AOT: รายงานประจำปี 2553

Page 1

รายงานประจำปี 2553

333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2535 1111 โทรสาร 0 2535 4061 E-mail: aotpr@airportthai.co.th www.airportthai.co.th

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)






สารบัญ

สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการ ทอท. คณะผู้บริหาร ทอท. ผังโครงสร้างองค์กร ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ลักษณะการประกอบธุรกิจ การบริหารความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ รายการระหว่างกัน สถิติการขนส่งทางอากาศ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกด้าน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน การดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม งบการเงิน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

007 008 010 028 031 033 042 045 051 093 095 109 123 126 128 140


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


สารจากประธานกรรมการ

มุง่ พัฒนาเพือ่ สิง่ ทีเ่ หนือกว่า ปีที่ผ่านมา บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) ได้มุ่งมั่นสู่การเป็นผู้นำธุรกิจท่าอากาศยานในภูมิภาคเอเชีย โดยเร่งพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและคุณภาพบริการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบ ถึง แม้ ว่ า ทอท. ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ทั้งด้านวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินสหภาพยุโรป ความผันผวนของ ราคาน้ำมันและอัตราแลกเปลี่ยน การปะทุของภูเขาไฟในไอซ์แลนด์ รวมทั้งสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ ซึ่งส่ง ผลกระทบโดยตรงต่ อ ภาคอุต สาหกรรมการขนส่ ง ทางอากาศ ภาคบริการและการท่องเที่ยวของประเทศ อย่างไรก็ตาม จากภาวะ เศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟืน้ ตัวขึ้นในปีงบประมาณ 2553 ส่งผลให้ผลการ ดำเนิน งานด้ า นปริ ม าณการจราจรทางอากาศของท่ า อากาศยาน ในความรับผิดชอบของ ทอท. มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ การดำเนิน งานในปี ที ่ผ่ า นมา โดยมี จ ำนวนผูโ้ ดยสารรวมทั ้ง สิ ้น 57.10 ล้านคน ปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ (เข้า+ ออก) 1.33 ล้านตัน และจำนวนเที่ยวบินรวม 380,894 เที่ยวบิน คิดเป็นอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.01, 28.17 และ 9.91 ตามลำดับ สำหรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นท่าอากาศยาน หลัก ของประเทศมี จ ำนวนผูโ้ ดยสารรวมทั ้ง สิ ้น 42.38 ล้ า นคน ปริม าณการขนส่ ง สิ น ค้ า และพั ส ดุไ ปรษณี ย ภั ณ ฑ์ (เข้ า +ออก) 1.27 ล้านตัน และจำนวนเที่ยวบินรวม 260,069 เที่ยวบิน คิดเป็น อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.37, 29.44 และ 7.48 ตามลำดับ ทั้งนี้ ความสำเร็จจากการดำเนินงานของ ทอท. ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา เป็นความสำเร็จร่วมกันของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ทอท. ทีไ่ ด้ทุ่มเทและสละเวลาในการแก้ไขปัญหาและ ร่วมเผชิญความท้าทายดังกล่าวอย่างเต็มความสามารถ โดยดำเนิน กลยุท ธ์ ที ่ส ามารถรองรั บ สถานการณ์ แ ละผลกระทบได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ ทั้งการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน การให้ ความสำคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาท่ า อากาศยานในความรั บ ผิ ด ชอบ ให้สามารถรองรับการเติบโตของปริมาณการจราจรทางอากาศได้

อย่างเพียงพอ ควบคู่กบั การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ที่มุ่งสู่การตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจสูงสุด ให้แก่ผโู้ ดยสารและสายการบิน โดยตระหนักถึงการดำเนินการ ภายใต้มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากลที่มุ่งเน้นในด้านการ รั ก ษาความปลอดภั ย ตลอดจนการให้ ้บ ริ ก ารสิ ่ง อำนวยความ สะดวก การสร้างจิตสำนึกในการบริการ และสภาพแวดล้อมที่ดี ภายในท่ า อากาศยาน รวมทั ้ง การพั ฒ นาธุ ร กิ จ และการตลาด ที่มุ่งเน้นการเติบโตของรายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (NonAeronautical Revenue) ควบคู ่กั บ การพั ฒ นาเครื อ ข่ า ย พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ และการบริ ห ารความสั ม พั น ธ์ ลู ก ค้ า อย่ า งมี ประสิทธิภาพ อีกทั้ง กำหนดแนวทางในการบริหารจัดการองค์กร เพื่อมุ่งสู่ประสิทธิภาพสูงสุด นอกเหนือจากความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาธุรกิจเพื่อสร้างการเติบโต ให้ แ ก่ อ งค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื ่อ ง ทอท. ได้ ต ระหนั ก ถึ ง การบริ ห าร จั ด การที ่ค ำนึ ง ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ ่ง แวดล้ อ ม ทั้งการจัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อม ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การส่ ง เสริ ม การดำเนิ น งานท่ า อากาศยานในรู ป แบบ Low Carbon Airport รวมทั ้ง การให้ ค วามสำคั ญ กั บ สั ง คมและ ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ตลอดจนการดำเนินงานที่คำนึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน เน้นความมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถ ตรวจสอบได้ ทอท. จะก้าวไปข้างหน้าโดยการเตรียมความพร้อม ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบในทุกด้าน เพื่อพร้อมเผชิญกับ ปัจจัยที่ท้าทายต่าง ๆ ในอนาคตอย่างยั่งยืน และเป็นส่วนหนึ่ง ของกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่าง มีประสิทธิภาพ

นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

ประธานกรรมการ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม รองประธานกรรมการ (ลาออกเมื่อวันที่ 12 12 เมษายน พ.ศ. 2553) เมษายน พ.ศ. 2553)

นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ตอบแทน กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

นายประสงค์ พูนธเนศ กรรมการ กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง

นายสมชัย สัจจพงษ์​์ กรรมการ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


คณะกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช กรรมการอิสระ กรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา ประธานกรรมการสรรหา

นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง

นายมานิต วัฒนเสน กรรมการอิสระ ระ

นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล

นายชวนชัย อัชนันท์ กรรมการอิสระ ระ

นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ กรรมการ

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ กรรมการ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ผู้บริหาร บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นายสมชัย สวัสดีผล

รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

นายชยากร อักษรมัต

รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ)

นายเพิ่มศักดิ์ พัฒนพงษ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

ว่าที่เรืออากาศโท ภาสกร สุระพิพิธ ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

10

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี

ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร

ผู้อำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง

รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน)

นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน

ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นายนิตินัย ศิริสมรรถการ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด)

ว่าที่เรืออากาศโท วิศิษฐ์ อิ้วประภา ผู้อำนวยการท่าอากาศยานเชียงใหม่

เรืออากาศโท ณรงค์ชัย ถนัดช่างแสง รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายปฏิบัติการ)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

11


ผู้บริหาร บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) นาวาอากาศโท ประทีป วิจิตรโท รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง (สายปฏิบัติการ)

เรืออากาศโท ต่อศักดิ์ นิงสานนท์ รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายบำรุงรักษาและสารสนเทศ)

เรืออากาศโทหญิง เพิร์ล รักสำหรวจ

รองผู้อำนวยการท่าอากาศยาน ดอนเมือง (สายอำนวยการ)

นางสาวชนาลัย ฉายากุล เลขานุการบริษัท

นายมนตรี มงคลดาว

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ)

นายยุทธนา จิตรอบอารีย์

ผู้อำนวยการท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

12

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


นางสาวศศิศุภา สุคนธทรัพย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด)

นางดวงใจ คอนดี

รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายการพาณิชย์)

นายประเทือง ศรขำ

ผู้อำนวยการท่าอากาศยานภูเก็ต

นางพูลศิริ วิโรจนาภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน)

นาวาอากาศโท สุข พึ่งธรรม ผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่

นางสาววิ ไลวรรณ นัดวิ ไล

รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำนวยการ)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

13


14

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

15


16

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


‘ประสิทธิภาพแห่งการพัฒนา’ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา เราได้เผชิญกับประเด็นท้าทายต่อการดำเนินธุรกิจ ทั้งในด้านวิกฤติการเงิน และการถดถอยของเศรษฐกิจโลก การแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 รวมทั้งปัจจัยลบจากสถานการณ์การเมืองภายในประเทศ ตลอดระยะเวลาดังกล่าว กระผมได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน ทอท. ทุกคน ทีไ่ ด้ทุ่มเทและสละเวลาในการแก้ไขปัญหาอย่างเต็มความสามารถ โดยปรับกลยุทธ์การดำเนินงาน

ให้รองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และสามารถนำพาองค์กรให้เดินก้าวหน้าต่อไปได้อย่างราบรื่นในที่สุด ทอท. จะเป็ น องค์ ก รที ่มี ก ารเติ บโตอย่ า งต่ อ เนื ่อ ง พร้ อ มรั บ มื อ กั บ ภาวการณ์ แข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ และกระแส

การเปลี่ยนแปลงของโลกทีไ่ ม่หยุดนิ่ง ดำเนินงานโดยเน้นความมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้ง

คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตลอดจนสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นปัจจัยสำคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

17


18

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


‘ศักยภาพไทยสูเ่ วทีโลก’ ตลอดระยะเวลาเกือบ 30 ปี ที่ทำงานให้องค์กรแห่งนี้มา ผมประทับใจในเรื่อง ความมีระเบียบวินัยสูง ความเคารพผู้อาวุโส และความสามัคคีกลมเกลียวกันแบบพี่น้อง หลักในการทำงานที่ผมถ่ายทอดให้กับเพื่อนร่วมงานทุกคน คือการทำงานให้ดีเหนือความคาดหมายอยู่เสมอ ผู้ทำงานและองค์กรจึงจะสามารถรุดหน้าไปด้วยกันอย่างรวดเร็ว ผมคาดหวังให้องค์กรแห่งนี ้ รวมถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติของไทยอีก 5 แห่ง ทั่วประเทศ เป็นที่ยอมรับในระดับโลก ผูโ้ ดยสารเข้าและออกได้อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย สะดวกสบาย เราจะทำหน้าที่ เป็นประตูด่านแรกที่จะสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวและผูโ้ ดยสารจากทั่วโลกได้สัมผัสรอยยิ้มและจิตใจ อันอ่อนโยนของคนไทย

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

19


‘มุง่ สูค่ วามเป็นเลิศ’ ผมภูมิใจกับการทำงานที่ ทอท. เพราะที่นี่คือองค์กร ที่เปี่ยมไปด้วยผู้มีความรู้ความสามารถ เราทำงานกันอย่างมีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานสากล ในอนาคต ผมคาดหวังว่า ทอท. จะเป็นพลังส่วนหนึ่งในการผลักดัน

และพัฒนาประเทศไทยของเรา ทอท. จะเป็นกลไกสำคัญในการ

พัฒนาเศรษฐกิจ ด้วยการสร้างความประทับใจให้กบั นักท่องเที่ยว

ที่เข้ามาเยี่ยมเยียนประเทศไทย ทุกคนจะยอมรับว่า เราเป็นเลิศ

ในด้านการให้บริการจริง ๆ

นายสมชัย สวัสดีผล รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

20

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


‘บริหารด้วยใจ’ ผมเริ่มทำงานกับ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 เมื่อนึกย้อนหลังไปก็มีความสุขใจ นายแต่ละท่านมีความแหลมคมในการสั่งสอน ท่านเหล่านั้น สอนผมโดยมีความรัก หวังดีเป็นพื้นฐาน เมื่อนึกถึงเพื่อนร่วมงานทุกคน ที่มีความจริงใจ ถึงแม้งานจะ หนัก แต่ทุกคนมีความสุข มีเสียงหัวเราะเมื่อเสร็จงาน ในทุกวันนี้ ผมจึงบริหารงานโดยใช้ ‘ความรัก’ เป็นหลักการ (Management

by Love) โดยระลึ ก ถึ ง คำโบราณตลอดมา คำว่ า ‘ลู ก น้ อ ง’

เขาคือ ‘ลูก’ และ ‘น้อง’ ของเรา เราควรจะปฏิบัติต่อเขาอย่างไร ส่วนผูบ้ ังคับบัญชา หรือ ‘หัวหน้า’ คำว่า ‘หัว’ ย่อมบรรจุด้วย สมอง สามารถชี้แนะแนวทางแก่ลูกน้องได้ และ ‘หน้า’ ก็คงจะเป็น ความภาคภูมใิ จของลูกน้อง ‘ความรักย่อมอดทนนานและกระทำคุณให้’

ในระยะที่ผ่านมา ทอท. เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ผมหวังให้ พวกเรารักษาวัฒนธรรม ค่านิยมเดิม ๆ ในเรื่องความรัก ความเป็น ครอบครั ว เป็ น พีเ่ ป็ น น้ อ งไว้ อ ยู ่ อยากให้ ทอท. เป็ น องค์ ก รที ่ บริหารงานบนพื้นฐานของความรัก เพื่อร่วมมือร่วมใจกันสร้างให้ ทอท. เป็นท่าอากาศยานที่มีมาตรฐานสากลทางด้านการบินต่อไป

นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

21


‘ประสบการณ์ สร้างอนาคต’ ผมประทับใจบรรยากาศของการทำงานใน ทอท. เรามี ความอบอุ่น กระตือรือร้น และความคิดสร้างสรรค์ ทุกคนทำงานอย่างจริงจังและจริงใจ ร่วมกันสร้างผลงาน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อความพึงพอใจ ให้กับผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน โดยต้องให้ ได้เท่ากับ หรือต้องมากกว่าที่เขาคาดหวังไว้ อย่างเมื่อครั้งที่ผมได้เป็นส่วนหนึ่งของการทำงานเพื่อเปิด ให้ บ ริ ก ารท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ โดยในขณะนั น้ ผมดำรง ตำแหน่งรองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายปฏิบตั -ิ การ) ที ม งานและตั ว ผม ได้ ร่ ว มกั น ทำงานด้ ว ยความมุ ่ง มั ่น อดทน จนกระทั ่ง การเปิ ดให้ บ ริ ก ารในครั ้ง นั ้น ถื อ เป็ น ความ ภาคภูมใิ จของคนไทยทั้งชาติ แนวความคิดที่ผมอยากฝากไว้ให้กับเพื่อนร่วมงานทุกคน คื อ ขอให้ พ วกเราทบทวนอดี ต คื อ ทบทวนประสบการณ์ การทำงานที่ผ่านมา ทั้งของตนเองและของผู้อื่น ศึกษาปัจจุบัน คือ การศึกษาเรื่องราวมากมายจากสิ่งรอบ ๆ ตัวในวันนี ้ เพื่อ นำไปใช้วางแผนงานสู่อนาคต ที่มีความถูกต้องแม่นยำยิ่งขึ้น

ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร ผู้อำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง

22

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


‘เราจะก้าวไป ข้างหน้าพร้อมกัน’ งานของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คือการให้บริการ ผสมผสานกับการรักษาความปลอดภัย หลักในการทำงานของเรา คือต้องทำงาน 2 ด้าน อย่างสมดุลกัน การมีจิตใจในการให้บริการ ให้ความช่วยเหลือแก่ผโู้ ดยสาร รวมไปถึงให้ความร่วมมือกับผู้ประกอบการที่อยู่ภายในสถานที่แห่งนี้

และในขณะเดี ย วกั น เราก็ ต้ อ งทุ ่ม เทและมี ร ะเบี ย บวิ นั ยใน

การรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง ผมคาดหวั งให้ เรามี ก ารพั ฒ นาต่ อไปอย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั ้ง การ พัฒนาจะเกิดขึ้นได้ ก็เมื่อพนักงานของเราและของหน่วยงานอื่น ๆ ที่อยูภ่ ายในสนามบินแห่งนี ้ มีความซื่อสัตย์ ขยันขันแข็ง มีระเบียบ วินัย และมีจิตใจในการให้บริการเหมือนกัน เราจะได้จับมือก้าวไป

ข้างหน้าพร้อมกันทั้งหมด

นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

23


‘บริหารงาน ด้วยคุณธรรม’ ผู้บริหารของ ทอท. มีความเป็นมืออาชีพ มีความเชี่ยวชาญ และสามารถนำพาองค์กรให้ประสบความสำเร็จ ในช่วงวิกฤติที่ผ่านมา ทอท. มีความเป็นสากล เป็นที่ยอมรับ ของผู ้ค นทั ่วโลก เราเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย มี จ ำนวนผูโ้ ดยสารและรายได้ เ ติ บโตขึ ้น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทุ ก ปี ด้ ว ยหลั กในการบริ ห ารงานที ่ยึ ด ถื อ หลั ก ความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรม สามารถตรวจสอบได้ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ดิฉันคาดหวังให้องค์กรของเรามีความยั่งยืน มีเป้าหมาย ให้ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ติ ด อัน ดั บ 1 ใน 10 ของ ท่ า อากาศยานดี เ ด่ น ของโลก และคาดหวั งให้ นั ก ลงทุ น ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ความไว้วางใจและยอมรับ การดำเนินงานขององค์กรของเรา

นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน)

24

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


‘เอกภาพ สูค่ วามสำเร็จ’ พนักงาน ทอท. ให้ความสำคัญกับการให้ความเคารพผู้อาวุโสกว่า เป็นประเพณีที่ดีขององค์กรที่ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ทำให้ ทอท. เป็นองค์กรที่อบอุน่ ทุกคนมีความกระตือรือร้น ในการทำงาน และเป็นการสร้างบรรยากาศที่ดใี นการทำงานด้วย ผมเชื่อว่าในการทำงาน เราต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ของ องค์กรเป็นหลัก เพื่อความเจริญก้าวหน้าในภาพรวมขององค์กร จึ ง หวั งให้ ทุ ก คนมี ค วามตั ้งใจในการทำงาน สามั ค คี ร่ ว มแรง ร่วมใจกัน เพื่อให้ ทอท. เป็นบ้านที่น่าอยูต่ ลอดไป

นายชยากร อักษรมัต รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

25


‘คุณภาพคือ บุคลากร’ องค์กรแห่งนี้เป็นองค์กรใหญ่ ความโปร่งใสและหลัก ธรรมาภิบาลจึงเป็นหลักการทำงานที่สำคัญที่สุด นอกจากนี ้ การขั บ เคลื ่อ นองค์ ก รใหญ่ ร ะดั บ นีไ้ ปข้ า งหน้ า อย่ า งมั ่น คงได้ เราจะต้ อ งประกอบด้ ว ยฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์ แวร์ พี เ พิ ล แวร์ สำหรั บ ผมเชื ่อ ว่ า พี เ พิ ล แวร์ หรื อ เรื ่อ งบุ ค ลากรนั ้น สำคัญที่สุด และจากการได้มาร่วมงานกับ ทอท. ได้ระยะหนึ่ง ในสายงานที่ถึงแม้จะไม่ใหญ่มากนัก แต่ผมก็รู้สึกประทับใจกับ บุคลากรของที่นี่ ซึ่งถือเป็นคนระดับคุณภาพทั้งสิ้น ภายในปี 2557 ทอท. คาดหวั งให้ มี ร ายได้ จ ากธุ ร กิ จ เกี่ยวกับการบินและทีไ่ ม่เกี่ยวกับการบิน อยูใ่ นสัดส่วนประมาณ 50 : 50 เพื ่อ รั ก ษาเสถี ย รภาพของระดั บ รายได้ ข ององค์ ก ร ให้ ค งที่ ซึ ่ง เราได้ เ ตรี ย มแผนงานพั ฒ นาพื ้น ที ่ข องสุ ว รรณภู มิ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายนี้แล้ว

นายนิตินัย ศิริสมรรถการ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด)

26

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

27


คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) สำนักตรวจสอบ สำนักงานโครงการพิเศษ สำนักมาตรฐานและควบคุมคุณภาพ การรักษาความปลอดภัยกิจการการบิน

สายงานอำนวยการ

• ฝ่ายอำนวยการกลาง • ฝ่ายกฎหมาย • ฝ่ายทรัพยากรบุคคล • ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล • ฝ่ายป้องกันอุบัติภัยและอาชีวอนามัย • ฝ่ายพัสดุ • ฝ่ายแพทย์

สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค • ส่วนบริหารกลาง • ท่าอากาศยานเชียงใหม่ • ท่าอากาศยานหาดใหญ่ • ท่าอากาศยานภูเก็ต • ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

สายงานแผนงานและการเงิน

• ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ • ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร • ฝ่ายงบประมาณ • ฝ่ายการเงิน • ฝ่ายบัญชี

หน่วยธุรกิจ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ส่วนควบคุมคุณภาพการรักษา ความปลอดภัยท่าอากาศยาน ส่วนมาตรฐานและ ความปลอดภัยท่าอากาศยาน ส่วนวางแผนตารางการบิน

สายอำนวยการ

• ฝ่ายอำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • ฝ่ายแผนงานและการเงิน • ฝ่ายกิจการพิเศษ • ส่วนแพทย์

สายปฏิบัติการ

• ฝ่ายการท่าอากาศยาน • ฝ่ายปฏิบัติการเขตการบิน • ฝ่ายระบบลำเลียงกระเป๋าสัมภาระ • ฝ่ายรักษาความปลอดภัย • ฝ่ายดับเพลิงและกู้ภัย


ผังโครงสร้างองค์กร (ณ 30 กันยายน 2553) คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สำนักเลขานุการบริษัท

เลขานุการบริษัท สำนักมาตรฐานและ ความปลอดภัยท่าอากาศยาน

สายงานพัฒนาธุรกิจ และการตลาด • ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด • ฝ่ายบริหารธุรกิจ

สำนักสื่อสารองค์กร

สายงานวิศวกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ • ฝ่ายแผนพัฒนาท่าอากาศยาน • ฝ่ายวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม • ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ • ฝ่ายสิ่งแวดล้อม

หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานดอนเมือง ศูนย์บริการแบบครบวงจร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ศูนย์ปฏิบัติการพิเศษ ศูนย์บริหารเขตปลอดอากร และคลังสินค้า

สายบำรุงรักษาและสารสนเทศ • ฝ่ายไฟฟ้าและเครื่องกล • ฝ่ายสนามบินและอาคาร • ฝ่ายสารสนเทศท่าอากาศยาน • ฝ่ายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์

• ส่วนแพทย์ • ส่วนมาตรฐานและความปลอดภัยท่าอากาศยาน • ส่วนพาณิชย์และการเงิน • ส่วนควบคุมคุณภาพการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยาน • ฝ่ายอำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง • ฝ่ายปฏิบัติการท่าอากาศยาน • ฝ่ายความปลอดภัยท่าอากาศยาน • ฝ่ายบำรุงรักษา

สายการพาณิชย์ • ฝ่ายการพาณิชย์ • ฝ่ายบริหารการขนส่ง



ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

ชื่อบริษัท : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. เลขทะเบียนบริษัท : ทะเบียนเลขที่ บมจ. 0107545000292 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการท่าอากาศยานรวมทั้งกิจการอื่นที่เกี่ยวกับ หรือต่อเนื่องกับการประกอบกิจการท่าอากาศยาน ทุนจดทะเบียน : 14,285,700,000 บาท จำนวนหุ้นสามัญ : 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ได้แก่ กระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 70 ผู้ถือหุ้น : ส่วนที่เหลือเป็นการถือหุ้นโดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป ปีที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 รอบปีบัญชี : 1 ตุลาคม-30 กันยายน เว็บไซต์ : http://www.airportthai.co.th ติดต่อ : สำนักงานใหญ่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2535-1111 โทรสาร 0-2535-4061 หรือ 0-2504-3846 สำนักเลขานุการบริษัท : โทรศัพท์ 0-2535-5858 โทรสาร 0-2535-5540 E-mail: secretary.off@airportthai.co.th ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ : โทรศัพท์ 0-2535-5900 โทรสาร 0-2535-5909 E-mail: aotir@airportthai.co.th สำนักสื่อสารองค์กร : โทรศัพท์ 0-2535-3738 โทรสาร 0-2535-4099 E-mail: aotpr@airportthai.co.th นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 2/7 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพ ฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2596-9307 โทรสาร 0-2832-4994-6 ผู้สอบบัญชี : สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน กรุงเทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2273-9674-91 โทรสาร 0-2618-5883

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

31


32

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท

2553

2552

ผลการดำเนินงาน (ล้านบาท)

2551

รายได้จากการดำเนินงาน

24,032.62

21,502.39

26,740.14

ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน

20,283.88

18,543.25

18,740.40

กำไรจากการดำเนินงาน

3,748.74

2,959.14

7,999.74

กำไรสุทธิ

1,415.97

717.26

7,321.05

สินทรัพย์รวม

145,832.00

149,019.88

146,455.97

หนี้สินรวม

71,743.19

75,760.10

70,147.58

ส่วนของผู้ถือหุ้น

74,088.81

73,259.78

76,308.39

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

2.00

1.88

2.67

อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้จากการดำเนินงาน (%)

5.89

3.34

27.38

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)

1.92

0.96

10.03

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)

0.96

0.49

5.05

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

0.97

1.03

0.92

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

51.77

51.16

53.24

กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)

0.99

0.50

5.12

ฐานะการเงิน (ล้านบาท)

อัตราส่วนทางการเงิน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

33


แหล่งที่มาของรายได้จากการดำเนินงานสำหรับปี 2553

แยกตามประเภทรายได้

หน่วย : ล้านบาท ค่าธรรมเนียมสนามบิน.........................3,407.11 (14%) ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน............... 10,180.50 (42%) ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก......................418.34 (2%) ค่าเช่าสำนักงานและพื้นที่........................1,615.82 (7%) รายได้เกี่ยวกับบริการ.......................... 3,127.57 (13%) รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์....................5,283.27 (22%)

24,032.62 (100%)

แยกตามหน่วยธุรกิจ สำนักงานใหญ่................................................... - (0%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานดอนเมือง.............. 505.04 (2%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ......19,874.75 (83%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานภูมิภาค.......... 2,995.63 (12%) โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ...............657.20 (3%)

24,032.62 (100%)

34

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


แหล่งที่มาของค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงานสำหรับปี 2553

แยกตามประเภทค่าใช้จ่าย

หน่วย : ล้านบาท ค่าใช้จ่ายพนักงาน...................................3,814.34 (19%) ค่าตอบแทนผู้บริหาร.....................................67.31 (0%) ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน.................................5,548.85 (27%) ค่ า ซ่ อ มแซม.....................................1,539.77 (8%) ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ.....................1,034.05 (5%) ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์........................8,279.55 (41%)

20,283.88 (100%)

แยกตามหน่วยธุรกิจ สำนักงานใหญ่.......................................1,411.01 (7%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานดอนเมือง...........1,552.74 (8%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ......15,356.64 (76%) หน่วยธุรกิจท่าอากาศยานภูมิภาค..........1,320.77 (6%) บริษัท ท่าอากาศยานสากล กรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด......................................0.16 (0%) โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.ิ .................. 642.55 (3%)

20,283.88 (100%)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

35


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย

คำอธิบายและการวิเคราะห์งบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ 2552 ปี 2553 สภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่มปรับตัวดีขึ้น รวมทั้งรัฐบาลได้ดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ทำให้สถานการณ์ การท่องเที่ยวโดยรวมเริ่มฟืน้ ตัวขึ้น และคาดการณ์ว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากที่ลดลงในปีที่ผ่านมา แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบภายใน ประเทศ ที่เริม่ ตั้งแต่กลางเดือนมีนาคม 2553 ถึงปลายเดือนพฤษภาคม 2553 ทำให้ปริมาณการจราจรทางอากาศเพิ่มขึ้นในอัตราที่ ไม่สูงนัก โดยจำนวนเที่ยวบิน ผูโ้ ดยสาร และปริมาณสินค้า สำหรับงวดเดือนตุลาคม 2552-กันยายน 2553 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 11.32 , 14.66 และ 29.79 ตามลำดับ ทอท. ได้มีมาตรการต่าง ๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการและสายการบินซึ่งส่งผลกระทบกับผลการดำเนินงาน โดยมีรายละเอียด ของมาตรการ ดังนี้

- มาตรการเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วของไทยและช่วยเหลือสายการบินและผูป้ ระกอบการซึง่ สิน้ สุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ประกอบด้วย 1) ปรับลดค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยาน (Landing Fee) ให้แก่เที่ยวบินแบบประจำในอัตราร้อยละ 30 ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ธันวาคม 2552 และยกเว้นค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน (Parking Fee) จากเดิม 3 ชั่วโมงแรกไม่เรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน เป็น 24 ชั่วโมงแรกไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-ธันวาคม 2552 ให้แก่เที่ยวบินแบบประจำ 2) ปรับลดค่าตอบแทนคงที่รายเดือนตามอัตราส่วนของจำนวนผูโ้ ดยสารที่ลดลงในแต่ละท่าอากาศยานเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวน ผูโ้ ดยสารในเดือนเดียวกันของปีก่อนเป็นระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม 2552 สำหรับค่าตอบแทนที่เรียกเก็บเป็น ร้ อ ยละและกำหนดค่ า ตอบแทนขั ้น ต่ ำให้ เรี ย กเก็ บ เฉพาะค่ า ตอบแทนในอั ต ราร้ อ ยละของยอดขายตามสั ญ ญา ตั ้ง แต่ เดือนมกราคม-ธันวาคม 2552 โดยยกเว้นการเรียกเก็บค่าตอบแทนขั้นต่ำของปี 2552 - มาตรการให้ความช่วยเหลือสายการบินและผูป้ ระกอบการปี 2553 ประกอบด้วย 1) ปรับลดค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยานในอัตราร้อยละ 10 และค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานในอัตราร้อยละ 20 เป็ น ระยะเวลา 10 เดื อ น ให้ แ ก่ ทุ ก เที ่ย วบิ น ตั ้ง แต่ เ ดื อ นมี น าคม-ธั น วาคม 2553 (สำหรั บ เที ่ย วบิ น ทีไ่ ด้ รั บ ส่ ว นลด ค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยาน และ/หรือค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานจากโครงการอื่นของ ทอท. อยู่แล้วให้ได้รับ ส่วนลดค่าธรรมเนียมในโครงการเดียว โดยให้ใช้อัตราส่วนลดค่าธรรมเนียมในการขึ้นลงของอากาศยานและค่าธรรมเนียมที่เก็บ อากาศยานของโครงการที ่มี อ ัต ราส่ ว นลดสู ง กว่ า ซึ ่งไม่ ร วมถึ งโครงการส่ ง เสริ ม ผูโ้ ดยสารการบิ น และสายการบิ น สำหรั บ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 2) ปรั บ ลดค่ า ตอบแทนเฉพาะสั ญ ญาที ่ ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ป ระกอบกิ จ การจาก ทอท. หรื อ สั ญ ญาที ่มี ก ารลงนามก่ อ นวั น ที ่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ดังนี้ 2.1 กรณีคา่ ตอบแทนคงที่ ให้ปรับลดค่าตอบแทนคงทีใ่ นอัตราร้อยละ 5 เป็นระยะเวลา 10 เดือน ตั้งแต่เดือนมีนาคม-ธันวาคม 2553 2.2 กรณีการเรียกเก็บค่าตอบแทนเป็นร้อยละและกำหนดค่าตอบแทนขั้นต่ำด้วย (1) กรณีอายุสญ ั ญามากกว่า 5 ปีข้นึ ไปให้เลื่อนอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการที่กำหนดไว้ใน สัญญาในปีสัญญาที่ 2 ไปกำหนดเป็นอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการในปีสัญญาที่ 4 และตั้งแต่ปีสัญญาที่ 3 เป็นต้นไป ให้เลื่อนอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการที่กำหนดไว้ เป็นลักษณะเดียวกันกับการเลื่อนอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการในปีสญ ั ญาที่ 2 ข้างต้น จนครบกำหนดอายุสญ ั ญา (2) กรณีอายุสญ ั ญา 3–5 ปี ให้เลื่อนอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำ ดังนี ้ - อัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการที่กำหนดไว้ในปีสญ ั ญาที่ 1 ไปกำหนดเป็นอัตราร้อยละ และอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการในปีสญ ั ญาที่ 3 - อัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการที่กำหนดไว้ในปีสญ ั ญาที่ 2 ไปกำหนดเป็นอัตราร้อยละ และอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการในปีสญ ั ญาที่ 4 (ถ้ามี) - อัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการที่กำหนดไว้ในปีสญ ั ญาที่ 3 ไปกำหนดเป็นอัตราร้อยละ และอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำจากการประกอบกิจการในปีสญ ั ญาที่ 5 (ถ้ามี) 3) โครงการส่งเสริมผูโ้ ดยสารการบินและสายการบินสำหรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย ทอท. จะให้ผลตอบแทนผ่านการลด ค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยานสำหรับเที่ยวบินแบบประจำที่เข้าร่วมโครงการ โดยการคำนวณส่วนลดจะคำนวณเป็น อัตราร้อยละของค่าธรรมเนียมที่สายการบินต้องชำระในปี 2553 ซึ่งอัตราดังกล่าวเป็นไปตามสัดส่วนจำนวนที่เพิ่มขึ้นของ ผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศที่สายการบินนำผ่านเข้าหรือออกท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ นปี 2553 เมื่อเทียบกับจำนวนที่นำผ่านในปี 2552 ทั้งนี้ ทอท. จะลดค่าธรรมเนียมย้อนหลังให้สายการบินโดยคำนวณจากวันที่ 1 มกราคม-31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

- มาตรการให้ความช่วยเหลือสายการบินและผูป้ ระกอบการปี 2553 เพิม่ เติมเฉพาะทีท่ า่ อากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยาน ดอนเมืองเนือ่ งจากได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ในช่วงเดือนเมษายน–ธันวาคม 2553 ดังนี้

36

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


1) มาตรการให้ความช่วยเหลือในครั้งนีใ้ ห้ถอื ปฏิบตั เิ ฉพาะกับโครงการหรือกิจกรรมทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการเป็นลายลักษณ์- อักษรจาก ทอท. หรือที่มีการลงนามในสัญญา ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2553 2) ปรับลดค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยาน ในอัตราร้อยละ 15 และค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน ในอัตราร้อยละ 50 เป็ น ระยะเวลา 9 เดื อ น ให้ แ ก่ ทุ ก เที ่ย วบิ น ตั ้ง แต่ เ ดื อ นเมษายน–ธั น วาคม 2553 (สำหรั บ เที ่ย วบิ น ทีไ่ ด้ รั บ ส่ ว นลด ค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยาน และ/หรือค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยานจากโครงการอื่น ๆ ของ ทอท. อยู่แล้วให้ได้ รับส่วนลดค่าธรรมเนียมในโครงการเดียวโดยให้ใช้อัตราส่วนลดค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยานและค่าธรรมเนียม ที่เก็บอากาศยานของโครงการที่มีอัตราส่วนลดสูงกว่า ทั้งนี้ ไม่รวมถึงโครงการส่งเสริมผูโ้ ดยสารการบินและสายการบินสำหรับ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 3) ปรับลดค่าเช่าพืน้ ที่และ/หรือค่าธรรมเนียมการใช้บริการในอาคารในอัตราร้อยละ 10 ให้แก่ผู้เช่าทุกราย เป็นระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน–ธันวาคม 2553 4) ปรับลดค่าตอบแทน ดังนี้ 4.1 กรณีคา่ ตอบแทนคงที่ ปรับลดค่าตอบแทนคงที่ เป็นระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือน เมษายน–ธันวาคม 2553 ในอัตรา ดังนี้

ปรับลด เมษายน

– มิถุนายน 2553

ร้อยละ 3

กรกฎาคม – กันยายน 2553

ร้อยละ 20

ตุลาคม

ร้อยละ 10

– ธันวาคม 2553

4.2 กรณีค่าตอบแทนร้อยละที่มีการกำหนดค่าตอบแทนขั้นต่ำให้เรียกเก็บเฉพาะค่าตอบแทนในอัตราร้อยละของยอดขายตาม สัญญา โดยไม่เรียกเก็บค่าตอบแทนขั้นต่ำเป็นระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน–ธันวาคม 2553 ทั้งนีใ้ ห้เลื่อนการ เรียกเก็บเงินค่าตอบแทนอัตราร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำของปีสัญญาปัจจุบัน ไปกำหนดเป็นค่าตอบแทนอัตรา ร้อยละและอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำของปีสัญญาถัดไปจนครบอายุสัญญา และให้คำนวณอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำของเดือนที่เหลือ ในปีสัญญาปัจจุบันโดยวิธีการเฉลี่ยอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำเท่า ๆ กันทุกเดือน กรณีผู้ประกอบการที่มีค่าตอบแทนที่คำนวณจากอัตราร้อยละสูงกว่าอัตราค่าตอบแทนขั้นต่ำให้เรียกเก็บเงินค่าตอบแทนในอัตรา ค่าตอบแทนขั้นต่ำ เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในการปฏิบัติงาน สำหรับผู้ประกอบการทีไ่ ด้รับส่วนลดค่าตอบแทนในมาตรการให้ความช่วยเหลือใด ๆ อยู่แล้ว ให้ได้รับส่วนลดค่าตอบแทนในมาตรการ ให้ความช่วยเหลือเดียว โดยให้ใช้อัตราส่วนลดค่าตอบแทนของมาตรการให้ความช่วยเหลือที่มีอัตราส่วนลดสูงกว่า ทั้งนี้ ในช่วงเดือนมกราคม–มีนาคม 2553 หากมีผู้ประกอบการรายใดที่ชำระค่าตอบแทนเรียบร้อยแล้ว แต่ปรากฏว่ามาตรการ ให้ความช่วยเหลือปี 2553 ทำให้ผู้ประกอบการรายดังกล่าวต้องชำระค่าตอบแทนมากขึ้นกว่าก่อนที่จะมีมาตรการให้ความช่วยเหลือดังกล่าว ให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าตอบแทนในส่วนที่เพิ่มขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าว 5) ขยายระยะเวลาการชำระเงินค่าธรรมเนียมในการขึ้น-ลงของอากาศยาน ค่าธรรมเนียมที่เก็บอากาศยาน ค่าเช่าพื้นที่ และ ค่าตอบแทนจากวันครบกำหนดชำระเงินเดิมของเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553 ออกไปอีก 4 เดือน โดยยกเว้นค่าปรับ 6) ขยายอายุ สั ญ ญาให้ กั บ ผู ้ป ระกอบการกิ จ กรรมเชิ ง พาณิ ช ย์ ต ามสั ญ ญาอนุ ญ าตทุ ก รายที ่ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ และ ท่าอากาศยานดอนเมืองออกไปอีก 6 เดือน–2 ปี ตามสัดส่วนของอายุสัญญา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อายุสัญญา

อายุสัญญาที่ขยายให้

< 3 ปี

6 เดือน

3 ปี

8 เดือน

5 ปี

1 ปี

8 ปี

1 ปี 8 เดือน

≥ 10 ปี

2 ปี

ทั้งนี้ รวมถึงสัญญาเช่ารถยนต์พร้อมพนักงานขับรถยนต์ สำหรับให้บริการรถยนต์รับ-ส่งผูโ้ ดยสาร (Limousine) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เนื่องจากเป็นกิจการทีไ่ ด้รับผลกระทบจากการลดลงของจำนวนผูโ้ ดยสารโดยตรง และหากผู้ประกอบการได้ปรับปรุงรถให้มีสภาพใหม่อยู่เสมอ โดยจะต้องมีสภาพรถเทียบเท่ากับรถที่มีอายุใช้งานไม่เกิน 5 ปี ตลอดอายุสัญญา ทอท. จะขยายอายุสัญญาให้เพิ่มขึ้นอีก 1 ปี รวมเป็น 2 ปี 7) มาตรการทีใ่ ห้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการดังกล่าวข้างต้น หากเป็นผู้ประกอบการ ทีไ่ ด้รับอนุญาตให้เข้าดำเนินงานตามพระราช- บัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 และกรณีอนื่ ๆ ที่ต้องดำเนินการให้เป็นไป รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

37


ตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ทอท. จะพิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามขั้นตอนที่กฎหมายหรือสัญญากำหนด 8) ผู้ประกอบการจะต้องยกเว้นค่าบริการให้กับสายการบินหรือผูใ้ ช้บริการในอัตราทีไ่ ม่น้อยกว่าทีไ่ ด้รับความช่วยเหลือจาก ทอท.

1. ผลการดำเนินงานของ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย (ทอท.)

ผลการดำเนินงานสำหรับปี 2553 ซึ่งเริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2552–30 กันยายน 2553 ทอท. มีรายได้จากการดำเนินงานรวม 24,032.62 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากปี 2552 จำนวน 2,530.23 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.77 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานรวม 20,283.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 จำนวน 1,740.62 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.39 กำไรจากการดำเนินงานรวม 3,748.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 789.60 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.68 เมื่อรวมรายได้และค่าใช้จ่ายอื่นสุทธิ 817.98 ล้านบาท ต้นทุนทางการเงิน 2,389.71 ล้านบาท ขาดทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย 39.87 ล้านบาท และภาษีเงินได้ 800.91 ล้านบาท แล้ว มีกำไรสุทธิ 1,415.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 698.71 ล้านบาท หรือร้อยละ 97.41 กำไรสุทธิต่อหุ้น 0.99 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีกำไรสุทธิต่อหุ้น 0.50 หน่วย : ล้านบาท 2553

2552

24,032.62

21,502.39

2,530.23

11.77

- รายได้ที่เกี่ยวกับกิจการการบิน

14,005.95

12,202.57

1,803.38

14.78

- รายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับกิจการการบิน

10,026.67

9,299.82

726.84

7.82

20,283.88

18,543.25

1,740.62

9.39

กำไรจากการดำเนินงานรวม

3,748.74

2,959.14

789.60

26.68

รายได้อื่น

1,281.73

574.33

707.41

123.17

463.75

386.13

77.63

20.10

ต้นทุนทางการเงิน

2,389.71

2,493.81

(104.10)

(4.17)

กำไรสุทธิ

1,415.97

717.26

698.71

97.41

รายได้จากการดำเนินงานรวม

ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานรวม

ค่าใช้จ่ายอื่น

เพิ่ม (ลด)

ร้อยละ

รายได้ท่เี กี่ยวกับกิจการการบิน (Aeronautical Revenues) จำนวน 14,005.95 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,803.38 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.78 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึ้นของปริมาณการจราจรทางอากาศรวม 6 ท่าอากาศยาน โดยจำนวนเที่ยวบิน ผูโ้ ดยสาร และปริมาณสินค้า เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.32 , 14.66 และ 29.79 ตามลำดับ รายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (Non–Aeronautical Revenues) จำนวน 10,026.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 726.84 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.82 ส่วนหนึ่งเนื่องจากจำนวนผูโ้ ดยสารเพิ่มขึ้นทำให้รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์เพิ่มขึ้น 582.96 ล้านบาท และรายได้เกี่ยวกับ บริการเพิ่มขึ้น 226.29 ล้านบาท แต่รายได้ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์ลดลง 82.41 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน จำนวน 20,283.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,740.62 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.39 ประกอบด้วย - ค่าใช้จา่ ยพนักงานและผู้บริหาร 3,881.66 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 600.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.29 ส่วนหนึ่งจากการปรับบำเหน็จพนักงาน ประจำปี ประกอบกับปี 2553 ทอท. มีโครงการเกษียณอายุกอ่ นกำหนด - ค่าใช้จา่ ยดำเนินงาน 5,548.85 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 347.05 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.67 เนื่องจากค่าจ้างเอกชนดำเนินการ ค่าไฟฟ้า และ ค่าจ้างที่ปรึกษาเพิ่มขึ้น ประกอบกับค่าใช้จา่ ยส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนของรายได้จากการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้น เช่น สัญญาจ้างให้บริการ รถลีมซู นี ค่าตอบแทนการจัดเก็บรายได้คา่ ธรรมเนียมการใช้สนามบิน เป็นต้น - ค่าซ่อมแซม 1,539.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 325.08 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.76 เนื่องจากอุปกรณ์ตา่ งๆ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้ครบกำหนดระยะเวลารับประกัน ส่งผลให้มคี า่ ใช้จา่ ยในการซ่อมแซมบำรุงรักษาเพิ่มขึ้น - ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สนิ และค่าตัดจำหน่าย 8,279.55 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 373.74 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 4.73 ส่วนหนึ่งเกิดจากปี 2553 ได้ บันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินจำนวน 1,287.50 ล้านบาท ทำให้มีค่าเสื่อมราคาจากสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น 244.28 ล้านบาท - ค่าตอบแทนการใช้ท่รี าชพัสดุ 1,034.05 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 94.54 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.06 ตามสัดส่วนของรายได้จากการดำเนินงานที่ เพิ่มขึ้น รายได้อื่น จำนวน 1,281.73 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน จำนวน 309.38 ล้านบาท เนื่องจากการแข็งค่าของเงินบาททำให้เกิดกำไรจากการปรับมูลค่าตาม อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด โดยมีอัตราแลกเปลี่ยนเปรียบเทียบ ดังนี้

38

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


บาท/100 เยน

บาท/US$

30 กันยายน 2553

36.7503

30.5578

30 กันยายน 2552

37.6809

33.6972

ลดลง

(0.9306)

(3.1394)

2) กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน จำนวน 185.53 ล้านบาท เกิดจากการขายหุ้นใน บริษทั คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด และบริษทั ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด ดังนี้ 2.1 บริษทั คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด จำนวน 100,000 หุ้น ให้กบั ผู้ถอื หุ้นรายเดิม ด้วยราคาตามมูลค่าบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นเงิน 195.51 ล้านบาท ทำให้เกิดกำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน 185.51 ล้านบาท 2.2 บริษทั ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด จำนวน 220,000 หุ้น ซึ่งไม่มมี ลู ค่าคงเหลือตามบัญชีแล้ว (ราคาทุน 22 ล้านบาท หักค่า เผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 22 ล้านบาท) ในราคาหุ้นละ 0.10 บาท เป็นเงินรวม 0.02 ล้านบาท ให้แก่ผ้ถู อื หุ้นรายเดิม ทำให้มกี ำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนจำนวน 0.02 ล้านบาท 3) ดอกเบี้ยรับ จำนวน 577.87 ล้านบาท ลดลง 670.15 ล้านบาท หรือร้อยละ 53.70 สาเหตุสำคัญเกิดจากปีกอ่ นได้บนั ทึกรับรู้ ดอกเบี้ยจากการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) จำนวน 643.33 ล้านบาท สำหรับโครงการก่อสร้างอุโมงค์สถานีรถไฟฟ้าสาย พญาไท-มักกะสัน-สนามบินสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link Project) ส่วนที่อยูใ่ ต้อาคารโรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด และอาคารจอดรถเพื่อไปยังสถานีรถไฟใต้อาคารผูโ้ ดยสารภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่ง ทอท. ได้จา่ ยลงทุนแทน รฟท. ไปก่อน 4) รายได้อ่นื จำนวน 208.95 ล้านบาท เกิดจากเงินปันผลรับจากบริษทั ที่ ทอท. ร่วมลงทุน 37.85 ล้านบาท รายได้คา่ ปรับจาก บริษทั ห้างร้านที่ผดิ เงื่อนไขตามสัญญาจำนวน 131.42 ล้านบาท และรับเงินชดใช้ความเสียหายอันเกิดจากงานสัญญาก่อสร้าง พื้นผิวทางวิ่งทางขับ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 17.65 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมการทำสัญญาและอื่นๆ 22.03 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอื่น จำนวน 463.75 ล้านบาท ประกอบด้วย 1) ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ จำนวน 159.13 ล้านบาท เกิดจากการรับรู้การด้อยค่าเงินลงทุนของบริษทั ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด อันเนือ่ งมาจาก บริษทั ฯ ได้เรียกให้ผ้ถู อื หุ้นทุกรายชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนในส่วนที่ยงั เรียกไม่ครบตามทุน จดทะเบียน ซึ่ง ทอท. จะต้องชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนอีกจำนวน 135.37 ล้านบาท แต่ ทอท. มีนโยบายไม่ชำระค่าหุ้นตามที่บริษทั ฯ เรียกให้ชำระ เป็นเหตุให้บริษทั ฯ มีหนังสือบอกริบหุ้นเพื่อนำไปขายทอดตลาด 2) ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการลงทุน จำนวน 135.38 ล้านบาท เนื่องจากได้บันทึกประมาณการหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการขาย ทอดตลาดในหุ้นสามัญของ บริษทั ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด ได้ไม่เต็มตามมูลค่าหุ้น 3) ขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์ จำนวน 6.09 ล้านบาท เกิดจากการจำหน่ายวัสดุและครุภณ ั ฑ์ท่เี สื่อมสภาพและล้าสมัย 4) ค่าใช้จา่ ยอื่น จำนวน 163.16 ล้านบาท เกิดจากการจ่ายคืนค่าปรับ และบันทึกประมาณการหนี้สนิ จากการถูกฟ้องร้องดำเนินคดี ต้นทุนทางการเงิน จำนวน 2,389.71 ล้านบาท ลดลง 104.10 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.17 สาเหตุสำคัญเกิดจากดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยมื จาก สถาบันการเงินลดลงจากปี 2552 จำนวน 150.32 ล้านบาทหรือร้อยละ 6.03 เนื่องจากเงินกู้ลดลงจากการจ่ายชำระคืนเงินต้น แต่ดอกเบี้ยจ่าย จากหนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น จำนวน 46.22 ล้านบาท

2. ฐานะทางการเงินของ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 30 กันยายน 2553

สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ทอท. มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 145,832 ล้านบาท ลดลงจากวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 จำนวน 3,187.88 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.14 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน

30 กันยายน 2553

30 กันยายน 2552

เพิ่ม (ลด)

ร้อยละ

28,289.02

25,082.87

3,206.15

12.78

5,358.26

5,774.47

(416.21)

(7.21)

96,745.51

101,841.50

(5,095.99)

(5.00)

สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง

6,925.79

6,547.62

378.16

5.78

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ๆ

8,513.42

9,773.41

(1,259.99)

(12.89)

145,832.00

149,019.88

(3,187.88)

(2.14)

เงินลงทุน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ

สินทรัพย์รวม

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

39


สินทรัพย์หมุนเวียน จำนวน 28,289.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,206.15 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.78 จากผลประกอบการและการรับชำระ หนี้จากลูกหนี้ เงินลงทุน จำนวน 5,358.26 ล้านบาท ลดลง 416.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.21 เนื่องจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมและเงินฝากระยะยาวลดลง อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ จำนวน 96,745.51 ล้านบาท ลดลง 5,095.99 ล้านบาท หรือร้อยละ 5 จากการบันทึกค่าเสื่อมราคาประจำปี สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง จำนวน 6,925.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 378.16 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.78 จากการลงทุนในสินทรัพย์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ จำนวน 8,513.42 ล้านบาท ลดลง 1,259.99 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.89 จากมูลค่าของสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศที่ลดลง หนี้สิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ทอท. มีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 71,743.19 ล้านบาท ลดลง 4,016.91 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.30 โดย มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย : ล้านบาท 30 กันยายน 2553

30 กันยายน 2552

หนี้สินหมุนเวียน

14,176.72

13,313.85

862.88

6.48

เงินกู้ระยะยาว

56,196.45

61,914.38

(5,717.93)

(9.24)

1,370.02

531.87

838.15

157.59

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

เพิ่ม (ลด)

ร้อยละ

71,743.19 75,760.10 (4,016.91) (5.30) หนี้สินรวม หนี้สินหมุนเวียน จำนวน 14,176.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 862.88 ล้านบาทหรือร้อยละ 6.48 เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และหนี้สินตาม สัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปีเพิ่มขึ้น เงินกู้ระยะยาว จำนวน 56,196.45 ล้านบาท ลดลง 5,717.93 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.24 เกิดจากการแข็งค่าของเงินบาท รวมทั้งการ จ่ายชำระคืนเงินต้นของเงินกู้ยืม ทำให้หนี้สินส่วนที่เป็นเงินตราต่างประเทศลดลง หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น จำนวน 1,370.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 838.15 ล้านบาท หรือร้อยละ 157.59 เนื่องจากปี 2553 บันทึกประมาณการ หนีส้ ินเพิม่ ขึ้น 163.17 ล้านบาท (ส่วนหนึ่งเกิดจากประมาณการหนี้สินที่เกิดจากการลงทุนจำนวน 135.38 ล้านบาท) หนี้สินตามสัญญาเช่า การเงินเพิ่มขึ้น 790.51 ล้านบาท แต่เงินประกันผลงานและอื่น ๆ ลดลง 115.53 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 74,088.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 829.03 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 1.13 เนื่องจากผลประกอบการที่เพิ่มขึ้น

3. สภาพคล่อง

ทอท. มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 เท่ากับ 3,518.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 จำนวน 171.90 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.14 โดยมีเงินสดสุทธิทไี่ ด้มาและใช้ไปในกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ - เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 16,199.37 ล้านบาท - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำนวน 8,842.50 ล้านบาท จากการนำเงินไปลงทุนเพื่อให้ได้รบั ผลตอบแทนที่ดขี ้นึ รวมทั้งลงทุนใน อาคาร อุปกรณ์ และงานระหว่างก่อสร้าง - เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 7,184.96 ล้านบาท จากการจ่ายชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยของเงินกู้ยมื การจ่ายเงินปันผล ประจำปี 2552 และจ่ายชำระหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน

