1
2
3
4
แหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็น จานวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน , ร้านทอง ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสาคัญแห่ง หนึ่งของกรุงเทพมหานคร
ศูนย์กลางการเดินทางโดยรถไฟ บทบาทของย่านโบ๊เบ๊ ย่านค้าปลีก ย่านเปรียบเทียบผลผลิต ย่านการ ผลิต และย่านค้าส่งตามประสงค์
ย่านชุมชนดั้งเดิม ที่มีแนวโน้มการพัฒนาสูง ทั้งด้าน โครงข่ายคมนาคมและแหล่ง เศรษฐกิจ
5
6
7
8
9
1. ท่าเรือราชวงศ์
4. ท่าเรือวัดทองธรรมชาติ
2. ท่าเรือท่าดินแดง
5. กรมเจ้าท่า
7. Iconsiam Pier 4
8. ท่าเรือด่วนสี่พระ
10. ท่าเรือวัดม่วงแค
11. ท่าเรือข้ามฟากวัดสุวรรณ
3. ท่าเรือสวัสดี
6. ท่าน้าสี่พระยา
9. CAT Tower Pier
12. ท่าโอเรียลเต็ล
10
ส่วนใหญ่ที่ดินของพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่ถือครองโดย รองลงมาคือ
เอกชน
ภาครัฐ
11
สัญลักษณ์
ประเภทการใช้อาคาร
ที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยเป็นหลัก
พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัยกึ่งพาณิชยกรรม
ที่อยู่อาศัย
อุตสาหกรรม คลังสินค้า สถาบันราชการ
พาณิชยกรรมเป็นหลัก
สาธารณูปโภค
พาณิชยกรรม
สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา
อนุรักษ์เพื่อศิลปะและวัฒนธรรมไทย
อยู่อาศัยเป็นหลัก
ห้างสรรพสินค้า
ที่อยู่อาศัย
12
13
3
2
วัดปทุมคงคา
วัดม่วงแค
1
14
15
ประชากรแฝงในพื้นที่
16
คลองสาน ประมาณ 2.7% ต่อปี ค่าเฉลี่ยการลดลงของจานวนประชากร
สัมพันธวงศ์ ประมาณ 1.2% ต่อปี ค่าเฉลี่ยการลดลงของจานวนประชากร บางรัก ประมาณ 2% ต่อปี ค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากร
17
18
พิธีแห่รูปพระตายในคืนวันศุกร์
มัสยิดฮารูน ศูนย์รวมชาวมุสลิม ย่านบางรัก
สวดมนต์ข้ามปี วัดพฤฒาราม
พิธีกว ิ่ อ้วงฮุกโจ้วก่อนเริ่ม เทศกาลกินเจ
19
20
มรดกวัฒนธรรมที่จบ ั ต้องได้
LEGEND ขึ้นทะเบียนแล้ว ยังไม่ขึ้นทะเบียน อาคารที่มีคุณค่า
21
22
23
24
ตลาดน้อย
บริเวณหน้าวัดแม่พระลูกประคา ค้าขายอาหาร
บริเวณในตลาดน้อย เซียงกง ร้านค้าแงงหน้าอาคาร
บริเวณถนนเจริญกรุง การค้าพาณิชยกรรมแบบจีน
บริเวณถนนทรงวาด บริษัทห้างหุ้นส่วน
25
บางรัก
บริเวณถนนมหาพฤฒาราม
ถนนเจริญกรุง
ชุมชนจงสวัสดิ์
ซอยเจริญกรุง30 มัสยิดฮารูน
ซอยข้างไปรษณีย์กลางบางรัก โซนค้าขายอาหาร
26
2
1
4
6
โฮมสเตย์ตลาดน้อย
8
ย่านเจริญนคร ที่อยู่อาศัยชั้นดี
5 โครงการพัฒนาพิพธ ิ ภัณฑ์รถไฟ ไทยหัวลาโพง
7 โครงการก่อสร้างสะพานข้าม แม่น้าเจ้าพระยา ถนนดินแดง
9 รถไฟฟ้าสายสีแดง ช่วงหัวลาโพง-บางบอน-มหาชัย
Creative district ถนนเจริญกรุง สถานที่สาคัญต่างๆไปยัง The jam เป็นจุดสุดท้าย
โครงการพระรามสี่ วิถีคนเมือง
10 โครงการก่อสร้างสะพานข้าม แม่น้าเจ้าพระยา บริเวณถนน ลาดหญ้า-ถนนมหาพฤฒาราม
โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมือง นาร่องย่านกะดีจีน-คลองสาน พัฒนาที่อยู่อาศัยใหม่หนาแน่น สูงและเป็นพื้นที่ท่องเที่ยว
โครงการริมน้ายานนาวา
Source : โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองนาร่องย่านกะดีจีน-คลองสาน 27
งังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร 2562 พื้นที่โครงการ
ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร 2556
ร่างผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร 2562
28
29
