LADKRABANG
HUATAKE
CONTENT
1 หัวตะเข้มนต์เสน์เเห่งลาดกระบัง 2 ย้อนเวลาหาอดีตชุมชนเก่าหัวตะเข้ 4 ชุมชนเก่าหัวตะเข้ 7 ศิลปะริมกำ�เเพงมนต์เสน์หัวตะเข้ 9 ร้านตัดผมโบราณหััวตะเข้ 11-12 โรงเจ้ฮะเฮ้งตั้ว เซียนเเป๊ะโค้วผู้ศักดิ์สิทธฺ์เเห่งหัวตะเข้ 13 คลองหัวตะเข้ 15 สถานีรถไฟหัวตะเข้ 16 ตลาดเวิ้งพระนคร 17-18 ตลาดหลวงเเพ่ง 100 ปี 19-20 หลวงพ่อขาว 21-22 วัดสุทธาโภชน์ วัดมอญ
23-24 25-26 27-36 37-40 41-44
LADKRABANG CITY LADKRABANG PICTURE LADKRABANG EAT LADKRABANG PARTY LADKRABANG HOTEL
1
หัวตะเข้ มนต์เสน่ห์เเห่งลาดกระบัง ( ตลาดหัวตะเข้ ) เป็น ตลาดไม้ โบราณที่หลายคน อาจจะไม่เคยได้ยินชื่อหรือาจ จะเคยผ่านหูมาบ้าง ตลาดหัว ตะเข้ ที่นี่เป็นชุมชนเล็กๆที่อยู่ บริเวณคลองประเวศบุรีรมย์ เขตลาดกระบัง โดยสองฝั่งคลอมี บ้านไม้เรียงรายกันมาให้ ความรู้สึกย้อนยุคไปในสมัย ก่อนภาพหลังคาสังกะสีที่เก่า และพุพัง บ่งบอกถึงการผ่าน ร้อนผ่านหนาวมายาวนาน นั้นทำ�ให้คิดได้ว่าผู้คนใน ชุมชน คงได้ผ่านเรื่องราว และ ประสบการณ์ของการดำ�เนิน ชีวิต ในวิถีแห่งสายน้ำ�มา มากมายหลายต่อหลายรุ่น รวมทั้งการปรับตัวให้เข้ากับ ยุคสมัยที่ปลี่ยนแปลงไป
หัวตะเข้ ถ้าใครที่ชอบสไตล์วิน เทจ เก่าๆ แนวๆ ที่นี่เป็นอีก หนึ่งสถานที่ห้ามพลาดเด้วย ความที่อยู่ในกรุงเทพ สามารถ มาเสพบรรยากาศกันได้ ที่นี่ คนไม่มากเกินไป เงียบสงบ การเดินทางก็ง่าย สะดวก และ ประหยัด ไปแบบ วันเดย์ทริป ได้สบาย การเดินทางมาถือว่า สะดวกมาก
HUATAKE
ย้อนเวลาหาอดีต ชุมชนเก่าหัวตะเข้ เ สน่ห์ของชุมชน บ้านไม้โบราณ ที่มีบรรยากาศเก่า แบบคลาสิค ถึงแม้จะจางหายไปตามกาลเวลา แต่ไม่จางหาย ไปจากการท่องเที่ยวในปัจจุบัน ตรงกันข้ามบรรยากาศเช่นนี้ กลับทำ�ให้เราอยากไปสัมผัส ไปค้นร่องรอยของความเจริญใน อดีต เพราะอดีต บางครั้งก็ทำ�ให้เรายิ้มได้ เฉกเช่น ที่ได้มา เที่ยวที่ ชุมชนเก่าหัวตะเข้ หรือ ที่เรียกกันว่า ตลาดหัวตะเข้ ที่ตั้งอยุ่ไม่ไกล ในเขตลาดกระบัง กรุงเทพ เป็น ชุมชนเก่าโบราณริมคลอง ที่มีอายุกว่าร้อยปี มีบ้านไม้เก่า แก่เรียงรายตลอดริมสองฝั่งคลอง ชุมชนหัวตะเข้ คล้ายกับ ชื่อ จระเข้ เพราะแต่ก่อนที่นี่มีจระเข้ชุกชุม จึงเป็นที่มาของ ชื่อ ตลาดแห่งนี้ก็เหมือนตลาดโบราณหลายๆ แห่ง ที่เคยมีร้าน รวงคึกคักมีชีวิตชีวา มีร้านค้ากว่าร้อยห้องและเป็นสถานที่จอด เรือซื้อขายขนถ่ายสินค้า เนื่องจากแต่ก่อนยังใช้ลำ�คลองเป็น เส้นทางสัญจรหลัก การค้าขายและวิถีชีวิตต่างๆ จึงเกิดขึ้นริม
HUATAKE
2
ลำ�คลอง แต่เมื่อมีการตัดถนนเดินทางด้วยรถยนต์แล้ว ตลาด ริมน้ำ�จึงค่อยๆ ซบเซาลงไปจนถึงปัจจุบันทางชุมชนจึงได้ช่วย กันอนุรักษ์และฟื้นฟูให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง สำ�หรับการเดินทางมา ชุมชนเก่า หัวตะเข้ สามารถเข้าทาง ซอยลาดกระบัง 17 หากขับรถยนต์ส่วนตัว หรือใช้บริการรถแท็กซี่ เมื่อ เข้าสู่ถนนลาดกระบัง ขับตรงมาเรื่อยเมื่อใกล้ถึงตลาดสดอุดม ผล ซอยจะเจอสะพานข้ามคลอง ไม่ต้องข้ามสะพานให้เลียบ ซ้ายจะเจอซอยลาดกระบัง 17 ขับตรงไปจนสุดทางก็จะเจอที่รับ ฝากรถ คิดราคาตามป้าย
