BIGC: รายงานประจำปี 2554

Page 1

รายงานประจำป 2554 Annual Report 2011


ขอตอนรับสู

“ใหญขึ้น

และใหคุณไดมากกวา” • เครือขายสาขาในทุกรูปแบบ รานคากวา 221 สาขา และ

ศูนยการคา 115 แหง

ทั่วประเทศในป 2554 • พนักงานกวา 23,000 คน ที่มุงมั่นและพรอมจะนำ ความประหยัดคุมคา และความพึงพอใจ สูงสุดมอบแดลูกคาทุกคน • สนับสนุนการศึกษาของ นักเรียนไทยแลวกวา 200 ลานบาท เพ.ออนาคต ที่สดใสของเยาวชนไทยทุกคน

วิสัยทัศนของบิ๊กซี “มุงสูการเปนผูคาปลีกสมัยใหมอันดับ 1 ของประเทศไทย โดยใหความสำคัญสูงสุดแกลูกคาของเรา”

ภารกิจของบิ๊กซี “ลูกคาและพนักงานทุกคน คือสมาชิกของครอบครัวบิ๊กซี” บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) (ชื่อยอในการซื้อขายหลักทรัพยฯ: BIGC) กอตั้งขึ้นเมื่อ ป 2536 เปนผูดำเนินธุรกิจคาปลีกสมัยใหมชั้นนำของไทย ภายใตสโลแกน “เราใหคุณมากกวาคำวาถูก” บิ๊กซี มุงมั่นและภูมิใจที่ไดสรางความประหยัดคุมคาและ ความพึงพอใจสูงสุดแกผูบริโภคทุกกลุมทั่วประเทศ ผานการผสมผสานอยางสมบูรณแบบของรานคา หลากหลายรูปแบบราคาถูกและประหยัด สินคาคุณภาพที่หลากหลายครบครัน บริการที่ดีเยี่ยม และบรรยากาศการจับจายที่สนุกสนานและเปนกันเอง

นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800, 02-229-2888 โทรสาร 02-654-5427

ผูสอบบัญชี

บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด อาคารเลครัชดา ชั้น 33 เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-264-0777 โทรสาร 02-661-9190

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท ลิ้งคเลเทอรส (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 20 แคปปตอล ทาวเวอร ออลซีซั่นส เพลส เลขที่ 87/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-305-8000, 02-654-3130 โทรสาร 02-305-8010, 02-654-3131

ศูนยกลางการใหขอ มูลกับผูถ อื หุน / นักลงทุน/นักวิเคราะห

คุณรำภา คำหอมรื่น ตำแหนงรองประธานฝายบัญชีและการเงิน หรือ คุณรามี่ บีไรแนน (Khun Rami Piirainen) ตำแหนงผูอำนวยการฝายนักลงทุนสัมพันธ โทรศัพท 02-655-0666 ตอ 7444 หรือ E-Mail Address: kurumpa@bigc.co.th , pirami@bigc.co.th

Security Registrar Securities Depository (Thailand) Co., Ltd. The Stock Exchange of Thailand Building, 62 Ratchadaphisek Road, Khlong Toei sub-district Khlong Toei district, Bangkok 10110 Tel.: 02-229-2800, 02-229-2888; Fax: 02-654-5427

Auditor Ernst & Young Office Ltd. 33rd Floor, Lake Ratchada Building 193/136-137 Ratchadaphisek Road, Khlong Toei sub-district Khlong Toei district, Bangkok 10110 Tel.: 02-264-0777; Fax: 02-661-9190

Legal Advisor Linklaters (Thailand) Ltd. 20th Floor, Capital Tower, 87/1 All Seasons Place Wireless Road, Lumpini sub-district Pathumwan district, Bangkok 10330 Tel.: 02-305-8000, 02-654-3130; Fax: 02-305-8010, 02-654-3131

Information Centre for Shareholders/ Investors/Analysts Ms. Rumpa Kumhomreun Vice President, Accounting & Finance Department Mr. Rami Piirainen Director, Investor Relations Department Tel.: 02-655-0666 Ext. 7444 or E-Mail Address: kurumpa@bigc.co.th, pirami@bigc.co.th

ในป 2554 บิ๊กซีเติบโตอยางกาวกระโดด ทั้งจากการพัฒนาภายในของบริษัทฯ และการควบรวม กิจการคาปลีกของผูดำเนินธุรกิจคาปลีกอีกรายหนึ่ง ในปจจุบัน บริษัทฯ มีพนักงานกวา 23,000 คน ทั่วประเทศ และดวยกลยุทธการขยายกิจการทุกรูปแบบและการพัฒนาพื้นที่คาปลีกควบคูกับพื้นที่เชา ในป 2554 บิ๊กซีมีเครือขายสาขาที่เปดใหบริการจำนวนทั้งสิ้น 221 สาขา ประกอบดวย บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร 108 สาขา บิ๊กซี มารเก็ต 12 สาขา มินิบิ๊กซี 51 สาขา และรานขายยาเพรียว 50 สาขา อีกทั้งศูนยการคา 115 แหงทั่วประเทศ

เปาหมายสูงสุดของบิ๊กซี คือการเปนองคกรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบตอสังคม และดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูบริโภคทุกคน รวมทั้งสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคา พนักงาน และผูถือหุนบิ๊กซี

ศูนยกลางการใหขอมูลผานส9อโทรทัศน ส9อโฆษณา และสิ่งพิมพตางๆ คุณรีจิส ฟลิป พรีซอง ตำแหนงรองประธานฝายการตลาดและการสื่อสาร หรือ คุณกุฏาธาร นาควิโรจน ตำแหนง ผูอำนวยการฝายองคกรสัมพันธ หมายเลขโทรศัพท 02-655-0666 ตอ 7192 หรือ E-Mail Address: nakudatara@bigc.co.th

Information Centre for the Media Mr. Regis, Philippe PRIGENT Vice President, Marketing and Communications Mr. Kudatara Nagaviroj Director, Corporate Affairs Tel.: 02-655-0666 Ext. 7192 or E-Mail Address: nakudatara@bigc.co.th

ในการมุงหนาไปสูเปาหมายสูงสุดของเรา บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร ใหความสำคัญสูงสุดตอการยึดถือและปฏิบัติ ตามคุณคาประจำบริษัทฯ 4 ประการ คือ 1. เราจะเปนผูนำดานราคาถูก ที่มอบการบริการที่ดีเยี่ยมและความคุมคาสูงสุดแกลูกคาเสมอ 2. เราจะอยูเคียงขางผูบริโภคและจะชวยเหลือสนับสนุนทุกชุมชนอยางเต็มความสามารถเสมอ 3. เราจะเปนองคกรธุรกิจที่สรางสรรคและรับผิดชอบตอสังคมที่นำการพัฒนาที่ยั่งยืนมาสูทุกชุมชนทั่วประเทศ 4. พนักงานของบิ๊กซีทุกคนเปนครอบครัวของเรา และเราจะสนับสนุนใหทุกคนพัฒนาเพื่อกาวไปขางหนา สูอนาคตอยางมั่นคงไปกับเราเสมอ

Big C: www.bigc.co.th Casino: www.groupe-casino.com Central Group: www.centralcompany.com


ส า ร บั ญ จุดเดนทางการเงิน

1

สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ

2 3

ประธานกิตติมศักดิ์ คณะกรรมการบริษัทฯ และผูบริหารระดับสูง

6

• ประธานกิตติมศักดิ์และคณะกรรมการบริษัทฯ • ผูบริหารระดับสูง • คุณวุฒิทางการศึกษาและประสบการณของกรรมการและผูบริหารระดับสูง • โครงสรางองคกร

ธุรกิจของบิ๊กซี • การขับเคลื่อนธุรกิจของบิ๊กซี • สถานการณในเชิงแขงขัน • การจัดการ • บิ๊กซี - เราเปนมากกวาหางคาปลีก

4

รายงานประจำ�ปี 2554

7 8 12 18

19 20 26 30 48


“ใหญขึ้น

และใหคุณไดมากกวา” รายงานของคณะกรรมการบริษัทฯ • รายงานของคณะกรรมการบริษัทฯ • การพิจารณาและวิเคราะหเชิงบริหาร • ปจจัยความเสี่ยง • รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ • รายงานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี • รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

รายงาน และงบการเงิน • รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต • สรุปขอมูลและการวิเคราะหทางการเงิน • งบดุล • งบกำไรขาดทุน • งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน • งบกระแสเงินสด • หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม

ภาคผนวก • ตารางสรุปรายงานระหวางกัน • ผูถือหุนรายใหญ • บริษัทยอย • ขอมูลสาขาของบิ๊กซี ในป 2554

51 52 53 56 57 59 60

61 62 63 65 68 69 70 74 77

117 118 122 123 124 รายงานประจำ�ปี 2554

5


จุดเด่น

ทางการเงิน 2552

(หน่วย: ล้านบาท) 2554

2553 (ปรับปรุงใหม่)

(หลังการควบรวมกิจการ)

งบก�ำไรขาดทุน รายได้จากการขาย

68,058

69,859

102,563

ต้นทุนขาย

63,796

60,602

87,325

ก�ำไรขั้นต้น

4,262

9,257

15,238

รายได้ค่าเช่า ค่าบริการและรายได้อื่นๆ

12,530

6,350

11,078

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี

4,167

3,988

8,286

ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

2,868

2,816

5,242

สินทรัพย์รวม

36,698

39,533

90,726

หนี้สินรวม

17,765

19,438

67,206

ส่วนของผู้ถือหุ้น

18,933

20,095

23,520

งบดุล

(หน่วย: ร้อยละ)

อัตรส่วนทางการเงิน อัตราก�ำไรขั้นต้น

6.3

13.3

14.9

อัตราก�ำไรสุทธิ

3.6

3.7

4.6

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

15.8

14.4

24.0

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

7.8

7.4

8.0

อัตราส่วนเงินกู้ยืมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

0

0

1.6

ก�ำไรต่อหุ้น (บาท)

3.6

3.5

6.5

2007 2008 2009 2010 (Restated) 2011 Net Income of the parent 2,502 2,851 2,868 2,816 5,260 EBIT

3,720

2550

3,974

2551

2007 2008 2009 2010 (Restated) 3,720 3,974 4,167 3,988 8,286

4,167

3,988

2552

2553 (ปรับปรุงใหม)

กำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษี

2011

8,286

5,242 2,502

2554

2550

2,851

2,868

2551

2552

2,816

2553 (ปรับปรุงใหม)

2554

กำไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ

รายงานประจำ�ปี 2554

1


สารจาก

ประธานกรรมการ

นายอัคนี ทับทิมทอง ประธานกรรมการ เนือ่ งจากปีนี้ เป็นปีแรกทีผ่ มด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ บริษทั บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ก่อนอืน่ ผมจึงขอแสดงความขอบคุณอย่างยิง่ ต่อ คุณสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ ซึ่งเป็นผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริษัทฯ มากว่า 11 ปี และเป็นบุคคลส�ำคัญทีไ่ ด้กรุณาให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับทิศทางการ ด�ำเนินงานที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนา บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ให้เติบโตอย่างยิ่งใหญ่ได้ในทุกวันนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมจึง ขอแสดงความขอบคุณอย่างยิ่งต่อคุณสุทธิชาติฯ มา ณ ที่นี้ พุทธศักราช 2554 เป็นปีที่เปี่ยมไปด้วยความตื่นเต้นและความท้าทาย บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ เริม่ ปีดว้ ยการควบรวมกิจการคาร์ฟรู ์ (ประเทศไทย) เพือ่ มุ่งสู่การเป็นผู้นำ� ด้านไฮเปอร์มาร์เก็ตของประเทศไทย ซึ่งเป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่ง ว่าเราสามารถด�ำเนินการควบรวมดังกล่าวได้ในเวลาเร็วเป็นประวัติการณ์ ภายในเวลาเพียง 7 เดือน และการควบรวมได้ส่งผลให้บิ๊กซีพัฒนาไปอย่าง ก้าวกระโดด และสามารถเริ่มเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ของการควบรวมตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม 2554 เป็นต้นมา การควบรวม ท�ำให้เราได้บคุ ลากรใหม่ๆ ทีเ่ พียบพร้อมด้วยประสบการณ์ และความรู้ที่หลากหลายมาช่วยพัฒนาบิ๊กซี ในขณะเดียวกัน เราก็ได้ขยาย รูปแบบร้านค้าใหม่ๆ ของบิ๊กซี คือ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า และบิ๊กซี จัมโบ้ เพื่อตอบ สนองความต้องการและรสนิยมของผูบ้ ริโภคทีห่ ลากหลายและเปลีย่ นแปลงไป ทุกวัน ซึ่งทุกรูปแบบร้านค้าของบิ๊กซี ได้การตอบรับที่ดียิ่งจากผู้บริโภค ท�ำให้ เรามั่นใจในอนาคตที่สดใสของบิ๊กซี

วิกฤตน�ำ้ ท่วมในปี 2554 ได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ของพนักงานบิ๊กซีทุกคน ในการมุ่งมั่นที่จะฝ่าฟันอุปสรรคและความยาก ล�ำบากเพื่อดูแลพี่น้องผู้บริโภค ผมจึงขอชมเชยชาวบิ๊กซีทุกท่าน ที่ได้ร่วมกัน วางแผน ปรับตัว และท�ำงานอย่างไม่เคยย่อท้อ เพื่อรักษาสาขาบิ๊กซีให้เปิด บริการได้นานที่สุด รวมทั้งในการประสานกับภาครัฐ ผู้ผลิต และผู้ควบคุม ระบบขนส่ง เพื่อน�ำสิ่งของจ�ำเป็นเข้าไปในพื้นที่น�้ำท่วม โดยมีจุดมุ่งหมาย สูงสุดในการดูแลให้พี่น้องผู้บริโภคและพนักงานบิ๊กซีในชุมชนที่ได้รับความ เดือดร้อน ให้สามารถเข้าถึงเครื่องอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตใน ยามที่ห้างร้านอื่นๆ ต่างปิดบริการ เพราะน�้ำท่วม ความส�ำเร็จของการฝ่าฟันวิกฤตน�้ำท่วม แสดงให้เห็นชัดเจนแล้วว่า บิ๊กซี เป็นมากกว่าห้างค้าปลีกธรรมดา เราเป็นที่พักพิง ที่พึ่งพา ที่รักษา และ มิตรแท้ที่พี่น้องผู้บริโภคสามารถมั่นใจและอุ่นใจได้ว่า เราอยู่เคียงข้างพี่น้อง ไทยเสมอ และจะท�ำทุกอย่างทีเ่ ราท�ำได้เพือ่ ฝ่าฟันวิกฤตและอุปสรรคไปด้วยกัน วันนี้ ชาวบิก๊ ซีทกุ คนได้พสิ จู น์ให้เห็นแล้วว่า ความมุง่ มัน่ ความอุตสาหะ และความพากเพียรของพวกเรา จะพัฒนา บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ไปสู่ก้าวใหม่และอนาคตที่สดใสและเข้มแข็ง ผมเชื่อมั่นว่า บิ๊กซี พร้อมแล้วที่จะไปสู่การเป็นผู้น�ำด้านค้าปลีกของ ประเทศไทย และขอขอบคุณท่านหุ้นส่วนทางธุรกิจ ท่านคู่ค้า และท่านผู้ถือหุ้น ทุกท่าน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทุกท่านจะให้การสนับสนุนบิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์อย่างต่อเนือ่ ง ในการก้าวไปสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่และ การเป็นห้างค้าปลีกในใจของผู้บริโภคชาวไทยทั่วประเทศ

