปี 2553 โดยคิดเป็ นอัตราการเติบโตทีล่ ดลงร้อยละ 3.2 ในปี 2554 หรือ คิดเป็ นมูลค่า 29,992 และคาดการณ์ว่าในปี 2555 อัตราการเติบโตจะยังคงลดลงเพิม่ มากขึน้ โดยมูลค่าตลาดจะลดลงเหลือ 27,931 ล้านบาท หรือมีอตั ราการเติบโตลดลงร้อยละ 6.9 ในปี 2555 ทัง้ นี้ เนื่องมาจากการปรับลดราคาของโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทสมาร์ทโฟนทีม่ กี าร ปรับลดราคาลงกว่าร้อยละ 30 ซึ่งราคาปรับลงมาใกล้เคียงกับเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ ธรรมดา ทําให้ผใู้ ช้ทต่ี ้องการซื้อเครื่องทดแทนเลือกซื้อเครื่องโทรศัพท์สมาร์ทโฟนมากกว่า เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ ตผ่านโทรศัพท์เ คลื่อนที่ ดัง จะเห็นได้จ าก แผนภาพที่ 2-3 ซึ่งมูลค่าตลาดใกล้เคียงกันมากทัง้ สองประเภทและถือเป็ นจุดเปลี่ยนของ 2-5
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
พฤติกรรมผูบ้ ริโภคต่อเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศไทย อันเนื่องมาจากปจั จัยทาง ด้านของกระแสความนิยมในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟนของผูบ้ ริโภค ทําให้เกิดการ ทดแทนในการใช้งานสําหรับตลาดเครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบธรรมดา แผนภาพที่ 2–3 มูลค่าตลาดเครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนที่ปี 2553-2554
จากแผนภาพข้างต้น ในทางกลับกันตลาดเครื่องโทรศัพท์สมาร์ทโฟนมีอตั ราการ เติบโตของมูลค่าตลาดเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อยละ 17 หรือคิดเป็ นมูลค่า 29,120 ล้า นบาท อย่า งไรก็ต าม หากพิจ ารณาทางด้า นของอัต ราการเติบ โตของเครื่อ ง โทรศัพท์เคลื่อนที่ในปี 2554 กลับมีอตั ราการเติบ โตสูงถึงร้อยละ 24 ของการเพิม่ ขึ้นของ เครือ่ งโทรศัพท์ ซึง่ คิดเป็ นจํานวนการใช้จ่ายซือ้ เครือ่ งโทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ มาร์ทโฟนประมาณ 3.3 ล้านเครื่อง แต่เนื่องจากปจั จัยทางด้านราคาทีป่ รับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้อตั รา การเติบโตของมูลค่าน้อยกว่าอัตราการเติบโตของจํานวนเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ นอกจาก นัน้ คณะวิจยั คาดการณ์ว่ามูลค่าตลาดเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟนจะเพิม่ ขึน้ อีกในปี 2555 มีมูลค่าประมาณ 37,195 ล้านบาท หรือมีอตั ราการเติบโตของมูลค่าตลาดมากถึงร้อย ละ 27.7 ทัง้ นี้ ปจั จัยขับเคลื่อนหลักของปี 2555 ที่นอกเหนือจากความนิยมในการใช้งาน โทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ มาร์ทโฟนมากกว่าโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบธรรมดาแล้ว ส่วนหนึ่งเป็ นผลมา 2-6
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
จากการให้ บ ริ ก าร 3G เชิ ง พาณิ ช ย์ ข องผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ม ี ค วามครอบคลุ ม พื้ น ที่ แ ละมี ประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูลเพิม่ มากขึน้ จากปี ทผ่ี า่ นมา แม้ว่าจะยังมีความไม่แน่นอนในเรื่อง ของการประมูลคลื่นความถี่ 3G อย่างเป็ นทางการแต่ผใู้ ห้บริการก็ยงั คงพัฒนาคุณภาพของ การรับส่งข้อมูลด้วยการเลือกใช้เทคโนโลยี WiFi เข้ามาช่วยในการรองรับปริมาณของข้อมูลที่ มีจาํ นวนมหาศาล หรือทีเ่ รียกว่า 3GO (3G Off Load) เทคโนโลยีดงั กล่าวเริม่ มีการใช้ตงั ้ แต่ ไตรมาส 2 ของปี 2554 โดยผูใ้ ห้บริการบางราย ซึง่ ในปี น้ีน่าจะเห็นการใช้งานเทคโนโลยีดงั กล่าวเชิงพาณิชย์เพิม่ ขึน้ อีกมากจากปี ทผ่ี า่ นมา นอกจากนัน้ ยังมีปจั จัยบวกในเรือ่ งของการพัฒนา Mobile Application ทีไ่ ด้รบั การ ส่งเสริมจากทัง้ ภาครัฐและเอกชนในปจั จุบนั จึงคาดว่าในปี 2555 จะมีการพัฒนา Mobile Application ที่ต อบสนองและเพิ่ม ประสิท ธิภ าพการทํา งานของเครื่อ งโทรศัพ ท์เ คลื่อ นที่ ประเภทสมาร์ทโฟนได้มากขึน้ โดยได้มกี ารนําเทคโนโลยี Cloud Computing มาผสมผสาน กับความสามารถในการทํา งานของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟนและคาดว่าจะเป็ น เทรนด์ทส่ี าํ คัญสําหรับเครือ่ งโทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟนในปี 2555 ประกอบกับการพัฒนา ระบบปฏิบตั ิการของค่า ยโทรศัพ ท์ท่ีต้อ งการเพิม่ ประสิทธิภาพการทํา งานระหว่ างเครื่อ ง โทรศัพท์ในแต่ละค่ายให้สามารถใช้งานสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้อย่างราบรื่น โดยปลายปี 2555 คาดว่าน่ าจะเห็นการออกสูต่ ลาดของระบบปฏิบตั กิ าร Android 4 ซึง่ มีความสามารถใน การส่งเสริมการทํางานระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนทีท่ ใ่ี ช้ระบบปฏิบตั กิ าร Android อีกทัง้ ทิศทาง การพัฒนาแอพพลิเคชันจะเป็ ่ นการพัฒนาแอพพลิเคชันที ่ ส่ ง่ เสริมการทํางาน Interoperability ระหว่างแพลตฟอร์ม ขณะที่ค่ายโทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ใช้ระบบปฏิบตั ิการ RIM ก็มคี วาม พยายามทีจ่ ะพัฒนาระบบปฏิบตั กิ ารจาก Unix Base เป็ นการใช้แพลตฟอร์ม QNX ซึง่ จะส่ง เสริมการทํางานระหว่างเครือ่ งโทรศัพท์สมาร์ทโฟนบนระบบปฏิบตั กิ าร RIM ให้สามารถรับส่ง ข้อมูลและใช้แอพพลิเคชันกั ่ บโทรศัพท์ค่ายอื่นๆ ได้ ซึง่ การทํางานระหว่างโทรศัพท์ RIM กับ แพลตฟอร์มอื่นถือเป็ นจุดอ่อนทีส่ าํ คัญของระบบปฏิบตั กิ าร RIM โดยในปี 2555 คาดว่าค่าย โทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟนน่ าจะมีสว่ นแบ่งตลาดเพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี ่านมา อันเป็ นผลมาจาก การทีม่ ผี ลิตภัณฑ์ออกสูต่ ลาดอย่างต่อเนื่องและมีระดับราคาทีผ่ ใู้ ช้บริการสามารถเลือกซื้อได้ อย่างเหมาะสมกับกําลังซือ้ ของตน
2-7
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2.1.2 ตลาดอุปกรณ์โครงข่าย (Core Network Equipment) จําแนกออกเป็ น 2 กลุ่ม ย่อย ได้แก่ 1) ตลาดอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการติดตัง้ งานโครงข่ายทัง้ โครงข่ายโทรศัพท์และโครงข่าย อินเทอร์เน็ต1 2) อุปกรณ์ในกลุ่มของเคเบิลทีใ่ ช้ในการติดตัง้ โครงข่าย เช่น เคเบิลใยแก้วนํา แสง สายทองแดง และ Coaxial เป็ นต้น โดยมูลค่าตลาดอุปกรณ์โครงข่ายในภาพรวมของปี 2554 มีมูลค่า 50,376 ล้านบาท หรือมีอตั ราการเติบโตจากปี 2553 คิดเป็ นอัตราการเติบโต ร้อยละ 10.2 ซึง่ ถือว่าเป็ นอัตราการเติบโตทีไ่ ม่สงู มากนักเมื่อเทียบกับปริมาณความต้องการ ใช้งานทางด้านสื่อสารข้อมูลที่เพิม่ ขึ้นเป็ น จํา นวนมาก เนื่ อ งจากโครงการภาครัฐหลายๆ โครงการชะลอการลงทุนและไม่เกิดการใช้จ่ายทางด้านอุปกรณ์โครงข่ายโดยเฉพาะโครงการ ขยายโครงข่าย FTTX และโครงข่ายการสือ่ สารยุคหน้า (NGN : Next Generation Network) แม้วา่ จะมีนโยบายบรอดแบรนด์แห่งชาติออกมาเมือ่ ต้นปี 2554 ก็ตามแต่กย็ งั ไม่สง่ ผลต่อการ ขับเคลือ่ นให้เกิดการขยายโครงสร้างพืน้ ฐานในทางปฏิบตั แิ ต่อย่างใด นอกจากนัน้ คณะวิจยั คาดว่าในปี 2555 อัตราการเติบโตของตลาดอุปกรณ์โครงข่าย จะมีอตั ราการเติบโตลดลงอีกเหลือร้อยละ 9.0 หรือคิดเป็ นมูลค่า 54,916 ล้านบาท (แผนภาพ ที่ 2-4) อันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากในปี 2554 ตลอดจนถึงปี 2555 ยังไม่มโี ครงการภาครัฐ ขนาดใหญ่ทส่ี ามารถกระตุน้ การซื้อขายของตลาดอุปกรณ์โครงข่าย เนื่องจากภาครัฐต้องใช้ จ่ายเงินงบประมาณจํานวนมากกับโครงการเร่งด่วนเพื่อบรรเทาและป้องกันอุทกภัยทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ ซํ้าอีก ทําให้ในปี น้ีไม่มโี ครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับตลาดสื่อสารทีส่ ามารถกระตุน้ การซื้อ ขายในตลาดสือ่ สารได้อย่างมีนยั สําคัญ 2 ประกอบกับผูใ้ ห้บริการส่วนใหญ่ยงั เน้นการปรับปรุง คุณภาพการให้บริการแทนการขยายโครงข่าย เนื่องจากความไม่ชดั เจนของการประมูลใบ อนุ ญาต 3G รวมถึงความไม่ชดั เจนในแนวทางปฏิบตั ภิ ายหลังจากสัญญาสัมปทานสิน้ สุดลง
1 ดูคาํ นิยามเพิม่ เติมของประเภทอุปกรณ์ทไ่ี ด้จดั เก็บในกลุม่ ของอุปกรณ์โครงข่ายได้ทก่ี รอบนิยามท้ายเล่ม 2 ปี 2555 ภาครัฐได้มโี ครงการแจก Tablet สําหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา แต่ผลของโครงการดังกล่าวไม่ได้ช่วย กระตุ้นตลาดสื่อสารในภาพรวมเนื่องจากงบประมาณส่วนใหญ่เป็ นการสังซื ่ ้ออุปกรณ์แท็บเล็ต ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อ ตลาดฮาร์ดแวร์ อย่างไรก็ตาม ตลาดสือ่ สารยังคงได้อานิสงส์ในเรือ่ งของการกระตุน้ ความต้องการใช้งานสือ่ สารข้อมูล และความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต ดังนัน้ คณะวิจยั จึงไม่นับรวมโครงการนี้ใน การวิเคราะห์การเติบโตของมูลค่าตลาดสือ่ สารปี 2555
2-8
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 2–4 มูลค่าตลาดอุปกรณ์โครงข่ายปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั เมื่อพิจารณาลงรายละเอียด พบว่า ตลาดอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการติดตัง้ โครงข่าย (Core Network) ปี 2554 มีมลู ค่า 35,710 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ใน อัตราการเติบโตร้อยละ 7.5 และคาดการณ์วา่ ในปี 2555 อัตราการเติบโตจะลดลงเหลือร้อยละ 6.4 หรือคิดเป็ นมูลค่า 37,986 ล้านบาท ขณะที่ตลาดเคเบิลลิง่ โครงข่ายในปี 2554 มีมูลค่า 14,666 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อยละ 17.3 อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับทิศทางของตลาดอุปกรณ์โครงข่าย คณะวิจยั คาดว่าในกลุ่มของ ตลาดเคเบิลลิง่ โครงข่ายนี้จะมีอตั ราการเติบโตในปี 2555 ลดลงเช่นเดียวกัน โดยในปี 2555 ตลาดเคเบิลลิ่งโครงข่ายจะมีมูลค่าอยู่ท่ปี ระมาณ 16,930 ล้านบาท หรือคิดเป็ น อัตราการ เติบโตร้อยละ 15.4 จากปี 2554 โดยปจั จัยบวกของตลาดในกลุ่มนี้ คือ การวางสายเคเบิลทดแทนส่วนทีเ่ สียหายภาย หลังจากอุทกภัยโดยเฉพาะในนิคมอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจทีป่ ระสบอุทกภัย ประกอบกับ การลงทุ น ขยายโครงข่า ยอิน เทอร์เน็ ต ความเร็ว สูง ของผู้ใ ห้บ ริก าร เพื่อ ตอบสนองความ 2-9
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ต้องการของผูใ้ ช้งานและขยายความครอบคลุมของพืน้ ทีก่ ารให้บริการออกสูต่ ่างจังหวัดเพิม่ มากขึน้ ดังนัน้ แม้ว่าจะไม่มโี ครงการขนาดใหญ่จากภาครัฐประกอบกับการลงทุนโครงข่าย 3G ยังไม่มคี วามชัดเจนก็ยงั ทําให้ตลาดในกลุ่มนี้มอี ตั ราการเติบโตทีค่ ่อนข้างสูง ซึ่งจะส่งผล ให้มลู ค่าตลาดโครงข่ายในปี 2555 มาจากการลงทุนในโครงข่ายสือ่ สารความเร็วสูงไร้สายและ อุปกรณ์ไฟเบอร์ออปติคเป็ นหลัก อย่างไรก็ตาม ปจั จัยลบสํา คัญที่จะส่งผลกระทบต่อมูลค่า ตลาดอุปกรณ์โครงข่าย คือ การออกกฎระเบียบและการกํากับดูแลของคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึง่ ยังคงมีความไม่ ชัดเจนในการกํากับดูแลการให้บริการ 3G และการให้บริการข้ามสือ่ (Cross Media) เช่น การ ให้บริการแพร่ภาพกระจายเสียงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เป็ นต้น ซึง่ อาจจะส่ง ผลให้แผนการลงทุนของภาคเอกชนไม่เป็ นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ 2.1.3 ตลาดอุปกรณ์ สอื ่ สารใช้สาย (Wireline Equipment) จําแนกออกเป็ น 3 กลุ่ม ย่อย ได้แก่ 1) อุปกรณ์ ส่อื สารใช้สายที่ใช้เชื่อมต่อสัญญาณจากโครงข่ายสื่อสาร (Wireline Access Equipment) 2) อุปกรณ์ เคเบิลสํา หรับระบบเครือข่ายภายในอาคารและครัว เรือ น (LAN Cabling) และ 3) ตู้ชุมสายโทรศัพท์ (PBX/PABX) โดยผลการสํารวจมีรายละเอียดดัง ต่อไปนี้ ตลาดอุ ป กรณ์ ส่ือ สารใช้ส ายในภาพรวมของปี 2554 มีมูล ค่ า 14,640 ล้า นบาท เติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อยละ 6.7 และคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโต จะลดลงเล็กน้อยสํา หรับปี 2555 โดยคิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 5.8 หรือคิดเป็ นมูลค่า 15,490 ล้านบาท ทัง้ นี้ สืบเนื่องมาจากกํา ลังซื้อของภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจที่หดตัวลง หลังจากเหตุอุทกภัย ทํา ให้ภาคธุรกิจชะลอการตัดสินใจซื้อออกไปก่อน นอกจากนัน้ ยังมี ปจั จัยในเรื่อ งของการทดแทนกัน ระหว่างอุ ป กรณ์ ใ ช้ส ายและอุ ป กรณ์ ไ ร้ส าย ซึ่ง ป จั จุ บ ัน อุปกรณ์ ไร้สายได้รบั ความนิยมเพิม่ มากขึ้นเรื่อยๆ และเข้ามาทดแทนส่วนแบ่งตลาดของ อุ ป กรณ์ ใ ช้ส าย โดยจะเห็น อัต ราการทดแทนของอุ ป กรณ์ ไ ร้ส ายที่เ พิ่ม ขึ้น จากปี 2554 (แผนภาพที่ 2-5)
2-10
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 2–5 สัดส่วนมูลค่าตลาดอุปกรณ์สื่อสารใช้สายและไร้สาย ปี 2554 และประมาณการ ปี 2555 ปี 2554
ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั เมื่อพิจารณาลงรายละเอียดแยกรายกลุ่มผลิตภัณฑ์ พบว่า ตลาดอุปกรณ์ ส่อื สารใช้ สายทีใ่ ช้เชื่อมต่อสัญญาณ (Wireline Access Equipment) ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นอุปกรณ์เชื่อมต่อ ปลายทาง (Access Equipment) หรือเป็ นอุปกรณ์เชือ่ มต่อสําหรับผูใ้ ช้บริการ (End User) ใน ปี 2554 มีมลู ค่าประมาณ 6,147 ล้านบาท เติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อย ละ 15 และคาดการณ์ ว่าอัตราเติบโตจะลดลงเป็ นร้อยละ 9.7 ในปี 2555 หรือคิดเป็ นมูลค่า 6,741 ล้า นบาท โดยแรงขับ เคลื่อ นหลัก ของตลาดในกลุ่ ม นี้ คือ Access Point ซึ่ง เป็ น อุปกรณ์ หลักของตลาดนอกเหนือจากเร้าท์เตอร์ ซึ่งคาดว่าจะลดปริมาณการสังซื ่ ้อลงจาก สภาพเศรษฐกิจและกํา ลังซื้อของผูบ้ ริโภคหดตัวลงนับตัง้ แต่ไตรมาส 4 ของปี 2554 อีกทัง้ ปจั จัยลบจากการให้บริการ ADSL ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลเริม่ ทรงตัว ไม่เพิม่ ขึน้ อย่าง หวือหวาเหมือนปี ทผ่ี ่านๆ มา อันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ตหันมาให้ความนิยม ในการใช้อนิ เทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนทีไ่ ร้สายไม่ว่าจะเป็ นแท็บเลตหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ สมาร์ทโฟนเพิม่ มากขึน้ ขณะที่มูลค่าการใช้จ่ายจากต่างจังหวัดยังคงขึน้ อยู่กบั การวางสาย โครงข่าย ADSL ของผูใ้ ห้บริการซึง่ คาดว่าจะมีการวางสายไปยังต่างจังหวัดเพิม่ มากขึน้ แต่ยงั 2-11
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ไม่ส่งผลกระทบต่อยอดขายของภาคธุรกิจในปี น้ี อย่างไรก็ตาม นับเป็ นปจั จัยบวกสํา หรับ ตลาดกลุ่มนี้หากผูใ้ ห้บริการมีการวางสาย ADSL ไปยังเขตอุตสาหกรรมทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ในต่าง จังหวัดเพิม่ มากขึน้ (แผนภาพที่ 2-6)
ทีม่ า : คณะวิจยั ทางด้านของตลาด LAN Cabling ในปี 2554 เติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการ เติบโตร้อยละ 18.4 หรือคิดเป็ นมูลค่า 3,438 ล้านบาท และคาดการณ์ว่ามูลค่าตลาดในกลุ่มนี้ จะเพิม่ ขึ้นอีกเป็ น 4,166 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.2 ในปี 2555 ทัง้ นี้ ป จั จัย บวกที่ทาํ ให้ต ลาดในกลุ่ ม นี้ ม ีอ ัต ราการเติบ โตในปี 2555 เป็ น ผลมาจากการ ซ่อมแซมและวางระบบเครือข่ายสายให้กบั ภาคธุรกิจและองค์กรเอกชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก อุทกภัยที่เกิดขึน้ โดยกลุ่มลูกค้าหลักคือธุรกิจค้าส่งค้าปลีกและสถาบันการศึกษาที่จาํ เป็ น ต้องมีการวางระบบเครือข่ายสายใหม่ นอกจากนัน้ ยังมีปจั จัยบวกที่เข้ามาเสริมในตลาดนี้ ได้แก่ ความต้องการใช้กล้องวงจรปิ ดทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงมากทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมถึงในปี 2555 นี้ ไ ด้ เ ริ่ ม มีก ารให้ บ ริ ก ารโทรทัศ น์ ผ่ า นเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง (TV Over Broadband) ให้กบั ครัวเรือนและธุรกิจโรงแรม ปจั จัยต่างๆ เหล่านี้ทาํ ให้อตั ราการเติบโตของ ตลาดในกลุม่ นี้เพิม่ สูงขึน้ สวนกระแสกับตลาดอุปกรณ์เชือ่ มต่อใช้สาย (แผนภาพที่ 2-7) 2-12