Strengts & Opportunities ด้านกายภาพ - มีความหลากหลายและเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมแบบไทย จีน และตะวันตก - อยู่ในจุดยุทธศาสตร์สาคัญในกรุงเทพ ย่านพาณิชยกรรม - มีระบบคมนาคมที่ครบครัน รถ ราง เรือ - มีมุมมองที่ดีเนื่องจากมีอาคารสถาปัตยกรรมเก่าแก่เป็นจานวนมาก - โอกาสส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญระดับประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ - เป็นย่านที่คนรู้จักของคนในประเทศ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว และพาณิชยกรรมที่สาคัญ - โอกาสที่จะพัฒนาเป็นย่านแหล่งงานสร้างสรรค์
ด้านสังคมและวัฒนธรรม - พื้นที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน - มีวัฒนธรรมและประเพณีเชื้อชาติที่หลากหลาย - โอกาสส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ด้านนโยบาย - มีโครงการที่ต้องการให้ย่านเป็น Creative District - เป็นพื้นที่ที่มีโครงการพัฒนาหลายโครงการ - โครงการสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยาในอนาคตจะส่งผลให้ลดการจราจรติดขัด เส้นทางสัญจร
ท่าเรือข้ามฟาก
โครงการสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยา
Creative District
โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง
ประวัติศาสตร์ยาวนาน
สถานีรถไฟ
ความหลากหลายทางสถาปัตยกรรม
30
ด้านกายภาพ
Problem & Threats
- อาคารพาณิชย์ไม่ได้ถูกใช้งานจานวนมาก - พื้นที่สาธารณะไม่เพียงพอต่อคนในพื้นที่ในการทากิจกรรม - ขาดพื้นที่จอดรถสาหรับคนในพื้นใน-นอกพื้นที่ - ปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน - พื้นที่เข้าถึงได้ยากขาดความเชื่อมโยงของสถานที่สาคัญ - พื้นที่ข้าราชการเข้าถึงไม่ได้จากสาธารณะ - พื้นที่ใต้ทางด่วนมีความเสื่อมโทรม
ด้านเศรษฐกิจ - ปัจจุบันเศรษฐกิจมีความซบเซา ส่วนหนึ่งมาจากผลกระทบของ Covid – 19 - ชุมชนตลาดน้อยขาดการส่งเสริมอาชีพ ทาให้คนในพื้นที่ส่วนใหญ่ออกไปหารายได้นอกพื้นที่ - พื้นที่ได้รับความนิยมในหมู่คนรุ่นใหม่ แต่เป็นเพียงจุดแวะมาแล้วก็กลับไม่ได้เป็น จุดมุ่งหมายสาหรับการใช้ชีวิต
ด้านสังคมและวัฒนธรรม -
สถานที่สาหรับรองรับการจัดกิจกรรมทางสังคมไม่เพียงพอ
ด้านนโยบาย - หลายโครงการที่มาทาข้อมูลศึกษาในพื้นที่แล้วใช้เวลานาน บั่นทอนจิตใจคนในชุมชนที่มีความคาดหวัง
31
32
33
สรุปแนวคิดหลักของพื้นที่
การพลิกฟื้นย่าน (Revival)
การสร้าง โครงข่ายทาง สังคมและสิ่งแวดล้อม (Relink)
การสร้าง การรับรู้ใหม่ (Rebrand)
Soure: โครงการสร้างสรรค์เจริญกรุง
34
กรณีศึกษา - Case Study 1. ย่านตลาดน้อย - กรุงเทพมหานคร
แนวคิดการอนุรักษ์และฟื้นฟู
การฟื้นฟูย่านตลาดน้อยและพื้นที่ต่อเนื่อง ให้เป็นย่าน ที่ดารงความเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้าในระดับเมือง อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมควบคู่กับการพัฒนาในอนาคต รวมถึ ง การพั ฒ นาพื้ น ที่ ส าธารณะริ ม แม่ น้ าเจ้ า พระยา ให้ กลับมาเป็นหน้าบ้านที่ยังประโยชน์แก่สาธารณะดังเช่นอดีต
35
2. อารีย์-ประดิพัทธ์ ย่านสร้างสรรค์