40

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

41


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ทอท. ประกอบธุ ร กิ จ ท่ า อากาศยานของประเทศไทย โดยธุ ร กิ จ หลั ก ประกอบด้ ว ยการจั ด การ การดำเนิ น งาน และการพั ฒ นา ท่ า อากาศยาน โดยมี ท่ า อากาศยานที ่อ ยูใ่ นความรั บ ผิ ด ชอบ 6 แห่ ง ประกอบด้ ว ยท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย และท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ซึ่งท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งนี้ ให้บริการเที่ยวบินในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ซึ่งได้เปิดให้บริการ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 เพื่อรองรับปริมาณผูโ้ ดยสารที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการรองรับผูโ้ ดยสาร 45 ล้านคน ต่อปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง รายได้จากการดำเนินงานของ ทอท. ประกอบด้วยรายได้จาก 2 ส่วนที่สำคัญ คือ รายได้จากกิจการการบินและรายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับ กิจการการบิน โดยรายได้จากกิจการการบินเป็นรายได้ที่เกี่ยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน รายได้ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน และรายได้ค่าสิ่งอำนวยความสะดวก ส่วนรายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับกิจการการบินเป็นรายได้ทไี่ ม่เกี่ยวข้อง กับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์ รายได้เกี่ยวกับบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ นอกจากนี้ ทอท. ยังถือหุ้นใน 8 บริษัท ซึ่งเป็นผูใ้ ห้บริการและจำหน่ายสินค้าที่เกี่ยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานของ ทอท. ได้แก่ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท เทรดสยาม จำกัด

42

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


สภาพการตลาด แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม และสภาพการแข่งขันในอนาคต

จากนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห้เป็น ศูนย์กลางการบิน การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้าทางอากาศชั้นนำของเอเชียและของโลก กอปรกับนโยบาย การท่องเที่ยวไทยเชิงรุกของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยในการขยายกลุ่มตลาดนักท่องเที่ยวใหม่ ๆ การตกลง ร่ ว มกั น ของกลุ ่ม ประเทศในอาเซี ย นที ่จ ะเปิ ด เสรี ก ารบิ น และผ่ อ นคลายกฎระเบี ย บของภาครั ฐ โดยจะมี การผ่อนคลายระเบียบข้อกำหนดต่าง ๆ ในการขนส่งทางอากาศให้มากขึ้นตามลำดับ จะช่วยส่งผลให้ปริมาณ การจราจรทางอากาศและผูโ้ ดยสารมีอัตราที่เพิ่มขึ้น สำหรั บ แนวโน้ ม การเติ บโตของ ทอท. ในอนาคต สมาคมท่ า อากาศยานระหว่ า งประเทศ (Airports Council International: ACI) คาดการณ์ถึงอัตราการเติบโตของจำนวนผูโ้ ดยสารทั่วโลกในอีก 20 ปีข้างหน้า (ปี พ.ศ. 2551-2570) จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 4.2 ต่อปี และอัตราการเติบโตของจำนวนผูโ้ ดยสารในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกร้อยละ 6.3 ซึ่งเป็นอัตราการเติบโตที่สูงกว่าทุกภูมิภาคในโลก อันมีสาเหตุจากหลายประเทศในภูมิภาค เริ ่ม พัฒ นาการขนส่ ง ทางอากาศและการเติ บโตทางเศรษฐกิ จ ที ่ร วดเร็ ว ของสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และ สาธารณรัฐอินเดีย ในขณะที่นโยบายการเปิดเสรีทางด้านการบิน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ส่งผลให้ธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำเข้ามาทำตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ สายการบินต้นทุนต่ำจึงเติบโต อย่างรวดเร็ว ทั้งจำนวนสายการบินและความถี่ของเที่ยวบิน และคาดว่า ด้วยจำนวนประชากรที่มีรายได้ปานกลาง ที่เพิ่มขึ้นของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐอินเดียจะทำให้สายการบินต้นทุนต่ำในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีการขยายตัวได้อีกมากในอนาคต และนวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตอากาศยานแบบใหม่ เช่น อากาศยาน A380 จะช่วยทำให้ระบบการขนส่งทางอากาศโดยรวมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ต้นทุนลดลง ลดเวลาการบินเนื่องจาก สามารถบินตรงไปยังจุดหมายได้โดยไม่ต้องหยุดพัก ทำให้เกิดเส้นทางบินใหม่ ๆ และทำให้เกิดการแข่งขันที่สูงขึ้น ในการแย่งชิงปริมาณเที่ยวบินและผูโ้ ดยสารที่จะมาลงยังท่าอากาศยานที่เป็นศูนย์กลางการบิน (HUB) เพื่อผ่านไป ยังจุดหมายปลายทางเมืองอืน่ ๆ และจากการที่ค่าโดยสารมีราคาถูกลงทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ การขนส่งทางอากาศได้มากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้น เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผู้เดินทาง สามารถค้นหาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว แหล่งธุรกิจตามที่ต้องการได้สะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผูโ้ ดยสารที่เดินทาง โดยเครื่องบินสามารถจองเที่ยวบินได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็วและได้ในราคาที่ถูกลง อย่างไรก็ตาม ความไม่สงบทางการเมืองนับตั้งแต่ตน้ ปี พ.ศ. 2553 เรื่อยมาจนถึงเหตุการณ์จลาจลในเขตกรุงเทพมหานครเมื่อเดือนเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจโลกยังไม่ฟ้นื ตัว เป็นปัจจัยหลักที่สง่ ผล กระทบต่อการเดินทางเข้ามาประเทศไทยของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทำให้นักท่องเที่ยวหลีกเลี่ยงที่จะเดินทางเข้ามา ในประเทศไทย ส่งผลอย่างมากต่อการเติบโตของปริมาณการจราจรทางอากาศ ทำให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการลงทุนชะลอตัวลง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

43


44

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


การบริหารความเสี่ยง ทอท. ได้ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การดำเนิ น งานด้ า นการบริ ห ารความเสี ่ย ง ซึ ่ง เป็ น หนึ ่งในกลไกหลั กในการ บริหารจัดการองค์กรอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ในการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง ทอท. ได้กำหนดกรอบการบริหารความเสี่ยง (Risk Framework ) ที่ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1. การกำกับดูแล (Risk Governance) 1.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง : คณะกรรมการ ทอท. ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง โดยให้กรรมการ ทอท. ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่เป็นกรรมการและเลขานุการ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและ การเงิน) และผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์องค์กรเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ เพื่อกำหนดนโยบาย กรอบการ ดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง รวมถึงให้คำแนะนำแก่คณะกรรมการ ทอท. และฝ่ายบริหารในเรื่อง ของการบริหารความเสี่ยงขององค์กร 1.2 คณะทำงานบริ ห ารความเสี ่ย งของ ทอท. : คณะกรรมการบริ ห ารความเสี ่ย งได้ แ ต่ ง ตั ้ง คณะทำงานบริ ห ารความเสี ่ย งของ ทอท. โดยมี ก รรมการผู ้อ ำนวยการใหญ่ เ ป็ น หั ว หน้ า คณะทำงาน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) เป็นรองหัวหน้าคณะทำงาน รองกรรมการ ผู ้อ ำนวยการใหญ่ ข องทุ ก สายงาน ผู ้อ ำนวยการท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ผู ้อ ำนวยการท่ า อากาศยาน ดอนเมือง เป็นผู้ทำงาน และผู้อำนวยการฝ่ายกลยุทธ์องค์กร เป็นผู้ทำงานและเลขานุการ รองผู้อำนวยการ ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร เป็นผู้ทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ เพื่อรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงระดับ องค์กรของ ทอท. และดำเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1.3 คณะทำงานจั ด ระบบการควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารความเสี ่ย งของส่ ว นงาน ทอท. : ผู ้อ ำนวยการท่ า อากาศยานภู มิ ภ าคและผู ้อ ำนวยการส่ ว นงาน ทอท. แต่ ง ตั ้ง คณะทำงานจั ด ระบบการ ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงของท่าอากาศยานภูมิภาคและส่วนงาน ทอท. ขึ้นเพื่อรับผิดชอบ การดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของท่าอากาศยานภูมิภาคและส่วนงาน ทอท. 1.4 ส่วนบริหารความเสี่ยง ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร : รับผิดชอบและสนับสนุนการดำเนินการตามกรอบ การบริหารความเสี่ยงของ ทอท. 2. โครงสร้ า งพื ้น ฐานของการบริ ห ารความเสี ่ย ง (Risk Management Infrastructure) ประกอบด้วย 2.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง และคู่มือการบริหารความเสี่ยง 2.2 ผังความเสี่ยงองค์กร 2.3 เกณฑ์การประเมินความเสี่ยง 2.4 ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 2.5 ระบบฐานข้อมูล และเครื่องมือการบริหารความเสี่ยง 2.6 กรอบการบริหารความเสี่ยง 3. กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Process) 3.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ 3.2 การระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง 3.3 การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง 3.4 การตอบสนองความเสี่ยง 3.5 การกำหนดมาตรการ และการควบคุมเพิ่มเติม 3.6 การติดตาม และรายงานความเสี่ยง รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

45


เหตุการณ์ความเสี่ยงของ ทอท. ในปีงบประมาณ 2553 มีดังนี้ 1. จำนวนเที่ยวบินที่เรียกเก็บเงินได้อาจต่ำกว่าคาดการณ์ สืบเนือ่ งจากสถานการณ์ความไม่สงบภายในประเทศและสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม การเมืองที่เปลี่ยนแปลง ตลอดจนนโยบาย ภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของ ทอท. รวมทั้งสภาวะการแข่งขันของธุรกิจท่าอากาศยานในภูมิภาคเอเชียที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้น ได้ส่งผลที่อาจทำให้จำนวนเที่ยวบินที่ ทอท. เรียกเก็บเงินได้ต่ำกว่าที่คาดการณ์และส่งผลโดยตรงต่อรายได้ของ ทอท. ทั้งในส่วนของรายได้ที่ เกี่ยวกับกิจการการบินและรายได้ทไี่ ม่เกี่ยวกับกิจการการบิน แม้ว่า ทอท. จะได้มีการดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรักษาจำนวนเที่ยวบิน ที่มาใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. แล้วก็ตาม กิจกรรมที่ดำเนินการ ได้แก่ การประชุมร่วมกับสมาคมผู้ดำเนิน ธุรกิจการบิน (Airline Operators Committee) และผู้ประกอบกิจการเชิงพาณิชย์ การให้ความร่วมมือในการจัดทำโครงการสนับสนุน การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดร่วมกับผู้ประกอบการเชิงพาณิชย์ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กำหนดมาตรการให้ความช่วยเหลือ ผูป้ ระกอบการและสายการบิน รวมถึงทบทวนโครงการ Aviation Marketing Incentive Program เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับ สภาวการณ์และความต้องการของลูกค้า และศึกษาข้อมูล Incentive Program ของท่าอากาศยานในภูมิภาคใกล้เคียง เพื่อทบทวน โครงการฯ ให้มีความสามารถในการแข่งขัน และจัดทำโครงการฯ ที่เจาะกลุ่มลูกค้าเฉพาะรายสายการบิน เป็นต้น เพือ่ ให้จำนวนเที่ยวบินที่เรียกเก็บเงินได้ของ ทอท. เป็นไปตามการคาดการณ์ ทอท. จึงได้เพิ่มการประชาสัมพันธ์โครงการส่งเสริม การเพิม่ จำนวนเที ่ย วบิ น ผ่ า นโครงการส่ ง เสริ ม ผูโ้ ดยสารและสายการบิ น และโครงการ Aviation Incentive Program โดยใช้ สื่อประชาสัมพันธ์ในหลากหลายรูปแบบที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เช่น Telemarketing, Direct Marketing, เว็บไซต์ของ ทอท. และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ นอกจากนี้ ทอท. ยังได้ดำเนินโครงการเพิ่มมาตรการจูงใจให้กับสายการบิน ร่วมกับการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทยและบริษัทนำเที่ยวอีกด้วย

46

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


2. ทอท. อาจไม่สามารถบริหารจัดการสินทรัพย์ ให้เกิดประโยชน์ตามแผนงานที่กำหนด

ทอท. มีแผนในการสร้างรายได้เพิม่ เติมจากทรัพย์สินที่อยูใ่ นครอบครองหลายแผนงาน เช่น แผนการให้เอกชนร่วมลงทุนพัฒนาธุรกิจ บนที่ดินแปลง 37 ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ภายนอกอาคารผูโ้ ดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการศูนย์ซ่อมอากาศยาน ศูนย์ฝึกบินจำลอง และโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง โครงการศึกษาความเป็นไปได้ อาคารผูโ้ ดยสารสำหรับอากาศยานส่วนบุคคล (Business/Private Jet Terminal) ณ ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานเชียงใหม่ ซึ่งเป็นโครงการที่ต้องใช้เวลามากกว่า 3 ปีที่ ทอท. จะได้รายได้อย่างเป็นรูปธรรมในสภาวะปกติ จากสภาวการณ์ ที ่มี ก ารเปลี ่ย นแปลงทั ้ง จากปั จ จั ย ภายในและปั จ จั ย ภายนอก อาทิ การเปลี ่ย นแปลงสภาพเศรษฐกิ จ และสั ง คม การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ความพร้อมของผู้ประกอบการ อาจทำให้แผนงานเหล่านั้นไม่แล้วเสร็จตามกำหนดและส่งผลให้ ทอท. อาจ ไม่สามารถสร้างรายได้ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนั้น เพื่อให้แผนการสร้างรายได้จากทรัพย์สินข้างต้นสามารถดำเนินการแล้วเสร็จ ทอท. จึงได้กำชับทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัด และแก้ไขปัญหาอุปสรรคของการดำเนินการอย่างใกล้ชิด

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

47


3. ทอท. อาจต้องชำระค่าเสียหายกรณีการถูกฟ้องร้อง ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เ ปิ ดให้ บ ริ ก ารเชิ ง พาณิ ช ย์ใ นปี 2549 และ ทอท. จำเป็ น ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายรั ฐ บาลในการเพิ ่ม ขีดความสามารถการรองรับจำนวนผูโ้ ดยสารของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบางประการในช่วงเวลาการก่อสร้างท่าอากาศยาน ซึ่งมีผลสืบเนื่อง เป็นข้อพิพาท ให้ ทอท. อาจต้องชำระค่าเสียหายกรณีการถูกฟ้องร้องเป็นมูลค่าเงินจำนวนมาก ในการนี ้ ทอท. จึ งได้ พิ จ ารณาดำเนิ น การอย่ า งรอบคอบและระมั ด ระวั ง เป็ น อย่ า งยิ ่ง โดยดำเนิ น การตามระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ต่ า ง ๆ ที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติตามเงือ่ นไขของสัญญาทุก ๆ สัญญา รวมทั้งติดตามเร่งรัด ประสานผู้เกี่ยวข้องให้ดำเนินการในแต่ละขั้นตอนของสัญญา ให้แล้วเสร็จครบถ้วนเพือ่ ให้สามารถเบิกจ่ายได้โดยเร็ว นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาขยายระยะเวลาการทำงานตามเงือ่ นไขสัญญาให้ผู้รับจ้าง ให้เหมาะสมกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้น รวมทั้งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคและวิศวกรรม ณ ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เพือ่ ให้ บ รรเทากรณี ข้ อ พิ พ าทที ่เ กิ ด ขึ ้น ทอท. จึ งได้ เจรจากั บ คู ่ก รณี แ ละดำเนิ น การตามแนวทางการต่ อ สู ้ค ดี ต ามที ่ค ณะกรรมการ ทอท. ให้ความเห็นชอบในประเด็นนี้อย่างเคร่งครัด

4. ทอท. อาจขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ แม้ว่าแนวโน้มเศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวดีขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทั้งนโยบายการเงินและการคลังของรัฐบาล ต่าง ๆ ทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่จะเข้ามากระทบและเป็นอุปสรรคในการฟื้นตัว อาทิ ปัญหาวิกฤติการคลังของสหภาพยุโรป แนวโน้มเงินเฟ้อที่สูงขึ้น ตลอดจนปัญหาการว่างงานของประเทศต่าง ๆ ที่อาจจะนำไปสู่ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจรอบใหม่หลังจากฟื้นตัวได้ ไม่นาน (Double Recession) สำหรับเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น ก็ยังคงประสบกับปัญหาของภาวะเงินฝืดและการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ที่ยงั เปราะบาง รวมทัง้ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศซึ่งส่งผลกระทบต่อกำไร/ขาดทุนสุทธิทางบัญชีของ ทอท. จากภาระหนีเ้ งินกู้ต่างประเทศสกุลเงินเยนที่ ทอท. ได้รับจาก Japan International Cooperation Agency (JICA) เพื่อใช้ใน โครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 1 เพือ่ ลดความเสี ่ย งอัน เนื ่อ งจากความผั น ผวนของอัต ราแลกเปลี ่ย น ทอท. จึ งได้ ม อบหมายให้ ค ณะอนุ ก รรมการบริ ห ารความเสี ่ย ง หนีต้ ่างประเทศทำหน้าที่กำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศ โดยร้อยละ 77 ของหนี้เงินกู้ต่างประเทศสกุลเยน ได้มี การทำสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมจากสกุลเยนเป็นสกุลบาท โดยใช้อนุพันธ์ทางการเงินกับสถาบันการเงินที่มี ความมั่นคงและน่าเชื่อถือ

48

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


5. การแก้ ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานเป็นประเภทโครงการที่ต้องมีการจัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของส่วนราชการรัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่ต้องจัดทำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามที่กำหนด ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ ก่อนการเปิดดำเนินการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้มี การจัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้มีมติ เห็นชอบรายงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2548 ซึ่ง ทอท. ในฐานะหน่วยงานผู้รับผิดชอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิต้องปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุไว้ในรายงาน รวมทั้ง มติของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอย่างเคร่งครัด ภายหลังจากทีไ่ ด้เปิดดำเนินการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ซึ่งมีหลักเกณฑ์สอดคล้องกับมติคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2548 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2552 เห็นชอบให้ขยายกรอบวงเงินลงทุนโครงการก่อสร้าง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ระยะที่ 1) เพื่อดำเนินการชดเชยผลกระทบด้านเสียง เป็นเงินงบประมาณทั้งสิ้น 11,233,700 ล้านบาท ดังนั้น เพือ่ ให้การดำเนินงานของ ทอท. เป็นไปตามกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมและหลักธรรมาภิบาลของการดำเนินธุรกิจที่ต้องคำนึงถึงสังคมและ สิ่งแวดล้อม คณะกรรมการ ทอท. จึงมีมติให้ชดเชยตามสถานการณ์การบินจริงตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 เฉพาะอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่ก่อสร้างก่อนปี พ.ศ. 2544 ดังนี้ (1.) พืน้ ที่ NEF มากกว่า 40 ให้เจรจาซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยให้เทียบเคียงแนวทางการกำหนดค่าทดแทนความเสียหายที่ต้อง ออกจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ที ่ถู ก เวนคื น ตามพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการเวนคื น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ พ.ศ. 2530 และหากเจ้ า ของที ่ดิ น และ สิ่งปลูกสร้างไม่ประสงค์จะขาย ให้รับเงินไปปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง (2.) พืน้ ที่ NEF 30-40 ให้สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคารเพื่อลดผลกระทบ ด้านเสียงจากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ แต่ทั้งนี้ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 มีผลทำให้การแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงยังไม่ครอบคลุมอาคาร และสิ ่ง ปลู ก สร้ า งของประชาชนในช่ ว งที ่ล มเปลี ่ย นทิ ศ ทาง ทำให้ ต้ อ งทำการบิ น กลั บ ทิ ศ ทาง (ฤดู ห นาว) มี ผ ลทำให้ ป ระชาชนทีไ่ ด้ รั บ ผลกระทบมีหนังสือร้องเรียนขอให้มีการทบทวนมติคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เห็นชอบให้ ทอท. ดำเนินการเพือ่ แก้ไขปัญหาผลกระทบด้านเสียงจากการดำเนินกิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตามเส้นเสียงฤดูหนาว โดยให้ดำเนินการตาม หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับเส้นเสียงฤดูร้อนที่ ทอท. ได้ถือปฏิบัติ และ ทอท. จะได้เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาต่อไป

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

49


50

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

5


โครงสร้างการถือหุ้น

ทอท. มีทุนจดทะเบียน 14,285,700,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ชำระเต็มมูลค่าแล้ว

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2553 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) (AOT)

ลำดับ

ชือ่ /สกุล

1

กระทรวงการคลัง

2

NORTRUST NOMINEES LTD.

3

จำนวนหุ้น

ร้อยละของจำนวน หุ้นทั้งหมด

1,000,000,000

70.000

100,239,100

7.017

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA

40,867,400

2.861

4

CHASE NOMINEES LIMITED 1

35,791,750

2.505

5 6 7

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด สำนักงานประกันสังคม (2 กรณี) HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

22,269,743

1.559

11,913,100

0.834

10,007,683

0.701

8

7,902,900

0.553

9

AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-TIGER SOMERS (U.K) LIMITED

6,915,600

0.484

10

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

3,640,163

0.255

1,239,547,439

86.769

รวม

จำนวนผู้ถือหุ้น

ผูถ้ ือหุ้นสัญชาติไทย ผูถ้ ือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวม

ร้อยละ

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

13,706

99.46

1,203,116,012

84.22

75

0.54

225,453,988

15.78

13,781

100.00

1,428,570,000

100.00

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

ทอท. จะจ่ า ยเงิน ปั น ผลไม่ ต่ ำ กว่ า ร้ อ ยละ 25 ของกำไรสุ ท ธิ ที ่เ หลื อ หลั ง หั ก เงิน สำรองต่ า ง ๆ ทุ ก ประเภทที ่ ทอท. ได้ ก ำหนดไว้ อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าว จะขึ้นอยู่กบั แผนการลงทุน ความจำเป็น และความเหมาะสมอื่น ๆ ในอนาคต มติคณะกรรมการบริษทั ฯ ที่อนุมัตใิ ห้จ่ายเงินปันผลนั้น ให้นำเสนอเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีอำนาจอนุมัตใิ ห้จ่ายได้ และรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป ในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ถื อ หุ ้น ประจำปี 2552 เมื ่อ วั น ที ่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 ที ่ป ระชุ มได้ มี ม ติ จ่ า ยเงิน ปั น ผลประจำปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.42 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 600 ล้านบาท ซึ่ง ทอท. ได้จ่ายเงินปันผลไปแล้วเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

โครงสร้ างเงินทุ นของบริษั ท ท่ าอากาศยานสากลกรุ ง เทพแห่ ง ใหม่ จำกั ด

ในรอบปีบญ ั ชีน้ี บริษทั ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพเเห่งใหม่ จำกัด มีทนุ จดทะเบียน 50,000,000,000 บาท แบ่งเป็น 500,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ชำระแล้ว 39,029,000,000 บาท และได้จดทะเบียนเลิกกิจการต่อกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการชำระบัญชี

โครงสร้ างเงินทุ นของบริษั ท โรงแรมท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู ม ิ จำกั ด

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัท โรงเเรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด มีทุนจดทะเบียนจำนวน 1,017,780,000 บาท โดยมี ทอท. เป็นผู้ถือหุ้นจำนวน 6,106,680 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 60 ของหุ้นที่ออกและจำหน่ายแล้วทั้งหมด โดยได้มีการชำระค่าหุ้นแล้วเต็มจำนวน

52

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการ ทอท. คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการกำหนด ค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สำนักตรวจสอบ

เลขานุการบริษัท

สำนักมาตรฐานและ ควบคุมคุณภาพการรักษา ความปลอดภัยกิจการการบิน

สำนักมาตรฐานและ ความปลอดภัยท่าอากาศยาน

สายงาน อำนวยการ

สายงานแผนงาน และการเงิน

สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค

สายงานพัฒนาธุรกิจ และการตลาด

หน่วยธุรกิจท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ

สายงานวิศวกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน่วยธุรกิจท่าอากาศยาน ดอนเมือง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

53


คณะกรรมการ ทอท.

ข้อบังคับ ทอท. ระบุว่า ให้บริษัทมีกรรมการคณะหนึ่งเพื่อดำเนินกิจการของบริษัท มีจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน เลือ กตัง้ โดยที ่ป ระชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น และกรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า กึ ่ง หนึ ่ง ของจำนวนกรรมการทั ้ง หมดต้ อ งมี ถิ ่น ที ่อ ยูใ่ นราชอาณาจั ก ร ทั้ ง นี้ คณะกรรมการมีอำนาจและหน้าทีใ่ นการดำเนินกิจการของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ รวมทั้งจะต้องระมัดระวังและรักษาผลประโยชน์ของบริษัทและ ผูถ้ ือหุ้นอย่างดีที่สุด คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้ ว ย กรรมการ ทอท. จำนวน 15 คน โดยมี ก รรมการผู ้อ ำนวยการใหญ่ ทีไ่ ด้ จ ากการสรรหา เป็นผูบ้ ริหารสูงสุดของบริษัท เป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ ทอท. และมีคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยกลั่นกรองงาน ที่สำคัญตามข้อบังคับ ทอท. ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ ทอท. ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 มีรายชื่อดังนี้ ลำดับ

รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

ประเภทกรรมการ

1

นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

ประธานกรรมการบริษัท

กรรมการอิสระ

2

พลอากาศเอก ระเด่น พึง่ พักตร์

กรรมการบริษัท ประธานกรรมการสรรหา

กรรมการอิสระ

3

พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล

กรรมการอิสระ

4

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ

5

นายมานิต วัฒนเสน

กรรมการบริษัท

กรรมการอิสระ

6

นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

กรรมการอิสระ

7

นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา กรรมการบริษัท กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง

8

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

กรรมการบริษัท กรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

9

นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

กรรมการบริษัท ประธานกรรมการธรรมาภิบาล

กรรมการอิสระ

10

นายประสงค์ พูนธเนศ

กรรมการบริษัท กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

11

นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ

12

กรรมการบริษัท

กรรมการอิสระ

13 14

นายชวนชัย อัชนันท์ นายสมชัย สัจจพงษ์ นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ

15

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์

กรรมการอิสระ

กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการและเลขานุการ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 11 ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากเป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน - กรรมการในลำดับที ่ 14 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ แทน นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2553


กรรมการอิส ระ

ตามข้อบังคับของ ทอท. กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท. ให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระ อย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำนวน กรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน ในปี 2553 คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 10 คน ซึ่งเกินกว่าจำนวนที่ ข้อบังคับ ทอท. กำหนด และได้กำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระของ ทอท. ที่มีหลักเกณฑ์เข้มงวดกว่าหลักเกณฑ์ขั้นต่ำของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ดังนี้ (1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดใน ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุนหรือนิติบุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง (2) ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน รวมทั้งไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาทีไ่ ด้รับเงินเดือนประจำ รวมถึงที่ปรึกษาตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาด้านอื่น ๆ หรือไม่เป็นผู้มอี ำนาจควบคุม ทอท. บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือไม่เป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี (3) ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ เช่ น เป็ น ลู ก ค้ า คู่ ค้ า เจ้ า หนี ้/ ลู ก หนี ้ก ารค้ า หรื อ เจ้ า หนี ้/ ลู ก หนี ้เ งิน กู ้ เป็ น ต้ น รวมทั ้งไม่ มี ผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและการบริหารงานของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำให้ขาดความเป็นอิสระ (4) ไม่เป็นญาติสนิทหรือมีความสัมพันธ์อื่นที่อาจทำให้ขาดความเป็นอิสระกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ทอท. บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รวมทั้งไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการ และ/หรือ ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่

การแต่ง ตั้ง และการพ้น ตำแหน่ง ของกรรมการ

1. ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการโดยใช้เสียงข้างมาก โดยผู้ถือหุ้นรายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือในการเลือกตั้ง กรรมการหนึ่งคน ทั้งนี้ บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะ พึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด 2. ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งตามวาระ 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจำนวนกรรมการที่จะออกจาก ตำแหน่งตามวาระแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากตำแหน่ง ในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนในปีที่สามและปีหลังต่อไป ให้กรรมการคนที ่ อยูใ่ นตำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่กไ็ ด้ 3. นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากตำแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (มีผลนับแต่วันทีใ่ บลาออกไปถึงบริษัท) (3) ที่ประชุมมีมติออก (4) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (5) ขาดการประชุมคณะกรรมการเกิน 3 ครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (6) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือในข้อบังคับบริษัท (7) ศาลมีคำสั่งให้ออกหรือพ้นจากตำแหน่ง (8) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก (9) มีอายุครบ 65 ปี (มีผลนับแต่วันถัดจากวันที่มีอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์) 4. ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเลือกตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับบริษัท เข้าเป็นกรรมการแทนในตำแหน่งที่ว่างในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป ก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตำแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน มติของคณะกรรมการต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำนวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู ่ บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยูข่ องกรรมการ ซึ่งตนแทน

บทบาท หน้า ที่ และความรับ ผิ ดชอบของคณะกรรมการ ทอท.

1. ดำเนิ น กิ จ การของ ทอท. ให้ เ ป็ นไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ และมติ ที ่ป ระชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น ด้ ว ยความซื ่อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ รวมทั้งจะต้องระมัดระวังและรักษาผลประโยชน์ของ ทอท. และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด 2. กำหนดทิศทาง เป้าหมาย นโยบายทางธุรกิจ และกำกับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายและระเบียบของ ทอท. อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการและความมั่งคั่ง สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น 3. รายงานการมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ผู้ถือหุ้นทราบ ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการกิจการของ ทอท. หรือบริษัทย่อย และรายงานข้อมูลเพิ่มเติมทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

55


4. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพ 5. แต่งตั้งเลขานุการบริษทั (Corporate Secretary) ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อทำหน้าที่จดั ทำและ เก็บรักษาเอกสารและการอืน่ ๆ ตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนกำหนด และเพื่อช่วยดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการและ ทอท. อันได้ แ ก่ การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และผู ้ถื อ หุ ้น ตลอดจนการให้ ค ำแนะนำแก่ ก รรมการและ ทอท. ในการปฏิ บั ติต นและ ดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ อีกทั้งดูแลให้กรรมการและ ทอท. มีการเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส 6. ประเมินผลงานของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่อย่างสม่ำเสมอ และกำหนดค่าตอบแทนกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ให้สอดคล้องกับ ผลการดำเนินงาน 7. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกับกลยุทธ์และนโยบายที่สำคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงินและแผนงานต่าง ๆ ของ ทอท. และติดตามให้ผู้บริหารมีการปฏิบัติตามแผนงาน ทิศทางและกลยุทธ์องค์กรอย่างสม่ำเสมอ 8. จัดให้มีการพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่อาจเกิดขึ้นและกำหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าวอย่างครอบคลุม ดูแลให้ผบู้ ริหารมีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจที่อาจจะ เกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว 9. จั ดให้ มี ก ารทำงบดุ ล และบั ญ ชี ก ำไรขาดทุ น และรายงานการตรวจสอบบั ญ ชี ข องผู ้ส อบบั ญ ชี พร้ อ มทั ้ง รายงานประจำปี ข อง คณะกรรมการ ณ วั น สิ ้น สุ ด รอบปี บั ญ ชี ข องบริ ษั ท เสนอต่ อ ที ่ป ระชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น ในการประชุ ม สามั ญ ประจำปี เ พื ่อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ภ ายใน กำหนด 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบปีทางบัญชี 10. จัดให้มีการจดบันทึกรายงานการประชุมและข้อมติทั้งหมดของที่ประชุมผู้ถือหุ้นและของที่ประชุมคณะกรรมการไว้ในรูปแบบของ รายงานการประชุมที่เป็นลายลักษณ์อักษรโดยถูกต้อง และให้เก็บรักษารายงานการประชุมไว้ ณ สำนักงานของบริษัท เมื่อประธานกรรมการ บริษัทผูเ้ ป็นประธานการประชุมซึ่งได้ลงมติในการประชุมถัดจากครั้งนั้นมา ลงลายมือชื่อพร้อมกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ผู้เป็นเลขานุการ คณะกรรมการ ให้ถือว่าเป็นหลักฐานอันถูกต้องของเรื่องที่ปรากฏอยูใ่ นรายงานการประชุมนั้น และให้ถือว่ามติและการพิจารณาที่บันทึกไว้ ได้ดำเนินการไปโดยถูกต้อง 11. จัดส่งเอกสารดังต่อไปนีใ้ ห้ผู้ถือหุ้น พร้อมกับหนังสือนัดประชุมสามัญประจำปี (1) สำเนางบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว พร้อมทั้งรายงานการตรวจสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี (2) รายงานประจำปีของ ทอท. 12. จัดให้มีช่องทางในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสม และมีการประเมินผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้มั่นใจว่า มีความถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือ และมีมาตรฐานสูง

การประชุ ม คณะกรรมการ ทอท.

คณะกรรมการ ทอท. มีการกำหนดตารางการประชุมคณะกรรมการอย่างเป็นทางการเป็นการล่วงหน้า ทุกวันพฤหัสบดีที่สามของ เดือน ประชุมเดือนละครั้ง ซึ่งช่วยให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ เว้นแต่กรณีมีวาระพิเศษ ประธานกรรมการหรือ กรรมการตามจำนวนที่กฎหมายกำหนดสามารถเรียกประชุมเพิ่มเติมได้ตามความจำเป็น ซึ่งในปี 2553 สำนักเลขานุการบริษัทได้จัดส่ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมที่มีสารสนเทศสำคัญครบถ้วนก่อนการประชุมล่วงหน้า เสมอ เพือ่ ให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าประชุมในแต่ละครั้ง โดยปกติ ร ะเบี ย บวาระการประชุ ม จะกำหนดขึ ้นโดยการพิ จ ารณาร่ ว มกั น ระหว่ า งประธานกรรมการ ทอท. และกรรมการ ผูอ้ ำนวยการใหญ่ นอกจากนี้ กรรมการสามารถเสนอเรื่องเข้าพิจารณาได้เช่นกัน ในปีงบประมาณ 2553 คณะกรรมการ ทอท. มีการประชุม ทั้งหมด 15 ครั้ง โดยเป็นการประชุมนอกสถานที่ 1 ครั้ง ที่ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ซึ่งกรรมการส่วนใหญ่เข้าร่วมประชุมครบถ้วน เว้นแต่ติดภารกิจสำคัญเร่งด่วนจะแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเสมอ ในการประชุ ม ทุ ก ครั ้ง ประธานกรรมการจะทำหน้ า ที ่ป ระธานในที ่ป ระชุ ม ดู แ ลให้ มี ก ารพิ จ ารณาในแต่ ล ะวาระอย่ า งรอบคอบและ เปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่วมกัน และให้ผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงข้อมูลในฐานะ ผูเ้ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานโดยตรงจนเป็นที่พอใจก่อนการลงมติในแต่ละวาระ นอกจากนี ้ ก่อนการประชุม ประธานกรรมการจะเชิญกรรมการร่วมหารือถึงประเด็นต่าง ๆ ทั้งในแต่ละวาระและนอกเหนือจากวาระ การประชุมโดยทีไ่ ม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารหรือผู้บริหารเข้าร่วมประชุมด้วย สำนักเลขานุการบริษัทยังจัดทำรายงานการประชุมเก็บไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีข้อมูลที่ครบถ้วน และจัดเก็บรายงานการประชุม ที่ผ่านการรับรองแล้วจากคณะกรรมการ ทอท. เพื่อให้กรรมการและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ โดยมีระบบการจัดเก็บที่ดี สามารถสืบค้น ได้ง่าย แต่ไม่สามารถแก้ไขโดยไม่ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ซึ่งการประชุมปกติแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง

56

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการแต่ละคน (จำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม/จำนวนครั้งที่ประชุมทั้งหมด) สรุปได้ดังนี้ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - 30 กันยายน พ.ศ. 2553 รายชื่อคณะกรรมการ

คณะ กรรมการ บริษัท

คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กำหนดค่า ธรรมาภิบาล บริหาร ตอบแทน ความเสี่ยง

คณะ กรรมการ ตรวจสอบ

คณะ กรรมการ สรรหา

1. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต

15/15

2. นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม

6/8

3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

14/15

4. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

15/15

12/12

5. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

11/15

7/12

6. นายมานิต วัฒนเสน

14/15

7. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

11/15

3/3

8. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

12/15

3/3

3/3

9. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

6/15

3/3

10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

14/15

11. นายประสงค์ พูนธเนศ

10/15

12. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

12/15

13. นายชวนชัย อัชนันท์

9/9

14. นายสมชัย สัจจพงษ์

3/3

12/12

1/1

1/1

1/1

1/1 1/1

4/9

15. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ

4/5

16. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์

15/15

12/12

1/1

0/1

3/3

3/3

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 2 ลาออกเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 13 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 14 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 15 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ แทนกรรมการในลำดับที่ 2

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

57


การประเมิ นตนเองของคณะกรรมการ ทอท.

ทอท. ได้กำหนดไว้ในหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ให้คณะกรรมการ ทอท. ต้องมีการประเมินตนเองรายปี เพื่อใช้เป็นกรอบ ในการตรวจสอบการปฏิบัติงานในหน้าที่ของคณะกรรมการ ทอท. ตามแบบการประเมินของกระทรวงการคลังที่กำหนดไว้ในเอกสาร “แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจอย่างมีประสิทธิผล” ที่คณะกรรมการธรรมาภิบาลเสนอให้คณะกรรมการ ทอท. เห็นชอบให้นำมาใช้ในการประเมินตนเอง ปี 2553 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ทอท. แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ การประเมินผลตนเองของกรรมการ (SelfAssessment) การประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ (Board Evaluation) และการประเมินผลรายบุคคลแบบไขว้ (Director Assessment) ทอท. ได้สรุปผลคะแนนเสนอคณะกรรมการ ทอท. โดยกำหนดเป็นวาระ แจ้งให้คณะกรรมการ ทอท. ทราบ และ มีข้อเสนอแนะจากการประเมินผล เพื่อให้ ทอท. นำมาปรับปรุงการดำเนินงานต่อคณะกรรมการ ทอท. ต่อไป - การประเมิ น คณะกรรมการ ทอท. ทั ้ง คณะ (Board Evaluation) แบบประเมิ น แบ่ ง เป็ น 4 ส่ ว น แบบสอบถาม มี 30 ข้ อ คำถามทุกข้อมีความสำคัญเท่ากัน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การประชุมและคณะกรรมการ ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ดี ส่วนที่ 2 การสื่อสาร ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ดี ส่วนที่ 3 ขั้นตอนการทำงาน ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม ส่วนที่ 4 ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร ผลการประเมินอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม - การประเมิ น ผลตนเองของกรรมการ (Self-Assessment) และการประเมิ น ผลกรรมการรายบุ ค คลแบบไขว้ (Director Assessment) แบบประเมินประกอบด้วย 6 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) ส่วนที่ 2 ความเป็นอิสระ (Independence) ส่วนที่ 3 ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ส่วนที่ 4 ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practices as Director) ส่วนที่ 5 การปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการ (Committee Activities) ส่วนที่ 6 ความมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร (Development of Organization) สรุปผลการประเมินตนเองของกรรมการและการประเมินกรรมการรายบุคคลแบบไขว้ ส่วนใหญ่ค่าคะแนนเฉลี่ยเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน โดยค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุด 4.13 และ 4.46 ตามลำดับ อยูใ่ นส่วนที ่ 5 คือ คณะกรรมการ ทอท. มีการปฏิบัติหน้าที่บ่อยครั้งในการ เข้ า ร่ว มประชุ ม คณะกรรมการชุ ด ย่อ ยต่ า ง ๆ เพื ่อ แบ่ ง เบาภาระการทำงานของคณะกรรมการ ทอท. อย่ า งสม่ ำ เสมอ ให้ ค ำแนะนำที ่ เป็นประโยชน์ และมีการประสานงานทีด่ รี ะหว่างคณะกรรมการและฝ่ายบริหาร ให้คำชีแ้ จงและข้อเสนอแนะใด ๆ อันเป็นประโยชน์ตอ่ ฝ่ายบริหาร ที่จะสามารถผลักดันนโยบายให้สัมฤทธิผลด้วยดี

การปฐมนิ เ ทศกรรมการใหม่

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ทอท. ได้จัดเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ เช่น ข้อบังคับ ทอท. คูม่ ือกรรมการบริษัทจดทะเบียน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบริษัทจดทะเบียน หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 และคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. เป็นต้น โดยเลขานุการบริษัทเป็นผู้บรรยายสรุปกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำหน้าที่ ของคณะกรรมการบริษัทจดทะเบียน และมีการบรรยายสรุปลักษณะธุรกิจของ ทอท. และสรุปผลประกอบการให้แก่กรรมการที่เข้าใหม่ ได้รับทราบด้วย

การพั ฒ นากรรมการและผู ้บ ริ หารระดับ สู ง ทอท.

คณะกรรมการ ทอท. ให้ความสำคัญในการเข้าอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ โดยหลักสูตรทีไ่ ด้ จัดให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงเข้าอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors: IOD) แล้ว ได้แก่ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หลักสูตร Director Certification Program (DCP) หลัก สู ต ร Audit Committee Program (ACP) หลั ก สู ต ร Financial Statements for Directors (FSD) หลั ก สู ต ร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) และ ทอท. ยังได้มีการประสานกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งกรรมการและ ผูบ้ ริห ารเข้ า ร่ว มอบรมหลั ก สู ต รต่ า ง ๆ ตามที ่ส มาคมฯ จั ด ขึ้ น รวมทั ้ง สนั บ สนุ น ให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท และผู ้ที ่ต้ อ งทำหน้ า ที ่เ กี ่ย วข้ อ ง เข้ารับการอบรมหลักสูตรสำหรับเลขานุการบริษทั Company Secretary Program (CSP) เพื่อรับทราบบทบาทหน้าที่ตามที่กฎหมาย กำหนด หลักสูตร Effective Minute Taking (EMT) เพื่อเป็นมาตรฐานของการจัดทำบันทึกรายงานการประชุม รูปแบบของรายงาน การประชุม แนวทางการบันทึกรายงานการประชุม ประเด็นการกำกับดูแลกิจการ กฎหมาย และข้อกำหนดที่ควรปฏิบัติ และหลักสูตร Board Reporting Program (BRP) เพือ่ จัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุมนำเสนอกรรมการ ทั้งรายงานทางการเงินและรายงาน ทีไ่ ม่ใช่ทางการเงิน รวมทั้งเขียนรายงานเพื่อแสดงความคิดเห็นในประเด็นสำคัญ

58

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


คณะกรรมการ ทอท. ได้เดินทางไปดูงานท่าอากาศยานภายในประเทศ ได้แก่ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานกระบี ่ ส่วนท่าอากาศยานต่างประเทศ ได้แก่ ท่าอากาศยานนาริตะและท่าอากาศยานคันไซ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อต้นเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพื่อดูงานด้านการบริหารจัดการและด้านปฏิบัติการท่าอากาศยานนาริตะซึ่งเป็นท่าอากาศยานชั้นนำแห่งหนึ่งใน เอเชีย ทำให้ได้รับความรู้และประสบการณ์ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานของ ทอท. ในด้าน Terminal Operations และ Real Estate Development เป็นต้น ทอท. ได้เชิญผู้บริหารของท่าอากาศยานมิวนิก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์การบริหารจัดการในกิจการการบิน และได้ รั บ รางวั ล ท่ า อากาศยานดี เ ด่ น อัน ดั บ 1 ของยุโรปมาหารื อ แลกเปลี ่ย นความรู ้ ข้ อ มู ล และประสบการณ์ กั บ คณะกรรมการ ทอท. และจ้าง บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำกัด เป็นที่ปรึกษาทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียนเพื่อให้คำแนะนำ ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อนึ่ง เนื่องจากกฎหมายมีผลต่อการทำหน้าที่ของผู้บริหาร ทอท. จึงได้เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายมาให้ความรู้กับผู้บริหารตั้งแต่ระดับ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายขึ้นไปทราบเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหารบริษัท เพื่อจะได้ทำหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง ปัจจุบัน คณะกรรมการ ทอท. มีประสบการณ์ด้านการอบรมหลักสูตรสำหรับกรรมการที่จัดโดยสถาบันการศึกษาชั้นสูงทั้งของภาครัฐ และภาคเอกชน ดังนี้ รายชื่อกรรมการ

1. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต 2. นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม

Director Director Audit ผู้บริหารระดับ การกำกับดูแลกิจการ Accreditation Certification Committee สูง สำหรับกรรมการและ Program Program Program ผู้บริหารระดับสูงของ (สถาบัน รัฐวิสาหกิจและ (IOD) (IOD) (IOD) วิทยาการ องค์ การมหาชน ตลาดทุน) (สถาบัน พระปกเกล้า) - 105/2008 - วตท. รุ่นที่ 10

105/2008

3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

73/2008

107/2008

29/2009

รุ่นที่ 4

4. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

26/2004

122/2009

-

รุ่นที่ 5

5. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

79/2009

122/2009

22/2008

วตท. รุ่นที่ 9

6. นายมานิต วัฒนเสน

-

-

-

วตท. รุ่นที่ 11

7. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

-

79/2006

-

วตท. รุ่นที่ 7

8. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

รุ่นที่ 4

9. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

51/2006

92/2007

22/2008

วตท. รุ่นที่ 11

10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

80/2009

126/2009

-

11. นายประสงค์ พูนธเนศ

-

76/2006

-

12. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

-

116/2009

26/2009

13. นายชวนชัย อัชนันท์

-

107/2008

-

14. นายสมชัย สัจจพงษ์

-

75/2006

-

วตท. รุ่นที่ 2

15. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ

-

-

-

80/2009

126/2009

-

รุ่นที่ 4

16. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 2 ลาออกเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 13 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 14 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 15 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการแทน กรรมการในลำดับที่ 2 รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

59


คณะกรรมการชุ ดย่อ ย

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยกลั่นกรองงานที่สำคัญตามข้อบังคับ ทอท. มีวาระอยูใ่ นตำแหน่ง คราวละ 1 ปี โดย 1 ปี ในที่นี้ หมายถึงช่วงเวลาระหว่างการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของปีทไี่ ด้รับการแต่งตั้งและการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ในปีถัดไป มีทั้งหมด 5 ชุด ดังนี้

1. คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการจำนวน 4 คน ทุกคนเป็นกรรมการอิสระ และกรรมการ อย่างน้อย 1 คน มีความรู ้ ด้านบัญชีและการเงิน มีการประชุม 12 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ดังมี รายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

(1) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

(2) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

(3) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์

กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

(4) นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

หมายเหตุ - วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี - กรรมการตรวจสอบในลำดับที่ 1 มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน และมีความสามารถในการสอบทานงบการเงินของ ทอท. คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง โดยเชิญผู้อื่นทีไ่ ม่ใช่กรรมการตรวจสอบเข้าร่วมการประชุมครั้งหนึ่ง

ครั้งใดด้วยหรือไม่กไ็ ด้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นในการประชุมแต่ละครั้งต้องมีกรรมการตรวจสอบเข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนที่มีอยู่ทั้งหมดจึงถือเป็นองค์ประชุม การลงมติ ให้ประธานและกรรมการตรวจสอบมีเสียงคนละหนึ่งเสียง และให้ถือคะแนนเสียง ข้างมากเป็นเกณฑ์ กรณีที่มีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานมีสิทธิลงคะแนนอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด คณะกรรมการตรวจสอบได้กำหนดให้ ทอท. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งเป็น เกณฑ์ที่สูงกว่าที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กำหนดไว้ปีละ 1 ครั้ง

หน้ า ที ่ แ ละความรั บ ผิด ชอบ

(1) สอบทานผลการปฏิบัติงานภายใน ทอท. ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ทอท. และ/หรือฝ่ายบริหาร ในกรณีที่คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ตอ่ การกำกับดูแลให้การปฏิบตั งิ านของ ทอท. และส่วนงานของ ทอท. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์โดยสอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี (2) สอบทานระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง ระบบการตรวจสอบภายในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ ของ ทอท. ให้รัดกุม มีประสิทธิผล ตามกรอบมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล (3) สอบทานการปฏิบัติงานของ ทอท. ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับมติคณะรัฐมนตรี กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และข้อกำหนด ด้านจริยธรรม (4) สอบทานให้ ทอท. ปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ ทอท. (5) สอบทานความถูกต้องและเหมาะสมของมาตรฐานการบัญชีทใ่ี ช้ สอบทานรายงานทางการเงินของ ทอท. และส่วนงาน ทอท. ให้ม ี ความถูกต้องตรงตามที่ควรเชื่อถือได้ และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปและมาตรฐาน การบัญชีสากล (6) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (7) ส่งเสริมความเป็นอิสระของผูส้ อบบัญชี และสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของสำนักตรวจสอบให้มคี วามเป็นอิสระ เทีย่ งตรงและเป็นไป ตามมาตรฐานสากล รวมทั้งส่งเสริมให้มีการประสานงานระหว่างฝ่ายบริหารของ ทอท. ผู้สอบบัญชี และสำนักตรวจสอบอย่าง เหมาะสมและเพียงพอ

60

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(8) ศึกษาหนังสือที่ผู้สอบบัญชีมีถึงผู้บริหาร ทอท. แจ้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไข จุดอ่อน รายการผิดปกติ หรือ ข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญที่พบจากการตรวจสอบพิจารณา และให้ข้อคิดเห็นต่อคณะกรรมการ ทอท. โดยอาจสอบถามขอข้อมูล เพิ่มเติมจากผู้สอบบัญชีก่อนเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในหนังสือดังกล่าว และติดตามเพื่อให้มั่นใจว่าข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการ ทอท. และนำไปสู่การปฏิบัตใิ นกรณีที่ข้อสังเกต หรือข้อเสนอแนะใดไม่ได้ รับการพิจารณา หรือดำเนินการโดยไม่มีเหตุผลอันควร ให้หารือฝ่ายบริหาร และนำเสนอต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณา อีกครั้งหนึ่ง (9) ให้คำแนะนำในการแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย และเลิกจ้างผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ทอท. (10) พิจารณาความดีความชอบประจำปีของผูอ้ ำนวยการสำนักตรวจสอบร่วมกับกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ และพิจารณาความเหมาะสม ของการแต่งตัง้ โยกย้าย และพิจารณาความดีความชอบของพนักงานในสำนักตรวจสอบร่วมกับผูอ้ ำนวยการ สำนักตรวจสอบและ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (11) กำกับดูแล แนะนำ และสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระของสำนักตรวจสอบ สอบทานรายงานการตรวจสอบของ สำนักตรวจสอบเพือ่ ให้รายงานการตรวจสอบมีคณ ุ ภาพ เป็นประโยชน์ สามารถใช้ปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของส่วนงาน ทอท. และ ให้มกี ารนำข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ม่ี สี ว่ นช่วยลดระดับความเสีย่ งด้านต่าง ๆ ของ ทอท. สูร่ ะดับทีย่ อมรับได้ (12) ให้ความเห็นชอบแผนงาน แผนการตรวจสอบประจำปี แผนอัตรากำลัง และแผนพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะเฉพาะ ของบุคลากรสำนักตรวจสอบ เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ การตรวจสอบเป็นไปอย่างครอบคลุม ทัง้ ด้านการเงิน การบัญชี และการปฏิบตั กิ าร พร้อมทั้งติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนการต่าง ๆ เหล่านั้น (13) พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อ ทอท. (14) จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของ ทอท. ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย ประธานกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของ ทอท. 2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ ทอท. 3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายเกี่ยวข้องกับธุรกิจของ ทอท. 4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละคน 7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าทีต่ ามกฎบัตร (Charter) 8) รายการอืน่ ที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบทีไ่ ด้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการ ทอท. (15) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย ทั้งนี้ ต้องอยูใ่ นขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ (16) สอบทานข้อสรุปและหลักฐานประกอบในกรณีที่พนักงานหรือผู้บริหารอาจมีการกระทำอันเป็นการทุจริตหรือใช้อำนาจหน้าที ่ ในทางมิชอบเป็นผลให้ ทอท. ได้รบั ความเสียหาย นำเสนอผลการสอบทานดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณาโดยเร็ว (17) ให้คณะกรรมการตรวจสอบทบทวนข้อบังคับ ระเบียบ ข้อกำหนด คำสัง่ ประกาศ และแนวทางปฏิบตั ขิ อง ทอท. เกีย่ วกับการกำหนด อำนาจหน้าทีข่ องสำนักตรวจสอบ เป็นระยะทุก 1 ปี เพือ่ ให้มน่ั ใจได้เสมอว่ายังคงมีความเหมาะสม ทันสมัย และสำนักตรวจสอบ คงความเป็นอิสระอย่างเพียงพอในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ในการนี้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ นำเสนอข้อจำกัด และจุดอ่อนที่อาจมีอยู่ต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาแก้ไข ปรับปรุง ในการดำเนินงานตามข้อ 1-17 ข้างต้น ให้คณะกรรมการตรวจสอบคำนึงถึงความมีสาระสำคัญของเรื่องที่อาจมีผลกระทบต่อ การดำเนินงานของ ทอท. (18) จัดทำกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Charter) เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อพิจารณาอนุมัต ิ โดยกฎบัตรที่จัดทำขึ้นต้องครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นกรอบกำหนดโครงสร้าง อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ และสอบทานกฎบัตรดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

61


2. คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำหนดให้ประกอบด้วย กรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ แต่ปัจจุบัน คณะกรรมการสรรหาทุกคนเป็นกรรมการอิสระ รวมทั้งประธาน กรรมการสรรหา มีการประชุม 3 ครั้ง คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. จำนวน 3 คน ดังมีรายชื่อต่อไปนี้ รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

(1) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์

ประธานกรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

(2) นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์

กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

(3) นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ)

หน้ า ที ่ แ ละความรั บ ผิด ชอบ

(1) กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธกี ารในการสรรหากรรมการ ทอท. (2) สรรหาและคัดเลือกบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัต ิ ตามระเบียบและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกำหนด แล้วนำเสนอคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณา แต่งตัง้ เป็นกรรมการ ทอท. (3) เสนอคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการ ทอท. แทนกรรมการทีพ่ น้ จากตำแหน่งตามข้อบังคับ (4) ดำเนินการอืน่ ตามทีค่ ณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย

3. คณะกรรมการกำหนดค่ า ตอบแทน

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำหนดให้ต้องประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ส่วนกรรมการอีก 2 คน เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู ้ ความสามารถเหมาะสมในการทำหน้าที่คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ในปีงบประมาณ 2553 มีการประชุม 1 ครั้ง คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. จำนวน 3 คน ดังมีรายชื่อต่อไปนี ้ รายชื่อกรรมการ