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 2–7 มูลค่าตลาดเคเบิลภายในอาคาร (LAN Cabling) ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั สํา หรับตลาดตู้ชุม สายโทรศัพ ท์ (Private Branch Exchange : PBX) ซึ่งประกอบ ด้ ว ยตู้ ชุ ม สายแบบดัง้ เดิม ที่ใ ช้ ร ะบบอนาล็ อ ก (Conventional PBX/Analog PBX) และตู้ ชุมสายที่รองรับระบบดิจิทลั (IP PBX) ซึ่งในภาพรวมของมูลค่าตลาดปี 2554 มีอตั ราการ เติบโตลดลงจากปี 2553 ในอัตราการเติบโตทีล่ ดลงร้อยละ 7.7 หรือคิดเป็ นมูลค่า 5,055 ล้าน บาท และในปี 2555 ก็ยงั คงมีทศิ ทางการเติบโตที่ล ดลงอีก ร้อยละ 9.3 หรือคิด เป็ นมูลค่า 4,583 ล้านบาทในปี 2555 อันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากไม่มโี ครงการภาครัฐขนาดใหญ่ทเ่ี ข้ามา ช่วยกระตุ้นตลาด อีกทัง้ การลงทุนของภาคเอกชนก็ลดลงตัง้ แต่ไตรมาส 3 ของปี ท่ผี ่านมา โดยเฉพาะในกลุม่ ธุรกิจอพาร์ตเมนต์และกลุ่มผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์ซง่ึ เป็ นกลุ่มลูกค้าหลักของ ตลาด PBX โดยเฉพาะการลดลงของมูลค่าตูช้ มุ สายระบบอนาล็อก (Conventional PBX) ซึง่ ในปี 2554 มีมูลค่า 3,799 ล้านบาท และคาดว่ามูลค่าจะลดลงเหลือ 3,262 ล้า นบาทในปี 2555 เนื่องจากการทดแทนการใช้งานของตู้ชุมสายระบบดิจทิ ลั ที่มกี ารปรับลดราคาลงแต่ม ี ประสิทธิภาพสูงกว่า 2-13
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
โดยมูลค่าของตลาด IP PBX ในปี 2554 มีมูลค่า 1,256 ล้านบาท และคาดว่ามูลค่า จะเพิม่ ขึน้ อีกเป็ น 1,321 ล้านบาทภายในปี 2555 หรือคิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 5.2 ซึง่ อัตราการเติบโตดังกล่าวไม่สงู มากนักเมือ่ เทียบกับปี ทผ่ี ่านๆ มา อันเป็ นผลจากปจั จัยราคาที่ ลดลง รวมถึง ป จั จัย ทางด้า นเทคโนโลยีเ สมือ น (Virtualization Technology) เทคโนโลยี Cloud Computing และเทคโนโลยี Wirless Access Broadband ทํา ให้ ม ีก ารใช้ อุ ป กรณ์ WAB ทดแทนตู้ ชุ ม สายประเภท DSLAM เพิ่ม มากขึ้น รวมถึ ง แนวโน้ ม การใช้ บ ริ ก าร Infrastructure as a Service (IAAS) ที่ เ ริ่ ม มี ใ ห้ เ ห็ น บ้ า งในไตรมาสแรกของปี 2555 (แผนภาพที่ 2-8) แผนภาพที่ 2–8 มูลค่าตลาดตู้ชมุ สายโทรศัพท์ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั 2.1.4 ตลาดอุปกรณ์ สอื ่ สารไร้สาย (Wireless Equipment) ตลาดอุปกรณ์ ส่อื สารไร้ สายครอบคลุมอุปกรณ์ไร้สายทีใ่ ช้ในสถานีฐานรวมถึงอุปกรณ์ประเภทเราท์เตอร์ไร้สาย และ อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายประเภท Air Card หรือ Access Card โดยมูลค่าตลาด 2-14
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
รวมของอุปกรณ์ ส่อื สารไร้สายปี 2554 มีมูลค่า 18,295 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ด้วย อัตราการเติบโตร้อยละ 17.6 และคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโตจะเพิม่ ขึน้ อีกในปี 2555 เป็ น ร้อยละ 19.5 หรือคิดเป็ นมูลค่า 21,868 ล้านบาท (แผนภาพที่ 2-9) แผนภาพที่ 2–9 มูลค่าตลาดอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั ทัง้ นี้ ปจั จัยบวกที่ทาํ ให้ตลาดอุปกรณ์ ส่อื สารไร้สายเติบโตส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจาก ความนิยมในการใช้อนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูงไร้สาย และเป็ นผลมาจากการลงทุนปรับปรุง ประสิทธิภาพโครงข่ายการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงรวมถึงการปรับปรุงคุณภาพของ การให้บริการรับส่งข้อมูลไร้สายของผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยคาดว่าในปี 2555 จะมี การลงทุนเพิม่ ขึน้ อีกโดยเฉพาะในส่วนของการขยายเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WiFi) เพือ่ รองรับ การใช้ง านข้อ มูล จากระบบ HSPA ที่ค าดว่า จะเพิ่ม สูง มากในปี น้ี โดยมีก ารติด ตัง้ อุปกรณ์ Off Load เพิม่ ขึ้นในพื้นที่ HotSpot ทัง้ ในห้างสรรพสินค้าและโซนธุรกิจ เพื่อให้ม ี ความสามารถรองรับการใช้งาน HSPA ทีค่ รอบคลุมพืน้ ที่การให้บริการเพิม่ ขึน้ มากกว่าเดิม ซึ่งอุปกรณ์ ท่นี ่ าจะได้รบั การตอบรับที่ดจี ากตลาดในปี 2555 คือ อุปกรณ์ ประเภทที่ใช้การ 2-15
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
เชือ่ มต่อด้วยมาตรฐาน 802.11n เช่น Mesh AP และ Mesh Bridge นอกจากนัน้ ยังจะได้เห็น การผสมผสานการใช้งานระหว่าง FemtoCell หรือ PicoCell ร่วมกับอุปกรณ์ WiFi ประเภท Roaming Network Equipment มากขึน้ ในกลุ่มผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และจากกระแส ความนิยมการใช้งาน Multimedia ประเภทสตรีมมิง่ วิดโี อทีเ่ พิม่ สูงขึน้ น่าจะส่งผลดีต่ออุปกรณ์ เครือข่ายไร้สายประเภท Multiple SSID ซึง่ จะมีบทบาทในการกระตุน้ ตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารให้ ขยายตัวในปี หน้า โดยอุปกรณ์ดงั กล่าวจะเข้ามาช่วยเสริมประสิทธิภาพการทํางานของเครือ ข่ายไร้สายทีม่ อี ยู่เดิมให้รองรับการส่งข้อมูลทีม่ คี วามเร็ว (Bandwidth) มากขึน้ ส่งผลให้การ ใช้งานแอพพลิเคชันประเภทรั ่ บชมคลิปวิดโี อ หรือ Social Media เช่น การคุยโทรศัพท์แบบ เห็นหน้ า (FaceTime) ได้รบั การตอบรับจากผู้ใช้บ ริการเพิม่ มากขึ้น นอกจากนัน้ กระแส ความนิ ย มการใช้ ง าน Mobile Internet ยัง ส่ ง ผลให้ ม ีก ารซื้อ อุ ป กรณ์ ป ระเภท Wireless Aircard เพิม่ สูงขึน้ มากจากปี ทผ่ี ่านมาและคาดว่ายังมีทศิ ทางการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องในปี หน้า อย่างไรก็ตาม ตลาดอุปกรณ์ส่อื สารไร้สายยังคงมีปจั จัยเสีย่ งทีจ่ าํ เป็ นต้องพิจารณา จากการประมูลใบอนุ ญาตให้บริการ 3G ซึ่งหากล่าช้าเกินกว่าปี 2555 จะกลายเป็ นปจั จัย เสีย่ งทีส่ าํ คัญของตลาด นอกจากนัน้ ปจั จัยเสีย่ งทีส่ าํ คัญอีกประการคือเรื่องของกําลังซื้อของ ภาคธุ ร กิจ และภาคครัว เรือนหลัง ประสบอุ ท กภัย ประกอบกับ สภาวะเศรษฐกิจ ซบเซาใน ปจั จุบนั ซึง่ จะส่งผลต่อการระดมทุนและทําให้ต้นทุนทางการเงินของผูป้ ระกอบการเพิม่ สูงขึน้ ผูใ้ ห้บริการจึงต้องมีความระมัดระวังในเรือ่ งของการเลือกอุปกรณ์เพื่อการลงทุนในการขยาย และปรับปรุงประสิทธิภาพโครงข่ายทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ ทัง้ ในแง่ของการเลือกเทคโนโลยีและการ เลือกพืน้ ทีก่ ารให้บริการ 2.2 ตลาดบริการสื่อสาร (Communication Service) สําหรับการศึกษารายละเอียด ในตลาดบริการสือ่ สาร คณะวิจยั ยังคงจําแนกประเภทบริการสือ่ สารโดยใช้เกณฑ์เดียวกันกับ ปี ทผ่ี า่ นมา เพือ่ ให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปี โดยในปีน้ีตลาดบริการสือ่ สารจําแนก ออกเป็ น 5 ตลาดย่อย ได้แก่ 1) บริการโทรศัพท์ประจําที่ (Fixed Line Service) 2) บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile Service) 3) บริการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Access Service) 2-16
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
4) บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (International Telephone Service) และ 5) บริการสือ่ สารข้อมูล (Data Communication Service) 2.2.1 ตลาดบริการโทรศัพท์ประจํา ที ่ (Fixed Line Service) ตลาดบริการโทรศัพ ท์ ประจําทีป่ ี 2554 มีมลู ค่า 22,444 ล้านบาท ซึ่งเป็ นอัตราการเติบโตทีล่ ดลงจากปี 2553 ร้อย ละ 3.3 เนื่ อ งจากในช่ ว งไตรมาส 4 ของปี 2554 ได้ร บั ผลกระทบจากป จั จัย ลบเรื่อ งของ อุทกภัยที่ส่งผลให้ผู้ให้บริการส่วนใหญ่ยกเว้นค่าบริการสํา หรับพื้นที่ประสบอุทกภัย ทํา ให้ มูลค่าตลาดในปี 2554 มีอตั ราการเติบโตลดลง อย่างไรก็ตาม คณะวิจยั คาดการณ์ว่ามูลค่า ของตลาดบริการโทรศัพท์ประจํา ที่จะมีการเติบโตในทิศทางที่ลดลงอีกในปี 2555 โดยคาด การณ์ ว่าจะมีมูลค่าตลาดลดลงเหลือ 21,363 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตราการเติบโตที่ลดลง ร้อยละ 4.8 (แผนภาพที่ 2-10) แผนภาพที่ 2–10 มูลค่าตลาดบริการโทรศัพท์ประจําที่ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั ทัง้ นี้ ปจั จัยทีส่ ง่ ผลให้ตลาดบริการโทรศัพท์ประจําทีเ่ ติบโตลดลงอย่างต่อเนื่องเป็ นผล มาจากอัตราการทดแทนการใช้งานของบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ซ่งึ เข้ามาแทนทีก่ ารใช้งาน โทรศัพท์ประจําที่ ประกอบกับปจั จุบนั มีแอพพลิเคชันที ่ ช่ ่วยในการติดต่อสือ่ สารผ่านอุปกรณ์ สือ่ สารไร้สายประเภทโทรศัพท์เคลือ่ นทีส่ มาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ซึง่ ผูใ้ ช้บริการสามารถพูดคุย ผ่านอุปกรณ์ดงั กล่าวในลักษณะของ Online Chatting ได้เช่นเดียวกันกับการสือ่ สารทางเสียง 2-17
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ดังนัน้ ในปี 2555 น่ าจะได้เห็นการทดแทนการใช้บริการประเภท Non Voice เข้ามาแย่งส่วน แบ่งตลาดของบริการโทรศัพท์ประจําทีเ่ พิม่ มากขึน้ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ตลาดบริการโทรศัพท์ ประจํา ที่จ ะมีแ นวโน้ ม การเติบ โตลดลงแต่ ผู้บ ริโ ภคส่ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ต้อ งการเลิก ใช้บ ริก าร โทรศัพท์ประจําทีเ่ พียงแต่มคี วามต้องการใช้ลดลงเท่านัน้ 2.2.2 ตลาดบริก ารโทรศัพ ท์ เ คลือ่ นที ่ (Mobile Service) ตลาดบริก ารโทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่ ประกอบด้ว ยการให้บ ริก ารเสีย ง (Voice) และบริก ารข้อ มูล (Non Voice) ผ่ า น โทรศัพท์เคลื่อนที่เช่นเดียวกันกับปี ท่ผี ่านมา โดยผลการสํา รวจ พบว่า ในปี 2554 ตลาด บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นภาพรวมมีมลู ค่า 162,486 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตราการเติบโต ั่ ร้อยละ 6 จากปี 2553 ซึง่ เป็ นผลมาจากแรงขับเคลื่อนตลาดทางฝงของการให้ บริการสื่อสาร ข้อมูลเป็ นหลัก โดยในปีทผ่ี า่ นมามีอตั ราการเติบโตเพิม่ สูงอย่างก้าวกระโดด แม้ว่ามูลค่าหลัก ของตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนทีย่ งั คงมีรายได้หลักจากการให้บริการเสียงก็ตาม นอกจาก นัน้ คณะวิจยั คาดการณ์ ว่าในปี 2555 จะมีมูลค่าเพิม่ ขึน้ อีกเป็ น 176,626 ล้านบาท คิดเป็ น อัตราการเติบโตร้อยละ 8.7 (แผนภาพที่ 2-11) แผนภาพที่ 2–11 มูลค่าตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
2-18
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
บริก ารเสียงผ่า นโทรศัพ ท์เ คลื่อ นที่ (Mobile Voice Service) แบ่ งออกเป็ น การให้ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบจ่ายเงินก่อนใช้บริการ (Prepaid) และบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบใช้ก่อนจ่ายทีหลัง (Postpaid) โดยการให้บริการเสียงผ่านโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นปี 2554 มีมลู ค่า 127,832 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี ท่ผี ่านมาร้อยละ 1.2 แม้ว่า ทางด้านของจํานวนผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีภ่ ายในประเทศเริม่ ถึงจุดอิม่ ตัว แต่ดว้ ยการ แข่งขันทางด้านราคาของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รวมถึงพฤติกรรมของผู้ใช้บริการที่ ปจั จุบนั นิยมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่มากกว่า 1 เลขหมาย (Multiple SIM User) และคาด การณ์ว่าในปี 2555 มูลค่าตลาดบริการเสียงผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่จะมีมูลค่า 130,121 ล้าน บาท (แผนภาพที่ 2-12) แผนภาพที่ 2–12 มูลค่าตลาดบริการเสียงผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั ทางด้านของบริการสือ่ สารข้อมูลผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นทีซ่ ง่ึ ประกอบด้วยการให้บริการ SMS, MMS รวมถึงบริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านระบบ EDGE, GPRS และ 3G นับว่า เป็ นจุ ดเปลี่ย นที่สาํ คัญ ของตลาดสื่อ สารในปี 2554 สืบ เนื่ อ งถึง ปี 2555 ทํา ให้ย อดการใช้ 2-19
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
Mobile Internet ในปี ท่ผี ่านมาเพิม่ ขึ้นสูงมาก โดยตลาดบริการสื่อสารข้อมูลผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนทีใ่ นภาพรวมของปี 2554 มีมลู ค่า 34,654 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อย ละ 28.6 และคาดการณ์ว่าในปี 2555 มูลค่าจะเพิม่ ขึน้ อีกเป็ น 46,505 ล้านบาท หรือคิดเป็ น อัตราการเติบโตเพิม่ ขึน้ สูงถึงร้อยละ 34.2 (แผนภาพที่ 2-13) แผนภาพที่ 2–13 มูลค่าตลาดบริการข้อมูลผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั จากแผนภาพข้างต้นอัตราการเติบโตที่สูงถึงร้อยละ 34.2 เป็ นผลสืบเนื่องมาจาก ความนิยมในอุปกรณ์เคลื่อนทีป่ ระเภทโทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ซึง่ ทําให้ผู้ ใช้งานสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายได้ทุกทีท่ ุกเวลา ประกอบกับแรงหนุ นจากการทีผ่ ู้ ให้บริการเริม่ ได้ประโยชน์จากโครงข่าย 3G เชิงพาณิชย์ทไ่ี ด้ลงทุนไปเมือ่ ปี ทผ่ี า่ นมา และในปี ป จั จุ บ ัน มีก ารนํา เทคโนโลยี 3G Off Load เพื่อ รองรับ การใช้บ ริก ารข้อ มูล ผ่า นโครงข่า ย โทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทําให้ฐานลูกค้าประเภท Mobile Internet ของผูใ้ ห้บริการแต่ละ รายเพิม่ ขึน้ อย่างเห็นได้ชดั ตัง้ แต่ไตรมาส 3 ของปี ทผ่ี ่านมา และคาดว่าอัตราการเติบโตจะยัง 2-20
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
คงสู ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในปี 2555 อัน เป็ น ผลมาจากการพัฒ นาแอพพลิเ คชัน่ และเนื้ อ หา (Content) ที่ตอบสนองการใช้ชีวติ ประจํา วันของผู้ใช้งานเพิม่ มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระแสความนิยมในแอพพลิเคชันประเภท ่ Social Media และ Mobile Entertainment ทีม่ ผี ู้ ใช้งานเป็ นจํานวนมาก มีผพู้ ฒ ั นาแอพพลิเคชันที ่ ห่ ลากหลายเพิม่ มากขึน้ ในตลาดขณะทีร่ าคา ของแอพพลิเคชันและเนื ่ ้ อหามีแนวโน้ มปรับตัวลดลงโดยเฉพาะ Business Application ซึ่ง เดิมเคยมีราคาทีค่ ่อนข้างสูงปจั จุบนั ปรับตัวลดลงใกล้เคียงกับ Entertainment Application ที่ มีจาํ หน่ ายใน AppStore ประกอบกับการขยายพื้นที่การให้บริการ 3G ที่ครอบคลุมมากขึน้ รวมถึงการพัฒนาอุปกรณ์เคลื่อนทีท่ จ่ี ะสร้างกระแสและกระตุน้ ให้เกิดการใช้งานอินเทอร์เน็ต ไร้สายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการเติบโตของตลาดแท็บเล็ตทีจ่ ะช่วยกระตุน้ ให้ผใู้ ช้งานหัน มาใช้บริการสื่อสารข้อมูลไร้สายทัง้ ผ่านระบบ WiFi และ 3G ปจั จัยสนับสนุ นต่างๆ ดังกล่าว ข้างต้นจะช่วยผลักดันให้เกิดการใช้บริการสือ่ สารข้อมูลเพิม่ ขึน้ อย่างก้าวกระโดด อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแอพพลิเคชันประเภท ่ Social Media จะสามารถกระตุน้ การใช้ งานของบริการสือ่ สารข้อมูลผ่านอุปกรณ์เคลื่อนทีเ่ พิม่ มากขึน้ แต่กส็ ง่ ผลให้การใช้งาน SMS ลดลงด้วยเมื่อเทียบกับปี ทผ่ี ่านๆ มา ซึง่ มูลค่าของการใช้บริการ SMS และ MMS จะเพิม่ ขึน้ สู ง มากในช่ ว งไตรมาส 4 ของทุ ก ๆ ปี แต่ ใ นปี น้ี น อกเหนื อ จากป จั จั ย ทางด้ า นของ แอพพลิเคชันที ่ ่เข้ามาแทนที่การใช้งาน SMS แล้วอาจได้รบั ผลกระทบจากเหตุ อุทกภัยซึ่ง ทําให้ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่ไม่ใช้บริการ SMS ในช่วงไตรมาสดังกล่าว ทํา ให้ในปี น้ีสดั ส่วนของ การใช้ SMS ลดลงแต่ปริมาณการใช้ Mobile Internet กลับเติบโตอย่างเห็นได้ชดั ทัง้ นี้ คาด ว่าทิศทางตลาดในปี 2555 ผู้ใช้งานจะให้ความสํา คัญต่อการใช้งานแอพพลิเคชันประเภท ่ Streaming Multimedia รวมถึง Broadcasting on Mobile ซึง่ จะได้รบั การตอบรับทีด่ จี ากผูใ้ ช้ บริการและส่งผลต่อความต้องการและมูลค่าการใช้งาน GPRS และ 3G ให้เพิม่ ขึน้ ในอัตราที่ สูงอีกด้วย เนื่องจากการลงทุนให้บริการในอินเทอร์เน็ตใช้สายไม่ว่าจะเป็ น ADSL หรือ Fiber Optic มีต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูงมากเมื่อเทียบกับระบบอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย ภายใต้เทคโนโลยี 3G หรือ 2.5G HSPA ซึ่งคาดว่าระบบดังกล่าวจะเข้ามาทดแทนระบบ อินเทอร์เน็ตใช้สายในอนาคต ทัง้ นี้ คาดว่าเริม่ เห็นอัตราการทดแทนอย่างเป็ นรูปธรรมภาย หลังจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ประกาศให้มกี ารประมูลใบอนุ ญาตให้บริการบนคลื่นความถี่ 3G อย่างไรก็ตาม ยัง คงมีปจั จัยลบในเรื่องของแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรโทรคมนาคมภายหลังจาก 2-21
