ALT: รายงานประจำปี 2559

Page 1



รายงานประจำ�ปี 2559 เชื่อมต่ออนาคต

สู่การเติบโตที่ยั่งยืน

สารบัญ วิสัยทัศน์ และพันธกิจ

2

สารจากประธานกรรมการ

9

ภาวะอุตสาหกรรมและทิศทาง การดำ�เนินธุรกิจ

55

สารจากกรรมการผู้อำ�นวยการ

11

โครงสร้างผู้ถือหุ้น

57

คณะกรรมการบริษัท

12

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

57

คณะผู้บริหาร

14

การกำ�กับดูแลกิจการ

58

ประวัติคณะกรรมการ

16

ความรับผิดชอบต่อสังคม

62

โครงสร้างการจัดการ

24

รายการระหว่างกัน

65

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

31

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

69

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

32

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

70

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

36

โครงสร้างกลุ่มบริษัท

43

รายงานคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

71

ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัท

45

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

72

เหตุการณ์ที่สำ�คัญ

48

บทวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน

73

ปัจจัยความเสี่ยง

49

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

76

งบการเงิน

83

หมายเหตุ : ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ เว็บไซต์ของบริษัท www.alt.co.th


2

วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำ�ในการให้บริการ โครงสร้างพื้นฐาน และ เป็นพันธมิตรทางธุรกิจ ของผู้ประกอบการ โทรคมนาคมในภูมิภาคนี้


3

พันธกิจ เป็นผู้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโทรคมนาคมให้กับผู้ประกอบการ ทุกราย (Operators) ในการขยาย โครงข่ายเพื่อเข้าถึงพื้นที่ ที่มีความสำ�คัญทางเศรษฐกิจ และการใช้โครงข่ายร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ด้านต้นทุนและการจัดสรรทรัพยากร ของผู้ประกอบการ


4

เชื่อมต่ออนาคต สู่การเติบโตที่ยั่งยืน

เพราะเราเชือ่ ว่าทุกก้าวทีม่ งุ่ มัน่ สูค่ วามเป็นเลิศ จะ ประสานแรงผลักดัน นำ�มาซึ่งการสื่อสารที่ดีที่สุด เรามุ่งมั่น

เพื่อความเติบโตอย่างยั่งยืน ของธุรกิจโทรคมนาคม

มุ่งมั่นพัฒนา

เพื่ออนาคตแห่ง การสื่อสารที่กว้างไกล

เรากลุ่ ม บริ ษั ท เอแอลที เทเลคอม จำ � กั ด (มหาชน) หนึ่งในกลไกขับเคลื่อนธุรกิจโทรคมนาคมให้เติบโตไป ด้วยกันอย่างยัง่ ยืน พร้อมพัฒนาศักยภาพ และเสริมความ แข็งแกร่งรอบด้าน เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ให้ได้มากที่สุด

เดินหน้าเติมเต็ม

เชือ ่ มต่อภูมภ ิ าค เชือ ่ มต่ออนาคต

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


5

มุ่งสร้างโอกาส มุ่งสู่ ความเป็นเลิศ

เพราะเชื่อว่า ทุกก้าวที่มั่นคง จะพาเราไปสู่อนาคตที่ยั่งยืน

เพราะเชื่อว่า โอกาสมีอยู่เสมอ สำ�หรับคนที่มองเห็น

เรามุ่ ง พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยที ม งานที่ ม ากด้ ว ย ประสบการณ์ เพื่อผลิตภัณฑ์อันทรงคุณภาพ และบริการ ที่เป็นเลิศ มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้า ยืนยัน ด้ ว ยรางวั ล การออกแบบและพั ฒ นาด้ า นโทรคมนาคม จากสถาบันชั้นนำ� เป็นบทพิสูจน์แห่งศักยภาพอย่างยั่งยืน ในอนาคต

เราพร้อมมองหาโอกาสใหม่ๆ ทีจ่ ะพัฒนาสินค้า และบริการ อย่างต่อเนื่อง ไปจนถึงการพัฒนาโครงข่ายเคเบิ้ลใยแก้ว นำ�แสง และเสาโทรคมนาคมให้เช่าในพืน้ ทีเ่ ฉพาะทีม่ คี วาม สำ�คัญทางเศรษฐกิจและตลอดการครอบคลุมพื้นที่อย่าง ทั่วถึง พร้อมเชื่อมเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม AEC เรา เดินหน้าแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพื่อต่อยอดธุรกิจและเสริม สร้างความคุ้มค่าแห่งทรัพยากรโครงข่ายอย่างเต็มที่

รายงานประจำ�ปี 2559


6

เชื่อมต่อ อนาคต ครบวงจร เพราะเชื่อว่า โครงข่าย ที่สมบูรณ์ที่สุด จะนำ�มาซึ่งการ สื่อสารที่ดีที่สุด เราจึงไม่หยุดที่จะสร้างนวัตกรรม และขยายศักยภาพสู่ธุรกิจใหม่ๆ จนกลายมาเป็นผู้ประกอบธุรกิจ โทรคมนาคมแบบครบวงจร สามารถตอบความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างรอบด้าน รวมถึงการจับมือกับพันธมิตรทาง ธุรกิจ ผนึกพลังสร้างความแข็งแกร่ง เพื่อวันพรุ่งนี้ที่มั่นคง


7

สู่การเติบโตร่วม กันอย่างยั่งยืน

เพราะเชื่อว่า การใช้ทรัพยากรที่ดีที่สุด คือการใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดร่วมกัน

เราจึงไม่เคยหยุดที่จะพัฒนาโครงการให้เช่าโครงสร้าง พื้นฐานทางโทรคมนาคมให้ขยายครอบคลุม และเข้าถึง ทุกพื้นที่ เพื่อสามารถให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง และพร้อมให้การสนับสนุน และเป็นส่วนหนึง่ ในการผลักดัน อุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศให้เติบโตอย่างยัง่ ยืน



9

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

สารจากประธานกรรมการ

ภาพรวมเศรษฐกิจในช่วงปี 2559 เริ่มมีสัญญาณที่ดีขึ้น เศรษฐกิจเริ่มมีการฟื้นตัว สถานการณ์ทางการเมืองมีความสงบ พร้อมกับการขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมยังคงมี บทบาทอย่างมาก การติดต่อสื่อสารองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้ น�ำเทคโนโลยีและการสื่อสารเข้ามาใช้งานมากขึ้นในทุกระดับชั้น กลุ่มบริษัท เอแอลที เทเลคอม จ�ำกัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในกลไก ส�ำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ให้บริการโทรคมนาคม ภายใต้การบริหารจัดการทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยมีบริษัท ในเครือที่ให้บริการในด้านต่างๆ ครบวงจร และเป็นผู้น�ำในการน�ำ เสนอสินค้าและให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม ดังนี้ • ธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตั้ง และซ่อมแซม ส�ำหรับงานโทรคมนาคม โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญพร้อมให้บริการ ตั้งแต่การส�ำรวจ ออกแบบ และสร้างสถานีฐาน ติดตั้ง คิดค้น และ ซ่อมแซม อุปกรณ์โทรคมนาคม รวมถึงงานติดตัง้ ระบบต่างๆ ภายใน อาคาร โดยทุกขั้นตอนการท�ำงานจะผ่านการตรวจสอบจากทีมงาน ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ เพื่อให้การส่งมอบงานเป็น ไปอย่างสมบูรณ์ตามความต้องการของลูกค้า • ธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม บริษัทได้ให้ ความส�ำคัญต่อคุณภาพของสินค้า และบริการเป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจาก สินค้าที่บริษัทจ�ำหน่ายจะต้องมีคุณภาพและได้มาตรฐาน สามารถ ท�ำงานร่วมกันกับอุปกรณ์ด้านโทรคมนาคมของลูกค้า ให้ได้ระบบ การท�ำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด • ธุ ร กิ จ ให้ เ ช่ า โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นโทรคมนาคม จากประสบการณ์และความเชีย่ วชาญในการจ�ำหน่ายสินค้าและให้ บริ ก ารเกี่ ย วกั บ โครงข่ า ยโทรคมนาคม บริ ษั ท มี ก ารพั ฒ นา โครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงและเสาโทรคมนาคมเพื่อให้เช่า ในพืน้ ทีเ่ ฉพาะทีม่ คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ( Strategic Location) และตลอดแนวเส้นทางรถไฟทั่วประเทศ เพื่อเชื่อมต่อกับประเทศ ในกลุ่ม AEC นอกจากลู ก ค้ า จะได้ รั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารที่ มี คุณภาพแล้ว บริษัทยังมีระบบควบคุมการท�ำงานที่ผ่านการรับรอง ตามมาตรฐานสากล ISO 9001: 2008 รวมถึงรางวัลการออกแบบ และพัฒนานวัตกรรมด้านโทรคมนาคมจากสถาบันชั้นน�ำ บริษัทจึง ได้รบั ความไว้วางใจให้ผลิตสินค้าและบริการด้านโทรคมนาคมจาก หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงองค์กรธุรกิจ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ

อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 ถือเป็นปีทมี่ คี วามท้าทายอย่างยิง่ เป็นปีแรกของการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯของบริษัท ภายใต้สถานการณ์ตลาดที่มีการแข่งขันสูง ปัจจัยทางธุรกิจมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อเป้าหมายและผล การด�ำเนินงานของบริษัทค่อนข้างมาก แต่เป็นเพียงผลกระทบใน ระยะสั้ น บริ ษั ท ยั ง เชื่ อ มั่ น ในทิ ศ ทางและกลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ที่จะน�ำพากิจการไปสู่ความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน ด้วยเป้าหมายที่จะ สร้างความเติบโตของผลก�ำไรจากสัดส่วนของรายได้ทมี่ ลี กั ษณะต่อ เนื่อง (Recurring Income) ภายใน 5 ปี ให้มีสัดส่วนร้อยละ 50 ของ ผลก�ำไรรวม โดยในปี 2559 แม้รายได้จากธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าและ ธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐานและ ติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคมจะ มียอดลดลง แต่ธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมที่ เป็น Recurring Income เริ่มผลิดอกออกผล สร้างผลตอบแทนได้ อย่างน่าพอใจ จึงถือเป็นสิ่งยืนยันความมั่นใจต่อท่านผู้ถือหุ้นและ นักลงทุนถึงทิศทางความเติบโตอย่างยั่งยืนที่บริษัทก�ำลังมุ่งไปสู่ กอปรกับการด�ำเนินธุรกิจภายใต้การบริหารจัดการอย่างระมัดระวัง ตามนโยบายของบริษทั พร้อมกับความร่วมแรงร่วมใจของบุคลากร ทุกฝ่ายในองค์กร รวมถึงการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เพื่อ รองรับแนวโน้มความต้องการในการส่งเสริมการใช้โครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านโทรคมนาคม ด้วยการเชือ่ มต่อทัง้ ในประเทศและทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค อาเซียนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ล้วนเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดความ ส�ำเร็จและการเติบโตอย่างยั่งยืน การเดินหน้าธุรกิจของบริษทั ล้วนเกิดจากความร่วมมือและ การสนับสนุนจากผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ทั้งลูกค้า คู่ค้า ผู้ผลิต สถาบันการเงิน และพันธมิตรทางธุรกิจ และผู้ถือหุ้น ในนามคณะ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ขอขอบพระคุณทุก ท่านที่ได้ให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษัทด้วยดีเสมอมา และด้วยวิสัยทัศน์ กับกลยุทธ์ที่คณะกรรมการได้วางไว้ ตลอดจน ความมุง่ มัน่ ในการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถของบุคลากร ทุกระดับ ขอให้ทกุ ท่านเชือ่ มัน่ ในศักยภาพขององค์กรทีจ่ ะก้าวไปข้าง หน้าด้วยความมั่นคงต่อไป

นายอนันต์ วรธิติพงศ์ (ประธานกรรมการ)



11

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

สารจากกรรมการผู้อำ�นวยการ

เทคโนโลยี โ ทรคมนาคมมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะยั ง เติ บ โตขึ้ น ได้อีกมาก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่รัฐบาลใช้นโนบายดิจิตอล เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ในการพัฒ นาเศรษฐกิจและสัง คม โดยเฉพาะ ในระยะที่ 1 ที่รัฐมุ่งเน้นการลงทุนและสร้างรากฐานในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมดิจิตอล การน�ำเทคโนโลยีโทรคมนาคมมา ประยุกต์เข้ากับการด�ำเนินธุรกิจและชีวติ ประจ�ำวันนับวันจะมีให้เห็น มากขึ้น อย่างไรก็ตามโอกาสมักมาพร้อมกับ การแข่งขันเสมอ และ การแข่งขันเป็นปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะคอย กระตุน้ ให้เรามีความตืน่ ตัวไม่ หยุดนิ่งต้องคิดค้นพัฒนา สินค้าและบริการ รวมถึงมองหาโอกาส ใหม่ๆ ที่จะช่วยสนับสนุนให้บริษัทมีผลการด�ำเนินงานที่ดีและมี ความยัง่ ยืน มีรายได้และ ผลก�ำไรทีส่ ม�ำ่ เสมอ เราจึงก�ำหนดเป็นวิสยั ทัศน์องค์กรว่า เราจะ “เป็นผูน้ ำ� ในการให้บริการโครงสร้างพืน้ ฐาน และเป็นพันธมิตรทางธุรกิจของผูป้ ระกอบการโทรคมนาคมใน ภูมภิ าคนี”้ จากประสบการณ์ทเี่ ราสัง่ สมมาตลอด 16 ปี ท�ำให้บริษทั ตระหนักดีว่า แม้รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการสร้าง สถานีฐาน และติดตัง้ อุปกรณ์โทรคมนาคมจะมีผลตอบแทนในระดับ ที่น่าพอใจ แต่ยังมีความไม่สม�่ำเสมอของรายได้ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับ แผนการลงทุนของกลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคม บริษัทได้เล็งเห็นและวางแนวทางที่จะช่วยบรรเทาความเสี่ยงนั้น นัน่ คือการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคมเพือ่ ให้บริการ แก่ลกู ค้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคม รายได้ดงั กล่าวจะมีลกั ษณะ เป็นรายได้ทตี่ อ่ เนือ่ ง (Recurring Income) ซึง่ จะผูกพันด้วยสัญญา ระยะยาว และเพื่อให้วิสัยทัศน์ดังกล่าวประสบความส�ำเร็จได้อย่าง เป็นรูปธรรม บริษัทจึงได้วางกลยุทธ์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ บริหารงานที่ส�ำคัญ อันประกอบด้วย • การส่งเสริมการใช้โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม ร่วมกัน (Telecommunication Infrastructure Sharing) • การมุ่งเน้นการประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโทรคมนาคม แก่ลกู ค้าทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และจะท�ำธุรกิจ ในลักษณะที่เป็นพันธมิตรกับกลุ่มลูกค้า • การตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าให้ได้มาก ที่สุด (One stop service solution) ทั้ ง นี้ ก ารพั ฒ นาเพื่ อ เพิ่ ม ทั ก ษะของบุ ค ลากรในองค์ ก ร นับเป็นอีกปัจจัยส�ำคัญในการเสริมสร้างสมรรถนะของพนักงาน เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วามสามารถ ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์และมุมมอง ในการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีการฝึกอบรมด้าน

ต่างๆ ควบคู่กับการพัฒนาส่งเสริมด้านคุณธรรมและจริยธรรมตาม หลักธรรมาภิบาล เพื่อยกระดับจิตส�ำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ระเบียบวินยั ในการปฏิบตั งิ าน และสามารถพัฒนาระบบงานบริหาร จัดการตลอดจนส่งเสริมภาพลักษณ์ และเพิ่มขีดความสามารถใน การด�ำเนินธุรกิจเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร ในปี 2559 ที่ผ่านพ้นไป บริษัทได้เผชิญกับความท้าทาย การเปลี่ยนแปลง และการแข่งขันอย่างเข้มข้น ซึ่งเราได้ปรับเปลี่ยน สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ ก ลายเป็ น พลั ง เหนี่ ย วน� ำ ให้ เ กิ ด ความสามั ค คี ใ น หมู ่ ค ณะจนสามารถน� ำ พาบริ ษั ท สู ่ ผ ลส� ำ เร็ จ ได้ ใ นท้ า ยที่ สุ ด ในนามของกรรมการผู้อ�ำนวยการบริษัท เอแอลที เทเลคอม จ�ำกัด (มหาชน) ขอขอบพระคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกท่านทีไ่ ด้รว่ มสนับสนุนและ ให้ความไว้วางใจบริษทั ด้วยดีเสมอมา จนท�ำให้บริษทั ประสบความ ส�ำเร็จ และขับเคลือ่ นด�ำเนินธุรกิจมา จนทุกวันนี้ บริษทั มีความตัง้ ใจ ที่จะพัฒนาธุรกิจ และนวัตกรรม ต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมกิจการ คุณภาพชีวติ ทีด่ ที งั้ แก่สงั คม และประเทศชาติดว้ ยการพัฒนาสินค้า และบริการอย่างยั่งยืน และต่อเนื่องเพื่อสร้างอนาคตที่ดีกว่า และ จะไม่หยุดแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ทั้งในประเทศ และทั่วทั้ง ภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการส่งมอบการสือ่ สาร และการ บริการทางโทรคมนาคมอย่างครบวงจรและดีที่สุด

นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ (กรรมการผู้อ�ำนวยการ)


12

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท

1. รศ.สุชาติ เหล่าปรีดา • กรรมการอิสระ

• ประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการบริหารความเสี่ยง

2. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ • กรรมการ

• กรรมการบริหาร • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง • รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานบริหารงานกลาง • กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม • กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

3. พล.อ.สิทธิศักดิ์ เทภาสิต • กรรมการอิสระ

• ประธานกรรมการตรวจสอบ

4. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ • กรรมการ

• ประธานกรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง • กรรมการผู้อำ�นวยการ • กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม • รักษาการรองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานพัฒนาธุรกิจ

5. นายอนันต์ วรธิติพงศ์ • ประธานกรรมการ • กรรมการอิสระ

6. รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา • กรรมการอิสระ

• กรรมการตรวจสอบ • กรรมการบริหารความเสี่ยง

7. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล • กรรมการ

• กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง • รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานจัดซื้อและโลจิสติกส์

• กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


13

รายงานประจำ�ปี 2559


14

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร

นายไพโรจน์ รุจิรวณิช

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานบริหารโครงการ

นางสมร ดีเส็ง

• กรรมการบริหาร

นายสุพฒ ั น์ เอีย ่ มวิวฒ ั น์

นางปรีญาภรณ์ ตัง ้ เผ่าศักดิ์

นายสมบุญ เศรษฐ์สน ั ติพงศ์

สายงานพัฒนาธุรกิจ

• ประธานกรรมการบริหาร

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ

บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด

• กรรมการบริหารความเสี่ยง

สายงานการเงินและบัญชี

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ

• กรรมการ

• กรรมการผู้อำ�นวยการ • กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม • รักษาการรองกรรมการผูอ ้ �ำ นวยการ สายงานพัฒนาธุรกิจ

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการบริหาร


15

นายดิสรณ์ ชาตรูปะมัย

นางสาวภัทรภร เวทะธรรม

นายศิรินทร์ พรหมโชติ

• กรรมการบริหาร

นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

นายปยุต ภูวกุลวงศ์

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ

• ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

สายงานขายและการตลาด

บริษัท อินฟอร์เมชั่น

• กรรมการบริหาร

• กรรมการ

• กรรมการบริหาร

• กรรมการ

ไฮเวย์ จำ�กัด

• กรรมการบริหารความเสี่ยง

•ประธานกรรมการ

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ

บริหารความเสี่ยง

สายงานจัดซื้อและโลจิสติกส์

• รองกรรมการผู้อำ�นวยการ

• กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

สายงานบริหารงานกลาง • กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

รายงานประจำ�ปี 2559


16

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

นายอนันต์ วรธิติพงศ์

พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต

ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

62 ปี ไม่มี ไทย 24 ธันวาคม 2557

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2557 – ปัจจุบัน คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ 2557 – ปัจจุบัน ทีป่ รึกษา บริษทั ดิเอ็กซ์เพิรท์ ไอซีที จำ�กัด 2555 – ปัจจุบัน นายกกิตติมศักดิส์ มาคมโทรคมนาคม แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2557 – 2558 รองประธานคณะทำ�งานยุทธศาสตร์ดา้ นการ พัฒนาอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแห่งชาติ กสทช. ประวัติการศึกษา ประวัติการอบรม 2557 2554 2552 2522 – ปัจจุบัน

ปริญญาตรี ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจ Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 184/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประกาศนียบัตร “หลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ 2 (สถาบันพระปกเกล้า) ประกาศนียบัตร “หลักสูตรภูมพิ ลังแผ่นดิน” สำ�หรับผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 3 ประกาศนียบัตร “หลักสูตรการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย” สำ�หรับนักบริหารระดับสูง รุน่ ที่ 12 (สถาบันพระปกเกล้า)

ศึกษาและดูงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ หลายแห่ง เช่น สหรัฐอเมริกา, อังกฤษ, สวีเดน, เยอรมัน, ฝรั่งเศส, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ไต้หวัน, ฮ่องกง, สิงคโปร

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

68 ปี ไม่มี ไทย 24 ธันวาคม 2557

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2556 – ปัจจุบัน อนุกรรมการสำ�นักงานกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) 2552 – 2556 ประธานอนุกรรมการวินจิ ฉัยเรือ่ งคัดค้านและปัญหา หรือข้อโต้แย้งคณะที่ 15 สำ�นักงานคณะกรรมการการ เลือกตัง้ (กกต.) 2549 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ Thai – German Products Public Company Limited ประวัติการศึกษา 2522 2515

ปริญญาโท สาขาจิตวิทยาทีป่ รึกษาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย บริดพอร์ท สหรัฐอเมริกา (ทุนกองทัพบก) ปริญญาตรีวทิ ยาศาสตร์บณ ั ฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.19)

ประวัติการอบรม 2548 2541 2531 2527

Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 32/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ครุศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยครูสวนดุสิต หลักสูตรเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจำ� ชุดที่ 62 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


17

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

รศ. สุชาติ เหล่าปรีดา

รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

55 ปี ไม่มี ไทย 20 กุมภาพันธ์ 2558

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2558 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน / กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2535 – ปัจจุบัน อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการศึกษา 2534 2531 2528

บัญชีมหาบัณฑิต (บัญชีตน้ ทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัฐศาสตรบัณฑิต (การปกครอง) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการอบรม 2558

Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 117/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

44 ปี ไม่มี ไทย 24 ธันวาคม 2557

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

2559 – ปัจจุบัน 2557 – ปัจจุบัน 2557 2556 – ปัจจุบัน 2555 – ปัจจุบัน 2554 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2541 – ปัจจุบัน

หัวหน้าภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีป่ รึกษา ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมนักผังเมืองไทย ผูแ้ ทนรัฐบาลไทย ใน The GMS Task Force on Urban Development, Asian Development Bank (ADB) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เมโทรสเคป จำ�กัด กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ออโรส จำ�กัด กรรมการฝ่ายวิชาการ ชมรมจักรยานเพือ่ สุขภาพแห่งประเทศไทย หัวหน้าหน่วยวิจยั สุขภาวะเมือง ภาควิชาการวางแผน ภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการบริหารภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรการวางแผนภาคและ เมืองมหาบัณฑิตและดุษฎีบณ ั ฑิต (หลักสูตรต่อเนือ่ ง) อาจารย์ประจำ�ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี

ประวัติการศึกษา

2549 2541 2537 ประวัติการอบรม 2558

ไม่มี

วิศวกรรมศาสตร์ดษุ ฎีบณ ั ฑิต (วิศวกรรมจราจร) ด้วยทุน DAAD ภาควิชาวิศวกรรมจราจร คณะวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ดาร์มสตัท เมืองดาร์มสตัท สหพันธรัฐเยอรมนี การวางแผนภาคมหาบัณฑิต ภาควิชาภูมศิ าสตร์ และการวางแผน มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐนิวยอร์ก เมืองอัลบานี สหรัฐอเมริกา สถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 116/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

รายงานประจำ�ปี 2559


18

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง / กรรมการผู้อำ�นวยการ / กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม รักษาการรองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานพัฒนาธุรกิจ

กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานจัดซื้อและโลจิสติกส์ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

45 ปี 6.965 ไทย 19 มีนาคม 2544

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

43 ปี 6.965 ไทย 19 มีนาคม 2544

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน

กรรมการบริษัท / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม / ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้อำ�นวยการ / รักษาการรองกรรมการ ผู้อำ�นวยการสายงานพัฒนาธุรกิจ

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2544 - ปัจจุบัน

กรรมการบริษัท / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม / กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานจัดซื้อ และโลจิสติกส์

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท เทเลคอม โซลูชั่นส์ โพรไวเดอร์ จำ�กัด กรรมการบริษัท เอ็นเนอร์จี แม็คซ์ จำ�กัด อุปนายก สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด 2551 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด กรรมการบริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำ�กัด 2545 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2536 บริหารธุรกิจ / การตลาด ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประวัติการอบรม 2558 TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 15 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย 2555 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 96/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

ประวัติการอบรม 2555 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 96/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2544 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด กรรมการบริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำ�กัด กรรมการบริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2538 ครุศาสตร์ ปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


19

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

นายปยุต ภูวกุลวงศ์

นายสมบุญ เศรษฐ์สันติพงศ์

กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบริหารงานกลาง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน / กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม

กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานการเงินและบัญชี

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน

56 ปี 5.970 ไทย 19 มีนาคม 2545 กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม / กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบริหารงานกลาง

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2545 - ปัจจุบัน

ประวัติการศึกษา 2526

ประวัติการอบรม 2559 2556 2555 2555

กรรมการบริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด กรรมการบริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำ�กัด กรรมการบริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด กรรมการบริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด กรรมการบริษัท เอ็นเนอร์จี แม็กซ์ จำ�กัด

กรรมการบริษัท เทเลคอม โซลูชั่นส์ โพรไวเดอร์ จำ�กัด รัฐศาสตร์ / บริหารรัฐกิจ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กลยุทธ์การบริหารเงินลงทุนให้ได้ผลตอบแทนที่ดีที่สุด (CSI) รุ่นที่ 11 วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต Risk Management Committee Program (RMP) รุ่นที่ 2/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 96/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Financial Statement for Director (FSD) รุ่นที่ 16/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

53 ปี ไม่มี ไทย 26 กุมภาพันธ์ 2560

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2560 2559 – ปัจจุบัน

กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานการเงินและบัญชี

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2558 - 2559 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร – สายงานการเงินและ บัญชี / บริษัท อีสเทิร์นโพลีเมอร์ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2556 – 2558 Chief Finance Officer / PT (Sole) Co., Ltd. – Lao PDR 2554 – 2556 ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาระบบและนโยบายการเงินและ บัญชี / บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการศึกษา 2529

บริหารธุรกิจบัณฑิต (การธนาคารและการเงิน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม 2549

โครงการประกาศนียบัตร CFO – สภาวิชาชีพบัญชี รุ่นที่ 7

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

รายงานประจำ�ปี 2559


20

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

นายศิรินทร์ พรหมโชติ

นางสมร ดีเส็ง

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

52 ปี ไม่มี ไทย 26 กุมภาพันธ์ 2560

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

45 ปี ไม่มี ไทย 26 กุมภาพันธ์ 2560

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

กรรมการบริหาร

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

กรรมการบริหาร

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2531 - 2534

ปริญญาตรีอตุ สาหกรรมไฟฟ้า: วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัติการอบรม 2542 2541 2540 2538

โปรแกรม เอ็ม อาร์ พี ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 เอ เอ็ม พี (สิงคโปร์) เทคนิคการนำ�เสนอสินค้า เอ เอ็ม พี (ประเทศไทย) จำ�กัด โปรแกรม ออโต้ แคด ปรับปรุงครั้งที่ 13 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า เอ ที แอนด์ ที (ประเทศไทย) จำ�กัด

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2560 กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำ�กัด 2559 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 2557 – ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อและสโตร์ บริษัท ไอ ทเวนตี้วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด และ บริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2540

ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเซ็นต์จอร์น

ประวัติการอบรม 2559 2559 2559 2554 2545 2544

การสำ�แดงราคาสินค้านำ�เข้าทางศุลกากร ธรรมนิติ การตรวจสอบภายในแบบครบวงจร ธรรมนิติ “The One Team One Goal” ภายนอก The Manager สถาบันการบริหารและจิตวิทยา การรายงานข่าวเชิงรุก สำ�นักงานเลขาสภาผู้แทนราษฎร ผู้ช่วยดำ�เนินงาน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สถาบันพระปกเกล้า

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


21

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

นายดิสรณ์ ชาตรูปะมัย

นายไพโรจน์ รุจิรวณิช

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานขายและการตลาด

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบริหารโครงการ

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

52 ปี ไม่มี ไทย 25 มกราคม 2559

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานขายและการตลาด

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2551 – ปัจจุบัน กรรมการ/ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็นเนอร์จี แม็กซ์จำ�กัด ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรีอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

47 ปี ไม่มี ไทย 25 มกราคม 2559

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบริหารโครงการ ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2559 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบริหารโครงการ บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด 2551 – ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการสายงานบริหารโครงการ บริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2534

Education High Diploma of Construction Management

ประวัติการอบรม 2557 Safety Officer at Management Level 2555 Safety Officer Supervisor Level 2555 Coaching and Mentoring Techniques 2552 Project Management 2552 Successfully Completed 2550 The Manager 2550 How to Assign Delegate and Follow Up to Get Good Job Back 2537 Construction Management 2535 Training in Japan (Building Structure Course) ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

รายงานประจำ�ปี 2559


22

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

นายสุพัฒน์ เอี่ยมวิวัฒน์

นางสาวภัทรภร เวทะธรรม

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

49 ปี 0.03 ไทย 4 สิงหาคม 2559

อายุ สัดส่วนการถือหุน้ (%)* สัญชาติ วันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้

44 ปี 0.006 ไทย 1 มกราคม 2559

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด

ตำ�แหน่งปัจจุบัน 2559 – ปัจจุบัน

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี 2554 – 2556 รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการสายงานปฏิบตั กิ าร บริษทั เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด 2553 – 2554 รองกรรมการผู้จัดการบริษัท เอ็นเนอร์จี แม็กซ์ จำ�กัด ประวัติการศึกษา 2542 - 2544 2536 - 2538 2528 - 2532

วิทยาลัยนวัตกรรมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโทด้านการจัดการด้านโทรคมนาคม Night Program มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการธุรกิจ Young Executive (Night) Program สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขา โทรคมนาคม

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ประวัติการทำ�งานในระยะ 5 ปี Specialist, Coordinator to Marketing & Admin Director / Summit Auto Body Industry Co, Ltd. ประวัติการศึกษา 2544 2533

ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยอีสเทิรน์ เอเชีย ปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (โทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ประวัติการกระทำ�ผิดกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา

ไม่มี

ไม่มี

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

หมายเหตุ : *สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


23

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

ฝ่ายเลขานุการบริษัท

นางสาวธัญญพร มะลิลา

นางรมิดา ชูพุทธพงษ์

นางสาวรสลิน ศรประทุม

เลขานุการบริษัท

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจำ�ปี 2559


24

โครงสร้างการจัดการ

โครงสร้างการจัดการของบริษัทประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 4 คณะ ได้แก่ คณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริหาร โดยมีรายชื่อกรรมการและอำ�นาจหน้าที่ดังนี้

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


25

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัทมีจำ�นวน 7 ท่าน ประกอบด้วย ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ป ระสบการณ์ ห ลากหลาย ทั้ ง ด้ า นธุ ร กิ จ โทรคมนาคม การวางแผนและผังเมือง การบัญชี และการ กำ�กับดูแลกิจการ โดยมีกรรมการ 4 ใน 7 ท่านเป็นกรรมการ อิสระ อีกทัง้ ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระและไม่ได้เป็น บุคคลเดียวกันกับผู้มีอำ�นาจสูงสุดของฝ่ายบริหาร มีรายนาม ปรากฎดังนี้

ชื่อ – สกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายอนันต์ วรธิติพงศ์ 2. พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต 3. นายสุชาติ เหล่าปรีดา 4. นายพนิต ภู่จินดา

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

5. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ 6. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการ

7. นายปยุต ภูวกุลวงศ์

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการ

โดยมี นางสาวธัญญพร มะลิลา เป็นเลขานุการบริษัท

เงิน จัดสรรรเงินกำ�ไรบริษัท และรายการที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้ง รวมถึงเสนอรายชื่อกรรมการ และผู้สอบบัญชีและ กำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี • พิ จ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ • แต่ ง ตั้ ง กรรมการตรวจสอบ พร้ อ มทั้ ง รั บ ทราบ รายงานการตรวจสอบที่สำ�คัญของคณะกรรมการตรวจสอบ หรือหน่วยงานกำ�กับและตรวจสอบภายใน • พิจารณาแต่งตัง้ และกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ของคณะกรรมการบริหาร กรรมการผู้อำ�นวยการ และคณะ กรรมการชุดย่อยอื่นตามความเหมาะสม • จัดให้มรี ายงานข้อมูลทัว่ ไป และข้อมูลทางการเงิน ของบริษทั พร้อมทัง้ สอบทานความเพียงพอและความเหมาะสม ของระบบควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการชุดย่อย เมื่ อ วั น ที่ 15 มิ ถุ น ายน 2558 คณะกรรมการ บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยขึ้นมา 4 ชุด เพื่อทำ� หน้ า ที่ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระหน้ า ที่ ข องคณะกรรมบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยทุ ก ชุ ด จะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎบั ต ร ซึ่งกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่ อ ช่ ว ยงานของคณะกรรมการบริ ษั ท ในการ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการสอบทานคุ ณ ภาพและ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของระบบบั ญ ชี ระบบตรวจสอบ ระบบ ควบคุมภายใน ตลอดจนกระบวนการรายงานทางการเงิน ของบริ ษั ท โดยมี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามที่ ข้ อ บั ง คั บ ของ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ณ วั น ที่ 31 มกราคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้ ว ยคณะกรรมการ อิสระจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่

การลงนามผู ก พั น บริ ษั ท เป็ น ไปตามเงื่ อ นไขที่ กำ�หนดในหนั ง สื อ รั บ รองบริ ษั ท คื อ นางปรี ญ าภรณ์ ตั้ ง เผ่ า ศั ก ดิ์ นางสาวปรี ย าพรรณ ภู ว กุ ล และนายปยุ ต ภูวกุลวงศ์ กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและ ประทับตราสำ�คัญของบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ตั ว แทนของผู้ ถื อ หุ้ น ทั้งหมด และมีหน้าที่สำ�คัญในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย ชื่อ – สกุล 1) ตำ�แหน่ง และกลยุทธ์ทสี่ ำ�คัญของบริษทั จึงมีบทบาทสำ�คัญต่อการสร้าง ประธานกรรมการตรวจสอบ ความเชื่อมั่น สร้างมูลค่าให้กิจการ รวมทั้งสร้างผลตอบแทน 1. พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต 2) จากการลงทุนให้กับผู้ถือหุ้น 2. นายสุชาติ เหล่าปรีดา กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ 3. นายพนิต ภู่จินดา กรรมการบริษัท โดยมี นางรมิดา ชูพุทธพงษ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ • กำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ และ หมายเหตุ : 1) พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต และนายพนิต ภู่จินดา ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะ กรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 16/2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม นโยบายของบริ ษั ท รวมถึ ง ให้ ค วามเห็ น ชอบเป้ า หมายทาง 2557 และนายสุชาติ เหล่าปรีดา ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการตรวจสอบในการประชุม ด้านการดำ�เนินธุรกิจ การบริหารทรัพย์สนิ การเงิน การระดมทุน กรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ต่อมาที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของ บริษัท ครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 ได้มีมติแปรสภาพจากบริษัทจำ�กัดเป็น การลงทุน และการบริหารความเสี่ยงของบริษัท บริษัทมหาชนจำ�กัด และแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม่ โดยมีวาระการดำ�รง • พิจารณาอนุมัติงบประมาณประจำ�ปี งบลงทุน ตำ�แหน่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 เป็นต้นไป 2) กรรมการตรวจสอบผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน โครงการ พร้อมทัง้ กำ�กับดูแลและติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน • พิจารณาและอนุมัติผลการดำ�เนินธุรกิจ งบการ รายงานประจำ�ปี 2559


26

อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ กรรมการตรวจสอบ • สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ายงานทางการเงิ น อย่ า ง ถูกต้องและเพียงพอตามมาตรฐานการบัญชี • สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบควบคุ ม ภายในและ การตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล • สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของ บริษัท รวมทั้งพิจารณาค่าตอบแทน ความน่าเชื่อถือ และ ปริมาณงานของผู้สอบบัญชีของบริษัท และประชุมร่วมกันกับ ผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่มี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท • พิจารณารายการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ ของบริษัทให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และ หลักเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน • อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายในตลอดจนพิจารณา รับทราบการรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน • พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรม การตรวจสอบและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ • รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัท โดยเฉพาะในกรณีที่พบว่า มี ข้ อ สงสั ย ว่ า มี ร ายการหรื อ การกระทำ�ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบ อย่ า งมี นั ย สำ�คั ญ ต่ อ ฐานะทางการเงิ น และผลการดำ�เนิ น การของบริ ษั ท รวมถึ ง ดำ�เนิ น การตรวจสอบประเด็ น ที่ ได้ รั บ แจ้ ง จากผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท และรายงานผล การตรวจสอบเบื้ อ งต้ น ให้ แ ก่ สำ�นั ก งานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผูส้ อบบัญชีภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้รับแจ้ง • จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดย เปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทน มีหน้าที่เสนอแนะ โครงสร้าง ขนาดและองค์ประกอบของ คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ พร้ อ มทั้ ง กำ�หนดคุ ณ สมบั ติ กระบวนการ และหลั ก เกณฑ์ ในการสรรหาผู้ท่ีได้รับการเสนอชื่อเพื่อรับการคัดเลือกตาม

โครงสร้าง จำ�นวน และองค์ประกอบของคณะกรรมการตาม ที่ ไ ด้ กำ�หนดไว้ พร้ อ มทั้ ง พิ จ ารณาและเสนอรายชื่ อ บุ ค คล เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัท คณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ รวมถึงกรรมการผู้อำ�นวยการ เพื่อนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการและที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ พิ จ ารณาต่ อ ไป อีกทั้งพิจารณาและเสนอแนะค่าตอบแทน รวมถึงประเมิน ประสิทธิภาพการทำ�งานของตำ�แหน่งดังกล่าว เพื่อให้บริษัท มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนของบริษัทจำ�นวน 3 ท่าน ประกอบด้วย

ชื่อ – สกุล

1. นายสุชาติ เหล่าปรีดา 2. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 3. นางสาวณติกา ประดุจธนโชติ1)

ตำ�แหน่ง

ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน

โดยมีนางสาวรสลิน ศรประทุม เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหา และ กำ�หนดค่าตอบแทน

หมายเหตุ : 1) นางสาวณติกา ประดุจธนโชติ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทนในที่ประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559

อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน • กำ�หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละนโยบายการสรรหา กรรมการบริ ษั ท และกรรมการชุ ด ย่ อ ย เพื่ อ เสนอต่ อ คณะ กรรมการบริษัท และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น • พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีเ่ หมาะ สมให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทที่ครบวาระ และ/หรือ มีตำ�แหน่งว่างลง และ/หรือ แต่งตั้งเพิ่มขึ้น • ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการ ผู้ อำ�นวยการ เพื่ อ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ทราบเพื่อพิจารณาอนุมัติ • จัดทำ�หลักเกณฑ์ และนโยบายในการกำ�หนดค่า ตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย เพื่อ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือเสนอขออนุมัติต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้น • กำ�หนดค่าตอบแทนที่จำ�เป็น และเหมาะสมทั้งที่ เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินของคณะกรรมการบริษัท เป็นราย บุคคลในแต่ละปี เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา และนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติ • พิจารณาเกณฑ์การประเมินผลงาน และกำ�หนด ค่าตอบแทนประจำ�ปีของกรรมการผู้อำ�นวยการ รองกรรมการ ผู้อำ�นวยการตามสายงาน และผู้บริหารระดับสูง และนำ�เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


27

• รายงานนโยบาย หลักการ/เหตุผลของการกำ�หนด ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห าร ตามข้ อ กำ�หนด ของ ตลาดหลักทรัพย์ โดยเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจำ�ปี (56-1) และรายงานประจำ�ปี • พิจารณาความเหมาะสมและให้ความเห็นชอบใน กรณีทมี่ กี ารเสนอขายหลักทรัพย์ใหม่ให้กรรมการและพนักงาน • ให้ คำ�ชี้ แ จงตอบคำ�ถามกั บ ค่ า ตอบแทนของ กรรมการบริษัทในที่ประชุมผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่กำ�หนด นโยบายและแนวทางการบริหารความเสีย่ งโดยรวมของบริษทั ซึ่งครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทต่างๆที่สำ�คัญ เช่น ความ เสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงด้านการลงทุน และความเสี่ยงที่ มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีจำ�นวน 7 ท่าน ประกอบด้วย

ชื่อ – สกุล

ตำ�แหน่ง

1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์

ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง

2. นายสุชาติ เหล่าปรีดา

กรรมการบริหารความเสี่ยง

3. นายพนิต ภู่จินดา

กรรมการบริหารความเสี่ยง

4. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

5. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

กรรมการบริหารความเสี่ยง

6. นายเสถียร ตันธนะสฤษดิ1)์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

7. นายณรงค์ องอาจมณีรัตน์ 1)

กรรมการบริหารความเสี่ยง

เพือ่ พัฒนาและทบทวนระบบการจัดการบริหารความเสีย่ งของ บริษัทให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง • จัดให้มีคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยงตามความ จำ�เป็น รวมทั้งสนับสนุนคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยงในด้าน อื่นๆ ที่จำ�เป็น • ดำ�เนิ นการตั ดสิ นใจและให้ คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับ ปัญหาสำ�คัญที่เกิดขึ้นในกระบวนการบริหารความเสี่ยง • นำ�เสนอรายงานผลการดำ�เนิ น งานของคณะ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อรับทราบ และ/หรือพิจารณาทุก 6 เดือน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ ห ารมี ห น้ า ที่ กำ�กั บ ดู แ ลการ ดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และนโยบายของคณะกรรมการบริ ษั ท กฎหมาย เงื่ อ นไข กฎระเบียบและข้อบังคับของบริษัท คณะกรรมการบริหาร จะต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ในการตั ด สิ น ใจทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทและผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 คณะกรรมการบริหารมีจำ�นวน 6 ท่านประกอบด้วย

ชื่อ – สกุล

1. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายปยุต ภูวกุลวงศ์

รองประธานกรรมการบริหาร

3. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

กรรมการบริหาร

4. นายสมบุญ เศรษฐ์สันติพงศ์

กรรมการบริหาร

5. นายศิรินทร์ พรหมโชติ

กรรมการบริหาร

โดยมีนางสาวรสลิน ศรประทุม เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร 6. นางสมร ดีเส็ง ความเสี่ยง หมายเหตุ : 1/ นายเสถียร ตันธนะสฤษดิ์ และนายณรงค์ องอาจมณีรัตน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริหารความเสีย่ งในทีป่ ระชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2559 เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2559

อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง • กำ�หนดนโยบายและแนวทางบริหารความเสี่ยง โดยรวมของบริษัท ให้ครอบคลุมความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่สำ�คัญที่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของกิจการ เพื่อนำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัทให้ความเห็นชอบ • กำ�หนด แผน กรอบ และกระบวนการบริหารความ เสีย่ ง และติดตามนำ�ไปปฏิบตั ิ รวมทัง้ สอบทานประสิทธิผลของ กรอบการบริหารความเสี่ยงและสอบทานรายงานการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดการความเสี่ยงมีความเพียง พอและเหมาะสม • ติ ด ตามและประเมิ น ผลการบริ ห ารความเสี่ ย ง

ตำ�แหน่ง

กรรมการบริหาร

อำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะ กรรมการบริหาร • พิจารณากำ�หนดเป้าหมาย และแผนธุรกิจของ บริษัท กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ นโยบายและมติของคณะกรรมการ บริษัท • พิจารณาเรื่องการลงทุนขยายงาน ระดมทุนของ บริษทั รวมถึงการซือ้ ขายสินทรัพย์ถาวรของบริษทั ตามขอบเขต อำ�นาจอนุมัติ และ/หรือ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท • พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบโครงสร้ า งตำ�แหน่ ง พร้อมทั้งแต่งตั้งผู้บริหารบริษัทเพื่อปฏิบัติหน้าที่ทุกตำ�แหน่ง รวมถึง โครงสร้างเงินเดือน และผลประโยชน์ตอบแทนของ พนักงาน

รายงานประจำ�ปี 2559


28

• พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ ทีป่ รึกษาด้านต่าง ๆ ทีจ่ ำ�เป็น ต่อการดำ�เนินงานของกิจการ และดูแลให้บริษัทมีระบบการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม รัดกุม ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีผู้บริหารตาม ประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่กจ. 17/2551 ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 เป็นจำ�นวน 6 ท่าน ดังนี้

ชื่อ – สกุล

1. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ 2. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

ตำ�แหน่ง

(4) รายงานประจำ�ปีของบริษัท (5) รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร

การประชุมคณะกรรมการบริษัท

รายละเอี ย ดการเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ในปี 2558 และปี 2559 มีดังนี้

ชื่อ – สกุล ปี 2558 ปี 2559

จำ�นวนครั้ง จำ�นวนครั้งที่ จำ�นวนครั้ง จำ�นวนครั้งที่ การประชุม เข้าร่วมการ การประชุม เข้าร่วมการ ประชุม ประชุม

กรรมการผูอ้ ำ�นวยการ /รักษาการ รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานพัฒนาธุรกิจ รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานจัดซื้อและโลจิสติกส์

1. นายอนันต์ วรธิติพงศ์ 1) 2. พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต2)

9 9

8 6

7 7

7 6

3. นายสุชาติ เหล่าปรีดา 3)

9

7

7

6

4. นายพนิต ภู่จินดา4)

9

8

7

6

5)

9

9

7

6

3. นายปยุต ภูวกุลวงศ์

รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานบริหารงานกลาง

5. นางปรีญาภรณ์ ตัง้ เผ่าศักด์ิ

4. นายดิสรณ์​์ ชาตรูปะมัย

รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานขายและการตลาด

6. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

9

9

7

7

7. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 6)

9

8

7

7

5. นายไพโรจน์ รุจิรวณิช 6. นายสมบุญ เศรษฐ์สันติพงศ์

รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานบริหารโครงการ รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานการเงินและบัญชี

8. นายบัญชา กานตานนท์ 7)

9

9

-

-

เลขานุการบริษัท

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2558 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2558 คณะกรรมการบริษัทได้มีมติ แต่งตั้งนางสาวธัญญพร มะลิลา ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการ บริษัท โดยคุณสมบัติผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี 2559 เอกสาร แนบ 1 โดยเลขานุการบริษัทมีหน้าที่ดังนี้ 1. ดูแลและให้คำ�แนะนำ�แก่กรรมการและผู้บริหาร เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำ�หนด กฎระเบียบ และ ข้อบังคับ ของบริษัท และติดตามดูแลให้มี การปฏิบัติอย่างถูก ต้องและสม่ำ�เสมอ 2. รับผิดชอบในการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ดูแลประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามมติของที่ประชุมดังกล่าว 3. ดูแลให้การเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศ ในส่วนที่รับผิดชอบเป็นไปตามระเบียบและข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวมถึ ง กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง 4. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ (1) ทะเบียนกรรมการ (2) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการและรายงานการ ประชุมคณะกรรมการ (3) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุม ผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ : 1) นายอนันต์ วรธิติพงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการบริษัทในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 16 /2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 และขาดการประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2 /2558 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 2) พลเอกสิทธิศกั ดิ์ เทภาสิต ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 16 /2557 เมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม 2557 ขาดการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 1 / 2558 เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2558 , การประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558, การประชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 8/2558 เมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม 2558 และการประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 3) นายสุชาติ เหล่าปรีดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และเริม่ เข้าประชุมในการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 3 /2558 เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2558 และขาดการประชุมกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 4) นายพนิต ภู่จินดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 16/2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ขาดการประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2558 เมื่อวัน ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และการประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 5) นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 19 มีนาคม 2544 และขาดการประชุมกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 6) นายปยุต ภูวกุลวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 19 มีนาคม 2545 และ ขาดการประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2558 7) นายบัญชา กานตานนท์ ลาออกจากการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการบริหาร โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม 2559 เป็นต้นไป

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน • กรรมการ ในที่ประชุมสามัญของผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เมื่อ วั น ที่ 30 เมษายน 2558 กำ�หนดค่ า ตอบแทนให้ แ ก่ ค ณะ กรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ เป็นการจ่ายเบีย้ ประชุม กรรมการต่อครั้ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ตำ�แหน่ง

ประธานกรรมการ

กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

ค่าตอบแทน (บาท/ คน/ ครั้ง) 40,000 30,000 30,000 25,000 20,000 15,000 20,000 15,000


29

• ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ไม่ มี ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนให้ ก รรมการ ที่มาจากกรรมการบริหาร , ผู้บริหาร , พนักงานของบริษัท • หากกรรมการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยในวันเดียวกัน จะได้รับเบี้ยประชุมในอัตรา สูงสุดเพียงอัตราเดียว สำ�หรั บ งวดปี 2558 และปี 2559 บริ ษั ท มี ก ารจ่ า ย ค่าตอบแทนให้แก่กรรมการดังนี้

ชื่อ – สกุล

ปี 2558

กรรมการ(1) (บาท)

กรรมการ ตรวจสอบ(1) (บาท)

ปี 2559 กรรมการ(1) (บาท)

กรรมการ ตรวจสอบ(1) (บาท)

1. นายอนันต์ วรธิติพงศ์ 2) 360,000 - 440,000 - 2. พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต3) - 180,000 - 240,000 3. นายสุชาติ เหล่าปรีดา 4) 5)

4. นายพนิต ภู่จินดา

กรรมการ บริหารความ เสี่ยง(1) (บาท)

-

-

-

210,000

-

210,000 20,000 15,000

-

240,000

-

180,000

-

15,000

-

-

-

-

15,000

6)

5. นายเสถียร ตันธนะสฤษดิ์ -

กรรมการ สรรหาและ กำ�หนดค่า ตอบแทน(1) (บาท)

6. นางปรีญาภรณ์ ตัง้ เผ่าศักดิ์

-

-

-

-

-

-

7. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

-

-

-

-

-

-

8. นายปยุต ภูวกุลวงศ์

-

-

-

-

-

-

รวม

360,000 630,000 440,000 630,000 20,000 45,000

หมายเหตุ : 1) กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยได้รับการกำ�หนดค่าตอบแทนในการประชุม คณะกรรมการบริษัทครั้งที่1/2558 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนตั้งแต่เดือน มกราคม 2558 เป็นต้นไป 2) นายอนันต์ วรธิติพงศ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 16 /2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ บริษัทตั้งแต่เดือนมกราคม2558 เป็นต้นไป และขาดการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2 / 2558 เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ทำ�ให้ไม่ได้รับเบี้ยประชุม 1 ครั้ง 3) พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 16 / 2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 และเริ่มได้รับค่าตอบแทน ในฐานะประธานกรรมการตรวจสอบตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป และขาดการประชุมคณะ กรรมการบริษัท ครั้งที่ 1 / 2558 เมื่อ 20 มกราคม 2558 , การประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2 / 2558 เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และ การประชุมกรรมการบริษัทครั้งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2558 และ การประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2559 เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2559 ทำ�ให้ไม่ได้รบั เบีย้ ประชุม 4 ครัง้ 4) นายสุชาติ เหล่าปรีดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรรมการ บริษัทครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการตรวจสอบ ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป และได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทน ครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2558 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 เป็นต้นไป และขาดการประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 ทำ�ให้ไม่ได้รับเบี้ยประชุม 1 ครั้ง 5) นายพนิต ภู่จินดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 16 /2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการตรวจสอบตั้งแต่เดือน มกราคม2558 เป็นต้นไป และขาดการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2 / 2558 เมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 ทำ�ให้ไม่ได้รับเบี้ย ประชุม 2 ครั้ง 6) นายเสถียร ตันธนะสฤษดิ์ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริหารความเสีย่ งในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 5/2559 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2559 และเริ่มได้รับค่าตอบแทนตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2559 เป็นต้นไป

2. ค่าตอบแทนอื่น ในปี 2558 และปี 2559 บริษัทฯ มีการจ่ายค่าตอบ แทนอื่น ประกอบด้วย ผลประโยชน์พนักงาน และกองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพ เป็นจำ�นวน 0.43 ล้านบาท และ 0.38 ล้านบาท ตามลำ�ดับ บุคลากร ในปี 2558 และ ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มี พ นั ก งาน (ไม่ ร วมผู้ บ ริ ห าร) จำ�นวนทั้ ง สิ้ น 280 คน และ 291 คน ตามลำ�ดับ บริษัทได้จ่ายผลตอบแทนให้แก่ พนักงานจำ�นวนทัง้ สิน้ 113.88 ล้านบาท และ 126.20 ล้านบาท ตามลำ�ดั บ ซึ่ ง ผลตอบแทนได้ แ ก่ เงิ น เดื อ น โบนั ส และ ค่าคอมมิชชั่น เป็นต้น โดยสามารถแบ่งรายละเอียดตามฝ่าย ดังนี้

สายงาน

จำ�นวนพนักงาน(คน) ค่าตอบแทน(ล้านบาท)

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2558 ปี 2559 9 11 4.99 4.28 9 26 5.53 12.39

ฝ่ายบริหาร ฝ่ายขายและการตลาด ฝ่ายจัดซื้อและโลจิสติกส์ ฝ่ายบริหารโครงการ ฝ่ายบริหารงานกลาง ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายการเงินและบัญชี บริษทั กรุป ๊ เทค โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด บริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด รวม

• ผู้บริหาร ในปี 2558 และ ปี 2559 บริ ษั ท ฯ มี ก ารจ่ า ย ค่าตอบแทนให้ผู้บริหารดังนี้ ค่าตอบแทน

ปี 2558

จำ�นวน ราย (คน)

เงินเดือน โบนัส

ค่า ตอบแทน (ล้านบาท)

6 14.69 ค่าตอบแทนอื่นๆ 6 2.15 เช่น ค่าประกันสังคม ค่าคอมมิชชั่น เป็นต้น เงินเดือน โบนัส 6 16.84

ปี 2559 จำ�นวน ราย (คน)

ค่า ตอบแทน (ล้านบาท)

6

16.53

6

0.59

6

17.12

4.07 12.97 6.45 - -

114 130

56.91 57.35

25 21

9.65 11.98

53 46

13.31 15.59

280 291

113.88 126.20

• กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

3.27 10.20 2.93 0.54 7.67

บริ ษั ท ได้ จั ด ตั้ ง กองทุ น สำ�รองเลี้ ย งชี พ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤษภาคม 2558 กับบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างขวัญ และกำ�ลังใจ ให้แก่พนักงาน และเพื่อจูงใจให้พนักงานทำ�งานกับบริษัทใน ระยะยาว