ตำแหน่ง

(1) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ)

(2) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

(3) นายประสงค์ พูนธเนศ

กรรมการกำหนดค่าตอบแทน

หน้ า ที ่ แ ละความรั บ ผิด ชอบ

(1) พิจารณาแนวทางการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ทอท. (2) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธกี ารกำหนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ให้แก่กรรมการ ทอท. ทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผลและนำเสนอ คณะกรรมการ ทอท. เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ (3) พิจารณาหลักเกณฑ์หรือวิธกี ารกำหนดค่าตอบแทนให้แก่บคุ คลภายนอกทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการ อนุกรรมการ และผูท้ ำงาน และนำเสนอคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ

4. คณะกรรมการธรรมาภิบ าล

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลตามข้อบังคับ ทอท. ซึ่งกำหนดให้ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. อย่างน้อย 3 คน และกรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ แต่ปัจจุบัน คณะกรรมการธรรมาภิบาลประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน โดยมีประธานกรรมการธรรมาภิบาลเป็นกรรมการอิสระ มีการประชุม 1 ครั้ง คณะกรรมการธรรมาภิบาล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน ดังมีรายชื่อต่อไปนี้

62

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายชื่อกรรมการ (1) นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

ประธานกรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(2) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช

กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(3) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

กรรมการธรรมาภิบาล (กรรมการอิสระ)

(4) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

กรรมการธรรมาภิบาล

หน้า ที่แ ละความรั บ ผิด ชอบ

ตำแหน่ง

(1) กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบตั ใิ นการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง ทอท. (2) ตรวจสอบและให้คำแนะนำในเรื่องหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. แก่คณะกรรมการ ทอท. เพื่อให้เกิดการกำกับดูแล กิจการที่ดีตามหลักการที่กระทรวงการคลังและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด รวมทั้งหลักปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับใน ระดับสากล (3) จัดทำคูม่ อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง ทอท. และปรับปรุงสาระสำคัญในคูม่ อื ดังกล่าวให้ทนั สมัย และมีความเป็นสากลอยูเ่ สมอ (4) ปรับปรุงจรรยาบรรณของ ทอท. ให้เหมาะสม ทันสมัย และกำหนดแนวทางปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับจรรยาบรรณทีก่ ำหนดไว้ (5) ประชาสัมพันธ์นโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ และส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง ทอท. (6) รายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการ ทอท. เป็นระยะ (7) แต่งตัง้ คณะทำงานเพือ่ ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านได้ตามความเหมาะสม (8) ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย

5. คณะกรรมการบริ หารความเสี ่ย ง

คณะกรรมการ ทอท. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 4 คน เป็นกรรมการอิสระ 2 คน โดยประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ แต่เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้และประสบการณ์เหมาะสมเป็นประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง มีการประชุม 3 ครั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 4 คน ดังมีรายชื่อต่อไปนี้

รายชื่อกรรมการ (1) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

(2) นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ)

(3) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ)

(4) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

ตำแหน่ง

กรรมการบริหารความเสี่ยง

หน้า ที่แ ละความรับ ผิ ดชอบ

(1) กำหนดนโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการสอบทานและทบทวนเป็นประจำอย่างน้อยทุกปี เพื่อให้ แน่ใจว่า นโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารความเสี่ยงดังกล่าวยังคงสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพการดำเนินธุรกิจ ในภาพรวมและกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงของ ทอท. (2) พิจารณากำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) ขององค์กร (3) รับทราบ พิจารณา และให้ความเห็นชอบในผลการประเมินความเสีย่ ง แนวทางและมาตรการจัดการความเสีย่ ง และแผนปฏิบตั กิ าร เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เหลืออยู่ของ ทอท. เพื่อให้มั่นใจว่า ทอท. มีการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม (4) กำกับดูแล สนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงประสบความสำเร็จในระดับองค์กร เสนอแนะวิธีป้องกันและวิธีลดระดับความเสี่ยง ให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ ติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงแผนการดำเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม กับสภาวะการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้มั่นใจว่าความเสี่ยงได้รับการบริหารจัดการอย่างเพียงพอและเหมาะสม (5) ให้คำแนะนำและการสนับสนุนแก่คณะกรรมการ ทอท. ฝ่ายบริหาร ทอท. และคณะทำงานบริหารความเสี่ยงของ ทอท. ในเรื่อง การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงภายใน ทอท. อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

63


(6) กำกับ ดูแล และติดตามประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการปฏิบัติตามนโยบาย แนวทาง กรอบ และกระบวนการบริหารความเสี่ยง โดยฝ่ายบริหารและส่วนงานต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์กร (7) กำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเป็นประจำทุกไตรมาส หรือเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่เป็นสาระสำคัญต่อการ ดำเนินงาน ทอท. หรือตามที่ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงจะเห็นสมควร (8) รายงานความเสี่ยงที่สำคัญขององค์กร รวมถึงสถานะของความเสี่ยง แนวทางในการจัดการความเสี่ยง ความคืบหน้า และผลของการบริหารความเสี่ยงให้แก่คณะกรรมการ ทอท. เพื่อรับทราบในทุกไตรมาส (9) สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล และประสานงานเกี่ยวกับความเสี่ยง และการควบคุมภายในกับคณะกรรมการตรวจสอบ (10) แต่งตั้งคณะทำงาน และ/หรือฝ่ายบริหาร ทอท. เพื่อให้การสนับสนุนกระบวนการและกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงตาม ความเหมาะสมและความจำเป็น (11) มอบหมายอำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบข้างต้นให้แก่คณะทำงานบริหารความเสีย่ งของ ทอท. ดำเนินการแทนคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงในกรณีจำเป็น

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้ บริห าร

ทอท. มี นโยบายการกำหนดค่ า ตอบแทนกรรมการและกรรมการเฉพาะเรื ่อ งไว้ อ ย่ า งชั ด เจนและโปร่ งใส มี ค ณะกรรมการกำหนด ค่าตอบแทนทำหน้าที่พิจารณาทบทวนโดยคำนึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน ผลการดำเนินงาน และธุรกิจ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 ที่ประชุมมีมติอนุมัติค่าตอบแทนเบี้ยประชุมกรรมการ ประจำปี 2553 และเงินโบนัสคณะกรรมการประจำปีบัญชี 2552 ดังนี้

1. ค่ าตอบแทนกรรมการ

(1) ค่าตอบแทนรายเดือน คนละ 20,000.- บาท หากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน (2) ค่าเบี้ยประชุมต่อครั้งที่เข้าประชุม คนละ 15,000.- บาท หากเดือนใดมีการประชุมเกิน 1 ครั้ง คงให้ได้เบี้ยประชุมเพียง 1 ครั้ง

2. ค่ าตอบแทนกรรมการชุด ย่อ ย

2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนรายเดือน คนละ 20,000.- บาท เดือนใดไม่มีการประชุม คงให้ได้รับค่าตอบแทนด้วย และหากเป็นกรรมการในระหว่างเดือนให้คำนวณตามสัดส่วนของเดือน 2.2 กรรมการ ทอท. ทีไ่ ด้รับแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ ทอท. ให้เป็นกรรมการ อนุกรรมการ หรือผู้ทำงานในคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานชุดย่อยอืน่ ๆ ให้ได้รับค่าเบี้ยประชุมต่อครั้งที่เข้าประชุม คนละ 10,000.- บาท และให้ไ ด้ รับค่าตอบแทนรวมทั้งสิ้นไม่เกินเดือนละ 20,000.- บาทต่อคน ทั้งนี้ ไม่รวมค่าตอบแทนของคณะกรรมการตรวจสอบ

3. ประธานและรองประธานของทุ กคณะได้ เพิ ่ ม อี ก ร้ อยละ 25 และ 12.5 ตามลำดั บ

4. กำหนดวงเงิน ค่ า ตอบแทนของกรรมการ ทอท. ประจำปี ง บประมาณ 2553 ไม่ เกิ น 12,000,000.- บาท

5. กำหนดวงเงินโบนัสกรรมการ ทอท. ประจำปีงบประมาณ 2552 (1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552)

ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของเงิน ปั น ผลจ่ า ย โดยหลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด สรรเป็ นไปตามที ่ค ณะกรรมการกำหนด ทั้ ง นี้ ไม่ เ กิ น 1,000,000.- บาทต่อคน ยกเว้นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการของ ทอท. ทีไ่ ม่มีสิทธิได้รับเงินโบนัสกรรมการ

64

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ลำดับ

(1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552) รายชื่อกรรมการบริษัท

หน่วย : บาท

เงินโบนัส

1

นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

181,424.46

2

นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

163,773.79

3

พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (1 ต.ค. 51 - 30 ก.ย. 52)

214,652.33

4

พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

5

นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (1 ต.ค. 51 - 30 ก.ย. 52)

236,045.00

6

นายมานิต วัฒนเสน (24 - 30 ก.ย. 52)

7

นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

8

นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

9

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (1 ต.ค. 51 - 30 ก.ย. 52)

236,045.00

10

นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

11

นายประสงค์ พูนธเนศ (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

12

นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ (17 ก.พ. - 30 ก.ย. 52)

146,123.12

13

นายชวนชัย อัชนันท์

-

14

นายสมชัย สัจจพงษ์

-

15

นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ

-

16

นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์

-

17

นายวินัย วิทวัสการเวช (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

18

นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

112,402.00

19

นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ (1 ต.ค. - 30 พ.ย. 51)

39,340.83

20

นายถาวร พานิชพันธ์ (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

89,921.92

21

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ (1 ต.ค. - 12 พ.ย. 51)

26,882.49

22

นายอภิชาติ สายะสิต (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

89,921.92

23

นายอุทิศ ธรรมวาทิน (1 ต.ค. 51 - 30 ก.ย. 52)

24

เรืออากาศเอก อุตส่าห์ บริสุทธิ์ (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

89,921.92

25

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

89,921.92

26

พลอากาศเอก สุเมธ โพธิ์มณี (1 ต.ค. 51 - 17 ก.พ. 52)

89,921.92

27

นางรวิฐา พงศ์นุชิต (17 ก.พ. - 31 พ.ค. 52)

67,441.44

28

นางสาวผ่องเพ็ญ สัมมาพันธ์ (17 ก.พ. - 30 มิ.ย. 52)

87,111.86

รวม

4,589.76

89,921.92

214,017.80

2,999,997.00

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

65


6. ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ทอท. และคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในปี 2553

(1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553)

รายชือ่ กรรมการ บริษัท

คณะ กรรมการ บริษัท

คณะ กรรมการ ตรวจสอบ

คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ สรรหา กำหนด ธรรมา บริหาร ชุดย่อยอื่น ๆ ภิบาล ความเสี่ยง ค่า ตอบแทน

หน่วย : บาท รวม

1. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต 2. นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม (22 ม.ค. - 12 เม.ย. 53) 3. พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ 4. พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช 5. นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ 6. นายมานิต วัฒนเสน

506,250.00

227,625.00

50,000.00

277,625.00

390,000.00

25,000.00

125,000.00

540,000.00

405,000.00

240,000.00

12,500.00

10,000.00

40,000.00

707,500.00

360,000.00

240,000.00

409,666.67

37,500.00

447,166.67

7. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ 8. นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ 9. นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ 10. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 11. นายประสงค์ พูนธเนศ 12. นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ 13. นายชวนชัย อัชนันท์

360,000.00

240,000.00

20,000.00

257,500.00

877,500.00

390,000.00

30,000.00

50,000.00

62,500.00

532,500.00

315,000.00

10,000.00

62,500.00

62,500.00

450,000.00

405,000.00

2,500.00

120,000.00

527,500.00

360,000.00

10,000.00

230,000.00

600,000.00

390,000.00

300,000.00

10,000.00

40,000.00

12,500.00

752,500.00

271,451.61

10,000.00

281,451.61

14. นายสมชัย สัจจพงษ์

211,451.61

20,000.00

231,451.61

15. นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ 16. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ รวม

124,333.33

75,000.00

199,333.33

405,000.00

10,000.00

415,000.00

5,530,778.22

1,020,000.00

75,000.00

32,500.00

22,500.00 152,500.00 1,112,500.00

7,945,778.22

-

-

506,250.00

600,000.00

หมายเหตุ - กรรมการในลำดับที่ 2 ลาออกเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 13 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที่ 14 ได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 - กรรมการในลำดับที ่ 15 ได้รบั การแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการ ทอท. ครัง้ ที ่ 6/2553 เมื่อวันที่ 2 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553 ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการแทนกรรมการในลำดับที่ 2 - คณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ ทอท. ได้แก่ คณะอนุกรรมการกฎหมาย คณะอนุกรรมการพิจารณาการเงินและการลงทุนของ ทอท. คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศของ ทอท. คณะอนุกรรมการตรวจสอบแก้ปัญหาด้านเทคนิคฯ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ คณะอนุกรรมการเพื่อตรวจสอบงานด้านกฎหมาย คณะอนุกรรมการกำกับดูแลการดำเนินงาน ชดเชยผลกระทบด้ า นเสี ย ง ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ คณะอนุ ก รรมการพิ จ ารณาอุท ธรณ์ คณะอนุ ก รรมการกำกั บ ดู แ ลการจั ด ทำและการบริ ห ารงานให้ เ ป็ นไปตาม แผนวิสาหกิจของ ทอท. คณะทำงานพิจารณาดำเนินงานกับบริษัทร่วมทุนของ ทอท. คณะอนุกรรมการพิจารณาเรียกเก็บเงินค่าตอบแทน KPS คณะอนุกรรมการบริหารและ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ทอท. คณะทำงานพิจารณามาตรการให้ความช่วยเหลือสายการบินและผู้ประกอบการ คณะทำงานตรวจสอบและประเมินผลกระทบที ่ ทอท. ได้รับ จาก TAG คณะทำงานตรวจสอบข้อเท็จจริง และคณะอนุกรรมการสอบทานฐานะทางการเงินแล้วให้ข้อเสนอต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

66

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


7. ค่าตอบแทนผู้บริหาร

เกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง หรือ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ คณะอนุกรรมการพิจารณากำหนดผลตอบแทนของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ ทอท. และผู้แทน กระทรวงการคลัง (สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ) จะพิจารณากำหนดอัตราค่าตอบแทนของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ รวมถึง กรอบการพิ จ ารณาปรั บ อัต ราค่ า ตอบแทนในแต่ ล ะปี ภ ายใต้ ก รอบอัต ราค่ า ตอบแทนขั ้น ต่ ำ -ขั ้น สู ง ที ่ก ระทรวงการคลั งได้ให้ ความเห็นชอบไว้แล้ว ทั้งนี้ การพิจารณาปรับค่าตอบแทนของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ในแต่ละปีจะพิจารณาจากผลการประเมินการปฏิบัติงานตาม หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินที่คณะกรรมการ ทอท. กำหนด เกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนผู้บริหาร ทอท. การกำหนดโครงสร้ า งเงิน เดื อ นของพนั ก งานและลู ก จ้ า ง ทอท. จะกำหนดเที ย บเคี ย งจากอัต ราการจ่ า ยและผลการสำรวจ ค่าตอบแทนของบริษัทชั้นนำซึ่งอยูใ่ นธุรกิจด้านการบิน โดยเปรียบเทียบจากหน้าที่ความรับผิดชอบทีไ่ ด้รับมอบหมาย สำหรั บ การปรั บ เงิน เดื อ นประจำปี ข องผู ้บ ริ ห ารระดั บ ผู ้อ ำนวยการฝ่ า ยหรื อ เที ย บเท่ า ขึ ้นไปนั ้น คณะกรรมการ ทอท. จะเป็ น ผูพ้ ิจ ารณาให้ ค วามเห็ นชอบ โดยในปี ง บประมาณ 2553 คณะกรรมการ ทอท. ได้ ม อบอำนาจให้ ก รรมการผู ้อ ำนวยการใหญ่ มี อ ำนาจ ในการบริหารหรือพิจารณาความดีความชอบประจำปีให้กับพนักงานและลูกจ้างประจำ ตั้งแต่ระดับผู้อำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป โดยจะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานรายบุคคล ประกอบกับผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายทีไ่ ด้กำหนดไว้ล่วงหน้าของแต่ละสายงานด้วย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ทอท. มีตำแหน่งผู้บริหารตามนิยามในประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ. 23/2551 จำนวน ทั้งสิ้น 13 ตำแหน่ง ประกอบด้วย 1. นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ 2. นายสมชัย สวัสดีผล รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) 3. นายชยากร อักษรมัต รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ) 4. นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) 5. ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร ผู้อำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง 6. นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 7. นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) 8. นายนิตินัย ศิริสมรรถการ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด) 9. นางสาววิไลวรรณ นัดวิไล รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำนวยการ) 10. นางพูลศิริ วิโรจนาภา ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) 11. นายนพปฎล มงคลสินธุ์ ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี 12. นายสุนทร สิทธิธนาลาภ ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน 13. นายประพนธ์ ปัทมกิจสกุล ผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ปี 2553 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 หน่วย : ล้านบาท

ค่าตอบแทน

ปี 2552 จำนวนราย

ปี 2553 จำนวนเงิน

จำนวนราย

จำนวนเงิน

เงินเดือน

13

27,020,758.62

13

33,834,110.20

โบนัสและอื่น ๆ

13

11,330,565.76

13

13,565,661.67

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

67


ค่าตอบแทนอื่น - เงินสวัสดิการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ทอท. ได้จดทะเบียนจัดตั้งกองทุนฯ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2537 โดย ทอท. จะจ่ายเงินสมทบให้แก่สมาชิกแต่ละรายเพื่อเข้า กองทุนภายในวันเดียวกับที่สมาชิกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนของสมาชิกในอัตราตามจำนวนปีที่ทำงาน ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ที่มีจำนวนปีที่ทำงานไม่เกิน 10 ปี จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 9 ของค่าจ้าง (2) ผู้ที่มีจำนวนปีที่ทำงานเกินกว่า 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 10 ของค่าจ้าง (3) ผู้ที่มีจำนวนปีที่ทำงานเกินกว่า 20 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 12 ของค่าจ้าง (4) ผู้ที่มีจำนวนปีที่ทำงานเกินกว่า 25 ปีขึ้นไป จ่ายให้ในอัตราร้อยละ 15 ของค่าจ้าง หน่วย : ล้านบาท ค่าตอบแทน

ปี 2552 จำนวนราย

เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

13

ปี 2553 จำนวนเงิน 3,458,502.77

จำนวนราย 13

จำนวนเงิน 3,096,819.00

การสรรหากรรมการและกรรมการผู ้ อ ำนวยการใหญ่ 1. การสรรหากรรมการ

คณะกรรมการ ทอท. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ ทอท. 3 คน มีหน้าที่สรรหาบุคคลที่สมควรได้รับ การเสนอชื่อเป็นกรรมการ โดยพิจารณาบุคคลที่มีประสบการณ์ คุณสมบัติเฉพาะด้านต่าง ๆ ที่คณะกรรมการยังขาดอยู ่ และมีความจำเป็น ต่อธุรกิจ ทอท. เป็นลำดับแรก เพือ่ ให้องค์ประกอบของคณะกรรมการ ทอท. มีความสมบูรณ์ สามารถปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ของ ทอท. และผู้ถือหุ้น คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาคุณสมบัติบุคคลทีไ่ ด้รับการสรรหา ดังนี้ (1) มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์และเพิ่มมูลค่าให้ ทอท. (2) มี คุ ณ สมบั ติ ส อดคล้ อ งตามข้ อ บั ง คั บ ทอท. พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสำหรั บ กรรมการและพนั ก งาน รัฐวิสาหกิจ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) มี คุ ณ ลั ก ษณะที ่ส่ ง เสริ ม การดำเนิ น งานด้ า นการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ความเป็ น อิส ระ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที ่ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability) ความระมัดระวัง (Care) และความซื่อสัตย์ (Loyalty) อุทิศเวลาอย่างเต็มที ่ เป็นต้น (4) คณะกรรมการสรรหาจะเลือกตั้งกรรมการทดแทนกรรมการที่ออกจากตำแหน่งเมื่อครบวาระ เสนอคณะกรรมการ ทอท. ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจำปี (5) การเลือกตั้งกรรมการทดแทนตำแหน่งที่ว่างในกรณีอนื่ ที่มใิ ช่เนื่องมาจากการครบวาระ ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการ ทอท. โดยบุคคลที่เข้ามาเป็นกรรมการทดแทนจะมีวาระการดำรงตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการที่ตนแทน

68

2. การสรรหากรรมการผู้ อำนวยการใหญ่

(1) คณะกรรมการ ทอท. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหากรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (จำนวน 5 คน) พร้อมทั้งกำหนดกรอบอำนาจ หน้าทีใ่ นการดำเนินการเพือ่ สรรหา กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ให้เป็นไปตามความในพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐาน สำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2543 และ (ฉบับที ่ 6) พ.ศ. 2550 โดยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 8 ตรี (1) (3) (4) (5) (6) (11) และ (12) รวมทั้งตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่คณะกรรมการ ทอท. ได้เห็นชอบในหลักการ (2) คณะกรรมการสรรหากรรมการผู้อำนวยการใหญ่ดำเนินการเพื่อสรรหาบุคคลที่มีความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ เหมาะสมที่จะเป็นผู้บริหารของ ทอท. ซึ่งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 8 ตรี (1) (3) (4) (5) (6) (9) (10) (11) และ (12) แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 (3) การสรรหาให้ใช้วิธีประกาศรับสมัครอย่างเปิดเผยตามสื่อต่าง ๆ อย่างน้อย 2 ประเภท (4) เมื่อสรรหาได้ผู้ทีม่ ีความเหมาะสมแล้ว คณะกรรมการสรรหากรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เสนอชือ่ ต่อคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณา (5) คณะกรรมการ ทอท. ส่งรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกพร้อมประวัติและคุณสมบัตใิ ห้คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทน (คณะกรรมการ ทอท. แต่งตั้ง) เพือ่ พิจารณาผลตอบแทน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(6) คณะอนุกรรมการพิจารณากำหนดผลตอบแทนกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ดำเนินการในการพิจารณากำหนดผลตอบแทน และเจรจาต่อรองเรื่องผลตอบแทนกับผู้ทไี่ ด้รับการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และแนวทางการจ่ายผลตอบแทนฯ ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2543 และเสนอผลการพิจารณา พร้อมร่างสัญญาจ้างต่อคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ พิจารณา แล้วเสนอกระทรวงการคลังให้ความเห็นชอบ (7) เมื่อกระทรวงการคลังให้ความเห็นชอบค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างแล้ว ทอท. เสนอผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ตามกฎหมาย จัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้น) เพือ่ แต่งตั้งโดยในการทำสัญญาจ้าง ให้ประธานกรรมการ ทอท. หรือกรรมการทีไ่ ด้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการ ทอท. (ในกรณีทไี่ ม่มีประธาน) เป็นผู้ลงนามในสัญญาจ้าง

อำนาจหน้ าที ่ของกรรมการผู ้ อ ำนวยการใหญ่

ตามข้อบังคับ ทอท. กำหนดอำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ไว้ดังนี้ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่มีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารบริษัทตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และจะต้องบริหารตาม แผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ด้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทและ ผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด อำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ให้รวมถึงเรื่องหรือกิจกรรมต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดำเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจำวันของ ทอท. (2) บรรจุ แต่ ง ตั ้ง ถอดถอน โยกย้า ย เลื ่อ น ลด ตั ด เงิน เดื อ น หรื อ ค่ า จ้ า ง ลงโทษทางวิ นั ย พนั ก งานและลู ก จ้ า ง ตลอดจนให้ พนั ก งานและลู ก จ้ า งออกจากตำแหน่ ง ตามระเบี ย บที ่ค ณะกรรมการ ทอท. กำหนด แต่ ถ้ า เป็ น พนั ก งานระดั บ ฝ่ า ยหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ทอท. ก่อน (3) ดำเนินการให้มีการจัดทำและส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของ ทอท. รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ ทอท. เพื่อขออนุมัติและมีหน้าที่รายงานความก้าวหน้าตามแผนงานและงบประมาณทีไ่ ด้รับอนุมัติ ดังกล่าวต่อคณะกรรมการ ทอท. ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ทอท. เห็นสมควร (4) ดำเนินการ และ/หรือปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณทีไ่ ด้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทอท. (5) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ ทอท.

แผนการสืบทอดตำแหน่ งและการพั ฒ นาผู ้ บ ริ หาร

ในปี 2553 ทอท. มีแผนการเตรียมบุคลากรเพื่อทดแทนตำแหน่งในระดับบริหารที่จะว่างลงในอนาคตอันใกล้ โดยบรรจุไว้ในแผน Strategic Improvement Plan (SIP) ซึ่ง ทอท. ได้มีการอบรมและพัฒนาบุคลากรในระดับผู้อำนวยการส่วนที่มีศักยภาพจะเลื่อน ตำแหน่งไปในระดับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพือ่ เป็นการเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในตำแหน่งที่สูงขึ้นเมื่อมีตำแหน่งว่างหรือสามารถปฏิบัติ หน้า ที ่แ ทนได้ กรณี ผู ้ด ำรงตำแหน่ ง นั ้น ๆ ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ทีไ่ ด้ เพื ่อ ลดความเสี ่ย งหรื อ ผลกระทบจากการขาดความต่ อ เนื ่อ ง ในการบริหารจัดการ ทอท. ปัจจุบันแผนสืบทอดตำแหน่งในตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ผู้อำนวยการฝ่าย/ส่วนขึ้นไป กำลังพัฒนา ให้ มี ความชัดเจนยิง่ ขึ้นเพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ ทอท. โดยในเบื้องต้นได้มีการสำรวจและวิเคราะห์เกี่ยวกับตำแหน่งของผู้บริหาร ระดับสูงที่จะเกษียณอายุในอีก 3 ปีข้างหน้า รวมถึงเตรียมคัดเลือกบุคลากรที่มีศักยภาพ และจัดไว้เป็นกลุ่มหรือขึ้นบัญชีรายชื่อ (Short List) เพื่อรับการพัฒนาให้มีความพร้อมสำหรับการสืบทอดตำแหน่งที่จะว่างลงต่อไป สำหรับการพัฒนาผู้บริหาร ทอท. ได้พัฒนาภาวะผู้นำในระดับผู้อำนวยการส่วนและรองผู้อำนวยการฝ่าย จำนวน 189 คน สำหรับ ผูบ้ ริหารระดับสูง ตั้งแต่ผู้อำนวยการฝ่ายขึ้นไป ทอท. ได้พัฒนาแนวความคิดด้าน CSR และ CG เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจที่จะรับผิดชอบ ต่อสังคมมากยิ่งขึ้น

การประเมิ นผลงาน กรรมการผู ้ อ ำนวยการใหญ่

คณะอนุกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ ทอท. จะพิจารณาประเมินผล การปฏิบัติงานของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ทุก 6 เดือน ซึ่งในแต่ละปี คณะอนุกรรมการฯ จะวัดผลการดำเนินงานของกรรมการ ผูอ้ ำนวยการใหญ่ในรอบปีที่ผ่านมาตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้เป็นเป้าหมายจากแผนการดำเนินงานที่เสนอต่อคณะกรรมการ ทอท. ซึ่งแผนการ ดำเนินงานดังกล่าวประกอบด้วย แผนงานด้านการพัฒนาธุรกิจ แผนการบริหารท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. แผนงาน ด้านการเงิน แผนงานด้านลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสีย ฯลฯ รวมถึงข้อตกลงทีไ่ ด้ทำระหว่าง ทอท. กับ บริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด (Thai Rating and Information Services Company Limited: TRIS) การดำเนินการตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย และสั่งการ และค่ากำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

69


บุคลากรและค่าตอบแทนพนักงาน บุ คลากร

จำนวนบุคลากรที่ทำงานเต็มเวลาที่ว่าจ้างโดย ทอท. ให้ทำงาน ณ สำนักงานใหญ่ และท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง (ไม่รวมแรงงานจัดจ้าง ภายนอก (Outsource Worker)) ปรากฏตามตารางดังต่อไปนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

2553

2552

2551

2550

2549

สำนักงานใหญ่

820

778

788

764

615

ท่าอากาศยานดอนเมือง

480

543

554

503

305

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

173

172

172

161

157

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

142

135

139

142

137

ท่าอากาศยานภูเก็ต

222

222

214

173

175

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

108

105

105

107

107

2,625

2,562

2,563

2,579

2,775

4,570

4,517

4,535

4,429

4,271

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รวม

การบริหารท่าอากาศยานสากลทั้ง 6 แห่งของ ทอท. บุคลากรเป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญและสัมพันธ์โดยตรงกับคุณภาพของ การให้บริการด้านต่าง ๆ ในท่าอากาศยานซึ่งเปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะปฏิบัติงานเวรในงานที่ต้องเตรียม ความพร้อมเพื่อการแก้ไขปัญหาและงานกะในงานที่จะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ทอท. ยังจัดจ้างบริษัทในงานทีไ่ ม่จำเป็นต้องใช้ ทักษะหรือกึ่งทักษะซึ่งต้องใช้แรงงานจำนวนมาก เช่น งานรักษาความปลอดภัย รวมทั้งงานที่ต้องการทักษะความชำนาญเฉพาะสูง เช่น เจ้าหน้าที่กู้และทำลายวัตถุระเบิด โดย ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 ทอท. มีจำนวนบุคลากรรวมทั้งสิ้น 4,570 คน และแรงงานจัดจ้าง ภายนอกอีกประมาณ 9,156 คน ทอท. เชื่อว่าปัจจุบันอัตราค่าตอบแทนพนักงานอยูใ่ นระดับที่เหมาะสมกับอัตราค่าตอบแทนของตลาดโดยมีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ พนักงาน ประกอบด้วย เงินเดือนค่าจ้าง โบนัส เงินเบี้ยเลี้ยงและเงินช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าที่พักสำหรับการเดินทาง ไปปฏิบัติงานต่างจังหวัด ค่าช่วยเหลือการศึกษาและอืน่ ๆ ค่าตอบแทนพนักงานยังรวมถึงเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงาน แต่ละคน ซึ่งเป็นหน้าที่ที่ ทอท. ต้องจ่ายให้ โดยจ่ายเงินสมทบให้เป็นรายเดือนตามอายุงาน คือ อายุงานไม่เกิน 10 ปี จ่ายในอัตราร้อยละ 9 ของเงินเดือน อายุงานเกินกว่า 10 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี จ่ายในอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือน อายุงานเกินกว่า 20 ปีแต่ไม่เกิน 25 ปี จ่ายใน อัตราร้อยละ 12 ของเงินเดือน และอายุงานเกินกว่า 25 ปีขึ้นไป จ่ายในอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือน โดยพนักงานสามารถเลือกที่จะจ่ายเงิน สะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนตามอายุงานของพนักงาน ซึ่งจะได้รับเงินดังกล่าวต่อเมื่อเสียชีวิต เกษียณอายุ หรือ ถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิดตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยชำระให้เป็นเงินก้อนในครั้งเดียว นอกจากนี้ ยังมีกองทุนสงเคราะห์ซึ่งมีพนักงานเป็นสมาชิกเก่าจำนวน 35 คน จากข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 โดยจะไม่มี การรับสมาชิกใหม่เพิ่ม ทั้งนี้ ทอท. ได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนทั้งสองกองทุนเป็นประจำทุกเดือน

การกำกับดู แลกิ จการ

ทอท. มีการบริหารงานโดยยึดถือแนวปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยตระหนักถึงความสำคัญและความรับผิดชอบที่มีต่อ ผูถ้ ือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของ ทอท. อย่างต่อเนื่อง รวมถึงคณะกรรมการ ทอท. ได้ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในปี 2553 ทอท. ได้ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามที่กำหนดในแต่ละด้าน สรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้

1. สิ ท ธิ ของผู้ถ ือ หุ ้น

70

(1) ทอท. ตระหนักถึงความสำคัญของผู้ถือหุ้นและสิทธิของผู้ถือหุ้นในความเป็นเจ้าของซึ่งควบคุม ทอท. โดยผ่านคณะกรรมการ ทอท. ที่เลือกตั้งเข้ามา และมีสิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ทอท. จึงได้ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิ ของตน และได้รับการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลข่าวสารของ ทอท. ที่ถูกต้อง ครบถ้วน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(2) (3)

(4)

(5)

(6)

(7)

(8) (9)

เพีย งพอ ทั น เวลา สิ ท ธิใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น การให้ สิ ท ธิ ผู ้ถื อ หุ ้น รายหนึ ่ง มี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั บ จำนวนหุ ้น ที ่ต นถื อ ลงคะแนนในเรื ่อ งที ่ส ำคั ญ ๆ ของ ทอท. รวมทั ้ง การมี ส่ ว นแบ่ งในกำไร สิ ท ธิ ก ารมอบฉั น ทะให้ บุ ค คลอื ่น เข้ า ประชุ ม และ ออกเสี ย งลงคะแนนแทน สิ ท ธิ ก ารแสดงความคิ ด เห็ น และซั ก ถามในการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น เพื ่อ ร่ ว มตั ด สิ น ใจในเรื ่อ งสำคั ญ ของ ทอท. เช่น การจัดสรรเงินกำไร การเลือกตั้งกรรมการ การกำหนดค่าตอบแทนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี กำหนด จำนวนเงินค่าสอบบัญชี และการอนุมัติธุรกรรมที่สำคัญที่มีผลต่อทิศทางการดำเนินธุรกิจของ ทอท. เป็นต้น โดยคณะกรรมการ ทอท. ได้กำหนดนโยบายธรรมาภิบาลไว้ชัดเจนว่า ทอท. จะส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐาน โดย ทอท. จะไม่กระทำการใด ๆ อันเป็นการละเมิดหรือจำกัดสิทธิของผู้ถือหุ้น ทอท. ได้ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น โดยเน้ น เรื ่อ งการจั ด สถานที ่ที ่เ หมาะสมและสะดวกต่ อ การเดิ น ทางของ ผู้ถือหุ้น โดย ทอท. ได้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 เวลา 14.00 น. ณ ห้องจัดเลี้ยง อาคารสโมสรท่าอากาศยาน ชั้น 2 สำนักงานใหญ่ ทอท. ทอท. ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยหนังสือเชิญประชุมมีข้อมูลรายละเอียดประกอบวาระการประชุม รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ผ่านมาพร้อมความเห็นของ คณะกรรมการ ทอท. หนังสือมอบฉันทะทุกแบบตามที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด คำชี้แจงวิธีการมอบฉันทะ ข้อบังคับ ทอท. เฉพาะ ที่เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น รายชื่อและรายละเอียดของกรรมการอิสระจำนวน 3 ราย ที่เสนอให้เป็นผู้รับมอบฉันทะ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ เงือ่ นไข หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัตใิ นการเข้าร่วมประชุม การมอบฉันทะ และการออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ส่งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม รวมทั้งลงประกาศ ในหนังสือพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน นอกจากนี้ ทอท. ได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุม กำหนดการ ประชุม และข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของแต่ละครั้ง และหนังสือมอบฉันทะทุกแบบทางเว็บไซต์ของ ทอท. เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมมากกว่า 30 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาพิจารณารายละเอียดของแต่ละวาระ สำหรับผูถ้ ือหุน้ ทีไ่ ม่ ส ะดวกเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ ว ยตนเอง ทอท. ได้ เ สนอให้ ม อบอำนาจให้ ก รรมการอิ ส ระ หรื อ บุ ค คลอื ่น เข้ า ร่ ว มประชุ ม และ ลงคะแนนเสียงแทน ในวันประชุม ทอท. ได้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย ให้ความมั่นใจด้านการรักษาความปลอดภัยแก่ ผู้ถือหุ้น กำหนดจุดตรวจเอกสาร จุดบริการรับลงทะเบียนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียนเข้าร่วม ประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุมไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงและต่อเนื่องจนกว่าการประชุมจะแล้วเสร็จ โดยจัดเจ้าหน้าที่อำนวย ความสะดวกในการลงทะเบียนให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะที่เข้าร่วมประชุม รวมถึงการใช้ระบบบาร์โค้ดในการลงทะเบียน และการนับคะแนนเพื่อความสะดวกรวดเร็วของผู้ถือหุ้น การจัดเตรียมอากรแสตมป์ไว้ให้บริการแก่ผู้ถือหุ้นที่มอบฉันทะให้บุคคลอื่น เข้าร่วมประชุมแทน และการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วย คณะกรรมการ ทอท. และผู ้บ ริ ห ารของ ทอท. ได้ให้ ค วามสำคั ญในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม สามั ญ ผู ้ถื อ หุ ้น เว้ น แต่ ก รรมการ ที่ติดภารกิจสำคัญไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ทั้งนี้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 กรรมการที่เข้าประชุมประกอบด้วย ประธานกรรมการ ทอท. ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการ กำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการธรรมาภิบาล กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง รวมถึงหัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารด้านการเงิน หรือ CFO ร่วมชี้แจงรายละเอียดวาระต่าง ๆ ตอบข้อซักถามและ รับฟังข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น โดยจัดให้มีผู้สอบบัญชีของ ทอท. และที่ปรึกษากฎหมายเข้าร่วมประชุมกรณีมีข้อโต้แย้งตลอด การประชุ ม พร้ อ มทั ้ง ทำหน้ า ที ่ต รวจสอบหนั ง สื อ มอบฉั น ทะและเป็ น สั ก ขี พ ยานในการตรวจสอบบั ต รคะแนน ซึ ่ง ทอท. ได้ ดำเนินการอย่างครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด ในการประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมดำเนินไปตามลำดับของระเบียบวาระการประชุมที่กำหนดไว้ในหนังสือเชิญประชุมทีไ่ ด้แจ้งให้ ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามเรื่องต่าง ๆ ในแต่ละวาระ โดยก่อนเริ่มการประชุม ทุกครั้งประธานในที่ประชุมจะอธิบายถึงวิธีการลงคะแนน การนับคะแนน การใช้บัตรลงคะแนน และสิทธิของผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน โดย ทอท. ได้เปิดเผยผลการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นและแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนใน ห้องประชุม และได้จัดให้มีอาสาสมัครจากผู้ถือหุ้นมาเป็นสักขีพยานในการนับคะแนนด้วย ซึ่ง ทอท. จะลงคะแนนเสียงและเปิดเผย ผลการนับคะแนนในแต่ละวาระอย่างชัดเจน โปร่งใส เพื่อรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น ประธานกรรมการดำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่งใส จัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ โดยในระหว่างการประชุม จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและซักถามอย่างทั่วถึง ก่อนจะลงคะแนนและสรุปมติที่ประชุมแต่ละวาระ รวมทั้ง เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและเสนอคำถามที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทในระหว่างการประชุม ถ้าคำถามใด ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาในวาระนั้น ๆ ประธานกรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงจะนำไปตอบข้อซักถามในวาระเรื่องอื่น ๆ เพื่อ ให้การใช้เวลาในการพิจารณาแต่ละวาระเป็นไปอย่างเหมาะสม ทอท. ให้ สิ ท ธิ ผู ้ถื อ หุ ้น ที ่ม าลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มประชุ มได้ ภ ายหลั ง เริ ่ม การประชุ ม แล้ ว และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งหรื อ ลงคะแนน ในวาระที่อยูร่ ะหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ ทอท. ได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างสม่ำเสมอผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเว็บไซต์ ของ ทอท. และดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

71


(10) ทอท. จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัท หรือศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ และจัดให้ผู้ถือหุ้นไปเยี่ยมชมกิจการท่าอากาศยานเพื่อความเข้าใจในธุรกิจของ ทอท. (11) ทอท. ได้ จั ด ทำรายงานการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น และส่ ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หลังการประชุมเสร็จสิ้น 14 วันเสมอ โดยได้บันทึกข้อมูลอย่างชัดเจนเกี่ยวกับรายชื่อกรรมการ ที ่เข้ า ร่ ว มประชุ ม คำชี ้แ จงที ่เ ป็ น สาระสำคั ญ คำถาม-คำตอบ หรื อ ข้ อ คิ ด เห็ น โดยสรุ ป มติ ที ่ป ระชุ ม แยกเป็ น คะแนน ที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง รวมถึงเผยแพร่รายงานการประชุมเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านเว็บไซต์ของ ทอท. www.airportthai.co.th เพื ่อให้ ผู ้ถื อ หุ ้นได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารรวดเร็ ว โดยไม่ ต้ อ งรอรั บ ทราบจากการประชุ ม ครั ้ง ต่ อไป หลังจากนั้นจะนำเสนอผู้ถือหุ้นเพื่อรับรองรายงานฯ ในการประชุมผู้ถือหุ้นคราวถัดไป (12) ทอท. เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอย่างชัดเจนไว้ในเว็บไซต์ ทอท. และรายงานประจำปี เพื่อให้ ผูถ้ ือหุ้นมั่นใจว่ามีโครงสร้างการดำเนินงานที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ (13) ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างความเจริญเติบโตให้ผลประกอบการดี เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม

2. การปฏิบ ัติต่อ ผู ้ถ ื อหุ ้น อย่า งเท่ า เที ย มกั น

72

ทอท. ให้ความสำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยได้ดำเนินการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ ผู ้ถื อ หุ ้น ส่ ว นน้ อ ยสามารถเสนอวาระการประชุ ม สามั ญ ผู ้ถื อ หุ ้น และเสนอชื ่อ บุ ค คลที ่มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเพื ่อ เข้ารับการพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการสำหรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีของ ทอท. ได้ล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยมี หลัก เกณฑ์ ซึ่ ง ทอท. ได้ ป ระกาศแจ้ งให้ ผู ้ถื อ หุ ้น ทราบโดยทั ่ว กั น ผ่ า นทางเว็ บไซต์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ล่วงหน้า 3 เดือนก่อนสิ้นรอบปีบัญชี (วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552) หรือก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 6 เดือน รวมทั้งได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาบนเว็บไซต์ของ ทอท. ด้วย โดยคณะกรรมการจะเป็นผู้พิจารณา ความเหมาะสมในการบรรจุไว้ใ นระเบี ย บวาระการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น รวมทั ้ง บุ ค คลทีไ่ ด้ รั บ การเสนอชื ่อ เพื ่อ รั บ การพิ จ ารณา แต่งตั้งเป็นกรรมการ จากนั้นจะนำเสนอต่อคณะกรรมการสรรหาเพื่อดำเนินการตามกระบวนการสรรหาของ ทอท. ว่าผู้ที่ ได้รับการเสนอชื่อมีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติกรรมการ ทอท. และเสนอคณะกรรมการ ทอท. เพือ่ ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่ง ทอท. จัดให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง กรรมการเป็นรายบุคคล (2) ดำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำดับระเบียบวาระทีไ่ ด้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระ การประชุมในทีป่ ระชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ เพือ่ ให้ผูถ้ ือหุน้ ได้มโี อกาสศึกษาข้อมูลประกอบการพิจารณา ระเบียบวาระต่าง ๆ ก่อนตัดสินใจ (3) อำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิออกเสียง โดยมอบฉันทะให้บุคคลอื่นไป ประชุ ม และออกเสี ย งลงมติ แ ทน รวมถึ งได้ เ สนอชื ่อ กรรมการอิส ระจำนวน 3 ราย เพื ่อ เป็ น ทางเลื อ กในการมอบฉั น ทะได้ และหนั ง สื อ มอบฉั น ทะเป็ นไปตามแบบที ่ก ระทรวงพาณิ ช ย์ ก ำหนด โดยมี รู ป แบบที ่ผู ้ถื อ หุ ้น สามารถกำหนดทิ ศ ทางการลง คะแนนเสียงเองได้ เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระ ทั้งนี้ ทอท. ได้ จั ด ส่ ง หนั ง สื อ มอบฉั น ทะไปพร้ อ มกั บ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น โดยระบุ ถึ ง เอกสารและหลั ก ฐานทีใ่ ช้ใ นการมอบฉั น ทะไว้ อย่างชัดเจน พร้อมกับแนะนำขั้นตอนที่สะดวกในการมอบฉันทะเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถจัดเตรียมได้อย่างครบถ้วนถูกต้องและ ไม่เกิดความยุง่ ยากในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น (4) จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระ โดยจัดทำบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนได้ตามที ่ เห็นสมควร ซึ่งในระหว่างประชุมจะมีการเก็บบัตรลงคะแนนแยกตามวาระ โดย ทอท. ได้นำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการบันทึกและ แสดงผลการลงคะแนนดั ง กล่ า ว พร้ อ มทั ้ง จั ดให้ มี เจ้ า หน้ า ที ่ค อยอำนวยความสะดวกในการจั ด เก็ บ บั ต รลงคะแนนเสี ย ง ในห้ อ งประชุ ม เพื ่อ นำผลคะแนนของผู ้ถื อ หุ ้น ที ่เข้ า ประชุ ม มารวมคำนวณกั บ คะแนนเสี ย งที ่ผู ้ถื อ หุ ้นได้ ล งไว้ ล่ ว งหน้ าในหนั ง สื อ มอบฉันทะก่อนประกาศผลคะแนนเสียงและมติที่ประชุม และเพื่อความโปร่งใส ทอท. ได้จัดเก็บบัตรลงคะแนนของผู้ถือหุ้นโดยให้ อาสาสมัครที่เป็นสักขีพยานในการนับคะแนนได้ลงชื่อไว้เพื่อการตรวจสอบได้ในภายหลังด้วย (5) ในวาระเลือกตั้งกรรมการ ทอท. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล (6) บัน ทึ ก รายงานการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และจั ด ส่ ง รายงานการประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง - ประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสมอ (7) ทอท. ได้กำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้อำนวยการฝ่ายการเงินและ ฝ่ายบัญชีเมื่อแรกเข้ารับตำแหน่ง โดยการแจ้งทุกคนให้ทราบบทบาทภาระหน้าที่ที่ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะซึ่งถือหลักทรัพย์ของ ทอท. ต่อคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และรับทราบการจัดทำรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีมูลค่าหรือจำนวนเท่าใด ภายใน 3 วันทำการหลังจาก มีการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(8) ทอท. กำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร ต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง รวมทัง้ กรรมการและ ผู ้บ ริ ห ารเข้ าใหม่ ต้ อ งจั ด ทำรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ตามแบบฯ ที ่ค ณะกรรมการเห็ น ชอบให้ แ ก่ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ภายใน 7 วันทำการนับแต่วันทีไ่ ด้รับแจ้งจาก ทอท. และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ต้องแจ้งเลขานุการบริษัทภายใน 7 วันทำการ นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง และให้เลขานุการบริษัทสำเนาให้ประธานกรรมการ ทอท. และประธานกรรมการตรวจสอบทราบ และเก็บรักษาต้นฉบับแบบฯ นั้นไว้สำหรับใช้เฉพาะเป็นการภายใน ทอท. เท่านั้น

3. บทบาทของผู้ ม ีส่ ว นได้เ สีย

ทอท. ให้ความสำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงานและผู้บริหารของ ทอท. และบริษัทย่อย หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า รัฐบาล ผู้ร่วมทุน คู่ค้า เจ้าหนี้ สังคม ชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มั่นใจได้ว่า สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านีไ้ ด้รับการคุ้มครองและดูแลเป็นอย่างดี ตามข้อกำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจาก ทอท. ตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ ซึ่งจะสร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างกำไร ให้กับ ทอท. ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างความสำเร็จในระยะยาวของ ทอท. ได้ โดยคณะกรรมการของ ทอท. ได้กำหนดนโยบาย แนวทางการ ปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษรในการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ซึ่งได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ ทอท. ด้วย และในการดำเนินการ ต่าง ๆ ทอท. เคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียในทุก ๆ ที่ที่ ทอท. ดำเนินธุรกิจเสมอ นอกจากนี้ ทอท. ยังได้ให้ความสำคัญต่อการติดต่อสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ตลอดจนรับฟัง ความคิดเห็นและคำแนะนำของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน ในกรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการปฏิบัติ ของ ทอท. สามารถร้ อ งเรี ยนต่ อ ทอท. ได้ โดย ทอท. ได้ จั ด ทำช่ อ งทางที ่เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล สำคั ญให้ ผู ้มี ส่ ว นได้ เ สี ยรั บ ทราบผ่ า นเว็ บไซต์ www.airportthai.co.th และสามารถติดต่อ/ร้องเรียนด้านธรรมาภิบาล โดยจัดตู้รับข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ ณ จุดบริการที่ ท่าอากาศยานทุกแห่งในความรับผิดชอบของ ทอท. รวมถึงพฤติกรรมที่อาจส่อถึงการทุจริตหรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กร ทั้งจาก พนักงานเองและผู้มีส่วนได้เสียอืน่ ด้วย ซึ่งในปี 2553 ได้รับเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 8 เรื่อง และได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว 3 เรื่อง ทอท. ให้ ค วามสำคั ญ กั บ การเก็ บ ข้ อ มู ล ร้ อ งเรี ย นเป็ น ความลั บ ซึ ่ง เรื ่อ งร้ อ งเรี ย นดั ง กล่ า วจะรั บ รู ้เ พี ย งเฉพาะในกลุ ่ม บุ ค คลทีไ่ ด้ รั บ มอบหมาย และเกี่ยวข้องด้วยเท่านั้น เพือ่ สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ร้องเรียน และได้กำหนดขั้นตอนการรับเรื่องและการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีช่องทางการติดต่อ/ร้องเรียน ด้านธรรมาภิบาล ดังนี้ (1) ทางเว็บไซต์ www.airportthai.co.th หัวข้อแนะนำติชม ในส่วนของการกำกับดูแลกิจการที่ดี (ติดต่อเลขานุการบริษัท) (2) ตู้รับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ติดตั้ง ณ สำนักงานใหญ่ และบริเวณสำนักงานท่าอากาศยาน ในความรับผิดชอบของ ทอท. ทั้ง 6 แห่ง (3) ห้องสมุดธรรมาภิบาล ได้จัดพื้นที่ต่างหากไว้ในห้องสมุด ทอท. เพื่อเผยแพร่การดำเนินงานของ ทอท. เช่น เอกสารแผนพัฒนา ท่าอากาศยาน เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญาต่าง ๆ ของ ทอท. ที่วงเงินเกิน 1 ล้านบาท เป็นต้น

การปฏิบ ัติต่อ ผู้ ม ีส่ ว นได้เ สีย กลุ ่ม หลั ก ๆ ของ ทอท.