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
สัญญาสัมปทานซึง่ จะหมดอายุลงในอนาคตอันใกล้ ทําให้ผใู้ ห้บริการยังมีความไม่แน่ นอนใน เรือ่ งของการลงทุนโครงข่าย 3G อย่างเต็มที่ 2.2.3 ตลาดบริก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต (Internet Service) ตลาดบริก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ประกอบด้ว ยการให้บ ริก ารอิน เทอร์เ น็ ต เกตเวย์ (International Internet Gateway : IIG) บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ตความเร็วตํ่า (Narrowband) และบริการเชี่อมต่ออินเทอร์เน็ ต ความเร็วสูง (Broadband) ทัง้ แบบใช้สายและไร้สาย โดยมูลค่าตลาดบริการอินเทอร์เน็ตใน ภาพรวมของปี 2554 มีมลู ค่า 36,096 ล้านบาท หรือมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี ่านมา ร้อยละ 9.1 และคาดว่าในปี 2555 จะมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ เป็ น 40,155 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตรา การเติบโตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.2 โดยแรงผลักดันกว่าร้อยละ 71 ของตลาดบริการอินเทอร์เน็ต ยังคงมาจากการให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ต (Internet Access Service) จากภาคครัว เรือนเป็ นหลัก เมื่อพิจารณาลงรายละเอียด พบว่า การให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ในปี 2554 มี มูลค่า 10,126 เพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี า่ นมาในอัตราการเติบโตร้อยละ 5.3 และคาดว่าจะมีอตั ราการ เติบโตเพิม่ ขึน้ อีกในปี 2555 เป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 9 หรือคิดเป็ นมูลค่า 11,035 ล้าน บาท (แผนภาพที่ 2-14) สืบเนื่องมาจากการขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ออกสู่ต่าง ประเทศให้ครอบคลุมประเทศต่างๆ เพิม่ มากขึ้น เนื่องจากแนวโน้ มการเติบโตของการใช้ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงภายในประเทศและการใช้บริการเชื่อมต่อโครงข่ายสื่อสารข้อมูล ระหว่างประเทศเพิม่ ขึน้ สูงในภูมภิ าค ดังนัน้ จึงต้องทําการขยายตลาดการให้บริการเกตเวย์ เพื่อรองรับความต้องการใช้งานเชื่อมต่อโครงข่ายข้อมูลของกลุ่มลูกค้าธุรกิจและผูใ้ ห้บริการ อินเทอร์เน็ตรายย่อย
2-22
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 2–14 มูลค่าตลาดบริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555 ล้านบาท
ทีม่ า : คณะวิจยั ภาวะตลาดอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ในประเทศในปี น้ีนบั ได้ว่ามีการแข่งขันทางด้านราคา มากขึน้ ส่งผลให้ราคาเฉลีย่ ต่อ Bandwidth ลดลงจากปี ทแ่ี ล้วกว่าร้อยละ 30 ดังนัน้ แม้ว่าจะมี ปริมาณการใช้ Bandwidth ในประเทศไทยแบบเชื่อมต่อตรงกับต่างประเทศเพิม่ ขึน้ มากแต่ ด้วยปจั จัยราคาทีล่ ดลง ประกอบกับโครงการขยายโครงข่าย FTTx ทีม่ กี ารชะลอการลงทุนมา จากปี ทแ่ี ล้ว ส่งผลให้อตั ราการเติบโตของมูลค่าตลาดบริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ไม่สงู เท่าที่ ควร อย่ า งไรก็ต าม ในปี 2555 มีแ นวโน้ ม ว่ า จะมีก ารขยายการลงทุ น โครงข่า ยไฟเบอร์ ออปติคเพื่อเป็ นเกตเวย์ออกทางประเทศเวียดนามและจีนนอกเหนือจากเกตเวย์ท่มี อี ยู่เดิม สืบ เนื่ อ งจากการสนั บ สนุ น และผลัก ดัน ของรัฐ บาลในประเทศเวีย ดนามที่ต้ อ งการเป็ น ศูนย์กลางเชื่อมต่อโครงข่ายอินเทอร์เน็ตภายในภูมภิ าค นอกจากนัน้ ในปี 2555 น่ าจะเห็น แนวโน้มการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านสายเคเบิลเพิม่ มากขึน้ ทางด้านของตลาดบริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Access Service) ซึ่งส่วน ใหญ่ผูใ้ ช้บริการเป็ นภาคครัวเรือนเป็ นหลัก จากผลการสํา รวจในปี 2554 มีมูลค่า 25,970 ล้านบาท หรือมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี 2553 คิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 10.6 และ จะเพิม่ ขึ้นอีกเป็ นร้อยละ 12.1 หรือคิดเป็ นมูลค่า 29,120 ล้านบาทในปี 2555 (แผนภาพที่ 2-23
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2-15) อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตดังกล่าวไม่ถอื ว่าสูงมากนักเมือ่ เทียบกับอัตราการเติบโต ในปี ท่ีผ่ า นๆ มา อัน เป็ น ผลสืบ เนื่ อ งมาจากตลาดอิน เทอร์เ น็ ต กลุ่ ม ADSL เริ่ม อิ่ม ตัว ใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยข้อจํากัดในเรื่องของการเพิม่ คู่สายโทรศัพท์ในเมืองใหญ่ๆ เริม่ ถึงจุดอิม่ ตัว นอกจากนัน้ ยังมีปจั จัยในเรื่องของความนิยมในการใช้ Mobile Internet ทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงมากในปี 2554 สืบเนื่องถึงปี 2555 แผนภาพที่ 2–15 มูลค่าตลาดบริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ป จั จัย บวกที่สาํ คัญ ในการกระตุ้ น ตลาดบริก ารเชื่อ มต่ อ อิน เทอร์เ น็ ต ในปี 2555 นอกจากเป็ นผลมาจากการขยายโครงข่ายให้มปี ระสิทธิภาพในราคาทีต่ ่าํ ลงแล้วยังมีแรงผลัก ดันมาจากความต้องการรับชมโทรทัศน์ และวิดโี อผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งการให้บริการดัง กล่ า วจํา เป็ น ต้อ งอาศัย Bandwidth ที่เ สถีย รและมีคุ ณ ภาพสูง ซึ่ง Mobile Internet ยัง ไม่ สามารถให้บริการได้ในปจั จุบนั ดังนัน้ ในปลายปี 2554 และปี 2555 เทคโนโลยีทน่ี ่าจะเข้ามา มีบทบาทต่อตลาดบริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจะเป็ นเทคโนโลยีท่ตี อบสนองการให้บริการ มัล ติม ีเ ดีย บนอิน เทอร์เ น็ ต บรอดแบนด์โ ดยอาศัย เทคโนโลยี Data Over Cable Service 2-24
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
Interface Specification (DOCSIS) ซึง่ เทคโนโลยีดงั กล่าวเป็ นการถ่ายโอนข้อมูลความเร็วสูง ผ่ า นทางระบบสายเคเบิล ทีวี บางครัง้ เรีย กว่ า Broadcasting over Broadband เป็ น การ ประยุกต์ใช้สายเคเบิลทีวเี พื่อให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านทางโครงข่ายสาย Hybrid Fiber-Coaxial ทีม่ กี ารให้บริการอยูแ่ ล้ว 2.2.4 ตลาดบริก ารโทรศัพ ท์ร ะหว่า งประเทศ (International Telephone Service) ตลาดบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศประกอบด้วยบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศทัง้ ระบบ IDD และ VoIP รวมถึงบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ซึ่งจากผลการสํา รวจปี 2554 พบว่า ภาพรวมของตลาดบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศมีมูลค่า 16,617 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อยละ 5.9% และคาดว่าในปี 2555 จะมีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ เป็ น ร้อยละ 7.1% หรือคิดเป็ นมูลค่า 17,793 ล้านบาท (แผนภาพที่ 2-16) โดยแรงขับเคลื่อนหลัก ของตลาดบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศยังคงมาจากการให้บริการในระบบ IDD ซึ่งในปี 2554 มีมูลค่า 15,422 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2553 ในอัตราการเติบโตร้อยละ 6.1 นับเป็ น อัตราการเติบโตทีไ่ ม่สงู มากนักอันเป็ นผลมาจากการแข่งขันทางด้านราคาทีม่ คี วามรุนแรงเพิม่ มากขึน้ ประกอบกับผูใ้ ช้บริการหันมาใช้แอพพลิเคชันประเภท ่ Social Application ทีเ่ ป็ นการ สื่อสารผ่านระบบ VoIP ทางโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ พิม่ มากขึน้ ไม่ว่าจะเป็ น Skype, Line หรือ Tango ซึง่ ข้อดีของแอพพลิเคชันดั ่ งกล่าว คือ ราคาต่อนาทีทถ่ี ูกมากและสามารถคุยโทรศัพท์ แบบเห็นหน้ าผูโ้ ทรและผูร้ บั ได้ (FaceTime) โดยขึน้ กับประสิทธิภาพของโทรศัพท์เคลื่อนที่ และประสิทธิภาพของโครงข่าย
2-25
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 2–16 มูลค่าตลาดบริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555 7.1%
ขณะทีต่ ลาดบัตรโทรศัพท์เคลื่อนทีใ่ นปี 2554 มีมลู ค่า 1,195 ล้านบาท คิดเป็ นอัตรา การเติบโตเพิม่ ขึน้ จากปี ทผี ่านมาร้อยละ 3.2 และคาดการณ์ว่าอัตราการเติบโตในปี 2555 จะ ลดลงเหลือร้อยละ 1.0 หรือคิดเป็ นมูลค่า 1,207 ล้านบาท ทัง้ นี้ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากการให้ บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศของระบบ IDD มีการปรับราคาลดลงและมีโปรโมชันให้ ่ เลือก หลากหลายขณะที่ประสิทธิภาพของเสียงปลายทางมีความล่าช้าของเสียงลดลงและมีความ เสถียรมากขึน้ รวมถึงปจั จุบนั ผูใ้ ช้บริการให้ความสําคัญกับเรื่องของหมายเลขทีแ่ สดงไปยัง ผูร้ บั ปลายทางเพิม่ มากขึน้ ประกอบกับจํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติซ่งึ เป็ นกลุ่มลูกค้าหลัก ของตลาดบริการบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศในปี 2554 ลดจํานวนลงเป็ นอย่างมาก อันเป็ น ผลมาจากความไม่มนใจในเรื ั่ ่องของความปลอดภัยในช่วงต้นปี 2554 และปลายปี 2554 ที่ เกิดเหตุอุทกภัย ซึง่ นับเป็ นปจั จัยลบทีส่ าํ คัญต่อตลาดบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 2.2.5 ตลาดบริการสือ่ สารข้อมูล (Data Communication Service) ประกอบด้วยการ ให้บริการวงจรเช่า (Leased Circuit Service) ในประเทศและระหว่างประเทศ บริการเครือ 2-26
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ข่ายข้อมูลส่วนบุคคล (Private Network Service) รวมถึงบริการสือ่ สัญญาณประเภท Frame Relay และ ATM (Asynchronous Transfer Mode) ซึ่งนับรวมอยู่ในการให้บริการในกลุ่มนี้ ด้วย โดยมูลค่าตลาดบริการสื่อสารข้อมูลของปี 2554 ในภาพรวมมีมูลค่า 25,799 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี ่านมาในอัตราการเติบโตร้อยละ 9.8 อย่างไรก็ตาม คาดว่าในปี 2555 อัตรา การเติบโตของบริการสือ่ สารข้อมูลจะลดลงเล็กน้อย โดยคิดเป็ นอัตราการเติบโตทีล่ ดลงร้อย ละ 8.6 หรือมีมลู ค่า 28,029 ล้านบาท (แผนภาพที่ 2-17) แผนภาพที่ 2–17 มูลค่าตลาดบริการสื่อสารข้อมูล ปี 2553-2554 และประมาณการ ปี 2555
ทีม่ า : คณะวิจยั ทัง้ นี้ แรงขับเคลือ่ นหลักของตลาดบริการสือ่ สารข้อมูล คือ การให้บริการวงจรเช่าทัง้ ประเภทเสียงและบริการวงจรสือ่ สารข้อมูล ทัง้ โครงข่ายข้อมูลผ่านเทคโนโลยีต่างๆ ทีห่ ลาก หลาย อาทิ บริการโครงข่ายข้อมูลดิจทิ ลั (Digital Data Network : DDN) บริการวงจรเช่า ประเภท Leased Line บริการโครงข่ายข้อมูลผ่านเครือข่าย Internet Protocol เช่น MPLS (Multiprotocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet ซึง่ มีแนวโน้มการเติบโตทีค่ ่อนข้าง คงที่เมื่อเทียบกับบริการอื่นๆ ที่อยู่ในกลุ่มนี้ โดยในปี 2554 ตลาดบริการวงจรเช่ามีมูลค่า 11,678 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 7.6 และคาดการณ์ ว่าอัตราการเติบโตจะ 2-27
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 8.3 หรือคิดเป็ นมูลค่า 28,029 ล้านบาท ในปี 2555 โดยทิศทางการตลาด ในกลุ่มนี้จะมีลกั ษณะของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Cloud Computing มากขึน้ โดยการให้ บริการ Infrastructure as a Service (IAAS) หรือการเช่าใช้โครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อให้บริการ กับลูกค้า (End User) ซึง่ กําลังเป็ นเทรนด์เทคโนโลยีทน่ี ่ าจับตามองในปี 2555 การใช้จ่ายจําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก เมื่อ พิจ ารณาลงรายละเอีย ดของภาพรวมตลาดสื่อ สารจํา แนกตามกลุ่ ม ผู้ใ ช้ง าน อุปกรณ์สอ่ื สารและบริการสื่อสารนัน้ สามารถจําแนกกลุ่มผูใ้ ช้งานตามประเภทและลักษณะ การใช้งานสํา หรับอุปกรณ์ ส่อื สารออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1) ผู้ให้บริการโทรคมนาคม (Operator) 2) ภาคธุรกิจซึ่งประกอบไปด้วยองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ (Enterprise) และขนาด กลาง (Corporate) และ 3) ภาคครัว เรือ นและธุ ร กิจ ขนาดเล็ก (Household and SOHO : Small Office and Home Office) จากผลการสํารวจตลาดสื่อสารปี 2554 พบว่า มูลค่าการใช้จ่ายอุปกรณ์สอ่ื สารยังคง มีกาํ ลังซื้อหลักมาจากภาคครัวเรือน (Household) และธุรกิจขนาดเล็ก (SOHO) โดยคิดเป็ น มูลค่า 62,129 ล้านบาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 42.7 ของการใช้จ่ายในตลาดอุปกรณ์ สือ่ สารทัง้ หมด ซึง่ มูลค่าดังกล่าวส่วนใหญ่เป็ นการใช้จา่ ยในอุปกรณ์ประเภทโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เป็ นหลัก รองลงมา ได้แก่ ผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคม (Operator) คิดเป็ นมูลค่า 57,944 ล้าน บาท มีสดั ส่วนร้อยละ 40.9 ลดลงจากปี 2553 เล็กน้ อยที่เดิมมีสดั ส่วนร้อยละ 40.9 ขณะที่ ภาคธุรกิจ (Corporate) มีสดั ส่วนการซื้ออุปกรณ์ส่อื สารในปี 2554 มากขึน้ กว่าปี 2553 โดย ในปี 2554 ภาคธุรกิจมีมูลค่าการใช้จ่ายในตลาดอุปกรณ์ ส่อื สาร 25,331 ล้านบาท คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 17.5 ของค่าใช้จ่ายในตลาดอุปกรณ์ ส่อื สารทัง้ หมด โดยเฉพาะกํา ลังซื้อจาก นิคมอุตสาหกรรมเป็ นกํา ลังซื้อของภาคธุรกิจในปี น้ี สืบเนื่องมาจากเหตุอุทกภัยทํา ให้ภาค ธุรกิจในนิคมอุตสาหกรรมจําเป็ นต้องมีการปรับปรุงและซ่อมแซมอุปกรณ์ ส่อื สารที่เสียหาย จากเหตุการดังกล่าว (ตารารางที่ 2-2)
2-28
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 2–2 มูลค่าตลาดอุปกรณ์สื่อสารปี 2554 จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก SOHO and Household ประเภทอุปกรณ์ สื่อสาร มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) Fixed Handset 2,980 100 449 15.1 2,346 78.7 185 6.2 Mobile Handset 59,112 100 3,074 5.2 56,038 94.8 Core Network 50,376 100 50,124 99.5 252 0.5 Wireline Equipments 14,640 100 4,773 32.6 9,560 65.3 307 2.1 Wireless Equipments 18,295 100 2,598 14.2 10,099 55.2 5,598 30.6 Total Comm. Equipments 145,404 100 57,944 40.9 25,331 17.5 62,129 42.7 รวม
Operator
Corporate
สํา หรับ ตลาดบริก ารสื่อ สารมีก ารจํา แนกประเภทผู้ใ ช้บ ริก ารแตกต่ า งจากตลาด อุ ป กรณ์ ส่ื อ สาร กล่ า วคื อ จํา แนกภาคผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารออกเป็ น 1) หน่ วยงานภาครั ฐ (Government) เช่น กระทรวง ทบวง กรม และสถานศึกษาต่างๆ รวมถึงรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) 2) ภาคธุรกิจ (Corporate) ประกอบด้วยองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ (Enterprise) องค์ก รธุ รกิจ ขนาดกลางและขนาดเล็ก (Small and Medium Business) และ 3) ภาคครัว เรือน (Household) และธุรกิจครัวเรือนขนาดเล็ก (SOHO) จากตารางที่ 2-3 ภาพรวมของการใช้จ่ายในตลาดบริก ารสื่อ สารปี 2554 แรงขับ เคลื่อนสํา คัญยังคงมาจากภาคครัว เรือ นเป็ นหลัก โดยมีมูลค่าการใช้จ่ายทางด้า นบริก าร สื่อสารสูงที่สุดคิดเป็ น มูลค่า 166,808 ล้านบาทหรือมีสดั ส่วนการใช้จ่ายร้อ ยละ 63.3 ของ ตลาดบริการสื่อสารทัง้ หมด ซึ่งเป็ นการใช้จ่ายในบริการเสียงและบริการสื่อสารข้อมูลผ่าน โทรศัพ ท์เคลื่อนที่ รองลงมาได้แ ก่ ภาคธุร กิจมีมูล ค่าการใช้จ่า ยในตลาดบริก ารสื่อ สาร ทัง้ หมด 83,117 ล้านบาทหรือมีสดั ส่วนร้อยละ 31.6 เพิม่ ขึน้ จากปี ทผ่ี า่ นมาซึง่ มีสดั ส่วนการใช้ จ่ายอยู่ทร่ี อ้ ยละ 27.6 ขณะทีใ่ นปี น้ีภาครัฐและรัฐวิสาหกิจยังคงมีสดั ส่วนการใช้จ่ายทางด้าน บริการสือ่ สารน้อยทีส่ ุดคิดเป็ นมูลค่า 13,517 ล้านบาทหรือมีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 5.1 ซึง่ การ ใช้จ่ายในตลาดบริการสื่อสารของภาครัฐในปี น้ีเน้ นไปที่การใช้จ่ายในตลาดบริการสื่อสาร ข้อมูลเป็ นหลัก