3
HUATAKE
4
ชุมชนเก่าหัวตะเข้ บ้านไม้เก่าแก่ หลังคาสังกะสี ที่เรียงรายอยู่ริมคลอง ประเวศ บุรีรมย์ ลำ�คลองสายหลัก ที่ใหญ่และยาวที่สุดของเขต ลาดกระบัง ซึ่งรัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นใน ปี 2421 โดยขุดต่อจากคลอง พระโขนงยาวตรงถึงแม่น้ำ� บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ความยาวรวม 46 กม. และ ต่อมายังได้ขุดคลองแยกจาก คลองประเวศบุรีรมย์ อีก 4 คลอง คือ คลองหนึ่ง คลอง สอง คลองสาม และคลองสี่ แต่ก่อนยังใช้ลำ�คลองเป็นเส้น
ทางสัญจรหลัก การค้าขาย และวิถีชีวิตต่างๆ จึงเกิดขึ้นริม ลำ�คลอง แต่เมื่อมีการตัดถนน เดินทางด้วยรถยนต์แล้ว ตลาดริมน้ำ�จึงค่อย ซบเซาลง ไป ถึงแม้จะมีการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งแต่ก็ยังไม่ คึกคัดเท่าใดนัก แต่สำ�หรับ ฉันความเงียบเหล่านี้คือ เสน่ห์ เพราะรู้สึกว่าได้เข้าถึง บรรยากาศของชุมชนนั้นอย่าง แท้จริง ไม่จำ�เป็นต้องมีร้าน ค้าอะไรมากมายจนอาจให้เสีย เอกลักษณ์ของชุมชนไป
5 ที่ชุมชนหัวตะเข้ ยังคงได้เห็นวิถีชีวิตของชาวบ้านแบบเดิมๆ ที่ แทบไม่มีการปรุงแต่งอะไรมากนัก ถึงแม้จะตั้งอยู่ในกรุงเทพ แต่ ยังคงเป็นสถานที่ที่ความเจริญทางเทคโนโลยีของเมืองใหญ่ไม่ สามารถเข้ามาแทรกซึมได้ กรุงเทพยังคงมีพื้นที่แบบนี้ให้เราได้ มาผ่อนคลาย มาเที่ยวในวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ ค่อนข้างเงียบ มาก บ้านเรือนร้านค้าส่วนใหญ่ปิด ทราบมาจากคนในพื้นที่ว่า ถ้าอยากมาแบบคึกคักให้มาวันธรรมดา เพราะเสาร์ อาทิตย์ เค้า หยุดพักผ่อน วันธรรมดาเปิดร้านขายของ เหมือนเวลาเราไป ทำ�งานแล้วมีวันหยุดนั่นแหละครับ ปกติถ้าไปเที่ยวชุมชนเก่า หรือตลาดโบราณ วันหยุดจะคึกคัก มาก ตามที่บอกว่าที่หัวตะเข้ไม่ได้ถึงขนาดว่าคึกคัก ส่วนใหญ่ จะเป็นบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ร้านค้าโชห่วยแบบดั้งเดิม เพราะ ฉะนั้นเราจึงสามารถสัมผัสบรรยากาศความเงียบสงบและแก่น แท้ของความชุมชนเก่าได้ไม่ยาก
HUATAKE
6
HUATAKE
HUATAKE
7
ศิลปะริมกำ�เเพงมนสเนต์หัวตะเข้ ระหว่างที่เดินชมบรรยากาศเราจะได้เห็นลวดลายกราฟฟิตี้ ที่ทางกลุ่มนักศึกษาร่วมกับชุมชน มาวาดตอดกำ�แพงไว้ เพื่อสร้าง สีสันให้ชุมชน กลายเป็นจุดถ่ายภาพชั้นดีให้กับผู้มาเยี่ยมเยือน ถึงแม้เป็นชุมชนเก่าแต่มีความฮิป ชิค แฝงอยู่ในตัว
8
กำ�แพงของอาคารเก่ากลับมีภาพกราฟฟิตีของเห้งเจีย หนึ่งในตัวละครเอกจากเรื่อง ไซอิ๋ว นิยายคลาสสิกของจีน กำ�ลังขี่อยู่บนตัวจระเข้ตัวใหญ่ เ
9
ร้านตัดผมโบราณ หัวตะเข้ บ้านไม้เก่าแก่หลังนี้ เป็นร้านตัดผม โบราณ ที่เป็นของคู่กันกับชุมชนเก่าเสมอ ภายในบ้านเต็มไปด้วยของเก่าและของสะสม โบราณ เข้ามาเลยน้อง ถ่ายภาพได้ตามสบาย” เสียง เจ้าของบ้านทักทายเราอย่างเป็นกันเอง เห็นหนังสือเล่มนั้นใหม่ บ้านพี่ได้ลงหนังสือด้วย อ่านได้ คุณพี่เจ้าของบ้านกล่าวอย่างอารมณ์ดี ตรง ข้ามกับร้านตัดผมโบราณ คือ ท่าน้ำ�หัวตะเข้ สามารถนั่งกินลม ชมวิว มองเห็น บ้านไม้เรือน แถวเก่าแก่ ตั้งเรียงรายอยู่ด้านหน้า