ทอท. มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างบริษัทกับผู้มีส่วนได้เสียในการสร้างความมั่นคงทางการเงินและความยั่งยืนของ กิจการ ในปี 2553 ทอท. ได้ดูแลและคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในและภายนอก ทอท. ดังทีไ่ ด้กำหนดเป็นจรรยาบรรณไว้ใน คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ทีไ่ ด้แจกพนักงานและเผยแพร่ในเว็บไซต์ ทอท. ดังนี้ ผู้ถือหุ้น

-

พนักงาน

-

ทอท. มีความมุ่งมั่นในการเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสโดยคำนึงถึงความเจริญเติบโต ของมูลค่าบริษัทในระยะยาวและผลตอบแทนที่ดี ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเป็นธรรม โดยคำนึงถึงผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย และเพื่อผลประโยชน์ ของกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องโดยรวม บริหารกิจการของ ทอท. ให้มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคง และก่อให้เกิดผลตอบแทนที่ดใี ห้แก่ผู้ถือหุ้น จัดการดูแลไม่ให้ทรัพย์สินใด ๆ ของ ทอท. สูญค่า หรือสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ เปิ ด เผยข้ อ มู ล และสารสนเทศทั ้ง ทางการเงิน และไม่ใช่ ท างการเงิน ที ่เ กี ่ย วกั บ ธุ ร กิ จ และผลประกอบการของ ทอท. ที่เป็นจริงอย่างครบถ้วนเพียงพอ สม่ำเสมอ ทันเวลา และแสดงให้เห็นถึงสถานภาพของการประกอบการและสถานภาพ ทางการเงินที่แท้จริงของ ทอท. ทอท. ถื อ ว่ า พนั ก งานเป็ น ปั จ จั ย หนึ ่ง สู ่ค วามสำเร็ จ จึ ง ส่ ง เสริ มให้ มี ก ารพั ฒ นาความสามารถของพนั กงานทุ ก ระดั บ อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ท่าอากาศยานสุวรรณภูมไิ ด้ลงนามในบันทึกข้อตกลง Sister Airport Agreement กับท่าอากาศยานมิวนิก สหพันธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี เพื ่อ แลกเปลี ่ย นความรู ้ เทคโนโลยี เ กี ่ย วกั บ การบริ ห ารท่ า อากาศยาน รวมทั ้ง การให้ ความร่วมมือด้านธุรกิจการบินในรูปแบบต่าง ๆ แก่กนั นอกจากนั้น ยังได้ทำบันทึกข้อตกลงกับท่าอากาศยานอินชอน ประเทศ เกาหลีใต้ และท่าอากาศยานนาริตะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นท่าอากาศยานชั้นนำในทวีปเอเชีย เพื่อจะให้พนักงานได้มี โอกาสเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อนำความรู้ทไี่ ด้มาพัฒนาการบริการท่าอากาศยาน สุวรรณภูมใิ ห้ดียงิ่ ขึ้น เพือ่ ก้าวสู่การเป็นท่าอากาศยานที่มีการบริการดีเด่นติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกต่อไป รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

73


- จัดให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียน หากมีปัญหาระหว่างพนักงาน หรือระหว่างพนักงานกับผู้บังคับบัญชา พนักงานมีสิทธิ ร้องทุกข์ตามขั้นตอนที ่ ทอท. กำหนดไว้ โดยผู้ที่ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กำหนดไว้และพิสูจน์ได้ว่า กระทำไปโดยสุจริต จะได้รับความคุ้มครองโดยไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ซึ่ง ทอท. จะไม่ถือเป็นเหตุเลิกจ้างหรือกระทำการ ลงโทษในอันที่จะส่งผลเสียต่อพนักงานหรือพยานผู้เกี่ยวข้องแต่ประการใด - ผู้บริหารระดับสูงเปิดโอกาสให้พนักงานทุกระดับได้เสนอความคิดเห็น แนวคิดอันเป็นประโยชน์ต่อ ทอท. เช่น มาตรการ ลดค่าใช้จ่ายการใช้กระแสไฟฟ้า เป็นต้น ทอท. ได้ปฏิบัติกับพนักงานอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน พร้อมทั้งให้ความ มั่นใจในคุณภาพชีวิตการทำงานและการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็นธรรม เช่น การจัดตั้งกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ สิทธิในการเบิกค่ารักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนตามเกณฑ์ท ี่ ทอท. กำหนด การจัดตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท. เพื่อเป็นสวัสดิการในการฝาก-ถอนเงินและกู้ยืมเงินสำหรับพนักงาน การจัดตั้ง สมาคมสโมสรท่าอากาศยานเพื่อส่งเสริมสนับสนุนสวัสดิการด้านต่าง ๆ เช่น ทัศนศึกษา ท่องเที่ยว กีฬาภายใน ทอท. กีฬารัฐวิสาหกิจ - ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน - ทอท. ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาการถ่ า ยทอดความรู ้แ ละความสามารถของพนั ก งานโดยให้โ อกาสพนั ก งาน อย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ - ส่งเสริม สนับสนุนให้พนักงานเข้าใจในเรื่องจรรยาบรรณ และบทบาทซึ่งพนักงานสามารถปฏิบัตไิ ด้เพื่อให้เกิดพฤติกรรม ที่อยูใ่ นกรอบของจรรยาบรรณอย่างทั่วถึงทั้ง ทอท. รัฐบาล - ทอท. ถือปฏิบัติเพือ่ แสดงความรับผิดชอบต่อภาครัฐโดยดำเนินธุรกิจภายใต้ข้อกำหนดของกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ของหน่วยงานที่กำกับดูแลอย่างเคร่งครัดและให้การสนับสนุนโครงการจากภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สูงสุด ของสั ง คมส่ ว นรวมและดำรงไว้ ซึ ่ง สั ม พั น ธภาพที ่ดี กั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ โดยการติ ด ต่ อ ประสานงานอย่ า งเปิ ด เผย และพร้อมให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ครบถ้วน ถูกต้องตามที่หน่วยงานภาครัฐร้องขอ เพื่อแสดงถึง ความโปร่งใส ตลอดจนสร้างความมั่นใจและความเชื่อถือร่วมกัน สังคม ชุมชน - ทอท. มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สำนักข่าว และงานชุมชน ส่วนปฏิบัติการ และสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม ฝ่ายกิจการพิเศษท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ฝ่ายสิ่งแวดล้อม และท่าอากาศยานภูมิภาคทุกแห่ง โดยได้ ดำเนินการควบคูไ่ ปกับการประกอบธุรกิจหลักมาอย่างต่อเนื่อง คือการดูแลรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมสำหรับชุมชนทั้งในและนอกพื้นที่ปฏิบัติการ โดย ทอท. ร่วมสนับสนุนทางด้านการศึกษา กีฬา วัฒนธรรม การพัฒนาอาชีพเพือ่ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของชุมชน นอกจากนี ้ ทอท. ยังให้ความสำคัญต่อการอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคม ในพืน้ ที ่ป ฏิ บั ติ ก ารโดยการสร้ า งความเข้ าใจที ่ดี ต่ อ กั น ร่ ว มแก้ ปั ญ หาเพื ่อ สร้ า งความเชื ่อ มั ่น แก่ ชุ ม ชนและสั ง คม อย่างต่อเนื่อง คู่ค้า - ทอท. ปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงือ่ นไขต่าง ๆ ที่มีต่อคู่ค้าของ ทอท. บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนอย่าง เสมอภาคและเป็นธรรม เพือ่ ประโยชน์สูงสุดร่วมกันทั้งสองฝ่าย - ทอท. เพิม่ ช่องทางการติดต่อผ่านเว็บไซต์ ให้คู่ค้าและผู้มีส่วนได้เสียสามารถประสานงานด้านกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ขั้นตอนวิธีปฏิบัติการเช่าพื้นที่ การทำสัญญา รวมทั้งแบบฟอร์มการขอเข้าประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการอำนวยความ สะดวกและสามารถติดต่อสอบถามข้อสงสัยผ่านเว็บไซต์ได้ด้วย โดยมีส่วนงาน ทอท. รับผิดชอบดูแลบริหารลูกค้า สัมพันธ์ (CRM) ผ่านช่องทางดังกล่าว คู่แข่ง - ประพฤติปฏิบัติตามกรอบกติกาทางการแข่งขันที่ดี ไม่พยายามทำลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหา ให้ร้าย โดยปราศจากความจริง ทอท. จะแข่งขันอย่างเต็มที่ เป็นอิสระไม่ขึ้นกับใคร ด้วยความยุติธรรม โดยใช้ข้อเสนอ ในการแข่งขันบนพื้นฐานการให้บริการและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวกับกิจการการบิน เจ้าหนี้ - ทอท. ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่างเป็นธรรม มีความรับผิดชอบ และโปร่งใส โดยปฏิบัติตามเงือ่ นไข ข้อกำหนดของสัญญา และพันธะทางการเงินที่มีต่อเจ้าหนีโ้ ดยเคร่งครัด ทั้งการชำระคืน การดูแลหลักทรัพย์ค้ำประกันและเงือ่ นไขอื่น ๆ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนทีไ่ ด้จากการกู้ยืมเงินไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทำกับผูใ้ ห้กู้ยืมเงิน ตลอดจนไม่ใช้ วิธีการทีไ่ ม่สุจริต ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอันจะทำให้เจ้าหนี้เกิดความเสียหาย ลูกหนี้ - ทอท. จะปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลง หรือเงือ่ นไขต่าง ๆ ที่มีต่อลูกหนีโ้ ดยไม่เลือกปฏิบัตใิ นการติดตามเร่งรัดหนี้สิน กรณีทไี่ ม่สามารถปฏิบัตไิ ด้ต้องรีบเจรจากับลูกหนี้เป็นการล่วงหน้าเพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา และป้องกันไม่ให้ เกิดความเสียหายโดยใช้หลักธรรมาภิบาลรายงานข้อมูลลูกหนี้ค้างชำระที่ถูกต้อง ครบถ้วน และตรงเวลาให้แก่ลูกหนี้ อย่างสม่ำเสมอ - ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และเงือ่ นไขที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติที่มีต่อลูกหนี ้

74

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


4. การเปิด เผยข้ อมู ล และความโปร่ง ใส

การเปิดเผยสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มีความสำคัญต่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทอท. ให้ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสารที่ต้อง แจ้งแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและผู้ถือหุ้น โดยมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา น่าเชื่อถือ และทุกฝ่ายสามารถเข้าถึงข้อมูล อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งการจัดเตรียมข้อมูลดังกล่าว มีสำนักเลขานุการบริษัท กำกับดูแลการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ กำกับดูแลให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามแก่นักลงทุนและผู้ถือหุ้น ในการเปิดเผยข้อมูลสำคัญของ ทอท. นอกจากเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่กำหนดผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ทอท. จะเผยแพร่ไว้ใ นเว็ บไซต์ ข อง ทอท. ทั ้ง ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ เช่ น รายงานประจำปี นโยบายธรรมาภิ บ าล ข้ อ มู ล บริ ษั ท ข่าวประชาสัมพันธ์ โดยได้มีการปรับปรุงเว็บไซต์อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลภายนอกสามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงโดยสะดวก และได้รับประโยชน์มากที่สุด ดังนี้ (1) สารสนเทศที่สำคัญของ ทอท. ประกอบด้วย ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทีไ่ ม่ใช่ทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่ ว นของงบการเงิน นั ้นได้ ผ่ า นการสอบทาน/ตรวจสอบจากผู ้ส อบบั ญ ชี ว่ า ถู ก ต้ อ งตามที ่ค วรในสาระสำคั ญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการ ทอท. ก่อนเปิดเผยแก่ ผู้ถือหุ้น โดยคณะกรรมการ ทอท. รายงานความรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงิน ควบคู่กับรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผู ้ส อบบั ญ ชีใ นรายงานประจำปี ด้ ว ย นอกจากนี ้ ทอท. ได้ เ ปิ ด เผยรายการระหว่ า งกั น รวมถึ ง บทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารไว้ในรายงานประจำปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2553 หรือแบบ 56-1 เป็นต้น (2) ข้อมูลต่าง ๆ ของ ทอท. ทีไ่ ด้เปิดเผยแก่สาธารณชน ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ ปี 2541 ในห้องสมุดธรรมาภิบาลแล้ว ยังเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของ ทอท. ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น รายงานประจำปี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น (3) ทอท. ได้เปิดเผยบทบาท และหน้าที่ของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย จำนวนครั้งของการประชุม และจำนวนครั้ง ที ่ก รรมการแต่ ล ะคนเข้ า ร่ ว มประชุ มในปี ง บประมาณ 2553 และเปิ ด เผยการจ่ า ยค่ า ตอบแทนกรรมการที ่เ ป็ นไปตามมติ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงไว้ในรายงานประจำปีและแบบ 56-1 ด้วย (4) จั ดให้ มี ศู น ย์นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ รั บ ผิ ด ชอบในการสื ่อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสารที ่ส ะท้ อ นมู ล ค่ า ที ่แ ท้ จ ริ ง ของ ทอท. ให้ แ ก่ นั ก วิ เ คราะห์ หลักทรัพย์ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบัน และผู้ลงทุนทั่วไปตามระเบียบและข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อสร้าง ความเชื ่อ มั ่น รวมทั ้ง เสริ ม สร้ า งภาพลั ก ษณ์ แ ละทั ศ นคติ ที ่ดี ต่ อ ผู ้ถื อ หุ ้น และนั ก ลงทุ น โดยการประสานงานและให้ ค ำปรึ ก ษา เกี่ยวกับงานนักลงทุนสัมพันธ์แก่ผู้บริหารของ ทอท. ซึ่งนักลงทุนหรือผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลข่าวสารของ ทอท. เช่น ข้อมูลงบการเงิน รายงานประจำปี และข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้โดยตรงจากเจ้าหน้าที่ศูนย์นักลงทุน สัมพันธ์ของ ทอท. โดยติดต่อได้ 4 วิธี ดังนี้ - ทางโทรศัพท์ : 0-2535-5900 - ทางโทรสาร : 0-2535- 5909 - ทาง E-mail : aotir@airportthai.co.th - ทางไปรษณีย์ ศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 ทอท. ตระหนักถึงความสำคัญของการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใส โดยศูนย์นักลงทุนสัมพันธ์ซึ่งเป็นตัวแทน ของ ทอท. ในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้นำเสนอผลงาน และแจ้งสารสนเทศ ของ ทอท. ต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องตลอดปีงบประมาณ 2553 สรุปได้ดังนี้ - One-on-One Meeting 36 ครั้ง/ปี - Conference Call/Telephone Call/E-mail 281 ครั้ง/ปี - Analyst Briefing 4 ครั้ง/ปี - Roadshow ต่างประเทศ 1 ครั้ง/ปี (5) ทอท. ได้มีเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำคัญอย่างถูกต้องครบถ้วนและเป็นไปตามข้อกำหนดของสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนอกจากนั้น ในปีงบประมาณ 2553 ทอท. ได้จัดทำ บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD & A) ประกอบงบการเงินทุกไตรมาส (6) จัดทำรายงานข้อมูลทางการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ผ่านการตรวจสอบจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่าข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง (7) ทอท. ได้ จั ดโครงการพาผู ้ถื อ หุ ้น เยี ่ย มชมท่ า อากาศยานที ่อ ยูใ่ นความรั บ ผิ ด ชอบของ ทอท. (Company Visit) เพื่ อให้ ผู้ถือหุ้นได้มโี อกาสรับทราบและซักถามนโยบายและผลการดำเนินงาน รวมถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ของ ทอท. จากผู ้บ ริ ห ารระดั บ สู ง เพื ่อ เป็ น การสร้ า งความเชื ่อ มั ่น และความสั ม พั น ธ์ ที ่ดีใ ห้ กั บ ผู ้ถื อ หุ ้น ซึ ่งโครงการจะจั ด ปี ล ะ 1 ครั้ง โดยคัดเลือกผู้ถือหุ้นที่จะเข้าร่วมโครงการด้วยวิธีการจับสลากจากใบสมัครที่ผู้ถือหุ้นส่งเข้ามา ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2553 ทอท. ได้พาผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมท่าอากาศยานเชียงใหม่ เมื่อวันศุกร์ที ่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 โดยมีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 50 คน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

75


5. ความรับ ผิด ชอบของคณะกรรมการ นโยบายธรรมาภิ บ าลของ ทอท.

คณะกรรมการ ทอท. ได้กำหนดให้มนี โยบายธรรมาภิบาลเป็นลายลักษณ์อักษรตั้งแต่ปี 2549 และมีการสอบทานเป็นประจำ ฉบับทีใ่ ช้อยู่ เป็นฉบับที่ 3 และในปี 2553 ยังคงเป็นนโยบายธรรมาภิบาล ฉบับวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่คณะกรรมการ ทอท. เห็นชอบให้ปรับปรุง นโยบายด้านพนักงานให้ชัดเจนยิง่ ขึ้น เพิ่มเติมนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการให้มีเนื้อหา ที่สมบูรณ์มากขึ้น ทั้งนี้ เพือ่ ยกระดับให้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติสากลในการกำหนดจำนวนรัฐวิสาหกิจที่กรรมการไปดำรงตำแหน่ง กรรมการได้ไม่เกิน 3 แห่งโดยให้นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง และการได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทนในตำแหน่งกรรมการ แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่มีการมอบหมายให้ผู้อนื่ ปฏิบัติราชการแทน นอกจากนี้ ยังได้กำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของ กรรมการเพิม่ เติม โดยในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งตามวาระหนึ่งในสาม (1/3) เป็นอัตรา ถ้าจำนวน กรรมการที่จะออกจากตำแหน่งตามวาระแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการ ที่จะต้องออกจากตำแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนในปีที่สามให้กรรมการคนที่อยูใ่ นตำแหน่งนานที่สุด เป็นผู้ออกจากตำแหน่ง และกำหนดการเกษียณอายุของกรรมการเมื่ออายุครบ 65 ปี โดยมีผลตั้งแต่วันถัดจากวันที่มีอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ และเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ ทอท. และรวบรวมไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. เลขานุ ก ารบริ ษ ั ท คณะกรรมการ ทอท. ได้แต่งตั้ง น.ส.ชนาลัย ฉายากุล เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อรับผิดชอบในการให้คำแนะนำด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการ ทอท. และผู้บริหารจะต้องทราบและปฏิบัติหน้าทีใ่ นการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ทอท. รวมทั้งประสานงาน ให้มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ ทอท. และมติของผู้ถือหุ้น เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. โดยเลขานุการ บริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบหลัก ดังนี้ (1) ให้ ค ำแนะนำและคำปรึ ก ษาแก่ ค ณะกรรมการ ทอท. และผู ้บ ริ ห ารเพื ่อ ปฏิ บั ตไิ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย กฎระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย คณะกรรมการตลาดทุ น สำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ที่สอดคล้องกับแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี (2) จัดทำและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ (3) จัดทำและเก็บรักษาหนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ ทอท. เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการ ทอท. และรายงาน การประชุมคณะกรรมการ ทอท. ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ (4) จัดทำและจัดเก็บรักษาหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น เอกสารประกอบการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ให้ครบถ้วน ภายในกำหนดเวลาของกฎหมาย (5) จัดเก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้บริหาร (6) ดู แ ล กำกั บ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด ทำ และจั ด เก็ บ รั ก ษาแบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำปี (แบบ 56-2) (7) ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศต่อหน่วยงานที่กำกับดูแล (8) ส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการใหม่ (9) ภารกิจอืน่ ๆ ตามที่คณะกรรมการ ทอท. มอบหมาย

คู ่ ม ื อ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี ทอท. ได้ให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี นับแต่ปี 2545 ทอท. ได้ประกาศจรรยาบรรณเพื่อแสดงปณิธานที่จะดำเนินธุรกิจ ที่มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีความโปร่งใส น่าเชือ่ ถือ และเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์กรและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ต่อมาเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทอท. ได้ปรับปรุงแก้ไขจรรยาบรรณ ทอท. ปี 2545 เป็นคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ฉบับ ปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 1 ซึ่งในเนื้อหาประกอบด้วยนโยบายธรรมาภิบาล หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดขี อง ทอท. จรรยาบรรณ ทอท. แนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี ด้านต่าง ๆ มีความชัดเจน เหมาะสมกับโครงสร้างการกำกับดูแลกิจการของ ทอท. และได้แจกจ่ายหนังสือคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2552) ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน เพื่อใช้อ้างอิงและถือปฏิบัติด้วย ซึ่งทุกคนต้องลงนาม ในพันธสัญญาที่จะยึดถือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. เป็นหลักปฏิบัตใิ นการดำเนินงาน เพื่อสร้างความมั่นใจว่า ทอท. จะพัฒนาระบบ การจัดการให้เหมาะสมเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ตลอดจนคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียและมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยได้เผยแพร่บนเว็บไซต์ภายใต้หัวข้อการกำกับดูแลกิจการที่ดใี ห้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่สนใจได้เข้าดูได้อย่างสะดวกด้วย ทอท. ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านธรรมาภิบาลและประชาสัมพันธ์คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. และจัดเสวนาจริยธรรมที่มี ความสำคัญต่อการบริหารองค์กร โดยเชิญกรรมการ ผู้บริหารทุกระดับ และพนักงาน ทอท. เข้าร่วมรับฟังการเสวนาและได้บันทึกภาพ การเสวนา เผยแพร่ไว้ใน Intranet เพื่อให้พนักงาน ทอท. ทีไ่ ม่มโี อกาสเข้ารับฟังสามารถเข้าชมได้ด้วย นอกจากนี ้ ยังใช้ คู ่มื อ ฯ ประกอบการบริ หารงานบุ ค คล โดยเป็ น เอกสารสำหรั บ การปฐมนิ เ ทศพนั ก งานใหม่ และสอดแทรกเรื ่อ ง การกำกับดูแลกิจการที่ดไี ว้ในหลักสูตรพื้นฐานที่ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคลจัดอบรมพนักงานตามแผนพัฒนาบุคคลประจำปี

76

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์

คณะกรรมการ ทอท. ถือเป็นนโยบายสำคัญที่จะไม่ให้มีความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ของบริษัท ซึ่งได้กำหนด เป็นหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. จึงกำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและบุคคล ที ่มี ค วามเกี ่ย วข้ อ ง เพื ่อ หลี ก เลี ่ย งการใช้โ อกาสจากการเป็ น กรรมการ ผู ้บ ริ ห าร หรื อ พนั ก งาน ทอท. แสวงหาผลประโยชน์ ส่ ว นตน ทอท. จึงกำหนดข้อปฏิบัติสำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ ทอท. ดังต่อไปนี้ (1) หลีกเลี่ยงการทำรายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ ทอท. (2) ในกรณีที่จำเป็นต้องทำรายการเช่นนั้นเพื่อประโยชน์ของ ทอท. ให้ทำรายการนั้นเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้นจะต้องไม่มีส่วนในการพิจารณาอนุมัติ (3) ในกรณีที่เข้าข่ายเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ ทอท. จะดูแลให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ การเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทจดทะเบียนอย่างเคร่งครัด (4) ในกรณีที่ผู้บริหาร พนักงาน หรือบุคคลในครอบครัวเข้าไปมีส่วนร่วม หรือเป็นผู้ถือหุ้น ในกิจการใด ๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ ทอท. จะต้องแจ้งให้ผู้บริหารสูงสุดทราบเป็นลายลักษณ์อักษร (5) กรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานไปเป็นกรรมการ หรือที่ปรึกษาในบริษัท หรือองค์กรทางธุรกิจอื่น ๆ การไปดำรง ตำแหน่งนั้นจะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์ของ ทอท. และการปฏิบัติหน้าทีโ่ ดยตรงใน ทอท. นอกจากนี้ ในส่วนของกรรมการและผู้บริหารได้มีการจัดทำรายงานการมีส่วนได้เสียของตนและของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ ทอท. ทราบเพือ่ เป็นข้อมูลและเครื่องมือให้เลขานุการบริษัทใช้ในการช่วยติดตาม ดูแลการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของ ทอท. หรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของ ทอท. หรือบริษัทย่อย โดยเลขานุการบริษัท ได้ส่งสำเนารายงานให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบด้วย

การควบคุมภายใน

ทอท. ให้ความสำคัญกับระบบการควบคุมภายในกับการดำเนินธุรกิจและมีการติดตามประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ความมั่นใจ ว่าระบบที่วางไว้สามารถดำเนินไปได้อย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยกำหนดให้มโี ครงสร้างการควบคุมภายในครบทั้ง 5 องค์ประกอบตามมาตรฐาน ได้แก่ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมิน ความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสารและการติดตามประเมินผล ทอท. ได้จัดทำเอกสารแนะนำการทำรายงาน การควบคุมภายในระดับส่วนงาน ทอท. เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ กำหนดไว้ นอกจากนี้ ทอท. ได้จัดทำการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment: CSA) ตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 โดยเสนอรายงานการควบคุมภายในให้คณะกรรมการ ตรวจสอบผ่านเลขานุการคณะกรรมการ เพื่อประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของการควบคุมภายใน ดำเนินการป้องกันและแก้ไข ความเสียหายที่จะเกิดต่อทรัพย์สินของ ทอท. รวมทั้งหาแนวทางและข้อเสนอแนะที่จะลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ และได้นำรายงาน การควบคุมภายในนี้เสนอเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสให้การรับรองแล้วนำเรียนกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ และเสนอคณะกรรมการ ทอท. เพื่อทราบ โดยที่ผ่านมาคณะกรรมการ ทอท. ได้เห็นชอบกับระบบการควบคุมภายในของ ทอท. ว่ามีความเพียงพอและเหมาะสม

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

77


คณะกรรมการ ทอท. คณะกรรมการ ทอท. ประกอบด้วยกรรมการทั้งหมด 15 คน ดังนี้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

(1.) นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต (อายุ 62 ปี)

78

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 4010) - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - นิติศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - นิติศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน - กันยายน - ตุลาคม พ.ศ. 2551 ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการขนส่ง - พ.ศ. 2549 - 2551 รองปลัดกระทรวงคมนาคม - พ.ศ. 2545 - 2549 อธิบดีกรมการขนส่งทางบก ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - ประธานกรรมการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร - ประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จำกัด การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 105/2008 การอบรมอื่น - หลักสูตร การกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ - หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(2.) พลอากาศเอก ระเด่น พึ่งพักตร์ (อายุ 63 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 39) - วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 26 - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Ex-MBA) รุ่นที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2548 - 2550 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด - พ.ศ. 2545 - 2548 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทิลิตี้ส์ จำกัด - รองประธานกรรมการ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 73/2008 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 107/2008 - หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 29/2009 การอบรมอื่น - หลักสูตรสถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (Public Director Institute: PDI) รุ่นที่ 4

(3.) พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช (อายุ 61 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาล สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 28 - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 42) - วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2551 - 2552 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด - พ.ศ. 2548 - 2551 รองเสนาธิการทหาร ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ทีโอเอ โดฟเคม อินดัสตรีส์ จำกัด การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 26/2004 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 122/2009 การอบรมอื่น - ไม่มี

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

79


(4.) นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ (อายุ 59 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 4212) - รั ฐ ศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาทฤษฎี ก ารเมื อ งและการปกครองไทย ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ กฎหมาย การปกครอง นโยบายสาธารณะ และรัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการบริหารและการจัดการ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ - ประกาศนียบัตรทางด้านการบริหารการคลังและงบประมาณ สถาบันการบริหารงานภาษีอากร ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ - พ.ศ. 2549 - 2553 ปลัดกรุงเทพมหานคร ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - ไม่มี การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 79/2009 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 122/2009 การอบรมอื่น - หลักสูตร การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายเอกชน (ปรม.) รุ่นที่ 1 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตร การปกครองชั้นสูง รุ่นที่ 34 วิทยาลัยการปกครอง - หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตร การบริหารและการจัดการความมั่นคงชั้นสูง (วปอ.มส.) รุ่นที่ 1 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

(5.) นายมานิต วัฒนเสน (อายุ 60 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 45) - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต ทางรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ปลัดกระทรวงมหาดไทย - พ.ศ. 2552 อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - พ.ศ. 2551 - 2552 ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค - กรรมการ สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไม่มี การอบรมอื่น - หลักสูตร การพัฒนาผู้บริหารระดับ 8 กระทรวงมหาดไทย - หลักสูตรโรงเรียนนายอำเภอ รุ่นที่ 32

80

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(6.) นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ (อายุ 61 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 41) - นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน อธิบดีอัยการฝ่ายคดีพิเศษ - พ.ศ. 2548 - 2552 อธิบดีอัยการฝ่ายคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ขนส่ง จำกัด - กรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 79/2006 การอบรมอื่น - ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 11 - หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 7 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

(7.) นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ (อายุ 60 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 4414) - วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ - พ.ศ. 2548 - 2552 รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 79/2009 การอบรมอื่น - ไม่มี

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

8


(8.) นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ (อายุ 54 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการกำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 46) - เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต Williams College, U.S.A. - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย - กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 51/2006 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 92/2007 - หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 22/2008 การอบรมอื่น - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 35 (ก.พ.)

(9.) นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (อายุ 60 ปี)

82

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานกรรมการธรรมาภิบาล สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา - รัฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - พ.ศ. 2551 - 2552 ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง - มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2549 รักษาการอธิการบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - ที่ปรึกษา กรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค - ประธานคณะกรรมการบริหารกิจการ สำนักงานตลาด กทม. การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 80/2009 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 126/2009 การอบรมอื่น - ไม่มี

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(10.) นายประสงค์ พูนธเนศ (อายุ 50 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการกำหนดค่าตอบแทน สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการการบริหารองค์กร) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง - พ.ศ. 2551 - 2552 รองอธิบดีกรมสรรพากร - พ.ศ. 2547 - 2551 ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการจัดเก็บภาษี ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ - กรรมการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 76/2006 การอบรมอื่น - หลักสูตร นักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 49 สถาบันดำรงราชานุภาพ

(11.) นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ (อายุ 60 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต - เนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน ผู้จัดการสำนักงานสุทธิธรรมกรุ๊ป กฎหมาย และการบัญชี ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท เพชรเกษมอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 116/2009 - หลักสูตร Audit Committee Program รุ่นที่ 26/2009 - หลักสูตร Financial Statements for Director รุ่นที่ 5/2009 - หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function รุ่นที่ 5/2009 - หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management รุ่นที่ 5/2009 - หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management รุ่นที่ 1/2009 การอบรมอื่น - หลักสูตร การกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

83


(12.) นายชวนชัย อัชนันท์ (อายุ 61 ปี)

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - Ph.D. (Economics), Temple University, Philadelphia, U.S.A. - M.Sc. (International Economics), University of Surrey, Guildford, U.K. - B.A. (Honors) (Economics), Unviersity of Lancester, U.K. - Postgraduate Diploma (International Economics), University of Surrey, Guildford, U.K. ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2550 - 2551 กรรมการผู้อำนวยการ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - พ.ศ. 2547 - 2551 กรรมการ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - พ.ศ. 2516 - 2551 รองศาสตราจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการบริหาร บริษัท ARTLINK จำกัด การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 107/2008 การอบรมอื่น - ไม่มี

(13.) นายสมชัย สัจจพงษ์ (อายุ 49 ปี)

84

กรรมการบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - เศรษฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, Ohio University, U.S.A. - เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, Ohio University, U.S.A. - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน อธิบดีกรมศุลกากร - พ.ศ. 2551 - 2552 ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง - พ.ศ. 2550 - 2551 ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - ไม่มี การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 75/2006 การอบรมอื่น - ไม่มี

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(14.) นายถวัลย์รัฐ อ่อนศิระ (อายุ 58 ปี)

กรรมการบริษัท สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 46) - วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงคมนาคม - พ.ศ. 2550 - 2551 ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม - พ.ศ. 2547 - 2550 อธิบดีกรมเจ้าท่า ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไม่มี การอบรมอื่น - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 28

(15.) นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ (อายุ 59 ปี)

กรรมการและเลขานุการ กรรมการธรรมาภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการผู้อำนวยการใหญ่) สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน - กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) - พ.ศ. 2551 - 2552 ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหน่งอื่นในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) - กรรมการ สภาท่าอากาศยานนานาชาติ (ACI) การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 80/2009 - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 126/2009 การอบรมอื่น - หลักสูตร การบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (ASMP) รุ่นที่ 1 - หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตร การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า - SASIN Graduate Institute of Business Administration จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัตน์ รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Airport Management, Civil Aviation Training Center, Singapore

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

85


คณะผู้บริหาร ทอท.

(1.) นายสมชัย สวัสดีผล (อายุ 51 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 4919) - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประวัติการอบรม - หลักสูตร Director Accreditation Program รุ่นที่ 63/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 120/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำงาน 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) 27 มีนาคม - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ) รักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ พ.ศ. 2551 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ)

(2.) นายเสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ (อายุ 58 ปี)

86

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - หลักสูตร IT for Management of a Modern Airport - หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง - หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) 15 มกราคม พ.ศ. 2551 - รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ) 30 กันยายน พ.ศ. 2552 19 ธันวาคม พ.ศ. 2548 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร) รักษาการ รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายงานพัฒนาธุรกิจ)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(3.) นายชยากร อักษรมัต (อายุ 60 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - รัฐศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัตน์ - หลักสูตร การพัฒนา Good Governance องค์กร - หลักสูตร Compensation-Benefit Strategies & Performance Management - หลักสูตร ความสำเร็จของการปฏิรูประบบราชการ ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ) พ.ศ. 2549 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) พ.ศ. 2548 ผู้เชี่ยวชาญ 10

(4.) ว่าที่เรืออากาศโท อนิรุทธิ์ ถนอมกุลบุตร (อายุ 55 ปี) สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิทยาศาสตร์บัณฑิต (ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ ประวัติการอบรม - หลักสูตร Airport Management - หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัตน์ - หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง - หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการท่าอากาศยานดอนเมือง พ.ศ. 2550 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานท่าอากาศยานภูมิภาค) พ.ศ. 2549 ผู้อำนวยการท่าอากาศยานภูมิภาค

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

87


(5.) นายนิรันดร์ ธีรนาทสิน (อายุ 59 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - รัฐศาสตร์บัณฑิต (บริหารงานบุคคล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - หลักสูตร การพัฒนา Good Governance ในองค์กร - หลักสูตร ระบบข้อสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง - หลักสูตร นักบริหารในกระแสโลกาภิวัตน์ - หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport - หลักสูตร NIDA Wharton Executive Leadership Program สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2551 รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจ) พ.ศ. 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานอำนวยการ)

(6.) นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี (อายุ 57 ปี)

88

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม - หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 7 สถาบันพระปกเกล้า - วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ. 35) - หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program - หลักสูตร Strategic Airport Development ประเทศเยอรมนี - หลักสูตร Airport Management Commercial ประเทศสิงคโปร์ - หลักสูตร MINI MBA รุ่นที่ 1 ประสบการณ์การทำงาน 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) 28 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ผู้เชี่ยวชาญ 10 รักษาการ ผู้อำนวยการฝ่ายการพาณิชย์ และบริหารการลงทุน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(7.) นายนิตินัย ศิริสมรรถการ (อายุ 39 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - Doctor of Philosophy (Economics), Florida State University - Master of Public Administrations, University of Southern California - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - ไม่มี ประสบการณ์การทำงาน 2 มีนาคม พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานพัฒนาธุรกิจและการตลาด) พ.ศ. 2552 ผู้อำนวยการอาวุโส กลยุทธ์การลงทุน บริษัท หลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ จำกัด พ.ศ. 2552 ที่ปรึกษากระทรวงแผนงานและการลงทุน รัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน กรรมการที่ปรึกษานายกฯ เมืองพัทยา

(8.) นางสาวชนาลัย ฉายากุล (อายุ 51 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประวัติการอบรม - หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 33/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Board Reporting Program (BRP) รุ่นที่ 1/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Effective Minute Taking (EMT) รุ่นที่ 16/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2551 ผู้อำนวยการฝ่ายกฎหมาย 17 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ผู้อำนวยการฝ่ายพัสดุ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

89


(9.) นางพูลศิริ วิโรจนาภา (อายุ 52 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การบริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม - หลักสูตร การเงินสำหรับผู้บริหาร - หลักสูตร การบริหารความเสี่ยงในตลาดเงินและตลาดทุน - หลักสูตร Bond Market and Interest Rate Risk Management - หลักสูตร ผู้บริหารการเงินภาครัฐวิสาหกิจ (CFO) ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) พ.ศ. 2550 ผู้อำนวยการฝ่ายงบประมาณ พ.ศ. 2549 ผู้เชี่ยวชาญ 9

(10.) นายนพปฎล มงคลสินธุ์ (อายุ 52 ปี)

90

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก - บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประวัติการอบรม - หลักสูตร การพัฒนาความรู้การบริหารธุรกิจและกฎหมายธุรกิจ - หลักสูตร ปัญหาและแนวทางปฏิบัติบัญชีทรัพย์สินทั้งระบบ - หลักสูตร มาตรฐานการบัญชีสำหรับผู้บริหารและผู้ทำบัญชี - หลักสูตร โครงการอบรมผู้บริหารการเงินภาควุฒิบัตรรัฐวิสาหกิจ (CFO) รุ่นที่ 3 ประสบการณ์การทำงาน 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี พ.ศ. 2547 ผู้เชี่ยวชาญ 9 พ.ศ. 2545 ผู้จัดการฝ่ายการเงินและการบัญชี

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


(11.) นายสุนทร สิทธิธนาลาภ (อายุ 57 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยสยาม ประวัติการอบรม - ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า - โครงการพัฒนาผู้บริหาร (MINI MBA) รุ่นที่ 56 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร หลักการจัดการด้านการเงินสำหรับผู้บริหาร รุ่นที่ 5 คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน พ.ศ. 2550 รองผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน พ.ศ. 2548 ผู้ชำนาญการ 8 ฝ่ายการเงิน

(12.) นางสาววิไลวรรณ นัดวิไล (อายุ 56 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, University of New England, Australia - เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประวัติการอบรม - หลักสูตร กลยุทธ์และเทคนิคการตัดสินใจและแก้ปัญหาของนักบริหาร - หลักสูตร การปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ธุรกรรมอนุพันธ์และตลาดตราสารทุน - หลักสูตร IT for Management of A Modern Airport - หลักสูตร มาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางการบัญชี ประสบการณ์การทำงาน 1 เมษายน พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สายอำนวยการ) พ.ศ. 2552 ผู้เชี่ยวชาญ 9 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษาการ รองผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2551 ผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

(13.) นายประพนธ์ ปัทมกิจสกุล (อายุ 49 ปี)

สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี วุฒิการศึกษา - วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการอบรม - หลักสูตร การจัดการด้านการตลาดสมัยใหม่ - หลักสูตร พ.ร.บ. การบัญชี - หลักสูตร การบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบความเสี่ยงเพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์กร - หลักสูตร IT for Management for A Modern Airport ประสบการณ์การทำงาน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและการเงิน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2551 ผู้อำนวยการฝ่ายการพาณิชย์ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พ.ศ. 2550 รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารธุรกิจ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

91



รายการระหว่างกัน ลักษณะของรายการ

ทอท. ได้ เข้ า ร่ ว มลงทุ น ในบริ ษั ท ต่ า ง ๆ ซึ ่ง ประกอบด้ ว ย บริ ษั ท โรงแรมท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู ม ิ จำกั ด บริ ษั ท ดอนเมื อ ง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิง การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด และได้เข้าทำสัญญาต่าง ๆ กับบริษัทร่วมทุนทีไ่ ด้รับอนุญาตใน การประกอบกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากร บริการคลังสินค้า โรงแรม บริการเติมน้ำมัน เชื้อเพลิงอากาศยาน นอกจากนี ้ ทอท. ยังได้ให้ผู้ประกอบการทีไ่ ด้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการในบริเวณท่าอากาศยานเช่าพื้นทีใ่ นบริเวณ ท่าอากาศยานต่าง ๆ เพือ่ ประกอบกิจการทีไ่ ด้รับอนุญาต โดยมีสัญญาที่สำคัญ ๆ ดังนี้ 1. บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 2. บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 3. บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้องของ ทอท. สัดส่วนการถือหุ้น รายชื่อบริษัท ลักษณะกิจการ (ร้อยละ) 60.00 บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด กิจการโรงแรม บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด

10.00

บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด

ค้าปลีกสินค้าปลอดอากร บริการท่อส่งน้ำมันและเติมน้ำมันด้วยระบบ Hydrant

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด

ให้บริการครัวการบิน

10.00

บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด

ให้บริการเดินรถยนต์บริการ (ลีมูซีน)

10.00

บริษั ท ดอนเมื อ ง อิน เตอร์ เ นชั ่น แนล แอร์ พ อร์ ต โฮเต็ ล บริหารงานและดำเนินการเกี่ยวกับโรงแรม จำกัด ณ ท่าอากาศยาน บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) จัดส่งเชื้อเพลิงการบิน บริษัท เทรดสยาม จำกัด

ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์

10.00

9.00 4.94 1.50

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

93


94

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


สถิติการขนส่งทางอากาศ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

95


ผลการดำเนินงานด้านการให้บริการ

ทอท. ดำเนินกิจการทาอากาศยานในประเทศไทยทั้งหมด 6 แหง ได้แก ทาอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) ทาอากาศยานเชียงใหม (ทชม.) ทาอากาศยานหาดใหญ (ทหญ.) ทาอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) ทาอากาศยานแมฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.) และทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ (ทสภ.) ผลการดำเนินงานด้านการให้บริการในปีงบประมาณ 2553 ทาอากาศยานของ ทอท. ให้บริการสายการบินแบบประจำ รวม 107 สายการบิน เป็นสายการบินขนสงผูโ้ ดยสารและสินค้าจำนวน 94 สายการบิน และขนสงสินค้าอยางเดียวจำนวน 13 สายการบิน ปริม าณการจราจรทางอากาศโดยรวมของ ทอท. เพิ ่ม ขึ ้น หลั งได้ รั บ ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิ จ ตกต่ ำ ทั ่วโลก และจากการชุ ม นุ ม ปิดสนามบิน โดยในปี 2553 แม้จะได้รบั ผลกระทบจากชวงเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองในชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2553 แตปริมาณ การจราจรเริ่มฟื้นตัวและกลับเข้าสูแนวโน้มปกติภายหลังเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยตลอดปีงบประมาณ 2553 ปริมาณการขึ้น-ลงของ อากาศยาน ณ ทาอากาศยานของ ทอท. ทั้ง 6 แห ง รวม 385,769 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.32 ประกอบด้วย จำนวนเที่ยวบิน ระหวางประเทศ 215,650 เที่ยวบิน และภายในประเทศ 170,119 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.65 และ 13.52 ตามลำดับ ให้บริการผูโ้ ดยสาร รวมทั ้ง สิ ้น 57,425,084 คน เพิม่ ขึ ้น ร้ อ ยละ 14.66 เป็ น ผูโ้ ดยสารระหว า งประเทศจำนวน 35,830,343 คน เพิ ่ม ขึ ้น ร้ อ ยละ 17.07 และผูโ้ ดยสารภายในประเทศ 21,594,741 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.89 มีปริมาณการขนสงสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,342,923 ตัน เพิม่ ขึ้นร้อยละ 29.02 โดยเป็นการขนสงระหวางประเทศจำนวน 1,234,597 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.66 และในประเทศ จำนวน 108,326 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.11 : ปีงบประมาณ การขึ้น-ลงของอากาศยานพาณิชย์ จำนวนผูโ้ ดยสารรวม (เที่ยวบิน) (คน) 2552 2553 % 2552 2553 % ทสภ.+ทดม.

273,072

295,385

8.17

39,834,940

45,255,781

13.61

ทสภ.

241,962

261,782

8.19

37,051,203

42,496,950

14.70

ทดม.

31,110

33,603

8.01

2,783,737

2,758,831

-0.89

ทชม.

22,882

27,422

19.84

2,872,346

3,182,980

10.81

ทหญ.

9,043

11,116

22.92

1,283,172

1,464,984

14.17

ทภก.

35,995

46,132

28.16

5,441,585

6,797,098

24.91

ทชร.

5,546

5,714

3.03

648,783

724,241

11.63

346,538

385,769

11.32

50,080,826

57,425,084

14.66

รวม 6 แห่ง

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออก (ตัน) 2553

2552

ทสภ.+ทดม.

993,769

1,280,271

28.83

ทสภ.

978,119

1,273,504

30.20

ทดม.

15,650

6,767

-56.76

ทชม.

17,617

20,641

17.17

ทหญ.

11,150

13,464

20.75

ทภก.

16,068

25,921

61.32

ทชร.

2,287

2,626

14.82

1,040,891

1,342,923

29.02

รวม 6 แห่ง

96

%

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ท่าอากาศยานดอนเมือง

เมื ่อ วั น ที ่ 29 มี น าคม พ.ศ. 2552 การบิ นไทยได้ ย้ า ยเที ่ย วบิ น แบบประจำภาย ในประเทศทั้งหมดไปทำการบินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทำให้ในช่วงรอบปีบัญชี 2553 มีสายการบินให้บริการเที่ยวบินแบบประจำภายในประเทศ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง จำนวน 2 สายการบิน ได้แก่ Nok Air และ One-Two-Go มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลงรวม 33,603 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.01 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศแบบไม่ประจำ 1,707 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.84 สำหรับเที่ยวบินภายในประเทศมีจำนวน 31,896 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.58 รองรับผูโ้ ดยสารรวมทั้งสิ้น 2,758,831 คน ลดลงร้อยละ 0.89 เป็น ผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศจำนวน 16,694 คน ลดลงร้อยละ 27.70 และผูโ้ ดยสารภายใน ประเทศจำนวน 2,742,137 คน ลดลงร้อยละ 0.67 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ เข้า-ออกจำนวน 6,767 ตัน ลดลงร้อยละ 56.76 เป็นการขนถ่ายระหว่างประเทศจำนวน 36 ตัน และการขนถ่ายสินค้าภายในประเทศมีจำนวน 6,731 ตัน

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ในช่วงรอบปีบัญชี 2553 ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ให้บริการสายการบินแบบประจำ รวม 11 สายการบิน มีเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 27,422 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.84 จาก เที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 2,744 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.51 เที่ยวบินภายใน ประเทศจำนวน 24,678 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.98 รองรับจำนวนผูโ้ ดยสารรวม 3,182,980 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.81 เป็นผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ 250,033 คน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.69 ผูโ้ ดยสารภายในประเทศ 2,932,947 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.27 มีปริมาณ สินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 20,641 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.17 เป็นการ ขนถ่ายระหว่างประเทศจำนวน 104 ตัน ลดลงร้อยละ 70.70 ส่วนการขนถ่ายสินค้าภายใน ประเทศ 20,537 ตั น เพิ ่ม ขึ ้น ร้ อ ยละ 18.97 การขนส่ ง สิ น ค้ า ภายในประเทศ ส่วนใหญ่เป็นสินค้าขาเข้าประเภทเอกสารและสิ่งตีพิมพ์จากกรุงเทพฯ และสินค้าขาออกเป็น ประเภทพืชผลทางการเกษตร

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ในช่วงรอบปีบัญชี 2552 ท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 11,116 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 22.92 ให้บริการสายการบินแบบประจำรวม 6 สายการบิน ประกอบด้วยเที่ยวบินระหว่างประเทศ 749 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 489.76 จากการ เริ่มให้บริการเที่ยวบินแบบประจำของสายการบิน Tiger Airways และ Air Asia และ เที่ยวบินภายในประเทศ 10,367 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.27 ให้บริการผูโ้ ดยสารรวม 1,464,984 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.17 เป็นผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศจำนวน 89,596 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 582.12 ส่วนผูโ้ ดยสารภายในประเทศจำนวน 1,375,388 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.30 มี ป ริ ม าณสิ น ค้ า และพั ส ดุไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ เข้ า -ออกจำนวน 13,464 ตั น เพิ ่ม ขึ ้น ร้อยละ 20.75 ซึ่งเป็นการขนถ่ายภายในประเทศทั้งหมด

ท่าอากาศยานภูเก็ต

ในช่ ว งรอบปี บั ญ ชี 2553 ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ให้ บ ริ ก ารสายการบิ น แบบประจำ รวม 29 สายการบิน มีจำนวนเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 46,132 เที่ยวบิน เมื่อเปรียบเทียบ กับปีที่แล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.16 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศจำนวน 21,818 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.14 จากทั้งเที่ยวบินแบบประจำและเที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ ส่วนเที่ยวบิน ภายในประเทศมีจำนวน 24,314 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.79 ให้บริการผูโ้ ดยสารรวม ทั้งสิ้น 6,797,098 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.91 ประกอบด้วยผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 3,092,148 คน เพิ ่ม ขึ ้น ร้ อ ยละ 38.81 ผูโ้ ดยสารภายในประเทศมี จ ำนวน 3,704,950 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.28 จากจำนวนผูโ้ ดยสารนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและ ชาวต่างชาติ ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกรวมทั้งสิ้น 25,921 ตัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 61.32 ประกอบด้วยการขนถ่ายสินค้าระหว่างประเทศจำนวน 9,466 ตัน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 111.86 และการขนถ่ายสินค้าในประเทศจำนวน 16,455 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.85

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

97


ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

ในช่วงรอบบัญชีปี 2553 ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ให้บริการ สายการบินแบบประจำรวม 4 สายการบิน มีเที่ยวบินขึ้น-ลงรวม 5,714 เที่ยวบิน เพิม่ ขึ ้น จากรอบปี บั ญ ชี 2552 ร้ อ ยละ 3.03 มี เ ที ่ย วบิ น ระหว่ า งประเทศ ซึ ่ง เป็น เที ่ย วบิ น แบบไม่ ป ระจำทั ้ง หมดรวม 46 เที ่ย วบิ น และเที ่ย วบิ น ในประเทศ 5,668 เที ่ย วบิ น เพิม่ ขึ ้น ร้ อ ยละ 2.85 ให้ บ ริ ก ารผูโ้ ดยสาร รวม 724,241 คน เพิ ่ม ขึ ้น ร้ อ ยละ 11.63 ประกอบด้ ว ยผูโ้ ดยสารระหว่ า ง ประเทศ 674 คน และผูโ้ ดยสารภายในประเทศ 723,567 คน ส่วนใหญ่เป็น ผูโ้ ดยสารที่เดินทางโดยสายการบิน Thai Airways International และ Thai Air Asia ในเส้นทางระหว่างกรุงเทพฯ-เชียงราย มีปริมาณการขนถ่าย สิ น ค้า และพัส ดุไ ปรษณี ย ภั ณ ฑ์ เข้ า -ออกทั ้ง หมด เป็ น การขนถ่ า ยสิ น ค้ า ภายในประเทศรวม 2,626 ตัน เพิม่ ขึ้นจากปีที่แล้ว ร้อยละ 14.82

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ในช่วงปีงบประมาณ 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยาน ดอนเมื อ ง ให้ บ ริ ก ารเที ่ย วบิ น ขึ ้น -ลงรวม 295,385 เที ่ย วบิ น เพิ ่ม ขึ ้น จาก ปีงบประมาณ 2552 ร้อยละ 8.17 รวมมีผโู้ ดยสารทั้งสิ้น 45,255,781 คน เพิม่ ขึ้นร้อยละ 13.61 มีปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์เข้า-ออกจำนวน 1,280,271 ตัน เพิม่ ขึ้นร้อยละ 28.83 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมใิ ห้บริการสายการบินแบบประจำรวม 98 สายการบิน (สายการบินต่างชาติ 92 สายการบิน และสายการบินของไทย 6 สายการบิน ไม่รวมสายการบินที่ทำ Code-share 7 สายการบิน) เป็นสายการบินขนส่ง ผูโ้ ดยสารผสมสินค้า 85 สายการบิน และเที่ยวบินขนส่งสินค้าอย่างเดียว 13 สายการบิน มีเที่ยวบินพาณิชย์ขึ้น-ลงรวม 261,782 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.19 เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 188,586 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.22 สำหรับ เที ่ย วบิ น ภายในประเทศมี จ ำนวน 73,196 เที ่ย วบิ น เพิ ่ม ขึ ้น ร้ อ ยละ 10.79 รองรับผูโ้ ดยสารรวมทั้งสิ้น 42.50 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.70 เป็น ผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศจำนวน 32.38 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.21 และ ผูโ้ ดยสารภายในประเทศจำนวน 10.12 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.09 นอกจาก นัน้ มี ป ริม าณสิ น ค้ า และพั ส ดุไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ เข้ า -ออกจำนวน 1.27 ล้ า นตั น เพิม่ ขึ้นร้อยละ 30.20 เป็นการขนส่งระหว่างประเทศจำนวน 1.22 ล้านตัน เพิม่ ขึ้นร้อยละ 29.31 โดยสินค้าขาออกส่วนใหญ่เป็นสินค้าจำพวกเครื่องมือ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผลผลิตทางการเกษตร สิ่งทอและเสื้อผ้าสำเร็จรูป ส่วนสินค้านำเข้า ได้แก่ อะไหล่ชิ้นส่วนของเครื่องมือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และวัตถุดิบจำพวกเส้นใยและสิ่งทอ ส่วนการขนถ่ายสินค้าภายในประเทศ มี จ ำนวน 48,513 ตั น เพิม่ ขึ ้น ร้ อ ยละ 57.45 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สิ น ค้ า ประเภท สิ่งพิมพ์ที่ส่งไปยังต่างจังหวัด พืชผลทางการเกษตรจากภาคเหนือและอาหาร ทะเลจากภาคใต้มายังกรุงเทพ ฯ

98

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

99


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง

เที่ยวบิน 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

131,874 55,259 187,133 135,309 58,005 193,314 135,808 59,722 195,530 159,160 73,600 232,760 175,540 89,582 265,122 182,157 98,547 280,704 192,929 114,315 307,244 199,505 111,930 311,435 177,356 95,716 273,072 190,293 105,092 295,385

จำนวนเที่ยวบิน

2544

2545

2546

2547

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

คน 50,000,000 45,000,000 40,000,000 35,000,000 30,000,000 25,000,000 20,000,000 15,000,000 10,000,000 5,000,000 0

21,607,561 7,492,264 30,985,938 22,284,375 7,244,648 31,205,692 20,999,349 7,157,451 29,674,852 25,086,445 9,513,767 36,364,006 26,622,474 10,500,564 38,889,229 29,276,672 11,259,800 42,360,678 30,999,402 12,422,370 45,123,945 32,472,599 12,874,283 46,932,118 26,707,121 11,695,843 39,834,940 30,907,223 12,850,551 45,255,781

จำนวนผู้โดยสาร

1,886,113 1,676,669 1,518,052 1,763,794 1,766,191 1,824,206 1,702,173 1,585,236 1,431,976 1,498,007 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ปีงบประมาณ ระหว่างประเทศ ผู้โดยสารรวม ภายในประเทศ ผู้โดยสารผ่าน

ตัน 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

100

801,076 48,739 849,815 881,858 48,912 930,770 894,315 47,361 941,676 978,336 51,232 1,029,568 1,061,744 57,689 1,119,433 1,137,605 60,515 1,198,120 1,152,044 55,926 1,207,970 1,238,453 53,478 1,291,931 947,348 46,421 993,769 1,225,0270 55,244 1,280,271

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

2544

2545

2546

2547

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

2548

2549

2550

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ 1,768 13,589 15,357 2,489 13,694 16,183 3,995 11,779 15,774 5,487 14,727 20,214 4,884 17,478 22,362 5,690 18,779 24,469 5,058 21,650 26,708 3,621 21,779 25,400 2,651 20,231 22,882 2,744 24,678 27,422

จำนวนเที่ยวบิน เที่ยวบิน 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 2544

2545

2546

2547

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

102,751 2,123,198 2,248,786 107,539 1,938,948 2,078,923 149,025 1,808,850 2,001,541 186,980 2,408,752 2,663,990 195,613 2,757,255 3,011,917 295,672 2,748,077 3,078,156 323,438 3,019,687 3,370,690 329,149 2,928,784 3,276,309 231,605 2,635,506 2,872,346 249,221 2,932,671 3,182,980

จำนวนผู้โดยสาร

คน 4,000,000 3,500,000 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

2544

22,837 32,436 43,666 68,258 59,049 34,407 27,565 18,376 5,235 1,088 ปีงบประมาณ 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

ผู้โดยสารรวม ผู้โดยสารผ่าน

378 23,751 24,129 376 23,960 24,336 681 24.236 24,917 707 24,051 24,758 669 23,707 24,376 295 25,714 26,009 307 23,122 23,429 377 22,061 22,438 355 17,262 17,617 104 20,537 20,641

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

ตัน 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2544

2545

2546 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

101


สถิติการขนส่งทางอากาศ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 6,067 4,748 10,815 4,513 4,413 8,926 1,614 3,976 5,590 1,252 6,532 7,784 1,782 9,350 11,132 1,260 9,272 10,532 995 10,753 11,748 215 10,055 10,270 127 8,916 9,043 749 10,367 11,116

จำนวนเที่ยวบิน

เที่ยวบิน 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

2544

2545

2546

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

จำนวนผู้โดยสาร

147,853 668,635 824,186 128,387 627,605 761,499 97,162 615,739 718,621 93,723 907,820 1,009,640 147,046 1,137,544 1,287,477 134,180 1,157,247 1,293,268 94,454 1,240,569 1,335,679 22,162 1,356,068 1,380,086 12,936 1,269,109 1,283,172 89,592 1,375,377 1 ,464,984

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2547

คน 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

2544

7,698 5,507 5,720 8,097 2,887 1,841 656 1,856 1,127 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

ผู้โดยสารรวม ผู้โดยสารผ่าน

ปีงบประมาณ

263 14,172 14,435 221 11,752 11,973 181 9,170 9,351 145 9,240 9,385 26 10,931 10,957 3 10,335 10,338 0 10,141 10,141 0 10,407 10,407 8 11,142 11,150 0 13,464 13,464

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

ตัน 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

02

2544

2545

2546 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

2547

2548

2549

2550

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ


สถิติการขนส่งทางอากาศ

ท่าอากาศยานภูเก็ต เที่ยวบิน 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

12,528 12,842 25,370 12,028 10,883 22,911 11,845 12,456 24,301 14,822 14,995 29,817 11,468 15,335 26,803 12,687 16,304 28,991 16,239 22,129 38,368 17,317 22,901 40,218 16,511 19,484 35,995 21,818 24,314 46,132

จำนวนเที่ยวบิน

2544

2545

2546

2547

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

1,371,115 2,245,100 3,679,310 1,311,594 2,208,420 3,558,908 1,359,380 2,050,922 3,461,710 1,832,505 2,612,392 4,522,098 1,065,607 2,357,658 3,472,652 1,519,959 2,922,133 4,467,982 2,038,965 3,422,439 5,478,137 2,400,343 3,529,165 5,943,468 2,213,794 3,212,804 5,441,585 3,065,037 3,704,384 6,797,098

จำนวนผู้โดยสาร

คน 8,000,000 7,000,000 6,000,000 5,000,000 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 0

63,095 38,894 51,408 77,201 49,387 25,890 16,733 13,460 14,987 27,677 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ปีงบประมาณ ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

ผู้โดยสารรวม ผู้โดยสารผ่าน

5,077 8,669 13,746 5,251 10,341 15,592 4,900 11,042 15,942 7,066 12,841 19,907 4,687 12,135 16,822 2,690 13,584 16,274 4,160 13,338 17,498 4,932 13,610 18,542 4,468 11,600 16,068 9,466 16,455 25,921

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์

ตัน 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2544

2545

2546 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

03


สถิติการขนส่งทางอากาศ

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

2 4,798 4,800 8 4,844 4,852 15 3,695 3,710 24 4,845 4,869 14 4,913 4,927 13 5,646 5,659 22 6,210 6,232 15 6,719 6,734 35 5,511 5,546 46 5,668 5,714

จำนวนเที่ยวบิน

เที่ยวบิน 8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

2544

2545

2546

2547

ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

2548

2549

2550

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ

เที่ยวบินรวม

6 556,671 556,677 209 476,315 476,524 2,118 414,966 417,345 1,748 552,330 554,364 431 676,532 677,407 22 696,395 696,492 31 711,468 711,662 224 771,947 772,286 485 648,168 648,783 673 723,288 724,241

จำนวนผู้โดยสาร Number of Passengers

คน 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0

- 2544

- 261 286 - - 163 115 130 280 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ปีงบประมาณ ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

ผู้โดยสารผ่าน ผู้โดยสารผ่าน

- 4,097 4,097 - 5,075 5,075 - 4,238 4,238 - 4,879 4,879 - 5,070 5,070 - 4,698 4,698 - 2,909 2,909 - 2,527 2,527 - 2,287 2,287 - 2,626 2,626

ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ ตัน 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0

2544

2545

2546 ระหว่างประเทศ ภายในประเทศ

04

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

2547

2548

2549

2550

การขนถ่ายรวม (ไม่รวมผ่าน)

2551

2552

2553

ปีงบประมาณ


สถิติการขนส่งทางอากาศ ปริมาณการจราจร ทางอากาศของ ทอท.

ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.ิ ..................................261,782 ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย........................ 5,714 ท่าอากาศยานภูเก็ต............................................46,132 ท่าอากาศยานหาดใหญ่........................................11,116 ท่าอากาศยานเชียงใหม่.........................................27,422 ท่าอากาศยานดอนเมือง......................................33,603

385,769 จำนวนผู้โดยสารรวมของ ทอท.

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ.....................42,496,950 (74%) ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย........ 724,241 (1.26%) ท่าอากาศยานภูเก็ต.........................6,797,098 (11.84%) ท่าอากาศยานหาดใหญ่......................1,464,984 (2.55%) ท่าอากาศยานเชียงใหม่.......................3,182,980 (5.54%) ท่าอากาศยานดอนเมือง......................2,758,831(4.81%)

57,425,084 ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณียภัณฑ์ (ไม่รวมผ่าน) ของ ทอท.

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ................................1,273,504 ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย......................... 2,626 ท่าอากาศยานภูเก็ต.............................................25,921 ท่าอากาศยานหาดใหญ่........................................13,464 ท่าอากาศยานเชียงใหม่........................................20,641 ท่าอากาศยานดอนเมือง.........................................6,767

,342,923 รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

05


06

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

07


108

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกด้าน

ข้อมูลการดำเนินงานโครงการบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างท่าอากาศยาน (Sister Airport Agreement) บัน ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ (Sister Agreement) เป็น การตกลงให้ ค วามร่ ว มมื อ ซึ ่ง กั น และกั น ระหว่ า งผู ้ป ระกอบ ธุ ร กิ จ ประเภทเดี ย วกั น หรื อ อยูใ่ นอุต สาหกรรมเดี ย วกั น โดย

ไม่จำเป็นต้องอยูใ่ นลักษณะภูมิศาสตร์คล้ายคลึงกันหรือใช้ภาษา เดียวกัน ทั้งนี้ การจัดทำข้อตกลงในลักษณะนี้เป็นที่นิยมแพร่หลาย ในหลายวงการ สำหรั บ การจั ด ทำข้ อ ตกลงระหว่ า งท่ า อากาศยานต่ า ง ๆ

ในปัจจุบันพบว่ามีการจัดทำ Sister Airport Agreement ระหว่างท่าอากาศยานหลายแห่งทั่วโลก เช่น Denver International Airport และ Munich International Airport, Central Japan International Airport Co., Ltd. (Nagoya International Airport) และ Flughafen Munchen GmbH (Munich International Airport), Macau International Airport และ Frankfurt-Hahn Airport เป็นต้น เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ทัง้ นี ้ ทอท. ได้จดั ทำข้อตกลงความร่วมมือระหว่างท่าอากาศยาน

กั บ ท่ า อากาศยานที ่มี คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารเป็ น เลิ ศ โดยเมื ่อ

วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552 กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ทอท. และ ผูบ้ ริหารระดับสูง (Chief Executive Officer: CEO) ของท่าอากาศยานมิวนิก ซึ่งได้รบั การประกาศว่าเป็นท่าอากาศยาน

ที่ดีที่สุดของภูมิภาคยุโรป จากการสำรวจของสถาบัน Skytrax ได้ ร ่ว มกั น ลงนามในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิกับท่าอากาศยานมิวนิก นอกจากนี ้ ผู ้อ ำนวยการท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ และ

ผูบ้ ริห ารระดั บ สู ง ของท่ า อากาศยานอิน ชอนซึ ่งได้ รั บ รางวั ล

ท่ า อากาศยานที ่ดี ที ่สุ ด ของโลกเป็ น ระยะเวลา 5 ปี ซ้ อ นจาก

โครงการ Airport Service Quality (ASQ) ได้ร่วมกันลงนาม ในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า งท่ า อากาศยานที ่อ ยูใ่ น

ความรับผิดชอบของ ทอท. กับท่าอากาศยานอินชอน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และเมื่อวันที ่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ และ ผู้บริหารระดับสูงของท่าอากาศยาน

นาริตะ ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้เป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุด 1 ใน 10 ของโลกจากโครงการจัดอันดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยาน

(Airport Service Quality: ASQ) ได้ ร่ ว มกั น ลงนาม

ในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า งท่ า อากาศยานที ่ อยูใ่ นความรับผิดชอบของ ทอท. กับท่าอากาศยานนาริตะ ในการนี ้ การจั ด ทำบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงระหว่ า งท่ า อากาศยาน

เป็ น วิ ธี ก ารหนึ ่ง ที ่จ ะช่ ว ยยกระดั บ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารของ

ท่าอากาศยานที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของ ทอท. โดยเรียนรู้ด้าน การปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices) จากท่าอากาศยานชั้นนำ ทั้ ง 3 แห่ ง ที ่ป ฏิ บั ติ แ ล้ ว นำไปสู ่ค วามสำเร็ จ ได้ เรี ย นรู ้แ ละเข้ าใจ กระบวนการและขั ้น ตอนการทำงานจากประสบการณ์ จ ริ ง

การแก้ไขปั ญ หาและอุป สรรคจากผู ้มี ป ระสบการณ์ ก ารบริ ห าร

ท่าอากาศยาน อีกทั้งยังได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีใหม่ ๆ รวมทั ้ง ก่ อให้ เ กิ ด แนวความคิ ดใหม่ ๆ ในการริ เริ ่ม หรื อ ปรั บ ปรุ ง การให้บริการต่อไป นอกจากนี ้ ข้ อ ตกลงดั ง กล่ า วยั งได้ ส นั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความ

ร่วมมือทางธุรกิจระหว่างท่าอากาศยานภายใต้การบริหารงานของ 2 องค์ ก รที ่จั ด ทำข้ อ ตกลงร่ ว มกั น เช่ น การเชื ่อ มสั ม พั น ธ์ไปยั ง สายการบิ น หรื อ นั ก ลงทุ น อาทิ การเพิ ่ม เส้ น ทางบิ น การเพิ ่ม เที่ยวบิน หรือการลงทุนทางธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เป็นต้น

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

109


การดำเนินโครงการจัดอันดับคุณภาพการให้บริการท่าอากาศยาน (Airport Service Quality หรือ ASQ)

โครงการจั ด อัน ดั บ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารท่ า อากาศยาน (Airport Service Quality Program: ASQ) เป็นโครงการ ของ สมาคมท่าอากาศยานระหว่างประเทศ (Airports Council International: ACI) ซึ ่ง มี ที ่ตั ้ง อยูท่ ี ่ก รุ ง เจนี ว า ประเทศ

สวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีท่าอากาศยานชั้นนำทั่วโลกสมัครเข้าร่วม โครงการจำนวน 146 ท่ า อากาศยาน รวมทั ้ง ท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ ซึ่งได้สมัครเข้าร่วมโครงการตั้งแต่ปี 2550 ในการดำเนินโครงการ ท่าอากาศยานจะสำรวจคะแนนความ พึง พอใจของผูโ้ ดยสารที ่ม าใช้ ท่ า อากาศยานตามแบบสอบถาม มาตรฐานเหมื อ นกั น ทั ่วโลก โดยสำรวจเกี ่ย วกั บ การบริ ก าร ณ

ท่าอากาศยานรวม 34 หัวข้อ เช่น ระบบขนส่ง การตรวจบัตร โดยสาร การตรวจคนเข้าเมือง ร้านค้า ร้านอาหาร ความสะอาด และบรรยากาศภายในอาคารผูโ้ ดยสาร เป็ น ต้ น จากนั ้น ท่าอากาศยานจะรวบรวมแบบสอบถามส่งไปยัง ACI World เพื่อให้ ประมวลผลและจัดทำรายงานผลค่าคะแนนและค่าอันดับเปรียบเทียบ

กันทุกหัวข้อกับท่าอากาศยานทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการ ทุกปี ACI World จะประกาศอันดับของท่าอากาศยานดีเด่น ของโลก 5 อันดับแรก และประเภทกลุ่มตามจำนวนผูโ้ ดยสารและ ภูมิ ภ าคอีก ด้ ว ย โดยในปี 2552 นี้ ท่ า อากาศยานชั ้น นำทีไ่ ด้ รั บ การประกาศเป็นท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการให้บริการดีเด่นของ โลก 5 อันดับแรก ตามลำดับ มีดังต่อไปนี้ 1. ท่าอากาศยานอินชอน สาธารณรัฐเกาหลีใต้ 2. ท่าอากาศยานชางฮี สาธารณรัฐสิงคโปร์ 3. ท่าอากาศยานฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน 4. ท่าอากาศยานปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน 5. ท่าอากาศยานไฮเดอราบัด ประเทศอินเดีย

110

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

จากการเข้ า ร่ ว มโครงการนี ้ท ำให้ ทอท. ทราบถึ ง ระดั บ ความพึ ง พอใจของผูโ้ ดยสารที ่ม าใช้ บ ริ ก าร ณ ท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมใิ นแต่ละหัวข้อบริการอย่างชัดเจน และใช้เป็นแนวทาง การปรั บ ปรุ ง การบริ ก ารอย่ า งถู ก ต้ อ ง พร้ อ มทั ้งได้ เ รี ย นรู ้ถึ ง วิ ธี ก ารและแนวทางการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ก ารจาก

ท่าอากาศยานชั้นนำต่าง ๆ ทอท. มี ค วามมุ ่ง มั ่น ที ่จ ะทำให้ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ

เป็ น ท่ า อากาศยานชั ้น นำของโลกในด้ า นการบริ ก ารที ่เ ป็ น เลิ ศ

โดยมี นโยบายและเป้ า หมายชั ด เจนที ่จ ะพั ฒ นาคุ ณ ภาพการให้ บริ ก ารของท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มใิ ห้ไ ด้ รั บ การจั ด อั น ดั บ เป็ น

1 ใน 10 ท่ า อากาศยานที ่มี คุ ณ ภาพการบริ ก ารดี ที ่สุ ดในโลก นอกจากนี ้ ทอท. ได้ ตั ้ง เป้ า หมายให้ ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่

ได้ รั บ การจั ด อัน ดั บ เป็ น 1 ใน 5 ท่ า อากาศยานที ่มี คุ ณ ภาพ

การบริการดีเด่น ประเภทท่าอากาศยานที่มปี ริมาณผูโ้ ดยสารไม่เกิน

5 ล้านคนต่อปี จากการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมไิ ด้ระดับคะแนนความพึงพอใจ จากผูโ้ ดยสารเพิ่มขึน้ ทุกปี โดยโครงการจัดอันดับคุณภาพการให้ บริ ก ารท่ า อากาศยาน ได้ ป ระกาศผลอัน ดั บ ท่ า อากาศยาน สุ ว รรณภู มิ ดี ขึ ้น เป็ น ลำดั บ กล่ า วคื อ ผลประจำปี 2550 อยูใ่ น อั น ดั บ ที่ 41 ผลประจำปี 2551 อยูใ่ นอั น ดั บ ที ่ 28 และ

ผลประจำปี 2552 อยูใ่ นอันดับที ่ 24 จึงเป็นแรงผลักดันให้ ทอท. มุ ่ง มั ่น พั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ก ารของท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู ม ิ และท่าอากาศยานอืน่ ๆ ที่อยู่ภายใต้การดูแลของ ทอท. สู่การเป็น ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีเด่นในระดับโลกต่อไป


มาตรการการรักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ดำเนิ น การด้ า นการรั ก ษาความ ปลอดภั ย โดยพิจ ารณาดำเนิ น การให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานและ วิ ธี ป ฏ ิบั ติ ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ก า ร บิ น พ ล เรื อ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) และพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 เพื่อป้องกันภัย ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในเขตพืน้ ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมี หน่วยงานที่รับผิดชอบในการตรวจสอบและปฏิบัติตามมาตรการ การรักษาความปลอดภัย ดังนี้ 1. การรั ก ษาความปลอดภั ย ผูโ้ ดยสารและสั ม ภาระก่ อ นขึ ้น อากาศยาน จัดให้มีการตรวจค้นผูโ้ ดยสารและสัมภาระติดตัวก่อนขึ้น อากาศยาน ด้ ว ยเครื ่อ งตรวจจั บโลหะชนิ ด เดิ น ผ่ า น (Walk Through Metal Detector: WTMD) และ เครื่อง X-Ray สำหรับการตรวจสัมภาระบรรทุกจะใช้ระบบ Inline Screening System ด้วยเครื่อง CTX 9400 DSi ซึ่งเป็นเทคโนโลยีขั้นสูง ในการตรวจหาร่องรอยวัตถุระเบิด ประกอบกับอุปกรณ์ Explosive Trace Detector (ETD) เพือ่ ป้องกันมิให้มีการส่งหรือ พาวั ต ถุ อ ัน ตราย วั ต ถุ ต้ อ งห้ า ม ซึ ่ง อาจใช้ใ นการกระทำอัน เป็ น การแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมายไปกับอากาศยานได้ และปัจจุบนั ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ไ ด้ ติ ด ตั ้ง เครื ่อ งอ่ า นบั ต รรั ก ษา ความปลอดภัยบุคคล เพือ่ ให้มั่นใจว่าบุคคลที่จะผ่านเข้าไปยังพื้นที ่ หวงห้าม ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมไิ ด้ใช้ระบบการตรวจค้นผูโ้ ดยสาร และสัม ภาระติดตัวก่อน ขึ้น อากาศยา น แบบจุดศูนย์รวม (Centralize Screening) ซึ ่ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่อ เพิ ่ม ประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย ซึ่งก่อให้เกิดความมั่นใจ ในระบบการรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และเพิม่ ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารแก่ ผูโ้ ดยสาร เนื ่อ งจาก ผูโ้ ดยสารจะผ่านกระบวนการต่าง ๆ ในการเดินทางในครั้งเดียว 2. การควบคุมสินค้า ไปรษณียภัณฑ์ และโภชนาการ

ผู ้ป ระกอบการที ไ่ ด้ รั บ อนุ ญ าตจากท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิจะเป็นผู้ควบคุมกำกับดูแลการขนส่งให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย บุคคลหรือยานพาหนะที่ผ่านเข้าเขตลานจอดอากาศยาน จะต้องผ่านการตรวจค้นตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยของ ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ โดยผู ้ป ระกอบการต้ อ งจั ด ทำแผน การรั ก ษาความปลอดภั ยให้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนการรั ก ษา ความปลอดภั ย ของท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ และจั ด ส่ ง แผน ดั ง กล่ า วให้ กั บ ส่ ว นควบคุ ม คุ ณ ภาพการรั ก ษาความปลอดภั ย ท่าอากาศยาน เพื่อใช้ในการตรวจสอบอีกชั้นหนึ่ง 3. การควบคุมคุณภาพการรักษาความปลอดภัย การควบคุ ม คุ ณ ภาพการรั ก ษาความปลอดภั ย ของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีการกำหนดแผนการตรวจสอบทั้งระบบ (Audit) การตรวจสอบเฉพาะเรื่อง (Inspector) การทดสอบ (Test) และการสำรวจ (Survey) จากหน่วยงานภายใน ทอท. ได้แก่ สำนัก มาตรฐานและควบคุ ม คุ ณ ภาพการรั ก ษาความปลอดภั ย กิ จ การ การบิ น ทอท. และส่ ว นควบคุ ม คุ ณ ภาพรั ก ษาความปลอดภั ย ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ หน่ ว ยงานภายนอก ได้ แ ก่ กรมการ บิ น พลเรื อ น องค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ และ Transportation Security Administration (TSA) 4. การเตรี ย มความพร้ อ มในการรั ก ษาความปลอดภั ย ท่าอากาศยาน ปั จ จุ บั น ภั ย คุ ก คามกิ จ การการบิ น พาณิ ช ย์ แ ละภั ย จาก การก่อการร้ายได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนัน้ ท่าอากาศยานจึงได้ เตรี ย มความพร้ อ มโดยแบ่ ง ระดั บ การรั ก ษาความปลอดภั ย เป็ น 4 ระดับ ระดับ 1 - ระดับต่ำ/ปรากฏข่าวว่าจะมีการก่อการร้าย ระดับ 2 - ระดับความเสี่ยง/เสี่ยงต่อการโจมตี ระดับ 3 - ระดับสูง/เสี่ยงต่อการโจมตีระดับสูง ระดับ 4 - การเสี่ยงต่อการก่อการร้ายอย่างรุนแรง/ได้รับ ข่าวกรองว่าจะมีการโจมตีอย่างแน่นอน รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

111


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง อาคารผู้โดยสารอากาศยานส่วนบุคคล

ทอท. ได้ ล งนามในสั ญ ญากั บ บริ ษั ท เอ็ม เจ็ ท จำกั ด ให้ ประกอบกิจการให้บริการสำหรับอากาศยานส่วนตัว ผูโ้ ดยสาร และกิ จ กรรมต่ อ เนื ่อ ง ณ ท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง เป็ น เวลา 5 ปี ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ถึง 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 โดยเป็นการปรับปรุงตกแต่งพืน้ ที่อาคารห้องรับรอง พิเศษทางด้านเหนือของท่าอากาศยานดอนเมืองเพื่อใช้เป็นอาคาร ผูโ้ ดยสารอากาศยานส่วนบุคคล (Private Jet Terminal) และการก่ อ สร้ า งโรงเก็ บ อากาศยานด้ า นทิ ศ เหนื อ ของอาคาร ห้องรับรองพิเศษในพืน้ ที่เขตการบิน อาคารผูโ้ ดยสารอากาศยาน ส่ ว นบุค คลนี ้ ได้ เ ปิ ดให้ บ ริ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการแล้ ว เมื ่อ วั น ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็ น อาคารทีใ่ ห้ บ ริ ก ารแก่ อากาศยานแบบไม่ ป ระจำ หรื อ ประเภทการบิ น ทั ่วไป ทั้งที่เป็น การบินเพื่อธุรกิจการบินส่วนบุคคล และการบินแบบเช่าเหมา อาคารผูโ้ ดยสารอากาศยานส่ ว นบุ ค คล เพี ย บพร้ อ มด้ ว ย สิ่งอำนวยความสะดวกครบครันและบริการแบบครบวงจร ภายใต้ การบริห ารงานของที ม งานของบริ ษั ท ที ่มี ป ระสบการณ์ และ อุป กรณ์ ภ าคพื ้น ตามมาตรฐานสากล นั บ เป็ น อาคารที ่ส ามารถ ให้ บ ริก ารแก่ นั ก ธุ ร กิ จ ผู ้บ ริ ห ารระดั บ สู ง หรื อ ผูโ้ ดยสารที ่นิ ย ม การเดิ น ทางระหว่ า งประเทศด้ ว ยอากาศยานส่ ว นตั ว การให้ บริการประกอบด้วย 1. บริก ารสิ ่ง อำนวยความสะดวกครบวงจรแก่ ผูโ้ ดยสาร นักบิน ลูกเรือ และสัมภาระ 2. บริการในลานจอดอากาศยาน

112

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

3. บริการช่างอากาศยาน 4. การซ่อมบำรุงอากาศยาน 5. บริการจอด/เก็บอากาศยาน

มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง

สำหรับการรักษาความปลอดภัยของท่าอากาศยานดอนเมืองนั้น ได้ดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ รั ก ษาความปลอดภั ย แห่ ง ชาติ พ.ศ. 2552 พระราชบั ญ ญั ติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 พระราชบัญญัตกิ ารเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 รวมทั ้ง ข้ อ บั ง คั บ ของคณะกรรมการการบิ น พลเรื อ น และตามภาคผนวกที ่ 17 ขององค์ ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว่ า ง ประเทศ ว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น การบิ น พลเรื อ นระหว่ า งประเทศ ให้พ้นจากการกระทำอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การกำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยาน ดอนเมืองมีดังนี ้ 1. การกำหนดพื ้น ที ่เ พื ่อ รั ก ษาความปลอดภั ย ได้ แ ก่ พื้ น ที่ ควบคุมและพื้นที่หวงห้าม 2. มาตรการการผ่านเข้า-ออก หรืออยูใ่ นพื้นที่หวงห้ามของ บุคคลและยานพาหนะ บุคคล/ยานพาหนะทีจ่ ะเข้า-ออก หรืออยู ่ ในพื ้น ที ่ห วงห้ า มต้ อ งมี บั ต รรั ก ษาความปลอดภั ย ซึ ่ง ออกโดย ท่าอากาศยานดอนเมือง และต้องถูกตรวจสอบหรือตรวจค้นโดย เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานดอนเมืองก่อนผ่าน เข้า-ออกพื้นที่หวงห้าม


3. มาตรการป้ อ งกั น การก่ อ วิ น าศกรรมท่ า อากาศยาน มีการเฝ้าตรวจทางโทรทัศน์วงจรปิดตลอด 24 ชั่วโมง การตระเวน ตรวจตราพื้นที่ภายในอาคารผูโ้ ดยสาร พืน้ ที่เขตการบินและนอก เขตการบิ น โดยเจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความปลอดภั ย และรถยนต์ สายตรวจของท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง การตรวจสอบวั ต ถุ ต้องสงสัยโดยเจ้าหน้าที่ทำลายวัตถุระเบิดท่าอากาศยานดอนเมือง 4. มาตรการป้ อ งกั น การลั ก ทรั พ ย์ ก่ อ ความไม่ ส งบ หรื อ การก่ออาชญากรรมอืน่ ๆ ภายในท่าอากาศยาน 5. มาตรการการป้องกันการก่อวินาศกรรมอากาศยาน หรือ การเข้าถึงอากาศยานโดยมิชอบ 6. มาตรการเกี่ยวกับผูโ้ ดยสาร สัมภาระติดตัว และสัมภาระ เดินทาง มีการตรวจค้นผูโ้ ดยสารและสัมภาระก่อนขึ้นอากาศยาน ด้วยเครือ่ งตรวจจับโลหะชนิดเดินผ่าน เครื่องตรวจจับโลหะชนิด มื อ ถือ และเครื ่อ ง X-ray โดยเจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความปลอดภั ย ท่าอากาศยานดอนเมือง 7. มาตรการควบคุมโภชนาการ ผู้ดำเนินการเดินอากาศ หรือ ผูแ้ ทน หรือผู้ประกอบการจะกำกับดูแลการบรรจุอาหารใส่ตู้เก็บ อาหาร ตลอดจนการขนส่งลำเลียงเข้าสู่อากาศยาน เพื่อป้องกัน การลัก ลอบนำอาวุ ธ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ซุ ก ซ่ อ นไปกั บ ตู ้เ ก็ บ อาหารและ ยานพาหนะทีใ่ ช้ ข นส่ ง จากนั ้น เจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความปลอดภั ย ท่าอากาศยานดอนเมืองจะตรวจบุคคลและยานพาหนะก่อนอนุญาต ให้ผ่านเข้าเขตลานจอดอากาศยาน

8. มาตรการตรวจสอบการรักษาความปลอดภัย จัดให้มี แผนควบคุมคุณภาพการรักษาความปลอดภัย ได้แก่ การฝึกอบรม เพิ่มเติมหรือทบทวน การฝึกซ้อมตามแผนเผชิญเหตุ แผนฉุกเฉิน หรือแผนรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ

นิทรรศการวันข้าราชการพลเรือน ประจำปี 2553

เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2553 นายอิสสระ สมชัย รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั ่น คงของมนุ ษ ย์ เป็นประธานเปิดงานนิทรรศการวันข้าราชการพลเรือน ประจำปี พ.ศ. 2553 ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ภายใต้แนวคิด ‘รับราชการ เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน’ โดยมีกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดงาน การจั ด งานครั ้ง นี ้เ ป็ น การแสดงผลงานและให้ บ ริ ก ารจาก หน่วยงานราชการต่าง ๆ ทั้ง 19 กระทรวง อาทิ จัดบริการทำ หนังสือเดินทาง บัตรประจำตัวประชาชน บริการยื่นแบบชำระภาษี รวมถึ ง การแสดงดนตรี แ ละโขนจากกรมศิ ล ปากร กิ จ กรรม ดังกล่าวมีขึ้นระหว่างวันที ่ 1-4 เมษายน พ.ศ. 2553 ตั้งแต่เวลา 10.00-20.00 น. ที่อาคารผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ อาคาร 2 ท่าอากาศยานดอนเมือง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

113


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ก้าวสู่ความเป็นเลิศด้านบริการ

นับ ตัง้ แต่ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง อาคาร ผูโ้ ดยสารหลัง เดิ ม เป็ น อาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ และ เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา ภาพที่ปรากฏให้เห็นคือการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกๆ ด้าน ไม่ว่า จะเป็นการให้บริการด้านการบิน สิ่งอำนวยความสะดวก หรือระบบ การรักษาความปลอดภัย ในส่วนของการให้บริการด้านการบิน ในปีงบประมาณ 2553 ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ มี ส ายการบิ น ระหว่ า งประเทศเพิ ่ม ขึ ้น หนึง่ สายการบิน คือ สายการบินแอร์บากัน ทำการบินในเส้นทาง ย่า งกุ ้ง -เชี ย งใหม่ - ย่ า งกุ ้ง สั ป ดาห์ ล ะ 2 วั น วั น ละ 2 เที ่ย วบิ น นอกจากนีย้ ัง มี ก ารเพิม่ เส้ น ทางบิ น ภายในประเทศที ่ช่ ว ยให้ การเดินทางระหว่างภูมิภาคหรือจังหวัดอืน่ ๆ ในภาคเหนือตอนบน สะดวกรวดเร็ ว ยิ ่ง ขึ ้น อีก หลายเส้ น ทาง อาทิ เชี ย งใหม่ - ภู เ ก็ ต เชียงใหม่ และเส้นทางเชียงใหม่-น่าน-เชียงใหม่ สิ ่ง อำนวยความสะดวกภายในอาคารผูโ้ ดยสาร เป็ น อีก ประการหนึง่ ที ่ต ลอดปี 2553 ได้ รั บ การพัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื ่อ ง เริม่ ตัง้ แต่การให้บริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน ท่าอากาศยาน เชียงใหม่มีเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ทั้งสิ้น 3 จุด ตั้งอยู่ที่บริเวณ ชั้น 1 และชั้น 2 ของอาคารผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศและบริเวณ ชั้ น 1 ของอาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ มี เจ้ า หน้ า ที ่ค อยให้ บริก ารข้ อ มู ล ข่ า วสารอยูป่ ระจำทุ ก เคาน์ เ ตอร์ ต ลอดระยะเวลา ทำการ มี ก ารติ ด ตั ้ง จอแสดงผลข้ อ มู ล ตารางการบิ น เพิ ่ม ขึ ้น อีก 26 จอ ภายในอาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศเพื่อให้เกิดความ สะดวกต่อผูโ้ ดยสารในการตรวจสอบสถานะของเที่ยวบิน มีห้อง สุ ข าเพิม่ ขึ ้น อี ก 22 ห้ อ ง ลิ ฟ ต์ แ ละบั นไดเลื ่อ นเพิ ่ม ขึ ้น อีก 1 จุ ด ตลอดจนสิ ่ง อำนวยความสะดวกอืน่ ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น สายพานรั บ กระเป๋าขาเข้า ตู้ ATM จุดบริการน้ำดื่ม เก้าอี้พักคอย รวมถึงร้านค้า ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผโู้ ดยสารและผูใ้ ช้บริการได้รับความสะดวก และ มีความเพลิดเพลินทุกคราทีไ่ ด้มาใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่

114

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่

นอกจากการพัฒนาอย่างต่อเนื่องด้านการให้บริการการบิน และสิ่งอำนวยความสะดวกแล้ว ระบบการรักษาความปลอดภัย ก็ถือเป็นส่วนสำคัญอีกประการหนึ่งที่จะสร้างความพึงพอใจให้แก่ ผูโ้ ดยสารและผูใ้ ช้ บ ริ ก าร เนื ่อ งจากท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ เป็ น Terminal Screening การเข้ าไปในอาคารผูโ้ ดยสาร จึงต้องผ่านการตรวจทั้งสัมภาระและร่างกาย ทำให้เกิดแถวรอ ในช่ ว งที ่เ ที ่ย วบิ น หนาแน่ น ท่ า อากาศยานเชี ย งใหม่ จึ งได้ เ พิ ่ม ช่องทางเข้า-ออกอาคารผูโ้ ดยสารเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ยิ่งขึ้นภายใต้ระบบการรักษาความปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐานสากล ขณะเดี ย วกั น ยั งได้ จั ด ทำบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงมาตรการลงโทษกรณี เกิดเหตุลักทรัพย์จากกระเป๋าหรือสัมภาระของผูโ้ ดยสารร่วมกับ สายการบิน และผู้ประกอบการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยก หรือนำกระเป๋าและสัมภาระของผูโ้ ดยสารขึ้น-ลงจากอากาศยาน เพื่อป้องกันการฉกฉวยทรัพย์สินของผูโ้ ดยสาร ถึงแม้ว่าปัจจุบัน ท่าอากาศยานเชียงใหม่จะมีการให้บริการ และการรักษาความปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐานสากล แต่ก็ยังไม่หยุดยั้ง ที่จะพัฒนาต่อไป โดยเฉพาะการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ในทุก ๆ ด้าน เพื่อก้าวสู่การเป็น 1 ใน 5 ของท่าอากาศยานที่ดี ที่สุดของโลก ที่มีผโู้ ดยสารไม่เกิน 5 ล้านคน ในปี 2554


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ด้านอากาศยาน

ท่ า อากาศยานหาดใหญ่ ร่ ว มกั บ จั ง หวั ด สงขลา สมาคม โรงแรมหาดใหญ่-สงขลา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงาน หาดใหญ่ สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา ผู้ประกอบการ สายการบิ น และสื ่อ มวลชนในท้ อ งถิ ่นได้ ร่ ว มกั น ประชุ ม ปรึ ก ษา หารือ เพือ่ จะกระตุ ้น ศั ก ยภาพการท่ อ งเที ่ย วและเศรษฐกิ จ ในจั ง หวั ด สงขลา โดยผลั ก ดั น ให้ มี เ ส้ น ทางการบิ น ระหว่ า ง ประเทศทำการบิ น ณ ท่ า อากาศยานหาดใหญ่ ซึ ่ง ปั จ จุ บั น มี ส ายการบิ นไทเกอร์ แอร์ เวย์ ทำการบิ นเส้ น ทางบิ น สิ ง คโปร์ หาดใหญ่-สิงคโปร์ วันละ 2 เที่ยวบิน (เข้า-ออก) (เริ่มทำการบิน 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา) และสายการบินแอร์เอเชีย ทำการบิ น เส้ น ทางบิ น กั ว ลาลั ม เปอร์ - หาดใหญ่ - กั ว ลาลั ม เปอร์ ทำการบิ น ทุ ก วั น วั น ละ 2 เที ่ย วบิ น (เข้ า -ออก) (เริ ่ม ทำการบิ น ตั้งแต่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา) สำหรับสายการบิน Fire Fly อยูร่ ะหว่ า งการศึ ก ษาด้ า นการตลาด ในเส้ น ทางบิ น สุบัง-หาดใหญ่-สุบัง โครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานฯ ที ่อ ยู ่ร ะหว่ า งดำเนิ น การ ดังนี้ 1. ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพิ่มเติม จำนวน 51 กล้อง งบประมาณ 15,502,411 บาท 2. ติ ด ตั ้ง สะพานเที ย บเครื ่อ งบิ น เพิม่ เติ ม จำนวน 1 ชุ ด งบประมาณ 11,000,000 บาท 3. งานปรั บ ปรุ ง ห้ อ งน้ ำ ภายในอาคารผูโ้ ดยสาร จำนวน 12 จุด (จำนวน 47 ห้อง) งบประมาณ 4,800,000 บาท

มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ยึดถือข้อกำหนดขององค์การการบิน พลเรือ นระหว่ า งประเทศ ภาคผนวกที ่ 17 พระราชบั ญ ญั ติ การเดินอากาศ พ.ศ. 2497 พระราชบัญญัติการท่าอากาศยานแห่ง ประเทศไทย พ.ศ. 2522 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ

รั ก ษาความปลอดภั ย พ.ศ. 2514 และข้ อ บั ง คั บ คณะกรรมการ การบิ น พลเรื อ น เป็ น แนวทางปฏิ บั ติ ง านด้ า นการรั ก ษาความ ปลอดภั ย ท่ า อากาศยาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่อ ป้ อ งกั น การ แทรกแซงที่มิชอบด้วยกฎหมาย เนื ่อ งจากมี เ หตุ ก ารณ์ไ ม่ ส งบเกิ ด ขึ ้น ในพื ้น ที ่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ แ ละเพื ่อ ป้ อ งกั น การก่ อ การร้ า ย ท่ า อากาศยาน หาดใหญ่ไ ด้ เ พิ ่ม มาตรการในการรั ก ษาความปลอดภั ย เป็ น กรณี พิเศษเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผูโ้ ดยสารและผู้มาใช้บริการ ดังนี้ 1. กำหนดทางเข้ า -ออกท่ า อากาศยานหาดใหญ่ เ พี ย ง จุดเดียว 2. ตรวจค้นและบันทึกภาพยานพ า หนะทุกคันที่เ ข้า ท่าอากาศยาน 3. กำหนดทางเข้า-ออกอาคารผูโ้ ดยสารเพียงจุดเดียว 4. ตรวจบุ ค คลทุ ก คนและสั ม ภาระทุ ก ชิ ้น ก่ อ นเข้ า อาคาร ผูโ้ ดยสาร 5. ห้ามรถทุกชนิดจอดใต้อาคารผูโ้ ดยสาร 6. เปรียบเทียบปรับกรณีวางกระเป๋าและสัมภาระทิ้งไว้ 7. จั ด เจ้ า หน้ า ที ่ท ำลายวั ต ถุ ร ะเบิ ด และเจ้ า หน้ า ที ่ชุ ด สุนัขทหารลาดตระเวนตรวจตราพื้นที่ภายในและภายนอก อาคารผูโ้ ดยสาร รวมถึงลานจอดรถยนต์ 8. จั ด เจ้ า หน้ า ที ่ท หารอากาศโยธิ น รั ก ษาความปลอดภั ย พื้นที่ลานจอดรถยนต์ 9. จัดเจ้าหน้าที่ทหาร ตำรวจรักษาความปลอดภัยประจำ ศูนย์ร่วมรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานทุกวัน 10.เจ้ า หน้ า ที ่ส ายตรวจตระเวนตรวจตราพื ้น ทีโ่ ดยรอบ ทุก 1 ชั่วโมง 11. จั ด เจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความปลอดภั ย ตรวจสอบการรั ก ษา ความปลอดภัยพื้นที่ทั้งหมดด้วยระบบโทรทัศน์วงจรปิด 12. จัดเจ้าหน้าที่สารวัตรทหารอากาศประจำพื้นที่ทำการบิน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

115


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานภูเก็ต

จากการที่ท่าอากาศยานภูเก็ต ได้รองรับจำนวนเที่ยวบิน และ สายการบินเพิม่ มากขึ้นทุกปี ทั้งประเภทสายการบินแบบประจำและ แบบเช่าเหมาจากภูมิภาคยุโรป กลุ่มสแกนดิเนเวีย ออสเตรเลีย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลี ที่มีแนวโน้มจะเพิม่ จำนวนเที่ยวบินอย่างต่อเนื่อง และได้ ทำการบินตลอดทั้งฤดูกาลท่องเที่ยว (High Season) และช่วง นอกฤดูกาลท่องเที่ยว (Low Season) ในฤดูกาลท่องเที่ยวปี 2553/2554 มีสายการบินใหม่จากประเทศแถบตะวันออกกลาง คือ สายการบินกาตาร์ ขอทำการบินมาใหม่ ซึ่งจะเริ่มทำการบิน ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ในเส้นทางบิน โดฮา-กัวลาลัมเปอร์- ภูเก็ต และกลับ ทั้งยังได้รับการติดต่อจากสายการบินเอมิเรตส์ จะขอทำการบิน เข้ า มาเช่ น กั น ดั ง นั ้น ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ จั ด เตรียมความพร้อมในด้านการให้บริการและสิ่งอำนวยความสะดวก ไว้ ต ลอด 24 ชั ่วโมง เช่ น การจั ด เจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความสะอาด เจ้ า หน้า ที ่จั ด เก็ บ รถเข็ น กระเป๋ า เจ้ า หน้ า ที ่ต รวจสอบระบบ ปรับอากาศ เจ้าหน้าที่บำรุงรักษา สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในอาคารผูโ้ ดยสาร ซึ ่ง แสดงถึ ง ความพร้ อ มในด้ า นการให้ บริการที่ทำให้บริษทั การบินใหม่ ๆ หรือผู้ดำเนินกิจการท่าอากาศยาน จากต่างประเทศมาศึกษาดูงานการดำเนินงานของท่าอากาศยาน ภูเก็ตบ่อยครัง้ และในปีงบประมาณ 2553 ท่าอากาศยานภูเก็ต ได้ ร ับ อนุมั ต ิง บประมาณปรั บ ปรุ ง พัฒ นาหลั กในด้ า นกายภาพ ของท่าอากาศยาน คือการปรับปรุงระบบไฟทางวิ่ง (Approach Light), Runway Edge Light และการจัดหารถขัดพื้นสนามบิน เพือ่ การบำรุงรักษาเป็นไปด้วยความรวดเร็ว เพือ่ ให้ท่าอากาศยาน ภูเก็ตสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง

มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานภูเก็ต 1. ท่าอากาศยานภูเก็ตยึดมาตรฐานในการรักษาความปลอดภัย ตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ซึ่ง กำหนดไว้ในภาคผนวกที่ 17 เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศสูงสุด

116

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยการบินพาณิชย์ เพื่อป้องกันภัย ที ่เ กิ ด จากการแทรกแซงโดยมิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย (Unlawful Interference) จึ งได้ ก ำหนดมาตรการการรั ก ษาความ ปลอดภัย ดังนี้ 1.1 มาตรการการรักษาความปลอดภัยพื้นฐาน ประกอบด้วย 1.1.1 การกำหนดพื ้น ที ่ห วงห้ า ม (Security Prohibited Area) เพื ่อให้ ส อดคล้ อ งกั บ ระเบี ย บสำนั ก นายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 และข้อเสนอของ องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ จึงได้ กำหนดพื ้น ที ่บ างส่ ว นเป็ น พื ้น ที ่ห วงห้ า มเด็ ด ขาด บุ ค คล และ ยานพาหนะที่จะผ่านเข้า-ออกจะต้องปฏิบัติตามเงือ่ นไขที่กำหนดไว้ เช่น ต้องติดบัตรรักษาความปลอดภัย ผ่านการตรวจค้นร่างกาย และสัมภาระ 1.1.2 การป้ อ งกั น พื ้น ที ่ร อบอากาศยาน (Perimeter Protection) การระแวดระวังพื้นทีโ่ ดยรอบและพื้นที่ต่อเนื่อง ถื อ ว่ า เป็ น ภารกิ จ สำคั ญ จึ ง จั ดให้ มี ก ารลาดตระเวน ทั ้งโดยการ เดินเท้าและรถสายตรวจ รวมทั้งมาตรการป้องกันอื่น ๆ เช่น ระบบ โทรทัศน์วงจรปิด บริเวณลานจอดอากาศยาน จัดกำลังประจำ ลานจอดรถยนต์ ประสานกับสถานีตำรวจภูธรท่าฉัตรไชย จัดกำลัง ลาดตระเวนพื้นที่ต่อเนื่องกับท่าอากาศยาน ฯลฯ 1.1.3 การป้ อ งกั น พื ้น ที ่ภ ายในอย่ า งใกล้ ชิ ด (Close Protection) เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าจะไม่มีการจูโ่ จมทางภาค พื้นดิน จึงจัดให้มีการรักษาการณ์พื้นที่ต่าง ๆ เช่น บริเวณจุดจอด อากาศยาน ช่องทางเข้าสู่พื้นที่ ลานจอดอากาศยาน ห้องคัดแยก สัมภาระ พื้นที่จัดสัมภาระ ไปรษณียภัณฑ์ ฯลฯ 1.1.4 การรักษาความปลอดภัยเที่ยวบินที่มีความเสี่ยงภัย สูง (High Risk Flights) เมื่อรัฐหรือบริษัทการบินได้ร้องขอ จึงจัดให้มีการส่งเสริมมาตรการการรักษาความปลอดภัยสำหรับ เที่ยวบินที่มีความเสี่ยงสูง เช่น เที่ยวบินที่มาจังหวัดภูเก็ต เที่ยวบิน ที่อยูใ่ นสถานการณ์ทไี่ ม่ปลอดภัย


1.1.5 การจั ด กำลั ง รั ก ษาความปลอดภั ย (Security Forces) การรั ก ษาความปลอดภั ย ตามข้ อ 1.1.1-1.1.4 ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ ค ำนึ ง ถึ ง ความพร้ อ มของกำลั ง ที ่มี ความคล่ อ งตั ว สู ง รวมทั ้งได้ จั ด วิ ท ยุสื ่อ สารและอาวุ ธ ต่ า ง ๆ เพือ่ การประสานและป้องกันภัยในท่าอากาศยานได้ทันท่วงที 1.2 มาตรการการรั ก ษาความปลอดภั ย เฉพาะด้ า น ประกอบด้วย 1.2.1 การตรวจค้ น ผูโ้ ดยสารและสั ม ภาระติ ด ตั ว (Screening of Passenger and Cabin Baggage) มีการตรวจค้นผูโ้ ดยสารและสัมภาระติดตัวอย่างละเอียด รวมทั้ง จำกัดบุคคลทีไ่ ม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องผ่านจุดตรวจอย่างเด็ดขาด 1.2.2 การตรวจค้ น และควบคุ ม สั ม ภาระเดิ น ผ่ า น (Checked-Baggage) สั ม ภาระเดิ น ทางจะได้ รั บ การติ ด สั ญ ลัก ษณ์ เ มื ่อ ผ่ า นการตรวจค้ น แล้ ว และจะถู ก ควบคุ ม ทั ้ง จาก ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต และบริ ษั ท การบิ น ขณะลำเลี ย งไปบรรทุ ก ในอากาศยาน 1.2.3 การควบคุ ม ผูโ้ ดยสารที ่ผ่ า นการตรวจค้ น แล้ ว (Screened-Passenger Controls) เพือ่ ป้องกันการหยิบยื่น อาวุ ธ หรือ วั ต ถุ อ ัน ตรายไปกั บ ผูโ้ ดยสารที ่ผ่ า นการตรวจค้ น แล้ ว ท่าอากาศยานภูเก็ตกำหนดไว้ว่าจะไม่มีการปะปนกับผูโ้ ดยสารที่ยัง ไม่ผ่านการตรวจค้นอย่างเด็ดขาด 1.2.4 การควบคุมสินค้าไปรษณียภัณฑ์ อาหารและสิ่งของ ทีใ่ ช้บริการในอากาศยาน (Cargo/Mail/Courier/Operator’s Stores) บุ ค คลและยานพาหนะที ่น ำพาสิ น ค้ าไปรษณี ย ภั ณ ฑ์ อาหาร และสิ ่ง ของทีใ่ ช้ บ ริ ก ารในอากาศยานจะต้ อ งหยุ ดให้ พนักงานรักษาความปลอดภัยประจำช่องทางรักษาความปลอดภัย ช่องทาง 1 ตรวจร่างกายและบัตรอนุญาตก่อนผ่านเข้า-ออกพื้นที่ หวงห้ามทุกครั้ง กรณีต้องสงสัย พนักงานรักษาความปลอดภัยจะ ขอเปิดตรวจสิ่งนำพาตามความเหมาะสม 1.2.5 การป้ อ งกั น อากาศยาน (Protection of Aircraft) อากาศยานใดที่มีข้อมูลเบื้องต้นว่าเป็นเป้าหมายของ การถูก แทรกแซงโดยมิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต จะจัดให้มีการแจ้งเตือนและตรวจค้นภายในอากาศยาน (Noti- fication and Inspection of Aircraft Threat) ยิ่งกว่านั้น ยังจัดให้มีการเฝ้าระมัดระวังอากาศยานเมื่อได้มีการร้องขออีกด้วย 1.2.6 การควบคุมและอนุญาตให้นำอาวุธขึ้นอากาศยาน (Authorized Carriage of Weapons) อาวุธทุกประเภท โดยเฉพาะอาวุ ธ ปื น ก่ อ นนำบรรทุ ก บนอากาศยานจะต้ อ งได้ รั บ อนุญาตจากพนักงานตรวจค้นท่าอากาศยานภูเก็ตและปฏิบัติตาม เงือ่ นไขที่กำหนดไว้ 1.2.7 มาตรการควบคุ ม การผ่ า นเข้ า -ออก (Access Control) ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ ก ำหนดพื ้น ที ่ห วงห้ า มและ แนวรัว้ กำหนดเขตพืน้ ที ่ห วงห้ า มบุ ค คลและยานพาหนะจะผ่ า น เข้า-ออกได้เฉพาะช่องทางที่กำหนด และจะต้องให้พนักงานรักษา ความปลอดภัยตรวจค้นร่างกายและความถูกต้องของบัตรรักษา ความปลอดภัยทุกครั้ง 1.2.8 การสำรวจและตรวจสอบมาตรการการรักษาความ ปลอดภัย (Surveys and Inspection) มาตรการ การรักษาความปลอดภัยอาจมีข้อบกพร่องหรือไม่เพียงพอ อันอาจ เกิ ด จากปั จ จั ย ของภั ย การแทรกแซงโดยมิ ช อบด้ ว ยกฎหมายที ่ เปลีย่ นไป จึ ง จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารสำรวจเพื ่อ จั ดให้ มี ม าตรการใหม่

หรื อ การตรวจสอบเพื ่อ ทบทวนความเพี ย งพอของมาตรการที ่มี อยู่เดิม ซึ่งตามแผนการรักษาความปลอดภัยท่าอากาศยานภูเก็ต จะสำรวจและตรวจสอบมาตรการทุก ๆ 6 เดือน อย่างไรก็ตาม องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ และสหพันธ์บริหารการบิน แห่งสหรัฐอเมริกา (Federal Aviation Administration: FAA ปั จ จุ บั น เปลี ่ย นเป็ น Transportation Security Administration: TSA) ได้ จั ด เจ้ า หน้ า ที ่ม าสำรวจและ ตรวจสอบมาตรการการรักษาความปลอดภัยที่ท่าอากาศยานภูเก็ต เสริมจากที ่ ทอท. ได้กำหนดไว้อีกชั้นหนึ่งด้วย แล้วให้ทา่ อากาศยาน ภูมิภาคทราบเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกัน 2. เมื ่อ มี เ หตุ ก ารณ์ ก่ อ วิ น าศกรรมตามประเทศต่ า ง ๆ ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต มี แ นวทางการป้ อ งกั น พร้ อ มมี ม าตรการ ดูแลความปลอดภัย 2.1 ในการปฏิ บั ติ ต ามภาวะปกติ ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ได้ปฏิบัติตามมาตรการการรักษาความปลอดภัยตามที่กล่าวไว้ใน ข้ อ 1 นั บ ตั ้ง แต่ ส ถานการณ์ ก ารก่ อ การร้ า ยที ่เ กิ ด ขึ ้น เมื ่อ วั น ที ่ 11 กั น ยายน พ.ศ. 2544 ที ่ส หรั ฐ อเมริ ก า ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ จัดทำระบบสัญญาณการเตือนภัยการก่อการร้าย หรือ Level of Threat ได้ จ ำแนกสถานการณ์ ก ารเตื อ นภั ย ออกเป็ น 4 ระดั บ สถานการณ์ ดังนี้ * สถานการณ์ระดับสีขาว - สถานการณ์ปกติ ไม่มีข่าว ความเคลื่อนไหวของการก่อการร้าย * สถานการณ์ระดับสีเขียว - สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงภัย ต่อการก่อการร้ายในระดับมาตรฐาน * สถานการณ์ระดับสีส้ม - สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงภัย ต่อการก่อการร้ายในระดับพิเศษในขั้นที่มีการคุกคาม แบบเจาะจงต่อกิจการการบิน * สถานการณ์ระดับสีแดง - สถานการณ์ทีเ่ ตรียมพร้อม เต็มกำลังต่อต้านการก่อการร้าย ณ สถานการณ์ปัจจุบัน ท่าอากาศยานภูเก็ตได้ปฏิบัติตามระบบ สัญญาณเตือนภัยการก่อการร้าย ระดับสีเขียว ซึ่งมีหลักการในการปฏิบัติ ดังนี้ 2.1.1 เพิ ่ม จำนวนบุ ค ลากรปฏิ บั ติ ง านรั ก ษาความ ปลอดภัย และเพิ่มความเข้มงวดในการรักษาความปลอดภัยของ ท่ า อากาศยาน เช่ น เพิ ่ม ความถีใ่ นการตระเวนตรวจทั ้ง ภายใน อาคารและนอกอาคาร หรื อ เพิ ่ม ความเข้ ม งวดในการสุ ่ม ตรวจ กระเป๋าสัมภาระก่อนขึ้นเครื่องบิน อนุญาตให้รถยนต์จอดที่บริเวณ ชานชาลาเฉพาะรับ-ส่งผูโ้ ดยสารเท่านั้น 2.1.2 จัดให้มีระบบการตรวจสอบ มาตรการการรักษา ความปลอดภัยท่าอากาศยาน ซึ่งในการตรวจสอบนี ้ จะตรวจสอบ ทั้งการปฏิบัติและระบบการป้องกันภัย 2.1.3 จัดให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ การก่อการร้าย สากล โดยการประสานงานการข่ า วทั ้ง จากหน่ ว ยข่ า วภายใน ประเทศและต่างประเทศ เพื่อประเมินสถานการณ์การก่อการร้าย สากลที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทย ซึ่งผลการประเมินจะเป็นสิ่งบ่งชี้ ว่าควรปรับระดับสีให้เป็นระดับปัจจุบันหรือระดับที่สูงขึ้น 2.2 ได้ มี ก ารประชุ ม และขอความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงาน ราชการและเอกชน ที ่ป ระกอบการในท่ า อากาศยานให้ ร่ ว มมื อ สอดส่องบุคคลที่มีพฤติกรรมต้องสงสัยและทรัพย์สินที่วางทิ้งไว้

