AMATA: รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

Page 1

รายงานการ พัฒนาที่ยั่งยืน

2559

บรษ� ทั อมตะ คอรป อเรชนั จำ กดั (มห าชน)



บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

สาส์นจาก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เรียนท่านผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเป็นโมเดลเศรษฐกิจที่เน้นคุณค่า (ValueBased Economy) และเน้นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) ตลอดจนช่วยเสริมสร้างเศรษฐกิจ ไทยให้เข้มแข็งและเติบโตได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนแล้วนั้น รัฐบาลยังได้ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา โดยมีนโยบายที่จะ เร่งการพัฒนาความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่ และท�ำให้พื้นที่ EEC เป็นพื้นที่ เศรษฐกิจที่ดีและทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน จากนโยบายดังกล่าว สร้างโจทย์ความท้าทายให้กับบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ให้ต้องเร่งพัฒนาศักยภาพและ ขยายโอกาสการเติบโตทางธุรกิจ ควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทจึงได้มีนโยบายปรับเปลี่ยนรูปแบบการ พัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืนของบริษัทและสนองต่อนโยบายของรัฐบาล โดยปรับเปลี่ยนจากการเป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อ รองรับฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรมมาเป็นผูพ้ ฒ ั นาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) และพัฒนาโครงการต่างๆทีร่ องรับการเป็นเมืองอัจฉริยะ เช่น โครงการเมืองวิทยาศาสตร์ โครงการเมืองการศึกษา และโครงการเมืองการแพทย์ โดยมุง่ หวังทีจ่ ะยกระดับการวิจยั และพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ อีกทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทดแทนการเป็นฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรม เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเกิดการพัฒนาด้าน การวิจัยและพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทตระหนักดีว่า ความส�ำเร็จและความยั่งยืนในธุรกิจต้องยึดมั่นในธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ดูแลชุมชน ค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป บริษัทให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งกับการบริหารจัดการของเสียและอากาศ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ชุมชนและสังคม จึงได้พัฒนาโครงการต่างๆ เช่น การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Estate) และการออกแบบ ระบบสาธารณูปโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในนิคม อุตสาหกรรมของบริษัท เป็นต้น และได้สร้างสรรค์โครงการและกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรมได้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาสังคมและชุมชนรอบข้างไปพร้อมกับบริษัท และรวมพลังกันในการด�ำเนินการกิจกรรมแต่ละโครงการให้เกิดประสิทธิผลมากขึ้น ในนามของ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ผมขอขอบคุณผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่ได้ให้ความร่วม มือ สนับสนุนการท�ำงาน และเชื่อมั่นในบริษัทด้วยดีเสมอมา ขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ค�ำแนะน�ำและข้อคิดเห็น เพื่อปรับปรุงการ ท�ำงานของบริษัทให้ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียได้ดียิ่งขึ้น และผมมั่นใจว่าความร่วมมือจากทุกฝ่ายจะเป็นก�ำลังส�ำคัญ ที่ท�ำให้บริษัทเติบโตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน วิกรม กรมดิษฐ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

1


สารบัญ สาส์นจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท 1.1 ธุรกิจของบริษัท 1.2 วิสัยทัศน์และพันธกิจ 1.3 ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจของอมตะ 1.4 โครงสร้างองค์กร 1.5 พัฒนาการที่ส�ำคัญ 1.6 รางวัลและผลงานที่ได้รับการยกย่อง 2 การพัฒนาที่ยั่งยืน 2.1 กลยุทธ์หลักในการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืน 2.2 เป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน 2.3 กลยุทธ์ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2.4 การด�ำเนินการกับผู้มีส่วนได้เสีย 3 เกี่ยวกับรายงาน 3.1 ขอบเขตของรายงาน 3.2 ประเด็นด้านความยั่งยืนที่ส�ำคัญ 4 การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจและการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 4.1 แนวทางการด�ำเนินธุรกิจ 4.2 นโยบายต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น 4.3 การบริหารความเสี่ยง

1 4 4 7 8 9 10 11 12 12 12 14 15 19 19 19 21 21 21 22


5 การด�ำเนินงานด้านสังคม 5.1 การบริหารจัดการทรัพยากรบุคลากรในองค์กร 5.2 การพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านเครือข่ายไตรภาคีเพื่อการบริหารจัดการลุ่มแม่น�้ำคลองหลวง 5.3 การสร้างงานในภูมิภาคตะวันออก 5.4 กีฬาสร้างเครือข่าย กีฬาสร้างสุขภาพแข็งแรง 5.5 การบริจาคโลหิตส่งต่อชีวิต 5.6 เครือข่ายอาสาสมัครผู้ประกอบกิจการเพื่อการดูแลชุมชน 6 การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม 6.1 การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 6.2 การออกแบบเชิงนิเวศในระบบสาธารณูปโภค 6.3 ศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 6.4 การจัดการขยะแบบบูรณาการตามหลักการ Zero Landfill 6.5 รางวัลแห่งการจัดการกากอุตสาหกรรมและมูลฝอยส�ำหรับโรงงาน “AMATA Best Waste Management Award 2016” 6.6 การสร้างสังคมแห่งความปลอดภัยในนิคมอุตสาหกรรม ผ่านศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและ โรงเรียนสอนการดับเพลิงส�ำหรับอุตสาหกรรม 6.7 ระบบการจัดการทรัพยากรด้วยเทคโนโลยี 6.8 การจัดการพื้นที่สีเขียว-ป่าในนิคมอุตสาหกรรม 7 สรุปผลการด�ำเนินงาน 2559 7.1 ด้านเศรษฐกิจ 7.2 ด้านสังคม 7.3 ด้านสิ่งแวดล้อม 8 GRI Content Index

23 23 28 30 31 35 36 39 39 39 42 43 45 46 47 49 51 51 53 53 58


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

4

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

1

ข้อมูลทั่วไป ของบริษัท

1.1 ธุรกิจของบริษัท บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมชั้นน�ำของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2532 และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2540 อมตะเล็งเห็นโอกาสจากการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในภาคตะวันออกตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) และนโยบายการส่ง เสริมการลงทุนของประเทศไทย จึงได้เริ่มพัฒนาพื้นที่ในจังหวัดชลบุรี เพื่อรองรับนักลงทุนที่จะมาท�ำธุรกิจอุตสาหกรรมในพื้นที่ภาค ตะวันออก จากจุดเริม่ ต้นในวันนัน้ น�ำมาสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำด้านการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมทีป่ ระสบความส�ำเร็จอย่างสูงในภูมภิ าค เอเชีย ปัจจุบนั นิคมอุตสาหกรรมในกลุม่ บริษทั มีพนื้ ทีท่ ปี่ ระกาศเขตในประกาศราชกิจจานุเบกษาแล้วรวมทัง้ หมดกว่า 90 ตารางกิโลเมตร มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ด�ำเนินกิจการอยู่ในปัจจุบันมากกว่า 1,000 โรงงาน จาก 30 ประเทศ สร้างมูลค่าการผลิตโดยรวมทั้งหมดกว่า 1 ล้านล้านบาทต่อปี บริษทั ไม่เพียงแต่สร้างนิคมอุตสาหกรรมที่ได้มาตรฐานสากลและดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด แต่ยงั สร้างเมืองอัจฉริยะ (SMART City) เพือ่ ให้ประชากรทีท่ ำ� งานในนิคมอุตสาหกรรมและชุมชนทีอ่ ยูร่ อบนิคมมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ สามารถท�ำงานและอยูอ่ าศัยได้อย่าง มีความสุข สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ประเทศไทย ปัจจุบันบริษัทได้ด�ำเนินธุรกิจ นิคมอุตสาหกรรมและร่วมลงทุนพัฒนาที่ดินทั้งในประเทศและต่างประเทศรวม 5 แห่ง ได้แก่ • นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย • นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ จังหวัดระยอง ประเทศไทย • นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ เบียนหัว ประเทศเวียดนาม • นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ ลองถั่น ประเทศเวียดนาม • Amata Township Long Thanh ประเทศเวียดนาม Hanoi

MYANMAR

LAOS

THAILAND AMATA NAKORN

VIETNAM

Bangkok

CAMBODIA

AMATA CITY BIEN HOA

AMATA

CITY LONG THANH

AMATA CITY

Ho Chi Min City

Existing Project

ที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมของกลุ่มบริษัทอมตะ


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

Overview of AMATA Industrial Estate อมตะนคร จ.ชลบุรี ประเทศไทย ขนาดพื้นที่ 4,330 เฮกตาร์ 43.30 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวนโรงงาน 664 โรง จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน 160,000 คน อมตะซิตี้ จ.ระยอง ประเทศไทย ขนาดพื้นที่ 2,703 เฮกตาร์ 27.03 ตารางกิโลเมตร จ�ำนวนโรงงาน 265 โรง จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน 50,000 คน อมตะ ซิตี้ เบียนหัว ขนาดพื้นที่ จ�ำนวนโรงงาน จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน อมตะ ซิตี้ ลองถั่น ขนาดพื้นที่ จ�ำนวนโรงงาน จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน อมตะ ทาวน์ชิป ลองถั่น ขนาดพื้นที่ จ�ำนวนโรงงาน จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน Total

ขนาดพื้นที่ จ�ำนวนโรงงาน จ�ำนวนพนักงานในโรงงาน

700 เฮกตาร์ 7.00 ตารางกิโลเมตร 152 โรง 45,000 คน

517 เฮกตาร์ 5.17 ตารางกิโลเมตร N/A N/A 753 เฮกตาร์ 7.53 ตารางกิโลเมตร N/A N/A 9,003 เฮกตาร์ 90.03 ตารางกิโลเมตร 1,081 โรง 255,000 คน

• ตั้งอยู่ที่ใจกลางของอีสเทิร์นซีบอร์ด ที่เป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรม การผลิตในภูมิภาคตะวันออก ระยะทาง • สนามบินสุวรรณภูมิ 42 กม. • ท่าเรือน�้ำลึกแหลมฉบัง 46 กม. • กรุงเทพ 57 กม. • ตั้งอยู่บนท�ำเลที่ดีที่สุดส�ำหรับบริษัท ที่ท�ำธุรกิจส่งออก ระยะทาง • ท่าเรือน�้ำลึกแหลมฉบัง 27 กม. • สนามบินสุวรรณภูมิ 99 กม. • กรุงเทพ 114 กม. • ท�ำเลที่ศักยภาพสูงบนถนนไฮเวย์ หมายเลข 1 เชื่อมระหว่าง เวียดนามเหนือและเวียดนามใต้ ระยะทาง • ท่าเรือไซง่อนใหม่ 25 กม. • เมืองโฮจิมินห์ 30 กม. • ท่าเรือน�้ำลึกหวุงเต่า 90 กม. • อยู่ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของ เมือง โฮจิมินห์ ห่างจากเบียนหัวประมาณ 30 กม. บนถนนทางด่วนระหว่าง ลองถั่น-โซ่วเซย ระยะทาง • สนามบินใหม่ 10 กม. • เมืองโฮจิมินห์ 20 กม.

5


6

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

นิคมอุตสาหกรรมของอมตะทั้ง 4 แห่งถูกพัฒนาขึ้นตามนโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกับ การอยูร่ ว่ มกันระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนโดยรอบ การพัฒนาพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมให้มคี วามทันสมัยและได้มาตรฐานสากล ตลอดจนรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ปัจจัยความส�ำเร็จของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมภายใต้การบริหารจัดการของบริษัท คือ ความสามารถในการตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าที่อยู่ ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมได้ กล่าวคือ บริษัทได้พัฒนาธุรกิจขึ้นมารองรับการด�ำเนินธุรกิจของนักลงทุน อย่างครบวงจร โดยแบ่งเป็นกลุ่มธุรกิจต่างๆ ดังนี้ ธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจสาธารณูปโภค • โรงไฟฟ้า • โรงงานผลิตน�้ำประปาเพื่อการใช้ในภาคอุตสาหกรรม • โรงบ�ำบัดน�้ำเสีย • เครือข่ายและสถานีควบคุมก๊าซธรรมชาติส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรม • ธุรกิจก๊าซอุตสาหกรรม ธุรกิจให้บริการในนิคมอุตสาหกรรม • การจัดการขยะจากภาคอุตสาหกรรม • อาคารโรงงานส�ำเร็จรูปให้เช่า • การขนส่งและกระจายสินค้า • การรักษาความปลอดภัย • ระบบโทรคมนาคม • การบ�ำรุงรักษาในส�ำนักงานและโรงงานอุตสาหกรรม • โรงพยาบาล • สถานศึกษา • ที่พักอาศัย • พาณิชยกรรม กลุ่มบริษัทอมตะจัดเป็นบริษัทที่มีเครือข่ายธุรกิจที่สมบูรณ์แบบในการรองรับและให้บริการแก่นักลงทุน ผู้ประกอบกิจการโรงงาน อุตสาหกรรมในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมภายใต้หลักการจัดการอย่างยั่งยืนและครบวงจรอย่างแท้จริง


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

กลุ่มบริษัทอมตะ Industrial Estate Business

Services Business

Utilities

Others

Amata B. Grimm Power

Amata B. Grimm Power (Rayong) 2

Amata Natural Gas Distribution

Amata Facility Services

Amata Development

AMATA VN PLC

Amata City

Amata B. Grimm Power 3

Amata B. Grimm Power (Rayong) 3

Amata Power Bien Hoa

Sodexo Amata Services

Amata Mansion Services

AMATA ASIA

ThaiChinese

Amata B. Grimm Power 4

Amata B. Grimm Power (Rayong) 4

Amata Summit Ready Built

(Amata Nakorn)

Vibharam

AMATA Global Pte. Ltd.

Amata City Bien Hoa JSC

Amata B. Grimm Power 5

Amata B. Grimm Power (Rayong) 5

Vantec Amata Logistics

SEAL

AMATA Summit REIT Management

Amata City Long Thanh JSC

Amata B. Grimm Power (Rayong) 1

Amata Water

Amata Kinderworld Education

Amata Corp

Amata Township Long Thanh

โครงสร้างระบบสาธารณูปโภคภายในนิคมอุตสาหกรรมของอมตะ

Hospital

7


8

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

1.2 วิสัยทัศน์และพันธกิจ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการวางแผน การพัฒนา การบริหารจัดการ และการตลาด ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอย่างครบวงจร พร้อมด้วยการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและงานบริการต่างๆ รองรับ การประกอบกิจการทีห่ ลากหลายได้ในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรม อาทิ ระบบถนนมาตรฐานสากล โรงไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติ การบริหาร จัดการพื้นที่ส่วนกลางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตามหลักการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Estate) เพื่อมุ่งไปสู่ การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) การด�ำเนินการเหล่านี้เป็นส่วนผลักดันที่ส�ำคัญ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมที่จะเป็นผู้น�ำการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมระดับโลกที่มีความทันสมัย และให้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกับการอยู่ร่วม กันด้วยดีระหว่างอุตสาหกรรมและชุมชนโดยรอบ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

1.3 ปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจของอมตะ

“ALL WIN”

ALL WIN Concept

ในการด�ำเนินธุรกิจนั้น บริษัทไม่ได้มุ่งเน้นเอาแต่ผลประโยชน์ของตนเองเป็นที่ตั้ง แต่บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งหมดในการด�ำเนินธุรกิจด้วย ไม่ว่าจะเป็นพนักงานของบริษัท ลูกค้า คู่ค้า และชุมชนโดยรอบ ดังนั้นบริษัทจึงได้พัฒนานิคม อุตสาหกรรมให้ตอบโจทย์ความต้องการของทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น การสร้างสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ให้แก่ผทู้ ที่ ำ� งานในนิคม อุตสาหกรรม สามารถท�ำงานและใช้ชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีความสุข บริษทั ยินดีให้การสนับสนุนลูกค้าในหลายด้านเพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถด�ำเนินธุรกิจในนิคมอุตสาหกรรมของบริษทั ไปได้ในระยะยาว บริษทั จึงให้ความส�ำคัญกับการบริการ การสนับสนุนและการสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ลูกค้า เช่น การจัดท�ำแผนพัฒนาเพือ่ รองรับด้านแรงงาน ที่มีทักษะฝีมือ และในอนาคตบริษัทจะก้าวไปสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยมีแผนการสร้างเมืองวิทยาศาสตร์ เมือง มหาวิทยาลัย รองรับศูนย์การพัฒนาและวิจัยที่จะเกิดขึ้น เพื่อสนองตอบความต้องการของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม ส่งเสริมให้เกิด การยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตของไทยให้กา้ วไปสูอ่ ตุ สาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงมากขึน้ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ และบริการ


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

นอกจากนี้ บริษัทยังสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกันกับลูกค้าและชุมชน เช่น ชมรม Amata CSR Club ที่เกิดจากการรวมตัวกันของผู้ ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครมาท�ำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ให้แก่โรงเรียนและชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียง หรือโครงการ น�ำของเหลือใช้จากโรงงาน (Eco for Life Project) มาให้ชุมชนสร้างสรรค์เป็นสินค้าใหม่ เป็นการสร้างรายได้เสริมให้แก่ชุมชน พนักงานของบริษัทเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ ดังนั้นบริษัทจึงส่งเสริมให้พนักงานได้รับการพัฒนาด้านทักษะความรู้ควบคู่ คุณธรรม ตลอดจนหล่อหลอมให้มวี ฒ ั นธรรมเดียวกัน ซึง่ จะท�ำให้การก้าวไปสูจ่ ดุ หมายนัน้ กลายเป็นเรือ่ งไม่ยาก เพราะทุกคนได้หลอม รวมกันเป็นหนึ่งเดียวทั้งชีวิตและจิตใจ

1.4 โครงสร้างองค์กร โครงสร้างองค์กรของ บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้มกี ารปรับผังโครงสร้างใหม่เพือ่ ให้เกิดความคล่องตัวในการท�ำงาน และรองรับการขยายงานของบริษัททั้งในประเทศและต่างประเทศ โครงสร้างองค์การฉบับปัจจุบันของบริษัทได้มีการประกาศใช้ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวน 4 คณะ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก คณะกรรมการบริษัท เพื่อสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย (1) คณะกรรมการบริหาร (2) คณะกรรมการตรวจสอบ (3) คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (4) คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนีค้ ณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้แต่งตัง้ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ให้คดั เลือกประธานเจ้าหน้าทีส่ ายงาน แต่ละสายงานของบริษัท เพื่อก�ำกับดูและการท�ำงานในสายงานต่างๆของบริษัท ได้แก่ ประธานเจ้าหน้าที่การลงทุน ประธานเจ้าหน้าที่ การตลาด ประธานเจ้าหน้าที่การเงิน และประธานเจ้าหน้าที่การบริหารกลาง คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการตรวจสอบ

เลขานุการบริษัท & Compliance Unit กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทอมตะ

ส�ำนักตรวจสอบภายใน คณะกรรมการความเสี่ยง

ประธานเจ้าหน้าที่ การลงทุน

ประธานเจ้าหน้าที่ การตลาด

ส�ำนักเลขานุการ

ประธานเจ้าหน้าที่ การเงิน

ประธานเจ้าหน้าที่ การบริหารกลาง

สายงานกลยุทธ์และ บริหารความเสี่ยง

สายงาน การสื่อสารการตลาด

สายงานบัญชี

สายงานทรัพยากรบุคคล และธุรการ

สายงานโครงการใหม่

สายงานการขาย

สายงานการเงินองค์กร

สายงานกฎหมาย

สายงาน พัฒนาสาธารณูปโภค

สายงานวิเทศสัมพันธ์

สายงานนักลงทุนสัมพันธ์

บริษัทในเครือ

สายงานออกแบบ และพัฒนาเมือง

สายงานเทคโนโลยี สารสนเทศ

โครงสร้างองค์กรของบริษัท

สายงานพัฒนาที่ดิน

9


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

10

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

จากนโยบายการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ที่ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาธุรกิจให้เติบโตควบคูไ่ ปกับการอยูร่ ว่ มในสังคมและสิง่ แวดล้อม อย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ บริษทั จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนอมตะ(Amata Sustainable Development Committee) และ ขึ้นตรงกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท คณะกรรมการการพัฒนาอย่างยั่งยืนอมตะ ประกอบด้วยประธานเจ้าหน้าที่สายงานแต่ละสายงานของบริษัทและผู้บริหารของบริษัทที่ เกี่ยวข้อง มีบทบาทหน้าที่ในการขับเคลื่อนการสร้างความยั่งยืนในองค์กรในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ผ่านการ ท�ำงานของพนักงานของบริษทั ทัง้ หมด โดยคณะกรรมการการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนอมตะก�ำหนดขอบเขตและหน้าทีข่ องคณะท�ำงาน ดังนี้ 1. ก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และก�ำหนดเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์กร ตลอดจนแผนการด�ำเนินงานที่ชัดเจน 2. ก�ำกับดูแลการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนขององค์กรในระดับธุรกิจ เพือ่ ให้เกิดการขับเคลือ่ น การน�ำนโยบายและแผนการด�ำเนินงาน ต่างๆ ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล 3. แต่งตัง้ คณะท�ำงาน เพือ่ รับผิดชอบงานในแต่ละด้านให้ครอบคลุม และสอดคล้องกับนโยบายหลักและแนวทางด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืนขององค์กรที่ก�ำหนดไว้

1.5 พัฒนาการที่ส�ำคัญ ตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทยให้มนั่ คง และยั่งยืน โดยสามารถดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศกว่า 30 ชาติ ให้เข้ามาลงทุนด�ำเนินกิจการในนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทกว่า 900 โรงงาน บนพื้นที่การพัฒนากว่า 70 ตารางกิโลเมตร

ตัวอย่างบริษัทชั้นน�ำที่ได้เข้ามาประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมของบริษัท

บริษัทมีพัฒนาการที่ส�ำคัญ (Company Milestone) ดังนี้ ปี

2518

รม กรมดิษฐ์ ล�ำดับ คุก่ณอตัวิ้งกบริ ษัท อมตะ เหตุการณ์ โฮลดิง้ จ�ำกัด

2532

2537

ก่อตั้งบริษัทอมตะ ค อ ร ์ ป อ เ ร ชั น จ� ำ กั ด (มหาชน) เดิ ม ชื่ อ บริ ษั ท บางปะกง อินดัส เตรี ย ล ปาร์ ค 2 จ�ำกัด

จัดตั้ง Amata City Bien Hoa JSC ที่ เ มื อ ง เ บี ย น หั ว จังหวัดดองไน ใกล้ กั บ เมื อ งโฮจิ มิ น ซิ ตี้ ประเทศเวียดนาม

2538

จัดตั้งบริษัท อมตะซิตี้ จ�ำกัด เพื่อ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จั ง หวั ด ระยอง และจั ด ตั้ ง บริ ษั ท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (เดิม ชื่อ บริษัท อมตะ เพาเวอร์ จ�ำกัด และได้ท�ำการเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด ภาย หลัง) เพือ่ การพัฒนาพลังงานไฟฟ้า ส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ นิคมอุตสาหกรรมของอมตะทั้ง 2 แห่ง

2540

บริษัท อมตะ คอร์ ปอเรชั น จ� ำ กั ด (มหาชน) เข้าจด ท ะ เ บี ย น ใ น ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

1.6 รางวัลและผลงานที่ ได้รับการยกย่อง การรับรองการเป็น “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” ในระดับ Eco Champion จากการ นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

รางวัลดีเด่น การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม วิศวกรรมแห่งชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

2549

2555

2555

2558

อมตะได้ รั บ รางวั ล บ ริ ษั ท ที่ มี ก า ร ประกอบกิจการดีเด่น จากตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย (SET TOP 50)

จัดตั้งบริษัท พัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อ การอุ ต สาหกรรม ระยอง (ไทย-จี น ) จ�ำกัด

จัดตัง้ บริษทั อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด เพื่อ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ประเทศเวียดนาม

น�ำกองทรัสต์เพือ่ การลงทุน ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละ สิทธิการเช่าอมตะซัมมิท โกรท (Amata Summit Growth Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust: AMATAR ) เข้าจดทะเบียน ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

2558

น�ำบริษทั อมตะ วีเอ็น จ�ำกัด (มหาชน) เข้า จ ด ท ะ เ บี ย น ใ น ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

2559

กลุ ่ ม บริ ษั ท อมตะ ครบรอบการก่อตัง้ ปีที่ 40

11


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

12

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

2

การพัฒนา ที่ยั่งยืน

2.1 กลยุทธ์หลักในการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืน บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้วางกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อขับเคลื่อนองค์กรสู่ความยั่งยืนที่เรียกว่า “5S” ประกอบด้วย • S - Strategic Location & Infrastructure การพัฒนาพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพสูง พรัง่ พร้อมด้วยระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง และไม่ สร้างผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน • S - Strong Service Mindset การให้บริการที่ครบวงจรและเต็มไปด้วยจิตใจแห่งการบริการ เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า ผู้ร่วมลงทุน และผู้ถือหุ้น • S - Superb Management Team การบริหารธุรกิจและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยคณะบริหารมืออาชีพที่มีวิสัยทัศน์และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการของ บริษัทเป็นอย่างดี • S - Sound Financials ความแข็งแกร่งของสถานะทางการเงินของบริษทั ทีม่ นั่ คง และการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อระเบียบปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด • S - Successful Partnerships ความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจกับลูกค้าและผู้ร่วมลงทุนที่มีชื่อเสียงและเป็นมืออาชีพในธุรกิจต่างๆ ท�ำให้สามารถสร้าง ผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนองกับความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและน่าสนใจ

2.2 เป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน จากผลการตรวจสอบการด�ำเนินกิจการนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทในปัจจุบัน นับว่า นิคมอุตสาหกรรมที่บริษัทด�ำเนินการเป็นนิคม อุตสาหกรรมที่สะอาดและมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน (Clean and Green City) แต่ในปัจจุบัน บริษัทได้มี นโยบายในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืนของบริษัทโดยได้ตั้งเป้าหมายเพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้พัฒนาเมือง อัจฉริยะที่ทันสมัยและมีบริการต่างๆ ที่ครบวงจร (Smart City Developer) ในระดับสากล และเป็นศูนย์การเรียนรู้ในด้านการพัฒนา เมืองอัจฉริยะของภูมภิ าค บริษทั จึงได้กำ� หนดเป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของบริษทั แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน: ด้านเศรษฐกิจ ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเป็นโมเดลเศรษฐกิจที่เน้นคุณค่า (ValueBased Economy) และเน้นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) ตลอดจนช่วยเสริมสร้างเศรษฐกิจ ไทยให้เข้มแข็งและเติบโตได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน รัฐบาลได้ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) โดยมีนโยบายที่จะเร่งการพัฒนาความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับการลงทุนและการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนภาคเอกชนในการประกอบธุรกิจให้มีความสะดวกรวดเร็วที่สุด และท�ำให้พื้นที่ EEC เป็น พื้นที่เศรษฐกิจที่ดีและทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน บริษทั ได้มนี โยบายในการปรับเปลีย่ นรูปแบบการพัฒนาธุรกิจเพือ่ ความยัง่ ยืนของบริษทั และสนองต่อนโยบายของรัฐบาล โดยปรับเปลีย่ น จากการเป็นผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรมมาเป็นผู้พัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) โดยร่วม


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

13

มือกับกระทรวงพลังงานและเมืองอัจฉริยะโยโกฮามา (City of Yogohama) ประเทศญี่ปุ่น เพื่อร่วมกันก�ำหนดกรอบการพัฒนาสู่เมือง อัจฉริยะอมตะตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นไป เมืองอัจฉริยะของบริษทั จะพลิกโฉมการเป็นเมืองอุตสาหกรรมของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ให้เป็นเมืองทีเ่ น้นการประหยัดพลังงาน ใช้พลังงานสะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประกอบด้วยการน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากร ท�ำให้เกิดการบริหารจัดการในเมืองอัจฉริยะเป็นไปอย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษทั ยังมีแผนการพัฒนาโครงการทีร่ องรับการเป็นเมืองอัจฉริยะ เช่น โครงการเมืองวิทยาศาสตร์ (Science City) โครงการ เมืองการศึกษา (Edutown) และโครงการเมืองการแพทย์ (Meditown) โดยมุง่ หวังทีจ่ ะยกระดับการวิจยั และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของประเทศ อีกทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทดแทนการเป็น ฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเกิดการพัฒนาด้านการวิจัยและ พัฒนาอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน: ด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทได้มุ่งมั่นด�ำเนินกิจการนิคมอุตสาหกรรมโดยค�ำนึงถึงหลักบรรษัทภิบาล รวมถึงการลดผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เนือ่ งจากการประกอบกิจการของบริษทั ควบคูก่ ับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจมาตลอดระยะเวลา 40 ปี บริษทั มีนโยบายลดผลกระทบทาง สิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดจากกิจการภายในนิคมอุตสาหกรรมให้นอ้ ยทีส่ ดุ ดังนัน้ บริษทั จึงได้รเิ ริม่ และลงทุนด�ำเนินการระบบจัดการน�ำ้ เสีย โดยไม่มีการปล่อยทิ้งออกสู่ภายนอกนิคมอุตสาหกรรม (Zero Discharge) ตั้งแต่เริ่มต้นท�ำธุรกิจ บริษัทจัดท�ำโครงการบริหารจัดการ ของเสียแบบบูรณาการเน้นการลดการน�ำขยะไปฝังกลบ (Zero Landfill) มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 และให้บริการด้านการจัดการขยะทั่วไป และขยะอุตสาหกรรมด้วยกระบวนการจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย นอกจากนี้บริษัทยังร่วมมือกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อให้ มั่นใจว่ากิจการภายในนิคมอุตสาหกรรมจะไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียง และเป็นไปตามกฎหมายที่ก�ำหนด บริษัทมีเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้พัฒนาโครงการต่างๆ เช่น การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Estate) และการออกแบบระบบสาธารณูปโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ พลังงาน เช่น การสร้างศูนย์เฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EMCC) และการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการปลูกต้นไม้ในนิคมอุตสาหกรรม ของบริษัท เป็นต้น จากการปรับเปลี่ยนสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะนั้น บริษัทมีเป้าหมายในการลดการใช้พลังงาน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรวมไปถึง การรักษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เน้นการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เพื่อมุ่งสู่การเป็นการเป็นสังคมพลังงานสะอาด (Clean Energy Society) และเมืองอุตสาหกรรมสีเขียว (Green City) ที่ใช้ระบบอัจฉริยะ เช่น ระบบบริหารจัดการเครือข่ายพลังงานอัจฉริยะ (Smart Grid) และระบบการบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management Systems : EMS) เป็นต้น เป้าหมายการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน: ด้านสังคม บริษัทให้ความส�ำคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนธุรกิจของบริษัทตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญ คือ พนักงานในองค์กรซึ่งเป็นทรัพยากรหลักที่จะน�ำพาองค์กรไปสู่ความความส�ำเร็จ และเป็นพลังขับเคลื่อนที่ ส�ำคัญในการสร้างความยัง่ ยืนของบริษทั เป้าหมายในการดูแลพนักงานของบริษทั เน้นทีก่ ารท�ำงานอย่างสร้างสรรค์ และพัฒนาศักยภาพ บุคลากรให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัท ส่งเสริมให้พนักงานเป็นคนดี และสร้างคุณค่าแก่สังคม ตลอดจนการสร้างวัฒนธรรม องค์กรสู่ความยั่งยืนด้วยกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ บริษทั เชือ่ ว่าความส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืนของธุรกิจ ไม่เพียงขึน้ อยูก่ บั ความรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนินการของบริษทั เท่านัน้ แต่ ยังรวมถึงการมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม และชุมชนท้องถิ่น จึงได้มีเป้าหมายใน การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน สนับสนุนและรองรับความต้องการต่างๆของผู้มีส่วนได้เสีย ตัวอย่างเช่น


14

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

• การพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านเครือข่ายไตรภาคีผ่านการท�ำงานภายใต้สภาบริหารจัดการลุ่มน�้ำคลองหลวง • การสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของโรงงานและชุมชนในพื้นที่ล้อมรอบนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทผ่านการ สร้างศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response Center) • การส่งเสริมความรูแ้ ละความเข้าใจในการจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อม และการประกอบกิจการของนิคมอุตสาหกรรมผ่านศูนย์ เรียนรู้ การอบรมสัมมนาต่างๆ เช่น ศูนย์การเรียนรู้ส�ำหรับสังคม ศูนย์เรียนรู้น�้ำอย่างยั่งยืน โครงการรอบรั้วสีเขียว ศูนย์ บริการจัดหางานเพื่อการสร้างงานในภูมิภาค โครงการให้ความรู้ด้านกฎหมายสิ่งแวดล้อมส�ำหรับผู้ประกอบกิจการในนิคม อุตสาหกรรมทั้งสองแห่ง

2.3 กลยุทธ์ ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน จากการตั้งเป้าหมายที่จะเป็นผู้พัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) นั้น ปัจจุบันบริษัทได้ร่วมมือกับกระทรวงพลังงาน ประเทศไทย และ เมืองอัจฉริยะโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น ในการร่วมกันพัฒนาเมืองอัจฉริยะอมตะ ด้วยเหตุที่เมืองโยโกฮามานั้น ประสบความส�ำเร็จใน การพัฒนาเปลีย่ นแปลงตนเองจากเมืองอุตสาหกรรมให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก ความร่วมมือในการพัฒนาโครงการ นี้จะเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 2560 นี้ การต่อยอดจากเมืองอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะนั้น จ�ำเป็นต้องมีการสร้างองค์ประกอบพื้นฐานที่ทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ อาทิ สาธารณูปโภคต่างๆ ระบบการขนส่ง การศึกษา พื้นที่ส�ำหรับศึกษาและวิจัยรองรับการพัฒนาของอุตสาหกรรมที่ ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ซึ่งในปี 2559 บริษัทได้เริ่มศึกษาและด�ำเนินการหลายโครงการเพื่อรองรับการก้าวไปสู่เมืองอัจฉริยะ ได้แก่ • โครงการพัฒนาระบบบริหารจราจรอัจฉริยะ (Smart App) ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี เพื่อเพิ่มความคล่องตัว ของการจราจรในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนครและพืน้ ที่ใกล้เคียง และช่วยลดผลกระทบของการจราจรในพืน้ ทีช่ มุ ชนที่ อยู่รอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร • โครงการสร้างระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) เป็นโครงข่ายไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารมา บริหารจัดการ ควบคุมการผลิต ส่ง และจ่ายพลังงานไฟฟ้า สามารถรองรับการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทาง เลือกที่สะอาดอื่นๆ และระบบบริหารการใช้สินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งให้บริการกับผู้เชื่อมต่อกับโครงข่ายผ่าน มิเตอร์อัจฉริยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคง ปลอดภัย เชื่อถือได้ มีคุณภาพไฟฟ้าได้มาตรฐานสากล • โครงการผลิตพลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานสะอาดและไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น หลังคาที่ผลิตพลังงานจากแสง อาทิตย์ (Solar roof) และพลังงานไฟฟ้าจากขยะ (Waste to energy) เป็นต้น • โครงการเมืองวิทยาศาสตร์ (Science City) เพือ่ สนับสนุนการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ รองรับความ ต้องการของอุตสาหกรรมต่างๆในนิคมอุตสาหกรรม ซึง่ เมืองวิทยาศาสตร์จะประกอบด้วยกลุม่ บริษทั ทีม่ าลงทุนสร้างศูนย์วจิ ยั และพัฒนา (R&D Center) โรงงานน�ำร่อง (Pilot Plant) ส�ำหรับผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากผลผลิตงานวิจัยและบริษัทขนาดเล็ก บริษัทเกิดใหม่ (Start up company) • โครงการยกระดับการศึกษาอย่างครบวงจรในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม (Smart Education) เป็นการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่ มีคุณภาพเพื่อรองรับความต้องการใช้บุคลากรทุกด้านในอนาคต โดยมีการจัดตั้งสถานศึกษาทั้งสายอาชีพ และสายสามัญ ตั้งแต่ในระดับอนุบาลจนถึงระดับมหาวิทยาลัย โดยใช้หลักสูตรที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากลจากนานาชาติ ส่วนแผนการพัฒนาในอนาคตอืน่ ๆ ตามกรอบกลยุทธ์การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ทีจ่ ะด�ำเนินการในอนาคต ได้แก่ เมืองการแพทย์ ที่จะเป็นศูนย์รักษาโรคและดูแลรักษาสุขภาพ จากกรอบยุทธศาสตร์ที่มุ่งมั่นเป็นเมืองอัจฉริยะของบริษัท ไม่เพียงแต่เป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจบริษัทเท่านั้น แต่เป็นการ สร้างความยัง่ ยืนทีม่ ั่นคงให้กับภาคสังคมทัง้ ในด้านเศรษฐกิจของประเทศ เศรษฐกิจชุมชน การสร้างสังคมและชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง และยัง ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ด้วยการประกอบกิจการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การด�ำเนินธุรกิจอย่างมุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการ ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่การแข่งขันในระดับนานาชาติได้อย่างยั่งยืนและมั่นคง


Collaboration with Energy Policy & Planning Office, Thailand Ministry of Energy บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

15

AMATA Smart city concept

2.4 การด�ำเนินการกับผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดระยะเวลา 40 ปีในการประกอบกิจการของบริษัทยึดมั่นในหลักการในการด�ำเนินธุรกิจที่สร้างคุณค่าให้กับผู้มีส่วนได้เสีย ตั้งแต่ใน ขัน้ ตอนการก�ำหนดนโยบาย และวิธกี ารในการปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ ให้เกิดมาตรฐานในการก�ำกับดูแลทีเ่ ท่าเทียมกัน ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้มีการบริหารจัดการต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม รวมทั้งได้มีการปรับปรุงช่องทางและกลไกในการน�ำความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย ส่งต่อไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนถึงการสร้างกระบวนการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย อย่างมีประสิทธิภาพ บริษทั ใช้แนวทางในการบริหารเชิงบูรณาการจัดล�ำดับความส�ำคัญของผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยได้มกี ารจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผูม้ ี ส่วนได้เสีย เพื่อท�ำการทบทวนและประเมินผลกระทบที่จะเกิดกับผู้มีส่วนได้เสียที่จะได้รับจากการด�ำเนินกิจการของบริษัท ทั้งนี้เพื่อ ให้การตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้น�ำความต้องการของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียมาเป็นส่วนหนึง่ ของการจัดท�ำแผนงานด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ได้รบั ผลกระทบโดยตรงต่อ การด�ำเนินธุรกิจ ประกอบด้วย พนักงาน ผู้ถือหุ้น คู่ธุรกิจ ลูกค้า และชุมชนโดยรอบ