HUATAKE
10
11
12 โรงเจฮะเฮงตั้ว (Shrine): ซอยลาดกระบัง 1 แขวงลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520, Soi Latkrabang1, Lat Krabang, Lat Krabang, Bangkok, 10520. เป็นสถานที่อีก เเห่งหนึ่งที่ผู้ที่ได้มีโอกาศมาสามารถเเวะ มาถ่ายรูปเเละร่วมสักการะ ”เซียนแป๊ะโค้ว ผู้ศักดิ์สิทธิ์” แห่งหัวตะเข้ ทั้งบรรยากาศที่มีกลิ่นไอของ ความเป็นไทยจีนผสมผสานมาอยากยา วนานเรื่องราวความเป็นมาที่อยู่คู่กับ หัว ตะเข้เเห่งนี้
เซียนแป๊ะโค้ว”ผู้ศักดิ์สิทธิ์แห่งหัวตะเข้ เมื่อประมาณพุทธศักราช ๒๔๒๓ ซึ่งตรงกับรัชกาล ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ ประเทศจีนหรือเมืองจีนแผ่นดินใหญ่ มีครอบครัว เกษตรกรครอบครัวหนึ่ง ซึ่งมีอาชีพทำ�นาทำ�ไร่ ครอบครัวจีนครอบครัวนั้น มีนายฮก แซ่เล้า เป็น หัวหน้าครอบครัว และมีนางกิม แซ่เล้า เป็นแม่
HUATAKE
13
คลองหัวตะเข้ วิถีชีวิตของชาวบ้านเมื่อครั้นสมัยก่อนที่นิยมสัญจรและ ค้าขายกันทางน้ำ� การมาเยือนในครั้งนี้ทำ�ให้เราได้เรียนรู้และสัมผัสเสน่ห์ ความร่วมสมัยของสังคมในชุมชนเล็กๆเเห่งนี้ได้เป็นอย่างดี ซึ่งในตลาดมีทั้งร้านขายสินค้า อาหาร แบบย้อนยุค ขนม ไทยโบราณ หรือขนมสมัยวัยเด็ก และที่ชอบอีกอย่างหนึ่ง คือ งานศิลปะ ที่แต่ละร้านวางจำ�หน่ายให้นักท่องเที่ยวได้ มีส่วนร่วมกับการสร้างสรรค์ศิลปะในบรรยากาศริมแม่น้ำ� ให้เราได้ ศึกษาและเรียนรู้ศิลปะแขนงต่างๆในช่วงวันหยุด สุดสัปดาห์
HUATAKE
14
สะพานขาวสัญลักษณ์สู่หัวตะเข้ อันเก่าเเก่าด้วยมนคลังผู้ที่มา เยือนต้องไม่พลาดลืมถ่ายภาพ เก็บไว้เป็นความทรงจำ�สะพาน อยู่บริเวนฝั่งทางเข้าจาก ตลาดสดอุดมผล หรือตลาดสด อยู่ริมคลองไกล้ร้านขนมเปี้ย เจ้าตำ�นาน
HUATAKE
15
สถานีรถไฟหัวตะเข้ สถานีรถไฟหัวตะเข้ เป็นสถานีรถไฟระดับ 2 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่แขวง ลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานครเป็น สถานรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออก หาก จะไปเขตลาดกระบัง หรือ ท่าอากาศยานนานาชาติ สุวรรณภูมิ ให้ลงที่สถานีนี้ได้ สถานีรถไฟหัวตะเข้ อยู่ห่างจากป้าย หยุดรถไฟพระจอมเกล้า ในสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพียง 580 เมตรเท่านั้น
HUATAKE
16 ตลาดบก เวิ้งพระนคร ตั้งบนเนื้อที่กว่า 26 ไร่ ในเขตลาดกระบัง ที่ถูกเนรมิตให้เป็นตลาดย้อน ยุค ในช่วง พ.ศ.2413-2513 ผสานกลิ่นอายตลาด บกฝั่งพระนคร ที่นักท่องเที่ยวคนไทยอยากสัมผัส บรรยากาศเก่าๆ รวมถึงนักท่องเที่ยวต่างชาติได้ สัมผัสชุมชนชาวไทยสมัยก่อน แถมยังได้ของติดไม้ ติดมือกลับบ้านอีกด้วย ตลาดบกเวิ้งพระนคร ได้ นำ�เอาแหล่งค้าขายที่รุ่งเรืองในอดีตกลับมาคืนมา อีกครั้ง ในโซนแรก คือ โซนตลาด ที่รวบรวมร้าน ค้า 316 ร้านค้าเข้าไว้ด้วยกัน โดยแบ่งเป็น 5 ตลาด ยอดนิยม คือ 1.ตลาดเยาวราช 2.ตลาดเสือป่า 3.ปาก คลองตลาด 4.ตลาดสะพานเหล็ก และ 5.ตลาด นางเลิ้ง เวลาเปิด/ปิด : เปิดทุกวัน เวลา 10.00-22.00 น.
