AMATA: รายงานประจำปี 2556

Page 1

READY FOR NEW CHALLENGES AEC

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ� ำ ปี

2556


วิสัยทัศน์

ผู้น�ำ การพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมระดับโลก


พันธกิจ

อมตะ พัฒนาเมืองที่มีความทันสมัย บริการคุณภาพ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม


คุณสมบัติ ของพนักงานอมตะ D R I V E-The 5 key characteristics employees should have : D DEPENDABLE (น่าเชื่อถือวางใจได้) R RESPONSIVE (พร้อมให้การตอบสนอง) I INNOVATIVE (ลองคิดสิ่งใหม่) V VISIONARY (มองไกลไปข้างหน้า) E EFFICIENT (เต็มคุณค่ามีประสิทธิภาพ)


สารบัญ

06 07 10 14 16 28 29 30 33 44 45 53 54 55 56 60

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน ผลประกอบการตามงบการเงินรวม 2552-2556 สารจากประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประวัติคณะกรรมการ โครงสร้างบริษัท ผังองค์กร นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง ข้อมูลทั่วไป บุคคลอ้างอิงอื่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ นโยบายการจ่ายเงินปันผล โครงสร้างการจัดการ การก�ำกับดูแลกิจการ

78 81 82 83 84 90 92 93 95 146 150 152 154

ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ การวิเคราะห์ และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงินประจ�ำปี 2556 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน ประวัติผู้บริหาร ประวัติผู้บริหารบริษัทย่อย ตารางแสดงการด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหารในบริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง กรรมการในบริษัทย่อย


ปัจจัย แห่งความส�ำเร็จ

Q-1

ตั้งอยู่ในท�ำเลที่ดีบริเวณชายฝั่งตะวันออก


รายงานประจ�ำปี

2556 Q-3

Q-2

โครงสร้างพื้นฐานที่มีคุณภาพ เพื่อสนับสนุนการผลิตอย่าง มีประสิทธิภาพ

บริการอย่างมีคุณภาพ ทั้งก่อนและหลังการขาย


06

ข้ อมู ลส� ำ คั ญทางการเงิน

ข้อมูลส�ำคัญ ทางการเงิน

2556 ผลประกอบการ

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 2556

2555

2554 2553 2552 (ใช้ น โยบายการบั ญชี ที่ แ ตกต่ า งกั น )*

งบก� ำ ไรขาดทุ น (ล้ า นบาท)

รายได้รวม รายได้จากการขาย ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรสุทธิ (ก่อนก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ทีเ่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ)

7,506.08 7,164.25 3,436.79 1,515.58

6,089.97 3,923.54 3,178.49 2,230.14 5,612.91 3,647.94 3,046.32 2,035.10 2,817.60 1,759.62 1,409.57 716.01 1,501.21 900.51 695.91 372.31

งบแสดงฐานะการเงิ น (ล้ านบาท)

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม

22,203.24 21,014.09 17,823.19 14,380.61 13,412.23 12,011.74 12,107.87 10,360.55 8,270.89 7,180.61 10,191.50 8,906.22 7,462.64 6,109.72 6,231.62

ก� ำ ไรต่ อหุ ้ นและการจ่ า ยปั นผล (มูล ค่าหุ้น สามัญ ที่ต ราไว้ มูล ค่าหุ้น ละ 1 บาท)

ก�ำไรต่อหุ้น (บาท) การจ่ายปันผล (ล้านบาท)

1.42 586.82

1.41 693.43

0.84 160.05

0.65 266.73

0.35 106.69

25.69 20.20 8.92 1.18

29.46 21.92 9.24 1.36

26.59 15.01 6.45 1.39

24.52 12.63 5.61 1.35

21.23 8.01 3.67 1.15

อั ต ราส่ ว นทางการเงิ นที่ ส� ำคัญ

อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า) * ตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3.1 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ผลประกอบการตามงบการเงิ น รวม 2552-2556

ผลประกอบการ ตามงบการเงินรวม 2552-2556

07

7,506.08 1,515.58 รายได้รวม

ก�ำไรสุทธิ

(ก่อนก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ)

3,436.79

1.42

ก�ำไรขั้นต้น

ก�ำไรต่อหุ้น

ผลการด�ำเนินงานของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 2552

354 655 1,009

1,018 1,829 2,847

599 966 1,565

437 858 1,295

185 68 253

1.15

2553

1.35

2554

1.39

2555

1.36

1.18

716.01

1,409.57

1,759.62

2,817.60

3,436.79

2,230.14

3,178.49

3,923.54

6,089.97

7,506.08

จ�ำนวนพื้นที่ที่ท�ำสัญญาขายในระหว่างปี (ไร่)** นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร & นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ หมายเหตุ: ** ที่ดินของนิคมอุตสาหกรรมอมตะเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น

2556

2556 2555 2554 2553 2552

2556 2555 2554 2553 2552

ก�ำไรต่อหุ้น

การจ่ายปันผล

(บาท)

“Ready for new Challenges”

(ล้านบาท)

372.31

695.91

900.51

1,501.21

1,515.58

106.69

266.73

160.05

693.43

586.82

อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า)

0.35

ก�ำไรขั้นต้น

0.65

รายได้รวม

0.84

2556 2555 2554 2553 2552

1.41

2556 2555 2554 2553 2552

1.42

2556 2555 2554 2553 2552

2556 2555 2554 2553 2552

ก�ำไรสุทธิ

(ก่อนก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ)

586.82 การจ่ายปันผล

1.18

อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน


อมตะ และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) “อมตะมีความพร้อม เพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งถือว่าเป็นโอกาสอันสดใส และเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง”


10 7

1

5

8

3

2 9

6 4

ไทย บรูไน ดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม


10

สารจากประธานคณะกรรมการ

สารจาก ประธานคณะกรรมการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ปี2556 เป็นปีทที่ า้ ทายของบริษทั บริษทั ต้องเผชิญกับภาวะ ปัญหาวุน่ วายทางการเมืองในประเทศไทย ท�ำให้ยอดขายหดตัวลง อย่างรุนแรง บริษทั มียอดขายเพียง 1 ใน 3 ของเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ นอกจากนีย้ งั มีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ จากการป้องกันน�ำ้ ท่วม และช่วยเหลือ ชุมชนในจังหวัดชลบุรีซึ่งกระทบผลประกอบการไตรมาส 4

2556

รายงานประจ�ำปี

เพื่อลดผลกระทบของความผันผวนของรายได้ซึ่งส่วนใหญ่ เกิดจากการขายที่ดิน บริษัทได้ขยายธุรกิจเพิ่มเติมในธุรกิจผลิต ไฟฟ้าโดยในปี 2556 คณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั กิ ารเข้าไปถือหุน้ ในโรงไฟฟ้า 2 โรงทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร และ 3 โรงทีน่ คิ ม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดประมาณ 130 เมกกะวัตต์ต่อโรง

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


สารจากประธานคณะกรรมการ

11

ส�ำหรับในปี 2557 บริษัทมีแผนการด�ำเนินงานดังนี้ 1. เพิ่มยอดขายที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมทั้ง ในประเทศไทย และเวียดนามโดยจะท�ำการตลาดเชิงรุกเจาะตลาดเป้าหมาย เช่น ญีป่ นุ่ จีน นิคมอุตสาหกรรมของอมตะตัง้ อยูบ่ นบริเวณ ที่สะดวกในการเดินทาง และการขนส่งสินค้าทั้งทางอากาศ และทางทะเลซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญส�ำหรับธุรกิจส่งออก 2. ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมแห่งใหม่ ในต่างประเทศ ในโอกาสนีก้ ระผมขอขอบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน พันธมิตร ทางธุรกิจ ลูกค้า รวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด ที่สนับสนุน ธุรกิจด้วยดีมาโดยตลอด และขอขอบคุณอย่างยิง่ ต่อคณะผูบ้ ริหาร พนักงานทุกคนส�ำหรับความพยายามทุม่ เทในการท�ำงาน สุดท้ายนี้ กระผมขอให้ทกุ คนมัน่ ใจว่า พวกเราพร้อมยืนหยัดในทุกสถานการณ์ เพื่อน�ำพาองค์กรสู่ความก้าวหน้าต่อไปอย่างมั่นคง

(ดร. วิษณุ  เครืองาม)

“Ready for new Challenges”


นิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร ชลบุรี ประเทศไทย

นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ตั้งอยู่บนท�ำเลที่ดี ห่างจากกรุงเทพมหานคร เป็นระยะทาง 57 กม. ระหว่างทางพิเศษ ยกระดับบางนา-ตราด และ มอเตอร์เวย์ กรุงเทพ-ชลบุรี โรงงานที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมนี้ สามารถเดินทางระหว่างกรุงเทพมหานคร และบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออก ได้โดยสะดวก และได้ประโยชน์ จากการที่อยู่ใจกลางย่านอุตสาหกรรม ชายฝั่งด้านตะวันออก ซึ่งมีโครงสร้างพื้นฐานที่มีคุณภาพ



14

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ บริษัท นายวิกรม กรมดิษฐ์

ดร.วิษณุ เครืองาม นายเคอิตะ อิชิอิ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

นายอนุชา สิหนาทกถากุล

รายงานประจ�ำปี 2556


คณะกรรมการบริ ษั ท

15

นายวัฒนา สุภรณ์ ไพบูลย์

นายนพพันธป์ เมืองโคตร นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์

“Ready for new Challenges”

นายจักก์ชัย พานิชพัฒน์

รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์


16

ประวั ติ คณะกรรมการ

ประวัติ คณะกรรมการ

ดร.วิษณุ  เครืองาม ประธานกรรมการ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 27 เมษายน 2550 อายุ 63 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ (เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • ปริญญาโท สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบอร์กเล่ย์ สหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบอร์กเล่ย์ สหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) ปี 2551 ประสบการณ์การท�ำงาน • ศาสตราจารย์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เลขาธิการคณะรัฐมนตรี • รองนายกรัฐมนตรี • กรรมการสภามหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยทักษิณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สถาบันพระปกเกล้า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย) • นายกสภามหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์) ต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ประธานกรรมการบริษัท ศิครินทร์ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริษัท กรุงเทพธนาธร จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริษัท นามยง เทอร์มินัล จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท โพสต์ พลับบริชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท เสริมสุข จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัทหลักทรัพย์ เออีซี จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 6 ปี 9 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผ่ี า่ นมา รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ค ณะกรรมการ

17

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 23 เมษายน 2553 อายุ 53 ปี การศึกษา • ปริญญาตรีด้านนิติศาสตร์ จาก Waseda University, Japan การอบรมหลักสูตรกรรมการ ไม่มี ประสบการณ์การท�ำงาน • Director of ITOCHU Chemical Frontier Corporation, Japan ต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ต�ำแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการ บริษัท อีโตชู (ไทยแลนด์) จ�ำกัด และบริษัท อีโตชู แมนเนจเมนท์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลแฟมิลี่มาร์ท จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซูซูกิ ลิสซิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 3 ปี 9 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา

นายเคอิตะ  อิชิอิ รองประธานกรรมการ

“Ready for new Challenges”


18

ประวั ติ คณะกรรมการ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 6 มีนาคม 2533 อายุ 61 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ไต้หวัน การอบรมหลักสูตรกรรมการ ไม่มี ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการผู้จัดการ บริษัท วี แอนด์ เค คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ บริษัท กรมดิษฐ์ จ�ำกัด • รองประธานบริษัท บี ไอ พี แอนจิเนียริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท อมตะ (เวียตนาม) จ�ำกัด • กรรมการบริษัท อมตะ เพาเวอร์ จ�ำกัด ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการ บริษัท อมตะ โฮลดิ้ง จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท อมตะ ดีเวลล็อปเม้นท์ จ�ำกัด • กรรมการบริษัท อมตะ แมนชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการบริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด • ประธานมูลนิธิอมตะ การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน / กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 0 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 23 ปี 10 เดือน การถือหุ้นในบริษัท 215,700,000 (20.22%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผ่ี า่ นมา

นายวิกรม  กรมดิษฐ์ กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ค ณะกรรมการ

นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์ กรรมการ / กรรมการบริหาร

“Ready for new Challenges”

19

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 23 กรกฎาคม 2546 อายุ 75 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทกซัส ณ เมือง ออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.) การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) ปี 2546 • Finance for Non-Finance Director (FN) ปี 2548 • Director Certification Program (DCP) ปี 2549 • Role of Compensation Committee (RCC) ปี 2550 • Audit Committee Program (ACP) ปี 2552 ประสบการณ์การท�ำงาน • รองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน • กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท เทพธานีกรีฑา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท กันยงอิเลคทริก จ�ำกัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการอื่นในปัจจุบัน (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการ บริษัท แมกเนคอมพ์ พรีซิซั่น เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท พรีซิพาร์ท จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท อมตะวอเตอร์ จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ดี-จิ้ก จ�ำกัด • รองประธานกรรมการ บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด • กรรมการ Amata Asia Ltd. • กรรมการ บริษัท ซาน มิเกล เบียร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซาน มิเกล มาร์เก็ตติ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทย ซาน มิเกล ลิเคอร์ จ�ำกัด การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน / กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 10 ปี 6 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผ่ี า่ นมา


20

ประวั ติ คณะกรรมการ

นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 17 กุมภาพันธ์ 2555 อายุ 74 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเท็กซัส เมืองออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) 35 การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) ปี 2549 • Finance for Non-Finance Director (FN) ปี 2549 • Director Certificate Program (DCP) ปี 2550 • Audit Committee Program (ACP) ปี 2550 ประสบการณ์การท�ำงาน • รองผู้ว่าการรถไฟ ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่นในปัจจุบัน (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) ไม่มี การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 1 ปี 10 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ค ณะกรรมการ

21

ประเภทของกรรมการ • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 28 เมษายน 2549 อายุ 53 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี คณะบริหาร (คอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารจัดการสาธารณะ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) ปี 2547 • Director Certification Program (DCP) ปี 2550 • TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 1 ปี 2550 ประสบการณ์การท�ำงาน • ประธานสมาคมว่ายน�้ำสมัครเล่นแห่งประเทศไทย • ประธานสมาคมว่ายน�้ำสมัครเล่นแห่งเอเชีย • กรรมการ บริษัท ดูแพลน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการและที่ปรึกษาสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • ประธาน TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 1 • ได้รับรางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีพุทธศักราช 2552 จากสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ บริษัท อมตะซิตี้ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การอุตสาหกรรมระยอง ไทย-จีน จ�ำกัด • กรรมการ Amata Asia Ltd. การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 7 ปี 9 เดือน นายวิบูลย์  กรมดิษฐ์ การถือหุ้นในบริษัท 300,000 หุ้น (0.03%) ถือโดยภรรยา กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานเจ้าหน้าที่การตลาด และรักษาการ ข้• อไม่มูลอืม่นีคๆ ดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา แทนต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา

“Ready for new Challenges”


22

ประวั ติ คณะกรรมการ

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง

นายอนุชา  สิหนาทกถากุล กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 27 เมษายน 2550 อายุ 55 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาบัญชี และการบริหาร Houston Baptist University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) University of Houston, ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Certification Program (DCP) ปี 2543 • Fellow Member ปี 2544 • Director Compensation ปี 2546 • Non-Executive Director ปี 2547 • Board Failure and How to Fix it ปี 2547 • CEO Performance Evaluation ปี 2547 • Raising the Awareness of Corporate Fraud in Thailand ปี 2548 ประสบการณ์การท�ำงาน • กรรมการ และรองประธานกรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ไซรัส จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการการคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน วุฒสิ ภา • ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมาธิการด้านการธนาคาร และสถาบันการเงินวุฒิสภา • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท นวลิสซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เดอะมอลล์นครราชสีมา จ�ำกัด ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บริษัท โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ เพาเวอร์ (ระยอง) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ค ณะกรรมการ

23

ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการ บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง)2 จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะวอเตอร์ จ�ำกัด • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ Amata Asia Ltd. • กรรมการ บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ดาต้า อิน โมชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ดาต้า เทคโนโลยี่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท มูนแดนซ์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท มูนแดนซ์ บิสโทร จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท แคปปิตัล โฟคัส จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท โฟคัส เอนไวรอนเมนทัล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท 888 พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไร่อาทิตย์ จ�ำกัด การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน / กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1/1 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 6 ปี 9 เดือน การถือหุ้นในบริษัท 5,534,000 หุ้น (0.52%) ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความที่ขัดต่อคุณสมบัติของกรรมการของบริษัทจดทะเบียนในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา

“Ready for new Challenges”


24

ประวั ติ คณะกรรมการ

นายนพพันธป์  เมืองโคตร กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 26 กรกฎาคม 2544 อายุ 65 ปี การศึกษา • Diploma, Springfield Township High School, Phila., Pa. (American Field Service Scholarship) พ.ศ. 2509-2510 • นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2510-2514 • ประกาศนียบัตรเนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2515 • นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (LL.M. Corporations) New York University (Fulbright and Asia Foundation Scholarships) พ.ศ. 2518-2520 การอบรมหลักสูตรกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) 43/2548 ประสบการณ์การท�ำงาน • หัวหน้าฝ่ายกฎหมาย บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ ไอทีเอฟ จ�ำกัด พ.ศ. 2515-2518 • ทนายความ ส�ำนักงานกฎหมายแชนด์เล่อร์และทองเอก พ.ศ. 2520-2524 ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • กรรมการอิสระ บริษัท อิออน (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เดิม “บริษัท สยาม-จัสโก้ จ�ำกัด”) • รองประธานกรรมการ บริษทั สหกล อีควิปเมนท์ จ�ำกัด และบริษทั สหกล เอนยิเนีย จ�ำกัด • ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เจริญสิน พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พีเอฟ คอนโทรลส์ กรุ๊ป จ�ำกัด • เจ้าของส�ำนักงานกฎหมาย อินเตอร์เนชัน่ แนล บิสซิเนส ลอว์เยอร์ส จ�ำกัด พ.ศ.2524-ปัจจุบนั การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1/1 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 12 ปี 6 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มีการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ค ณะกรรมการ

รศ.ดร.สมเจตน์  ทิณพงษ์ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา และก�ำหนด ค่าตอบแทน

“Ready for new Challenges”

25

ประเภทของกรรมการ • กรรมการอิสระ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่ก�ำหนดในหนังสือรับรอง วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ 28 ธันวาคม 2542 อายุ 65 ปี การศึกษา • ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก Doctor of Engineering (D. Eng.) ปี พ.ศ. 2523 ; Asian Institute of Technology (AIT) (King’s Scholarship (Thailand) • ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท Master of Engineering (M. Eng.) ปี พ.ศ. 2516 ; Asian Institute of Technology (AIT) (British Government Scholarship) • ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี Bachelor of Engineering (B. Eng.) ปี พ.ศ. 2514 ; University of Tasmania (Australia) (Colombo Plan Scholarship) ประสบการณ์การท�ำงาน • 9 ปี ในฐานะผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • 3 ปี ในฐานะกรรมการผู้จัดการใหญ่สนามบินสุวรรณภูมิ ตําแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการ บริษัท ปรีชากรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ตําแหน่งในกิจการอื่น (ที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน) • ประธานกรรมการบริหาร ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) • กรรมการผู้จัดการ บริษัท Dawei Development Company Limited การดํารงตําแหน่งในกิจการที่แข่งขัน/กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท ไม่มี การเข้าประชุมปี 2556 • ประชุมคณะกรรมการบริษัท 6/6 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5/5 ครั้ง • ประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1/1 ครั้ง • ประชุมผู้ถือหุ้น 1/1 ครั้ง จ�ำนวนปีที่เป็นกรรมการ 14 ปี การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี ข้อมูลอื่นๆ • ไม่มีคดีความในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา • ไม่มกี ารท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผ่ี า่ นมา


สาธารณูปโภค และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่ได้มาตรฐาน

- ระบบไฟฟ้า - ระบบไอน�้ำ - การบริการอ�ำนวยความสะดวก - ระบบมาตรฐานอุตสาหกรรม

- ระบบน�้ำเพื่อการอุตสาหกรรม - ระบบการบ�ำบัดน�้ำเสีย - ระบบก๊าซธรรมชาติ - ระบบสื่อสารโทรคมนาคม - การให้บริการทางการแพทย์ - ระบบความปลอดภัย - การบ�ำรุงรักษาถนนและสิ่งแวดล้อม



28

โครงสร้ า งบริษัท

โครงสร้างบริษัท

8%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 9 ก.ย. 2539

8%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 12 ม.ค. 2553

บจก. อมตะ ซิตี้

30%

บจก. พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) 20 มี.ค. 2555

60%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์

62%

83.67%

5 มิ.ย. 2538

21%

13.77%

(ไทย-จีน) 20 มี.ค. 2555

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3

62%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4

50%

20.115%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5

50%

บจก. อมตะ วอเตอร์

0.0003%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 26 ส.ค. 2553

5 มี.ค. 2542

20%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 26 ส.ค. 2553

26 ส.ค. 2553

100%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 12 ม.ค. 2553

26 ส.ค. 2553

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน 6 มีนาคม 2532

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 9 ก.ย. 2539

12 ม.ค. 2553

20.115%

บจก. อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 12 ม.ค. 2553

2 มี.ค. 2538

10%

บจก. พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การอุตสาหกรรมระยอง

Amata (Vietnam) JSC. 31 ธ.ค. 2537

บจก. อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ 27 พ.ย. 2544

91%

บจก. อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิซ

25%

บจก. อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์

29.10%

29 พ.ย. 2545

43.49%

11 เม.ย. 2556

15 มิ.ย. 2533

49%

นิคมอุตสาหกรรม สาธารณูปโภค บริการ

บจก. สตารทิจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) บจก. อมตะ แมนชั่น เซอร์วิส 15 พ.ย. 2534

บจก. อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ 15 ธ.ค. 2547

21%

บจก. เวีย โลจิสติกส์ 27 ธ.ค. 2547

4.25%

อื่นๆ

บจก. โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) 27 ก.ย. 2548

100%

Amata Asia Ltd.

44.04%

บมจ. อมตะ วีเอ็น

69.9997%

28 พ.ค. 2551

44.29%

30 ส.ค. 2555

100%

Amata Global Pte. Ltd. 14 พ.ย. 2556

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

บมจ. อมตะ วีเอ็น 30 ส.ค. 2555

Amata (Vietnam) JSC. 31 ธ.ค. 2537 10%

บจก. อมตะ เพาเวอร์ (เบียนหัว) 29 มิ.ย. 2539

รายงานประจ�ำปี 2556


ผั ง องค์ ก ร

29

ผังองค์กร

คณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (1)

ฝ่ายตรวจสอบภายใน

ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (12)

ฝ่ายพัฒนาข้อมูลองค์กร (1)

สายงานการตลาด (1)

สายงานพัฒนาธุรกิจ (1)

สายงาน IT, IR, บัญชีและการเงิน (1)

สายงานปฏิบัติการ

ฝ่ายการตลาด (10)

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ (7)

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (5)

ฝ่ายกฎหมาย (1)

ฝ่ายที่ดินและประสานงานราชการ (7)

ฝ่ายโครงสร้างพื้นฐาน (3)

ฝ่ายบัญชีและการเงิน (10)

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ (4)

ฝ่ายวิศวกรรม (11)

ฝ่ายธุรกิจพานิชยกรรม (1)

ฝ่ายบริหารการลงทุน (1)

ฝ่ายทรัพยากรบุคคลและธุรการ (23)

ฝ่ายชุมชนสัมพันธ์และกิจกรรม เพื่อสังคมความรับผิดชอบ (6)

“Ready for new Challenges”


30

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

นโยบาย และภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสัยทัศน์ ผู้น�ำการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมระดับโลก จากวิสยั ทัศน์ดงั กล่าวจึงท�ำให้บริษทั และบริษทั ย่อยเน้นการลงทุนในธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจนิคม บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เดิมชื่อบริษัท บางปะกง อินดัสเตรียล ปาร์ค 2 จ�ำกัด (มหาชน) ได้จดทะเบียน จัดตั้งเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2532 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ ในรูปของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม เพื่อขายให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรกจ�ำนวน 120,000,000 บาท (หนึ่งร้อยยี่สิบล้านบาท) ปัจจุบัน ทุนจดทะเบียน 1,067,000,000 บาท (หนึง่ พันหกสิบเจ็ดล้านบาท) และได้จดั ตัง้ โครงการนิคมอุตสาหกรรมบางปะกง ปัจจุบนั ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร” เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2541 ซึง่ จัดอยูใ่ นเขตส่งเสริมการลงทุนเขตที่ 2 โดยเป็นโครงการทีด่ ำ� เนินงาน โดยภาคเอกชนร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 23,300 ไร่ ตัง้ อยู่ กม.ที่ 57 ถนนบางนา-ตราด ในเขต อ�ำเภอเมือง และอ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี บริษทั ฯ มีความเชีย่ วชาญในการวางแผน การพัฒนา การบริหารจัดการ และการตลาดทีเ่ กีย่ วข้องกับนิคมอุตสาหกรรมอย่างครบวงจร ไม่เพียงแต่มุ่งมั่นในการหาท�ำเลที่ดีส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจเท่านั้น แต่ยังให้บริการสิ่งอ�ำนวยความสะดวกมากมายแก่นักลงทุน และ พนักงานทีท่ ำ� งานอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมของเรา ภายใต้การด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนัน้ มีถนนที่สร้างตามระบบที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล มีระบบสาธารณูปโภคและระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ได้มาตรฐานและไว้วางใจ ได้มีพื้นที่สีเขียวที่ร่มรื่นซึ่งได้รับการจัดสรรและดูแลเป็นอย่างดี

ในปี 2556 มีเหตุการณ์ส�ำคัญดังนี้ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญเกี่ยวกับอ�ำนาจในการควบคุมบริษัท ตระกูลกรมดิษฐ์ยังคงเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 4/2013 เมือ่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2556 ให้สตั ยาบันการร่วมทุนของบริษทั อมตะ ฟาซิลติ ี้ เซอร์วิส จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เข้าถือหุ้น 25% ในบริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัดเพือ่ ด�ำเนินธุรกิจ รับออกแบบ ติดตัง้ ปรับปรุง แก้ไขกระบวนการผลิต และวางระบบโรงงาน, รับออกแบบ ติดตัง้ ซ่อมแซม ซ่อมบ�ำรุงเครือ่ งจักร เครือ่ งยนต์ เครือ่ งอุปกรณ์ เครือ่ งมือทุกชนิดทุกประเภท, รับบรรจุสนิ ค้า และผลิตภัณฑ์ทกุ ประเภท รวมทัง้ รับบริหารจัดการสินค้าคงคลัง ตัดสต๊อคสินค้า (ไม่ใช่ธุรกิจคลังสินค้า), บริการรับบริหารจัดการด้านการบริการรับส่งสินค้า ตู้สินค้า พัสดุ ทั้งทางบกทางน�้ำและทางอากาศ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2013 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 มีมติอนุมัติการเข้าลงทุนบริษัทละ 20.115% ในบริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด และ บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด โดยแต่ละบริษัทตั้งขึ้นเพื่อด�ำเนินการ โรงไฟฟ้าขนาด ประมาณ 132 เมกกะวัตต์ ซึ่งจะจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย จ�ำนวน 90 เมกกะวัตต์ ตามภายใต้ สัญญาซื้อขายไฟฟ้า และจะจ�ำหน่ายให้ลูกค้าภายใน นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัด ชลบุรี ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ครั้งที่ 6/2013 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 มีมติไม่เพิ่มทุนในบริษัท โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด ซึ่งประกอบกิจการโรงพยาบาลเอกชนในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เนื่องจากธุรกิจดังกล่าวมิใช่ธุรกิจหลักของ บริษัท เดิมบริษัทถือหุ้น 21.25% จะเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 100 ล้านบาทเป็น 500 ล้านบาท เพื่อน�ำไปใช้ในการก่อสร้างอาคารและ กิจการของโรงพยาบาล หลังการเพิ่มทุนสัดส่วนการถือหุ้นจะเหลือ 4.25% ซึ่งคาดว่าจะด�ำเนินการเพิ่มทุน ของทางโรงพยาบาล จะเรียบร้อยภายในไตรมาสแรกของปีพ.ศ. 2557 บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ ร กิ จ

31

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 6/2013 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 มีมติอนุมัติการเข้าถือหุ้น 100% ใน AMATA GLOBAL PTE. LTD.ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นใหม่ที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการลงทุนในต่างประเทศ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด (บริษัทย่อย) ครั้งที่ 4/2013 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 มีมติอนุมัติ การเข้าลงทุนบริษทั ละ 20.115% ใน บริษทั อมตะ บี. กริม พาวเวอร์ (ระยอง) 3 จ�ำกัด, บริษทั อมตะ บี. กริม พาวเวอร์ (ระยอง) 4 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี. กริม พาวเวอร์ (ระยอง) 5 จ�ำกัด โดยแต่ละบริษัทตั้งขึ้นเพื่อด�ำเนินการโรงไฟฟ้าขนาดประมาณ 132 เมกกะวัตต์ ซึ่งจะจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจ�ำนวน90เมกกะวัตต์ตามภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้า และจะจ�ำหน่าย ให้ลูกค้าภายใน นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัด ระยอง ขณะนี้อยู่ระหว่างด�ำเนินการ

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท บริษทั เน้นการลงทุนในธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมโดยสามารถแบ่งกลุม่ ธุรกิจ ได้ดังนี้ กลุ่มนิคมอุตสาหกรรม บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทย่อย ที่ด�ำเนินธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม จ�ำนวน 3 บริษัทคือ 1. บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัทถือหุ้นอยู่ร้อยละ 83.67 เพื่อด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยพัฒนาที่ดินในรูปนิคม อุตสาหกรรม ภายใต้ชอื่ โครงการ “นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต”ี้ ซึง่ จัดอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนเขตที่ 3 บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 13,800 ไร่ ตั้งอยู่บนถนนทางหลวงหมายเลข 331 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 2. บริษัทได้เข้าร่วมทุนกับรัฐบาลเวียดนาม ในการจัดตั้ง Amata (Vietnam) Joint Stock Company โดยบริษัทและบริษัทย่อย ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 61.83 ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินในรูปนิคมอุตสาหกรรมบนเนื้อที่ประมาณ 4,375 ไร่ ใช้ชื่อโครงการว่า “Amata City (Bien Hoa)” ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกทางหลวงสาย 1 และสาย 15 ต�ำบลลองบินห์ เมืองเบียนหัว จังหวัดดองไน ประเทศเวียดนาม 3. บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด บริษัทถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมอยู่ ร้อยละ 46.10 พัฒนานิคมเพื่อขายที่ดิน หรือ ให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูปแก่นักลงทุนจากจีนแผ่นดินใหญ่ โดยพัฒนาที่ดิน ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ซึง่ จัดอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนเขตที่ 3 บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 1,000 ไร่ ตัง้ อยูบ่ นถนนทางหลวง หมายเลข 331 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง กลุ่มสาธารณูปโภค บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทซึ่งท�ำกิจการด้านสาธารณูปโภคอีก 8 บริษัท คือ 1. บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (เปลี่ยนจากบริษัท อมตะ เพาเวอร์ จ�ำกัด เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2554) บริษัท ถือหุ้นอยู่ 13.77% วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งบริษัทก็เพื่อก่อตั้งบริษัทร่วมทุนสร้างโรงผลิต และจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า และ ไอน�้ำ ทั้งในและต่างประเทศ 2. บริษทั อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด (เปลีย่ นจากบริษทั อมตะ ควอลิตี้ วอเตอร์ จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2548) ด�ำเนินกิจการ เกี่ยวกับน�้ำเพื่อการอุตสาหกรรม การบริโภค อุปโภค หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งแปรสภาพจากน�้ำเพื่อการบริโภค หรืออุปโภค โดยบริษัทถือหุ้น 100% 3. บริษทั อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการจัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติโดยส่งผ่านท่อก๊าซ บริษทั ฯ ถือหุน้ 20% 4. บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการการผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�ำ้ บริษทั ฯ ถือหุน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 18.26% 5. บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการ การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�ำ้ บริษทั ฯ ถือหุน้ ทางอ้อม 15.23% 6. บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการ การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�ำ้ บริษทั ฯ ถือหุน้ ทางอ้อม 15.23% 7. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการการผลิตกระแสไฟฟ้า บริษัทฯ ถือหุ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม 27% 8. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด ด�ำเนินกิจการการผลิตกระแสไฟฟ้า บริษัทฯ ถือหุ้น ทั้งทางตรงและทางอ้อม 27% “Ready for new Challenges”