ขอขอบคุณ

นายอัคนี ทับทิมทอง ประธานกรรมการ

2

รายงานประจำ�ปี 2554


สารจาก

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ คงจะไม่มีค�ำใด ให้ค�ำนิยามพัฒนาการของบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในปี 2554 ได้ ตรงและดีเท่ากับค�ำว่า “บิ๊กซี ใหญ่ขึ้น และให้คุณได้มากกว่า” ซึ่งเป็นใจความหลัก ของรายงานประจ�ำปี 2554 ฉบับนี้ บิ๊กซีได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วในปี 2554 ในช่วงต้นปี การควบรวมกิจการ คาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) ได้อ�ำนวยให้เราได้ร้านค้ารูปแบบไฮเปอร์มาร์เก็ต 34 สาขา ซูเปอร์มาร์เก็ต 8 สาขา และร้านสะดวกซื้อ 1 สาขา มาเพิ่มเข้าสู่เครือข่ายร้านค้า ของเรา และส่งผลให้เราก้าวกระโดดไปสู่การเป็นผู้น�ำร่วมในธุรกิจค้าปลีกของไทย การควบรวมฯ ท�ำให้จำ� นวนสาขาบิก๊ ซีในกรุงเทพมหานครเพิม่ ขึน้ เป็นสองเท่า เป็นการ เพิม่ ความแข็งแกร่งของเราในการเข้าถึงผูบ้ ริโภคในกรุงเทพฯ ชัน้ ใน ทีม่ กี ำ� ลังซือ้ สูง และ เรายังเป็นห้างค้าปลีกทีม่ จี ำ� นวนสาขามากทีส่ ดุ ในเมืองท่องเทีย่ วหลักๆ อาทิ เชียงใหม่ และพัทยาด้วย นอกจากนัน้ การควบรวมฯ ได้ทำ� ให้เราสามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าได้ทกุ กลุม่ ทุกความต้องการ ซึง่ ผลดีของการควบรวมฯ ได้แสดงผลให้ประจักษ์ ชัดแล้ว ผ่านประโยชน์ทางการเงินที่เราได้รับจากการควบรวมในปี 2554 การควบรวมกิจการไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ด้วยความมุ่งมั่นและความมานะพยายาม ของพนักงานบิ๊กซีทุกคน เราสามารถด�ำเนินการควบรวมกิจการเสร็จสิ้นได้เร็วเป็น ประวัติการณ์ภายในเวลาเพียง 7 เดือน และนับจากวันนั้นเป็นต้นมา บิ๊กซีได้ขยาย พัฒนา และแสดงผลส�ำเร็จในทุกๆ ด้าน ซึ่งรวมถึงการพัฒนาจากภายในบริษัทฯ ด้วยการเปิดไฮเปอร์มาร์เก็ต 3 สาขา บิ๊กซีมาร์เก็ต 2 สาขา มินิบิ๊กซี 37 สาขา และ ร้านขายยาเพรียว 21 สาขา ในปี 2554 อย่างไรก็ดี วิกฤตน�้ำท่วมในปี 2554 ส่งผลให้เราต้องปิดร้านค้ารูปแบบ ไฮเปอร์มาร์เก็ต 5 สาขา มินิบิ๊กซี 15 สาขา ร้านขายยาเพรียว 1 สาขา และ ศูนย์กระจายสินค้าทัง้ 4 แห่งชัว่ คราว แต่วกิ ฤติครัง้ นี้ ก็เป็นอีกครัง้ หนึง่ ทีช่ าวบิก๊ ซีแสดง ให้เห็นถึงความสามารถในการปรับตัวรับสถานการณ์และแก้ไขอุปสรรคได้อย่างรวดเร็ว เราได้จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าชั่วคราวขึ้น 7 แห่ง และขอความร่วมมือให้บริษัทคู่ค้า ส่งสินค้าตรงถึงสาขาให้มากที่สุด เมื่อสินค้าอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต ขาดตลาด บิก๊ ซีได้เสาะหาผูผ้ ลิตรายย่อยรวมทัง้ น�ำเข้าสินค้าทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ ดูแลผูบ้ ริโภค และหลังน�้ำลด เราสามารถด�ำเนินการให้สาขาไฮเปอร์มาร์เก็ตและร้านค้ารูปแบบเล็ก กลับมาเปิดบริการได้ก่อนสิ้นปี 2554 นอกจากนั้น กรมธรรม์ประกันภัยของเรายัง คุ้มครองความเสียหายที่เกิดจากน�้ำท่วมและสาขาที่ต้องปิดให้บริการชั่วคราว ท�ำให้ ผลประกอบการของเราไม่ถูกกระทบโดยวิกฤตครั้งนี้

ผลประกอบการที่ดีของบิ๊กซีในปี 2554 เป็นผลที่เกิดโดยตรงจากความมุ่งมั่น และความพากเพียรที่น่าชมเชยอย่างยิ่งของชาวบิ๊กซี ยอดขายของเราเพิ่มขึ้นร้อยละ 46.8 จาก 70,236 ล้านบาท เป็น 102,563 ล้านบาท รายได้จากค่าเช่าของเราเพิ่ม ขึ้นถึงร้อยละ 66.3 จาก 4,200 ล้านบาท เป็น 6,985 ล้านบาท การควบรวมกิจการ ที่ส�ำเร็จอย่างรวดเร็ว ได้ร่นเวลาการได้รับประโยชน์ทางการเงินของการควบรวมให้ เร็วขึ้น โดยได้รับประโยชน์ในปี 2554 กว่า 1,700 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายจ�ำนวน 1,200 ล้านบาท ที่ตั้งไว้สำ� หรับปี 2556 ถึงร้อยละ 141.7 ซึ่งส่งผลให้อัตราก�ำไรขั้นต้น เพิ่มจากร้อยละ 13.3 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 14.9 ในปี 2554 ในปี 2555 และในอนาคต บิ๊กซีจะน�ำความส�ำเร็จและพลังบวกของปี 2554 ไปเป็นแรงขับเคลือ่ นบริษทั ฯ ไปสูก่ ารเป็นผู้ค้าปลีกสมัยใหม่อันดับ 1 ของประเทศไทย โดยให้ความส�ำคัญสูงสุดแก่ลูกค้าของเรา ด้วยการด�ำเนินยุทธศาสตร์ ดังนี้ ดสาขาในทุกรูปแบบร้านค้า และพัฒนารูปแบบร้านค้าต่างๆ • ทัขยายการเปิ ้งที่มีอยู่แล้ว และที่จะคิดค้นขึ้นใหม่ อย่างต่อเนื่อง สูงสุดจากแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ค้าปลีกควบคู่ไปกับ • สร้พืน้ าทีงประโยชน์ เ่ ช่า ด้วยการสร้างศูนย์การค้าบิก๊ ซีในทุกสาขาของบิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1

และบิ๊กซี มาร์เก็ต ที่จะเปิดใหม่ รวมทั้งน�ำแนวคิด “อัลคูเดีย โมเดล” มา ใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพของพืน้ ทีเ่ ช่าในแต่ละสาขา2 กระชับความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ ทั้งลูกค้า ผู้ถือหุ้น คู่ค้า ผู้สนับสนุนทางธุรกิจ องค์กรภาครัฐและภาคประชาสังคม ศึกษาศักยภาพและความเป็นไปได้ของการขยายตลาดไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน

• •

ความส�ำเร็จและอนาคตของบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนจาก ท่านลูกค้า ผู้ถือหุ้น คู่ค้า ผู้สนับสนุนทางธุรกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย รวมทั้งชาว บิ๊กซีทุกท่าน ผมจึงขอขอบพระคุณทุกท่านอีกครั้งที่ได้กรุณาให้การสนับสนุนบิ๊กซี มาโดยตลอด และขอเชิญทุกท่านจับมือกันมุ่งหน้าไปสู่เป้าหมายร่วมของเรา เพื่อให้ ปี 2555 เป็นปีที่ดีที่สุดที่เคยมีมา ส�ำหรับพวกเราทุกคน ขอขอบคุณ

นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) 1 2

หน้า 22 หน้า 24

รายงานประจำ�ปี 2554

3


ประธานกิตติมศักดิ์ คณะกรรมการบริษัทฯ และ ผูบริหารระดับสูง

6

รายงานประจำ�ปี 2554


ประธานกิตติมศักดิ์ และ คณะกรรมการบริษัทฯ

นายอัคนี ทับทิมทอง

นายวันชัย จิราธิวัฒน์

ประธานกรรมการ

ประธานกิตติมศักดิ์

นายสตราสเซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม

นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์

นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่

นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง

นายเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเซ่

นายชาร์ค โดมินิค เอมาน

นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

นายกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต

นายอูลีเซส คาเมยามา

นายนนทพล นิ่มสมบุญ

กรรมการ

กรรมการอิสระ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ, ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

กรรมการ

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

นายไพฑูรย์ ทวีผล

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2554

7


ผู้บริหาร

ระดับสูง

นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ กรรมการผู้จัดการใหญ่

8

รายงานประจำ�ปี 2554


นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์

รองประธานผู้บริหาร ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและอสังหาริมทรัพย์

นายสตีเฟ่น โจเซฟ แคมมิแลรี่ รองประธานฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

นายฟิลิปป์ เพรฌอง รองประธานฝ่ายปฏิบัติการ

นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น

รองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2554

9


ผู้บริหาร

ระดับสูง

นายเกรก โอเชียร์

รองประธาน ฝ่าย Supply Chain Management

นายอเล็กซ์ มอร์แกน

รองประธานฝ่ายควบคุม การจัดซื้ออาหารและพัฒนาผลิตภัณฑ์

นายเอมานูเอล กูโรน

รองประธานอาวุโส ฝ่ายจัดซื้ออาหารและพัฒนาผลิตภัณฑ์

10

รายงานประจำ�ปี 2554

ดร. สรินทิพย์ สถิตย์เสถียร รองประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจ


นายรีจิส ฟิลิป พรีซอง

รองประธานฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร

นายประเวทย์ ปรุงแต่งกิจ

รองประธานฝ่ายจัดการระบบข้อมูล

นายเอียน ลองเด็น รองประธานอาวุโส ฝ่ายบริหารสาขาย่อย

นายบรูโน จูสแลง

รองประธาน ฝ่ายจัดซื้อสินค้าทั่วไป

รายงานประจำ�ปี 2554

11


คุณวุฒิทางการศึกษา และประสบการณ์ของ

กรรมการและผู้บริหารระดับสูง นายวันชัย จิราธิวัฒน์

ประธานกิตติมศักดิ์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

 ประธานกรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด  ประธานกรรมการ บริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด  ประธานกรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด  ประธานกรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน)  ประธานกิตติมศักดิ์ถาวร มูลนิธิส่งเสริมศีลธรรม  กรรมการ กรมการส่งเสริมการลงทุนการค้าไทย - จีน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

 ตริตภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : 0.03

นายอัคนี ทับทิมทอง ประธานกรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 BA in Political Science and Philosophy from Queen’s University of Belfast, ประเทศไอร์แลนด์เหนือ  MBA London Business School, London ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 ที่ปรึกษา โกลด์แมน ซาคส์ ประเทศไทย  Executive Director, Goldman Sachs Asia, focusing on expanding private client services in the region and working closely with Investment Banking Division in Thailand

นายเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเซ่

กรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ESSEC Business School and in Law University PARIS V (Rene’Descartes), ประเทศฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Rothschild & Cie (Paris) in origination and Execution of M&A cross-border and domestic transactions (Real Estate, Business Services and Debt Restructuring)

นายชาร์ค โดมินิค เอมาน กรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 HEC

 Chief Real Estate and Development Officer

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์

12

กรรมการ / รองประธานผู้บริหารฝ่ายพัฒนาธุรกิจและอสังหาริมทรัพย์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ปริญญาโท (วิศวกรรมศาสตร์) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Vice President, GE-Goldman AMC, ประเทศไทย  Executive Director, First Pacific Land, ประเทศไทย

รายงานประจำ�ปี 2554


นายสตราสเซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม

กรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 E.N.A. (High School of Civil Services)  School of HEC (Hautes Etudes Commerciales)  School of the “Institut d’ Etudes Potiques de Paris” ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Director of Corporate Development and Holdings, กลุ่มคาสิโน, ประเทศฝรั่งเศส  Member of the Management Board, กลุ่มคาสิโน, ประเทศฝรั่งเศส  Advisor to the Chairman, in charge of International Development, กลุ่มคาสิโน, ประเทศฝรั่งเศส

นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่

กรรมการอิสระ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Master of Science, THE AMERICAN UNIVERSITY, ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาตรี สถิติศาสตร์บัณฑิต คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยนครพัฒนา จำ�กัด  Country Director: บริษัท ซิลเวอร์เลค (ประเทศไทย) จำ�กัด  Country Manager: Fiserv (ASPAC) Pte (Singapore), SINGAPORE  Vice President: บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ วอลล์สตรีท จำ�กัด (มหาชน)  Assistant Vice President: บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ วอลล์สตรีท จำ�กัด (มหาชน)  Manager: บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ วอลล์สตรีท จำ�กัด (มหาชน)  SEP Project Analyst: บริษัท เอสโซ่ แสตนดาร์ด ประเทศไทย จำ�กัด

นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

กรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Operations Research) มหาวิทยาลัยไอโอนา นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยแมรี่แลนด์ (คอลเลจ พาร์ค) ประเทศสหรัฐอเมริกา  วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 13 การอบรม :  หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : 0.26

 ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด  กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)  รองกรรมการผู้จัดการใหญ่, ประธานฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายวางแผนธุรกิจ, ผู้อำ�นวยการฝ่ายขาย และฝ่ายการตลาด บริษัท ห้างเซ็นทรัล ดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จำ�กัด  ประธานกรรมการ บริษัท คอฟฟี่พาร์ทเนอร์ส จำ�กัด (Starbucks – ประเทศไทย)  รองประธานกรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน)  กรรมการ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา จำ�กัด (มหาชน)  กรรมการอิสระ บริษัท จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน)  กรรมการบริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จำ�กัด  กรรมการ บริษัท เดอะวินเทจคลับ จำ�กัด  สมาชิก, กรรมาธิการพาณิชย์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ  ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์  กรรมการ สภาหอการค้าไทย  นายกสโมสร โรตารี่ บางเขน

รายงานประจำ�ปี 2554

13


นายกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต

กรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Toulouse Graduate School of Management, ประเทศฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Senior Vice President, Corporate Finance, Groupe Casino, ประเทศฝรั่งเศส  CFO of Real Estate Investment Trust Fonciere des Regions, ปารีส  Credit Agricole Corporate and Investment Bank, มิลาน, นิวยอร์ก และปารีส  BHP Billiton, Johannesburg

นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Business School, Lyon, ประเทศฝรั่งเศส  MBA International-Business Management, University of Lindenwood, St. Charles, ประเทศสหรัฐอเมริกา  Certificate EM, Lyon, ประเทศฝรั่งเศส  Certificate I.M.D., ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท Libertad ประเทศอาร์เจนตินา

นายอูลีเซส คาเมยามา กรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Universidade Federal do Rio de Janeiro – ประเทศบราซิล ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Director, Corporate Development and Holdings, the Groupe Casino, France  Director, Business Development, Brazil Telecom  Director, M & A, NM Rothschild & Sons

นายนนทพล นิ่มสมบุญ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาเอก บัญชีดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยไอโอวา ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาตรี บช. บ., พณ.บ. (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ประเทศไทย)

 ประธานกรรมการ บริษัท เอ เอ็ม ซี อินเตอร์เนชั่นแนล คอนซัลติ้ง จำ�กัด  กรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย  ประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารแห่งประเทศไทย  ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจเงินแผ่นดิน (ระดับ 11)  นายกสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย

การอบรม

 หลักสูตร DAP 4/2003 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

14

รายงานประจำ�ปี 2554


นายไพฑูรย์ ทวีผล

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง  ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)  กรรมการผู้อำ�นวยการ บริษัท ที่ปรึกษาธุรกิจ อาร์เธอร์ แอนเดอร์เซ่น จำ�กัด  กรรมการ, กรรมการบริหาร บริษัท สำ�นักงาน เอส จี วี ณ ถลาง จำ�กัด  กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีที ที่ปรึกษาธุรกิจ จำ�กัด ปี 2546 – 2548  กรรมการ, อุปนายกสมาคม สมาคมตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย ปี 2541 – 2543  ประธาน, เลขาธิการ สหพันธ์นักบัญชีอาเซียน ปี 2534 – 2548  กรรมการ, อุปนายกสมาคม สมาคมนักบัญชี และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ปี 2534 - 2546  กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน, กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล บริษัท สมบูรณ์ แอ็ดวานซ์ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน)

การอบรม

 หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA), Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR), Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) และ Role of the Compensation Committee (RCC) ปี 2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย  หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) ปี 2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย  หลักสูตร Chartered Director Class (R-CDC) ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย  หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) และ Role of Chairman Program (RCP) ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย  หลักสูตร Director Certification Program (DCP) และ Director Accreditation Program (DAP) ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาเอก Decision Sciences (Production and Operations Management) มหาวิทยาลัยโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาโท, MBA Decision Sciences มหาวิทยาลัยโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาโท, M.Sc. (Industrial Engineering), มหาวิทยาลัยลีไฮ, รัฐเพนซิลเวเนีย, ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (อุตสาหกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : มี (3,000 หุ้น)

 อธิการบดี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย  รองอธิการบดี ฝ่ายแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ  กรรมการ บริษัท EMC (มหาชน)  ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยผลิตภัณฑ์ยิปซั่ม จำ�กัด (มหาชน)

นายฟิลิปป์ เพรฌอง

รองประธานฝ่ายปฎิบัติการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 โรงเรียนธุรกิจการโรงแรมในประเทศฝรั่งเศส (BTS Hotel Management)

 COO (Chief Operation Officer) Matahari ไฮเปอร์มาร์ท ธุรกิจด้านอาหาร ประเทศอินโดนีเซีย  15 ปี ทำ�งานในคาร์ฟูร์ ประเทศฝรั่งเศส และ 12 ปี ทำ�งานในคาร์ฟูร์ ประเทศแถบเอเซีย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

รายงานประจำ�ปี 2554

15


นางสาวรำ�ภา คำ�หอมรื่น

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินและรองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน / กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี / เลขานุการคณะกรรมการบริษัท เลขานุการคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเลขานุการบริษัท

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ประเทศไทย) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด  ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บริษัท เนชั่นแนล สตาร์ท แอนด์ เคมิคอล (ประเทศไทย) จำ�กัด

นายสตีเฟ่น โจเซฟ แคมมิแลรี่

รองประธานฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการศึกษา ผู้ใหญ่ และการศึกษาต่อเนื่องอย่างมืออาชีพ) มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย  อนุปริญญาโท (การศึกษานอกเวลางาน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย  ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยซิดนีย์ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Associate Director, บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอฟเอเอส จำ�กัด  ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาองค์กร กลุ่มบริษัท เดสทิเนชั่น พรอพเพอตี้ จำ�กัด

นายเอมานูเอล กูโรน

รองประธานอาวุโสฝ่ายจัดซื้ออาหารและพัฒนาผลิตภัณฑ์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) สถาบันธุรกิจแห่งยุโรป เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 กรรมการผู้จัดการ บริษัท Snair & Socemas Reunies ประเทศฝรั่งเศส

นายเอียน ลองเด็น

รองประธานอาวุโสฝ่ายบริหารสาขาย่อย

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 A’Level, Ashville College, ประเทศอังกฤษ

 Director, Tesco-Express, ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  Director, Tesco-Express & Supermarket, ประเทศไทย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

นายรีจิส ฟิลิป พรีซอง

16

รองประธานฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Master Business Management, University of Brittany ประเทศฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาด บิ๊กซี เวียดนาม  ประสบการณ์ทำ�งานมากกว่า 11 ปี ในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ ในภูมิภาคเอเชีย

รายงานประจำ�ปี 2554


นายเกรก โอเชียร์

รองประธานฝ่าย Supply Chain Management

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 Victorian Certificate of Education (Economics & Politics)  De la Salle, Melbourne, ประเทศออสเตรเลีย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Country General Manager, TOLL Integrated Logistics Malaysia, TOLL - ZARI Haulage Sdn. Bhd. and TOLL Fleet Equipment

นายประเวทย์ ปรุงแต่งกิจ

รองประธานฝ่ายจัดการระบบข้อมูล

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ปริญญาตรี (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายบริการสารสนเทศ บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน)

ดร. สรินทิพย์ สถิตย์เสถียร

รองประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาเอก (วิศวอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เมืองซีแอตเทิล ประเทศสหรัฐอเมริกา  ปริญญาโท (วิศวอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เมืองซีแอตเทิล ประเทศสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 อาจารย์ผู้บรรยายภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี  กรรมการผู้จัดการ บริษัท เค ซี เอส แอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง จำ�กัด ประเทศไทย  กรรมการผู้จัดการ, หุ้นส่วน บริษัท พีเอ็นเอช ดิสทริบิวชั่น จำ�กัด พนมเปญ ประเทศกัมพูชา

นายอเล็กซ์ มอร์แกน

รองประธานฝ่ายควบคุมการจัดซื้ออาหารและพัฒนาผลิตภัณฑ์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 ปริญญาโท (ภูมิศาสตร์มนุษย์) มหาวิทยาลัยลีดส์ สหราชอาณาจักร  ปริญญาตรี (การศึกษาด้านการจัดการและภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยลีดส์ สหราชอาณาจักร ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Trading Director, Electrical & New Technology บริษัท เทสโก กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน), เทสโก โลตัส (ประเทศไทย)  รองประธานฝ่าย Hard Lines, เทสโก โลตัส (ประเทศไทย)

นายบรูโน จูสแลง

รองประธานฝ่ายจัดซื้อสินค้าทั่วไป

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประสบการณ์

 MBA, Marketing and Management Institut de Recherche et d’ Actions Commercials, เมืองปารีส, ประเทศฝรั่งเศส ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) : ไม่มี

 Director, Hard Goods Business Model Development Carrefour Group, เมืองปารีส, ประเทศฝรั่งเศส  More than 11 years of retail business in Asia

รายงานประจำ�ปี 2554

17


โครงสร้างองค์กร บริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง

รองประธาน ฝ่ายบัญชี และการเงิน

รองประธาน ฝ่ายจัดการ ระบบข้อมูล

18

รายงานประจำ�ปี 2554

รองประธานอาวุโส ฝ่ายจัดซื้ออาหาร และพัฒนาผลิตภัณฑ์

รองประธาน ฝ่ายจัดซื้อ สินค้าทั่วไป

รองประธาน ฝ่ายทรัพยากร มนุษย์

รองประธาน ฝ่ายควบคุม การจัดซื้อ อาหาร และพัฒนา ผลิตภัณฑ์

รองประธาน ฝ่ายปฏิบัติการ

รองประธาน ฝ่าย SUPPLY CHAIN MANAGEMENT

รองประธาน ผู้บริหาร ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และ อสังหาริมทรัพย์

รองประธาน ฝ่ายการตลาด และการสื่อสาร

รองประธานอาวุโส ฝ่ายบริหาร สาขาย่อย

รองประธาน ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน


ธุรกิจของบิ๊กซี

รายงานประจำ�ปี 2554

19


การขับเคลื่อน

ธุรกิจของบิ๊กซี ปีพุทธศักราช 2554 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญของบิ๊กซี เริ่มตั้งแต่ต้นปี การควบรวมกิจการคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) ได้ช่วยเสริมความ สามารถในการแข่งขันของบริษทั ฯ และท�ำให้บกิ๊ ซีพฒ ั นาไปอย่างก้าวกระโดด บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ทั้งจากบิ๊กซีและคาร์ฟูร์ ได้รว่ มกันสร้างพลวัตรเพือ่ รวมการท�ำงานให้เป็นหนึง่ เดียวได้ในเวลาอันรวดเร็ว ส่งผลให้ในปลายปี 2554 ประโยชน์ทางการเงินจากการควบรวมที่บิ๊กซีได้รับ มีมูลค่าเกินจากเป้าหมายที่เราตั้งไว้ส�ำหรับปี 2556 ถึง 1.4 เท่าตัว ท่ามกลางความส�ำเร็จนี้ บิ๊กซียังคงพัฒนาไปเรื่อยๆ อย่างไม่หยุดยั้ง เรา “ใหญ่ขึ้น และให้คุณได้มากกว่า” และเราจะขยายธุรกิจในทุกรูปแบบ ร้านค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ร้านค้าขนาดเล็ก ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาสูง นอกจากนั้น เรายังศึกษาและพัฒนารูปแบบร้านค้าใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อ ไปสู่การเป็นผู้นำ� ด้านค้าปลีกของไทย การควบรวมยังได้ช่วยขยายฐานลูกค้าให้บิ๊กซี ขณะนี้ เราสามารถ ตอบสนองลูกค้าได้ทุกกลุ่มและทุกรสนิยม เราจึงได้ใช้กลยุทธ์ที่ครอบคลุม รอบด้าน มาเป็นพลังส�ำคัญในการผลักดันบิ๊กซีไปข้างหน้า เพื่อให้สามารถ ตอบสนองความต้องการและสร้างความคุ้มค่าสูงสุดให้กับลูกค้า กล่าวคือ

การสร้างความพึงพอใจสูงสุดในทุกด้านให้กบั ลูกค้า ตั้งแต่เริ่มด�ำเนินกิจการ บิ๊กซีให้ความส�ำคัญสูงสุดกับผู้บริโภค เราได้ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตลอด 18 ปี เพื่อท�ำทุกอย่างเพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดในทุกด้านให้กับลูกค้า โดยยึดแนวทางหลัก 5 ประการ กล่าวคือ

1) ความเป็นผู้น�ำด้านราคาถูก ปรัชญาของบิ๊กซีที่ถือปฏิบัติกันมาช้านาน ก็คือการสร้างความคุ้มค่าให้ ลูกค้าผ่านสินค้าราคาถูก นับเป็นเวลากว่า 11 ปี แล้ว ที่แคมเปญ“เช็คไพรส์ ถูกชัวร์” ของบิ๊กซี ได้สร้างความมั่นใจและความอุ่นใจให้กับลูกค้า ว่าราคา สินค้าที่บิ๊กซี ถูกกว่าแน่นอน เราภูมิใจในการเป็นผู้น�ำด้านราคาถูก และมุ่งมั่น ทีจ่ ะพัฒนาจุดแข็งนีต้ อ่ ไปอย่างไม่หยุดนิง่ นอกจากสินค้าราคาถูกแล้ว บิก๊ ซียงั จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย การสร้างความสนุกและความเป็นกันเองในการ จับจ่ายใช้สอย เพื่อตอบแทนลูกค้าตลอดปี

2) สินค้าที่หลากหลายและครบครัน ฝ่ายจัดซือ้ สินค้าของบิก๊ ซี เปีย่ มไปด้วยประสบการณ์ และมีเครือข่ายกับ ผู้ผลิตทั้งในและต่างประเทศกว่า 4,000 ราย ท�ำให้เราสามารถเสาะหา และ คัดเลือกสินค้าคุณภาพกว่า 80,000 รายการ มาตอบสนองทุกความต้องการ ของผู้บริโภค ท�ำให้สินค้าของเรา มีตั้งแต่สินค้า “แฮปปี้ บาท” ที่ช่วยลูกค้า ประหยัดได้มากที่สุด ไปจนถึงสินค้าเฮ้าส์แบรนด์คุณภาพสูงของบิ๊กซี (อาทิ บิ๊กซี ดีไลท์ บิ๊กซี แอดวานช์ บิ๊กซี แคร์) และสินค้าพรีเมี่ยม อาทิ ผลิตภัณฑ์ คาสิโนแบรนด์ ที่นำ� เข้าโดยตรงจากประเทศฝรั่งเศส