ตลาดบก เวิ้งพระนคร
HUATAKE
17
ตลาดหลวงเเพ่ง 100 ปี “ปั่นจักรยานไปเที่ยวลาดกระบังกันไหม” แวบแรก ที่ได้ยินย่านชานเมืองที่ไม่ค่อยจะคุ้นเคย ก็เกิดความอยากรู้ อยากไปดูสักครั้ง ดังนั้นเมื่อมีคนเอ่ยชวน คนอย่างพาแลงจึง รีบตกปากรับคำ�อย่างรวดเร็ว โดยนัดหมายของกลุ่มจักรยาน อยู่ที่สถานีรถไฟหัวลำ�โพง.... ตลาดหัวตะเข้ ภาพแรกที่เห็นเมื่อไปถึง คือ เรือนไม้เก่าที่ ทอดตัวยาวริมคลองประเวศบุรีรมย์ หลังคาสังกะสีมีสนิมกร่อน บ้างผุ บ้างก็ปล่อยให้มีรูโหว่จนแดดส่องถึง ความเก่าที่แฝง ด้วยเสน่ห์ และเป็นความทรุดโทรมที่บ่งบอกว่าที่แห่งนี้ยืนหยัด ผ่านแดด.. ถ้าไปเยือนตลาดหัวตะเข้ คุณจะได้กินและชมของที่เป็นพื้นถิ่น เป็นอาหารที่ชาวบ้านกิน ไม่ใช่ตลาดริมน้ำ�ที่มีสินค้าเหมือนกับ ที่อื่นๆ โดยจะมีทั้งร้านอาหารปรุงสด และขนมนมเนยฝีมือชาว ชุมชน ตลาดจะมีบรรยากาศเก่าๆ ร้านรวงต่างๆ...
ตลาดคลองหลวงแพ่ง “คลองหลวงแพ่ง” เป็นเส้นแบ่งระหว่าง กรุงเทพฯ และ จ.ฉะเชิงเทรา เป็นชื่อคลองขุดที่ตัดขวางมา บรรจบเป็นสามแยกที่คลองประเวศบุรีรมย์ และเนื่องจากตลาด แห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณสามแยกปากคลองหลวงแพ่ง..... ปัจจุบันตลาดหลวงแพ่งก็ยังคงบรรยากาศเป็นเรือนไม้ห้องแถว ริมน้ำ�เช่นเดียวกันกับตลาดหัวตะเข้ เพียงแต่ความคึกคักอาจจะ น้อยกว่า เพราะเพิ่งจะเริ่มฟื้นฟูได้ไม่นาน แต่ความน่ารักที่ซ่อน อยู่ในความเก่ายังเฉิดฉายให้เห็นอยู่ไม่จางไปเลย หากคุณเป็น คนชอบถ่ายภาพ.... ลาดกระบังร้อยปีก่อน...ข้อมูลจากสภาองค์กรชุมชนเขต ลาดกระบัง ระบุประวัติความเป็นมาของลาดกระบังไว้ว่า เดิม เขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของ จ.มีนบุรีซึ่งเป็น จังหวัดหนึ่งในมณฑลกรุงเทพฯ มีชื่อเรียกว่า อ.แสนแสบ...
18
HUATAKE
19
หลวงพ่อขาว หลวงพ่อขาวเป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ทรงปางมารวิชัย ก่อด้วยอิฐ พอกปูนทาสีขาวทั้งองค์จง เรียกว่า “หลวงพ่อขาว” ประดิษฐานอยู่ในวิหารใหญ่หลังพระอุโบสถวัดลาดกระบัง พระครูเมตตาวิหารี (หลวงพ่อสาย) เจ้าอาวาสวัดลาดกระบังองค์แรกได้ชักชวนชาวลาดกระบัง ประกอบพิธีฤกษ์ก่อสร้างหลวง พ่อขาว เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 6 ปีวอก พ.ศ.2441 ต่อมาพระครูศิลาภิรัต (หลวงพ่อทอง) เจ้า อาวาสวัดลาดกระบังองค์ที่ 2 ได้จารึกแผ่นโลหะปิดไว้เบื้องหน้าหลวงพ่อขาวและถือกันว่าเป็นพระพุทธ ศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งของชาวลาดกระบัง
LADKRABANG
20
พระพุทธบุษโยภาส หรือ “หลวงพ่อขาว” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่อด้วยอิฐพอกปูนทาสีขาวทั้งองค์ ประดิษฐานอยู่ในวิหารใหญ่ ซึ่งอยู่ด้านหลังพระอุโบสถ ถือเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่คนทั่วไปเคารพสักการะ
21
วัดสุทธาโภชน์ (วัดมอญ) วัดสุทธาโภชนตั้งอยูเลขที่ 39 ซอยฉลองกรุง 8 ถนนฉลอง กรุง แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ชื่อเดิมวา วัดสุทธาวาส กอสรางโดย เจาจอม มารดากลิ่น พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 ในที่ดินของทานตั้งแต ป พ.ศ. 2437 ตอมาในป พ.ศ.2455 เจาจอมมารดา กลิ่น พรอมดวย พระมหาออน มหากัลยาโณ และมรรคนายกออต ไชยนุต ไดทําการยายวัดมาตั้งบริเวณปาก คลองมอญ ฝงเหนือ ริมคลอง ลําปลาทิวฝงตะวันออกและเปลี่ยน ชื่อเปน วัดสุทธาโภชนทานเจาจอมมารดากลิ่น ไดใหความเมตตา พี่นองชาวรามัญ มาทําบุญทอดกฐินเปนประจํา ทุกปตลอดอายุขัยของทาน วัดสุทธาโภชนนับวาเปนวัดเกาแกที่เปนศูนยรวมศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชุมชนของมอญ ลาดกระบัง และยังยึดถือปฏิบัติสืบตอกันมาแตอดีตจนถึงปจจุบัน เปนแหลงเรียนรูของทองถิ่นใหคนรุนหลังได ศึกษาประวัติศาสตรของชุมชนประกอบดวย แหลงเรียนรู ไดแก 1. อนุสรณสถานเจาจอมมารดากลิ่น 2. พิพิธภัณฑทองถิ่นกรุงเทพมหานครเขตลาดกระบัง ศูนยรวม วัฒนธรรมประเพณีของชุมชน 3. ประเพณีตักบาตรพระรอยทางเรือ หนึ่งเดียวของ กรุงเทพมหานคร 4. เรือนไทยไมสักทอง 100 ปกุฏิเกาเจาอาวาส 5. พิพิธภัณฑเรือทองถิ่น มากกวา 100 ลํา 6. สวนปลาธรรมชาติ ริมคลองลําปลาทิว