32

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

กลุ่มธุรกิจให้บริการในนิคมอุตสาหกรรม บริษัทได้จัดตั้งบริษัทซึ่งท�ำกิจการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยและให้บริการแก่ลูกค้าที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม 7 บริษัท คือ ล�ำดับ ชื่อบริษัท 1. บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท บีไอพี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด) 2. บริษัท อมตะ แมนชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด (เดิมชื่อบริษัท บีไอพี เซอร์วิส จ�ำกัด) 3. บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด 4. บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด 5. บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด 6. บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด 7. บริษทั สตราทีจคิ เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ผู้ถือหุ้น

ร้อยละ

ให้บริการที่

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน

43.49 นิคมฯ อมตะนคร

บจ. อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์

29.10 นิคมฯ อมตะนคร

บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน

91.00 นิคมฯ อมตะนคร

49.00 21.00 บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน 4.25 บริษทั อมตะ ฟาซิลติ ี้ เซอร์วสิ จ�ำกัด 25

นิคมฯ อมตะนคร นิคมฯ อมตะนคร นิคมฯ อมตะนคร ให้บริการ แก่ลูกค้าทั่วไป

กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ 1. Amata Asia Ltd. (เปลี่ยนจาก Amata Hong Kong Ltd.เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2556) ซึ่งบริษัทถือหุ้น 100% จัดตั้งที่ฮ่องกง เพื่อเป็น Holding Company ส�ำหรับกิจการลงทุนในต่างประเทศ 2. บริษทั อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ บริษทั ถือหุน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 88.33% จัดตัง้ ทีป่ ระเทศไทย เพือ่ เป็น Holding Company ส�ำหรับกิจการลงทุนในประเทศเวียดนาม 3. AMATA GLOBAL PTE. LTD. ซึ่งบริษัทถือหุ้น 100% จัดตั้งที่สิงคโปร์ เพื่อเป็น Holding Company ส�ำหรับกิจการลงทุน ในต่างประเทศ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

33

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ (ก่อนการตัดรายการระหว่างกัน) (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

สายผลิ ตภั ณฑ์ / กลุ ่ มธุ ร กิ จ

ด�ำเนิน การโดย

รายได้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) จากการขาย บริษทั อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด อสังหาริมทรัพย์ Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด รวม รายได้ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ค่าสาธารณูปโภค บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด* บริษทั อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด* บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด* บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด* บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด* บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด* บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด* บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด* Amata Power (Bien Hoa) Limited* บริษทั สตราทีจคิ เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด* รวม

“Ready for new Challenges”

% การถื อ หุ ้ น ปี 2556 ของบริ ษั ท รายได้

% ปี 2555 รายได้

% ปี 2554 รายได้

%

84% 62% 49%

2,259 28 2,531 32 330 4 18 -

1,945 2,087 305 -

32 35 5 -

1,463 37 970 25 - - -

46% 62% 100% 91% 14% 20% 18% 27% 27% 15% 15% 21% 14%

840 11 5,978 75 150 2 840 11 312 4 11 87 1 21 (3) (2) (8) (11) (6) 9 -

4,337 139 702 270 40 80 10 (5) (5)

72 2 12 4 1 1 -

- 2,433 62 117 3 589 15 232 6 68 2 64 2 (2) - - - - 4 3 -

23%

1 1,401 18

1,231

20

- 1,075 28


34

ลั กษณะการประกอบธุรกิจ

(หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

สายผลิ ตภั ณฑ์ / กลุ ่ มธุ ร กิ จ

รายได้ จากการให้เช่า

รวม รวมทั้งสิ้น

ด� ำ เนิน การโดย

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด

% การถื อ หุ ้ น ปี 2556 ของบริ ษั ท รายได้

62% 84% 49% 46%

92 159 25 325

% ปี 2555 รายได้

% ปี 2554 รายได้

%

1 2 4

1 2 1 4

1 4 1 4

8 609 7 7,988 100

82 123 24 255

484 8 6,052 100

55 151 25 173

- 404 10 3,912 100

*รายได้จากทั้ง 10 บริษัทเป็นส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสียจากการลงทุน

การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ มีรายได้หลักจาก 2 ผลิตภัณฑ์ คือ 1. รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 2. รายได้ค่าสาธารณูปโภค

ธุรกิจพัฒนาที่ดินนิคมอุตสาหกรรม ลักษณะของผลิตภัณฑ์ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน บริษัทด�ำเนินการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ กนอ. มีที่ตั้งโครงการอยู่บนถนนบางนา-ตราด กม. 57 อ�ำเภอเมือง และอ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี บริษัทมีนโยบายในการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรม โดยจัดพื้นที่ตามลักษณะการใช้งานออกเป็น 4 เขต คือ 1. พื้นที่เขตอุตสาหกรรมทั่วไป (General Industrial Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการประกอบอุตสาหกรรม และกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ หรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรม 2. พื้นที่เขตปลอดอากร (Free Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือ กิจการอืน่ ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ โดยของทีน่ ำ� เข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รบั สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร ตามที่กฎหมายบัญญัติ 3. พื้นที่เขตพาณิชยกรรม (Commercial Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ ประกอบกิจการพาณิชยกรรม เช่น ธนาคาร ไปรษณีย์ โรงพยาบาล สถานีบริการน�้ำมัน และสถานศึกษา เป็นต้น 4. พื้นที่ส่วนกลางและระบบสาธารณูปโภค หมายถึง เขตพื้นที่ที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค รวมทั้ง พื้นที่ส่วนกลาง เช่น ถนน โรงผลิตน�้ำประปา โรงบ�ำบัดน�้ำเสีย โรงก�ำจัดขยะ อ่างเก็บน�้ำ สวนหย่อม และ ทะเลสาบ ฯลฯ ขณะนี้แบ่งโครงการออกตามระยะเวลาการพัฒนาได้ดังนี้ :• โครงการระยะที่ 1-9 • โครงการพัฒนาในอนาคต บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

35

ตารางแสดงรายละเอียดความคืบหน้าโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ของบมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน โครงการ

เนื้อ ที่ (ไร่)

เขตอุตสาหกรรมทั่วไป

2,458.65 4,981.95 7,440.60

ที่ดินรอการพัฒนา

รวม

มู ล ค่ า โครงการ (ล้ า นบาท) กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย 17,210.55 ผู้ลงทุนทั้งชาวไทยและต่างชาติ 34,873.65 ผูล้ งทุนทั้งชาวไทยและต่างชาติ

ความคื บ หน้ า ของโครงการ (ณ 31 ธ.ค. 56)

67-96 % 0%

52,084.20

บัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับสิทธิและประโยชน์ในฐานะผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ในประเภท 7.8 กิจการพัฒนาพื้นที่ส�ำหรับกิจการอุตสาหกรรม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ บัต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1817 (2) / 2549

วันที่อนุมัติ : 19 กรกฎาคม 2549 วันที่บัตรส่งเสริม : 25 สิงหาคม 2549 ระยะเวลาของสิทธิ : กรกฎาคม 2549 ถึง กรกฎาคม 2556 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 559.14 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด 7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท สรุป 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน สาระส�ำคัญ 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 1,000 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน เงื่อนไข ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บัต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1422 (2) / 2550

วันที่อนุมัติ : 28 มีนาคม 2550 วันที่บัตรส่งเสริม : 25 เมษายน 2550 ระยะเวลาของสิทธิ : มีนาคม 2550 ถึง มีนาคม 2557 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 693.03 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด 7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท สรุป 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน สาระส�ำคัญ 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 1,250 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน เงื่อนไข ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด

“Ready for new Challenges”


36

ลั กษณะการประกอบธุรกิจ

บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 2020 (2) / 2550

วันที่อนุมัติ : 12 กันยายน 2550 วันที่บัตรส่งเสริม : 11 ตุลาคม 2550 ระยะเวลาของสิทธิ : กันยายน 2550 ถึง กันยายน 2557 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 528.45 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 750 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1983 (2) / 2554

วันที่อนุมัติ : 28 มิถุนายน 2554 วันที่บัตรส่งเสริม : 11 สิงหาคม 2554 ระยะเวลาของสิทธิ : มิถุนายน 2554 ถึง มิถุนายน 2561 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 668.00 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 800 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1711 (2) / 2555

วันที่อนุมัติ : 30 เมษายน 2555 วันที่บัตรส่งเสริม : 12 มิถุนายน 2555 ระยะเวลาของสิทธิ : เมษายน 2555 ถึง เมษายน 2562 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 184.14 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

สรุป สาระส�ำคัญเงื่อนไข

37

1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 600 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บัต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 2708 (2) / 2555

วันที่อนุมัติ : 24 กันยายน 2555 วันที่บัตรส่งเสริม : 15 พฤศจิกายน 2555 ระยะเวลาของสิทธิ : กันยายน 2555 ถึง กันยายน 2562 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 7 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 199.98 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รับการส่งเสริม มีก�ำหนด 7 ปีนับจากวันที่เริ่มมีรายได้ และประโยชน์ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนที่ช�ำระเต็มมูลค่าหุ้นแล้วไม่น้อยกว่า 1,067 ล้านบาท สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรม 800 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และมีที่ดินที่ใช้เป็นเขตที่ตั้งโรงงาน ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจด้านการลงทุน และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรม โดยใช้ชื่อโครงการว่านิคมอุตสาหกรรม อมตะ ซิตี้ ซึ่งแบ่งเป็นเขตอุตสาหกรรมทั่วไปและเขตปลอดอากรในจังหวัดระยอง และ เขตพาณิชยกรรมและเขตที่อยู่อาศัยในจังหวัดชลบุรี บริษัทฯ มีนโยบายที่จะพัฒนาที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภคที่จ�ำเป็น และให้ความส�ำคัญต่อการใช้พื้นที่ขนาดใหญ่เพื่อการพัฒนาให้คุ้มทุนและมีประสิทธิภาพ โครงการตั้งอยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 94 ถนนฉะเชิงเทรา-ระยอง (ทางหลวงหมายเลข 331) ต�ำบลบ่อวิน อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ตารางแสดงรายละเอียดความคืบหน้า นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ ของบริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด เนื้อ ที่ (ไร่)

โครงการ

เขตอุตสาหกรรมทั่วไป ที่ดินรอการพัฒนา

905.57 1,955.77 2,861.34

“Ready for new Challenges”

มู ล ค่ า โครงการ (ล้ า นบาท)

กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย

2,897.82 ผู้ลงทุนทั้งชาวไทยและต่างชาติ 6,258.46 ผูล้ งทุนทั้งชาวไทยและต่างชาติ 9,156.28

ความคื บ หน้ า ของโครงการ (ณ 31 ธ.ค. 56)

62.75 - 99.23 % 0%


38

ลั กษณะการประกอบธุรกิจ

บัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การลงทุน พ.ศ. 2520 ในประเภท 7.8 กิจการพัฒนาพื้นที่ส�ำหรับกิจการอุตสาหกรรม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1082 (2) / 2551

วันที่อนุมัติ : 12 ธันวาคม 2550 วันที่บัตรส่งเสริม : 31 มกราคม 2551 ระยะเวลาของสิทธิ : ธันวาคม 2550-ธันวาคม 2558 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 8 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 186.50 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รบั การส่งเสริม มีกำ� หนด 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั อนุญาต และประโยชน์ ให้น�ำผลขาดทุนประจ�ำปีที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลัง ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่พ้นก�ำหนดเวลา นั้น โดยจะเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้รับจากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติที่ก�ำหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลา สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท โดยจะต้องช�ำระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิดด�ำเนินการ สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมประมาณ 635 ไร่ ขนาดต้องไม่ต�่ำกว่า 500 ไร่ และพื้นที่ที่ตั้งโรงงาน ต้องไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด

บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1428 (2) / 2552

วันที่อนุมัติ : 28 เมษายน 2552 วันที่บัตรส่งเสริม : 2 มิถุนายน 2552 ระยะเวลาของสิทธิ : เมษายน 2552-เมษายน 2560 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 8 ปี สรุ ป สาระส� ำ คั ญ สิ ท ธิ 1. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 283 ล้านบาททั้งนี้ จะปรับเปลี่ยน และประโยชน์ ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ ที่ได้รบั การส่งเสริม มีกำ� หนด 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั อนุญาต ให้นำ� ผลขาดทุนประจ�ำปีทเี่ กิดขึน้ ในระหว่างเวลานัน้ ไปหักออกจากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะ เวลาที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีก�ำหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่พ้นก�ำหนดเวลานั้น โดยจะเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้รับจากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติที่ก�ำหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลา สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท โดยจะต้องช�ำระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิดด�ำเนินการ สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมประมาณ 1,000 ไร่ โดยมีที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

39

บัต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1169 (2) / 2555

วันที่อนุมัติ : 20 ธันวาคม 2554 วันที่บัตรส่งเสริม : 15 กุมภาพันธ์ 2555 ระยะเวลาของสิทธิ : ธันวาคม 2554-ธันวาคม 2562 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 8 ปี 1. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 561 ล้านบาททั้งนี้ จะปรับเปลี่ยน สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รบั การส่งเสริม มีกำ� หนด 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั อนุญาต และประโยชน์ ให้น�ำผลขาดทุนประจ�ำปีที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลัง ระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลมีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ทีพ่ น้ ก�ำหนดเวลานัน้ โดยจะเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิท่ีได้รับจากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติที่ก�ำหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลา สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท โดยจะต้องช�ำระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิดด�ำเนินการ สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมประมาณ 1,450 ไร่ โดยมีที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บัต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 1710 (2) / 2555

วันที่อนุมัติ : 24 เมษายน 2555 วันที่บัตรส่งเสริม : 12 มิถุนายน 2555 ระยะเวลาของสิทธิ : เมษายน 2555-เมษายน 2563 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 8 ปี 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 455.47 ล้านบาททัง้ นี้ จะปรับเปลีย่ น สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รบั การส่งเสริม มีกำ� หนด 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั อนุญาต และประโยชน์ ให้น�ำผลขาดทุนประจ�ำปีที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลัง ระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลมีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ทีพ่ น้ ก�ำหนดเวลานัน้ โดยจะเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ได้รบั การลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้รบั จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของ อัตราปกติที่ก�ำหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลา สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท โดยจะต้องช�ำระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิดด�ำเนินการ สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมประมาณ 970 ไร่ โดยมีที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด

“Ready for new Challenges”


40

ลั กษณะการประกอบธุรกิจ

บัต รส่งเสริ ม การลงทุ น เลขที่ 2249 (2) / 2556

วันที่อนุมัติ : 16 กรกฎาคม 2556 วันที่บัตรส่งเสริม : 11 กันยายน 2556 ระยะเวลาของสิทธิ : กรกฎาคม 2556-กรกฎาคม 2564 ระยะเวลาที่ได้รับยกเว้นภาษี : 8 ปี 1. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิ มูลค่าไม่เกิน 457 ล้านบาททั้งนี้ จะปรับเปลี่ยน สรุป ตามจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนทีแ่ ท้จริงในวันเปิดด�ำเนินการตามโครงการ สาระส�ำคัญสิทธิ ที่ได้รบั การส่งเสริม มีกำ� หนด 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้จากการประกอบกิจการ และได้รบั อนุญาต และประโยชน์ ให้น�ำผลขาดทุนประจ�ำปีที่เกิดขึ้นในระหว่างเวลานั้นไปหักออกจากก�ำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลัง ระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลมีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั ทีพ่ น้ ก�ำหนดเวลานัน้ โดยจะเลือกหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ 2. ไม่ต้องน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการส่งเสริม 3. ได้รบั การลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้รบั จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของ อัตราปกติที่ก�ำหนด 5 ปี นับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลา สรุป 1. ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 450 ล้านบาท โดยจะต้องช�ำระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิดด�ำเนินการ สาระส�ำคัญเงื่อนไข 2. ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน 3. มีพื้นที่เขตอุตสาหกรรมประมาณ 1,380 ไร่ โดยมีที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 และไม่เกินร้อยละ 75 ของพื้นที่ทั้งหมด บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจด้านการลงทุน และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มุง่ เน้นการพัฒนาพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมเพือ่ ขายให้แก่นกั ลงทุนจากจีนแผ่นดินใหญ่ โดยใช้ชอื่ โครงการว่า เขตอุตสาหกรรมระยองไทย-จีน โครงการตั้งอยู่นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ ระยอง ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ตารางแสดงรายละเอียดความคืบหน้าเขตอุตสาหกรรมระยองไทย-จีน ของบริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรม ระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด โครงการ

เขตอุตสาหกรรมทั่วไป ที่ดินรอการพัฒนา

เนื้อ ที่ (ไร่)

31.75 537.16 568.91

มูล ค่ า โครงการ (ล้ า นบาท)

กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย

95.25 ลูกค้าจากจีนแผ่นดินใหญ่ 1,611.48 ลูกค้าจากจีนแผ่นดินใหญ่ 1,706.73

ความคื บ หน้ า ของโครงการ (ณ 31 ธ.ค. 56)

100% 0%

การตลาดและภาวะการแข่งขัน ลูกค้าของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครและอมตะซิตี้ส่วนมากเป็นลูกค้าต่างชาติ ส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจากญี่ปุ่น (อมตะนคร ประมาณ 65% / อมตะ ซิตี้ ประมาณ 37% เป็นนักลงทุนชาวญี่ปุ่น) ในปี 2556 บริษัทได้ท�ำการตลาดเช่นเดียวกับทุกๆ ปีที่ผ่านมา โดยเดินทางไปหาลูกค้าเป้าหมายและร่วมเดินทางไปท�ำ road show กับ คณะรัฐบาลและ BOI การแข่งขันของนิคมอุตสาหกรรมจะแข่งกันตามท�ำเลทีต่ งั้ ของการแบ่ง Zone ของ BOI เนือ่ งจากลูกค้าต้องการได้รบั สิทธิประโยชน์ ทางภาษี นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจัดเป็นผู้น�ำตลาดในบีโอไอโซน 2 โดยคู่แข่งรายอื่นได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมชลบุรี (บ่อวิน) นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ ซิตี้ เหตุผลทีท่ ำ� ให้นคิ มอุตสาหกรรมอมตะนครเป็นผูน้ ำ� ตลาดมีอยูห่ ลายประการ แต่ทสี่ ำ� คัญมีอยู่ 3 ประการ ได้แก่

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

41

1. ท�ำเลที่ตั้งโครงการ โดยนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครมีท�ำเลที่ตั้งที่ใกล้กับกรุงเทพฯ เป็นอย่างยิ่ง และมีความสะดวกในการ ขนส่งทั้งทางบก ทางอากาศ และทางทะเล โดยทางบกอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ เพียงประมาณ 57 กิโลเมตร ทางอากาศ อยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิเพียง 42 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากท่าเรือน�้ำลึกแหลมฉบังเพียง 46 กิโลเมตร ข้อได้เปรียบ ด้านท�ำเลที่ตั้งนี้ส่งผลดีต่อลูกค้าที่อยู่ ในนิคมเป็นอย่างมาก และจะยังคงเป็นปัจจัยที่ส่งผลบวกต่อนิคมต่อไปในอนาคต 2. พัฒนานิคมให้เป็นเมืองสมบูรณ์แบบ คือเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสมบูรณ์เพียบพร้อมทัง้ เพือ่ การท�ำงานและส�ำหรับอยูอ่ าศัย โดย ภายในนิคมฯ จะมีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก และสถานทีส่ ำ� คัญต่างๆ ครบครัน เช่น ธนาคาร โรงเรียน ร้านอาหาร ศูนย์ฝกึ อบรม เป็นต้น 3. บริษัทฯ ได้รับมาตราฐาน ISO 14001 จากสถาบัน TUV Anlagentechnik GmbH ทั้งนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครและนิคม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2543 นอกเหนือจากเหตุผลเหล่านีแ้ ล้วแน่นอนว่า คุณภาพของสาธารณูปโภคในโครงการและบริการหลังการขายเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ที่ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน โดยบริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน ใช้หลักการดังกล่าวในการบริหารนิคมฯ ทุกแห่งของบริษทั ฯ โดยอีก จากจุดแข็ง ของบริษทั ท�ำให้เชือ่ ว่า บริษทั จะยังคงความสามารถในการแข่งขันและเป็นผูน้ ำ� ในการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมทัง้ ในระดับประเทศ หรือ ในระดับภูมิภาคได้เป็นอย่างดี การประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรมปัจจุบันมีไม่กี่รายเมื่อเทียบกับการประกอบกิจการอสังหาริมทมรัพย์ประเภทอื่น เนื่องจาก ต้องใช้การลงทุนเริม่ ต้นทีส่ งู มาก และเมือ่ เริม่ โครงการใหม่ๆ จะสร้างสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆให้ลกู ค้าเหมือนนิคมฯ ทีม่ ลี กู ค้ามากแล้ว ก็ทำ� ไม่ได้เนื่องจากไม่มี Demand ของลูกค้าทีจ่ ะมาใช้บริการ ดังนั้นการแข่งขันจะแข่งกับคู่แข่งขันเดิม โอกาสทีจ่ ะมีผู้แข่งขันรายใหม่ เข้ามาค่อนข้างน้อย การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทฯ เป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมโดยพิจารณาเลือกท�ำเลที่ตั้งและศักยภาพของที่ดินที่เหมาะสม และสร้างสาธารณูปโภค ที่มีคุณภาพและเพียงพอกับลูกค้าซึ่งจะไปสร้างโรงงานในนิคมฯ ในปี 2556 บริษัทได้ซื้อที่ดินดิบในประเทศไทยเพิ่มขึ้น 1,213 ไร่ งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ บริษัทฯ ไม่มีภาระผูกพันที่จะต้องส่งมอบพื้นที่โครงการให้กับลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ธุรกิจผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสาธารณูปโภค บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัทฯมีรายได้จากการให้บริการ 3 ประเภท คือ 1. ขายน�้ำดิบ (Raw Water Supply) 2. ขายน�้ำประปา (Treated Water Supply) 3. บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย (Waste Water Treatment) ซึ่งการให้บริการทั้ง 3 ประเภทนั้น เป็นการให้บริการภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร (ชลบุรี) และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ (ระยอง) โดยรายได้หลักคือ การให้บริการน�้ำประปา มีสัดส่วน 61.66% ของรายได้รวม การให้บริการบ�ำบัดน�้ำเสีย มีสัดส่วน 23.81% บริการน�้ำดิบ มีสัดส่วน 12.73% และรายได้อื่นๆ มีสัดส่วน 1.80%

“Ready for new Challenges”


42

ลั กษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสาธารณูปโภค (ผลิตน�้ำประปาและหรือน�้ำเพื่ออุตสาหกรรมและบ�ำบัดน�้ำเสีย) ลักษณะของผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ ด�ำเนินการจัดหาแหล่งน�้ำดิบ ก่อสร้างระบบผลิตน�้ำประปา ก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และควบคุมระบบ ดังกล่าว ตามข้อก�ำหนดของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดย มีรายได้จากการจัดขายน�ำ้ ดิบ ขายน�ำ้ ประปา การให้บริการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย จากโรงงาน และ ผู้ประกอบการทุกประเภท ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ บริษัทฯ เป็นผู้ผลิต น�้ำประปา และหรือ น�้ำเพื่ออุตสาหกรรม และ บ�ำบัดน�้ำเสีย ซึ่งค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้รับมาตรฐาน ISO 14001 จากสถาบัน TUV Rheinland Groupโดยร่วมด�ำเนินงานกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และได้รบั รองมาตรฐาน ISO 9001 จาก nqa.global assurance โดยได้รบั รองในส่วนระบบผลิตน�ำ้ ประปาและบ�ำบัดน�ำ้ เสียแห่งที่ 2 นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ บริษทั อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด ปัจจุบนั บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตน�ำ้ ประปา และ/หรือน�ำ้ เพือ่ อุตสาหกรรม และบ�ำบัดน�ำ้ เสีย มีทตี่ ง้ั ส�ำนักงาน อยู่ที่ อาคารอมตะ เซอร์วิส เซ็นเตอร์ 700/2 หมู่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี บัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด ได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุน จ�ำนวน 1 บัตร ดังนี้ 1. เลขที่ 1796(2)/2547 จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยได้รับสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ในกิจการ ผลิตน�้ำประปาและ หรือน�้ำเพื่ออุตสาหกรรมและบริการบ�ำบัดน�้ำเสียจากอุตสาหกรรม ประเภท 7.1 กิจการ สาธารณูปโภคและบริการพื้นฐาน และประเภท 7.16 กิจการบริการบ�ำบัดน�้ำเสีย ก�ำจัดหรือขนถ่ายขยะ กากอุตสาหกรรมหรือสารเคมี ที่เป็นพิษ เมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2547 โดยได้รับสิทธิประโยชน์และมีเงื่อนไขดังนี้ - ได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนมีกำ� หนดเวลา 8 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ มีรายได้ สิน้ สุด วันที่ 11 พฤศจิกายน 2555 กรณีประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างเวลาได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล สามารถน�ำผลขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ ไปหักออก จากก�ำไรสุทธิทเี่ กิดขึน้ ภายหลังระยะเวลาที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล มีกำ� หนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั พ้นก�ำหนด โดยหักจากก�ำไรสุทธิของปีใดปีหนึ่งหรือหลายปีก็ได้ - ไม่ตอ้ งน�ำเงินปันผลไปรวมค�ำนวณเพือ่ เสียภาษีเงินได้ ตลอดระยะเวลาที่ได้รบั การส่งเสริม สิน้ สุดวันที่ 11 พฤศจิกายน 2555 - ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละห้าสิบของอัตราปกติมีก�ำหนด 5 ปี สิ้นสุดวันที่ 11 พฤศจิกายน 2560 - ได้รับอนุญาตให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปาสองเท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นระยะเวลา 10 ปี สิ้นสุด 11 พฤศจิกายน 2557 - ได้รับอนุญาตให้หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกร้อยละ 25 ของเงินลงทุน นอกเหนือไปจาก การหักค่าเสื่อมราคาตามปกติ - ได้รับการยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักร ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ - ต้องมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 80 ล้านบาท - ต้องมีผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยไม่น้อยกว่า 51% ของทุนจดทะเบียน - ต้องด�ำเนินการให้บริการน�้ำประปา และ/หรือน�้ำเพื่ออุตสาหกรรม และบ�ำบัดน�้ำเสีย โดยผลิตน�้ำประปาและ/หรือน�้ำเพื่อ อุตสาหกรรม 7.6 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และบ�ำบัดน�้ำเสีย 7.0 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี มีขนาดการลงทุนไม่รวมค่าที่ดิน และทุนหมุนเวียนไม่น้อยกว่า 2 ล้านบาท และการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล มีมูลค่าไม่เกิน 55,329,120 บาท

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

43

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ในปัจจุบนั บริษทั ฯ มีจำ� นวนลูกค้าและอัตราการให้บริการทีส่ งู ขึน้ เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจปัจจุบนั และจ�ำนวนบริษทั อุตสาหกรรม ทีเ่ ข้ามาประกอบธุรกิจภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตนี้ นั้ มีจำ� นวนมากขึน้ โดยคูแ่ ข่งขันทางธุรกิจ ของบริษัทมีเพียงผู้ส่งน�้ำเอกชนท้องถิ่นรายย่อย แต่เนื่องจากบริษัทมีข้อได้เปรียบทางธุรกิจ กล่าวคือ - เป็นบริษัทเดียวที่ประกอบธุรกิจด้านการผลิตน�้ำประปา และ/หรือน�้ำเพื่ออุตสาหกรรม และบ�ำบัดน�้ำเสียภายในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ - คุณภาพ และมาตรฐานของสินค้า - ต้นทุนสินค้าต�่ำกว่า เนื่องจากการประหยัดจากขนาดการผลิต (Economy of scale) การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทมีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจซึ่งค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของลูกค้า โดยท�ำการจัดหาบริการให้เพียงพอแก่ความต้องการ ของลูกค้า และมีคุณภาพสูงสุด ซึ่งค�ำนึงถึงการน�ำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างคุ้มค่า ควบคู่ไปกับการรักษาต้นน�้ำแหล่งน�้ำ และ การด�ำเนินชีวิตของชุมชนโดยรอบ การประกอบธุรกิจ ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร แหล่งวัตถุดิบ (Water Resources) - เขื่อนสียัด 30 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - บ่ออมตะ 14 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - บ่ออื่นๆ 10 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - Water Reclamation 3 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี การผลิต - โรงผลิตน�้ำประปาหมายเลข 1 - โรงผลิตน�้ำประปาหมายเลข 2 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 1 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 2 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 3 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 4

ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต

32,400 21,000 24,000 12,000 4,500 5,000

ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน

การประกอบธุรกิจ ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ แหล่งวัตถุดิบ (Water Resources) - อ่างเก็บน�้ำอมตะซิตี้ 12 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - East Water 7.5 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - บ่อน�้ำเอกชน 5 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี - Water Reclamation 1.4 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี การผลิต - โรงผลิตน�้ำประปาหมายเลข 1 - โรงผลิตน�้ำประปาหมายเลข 2 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 1 - โรงบ�ำบัดน�้ำเสียหมายเลข 2

“Ready for new Challenges”

ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต ก�ำลังการผลิต

33,000 10,500 11,500 9,600

ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ลูกบาศก์เมตรต่อวัน


44

ปั จ จั ยความเสี่ย ง

ปัจจัย ความเสี่ยง ความเสี่ยงของธุรกิจขายที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม ธุรกิจหลักของอมตะ คือการพัฒนาและบริหารนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม โดยอาศัยการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ดังนั้นความเสี่ยงของธุรกิจนี้คือ สภาวะเศรษฐกิจโลก ความเสี่ยงหลักต่อแผนยุทธศาสตร์และธุรกิจของอมตะคือ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก หรือเกิดการตกต�่ำทางเศรษฐกิจ อย่างรุนแรง เช่น เกิดวิกฤตทางการเงินในเอเชียเมื่อปี พ.ศ. 2540-2541 หรือ วิกฤตการเงินที่เกิดขึ้นในปี 2551 ในสหรัฐอเมริกา และแพร่กระจายไปถึงยุโรป ซึ่งชะลอการลงทุนโดยตรงที่จะเข้ามาในเอเชียและส่งผลกระทบต่อธุรกิจขายที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมทั้งใน ประเทศไทยและเวียดนาม การเติบโตอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจโลกมีส่วนส�ำคัญอย่างมากต่อการขายพื้นที่อุตสาหกรรมของอมตะ การเมืองและความมั่นคงภายในประเทศ ความมั่นคงและน่าลงทุนของประเทศไทย และประเทศเวียดนาม ก็เป็นอีกส่วนส�ำคัญในการท�ำธุรกิจของอมตะ ดังนั้นความ ไม่สงบทางการเมืองย่อมกระทบการขายที่ดินอุตสาหกรรมซึ่งเป็นธุรกิจหลักของบริษัท การเปลี่ยนแปลงนโยบายอย่างกะทันหัน หรือ ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายการเมืองท�ำให้เกิดความไม่มั่นใจในการลงทุน ดังการเคลื่อนไหวทางการเมืองในปี พ.ศ. 2549 ที่ส่งผล ให้มีการลดลงอย่างมากของเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) แต่เมื่อเสถียรภาพทางการเมืองกลับคืนมาเมื่อปลายปี 2551 ก็ท�ำให้ FDI กระเตื้องขึ้น ภัยธรรมชาติ วิกฤตทางธรรมชาติทรี่ นุ แรง เช่น น�ำ้ ท่วมภาคกลางเมือ่ ปี 2554 ก็เป็นปัจจัยทีท่ ำ� ให้การขายพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมในบริเวณทีน่ ำ�้ ท่วม ชะลอตัว ดังนั้นจึงต้องหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการสร้างโรงงาน ความเสี่ยงข้างต้นท�ำให้ยอดขายที่ดินมีความผันผวนเป็นอย่างมาก เพื่อลดความเสี่ยงของความไม่แน่นอนของรายได้ บริษัทจึง เพิ่มความหลากหลายของแหล่งรายได้ โดยด�ำเนินการยุทธศาสตร์สร้างความสมดุลระหว่างรายได้จากการขายพื้นที่อุตสาหกรรม ในประเทศไทยและเวียดนาม และรายได้ที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่องเช่น ค่าเช่า ค่าบ�ำรุงรักษา และบริการสาธารณูปโภค