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

117


โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 2552-2556) แผนผังพื้นที่ก่อสร้างอาคาร โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 2552–2556)

3.3 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสถานีดับเพลิงและกู้ภัย

3.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารบริการ ลานจอด และอุปกรณ์ภาคพื้น

3.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารคลังสินค้า 2.4 งานออกแบบและปรับปรุงอาคารผูโ้ ดยสารเดิม เป็นอาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ

4.2 งานออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค ท่าอากาศยาน 4.3 งานออกแบบและก่ อ สร้ า งอาคารสำนั ก งาน

ส่วนบำรุงรักษา และคลัง ทภก. 2.3 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงาน

2.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารจอดรถยนต์

1.1 งานออกแบบและก่อสร้างทางขับและ ลานจอดอากาศยาน 1.2 งานออกแบบและก่อสร้างปรับปรุงขยาย

ระบบเติมน้ำมันอากาศยานทางท่อ

2.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ

4.1 งานออกแบบและก่อสร้างระบบถนนภายในท่าอากาศยาน 5. กลุ่มงานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6. กลุ่มงานจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ (PMC)

หลักการและเหตุผล

เมื ่อ ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ รั บ การพั ฒ นาเพื ่อ เพิ ่ม ขี ด

ความสามารถในการรองรับปริมาณจราจรทางอากาศตามแผน พัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ตสู่ความเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค (ปีงบประมาณ 2546-2549) แล้วเสร็จและให้บริการในปี 2550 นั้ น ทำให้ ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต มี ขี ด ความสามารถในการรองรั บ

ผูโ้ ดยสาร 6.5 ล้านคนต่อปี แบ่งเป็น ผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ 3.5 ล้า นคนต่ อ ปี แ ละผูโ้ ดยสารภายในประเทศ 3 ล้ า นคนต่ อ ปี

ในขณะที่ปริมาณผูโ้ ดยสารรวมที่เกิดขึ้นจริงในปี 2550 มีจำนวน 5,704 ล้านคน โดยในปี 2551 จำนวนเที่ยวบินและปริมาณสินค้า

มี จ ำนวนลดลงจากปี 2550 คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 6.9 และ 2.6 แต่ จำนวนผูโ้ ดยสารเพิม่ ขึ้นจากปี 2550 คิดเป็นร้อยละ 0.5 สาเหตุที่ อัต ราการเจริ ญ เติ บโตของจำนวนเที ่ย วบิ น และปริ ม าณสิ น ค้ า ลดลงเนือ่ งจากปั ญ หาด้ า นภาวะเศรษฐกิ จ ที ่มี ก ารชะลอตั วในปี 2550 แต่ในปีถัดไปพบว่าจำนวนเที่ยวบิน ผูโ้ ดยสาร และปริมาณ สินค้า มีแนวโน้มอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคาดว่า

จะทำให้ เ กิ ด ความแออัด คั บ คั ่งไม่ ส ะดวกสบายแก่ ผู ้ม าใช้ บ ริ ก าร

ตั้งแต่ป ี 2553 เป็นต้นไป ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาศักยภาพของ

ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตให้ เ พีย งพอต่ อ การรองรั บ ปริ ม าณเที ่ย วบิ น

ผูโ้ ดยสารและสินค้าที่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี

118

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

วัตถุประสงค์

เพื ่อ เป็ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพของท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต

ให้ ส ามารถรองรั บ ปริ ม าณการจราจรทางอากาศที ่เ พิ ่ม ขึ ้น ใน อนาคต ทอท. จึงได้จั ดทำโครงการพัฒ นาท่า อากาศยานภู เก็ ต (ปี ง บประมาณ 2552-2556) เพื อ่ เพิ ่ม ขี ด ความสามารถของ

ท่าอากาศยานภูเก็ตให้สามารถรองรับผูโ้ ดยสารได้ 12.5 ล้านคน ต่ อ ปี (แบ่ ง เป็ น ผูโ้ ดยสารระหว่ า งประเทศ 5 ล้ า นคนต่ อ ปี

และผูโ้ ดยสารภายในประเทศ 7.5 ล้านคนต่อปี) รองรับผูโ้ ดยสาร และปริมาณการจราจรทางอากาศได้ถึงปี 2561 โดยการสร้างและ ปรั บ ปรุ ง สิ ่ง อำนวยความสะดวกให้ มี ขี ด ความสามารถเพี ย งพอ

ต่ อ การรองรั บ ปริ ม าณการจราจรทางอากาศที ่เ พิ ่ม ขึ ้น อย่ า ง

ต่ อ เนื ่อ งทุ ก ด้ า นได้ อ ย่ า งปลอดภั ย สะดวก รวดเร็ ว และได้ มาตรฐานสากล เพื่อเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค


ระยะเวลาดำเนินการ

โครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ แ บ่ ง กลุ ่ม งาน

ออกเป็น 6 กลุ่มงาน มีระยะเวลาดำเนินการประมาณ 47 เดือน (กรกฎาคม พ.ศ. 2553-พฤษภาคม พ.ศ. 2557)

รายละเอียดโครงการ

โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 25522556) มี ป ระมาณการเงิน ลงทุ น 5,791,122 ล้ า นบาท (วงเงิน ดังกล่าวเป็นวงเงินทีไ่ ด้ผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี รวม สำรองราคาปริมาณงานเปลี่ยนแปลง 10% และภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%) ประกอบด้วย 6 กลุ่มงาน โดยมีงานดำเนินการดังนี้ 1. กลุ่มงานออกแบบและก่อสร้างเขตปฏิบัติการการบิน 1.1 งานออกแบบและก่ อ สร้ า งทางขั บ และลานจอด อากาศยาน 1.2 งานออกแบบและก่ อ สร้ า งปรั บ ปรุ ง ขยายระบบ

เติมน้ำมันอากาศยานทางท่อ

2. กลุ่มงานออกแบบและก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารและ อาคารสนับสนุน

2.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารระหว่าง ประเทศ 2.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารจอดรถยนต์ 2.3 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงาน 2.4 งานออกแบบและปรับปรุงอาคารผูโ้ ดยสารหลังเดิม

เป็นอาคารผูโ้ ดยสารภายในประเทศ

3. กลุ่มงานออกแบบและก่อสร้างอาคารเพื่อทดแทน 3.1 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารคลังสินค้า 3.2 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารบริการลานจอดและ อุปกรณ์ภาคพืน้ 3.3 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสถานีดับเพลิงและ กู้ภัย 4. กลุ ่ม งานออกแบบและก่ อ สร้ า งระบบสาธารณู ปโภค และสาธารณูปการ 4.1 ง า น อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ก่ อ ส ร้ า ง ร ะ บ บ ถ น น ภ า ยใ น

ท่าอากาศยาน 4.2 งานออกแบบและก่ อ สร้ า งระบบสาธารณู ป โภค

ท่าอากาศยาน 4.3 งานออกแบบและก่อสร้างอาคารสำนักงานส่วนบำรุง รักษา และคลังท่าอากาศยานภูเก็ต 5. กลุ่มงานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6. กลุ ่ม งานจ้ า งที ่ป รึ ก ษาบริ ห ารจั ด การโครงการ (Project Management Consultant: PMC)

สถานะการดำเนินงาน

โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 25522556) ได้ ผ่ า นการเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ทอท. เมื่ อ วั น ที่

25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2552 และได้ผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการ

พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ (สศช.) และกระทรวง คมนาคม เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และคณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบโครงการ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ทอท. ได้ลงนามในสัญญาจ้างเลขที ่ 4CI 6-53006 ลงวันที ่ 29 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2553 ว่ า จ้ า ง บริ ษั ท อิ น เด็ ก ซ์ อิ น เตอร์ เนชั่นแนล กรุ๊ป จำกัด บริษัท แอสดีคอน คอร์เปอร์เรชั่น จำกัด บริ ษั ท เอพซิ ล อน จำกั ด บริ ษั ท ล้ า นนา เอ็ น จิ เ นี ย ริ ่ง คอนซั ล - แตนท์ส จำกัด บริษัท เมอร์ลิน โซลูชั่น อินเตอร์เนชั่นนัล จำกัด เป็นกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ โครงการพัฒนา ท่าอากาศยานภูเก็ต (ปีงบประมาณ 2552-2556) โดยกลุ่มบริษัท ที่ปรึกษาได้เริ่มงานตามสัญญาแล้วตั้งแต่วันที ่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ระยะเวลาการดำเนินงาน 47 เดือน

ปัจจุบนั กลุ่มบริษทั ที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการอยู่ระหว่าง

การจัดทำข้อกำหนดรายละเอียด (Terms of Reference:

TOR) เพื่อจัดหาผู้ออกแบบงานในโครงการ และอยู่ระหว่างการ ปรั บ แผนงานโครงการให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาพความเป็ น จริ ง

ซึ ่ง ดำเนิ น การคู ่ข นานไปกั บ การนำเสนอผลการศึ ก ษาวิ เ คราะห์

ผลกระทบสิ ่ง แวดล้ อ มของโครงการพั ฒ นาท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต

ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เพื ่อ พิ จ ารณา โดยคาดว่ า ผลการศึ ก ษาดั ง กล่ า วจะได้ รั บ ความเห็ น ชอบก่ อ นเริ ่ม การก่ อ สร้ า งตามแผนการโครงการ

ในปีงบประมาณ 2554

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

119


การให้บริการ ณ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

ท่ า อากาศยานเชี ยงราย ได้ รั บพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ชื่อว่า ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ‘Mae Fah Luang-Chiang Rai International Airport’ ตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553 และได้ทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ วั น ที่ 2 ตุล าคม พ.ศ. 2553 นี้ พร้ อ มกั บ การดำเนิ น งานของ ท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง เชี ย งราย ครบรอบ 12 ปี และได้ มี การพัฒนาในด้านการบริการประกอบด้วย 1. บริก ารด้ า นข้ อ มู ล ด้ า นการบิ น ที ่ท ำการบิ น ขึ ้น -ลง ณ ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย ตั้งแต่เวลา 06.00 น. กระทั ง่ เสร็ จ สิ น้ กระบวนการของเที ่ย วบิ น สุ ด ท้ า ยใน แต่ละวัน 2. บริการด้านข้อมูลข่าวสารท่าอากาศยานให้กับผูใ้ ช้บริการ และผูโ้ ดยสารที่มาใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชี ย งราย ตั ้ง แต่ เ วลา 06.00 น. กระทั ่ง เสร็ จ สิ ้น กระบวนการของเที่ยวบินสุดท้ายในแต่ละวัน 3. บริการด้านลานจอดอากาศยาน 4. บริการด้านสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคารผูโ้ ดยสาร ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

120

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

5. มีการจัดโครงการสำรวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการ และผูโ้ ดยสาร สายการบิน ส่วนราชการ ผู้ประกอบการภายใน ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย เป็นประจำทุกปี เพื่อ นำข้ อ มู ล ทีไ่ ด้ไปพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การให้ บ ริ ก ารของ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงรายต่อไป

มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

การรั ก ษาความปลอดภั ย ของท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง เชียงรายนั้น ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงรายได้ดำเนินการ ให้ เ ป็ นไปตามภาคผนวกที ่ 17 ขององค์ ก ารการบิ น พลเรื อ น ระหว่างประเทศ ว่าด้วยการป้องกันการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ให้พ้นจากการกระทำอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเดิ น อากาศ พ.ศ. 2497 พระราชบั ญ ญั ติ การเดินอากาศ (ฉบับที ่ 11) พ.ศ. 2551 ข้อบังคับของคณะกรรมการ การบิ น พลเรื อ น และระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการ รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552


มาตรการการรักษาความปลอดภัย ณ ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย มีดังนี้ 1. การกำหนดพืน้ ที ่เ พือ่ การรั ก ษาความปลอดภั ย ได้ แ ก่ พืน้ ที่ควบคุมและพื้นที่หวงห้าม 2. มาตรการการผ่านเข้า-ออก หรืออยูใ่ นพื้นที่หวงห้ามของ บุคคล และยานพาหนะ ต้องมีบัตรรักษาความปลอดภัย ซึ ่ง ออกโดยส่ ว นรั ก ษาความปลอดภั ย ท่ า อากาศยาน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย และต้องถูกตรวจสอบหรือตรวจค้น โดยเจ้ า หน้ า ที ่รั ก ษาความปลอดภั ย ส่ ว นรั ก ษาความ ปลอดภัยท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงรายก่อนผ่าน เข้า-ออกพื้นที่หวงห้าม 3. มาตรการป้องกันการก่อวินาศกรรมท่าอากาศยาน โดยมี การตรวจพืน้ ที ่ล่ อ แหลมและตรวจติ ด ตามพฤติ ก รรม บุคคลด้วยกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) การตั้งด่าน ตรวจบุคคลและยานพาหนะบริเวณจุดตรวจยานพาหนะ ทางเข้ า ท่ า อากาศยานแม่ ฟ ้า หลวง เชี ย งราย และ การตรวจพื้นที่ของท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

โดยใช้สายตรวจรถยนต์ สายตรวจรถจักรยานยนต์ และ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ตระเวนตรวจตรา พื้นที่ ภายในอาคารผูโ้ ดยสาร 4. มาตรการเกี่ยวกับผูโ้ ดยสาร สัมภาระติดตัว และสัมภาระ เดิ น ทาง มี ก ารตรวจค้ น ผูโ้ ดยสารและสั ม ภาระก่ อ นขึ ้น อากาศยานด้วยเครื่อง X-ray เครื่องตรวจจับโลหะชนิด เดินผ่าน เครื่องตรวจจับโลหะชนิดมือถือ และเครื่องตรวจ ร่องรอยสารระเบิด โดยเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 5. มาตรการรองรับการเดินทางของประชาชนในช่วงเทศกาล ต่าง ๆ 6. มาตรการลงโทษกรณี เ กิ ด การลั ก ทรั พ ย์ จ ากกระเป๋ า / สัมภาระของผูโ้ ดยสาร 7. มาตรการตรวจสอบการรั ก ษาความปลอดภั ย จั ดให้ มี แผนควบคุ ม คุ ณ ภาพการรั ก ษาความปลอดภั ย ได้ แ ก่ การฝึ ก อบรมเพิ ่ม เติ ม หรื อ การทบทวน การฝึ ก ซ้ อ ม ตามแผนเผชิญเหตุ และการฝึกซ้อมตามแผนฉุกเฉิน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

121


122

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นโยบาย

ทอท. ตระหนักถึงความสำคัญของ ‘ทรัพยากรบุคคล’ และถือว่าทรัพยากรบุคคลเป็น ทรั พ ย์ สิ น ที ่มี ค่ า รวมทั ้ง เป็ น พลั ง ขั บ เคลื ่อ นให้ ทอท. ประสบความสำเร็ จได้ อ ย่ า งยั ่ง ยื น

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและสลับซับซ้อน ดังนั้น ทอท. จึงให้ ความสำคัญกับ ‘การพัฒนาทรัพยากรบุคคล’ ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึง่ ของการบริหารจัดการ

ท่าอากาศยานที่สำคัญ และจำเป็นในการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง สร้ า งคุ ณ ค่ าให้ แ ก่ อ งค์ ก ร โดยมุ ่ง พั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลให้ มี ศั ก ยภาพความชำนาญใน

ระบบงาน สามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานสากลด้านการขนส่งทางอากาศ โดยเฉพาะ ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เพื่อให้ ทอท. เป็นผู้นำธุรกิจท่าอากาศยาน

ในภูมิภาคเอเชีย

การดำเนินการ

ในปีงบประมาณ 2553 ทอท. ได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อธุรกิจการบิน อาทิ สภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจและสถานการณ์พลังงานที่ผันผวน ปัญหาการเมืองภายใน ประเทศ ภัยธรรมชาติจากภูเขาไฟระเบิดทีไ่ อซ์แลนด์ เป็นต้น ทำให้ ทอท. ต้องมีมาตรการ ประหยัดค่าใช้จ่ายทั่วทั้งองค์กร ถึงแม้จะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคลบ้าง แต่ ทอท. ยังคงดำเนินการเพือ่ พัฒนาทรัพยากรบุคคลในหลักสูตรที่มีความจำเป็น และมี ความสำคัญที่พนักงานต้องรู ้ (Need to Know and Must Know) เป็นอันดับแรก อย่ า งต่ อ เนื ่อ ง เพื ่อให้ พ นั ก งานสามารถปฏิ บั ติ ง านหลั ก ของแต่ ล ะส่ ว นงานได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ขั บ เคลื ่อ นองค์ ก รให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายที ่ก ำหนด ส่ ว นการเพิ ่ม พู น ความรู ้ ประสบการณ์ในเรื่องที่เป็นประโยชน์ (Nice to Know) ให้กับพนักงาน ให้ดำเนินการ

เป็นลำดับรอง

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

123


ในปีงบประมาณ 2553 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทอท. สรุปได้ดังนี้ 1. โครงการ/หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมที ่ไ ด้ ด ำเนิ น การอย่ า งต่ อ เนื ่อ งตามแผนพั ฒ นา บุคคลประจำปี

1.1 หลักสูตรหลักด้านท่าอากาศยาน ได้แก่ หลักสูตรสร้างความคุ้นเคยกับ ทอท. (Airport Familiarization) การปฏิบัติการท่าอากาศยาน (Airport Operations) และหลักสูตรการจัดการท่าอากาศยาน (Airport Management) 3 ระดับ คือ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง 1.2 หลักสูตรด้านการปฏิบัติการ เช่น เทคนิคการขับเคลื่อนสะพานเทียบเครื่องบิน และการใช้ระบบไฟฟ้านำจอดเครื่องบิน ผู้ตรวจสอบด้านการรักษาความปลอดภัยการบิน Computer and Control Advance for BHS การทบทวนการปฏิบัติงานดับเพลิง และกู้ภัย Dangerous Goods Regulations, Flight Line Marshaller และ หลักสูตรการรักษาความปลอดภัย เป็นต้น 1.3 หลักสูตรด้านการบริหารธุรกิจและการจัดการทั่วไป เช่น หลักสูตรมาตรฐาน การบัญชีสากลสำหรับคณะกรรมการและผู้ปฏิบัติ ภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ ญี่ปุ่น เกาหลี) Intermediate System Administration for Solaris และระบบบริหารงาน

ซ่อมบำรุง SAP-PM เป็นต้น 1.4 หลักสูตรสำหรับคณะกรรมการ ทอท. และผู้บริหารระดับสูง เช่น หลักสูตรการ กำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน ของสถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ หลักสูตรการบริหารจัดการด้าน ความมั่นคงขั้นสูงของสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบัน วิทยาการตลาดทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ของสถาบันพระปกเกล้า เป็นต้น 1.5 หลักสูตรฝึกอบรม ประชุมและสัมมนา ณ ต่างประเทศ ได้แก่ Introduction to Scheduling and Airport Slot Coordinating ณ สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประชุมระดับสูงว่าด้วยการบินระหว่างประเทศ ณ ประเทศแคนาดา National Aviation Security Quality Control Workshop ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน The 37th ACI Fund Seminar ณ ประเทศมาเลเซีย Regional Airports World AP Summit 2010 ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ และ International Aviation and Environmental Policies ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

124

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


2. โครงการ/หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมที ่ไ ด้ ด ำเนิ น การเพิ ่ม เติ ม เพื่อพัฒนาบุคลากรในระดับบริหาร และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

(Self-Learning) ผ่านอินเตอร์เน็ตด้วยระบบ Online Learning Center จำนวน 2 โครงการ ดังนี้ 2.1 โครงการพัฒนาสมรรถนะเชิงพฤติกรรมรายบุคคลขั้นพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร ทอท. วัตถุประสงค์ เพื่อให้พนักงานที่ดำรงตำแหน่งบริหารในระดับรองผู้อำนวยการฝ่าย/สำนัก และผู้อำนวยการศูนย์/ส่วน มีความรู ้ ความเข้าใจในการพัฒนาตนเอง และมีทัศนคติ ค่านิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมในการทำงาน รวมทั้งมีทักษะในการสร้างการปฏิสัมพันธ์ กับผูบ้ ังคับบัญชาและผูใ้ ต้บังคับบัญชา บนพืน้ ฐานของการสร้าง Coaching Culture ขึ้นในองค์กร เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง 2.2 โครงการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร Airport Commercial Development ‘CCM Certificate in Concession Management’ ผ่ า นระบบ Online Learning Center ของสมาคมท่ า อากาศยานระหว่ า งประเทศ (Airports Council International: ACI) วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้พนักงานที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาธุรกิจ มีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพาณิชย์ท่าอากาศยาน การวางแผน และการบริหารจัดการเกี่ยวกับการให้สัมปทานร้านขายสินค้าปลอดอากร ร้านค้าต่าง ๆ ที่จอดรถ การขนส่งภาคพื้นและการวางแผนเพื่อ พัฒนาการให้บริการต่าง ๆ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning)

3. ผลการดำเนินการ

3.1 การฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ ภายใน ทอท. - โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม จำนวน 185 โครงการ - ผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำนวน 12,107 คน 3.2 การฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ/ดูงาน ณ สถานศึกษา สถานประกอบการภายนอก ทอท. - โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม จำนวน 380 โครงการ - ผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำนวน 1,016 คน 3.3 การฝึกอบรม/ประชุม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ/ดูงาน ณ ต่างประเทศ - โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรม จำนวน 75 โครงการ - ผู้เข้าร่วมโครงการ/หลักสูตร จำนวน 251 คน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

125


การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน 126

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ทอท. ได้ประกาศนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน และมีโครงสร้างการบริหาร และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สอดคล้องตามกฎหมายและมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง โดยทุกท่าอากาศยาน ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ทอท. มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเป็นทีม ในการบริหารจัดการ และควบคุมดูแลการปฏิบัติด้านความปลอดภัยในการทำงานของแต่ละท่าอากาศยาน ให้บรรลุตามเป้าหมายและแผนงานที่กำหนดไว้ ในการดำเนิ น งานด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ สภาพแวดล้อมในการทำงานของ ทอท. มีเป้าหมายหลักในการ

ป้อ งกั น และลดอัต ราการเกิ ด อุบั ติ เ หตุ ลดการบาดเจ็ บ และ

การเจ็บป่วยเนื่องมาจากการทำงาน รวมทั้งควบคุมและลดความเสี่ยง

ด้ า นความปลอดภั ยให้ อ ยูใ่ นเกณฑ์ ที ่ย อมรั บได้ โดยดำเนิ น งาน

ทั้งในด้านการปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย การตรวจสอบ

สภาพแวดล้อมในการทำงาน การให้ขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุง

สภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีความปลอดภัย การจัดกิจกรรม รณรงค์ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น กิ จ กรรมในรู ป แบบต่ า ง ๆ เพื ่อ เป็ น

การสร้างจิตสำนึกในเรื่องความปลอดภัยให้กับพนักงานและลูกจ้าง

ทอท. เช่น การจัดทำข่าวสารความปลอดภัย การจัดทำเว็บไซต์

ในระบบ Intranet เพือ่ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มใน

การทำงาน การจัดกิจกรรมสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำงาน

และการรณรงค์ความปลอดภัยในการเดินทาง เพื่อส่งเสริมและ สร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัยให้กับพนักงาน อีกทั้ง ยังเป็น

การปฏิบัติตามนโยบายของกระทรวงคมนาคม ‘คมนาคมปลอดภัย สังคมไทยเป็นสุข’ นอกจากนี ้ ทอท. ยัง มี ค วามห่ ว งใยในสุ ข ภาพอนามั ย ของ

พนัก งาน จึ งได้ จั ดให้ มี ส ถานพยาบาล ณ สำนั ก งานใหญ่ ซึ่ ง มี อุปกรณ์ทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ รวมทั้งแพทย์และพยาบาล ประจำ เพื่อให้การรักษาและพยาบาลเบื้องต้นแก่พนักงานที่เจ็บป่วย

เพือ่ บรรเทาและลดความรุนแรงของโรคหรือการเจ็บป่วยก่อนนำส่ง

โรงพยาบาลต่อไป ทอท. ได้จัดให้มีการฝึกอบรม ให้ความรูใ้ นหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งในส่วนทีก่ ฎหมายกำหนด และหลักสูตรที่เพิ่มพูนความรู้ที่เป็น ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน เช่น หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการทำงานระดับต่าง ๆ หลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น หลักสูตร การรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ หลักสูตรการยศาสตร์สำหรับ ผูป้ ฏิบัติงานในท่าอากาศยาน เป็นต้น ซึ่งกลุ่มเป้าหมายครอบคลุม พนักงานทุกระดับทั้งในระดับบริหาร หัวหน้างานหรือผู้ควบคุมงาน ตลอดจนระดับปฏิบัติการ เพื่อนำความรูไ้ ปปรับปรุงสภาพแวดล้อม

ในการทำงานให้ มี ค วามปลอดภั ย และเป็ น การป้ อ งกั น การเกิ ด อุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน เพือ่ ให้ ก ารดำเนิ น งานด้ า นความปลอดภั ยในการทำงาน

มีประสิทธิภาพเป็นไปตามกฎหมาย และเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะ

เกิดขึ้นกับพนักงาน ผู้รับเหมา และบุคคลที่เข้ามาปฏิบัติงานในพื้นที่ ทอท. จึ งได้ ก ำหนดให้ มี ก ารค้ น หาอัน ตรายและการประเมิ น ความเสี่ยงโดยใช้เทคนิค Job Safety Analysis (JSA) เพื่อนำ มาวิ เ คราะห์ ประเมิ น ความเสี ่ย ง และกำหนดมาตรการในการ ป้องกันและปรับปรุงแก้ไขเพื่อควบคุมและลดความเสี่ยง โดยมุ่งเน้น ไปที่การลดโอกาสและความรุนแรงของความเสี่ยงดังกล่าวด้วยการ

บริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management) ซึ่งเกิดจาก การมี ส่ ว นร่ ว มของพนั ก งานทุ ก ระดั บในองค์ ก รที ่จ ะช่ ว ย

ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นากระบวนการ วิ ธี ก ารทำงาน สภาพแวดล้ อ ม

ในการทำงานให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ทอท. ได้ ต รวจวั ด สภาพแวดล้ อ มในการทำงานที ่อ าจมี ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบัติงาน อาทิ การตรวจวัด คุณภาพอากาศภายในอาคาร (การตรวจวัดและวิเคราะห์ปริมาณ ฝุ่นขนาดเล็กที่เข้าถึงถุงลมปอด การตรวจวัดและวิเคราะห์ปริมาณ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2))

รวมทั ้งให้ มี ก ารตรวจวิ เ คราะห์ ส ภาพแวดล้ อ มในการทำงาน

เกี่ยวกับความร้อน แสงสว่างและเสียง เพื่อประเมินและปรับปรุง สภาพแวดล้ อ มในการทำงานให้ ส อดคล้ อ งตามเกณฑ์ ม าตรฐาน

ที่กำหนด นอกจากสภาพความไม่ปลอดภัยรวมถึงสภาพแวดล้อมที่อาจ

มีผลต่อสุขภาพของพนักงานแล้ว ทอท. ยังได้ให้ความสำคัญกับ

การยศาสตร์ในการทำงาน (Ergonomics) (การทำงานที่อาจ ก่ อให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ หรื อโรคของระบบกล้ า มเนื ้อ และกระดู ก

อันเนื่องมาจากท่าทางหรือสภาพการทำงานทีไ่ ม่เหมาะสม) โดยได้ จั ด ทำคู ่มื อ การยศาสตร์ ส ำหรั บ ผู ้ป ฏิ บั ติ ง านในท่ า อากาศยาน (AOT Ergonomics Booklet) ซึ ่ง มี เ นื ้อ หาประกอบด้ ว ย

การจัดสภาพการทำงานให้ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ การจัด สถานีงานคอมพิวเตอร์ (Computer Work Station) การยก เคลื่อนย้ายสิ่งของที่ถูกวิธี การบริหารร่างกายเพื่อป้องกันและลด อาการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยจากการทำงานทีไ่ ม่เหมาะสม ทั้งนี้

ได้แจกจ่ายคู่มือดังกล่าวให้กับพนักงาน ทอท. เพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการปรับปรุงสภาพการทำงานและปรับปรุงท่าทางการทำงาน ให้เหมาะสมต่อไป จากการส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินกิจกรรมด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานอย่าง สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ทำให้อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานของ พนักงานมีแนวโน้มลดลง สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความเสี่ยง และสภาพความไม่ปลอดภัยต่าง ๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขตาม แนวทางและวิ ธี การที ่ถูก ต้ องเหมาะสม ซึ่ งส่ ง ผลให้ ในปี 2553

ทอท. ได้ รั บ รางวั ล ‘สถานประกอบกิ จ การดี เ ด่ น ด้ า นความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานระดับ ประเทศ’ จากกรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ม ครองแรงงาน กระทรวง แรงงาน โดยสำนักงานใหญ่ได้รับรางวัลดังกล่าวต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ตได้ รั บ รางวั ล ต่ อ เนื ่อ งเป็ น ปี ที ่ 7 และ

ท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง เชี ย งรายได้ รั บ รางวั ล ระดั บ ประเทศ

ในปีนี้ด้วยเช่นกัน รางวัลทีไ่ ด้รับแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ

ผู้บริหารทีใ่ ห้ความสำคัญและส่งเสริมการดำเนินงานด้านความปลอดภัย

อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการทำงาน รวมถึ ง การ สนับสนุนทรัพยากรด้านต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตาม นโยบายทีไ่ ด้ ก ำหนดไว้ ซึ ่ง ส่ ง ผลให้ ผู ้ท ำงานมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที ่ด ี สามารถปฏิบัติงานให้กับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

127


การให้ความสำคัญต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

การดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดระยะเวลากว่ า 31 ปี ทอท. ซึ ่ง เป็ น ผู ้บ ริ ห าร

ท่าอากาศยานนานาชาติรวม 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยาน ภูเ ก็ต ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชีย งราย และท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นองค์กรที่ผูกพันกับการเดินทางทางอากาศยาน ของคนไทย พร้อมทั้งเอือ้ อำนวยให้เกิดการพัฒนาประเทศควบคูไ่ ป กับการคำนึงถึงแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบของ ทอท. ต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) ตามพันธกิจที่กำหนดไว้ในแผนรัฐวิสาหกิจปี 2553-2557 ว่ า ‘การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ท่ า อากาศยานด้ ว ยมาตรฐานเหนื อ ระดั บ

ให้ บ ริก ารด้ ว ยใจรั ก พร้ อ มเทคโนโลยี ที ่ทั น สมั ย และสำนึ กใน

ความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน’ โดย ทอท. ได้ให้ความสำคัญ ในการพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนในด้ า นการศึ ก ษาของ ประเทศ โดยเฉพาะการขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่เขตพื้นที่ ทุรกันดาร ซึ่งเป็นการส่งเสริมและแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

128

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

มาตั ้ง แต่ ปี 2542 ด้ ว ยการริ เ ริ ่มโครงการสร้ า งโรงเรี ย น

ตำรวจตระเวนชายแดนทั ้ง 3 โรงเรี ย นที ่ตั ้ง อยู ่ ณ จั ง หวั ด นราธิวาส จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดเชียงราย และปัจจุบัน ทอท. สนั บ สนุ น การก่ อ สร้ า งอาคารเด็ ก เล็ ก และอาคารอเนกประสงค์

โรงเรี ย นตำรวจตระเวนชายแดนบ้ า นหางแมว จั ง หวั ด จั น ทบุ รี และในทุ ก ปี ทอท. ได้ ติ ด ตามการดำเนิ น งานและสนั บ สนุ น ด้ า น

ทุนการศึกษา อุปกรณ์การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังมีกิจกรรม

ด้านสังคม ด้านชุมชนสัมพันธ์และสิ่งแวดล้อม เช่น การมอบหนังสือ

ให้ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน มอบสิ่งของและเลี้ยงอาหารกลางวัน

แก่เด็กพิการ และคนชรา และโครงการ AOT พี่อาสา ซึ่งเป็นกิจกรรม

ที่พนักงาน ทอท. อาสาสอนการดับเพลิงเบื้องต้นให้กับโรงเรียน ตลอดจนชุ ม ชนที ่อ ยูโ่ ดยรอบท่ า อากาศยานทั ้ง 6 แห่ ง อี ก ด้ ว ย ประกอบกั บในปี 2553 มี ก ารแต่ ง ตั ้ง คณะทำงานเพื ่อ ดำเนิ น งาน

ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นประธาน และให้มีการประชุมระดมความคิดเห็นอย่างสม่ำเสมอ


เพือ่ ผลัก ดั น ให้ เ กิ ด การขั บ เคลื ่อ นงานด้ า นการให้ ค วามสำคั ญ

ต่อชุมชน สังคมเเละสิ่งเเวดล้อม อย่างเป็นรูปธรรม สำหรับนโยบายด้านการให้ความสำคัญต่อชุมชน สังคมเเละ สิ่งเเวดล้อมของ ทอท. แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ อันดับ 1 ด้ า นการศึ ก ษา (เน้ นโครงการโรงเรี ย นตำรวจ ตระเวนชายแดน ทอท. ที่เริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2542) อันดับ 2 ด้านสังคม (เน้นด้านชุมชนสัมพันธ์และสิ่งแวดล้อม) อันดับ 3 ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา กีฬา

อย่า งไรก็ ดี คณะทำงานด้ า นการให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ชุ ม ชน สังคมและสิ่งเเวดล้อม ของ ทอท. ได้มีการวางแผนการดำเนินงาน โดยแบ่ง การทำงานออกเป็ น 3 ระดั บ คื อ การทำงานในระดั บ องค์กรรวมถึงบุคลากรของ ทอท. แล้วจึงขยายวงกว้างออกไป

สู่การทำงานในระดับชุมชน และไปสู่การทำงานในระดับประเทศ

ในที่สุด

ประเทศ ชุมชน ทอท.

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

129


การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ทอท. ดำเนินกิจการท่าอากาศยานในความรับผิดชอบทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานแม่ฟา้ หลวง เชียงราย

และท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ด้ ว ยความห่ ว งใยต่ อ สิ ่ง แวดล้ อ มและตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบใน

การรัก ษา แก้ไข ป้ อ งกั น และลดผลกระทบต่ อ สิ ่ง แวดล้ อ มกั บ ชุ ม ชนรอบท่ า อากาศยานตลอดมา

โดยท่ า อากาศยานทั ้ง 6 แห่ ง มี ร ะบบการจั ด การสิ ่ง แวดล้ อ มที ่ดี ไม่ ว่ า จะเป็ น ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย

ที่มีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยาน สุ ว รรณภูมิ ซึ ่ง ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ระบบประปา และสถานี สู บ ระบายน้ ำได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน

ISO 14001 ISO 18001 และ ISO 9001

การดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้านเสียงที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ทอท. มี ก ารดำเนิ น งานเพือ่ ลดผลกระทบสิ ่ง แวดล้ อ มด้ า นเสี ย งตามมาตรการที ่ ได้ ก ำหนดไว้

อย่างชัดเจนแล้วในรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพิ่มเติม (สื บ เนือ่ งจากการเพิม่ จำนวนผูโ้ ดยสารในปี เ ปิ ด ดำเนิ น การ) (Environmental Impact Assessment: EIA) ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม

พ.ศ. 2548 และในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ถื อ หุ ้น ประจำปี 2552 เมื่ อ วั น ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553

ที่ประชุมมีมติอนุมัติแนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนทีไ่ ด้รับผลกระทบด้านเสียง จากการดำเนิ น งานท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤศจิ ก ายน

พ.ศ. 2552 ที่เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงคมนาคม โดย ทอท. พิจารณาแก้ไขปัญหาการดำเนิน กิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 (เรื่องการ แก้ไขปัญหาในการดำเนินกิจการท่าอากาศยานสุวรรณภูม)ิ ต่อไป ตามความเหมาะสม สรุปความคืบหน้า

การดำเนินงานจนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ 1. พืน้ ที ่ทไี ่ ด้ รั บ ผลกระทบ NEF>40 ซึ ่ง มี จ ำนวน 498 อาคาร ทอท. เจรจาซื ้อ ที ่ดิ น และสิ ่ง

ปลูกสร้างที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 โดยมีการจ่ายเงินเพื่อซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและโอนกรรมสิทธิ์ แล้ว 70 อาคาร เป็นเงิน 332.047 ล้านบาท สำหรับเจ้าของกรรมสิทธิ์อาคารทีไ่ ม่ต้องการขาย ทอท. ได้มอบเงินค่าปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ไปดำเนินการเองแล้ว จำนวน 314 อาคาร เป็นเงิน 80.063 ล้านบาท 2. พืน้ ที่ทไี่ ด้รับผลกระทบ NEF 30-40 ที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 จำนวน 8,966 อาคาร ทอท. จะ สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างโดยการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน (L90) ภายในอาคาร หากพบว่ าโครงการทำให้ มี ระดั บ เสี ยงรบกวน (L90) เกิ น 10 เดซิ เ บล (เอ) ทอท. จะมอบเงิน ให้ ไป

ปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเองโดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคาร เพื่อลดผลกระทบด้านเสียง จากผลการศึ ก ษาของสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ (NIDA) โดย ทอท. ได้ ม อบเงิน ค่าปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้ไปดำเนินการเองแล้ว จำนวน 546 อาคาร เป็นเงิน 136.861 ล้านบาท อาคารที่อยูใ่ นระหว่างการตรวจสอบเอกสาร จำนวน 1,165 อาคาร อาคารที่อยู่ระหว่าง

ตรวจสอบผลการประเมินค่าปรับปรุงอาคาร 1,500 อาคาร สำหรับอาคารที่เหลือ คาดว่าจะตรวจวัด ระดับเสียงรบกวนและประเมินค่าปรับปรุงอาคารเสร็จปี 2553 3. ทอท. ได้สนับสนุนงบประมาณให้สถานที่อ่อนไหวต่อผลกระทบด้านเสียง ได้แก่ สถานศึกษา สถานพยาบาล และศาสนสถาน จำนวน 18 แห่ง เป็นเงิน 272.748.32 ล้านบาท นอกจากนีใ้ นปีงบประมาณ 2553 ทอท. ได้ติดตั้งระบบตรวจวัดเสียงอากาศยานอัตโนมัติแบบ

ต่อเนือ่ ง 24 ชั่วโมงเพื่อตรวจวัดค่า L90, Leq 24hrs., Lmax และ Ldn ในพื้นที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 6 สถานี และอีก 13 สถานีใ นพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ได้ แ ก่ หมู ่บ้ า นเคหะนคร 2 หมู ่บ้ า น

พนาสนธิ ์ 3 หมู่บ้านแฮปปี้เพลส หมู่บ้านสุทธาธร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง ชุมสาย โทรศัพท์ลาดกระบัง เกริกวิทยาลัย หมู่บ้านกรีนเลค ชุมชนบ้านบางโฉลงหมู่ 6 โรงเรียนวัดบางโฉลงใน ชุมชนวัดบางพลีใหญ่ใน วัดบึงบัว และหมู่บ้านปาร์ควิว เสร็จเรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะตรวจวัดระดับ เสียงอากาศยานในบริเวณรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิต่อไป

130

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

131


กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ ท่าอากาศยานดอนเมือง

ท่าอากาศยานดอนเมืองตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี และคำนึง ถึงความรับผิดชอบในการแก้ไข ป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกับชุมชนโดยรอบ

ท่ า อากาศยาน จึ งได้ มี ก ารดำเนิ น การตามมาตรการป้ อ งกั น แก้ไข และลดผลกระทบ

สิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องทุกปี ในรอบปี ที ่ผ ่า นมา ได้ เ สริ ม สร้ า งประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนและสั ง คมด้ ว ยการจั ด สร้ า งลานกี ฬ าต้ า นภั ย

ยาเสพติด และปรับปรุงลานสันทนาการพร้อมอุปกรณ์ต่างๆ ให้กับชุมชนหน้าท่าอากาศยาน ดอนเมือง (ด้านใต้) เพือ่ ลดปัญหายาเสพติดและสร้างชุมชนเข้มแข็ง และในปีนไี้ ด้จัดสร้าง ศาลาชุ ม ชนและทางเดิ น เท้ า เข้ า ศาลาชุ ม ชนให้ กั บ ชุ ม ชนวั ด ดอนเมื อ ง (ด้ า นเหนื อ ) ในส่ ว น

หน่วยงานข้างเคียง เข้าร่วมจัดนิทรรศการ ‘การรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุภาคพื้นกับกองทัพอากาศ’

และจั ด การฝึก อบรมหลั ก สู ต ร ‘การดั บ เพลิ ง ขั ้น ต้ น ’ ให้ กั บโรงเรี ย นวั ด ดอนเมื อ ง

(ทหารอากาศอุทศิ ) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษา เพื่อให้ความรู้กบั เยาวชนและสร้างความ

สัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับชุมชน โดยมีเนื้อหาความรู ้ เกี่ยวกับทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้ การ แบ่งประเภทของเพลิง จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย การป้องกันแหล่งกำเนิดของการติดไฟ และ วิ ธี ดั บ เพลิง ประเภทต่ า งๆ (ภาคทฤษฎี การสาธิ ต และฝึ ก ปฏิ บั ติ ) นอกจากนั ้น ยั งได้ ร่ ว ม สนับ สนุน กิ จ กรรมต่ า งๆ ที ่ชุ ม ชนจั ด ขึ ้น อาทิ กิ จ กรรมในวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ แ ละเทศกาล

วันสงกรานต์ของชุมชนวัดดอนเมือง (ด้านเหนือ) เป็นต้น

132

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ท่าอากาศยานเชียงใหม่

ในขณะที่ท่าอากาศยานเชียงใหม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนา อย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ด้าน ก็มไิ ด้ละทิ้งบทบาทการเป็นส่วนหนึ่ง ของชุ ม ชน โดยตลอดหนึ ่ง ปี ที ่ผ่ า นมา ได้ จั ด กิ จ กรรมเพื ่อ ชุ ม ชน อย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา การส่งเสริม การศึกษา การพัฒนาด้านการกีฬา การร่วมอนุรักษ์และสืบสาน วั ฒ นธรรมประเพณี อ ัน ดี ง ามของท้ อ งถิ ่น ตลอดจนการอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน เพื ่อ ลดมลภาวะ และการดู แ ลสิ ่ง แวดล้ อ มโดยรอบ

ท่าอากาศยาน

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

133


ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ให้ความสำคัญและส่งเสริมกิจกรรมชุมชน สัมพันธ์ ซึ่งเป็นกิจกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ในระดั บ หน่ ว ยงานและชุ มชนรอบ

ท่าอากาศยาน ทัง้ นี ้ เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างท่าอากาศยาน

และชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน ซึ่งได้ดำเนินการไปแล้ว ดังนี้ 1. ด้ า นศาสนา ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ มในการทำนุ บ ำรุ ง พระพุทธศาสนา และศาสนาอืน่ ๆ โดยร่วมสมทบทุนในการสร้าง ซ่อมแซม ปรั บ ปรุ ง ร่ ว มกิ จ กรรม/โครงการที ่ส่ ง เสริ ม พระพุ ท ธศาสนา เช่ น

การทอดกฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี ตลอดจนร่วมกิจกรรมในวันสำคัญทาง

พระพุทธศาสนา สนับสนุนการดำเนินกิจการฮัจญ์ใ์ นช่วงที่พี่น้องชาวไทย

ที่นบั ถือศาสนาอิสลามเดินทางไปประกอบพิธฮี จั ญ์​์ประจำปี สำหรับปี 2552

ท่ า อากาศยานหาดใหญ่ไ ด้ อ ำนวยความสะดวกให้ พี ่น้ อ งชาวไทยมุ ส ลิ ม

เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์​์ ขาไป จำนวน 6,013 คน และขากลับ จำนวน 6,019 คน เป็นต้น 2. ด้ า นการศึ ก ษา ได้ให้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม เด็ ก เยาวชน ตลอดจนสนับสนุนในการจัดกิจกรรม/โครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ เด็ ก และเยาวชน เช่ น เลี ้ย งอาหารกลางวั น แก่ เ ด็ ก ที ่พิ ก ารทางปั ญ ญา

มอบทุนการศึกษา อุปกรณ์การศึกษา สื่อสารการเรียนการสอน รวมทั้ง บริ จ าคเก้ า อีอ้ ุ ป กรณ์ เ ครื ่อ งใช้ ส ำนั ก งานให้ แ ก่ โ รงเรี ย นโดยรอบ

ท่าอากาศยาน 3. ด้ า นสาธารณประโยชน์ ได้ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น น้ ำ ดื ่ม น้ ำใช้ แจกจ่ายให้ชุมชนที่มีความเดือดร้อน ไม่มีน้ำใช้ในช่วงฤดูร้อน นอกจากนี ้ ได้ ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ หน่ ว ยงาน/ส่ ว นราชการในการจั ด กิ จ กรรมที ่เ ป็ น

สาธารณประโยชน์อืน่ ๆ เช่น การจัดโครงการ AOT พี่อาสา ฝึกสอน

การดั บ เพลิ ง ขั ้น ต้ น ให้ กั บโรงเรี ย นและชาวบ้ า นโดยรอบท่ า อากาศยาน ตลอดจนปลูกต้นไม้ในโอกาสต่าง ๆ รวมทั้งบริจาคเงินในโครงการที่เป็น สาธารณกุศลช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย บริจาคโลหิต เป็นต้น

134

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ให้ ค วามสำคั ญ กั บ ชุ ม ชนโดยรอบ

ท่ า อากาศยาน โดยถื อ เสมื อ นหนึ ่ง ว่ า ชุ ม ชนนั ้น เป็ น ส่ ว นหนึ ่ง ทีใ่ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม พั ฒ นา ให้ ก ารดำเนิ น งานของ

ท่ า อากาศยานภู เ ก็ ต ประสบความสำเร็ จ สามารถรองรั บ การให้บริการอำนวยความสะดวกแก่ผโู้ ดยสารด้วยความปลอดภัย

และสร้างความประทับใจแก่ผู้มาเยือน ทั้งนี้ ผู้บริหารพร้อมด้วย พนักงานและลูกจ้างท่าอากาศยานภูเก็ต ได้สร้างความสัมพันธ์

อัน ดี กั บ ผู ้น ำชุ ม ชนและชาวบ้ า น สนั บ สนุ น กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ที่ มี ประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชนโดยรอบ ทั ้ง ทางด้ า นการศึ ก ษา ศาสนา วัฒนธรรม เยาวชน และสิ่งแวดล้อมด้วยดีเสมอมา

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

135


ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ตระหนักถึงความรับผิดชอบ และการเอาใจใส่ต่อสังคม โดยมีการส่งเสริมกิจกรรมต่าง ๆ โดยรอบ ท่าอากาศยานเพื่อสร้างความรู้จักคุ้นเคยและความเข้าใจอันดีต่อชุมชน เช่ น การจั ด กิ จ กรรมแรลลีโ่ ดยชมรมนั ก ปั ่น จั ก รยาน จั ง หวั ด เชี ย งราย เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีสุขภาพแข็งแรง อีกทั้ง ยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและลดภาวะโลกร้อนด้วย นอกจากนั้นยังได้จัดโครงการ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย สนั บ สนุ น นโยบาย ‘2553 ปี แ ห่ ง ความปลอดภั ย คมนาคม’ โดยแจก หมวกกั น น็ อ กและสติ ๊ก เกอร์ ค วามปลอดภั ยให้ แ ก่ ป ระชาชนในชุ ม ชน ใกล้เคียง รวมทั้งสนับสนุนการรับบริจาคโลหิตเนื่องในวโรกาสวันที ่ 12 สิงหาคม และวันที ่ 5 ธันวาคมของทุกปี เพื่อบรรเทาการขาดแคลนโลหิต ในการรั ก ษาผู ้ป่ ว ย และสนั บ สนุ น ผู ้ด้ อ ยโอกาส เช่ น มอบข้ า วสารตาม โครงการ ‘ขอรั บ การสนั บ สนุ น ข้ า วสารเพื ่อ อาหารกลางวั น ’ เพื่ อ

136

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นที ่ข าดแคลน และอบรมการดั บ เพลิ ง ขั ้น ต้ น สำหรั บ เยาวชน ณ โรงเรียนบ้านป่าสักไก่ และสร้างศูนย์นิทรรศการการส่งเสริม การเรียนรู้ พร้อมทั้งมอบจักรยานจำนวน 225 คันให้แก่โรงเรียนตำรวจ ตระเวนชายแดนการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เฉลิมพระเกียรติ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เนื ่อ งในโอกาส ทรงเจริญพระชนมายุ 4 รอบ และจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติทุกปี นอกจากนั ้น ท่ า อากาศยานแม่ ฟ้ า หลวง เชี ย งราย ยั งได้ใ ห้ การสนับสนุนและร่วมกิจกรรมพระพุทธศาสนา เช่น การทอดกฐินสามัคคี เพื่อหาทุนทรัพย์ในการสร้างกุฏิสงฆ์และบูรณะปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน ณ วัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย โดยมุ่งหวังให้ชุมชนโดยรอบเกิดทัศนคติที่ดี ตลอดจนเกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

137


ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่ที่สุด ของประเทศ อยู ่ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารงานของ ทอท. ซึ่ ง มี นโยบายให้ท่าอากาศยานที่อยูภ่ ายใต้การบริหารงานทุกแห่งจะต้อง ดำเนินธุรกิจท่าอากาศยานควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม

มุ่งติด 1 ใน 10 เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรับผิดชอบสังคม

ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู ม ิ มี ค วามมุ ่ง มั ่น ที ่จ ะดำเนิ น ธุ ร กิ จ ท่าอากาศยานให้ตดิ อันดับการให้บริการดีเด่นอันดับ 1 ใน 10 ของโลก โดยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green and Clean Airport) นอกจากนัน้ ยัง ดำเนิ น กิ จ กรรมและโครงการเพื ่อ สั ง คมและ สิ ่ง แวดล้อ มของชุ ม ชนโดยรอบ ให้ มี ก ารพั ฒ นาไปพร้ อ มกั บ ท่าอากาศยาน และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขแบบยั่งยืน

ห่วงใย...ใส่ใจชุมชน

นับตัง้ แต่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ เปิดให้บริการเมื่อวันที ่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้มีการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกพืน้ ที ่ รวมทั้งจัดกิจกรรม เพือ่ ชุมชนมาโดยตลอด คือ 1. การดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ในพื้นที่ทา่ อากาศยานสุวรรณภูม ิ 20,000 ไร่ ท่าอากาศยาน สุ ว รรณภูมิ มี ก ารระมั ด ระวั ง และควบคุ มไม่ให้ เ กิ ด มลภาวะที ่จ ะ ส่งผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน เช่น การนำรถไฟฟ้า มาใช้ใ นพื้ น ที่ เพือ่ ลดการเกิ ด มลภาวะที ่เ ป็ น พิ ษ จากการเผาไหม้ น้ำ มั น เชื ้อ เพลิง การบำบั ด น้ ำ เสี ยให้ไ ด้ คุ ณ ภาพ และนำมาใช้ใ น การรดน้ำ ต้นไม้ การตรวจวั ด คุ ณ ภาพน้ ำ และอากาศอย่ า ง สม่ำเสมอ การตรวจวัดคุณภาพเสียง การปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลด การเกิดมลภาวะ เป็นต้น

138

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

2. การดูแลชุมชน ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมและร่ ว ม กิจกรรมกับชุมชนโดยรอบพื้นทีใ่ นด้านต่าง ๆ เช่น 2.1 ด้านการศึกษา - โครงการ ‘ความรู้สู่ชุมชน สร้างสัมพันธ์สมานฉันท์ สุ ว รรณภู มิ ’ โดยมอบหนั ง สื อ สารานุ ก รมและหนั ง สื อ ที ่เ ป็ น ประโยชน์ใ นหมวดต่ า งๆ ให้ แ ก่โรงเรี ย นโดยรอบท่ า อากาศยาน สุ ว รรณภู มิ จำนวน 40 แห่ ง ซึ ่งโครงการนีไ้ ด้ เริ ่ม ทำมาตั ้ง แต่ ปี 2551 และมีการมอบหนังสือต่อเนื่องทุกปี - โครงการ ‘เด็ กไทยเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง’ โดยนำ นั ก เรี ย นชั ้น มั ธ ยมจากโรงเรี ย นต่ า ง ๆ โดยรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ จำนวน 200 คน เข้าอบรมและทำกิจกรรมเกี่ยวกับ การใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวพระราชดำริฯ ซึ่งตั้งอยู่ ณ กองพลทหารราบที่ 11 ค่ายสมเด็จพระนั่งเกล้า อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อเป็น พื ้น ฐานในการดำรงชี วิ ต ตามแนวพระราชดำริ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว - โครงการ ‘พาน้องท่องสุวรรณภูมิ’ โดยนำนักเรียน จำนวนกว่ า 400 คน จากโรงเรี ย นโดยรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ เยี่ยมชมกิจการและฟังคำบรรยายสรุปเกี่ยวกับภารกิจ พร้ อ มชมพื ้น ที ่ภ ายในอาคารผูโ้ ดยสารและลานจอดอากาศยาน ซึ่งเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการบริการท่าอากาศยาน ซึ่งไม่มใี น ตำราเรียนแก่นักเรียน - โครงการ ‘ค่ายสีน้ำ’ โดยจัดอบรมศิลปะการวาดภาพ ด้ ว ยสี น้ ำให้ แ ก่ นั ก เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษา เพื ่อ ส่ ง เสริ มให้ เ ด็ ก มีสมาธิและมีความรักในศิลปะ - โครงการ ‘ค่ายเยาวชนลดภาวะโลกร้อน’ โดยนำ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมจำนวน 200 คนจากโรงเรี ย นโดยรอบ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไปเรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาสภาวะโลกร้อน


และทำกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนทีโ่ รงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) จั ง หวั ด นครนายก เพือ่ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรูใ้ นการ อย่ ู ร่วมกันและปลูกจิตสำนึกการช่วยกันลดภาวะโลกร้อน - โครงการ ‘เยาวชนคนแก่ ง ..เปิ ด สมองประลอง ปัญญา กับ สารานุกรมไทย’ โดยจัดแข่งขัน การตอบคำถามจาก สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ซึ่งมีโรงเรียนโดยรอบท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เข้าแข่งขันทั้งหมด 37 โรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน มีการค้นคว้าหาความรู้นอกตำราและเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ทุกด้าน 2.2 ด้านเศรษฐกิจชุมชน - โครงการ ‘แม่บ้านคนเก่ง’ ปี 2 เป็นการอบรมวิชาชีพ ให้ กั บ แม่ บ้ า นที ่อ าศั ย อยูโดยรอบท่ ่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ จำนวน 200 คน เพื่อให้สามารถนำไปประกอบอาชีพหารายได้ เสริมให้กับครอบครัวได้ เช่น การทำข้าวหมกไก่ ถุงทอง ซาหริ่ม เกี๊ยวซ่า การทำกระแตจากดอกไม้สด การทำเครื่องประดับจาก คริส ตัล การทำพุ ่ม เลื ่อ มเงิน -ทองจิ ๋ว การทำสุ ว รรณมั จ ฉาจาก ถุงน่อง ฯลฯ - โครงการ ‘ตลาดนั ด ชุ ม ชน’ โดยจั ด พื ้น ทีใ่ ห้ ชุ ม ชน นำสินค้าและอาหารมาขาย ณ สำนักงานท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (อาคาร AOB) ทุ ก วั น อัง คารและพฤหั ส บดี เพื ่อ ส่ ง เสริ ม การ ประกอบอาชีพและสนับสนุนการหารายได้เสริมให้แก่ชุมชน 2.3 ด้านสิ่งแวดล้อม - โครงการ ‘มอบถังขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม’ โดยมอบ ถัง ขยะสเตนเลสชนิ ด คั ด แยกประเภทขยะ จำนวน 440 ใบ แก่ โรงเรีย นและศู น ย์ พ ัฒ นาเด็ ก เล็ ก ที ่ตั ้ง อยูโ่ ดยรอบท่ า อากาศยาน สุวรรณภูมิ จำนวน 33 แห่ง เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนรักษาความสะอาด และใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม - โครงการ ‘ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษ์ปา่ ชายเลน’ โดยการร่ ว มกั บ ชุ ม ชนปลู ก ป่ า ชายเลนที ่จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ เพือ่ ร่วมกันอนุรักษ์ป่าชายเลน ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำและ

ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง 2.4 ด้านสังคม - โครงการ ‘ตรวจสุขภาพหูชุมชนทีไ่ ด้รับผลกระทบ ด้ า นเสี ย ง’ โดยจั ด ตรวจสุ ข ภาพหูให้ แ ก่ ป ระชาชนที ่อ าศั ย อยูใ่ น ชุมชนทีไ่ ด้รับผลกระทบด้านเสียง 2.5 ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี - โครงการ ‘การแสดงด้ า นวั ฒ นธรรม’ โดยนำ นักเรียนจากโรงเรียนโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมาบรรเลง ดนตรีไทยภายในอาคารผูโ้ ดยสาร เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรักใน ดนตรีไทยและเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมให้ชาวต่างชาติได้ชื่นชม - โครงการ ‘ถวายเทียนพรรษาและผ้าอาบน้ำฝน’ โดย ถวายเที ย นพรรษาให้ กั บ วั ดโดยรอบท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ จำนวน 12 แห่ง เพื่อทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ ยังมีการมอบเงินทุนสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ชุมชนต่าง ๆ เช่น งานประเพณีรับบัว งานวันเด็กแห่งชาติ งานวัน ผู้สูงอายุ งานคนพิการสากล เป็นต้น

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

139


งบการเงิน

140

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ ทอท. ซึ่งจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยได้มีการ พิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน

คณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระกำกับดูแลงบการเงินและประเมินระบบการ ควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่ามีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้องครบถ้วนอย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้ เกิดการทุจริตหรือการดำเนินการที่ผิดปกติ ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้ แสดงไว้ในรายงานประจำปีนี้แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท สามารถสร้างความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของ ทอท. แสดงฐานะ การเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดถูกต้องในสาระสำคัญแล้ว

( นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต ) ประธานกรรมการ

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

141


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปีงบประมาณ 2553

คณะกรรมการบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และเป็น กรรมการอิสระ จำนวน 4 คน โดยมี นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ พลอากาศเอก บุรีรัตน์ รัตนวานิช กรรมการ และนายสุริยา กุลนิตยากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบ เป็นเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ให้ความสำคัญต่อการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท มีหน้าที่และความรับผิดชอบตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท และตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการ เสนอความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อให้มีการปรับปรุงการดำเนินงาน และนำไปสู่การบริหารจัดการที่ดี การควบคุมภายใน การบริหาร ความเสี่ยง ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อบริษัท ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุม รวม 12 ครั้ง โดยเชิญฝ่ายบริหารระดับสูงของส่วนงาน ทอท. และผู้สอบบัญชี เข้าร่วม ประชุมตามวาระที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ - สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงินประจำปี 2553 และรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน โดยพิจารณาร่วมกับ ฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้องของบริษัท และผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินได้จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องในสาระสำคัญ ที่ควรมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และเป็นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป - ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมประชุมด้วยในเรื่องงบการเงินของบริษัท ข้อสังเกตจากการสอบทานงบการเงิน และอืน่ ๆ - สอบทานรายการระหว่างกันซึ่งอาจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัท ผลการสอบทาน รายการระหว่างกันเป็นไปตามลักษณะธุรกิจการค้าปกติทั่วไป - จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอให้คณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส - สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบควบคุมภายในได้ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร เพื่อปรับปรุง ระบบควบคุมภายในของ ทอท. ให้มีประสิทธิผลและสอบทานการบริหารความเสี่ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ นอกจากนีไ้ ด้สอบทาน และให้ ข้ อ เสนอแนะรายงานความคื บหน้ าในการจั ด วางระบบควบคุ ม ภายใน ตามระเบี ย บคณะกรรมการตรวจเงิน แผ่ น ดิ น ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 - สอบทานรายงานผลการดำเนินงานด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ทอท. ปี 2553 เพื่อให้ ทอท. มีการปฎิบัติตามกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน - กำกับดูแล แนะนำ และสนับสนุนการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระของสำนักตรวจสอบ สอบทานรายงานผลงานตรวจสอบภายในปี 2553 และติดตามให้มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของรายงานผลการตรวจสอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล นอกจากนีไ้ ด้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบภายใน ประจำปี 2554 และ แผนการตรวจสอบระยะยาวประจำปี 2554-2556 ที่จัดทำขึ้นตามปัจจัยเสี่ยงของ ทอท. เพื่อให้ครอบคลุมกระบวนการทำงานที่ สำคัญอย่างครบถ้วน รวมทั้งยังได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการสำนักตรวจสอบด้วย - พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าตอบแทนเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อนำเสนอผู้ถือหุ้นอนุมัตใิ ห้สำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้สอบบัญชีบริษัทประจำปี 2553 - ทบทวนปรับปรุงกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ อนุมัติกฎบัตรของสำนักตรวจสอบและคู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายในของสำนักตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าที่ดว้ ยความรอบคอบ มีความเป็นอิสระ มีการแสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมา โปร่งใส ตรวจสอบได้ ตามหลัก ธรรมาภิ บ าลที ด่ ี เพือ่ ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท ซึ ่ง จากการสอบทาน และพิ จ ารณาเรื ่อ งต่ า ง ๆ ที ่ค ณะกรรมการตรวจสอบ ได้ดำเนินการตลอดปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ทอท. มีกระบวนการจัดทำรายงานทางการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยงและการตรวจสอบภายใน ที่เพียงพอเหมาะสม รวมทั้งมีการ ปฏิบัติงานตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (นายสุทธิ เกรียงชัยพฤกษ์) ประธานกรรมการตรวจสอบ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

142

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานของผู้สอบบัญชี เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 งบกำไรขาดทุน รวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะ บริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่อความ ถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงิน ดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ยกเว้นที่จะกล่าวในวรรคถัดไป สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการ เปิดเผยข้อมูลในงบการเงินการประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่บริษัทใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระ สำคัญ ซึ่งผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสม ในการแสดงความเห็นของสำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน ตามที ่อ ธิ บ ายในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิน ข้ อ 6.10.2 ภายหลั ง จากการเปิ ดให้ บ ริ ก ารท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ มี ข้ อ บ่ ง ชี้ ว่ า อาคารและอุปกรณ์ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองอาจเกิดการด้อยค่า บริษัทได้ว่าจ้างสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) ทำการศึกษา แนวทางการใช้ประโยชน์สินทรัพย์ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองรวม 3 แนวทาง ซึ่งการตัดสินใจใช้แนวทางใดอยูใ่ นอำนาจของคณะรัฐมนตรี ไม่อยูใ่ นอำนาจของฝ่ายบริหาร ดังนั้น ฝ่ายบริหารจึงไม่อาจได้ข้อสรุปเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ท่าอากาศยาน ดอนเมืองเพื่อประเมินว่าสินทรัพย์ดังกล่าวด้อยค่าหรือไม่เพียงใดจนกว่าคณะรัฐมนตรีจะมีมติว่าให้บริษัทใช้แนวทางใด ในสถานการณ์ ดังกล่าวสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินไม่สามารถตรวจสอบให้ได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองซึ่งแสดงอยูใ่ นงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552 จำนวน 4,378.70 ล้านบาท และ 4,960.22 ล้านบาท ตามลำดับ สำนั ก งานการตรวจเงิน แผ่ น ดิ น เห็ น ว่ า ยกเว้ น ผลของการปรั บ ปรุ ง งบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะบริ ษั ท สำหรั บ ปี สิ ้น สุ ด วันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552 ซึ่งอาจจำเป็นถ้าสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินสามารถตรวจสอบให้ได้หลักฐานการสอบบัญชีท่เี พียงพอ และเหมาะสมเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองตามที่กล่าวในวรรคก่อน งบการเงินรวมและ งบการเงิน เฉพาะบริ ษั ท ข้ า งต้ น นี ้แ สดงฐานะการเงิน รวมและฐานะการเงิน เฉพาะบริ ษั ท ณ วั น ที ่ 30 กั น ยายน 2553 และ 2552 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ของแต่ล ะปี ข องบริ ษั ท ท่ า อากาศยานไทย จำกั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย และของเฉพาะบริ ษั ท ท่ า อากาศยานไทย จำกั ด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (นางสาวพวงชมนาถ จริยะจินดา) ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน 1 (นางดาหวัน วงศ์พยัคฆ์) ผู้อำนวยการสำนักงาน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน วันที ่ 25 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2553 รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

143


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 และ วันที่ 30 กันยายน 2552

หน่วย : บาท

งบการเงินรวม สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว

งบการเงินเฉพาะบริษัท

หมายเหตุ

2553

2552

2553

2552

6.1

3,518,906,400.34

3,347,003,031.77

3,494,062,191.84

3,343,455,597.88

6.2

18,547,572,949.19

12,094,844,418.73

18,547,572,949.19

12,094,844,418.73

ลูกหนีก้ ารค้า-สุทธิ

6.3

3,283,905,392.62

2,674,398,820.72

3,253,614,093.60

2,650,641,523.87

ลูกหนี้อื่น

6.4

1,307,623,881.64

6,045,632,222.13

1,296,262,412.99

6,045,181,625.95

สินค้าและวัสดุคงเหลือ-สุทธิ

6.5

254,270,727.52

206,546,261.03

248,323,134.91

200,096,670.95

237,386,907.37

133,851,970.90

263,756,629.11

148,678,090.48

1,139,353,015.79

580,592,365.30

1,124,232,417.56

568,081,752.19

รายได้ค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่

6.6

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

28,289,019,274.47

25,082,869,090.58

28,227,823,829.20

25,050,979,680.05

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

6.7

-

175,876,482.40

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

6.7

-

-

เงินลงทุนระยะยาว

6.8

- 39,639,668,000.00

149,625,000.00 39,639,668,000.00

5,358,260,141.18

5,598,590,000.00

5,355,760,000.00

5,598,590,000.00

อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ

6.10

96,745,511,755.65

101,841,504,701.47

94,982,100,210.54

99,868,146,230.78

สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง

6.11

6,925,787,663.03

6,547,624,151.44

6,925,787,663.03

6,547,624,151.44

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-สุทธิ

6.12

1,310,437,276.59

1,083,254,689.97

1,310,437,276.59

1,083,254,689.97

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่

6.13

7,202,984,306.68

8,690,159,880.20

7,202,972,306.68

8,690,159,880.20

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

117,542,981,143.13

123,937,009,905.48

155,416,725,456.84

161,577,067,952.39

รวมสินทรัพย์

145,832,000,417.60

149,019,878,996.06

183,644,549,286.04

186,628,047,632.44

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี้

144

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

หมายเหตุ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี

2553

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 และ วันที่ 30 กันยายน 2552 หน่วย : บาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552

2552

-

4,474,563.86

798,935,742.76

738,613,640.23

600,777,076.85 589,112,623.45

เจ้าหนี้งานระหว่างทำ

140,885,353.31

271,697,933.41

140,885,353.31 271,697,933.41

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

3,756,100,693.45

3,304,762,872.84 3,836,780,774.54 3,402,730,547.52

ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนด

ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา

6.16,6.19 4,997,010,432.84 6.14

-

-

เจ้าหนี้การค้า

ชำระภายในหนึ่งปี

-

4,901,475,508.56 4,848,343,207.85 4,753,075,508.56 30,000,000.00 38,483,807,107.71 38,483,807,107.71

252,456,316.00

235,715,330.19

251,732,103.00 235,709,797.19

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

6.15 4,231,333,456.30

3,827,106,578.81 4,209,689,807.27 3,815,853,735.93

รวมหนี้สินหมุนเวียน

14,176,721,994.66

13,313,846,427.90 52,372,015,430.53 51,551,987,253.77

หนี้สินไม่หมุนเวียน

เงินกู้ยืมระยะยาว

6.16 56,196,451,782.97

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

6.19 790,508,342.81

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญ 1,428,570,000 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

61,914,381,942.50 55,097,521,782.97 60,691,721,942.50 -

789,685,567.80

-

6.17 26,070,075.87

35,643,096.01 26,070,075.87 35,643,096.01

6.18 553,436,708.72

496,224,749.58

553,436,708.72 495,495,069.58

57,566,466,910.37

62,446,249,788.09 56,466,714,135.36 61,222,860,108.09

71,743,188,905.03

75,760,096,215.99 108,838,729,565.89 112,774,847,361.86

รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น

6.20

14,285,700,000.00

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00

14,285,700,000.00

14,285,700,000.00 14,285,700,000.00 14,285,700,000.00

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

12,567,669,242.63

12,567,669,242.63 12,567,669,242.63 12,567,669,242.63

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

225,960,000.00

173,040,000.00

กำไรสะสม

จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย

225,960,000.00 173,040,000.00

6.21 1,428,570,000.00

1,428,570,000.00 1,428,570,000.00 1,428,570,000.00

45,447,485,862.26

44,631,507,363.52 46,297,920,477.52 45,398,221,027.95

รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

73,955,385,104.89

73,086,486,606.15 74,805,819,720.15 73,853,200,270.58

ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

133,426,407.68

173,296,173.92

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

74,088,811,512.57

73,259,782,780.07 74,805,819,720.15 73,853,200,270.58

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

145,832,000,417.60

149,019,878,996.06 183,644,549,286.04 186,628,047,632.44

ยังไม่ได้จัดสรร

-

-

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ ( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

145


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552

หมายเหตุ

รายได้จากการดำเนินงาน ค่าธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์ รายได้เกี่ยวกับบริการ รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ รวมรายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายพนักงาน

ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ค่าซ่อมแซม

รวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน

6.24

6.23

ดอกเบี้ยรับ

6.27

กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน กลับรายการจาก การด้อยค่าสินทรัพย์อื่น รายได้อื่น รวมรายได้อื่น

146

6.8

หน่วย : บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2552

2553

2552

3,114,977,593.46

3,407,113,662.93

3,114,977,593.46

10,180,500,288.71

8,676,535,341.92

10,180,500,288.71

8,676,535,341.92

418,339,275.23

411,056,944.16

418,339,275.23

411,056,944.16

1,615,819,803.86

1,698,232,042.70

1,638,441,931.22

1,723,529,368.22

3,127,571,817.86

2,901,277,239.88

2,496,624,459.04

2,362,023,757.38

5,283,274,171.35

4,700,313,753.43

5,294,074,171.35

4,711,888,332.67

24,032,619,019.94

21,502,392,915.55

23,435,093,788.48

21,000,011,337.81

3,814,343,164.87

3,223,641,594.86

3,808,546,987.93

3,218,982,036.05

67,314,537.01

57,807,304.00

62,629,537.01

55,357,122.00

5,548,853,057.20

5,201,803,220.09

5,128,088,999.90

4,780,629,090.29

1,539,765,710.56

1,214,687,531.18

1,539,765,710.56

1,214,687,531.18

1,034,050,782.10

939,509,563.80

1,034,050,782.10

939,509,563.80

8,279,547,805.74

7,905,803,471.32

8,068,975,679.48

7,696,363,612.44

20,283,875,057.48

18,543,252,685.25

19,642,057,696.98

17,905,528,955.76

3,748,743,962.46

2,959,140,230.30

3,793,036,091.50

3,094,482,382.05

309,382,677.47

(1,848,820,781.31)

309,259,969.49

(1,848,852,199.20)

577,872,001.87

1,248,024,992.11

577,757,059.84

1,247,232,543.59

กำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน

3,407,113,662.93

รายได้อื่น

ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย

2553

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

งบการเงินรวม

185,532,000.00

-

-

971,664,534.80

185,532,000.00

-

-

971,664,534.80

208,948,275.74

203,459,752.15

206,501,670.16

201,622,656.76

1,281,734,955.08

574,328,497.75

1,279,050,699.49

571,667,535.95

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


หมายเหตุ

ค่าใช้จ่ายอื่น

งบการเงินรวม

2553

หน่วย : บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์

159,126,341.22

3,000,000.00

135,375,000.00

3,000,000.00

ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่าย สินทรัพย์

6,089,196.31

(1,874,152.53)

6,767,032.54

(279,098.00)

ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการลงทุน

6.7

135,375,000.00

-

135,375,000.00

-

ค่าใช้จ่ายอื่น

163,163,296.45

385,002,957.87

163,163,296.45

385,002,957.87

รวมค่าใช้จ่ายอื่น

463,753,833.98

386,128,805.34

440,680,328.99

387,723,859.87

2,389,712,450.43

2,493,810,498.65

2,330,803,111.80

2,414,722,672.43

ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้

6.26

-

(15,863,839.48)

-

-

2,177,012,633.13

637,665,584.58

2,300,603,350.20

863,703,385.70

800,908,714.49

4,368,483.90

800,908,714.49

4,368,483.90

กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับงวด

1,376,103,918.64

633,297,100.68

1,499,694,635.71

859,334,901.80

การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน)

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

1,415,973,684.88

717,260,873.74

1,499,694,635.71

859,334,901.80

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

(39,869,766.24)

(83,963,773.06)

1,376,103,918.64

633,297,100.68

1,499,694,635.71

859,334,901.80

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

0.99

0.50

1.05

0.60

ภาษีเงินได้

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

-

-

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

147


148

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

6.22

14,285,700,000.00

-

-

-

14,285,700,000.00

14,285,700,000.00

-

-

-

14,285,700,000.00

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2553

เงินปันผล

กำไรสุทธิ

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2552

เงินปันผล

ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2552

หมายเหตุ

กำไรสุทธิ

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2551

งบการเงินรวม

สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552

12,567,669,242.63

-

-

-

12,567,669,242.63

12,567,669,242.63

-

-

-

12,567,669,242.63

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

-

-

-

-

-

-

225,960,000.00 1,428,570,000.00

-

-

52,920,000.00

173,040,000.00 1,428,570,000.00

173,040,000.00 1,428,570,000.00

-

-

3,780,000.00

169,260,000.00 1,428,570,000.00

ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง สำรองตาม มูลค่าเงินลงทุน กฎหมาย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กำไรสะสม

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทใหญ่

73,955,385,104.89

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

45,447,485,862.26

รวม

หน่วย : บาท

-

(3,685,688,329.44)

-

52,920,000.00

173,296,173.92 73,259,782,780.07

173,296,173.92 73,259,782,780.07

-

633,297,100.68

3,780,000.00

257,259,946.98 76,308,394,008.83

ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย

(599,995,186.14)

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

133,426,407.68 74,088,811,512.57

-

1,415,973,684.88 (39,869,766.24) 1,376,103,918.64

52,920,000.00

73,086,486,606.15

73,086,486,606.15

(599,995,186.14) (599,995,186.14)

1,415,973,684.88

-

44,631,507,363.52

44,631,507,363.52

717,260,873.74 (83,963,773.06)

3,780,000.00

76,051,134,061.85

(3,685,688,329.44) (3,685,688,329.44)

717,260,873.74

-

47,599,934,819.22


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

149

6.22

หมายเหตุ

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2553

กำไรสุทธิ

เงินปันผล

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2552

ยอดคงเหลือ 30 กันยายน 2552

กำไรสุทธิ

เงินปันผล

ยอดคงเหลือ 1 ตุลาคม 2551

ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน

งบการเงินเฉพาะบริษัท

สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552

14,285,700,000.00

-

-

-

14,285,700,000.00

14,285,700,000.00

-

-

-

14,285,700,000.00

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว

12,567,669,242.63

-

-

-

12,567,669,242.63

12,567,669,242.63

-

-

-

12,567,669,242.63

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สำรองตาม กฎหมาย

1,428,570,000.00

-

-

-

1,428,570,000.00

1,428,570,000.00

-

-

-

1,428,570,000.00

กำไรสะสม

รวม

หน่วย : บาท

74,805,819,720.15

(599,995,186.14)

1,499,694,635.71

52,920,000.00

73,853,200,270.58

73,853,200,270.58

(3,685,688,329.44)

859,334,901.80

3,780,000.00

76,675,773,698.22

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

46,297,920,477.52

(599,995,186.14)

1,499,694,635.71

-

45,398,221,027.95

45,398,221,027.95

(3,685,688,329.44)

859,334,901.80

-

48,224,574,455.59

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

225,960,000.00

-

-

52,920,000.00

173,040,000.00

173,040,000.00

-

-

3,780,000.00

169,260,000.00

ส่วนเกินทุนจาก การเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552 หน่วย : บาท งบการเงินรวม

2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุงกระทบยอดกำไรสุทธิเป็นเงินสด รับ(จ่าย)จากกิจกรรมดำเนินงาน หนี้สงสัยจะสูญ สำรองวัสดุคงเหลือเสื่อมสภาพ

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552

2552

2,177,012,633.13

637,665,584.58

2,300,603,350.20

863,703,385.70

61,027,000.52

134,066,704.80

59,420,495.45

125,299,027.87

(1,117,811.96)

-

(1,117,811.96)

-

ขาดทุนจากสินทรัพย์เสื่อมสภาพ

187,514.93

934,395.00

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย

8,279,547,805.74

7,905,803,471.32

8,068,975,679.48

7,696,363,612.44

(971,664,534.80)

-

(971,664,534.80)

159,126,341.22

3,000,000.00

135,375,000.00

3,000,000.00

(300,257,997.89)

1,851,654,788.42

(300,257,997.89)

1,851,654,788.42

(5,351,635.22)

(3,223,638.05)

(4,673,798.99)

(1,628,583.52)

กลับรายการจากการด้อยค่าสินทรัพย์อื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ (กำไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรจากการจำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน ส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่าย(รายได้)รอตัดบัญชี

-

(185,532,000.00) -

-

-

934,395.00

(185,532,000.00)

15,863,839.48

-

- -

22,947,579.59

270,485.89

22,947,579.59

(1,759,027.72)

ประมาณการหนี้สิน

163,166,999.53

5,996,840.12

163,166,999.53

5,996,840.12

รายได้เงินปันผล

(37,845,800.00)

(31,084,700.00)

(37,845,800.00)

(31,084,700.00)

(577,872,001.87)

(1,248,024,992.11)

(577,757,059.84)

(1,247,232,543.59)

2,389,712,450.43

2,493,810,498.65

2,330,803,111.80

2,414,722,672.43

12,144,751,078.15

10,795,068,743.30

11,974,107,747.37

10,708,305,332.35

ลูกหนี้การค้า

(669,405,088.42)

(1,154,139,761.71)

(662,393,065.18)

(1,193,159,061.87)

ลูกหนี้อื่น

4,736,364,643.25

(21,702,303.05)

4,748,919,212.96

(35,007,094.20)

วัสดุคงคลัง

(46,606,654.53)

2,226,009.30

(47,108,652.00)

709,555.89

รายได้ค้างรับ

(10,998,821.55)

1,139,178,681.74

(22,557,116.55)

1,132,437,681.74

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(22,855,713.47)

(23,213,270.08)

(20,558,987.93)

(25,626,969.13)

ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนทางการเงิน กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดำเนินงานลดลง(เพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้า

25,619,787.94

206,452,599.94

(23,037,861.19)

222,855,396.87

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

-

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

479,869,990.57

202,209,437.84

462,232,143.98

235,698,669.74

เงินมัดจำและเงินประกันสัญญา

16,011,305.81

53,470,580.51

16,022,305.81

53,470,580.51

เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย

(9,573,020.14)

(3,297,982.99)

(9,573,020.14)

(3,297,982.99)

407,678,128.73

(851,167,678.40)

397,122,362.34

(845,843,434.74)

17,050,855,636.34

10,244,173,767.84

16,813,175,069.47

10,149,631,385.61

485,338,181.95

1,342,347,667.64

485,235,637.76

1,340,783,028.87

(1,336,827,946.51)

(610,219,319.57)

(1,336,500,391.93)

(609,860,657.61)

16,199,365,871.78

10,976,302,115.91

15,961,910,315.30

10,880,553,756.87

หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

150

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

(100,911,288.56)

-

(100,911,288.56)


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552 หน่วย : บาท งบการเงินรวม

2553

2552

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ เงินปันผลรับจากเงินลงทุน ลงทุนในอาคารและอุปกรณ์และงานระหว่างก่อสร้าง ลงทุนในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553 2552

(6,452,728,530.46)

3,962,984,505.85

(6,452,728,530.46)

3,962,984,505.85

8,623,314.21

7,156,018.87

6,743,193.26

1,865,433.22

37,845,800.00

31,084,700.00

37,845,800.00

31,084,700.00

(2,260,912,055.22)

(1,650,284,678.32)

(2,259,947,054.89)

(1,648,362,489.94)

(370,530,938.38)

(181,887,566.33)

(370,530,938.38)

(181,887,566.33)

เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนทั่วไป

195,532,000.00

เงินลงทุนระยะยาวลดลง(เพิ่มขึ้น)

300,000,000.00

(4,608,051,562.02)

300,000,000.00

(4,608,051,562.02)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น

(196,574,219.22)

(820,249,712.11)

(196,574,219.22)

(820,249,712.11)

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นลดลง

(103,759,420.93)

(266,548,754.43)

(103,759,420.93)

(264,893,705.46)

(8,842,504,050.00)

(3,525,797,048.49)

(8,843,419,170.62)

(3,527,510,396.79)

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด(จ่าย)รับจากการเบิกเกินบัญชี เงินสด(จ่าย)รับจากตั๋วสัญญาใช้เงิน จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ชำระคืนเงินกู้ระยะยาว

-

195,532,000.00

-

(4,474,563.86)

4,474,563.86

-

-

(30,000,000.00)

30,000,000.00

-

-

(157,014,700.36)

-

(157,014,700.36)

-

(4,391,408,126.52)

(1,996,658,002.52)

(4,267,718,126.52)

(1,848,258,002.52)

388,798,473.67

109,220,905.41

388,798,473.67

109,220,905.41

(599,995,186.14)

(3,685,688,329.44)

(599,995,186.14)

(3,685,688,329.44)

(2,390,864,350.00)

(2,502,216,796.47)

(2,331,955,011.37)

(2,423,128,970.25)

(7,184,958,453.21)

(8,040,867,659.16)

(6,967,884,550.72)

(7,847,854,396.80)

171,903,368.57

(590,362,591.74)

150,606,593.96

(494,811,036.72)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด

3,347,003,031.77

3,937,365,623.51

3,343,455,597.88

3,838,266,634.60

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นงวด

3,518,906,400.34

3,347,003,031.77

3,494,062,191.84

3,343,455,597.88

เงินกู้ระยะยาวเพิ่มขึ้น จ่ายเงินปันผล เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

( นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

( นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี ) รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

151


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2553 และ 2552

1. ข้ อมู ล ทั่ว ไป

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 สำนักงานใหญ่ ตั้งอยูเ่ ลขที่ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อประกอบและส่งเสริมกิจการ ท่ า อากาศยาน รวมทั ้ง การดำเนิ น กิ จ การอืน่ ที ่เ กี ่ย วข้ อ งหรื อ ต่ อ เนื ่อ งกั บ การประกอบกิ จ การท่ า อากาศยาน ปั จ จุ บั น บริ ห ารกิ จ การ ท่าอากาศยาน จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) และท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง (ท่าอากาศยานเชียงใหม่, ท่าอากาศยานหาดใหญ่, ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานเชียงราย) สำหรับท่าอากาศยานเชียงรายได้รับ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ชื่อว่า “ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย” ตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2553 เป็นต้นไป ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ทอท. มีพนักงานและลูกจ้างประจำ จำนวน 4,144 คน

2. เกณฑ์การจัด ทำงบการเงิน

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 การจัดทำรายการในงบการเงินเป็นไปตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง “กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552” ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ใช้บังคับสำหรับ การจัดทำงบการเงินซึ่งมีรอบปีบัญชีเริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นด้วยข้อสมมุติฐานที่ว่าผูใ้ ช้งบการเงินมีความเข้าใจหลักการและวิธีปฏิบัติทาง บัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย หลักการบัญชีทใี่ ช้อาจแตกต่างไปจากหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งใช้ในประเทศอืน่ งบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะบริ ษั ทได้ จั ด ทำขึ ้นโดยใช้ เ กณฑ์ ร าคาทุ น เดิ มในการวั ด มู ล ค่ า ขององค์ ป ระกอบของงบการเงิน ยกเว้นบัญชีบางประเภทซึ่งใช้มูลค่ายุติธรรมตามที่อธิบายในนโยบายการบัญชี รายการที่มีสาระสำคัญซึ่งเกิดขึ้นระหว่างบริษัท และบริษัทย่อยได้ถูกตัดรายการในการจัดทำงบการเงินรวม 2.1 งบการเงินรวม แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ทอท. และบริษัทย่อย บริษัทย่อยประกอบด้วย บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด ระหว่างชำระบัญชี (บทม.) และ บริษัท โรงแรม ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด (รทส.) โดย ทอท. ถือหุ้นร้อยละ 100 และ 60 ตามลำดับ 2.2 งบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูมิภาค 4 แห่ง และกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เพือ่ ความสะดวกของผูใ้ ช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท จึงได้มีการแปลงบการเงินเป็นภาษาอังกฤษจากงบการเงินที่จัดทำ เป็นภาษาไทย

3. แม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีใหม่ และมาตรฐานการ รายงานทางการเงินใหม่

แม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึ่งได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 และวันที่ 30 สิงหาคม 2553 มีรายละเอียดดังนี้ 3.1 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 - แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) 3.2 มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินค้าคงเหลือ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบกระแสเงินสด - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาก่อสร้าง - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

152

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29

(ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุง 2552) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม เรื่อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิ จ ที ่เ งิน เฟ้ อ รุนแรง - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง กำไรต่อหุ้น - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ประมาณการหนี ้สิ น หนี ้สิ น ที ่อ าจเกิ ด ขึ ้น และสิ น ทรั พ ย์ ที่อาจเกิดขึ้น - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงาน ที่ยกเลิก (ปรับปรุง 2552) - มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 เรื่อง การสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ 3.3 มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ - มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผย ข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหาร ทอท. ได้ประเมินและคาดว่าแม่บทการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ดังกล่าวข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินสำหรับปีที่เริ่มมีผลบังคับใช้

4. นโยบายการบั ญชีที ่ส ำคั ญ

งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 นโยบายการบัญชีที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 4.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 4.1.1 รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่าเครื่องอำนวยความสะดวก และรายได้เกี่ยวกับบริการ รับรู้เป็นรายได้ในงวดบัญชีที่มีการให้บริการ 4.1.2 รายได้ค่าเช่าสำนักงานและอสังหาริมทรัพย์และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ รับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาและอัตรา ค่าตอบแทนตามที่ระบุไว้ในสัญญา 4.1.3 รายได้จากกิจการโรงแรม และภัตตาคาร บันทึกเป็นรายได้ตามราคาในใบแจ้งหนีโ้ ดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับ ค่าสินค้าและบริการหลังจากหักส่วนลดและค่าบริการที่บวกเพิ่มแล้ว 4.1.4 ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของระยะเวลา โดยคำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 4.1.5 เงินปันผล รับรูใ้ นวันประกาศจ่าย 4.1.6 ค่าใช้จ่ายบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง 4.2 ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ การตั ้ง ค่ า เผื ่อ หนี ้ส งสั ย จะสู ญ ตั ้ง เป็ น จำนวนเท่ า กั บ ผลขาดทุ น ที ่อ าจเกิ ด ขึ ้น จากการเก็ บ เงิน จากลู ก หนีไ้ ม่ไ ด้ โดยประมาณ ขึ้นจากประสบการณ์ในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะปัจจุบันของลูกหนี้คงค้าง ณ วันทีใ่ นงบดุล หนี้สูญจะตัดบัญชีตามรายที่ระบุได้ ในระหว่างปี 4.3 สินค้าและวัสดุคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าคำนวณโดยวิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนในการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้านั้น มูลค่าที่จะได้รับประมาณจากราคา ที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายในการขาย สำหรับวัสดุคงเหลือบันทึกบัญชีโดยวิธีราคาทุนถัวเฉลี่ย วัสดุในส่วน ทีไ่ ม่เคลือ่ นไหวเกิน 5 ปี จะตั้งสำรองการเสื่อมสภาพไว้เต็มจำนวน 4.4 เงินลงทุน 4.4.1 เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนในตราสารทุนทีไ่ ม่อยูใ่ นความต้องการของตลาดที่เป็นเงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุน ปรับด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 4.4.2 เงินลงทุนในตราสารทุน ที่อยูใ่ นความต้องการของตลาดที่เป็นเงินลงทุนเผื่อขายแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม กำไรหรือ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการปรับมูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของผู้ถือหุ้น 4.4.3 เงิ น ลงทุ นในบริ ษั ท ย่ อ ย และบริ ษั ท ร่ ว ม บันทึกบัญชีเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ตามสัดส่วนของการลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม และในงบการเงินเฉพาะบริษัทแสดงตามวิธีราคาทุน รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

153


4.5 อาคารและอุปกรณ์ บันทึกบัญชีในราคาทุน ณ วันทีไ่ ด้มาหรือก่อสร้างแล้วเสร็จ ทอท. ก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดในที่ราชพัสดุซึ่งเช่า จากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เดิมระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศกำหนดให้อาคารและสิ่งปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิ์ ของกระทรวงการคลังนับตั้งแต่วันก่อสร้างแล้วเสร็จ แต่ ทอท. บันทึกอาคารและสิ่งปลูกสร้างเป็นสินทรัพย์ เนื่องจาก ทอท. เป็นผู้รับ ความเสี ่ย งและผลประโยชน์ใ นสิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า ว และจ่ า ยค่ า ตอบแทนการใช้ ที ่ร าชพั ส ดุให้ ก รมธนารั ก ษ์ เมื่ อ ทอท. แปลงสภาพเป็ น บริษัทมหาชนจำกัด กระทรวงการคลังได้จัดทำระเบียบกระทรวงการคลังและกองทัพอากาศ จำนวนหนึ่งระเบียบ และระเบียบกระทรวงการคลัง และกรมการบิน พาณิ ช ย์ จำนวนสองระเบี ยบ ซึ ่งทั ้ง สามระเบี ยบมี ผ ลบั ง คั บใช้ ตั ้งแต่ วั นที ่ 30 กั นยายน 2545 โดยข้ อ 8 ของทั ้ง สาม ระเบียบกำหนดให้กรรมสิทธิ์อาคาร และสิ่งปลูกสร้างตกเป็นกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลัง เมื่อข้อตกลงการใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุที่ ทำขึ้นตามระเบียบนี้สิ้นผลบังคับผูกพัน ซึ่งเมื่อรวมระยะเวลาทั้งสิ้นแล้วต้องไม่เกิน 50 ปี นับแต่วันที่ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์ ทอท. ได้ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์รวมสี่ฉบับ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 และทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์ฉบับปรับปรุงแก้ไขอีก 1 ฉบับ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2547 โดยให้ ทอท. ใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ มีกำหนดเวลา 30 ปี (วันที่ 30 กันยายน 2575) และยินยอมให้ ทอท. แจ้ ง ขอใช้ ป ระโยชน์ ต่ อไปได้ อี ก สองครั ้ง ครั ้ง ละ 10 ปี (วั น ที่ 30 กั น ยายน 2595) ซึ่ ง ทอท. จ่ า ยค่ า ตอบแทนการใช้ ที ่ร าชพั ส ดุ ให้กรมธนารักษ์ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.23 เครือ่ งใช้ในการดำเนินงานของกิจการโรงแรม บันทึกค่าเสื่อมราคาตามประมาณการอายุการใช้งานของทรัพย์สิน ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละประเภท ดังนี้ อายุการใช้งาน (ปี) ของสินทรัพย์ อาคาร สิ่งก่อสร้างและภูมิสถาปัตยกรรม 20 - 50 งานระบบ ไฟฟ้า ประปา เชื้อเพลิงและสื่อสาร 10 - 20 เครื่องจักรกล เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ 5 - 10 ยานพาหนะ 5 - 8 เครื่องตกแต่งติดตั้งและเครื่องใช้สำนักงาน 3 - 10 4.6 รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บันทึกบัญชีเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ รายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ คงเหลือ ณ วันสิ้นงวดจะปรับมูลค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตามอ้างอิงประจำวันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศไว้ ผลกำไร หรือขาดทุนที่เกิดขึ้นรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบกำไรขาดทุน 4.7 ดอกเบี้ยเงินกู ้ จากการกู้ยืมเพื่อนำมาใช้ในโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการก่อสร้าง และเมื่อโครงการ ก่อสร้างแล้วเสร็จจะบันทึกดอกเบี้ยเงินกู้เป็นค่าใช้จ่าย 4.8 กองทุนสงเคราะห์ และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 4.8.1 ทอท. ได้จัดตั้ง “กองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย” โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุน ฯ ในอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนพนักงานเฉพาะพนักงานที่เลือกไม่โอนไปกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามข้อ 4.8.2 เพื่อให้กองทุน ฯ มีเงินสำรอง เพียงพอที่พึงต้องจ่ายพนักงาน ณ วันสิ้นงวดบัญชี โดยรวมไว้เป็นหนี้สินไม่หมุนเวียนอืน่ ในงบดุล ส่วนรายได้และ ค่าใช้จ่ายของกองทุนฯ รับรูใ้ นงบกำไรขาดทุน 4.8.2 ทอท. ได้จัดตั้ง “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย” ซึ่งจดทะเบียนแล้วเมื่อวันที ่ 28 มีนาคม 2537 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งพนักงานและลูกจ้างประจำจ่ายเงินสะสม เข้ากองทุนฯ ในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือน ทั้งนี้ต้องไม่เกินอัตราที ่ ทอท. จ่ายสมทบ โดย ทอท. จะจ่ายเงินสมทบ เข้ากองทุนฯ ให้พนักงานที่เป็นสมาชิกแต่ละรายตามอัตราที่กำหนด คณะกรรมการ ทอท. ได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 9/2548 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ให้ปรับอัตราเงินสมทบของสมาชิก ดังนี้ อายุการทำงาน

ไม่เกิน

เกินกว่า 10 ปี

เกินกว่า 20 ปี

อัตราร้อยละของเงินเดือน

10 ปี

9

10 12

เกินกว่า 25 ปี 15 สมาชิกสามารถขอเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมได้ตามอายุการทำงานในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือน โดยจะมีผลบังคับใช้ในเดือน เมษายนและเดือนตุลาคมของทุกปี

154

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


ทอท. รับรู้เงินจ่ายสมทบเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ ได้แยกออกจาก ทอท. และ บริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการกองทุนสำรองเลื้ยงชีพ 4.9 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายความรวมถึงเงินสดและเงินฝากธนาคารที่มีกำหนดจ่ายคืนในรอบระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันทีไ่ ด้มา 4.10 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ทอท. นำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2547 จึงได้รับลดหย่อนอัตรา ภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิหลังจากปรับปรุงด้วยรายได้และค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ กรมสรรพากร ตั้งแต่รอบปีบัญชี 2548–2552 และในรอบปีบัญชี 2553 ทอท. สามารถใช้สิทธิไ์ ด้ต่อเนื่องอีก 1 รอบปีบัญชี ตามพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 475 โดยสามารถชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิเฉพาะส่วนทีไ่ ม่เกิน 300 ล้านบาท สำหรับ ส่วนที่เกิน 300 ล้านบาท ทอท. ต้องชำระในอัตราร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิ 4.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสม ประกอบด้วย - สิทธิในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สามารถแยกจากเครื่องมือที่เกี่ยวข้องได้ การตัดจำหน่าย คำนวณโดยวิธีเส้นตรง โดยประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ระหว่าง 5-10 ปี - ค่าชดเชยผลกระทบทางเสียง เป็นการจ่ายในการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้กับหน่วยงาน / เจ้าของสถานที่เพื่อ ป้องกันผลกระทบทางเสียงที่เกิดจากการดำเนินงานของสนามบินสุวรรณภูมิ การตัดจำหน่ายคำนวณโดยวิธีเส้นตรง ในระยะเวลา 20-50 ปี 4.12 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน คำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายในระหว่างปี 4.13 การใช้ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมุติฐานหลายประการ ซึ่งมีผล ต่อการกำหนดนโยบายและรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย การประมาณและข้อสมมุติฐานมาจาก ประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ประมาณการและข้อสมมุติฐานทีใ่ ช้ในการจัดทำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชี จะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับ และงวดอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต 4.14 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ในการทำอนุพันธ์ทางการเงินที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงใช้เกณฑ์คงค้าง กำไรขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่าเงินบาท รับรูใ้ นงบกำไรขาดทุน ส่วนดอกเบี้ยเงินกู้เป็นไปตามนโยบายการบัญชีข้อ 4.7 4.15 ประมาณการหนีส้ ิน ทอท. จะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และสามารถประมาณมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

5. ข้ อมูล ทางการเงิ นจำแนกตามส่ ว นงาน

ทอท. และบริษัทย่อยดำเนินธุรกิจ 2 ส่วนงานหลัก ได้แก่ กิจการท่าอากาศยาน และธุรกิจโรงแรม ในปี 2553 และ 2552 ทอท. และ บริษัทย่อยไม่มีกิจกรรมที่เป็นสาระสำคัญในส่วนงาน ดังนั้น จึงไม่แสดงข้อมูลจำแนกตามส่วนงานทั้งในส่วนงานธุรกิจและส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

155


6. ข้ อมู ล เพิ่มเติ ม

6.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสด

2553

พันธบัตรที่มีอายุไม่เกิน 3 เดือน เงินฝากออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ ทอท.

หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

82.89

351.12

81.66

349.88

1,076.77

1,224.98

1,053.15

1,222.68

เงินฝากประจำ ตั๋วแลกเงินที่มีอายุไม่เกิน 3 เดือน

งบการเงินรวม

เงินฝากธนาคาร เงินฝากกระแสรายวันและออมทรัพย์

-

500.00

-

500.00

500.00

800.00

500.00

800.00

1,789.39

399.93

1,789.39

399.93

69.86

70.97

69.86

70.97

3,518.91 3,347.00 3,494.06 3,343.46 รวม ณ วั น สิ ้น งวดปี 2553 และ 2552 เงิน สดและรายการเที ย บเท่ า เงิน สดได้ ร วมเงิน ที ่ ทอท. กั นไว้ ส ำหรั บ กองทุ น สงเคราะห์ การท่าอากาศยานฯ จำนวน 58.89 ล้านบาท และ 62.86 ล้านบาท 6.2 เงินลงทุนชั่วคราว หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

เงินฝากประจำ

ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำหนดภายใน 1 ปี

2552

16,853.50

7,803.45

ตั๋วแลกเงิน

1,000.00

3,100.00

พันธบัตร

694.07

1,191.39

18,547.57 12,094.84 รวม เงินฝากประจำ เป็นเงินฝากที่มีวันครบกำหนดเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ วันสิ้นงวดปี 2553 และ 2552 เงินฝากประจำได้รวมเงิน ฝากกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานฯ จำนวน 3.50 ล้านบาท และ 3.45 ล้านบาท ตามลำดับ

156

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


6.3 ลูกหนีก้ ารค้า-สุทธิ

งบการเงินรวม

ลูกหนี้การค้า-บุคคลภายนอก

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

3,867.24

2,636.53

3,819.44

2,595.78

103.64

664.94

110.14

671.41

3,970.88

3,301.47

3,929.58

3,267.19

(675.97)

(616.55)

ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม

(686.97)

(627.07)

3,283.91 2,674.40 3,253.61 2,650.64 ลูกหนี้การค้า-สุทธิ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำนวน 686.97 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้อยู่ระหว่างดำเนินคดี 7 ราย จำนวนเงิน 9.41 ล้านบาท อยู่ระหว่าง ดำเนินการรวบรวมหลักฐานเพือ่ ดำเนินคดี 8 ราย จำนวนเงิน 17.49 ล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาของพนักงานอัยการ 3 ราย จำนวนเงิน 191.66 ล้านบาท และอยู่ระหว่างการประนอมหนี้และติดตามทวงถาม 132 ราย จำนวนเงิน 468.41 ล้านบาท ลูกหนีก้ ารค้า แยกตามอายุหนีไ้ ด้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2552

2553

2552

ยังไม่ถึงกำหนดชำระ

3,105.47

2,370.38

3,094.50

2,358.31

ไม่เกิน 6 เดือน

76.54

127.63

60.84

115.96

เกินกว่า 6 เดือน – 1 ปี

93.53

308.92

89.22

308.61

เกินกว่า 1 ปี – 2 ปี

214.64

91.59

214.64

88.27

เกินกว่า 2 ปี

480.70

402.95

470.38

396.04

3,301.47

3,929.58

3,970.88 รวม 6.4 ลูกหนี้อื่น มีรายละเอียดดังนี ้

งบการเงินรวม

2553

3,267.19

หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2552

2553

2552

กรมสรรพากร

1,247.19

1,246.88

1,246.68

1,246.68

การรถไฟแห่งประเทศไทย

37.70

4,792.49

37.70

4,792.49

เงินยืมทดรอง

2.58

4.44

2.58

4.44

อื่น ๆ

20.15

1.82

9.30

1.57

รวม

1,307.62

6,045.63

1,296.26

6,045.18

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

157


ลูกหนีก้ รมสรรพากร จำนวน 1,247.19 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ณ วันสิ้นงวดปี 2553 เป็นภาษีซื้อที่ขอคืนจากกรมสรรพากรของ รทส. จำนวน 0.51 ล้านบาท และของ ทอท. จำนวน 1,246.68 ล้านบาท ในส่วนของ ทอท. เป็นภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้างท่าอากาศยาน สุว รรณภู มิ ตั ้ง แต่ เ ดื อ นมิ ถุ น ายน 2539 ถึ ง เดื อ นธั น วาคม 2548 ที่ ทอท.รั บโอนมาจาก บทม. เมื่ อ วั น ที่ 1 มกราคม 2549 ซึ ่งในการ ขอคืนภาษีนั้นคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นในประเด็นการสืบสิทธิและหน้าที่แทน บทม. ในฐานะผู้รับโอนกิจการจาก บทม. ว่า ทอท. ในฐานะผู ้รั บโอนกิ จ การจาก บทม. ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี แ ละสั ญ ญาโอนกิ จ การ ชอบที ่จ ะได้ รั บโอนสิ ท ธิ แ ละหน้ า ที ่ข อง บทม. ในการ ขอคืน ภาษี มู ล ค่ า เพิ ่ม (ภาษี ซื อ้ ) ที ่ย งั คงค้ า งการพิ จ ารณาจากกรมสรรพากร โดย ทอท. ต้ อ งดำเนิ น การให้ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก เกณฑ์ ที ่ ประมวลรัษฎากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้เพื่อการนั้น ทอท. ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำหนด โดยยื่นประมาณการการใช้พื้นที่อาคาร และได้รับขยายเวลาการยื่นแบบ แจ้งรายการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารและการใช้พื้นที่อาคารจากกรมสรรพากรแล้ว ปัจจุบันอยู่ระหว่างตรวจสอบการขอคืนภาษีของกรม สรรพากร 6.5 สินค้า และวัสดุคงเหลือ–สุทธิ หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

สินค้าและวัสดุคงเหลือ

2553

หัก สำรองการเสื่อมสภาพของวัสดุคงเหลือ สินค้าและวัสดุคงเหลือ–สุทธิ 6.6 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

2552

254.70

(0.43)

254.27

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2553

208.10

(1.55)

248.75

(0.43)

206.55

201.65

(1.55)

248.32

งบการเงินรวม

2552

200.10

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

สินทรัพย์รอการขาย

159.13

-

135.38

-

หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

(159.13)

-

(135.38)

-

-

-

-

-

สินทรัพย์รอการขาย-สุทธิ ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกำหนด

172.81

184.77

159.30

175.37

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

966.54

395.82

964.93

392.71

1,139.35 580.59 1,124.23 568.08 รวม สินทรัพย์รอการขายจำนวน 159.13 ล้านบาทในงบการเงินรวม และจำนวน 135.38 ล้านบาทในงบการเงินเฉพาะบริษัท หักค่าเผื่อการ ด้อยค่าของสินทรัพย์จำนวน 159.13 ล้านบาท และ 135.38 ล้านบาทตามลำดับ เกิดจากนโยบาย ทอท. ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.7

158

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


6.7 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม งบการเงินรวม

หน่วย : ล้านบาท

จำนวนเงินลงทุน

ชือ่ บริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น (%)

2553

วิธีราคาทุน

2552

2553

วิธีส่วนได้เสีย

2552

2553

2552

บริษัทร่วม

บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

-

28.50

-

149.62

-

175.88

รวม งบการเงินเฉพาะบริษัท

-

149.62

-

175.88

ชือ่ บริษัท

หน่วย : ล้านบาท

จำนวนเงินลงทุน สัดส่วนการถือหุ้น (%) 2553

บริษัทร่วม

บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

-

วิธีราคาทุน

2552

2553

28.50

2552

-

เงินปันผลรับ

149.62

2553

2552

-

-

บริษัทย่อย บริษั ท ท่ า อากาศยานสากลกรุ ง เทพแห่ งใหม่ 100.00 100.00 39,029.00 39,029.00 - - จำกัด (บทม.) ระหว่างชำระบัญชี บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด 60.00 60.00 610.67 610.67 - - (รทส.) 39,639.67 39,639.67 รวม ณ วันสิ้นงวดปี 2552 ทอท. มีเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด จำนวน 2,850,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ชำระเต็มมูลค่าแล้วจำนวน 142,500 หุ้น เป็นเงิน 14.25 ล้านบาท ส่วนที่ชำระค่าหุ้นไว้เพียงร้อยละ 50 จำนวน 2,707,500 หุ้น เป็นเงิน 135.38 ล้านบาท รวมมูลค่าหุ้นทั้งสิ้นจำนวน 149.62 ล้านบาท เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2552 บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด เรียกให้ผู้ถือหุ้นชำระค่าหุ้นให้เต็มจำนวนมูลค่าหุ้น โดยชำระเพิ่มอีกร้อยละ 50 เป็นเงิน 135.38 ล้านบาท แต่ ทอท. มีนโยบายไม่ชำระค่าหุ้นในส่วนที่ยังชำระไม่เต็มมูลค่าตามที่บริษัท ฯ เรียกให้ ชำระ ซึ่งต่อมาในวันที ่ 21 มกราคม 2553 บริษัท ฯ มีหนังสือบอกริบหุ้นเพื่อนำไปขายทอดตลาด ดังนั้น ทอท. จึงโอนเปลี่ยนประเภทเงิน ลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด ส่วนที่ยังชำระไม่เต็มมูลค่าไปแสดงไว้ในสินทรัพย์รอการขายตาม หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.6 และโอนเงินลงทุนในหุ้นที่ชำระเต็มมูลค่าแล้วไปแสดงไว้ในเงินลงทุนทั่วไปตามหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 6.8 ณ วันสิ้นงวดปี 2553 ทอท. ได้บันทึกประมาณการหนี้สินที่อาจเกิดจากการลงทุนในหุ้นสามัญดังกล่าว จำนวน 135.38 ล้านบาท

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

159


6.8 เงินลงทุนระยะยาว งบการเงินรวม ชือ่ บริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น% 2553

1. เงินลงทุนทั่วไป

2552

ราคาทุน 2553

2552

หน่วย : ล้านบาท

ราคายุติธรรม

ราคาตามบัญชี

2553

2553

2552

เงินปันผลรับ

2552

2553

2552

บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด

10.00

10.00

20.00

20.00

-

-

20.00

20.00

-

-

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล

10.00

10.00

10.00

10.00

-

-

10.00

10.00

3.00

3.00

10.00

10.00

3.00

-

-

-

-

9.00

9.00

10.80

10.80

-

-

10.80

10.80

7.56

3.78

บริษัท คิง เพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด

-

5.00

-

10.00

-

-

-

10.00

-

-

บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด

-

1.38

-

22.00

-

-

-

-

-

-

1.50

1.50

0.75

-

-

0.75

0.75

-

-

10.00

10.00

53.00

-

-

53.00

15.19

14.73

-

-

-

16.75

-

-

-

(22.00)