กรณีศึกษา - Case Study เปิดยุทธศาสตร์พื้นที่อารีย-์ ประดิพัทธ์ พื้นที่เชิงกายภาพ : อารีย-์ ประดิพัทธ์เป็นพื้นที่ต่อเนื่องกัน มีถนนพหลโยธินและถนนพระราม 6 เป็นถนนหลัก ที่วิ่งคู่ขนานผ่านทั้งสองพื้นที่ สัดส่วนของการใช้ประโยชน์ที่ดิน มากกว่า 70% เป็นที่อยู่อาศัย รองลงมาเป็น สานักงาน และพื้นที่ราชการ การเข้าถึง : ถนนพหลโยธินเป็นถนนสายสาคัญที่มีความสาคัญระดับเมือง เชื่อมต่อตั้งแต่อนุสาวรีย์ชัย ยาวไป จนถึงเส้นรังสิต จึงเป็นเส้นทางสัญจรที่มีการผ่านไปมามาก และมีความเชื่อมต่อในระดับเมืองสูง สามารถเข้าถึง ได้ง่าย นอกจากนี้ยังมีรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีอารีย์ และสถานีสะพานควาย ที่ช่วยกระจายคนให้มาสู่ย่าน อุตสาหกรรมฮอตในย่าน 1.อุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มร้านอาหารและคาเฟ่ 38% 2.อุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม 15.20% 3.อุตสาหกรรมการแพทย์แผนไทย 11.20% 4.อุตสาหกรรมออกแบบ 8.00% ลิสต์กิจกรรมเด็ดย่านอารีย์-ประดิพัทธ์
ทางานในย่าน (Work)
การกินอยู่ในย่าน (Food)
เดินทางในย่าน (Commute)
36
37
บทบาทของย่านในอนาคต (ที่คาดว่าจะเป็น) 1. การอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาอาคารเก่า ให้อยู่ร่วมกับความทันสมัยในปัจจุบัน Creative Office
Commercial
การปรับเปลี่ยน Function ใหม่ในอาคารเก่า เพื่อเกิดรูปแบบกิจกรรมร่วมสมัยโดยยังคงยึด เรื่องราววิถีชีวิตความเป็นอดีตของตัวพื้นที่
Workshop
2. การพัฒนาแหล่งงานสร้างสรรค์และที่อยู่อาศัยรูปแบบแนวตั้ง
Creative Office
Open Space
Office
Workshop
การออกแบบพื้นที่แหล่งงานและที่อยู่อาศัยให้ สอดคล้องกับผู้ใช้งานรูปแบบในอนาคตและ ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ในพื้นที่
Commercial 3. การส่งเสริมพื้นที่สาธารณะ เพื่อรองรับกิจกรรมของคนรุ่นใหม่
สร้างบทบาทและส่งเสริมกิจกรรมที่มีความ หลากหลาย เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่
38
User เดิม User ใหม่
39
40
41
ด้านการใช้ที่ดิน ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
โครงการ โครงการแก้ไขปรับปรุง แผนผังข้อกาหนดและ มาตราการตามกฎหมาย ผังเมือง
ควบคุมการใช้ประโยชน์ ที่ดินโดยเครื่องมือทางผัง เมือง
การปรับปรุงมาตราการ ควบคุมการใช้ประโยชน์ ที่ดินและอาคาร
โครงการแก้ไขปรับปรุง ข้อบัญญัติ กรุงเทพมหานครตาม กฎหมายควบคุมอาคาร โครงการวาง จัดทา มาตราการคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม
ด้านการใช้ประโยชน์ ที่ดิน ดาเนินโครงการอนุรก ั ษ์ ฟื้นฟู
การวาง จัดทา และ ดาเนินการให้เป็นไปตาม ผังเมืองเฉพาะ
โครงการวาง จัดทา และ ดาเนินการให้เป็นไปตาม ผังเฉพาะ บริเวณพื้นที่ ริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา
พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัยเขตเมืองชั้นใน สถาบันราชการ
42
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
โครงการ จัดทาโครงการคุ้มครอง แม่น้าเจ้าพระยา
บารุงรักษาและคุ้มครอง แหล่งมรดกวัฒนธรรม สาคัญ และจัดทามาตรการ สนับสนุนการฟื้นฟูแหล่ง มรดก
ด้านมรดก วัฒนธรรม
การคุ้มครองและ บูรณปฏิสังขรณ์แหล่ง มรดก
โครงการสืบสานฟื้นฟุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และเทศกลท้องถิ่น โครงการฟื้นฟูภูมิ ปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมอาหาร และ หัตถศิลป์
จัดทามาตรการ สนับสนุนฟื้นฟูแหล่ง มรดกที่เป็นวิถี วัฒนธรรม
การรส่งเสริมฟื้นฟู วิถีวัฒนธรรม
โครงการจัดทาแหล่ง มรดกท้องถิ่นและ สนับสนุนการ บูรณปฏิสังขรณ์
43
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
โครงการ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ ในแนวริมแม่น้าเจ้าพระยา และแนวคลองสาคัญ
เน้นการรับรู้โครงสร้าง สิ่งแวดล้อม