พิพิธภัณฑทองถิ่นฯ เขตลาดกระบัง ที่จัดแสดงเรื่องราวขอ งบุคคลสําคัญในเขตลาดกระบัง อันไดแก “อนุสรณสถานเจาจอมมารดากลิ่น” ผูสรางวัดสุทธาโภชน และเจา คุณทหารหรือเจาพระยาสุรวงศไวยวัฒน (วร บุนนาค) สมุหกลาโหม ในรัชกาลที่ 5 ผูเปนเจาของที่ดินอัน เปนที่ตั้งของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง
22 พิพิธภัณฑเรือวัดสุธาโภชน การตักบาตรพระรอยทางเรือในตอนแรกนั้น ทางวัดมีเรือจํานวนไมเพียงพอสําห รับการตักบาตรทางเรือ จึงไดยืมจากชาวบานในละแวกบางสวน ตอมา คณะกรรมการวัดจึงไดประชุม หารือกันวาจะทําอยางไรจึงจะมี เรือใชเพียงพอกับงานตักบาตรพระรอยเพื่อพระสงฆมารับบิณฑบาตกวา 100 รูป ในขณะนั้นจึงมีนโยบายรับ บริจาคเรือมาดของชาวพื้นบานที่ไมไดใชในการสัญจร หรือการทําการเกษตรซึ่ง เปนอาชีพในทองถิ่น ตอมาไดมี ชาวบานบริจาคเรือมากขึ้นเรื่อยๆ บางสวนใชงานได บางสวนใชงานไมได และ บางสวนตองซอมแซมจึงจะใช งานได โดยคาใชจายในการบํารุงรักษาเปนเงินสวนตัวบานและเงินบริจาคจาก ทางวัดบาน ปจจุบันมีเรือทั้งสิ้นประมาณ 100 กวาลํา ที่ใชในประเพณีตักบาตรพระรอยกวา 70 ลํา มีเรือหลาย ประเภท เรือทุกลําลวนแตมีคุณคาบางลํามีอายุเกาแกมาก หาดูไดยาก ไมสามารถประเมินราคาได ทางวัดได อนุรักษและนํามาจัดแสดงรวบรวมไวใหประชาชนไดเขาเยี่ยมชมไดอีกดวย แส ดงใหเห็นถึงวิถีชีวิตของคนสังคม ในอดีตของคนทองถิ่นที่ใชเรือเปนพาหนะสําคัญในการดํารงชีวิต ซึ่งนับวันจะ เลือนหายไปตามกาลเวลา นอกจากนี้ภายในวัดยังมี “กุฏิไมสักทอง” อายุกวารอยป ซึ่งเดิมเปนกุฏิของพระ
มหาออน มหากัลยา โณ เจาอาวาสคนแรกของวัดสุทธาโภชน ภายในกุฏินี้ยังเก็บรักษาขาวของบาง ชิ้นของทานไว ไมวาจะเปนเตียง นอน ตูเก็บพระไตรปฎก ตํารายาโบราณ รูปภาพเกาๆ รวมทั้งเครื่องมือในการ ทํายา เปนตน นอกจากจะไดรวมประเพณีตักบาตรพระรอยทางเรือแลว ที่วัดสุทธาโภชนยัง เปนศูนยรวม วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนมอญลาดกระบัง และยังเปนแหลงเรียนรูทาง ประวัติศาสตรอยางดีอีกดวย
LADKRABANG
23
LADKRABANG CITY
เขตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุด เป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ เขตลาดกระบังตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็ม นาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตหนองจอก มีคลองลำ� นายโส คลองสองต้นนุ่น ลำ�รางคอวัง ลำ�รางศาลเจ้า คลอง ตาเสือ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า ลำ�รางตาทรัพย์ คลองบึง
ใหญ่ คลองลำ�กอไผ่ คลองลำ�มะขาม คลองลำ�พะอง คลองกระ ทุ่มล้ม คลองลำ�ตาอิน และคลองลำ�ตาแฝงเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำ�เภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัด ฉะเชิงเทรา) มีคลองหลวงแพ่งและคลองประเวศบุรีรมย์เป็น เส้นแบ่งเขตทิศใต้ ติดต่อกับอำ�เภอบางบ่อ อำ�เภอบางเสาธง และอำ�เภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวแบ่งเขตการ ปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการเป็น เส้นแบ่งเขตทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตประเวศและเขตสะพาน สูง มีคลองตาพุก คลองแม่จันทร์ คลองบึงขวาง และคลองลาด บัวขาวเป็นเส้นแบ่งเขต