สินค้าของ บิ๊กซี แบ่งออกเป็นห้าประเภทหลัก ดังนี้ • อาหารสด ประเภทเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ผลไม้และผักสด (อาหารพร้ อ มปรุ ง และอาหารพร้ อ มรั บ ประทาน) อาหารแช่ แข็ ง อาหารอบ รวมถึงสมุนไพรและเครื่องเทศต่างๆ

• สินค้าอุปโภคและบริโภค ได้แก่ เครื่องปรุงรส และเครื่อง

ประกอบอาหาร เครื่ อ งดื่ ม ต่ า งๆ อาทิ น�้ ำ อั ด ลม และเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี แอลกอฮอล์ ขนมขบเคีย้ ว ของใช้สว่ นตัว ผลิตภัณฑ์ทำ� ความสะอาด อาหาร และของใช้ส�ำหรับสัตว์เลี้ยง

• เสื้อผ้าและเครื่องประดับ สุภาพบุรุษ สตรี เด็ก และทารก

รวมถึงรองเท้าและเครื่องส�ำอาง • เครื่องใช้ไฟฟ้า ได้แก่ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้านานาชนิด เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น ฯลฯ อุปกรณ์เครื่องใช้ในครัว อุปกรณ์เพื่อความ บันเทิงภายในบ้าน เทป ซีดี อุปกรณ์ประดับยนต์ วัสดุอุปกรณ์ และ เครื่องมือซ่อมแซมบ�ำรุงรักษาบ้าน

• อุ ป กรณ์ ต กแต่ ง และของใช้ ภ ายในบ้ า น ได้ แก่

เฟอร์นิเจอร์ เครื่องครัว บรรจุภัณฑ์ และเครื่องใช้พลาสติก อุปกรณ์กีฬา และของเด็กเล่น

สัดส่วนยอดขายสินค้าแต่ละประเภท บิ๊กซี 2553 10.4% 9.5% 16.2%

10.9% 9.9% 54.9%

9.1%

สินค้าอุปโภคและบริโภค อาหารสด เครื่องใช้ไฟฟ้า 20

รายงานประจำ�ปี 2554

บิ๊กซีควบรวมกับคาร์ฟูร์ 2554

16.3%

53.5%

9.4%

อุปกรณ์ตกแต่งและของใช้ภายในบ้าน เสื้อผ้าและเครื่องประดับ


3) ความเป็นเลิศด้านคุณภาพ นอกจากความเป็นผู้น�ำด้านราคาแล้ว บิ๊กซียังให้ความส�ำคัญสูงสุดกับ คุณภาพของสินค้าทุกชิ้น ผ่านแคมเปญ “จัดเต็มด้วยใจ ให้คนส�ำคัญ” ที่รับประกันความพึงพอใจด้านคุณภาพ ด้วยการรับเปลี่ยนและคืนสินค้า ทุกชิ้น ซึ่งแคมเปญนี้ ได้สร้างความมั่นใจให้ลูกค้า และยังได้สร้างฐานลูกค้า จ�ำนวนมากให้บิ๊กซีด้วย

4) การบริการที่ดีเยี่ยม

บิก๊ ซีไม่เคยหยุดนิง่ ในการพัฒนาเพือ่ เป็น “ศูนย์กลางการจับจ่ายและ อ�ำนวยความสะดวกแบบครบวงจร” ทีเ่ ป็นมากกว่าห้างค้าปลีกธรรมดา พนักงานกว่า 23,000 คนของบิ๊กซี ได้รับการปลูกฝังมาโดยตลอดให้ขยัน ขันแข็ง เป็นมิตร มีความกระตือรือล้นที่จะดูแลและสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้กับลูกค้า พวกเขาได้รับการปลูกฝังให้เป็นส่วนหนึ่งของสังคม และ ท�ำทุกอย่างที่จะท�ำได้ เพื่อดูแลลูกค้า ทั้งในเวลาปกติและในช่วงเวลาแห่ง ความยากล�ำบาก อาทิ ช่วงวิกฤตน�ำ้ ท่วม

บิ๊กซีมุ่งมั่นที่จะน�ำบริการเสริมต่างๆ มาเพิ่มความสะดวกให้แก่ลูกค้า ตั้งแต่พนักงานที่ช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า บริการบรรจุกล่องโดยไม่คิด ค่าใช้จ่าย บริการต่ออายุภาษีรถยนต์ บริการจดทะเบียนสมรส ฯลฯ นอกจากนั้น บิ๊กซียังน�ำความสะดวกไปมอบแด่ลูกค้าถึงที่บ้าน ผ่านเว็บไซต์ shopping online ที่อ�ำนวยความสะดวกให้ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าทางโทรศัพท์ เพือ่ มารับสินค้าได้ในเวลาอันรวดเร็ว พร้อมสามารถเลือกให้บกิ๊ ซีนำ� ไปส่งและ รับช�ำระเงินถึงที่พักหรือบริษัทได้ด้วย

การขยายธุรกิจผ่านรูปแบบร้านค้าที่หลากหลาย

ปัจจัยหลักประการหนึ่งของความส�ำเร็จของบิ๊กซี คือความสามารถ ในการปรั บ รู ป แบบการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งรวดเร็ ว เพื่ อ ตอบสนองความ ต้องการที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาของลูกค้า รวมทั้ง การน�ำความประหยัดคุ้มค่าเข้าไปน�ำเสนอต่อลูกค้าให้ได้ใกล้ชิดและทั่วถึงที่ สุด นี่คือที่มาของการที่บิ๊กซีได้พัฒนารูปแบบร้านค้าใหม่ๆ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า บิ๊กซี จัมโบ้ และร้านขายยาเพรียว มาเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า รูปแบบร้านค้าที่หลากหลายของบิ๊กซี ท�ำให้เราสามารถตอบสนอง ทุกความต้องการของลูกค้าได้ ไม่ว่าจะเป็นการจับจ่ายประจ�ำสัปดาห์ของ ทั้งครอบครัวขนาดเล็กและขนาดใหญ่ การจับจ่ายสินค้าเล็กน้อยในแต่ละวัน ไปจนถึงการซือ้ วัตถุดบิ เพือ่ กิจการร้านอาหาร โรงแรม หรือจัดเลีย้ ง ซึง่ ทัง้ หมด นี้ ได้ช่วยขยายความสามารถในการเข้าถึงลูกค้าและตอบสนองความต้องการ ทีห่ ลากหลาย โดยลูกค้าจะได้รบั ความประหยัดคุม้ ค่าและบริการทีด่ เี ยีย่ มแบบ บิ๊กซีจากทุกรูปแบบร้านค้า

5) การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ในปี 2554 บัตรสมาชิกบิ๊กการ์ด มีสมาชิกถึง 6.5 ล้านคน และยังคง เติบโตต่อไป ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาสิทธิประโยชน์และความสะดวก สบายที่บัตรบิ๊กการ์ดมอบให้กับสมาชิก อาทิ การได้รับคูปองเงินสดท้ายบิล โดยไม่ต้องแลกแต้ม และการได้รับสิทธิซื้อสินค้าราคาพิเศษส�ำหรับสมาชิก ทั้งนี้ ยอดการจับจ่ายใช้สอยผ่านบัตรสมาชิกบิ๊กการ์ด ได้เพิ่มขึ้นจากสัดส่วน ร้อยละ 25 ของยอดขาย ในปี 2552 มาเป็นกว่าร้อยละ 60 เมื่อสิ้นปี 2554

รายงานประจำ�ปี 2554

21


ร้านค้ารูปแบบต่างๆ ของบิ๊กซี มีรายละเอียดดังนี้ ไฮเปอร์มาร์เก็ต

ขณะนี้ บิ๊กซี มีไฮเปอร์มาร์เก็ต 3 รูปแบบ กล่าวคือ 1) บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 2) บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า และ 3) บิ๊กซี จัมโบ้

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ เป็ น ไฮเปอร์ ม าร์ เ ก็ ต รู ป แบบดั้ ง เดิ ม ของบิ๊ ก ซี มี ฐ านลู ก ค้ า หลั ก ใน ตลาดกลางและล่าง มุ่งเน้นความประหยัดคุ้มค่าสูงสุดผ่านสินค้าราคาถูกที่ หลากหลาย บริการทีย่ อดเยีย่ ม และบรรยากาศการจับจ่ายใช้สอยทีเ่ ป็นกันเอง บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า เป็นไฮเปอร์มาร์เก็ตรูปแบบใหม่ เปิดตัวในปี 2554 ที่มีเป้าหมายเพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มกลางและบน ด้วยการคัดสรรสินค้า พรีเมี่ยม อาทิ สินค้าสดออร์แกนิค สินค้าอนามัย รวมทั้งสินค้าน�ำเข้าจากต่าง ประเทศ อาทิ ผลิตภัณฑ์คาสิโนแบรนด์ ที่น�ำเข้าโดยตรงจากฝรั่งเศส พร้อม บริการเสริมที่เพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน ยังรักษาจุดแข็งด้านราคาคุ้มค่า แบบบิ๊กซีไว้อย่างไม่เปลี่ยนแปลง ร้านค้าสองรูปแบบนี้ เป็นรูปแบบร้านค้าหลักของบิ๊กซี มีสินค้ากว่า 100,000 รายการ บนพี้นที่ขายระหว่าง 4,000-12,000 ตารางเมตร มี สัดส่วนการจ�ำหน่ายสินค้าอาหารประมาณร้อยละ 60 และเครื่องใช้ร้อยละ 40 การควบรวมกิจการคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) ได้ท�ำให้บิ๊กซี มีจ�ำนวนสาขา ในกรุงเทพมหานคร ในสัดส่วนที่เท่าเทียมกันกับจ�ำนวนสาขาในจังหวัดอื่นๆ ในปี 2554 บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ มีจ�ำนวนรวม 92 สาขา และ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า มีจ�ำนวนรวม 15 สาขา

บิ๊กซี จัมโบ้ เป็นไฮเปอร์มาร์เก็ตรูปแบบทีส่ ามและรูปแบบใหม่ลา่ สุดของบิก๊ ซี ทีเ่ น้น การตอบสนองความต้องการแบบครบวงจรให้กบั ทัง้ ลูกค้าทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการ โรงแรม ร้านอาหาร และธุรกิจจัดเลี้ยง รวมทั้งวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม และผู้บริโภคทั่วไปที่ต้องการซื้อสินค้าเป็นจ�ำนวนมาก บิ๊กซี จัมโบ้ สาขาแรก เปิดให้บริการที่สาขาส�ำโรง เมื่อเดือนธันวาคม 2554 มีพื้นที่ขาย 10,000 ตารางเมตร และสินค้าล็อตใหญ่ประมาณ 15,000 รายการ โดยมีสัดส่วนการขายสินค้าอาหารร้อยละ 80 และเครื่องใช้ร้อยละ 20 และนอกจากบิ๊กซี จัมโบ้ ส�ำโรงแล้ว ยังมีสถานี “จัมโบ้ สเตชั่น” ที่เป็น ส่วนหนึ่งในบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาพัทยา เพื่อตอบสนองผู้ประกอบการ โรงแรม ร้านอาหาร และธุรกิจจัดเลี้ยงด้วย

ซูเปอร์มาร์เก็ต บิ๊กซี มาร์เก็ต เป็นร้านค้ารูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตของบิ๊กซี ที่มีเอกลักษณ์ในความเป็น ผูน้ ำ� ด้านราคาถูกและโปรโมชัน่ ทีห่ ลากหลายเช่นเดียวกับบิก๊ ซี ซูเปอร์มาร์เก็ต มีพื้นที่ขายระหว่าง 750-2,000 ตารางเมตร และสินค้าประมาณ 15,000 รายการ ขนาดที่เล็กของร้านค้า ท�ำให้บิ๊กซี มาร์เก็ต สามารถเข้าถึงพื้นที่และ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่รอบๆ ตัวเมืองได้อย่างคล่องตัว มีสัดส่วนการขายสินค้า อาหารร้อยละ 80 และเครื่องใช้ร้อยละ 20 โดยในปี 2554 เรามีบิ๊กซีมาร์เก็ต 12 สาขา ในกรุงเทพและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดหลักๆ ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้

22

รายงานประจำ�ปี 2554


ร้านสะดวกซื้อ มินิบิ๊กซี เป็ น ร้ า นค้ า รู ป แบบที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของเราที่ มี ค วามคล่ อ งตั ว สู ง และ เอื้อประโยชน์ต่อการน�ำความคุ้มค่าสูงสุดไปมอบแด่ชุมชนต่างๆ ทั่วประเทศ อย่างทั่วถึง โดยแต่ละสาขามีพื้นที่ขายเฉลี่ยประมาณ 160 ตารางเมตร และ มีสินค้าประมาณ 3,200 รายการ มิ นิ บิ๊ ก ซี แ ตกต่ า งจากร้ า นสะดวกซื้ อ ทั่ ว ไปตรงที่ มิ นิ บิ๊ ก ซี จ� ำ หน่ า ย อาหารสด จึงตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้มากขึ้น มีสัดส่วน การขายสินค้าอาหารร้อยละ 90 และเครื่องใช้ร้อยละ 10 ในปี 2554 เราได้เปิดมินิบิ๊กซีเพิ่มขึ้น 37 สาขา ท�ำให้มียอดรวมของ มินิบิ๊กซีอยู่ที่ 51 สาขา ร้านขายยาเพรียว เป็นรูปแบบร้านจ�ำหน่ายเวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์บ�ำรุงสุขภาพและ ความงาม มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 45 ตารางเมตร และสินค้าประมาณ 1,700 รายการ ที่ผ่านมา ร้านขายยาเพรียวจะตั้งอยู่ในบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ แต่ในปี 2554 บิ๊กซีได้เริ่มเปิดสาขาร้านขายยาเพรียวที่แยกเป็นเอกเทศแล้ว โดยมีการ เปิดสาขาร้านขายยาเพรียวในปี 2554 ทั้งหมด 21 สาขา ท�ำให้มีจำ� นวนสาขา ร้านขายยาเพรียวทั้งหมด 51 สาขา