2-29
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 2–3 มูลค่าตลาดบริการสื่อสารปี 2554 จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก รวม
ประเภทบริ การสื่อสาร
Fixed Line Service Mobile Service Internet Service Inter Call Service Data Comm. Service Total Comm. Services
Government and Corporate SOHO and State Enterprise Household มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน มูลค่า สัดส่วน (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) (ล้านบาท) (%) 22,444 100 2,716 12.1 5,656 25.2 14,072 62.7 162,486 100 1,950 1.2 39,484 24.3 121,052 74.5 36,096 100 1,877 5.2 8,519 23.6 25,700 71.2 16,617 100 1,479 8.9 9,206 55.4 5,932 35.7 25,799 100 5,495 21.3 20,252 78.5 52 0.2 263,442 100 13,517 5.1 83,117 31.6 166,808 63.3
ปัจจัยที่มีผลต่อตลาดสื่อสาร ตลาดสือ่ สารในภาพรวมยังมีอตั ราการเติบโตต่อเนื่องแม้ว่าจะไม่หวือหวามากนักใน ปี 2554 และปี 2555 อันเป็ นผลมาจากปจั จัยเสีย่ งหลายประการดังทีไ่ ด้กล่าวถึงแล้วในตอน ต้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปจั จัยบวกทีเ่ ป็ นแรงผลักดันจากความต้องการบริการสือ่ สารข้อมูล ั ่ บ้ ริโภค โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความต้องการใช้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็ว จากทางฝงผู สูงผ่านโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ละอุปกรณ์เคลือ่ นทีป่ ระเภทต่างๆ เพิม่ ขึน้ เป็ นจํานวนมาก ส่งผลให้ ผูใ้ ห้บริการต้องมีการขยายโครงข่ายสือ่ สารรวมถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงข่ายเพือ่ รองรับประสิทธิภาพการใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ขณะที่ปจั จัยลบที่เป็ นอุปสรรค สํา คัญต่อตลาดสื่อสารต่อเนื่องมาจากปี 2554 คือ ความล่าช้าในการออกใบอนุ ญาตการให้ บริการโทรศัพท์ระบบ 3G และความไม่ชดั เจนในแนวทางการกํากับดูแลของ กสทช. ต่อเรือ่ ง ของสัญญาสัมปทานที่จะหมดอายุลงในอนาคตอันใกล้ ซึ่งปจั จัยต่างๆ นี้ได้กล่าวถึงแล้วใน ส่วนต้นของรายงานในรายละเอียดของแต่ละประเภทอุปกรณ์และบริการสือ่ สารซึง่ แต่ละตลาด มีปจั จัยบวกและปจั จัยลบที่แตกต่างกันไป ดังนัน้ ในส่วนนี้จะกล่าวถึงปจั จัยที่ผลต่อตลาด สือ่ สารในภาพรวมทีค่ าดว่าจะมีอทิ ธิพลต่อการเติบโตของตลาดในปี 2555 ดังต่อไปนี้
2-30
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ปัจจัยบวก 1. ความต้องการใช้อนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านอุปกรณ์ เคลื่อนที่ประเภทสมาร์ท โฟนและแท็บเล็ต ในช่วงปี ทผ่ี ่านมาความต้องการใช้บริการ Mobile Internet เพิม่ สูงขึน้ มาก อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับราคาของอุปกรณ์เคลือ่ นทีด่ งั กล่าวมีการปรับลดราคาลงมาก ทําให้ เกิดการกระตุน้ อุปสงค์การใช้งานในภาพรวมทัง้ ในส่วนของตลาดโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละการใช้ บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไร้สายเพื่อตอบสนองความต้องการใช้บริการสื่อสารข้อมูล ภายในประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงมาก 2. การพัฒนาแอพพลิเคชันที ่ ใ่ ช้บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Application) ประเภท เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media Application) เป็ นอีกปจั จัยหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อ ความต้องการการใช้งานอุปกรณ์ เคลื่อนที่ประเภทสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ส่งผลให้ความ ต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตไร้สายผ่านโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีย่ งิ่ เพิม่ สูงขึน้ 3. การใช้ประโยชน์ จากโครงข่าย 3G เชิงพาณิชย์ท่เี ริม่ มีการลงทุนเมื่อปี ท่ผี ่านมา โดยในปี น้ีผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่มกี ารปรับกลยุท ธ์ก ารตลาดมุ่ง เน้ น การให้บ ริก าร โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ 3G เพิม่ มากขึน้ โดยมีการให้บริการใหม่ๆ บนโครงข่ายทีไ่ ด้ลงทุนไป แล้วเพิม่ มากขึน้ ด้วยไม่ว่าจะเป็ นการให้บริการเนื้อหาหรือการให้บริการแอพพลิเคชัน่ ทัง้ แอพพลิเคชันเพื ่ ่อความบันเทิงและแอพพลิเคชันที ่ เ่ พิม่ ประสิทธิภาพการทํางานของอุปกรณ์ เคลื่อนทีใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพการทํางานคุม้ ค่ามากยิง่ ขึน้ โดยผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีเ่ ริม่ หันมาเป็นผูใ้ ห้บริการแอพพลิเคชันเองอี ่ กด้วย 4. เหตุ ก ารณ์ อุ ท กภัย นํ้า ท่ ว มในปลายปี 2554 แม้ว่ า จะเป็ น ป จั จัย ลบต่ อ หลายๆ อุตสาหกรรม แต่สาํ หรับตลาดสื่อ สารกลับ เป็ น ป จั จัย บวกที่ทาํ ให้ม ีการสังซื ่ ้อ อุ ป กรณ์ และ บริการสือ่ สารเพิม่ มากขึน้ ทัง้ ในส่วนของผูใ้ ห้บริการสื่อสารและภาคธุรกิจเอกชนเพื่อทดแทน อุปกรณ์ ส่วนที่เสียหายจากนํ้า ท่ว ม นอกจากนัน้ จากเหตุ การณ์ ดงั กล่าวทํา ให้ภาคธุรกิจ ตระหนักถึงความสํา คัญของบริการสื่อสารและความจํา เป็ นของการมี Disaster Recovery Site เพิม่ มากขึน้ ซึง่ จะกลายเป็ นทิศทางตลาดทีส่ าํ คัญในปี 2555 5. การพัฒนาระบบปฏิบตั กิ ารของอุปกรณ์เคลื่อนทีท่ ส่ี ามารถใช้งานร่วมกันระหว่าง อุ ป กรณ์ เ คลื่อ นที่ต่ า งประเภท หรือ ที่เ รีย กว่ า Single Wireless IT Platform ซึ่ง จะช่ ว ย 2-31
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
สนับ สนุ น การทํา งานภายใต้ระบบปฏิบ ตั ิก ารเดีย วกัน แต่ เ ป็ น การถ่ า ยโอนข้อ มูล ระหว่ า ง อุปกรณ์เคลื่อนทีต่ ่างประเภท เช่น การถ่ายโอนข้อมูลระหว่างโทรศัพท์เคลื่อนทีส่ มาร์ทโฟน และแท็บ เล็ต เป็ นต้น ซึ่ง จะทํา ให้ก ารใช้บริก ารสื่อ สารข้อ มูลบนอุ ป กรณ์ เคลื่อ นที่ม ีค วาม สะดวกมากขึน้ และส่งผลต่อความต้องการใช้งานอุปกรณ์เคลือ่ นที่ (Mobile Internet Device) ทีส่ ามารถใช้งานและถ่ายโอนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์แต่ละชนิดเพิม่ มากขึน้ 6. ราคานํ้ามันทีป่ รับตัวสูงขึน้ มากส่งผลให้ความต้องการใช้บริการเสริมบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเพิม่ ขึน้ สูงกลายเป็ นทางเลือกทีป่ ระหยัดกว่าของภาคเอกชนในการลดต้นทุนการ ดํา เนิ น งานของธุ ร กิ จ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การใช้ บ ริ ก าร Video Conference และ TelePresence 7. บริ ก ารแพร่ ภ าพกระจายเสี ย งผ่ า นสายเคเบิ ล หรื อ Broadcasting over Broadband คาดว่าจะเป็ นปจั จัยบวกทีช่ ่วยกระตุน้ ให้ตลาดอินเทอร์เน็ตเติบโตได้อกี ในปี หน้า โดยความต้องการใช้บริการดังกล่าวได้เพิม่ สูงขึน้ มากจากปี ท่ผี ่านมาซึ่งยังติดเรื่องความเร็ว ของการรับส่งข้อมูล (Bandwidth) ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แต่ในปี 2555 ผูใ้ ห้บริการได้ม ี การปรับปรุงคุณภาพ ความเสถียร และเพิม่ ความเร็วของการรับส่งข้อมูลเพือ่ ตอบสนองความ ต้องการใช้บริการดังกล่าว 8. นโยบายแท็บ เล็ต พีซีข องภาครัฐ (One Tablet PC Per Child) แม้ว่ า จะไม่ ไ ด้ กระทบต่อตลาดสื่อสารโดยตรง แต่ก็มสี ่วนช่วยผลักดันให้เกิดการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและ กระจายการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตออกไปสู่ภมู ภิ าคเพิม่ มากขึน้ เพือ่ ตอบสนองโครงการดังกล่าว ของภาครัฐ อีกทัง้ ยังช่วยกระตุ้นให้เกิดความต้องการใช้ง าน Mobile Internet หรือ ความ ต้องการใช้อนิ เทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงเพิม่ มากขึน้ ปัจจัยลบ 1. ความไม่แน่ นอนของนโยบายการกํา กับดูแลของคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งส่งผลต่อความเชื่อมัน่ ของนักลงทุนทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศในการลงทุนขยายโครงข่ายทัง้ ในส่วนของ โครงข่ายใช้สายและไร้สาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความล่าช้าของการออกใบอนุ ญาต 3G และ ความไม่ชดั เจนในแนวทางการกํา กับดูแลในสิทธิความเป็ นเจ้าของโครงข่ายและการเช่าใช้ 2-32
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
โครงข่า ยภายหลัง สัญ ญาสัม ปทานหมดอายุ ล ง ส่ง ผลให้ผู้ใ ห้บ ริก ารส่ว นใหญ่ เ ลือ กที่จ ะ ปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงข่ายทีม่ อี ยู่ในปจั จุบนั ให้สามารถรองรับความต้องการใช้งาน ด้วยการผสมผสานเทคโนโลยี WiFi และ HSPA เพื่อแก้ปญั หาการใช้บริการสื่อสารข้อมูล ปริมาณมาก แต่ยงั ไม่ตดั สินใจลงทุนสร้างโครงข่ายทีค่ รอบคลุมการให้บริการทัวประเทศแต่ ่ อย่างใด 2. กําลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคลดลงและภาคเอกชนชะลอการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ สาเหตุหลักเป็ นเหตุจากสภาวะเศรษฐกิจซบเซาหลังเหตุการณ์ น้ํา ท่วมใหญ่ ส่งผลต่อความ เชื่อมันของนั ่ กลงทุนต่างชาติต่อการลงทุนธุรกิจในประเทศไทย ซึ่งทํา ให้กาํ ลังซื้อและการ ระดมทุนทําได้ยากมากขึน้ ในปี น้ี 3. การขาดการสนับสนุ นจากภาครัฐในโครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับการสือ่ สารขนาดใหญ่ โดยในปี 2555 งบประมาณส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปทีก่ ารป้องกันและแก้ไขปญั หาอุทกภัยรวมถึง อุบตั ภิ ยั ต่างๆ มากกว่าการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐในการสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานของตลาด สื่อสารเหมือนกับปี ท่ผี ่านๆ มา แม้ว่าจะมีนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติเมื่อปี ท่ผี ่านมาแต่ นโยบายดังกล่าวก็ไม่ได้มกี ารผลักดันให้มกี ารปฏิบตั ใิ นเชิงรูปธรรมผ่านโครงการขนาดใหญ่ ของภาครัฐแต่อย่างใด 4. โครงการ NGN และ FTTx ชะลอการลงทุน รวมถึงความไม่ชดั เจนต่อทิศทางการ พัฒนาโครงข่ายดังกล่าวเป็ นปจั จัยสํา คัญที่ทาํ ให้ผู้ให้บริการและนักลงทุ นยังคงชะลอการ ลงทุนและการสังซื ่ อ้ อุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้อง
แนวโน้ มเทคโนโลยี ภาพรวมของแนวโน้มเทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้องกับตลาดสื่อสารในปี 2555 มุ่งเน้นไปที่ เทคโนโลยีท่ชี ่วยเพิม่ ประสิทธิภาพความเร็วในการรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Mobile Internet เป็ นที่น่าจับตามองอย่างมากของตลาด สื่อสารในปี 2555 โดยเทรนด์เทคโนโลยีท่นี ่ าสนใจและน่ าจะส่งผลกระทบต่อตลาดสื่อสาร สามารถสรุปได้ดงั ต่อไปนี้
2-33
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
1. เทคโนโลยี Wireless Broadband Access (WBA) รวมถึง 3G Base Station Off Load คาดว่าจะมีบทบาทสําคัญในตลาดอุปกรณ์ส่อื สารไร้สายให้ขยายตัวเพิม่ ขึน้ จากความ ต้องการใช้งานบริการมัลติมเี ดียและการขยายตัวของความต้องการใช้ WLAN ในระดับองค์กร โดยเทคโนโลยีน้ีจะเข้ามาช่วยเสริมประสิทธิภาพของเครือข่ายไร้สายทีม่ อี ยูเ่ ดิมให้รองรับการ รับส่งข้อมูลที่มคี วามเร็ว (Bandwidth) มากขึน้ ส่งผลให้การใช้งานแอพพลิเคชันต่ ่ างๆ ผ่าน เครือข่ายใช้สายขององค์กรทําได้สะดวกมากขึน้ 2. การใช้เทคโนโลยี PON (Passive Optical Network) ซึ่งเมื่อเทียบกับเทคโนโลยี บรอดแบนด์ต่างๆ เช่น DSL, VDSL และ Cable พบว่า PON มีอายุการใช้งานของไฟเบอร์ท่ี ยาวนานกว่า ต้นทุนการดําเนินการตํ่าเพราะลดการใช้อุปกรณ์ประเภท Active Device รวม ถึงการรับส่งข้อมูลทีไ่ ด้ระยะทางไกลกว่าและความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงกว่า ซึง่ การสร้าง โครงข่าย FTTx ในปจั จุบนั จะเป็ นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี PON ซึง่ จะส่งผลต่อการเติบโต ของตลาดอุปกรณ์สอ่ื สารในภาพรวม และอุปกรณ์ในกลุ่มเคเบิล (Cabling Equipment) รวม ถึงอุปกรณ์เชือ่ มต่อทีร่ องรับระบบไฟเบอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. Android 4.0 เป็ นระบบปฏิบ ตั ิการที่สามารถตอบสนองความต้อ งการถ่ ายโอน ข้อ มูล และรับ ส่ง ข้อ มูล ระหว่ า งอุ ป กรณ์ ต่ า งชนิ ด ได้อ ย่ า งราบรื่น โดยได้ม ีก ารทดลองใช้ Android 4.0 ตัง้ แต่ ปลายปี 2554 แต่ ยงั ไม่อ อกสู่ตลาดในประเทศไทยอย่า งเป็ น ทางการ เนื่องจากระบบยังมีต้องการปรับปรุงอีกแต่คาดว่าจะได้เห็น Android 4.0 ออกสู่ตลาดอย่าง เป็ นทางการภายในปี 2555 4. DOCSIS (Data Over Cable Service Interface Specification) คือ การนํา ส่ ง ข้อมูลผ่านโครงข่ายเคเบิลทีวี ซึง่ ให้ความเร็วสูงกว่าการนําส่งผ่านสายโทรศัพท์ (ADSL) ทีม่ ี ใช้อยู่ในปจั จุบนั บางครัง้ เรียกว่า Ultra High Speed Broadband ซึ่งให้การรับส่งข้อมูลด้วย ความเร็ว 100 Mbps โดยเริม่ มีให้บริการบ้างแล้วเมือ่ กลางปี ทผ่ี ่านมาแต่พน้ื ทีใ่ ห้บริการยังไม่ ครอบคลุม อย่างไรก็ต ามคาดว่าจะได้ร บั การตอบรับ ที่ดีจ ากผู้ใ ช้บ ริก าร เนื่ อ งจากความ ต้องการใช้บริการ High Definition Video รูปแบบใหม่ทผ่ี สมผสานความเป็ น Interactive และ On Demand ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีแนวโน้มเติบโตเพิม่ สูงขึน้ เช่น Apple TV, Google TV และ Netflix ซึ่ง คาดว่ า จะเข้า มามีส่ว นแบ่ ง ในตลาด Cable TV หรือ Satellite TV ใน อนาคตอันใกล้ 2-34
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
5. เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) คาดว่าจะเป็ นเทคโนโลยีท่มี ี ความสํา คัญ เพิ่ม มากขึ้น สํา หรับ ปี 2555 ทัง้ ในส่ว นของ Private Cloud Computing และ Infrastructure as a Service (IAAS) ซึง่ เป็ นการนําโครงสร้างพืน้ ฐานของระบบมาให้บริการ เช่าใช้อย่างเป็ นระบบทัง้ ในส่วนของหน่วยประมวลผล เครือข่ายข้อมูล และระบบเก็บข้อมูล ผู้ ใช้บริการไม่จาํ เป็ นต้องใช้พน้ื ที่ในการเก็บข้อมูลขนาดใหญ่รวมถึงไม่จาํ เป็ นต้องดูแลรักษา ระบบด้วยตัวเอง และลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการบริหารจัดการดูแลทางด้าน IT ของบริษทั ซึง่ คาดว่าจะเข้ามามีบทบาทเพิม่ มากขึน้ หลังจากเหตุการณ์อุทกภัยทีผ่ า่ นมา 6. เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) คาดว่าจะเข้ามามีบทบาทในการพัฒ นา Mobile Application เพือ่ รองรับการให้บริการเสมือนจริงผ่านอุปกรณ์เคลือ่ นทีโ่ ดยคาดว่าจะได้ รับการตอบรับจากผูใ้ ช้ในประเทศไทยมากขึน้ ซึ่งเทคโนโลยีดงั กล่าวมีการให้บริการในต่าง ประเทศมาระยะหนึ่ ง แล้ว แต่ ย งั ไม่ เ ป็ น ที่แ พร่ ห ลายในประเทศไทย โดยเทคโนโลยี AR เป็ นการผสมผสานการทํางานระหว่างอุปกรณ์ถ่ายภาพประเภท Webcam และกล้องถ่ายภาพ ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ ร่วมกับการใช้ซอฟต์แวร์ทจ่ี ะทําให้เห็นภาพในจอของอุปกรณ์เคลือ่ นทีใ่ น รูปแบบสามมิติ 360 องศา นอกจากนัน้ ยังมีเทคโนโลยี NFC (Near Field Communication) ทีเ่ ป็ นเทรนด์เทคโนโลยีในปี ทผ่ี ่านมาแต่ในปี น้ีผผู้ ลิตอุปกรณ์เคลื่อนทีเ่ ริม่ มีการฝงั เทคโนโลยี ดังกล่าวลงในอุปกรณ์เคลื่อนที่ แม้ว่าจะยังไม่เปิ ดตัวในตลาดภายในประเทศแต่คาดว่าจะมี การนําเข้าอุปกรณ์ทม่ี รี ะบบดังกล่าวในปี น้ี
2-35