16

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

การรับฟ�งความคิดเห็น

การกำหนดกลยุทธ ด านการพัฒนาที่ยั่งยืน

การบร�หารความเสี่ยง

มีส วนได การรับฟ�ของผู งความคิ ดเห็เสีนยผ าน ช องทางต างๆ การบร�หารความเสี่ยง ของผู มีส วนได เสียผ าน ช องทางต างๆ

การกำหนดกลยุทธ ด านการพัฒนาที่ยั่งยืน

การแปลผลความคิดเห็นของผู มีส วนได เสีย

การกำหนดนโยบายและ การกำหนดนโยบาย แผนปฏิบัติงาน และแผนการพั ฒนาธุรกิจ การกำหนดนโยบายและ การกำหนดนโยบาย ระดับองค กร อย างยั่งยืน

แผนปฏิบัติงาน ระดับองค กร

และแผนการพัฒนาธุรกิจ อย างยั่งยืน

การกำหนดแผนดำเนินงานเพ�่อตอบสนองความต องการของผู มีส วนได เสีย

การแปลผลความคิดเห็นของผู มีส วนได เสีย

การกำหนดแผนดำเนินงานเพ�่อตอบสนองความต องการของผู มีส วนได เสีย

แผนผังการรับฟังและการตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ลูกค า

พนักงาน

ลูกค า

คู แข สื่อมวลชน

การจัดการ ข อร องเร�ยน การจัดประชุม ร วมกัน

ชุมชน

สื่อมวลชน

Open-House/ การเยี่ยมเยือน

การจัดการ ข อร องเร�ยน ชุมชน

การเป ดเวทีรับฟ�ง ความคิดเห็น

การเป ดเวทีรับฟ�ง ความคิดเห็น

คู ค

คู แข

า คู ค

พนักงาน

การสำรวจ

การสำรวจ ความพ�่งพอใจ และรับข อเสนอแนะ

ุ น

ือห

ือห ุ น

ผู ถ

ผู ร วม

ลงทุน

ผู ร วม

ลงทุน

เจ าหนี้

น ยงา าร ว น ห าชก ร

การจัดประชุม ร วมกัน ผู ถ

น ยงา ร หนว าชกา ร

Open-House/ ความพ�่งพอใจ การเยี่ยมเยือน และรับข อเสนอแนะ

เจ าหนี้

แนวทางในการดูแลผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท

เวทีรับฟังความคิดเห็นอมตะ ในปี 2559 คณะกรรมการการพัฒนาอย่างยั่งยืนอมตะร่วมกับ Swedish Institute Management Program Asia (SIMP Asia) ซึ่งเป็น องค์กรของรัฐบาลสวีเดน และเป็นองค์กรชัน้ น�ำในระดับสากลด้านความเป็นเลิศในการท�ำธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ได้จดั เวทีรบั ฟังความคิดเห็น จากผู้มีส่วนได้เสียขึ้น เมื่อวันที่ 10-14 ตุลาคม 2559 ผู้ร่วมกิจกรรมประกอบด้วย ผู้มีส่วนได้เสียจากหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนที่ เป็นลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรม ผู้น�ำชุมชนในพื้นที่ต่อเนื่องกับนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียให้ ความส�ำคัญ คือ ปัญหาจราจรในนิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง การจัดการขยะของภาคชุมชน และการสื่อสารภายใน องค์กรและภายนอกองค์กร โดยบริษัทได้น�ำประเด็นทั้งหมดมาก�ำหนดแผนด�ำเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ต่อไปในอนาคต


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

17

ตัวอย่างข้อเสนอแนะจากการรับฟังความคิดเห็น • การจัดการจราจรในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในชั่วโมงเร่งด่วนเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น เพราะจะเป็นการช่วยในการประหยัดพลังงาน และเวลา ทัง้ นีภ้ าคเอกชนและชุมชนมีความต้องการให้อมตะช่วยพัฒนาระบบการบริหารจัดการจราจรทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ลดปัญหาจราจรในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมและพื้นที่ชุมชนใกล้เคียง • การขยายตัวของชุมชนเติบโตตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ท�ำชุมชนเกิดปัญหาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ดัง นั้นภาคชุมชนต้องการให้อมตะให้การสนับสนุนแนวทางในการจัดการขยะของชุมชนในด้านเทคนิคและวิชาการที่เหมาะสม กับชุมชน


18

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

พนักงาน ช่องทาง กิจกรรมผู้บริหารพบพนักงาน ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียน การส�ำรวจความคิดเห็นของพนักงาน หน่วยงาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคลของบริษัท รายงาน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การส�ำรวจความคิดเห็นพนักงานปี 2558 น�ำมาใช้ประกอบการ พัฒนากิจกรรมของพนักงาน โดยน�ำหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน มาเป็นส่วนหนึ่งของการท�ำงานประจ�ำวัน

คู่ธุรกิจ ช่องทาง การเยี่ยมเยือนคู่ธุรกิจ ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียน หน่วยงาน ฝ่ายการตลาดและฝ่ายจัดซื้อ รายงาน คณะผู้บริหารบริษัท/คณะกรรมการความยั่งยืน บริษัทได้ด�ำเนินการระบบบรรษัทภิบาลที่ดี ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นใน การด�ำเนินการพัฒนาที่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานทั้งระบบต่อไปใน อนาคต

ชุมชน ช่องทาง การส�ำรวจความพึงพอใจชุมชน รอบรั้วสีเขียวโดย พาชุมชนเข้าดูงานในโรงงาน ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียนหรือข้อร้องเรียน หน่วยงาน CSR/สื่อสารองค์กร รายงาน คณะผู้บริหาร/คณะจัดการบริษัท/คณะกรรมการความ ยั่งยืน บริษัทมุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจกับชุมชนในการด�ำเนินการด้าน การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ชุมชนเกิดความเป็นมิตร และให้ความร่วมมือกับบริษัทในระยะยาว

ผู้ถือหุ้น ช่องทาง การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียน หน่วยงาน เลขานุการบริษัท รายงาน คณะกรรมการบริษัท

ลูกค้า ช่องทาง การส�ำรวจความพึงพอใจลูกค้า ข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียน หน่วยงาน ฝ่ายการตลาด รายงาน คณะผู้บริหาร/คณะกรรมการบริษัท การบริหารจัดการของบริษัทเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า และบริษัท ยังมุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์ธุรกิจที่ตอบสนองการเติบโตของโรงงาน ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมต่อไป


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

19

3

เกี่ยวกับ รายงาน

3.1 ขอบเขตของรายงาน รายงานความยัง่ ยืนฉบับนี้ จัดท�ำขึน้ เพือ่ แสดงถึงผลการด�ำเนินงานของบริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ในปี 2559 ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการความยั่งยืน ในประเด็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ง แวดล้อม โดยมีการน�ำแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนมาพัฒนาเป็นแผนแม่บทการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ภายใต้ปรัชญาการด�ำเนิน ธุรกิจ “ALL WIN” และการพัฒนาแผนการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนโดยการอ้างอิงการจัดท�ำรายงานให้มีความสอดคล้องตามดัชนีชี้ วัดของ Global Reporting Initiative version 4.0 (GRI G4) เนื้อหาและสาระส�ำคัญของการรายงานในปี 2559 มุ่งเน้นการด�ำเนินงาน ตามกลยุทธ์ เพือ่ ให้ได้ผลส�ำเร็จเป็นไปตามวิสยั ทัศน์และพันธกิจของบริษทั ภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การบริหารความเสีย่ ง และ การน�ำปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจมาสูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ในการดูแลผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั การสร้างพนักงานของบริษทั ให้มีอุดมการณ์ของอมตะที่เป็นคนดีและคนเก่งของสังคม การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจและการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของ ประเทศ และการสร้างสรรค์สงั คมและชุมชนอย่างยัง่ ยืน โดยเชือ่ มโยงกับบริบทการพัฒนาความยัง่ ยืนทีเ่ ป็นสากลในด้านเศรษฐกิจ ด้าน สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม รายงานความยั่งยืน ประจ�ำปี 2559 แสดงผลการด�ำเนินงานครอบคลุมทุกสายงานของ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และนิคมอุตสาหกรรมของบริษัทในประเทศไทยทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี และนิคมอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ จังหวัดระยอง

3.2 ประเด็นด้านความยั่งยืนที่ส�ำคัญ บริษัทได้มีการท�ำงานร่วมกับที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและติดตามรวบรวมข้อมูลที่ส�ำคัญในงานธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมและ ผลิตภัณฑ์บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มและทิศทางการพัฒนาด้านเทคโนโลยี และการ เปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดล้อมทีอ่ าจจะส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษทั และได้นำ� ข้อมูลเหล่านัน้ มาทบทวนนโยบายและ ปรับปรุงแผนงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยยังคงมุ่งมั่นให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้ปรัชญาการ ด�ำเนินธุรกิจ “ALL WIN” พร้อมทั้งเชื่อมโยงประเด็นด้านความยั่งยืนที่ส�ำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนของบริษัทในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งบริษัทได้น�ำแนวทางของ Global Reporting Initiative Version 4.0 (GRI G4) มาประยุกต์ในการวิเคราะห์ประเด็น ด้านความยั่งยืน ในปี 2559 นี้ บริษัทได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียร่วมกับ Swedish Institute Management Program Asia (SIMP Asia) ซึ่งเป็นองค์กรชั้นน�ำของโลกด้านความเป็นเลิศในการท�ำธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมรับ ฟังความคิดเห็นจากผูม้ สี ว่ นได้เสียในครัง้ นี้ เพือ่ พิจารณามุมมองของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีม่ ตี อ่ บริษทั ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม และน�ำไปสู่การระบุประเด็น (Identification) ทั้งนี้ประเด็นต่างๆจากมุมมองของผู้มีส่วนได้เสียจะถูกน�ำมาเข้าสู่กระบวนการจัดล�ำดับ ความส�ำคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน (Prioritization) ซึ่งในกระบวนการนี้จะมีการน�ำประเด็นที่มีนัยส�ำคัญต่อองค์กร และผู้มีส่วน ได้เสียมาวิเคราะห์ โดยเทียบเคียงกับแนวทางการวิเคราะห์ประเด็นด้านความยั่งยืนตามแนวทางของ GRI G4 ในรูปแบบเมทริกซ์ (Materiality Matrix) โดยแกนนอน แสดงระดับผลกระทบต่อบริษัทในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม และในแกนตั้งแสดงระดับ ผลกระทบต่อความสนใจของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียดังตารางและรูปภาพด้านล่าง ดังนี้


20

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ตารางประเด็นที่มีนัยส�ำคัญต่อองค์กร ด้านเศรษฐกิจ 1.1 การก�ำกับดูแลกิจการ 1.2 การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม 1.3 การต่อต้านการทุจริต 1.4 การด�ำเนินการด้านภาษี 1.5 การบริหารความเสี่ยง 1.6 การสร้างความผูกพันและการพัฒนาร่วมกับลูกค้า 1.7 นวัตกรรมในกระบวนการธุรกิจ 1.8 ข้อปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้าง

ด้านสังคม 2.1 การปฏิบัติด้านแรงงานและสิทธิมนุษยชน 2.2 ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 2.3 ชุมชนท้องถิ่น 2.4 การฝึกอบรมและการให้ความรู้ 2.5 การสร้างเครือข่ายกับชุมชน 2.6 การสื่อสารการตลาด 2.7 ปัญหาจราจร

ด้านสิ่งแวดล้อม 3.1 การอนุรักษ์พลังงาน 3.2 การบริหารจัดการน�้ำ 3.3 การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ 3.4 กากอุตสาหกรรมและมูลฝอย 3.5 การปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม 3.6 ผลิตภัณฑ์และบริการ

สำคัญมาก

10 1.5

2.1

1.3

2.7

3.3

1.2 1.4

2.4

สำคัญนอย

3.4 3.6

2.3

2.6 1.7

3.5

1.1

สำคัญมาก

5 ดานเศรษฐกิจ

ดานสังคม

1.6 3.1

1.8

สำคัญนอย

2.5

ดานสิ�งแวดลอม

3.2


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

21

4

การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ และการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

4.1 แนวทางการด�ำเนินธุรกิจ คณะกรรมการบริษทั ส่งเสริมการสร้างความยัง่ ยืนแก่ธรุ กิจและรักษาประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย และสังคมเปิดโอกาสให้ผมู้ สี ว่ นได้เสีย แสดงความเห็นเกีย่ วกับการด�ำเนินกิจการ เพือ่ เป็นกลไกและกระบวนการทีจ่ ะดูแลให้มกี ารด�ำเนินการอย่างจริงจัง น�ำไปสูก่ ารเป็นองค์กร ที่มีการก�ำกับดูแลกิจการที่แท้จริง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด 2. ปฏิบัติตามนโยบาย “การก�ำกับดูแลกิจการ” และ “จรรยาบรรณทางธุรกิจ”ของบริษัท 3. มุ่งมั่นที่จะประกอบธุรกิจด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริตและเป็นธรรม 4. ยึดมั่นในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีปลูกฝังให้พนักงานมีจิตส�ำนึกที่ดี 5. คํานึงถึงผลประโยชน์ และผลกระทบจากการด�ำเนินงานขององค์กร ด้วยความเสมอภาคและเป็นธรรมทางสังคมต่อผู้มีส่วน ได้เสียของบริษัท 6. ดําเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและรักษาประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียและสังคม 7. สร้างระบบงานที่เข้มแข็งเพื่อป้องกันการทุจริตผ่านระบบการตรวจสอบภายใน 8. กําหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทั่วทั้งองค์กรมีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริต รายงาน ความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล ส่งเสริมคุณภาพชีวิตในการทํางาน 9. เปิดโอกาสให้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียมีชอ่ งทางการร้องเรียนและรับฟังความคิดเห็นและมีมาตรการ คุม้ ครองผูร้ อ้ งเรียนหรือผูแ้ จ้งเบาะแส

4.2 นโยบายต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น คณะกรรมการบริษัทค�ำนึงถึงการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นจึงได้ก�ำหนดว่า “ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท เรียกร้อง ด�ำเนินการ หรือยอมรับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในทุกประเทศ และทุกหน่วยงาน ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนทีธ่ รุ กิจของบริษทั เข้าไปเกีย่ วข้อง โดยร่วมกันส่งเสริมค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร” ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ มีเนือ้ หาครอบคลุมถึงการด�ำเนินการของบริษทั ในเรือ่ งดังต่อ ไปนี้ 1. บริษัท จัดให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัท และจัดท�ำมาตรการปฏิบัติที่สอดคล้องกับความ เสี่ยงนั้นและเป็นไปตามระบบควบคุมภายใน 2. บริษัท จัดท�ำขั้นตอนปฏิบัติ ซึ่งมีรายละเอียดที่เพียงพอต่อการน�ำไปปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายนี้ ที่สามารถป้องกันการ เกิดทุจริตคอร์รัปชั่นในการด�ำเนินธุรกิจ 3. บริษัท จัดให้มีการปฐมนิเทศและการฝึกอบรมให้แก่พนักงาน เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ และ ขั้นตอนปฏิบัติ ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 4. บริษัท จัดให้มีระบบควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจในประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่งครอบคลุมถึงกระบวนการเก็บบันทึกข้อมูลทางการเงิน การบัญชี กระบวนการบริหารบุคคล และกระบวนการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงานของบริษัท


22

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

5. บริษัท จัดให้มีการรายงาน การติดตาม และการทบทวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยมี ขั้นตอนการด�ำเนินการที่เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจได้ว่า นโยบายมีความครบถ้วน เพียงพอและทันต่อสภาวะการณ์ 6. บริษทั จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารทีป่ ลอดภัย ให้พนักงานของบริษทั และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายสามารถขอค�ำแนะน�ำ แจ้ง เบาะแส ข้อเสนอแนะ หรือร้องเรียนกรณีเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยมีมาตรการคุ้มครองสิทธิให้แก่บุคคลดังกล่าว 7. บริษัท จัดให้มีการสื่อสารนโยบายในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ทั้งภายในและภายนอกบริษัท เพื่อให้เกิดการปฏิบัติ ตามในวงกว้างซึ่งรวมไปถึงการแจ้งให้บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทอื่นที่บริษัทมีอ�ำนาจ ในการควบคุม และตัวแทนทาง ธุรกิจ น�ำนโยบายในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัท ไปปฏิบัติ 8. บริษทั ส่งเสริมให้มกี ารแลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ รี ะหว่างบริษทั อืน่ ทีอ่ ยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันกับ บริษทั รวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย เพือ่ เป็นแนวร่วมปฏิบตั แิ ละเข้าร่วมในกิจกรรมต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึง่ จัดขึน้ โดยบริษัท สมาคมหอการค้าหรือ หน่วยงานก�ำกับดูแลอื่นๆ

4.3 การบริหารความเสี่ยง บริษทั และบริษทั ย่อยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ทชี่ ดั เจนทัง้ วัตถุประสงค์ระดับองค์กรและวัตถุประสงค์ระดับกิจกรรมให้สอดคล้อง กันเพื่อที่จะสามารถท�ำงานให้ส�ำเร็จด้วยงบประมาณประจ�ำปีที่ได้รับการอนุมัติและทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม อีกทั้งบริษัทและ บริษัทย่อยได้มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ฝ่ายบริหารจึงก�ำหนดให้มีการ ด�ำเนินการอย่างสม�่ำเสมอ ดังต่อไปนี้ • ประชุมเพือ่ ประเมินถึงความเสีย่ งในการด�ำเนินธุรกิจอย่างสม�ำ่ เสมอและวิเคราะห์ถงึ สาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดเป็นความเสีย่ ง ตลอด จนมีการติดตามสถานการณ์ที่เป็นสาเหตุของความเสี่ยง เพื่อก�ำหนดมาตรการป้องกันหรือลดความเสี่ยงดังกล่าว • แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาของแต่ละฝ่ายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยง เพื่อน�ำไปถ่ายทอด แก่พนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่ก�ำหนด


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

23

5

การด�ำเนินงาน ด้านสังคม

5.1 การบริหารจัดการทรัพยากรบุคลากรในองค์กร บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้ก�ำหนดความสามารถหลักขององค์กร (Core Competency) ที่สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาและวิสัยทัศน์ขององค์กร เพื่อใช้เป็นตัวก�ำหนดคุณลักษณะที่ทุกคนในองค์กรจ�ำเป็นต้องมีเป็นพื้นฐาน เรียกว่า AMATA DNA ประกอบด้วยหลัก 5 ประการของการเป็นพนักงาน (D-R-I-V-E) ดังนี้

1. น่าเชื่อถือวางใจได้ (Dependable: D)

ประพฤติตนเป็นที่น่าเชื่อถือโดยการรับผิดชอบในงานที่ท�ำ รักษาค�ำพูด สามารถพึ่งพาได้ มีความซื่อตรง เป็นธรรม ค�ำนึงจิตใจ ของผู้อื่น จริงใจ โปร่งใส ปฏิบัติตามระเบียบและจรรยาบรรณขององค์กร