9 8 41 28 20 6 - - - 15

รายงานประจำ�ปี 2559



31

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ


32

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

สามารถพั ฒ นาสถานี โ ทรคมนาคมเคลื่ อ นที่ ภ ายใต้ ต รา สินค้า “ALT” ให้มขี นาดและความสามารถในการใช้งานทีต่ อบ สนองความต้องการของลูกค้าภายใต้ตน้ ทุนทีถ่ กู กว่าการนำ�เข้า จากต่างประเทศ ทั้งนี้ สถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที่ของบริษัท ประเภท Cell on Legs นั้นได้รับรางวัลยอดเยี่ยมประเภทการ ให้บริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม (Telecom Universal Service Obligation : USO) ในการ ประกวดนวัตกรรมโทรคมนาคมประจำ�ปี 2553 จากสถาบันวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคม(สพท.)และสำ�นักงาน คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(สำ�นักงาน กทช.) ในช่วงเวลาที่บริษัทมีการขยายสู่ธุรกิจการจำ�หน่าย สินค้าในกลุ่มโทรคมนาคมนั้น กลุ่มธุรกิจให้บริการสร้างสถานี ฐานและติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคมซึ่งเป็นธุรกิจหลักเดิมของ บริษัทนั้น ก็มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน ต่อมากลุ่ม ผู้ถือหุ้นจึงได้มีการก่อตั้งบริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด (“GTS”) ขึน้ ในปี 2551 เพือ่ รองรับการเติบโตของธุรกิจดังกล่าว และได้ริเริ่มนำ�เสนอบริการใหม่ด้วยการให้เช่าพื้นที่เพื่อติดตั้ง สายอากาศ (Antenna) กระจายสัญญาณบนสถานทีต่ า่ งๆ เช่น ป้ายโฆษณา หรือดาดฟ้าอาคาร ซึ่ง GTS จะเป็นผู้พิจารณา เลื อ กบริ เ วณซึ่ ง มี ศั ก ยภาพในการเป็ น จุ ด ช่ ว ยส่ ง เสริ ม การ กระจายสัญญาณเพือ่ ติดต่อขอเช่าพืน้ ทีแ่ ละนำ�พืน้ ทีด่ งั กล่าวไป นำ�เสนอแก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่ละราย พร้อมด้วย บริการติดตั้งสายอากาศและอุปกรณ์โทรคมนาคม ซึ่งการให้ บริการดังกล่าวนับเป็นจุดเริ่มต้นของการมีรายได้ในลักษณะ ที่เป็นรายได้ประจำ� (Recurring Income) ของกลุ่มบริษัท จากนั้นในปี 2553 บริษัทได้เข้าถือหุ้น GTS และส่งผลให้ GTS มีสถานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ในช่วงปี 2551 กลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีการก่อตั้ง บริษัท อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด (“INN”) เพื่อขยาย ธุรกิจจัดจำ�หน่ายสินค้าประเภทสายอากาศ (Antenna) โดยเริม่ จากการนำ�เข้าจากต่างประเทศ ต่อมาในปี 2554 INN ได้ขยาย ขอบเขตการทำ�ธุรกิจมาสูก่ ารเป็นผูผ้ ลิตสายอากาศ (Antenna) และอุปกรณ์ป้องกันการรั่วของสัญญาณ (PIM Load) ภายใต้ ตราสินค้า “SUMTEL” ของ INN โดยมีจุดเด่นคือการสามารถ ปรับปรุงและพัฒนาสินค้าร่วมกับลูกค้าเพื่อให้สามารถตอบ สนองความต้องการใช้งานของลูกค้าแต่ละรายให้ได้มากที่สุด ซึ่งส่งผลให้ INN ได้รับโอกาสในการนำ�เสนอสินค้าที่ต้องมีการ พัฒนาเพือ่ ตอบสนองความต้องการเฉพาะอย่างจากกลุม่ ลูกค้า อย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้ INN ยังมีการให้บริการซ่อมแซม อุปกรณ์โทรคมนาคมอีกด้วย

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “ALT”) ได้จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2544 ภายใต้ชื่อ บริษัท เอ.แอล.ที.อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท โดยเริ่มต้นธุรกิจจาก การเป็นผู้ให้บริการตกแต่งภายในอาคารและสถานีฐานของ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Operator) ซึ่งจากความมุ่งมั่น และทุม่ เทในการทำ�งานส่งผลให้บริษทั ได้รบั ความไว้วางใจจาก ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง จนได้รับมอบหมายให้ขยายขอบเขตการ ทำ�ธุรกิจมาสูก่ ารเป็นผูใ้ ห้บริการสร้างสถานีฐาน และให้บริการ ติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคมแก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Operator) จนกลายเป็นธุรกิจหลักของบริษัทแทนธุรกิจเดิม ในที่สุด โดยบริษัทได้หยุดการประกอบธุรกิจตกแต่งภายใน ในช่วงปี 2550 ด้วยพื้นฐานของการเป็นผู้ให้บริการสร้างสถานีฐาน และติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม กลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทจึงเห็น โอกาสในธุรกิจจัดจำ�หน่ายอุปกรณ์ต่างๆ และได้มีการก่อตั้ง บริษทั ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (“I21”) ขึน้ ในปี 2545 เพือ่ ประกอบธุรกิจจัดจำ�หน่ายสินค้าในกลุม่ โทรคมนาคม ในลักษณะของการซือ้ มาขายไป เช่น สายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง (Fiber Optic Cable), สายนำ�สัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ (RF Feeder Cable) และอุปกรณ์เครือข่ายไร้สาย (Wi-Fi) เป็นต้น โดยมีกลุ่มลูกค้าหลักคือ กลุ่มผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Operator) และกลุม่ ผูใ้ ห้บริการสร้างสถานีฐานและให้บริการ ติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม (Contractor) ซึ่งต่อมาในปี 2549 บริษัทได้เข้าถือหุ้น I21 และทำ�ให้ I21 มีสถานะเป็นบริษัทย่อย ของบริษัท นอกจากการขยายธุ ร กิ จ สู่ ก ารเป็ น ผู้ จั ด จำ�หน่ า ย สิ น ค้ า ในกลุ่ ม โทรคมนาคมในลั ก ษณะของการซื้ อ มาขาย ไปแล้ว บริษัทยังได้เล็งเห็นถึงช่องทางการทำ�ธุรกิจเพิ่มเติม ในสินค้ากลุ่มตู้โทรคมนาคม (Telecom Shelter) ซึ่งเดิมสินค้า ที่มีอยู่ในตลาดมักจะเป็นตู้ขนาดใหญ่ และราคาสูง จึงไม่ สามารถตอบสนองความต้องการลดต้นทุนของผู้ให้บริการ โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ ดั ง นั้ น ในช่ ว งปี 2545 บริ ษั ท จึ ง ได้ ร่ ว มมื อ กั บ พั น ธมิ ต รทางการค้ า ในการผลิ ต และจำ�หน่ า ยตู้ โทรคมนาคมภายใต้ตราสินค้า “ALT” โดยสินค้าของบริษัท จะมีขนาดและคุณสมบัติต่าง ๆ ที่สามารถตอบสนองความ ต้องการใช้งานของลูกค้าภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม จากนั้น ในช่วงปี 2548 บริษัทได้ร่วมกับพันธมิตรทางการค้าในการ พัฒนาสถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที่ (Rapid Deployment Unit: RDU) เพื่อใช้ทดแทนสินค้าที่ต้องนำ�เข้าจากต่างประเทศ ซึง่ มีราคาสูง และใช้ระยะเวลานานในการสัง่ ซือ้ โดยทางบริษทั

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


33

จากการเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งกลุ่มธุรกิจให้บริการ และธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม ประกอบกับ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องผู้ บ ริ ห ารที่ เ ห็ น ถึ ง แนวโน้ ม การพั ฒ นาธุ ร กิ จ โทรคมนาคมในต่ า งประเทศ บริ ษั ท จึ ง นั บ เป็ น หนึ่ ง ใน ผู้ ป ระกอบการในประเทศไทยที่ เ ป็ น ผู้ นำ�เสนอแนวคิ ด เรื่ อ งการใช้ โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นโทรคมนาคมร่ ว มกั น (Telecommunication Infrastructure Sharing) ให้ แ ก่ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Operator) และในปี 2554 บริ ษั ท ได้ เ ริ่ ม ประกอบธุ ร กิ จ ให้ เ ช่ า โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น โทรคมนาคม ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ธุ ร กิ จ ที่ ส ร้ า งรายได้ ป ระจำ� (Recurring Income) ให้แก่กลุ่มบริษัท โดยเริ่มโครงการ แรกที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหมราชอี ส เทิ ร์ น ซี บ อร์ ด และนิ ค ม อุ ต สาหกรรมอี ส เทิ ร์ น ซี บ อร์ ด (ระยอง) เป็ น การวางโครง ข่ายสายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง (Fiber Optic Cable) เพื่อ ให้ บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมโดยใช้ โ ครงข่ า ย เดียวกัน ซึง่ เป็นการช่วยลดต้นทุนการลงทุนในการวางโครงข่าย ของผู้ให้บริการโทรคมนาคม อันได้แก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ละผูใ้ ห้บริการอินเตอร์เน็ต และเป็นการเพิม่ สิง่ อำ�นวย ความสะดวกให้แก่ลูกค้าของนิคมอุตสาหกรรม ต่อมาในปี 2556 กลุ่มผู้ถือหุ้นของบริษัทได้ก่อตั้ง บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด (“IH”) ขึ้น โดยมี ALT เป็นผู้ถือในสัดส่วนร้อยละ 99.99 และในช่วงกลางปี 2557 ALT ได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นใน IH จากร้อยละ 99.99 ของ ทุนจดทะเบียนเหลือร้อยละ 71 ของทุนจดทะเบียน โดยการ จำ�หน่ า ยหุ้ น ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เคลื่อนที่รายหนึ่ง และได้มีการจัดทำ�สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น เพื่ อ ร่ ว มลงทุ น ประกอบธุ ร กิ จ การลงทุ น ในโครงข่ า ยเคเบิ ล ใยแก้วนำ�แสงให้เช่าพร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อม ทั้งนี้ ในสัญญา ระหว่างผู้ถือหุ้นได้มีการกำ�หนดข้อตกลงเกี่ยวกับลักษณะการ ประกอบธุรกิจ รวมถึงกำ�หนดอำ�นาจของกรรมการและผู้ถือ หุ้นในการดำ�เนินงานร่วมกัน ซึ่งส่งผลให้ IH เปลี่ยนสถานะ จากบริษัทย่อยของ ALT มาเป็นกิจการร่วมค้าซึ่งอยู่ภายใต้ การควบคุมร่วมกันของ ALT และผู้ร่วมลงทุนดังกล่าวนับ ตั้งแต่วันที่สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นมีผลบังคับใช้ ปัจจุบัน IH มี ก ารลงทุ น ในโครงข่ า ยเคเบิ ล ใยแก้ ว นำ�แสงและเสา โทรคมนาคมเพื่อให้เช่ารวม 3 โครงการ ในปี 2557 ALT ได้ก่อตั้งบริษัท เทเลคอม โซลูชั่น โพรไวเดอร์ จำ�กัด (“TSP”) เพื่อประกอบธุรกิจถือหุ้นในบริษัท Myanmar Information Highway Limited (“MIH”) ซึ่งจะ ประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคมใน ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ อย่างไรก็ดีเพื่อให้ สามารถบรรลุ ถึ ง เป้ า หมายและภารกิ จ ที่ ต้ อ งการมุ่ ง เน้ น

สู่ ก ารเป็ น ผู้ นำ�ในการให้ บ ริ ก ารโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น โทรคมนาคมในพื้ น ที่ เ ฉพาะที่ มี ค วามสำ�คั ญ ทางเศรษฐกิ จ (Strategic Location) ในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนา อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศ ดังนั้น ALT จึงได้ลดสัด ส่วนการลงทุนใน TSP จากร้อยละ 99.99 เหลือร้อยละ 30 ของ ทุนจดทะเบียน โดยมีบริษทั ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคมเข้า มาเป็นผู้ร่วมลงทุนใน TSP ในช่วงเดือนกรกฏาคม 2558 โดย ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียนใน TSP ภายใต้แนวคิดของการให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโทรคมนาคมร่วมนัน้ (Telecommunication Infrastructure Sharing) บริษัทเชื่อมั่นว่า นอกจากจะเป็นการช่วยลดภาระ การลงทุนให้แก่ลูกค้าของบริษัทและเป็นการจัดสรรการใช้ ทรัพยากรด้านโทรคมนาคมให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดร่วม กันแล้ว ยังเป็นการช่วยส่งเสริมการพัฒนาด้านโทรคมนาคม ของประเทศ โดยทำ�ให้ผู้ให้บริการโทรคมนาคมสามารถให้ บริการแก่ผู้บริโภคที่กระจายอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ในประเทศได้ อย่างทั่วถึงมากขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ บริโภครวมทัง้ ภาคธุรกิจทัง้ ในด้านการติดต่อสือ่ สารและการรับ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ อันเป็นการสอดคล้องกับนโยบายของทาง ภาครัฐที่ต้องการส่งเสริมนโยบาย Digital Economy อีกด้วย ทัง้ นี้ ในปี 2558 บริษทั ได้เริม่ ลงทุนในโครงการให้เช่าโครงสร้าง พืน้ ฐานทางโทรคมนาคมอีก 1 โครงการ ได้แก่ การลงทุนในโครง ข่ายให้เช่าบนแนวเสาโทรเลขตามทางรถไฟ นั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท ในปี 2544 เป็ น ต้ น มา บริ ษั ท มี ก ารเติ บ โต และขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ย ความมุ่งมั่นและทุ่มเทในการพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวข้องในกลุ่ม โทรคมนาคมอย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลให้ในปัจจุบัน กลุ่มบริษัท ALT นับเป็นผู้ประกอบการที่มีสินค้าและบริการที่ครบวงจรซึ่ง สามารถตอบสนองทุกความต้องการด้านโทรคมนาคม ( OneStop-Services ) ให้แก่ลูกค้า โดยพร้อมจะให้การสนับสนุน และเติบโตอย่างยัง่ ยืนไปร่วมกันกับกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้บริการ ด้านโทรคมนาคม และพร้อมเป็นส่วนหนึ่งของการช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทยให้มีศักยภาพที่ ทัดเทียมกับในต่างประเทศ

รายงานประจำ�ปี 2559


34

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


35

นโยบายในการประกอบธุรกิจ

บริษัทและบริษัทย่อยมุ่งเน้นการเติบโต อย่างยั่งยืนกับลูกค้าโดยจะไม่เข้าร่วม การประมูลใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เพื่ อ ใช้ ค ลื่ น ความถี่ ส�ำหรั บ กิ จ การ โทรคมนาคมตามพระราชบั ญ ญั ติ อ ง ค ์ ก ร จั ด ส ร ร ค ลื่ น ค ว า ม ถี่ แ ล ะ ก�ำ กั บ ก า ร ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร วิ ท ยุ กระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และจะไม่ ลงทุ น ในธุ ร กิ จ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ทางโทรคมนาคมที่มีลักษณะเทียบเท่า และเป็ น การแข่ ง ขั น กั น โดยตรงกั บ โครงการที่ กิ จ การร่ ว มค้ า หรื อ บริ ษั ท ร่วมเป็นผู้ลงทุน เช่น โครงการที่อยู่ใน

กลยุทธ์การด�ำเนินงาน

1. ส่งเสริมการใช้โครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคม ร่วมกัน (Telecommunication Infrastructure Sharing) ด้ ว ยการลงทุ น พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นโทรคมนาคม ในพื้ น ที่ เ ฉพาะที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางเศรษฐกิ จ (Strategic Location) เพื่อช่วยสนับสนุนให้กลุ่มผู้ให้บริการโทรคมนาคม สามารถเข้ า ถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภคได้ โ ดยไม่ ต ้ อ งมี ภ าระลงทุ น ด้ า น โครงข่ายมากนัก และสามารถมุ่งเน้นที่การพัฒนาคุณภาพ ของการให้บริการได้อย่างเต็มที่ 2. มุ่งเน้นการประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโทรคมนาคมแก่ลูกค้าทุกรายโดยเท่าเทียมกันและจะไม่ ท�ำธุรกิจในลักษณะที่เป็นการแข่งขันกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งเป็นผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคม เช่น ผู้ให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ หรือบริการอินเตอร์เน็ต เป็นต้น เพื่อให้ลูกค้าสามารถ ใช้บริการได้อย่างเชือ่ มัน่ ว่าบริษทั มุง่ หวังทีจ่ ะเติบโตพร้อมกับผู้ ประกอบการทุกราย โดยไม่มีความขัดแย้งทางธุรกิจ 3. ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าให้ได้มาก ทีส่ ดุ ด้วยความรู้ ประสบการณ์ และความเข้าใจอย่างดีในธุรกิจ โทรคมนาคม และการประกอบธุรกิจของแต่ละบริษัทในกลุ่ม ที่ ส ามารถเชื่ อ มโยงและสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 4. เพิ่ ม สั ด ส่ ว นของรายได้ แ ละผลก� ำ ไรที่ ม าจาก แหล่งรายได้ที่มีลักษณะต่อเนื่องและผูกพันเป็นสัญญาระยะ ยาว (Recurring Income) เพื่อให้รายได้และผลก�ำไรเติบโต อย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็นรายได้จากการให้ เช่าโครงข่าย หรือ รายได้จากการให้บริการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ ที่เป็นสัญญาระยะยาว โดยบริษัทตั้งเป้าที่จะเพิ่มสัดส่วนของ ก�ำไรจากรายได้ลักษณะนี้ให้มีสัดส่วนร้อยละ 50 ของผลก�ำไร โดยรวมภายใน 5 ปี

เขตพื้นที่เดียวกัน และมีกลุ่มลูกค้าเป้า หมายเดียวกันทัง ้ นี้ เพือ ่ ความเป็นธรรม

ในการร่วมกันประกอบธุรกิจกับคู่ค้า

รายงานประจำ�ปี 2559


36

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ กลุ่มบริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ประกอบการในธุรกิจโทรคมนาคมแบบครบวงจร โดยลักษณะการ ประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตั้ง และซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคม กลุ่มที่ 2 ธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม กลุ่มที่ 3 ธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม โดยโครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัทตามงบการเงินรวม แบ่งตามกลุ่มธุรกิจมีดังต่อไปนี้

1. ธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตั้งและ ซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคม 1.1 สร้างสถานีฐาน, วางสายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง และติดตั้งอุปกรณ์ 1.2 บริการอื่น ๆ รวมรายได้จากธุรกิจให้บริการ 2. ธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม

2.1 สายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง 2.2 ตู้โทรคมนาคมและสถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที ่ 2.3 / 2.4 สายอากาศและอุปกรณ์โทรคมนาคมอื่นๆ รวมรายได้จากธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า 3. ธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม 1)

รวมรายได้จากธุรกิจให้เช่า รวมรายได้จากการขายและให้บริการรวม

845.97 37.42

43 2

1,690.05 56.94

65 2

1,148.58 89.40

58 5

883.39

45

1,746.99

67

1,237.98

63

547.97 129.11 413.20

28 7 21

364.71 253.22 236.69

14 10 9

327.13 210.85 188.72

17 11 10

1,090.28

55

854.89

33

726.69

37

- -

- -

- -

- -

- -

- -

1,973.67

100

2,601.88

100

1,964.67

100

(2.95)

-

(24.43)

-

44.67

-

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากกิจการร่วมค้า 2)

หมายเหตุ : 1) ธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม ยังไม่มีการรับรู้รายได้ ระหว่างปี 2557 - 2559 2) ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากกิจการร่วมค้า หมายถึง การรับรู้กำ�ไร (ขาดทุน) จากผลประกอบการของกิจการร่วมค้า IH ตามงบการเงินรวม ซึ่งปัจจุบันกิจการร่วมค้า IH ประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคม 3 โครงการ โดย ALT จะรับรู้กำ�ไร(ขาดทุน) จากกิจการร่วมค้า IH ตามสัดส่วนที่ ALT ถือหุ้นซึ่งเท่ากับร้อยละ 71 ของทุนจดทะเบียน

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


37

1. ธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตั้ง และ ( Main Contractor) ของกลุ่มผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่างๆ อีกด้วย ส่วน ALT นั้น ปัจจุบันเป็นผู้ให้บริการที่ได้รับ ซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคม ในปี 2557, 2558 และปี 2559 กลุ ่ ม บริ ษั ท มีรายได้จากการให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตัง้ และ ซ่อมแซม อุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคมเท่ า กั บ 883.39 ล้ า นบาท, 1,747.00 ล้านบาท และ 1,237.98 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นสัดส่วนเท่ากับ ร้อยละ 45 , 67 และ 63 ของรายได้ จ ากการขายและให้ บ ริ ก ารรวมในงบการเงิ น รวมของกลุ่มบริษัท โดยลักษณะการให้บริการสามารถสรุป ได้ดังนี้ 1.1 บริการสร้างสถานีฐานและติดตั้งอุปกรณ์ โทรคมนาคม (Telecom Turnkey Site Solutions)

กลุ่มบริษัทให้บริการสร้างสถานีฐานของผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบ Turnkey โดยเริม่ ตัง้ แต่การส�ำรวจจัดหา พืน้ ทีส่ ำ� หรับตัง้ สถานีฐาน, การออกแบบ, การบริหารจัดการงาน โครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสารับ-ส่งสัญญาณ และติดตัง้ อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงการให้บริการดูแลบ�ำรุงรักษาสถานีฐาน ด้วย ซึ่งจะด�ำเนินการโดย ALT และบริษัทย่อย คือ GTS ในการพิ จ ารณารั บ งานนั้ น เนื่ อ งจากผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่แต่ละรายมีขั้นตอนการท�ำงาน และระบบ เอกสารที่แตกต่างกัน ทางกลุ่มบริษัทจึงก�ำหนดนโยบายให้ แต่ แ ละบริ ษั ท พิ จ ารณารั บ งานจากลู ก ค้ า ประจ� ำ ของ แต่ละบริษัทก่อน กล่าวคือ ALT จะมุ่งเน้นการให้บริการแก่ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายหนึ่ง ส่วน GTS จะมุ่งเน้นการ ให้บริการแก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่อีกรายหนึ่ง เพื่อให้ การติดต่อประสานงานในขั้นตอนต่างๆ มีความคล่องตัวยิ่งขึ้น อย่างไรก็ดีทั้ง ALT และ GTS ก็สามารถรับงานจากลูกค้า รายอื่ น ได้ เ ช่ น เดี ย วกั น โดย GTS เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ไ ด้ รั บ การขึ้นทะเบียนผู้ค้า (Approved Vender List) จากผู้ให้ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ของประเทศทั้ง 3 ราย ได้แก่ กลุ่มบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (AIS), กลุ่มบริษัท โทเทิ่ ล แอ็ ค เซ็ ส คอมมู นิ เ คชั่ น (DTAC) และกลุ ่ ม บริ ษั ท ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) รวมถึงสามารถรับงานจากผู้ให้ บริ ก ารสร้ า งสถานี ฐ านและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคม

การขึน้ ทะเบียนผูค้ า้ (Approved Vender List) จากผูใ้ ห้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ายใหญ่ของประเทศ 2 ราย ได้แก่ กลุม่ บริษทั แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์ วิส (AIS) และกลุ ่ มบริ ษั ท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (DTAC) ในทุกขั้นตอนของการให้บริการของกลุ่มบริษัทนั้น จะอยู ่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ของที ม งานวิ ศ วกรผู ้ เ ชี่ ย วชาญ เพื่อให้เป็นไปตามก�ำหนดการ และมาตรฐานความปลอดภัย โดยทั่วไประยะเวลาตั้งแต่ขั้นตอนการส�ำรวจ และออกแบบ จนถึ ง ขั้ น ตอนการก่ อ สร้ า งให้ แ ล้ ว เสร็ จ จะใช้ ร ะยะเวลา ประมาณ 2-3 เดือนต่อ 1 สถานีฐาน อย่างไรก็ดี ในการรับ งานของกลุ ่ ม บริ ษั ท นั้ น จะมี ลั ก ษณะเป็ น งานโครงการซึ่ ง ลู ก ค้ า จะแจ้ ง จ� ำ นวนสถานี ฐ านที่ ต ้ อ งการให้ ส ่ ง มอบ ในแต่ละครั้งตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ระยะ เวลาประมาณ 3-4 เดือนในการส่งมอบงาน โดยขั้นตอนการ ท�ำงานหลักของบริการในส่วนนี้ได้แก่ • การส�ำรวจพื้นที่ท่ีเหมาะสมกับการตั้งสถานีฐาน (Survey) เช่น พิกัด, สภาพแวดล้อม และสภาพดิน เป็นต้น • การวิ เ คราะห์ แ ละออกแบบโครงสร้ า งฐานราก และโครงสร้ า งเสารั บ -ส่ ง สั ญ ญาณที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการและงบประมาณของลูกค้า (Design) เช่น การออกแบบ ฐานรากส�ำหรับเสาโทรคมนาคมประเภทงานโครงเหล็กที่มี ความสูง 35 เมตรและ 45 เมตร และเสาโทรคมนาคมประเภท Guy Mast ที่มีความสูง 45 เมตร - 60 เมตร หรือการออกแบบ ฐานรากแบบแยกส�ำหรับเสาโทรคมนาคมประเภทงานโครง เหล็กทีม่ คี วามสูง 60 เมตร เป็นต้น โดยในการออกแบบจะต้อง ค�ำนึงถึงพืน้ ทีส่ ำ� หรับสร้างเสา, สภาพดิน, สัดส่วน, รูปแบบ, น�ำ้ หนักของอุปกรณ์ที่จะติดตั้งบนเสา และประสิทธิภาพในการ รับ-ส่งสัญญาณ • การสร้ า งฐานรากและโครงสร้ า งเสารั บ -ส่ ง สัญญาณ (Civil Work) โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของวิศวกร ให้เป็นไปตามแบบและมาตรฐานความปลอดภัย • การติดตัง้ งานระบบ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ให้สามารถ เปิ ด ใช้ สั ญ ญาณ (On Service) ได้ ทั น ตามก� ำ หนดเวลา (Installation) เช่น การติดตั้งระบบงานสายส่งและอุปกรณ์ ส่งสัญญาณมือถือ (Transmission and Access Network), ระบบสายส่งตอนนอก (OSP Project Implementation), ระบบ อุปกรณ์สายส่ง (Transmission Project Implementation), ระบบคลื่นวิทยุ (RF Project Implementation) และระบบ อุปกรณ์ส่งสัญญาณมือถือ (RAN Project Implementation) นอกจากนั้นบริษัทยังให้บริการบ�ำรุงรักษา (On Site Facility

รายงานประจำ�ปี 2559


38

Maintenance) รวมทั้งให้บริการงานระบบป้องกันฟ้าผ่า และ งานรั้วกั้นอาณาเขตสถานีพร้อมโคมไฟฟ้าส่องสว่างอีกด้วย ทั้งนี้ ในขั้นตอนการท�ำงานต่างๆ ดังกล่าวกลุ่มบริษัท มีนโยบายที่จะใช้บุคลากรจากภายนอกซึ่งได้แก่ ผู้รับเหมาใน เขตพื้นที่ไซท์งานนั้น ๆ ในการท�ำงานด้านการส�ำรวจ (Survey) ท� ำ งานฐานราก (Civil Work) และการติ ด ตั้ ง โครงสร้ า ง และอุปกรณ์ เพื่อลดต้นทุนในการท�ำงาน และมีการว่าจ้าง วิ ศ วกรระดั บ สามั ญ วิ ศ วกรจากภายนอกที่ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ยอมรับจากลูกค้าเพื่อท�ำการออกแบบโครงสร้างฐานราก และ โครงสร้างของเสารับ - ส่งสัญญาณ ส�ำหรับในส่วนของการ ควบคุมบริหารโครงการ (Project Management Control) ซึง่ ได้แก่ การน�ำเสนอและพัฒนาแบบร่วมกับลูกค้า, การควบคุม ท�ำงานของผูร้ บั เหมาต่างๆ ให้เป็นไปตามแบบ และการควบคุม การท�ำงานทุกขั้นตอนให้เป็นไปตามคุณภาพ และมาตรฐาน ความปลอดภั ย ภายใต้ ร ะยะเวลาตามแผนงานที่ ก� ำ หนด รวมถึงการทดสอบการใช้งานของระบบก่อนส่งมอบงานให้แก่ ลูกค้า ซึ่งแต่ละขั้นตอนล้วนเป็นหัวใจส�ำคัญของการให้บริการ ของธุรกิจในกลุ่มนี้นั้น จะอยู่ภายใต้การด�ำเนินงานของวิศวกร ผู้เชี่ยวชาญของกลุ่มบริษัท 1.1.1 บริการส�ำรวจ ออกแบบ และติดตัง้ อุปกรณ์ โทรคมนาคม (Radio Access Network) นอกจากการสร้างสถานีฐานขนาดใหญ่เพื่อกระจาย สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่แล้ว บริษัทย่อย ได้แก่ GTS ยังมี การให้บริการติดตั้งอุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตามบริเวณต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกอาคาร เนื่องจากใน ปัจจุบันความต้องการการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่มีเพิ่มมาก ขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีหลายพื้นที่ที่คุณภาพสัญญาณยังไม่ เพียงพอต่อการใช้งาน เช่น ภายในอาคารหรือตามตรอกซอย ส่งผลให้สญ ั ญาณของโทรศัพท์เคลือ่ นทีม่ กั จะลดลง, ไม่ตอ่ เนือ่ ง หรื อ ไม่ มี สั ญ ญาณโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สถานที่ ซึ่ ง เป็ น ที่ อั บ สัญญาณมากกว่าปกติ เช่น ลานจอดรถ, ลิฟท์, ชั้นใต้ดิน ภายในอาคารหรือชุมชนแออัด และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ดัง นั้น การติดตั้งอุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่ม เติมจึงเป็นการช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและรองรับความต้องการ ใช้งานให้ดีขึ้นได้ ส� ำ หรั บ ขอบเขตการให้ บ ริ ก ารหลั ก ของบริ ก าร ในส่วนนี้ได้แก่ • การส�ำรวจพื้นที่หรืออาคาร และออกแบบการติด ตั้งอุปกรณ์ตามจุดต่างๆ ที่ท�ำให้การกระจายสัญญาณเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด (Survey and Design) • การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ตามแผนงานและ มาตรฐานทางวิศวกรรม (Installation) เช่น สายอากาศส�ำหรับ ใช้ภายนอก (Outdoor Antenna), สายอากาศส�ำหรับใช้ภาย ในอาคาร (Indoor Antenna) และอุปกรณ์เพิ่มประสิทธิภาพ การกระจายสัญญาณ

• การทดสอบคุณภาพสัญญาณภายหลังการติดตั้ง อุปกรณ์ โดยการเดินทดสอบคุณภาพสัญญาณทุกจุดในอาคาร หรือไซท์งานตามมาตรฐานที่ก�ำหนด (Walk Test , Drive Test and Optimization) 1.1.2 บริการส�ำรวจ ออกแบบ และติดตั้งสาย เคเบิลใยแก้วน�ำแสง (Outside Plant)

บริษัทย่อย ได้แก่ GTS มีการให้บริการด้านส�ำรวจ, ออกแบบ และติ ด ตั้ ง เคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสง (Fiber Optic Cable) ให้แก่ลูกค้า โดยสามารถให้บริการวางสายเคเบิลใย แก้วน�ำแสงได้ท้ังแบบการวางในเส้นทางสายหลักเพื่อเชื่อม โยงชุมสายระหว่างภูมิภาคซึ่งมีระยะทางหลายพันกิโลเมตร และการวางเคเบิลใยแก้วน�ำแสงภายในเขตพื้นที่เดียวกัน ซึ่งเป็นการเดินสายเคเบิลระหว่างชุมสายย่อยซึ่งมีระยะทาง ไม่มาก โดยขอบเขตการให้บริการหลักของบริการในส่วนนี้ ได้แก่ • การส�ำรวจเส้นทางที่ต้องติดตั้งสายเคเบิลใยแก้ว น�ำแสง และออกแบบเส้นทางการวางสายจากจุดเริ่มต้นถึงจุด หมายปลายทางตามทีล่ กู ค้าก�ำหนดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด • การวิเคราะห์วิธีการติดตั้ง และการเลือกประเภท ของสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง เช่น ติดตั้งโดยการพาดสาย หรือ ลอดใต้ดิน • การติดตั้งสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง, สายกราวด์, อุ ป กรณ์ ยึ ด จั บ สายให้ อ ยู ่ บ นเสาหรื อ ลอดใต้ พื้ น ดิ น และอุปกรณ์ต่อเชื่อมต่างๆ 1.2 บริการอื่น ๆ นอกจากการให้บริการด้านต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น บริษัทย่อยของกลุ่มบริษัทยังมีการให้บริการด้านอื่นๆ ดังนี้ • การให้ บ ริ ก ารเช่ า พื้ น ที่ เ พื่ อ ติ ด ตั้ ง สายอากาศ (Antenna) ส� ำ หรั บ กระจายสั ญ ญาณโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โดย GTS จะส�ำรวจและเช่าพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพที่จะติดตั้ง อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มเติม เช่น ป้าย โฆษณาขนาดใหญ่ หรือดาดฟ้าอาคาร เป็นต้น เพือ่ น�ำไปเสนอ ให้แก่ลูกค้าซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของผู้ประกอบการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ต่ละราย โดย GTS สามารถน�ำเสนอได้ทงั้ พืน้ ทีใ่ นการ ติดตั้งสายอากาศ รวมทั้งสามารถให้บริการติดตั้งสายอากาศ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วย • การให้ บ ริ ก ารซ่ อ มแซมอุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคม ต่าง ๆ เพื่อทดแทนการส่งออกเพื่อไปซ่อมแซมยังโรงงาน ผูผ้ ลิตสินค้าในต่างประเทศ ซึง่ มีตน้ ทุนสูงและใช้ระยะเวลานาน โดย INN มีบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและมีความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


39

โทรคมนาคมเป็นอย่างดี โดยเฉพาะสินค้ากลุ่มสายอากาศ (Antenna) จึงสามารถให้บริการได้ทงั้ การซ่อมแซม (Revamp) และการจัดประกอบใหม่ (Re-fabrication) • การให้บริการวางระบบต่างๆ ในอาคาร (Intelligent Building Systems) โดย GTS เช่น การวางระบบข้อมูล (Data Center Solution), ระบบปรับอากาศ (Air condition system), ระบบป้องกันอัคคีภัย (Fire protection system), ระบบไฟฟ้า (Distribution board and panel board), ระบบแสงสว่างและ ระบบปลัก๊ ไฟฟ้า (Lighting and power outlet) และระบบรักษา ความปลอดภัย (security system) เช่น กล้อง CCTV ระบบ ควบคุมการเข้าออกอาคาร ทางหนีไฟ เป็นต้น

• การให้ บ ริ ก ารด้ า นการจั ด การบริ ห ารสถานี กระจายสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริเวณพื้นที่บนสถานี รถไฟฟ้า ให้กับผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ ทั้ง 3 บริษัท โดย GTS จะเป็นผู้ส�ำรวจ ออกแบบ ติดตั้ง และดูแล พืน้ ทีส่ ำ� หรับจุดติดตัง้ สถานีกระจายสัญญาณโทรศัพท์เคลือ่ นที่ บนสถานีรถไฟฟ้า 2. ธุรกิจจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคม ในปี 2557, 2558 และปี 2559 กลุ่มบริษัทมีราย ได้จากการจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคมเท่ากับ 1,090.28 ล้านบาท, 854.89 ล้านบาท และ 726.69 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 55, 33 และ 37 ของรายได้จาก การขายและให้บริการรวมในงบการเงินรวมของกลุม่ บริษทั โดย สินค้าที่กลุ่มบริษัทจ�ำหน่ายแบ่งได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ 2.1 สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง (Fiber Optic Cable: FOC)

สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง (Fiber Optic Cable: FOC) เป็นสายสัญญาณที่ใช้ในการรับ-ส่งข้อมูล โดยภายในสาย เคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงนั้ น ท� ำ จากแก้ ว ที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ สู ง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณเส้นผมแล้วหุ้มด้วย พลาสติ ก ในการรั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล จะใช้ ห ลั ก ของการสะท้ อ น สัญญาณข้อมูลทีถ่ กู แปลงเป็นสัญญาณแสงเพือ่ ส่งจากต้นทาง ไปสูป่ ลายทาง เช่น ระหว่างชุมสายโทรศัพท์กบั สถานีฐาน หรือ ระหว่างอุปกรณ์สถานีฐานที่พ้ืนดินกับอุปกรณ์ขยายสัญญาณ บนเสาโทรคมนาคม เป็นต้น ด้วยหลักการรับ-ส่งข้อมูลโดยการ สะท้อนสัญญาณแสงท�ำให้สายส่งสัญญาณประเภทนีส้ ามารถ

ส่งข้อมูลได้ดว้ ยความเร็วเกือบเท่าแสงและมีความสูญเสียของ สัญญาณต�่ำ จึงสามารถใช้สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงในการส่ง ข้อมูลได้ไกลกว่าสายส่งสัญญาณประเภทอื่น กลุ่มบริษัทมีการจ�ำหน่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง โดยบริษัทย่อย คือ I21 เป็นผู้ด�ำเนินการเป็นหลัก โดย I21 จะ จัดหาสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงจากพันธมิตรทางการค้าทั้งใน ประเทศและต่างประเทศเพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณสมบัติและ ราคาตามทีล่ กู ค้าต้องการ เช่น สายเคเบิลใยแก้วทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เหมาะกับการใช้งานโดยการพาดบนเสาซึง่ ต้องการความคงทน ต่อสภาพอากาศ หรือสายที่เหมาะกับการใช้งานแบบฝังลง ดินหรือวางผ่านใต้ทะเลซึ่งต้องการความคงทนต่อสภาพการ กัดกร่อน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทยังได้รับความไว้วางใจ จากบริษัท LS Cable & System ซึ่งเป็นผู้ผลิตสายเคเบิลใย แก้วน�ำแสงรายใหญ่ภายใต้ตราสินค้า “LS Cable” ในประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี ให้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายสายเคเบิลใยแก้ว น� ำ แสงดั ง กล่ า วในประเทศไทย รวมถึ ง การร่ ว มกั น พั ฒ นา สินค้าให้มีคุณสมบัติที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า เช่น การพัฒนาสายเคเบิลที่มีสารป้องกันการกัดแทะ ของกระรอก เป็นต้น 2.2 ตูโ้ ทรคมนาคม (Telecom Shelter) และสถานี โทรคมนาคมเคลื่อนที่ (Rapid Deployment Unit: RDU)

ตู้โทรคมนาคม (Telecom Shelter) เป็นผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ป้องกันหรือเก็บอุปกรณ์โทรคมนาคมให้พ้นจากสภาพ แวดล้อมทีจ่ ะส่งผลกระทบให้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ไม่สามารถท�ำงาน ได้ตามปกติ กลุ่มบริษัทมีการจ�ำหน่ายตู้โทรคมนาคมภายใต้ ตราสินค้า “ALT” โดยทีมวิศวกรของ ALT จะเป็นผู้ออกแบบ สินค้าและว่าจ้างพันธมิตรทางการค้าให้ผลิตสินค้าตามแบบ ที่ก�ำหนด ทั้งนี้ ตู้โทรคมนาคมที่ ALT จ�ำหน่ายมีการออกแบบ ให้สามารถรองรับการใช้งานในวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป ได้แก่ • ตู้ประเภท Prefabricated Shelter เหมาะส�ำหรับ การปกป้องกลุ่มอุปกรณ์โทรคมนาคมจ�ำนวนมาก เช่น จุด ชุมสายของสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงและอุปกรณ์ส่งสัญญาน เป็นต้น ตูป้ ระเภทนีม้ ขี นาดใหญ่ตงั้ แต่ประมาณ 1.5 เมตร x 2.2 เมตร x 2.8 เมตร – 6 เมตร x 6 เมตร x 2.8 เมตร (กว้างxยาวxสูง) และมีโครงสร้างที่แข็งแรง สามารถป้องกันฝุ่นและน�้ำได้ถึง มาตรฐาน IP55 คือสามารถป้องกันฝุน่ ได้ และสามารถป้องกัน น�้ำที่ถูกฉีดมาตกกระทบทุกทิศทางได้ นอกจากนี้ ตู้ประเภท Prefabricated Shelter ยังสามารถออกแบบให้สามารถติดตั้ง ฉนวน, พัดลมระบายอากาศ หรือเครือ่ งปรับอากาศ เพือ่ ควบคุม

รายงานประจำ�ปี 2559


40

อุณหภูมิภายในตู้และสามารถถอดประกอบ (knock down) เพือ่ ความสะดวกในการขนส่ง, เคลือ่ นย้าย, ติดตัง้ และรือ้ ถอนได้ • ตู้ประเภท Outdoor Enclosure เหมาะส�ำหรับ การปกป้องอุปกรณ์โทรคมนาคมที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก เช่น อุปกรณ์โทรคมนาคมที่ติดตั้งในสถานีฐานหรือบนเสาไฟฟ้า โดยทั่วไปมีขนาดประมาณ 0.65 เมตร x 0.45 เมตร x 1.11 เมตร - 1.3 เมตร x 0.70 เมตรx 2.20 เมตร (กว้างxยาวxสูง) ตู้ ประเภท Outdoor Enclosure ของบริษัทสามารถป้องกันฝุ่น และน�้ำได้ถึงมาตรฐาน IP56 คือ สามารถป้องกันฝุ่นได้ และ สามารถป้องกันความเสียหายที่เกิดจากน�้ำฉีดอย่างรุนแรง เข้าทุกทิศทางได้ โดยสามารถออกแบบให้ตดิ ระบบปรับอากาศ, พัดลมระบายอากาศ หรืออุปกรณ์ระบายความร้อนได้ นอกจาก นี้ ยังสามารถเพิม่ การป้องกันแสงแดดและฝนโดยการเพิม่ Sun Shelter รวมถึงป้องกันการถูกน�้ำท่วมด้วยการเพิ่มระดับความ สูงของพื้น Sun Shelter อีกด้วย • ตู้ควบคุมระบบไฟ (Main Distribution Board: MDB) เป็นตูท้ ใี่ ช้ในงานอาคารต่างๆ และภายในสถานีฐาน โดย ตู้ MDB จะท�ำหน้าทีจ่ ำ� กัดและควบคุมการจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ ต่างๆ ในสถานีฐาน สถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที่ (Rapid Deployment Unit: RDU) ได้แก่ กลุ่มอุปกรณ์โทรคมนาคมที่ถูกออกแบบ และน� ำ มารวมกั น ให้ ท� ำ หน้ า ที่ เ สมื อ นเป็ น สถานี ฐ าน โทรคมนาคม (Base Station) ซึ่ ง สามารถเคลื่ อ นที่ ห รื อ เคลือ่ นย้ายได้ เพือ่ ให้สามารถเข้าถึงพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการและมีความ พร้อมใช้งานได้อย่างรวดเร็ว เหมาะส�ำหรับความต้องการใช้ งานแบบชั่วคราวหรือเร่งด่วน เช่น การน�ำสถานีโทรคมนาคม เคลื่อนที่ไปใช้เป็นสถานีฐานเพื่อกระจายสัญญาณโทรศัพท์ เคลื่อนที่ในงานรับปริญญา หรือน�ำไปใช้เป็นสถานีฐานเพื่อ กระจายสัญญาณโทรทัศน์ในการถ่ายทอดสด หรือน�ำไปใช้เป็น สถานีฐานชั่วคราวในพื้นที่ที่มีความต้องการใช้แต่ยังก่อสร้าง สถานีฐานแบบถาวรไม่เสร็จ เป็นต้น กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ก ารจ� ำ หน่ า ยสถานี โ ทรคมนาคม เคลื่อนที่ ภายใต้ตราสินค้า “ALT” โดยทีมวิศวกรของ ALT จะ เป็นผู้ออกแบบและว่าจ้างพันธมิตรทางการค้าให้ผลิตสินค้า ตามแบบที่ก�ำหนด ภายใต้การควบคุมของทีมวิศวกรจาก ALT ทั้ ง นี้ สถานี โ ทรคมนาคมเคลื่ อ นที่ ซึ่ ง ALT จ� ำ หน่ า ยมี ก าร ออกแบบให้ ส ามารถรองรั บ การใช้ ง านในวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ แตกต่างกันไป โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักดังนี้

• รถสื่ อ สารเคลื่ อ นที่ (Ready to Drive: RTD) เป็นการน�ำกลุ่มอุปกรณ์โทรคมนาคมมาออกแบบติดตั้งบน ยานพาหนะให้ ส ามารถท�ำหน้าที่เป็นสถานีฐานที่ส ามารถ ขับเคลื่อนไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการได้ จึงมีความ สะดวกในการเคลื่ อ นย้ายสูง โดยทีม งานวิศ วกรของ ALT

สามารถออกแบบและพัฒนาสินค้าให้มีรูปแบบและความ สามารถในการท�ำงานทีแ่ ตกต่างกันไปของลูกค้า เช่น รถสือ่ สาร เคลือ่ นทีซ่ งึ่ ออกแบบให้สามารถใช้เฮลิคอปเตอร์ในการขนย้าย ได้เพื่อน�ำไปใช้ในพื้นที่ประสบภัย หรือรถสื่อสารเคลื่อนที่ซึ่งใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น • Cell on Wheels (COWs) และ Cell on Legs (COLs) เป็นการน�ำกลุ่มอุปกรณ์โทรคมนาคมมาออกแบบ ติดตั้งบนหางลาก (Chassis) แบบที่มีล้อ (COWs) เพื่อใช้ ลากเข้าไปยังบริเวณที่ต้องการ หรือติดตั้งกลุ่มอุปกรณ์ในตู้ โทรคมนาคมขนาดใหญ่ซึ่งเมื่อมีการขนย้ายไปยังบริเวณที่ ต้องการแล้วก็จะปล่อยขาตั้งลงยึดกับพื้น(COLs) ส่วนมาก COWs และ COLs มักถูกน�ำไปใช้เพื่อเป็นสถานีฐานชั่วคราว ก่อนที่จะก่อสร้างสถานีฐานถาวร หรือน�ำไปใช้เป็นสถานีฐาน เพือ่ วัดความต้องการใช้สญ ั ญาณโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นจุดต่างๆ 2.3 สายอากาศ (Antenna)

สายอากาศ (Antenna) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส�ำหรับ รับส่งรับ-ส่งและกระจายคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ (Radio Frequency) สายอากาศมีหลายขนาดและรูปแบบเหมาะส�ำหรับการใช้งาน ที่ แ ตกต่ า งกั น ไป กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ก ารจ� ำ หน่ า ย สายอากาศ ส� ำ หรั บ รั บ -ส่ ง และกระจายคลื่ น โทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ โ ดย บริ ษั ท ย่ อ ยคื อ INN เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ โดยเป็ น การ จ� ำ หน่ า ยภายใต้ ต ราสิ น ค้ า “SUMTEL” ของ INN สิ น ค้ า ประเภทสายอากาศที่ มี ก ารใช้ อ ยู ่ ใ นประเทศไทยนั้ น ส่ ว นใหญ่ จ ะต้ อ งน� ำ เข้ า จากผู ้ ผ ลิ ต ในต่ า งประเทศ จึงท�ำให้ประสบปัญหาเมือ่ ต้องมีการซ่อมแซม ทัง้ ยังไม่สามารถ ปรับเปลีย่ นให้ตอบสนองความต้องการใช้งานบางประเภทของ ลูกค้าได้ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ผลิตเพื่อให้สามารถจ�ำหน่ายได้ ในหลาย ๆ ประเทศจึงมีรปู แบบและคุณสมบัตทิ เี่ ป็นมาตรฐาน ทั่วไป ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงได้มีการลงทุนในสายการผลิต สินค้ากลุ่มสายอากาศ เพื่อให้ทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของ INN สามารถร่วมกันพัฒนาสินค้าให้ได้ตรงตามความต้องการที่ เฉพาะเจาะจงของลูกค้าได้ เช่น สายอากาศที่มีรูปลักษณ์เข้า กับการตกแต่งภายในของอาคาร หรือสายอากาศที่สามารถ ปล่อยสัญญาณไปในทิศทางที่ต้องการมุ่งเน้นโดยเฉพาะได้ เป็นต้น ส�ำหรับสายอากาศที่บริษัทจ�ำหน่ายนั้น สามารถแบ่ง ได้เป็น 2 ประเภทคือ • Indoor Antenna ได้แก่ สายอากาศส�ำหรับใช้รบั -ส่ง สัญญาณทีไ่ ด้รบั การออกแบบให้ใช้ภายในอาคาร โดยจะน�ำไป ติดไว้ตามจุดต่าง ๆ ภายในอาคาร เพื่อเป็นจุดปล่อยสัญญาณ

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


41

โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น เพดานทางเดิน หรือช่องลิฟท์ เป็นต้น • Outdoor Antenna ได้แก่ สายอากาศส�ำหรับใช้รบั ส่งสัญญาณที่ได้รับการออกแบบให้ใช้ส�ำหรับภายนอกอาคาร โดยจะน�ำไปติดไว้บนเสาโทรคมนาคมที่สถานีฐาน หรือติดไว้ บนเสาโทรคมนาคมขนาดเล็กที่ติดตั้งอยู่บนดาดฟ้าหรือป้าย โฆษณา 2.4 อุปกรณ์โทรคมนาคมอื่นๆ กลุ่มบริษัทยังมีการจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคม อื่นๆ ดังนี้ • สายน�ำสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ (RF Feeder Cable : RFC) และหัวต่อ เป็นอุปกรณ์ที่ท�ำหน้าที่รับ-ส่ง สัญญาณข้อมูลในรูปแบบของคลื่นความถี่วิทยุไปยังอุปกรณ์ ต่าง ๆ โดย I21 เป็นผู้จ�ำหน่าย

จะด�ำเนินการโดย ALT, กิจการร่วมค้า IH และบริษัทร่วม TSP ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อถือหุ้นในบริษัทร่วมอีกแห่งหนึ่งคือ MIH ที่จด ทะเบียนในประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เพื่อวาง โครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง พร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อมเพื่อให้ เช่า ปัจจุบันโครงการยังอยู่ในช่วงด�ำเนินการก่อสร้าง ลักษณะการให้บริการของกลุม่ ธุรกิจนีส้ ามารถแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. การให้เช่าโครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง (Fiber Optic Cable Network: FOC) พร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อม

กลุ ่ ม บริ ษั ท จะด� ำ เนิ น การสร้ า งโครงข่ า ยเคเบิ ล ใย แก้ ว น� ำ แสงในพื้ น ที่ เ ฉพาะที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางเศรษฐกิ จ (Strategic Location) และจัดเตรียมจุดเชื่อมต่อเพื่อให้ผู้เช่า ใช้บริการสามารถน�ำอุปกรณ์ของตนมาเชื่อมต่อกับระบบเครือ ข่ายใยแก้วน�ำแสงของกลุ่มบริษัทได้ ปัจจุบันมีการด�ำเนิน การอยู่ 4 โครงการ ประกอบด้วยโครงการที่ด�ำเนินการโดย • อุปกรณ์และระบบควบคุมอุปกรณ์ในระบบเครือ ALT 2 โครงการ ได้แก่ โครงข่ายให้เช่าในนิคมอุตสาหกรรม ข่ายไร้สาย (Wi-fi) เช่น Wi-fi Access Point และ Wi-fi receiver เหมราชและโครงข่ายให้เช่าบนแนวเสาโทรเลขตามทางรถไฟ และเป็ น โครงการที่ ด� ำ เนิ น การโดยกิ จ การร่ ว มค้ า IH อี ก เป็นต้น โดย I21 เป็นผู้จ�ำหน่าย 2 โครงการ ซึ่งติดตั้งอยู่ตามเส้นทางคมนาคมหลักในเขต ศูนย์กลางย่านธุรกิจ (Central Business District :CBD) และ บริเวณเส้นทางหลักรอบกรุงเทพฯ ทั้งนี้ การให้เช่าโครงข่าย เคเบิลใยแก้วน�ำแสงดังกล่าวจะเป็นการให้เช่าแบบสัญญาเช่า ด�ำเนินงาน (Operating Lease) 2. การให้เช่าเสาโทรคมนาคมและสิง่ อ�ำนวยความ สะดวกส�ำหรับสถานีฐาน (Site Facilities)

• อุ ป กรณ์ ส นั บ สนุ น หรื อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ กระจายสัญญาณ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้กรองสัญญาณ (Filter) เพื่อก�ำจัดสัญญาณรบกวนในสายสัญญาณ, อุปกรณ์ทวน สัญญาณ (Repeater) ใช้เพือ่ ขยายสัญญาณโทรศัพท์เคลือ่ นที,่ อุปกรณ์แบ่งสัญญาณ (Tapper) ใช้เพือ่ แบ่งสัญญาณออกเป็น 2 ทางไม่เท่ากัน และอุปกรณ์ส�ำหรับแยกสัญญาณในสายน�ำ สัญญาณ (Splitter) เพื่อให้สามารถกระจายสายสัญญาณให้ ทั่วถึง เป็นต้น โดย INN เป็นผู้จ�ำหน่าย 3.ธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคม กลุ่มบริษัทเริ่มต้นประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้าง พื้นฐานด้านโทรคมนาคม ภายใต้แนวคิดของการส่งเสริมให้มี การใช้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมร่วมกัน โดย ผู้ให้บริการโทรคมนาคม(Operator) เช่น ผู้ให้บริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต สามารถหันไปมุ่งเน้นที่ การให้บริการต่อผู้บริโภคได้อย่างเต็มที่โดยไม่ต้องมีภาระการ ลงทุนในโครงข่ายมากเช่นในอดีต การประกอบธุรกิจในกลุ่มนี้

กลุ ่ ม บริ ษั ท ด� ำ เนิ น การสร้ า งเสาโทรคมนาคม รวมทั้งติดตั้งอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น สาย อากาศ(Antenna), ตู้โทรคมนาคม, แบตเตอรี่ เป็นต้น ใน บริ เ วณที่ มี ศั ก ยภาพเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า น โทรคมนาคม(Operator) น�ำอุปกรณ์ประเภท Active ของ ตนมาติ ด และเปิ ด ใช้ สั ญ ญาณ (On Service) ปั จ จุ บั น มี ก ารด� ำ เนิ น การอยู ่ 1 โครงการ ได้ แ ก่ โครงการให้ เ ช่ า เสาโทรคมนาคมในสถานีบริการน�ำ้ มัน ซึง่ เป็นโครงการทีด่ ำ� เนิน การโดยกิจการร่วมค้า IH

รายงานประจำ�ปี 2559



43

โครงสร้างกลุ่มบริษัท

สรุปข้อมูลการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย • บริษัท เอแอลที เทเลคอม จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท” และ “ALT”) จัดตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม ปี 2544 ป ั จ จุ บั น มี ทุ น จ ด ท ะ เ บี ย น เ ท ่ า กั บ 5 0 0 ล ้ า น บ า ท ประกอบธุ ร กิ จ จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ในกลุ ่ ม โทรคมนาคม เช่ น สถานี โ ทรคมนาคมเคลื่อ นที่ (Rapid Deployment Unit) และตู้โทรคมนาคมต่างๆ, ให้บริการสร้างสถานีโทรคมนาคม และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (Telecom Infrastructure) เพื่อให้เช่า ซึ่งได้แก่ โครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำ แสงและอุปกรณ์ต่อเชื่อม

• บริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จ�ำกัด (“GTS”) จัดตั้งขึ้นในเดือนพฤษภาคม ปี 2551 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน เท่ากับ 100 ล้านบาท ประกอบธุรกิจให้บริการสร้างสถานี ฐาน และติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม โดยครอบคลุมตั้งแต่ การส�ำรวจ, ออกแบบ, ก่อสร้าง, วางสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง, ติดตัง้ อุปกรณ์โทรคมนาคม รวมถึงให้บริการด้านวิศวกรรมงาน ระบบต่างๆ ส�ำหรับอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า, ระบบปรับอากาศ, ระบบป้องกันอัคคีภยั ณ สิน้ สุดวันที่ 1 มีนาคม 2559 ALT ถือหุน้ ใน GTS ในสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียน


44

• บริษทั ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (“I21”) จัดตั้งขึ้นในเดือนกันยายน ปี 2545 ปัจจุบันมีทุน จดทะเบียนเท่ากับ 30 ล้านบาท ประกอบธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้า ในกลุ่มโทรคมนาคม โดยมีสินค้าหลักคือ สายเคเบิลใยแก้ว น�ำแสง (Fiber Optic Cable : FOC), สายน�ำสัญญาณคลื่น ความถี่วิทยุ (RF Feeder Cable) และอุปกรณ์และระบบ ซอฟท์แวร์ส�ำหรับควบคุมอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายไร้สาย (Wi-Fi ) ณ สิ้นสุดวันที่ 1 มีนาคม 2559 ALT ถือหุ้นใน I21 ใน สัดส่วนเท่ากับร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน • บริษัท อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (“INN”) จัดตั้งขึ้นในเดือนธันวาคม ปี 2551 ปัจจุบันมีทุน จดทะเบียนเท่ากับ 40 ล้านบาท ประกอบธุรกิจผลิตและ จ�ำหน่ายสายอากาศ (Antenna) โดยเป็นการผลิตสินค้าแบบ สัง่ ท�ำหรือออกแบบตามความต้องการของลูกค้า และจ�ำหน่าย สินค้าในกลุม่ โทรคมนาคม เช่น อุปกรณ์กรองและรวมสัญญาณ อีกทัง้ ยังให้บริการในรูปแบบ One Stop Repair Service Center ซึ่งให้บริการซ่อมบ�ำรุงและทดสอบอุปกรณ์โทรคมนาคมแบบ ครบวงจร ณ สิ้นสุดวันที่ 1 มีนาคม 2559 ALT ถือหุ้นใน INN ในสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 99.75 ของทุนจดทะเบียน • บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด (“IH”) จัดตั้งขึ้นในเดือนเมษายน ปี 2556 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน เท่ากับ 50 ล้านบาท ประกอบธุรกิจพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure) เพื่ อ ให้ เ ช่ า ซึ่ ง ได้ แ ก่ โครงข่ า ยเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงและ อุปกรณ์ต่อเชื่อม รวมถึงการสร้างเสาโทรคมนาคมให้เช่าใน ลักษณะของสัญญาเช่าการเงิน (Financial Lease) โดยมุ่ง เน้นการพัฒนาในพื้นที่เฉพาะที่มีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ทั้งนี้ บริษัทได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นใน IH จากร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียน เหลือร้อยละ 71 ของ ทุนจดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2557 โดยมีผู้ลงทุน รายใหม่ซึ่งได้แก่ บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“SBN”) ถือหุ้น IH ในสัดส่วนร้อยละ 29 ของทุน จดทะเบียน และได้มกี ารจัดท�ำสัญญาระหว่างผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ร่วม ลงทุนประกอบธุรกิจการลงทุนในโครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง ให้เช่าพร้อมอุปกรณ์ต่อเชื่อมซึ่งในสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น ได้ มี ก ารก� ำ หนดข้ อ ตกลงเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะการประกอบ ธุรกิจรวมถึงก�ำหนดอ�ำนาจของกรรมการและผู้ถือหุ้นในการ ด�ำเนินงานร่วมกันส่งผลให้ IH เปลี่ยนสถานะจากบริษัทย่อย ของ ALT มาเป็นกิจการร่วมค้าซึง่ อยูภ่ ายใต้การควบคุมร่วมกัน ของ ALT และ SBN (ต่อมา SBN ได้เปลีย่ นให้บริษทั แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จ�ำกัด (“ABN”) เป็นผู้ถือหุ้นแทน เนื่องจากมีการปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษัทดังกล่าว )

• บริษัท เทเลคอม โซลูชั่นส์ โพรไวเดอร์ จ�ำกัด (“TSP”) จัดตั้งขึ้นในเดือนสิงหาคม ปี 2557 ปัจจุบัน มีทุนจดทะเบียนเท่ากับ 75 ล้านบาท ประกอบธุรกิจถือหุ้น ใน Myanmar Information Highway Limited (“MIH”) ซึ่ง ประกอบธุ ร กิ จ ให้ เ ช่ า โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นโทรคมนาคม ในประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดย ณ สิ้นสุด วันที่ 1 มีนาคม 2559 TSP ถือหุ้นใน MIH คิดเป็นสัดส่วน เท่ากับร้อยละ 70 ทั้งนี้ บริษัทได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นใน TSP จากร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน เหลือร้อยละ 30 ของ ทุนจดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม 2558 โดยมีผู้ลงทุน รายใหม่ซึ่งได้แก่ บริษัท ยูไอเอช อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“UIH”) และบริษัท ยูไนเต็ด ดีสทริบิวชั่น โซลูชั่น จ�ำกัด (“UDS”) ถือหุน้ ใน TSP คิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 70 ของ ทุนจดทะเบียน ส่งผลให้ TSP มีสถานะเป็นบริษัทร่วมของ ALT

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


45

ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัท ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ชื่อบริษัท : บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย – ไทรน้อย ตำ�บลบางสีทอง อำ�เภอบางกรวย จังหวัด นนทบุรี 11130 ลักษณะการประกอบธุรกิจ : จำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม ได้แก่ ตู้โทรคมนาคม และสถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที่ ให้บริการสร้างสถานีฐานและติดตั้งอุปกรณ์ โทรคมนาคม และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมเพื่อให้เช่า เลขทะเบียนบริษัท : 0107558000440 โทรศัพท์ : (662) 863 - 8999 โทรสาร : (662) 886 - 3364 เว็บไซต์บริษัท : http://www.alt.co.th ทุนชำ�ระแล้ว : 500,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,000,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท

บริษัทย่อย

ชื่อบริษัท : บริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย – ไทรน้อย ตำ�บลบางสีทอง อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ให้บริการสร้างสถานีฐาน และติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม โดยครอบคลุมตั้งแต่การ สำ�รวจ, ออกแบบ, ก่อสร้าง, วางสายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง, ติดตั้งอุปกรณ์ โทรคมนาคม รวมถึงให้บริการด้านวิศวกรรมงานระบบต่างๆ สำ�หรับอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า, ระบบปรับอากาศ, ระบบป้องกันอัคคีภัย เลขทะเบียนบริษัท : 0125551006017 โทรศัพท์ : (662) 863 - 8929 โทรสาร : (662) 886 - 3084 เว็บไซต์บริษัท : http://www.grouptech.co.th ทุนชำ�ระแล้ว : 100,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ชื่อบริษัท : ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : ลักษณะการประกอบธุรกิจ : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็บไซต์บริษัท : ทุนชำ�ระแล้ว :

บริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 365 ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 จำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม โดยมีสินค้าหลักคือ สายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง (Fiber Optic Cable: FOC), สายนำ�สัญญาณคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ (RF Feeder Cable) อุปกรณ์ และระบบซอฟท์แวร์สำ�หรับควบคุมอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายไร้สาย (Wi-Fi ) 0125545007988 (662) 503 - 4977 (662) 503 - 4979 http://www.i21.co.th 30,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 300,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท รายงานประจำ�ปี 2559


46

ชื่อบริษัท : บริษัท อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : 365 ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ผลิตเสาอากาศรับสัญญาณ (Antenna) โดยเป็นการผลิตสินค้าแบบสั่งทำ� หรือ ออกแบบตามความต้องการของลูกค้า และจำ�หน่ายสินค้าในกลุ่มโทรคมนาคม เช่น อุปกรณ์กรอง และรวมสัญญาณ อีกทั้งยังให้บริการในรูปแบบ One Stop Repair Service Center ซึ่งให้บริการซ่อมบำ�รุงและทดสอบอุปกรณ์โทรคมนาคม แบบครบวงจร เลขทะเบียนบริษัท : 0125551015172 โทรศัพท์ : (662) 503 - 3950 โทรสาร : (662) 503 - 4979 เว็บไซต์บริษัท : http://www.innovatelecom.co.th ทุนชำ�ระแล้ว : 40,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 400,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

บริษัทร่วม

ชื่อบริษัท : บริษัท เทเลคอม โซลูชั่นส์ โพรไวเดอร์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 499 ถนนกำ�แพงเพชร 6 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ถือหุ้นในบริษัท Myanmar Information Highway (“MIH”) ซึ่งประกอบธุรกิจให้เช่า โครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมในประเทศสาธาณรัฐสหภาพเมียนมาร์ เลขทะเบียนบริษัท : 0125557016928 โทรศัพท์ : (662) 016 – 5111 ต่อ 5041 โทรสาร : (662) 016 – 5043 ทุนชำ�ระแล้ว : 75,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 750,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

กิจการร่วมค้า

ชื่อบริษัท : บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จำ�กัด ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : 52/1 หมู่ที่ 5 ถนนบางกรวย – ไทรน้อย ตำ�บลบางสีทอง อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 ลักษณะการประกอบธุรกิจ : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure) เพื่อให้เช่าซึ่งได้แก่ โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำ�แสงและอุปกรณ์ต่อเชื่อม รวมถึงการ สร้างเสาโทรคมนาคมให้เช่าในลักษณะของสัญญาเช่าการเงิน (Financial Lease) โดยมุ่งเน้นการพัฒนาในพื้นที่เฉพาะที่มีความสำ�คัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เลขทะเบียนบริษัท : 0105556062781 โทรศัพท์ : (662) 863 - 8999 โทรสาร : (662) 886 - 3364 ทุนชำ�ระแล้ว : 50,000,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


47

นายทะเบียนหลักทรัพย์

ชื่อบริษัท ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร

ผู้สอบบัญชี

ชื่อบริษัท ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์บริษัท

ที่ปรึกษากฎหมาย

ชื่อบริษัท ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์บริษัท

: : : :

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อาคาร บี เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 (662) 009-9000 (662) 009-9991

: : : : :

บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด 179/74-80 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม 10120 (662) 344 - 1000 (662) 286 - 5050 http://www.pwc.com

: : : : :

บริษัท เสรีมานพ แอนด์ ดอล์ย จำ�กัด 21 ซอยอำ�นวยวัฒน์ ถนนสุทธิสารวินิจฉัย เขตห้วยขวาง กทม 10320 (662) 693 – 2036 (662) 693 – 4189 http://www.serimanop.com

รายงานประจำ�ปี 2559


48

เหตุการณ์ที่สำ�คัญ

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


49

ปัจจัยความเสี่ยง

1. ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ต่อขั้นสุดท้ายจากผู้ให้บริการโทรคมนาคม (Operator) ไปยัง

ธุ ร กิ จ ด้ า นโทรคมนาคมมี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี ตลอดเวลา ดังเช่นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจากระบบ 2G ทีเ่ น้นการสนทนาด้วยเสียงมาเป็นระบบ 3G และ 4G ทีเ่ พิม่ เติมการรับส่งข้อมูลด้วย ส่งผลให้ผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคม ต้องเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถรองรับ เทคโนโลยีการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้น กลุ่มบริษัทซึ่งเป็น ผู้จ�ำหน่ายสินค้าและให้บริการสร้างสถานีฐาน, ติดตั้ง และ ซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคม จึงมีความเสี่ยงจากการไม่ สามารถปรับเปลี่ยนการจัดหาสินค้า และบริการที่จ�ำหน่าย หรือมีสนิ ค้าทีล่ า้ สมัย รวมถึงการไม่สามารถพัฒนาบุคลากรให้ สอดคล้องกับเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นไป ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อการ ประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทได้ ในการประกอบธุรกิจจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคมนัน้ กลุ่มบริษัทมีการจัดหาสินค้าจากพันธมิตรทางการค้าทั้งใน และต่ า งประเทศ ซึ่ ง หากเทคโนโลยี มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นไป กลุ่มบริษัทก็สามารถเลือกซื้อสินค้าหรือพิจารณาเลือกโรงงาน ที่มีสายการผลิตที่สามารถรองรับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี ดังกล่าวได้ ส�ำหรับสินค้าประเภทสายอากาศที่กลุ่มบริษัทมี การผลิตเองนั้น นับเป็นอุปกรณ์ประเภท Passive ซึ่งขั้นตอน การผลิตที่ส�ำคัญจะอยู่ท่ีการออกแบบชิ้นส่วนที่ท�ำหน้าที่ใน การกระจายสัญญาณ จึงสามารถปรับเปลี่ยนการผลิตได้ง่าย โดยที่ ไ ม่ ต ้ อ งลงทุ น เปลี่ ย นแปลงสายการผลิ ต ใหม่ ใ นส่ ว น ของการให้บริการนั้น กลุ่มบริษัทมีการพัฒนาและฝึกอบรม พนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าพนักงานของกลุ่ม บริษัทมีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะให้บริการแก่ลูกค้า ได้นอกจากนี้ การที่กลุ่มบริษัทมีพันธมิตรทางการค้าที่เป็น ผูผ้ ลิตสินค้ารายใหญ่ในต่างประเทศรวมถึงการมีความสัมพันธ์ ทีด่ อี ย่างยาวนานกับลูกค้านัน้ ย่อมเป็นอีกหนึง่ ช่องทางทีท่ ำ� ให้ พนักงานของกลุ่มบริษัทสามารถได้รับข้อมูลข่าวสารความ เคลื่อนไหวในเรื่องการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีต่างๆ และพร้อม ร่วมมือกันกับพันธมิตรทางการค้าเพื่อให้สามารถให้บริการ ลูกค้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพร่วมกันได้ ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ การให้ บ ริ ก ารโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ทางโทรคมนาคมรวมถึ ง การให้ เ ช่ า ของกลุ ่ ม บริ ษั ท นั้ น เป็นโครงสร้างพื้นฐานประเภท Passive ที่มุ่งเน้นการให้บริการ ในระดับของ Core Network โดยมีองค์ประกอบหลักได้แก่ สายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสง, เสาโทรคมนาคมและอุ ป กรณ์ เพือ่ เชือ่ มต่อโครงข่ายของลูกค้าเข้ากับโครงข่ายของกลุม่ บริษทั ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวล้วนแต่เป็นส่วนประกอบ ทีไ่ ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีมากนัก ต่างจากองค์ประกอบ ในส่วนของ Access Network หรือ Last Mile ที่เป็นการเชื่อม

ผู ้ บ ริ โ ภคที่ มั ก มี ก ารพั ฒ นาเปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี อ ย่ า ง รวดเร็ ว และส่ ว นใหญ่ จ ะอยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของลู ก ค้ า ที่ต้องเป็นผู้ลงทุนปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ในส่วนดังกล่าว ดังนั้น การให้บริการในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคม ให้เช่าของกลุ่มบริษัท จึงมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีค่อนข้างต�่ำ

2. ความเสี่ยงจากการไม่ได้รับสิทธิแห่งทาง (Right of Way)

ในการประกอบธุรกิจการให้บริการโครงสร้างพืน้ ฐาน ทางโทรคมนาคมรวมถึงกลุ่มธุรกิจให้บริการซึ่งต้องมีการวาง สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงบนทรัพย์สนิ หรือทีด่ นิ ของบุคคลอืน่ นัน้ จะต้องมีการขอใช้ “สิทธิแห่งทาง (Right of Way)” จากเจ้าของ ที่ดินหรือเจ้าของทรัพย์สินที่ท�ำการติดตั้งเสาโทรคมนาคม และอุ ป กรณ์ หรื อ บริ เ วณที่ ส ายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสง พาดผ่ า น ดั ง นั้ น กลุ ่ ม บริ ษั ท จึ ง มี ค วามเสี่ ย งหากไม่ ไ ด้ รั บ ความเห็นชอบในการขอสิทธิแห่งทาง และมีความเสี่ยงจาก การไม่ได้รับการต่อสัญญาจากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน หรือ ทรัพย์สินที่ท�ำการติดตั้งเสาโทรคมนาคมและอุปกรณ์ หรือ บริเวณที่สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงของกลุ่มบริษัทพาดผ่าน ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบให้กลุ่มบริษัทไม่สามารถวางโครงสร้าง พื้นฐานทางโทรคมนาคมเพื่อให้เช่าและ/หรือให้บริการได้ ตามแผนงานและต้องสูญเสียรายได้ รวมถึงการต้องเสียค่า ปรับในกรณีที่ไม่สามารถให้บริการแก่ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ตามสัญญาได้ อย่ า งไรก็ ดี ต ามประกาศคณะกรรมการกิ จ การ กระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การโทรคมนาคม แห่ ง ชาติ (“คณะกรรมการกสทช.”) เรื่ อ งหลั ก เกณฑ์ แ ละ วิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การใช้ สิ ท ธิ ใ นการปั ก หรื อ ตั้ ง เสา หรื อ เดิ น สาย วางท่ อ หรื อ ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ป ระกอบใดในการ ให้ บ ริ ก ารโทรคมนาคมนั้ น ได้ ร ะบุ ว ่ า ผู ้ ป ระกอบกิ จ การ โทรคมนาคมแบบที่ 2 หรือแบบที่ 3 มีสิทธิที่จะลากสายหรือ ตั้งเสาในพื้นที่ของ 1) ผู้ให้บริการรายอื่น 2) หน่วยงานของรัฐ หรือผู้ให้บริการสาธารณูปโภครวมถึงพื้นที่อุทยานต่างๆด้วย หรือ 3) บุคคลอืน่ ซึง่ การใช้สทิ ธิแห่งทางตามประกาศดังกล่าวนี้ มีลักษณะเป็นการใช้อ�ำนาจทางปกครองของคณะกรรมการ กสทช. ที่จะบังคับให้เจ้าของพื้นที่อนุญาตให้ผู้ประกอบการ โทรคมนาคม สามารถด�ำเนินการปักเสา-พาดสายในพื้นที่ นัน้ ๆ ได้ อย่างไรก็ดี ในการประกอบธุรกิจตามปกตินนั้ กลุม่ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะเจรจาขอเช่าพืน้ ทีจ่ ากเจ้าของกรรมสิทธิ์ โดยมิได้ ขอให้คณะกรรมการ กสทช. ใช้อ�ำนาจตามประกาศดังกล่าว

รายงานประจำ�ปี 2559


50

แต่อย่างใด ประกอบกับตามแผนการด�ำเนินงานของกลุ่ม บริษทั นัน้ มุง่ ทีจ่ ะสร้างโครงข่ายในพืน้ ทีเ่ ฉพาะ ทีม่ คี วามส�ำคัญ ทางเศรษฐกิจ ซึง่ มีหน่วยงานทีม่ อี ำ� นาจในการบริหารทรัพย์สนิ ที่ชัดเจน ส่งผลให้กลุ่มบริษัทมีคู่สัญญาที่ต้องเจรจาขอใช้พื้นที่ จ�ำนวนน้อยราย ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงจากการไม่สามารถ เจรจาขอใช้พนื้ ทีจ่ ากเจ้าของกรรมสิทธิและไม่จำ� เป็นต้องขอให้ คณะกรรมการ กสทช. ใช้อ�ำนาจบังคับตามประกาศที่มีอยู่ นอกจากนี้ ในการเจรจาเพื่อขอใช้พื้นที่จากเจ้าของกรรมสิทธิ ที่ ดิ น หรื อ ทรั พ ย์ สิ น นั้ น ผู ้ บ ริ ห ารของกลุ ่ ม บริ ษั ท เชื่ อ มั่ น ว่ า จากนโยบายการประกอบธุรกิจของบริษัทที่มุ่งเน้นการเติบโต อย่างยั่งยืนร่วมกันกับคู่ค้า ประกอบกับความรู้ความเข้าใจ ในธุรกิจโทรคมนาคมเป็นอย่างดี จะส่งผลให้กลุม่ บริษทั สามารถ เสนอแผนการประกอบธุรกิจร่วมกันให้แก่ผู้ประกอบการซึ่ง เป็นเจ้าของกรรมสิทธิที่ดินหรือทรัพย์สินเพื่อพิจารณาและ เห็นชอบในประโยชน์ร่วมกันได้ ดังประจักษ์ด้วยผลงานที่ กลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ รั บ อนุญาตจากผู้ประกอบการที่เป็นเจ้ า ของ กรรมสิทธิในที่ดินและทรัพย์สินให้ใช้พื้นที่เพื่อติดตั้งโครงข่าย โทรคมนาคมเพื่อให้เช่าได้ มาโดยตลอด

สัญญา

3. ความเสี่ ย งจากการไม่ ไ ด้ รั บ การต่ อ อายุ

ในการท� ำ สั ญ ญาขอใช้ พื้ น ที่ เ พื่ อ วางโครงข่ า ย เคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารโครงสร้ า งพื้ น ฐานทาง โทรคมนาคมนั้น กลุ่มบริษัทอาจไม่สามารถเจรจาเพื่อก�ำหนด ระยะเวลาในการขอใช้พ้ืนที่จากเจ้าของกรรมสิทธิที่ดินหรือ ทรัพย์สินให้มีความสอดคล้องกันกับระยะเวลาที่กลุ่มบริษัท เสนอบริการกับลูกค้าได้ทุกครั้งไป ซึ่งปัจจุบัน กลุ่มบริษัทมี สัญญาขอใช้พื้นที่ส�ำหรับวางโครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง เพื่อให้เช่าจ�ำนวน 1 โครงการที่มีระยะเวลาของสัญญาขอใช้ พื้นที่สั้นกว่าระยะเวลาที่กลุ่มบริษัทมีการท�ำสัญญาเพื่อให้ บริการแก่ลูกค้า ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการ ไม่ได้รับการต่อสัญญาขอใช้พื้นที่ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มบริษัท ไม่สามารถให้บริการแก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่องได้ตามสัญญาให้ บริการที่ท�ำกับลูกค้าได้ อย่ า งไรก็ ดี ตามสั ญ ญาดั ง กล่ า วได้ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญา หากเจ้าของพื้นที่มีความ ประสงค์ที่จะให้ใช้พื้นที่ต่อ กลุ่มบริษัทจะได้รับสิทธิในการใช้ พื้นที่ดังกล่าวก่อนบุคคลอื่น นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทเชื่อมั่น ว่ า จากการควบคุ ม ดู แ ลให้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไข และข้อตกลงทีม่ อี ยูใ่ นสัญญาอย่างเคร่งครัดประกอบกับลักษณะ การให้บริการของกลุ่มบริษัทที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศโดยรวมนั้ น จะท� ำ ให้ เ จ้ า ของกรรมสิ ท ธิ ที่ ดิ น หรื อ ทรัพย์สนิ ทีก่ ลุม่ บริษทั มีการขอใช้พนื้ ทีน่ นั้ ด�ำเนินการต่อสัญญา เช่าพื้นที่อย่างต่อเนื่องให้แก่กลุ่มบริษัท นอกจากนี้ กลุ่มบริษัท ยังสามารถขอใช้สิทธิแห่งทางตามประกาศของคณะกรรมการ

กสทช. ต่อคู่สัญญาหากจ�ำเป็นต้องให้มีการขอใช้พื้นที่ต่อ จนกว่าจะสิ้นอายุของใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม อีกด้วย 4. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ ในปี 2558 และปี 2559 กลุ่มบริษัทมีการให้บริการ ด้ า นการสร้ า งสถานี ฐ านและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ โ ทรคมนาคม แก่ลูกค้ารายใหญ่รายหนึ่ง คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 52.14 และร้ อ ยละ 47.58 ของรายได้ จ ากการขายและ ให้ บ ริ ก ารในงบการเงิ น รวมในแต่ ล ะช่ ว งเวลาตามล� ำ ดั บ โดยลู ก ค้ า ดั ง กล่ า วเป็ น ผู ้ ป ระกอบการโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ (Operator) ที่ต้องการเพิ่มจ�ำนวนสถานีฐาน และโครงสร้าง พื้นฐานด้านเคเบิลใยแเก้วน�ำแสง ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงมีความ เสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ดังกล่าว อย่างไรก็ดี ลูกค้ารายใหญ่ของกลุ่มบริษัทนั้น จะมี การเปลี่ยนแปลงไปตามแผนการลงทุนของกลุ่มผู้ให้บริการ โทรคมนาคมในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงความสามารถในการ ได้รับงานจากลูกค้าของกลุ่มบริษัท ทั้งนี้ จากการที่กลุ่มบริษัท มี น โยบายในการรั ก ษาคุ ณ ภาพมาตรฐานของสิ น ค้ า และการให้บริการ และมีการรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้า อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้กลุ่มบริษัทเชื่อมั่นว่าจะยังคงสามารถ รักษาความสามารถในการแข่งขันเพื่อให้ได้รับงานจากลูกค้า ของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องต่อไป นอกจากนี้ กลุ่มบริษัท ยั ง มี น โยบายในการลดความเสี่ ย งจากการพึ่ ง พิ ง ลู ก ค้ า อั น เกิดจากการจ�ำหน่ายสินค้าหรือให้บริการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ต้องขึ้นกับแผนการลงทุนของกลุ่มผู้ให้บริการโทรคมนาคม ดังที่กล่าวมา โดยกลุ่มบริษัทได้ขยายการประกอบธุรกิจสู่การ ประกอบธุ ร กิ จ ให้ เ ช่ า โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางโทรคมนาคม ซึ่งจะช่วยให้กลุ่มบริษัทมีรายได้ที่สม�่ำเสมอในระยะยาวและ ยังช่วยเพิม่ โอกาสในการขยายฐานลูกค้าใหม่ให้แก่กลุม่ บริษทั อีกด้วย 5. ความเสี่ ย งจากการประกอบธุ ร กิ จ กั บ

ผู้ประกอบการรายใหญ่

เนื่ อ งจากลู ก ค้ า หลั ก ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ แ ก่ ก ลุ ่ ม ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีกลุ่ม ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ (Operator) เพี ย ง 4 ราย จึงอาจส่งผลให้กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการที่มีอ�ำนาจต่อ รองน้อยกว่าในการประกอบธุรกิจกับผู้ประกอบการรายใหญ่ ดังกล่าวได้ เช่น การก�ำหนดราคา, เงื่อนไข และระยะเวลาใน การเรียกเก็บเงิน เป็นต้น อย่างไรก็ดี ด้วยคุณภาพมาตรฐาน ของสินค้าและบริการ และความรู้ความเชี่ยวชาญในธุรกิจ โทรคมนาคม ประกอบกับการก�ำหนดนโยบายการประกอบ ธุรกิจ ที่ชัดเจนของกลุ่มบริษัทที่จะไม่ประกอบธุรกิจแข่งขัน กับลูกค้าและพร้อมที่จะร่วมกันกับลูกค้าในการพัฒนาสินค้า

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


51

และบริการที่จะช่วยให้ลูกค้าของบริษัทสามารถให้บริการแก่ ผู้ใช้บริการ (End User) ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นนั้น ส่ ง ผลให้ ผู ้ บ ริ ห ารของกลุ ่ ม บริ ษั ท เชื่ อ มั่ น ว่ า กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ศั ก ยภาพเพี ย งพอที่ จ ะสามารถเจรจากั บ ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ผู้ประกอบการรายใหญ่ต่างๆ ในการประกอบธุรกิจร่วมกันให้ เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันทั้งสองฝ่ายได้

6. ความเสีย่ งจากความไม่สม�ำ่ เสมอของรายได้ เนื่ อ งจากการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ส่ ว นใหญ่ มีลักษณะเป็นงานโครงการ เช่น ให้บริการสร้างสถานีฐาน และติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม รวมถึงการขายสินค้าเพื่อน�ำ ไปใช้งานดังกล่าวซึง่ ส่งผลให้ยอดขายสินค้าหรืองานให้บริการ ของกลุ่มบริษัทขึ้นอยู่กับแผนการลงทุนของกลุ่มลูกค้าที่เป็น ผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคมและความสามารถในการได้รับ งานของกลุม่ บริษทั ดังนัน้ กลุม่ บริษทั จึงมีความเสีย่ งจากความ ไม่สม�ำ่ เสมอของรายได้ในกรณีทกี่ ลุม่ ลูกค้าไม่มแี ผนการลงทุน อย่างต่อเนื่อง หรือกลุ่มบริษัทไม่ได้รับงานจากกลุ่มลูกค้า ดังกล่าว อย่ า งไรก็ ดี ด้ ว ยคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า และบริ ก าร, ความเชีย่ วชาญของบุคลากร และความสามารถในการน�ำเสนอ สินค้าและบริการได้อย่างครบวงจร ประกอบกับนโยบายใน การรักษาความสัมพันธ์กับกลุ่มลูกค้าหลักที่เป็นผู้ประกอบ การโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตด้วยการ ไม่ประกอบธุรกิจทีท่ บั ซ้อนกันกับกลุม่ ลูกค้าดังกล่าว เพือ่ มุง่ มัน่ สู ่ ก ารเป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น การเติ บ โตทางธุ ร กิ จ ของลู ก ค้ า อย่ า ง เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้กลุ่มบริษัทเชื่อมั่นว่า กลุ่มบริษัท จะได้รับความไว้วางใจให้ได้รับงานจากลูกค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทมีนโยบายในการลดความเสี่ยงจาก ความไม่สม�ำ่ เสมอของรายได้ โดยมีการขยายการประกอบธุรกิจ สู่การประกอบธุรกิจให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคม โดยเน้ น การลงทุ น ในโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางโทรคมนาคม ประเภท Passive ในพืน้ ทีเ่ ฉพาะทีม่ คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกิจ (Strategic Location) ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท มี ร ายได้ ทีส่ ม�ำ่ เสมอในระยะยาว และยังช่วยเพิม่ โอกาสในการขยายฐาน ลูกค้าใหม่ให้แก่กลุ่มบริษัท เช่น กลุ่มลูกค้าภาครัฐและภาค เอกชนที่มีความต้องการใช้โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง ในการรับ-ส่งข้อมูล 7. ความเสี่ยงจากการควบคุมต้นทุนในการ ประกอบธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน

การให้บริการสร้างสถานีฐานของกลุ่มบริษัทนั้นมี การให้บริการแบบ Turnkey โดยลูกค้าซึ่งเป็นกลุ่มผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่จะก�ำหนดจ�ำนวนสถานีฐานที่กลุ่มบริษัท ต้องสร้างและส่งมอบในแต่ละครั้งภายในช่วงระยะเวลาที่ ก�ำหนด ในขณะทีก่ ลุม่ บริษทั จะต้องท�ำการค�ำนวณต้นทุนต่าง ๆ

ของทั้งโครงการเพื่อก�ำหนดราคาและน�ำเสนอต่อลูกค้าตั้งแต่ ในช่วงเวลาทีพ่ จิ ารณารับงาน ดังนัน้ กลุม่ บริษทั จึงมีความเสีย่ ง จากการไม่ได้รับผลตอบแทนตามที่ต้องการ หากต้นทุนต่าง ๆ มีการเปลีย่ นแปลงไปจากทีไ่ ด้เคยประมาณการและไม่สามารถ เจรจาขอปรับค่าบริการกับลูกค้าได้ ในการลดความเสี่ยงดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้มีการ ก�ำหนดให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องมาประชุมร่วมกันเพื่อประมาณ การรายได้และต้นทุนเพื่อพิจารณาเสนอราคาให้แก่ลูกค้า โดยฝ่ายออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จะค�ำนวณปริมาณ วัตถุดิบและแรงงาน (Bill of Quantities: BOQ) ที่ต้องใช้ ส่วนฝ่ายจัดซื้อจะตรวจสอบราคาวัตถุดิบและค่าแรงรวมทั้ง แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของราคา เพือ่ เป็นข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ การตลาดใช้จัดท�ำใบเสนอราคาให้แก่ลูกค้า จากนั้นเมื่อได้ รับการตอบรับจากลูกค้าแล้ว ฝ่ายจัดซื้อจะด�ำเนินการตกลง ยืนยันราคาและช่วงเวลาส่งมอบกับผู้ขายวัตถุดิบตามงวด ระยะเวลาที่สอดคล้องกับแผนการส่งมอบงานให้แก่ลูกค้า เพื่อลดความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ซึ่งโดยทั่วไประยะเวลา ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการส� ำ รวจและออกแบบจนถึ ง ขั้ น ตอนการ ก่อสร้างให้แล้วเสร็จจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2-3 เดือนต่อ 1 สถานีฐาน อย่างไรก็ดี หากราคาวัตถุดบิ มีความผันผวนอย่าง มาก หรือลูกค้ามีการขอปรับรายละเอียดของงานซึ่งส่งผลให้มี ต้นทุนส่วนเพิ่มซึ่งมิได้เกิดจากความผิดพลาดของกลุ่มบริษัท ทางกลุ่มบริษัทจะด�ำเนินการเจรจากับลูกค้าเพื่อขอปรับค่า บริการเพิ่มให้สอดคล้องกับต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไป ที่ผ่านมา กลุ่มบริษัทสามารถขอเจรจาขอปรับค่าบริการกับลูกค้าให้ สอดคล้ อ งกั บ ต้ น ทุ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ได้ บ างส่ ว นมาโดยตลอด และกลุ่มบริษัทจะเจรจากับคู่ค้าในการขอยืนยันราคาวัตถุดิบ เพื่ อ ลดผลกระทบจากการที่ มี ต ้ น ทุ น ส่ ว นเพิ่ ม ในส่ ว นที่ ไ ม่ สามารถเจรจากับลูกค้าได้อีกทางหนึ่ง

8. ความเสีย่ งจากการพึง่ พิงผูผ้ ลิตและจ�ำหน่าย สินค้ารายใหญ่ (Supplier)

ในปี 2558 และปี 2559 กลุ่มบริษัทมีการจัดหา สินค้าจากผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง รายใหญ่ในต่างประเทศรายหนึ่ง เป็นสัดส่วนร้อยละ 18.66 และร้อยละ 26.34 ของต้นทุนขายสินค้าและบริการในงบ การเงินรวมในแต่ละช่วงเวลาตามล�ำดับ โดยต้นทุนของผู้ผลิต และจั ด จ� ำ หน่ า ยสายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงดั ง กล่ า ว คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 90 และร้ อ ยละ 100 ของยอดซื้ อ สายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงรวมในปี 2558 และ ปี 2559 ตามล� ำ ดั บ ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยสายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสง ดังกล่าวเป็นผู้ผลิตชั้นน�ำในระดับโลกซึ่งมีสินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับในกลุ่มลูกค้า ทั้งนี้ บริษัทย่อยของ บริ ษั ท ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ของผู ้ ผ ลิ ต สาย เคเบิลใยแก้วน�ำแสงดังกล่าวมาตั้งแต่ปี 2547 โดยที่มิได้

รายงานประจำ�ปี 2559


52

การท�ำสัญญาแต่งตั้งการเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายอย่างเป็นลาย ลักษณ์อักษร เนื่องจากทางผู้ผลิตดังกล่าวไม่มีนโยบายใน การท�ำสัญญาระยะยาวกับคู่ค้ารายใด ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงมี ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้ผลิตดังกล่าว หากผู้ผลิตดังกล่าว ไม่จ�ำหน่ายสินค้าให้แก่กลุ่มบริษัท หรือไม่สามารถส่งมอบ สินค้าให้แก่กลุม่ บริษทั ได้ตรงตามก�ำหนดเวลา และกลุม่ บริษทั ไม่สามารถจัดหาสินค้าทดแทนจากที่อื่น ก็จะส่งผลกระทบต่อ ธุรกิจของกลุ่มบริษัทได้ อย่างไรก็ดี จากการทีก่ ลุม่ บริษทั เป็นตัวแทนจ�ำหน่าย สินค้าของผู้ผลิตดังกล่าวมาเป็นระยะเวลากว่า 10 ปี และ มีความสัมพันธ์อันดีกับผู้ผลิตดังกล่าวเสมอมา โดยมีการแลก เปลี่ยนความรู้และข้อมูลความต้องการของลูกค้า รวมถึงการ ร่วมพัฒนาสินค้าร่วมกัน ส่งผลให้กลุ่มบริษัทเชื่อมั่นว่าจะยัง คงได้ รั บ ความไว้ ว างใจให้ เ ป็ น ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ของ ผู้ผลิตดังกล่าวต่อไป และผู้ผลิตดังกล่าวก็ไม่มีนโยบายในการ จ�ำหน่ายสินค้าให้แก่ลูกค้าเองโดยตรง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ผลิตดัง กล่าวไม่สามารถจัดหาหรือส่งมอบสินค้าได้ตามที่ก�ำหนดนั้น กลุ่มบริษัทยังคงมีพันธมิตรทางการค้าที่จะช่วยจัดหาสินค้า ทดแทนมาส่งมอบให้แก่ลูกค้า ซึ่งเป็นการป้องกันผลกระทบที่ จะเกิดขึ้นกับธุรกิจของกลุ่มบริษัทได้

9. ความเสีย่ งจากการแข่งขันและคูแ่ ข่งรายใหม่

กลุ่มธุรกิจจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคมเป็นธุรกิจ ที่ อ าจจะมี ผู ้ ป ระกอบการรายใหม่ เ ข้ า สู ่ ต ลาดได้ ไ ม่ ย าก หากมีความสามารถในการจัดหาสินค้าจากผู้ผลิตหรือตัวแทน จ� ำ หน่ า ยซึ่ ง มี ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ อย่ า งไรก็ ดี กลุม่ บริษทั เชือ่ มัน่ ว่า นอกจากความสามารถในการเข้าถึงแหล่ง ผลิตหรือจ�ำหน่ายสินค้าแล้ว การที่จะได้รับความไว้วางใจจาก ลูกค้ายังขึ้นอยู่กับปัจจัยอีกหลายประการอาทิ ความสามารถ ในการคัดกรองสินค้าที่มีคุณภาพ, การจัดส่งที่ตรงเวลา,การมี ทีมงานผู้เชี่ยวชาญที่สามารถให้ค�ำปรึกษา รวมถึงสามารถ ให้บริการติดตั้งและซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคมควบคู่ไป กับการขาย ซึ่งความสามารถดังกล่าวจะส่งผลให้กลุ่มบริษัท สามารถรักษาศักยภาพในการแข่งขันได้ ในกลุ่มธุรกิจให้บริการสร้างสถานีฐาน ติดตั้ง และ ซ่อมแซมอุปกรณ์โทรคมนาคม เป็นธุรกิจที่ต้องอาศัยความรู้ ความช�ำนาญ, ฐานะการเงิน, และความเชื่อมั่นของลูกค้าจาก ผลงานที่มีมาในอดีต ส่งผลให้เป็นธุรกิจที่ผู้ประกอบการราย ใหม่จะเข้าสู่ตลาดได้ไม่ง่ายนัก ส� ำ หรั บ กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทาง โทรคมนาคมเพื่อใช้เช่านั้น จะต้องอาศัยทั้งเงินทุน, ความ เชีย่ วชาญในการวางโครงข่าย, ความสามารถในการเลือกพืน้ ที่ ที่มีศักยภาพ และความสามารถในการให้บริการที่มีคุณภาพ รวมถึ ง แนวทางในการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง สิ ท ธิ แห่งทาง โดยเฉพาะอย่างยิง่ โครงสร้างพืน้ ฐานทางโทรคมนาคม

ของกลุม่ บริษทั นัน้ ได้ตงั้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามส�ำคัญเฉพาะทาง เศรษฐกิ จ มี ต ้ น ทุ น ในการเข้ า ถึ ง สู ง ฉะนั้ น การใช้ทรัพยากร ร่วมกันบนโครงข่ายที่บริษัทมีอยู่ จึงเป็นแนวทางที่ จ ะช่ ว ย ประหยั ด ต้ น ทุ น ด� ำ เนิ น การของกลุ ่ ม ผู ้ ป ระกอบการตั้ ง แต่ กลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคม รวมถึงผูป้ ระกอบการ รายอื่นที่ประกอบธุรกิจเช่นเดียวกันกับกลุ่มบริษัทแต่ไม่ได้ มีโครงข่ายในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว การประกอบธุรกิจดังกล่าว จึงนับได้วา่ มีความเสีย่ งจากการแข่งขันในระดับต�ำ่

10. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร

ในการประกอบธุรกิจจ�ำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคม ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความเข้าใจในธุรกิจและติดตามการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพื่อให้สามารถพัฒนา สินค้าหรือจัดหาสินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปได้ นอกจากนี้ ในการผลิตหรือน�ำเข้า อุปกรณ์โทรคมนาคมบางประเภทจะต้องมีการปฏิบัติตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยการควบคุ ม อุ ป กรณ์ เ กี่ ย วกั บ คลื่ น ความถี่ จึงต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจทั้งในด้านขั้นตอน การน�ำเข้า และขั้นตอนการปฏิบัติตามกฎหมายด้วย ส�ำหรับ ในส่วนของธุรกิจการให้บริการก็เช่นกัน กลุ่มบริษัทต้องอาศัย ทีมงานวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์ มีความรูค้ วามสามารถ เพือ่ ให้ สามารถควบคุมดูแลการท�ำงานได้ในทุกขั้นตอนตั้งแต่การ ออกแบบ, การก่อสร้าง, การติดตั้ง และการทดสอบการใช้งาน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าจะสามารถส่งมอบงานที่มีคุณภาพตามที่ ลูกค้าต้องการได้ ดังนั้น หากกลุ่มบริษัทสูญเสียบุคลากรเหล่า นี้ไป ย่อมส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของบุคลากรที่มี ต่อองค์กร จึงใช้นโยบายจูงใจให้พนักงานอยู่กับองค์กรเพื่อ เติบโตร่วมกันในระยะยาว โดยมีการวางแผนความก้าวหน้าทาง สายงาน มีการพิจารณาให้ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับต�ำแหน่ง และความรู้โดยสามารถเทียบเคียงกันได้กับอัตราค่าตอบแทน ของอุตสาหกรรมเดียวกัน มีแผนการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของพนักงานอย่างเหมาะสม และจากการทีก่ ลุม่ บริษัทมีการประกอบธุรกิจที่หลากหลายในด้านโทรคมนาคม จึงเปิดโอกาสให้พนักงานสามารถปรับเปลี่ยนไปปฏิบัติหน้าที่ ยังส่วนงานทีส่ นใจได้ เพือ่ เป็นการเปิดโอกาสในการเรียนรูแ้ ละ เป็นการช่วยส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างพนักงานในส่วน งานต่างๆ นอกจากนี้ กลุม่ บริษทั ยังส่งเสริมการสร้างความภาค ภูมใิ จในการเป็นพนักงานในกลุม่ บริษทั อย่างสม�ำ่ เสมอผ่านทาง กิจกรรมต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อให้พนักงานได้ตระหนักถึงคุณค่าและ ความส�ำคัญของตนในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และพร้อม จะปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบเพือ่ เติบโตร่วมกันกับกลุม่ บริษัท ซึ่งจากสถิติที่ผ่านมา อายุเฉลี่ยของพนักงานส่วนใหญ่ ของบริษัทนั้นเท่ากับประมาณ 5 - 6 ปี

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


53

อย่างไรก็ตาม ด้วยโครงสร้างการจัดการของบริษัท 11.ความเสี่ยงจากการท�ำสัญญาระหว่างผู้ถือ ประกอบด้ ว ยคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย หุ้นในกิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม

เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีการท�ำสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น เพื่อลงทุนในกิจการร่วมค้า 1 แห่ง และบริษัทร่วม 1 แห่ง ซึ่ง ในสัญญามีการก�ำหนดข้อตกลงเกีย่ วกับลักษณะการประกอบ ธุรกิจของกิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม, ข้อตกลงของคู่สัญญา ในการด�ำเนินธุรกิจของกิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม, เงื่อนไข ในการยกเลิกสัญญา และเงื่อนไขในการสิ้นสุดสัญญา ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้องจากการที่ไม่ ปฎิบัติตามข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น และอาจได้รับ ผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของกิจการร่วมค้าและบริษัท ร่วมหากสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นสิ้นสุดลง กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำหนดในสั ญ ญา อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความเสี่ยงจากการถูกคู่สัญญาฟ้องร้อง จากการไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา ซึ่ ง ทางผู ้ บ ริ ห ารประเมิ น ว่ า ความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้องหรือยกเลิกสัญญานั้นอยู่ใน ระดั บ ที่ ไ ม่ มี นั ย ส� ำคั ญ เนื่ อ งจากสั ญ ญาระหว่ า งผู ้ ถื อ หุ ้ น ดั ง กล่าวล้วนเกิดขึ้นจากเจตนารมย์ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายที่ เล็งเห็นถึงศักยภาพของคู่สัญญาในการที่จะช่วยสนับสนุน การประกอบธุ ร กิ จ ของแต่ ล ะฝ่ า ยให้ ส ามารถเติ บ โตอย่ า ง ยัง่ ยืนร่วมกัน ประกอบกับนโยบายในการประกอบธุรกิจทีช่ ดั เจน ของกลุ่มบริษัทซึ่งมุ่งเน้นการเป็นผู้จัดหาสินค้าและบริการเพื่อ สนับสนุนการประกอบธุรกิจของผู้ให้บริการโทรคมนาคมเสมอ มา จึงส่งผลให้กลุม่ บริษทั เชือ่ มัน่ ว่า การท�ำสัญญาระหว่างผูถ้ อื หุ้นดังกล่าวจะเป็นปัจจัยส่งเสริมให้กลุ่มบริษัทสามารถเติบโต อย่างต่อเนื่องต่อไปได้พร้อมกับการเติบโตของคู่สัญญา 12. ความเสี่ยงจากการมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มี

อิทธิพลต่อการก�ำหนดนโยบายการบริหารงาน

ภ า ย ห ลั ง จ า ก ก า ร เ ส น อ ข า ย หุ ้ น ส า มั ญ ใ น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่คอื กลุม่ ผู้บริหาร รวมถึง บริษัท เอแอลที โฮลดิ้ง จ�ำกัด จะถือหุ้นคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 74.40 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด ของบริษัท และกลุ่มผู้บริหารยังเป็นกรรมการผู้อ�ำนวยการ และกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามของบริษัทด้วย จึงท�ำให้กลุ่ม ผู้ถือหุ้นดังกล่าว เป็นผู้มีอ�ำนาจในการบริหารจัดการ และ ควบคุมคะแนนเสียงในการลงมติที่ส�ำคัญได้เกือบทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแต่งตั้งกรรมการ หรือการขอมติในเรื่อง อื่นที่ต้องใช้เสียงส่วนใหญ่ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ยกเว้นเรื่อง กฎหมายหรือข้อบังคับบริษัทซึ่งต้องได้รับเสียง 3 ใน 4 เสียง ของจ�ำนวนหุ้นที่เข้าประชุมและมีสิทธิออกเสียง ดังนั้นผู้ถือหุ้น รายอืน่ ทีเ่ ข้าร่วมประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงอาจจะไม่สามารถ รวบรวมคะแนนเสียงเพือ่ ตรวจสอบหรือถ่วงดุลการบริหารของผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ได้

รวม 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง คณะกรรมการสรรหา และก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และคณะกรรมการบริ ห าร โดย แต่ละคณะมีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่อย่างชัดเจน ท� ำ ให้ ร ะบบการท� ำ งานของบริ ษั ท มี ค วามเป็ น มาตรฐาน ตรวจสอบได้ อีกทัง้ โครงสร้างคณะกรรมการของบริษทั ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระ 4 ท่าน จากจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมด 7 ท่าน และมีคณะกรรมการตรวจสอบทีป่ ระกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งแต่ละท่านเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ท�ำให้สามารถ สอบทานการท�ำงานของบริษทั ให้มคี วามโปร่งใสได้ดยี งิ่ ขึน้ และ ประธานกรรมการบริษัท ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกันกับ ผู้บริหาร สูงสุดคือกรรมการผู้อ�ำนวยการ ล้วนเป็นปัจจัยให้เกิดการถ่วง ดุลอ�ำนาจในการน�ำเสนอเรื่องต่างๆที่จะพิจารณาเข้าสู่การ ประชุมผู้ถือหุ้นได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนั้น กลุ่มบริษัทได้มี ระเบียบปฏิบตั กิ รณีทมี่ กี ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกับกรรมการ ผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมในกิจการ รวมทั้งบุคคล ทีอ่ าจมีความขัดแย้งในผลประโยชน์ โดยบุคคลดังกล่าวจะไม่มี อ�ำนาจอนุมัติในการท�ำรายการนั้นๆ ท�ำให้สามารถลดทอน ความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นได้อีกด้วย 13. ความเสี่ ย งจากการไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎ

ระเบียบในการประกอบธุรกิจ

เนื่องจากกลุ่มบริษัทประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรม โทรคมนาคมซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบต่าง ๆ ที่บังคับใช้ ในการประกอบธุรกิจ เช่น การขอใบอนุญาตในการประกอบ กิ จ การโทรคมนาคม, การขอใบอนุ ญ าตน� ำ เข้ า อุ ป กรณ์ ที่ เกี่ยวข้องกับคลื่นความถี่ หรือการขอสิทธิแห่งทาง (Right of Way) เป็นต้น ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงมีความเสี่ยงหากมิได้มีการ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงอาจเกิดความเสียหาย จากค่าปรับต่างๆ ได้ กลุ ่ ม บริ ษั ท มี น โยบายในการประกอบธุ ร กิ จ ด้ ว ย ความโปร่งใสและอยู่ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า กลุ ่ ม บริ ษั ท สามารถปฏิ บั ติ ต ามกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง กลุ่มบริษัทได้ก�ำหนด ผู้รับผิดชอบในการศึกษาข้อมูลและติดตามการบังคับใช้กฎ ระเบียบและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งจากการติดตามข่าวสาร ติ ด ต่ อ หน่ ว ยงานราชการ รวมทั้ ง การรวบรวมข้ อ มู ล จาก ผูป้ ระกอบการซึง่ เป็นคูค่ า้ ของบริษทั เพือ่ แจ้งข้อมูลให้สว่ นงาน ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ รับทราบและน�ำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ ในอดีตที่ผ่านมากลุ่มบริษัทไม่เคยถูกฟ้องร้องจากการที่ ไม่สามารถปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องแต่ อย่างใด

รายงานประจำ�ปี 2559


54

14.ความเสี่ ย งจากการเปลี่ ย นแปลงอั ต รา ดอกเบี้ย

ในปี 2558 และ ปี 2559 กลุ่มบริษัทมีต้นทุนทางการ เงินเป็นจ�ำนวนเท่ากับ 35.83 ล้านบาท และ 36.38 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึ่งส่วนหนึ่งของเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้นในกรณีที่อัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น ย่อมส่งผลให้บริษัทมี ภาระที่จะต้องจ่ายดอกเบี้ยเป็นจ�ำนวนเงินที่เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ดี เมื่อบริษัทสามารถเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้แล้ว เงินทีไ่ ด้จากการระดมทุน ส่วนหนึ่งจะน�ำมาช�ำระเงินกู้ยืมดังกล่าว ซึ่งจะช่วยบรรเทาผล กระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ ลงได้อย่างมาก

15. ความเสี่ยงจากการบริหารสภาพคล่องใน การประกอบธุรกิจ

เนื่ อ งจากกลุ ่ ม ลู ก ค้ า หลั ก ในธุ กิ จ ให้ บ ริ ก าร สร้ า งสถานี ฐ านและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ นั้ น ได้ แ ก่ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร ด้านโทรคมนาคมรายใหญ่ของประเทศ (Operator) ซึ่งมักมี ขั้ น ตอนการตรวจรั บ งานและขั้ น ตอนการจั ด ท� ำ เอกสาร หลายขั้นตอน ส่งผลให้กลุ่มบริษัทมีลูกหนี้ค่าก่อสร้างตาม สัญญาที่เสร็จแต่ยังไม่ได้เรียกเก็บเพิ่มสูงขึ้นมากตามปริมาณ งานบริ ก ารที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และมี ว งจรเงิ น สดที่ ย าวนานขึ้ น จาก 48.41 วันในปี 2558 เป็น 115.51 วันในปี 2559 ดังนั้น กลุ่มบริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการบริหารสภาพคล่องโดยต้อง จัดหาแหล่งเงินทุนในการประกอบธุรกิจเพิ่มเติมในระหว่าง ที่ ยั ง ไม่ ส ามารถเรี ย กเก็ บ เงิ น จากลู ก ค้ า ได้ และอาจส่ ง ผล กระทบต่ อ ความสามารถในการท� ำ ก� ำ ไรของกลุ ่ ม บริ ษั ท เนื่องจากแหล่งที่มาของเงินทุนในการประกอบธุรกิจของกลุ่ม บริษัทนั้นมาจากการกู้ยืมระยะสั้นเป็นส่วนใหญ่ ในการลดความเสี่ยงดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้พยายาม เจรจากั บ ลู ก ค้ า เพื่ อ ให้ ส ามารถก� ำ หนดขั้ น ตอนการตรวจ รับงานและจัดท�ำเอกสารให้สอดคล้องกับระยะเวลาการส่ง มอบงาน เพื่อให้กลุ่มบริษัทสามารถวางบิลเรียกเก็บเงินค่า บริการได้ตามก�ำหนด ประกอบกับการเจรจากับคูค่ า้ ทีเ่ ป็นผูข้ าย สินค้าและบริการแก่กลุ่มบริษัทเพื่อก�ำหนดระยะเวลาการจ่าย ช�ำระค่าสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับระยะเวลาทีก่ ลุม่ บริษทั จะสามารถเรี ย กช� ำ ระเงิ น จากลู ก ค้ า ให้ ม ากที่ สุ ด ส� ำ หรั บ การจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจระหว่างที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ ช� ำ ระค่ า บริ ก ารจากลู ก ค้ า นั้ น กลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ รั บ การสนั บ สนุ น วงเงิ น จากสถาบั น การเงิ น หลายแห่ ง ซึ่งสถาบันการเงินดังกล่าวต่างเข้าใจในลักษณะการประกอบ ธุรกิจของกลุม่ บริษทั เป็นอย่างดี จึงให้การสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ ง มาโดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา นอกจากนี้ ในส่วนของการ ลดผลกระทบจากความสามารถในการท�ำก�ำไรอันเนือ่ งมาจาก ต้นทุนทางการเงินนั้น ทางกลุ่มบริษัทได้มีการประมาณการ ต้นทุนทางการเงินเพื่อใช้ในการค�ำนวณราคาค่าบริการที่น�ำ เสนอให้แก่ลูกค้าแล้ว

16. ความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน

กลุ่มบริษัทมีทั้งการจัดหาสินค้ามาจากต่างประเทศ และการส่งออกสินค้าไปจ�ำหน่าย โดยในปี 2558 และปี 2559 กลุ่มบริษัทมีการน�ำเข้าสินค้าเป็นสกุลเงินต่างประเทศเท่ากับ 624.84 ล้านบาท และ 39.19 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 39.02 และร้อยละ 2.59 ของมูลค่าการจัด หาสิ น ค้ า และบริ ก ารในงบการเงิ น รวมในแต่ ล ะช่ ว งเวลา ตามล� ำ ดั บ และมี ก ารส่ ง ออกสิ น ค้ า ไปจ� ำ หน่ า ยยั ง ต่ า ง ประเทศเท่ากับ 213.17 ล้านบาท และ 76.46 ล้านบาท หรือ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 8.20 และร้อยละ 3.89 ของ รายได้จากการจ�ำหน่ายสินค้าและให้บริการในงบการเงิน รวมในแต่ละช่วงเวลา ตามล�ำดับ โดยเงินตราต่างประเทศ สกุลหลักที่ใช้ได้แก่ ดอลลาร์สหรัฐ กลุ่มบริษัทจึงมีความเสี่ยง จากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ในกรณีที่อัตราแลก เปลี่ ย นระหว่ า งสกุ ล เงิ น บาทและสกุ ล เงิ น ต่ า งประเทศ มีความผันผวนมาก จะส่งผลให้กลุ่มบริษัทได้รับผลกระทบที่ มีนยั ส�ำคัญต่อรายได้และอัตราก�ำไรของกลุม่ บริษทั เมือ่ คิดเป็น สกุลเงินบาท โดยอาจเกิดผลก�ำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลก เปลี่ยน ในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ท�ำการบันทึกบัญชี กับวันทีท่ ำ� การแลกเปลีย่ นเงินเป็นสกุลบาทมีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั ส�ำคัญ โดยในปี 2558 กลุม่ บริษทั มีขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยนเท่ากับ 17.30 ล้านบาท และปี 2559 กลุ่มบริษัทมี ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเท่ากับ 3.22 ล้านบาท ดังนั้น เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลีย่ นดังกล่าว ผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั ได้มกี าร ติดตามการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนอย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินสถานการณ์และแนวโน้มของอัตราแลกเปลี่ยน สกุลเงินต่าง ๆ และมีการลดความเสี่ยงจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลีย่ นด้วยการเปิดบัญชีเงินฝากสกุลเงินต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit Account: FCD) และกลุ่ม บริษัทมีนโยบายในการลดความเสี่ยงโดยการท�ำสัญญาซื้อ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) ซึ่งอยู่ ในดุลยพินจิ ของผูบ้ ริหารและเป็นไปตามนโยบายทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2558 ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2558 โดยกลุ่มบริษัทมีวงเงินซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วง หน้า(Forward Contract) กับสถาบันการเงินเท่ากับ 345.20 ล้ า นบาท และ 5.64 ล้ า นเหรี ย ญดอลลาร์ ส หรั ฐ อเมริ ก า ทั้งนี้ บริษัทไม่มีนโยบายในการเก็งก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน แต่อย่างใด