-

-

-

-

-

-

บริษัท แอร์พอร์ตโฮเต็ล จำกัด

บริษัท เทรดสยาม จำกัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิน ลงทุน บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด รวม 2. หลักทรัพย์เผื่อขาย ในตราสารทุน บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 3. เงินฝากประจำ รวมทั้งสิ้น

160

1.43

3.00

0.75

53.00

-

16.75

-

(3.00)

(3.00)

-

-

111.30

104.55

-

-

4.94

4.94

21.00

21.00

246.96

5,000.00

5,300.00

5,132.30

5,425.55

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

-

246.96

-

-

53.00

111.30

104.55

194.04

246.96

194.04

12.10

9.58

5,000.00

5,300.00

5,358.26

5,598.59

-

194.04


งบการเงินเฉพาะบริษัท ชือ่ บริษัท

หน่วย : ล้านบาท สัดส่วนการถือหุ้น ราคาทุน ราคายุติธรรม ราคาตามบัญชี เงินปันผลรับ % 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552

1. เงินลงทุนทัว่ ไป บริษทั แอร์พอร์ต ดิวตีฟ้ รี จำกัด

10.00

10.00

20.00

20.00

-

-

20.00

20.00

บริษทั ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษทั แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษทั ดอนเมือง อินเตอร์เนชัน่ แนล

10.00

10.00

10.00

10.00

-

-

10.00

10.00

10.00

10.00

3.00

3.00

-

-

9.00

9.00

10.80

10.80

-

-

บริษทั คิงเพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำกัด

-

5.00

-

10.00

-

-

-

10.00

-

-

บริษทั ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด

-

1.38

-

22.00

-

-

-

-

-

-

1.50

1.50

0.75

0.75

-

-

0.75

0.75

-

-

10.00

10.00

53.00

53.00

-

-

53.00

53.00

-

14.25

-

-

-

14.25

(22.00)

-

-

-

-

(3.00)

(3.00)

-

-

-

-

108.80

104.55

-

-

108.80

104.55

21.00

21.00

246.96

194.04

246.96

194.04

5,000.00

5,300.00

-

-

5,000.00

5,300.00

5,129.80

5,425.55

246.96

194.04

5,355.76

5,598.59

แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด

บริษทั เทรดสยาม จำกัด บริษทั ไทยเชือ้ เพลิงการบิน จำกัด บริษทั ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วสิ เซส จำกัด หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน

1.43

บริษทั ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด บริษทั แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด รวม 2. หลักทรัพย์เผือ่ ขายในตราสารทุน บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 3. เงินฝากประจำ รวมทัง้ สิน้

-

4.94

4.94

-

10.80

-

10.80

-

-

3.00

-

7.56

15.19

-

12.10

-

3.00

-

3.78

14.73

-

9.58

ทอท. มี นโยบายขายหุ ้น ในบริ ษั ท ร่ ว มทุ น ที ่ ทอท. ถื อ หุ ้น อยู ่จ ำนวน 5 บริ ษั ท ได้ แ ก่ บริ ษั ท แอร์ พ อร์ ท แอสโซซิ เ อท จำกั ด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด และบริษัท ขนส่ง น้ำมันทางท่อ จำกัด ในงวดบัญชีนี้ ทอท. ได้ดำเนินการดังนี้ - ทอท. ขายหุ้นในบริษัท คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด ที่มีอยู่ทั้งหมดจำนวน 100,000 หุ้น ราคาทุน 10 ล้านบาท ในราคาตามมูลค่า บัญชีของบริษัทดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นเงิน 195.51 ล้านบาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นรายเดิม ตามมติคณะกรรมการ ทอท. ครั้งที่ 14/2552 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2552 ทำให้มีกำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนจำนวน 185.51 ล้านบาท - ทอท. ขายหุ้นในบริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด ที่มีอยู่ทั้งหมดจำนวน 220,000 หุ้น ซึ่งปัจจุบันไม่มีมูลค่าคงเหลือตามบัญชีแล้ว (ราคาทุน 22 ล้านบาท หักค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน 22 ล้านบาท) ในราคาหุ้นละ 0.10 บาท เป็นเงิน 0.02 ล้านบาท ให้แก่ ผู้ถือหุ้นรายเดิม ทำให้มีกำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนจำนวน 0.02 ล้านบาท

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

161


6.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินได้รวมรายการที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นไปตามธุรกิจปกติทั่วไป สรุปได้ดังนี ้ งบการเงินรวม

2553

บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท คิงเพาเวอร์ ดิวตี้ฟรี จำกัด บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า–สุทธิ

บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม

2552

21.08

11.98

21.08

11.98

0.99

0.80

0.99

0.80

6.50

6.47

-

-

-

632.79

-

632.79

0.63

0.03

0.63

0.03

80.94

19.34

80.94

19.34

103.64

664.94

110.14

671.41

(0.16)

(0.21)

(0.16)

(0.21)

103.48

664.73

109.98

671.20

9.17

8.71

9.17

8.71

18.30

6.74

-

-

9.17

8.71

27.47

15.45

0.02

0.01

6.9.3 เจ้าหนี้การค้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

2553

6.9.2 รายได้คา้ งรับ บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

6.9.1 ลูกหนี้การค้า

หน่วย : ล้านบาท

-

-

บริษัท ไทยแอร์พอร์ตกราวด์เซอร์วิสเซส จำกัด

18.77

0.21

18.77

0.21

รวม

18.77

0.21

18.79

0.22

0.16

0.09

6.9.4 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

-

-

บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

83.64

85.93

83.64

85.93

รวม

83.64

85.93

83.80

86.02

6.9.5 รายได้รบั ล่วงหน้า บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม

162

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

-

-

1.89

1.89

-

-

1.89

1.89


6.9 รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ)

หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะ

2552

2553

2552

6.9.6 รายได้และค่าใช้จ่าย

รายได้ดำเนินงาน

บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

20.23

35.80

20.23

35.80

บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด

25.39

21.20

25.39

21.20

2,441.44

2,441.44

บริษัท คิงเพาเวอร์ดิวตี้ฟรี จำกัด

-

-

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

245.45

244.81

245.45

244.81

บริษัท ดอนเมืองอินเตอร์เนชั่นแนลแอร์พอร์ต จำกัด

4.88

5.25

4.88

5.25

บริษัท ไทยเชื้อเพลิงการบิน จำกัด

14.22

13.07

14.22

13.07

59.68

63.07

2,824.64

บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด

-

รวม

310.17

2,761.57

369.85

ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน บริษัท ไทยแอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด รวม

-

71.40

-

315.91 -

71.40

315.91

1.05

0.85

71.40

315.91

72.45

316.76

ค่าใช้จ่ายอื่น บริษัท ไทยแอร์พอร์ตกราวด์เซอร์วิสเซส จำกัด

-

3.35

-

3.35

รวม

-

3.35

-

3.35

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

163


6.10 อาคารและอุปกรณ์–สุทธิ งบการเงินรวม อาคารและสิ่ง เครื่องมือและ ก่อสร้าง อุปกรณ์

ราคาทุน

หน่วย : ล้านบาท

ณ วันที่ 30 กันยายน 2552

งบการเงินเฉพาะบริษัท อาคารและสิ่ง เครื่องมือและ รวม ก่อสร้าง อุปกรณ์

รวม

101,010.53

39,918.11

140,928.64

98,885.88

สินทรัพย์เพิ่ม

698.63

2,455.40

3,154.03

698.63

2,453.37

3,152.00

โอนเปลี่ยนประเภท

(92.88)

(15.33)

(108.21)

(92.88)

(15.14)

(108.02)

(4.35)

(121.95)

(126.30)

(4.26)

(118.30)

(122.56)

101,611.93

42,236.23

99,487.37

41,704.93

ขายและจำหน่าย ณ วันที ่ 30 กันยายน 2553 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 30 กันยายน 2552

39,087.14

17,500.84

20,901.89

2,670.62

5,464.24

8,134.86

2,554.58

5,369.71

-

ขายและจำหน่าย

(0.63)

-

-

(118.72)

138,270.88

-

38,402.73 7,924.29

-

(119.35)

(0.58)

141,192.30

21,217.25

โอนเปลี่ยนประเภท

-

(116.24)

(116.82)

20,539.88

26,562.77

47,102.65

20,054.84

26,155.36

46,210.20

81,385.04

18,483.11

99,868.15

ราคาตามบัญชี-สุทธิ ณ วันที ่ 30 กันยายน 2552

17,869.89

ค่าเสื่อมราคาสำหรับงวด

ณ วันที ่ 30 กันยายน 2553

143,848.16

39,385.00

83,140.64

18,700.86

101,841.50

81,072.05 15,673.46 96,745.51 79,432.53 15,549.57 94,982.10 ณ วันที ่ 30 กันยายน 2553 ณ วันสิ้นงวดปี 2553 ทอท. มีอาคารและอุปกรณ์สุทธิ จำนวน 96,745.51 ล้านบาทในงบการเงินรวม และ 94,982.10 ล้านบาทในงบ การเงินเฉพาะบริษัท โดยมีรายการที่เป็นสาระสำคัญดังนี้ 6.10.1 สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันสิ้นงวด ทอท. มีสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งรวมอยูใ่ นเครื่องมือและอุปกรณ์ ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

2553

ราคาทุน

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

1,287.50 (244.28)

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2552

2553

-

-

1,286.45 (244.28)

2552 - -

1,043.22 - 1,042.17 - ราคาตามบัญชี 6.10.2 อาคารและอุปกรณ์ของ ทดม. ณ วันสิ้นงวดปี 2553 และปี 2552 อาคารและอุปกรณ์ของท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) มีมูลค่าตามบัญชีจำนวน 4,378.70 ล้านบาท และ 4,960.22 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งภายหลังจากการเปิดให้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ (ทสภ.) มีข้อบ่งชี ้ ในปี 2552 ว่าสินทรัพย์ ทดม. อาจเกิดการด้อยค่า แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถวัดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ ทดม. ได้อย่าง น่ า เชื่ อ ถื อ เพือ่ พิ จ ารณาว่ า สิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วด้ อ ยค่ า หรื อไม่ เพี ย งใด เนื ่อ งจากแผนการใช้ ป ระโยชน์ จ ากสิ น ทรั พ ย์ ส่ ว นใหญ่ ข อง ทดม. คณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจได้มีมติให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และกระทรวงคมนาคม (คค.) ร่ว มกั น ศึ ก ษาความเหมาะสมของแนวทางการพั ฒ นาท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ แ ละท่ า อากาศยานดอนเมื อ ง ในการนี ้ คค. ได้มอบหมายให้ ทอท. ว่าจ้างสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) ทำการศึกษาทางเลือก 3 แนวทาง สรุปได้ดังนี้

164

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


1. กรณีเปิดใช้ ทดม. ให้บริการเที่ยวบินเช่นในปัจจุบัน และเร่งการลงทุนใน ทสภ. เพื่อให้เพียงพอกับปริมาณการจราจรในอนาคต 2. กรณีเปิดใช้ ทดม. เพือ่ รองรับปริมาณผูโ้ ดยสารประมาณ 10 ล้านคน/ปี ที่จะช่วยชะลอการลงทุนเพิ่มเติมใน ทสภ. โดยเปิดให้ บริการเที่ยวบินภายในประเทศทีไ่ ม่มีการต่อเครื่อง (Non-connecting Flight) หรือสายการบินต้นทุนต่ำ (Low Cost Carriers) หรือเที่ยวบินระหว่างประเทศภายในภูมิภาค 3. กรณี ทดม. ยกเลิกการบริการเที่ยวบินแบบประจำทั้งหมด พร้อมทั้งพัฒนากิจกรรมเชิงพาณิชย์อนื่ ๆ และเร่งการลงทุนเพิ่มใน ทสภ. เพือ่ รองรับปริมาณผูโ้ ดยสารที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 60-65 ล้านคน/ปี ทอท. ได้ประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากการใช้สินทรัพย์ ทดม. ทั้ง 3 แนวทางในเบื้องต้น โดยการประมาณมูลค่าจากการใช้ ผลการประเมินในเบื้องต้นสรุปได้ดังนี้ แนวทางที่ (1) สินทรัพย์ ทดม. ณ วันสิ้นงวดปี 2553 และ 2552 มีราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน หาก พิจารณาเลือกแนวทางนี้สินทรัพย์ ทดม. จะเกิดการด้อยค่าประมาณ 3,600 ล้านบาท แนวทางที่ (2) สินทรัพย์ ทดม. ณ วันสิ้นงวดปี 2553 และ 2552 มีราคาตามบัญชีต่ำกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน หาก พิจารณาเลือกแนวทางนี้สินทรัพย์ ทดม. จะไม่เกิดการด้อยค่า แนวทางที่ (3) สินทรัพย์ ทดม. ณ วันสิ้นงวดปี 2553 และ 2552 มีราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน หาก พิจารณาเลือกแนวทางนี้สินทรัพย์ ทดม. จะเกิดการด้อยค่าประมาณ 2,200 ล้านบาท ภายใต้สมมุติฐานที่ ปรับลดค่าใช้จ่ายพนักงานที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการบินออกทั้งหมด โดยโอนย้ายพนักงานดังกล่าวไปปฏิบัติหน้าที ่ ณ ท่าอากาศยานแห่งอืน่ ของ ทอท. อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจเลือกแนวทางใดแนวทางหนึ่งข้างต้นได้เนื่องจากเป็นอำนาจของคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ฝ่าย บริหารจึงยังต้องรอมติของคณะรัฐมนตรีก่อนที่จะทำการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ ทดม. อย่างละเอียดตามแนวทางที่ คณะรัฐมนตรีมีมติ เพือ่ ให้ได้ข้อสรุปว่าสินทรัพย์ที ่ ทดม. ด้อยค่าหรือไม่เพียงใด 6.11 สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท หน่วย : ล้านบาท ท่าอากาศยาน ท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานภูมิภาค รวม สุวรรณภูมิ ดอนเมือง ยอดยกมา 1 ตุลาคม 2552

6,267.69

273.56

6.37

6,547.62

เพิ่มขึ้น

3,131.33

280.71

17.02

3,429.06

(24.00)

-

(24.00)

(504.57)

(21.99)

(3,026.89)

25.70

1.40

ตัดเป็นค่าใช้จ่าย

-

(2,500.33) โอนไปอาคาร และอุปกรณ์ ยอดคงเหลือ 6,898.69 30 กันยายน 2553 6.12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน–สุทธิ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สิทธิการใช้โปรแกรม

6,925.79

หน่วย : ล้านบาท

ค่าชดเชย ผลกระทบทางเสียง

ราคาทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2552

รวม

1,149.95

367.37

1,517.32

158.34

213.27

371.61

1,308.29

580.64

1,888.93

ณ วันที่ 30 กันยายน 2552

408.71

25.36

434.07

ตัดจำหน่ายสำหรับงวด

127.48

16.95

144.43

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553

536.19

42.31

578.50

ณ วันที่ 30 กันยายน 2552

741.24

342.01

1,083.25

ณ วันที่ 30 กันยายน 2553

772.10

538.33

1,310.43

สินทรัพย์เพิ่ม ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ตัดจำหน่ายสะสม

ราคาตามบัญชี-สุทธิ

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

165


6.13 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2552

2553

2552

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ยังไม่ใช้ประโยชน์

2,162.72

1,989.23

2,162.72

เงินจ่ายล่วงหน้า

24.44

3.65

24.44

3.65

เงินประกัน

3.02

2.36

3.01

2.36

สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ย

5,012.80

6,694.92

5,012.80

รวม

7,202.98

8,690.16

1,989.23

6,694.92

7,202.97

8,690.16

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ จำนวน 2,162.72 ล้านบาท ประกอบด้วย - ที่ดินที่ยังไม่ใช้ประโยชน์ ณ ทสภ. มีเนื้อที่รวม 692 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา จำนวน 1,730.68 ล้านบาท ปัจจุบัน อยู่ระหว่าง การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด โดยยังไม่มีแผนการ จัดการใช้ที่ดินอย่างถาวร - ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน 432.04 ล้านบาท ทอท. รับซื้อคืนจากราษฎรทีไ่ ด้รับผลกระทบทางเสียง ทั้งนี้ ทอท. มี นโยบายจะให้สิทธิพนักงาน ทอท. หรือพนักงานของหน่วยงานอืน่ ที่ปฏิบัติงาน ณ ทสภ. ซื้อทรัพย์สินดังกล่าวได้ในราคาที่ เหมาะสมซึ่งอาจต่ำกว่าราคาที่ซื้อมา และให้บริษัทที่ประกอบธุรกิจรับบริหารทรัพย์สินเข้ามาบริหารจัดการทรัพย์สินทีไ่ ด้มา ทั้งหมด หรือส่วนที่เหลือจากการให้สิทธิพนักงานข้างต้น 6.14 ตั๋วสัญญาใช้เงิน งบการเงินรวม รทส. ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับสถาบันการเงินภายในประเทศ จำนวน 3 ฉบับ ๆ ละ 10 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 30 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ เท่ากับ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ สถาบันการเงินแห่งหนึ่งบวกส่วนต่างร้อยละ 1.55 ต่อปี กำหนดชำระดอกเบี้ยเป็น รายเดือน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 รทส. ได้ชำระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินครบถ้วนแล้ว งบการเงินเฉพาะบริษัท ทอท. ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 จำนวน 38,483.81 ล้านบาท เพื่อจ่ายเป็นส่วนต่าง ของการโอนทรัพย์สินและหนี้สิน กำหนดจ่ายชำระดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อปี และไม่คิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ บทม. เลิกกิจการ กำหนด ชำระคืนตัว๋ สัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที่ บทม. จะได้คืนเงินลงทุนที่เหลืออยูใ่ ห้กับ ทอท. (ถ้ามี) 6.15 หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

โบนัสพนักงานค้างจ่าย

822.97

632.94

822.97

632.94

ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ

226.10

457.96

222.34

454.15

ภาษีโรงเรือนและที่ดินค้างจ่าย

2,312.73

2,258.14

2,312.73

2,258.14

ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย

26.15

75.33

26.15

75.33

รายได้รับล่วงหน้า

386.97

244.41

388.86

246.30

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ค้างจ่าย

31.50

30.44

30.81

29.60

หนี้สินอื่นๆ

412.03

120.71

392.95

112.21

เงินบำเหน็จค้างจ่าย (กองทุนสงเคราะห์ ทอท.)

12.88

7.18

12.88

7.18

รวม

4,231.33

166

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

3,827.11

4,209.69

3,815.85


6.16 เงินกูย้ ืมระยะยาว งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

ล้านเยน

2552

ล้านบาท

ล้านเยน

เงินกู้ยืมต่างประเทศ

162,163.61

59,595.61

หัก ส่วนที่ครบกำหนด ชำระภายใน 1 ปี คงเหลือ

(12,239.60)

(4,498.09) (12,614.02)

149,924.01

55,097.52

173,681.62

161,067.60

2553

ล้านบาท

ล้านเยน

65,444.80

162,163.61

2552

ล้านบาท

ล้านบาท

173,681.62

65,444.80

(4,753.08) (12,239.60)

(4,498.09) (12,614.02)

(4,753.08)

60,691.72

55,097.52

60,691.72

149,924.01

59,595.61

ล้านเยน

161,067.60

เงินกู้ยืมในประเทศ

-

1,247.37

-

1,371.06

-

-

-

-

หัก ส่วนที่ครบกำหนด ชำระภายใน 1 ปี คงเหลือ

-

(148.44)

-

(148.40)

-

-

-

-

-

1,098.93

-

1,222.66

-

-

-

-

ยอดรวม

149,924.01

56,196.45

161,067.60

61,914.38

149,924.01

55,097.52

161,067.60

60,691.72

6.16.1 เงินกู้ยืมต่างประเทศ ทอท. ได้กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในต่างประเทศเป็นสกุลเงินเยน โดยมีกระทรวงการคลังค้ำประกันอัตราดอกเบี้ย คงที่ร้อยละ 0.75–2.70 ต่อปี ครบกำหนดชำระคืนปี 2546–2585 โดย ทอท. ได้มีการทำสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย สำหรับเงินกู้ยืมต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 77.30 ของยอดเงินกู้คงเหลือ (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 100 เยน เท่ากับ 36.7503 บาท) 6.16.2 เงินกู้ยืมในประเทศ เป็นเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศเพื่อใช้ในการก่อสร้าง รทส. วงเงินกู้ 1,630.76 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยตั้งแต่ วั น ทำสั ญ ญาถึ ง 30 กั น ยายน 2550 อัต ราดอกเบี ้ย ร้ อ ยละ MLR–2.0 ต่ อ ปี และวั น ที ่ 1 ตุ ล าคม 2550 เป็ น ต้ นไป อั ต ราดอกเบี ้ย ร้อยละ MLR–1.0 ต่อปี กำหนดการชำระเงินเป็นงวดรายสามเดือน จำนวน 44 งวด ๆ ละ 37.10 ล้านบาท โดยเริ่มผ่อนชำระงวดแรก ในเดือนกุมภาพันธ์ 2551 และชำระให้เสร็จสิ้นภายในวันที ่ 30 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งในระหว่างงวดได้มีการขอผ่อนผันการจ่ายชำระเงินต้น จำนวน 1 งวด เป็นเงินจำนวน 37.10 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2553 รทส. ได้มีการเปลี่ยนแปลงเงือ่ นไขการชำระคืนเงินกู้ โดยมีอัตราดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ถึ ง วั น ที่ 27 กุ ม ภาพัน ธ์ 2554 อัต ราดอกเบี ้ย ร้ อ ยละ MLR–2.25 ต่ อ ปี และชำระเงิน ต้ น รายเดื อ นตั ้ง แต่ เ ดื อ นมี น าคม 2553 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2559 เดือนละ 12.37 ล้านบาท และตั้งแต่เดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 เดือนละ 13.92 ล้านบาท 6.17 เงินกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย ทอท. ได้จัดตั้งกองทุนสงเคราะห์การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย โดยจ่ายสมทบเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 10 ของ เงินเดือนพนักงาน ณ วันสิ้นงวดปี 2553 ทอท. มีภาระผูกพันที่พึงต้องจ่ายให้พนักงานจำนวน 26.07 ล้านบาท 6.18 หนีส้ ินไม่หมุนเวียนอื่น หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

เงินประกันผลงาน

90.00

194.53

90.00

193.81

ประมาณการหนี้สิน

397.14

233.97

397.14

233.97

รายได้รอตัดบัญชี

46.37

47.69

46.37

47.69

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๆ

19.93

20.03

19.93

20.03

รวม

553.44

496.22

553.44

495.50

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

167


ประมาณการหนี้สินจำนวน 397.14 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการลงทุนจำนวน 135.38 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายจาก คดีความจำนวน 33.29 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายจากค่าปรับภาษีโรงเรือนและที่ดินจำนวน 228.47 ล้านบาท ทำให้ในงวดบัญชีนี ้ ทอท. บันทึก ประมาณการหนี้สินเพิม่ ขึ้น 163.17 ล้านบาท 6.19 หนีส้ ินตามสัญญาเช่าการเงิน หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม

2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

2553

2552

-ภายใน 1 ปี

388.55

-

388.24

-

-เกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี

839.43

-

838.50

-

ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคต

(86.99)

-

(86.80)

-

มูลค่าปัจจุบนั ของหนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

1,140.99

-

1,139.94

-

มูลค่าปัจจุบนั ของหนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

-หนี้สินหมุนเวียน (ภายใน 1 ปี)

350.48

-

350.25

-

-หนี้สินไม่หมุนเวียน (เกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี)

790.51

-

789.69

-

1,140.99 - 1,139.94 - รวม 6.20 ทุนเรือนหุ้น บริษทั จดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญจำนวน 1,428,570,000 หุน้ มูลค่าตราไว้ห้นุ ละ 10 บาท เป็นหุ้นที่ออกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว เป็นเงิน 14,285.70 ล้านบาท 6.21 สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 ทอท. ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึ่ง ทอท. มีสำรองตาม กฎหมายเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและเรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว 6.22 เงินปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที ่ 22 มกราคม 2553 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.42 บาท เป็นจำนวนเงิน 600 ล้านบาท โดยจ่ายในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2553 6.23 ค่าตอบแทนการใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์เรียกเก็บค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุจาก ทอท. สำหรับ ทดม. และ ทสภ. ในอัตราร้อยละ 5 และ สำหรับท่าอากาศยานภูมิภาค ในอัตราร้อยละ 2 ของรายได้ดำเนินงานทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น และเมื่อ ทสภ. เปิดใช้จะมีการ ปรับอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุสำหรับ ทดม. และท่าอากาศยานภูมิภาคใหม่ ตามผลการศึกษาของที่ปรึกษาที่จัดหาโดย กรมธนารักษ์ ปัจจุบันกรมธนารักษ์ กับ ทอท. อยูร่ ะหว่างเจรจาต่อรองเพื่อกำหนดอัตราค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุดังกล่าว จึง ได้บันทึกในอัตราเดิมตั้งแต่วันที่ ทสภ. เปิดใช้บริการ ซึ่งในงวดบัญชีนี้มีค่าตอบแทน 1,031.42 ล้านบาท ส่วนค่าเช่าที่ราชพัสดุที่รับจากบริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ต้องนำส่งกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าเช่าโดยไม่หัก ค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น จำนวน 2.63 ล้านบาท รวมเป็นค่าตอบแทนจำนวน 1,034.05 ล้านบาท 6.24 ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผูบ้ ริหาร หมายถึง กรรมการบริษัท ผู้บริหารสูงสุด ผู้ดำรงตำแหน่งบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้บริหารสูงสุดลงมา และ ผูด้ ำรงตำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ดำรงตำแหน่งบริหารรายที ่ 4 ทุกราย โดยรวมผู้ดำรงตำแหน่งบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน ที่เป็น ระดับผูอ้ ำนวยการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า ทั้งนี้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

168

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

ค่าตอบแทนและค่าเบี้ยประชุมกรรมการ

9.27

8.66

7.94

7.60

โบนัสกรรมการ

4.19

4.23

4.19

4.23

ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด

11.93

6.44

8.57

5.05

ค่าตอบแทนผู้บริหารอื่น

41.93

38.48

41.93

38.48

รวม 6.25 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

67.32

57.81

62.63

55.36

หน่วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

ค่าสอบบัญชี

2.65

2.65

2.25

2.25

ค่าใช้จ่ายอื่น

0.40

0.36

0.40

0.36

รวม 6.26 ต้นทุนทางการเงิน

3.05

3.01

2.65

2.61

ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายจากหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม 6.27 กำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน กำไรที่เกิดขึ้นจริง

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2553

2552

2553

2552

2,343.49

2,493.81

2,284.58

2,414.72

46.22 2,389.71

-

46.22

2,493.81

2,330.80

- 2,414.72

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะบริษัท

2552

2553

2552

56.04

2.75

55.92

2.72

กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้น

253.34

(1,851.57)

253.34

(1,851.57)

รวม

309.38

(1,848.82)

309.26

(1,848.85)

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

169


6.28 เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดทั้งในปัจจุบันและอนาคต ทอท. มีเงินฝากทั้งระยะสั้นและระยะยาวในสถาบันการเงินต่างๆ ทอท. มีหนี้สินจากการกู้ยืม ที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว และบริษัทย่อยของ ทอท. มีหนี้สินจากการกู้ยืมที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที ่ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ทอท. มีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่งมีผลกระทบต่อหนี้สิน ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน และดอกเบีย้ ที ่เ ป็ น เงิน ตราต่ า งประเทศ ทอท. มี นโยบายบริ ห ารความเสี ่ย ง โดยมี ก ารจั ด ตั ้ง คณะอนุ ก รรมการบริ ห ารความเสี ่ย งหนี ้ ต่างประเทศ และได้ทำสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินของหนี้สินจากสกุลเยนเป็นสกุลบาท คิดเป็นร้อยละ 77.30 ของยอดเงินกู้คงเหลือ โดยใช้ อนุพันธ์ทางการเงิน ได้แก่ Cross Currency Swap, Participating Swap และ Cross Currency Swap ที่อ้างอิงความ สามารถในการชำระหนี้ของรัฐบาลไทยในสัดส่วน 42 : 33 : 25 กับสถาบันการเงินทั้งไทยและต่างประเทศ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงด้านสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกค้าไม่ชำระหนี้ตามกำหนดเวลาหรือสัญญา ทอท. ป้องกันความเสี่ยงโดยกำหนดระยะ เวลาชำระค่าบริการแต่ละประเภทอย่างชัดเจน ติดตามลูกหนี้ที่มียอดค้างชำระอย่างต่อเนื่อง และมีการเรียกหลักประกันจากลูกค้า มูลค่า ยุติธรรมของลูกหนี้ที่แสดงไว้ในงบดุล คือยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ทอท. และบริ ษั ท ย่อ ยบริ ห ารความเสี ่ย งด้ า นสภาพคล่ อ งโดยรั ก ษาระดั บ เงิน สดและรายการเที ย บเท่ า เงิน สดให้ เ พี ย งพอ เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงานของบริษัท และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด การวิเคราะห์อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินแบบมีดอกเบี้ย ณ วันทีใ่ นงบดุล งบการเงินรวม หน่วย : ล้านบาท 2553 อัตราดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี มากกว่า 2 ปี มากกว่า 5 ปี รวม ที่แท้จริง(ร้อยละ) - (7.45) - - - (7.45) เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน 1.31 3,526.36 - - - 3,526.36 รายการเทียบเท่าเงินสด 2.03 18,547.57 - - - 18,547.57 เงินลงทุนชั่วคราว 3.22 - 5,000.00 - - 5,000.00 เงินลงทุนระยะยาว 22,066.48 5,000.00 - - 27,066.48 รวม 4.12 148.44 148.44 296.88 653.61 1,247.37 เงินกู้ยืมภายในประเทศ 1.67 4,498.09 4,505.58 13,539.01 37,052.93 59,595.61 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 4,646.53 4,654.02 13,835.89 37,706.54 60,842.98 รวม หน่วย : ล้านบาท 2552 อัตราดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี มากกว่า 2 ปี มากกว่า 5 ปี รวม ที่แท้จริง(ร้อยละ) - 265.08 - - - 265.08 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน 1.02 3,081.92 - - - 3,081.92 รายการเทียบเท่าเงินสด 2.05 12,094.84 - - - 12,094.84 เงินลงทุนชั่วคราว 2.62 - 5,300.00 - - 5,300.00 เงินลงทุนระยะยาว 15,441.84 5,300.00 - - 20,741.84 รวม 4.95 148.40 148.40 296.80 777.46 1,371.06 เงินกู้ยืมภายในประเทศ 1.67 4,753.08 4,789.33 14,406.22 41,496.17 65,444.80 เงินกู้ยืมต่างประเทศ 4,901.48 4,937.73 14,703.02 42,273.63 66,815.86 รวม

170

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


งบการเงินเฉพาะบริษัท

หน่วย : ล้านบาท 2553

อัตราดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี มากกว่า 2 ปี มากกว่า 5 ปี ที่แท้จริง (ร้อยละ) เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน รายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนระยะยาว รวม เงินกู้ยืมต่างประเทศ

-

รวม

(8.68)

-

-

-

(8.68)

1.32

3,502.74

-

-

-

3,502.74

2.03

18,547.57

-

-

-

18,547.57

3.22

-

5,000.00

-

-

5,000.00

22,041.63

5,000.00

-

-

27,041.63

4,498.09

4,505.58

13,539.01

37,052.93

59,595.61

1.67

หน่วย : ล้านบาท 2552

อัตราดอกเบี้ย ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี มากกว่า 2 ปี มากกว่า 5 ปี ที่แท้จริง (ร้อยละ)

รวม

- 263.83 - - - 263.83 เงินสดและเงินฝากกระแสรายวัน 1.02 3,079.63 - - - 3,079.63 รายการเทียบเท่าเงินสด 2.05 12,094.84 - - - 12,094.84 เงินลงทุนชั่วคราว 2.62 - 5,300.00 - - 5,300.00 เงินลงทุนระยะยาว 15,438.30 5,300.00 - - 20,738.30 รวม 1.67 4,753.08 4,789.33 14,406.22 41,496.17 65,444.80 เงินกู้ยืมต่างประเทศ มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่จัดอยูใ่ นประเภทระยะสั้น รวมทั้งเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย ในตลาด ผู้บริหารจึงเชื่อว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินจะไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระสำคัญกับมูลค่าตามบัญชี ความเสี่ยงจากมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่เป็นหนี้สิน หากมีการยกเลิก สัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ทอท. จะต้องชดเชยเงินเป็นจำนวน 351.79 ล้านบาท คำนวณโดยใช้อัตราคิดลดที่กำหนด โดยคู่สัญญาดังกล่าว 6.29 ภาระผูกพัน งบการเงินรวมและเฉพาะบริษัท ทอท. มีภาระผูกพันตามกฎหมายซึ่งยังไม่ถือเป็นรายจ่ายในงวดบัญชีนี้ ดังนี้ - รายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ประกอบด้วย หน่วย : ล้านบาท

ภาระผูกพันตามสัญญาจ้างโครงการพัฒนาท่าอากาศยานต่าง ๆ ภาระผูกพันตามสัญญาก่อสร้าง ทสภ. ภาระผูกพันเกี่ยวกับผลกระทบด้านเสียง ณ ทสภ. รวม - รายจ่ายดำเนินงาน(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 ประกอบด้วย สัญญาจ้างเอกชนดำเนินงาน สัญญาซ่อมบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ การเช่าทรัพย์สินและอื่น ๆ รวม

62.48 739.20 4,787.19 5,588.87

หน่วย : ล้านบาท 5,196.43 1,103.17 278.10 6,577.70

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

171


รทส. มีภาระผูกพันจากการทำสัญญาจ้างบริหารกิจการโรงแรม เป็นระยะเวลา 20 ปี (สัญญาเริ่มตั้งแต่วันที ่ 1 กุมภาพันธ์ 2548 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2568) เป็นค่าสิทธิในการใช้ชื่อเครื่องหมายการค้า (Logo) จำนวนเงิน 21.40 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแล้ว จำนวน 6.42 ล้านบาท คงเหลือเป็นภาระผูกพัน จำนวน 14.98 ล้านบาท และเป็นค่าจ้างในการบริหารกิจการ โรงแรม (ค่า จ้ า งและค่ าใช้ จ่ า ยบุ ค ลากรหลั ก ) จำนวนเงิน 1,995.24 ล้ า นบาท บั น ทึ ก เป็ น ค่ าใช้ จ่ า ยแล้ ว จำนวน 366.83 ล้ า นบาท ยังเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,628.41 ล้านบาท รวมเป็นภาระผูกพัน จำนวน 1,643.39 ล้านบาท 6.30 หนีส้ ินที่อาจเกิดขึ้น 6.30.1 การประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ทอท. ได้ถูกประเมินภาษีจากกรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็นภาษีโรงเรือนและที่ดินตั้งแต่ปี 2538 โดย กทม. ได้นำค่าผลประโยชน์ ตอบแทนจากผู้ประกอบการมารวมเป็นฐานในการคำนวณ ในส่วนพื้นที่ที ่ ทอท. ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่ง ทอท. ไม่เห็นด้วย จึงได้ ยื่ น หนัง สื อ อุท ธรณ์ กั บ สำนั ก งานอัย การสู ง สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 29 กรกฎาคม 2542 เพื ่อ เสนอคณะกรรมการพิ จ ารณาชี ้ข าดการยุ ต ิ ในการดำเนินคดีแพ่งของส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาชี้ขาดให้ต่อไป จากเหตุดังกล่าวคณะกรรมการ ทอท. ได้มีมติ ตามรายงานการประชุม ครั้งที่ 6/2542 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2542 ให้ ทอท. ชำระค่าภาษีโรงเรือนและที่ดินตามอัตราที่สมควรจ่าย กทม. ได้ แจ้ ง การประเมิ น ภาษี ผ่ า นทางกรมธนารั ก ษ์ ซึ ่ง เป็ น เจ้ า ของอาคารและที ่ดิ น ทุ ก ปี โดยใช้ ห ลั ก เกณฑ์ เ ดิ ม ตั ้ง แต่ ปี 2538 ซึ่ ง ทอท. ไม่เห็นด้วยจึงได้อุทธรณ์ทุกปี ตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา สำนักงานอัยการสูงสุดได้มีหนังสือที ่ อส(สฝยพ) 0015/5291 ลงวันที ่ 24 มีนาคม 2548 แจ้งผลการชี้ขาดของคณะกรรมการ พิจ ารณาชี ้ข าดการยุตใิ นการดำเนิ น คดี แ พ่ ง ของส่ ว นราชการและหน่ ว ยงานที ่เ กี ่ย วข้ อ ง หาก กทม. ยอมรั บ ผลการพิ จ ารณาของ คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ จะทำให้ ทอท. ได้รับค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ปี 2538-2546) คืนจาก กทม. ประมาณ 570.69 ล้านบาท (ทอท. ได้มีหนังสือขอคืนจาก กทม. แล้ว) ต่อมาได้รับแจ้งจากสำนักงานอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ว่าในปี 2547 คณะกรรมการ พิจารณาชี้ขาดฯ ได้มีความเห็นเช่นเดียวกับปี 2546 กทม. ได้มีหนังสือถึงกรมธนารักษ์เมื่อวันที ่ 11 กันยายน 2549 ไม่เห็นด้วยกับหลักเกณฑ์การประเมินภาษีตามที่คณะกรรมการฯ กำหนด และกรมธนารักษ์ได้มีหนังสือเมื่อวันที ่ 2 ตุลาคม 2549 ถึง ทอท. แจ้งว่าได้มีหนังสือถึงสำนักงานอัยการสูงสุดเพือ่ นำเรียน คณะรัฐมนตรีสั่งการให้ กทม. ปฏิบัติตามต่อไป เมื่อวันที ่ 8 มกราคม 2553 และวันที ่ 19 มกราคม 2553 ทอท. ได้รับแจ้งจากสำนักงานอัยการสูงสุดผ่านกรมธนารักษ์ ว่าคณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้ตัดสินชี้ขาดการประเมินภาษีของปี 2548 และปี 2549 โดยใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกับปี 2547 และ ปี 2548 ตามลำดับ ในงวดบัญชีนี้ ทอท. ได้รับแจ้งการประเมินให้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินจาก กทม. ในส่วนพื้นที่ที ่ ทอท. ให้ผู้ประกอบการเช่าใช้ ประโยชน์ ณ สนามบินดอนเมืองของปี 2552 และปี 2551 เพิ่มเติม จำนวน 79.12 ล้านบาท โดยใช้หลักเกณฑ์เดิมตั้งแต่ปี 2538 ทอท. จึง ชำระค่าภาษีฯ จำนวน 66.81 ล้านบาท ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ กำหนด ส่วนที่เหลือจำนวน 12.31 ล้านบาท ทอท. ได้อุทธรณ์ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาชี้ขาดฯ ได้ชี้ขาดไว้ ณ วันสิ้นงวด ทอท. มีค่าภาษีที่ยังอยู่ระหว่างอุทธรณ์รวมทั้งสิ้น จำนวน 2,373.05 ล้านบาท (กทม. ได้ประเมินภาษีจำนวน 3,922.49 ล้านบาท หักยอดเงินที่ ทอท. ชำระแล้ว 1,549.44 ล้านบาท) และได้ บันทึกประมาณการหนี้สินอันเกิดจากค่าปรับไว้แล้วจำนวน 228.47 ล้านบาท ตามนัยมาตรา 43 (4) แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2534 หากผลการอุทธรณ์เป็นไปตามการประเมิน ของ กทม. 6.30.2 คดีความ ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีจำนวน 45 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายรวมเป็นเงินประมาณ 5,817.86 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบีย้ ) เรื่องอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลและคดียังไม่ถึงที่สุด โดยมีพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุดเป็นทนายความ แก้ต่างคดี และการพิจารณาของบริษัทประกันภัย ทอท. ถูกฟ้องร้องดำเนินคดีเกี่ยวกับผลกระทบจากมลภาวะทางเสียงจำนวน 15 คดี โดยโจทก์ฟ้องให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหาย รวมเป็นเงินประมาณ 612.14 ล้านบาท เรื่องอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองและคดียังไม่ถึงที่สุด โดยมีพนักงานอัยการสำนักงาน อัยการสูงสุดเป็นทนายความแก้ต่างคดี ณ วันสิ้นงวด ทอท. ได้บันทึกประมาณการหนี้สินจากการถูกฟ้องร้องดำเนินคดีจำนวน 13 คดี เป็นเงิน 33.29 ล้านบาท 6.30.3 ผลกระทบจากมลภาวะทางเสียง คณะกรรมการ ทอท. มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ 15 พฤษภาคม 2551 เห็ น ชอบให้ ด ำเนิ น การชดเชยผู ้ทีไ่ ด้ รั บ ผลกระทบด้ า นเสี ย ง จากการดำเนินกิจการของท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ตามสถานการณ์การบินจริง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที ่ 29 พฤษภาคม 2550 เฉพาะอาคารที่ก่อสร้างก่อนปี 2544 ดังนี้ - พื้นที่ NEF มากกว่า 40 ให้เจรจาซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยเทียบเคียงแนวทางการกำหนดค่าทดแทนความเสียหาย ที่ต้องออกจากอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืน ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 และหากเจ้าของไม่ประสงค์ จะขาย ให้รับเงินไปดำเนินการปรับปรุงอาคารเอง - พื้นที่ NEF 30-40 ให้สนับสนุนการปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน หากพบว่า โครงการทำให้ระดับเสียงรบกวนเกิน 10 เดซิเบล(เอ) ให้รับเงินไปปรับปรุงอาคารและสิ่งปลูกสร้างเอง โดยใช้หลักเกณฑ์การปรับปรุงอาคาร เพือ่ ลดผลกระทบด้านเสียงจากผลการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

172

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


การดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว อาจส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของ ทอท. อย่างไรก็ตาม ทอท. ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการจัดตั้งกองทุนชดเชยผลกระทบจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กองทุนฯ ดังกล่าวเป็นกลไกในการ กำหนดมาตรการ วิธีการที่จะช่วยเหลือและดำเนินการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่ประชาชนอาจได้รับจากการดำเนินงานของท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2552 6.30.4 เงินชดเชยในกรณีเลิกจ้างพนักงานทั้งหมด ภายใต้ประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจ้างของรัฐวิสาหกิจ มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ในกรณีรัฐวิสาหกิจเลิกจ้างพนักงานทั้งหมด โดยที่พนักงานไม่ได้กระทำความผิด มีสิทธิไ์ ด้รับเงินชดเชย ตามอัตราที่กฎหมายกำหนด ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 เป็นจำนวนเงิน 1,410.12 ล้านบาท ซึ่ง ทอท. มิได้บันทึกไว้ในงบการเงิน 6.31 การโอนกิจการทั้งหมดของ บทม. มายัง ทอท. และดำเนินการเลิกกิจการ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2545 เห็นชอบการโอนกิจการ ทสภ. สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ รวมทั้ง พนักงานของ บทม. มาเป็นของ ทอท. เมื่อ ทสภ. สร้างเสร็จก่อนการเปิดให้บริการ และให้ดำเนินการยุบเลิก บทม. โดยให้เป็นหน่วยธุรกิจ หน่วยหนึ่งใน ทอท. ซึ่งได้ดำเนินการแล้ว มีผลตั้งแต่วันที ่ 1 มกราคม 2549 และมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 รับทราบ ซึ่งเป็นไปตามความเห็นของกระทรวงการคลัง และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดย ทอท. รับโอน พนักงาน บทม. มาเป็นพนักงาน ทอท. ตั้งแต่วนั ที ่ 8 ธันวาคม 2547 และรับโอนกิจการ ทรัพย์สนิ สิทธิ หนี ้ ความรับผิด และภาระผูกพันต่าง ๆ ของ บทม. มาเป็นของ ทอท. ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 ด้วยมูลค่าตามบัญชี (Book Value) ของทรัพย์สิน และหนี้สิน ที่ปรากฏใน บัญชีของ บทม. ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2548 จำนวน 100,913.28 ล้านบาท (ประกอบด้วย สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง 91,820.25 ล้านบาท ที่ดินอาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 149.35 ล้านบาท และรายการอืน่ ๆ 8,943.68 ล้านบาท) และ 62,429.47 ล้านบาทตามลำดับ ผลต่าง จำนวน 38,483.81 ล้านบาท ทอท. ได้ออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับ บทม. กำหนดจ่ายชำระดอกเบี้ยของเงินต้นตามตั๋วสัญญาใช้เงินในอัตรา ร้อยละ 0.5 ต่อปี กำหนดจ่ายชำระคืนตั๋วสัญญาใช้เงินเมื่อถึงวันทำการสุดท้ายก่อนวันที ่ บทม. จะได้คนื เงินลงทุนที่เหลืออยูใ่ ห้กบั ทอท. (ถ้ามี) บทม. ได้จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2549 ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น บทม. ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 และครัง้ ที ่ 2 เมื่ อ วั น ที่ 28 กรกฎาคม 2549 ปั จ จุ บั น อยู ่ร ะหว่ า งดำเนิ น การชำระบั ญ ชี สำหรั บ ตั ๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิน หยุ ด คิ ด ดอกเบี ้ย ตั้งแต่วันที่ บทม. เลิกกิจการ 6.32 ข้อพิพาท 6.32.1 ทอท. ได้รับหนังสือนำส่งคำเสนอข้อพิพาทจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรม ดังนี้ - กิจการร่วมค้าแห่งหนึ่งได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทตามสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสาร ทสภ. และตามสัญญาจ้างก่อสร้าง อาคารสะพานเทียบเครื่องบิน ทสภ. ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำที ่ 103/2552 และข้อพิพาทหมายเลขดำที ่ 104/2552 ลงวันที ่ 30 ตุลาคม 2552 ขอให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายแก่กิจการร่วมค้า รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 7,070.69 ล้านบาท และ 568.77 ล้านเยน พร้อมดอกเบี้ย ปัจจุบันอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาคดี - กิ จ การร่ ว มค้ า แห่ ง หนึ ่งได้ ยื ่น คำเสนอข้ อ พิ พ าทตามสั ญ ญาจ้ า งงานก่ อ สร้ า งทางยกระดั บ หน้ า อาคารผูโ้ ดยสารทสภ. ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำที ่ 33/2553 ลงวันที ่ 4 พฤษภาคม 2553 ขอให้ ทอท. ชดใช้ค่าเสียหายแก่กิจการ ร่ว มค้า รวมเป็ น เงิน ทั ้ง สิ ้น 1,206.17 ล้ า นบาท และ 99.22 ล้ า นเยน พร้ อ มดอกเบี ้ย ปั จ จุ บั น อยู ่ร ะหว่ า งพนั ก งานอั ย การดำเนิ น การ ยืน่ คำคัดค้าน/ข้อเรียกร้องแย้งต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ดังนั้น ทอท. จึงยังไม่อาจประมาณการได้ว่าจะเกิดความเสียหายตามที่ผู้เรียกร้องเสนอข้อพิพาทดังกล่าว อย่างไร เท่าใด หรือไม่ 6.32.2 ทอท. มีข้อพิพาทกับ บริษัท แอร์พอร์ตดิวตี้ฟรี จำกัด คู่สัญญาในการประกอบกิจการจำหน่ายสินค้าปลอดอากร ณ ท่าอากาศยานกรุงเทพและท่าอากาศยานภูมิภาค ในกรณีที่แจ้งให้บริษัทฯ ชำระเงินค่าตอบแทนขั้นต่ำตามสัญญาเพิ่มขึ้นในปี 2541–2544 เป็นจำนวนเงิน 442.17 ล้านบาท แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ต่อมา ทอท. ได้มีการพิจารณาทบทวนแนวทางการเรียกเก็บเงินค่าตอบแทนขั้นต่ำรายปี สำหรับปี 2541–2544 โดยนำมติคณะ รัฐมนตรีเมื่อวันที ่ 27 มกราคม 2541 ทีใ่ ห้ยกเลิกการเรียกเก็บเงินค่าตอบแทนขั้นต่ำในส่วนของกรมศุลกากรมาเป็นข้อมูลประกอบการ พิจารณาด้วย ปรากฏว่าจำนวนเงินค่าตอบแทนขั้นต่ำเดิมที่บริษัทฯ ได้ชำระไว้ให้แก่ ทอท. ครบถ้วนแล้ว ทั้งนี้เป็นไปตามแนวทาง ซึ่งได้เคย แจ้งให้บริษัทฯ ทราบในหนังสือที่ ทอท. 3355/2541 ลงวันที ่ 22 มิถุนายน 2541 ข้อพิพาทระหว่าง ทอท. กับ บริษัทฯ จึงเป็นที่ยุติ 6.33 เหตุการณ์ในงวดบัญชีน ี้ ตามที่ ทอท. แจ้งบอกเลิกสัญญาให้บริการรถเข็นกระเป๋า ณ ทสภ. กับบริษัทเอกชนรายหนึ่ง และต่อมาบริษัทฯ ได้ยื่นฟ้องศาล ปกครองกลางคดีหมายเลขดำที ่ 698/2552 ลงวันที ่ 18 พฤษภาคม 2552 ให้ ทอท. ชดใช้คา่ เสียหายเป็นเงินประมาณ 2,509.48 ล้านบาทนัน้ ศาลปกครองได้มีคำสั่งอนุญาตให้บริษัทฯ ผู้ฟ้องคดีถอนคำฟ้อง และให้จำหน่ายคดีออกจากสารบบความ เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 6.34 เหตุการณ์ภายหลังวันทีใ่ นงบดุล ตามที่ ทอท. ได้ทำสัญญาอนุญาตให้บริษัทเอกชนรายหนึ่งเข้าบริหารจัดการอาคารและลานจอดรถหน้าอาคารผูโ้ ดยสาร ทสภ. มี ก ำหนดเวลาตั ้ง แต่ วั น ที ่ 1 เมษายน 2553 ถึ ง วั น ที่ 31 มี น าคม 2558 โดยระหว่ า งประกอบกิ จ การบริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ผิ ด เงือ่ นไข สัญญาในสาระสำคัญหลายประการ ประกอบกับ ทอท. ได้มีหนังสือแจ้งให้บริษัทฯ แก้ไขและปฏิบัติตามสัญญาแล้ว แต่บริษัทฯ มิได้ดำเนินการ แต่อย่างใด รวมทั้งบริษัทฯ มีปัญหาข้อขัดแย้งในการบริหารงานภายใน ทำให้เกิดความเสียหายต่อการให้บริการความปลอดภัย และ ภาพลัก ษณ์ ข อง ทอท. เป็ น อย่า งมาก ทอท. จึ งได้ มี ห นั ง สื อ ที ่ ทอท. 8396/2553 ลงวั น ที ่ 6 ตุ ล าคม 2553 แจ้ ง บอกเลิ ก สั ญ ญา กับบริษัทฯ โดยการบอกเลิกสัญญามีผลตั้งแต่วันที ่ 7 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

173


ต่อ มาบริ ษั ท ฯ ได้ ย นื ่ ฟ้ อ ง ทอท. ต่ อ ศาลปกครองกลาง เป็ น คดี ห มายเลขดำที ่ 1628/2553 ลงวั น ที ่ 21 ตุ ล าคม 2553 เรียกค่าเสียหายเป็นเงิน 128.98 ล้านบาท และค่าขาดรายได้วันละ 1.3 ล้านบาทจนกว่าบริษัทฯ จะเข้าครอบครองพืน้ ทีไ่ ด้ พร้อมกับ ยืน่ คำร้องขอคุ้มครองวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา โดยขอให้ศาลมีคำสั่งห้ามมิให้ ทอท. หรือบริวารขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของบริษัทฯ และให้บริษัทฯ ได้เข้าประกอบกิจการต่อไป ศาลไต่สวนคำร้องคุ้มครองวิธีการชั่วคราวในวันที ่ 28 ตุลาคม 2553 และมีคำสั่งเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 ยกคำร้องขอคุ้มครองวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาดังกล่าว เรื่องอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง และคดี ยังไม่ถึงที่สุด โดยมีพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุดเป็นทนายความแก้ต่างคดี 6.35 การจัดประเภทรายการใหม่ ทอท. ได้จัดประเภทรายการในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2552 ใหม่ เพื่อให้ สอดคล้องและเปรียบเทียบได้กับการแสดงรายการในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทสำหรับปีสิ้นสุดวันที ่ 30 กันยายน 2553 ทั้งนี้ ไม่มีผลกระทบต่อกำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้นทีไ่ ด้รายงานไปแล้ว ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม ก่อนจัด ประเภทใหม่

งบกำไรขาดทุน สำหรับปีส้นิ สุด

วันที่ 30 กันยายน 2552 ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ ค่าใช้จ่ายอื่น

จัดประเภท ใหม่

3,266.58

หลังจัด ประเภทใหม่

3,223.64

57.81

57.81

(14.86)

5,201.80

3.00

3.00

(3.00)

385.00

- 388.00

ก่อนจัด ประเภทใหม่

(42.94)

- 5,216.66

งบการเงินเฉพาะบริษัท จัดประเภท ใหม่

3,260.53 - 4,794.43 - 388.00

หลังจัด ประเภทใหม่

(41.55)

3,218.98

55.36

55.36

(13.80)

4,780.63

3.00

3.00

(3.00)

385.00

6.36 การอนุมัติให้ออกงบการเงิน งบการเงิน นี ้ ได้ รั บ อนุ มั ตใิ ห้ อ อกโดยคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้ รั บ มอบอำนาจจากคณะกรรมการ ทอท. เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤศจิกายน 2553

174

รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)


รายงานประจำปี 2553 I บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

175


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.