ความเสี่ยงของธุรกิจสาธารณูปโภค การจัดหาสาธารณูปโภค เช่น ก๊าซธรรมชาติ ระบบไฟฟ้า การสือ่ สาร ระบบประปา ฯลฯ ให้เพียงพอกับความต้องการเพือ่ ผลิตสินค้า ของลูกค้าก็มคี วามเสีย่ งด้วยเช่นกัน เนือ่ งจากหากไฟฟ้าดับ หรือไม่มนี ำ�้ จะกระทบกระบวนการผลิตสินค้าของลูกค้าท�ำให้สนิ ค้าเสียหาย อมตะพยายามลดความเสี่ยงโดยจัดหาสาธารณูปโภคให้เพียงพอเพื่อสนองต่อความต้องการของลูกค้า และลดอุปสรรคด้านการ ด�ำเนินการผลิต โรงไฟฟ้าอมตะ และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคได้ดำ� เนินการส�ำรองไฟฟ้าในกรณีทเี่ กิดกระแสไฟฟ้าดับ ส่วนก๊าซธรรมชาติ มาจาก บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด หรือส่งตรงมาจากบริษัท ปตท.จ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของอมตะ มีแหล่งน�้ำมากพอที่จะไม่เกิดผลกระทบจากภาวะขาดแคลนน�้ำ ดังเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นกับนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ใน อีสเทิร์น ซีบอร์ด เมื่อกลางปี 2548 บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด มีการพัฒนา แหล่งน�้ำอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการขาดแคลนน�้ำในอนาคต โดยการจัดสร้างระบบการหมุนเวียนน�้ำที่จะน�ำน�้ำเสียจากอุตสาหกรรม น�ำกลับมาใช้ในโรงงานได้อีก จากมาตรการการอนุรักษ์น�้ำท�ำให้ บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด มีปริมาณแหล่งน�้ำใช้มากขึ้น และสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน�้ำได้อย่างสูงสุด บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป

45

ข้อมูลทั่วไป บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ โฮมเพจ อีเมล์ ผู้บริหาร ส�ำนักงานโครงการ

: : : : : : : : : : :

โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

พัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 6 มีนาคม 2532 0107537002761 หุ้นสามัญ 1,067,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม. 10310 (02) 792 0000 (02) 318 1096 www.amata.com viboon@amata.com นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์ (กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่การตลาด) นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700 หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 939 007 (038) 939 000 tsutsui@amata.com นายยาซูโอะ ซูซุย (ผู้จัดการการตลาด)

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นอย่างน้อย 10% 1. บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

“Ready for new Challenges”

ขายและให้เช่าอพาร์ทเมนท์ขนาด 198 ห้อง ในนิคมฯ อมตะนคร 15 มิถุนายน 2533 0105533068758 หุ้นสามัญ 68,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท 43.49 % นิคมอุสาหกรรมอมตะนคร 700/1000 หมู่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 213 331-35 (038) 213 143 amatamansion@yahoo.com นายก้องเดช สงวนสัตย์ (รองผู้จัดการทั่วไป)


46

ข้ อมู ลทั่ ว ไป

2. บริษัท อมตะ แมนชั่นเซอร์วิส จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดยบริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

บริหารและด�ำเนินกิจการร้านอาหารไทยกรีนกราสและบริการจัดเลี้ยง 15 พฤศจิกายน 2534 0105534108753 หุ้นสามัญ 100,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 12.66 % นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700/1001 หมู่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 213 331-35 (038) 213 143 amatamansion@yahoo.com นายก้องเดช สงวนสัตย์ (รองผู้จัดการทั่วไป)

: : : : : : : : : :

การพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ศูนย์พาณิชยกรรมและที่พักอาศัย 31 ธันวาคม 2537 1100/ GP และ 472033000132 20,400,000 เหรียญสหรัฐฯ 61.83% Long Binh Ward, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam (84) 61-3991-007 (84) 61-3891-251 amata@amata.com.vn นางสมหะทัย พานิชชีวะ (กรรมการผู้จัดการ)

ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว

: : : :

สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์

: : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 2 มีนาคม 2538 0105538027863 หุ้นสามัญ 17,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระเต็ม จ�ำนวน 15,00,000 หุ้น, เรียกช�ำระในอัตรา 72.50 บาท จ�ำนวน 2,000,000 หุ้น 13.77% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245

อีเมล์ ผู้บริหาร

: preeyanart.s@amatabgrimmpower.com : นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร)

3. Amata (Vietnam) Joint Stock Company ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

4. บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป

47

5. บริษัท อมตะ ซิต้ี จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ส�ำนักงานโครงการ

: : : : :

ที่ตั้งโครงการ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : :

พัฒนานิคมอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 5 มิถุนายน 2538 0105538066591 หุ้นสามัญ 4,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 83.67 % 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม. 10310 (02) 792 0000 (02) 318 1096 นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ 7 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ่อวิน อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 ทางหลวง 331 กม. 94 ต�ำบลมาบยางพร อ�ำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง (038) 497 007 (038) 497 000 viboon@amata.com นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์ (กรรมการ)

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 29 มิถุนายน 2539 1618/GP จดทะเบียน: 5,500,000 เหรียญสหรัฐฯ เรียกช�ำระ: 2,000,000 เหรียญสหรัฐฯ 14.44% Amata Industrial Park, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam (84) 613 936 938 (84) 613 936 445 jan.tenner@amatabgrimpower.com, hoangapbh@hcm.vnn.vn Mr. Jan Markus Tenner (President), Mr. Tran Hoang (Vice President)

:

6. Amata Power (Bien Hoa) Ltd. ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

“Ready for new Challenges”


48

ข้ อมู ลทั่ ว ไป

7. บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำเพื่อใช้ในการอุตสาหกรรม บริโภค และอุปโภค 5 มีนาคม 2542 0105542016421 หุ้นสามัญ 800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 100 % นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700/2 หมู่1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 939 007 (038) 939 001 chuchat@amata.com นายชูชาติ สายถิ่น (กรรมการผู้จัดการ)

8. บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ 27 พฤศจิกายน 2544 0105544114560 หุ้นสามัญ 16,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท 20 % นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700/2 หมู1่ ถนนบางนา-ตราด ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 214199, 458601-2 (038) 214 255 sales@amatangd.com นายพัฒนะ น้อมจิตเจียม (ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม)

9. บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท

: ให้บริการดูแลพื้นที่ส่วนกลาง : 29 พฤศจิการยน 2545

ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว

: หุ้นสามัญ 150,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท : 91 % : นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700/2 หมู่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 : (038) 939 007 : (038) 939 001

สัดส่วนการถือหุ้นโดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์

แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

: 0205545012590

: aukkares@amata.com

: นายอัครเรศร์ ชูช่วย (กรรมการผู้จัดการ) รายงานประจ�ำปี 2556


ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป

49

10. บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะคอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

บริการให้เช่าอาคารโรงงานส�ำเร็จรูป 15 ธันวาคม 2547 0205547025176 หุ้นสามัญ 3,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 49 % นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700 หมู่1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 (038) 213 007 (038) 457 000 janjira@amata.com นางสาวจันจิรา แย้มยิ้ม (กรรมการผู้จัดการ)

11. บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่

: : : : : :

โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : :

ให้บริการคลังสินค้า และขนส่งสินค้า 27 ธันวาคม 2547 0205547025907 หุ้นสามัญ 1,714,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 83 บาท 21 % นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700/616 หมู่ 4 ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 20160 (038) 210 228-230 (038) 210 245 takeshi-nohara.nf@vantec-gl.com นายทาเคชิ โนฮาร่า (กรรมการผู้จัดการ)

: : : : : : : : : :

โฮลดิ้ง 28 พฤษภาคม 2551 1242011 หุ้นสามัญ 1,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 เหรียญฮ่องกง 100% 16th-19th Floor, Prince’s Building, 10 Chater Road, Central, Hong Kong (02) 792 0000 (02) 318 1096 somhatai@amata.com นางสมหะทัย พานิชชีวะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

12. Amata Asia Ltd. ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

“Ready for new Challenges”


50

ข้ อมู ลทั่ ว ไป

13. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 12 มกราคม 2553 0105553004461 หุ้นสามัญ 14,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 18.26% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245 preeyanart.s@amatabgrimmpower.com นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 9 กันยายน 2539 0105539100131 หุ้นสามัญ 12,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 15.23% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245 preeyanart.s@amatabgrimmpower.com นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 12 มกราคม 2553 0105553004488 หุ้นสามัญ 12,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 15.23% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245 preeyanart.s@amatabgrimmpower.com นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

14. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

15. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป

51

16. บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว

: : : :

สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : :

พัฒนานิคมเพือ่ ขายทีด่ นิ หรือ ให้เช่าโรงงานส�ำเร็จรูปแก่นกั ลงทุนจากจีนแผ่นดินใหญ่ 20 มีนาคม 2555 0105555043502 หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 50 บาท 46.10% 126/33 อาคารไทยศรี ชัน้ 9 ถ.กรุงธนบุรี แขวงบางล�ำภูลา่ ง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 02-439-0915/7 02-439-0921 qun.yue@holley.cn, marketing@sinothaizone.com คุณจารุณี ศิริทาวรจันทร์ (ผู้จัดการโครงการ)

17. บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว

: : : :

สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : :

Holding Company 30 สิงหาคม 2555 0107555000325 หุ้นสามัญ 920,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เรียกช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว: 768,630,000 หุ้น 88.33% 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม่แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม. 10310 02-792-0000 02-318-1096 somhatai@amata.com นางสมหะทัย พานิชชีวะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 26 สิงหาคม 2553 0105553104431 หุ้นสามัญ 1,400,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 27% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245 preeyanart.s@amatabgrimmpower.com นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

18. บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

“Ready for new Challenges”


52

ข้ อมู ลทั่ ว ไป

19. บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : : : : : :

การผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน�้ำ 26 สิงหาคม 2553 0105553104423 หุ้นสามัญ 1,400,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท 27% 88 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 (02) 379 4246, 710 3400 (02) 379 4245 preeyanart.s@amatabgrimmpower.com นางปรียนาถ สุนทรวาทะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร)

20. บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว

: : : :

สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

: : : : : :

โลจิสทิคส์ 11 เมษายน 2556 0105556063680 หุ้นสามัญ 5,460 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท หุ้นบุริมสิทธิ 540 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท 22.75% 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชัน้ 16 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ (02) 670-0391/3 (02) 670-0390 nishimura@seal-japan.co.th นายฮิโรโอะ นิชิมูระ

: : : : : : : : : :

โฮลดิ้ง 14 พฤศจิกายน 2556 0107555000325 หุ้นสามัญ 15,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 4 เหรียญสิงค์โปร์ 100% 50 ราฟเฟิล เพลส, #06-00, สิงค์โปร์ แลนด์ เทาเวอร์, สิงค์โปร์ (048623) 086-112-0007 Steven.siew@amata.com นายโค ชิว ชวน

21. Amata Global Pte. Ltd. ประเภทของกิจการ วันที่จดทะเบียนบริษัท เลขที่จดทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ โดย บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ แฟกซ์ อีเมล์ ผู้บริหาร

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


บุ ค คลอ้ า งอิ ง อื่ น ๆ

53

บุคคล อ้างอิงอื่น นายทะเบียนหุ้น บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร

: อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ประเทศไทย : (02) 229 2800 : (02) 654-5599

ผู้สอบบัญชี นางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ ชื่อบริษัท ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร

: 3844 : บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด : บริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (เดิมชือ่ “บริษทั ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด”) ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 : (02) 264-0777, (02) 661-9190 : (02) 264-0789-90, (02) 661-9192

ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล บิสซิเนส ลอว์เยอร์ส จ�ำกัด ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร

: 33/ 118-119 อาคารวอลล์สตรีททาวเวอร์ ชั้น 23 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุรวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย : (02) 233 1001, (02) 233 1008 : (02) 236 6100

ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ www.amata.com “Ready for new Challenges”


54

ผู ้ ถือหุ ้ นรายใหญ่

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู ้ ถือหุ ้ นรายใหญ่ ณ. 27 ธัน วาคม 2556

1. ตระกูลกรมดิษฐ์ นายวิกรม  กรมดิษฐ์ นายวิฑูรย์  กรมดิษฐ์ น.ส.วิภาวี  กรมดิษฐ์ นางนิตยา  กรมดิษฐ์ น.ส.สมศรี  กรมดิษฐ์ นายวิฑิต  กรมดิษฐ์ น.ส.วิชยา  กรมดิษฐ์ 2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 3. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 4. THE BANK OF NEW YORK MELLON 5. ITOCHU MANAGEMENT (THAILAND) CO., LTD. 6. ตระกูลยอดมณี พล.ต.อ. ชวลิต  ยอดมณี นายปิยะ  ยอดมณี 7. NORTRUST NOMINEES LIMITED-NT0 SEC LENDING THAILAND 8. นายทวีฉัตร จุฬางกูร 9. นายณัฐพล จุฬางกูร 10. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

จ� ำ นวนหุ ้ น

% การถื อหุ้น

240,593,363

22.55

81,447,864 51,697,728 51,606,300 50,000,000 34,834,880

7.63 4.85 4.84 4.69 3.26

33,161,801 32,755,900 19,302,900 18,086,900

3.11 3.07 1.81 1.70

215,700,000 21,903,070 1,801,430 559,700 500,000 127,400 1,763

34,799,080 35,800

รายงานประจ�ำปี 2556


นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล

55

นโยบาย การจ่ายเงินปันผล บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย มีนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ตำ�่ กว่า 40% ของก�ำไรสุทธิในแต่ละปี โดยเริม่ ตัง้ แต่ปี 2538/2539 ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั สภาพเศรษฐกิจของประเทศ ภาวะตลาดของธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม และสภาพคล่องของบริษทั ฯ ด้วย ตัง้ แต่ปี 2550 เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชี ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีได้กำ� หนดให้บริษทั บันทึกเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม ในงบเดี่ยว(เฉพาะกิจการ) ด้วยวิธี Cost Method ในขณะที่งบรวมยังใช้วิธี Equity Method นั้น ส่งผลให้ก�ำไรสุทธิของ งบก�ำไรขาดทุนในงบเดี่ยวและงบรวมอาจแสดงตัวเลขต่างกันได้ ดังนั้นอัตราจ่ายเงินปันผลจะจ่ายจากงบเดี่ยว แต่บริษัทจะงดจ่าย ปันผล หากงบรวมของบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสม หรือจ่ายปันผลแล้วก�ำไรสะสมในงบรวมเปลี่ยนเป็นขาดทุนสะสม

“Ready for new Challenges”


56

โครงสร้ า งการจัด การ

โครงสร้าง การจัดการ 1. คณะกรรมการ ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการ 9 ท่าน กรรมการที่ เป็ นผู ้ บ ริห าร

กรรมการที่ ไม่เ ป็น ผู้บ ริห าร

กรรมการที่ เป็ น อิ ส ระ

เลขานุ ก ารบริ ษั ท

นายวิกรม  กรมดิษฐ์ นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์ นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์

นายเคอิตะ  อิชิอิ

นางวราภรณ์  วัชรานุเคราะห์ ดร.วิษณุ  เครืองาม นายอนุชา  สิหนาทกถากุล นายนพพันธป์  เมืองโคตร รศ.ดร. สมเจตน์  ทิณพงษ์

โครงสร้างคณะกรรมการ บริษัทฯ มีคณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด คณะกรรมการบริ ษัท

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ

คณะกรรมการบริ หาร

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

คณะกรรมการสรรหา และก� ำ หนดค่ า ตอบแทน

ประธานกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหา นายอนุชา  สิหนาทกถากุล และ รศ.ดร. สมเจตน์  ทิณพงษ์ และก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการตรวจสอบ นายอนุชา  สิหนาทกถากุล (เป็นผูม้ คี วามรูใ้ นการสอบทานงบการเงิน) กรรมการตรวจสอบ นายนพพันธป์  เมืองโคตร และรศ.ดร. สมเจตน์  ทิณพงษ์

คณะกรรมการตรวจสอบ

ดร.วิษณุ เครืองาม นายเคอิตะ อิชิอิ นายวิกรม  กรมดิษฐ์, นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์, นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์, นายวิบูลย์  กรมดิษฐ์, นายอนุชา  สิหนาทกถากุล, นายนพพันธป์  เมืองโคตร และ รศ.ดร. สมเจตน์  ทิณพงษ์ นายวิกรม  กรมดิษฐ์ นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์, นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ และนายวิบูลย์  กรมดิษฐ์ นายนพพันธป์  เมืองโคตร

ในปี 2556 มีการประชุมคณะกรรมการ 6 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการบริหาร 98 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน 1 ครั้ง และประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5 ครั้ง

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


โครงสร้ า งการจั ด การ

57

ผู้เข้าร่วมประชุม รายชื่ อกรรมการ

คณะกรรมการ (*)

ดร.วิษณุ  เครืองาม นายเคอิตะ  อิชิอิ นายวิกรม  กรมดิษฐ์ นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์ นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ นายวิบูลย์  กรมดิษฐ์ นายอนุชา  สิหนาทกถากุล นายนพพันธป์  เมืองโคตร รศ.ดร. สมเจตน์  ทิณพงษ์ (*) จ�ำนวนที่เข้าประชุม/จ�ำนวนการประชุมทั้งปี (ครั้ง)

6/6 4/6 4/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6

คณะกรรมการตรวจสอบ (*)

5/5 5/5 5/5

คณะกรรมการสรรหา และก� ำ หนดค่ า ตอบแทน(*)

1/1 1/1 1/1

2. ผู้บริหาร ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่บริหารทั้งหมด 12 ท่าน ดังนี้ รายชื่ อ

ต�ำ แหน่ง

1. นายวิกรม  กรมดิษฐ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายวิบูลย์  กรมดิษฐ์ ประธานเจ้าหน้าที่การตลาดและรักษาการประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ 3. นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ ประธานเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ 4. นายยุทธ  โรจน์วีระสิงห์ รองประธานเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ 5. นาย โค ชวน ชิว ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสฝ่ายบัญชีและการเงิน, ฝ่ายบริหารการลงทุน และฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. นายเกษม  พรอนันต์รัตน์ ผู้อ�ำนวยการโครงการอมตะ ICT 7. นางสาวทรงโฉม  ตั้งนวพันธ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและการขาย 8. นายชัยรัตน์  สุวรรณวิจารณ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายที่ดินและประสานงานราชการ 9. นายภราดร  สรงสุวรรณ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิศวกรรม 10. นายก�ำจร  วรวงศากุล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ 11. นางวราภรณ์  วัชรานุเคราะห์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารการลงทุน 12. นางสาวเด่นดาว  โกมลเมศ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน จ�ำนวนพนักงานทั้งหมด 106 คน

3. เลขานุการบริษัท นางวราภรณ์  วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการบริษัท

“Ready for new Challenges”


58

โครงสร้ า งการจัด การ

4. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร (1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (ก) ค่าตอบแทนของกรรมการ นโยบายในด้านค่าตอบแทนของกรรมการ จะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมของผู้ถือหุ้น และเปิดเผยในรายงาน ประจ�ำปี และแบบ 56-1

ดร.วิษณุ  เครืองาม นายเคอิตะ  อิชิอิ นายวิกรม  กรมดิษฐ์ นายจักก์ชัย  พานิชพัฒน์ นายวัฒนา  สุภรณ์ ไพบูลย์ นายวิบูลย์  กรมดิษฐ์ นายอนุชา  สิหนาทกถากุล นายนพพันธป์  เมืองโคตร รศ.ดร.สมเจตน์  ทิณพงษ์ รวม

กรรมการสรรหา และก�ำ หนดค่ า ตอบแทน

กรรมการ ตรวจสอบ

เบี้ ยประชุ ม

เบี้ ยประชุ ม

30,000.00 50,000.00 30,000.00 110,000.00

250,000.00 150,000.00 150,000.00 550,000.00

เบี้ ยกรรมการ + เบี้ ยประชุ ม

โบนั ส

รวม

720,000.00 941,470.59 460,000.00 828,494.12 360,000.00 753,176.47 180,000.00 753,176.47 420,000.00 753,176.47 420,000.00 753,176.47 420,000.00 753,176.47 420,000.00 753,176.47 420,000.00 753,176.47 3,820,000.00 7,042,200.00

1,661,470.59 1,288,494.12 1,113,176.47 933,176.47 1,173,176.47 1,173,176.47 1,453,176.47 1,373,176.47 1,623,176.47 11,792,200.00

ค่าตอบแทนที่กรรมการอิสระได้รับบริษัทย่อยในปี 2556 รายชื่อ กรรมการ

บริ ษั ท ย่ อ ย Amata (Vietnam) Joint Stock Company

นายอนุชา  สิหนาทกถากุล

ค่ า ตอบแทนคณะกรรมการ

บจก. อมตะ ซั มมิ ท เรดดี้ บิ ล ท์

บจก. อมตะ วอเตอร์ Amata Asia Limited

US$ 11,800 500,000.00 บาท

(ข) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหารและผู้บริหาร จ�ำนวน 12 ท่าน

US$ 1,300

10,000 บาท

31,462,046.67 บาท

(2) ค่าตอบแทนอื่น เงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพผู้บริหาร 3,613,164.00 บาท

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


โครงสร้ า งการจั ด การ

59

5. บุคลากร

จ�ำนวนพนักงานทั้งหมด 106 คน จ�ำนวนพนักงานในแต่ละฝ่ายเท่ากับตัวเลขในวงเล็บ ผลตอบแทนประกอบด้วย เงินเดือน, ค่าครองชีพ, ค่าล่วงเวลา, โบนัส, กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ และอื่นๆ รวม 110,537,937.93 บาท นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 1. วางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อการสร้างความเป็น High Performance Organization และรองรับ การขยายธุรกิจของบริษัทฯ 2. วางแผนทบทวนการจัดท�ำโครงสร้างองค์กรทั้งระบบ เพื่อให้มีศักยภาพสูงและสามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาค 3. พัฒนาการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ทั้งในด้านช่องทางการสื่อสาร สื่อโฆษณา แบบทดสอบ กระบวนการสัมภาษณ์ เพื่อการบรรจุบุคลากรที่มีศักยภาพ และความสามารถสูงให้เหมาะสมกับองค์กรในทศวรรษหน้า 4. สรรค์สร้างและปลูกฝัง Core Value ให้แก่บุคลากรเพื่อพัฒนาทัศนคติ พฤติกรรม การท�ำงานเป็นกลุ่ม เพื่อให้เกิดความ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของงาน และพัฒนาไปสู่ High Performance Organization 5. พัฒนาเครื่องมือและวิธีการในงานทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริมมาตรฐาน และการท�ำงานอย่างมืออาชีพ ให้แก่บุคลากร ในด้าน Career Path, Succession Plan และ Performance Management System 6. วางระบบแผนพัฒนาบุคลากร โดยวาง Training Road Map ให้เป็นไปตาม Competency Based of Training รวมทั้ง Professional Training Program

“Ready for new Challenges”


60

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

การก�ำกับ ดูแลกิจการ การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการอมตะ เชือ่ มัน่ ว่าธุรกิจทีด่ ไี ม่ใช่การหวังผลเพียงแค่กำ� ไรว่าเป็นเป้าหมายทางธุรกิจเท่านัน้ แต่การด�ำเนินมาเพือ่ ให้ ได้ผลก�ำไรเหล่านัน้ ก็เป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน หรือแม้กระทัง่ ส�ำคัญกว่าหากมองในระยะยาว คณะกรรมการอมตะ จึงมีความพยายามและมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้บริษัทเป็นองค์กรที่มีการด�ำเนินธุรกิจโดยยึดหลักบรรษัทภิบาลที่ดี นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการนี้ บริษัทได้ร่างขึ้นโดยอ้างอิงจากหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็นหมวดหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และเพือ่ ให้หลักการก�ำกับดูแลกิจการเบือ้ งต้นสามารถน�ำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล บริษทั ได้จดั ตัง้ คณะท�ำงานก�ำกับดูแลกิจการขึน้ เพื่อดูแลการน�ำนโยบายไปใช้ในภาคปฏิบัติ โดยคณะท�ำงานชุดดังกล่าวมีหน้าที่สื่อสาร ส่งเสริมให้การก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท เป็นไปได้ตามนโยบายหลักการก�ำกับดูแลกิจการ โดยจะมีการประเมินผล และทบทวนนโยบายอย่างสม�ำ่ เสมอและเปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ ของบริษัท แบบ 56-1 รายงานประจ�ำปี

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น (The Rights of Shareholders) คณะกรรมการให้ความส�ำคัญและเคารพในสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายทัง้ ใน ฐานะของนักลงทุนในหลักทรัพย์และในฐานะเจ้าของบริษัท พึงได้รับสิทธิขั้นพื้นฐาน อันได้แก่ • สิทธิในการซื้อ ขาย โอนหุ้น และสิทธิในการรับใบหุ้น • สิทธิในการที่ได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา ในรูปแบบที่เหมาะสมในการตัดสินใจ • สิทธิในการรับส่วนแบ่งผลก�ำไรของกิจการ • สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและลงคะแนนในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ร่วมตัดสินใจในการเปลีย่ นแปลงนโยบายทีส่ ำ� คัญของบริษทั ฯ • สิทธิในการเลือกตั้งและถอดถอนกรรมการ รวมทั้งการก�ำหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการ • สิทธิในการให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และก�ำหนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และหากมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพเิ ศษซึง่ เป็นเรือ่ งทีก่ ระทบ หรือเกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ หรือเกีย่ วกับ เงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บังคับที่ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว บริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป หรือในท�ำนองเดียวกันผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่าหนึง่ ในห้าของจ�ำนวนหุน้ ทีจ่ ำ� หน่ายได้ทงั้ หมด หรือผูถ้ อื หุน้ ไม่นอ้ ยกว่า 25 คน ซึ่งมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้ทั้งหมด จะเข้าชื่อกันท�ำหนังสือขอให้คณะกรรมการ เรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้ โดยต้องระบุเหตุผลในการขอเรียกประชุมให้ชัดเจนในหนังสือดังกล่าวด้วย ในกรณีเช่นนี้คณะกรรมการต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นภายในหนึ่งเดือน นับแต่วันได้รับหนังสือจากผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นของ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

61

บริษัททุกคนมีสิทธิออกเสียงตามจ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ โดยหุ้นแต่ละหุ้นมีสิทธิออกเสียง หนึ่งเสียง และไม่มีหุ้นใดมีสิทธิพิเศษที่เป็นการจ�ำกัดสิทธิของผู้ถือหุ้นรายอื่น ในปี 2556 นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานต่างๆ ข้างต้นแล้วบริษัทยังได้ด�ำเนินการ ในเรื่องต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริม และอ�ำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้

KNOWN FOR GOING BEYOND THE BASICS TO OFFER QUALITY, AND FULL-SERVICE APPROACH, WHICH AMATA HELPED FACTORIES SUCCEED BY SAVING THEM TIME AND MONEY

“Ready for new Challenges”

1.1 บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 22 เมษายน 2556 ณ ห้องจตุรทิศแกรนด์บอลรูม โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้พิจารณาและออกเสียงในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยบริษัทได้มอบให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งเอกสารประกอบการ ประชุมแก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 21 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็น ระยะเวลาที่เพียงพอต่อการศึกษาข้อมูลของการประชุมฯ โดยจัดส่งให้กับ ผู้ถือหุ้นทุกรายที่มีรายชื่อปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันปิดทะเบียน ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เอกสารประกอบการประชุมที่บริษัทฯ ได้ส่งให้ผู้ถือหุ้น ประกอบด้วยรายละเอียดวาระการประชุม รายงานประจ�ำปี งบการเงิน และหนังสือมอบฉันทะ ซึง่ เป็นเอกสารทีม่ ขี อ้ มูลครบถ้วนเพียงพอให้ผถู้ อื หุน้ ใช้ประกอบการตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ และได้ท�ำการประกาศ ลงหนังสือพิมพ์รายวัน ติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่นอ้ ย กว่า 3 วัน เพื่อบอกกล่าวเรียกประชุมผู้ถือหุ้น 1.2 เผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าประมาณ 1 เดือน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นในเว็บไซต์ของบริษัท (www.amata.com) นอกจากนี้ ยังได้ชี้แจงสิทธิของผู้ถือหุ้นในการเข้าประชุมและสิทธิออกเสียงลงมติของ ผู้ถือหุ้นไว้ด้วย


62

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

1.3 ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษัทเปิดโอกาสให้สามารถมอบฉันทะให้กรรมการหรือบุคคลอื่น เข้าร่วมประชุมแทนตนได้ โดยให้ใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม นอกจากนี้ผู้ถือหุ้นสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของบริษัทได้อีกทางหนึ่งด้วย 1.4 สนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง ผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบค�ำถามและรับทราบความเห็นของ ผู้ถือหุ้น โดยในปี 2556 มีประธานกรรมการและกรรมการได้เข้าร่วมการประชุมรวม 8 ท่านจากจ�ำนวนทั้งหมด 9 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 88.88 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด 1.5 ในการประชุมบริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือตั้งค�ำถามในวาระต่างๆ อย่างอิสระ ก่อนการลงมติในทุกวาระ ทัง้ นี้ ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ได้ให้ขอ้ มูลรายละเอียดในเรือ่ งดังกล่าวอย่างเพียงพอแก่ผถู้ อื หุน้ โดยในวาระทีผ่ ถู้ อื หุน้ มีขอ้ สงสัยข้อซักถาม บริษทั ฯ ได้จดั เตรียมบุคคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญในแต่ละสาขาเป็นผูใ้ ห้ ค�ำตอบภายใต้ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ พร้อมทัง้ มีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน และสรุป ด้วยการลงมติและคะแนนเสียง รวมระยะเวลาที่ใช้ในการประชุมผู้ถือหุ้นประมาณ 2 ชั่วโมง 1.6 บริษัทจะเปิดโอกาศให้ผู้ถือหุ้นสามารถส่งค�ำถามที่ต้องการให้ชี้แจงในประเด็นของระเบียบวาระที่น�ำเสนอได้ล่วงหน้าโดย ส่งจดหมายอิเลคโทรนิคมาที่ cs@amata.com หรือโทรสารหมายเลข 0-2318-1096 เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับประโยชน์สูงสุด จากการประชุม รวมทั้งเป็นการรักษาสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างเต็มที่ 1.7 บริษทั ได้จดั ท�ำวีดทิ ศั น์บนั ทึกภาพการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดระยะเวลาการประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีม่ ขี อ้ สงสัยสามารถติดตาม เหตุการณ์ในระหว่างการประชุมผู้ถือหุ้นได้ 1.8 บริษัทมีการแจ้งมติที่ประชุมผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ภายในวันท�ำการถัดไป 1.9 บริษทั มีการจัดท�ำรายงานการประชุมภายใน 14 วันนับแต่วนั ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ได้สง่ ให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกระทรวงพาณิชย์ภายในระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนด และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท (www.amata.com)

2. ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น (The Equitable Treatment of Shareholders) การสร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นกับผู้ถือหุ้นทุกรายทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ผู้ถือหุ้นที่เป็น ผูบ้ ริหาร นักลงทุนสถาบัน หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ เป็นเรือ่ งที่ อมตะ ค�ำนึงถึงและพยายามสร้างเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยให้เกิดความเท่าเทียมกัน อย่างแท้จริง โดยเฉพาะกับผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เช่น 2.1 การก�ำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง 2.2 ส�ำหรับการประชุมผูถ้ อื หุน้ นัน้ บริษทั ได้จดั ท�ำหนังสือมอบฉันทะรูปแบบทีผ่ ถู้ อื หุน้ ก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนได้ตามแบบที่ กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยสามารถมอบฉันทะให้กับกรรมการอิสระ ของบริษัทได้ด้วย ซึ่งจะระบุรายชื่อกรรมการดังกล่าวไว้ในหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ บริษัทยังได้ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้น ที่เข้าประชุมภายหลังจากได้เริ่มประชุมแล้ว มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนส�ำหรับวาระที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาและยัง ไม่ได้มีการลงมติ และนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่ได้เข้าประชุมและออกเสียงเป็นต้นไป เว้นแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะมี ความเห็นเป็นอย่างอื่น 2.3 บริษัทมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นอื่นทราบล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลของระเบียบวาระการประชุมก่อนลงมติ 2.4 ในวาระการเลือกตั้งกรรมการ บริษัทได้ใช้วิธีเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