24 ดิมเขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของเมืองมีนบุรี ซึ่งเป็นเมือง (จังหวัด) หนึ่งในมณฑลกรุงเทพ มีชื่อเรียก ว่า อำ�เภอแสนแสบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ได้เปลี่ยน ชื่อเป็น อำ�เภอลาดกระบัง เพื่อให้ตรงกับชื่อตำ�บลที่ตั้ง ที่ว่าการอำ�เภอ[3] และในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรี ถูกยุบมารวมกับจังหวัดพระนครอำ�เภอลาดกระบังจึง ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 กระทรวงมหาดไทยได้ ยุบอำ�เภอลาดกระบังลงเป็น กิ่งอำ�เภอลาดกระบัง ขึ้น กับอำ�เภอมีนบุรี เนื่องจากในขณะนั้นมีปริมาณงานไม่ มากนักและมีจำ�นวนประชากรน้อย จนกระทั่งในวัน ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำ�เภอลาดกระบัง อีกครั้ง โดยได้โอนตำ�บลแสนแสบ ไปขึ้นกับอำ�เภอมีนบุรี และแบ่งพื้นที่บางส่วนของตำ�บล ทับยาว มาจัดตั้งเป็นตำ�บลขุมทองในปี พ.ศ. 2504 ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติรวมจังหวัดพระนครกับ จังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 อำ�เภอลาดกระบังจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขต ลาดกระบัง ตั้งแต่นั้น
25
26
LADKRABANG PICTURE
27
EAT LADKRABANG
ร้านอร่อยที่ตลาดหัวตะเข้ น่าเช็กอิน บรรยากาศคลาสสิกย้อนวันวาน ตลาดหัวตะเข้ กรุงเทพฯ ชุมชน ริมคลองย่านลาดกระบัง ที่ยังคงเสน่ห์ ของวิถีชุมชน บ้านไม้โบราณ แฝงกลิ่น อายบรรยากาศเก่า ๆ ที่ยังคงความ คลาสสิกไม่เหมือนใคร ทำ�ให้เดี๋ยว นี้…ตลาดหัวตะเข้ เป็นอีกหนึ่งที่เที่ยว กรุงเทพฯ ที่มีความน่าสนใจ เอาไว้ให้ เราได้เดินทางไปสัมผัสร่องรอยความ เจริญในอดีต พลาดไม่ได้กับร้านอร่อย ในตลาดหัวตะเข้ ทั้งร้านอาหาร คาเฟ่ และกิจกรรมสนุก ๆ อย่างการล่องเรือ
1. ณ ลาดกระบัง ร้านคาเฟ่ไม้สุดเก๋ ที่ซุกซ่อนตัวอยู่บริเวณท้ายตลาดหัวตะเข้ บรรยากาศริมน้ำ�สบาย ๆ อบอุ่นด้วยการบริการอย่างเป็นกันเอง อารมณ์เหมือนมานั่งเล่นกินขนมที่บ้านเพื่อน เมนูทางร้านก็มีให้ เลือกหลากหลาย อย่างกาแฟ ขนมหวาน และอาหารอร่อย ๆ ทั้ง กาแฟ, นมสดรสต่าง ๆ, เครื่องดื่มปั่น, เครื่องดื่มโซดา, ชาร้อน ชา เย็น สั่งมากินคู่กับขนมปังปิ้ง ปังเย็น และแซนด์วิช เป็นการจับคู่ ความอร่อยได้อย่างลงตัว และที่สำ�คัญราคามิตรภาพจนคุณต้อง ติดใจ แวะกลับมาอุดหนุนอีกแน่นอน เวลาเปิด-ปิด : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10.00-19.00 น. (หยุดทุกวันจันทร์) ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 086 065 8422 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก ณ ลาดกระบัง NalatKrabang homemade café
28 2. สี่แยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสท์เฮ้าส์ ร้านอาหาร ร้านคาเฟ่ และที่พักบรรยากาศดีริมคลอง ตั้งอยู่ตรงสี่แยกหัวตะเข้ โดดเด่นด้วยตัวร้านเป็นบ้าน ไม้เก่าสองชั้น โดยชั้นสองเป็นเกสต์เฮ้าส์ พร้อมด้วยสิ่ง อำ�นวยความสะดวก แถมทุกห้องยังมีระเบียงหันหน้า เข้าหาคลอง รับบรรยากาศความชิลแบบเต็ม ๆ ในส่วน ของเมนูที่ร้าน เน้นเป็นเมนูง่าย ๆ มีให้เลือกทั้งชา นมสด กาแฟ ไอศกรีม ขนมปังปิ้ง รวมถึงยังมีอาหารคาวและ อาหารกินเล่นแบบง่าย ๆ แต่สำ�หรับเมนูแนะนำ�ที่อยาก ให้คุณลอง ได้แก่ น้ำ�ผึ้งมะนาวโซดา, ไอศกรีมซันเดย์, ข้าวไก่ย่าง, ข้าวไก่คาราเกะ และมาม่าต้มยำ�ทะเลน้ำ�ข้น เป็นต้น เวลาเปิด-ปิด : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10.30-19.00 น. ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 081 514 6636 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก สี่แยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสท์ เฮ้าส์ Si Yaek Huatakhe Cafe & Guesthouse
29 3. ชงกินกัน อีกหนึ่งร้านคาเฟ่น่านั่งบรรยากาศสุดชิลในตลาดหัวตะเข้ ที่มาพร้อมกับการตกแต่งในสไตล์วินเทจ หากลองสังเกต รอบร้านดูดี ๆ จะเห็นของตกแต่งร้านด้วยของสะสมเก่า เช่น กระติกน้ำ�, นาฬิกา และรูปภาพ เป็นต้น เหล่านี้เป็น บรรยากาศในสมัยวันวานที่หาไม่ได้ง่าย ๆ มากมายด้วย เมนูเครื่องดื่มน่าสนใจ เช่น Strawberry & Passion Fruit & Orange, ชานมโกโก้, ลาเต้, นมสดมันม่วง และ คาปูชิโน่ เป็นต้น แถมยังมีไอศกรีมหลากหลายรสชาติให้ คุณได้ลอง เช่น รสมะม่วง, รสมะเฟือง, รสมะยม, รสนม สด และรสนมอัญชัน เป็นต้น เวลาเปิด-ปิด : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.30-18.30 น. ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 089 034 9175 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก ชงกินกัน เบอร์โทรศัพท์ : 081 535 1872 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก ร้านโกวจัน ชุมชนตลาดหัวตะเข้