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


55

ภาวะอุตสาหกรรมและทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ ปั จ จุ บั น แนวโน้ ม แห่ ง การเปลี่ ย นแปลงในระบบ เศรษฐกิจสังคม ก�ำลังถูกขับเคลือ่ นไปอย่างรวดเร็วด้วยดิจติ อล เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารทัง้ หลาย ไม่วา่ จะเป็นเชิงวิชาการหรือ กิจกรรมบันเทิงก�ำลังถูกกวาดเข้าสูร่ ะบบ online ภาคส่วนธุรกิจ ทีต่ งั้ อยูบ่ นแนวคิดแบบ Offline แล้วไม่สามารถปรับตัวได้ทนั จึง จ�ำต้องปิดตัวเองลงในท้ายทีส่ ดุ ข้อมูล ข่าวสารและสือ่ บันเทิงทัง้ หลายได้ถูกแลกเปลี่ยนแบ่งปันอยู่ตลอดเวลา ปริมาณข้อมูลที่ ถูกถ่ายโอนมีปริมาณเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ตามพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค และแนวโน้มทีเ่ พิม่ ขึน้ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ติ อลเข้า กับชีวิตประจ�ำวัน ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น ได้อย่างสะดวกรวดเร็วและต้นทุนต�่ำ การแข่งขันทางธุรกิจใน ปัจจุบนั ไม่ได้ถกู ตีกรอบตามเขตภูมศิ าสตร์เหมือนอย่างในอดีต อีกต่อไป ได้ถูกเปิดกว้างควบรวมกลายเป็นตลาดเดียวทั้งโลก แนวโน้มการแข่งขันจึงเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ การเชื่ อ มโยงถ่ า ยโอนแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ข่ า วสาร ทั้งหลายผ่านระบบ Online Internet ดังกล่าวนั้น จ�ำเป็น ต้ อ งท� ำ ผ่ า นเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารซึ่ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ ต ้ อ ง อาศั ย โครงสร้ า งพื้นฐานทางการสื่อ สารคือ ระบบโครงข่ า ย โทรคมนาคมซึ่งต้องท�ำงานร่วมกันกับอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ และระบบปฏิบตั กิ าร รวมถึง Software และ Application ต่างๆ ของผู้ประกอบการโทรคมนาคม จึงถือได้ว่ากลุ่มบริษัทก�ำลัง ด�ำเนินธุรกิจอยู่ท่ามกลางองค์ประกอบพื้นฐานที่เป็นปัจจัย ส�ำคัญของกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจผ่านระบบดิจิตอล เทคโนโลยี ทัง้ ผลิตภัณฑ์และบริการของกลุม่ บริษทั ไม่วา่ จะเป็น • กลุ่มธุรกิจการจ�ำหน่ายสินค้าโทรคมนาคม • สายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง (Optical Fiber Cable: OFC) • สายน�ำสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ (RF Feeder Cable) • อุ ป กรณ์ แ ละระบบซอฟท์ แ วร์ ส� ำ หรั บ ควบคุ ม อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายไร้สาย (Wi-Fi ) • เสาอากาศรับสัญญาณ (Antenna) โดยเป็นการ ผลิตสินค้าแบบสั่งท�ำ หรือออกแบบตามความ ต้องการของลูกค้า เช่น อุปกรณ์กรองและรวม สัญญาณ • ตู้โทรคมนาคมและสถานีโทรคมนาคมเคลื่อนที่ • กลุ่มธุรกิจให้บริการงานสร้างและติดตั้งระบบ โทรคมนาคม • ให้ บ ริ ก ารสร้ า งสถานี ฐ านและติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ โทรคมนาคม โดยครอบคลุมตั้งแต่การส�ำรวจ, ออกแบบ, ก่ อ สร้ า ง รวมถึ ง การบ� ำ รุ ง รั ก ษา ในงานวางสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง, ติดตัง้ อุปกรณ์ โทรคมนาคม

• ให้บริการด้านวิศวกรรมงานระบบต่างๆ ส�ำหรับ อาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า, ระบบปรับอากาศ, ระบบ ป้องกันอัคคีภัยให้บริการสร้างสถานีฐานและ ติดตั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม • กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น โทรคมนาคมเพื่อให้เช่า • พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นโทรคมนาคม (Telecommunication Infrastructure) เพื่อให้เช่า ซึ่ ง ได้ แ ก่ โครงข่ า ยเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำ แสงและ อุปกรณ์ตอ่ เชือ่ ม รวมถึงการสร้างเสาโทรคมนาคม เพื่ อ ให้ เ ช่ า โดยมุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาโครงข่ า ยใน พื้ น ที่ เ ฉพาะที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทย • พัฒนาโครงข่ายหลักบนเส้นทางรถไฟทั่วประเทศ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากรโครงข่าย ร่วมกัน รวมถึงการเชื่อมต่อสู่ประเทศเพื่อนบ้าน จากวิสัยทัศน์และพันธกิจของกลุ่มบริษัทที่มุ่งเน้นการ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและสนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากร โครงข่ายร่วมกันระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจโทรคมนาคม อีกทัง้ เน้นการร่วมมือระหว่างผูป้ ระกอบการด้วยกันในลักษณะ พันธมิตรเพื่อเกื้อหนุนและต่อยอดธุรกิจนั้น มีความสอดคล้อง อย่างยิ่งกับแผนพัฒนาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของ รัฐบาล ซึ่งมียุทธศาสตร์แรกคือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ดิ จิ ต อลให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ให้ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ อันประกอบด้วยแผนงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 4 ด้าน คือ 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ มีความทันสมัย มีเสถียรภาพ ตอบ สนองความต้องการใช้งานของทุกภาคส่วน ในราคาที่เหมาะ สมและเป็นธรรม 2. ผลักดันให้ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในศูนย์กลางการเชือ่ ม ต่อและแลกเปลีย่ นข้อมูลของอาเซียน โดยเป็นเส้นทางผ่านการ จราจรของข้อมูลในภูมิภาค และเป็นที่ตั้งของผู้ประกอบการ เนื้อหารายใหญ่ของโลก 3. จัดให้มีนโยบายและแผนบริหารจัดการโครงสร้าง พื้นฐาน คลื่นความถี่ และการหลอมรวมของเทคโนโลยีใน อนาคต เพื่ อ ให้ เ กิ ด การใช้ ท รั พ ยากรของประเทศอย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด 4. ปรั บ รั ฐ วิ ส าหกิ จ โทรคมนาคมให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ แ ละความก้ า วหน้ า ของอุ ต สาหกรรมดิ จิ ต อล เพื่อให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในปี 2560 นี้ กลุ่มบริษัทยินดีและพร้อมที่จะร่วมเป็น ส่วนหนึ่งของกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจผ่านยุทธศาสตร์

รายงานประจำ�ปี 2559


56

ทั้ ง 4 ด้ า นของรั ฐ บาล ทั้ ง การส่ ง เสริ ม ให้ ทั่ ว ทุ ก หมู ่ บ ้ า น เข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเชือ่ มต่อประเทศไทยเข้ากับ ภูมิภาคด้วยโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคม การสนับสนุน ให้เกิดการใช้โครงข่ายร่วมกันเพือ่ ความประหยัดในการด�ำเนิน งานของผู้ประกอบธุรกิจโทรคมนาคม รวมถึงการเป็นพันธมิตร กับรัฐวิสาหกิจโทรคมนาคมของรัฐเพื่อการใช้ทรัพยากรให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน พร้อมกับการเติบโตที่ยั่งยืน ของกลุ่มบริษัท จากการประสบการณ์การด�ำเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั ตลอด 15 ปีที่ผ่านมา ได้ตระหนักดีว่าความเสี่ยงประการหนึ่ง คือความเปลี่ยนแปลงผันผวนของรายได้และผลก�ำไร อันเกิด จากรายได้ในการขายสินค้าและบริการจะขึ้นอยู่กับแผนการ ลงทุนของกลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคมและ ความสามารถในการได้รับงานของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัท จึ ง ได้ ข ยายการประกอบธุ ร กิ จ สู ่ ก ารประกอบธุ ร กิ จ ให้ เ ช่ า โครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคมในพื้นที่เฉพาะที่มีความ ส�ำคัญทางเศรษฐกิจ (Strategic Location) ซึ่งจะช่วยให้กลุ่ม บริษัทมีรายได้ที่สม�่ำเสมอ (Recurring Income) ในระยะยาว และยังช่วยเพิ่มโอกาสในการขยายฐานลูกค้าใหม่ให้แก่กลุ่ม บริษทั เช่น กลุม่ ลูกค้าภาครัฐและภาคเอกชนทีม่ คี วามต้องการ ใช้ โ ครงข่ า ยสายเคเบิ ล ใยแก้ ว น� ำแสงในการรั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล โดยได้ตั้งเป้าที่จะเพิ่มสัดส่วนของก�ำไรจากรายได้กลุ่มนี้เป็น ร้อยละ 50 ของผลก�ำไรโดยรวมภายใน 5 ปี นับจากปี 2559 ซึ่ ง ในปี 2559 บริ ษั ท มี สั ด ส่ ว นก� ำ ไรจากรายได้ ป ระเภท Recurring Income แล้วในสัดส่วนร้อยละ 15 ของก�ำไรรวม และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นได้ในปีนี้และปีถัดไป

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


57

โครงสร้างผู้ถือหุ้น

รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 อันดับแรก

จ�ำนวนหุ้น (หุ้น)

ร้อยละของจ�ำนวนหุ้น

1.

บริษัท เอแอลที โฮลดิ้ง จ�ำกัด

500,000,000

50.000

2.

นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

69,650,000

6.965

3.

นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

69,650,000

6.965

4.

นายปยุต ภูวกุลวงศ์

59,700,000

5.970

5.

นางสาวณัฐวรรณ แซ่กัง

45,070,000

4.507

6.

นายพิชิต ชินวิทยากุล

12,400,000

1.240

7.

นายพีรเจต สุวรรณนภาศรี

11,825,000

1.183

8.

นายทวีศักดิ์ วีระประเสริฐ

9,000,000

0.900

9.

บริษทั กรุงไทย-แอกซ่า ประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) เคแทม โกรท โดย บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนกรุงไทย จ�ำกัด

7,973,500

0.797

นางสาวธัญญรัตน์ ชิเดนทรีย์

6,905,000

0.691

10

รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 อันดับแรกของบริษัท เอแอลที เทเลคอม จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะของบริษัทหลังหัก ทุนส�ำรองต่างๆ ทัง้ หมดแล้ว อย่างไรก็ตาม บริษทั อาจก�ำหนดให้การจ่ายเงินปันผลมีอตั ราน้อยกว่าอัตราทีก่ ำ� หนดข้างต้นได้ โดย ขึ้นอยู่กับความจ�ำเป็นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินงาน การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ของบริษทั ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั พิจารณาเห็นสมควรหรือเหมาะสม ทัง้ นี้ การด�ำเนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น ทัง้ นี้ มติของคณะกรรมการบริษทั ทีอ่ นุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผล จะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอ�ำนาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้ โดยต้องรายงานให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นรับทราบในการประชุมครั้งต่อไป บริษทั ย่อยของบริษทั มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิตามงบการเงินของบริษทั ย่อย หลังหักทุนส�ำรองต่างๆ ทั้งหมดแล้ว โดยจะพิจารณาประกอบกับกระแสเงินสด ฐานะการเงิน สภาพคล่อง และแผนการลงทุนใน แต่ละช่วงเวลาด้วย รายงานประจำ�ปี 2559


58

การกำ�กับดูแลกิจการ

นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) โดยเชือ่ มัน่ ว่าการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีแสดงถึงการมีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่ เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อันจะน�ำไปสู่การสร้างความสามารถในการ แข่งขัน การเพิ่มมูลค่า และการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงมีการก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดี ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ถือเป็นภารกิจที่บริษัทจะต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องในการ ส่งเสริมให้บริษทั มีระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และก�ำหนด ให้มกี ารทบทวนนโยบายดังกล่าวให้สอดคล้องกับแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนใน อนาคต เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวปฏิบัติที่เป็นหลักการดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทเคารพสิทธิพื้นฐานและถือปฎิบัติต่อผู้ถือหุ้น ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าผู้ถือหุ้นนั้นจะเป็นรายย่อย นักลงทุน หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและ ความเท่าเทียมกัน ดังนี้ • การได้รบั ข่าวสารข้อมูลของกิจการอย่างเพียงพอ • สิทธิในการมีสว่ นแบ่งก�ำไรของกิจการอย่างเท่าเทียม • สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น เสนอความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั และร่วมในการตัดสินใจในประเด็นทีส่ ำ� คัญ เช่น การท�ำรายการเกีย่ วโยง การท�ำรายการได้มาหรือ จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เป็นต้น • สิทธิในการส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุม • สิทธิในการแต่งตั้งคณะกรรมการเป็นรายคน 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทยึดมั่นในการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารและไม่ได้เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยและต่างชาติ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้ถือ หุน้ ส่วนน้อย เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ทุกกลุม่ คณะ กรรมการและฝ่ายบริหารได้ดำ� เนินการให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายได้รับ ข้อมูลต่างๆ อย่างเท่าเทียม การประชุมผู้ถือหุ้นถือเป็นส่วนส�ำคัญหนึ่งของการ สื่อสารกับผู้ถือหุ้น บริษัทจึงได้จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นการประชุมสามัญประจ�ำปี 1 ครัง้ ภายใน 4 เดือน นับแต่วนั

สิน้ สุดรอบปีบญ ั ชีของบริษทั และอาจเรียกประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุ้นเป็นกรณีไป หากมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็น กรณีพเิ ศษ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีก่ ระทบต่อผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ หรือ เกีย่ วกับข้อบังคับของกฎหมาย บริษทั จะส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมแนบเอกสารการประชุม ก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่าระยะ เวลาที่กฎหมายก�ำหนด และเปิดเผยไว้ในเว็ปไซต์ของบริษัท และยังเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุม บริษัทยังส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกรายเข้าร่วมประชุมผู้ ถือหุน้ และใช้สทิ ธิการแต่งตัง้ กรรมการเป็นรายคน หากผูถ้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะ ให้ออกเสียงแทนผูถ้ อื หุน้ ได้ ภายหลังการประชุมบริษทั ก�ำหนด ให้จดั ท�ำรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้แล้วเสร็จภายใน 14 วัน และเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท นอกจากทีก่ ำ� หนดข้างต้น บริษทั จะด�ำเนินการให้เป็น ไปตามกฎหมาย กฏระเบียบ ข้อบังคับ ข้อก�ำหนดใดๆ ทีม่ อี ยูใ่ น ปัจจุบนั ในกรณีทมี่ กี ารแก้ไข เปลีย่ นแปลง เพิม่ เติม ข้อก�ำหนด กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักเกณฑ์ วิธปี ฎิบตั ิ ในประกาศ ค�ำสั่ง หรือโดยวิธีการอื่นใดของหน่วยงานที่ก�ำกับ ดูแลตามกฎหมาย บริษัทจะปฎิบัติให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด ของกฎหมายที่จะมีการแก้ไขในอนาคต 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทยึดถือหลักการทั่วไปในการปฏิบัติอย่างเท่า เทียมกันต่อผู้มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า หุ้นส่วนธุรกิจ เจ้าหนี้ และคู่แข่ง รวมถึงสาธารณชนและ สังคมโดยรวม ทัง้ นี้ เพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรมและความโปร่งใส บริษทั จึงก�ำหนดนโยบายให้มกี ารปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียแต่ละ กลุ่มโดยค�ำนึงถึงสิทธิผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวทั้งตามกฎหมาย หรือตามข้อตกลงที่มีกับบริษัทดังต่อไปนี้ ผู้ถือหุ้น บริษัทมุ่งเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้น เพื่อสร้างผล ตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงการเจริญเติบโตของบริษัท อย่างยัง่ ยืน และด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส รวมถึงเปิดเผยข้อมูล อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และสม�่ำเสมอ ลูกค้า บริษัทมีความมุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับ ลูกค้า โดยการผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพ ในระดับ ราคาที่เหมาะสม และยุติธรรม รวมทั้งการสร้างความพึงพอใจ ในการบริการหลังการขายตามมาตรฐานขั้นสูง และคงไว้ซึ่ง ความลับของลูกค้า พนักงาน พนักงานถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าขององค์กร และ

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


59

มีความส�ำคัญต่อการเติบโตของบริษัท บริษัทจึงมุ่งเน้นสร้าง สภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ดี และให้ความส�ำคัญในเรื่อง ของสุขภาพและความปลอดภัยสูงสุด รวมทั้งให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และศักยภาพของ พนักงานบริษทั เพือ่ สร้างแรงจูงใจให้พนักงานทีม่ คี วามรูค้ วาม สามารถสูงให้คงอยู่เพื่อพัฒนาองค์กรต่อไป คู่ค้า,หุ้นส่วนธุรกิจและเจ้าหนี้ บริษทั มุง่ เน้นสร้างความสัมพันธ์ทชี่ ดั เจนและยัง่ ยืนกับ คู่ค้า หุ้นส่วนธุรกิจและเจ้าหนี้ ให้อยู่บนพื้นฐานของความไว้ใจ ซึ่งกันและกัน พร้อมทั้งปฎิบัติต่อคู่ค้า และหุ้นส่วนธุรกิจอย่าง เป็นธรรม และปฎิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาอย่างเคร่งครัด ตลอดจนให้ขอ้ มูลทางการเงินทีค่ รบถ้วนและถูกต้องแก่เจ้าหนี้ ของบริษัท คู่แข่ง บริษทั ส่งเสริมนโยบายการปฎิบตั ติ อ่ คูแ่ ข่งของบริษทั ตามกรอบการแข่งขันอย่างยุติธรรม และมีจริยธรรม และ ประกอบธุรกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและความก้าวหน้า ของตลาด สาธารณชน บริษัทมีความตระหนัก ใส่ใจ และให้ความส�ำคัญต่อสังคม สิ่ง แวดล้อม และคุณภาพชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนิน งานของบริษัท หน่วยงานรัฐทีก่ ำ� กับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั บริษทั ตระหนักถึงกฎหมาย และกฎระเบียบทีอ่ อกโดย หน่วยงานของรัฐ จึงมีความมุง่ มัน่ ปฎิบตั ติ ามเจตนารมณ์อย่าง เคร่งครัด 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลอย่าง ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น โปร่ ง ใส และได้ ม าตรฐานตามเกณฑ์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด ทัง้ ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทีม่ ใิ ช่ขอ้ มูลทางการเงิน รวมถึงข้อมูลทีส่ ำ� คัญทีม่ ผี ล ต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั และมีผลกระทบต่อกระบวนการ ตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท บริษัทจึงมี นโยบายในการเปิดเผยข้อมูล ดังนี้ • หลักการเปิดเผยข้อมูล บริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเปิด เผยข้อมูลที่ส�ำคัญเกี่ยวกับบริษัทให้กับผู้ถือหุ้นและนักลงทุน อย่างถูกต้อง โปร่งใส และทันเวลา โดยบริษทั ตระหนักถึงความ รับผิดชอบต่อรายงานงบการเงินที่มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นจริง และสมเหตุสมผล • ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ /นักลงทุน บริษทั ได้ตระหนัก ถึงความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้นและนักลงทุน โดยจัดให้หน่วย

งานท�ำหน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารกับนักลงทุนหรือ ผู้ถือหุ้น ทั้งนักลงทุนสถาบันและผู้ถือหุ้นรายย่อย และได้ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ในเว็บไซต์ของบริษัท • ข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการ บริษัทจะเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับกรรมการแต่ละท่าน จ�ำนวนครั้งเข้าร่วมประชุม ตลอด จนบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และคณะ กรรมการชุดย่อย ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท • การรายงานทางการเงิน บริษัทให้ความส�ำคัญต่อ รายงานทางการเงิน เพือ่ ให้แสดงถึงสถานะทางการเงินและผล ประกอบการที่แท้จริงของบริษัทโดยอยู่บนพื้นฐานของข้อมูล ทางบัญชีที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ ตามมาตรฐานการ บัญชีซงึ่ เป็นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป ซึง่ บริษทั จะดูแลให้มกี ารเปิดเผย ค่าสอบบัญชี และค่าบริการอื่นที่ผู้สอบบัญชีให้บริการไว้ด้วย • ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง บริษัทจะเปิดเผยค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารระดับ สูงในรายงานประจ�ำปีของบริษัท และเปิดเผยนโยบายการ จ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงทีส่ ะท้อนถึง ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคน รวมทั้งรูปแบบ หรือลักษณะของค่าตอบแทนด้วย 5. การใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายการห้ามใช้ข้อมูลภายในของบริษัท ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ ส่วนตนดังนี้ • ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหาร เกี่ยวกับหน้าที่ ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนด โทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) รวม ทัง้ การรายงานการได้มาหรือจ�ำหน่ายหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 246 และบท ก�ำหนดโทษ ตามมาตรา 298 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) • ให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัท รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จัดท�ำและเปิดเผยรายงานการ ถือครองหลักทรัพย์และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครอง หลักทรัพย์ของบริษัทต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนด โทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ

รายงานประจำ�ปี 2559


60

ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่บริษัทในวันเดียวกับวันที่ ส่งรายงานต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ • กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้างของบริษัท และบริษัทย่อย ที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่ ง มี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงราคาหลั ก ทรั พ ย์ ต ้ อ งใช้ ค วาม ระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 30 วัน ก่อนทีง่ บการเงินหรือข้อมูลภายในนัน้ จะเปิดเผยต่อสาธารณชน และในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมงภายหลังจากที่ข้อมูลภายใน ของบริษทั ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับข้อมูล ภายในต้องไม่เปิดเผยข้อมูลนัน้ ให้ผอู้ นื่ ทราบจนกว่าจะได้มกี าร แจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ • ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้าง ของบริษัท ใช้ข้อมูลภายในของบริษัท ที่มีหรืออาจมีผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ของบริษัท ซึ่งยังมิได้ เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งตนได้ล่วงรู้มาด้วยต�ำแหน่งหรือ ฐานะ มาใช้เพือ่ การซือ้ หรือขายหรือเสนอซือ้ หรือเสนอขาย หรือ ชักชวนให้บุคคลอื่นซื้อหรือขาย หรือเสนอซื้อ หรือเสนอขายซึ่ง หุ้นหรือหลักทรัพย์อ่ืน (ถ้ามี) ของบริษัท ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือ ทางอ้อม และไม่ว่าการกระท�ำดังกล่าวจะท�ำเพื่อประโยชน์ต่อ ตนเองหรือผู้อื่น หรือน�ำข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้ อื่นกระท�ำดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ ก็ตาม 6. การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า ในกรณีที่บริษัทมีการลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทจะ ควบคุมดูแลโดยส่งตัวแทนของบริษัทเข้าเป็นกรรมการและ กรรมการผู้จัดการในบริษัทย่อย โดยมีจ�ำนวนกรรมการที่เป็น ตัวแทนในบริษัทย่อยตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ทั้งนี้ กรรมการและกรรมการผู้จัดการในบริษัทย่อยดังกล่าว ต้องได้ รับการอนุมัติแต่งตั้งจากคณะกรรมการของบริษัท และหาก บริษัทย่อยมีการด�ำเนินธุรกิจที่กระทบต่อบริษัทอย่างมีนัย ส�ำคัญ บริษทั ได้กำ� หนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิด ชอบของกรรมการและผูบ้ ริหารทีเ่ ป็นตัวแทนของบริษทั เพือ่ เป็น แนวทางในการบริหารงาน รวมถึงก�ำหนดเรื่องที่ต้องขออนุมัติ จากคณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการของบริษทั ก่อนท�ำ รายการ เช่น การอนุมัติงบประมาณประจ�ำปีและงบประมาณ โครงการลงทุ น ในสิ น ทรั พ ย์ ถ าวรประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ย่ อ ย, การเพิม่ ทุน และการลดทุน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั ได้กำ� หนด ให้กรรมการทีเ่ ป็นตัวแทนจากบริษทั นัน้ ต้องดูแลให้บริษทั ย่อย มีนโยบายในการท�ำรายการเกี่ยวโยง การได้มาหรือจ�ำหน่าย ไปซึ่งสินทรัพย์ หรือการท�ำรายการส�ำคัญอื่นใดของบริษัท ดังกล่าวให้ครบถ้วนถูกต้อง และใช้หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ

การเปิดเผยข้อมูลในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริษัท รวมถึงก�ำกับดูแลให้มีการจัดเก็บข้อมูล และการบันทึกบัญชี ของบริษัทย่อยให้บริษัทสามารถตรวจสอบ และรวบรวมจัดท�ำ งบการเงินรวมได้ทันก�ำหนด ในส่วนของบริษัทร่วม บริษัทส่งตัวแทนของบริษัท เข้าไปเป็นกรรมการในบริษัทนั้นๆ ตามสัดส่วนการถือหุ้นของ บริษัท ส�ำหรับกิจการร่วมค้า การส่งตัวแทนเข้าไปควบคุม ดูแลบริหารจัดการจะขึ้นอยู่กับข้อตกลงที่ได้ท�ำไว้กับคู่สัญญา ส�ำหรับนโยบายการลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือกิจการ ร่วมค้าในอนาคต บริษัทจะพิจารณาลงทุนในธุรกิจที่เกื้อหนุน และเอื้อประโยชน์ต่อการท�ำธุรกิจของบริษัทหรือเป็นธุรกิจซึ่ง อยู่ในอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มเจริญเติบโตหรือเป็นธุรกิจที่ บริษัทมีความถนัดและช�ำนาญ นอกจากนั้น จะค�ำนึงถึงอัตรา ผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนเป็นส�ำคัญ 7. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทให้เป็นไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท และมติที่ประชุมผู้ ถือหุน้ โดยปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในระยะ สั้นและระยะยาว คณะกรรมการบริษัทจะก�ำกับดูแลให้มีการก�ำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบาย ทิศทางการด�ำเนินงาน แผนกลยุทธ์ แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทจะร่วมแสดงความคิดเห็น เพื่อให้ เกิดความเข้าใจในภาพรวมของธุรกิจร่วมกันก่อนทีจ่ ะพิจารณา อนุมัติ และติดตามให้มีการบริหารงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้า หมายที่วางไว้ โดยจะยึดถือแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร เพื่อให้เกิดความคล่อง ตัวและใกล้ชดิ ในการก�ำกับดูแลการบริหารงานของฝ่ายจัดการ บริษัทได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ระหว่างคณะกรรมการบริษทั กับผูบ้ ริหารอย่างชัดเจน โดยคณะ กรรมการท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแลการ ด�ำเนินงานของผู้บริหารในระดับนโยบาย ขณะที่ผู้บริหารท�ำ หน้าทีบ่ ริหารงานของบริษทั ในด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ก�ำหนด นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายให้ประธานกรรมการ บริษัทมิได้เป็นบุคคลเดียวกับผู้มีอ�ำนาจสูงสุดของฝ่ายบริหาร คือกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อแบ่งแยกอ�ำนาจหน้าที่ออกจาก

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


61

กันอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและสอบทานกัน จึง ไม่มีผู้ใดมีอ�ำนาจอย่างเบ็ดเสร็จ ประธานกรรมการไม่มีความ สัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหารของบริษัท และมีหน้าที่รับผิดชอบ เพียงการก�ำหนดนโยบายและให้ค�ำปรึกษาเท่านั้น วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ ตามข้อบังคับของบริษัทในการประชุมสามัญประจ�ำ ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวน 1 ใน 3 ของ จ�ำนวนกรรมการในขณะนั้น ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออก ให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีท่ี สองภายหลังจดทะเบียนเป็นบริษัทนั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่า ผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่ง นานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง กรรมการทีอ่ อกตามวาระ นั้นอาจถูกเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคล หนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฏหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัด ไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน บุคคล ซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ ได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติ ของคณะกรรมการ ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 8. การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริ ษั ท จั ด ให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบควบคุ ม ภายในทีค่ รอบคลุมทุกด้าน ทัง้ ด้านการเงิน และการปฏิบตั งิ าน ให้เป็นไปตามกฎหมายข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง และ จัดให้มีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียง พอในการปกป้องดูแลรักษาทรัพย์สนิ ของบริษทั อยูเ่ สมอ จัดให้ มีลำ� ดับขัน้ ของอ�ำนาจอนุมตั แิ ละความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร และพนักงานที่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลในตัว ก�ำหนด ระเบียบการปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และจัด ให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่เป็นอิสระโดยว่าจ้างหน่วย งานตรวจสอบจากภายนอกที่เป็นมืออาชีพ คอยตรวจประเมิน พร้อมทัง้ ติดตามผลอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยจะรายงานตรงต่อคณะ กรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกไตรมาส จึงมัน่ ใจได้วา่ บริษทั มีระบบควบคุมภายในที่เชื่อถือได้ตามระบบสากล

รายงานประจำ�ปี 2559


62

ความรับผิดชอบต่อสังคม กลุ่มบริษัทมีเจตนารมณ์ที่จะด�ำเนินธุรกิจด้วยความ รับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม ตลอดจนชุมชนในพืน้ ทีท่ กี่ ลุม่ เอแอลทีเข้าไปด�ำเนินธุรกิจ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และแนวคิด ดังกล่าวข้างต้น จึงได้กำ� หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมของกลุ่มบริษัทดังนี้ 1. มุง่ มัน่ พัฒนาให้ธรุ กิจเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืนควบคู่ การดูแลเอาใจใส่สงิ่ แวดล้อมและค�ำนึงถึงผลกระทบต่อชุมชน และสังคมโดยรวม 2. น�ำความรู้ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญด้าน โทรคมนาคมมาช่วยเหลือและพัฒนาสังคม โดยมุ่งเน้นการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้แนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การพึง่ พาตนเองอย่างยัง่ ยืน 3. ด�ำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม โดย มุง่ เน้นการมีสว่ นร่วมของชุมชนในพืน้ ทีแ่ ละประสานความร่วม มือกับองค์กรภาครัฐส่วนท้องถิ่น 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของบุคลากรของกลุ่ม บริษทั และปลูกฝังค่านิยมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมให้เกิด เป็นวัฒนธรรมองค์กร

เครือข่ายในการขยายผลโครงการทัง้ ในเชิงกว้างและเชิงลึกมาก ขึ้น โดยได้ด�ำเนินงานและมีกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อ สังคมในหลากหลายมิติอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ โดยสรุป กิจกรรมที่กลุ่มบริษัทได้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. โครงการบันทึกความร่วมมือ กับ มหาวิทยาลัย พระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทาง วิชาการและมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพทางด้าน ‘สาขา การสื่อสารโทรคมนาคม’ โดย ALT ได้ให้การสนับสนุนในด้าน สถานที่ อุปกรณ์ และบุคคลากรที่มีความช�ำนาญเฉพา ะใน การทดสอบวั ด ระดั บ มาตรฐานอาชี พ และคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ ร่ ว มกั บ สถาบั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ (องค์ ก ารมหาชน) และ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้จากสถาบันการ ศึกษาสูภ่ าคปฏิบตั ทิ แี่ ท้จริง และสามารถน�ำไปปรับใช้ในสถาน ประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

กลยุทธ์การด�ำเนินงาน

เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ตามแนวทางการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืน กลุ่มบริษัทได้ก�ำหนดกลยุทธ์การด�ำเนินงานด้าน CSR ดังนี้ 1. ด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ สังคม โดยเน้นโครงการทีส่ ง่ ผล ต่อการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทอย่างมีนัยส�ำคัญ 2. ครอบคลุมกิจกรรม 4 ด้าน ได้แก่ การศึกษาทีเ่ กีย่ ว โยงกับระบบโทรคมนาคม การอนุรักษ์สภาพแวดล้อมและ คุณภาพชีวิตของชุมชน เพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน 3. สร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับสถาบันการ ศึกษา และหน่วยงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและเป็นทีย่ อมรับของ สังคม 4. สร้างเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ ส�ำคัญ เช่น หน่วยงานราชการ ลูกค้า คู่ค้า และพนักงาน ใน การท�ำกิจกรรมเพื่อสังคม ซึ่ ง กลยุ ท ธ์ ก ารด� ำ เนิ น งานดั ง กล่ า วกลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ ยึดถือและใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจและการสร้าง คุณค่าเพื่อตอบแทนสังคมเสมอมา โดยเชื่อว่าการมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีของคนในสังคม จะเป็นจุดเริ่มส�ำคัญในการต่อยอด พัฒนาสังคมและชุมชนในมิติต่าง ๆ และส่งผลให้ประเทศ ชาติเกิดการพัฒนาอย่างมีศักยภาพ ในปีที่ผ่านมากลุ่มบริษัท จึงได้ด�ำเนินโครงการส�ำคัญๆ โดยอาศัยความร่วมมือของภาคี

สนับสนุนการทดสอบคุณวุฒิวิชาชีพ สาขา RBS เมื่อวันที่ 12-13 มีนาคม 2559

สนับสนุนการทดสอบคุณวุฒิวิชาชีพ สาขา Fiber เมื่อวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2559

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


63

2. โครงการแนะแนวอาชี พ และการศึ ก ษาให้ กั บ นั ก เรี ย นในชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โดยกลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ ร่ ว มมื อ กั บ ภาควิ ช าคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพือ่ เปิดโอกาสให้นกั เรียนในชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี ได้ความรูเ้ รือ่ งการศึกษาต่อในสายอาชีพโทรคมนาคม เพือ่ เป็น ข้ อ มู ล ประกอบการตั ด สิ น ใจเลื อ กเรี ย นในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น รวมทั้ ง เป็ น การเผยแพร่ ค วามรู ้ แ ละเทคโนโลยี ท างด้ า น ระบบโทรคมนาคมของกลุ่มบริษัทให้นักเรียนได้รู้จักอย่างแพร่ หลาย

4. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ การสนับสนุนให้ พนักงานมีจิตอาสาในการน�ำความรู้ความสามารถของตนมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่น โดยให้พนักงานรวมกลุ่มกันจัดท�ำ โครงการทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคมในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ทัว่ ประเทศ อาทิ โครงการ “รวมพลังท�ำดีเพื่อน้อง”โดยมีกิจกรรมการซ่อมเก้าอี้ เรียน จ�ำนวน 300 ตัว ให้กบั โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี

5. โครงการ “ผ้าป่ามหากุศล เพื่อมูลนิธิเพื่อคนพิการ โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่ เพื่อช่วยเหลือเป็นทุนการศึกษา ของเด็ ก พิ ก าร เนื่ อ งในวโรกาสคล้ า ยวั น พระราชสมภพ 3. โครงการ สหกิจศึกษา (Co-operative Education: สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี” Co-op) กลุ ่ ม บริ ษั ท ร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดท�ำโครงการ สหกิจศึกษา (Co-operative Education: Co-op) ซึ่งเป็นระบบการศึกษาที่ จั ด ให้ มี ก ารผสมผสาน ระหว่ า งการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาใน ห้องเรียนเข้ากับการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการอย่างมี หลักการ และเป็นระบบเพือ่ ให้ได้ประสบการณ์ตรง โดยก�ำหนด ให้นักศึกษาออกปฏิบัติงานในสถานประกอบการในฐานะ เสมือนหนึง่ เป็นพนักงานชัว่ คราว เต็มเวลาเป็นระยะเวลา 1 ภาค การศึกษา ซึ่งนักศึกษาจะได้มีโอกาสสร้างความเข้าใจและ 6. โครงการรวมพลั ง พนั ก งานกลุ ่ ม บริ ษั ท ท� ำ ดี คุน้ เคยกับโลกแห่งความเป็นจริงของการท�ำงานและการเรียนรู้ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ทักษะของงานอาชีพและทักษะด้านการพัฒนา เพื่ อ พ่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลร่ ว มกั น บริ จ าคโลหิ ต กั บ ตนเอง เป็นการศึกษาที่บูรณาการการเรียนรู้ในสถานศึกษากับ สภากาชาดไทย อีกหนึ่งกิจกรรมดีๆ ที่กลุ่มบริษัท ท�ำอย่างต่อ การให้ นัก ศึ ก ษาออกไปปฏิบัติงานจริงเต็ม เวลา ณ สถาน เนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ประกอบการ

รายงานประจำ�ปี 2559


64

7. โครงการมุ่งยกระดับการพัฒนาศักยภาพของเด็ก และเยาวชนโรงเรียนในถิ่นธุรกันดาร ต่าง ๆ ทั่วประเทศให้ สามารถยืนหยัดได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน ยกระดับคุณภาพ ชีวิตเยาวชน ผ่านกิจกรรมต่างๆ อาทิ สนับสนุนทุนการศึกษา สนับสนุนอุปกรณ์กีฬา สนับสนุนโครงการในการจัดท�ำสนาม BBL และสนามเด็กเล่นโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียนได้ร่วม กิจกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มพัฒนาการทางสมอง Brain Based Learning

8. โครงการสนับสนุนการสร้างห้องสมุดสารานุกรม ไทยส� ำ หรั บ เยาวชน ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในนามบริษทั กรุ ๊ ป เทค โซลู ชั่ น ส์ จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ในกลุ ่ ม เอแอลที

10. โครงการท�ำดีเพื่อพ่อ กลุ่มบริษัทเอแอลที จัดท�ำ โครงการอนุรักษ์และบ�ำรุงรักษาป่าชุมชน ภายในบริเวณเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขากระปุก-เขาเตาหม้อ ซึ่งเป็นโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ ที่มีพ้ืนที่ต่อเนื่องโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�ำริ อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2559 โดยคณะผู้บริหารและพนักงานได้ร่วมกัน ปลูกต้นจิกน�้ำและใส่ปุ๋ยบ�ำรุงรักษาต้นไม้ภายในบริเวณพื้นที่ โครงการ พร้ อ มทั้ ง มอบชุ ด เก้ า อี้ หิ น อ่ อ นส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น ที่ นั่ ง พั ก ผ่ อ นส� ำ หรั บ ผู ้ เ ข้ า เยี่ ย มชมโครงการซึ่ ง เป็ น “เส้นทางศึกษาธรรมชาติเรียนรู้ตามแนวพระราชด�ำริเฉลิม พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9”

9. โครงการสนับสนุนข้าวชาวนาไทย จากสถานการณ์ ปัจจุบันที่ข้าวเปลือกราคาตกต�่ำ และมีปริมาณข้าวเปลือกชุด ใหม่ออกสู่ตลาดภายในเวลาเดียวกันจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ ชาวนาไทยทัว่ ประเทศประสบปัญหาเดือดร้อน ซึง่ รัฐบาลก�ำลัง เร่งแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างเร่งด่วนนั้น กลุ่มบริษัท พร้อมเป็น ส่วนหนึ่งในการสนับสนุนนโยบายภาครัฐช่วยบรรเทาความ เดือดร้อนของเกษตรกรชาวนาไทย โดยมีนโยบายรับซื้อข้าว ชาวนาไทยเพื่อบรรจุถุงเป็นชุดของขวัญปีใหม่ส�ำหรับเทศกาล ปีใหม่ 2560 ซึ่งบริษัทได้จัดชุดของขวัญเป็นกระเช้าข้าว โดย ภายในชุดของขวัญบรรจุดว้ ยข้าวชนิดต่างๆ เช่น ข้าวกล้องหอม มะลิออแกนิก ข้าวกล้องไรซ์เบอร์รี่ออแกนิก ข้าวหอมมะลิ เป็นต้น เพื่อส่งมอบสิ่งที่ดีมีคุณค่าต่อชีวิตและสุขภาพให้แก่ ลูกค้า คู่ค้า และพนักงานของบริษัทด้วยความห่วงใย บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


65

รายการระหว่างกัน บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารตกลงเข้าท�ำรายการกับ บุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการตามธุรกิจปกติ ของบริษัทและบริษัทย่อย และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทัว่ ไป เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2551) มาตรา 89/12 (1) บริ ษั ท ได้ มี ก ารก� ำ หนดมาตรการและขั้ น ตอนการ อนุ มั ติ ร ายการระหว่างกันแล้วซึ่งได้ผ ่านมติที่ประชุ มคณะ กรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2558 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2558 โดยหากบริษทั มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องท�ำรายการระหว่างกันกับ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีส่วนได้เสีย บริษัทจะให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยว กับความจ�ำเป็นและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณา รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการ ระหว่างกันดังกล่าว เพือ่ น�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะ กรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ บริษัทที่เกี่ยวข้อง / ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

ผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี ซึง่ ผูท้ อี่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีสว่ นได้เสียในการท�ำรายการ จะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในการ อนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันดังกล่าว นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังท�ำหน้าทีเ่ ป็น ผูส้ อบทานการท�ำรายการระหว่างกันของบริษทั และบริษทั ย่อย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันเป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพื่อขจัดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ โดยยึดถือประโยชน์ ของบริษัทโดยรวมเป็นส�ำคัญ ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้น สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริษัทและบริษัท ย่อยมีรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยผู้ตรวจสอบบัญชี ของบริษทั ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีต่ รวจ สอบและคณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าทีส่ อบทานแล้ว และ มีความเห็นว่ารายการระหว่างกันทุกรายการเป็นการท�ำรายการ อย่างสมเหตุสมผลและเป็นไปในทางการค้าปกติ โดยบริษทั ได้ คิดราคาซือ้ -ขายสินค้า และบริการกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันด้วย ราคาที่สมเหตุสมผล โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจโดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้

งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม

2559 (บาท)

2558 (บาท)

2559 (บาท)

2558 (บาท)

1. บริษทั เอแอลที โฮลดิง้ จ�ำกัด

เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ในสัดส่วนร้อยละ 50 และมี กรรมการร่วมกันคือ 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ 3. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

บริษัทได้กู้ยืมเงินจาก บริษัทใหญ่เพื่อใช้ในการ ด�ำเนินการของบริษัท ซื้อสินค้าและบริการ ดอกเบี้ยจ่าย เงินปันผลจ่าย

102,890 107,000,000

81,027 -

90,425 107,000,000

81,027 -

บริษัทจ่ายช�ำระดอกเบี้ยและ เงินกู้ยืมให้กับบริษัทใหญ่

2. บริษัท อินฟอร์เมชั่น ไฮเวย์ จ�ำกัด (“IH”) (“กิจการร่วมค้า”)

บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 71 และมีกรรมการร่วมกันคือ 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ 3. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

บริษัทและบริษัทย่อยให้ บริการก่อสร้าง สินทรัพย์แก่กิจการ ร่วมค้า พร้อมทั้งขาย อุปกรณ์โทรคมนาคม ขายสินค้าและบริการ

รายได้จากการขายสินค้า 68,032,826 139,789,745 50,955,949 121,685,346 และให้บริการ

รายงานประจำ�ปี 2559

บริษัทและบริษัทย่อยได้ขาย สินค้าและให้บริการแก่ IH ใน อัตราเดียวกัน กับลูกค้าทั่วไป ในลักษณะงานที่คล้ายคลึงกัน


66

บริษัทที่เกี่ยวข้อง / ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

7,574,604

7,263,666

7,574,604

7,263,666

1,042,572 รายได้ค่าเช่าและ ค่าส่วนกลาง

369,357

1,042,572

369,357

287,651

360,124

224,812

227,475

13,621,193

2,292,225

8,031,664

1,213,678

(บาท)

รายได้ค่าบริหารจัดการ

รายได้อื่น ดอกเบีย้ รับ

ลูกหนี้อื่น ซื้อสินค้าและบริการ ดอกเบี้ยจ่าย

บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99 และมีกรรมการร่วมกันคือ 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ 3. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล

(บาท)

(บาท)

317,000,000 40,000,000 317,000,000 40,000,000

เงินให้กู้ยืม ลูกหนี้การค้า

3. บริษัท กรุ๊ป เทค โซลูชั่นส์ จ�ำกัด (“GTS”) (“บริษัทย่อย”)

(บาท)

6,476,021

1,131,684

5,842,175

1,784,912

957,698

900,912

-

317,162

-

IH ได้เช่าพื้นที่ส�ำนักงานบาง ส่วนของบริษัทตามอัตราค่าเช่า ส�ำนักงานที่ใกล้เคียงกัน

บริษัทและบริษัทย่อย ได้ให้ IH กู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการด�ำเนิน โครงการ

957,698

317,162

บริษัทย่อยให้บริการ ก่อสร้างโครงข่ายฯ และอุปกรณ์สถานีฐาน แก่บริษัท และ บริษัทฯ ได้ขายสินค้า ประเภทตู้ และ อุปกรณ์โทรคมนาคมให้ กับบริษัทย่อย

ขายสินค้าและบริการ รายได้จากการขายสินค้า และให้บริการ

-

-

รายได้ค่าบริหารจัดการ

-

-

5,321,304

4,380,177

รายได้ค่าเช่าและ ค่าส่วนกลาง

-

-

4,753,716

3,820,818

รายได้อื่น

-

-

93,406

185,833

เงินปันผลรับ

-

-

ดอกเบี้ยรับ

-

-

578,400 10,263,400

บริษัทขายตู้และอุปกรณ์ โทรคมนาคมให้กับบริษัทย่อย ในอัตราใกล้เคียง กับลูกค้า ทั่วไป บริษัทย่อยได้เช่าพื้นที่ส�ำนักงาน บางส่วนของบริษัทตามอัตราค่า เช่าส�ำนักงานที่ใกล้เคียงกัน

324,996,850 181,182,168 7,706,712

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

-

บริษัทให้บริษัทย่อยกู้ยืมเงินเพื่อ ใช้ในการด�ำเนินงานของกิจการ


67

บริษัทที่เกี่ยวข้อง / ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม

2559

2558

2559

2558

-

(บาท)

(บาท)

(บาท)

(บาท)

เงินให้กู้ยืม ลูกหนี้การค้า

-

-

305,000,000

-

-

-

ลูกหนี้อื่น

-

-

875,636

จ้างผลิตโครงข่าย

-

-

303,497,696

-

เจ้าหนี้การค้า

-

-

12,608,626

-

ดอกเบี้ยจ่าย

-

-

1,023,438

4,985,524

เงินกู้ยืม

-

-

-

-

553,478

509,166

บริษัทฯ คิดค่าบริหารจัดการกับ บริษัทย่อยตามต้นทุนที่เกิดจริง

รายได้ค่าเช่า และ ค่าส่วนกลาง

-

-

268,032

317,694

รายได้อื่น

-

-

-

60,000

บริษัทฯ ให้บริษัทย่อยเช่าพื้นที่ คลังสินค้าบางส่วนเพื่อเก็บ สินค้าคงเหลือ

เงินปันผลรับ ลูกหนี้อื่น

-

-

-

36,418,358

-

-

71,929

-

-

973,164

101,215 853,063

ซื้อสินค้าและบริการ

-

ALT hired GTS to deploy fiber-optic cable networks

81,000,000

4. บริษัท อินโนว่า เทเลคอม มิวนิเคชั่น จ�ำกัด (“INN”) (“บริษัทย่อย”)

บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ บริษทั ฯ คิดค่าบริหารงาน 99.75 และมีกรรมการร่วมกันคือ กับบริษัทย่อย 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ ขายสินค้าและบริการ 3. นางสาวปรียาพรรณ ภูวกุล รายได้ค่าบริหาร จัดการ

-

5. บริษัท ไอ ทเวนตี้ วัน อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัทฯ ซื้อเคเบิลใยแก้ว (“I21”) (“บริษัทย่อย”)

น�ำแสงจากบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ และคิดค่าบริหาร 99.99 และมีกรรมการร่วมกันคือ จัดการจากบริษัทย่อย 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ ขายสินค้าและบริการ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์ รายได้ค่าบริหารจัดการ

รายงานประจำ�ปี 2559

230,883

บริษัทฯ คิดค่าบริหารจัดการกับ บริษัทย่อยตามต้นทุนที่เกิดจริง


68

บริษัทที่เกี่ยวข้อง / ความสัมพันธ์กับบริษัท

ลักษณะรายการ

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

เหตุผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการ

มูลค่ารายการระหว่างกันส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม

2559

2558

รายได้อื่น

-

-

3,750

เงินปันผลรับ

-

-

-

15,510,321

เงินให้กู้ยืม

-

-

154,000,000

-

ดอกเบี้ยรับ ลูกหนี้อ่นื ซื้อสินค้าและบริการ

-

-

2,594,795

-

-

-

86,774

-

ซื้อสินค้า

-

-

-

247,280

ดอกเบี้ยจ่าย

-

-

-

1,173,673

บริษัทฯ กู้ยืมเงินจากบริษัทย่อย แต่ได้ช�ำระคืนหมดแล้ว

ดอกเบี้ยรับ

-

84,870

-

25,322

ดอกเบี้ยค้างรับ

10,989

10,989

10,989

10,989

บริษัทฯ ให้ TSP กู้ยืมเงินเพื่อใช้ ในการด�ำเนินการเริ่มแรก ของการจัดตั้งบริษัทในอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 6.63 ต่อปี

96,000

107,000

52,000

63,000

(บาท)

(บาท)

2559 (บาท)

2558 (บาท)

84,761

ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ให้บริษัท ย่อยกู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการ ด�ำเนินกิจการ

บริษัทฯ ซื้อเคเบิ้ลใยแก้วน�ำแสง จากบริษัทย่อยในราคาที่ขายให้ กับลูกค้าทั่วไป โดยบริษัทย่อย เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายของผู้ผลิต จากต่างประเทศรายหนึ่ง

6. บริษทั เทเลคอม โซลูชนั่ ส์ โพรไวเดอร์ จ�ำกัด (“TSP”) บริษัทฯ ให้บริษัทร่วมกู้ (“บริษัทร่วม”) ยืมเงินเพื่อใช้ในการ

บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 30 และมีกรรมการร่วมกันคือ 1. นายปยุต ภูวกุลวงศ์ 2. นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

ด�ำเนินงานเริ่มแรก

ขายสินค้าและบริการ

7. บริษัท เซ็นเจอร์ จ�ำกัด

เป็นบริษัทของครอบครัว คุณเอกพล ตั้งเผ่าศักดิ์ ซึ่งเป็นคู่สมรสของ คุณปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์

คุณเอกพล ตั้งเผ่าศักดิ์ เป็นผู้ถือหุ้นของ บจก.เซ็นเจอร์ ร้อยละ 2.94 ของทุนจดทะเบียน จ�ำนวน 17.00 ล้านบาท

บริษัทเซ็นเจอร์เป็นผู้ขาย เฟอร์นิเจอร์ส�ำนักงาน ซื้อสินค้าและบริการ ซื้อสินค้า

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทฯ ซื้อเฟอร์นิเจอร์ ส�ำนักงานจากบริษัท เซ็นเจอร์ จ�ำกัด ในราคาที่ไม่แตกต่างจาก ลุกค้ารายอื่น ตามกระบวนการ จัดซื้อปกติของบริษัท


69

ALT Telecom Public Company Limited

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึง่ เป็นผูม้ คี วาม รู้ ประสบการณ์ ด้านการเงิน การบัญชี และการสอบบัญชี และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กำ�หนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบซึง่ จัดทำ�ตามแนวทางและข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) โดยมีรายชื่อดังนี้ 1. พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. รศ. สุชาติ เหล่าปรีดา กรรมการตรวจสอบ 3. รศ. ดร. พนิต ภู่จินดา กรรมการตรวจสอบ

ในรอบปีบญ ั ชี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเป็นอิสระและครบถ้วนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยได้ ประชุมร่วมกับฝ่ายบริหาร ผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายในตามวาระที่เกี่ยวข้อง จำ�นวน 5 ครั้ง ซึ่งสรุปได้ดังนี้

• พิจารณาสอบทานงบการเงินรวมของบริษทั และบริษทั ย่อยทัง้ รายไตรมาสและประจำ�ปี 2559 ฝ่ายบริหารในสายงานการ เงินและบัญชีเป็นผูม้ หี น้าทีค่ วามรับผิดชอบในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน ผูส้ อบบัญชีเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการรายงานและแสดง ความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่ารายงานทางการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นอย่างถูกต้องเป็นไป ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน • พิจารณาคัดเลือกและเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยได้เสนอ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2559 โดยได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีจากความเป็นอิสระ ความรู้ความ สามารถ และ ประสบการณ์ โดยนำ�เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ นำ�เสนอให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาอนุ มั ติ • พิจารณาการทำ�รายการทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกัน และรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ของบริษทั และบริษทั ย่อยตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ได้ดำ�เนินการตามกฎเกณฑ์และข้อกำ�หนดต่างๆ อย่างเคร่งครัด เป็นไปอย่างสมเหตุผลตามปกติของธุรกิจและเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท โดยไม่พบรายการผิดปกติที่ เป็นสาระสำ�คัญและมีการเปิดเผยข้อมูลไว้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ • ประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในตามแนวทางที่ กำ�หนดโดยสำ�นั ก งานคณะกรรมการกำ�กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และได้สอบทานความเป็นอิสระ แผนการตรวจสอบภายในประจำ�ปี ขอบเขตงานของผูต้ รวจสอบภายใน และพิจารณาผลการตรวจสอบภายในและความคืบหน้าของการดำ�เนินงานตามแผนเป็นรายไตรมาส รวมทัง้ ได้พจิ ารณาประเมิน ผลการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน ว่าเป็นไปอย่างอิสระ เพียงพอและมีประสิทธิผล • หารือ แลกเปลี่ยนความรู้อย่างต่อเนื่อง กับฝ่ายบริหารรวมทั้ง รับทราบการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น • สอบทานและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองประจำ�ปี ตามแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละกฎบัตร ซึง่ ผลของการประเมิน คณะกรรมการตรวจสอบมีการปฏิบัติงานทีมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามกฎบัตรที่กำ�หนดไว้ โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า ในปีที่ผ่านมาบริษัทมีการจัดทำ�รายงานทางการเงินและเปิดเผยข้อมูลอย่าง เพียงพอเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ตลอดจนมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล

พลเอกสิทธิศักดิ์ เทภาสิต (ประธานกรรมการตรวจสอบ) รายงานประจำ�ปี 2559


70

ALT Telecom Public Company Limited

รายงานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางพึงปฏิบตั แิ ละหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี อีกทัง้ เพือ่ ให้เป็นกลไกการผลักดันให้เกิดกระบวนการในการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นรูปธรรม โดยคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบายและแนวทางการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัท ซึ่งครอบคลุมถึงความเสี่ยง ประเภทต่างๆ ทีส่ ำ�คัญ เช่น ความเสีย่ งด้านการเงิน ความเสีย่ งด้านการลงทุน และความเสีย่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อชือ่ เสียงของกิจการ เป็นต้น เพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบ ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสีย่ ง และติดตามผลการนำ�ไป ปฏิบัติ รวมทั้งการสอบทานประสิทธิผลของกรอบการบริหารความเสี่ยงของฝ่ายบริหาร ในปี 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้มีการจัดประชุม 1 ครั้ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งในปี 2559 นั้นไม่มีการเกิดเหตุการณ์หรือความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินกิจการของบริษัท ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัท บริษทั ได้กำ�ลังเริม่ พัฒนาระบบบริหารความเสีย่ งขององค์กรให้ครอบคลุมปัจจัยเสีย่ งทุกด้าน ให้มกี ารบริหารความเสีย่ ง อย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และให้มีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญระดับองค์กรอย่าง มีประสิทธิภาพ เหมาะสม และควบคุมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

นายปยุต ภูวกุลวงศ์ (ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง)