การปรับปรุง ภูมิทัศน์เมือง
ด้านภูมิทัศน์ เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและ เพิ่มศักยภาพของพื้นที่ ด้านภูมิทัศน์
การบริหารจัดการภูมิ ทัศน์เมือง
โครงการปรับปรุงพืน ้ ที่โล่ง สาธารณะ
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ สถานที่สาคญริมแม่น้า เจ้าพระยาและริมถนน ส่งเสริมการเรียนรู้
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ ริมถนนเจริญกรุง และ ซอยวานิช (ตลาดน้อย) ถึงซอยเจริญกรุง 30
44
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์ ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ชุมชนให้อยู่ร่วมกับ มรดกวัฒนธรรมได้อย่าง เหมาะสมและส่งเสริมการ เรียนรู้แก้สาธารณะ
แผนงาน
โครงการ โครงการปรับปรุง สภาพแวดล้อมการอยู่ อาศัยในกลุ่มชุมชนที่ สาคัญ
ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ชุมชน
โครงการปรับปรุงพืน ้ ที่ สาธารณะระดับกลุ่ม ชุมชนภายใน ศาสนสถาน โครงการส่งเสริมให้เกิด ผู้ประกอบการ สร้างสรรค์ SME
ด้านกายภาพ และวิถีชุมชน ส่งเสริมการต่อยอดภูมิ ปัญญาและการสร้าง เศรษฐกิจชุมชน
การส่งเสริมเศรษฐกิจ ชุมชน
โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ของ ผู้ประกอบการภายใน ชุมชน
45
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
โครงการ โครงการส่งเสริมการ เชื่อมต่อยานพาหนะแต่ ละประเภท
เชื่อมโยงโครงข่าย การสัญจร
เชื่อมโครงข่ายการสัญจร
โครงการส่งเสริมการใช้ ขนส่งสาธารณะมวลชน เพื่อลดการใช้พาหนะ ส่วนตัว
ด้านการสัญจร โครงการทดแทนที่จอด รถบนพื้นผิวจราจร
ส่งเสริมการสัญจรที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่
การสนับสนุนการเดิน เท้าและการใช้จักรยาน โครงการพัฒนา ปรับปรุงท่าเรือ
46
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
แผนงาน
โครงการ โครงการปรับปรุง สถานที่ท่องเที่ยว
เพิ่มคุณค่าและความ หลากหลายของการ ท่องเที่ยว
การปรับปรุงแหล่ง ท่องเที่ยว
โครงการจัดระเบียบ พื้นที่ท่องเที่ยว เชื่อมเส้นทางการ ท่องเที่ยวกับสถานที่ สาคัญ
ด้านการท่องเที่ยว
ยกระดับมาตรฐาน แหล่งที่พักนักท่องเที่ยว
การพัฒนาแหล่งที่พัก นักท่องเที่ยวให้ได้ มาตรฐาน
โครงการส่งเสริมการ พัฒนาแหล่งที่พัก นักท่องเที่ยว
47
48
49
50
51
52
กาหนดพื้นที่โครงการ เกณฑ์ในการคัดเลือก
ตลาดน้อย
บางรัก
คลองสาน
1.ฐานเศรษฐกิจที่สามารถต่อยอด สู่เมืองสร้างสรรค์
5
12
3
2.จานวนมรดกวัฒนธรรม
8
8
3
ไม่มี
มี
ไม่มี
รถ เรือ
รถ ราง เรือ
รถ ราง เรือ
1
3
0
3.นโยบายภาครัฐส่งเสริมการเป็น เมืองสร้างสรรค์ 4.การเข้าถึงพื้นที่ได้สะดวก
รวม
53
54
55
56
Source : The Clound 57
Source : The Clound 58
59
60
61
62
รูปตัดทางเดินริมคลองงดุงกรุงเกษม
รูปตัดถนนเจริญกรุง
0.80 m
อาคาร
2.00 m
3.00m
3.00 m
3.00 m
3.00 m
2.00 m
รูปตัดถนนทางเข้าวัดม่วงแค
อาคาร
5.00 m
อาคาร
ถนน
2.5 m
0.30 m
1.60 m 1.30 m
2.00 m
คลอง
รูปตัดถนนมหาพฤฒาราม
อาคาร
อาคาร
2.50 m
6.00 m
2.50 m
อาคาร
63
64
65
66
Source : โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองนาร่องย่านกะดีจีน-คลองสาน 67
แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์อาคาร ความต่อเนื่องของแนวเส้นอาคาร
หลังคากระเบื้องซีเมนต์
หลังคากระเบื้องซีเมนต์
ลายปูนปั้นประดับเสาและงนัง ต่างบานคู่
กันสาดโครงสร้างไม้
KEY MAP
แนวหลังคา + 7.30 ม. ระดับหน้าต่างชั้นที่ 2 + 3.80 ม. ระดับแนวกันสาด + 3.00 ม.