2. พร้อมให้การตอบสนอง (Responsive:R)

รับรูแ้ ละตอบสนองต่อความต้องการหรือความรูส้ กึ ของผูอ้ นื่ อย่างรวดเร็วและเป็นทีป่ ระทับใจ ให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจและ รับผิดชอบ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด

3. ลองคิดสิ่งใหม่ (Innovative: I)

มองปัญหาจากหลายด้าน มีความคิดสร้างสรรค์เพื่อคิดต่อยอดหรือคิดออกนอกกรอบ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการ ท�ำงานแบบใหม่ ที่ได้ผลดีมากกว่าเดิม

4. มองไกลไปข้างหน้า (Visionary: V)

มีมุมมองในอนาคตที่กว้างไกล สร้างสรรค์ และหลากหลายแง่มุม มีความสนใจใฝ่รู้ในองค์ความรู้ใหม่ๆ และนวัตกรรม สามารถ น�ำมาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์แก่องค์กร

5. เต็มคุณค่ามีประสิทธิภาพ (Efficient: E)

ท�ำงานอย่างมีประสิทธิผล โดยไม่เสียเวลา ความพยายาม หรือค่าใช้จ่ายโดยเปล่าประโยชน์ พยายามท�ำงานให้บรรลุเป้าหมาย และมาตรฐานการท�ำงานที่ตั้งไว้ โดยใช้ทรัพยากรอย่างเต็มคุณค่า


24

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

การสรรหาและคัดเลือกพนักงาน (Recruitment) บริษทั มีนโยบายในการด�ำเนินการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร โดยยึดหลักด้านการสรรหาทัง้ ภายในและภายนอก เพื่อคัดเลือกผูส้ มัคร ที่มีศักยภาพให้ทันความต้องการของธุรกิจ ดังนี้ การสรรหาและคัดเลือกพนักงานภายใน เพือ่ เป็นการเปิดโอกาสให้กบั พนักงานภายในบริษทั ได้มโี อกาสทีจ่ ะพัฒนา และเจริญเติบโตใน หน้าที่การงาน การสรรหาและคัดเลือกพนักงานภายนอก เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และเป็นการเตรียมบุคลากรให้พร้อม เพือ่ รองรับการขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ก�ำหนดการวางแผนงานการสรรหาและคัดเลือก ให้เป็นไปตามโครงสร้างอัตรา ก�ำลังและแผนการขยายธุรกิจของบริษัท โดยการก�ำหนดคุณสมบัติและความสามารถของพนักงาน ให้มีทักษะด้านภาษาอังกฤษ และ ภาษาอื่น ๆ เพื่อให้สามารถสื่อสารได้ในระดับสากล บริษัท มุ่งเน้นที่จะได้ผู้มีคุณสมบัติตรงตามที่ก�ำหนดเข้ามาร่วมงาน บุคคลภายนอกสามารถสมัครเพื่อเข้าเป็นพนักงานของบริษัท ได้ หลายช่องทาง อาทิ เว็บไซต์ของบริษัท และเว็บไซต์การสมัครงานที่มีชื่อเสียงต่างๆ ทั้งนี้บริษัท ยังได้มีการใช้บริการของบริษัท จัดหา งาน เพื่อสรรหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของบริษัท โดยในการสรรหา จะเปิดเสรีให้ผู้ที่มีคุณสมบัติ ที่มีความสนใจ สามารถสมัครได้เสมอภาคกันทั้งด้าน ศาสนา เพศ อายุ เชื้อชาติ ภูมิล�ำเนา และสถาบันการศึกษา เป็นต้น

เพศของพนักงานในกลุ่มบริษัทอมตะ

93 92 91 90 89 88 87 86 85 84

อายุของพนักงานในกลุ่มบริษัทอมตะ

92

140 119

120 100 คน 87

80 60

54

40 20 ชาย

18-25 ปี

25-35 ปี

ระดับการศึกษา

ภูมิล�ำเนา 88 62

ตะว

ันตก

3 ภาค

ก ันออ ตะว

ภาค

ตะว

เหน อื ภาค

กลา ง

4 ใต้

14

8

ภาค

คน ี สูงก

ว่าป

ริญญ

รี ญาต ปริญ

าตร ี ริญญ ว่าป ต�่ำก

าตร

คน

42

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

งเหน อื

63

กเฉีย

74

ภาค

80 70 60 50 40 30 20 10 0

มากกว่า 35 ปี

ันออ

หญิง

6

0

ภาค

คน

ในปี 2559 บริษัทมีพนักงานทั้งหมด 179 คน แบ่งออกเป็นพนักงานชายจ�ำนวน 87 คน (ร้อยละ 49) และพนักงานหญิงจ�ำนวน 92 คน (ร้อยละ 51) หากท�ำการวิเคราะห์ช่วงอายุของพนักงานที่ท�ำงานในบริษัทส่วนใหญ่จะมีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 119 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 66%ของพนักงานทั้งหมด รองลงมาเป็นพนักงานที่มีอายุระหว่าง 25 ปี ถึง 35 ปี จ�ำนวน 54 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 30%ของพนักงานทัง้ หมด ในส่วนระดับการศึกษาของพนักงานในบริษทั นัน้ ส่วนใหญ่จะจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี รองลงมาเป็น ปริญญาโทและทีส่ งู กว่า และต�ำ่ กว่าปริญญาตรี และเมือ่ ท�ำการพิจารณาเรือ่ งการจ้างแรงงานในท้องถิน่ จะพบว่าบริษทั มีการจ้างแรงงาน ในภูมิภาคตะวันออกคิดเป็นร้อยละ 35 ของพนักงานทั้งหมด


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

25

การสร้างเสริมคุณภาพชีวิต แรงจูงใจที่ดีและความผูกพันของพนักงาน บริษัท ส่งเสริมให้พนักงานสร้างความสมดุลระหว่างการท�ำงานและการใช้ชีวิตส่วนตัว (Work Life Balance) ตามแนวทางของคู่มือ ความสุข 8 ประการในที่ท�ำงาน HAPPY WORKPLACE ด้วยการส่งเสริมให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับผลตอบแทนทั้งในรูป แบบที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน บริษัท จัดให้มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ดังนี้ • Happy Body บริษัทได้จัดสวัสดิการเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้กับพนักงานเช่น ตรวจสุขภาพประจ�ำปี เงินช่วยเหลือรักษา พยาบาล อาหารกลางวัน อาหารเสริมและวิตามินต่างๆ บริษัทได้ส่งเสริมการออกก�ำลังกาย เป็นต้น

• Happy Heart บริษัทเล็งเห็นความส�ำคัญของการมีน�้ำใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน เนื่องจากมีความว่าเชื่อความสุขที่แท้จริง คือการเป็นผู้ให้ บริษัทจึงได้จัดกิจกรรม Happy Birthday เพื่อสร้างความสุขให้กับพนักงาน

• Happy Relax บริษัทได้สร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อสร้างความสุขและความบันเทิงให้กับบุคลากร ให้ผ่อนคลายทั้งร่างกายและ สมอง ทั้งยังเป็นการเติมหัวใจให้พร้อมท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กิจกรรม AMATA Staff Party (New Year Party) กิจกรรมประกวดร้องเพลง AMATA Singing Contest เป็นต้น


26

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

• Happy Brain บริษัทได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้พนักงานได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และเพิ่มพูนทักษะและ ประสบการณ์ ตลอดจนมีการพัฒนาตนเองอย่างสม�่ำเสมอ น�ำไปสู่ความเป็นมืออาชีพและมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน บริษัทได้จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน เรื่อง Corporate Governance and Anti-Corruption จากบริษัทชั้นน�ำในประเทศไทย

• Happy Soul บริษัท ส่งเสริมให้พนักงานยึดมั่นในหลักศาสนา ศีลธรรม สนับสนุนให้เป็นคนดี คิดดี ท�ำดี บริษัท จึงได้จัด กิจกรรมท�ำบุญเนื่องในโอกาสส�ำคัญต่างๆ เป็นประจ�ำ กิจกรรมสรงน�้ำพระ และรดน�้ำขอพรผู้ใหญ่ในวันสงกรานต์

• Happy Money บริษัทส่งเสริมให้พนักงานรู้จักเก็บออม ไม่เป็นหนี้สิน และปลูกฝังนิสัยการออมเงิน ผ่านการออมเงินกับ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ และจัดกิจกรรมบรรยายให้ความรูเ้ รือ่ งวิธกี ารบริหารเงินอย่างชาญฉลาด โดยผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านการ เงิน


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

27

• Happy Family บริษัท เล็งเห็นความส�ำคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคง ปลูกฝังนิสัยรักครอบครัว ผ่านกิจกรรม ต่างๆ เช่น กิจกรรมประกวดภาพถ่ายเนื่องในโอกาสวันแม่ 12 สิงหาคม เป็นต้น

• Happy Society บริษัทส่งเสริมให้พนักงานมีความรักสามัคคีเอื้อเฟื้อต่อชุมชนที่ตนท�ำงาน และพักอาศัย และสนับสนุนให้ พนักงานได้มีโอกาสตอบแทนสังคมโดยท�ำหน้าที่จิตอาสาต่างๆ เช่น กิจกรรมทาสีโรงเรียน และเลี้ยงอาหารกลางวันเด็ก เป็นต้น


28

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทร่วมกับพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพฯ มีการควบคุมก�ำกับดูแลการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อส่งเสริมให้พนักงานสะสมเงินออม โดยพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตราร้อยละ 5-15 ของเงินเดือนของ พนักงานแต่ละราย และบริษทั สมทบร้อยละ 5-15 ของเงินเดือนของพนักงาน เพือ่ เป็นหลักประกันความมัน่ คงด้านการเงินของพนักงาน เงินช่วยเหลือประเภทต่างๆ บริษัท มอบเงินช่วยเหลือพนักงานในโอกาสต่างๆ ได้แก่ ทุนการศึกษา เงินช่วยเหลือกรณีพนักงานสมรส คลอดบุตร เงินกู้ช่วยเหลือ ในกรณีจ�ำเป็นฉุกเฉิน เงินช่วยเหลือมรณกรรมส�ำหรับพนักงาน ตามหลักเกณฑ์ของบริษัท ทั้งนี้ นอกจากตัวพนักงานแล้วยังขยายการ ช่วยเหลือครอบคลุมไปถึงบุคคลในครอบครัวของพนักงาน ได้แก่ เงินทุนการศึกษาของบุตร เงินช่วยเหลือกรณีบุคคลในครอบครัวเสีย ชีวิต สวัสดิการและผลประโยชน์อื่น บริษัท ก�ำหนดผลประโยชน์พนักงานโดยยึดหลักความเหมาะสมตามหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ อาทิ การตรวจ สุขภาพประจ�ำปี การประกันสุขภาพ การประกันชีวติ และประกันอุบตั เิ หตุ ทัง้ ยังครอบคลุมสวัสดิการรักษาพยาบาล และการรักษาด้าน ทันตกรรมด้วย การพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางในการพัฒนาองค์กรของบริษัท คือ การพัฒนาพนักงานมีความรู้ความสามารถ มีศักยภาพเพียงพอที่จะแข่งขันได้ในธุรกิจ ต่างๆ บนเวทีโลก สามารถตอบสนองนโยบายของบริษัท รองรับการขยายตัวและเป้าหมายของการด�ำเนินธุรกิจในอนาคตได้อย่างมือ อาชีพ บริษัทจึงได้จัดการฝึกอบรมภายในและภายนอกส�ำหรับพนักงานและผู้บริหาร โดยวิเคราะห์ ออกแบบ จัดหาหลักสูตรจากวิทยากรที่มี ความเชีย่ วชาญ ตลอดจนองค์กรชัน้ น�ำไม่วา่ จะเป็นสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน เช่น หลักสูตร Leadership Succession Program ตลอดจนการจัดอบรมการพัฒนาทักษะด้านการใช้ภาษาต่างประเทศให้แก่พนักงาน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาญีป่ นุ่ และภาษาจีน เป็นต้น

5.2 การพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านเครือข่ายไตรภาคีเพื่อการบริหารจัดการ ลุ่มแม่น�้ำคลองหลวง ลุ่มน�้ำคลองหลวงเป็นลุ่มน�้ำสาขาหนึ่งของลุ่มน�้ำบางปะกง ลุ่มน�้ำคลองหลวงมีพื้นที่รับน�้ำฝนทั้งสิ้น 1,897 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม พื้นที่ 7 อ�ำเภอ ในจังหวัดชลบุรี ได้แก่ อ�ำเภอบ้านบึง อ�ำเภอพานทอง อ�ำเภอพนัสนิคม อ�ำเภอเกาะจันทร์ อ�ำเภอบ่อทอง อ�ำเภอเมือง ชลบุรี อ�ำเภอหนองใหญ่ และ 3 อ�ำเภอของจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้แก่ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบางปะกง อ�ำเภอแปลงยาว รวม 2 จังหวัด จังหวัดชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา มี 10 อ�ำเภอ 63 ท้องถิ่น พื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่ลุ่มน�้ำคลองหลวงบริเวณอ�ำเภอบางปะกง ซึ่งเป็นเส้นทางผ่าน ของน�้ำก่อนที่ไหลลงสู่ทะเล บริษัทจึงตระหนักในความส�ำคัญของการดูแลรักษาทรัพยากรน�้ำและการบริหารจัดการน�้ำ เพื่อลดผลกระ ทบจากการเกิดน�้ำท่วมขังในพื้นที่ของชุมชนและนิคมอุตสาหกรรม โดยเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมกันแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างง ภาครัฐ ภาคประชาชน และเอกชน ดังนั้นบริษัทจึงร่วมมือกับหน่วยราชการท้องถิ่น ชุมชนในพื้นที่ลุ่มน�้ำคลองหลวง และภาคประชา สังคม ร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการในเครือข่ายไตรภาคี เพื่อการบริหารจัดการลุ่มแม่น�้ำคลองหลวงร่วมกันและสนับสนุนการท�ำงาน อย่างประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดยุทธศาสตร์ของสภาบริหารจัดการลุม่ น�ำ้ คลองหลวงเพือ่ “การบริหารจัดการลุม่ น�ำ้ คลองหลวงอย่างยัง่ ยืน สู่สายน�้ำแห่งความสุข” สภาบริหารจัดการลุม่ น�ำ้ คลองหลวงได้ถกู จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างระบบการบริหารจัดการในมิตขิ องการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟู การ สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งหมดในลุ่มน�้ำหลักและลุ่มน�้ำย่อย และการบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติในลุม่ น�ำ้ ทัง้ หมดอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้รว่ มรับผิดชอบในการสร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีร่วมกัน และก�ำหนดกรอบการพัฒนาโครงการรวมกันกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ภูมิประเทศลุ่มแม่น�้ำคลองหลวง-บางปะกง ภาพประชุมกิจกรรมเวทีสาธารณะ  ภาพการประชุมการจัดท�ำแผนงาน

29


30

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

กิจกรรมของสภาลุ่มน�้ำคลองหลวง (ที่ผ่านมา)

กิจกรรมคลองสวยน�้ำใส ด�ำเนินการขุดลอกคลองบ้านป่ามาถึงคลองเซิด

ในการด�ำเนินงานเครือข่ายไตรภาคีเพือ่ การบริหารจัดการลุม่ แม่นำ�้ คลองหลวง ท�ำให้อมตะได้สร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ชุมชนโดยรอบ และสร้างการรับรู้และความเข้าใจในเจตนารมย์และการด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ด�ำเนินมาอย่างเคร่งครัด ตลอดจนเพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชนในการช่วยกันดูแลรักษาสายน�้ำ เป็นการสร้างทีมงานเฝ้าระวังปัญหาน�้ำต่างๆร่วมกัน เช่น น�้ำ เน่าเสียและน�ำ้ ท่วม ทีอ่ าจจะเกิดจากบุคคลอืน่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจแก่ชมุ ชนและองค์การปกครองส่วนท้องถิน่ ในเรือ่ งสาเหตุทที่ ำ� ให้ เกิดน�้ำเน่าเสียอื่นๆที่ไม่ได้เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และร่วมมือกันหาหนทางแก้ปัญหาและป้องกัน ซึ่งเวทีสภาลุ่มน�้ำคลองหลวงนี้ ได้กลายเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนผลักดันการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี

5.3 การสร้างงานในภูมิภาคตะวันออก บริษัทได้ร่วมกับสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง จัดงานจัดกิจกรรมนัดพบแรงงานที่นิคมอุตสาหกรรม อมตะ จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง เป็นประจ�ำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการจัดหางานแก่ประชาชนที่ประสงค์จะหางานท�ำ ผู้ต้องการเปลี่ยนงาน ผู้ประกันตนที่ว่างงาน ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาใหม่ ให้มีโอกาสสมัครงานกับผู้ประกอบการโดยตรง และเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้กับบริษัทผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ที่ต้องการรับพนักงาน สามารถรับสมัครและคัดเลือกพนักงาน ได้เองโดยตรง ครัง้ ละจ�ำนวนมากๆ เป็นการส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานในพืน้ ทีช่ ว่ ยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทได้จัดพื้นที่ส่วนหนึ่งให้ชุมชนท้องถิ่นได้น�ำสินค้ามาจ�ำหน่ายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายอีก ด้วย กิจกรรมนัดพบแรงงานที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมากทุกปี สรุปได้ดังนี้


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครและ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้

31

ปี

จ�ำนวนผู้สมัครงาน (คน) จ�ำนวนนายจ้าง/สถานประกอบการที่มาร่วมสมัครงาน (โรงงาน) จ�ำนวนต�ำแหน่งงานว่าง (ต�ำแหน่ง) ประมาณมูลค่าของการจ้างงานที่เกิดขึ้น (ล้านบาท)

ปี 2555

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

7,682 441 43,621 436

3,894 180 6,640 66

3,022 123 5,741 57

8,511 192 8,591 86

5.4 กีฬาสร้างเครือข่าย กีฬาสร้างสุขภาพแข็งแรง กีฬาเพื่อมิตรภาพอมตะ โครงการกีฬาเพื่อมิตรภาพอมตะ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างบริษัทในกลุ่มอมตะ และ ผู้ประกอบการภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ ได้ถูกจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีในช่วงเดือนมีนาคมถึงสิงหาคม ในปี 2559 นี้นับเป็นครั้งที่ 15 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความ สามัคคี ความมีน�้ำใจนักกีฬา เสริมสร้างพลานามัยที่ดี และการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติด แก่ผู้บริหาร และพนักงานทีท่ ำ� งานอยู่ในสถานประกอบการต่างๆ ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างอมตะและผูป้ ระกอบ การในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ โดยแบ่งประเภทการแข่งขันกีฬาออกเป็น 8 ประเภท และท�ำการแข่งขันเฉพาะวันอาทิตย์เท่านั้น ล�ำดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 ล�ำดับ

1 2 3 4 5

ประเภทกีฬาที่แข่งขัน ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

ฟุตบอลชาย 11 คน ฟุตบอลหญิง 9 คน วอลเลย์บอลชาย-หญิง บาสเกตบอลชาย เซปัคตะกร้อชาย (เฉพาะทีมเดี่ยว) แบดมินตัน (ชายคู่,หญิงคู่,คู่ผสม) เทเบิ้ลเทนนิส (ชายเดี่ยว,หญิงเดี่ยว,คู่ผสม) เปตอง (ชายคู่,หญิงคู่) ประเภทกีฬาที่แข่งขัน ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้