63

2.5 เพื่อความสะดวกของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้จัดให้มีการลงทะเบียนโดยใช้ระบบบาร์โค้ดที่แสดงถึงเลขทะเบียนของผู้ถือหุ้น แต่ละรายทีบ่ ริษทั ได้จดั พิมพ์ไว้บนหนังสือมอบฉันทะ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ความสะดวกสบายในการประชุม และท�ำให้ขน้ั ตอน การลงทะเบียนเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ในการใช้สิทธิออกเสียงแต่ละวาระ เมื่อปี2556 บริษัทฯ ได้ใช้วิธีเก็บบัตร ลงคะแนนของผู้ถือหุ้นทุกใบเพื่อน�ำมาค�ำนวณผลการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ และยืนยันการลงคะแนนทั้งเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงโดย เมื่อจบการประชุม ผู้ถือหุ้นสามารถขอตรวจสอบความถูกต้องได้ 2.6 บริษัทจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่มีสัดส่วนการถือหุ้นขั้นต�่ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.05 ของหุ้นบริษัทที่ช�ำระแล้วทั้งหมด ต่อเนื่องมาไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถเสนอระเบียบวาระการประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี รวมทั้งเสนอชื่อ ผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2557 ซึ่งได้ประกาศให้ทราบ โดยผ่านช่องทางของ ตลท. และบนเว็บไซต์ของบริษัท โดยมีขั้นตอนและวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนและโปร่งใส 2.7 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ และพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล (รวมทั้งคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว) ดังนี้ 2.7.1 ห้ามบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องท�ำการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ภายใน 2 สัปดาห์กอ่ นมีการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว (Blackout Period) 2.7.2 ในกรณีที่ทราบข้อมูลใดๆ ที่ยังไม่เปิดเผยซึ่งอาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัท ต้องไม่ท�ำการซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทจนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชั่วโมง นับแต่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลนั้นสู่สาธารณะทั้งหมดแล้ว รวมทั้งห้ามมิให้ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่ได้รับทราบข้อมูลภายในเปิดเผยข้อมูลภายในแก่บุคคลภายนอก หรือ บุคคลที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้น�ำข้อมูลภายในไปใช้ในทางมิชอบ 2.7.3 ในกรณีทกี่ รรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ซึง่ หมายรวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลง จ�ำนวนหุ้นที่ถืออยู่ จะต้องแจ้งรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2533 ภายใน 3 วันท�ำการนับจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน 2.7.4 บริษทั ก�ำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครั้ง 2.8 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่ว่า การตัดสินใจใดๆ ของ บุคคลากรทุกระดับในการด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจ ต้องท�ำเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เท่านั้น และถือเป็นหน้าที่ ของบุคคลากรทุกระดับทีจ่ ะหลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องทางการเงิน และ/หรือความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกอื่นๆ ซึ่งจะ ส่งผลให้บริษัทฯ ต้องเสียผลประโยชน์ หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งในด้านผลประโยชน์ หรือขัดขวางการปฏิบัติงานอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบถึง ความสัมพันธ์หรือการเกีย่ วโยงของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไม่มอี ำ� นาจอนุมตั ิ ในธุรกรรมนั้นๆ และในการอนุมัติใดๆ ส�ำหรับกรณีดังกล่าวต้องยึดถือหลักการไม่ให้มีการก�ำหนดเงื่อนไขหรือข้อก�ำหนด พิเศษจากปกติ 2.9 คณะกรรมการตรวจสอบจะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่งได้มีการพิจารณาความเหมะสมอย่างรอบคอบ และได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยก�ำหนด และมีการเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ด้วย

“Ready for new Challenges”


64

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (The Role of Stakeholders) บริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญในการดูแลและค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั ตัง้ แต่ลกู ค้า ผูถ้ อื หุน้ และ พนักงาน รวมทั้งความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 3.1 ผู้ถือหุ้น บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส โดยค�ำนึงถึงการเจริญเติบโต ของมูลค่าบริษัทในระยะยาวมีผลตอบแทนที่ดี และให้ข้อมูลข่าวสารแก่ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน 3.2 พนักงาน บริษัทถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยความส�ำเร็จของบริษัทฯ บริษัทฯ จะสนับสนุนพัฒนาความสามารถในการท�ำงาน ให้เป็นระดับมืออาชีพ ในปี 2556 บริษทั ได้จดั อบรมความรูเ้ พิม่ เติมให้กบั พนักงานจ�ำนวน 44 ครัง้ ให้ความมัน่ ใจในคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานอย่างเท่าเทียมไม่ค�ำนึงถึง เพศ สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา หรือความเชื่อ มีสถานที่ท�ำงานที่ปลอดภัย และมีสุขอนามัยที่ดี พนักงานได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสมเป็นธรรมไม่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้บริษัท มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงานตั้งแต่ปี 2539 3.3 คู่ค้า บริษัทฯ จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเอื้อประโยชน์ร่วมกัน และปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด รวมทั้งปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเสมอภาคบนพื้นฐานของการแข่งขันที่เป็นธรรม 3.4 คูแ่ ข่ง บริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ไม่ทำ� ลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้าย โดยปราศจากซึ่งมูลความจริง 3.5 เจ้าหนี้ บริษัทฯ จะรักษาและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด 3.6 ลูกค้า บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กับลูกค้า เพื่อให้ได้รับผลิตภัณฑ์และการบริการ ที่ดี มีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมุ่งมั่นพัฒนานิคมฯ เพิ่มบริการต่างๆ ให้ครบวงจรเพื่อเป็น เมืองที่สมบูรณ์แบบ 3.7 ชุมชนและสังคม บริษัทฯ ตระหนักและห่วงใยถึงความปลอดภัยของสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพสังคม ชีวิตของชุมชน รวมทั้งให้ความส�ำคัญต่อกิจกรรมของชุมชนและสังคมอย่างสม�่ำเสมอ โดยปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและ กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด 3.8 สิ่งแวดล้อม บริษัทในกลุ่มอมตะ ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม, สาธารณูปโภคและให้บริการแก่นักลงทุน จากต่างประเทศ และในประเทศที่มาลงทุนประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ ขณะเดียวกันก็ตระหนักถึง ความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการรักษาสภาพแวดล้อมของชุมชน อย่างจริงจัง โดยบริษัทในกลุ่มอมตะ มีเจตจ�ำนงค์ที่จะด�ำเนินการต่างๆ ภายใต้ความมุ่งมั่น ดังนี้ 1. บริษัทในกลุ่มอมตะ จะปฏิบัติตามข้อกฎหมายและกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 2. บริษัทในกลุ่มอมตะ มุ่งเน้นที่จะป้องกันปัญหาก่อนการเกิดเหตุ หรือ ณ ที่จุดเกิดเหตุมิให้กระทบต่อสภาพแวดล้อม 3. ลดของเสียให้น้อยที่สุด (Zero Waste Discharge) พร้อมทั้งน�ำน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด 4. บริษัทในกลุ่มอมตะ มุ่งเน้นการใช้พลังงานและทรัพยากรในกระบวนการผลิตอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ 5. บริษทั ในกลุม่ อมตะ จะพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย, ระบบผลิตน�ำ้ ประปา, ระบบการจัดการขยะมูลฝอย, ขยะทั่วไป และระบบการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ ให้ดีขึ้นอยู่เสมอ 6. ปลุกจิตส�ำนึกของพนักงานทุกๆ คน ให้ช่วยกันอนุรักษ์สภาพแวดล้อมโดยใช้ค�ำขวัญว่า “Green and Clean” 7. ประชาสัมพันธ์นโยบายสิ่งแวดล้อมสู่พนักงานทุกคน หรือบุคคลอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานงานให้กับบริษัทในกลุ่มอมตะ และเปิดเผยต่อสาธารณชน

บริษัทฯ ได้จัดการดูแลและรักษาสภาวะแวดล้อมอย่างดีโดยได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 จากสถาบัน TUV Anlagentechnik GmbH ทัง้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนครและนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ตัง้ แต่เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2543

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

65

3.9 เรื่องอื่นๆ บริษัทยึดถือความสุจริตเป็นหลักในการด�ำเนินธุรกิจและด�ำเนินธุรกิจโดยถูกกฎหมาย บริษัทไม่มีนโยบายที่จะสนับสนุน การทุจริต หรือจ่ายสินบนเพือ่ ประโยชน์ของธุรกิจ นอกจากนีบ้ ริษทั ยังเคารพและไม่สนับสนุนหรือเกีย่ วข้องกับการล่วงละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ของผู้อื่น บริษทั ฯ ได้เปิดช่องทางให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียสามารถแสดงความเห็นผ่านช่องทางการสือ่ สารกับคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้ขอ้ แนะน�ำ อันเป็นประโยชน์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับบริษัทได้ ดังนี้ จดหมายอิเลคโทรนิกส์ จดหมายธรรมดา

cs@amata.com คณะกรรมการบริษัท บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

โดยเลขานุการบริษัทจะเป็นผู้รับผิดชอบในการรับจดหมายดังกล่าวและส่งให้คณะกรรมการชุดย่อย หรือกรรมการที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ผา่ นฝ่ายจัดการ เพือ่ ตรวจสอบข้อมูล โดยค�ำร้องเกีย่ วกับรายงานทางบัญชีและการเงิน การควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การปฏิบัติตามกฎหมายจะได้รับการส่งต่อให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการร้องเรียน หรือประเด็นที่อ่อนไหวอื่นๆ บริษัทจะรักษาข้อมูลของผู้ให้ข้อมูลและความเห็นต่างๆ ไว้เป็นความลับ และจะมีการตอบกลับเป็นการส่วนตัวภายใน 15 วันนับจาก วันที่บริษัทได้รับทราบข้อมูล

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษัทฯ มีนโยบายในการเปิดเผยรายงานทางการเงินหรือสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษัทฯ ต่อสาธารณะผ่านช่องทางต่างๆ ตามเงือ่ นไขทีก่ ฎหมายก�ำหนดอย่างเคร่งครัด ครบถ้วน โปร่งใสและตรงเวลา บริษทั ฯ ได้เปิดเผยข้อมูล เพื่อแสดงถึงความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ ดังนี้ 1. เปิดเผยข้อมูลการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใสทันเวลา 2. จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินและแสดงไว้คู่กับรายงานผู้สอบบัญชี ในรายงาน ประจ�ำปี 3. ก�ำหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารต้องเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย่ วข้องในกรณีทมี่ สี ว่ นได้เสียเกีย่ วข้อง กับบริษัท โดยให้กรรมการและผู้บริหารจัดท�ำรายงานตามที่คณะกรรมการของบริษัทก�ำหนด ทั้งนี้จะต้องรายงานครั้งแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งและภายใน 15 วัน นับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล และภายในวันที่ 31 มกราคม ของทุกปี แล้วส่งให้เลขานุการบริษัทเป็นผู้เก็บรักษา 4. เปิดเผยโครงสร้างการด�ำเนินงานและการลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม อย่างชัดเจน 5. เปิดเผยรายชื่อและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดต่างๆ จ�ำนวนครั้งของการประชุมและจ�ำนวน ครั้งที่กรรมการเข้าร่วมประชุม 6. เปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการ ซึ่งเป็นไปตามมติที่ได้รับการอนุมัติจากการประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว ทั้งนี้ รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการ ได้เปิดเผยข้อมูลไว้ในหัวข้อ ค่าตอบแทนกรรมการ 7. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งท�ำหน้าที่สอบทานรายงานทางการเงิน และน�ำเสนอรายงานทางการเงินต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ โดยผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษัท งบการเงินรวมของบริษัท และบริษัทย่อย งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รับรองและตรวจสอบโดย นางสาว ศิราภรณ์ เอือ้ อนันต์กลุ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญทั้งข้อมูลทางการเงิน และ ไม่ใช่การเงิน ด�ำเนินการบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนและสม�่ำเสมอ “Ready for new Challenges”


66

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

8. เปิดเผยนโยบายการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทั้งผลการปฏิบัติงานตามนโยบาย 9. เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปสามารถซักถามข้อสงสัยต่างๆ ผ่านหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ในปี 2556 บริษัทเข้าร่วม Conference ซึง่ จัดโดยสถาบันต่างๆ รวมทัง้ นักวิเคราะห์ นักลงทุน และผูเ้ กีย่ วข้องสามารถท�ำการนัดหมาย (Company Visit) เข้าพบผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อสอบถามข้อมูลและความคืบหน้าการด�ำเนินกิจการต่างๆ ดังนี้ Road Show เข้าร่วม (Opportunity Day) Company Visit/Conference Call

12 ครั้ง 4 ครัง้ 104 ครัง้

ทั้งนี้ ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้นอกจากจะได้เปิดเผยสู่สาธารณะผ่านทางส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังได้เปิดเผยทางเว็บไซต์ของ บริษัท ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอีกด้วย

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้าง และคณะอนุกรรมการต่างๆ (The Responsibilities of the Board, Structure, and the Subcommittees) โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยบุคคลซึง่ มีความรูค้ วามสามารถเป็นทีย่ อมรับในระดับประเทศ โดยเป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการ ก�ำหนดนโยบายของบริษทั โดยร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูงวางแผนการด�ำเนินงานทัง้ ระยะสัน้ ระยะยาว ตลอดจนก�ำหนดนโยบายการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และภาพรวมขององค์กร มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั และผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นอิสระ ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัทมีจ�ำนวน 9 คน ประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 1 คน และกรรมการบริษัท ที่มาจากฝ่ายบริหารจ�ำนวน 4 คน และมีกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นอิสระจ�ำนวน 4 คน ตามหลักเกณฑ์ของบริษัทและ ก.ล.ต. ก�ำหนด (รายละเอียดเพิ่มเติมใน หน้า 56) นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องและเสนอเรื่องให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา หรือรับทราบ ซึ่งคณะอนุกรรมการแต่ละชุดมีหน้าที่ตามรายละเอียด ในหน้า 70-73 บริษัทได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัท กับผู้บริหารระดับสูง(ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร) อย่างชัดเจนโดยกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของผู้บริหารระดับสูงในระดับนโยบาย ขณะทีป่ ระธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารท�ำหน้าทีบ่ ริหารงานของบริษทั ในด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ ำ� หนด ดังนัน้ ประธานกรรมการบริษทั และประธานเจ้าหน้าที่บริหารจึงเป็นบุคคลคนละคนกัน การสรรหากรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีหน้าที่สรรหาบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออก ตามวาระหรือในกรณีอื่นๆ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้งจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้นต่อไป โดยคณะกรรมการสรรหาฯ คัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิและมีความเชี่ยวชาญจากหลากหลายอาชีพมีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์ กว้างไกล เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมมีประวัติการท�ำงานโปร่งใสไม่ด่างพร้อย รวมทั้งมีความสามารถในการแสดงความคิดเห็น อย่างเป็นอิสระ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

67

บริษัทไม่ได้ก�ำหนดอายุของกรรมการบริษัทที่จะไม่ถูกเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้งในวาระถัดไป หรือจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการ บริษทั แต่ละคนด�ำรงต�ำแหน่ง เนือ่ งจากบริษทั มีความเชือ่ ว่าความสามารถทางธุรกิจและความเชีย่ วชาญในเรือ่ งต่างๆ ของกรรมการบริษทั ไม่ได้ขึ้นอยู่กับอายุหรือจ�ำนวนบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ตราบเท่าที่ยังมีความสามารถและอุทิศเวลาให้กับบริษัทได้อย่างเต็มที่ สามารถ ช่วยก�ำหนดนโยบาย ให้คำ� ปรึกษาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจได้ตามมาตรฐานทีบ่ ริษทั คาดหวังไว้ เช่นเดียวกับการก�ำหนด จ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันสูงสุดของกรรมการบริษัท เพราะบริษัทเชื่อว่าอ�ำนาจในการตัดสินใจในการเลือกตั้งบุคคลเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทนั้น เป็นสิทธิของผู้ถือหุ้นโดยแท้ที่จะคัดเลือกบุคคลเข้าท�ำหน้าที่แทนตนในการก�ำหนดนโยบายและ ควบคุมบริษทั ทีต่ นเป็นเจ้าของ ยกเว้นการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบเท่านัน้ ทีร่ ะยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบไม่ ควรเกิน 3 วาระติดต่อกัน เว้นแต่กรรมการตรวจสอบคนใดมีความเหมาะสมที่จะด�ำรงต�ำแหน่งนานกว่านั้น คณะกรรมการจะพิจารณา ความเป็นอิสระและประสิทธิภาพของการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการตรวจสอบรายดังกล่าว การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ ในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะคณะกรรมการบริษัทฯ กรรมการควรจะต้องทราบถึงลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ดังนั้น โดยเฉพาะในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีกรรมการเข้าใหม่ บริษัทฯ จะจัดปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เพื่อแนะน�ำให้รับทราบลักษณะ และแนวทางการด�ำเนินงานในภาพรวมของบริษัทฯ รวมทั้งให้ข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบจัดการปฐมนิเทศ การประชุมคณะกรรมการบริษัท ถือเป็นหน้าที่ส�ำคัญในฐานะกรรมการบริษัทที่ต้องเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อรับทราบและร่วมกัน ตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยในแต่ละปีจะมีการจัดประชุมอย่างน้อย 5 ครั้ง แต่ละครั้งจะมีการก�ำหนดวาระการประชุม ล่วงหน้าไว้ชัดเจน และอาจมีการประชุมครั้งพิเศษเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความส�ำคัญเร่งด่วน คณะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร สามารถจัดประชุมระหว่างกันเองตามความจ�ำเป็น เพือ่ อภิปรายปัญหาต่างๆ เกีย่ วกับการจัดการทีอ่ ยู่ในความสนใจ โดยไม่มฝี า่ ยจัดการ ร่วมด้วย และรายงานให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทราบถึงผลการประชุม ในการประชุม ประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นผู้ร่วมกันก�ำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่อง เข้าวาระการประชุมคณะกรรมการบริษทั โดยเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรือ่ งต่างๆ เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเป็นวาระ การประชุมได้ ในปี 2556 ได้มีการประชุมคณะกรรมการจ�ำนวน 6 ครั้ง แบ่งเป็นการประชุมที่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าทั้งหมด ทั้งนี้ ในการประชุม แต่ละครัง้ บริษทั ได้จดั ส่งเอกสารประกอบวาระประชุมล่วงหน้าเพือ่ ให้กรรมการบริษทั มีเวลาทีจ่ ะศึกษาข้อมูลในเรือ่ งต่างๆ อย่างเพียงพอ ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการบริษัทซึ่งท�ำหน้าที่ประธานในที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้กรรมการแสดงความคิดเห็น ได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ ในการลงมติให้ถือตามเสียงข้างมาก โดยให้กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง และกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่ เข้าร่วมประชุม และ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกหนึ่งเสียงเพื่อเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูงได้เข้าร่วมด้วยเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และรับทราบนโยบายโดยตรง เพื่อให้สามารถน�ำไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ เว้นแต่ในบางวาระที่ประชุมเฉพาะคณะกรรมการบริษัท หรือเฉพาะคณะกรรมการ บริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ของคณะกรรมการ เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทเป็นผู้ที่มีหน้าที่จัดท�ำรายงานการประชุม และจัดส่งให้ประธานกรรมการบริษัทพิจารณา ลงลายมือชือ่ รับรองความถูกต้อง โดยเสนอให้ทปี่ ระชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครัง้ ถัดไป ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั สามารถแสดง ความคิดเห็นขอแก้ไขเพิ่มเติมรายงานการประชุมให้มีความละเอียดถูกต้องมากที่สุดได้ รายงานการประชุมทีท่ ปี่ ระชุมรับรองแล้วจะถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบในรูปแบบของเอกสารชัน้ ความลับของบริษทั ณ ส�ำนักงานบริษทั และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์พร้อมกับเอกสารแนบประกอบวาระการประชุมต่างๆ เพื่อสะดวกในการสืบค้นอ้างอิง “Ready for new Challenges”


68

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ร่วมกันพิจารณา และสรุปผลการประเมิน และน�ำมาทบทวนการปฏิบัติงาน ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ และร่วมกันหาแนวทางปรับปรุง แก้ไข เพื่อให้ การท�ำงานของคณะกรรมการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ก�ำหนดให้มีการประเมินตนเองของคณะกรรมการในรูปแบบการประเมินตนเองของกรรมการทั้งคณะ การพัฒนากรรมการ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดต่างๆ บริษทั สนับสนุนให้คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูง เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงขององค์กรต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งหลักสูตรที่จัดโดยหน่วยงานที่ดูแลการฝึกอบรมพนักงานของบริษัท และหลักสูตร ที่จัดโดยหน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ หรือองค์กรอิสระ เช่น หลักสูตรกรรมการบริษัทของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ที่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนดให้กรรมการของบริษัทจดทะเบียนต้องผ่านการอบรมอย่างน้อยหนึ่งหลักสูตร ซึ่งได้แก่ Directors Certification Program (DCP), Directors Accreditation Program (DAP) และ Audit Committee Program (ACP) ทั้งนี้ เพื่อน�ำ ความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาบริษัทต่อไป ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทและผู้บริหาร คณะกรรมการได้รับค่าตอบแทนจ�ำนวน 3 ส่วน คือ ค่าตอบแทนประจ�ำเป็นรายเดือน เบี้ยประชุมต่อครั้งที่มาประชุม และ เงินโบนัส ดังนี้ ค่าตอบแทนรายเดือน ให้จ่ายทุกเดือน โดยจ่าย ประธาน 35,000 บาท/เดือน รองประธาน 25,000 บาท/เดือน กรรมการอื่นท่านละ 20,000 บาท/เดือน เบี้ยประชุมคณะกรรมการบริษัท ให้จ่ายเป็นรายครั้งเฉพาะเมื่อมาเข้าประชุม ประธาน รองประธาน กรรมการอื่นท่านละ

50,000 บาท/ครั้ง 40,000 บาท/ครั้ง 30,000 บาท/ครั้ง

โบนัสคณะกรรมการ ตามผลงานของกรรมการ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายเรือ่ งค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส โดยจะพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั ฯ และหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ เทียบเคียงกับอุตสาหกรรมเดียวกัน กรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ เพิ่มขึ้นในคณะอนุกรรมการต่างๆ ก็จะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มขึ้นตามปริมาณความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นดังนี้ ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจสอบให้จ่ายเฉพาะ เบี้ยประชุมเป็นรายครั้งเมื่อมาเข้าร่วมประชุม ประธาน กรรมการอื่นท่านละ

50,000 บาท/ครั้ง 30,000 บาท/ครั้ง

ค่าตอบแทนคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ให้จ่ายเฉพาะเบี้ยประชุมเป็นรายครั้งเมื่อมา เข้าร่วมประชุม ประธาน กรรมการอื่นท่านละ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

50,000 บาท/ครั้ง 30,000 บาท/ครั้ง

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

69

โดยคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะเป็นผูพ้ จิ ารณาค่าตอบแทนในเบือ้ งต้น แล้วเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาและต้องขออนุมตั ิจากทีป่ ระชุมผูถ้ ือหุ้น และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างชัดเจนในรายงานประจ�ำปี ทั้งค่าตอบแทน กรรมการเป็นรายบุคคล (ในหน้า 58) และค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง (ในหน้า 58) ส่วนค่าตอบแทนผู้บริหาร คณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณาจากหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และผลการปฏิบตั งิ านของแต่ละคนประกอบกับผลการด�ำเนินงาน ของบริษัท การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญในเรื่อง การจัดการเกี่ยวกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ เป็นธรรม และโปร่งใส หากมีรายการที่เกี่ยวโยงกัน จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวอย่างชัดเจน และทันเวลาเพื่อผลประโยชน์ของบริษัทโดยรวมเป็นส�ำคัญ บริษทั จะปกป้องความลับของลูกค้า และของผูถ้ อื หุน้ รักษาความเชือ่ ถือของลูกค้า โดยให้ความมัน่ ใจว่าจะรักษาความลับทางธุรกิจ ของลูกค้า นอกจากว่าจะได้รับความยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลได้ บริษัทฯ ได้น�ำเอาระบบอีเลคโทรนิคส์มาใช้ในการสื่อสารภายใน เพื่อเป็นการประหยัดและเพิ่มประสิทธิภาพ ได้มีการก�ำหนดมาตรการและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมูลและเอกสาร อย่างไม่ถกู ต้อง ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ให้จดั ท�ำรายชือ่ ของผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละเดือน การใช้ขอ้ มูลอย่างผิดกฎหมาย ไม่เหมาะสม และผิดจริยธรรม หรือใช้ไม่ถกู ต้องตามอ�ำนาจหน้าที่ จะมีผลให้ถกู ลงโทษตามกฎระเบียบ ของบริษทั นอกจากนีย้ งั ห้ามซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงเวลาทีก่ ำ� หนด (Blackout Period) ซึง่ นอกจากจะรักษาสิทธิของผูถ้ อื หุน้ แล้วยังเป็นการป้องกันความขัดแย้งของผลประโยชน์อีกทางหนึ่งด้วย บริษทั มีโครงสร้างการถือหุน้ ชัดเจน โปร่งใส ไม่มกี ารถือหุน้ ไขว้กนั กับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ จึงท�ำให้ไม่มคี วามขัดแย้งของผลประโยชน์ นอกจากนี้ ยังแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจนระหว่างคณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น จึงปราศจากปัญหาการ ก้าวก่ายหน้าที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่กรรมการบริษัท หรือผู้บริหารคนหนึ่งคนใดมีส่วนได้ส่วนเสียกับผลประโยชน์ในเรื่องที่ก�ำลัง พิจารณา ก็จะไม่เข้าร่วมประชุมหรืองดออกเสียง เพื่อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารเป็นไปอย่างยุติธรรม เพื่อ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง บริษัทเปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท ไว้ในรายงานประจ�ำปีอย่างชัดเจน รวมทั้งเปิดเผยการถือหุ้นสามัญในบริษัทของ คณะกรรมการบริษัทอย่างครบถ้วน เลขานุการบริษัท คณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้งนางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่ให้การสนับสนุนการจัดเตรียม ระเบียบวาระการประชุม ท�ำหนังสือเชิญประชุม ดูแลและจัดการประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ และการประชุม ผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ จัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการต่างๆ รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานประจ�ำปี ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายก�ำหนด และให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติของคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งดูแลให้กรรมการและบริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องครบถ้วน และโปร่งใส โดยเลขานุการบริษัทที่คณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นนี้เป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่ามีความเหมาะสมมีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารงานเลขานุการบริษัท

“Ready for new Challenges”


70

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

นโยบายและวิธีปฏิบัติในการไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของผู้บริหารระดับสูง บริษัทฯ พิจารณาผู้บริหารระดับสูงไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือบริษัทอื่นจาก ความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสม พร้อมทั้งเปิดเผยข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของผู้บริหารระดับสูงแต่ละคนในรายงานประจ�ำปี และแบบ 56-1

คณะกรรมการชุดย่อย บริษทั ฯ มีคณะกรรมการทัง้ หมด 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั , คณะกรรมการบริหาร, คณะกรรมการตรวจสอบ, คณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีความเข้าใจถึงวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานของบริษทั อย่างชัดเจน ท�ำให้สามารถ ดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปในแนวทางที่สอดคล้องกับนโยบายของบริษัทฯ ความเห็นโดยรวมของผู้ถือหุ้นและ หลักการของกฎหมาย นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทต้องมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และบทบาทหน้าที่ของตนเอง คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นอย่างดี รวมทัง้ ท�ำความเข้าใจ และดูแลตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการยึดถือปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ

เมื่อมีการร้องขอ คณะกรรมการบริษัทจะต้องชี้แจงข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ผู้ถือหุ้นและสาธารณชนได้

คณะกรรมการบริษัทได้ตกลงร่วมกันในการหาแนวทางให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติการที่ดีที่สุด ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ • คณะกรรมการบริษัท 1. มีความเข้าใจถึงวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานของบริษทั อย่างชัดเจน เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วย ความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต 2. พิจารณาก�ำหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�ำเนินงาน และงบประมาณของบริษัท และบริษัทย่อย ตามที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และฝ่ายจัดการจัดท�ำ 3. ก�ำกับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้ รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ดังกล่าว เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด 4. ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงานและงบประมาณของบริษัท 5. ด�ำเนินการให้บริษัท และบริษัทย่อยน�ำระบบงานบัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มีระบบ ควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดให้มีการท�ำงบการเงิน ณ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัท และลงลายมือชื่อเพื่อรับรองงบการเงินดังกล่าว เพื่อ น�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามที่ คณะกรรมการตรวจสอบน�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�ำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จัดให้มนี โยบายเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร และการปรับใช้นโยบายดังกล่าว อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่าบริษัทมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

71

9. พิจารณาอนุมตั แิ ต่งตัง้ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละไม่มคี ณ ุ สมบัตติ อ้ งห้ามตามทีก่ �ำหนดในพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง ในกรณี ที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งกรรมการแทน กรรมการทีอ่ อกตามวาระ และการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน น�ำเสนอ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 10. แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน หรือคณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ใดและก�ำหนดอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพือ่ ช่วยเหลือ และสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 11. พิจารณาแต่งตั้งผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท รวมทั้งพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้บริหารดังกล่าว 12. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�ำเป็นเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม 13. ส่งเสริมให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ และผู้บริหารนั้น

ทัง้ นี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั นัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอ�ำนาจ หรือ มอบอ�ำนาจช่วงทีท่ ำ� ให้คณะกรรมการบริษทั หรือผูร้ บั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษทั สามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้

• คณะกรรมการบริหาร 1. การจัดซือ้ ทีด่ นิ ดิบ เพือ่ ด�ำเนินโครงการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมของบริษทั ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั แล้ว 2. การจัดซื้อทรัพย์สิน (ยกเว้นที่ดินดิบในข้อ 1) ที่มีมูลค่าไม่เกิน 10 ล้านบาท เพื่อน�ำมาใช้ในกิจการของบริษัท 3. การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ เช่า จ�ำนองที่ดินของบริษัท และแบ่งแยกโฉนดที่ดิน ณ ส�ำนักงานที่ดินจังหวัด การยื่น ขออนุญาตและเปลี่ยนแปลงแก้ไขที่เป็นทางการต่อหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตและสิทธิ ในการด�ำเนินกิจการของบริษัท 4. การเปิดบัญชีธนาคารใหม่ หรือฝากเงินกับสถาบันการเงินอืน่ นอกเหนือจากบัญชีของบริษทั ทีม่ อี ยูก่ บั ธนาคาร สถาบัน การเงินที่มีอยู่แล้ว เพื่อด�ำเนินกิจการปกติของบริษัท การกู้เงินและให้บุคคลที่สามกู้เงินของบริษัท 5. การค�้ำประกันการกู้ยืมเงินให้แก่บริษัทย่อยในวงเงินรวมไม่เกิน 1,000 ล้านบาท 6. การกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินเพื่อการด�ำเนินกิจการในวงเงินไม่เกินคราวละ 500 ล้านบาท • คณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในตลอดจนให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย หรือเลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท “Ready for new Challenges”


72

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดของบริษัท 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ คือนายอนุชา สิหนาทกถากุล ซึง่ เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ในการสอบทาน งบการเงิน และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) - รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ • คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1. จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่ง และก�ำหนดกระบวนการสรรหาเพื่อทดแทนกรรมการเดิมที่หมดวาระ 2. พิจารณาสรรหาผูม้ าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ฯ ทดแทนกรรมการทีห่ มดวาระเพือ่ เสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯ และที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 3. จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และฝ่ายจัดการระดับสูงของบริษทั ฯ เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณา 4. เสนอแนะวิธีการประเมินผลการท�ำงานของกรรมการและคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งติดตามผลการประเมิน 5. เสนอแนวทางและวิธกี าร การจ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ทีค่ ณะกรรมการ บริษัทแต่งตั้ง ซึ่งรวมถึงโบนัสประจ�ำปีและเบี้ยประชุม 6. เสนอนโยบายพิจารณาค่าตอบแทนให้แก่ผบู้ ริหารระดับสูง (Management Incentives) ซึง่ รวมถึงเงินเดือนโบนัสประจ�ำปี โดยสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงเป็นรายบุคคล ในกรณี ที่เห็นสมควรให้ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาเพื่อให้ค�ำแนะน�ำการด�ำเนินโครงการ 7. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเพือ่ ก�ำหนดค่าตอบแทนก่อนน�ำเสนอขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษัทเป็นประจ�ำทุกปี 8. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารระดับสูงเป็นรายบุคคลตามข้อเสนอของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ก�ำหนด ค่าตอบแทนก่อนน�ำเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี 9. พิจารณางบประมาณการขึ้นค่าจ้าง การเปลี่ยนแปลงค่าจ้าง และผลตอบแทนเงินรางวัลประจ�ำปีของพนักงานจัดการ ระดับสูงก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัท บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