30
4. ร้านโกวจัน แวะลิ้มลองขนมโบราณกับ “ขนมสายบัวแดง” ซึ่งปัจจุบันแทบ จะหากินได้ยากมาก เพราะด้วยกระบวนการทำ�ที่ค่อนข้างยุ่งยากและ ใช้เวลานาน จึงไม่ค่อยมีคนนิยมทำ�ขนมสายบัวแดงเสียเท่าไร จะมีก็แต่ ร้านโกวจันเท่านั้น ที่ยังคงอนุรักษ์วิธีการทำ�แบบดั้งเดิม ซึ่งแน่นอนเลย ว่ายังคงรสชาติความอร่อยเอาไว้ไม่เสื่อมคลาย โดยจะทำ�เฉพาะมีงาน ตลาดหรือทางชุมชนขอให้ทำ�เท่านั้น เพราะสายบัวแดงไม่ค่อยมี แต่ถึง ไม่มีขนมให้ชิม ลูกค้าสามารถมาลิ้มรสความอร่อยของผัดไทยที่ขายทุก วัน รับรองว่าอร่อยไม่แพ้กัน เวลาเปิด-ปิด : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.00-18.00 น. (หยุดทุก วันอาทิตย์) ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 081 535 1872 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก ร้านโกวจัน ชุมชนตลาดหัวตะเข้
31
5. Steak Set & Save ร้านสเต๊กริมน้ำ�น่าอร่อยในตลาดหัวตะเข้ เจ้าของร้าน เป็นกันเอง ต้อนรับลูกค้าด้วยอัธยาศัยไมตรีน่ารัก ลอง ใครได้มาเป็นต้องถูกใจ นอกจากนี้ยังจะถูกใจกับความ อร่อยกับหลากหลายเมนูของทางร้าน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเมนูสเต๊กทั้งหลาย เช่น สเต๊กไก่, สเต๊กกระด้ง และ สเต๊กหมู เป็นต้น รวมถึงยังมีเมนูอื่น ๆ ที่น่าสนใจอีก เพียบ เช่น ข้าวไก่เทอริยากิ, สลัดปูอัด, ข้าวผัดอเมริกัน และไก่คลุกฝุ่น เป็นต้น เวลาเปิด-ปิด : ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่ เวลา 09.00-19.00 น. ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 085 484 9647 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก Steak Set & Saveท่าเรือตลาดไม้หัวตะเข้
A E
L T
K D A
B A R
G N A
32
เวลาเปิด-ปิด : ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-17.00 น. ที่อยู่ : ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพฯ เบอร์โทรศัพท์ : 086 982 5343 เว็บไซต์ : เฟซบุ๊ก ก๋วยเตี๋ยวโรงกลึง
EAT LADKRABANG
6. ก๋วยเตี๋ยวโรงกลึง ก๋วยเตี๋ยวเจ้าอร่อยของตลาดหัวตะเข้ มากมายด้วย เมนูก๋วยเตี๋ยวน่าลอง ในราคากันเอง มีให้เลือกทั้ง ก๋วยเตี๋ยวหมู, บะหมี่เกี๊ยวกุ้ง และเกี๊ยวกุ้งน้ำ� เป็นต้น มี ทั้งแบบแห้งและแบบน้ำ� เส้นก๋วยเตี๋ยวเหนียวนุ่มกำ�ลังดี อัดแน่นมาด้วยเครื่องสารพัดอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี๊ยวคำ�โต ได้รสชาติความเป็นเกี๊ยวกุ้งแบบเต็ม ๆ คำ� แถมบรรยากาศร้านก็สุดแสนจะชิล เผลอ ๆ งานนี้อาจ จะมีกินเพลินมากกว่าสองชามแบบไม่รู้ตัว
33
T A E
7. ร้านไก่ย่างหนังกรอบป้าแก้ว หูย!!! เห็นแล้วหิวกันเลยชิมิ... ไก่ย่าง เนื้อนุ่ม หนังกร๊อบ กรอบ กรอบนอกนุ่มในของร้าน ไก่ย่างหนังกรอบป้าแก้ว เป็น ไก่ย่างที่เนื้อแห้งแต่นุ่ม หนังไก่ต้องกรอบ ย่างด้วยความร้อนที่พอเหมาะไม่ร้อนเกินไปจนได้ไก่ย่างหนังกรอบที่สุกทั่วถึง และนี่คือ สูตรของทางร้านที่มัดใจลูกค้า ร้านเปิดทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น. ราคาเริ่มต้นที่ 45 บาทขึ้นไป ที่อยู่ข้างธนาคารกรุงเทพสาขาลาดกระบัง ตรงข้ามซอยลาดกระบัง 54 แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ081-243-6509, 090-568-6483 เวลา เปิด-ปิดเปิดทุกวัน 08.30-16.30 น. ประเภทร้านThai ( อาหารไทย )