ฟุตบอลชาย 7 คน ฟุตบอลหญิง 7 คน วอลเลย์บอลชาย-หญิง เซปัคตะกร้อชาย (เฉพาะทีมเดี่ยว) เปตอง (ชายคู่,หญิงคู่)

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม)

127 9 56 18 47 103 74 53

130 12 45 18 52 67 58 43

132 9 64 15 62 119 73 55

140 9 56 15 54 109 71 39

146 9 53 15 47 112 82 47

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม) (จ�ำนวนทีม)

59 12 13 13

52 18 12 20

55 19 20 20

65 3 26 15 19

84 5 23 18 15


32

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

กีฬาอมตะ จูเนียร์ ลีค บริษัท ได้จัดโครงการกีฬาอมตะ จูเนียร์ ลีค ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างเล่นกีฬาโดยไม่ต้องพึ่งพาสิ่งเสพติด ส่งเสริมให้ เยาวชนรูร้ กั สามัคคี รูแ้ พ้ รูช้ นะ รูอ้ ภัย และสามารถด�ำรงชีวติ อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของเยาวชนและ ส่งเสริมสุขภาพพลานามัยแก่เยาวชนทุกเพศ ทุกวัย เพือ่ ให้เติบโตทัง้ ร่างกายและจิตไจได้อย่างแข็งแรงและเป็นก�ำลังส�ำคัญของประเทศ ชาติต่อไป


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

33

โครงการกีฬาอมตะ จูเนียร์ ลีค สนับสนุนการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ของเด็กและเยาวชนที่ศึกษาอยู่ในสถานศึกษาโดยรอบนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง โดยแบ่งเป็น 2 ระดับชั้น คือ ประถมศึกษาตอน ปลาย และ มัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งได้ก�ำหนดให้มีกีฬาที่ท�ำการแข่งขันทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ กีฬาฟุตบอลชาย วอลเลย์บอลหญิง เซปัคตะกร้อชาย และ เปตองชาย/หญิง ในการจัดการแข่งขันดังกล่าว บริษทั จัดเงินรางวัล ถ้วยรางวัล เหรียญรางวัล เงินบ�ำรุงทีม และ ชุดนักกีฬา ให้กับทุกโรงเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา จ�ำนวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน ประจ�ำปี 2559 ล�ำดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 ล�ำดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ประเภทกีฬาที่แข่งขันในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

กีฬาฟุตบอลชาย 7 คน ระดับ ประถมศึกษา กีฬาฟุตบอลชาย 7 คน ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดับ ประถมศึกษา กีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเซปัคตะกร้อชาย ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเปตอง หญิงคู่ ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเปตอง หญิงคู่ ระดับ มัธยมศึกษา รวมทั้งสิ้น ประเภทกีฬาที่แข่งขันในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้

กีฬาฟุตบอลชาย 7 คน ระดับ ประถมศึกษา กีฬาฟุตบอลชาย 7 คน ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดับ ประถมศึกษา กีฬาวอลเลย์บอลหญิง ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเซปัคตะกร้อชาย ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเซปัคตะกร้อชาย ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเซปัคตะกร้อหญิง ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเซปัคตะกร้อหญิง ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเปตอง หญิงคู่ ระดับ ประถมศึกษา กีฬาเปตอง ชายคู่ ระดับ มัธยมศึกษา กีฬาเปตอง หญิงคู่ ระดับ มัธยมศึกษา รวมทั้งสิ้น

จ�ำนวน (ทีม)

28 11 14 10 8 23 21 8 7 130 จ�ำนวน (ทีม)

15 10 11 7 9 6 7 7 14 7 12 8 113


34

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

อมตะมินิมาราธอน ในปี 2559 นี้ บริษัทได้ด�ำเนินการโครงการอมตะมินิมาราธอน มาเป็นครั้งที่ 8 ซึ่งนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ได้ร่วม มือกับผูป้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรม และชุมชนท้องถิน่ ในพืน้ ที่ใกล้เคียง จัดงานนีข้ นึ้ โดยมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะส่งเสริมการออกก�ำลัง กายโดยการเดินและวิ่งให้แก่สมาชิกในนิคมฯ และชุมชนบริเวณใกล้เคียง เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ด้วยการออกก�ำลังกาย และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ให้ห่างไกลจากยาเสพติด นอกจากนี้ยังสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างอมตะ, ผู้ประกอบการในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร และนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ และชุมชนพื้นที่ข้างเคียงกับนิคมอุตสาหกรรมทั้งสองแห่ง และรับทราบถึง นโยบายของอมตะว่า บริษัท ส่งเสริมและสนับสนุนการออกก�ำลังกายให้เป็นไปอย่างกว้างขวาง สม�่ำเสมอ และต่อเนื่อง กิจกรรมอมตะมินิมาราธอนนี้ มีพนักงานในนิคมอุตสาหกรรม ชุมชนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมเป็นประจ�ำทุกปี ท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเห็นคุณค่าของกิจกรรมการออกก�ำลังกายที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ทั้งนี้ในการจัดกิจกรรมอมตะมินิ มาราธอนได้แบ่งการแข่งขันออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ วิ่งมินิมาราธอน 10.5 กม. และ เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ 4.2 กม. รางวัลและของที่ระลึก 1. ผู้ชนะการแข่งขัน 10.5 กม. ล�ำดับที่ 1-5 ทุกกลุ่มอายุ จะได้รับถ้วยรางวัล 2. ชมรมที่ส่งผู้เข้าร่วมการแข่งขันมาก อันดับ 1-5 จะได้รับถ้วยรางวัล 3. โรงงานในนิคมฯ ที่ส่งผู้เข้าร่วมการแข่งขันมาก อันดับ 1-5 จะได้รับถ้วยรางวัล 4. ผู้เข้าร่วมการแข่งขันทุกท่านจะได้รับเสื้อและเหรียญเป็นที่ระลึก สรุปข้อมูลจ�ำนวนคนเข้าร่วมกิจกรรม เดิน-วิ่งมินิมารอธอน จ�ำนวนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม

2,500

2,195

2,000 1,500

1,816

1,985

1,350

1,000 500 0

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

35

5.5 การบริจาคโลหิตส่งต่อชีวิต ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะทั้งสองนิคมนั้น มีพนักงานท�ำงานอยู่ในสถานประกอบการกว่า 2 แสนคน ดังนั้น บริษัท เล็งเห็นว่า สามารถ เป็นแหล่งรับบริจาคโลหิตเพื่อสนับสนุนสภากาชาดไทยได้เป็นอย่างดี จึงได้ร่วมกับ ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ส�ำนักงาน นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ และสภากาชาดไทย จ.ชลบุรี จัดโครงการการรับบริจาคโลหิต โดยเชิญชวนพนักงานบริษัทในเครืออมตะ และพนักงานของสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะมาร่วมกันบริจาคโลหิต เพือ่ น�ำมาให้ความช่วยเหลือแก่ผปู้ ว่ ยทีต่ อ้ งการ โลหิตในการรักษาพยาบาลต่อไป กิจกรรมบริจาคโลหิตทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรนี นั้ ได้จดั ขึน้ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส เริม่ ตัง้ แต่ปี 2557 จนปัจจุบนั นับเป็นครัง้ ที่ 9 แล้ว โดยมีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมครัง้ ละประมาณ 300-400 คน นอกจากนี้ บริษทั ยังได้จดั สรร พื้นที่ส่วนหนึ่งในการจัดตั้งศูนย์บริจาคโลหิตอมตะนครให้กับทางภาคบริการโลหิตที่ 3 สภากาชาดไทย จ.ชลบุรี เพื่อใช้เป็นสถานที่ให้ บริการส�ำหรับผู้ที่สนใจทั่วไปในการบริจาคโลหิต โดยเปิดให้บริการ ในวันจันทร์ วันอังคาร และ วันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 09.00-14.00 น. ยอดรวมปริมาณโลหิตที่บริจาคที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครในปี 2559 จ�ำนวนทั้งสิ้น 2,243,300 ซีซี ในส่วนที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง นั้น ได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมบริจาคโลหิต ในปี 2559 จ�ำนวน 3 ครั้ง โดยสถาน ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ สนับสนุนสถานที่ในการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1. วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ณ บริษัท ไดกิ้น คอมเพรสเซอร์ อินดัสทรีส์ จ�ำกัด ได้โลหิตจ�ำนวน 55,400 ซีซี 2. วันที่ 2 มิถุนายน 2559 ณ บริษัท โยโกฮาม่าไทร์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด ได้โลหิตจ�ำนวน 70,950 ซีซี 3. วันที่ 6 ตุลาคม 2559 ณ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนลรีเฟรชเม้นท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้โลหิตจ�ำนวน 46,550 ซีซี

ธ.ค. 293,850

พ.ย. 223,150

ต.ค. 151,750

ก.ย. 180,250

ส.ค. 376,300

ก.ค. 115,350

มิ.ย. 201,050

พ.ค. 142,350

เม.ย. 109,700

มี.ค. 171,050

ก.พ. 150,700

400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

ม.ค. 127,800

ปริมาณโลหิตที่ได้ (ซีซี)

ยอดรวมปริมาณโลหิตที่บริจาคที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ในปี 2559 จ�ำนวนทั้งสิ้น 172,900 ซีซี ปริมาณโลหิตในโครงการบริจาคโลหิต นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ประจ�ำปี 2559


36

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

5.6 เครือข่ายอาสาสมัครผู้ประกอบกิจการเพื่อการดูแลชุมชน ชมรม CSR อมตะนคร เนื่องด้วยผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีจ�ำนวนกว่า 700 โรงงาน ซึ่งหลายโรงงานมีความประสงค์ใน การท�ำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและดูแลชุมชนท้องถิ่นโดยรอบคล้ายคลึงกัน ดังนั้น บริษัท จึงได้จัดตั้งชมรม CSR อมตะนคร ขึ้น เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ที่มีเจตนารมย์ในการช่วยเหลือชุมชนและสังคมโดยรอบอมตะ มาร่วมกันท�ำกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ชุมชนและสังคมในพืน้ ทีร่ ศั มี 5 กิโลเมตรรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ซึง่ การรวมตัวกันท�ำกิจกรรม ในนามนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และผูป้ ระกอบการนัน้ จะสร้างพลังความร่วมมือและช่วยผลักดันให้เกิดผลส�ำเร็จได้มากขึน้ กว่าการ ด�ำเนินการแต่เพียงผู้เดียว ชุมชนและโรงเรียนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครได้รับประโยชน์จากการท�ำกิจกรรมในนามชมรม CSR อมตะนครมากขึ้น และ ยังสามารถกระจายความช่วยเหลือไปในพื้นที่ที่มีความต้องการอย่างทั่วถึงกว่าที่อมตะเพียงบริษัทเดียวท�ำจากในอดีตที่ผ่านมา ทั้งยัง ท�ำให้บริษัทผู้ประกอบการได้รู้จักกัน มีเครือข่ายความสัมพันธ์ ได้รู้จักการเป็นผู้ให้ และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สร้างความ สัมพันธ์ที่ดีในการท�ำกิจกรรมเพื่อสังคมร่วมกัน พื้นที่ที่อยู่ในความดูแลของชมรม CSR อมตะนคร มีทั้งหมด 5 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอเมืองชลบุรี อ�ำเภอพานทอง อ�ำเภอบางปะกง อ�ำเภอพนัสนิคม อ�ำเภอคลองบ้านโพธิ์ มีทงั้ หมด 27 ชุมชนท้องถิน่ มีบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมชมรม CSR ทัง้ หมด 80 บริษทั ตัวอย่างกิจกรรม ของชมรม CSR อมตะนครในรอบปี 2559 ได้แก่ • โครงการ 60 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนโดยรอบนิคมฯ ส่งมอบอุปกรณ์การเรียน และสิง่ ของต่างๆ ที่ได้รบั การสนับสนุนจากผูป้ ระกอบการภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และจัดกิจกรรม สันทนาการส�ำหรับนักเรียน พร้อมแจกของรางวัลมากมาย • กิจกรรมพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ประจ�ำปี 2559 ณ โรงเรียนวัดหนองแช่แว่น และโรงเรียนวัดพานทอง พัฒนาห้องสมุดโรงเรียนให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ ี เพือ่ ให้นกั เรียนได้ใช้หอ้ งสมุดเป็นแหล่งศึกษาหาความรูน้ อกเหนือการเรียนในห้องเรียน โดยได้คัดเลือกโรงเรียนที่ตั้งอยู่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดพานทอง ต�ำบลพานทอง และ โรงเรียนวัดหนองแช่แว่น ต�ำบลมาบโป่ง ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคมที่ผ่านมา ได้มอบห้องสมุดให้กับทั้งสองโรงเรียน ซึ่งได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ทางการศึกษาจากผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครเป็นจ�ำนวนมาก


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

37

• กิจกรรม “Thai Kid ปั่นปันรัก ฉลองครบรอบ 84 พรรษามหาราชินี” สนับสนุนกิจกรรมปัน่ จักรยาน “Bike for Breath ปัน่ ปันรัก เติมลมหายใจเพือ่ น้อง” ซึง่ จัดขึน้ โดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เพื่อหารายได้สมทบทุนซื้ออุปกรณ์ช่วยพ่นยาโรคหืด เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยทางด้านทางเดินหายใจ

ชมรมอมตะจิตอาสา (Amata CSR Volunteer Club) ของนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง ได้ดำ� เนินการชมรม CSR เช่นเดียวกับทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยใช้ชอื่ ว่าชมรมอมตะ จิตอาสา มีผปู้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ�ำนวน 37 โรงงาน เป็นสมาชิกชมรม และร่วมกันท�ำกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ชุมชนและ สังคมในพืน้ ทีร่ ศั มี 10 กิโลเมตรรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี ตัวอย่างกิจกรรมของชมรมอมตะจิตอาสา อมตะซิตี้ ในปี 2559 ได้แก่ • กิจกรรมพัฒนาโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 9 ต.พนานิคม อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง มีบริษัทเข้าร่วมกว่า 10 บริษัท และมีผู้มีจิตอาสาเข้าร่วมประมาณ 100 คน - พัฒนาห้องสมุด ท�ำความสะอาด จัดซื้อหนังสือใหม่ และท�ำการรับบริจาคหนังสือจากผู้สนใจทั่วไป - พัฒนาสนามเด็กเล่น ซ่อมแซม และ ท�ำเครื่องเล่นใหม่ โดยใช้วัสดุที่เหลือใช้จากภาคอุตสาหกรรม (บ.โยโกฮาม่า ไทร์ แมนู แฟคเจอริ่งฯ เป็นผู้ด�ำเนินการ) - ทาสีบริเวณพื้นถนนและหน้าห้องเรียน ตามการเรียนการสอนแบบ BBL (brain based learning) - เลี้ยงอาหารกลางวันเด็กนักเรียน 200 คน


38

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

• โครงการ ปันความรู้ สู่น้อง โรงเรียนบ้านหนองระก�ำ ต.พนานิคม อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง - เป็นอาสาสมัครสอนเสริมนอกบทเรียน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมส่งเสริมหลักสูตรทักษะการ เรียนรู้และนวัตกรรม 3R 4C รวมถึงทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ - จัดการเรียนการสอน วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาคอมพิวเตอร์ ให้แก่เด็กนักเรียน ป.3-ป.6 และจัดท�ำสื่อการสอนมอบ ให้กับโรงเรียนไว้ใช้ต่อไป


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

39

6

การด�ำเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม

6.1 การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-industrial estate) สืบเนื่องจาก บริษัทเป็นผู้พัฒนานิคมที่ด�ำเนินการร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม แนวทางในการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมจึงได้ด�ำเนินการตามกรอบการพัฒนาของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย คือ แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ 5 มิติ 22 ด้าน ได้แก่ มิติกายภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติการ บริหารจัดการ ในแต่ละมิติจะมีด้านการพัฒนาต่างๆ อีกจ�ำนวน 22 ด้าน

ในการด�ำเนินการด้านการพัฒนาพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนครและพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ไปสูก่ ารเป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศนัน้ บริษทั ได้มกี ารด�ำเนินการกิจกรรมและโครงการต่างๆจ�ำนวนมาก เช่น การจัดตัง้ คณะกรรมการการจัดการระบบจราจร และ คณะกรรมการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม การสร้างงานสร้างอาชีพให้กับชุมชน การจัดการระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างครบ วงจร การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและโรงงาน รวมไปถึงการพัฒนาระบบการใช้งานภายในองค์กรที่สามารถใช้ระบบการบริหาร จัดการข้อมูลที่ทันสมัยต่างๆ ผลจากการมุง่ มัน่ พัฒนางานในด้านต่างๆนัน้ ท�ำให้ในปี 2559 นี้ บริษทั อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ได้รบั รางวัลเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ ระดับ Eco-champion ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครและนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ และบริษัทยังมีความมุ่งมั่นที่จะ พัฒนาพื้นที่ตามหลักการดังกล่าว เพื่อมุ่งสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สมบูรณ์แบบอย่างยั่งยืนต่อไป

6.2 การออกแบบเชิงนิเวศในระบบสาธารณูปโภค บริษทั ได้นำ� หลักเกณฑ์ในข้อบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยว่าด้วยมาตรฐานระบบสาธารณูปโภคสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกและบริการ ส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พ.ศ. 2557 มาเป็นแนวทางประกอบในการออกแบบเชิงนิเวศในระบบ สาธารณูปโภค ได้แก่ ระบบถนน ระบบระบายน�้ำฝน ระบบป้องกันน�้ำท่วม ระบบประปา ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบไฟฟ้า ระบบดับเพลิงและระบบป้องกันอุบัติเหตุ ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม มูลฝอย และ สิ่งปฏิกูล ระบบติดตามตรวจ สอบมลพิษและคุณภาพสิ่งแวดล้อม และระบบรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ซึ่งในการออกแบบนั้นเป็นไปตามการออกแบบเชิงนิเวศที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Environmental-friendly design)


40

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ระบบถนน            ระบบระบายน�้ำฝน

ระบบป้องกันน�้ำท่วม

ระบบประปา และ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ระบบสื่อสารโทรคมนาคม

ระบบไฟฟ้า

ระบบติดตามตรวจสอบมลพิษและคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ระบบรักษาความปลอดภัย