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


71

ALT Telecom Public Company Limited

รายงานคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อส่งเสริมการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี โดยรับผิดชอบในการกำ�หนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และ กรรมการชุดย่อย รวมทั้งสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสมให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทและกำ�หนดค่าตอบแทน สำ�หรับกรรมการบริษัท ตลอดจนปฏิบัติงานด้านอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้มีการจัดประชุม 5 ครั้ง เพื่อพิจารณาเรื่องต่างๆ ซึ่งในปีนี้มี การคัดเลือกสรรหาผู้บริหารในส่วนงานต่างๆ ที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเกณฑ์คุณสมบัติที่กำ�หนดไว้ พร้อมทั้งได้กำ�หนดหลัก เกณฑ์ทเี่ หมาะสม โดยกรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะงดออกเสียงในทีป่ ระชุมในวาระทีต่ นมีสว่ นได้เสีย และได้รายงานผลการประชุม พร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาทุกครัง้ และในปีนไี้ ด้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะ กรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทนในหัวข้อต่างๆ ตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรร หาและกําหนดค่าตอบแทน โดยมีการรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ เพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุงการดําเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้การดําเนินงานของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนเป็นไปอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ โดยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการแต่ละท่านปรากฏอยู่ในหัวข้อค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูงในรายงานประจําปี 2559 ด้วย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายอย่างละเอียดครบถ้วน ด้วยความ รอบคอบ รัดกุม โปร่งใส และเป็นอิสระ ตลอดจนให้ความเห็นอย่างตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น นักลงทุนและ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย และมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เกิดความเสมอภาคและยุตธิ รรมตามหลักการกาํ กับดูแลกิจการทีด่ ี เพื่อให้บริษัทพัฒนาได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไป

รองศาสตราจารย์ สุชาติ เหล่าปรีดา (ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน)

รายงานประจำ�ปี 2559


72

ALT Telecom Public Company Limited

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี ของบริษัท งบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อยและงบการเงินเฉพาะกิจการสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จัดทำ� ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังรอบคอบ และประมาณการที่สมเหตุสมผลในการจัดทำ� รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่าง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบและให้ความเห็นจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ที่เป็นอิสระ ดังนั้นจึงสะท้อนฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่เป็นจริง โปร่งใส และสมเหตุสมผล เพื่อประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สินของบริษัท และ ป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีนัยสำ�คัญ

คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล สอบทานคุณภาพของรายงานทางการเงิน มีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล ระบบบริหารความเสีย่ ง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่างกัน และมีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าวปรากฏในรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด ในการตรวจสอบนัน้ ทางคณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสาร ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู้สอบบัญชี ได้ปรากฎในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขและแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ และสามารถสร้าง ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุผลได้วา่ งบการเงินของบริษทั เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษทั เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีความเชือ่ ถือได้ โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(นายอนันต์ วรธิติพงศ์) ประธานกรรมการบริษัท

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

(นางปรีญาภรณ์ ตั้งเผ่าศักดิ์) ประธานกรรมการบริหาร


73

บทวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน ในปี 2559 ที่ผ่านมา ธุรกิจโทรคมนาคมยังคงถูกท้าทายด้วยภาวะแห่งการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง กระแสแห่งการ ปรับเปลี่ยนของภาคธุรกิจในภาพรวมจากแนวทางด�ำเนินธุรกิจแบบดั้งเดิมสู่วิถีแห่งธุรกิจแบบออนไลน์ยังคงเดินหน้าต่อไปด้วย อัตราเร่งที่มากขึ้น รวมถึงนโยบายภาครัฐที่มุ่งส่งเสริมภาคธุรกิจให้มีการพัฒนาในลักษณะก้าวกระโดดผ่านนโยบายเศรษฐกิจ ดิจติ อล ทีเ่ ริม่ ต้นด้วยการปรับโครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคม ให้มคี วามทัว่ ถึงและเท่าเทียม การเปลีย่ นแปลงทัง้ แง่บวกและ ลบจึงเป็นสิ่งที่บริษัทฯต้องเผชิญอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ผลการด�ำเนินงาน ผลจากการปรับเปลีย่ นนโยบายการลงทุนของกลุม่ ผูป้ ระกอบการโทรคมนาคมตามภาวะการแข่งขัน ได้สง่ ผลต่อรายได้ ของบริษัทฯโดยตรง แต่ด้วยการเตรียมความพร้อมไว้ล่วงหน้า ทั้งในแง่การก�ำหนดวิสัยทัศน์และทิศทางในการขยายธุรกิจ ตลอดจนแนวทางในการบริหารจัดการให้สามารถควบคุมต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากจะช่วยบรรเทาผลกระทบ จากการหดตัวของรายได้ลงได้แล้ว ยังสามารถเพิ่มผลก�ำไรให้สูงขึ้นได้ในท้ายที่สุด โดยผลประกอบการของบริษัทฯ ตามงบการ เงินรวมส�ำหรับปี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สรุปได้ดังนี้ ล้านบาท

งบก�ำไรขาดทุน

รายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนขาย และบริการ

2559

2558 เพิ่มขึ้น(ลดลง)

1,964.67 100.00% 2,601.88 100.00%

(637.20) -24.49%

(1,423.13) -72.44% (2,037.64) -78.31%

(614.51) -30.16%

ก�ำไรขั้นต้น

541.54 27.56%

564.24 21.69%

(22.70) -4.02%

รายได้อื่น

26.20 1.33%

22.30 0.86%

3.90 17.51%

(255.74) -13.02%

(243.14) -9.34%

12.60 5.18%

ก�ำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน

3.22 0.16%

(17.30) -0.66%

20.52 118.62%

ส่วนแบ่งก�ำไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า

41.65 2.12%

(25.24) -0.97%

66.89 265.04%

ต้นทุนทางการเงิน

(36.38) -1.85%

(35.83) -1.38%

0.55 1.54%

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

320.49 16.31%

265.02 10.19%

55.47 20.93%

(ค่าใช้จ่าย)รายได้ภาษีเงินได้

(40.96) -2.08%

(57.01) -2.19%

(16.05) -28.15%

ก�ำไรส�ำหรับงวด

279.54 14.23%

208.02 7.99%

71.52 34.38%

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

รายได้หลักและก�ำไรขั้นต้น รายได้จากการขายและบริการของบริษัทฯ ในปี 2559 ลดลง 637.20 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 24.49 เมื่อเทียบกับปี 2558 แต่ก�ำไรขั้นต้นกลับลดลงเพียงร้อยละ 4.02 หรือ 22.70 ล้านบาทเท่านั้น นั่นคือ บริษัทฯ สามารถเพิ่มอัตราก�ำไรขั้นต้นได้ สูงขึ้น ด้วยมาตรการควบคุมต้นทุนโครงการที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน (Contingency expense) ในช่วงก่อสร้าง ถูกใช้จริงต�ำ่ กว่างบประมาณทีไ่ ด้ตงั้ ส�ำรองไว้ โดยทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังคงรักษาไว้ซงึ่ คุณภาพของสินค้าและบริการในระดับมาตรฐาน ตรงตามความต้องการของลูกค้า โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ ระหว่างธุรกิจบริการกับธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าได้เปลี่ยนสัดส่วนจากร้อยละ 67.1 ต่อ ร้อยละ 32.9 ในปี 2558 เป็นสัดส่วนร้อยละ 63.0 ต่อ ร้อยละ 37.0 ในปี 2559 แต่สดั ส่วนก�ำไรขัน้ ต้นระหว่างธุรกิจบริการกับธุรกิจ จ�ำหน่ายสินค้ากลับเพิ่มขึ้นจากสัดส่วนร้อยละ 71.9 ต่อ ร้อยละ 28.1 ในปี 2558 เป็นสัดส่วนร้อยละ 77.5 ต่อ ร้อยละ 22.5 ในปี 2559 โดยแต่ละกลุ่มธุรกิจมีปัจจัยเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญดังนี้ กลุ่มธุรกิจให้บริการ จากการทบทวนและปรับแผนการลงทุนของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ท�ำให้รายได้จากธุรกิจบริการในปี 2559 ลดลง 509.02 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.14 จากรายได้ 1,747.00 ล้านบาทในปี 2558 มาอยู่ที่ 1,237.98 ล้านบาทในปี 2559 ในส่วนของก�ำไรขั้นต้นกลับเพิ่มขึ้น 23.31 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.50 จากจ�ำนวน 423.98 ล้านบาทในปี 2558 มาเป็น 447.29 ล้านบาทในปี 2559 นั่นคืออัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 24.27 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 36.13 ในปี 2559 รายงานประจำ�ปี 2559


74

กลุ่มธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้า ปี 2559 บริษัทฯ มีรายได้จากกลุ่มธุรกิจจ�ำหน่ายสินค้าเท่ากับ 726.69 ล้านบาท ซึ่งลดลง 128.19 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 14.99 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้าที่ 854.88 ล้านบาท ก�ำไรขั้นต้นลดลง 36.22 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 21.82 จากจ�ำนวน 166.00 ล้านบาทในปี 2558 มาอยู่ที่ 129.78 ล้านบาทในปี 2559 โดยอัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงจากร้อยละ 19.42 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 17.86 ในปี 2559 กลุ่มธุรกิจที่มีรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) จากการให้เช่าโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคม ณ สิน้ ปี 2559 บริษทั ฯ มีการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคมเพือ่ ให้เช่ารวมทัง้ สิน้ 5 โครงการ เป็นโครงการ ที่ด�ำเนินการโดยบริษัทฯ 2 โครงการ และด�ำเนินการโดยกิจการร่วมค้า 3 โครงการ ซึ่งโครงการที่ด�ำเนินการโดยกิจการร่วมค้าได้ เริ่มมีการรับรู้รายได้ตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2558 โดยกลุ่มบริษัทได้รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไร(ขาดทุน) จากผลประกอบการของ กิจการร่วมค้าตามสัดส่วนการถือหุ้นในอัตราร้อยละ 71 ของทุนจดทะเบียน โดยแสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน ภายใต้หัวข้อ “ส่วน แบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากกิจการร่วมค้า” ซึ่งในปี 2559 บริษัทฯ ได้รับรู้ส่วนแบ่งก�ำไรจ�ำนวน 44.67 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ที่ บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจ�ำนวน 24.43 ล้านบาท ส�ำหรับโครงการที่ด�ำเนินการโดย ALT จ�ำนวน 2 โครงการนั้น ประกอบด้วย 1) โครงการในนิคมอุตสาหกรรมเหมราช • ได้หยุดรับรู้รายได้ตั้งแต่ต้นปี 2556 เนื่องจากลูกค้าไม่ช�ำระค่าบริการ ซึ่งบริษัทได้รับเงินชดเชยจากบริษัท ประกันภัย ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงภัยจากการผิดนัดช�ำระหนี้ของคู่สัญญาแล้ว ในวงเงิน ร้อยละ 90 ของยอดผิดนัดช�ำระ ส�ำหรับค่าเสียหายส่วนที่เหลือและค่าเสียโอกาสในการลงทุนบริษัทฯ ได้ยื่น ฟ้องต่อศาลปกครอง • ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ศาลปกครองกลางได้มีค�ำพิพากษาให้คู่กรณีชดใช้ค่าเสียหายจากการขาดประโยช น ์ ในการใช้โครงข่ายดังกล่าวในอัตราเดือนละ 13.50 ล้านบาท โดยเริม่ นับจากวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 (วันถัดจากวันครบ ก�ำหนดส่งมอบคืนโครงข่าย) จนกว่าโครงข่ายดังกล่าวจะถูกส่งมอบคืนแก่บริษทั ฯ โดยปัจจุบนั คูก่ รณีได้ยนื่ อุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองกลางแล้ว เนือ่ งจากคดียงั ไม่ถงึ ทีส่ ดุ ค�ำตัดสินคดีดงั กล่าวจึงยังไม่มผี ลกระทบต่อฐานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ 2) โครงการโครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงให้เช่าบนแนวเสาโทรเลขตามทางรถไฟ ซึ่งยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง เพื่อให้สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าได้เพิ่มขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ท�ำให้บริษัทฯ มีการปรับและ เพิ่มเส้นทางการวางโครงข่ายรวมถึงการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมบางส่วน เพื่อให้โครงข่ายมีความสมบูรณ์เพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะสามารถเริ่มให้บริการได้ในช่วงไตรมาสที่ 3 ปี 2560 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ปี 2559 บริษัทฯมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 255.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ประมาณร้อยละ 5.18 หรือ 12.60 ล้านบาท ก�ำไรสุทธิ แม้ว่ารายได้ของบริษัทฯ จะลดลงอันเป็นผลกระทบจากการปรับแผนการลงทุนของกลุ่มลูกค้าหลัก คือ ผู้ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งเป็นปัจจัยความเสี่ยงที่บริษัทฯ มีแผนธุรกิจเพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าวไว้อยู่ก่อนแล้ว โดยก�ำหนดเป็น ยุทธศาสตร์หลักของกิจการ ที่จะมุ่งเน้นเพิ่มสัดส่วนรายได้และ/หรือผลก�ำไรของกิจการในธุรกิจที่มีรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) คือ ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านโทรคมนาคมเพื่อให้เช่า ทั้งโครงการที่ลงทุนเองโดยตรงและลงทุนผ่านบริษัท ร่วมทุนหรือกิจการร่วมค้า โดยบริษทั ฯ มีเป้าหมายทีจ่ ะเพิม่ สัดส่วนของโครงสร้างก�ำไรทีม่ าจากธุรกิจทีม่ รี ายได้ตอ่ เนือ่ ง (Recurring Income) เป็นครึ่งหนึ่งของผลก�ำไรรวมภายใน 5 ปี คือปี 2563

โครงสร้างก�ำไร

ล้านบาท

2559

2558 เพิ่ม/(ลด)

ธุรกิจขายและบริการ

273.41 97.81%

259.00 124.51%

14.41 5.57%

ธุรกิจรายได้ต่อเนื่อง

28.91 10.34%

(28.26) -13.59%

57.17 202.29%

คดีที่อยู่ในชั้นศาล

(22.78) -8.15%

(22.72) -10.92%

(0.06) -0.27%

ก�ำไรสุทธิรวม

279.54 100.00%

208.02 100.00%

71.52 34.38%

ในปี 2559 โครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อน�ำมาซึ่งรายได้และผลก�ำไรที่ต่อเนื่อง เริ่มให้ผลตอบแทนอย่างมี นั ย ส� ำ คั ญ ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯมี ก� ำ ไรสุ ท ธิ จ� ำ นวน 279.54 ล้ า นบาท อั ต ราก� ำ ไรสุ ท ธิ ที่ ร ้ อ ยละ 14.23 โดยมี ก� ำ ไรเพิ่ ม ขึ้ น 71.52 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 34.38 เทียบกับปี 2558 ทีม่ กี ำ� ไรสุทธิจำ� นวน 208.02 ล้านบาท อัตราก�ำไรสุทธิทรี่ อ้ ยละ 7.99 โดยเป็นก�ำไร บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


75

ที่เพิ่มจากธุรกิจรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) ซึ่งเป็นธุรกิจที่บริษัทฯ มุ่งเน้นและให้ความส�ำคัญจ�ำนวน 57.17 ล้านบาท ในปี 2559 บริษัทฯมีสัดส่วนก�ำไรที่มาจากธุรกิจรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) ในสัดส่วนร้อยละ 10.34 ของผลก�ำไรรวม ส่วนก�ำไรทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกจ�ำนวน 14.41 ล้านบาท เป็นส่วนของธุรกิจขายและบริการทีเ่ ป็นธุรกิจเดิมของบริษทั ฯ ในส่วนของผลขาดทุน จากคดีที่อยู่ในชั้นศาลจ�ำนวน 22.72 ล้านบาท และ 22.78 ล้านบาท ในปี 2558 และ 2559 ตามล�ำดับนั้น เป็นค่าเสื่อมราคาของ โครงข่ายทีไ่ ม่มกี ารรับรูร้ ายได้แต่ยงั คงรับรูค้ า่ ใช้จา่ ยของค่าเสือ่ มราคาอยู่ ทัง้ นีผ้ ลขาดทุนจ�ำนวนดังกล่าวจะสิน้ สุดลงเมือ่ คดีถงึ ทีส่ ดุ สถานะการเงิ น

ล้านบาท

งบแสดงสถานะการเงิน 31 ธ.ค. 59 31 ธ.ค. 58 เพิ่ม/(ลด) สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน

2,288.19 68.16%

2,012.38 80.75%

275.81 13.71%

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

1,069.14 31.84%

479.60 19.25%

589.53 122.92%

รวมสินทรัพย์

3,357.33 100.00%

2,491.99 100.00%

865.34 34.73%

หนี้สินหมุนเวียน

1,383.12 41.20%

1,876.39 75.30%

(493.27) -26.29%

หนี้สินไม่หมุนเวียน

127.99 3.81%

15.05 0.60%

112.94 750.21%

รวมหนี้สิน

1,511.11 45.01% 1,891.45 75.90%

(380.33) -20.11%

ทุนจดทะเบียน

500.00 14.89%

125.00 33.33%

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

1,010.49

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ

-

375.00 15.05% -

-

1,010.49 0.00%

องค์ประกอบอื่น

50.10 1.49%

49.38 1.98%

0.71 1.45%

ก�ำไรสะสม

285.46 8.50%

166.41 6.68%

119.06 71.55%

0.16 0.00%

9.75 0.39%

(9.58) -98.31%

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

1,846.22 54.99%

600.54 24.10%

1.245.68 207.43%

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

3,357.33 100.00%

2,491.99 100.00%

865.34 34.73%

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทมีทรัพย์สินรวมจ�ำนวน 3,357.33 ล้านบาท โดยมีทรัพย์สินรวมเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2558 จ�ำนวน 865.34 ล้านบาท หรือร้อยละ 34.73 เป็นการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนจ�ำนวน 589.53 ล้านบาท รายการหลัก ที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ได้แก่ โครงข่ายใยแก้วน�ำแสงโครงการรถไฟ เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 318.40 ล้านบาท ลูกหนี้ระยะยาวเพิ่มขึ้น 149.33 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 275.81 ล้านบาท โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสด และเงินลงทุนระยะสั้น หนี้สิน ในส่วนของหนี้สินมีลดลง 380.33 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.11 เทียบกับปีก่อนหน้า เป็นการลดลงของหนี้สินหมุนเวียน 493.27 ล้านบาท เป็นการลดลงของเจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 112.94 ล้านบาท เป็นการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ระยะยาวจากธนาคาร ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ 1,245.68 ล้านบาท โดยเป็นการเพิม่ ขึน้ ของทุนจดทะเบียนและส่วนเกินมูลค่าหุน้ จ�ำนวน 125.00 ล้านบาท และ 1,010.49 ล้านบาทตามล�ำดับ ส่วนที่เหลือเป็นการเพิ่มขึ้นของก�ำไรสะสมจากผลก�ำไรที่เกิดขึ้นในรอบปี หักด้วย เงินปันผลจ่าย ผลจากการเพิ่มทุนของบริษัทฯ โดยระดมทุนจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ท�ำให้สถานะการเงินของบริษัทฯ แข็งแกร่งขึ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนลงจาก 3.15 เท่า เหลือ 0.82 เท่า พร้อมกับอัตราส่วนสภาพคล่องที่สูงขึ้นจาก 1.07 เท่า เป็น 1.65 เท่า จากสิ้นปี 2558 เทียบกับสิ้นปี 2559 รายงานประจำ�ปี 2559


76

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผูสอบบัญชี รับอนุญาต เสนอ ผูถ ือหุน ของบริ ษทั เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมของบริ ษทั เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) และบริ ษทั ยอย (กลุมกิจการ) และงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริ ษทั แสดงฐานะการเงินรวมของกลุมกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ ผลการดํา เนิ น งานรวมและผลการดํา เนิ น งานเฉพาะกิ จ การ กระแสเงิ น สดรวมและกระแสเงิ น สดเฉพาะกิ จ การสําหรั บ ปี สิ น สุ ด วันเดียวกัน โดยถูกตองตามทีควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

งบการเงินทีตรวจสอบ ขาพเจาไ ดตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุมกิ จการและงบการเงินเฉพาะกิ จการของบริ ษทั ขางตนนี ซึ งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลียนแปลงส วนของเจาของรวมและงบแสดงการเปลียนแปลงส วนของเจาของเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงิน สดรวมและงบกระแสเงิน สดเฉพาะกิ จการสํา หรั บ ปี สิ น สุ ดวัน เดี ยวกัน และหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีทีสาํ คัญ

เกณฑ ในการแสดงความเห็น ขาพเจาไดปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวใ นส วนของความรับผิดชอบของ ผูส อบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของขาพเจา ขาพเจามีความเป็ นอิสระจากกลุมกิจการ และบริ ษทั ตามขอกําหนดจรรยาบรรณของผูป ระกอบวิชาชีพบัญชีใ นส วนที เกี ยวของกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิ จการทีกาํ หนดโดยสภาวิชาชี พบัญชีใ นพระบรมราชูปถัมภ และขาพเจาไ ดปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอืน ๆ ซึ งเป็ นไปตามขอกําหนดเหลานี ขาพเจาเชือวาหลักฐานการสอบบัญชีทีขา พเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพือใชเป็ นเกณฑใ นการแสดง ความเห็นของขาพเจา

เรื องสําคัญในการตรวจสอบ เรื อ งสําคัญ ในการตรวจสอบคื อ เรื อ งต า ง ๆ ที มีนัยสํา คัญ ที สุ ดตามดุ ล ยพิ นิ จเยียงผูป ระกอบวิช าชี พ ของขาพเจา ในการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปั จจุบนั ขาพเจาไดนาํ เรื องเหลานี มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของขาพเจา ทังนี ขาพเจาไมไ ดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรื องเหลานี

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


77

เรองสํ าคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การรั บรู รายได งานระหว างก อสร าง และประมาณการต นทุน ค างจ ายสําหรั บสัญญากอสร างระยะยาว อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ กลุมบริ ษทั มีการใหบริ การกอสรางตามสัญญากอสรางระยะยาว รายไ ด จ ากการใ ห บ ริ การดั ง กล า วสํ า หรั บ ปี สิ นสุ ดวัน ที ธั น วาคม พ ศ จํา นวน ล า นบาท คิ ด เป็ น รอยละ ของรายไดรวมของกลุมบริ ษทั กลุมบริ ษทั รับรู รายไดจากสัญญากอสรางโดยใชวธิ ีอตั ราส วน ของงานก อ สร า งที ทํ า เสร็ จ โ ดยวิ ศ วกรเป็ นผู  ก ํ า หน ด ขั น ความสํ า เร็ จของงานวัด ซึ งประเมิ น จากการสํ า รวจ อัตราส วนของงานกอสรางทีทาํ เสร็ จกับงานกอสรางทังหมด ตามสั ญ ญ าโ ดยพิ จารณ าจากการสํ า รวจทางกายภาพ โดยวิศวกรร วมกับลูกคา ขาพเจาใหความสําคัญกับเรื องนีเนืองจาก การรับรู รายไดและ ค า ใ ช จ า ยของสั ญ ญาก อ สร า งระยะยาวตามมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที 11 เรื อง สัญญากอสราง ขึนอยูกบั ดุลยพินิจ ที สํ า คั ญ ของผู บ ริ หารใ นการประมาณ อั ต ราส วนของ งาน ก อส ร า งที ทํ า เสร็ จ นอกจากนี มู ล ค าของสั ญ ญ า มี ค วามไ ม แ น นอน อั น ไ ด แ ก การเปลี ย นแปลงข อ มู ล ในสัญญาโ ดยลูกคา การเปลียนแปลงราคาของวัสดุ เป็ นตน ความไมแนนอนดังกลาวอาจส งผลกระทบทีมีสาระสําคัญตอ กําไรหรื อขาดทุนของกลุมบริ ษทั รวมถึงงานระหวางกอสราง และประมาณการตนทุนคางจายทีรับรู ระหวางปี

วิธีการปฏิบตั ิงานของขาพเจาเกียวของกับสมมติฐานทีผบู  ริ หารใช สําหรับการรับรู รายไดตามสัญญา วิธีการดังกลาวประกอบดวย •

ทดสอบการควบคุ ม ภายในเกี ย วกับ กระบวนการจัด ทํา ประมาณการตน ทุ น การก อ สร างซึ งเกี ยวขอ งกับ ตน ทุ น การกอสรางตามสัญญาทีประมาณไ ว รวมทังทดสอบการ จัดทําประมาณการโดยการสอบถามวิศวกรผู รั บ ผิดชอบ โ ครงการในรายละเอี ย ดและตรวจหลัก ฐานสนั บ สนุ น ทีเกียวของ ทดสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุมภายในของวงจร รายไดและลูกหนี และวงจรรายจายและเจาหนี สาํ หรับการ กอสราง ทํา ความเข า ใจและประเมิ น ประมาณการต น ทุ น ของ ผู บ ริ หาร โ ดยเฉพาะสมมติ ฐ านสํ า คั ญ ที เกี ย วขอ งกั บ คาตอบแทนทีจะไดรับ ผลการดําเนิ นงานในอดีตและ ผลการ ประมาณการของสัญญาทีมีลกั ษณะ และมูลคาใกลเคียงกัน ตรวจเอกสารการรั บ งานจากลู ก คา รายงานการประชุ ม ระหว า งกลุ ม บริ ษ ัท กับ ลู ก คา และผลการประเมิ น โ ดย บุ คคลภายนอกวา ขอ มูล สอดคลอ งกับ ประมาณการของ ผูบ ริ หาร ตรวจสอบข อ ความสํ า คั ญ ใ นสั ญ ญาเพื อ ประเมิ น ว า มีขอ ความที อ าจส งผลต อ ประมาณการหรื อ ไ ม อาทิ เช น ความตองการที หลากหลายของลูกคา การแบ งปั นตนทุ น ส วนเพิ ม หรื อส วนที ป ระหยัด ไ ด ความเสี ยหาย และ คาตอบแทนหากทําเสร็ จกอนหรื อหลังกําหนด สังเกตการณวธิ ีการวัดขันความสําเร็ จของงานโดยวิศวกร

จากวิ ธี ก ารปฏิ บ ัติ งานขางตน ขา พเจาพบวา การประมาณการ อัต ราส วนของงานก อ สร า งที ท ํา เสร็ จ ของผู บ ริ หารและการ พิจารณาการประมาณการผลกําไรหรื อขาดทุนทีคาดวาจะเกิดขึน ในแต ล ะโ ครงการมี ค วามสมเหตุ ส มผลและเหมาะสมกั บ สภาพแวดลอมและสถานการณ

รายงานประจำ�ปี 2559


78

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เรองสํ าคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

ความสามาร ในการเรยกรั บ ํ าระหนจากลูกหนค าง ํ า ระ นานจํานวน 37.56 ล านบาท อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ และขอ

ขาพเจาประเมินสมมติฐานของผูบ ริ หารสําหรับความสามารถใน การเรี ยกรับชําระหนีจากลูกหนีคา งชําระนานโดย

บริ ษัท มี ลู ก หนี ค งเหลื อ ณ วัน ที ธั น วาคม พ ศ ลานบาท โดยลูกหนี การคาบุคคลภายนอกที จํานวน คางชําระเกินกวา 12 เดือนไดรวมลูกหนี การคารายหนึงทีเป็ น รัฐวิสาหกิจทีเกิดจากสัญญาใชบริ การโครงขายเคเบิลใยแกว ลานบาท จากจํา นวนทังสิ น 236.42 นํา แสง จํา นวน ลานบาท คิดเป็ นรอยละ ของสิ นทรั พยรวมในงบแสดง บริ ษทั ฐานะทางการเงินรวม เมือวันที เมษายน พ ศ ไ ด รั บ ชดเชยค า เสี ยหายจากการทํ า ป ระกั น กั บ บริ ษั ท ลานบาท บริ ษ ัทจึงแสดงยอดเงิน ประกัน ภัยจํานวน ที ไ ดรั บ จากบริ ษ ัท ประกัน ภัย หัก กลบกับ ลู ก หนี ก ารคา ใน งบการเงิน เนื องจากบริ ษทั ประกันภัยไดเป็ นโจทยยืนฟองตอ รัฐวิสาหกิจดังกลาว ผูบ ริ ห ารของบริ ษ ัท ชี แ จงเหตุ ผ ลของการไ ม ตัง ค าเผื อ หนี สงสั ยจะสู ญวา เนื องจากที ป รึ ก ษากฎหมายใหความเห็ น วา คู สั ญ ญาไ ด ใ ช บ ริ การโ ครงข า ยจริ งและมี ข อ กฎหมาย สนับสนุ นคอนขางหนักแน น และมีความเห็น วามีแนวโนม ในการชนะคดีเป็ นไปไดคอนขางมาก อยางไรก็ตามผูบ ริ หาร ของบริ ษทั ไมไ ดบนั ทึกคาเผือหนี สงสัยจะสู ญสําหรับลูกหนี รายนี

• • • •

อ านและทําความเขาใจในคําพิ พ ากษาของศาลปกครอง ลงวัน ที 30 กั น ยายน พ ศ ซึ งตั ด สิ นให คู สั ญ ญา จ า ยเงิ น ชดเชยให กับ บริ ษ ัท ภายหลัง จากที สั ญ ญามี ก าร ยกเลิก โดยเงินชดเชยทีศาลปกครองตัดสิ นมีจาํ นวนสู งกวา มูลหนีจาํ นวน ลานบาท ซึงขาพเจาไดเปิ ดเผยอยูใ น หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ขอ เรื อง สิ นทรั พ ย ทีอาจจะเกิดขึน พิจารณาการบังคับใชของสัญญาทีเกียวของ ทําความเขาใจและประเมินความเห็นของทนายของบริ ษทั การตรวจสอบความเห็นทีสองจากทนายความอิสระ ประเมินความเหมาะสมของดุลพินิจของผูบ ริ หาร โดยอาศัย ประสบการณทีมีใ นธุรกิจโทรคมนาคม

จากการตรวจสอบตามวิ ธี ก ารขา งตน ขา พเจา พบวา ผูบ ริ ห าร ของบริ ษ ัท มี ห ลักฐานเพี ย งพอใหส รุ ป ไ ดวา บริ ษ ัท มี แ นวโ น ม ในการชนะคดี เป็ นไ ปไ ดคอ นขางมาก ดังนัน การประเมิน ของ ผูบ ริ หารเกียวกับการตังคาเผือหนี สงสัยจะสู ญสําหรับลูกหนี รายนี มีความเหมาะสม

ขา พเจา ให ค วามสํ า คัญ กั บ เหตุ ก ารณ นี เนื องจากมี ค วาม ไมแนนอนของคําพิพากษาของศาล

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


79

เรองสํ าคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การดอยค าของโครงข ายเคเบิลใยแกวนําแสง อางถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ บริ ษ ัทมีโ ครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงมูลคาตามบัญชี คงเหลือ ขา พเจา ประเมิน ขอ มูล ที ผูบ ริ ห ารใชใ นการจัดทําประมาณการ ณ วัน ที ธั น วาคม พ ศ จํา นวน ล า นบาท สําหรับการทดสอบการดอยคาของโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสง โ ดยโ ครงข า ยเคเบิ ล ใยแก ว นํ า แสงมู ล ค า ตามบัญ ชี จ ํา นวน โดย 221.21 ลานบาท เป็ นโครงขายทีตามสัญญาใชบริ การโครงขาย • ประเมินวิธีการทีผบู  ริ หารใชใ นการประมาณการมูลคา ) ในนิ ค ม เคเบิ ล ใยแกวนําแสงและอุ ป กรณ ป ระกอบ ( ยุติธรรมหักดวยตน ทุน ในการจําหน าย และมูล คาจาก อุตสาหกรรมเหมราชอี สเทิ รนซี บ อร ดและนิ คมอุตสาหกรรม การใช อีสเทิรนซี บอร ด (ระยอง) ที บริ ษทั ลงนามร วมกับ รัฐวิส าหกิ จ • ตรวจสอบสมมติฐานทีใ ชใ นการคํานวณมูลคายุติธรรม รายหนึ ง บริ ษทั มีหนาทีติดตังโ ครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงใน หักดวยตนทุนในการจําหน าย โ ดยอาศัยประสบการณ นิ คมอุตสาหกรรมเพือใหรัฐวิสาหกิ จเชาโ ครงขายนี จากบริ ษทั ในธุรกิจโทรคมนาคม ในอั ต ราค า เช า 13.5 ล า นบาทต อ เดื อ น เป็ นเวลา เดื อ น • ทํา ความเขา ใจและประเมิ น สมมติ ฐ านที สําคัญ เช น นั บ ตัง แต ว นั ที 27 กัน ยายน พ ศ 2554 ถึ ง วัน ที 26 กัน ยายน อัตราคิดลด จํานวนผูใ ชบริ การ อัตราการเจริ ญเติบ โ ต อยา งไ รก็ต ามรั ฐ วิส าหกิ จรายดังกล า วยังไ ม มี ก าร พศ โดยอาศัยประสบการณใ นธุรกิจโทรคมนาคม ชําระเงินใหบริ ษทั นับตังแตวนั ที 27 กันยายน พ ศ บริ ษทั • ตรวจสอบความน าเชื อ ถื อ และที ม าของเอกสาร ไ ด ท ํ า ก ารยก เลิ กสั ญ ญ ากั บ รั ฐวิ ส าหกิ จแห งนี ใ น วั น ที ประกอบขอมูลทีใ ชใ นการคํานวณ กุมภาพันธ พ ศ • ประเมินความเป็ นไดของเหตุการณทีอาจทําใหเกิดการ ผูบ ริ หารใชการคิ ดลดประมาณการกระแสเงินสดเพือหามูลคาที เปลียนแปลงของสมมติฐานและส งผลกระทบเชิ งลบ คาดว า จะไ ดรั บ คื น ของโ ครงข า ยเคเบิ ล ใยแก ว นํ า แสง ซึ ง ตอประมาณการ ขอสมมติฐานทีใ ชใ นการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดไดแก จากการตรวจสอบตามวิธีก ารขา งตน ขาพเจา พบวา ผูบ ริ ห ารมี • ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตซึ งจัดทําโดยใชขอ มูล หลัก ฐานเพี ย งพอให ส รุ ป ไ ดว า มู ล ค า ที ค าดว า จะไ ดรั บ คื น ซึ ง ภายในบริ ษทั เพือคาดการณผลการดําเนินงานในอนาคต ประมาณการดวยวิธีมูลคายุติธรรมหักดวยตนทุนในการจําหน าย • อัต ราคิ ด ลดและอัต ราการเจริ ญ เติ บ โ ตรวมถึ ง ประเมิ น และมู ลค าจากการใชสู งกวามู ลค าตามบัญชี จึ งไ ม มี ความจําเป็ น ตองตังคาเผือการดอยคาสําหรับโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงนี ความเสี ยงและปัจจัยอืนทีสงผลกระทบตอประมาณการ • สมมติ ฐานที ใ ชใ นการประเมินมูลค ายุติธรรมของสิ นทรั พย และหลักฐานทีไ ดรับจากบุคคลภายนอก จากผลการทดสอบการดอ ยค า ทั งวิธี มู ล ค ายุติ ธ รรมหั ก ดว ย ตน ทุ น ในการจําหน าย และมูล คาจากการใช ผูบ ริ หารสรุ ป วา โ ครงข า ยเคเบิ ล ใยแก ว นํ า แสงไ ม ดอ ยค า เนื อ งจากมู ล ค า ที คาดวาจะไดรับคืนของทังสองวิธีสูงกวามูลคาตามบัญชี

รายงานประจำ�ปี 2559


80

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เรองสํ าคัญในการตรวจสอบ ขา พเจา ให ค วามสํ า คั ญ กั บ เหตุ ก ารณ นี เนื องจากมี ขอ บ ง ชี ทีมูลคาทีคาดวาจะไดรับคืนของโ ครงขายเคเบิลใยแกวนําแสง จะตํากวามูลคาตามบัญชี บริ ษทั หยุดรับรู รายไดตงั แตวนั ยกเลิก สั ญ ญาแต บ ริ ษ ัท ยังคงรั บ รู  ค าเสื อ มราคาของโ ครงข ายเคเบิ ล ใยแกวนําแสงในงบการเงิน โครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงมูลคา ตามบัญ ชี จ าํ นวน 221.21 ลานบาท คิ ด เป็ นร อ ยละ 9.31 ของ สิ นทรัพยรวม

วิธีการตรวจสอบ

ข อมูลอน กรรมการเป็ นผูร ั บผิดชอบต อขอมูลอื น ขอมู ลอื นประกอบดวย ขอมูลซึ งรวมอยูใ นรายงานประจําปี แต ไ ม รวมถึ งงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผูส อบบัญชี ทีอยูใ นรายงานนัน ขาพเจาคาดวาขาพเจาจะไดรับรายงานประจําปี ภายหลังวันที ในรายงานของผูส อบบัญชีนี ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอืน และขาพเจาไมไ ดใ หความเชือมันตอขอมูลอืน ความรับผิดชอบของขาพเจาทีเกียวเนืองกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอืน มี ความขัดแยงที มี ส าระสํ าคัญกับงบการเงิ น รวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ หรื อกับ ความรู  ที ไ ดรั บจากการตรวจสอบของขาพเจา หรื อปรากฏวาขอมูลอืนมีการแสดงขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม เมือขาพเจาไดอานรายงานประจําปี หากขาพเจาสรุ ปไดวามีการแสดงขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ขาพเจาตองสื อสาร เรื องดังกลาวกับคณะกรรมการตรวจสอบ

ความรับผิดชอบของกรรมการตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหนาที รับ ผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเหลานี โ ดยถูกตองตามทีควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรั บ ผิด ชอบเกี ยวกับ การควบคุ มภายในที ก รรมการพิ จารณาวาจําเป็ น เพือ ใหส ามารถจัดทํา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการทีปราศจากการแสดงขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริ ต หรื อขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุมกิจการและบริ ษทั ใน การดํา เนิ น งานต อ เนื อ ง เปิ ดเผยเรื อ งที เกี ย วกับ การดําเนิ น งานต อ เนื อ ง (ตามความเหมาะสม) และการใชเกณฑก ารบัญ ชี สํา หรั บ การดําเนิ นงานตอเนื อง เวนแตกรรมการมีความตังใจทีจะเลิกกลุมกิ จการและบริ ษทั หรื อหยุดดําเนิ นงาน หรื อไมสามารถดําเนิ นงาน ตอเนื องตอไปได คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาทีชวยกรรมการในการสอดส องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุมกิจการและบริ ษทั

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


81

ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของขาพเจามีวตั ถุประสงคเพือใหไ ดความเชื อมันอยางสมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการโ ดยรวม ปราศจากการแสดงขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริ ตหรื อขอผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผูส อบบัญ ชี ซึ ง รวมความเห็ น ของขาพเจาอยูดว ย ความเชื อ มัน อยา งสมเหตุ ส มผลคื อ ความเชื อ มัน ในระดับสู ง แต ไ ม ไ ดเป็ น การรับประกันวาการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ที มี อ ยู ไ ดเสมอไ ป ข อ มู ล ที ขั ด ต อ ขอ เท็ จ จริ งอาจเกิ ด จากการทุ จ ริ ตหรื อข อ ผิ ด พลาด และถื อ ว า มี ส าระสํ า คั ญ เมื อ คาดการณ อยางสมเหตุสมผลไดวารายการทีขดั ตอขอเท็จจริ งแตละรายการ หรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจของผูใ ช งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาไดใ ชดุลยพินิจเยียงผูป ระกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยียง ผูป ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของขาพเจารวมถึง •

• • •

• •

ระบุและประเมินความเสี ยงจากการแสดงขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไมวาจะเกิดจากการทุจริ ตหรื อขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพือตอบสนองตอความเสี ยงเหลานัน และไ ดหลักฐานการสอบบัญชี ทีเพียงพอและเหมาะสมเพือเป็ นเกณฑใ นการแสดงความเห็น ของขาพเจา ความเสี ยงทีไ มพบ ขอมูลทีขดั ตอขอเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึ งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกวาความเสี ยงทีเกิดจากขอผิดพลาด เนื องจากการ ทุจริ ตอาจเกียวกับการสมรู รวมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตังใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลทีไ มตรงตาม ขอเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในทีเกียวของกับการตรวจสอบ เพือออกแบบวิธีการตรวจสอบทีเหมาะสมกับสถานการณ แตไ มใ ชเพือวัตถุประสงคใ นการแสดงความเห็นตอความมีประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในของกลุมกิจการและบริ ษทั ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทีกรรมการใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิ ดเผย ขอมูลทีเกียวของซึงจัดทําขึนโดยกรรมการ สรุ ปเกียวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนิ นงานตอเนื องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบ บัญชีทีไ ดรับ สรุ ปวามีความไมแนนอนทีมีสาระสําคัญทีเกียวกับเหตุการณหรื อสถานการณทีอาจเป็ นเหตุใ หเกิดขอสงสัยอยางมี นัยสําคัญ ตอ ความสามารถของกลุ มกิ จการและบริ ษ ัท ในการดําเนิ น งานต อเนื องหรื อ ไ ม ถาขาพเจาไ ดขอ สรุ ป วามีความไ ม แน นอนทีมีสาระสําคัญ ขาพเจาตองกลาวไวใ นรายงานของผูส อบบัญชีของขาพเจาถึงการเปิ ดเผยทีเกียวของในงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ หรื อถาการเปิ ดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของขาพเจาจะเปลียนแปลงไป ขอสรุ ปของขาพเจา ขึ น อยูกับ หลัก ฐานการสอบบัญ ชี ที ไ ดรับ จนถึ งวัน ที ใ นรายงานของผูส อบบัญ ชี ของขาพเจา อยางไ รก็ต าม เหตุ การณ ห รื อ สถานการณใ นอนาคตอาจเป็ นเหตุใ หกลุมกิจการและบริ ษทั ตองหยุดการดําเนินงานตอเนื อง ประเมิ น การนําเสนอ โ ครงสร างและเนื อ หาของงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จการโ ดยรวม รวมถึ งการเปิ ดเผยวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณใ นรู ปแบบทีทาํ ใหมีการนําเสนอขอมูลโดยถูกตองตามทีควร ไดรับหลักฐานการสอบบัญชีทีเหมาะสมอยางเพียงพอเกียวกับขอมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุมหรื อกิจกรรมทางธุ รกิจ ภายในกลุมกิจการเพือแสดงความเห็นตองบการเงินรวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแลและการปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบกลุมกิจการ ขาพเจาเป็ นผูร ับผิดชอบแตเพียงผูเ ดียวตอความเห็นของขาพเจา

รายงานประจำ�ปี 2559


82

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

ข้าพเจ้าได้สื�อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี�ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที�ได้วางแผนไว้ ซึ� งรวมถึงประเด็น ที� มี นัยสําคัญ ที� พ บจากการตรวจสอบและข้อ บกพร่ อ งที� มี นัยสําคัญ ในระบบการควบคุ มภายใน ถ้า หากข้า พเจ้าได้พ บในระหว่าง การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คาํ รับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดจรรยาบรรณที�เกี�ยวข้องกับความเป็ นอิสระและ ได้สื� อ สารกับ คณะกรรมการตรวจสอบเกี� ยวกับ ความสั มพัน ธ์ท� งั หมด ตลอดจนเรื� อ งอื�น ซึ� งข้าพเจ้าเชื� อ ว่ามีเหตุ ผลที� บุ คคลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที�ขา้ พเจ้าใช้เพื�อป้องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื� องที� สื� อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิ จารณาเรื� องต่ าง ๆ ที� มี นัยสําคัญที� สุ ดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบนั และกําหนดเป็ นเรื� องสําคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื� องเหล่านี�ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี�ยวกับเรื� องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที�ยากที�จะเกิดขึ�น ข้าพเจ้าพิจารณาว่า ไม่ควรสื� อสารเรื� องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทําดังกล่าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื� อสารดังกล่าว บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด

พิสิฐ ทางธนกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที� 4095 กรุ งเทพมหานคร 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


83

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หมำยเหตุ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น ลูกหนี้ ค่าก่อสร้างตามสัญญาที่ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ การค้าระยะยาวส่ วนที่ถึงกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี สิ นค้าคงเหลือ ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าที่ถึงกาหนดภายในหนึ่ งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

7 8 9 10 32

161,026,093 25,333,373 430,075,190 868,421,364 317,000,000

67,847,620 2,803,550 501,937,368 823,821,461 145,700,000

80,820,623 21,033,192 189,670,401 240,940,296 776,000,000

3,728,740 1,353,006 133,396,361 298,615,425 40,000,000

96,346,433 330,122,931 10,942,866 48,925,667

446,777,162 6,535,141 16,958,779

70,345,212 7,120,773 40,188,781

135,544,701 2,675,662 9,078,863

2,288,193,917

2,012,381,081

1,426,119,278

624,392,758

133,104,558 149,327,972 17,722,123 46,862,738 75,367,029 580,522,334 10,481,025 39,653,650 16,094,711

78,981,851 11,406,498 2,195,505 72,083,961 285,262,970 9,955,573 8,124,187 11,593,777

27,401,315 22,500,000 174,061,882 35,499,900 40,989,422 628,983,739 2,918,118 14,081,352 3,518,793

24,401,315 13,500,000 94,463,080 35,499,900 41,368,031 247,361,789 2,821,946 4,400,884 2,644,558

รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

1,069,136,140

479,604,322

949,954,521

466,461,503

รวมสิ นทรัพย์

3,357,330,057

2,491,985,403

2,376,073,799

1,090,854,261

11 12

รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้าประกัน ลูกหนี้ การค้าระยะยาว เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนาแสง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

13 14 14 14 15 16 17 18

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8 รายงานประจำ�ปี 2559


84

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หมำยเหตุ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ ำของ หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าทางการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารที่ถึงกาหนด ชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลภายนอก เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

19 20

573,448,721 651,414,878

715,073,355 1,065,752,150

543,448,721 90,043,767

347,046,891 192,933,468

19

-

46,739

-

-

98,254,000 30,689,747 29,312,715

32,500,000 7,000,000 31,025,824 24,995,433

17,363,714

32,500,000 88,000,000 17,249,677

1,383,120,061

1,876,393,501

650,856,202

677,730,036

90,334,829 16,380,748 12,637,365 8,640,000

11,155,909 3,898,337

7,092,472 12,637,365 -

4,716,344 -

127,992,942

15,054,246

19,729,837

4,716,344

1,511,113,003

1,891,447,747

670,586,039

682,446,380

19 19 19, 32 21

รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคาร ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการค่ารื้ อถอน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น

19 22

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


85

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หมำยเหตุ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ) ส่ วนของเจ้ ำของ ทุนเรื อนหุ ้น ทุนจดทะเบียน หุ ้นสามัญจานวน 1,000,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท

23

500,000,000

500,000,000

500,000,000

500,000,000

23

500,000,000 1,010,493,000

375,000,000 -

500,000,000 1,010,493,000

375,000,000 -

26

4,605,502 1,836,570

4,605,502 1,836,570

-

-

50,000,000 235,463,671 43,653,876

28,600,000 137,806,897 42,940,185

50,000,000 144,994,760 -

28,600,000 4,807,881 -

1,846,052,619 164,435

590,789,154 9,748,502

1,705,487,760 -

408,407,881 -

รวมส่ วนของเจ้ ำของ

1,846,217,054

600,537,656

1,705,487,760

408,407,881

รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ ำของ

3,357,330,057

2,491,985,403

2,376,073,799

1,090,854,261

ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ ้นสามัญจานวน 1,000,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ชาระแล้วหุ ้นละ 0.50 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : หุ ้นสามัญจานวน 750,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ชาระแล้วหุ ้นละ 0.50 บาท) ส่ วนเกินมูลค่าหุ ้นสามัญ ส่ วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน ส่ วนเกินทุนจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้าของ รวมส่ วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

24

14

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 10 รายงานประจำ�ปี 2559


86

บริ ษทั เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ สำหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

รำยได้

หมำยเหตุ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รายได้จากการให้บริ การโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนาแสง

726,694,548 1,237,979,762 -

854,881,440 1,746,995,057 -

210,854,972 196,640,347 -

263,479,355 286,701,296 -

รวมรำยได้

1,964,674,310

2,601,876,497

407,495,319

550,180,651

(596,915,655) (790,692,729) (35,526,072)

(688,884,446) (1,323,014,421) (25,741,339)

(178,471,637) (127,820,182) (35,526,072)

(205,893,164) (215,644,233) (25,741,339)

(1,423,134,456)

(2,037,640,206)

(341,817,891)

(447,278,736)

14 14 28

541,539,854 26,199,410 (91,673,374) (164,062,847) 3,221,762 (3,014,981) 44,667,233 (36,384,812)

564,236,291 22,296,383 (84,334,323) (158,804,559) (17,301,522) (807,813) (24,429,420) (35,833,330)

65,677,428 364,566,479 (49,133,406) (47,345,628) (760,697) (20,190,715)

102,901,915 257,084,769 (32,682,973) (42,587,765) 1,950,745 (24,297,110)

30

320,492,245 (40,957,119)

265,021,707 (57,005,112)

312,813,461 9,599,058

262,369,581 (6,262,803)

279,535,126

208,016,595

322,412,519

256,106,778

330,606

628,606

-

-

528,272

-

(407,050)

-

(105,654)

-

81,410

-

280,288,350

208,645,201

322,086,879

256,106,778

ต้ นทุน ต้นทุนขาย ต้นทุนจากการให้บริ การ ต้นทุนการให้บริ การโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนาแสง รวมต้ นทุน กำไรขั้นต้ น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร กาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า ต้นทุนทางการเงิน กำไรก่ อนค่ ำใช้ จ่ำยภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้(ค่าใช้จ่าย)รายได้

27

กำไรสำหรับปี กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่ น รำยกำรที่จะจัดประเภทรำยกำรใหม่ เข้ ำไปไว้ ใน กำไรหรื อขำดทุนในภำยหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ ยนจากการแปลงค่างบการเงิน 14 รำยกำรที่จะไม่ จัดประเภทรำยกำรใหม่ เข้ ำไปไว้ ใน กำไรหรื อขำดทุนในภำยหลัง ผลกาไร(ขาดทุน)จากการประมาณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย สาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน 22 ภาษีเงินได้ที่เกี่ ยวกับรายการที่จดั ประเภทรายการใหม่เข้า ไปไว้ในกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง 18 กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรั บปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 11 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


87

บริ ษทั เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ สำหรั บปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หมำยเหตุ กำรแบ่ งปั นกำไร ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

กำรแบ่ งปั นกำไรเบ็ดเสร็ จรวม ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

279,134,156 400,970

206,676,081 1,340,514

322,412,519 -

256,106,778 -

279,535,126

208,016,595

322,412,519

256,106,778

279,887,380 400,970

207,304,687 1,340,514

322,086,879 -

256,106,778 -

280,288,350

208,645,201

322,086,879

256,106,778

0.32

0.36

0.37

0.45

กำไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

31

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 12 รายงานประจำ�ปี 2559


-

-

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

500,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือสิ้นปี วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

24 25

14

-

125,000,000 -

การเพิม่ ทุน การเพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อย ลงทุนเพิ่มในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยจ่ายปั นผล จัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย เงินปั นผลจ่าย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี 1,010,493,000

1,010,493,000 -

375,000,000

ยอดยกมำต้ นปี วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559

23

-

375,000,000

24 25

26

ส่ วนเกินมูลค่ำ หุ้นสำมัญ บำท -

ทุนทีอ่ อกและ ชำระแล้ว หมำยเหตุ บำท 155,000,000 220,000,000 23 -

ยอดคงเหลือสิ้นปี วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558

ยอดยกมำต้ นปี วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 การเพิ่มทุน ลงทุนเพิ่มในบริ ษทั ย่อย การเปลี่ยนสถานะจากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยจ่ายปั นผล รับรู้การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ จาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย จัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย เงินปั นผลจ่าย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้ ำของ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

4,605,502

-

4,605,502

4,605,502

4,605,502 -

50,000,000

21,400,000 -

1,836,570

28,600,000

-

28,600,000

13,100,000 -

235,463,671

(21,400,000) (160,500,000) 279,556,774

137,806,897

137,806,897

(13,100,000) (266,577,500) 206,676,081

42,694,664

383,085 -

42,311,579

42,311,579

-

959,212

330,606

628,606

628,606

628,606

43,653,876

383,085 330,606

42,940,185

42,940,185

628,606

1,846,052,619

1,135,493,000 383,085 (160,500,000) 279,887,380

590,789,154

590,789,154

1,836,570 4,605,502 (266,577,500) 207,304,687

164,435

600 (9,982,487) (3,150) 400,970

9,748,502

9,748,502

(31,499,800) (3,895,152) (249,947) 1,340,514

องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ กำไรสะสม กำร กำไร(ขำดทุน) รวม รวม จัดสรรแล้ ว เปลี่ยนแปลง เบ็ดเสร็จอื่น องค์ประกอบอื่น ส่ วนของ ส่ วนได้เสีย ทุนสำรอง สัดส่ วน กำรแปลงค่ำ ของส่ วนของ ผู้เป็ นเจ้ ำของ ทีไ่ ม่ มี ตำมกฎหมำย ยังไม่ ได้จัดสรร ในบริษัทย่อย งบกำรเงิน เจ้ ำของ ของบริษัทใหญ่ อำนำจควบคุม บำท บำท บำท บำท บำท บำท บำท 15,500,000 210,808,316 44,347,216 44,347,216 425,655,532 6,917,361 220,000,000 - (2,035,637) (2,035,637) (2,035,637) 37,135,526

1,836,570

1,836,570

1,836,570 -

ส่ วนเกินทุน ส่ วนเกินทุน จำกกำรรวม จำกกำร ธุรกิจภำยใต้ กำร จ่ ำยโดยใช้ ควบคุมเดียวกัน หุ้นเป็ นเกณฑ์ บำท บำท -

งบกำรเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของของบริษัทใหญ่

13

1,846,217,054

1,135,493,000 600 (9,599,402) (3,150) (160,500,000) 280,288,350

600,537,656

600,537,656

(31,499,800) (3,895,152) 1,836,570 4,355,555 (266,577,500) 208,645,201

รวม ส่ วนของ เจ้ ำของ บำท 432,572,893 220,000,000 35,099,889

88


รายงานประจำ�ปี 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือสิ้นปี วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

23 24 25 500,000,000

1,010,493,000

1,010,493,000 -

375,000,000 125,000,000 -

ยอดยกมำต้ นปี วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 การเพิ่มทุน จัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย เงินปั นผลจ่าย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

-

155,000,000 220,000,000 375,000,000

23 24 25

หมำยเหตุ

ทุนทีอ่ อกและ ชำระแล้ ว บำท

50,000,000

28,600,000 21,400,000 -

28,600,000

15,500,000 13,100,000 -

144,994,760

4,807,881 (21,400,000) (160,500,000) 322,086,879

4,807,881

28,378,603 (13,100,000) (266,577,500) 256,106,778

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กำไรสะสม จัดสรรแล้ ว ส่ วนเกินมูลค่ ำ ทุนสำรอง หุ้นสำมัญ ตำมกฎหมำย ยังไม่ ได้ จัดสรร บำท บำท บำท

ยอดคงเหลือสิ้นปี วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558

ยอดยกมำต้ นปี วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 การเพิ่มทุน จัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย เงินปั นผลจ่าย กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบแสดงกำรเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ ำของ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

14

1,705,487,760

408,407,881 1,135,493,000 (160,500,000) 322,086,879

408,407,881

198,878,603 220,000,000 (266,577,500) 256,106,778

รวม ส่ วนของเจ้ ำของ บำท

89


90

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน กำไรก่อนภำษีเงินได้ รำยกำรปรับปรุ ง ค่ำเสื่ อมรำคำอำคำร และอุปกรณ์ ค่ำเสื่ อมรำคำโครงข่ำยเคเบิลใยแก้วนำแสง ค่ำตัดจำหน่ ำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ตัดจำหน่ำยค่ำเช่ำจ่ำยล่วงหน้ำ หนี้สงสัยจะสู ญ(กลับรำยกำร) (กำไร)ขำดทุนจำกกำรจำหน่ ำยอุปกรณ์ ขำดทุนจำกกำรตัดจำหน่ ำยอุปกรณ์ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ำย เงินปั นผลรับ ขำดทุนจำกกำรลดมูลค่ำสิ นค้ำคงเหลือ(กลับรำยกำร) ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน กำไรจำกกำรเปลี่ยนสถำนะจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เป็ นบริ ษทั ร่ วม กำไรจำกกำรจำหน่ ำยเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ส่ วนแบ่งขำดทุนจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่ง(กำไร)ขำดทุนจำกเงินลงทุนในกิจกำรร่ วมค้ำ กำรจ่ำยโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ กำรเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินดำเนิ นงำน - ลูกหนี้ กำรค้ำและลูกหนี้ อื่น - มูลค่ำงำนบริ กำรเสร็ จที่ยงั ไม่เรี ยกเก็บ - สิ นค้ำคงเหลือ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - ค่ำเช่ำจ่ำยล่วงหน้ำ - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้ อื่น - หนี้ สินหมุนเวียนอื่น - หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น - ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน

หมำยเหตุ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

320,492,245

265,021,707

312,813,461

262,369,581

15 27 28 14, 27 11 22

10,822,345 23,139,515 1,070,313 53,634,316 5,489,015 (647,629) (14,599,760) 36,384,812 2,709,841 5,753,111

13,183,753 22,730,629 1,094,989 3,010,710 1,845,196 2,266 6,185 (5,715,254) 35,833,330 (5,273,990) 3,426,887

1,693,713 23,139,515 448,628 6,162,338 124,671 3,454 (18,580,850) 20,190,715 (324,996,850) 1,413,485 1,969,078

1,614,008 22,730,629 416,676 (341,507) (2,718) (1,570,260) 24,297,110 (233,110,848) (8,581,815) 1,383,847

27 27 14 14 26

3,014,981 (44,667,233) -

(3,003,717) 807,813 24,429,420 1,836,570

-

(4,327,259) -

(184,162,415) (44,599,903) 113,944,390 (24,166,021) (58,042,041) (4,500,935) (414,066,781) 4,317,282 4,741,663 -

(109,546,826) (457,557,143) 115,092,118 (9,801,352) (9,545,851) (3,481,800) 178,231,577 (4,065,224) 3,525,106 (1,574,557)

42,365,326 57,675,129 63,786,004 (23,309,051) (10,607,449) (874,236) (102,042,939) 114,037 -

(62,478,581) (193,041,162) (6,948,635) (4,711,749) (2,675,662) 302,050 118,452,600 (4,019,803) (722,313)

เงินสด(ใช้ไปใน)ได้มำจำกกำรดำเนิ นงำน หัก ดอกเบี้ยจ่ำย จ่ำยภำษีเงินได้

(203,938,889) (36,604,446) (80,729,178)

60,512,542 (24,203,697) (40,403,669)

51,488,179 (22,920,995) (7,800,867)

(90,965,811) (23,671,519) (9,986,772)

เงินสดสุ ทธิ(ใช้ไปใน)ได้มำจำกกิจกำรดำเนิ นงำน

(321,272,513)

(4,094,824)

20,766,317

(124,624,102)

15 16 17 9

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบกำรเงินนี้ 15 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


91

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินสดเพิม่ ขึ้นจำกกำรจำหน่ ำยเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดลดลงจำกกำรเปลี่ยนสถำนะจำกบริ ษทั ย่อยเป็ นบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ำยเพื่อลงทุนในเงินลงทุนระยะสั้น เงินสดจ่ำยเพื่อซื้ ออำคำรและอุปกรณ์ เงินสดจ่ำยลงทุนในโครงข่ำยเคเบิลใยแก้วนำแสง เงินสดจ่ำยเพื่อซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดจ่ำยเงินฝำกสถำบันกำรเงินที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินสดจ่ำยเพื่อกำรลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ำยเพื่อกำรลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ำยเพื่อกำรลงทุนในกิจกำรร่ วมค้ำ เงินสดจ่ำยให้กยู้ มื แก่บุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจำกเงินให้กยู้ มื แก่บุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจำกกำรขำยอุปกรณ์ เงินสดรับจำกกำรขำยเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจำกกำรขำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจำกเงินปั นผลจำกบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจำกดอกเบี้ยรับ

หมำยเหตุ

8 15 17 14 14 32 32

เงินสดสุ ทธิ(ใช้ไปใน)ได้มำจำกกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกบุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกบุคคลภำยนอก เงินสดรับจำกกำรเพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสด(จ่ำยคืน)รับจำกเงินเบิกเกินบัญชีธนำคำร เงินสดรับจำกหุน้ กูร้ ะยะสั้น เงินสดรับเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน จ่ำยคืนหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกบุคคลและกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกบุคคลภำยนอก เงินสดจ่ำยคืนหุน้ กูร้ ะยะสั้น เงินสดจ่ำยคืนเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน เงินสดรับจำกกำรเพิ่มทุนหุน้ สำมัญ เงินสดจ่ำยเพื่อซื้ อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยจำกผูถ้ ือหุน้ ส่ วนน้อย เงินปั นผลจ่ำยให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม เงินปั นผลจ่ำย

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

32

32

23

25

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

(22,233,740) (14,115,355) (306,033,803) (1,595,765) (54,122,707) (9,000,000) (506,000,000) 334,700,000 657,571 19,164,847

9,482,330 (710,394) (8,658,162) (41,266,789) (1,931,689) (5,345,936) (8,500,200) (26,624,925) (136,400,000) 38,893,427 625,703 380,030 3,810,415

(19,400,000) (1,319,692) (392,396,389) (544,800) (3,000,000) (79,598,802) (9,000,000) (761,000,000) 25,000,000 1,134 224,997,750 19,535,728

(3,246,383) (3,365,608) (536,330) (54,900,400) (26,624,925) (48,000,000) 8,000,000 53,606 13,520,382 233,110,848 39,851

(558,578,952)

(176,246,190)

(996,725,071)

118,051,041

4,000,000 62,300,000 - 1,203,771,015 32,500,000 600 3,600,089 (39,443,313) 2,786,233 100,000,000 188,588,829 (46,739) (534,096) (11,000,000) (55,300,000) (101,959,887) (1,011,560,607) (32,500,000) (32,500,000) (100,000,000) (785,880) 1,135,493,000 220,000,000 (9,599,402) (3,150) (3,895,152) (160,500,000) (266,577,500)

4,000,000 238,000,950 (39,443,313) 100,000,000 (92,000,000) (32,500,000) (100,000,000) 1,135,493,000 (160,500,000)

151,000,000 664,382,851 32,500,000 (274,157) (277,310,000) (486,344,135) (32,500,000) 220,000,000 (266,577,500)

1,053,050,637

4,877,059

เงินสดสุ ทธิได้มำจำกกิจกรรมจัดหำเงิน

973,029,938

153,804,102

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบกำรเงินนี้ 16 รายงานประจำ�ปี 2559


92

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หมำยเหตุ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง)สุ ทธิ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดวันต้นปี เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดวันสิ้นปี

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท

93,178,473 67,847,620

(26,536,912) 94,384,532

77,091,883 3,728,740

(1,696,002) 5,424,742

161,026,093

67,847,620

80,820,623

3,728,740

12,365,076

-

12,365,076

-

-

12,214,311

-

13,500,000

-

8,000,000 1,349,706 14,403,371 -

99,999,100

1,349,706 7,853,454 -

รำยกำรที่ไม่ ใช่ เงินสดที่มีสำระสำคัญ ประมำณกำรรื้ อถอนโครงข่ำยเคเบิลใยแก้วนำแสง กำรเปลี่ยนสถำนะจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเป็ นเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วม เงินให้กยู้ มื เพิ่มขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลงสถำนะจำกบริ ษทั ย่อย เป็ นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน โอนสิ นทรัพย์จำกงำนระหว่ำงก่อสร้ำงเป็ นสิ นค้ำคงเหลือ เงินกูย้ มื ระยะสั้นเพิ่มขึ้นจำกดอกเบี้ยจ่ำย เงินปั นผลค้ำงรับ

16

หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เป็ นส่ วนหนึ่ งของงบกำรเงินนี้ 17 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


93

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1

ข้ อมูลทั�วไป บริ ษ ัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) (“บริ ษัท ”) เป็ นบริ ษ ัท มหาชนจํากัด และเป็ นบริ ษ ัท จดทะเบี ยนในตลาดหลักทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ซึ�งจัดตั�งขึ�นในประเทศไทยและมีที�อยูต่ ามที�ได้จดทะเบียนดังนี� 52/1 หมู่ 5 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ตําบลบางสี ทอง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เพื�อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่า “กลุ่มกิจการ” กลุ่ ม กิ จการดําเนิ น ธุ รกิ จหลัก โดยเป็ นผูจ้ าํ หน่ าย ติ ดตั�งซ่ อ มบํา รุ งและให้เช่ าโครงข่ ายสั ญ ญาณต่ างๆ รวมทั�งโครงข่ า ยสํา หรั บ โทรคมนาคม งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที�สาํ คัญซึ�งใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดงั ต่อไปนี� 2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จดั ทําขึ�นตามหลักการบัญชีที�รับรองทัว� ไปภายใต้พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2543 ซึ�งหมายถึงมาตรฐานการบัญชีที�ออกภายใต้พระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับ หลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ว่าด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 งบการเงิน รวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการได้จัดทําขึ� น โดยใช้เกณฑ์ราคาทุ นเดิ มในการวัดมูลค่ าขององค์ป ระกอบของ งบการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2559

18


94

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน (ต่อ) การจัดทํางบการเงินให้ส อดคล้องกับ หลัก การบัญชี ที�รับรองทัว� ไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชี ที� สําคัญ และการใช้ดุ ล ยพิ นิ จของผูบ้ ริ ห ารซึ� งจัดทํา ขึ� น ตามกระบวนการในการนํา นโยบายการบัญ ชี ข องกลุ่ ม กิ จการ ไปถือปฏิบตั ิ และต้องเปิ ดเผยเรื� องการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หาร หรื อความซับซ้อนหรื อเกี�ยวกับข้อสมมติฐานและประมาณการ ที�มีนยั สําคัญต่องบการเงินรวมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที� 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ�นจากงบการเงินตามกฎหมายที�เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที�มีเนื�อความขัดแย้งกันหรื อมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐานที� เกีย� วข้ อง 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ�งมีผลบังคับใช้ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี� กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้พิ จารณามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ใหม่ แ ละที� ก ารปรั บ ปรุ งในปี พ.ศ. 2558 และสรุ ป ว่า การเปลี�ยนแปลงดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบต่อการวัดมูลค่าและเปิ ดเผยข้อมูลของกลุ่มบริ ษทั แต่อย่างใด 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ปรับปรุ งใหม่ที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี�ยวข้องกับ กลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี� มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 16 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 27 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 28 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 34 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง การนําเสนองบการเงิน เรื� อง ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื� อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื� อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื� อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เรื� อง งบการเงินระหว่างกาล

19 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


95

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ปรับปรุ งใหม่ที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี�ยวข้องกับ กลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 38 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 11 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื� อง งบการเงินรวม เรื� อง การร่ วมการงาน เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื�น

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2559) ได้ให้ความชัดเจนในหลายประเด็น ที�สาํ คัญดังต่อไปนี� - ความมีสาระสําคัญ - กิ จการไม่ควรรวมยอดหรื อแยกแสดงข้อมูลในรู ปแบบที�ท าํ ให้ผูใ้ ช้งบการเงินเข้าใจ รายการได้ลดลง หากเป็ นรายการที�มีสาระสําคัญ จะต้องเปิ ดเผยข้อมูลให้เพียงพอเพื�ออธิ บายผลกระทบ ที�มีต่อฐานะการเงินหรื อผลการดําเนินงาน - การแยกแสดงรายการและการรวมยอด - รายการบรรทัดที�ระบุใน TAS 1 อาจจําเป็ นต้องแสดงแยกจากกัน หากเกี�ยวข้องต่อความเข้าใจฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงานของกิ จการ นอกจากนี� ยงั มีแนวปฏิบ ัติ ใหม่ของการใช้การรวมยอด - หมายเหตุประกอบงบการเงิน - ยืนยันว่าหมายเหตุประกอบงบการเงินไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยงลําดับตามลําดับ การแสดงรายการในงบการเงิน - รายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นที�เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย - ส่ วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น ที�เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยจะถูกจัดกลุ่มโดยพิจารณาว่าเป็ นรายการที�จะถูกจัดประเภทใหม่ไป ยังกําไรหรื อขาดทุนในภายหลังหรื อไม่ โดยแต่จะกลุ่มจะแยกแสดงเป็ นรายการบรรทัดแยกต่างหากในงบ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 16 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี�ยนแปลงที�สําคัญคือ ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ�นว่า การคิดค่าเสื� อมราคาที�ดินอาคารและอุปกรณ์โดยอ้างอิงกับรายได้น� นั ไม่เหมาะสม และ แก้ไขขอบเขตให้พืชที� ให้ผลิตผลที�เกี�ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรรวมอยูใ่ นขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี�

20 รายงานประจำ�ปี 2559


96

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ปรับปรุ งใหม่ที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี�ยวข้องกับ กลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี�ยนแปลงที�สําคัญคือ ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ�น สําหรับการเลือกใช้อตั ราคิดลดสําหรับการประมาณผลประโยชน์หลังออกจากงานว่าให้ใช้อตั ราผลตอบแทน ของหนี� สินโดยพิจารณาจากสกุลเงินของหนี� สินที�มีสกุลเงินที�สอดคล้องกับสกุลเงินของหนี� สินผลประโยชน์ หลังออกจากงานเป็ นสําคัญ ไม่ใช่พิจารณาจากประเทศที�หนี�สินนั�นเกิดขึ�น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 27 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการแก้ไขโดยให้ทางเลือกเพิ�มในการบันทึกเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า หรื อบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใช้วธิ ี ส่วนได้เสี ยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 28 (ปรับปรุ ง 2559) เพิ�มเติมจากเดิมที�ให้ใช้วิธีราคาทุน หรื อวิธีมูลค่ายุติธรรม (เมื�อมีการประกาศใช้) ทั�งนี� การเลือกใช้นโยบายบัญชีสําหรับเงินลงทุนแต่ละประเภท (บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า หรื อบริ ษทั ร่ วม) เป็ น อิสระจากกัน โดยหากกิจการเลือกที�จะเปลี�ยนมาใช้วธิ ีส่วนได้เสี ยจะต้องทําโดยปรับปรุ งงบการเงินย้อนหลัง มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที� 28 (ปรั บ ปรุ ง 2559) มีการเปลี� ยนแปลงที� สําคัญ คื อ 1) ให้ท างเลื อ กเพิ�มสํา หรั บ กิจการที�ไม่ใช่ กิจการที�ดาํ เนิ นธุ รกิจเฉพาะด้านการลงทุนที�มีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที� เป็ น กิจการที�ดาํ เนิ นธุ รกิจเฉพาะด้านการลงทุน โดยในการบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ยในเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที�เป็ นกิ จการที�ดาํ เนิ น ธุ รกิ จเฉพาะด้านการลงทุนนั�น จะมีทางเลือกในการที� จะยังคงการ วัดมูลค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้านั�นๆด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมตามที�บริ ษทั ร่ วมหรื อ การร่ วมค้านั�นๆใช้อยู่ หรื อจะถอดการวัดมูลค่ายุติธรรมออกและแทนด้วยการจัดทํางบการเงินรวมของบริ ษทั ร่ วม หรื อการร่ วมค้าที� เป็ นกิ จการที� ดาํ เนิ นธุ รกิ จเฉพาะด้านการลงทุ น และ 2) เพิ�มทางเลือกในการใช้วิธีส่วนได้เสี ย สําหรับเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 34 (ปรั บปรุ ง 2559) การเปลี�ยนแปลงที� สําคัญคือได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนถึ ง ความหมายของการอ้างอิงในมาตรฐาน ไปยัง “ข้อมูลที�ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่าง กาล หรื อที�อื�นในรายงานทางการเงินระหว่างกาล” ว่ากิ จการที�ใช้ประโยชน์ของข้อผ่อนปรนนี� จะต้องอ้างอิง จากงบการเงินระหว่างกาลไปถึงยังรายงานอื�นที�มีขอ้ มูลดังกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง โดยที�ผใู ้ ช้งบการเงินต้อง สามารถเข้ า ถึ ง รายงานอื� น ที� มี ข้ อ มู ล นั� นในลั ก ษณ ะและเวลาเดี ย วกั น กั บ งบการเงิ น ระหว่ า งกาล

21 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


97

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ปรับปรุ งใหม่ที�มีการเปลี�ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี�ยวข้องกับ กลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี� (ต่อ) มาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที� 38 (ปรั บ ปรุ ง 2559) ได้มี ก ารเปลี� ย นแปลงโดยให้มี ก ารสั น นิ ษ ฐานว่า การตัด จําหน่ ายของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนโดยการอ้างอิงจากรายได้น� นั ไม่เหมาะสม ข้อสันนิ ษฐานนี� อาจตกไปหากเข้า ข้อหนึ� งข้อใดต่อไปนี� คือสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้ถูกแสดงเหมือนเป็ นตัววัดของรายได้ (นัน� คือรายได้เป็ นปัจจัย ที�เป็ นข้อจํากัดของมูลค่าที�จะได้รับจากสิ นทรั พย์) หรื อสามารถแสดงได้ว่ารายได้และการใช้ป ระโยชน์เชิ ง เศรษฐกิจที�ได้จากสิ นทรัพย์มีความสัมพันธ์กนั เป็ นอย่างมาก มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที� 10 (ปรั บ ปรุ ง 2559) ได้มี ก ารปรั บ ปรุ ง ให้ ชัด เจนขึ� นเกี� ย วกับ 1) ข้อยกเว้นในการจัดทํางบการเงิน รวมว่าให้ใช้กับกิ จการที� เป็ นบริ ษ ัท ใหญ่ข� นั กลางที� เป็ นบริ ษทั ย่อ ยของ กิ จการที� ดาํ เนิ นธุ รกิ จด้านการลงทุ น ด้วยเหมือ นกัน และ 2) กิ จการที� ดาํ เนิ น ธุ รกิ จด้านการลงทุ น จะต้องนํา บริ ษ ัท ย่อ ยที� ไม่ ใช่ กิ จการที� ดาํ เนิ น ธุ รกิ จด้านการลงทุ นและบริ ษ ัท ย่อ ยดังกล่ าวให้บ ริ การหรื อ มี กิจกรรมที� เกี�ยวเนื�องกับการลงทุน มารวมในการจัดทํางบการเงินรวมด้วย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที� 11 (ปรั บ ปรุ ง 2559) ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนมากขึ� น สําหรั บ 1) การซื� อส่ วนได้เสี ยในการดําเนิ นงานร่ วมกันที�กิจกรรมของการดําเนิ นงานร่ วมกันนั�นประกอบกันขึ�นเป็ น ธุรกิจ ให้ผซู ้ �ือนําหลักการบัญชีของการรวมธุรกิจมาถือปฏิบตั ิ และ 2) ในกรณี ที�ผรู ้ ่ วมดําเนินงานมีการซื�อส่ วน ได้เสี ยในการดําเนิ นงานร่ วมกันเพิ�มขึ�นนั�น ส่ วนได้เสี ยเดิมที�มีอยู่ในการดําเนิ นงานร่ วมกันจะไม่ถูกวัดมูลค่า ใหม่ หากร่ วมดําเนินงานยังคงมีการควบคุมร่ วมอยู่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการกําหนดให้ชดั เจนยิ�งขึ�นให้กิจการที�เป็ น กิ จการที� ดาํ เนิ น ธุ รกิ จด้านการลงทุ น ต้อ งเปิ ดเผยข้อมูล ของบริ ษ ัท ย่อยที� วดั มูล ค่าด้วยมูล ค่ายุติธรรม ตามที� กําหนดใน TFRS 12 แม้ไม่ได้มีการจัดทํางบการเงินรวม

22 รายงานประจำ�ปี 2559


98

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินปละการตีความมาตรฐาน ที�เปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี� มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 8 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 11 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 17 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 18 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 20 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 21 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 23 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 24 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 26 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 33 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง สิ นค้าคงเหลือ เรื� อง งบกระแสเงินสด เรื� อง นโยบายการบัญชี การเปลี�ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและข้อผิดพลาด เรื� อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื� อง สัญญาก่อสร้าง เรื� อง ภาษีเงินได้ เรื� อง สัญญาเช่า เรื� อง รายได้ เรื� อง ผลกระทบจากการเปลี�ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี�ยนเงินตราต่างประเทศ เรื� อง การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการ เปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื� อง ต้นทุนการกูย้ มื เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับบุคคลหรื อกิจการ ที�เกี�ยวข้องกัน เรื� อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื�อ ออกจากงาน เรื� อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที�เงินเฟ้อ รุ นแรง เรื� อง กําไรต่อหุน้

23 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


99

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินปละการตีความมาตรฐาน ที�เปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี� (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 36 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 37 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 40 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 3 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 4 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 6 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 8 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 13 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 15 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 25 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื� อง ประมาณการหนี�สิน หนี�สินที�อาจเกิดขึ�น และ สิ นทรัพย์ที�อาจเกิดขึ�น เรื� อง อสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุน เรื� อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื� อง การรวมธุรกิจ เรื� อง สัญญาประกันภัย เรื� อง การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื� อง ส่ วนงานดําเนินงาน เรื� อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื� อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที�ไม่มีความ เกี�ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื� อง สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ� งจูงใจที�ให้แก่ผเู ้ ช่า เรื� อง ภาษีเงินได้ - การเปลี�ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรื อผูถ้ ือหุน้

24 รายงานประจำ�ปี 2559


100

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินปละการตีความมาตรฐาน ที�เปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี� (ต่อ) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 27 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 29 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 31 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 32 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 1 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 4 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 5 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 7 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 10 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง การประเมินเนื�อหาสัญญาเช่าที�ทาํ ขึ�นตามรู ปแบบ กฎหมาย เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื� อง รายได้ - รายการแลกเปลี�ยนเกี�ยวกับบริ การโฆษณา เรื� อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื� อง การเปลี�ยนแปลงในหนี�สินที�เกิดขึ�นจากการรื� อถอน การบูรณะ และหนี�สินที�มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน เรื� อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ เรื� อง สิ ทธิในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื� อถอน การบูรณะ และการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื� อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้ 29 (ปรับปรุ ง2559) เรื� อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที�เงินเฟ้อ รุ นแรง เรื� อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื� อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ

25 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


101

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที�มีการปรับปรุ ง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มี การปรั บ ปรุ ง ซึ� งจะมี ผลบังคับ ใช้สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที� เริ� ม ต้น ในหรื อ หลังวัน ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการไม่ได้นาํ มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินปละการตีความมาตรฐาน ที�เปลี�ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี� (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 13 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 14 (ปรับปรุ ง 2559)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 15 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 17 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 18 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 20 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 21 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 104 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 105 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 107 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื� อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื� อง ข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนดเงินทุนขั�นตํ�าและปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี� สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 เรื� อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน เรื� อง สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ เรื� อง การจ่ายสิ นทรัพย์ที�ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื� อง การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า เรื� อง ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมือง ผิวดิน เรื� อง เงินที�นาํ ส่ งรัฐ เรื� อง การบัญชีสาํ หรับการปรับโครงสร้างหนี�ที�มีปัญหา เรื� อง การบัญชีสาํ หรับเงินลงทุนในตราสารหนี�และ ตราสารทุน เรื� อง การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับ เครื� องมือทางการเงิน

26 รายงานประจำ�ปี 2559


102

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย และบริษัทร่ วม (1) บริษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยหมายถึงกิจการ (ซึ� งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที�กลุ่มกิจการควบคุม เมื�อกลุ่มกิจการมีการเปิ ดรับหรื อมีสิทธิใน ผลตอบแทนผันแปรจากการเกี�ยวข้องกับผูไ้ ด้รับการลงทุนและมีความสามารถทําให้เกิดผลกระทบต่อผลตอบแทนจาก การใช้อาํ นาจเหนื อผูไ้ ด้รับการควบคุม กลุ่มกิจการรวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั�งแต่วนั ที�กลุ่ม กิจการมีอาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิ จการจะไม่นาํ งบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวม นับจากวันที�กลุ่มกิจการสู ญเสี ยอํานาจควบคุม กลุ่ มกิ จการบัน ทึ กบัญ ชี ก ารรวมธุ รกิ จ โดยถื อ ปฏิ บ ัติต ามวิธี ซ�ื อ สิ� งตอบแทนที� โอนให้ สําหรั บ การซื� อ บริ ษ ัท ย่อ ย ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที�ผซู ้ �ือโอนให้และหนี� สินที�ก่อขึ�นเพื�อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ ูกซื� อ และส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของออกโดยกลุ่มกิจการ สิ� งตอบแทนที�โอนให้รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หรื อ หนี� สินที�ผซู ้ �ือคาดว่าจะต้องจ่ายชําระตามข้อตกลง - ต้นทุนที�เกี�ยวข้องกับการซื� อจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื�อเกิดขึ�น มูลค่า เริ� มแรกของสิ นทรัพย์ที�ระบุได้ที�ได้มาและหนี� สินและหนี� สินที�อาจจะเกิดขึ�นที�รับมาจากการรวมธุ รกิจจะถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ื อ ในการรวมธุ รกิ จแต่ละครั�ง กลุ่มกิจการวัดมูลค่าของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมใน ผูถ้ ูกซื� อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรื อ มูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิ ที�ระบุได้ของผูถ้ ูกซื� อตามสัดส่ วนของหุ ้นที�ถือโดยส่ วนได้เสี ยที� ไม่มีอาํ นาจควบคุม ในการรวมธุ รกิ จที�ดาํ เนิ นการสําเร็ จจากการทยอยซื� อ ผูซ้ �ื อต้องวัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที�ผซู ้ �ื อถืออยู่ในผูถ้ ูกซื� อก่ อนหน้า การรวมธุ รกิ จใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ื อและรับ รู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิ ดขึ�นจากการวัดมูลค่าใหม่น� ัน ในกําไรหรื อขาดทุน สิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปโดยกลุ่มกิจการ รับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ื อ การเปลี�ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของสิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายที�รับรู ้ภายหลังวันที�ซ�ื อซึ� งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี�สินให้รับรู ้ใน กําไรหรื อขาดทุน สิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายซึ� งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของต้องไม่มีการวัดมูลค่าใหม่ และ ให้บนั ทึกการจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่ วนของเจ้าของ

27 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


103

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย และบริษัทร่ วม (ต่อ) (1) บริษัทย่ อย (ต่อ) ส่ วนเกิ นของมู ลค่ าสิ� งตอบแทนที� โอนให้ และมู ลค่ าส่ วนได้เสี ยที� ไม่มี อ าํ นาจควบคุ มในผูถ้ ู กซื� อ และมู ลค่ ายุติ ธรรม ณ วันซื� อธุ รกิ จของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซื� อที� ผูซ้ �ื อถือ อยู่ก่อนการวมธุ รกิ จ ที� มากกว่ามูลค่าสุ ท ธิ ณ วันที�ซ�ื อของสิ นทรัพย์สุทธิ ที�ระบุได้ที�ได้มา ต้องรับรู ้เป็ นค่าความนิ ยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ� งตอบแทนที�โอนให้ และ มูลค่าส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื� อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื� อธุ รกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของ ของผูถ้ ู กซื� อ ที� ผูซ้ �ื อ ถื อ อยู่ก่ อ นการวมธุ รกิ จ น้อ ยกว่ามูล ค่ าราคายุติธรรมของสิ นทรั พย์สุ ท ธิ ของบริ ษัท ย่อยที� ได้ม า เนื�องจากการซื�อในราคาตํ�ากว่ามูลค่ายุติธรรม จะรับรู ้ส่วนต่างโดยตรงไปยังงบกําไรขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที�ยงั ไม่ได้เกิดขึ�นจริ งระหว่างกันในกลุ่มกิจการ ขาดทุน ที�ยงั ไม่เกิ ดขึ�นจริ งก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั�นมีหลักฐานว่าสิ นทรัพย์ที�โอนระหว่างกันเกิ ดการ ด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื�อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ ในงบการเงินเฉพาะกิ จการเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยจะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผื�อการด้อยค่า ต้นทุนจะมีการ ปรับ เพื�อสะท้อนการเปลี�ยนแปลงสิ� งตอบแทนที�เกิ ดขึ�นจากการเปลี�ยนแปลงมูลค่าสิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่าย ต้นทุนนั�นจะรวมต้นทุนทางตรงที�เกี�ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนนี� (2) รายการกับส่ วนได้เสี ยที�ไม่ มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มกิ จการ ปฏิบตั ิต่อรายการกับส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมเช่ นเดียวกันกับส่ วนที�เป็ นของเจ้าของกลุ่มกิ จการ สําหรับการซื� อส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ� งตอบแทนที�จ่ายให้และหุ ้นที�ได้มาของมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิของหุน้ ที�ซ�ือมาในบริ ษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้าของ และกําไรหรื อขาดทุนจากการขายใน ส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้าของ (3) การจําหน่ ายบริษัทย่ อย เมื� อ กลุ่ ม กิ จ การ สู ญเสี ยการควบคุ ม ส่ ว นได้เสี ย กิ จ การในหุ ้ น ที� เหลื อ อยู่จ ะวัด มู ล ค่ า ใหม่ โ ดยใช้มู ล ค่ า ยุติ ธ รรม การเปลี�ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั�นจะถือเป็ นมูลค่าตามบัญชีเริ� มแรกของมูลค่า ของเงินลงทุน เพื�อวัตถุประสงค์ในการวัดมูลค่าในเวลาต่อมาของเงินลงทุนที�เหลืออยูใ่ นรู ปของบริ ษทั ร่ วม กิจการร่ วมค้า หรื อสิ นทรัพย์ทางการเงิน สําหรับทุกจํานวนที�เคยรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นในส่ วนที�เกี�ยวข้องกับกิจการนั�นจะถูก ปฏิบตั ิเสมือนว่ากลุ่มกิจการมีการจําหน่ายสิ นทรัพย์หรื อหนี�สินที�เกี�ยวข้องนั�นออกไป

28 รายงานประจำ�ปี 2559


104

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย และบริษัทร่ วม (ต่อ) (4) บริษัทร่ วม บริ ษ ัท ร่ ว มเป็ นกิ จการที� ก ลุ่ ม กิ จการ มี อิ ท ธิ พ ลอย่า งเป็ นสาระสํา คัญ แต่ ไม่ ถึ งกับ ควบคุ ม ซึ� งโดยทั�ว ไปก็ คือ การที� กลุ่ มกิ จการ ถื อหุ ้น ที� มีสิ ท ธิ ออกเสี ยงอยู่ระหว่างร้ อยละ 20 ถึ งร้ อ ยละ 50 ของสิ ท ธิ ออกเสี ยงทั�งหมด เงิน ลงทุ น ใน บริ ษทั ร่ วมรับรู ้โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ยในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใต้วิธีส่วนได้เสี ย กลุ่มกิจการ รับรู ้เงินลงทุน เมื�อ เริ� มแรกด้วยราคาทุ น มูล ค่าตามบัญ ชี ของเงิน ลงทุ น นี� จะเพิ�มขึ� น หรื อลดลงในภายหลังวัน ที� ได้มาด้วยส่ วนแบ่ ง กําไรหรื อขาดทุนของผูไ้ ด้รับการลงทุนตามสัดส่ วนที�ผลู ้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มกิจการ รวมถึงค่าความนิยมที�ระบุได้ ณ วันที�ซ�ือเงินลงทุน ถ้าส่ วนได้เสี ยของเจ้าของในบริ ษทั ร่ วมนั�นลดลงแต่ยงั คงมีอิทธิ พลอย่างมีนัยสําคัญ กิ จการต้องจัดประเภทรายการ ที�เคยรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นเข้ากําไรหรื อขาดทุนเฉพาะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้าของที�ลดลง ส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุน ของกลุ่มกิ จการ ในบริ ษทั ร่ วมที�เกิดขึ�นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุ น และส่ วนแบ่งในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น ที�เกิดขึ�นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น ผลสะสม ของการเปลี�ยนแปลงภายหลังการได้มาดังกล่าวข้างต้น จะปรั บปรุ งกับ ราคาตามบัญชี ของเงิน ลงทุ น เมื�อส่ วนแบ่ ง ขาดทุนของกลุ่มกิจการ ในบริ ษทั ร่ วมมีมูลค่าเท่ากับหรื อเกินกว่ามูลค่าส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิ จการ ในบริ ษทั ร่ วมนั�น กลุ่มกิจการ จะไม่รับรู ้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มกิจการ มีภาระผูกพันในหนี� ของบริ ษทั ร่ วมหรื อรับว่าจะ จ่ายหนี�แทนบริ ษทั ร่ วม กลุ่มกิ จการ มีการพิจารณาทุกสิ� นรอบระยะเวลาบัญชี ว่ามีขอ้ บ่งชี� ที� แสดงว่าเงิน ลงทุน ในบริ ษทั ร่ วมเกิ ดการด้อยค่ า หรื อไม่ หากมีขอ้ บ่งชี�เกิดขึ�นกลุ่มกิจการ จะคํานวณผลขาดทุนจากการด้อยค่า โดยเปรี ยบเทียบมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และรับรู ้ผลต่างไปที�ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกําไร ขาดทุน รายการกําไรที� ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ� นจริ งระหว่างกลุ่ มกิ จการ กับ บริ ษัท ร่ วมจะตัดบัญชี เท่ าที� กลุ่มกิ จการ มีส่ วนได้เสี ยใน บริ ษทั ร่ วมนั�น รายการขาดทุนที�ยงั ไม่ได้เกิดขึ�นจริ งก็จะตัดบัญชี ในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั�นมีหลักฐานว่า สิ นทรัพย์ที�โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า บริ ษทั ร่ วมจะเปลี�ยนนโยบายการบัญชี เท่าที�จาํ เป็ นเพื�อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชี ของกลุ่มกิจการ กําไรและ ขาดทุนจากการลดสัดส่ วนในบริ ษทั ร่ วมจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม จะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผือ� การด้อยค่า ต้นทุนจะมีการ ปรับเพื�อสะท้อนการเปลี�ยนแปลงสิ� งตอบแทนที�เกิดขึ�นจากการเปลี�ยนแปลงมูลค่าของสิ� งตอบแทนที�คาดว่าต้องจ่าย ต้ น ทุ น จ ะ ร ว ม ต้ น ทุ น ท า ง ต ร ง ที� เ กี� ย ว ข้ อ ง จ า ก ก า ร ไ ด้ ม า ข อ ง เ งิ น ล ง ทุ น นี�

29 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


105

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย และบริษัทร่ วม (ต่อ) (5) การร่ วมการงาน เงิน ลงทุ น ในการร่ วมการงานจะถู กจัดประเภทเป็ นการดําเนิ น งานร่ วมกัน หรื อการร่ วมค้า โดยขึ� น อยู่กับ สิ ท ธิ และ ภาระผูกพันตามสัญญาของผูล้ งทุนแต่ละราย กลุ่มกิ จการได้ประเมินลักษณะของการร่ วมการงานที�มีและพิจารณาว่า เป็ นการร่ วมค้า ซึ�งการร่ วมค้ารับรู ้เงินลงทุนโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย ตามวิธีส่ วนได้เสี ยเงิน ลงทุน ในการร่ วมค้ารั บรู ้ เมื�อเริ� มแรกด้วยราคาทุ นและปรับ ปรุ งมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุ น เพื�อรับรู ้ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนและการเปลี�ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นของผูไ้ ด้รับการลงทุนตามสัดส่ วน ที�กลุ่มกิ จการมีส่วนได้เสี ย หากส่ วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มกิจการษัทในการร่ วมค้ามีจาํ นวนเท่ากับหรื อสู งกว่าส่ วนได้เสี ย ของกลุ่ ม กิ จการในการร่ วมค้า นั�น (ซึ� งรวมถึ งส่ วนได้เสี ยระยะยาวใด ๆ ซึ� งโดยเนื� อ หาแล้วถื อ เป็ นส่ วนหนึ� งของ เงินลงทุนสุ ทธิ ของกลุ่มกิจการในการร่ วมค้านั�น) กลุ่มกิจการจะไม่รับรู ้ส่วนแบ่งในขาดทุนที�เกินกว่าส่ วนได้เสี ยของ ตนในการร่ วมค้านั�น นอกจากว่ากลุ่มกิจการมีภาระผูกพัน หรื อได้จ่ายเงินเพื�อชําระภาระผูกพันแทนการร่ วมค้าไปแล้ว รายการกําไรที�ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ�นจริ งระหว่างกลุ่มกิ จการกับการร่ วมค้าจะตัดบัญชี เท่าที�กลุ่มกิ จการมีส่วนได้เสี ยในการ ร่ วมค้านั�น รายการขาดทุ น ที� ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ� น จริ งก็จะตัด บัญ ชี ในทํานองเดี ยวกัน เว้น แต่ รายการนั�น มีห ลักฐานว่า สิ นทรั พย์ที�โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า การร่ วมค้าจะเปลี�ยนนโยบายการบัญชี เท่าที�จาํ เป็ น เพื�อให้สอดคล้องกับ นโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ

2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก) สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงิน รายการที�รวมในงบการเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มกิจการถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ หลักที�บริ ษทั ดําเนิ นงานอยู่ (สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนิ นงาน) งบการเงินแสดงในสกุลเงินบาท ซึ� งเป็ นสกุลเงินที�ใช้ใน การดําเนินงานและสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงินของบริ ษทั

30 รายงานประจำ�ปี 2559


106

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ต่อ) (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที�เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที�ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันที�เกิด รายการหรื อ วัน ที� ตีราคาหากรายการนั�น ถู กวัด มูล ค่ า ใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุ น ที� เกิ ดจากการรั บ หรื อ จ่ ายชําระที� เป็ นเงิ น ตราต่ างประเทศ และที� เกิ ดจากการแปลงค่ าสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี� สิ น ที� เป็ นตัวเงิ น ซึ� งเป็ นเงิ น ตรา ต่างประเทศ ด้วยอัตราแลกเปลี�ยน ณ วันสิ� นปี ได้บนั ทึกไว้ในกําไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น องค์ประกอบของ อัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นด้วย ในทางตรงข้ามการรับรู ้ กําไรหรื อขาดทุนของรายการที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรหรื อขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดของ กําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนด้วย (ค) กลุ่มกิจการ การแปลงค่ าผลการดําเนิ น งานและฐานะการเงิน ของบริ ษัท ในกลุ่ มกิ จการ (ที� มิใช่ ส กุลเงิ นของเศรษฐกิ จที� มีภ าวะ เงิ น เฟ้ อ รุ น แรง) ซึ� งมี ส กุล เงิ น ที� ใช้ในการดําเนิ น งานแตกต่ างจากสกุล เงิ น ที� ใช้น ําเสนองบการเงิน ได้ถู ก แปลงค่ า เป็ นสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงินดังนี� • • •

สิ น ทรั พ ย์แ ละหนี� สิ น ที� แ สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิ น แต่ ล ะงวดแปลงค่ าด้วยอัตราปิ ด ณ วัน ที� ของแต่ ล ะ งบแสดงฐานะการเงินนั�น รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ แปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี�ย และ ผลต่างของอัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น

ค่าความนิ ยมและการปรั บมูลค่ายุติธรรมที�เกิดจากการซื� อหน่ ายงานในต่างประเทศถือเป็ นสิ นทรัพย์และหนี� สินของ หน่วยงานในต่างประเทศนั�นและแปลงค่าด้วยอัตราปิ ด

31 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


107

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ในงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื�อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั�นอื�นที�มีสภาพคล่องสู งซึ� งมีอายุไม่เกิ นสามเดือนนับจากวันที�ได้มา เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่ วนของ หนี�สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน

2.6

ลูกหนี�การค้ า ลูกหนี�การค้ารับรู ้เริ� มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี� และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงินที�เหลืออยู่หกั ด้วยค่าเผือ� หนี� สงสัยจะสู ญ ซึ� งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ� นงวด ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของ ลูกหนี� การค้าเปรี ยบเทียบกับ มูลค่ าที� คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี� การค้า หนี� สู ญที� เกิ ดขึ�น จะรั บ รู ้ ไว้ในงบกําไรขาดทุ นโดย ถือเป็ นส่ วนหนึ�งของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

2.7

สั ญญาก่อสร้ าง สั ญ ญาก่ อ สร้ า งคื อ สั ญ ญาที� เจรจาเฉพาะเจาะจงเพื� อ ก่ อ สร้ างสิ น ทรั พ ย์รายการเดี ย วหรื อ หลายรายการซึ� งสั ม พัน ธ์ กัน อย่างใกล้ชิดหรื อต้องพึ�งพากันในด้านการออกแบบ เทคโนโลยีและหน้าที�หรื อวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ข� นั สุ ดท้าย เมื�อผลการดําเนิ นงานตามสัญญาก่ อสร้ างไม่สามารถประมาณการได้อย่างน่ าเชื�อถือ รายได้ตามสัญญาก่ อสร้างจะรับรู ้ได้ ไม่เกินกว่าต้นทุนตามสัญญาซึ�งค่อนข้างแน่วา่ จะได้รับคืน ต้นทุนตามสัญญาจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดเมื�อเกิดขึ�น เมื�อผลการดําเนิ นงานตามสัญญาก่อสร้างสามารถประมาณการได้อย่างน่ าเชื�อถือ รายได้ค่าก่อสร้างและต้นทุนค่าก่อสร้าง รับรู ้ดว้ ยวิธีอา้ งอิงกับขั�นความสําเร็ จของงาน โดยวัดจากการสํารวจอัตราส่ วนของงานก่ อสร้ างที�ทาํ เสร็ จกับงานก่ อสร้าง ทั�งหมดตามสัญญาโดยพิจารณาจากการสํารวจทางกายภาพโดยวิศวกรร่ วมกับลูกค้า รายการขาดทุนที�คาดว่าจะเกิ ดขึ�นจะ รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายทันทีเมื�อค่อนข้างแน่ชดั ว่าต้นทุนค่าก่อสร้างทั�งหมดจะมากกว่ารายได้จากการก่อสร้างทั�งหมดที�จะได้รับ ต้นทุนการก่อ สร้างที�เกิ ดขึ�นในระหว่างปี ซึ� งเชื�อมโยงกับการดําเนิ นงานการก่อสร้างในอนาคตตามสัญญาจะไม่รวมอยู่ใน ต้นทุนค่าก่อสร้างและจะแสดงเป็ นงานระหว่างก่อสร้างภายใต้สินค้าคงเหลือในงบแสดงฐานะการเงิน กลุ่มกิ จการแสดงต้น ทุน ที�เกิ ดขึ�น ทั�งหมดจนถึงปั จจุบ ันและรายการกําไร (หักด้วยรายการขาดทุ นที� รับ รู ้ แล้ว) ของแต่ล ะ สัญญาจะนําไปเปรี ยบเทียบกับเงินงวดที�เรี ยกเก็บจากผูจ้ า้ งถึงวันสิ� นงวด หากผลรวมของต้นทุนค่าก่อสร้างและรายการกําไร (หัก ด้วยรายการขาดทุ น ที� รับ รู ้ แ ล้ว) สู งกว่าจํานวนเงิน งวดที� เรี ยกเก็บ ส่ วนเกิ น ที� เกิ ดขึ�น จะแสดงเป็ นลู กหนี� ค่ าก่ อ สร้ าง ตามสัญญาที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บภายใต้สินทรั พย์หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน หากผลรวมของต้นทุนค่าก่ อสร้ างและ รายการกํา ไร (หั ก ด้ว ยรายการขาดทุ น ที� รั บ รู ้ แ ล้ว ) ตํ�า กว่า จํานวนเงิ น งวดที� เรี ย กเก็ บ ส่ ว นเกิ น ที� เกิ ด ขึ� น จะแสดงเป็ น เงินรับล่วงหน้าส่ วนเกินกว่าขั�นความสําเร็ จภายใต้เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�นในงบแสดงฐานะการเงิน

32 รายงานประจำ�ปี 2559


108

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.8

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ�ากว่า ราคาทุนของวัตถุดิบและสิ นค้าคํานวณ โดยวิธีเข้าก่ อนออกก่อน ต้นทุนของการซื� อประกอบด้วย ราคาซื� อและค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการซื� อสิ นค้านั�น เช่ น ค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดที�เกี�ยวข้องทั�งหมด ส่ วนยอมให้หรื อเงินที�ได้รับคืน ต้นทุนของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและ งานระหว่างทําประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื�นทางตรง และค่าโสหุ ้ยในการผลิตซึ� งปั นส่ วนตามเกณฑ์ การดําเนิ นงานตามปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนการกู้ยืม มูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับประมาณจากราคาปกติที�คาดว่าจะขายได้ตามปกติ ธุ รกิ จหักด้วยค่ าใช้จ่ายที� จาํ เป็ นเพื�อให้สิ นค้านั�นสําเร็ จรู ป รวมถึ งค่ าใช้จ่ายในการขาย กลุ่ มกิ จการบัน ทึ กบัญชี ค่าเผื�อการ ลดมูลค่าสิ นค้าเก่า ล้าสมัย หรื อเสื� อมคุณภาพเท่าที�จาํ เป็ น

2.9

เงินลงทุน กลุ่มกิ จการจัดประเภทเงินลงทุ นที�นอกเหนื อจากเงินลงทุ นในบริ ษ ัทย่อยและบริ ษ ัทร่ วมและการร่ วมค้า เป็ น 4 ประเภท คื อ 1. เงินลงทุนเพื�อค้า 2. เงินลงทุนที�ถือไว้จนครบกําหนด 3. เงินลงทุนเผื�อขาย และ 4. เงินลงทุนทัว� ไป การจัดประเภทขึ�นอยู่กับ จุดมุ่งหมายขณะลงทุ น ฝ่ ายบริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการจัดประเภทที� เหมาะสมสําหรั บเงินลงทุ น ณ เวลาลงทุ นและทบทวน การจัดประเภทเป็ นระยะ (1) เงินลงทุนเพื�อค้า คือ เงินลงทุนเพื�อจุดมุ่งหมายหลักในการหากําไรจากการเปลี�ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั�นไม่เกิน 3 เดือน นับแต่เวลาที�ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (2) เงินลงทุนที�ถือไว้จนครบกําหนด คือ เงินลงทุนที�มีกาํ หนดเวลาและผูบ้ ริ หารตั�งใจแน่ วแน่ และมีความสามารถถือไว้ จนครบกําหนดได้แสดงรวมไว้ในสิ น ทรั พย์ไม่หมุนเวียน เว้น แต่จะครบกําหนดภายใน 12 เดือนนับ แต่วนั สิ� นรอบ ระยะเวลารายงานก็จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (3) เงินลงทุนเผือ� ขาย คือ เงินลงทุนที�จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื�อเสริ มสภาพคล่องหรื อเมื�ออัตราดอกเบี�ย เปลี�ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณี ที�ฝ่ายบริ หารแสดงเจตจํานงที�จะถือไว้ในช่วงเวลา น้อ ยกว่า 12 เดื อนนับแต่วนั สิ� นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ น ทรั พย์หมุน เวียน หรื อเว้น แต่ กรณี ที� ฝ่ ายบริ หารมีความจําเป็ นที�ตอ้ งขายเพื�อเพิ�มเงินทุนดําเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (4) เงินลงทุนทัว� ไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที�ไม่มีตลาดซื�อขายคล่องรองรับ เงิ น ลงทุ น ทั�ง 4 ประเภทรั บรู ้ มู ลค่ าเริ� มแรกด้วยราคาทุ น ซึ� งหมายถึ งมู ลค่ ายุติ ธรรมของสิ� งตอบแทนที� ให้ ไปเพื� อให้ได้มา ซึ�งเงินลงทุนนั�นรวมทั�งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ

33 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


109

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.9

เงินลงทุน (ต่อ) เงินลงทุ นเพื� อค้าและเงิ นลงทุ นเผื�อขายวัดมูลค่ าในเวลาต่ อมาด้วยมู ลค่ ายุติธรรม มูลค่ ายุติธรรมของเงิ นลงทุ นวัดตามราคา เสนอซื� อที�อา้ งอิงจากตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทําการสุ ดท้ายของวันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิงราคา เสนอซื� อล่าสุ ดจากตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย รายการกําไรและขาดทุนที�ยงั ไม่เกิ ดขึ�นจริ งของเงินลงทุนเพื�อค้ารับรู ้ใน งบกําไรขาดทุน รายการกําไรและขาดทุนที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ งของเงินลงทุนเผือ� ขายรับรู ้ในส่ วนของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น เงินลงทุนที�จะถือไว้จนครบกําหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ ายตามอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง หักด้วย ค่าเผือ� การด้อยค่า เงินลงทุนทัว� ไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผือ� การด้อยค่า บริ ษทั จะทดสอบค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ว่าเงินลงทุนนั�นอาจมีค่าเผื�อการด้อยค่าเกิดขึ�น หากราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนสู งกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน บริ ษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผือ� การด้อยค่ารวมไว้ในงบกําไรขาดทุน ในการจําหน่ ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที�ได้รับจากการจําหน่ ายเมื�อเปรี ยบเทียบกับราคา ตามบัญ ชี ของเงิน ลงทุ น นั�น จะบัน ทึ กรวมอยู่ในกําไรหรื อ ขาดทุ น กรณี ที� จาํ หน่ ายเงิน ลงทุ น ที� ถื อไว้ในตราสารหนี� หรื อ ตราสารทุนชนิ ดเดียวกันออกไปบางส่ วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที�จาํ หน่ ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถวั เฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักด้วย ราคาตามบัญชีจากจํานวนทั�งหมดที�ถือไว้

2.10 ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ท� งั หมดวัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื� อมราคาสะสม ต้นทุนเริ� มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื�น ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการซื�อสิ นทรัพย์น� นั ต้นทุนที�เกิ ดขึ�นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรั พย์หรื อรับรู ้แยกเป็ นอีกสิ นทรั พย์หนึ� งตามความเหมาะสม เมื�อต้นทุ นนั�นเกิ ดขึ�นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตแก่ บริ ษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่ าเชื� อ ถื อ และจะตัดมู ลค่ าตามบัญ ชี ของชิ� น ส่ วนที� ถู กเปลี� ยนแทนออก สําหรั บ ค่ าซ่ อมแซมและบํารุ งรั กษาอื� น ๆ บริ ษทั จะรับรู ้ตน้ ทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื�อเกิดขึ�น

34 รายงานประจำ�ปี 2559


110

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.10 ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ที�ดินไม่มีการคิดค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคาของสิ นทรัพย์อื�นคํานวณโดยใช้วธิ ีเส้นตรง เพื�อลดราคาทุนแต่ละชนิดตลอดอายุ การให้ประโยชน์ที�ประมาณการไว้ของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนี� อาคาร ระบบสาธารณูปโภค เครื� องมือและอุปกรณ์ เครื� องตกแต่งและเครื� องใช้สาํ นักงาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ

30 ปี 5 ปี 5 ปี 3, 5 ปี 5 ปี

ทุกสิ� น รอบรอบระยะเวลารายงาน ได้มีการทบทวนและปรั บ ปรุ งมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ป ระโยชน์ของสิ น ทรั พย์ ให้เหมาะสม ในกรณี ที�มูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน ทันที ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิดจากการจําหน่ ายที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณโดยเปรี ยบเทียบจากสิ� งตอบแทนสุ ทธิ ที�ได้รับ จากการจําหน่ ายสิ นทรั พย์กับ มูล ค่าตามบัญชี ของสิ น ทรั พย์ และจะรั บ รู ้ บ ัญชี ผลกําไรหรื อขาดทุน อื� นสุ ท ธิ ในกําไรหรื อ ขาดทุน 2.11 โครงข่ ายเคเบิลใยแก้วนําแสง โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง แสดงตามราคาทุนหักด้วยค่าเสื� อมราคาสะสมซึ�งคํานวณตามวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ ที�ประมาณการไว้ รวมทั�งขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) อายุการให้ประโยชน์ที�ประมาณไว้ของสิ นทรัพย์มีดงั ต่อไปนี� โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง เครื� องมือและอุปกรณ์รับส่ งสัญญาณที�สถานีฐาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สิ ทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

15, 20 ปี 5 ปี 3, 5 ปี 10 ปี

ค่าเสื� อมราคารวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงานภายใต้ตน้ ทุนการให้บริ การในงบกําไรขาดทุน รายการผลกําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์จะรับรู ้ในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนเมื�อบริ ษทั ฯ ตัดรายการสิ นทรัพย์น� นั ออกจากบัญชี

35 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


111

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.12 สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สิ ทธิการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิ ทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์บนั ทึกเป็ นสิ นทรัพย์ในราคาทุนที�ประกอบด้วย ราคาซื�อและค่าใช้จ่ายในการดําเนินการให้ โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ น� ันสามารถใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจําหน่ ายตลอดอายุป ระมาณการให้ป ระโยชน์ ภ ายใน ระยะเวลา 10 ปี ต้นทุนที�ใช้ในการบํารุ งรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายเมื�อเกิดขึ�น 2.13 การด้อยค่ าของสิ นทรัพย์ ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์อื�นที�มีการตัดจําหน่ ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื�อมีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ บ่งชี� ว่าราคาตามบัญชี อาจสู งกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับ รู ้เมื�อราคาตามบัญชี ของ สิ นทรั พย์สูงกว่ามูลค่าสุ ทธิ ที�คาดว่าจะได้รับ คืน ซึ� งหมายถึงจํานวนที� สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้น ทุนในการขาย เทียบกับมูลค่าจากการใช้ สิ นทรัพย์จะถูกจัดเป็ นหน่วยที�เล็กที�สุดที�สามารถแยกออกมาได้ เพื�อวัตถุประสงค์ของการประเมิน การด้อยค่า สิ นทรัพย์ที�ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินนอกเหนือจากค่าความนิ ยมซึ� งรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็ นไปได้ที�จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน 2.14 สั ญญาเช่ าระยะยาว กรณีที�กลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า สัญญาระยะยาวเพื�อเช่าสิ นทรัพย์ซ� ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญาเช่านั�น ถื อ เป็ นสั ญ ญาเช่ าดําเนิ น งาน เงิ น ที� ต้อ งจ่ายภายใต้สั ญ ญาเช่ าดังกล่ าว (สุ ท ธิ จากสิ� งตอบแทนจู งใจที� ได้รับ จากผูใ้ ห้เช่ า ) จะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั�น สัญญาเช่าที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ซ� ึ งผูเ้ ช่ าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั�งหมดถือเป็ น สัญญาเช่าการเงิน ซึ� งจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที�เช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงิน ที�ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ�ากว่า

36 รายงานประจำ�ปี 2559


112

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.14 สั ญญาเช่ าระยะยาว (ต่อ) กรณีที�กลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า (ต่อ) จํานวนเงินที�ตอ้ งจ่ายดังกล่าวจะปั นส่ วนระหว่างหนี� สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื�อให้ได้อตั ราดอกเบี�ยคงที�ต่อหนี� สิ น คงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี� สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี�ยจ่ายจะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื�อทําให้อตั ราดอกเบี�ยแต่ละงวดเป็ นอัตราคงที� สําหรับยอดคงเหลือของหนี�สินทรัพย์ที�เหลืออยู่ สิ นทรัพย์ที�ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื� อมราคาตลอดอายุการใช้งาน ของสิ นทรัพย์ที�เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า กรณีที�กลุ่มกิจการเป็ นผู้ให้ เช่ า สิ นทรั พย์ที�ให้เช่ าตามสัญญาเช่ าทางการเงินบันทึกเป็ นลูกหนี� สัญญาเช่ าทางการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินที�จ่ายตาม สัญญาเช่า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี� เบื�องต้นกับมูลค่าปั จจุบนั ของลูกหนี� บนั ทึกเป็ นรายได้ทางการเงินค้างรับ รายได้จาก สัญญาเช่าระยะยาวรับรู ้ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุ ทธิซ� ึ งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที�ทุกงวด ต้นทุนทางตรง เริ� มแรกที�รวมอยูใ่ นการวัดมูลค่าลูกหนี�สัญญาเช่าทางการเงินเริ� มแรกและจะทยอยรับรู ้โดยลดจากรายได้ตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรั พย์ที� ให้ เช่ าตามสั ญญาเช่ าดําเนิ นงานรวมแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิ นในส่ วนโครงข่ ายใยแก้วเพื� อให้ เช่ า และ ตัดค่าเสื� อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ รายได้ค่าเช่า (สุ ทธิ จากสิ� งตอบแทนจูงใจที�ได้จ่ายให้แก่ผูเ้ ช่า) รับรู ้ดว้ ย วิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า 2.15 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมรั บ รู ้ เริ� มแรกด้วยมูลค่ ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที� ได้รับ หักด้วยต้นทุ น การจัดทํารายการที� เกิ ดขึ� น ในเวลาต่อ มา เงินกู้ยืมวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ ายตามวิธีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง ผลต่างระหว่างสิ� งตอบแทน (หักด้วย ต้นทุนการจัดทํารายการที�เกิดขึ�น) เมื�อเทียบกับมูลค่าที�จ่ายคืนเพื�อชําระหนี�น� นั จะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกูย้ ืม ค่าธรรมเนี ยมที� จ่ายไปเพื�อให้ได้เงินกู้มาจะรั บรู ้ เป็ นต้นทุนการจัดทํารายการเงินกู้ในกรณี ที�มีความเป็ นไปได้จะใช้วงเงิน กู้ บางส่ วนหรื อทั�งหมด ในกรณี น� ี ค่าธรรมเนี ยมจะรอการรับรู ้จนกระทัง� มีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที�มีความเป็ นไปได้ ที�จะใช้วงเงินบางส่ วนหรื อทั�งหมด ค่าธรรมเนียมจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าสําหรับการให้บริ การสภาพคล่องและจะ ตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกูท้ ี�เกี�ยวข้อง