โมเดลการสร้างศูนย์การค้าควบคู่ไปกับห้างค้าปลีก บิ๊กซีให้ความส�ำคัญกับการสร้างศูนย์การค้าควบคู่ไปกับบิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ และบิ๊กซี มาร์เก็ต เพราะร้านค้าที่หลากหลายในศูนย์การค้าของ บิก๊ ซี สามารถช่วยตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในการเป็น “ศูนย์กลาง การจับจ่ายแบบครบวงจร” ได้เป็นอย่างดี ขนาดของพื้นที่เช่าในศูนย์การค้าของบิ๊กซีแตกต่างกันตามรูปแบบและ ที่ตั้งของสาขา เป็นที่น่ายินดีว่า อัตราการเช่าพื้นที่เฉลี่ยทุกสาขาในปี 2554 สูงถึงร้อยละ 95 ซึ่งนอกจากจะช่วยดึงดูดลูกค้ามาที่บิ๊กซีแล้ว รายได้จาก การเช่าพื้นที่ยังเป็นส่วนส�ำคัญของผลประกอบการของบิ๊กซีด้วย ในปี 2554 บิ๊กซีเปิดศูนย์การค้าใหม่จ�ำนวน 5 แห่ง โดยมีพื้นที่เช่า 13,700 ตารางเมตร ท�ำให้ขณะนี้ บิ๊กซีมีศูนย์การค้าทั้งหมด 115 แห่ง และมี พื้นที่เช่ารวม 684,000 ตารางเมตร

โครงสร้างการเช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าของบิ๊กซี

ผู้เช่าศูนย์การค้าของบิ๊กซี สามารถแบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม ตามลักษณะของ การเช่าและประเภทของธุรกิจ ดังนี้ ร้านค้า ประกอบด้วยผู้ค้าผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นที่รู้จักในด้านต่างๆ อาทิ เครื่องแต่งกาย ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ธนาคาร ซึ่งร้านค้าเหล่านี้ ได้น�ำสินค้า และบริการที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่ต้องการมาเพิ่มศักยภาพในการดึงดูดลูกค้า ในขณะเดียวกัน ศูนย์การค้าของบิก๊ ซีกไ็ ด้สร้างความสะดวกสบายให้กบั ลูกค้า ด้วยการรวบรวมร้านค้าเหล่านีม้ ารวมอยูใ่ นทีเ่ ดียวกัน สัญญาของร้านค้า จะมี ระยะเวลาประมาณ 3 ปี รายงานประจำ�ปี 2554

23


ผู้เช่ารายหลัก ประกอบด้วยธุรกิจรายใหญ่ที่ช่วยตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในหมวดสินค้าที่ไม่มีจ�ำหน่ายในบิ๊กซี อาทิ สินค้าเครื่องตกแต่งบ้าน และ โรงภาพยนตร์ ซึ่งผู้เช่ารายหลักเหล่านี้ มีบทบาทส�ำคัญในการดึงลูกค้ามาสู่ ศูนย์การค้า สัญญาเช่าจะมีระยะเวลา 3-15 ปี ศูนย์อาหาร ศูนย์การค้าบิ๊กซีทุกแห่ง จะมีศูนย์อาหารราคาประหยัด เพื่อเป็น ทางเลือกในการลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจ�ำวันให้กับลูกค้า โดยสัญญาเช่าร้าน อาหารจะมีอายุ 1 ปี บิ๊ก บาซาร์ เป็นผู้ประกอบการร้านค้ารายย่อยที่จ�ำหน่ายสินค้าที่หลากหลาย เช่น เครื่องประดับและเครื่องแต่งกาย โทรศัพท์มือถือ ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ของเล่นเด็ก โดยมีสัญญาเช่า 1 ปี พื้นที่เช่าชั่วคราว ประกอบด้ ว ยผู ้ เช่ า รายย่ อ ยที่ จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ป รั บ เปลี่ ย นไป ตามกระแสความนิยมและความต้องการของลูกค้า โดยจะมีพื้นที่เช่าอยู่ทั้ง ด้านในและด้านนอกของอาคาร เพื่อสร้างบรรยากาศและความสนุกสนานใน การจับจ่ายใช้สอย โดยมีระยะเวลาการเช่า 1 เดือน

การปรับปรุงสาขาภายใต้แนวคิด “อัลคูเดีย โมเดล” การปรับปรุงสาขามีบทบาทส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของศูนย์การค้าที่ อยู่คู่กับห้างค้าปลีก โดยปกติ บิ๊กซีจะท�ำการปรับปรุงสาขาทุกๆ 5-8 ปี แต่ ที่ผ่านมาในอดีต การปรับปรุงสาขามักจะเน้นไปที่การปรับปรุงการตกแต่ง ภายนอกและภายในอาคาร แต่ต่อมาในปี 2554 บิ๊กซีได้ริเริ่มแนวคิดการ ปรับปรุงสาขารูปแบบใหม่ ภายใต้แนวคิด “อัลคูเดีย โมเดล” เพื่อเพิ่ม ศักยภาพของสาขาและอ�ำนวยให้การปรับปรุงสาขาเกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ “อัลคูเดีย โมเดล” มีความพิเศษกว่าการปรับปรุงการตกแต่งอาคาร ในอดีต เนื่องจากเป้าหมายของแนวคิดนี้ คือการเพิ่มผลิตผล (productivity) ให้กับสาขา ด้วยการสร้างสมดุลย์ของขนาดพื้นที่ห้างค้าปลีกกับขนาดของ พื้นที่เช่า ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในสาขานั้นๆ โดยมี จุดประสงค์หลักเพื่อเพิ่มจ�ำนวนลูกค้าที่เข้าไปยังสาขาให้มากที่สุด ซึ่งจะ น�ำไปสู่ยอดขายที่เพิ่มขึ้นต่อตารางเมตร การเพิม่ ผลิตผลให้กบั สาขา ตามแนวคิด “อัลคูเดีย โมเดล” มีหลักการ ว่าไฮเปอร์มาร์เก็ตในอดีต ได้ถกู สร้างให้มขี นาดใหญ่ เพือ่ รองรับฐานลูกค้าเป็น วงกว้างใน catchment area ของสาขา แต่เมือ่ เวลาผ่านไป พืน้ ที่ catchment area ดังกล่าว ได้มีห้างค้าปลีกและศูนย์การค้าต่างๆ เปิดให้บริการเพิ่มขึ้น เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ขนาดของสาขาใหญ่เกินกว่า catchment area ที่ เล็กลง ท�ำให้สาขา ได้ยอดขายต่อพื้นที่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น ด้วยเหตุนี้ “อัลคูเดีย โมเดล” จึงเน้นการปรับผลิตผลของไฮเปอร์มาร์เก็ต ด้วยการ ก�ำหนดอัตราส่วนของพื้นที่ห้างค้าปลีกต่อพื้นที่เช่าให้เหมาะสมที่สุด รวมทั้ง จัดวางแผนผังร้านค้าของสาขาใหม่ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อยอดขาย ต่อพื้นที่ และรายได้จากการเช่าพื้นที ่

24

รายงานประจำ�ปี 2554


ในปี 2554 บิ๊กซีได้ใช้ “อัลคูเดีย โมเดล” ปรับปรุงสาขาหาดใหญ่ เชียงราย และพระราม 2 และได้รับการตอบรับอย่างดีจากลูกค้าและผู้เช่า

การจัดการระบบซัพพลายเชน การสรรหาและคัดเลือกสินค้า ความคุ้มค่าที่เกิดจาก economies of scale มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ ความส�ำเร็จของบิ๊กซี ซึ่งเป็นผู้น�ำด้านไฮเปอร์มาร์เก็ตของประเทศไทย เรามี ความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูผ้ ลิตและคูค่ า้ กว่า 4,000 ราย และการควบรวมกิจการ คาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) ได้ช่วยเพิ่มความสามารถให้เราซื้อสินค้าได้ในจ�ำนวนที่ มากขึ้น ท�ำให้สามารถส่งต่อความประหยัดที่เกิดจาก economies of scale ไปยังผู้บริโภคทั่วประเทศ

การกระจายสินค้า บิ๊กซีเชื่อมั่นในระบบขนส่งและระบบกระจายสินค้าของเรา ที่จะน�ำ สินค้าไปถึงมือผู้บริโภคอย่างทันเวลาและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค เราได้น�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งระบบจ�ำแนกสินค้าด้วยคลื่นวิทยุ ระบบสั่ง และเติมสินค้าอัตโนมัติ มาพัฒนาประสิทธิภาพในการกระจายสินค้าไปยังสาขา ต่างๆ ทัว่ ประเทศ นอกจากนัน้ เรายังเป็นผูค้ า้ ปลีกรายแรกในประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีน่ ำ� เทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม 2 ชนิด มาใช้ ในระบบขนส่ง กล่าวคือ ผ้าห่มเย็น (เพื่อลดการใช้รถแช่แข็ง) และรถบรรทุกที่ มีชั้นวางแบบปรับระดับได้ ซึ่งสามารถลดการแพร่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ มากกว่าร้อยละ 46 ต่อปี ในปี 2554 บิ๊ กซี มีศูน ย์ กระจายสิ น ค้ า 4 แห่ ง (3 แห่ งที่ จั งหวั ด พระนครศรีอยุธยา และ 1 แห่งที่จังหวัดนนทบุรี) เราได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งจากบริษัท ดีเอชแอล ซึ่งเป็นผู้น�ำด้านโลจิสติคส์ของโลก ใน การจัดการศูนย์กระจายสินค้าและระบบขนส่งตลอด 24 ชั่วโมง

การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง ต่อความส�ำเร็จของบิ๊กซี ภายหลังการควบรวมกิจการคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) บิ๊กซีได้ทุ่มเท ทรัพยากรในการสร้างความเป็นครอบครัวเดียวกันให้กับพนักงาน และเน้น ให้พนักงานทุกคนตระหนักถึงโอกาสในการพัฒนาอาชีพไปในโครงสร้าง ของบริษัทฯ ที่ใหญ่ขึ้นและเต็มไปด้วยศักยภาพในการพัฒนา

การควบรวมได้นำ� บุคลากรทีเ่ ปีย่ มไปด้วยความรูแ้ ละประสบการณ์ของ ทั้งสองบริษัทมารวมกัน บิ๊กซีได้จัดโครงสร้างฝ่ายทรัพยากรมนุษย์รูปแบบ ใหม่ ที่เน้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานทุกคนใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถของตนอย่างเต็มที่เพื่อพัฒนาบิ๊กซีไปข้างหน้า เรามีระบบ ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่ได้มาตรฐาน และมีการอบรมและพัฒนา บุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้พนักงานทุกคนสามารถน�ำศักยภาพ ของตนมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนั้น บิ๊กซียังได้พัฒนาบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทั้งที่ส�ำนักงานใหญ่และที่ สาขาทั่วประเทศ ที่ท�ำงานควบคู่กันอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เขาเหล่านี้ สามารถ เข้าถึงและให้การสนับสนุนพนักงานของบริษัทฯ ได้อย่างเต็มที่ การสร้างงานให้ผู้พิการก็เป็นอีกด้านหนึ่งที่บิ๊กซีให้ความส�ำคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกเหนือจากจะเป็นการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลแล้ว เรายังเชื่อใน การสร้างโอกาสให้กับสมาชิกของสังคมทุกคนอย่างเท่าเทียม เพื่อร่วมกัน ก้าวไปอย่างมั่นคงในอนาคต วิกฤตน�้ำท่วมในปี 2554 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อชาวไทยทั้ง ประเทศ รวมถึงพนักงานของเราด้วย ซึ่งบิ๊กซี ได้ดูแลและให้การสนับสนุน พนักงานอย่างเต็มที่ ทัง้ ในช่วงเวลาปกติ และช่วงเวลาแห่งความยากล�ำบาก จน ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง นอกจากนั้น เรายังได้สนับสนุนให้พนักงาน ของบิ๊กซี ท�ำความดีเพื่อสังคม โดยในปี 2554 พนักงานบิ๊กซีได้บริจาคโลหิต ให้สภากาชาดไทยเป็นจ�ำนวน 3,285,770 ซีซี นอกจากนั้น พวกเขายังเป็น สมาชิกที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการร่วมกันฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัด นกกว่า 17,104 คน เพื่อป้องกันการระบาดของโรคดังกล่าว วิสยั ทัศน์ของบิก๊ ซี คือการเป็นผูน้ ำ� ด้านค้าปลีกของประเทศไทย การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการดูแลบุคลากร จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ การไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ในปี 2554 บิ๊กซีจึงได้จัดตั้งทีมสรรหาและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ (Talent, Succession and Performance Management) ทีจ่ ะรวบรวมข้อมูลของพนักงาน และวางแผนการพัฒนาทักษะและการเติบโต ตามสายงาน เพื่อดูแลพนักงานซึ่งเป็นทรัพยากรส�ำคัญของบริษัทฯ ให้พัฒนา ไปตามสายงานอย่างมั่นคงและยั่งยืน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบิก๊ ซี จะส่งเสริมเป้าหมายหลักของ บริษัทฯ ในการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าในทุกๆ ด้าน ในปี 2555 เราจะด�ำเนินโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งทางองค์กรของบิ๊กซี ซึ่งรวมถึง การเริ่มใช้ระบบประเมินผลงานและกรอบชี้วัดความส�ำเร็จในการ  ท�ำงานรูปแบบใหม่ การเปิดสถาบันค้าปลีกบิ๊กซี  การพัฒนาระบบฝึกสอนและอบรมผ่านคอมพิวเตอร์ (e-Learning)  การใช้ระบบ HR ERP ในการเพิ่มผลิตผลของการพัฒนาทรัพยากร  มนุษย์