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การสํา รวจตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ในปี 2554 แบ่งตลาดซอฟต์แวร์ ออกเป็ น 4 กลุ่มหลักได้แก่ (1) Enterprise Software (2) Mobile Application Software (ไม่ รวมซอฟต์ แ วร์ เ กมบนโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ) (3) Embedded System Software (ไม่ ร วม ซอฟต์แวร์ทอ่ี ยู่ในอุปกรณ์สอ่ื สารขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที)่ และ (4) ซอฟต์แวร์กลุ่ม อื่นๆ (ไม่รวมซอฟต์แวร์เกม) เช่น ซอฟต์แวร์เพื่อการศึกษา และซอฟต์แวร์เชิงวิศวกรรม เป็ นต้น ขณะที่ ตลาดบริการซอฟต์แวร์ได้แยกการสํารวจออกจากบริการ IT อื่นๆ โดยแบ่ง เป็ น 6 กลุ่มหลักได้แก่ (1) Software Maintenance Services (2) Service and Application Hosting (3) Software as a Service (SaaS) (4) Software Services Outsourcing (5) Software Related Training and Education และ (6) บริการซอฟต์แวร์อน่ื ๆ การสํารวจในปี น้ีได้แยกนิยามของมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ออก เป็ น มูล ค่ า การบริโ ภค (consumption value) หรือ การใช้จ่ า ยด้า นซอฟต์ แ วร์แ ละบริก าร ซอฟต์แวร์ของผูซ้ อ้ื ในประเทศ ซึง่ ประกอบด้วยมูลค่าการนําเข้า และการผลิตเพือ่ การบริโภค ในประเทศ และมูลค่าการผลิต (production value) ซึง่ หมายถึง มูลค่าการผลิตของผูป้ ระกอบ การในประเทศ ซึง่ ประกอบด้วยมูลค่าการส่งออกและการผลิตเพือ่ การบริโภคในประเทศ การ สํา รวจในปี น้ียงั ได้ปรับปรุงวิธกี ารสํา รวจให้มคี วามแม่นยํา มากขึน้ โดยเทียบเคียงกับบริษทั สํารวจตลาดต่างประเทศในส่วนของการนําเข้าซอฟต์แวร์และลดการนับซํ้าในขัน้ ตอนต่างๆ ตลอดจนเปลี่ยนแปลงวิธกี ารคิดมูลค่า Embedded System Software ให้ประเมินมูลค่าไม่ เกินกว่าความเป็ นจริง (ดูรายละเอียดนิยามและวิธกี ารศึกษาท้ายเล่ม) ในปี 2554 ตลาดซอฟต์แวร์มมี ูลค่าการบริโ ภคของ Enterprise Software 27,880 ล้านบาท ขณะที่มูลค่าการผลิตของ Enterprise Software 17,865 ล้านบาท (คิดเป็ นอัตรา การเติบ โตร้อ ยละ 7.9) Mobile Application Software 1,065 ล้า นบาท (คิด เป็ น อัต ราการ เติบโตร้อยละ 13.6) และบริการซอฟต์แวร์ 10,488 ล้านบาท (คิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 13.4) โดยมีมลู ค่าการผลิตรวมทัง้ สิน้ 29,418 ล้านบาท (คิดเป็ นอัตราการเติบโตร้อยละ 10.1) (ตารางที่ 3-1) 3-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 3-1: มูลค่าและอัตราการเติบโตของตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ปี 2554 และประมาณการปี 2555 ประเภท Enterprise Software
มูลค่า (ล้านบาท) อัตราการเติ บโต (ร้อยละ) การบริ โภค การผลิ ต การผลิ ต การผลิ ต การผลิ ต 2554 2554 2555f 2554 2555f 27,880
17,865
20,688
7.9
15.8
Mobile Application Software
NA
1,065
1,447
13.6
35.9
Software Services
NA
10,488
12,346
13.4
17.7
29,418
34,481
10.1
17.2
รวม
สาเหตุทม่ี ลู ค่าตลาดซอฟต์แวร์ในปี น้ีต่าํ กว่าปี ทผ่ี ่านมา เนื่องจาก (1) จํานวนบริษทั ซอฟต์แ วร์ท่ีเ ป็ น ประชากร (population) ในการสํา รวจในปี น้ี จํา กัด เฉพาะบริษัท ที่ย งั คง ประกอบกิจการอยู่ ณ ขณะสํารวจ ซึง่ มีจาํ นวนรวมทัง้ สิน้ 870 บริษทั ในขณะทีก่ ารสํารวจใน ปี ก่อนหน้ าจะใช้จาํ นวนประชากรประมาณ 1,200 บริษทั (2) การสํา รวจในปี น้ีออกแบบให้ สามารถลดการนับซํ้า (double counting) ระหว่างยอดขายของผูป้ ระกอบการกลุ่มต่างๆ ทัง้ บริษัทผู้จดั จํา หน่ ายซอฟต์แวร์ (software vendor) ซึ่งเป็ น ผู้ประกอบการต่ างประเทศ กับ บริษทั ที่ให้บริการรวมระบบ (system integrator) และกิจการที่ขายตรงถึงผู้ใช้กบั กิจการที่ ขายผ่านตัวแทนจํา หน่ าย (3) ยอดขายของ software vendor ในการสํา รวจในปี น้ีเป็ นยอด ขายที่คดิ จากราคาส่ง เช่น Windows หรือ Office ที่ Microsoft จํา หน่ ายให้แก่บริษัทผู้ผลิต คอมพิวเตอร์จะถูกคิดในราคาขายส่ง (OEM price) ซึง่ จะตํ่ากว่าราคาขายปลีกแก่ผใู้ ช้สดุ ท้าย (end user) และ (4) ซอฟต์แวร์บางส่วนอาจถูกแปลงสภาพเป็ นบริการซอฟต์แวร์ในรูปแบบ ต่างๆ โดยเฉพาะ Software as a Service (SaaS) ในส่ ว นของ Embedded System Software การสํา รวจบริ ษั ท ในอุ ต สาหกรรม ดัง กล่ า วจํา นวน 20 แห่ง ซึ่ง ส่ว นใหญ่ เ ป็ น สมาชิก ของสมาคมสมองกลฝ งั ตัว ไทย (Thai Embedded Systems Association: TESA) พบว่า มูลค่าการผลิตรวมในปี 2554 เพิม่ ขึน้ เป็ น 4,315 ล้า นบาท จาก 2,861 ล้า นบาทในปี 2553 หรือ มีก ารผลิต ในประเทศไทยเพิ่ม ขึ้น ร้อยละ 50.8 ซึ่งเป็ นอัตราการเติบโตโดยรวมที่สูง เนื่องจากตลาดยัง มีความต้องการมาก 3-2
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ทัง้ นี้ ตลาด Embedded System Software ที่ม ีก ารขยายตัว ในระดับ ที่สูง คือ กลุ่ ม ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ และระบบเติมเงินล่วงหน้า นอกจากนัน้ ยังมีการขยายตัวของการ ใช้ Embedded System Software ในกลุ่มอื่นๆ อาทิ ระบบโลจิสติกส์ สมาร์ทการ์ด, Access Control, GPS และ Navigator ฯลฯ เพิม่ ขึน้ พอสมควร เช่นเดียวกับการขยายตัวของระบบ เซ็นเซอร์ดา้ นสิง่ แวดล้อม ซึ่งเกิดจากการเพิม่ ความเข้มงวดด้านกฎระเบียบด้านสิง่ แวดล้อม ของรัฐบาล สาเหตุ ท่ี มู ล ค่ า ตลาด Embedded System Software ในปี น้ี ต่าํ กว่ า ปี ที่ ผ่ า นมา เนื่องจากการประมาณการขนาดตลาดของ Embedded System Software ในปี น้ี ใช้วธิ กี าร ประมาณการมูลค่าการผลิต (production value) ของผูป้ ระกอบการในประเทศไทย เนื่องจาก เป็ นการวัดศักยภาพของอุตสาหกรรมนี้ของประเทศไทยซึ่งเหมาะสมกว่าการวัดมูลค่าการ บริโภค (consumption value) ซึ่งมีมูลค่าสูงกว่ามาก ทัง้ นี้ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์สาํ หรับผู้ บริโภคและสําหรับอุตสาหกรรมจํานวนมากมี Embedded System เป็ นส่วนประกอบ แต่การ ผลิตซอฟต์แวร์ท่เี กี่ยวข้องส่วนใหญ่เกือบทัง้ หมดเกิดขึน้ ในต่างประเทศ นอกจากนี้ การ สํา รวจในปี น้ีได้ประมาณมูลค่าการผลิต Embedded System Software จากผูป้ ระกอบการ ซอฟต์แวร์และบริษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ โดยในกรณีของบริษทั ผู้ ผลิตอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จะใช้วธิ ปี ระมาณการมูลค่าของ Embedded System Software โดยไม่รวมมูลค่าของฮาร์ดแวร์ทเ่ี กีย่ วข้อง จึงทําให้มลู ค่าของ Embedded System Software ที่ไ ด้จ ากการสํา รวจในปี น้ี ต่าํ กว่ า ปี ท่ีผ่ า นมา แม้ว่ า ตลาดโดยทัว่ ไปมี แนวโน้มการเติบโตอย่างรวดเร็วก็ตาม สําหรับการประมาณการมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ในปี 2555 คาดว่าตลาด Enterprise Software มีมูลค่า 20,688 ล้านบาท ขยายตัวจากปี 2554 ร้อยละ 15.8 ส่วน ตลาด Mobile Application Software มีมู ล ค่ า 1,447 ล้ า นบาท เติ บ โตร้ อ ยละ 35.9 และตลาดบริ ก าร ซอฟต์แวร์มมี ูลค่า 12,346 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 17.7 ส่วนตลาด Embedded System Software มีมลู ค่า 6,507 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 48.3 ทัง้ นี้ การเติบ โตของตลาด Enterprise Software เป็ น การเติบ โตตามรายจ่ า ย งบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ของภาครัฐและการเติบโตของภาคธุรกิจในสาขา ต่างๆ โดยเฉพาะสาขาบริการสมัยใหม่ ขณะที่การเติบ โตของตลาด Mobile Application Software นัน้ ยังคงขยายตัวสูงตามการเติบโตของการใช้บริการต่างๆ ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
(Mobile Non-Voice) ในตลาดสือ่ สารทีม่ กี ารเติบโตสูง นอกจากนี้ บริษทั บางแห่งได้พฒ ั นา Mobile Application Software เพื่อ ให้พ นัก งานสามารถเข้า ถึง ระบบ Enterprise Software และข้อมูลขององค์กรผ่านทางอุปกรณ์ ส่อื สารไร้สายได้ ส่วนการเติบโตของตลาดบริการ ซอฟต์ แวร์นัน้ เป็ น ผลจากการเติบ โตตามตลาด Enterprise Software ที่ข ยายตัว และผู้ ประกอบการให้ความสําคัญกับการขยายธุรกิจบริการซอฟต์แวร์มากขึ้น เนื่องจากเป็ นการ สร้า งรายได้ป ระจํา ให้แ ก่ ธุร กิจ ในระยะยาว และได้ผ ลตอบแทนที่ดีก ว่า การผลิต และขาย ซอฟต์แวร์ นอกจากนี้ ลูกค้ามีความนิยมใช้บริการซอฟต์แวร์มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ SaaS และ Software Services Outsourcing ส่วนตลาด Embedded System Software ก็ ขยายตัวตามอุตสาหกรรมยานยนต์ กฎระเบียบของรัฐทีเ่ ข้มงวดขึน้ และการขยายตัวของการ ใช้งานในภาคโทรคมนาคม หากพิจารณามูลค่าการส่งออกซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ของผู้ประกอบการ ไทย พบว่ า ในปี 2554 มีมูล ค่ า การส่ง ออกรวมทัง้ สิ้น 3,423 ล้า นบาท โดย Embedded System Software มีมูลค่าการส่งออกมากที่สุด (1,467 ล้านบาท) รองลงมาคือ Enterprise Software (1,298 ล้า นบาท) บริก ารซอฟต์ แ วร์ (623 ล้า นบาท) และ Mobile Application Software (35 ล้านบาท) (ตารางที่ 3-2) ในส่วนของตลาด Embedded System Software ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกสูงสุดนัน้ ผู้ ผลิตหลายรายได้สง่ ออกสินค้าทัง้ ในรูปแบบอุปกรณ์หรือระบบ ตลอดจนบริการทีเ่ กีย่ วข้องไป ต่างประเทศ โดยส่วนหนึ่งเป็ นการส่งออกของผูผ้ ลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมไปยังฟิ ลบิ ปิ นส์และ เวียดนาม ส่วนผูผ้ ลิต Embedded System Software สําหรับอุตสาหกรรมยานยนต์มกี ารส่ง ออกไปญี่ปุ่น ในขณะที่ผู้ผลิตระบบ RFID สํา หรับกิจการปศุสตั ว์มกี ารส่งออกอุ ปกรณ์ ท่มี ี Embedded System Software ไปยังยุโรป ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
3-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 3-2: มูลค่าการส่งออกซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ปี 2554 ประเภท Embedded System Software Enterprise Software Software Services Mobile Application Software รวม
มูลค่าการส่งออก (ล้านบาท) 1,467 1,298 623 35 3,423
การสํารวจในปีน้ียงั ศึกษาสัดส่วนมูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ทต่ี ก อยู่ก บั ผู้ป ระกอบการไทยเป็ น ครัง้ แรก ซึ่ง พบว่ า ในตลาดบริก ารซอฟต์แ วร์แ ละ Mobile Application Software ผูป้ ระกอบการไทยมีสดั ส่วนรายได้สงู ถึงร้อยละ 87.9 และร้อยละ 85.9 ตามลําดับ ขณะทีใ่ นตลาด Enterprise Software ผูป้ ระกอบการไทยมีสดั ส่วนรายได้ประมาณ ร้อยละ 56.7 ในตลาด Packaged Software และร้อ ยละ 74.5 ในตลาด Custom Software โดยส่วนทีเ่ หลือเป็นสัดส่วนรายได้ของผูป้ ระกอบการต่างประเทศ (แผนภาพที่ 3-1) แผนภาพที่ 3-1: สัดส่วนมูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ที่ตกอยู่กบั ผู้ ประกอบการไทยและผูป้ ระกอบการต่างประเทศ ปี 2554
3-5
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ในส่วนของตลาด Enterprise Software เมื่อจํา แนกเป็ นซอฟต์แวร์สาํ เร็จรูปที่สร้าง ขึน้ เพือ่ ใช้งานทัวไปไม่ ่ เฉพาะเจาะจงกับธุรกิจ ซึง่ ผูพ้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ ์ (หรือ ที่เรียกว่า packaged software) และซอฟต์แวร์แบบว่าจ้างที่ได้รบั การว่าจ้างออกแบบและ พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้กบั งานทีเ่ ฉพาะเจาะจง ซึ่งลูกค้าเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ ์ (หรือทีเ่ รียกว่า custom software) พบว่า สัดส่วนของ packaged software และ custom software ไม่แตก ต่างกันมากนัก โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 49.6 และร้อยละ 50.4 ตามลําดับ (แผนภาพที่ 3-2) แผนภาพที่ 3-2: สัดส่วนระหว่าง Packaged Software และ Custom Software ปี 2554
หากจํา แนกตลาดซอฟต์แ วร์ต ามลักษณะการใช้ง านเชิงเทคนิ ค เป็ น 3 กลุ่มหลัก ได้ แ ก่ (1) ซอฟต์ แ วร์ ป ระยุ ก ต์ (Application Software) เช่ น ERP, Office Suites, CRM, Supply Chain Management แ ล ะ Enterprise Content Management เ ป็ น ต้ น (2) ซอฟต์แวร์ทเ่ี ป็ นโปรแกรมหรือชุดคําสังที ่ เ่ ป็ นสื่อกลางเชื่อมระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์และ ระบบปฏิบ ัติก าร เพื่อ ให้ซ อฟต์แ วร์ป ระยุ ก ต์ ส ามารถทํา งานได้ (Middleware) เช่ น Web Services และ Enterprise Application Integration Software และ (3) ซอฟต์ แ วร์ ร ะบบ (System Software) เ ช่ น Operating System Software, BIOS Software แ ล ะ Utility Software พบว่ า สัด ส่ ว นของ Application Software อยู่ ใ นระดับ สู ง ที่สุ ด (ร้ อ ยละ 76.4) รองลงมาคือ Middleware (ร้อยละ 16.8) และ System Software (ร้อยละ 6.9) ดังแสดงใน แผนภาพที่ 3-3 3-6
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 3-3: สัดส่วนของ Enterprise Software จําแนกตาม ลักษณะการใช้งานเชิงเทคนิค ปี 2554
ในตลาดบริก ารซอฟต์ แ วร์ สัด ส่ ว นมูล ค่ า การผลิต ในแต่ ล ะประเภทของบริก าร ซอฟต์แวร์ดงั แสดงในตารางที่ 3-3 โดยบริการซอฟต์แวร์ท่มี สี ดั ส่วนมากที่สุดคือ Software Maintenance Services (ร้ อ ยละ 42.7) รองลงมาคื อ Software Services Outsourcing (ร้อ ยละ 30.8) Service and Application Hosting (ร้อ ยละ 13.9) SaaS (ร้อ ยละ 9.5) และ Software Related Training and Education (ร้อยละ 3.1)
3-7
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 3-3: สัดส่วนมูลค่าการผลิตในแต่ละประเภทของบริการซอฟต์แวร์ ปี 2554 ประเภทบริการ Software Maintenance Services Service and Application Hosting Software as a Service (SaaS) Software Service Outsourcing Software Related Training and Education อืน่ ๆ รวม
สัดส่วน (ร้อยละ) 42.7 13.9 9.5 30.8 3.1 0.0 100
ในตลาดบริการซอฟต์แวร์ การคิดค่าบริการส่วนใหญ่เป็ นการคิดตามระยะเวลา หรือ ปริมาณธุรกรรม หรือระยะเวลาในการทํา งานของบุคลากร โดยคิดเป็ นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 72.5 ขณะทีก่ ารคิดส่วนแบ่งจากยอดขายมีสดั ส่วนร้อยละ 24.8 และการคิดแบบอื่นๆ ร้อยละ 2.7 ดังแสดงในแผนภาพที่ 3-4 แผนภาพที่ 3-4: สัดส่วนการคิดค่าบริการซอฟต์แวร์ ปี 2554
3-8
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ปัจจัยที่มีผลต่อตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์เป็ นอุตสาหกรรมที่ให้บริการแก่ภาค ส่ว นอื่น ๆ ในระบบเศรษฐกิจ อัต ราการขยายตัว ของอุ ต สาหกรรมซอฟต์แ วร์แ ละบริก าร ซอฟต์แวร์จงึ ขึน้ อยู่กบั การขยายตัวของภาคการผลิตในสาขาต่างๆ และการลงทุนด้าน IT ของภาครัฐ ตลาดซอฟต์แวร์และบริการส่วนทีไ่ ม่รวม Embedded System Software ในปี 2554 ขยายตัวในอัตราประมาณร้อยละ 10 จากปี 2553 ซึ่งเป็ นอัตราที่สูงพอสมควร แต่กย็ งั เป็ น อัตราการเติบโตทีต่ ่าํ กว่าระดับเป้าหมายเดิมทีผ่ ปู้ ระกอบการตัง้ ไว้เล็กน้อย ด้วยสาเหตุจาก การเกิดปญั หาอุทกภัยในหลายจังหวัดในภาคกลางในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี ทําให้มผี ล กระทบต่อการใช้จ่ายด้าน IT ของภาคอุตสาหกรรมการผลิตทีป่ ระสบปญั หานํ้าท่วมโดยตรง และต่อการใช้จา่ ยของภาครัฐ ซึง่ ถูกตัดงบประมาณด้านการลงทุนด้านซอฟต์แวร์ลงเพือ่ นํางบ ประมาณไปใช้เพือ่ แก้ไขปญั หานํ้าท่วมแทน สําหรับปี 2555 การสํารวจผูป้ ระกอบการทําให้คาดการณ์ได้วา่ การเติบโตของตลาด ซอฟต์แวร์และบริการ (ส่วนทีไ่ ม่รวม Embedded System Software) จะเพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ประมาณร้อยละ 17 การขยายตัวในอัตราทีส่ งู ขึน้ ดังกล่าวเกิดจากปจั จัยต่างๆ ทีส่ าํ คัญคือ (1) เศรษฐกิจไทยโดยรวมมีการฟื้ นตัว โดยสํา นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ คาดว่าจะมีการขยายตัวประมาณร้อยละ 5.5-6.5 ทําให้สาขาเศรษฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะภาคบริการสมัยใหม่ซ่ึงใช้ระบบ IT ในสัดส่วนที่สูง เช่น ธนาคาร การเงินและ ประกันภัย ค้าปลีก การแพทย์และสาธารณสุข และโทรคมนาคมมีการขยายตัวตามไปด้วย ใน ขณะเดียวกัน คาดว่า ในปี 2555 ภาครัฐ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจจะมีการลงทุนด้าน IT เพือ่ ให้ บริการประชาชนอย่างต่อเนื่อง แม้ยงั ไม่มโี ครงการขนาดใหญ่กต็ าม (2) นอกเหนือจากการเติบโตโดยปรกติแล้ว กิจการในภาคบริการหลายแห่งทีใ่ ช้ IT ในสัดส่วนทีส่ งู โดยเฉพาะในสาขาธนาคาร และโทรคมนาคม จะมีการลงทุนในปี 2555 มาก ขึ้ น เพื่ อ เปลี่ ย นระบบ Core Banking และระบบ Billing ตามลํา ดั บ โดยในกรณี ข อง อุตสาหกรรมโทรคมนาคมนัน้ คาดว่า จะมีการลงทุนในระบบ Billing เพื่อรองรับบริการ 3G หลัง จากการประมูล ใบอนุ ญ าตบริก ารดัง กล่ า ว ซึ่ง มีกาํ หนดในช่ว งครึ่ง หลัง ของปี 2555 นอกจากนี้ คาดว่า ความแพร่หลายของโทรศัพท์เคลื่อนทีร่ ะบบ 3G จะทําให้เกิดซอฟต์แวร์ 3-9