73

10 พิจารณาทบทวน ศึกษา ติดตามความเปลีย่ นแปลงและแนวโน้มในเรือ่ งผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 11 พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารระดับสูงเปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนชัน้ น�ำอืน่ ๆ ที่มีการประกอบธุรกิจอย่างเดียวกัน เพื่อให้ อมตะ รักษาความเป็นผู้น�ำในตลาดธุรกิจอุตสาหกรรมนั้นๆ และเพื่อ เป็นการสร้างแรงจูงใจในการบริหารงานให้เจริญก้าวหน้า 12. รายงานความคืบหน้าและผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ หลังมีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนอย่างสม�่ำเสมอ 13. ประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และรายงานผลการประเมินให้คณะกรรมการ บริษัททราบ 14. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลีย่ นแปลงใดๆ เกีย่ วกับข้อบังคับ (Charter) ของคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าผลตอบแทนต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติปรับปรุงให้เหมาะสมและมีความทันสมัยอยู่เสมอ 15. ปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ในการประชุมกรรมการทุกคณะ จะต้องมีจ�ำนวนกรรมการของแต่ละคณะเข้าประชุมเกินกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดของแต่ละคณะจึงจะครบองค์ประชุม

การสรรหากรรมการ และผู้บริหาร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะเป็นผู้พิจารณาสรรหาผู้มาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั หากเป็นกรรมอิสระจะต้อง เป็นกรรมการที่เป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้อง โดยต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแย้ง โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจ�ำ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน (บริษัทพี่น้อง) หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งในปัจจุบันและก่อนเป็นกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลอื่นที่มีความขัดแย้งในลักษณะ ทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตนทัง้ ในปัจจุบนั และก่อนเป็นกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ดังนี้ 3.1 ไม่เป็นผูส้ อบบัญชี ทัง้ นี้ ให้รวมถึงการไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการที่ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วน ผู้จัดการของส�ำนักงานสอบบัญชีต้นสังกัด 3.2 ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่นๆ เช่น ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคาทรัพย์สินเป็นต้น ที่ มีมูลค่าการให้บริการทางวิชาชีพอื่นเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี กับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ให้รวมถึงการไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการที่ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ให้บริการวิชาชีพอื่นๆ 3.3 ไม่ได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม หรือมีส่วนได้เสีย จากการท�ำธุรกรรมทางการค้าหรือธุรกิจ ได้แก่รายการ ที่เป็นธุรกิจปกติ รายการเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือรายการให้ ความช่วยเหลือทางการเงิน กับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ที่มีมูลค่าตั้งแต่ 20 ล้านบาท หรือตั้งแต่ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า โดยให้นับรวมมูลค่ารายการในระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ทั้งนี้ให้รวมถึงการไม่เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการที่ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจดังกล่าว “Ready for new Challenges”


74

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

4. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดามารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรกับผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอชือ่ เป็นผูบ้ ริหาร หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย 5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบั แต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูเ้ กีย่ วข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วน ทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้น ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย 7. สามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 8. สามารถดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 9. สามารถเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเพื่อตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ได้โดยอิสระ 10. ไม่เป็นบุคคลทีม่ ชี อื่ อยู่ในบัญชีรายชือ่ บุคคลทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเห็นว่าไม่สมควรเป็นผูบ้ ริหารตามข้อบังคับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 11. ไม่เคยต้องค�ำพิพากษาว่าได้กระท�ำความผิดตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยธุรกิจ สถาบันการเงิน กฎหมายว่าด้วยการประกันชีวติ กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน หรือกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจการเงินในท�ำนองเดียวกันไม่ว่าจะเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ โดยหน่วยงานทีม่ อี ำ� นาจตามกฎหมายนัน้ ทัง้ นี้ ในความผิดเกีย่ วกับการกระท�ำอันไม่เป็นธรรมทีเ่ กีย่ วกับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ หรือการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ฉ้อฉล หรือทุจริต 12. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท 13. หากมีคณ ุ สมบัตติ ามข้อ 1-12 กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการ ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน (บริษัทพี่น้อง) หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจแบบองค์คณะ (Collective Decision) ได้โดยไม่ถือว่ากรรมการอิสระเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการ บริหารงาน กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะเป็นผูพ้ จิ ารณาสรรหาผูม้ าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ทดแทนกรรมการทีห่ มดวาระ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ จ�ำนวนกรรมการสูงสุดของบริษัทมิได้ก�ำหนดไว้ ขึ้นอยู่กับ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะพิจารณาลงมติ กรรมการอาจถูกถอดถอนได้ดว้ ยมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยคะแนนเสียง 3 ใน 4 ของจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุม และมีสทิ ธิออกเสียง ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่ง มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนดเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะ เหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการ ทีต่ นแทน มติของกรรมการดังกล่าวนี้ ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่ต�่ำกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ ส่วนกรณีที่กรรมการพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระหรือไม่ก็ตาม การแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเป็นผู้แต่งตั้ง โดย ผู้ถือหุ้นจะเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ โดยผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

75

1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการ ที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน นอกจากท�ำหน้าที่ในการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการของบริษัทฯ แล้วยังได้จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งที่ครอบคลุมต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ การ ประธานเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาธุรกิจ ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยการเงิน และประธานเจ้าหน้าทีฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั ฯ โดยท�ำการ คัดเลือกบุคคลทีจ่ ะปฎิบตั หิ น้าที่ในต�ำแหน่งผูบ้ ริหารดังกล่าว ท�ำการพัฒนาฝึกอบรม เพือ่ เตรียมความพร้อมให้สามารถรองรับต�ำแหน่ง ได้ในอนาคต และเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีผู้บริหารที่มีความรู้ ความสามารถที่จะสืบทอดต�ำแหน่งที่ส�ำคัญต่อไปในอนาคต

การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม นโยบายการลงทุน บริษัทมีนโยบายที่จะลงทุนในบริษัทต่างๆ ดังนี้ 1. บริษัทจะน�ำทรัพย์สินที่มีอยู่ไปลงทุน เช่น การน�ำที่ดินของบริษัทไปลงทุน 2. ประเภทของธุรกิจทีบ่ ริษทั จะเข้าลงทุน จะต้องเป็นธุรกิจด้านบริการซึง่ จะเป็นประโยชน์ และอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ลูกค้า ในนิคมฯ ของอมตะ 3. บริษทั จะพิจารณาลงทุนในบริษทั ซึง่ หุน้ ส่วนจะต้องมีความเชีย่ วชาญ มีระบบการจัดการทีด่ ี และประสบความส�ำเร็จในธุรกิจนัน้ ๆ เป็นอย่างดี และมีชื่อเสียงในทางที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ 4. ส�ำหรับการลงทุนในต่างประเทศนั้น บริษัทยังไม่มีนโยบายที่จะไปลงทุนในธุรกิจใหม่ แต่มีนโยบายและแผนที่จะขยายหรือ พัฒนาธุรกิจทีม่ อี ยูแ่ ล้วในประเทศเวียดนาม ซึง่ จะใช้เงินทุนของบริษทั ย่อยในเวียดนาม โดยไม่ได้ใช้เงินลงทุนจากบริษทั แม่ การควบคุมดูแลบริษัทที่ได้ร่วมลงทุน 1. บริษทั ได้สง่ ผูบ้ ริหารของบริษทั ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในแขนงหรือวิชาชีพนัน้ ๆ เข้าไปเป็นกรรมการตามสัดส่วนการถือหุน้ หรือตามหนังสือสัญญาร่วมลงทุน 2. ติดตามผลการปฏิบัติงานของบริษัทที่เข้าร่วมทุน ให้ได้มาตรฐานและมีสินค้า หรือบริการที่มีราคายุติธรรม หากมีลูกค้า ร้องเรียนมา บริษัทจะท�ำการตรวจสอบ และปรับปรุงแก้ไขโดยด่วน 3. พนักงานของบริษทั จะให้ความร่วมมือและประสานงานกับบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมทุน เพือ่ ให้ความช่วยเหลือและอ�ำนวยความสะดวก 4. หากมีปัญหาเกิดขึ้นจากการด�ำเนินงานในบริษัทที่เข้าร่วมทุน ผู้บริหารของบริษัท จะประชุมร่วมกับผู้บริหารของบริษัท ที่เข้าร่วมทุนเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

“Ready for new Challenges”


76

การก� ำ กั บดูแลกิจการ

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งหมายถึง คณะกรรมการ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ และพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล (รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของบุคคลดังกล่าว) ดังนี้ 1. ห้ามบุคคลที่เกี่ยวข้องท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทภายใน 2 สัปดาห์ก่อนมีการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสและ งบการเงินประจ�ำปี และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว (Blackout Period) 2. ในกรณีทที่ ราบข้อมูลใดๆ ทีย่ งั ไม่เปิดเผยซึง่ อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ต้องไม่ทำ� การซือ้ ขายหลักทรัพย์ ของบริษัทจนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชั่วโมง นับแต่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลนั้นสู่สาธารณะทั้งหมดแล้ว รวมทั้งห้ามมิให้ ผูบ้ ริหาร หรือหน่วยงานที่ได้รบั ทราบข้อมูลภายในเปิดเผยข้อมูลภายในแก่บคุ คลภายนอก หรือบุคคลที่ไม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้น�ำข้อมูลภายในไปใช้ในทางมิชอบ 3. ในกรณีทกี่ รรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ซึง่ หมายรวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงจ�ำนวน หุ้นที่ถืออยู่ จะต้องแจ้งรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม -0- บาท - ส�ำนักงานสอบบัญชีทผี่ สู้ อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ อบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชีทผี่ สู้ อบบัญชี สังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม 5,368,529.26 บาท 2. ค่าบริการอื่น (non-audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ให้แก่ - ผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม -0- บาท และไม่มีค่าจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการ ตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา - ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชีดังกล่าว ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม 556,785.20 บาท และจะต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยัง ให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจ�ำนวนเงินรวม 526,440.- บาท

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ ระยอง ประเทศไทย

นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ตั้งอยู่บนถนนหลวงเลขที่ 331 ในจังหวัดระยอง ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ย่านอุตสาหกรรมของชายฝั่งด้านตะวันออกของประเทศไทย และยังใกล้กับท่าเรือน�้ำลึก และสาธารณูปโภคหลักที่ส�ำคัญ ผู้ที่ลงทุนในนิคม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้จะได้รับการยกเว้นภาษีสูงสุด รวมถึงสิทธิพิเศษอื่นๆ จากคณะกรรมการการลงทุน เขต3


78

ความรั บผิ ด ชอบต่อ สังคม

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้ด�ำเนินธุรกิจภายใต้จรรยาบรรณทางธุรกิจควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม พัฒนาธุรกิจใหม่ทมี่ รี ปู แบบและกระบวนการทางธุรกิจทีส่ ร้างคุณค่า ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในตัวเองด้วย (CSR In-process) ขณะเดียวกัน บริษัทฯ ยังคงยึดมั่นต่อกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (CSR After-process) ปัจจุบันบริษัทได้จัดท�ำรายงาน ตามแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการที่จัดท�ำโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และแสดงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ56-2) ซึ่งเผยแพร่เป็นประจ�ำทุกปี กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น คู่ค้า ผู้บริหาร พนักงาน และครอบครัว พนักงาน ชุมชนที่อยู่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ สิ่งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ความสนใจ และคาดหวังจากบริษัท ประกอบด้วยการป้องกัน และลดผลกระทบด้านมลพิษจากนิคมและโรงงาน, การจัดการกากอุตสาหกรรม, การควบคุมน�้ำเสียจากโรงงานไม่ให้ส่งผลกระทบต่อชุมชุน, และการส่งเสริมความเป็นอยู่ของชุมชนให้มีฐานะและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากการคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียนี้ บริษทั จึงเลือกแนวทางในการท�ำกิจกรรมรับผิดชอบต่อสังคมมาใช้เป็นส่วนหนึง่ ในการ บริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (CSR In-Process) และได้ก�ำหนดเป็นนโยบายดังนี้

1. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้น ก. การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน เนื่องจากในปัจจุบันภาวะโลกร้อนก�ำลังเป็นปัญหาที่ส�ำคัญของโลก ทรัพยากรน�้ำจึงเป็นสิ่งที่มี คุณค่าอย่างมหาศาล อมตะจึงได้จดั ท�ำ “โครงการใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่างประหยัด” โดยการน�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วมารดต้นไม้ ในพื้นที่สีเขียวของนิคมฯ, สนามกอล์ฟ และยังน�ำไปผลิตเป็นน�้ำเกรดสองเพื่อให้โรงงานใช้ต่อไป ข. การป้องกันและลดผลกระทบด้านมลพิษจากโรงงาน เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อชุมชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบนิคมฯ จึงได้จดั ท�ำโครงการ ดังนี้ 1. โครงการรณรงค์สง่ เสริมผูป้ ระกอบการทีอ่ ยูใ่ นนิคมฯ ให้ทำ� การควบคุมและลดปริมาณมลพิษทีจ่ ะระบายออกสูบ่ รรยากาศ ให้ดีกว่าเกณฑ์ที่กฏหมายก�ำหนด 2. โครงการรณรงค์ส่งเสริมผู้ประกอบการให้ท�ำการควบคุมการจัดการขยะอุตสาหกรรมให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ และตามที่กฏหมายก�ำหนด 3. การปกป้องฟืน้ ฟูสงิ่ แวดล้อมและความหลากหลายทางชีวะภาพ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินโครงการฟืน้ ฟูสงิ่ แวดล้อมและเพิม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ ด้วยการร่วมกับชุมชนท�ำกิจกรรมปลูกป่าชายเลนทุกๆ ปี เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนให้ มากขึ้น 4. การรับฟังข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนจากชุมชน บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเสนอข้อคิดเห็น และร้องเรียนด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากโรงงานและนิคมฯ ได้ตลอดเวลา จากนัน้ ก็จะเข้าท�ำการตรวจสอบและ ท�ำการ แก้ไขอย่างทันท่วงที เพือ่ ให้ผทู้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสียเกิดความมัน่ ใจและเชือ่ มัน่ ต่อการด�ำเนินการของบริษทั ฯ ในการแก้ไข ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม

79

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

บริษทั ในกลุม่ อมตะให้ความส�ำคัญต่อการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมรวมถึงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมกับชุนชนเครือข่ายในการด�ำเนิน กิจกรรมเพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อมโดยรอบนิคมอย่างสม�ำ่ เสมอ อาทิ โครงการสร้างฝ่ายชลอน�ำ้ โครงการปลูกป่าชายเลน โครงการปลูกป่า เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับนิคมฯ อมตะ และพื้นที่โดยรอบ

2. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ก. บทบาทในตลาดและการสร้างงาน ในแต่ละปีโรงงานต่างๆ ที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และอมตะซิตี้ มีความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้นอยู่โดยตลอด ดังนั้นเพื่อให้คนในท้องถิ่น นักศึกษาที่จบการศึกษาใหม่ และผู้ที่มีความประสงค์จะเปลี่ยนงาน หรือหางานใหม่ที่เหมาะสม กับความรู้ที่ได้เรียนมา บริษัทจึงได้ด�ำเนินการดังนี้ 1. โครงการติดตั้งป้ายรับสมัครงานที่ อบต./เทศบาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับสมัครงาน ของบริษัทฯภายในนิคมอุตสาหกรรม ข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ไปปิดประกาศให้ชุมชนได้ทราบ 2. โครงการจัดงานนัดพบแรงงาน ทุกๆ ปีบริษัทจะร่วมมือกับส�ำนักงานจัดหางาน วิทยาลัยอาชีวภาคตะวันออก จัดงาน นัดพบแรงงานขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่ต้องการหางานท�ำมีโอกาศพบกัน และเป็นการสร้างโอกาสในการ ท�ำงานแก่ผู้ที่อยู่ในชุมชน นักศึกษา ต่อไป 3. การมีส่วนร่วมในชุมชน บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงการสร้างชุมชนที่อยู่โดยรอบนิคมฯ มีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ จึงได้จัดท�ำ “โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์สินค้าของแต่ละต�ำบล(OTOP)” ที่อยู่โดยรอบนิคมฯ ให้มีการพัฒนาผลิตที่ ทันสมัย มีตลาดที่มั่นคง เพื่อให้ชุมชนมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็งขึ้น ข. การป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่น บริษัทยึดถือความสุจริตเป็นหลักในการด�ำเนินธุรกิจ และด�ำเนินธุรกิจโดยถูกกฎหมาย บริษัทไม่มีนโยบายที่จะสนับสนุน การทุจริตหรือจ่ายสินบนเพือ่ ประโยชน์ของธุรกิจ นอกจากนีบ้ ริษทั ยังเคารพและไม่สนับสนุนหรือเกีย่ วข้องกับการล่วงละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ของกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและผู้อื่น “Ready for new Challenges”


80

ความรั บผิ ด ชอบต่อ สังคม

ความรับผิดชอบ ต่อชุมชนและสังคม สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง อมตะร่วมเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กับเศรษฐกิจชุมชนโดยการสนับสนุน องค์ความรู้ และเทคโนโลยี ให้กบั กลุม่ อาชีพ ด้านต่างๆ ภายในชุมชน เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพของสินค้า ชุมชนให้ดียิ่งขึ้น

มหกรรมนัดพบแรงงาน โครงการมหกรรมนั ด พบแรงงาน อมตะฯ ร่วมกับส�ำนักงานจัดหางานจังหวัด ชลบุรี จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี โดยรวบรวม ต�ำแหน่งงานว่างของผูป้ ระกอบการภายใน นิคมฯ และจังหวัดชลบุรกี ว่า 10,000 อัตรา จากกว่า 300 สถานประกอบการ เพือ่ ส่งเสริม การมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง

ส่วนร่วมในชุมชน บริ ษั ท ในเครื อ อมตะร่ ว มกิ จ กรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในพื้นที่ โดยการเข้าร่วมและสนับสนุนการจัดงาน ประเพณีตา่ งๆ อาทิ งานสงกรานต์ งานประจ�ำปี งานทอดกฐิน ผ้าป่าสามัคคี ฯลฯ

จากการด�ำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ดังกล่าวข้างต้นนี้ บริษัทยังคงที่จะด�ำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและเกิดการยอมรับจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดไป บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง

81

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง การควบคุมและตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับความเหมาะสมและความพอเพียงของระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ได้จดั ให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีค่ รอบคลุมทุกด้าน ทัง้ ด้านการเงินและการปฎิบตั กิ าร มีการก�ำหนดบทบาท หน้าทีแ่ ละอ�ำนาจการ ด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ และเพื่อให้การตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพและท�ำงานอย่าง เป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงในการท�ำหน้าที่ บริษทั จึงได้วา่ จ้างบริษทั ปรมา คอนซัลแต้นท์ จ�ำกัด ซึง่ หัวหน้าทีมตรวจสอบภายใน คือ นางสาวชิชญา ศุภธนพัฒน์ วุฒิการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอัสสัมชัน ประสบการผ่านงานการ สอบบัญชีและตรวจสอบภายในมาไม่น้อยกว่า 7 ปี เป็นผู้ตรวจสอบภายในจากบริษัทภายนอก ท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฎิบัติงานของ ทุกหน่วยงาน และรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้ฝ่ายบริหาร สามารถแก้ไขปัญหาเร่งด่วนได้ทนั การ และรับการประเมินผลงานจากคณะกรรมการตรวจสอบด้วย ทัง้ นีเ้ ลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้ดูแลและประสานงานระหว่างบริษัท ปรมา คอนซัลแต้นท์ จ�ำกัดและคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอกและ บริษัท ปรมา คอนซัลแต้นท์ จ�ำกัด เพื่อขอทราบจุดอ่อน ของระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่ และรายงานให้คณะกรรมการทราบถึงความเหมาะสมและเพียงพอของระบบควบคุมภายใน ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2014 เมื่อวัน ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 ว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะสามารถป้องกันทรัพย์สินของ บริษัทและบริษัทย่อยอันเกิดจากการน�ำไปใช้โดยมิชอบ และในรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการตรวจ สอบไม่พบว่ามีการกระท�ำดังกล่าว

การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ คณะท�ำงานบริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ร่วมกันประชุม และประเมิน ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร ทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในอย่างสม�่ำเสมอ โดยจะท�ำการวิเคราะห์ถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ โอกาสเกิดและระดับความรุนแรงของผลกระทบ พร้อมทัง้ ร่วมกันก�ำหนดมาตรการบริหารความเสีย่ งและผูร้ บั ผิดชอบ โดยคณะท�ำงาน บริหารความเสี่ยงจะคอยดูแลติดตามความเสี่ยงตามแผนที่วางไว้ โดยความร่วมมือและการประสานงานจากหน่วยงานฝ่ายต่างๆ และ รายงานผลให้กบั คณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะท�ำหน้าทีป่ ระเมินประสิทธิภาพของการบริหารความเสีย่ งแล้ว รายงานให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อช่วยให้ทราบจุดอ่อนและปรับปรุงนโยบายให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น

“Ready for new Challenges”


82

รายการระหว่างกัน

รายการ ระหว่างกัน คณะกรรมการให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อน และรายการเกีย่ วโยงโดยการวางนโยบาย, ข้อปฏิบตั แิ ละวิธกี ารปฏิบตั ิ อย่างชัดเจนและสอดคล้องกับกฎหมาย, ระเบียบบริษทั , กฎระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและหลักการก�ำกับกิจการที่ดี ผู้ที่เกี่ยวข้องกับรายการเกี่ยวโยง หรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน จะต้องแจ้งบริษัทและเปิดเผยความสัมพันธ์ บุคคลเหล่านี้ไม่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและจะไม่มีอำ� นาจอนุมัติการ ท�ำธุรกรรม ยิ่งกว่านั้นการอนุมัติธุรกรรมที่ว่านี้ต้องท�ำโดยเห็นแก่ประโยชน์ของบริษัทเป็นส�ำคัญปราศจากเงื่อนไขพิเศษใดๆ และได้ เปิดเผยรายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7 ของงบการเงินของบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


อั ต ราส่ ว นทางการเงิ น ที่ ส� ำ คั ญ

อัตราส่วนทางการเงิน ที่ส�ำคัญ

บริ ษั ท อมตะ คอร์ ป อเรชั น จ� ำ กั ด (มหาชน) ณ 31 ธั นวาคม

อั ตราส่ ว นทางการเงิน ที่ส�ำคัญ *

2556

ณ 31 ธั นวาคม

83

บริ ษั ท อมตะ คอร์ ป อเรชั น จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ณ 31 ธั นวาคม

ณ 31 ธั นวาคม

2555 2554 (ปรั บปรุ ง ใหม่ ) (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

ณ 31 ธั นวาคม

ณ 31 ธั น วาคม

2555 2554 (ปรั บปรุ ง ใหม่ ) (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

อัตราส่วนสภาพคล่อง 1.05 1.50 1.47 1.34 อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.09 1.10 อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 0.09 0.07 0.11 0.43 0.37 0.32 อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) 0.15 0.26 0.12 0.48 0.56 0.38 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) 20.41 50.54 28.92 18.56 23.24 15.65 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 17.89 7.22 12.62 19.66 15.71 23.32 อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) 0.24 0.21 0.19 0.39 0.29 0.22 ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) 1,491.14 1,712.56 1,905.31 926.55 1,267.79 1,684.19 อัตราหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) 6.67 6.26 5.30 3.93 3.39 2.91 ระยะเวลาช�ำระหนี้ (วัน) 54.69 58.32 68.89 92.85 107.59 125.64 วงจรเงินสด (วัน) 1,454.34 1,661.46 1,849.04 853.36 1,175.90 1,581.87 อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร 61.77 47.97 50.20 48.24 อัตราก�ำไรขั้นต้น (%) 61.19 62.18 อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงาน (%) 39.44 37.79 41.20 26.92 31.96 28.60 อัตราก�ำไรอื่น (%) 5.50 4.80 3.64 อัตราส่วนเงินสดต่อการท�ำก�ำไร (%) 62.17 124.53 60.24 146.98 183.59 181.96 อัตราก�ำไรสุทธิ (%) 30.35 31.16 33.12 25.69 29.46 26.59 อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) 20.68 18.26 15.33 20.20 21.92 15.01 อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน 6.57 8.92 9.24 6.45 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) 7.40 6.59 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) 393.82 407.97 389.53 195.62 223.62 186.00 อัตราหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) 0.24 0.21 0.20 0.35 0.31 0.24 อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน 1.63 1.18 1.36 1.39 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 1.70 1.90 อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย (เท่า) 3.48 4.24 3.06 10.13 10.24 8.22 อัตราส่วนความสามารถช�ำระภาระผูกพัน (Cash Basis) (เท่า) 0.25 0.29 0.12 0.79 0.60 0.44 อัตราการจ่ายเงินปันผล (%) 76.57 110.86 29.39 32.71 66.46 20.54 * อัตราส่วนทางการเงินเป็นไปตามคู่มือจัดท�ำแบบแสดงรายการข้อมูลแบบ 56-1 และแบบ 69-1 ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ “Ready for new Challenges”


84

การวิ เคราะห์และค�ำอธิบ ายของฝ่ายจัด การ

การวิเคราะห์ และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ เศรษฐกิจและนิคมอุตสาหกรรม จากจ�ำนวนข้อมูลค�ำขอรับการส่งเสริมการลงทุนกับส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) แสดงข้อมูลไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ระบุถงึ การชะลอตัวของการลงทุนในครึง่ ปีหลังของปี 2556 ดัชนีความเชือ่ มัน่ ภาคอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท) ได้ร่วงต�่ำสุดอยู่ที่ 90.4 จุดในเดือนกันยายน จาก 97.3 จุดภายในหนึ่งเดือนในปี 2556 ซึ่งอยู่ในระดับต�่ำสุดตั้งแต่ปี 2554 จาก เหตุการณ์น�้ำท่วม ความกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวในการบริโภคภายในประเทศ ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความปั่นป่วนทางการเมือง ทีต่ อ่ เนือ่ ง และสภาพเศรษฐกิจโลกทีซ่ บเซา และเหตุการณ์นำ�้ ท่วมขังในช่วงสัน้ ๆ ระหว่างเดือนกันยายน และเดือนตุลาคม ได้สง่ ผลกระทบ ต่อนิคมอุตสาหกรรมบางแห่ง ได้สร้างแรงกดดันต่อความเชื่อมั่นทางอุตสาหกรรมด้วยเช่นกัน ยอดขายพืน้ ทีข่ องนิคมอมตะได้รบั ผลกระทบในไตรมาสสุดท้ายของปี 2556 เป้าหมายการขายทีด่ นิ ปรับลดจากจ�ำนวน 3,000 ไร่ ลดเหลือเพียงหนึง่ ในสามเท่านัน้ เนือ่ งจากการขัดแย้งทางเมืองทีร่ นุ แรงมากขึน้ ท�ำให้บริษทั ต่างชาติเลือ่ นเวลาการตัดสินใจในการลงทุน ในประเทศไทย และลูกค้าหลักสองสามรายของอมตะได้เลื่อนลงนามในสัญญาซื้อขายที่ดินออกไป อันเนื่องมาจากสาเหตุดังกล่าว ส�ำหรับปี 2557 อมตะจะยังคงเน้นไปทีล่ กู ค้าอุตสาหกรรมยานยนต์ทเี่ ติบโตอย่างมาก เนือ่ งจากการขยายตัวของการผลิต eco- car ในระยะที่สองในปี 2558 ในขณะเดียวกัน อมตะมองการขยายธุรกิจไปยังนิคมอมตะในประเทศเวียดนามด้วย

การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญในนโยบายการบัญชี ปี 2556 บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุน และสิทธิการใช้ทดี่ นิ พร้อมระบบสาธารณูปโภคดังรายละเอียดดังต่อไปนี้ การเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีสำ� หรับอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนและสิทธิการใช้ทดี่ นิ พร้อมระบบสาธารณูปโภค ตามมาตรฐาน การบัญชีไทยฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนก�ำหนดให้กิจการสามารถเลือกบันทึกอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุนด้วยวิธรี าคาทุนหรือด้วยวิธมี ลู ค่ายุตธิ รรม และกิจการอาจจัดประเภทและบันทึกบัญชีอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนภายใต้ สัญญาเช่าด�ำเนินงานเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้ ถ้าหากอสังหาริมทรัพย์นั้นเป็นไปตามค�ำนิยามของอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุนและผูเ้ ช่าใช้วธิ มี ลู ค่ายุตธิ รรม ซึง่ ในปีปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้เปลีย่ นนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนซึ่งรวมถึงสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภคของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ในประเทศเวียดนาม จากวิธีมูลค่ายุติธรรมเป็นวิธีราคาทุนเพื่อให้งบการเงินแสดงข้อมูลที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ฝ่ายบริหารใช้ในการ ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ปรับย้อนหลังงบการเงินของปีกอ่ นทีแ่ สดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเพือ่ สะท้อนรายการ ปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้น�ำเสนอแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะ การเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพือ่ เป็นข้อมูลเปรียบเทียบ โดยใช้นโยบายดังกล่าวด้วยเช่นกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ไม่สามารถหาผลกระทบต่องบการเงินส�ำหรับปีปัจจุบันจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวได้ในทางปฏิบัติ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การวิ เคราะห์ แ ละค� ำ อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ

85

การวิเคราะห์รายได้

7,506.08

6,089.97

3,923.54

3,178.48

2,230.14

4,061.31

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยมีรายได้รวมส�ำหรับปี 2556 เป็นเงินจ�ำนวน 7,506.08 ล้านบาท ซึ่งสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

2551 2552 2553 2554 2555 2556

ก) รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ส�ำหรับปี 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายที่ดินเป็นจ�ำนวนเงิน 5,342.70 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2555 มีรายได้จากการขายที่ดินเป็นจ�ำนวนเงิน 4,100.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวนเงิน 1,242.32 ล้านบาท หรือเท่ากับ ร้อยละ 30 ซึ่งส่วนส�ำคัญของรายได้ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 25 เป็นส่วนของบริษัทฯ และร้อยละ 68 เป็นส่วนของบริษัทย่อย (บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด) และร้อยละ 7 เป็นของบริษัทย่อยอื่นๆ

บริษัทฯ และบริษัทย่อย มียอดโอนขายที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมส�ำหรับปี 2556 จ�ำนวน 1,714 ไร่ เมื่อเปรียบเทียบกับ ระยะเวลาเดียวกันปี 2555 จ�ำนวน 1,493 ไร่ มียอดการโอนขายที่ดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 15

ข) รายได้อื่นๆ (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

รายได้

รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้จากการให้เช่า รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน รายได้จากการริบเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น รวม

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

เปลี่ ย นแปลง

ร้อยละ

1,253.48 568.07 97.82 96.29 147.73 2,163.39

1,065.82 446.71 248.27 121.58 107.22 1,989.60

187.66 121.36 97.82 (248.27) (25.29) 40.51 173.79

17.61 27.17 (100.00) (20.80) 37.78 8.73

ตารางข้างต้นนี้แสดงให้เห็นถึงรายได้ที่เพิ่มขึ้นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ 1. รายได้จากค่าสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.61 โดยทีร่ ้อยละ 19.70 เป็นรายได้ทเี่ กิดจากการให้บริการด้านน�้ำ และ ร้อยละ 15.6 เกิดจากรายได้คา่ บริการ ซึง่ จากการเติบโตของธุรกิจให้บริการด้านน�ำ้ สะท้อนให้เห็นถึงอุปสงค์ทเี่ พิม่ สูงขึน้ ของปริมาณการใช้น�้ำดิบและการบ�ำบัดน�้ำเสีย เนื่องมาจากจ�ำนวนของลูกค้าที่เพิ่มขึ้นในนิคมอุตสาหกรรม 2. การเติบโตอย่างต่อเนื่องของรายได้ค่าเช่าโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่าจากเพียงร้อยละ 10.59 ในปี 2555 ปรับเพิ่มขึ้นเป็น 27.17 ในปี 2556 อันเนื่องมาจากความต้องการโรงงานส�ำเร็จรูปของลูกค้าต่างๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งในนิคมอมตะ ที่ประเทศไทยและประเทศเวียดนาม 3. ดอกเบีย้ รับจากบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ในต่างประเทศได้ลดลงร้อยละ 20.80 ส่วนใหญ่เกิดจากอัตราดอกเบีย้ ในต่างประเทศ ที่ปรับลดลงในปี 2556 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2555 “Ready for new Challenges”