ระบบดับเพลิงและระบบป้องกันอุบัติเหตุ

ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม มูลฝอย และ สิ่งปฏิกูล

41


42

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

6.3 ศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EMCC) ศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Environmental Monitoring and Control Center) หรือ EMCC เป็นโครงการหนึ่งของ การแก้ไขปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมในเขตพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะ ซึง่ ได้รบั แนวคิดและนโยบายการพัฒนามาจากการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการติดตามและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของนิคมอุตสาหกรรมต่อชุมชนข้างเคียง และส่งเสริมแนวทางการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมของนิคมอุตสาหกรรมด้วยหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม บริษทั ได้จดั ให้มศี นู ย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิง่ แวดล้อมของนิคมอุตสาหกรรมอมตะ มาตัง้ แต่ตน้ ปี 2556 และด�ำเนินการต่อเนือ่ ง จนถึงปัจจุบัน โดยจัดตั้งสถานีวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ�ำนวน 4 สถานี และที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ�ำนวน 2 สถานี ต่อเชื่อมด้วยระบบออนไลน์เรียลไทม์แสดงผลการตรวจวัดที่จอแสดงผลที่ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โครงสร้างของศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 1. ระบบฐานข้อมูลส่วนกลางของนิคมอุตสาหกรรม เพือ่ เป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลด้านสิง่ แวดล้อมในระดับนิคมอุตสาหกรรม และ โรงงาน เช่น ปริมาณการใช้น�้ำ ปริมาณน�้ำเสีย คุณภาพน�้ำเสีย ปริมาณกากของเสีย และคุณภาพอากาศ เป็นต้น 2. ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพน�ำ้ ทิง้ หลังผ่านการบ�ำบัดจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียส่วนกลางของนิคมอุตสาหกรรม โดยเชือ่ ม โยงข้อมูลด้านคุณภาพน�้ำทิง้ หลังผ่านการบ�ำบัด จากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางของนิคมอุตสาหกรรม มายังศูนย์ EMCC ในรูป แบบของ BOD Online หากพบว่าคุณภาพน�ำ้ ทิ้งเกินมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 3 พ.ศ.2539 เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากแหล่งก�ำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคม อุตสาหกรรม ทางศูนย์ EMCC จะแจ้งเตือนไปทีศ่ นู ย์ควบคุมน�ำ้ เสียส่วนกลาง เพือ่ วิเคราะห์ตน้ ตอของปัญหาและท�ำการแก้ไขโดย ทันที 3. ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป โดยเชื่อมโยงข้อมูลด้านคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบต่อเนื่อง ของพื้นที่ชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ�ำนวน 4 สถานี คือ วัดอู่ตะเภา วัดมาบสามเกลียว โรงเรียนพานทองสภาชนูปถัมภ์ และวัดอ้อมแก้ว พื้นที่โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ�ำนวน 2 สถานี คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลมาบยางพร และวัดพนานิคม มลพิษอากาศในบรรยากาศทั่วไปที่ท�ำการตรวจสอบ คือ ฝุ่นละอองรวม (TSP) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (NO2) และความเร็วลม/ทิศทางลม การตรวจวัดมลพิษอากาศในบรรยากาศนั้นเมื่อน�ำข้อมูลมาพิจารณาประกอบกับทิศทางลม และผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศทีร่ ะบายออกจากปล่อง จะท�ำให้สามารถวิเคราะห์แนวโน้มของมลพิษอากาศได้วา่ มาจากแหล่ง ก�ำเนิดใด 4. ระบบการเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพอากาศจากปล่องระบายของโรงงาน เป็น การติดตามและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดย การเชือ่ มโยงข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปล่องของโรงงาน (Online) มายังศูนย์ EMCC หากพบว่ามีการปล่อยค่ามลพิษ ทางอากาศเกินมาตรฐาน ทางศูนย์ EMCC จะแจ้งเตือนให้โรงงานที่ปล่อยมลพิษนั้น ได้ท�ำการตรวจสอบและรายงานสาเหตุเพื่อ แก้ไขปรับปรุงโดยทันที ซึ่งนอกจากโรงงานแล้ว โรงไฟฟ้าที่อยู่ภายในนิคมอุตสาหกรรมอมตะทั้งหมดต้องเชื่อมต่อข้อมูลนี้ภาย หลังจากการก่อสร้างแล้วเสร็จ การตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องของศูนย์ EMCC จะสร้างความมั่นใจแก่ทุกภาคส่วนได้ว่า จะสามารถตอบสนองการ แก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะได้อย่างทันท่วงที ศูนย์ EMCC นี้จึงถือได้ว่าเป็นหน่วยงานที่มีบทบาท ส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม และเป็นกลไกในการสร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ ของชุมชนโดยรอบพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะ ให้ดียิ่งขึ้นในอนาคต


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

43

6.4 การจัดการขยะแบบบูรณาการตามหลักการ Zero Landfill บริษทั ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมและมูลฝอยทีอ่ อกมาจากโรงงานอุตสาหกรรมทีป่ ระกอบกิจการอยู่ในพืน้ ที่ นิคมอุตสาหกรรมทีบ่ ริษทั ได้พฒ ั นาขึน้ เนือ่ งจากจ�ำนวนผูป้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรมและปริมาณขยะเพิม่ จ�ำนวนขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง หากไม่มกี ารบริหารจัดการทีด่ ี จะส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมได้ โดยเฉพาะการก�ำจัดขยะแบบฝังกลบ จะเกิดผลกระทบในระยะยาวต่อ ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนประชาชนที่อยู่อาศัยในบริเวณดังกล่าว ดังนัน้ บริษทั จึงริเริม่ ให้บริการการจัดการขยะแบบบูรณาการตามหลักการ Zero Landfill โดยได้จดั ตัง้ โรงงานคัดแยกขยะขึน้ ภายในพืน้ ที่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เพื่อรองรับการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมประเภทไม่อันตราย และขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากโรงงาน อุตสาหกรรมในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรม ซึง่ ในการให้บริการการบริหารจัดการดูแลขยะของบริษทั นี้ มุง่ เน้นการจัดการขยะแบบครบวงจร เพื่อลดการน�ำขยะไปก�ำจัดโดยวิธีการฝังกลบ (Zero Landfill) และส่งเสริมให้แต่ละโรงงานมีการคัดแยกขยะรีไซเคิล และการน�ำวัตถุดิบ หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ในโรงงาน ท�ำให้เกิดกระบวนการจัดการทรัพยากรที่ดี และช่วยลดต้นทุนในการประกอบกิจการของโรงงาน อุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับรูปแบบการจัดการกากอุตสาหกรรมที่ไม่อันตรายและมูลฝอยของบริษัทนั้น มีขั้นตอนในการด�ำเนินการโดยเริ่มต้นจากการคัด แยกขยะทีร่ ไี ซเคิลได้ออกจากขยะทีเ่ ข้ามาในโรงคัดแยกก่อน หลังจากนัน้ ขยะทีเ่ หลือจากการคัดแยกจะถูกส่งเข้ากระบวนการผลิตแปรรูป ให้เป็นเชื้อเพลิงทดแทนส�ำหรับใช้ในกระบวนการเผาที่โรงงานปูนซีเมนต์ ที่เรียกว่า Refuse-derived fuel (RDF) สรุปผลจากการด�ำเนินการของบริษัท ตามแนวทาง Zero Waste to Landfill ในปีที่ผ่านมา สามารถลดจ�ำนวนขยะของแข็งที่น�ำไปฝัง กลบลงเหลือเพียงไม่เกินร้อยละ 2 ของปริมาณขยะทั้งหมดในปัจจุบัน และลดต้นทุนในการจัดการขยะของโรงงานคัดแยกอมตะลงได้ ถึงร้อยละ 36 ของค่าบริหารจัดการขยะ


44

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ปี

ขยะทั่วไป (ตัน/ปี)

ขยะรี ไซเคิล (ตัน/ปี)

2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

19,111.74 18,137.80 18,666.88 21,812.66 20,479.22 20,511.95 20,450.58 20,314.24

1,485.00 1,584.24 2,204.10 2,468.97 2,497.40 2,846.74 3,036.93 2,923.17

ขยะที่ส่งไปเผาในเตา เผาปูนซีเมนต์ งกลบ เพื่อเป็นเชื้อเพลิง ขยะที่ส(ตั่งนไปฝั /ปี ) ทดแทน (ตัน/ปี)

1,644.62 2,080.86 9,527.54 12,071.07 14,737.10 16,943.68 17,088.65 17,157.54

15982.12 14472.7 6929.24 7272.61 3244.72 721.53 325.00 233.53

ขยะที่ส่งไปฝังกลบ คิดเป็นร้อยละ

83.62 79.79 37.12 33.34 15.84 3.51 1.59 1.15


Year

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

รอยละ

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

45

ร อยละขยะที่ส งไปกำจัดในหลุมฝ งกลบ (%) 83.62

79.79

37.12

33.34 15.84 3.51

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

1.59 2015

2016

1.15 2017

ป

6.5 รางวัลแห่งการจัดการกากอุตสาหกรรมและมูลฝอยส�ำหรับโรงงาน “AMATA Best Waste Management Award 2016” บริษัทได้จัดโครงการประกวดประสิทธิภาพการจัดการกากอุตสาหกรรมประเภทไม่อันตราย ขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลของโรงงานใน นิคมอุตสาหกรรม หรือ AMATA Best Waste Management Award ขึน้ เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรม อมตะนครและนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ให้มกี ารด�ำเนินการการจัดการของเสียตามแนวทางทีก่ ฎหมายก�ำหนด และเพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดการกากอุตสาหกรรมประเภทไม่อันตราย ขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลในโรงงานให้มากขึ้น โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการน�ำหลัก การการจัดการ 3Rs (Reduce-Reuse-Recycle) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการกากอุตสาหกรรมในโรงงาน ซึ่งจะสามารถช่วยให้เกิดการ ลดต้นทุนของผลิตภัณฑ์ ได้อีกทางหนึ่ง บริษัทได้ด�ำเนินโครงการนี้มาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 (2557-2559) แล้ว โดยในปี 2559 มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมทั้งสองแห่งเข้า ร่วมโครงการทั้งสิ้น 69 โรงงาน แบ่งเป็น ระดับแพลทินัม จ�ำนวน 16 โรงงาน ระดับทอง จ�ำนวน 35 โรงงาน และระดับเงิน 18 โรงงาน นอกจากการสร้างเครือข่ายการจัดการกากอุตสาหกรรมประเภทไม่อนั ตรายแล้ว โครงการนี้ได้ชว่ ยเพิม่ ความรูค้ วามเข้าใจในรูปแบบการ จัดการที่ดีระหว่างผู้ประกอบการผ่านการเสวนาแลกเปลี่ยนความรู้ (Show and Share Workshop) ในวันมอบประกาศนียบัตรและโล่ห์ รางวัลให้กับบริษัทที่เข้าร่วมโครงการอีกด้วย ปี

นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร รางวัลระดับเงิน (โรงงาน) รางวัลระดับทอง (โรงงาน) รางวัลระดับแพลทินัม (โรงงาน) รวมทั้งสิ้น (โรงงาน) นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ รางวัลระดับเงิน (โรงงาน) รางวัลระดับทอง (โรงงาน) รางวัลระดับแพลทินัม (โรงงาน) รวมทั้งสิ้น (โรงงาน) หมายเหตุ:นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้เริ่มเข้าร่วมกิจกรรมปี 2558

2557

2558

2559

3 30 20 53

6 26 28 60

9 30 12 51

-

2 3 5

9 5 4 18


46

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

6.6 การสร้างสังคมแห่งความปลอดภัยในนิคมอุตสาหกรรมผ่านศูนย์ตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response Center) และโรงเรียนสอนการดับเพลิง ส�ำหรับอุตสาหกรรม บริษทั เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการสร้างความมัน่ ใจและดูแลความปลอดภัยในการท�ำงานของสถานประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร จึงได้จัดตั้งศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response Center) จ�ำนวน 2 แห่ง ด�ำเนินการโดยบุคลากรที่มีความ เชีย่ วชาญในการดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ เพือ่ ให้บริการและอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรมตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านเบอร์โทรศัพท์สายตรงของศูนย์ บริษัท ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนการดับเพลิงส�ำหรับอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น ฝึกซ้อมดับเพลิง และฝึก ซ้อมอพยพหนีไฟ เพือ่ ให้บริการฝึกอบรมทัง้ ด้านทฤษฎีและปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมทีด่ ีในการท�ำงาน ตลอดจนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ ให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยมุ่งเน้นให้ สถานประกอบการในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนครเป็นพื้นที่ที่มีความปลอดภัย มีอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด และพนักงานทีท่ ำ� งานในสถานประกอบการสามารถปฏิบตั ติ นได้ถกู ต้องในกรณีทเี่ กิดอัคคีภยั ขึน้ ในสถานประกอบการ นอกจากนี้ บริษัท ยังได้ด�ำเนินการจัดซ้อมแผนตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินเพลิงไหม้และสารเคมีรั่วไหลภายในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม อีกด้วย โดยในการจัดกิจกรรมดังกล่าว มีผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะ และหน่วยงานท้องถิ่นเข้าร่วมจ�ำนวนมาก


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

47

6.7 ระบบการจัดการทรัพยากรด้วยเทคโนโลยี (Green IT) บริษัทสนับสนุนให้มีการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ ช่วยบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในกระบวนการด�ำเนินงาน ตลอดจน เสริมสร้างทัศนคติ ค่านิยม และความตระหนักรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมให้แก่พนักงาน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพต่อไป


48

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

เทคโนโลยี ไอทีเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green IT) เพื่อลดปริมาณจ�ำนวนเครื่อง server ลดการใช้พลังงานในการจัดการ ลดพื้นที่ในการจัดวาง รวมถึงลดต้นทุนในการบ�ำรุงรักษาเครื่อง server จ�ำนวนมาก บริษทั จึงได้นำ� เทคโนโลยีเครือ่ งคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยเสมือน หรือ virtual server เข้ามาใช้งาน โดยที่ virtual Server นั้น ได้ติดตั้งอยู่บนคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ซึ่งสามารถแชร์ทรัพยากร ให้แก่ virtual Server ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัท ยังได้น�ำบริการทางไอทีบางอย่างที่เหมาะสม ย้ายไปให้บริการผ่าน cloud เพื่อลดต้นทุนด้านการจัดการ และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเข้าถึงให้สะดวกขึน้ ส�ำหรับผูใ้ ช้งานทีอ่ ยูภ่ ายนอก เพือ่ ให้สอดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินงานของบริษทั โดยบริษทั ให้ความส�ำคัญ กับความปลอดภัยของข้อมูลและดูแลสอดส่องอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้บริษัท ยังมีแผนด�ำเนินการลดปริมาณ server ส�ำหรับระบบ ERP และ Accounting ลง โดยจะจัดให้มีการรวมศูนย์ระบบ ย่อยๆ ของบริษัทในเครือต่างๆ ให้มาใช้เป็นระบบเดียวกันทั้งหมดในอนาคต การลดโลกร้อนโดยสนับสนุนการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Reduce carbon footprint) บริษัท ตระหนักถึงความส�ำคัญของการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลกระทบให้เกิดภาวะโลกร้อน บริษัท จึงได้สนับสนุนให้ลดการ เดินทางระหว่างส�ำนักงานส�ำหรับงานประชุมต่างๆภายในบริษัท โดยส่งเสริมให้ใช้การประชุมด้วยเทคโนโลยีแบบ video conference มากขึ้น ซึ่งเป็นการประชุมทางไกลที่สามารถส่งวิดีโอ ภาพหน้าจอ และเสียง ผ่านเครือข่ายอินทราเน็ต ไม่ว่าจะเป็นการประชุมภายใน ระหว่างส�ำนักงาน หรือการประชุมภายในบริษัทระหว่างประเทศ หรือแม้กระทั่งการประชุมกับลูกค้า บริษัท ยังได้เตรียมเครื่องมืออื่นๆ เพื่อสนับสนุนการประชุมแบบออนไลน์ (online Meeting) ไว้ด้วยเช่นกัน การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Improve energy efficiency) บริษัท ให้ความส�ำคัญของการประหยัดพลังงาน จึงได้มีนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนการประหยัดพลังงานภายในส�ำนักงาน โดย การน�ำมาตรการประหยัดพลังงานเบื้องต้นมาสื่อสารให้กับพนักงาน และด�ำเนินการปฏิบัติตามมาตรการต่อไป • การใช้เครื่องปรับอากาศ ให้ปิดและเปิดเป็นเวลา และปิดทันทีเมื่อไม่มีผู้ใช้งานห้องอีกต่อไป เน้นการตั้งอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส ท�ำความสะอาดเครื่องปรับอากาศเป็นประจ�ำในระหว่างปีเนื่องจากตัวกรองที่อุดตันกับสิ่งสกปรกและฝุ่น สามารถลดประสิทธิภาพได้ถงึ 15% ท�ำให้ตน้ ทุนการด�ำเนินงานลดลงและลดอายุการใช้งานของเครือ่ งปรับอากาศ หลีกเลีย่ ง การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เป็นแหล่งก�ำเนิดความร้อน อาทิเช่น ไมโครเวฟ กาต้มน�้ำร้อน เพราะจะท�ำให้เครื่องปรับอากาศ ท�ำงานหนักเกินไป • การใช้ไฟฟ้าแสงสว่าง ให้ปิดไฟในช่วงพักกลางวัน และปิดไฟทันทีเมื่อไม่มีผู้ใช้แสงสว่างในบริเวณดังกล่าว และจัดระบบ สวิตช์ควบคุมอุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่างให้เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น ปรับเป็นสวิตช์เปิดปิดแบบ แยกแถว แยกดวง เป็นต้น และ เปลี่ยนหลอดไฟเป็นชนิด LED เพื่อการประหยัดพลังงาน เช่นเดียวกับไฟส่องสว่างนอกอาคารหรือบนถนนเปลี่ยนเป็น หลอดไฟประเภท LED เพื่อการประหยัดพลังงาน • การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บริษัทสนับสนุนให้ผู้ใช้ตั้งค่าโปรแกรมให้เครื่องปิดชั่วคราว (Standby mode) เมื่อไม่ได้ใช้งาน ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด (เช่น เครื่องจะถูกปิดชั่วคราว เมื่อไม่ได้ถูกใช้งานเป็นระยะเวลา 2 ชั่วโมง) รวมทั้งจอภาพ ซึ่งจะ แนะน�ำให้ตงั้ ค่าให้ปดิ อัตโนมัติ (Screen off mode) เมือ่ ไม่ได้ใช้งานเกินกว่า 15 นาที และถอดปลัก๊ ทุกครัง้ ทีจ่ บสิน้ การท�ำงาน ในแต่ละวัน • การใช้อปุ กรณ์ทปี่ ระหยัดพลังงานในส�ำนักงาน เช่น การเปลีย่ นจากการใช้หลอดไฟธรรมดามาเป็นหลอดไฟฟ้าประหยัดไฟ, การเปลี่ยนมาใช้จอภาพหรือมอนิเตอร์ในแบบ Liquid-Crystal-Display (LCD) แทนการใช้มอนิเตอร์ Cathode-Ray-Tube (CRT) เป็นต้น


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

49

การลดการใช้กระดาษ (Paperless) บริษทั สนับสนุนการลดการใช้งานกระดาษในบริษทั โดยจัดให้มกี ารเก็บเอกสารต่างๆ ไว้ทรี่ ะบบศูนย์กลางในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ลด การใช้แบบสอบถามจากกระดาษโดยเปลี่ยนมาใช้แบบสอบถามแบบออนไลน์ (online survey หรือ online questionnaire) แทน และ ยังได้สนับสนุนให้มีการตรวจแก้ไขเอกสารบนจอภาพแทนการตรวจแก้ไขบนเอกสารที่พิมพ์จากเครื่องพิมพ์ นอกจากนี้ยังได้ติดตั้ง เครือ่ งพิมพ์ทมี่ รี ะบบพิมพ์สองหน้า เพือ่ ให้สามารถพิมพ์หรือถ่ายเอกสารแบบสองหน้าได้ เพือ่ เป็นการลดปริมาณการใช้กระดาษในระยะ ยาวต่อไป