รายงานประจำ�ปี 2554

25


สถานการณ์

ในเชิงแข่งขัน การควบรวมกิจการภายหลังจากการเข้าซื้อกิจการของคาร์ฟูร์ในช่วง ปลายปี 2553 ได้ดำ� เนินงานจนแล้วเสร็จ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2554 ซึ่ง ด�ำเนินการไปพร้อมกับการจัดกิจกรรมการตลาด รวมไปถึงการปรับเปลี่ยน สาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกับกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น ในส่วนของ ไฮเปอร์มาร์เก็ตมีการจัดกลุ่มของสาขาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ “บิ๊กซี” และ “บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า” พร้อมๆ กับการเปิดตัวของธุรกิจใหม่ คือ “บิ๊กซี จัมโบ้” ทีม่ กี ารสร้างความแตกต่าง โดยเพิม่ หมวดสินค้าทีเ่ จาะกลุม่ ลูกค้า ธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร และ การจัดเลี้ยง และเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ตามชุมชนต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง จึงได้มีการปรับโฉมซุปเปอร์มาร์เก็ตใหม่ใน รูปแบบ “บิ๊กซี มาร์เก็ต” ทั้งหมดนี้เป็นแรงผลักดันที่ท�ำให้บิ๊กซีสามารถ ก้าวขึ้นเป็นผู้น�ำร่วม (Co-Leadership) ของธุรกิจค้าปลีกไทยโดยเฉพาะใน ส่วนของไฮเปอร์มาร์เก็ต สภาพโดยรวมของการแข่งขันในธุรกิจค้าปลีกทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น โดยเทสโก้โลตัสได้ขยายสาขาทั้งในรูปแบบต่างๆ มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย ไฮเปอร์มาร์เก็ต 14 สาขา (รวมเทสโก้โลตัส คุ้มค่า 5 สาขา) ซุปเปอร์มาร์เก็ต 47 สาขา และ เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์เพรส 209 สาขา ในขณะที่ บิ๊กซี เปิด ไฮเปอร์มาร์เก็ต 3 สาขา, บิ๊กซีมาร์เก็ต 2 สาขา และ มินิบิ๊กซี 37 สาขา ส่วนแม็คโครยังคงถือเป็นคู่แข่งทางอ้อม โดยได้มีการขยายสาขาใน ปี 2554 รวมทั้งสิ้น 4 สาขาเท่ากับปีก่อน จาก 48 สาขาเป็น 52 สาขา

จ�ำนวนสาขา* ผู้ประกอบการ บิ๊กซี

รูปแบบ

ณ 31 ธันวาคม 2553

สาขาใหม่ / ควบรวม

บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า บิ๊กซี

15 71

21

บิ๊กซี จัมโบ้

เทสโก้โลตัส

แม็คโคร

รายงานประจำ�ปี 2554

92 1

บิ๊กซี มาร์เก็ต

2

10

12

มินิบิ๊กซี

15

37

51

เทสโก้โลตัส

90

9

99

เทสโก้โลตัสคุ้มค่า

31

5

36

ตลาดโลตัส

83

47

130

เทสโก้โลตัส เอ็กซ์เพรส

546

209

755

แม็คโคร

48

4

52

*ที่มา: The Nielsen Company (Thailand) Limited

26

ณ 31 ธันวาคม 2554


ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2554 บิ๊กซีมีจ�ำนวนสาขา ดังนี้ ไฮเปอร์มาร์เก็ต รวมทั้งสิ้น 108 สาขา (บิ๊กซี 92 สาขา, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 15 สาขา และ บิ๊กซี จัมโบ้ 1 สาขา) บิ๊กซีมาร์เก็ตรวมทั้งสิ้น 12 สาขา มินิบิ๊กซี 51 สาขา และ เพียว 50 สาขา ส่วนเทสโก้โลตัสมีสาขารวมดังนี้ ไฮเปอร์มาร์เก็ต 135 สาขา (เทสโก้โลตัส 99 สาขา และเทสโก้โลตัส คุ้มค่า 36 สาขา) ตลาดโลตัส 130 สาขา และ เทสโก้โลตัส เอ็กซ์เพรส 755 สาขา ส่วนแม็คโคร มีจ�ำนวนสาขาทั้งสิ้น 52 สาขา แม้ ว ่ า ในช่ ว งปลายปี 2554 ที่ ผ ่ า นมาจะเกิ ด มหาอุ ท กภั ย ขึ้ น ใน ประเทศไทย ซึ่งมีผลกระทบอย่างหนักต่อธุรกิจค้าปลีก ส่งผลให้ทั้งบิ๊กซี และคู่แข่งต่างต้องหยุดการด�ำเนินการบางสาขาลงเป็นการชั่วคราว ตลอด จนการชะลอการเปิดสาขาใหม่ในช่วงปลายปี อย่างไรก็ดีเมื่อสถานการณ์ น�้ำท่วมเริ่มคลี่คลาย การแข่งขันจึงเริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ มีการเร่งเปิด สาขามากขึน้ ในช่วงเดือนธันวาคม ส่งผลให้ภาพรวมของการแข่งขันของธุรกิจ ค้าปลีกในปี 2554 ยังคงความรุนแรง ดังจะเห็นได้จากจ�ำนวนสาขาที่มากขึ้น ในแผนภูมิต่อไปนี้

จ�ำนวนสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ต ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554

0 36 %

18 % 46 %

บิ๊กซี เทสโก้โลตัส แม็คโคร 9

20

40

60

80

100

120

140

59

49

98

37 43

บิ๊กซี

สาขาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

เทสโก้โลตัส

สาขาในต่างจังหวัด

แม็คโคร

รายงานประจำ�ปี 2554

27


สถานการณ์ในเชิงแข่งขัน (ตามท�ำเลที่ตั้ง) สาขาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล คู่แข่ง สถานการณ์ เทสโก้ โลตัส

คู่แข่ง แม็คโคร

บิ๊กซี 1. วงศ์สว่าง 2. แจ้งวัฒนะ 3. ราษฎร์บูรณะ 4. รังสิต 5. ราชด�ำริ 6. บางพลี 7. รัตนาธิเบศร์ 8. พระราม 2 9. หัวหมาก 10. สมุทรปราการ 11. ดอนเมือง 12. แฟชั่นไอซ์แลนด์ 13. สุขสวัสดิ์ 14. บางนา 15. ลาดพร้าว 16. ดาวคะนอง 17. ติวานนท์ 18. สะพานควาย 19. ส�ำโรง 20. เพชรเกษม 21. สุขาภิบาล 3 22. เอกมัย 23. ล�ำลูกกา 24. นวนคร 25. รังสิตคลองหก 26. รังสิต คลอง 3 27. บางบอน 28. บางปะกอก 29. พระราม 2 (2) 30. ร่มเกล้า 31. รังสิต 2 32. รัตนาธิเบศร์ 2 33. ศรีนครินทร์ 34. สุวินทวงศ์ 35. หนองจอก 36. อิสรภาพ 37. อ้อมใหญ่ 38. นครปฐม 28

รายงานประจำ�ปี 2554

สถานการณ์ เทสโก้ โลตัส

แม็คโคร

บิ๊กซี จัมโบ้ สูง  สูง  สูง  สูง  ปานกลาง  สูง  ปานกลาง  ปานกลาง  ไม่มี ปานกลาง  สูง  สูง  ปานกลาง  สูง  สูง  ปานกลาง  ปานกลาง  ปานกลาง  ปานกลาง  ปานกลาง  สูง  ปานกลาง  สูง  สูง  สูง  ปานกลาง  ต�่ำ ต�่ำ  สูง  สูง  สูง  สูง  สูง  สูง  สูง  ไม่มี สูง  สูง 

39. จัมโบ้ ส�ำโรง

ปานกลาง 

บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 

  

    

40. แจ้งวัฒนะ 2 41. บางใหญ่ 42. พระราม 4 43. เพชรเกษม 2 44. รัชดาภิเษก 45. รามอินทรา 46. ลาดพร้าว 2 47. ล�ำลูกกา คลอง 4 48. สุขาภิบาล 3 (2) 49. อ่อนนุช

ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง สูง สูง

         

บิ๊กซี มาร์เก็ต 50. เคหะร่มเกล้า 51. บางโพ 52. ประชาอุทิศ 53. สวนหลวง 54. สายไหม 55. สุขาภิบาล 1 56. สุขาภิบาล 5 57. หทัยราษฎร์

ไม่มี สูง สูง ปานกลาง ไม่มี สูง ปานกลาง ไม่มี

    

สาขาในต่างจังหวัด บิ๊กซี 1. พัทยา 2. พัทยา 2 3. อุดรธานี 4. ขอนแก่น 5. โคราช 6. สุราษฎร์ธานี 7. พิษณุโลก 8. ระยอง 9. เชียงราย 10. ล�ำปาง 11. ลพบุรี

สูง สูง สูง สูง สูง สูง สูง สูง ต�่ำ สูง สูง

        1  

         


คู่แข่ง 12. เพชรบุรี 13. หาดใหญ่ 14. อุบลราชธานี 15. เชียงใหม่ 16. ภูเก็ต 17. นครสวรรค์ 18. ฉะเชิงเทรา 19. ปัตตานี 20. สุรินทร์ 21. สกลนคร 22. แพร่ 23. ราชบุรี 24. ปราจีนบุรี 25. ล�ำพูน 26. สมุย 27. ชลบุรี 28. บุรีรัมย์ 29. หางดง 30. อยุธยา 31. สุโขทัย 32. บ้านโป่ง 33. ชัยภูมิ 34. เพชรบูรณ์ 35. กระบี่ 36. ยโสธร 37. สระแก้ว 38. วารินช�ำราบ 39. มหาสารคาม

สถานการณ์ เทสโก้ โลตัส ปานกลาง 2 สูง  สูง  สูง  สูง  ต�่ำ ปานกลาง 3 ไม่มี สูง  สูง  สูง  สูง  ปานกลาง 4 ปานกลาง สูง  สูง  ปานกลาง สูง  สูง  ไม่มี สูง  สูง  สูง  สูง  ไม่มี ปานกลาง  ปานกลาง  ต�่ำ 

คู่แข่ง แม็คโคร                

40. ศรีสะเกษ 41. มหาชัย 42. ตาก 43. อุดรธานี 2 44. อ�ำนาจเจริญ 45. แหลมทอง 46. ก�ำแพงเพชร 47. ชลบุรี 3 เซ็นทรัล 48. ฉะเชิงเทรา 2 49. บ้านบึง 50. จันทบุรี 51. ชุมพร 52. ลพบุรี 2 53. นครศรีธรรมราช 54. หางดง 2

แม็คโคร 

        

บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า

55. เชียงใหม่ 2 56. ชลบุรี 2 57. หาดใหญ่ 2 58. พัทยา 3 59. ภูเก็ต 2

บิ๊กซี มาร์เก็ต

สถานการณ์ เทสโก้ โลตัส สูง  ปานกลาง  สูง  สูง  ไม่มี สูง  ต�่ำ 5 สูง  ปานกลาง 6 ต�่ำ  สูง  สูง  สูง  สูง  ต�่ำ 

60. พังงา 61. สระบุรี 62. หล่มสัก 63. เทพกษัตรีย์

สูง สูง สูง สูง ไม่มี

   

   

ต�่ำ สูง ไม่มี สูง

7 

8

อ�ำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย, 2 อ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี, 3 อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา, 4 อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี, 5 อ�ำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก�ำแพงเพชร, 6 อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา, 7 อ�ำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา, 8 อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 1

ท่ามกลางความส�ำเร็จนี้ บิก ๊ ซี ยังคงพัฒนาไปเรือ่ ยๆ อย่างไม่หยุดยัง้ เรา "ใหญ่ขนึ้ และให้คณ ุ ได้มากกว่า" และเราจะขยายธุรกิจในทุกรูปแบบร้านค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งร้านค้าขนาดเล็ก ซึ่งมี ศักยภาพในการพัฒนาสูง นอกจากนั้นเรายังศึกษาและพัฒนารูปแบบร้านค้าใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อไปสู่การเป็นผู้น�ำด้านค้าปลีกของไทย รายงานประจำ�ปี 2554

29


การจัดการ 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ) ประกอบ กิจการในประเทศไทยโดยด�ำเนินธุรกิจในรูปแบบของ “ไฮเปอร์มาร์เก็ต” หรือ “ซูเปอร์เซ็นเตอร์” ซึ่งเป็นธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ภายใต้ชื่อ “บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์” อันเป็นธุรกิจหลักที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญ และจาก รูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของลูกค้า บริษัทฯ ได้ริเริ่มเปิดให้บริการ ร้านรูปแบบร้านสะดวกซื้อ ภายใต้ชื่อ “มินิบิ๊กซี” และ ร้านขายยาภายใต้ชื่อ “เพรียว” ซึ่งบริหารงานโดยบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริ ษั ท ฯ มี ทุ น จดทะเบี ย น 8,250 ล้ า นบาท เป็ น ทุ น ช� ำ ระแล้ ว 8,013 ล้านบาท เป็นหุ้นสามัญทั้งหมดมูลค่าหุ้นละ 10 บาท โดยมี Geant International B.V และกลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (Geant International B.V เป็นบริษัทในกลุ่มบริษัทคาสิโน ผู้ประกอบการ ค้าปลีกทีม่ ชี อื่ เสียงในระดับสากล ตัง้ อยูใ่ นประเทศฝรัง่ เศสและมีการลงทุนใน ธุรกิจค้าปลีกในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในชื่อ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ มีสาขาที่เปิดให้บริการแล้วจ�ำนวนทั้งสิ้น 120 สาขา แบ่งเป็นสาขาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลจ�ำนวน 57 สาขา และสาขาต่าง จังหวัดจ�ำนวน 63 สาขา ส่วนร้านสะดวกซื้อ “มินิบิ๊กซี “ มีจำ� นวน 51 ร้าน และร้านยา “เพรียว” มีจ�ำนวน 50 ร้าน กระจายอยู่ทั่วไปในเขตชุมชนเมือง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งสาขาต่างจังหวัด

โครงสร้างการบริหารจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการ บริหาร โดยมีประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็น ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทฯ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

2. โครงสร้างการจัดการ

2.1 คณะกรรมการบริษัทฯ รายชื่อ คณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบด้วย

ล�ำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

9. 10. 11. 12. 13.