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
สนับสนุนบริการ location based ต่างๆ รวมทัง้ ระบบแผนทีด่ ว้ ย (3) การขยายตัวของบริการบรอดแบนด์อย่างต่ อเนื่องและความแพร่หลายของ สมาร์ท ดีไ วซ์ (smart device) เช่น สมาร์ท โฟน (smart phone) และแท็บ เล็ต (tablet) จะ ทําให้เกิดความต้องการ Mobile Application Software เพิม่ มากขึน้ และทําให้ธุรกิจบริการ ในหลายสาขาแข่งขันกันในการเปิ ดช่องทางให้บริการข้อมูลและการทํา ธุรกรรมต่างๆ แก่ ลูกค้าผ่านอุปกรณ์เหล่านี้ โดยเฉพาะธนาคารพาณิชย์ ซึ่งต้องการพัฒนาช่องทางจําหน่ ายที่ หลากหลาย (multi-channel sale) นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังจะผลักดันให้ผู้ ประกอบการซอฟต์แวร์สว่ นใหญ่ตอ้ งพัฒนาความสามารถในการผลิตซอฟต์แวร์ให้ใช้งานได้ กับอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ดว้ ย (4) ความพยายามในการลดต้นทุนด้านลิขสิทธิ ์ซอฟต์แวร์ ทํา ให้ผู้ประกอบการใน อุ ต สาหกรรมซอฟต์แ วร์แ ละบริก ารซอฟต์แวร์ หัน ไปใช้ Open Source Software ในการ พัฒนาระบบของตนมากยิง่ ขึน้ แม้ส่วนใหญ่จะยังไม่ใช้ช่อื Open Source Software ในการ ทําการตลาด เพราะเกรงว่าจะทําให้ราคาตกก็ตาม (5) ตลาดบริการซอฟต์แวร์โดยรวมยังจะขยายตัวในอัตราทีส่ งู กว่าตลาดซอฟต์แวร์ เล็ก น้ อ ย เพราะประกอบด้ว ยส่ว นบริก ารที่เ ติบ โตควบคู่ไ ปกับ ซอฟต์ แ วร์ เช่ น Software Maintenance Services และบริการส่วนทีเ่ ติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น Outsourcing และ SaaS ซึง่ เห็นได้จากทีผ่ ปู้ ระกอบการทีม่ สี ดั ส่วนของบริการซอฟต์แวร์สงู มีอตั ราการขยายตัวสูงกว่าผู้ ประกอบการทีเ่ น้นผลิตและจําหน่ ายซอฟต์แวร์เท่านัน้ นอกจากนี้ การพึง่ รายได้จากการ บริการยังช่วยให้ผปู้ ระกอบการมีกระแสรายได้ทแ่ี น่นอนมากขึน้ ด้วย (6) แม้จะมีการกล่าวถึงกันมาก ผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่กเ็ ชื่อว่า Cloud Computing จะยังไม่ได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทยใน 2-3 ปี น้ี โดยในช่วงนี้ผใู้ ช้น่าจะอยู่ ในขัน้ ตอนของการศึกษา ในขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการบางรายอยู่ในช่วงทดลองตลาด ทัง้ นี้คาดว่า งานส่วนทีจ่ ะสามารถใช้ Cloud Computing ได้ก่อนคือส่วนที่ไม่มคี วามอ่อนไหวเรื่องความ ปลอดภัย (Security) อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ของประเทศไทย ยังคงมีอุปสรรคใน การเติบโตทีส่ าํ คัญ 2 ประการคือ (1) การขาดแคลนบุคลากรที่มคี ุณภาพ ทํา ให้ไม่สามารถ ขยายการผลิต ได้ แม้ต ลาดยัง มีค วามต้อ งการที่ไ ม่ ไ ด้ร ับ การตอบสนอง (2) การจัด จ้า ง 3-10
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ซอฟต์แวร์และบริการของภาครัฐยังคงมีปญั หา โดยเฉพาะในส่วนของการกําหนดขอบเขต ของงานใน TOR ทีไ่ ม่มคี วามชัดเจน ซึง่ ทําให้มปี ญั หาในการตรวจรับงาน สําหรับตลาด Embedded System Software ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการขยายตัว ประกอบ ด้วยปจั จัยด้านอุปสงค์และปจั จัยด้านอุปทาน ในส่วนของปจั จัยด้านอุปสงค์ แรงผลักดันให้ม ี ความต้องการใช้ Embedded System Software ส่วนหนึ่งเกิดจากแนวโน้มของความต้องการ ระบบความคุมการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิกส์ต่างๆ ทีม่ คี วามสามารถหรือมี ประสิท ธิภ าพมากขึ้น เช่ น ในรถยนต์ ร าคาแพงจะต้อ งใช้ห น่ ว ยควบคุ ม อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Control Unit หรือ ECU) ถึง 100 กว่ า หน่ ว ยต่ อ คัน ซึ่ง ทํา งานเชื่อ มต่ อ กัน ได้ ทําให้เกิดความต้องการซอฟต์แวร์สาํ หรับระบบดังกล่าวตามไปด้วย ปจั จัยด้านอุปสงค์ทส่ี าํ คัญอีกประการหนึ่งคือ กฎระเบียบของรัฐในประเทศไทยและ ในต่างประเทศ ทัง้ กฎระเบียบด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Regulations) กฎระเบียบ ด้า นความปลอดภัย ของอาหาร (Food Safety Regulations) หรือ มาตรฐานการประหยัด พลังงานทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ ทําให้เกิดความต้องการระบบเซ็นเซอร์ ระบบ Tracking และระบบ ควบคุมทีอ่ ยูใ่ นรูปของ Embedded System โดยในกรณีของกฎระเบียบของรัฐในต่างประเทศ จะทํา ให้เกิดความต้องการ Embedded System จํา นวนมาก แต่บุคลากรในด้านนี้ของต่าง ประเทศก็ขาดแคลน หรือมีคา่ จ้างระดับสูง จึงทําให้เกิดการว่าจ้างแรงงานในประเทศไทย ในขณะทีป่ จั จัยด้านอุปสงค์ทาํ ให้ตลาดมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ปจั จัยด้านอุปทานคือ การขาดแคลนแรงงานในประเทศทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ ได้กลายมา เป็ นข้อจํากัดทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ต่อการเติบโตของอุตสาหกรรม การขาดแคลนแรงงานทําให้มกี าร แย่งตัวบุคลากรกันสูงมากและผลักดันให้ตน้ ทุนการผลิตในประเทศไทยสูงขึน้ แม้จะยังตํ่ากว่า ต้นทุนในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วก็ตาม มูลค่าการผลิตจําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลัก และภาคเศรษฐกิจ หากพิจารณามูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์แยกตามภาคผูใ้ ช้หลัก ระหว่างภาครัฐซึ่งประกอบด้ว ยหน่ วยราชการและรัฐวิสาหกิจ กับภาคเอกชน ในปี 2554 (ตารางที่ 3-4) พบว่า ในตลาด Enterprise Software และ Mobile Application Software นัน้ สัดส่วนของลูกค้าภาคเอกชนสูงถึงร้อยละ 63.6 และร้อยละ 61.5 ตามลําดับ ขณะที่สดั ส่วน ของภาครัฐคิดเป็ นร้อยละ 36.4 และร้อยละ 38.5 ตามลําดับ ส่วนในตลาดบริการซอฟต์แวร์ 3-11
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
สัดส่วนของลูกค้าภาคเอกชนสูงถึงร้อยละ 78.7 ขณะทีภ่ าครัฐมีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 21.3 ตารางที่ 3-4: สัดส่วนตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ จําแนกตามภาคผูใ้ ช้หลักปี 2554 ภาคผูใ้ ช้หลัก หน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจเอกชน รวม
Enterprise Software 36.4 63.6 100
สัดส่วน (ร้อยละ) Mobile Application Software 38.5 61.5 100
Software Services 21.3 78.7 100
หมายเหตุ: ภาคธุรกิจเอกชน หมายถึง ธุรกิจทีม่ คี อมพิวเตอร์ใช้งานมากกว่า 20 เครือ่ ง
หากพิจารณาจํา แนกตามภาคเศรษฐกิจ ดังแสดงในตารางที่ 3-5 พบว่า ในตลาด Enterprise Software สาขาที่มสี ดั ส่วนการใช้จ่ายมากทีส่ ุด คือ สาขาการเงิน (ร้อยละ 41.4) รองลงมาคือ ภาคราชการ (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ) (ร้อยละ 26.2) และสาขายานยนต์และชิน้ ส่วน (ร้อยละ 6.6) ส่วนในตลาด Mobile Application Software สาขาที่มสี ดั ส่วนการใช้จ่ายมาก ที่สุด คือ สาขาการเงิน (ร้อยละ 35.5) รองลงมาคือ สาขาพลังงาน (ร้อยละ 20.3) และภาค ราชการ (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ) (ร้อยละ 16.7) และในตลาดบริการซอฟต์แวร์ สาขาการเงินมี สัดส่วนการใช้จ่ายมากที่สุด (ร้อยละ 23.6) รองลงมาคือ สาขาขนส่งและโลจิสติกส์ (ร้อยละ 20.3) และภาคราชการ (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ) (ร้อยละ 15.1)
3-12
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ตารางที่ 3-5: สัดส่วนตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ จําแนกตาม ภาคเศรษฐกิจ ปี 2554 สัดส่วน (ร้อยละ) ภาคเศรษฐกิจ Enterprise Mobile Application Software Software กระทรวง ทบวง กรม และหน่ ว ย 26.2 16.7 งานราชการ (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ) การเงิน 41.4 35.5 โทรคมนาคม 2.5 11.5 การศึกษา 5.9 1.4 พลังงาน 2.4 20.3 ขนส่งและโลจิสติกส์ 1.8 1.5 การผลิตและแปรรูปอาหาร 2.9 11.8 ยานยนต์และชิน้ ส่วน 6.6 0.4 การแพทย์และสาธารณสุข 3.5 0.0 ธุรกิจค้าปลีก 2.9 0.1 0.3 0.8 ท่องเทีย่ ว อัญมณี 0.6 0.0 อืน่ ๆ 3.0 0.0 รวม 100 100
Software Services 15.1 23.6 7.2 2.5 5.1 20.3 6.0 11.9 2.5 2.1 1.1 0.0 2.6 100
ในตลาด Embedded System Software สัดส่วนตลาดในอุตสาหกรรมต่างๆ แสดง ในแผนภาพที่ 3-5 จากแผนภาพดัง กล่าวจะเห็น ว่ า สาขาที่ม ีก ารใช้ Embedded System Software มากที่สุด ได้แก่ สาขายานยนต์ (ร้อยละ 61) รองลงมาคือ ภาคราชการ (ไม่รวม รัฐวิสาหกิจ) (ร้อยละ 28.7)
3-13
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
แผนภาพที่ 3-5 สัดส่วนตลาด Embedded System Software ในอุตสาหกรรมต่างๆ
การใช้ซอฟต์แวร์ในภาคราชการ (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ) ในปี 2554 นัน้ ถึงแม้รฐั บาลจะ ไม่มกี ารริเริม่ โครงการ IT ขนาดใหญ่ หรือโครงการใหม่ๆ มากนัก แต่การซือ้ เพือ่ ทดแทนและ การอัพเกรดซอฟต์แวร์กย็ งั คงมีอยู่ ซึง่ ส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจากระบบการจัดสรรงบประมาณที่ มักจะกําหนดงบประมาณในแต่ละปีตามปีกอ่ นหน้า ภาคธนาคารยังคงเป็ นภาคที่มกี ารใช้ซอฟต์แวร์มากอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีการ แข่ ง ขัน สู ง โดยเฉพาะในส่ ว นของการทํา Retail Banking ซึ่ง ต้ อ งการระบบ Business Intelligence และ Customer Relationship Management โดยธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่จะ มีการลงทุนด้านซอฟต์แวร์ไม่ต่าํ กว่าปี ละ 500 ล้านบาทเพื่อบํา รุงรักษาระบบเดิมและ/หรือ ทดแทนระบบเก่า โดยในปี 2554 นี้ ธนาคารหลายแห่งก็มกี ารปรับปรุงระบบบริการหลัก (Core Banking) ที่ย งั มีก ารดํา เนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากปี ก่ อ นๆ เช่ น เดีย วกัน โดยบาง ธนาคารได้เปลีย่ นระบบ Core Banking ของตนให้สามารถรองรับการทํางานทีต่ อ้ งการความ ยืดหยุน่ มากขึน้ ภาคโทรคมนาคมเป็ น ภาคที่เ คยมีส ดั ส่ว นการใช้ซ อฟต์ แ วร์สูง ในอดีต ที่ผ่ า นมา อย่า งไรก็ต าม ในปี 2554 นี้ การลงทุน ด้านซอฟต์แ วร์ล ดลงเนื่ อ งจากเป็ น ช่ว งปลายของ สัญญาสัมปทาน ซึง่ กําหนดให้ผปู้ ระกอบการต้องโอนมอบระบบต่างๆ ทีล่ งทุน รวมทัง้ ระบบ 3-14
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
IT ให้แก่รฐั วิสาหกิจเจ้าของสัมปทาน ผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่จงึ รอการลงทุนต่างๆ หลังจาก ได้รบั ใบอนุญาต แทนการประกอบการภายใต้สมั ปทาน เว้นแต่รายทีม่ อี ายุสมั ปทานเหลืออยู่ นาน ในส่วนของการใช้ซอฟต์แวร์ในภาคการศึกษาในปี 2554 นัน้ ยังอยู่ในระดับที่สูงต่อ เนื่อง โดยมีการปรับปรุงระบบ IT ของมหาวิทยาลัยเอกชนหลายแห่ง ทัง้ การปรับปรุงระบบ การบริหารจัดการ (Back Office) และการวางระบบเพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อแบบออนไลน์ เป็ นต้น สําหรับการใช้ซอฟต์แวร์ในการสนับสนุ นการขนส่งและโลจิสติกส์ มีการเติบโตอยู่ใน ระดับทีด่ อี ย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่งแล้ว เนื่องจากผูป้ ระกอบการเห็นว่า การใช้ซอฟต์แวร์ เพือ่ บริหารจัดการระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ชว่ ยให้เกิดการประหยัดต้นทุนและทําให้เกิด การบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ตลาดในส่วนนี้มแี นวโน้มการขยายตัวได้อกี มาก หากมีก ารนํา เทคโนโลยี 3G มาใช้อ ย่ า งกว้ า งขวาง โดยเฉพาะการใช้ บ ริก ารในกลุ่ ม แอพพลิเคชันที ่ เ่ กีย่ วกับ Location Based Services ซึง่ เดิมถูกจํากัดจาก Bandwidth ในการ สือ่ สาร สํา หรับภาคที่มกี ารลดหรือชะลอการลงทุนด้านซอฟต์แวร์อ ย่างเห็นได้ช ดั ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต เนื่องจากการชะลอตัวของภาคการส่งออกและสภาวะเศรษฐกิจ ทัวโลกที ่ ย่ งั ฟื้นตัวไม่ดนี กั ประกอบกับการประสบปญั หาอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในปี 2554 แนวโน้ มเทคโนโลยี แนวโน้ ม เทคโนโลยีซ่ึง น่ า จะมีผ ลต่ อ การเปลี่ย นแปลงและการเติบ โตของตลาด ซอฟต์แวร์ในอนาคตได้แก่ 1. เทคโนโลยี สื่อสารไร้สายความเร็วสูง ทัง้ ระบบ 3G และ LTE (Long Term Evolution) เทคโนโลยีส่อื สารไร้สายความเร็วสูงทัง้ 3G ซึง่ สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุด 2/4 Mbps และ LTE ซึง่ สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงสุด 50/100 Mbps จะมีสว่ นผลักดัน ให้เกิดบริการและการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ในประเทศไทย เทคโนโลยีดงั กล่าวน่ าจะถูกนํา มาใช้หลังจากที่ กสทช. เปิ ดประมูลใบอนุ ญาตบริการ 3G และ LTE ในปี 2555 และ 2556 ตามลําดับ 3-15
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2. เทคโนโลยีอปุ กรณ์ปลายทาง (terminal device) ของผูใ้ ช้เปลี่ยนไปสู่สมาร์ท โฟนและแท็บเล็ต มากขึน้ เทคโนโลยีอุปกรณ์ปลายทางของผูใ้ ช้เปลีย่ นจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (PC) หรือโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ บบเดิม (feature phone) ไปสูส่ มาร์ทโฟน เช่น iPhone และโทรศัพท์ ที่ใช้ร ะบบปฏิบ ตั ิก ารแอนดรอย์ (Android OS) หรือ อุปกรณ์ อ่ืนๆ ที่ส ามารถสื่อ สารข้อมูล ความเร็วสูงได้ เช่น แท็บเล็ต (tablet) ซึง่ จะส่งผลโดยตรงต่อการเติบโตของตลาดซอฟต์แวร์ สําหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile Application Software) นิตยสาร The Economist ประจําวันที่ 8-14 ตุลาคม 2011 วิเคราะห์วา่ ปี 2011 เป็ น ปี แรกทีย่ อดขายสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตสูงกว่ายอดขายเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและ แลปท็อปเป็ นครัง้ แรก และคาดว่าภายในปี 2020 จะมีการใช้สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเชือ่ มต่อ เข้ากับอินเทอร์เน็ตรวมทัง้ สิน้ มากกว่า 1 หมืน่ ล้านเครือ่ งทัวโลก ่ สําหรับประเทศไทย IDC1 ได้คาดการณ์ว่า ปี 2012 จะเป็ นปี แรกทีย่ อดขายสมาร์ท โฟนและแท็บเล็ตสูงกว่ายอดขายเครือ่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลเป็ นครัง้ แรก โดยสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตจะมียอดขาย 6.7 ล้านเครือ่ ง ขณะทีเ่ ครื่องคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลจะมียอดขาย เพียง 4.1 ล้านเครือ่ ง 3. IT consumerisation IT consumerisation หมายถึง การทีพ่ นักงานขององค์กรต่างๆ รวมทัง้ บริษทั ชัน้ นํา ในประเทศไทยได้ผสมผสานการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและแอพพลิเคชันด้ ่ านธุรกิจและส่วนตัว เข้าด้วยกัน โดยเฉพาะพนักงานใหม่ซง่ึ เติบโตมาในยุคของอินเทอร์เน็ตและเคยชินกับการใช้ smart device ต่างๆ ผลกระทบที่ตามมาคือ แผนก IT ซึ่งเดิมมักจะกํา หนดและควบคุม เทคโนโลยีสาํ หรับพนักงานเพือ่ ใช้ในการทํางาน ต้องเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงในการกําหนด ว่าจะควบคุมเครือข่ายและจัดการเทคโนโลยีซง่ึ ไม่ได้จดั หาโดยแผนก IT เช่น สมาร์ทโฟนและ แท็บเล็ตได้อย่างไรจึงจะสามารถอํานวยความสะดวกให้แก่พนักงาน โดยไม่ก่อให้เกิดปญั หา ความปลอดภัย (security) ของระบบ
1 “2012 will prove to be a challenging year for Thailand’s ICT markets, say IDC”, IDC, 2012.