37 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


113

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.15 เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกูย้ มื จัดประเภทเป็ นหนี� สินหมุนเวียนเมื�อกลุ่มกิจการไม่มีสิทธิอนั ปราศจากเงื�อนไขให้เลื�อนชําระหนี�ออกไปอีกเป็ นเวลา ไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน (ก) ต้ นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมที�เกี� ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่ อสร้าง หรื อการผลิตสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขต้องนํามารวมเป็ น ส่ วนหนึ� งของราคาทุนของสิ นทรัพย์น� นั โดยสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขคือสิ นทรัพย์ที�จาํ เป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการ เตรี ยมสิ น ทรั พย์น� ัน ให้อ ยู่ในสภาพพร้ อมที� จะใช้ได้ตามประสงค์ห รื อ พร้ อ มที� จะขาย การรวมต้น ทุ น การกู้ยืมเป็ น ราคาทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิ� นสุ ดลงเมื�อการดําเนินการส่ วนใหญ่ ที�จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขให้อยูใ่ น สภาพพร้อมที�จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที�จะขายได้เสร็ จสิ� นลง รายได้จากการลงทุนที�เกิดจากการนําเงินกูย้ ืมที�กมู้ าโดยเฉพาะ ที�ยงั ไม่ได้นาํ ไปเป็ นรายจ่ายของสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไข ไปลงทุนเป็ นการชัว� คราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกูย้ มื ที�สามารถตั�งขึ�นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนการกูย้ มื อื�น ๆ ต้องถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดขึ�น 2.16 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สําหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุ น ยกเว้น ส่ วนภาษี เงิน ได้ที� เกี� ยวข้องกับรายการที� รับรู ้ ในกําไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรายการที� รับ รู ้ โดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของ ในกรณี น� ี ภาษีเงินได้ตอ้ งรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของ ตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที�คาดได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะมีผล บังคับใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงานในประเทศที�บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยต้องดําเนิ นงานอยูแ่ ละเกิดรายได้เพื�อเสี ยภาษี ผูบ้ ริ ห ารจะประเมิ น สถานะของการยื�น แบบแสดงรายการภาษี เป็ นงวด ๆ ในกรณี ที� มี ส ถานการณ์ ที� ก ารนํา กฎหมาย ภาษีอากรไปปฏิบตั ิข� ึนอยู่กบั การตีความ และจะตั�งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีที�เหมาะสม จากจํานวนที�คาดว่าจะต้องจ่ายชําระ ภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ต� งั เต็มจํานวนตามวิธีหนี� สิน เมื�อเกิ ดผลต่างชั�วคราวระหว่างฐานภาษีของสิ น ทรั พย์และหนี� สิน และราคาตามบัญชีที�แสดงอยูใ่ นงบการเงิน

38 รายงานประจำ�ปี 2559


114

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.16 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) อย่างไรก็ตามกลุ่มกิจการจะไม่รับรู ้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�เกิดจากการรับรู ้ เริ� มแรกของรายการสิ นทรัพย์หรื อรายการ หนี�สินที�เกิดจากรายการที�ไม่ใช่การรวมธุ รกิจ และ ณ วันที�เกิดรายการ รายการนั�นไม่มีผลกระทบต่อกําไรหรื อขาดทุนทั�งทาง บัญชีหรื อทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคาํ นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที�คาดได้ ค่อนข้างแน่ ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื�อสิ นทรั พย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที�เกี�ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู ้หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่ากลุ่มกิ จการจะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอที�จะนํา จํานวนผลต่ า งชั�วคราวนั�น มาใช้ป ระโยชน์ กลุ่ ม กิ จการได้ต� ังภาษี เงิน ได้รอตัด บัญ ชี ของผลต่ างชั�วคราวของเงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท ร่ วม บริ ษ ัท ย่อ ย และส่ ว นได้เสี ยในกิ จการร่ ว มค้า ที� เว้น แต่ ก ลุ่ ม กิ จการสามารถควบคุ ม จังหวะเวลาของการ กลับ รายการผลต่ างชั�วคราวและการกลับ รายการผลต่ า งชั�วคราวมี ความเป็ นไปได้ค่อ นข้างแน่ ว่าจะไม่ เกิ ดขึ� น ภายใน ระยะเวลาที�คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื�อกิ จการมีสิท ธิ ตาม กฎหมายที�จะนําสิ น ทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี� สิ นภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบ ัน และทั�งสิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี�ยวข้องกับภาษีเงินได้ที�ประเมินโดยหน่ วยงานจัดเก็บภาษี หน่ วยงานเดียวกันโดยการเรี ยกเก็บเป็ นหน่ วยภาษีเดียวกันหรื อหน่ วยภาษีต่างกันซึ� งตั�งใจจะจ่ายหนี�สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ 2.17 ผลประโยชน์ ของพนักงาน กลุ่มกิจการได้จดั ให้มีโครงการผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุซ� ึ งมีการคํานวณโดยใช้วธิ ี ทางคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยเป็ นระยะ ๆ บริ ษ ัท มีโครงการผลประโยชน์ ซ� ึ งจะกําหนดจํานวนเงิ น ผลประโยชน์ ที� พนักงานจะได้รับเมื�อเกษี ยณอายุ โดยส่ วนใหญ่ จะขึ�นอยูก่ บั หลายปัจจัย เช่น อายุ จํานวนปี ที�ให้บริ การ และค่าตอบแทน หนี� สิน สําหรั บโครงการผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุจะรั บรู ้ ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบ ันของภาระผูกพัน ณ วันที�สิ�นรอบระยะเวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์โครงการ ภาระผูกพันนี� คาํ นวณโดยนักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยอิสระทุกปี ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที�ประมาณการไว้ ซึ� งมูลค่าปั จจุบนั ของโครงการผลประโยชน์จะประมาณ โดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้ [อัตราผลตอบแทนในตลาดของหุ ้นกูภ้ าคเอกชนที�ได้รับการจัดอันดับ อยู่ในระดับดี / อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล] ซึ� งเป็ นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที�จะจ่ายภาระผูกพัน และ วันครบกําหนดของหุน้ กูใ้ กล้เคียงกับระยะเวลาที�ตอ้ งชําระภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

39 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


115

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.17 ผลประโยชน์ ของพนักงาน (ต่อ) การวัดมูลค่าใหม่เกิดขึ�นจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์หรื อการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะต้องรับรู ้ในส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ ผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นในงวดที�เกิดขึ�น ต้นทุนบริ การในอดีตจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกําไรหรื อขาดทุน 2.18 ประมาณการหนี�สิน ประมาณการหนี� สินจะรับรู ้ก็ต่อเมื�อ กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงที�จดั ทําไว้ อันเป็ น ผลสื บ เนื� องมาจากเหตุ การณ์ ในอดี ตซึ� งการชําระภาระผูกพันนั�น มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะส่ งผลให้บ ริ ษัท ต้อ ง สู ญเสี ยทรั พยากรออกไป และประมาณการจํานวนที� ต้อ งจ่ ายได้อ ย่างน่ าเชื� อ ถื อ ประมาณการหนี� สิ น จะไม่รับ รู ้ สําหรั บ ขาดทุนจากการดําเนินงานในอนาคต ในกรณี ที�มีภาระผูกพันที�คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มกิจการกําหนดความน่ าจะเป็ นที�กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื�อจ่าย ชําระภาระผูก พัน เหล่านั�น โดยพิจารณาจากความน่ าจะเป็ นโดยรวมของภาระผูกพัน ทั�งประเภท แม้ว่าความเป็ นไปได้ ค่อนข้างแน่ที�กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื�อชําระภาระผูกพันบางรายการที�จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ�า กลุ่มกิ จการจะวัดมูลค่ าของจํานวนประมาณการหนี� สิ น โดยใช้มูลค่ าปั จจุบ ัน ของรายจ่ายที�คาดว่าจะต้องนํามาจ่ายชําระ ภาระผูกพัน โดยใช้อ ัตราก่ อนภาษี ซ� ึ งสะท้อนถึ งการประเมินสถานการณ์ ตลาดในปั จจุ บ ันของมูลค่ าของเงินตามเวลาและ ความเสี� ยงเฉพาะของหนี� สินที�กาํ ลังพิจารณาอยู่ การเพิ�มขึ�นของประมาณการหนี� สินเนื� องจากมูลค่าของเงินตามเวลาจะรับรู ้เป็ น ดอกเบี�ยจ่าย 2.19 ทุนเรื อนหุ้น หุน้ สามัญที�สามารถกําหนดเงินปันผลได้อย่างอิสระจะจัดประเภทไว้เป็ นส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ต้นทุนที�เพิ�มขึ�นเกี�ยวกับการออกหุ ้นใหม่หรื อสิ ทธิ ในการซื� อขายหุ ้นที�จ่ายออกไปโดยแสดงรายการดังกล่าวด้วยจํานวนเงินสุ ทธิ จากภาษีไว้เป็ นรายการหักในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ โดยนําไปหักจากการออกตราสารทุนดังกล่าว

40 รายงานประจำ�ปี 2559


116

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.20 การรับรู้ รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที�จะได้รับจากการขายสิ นค้าและบริ การซึ� งเกิดขึ�นจากกิจกรรมตามปกติของกลุ่มกิจการ รายได้จะแสดงด้วยจํานวนเงินสุ ทธิ จากภาษีขาย การรับคืน เงินคืนและส่ วนลด โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุ่มกิจการ สําหรั บงบการเงินรวม รายได้จากการขายสิ นค้ารั บรู ้ เมื�อผูซ้ �ื อรั บ โอนความเสี� ยงและผลตอบแทนที� เป็ นสาระสําคัญของ ความเป็ นเจ้าของสิ นค้ารายได้จากการให้บริ การแก่ลูกค้ารับรู ้โดยอ้างอิงตามขั�นของความสําเร็ จของงานที�ทาํ เสร็ จ โดยใช้วิธี อัตราส่ วนของบริ การที�ให้จนถึงปัจจุบนั เทียบกับบริ การทั�งสิ� นที�ตอ้ งให้ รายได้จากการให้บ ริ ก ารจัดหาและติ ดตั�งอุ ป กรณ์ โครงข่ ายสั ญ ญาณโทรคมนาคมแก่ ลู กค้ารั บ รู ้ โดยอ้างอิ งตามขั�น ของ ความสําเร็ จของงานที�ทาํ เสร็ จ โดยใช้วิธีอตั ราส่ วนของงานที�ทาํ เสร็ จเทียบกับงานทั�งหมดตามสัญญา โดยขั�นความสําเร็ จ ของงานที�แล้วเสร็ จพิจารณาจากการสํารวจทางกายภาพโดยวิศวกรร่ วมกับลูกค้า (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.7) รายได้ดอกเบี�ยรับรู ้ตามเกณฑ์สัดส่ วนของเวลาโดยพิจารณาจากอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริ งของช่วงเวลาจนถึงวันครบอายุ และ พิจารณาจากจํานวนเงินต้นที�เป็ นยอดคงเหลือในบัญชีสาํ หรับการบันทึกค้างรับของกลุ่มบริ ษทั รายได้ค่าเช่ าและบริ การอื�น รับรู ้ตามเกณฑ์คงค้างซึ� งเป็ นไปตามเนื� อหาของข้อตกลงที�เกี� ยวข้อง รายได้เงินปั นผลรับรู ้เมื�อ สิ ทธิที�จะได้รับเงินปันผลนั�นเกิดขึ�น 2.21 การจ่ ายเงินปันผล เงิ น ปั น ผลที� จ่า ยไปยัง ผูถ้ ื อ หุ ้ น ของบริ ษ ัท จะรั บ รู ้ ในด้า นหนี� สิ น ในงบการเงิ น ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ในรอบระยะเวลาบัญ ชี ซึ�งที�ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปันผล 2.22 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่ วนงานดําเนิ นงานได้ถูกรายงานตามส่ วนงานดําเนิ นงานซึ� งแยกตามส่ วนงานธุ รกิจของบริ ษทั ในลักษณะเดียวกับรายงาน ภายในที� นาํ เสนอให้ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ น งาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานหมายถึ ง บุ ค คลที� มี ห น้ าที� ในการจัด สรรทรั พ ยากรและประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ ง านของส่ ว นงานดํา เนิ น งาน ซึ� งพิ จ ารณาว่าคื อ คณะกรรมการบริ หารของบริ ษทั ที�ทาํ การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์

41 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


117

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3

การจัดการความเสี� ยงทางการเงิน 3.1

ปัจจัยความเสี� ยงทางการเงิน กลุ่มกิจการมีความเสี� ยงทางการเงินซึ� งได้แก่การเปลี�ยนแปลงของอัตราดอกเบี�ยและจากการที�คู่สัญญาไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา ความเสี� ยงด้านการให้สิ น เชื� อ การจัดการความเสี� ยงดําเนิ น งานโดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษ ัท โดยมุ่งเน้น ความผัน ผวนของ ตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที�ทาํ เสี ยหายต่อผลการดําเนิ นงานทางการเงินของบริ ษทั ให้เหลือน้อยที�สุด เท่าที�เป็ นไปได้ การจัดการความเสี� ยงดําเนิ นงานโดยฝ่ ายบริ หารเงินส่ วนกลาง (ส่ วนงานบริ หารเงินของกลุ่มบริ ษทั ) เป็ นไปตามนโยบาย ที� อ นุ ม ัติโดยคณะกรรมการบริ ษ ัท ส่ วนงานบริ ห ารเงิน ของกลุ่ ม กิ จการจะชี� ประเด็น ประเมิน และป้ อ งกัน ความเสี� ย ง ทางการเงิน ด้วยการร่ วมมือ กัน ทํางานอย่างใกล้ชิ ดกับ หน่ วยปฏิ บ ัติงานต่ างๆ ภายในกลุ่ มบริ ษ ัท คณะกรรมการจัดการ ความเสี� ยงจะกําหนดหลัก การโดยภาพรวมเพื�อจัดการความเสี� ยงและนโยบายที�เกี� ยวข้อ งไว้เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรรวมถึ ง นโยบายสําหรับความเสี� ยงที�เฉพาะเจาะจง เช่น ความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน ความเสี� ยงอัตราดอกเบี�ย ความเสี� ยงการให้ สิ นเชื� อ การใช้ตราสารทั�งที�เป็ นอนุ พนั ธ์ทางการเงินและไม่ใช่ อนุ พนั ธ์ท างการเงิน และใช้การลงทุ นโดยใช้ส ภาพคล่อ ง ส่ วนเกินในการจัดการความเสี� ยง 3.1.1 ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบีย� ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบี�ยเกิดขึ�นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี�ยในตลาด ซึ� งอาจจะส่ งผลกระทบต่อผลการ ดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั อย่างไรก็ตาม รายได้และกระแสเงินสดจากการดําเนินงานของกลุ่มกิจการ ส่ วนใหญ่ไม่ข� ึนกับการเปลี�ยนแปลงของอัตราดอกเบี�ยในตลาด บริ ษทั ไม่ได้ใช้อนุ พนั ธ์ดา้ นอัตราดอกเบี�ยเพื�อป้องกัน ความเสี� ยงที�เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี�ยดังกล่าว 3.1.2 ความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลีย� น เนื� อ งจากกลุ่ ม กิ จการดํา เนิ น งานระหว่า งประเทศจึ งย่อ มมี ความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี� ยนเงิน ตราต่ า งประเทศ ซึ� งเกิ ดจากสกุลเงิน ที�หลากหลาย โดยมีส กุลเงิน หลัก เป็ นดอลลาร์ ส หรั ฐอเมริ กา ความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน เกิดขึ�นจากรายการธุ รกรรมในอนาคต การรับรู ้รายการของสิ นทรัพย์และหนี� สิน และเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่ วยงาน ต่างประเทศ กิ จการในกลุ่มกิจการใช้สัญญาอัตราแลกเปลี�ยนล่วงหน้าเพื�อป้ องกันความเสี� ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน เงินตราต่างประเทศโดยมีคู่สัญญาเป็ นธนาคารพาณิ ชย์

42 รายงานประจำ�ปี 2559


118

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3

การจัดการความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1

ปัจจัยความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1.3 ความเสี� ยงด้านการให้ สินเชื� อ ความเสี� ยงด้านการให้สินเชื�อของกลุ่มกิจการไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีสาระสําคัญ นโยบายของบริ ษทั คือทําให้เชื�อมัน� ได้ว่าได้ขายสิ นค้าและให้บริ การแก่ลูกค้าที�มีประวัติสินเชื�ออยูใ่ นระดับเหมาะสม ฝ่ ายบริ หารของกลุ่มกิจการเชื�อว่า มูล ค่าสู งสุ ดของความเสี� ยงคื อ มูล ค่าตามบัญ ชี ของลูกหนี� การค้าหักด้วยค่ าเผื�อหนี� สงสั ยจะสู ญตามที� แ สดงไว้ใน งบแสดงฐานะการเงิน 3.1.4 ความเสี� ยงด้านสภาพคล่อง ความสามารถในการหาแหล่งเงินลงทุนแสดงให้เห็ นได้จากการที� มีวงเงินอํานวยความสะดวกในการกู้ยืมที�ได้มีการ ตกลงไว้แ ล้วอย่างเพียงพอ ส่ วนงานบริ หารเงิ นของกลุ่มกิ จการได้ต� งั เป้ าหมายว่าจะใช้ความยืดหยุ่นในการระดม เงินลงทุนโดยการรักษาวงเงินสิ นเชื�อที�ตกลงไว้ให้เพียงพอที�จะหามาได้เนื� องจากลักษณะธรรมชาติของธุ รกิ จที�เป็ น ฐานของกลุ่มกิจการมีพลวัตเปลี�ยนแปลงได้

3.2

มูลค่ ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี� สินทางการเงินที�มีอายุคงเหลือตํ�ากว่าหนึ�งปี มีค่าใกล้เคียงกับมูลค่าทางบัญชี นอกจากนี�เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินมีอตั ราดอกเบี�ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี�ยในตลาด ดังนั�นฝ่ ายบริ หารจึงเชื�อว่า มูลค่าตามบัญชีของเงินกูย้ มื ดังกล่าวมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม

43 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


119

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4

ประมาณการทางบัญชีที�สําคัญ ข้ อสมมติฐานและการใช้ ดลุ ยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื�อง และอยู่บนพื�นฐานของประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยอื�น ๆ ซึ�งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที�เชื�อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั�น 4.1

ประมาณการทางบัญชีที�สําคัญ และข้ อสมมติฐาน กลุ่มกิจการมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ขอ้ สมมติฐานที�เกี� ยวข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทาง บัญชีอาจไม่ตรงกับผลที�เกิดขึ�นจริ ง ประมาณทางการบัญชี ที�สําคัญและข้อสมมติฐานที�มีความเสี� ยงอย่างเป็ นสาระสําคัญที� อาจเป็ นเหตุให้เกิดการปรับปรุ งยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี�สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดงั นี� (ก) ค่าเผือ� การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ณ วันสิ� นรอบระยะเวลารายงานฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ต้องประเมินว่ามีขอ้ บ่งชี�ที�ทาํ ให้สินทรัพย์เกิดการด้อยค่าหรื อไม่ ซี� งการประเมิน ข้อ บ่ งชี� ฝ่ายบริ หารจําเป็ นต้อ งพิ จารณาข้อบ่ งชี� จากแหล่ งข้อมูล ทั�งภายนอกและภายในของกิ จการ หากพบข้อบ่งชี�ว่าสิ นทรัพย์อาจเกิดการด้อยค่าฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องพิจารณามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์ ยังคงสู งกว่าราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อไม่ มูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนจะพิจารณาจากมูลค่าที�สูงกว่าระหว่างมูลค่า ยุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสิ นทรัพย์หรื อหน่วยของสิ นทรัพย์ที�ก่อให้เกิดเงินสดกับมูลค่าจากการใช้ มู ล ค่ า จากการใช้เกิ ด จากประมาณการกระแสเงิ น สดซึ� งต้อ งอาศัยข้อ สมมติ ฐ านที� ส มเหตุ ส มผลและมี ห ลัก ฐาน สนับสนุ นซึ� งแสดงถึงการคาดการณ์ที�ดีที�สุดของฝ่ ายบริ หารภายใต้สถานการณ์ทางเศรษกิจที�เป็ นอยู่ตลอดอายุการให้ ประโยชน์ที�เหลืออยูข่ องสิ นทรัพย์ (ข) ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ฝ่ ายบริ หารเป็ นผูป้ ระมาณการอายุการใช้งานและมูลค่าซากสําหรับที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ของกลุ่มกิจการ โดยฝ่ ายบริ หารจะทําการทบทวนค่าเสื� อมราคาเมื�ออายุการใช้งานและมูลค่าซากมีความแตกต่างไปจาก การประมาณการในงวดก่ อน หรื อมีการตัดจําหน่ ายสิ น ทรั พย์ที�เสื� อ มสภาพหรื อไม่ได้ใช้งานเนื� อ งจากการขายหรื อ เลิกใช้งานหรื อจําหน่ายออกไป

44 รายงานประจำ�ปี 2559


120

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4

ประมาณการทางบัญชีที�สําคัญ ข้ อสมมติฐานและการใช้ ดุลยพินิจ (ต่อ) 4.1

ประมาณการทางบัญชีที�สําคัญ และข้ อสมมติฐาน (ต่อ) (ค) ภาระผูกพันผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ มู ล ค่ า ปั จ จุ บ ัน ของภาระผู ก พัน ผลประโยชน์ เมื� อ เกษี ย ณอายุข� ึ น อยู่กับ หลายปั จ จัย ที� ใ ช้ใ นการคํา นวณตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐานหลายตัว รวมถึงข้อสมมติฐานเกี� ยวกับอัตราคิดลด การเปลี�ยนแปลงของ ข้อสมมติฐานเหล่านี�จะส่ งผลกระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพันผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ กลุ่ มกิ จการได้พิจารณาอัตราคิ ดลดที� เหมาะสมในแต่ล ะปี ซึ� งได้แ ก่ อตั ราดอกเบี� ยที� ควรจะใช้ในการกําหนดมูล ค่ า ปั จจุบนั ของประมาณการกระแสเงินสดที�คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ ในการพิจารณา อัตราคิดลดที�เหมาะสมกลุ่มกิจการพิจารณาใช้อตั ราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ�งเป็ นสกุลเงินเดียวกับ สกุลเงินที�ตอ้ งจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ และมีอายุครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที�ตอ้ งจ่ายชําระภาระ ผูกพันบําเหน็จบํานาญที�เกี�ยวข้อง ข้อสมมติฐานหลักอื�นๆสําหรับภาระผูกพันผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ ได้เปิ ดเผยข้อมูลเพิม� เติมในหมายเหตุ 22 (ง) การรับรู ้รายได้และต้นทุนค่าบริ การติดตั�ง กลุ่มกิจการใช้วิธีการรับรู ้รายได้ตามขั�นความสําเร็ จของงานให้บริ การ ณ วันสิ� นงวด ซึ� งจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการ พิจารณาความเหมาะสมของขั�น ความสําเร็ จจากแหล่ งข้อ มูล หลายแหล่ ง ในกรณี ของบริ ษ ัท ฝ่ ายบริ ห ารจะใช้ก าร พิจารณาการสํารวจทางกายภาพโดยวิศวกรร่ วมกับ ลูกค้าควบคู่กับการพิจารณาต้น ทุนงานที�เกิ ดขึ� น แล้วกับ ต้น ทุ น ทั�งหมดของโดรงการที� ป ระมาณไว้ ต้น ทุ น ทั�งหมดของโครงการที� ป ระมาณไว้น� ี ประมาณขึ� น โดยวิศ วกรหรื อ ผูร้ ับผิดชอบดูแลโครงการของบริ ษทั ซึ�งอาจจะมีการเปลี�ยนแปลงได้

5

การจัดการความเสี� ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มกิจการในการบริ หารทุนของกลุ่มบริ ษทั นั�นเพื�อดํารงไว้ซ� ึ งความสามารถในการดําเนิ นงานอย่างต่อเนื� องของ กลุ่ มกิ จการเพื�อ สร้ างผลตอบแทนต่ อผูถ้ ื อหุ ้นและเป็ นประโยชน์ต่อ ผูท้ ี� มีส่ วนได้เสี ยอื� น และเพื�อ ดํารงไว้ซ� ึ งโครงสร้ างของทุ น ที�เหมาะสมเพื�อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มกิ จการอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผูถ้ ือหุ ้น หรื อการออกหุน้ ใหม่เพื�อลดภาระหนี�

45 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


121

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน งบการเงินรวมกลุ่มกิ จการมีส่วนงานที�รายงานสามส่ วนงาน ซึ� งประกอบด้วย ธุ รกิ จขายอุปกรณ์โครงข่าย ธุ รกิ จให้บริ การติดตั�ง อุปกรณ์โครงข่าย และธุรกิจให้เช่าอุปกรณ์โครงข่าย ส่ วนงานดําเนิ น งานได้ถูก รายงานในลักษณะเดียวกับ รายงานภายในที�น ําเสนอให้ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ น งาน ซึ� งพิจารณาว่าคือกรรมการบริ หาร ซึ� งเป็ นผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานเพื�อการจัดสรรทรั พยากรและประเมินผล การปฏิบตั ิงานของส่ วนงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนินงานได้พิจารณาแล้วว่าส่ วนงานที�รายงาน มีดงั นี� งบการเงินรวม การให้ ธุรกิจให้ เช่ า จําหน่ าย บริการติดตั�ง อุปกรณ์ โครงข่ าย อุปกรณ์ โครงข่ าย อุปกรณ์ โครงข่ าย บาท บาท บาท สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รวม บาท

รายได้รวม

726,694,548

1,237,979,762

-

1,964,674,310

ผลการดําเนินงานตามส่ วนงาน รายได้อื�น ค่าใช้จ่ายที�ไม่สามารถปันส่ วนได้ ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

129,778,893

447,287,033

(35,526,072)

541,539,854 26,199,410 (252,514,459) 41,652,252 (36,384,812) 320,492,245 (40,957,119) 279,535,126

46,752,930 419,042,053

28,614,099 1,413,279,411

580,522,334 37,853,814

655,889,363 1,870,175,278 831,265,416 3,357,330,057

กําไรสุ ทธิ สิ นทรัพย์ถาวรของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื�นของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื�นที�ไม่สามารถปันส่ วนได้ สิ นทรัพย์ในงบการเงินทั�งสิ� น

46 รายงานประจำ�ปี 2559


122

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนินงานได้พิจารณาแล้วว่าส่ วนงานที�รายงาน มีดงั นี� (ต่อ) งบการเงินรวม การให้ ธุรกิจให้ เช่ า จําหน่ าย บริการติดตั�ง อุปกรณ์ โครงข่ าย อุปกรณ์ โครงข่ าย อุปกรณ์ โครงข่ าย บาท บาท บาท สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

รวม บาท

รายได้รวม

854,881,440

1,746,995,057

-

2,601,876,497

ผลการดําเนินงานตามส่ วนงาน รายได้อื�น ค่าใช้จ่ายที�ไม่สามารถปันส่ วนได้ ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธี ส่ วนได้เสี ย ต้นทุนทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

165,996,994

423,980,636

(25,741,339)

564,236,291 22,296,383 (260,440,404) (25,237,233) (35,833,330) 265,021,707 (57,005,112) 208,016,595

กําไรสุ ทธิ สิ นทรัพย์ถาวรของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื�นของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื�นที�ไม่สามารถปันส่ วนได้

43,391,711 426,731,634

28,692,251 1,363,391,186

สิ นทรัพย์ในงบการเงินทั�งสิ� น

285,262,969 37,561,500

357,346,931 1,827,684,320 306,954,152 2,491,985,403

47 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


123

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 7

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทเมื�อทวงถาม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

772,789 160,253,304 161,026,093

769,773 67,077,847 67,847,620

515,414 80,305,209 80,820,623

497,105 3,231,635 3,728,740

เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื�อทวงถามมีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้จริ งอยูท่ ี�ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.40 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 0.37 ถึงร้อยละ 0.38 ต่อปี ) 8

เงินลงทุนระยะสั� น รายการเคลื�อนไหวของเงินลงทุนระยะสั�น งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

วันที� 1 มกราคม ลงทุนเพิ�มระหว่างปี ดอกเบี�ยรับ วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

2,803,550 22,233,740 296,083 25,333,373

2,445,262 358,288 2,803,550

1,353,006 19,400,000 280,186 21,033,192

1,013,238 339,768 1,353,006

เงินลงทุนระยะสั�น ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยเงินฝากประจําส่ วนที�ไม่ติดภาระคํ�าประกันที�มีอายุต� งั แต่วนั ฝาก จนถึงวันครบกําหนดอยู่ระหว่าง 3 ถึง 12 เดือน เงินลงทุนระยะสั�น ดังกล่าวเป็ นเงินฝากในบัญชีเดียวกับเงินฝากธนาคารที�ติดภาระ คํ�าประกัน เงินลงทุนระยะสั�น มีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้จริ งอยู่ที�ร้อยละ 0.80 ถึงร้อยละ 1.50 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 1.00 ถึงร้อยละ 1.70 ต่อปี ) ดอกเบี�ยรับเกิดจากยอดรวมของเงินฝากทั�งส่ วนที�ติดภาระคํ�าประกัน (หมายเหตุ 13) และไม่ติดภาระคํ�าประกัน

48 รายงานประจำ�ปี 2559


124

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนี�การค้ าและลูกหนี�อื�น งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

ลูกหนี�การค้ า ลูกหนี�การค้า - บุคคลภายนอก ลูกหนี�การค้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) เช็ครับลงวันที�ล่วงหน้า รวมลูกหนี�การค้า หัก ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ลูกหนี�การค้า - สุ ทธิ

397,123,717 6,476,021 956,707 404,556,445 (8,884,585) 395,671,860

449,166,557 1,131,684 2,142,981 452,441,222 (3,395,570) 449,045,652

75,332,791 5,842,176 81,174,967 (1,068,908) 80,106,059

117,661,133 101,215 117,762,348 (944,237) 116,818,111

ลูกหนี�อื�น ลูกหนี�อื�น - บุคคลภายนอก ลูกหนี�อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) เงินทดรองจ่าย - บุคคลภายนอก เงินมัดจําซื�อสิ นค้า ดอกเบี�ยค้างรับ รายได้คา้ งรับ เงินปันผลค้างรับ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า รวมลูกหนี�อื�น หัก ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ลูกหนี�อื�น - สุ ทธิ

11,734,492 1,784,912 1,217,675 10,093,268 10,989 13,933,573 478,421 39,253,330 (4,850,000) 34,403,330

14,551,718 957,698 1,823,966 24,239,496 4,872,161 10,157,779 1,138,898 57,741,716 (4,850,000) 52,891,716

963,752 1,935,251 432,969 5,758,719 10,989 30,000 99,999,100 433,562 109,564,342 109,564,342

1,176,607 2,022,424 1,793,945 9,276,993 1,246,053 1,062,228 16,578,250 16,578,250

รวมลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น - สุ ทธิ

430,075,190

501,937,368

189,670,401

133,396,361

49 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


125

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนี�การค้ าและลูกหนี�อื�น (ต่อ) ลูกหนี�การค้าบุคคลภายนอก ณ วันที� 31 ธันวาคม แยกตามอายุหนี�ที�คา้ งชําระได้ดงั นี� งบการเงินรวม

ลูกหนี�การค้าบุคคลภายนอก ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระไม่เกิน 3 เดือน เกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน เกินกว่า 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน เกินกว่า 12 เดือน รวมลูกหนี�การค้า หัก ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ลูกหนี�การค้าบุคคลภายนอก - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

295,034,538 50,924,474 2,753,793 4,786,639 44,580,980 398,080,424 (8,884,585) 389,195,839

322,610,007 57,358,950 3,297,103 26,976,964 41,066,514 451,309,538 (3,395,570) 447,913,968

26,312,170 9,770,317 506,858 285,270 38,458,176 75,332,791 (1,068,908) 74,263,883

70,109,028 5,331,505 996,872 793,061 40,430,667 117,661,133 (944,237) 116,716,896

ลูกหนี� การค้าบุคคลภายนอกที�คา้ งชําระเกินกว่า 12 เดือน ได้รวมลูกหนี� การค้ารายหนึ� งที�เป็ นรัฐวิสาหกิจที�เกิดจากสัญญาใช้บริ การ โครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง จํานวน 37.56 ล้านบาท จากจํานวนทั�งสิ� น 236.42 ล้านบาท ซึ�งส่ วนต่าง บริ ษทั ได้รับชดเชยค่าเสี ยหาย จากการทําประกันกับบริ ษทั ประกันภัยเมื�อวันที� 8 เมษายน พ.ศ. 2557 จํานวน 198.86 ล้านบาท โดยบริ ษทั แสดงยอดเงินที�ได้รับจาก บริ ษ ัทประกันภัยหัก กลบกับ ลูกหนี� การค้าในงบการเงิน เนื� อ งจากบริ ษัทประกันภัยได้เป็ นโจทย์ยื�น ฟ้ องต่อรั ฐวิสาหกิ จดังกล่ าว ในส่ วนของเงินประกันจํานวน 198.86 ล้านบาท ผูบ้ ริ หารของกลุ่มกิ จการไม่ได้บนั ทึกค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญสําหรั บมูลค่าลูกหนี� การค้าที�เหลือ เนื� องจากที�ปรึ กษากฎหมายให้ความเห็นว่าคู่สัญญาได้ใช้บริ การโครงข่ายจริ งและมีขอ้ กฎหมายสนับสนุ นค่อนข้าง หนักแน่น และมีความเห็นว่ามีแนวโน้มในการชนะคดีเป็ นไปได้ค่อนข้างมาก ในปี พ.ศ. 2556 บริ ษ ัท ได้ยื�น ฟ้ อ งลู ก หนี� การค้า รายนี� ต่ อ ศาลปกครองกลาง เพื� อ ขอให้ ช ําระค่ า บริ ก ารและค่ าเสี ยหายจํานวน 275.56 ล้านบาท นอกเหนื อ จากรายการข้างต้น (บริ ษ ัท ไม่ ได้รับ รู ้ ค่าเสี ยหายนี� เป็ นรายได้ในงบการเงิน ) เมื�อ วัน ที� 30 กัน ยายน พ.ศ. 2559 ศาลปกครองกลางได้มี ค ํา สั� ง ให้ คู่ สั ญ ญารายดัง กล่ า วชดใช้ ค วามเสี ยหายให้ กั บ บริ ษัท โดยคู่ สั ญ ญาต้อ งชดใช้ ค่าขาดประโยชน์จากการใช้โครงข่ายดังกล่าวในอัตราเดือนละ 13.5 ล้านบาท นับตั�งแต่วนั ที� 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เป็ นต้นไป จนกว่าโครงข่ายดังกล่าวจะถูกส่ งมอบคืนเป็ นที�เรี ยบร้อย อย่างไรก็ตามคดีความดังกล่าวยังไม่ถึงที�สุด เนื� องจากลูกหนี� การค้ารายนี� ได้ยนื� อุทธรณ์ต่อศาล ในปี พ.ศ. 2557 บริ ษทั จึงได้ยื�นฟ้ องลูกหนี� การค้ารายนี� ต่อศาลแพ่งนอกเหนื อจากรายการข้างต้นจํานวน 96.88 ล้านบาท สําหรับเงินต้น จํานวน 37.56 ล้านบาท ที�ยงั ไม่ได้รับชําระจากบริ ษทั ประกัน รวมค่าเสี ยหายที�เกี�ยวข้อง

50 รายงานประจำ�ปี 2559


126

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนี�การค้ าและลูกหนี�อื�น (ต่อ) ลูกหนี�การค้ากิจการที�เกี�ยวข้องกัน ณ วันที� 31 ธันวาคม แยกตามอายุหนี�ที�คา้ งชําระได้ดงั นี� งบการเงินรวม

ลูกหนี�การค้ากิจการที�เกี�ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกําหนดชําระ ค้างชําระไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี�การค้ากิจการที�เกี�ยวข้องกัน หัก ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ลูกหนี�การค้ากิจการที�เกี�ยวข้องกัน - สุ ทธิ 10

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

6,343,586 132,435 6,476,021 6,476,021

1,131,684 1,131,684 1,131,684

5,709,741 132,435 5,842,176 5,842,176

101,215 101,215 101,215

ลูกหนี�ค่าก่อสร้ างตามสั ญญาที�ยังไม่ ได้เรียกเก็บและเงินรับล่วงหน้ าที�เกินกว่ าขั�นความสํ าเร็จ งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม ต้นทุนงานโครงการจนถึงปั จจุบนั กําไรที�รับรู ้จนถึงปัจจุบนั ต้นทุนงานโครงการที�เกิดขึ�นปรับปรุ ง ด้วยกําไรที�รับรู ้จนถึงปัจจุบนั หัก เงินงวดที�เรี ยกเก็บจากผูว้ า่ จ้าง สุ ทธิ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

3,077,624,462 1,153,535,646

2,293,876,930 764,686,803

486,711,990 171,878,304

381,980,246 127,906,674

4,231,160,108 3,058,563,733 (3,366,350,509) (2,338,046,221) 864,809,599 720,517,512

658,590,294 (419,228,756) 239,361,538

509,886,920 (215,885,160) 294,001,760

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ� นงวดแสดงบัญชีลูกหนี� ค่าก่อสร้างตามสัญญาที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บด้วยผลต่างของต้นทุนงานโครงการ ที�เกิดขึ�นปรั บปรุ งด้วยกําไรที�รับรู ้ จนถึงปั จจุบนั ที�มากกว่าเงินงวดที�เรี ยกเก็บจากผูว้ ่าจ้างเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียน และแสดงบัญชี เงินรั บล่วงหน้าส่ วนเกิ นกว่าขั�น ความสําเร็ จด้วยผลต่างของต้นทุน งานโครงการที� เกิ ดขึ�น ปรั บปรุ งด้วยกําไรที�รับรู ้ จนถึงปั จจุบ ัน ที�นอ้ ยกว่าเงินงวดที�เรี ยกเก็บจากผูว้ า่ จ้างเป็ นหนี�สินหมุนเวียน

51 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


127

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 10

ลูกหนี�ค่าก่อสร้ างตามสั ญญาที�ยังไม่ ได้เรียกเก็บและเงินรับล่วงหน้ าที�เกินกว่ าขั�นความสํ าเร็จ (ต่อ) ผลต่างระหว่างต้นทุนงานโครงการที�เกิดขึ�นปรับปรุ งด้วยกําไรที�รับรู ้จนถึงปั จจุบนั กับเงินงวดที�เรี ยกเก็บจากผูว้ ่าจ้างสามารถแยกแสดง ได้ดงั นี� งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม ลูกหนี�ค่าก่อสร้างตามสัญญาที�ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ เงินรับล่วงหน้าส่ วนเกินกว่าขั�นความสําเร็ จ (หมายเหตุ 20) สุ ทธิ

11

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

868,421,364

823,821,461

240,940,296

298,615,425

(3,611,765) 864,809,599

(103,303,949) 720,517,512

(1,578,758) 239,361,538

(4,613,665) 294,001,760

สิ นค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม

วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต งานระหว่างก่อสร้างตามสัญญาก่อสร้าง สิ นค้าระหว่างทาง วัสดุสิ�นเปลือง/อะไหล่ สิ นค้าสําเร็ จรู ป รวม สิ นค้าคงเหลือ หัก ค่าเผือ� การลดลงของมูลค่าสิ นค้า สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

205,290,291 34,481,651 23,131,567 1,451,583 798,532 84,055,644 349,209,268 (19,086,337) 330,122,931

256,827,363 71,758,301 9,245,172 125,322,822 463,153,658 (16,376,496) 446,777,162

9,056,457 29,607,247 6,322,844 743,393 32,672,634 78,402,575 (8,057,363) 70,345,212

15,585,484 64,605,350 4,600,046 57,397,699 142,188,579 (6,643,878) 135,544,701

สิ นค้าคงเหลือมูลค่า 63,800,555 บาท และ 18,465,377 บาท (พ.ศ. 2558 : 41,453,236 บาท และ 19,192,007 บาท) แสดงด้วยมูลค่า สุ ทธิที�จะได้รับ ซึ�งตํ�ากว่าราคาทุนในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ตามลําดับ

52 รายงานประจำ�ปี 2559


128

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 12

สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื�น งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

ภาษีซ�ือรอเรี ยกเก็บ ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ่ายล่วงหน้า สิ นทรัพย์อื�นๆ

13

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

34,726,822 13,974,976 223,869 48,925,667

10,736,344 6,174,109 48,326 16,958,779

28,151,859 11,908,597 128,325 40,188,781

4,948,254 4,107,730 22,879 9,078,863

เงินฝากธนาคารที�ติดภาระคํา� ประกัน ณ วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงิน ฝากธนาคารทั�งจํานวนเป็ นเงินฝากประจํากับธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศหลายแห่ ง มีอ ัตรา ดอกเบี�ยร้อยละ 0.80 ถึงร้อยละ 1.50 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 1.00 ถึงร้อยละ 1.70 ต่อปี ) เงินฝากดังกล่าวใช้เป็ นหลักประกันวงเงิน เบิกเกินบัญชีธนาคาร การออกหนังสื อคํ�าประกันและตัว� สัญญาใช้เงิน

14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า เงินลงทุนที�ปฏิบัติตามวิธีส่วนได้เสี ย จํานวนที�รับรู้ ในงบแสดงฐานะการเงินมีดงั นี�

บริ ษทั ร่ วม กิจการร่ วมค้า ณ วันที� 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

17,722,123 46,862,738 64,584,861

22,500,000 35,499,900 57,999,900

11,406,498 2,195,505 13,602,003

13,500,000 35,499,900 48,999,900

53 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


129

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) เงินลงทุนที�ปฏิบัติตามวิธีส่วนได้เสี ย (ต่ อ) จํานวนที�รับรู้ ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จมีดงั นี� งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

บริ ษทั ร่ วม กิจการร่ วมค้า ณ วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

(3,014,981) 44,667,233 41,652,252

(807,813) (24,429,420) (25,237,233)

-

-

งบการเงินรวม บาท

งบการเงิน เฉพาะกิจการ บาท

11,406,498 9,000,000 (3,014,981) 330,606 17,722,123

13,500,000 9,000,000 22,500,000

(ก) เงินลงทุนในบริษัทร่ วม การเปลี�ยนแปลงของส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมสามารถวิเคราะห์ได้ดงั ต่อไปนี�

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ลงทุนเพิ�ม ส่ วนแบ่งขาดทุน ผลต่างอัตราแลกเปลี�ยนจากการแปลงค่างบการเงิน วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

54 รายงานประจำ�ปี 2559


130

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ก) เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) การลงทุนเพิม� ในบริษัทร่ วม บริษัท เทเลคอม โซลูชั�นส์ โพรไวเดอร์ จํากัด (“Telecom Solutions Provider” “TSP”) เมื�อวันที� 5 กันยายน พ.ศ. 2559 ที�ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั เทเลคอม โซลูชั�นส์ โพรไวเดอร์ จํากัด ได้มีมติเห็นชอบการ เพิ�มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เทเลคอม โซลูชนั� ส์ โพรไวเดอร์ จํากัด โดยการเพิ�มหุน้ สามัญอีก 300,000 หุ ้น เป็ น 750,000 หุ ้น ในมูลค่าที�ตราไว้หุ้น ละ 100 บาท บริ ษ ัทจ่ายเงิน เพิ�มทุน จํานวน 9 ล้านบาท สําหรั บการเพิ�มทุนจํานวน 90,000 หุ ้น ในวัน ที� 12 กันยายน พ.ศ. 2559 การลงทุนเพิ�มดังกล่าวไม่ทาํ ให้สัดส่ วนการลงทุนในบริ ษทั ร่ วมเปลี�ยนแปลงไป รายการข้างล่างนี� แสดงรายชื� อบริ ษ ัทร่ วม ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 ที�มีสาระสําคัญต่ อกลุ่มกิ จการตามความเห็ นของ กรรมการ บริ ษทั ร่ วมดังกล่าวมีทุนเรื อนหุ ้นทั�งหมดเป็ นหุ ้นสามัญ ซึ�งกลุ่มกิจการได้ถือหุน้ ทางตรง ประเทศที�จดทะเบียนจัดตั�ง เป็ นแห่งเดียวกับสถานที�หลักในการประกอบธุรกิจ ลักษณะของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ในปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 สั ดส่ วนของส่ วนได้ เสี ย (ร้ อยละ) ชื� อ เทเลคอม โซลูชนั� ส์ โพรไวเดอร์

ชนิดของธุรกิจ ถือเงินลงทุนในบริ ษทั ต่างประเทศ

ประเทศที� กิจการจัดตั�ง

พ.ศ. 2559

ไทย

ร้อยละ 30.00

ลักษณะ ความสั มพันธ์

วิธีการวัดมูลค่ า

ร้อยละ 30.00 ถือหุ น้ ทางตรง

วิธีส่วนได้เสี ย

พ.ศ. 2558

ไม่มีหนี�สินที�อาจเกิดขึ�นซึ�งเกี�ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจการในบริ ษทั ร่ วม

55 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


131

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ก) เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสํ าหรับบริษัทร่ วม ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั บริ ษทั เทเลคอม โซลูชนั� ส์ โพรไวเดอร์ จํากัดซึ�งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี� งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป

TSP พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

18,537,570 13,470,595 32,008,165

5,586,669 34,737,569 40,324,238

33,458,467 65,466,632

593,084 40,917,322

หนี�สินหมุนเวียน หนี�สินทางการเงินหมุนเวียน (ไม่รวมเจ้าหนี�การค้า) หนี�สินหมุนเวียนอื�น (รวมเจ้าหนี�การค้า) หนี�สินหมุนเวียนรวม

1,100,988 11,355,677 12,456,665

3,451,244 219,660 3,670,904

สิ นทรัพย์สุทธิ (รวมส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม) บวก ขาดทุนของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม สิ นทรัพย์สุทธิ (ไม่รวมส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม)

53,009,967 6,063,778 59,073,745

37,246,418 775,242 38,021,660

สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�น (ไม่รวมเงินสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

56 รายงานประจำ�ปี 2559


132

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ก) เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุ ป

TSP

รายได้ ค่าเสื� อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย ขาดทุนจากการดําเนินงานต่ อเนื�อง ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ขาดทุนหลังภาษีจากการดําเนินงานต่ อเนื�อง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม เงินปันผลรับจากบริษัทร่ วม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

687,759 519,531 -

245,465

(14,971,828) -

(5,890,353) -

(14,971,828) 735,376 (14,236,452)

(5,890,353) (5,890,353)

-

-

ข้อ มูล ข้างต้น เป็ นจํานวนที� รวมอยู่ในงบการเงิน ของบริ ษัท ร่ วม (ซึ� งไม่ใช่ เพียงแค่ ส่ วนแบ่ งของกลุ่ มกิ จการในบริ ษ ัท ร่ วม ดังกล่าว) และปรับปรุ งเกี�ยวกับความแตกต่างของนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ร่ วม

57 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


133

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ก) เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปกับมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจการในบริ ษทั ร่ วม TSP

สิ นทรัพย์ สุทธิ ณ วันที� 1 มกราคม การออกหุน้ เพิ�ม ขาดทุนในระหว่างปี ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการแปลงค่าเงินลงทุนเผือ� ขาย ส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมเพิ�มทุนในบริ ษทั ย่อย สิ นทรัพย์สุทธิ (รวมส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม) ณ วันที� 31 ธันวาคม บวก ขาดทุนของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม สิ นทรัพย์สุทธิ (ไม่รวมส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม) ณ วันที� 31 ธันวาคม ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม (ร้อยละ) มูลค่ าตามบัญชี

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

37,246,418 30,000,000 (14,971,828) 355,543 379,833 53,009,966 6,063,778 59,073,744

2,004,528 40,000,000 (5,890,353) 1,132,243 37,246,418 775,242 38,021,660

30

30

17,722,123

11,406,498

58 รายงานประจำ�ปี 2559


134

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ข) เงินลงทุนในกิจการร่ วมค้ า การเปลี�ยนแปลงของส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าสามารถวิเคราะห์ได้ดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

บาท

บาท

2,195,505 44,667,233 46,862,738

35,499,900 35,499,900

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ส่ วนแบ่งกําไร วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การร่ วมค้าดังรายชื�อต่อไปนี�มีทุนเรื อนหุน้ ทั�งหมดเป็ นหุน้ สามัญ ซึ�งกลุ่มกิจการได้ถือหุน้ ทางตรง ลักษณะของเงินลงทุนในการร่ วมค้า พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 สั ดส่ วนของส่ วนได้ เสี ย (ร้ อยละ) ชื� อ อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์

ชนิดของธุรกิจ ติดตั�งและให้เช่า โครงข่ายสัญญาณ

ประเทศที� กิจการจัดตั�ง

พ.ศ. 2559

ไทย

ร้อยละ 71.00

ลักษณะ ความสั มพันธ์

วิธีการวัดมูลค่ า

ร้อยละ 71.00 ถือหุ น้ ทางตรง

วิธีส่วนได้เสี ย

พ.ศ. 2558

สัญญาระหว่างผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั อินฟอร์ เมชัน� ไฮเวย์ จํากัด ระบุวา่ บริ ษทั และบุคคลภายนอกมีอาํ นาจการควบคุมในบริ ษทั อินฟอร์ เมชัน� ไฮเวย์ จํากัด ร่ วมกัน ซึ� งมติการประชุมของกรรมการและผูถ้ ือหุ ้นต้องได้รับความเห็นชอบจากตัวแทนที�ได้รับ การแต่งตั�งโดยบริ ษ ัท และตัวแทนที�ได้รับการแต่งตั�งบุ คคลภายนอก หากมีเพียงตัวแทนของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ� งจะไม่ส ามารถ ผ่านมติการประชุ มได้ เมื�อพิจารณาจากเงื�อนไขข้างต้น บริ ษทั ได้จดั ประเภทเงินลงทุน ในบริ ษทั อินฟอร์ เมชั�น ไฮเวย์ จํากัด เป็ นเงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า บริ ษทั อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์ จํากัด เป็ นบริ ษทั จํากัดและหุน้ ของบริ ษทั นี�ไม่มีราคาเสนอซื�อขายในตลาด ไม่มีหนี�สินที�อาจเกิดขึ�นซึ�งเกี�ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจการในกิจการร่ วมค้า

59 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


135

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ข) เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสํ าหรับการร่ วมค้ า ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์ จํากัดซึ�งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี� งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป

IH

สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื�น (ไม่รวมเงินสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน หนี�สินหมุนเวียน หนี�สินทางการเงินหมุนเวียน (ไม่รวมเจ้าหนี�การค้า) หนี�สินหมุนเวียนอื�น (รวมเจ้าหนี�การค้า) หนี�สินหมุนเวียนรวม หนี�สินไม่ หมุนเวียน หนี�สินทางการเงิน หนี�สินไม่หมุนเวียนอื�น หนี�สินไม่ หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์ สุทธิ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

22,183,865 170,680,331 192,864,196

21,137,032 111,509,423 132,646,455

587,448,560 780,312,756

499,808,952 632,455,407

447,320,000 106,128,189 553,448,189

229,373,329 17,477,207 246,850,536

108,910,000 36,011,168 144,921,168 698,369,357

333,900,000 36,600,546 370,500,546 617,351,082

81,943,399

15,104,325

60 รายงานประจำ�ปี 2559


136

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ข) เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสํ าหรับการร่ วมค้ า ข้อมูลทางการเงินสําหรับบริ ษทั อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์ จํากัดซึ�งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี� งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุ ป

IH พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

รายได้ ค่าเสื� อมราคาและค่าตัดจําหน่าย รายได้ดอกเบี�ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย

263,646,117 34,040,712 7,939,962 29,481,141

127,434,800 6,401,908 3,753,294 4,831,370

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานต่ อเนื�อง ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน)หลังภาษีจากการดําเนินงานต่ อเนื�อง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

84,511,162 (17,306,778) 67,204,384 67,204,384

(5,279,172) 11,943,639 (17,222,811) (17,222,811)

-

-

เงินปันผลรับจากการร่ วมค้ า

ข้อ มูล ข้างต้น เป็ นจํานวนที� รวมอยู่ในงบการเงิน ของการร่ วมค้า (ซึ� งไม่ใช่ เพียงแค่ ส่ วนแบ่ งของกลุ่ มกิ จการในการร่ วมค้า ดังกล่าว) และปรับปรุ งเกี�ยวกับความแตกต่างของนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการและการร่ วมค้า

61 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


137

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ข) เงินลงทุนในการร่ วมค้ า (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปกับมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกิจการในการร่ วมค้า IH ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

สิ นทรัพย์ สุทธิ ณ วันที� 1 มกราคม ลงทุนเพิ�ม กําไร(ขาดทุน)ในระหว่างปี สิ นทรัพย์ สุทธิ ณ วันสิ�นปี

14,739,014 67,204,385 81,943,399

(5,538,175) 37,500,000 (17,222,811) 14,739,014

71

71

58,179,813 (11,316,911) 46,862,738

10,464,670 (8,269,165) 2,195,505

ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า (ร้อยละ) ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า กําไรซึ�งเป็ นผลมาจากรายการขายจากกิจการไปยังกิจการร่ วมค้า (Downstream) ส่ วนได้เสี ยของกิจการส่ วนที�เกินมูลค่าเงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า มูลค่ าตามบัญชี

62 รายงานประจำ�ปี 2559


138

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ค) บริษัทย่ อย การเปลี�ยนแปลงของส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อยสามารถวิเคราะห์ได้ดงั ต่อไปนี�

งบการเงิน เฉพาะกิจการ บาท

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 การลงทุนเพิม� ขึ�น

94,463,080 79,598,802 174,061,882

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 การลงทุนเพิม� ในบริษัทย่ อย บริษัท กรุ๊ ป เทค โซลูชั�นส์ จํากัด (“Group Tech Solutions”)