86

การวิ เคราะห์และค�ำอธิบ ายของฝ่ายจัด การ

การวิเคราะห์ก�ำไรขั้นต้น (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

2556 รายได้

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้จากการให้เช่า รวม

ก� ำ ไรขั้ นต้ น

5,342.70 2,844.93 1,253.48 206.10 568.07 385.76 7,164.25 3,436.79

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ ) ร้ อยละ

รายได้

เปลี่ ย นแปลง

ก� ำ ไรขั้ นต้ น

ร้ อยละ

จ� ำ นวนจุ ด

53.25 4,100.38 2,322.39 16.44 1,065.82 197.81 67.91 446.71 297.40 47.97 5,612.91 2,817.60

56.64 18.56 66.58 50.20

(3.4) (2.1) 1.3 (2.2)

ในปี 2556 มีก�ำไรขั้นต้นจากการขายที่ดินร้อยละ 53.25 หรือลดลง 3.4 จุด เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2555 ซึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจาก ยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ จากบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ทีม่ กี ำ� ไรขัน้ ต้นลดลง เมือ่ เทียบกับก�ำไรขัน้ ต้นเฉลีย่ ของบริษทั ฯ ก�ำไรขัน้ ต้นทีล่ ดลงของรายได้ ค่าสาธารณูปโภคส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ตน้ ทุนทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ เดียวในการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์สบู น�ำ้ เพือ่ การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย หากไม่รวมต้นทุน ทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ เดียวในการบ�ำรุงรักษาดังกล่าวแล้ว ก�ำไรขัน้ ต้นของรายได้คา่ สาธารณูปโภคจะเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 16.44 เป็นร้อยละ 20.83 เมื่อเทียบกับก�ำไรขั้นต้นของรายได้ค่าสาธารณูปโภคส�ำหรับปี 2555 ผลประกอบการจะเพิ่มขึ้น 2.3 จุด

การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

ค่ า ใช้ จ ่ า ย

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ รวม

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

เปลี่ ย นแปลง

ร้ อยละ

426.62 814.33 349.85 358.80 1,949.60

282.51 633.04 390.56 314.87 1,620.98

144.11 181.29 (40.71) 43.93 328.62

51.01 28.64 (10.42) 13.95 20.27

1. ค่าใช้จา่ ยในการขายส�ำหรับปี 2556 เพิม่ ขึน้ เป็นจ�ำนวนเงิน 144.11 ล้านบาท การเพิม่ ขึน้ ดังกล่าวส่วนใหญ่เกิดจากค่าใช้จา่ ย ภาษีและค่าธรรมเนียมการโอนขายทีด่ นิ , ค่าใช้จา่ ยในการส่งเสริมการขายและค่าใช้จา่ ย เพือ่ Corporate Social Responsibility (CSR) 2. ค่าใช้จ่ายในการบริหารส�ำหรับปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 181.29 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นครั้งเดียว ส�ำหรับป้องกันน�ำ้ ท่วมที่ใช้ไปเพือ่ แก้ไขและป้องกันน�ำ้ ท่วม จนกระทัง่ สถานการณ์กลับคืนสูป่ กติ คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 111.00 ล้านบาท 3. ค่าใช้จ่ายทางการเงินลดลงจากปีก่อน เนื่องจากเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวเฉลี่ยในระหว่างปีลดลง 4. ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 43.93 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2555 ซึ่งส่วนใหญ่ เกิดจากรายได้จากการโอนขายที่ดินให้แก่ลูกค้าและรายได้อื่นที่มิได้รับการส่งเสริมจากบีโอไอ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การวิ เคราะห์ แ ละค� ำ อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ

87

การวิเคราะห์ทางการเงิน (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สิน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

เปลี่ ย นแปลง

ร้อยละ

22,203.24 12,011.74 10,191.50

21,014.09 12,107.87 8,906.22

1,189.15 (96.13) 1,285.28

5.66 (0.79) 14.43

1. รวมสินทรัพย์เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 1,189.15 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อน ส่วนใหญ่เกิดจากการซื้อที่ดินและการลงทุน ในโรงงานส�ำเร็จรูป 2. รวมหนีส้ นิ ลดลง คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 96.13 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งจากการลดลงของเงินมัดจ�ำและเงินรับ ล่วงหน้ารับจากลูกค้า 3. ส�ำหรับปี 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเงินกู้ระยะยาวจากธนาคารเป็นจ�ำนวนเงิน 6,773 ล้านบาท (5,096 ล้านบาท จาก บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และจ�ำนวน 1,677 ล้านบาท จากบริษัทย่อยอื่นๆ) รวมถึงเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีจ�ำนวนเงิน 1,387 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีวงเงิน สินเชื่อระยะยาวซึ่งยังมิได้เบิกคิดเป็นจ�ำนวนเงิน 4,521 ล้านบาท ส่วนของบริษัทเป็นจ�ำนวนเงิน 243 ล้านบาท เพื่อเป็น ทุนในการพัฒนาโครงการในอนาคต ได้แก่ การซื้อที่ดิน การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินและอุปกรณ์ ฯลฯ

การวิเคราะห์บัญชีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมียอดลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นเป็นจ�ำนวนเงิน 508 ล้านบาท ประกอบด้วย ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เป็นจ�ำนวนเงิน 353 ล้านบาท และลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เป็นจ�ำนวนเงิน 165 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าแยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระดังนี้คือ • ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ เป็นจ�ำนวนเงิน 180 ล้านบาท • ค้างช�ำระไม่เกิน 3 เดือน เป็นจ�ำนวนเงิน 35 ล้านบาท • ค้างช�ำระนานกว่า 3 ถึง 9 เดือน เป็นจ�ำนวนเงิน 1 ล้านบาท • ค้างช�ำระนานกว่า 9 และเกิน 12 เดือน เป็นจ�ำนวนเงิน 3 ล้านบาท ส�ำหรับลูกหนี้การค้าส�ำหรับปี 2556 จ�ำนวนเงิน 180 ล้านบาท บริษัทย่อยได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจ�ำนวนเงิน 10 ล้านบาท และ เนื่องจากบริษัทฯ มีนโนบายและมีมาตรการในการติดตามหนี้ที่ดี ท�ำให้บริษัทฯ ไม่มีหนี้สูญจากการเรียกเก็บเงินจากลูกค้าไม่ได้

“Ready for new Challenges”


88

การวิ เคราะห์และค�ำอธิบ ายของฝ่ายจัด การ

การวิเคราะห์กระแสเงินสด (หน่ ว ย : ล้ า นบาท)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

เปลี่ ย นแปลง

%

1,784.18 2,834.59 (3,084.77) 142.49 (586.82) (654.84) 1,129.34

1,446.35 3,293.21 (1,853.26) (441.19) (693.43) 337.83 1,784.18

337.83 (458.62) (1,231.51) 583.68 106.61 (992.67) (654.84)

23.36 (13.93) 66.45 (132.30) (15.37) (293.84) (36.70)

1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงานลดลง เนื่องมาจากจ�ำนวนเงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า และรายได้จาก ดอกเบี้ยรับลดลง 2. กระแสเงินสดที่จ่ายออกอย่างมีนัยส�ำคัญจากกิจกรรมการเพื่อลงทุนซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตจ�ำนวนเงิน 1,771 ล้านบาทของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท อมตะซิตี้ จ�ำกัด ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และ ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจ�ำนวนเงิน 878 ล้านบาท, เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 3. ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ได้ชำ� ระคืนเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ จ�ำนวนเงิน 1,445 ล้านบาท, เงินสดรับจากเงินกูร้ ะยะยาว จ�ำนวนเงิน 1,662 ล้านบาท ส�ำหรับการขยายโรงงานส�ำเร็จรูปและเพื่อปรับปรุงโรงบ�ำบัดน�้ำเสีย, เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น จ�ำนวนเงิน 702 ล้านบาท

การวิเคราะห์สัดส่วนทางการเงิน ส่วนต่างก�ำไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น(%)* อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%)** อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (เท่า)

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

เปลี่ ย นแปลง

20.19 23.18 12.20 1.44

24.65 24.32 11.97 1.64

(4.46) (1.14) 0.23 (0.20)

ผลต่ า งที่ น ่ า พอใจ/ไม่ น ่ า พอใจ

ไม่น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ น่าพอใจ น่าพอใจ

* อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (%) =

ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ x 100 รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ใหญ่ (เฉลีย่ )

** อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) =

ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ก่อนดอกเบีย้ จ่ายและภาษี x 100 รวมสินทรัพย์เฉลีย่

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิจากการประกอบกิจการจ�ำนวนเงิน 1,515.58 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบ กับก�ำไรสุทธิในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ก�ำไรสุทธิของปี 2556 เพิ่มขึ้นจ�ำนวนเงิน 14.37 ล้านบาท หรือเท่าร้อยละ 0.96 อย่างไรก็ตาม หากหักค่าใช้จ่ายในการป้องกันน�้ำท่วมที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวและค่าใช้จ่ายในการบ�ำรุงรักษาโรงบ�ำบัดน�้ำเสียแล้ว ก�ำไรสุทธิของบริษัทฯ และบริษัทย่อยควรจะเพิ่มจากร้อยละ 20.19 เป็นร้อยละ 21.56 หรือก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากจ�ำนวนเงิน 14.37 ล้านบาท เป็นจ�ำนวนเงิน 180.37 ล้านบาท

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


การวิ เคราะห์ แ ละค� ำ อธิ บ ายของฝ่ า ยจั ด การ

89

การลดลงของอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนนั้น เหตุผลหลักเกิดจากการการลดลงของเงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าที่ลดลง และการเพิ่มขึ้นของส่วนของผู้ถือหุ้นที่เกิดจากก�ำไรสุทธิของกิจการ. อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (อัตราส่วนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินต่อทุน) อยู่ที่ร้อยละ 0.75:1 สิ้นปี 2556 และอยู่ที่ร้อยละ 0.80:1 ณ สิน้ ปี 2555 ซึง่ ต�ำ่ กว่าบริษทั อืน่ ๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน, อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุนทีต่ ำ�่ ลงแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างการจัดหาเงินทุน ที่แข็งแกร่งและมีความยืดหยุ่นซึ่งสามารถปรับเข้ากับสถานการณ์ต่างๆได้

เรื่องอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงการลงทุนระหว่างปี • ในไตรมาสที่ 2 ปี 2556 บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด ได้ลงทุนเป็นจ�ำนวนเงิน 2 ล้านบาท ในบริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน ของบริษัทดังกล่าว • ในไตรมาสที่ 3 ปี 2556 บริษัทฯ ได้ลงทุน คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 28 ล้านบาทในบริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 4 จ�ำกัด และ บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 5 จ�ำกัด คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว • ในปี 2556 บริษัท โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 21 มีมติเพิ่มทุน จดทะเบียนจากจ�ำนวนเงิน 100 ล้านบาทเป็นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม โดยที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 มีมติให้คงจ�ำนวนหุ้นไว้เท่าเดิม (ไม่เพิ่มทุนตามสัดส่วน) ภายหลังการเพิ่มทุนดังกล่าวท�ำให้ บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวเป็นร้อยละ 4 บริษัทฯ จึงจัดประเภทเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวเป็นเงินลงทุน ในบริษัทอื่น (แสดงรวมอยู่ในรายการสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

เหตุการณ์ภายหลังระยะเวลาการรายงาน • เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติในหลักการเข้าท�ำธุรกรรมกองทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า (กองทรัสต์) โดยบริษทั อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย จะเข้าท�ำรายการขายและ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์แก่ทรัสตี ซึง่ กระท�ำในนามของกองทรัสต์ฯ โดยธุรกรรมดังกล่าวมีมลู ค่าประมาณไม่เกิน 4,750 ล้านบาท (ทัง้ นี้ ราคาขายทรัพย์สินสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับการตกลงกันของคู่สัญญาที่เกี่ยวข้อง)

“Ready for new Challenges”


90

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี 2556 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ในปี 25556 คณะกรรมการบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็น คณะกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อก�ำหนด และแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วย นายอนุชา สิหนาทกถากุล เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายนพพันธป์ เมืองโคตร และ รศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมี นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ เป็นเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึง่ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปีบญั ชี 2556 ได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 5 ครั้ง และในปี 2556 จนถึงวันที่รายงาน จ�ำนวน 1 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยนายอนุชา สิหนาทกถากุล นายนพพันธป์ เมืองโคตร และรศ.ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ เข้าร่วมประชุมครบถ้วนทุกครัง้ และเป็นการร่วมประชุมกับผูบ้ ริหาร ผูส้ อบบัญชีและผูต้ รวจสอบ ภายในตามความเหมาะสมซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2556 โดยได้สอบถามและรับฟัง ค�ำชีแ้ จงจากผูบ้ ริหาร และผูส้ อบบัญชี ในเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงรับทราบแผนการสอบบัญชี ของผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2556 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินดังกล่าว มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานข้อมูลการด�ำเนินงานและระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของ ระบบการควบคุมภายใน อันจะช่วยส่งเสริมให้การด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดยพิจารณาจากการ สอบทานผลการประเมินระบบการควบคุมภายในร่วมกับผูส้ อบบัญชี และ ผูต้ รวจสอบภายใน ไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง ที่เป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ นอกจากนี้ ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่ก�ำหนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ โดยผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน มีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีและ ผู้ตรวจสอบภายใน รวมทั้งมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยอย่างเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล 3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณาภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ ของบริษทั ปรมา คอนซัลแต้นท์ จ�ำกัด ซึง่ เป็น ผูต้ รวจสอบภายในของบริษทั อีกทัง้ ได้พจิ ารณาทบทวนและอนุมตั กิ ารแก้ไข กฏบัตรงานตรวจสอบภายในให้เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้องกับคูม่ อื แนวทางการตรวจสอบภายในของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และได้อนุมัติแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ที่จัดขึ้นตามความเสี่ยงระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบการตรวจสอบภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล เป็นไปตามมาตราฐานสากล 4. สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของบริษัทฯ และข้อผูกพันที่บริษัทฯ มีไว้ กับบุคคลภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย ข้อก�ำหนด และข้อผูกพันที่บริษัทฯ มีไว้กับบุคคลภายนอก บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

91

5. สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยง ให้มีความเชื่อมโยงกับระบบการควบคุมภายในเพื่อจัดการความเสี่ยงทั่วทั้งบริษัทฯ โดยได้พิจารณาสอบทานนโยบาย ปัจจัยความเสี่ยง แนวทางการบริหารความเสี่ยง รวมถึงความคืบหน้าของการบริหาร ความเสี่ยง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯมีระบบการบริหารความเสี่ยง โดยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ บ่งชี้ความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง จัดการความเสี่ยง และติดตามผลความคืบหน้า มีการก�ำหนดดัชนีชี้วัดความเสี่ยง ทีส่ ำ� คัญ (Key Risk Indicator-KRI) ซึง่ ถือเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้า ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ มีการก�ำหนดความเสีย่ ง ที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) 6. สอบทานและให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการเปิดเผย ข้อมูลของรายการดังกล่าว ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่ารายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและแสดง รายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผูส้ อบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็นประโยชนสูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 7. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2557 เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ให้อนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ซี่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ว เห็นควรเสนอแต่งตั้งนางสาว ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3844 และ/หรือ นายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 และ/หรือ นายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4958 แห่งบริษัทส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัดป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2557 พร้อมด้วย ค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,560,000.- บาท โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี่ยวกับการเสนอแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชีดังกล่าวดังนี้ • ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา ผู้สอบบัญชีได้ปฏิบัติงานด้วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ ระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยงต่างๆ รวมทั้งมีความเป็นอิสระในการปฏบัติงาน • ค่าตอบแทนที่เสนอมาเป็นอัตราที่เหมาะสม โดยได้เสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีเป็นจ�ำนวน 1,560,000.- บาท ซึ่ง สูงกว่าปี 2556 เป็นจ�ำนวน 60,000.- บาท • มีการปฏิบัติสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในเรื่อง การก�ำหนดให้บริษัทจดทะเบียนต้องจัดให้มีการหมุนเวียนผู้สอบบัญชีที่ลงลายมือชื่อรับรองงบการเงินทุก 5 รอบปี บัญชี ทั้งนี้หากผู้สอบบัญชีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2557 จะจัดเป็นปีที่ 4 ของ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล (ผู้สอบบัญชี) • ผู้สอบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ความเห็น/ข้อสังเกตจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยสรุปในภาพรวมแล้วคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบถ้วนตามที่ได้ระบุไว้ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีรายงานข้อมูลทางการเงินและการด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง มีระบบ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามกฏหมาย ข้อก�ำหนด และข้อผูกพันต่างๆ มีการเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันอย่างถูกต้องและมีการปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องกับระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี อย่างเพียงพอ โปร่งใส และเชือ่ ถือได้รวมทัง้ มีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบตั งิ านให้มคี ณ ุ ภาพดีขนึ้ และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

นายอนุชา สิหนาทกถากุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 12 กุมภาพันธ์ 2557 “Ready for new Challenges”


92

รายงานความรับ ผิด ชอบของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงิ น ประจ� ำ ปี 2556

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงินประจ�ำปี 2556 งบการเงินของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่น�ำมาจัดท�ำงบการเงินรวมได้ปฏิบัติตามหลัก การบัญชีที่รับรองทั่วไป และใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอ ตลอดจนมีการพิจารณาถึงความสมเหตุสมผล และจัดท�ำงบการเงินอย่างรอบคอบ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปที่จะได้รับทราบข้อมูลที่แสดงฐานะการเงิน และ ผลการด�ำเนินงานที่ครบถ้วนเป็นจริงและสมเหตุผล ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มัน่ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียต่อรายงานงบการเงินทีบ่ ริษทั ฯ จัดท�ำขึน้ ว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขา้ งต้น คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ให้เข้ามาท�ำหน้าที่ สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องเพียงพอ รวมทัง้ มีการเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องและครบถ้วน สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล สอบทานการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดตลาดหลักทรัพย์ ข้อผูกพันทีม่ ไี ว้กบั บุคคลภายนอกและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี จากโครงสร้างการบริหารและระบบการควบคุมภายในดังกล่าว และผลการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต ท�ำให้คณะกรรมการ ของบริษัทเชื่อได้ว่า งบการเงินของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่31 ธันวาคม 2556 ได้แสดง ฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตราฐานการรายงานทางการเงิน

(ดร.วิษณุ เครืองาม) (นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์) ประธานกรรมการ รักษาการต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


รายงานของผู ้ ส อบบั ญชี รั บ อนุ ญาต

93

รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และงบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและ หมายเหตุเรื่องอื่นๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงาน ทางการเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงาน ตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและ การเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำ และการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อ ออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการ ควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผล ของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐาน การสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอ และเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผลการด�ำเนินงานและ กระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


94

รายงานของผู้ส อบบัญ ชีรับ อนุญ าต

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ซึ่งรวมถึงสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค และการปรับปรุงการค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ ได้ปรับย้อนหลังงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่แสดงเป็น ข้อมูลเปรียบเทียบ เพื่อสะท้อนรายการปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้ดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้น�ำเสนองบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพื่อเป็น ข้อมูลเปรียบเทียบ โดยใช้นโยบายการบัญชีดังกล่าวด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่อ กรณีนี้ แต่อย่างใด

ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 17 กุมภาพันธ์ 2557

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


งบแสดงฐานะการเงิ น

95

งบแสดง ฐานะการเงิน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 8 เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝาก สถาบันการเงิน 9 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 10 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย 7 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 11 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 12 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 13 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 15 เงินมัดจ�ำค่าซื้อที่ดิน ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต 16 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 23 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วั นที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2556

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั น ที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

1,129,336,443 1,784,179,022 1,446,347,639

138,472,447

241,685,626

335,186,643

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556

822,999,408 248,355,960 96,558,900 507,895,906 263,963,191 219,060,046 194,716,201 35,686,531 44,550,908 - 164,036,198 150,233,530 112,256,679 5,975,869,751 6,705,330,225 5,645,936,634 3,473,863,913 3,805,226,639 3,204,120,394 121,287,777 80,358,689 75,462,979 15,582,259 10,044,191 13,972,887 8,557,389,285 9,082,187,087 7,483,366,198 3,986,671,018 4,242,876,517 3,710,087,511 1,415,941,155 2,942,360,399 1,193,359,057 147,062,901 7,566,824,178 202,939,412 177,364,433 13,645,851,535 22,203,240,820

1,459,163,465 2,434,501,247 1,049,731,241 69,613,919 6,502,837,886 307,934,861 108,116,507 11,931,899,126 21,014,086,213

- 901,489,343 901,489,343 742,000,833 1,415,144,826 627,121,376 597,434,417 591,118,628 1,935,935,272 476,207,488 490,631,755 460,246,469 748,971,488 266,853,166 228,088,969 169,973,431 342,157,529 58,068,125 51,380,000 282,357,254 5,761,642,629 6,094,648,050 5,733,589,705 4,756,835,114 89,055,497 71,264,601 229,159,594 16,674,889 46,913,437 87,476,553 23,215,851 19,254,945 10,339,820,678 8,583,128,702 8,254,989,634 7,038,461,563 17,823,186,876 12,569,799,720 12,497,866,151 10,748,549,074

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


96

งบแสดงฐานะการเงิน

งบแสดง ฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากธนาคาร 17 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 18 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย 7 ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี 19 เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้ารับจาก ลูกค้า เงินปันผลค้างจ่าย ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 19 เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้ารับ จากลูกค้าระยะยาว รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 23 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั น ที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั นที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2556

873,505,773 1,162,333,969 626,766,343 421,406,424 -

906,016,368 144,404,576 500,000,000

862,862,288 1,146,280,487 122,552,443 116,155,009 8,000,000

1,386,582,241 1,099,602,224 1,924,549,939 1,101,839,895

958,602,224 1,214,244,446

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556

909,164,785 644,047,863 -

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2,607,014,691 3,151,466,728 1,797,321,986 966,549,100 1,633,865,112 835,715,899 - 159,957,255 - 159,957,255 111,115,462 400,283,105 92,519,251 - 257,584,604 39,053,923 49,447,151 36,534,587 30,323,607 27,115,444 16,622,312 11,458,594 5,707,372,193 6,188,158,760 5,588,412,431 3,645,925,383 3,852,088,983 3,530,865,613 5,386,817,916 5,109,217,744 4,147,350,014 3,994,336,727 4,101,621,609 2,947,201,887 107,681,663 87,344,548 69,490,432 264,965,991 242,174,362 170,285,790 230,302,609 196,466,814 158,234,605 184,770,055 183,371,056 139,092,872 360,136,680 297,603,484 245,921,521 44,976,220 33,913,255 31,337,447 6,304,372,305 5,919,711,194 4,772,140,629 4,269,615,556 4,332,001,678 3,136,773,939 12,011,744,498 12,107,869,954 10,360,553,060 7,915,540,939 8,184,090,661 6,667,639,552

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


งบแสดงฐานะการเงิ น

97

งบแสดง ฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,067,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระ เต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 1,067,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตาม กฎหมาย 20 ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2556

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วั นที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2556

ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ณ วั น ที่ 1 มกราคม 2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000

1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000 173,600,000 173,600,000 173,600,000 173,600,000 173,600,000 173,600,000 106,700,000 106,700,000 106,700,000 106,700,000 106,700,000 106,700,000 6,966,460,555 6,037,696,355 5,069,961,270 3,306,958,781 2,966,475,490 2,733,609,522 4,200,199 (8,897,129) (12,235,219) 8,317,960,754 7,376,099,226 6,405,026,051 4,654,258,781 4,313,775,490 4,080,909,522 1,873,535,568 1,530,117,033 1,057,607,765 10,191,496,322 8,906,216,259 7,462,633,816 4,654,258,781 4,313,775,490 4,080,909,522 22,203,240,820 21,014,086,213 17,823,186,876 12,569,799,720 12,497,866,151 10,748,549,074

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


98

งบก� ำ ไรขาดทุน

งบก�ำไร ขาดทุน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย:บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้จากการให้เช่า รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน รายได้จากการริบเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า รายได้เงินปันผล ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ต้นทุนจากการให้เช่า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี

2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

5,342,699,527 4,100,376,427 2,258,813,599 1,945,077,332 1,253,478,913 1,065,819,945 568,066,333 446,705,260 92,229,344 82,575,973 21 97,819,987 - 134,000,000 22 - 248,272,468 12, 13 - 490,545,134 375,802,599 96,285,927 121,583,981 9,126,860 5,084,620 147,730,660 107,216,771 70,215,375 51,022,177 7,506,081,347 6,089,974,852 3,054,930,312 2,459,562,701 2,497,772,576 1,777,985,732 890,886,618 746,954,621 1,047,377,450 868,008,434 182,307,160 149,310,972 21,602,146 19,819,516 426,618,847 282,511,249 211,529,511 129,093,136 814,330,048 633,041,590 549,228,154 456,859,888 4,968,406,081 3,710,857,977 1,673,246,429 1,352,727,161 2,537,675,266 2,379,116,875 1,381,683,883 1,106,835,540 13 99,466,145 120,146,979 2,637,141,411 2,499,263,854 1,381,683,883 1,106,835,540 (349,848,440) (390,557,950) (296,487,929) (305,474,229) 2,287,292,971 2,108,705,904 1,085,195,954 801,361,311 23 (358,796,185) (314,873,665) (157,894,993) (35,018,268) 1,928,496,786 1,793,832,239 927,300,961 766,343,043

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


งบก� ำ ไรขาดทุ น

99

งบก�ำไร ขาดทุน (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย:บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

การแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

1,515,581,870 1,501,212,160

927,300,961

766,343,043

0.87

0.72

412,914,916 292,620,079 1,928,496,786 1,793,832,239 26 1.42

1.41

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


100

งบก� ำ ไรขาดทุน เบ็ด เสร็จ

งบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย:บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่า งบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

1,928,496,786 1,793,832,239

927,300,961

766,343,043

63,436,174

80,580,038

-

-

(9,986,717) 53,449,457

(456,857) 80,123,181

-

-

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

1,981,946,243 1,873,955,420

927,300,961

766,343,043

การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนทีเ่ ป็นของผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ไม่มอี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทย่อย

1,540,849,720 1,504,550,250

927,300,961

766,343,043

441,096,523 369,405,170 1,981,946,243 1,873,955,420

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ จัดสรรแล้ว

ก�ำไรสะสม ยังไม่ได้จัดสรร

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - ตามที่รายงานไว้เดิม 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 6,556,136,294 ผลสะสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการ บัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 3.1) - (1,486,175,024) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - หลังการปรับปรุง 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 5,069,961,270 เงินปันผลจ่ายให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 29) - (533,477,075) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ปรับปรุงใหม่) - 1,501,212,160 บริษัทย่อยเพิ่มทุน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 6,037,696,355

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

456,857 456,857 (456,857) -

(12,692,076) (12,692,076) 3,794,947 (8,897,129)

-

-

-

-

-

-

-

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

ส่วนของผู้มี ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่ ว ย: บาท)

369,405,170 1,873,955,420 296,015,000 296,015,000 (8,897,129) 7,376,099,226 1,530,117,033 8,906,216,259

3,338,090 1,504,550,250 -

- (533,477,075)

- (192,910,902) (192,910,902) - (533,477,075)

-

(12,235,219) 6,405,026,051 1,057,607,765 7,462,633,816

- (1,486,175,024) (869,951,740) (2,356,126,764)

(12,235,219) 7,891,201,075 1,927,559,505 9,818,760,580

ผลต่างจาก ส่วนเกินทุน ส่วนต�่ำกว่าทุน การแปลงค่า จากการวัด จากการเปลี่ยนแปลง รวม งบการเงินที่เป็น มูลค่าเงินลงทุนใน สัดส่วนเงินลงทุน องค์ประกอบอื่น เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์เผื่อขาย ในบริษัทย่อย ของส่วนของผู้ถือหุ้น

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่ ว นของผู ้ ถือหุ ้ นของบริ ษั ทฯ

งบการเงินรวม

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น

101

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ

งบการเงินรวม

-

-

(9,986,717) (9,986,717) (12,170,522)

-

- (12,170,522)

-

-

ส่วนของผู้มี รวม ส่วนได้เสียที่ ส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ ของบริษัทย่อย

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่ ว ย: บาท)

194,634,597

-

194,634,597

17,927,322

5,756,800 - (115,605,310) (115,605,310)

(12,170,522)

- (586,817,670) - (586,817,670) 25,267,850 1,540,849,720 441,096,523 1,981,946,243 4,200,199 8,317,960,754 1,873,535,568 10,191,496,322

-

(12,170,522)

(8,897,129) 7,376,099,226 1,530,117,033 8,906,216,259

-

(48,077,073) (1,672,210,848) (809,594,148) (2,481,804,996)

39,179,944 8,853,675,477 2,339,711,181 11,193,386,658

ส่วนเกินทุน ผลต่างจาก ส่วนต�่ำกว่าทุน จากการวั ด การแปลง จากการเปลี ่ยนแปลง รวม ก�ำไรสะสม ค่างบการเงินที่เป็น มูลค่าเงินลงทุนใน สัดส่วนเงินลงทุน องค์ประกอบอื่น จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จัดสรร เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์เผื่อขาย ในบริษัทย่อย ของส่วนของผู้ถือหุ้น

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่ ว นของผู ้ ถือหุ ้ นของบริ ษั ทฯ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามที่รายงานไว้เดิม 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 7,467,195,533 39,179,944 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 3.1) - (1,624,133,775) (48,077,073) ผลสะสมจากการปรับปรุงการค�ำนวณสินทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี (หมายเหตุ 3.2) - 194,634,597 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - หลัง การปรับปรุง 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 6,037,696,355 (8,897,129) ส่วนต�่ำกว่าทุนในบริษัทย่อยซึ่งเกิดจากการขาย เงินลงทุนในบริษัทย่อย ในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ขาย (หมายเหตุ 12) เงินปันผลจ่ายให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 29) - (586,817,670) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี - 1,515,581,870 35,254,567 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 1,067,000,000 173,600,000 106,700,000 6,966,460,555 26,357,438 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

102 งบแสดงการเปลี่ย นแปลงส่วนของผู้ถือ หุ้น

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 3.1) ผลสะสมจากการปรับปรุงการค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (หมายเหตุ 3.2) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 - หลังการปรังปรุง เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 29) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน (หมายเหตุ 3.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 - หลังการปรังปรุง เงินปันผลจ่ายให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (หมายเหตุ 29) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 - หลังการปรับปรุง

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556

173,600,000 173,600,000 173,600,000

1,067,000,000 1,067,000,000

173,600,000 173,600,000

1,067,000,000 1,067,000,000 1,067,000,000

173,600,000

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

1,067,000,000

ทุ นเรื อนหุ ้ นที่ ออกและช� ำ ระแล้ ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

106,700,000 106,700,000

-

106,700,000

106,700,000 106,700,000

106,700,000

จั ดสรรแล้ ว

ก� ำ ไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

194,634,597 2,966,475,490 (586,817,670) 927,300,961 3,306,958,781

(119,763,402)

2,891,604,295

(94,755,874) 2,733,609,522 (533,477,075) 766,343,043 2,966,475,490

2,828,365,396

ยั ง ไม่ ได้ จัดสรร

194,634,597 4,313,775,490 (586,817,670) 927,300,961 4,654,258,781

(119,763,402)

4,238,904,295

(94,755,874) 4,080,909,522 (533,477,075) 766,343,043 4,313,775,490

4,175,665,396

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

(หน่ ว ย: บาท)

งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น

103


104

งบกระแสเงิน สด

งบกระแส เงินสด บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 2,287,292,971 2,108,705,904 1,085,195,954 801,361,311 รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา 265,461,857 217,321,645 47,292,666 45,634,593 ค่าตัดจ�ำหน่าย 11,149,885 11,076,635 7,763,435 8,018,136 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 8,526,441 27,477 471,485 ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (99,466,145) (120,146,979) ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (8,769,950) (95,078) ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 126,777 7,244,820 126,776 7,217,060 ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน 6,634,841 ขาดทุน (ก�ำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง - (11,211,395) 5,201,688 ก�ำไรจากมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (569,880) (2,473,473) (543,103) (1,981,743) เงินปันผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - (490,545,134) (375,802,599) ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 12,334,724 2,142,824 9,570,992 1,221,572 ก�ำไรจากรายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน 36,180,013 ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษัทร่วม 52,674,701 ดอกเบี้ยรับ (96,285,927) (121,583,981) (9,126,860) (5,084,620) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 350,418,320 393,031,423 297,031,032 307,455,972