3-16
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
4. การให้บริการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Service) การให้บริการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Service) หมายถึง การ ให้บริการโครงสร้างพืน้ ฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศขนาดใหญ่เสมือนจริง (Virtualization) และมีความยืดหยุ่นสูงในการปรับเปลีย่ นความสามารถในการทํา งานให้เหมาะสมกับสภาพ การใช้งาน โดยเป็ นการใช้งานผ่านทางอินเทอร์เน็ต และคิดค่าบริการตามปริมาณที่ใช้จริง โดยในส่วนของการให้บริการ Cloud Computing แบบทีใ่ ห้บริการซอฟต์แวร์คอื Software as a Service (SaaS) ทีเ่ ป็ นแอพพลิเคชันซอฟต์ ่ แวร์ ในต่ า งประเทศ การให้บ ริก าร Cloud computing ได้ แ พร่ ห ลายมากขึ้น ทัง้ ด้ า น ซอฟต์แวร์ (SaaS) แพลทฟอร์ม (Platform as a Service: PaaS) และโดยเฉพาะอย่างยิง่ โครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructure as a Service: IaaS) โดย IDC รายงานว่า ภาคธุรกิจจะ ปรับเปลีย่ นจากการใช้ระบบแบบส่วนตัว (private cloud) ไปสู่ระบบแบบสาธารณะ (public cloud) มากขึน้ ทําให้เกิดระบบแบบผสม (hybrid could) กล่าวคือ ระบบการใช้แบบส่วนตัว เป็ นโครงสร้างพืน้ ฐานแบบปิ ดใช้เฉพาะในองค์กรและเน้นด้านความปลอดภัยและความเป็ น ส่วนตัว ขณะที่ระบบการใช้แบบสาธารณะเป็ นโครงสร้างพื้นฐานแบบเปิ ดสํา หรับผู้ใช้งาน ทัวไปและไม่ ่ เน้ นความเป็ นส่วนตัว ส่วนระบบผสมเป็ นการผสมผสานระหว่างระบบการใช้ แบบสาธารณะและแบบส่วนตัว โดยภาคธุรกิจทีม่ กี ารใช้ระบบแบบส่วนตัวจะหันไปใช้ระบบ แบบเปิ ดมากขึน้ โดยเฉพาะสําหรับงานทีไ่ ม่สาํ คัญและไม่จาํ เป็ นต้องเน้นด้านความปลอดภัย สูงเพือ่ ให้สอดคล้องกับการจัดการทรัพยากรทีเ่ หมาะสมให้มากขึน้ ในประเทศไทย คาดว่า Cloud computing จะยังไม่ได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลาย ในประเทศไทยในระยะเวลา 2-3 ปี น้ี โดยในช่วงนี้ผใู้ ช้น่าจะอยู่ในขัน้ ตอนของการศึกษา ใน ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการบางรายอยูใ่ นช่วงทดลองตลาด
3-17
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
1. คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ขอบเขตการศึกษาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ปี 2554 มีการปรับเปลีย่ นกรอบนิยามจาก ปี ทผ่ี า่ นมา โดยทําการยกเลิกการสํารวจข้อมูลกล้องดิจติ อล เนื่องจากมีช่องทางการจําหน่าย ผ่านร้านกล้องมากกว่าการจําหน่ ายผ่านช่องทาง IT ในปจั จุบนั อย่างไรก็ดี การสํารวจข้อมูล ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ยังคงแบ่งผลิตภัณฑ์ในการศึกษา ออกเป็ น 3 กลุ่มหลักๆ ดังต่อ ไปนี้ 1) กลุม่ ซิสเท็ม (Systems) ประกอบด้วย 1.1) Large Scale System หมายถึง เครือ่ งคอมพิวเตอร์ระบบขนาดใหญ่ และ เครือ่ งประเภท High-Speed Computing รวมถึงเครือ่ งแม่ขา่ ย (Server) ทีม่ ปี ระสิทธิภาพการ ทํางานสูง รองรับการทํางานทีม่ ขี อ้ มูลมากๆ มีความซับซ้อน และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว เป็ นการทํางานทีต่ อ้ งการระบบทีม่ คี วามปลอดภัย มีความน่ าเชือ่ ถือสูง และสามารถทํางานได้ อย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดพัก ด้วยการประมวลของซีพยี แู บบ 64-bit มีการทํางานแบบ MultiProcessor ทัง้ แบบ 4-way, 8-way, และ 12-way เหมาะสํา หรับ การใช้ง านภายในองค์ก ร ขนาดใหญ่ 1.2) Medium Scale System หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบขนาดกลาง หรืออาจเรียกว่า Midrange System รวมถึงเครื่องแม่ข่ายขนาดกลาง (Midrange Server) มี ประสิทธิภาพการประมวลผลสูงและมีเสถียรภาพที่น่าเชื่อถือได้รองลงมาจาก Large scale system โดยมีการใช้งานซีพยี แู บบ Multi-Processor เหมาะสําหรับใช้ในธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็ก 1.3) Small Scale System หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ระบบขนาดเล็ก รวม ถึงเครือ่ งแม่ขา่ ย (Server) ทีร่ องรับเครือ่ งลูกข่ายไม่มากนัก ซึง่ มีประสิทธิภาพในการประมวล ผล และเสถียรภาพของระบบตํ่ากว่า Medium Scale System และ Large Scale System จึง เหมาะกับการใช้งานภายในองค์กรขนาดเล็ก หรือ การใช้ง านทัวไป ่ ขณะเดีย วกัน Small 4-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
Scale System แตกต่างจากเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ทัวไปทั ่ ง้ ในส่วนของหน่ วย ประมวลผลชิปเซ็ต ฮาร์ดดิสก์ และระบบระบายความร้อน ทีร่ องรับการทํางานประมวลผลโดย เฉพาะ 1.4) Special Purpose Equipment หมายถึง ชุดเครื่องคอมพิว เตอร์สาํ หรับ งานเฉพาะด้านทีต่ อ้ งอาศัยโปรแกรมทีส่ ร้างขึน้ มาโดยเฉพาะในการทํางาน ซึ่งไม่สามารถใช้ งานเพื่อวัตถุประสงค์อ่นื ได้ ตัวอย่างเช่น ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์สาํ หรับงานธนาคาร (เครื่อง เอทีเอ็ม เครือ่ งปรับสมุดบัญชี และเครือ่ งฝากเงิน) และ ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์สาํ หรับการค้า (เครือ่ งรับชําระเงิน) เป็ นต้น 2) กลุม่ คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล (Personal Computer: PC) ประกอบด้วย 2.1) คอมพิวเตอร์เดสก์ทอป (Desktop) หรือ หมายถึง เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ งานตามบ้านและสํา นักงาน ซึ่งถูกออกแบบมาให้ตงั ้ บนโต๊ะมีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็ น ซีพยี ู จอภาพ และแป้นพิมพ์ 2.2) คอมพิว เตอร์โ น้ ต บุ๊ ค /เน็ ต บุ๊ ค (Notebook/Netbook) หมายถึง เครื่อ ง คอมพิวเตอร์พกพาสําหรับเคลื่อนย้ายไปใช้งานในที่ต่างๆ มีน้ําหนักประมาณ 1-3 กิโลกรัม สามารถใช้พลังงานทัง้ จากแบตเตอรี่หรือพลังงานไฟฟ้าจากการเสียบปลักไฟ ๊ โดยทัวไป ่ Netbook จะมีขนาดหน้าจอ ประมาณ 10 นิ้ว และมีประสิทธิภาพการประมวลผลทีด่ ้อยกว่า Notebook แต่ ป ระหยัด พลัง งานมากกว่ า ซึ่ง เหมาะสํา หรับ การใช้ ง านเชื่อ มต่ อ ไร้ ส าย อิน เทอร์เ น็ ต แอพพลิเ คชัน่ และโปรแกรมที่ใ ช้ป ระสิท ธิภ าพการประมวลผลตํ่า ขณะที่ Notebook จะมีหน้ าจอประมาณ 13 -17 นิ้ว และมีประสิทธิภาพการประมวลผลด้านวิดโี อ และกราฟฟิ กทีส่ งู กว่า Netbook โดยขึน้ อยูก่ บั อุปกรณ์ทใ่ี ช้ 2.3) แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) หมายถึง คอมพิวเตอร์ชนิดพกพาทีท่ าํ งานด้วย ระบบสัมผัส (touch screen) มีขนาดหน้าจอระหว่าง 7-10 นิ้ว รองรับการเชือ่ มต่อแบบไร้สาย เหมาะสํา หรับการใช้งานอินเทอร์เน็ต และแอพพลิเคชันเป็ ่ นพื้นฐานเช่นเดียวกับ Netbook สํา หรับประเภทของ Tablet นัน้ มีทงั ้ แบบที่มแี ป้ นพิมพ์ซ่ึงสามารถหมุนและพับ หน้ าจอได้ (convertible tablet) และไม่มแี ป้นพิมพ์แต่สงการด้ ั่ วยแป้นพิมพ์ดจิ ติ อลทีอ่ ยูบ่ นหน้าจอ (slate tablet) โดยการใช้น้วิ มือสัมผัส หรือใช้ปากกา Stylus สังการทํ ่ างาน
4-2
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
3) กลุม่ อุปกรณ์ตอ่ พ่วง (Peripherals) ประกอบด้วย 3.1) จอภาพ (Monitor) คือ จอภาพแสดงผล ซึ่ง การศึก ษาครัง้ นี้ จ ะจัด เก็บ มูลค่าตลาดจอภาพทีใ่ ช้เทคโนโลยี LCD (Liquid Crystal Display) และ LED (Light-Emitting Diode) โดยจะเก็บข้อมูลเฉพาะจอภาพที่จาํ หน่ ายแยกต่างหากโดยไม่นับรวมกับจอภาพที่ จําหน่ายควบไปกับเครือ่ งคอมพิวเตอร์พซี ใี นลักษณะเป็นชุด 3.2) Printer หมายถึ ง อุ ป กรณ์ เ ครื่อ งพิม พ์ ท่ีร ับ สัญ ญาณตรงจากเครื่อ ง คอมพิวเตอร์ เพื่อพิมพ์งานออกมาเป็ นข้อความภาพ ลงบนกระดาษ หรือวัตถุอ่นื ในประเภท เดียวกัน แบ่งเป็น 3.2.1) Dot Matrix Printer หรือ เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ ใช้หลักการ สร้างจุดลงบนกระดาษโดยตรง หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์มลี กั ษณะเป็ นหัวเข็ม เมื่อต้องการ พิมพ์สงิ่ ใดลงบนกระดาษ หัวเข็มทีอ่ ยู่ ในตําแหน่ งทีป่ ระกอบกันเป็ นข้อมูลดังกล่าวจะยื่นลํ้า หน้าหัวเข็มอื่นเพือ่ ไปกระแทกผ่านผ้าหมึกลงบนกระดาษ ความคมชัดของข้อมูลบนกระดาษ ขึน้ อยูก่ บั จํานวนจุดทีพ่ มิ พ์ลงบนกระดาษ 3.2.2) Inkjet Printer หรือ เครื่อ งพิม พ์พ่ น หมึก เป็ น เครื่อ งพิม พ์ท่ี ทํางานโดยการพ่นหมึกออกมาเป็ นหยดเล็กๆ ลงบนกระดาษ เมือ่ ต้องการพิมพ์รปู ทรงหรือรูป ภาพใดๆ เครื่องพิมพ์จะทําการพ่นหมึกออกตามแต่ละจุดในตําแหน่ งทีเ่ ครื่องประมวลผลไว้ อย่างแม่นยําตามความต้องการ ซึง่ เครือ่ งพิมพ์แบบพ่นหมึกจะมีคณ ุ ภาพดีกว่าและมีความเร็ว ในการพิมพ์ดกี ว่าเครือ่ งพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เครือ่ งพิมพ์พน่ หมึกแบ่งออกเป็นเครือ่ งพิมพ์แบบ Single Inkjet ซึ่งสามารถพิมพ์งานได้เพียง อย่างเดียว และเครื่องพิมพ์แบบ Multifunction Inkjet สามารถพิมพ์งาน รับ-ส่งแฟกซ์ ถ่ายเอกสาร และสแกนภาพได้ในเครือ่ งเดียวกัน 3.2.3) Laser Printer หรือ เครื่องพิมพ์เลเซอร์ ใช้เทคโนโลยีเดียวกับ เครื่องถ่ายเอกสาร โดยการยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบนกระดาษในการสร้างรูปภาพหรือตัว อักษร ผลลัพธ์ทอ่ี อกมาจะมีคุณภาพสูงมาก ซึง่ เครือ่ งพิมพ์เลเซอร์จะทํางานได้เร็วกว่า อีกทัง้ คุณภาพของผลลัพธ์ทงั ้ ด้านความคมชัดและรายละเอียดทําออกมาได้ดกี ว่าแบบพ่นหมึกมาก และเครื่องพิมพ์มรี าคาสูง เครื่องพิมพ์เลเซอร์ แบ่งออกเป็ นเครื่องพิมพ์แบบ Single Laser สามารถพิมพ์งานได้เพียงอย่างเดียว และเครือ่ งพิมพ์ Multifunction สามารถพิมพ์งาน รับ -ส่ง แฟกซ์ ถ่ายเอกสาร และสแกนภาพได้ในเครือ่ งเดียว 4-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
3.3) อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลภายนอก (External Data Storage) แบ่งออกเป็ น 3.3.1) External Hard Disk หมายถึง ฮาร์ดดิสก์แบบพกพาที่ต่อพ่วง ภายนอกเครือ่ งซีพยี ู ทีม่ กี ล่องใส่เฉพาะ (enclosure) โดยทัวไปมี ่ interface สําหรับการเชือ่ ม ต่อกับซีพยี ู 2 แบบ คือ USB กับ Fire-wire ซึง่ มีหน่วยความจําทีส่ งู กว่า Flash Drive ทัง้ นี้ใน การสํารวจในส่วนนี้จะไม่นบั รวมฮาร์ดดิสก์ทต่ี ดิ ตัง้ ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์สาํ เร็จรูป 3.3.2) Enterprise Storage แบ่งออกเป็ น 2 ระดับ ได้แก่ 3.3.2.1) Entry Level: storage for small scale systems โดย ใช้เทคโนโลยี NAS (Network Attached Storage) ซึง่ เป็ นระบบทีใ่ ห้บริการแก่คอมพิวเตอร์ ต่างๆ ในระดับแฟ้มข้อมูล เพื่อรองรับการจัดเก็บข้อมูลที่เพิม่ มากขึน้ หรือเพื่อบริหารไฟล์ ข้อมูลเป็ นหลัก NAS เปรียบเสมือนระบบไฟล์เซิรฟ์ เวอร์ขนาดใหญ่ มีการเข้าถึงการทํางาน แบบไฟล์บนเซิรฟ์ เวอร์โดย Client หรือเวิรก์ สเตชันผ่านทางเน็ตเวิรก์ โปรโตคอล โครงสร้าง ของ NAS เน้ นการให้บริการด้านไฟล์ ดังนัน้ จึงช่วยให้การจัดการการเข้าถึงไฟล์สามารถ ทําได้อย่างรวดเร็ว 3.3.2.2) High-End Level: storage for medium-large scale systems โดยใช้เทคโนโลยี SAN (Storage Area Network) ซึ่งเป็ นระบบเครือข่ายของที่ เก็บข้อมูล โดยนําอุปกรณ์ทจ่ี ดั เก็บข้อมูลมาติดตัง้ รวมกันเป็ นครือข่ายมีระบบจัดการข้อมูลบน เครือข่ายทีท่ าํ ให้รบั ส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ทํา ให้ขอ้ มูลที่เก็บเสมือนเป็ นส่วนกลางที่แบ่งให้กบั ซีพยี หู ลายเครือ่ งได้ และเป็ นการสร้างระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพได้ ทัง้ นี้การสํา รวจมูลค่าตลาด Enterprise Storage เป็ นการเก็บข้อมูลมูลค่าตัว เครือ่ ง ซอฟต์แวร์ และบริการบํารุงรักษารวมกัน 3.4) กลุม่ ผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ (Other Peripherals) ประกอบด้วย 3.4.1) สแกนเนอร์ (Scanner) คือ อุ ปกรณ์ จบั ภาพและเปลี่ย นแปลง ภาพจากรูปแบบของอนาล็อกเป็ นดิจทิ ลั ซึง่ คอมพิวเตอร์สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษา และผลิตออกมาได้ โดยภาพนันอาจจะเป็ ่ น รูปถ่าย ข้อความ ภาพวาด หรือแม้แต่วตั ถุสามมิติ 3.4.2) โปรเจคเตอร์ (Projector) เป็ นอุปกรณ์ทช่ี ่วยในการแสดงภาพให้ มีขนาดใหญ่ขน้ึ เหมาะสําหรับใช้ในการนําเสนองานหรือพรีเซนเทชัน่ หรืออาจนํามาทําเป็ น 4-4
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
Home Theater โดยสามารถนํามาต่อกับอุปกรณ์ได้หลายประเภท เช่น คอมพิวเตอร์ วีดโี อ รวมทัง้ วีดโี อซีดี และดีวดี ี 3.4.3) เครือ่ งสํารองไฟฟ้า (Un-interruptible Power Supply: UPS) คือ เครือ่ งสํารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าจากกรณีทเ่ี กิดปญั หาขัดข้องทางด้านไฟฟ้า เช่น ไฟ ตก ไฟดับ ไฟเกิน และไฟกระชาก เป็ นต้น ซึ่งเครื่องสํา รองไฟฟ้าจะช่ว ยให้การจ่ายไฟมี เสถียรภาพจากสถานการณ์ ดงั กล่า วข้างต้น ซึ่ง จะช่ว ยป้ อ งกัน ความเสียหายกับ อุป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะในบางกรณีความเสียหายอาจส่งผลถึงชีวติ เช่น อุปกรณ์ทางการ แพทย์ ซึ่งสามารถแบ่งเครื่องสํา รองไฟฟ้าออกได้เป็ น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ 1) Passive Standby UPSs (Off-line) 2) Line Interactive UPSs และ 3) Double Conversation UPSs (Online)
4-5
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2. ตลาดสื่อสาร การสํารวจมูลค่าตลาดสือ่ สารปี 2554 ได้ทาํ การจําแนกประเภทตลาดในกลุ่มอุปกรณ์ สื่อสารและบริการสื่อสารเหมือนกับปี ทผ่ี ่านมา เพื่อให้มคี วามสอดคล้องทางด้านการเปรียบ เทียบข้อมูลในแต่ละปี โดยครอบคลุมทัง้ อุปกรณ์และบริการสือ่ สาร มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) ตลาดอุปกรณ์ ส่อื สาร (Communication Equipment) หมายถึง ตลาดที่จาํ หน่ าย อุปกรณ์สอ่ื สาร เพือ่ รองรับการสือ่ สารรูปแบบต่างๆ สามารถจําแนกออกเป็ น 4 กลุม่ ดังนี้ 1.1) ตลาดเครื่อ งโทรศัพ ท์ (Telephone Handset) ครอบคลุ ม ทัง้ เครื่อ ง โทรศัพท์แบบใช้สายและไร้สาย จําแนกออกเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ดังนี้ 1.1.1) เครื่องโทรศัพท์ประจํา ที่ (Fixed Line Handset) ประกอบด้ว ย Conventional Fixed Handset, IP Phone และ Fax 1.1.2) เครื่อ งโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ (Mobile Handset) ประกอบด้ ว ย Conventional Mobile Phone และเครือ่ งโทรศัพท์สมาร์ทโฟน (Smart Phone 1.2) ตลาดอุปกรณ์ โครงข่าย (Core Network Equipment) จํา แนกออกเป็ นก ลุม่ ย่อยได้ดงั นี้ 1.2.1) อุ ป กรณ์ โ ครงข่ า ยพื้น ฐาน (Infrastructure Equipments หรือ Core Equipments) ประกอบด้ ว ย อุ ป กรณ์ โ ครงข่ า ยโทรศั พ ท์ ป ระจํา ที่ (Fixed Line Infrastructure Equipments) ได้ แ ก่ PSTN (Public Switch Telephone Network), DWDM (Dense Wavelength Division Multiplexer), Wavelength Converter, SDH (Synchronous Digital Hierarchy), IPTN, IP Router, L2/L3 Switch เป็ นต้น 1.2.2) อุปกรณ์โครงข่ายประเภทสายเคเบิล (Infrastructure Cabling) ประกอบด้วย อุปกรณ์ Optical Communication Equipment, Fiber Optic, Coaxial และสาย เคเบิลอืน่ ๆ เป็ นต้น 1.3) ตลาดอุ ปกรณ์ ส่อื สารใช้ส าย (Wireline Equipment) จํา แนกออกเป็ น 3 กลุม่ ย่อย ได้ดงั นี้ 1.3.1) อุ ป ก ร ณ์ เ ชื่ อ ม ต่ อ ป ล า ย ท า ง ใ ช้ ส า ย (Wireline Access Equipment) ซึ่ง เป็ น อุ ป กรณ์ เ ชื่อ มต่ อ สัญ ญาณกับ โครงข่ า ยหลัก ประกอบด้ว ยอุ ป กรณ์ 4-6
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