34 8. ครัวเมืองเว้ ลาดกระบัง ร้านครัวเมืองเว้ เป็นร้านอาหารเวียดนามย่านลาดกระบัง บรรยากาศร้านเหมือนนั่งอยู่ในสวนหลังบ้าน ซึ่งภายในร้านก็มีเมนูอาหาร แนะนำ�มากมายไม่ว่าจะเป็น แหนมเหนืองที่เสิร์ฟมาพร้อมพักแบบจัดเต็ม และหมูยอทอด สำ�หรับใครที่ชอบทานอาหารเวียดนามต้องไปลองสักครั้ง เมนูเริ่มต้นที่ 95 บาทจ้า ที่อยู่ซอยลาดกระบัง 1/5 (ซอยเก้าแปลง) ถนนลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เบอร์ติดต่อ086-610-1323 เวลา เปิด-ปิดเปิดให้บริการ 10:30 - 21:30 น. ประเภทร้านแหนมเนือง ( แหนมเนือง )
L
K D A
B A R
G N A
35
9. สำ�หรับร้านนี้แค่อ่านชื่อก็รู้สึกว่าน่าเข้าไปสัมผัส แล้วกับร้าน Ploen Ploen Restaurant ร้านอาหาร สไตล์ธรรมชาติ ร้านจะอยู่ติดกับคลองซึ่งจะมีศาลา ไว้ให้ลูกค้าได้เลือกนั่ง หรือใครสนใจจะนั่งในห้อง กระจกติดแอร์ก็น่านั่งเช่นกัน ในส่วนของเมนูอาหาร จะเน้นอาหารแบบไทยๆ มากกว่า เช่น เมี่ยงปลา ทู ปูนิ่มผัดพริกไทยดำ� กุ้งแช่น้ำ�ปลา ปากเป็ดทอด และ ไก่บ้านทอดสมุนไพร บอกเลยแต่ละเมนูรสชาติ น่าลิ้มลองมากๆ ราคาเมนูอาหารเริ่มต้นที่ 60 บาท ว้าวววววราคาเริ่มต้นเบามาเลย ที่อยู่35 ซอยร่มเกล้า 1 แยก 2 ถนนพัฒนา ชนบท แขวง คลองสองต้นนุ่น เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 เบอร์ติดต่อ02-376-9377, 062-424-5395 เวลา เปิด-ปิดเปิดให้บริการ วันอังคาร-วันอาทิตย์ 11.00-22.00 น. ประเภทร้านThai ( อาหารไทย )
EAT LA
36 10. แซ่บ คลาสสิค ลาดกระบังซอย1 สำ�รับใครที่คออีสานก็ห้ามพลาดเลยกับร้านแซ่บคลาสสิค ลาดกระบังซอย1 ร้านอาหารอีสานที่บอกเลยนอกจะมี เมนูแซ่บๆ ถึงซวงอย่างส้มตำ� ลาบ น้ำ�ตก และต้มแซ่บ เท่านั้นยังไม่พอทางร้านยังมีมุมเล็กๆ ที่มีเสียดนตรีเพลง เพราะๆ ที่ทางร้านนำ�นักร้องมาร้องเพลงให้ฟัง ซึ่งในช่วง บรรยากาศยามเย็นแบบนี้นอกจากจะได้ทานอาหารอีสาน แซ่บๆ แล้ว ยังได้ฟังเพลงแบบเพลินๆ กันอีกด้วย ว่าแล้ว ก็อย่าลืมตามไปชิมกันนะ ราคาเมนูอาหารเริ่มต้นที่ 55 บาทจ้า ที่อยู่ถนน ลาดกระบัง แขวง ลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 เบอร์ติดต่อ02-053-1818 เวลา เปิด-ปิดเปิดให้บริการ 11.00-22.00 น. ประเภทร้านThai northeast ( อาหารอีสาน )
ADKRABANG
37
LADKRABAN
72 Race & Bar ที่อยู่: 87/14 ถนน ลาดกระบัง แขวง ลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 ชั่วโมง: ปิด - เปิด 18:00 โทรศัพท์: 086 318 1688
NG PARTY
38
ใบไม้ ที่อยู่: 7/1 ถนน ลาดกระบัง แขวง ลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 ชั่วโมง: ปิด - เปิด 15:30 โทรศัพท์: 02 739 2239
39
ชิดลม 4.1 บาร์9.8 กม. ที่อยู่: 75 ถนนอ่อนนุช-ลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 ชั่วโมง: ปิด - เปิด 18:00 โทรศัพท์: 02 739 2258
A R K D A L
G N A B A
A P
Y TR
โรงเหล้าแสงจันทร์ สุวรรณภูมิ ร้านอาหาร9.0 กม. ที่อยู่: 838/1, ถนนกิ่ง แก้ว แขวง ลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท์: 02 181 2300
40
41
R K D LA
G N A B A
L E T O H Grand Inn Come Hotel 193 ความเห็นบน Google โรงแรม 3 ดาว ที่อยู่: 99 หมู่6 ถนนกิ่งแก้ว ตำ�บลราชาเทวะ บางพลี สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์: 02 738 8191
42
Sta’Ying’s Hostel 22 ความเห็นบน Google โรงแรม 2 ดาว ที่อยู่: 43/18 ซอย กิ่งแก้ว 41 ตำ�บลราชาเทวะ บางพลี สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์: 065 269 2944
43
Novotel Bangkok Suvarnabhumi Airport Hotel 1,432 ความเห็นบน Google โรงแรม 4 ดาว ที่อยู่: 999 Suvarnabhumi Nongprue, บางพลี สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์: 02 131 1111 ติดหนึ่งใน 10% ของโรงแรมที่ดีที่สุดในพื้นที่นี้
44 BS Residence Suvarnabhumi 562 ความเห็นบน Google โรงแรม 3 ดาว9.1 กม. ที่อยู่: ถนน ลาดกระบัง แขวง ลาดกระบัง เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท์: 02 737 1997
TAILAND
LADKRABBANG
I LOVE HUATAKE
SUVANNATAILAND LADKRABBANG