6.8 การจัดการพื้นที่สีเขียว-ป่าในนิคมอุตสาหกรรม บริษัท มีความตั้งใจในการเป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์และรักษาพื้นที่ป่าโดยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมของ อมตะทั้ง 2 แห่ง โดยตั้งเป้าหมายให้ในทั้งสองนิคมอุตสาหกรรมของอมตะมีพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ และบริษัท ได้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เสนอในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร (ส่วนขยาย) ระยะที่ 9 อีกด้วย ในการด�ำเนินกิจกรรมเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวจะด�ำเนินการผ่านโครงการปลูกต้นไม้ในวันส�ำคัญของไทย และงานประเพณีของท้องถิน่ ตัวอย่าง กิจกรรมเช่น การปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กิจกรรมปลูกป่าในวันรักต้นไม้แห่งชาติ และกิจกรรมปลูกต้นไม้ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก เป็นต้น และในปี 2559 ที่ผ่านมา บริษัท ได้ด�ำเนินการปลูกต้นในพื้นที่สีเขียวทั้งในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ทั้งสองแห่งที่พื้นที่ภายนอกเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้นกว่า 20,000 ต้น โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งจากพนักงานของบริษัท พนักงานจากโรงงาน ในนิคมอุตสาหกรรม และเจ้าหน้าที่ภาครัฐในพื้นที่รอบล้อมนิคมอุตสาหกรรม

รูปภาพกิจกรรมปลูกต้นไม้เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก วันที่ 23 มิถุนายน 2559


50

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

รูปภาพกิจกรรม ร้อยดวงใจ นิคมอุตสาหกรรมไทย ปลูกต้นไม้ตามรอยพ่อ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

7

สรุปผลการ ด�ำเนินงาน 2559

7.1 ด้านเศรษฐกิจ สรุปผลการด�ำเนินงานของบริษัทด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจ

2557

การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ (งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559) ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นสามัญ ราคาพาร์ต่อหุ้น (บาท) 1.00 มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น (บาท) 8.05 ก�ำไรต่อหุ้น (บาท) 2.08 ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ (ล้านบาท) รายได้จากการขาย 7,394.80 รายได้รวม 7,630.09 ก�ำไรสุทธิ 2,223.97 ข้อมูลเกี่ยวกับงบดุล (ล้านบาท) สินทรัพย์หมุนเวียน 10,465.23 สินทรัพย์รวม 22,136.79 หนี้สินหมุนเวียน 4,211.41 หนี้สินรวม 9,921.72 ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว 1,067.00 ส่วนของผู้ถือหุ้น 12,215.07 อัตราส่วนทางการเงิน ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (%) 24.13 ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) 10.03 ก�ำไรขั้นต้น (%) 51.81 อัตราส่วนสถาพคล่องต่อหนี้สิน (เท่า) 2.48 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.81 ภาษีและสิทธิประโยชน์ทางภาษี (ล้านบาท) 350.17 ภาษีที่จ่ายให้รัฐบาล (1) จรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ จ�ำนวนข้อร้องเรียนจากการละเมิดจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจสู่ระบบร้อง 0 เรียนของบริษัท (กรณี)

2558

2559

1.00 10.00 1.14 5,115.42 6,237.71 1,216.02

1.00 10.44 1.12 4,426.51 4,732.69 1,198.27

11,345.48 25,451.40 5,095.60 11,950.88 1,067.00 13,500.52 11.43 5.11 44.79 2.23 0.89 396.11 0

10,218.16 26,595.70 5,862.62 12,355.54 1,067.00 14,240.15 10.37 4.60 53.24 1.74 0.87 304.05 0

51


52

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

สรุปผลการด�ำเนินงานของบริษัทด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจ

กรณีการละเมิดจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจที่ตรวจสอบแล้วเป็นความ จริง (กรณี) ด้านทรัพยากรบุคคล จ�ำนวนพนักงานทั้งหมด(2) (คน) ชาย หญิง จ�ำนวนพนักงาน แบ่งตามสถานที่ท�ำงาน(2) (คน) ส�ำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร ส�ำนักงานพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี ส�ำนักงานพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง พนักงานใหม่ทั้งหมด (3) (คน) ส�ำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร ส�ำนักงานพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี ส�ำนักงานพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง พนักงานที่ลาออกจากองค์กรทั้งหมด (1) (คน) พนักงานที่ลาออก มีอายุน้อยกว่า 30 ปี พนักงานที่ลาออก มีอายุตั้งแต่ 30 ปึ้นไป อัตราการกลับมาท�ำงานหลังจากการคลอดบุตร (%) การพัฒนาบุคลากร เงินลงทุน (ล้านบาท) จ�ำนวนหลักสูตร จ�ำนวนพนักงานที่เข้าอบรม จ�ำนวนชั่วโมงอบรมฉลี่ย/คน จ�ำนวนพนักงานที่ได้รับการปรับต�ำแหน่ง การดูแลพนักงานและสวัสดิการ งบประมาณโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน (ล้านบาท) หมายเหตุ

2557

2558

2559

0

0

0

179 85 94 50 107 22 10 13 0 5 9 100 3.7 39 170 17 8 8.0

176 80 96 51 103 22 8 8 0 5 13 100 6.9 47 131 16.88 5 9.5

174 83 91 51 102 21 5 4 3 6 14 100 2 44 108 27.53 15 13.5

(1) ข้อมูลจากงบการเงินรวมของบริษัท บริษัท อมตะ คอปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยในประเทศไทย (2) รวมพนักงานสัญญาจ้างและผู้รับเหมา (Sub Contractor) (3) ไม่รวมพนักงานสัญญาจ้างและผู้รับเหมา (Sub Contractor)


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

53

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

7.2 ด้านสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของพนักงานในกลุ่มบริษัทอมตะและเครือข่าย • บริษัทได้ร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมชุมชน จ�ำนวน 30 โครงการ โดยร่วม กับหน่วยงานท้องถิ่นเข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 27 หน่วยงาน อาทิเช่น เทศบาลต�ำบลหนองไม้แดง เทศบาลต�ำบลพานทอง เทศบาลต�ำบลคลองต�ำหรุ เป็นต้น • บริษัท ได้ร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองชลบุรี กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ชลบุรี ส�ำนักงานจัดหางานจังหวัดชลบุรี และ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่ง แวดล้อมชุมชน จ�ำนวนทั้งสิ้น 5 หน่วยงาน • กิจกรรมเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมชุมชนทีบ่ ริษทั ร่วมจัดนัน้ ได้สร้างการมีสว่ นร่วมให้กบั พนักงานในกลุม่ บริษทั อมตะ พนักงานในโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม และประชาชนทีอ่ าศัยโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอมตะ โดยมีพนักงาน ในกลุ่มบริษัทอมตะเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดที่จัดขึ้นจ�ำนวน 620 คน พนักงานที่มาจากโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมที่เข้า ร่วมกิจกรรมทัง้ หมดทีจ่ ดั ขึน้ จ�ำนวน 10,000 คน และประชาชนทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีช่ มุ ชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมทัง้ หมดทีจ่ ดั ขึน้ จ�ำนวน 5,200 คน รวมคิดเป็นชั่วโมงการท�ำกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมชุมชนรวม 791,000 ชั่วโมง การสร้างโอกาสทางด้านสุขภาพแก่เยาวชน ประชาชน พนักงานทั้งในบริษัทและพนักงานในโรงงาน • บริษัท ได้จัดกิจกรรมด้านสุขภาพ จ�ำนวน 7 โครงการ มีจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 9,000 คน หรือคิดเป็นชั่วโมงใน การสร้างสุขภาพให้กับทุกกลุ่ม 189,000 ชั่วโมง • บริษทั ได้ดำ� เนินกิจกรรมด้านสุขภาพทีม่ จี ำ� นวนหน่วยงานท้องถิน่ เข้าร่วมทัง้ สิน้ 27 หน่วยงาน และจ�ำนวนโรงเรียนเข้าร่วม ทั้งสิ้น 65 โรงเรียน การพัฒนาคู่ค้าท้องถิ่น • บริษัท ได้จัดสรรพื้นที่ส่วนหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะให้เป็นพื้นที่จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน เพื่อเป็นการส่ง เสริมเศรษฐกิจชุมชน โดยสามารถเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนคิดเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 200,000 บาทต่อปี • บริษัท ได้จัดจ้างชุมชนท้องถิ่นในการจัดเตรียมของที่ระลึก และกระเช้าของขวัญ ส�ำหรับใช้ในเทศกาลต่างๆของบริษัท คิด เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 300,000 บาทต่อปี

7.3 ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งแวดล้อมนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี

ด้านการจัดการน�้ำใช้ ปริมาณน�้ำที่ใช้ทั้งหมด ปริมาณน�้ำดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิตน�้ำ ปริมาณน�้ำที่น�ำกลับมาใช้ใหม่ (น�้ำจากระบบ RO) ปริมาณน�้ำทิ้งที่จากโรงงานที่เข้าระบบบ�ำบัดส่วน กลาง ปริมาณน�้ำทิ้งที่ออกจากระบบบ�ำบัดส่วนกลาง คุณภาพน�้ำทิ้งที่ออกจากระบบบ�ำบัดส่วนกลาง จุดตรวจวัด Effluent pH

หน่วย

มาตรฐาน

2557

2558

2559

ลบ.ม. ลบ.ม. ลบ.ม. ลบ.ม.

-

24,579,626 22,756,953 1,822,673 12,934,293

25,818,699 22,418,955 3,399,744 13,301,901

26,251,773 21,280,749 4,971,024 12,073,231

ลบ.ม.

-

12,934,293

13,301,901

12,073,231

5.5-9.0

7.11

7.04

7.02


54

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ด้านสิ่งแวดล้อมนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี

หน่วย

มาตรฐาน

Temperature ํC Biochemical Oxygen Demand (BOD5) Chemical Oxygen Demand (COD) mg/L Grease and Oil mg/L Suspended Soild (SS) mg/L Total Disslove Solid (TDS) mg/L Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) mg/L Mercury (Hg) mg/L Selenium (Se) mg/L Cadmium (Cd) mg/L Lead (Pb) mg/L Arsenic (As) mg/L mg/L Chromium (Cr3+) mg/L Chromium (Cr6+) Barium (Ba) mg/L Nickel (Ni) mg/L Copper (Cu) mg/L Zinc (Zn) mg/L mg/L Sulfide as H2S Cyanide as HCN mg/L mg/L Chloride as Cl2 ด้านการติดตามคุณภาพอากาศในพื้นที่ชุมชนรอบโรงงาน จุดตรวจ 1: วัดบุญญราศรี (A1) mg/m3 Nitrogen Dioxide: NO2 mg/m3 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TSP mg/m3 PM 10 mg/m3 จุดตรวจ 2: โรงเรียนบ้านย่านซื่อ (A2) mg/m3 Nitrogen Dioxide: NO2 mg/m3 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS mg/m3 PM 10 mg/m3 จุดตรวจ 3: วัดดอนด�ำรงธรรม (A5)

≤ 40 ≤ 20 ≤ 120 ≤5 ≤ 50 ≤ 3000 ≤ 100 ≤ 0.005 ≤ 0.02 ≤ 0.03 ≤ 0.2 ≤ 0.25 ≤ 0.75 ≤ 0.25 ≤ 1.0 ≤ 1.0 ≤ 2.0 ≤ 5.0 ≤ 1.0 ≤ 0.2 ≤ 1.0

2557

2558

2559

32 <2.0 36 <2.0 8 956 0.99 <0.0005 <0.0005 <0.01 <0.05 0.0044 <0.01 <0.01 <0.20 0.5 0.01 0.16 <0.03 <0.01 <0.1

32 6.2 48 <2.0 6 1280 1.69 <0.0005 <0.0005 <0.01 <0.05 0.005 <0.01 <0.01 <0.02 <0.05 <0.01 0.13 <0.03 <0.01 <0.1

31 2.8 34 <2.0 14 1232 0.99 <0.0005 <0.0005 <0.01 <0.05 0.0023 0.05 <0.01 <0.02 0.17 0.02 0.16 <0.03 <0.01 <0.1

≤ 0.17 <0.001-0.029 0.001-0.032 <0.001-0.012 ≤ 0.30 0.002-0.021 <0.001-0.017 <0.001-0.026 ≤ 0.33 0.04-0.08 0.06-0.12 0.05-0.10 ≤ 0.12 0.02-0.05 0.03-0.09 0.02-0.08 ≤ 0.17 0.001-0.072 0.001-0.045 <0.001-0.026 ≤ 0.30 0.004-0.049 0.014-0.097 <0.001-0.016 ≤ 0.33 0.07-0.14 0.09-0.14 0.05-0.14 ≤ 0.12 0.01-0.09 0.04-0.09 0.02-0.06


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

55

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ด้านสิ่งแวดล้อมนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ชลบุรี

หน่วย

มาตรฐาน

2557

2558

2559

Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 4: วิทยาลัยการอาชีพพานทอง (A6) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 5: บ้านมาบสามเกลียว (A8) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 6: หมู่บ้านเจริญวัชร์ (A9) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 7: วัดบ้านงิ้ว (A10) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 ด้านการจัดการมูลฝอยในโรงงาน ปริมาณมูลฝอยที่โรงงานคัดแยกขยะของนิคม อุตสาหกรรมอมตะ ปริมาณมูลฝอยที่ส่งไปก�ำจัดโดยการน�ำกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ (Recycle) ปริมาณมูลฝอยที่ส่งไปก�ำจัดโดยการผลิตเชื้อเพลิง ทดแทน RDF (Refuse Drived Fuel) ปริมาณมูลฝอยที่ส่งไปก�ำจัดโดยการฝังกลบ (Landfill) ข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมจากภายนอก จ�ำนวนครั้งข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมจากภายนอก

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 <0.001-0.064 0.002-0.030 0.003-0.036 ≤ 0.30 0.003-0.032 0.002-0.029 <0.001-0.006 ≤ 0.33 0.07-0.11 0.08-0.15 0.06-0.16 ≤ 0.12 0.04-0.08 0.06-0.10 0.04-0.07

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 <0.001-0.024 0.001-0.028 0.001-0.053 ≤ 0.30 0.001-0.005 <0.001-0.062 <0.001-0.009 ≤ 0.33 0.03-0.07 0.04-0.08 0.03-0.10 ≤ 0.12 0.02-0.03 0.02-0.07 0.02-0.05

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 0.002-0.089 <0.001-0.029 <0.001-0.036 ≤ 0.30 <0.001-0.005 <0.001-0.019 0.001-0.023 ≤ 0.33 0.03-0.12 0.06-0.09 0.04-0.12 ≤ 0.12 0.02-0.05 0.03-0.06 0.02-0.10

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 0.002-0.036 0.004-0.100 <0.001-0.033 ≤ 0.30 0.012-0.038 0.001-0.066 <0.001-0.005 ≤ 0.33 0.04-0.08 0.05-0.08 0.03-0.09 ≤ 0.12 0.02-0.05 0.03-0.07 0.02-0.06

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 <0.001-0.041 0.002-0.029 0.001-0.028 ≤ 0.30 <0.001-0.027 0.004-0.083 <0.001-0.010 ≤ 0.33 0.04-0.13 0.06-0.18 0.03-0.20 ≤ 0.12 0.02-0.07 0.03-0.10 0.02-0.08

ตันต่อปี

-

20,511.95

20,450.58

20,314.24

ตันต่อปี

-

2,846.74

3,036.93

2,923.17

ตันต่อปี

-

16,943.68

17,088.65

17,157.54

ตันต่อปี

-

721.53

325.00

233.53

0

0

0

ครั้ง


56

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ด้านสิ่งแวดล้อมนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง

หน่วย

ด้านการจัดการน�้ำใช้ ปริมาณน�้ำที่ใช้ทั้งหมด ลบ.ม. ปริมาณน�้ำดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิตน�้ำ ลบ.ม. ปริมาณน�้ำที่น�ำกลับมาใช้ใหม่ (น�้ำจากระบบ RO) ลบ.ม. ปริมาณน�้ำทิ้งที่จากโรงงานที่เข้าระบบบ�ำบัดส่วน ลบ.ม. กลาง ปริมาณน�้ำทิ้งที่ออกจากระบบบ�ำบัดส่วนกลาง ลบ.ม. คุณภาพน�้ำทิ้งที่ออกจากระบบบ�ำบัดส่วนกลาง จุดตรวจวัด Effluent pH Temperature ํC Biochemical Oxygen Demand (BOD5) Chemical Oxygen Demand (COD) mg/L Grease and Oil mg/L Suspended Soild (SS) mg/L Total Disslove Solid (TDS) mg/L Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) mg/L Mercury (Hg) mg/L Selenium (Se) mg/L Cadmium (Cd) mg/L Lead (Pb) mg/L Arsenic (As) mg/L mg/L Chromium (Cr3+) mg/L Chromium (Cr6+) Barium (Ba) mg/L Nickel (Ni) mg/L Copper (Cu) mg/L Zinc (Zn) mg/L mg/L Sulfide as H2S Cyanide as HCN mg/L mg/L Chloride as Cl2 ด้านการติดตามคุณภาพอากาศในพื้นที่ชุมชนรอบโรงงาน จุดตรวจ 1: บ้านวังตาลหม่อน (A1) mg/m3 Nitrogen Dioxide: NO2

มาตรฐาน

5.5-9.0 ≤ 40 ≤ 20 ≤ 120 ≤5 ≤ 50 ≤ 3000 ≤ 100 ≤ 0.005 ≤ 0.02 ≤ 0.03 ≤ 0.2 ≤ 0.25 ≤ 0.75 ≤ 0.25 ≤ 1.0 ≤ 1.0 ≤ 2.0 ≤ 5.0 ≤ 1.0 ≤ 0.2 ≤ 1.0

2557

2558

2559

13,906,040 12,063,812 1,842,228 6,547,556

14,839,161 12,941,012 1,898,149 7,140,132

16,929,290 14,800,897 2,128,393 7,876,263

6,547,556

7,140,132

7,876,263

7.25 29.8 5.8 28 <2.0 4 676 13.35 <0.005 <0.005 <0.01 <0.05 0.0039 0.02 <0.01 <0.20 <0.05 <0.01 0.18 <0.03 <0.01 <0.1

7.04 31 6.5 29 <2.0 15 752 5.19 <0.005 <0.005 <0.01 <0.05 0.0023 <0.01 <0.01 <0.20 <0.05 <0.01 0.09 <0.03 <0.01 <0.1

7.35 31.2 8.6 34 <2.0 6 868 16.85 <0.005 <0.005 <0.01 <0.05 0.009 <0.01 <0.01 <0.20 <0.05 <0.01 0.1 <0.03 <0.01 <0.1

≤ 0.17 0.001-0.035 <0.001-0.027 <0.001-0.037


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

57

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

ด้านสิ่งแวดล้อมนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง

หน่วย

Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TSP PM 10 จุดตรวจ 2: วัดราษฎร์อัสดาราม (A2) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 3: โรงเรียนบ้านภูไทร (A3) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 4: วัดพนานิคม (A4) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 จุดตรวจ 5: รพ.สต.มาบยางพร (A5) Nitrogen Dioxide: NO2 Sulfur Dioxide:SO2 Total Suspended Paticulates: TDS PM 10 ข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมจากภายนอก จ�ำนวนครั้งข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมจากภายนอก

mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.30 <0.001-0.029 0.009-0.022 0.002-0.038 ≤ 0.33 0.03-0.22 0.03-0.16 0.02-023 ≤ 0.12 0.02-0.11 0.03-0.12 0.01-0.09