ทางเท้า 3.00 ม.
ระดับพื้นชั้นที่ 1 + 0.00 ม.
68
แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์อาคาร ความต่อเนื่องของแนวเส้นอาคาร ระเบียงปูน แนวช่องระบายอากาศ ต่างบานคู่ ฐานปูนหน้าต่าง
KEY MAP
แนวหลังคา + 10.00 ม.
ระดับแนวกันสาด ชั้นที่ 2 + 5.90 ม.
ระดับหน้าต่างชั้นที่ 2 + 3.70 ม. ระดับแนวกันสาด + 3.00 ม.
ทางเท้า 3.00 ม.
ระดับพื้นชั้นที่ 1 + 0.00 ม.
69
แนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์อาคาร ความต่อเนื่องของแนวเส้นอาคาร ระเบียงปูน ต่างบานเดี่ยว ฐานหน้าต่าง
KEY MAP
แนวหลังคา + 5.90 ม. ระดับหน้าต่างชั้นที่ 2 + 3.80 ม. ระดับแนวกันสาด + 3.00 ม.
ทางเท้า 3.00 ม.
ระดับพื้นชั้นที่ 1 + 0.00 ม.
70
71
72
73
74
ลักษณะการใช้ประโยชน์อาคาร ZONE A ร้านอาหารและร้านค้าพาณิชย์ทั่วไป ร้านอุปกรณ์ก่อสร้าง/สานักงานสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ที่อยู่อาศัย อาคารคารสานักงาน ศาสนสถาน
75
KEY MAP
BEFORE
Commercial Office Public Space
AFTER
Commercial Office Workshop Creative Office Public Space
76
KEY MAP
BEFORE
AFTER
Commercial Commercial Residence
Office Residence Public Space
77
78
79
80
KEY MAP
ทางขึ้น MRT หัวลาโพง ที่เชื่อมต่อกับพื้นที่ ประตูที่ 1 มีการตกแต่งให้กับบริบทของพื้นที่ ที่จะเป็นแหล่งงาน สานักงานสร้างสรรค์
ย่านแหล่งงานสร้างสรรค์ที่มีการสอดแทรกพื้นที่ส่วนกลางและพื้นที่ พักผ่อนในตัวอาคาร ส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
81
82
83
84
BEFORE
85
โครงการพัฒนาพื้นที่ริมคลองงดุงกรุงเกษม
86
87
ลักษณะการใช้ประโยชน์อาคาร ZONE B ประเภทอาคาร ร้านอาหารและร้านค้าพาณิชย์ทั่วไป
ธนาคาร
ร้านจิวเวลรี่
สานักงานและบริษัท
ที่อยู่ศย ั
โรงเรียน
มูลนิธิ
ร้านเครื่องสาอาง
โรงแรมและห้องพัก
88
KEY MAP
BEFORE
อาคารไม่ได้ใช้ประโยชน์
AFTER
Commercial Workshop Creative Office Residence Public Space
89
KEY MAP
BEFORE
Commercial Residence
AFTER
Commercial Workshop Creative Office Residence Public Space
90
KEY MAP
BEFORE
อาคารไม่ได้ใช้ประโยชน์
AFTER
Commercial Residence
91
KEY MAP
BEFORE
Commercial Residence Office อาคารไม่ได้ใช้ประโยชน์
AFTER
Commercial Residence Office Workshop Creative Office Public Space
92
93
อาคารเก่าในพื้นที่
KEY MAP
94
95
96
97
98
สายไฟที่ขาดการจัดระเบียบ
คอมเพรสเซอร์แอร์หน้าอาคาร บดบังอาคาร
การรุกล้าทางเท้าในพื้นที่
99
100
101
102
103
104
105
106
BEFORE
107
108
จบการนาเสนอ
โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูชุมชนริมคลองงดุงกรุงเกษม ย่านตลาดน้อย - บางรัก
109
110
111