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


งบกระแสเงิ น สด

105

งบกระแส เงินสด (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม 2556

ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินด�ำเนินงาน สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้ารับจากลูกค้าระยะยาว รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

2,819,073,787 2,495,251,217

942,660,689

793,241,370

(227,490,237) (47,650,466) (135,233,529) 10,430,844 1,332,956,431 (605,008,935) 707,764,925 (660,901,973) (52,078,973) (15,518,762) (13,772,987) (4,089,440) (48,877,669) (66,661,011) (44,260,701) (3,960,906) 10,467,964 (544,452,037) 12,912,564 20,337,115 22,791,630 50,198,472 3,395,839,047 (561,248,550) 2,834,590,497

207,178,866 12,236,511 1,354,144,742 (667,316,012) 6,210,980 10,493,132 17,854,116 71,888,572 33,835,795 49,863,502 1,491,973 3,467,552,821 847,899,796 (174,339,875) (271,430,365) 3,293,212,946 576,469,431

13,098,100 790,709,558 1,056,327 42,339,599 1,354,236 983,277,715 (28,972,293) 954,305,422

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


106

งบกระแสเงิน สด

งบกระแส เงินสด (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ 95,864,520 114,685,467 เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (574,643,448) (151,797,060) เงินสดรับจากการจ่ายคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน 164,449,927 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (164,449,927) เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น (57,821,800) (6,315,789) เงินปันผลรับจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม 83,000,000 82,000,000 ซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (567,262,937) (478,571,652) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (310,829,577) (390,817,393) เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน 18,212,000 16,015,142 เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 122,174 2,467,065 เงินมัดจ�ำค่าซื้อที่ดิน (250,025,292) 272,543,609 ซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต (1,521,389,777) (1,313,465,880) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (3,084,774,137) (1,853,256,491)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

4,453,548 -

3,518,152 -

165,349,927 (168,349,927) (56,321,800) 490,545,134 (71,806,572) 47,200 (58,029,125) (686,119,544)

5,703,678 (48,882,217) (159,488,510) (6,315,789) 375,802,599 (81,565,855) 248,412 230,977,254 (976,993,895)

(380,231,159)

(656,996,171)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


งบกระแสเงิ น สด

107

งบกระแส เงินสด (ต่อ) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (หน่ ว ย: บาท)

งบการเงินรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ดอกเบี้ยจ่าย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากธนาคารเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เงินปันผลจ่ายแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทย่อย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม จากการเพิ่มทุนของบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ่มขึ้น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

(347,903,226)

(392,376,897)

(291,740,650)

(304,735,239)

35,659,011 (288,828,196) 24,500,000 (24,500,000) 1,661,755,746 3,241,567,095 (1,097,175,557) (3,104,647,080) (586,817,670) (693,434,330) (115,605,310) 5,756,800

43,154,080 (283,418,199) 910,000,000 160,000,000 (410,000,000) (168,000,000) 973,888,346 2,236,021,946 (937,935,557) (1,337,244,446) (586,817,670) (693,434,330)

(192,910,902) -

-

-

296,015,000 (444,330,206) (1,134,615,310) 39,671,267 32,490,238 (654,842,579) 337,831,383 1,784,179,022 1,446,347,639 1,129,336,443 1,784,179,022

(299,451,451) (103,213,179) 241,685,626 138,472,447

(390,810,268) (93,501,017) 335,186,643 241,685,626

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


108

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

หมายเหตุประกอบ งบการเงินรวม บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 1. ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้ง และมีภูมิล�ำเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลัก

ของบริษัทฯ คือการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯ อยู่ที่ 2126 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการ ในงบการเงินตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปล จากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด Amata Asia Ltd. บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อ การอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษัทฯร้อยละ 21 และ บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30 )

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ลักษณะธุรกิจ

พัฒนานิคมอุตสาหกรรม สร้างโรงงานให้เช่า ผลิตจัดจ�ำหน่ายน�้ำและ บ�ำบัดน�้ำเพื่อการ อุตสาหกรรม บริหารดูแลพื้นที่ส่วนกลาง ลงทุนในบริษัทต่างๆ สร้างโรงงานให้เช่า

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ทุนเรียกช�ำระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม อัตราร้อยละของการถือหุ้น 2556 ล้ า นบาท

2555 ล้ า นบาท

2556 ร้ อยละ

2555 ร้ อ ยละ

450 400 80

450 400 80

84 49 100

84 49 100

ไทย 15 15 ฮ่องกง 1 1 (พันเหรียญฮ่องกง) ไทย 500 500

91 100

91 100

46

46

ไทย ไทย ไทย

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

109

ทุนเรียกช�ำระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม อัตราร้อยละของการถือหุ้น 2556 ล้ า นบาท

2555 ล้ า นบาท

2556 ร้ อยละ

2555 ร้ อ ยละ

ลงทุนในบริษัทต่างๆ ไทย 384 384 บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (2556: ถือหุ้นโดยบริษัทฯร้อยละ 44 Amata Asia Ltd. ร้อยละ 44 (2555: ถือหุ้นโดยบริษัทฯร้อยละ 44 Amata Asia Ltd. ร้อยละ 46) พัฒนานิคมอุตสาหกรรม เวียดนาม 365,996 365,996 Amata (Vietnam) Joint Stock Company (ถือหุ้นโดยบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (ล้านเวียดนามด่ง) ร้อยละ 70)

88

90

62

63

ข) บริษทั ฯ น�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯ มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลต่างซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระส�ำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว ฉ) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมคือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้ เป็นของบริษัทฯ และแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะ การเงินรวม 2.3 บริษทั ฯ จัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมตามวิธรี าคาทุน

3. การเปลี่ ย นแปลงนโยบายการบั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น และสิ ท ธิ ก ารใช้ ที่ ดิ น พร้ อ มระบบสาธารณู ป โภค และการปรั บ ปรุ ง การค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 3.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนและสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค ตามมาตรฐานการบัญชีไทย ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนก�ำหนดให้กิจการสามารถเลือก บันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยวิธีราคาทุนหรือด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรม และกิจการอาจจัดประเภทและบันทึกบัญชี อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนภายใต้สญั ญาเช่าด�ำเนินงานเป็นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนได้ ถ้าหากอสังหาริมทรัพย์นนั้ เป็น ไปตามค�ำนิยามของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และผู้เช่าใช้วิธีมูลค่ายุติธรรม ซึ่งในปีปัจจุบันบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ เปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งรวมถึงสิทธิการใช้ท่ีดินพร้อมระบบสาธารณูปโภคของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งเป็นบริษัทย่อยในประเทศเวียดนาม จากวิธีมูลค่ายุติธรรมเป็นวิธีราคาทุน เพื่อ ให้งบการเงินแสดงข้อมูลที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ฝ่ายบริหารใช้ในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ และบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ปรับ ย้อนหลังงบการเงินของปีก่อนทีแ่ สดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเพื่อสะท้อนรายการปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังกล่าว นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้นำ� เสนองบแสดงฐานะการเงินรวม และงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ โดยใช้นโยบายดังกล่าวด้วยเช่นกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่สามารถหาผลกระทบต่องบการเงิน ส�ำหรับปีปัจจุบันจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวได้ในทางปฏิบัติ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


110

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

จ�ำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อรายการในงบแสดงฐานะการเงินและงบก�ำไรขาดทุน มีดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบแสดงฐานะการเงินรวม

สินทรัพย์ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนลดลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น (ลดลง) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้าลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น ก�ำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรลดลง องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทย่อยลดลง

งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555

ณ วั น ที่ 1 มกราคม 2555

ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2555

ณ วั น ที่ 1 มกราคม 2555

358 43 (3,432) (70) 46 (3,055)

385 34 (3,224) (67) (54) (2,926)

(72) (47) (119)

(42) (53) (95)

29 (2) (579) (21) (1,624) (48)

43 (41) (551) (21) (1,486) -

(119) -

(95) -

(810) (3,055)

(870) (2,926)

(119)

(95) (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น รายได้จากการให้เช่าเพิ่มขึ้น รายได้อื่นลดลง ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ต้นทุนจากการให้เช่าเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลง ค่าใช้จ่ายอื่นลดลง การแบ่งปันก�ำไร: ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ลดลง ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาทต่อหุ้น) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯลดลง

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

งบก�ำไรขาดทุนรวม

งบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ

305 5 (267) 80 119 (25) (5)

(17) 14 (6) -

(138) 12

(25) -

(0.13)

(0.02)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

111

3.2 การปรับปรุงการค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ในระหว่างปีปัจจุบันบริษัทฯ พบว่าค�ำนวณสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ต�่ำไปเป็นจ�ำนวน 195 ล้านบาท เนื่องจากมีการจัดประเภทรายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนใหม่ ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ มีก�ำไรส�ำหรับ ปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 195 ล้านบาท (0.18 บาทต่อหุ้น) และบริษัทฯ ได้แสดงผลของรายการปรับปรุงดังกล่าวเป็นรายการแยก ต่างหากในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

4. มาตรฐานการบัญชีใหม่

มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้ ก. มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปีบัญชีปัจจุบัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือ จากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานด�ำเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ด�ำเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่ ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางบัญชีข้างต้น ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินนี้ ทั้งนี้ ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2555 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ถือปฏิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้ ข. มาตรฐานการบัญชีที่จะมีผลบังคับในอนาคต วันที่มีผลบังคับใช้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555)

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

การน�ำเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

รายงานประจ�ำปี 2556


112

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม วันที่มีผลบังคับใช้

ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 1 มกราคม 2557 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) การรวมธุรกิจ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 4 สัญญาประกันภัย 1 มกราคม 2559 ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) ส่วนงานด�ำเนินงาน 1 มกราคม 2557 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 สัญญาเช่าด�ำเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 27 การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ท�ำขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 29 การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 32 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ 1 มกราคม 2557 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รื้อถอน การบูรณะ 1 มกราคม 2557 และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ฉบับที่ 4 การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 5 สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและ 1 มกราคม 2557 การปรับปรุงสภาพแวดล้อม ฉบับที่ 7 การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง 1 มกราคม 2557 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง ฉบับที่ 10 งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 12 ข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 17 การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 18 การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า 1 มกราคม 2557 ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐาน การบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้นจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงิน เมือ่ น�ำมา ถือปฏิบัติ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

113

5. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 5.1 การรับรู้รายได้ ก) รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค (แสดงรวมภายใต้รายการ “รายได้จาก การขายอสังหาริมทรัพย์” ในงบการเงินรวม) รับรูเ้ ป็นรายได้ทง้ั จ�ำนวนเมือ่ มีการโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ของความเป็นเจ้าของให้กับผู้ซื้อแล้ว ข) รายได้จากการขายน�้ำ รายได้จากการขายน�้ำประปาและน�้ำดิบ ซึ่งรวมอยู่ในรายได้ค่าสาธารณูปโภครับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ส่งน�้ำให้กับลูกค้า ค) รายได้จากการบริการ รายได้จากการบริการประกอบด้วยค่าบริการบ�ำบัดน�้ำเสีย และค่าบริการดูแลรักษาพื้นที่ส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งรวมอยู่ในรายได้ค่าสาธารณูปโภครับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความส�ำเร็จของงาน ง) รายได้จากการให้เช่า รายได้จากค่าเช่าประกอบด้วยค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงานและโรงงานอุตสาหกรรม รับรู้เป็นรายได้ตามวิธี เส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า จ) เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯ มีสิทธิในการรับเงินปันผล ฉ) ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 5.2 ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค ในการค�ำนวณหาต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ทดี่ นิ พร้อมระบบสาธารณูปโภค (แสดงรวมอยูภ่ ายใต้รายการ “ต้นทุน ขายอสังหาริมทรัพย์” ในงบการเงินรวม) บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ท�ำการแบ่งสรรต้นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่เกิดขึ้นให้กับ ที่ดินที่ขายได้ตามเกณฑ์พื้นที่ที่ขาย 5.3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนด จ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้ 5.4 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การ เก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 5.5 ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการใช้ที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค (แสดงรวมอยู่ภายใต้รายการ “ต้นทุน การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์” ในงบการเงินรวม) แสดงในราคาทุนเฉพาะเจาะจงหรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึง ต้นทุนที่ดินและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


114

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

5.6 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ข) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักในการค�ำนวณต้นทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะปรับมูลค่าของ เงินลงทุนดังกล่าวใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภท เงินลงทุน ผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีและ มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในส่วนของก�ำไร หรือขาดทุน หรือแสดงเป็นองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นแล้ว แต่ประเภทของเงินลงทุนที่มีการโอนเปลี่ยน 5.7 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมต้นทุนการท�ำรายการ หลังจากนั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการ ด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ โดยประมาณ 5 - 44 ปี ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยู่ในการค�ำนวณ ผลการด�ำเนินงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินที่ได้รับสุทธิจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ในส่วนของ ก�ำไรหรือขาดทุนในปีที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 5.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์คำ� นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธเี ส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน 5, 20 ปี อาคาร 3 - 40 ปี เครื่องตกแต่งและอุปกรณ์ 3 - 20 ปี ระบบสาธารณูปโภค 2 - 20 ปี ยานพาหนะ 5 - 15 ปี สินทรัพย์อื่น 5, 20 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะตัดรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ออกจากบัญชีเมือ่ จ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์จะรับรู้ใน งบก�ำไรขาดทุนเมื่อบริษัทฯและบริษัทย่อยตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 5.9 ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตแสดงในราคาทุนเฉพาะเจาะจง หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่าราคาทุน ประกอบด้วยต้นทุนในการได้มาซึ่งที่ดิน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

115

5.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อยหมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ และบริษัทย่อย หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วม และบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อม ซึ่งท�ำให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษัทฯ และบริษัทย่อย ผู้บริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยที่มีอ�ำนาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 5.11 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ความเสี่ยง และผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ของจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึก เป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบก�ำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการ เงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยง และผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็น สัญญาเช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายใน งบก�ำไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุ ของสัญญาเช่า 5.12 เงินตราต่างประเทศ บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายการต่างๆ ของแต่ละกิจการทีร่ วมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนัน้ รายการ ที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่ เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน 5.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย หากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ คืนของสินทรัพย์มมี ลู ค่าต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ทัง้ นีม้ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุน ในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


116

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

5.14 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่ บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เงินที่บริษัทฯ และย่อยจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่งบริษัทฯ และบริษัทย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระได้ทำ� การประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงานจะรับรู้ทันทีในงบก�ำไรขาดทุน 5.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากร เชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษัทฯ และบริษัทย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 5.16 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจาก ก�ำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ และ หนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์ และหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษี ทุกรายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้ง ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจ�ำนวนเท่าที่มี ความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทบี่ ริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราว ที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

117

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และ จะท�ำการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่า บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะไม่มีก�ำไรทางภาษี เพียงพอต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการ ที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น

6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ

ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่อง ที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจ และการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และต่อข้อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการที่ส�ำคัญมีดังนี้ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและ ผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และค่าเสื่อมราคา ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณ อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมือ่ เลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน และต้องทบทวน อายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนใน แต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ นั้นในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้ และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ สินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและขาดทุนทางภาษี ที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะมีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จาก ผลแตกต่างชัว่ คราวและขาดทุนนัน้ ในการนีฝ้ า่ ยบริหารจ�ำเป็นต้องประมาณการว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ ำ� นวนสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัย ข้อสมมติฐานต่างๆ ในการประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตรา การเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวนพนักงาน เป็นต้น

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


118

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

7. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายละเอียดความสัมพันธ์ที่บริษัทฯ มีกับบุคคลหรือกิจการที่มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็น โดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ มีดังนี้ ชื่อกิจการ

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด Amata Asia Limited บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด

ลักษณะความสัมพันธ์

บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วม บริษัทร่วมของบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด

บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 10 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 20 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 20 Amata Power (Bien Hoa) Limited บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 10 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 8 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด บริษัทย่อยของบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 8 บริษัท ไทย-จีน อุตสาหกรรมระยอง เซอร์วิส จ�ำกัด มีกรรมการร่วมกัน บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด มีกรรมการร่วมกัน (2555: บริษัทร่วม) บริษัท กรมดิษฐ์ คอร์ป จ�ำกัด มีบุคคลในครอบครัวของผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯเป็นกรรมการ มูลนิธิอมตะ มูลนิธิการกุศลซึ่งบริหารงานโดยผู้ถือหุ้นใหญ่และกรรมการ ของบริษัทฯ บริษัท กรมดิษฐ์พาร์ค จ�ำกัด มีบุคคลในครอบครัวของผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯเป็นกรรมการ ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจทีส่ ำ� คัญกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯ และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติ ธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

119

(หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม 2556

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

นโยบายการก�ำหนดราคา

2555

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ - 223.4 ราคาตลาด รายได้ค่าสาธารณูปโภคและค่าเช่า 28.3 26.2 ราคาตลาดหรือราคาตามสัญญา รายได้ดอกเบี้ยรับ 4.7 4.0 LIBOR + 1% ต่อปี และร้อยละ 5.25 ต่อปี ค่าสาธารณูปโภค 44.1 25.3 ราคาตามสัญญาหรือราคาที่ตกลงร่วมกัน ดอกเบี้ยจ่าย 11.2 0.3 ร้อยละ 2.5 - 3.5 ต่อปี รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 243.6 - 243.6 - ราคาตลาด รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน 134.0 - 134.0 - ราคาตามสัญญา รายได้ค่าสาธารณูปโภคและค่าเช่า 112.7 82.8 2.5 2.5 ราคาตลาดหรือราคาตามสัญญา รายได้ดอกเบี้ยรับ 3.8 3.8 - ร้อยละ 6.5 ต่อปี ค่าไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายอื่น 40.0 36.3 1.0 1.7 ราคาตลาดหรือราคาตามสัญญา รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 80.1 46.5 19.3 - ราคาตลาด ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 10) บริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) Amata Asia Ltd. บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) อื่นๆ บริษัทร่วม บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

-

-

7 1 8

2 1 1 1 5

14 3 2 2 70 70 2 2 165 165

5 4 2 2 13 13

70 70 140 148

5

รายงานประจ�ำปี 2556


120

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

71 71

66 66

-

-

-

-

16 5 1 22

3 1 4

2 2

1 1 2 4

-

1 1

2

65 69

22

5

-

-

38 16 54

16 16

รวม

42 33 75 75

36 28 64 64

42 33 75 129

36 28 64 80

รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทร่วม บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด รวม

25 13 28

26 14 40

25 10 35

26 11 37

ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท กรมดิษฐ์ คอร์ป จ�ำกัด รวม เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 18) บริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด อื่นๆ บริษัทร่วม บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 จ�ำกัด กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท กรมดิษฐ์ คอร์ป จ�ำกัด รวม เงินรับล่วงหน้าค่าที่ดิน - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท กรมดิษฐ์ คอร์ป จ�ำกัด มูลนิธิอมตะ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

121

เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืม และเงินกู้ยืมระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืม และเงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม ในระหว่ า งปี

ยอดคงเหลื อ ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555

เพิ่ ม ขึ้ น

ลดลง

ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2556

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด

-

164

(164)

-

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไทย-จีน อุตสาหกรรมระยอง เซอร์วิส จ�ำกัด

-

25

(25)

(หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่ า งปี

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย Amata Asia Limited บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด รวม เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ยอดคงเหลื อ ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2555

เพิ่ ม ขึ้ น

ลดลง

ก� ำ ไรที่ ยั ง ไม่ เ กิ ดขึ้ นจริ ง จากการแปลงค่ า อั ตราแลกเปลี่ ยน

150 -

4

(1)

11 -

161 3

150

164 168

(164) (165)

11

164

-

885 25 910

(410) (410)

-

475 25 500

ยอดคงเหลื อ ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2556

รายงานประจ�ำปี 2556


122

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการ และผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

118 3 121

89 3 92

62 2 64

55 3 58

ภาระค�้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทฯ มีภาระจากการค�้ำประกันให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 30.2 (1) และ 30.2 (2)

8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

8 1,121 1,129

1 1,783 1,784

138 138

242 242

9. เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากธนาคาร จ�ำนวนเงินดังกล่าวเป็นเงินฝากธนาคารของบริษัทย่อยในประเทศเวียดนามที่มีก�ำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.8 ถึงร้อยละ 7.5 ต่อปี (2555: ร้อยละ 3.9 ถึงร้อยละ 9 ต่อปี)

10. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วย (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

221 165 132 518 (10) 508

165 13 88 266 (2) 264

148 47 195 195

5 31 36 36

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

123

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระได้ ดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

อายุหนี้ค้างช�ำระ ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน มากกว่า 3 - 9 เดือน มากกว่า 9 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

180

134

-

-

35 2 1 3 221 (10) 211

25 4 2 165 (2) 163

-

-

11. ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด มีที่ดินส่วนหนึ่งจ�ำนวน 100 ล้านบาท (2555: 97 ล้านบาท) ซึ่งเป็นที่ดิน ที่อยู่ระหว่างรอการโอนกรรมสิทธิ์จากผู้ขายที่ดินมาเป็นของบริษัทดังกล่าว

12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (Unit: Million Baht)

บริษัท

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด Amata Asia Limited รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ราคาทุน

เงินปันผลที่บริษัทฯรับระหว่างปี

2556

2555

2556

2555

371 196 135 -

371 196 135 -

188 203 14 -

226 52 15

105 80 14 901

105 80 14 901

3 408

1 294

รายงานประจ�ำปี 2556


124

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

12.1 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการของ Amata Asia Limited มีมติอนุมัติให้ขายหุ้นในบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ที่ Amata Asia Limited ถืออยู่เป็นจ�ำนวน 11,537,600 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.5 บาท ในราคา หุ้นละ 0.5 บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 5.8 ล้านบาท ให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) และของ Amata (Vietnam) Joint Stock Company ซึ่งท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ และบริษัทย่อยใน บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ลดลงจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 88 บริษัทฯ ได้บันทึกผลต่างจากการขายเงินลงทุนใน ราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ขายจ�ำนวน 12 ล้านบาท ไว้ภายใต้รายการ “ส่วนต�่ำกว่าทุนจากการเปลี่ยนแปลง สัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทย่อย” ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น 12.2 เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของของบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้ด�ำเนินการเพื่อปรับโครงสร้างการถือหุ้นใน บริษัทย่อยบางแห่ง โดยสรุปดังนี้ 1) อนุมัติให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยเข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) (“วีเอ็น”) จ�ำนวน 34,521,109 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะช�ำระค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวด้วยหุ้นที่บริษัทฯ และ บริษัทย่อยถืออยู่ใน Amata (Vietnam) Joint Stock Company (“เอวีเอ็น”) จ�ำนวน 23,013,753 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10,000 เวียดนามด่ง หรือเทียบเท่ากับ 15 บาท ในอัตราส่วน 1.5 หุ้นเพิ่มทุนของวีเอ็นต่อ 1 หุ้นของเอวีเอ็น (“Share Swap”) 2) อนุมัติให้บริษัทฯเข้าซื้อหุ้นทั้งหมดที่บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด ถืออยู่ในวีเอ็นภายหลังจากการท�ำ Share Swap จ�ำนวน 548,851 หุ้น ในราคาหุ้นละ 10 บาท รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 5 ล้านบาท นอกจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะเข้าท�ำ Share Swap ผู้ถือหุ้นอื่นๆ ของเอวีเอ็นซึ่งถือหุ้นรวมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.12 ของทุนจดทะเบียนของเอวีเอ็นก็จะเข้าท�ำ Share Swap ในลักษณะเดียวกัน โดยภายหลังจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้น จะมีผลท�ำให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยถือหุ้นในวีเอ็นรวมเป็นสัดส่วนร้อยละ 89.83 ซึ่งท�ำให้วีเอ็นเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ และ วีเอ็นจะกลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในเอวีเอ็น (สัดส่วนร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียนของเอวีเอ็น)

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

125

13. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 13.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม บริ ษั ท

จัด ตั้ งขึ้น ในประเทศ

(ลั ก ษณะธุ รกิ จ)

บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด (ผลิตและจัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ) ไทย บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย Amata Power (Bien Hoa) Limited (โรงไฟฟ้าในประเทศเวียดนาม) เวียดนาม บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์(ระยอง) 1 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์(ระยอง) 2 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด (บริการขนส่ง) ไทย บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) ไทย บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด (บริการทางการแพทย์) ไทย บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (บริการให้ค�ำปรึกษาและบริหารจัดการ) ไทย บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (ขายและให้เช่าอสังหาริมทรัพย์) ไทย รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

สั ดส่ ว นเงิ นลงทุ น

ราคาทุ น

มู ลค่ า ตามบั ญ ชี ตามวิ ธี ส ่ ว นได้ เ สี ย

2556 (%)

2555 (%)

2556

2555

2556

2555

14

14

227

227

736

772

20

20

184

184

196

192

18

18

140

140

168

147

14

14

100

100

114

104

15

15

100

100

92

100

15

15

100

100

89

100

21

21

36

36

18

24

27

-

28

-

-

-

27

-

28

-

-

-

-

21

-

21

-

20

23

-

2

-

3

-

43

43

945

908

1,416

1,459

รายงานประจ�ำปี 2556


126

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษั ท

จั ด ตั้ ง ในขึ้ น ในประเทศ

(ลั ก ษณะธุ รกิ จ)

บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด (ผลิตและจัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ) บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด (ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจ�ำหน่าย) บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด (บริการขนส่ง) บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด (บริการทางการแพทย์) บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (ขายและให้เช่าอสังหาริมทรัพย์) รวม

สั ดส่ ว นเงิ นลงทุ น

ค่ า เผื่ อการด้ อยค่ า มู ลค่ า ตามบั ญ ชี ของเงิ นลงทุ น ตามวิ ธี ร าคาทุ น-สุ ท ธิ

ราคาทุ น

2556 (%)

2555 (%)

2556

2555

2556

2555

2556

2555

ไทย

14

14

227

227

-

-

227

227

ไทย

20

20

184

184

-

-

184

184

ไทย

10

10

140

140

-

-

140

140

ไทย

20

-

28

-

-

-

28

-

ไทย

20

-

28

-

-

-

28

-

ไทย

21

21

36

36

(16)

(10)

20

26

ไทย

-

21

-

21

-

(1)

-

20

ไทย

43

43

643

608

(16)

(11)

627

597

บริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนในบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 14 เป็นเงินลงทุนในบริษัทร่วม เนื่องจากผู้บริหารของบริษัทฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าบริษัทฯ มีอิทธิพลในบริษัทดังกล่าวอย่างมีนัยส�ำคัญ เนื่องจากบริษัทฯ มีตัวแทนอยู่ในคณะกรรมการของบริษัทดังกล่าว และมีส่วนร่วมในการก�ำหนดนโยบายการด�ำเนินงานของบริษัทดังกล่าวด้วย

ในระหว่างปีปัจจุบันบริษัทฯ ได้ลงทุนในบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด และบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงินบริษัทละ 28 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกล่าว และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด ได้ลงทุนในบริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงิน 2 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ ดังกล่าว)

ในปี 2556 บริษัท โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมที่บริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 21 มีมติเพิ่มทุน จดทะเบียนจาก 100 ล้านบาทเป็น 500 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม โดยทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 มีมติให้คงจ�ำนวนหุ้นไว้เท่าเดิม (ไม่เพิ่มทุนตามสัดส่วน) ภายหลังการเพิ่มทุนดังกล่าวท�ำให้บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้น ในบริษัทดังกล่าวเป็นร้อยละ 4 บริษัทฯ จึงจัดประเภทเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวเป็นเงินลงทุนในบริษัทอื่น (แสดงรวมอยู่ใน รายการสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น)

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

127

13.2 ส่วนแบ่งก�ำไร/ขาดทุนและเงินปันผลรับ ในระหว่างปีบริษทั ฯ รับรูส้ ว่ นแบ่งก�ำไร/ขาดทุนจากการลงทุนในบริษทั ร่วมในงบการเงินรวม และรับรูเ้ งินปันผลรับจากบริษทั ร่วม ดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ส่ ว นแบ่ ง ก� ำ ไร/(ขาดทุ น) จากเงิ นลงทุ น ในบริ ษัทร่ ว มในระหว่ า งปี บริ ษั ท

บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด Amata Power (Bien Hoa) Limited บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

เงิ นปั นผลที่ บริ ษัทฯ รั บ ระหว่ า งปี

2556

2555

2556

2555

11 87 21 9 (8) (11) (3) (2) (6)

40 80 10 (5) (5)

83 -

82 -

1 99

120

83

82

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด

บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด Amata Power (Bien Hoa) Limited

บริษัท 2555

6 142 68 1,250 1,250 -

142 68 1,250 1,250 100

1,645 1,645 160 160 1,400 1,400 140 140 4 4 (ล้านเหรียญหรัฐอเมริกา)

2556

ทุนเรียกช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

13.3 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปดังนี้

14 405 36 5,771 5,632 -

32,054 1,135 6,115 1,395 763 367

2556

396 36 2,649 2,852 139

20,820 900 5,825 275

2555

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

4 310 16 4,621 4,515 -

24,600 573 4,461 1,270 635 25

2556

273 19 2,200 3,402 3

14,023 358 4,776 25

2555

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

29 736 17 377 1,213 -

15,678 2,778 3,379 815

2556

549 13 -

9,520 2,443 828 662

2555

4 (27) 3 (76) (110) -

112 435 205 (13) (11) 60

2556

(20) 1 (13) (17) (1)

325 398 101 12

2555

รายได้รวมส�ำหรับปีสิ้นสุด ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

128 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

129

14. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 แสดงได้ดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม ที่ ดิ น

อาคารให้ เ ช่ า

อาคารระหว่ า งก่ อสร้ า ง

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556: ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555: ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ

575 575

2,871 (622) 2,249

118 118

3,564 (622) 2,942

590 590

2,132 (466) 1,666

179 179

2,901 (466) 2,435

ณ วันที่ 1 มกราคม 2555: ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ

446 446

1,837 (351) 1,486

4 4

2,287 (351) 1,936 (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556: ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555: ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ราคาทุน หัก: ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุทธิ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

ที่ ดิ น

อาคารให้ เ ช่ า

อาคารระหว่ า งก่ อสร้ า ง

รวม

258 258

289 (71) 218

-

547 (71) 476

258 258

289 (56) 233

-

547 (56) 491

212 212

289 (41) 248

-

501 (41) 460

รายงานประจ�ำปี 2556


130

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนส�ำหรับปี 2556 และ 2555 แสดงได้ดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชีต้นปี ซื้อสินทรัพย์ โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ขายสินทรัพย์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน มูลค่าตามบัญชีปลายปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

2,435 567 87 (149) (10) 12 2,942

1,936 479 154 (118) (16) 2,435

491 (15) 476

460 46 (15) 491

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 แสดงได้ดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ที่ดิน อาคารโรงงานและส�ำนักงานให้เช่า

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

6,259

4,575

565

564

มูลค่ายุติธรรมประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระ ทั้งนี้มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์ ไม่ได้ถูกประเมินโดยใช้ราคาซื้อขายใน ตลาด เนื่องจากลักษณะเฉพาะของอสังหาริมทรัพย์ และการขาดแคลนข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ผู้ประเมินอิสระจึงใช้แบบจ�ำลอง ในการประเมินมูลค่ามาใช้ เช่น วิธีการเปรียบเทียบโดยตรง วิธีค�ำนวณมูลค่าปัจจุบันของรายได้ที่เป็นกระแสเงินสด และ วิธีคิดผลตอบแทนทางตรง เป็นต้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด ได้น�ำอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจ�ำนวน 1,709 ล้านบาท (2555: 1,648 ล้านบาท) ไปค�้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาว ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 19

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

46 20 66 66

ที่ ดิ น

39 39 39

ส่ ว นปรั บ ปรุง ที่ ดิน

472 3 (24) 76 527 2 (1) 104 6 638

อาคาร

ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2555 11 181 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 6 36 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่จ�ำหน่าย (16) 31 ธันวาคม 2555 17 201 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 7 46 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่จ�ำหน่าย (1) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 2 31 ธันวาคม 2556 24 248 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2555 66 22 326 31 ธันวาคม 2556 66 15 390 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2555 (59 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2556 (76 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร)

ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (โอนออก) 31 ธันวาคม 2555 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (โอนออก) ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2556

15. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

367 40 407 42 449 224 308

43 76

551 3 77 631 126 757

111 13 (18) 106 15 (3) 118

140 23 (18) 4 149 51 (3) (3) 194

เครื่ องตกแต่ ง และ อุ ปกรณ์ ระบบสาธารณู ป โภค

งบการเงินรวม

20 15

47 4 (7) 44 6 (2) 48

57 14 (7) 64 1 (2) 63

ยานพาหนะ

2

17 17 17

17 17 2 19

348 321

-

160 348 (2) (158) 348 255 (284) 2 321

สิ นทรั พ ย์ อื่ น งานระหว่ างก่ อสร้ าง

99 116

1,049 1,193

734 99 (41) 792 116 (6) 2 904

1,482 391 (51) 19 1,841 311 (6) (57) 8 2,097

รวม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

131

รายงานประจ�ำปี 2556


ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (โอนออก) 31 ธันวาคม 2555 ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย โอนเข้า (โอนออก) 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื่อมราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่จ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี 2555 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2556 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 35 35 35 10 6 16 6 22 19 13

34 34

ส่ ว นปรั บ ปรุ ง ที่ ดิน

19 15 34 34

ที่ ดิน

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

57 87

33 4 (16) 21 5 26

101 (23) 78 1 34 113

อาคาร

30 31

81 9 (15) 75 10 (1) 84

102 15 (15) 3 105 11 (2) 1 115

17 16

79 10 89 10 99

104 2 106 9 115

เครื่ องตกแต่ ง และ อุ ปกรณ์ ระบบสาธารณู ป โภค

งบการเงินเฉพาะกิจการ

4 3

28 2 (5) 25 1 (2) 24

34 (5) 29 (2) 27

ยานพาหนะ

2

17 17 17

17 17 3 (1) 19

67 81

-

6 64 (3) 67 58 (44) 81

สิ นทรั พ ย์ อื่ น งานระหว่ างก่ อสร้ าง

31 32

228 267

248 31 (36) 243 32 (3) 272

418 81 (43) 15 471 73 (5) 539

รวม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

132 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

133

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวนเงินประมาณ 485 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ มีจ�ำนวนเงินประมาณ 193 ล้านบาท (2555: 435 ล้านบาท และ 166 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

16. ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีที่ดินส่วนหนึ่งจ�ำนวน 414 ล้านบาท และเฉพาะของ บริษัทฯ จ�ำนวน 38 ล้านบาท (2555: 303 ล้านบาท และ 35 ล้านบาท ตามล�ำดับ) ซึ่งเป็นที่ดินที่อยู่ระหว่างรอการโอนกรรมสิทธิ์จากผู้ขายที่ดินมา เป็นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

17. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร รวม

งบการเงินรวม

MOR-1.00% -MOR 3.40 - 4.00%

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

67 842 909

17 857 874

64 842 906

6 857 863

18. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

ยอดคงเหลือของเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วย (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 7) เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

304 2 338 644

253 69 305 627

22 122 144

5 118 123

19. เงินกู้ยืมระยะยาว ยอดคงเหลือเป็นเงินกู้ยืมระยะยาวที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับจากธนาคารประกอบด้วย (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด รวม หัก: ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

5,096 1,252 360 65 6,773 (1,387) 5,386

5,060 1,105 44 6,209 (1,100) 5,109

5,096 5,096 (1,102) 3,994

5,060 5,060 (959) 4,101

รายงานประจ�ำปี 2556


134

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บวก: กู้เพิ่ม หัก: จ่ายคืนเงินกู้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

6,209 1,661 (1,097) 6,773

5,060 974 (938) 5,096

บริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัทฯ ประกอบด้วยวงเงินกู้ยืมหลายสัญญาวงเงินรวม 4,585 ล้านบาท (2555: 8,620 ล้านบาท) เงินกู้ยืมส่วนใหญ่คิดดอกเบี้ยในอัตราที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมขั้นต�่ำ ของธนาคาร (MLR) ลบอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา และมีก�ำหนดช�ำระเงินต้นเป็นรายไตรมาส และช�ำระดอกเบี้ยเป็นประจ�ำทุก เดือน และต้องช�ำระคืนเงินต้นทั้งหมดภายในเดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 (2555: เมษายน 2556 ถึงเดือน พฤษภาคม 2561) บริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคารของบริษัทย่อยประกอบด้วยวงเงินกู้ยืมหลายสัญญาวงเงินรวม 7,591 ล้านบาท (2555: 2,776 ล้านบาท) เงินกู้ยืมส่วนใหญ่คิดดอกเบี้ยในอัตราที่อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมขั้นต�่ำของธนาคาร (MLR) ลบอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา และมีก�ำหนดช�ำระเงินต้นเป็นรายไตรมาส และช�ำระดอกเบี้ยเป็นประจ�ำทุกเดือน และ ต้องช�ำระคืนเงินต้นทั้งหมดภายในเดือนมีนาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2565 (2555: เดือนธันวาคม 2558 ถึงเดือนธันวาคม 2563) ภายใต้สัญญาเงินกู้ยืมบางฉบับก�ำหนดให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการเช่น การด�ำรง อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ เป็นต้น รวมถึงบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะ ไม่น�ำที่ดินโครงการไปจดจ�ำนองหรือก่อภาระผูกพันในทรัพย์สินกับบุคคลอื่นตลอดอายุสัญญาเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีวงเงินกู้ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้เป็นจ�ำนวน 4,521 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ เป็นจ�ำนวน 243 ล้านบาท (2555: 2,637 ล้านบาท และ 806 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

20. ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้ จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้ ในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้จัดสรรส�ำรองตามกฎหมายไว้ครบถ้วนแล้ว

21. รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน

ในปัจจุบัน บริษัทฯ มีรายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดินแก่บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด และบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงินบริษัทละ 67 ล้านบาท เพื่อสร้างระบบส่งและวางท่อตามแนวถนนในนิคมอุตสาหกรรมของ บริษัทฯ โดยสิทธิดังกล่าวไม่มีก�ำหนดระยะเวลา

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

135

22. รายได้จากการริบเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า

ในปี 2555 บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยได้ริบเงินรับล่วงหน้าค่าที่ดินจากลูกค้ารายหนึ่งที่ท�ำผิดเงื่อนไขสัญญา ซื้อขายที่ดินกับทางบริษัทย่อย บริษัทย่อยจึงบันทึกไว้เป็นรายได้ภายใต้รายการ “รายได้จากการริบเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า” ในงบก�ำไรขาดทุน

23. ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วยรายการ ดังต่อไปนี้

(หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

247 5

452 38

-

209 38

107 359

(175) 315

158 158

(212) 35

การกระทบยอดจ�ำนวนเงินระหว่างค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้กับผลคูณของก�ำไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใช้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 แสดงได้ดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 2,287 2,109 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 16.5, 20, 25 ร้อยละ 16.5, 23, 25 ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล คูณอัตราภาษี 633 591 รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล ของปีก่อน 5 38 ผลกระทบทางภาษีของรายได้และค่าใช้จ่าย ที่ไม่ถือเป็นรายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษี (279) (314) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน 359 315

1,085 ร้อยละ 20

801 ร้อยละ 23

217

184

-

38

(59) 158

(187) 35

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


136

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วั น ที่ 31 ณ วั นที่ 31 ณ วั นที่ 1 ณ วั นที่ 31 ณ วั นที่ 31 ณ วั น ที่ 1 ธั น วาคม 2556 ธั นวาคม 2555 มกราคม 2555 ธั นวาคม 2556 ธั นวาคม 2555 มกราคม 2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ ) (ปรั บปรุ ง ใหม่ ) (ปรั บปรุ ง ใหม่ ) (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้ารับจากลูกค้า ขาดทุนทางภาษียังไม่ได้ใช้ รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รายได้รับล่วงหน้า อื่นๆ รวม โดยแสดงเป็น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม

189 57 (48) 5 (222) 37 18

329 (25) 4 (217) 34 125

115 (28) 2 (174) 35 (50)

43 57 (33) 4 71

235 (8) 2 229

24 (9) 2 17

203 (185) 18

308 (183) 125

89 (139) (50)

71 71

229 229

17 17

ในเดือนมิถุนายน 2556 หน่วยงานราชการของประเทศเวียดนามได้มีการอนุมัติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก อัตราร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 22 ในปี 2557 - 2558 และเป็นร้อยละ 20 ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป บริษัทย่อยในประเทศเวียดนาม ได้สะท้อนผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีดังกล่าวในการค�ำนวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที่แสดงไว้ข้างต้นแล้ว

ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็น ร้อยละ 23 ในปี 2555 และเป็นร้อยละ 20 ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป และในเดือนธันวาคม 2554 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบุคคลเพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวส�ำหรับปี 2555 - 2557 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้สะท้อนผลกระทบของ การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีดังกล่าวในการค�ำนวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที่แสดงไว้ข้างต้นแล้ว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีรายการผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ จ�ำนวน 21 ล้านบาท (2555: 2 ล้านบาท) ที่ไม่ได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่า อาจไม่มีก�ำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะน�ำผลแตกต่างชั่วคราว และขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ข้างต้นมาใช้ประโยชน์ได้

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

137

24. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม 2556

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ )

ต้นทุนที่ดินและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,539 2,901 559 1,348 การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต 959 (1,123) 331 (601) ค่าจ้างผลิตและบ�ำรุงรักษาระบบผลิตน�้ำ 242 204 ต้นทุนค่าน�้ำดิบ 122 118 เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน 268 213 134 123 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 172 136 83 65 ค่าธรรมเนียมในการโอนที่ดินและภาษีอื่น 125 72 36 41 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 277 228 55 54 ค่าไฟฟ้า 109 97 1 2 ในช่วงเดือนตุลาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น�้ำในนิคมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี เนื่องจาก อิทธิพลของพายุ ซึ่งท�ำให้เกิดน�้ำท่วมขังเฉพาะบนถนนบางส่วนเท่านั้น บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ระดมบุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ และประสานงานกับลูกค้าและหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขสถานการณ์ จนกระทั่งสถานการณ์กลับเข้าสู่ ภาวะปกติ ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าวมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 111 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ เป็น จ�ำนวนเงินประมาณ 80 ล้านบาท

25. การส่งเสริมการลงทุน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนดบางประการ สิทธิพิเศษดังกล่าวรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม ในปี 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในภาษีอากรของกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน เป็นจ�ำนวน 1,802 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ เป็นจ�ำนวน 634 ล้านบาท (2555: 2,960 ล้านบาท และ 428 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

26. ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ) ด้วยจ�ำนวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี

27. ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกส่วนงาน

ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงานที่น�ำเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษัทฯ ที่ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ได้รับและสอบทานอย่างสม�่ำเสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กับส่วนงาน และประเมินผลการด�ำเนินงาน ของส่วนงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการก�ำหนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


5,343 636 5,979 2,845

2556

4,100 237 4,337 2,322

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

1,253 49 1,302 206

2556

1,066 45 1,111 198

2555

ส่วนงานบริการสาธารณูปโภค

568 41 609 386

2556

447 37 484 298

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ส่วนงานให้เช่าทรัพย์สิน

ข้อมูลรายได้ ก�ำไรของส่วนงาน และทรัพย์สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังต่อไปนี้ ส่วนงานทางธุรกิจ

รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รายได้ทั้งสิ้น ก�ำไรจากการด�ำเนินงานตามส่วนงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: รายได้จากการให้ใช้สิทธิเหนือพื้นดิน รายได้จากการริบเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี

(726) (726)

2556

(319) (319)

2555

การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน

5,613 5,613 2,818 248 122 107 (282) (633) 120 (391) (315) 1,794

98 96 148 (426) (815) 99 (350) (359) 1,928

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

7,164 7,164 3,437

2556

งบการเงินรวม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

138 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายได้ ก�ำไรจากการด�ำเนินงานตามส่วนงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

ส่วนงานทางภูมิศาสตร์

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ส่วนกลาง รวมสินทรัพย์

437

2556

458

2555

ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

614

2555

6,525 3,088 2,446 1,059

2556

5,046 2,481 2,077 853

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

ส่วนงานในประเทศไทย

778

2556

ส่วนงานบริการสาธารณูปโภค

2,797 -

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

(598) (22)

2556

639 349 496 134

2556

567 337 358 197

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

(362) (22)

2555

การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส่วนงานในต่างประเทศ

3,540 -

2556

ส่วนงานให้เช่าทรัพย์สิน

7,164 3,437 2,942 1,193

2556

2,942 1,193 18,068 22,203

2556

5,613 2,818 2,435 1,050

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

รวม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

2,435 1,050 17,529 21,014

2555 (ปรั บปรุ ง ใหม่ )

งบการเงินรวม

(หน่ ว ย: ล้ านบาท)

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

139

รายงานประจ�ำปี 2556


140

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

28. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตรา ร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 15 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม กสิกรไทย จ�ำกัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจ�ำนวนเงิน 8 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ เป็นจ�ำนวนเงิน 5 ล้านบาท (2555: 7 ล้านบาท และ 5 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

29. เงินปันผล

เงินปันผลส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วย เงินปันผล

เงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับปี 2556 เงินปันผลประจ�ำปี ส�ำหรับปี 2555 รวมเงินปันผลจ่ายส�ำหรับปี 2556 เงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับปี 2555 เงินปันผลประจ�ำปี ส�ำหรับปี 2554 รวมเงินปันผลจ่ายส�ำหรับปี 2555

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น

(ล้ า นบาท)

(บาท)

ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556

267

0.25

320 587

0.30 0.55

ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555

267

0.25

267 534

0.25 0.50

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

141

30. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 30.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาระยะยาว บริษัทฯ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2548 บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาให้เช่าที่ดินและขายที่ดินกับบริษัท อมตะ สปริง ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดท�ำสนามกอล์ฟในนิคมอมตะนคร โดยมีเงื่อนไขที่ส�ำคัญในสัญญาดังนี้ 1. บริษัทฯ ให้เช่าที่ดินรวม 274,653 ตารางวา (ประมาณ 687 ไร่) โดยบริษัทฯ คิดค่าเช่าปีละ 2 ล้านบาท เริ่มคิดค่าเช่าตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2553 สัญญาเช่าที่ดินมีระยะเวลา 30 ปี และเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาแล้ว ผู้เช่าสามารถต่อสัญญาตามเงื่อนไข เดิมได้อีก 30 ปี 2. บริษัทฯ จะขายที่ดินจ�ำนวน 46,443 ตารางวา (ประมาณ 116 ไร่) ในราคาตารางวาละ 7,300 บาท โดยผู้ซื้อที่ดินจะต้องจ่าย เงินมัดจ�ำค่าที่ดินจ�ำนวน 30 ล้านบาท โดยจ่ายปีละไม่ต�่ำกว่า 6 ล้านบาท ซึ่งจะต้องช�ำระให้เสร็จสิ้นภายใน 5 ปี และ เมื่อบริษัทฯ โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแต่ละเฟสให้กับผู้ซื้อ และผู้ซื้อจะต้องจ่ายค่าที่ดินให้เสร็จสิ้นภายใน 2 ปี นับจากวันโอนที่ดิน Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัทย่อยมีภาระที่จะต้องจ่ายค่าเช่าที่ดินให้กับหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนามโดยจะต้องจ่ายช�ำระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ การเช่าพื้นที่ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดในสัญญาเช่าในอัตราค่าเช่าดังนี้ พื้นที่จ�ำนวน 225.34 เฮคแทร์ ในอัตรา 1,000 เหรียญสหรัฐต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี และจะปรับเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 15 ทุกๆ 5 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 พื้นที่จ�ำนวน 22.7 เฮคแทร์ ในอัตรา 52.5 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจากนั้น จะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม พื้นที่จ�ำนวน 12.58 เฮคแทร์ ในอัตรา 145 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจากนั้น จะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม พื้นที่จ�ำนวน 15.39 เฮคแทร์ ในอัตรา 145 ล้านเวียดนามด่งต่อพื้นที่ 1 เฮคแทร์ต่อปี ในช่วง 5 ปีแรก และหลังจากนั้น จะถูกปรับตามความเห็นชอบของหน่วยงานราชการของรัฐบาลเวียดนาม Amata Asia Ltd. บริษทั ย่อยมีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายค่าตอบแทนจากการรับโอนสิทธิการร่วมพัฒนาพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมในต่างประเทศจากบริษทั ที่ไม่เกี่ยวข้องแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวน 2.5 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และจะต้องจ่ายค่าตอบแทนอีกร้อยละ 5 ของรายได้ค่าเช่า ที่เรียกเก็บจากผู้เช่าช่วง บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด เพื่อประโยชน์ในการจัดหาน�้ำให้พอเพียงต่อความต้องการใช้น�้ำในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครและ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ บริษัทย่อยได้ท�ำสัญญาระยะยาวเพื่อซื้อน�้ำดิบ และผลิตน�้ำประปากับบริษัทต่างๆ หลายสัญญาในราคาและปริมาณการใช้น�้ำ ตามที่ก�ำหนดในสัญญาทั้งนี้ราคาสามารถปรับเพิ่มได้ในอนาคตตามดัชนีราคาผู้บริโภค สัญญาเหล่านี้จะสิ้นสุดในปี 2560 ถึงปี 2573 

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


142

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

30.2 การค�้ำประกัน (1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีภาระค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อต่อสถาบันการเงินให้กับบริษัทย่อยเป็นมูลค่ารวม ประมาณ 32 ล้านบาท (2555: 32 ล้านบาท) (2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ มีภาระค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทฯ เพื่อค�้ำประกัน การร่วมลงทุนในบริษัทอมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด และบริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงินรวม 577 ล้านบาท (3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เหลืออยู่เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 24 ล้านบาท และเฉพาะของบริษัทฯ 3 ล้านบาท (2555: 21 ล้านบาท และ 3 ล้านบาท ตามล�ำดับ) เพื่อค�้ำประกันการใช้ไฟฟ้า และการปฏิบัติงานตามสัญญาของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (4) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันที่ออกโดยธนาคารให้กับ การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยเพื่อค�้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญาร่วมด�ำเนินงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี และโครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยองเป็นจ�ำนวนเงินรวม 740 ล้านบาท และเฉพาะของบริษทั ฯ 200 ล้านบาท (2555: 493 ล้านบาท และ 198 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

31. สัญญาเช่าด�ำเนินงานซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยเป็นผู้ให้เช่า

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสญั ญาเช่าด�ำเนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการให้เช่าทีด่ นิ อาคารส�ำนักงาน และอาคารโรงงาน อายุของสัญญา มีระยะเวลาตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 50 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สัญญาเช่าด�ำเนินงานดังกล่าวจะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขั้นต�่ำ ในอนาคตดังนี้ (หน่ ว ย: ล้ า นบาท)

งบการเงินรวม

ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2556

2555

2556

2555

459 524 372

436 638 347

41 61 238

54 90 235

รายงานประจ�ำปี 2556


หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม

143

32. เครื่องมือทางการเงิน 32.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 “การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้าและ ลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืม เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และเงินให้กู้ยืม ฝ่ายบริหาร ควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการก�ำหนดให้มีนโยบาย และวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯ และบริษัทย่อย จึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อย ไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ และ บริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จ�ำนวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุด ที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และเงินให้กู้ยืม ที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชั่วครา เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ยืม เงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลงตาม อัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีซ่ งึ่ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต�่ำ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับต�่ำ เนื่องจากธุรกรรมทางการเงินโดยส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอยู่ในสกุลเงินของท้องถิ่นนั้น 32.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืม มีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันหรือจ่ายช�ำระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝ่าย มีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะก�ำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือ ก�ำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


144

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน รวม

33. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯ คือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วน หนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.18:1 (2555: 1.36:1) และเฉพาะของบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 1.70:1 (2555: 1.90:1)

34. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มีมติอนุมัติในหลักการการเข้าท�ำธุรกรรมกองทรัสต์เพื่อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า (กองทรัสต์ฯ) โดยบริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จะเข้าท�ำรายการขาย และให้เช่าอสังหาริมทรัพย์แก่ทรัสตี ซึง่ กระท�ำ ในนามของกองทรัสต์ฯ โดยธุรกรรมดังกล่าวมีมลู ค่าประมาณ ไม่เกิน 4,750 ล้านบาท (ทั้งนี้ ราคาขายทรัพย์สินสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับการตกลงกันของคู่สัญญาที่เกี่ยวข้อง)

35. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ได้รับการอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


นิคมอุตสาหกรรม Amata City (Bien Hoa) ประเทศเวียดนาม

Amata City (Bien Hoa) คือทางเลือกชั้นเยี่ยมส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรม ในประทศเวียดนาม ตั้งอยู่บนทางหลวงสายที่ 1 ซึ่งเป็นถนนหลักที่เชื่อมการคมนาคม ในประเทศเวียดนาม


146

ประวั ติ ผู ้ บริห าร

ประวัติ ผู้บริหาร

นายยุทธ  โรจน์วีระสิงห์

นาย โค ชวน ชิว

นายเกษม  พรอนันต์รัตน์

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานเจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสฝ่ายบัญชีและการเงิน ฝ่ายบริหารลงทุน และฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการโครงการอมตะ ICT

อายุ 50 ปี การศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารงานก่อสร้าง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาการตลาด, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 7 เดือน การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

อายุ 46 ปี การศึกษา • ปริญญาตรีสาขาบัญชีและการเงิน จากมหาวิทยาลัยกริฟฟี่, บริสเบน, ประเทศออสเตรเลีย • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ASCPA) ประเทศออสเตรเลีย ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ Amata Global Ltd. ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 10 เดือน

อายุ 45 ปี การศึกษา • ปริญญาโท Engineering Management, The George Washington University • ปริญญาตรี สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 8 เดือน การถือหุ้นในบริษัท 69,000 หุ้น

การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ผู ้ บ ริ ห าร

นางสาว ทรงโฉม  ตั้งนวพันธ์

นายชัยรัตน์  สุวรรณวิจารณ์

ต�ำแหน่งใน ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและการขาย • ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายที่ดิน และประสานงานราชการ อายุ 52 ปี อายุ 52 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ การศึกษา (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ Amata Global Ltd.

ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 25 ปี การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

147

นายภราดร  สรงสุวรรณ ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิศวกรรม อายุ 59 ปี การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด

ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 24 ปี

ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 21 ปี

การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

“Ready for new Challenges”


148

ประวั ติ ผู ้ บริห าร

นางสาวเด่นดาว  โกมลเมศ

นางวราภรณ์  วัชรานุเคราะห์

นายก�ำจร  วรวงศากุล

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • เลขานุการบริษัท และผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารการลงทุน

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิเทศสัมพันธ์

อายุ 55 ปี

การศึกษา • ปริญญาโท สาขาการบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อายุ 52 ปี การศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ และการจัดการ, สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • การเข้ารับการอบรบจาก ต�ำแหน่งอื่น สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ • กรรมการ บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัทไทย (IOD) - Company Secretary Program เมือ่ 2546 • กรรมการ - Effective Minute Taking เมื่อ 2549 บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด - Board Reporting Program เมือ่ 2556 • กรรมการ บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ Amata Global Ltd. • กรรมการบริษัท เวียโลจิสติกส์ จ�ำกัด • Inspection Committee, • กรรมการบริษทั อมตะ ดีเวลลอปเม้นต์ จ�ำกัด Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการบริษทั อมตะ แมนชัน่ เซอร์วสิ จ�ำกัด ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 23 ปี

ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 24 ปี

การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

การถือหุ้นในบริษัท 232,840 หุ้น

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 58 ปี

ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 25 ปี การถือหุ้นในบริษัท ไม่มี

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ผู ้ บ ริ ห าร

นางจิณณ์ดาณัช  เพ็ชรวงศ์

นายยาซูโอะ  ซึซึอิ

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายทรัพยากรบุคคล และธุรการ

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการการตลาด

อายุ 57 ปี

การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาภาษาอังกฤษ Kansai Gaidai University, Japan

การศึกษา • ปริญญาโท คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 2 ปี 4 เดือน

“Ready for new Challenges”

อายุ 42 ปี

ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 15 ปี

149


150

ประวั ติ ผู ้ บริห ารบริษัท ย่อ ย

ประวัติ ผู้บริหารบริษัทย่อย

นางสมหะทัย  พานิชชีวะ

นายชูชาติ  สายถิ่น

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ

อายุ 48 ปี

อายุ 52 ปี

การศึกษา การศึกษา • ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต�ำแหน่งอื่น • ประธานกรรมการการลงทุน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Amata Asia Ltd. • กรรมการผู้จัดการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ บริษัท อมตะ โฮลดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ชีวาทัย จ�ำกัด • กรรมการ บริษทั โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทอล เทคโนโลยี จ�ำกัด (GETCO) • กรรมการ มูลนิธิ อมตะ

ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ Amata (Vietnam) Joint Stock Company • กรรมการ บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด • 12 ปี

ระยะเวลาการท�ำงาน ในกลุ่มบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 9 ปี

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2556


ประวั ติ ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ย่ อ ย

151

นางสาวจันจิรา  แย้มยิ้ม

นายอัครเรศร์  ชูช่วย

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะซัมมิต เรดี้บิลท์ จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ

ต�ำแหน่งใน บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ

อายุ 46 ปี

อายุ 46 ปี

การศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจและการจัดการ, Boston University, U.S.A.

การศึกษา • ปริญญาโท สาขาการบริหารธุรกิจและการจัดการ Southwest Missouri State University U.S.A. • ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ต�ำแหน่งอื่น ระยะเวลาการท�ำงาน ในบริษัท อมตะซัมมิต เรดี้บิลท์ จ�ำกัด • 9 ปี

ต�ำแหน่งอื่น • กรรมการ บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ระยะเวลาการท�ำงาน ในกลุ่มบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) • 14 ปี

“Ready for new Challenges”


152 ตารางแสดงการด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง บริษัท

รายชื่อ

ดร. วิษณุ เครืองาม นายเคอิตะ อิชิอิ นายวิกรม กรมดิษฐ์ นายจักก์ชัย พานิชพัฒน์ นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์ นายอนุชา สิหนาทกถากุล นายนพพันธป์ เมืองโคตร รศ.ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์ นายวัฒนา สุภรณ์ ไพบูลย์ นายยุทธ โรจน์วีระสิงห์ Mr. Siew Ko Chuen นายเกษม พงอนันต์รัตน์ นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ นายชัยรัตน์ สุวรรณวิจารณ์ นายภราดร สรงสุวรรณ นายก�ำจร วรวงศากุล นางวราภรณ์ วัชรานุเคราะห์ นางสาวเด่นดาว โกมลเมศ

x / / / / / / / / * * * * * * * * *

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทย่อย

บริษัทร่วม

บริษัทที่เกี่ยวข้อง

City AVN AW AFS ASRB AAsia Amata VN Global TCR BIP-D VIA Vibharam (AN) ANGD ABPL SEALS ABP4 ABP5 ABP3 BIP-S APBH ABPR1 ABPR2

รายชื่อบริษัท

/, // x /, // x / /, // /, // /, // /, // / / / /

/ /

/

/ / / /

/

/ /

/ / /, // /, // /, // /, // /, //

/ /

/ / / /

/

รายงานประจ�ำปี 2556


153 หมายเหตุ City AVN AW AFS ASRB AAsia Amata VN Global TCR BIP-D VIA Vibharam (AN) ANGD ABPL SEALS ABP 4 ABP 5 ABP 3 BIP-S APBH ABPR 1 ABPR 2 X / // *

= = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = = =

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด Amata (Vietnam) Joint Stock Company บริษัท อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด บริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท อมตะ ซัมมิท เรดดี้ บิลท์ จ�ำกัด Amata Asia Ltd. บริษัท อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) Amata Global Pte. Ltd. บริษัท พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการอุตสาหกรรมระยอง (ไทย-จีน) จ�ำกัด บริษัท อมตะ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เวีย โลจิสติกส์ จ�ำกัด บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ�ำกัด บริษัท อมตะ จัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท สตราทีจิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แอดวานสท์ โลจิสทิคส์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี. กริม เพาเวอร์ 5 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ�ำกัด บริษัท อมตะ แมนชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท อมตะ เพาเวอร์ (เบียนหัว) จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 1 จ�ำกัด บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ (ระยอง) 2 จ�ำกัด ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร ผู้บริหาร

“Ready for new Challenges”


154 กรรมการในบริษัทย่อย บริษัทย่อย

รายชื่อกรรมการ

นายอาสา สารสิน พล.ต.อ.ชวลิต ยอดมณี นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ นายวิกรม กรมดิษฐ์ นายฮาราลด์ ลิงค์ นายอนุชา สิหนาทกถากุล นายจักก์ชัย พานิชพัฒน์ นายวิบูลย์ กรมดิษฐ์ นางสมหะทัย พานิชชีวะ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม นายภราดร สรงสุวรรณ นายกมลชัย ภัทโรดม นายธนภัทร ศรกุล นายชูชาติ สายถิ่น นางสาวทรงโฉม ตั้งนวพันธ์ นางสาวจันจิรา แย้มยิ้ม นางสาวกานติมา เจริญไชยประเสริฐ นางสาวเด่นดาว โกมลเมศ

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

Amata (Vietnam) Joint บจก. บจก. Stock อมตะ อมตะซิ ตี้ Company วอเตอร์

X /, //

บจก. อมตะ ฟาซิ ลิ ตี้ เซอร์ วิ ส

Amata Asia Ltd.

บจก. อมตะ ซั ม มิ ท เรดดี้ บิลท์

บมจ. อมตะ วี เ อ็ น

บจก. พั ฒ นา อสั ง หาริ มทรั พ ย์ เ พื่ อการ Amata อุ ตสาหกรรมระยอง Global (ไทย-จี น) Pte. Ltd.

X X

/, // /

X /

/, // /, //

/ X /, //

/, //

/ /

/ /

/, // /, // / /, //

/, //

/ / / /

/ /, //

/, // / /

/, //

/ /

/ /

/

/, // / /, //

/, //

/, //

/

รายงานประจ�ำปี 2556


155 บริษัทย่อย

รายชื่ อ กรรมการ

Amata (Vietnam) Joint บจก. บจก. Stock อมตะ อมตะซิ ตี้ Company วอเตอร์

Mr. Siew Ko Chuen นายอัคร์เรศร์ ชูช่วย นายชูทอง พัฒนะเมลือง นายสันติ พัฒนะเมลือง นายทวีฉัตร จุฬางกูร นายกรกฤช จุฬางกูร นางอัจฉรีย์ วิเศษศิริ Mr. Mats Anders Lundqvist Mr. Chu Thanh Son Mr. Do Ngoc Son Mr. Huynh Ngoc Phien Mrs. Pham Thi Thanh Huong Mr. Nguyen Minh Huy นายชิดชัย วรรณสถิตย์ นายหวัง ลี เซง นายเซียว ฉี จิง นายฉวี่ เกิง โหล่ว นายจ้าว ปิง หมายเหตุ

X

= ประธานกรรมการ

“Ready for new Challenges”

บจก. อมตะ ฟาซิ ลิ ตี้ เซอร์ วิ ส

Amata Asia Ltd.

บจก. อมตะ ซั ม มิ ท เรดดี้ บิลท์

บมจ. อมตะ วี เ อ็ น

บจก. พั ฒ นา อสั ง หาริ มทรั พ ย์ เ พื่ อการ Amata อุ ตสาหกรรมระยอง Global (ไทย-จี น) Pte. Ltd.

/ /, // X, // / / / / / / / X / /

/ /

X / / /, // /, // / = กรรมการ

// = กรรมการบริหาร




creating cities driving economies

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ประเทศไทย

ส�ำนักงานกรุงเทพฯ

บริษัท อมตะ ซิตี้ จ�ำกัด

VIETNAM

นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700 หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองต�ำหรุ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ : +66 38 939 007 โทรสาร : +66 38 939 000

นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ 7 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ่อวิน อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : +66 38 497 007 โทรสาร : +66 38 497 000

2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม. 10310 โทรศัพท์ : +66 27 920 000 โทรสาร : +66 23 181 096

AMATA (VIETNAM) JOINT STOCK COMPANY LONG BINH WARD, BIEN HOA CITY, DONG NAI PROVINCE, VIETNAM TEL : (84) 61 3991 007 FAX : (84) 61 3891 251


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.