เมื�อวัน ที� 19 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 ที� ป ระชุ มวิส ามัญผูถ้ ื อ หุ ้น บริ ษัท กรุ๊ ป เทค โซลู ชนั� ส์ จํากัด ได้มีมติ เห็ น ชอบการเพิ�มทุ น จดทะเบียนของบริ ษทั กรุ๊ ป เทค โซลูชนั� ส์ จํากัด โดยการเพิ�มหุ ้นสามัญอีก 700,000 หุ ้น เป็ น 1,000,000 หุ ้น ในมูลค่าที�ตราไว้ หุ ้น ละ 100 บาท บริ ษ ัท จ่ายเงิน เพิ�มทุ น จํานวน 70 ล้านบาท สําหรั บ การเพิ�มทุ น จํา นวน 699,994 หุ ้น ในวัน ที� 22 สิ งหาคม พ.ศ. 2559 การลงทุนเพิ�มดังกล่าวไม่ทาํ ให้สัดส่ วนการลงทุนในบริ ษทั ย่อยเปลี�ยนแปลงไป บริษัท อินโนว่ า เทเลคอมมิวนิเคชั�น จํากัด (“Innova Telecommunication”) เมื�อวันที� 4 มีนาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้ลงทุนเพิ�มในหุ ้นสามัญของบริ ษทั อินโนว่า เทเลคอมมิวนิ เคชัน� จํากัด จํานวน 39,999 หุ ้น ด้วยราคาซื� อรวม 5.85 ล้านบาท ทําให้สัดส่ วนการถือหุ ้น เปลี�ยนแปลงจากเดิมอัตราร้ อยละ 89.75 เป็ นร้ อยละ 99.75 ผลต่าง จากมู ล ค่ ายุติ ธรรมของสิ� งตอบแทนที� จ่ ายกับ มู ล ค่ าตามบัญ ชี ข องส่ วนได้เสี ยที� ไม่ มีอ าํ นาจควบคุ ม จํานวน 0.15 ล้านบาท บันทึกเป็ น “การเปลี�ยนแปลงสัดส่ วนในบริ ษทั ย่อย” ซึ�งแสดงอยูภ่ ายใต้ส่วนของเจ้าของในข้อมูลทางการเงินรวม บริษัท ไอ ทเวนตี� วัน อินเตอร์ คอร์ ปอเรชั�น จํากัด (“I Twenty One Inter Corporation”) เมื� อ วัน ที� 4 มี น าคม พ.ศ. 2559 บริ ษ ัท ได้ล งทุ น เพิ� ม ในหุ ้ น สามัญ ของบริ ษัท ไอ ทเวนตี� วัน อิ น เตอร์ ค อร์ ป อเรชั�น จํากัด จํานวน 29,359 หุ ้น ด้วยราคาซื� อ รวม 3.75 ล้านบาท ทําให้สั ดส่ วนการถือ หุ ้น เปลี� ยนแปลงจากเดิมอัตราร้ อ ยละ 90.21 เป็ น ร้อยละ 99.99 ผลต่างจากมูลค่ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที�จ่ายกับมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมจํานวน 0.23 ล้านบาท บันทึกเป็ น “การเปลี�ยนแปลงสัดส่ วนในบริ ษทั ย่อย” ซึ�งแสดงอยูภ่ ายใต้ส่วนของเจ้าของในข้อมูลทางการเงินรวม

63 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


139

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (ค) บริษัทย่ อย (ต่อ) เงินปันผลรับ ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้รับเงินปั นผลจากบริ ษทั ย่อย รวมอยู่ใน “รายได้อื�น” จํานวน 325 ล้านบาท และ 233 ล้านบาท ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการ โดยเงินปันผลรับดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี�

บริ ษทั กรุ๊ ป เทค โซลูชนั� ส์ จํากัด บริ ษทั ไอ ทเวนตี� วัน อินเตอร์คอร์ปอเรชัน� จํากัด บริ ษทั อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชัน� จํากัด

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

324,996,850 324,996,850

181,182,168 15,510,321 36,418,359 233,110,848

ลักษณะของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยในปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 อัตราร้ อยละของหุ้นทีถ� ือ ชื� อ กรุ๊ ป เทค โซลูชนั� ส์ ไอ ทเวนตี� วัน อินเตอร์คอร์ ปอเรชัน� อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชัน�

ชนิดของธุรกิจ จําหน่ายและติดตั�งระบบไฟ และโทรคมนาคม จําหน่ายและติดตั�งอุปกรณ์ ไฟฟ้าและอุปกรณ์ โทรคมนาคม จําหน่ายและซ่อมแซม บํารุ งรักษา อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์โทรคมนาคม

ประเทศที� กิจการจัดตั�ง

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

ลักษณะ ความสั มพันธ์

ไทย

99.99

99.99

ถือหุ น้ ทางตรง

ไทย

99.99

90.21

ถือหุ น้ ทางตรง

ไทย

99.75

89.75

ถือหุ น้ ทางตรง

บริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นได้รวมอยู่ในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุ่มกิจการ บริ ษทั ย่อยไม่ได้ออกจําหน่ ายหุ ้นบุริมสิ ทธิ ทําให้สัดส่ วนของสิ ทธิในการออกเสี ยงในบริ ษทั ย่อยที�ถือโดยบริ ษทั ใหญ่ไม่แตกต่างจากสัดส่ วนที�ถือหุน้ สามัญ ยอดรวมของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีจาํ นวน 164,435 บาท ซึ� งไม่มีสาระสําคัญต่อ งบการเงิน

64 รายงานประจำ�ปี 2559


15

23,677,780 23,677,780 23,677,780 23,677,780

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

23,677,780 23,677,780

ทีด� นิ และส่ วน ปรับปรุง บาท

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ โอนออกไปที�สินค้าคงเหลือ ลดลงจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

50,290,575 (21,037,594) 29,252,981

34,365,192 1,288,593 (1) (3,805,660) (2,595,143) 29,252,981

63,094,757 (28,729,565) 34,365,192

อาคาร บาท

2,046,293 (1,780,184) 266,109

386,197 123,489 (76,788) (166,789) 266,109

2,567,426 (2,181,229) 386,197

ระบบ สาธารณูปโภค บาท

41,162,873 (27,569,887) 13,592,986

19,576,656 3,156,802 (396,138) (3,912) (934,676) (7,805,746) 13,592,986

48,953,170 (29,376,514) 19,576,656

เครื� องมือและ อุปกรณ์ บาท

10,628,606 (7,437,936) 3,190,670

2,407,968 2,017,457 (131,911) (2,273) (16,957) (1,083,614) 3,190,670

11,470,608 (9,062,640) 2,407,968

งบการเงินรวม เครื� องตกแต่ ง และเครื� องใช้ สํ านักงาน บาท

6,872,699 (5,204,387) 1,668,312

1,371,681 1,480,963 (99,919) (113,752) (970,661) 1,668,312

9,062,448 (7,690,767) 1,371,681

อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ บาท

7,293,487 (7,234,992) 58,495

620,296 (1) (561,800) 58,495

7,332,987 (6,712,691) 620,296

376,628 376,628

1,135,476 590,858 (1,349,706) 376,628

1,135,476 1,135,476

งานระหว่ าง ยานพาหนะ ก่ อสร้ าง ทรัพย์ สิน บาท บาท

65

142,348,941 (70,264,980) 72,083,961

83,541,246 8,658,162 (627,969) (6,185) (1,349,706) (4,947,834) (13,183,753) 72,083,961

167,294,652 (83,753,406) 83,541,246

รวม บาท

140


15

23,677,780 23,677,780 23,677,780 23,677,780

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

23,677,780 23,677,780

ทีด� นิ และส่ วน ปรับปรุง บาท

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รายงานประจำ�ปี 2559

50,323,575 (23,135,678) 27,187,897

29,252,981 33,000 (2,098,084) 27,187,897

50,290,575 (21,037,594) 29,252,981

อาคาร บาท

2,052,493 (1,861,479) 191,014

266,109 6,200 (81,295) 191,014

2,046,293 (1,780,184) 266,109

ระบบ สาธารณูปโภค บาท

43,183,591 (34,156,170) 9,027,421

13,592,986 2,046,518 (1) (6,612,082) 9,027,421

41,162,873 (27,569,887) 13,592,986

เครื� องมือและ อุปกรณ์ บาท

10,969,455 (8,372,253) 2,597,202

3,190,670 344,050 (2) (937,516) 2,597,202

10,628,606 (7,437,936) 3,190,670

งบการเงินรวม เครื� องตกแต่ ง และเครื� องใช้ สํ านักงาน บาท

7,596,364 (5,149,849) 2,446,515

1,668,312 1,823,020 (9,938) (1,034,879) 2,446,515

6,872,699 (5,204,387) 1,668,312

อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ บาท

4,484,486 (4,484,481) 5

58,495 (1) (58,489) 5

7,293,487 (7,234,992) 58,495

10,239,195 10,239,195

376,628 9,862,567 10,239,195

376,628 376,628

งานระหว่ าง ยานพาหนะ ก่ อสร้ าง ทรัพย์ สิน บาท บาท

152,526,939 (77,159,910) 75,367,029

72,083,961 14,115,355 (9,942) (10,822,345) 75,367,029

142,348,941 (70,264,980) 72,083,961

รวม บาท

141


15

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ โอนออกไปที�สินค้าคงเหลือ ค่าเสื� อมราคา - สุ ทธิ

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

20,077,780 20,077,780

20,077,780 20,077,780

20,077,780 20,077,780

ทีด� นิ และ ส่ วนปรับปรุง บาท

26,998,276 (9,020,963) 17,977,313

18,886,808 43,893 (953,388) 17,977,313

26,954,383 (8,067,575) 18,886,808

อาคาร บาท

1,200,390 (1,002,677) 197,713

182,007 104,900 (89,194) 197,713

1,095,490 (913,483) 182,007

ระบบ สาธารณูปโภค บาท

478,214 (408,852) 69,362

111,088 17,230 (15,324) (43,632) 69,362

1,203,844 (1,092,756) 111,088

เครื� องมือและ อุปกรณ์ บาท

4,124,792 (2,254,922) 1,869,870

156,049 1,831,856 (20,686) (97,349) 1,869,870

3,037,768 (2,881,719) 156,049

เครื� องตกแต่ ง และเครื� องใช้ สํ านักงาน บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

3,367,602 (2,568,240) 799,362

587,039 657,646 (14,878) (430,445) 799,362

3,926,049 (3,339,010) 587,039

อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ บาท

3,061,729 (3,061,726) 3

3 3

3,061,729 (3,061,726) 3

ยานพาหนะ บาท

376,628 376,628

1,135,476 590,858 (1,349,706) 376,628

1,135,476 1,135,476

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง ทรัพย์ สิน บาท

67

59,685,411 (18,317,380) 41,368,031

41,136,250 3,246,383 (50,888) (1,349,706) (1,614,008) 41,368,031

60,492,519 (19,356,269) 41,136,250

รวม บาท

142


15

รายงานประจำ�ปี 2559

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่าเสื� อมราคา - สุ ทธิ

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

20,077,780 20,077,780

20,077,780 20,077,780

20,077,780 20,077,780

ทีด� นิ และ ส่ วนปรับปรุง บาท

26,998,276 (9,729,357) 17,268,919

17,977,313 (708,394) 17,268,919

26,998,276 (9,020,963) 17,977,313

อาคาร บาท

1,206,590 (1,058,793) 147,797

197,713 6,200 (56,116) 147,797

1,200,390 (1,002,677) 197,713

ระบบ สาธารณูปโภค บาท

556,254 (417,169) 139,085

69,362 103,840 (1) (34,116) 139,085

478,214 (408,852) 69,362

เครื� องมือและ อุปกรณ์ บาท

4,246,523 (2,661,016) 1,585,507

1,869,870 124,932 (1) (409,294) 1,585,507

4,124,792 (2,254,922) 1,869,870

เครื� องตกแต่ ง และเครื� องใช้ สํ านักงาน บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ

3,234,324 (2,050,621) 1,183,703

799,362 874,720 (4,586) (485,793) 1,183,703

3,367,602 (2,568,240) 799,362

อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ บาท

3,061,729 (3,061,726) 3

3 3

3,061,729 (3,061,726) 3

ยานพาหนะ บาท

586,628 586,628

376,628 210,000 586,628

376,628 376,628

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง ทรัพย์ สิน บาท

68

59,968,104 (18,978,682) 40,989,422

41,368,031 1,319,692 (4,588) (1,693,713) 40,989,422

59,685,411 (18,317,380) 41,368,031

รวม บาท

143


144

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15

ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ที�ดินพร้อมสิ� งปลูกสร้างราคาตามบัญชีจาํ นวน 51.06 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและ 37.49 ล้านบาท ในงบการเงิ น เฉพาะบริ ษ ัท (พ.ศ. 2558 : 53.20 ล้านบาท ในงบการเงิ น รวมและ 38.25 ล้า นบาท ในงบการเงิ น เฉพาะบริ ษ ัท ) กลุ่ ม กิ จการได้น ําไปเป็ นหลัก ประกัน วงเงิน สิ น เชื� อ ระยะสั� นและเงิ น กู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงิน ตามหมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงินข้อ 19 ค่าเสื� อมราคาอาคารและอุปกรณ์บนั ทึกอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยมีรายละเอียดดังนี�

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

3,769,899 1,361,200 5,691,246 10,822,345

56,129 224,423 1,413,161 1,693,713

5,225,398 1,435,098 6,523,257 13,183,753

58,568 157,017 1,398,423 1,614,008

ยานพาหนะที�กลุ่มกิจการจัดซื�อโดยการทําสัญญาเช่าการเงินแสดงรวมอยูใ่ นรายการข้างต้น โดยมีรายละเอียดดังนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ราคาทุนของสิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

-

2,809,000 (2,750,510) 58,490

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -

-

69 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


145

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 16

โครงข่ ายเคเบิลใยแก้วนําแสง

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ หัก ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ หัก ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินรวม บาท

งบการเงิน เฉพาะกิจการ บาท

340,959,441 (74,232,631) 266,726,810

340,959,441 (74,232,631) 266,726,810

266,726,810 41,266,789 (22,730,629) 285,262,970

266,726,810 3,365,608 (22,730,629) 247,361,789

382,226,230 (96,963,260) 285,262,970

344,325,049 (96,963,260) 247,361,789

285,262,970 318,398,879 (23,139,515) 580,522,334

247,361,789 404,761,465 (23,139,515) 628,983,739

700,625,109 (120,102,775) 580,522,334

749,086,514 (120,102,775) 628,983,739

70 รายงานประจำ�ปี 2559


146

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 17

สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน

งบการเงินเฉพาะ กิจการ

งบการเงินรวม

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ลดลงจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีสิ�นปี - สุ ทธิ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

สิ ทธิการใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท

สิ ทธิบัตร บาท

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ระหว่ างติดตั�ง บาท

รวม บาท

สิ ทธิการใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท

9,383,336 (2,422,643) 6,960,693

1,559,791 (843,808) 715,983

5,406,301 5,406,301

16,349,428 (3,266,451) 13,082,977

3,848,010 (1,145,718) 2,702,292

6,960,693 1,931,689 (380,030) (361,037) (1,012,072) 7,139,243

715,983 (633,066) (82,917) -

5,406,301 (2,589,971) 2,816,330

13,082,977 1,931,689 (380,030) (3,584,074) (1,094,989) 9,955,573

2,702,292 536,330 (416,676) 2,821,946

10,573,959 (3,434,716) 7,139,243

926,725 (926,725) -

2,816,330 2,816,330

14,317,014 (4,361,441) 9,955,573

4,384,340 (1,562,394) 2,821,946

7,139,243 1,356,612 (1,070,313) 7,425,542

-

2,816,330 239,153 3,055,483

9,955,573 1,595,765 (1,070,313) 10,481,025

2,821,946 544,800 (448,628) 2,918,118

11,930,571 (4,505,029) 7,425,542

926,725 (926,725) -

3,055,483 3,055,483

15,912,779 (5,431,754) 10,481,025

4,929,140 (2,011,022) 2,918,118

71 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


147

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี� งบการเงินรวม

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จะใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที�จะจ่ายชําระเกินกว่า 12 เดือน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

87,574,141

64,444,726

62,001,843

60,721,423

(47,920,491) 39,653,650

(56,320,539) 8,124,187

(47,920,491) 14,081,352

(56,320,539) 4,400,884

รายการเคลื�อนไหวของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมีดงั นี� งบการเงินรวม

วันที� 1 มกราคม เพิ�ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน (ลด) / เพิม� ในกําไรหรื อขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น วันที� 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

8,124,187 31,635,117 (105,654) 39,653,650

1,676,099 6,448,088 8,124,187

4,400,884 9,599,058 81,410 14,081,352

8,702,927 (4,302,043) 4,400,884

72 รายงานประจำ�ปี 2559


148

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) รายการเคลื�อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในระหว่างปี งบการเงินรวม

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผือ� การลดมูลค่าของสิ นค้า ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายได้จากโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า รายได้รับล่วงหน้า ขาดทุนทางภาษี ดอกเบี�ยรอรับรู ้ กําไรในสิ นค้าคงเหลือ/สิ นทรัพย์ อื�น ๆ หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื� อมราคาโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง ต้นทุนค้างจ่าย

วันที� รายการที�รับรู้ 1 มกราคม ในงบกําไร พ.ศ. 2559 ขาดทุนเบ็ดเสร็จ บาท บาท

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท

3,273,899 490,267 2,231,182 53,010,000 189,015 5,250,363 64,444,726

541,968 1,286,650 1,044,968 547,417 (5,250,363) 4,890,702 2,159,553 17,658,560 249,960 23,129,415

3,815,867 1,776,917 3,276,150 53,010,000 736,432 4,890,702 2,159,553 17,658,560 249,960 87,574,141

52,478,403 3,842,136 56,320,539

(4,557,912) (3,842,136) (8,400,048)

47,920,491 47,920,491

73 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


149

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) รายการเคลื�อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในระหว่างปี (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2559

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผือ� การลดมูลค่าของสิ นค้า ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายได้จากโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า รายได้รับล่วงหน้า ขาดทุนทางภาษี อื�น ๆ หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเสื� อมราคาโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง ต้นทุนค้างจ่าย

วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

บาท

รายการที�รับรู้ ในงบกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็จ บาท

1,328,776 943,269 53,010,000 189,015 5,250,363 60,721,423

282,696 213,782 475,226 547,417 (5,250,363) 4,890,702 120,960 1,280,420

1,611,472 213,782 1,418,495 53,010,000 736,432 4,890,702 120,960 62,001,843

52,478,403 3,842,136 56,320,539

(4,557,912) (3,842,136) (8,400,048)

47,920,491 47,920,491

บาท

74 รายงานประจำ�ปี 2559


150

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19

เงินกู้ยืม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

ส่ วนที�หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ตัว� สัญญาใช้เงิน เจ้าหนี�ขายลดลูกหนี� เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารส่ วนที�ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ�งปี หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงินส่ วนที�ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี เงินกูย้ มื ระยะสั�นจากบุคคลภายนอก เงินกูย้ มื ระยะสั�นจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) เงินกูย้ มื หมุนเวียนรวม รายการไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคาร เงินกูย้ มื ไม่หมุนเวียนรวม เงินกู้ยืมรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

573,448,721 -

39,443,313 667,517,556 8,112,486

543,448,721 -

39,443,313 307,603,578 -

98,254,000

-

-

-

-

46,739 32,500,000

-

32,500,000

671,702,721

7,000,000 754,620,094

543,448,721

88,000,000 467,546,891

90,334,829 90,334,829

-

-

-

762,037,550

754,620,094

543,448,721

467,546,891

เงิน สิ น เชื� อ ข้างต้น คํ�าประกัน โดยการจดจํานองที� ดินพร้ อ มสิ� งปลู กสร้ างตามที� กล่ าวไว้ในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิน ข้อ ที� 15 ร่ วมกับการคํ�าประกันโดยกรรมการของบริ ษทั ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบี�ยของเงินกูย้ มื ของกลุ่มกิจการและบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม

เงินกูย้ มื อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ยลอยตัว รวมเงินกูย้ ืม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

732,037,550 30,000,000 762,037,550

482,120,094 272,500,000 754,620,094

543,448,721 543,448,721

360,903,578 106,643,313 467,546,891

75 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


151

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19

เงินกู้ยืม (ต่อ) อัตราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง ณ วันที�ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดงั นี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 เงินเบิกเกินบัญชี ตัว� สัญญาใช้เงิน เจ้าหนี�ขายลดลูกหนี� เงินกูย้ มื ระยะสั�น เงินกูย้ มื ระยะยาว

MOR 3.80 - 4.50 MKT และ MLR-0.5 - MLR-1.25 3.80

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

MOR 3.54 - 6.25 และ MLR-0.5 - MLR-1.5 6.50 - 8.75 5.00 - 8.00 MLR-0.75 - MLR-1.0

MOR 4.00 - 4.50 MKT และ MLR-0.5 - MLR-1.25 -

จํานวนเงินขั�นตํ�าที�ตอ้ งจ่ายซึ�งบันทึกเป็ นหนี�สินตามสัญญาเช่าทางการเงินมีดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของสัญญาเช่า ทางการเงิน มูลค่าปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน

พ.ศ. 2558

MOR 3.54 - 6.25 และ MLR-0.5 - MLR-1.0 6.50 - 8.75 6.00 - 8.00 MLR-1.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

-

47,094 47,094

-

-

-

(355) 46,739

-

-

มูลค่าปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าทางการเงินมีรายละเอียดดังนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี

-

46,739 46,739

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -

-

มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ธนาคาร และหนี�สินตามสัญญาการเงินใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีของรายการดังกล่าว

76 รายงานประจำ�ปี 2559


152

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19

เงินกู้ยืม (ต่อ) วงเงินกู้ยืม กลุ่มกิจการมีวงเงินกูย้ มื ที�ยงั ไม่ได้เบิกออกมาใช้ดงั ต่อไปนี� งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี�ยลอยตัว - ครบกําหนดภายใน 1 ปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

915,933,225

79,247,882

281,198,400

556,687

วงเงินกูย้ มื ที�จะครบกําหนดภายในหนึ�งปี เป็ นวงเงินกูย้ มื ของแต่ละปี ที�จะมีการทบทวนตามวาระในระหว่างปี 20

เจ้ าหนี�การค้ าและเจ้ าหนี�อื�น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

เจ้ าหนี�การค้ า เจ้าหนี�การค้า - บุคคลภายนอก เจ้าหนี�การค้า - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) รวมเจ้าหนี�การค้า

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

139,035,819 139,035,819

361,546,465 5,000 361,551,465

15,891,688 12,608,626 28,500,314

56,777,694 5,000 56,782,694

เจ้ าหนี�อื�น เจ้าหนี�อื�น - บุคคลภายนอก ดอกเบี�ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าส่ วนเกินกว่าขั�นความสําเร็ จ (หมายเหตุ 10) เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ประมาณการต้นทุนค้างจ่าย รวมเจ้าหนี�อื�น

6,511,438 29,004 56,738,200

8,735,322 299,493 33,075,406

3,623,671 26,778,358

3,640,857 846,762 13,053,414

3,611,765 43,853,843 401,634,809 512,379,059

103,303,949 154,967,555 403,818,960 704,200,685

1,578,758 14,547,896 15,014,770 61,543,453

4,613,665 31,248,465 82,747,611 136,150,774

รวมเจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น

651,414,878

1,065,752,150

90,043,767

192,933,468

77 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


153

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 21

หนี�สินหมุนเวียนอื�น

ภาษีขายรอเรี ยกเก็บ ภาษีหกั ณ ที�จ่ายค้างจ่าย อื�น ๆ รวม 22

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

26,442,733 2,869,982 29,312,715

20,567,540 3,541,075 886,818 24,995,433

16,529,154 834,560 17,363,714

16,071,657 1,178,020 17,249,677

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงานประกอบด้วย

ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ ผลประโยชน์พนักงานอื�น หนี�สินในงบแสดงฐานะการเงิน โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน

งบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ หนี�สินในงบแสดงฐานะการเงิน กําไรหรื อขาดทุนที�รวมอยูใ่ นกําไรจากการดําเนินงาน ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ การวัดมูลค่าใหม่สาํ หรับ ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

15,450,685 930,063 16,380,748

11,155,909 11,155,909

6,735,824 356,648 7,092,472

4,716,344 4,716,344

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

15,450,685 15,450,685

11,155,909 11,155,909

6,735,824 6,735,824

4,716,344 4,716,344

4,823,048 4,823,048

3,426,887 3,426,887

1,612,430 1,612,430

1,383,847 1,383,847

(528,272) (528,272)

-

407,050 407,050

-

78 รายงานประจำ�ปี 2559


154

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื�อเกษียณอายุ โครงการเป็ นโครงการเกษียณอายุตามอัตราเงินเดือนเดือนสุ ดท้าย โดยผลประโยชน์ที�ให้จะขึ�นอยู่กับ ระยะเวลาการทํางานและ เงินเดือนในปี สุ ดท้ายของสมาชิกก่อนที�จะเกษียณอายุ รายการเคลื�อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ระหว่างปี มีดงั นี� งบการเงินรวม

วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี�ย (กําไร)ขาดทุนตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย จ่ายผลประโยชน์ การลดลงจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย วันที� 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

11,155,909 4,425,440 397,608 (528,272) 15,450,685

10,133,838 3,115,474 311,413 (1,574,557) (830,259) 11,155,909

4,716,344 1,462,682 149,748 407,050 6,735,824

4,054,810 1,267,654 116,193 (722,313) 4,716,344

ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที�ใช้เป็ นดังนี� งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือนที�คาดไว้ อัตราการหมุนเวียนพนักงาน อายุเกษียณ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

1.79 - 2.35 6.00 11.00 - 31.00 55 ปี

3.18 - 4.19 6.55 - 10.00 11.00 - 40.00 55 ปี

1.79 6.00 18.00 - 30.00 55 ปี

3.18 6.55 17.00 - 27.00 55 ปี

79 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


155

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื�อเกษียณอายุ (ต่อ) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย งบการเงินรวม การเปลีย� นแปลงในข้ อสมมติ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที�กาํ หนดไว้ การเพิม� ขึน� ของข้ อสมมติ การลดลงของข้ อสมมติ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558

อัตราคิดลด

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

ลดลง ร้อยละ 6.86

ลดลง ร้อยละ 4.21

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 7.87

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 4.50

อัตราการเพิ�มขึ�น ของเงินเดือน

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 7.50

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 5.34

ลดลง ร้อยละ 6.68

ลดลง ร้อยละ 5.01

อัตราการหมุนเวียน พนักงาน

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

ลดลง ร้อยละ 7.59

ลดลง ร้อยละ 4.77

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 3.95

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 2.31

งบการเงินเฉพาะกิจการ การเปลีย� นแปลงในข้ อสมมติ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที�กาํ หนดไว้ การเพิม� ขึน� ของข้ อสมมติ การลดลงของข้ อสมมติ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558

อัตราคิดลด

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

ลดลง ร้อยละ 3.38

ลดลง ร้อยละ 2.65

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 3.76

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 2.79

อัตราการเพิ�มขึ�น ของเงินเดือน

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 3.71

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 3.73

ลดลง ร้อยละ 3.41

ลดลง ร้อยละ 3.56

อัตราการหมุนเวียน พนักงาน

ร้อยละ 1.0

ร้อยละ 0.5

ลดลง ร้อยละ 3.89

ลดลง ร้อยละ 3.07

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 2.16

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 1.57

80 รายงานประจำ�ปี 2559


156

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื�อเกษียณอายุ (ต่อ) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (ต่อ) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี� อา้ งอิงจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที�ให้ขอ้ สมมติอื�นคงที� ในทางปฏิบตั ิสถานการณ์ ดังกล่าวยากที�จะเกิดขึ�น และการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของ ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ที� กาํ หนดไว้ที�มีต่อการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับ (มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้คาํ นวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที�ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method)) ณ วันสิ� นรอบ ระยะเวลารายงาน) ในการคํานวณหนี�สินบําเหน็จบํานาญที�รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการและประเภทของข้อสมมติที�ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี�ยนแปลงจากปี ก่อน กลุ่มกิจการมีความเสี� ยงในหลายๆด้านที�เกี�ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุที�กาํ หนดไว้ โดยความเสี� ยงที�มีนยั สําคัญ มีดงั ต่อไปนี� การเปลี�ยนแปลงในอัตรา ผลตอบแทนที�แท้จริ งของ พันธบัตร

อัตราผลตอบแทนที�แท้จริ งของพันธบัตรรัฐบาลที�ลดลงจะทําให้หนี�สินของโครงการเพิ�มสู งขึ�น

การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุที�ไม่มีการคิดลด : งบการเงินรวม น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

419,262

741,576

9,573,187

เกินกว่ า 5 ปี บาท

รวม บาท

28,805,337 39,539,362

งบการเงินรวม น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

-

1,777,838

4,748,837

เกินกว่ า 5 ปี บาท

รวม บาท

16,296,731 22,823,406

81 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


157

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ เมื�อเกษียณอายุ (ต่อ) การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุที�ไม่มีการคิดลด (ต่อ) : งบการเงินเฉพาะกิจการ น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

419,262

741,576

เกินกว่ า 5 ปี บาท

6,446,456

รวม บาท

5,951,992 13,559,286

งบการเงินเฉพาะกิจการ น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ

-

1,626,341

3,252,142

เกินกว่ า 5 ปี บาท

รวม บาท

4,881,192

9,759,675

โครงการผลประโยชน์ พนักงานอื�น โครงการเป็ นโครงการให้ทองคําตามระยะเวลาในการทํางาน โดยผลประโยชน์ที�ให้จะขึ�นกับระยะเวลาในการทํางานของสมาชิ ก ก่อนที�จะเกษียณอายุ รายการเคลื�อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที�กาํ หนดไว้ระหว่างปี มีดงั นี� งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

930,063 930,063

-

356,648 356,648

-

82 รายงานประจำ�ปี 2559


158

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ พนักงานอื�น (ต่อ) ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที�ใช้เป็ นดังนี� งบการเงินรวม อัตราคิดลด อายุเกษียณ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

1.79 - 2.35 55 ปี

-

1.79 55 ปี

-

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย งบการเงินรวม ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที�กาํ หนดไว้ การเปลีย� นแปลงใน การเพิม� ขึน� ของ การลดลงของ ข้ อสมมติ ข้ อสมมติ ข้ อสมมติ อัตราคิดลด อัตราการหมุนเวียนพนักงาน

ร้อยละ 1.0 ร้อยละ 1.0

ลดลง ร้อยละ 5.99 ลดลง ร้อยละ 6.95

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 6.71 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 5.66

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที�กาํ หนดไว้ การเปลีย� นแปลงใน การเพิม� ขึน� ของ การลดลงของ ข้ อสมมติ ข้ อสมมติ ข้ อสมมติ อัตราคิดลด อัตราการหมุนเวียนพนักงาน

ร้อยละ 1.0 ร้อยละ 1.0

ลดลง ร้อยละ 4.18 ลดลง ร้อยละ 5.19

เพิ�มขึ�น ร้อยละ 4.59 เพิ�มขึ�น ร้อยละ 5.00

83 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


159

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) โครงการผลประโยชน์ พนักงานอื�น (ต่อ) การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์พนักงานอื�นที�ไม่มีการคิดลด : งบการเงินรวม น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี บาท บาท บาท ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์พนักงานอื�น

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์พนักงานอื�น 23

เกินกว่ า 5 ปี บาท

รวม บาท

3,184,000

4,016,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ น้ อยกว่ า 1 ปี ระหว่ าง 1-2 ปี ระหว่ าง 2-5 ปี เกินกว่ า 5 ปี บาท บาท บาท บาท

รวม บาท

234,000

130,000

52,000

26,000

546,000

312,000

738,000

1,206,000

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น จํานวนหุ้น

วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การออกหุน้ การเปลี�ยนแปลงมูลค่าตราไว้ หุน้ ละ 100 บาท เป็ นหุน้ ละ 0.50 บาท วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การออกหุน้ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

จดทะเบียน หุ้น

จํานวนหุ้น สามัญที� ออกจําหน่ าย หุ้น

1,550,000 3,450,000

1,550,000 2,200,000

995,000,000 746,250,000 1,000,000,000 750,000,000 - 250,000,000 1,000,000,000 1,000,000,000

หุ้นสามัญ บาท

ส่ วนเกิน มูลค่ าหุ้น บาท

รวม บาท

155,000,000 220,000,000

-

155,000,000 220,000,000

375,000,000 - 375,000,000 125,000,000 1,010,493,000 1,135,493,000 500,000,000 1,010,493,000 1,510,493,000

84 รายงานประจำ�ปี 2559


160

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 23

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น (ต่อ) หุ ้น สามัญจดทะเบี ยนทั�งหมดมี จ าํ นวน 1,000,000,000 หุ ้ น (31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 : 1,000,000,000 หุ ้ น) ซึ� งมี มู ลค่ าที� ตราไว้หุ้ น ละ 0.50 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 0.50 บาทต่ อหุ ้น) หุ ้น สามัญที� ได้ออกและเรี ยกชําระเต็มมูลค่ าแล้วมีจาํ นวน 1,000,000,000 หุ ้น (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 750,000,000 หุน้ ) ในการประชุมสามัญประจําปี เมื�อวันที� 30 เมษายน พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือหุน้ ได้มีมติอนุ มตั ิเพิ�มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน 2,200,000 หุ ้น จากหุ ้นสามัญจํานวน 1,550,000 หุน้ โดยมีมูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เป็ นหุน้ สามัญจํานวน 3,750,000 หุ ้น โดยมีมูลค่าที�ตราไว้ หุ ้น ละ 100 บาท บริ ษ ัท ได้รับ ชําระค่ าหุ ้น สําหรั บ หุ ้น สามัญ ทั�งจํานวน เมื�อ เดื อนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ภายหลังจากการเพิ�มทุ น ดังกล่าวบริ ษทั มีมูลค่าของหุ ้นสามัญจดทะเบียนและได้รับชําระแล้วจํานวน 375 ล้านบาท บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ในการประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้น เมื�อ วัน ที� 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือ หุ ้น ได้มีมติอ นุ มตั ิเพิ�มทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษ ัท จํานวน 1,250,000 หุน้ จากหุน้ สามัญจํานวน 3,750,000 หุน้ โดยมีมูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เป็ นหุ ้นสามัญจํานวน 5,000,000 หุน้ โดยมี มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 100 บาท พร้อมกันนี� ผถู ้ ือหุ ้นได้มีมติอนุ มตั ิการเปลี�ยนแปลงมูลค่าหุ ้นจาก 100 บาทต่อหุ ้น เป็ น 0.50 บาทต่อหุ ้น โดยภายหลังการเปลี�ยนแปลงบริ ษทั มีหุ้นสามัญจดทะเบียนเพิ�มขึ�นจาก 5,000,000 หุ ้น เป็ นหุ ้นสามัญจํานวน 1,000,000,000 หุ ้น บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื�อวันที� 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ในระหว่างวัน ที� 24 ถึ ง 28 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2559 บริ ษ ัท เสนอขายหุ ้ น สามัญ แก่ ป ระชาชนทั�ว ไปครั� งแรก จํา นวน 250 ล้า นหุ ้ น หุน้ สามัญดังกล่าวมีมูลค่าที�ตราไว้หุน้ ละ 0.50 บาทโดยเสนอขายในราคาหุ ้นละ 4.70 บาท รวมเป็ นเงินทั�งสิ� น 1,175 ล้านบาท บริ ษทั บันทึกค่าใช้จ่ายเกี�ยวกับการจัดจําหน่ายหุน้ จํานวน 39.51 ล้านบาท เป็ นรายการหักในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญโดยภายหลังการ จําหน่ ายหุ ้ น บริ ษ ัท มี หุ้น สามัญ จดทะเบี ยนและเรี ย กชํา ระเต็ม มู ล ค่ า แล้ว เพิ� ม ขึ� น จาก 750 ล้านหุ ้ น รวมเป็ นหุ ้ น สามัญ จํานวน 1,000 ล้านหุน้ บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื�อวันที� 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

24

สํ ารองตามกฎหมาย

งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ

วันที� 1 มกราคม จัดสรรระหว่างปี วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

28,600,000 21,400,000 50,000,000

15,500,000 13,100,000 28,600,000

ตามพระราชบัญ ญัติบ ริ ษ ัท มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษัท ต้อ งสํารองตามกฎหมายอย่างน้อยร้ อ ยละ 5 ของกําไรสุ ท ธิ หลังจาก หักส่ วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองนี� จะมีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองนี� ไม่สามารถ นําไปจ่ายเงินปันผลได้

85 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


161

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 25

เงินปันผล พ.ศ. 2559 ที�ประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมื�อวันที� 30 มีนาคม พ.ศ. 2559 ได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล จํานวน 0.214 บาทต่อ หุน้ รวมเป็ นเงินทั�งสิ� น 160.50 ล้านบาท ซึ�งได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ที�ป ระชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ัทเมื�อวัน ที� 30 เมษายน พ.ศ. 2558 ผูถ้ ือ หุ ้นได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงิน ปั นผลจากการดําเนิ น งาน จํานวน 17.135 บาทต่อหุน้ รวมเป็ นเงินทั�งสิ� น 26.56 ล้านบาท ซึ�งได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ แล้วเมื�อวันที� 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั เมื�อวันที� 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 คณะกรรมการได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล จํานวน 154.85 บาทต่อหุน้ รวมเป็ นเงินทั�งสิ� น 240.02 ล้านบาท ซึ�งได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ แล้วในระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558

26

การจ่ ายโดยใช้ หุ้นเป็ นเกณฑ์ เมื�อวันที� 1 เมษายน พ.ศ. 2558 บริ ษทั จําหน่ ายเงินลงทุนในบริ ษทั อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชัน� จํากัด จํานวน 15,000 หุน้ ให้แก่ผบู ้ ริ หาร รายหนึ�งของบริ ษทั อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชัน� จํากัด ในราคา 1.50 ล้านบาท ซึ�งตํ�ากว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน มูล ค่ายุติธรรมของหุ ้นสามัญของ บริ ษ ัท อิ น โนว่า เทเลคอมมิวนิ เคชั�น จํากัด เท่ ากับ 214.80 บาทต่ อหุ ้น คํานวณโดยใช้เทคนิ ค การประเมิ น มู ล ค่ าวิธี ร ายได้ โดยใช้แ บบจํา ลอง Dividend Discount Model โดยคาดว่า บริ ษ ัท จะมี ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลในอัต รา ร้อยละ 60 ของกําไรสุ ทธิ อัตราดอกเบี�ยปลอดความเสี� ยงร้อยละ 2.83 อัตราผลตอบแทนที�ผลู ้ งทุนคาดหวังร้อยละ 16.80 บริ ษทั รับรู ้ รายการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์จาํ นวน 1.84 ล้านบาท เป็ น “ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร” ในงบกําไรขาดทุนรวม

86 รายงานประจำ�ปี 2559


162

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

รายได้อื�น งบการเงินรวม

เงินปันผลรับ (หมายเหตุ 14) รายได้ค่าบริ หารจัดการ - บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) รายได้ค่าเช่า - บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) ดอกเบี�ยรับ กําไรจากการเปลี�ยนสถานะจากบริ ษทั ย่อย เป็ นบริ ษทั ร่ วม กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย รายได้อื�น - บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) รายได้อื�น รวม 28

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

-

-

324,996,850

233,110,848

7,574,604 1,042,572 14,599,760

7,402,008 369,357 5,715,254

14,422,500 6,064,320 18,580,850

12,660,576 4,507,869 1,570,260

287,651 2,694,823 26,199,410

3,003,717 360,124 5,445,923 22,296,383

321,969 179,990 364,566,479

4,327,259 558,069 349,888 257,084,769

ต้ นทุนทางการเงิน งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

ดอกเบี�ยจ่าย เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน สัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื จากบริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 32) อื�น ๆ รวมต้นทุนทางการเงิน

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

36,009,276 356 102,890 272,290 36,384,812

35,404,105 31,036 398,189 35,833,330

18,804,562 1,113,863 272,290 20,190,715

17,511,332 6,785,778 24,297,110

87 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


163

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 29

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ ค่าใช้จ่ายบางรายการที�รวมอยูใ่ นการคํานวณกําไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้สามารถแยกตามลักษณะได้ดงั นี� งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

การเปลี�ยนแปลงในสิ นค้าคงเหลือ ต้นทุนบริ การและวัตถุดิบใช้ไป ต้นทุนค่าแรงผูร้ ับเหมา ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าเสื� อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าเช่าและค่าสาธารณูปโภค ค่าจ้างบริ การ ค่าใช้จ่ายในการนําเข้าและค่าขนส่ ง ขาดทุนจากสิ นค้าล้าสมัย (กลับรายการ) หนี�สงสัยจะสู ญและหนี�สูญ (กลับรายการ) ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายอื�น ๆ

30

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

113,944,391 484,939,617 668,988,733 177,931,496 35,032,173 81,661,809 28,114,632 32,324,576 511,293 5,489,015 12,076,561 9,997,898 27,858,483 1,678,870,677

121,826,973 1,160,153,196 621,590,290 159,122,604 37,009,371 56,801,114 30,623,223 43,912,335 (3,065,188) 2,109,826 10,496,968 12,360,084 27,838,292 2,280,779,088

63,786,005 34,503,761 187,234,754 64,207,397 25,281,856 14,760,354 7,516,994 18,406,539 1,413,484 124,671 6,008,529 2,743,665 12,308,916 438,296,925

(8,298,342) 285,829,964 124,519,807 48,726,018 24,761,313 7,440,762 9,396,203 23,237,230 (8,581,814) (341,507) 3,713,390 5,313,280 6,833,170 522,549,474

ภาษีเงินได้ งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

ภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุ 18) รวมค่าใช้จ่าย(รายได้)ภาษีเงินได้

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

72,592,236 (31,635,117) 40,957,119

63,453,200 (6,448,088) 57,005,112

(9,599,058) (9,599,058)

1,960,760 4,302,043 6,262,803

88 รายงานประจำ�ปี 2559


164

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30

ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภาษี เงินได้สําหรั บ กําไรก่ อ นหัก ภาษี ของกลุ่ มกิ จการมียอดจํานวนเงินที� แ ตกต่างจากการคํานวณกําไรทางบัญชี คูณ กับ ภาษี ของ ประเทศที�บริ ษทั ใหญ่ต� งั อยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี� งบการเงินรวม

กําไรก่อนภาษี ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษีร้อยละ 20 (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 20) ผลกระทบ: ผลการดําเนินงานของบริ ษทั ร่ วมและกิจการร่ วมค้า รายได้ที�ไม่ตอ้ งนํามารวมในการคํานวณภาษี ค่าใช้จ่ายที�ไม่อนุญาตให้ถือเป็ นค่าใช้จ่ายทางภาษี ค่าใช้จ่ายที�มีสิทธิหกั ได้เพิ�ม การรับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้ที�ยงั ไม่ได้รับรู ้ ในงวดก่อน ค่าใช้จ่าย(รายได้)ภาษีเงินได้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

320,492,245

265,021,707

312,813,461

262,369,581

64,098,449

53,004,341

62,562,692

52,473,916

(8,330,450) 1,118,219 (8,785,350)

5,047,447 392,891 (1,439,567)

(64,999,370) 647,240 (7,809,620)

(46,622,170) 444,318 (33,261)

(7,143,749) 40,957,119

57,005,112

(9,599,058)

6,262,803

อัต ราภาษี เงิ น ได้ถ ัวเฉลี� ยถ่ ว งนํ�าหนัก สํา หรั บ งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จการเป็ นร้ อ ยละ 12.78 และร้ อ ยละ 3.07 (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 21.51 และร้อยละ 2.38) ตามลําดับ 31

กําไรต่ อหุ้น กําไรต่อหุ ้นขั�นพื�นฐานคํานวณโดยการหารกําไรที�เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นสามัญด้วยจํานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนักที�ออกจําหน่ าย และชําระแล้วในระหว่างปี งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 กําไรที�เป็ นของผูถ้ ือหุน้ สามัญ (บาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี�ยถ่วงนํ�าหนัก (หุน้ ) กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐาน (บาท)

279,134,156 877,397,260 0.32

206,676,081 572,794,521 0.36

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 322,412,519 877,397,260 0.37

256,106,778 572,794,521 0.45

บริ ษทั ไม่มีหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดที�ออกอยูใ่ นระหว่างปี

89 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


165

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน กิจการและบุคคลที�มีความสัมพันธ์กับบริ ษทั ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้อม โดยผ่านกิจการอื�นแห่ งหนึ� งหรื อมากกว่าหนึ� งแห่ ง โดย ที�บุคคลหรื อกิจการนั�นมีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ที�ดาํ เนินธุรกิจการลงทุน บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ย่อยในเครื อเดียวกัน ถือเป็ นกิจการที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ร่ วมและบุคคลที�เป็ น เจ้าของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ�งมีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญเหนื อกิจการ ผูบ้ ริ หารสําคัญรวมทั�งกรรมการและ พนักงานของบริ ษทั ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที�ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั�น กิจการและบุคคลทั�งหมดถือเป็ นบุคคลหรื อกิจการที� เกี�ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกันซึ� งอาจมีข� ึนได้ตอ้ งคํานึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่า รู ปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ของบริ ษทั ได้แก่ บริ ษทั เอแอลที โฮลดิ�ง จํากัด ซึ�งตั�งอยู่ในประเทศไทย บริ ษทั ใหญ่ดงั กล่าวถือหุน้ ในบริ ษทั คิดเป็ น จํานวนร้อยละ 50 จํานวนหุน้ ที�เหลือร้อยละ 50 ถือโดยบุคคลทัว� ไป ลักษณะความสัมพันธ์ของบริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั กรุ๊ ป เทค โซลูชนั� ส์ จํากัด บริ ษทั อินโนว่า เทเลคอมมิวนิเคชัน� จํากัด บริ ษทั ไอ ทเวนตี� วัน อินเตอร์คอร์ปอเรชัน� จํากัด บริ ษทั เทเลคอม โซลูชนั� ส์ โพรไวเดอร์ จํากัด บริ ษทั เมียนมา อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์ จํากัด บริ ษทั อินฟอร์เมชัน� ไฮเวย์ จํากัด

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วม กิจการร่ วมค้า

เกีย� วข้ องโดย ถือหุน้ ทางตรงและกรรมการบริ หารร่ วมกัน ถือหุน้ ทางตรงและกรรมการบริ หารร่ วมกัน ถือหุน้ ทางตรงและกรรมการบริ หารร่ วมกัน ถือหุน้ ทางตรงและกรรมการบริ หารร่ วมกัน ถือหุน้ ทางอ้อม ถือหุน้ ทางตรงและกรรมการบริ หารร่ วมกัน

นโยบายกําหนดราคาสําหรับแต่ละรายการอธิบายได้ดงั ต่อไปนี� นโยบายการกําหนดราคา

รายการ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รายได้ค่าบริ หารจัดการ ดอกเบี�ยรับ/จ่าย เงินปันผลรับ รายได้ค่าเช่า

ราคาทุนบวกกําไรส่ วนเพิ�ม ราคาที�ตกลงร่ วมกัน ราคาทุนบวกกําไรส่ วนเพิ�ม อัตราดอกเบี�ยเงินกูย้ มื ของสถาบันการเงิน ตามที�ประกาศจ่าย ราคาที�ตกลงร่ วมกัน - อ้างอิงค่าเช่าในบริ เวณใกล้เคียง

90 รายงานประจำ�ปี 2559


166

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี�เป็ นรายการที�มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ก)รายได้จากการขายสิ นค้ าและบริการ งบการเงินรวม สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม รายได้จากการขายสิ นค้ าและให้ บริการ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า รายได้ค่าบริหารจัดการ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน รายได้ค่าเช่ าสํ านักงาน บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า รายได้อื�น บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า ดอกเบีย� รับ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า บริ ษทั ร่ วม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

68,032,826 68,032,826

139,789,745 139,789,745

578,400 50,955,949 51,534,349

10,263,400 121,685,346 131,948,746

7,574,604 7,574,604

7,263,666 138,342 7,402,008

6,847,896 7,574,604 14,422,500

5,120,226 7,263,666 276,684 12,660,576

1,042,572 1,042,572

369,357 369,357

5,021,748 1,042,572 6,064,320

4,138,512 369,357 4,507,869

287,651 287,651

360,124 360,124

97,156 224,813 321,969

330,594 227,475 558,069

13,621,193 13,621,193

2,292,225 84,870 2,377,095

10,301,507 8,031,664 18,333,171

1,213,678 25,322 1,239,000

91 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


167

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี�เป็ นรายการที�มีสาระสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ก)

รายได้จากการขายสิ นค้ าและบริการ (ต่อ) สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม เงินปันผลรับ บริ ษทั ย่อย

ข)

การซื� อสิ นค้ าและบริการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม ต้ นทุนขายและบริการ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน

ดอกเบีย� จ่ าย บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า

เงินปันผลจ่ าย บริ ษทั ใหญ่

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

-

-

324,996,850 324,996,850

233,110,848 233,110,848

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

-

6,750 6,750

303,497,697 303,497,697

1,029,568 51,000 1,080,568

102,890 102,890

81,027 317,162 398,189

90,425 1,023,438 1,113,863

81,027 6,387,589 317,162 6,785,778

107,000,000 107,000,000

-

107,000,000 107,000,000

-

92 รายงานประจำ�ปี 2559


168

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี�เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ค)

ยอดค้ างชําระที�เกิดจากการซื� อสิ นค้ าและบริการ

ลูกหนี�การค้ า (หมายเหตุ 9) บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า ลูกหนี�อื�น (หมายเหตุ 9) บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า ดอกเบีย� ค้ างรับ กิจการร่ วมค้า บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน เจ้ าหนี�การค้ า (หมายเหตุ 20) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที�เกี�ยวข้องกัน ดอกเบีย� ค้ างจ่ าย บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย หนี�สินไม่ หมุนเวียนอื�น กิจการร่ วมค้า

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

6,476,021 6,476,021

1,131,684 1,131,684

5,842,176 5,842,176

101,215 101,215

1,784,912 1,784,912

957,698 957,698

1,034,339 900,912 1,935,251

1,064,726 957,698 2,022,424

10,989 10,989

4,816,811 10,989 4,827,800

10,989 10,989

1,193,151 10,989 1,204,140

-

5,000 5,000

12,608,626 12,608,626

5,000 5,000

-

81,027 81,027

-

81,027 645,013 726,040

1,605,000 1,605,000

825,000 825,000

-

-

93 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


169

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ)

รายการต่อไปนี�เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ง)

เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั� นแก่กจิ การที�เกีย� วข้ องกัน

เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั� นแก่กจิ การที�เกีย� วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้า

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

317,000,000 317,000,000

145,700,000 145,700,000

459,000,000 317,000,000 776,000,000

40,000,000 40,000,000

การเคลื�อนไหวของเงินให้กยู้ มื ระยะสั�นแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกันในระหว่างปี แสดงไว้ดงั ต่อไปนี�

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ยอดยกมาต้นปี เงินให้กยู้ มื เพิม� ระหว่างปี รับคืนเงินให้กยู้ มื ระหว่างปี ยอดคงเหลือสิ� นปี

งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

บาท

บาท

145,700,000 506,000,000 (334,700,000) 317,000,000

40,000,000 761,000,000 (25,000,000) 776,000,000

เงินให้กูย้ ืมแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกันเป็ นไปตามเงื�อนไขทางการค้าในการให้กูย้ ืมปกติ รายได้ดอกเบี�ยที�เกี�ยวข้องเป็ นจํานวนเงิน 13,621,193 บาท ในงบการเงินรวมและ 18,333,171 บาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ (พ.ศ. 2558 : 2,377,095 บาท ในงบการเงินรวม และ 1,239,000 บาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ) เงินให้กูย้ ืมแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกันมีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 5.0 และครบกําหนด ชําระคืนเมื�อทวงถาม

94 รายงานประจำ�ปี 2559


170

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ)

รายการต่อไปนี�เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) จ)

เงินกู้ยืมระยะสั� นจากกิจการที�เกีย� วข้ องกัน งบการเงินรวม

เงินกู้ยืมระยะสั� นจากกิจการที�เกีย� วข้ องกัน บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

-

7,000,000 7,000,000

-

7,000,000 81,000,000 88,000,000

งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

บาท

บาท

7,000,000 4,000,000 (11,000,000) -

88,000,000 4,000,000 (92,000,000) -

การเคลื�อนไหวของเงินกูย้ มื ระยะสั�นจากกิจการที�เกี�ยวข้องกันในระหว่างปี แสดงไว้ดงั ต่อไปนี�

สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ยอดยกมาต้นปี เงินกูย้ มื เพิ�มระหว่างปี จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระหว่างปี ยอดคงเหลือสิ� นปี

เงิน กู้ยืมระยะสั� นจากบุ คคลและกิ จการที� เกี� ยวข้อ งกันเป็ นไปตามเงื�อ นไขทางการค้าในการให้กู้ยืมปกติ มีดอกเบี� ยจ่าย ที�เกี� ยวข้องเป็ นจํานวนเงิน 102,890 บาท ในงบการเงิน รวม และ 1,113,863 บาท ในงบการเงินเฉพาะบริ ษทั (พ.ศ. 2558 : 398,189 บาท ในงบการเงินรวม และ 6,785,778 บาท ในงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ) เงินกูย้ มื ระยะสั�นจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน จะครบกําหนดชําระคืนเมื�อทวงถาม

95 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)


171

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายการกับกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ) รายการต่อไปนี�เป็ นรายการกับบุคคลหรื อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (ต่อ) ฉ)

ค่ าตอบแทนผู้บริหารสํ าคัญของกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

ผลประโยชน์ระยะสั�น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

33

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

20,986,441 1,185,236 22,171,677

14,943,852 1,178,845 16,122,697

9,979,873 700,398 10,680,271

3,552,183 710,131 4,262,314

ภาระผูกพันและหนี�สินที�อาจจะเกิดขึน� ก)

หนังสื อคํา� ประกันจากธนาคาร ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 กลุ่ ม กิ จการมีภาระผูกพัน จากการคํ�าประกัน โดยธนาคาร จํานวน 58.95 ล้านบาท และ 0.85 ล้านดอลลาร์สหัฐอเมริ กา (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 72.01 ล้านบาท และ 0.47 ล้านดอลลาร์สหัฐอเมริ กา)

ข)

ภาระผูกพันตามสั ญญาเช่ าดําเนินงาน - กรณีกลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า ณ วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่ ม กิ จการมี ภาระผูก พัน ตามสั ญ ญาเช่ าระยะยาว โดยมียอดรวมของจํานวนเงิน ขั�น ตํ�า ที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตที�ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี� งบการเงินเฉพาะบริษัท

งบการเงินรวม

ไม่เกิน 1 ปี เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เกินกว่า 5 ปี

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

58,772,070 88,966,377 248,789,819 396,528,266

44,177,650 68,662,778 201,576,879 314,417,307

10,607,449 44,862,258 248,789,819 304,259,526

8,356,646 33,073,332 201,576,879 243,006,857

96 รายงานประจำ�ปี 2559


172

บริษัท เอแอลที เทเลคอม จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 34

สิ นทรัพย์ ที�อาจจะเกิดขึน� เมื�อวันที� 22 สิ งหาคม พ.ศ. 2556 บริ ษทั ได้เป็ นโจทย์ยื�นฟ้องลูกค้ารายหนึ� ง (“คู่สัญญา”) ต่อศาลปกครองกลาง กรณี คู่สัญญาผิดสัญญา ใช้บริ การโครงข่ายเคเบิ�ลใยแก้วนําแสงและอุปกรณ์ประกอบ Fiber To The Factory (FTTF) ภายในเขตพื�นที�นิคมอุตสาหกรรมแห่ งหนึ� ง เพื�อให้คู่สัญญารายดังกล่าวชําระค่าบริ การใช้บริ การโครงข่ายและค่าใช้จ่ายอื�น ๆ ที�เกี�ยวข้อง เมื�อวันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สั�งให้คู่สัญญารายดังกล่าวชดใช้ความเสี ยหายให้กบั บริ ษทั โดยคู่สัญญา ต้องชดใช้ค่าขาดประโยชน์จากการใช้โครงข่ายดังกล่าวในอัตราเดือนละ 13.5 ล้านบาท นับแต่วนั ที� 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เป็ นต้นไป จนกว่า โครงข่ ายดังกล่ าวจะถู ก ส่ งมอบคื น เป็ นที� เรี ยบร้ อ ย อย่างไรก็ ต ามคดี ความดังกล่ าวยังไม่ ถึ งที� สุ ด เนื� อ งจากคู่ สั ญ ญาได้ ยืน� อุทธรณ์ผลการตัดสิ นดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด

35

เหตุการณ์ ภายหลังวันที�ในงบแสดงฐานะการเงิน เมื�อวันที� 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ที�ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผลจากการดําเนิ นงานของปี พ.ศ. 2559 จํานวน 0.10 บาทต่อหุน้ รวมเป็ นเงินทั�งสิ� น 100 ล้านบาท โดยกําหนดรายชื�อผูถ้ ือหุน้ ที�มีสิทธิ ได้รับเงินปันผล ณ วันที� 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 และรวบรวมรายชื�อตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ โดยปิ ดสมุดทะเบียนในวันที� 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 และกําหนดจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในวันที� 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

97 บริษัท เอแอลที เทเลคอม จำ�กัด (มหาชน)




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.