ประเภท Media Gateway, Signaling Gateway, BRAS, OLT/ONU (ครอบคลุมถึงอุปกรณ์ Terminal FTTX), Switching Equipment, Concentrator, Controller, Connector Attenuator, Router, Hub, NIC และ Modem เป็ นต้น 1.3.2) อุ ป กรณ์ ชุ ม สายโทรศั พ ท์ แ ละตู้ ส าขา (PBX/PABX) ได้ แ ก่ Conventional PBX/PABX แล ะ IP PBX เช่ น DVC, DSLAM (Digital Subscriber Line Access Multiplexer), MSAN (Multi Service Access Node) และ ATA (Analog Telephone Adapter) เป็ นต้น 1.3.3) อุ ป กรณ์ ส ายเคเบิล เชื่อ มต่ อ ระบบเครือ ข่ า ย (LAN Cabling) หมายถึง อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ตดิ ตัง้ ระบบเครือข่ายภายในองค์กร หรือเครือข่ายภายในอาคาร เช่น สายเคเบิล, สายโทรศัพท์, สายทองแดง, Switching, Patch และ Panel Cord เป็ นต้น 1.4) ตลาดอุ ป กรณ์ ส่อื สารประเภทไร้ส าย (Wireless Equipment) ประกอบ ด้ ว ย TDM Switching (Time Division Multiplexer Switching), BTS (Base Station Transceiver), MSC (Mobile Switching Center), GGSN (Gateway GPRS Support Node) Booster, Filter, RRH, HLR/VLR, SGW, SGSN, RNC, Switching, Femtocell, Pico Cell, Compact Base Station, Microwave Backhaul, Amplifier, Access Point, Wireless Router และ Air Card เป็ นต้น 2) ตลาดบริก ารสื่อ สาร (Communication Service) หมายถึง ตลาดผู้ใ ห้บ ริก าร สือ่ สารทัง้ แบบใช้สายและแบบไร้สาย แบ่งออกเป็ น 5 กลุม่ ดังนี้ 2.1) ตลาดบริการโทรศัพท์ประจํา ที่ (Fixed Line Service) ประกอบด้วย การ ให้บริการโทรศัพท์ใช้สายภายในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน การให้บริการทางไกลในประเทศ รวมถึงการ ให้บริการโทรศัพท์สาธารณะ 2.2) ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Service) ประกอบด้วย การให้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนทีป่ ระเภทชําระค่าบริการล่วงหน้า (Prepaid) การให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ประเภทชํา ระค่าบริการหลังการใช้ (Postpaid) รวมถึงการให้บริการเสริมสํา หรับ โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ (Mobile Non Voice) เช่ น SMS, MMS, Email, GPRS และ EDGE เป็ นต้น 2.3) ตลาดบริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service) ครอบคลุมบริการต่างๆ ดังนี้ 4-7
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2.3.1) บริการโครงข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet Gateway) หมายถึง การ ให้บริการเชือ่ มต่อโครงข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ 2.3.2) การให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Access) หมายถึง การให้ บริการเชือ่ มต่อเพือ่ เข้าถึงและใช้อนิ เทอร์เน็ตทัง้ แบบ Narrowband และ Broadband 2.4) ตลาดบริ ก ารโทรศั พ ท์ ร ะหว่ า งประเทศ (International Telephone Service) ประกอบด้วยการให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศผ่านโครงข่ายโทรศัพท์ประเภท International Direct Dialing (IDD) และ Voice Over Internet Protocol (VoIP) รวมถึงการ ให้บริการบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศ (Calling Card) 2.5) ตลาดสื่อ สารข้อ มูล (Data Communication Service) ประกอบด้ว ย บริก าร วงจรเช่า (Leased Circuit Services), การให้บริการเครือข่ายส่วนบุคคล (Private Network), ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ค รื อ ข่ า ย เ ส มื อ น (Virtual Private Network), ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ATM (Asynchronous Transfer Mode) และ Frame Relay เป็ นต้น
4-8
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
3. ซอฟต์แวร์ ขอบเขตการสํารวจตลาดซอฟต์แวร์ในปี 2554 ได้แบ่งประเภทซอฟต์แวร์ออกเป็ น 4 กลุม่ หลัก ได้แก่ 1) Enterprise Software หมายถึง ซอฟต์แวร์ทช่ี ่วยในการบริหารจัดการทัวไป ่ หรือ ทํางานเพือ่ แก้ปญั หาหรือจัดการทรัพยากรของบุคคลหรือองค์กร 2) Mobile Application Software หมายถึง ซอฟต์แวร์สาํ หรับอุปกรณ์ เคลื่อนที่พก พาขนาดเล็ก (เช่น โทรศัพท์เคลือ่ นที)่ โดยไม่รวมซอฟต์แวร์เกมบนโทรศัพท์เคลือ่ นที่ 3) Embedded System Software หมายถึ ง ซอฟต์ แ วร์ ซ่ึ ง ฝ งั อยู่ ใ นอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เพื่อใช้สาํ หรับควบคุมการทํางาน ซึ่งไม่รวม ซอฟต์แวร์ทอ่ี ยู่ในอุปกรณ์ สือ่ สารขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์เคลือ่ นที่ 4) ซอฟต์แวร์กลุ่มอื่นๆ (ไม่รวมซอฟต์แวร์เกม) เช่น ซอฟต์แวร์เพื่อการศึกษา และ ซอฟต์แวร์เชิงวิศวกรรม แต่ไม่รวมซอฟต์แวร์เกมอืน่ ๆ • การแบ่งซอฟต์แวร์ตามลักษณะการส่งมอบ 1) Packaged software หมายถึง ซอฟต์แวร์สาํ เร็จรูปทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ใช้งานทัวไปไม่ ่ เฉพาะเจาะจงกับธุรกิจ ซึง่ ผูพ้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ ์ 2) Custom software หมายถึง ซอฟต์แวร์แบบว่าจ้างทีไ่ ด้รบั การว่าจ้างออกแบบและ พัฒนาซอฟต์แวร์เพือ่ ใช้กบั งานทีเ่ ฉพาะเจาะจง ซึง่ ลูกค้าเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ ์ ทัง้ นี้ ไม่รวมถึง การพัฒนาหรือปรับปรุงซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้ภายในองค์กรเอง (in-house development) • การแบ่งซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งานเชิงเทคนิค 1) Application Software หรือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคําสัง่ ทีอ่ อกแบบสําหรับการแสดงผลทีห่ น้าจอคอมพิวเตอร์ เพิอ่ สนับสนุ นกิจกรรมทางธุรกิจ หรือ ใช้ประโยชน์เฉพาะประเภทสําหรับลูกค้าทัวไป ่ (ส่วนใหญ่กลุ่มผูใ้ ช้งานนี้จะไม่ใช่ช่างเทคนิค ด้ า น ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ) เ ช่ น Supply Chain Management (SCM), Customer Relationship Management (CRM), ซอฟต์ แ วร์ เ ชิ ง วิ ศ วกรรมต่ า งๆ เช่ น CAD (Computer- Aided Design), CAM (Computer-Aided Manufacturing) และ ซอฟต์แวร์ใช้งานทัวไป ่ เช่น Office และ Spreadsheet ต่างๆ เป็ นต้น 4-9
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
2) Middleware หมายถึง โปรแกรมหรือ ชุ ด คํา สัง่ ที่เ ป็ น สื่อ กลางเชื่อ มระหว่ า ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์และระบบปฏิบตั กิ าร โดยเป็ นตัวประสานเชื่อมโยงเพื่อช่วยให้ซอฟต์แวร์ ประยุกต์สามารถทํา งานได้บน platform ที่แตกต่างกันหรือที่เขียนด้วยภาษาที่แตกต่างกัน เช่น CORBA, web services และ enterprise application integration software 3) System Software หรือ ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคํา สัง่ ที่ใช้ เป็ น ระบบพื้น ฐานเพื่อ สังให้ ่ ค อมพิว เตอร์ทาํ งาน เช่น Operating System Software (เช่น Microsoft Windows, Mac OS X แ ล ะ Linux), BIOS Software (Basic input/output system), device firmware, และ Utility software (เช่น anti-virus utilities, backup utilities, data compression utilities, disk checkers, disk cleaners, disk compression, archive utilities, file managers, network utilities, registry cleaners, screensavers, system monitors และ system profilers)
4-10
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
4. บริการซอฟต์แวร์ ขอบเขตการสํา รวจตลาดบริการซอฟต์แวร์ในปี 2554 ได้แยกการสํา รวจออกจาก บริการ IT อืน่ ๆ โดยแบ่งเป็ น 6 กลุม่ หลักได้แก่ 1) Software Maintenance Services หมายถึ ง การบริ ก ารดู แ ลบํา รุ ง รั ก ษ า ซอฟต์แวร์ เป็ นการให้บริการตัง้ แต่การจัดหาซอฟต์แวร์ ติดตัง้ บํา รุงรักษา ปรับปรุง และ อัพ เกรดผลิต ภัณ ฑ์ใ หม่ๆ ให้ลูก ค้า โดยบริก ารดัง กล่ า วไม่ร วมค่า การใช้ส ิท ธิซ อฟต์แ วร์ (Software license) 2) Service and Application Hosting หมายถึ ง บริ ก ารให้ เ ช่ า ใช้ service หรื อ application 3) Software as a Service (SaaS) หมายถึง การให้บริการซอฟต์แวร์ผ่านทางเว็บ (web-based) โดยผูใ้ ห้บริการจะติดตัง้ ซอฟต์แวร์ไว้ทเ่ี ครือ่ งแม่ขา่ ยของผูใ้ ห้บริการทีเ่ ชื่อมต่อ กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายได้จากการให้บริการจะเป็ นไปตามสัดส่วนการใช้งานของผูใ้ ช้ 4) Software Services Outsourcing หมายถึง การรับ จ้า งให้บ ริก ารซอฟต์แ วร์แก่ หน่ วยงานภายนอก ทัง้ ในการบริหารจัดการและปฏิบตั กิ ารบางส่วนหรือทัง้ หมดขององค์กร โดยมีระดับการบริการ ค่าธรรมเนียม และระยะเวลาที่ตกลงกันไว้แน่ นอน (Service Level Agreement) 5) Software Related Training and Education หมายถึง การบริการด้านฝึ กอบรม และให้ความรูท้ ่เี กี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ของหน่ วยฝึ กอบรมขององค์กรที่มกี ารเปิ ดหลักสูตร อย่างต่อเนื่อง แต่ไม่นบั รวม การฝึกอบรมในองค์กร (In-house Training) และการฝึกอบรมใน สถานศึกษา ได้แก่ สถาบันอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา และโรงเรียน รวมทัง้ รายบุคคล 6) บริการซอฟต์แวร์อน่ื ๆ
4-11
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การสํารวจมูลค่าตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในปี 2554 ดําเนินการระหว่าง เดือน พฤศจิกายน 2554 – มีนาคม 2555 โดยได้แบ่งกลุ่มตลาดออกเป็ น 3 ตลาดหลัก อัน ประกอบไปด้วย ตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ตลาดสือ่ สาร และตลาดคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ทัง้ นี้ ในแต่ละตลาดมีความแตกต่างกันทัง้ ในเชิงผลิตภัณฑ์และบริการ ตลอดจนจํา นวนผูเ้ ล่น และผูป้ ระกอบการรายหลัก ดังนัน้ จํา นวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ สํารวจจึงมีจาํ นวนแตกต่างกันไปตามวิธกี ารสุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในแต่ละตลาด ซึ่งวิธกี ารสํารวจ โดยย่อมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ วิธีการสํารวจตลาด 1. จัดทํา กรอบนิยามประกอบการสํารวจ กํา หนดกรอบประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และระบุผปู้ ระกอบการรายหลักของแต่ละตลาด การจัดประชุม Focus Group กับผูเ้ ชีย่ วชาญ แยกรายตลาด 2. การจัด เก็บ ข้อ มูล ที่เ กี่ย วข้อ งจากผู้ป ระกอบการรายหลัก ของตลาดโดยการ สัม ภาษณ์ เ ชิง ลึก (In-depth Interview) และการสํา รวจด้ว ยแบบสอบถาม ซึ่ง จํา นวนผู้ใ ห้ สัมภาษณ์เชิงลึกและผูต้ อบแบบสอบถาม สามารถสรุปได้ดงั ตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4.1 : จํานวนผูเ้ ล่นรายหลักที่สมั ภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถามที่ตอบกลับในแต่ละตลาด ตลาด
สัมภาษณ์ (ราย)
แบบสอบถาม (ราย)
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
20
15
สือ่ สาร
32
55
คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และ บริการซอฟต์แวร์
19
240
รวม
71
310
4-12
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
นอกจากนี้ ใ นการศึก ษายัง ได้เ ก็บ รวบรวมข้อ มูล ทุ ติย ภูม ิจ ากแหล่ ง ต่ า งๆ ได้แ ก่ รายงานข่าว รายงานประจํา ปี รายงานผลประกอบการประจํา ปี จากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และข้อมูลงบการเงินจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็ นต้น 3. นําข้อมูลในแต่ละตลาดมาประมวลผลด้วยวิธที างสถิติ เช่น การหาค่าเฉลีย่ การ หาค่าเฉลีย่ แบบถ่วงนํ้าหนัก และประเมินกลับเป็ นมูลค่าตลาดในภาพรวม และนําข้อมูลจาก แหล่งทุตยิ ภูมติ ่างๆ มาประกอบการวิเคราะห์ผลการศึกษา 4. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลกับผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละอุตสาหกรรมด้วยการจัด ประชุม Focus Group โดยจัดแยกรายตลาดในเดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 วิธีการสํารวจตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ การสํารวจตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ในปี น้ี ใช้วธิ กี ารสํา รวจทีแ่ ตกต่าง จากการสํารวจในปีทผ่ี า่ นมา ดังต่อไปนี้ • การสํา รวจตลาด Enterprise Software, Mobile Application Software และ Software Services การสํารวจตลาด Enterprise Software ในปี น้แี ยกซอฟต์แวร์ออกเป็ นส่วนทีผ่ ลิตโดย vendor ซึง่ เป็ นบริษทั ต่างประเทศออกจากซอฟต์แวร์ทผ่ี ลิตโดยผูป้ ระกอบการไทย การประมาณการมูล ค่ า ตลาด Enterprise Software ส่ว นที่ผ ลิต โดย vendor นั น้ อ้างอิงจากข้อมูลของ Gartner Group และยืนยันด้วยข้อมูลของบริษทั สํารวจตลาดต่างประเท ศอื่ น ๆ ส่ ว นมู ล ค่ า ซอฟต์ แ วร์ ท่ี ผ ลิ ต โดยผู้ ป ระกอบการไทยนั ้น ใช้ วิ ธี ก ารสํา รวจโดย แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ SI และ software house ในประเทศไทย ตามวิธกี ารสํารวจ ตลาด ICT โดยรวมทีก่ ล่าวมาข้างต้น • วิธกี ารสํารวจตลาด Embedded System Software เนื่องจากประชากร (population) ของผูป้ ระกอบการ Embedded System Software ยังไม่เคยถูกกําหนดมาก่อน การสํารวจโดยสุ่มตัวอย่างเพื่อหาค่าทางสถิตขิ องตัวอย่างเพื่อ นําไปประเมินกลับเป็ นค่าของประชากรในภาพรวมจึงไม่สามารถทําได้ การสํารวจนี้จงึ ใช้วธิ ี การประมาณการมูลค่าตลาดขัน้ ตํ่า โดยรวบรวมข้อมูลเฉพาะตัวอย่างที่หาได้ ซึ่งในปี น้ีม ี กิจการทีต่ อบแบบสอบถาม 20 แห่ง 4-13
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การสํารวจตลาดคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ และตลาดสื่อสาร 1. นายจํารัส สว่างสมุทร
ทีป่ รึกษา
สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ อุตสาหกรรม 2. นายศุภชัย สัจไพบูลย์กจิ
ทีป่ รึกษา
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย 3. นายบุญรักษ์ สรัคคานนท์
ทีป่ รึกษา
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย 4. นายวิชยั เบญจรงคกุล
ทีป่ รึกษา
นายกสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5. นายสุพจน์ เธียรวุฒ ิ
ทีป่ รึกษา
ประธานกลุม่ เอ็มทีสแควร์ 6. นายสมบัติ อนันตรัมพร
ทีป่ รึกษา
สมาคมเคเบิลลิง่ แห่งประเทศไทย 7. นายสมชัย สิทธิชยั ศรีชาติ
ทีป่ รึกษา
บริษทั เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 8. นายวีระ อิงค์ธเนศ
ทีป่ รึกษา
บริษทั เอสวีโอเอ จํากัด (มหาชน) 9. นายภาณุวฒ ั น์ ขันธโมลีกุล
ทีป่ รึกษา
บริษทั สุพรีม ดิสทิบวิ ชัน่ (ไทย์แลนด์) จํากัด 5-1
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
10. นายพันธ์ศกั ดิ ์ ศิรริ ชั ตพงษ์
ทีป่ รึกษา
ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 11. นางสาวกษิตธิ ร ภูภราดัย
ทีป่ รึกษา
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 12. นายสุธี ผูเ้ จริญชนะชัย
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 13. นางสาวพรรณี พนิตประชา
นักวิจยั
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 14. นายวทัญญู พุทธรักษา
นักวิจยั
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 15. นางสาวสุมาวสี ศาลาสุข
นักวิจยั
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 16. นางสาววันวิสาข์ ศรีคร้าม
ผูป้ ระสานงาน
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
5-2
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
การสํารวจตลาดคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ 1. ดร. มนู อรดีดลเชษฐ์
ทีป่ รึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2. ดร. ธนชาติ นุ่มนนท์
ทีป่ รึกษา
เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย 3. ดร. กษิตธิ ร ภูภราดัย
ทีป่ รึกษา
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 4. ผศ. อภิเนตร อูนากูล ั วไทย สมาคมสมองกลฝงตั
ทีป่ รึกษา
5. คุณบุญรักษ์ สรัคคานนท์
ทีป่ รึกษา
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย 6. คุณปราโมทย์ พงษ์ทอง
ทีป่ รึกษา
สํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 7. คุณประวิตร ฉัตตะละดา
ทีป่ รึกษา
สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย 8. คุณสมพร มณีรตั นะกูล
ทีป่ รึกษา
สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย 9. คุณสิรนิ ทร ไชยศักดา
ทีป่ รึกษา
ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 10. คุณอรรถพล สาธิตคณิตกุล
ทีป่ รึกษา
บริษทั ไอดีซี ไทยแลนด์ จํากัด 11. ดร. สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์
หัวหน้าโครงการ
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย 5-3
สรุปผลสํารวจตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของประเทศไทยปี 2554 และประมาณการปี 2555
12. ดร. เสาวรัจ รัตนคําฟู
นักวิจยั หลัก
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย 13. คุณเทียนสว่าง ธรรมวณิช
นักวิจยั
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย 14. คุณวิโรจน์ สุขพิศาล
นักวิจยั
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย 15. คุณเศก เมธาสุรารักษ์
นักวิจยั
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย 16. คุณนิภา ศรีอนันต์
นักวิจยั
สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย
5-4