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 0.001-0.018 <0.001-0.043 <0.001-0.035 ≤ 0.30 0.005-0.033 0.001-0.010 0.009-0.028 ≤ 0.33 0.08-0.18 0.05-0.15 0.04-0.14 ≤ 0.12 0.05-0.12 0.03-0.09 0.02-0.08

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 <0.001-0.018 <0.001-0.029 0.001-0.033 ≤ 0.30 0.002-0.011 0.002-0.010 <0.001-0.033 ≤ 0.33 0.02-0.073 0.03-0.17 0.02-0.22 ≤ 0.12 0.02-0.08 0.01-0.08 0.01-0.10

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 0.000-0.024 0.000-0.018 <0.001-0.018 ≤ 0.30 0.000-0.025 0.000-0.022 <0.001-0.014 ≤ 0.33 0.0038-0.07 0.015-0.085 0.013-0.089 ≤ 0.12 0.01-0.029 0.007-0.050 0.007-0.064

mg/m3 mg/m3 mg/m3 mg/m3

≤ 0.17 <0.001-0.040 0.002-0.059 <0.001-0.061 ≤ 0.30 <0.001-0.054 0.000-0.019 0.001-0.017 ≤ 0.33 0.05-0.152 0.016-0.046 0.021-0.210 ≤ 0.12 0.02-0.091 0.011-0.096 0.012-0.100

ครั้ง

มาตรฐาน

-

2557

2558

0

2559

0

0


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน)

58

รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

8

GRI Content Index

G4 Indicators

G4-1 G4-2 G4-3 G4-4 G4-5 G4-6 G4-7 G4-8 G4-9 G4-10 G4-11 G4-12 G4-13 G4-14 G4-15 G4-16 G4-17 G4-18 G4-19 G4-20 G4-21 G4-22 G4-23 G4-24 G4-25 G4-26

Descriptions

Page

GENERAL STANDARD DISCLOSURES Strategy and Analysis Provide a statement from the most senior decision-maker of the organization 1, 10-11 Provide a description of key impacts, risks, and opportunities 10-11, 19-20 Organizational Profile Report the name of the organization 4-7 Report the primary brands, products, and services 4-7 Report the location of the organization’s headquarters 4-7 Report the number of countries where the organization operates 4-7 Report the nature of ownership and legal form 4-7 Report the markets served including geographic breakdown, sectors served, and types of 4-7 customers and beneficiaries Report the scale of the organization 4-7 Report types of employees and their classification (such as gender, permanent employee, region, 24 substantial portion and significant variations) The percentage of total employees covered by collective bargaining agreements 24 Describe the organization’s supply chain 4, 7, 16 Report any significant changes during the reporting period regarding the organization’s size, 4-7, 10-11 structure, ownership, or its supply chain Report whether and how the precautionary approach or principle is addressed by the organization 8, 10-15, 19, 21-23 List externally developed economic, environmental and social charters, principles, or other 10-11 initiatives to which the organization subscribes or which it endorses List memberships of associations (such as industry associations) and national or international 10-11, 21 advocacy organizations in which the organization participates in as strategic member Identified Material Aspects and Boundaries Organizational consolidated financial statements or equivalent documents status 19 The process for defining the report content and the Aspect Boundaries, and how the organization 19-20 has implemented the Reporting Principles for Defining Report Content List all the material Aspects identified in the process for defining report content 20 For each material, Aspect, report the Aspect Boundary within the organization 19-20 For each material, Aspect, report the Aspect Boundary outside the organization 19-20 The effect and the reasons of any restatements of information provided in previous reports 19 Significant changes from previous reporting periods in the Scope and Aspect Boundaries 19 Stakeholder Engagement A list of stakeholder groups engaged by the organization 15-18 The basis for identification and selection of stakeholders with whom to engage 15-18, 20 The organizational approach to stakeholder engagement 15-18, 20


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-27 G4-28 G4-29 G4-30 G4-31 G4-32 G4-33 G4-34 G4-56

G4-DMA G4-EC1 G4-EC2 G4-EC3 G4-EC4 G4-DMA G4-EC5 G4-EC6 G4-DMA G4-EC7 G4-EC8 G4-DMA G4-EC9 G4-DMA G4-EN1 G4-EN2

Descriptions

Page

The key topics and concerns raised through stakeholder engagement and how the organization has responded to those key topics and concerns Report Profile Reporting period (such as fiscal or calendar year) for information provided Date of most recent previous report (if any) Reporting cycle (such as annual, biennial) The contact point for questions regarding the report or its contents The organizational performance “in accordance” with GRI content Index, or the reference to the External Assurance Report The organizational policy and current practice regarding external assurance for the report Governance The governance structure of the organization, including committees of the highest governance body Ethics and Integrity The organizational values, principles, standards and norms of behavior such as codes of conduct and codes of ethics SPECIFIC STANDARD DISCLOSURE Category: Economic Economic Aspect: Economic Performance Disclosure on management approach for Economic Performance of Economic Aspect Direct economic value generated and distributed Financial implications and other risks and opportunities for the organizational activities due to climate change Coverage of the organizational defined benefit plan obligations Financial assistance received from government Economic Aspect: Market Presence Disclosure on management approach for Market Presence of Economic Aspect Ratios of standard entry level wage by gender compared to local minimum wage at significant locations of operation Proportion of senior management hired from the local community at significant locations of operation Economic Aspect: Indirect Economic Impact Disclosure on management approach for Indirect Economic Impact of Economic Aspect Development and impact of infrastructure investments and services supported Significant indirect economic impacts, including the extent of impacts Economic Aspect: Procurement Practices Disclosure on management approach for Procurement Practices of Economic Aspect Proportion of spending on local suppliers at significant locations of operation Category: Environmental Environmental Aspect: Materials Disclosure on management approach for Materials of Environmental Aspect Materials used by weight or volume Percentage of materials used that are recycled input materials

15-18, 20 19 19 19 19 19 9 8, 10-15, 19, 21-23 4, 7 22, 51-52 51-52 51-52 51-52 51-52 53-57 53-57 53-57

59


60

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-DMA G4-EN3 G4-EN4 G4-EN5 G4-EN6 G4-EN7 G4-DMA G4-EN8 G4-EN9 G4-EN10 G4-DMA G4-EN15 G4-EN16 G4-EN17 G4-EN18 G4-EN19 G4-EN20 G4-EN21 G4-DMA G4-EN22 G4-EN23 G4-EN24 G4-EN25 G4-EN26 G4-DMA G4-EN27 G4-EN28 G4-DMA G4-EN29 G4-DMA G4-EN30

Descriptions

Page

Environmental Aspect: Energy Disclosure on management approach for Energy of Environmental Aspect Energy consumption within the organization Energy consumption outside of the organization Energy intensity Reduction of energy consumption Reduction in energy requirements of products and services Environmental Aspect: Water Disclosure on management approach for Water of Environmental Aspect Total water withdrawal by source Water sources significantly affected by withdrawal of water Percentage and total volume of water recycled and reused Environmental Aspect: Emissions Disclosure on management approach for Emissions of Environmental Aspect Direct greenhouse gas (GHG) emissions (Scope 1) Energy indirect greenhouse gas (GHG) emissions (Scope 2) Other indirect greenhouse gas (GHG) emissions (Scope 3) Greenhouse gas (GHG) emissions intensity Reduction of greenhouse gas (GHG) emissions Emissions of ozone-depleting substances (ODS) NOx, SOx, and other significant air emissions Environmental Aspect: Effluents and Waste Disclosure on management approach for Effluents and Waste of Environmental Aspect Total water discharge by quality and destination Total weight of waste by type and disposal method Total number of volume of significant spills Weight of transported, imported, exported, or treated waste deemed hazardous under the terms of the basel convention Annex I, II, III, and VIII, and percentage of transported waste shipped internationally Identity, size, protected status, and biodiversity value of water bodies and related habitats significantly affected by the organizational discharges of water and run off Environmental Aspect: Products and Services Disclosure on management approach for Products and Services of Environmental Aspect Extent of impact mitigation of environmental impacts of products and services Percentage of products sold and their packaging materials that are reclaimed by category Environmental Aspect: Compliance Disclosure on management approach for Compliance of Environmental Aspect

53-57 53-57 53-57 53-57 42-43 42-43 43-46, 53-57 43-46, 53-57 43-46, 53-57 43-46, 53-57

42-48, 53-57 42-48, 53-57 42-48, 53-57 39, 49-50, 53-57 Monetary value of significant fines and total number of non-monetary sanctions for no-compliance 39, 49-50, with environmental laws and regulations 53-57 Environmental Aspect: Transport Disclosure on management approach for Transport of Environmental Aspect 39-41 Significant environmental impacts of transporting products and other goods and materials for 39-41 the organizational operations, and transporting members of the workforce


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-DMA G4-EN31 G4-DMA G4-EN32 G4-EN33 G4-DMA G4-EN34

G4-DMA G4-LA1 G4-LA2 G4-LA3 G4-DMA G4-LA4 G4-DMA G4-LA5 G4-LA6 G4-LA7 G4-LA8 G4-DMA G4-LA9 G4-LA10 G4-LA11

Descriptions

Page

Environmental Aspect: Overall Disclosure on management approach for Overall of Environmental Aspect Total environmental protection expenditures and investments by type Environmental Aspect: Supplier Environment Assessment Disclosure on management approach for Supplier Environment Assessment of Environmental Aspect Percentage of new suppliers that were screened using environmental criteria Significant actual and potential negative environmental impacts in the supply chain and actions taken Environmental Aspect: Environmental Grievance Mechanisms Disclosure on management approach for Environmental Grievance Mechanisms of Environmental Aspect Number of grievances about environmental impacts filed, addressed, and resolved through formal grievance mechanisms Category: Social Sub-category: Labor Practices and Decent Work Labor Practices and Decent Work Aspect: Employment Disclosure on management approach for Employment of Labor Practices and Decent Work Aspect Total number and rates of new employee hires and employee turnover by age group, gender and region Benefits provided to full - time employees that are not provided to temporary or part-time employees, by significant locations of operation Return to work and retention rates after parental leave, by gender Labor Practices and Decent Work Aspect: Labor / Management Relations Disclosure on management approach for Labor / Management Relations of Labor Practices and Decent Work Aspect Minimum notice periods regarding operational changes, including whether these are specified in collective agreements Labor Practices and Decent Work Aspect: Occupational Health and Safety Disclosure on management approach for Occupational Health and Safety of Labor Practices and Decent Work Aspect Percentage of total workforce represented in formal joint management-worker health and safety committees that help monitor and advise on occupational health and safety programs Type of injury and rates of injury, occupational diseases rete, lost days and absenteeism and total number of work - related fatalities, by region and by gender Workers with high incidence or high risk of diseases related to their occupation Health and safety topics covered in formal agreements with trade unions Labor Practices and Decent Work Aspect: Training and Education Disclosure on management approach for Training and Education of Labor Practices and Decent Work Aspect Average hours of training per year per employee by gender, and by employee category Programs for skills management and lifelong learning that support the continued employability of employees and assist them managing career endings Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews, by gender and by employee category Labor Practices and Decent Work Aspect: Diversity and Equal Opportunity

39-50 39-50 16, 53-57 16, 53-57 24 28 23-28 23-28 46-47 25-28

61


62

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-DMA G4-LA12 G4-DMA G4-LA13 G4-DMA G4-LA14 G4-LA15 G4-DMA G4-LA16

G4-DMA G4-HR1 G4-HR2 G4-DMA G4-HR3 G4-DMA G4-HR4 G4-DMA G4-HR5 G4-DMA G4-HR6

Descriptions

Page

Disclosure on management approach for Diversity and Equal Opportunity of Labor Practices and Decent Work Aspect Composition of governance bodies and breakdown of employees per employee category according to gender, age group, minority group membership, and other indicators of diversity Labor Practices and Decent Work Aspect: Equal Remuneration for Woman and Men Disclosure on management approach for Equal Remuneration for Woman and Men of Labor Practices and Decent Work Aspect Ratio of basic salary remuneration of women to men by employee category, by significant locations of operation Labor Practices and Decent Work Aspect: Supplier Assessment for Labor Practices Disclosure on management approach for Supplier Assessment for Labor Practices Aspect Percentage of new suppliers that were screened using labor practices criteria Significant actual and potential negative impacts for labor practices in the supply chain and actions taken Labor Practices and Decent Work Aspect: Labor Practices Grievance Mechanisms Disclosure on management approach for Labor Practices Grievance Mechanisms of Labor Practices and Decent Work Aspect Number of grievances about labor practices filed, addressed, and resolved through formal grievance mechanismsไ Category: Social Sub-category: Human Rights Human Rights Aspect: Investment Disclosure on management approach for Investment of Human Rights Aspect Total number and percentage of significant investment agreements and contracts that include human rights clauses or that underwent human rights screening Total hours of employee training on human rights policies or procedures concerning aspects of human rights that are relevant to operations, including the percentage of employees trained Human Rights Aspect: Non-discrimination Disclosure on management approach for Non-discrimination of Human Rights Aspect Total number of incidents of discrimination and corrective actions taken Human Rights Aspect: Freedom of Association and Collective Bargaining Disclosure on management approach for Freedom of Association and Collective Bargaining of Human Rights Aspect Operations and suppliers identified in which the right to exercise freedom of association and collective bargaining may be violated or at significant risk, and measures taken to support these rights Human Rights Aspect: Child Labor Disclosure on management approach for Child Labor of Human Rights Aspect Operations and suppliers identified as having significant risk for incidents of child labor, and measures taken to contribute to the effective abolition of child labor Human Rights Aspect: Forced or Compulsory Labor Disclosure on management approach for Forced or Compulsory Labor of Human Rights Aspect Operations and suppliers identified as having significant risk for incidents of forced or compulsory labor, and measures to contribute to the elimination of all forms of forced or compulsory labor

9, 24 24 24 16 16 28


บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-DMA G4-HR7 G4-DMA G4-HR8 G4-DMA G4-HR9 G4-DMA G4-HR10 G4-HR11 G4-DMA G4-HR12

G4-DMA G4-SO1 G4-SO2 G4-DMA G4-SO3 G4-SO4 G4-SO5 G4-DMA G4-SO6 G4-DMA G4-SO7

Descriptions

Page

Human Rights Aspect: Security Practices Disclosure on management approach for Security Practices of Human Rights Aspect Percentage of security personnel trained in the organizational human rights policies or procedures that are relevant to operations Human Rights Aspect: Indigenous Rights Disclosure on management approach for Indigenous Rights of Human Rights Aspect Total number of incidents of violations involving rights of indigenous peoples and actions taken Human Rights Aspect: Assessment Disclosure on management approach for Assessment of Human Rights Aspect Total number of percentage of operations that have been subject to human rights reviews or impact assessments Human Rights Aspect: Supplier Human Rights Assessment Disclosure on management approach for Supplier Human Rights Assessment of Human Rights Aspect Percentage of new suppliers that were screened using human rights criteria Significant actual and potential negative human rights impacts in the supply chain and actions taken Human Rights Aspect: Human Rights Grievance Mechanisms Disclosure on management approach for Human Rights Grievance Mechanisms of Human Rights Aspect Number of grievances about human rights impacts filed, addressed, and resolved through formal grievance mechanisms Category: Social Sub-category: Society Society Aspect: Local Communities Disclosure on management approach for Local Communities of Society Aspect

Percentage of operations with implemented local community engagement, impact assessments, and development programs Operations with significant actual and potential negative impacts on local communities Society Aspect: Anti-corruption Disclosure on management approach for Anti-corruption of Society Aspect Total number and percentage of operations assessed for risks related to corruption and the significant risks identified Communication and training on anti-corruption policies and procedures Confirmed incidents of corruption and actions taken Society Aspect: Public Policy Disclosure on management approach for Public Policy of Society Aspect Total value of political contributions by country and recipient/beneficiary Society Aspect: Anti-competitive Behavior Disclosure on management approach for Anti-Competitive Behavior of Society Aspect Total number of legal actions for anti-competitive behavior, anti-trust, and monopoly practices and their outcomes

16 16 22, 28-38, 49-50, 53 22, 28-38, 49-50, 53 22, 28-38, 49-50, 53 21-22 21-22

63


64

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการพัฒนาที่ยั่งยืน 2559

G4 Indicators

G4-DMA G4-SO8 G4-DMA G4-SO9 G4-SO10 G4-DMA G4-SO11

G4-DMA G4-PR1 G4-PR2 G4-DMA G4-PR3 G4-PR4 G4-PR5 G4-DMA G4-PR6 G4-PR7 G4-DMA G4-PR8 G4-DMA G4-PR9

Descriptions

Page

Society Aspect: Compliance Disclosure on management approach for Compliance of Society Aspect Monetary value of significant fines and total number of non-monetary sanctions for non compliance with laws and regulations Society Aspect: Supplier Assessment for Impacts on Society Disclosure on management approach for Supplier Assessment for Impacts on Society of Society Aspect Percentage of new suppliers that were screened using criteria for impacts on society Significant actual and potential negative impacts on society in the supply chain and actions taken Society Aspect: Grievance Mechanisms for Impacts on Society Disclosure on management approach for Grievance Mechanisms for Impacts on Society of Society Aspect Number of grievances about impacts on society filed, addressed, and resolved through formal grievance mechanisms Category: Social Sub-category: Product Responsibility Product Responsibility Aspect: Customer Health and Safety Disclosure on management approach for Customer Health and Safety 31-38,46-47 of Product Responsibility Aspect Percentage of significant product and service categories for which health and safety impacts are 31-38,46-47 assessed for improvement Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning the health and safety impacts of products and services during their life cycle, by type of outcomes Product Responsibility Aspect: Product and Service Labeling Disclosure on management approach for Product and Service Labeling of Product Responsibility Aspect Type of product and service information required by the organizational procedures for product and service information and labeling, and percentage of significant product and service categories subject to such information requirements Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning product and services information and labeling, by type of outcomes Results of surveys measuring customer satisfaction Product Responsibility Aspect: Marketing Communications Disclosure on management approach for Marketing Communications of Product Responsibility Aspect Sale of banned or disputed products Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning marketing communications, including advertising, promotion, and sponsorship, by type of outcomes Product Responsibility Aspect: Customer Privacy Disclosure on management approach for Customer Privacy of Product Responsibility Aspect Total number of substantiated complaints regarding breaches of customer privacy and losses of customer data Product Responsibility Aspect: Compliance Disclosure on management approach for Compliance of Product Responsibility Aspect Monetary value of significant fines for non-compliance with laws and regulations concerning the provision and use of products and services



บร�ษัท อมตะ คอร ปอเรชัน จำกัด (มหาชน)

ประเทศไทย: บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำ�กัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 700 หมู่ที่ 1 ตำ�บลคลองตำ�หรุ อำ�เภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ : +66 38 939 007 โทรสาร : +66 38 939 000 บริษัท อมตะ ซิตี้ จำ�กัด นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ 7 หมู่ที่ 3 ตำ�บลบ่อวิน อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ : +66 38 497 007 โทรสาร : +66 38 497 000 สำ�นักงานกรุงเทพฯ: 2126 อาคารกรมดิษฐ์ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ : +66 2 792 0000 โทรสาร : +66 2 318 1096 VIETNAM Amata Bien Hoa Joint Stock Company Long Binh Ward, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam Tel : (84) 61 3991 007 Fax : (84) 61 3891 251


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.