รายชื่อ นายอัคนี ทับทิมทอง นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์* นายนนทพล นิ่มสมบุญ นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่ รศ.ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ นายไพฑูรย์ ทวีผล นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง*

นายสตราสเซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม* นายเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเช่* นายชาร์ค โดมินิค เอมาน* นายอูลีเซส คาเมยามา* นายกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต*

ต�ำแหน่ง

หมายเหตุ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่)

กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

หมายเหตุ  * กรรมการในล�ำดับที่ 2 และล�ำดับที่ 8 ถึง 13 เป็นกรรมการที่เป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้น โดยมี นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น รองประธานฝ่ายบัญชี และการเงิน เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ และเลขานุการบริษัทฯ  นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ ได้ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการและประธานกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554

30

รายงานประจำ�ปี 2554


กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัทฯ คือ กรรมการกลุ่มที่ 1 คือ นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง นายสตราส เซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม และนายชาร์ค โดมินิค เอมาน กรรมการกลุ่มที่ 2 คือ นายอู ลี เ ซส คาเมยามา นายประพั น ธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ และนายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ โดยให้กรรมการกลุ่มที่ 1 คนใด คนหนึ่งลงลายมือชื่อร่วมกับกรรมการกลุ่มที่ 2 คนใดคนหนึ่งรวมเป็นสองคน และประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ รายงานการถือหลักทรัพย์ของกรรมการบริษัทฯ ในปี 2554 มีรายละเอียดดังนี้

ล�ำดับ

รายชื่อ

จ�ำนวนหุ้น ณ 31 ธ.ค. 2553

จ�ำนวนหุ้น ณ 31 ธ.ค. 2554

จ�ำนวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี (หุ้น)

หมายเหตุ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

นายอัคนี ทับทิมทอง นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายนนทพล นิ่มสมบุญ นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่ รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์ นายไพฑูรย์ ทวีผล นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง นายสตราสเซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม นายกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต นายชาร์ค โดมินิค เอมาน นายอูลีเซส คาเมยามา นายเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเช่

3,000 172,800 -

2,078,675 3,000 -

2,078,675 172,800 -

รับต�ำแหน่งเมื่อ 9 มี.ค. 54 รับต�ำแหน่งเมื่อ 27 เม.ย. 54 รับต�ำแหน่งเมื่อ 9 มี.ค. 54 -

-

-

-

-

10. 11. 12. 13.

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัทฯ

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กำ� หนดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ ไว้คราวละ 3 ปี โดยก�ำหนดในข้อบังคับของบริษัทฯ ว่า ให้กรรมการจ�ำนวน 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด ออกจากต�ำแหน่งในการประชุมสามัญประจ�ำปี ของบริษัทฯ ทุกๆ คราว โดยกรรมการที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดจะเป็น กรรมการที่ต้องออกจากต�ำแหน่งเมื่อครบปีที่ 3 นั่นเอง กรรมการที่ออกจาก ต�ำแหน่งดังกล่าวนั้นอาจได้รับเลือกตั้งให้เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้

1. มีอ�ำนาจหน้าที่ในการก�ำกับดูแลการบริหารและกิจการงานต่างๆ ของ บริษัทฯ 2. ควบคุ ม ดู แ ลและจั ด การให้ ก ารด� ำ เนิ น การของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ ประชุมผู้ถือหุ้น 3. ก�ำหนดนโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และก�ำกับควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ก�ำหนดไว้อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้ แก่กิจการและผลประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น

รายงานประจำ�ปี 2554

31


2.2 คณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ จ�ำนวน 3 ท่าน กรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ท่าน ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกและกระบวนการสรรหา โดยมีอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ� หนด คือ 1. นายไพฑูรย์ ทวีผล(1) ประธานกรรมการ

1

2. รศ. ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. *(2) [ ] กรรมการ

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ และมีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน

โดยมี นางสาวนันทาวดี สันติบญ ั ญัต ิ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการ หมายเหตุ: (1) ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ แทนนายนนทพล นิม่ สมบุญ ที่ออกเมื่อครบก�ำหนดวาระเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 (2) *อยู่ในระหว่างการสรรหา ซึ่งบริษัทฯ จะเสนอชื่อแต่งตั้งกรรมการ ตรวจสอบและกรรมการอิสระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำ ปี 2555 เพื่อที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทนพลเอกวินัย ภัททิยกุล ที่ได้ ลาออกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทฯมีรายงานทางการเงินที่ถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และ ตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ รวม ถึงการจัดให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องเพียงพอรวมถึงการเปิดเผย ข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และหรือ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ 2. ส่งเสริมให้มกี ารพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้สอดคล้องทัดเทียม กับข้อก�ำหนดของมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 3. คัดเลือกผูส้ อบบัญชีภายนอก โดยพิจารณาจากความเป็นอิสระ ผลการ ปฏิบตั งิ านและประสบการณ์ของผูส้ อบบัญชี รวมถึงความเหมาะสมของ ค่าตอบแทน เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯน�ำเข้าขอรับการอนุมตั ิ จากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

4. สอบทานข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีภายนอก และ ผู้ตรวจสอบภายใน เกีย่ วกับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจในความสมเหตุสมผลของรายการลักษณะดังกล่าว และ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 5. สอบทานให้คำ� แนะน�ำ เพื่อให้บริษัทฯมีระบบการควบคุมภายใน และ การตรวจสอบภายในที่เหมาะสมตามวิธีการอันเป็นไปตามมาตรฐาน สากลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยค�ำนึงถึงหลักความคุ้ม ค่า และครอบคลุมกระบวนการที่ส�ำคัญ 6. ก�ำกับดูแลให้มรี ะบบงานเชิงป้องกันเพือ่ ลดหรือระงับความสูญเสีย และ ความสูญเปล่าของทรัพยากรประเภทต่างๆของบริษัทฯ เพื่อประโยชน์ และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบตั งิ านของหน่วย งานของบริษัทฯให้สูงยิ่งขึ้น 7. สอบทานความเหมาะสมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับระบบการควบคุมภายในและการจัดท�ำรายงานทางการ เงิน รวมทั้งเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นไปตามมาตรฐาน สากล และเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯอยู่เสมอ 8. ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย ถอดถอน รวมทั้ง พิ จ ารณาผลการปฏิ บั ติ ง านและความดี ค วามชอบของหั ว หน้ า หน่วยงานตรวจสอบภายใน ร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หาก มีความคิดเห็นแตกต่าง ให้น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯหรือ ผู้ที่คณะกรรมการบริษัทฯมอบหมายให้ดำ� เนินการแทนเป็นผู้พิจารณา ผลการพิจารณาของคณะกรรมการบริษัทฯหรือผู้ที่คณะกรรมการ บริษัทฯมอบหมายให้ดำ� เนินการแทนถือเป็นที่สิ้นสุด 9. ประสานงานกับผู้สอบบัญชีภายนอก เพื่อให้การสอบบัญชีด�ำเนินการ ได้อย่างเป็นอิสระและเที่ยงธรรม 10. สอบทานระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ และเสนอแนะการ ปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 11. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 12. จัดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านด้วยตนเองเป็นประจ�ำทุกปี ตามวิธี การทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบก�ำหนด ทัง้ นีใ้ ห้รายงานผลการประเมิน ดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษัทฯทราบด้วย

นิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ คือ กรรมการจากภายนอกที่ไม่ได้มีต�ำแหน่งเป็นผู้บริหารหรือพนักงานประจ�ำของบริษัทฯ ไม่ได้เป็นกรรมการบริหารหรือ กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ และเป็นอิสระจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูบ้ ริหารและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์ทสี่ ำ� นักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด นอกจาก นี้ บริษทั ฯ ยังได้กำ� หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ ให้สามารถท�ำหน้าทีค่ มุ้ ครองผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและสามารถช่วยดูแลไม่ให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 1

32

รายงานประจำ�ปี 2554


13. อนุมัติกฎบัตรการตรวจสอบภายใน รวมถึงการจัดให้มีการสอบทาน กฎบัตรดังกล่าวตามรอบระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า เหมาะสม

กรรมการอิสระ

14. อนุมัติแผนงานการตรวจสอบภายใน และ พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน

15. อนุมัติงบประมาณและอัตราก�ำลังของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่ง เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบอนุมัติแล้ว ให้เสนอต่อคณะกรรมการ บริษทั หรือผูท้ คี่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้ดำ� เนินการแทนเพือ่ ให้ ความคิดเห็นเพิ่มเติมหากมี แล้วส่งให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารด�ำเนิน การให้มีผลตามนั้น

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนิยามกรรมการอิสระไว้เท่ากับข้อก�ำหนดของ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ. 4/2552 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เรื่องคุณสมบัติของกรรมการอิสระ กล่าวคือ “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการที่มีคุณสมบัติ ดังนี้

16. คณะกรรมการตรวจสอบโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท หรือผู้ที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้ด�ำเนินการแทนมีอ�ำนาจว่า จ้างที่ปรึกษาภายนอกทางวิชาชีพอื่นใด เพื่อแสวงหาความเห็นที่เป็น อิสระเมื่อคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าจ�ำเป็นโดยให้เป็นคาใชจ่าย ของบริษัท ทั้งนี้การด�ำเนินการว่าจ้างใหเป็นไปตามระเบียบวิธี และ ขอก�ำหนดว่าด้วยเรื่องนี้ของบริษัท

1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระ รายนั้น ๆ ด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน รวมทัง้ ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจ�ำ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เป็นเวลา 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียน ตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตร กับผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่อาจมีความ ขัดแย้งในลักษณะที่จะท�ำให้ขาดความเป็นอิสระ 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วน ผู้จัดการของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ 6. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของ บริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท 7. ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ นใดที่ ท�ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ นอย่ า งเป็ น อิ ส ระ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท

17. เชิญผูบ ริหารของบริษทั พนักงาน ผูเ กีย่ วข้อง เขา รว มประชุม ชีแ้ จง หรือ ให้ขอ้ มูลแก่คณะกรรมการตรวจสอบ โดยผูไ้ ด้รบั เชิญต้องถือเป็นหน้าที่ ในการให้ความร่วมมือแก่คณะกรรมการตรวจสอบ 18. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ และ ผู้ช่วยเลขานุการฯ(ถ้ามี) เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 19. มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย

มีจ�ำนวน 1 ใน 3 ของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย นายไพฑูรย์ ทวีผล  รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์  นายนนทพล นิ่มสมบุญ  นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่ 

รายงานประจำ�ปี 2554

33


2.3 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วย ประธาน และ กรรมการ รวม 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายนนทพล นิ่มสมบุญ (1) ประธานกรรมการ 2. นายไพฑูรย์ ทวีผล (2) กรรมการ 3. นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น กรรมการและเลขานุการ (3) 4. นางอุมาวดี รัตนอุดม กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หมายเหตุ (1) ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2554 (2) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี แทนนายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ ที่ลาออก เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2554 (3) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี แทนนางปฐมา ระวังภัย อัมพวา ทีล่ าออก เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2554

วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 2 ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งได้อีก

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี

1. พิจารณาทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ อยาง สม�ำ่ เสมอ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ใหส อดคลอ งกับแนวทางปฏิบตั ขิ อง สากล และขอเสนอแนะของสถาบันก�ำกับฯ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ 2. รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ พร้อมเสนอแนะความเห็นในแนวปฎิบัติ 3. ก� ำ หนดทิ ศ ทางการก� ำ กั บ ดู แ ลในระดั บ นโยบาย ให้ ข ้ อ เสนอแนะ และให้การสนับสนุนการเสริมสร้างระบบการบริหารความเสี่ยงให้มี ประสิทธิภาพ 4. ว่าจ้างบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษาและ เข้าร่วมประชุมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือบุคคล ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 5. คณะกรรมการก�ำกับดูแลฯ มีหน้าทีร่ วบรวมข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทน กรรมการบริ ษั ท ฯ และอนุ ก รรมการคณะอื่ น ๆ เพื่ อ น� ำ เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา เพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น สามัญประจ�ำปี ของบริษัทฯ ต่อไป 6. ปฎิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบาย และกรอบการบริหาร ความเสี่ยงที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบใน แต่ละขั้นตอนการด�ำเนินงานบริหารความเสี่ยงอย่างชัดเจน และให้มีการ ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องในทุกส่วนงาน โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ มีผู้จัดการความเสี่ยง (Risk Manager) ท�ำหน้าที่หลักในการจัดท�ำรายงาน และปรับปรุงให้เป็น ปัจจุบัน (update) และจัดร่างระบบและกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มี ประสิทธิภาพเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณา รวมทั้ง ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้วย ในการนี้ ยังต้องประสานงานกับตัวแทน (Risk Representatives) ของหน่วยธุรกิจ ทุกหน่วยของบริษัท (Business Units) เพื่อติดตามและสอบทานการบริหาร ความเสี่ยงระดับหน่วยธุรกิจเหล่านั้น และตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้ง รายงานให้แก่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อรับทราบ ในขณะเดียวกัน ผู้จัดการความเสี่ยงจะต้องประสานงานกับฝ่ายตรวจสอบภายในเพื่อการ สอบทานข้อมูลระหว่างกัน คณะกรรมการพิจารณาความเสี่ยง จะเป็นผู้สรุปรายงานการบริหาร ความเสี่ยงที่เป็นประเด็นส�ำคัญน�ำเสนอต่อคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีเพื่อพิจารณาต่อไป

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 1. อนุมัตินโยบายและกรอบการท�ำงานด้านการบริหารความเสี่ยงของ บริษัทฯ และสอบทานนโยบายและกรอบการท�ำงานด้านการบริหาร ความเสี่ยงเป็นรายปีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องที่สำ� คัญ 2. ก�ำกับดูแลโครงสร้างการท�ำงานและกระบวนการบริหารความเสี่ยง เพื่ อ สร้ า งความตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของกระบวนการบริ ห าร ความเสี่ยง 3. พิจารณาและอนุมัติแต่งตั้งผู้จัดการความเสี่ยง (Risk Manager) และ ผู้แทนหน่วยธุรกิจ (Risk Representatives of Business Units) 4. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงตามจ�ำนวนครั้ง ที่เห็นสมควรในแต่ละปี อย่างน้อยปีละครั้ง 5. พิ จ ารณาการจั ด ท� ำ รายงาน ร่ า งระบบ และกระบวนการบริ ห าร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพของผู้จัดการความเสี่ยง 6. รั บ ทราบการติ ด ตาม และสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งระดั บ หน่ ว ยธุ ร กิ จ และรายงานตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของการบริ ห าร ความเสี่ยงในทุกส่วนงานอย่างสม�ำ่ เสมอ 7. ด�ำเนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่บริษัทฯ ก�ำหนด และ ทบทวนรายงาน และกระบวนการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อ ควบคุมให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปตามนโยบายดังกล่าว

34

รายงานประจำ�ปี 2554


2.5 คณะกรรมการบริหาร รายชื่อคณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบด้วย

ล�ำดับ

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

1. นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

2. นายฟิลิปป์ เพรฌอง

รองประธานฝ่ายปฏิบัติการ

3. นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และรองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน

4. นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์

รองประธานผู้บริหารฝ่ายพัฒนาธุรกิจและอสังหาริมทรัพย์

5. นายสตีเฟน โจเซฟ

รองประธานฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

6. นายเอมานูเอล กูโรน

รองประธานอาวุโสฝ่ายจัดซื้ออาหาร และพัฒนาผลิตภัณฑ์

7. นายเอียน ลองเด็น

รองประธานอาวุโสฝ่ายบริหารสาขาย่อย

8. นายรีจิส ฟิลิป พรีซอง

รองประธานฝ่ายการตลาดและการสื่อสาร

9. นายเกรก โอเชียร์

รองประธานฝ่าย Supply Chain Management

10. นายประเวทย์ ปรุงแต่งกิจ

รองประธานฝ่ายจัดการระบบข้อมูล

11. ดร. สรินทิพย์ สถิตย์เสถียร

รองประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

12. นายบรูโน จูสแลง

รองประธานฝ่ายจัดซื้อสินค้าทั่วไป

13. นายอเล็กซ์ มอร์แกน

รองประธานฝ่ายควบคุมการจัดซื้ออาหาร และพัฒนาผลิตภัณฑ์

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

เลขานุการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริหารภายใต้การน�ำของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นผู้มีหน้าที่ดูแลกิจการทั่วไปของบริษัทฯ และ บริหารงานให้เป็นไปตามเป้าหมายและนโยบายที่ก�ำหนดไว้ ภายใต้กรอบ ของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องและขอบเขตอ�ำนาจทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่จะน�ำเสนอแผน กลยุทธ์ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ความเห็นชอบและบริหารจัดการ ธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนเป็นผู้แทนของบริษัทฯ ในเรื่องที่เกี่ยวกับบุคคล ภายนอก

เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ในหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และตามข้อก�ำหนดของพระราช บัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูพ้ จิ ารณา แต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัทฯ ปัจจุบัน ผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการบริษัทฯ คือ นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น และผู้ช่วย เลขานุการบริษัทฯ คือ นางอุมาวดี รัตนอุดม* โดยมีภาระหน้าที่ในการให้ ค�ำแนะน�ำด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการและผู้บริหาร ต้องทราบ เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ รวมทั้งดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ และ ประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ ด�ำเนินการเกี่ยวกับ การประชุมคณะกรรมการและการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งการจัดท�ำและ เก็บรักษาเอกสาร ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานประจ�ำปี และเก็บ รักษารายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ และหรือผู้บริหาร เป็นต้น ดูแล ตรวจสอบ และให้คำ� แนะน�ำในการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และคณะกรรมการ ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทฯ ปี 2554 เป็นปีที่ 5 ที่บริษัทฯ จัดให้คณะกรรมการทุกท่านประเมินผล การปฏิบัติงานของตนเอง โดยจะจัดให้มีขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อช่วยให้คณะ กรรมการบริษทั ฯ ได้พจิ ารณาทบทวนผลงาน ประเด็นปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการท�ำงานระหว่างปีที่ผ่านมา และเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการท�ำงานของ คณะกรรมการโดยรวม การประเมินผลการปฏิบตั งิ านจึงมีความสอดคล้องกับ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ซึง่ บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำผลสรุปการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเอง และเก็บรักษา ไว้ เพื่อใช้ในการพัฒนา ทบทวนผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุด ของบริษัทฯ ต่อไป

หมายเหตุ *ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเลขานุการบริษัทฯ แทน นางปฐมา ระวังภัย อัมพวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2554

รายงานประจำ�ปี 2554

35


3. การก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแล บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีเพื่อเสริมสร้างให้องค์กรมีโครงสร้างและกระบวนการบริหารงานและการ ด�ำเนินการที่มีประสิทธิภาพชัดเจน โปร่งใสและน่าเชื่อถือ เพื่อการเติบโต ของบริษัทฯ อย่างยั่งยืน โดยมีคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีรับผิดชอบ ด�ำเนินการ และมีหน้าที่กำ� หนดหลักเกณฑ์แนวทางปฏิบัติให้เป็นบรรทัดฐาน เดียวกันของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ติดตามความคืบหน้าและประเมินผลในการปฏิบตั ิ งานตลอดอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยก�ำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายการก�ำกับดูแล และประกาศไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยแบ่งออกเป็น 5 หมวด ดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2554 บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งหมด 2 ครั้ง ซึ่งเป็น การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ในวันที่ 5 มกราคม 2554 และการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ในวันที่ 27 เมษายน 2554 ณ โรงแรมอโนมา โดยการ ประชุมได้ด�ำเนินไปตามขั้นตอนตามกฎหมาย ซึ่งบริษัทฯ ได้น�ำรายละเอียด จดหมายเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ พร้อมทัง้ เอกสารประกอบการประชุมแต่ละวาระ เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ก่ อ น วันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เป็นเวลา 21 วัน และก่อนวันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นเป็นเวลา 32 วัน ตามล�ำดับ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาเพียงพอในการ ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องส�ำคัญ รวมทั้งได้จัดส่งจดหมายเชิญประชุม ผู้ถือหุ้นพร้อมทั้งข้อมูลประกอบการประชุมแต่ละวาระ แผนที่ของสถาน ที่จัดประชุม และรายงานประจ�ำปี (Annual Report) ให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน และได้ลงประกาศหนังสือพิมพ์แจ้งก�ำหนด วัน เวลา สถานที่ประชุม และวาระการประชุมติดต่อกันเป็นเวลา 3 วันก่อน วันประชุม ทั้งนี้ มีกรรมการบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น คิดเป็น 85% และ 47% ของกรรมการทั้งหมด ตามล�ำดับ โดยประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงิน และรองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน และผู้สอบบัญชี เข้าร่วม ประชุมเพื่อตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ก่อนเริ่มประชุมผู้ถือหุ้น ประธานที่ประชุมประกาศจ�ำนวนผู้ถือหุ้นหรือ ผู้รับมอบฉันทะและจ�ำนวนหุ้นของผู้ที่มาร่วมประชุมให้ที่ประชุมทราบและ ได้แจ้งวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนแล้วจึงด�ำเนินการประชุมตามวาระที่ ก�ำหนด ซึ่งผู้ถือหุ้นทุกรายสามารถลงคะแนนได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยจัดสรร เวลาให้อย่างเพียงพอเพือ่ เปิดโอกาสให้ซกั ถามกรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูงเกีย่ ว กับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ แสดงความคิดเห็นและเสนอข้อแนะน�ำต่างๆ การพิจารณาและลงคะแนนเสียงเป็นไปตามล� ำดับวาระที่ก� ำหนด การนับคะแนนเสียงเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั เปิดเผย โปร่งใส และตรวจสอบได้ ซึ่งได้ประกาศให้ที่ประชุมทราบโดยระบุ จ�ำนวนรายและจ�ำนวนหุ้นที่ลงมติเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงใน วาระที่ต้องลงมติ โดยถือเอาคะแนนเสียงตามจ�ำนวนที่ก�ำหนด ทั้งนี้บริษัทฯ ได้เชิญตัวแทนจากบริษัท ที่ปรึกษากฎหมาย แชนด์เล่อร์และทองเอก จ�ำกัด และ บริษัท ลิ้งค์เลเทอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นตาม ล�ำดับ เพื่อร่วมสังเกตการณ์ดังกล่าว 36

รายงานประจำ�ปี 2554

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ให้สิทธิผู้ถือหุ้นสามารถเข้าร่วมประชุมภายหลัง จากเริ่มการประชุมไปแล้ว โดยมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในระเบียบวาระ ที่ยังไม่ได้พิจารณาลงมติได้ในการนี้ได้จดบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิด เห็นที่ส�ำคัญและเหมาะสมไว้ในรายงานการประชุม การจัดท�ำรายงานการ ประชุมด�ำเนินการแล้วเสร็จภายใน 14 วันนับจากวันประชุม มีการจัดเก็บ รายงานการประชุมอย่างเหมาะสม และภายหลังจากที่ประธานที่ประชุมได้ รับรองรายงานและน�ำส่งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว บริษัทฯ ได้เผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ การส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ในปี 2554 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการในเรื่องต่างๆ ที่เป็น การส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้นที่ส�ำคัญอย่าง ต่อเนื่องหลายประการ ดังนี้ 1. ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นต่อเนื่อง อย่างน้อย 12 เดือน มีสิทธิที่จะเสนอวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี โดยในปี 2554 บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้ สิทธิเสนอทั้ง 2 กรณีเป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 เพื่อให้คณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีเป็นผู้กลั่นกรองก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง 2. ในวันประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ เปิดให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงทะเบียน เข้าร่วมประชุมได้ล่วงหน้าก่อนเวลาประชุม 1-2 ชั่วโมงและได้อ�ำนวย ความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นก่อนการประชุม โดยจัดเตรียมสถานที่และ เจ้าหน้าที่ต้อนรับ จัดเจ้าหน้าที่ลงทะเบียน มีการน�ำระบบ Barcode มาใช้ในการลงทะเบียน เพื่อให้การลงทะเบียนของผู้ถือหุ้นและผู้รับ มอบฉันทะทีเ่ ข้าร่วมประชุมเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว พร้อม ทั้งจัดพิมพ์บัตรลงคะแนนในแต่ละวาระให้แก่ผู้ถือหุ้น 3. บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของผู ้ ถื อ หุ ้ น ใน การร่ ว มตั ด สิ น ใจนโยบายที่ ส� ำ คั ญ ๆ ของบริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ ได้ แจ้ ง รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การประชุ ม ไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ www.bigc.co.th ล่วงหน้า 21 วัน ก่อนการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น และ 32 วัน ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ


ที่ตนมีอยู่เลือกบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการทีละคน โดยจะ แบ่งคะแนนเสียงให้แก่บุคคลใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ บุคคลซึ่งได้รับ คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับจะเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ เท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น

หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย ทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้นทุกราย ได้แก่ 1. บริษทั ฯ ก�ำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ไว้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิ

5. คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้กรรมการและผู้บริหาร ของบริษัทฯ รายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองและบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้อง ตามมาตรา 89/14 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และประกาศคณะกรรมการบริษัทฯ เรือ่ งแนวปฎิบตั กิ ารรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2552 ได้ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารใหม่ ส่งแบบรายงานการมีส่วนได้เสียถึงเลขานุการบริษัทฯ ภายใน 7 วัน ท�ำการนับแต่วันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และ รายงานครั้งต่อไป ภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงข้อมูล และเมือ่ เลขานุการได้รบั รายงานดังกล่าวแล้ว ก็จะมีหน้าที่จัดส่งส�ำเนาให้แก่ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วันท�ำการทุกครั้งนับแต่ วันที่ได้รับรายงานดังกล่าว 6. ไม่มีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษัทที่ไม่ใช่บริษัทย่อย 7. ไม่มีการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทร่วม ที่อาจท�ำให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีนัยส�ำคัญ

2. บริษัทฯ ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเป็นไปตามจ�ำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิ เท่ากับหนึ่งเสียง 3. อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง โดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะทั้ง 3 แบบ คือ แบบ ก., ข. และ ค. โดยบริษัทฯ แนะน�ำให้ผู้ถือหุ้นใช้แบบ ข. ซึ่งเป็นแบบที่ก�ำหนดทิศทาง การลงคะแนนแต่ละวาระได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แนบค�ำแนะน�ำการมอบ ฉันทะในการประชุมผู้ถือหุ้นไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม และผู้ถือ หุน้ ยังสามารถดาวน์โหลดแบบหนังสือมอบฉันทะดังกล่าวได้จากเว็บไซต์ ของบริษทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีรายชือ่ พร้อมประวัตขิ องกรรมการ อิสระ 3 คน ให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกเป็นผู้รับมอบฉันทะไว้ด้วย 4. จัดท�ำจดหมายเชิญประชุมผู้ถือหุ้นทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย ในจดหมายเชิญประชุมของบริษทั ฯ มีการชีแ้ จงวัตถุประสงค์ ความเห็น ของคณะกรรมการและเหตุผลไว้ทุกวาระการประชุม โดยไม่มีการเพิ่ม วาระการประชุมหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่ส�ำคัญโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้น ทราบล่วงหน้า ส่วนในเรื่องวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการโดยการลงคะแนน เสียงแบบสะสม บริษทั ฯ ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ดงั กล่าวได้ เนือ่ งจาก ข้อบังคับของบริษัทฯ มิได้ก�ำหนดให้ใช้วิธีการนับคะแนนแบบสะสม ทั้งนี้ เป็นไปตามแนวทางเดียวกับข้อบังคับของบริษัทจดทะเบียนส่วน ใหญ่ โดยที่ ข้อบังคับของบริษัทฯ ก�ำหนดให้เลือกตั้งกรรมการโดยที่ ประชุมผู้ถือหุ้น โดยใช้คะแนนเสียงข้างมาก และให้ผู้ถือหุ้นแต่ละคนมี คะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง ผูถ้ อื หุน้ ลงคะแนนเสียงทัง้ หมด รายงานประจำ�ปี 2554

37


หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษทั ฯ ก�ำหนดนโยบายและมาตรการทีใ่ ห้ความส�ำคัญและครอบคลุม ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ พนักงาน บริษัทฯ ได้ปฏิบัติและดูแลพนักงานด้วยความเป็นธรรมและให้ผล ตอบแทนในระดับทีไ่ ม่ตำ�่ กว่าผลตอบแทนในตลาดแรงงานส�ำหรับอุตสาหกรรม ใกล้เคียงกัน ตามความเหมาะสม ความรู้ ความสามารถ ทักษะและลักษณะ งาน ทัง้ ยังได้ปรับปรุงเพิม่ เติมสวัสดิการให้สอดคล้องกับสภาวการณ์เศรษฐกิจ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ตลอดจนการส่งเสริมและการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง คู่ค้า บริษัทฯ มีขั้นตอนและกระบวนการประมูลงาน การต่อรองราคา การคัดเลือกผูร้ บั เหมา/ผูข้ ายสินค้า/ผูใ้ ห้บริการ และการเข้าท�ำสัญญาว่าจ้าง/ สัญญาซื้อขายสินค้า/สัญ ญาบริ การ ที่ โ ปร่ ง ใสและตรงไปตรงมา และมี การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการค้าต่อคูค่ า้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยแต่ละขั้นตอนจะมีคณะกรรมการกลางเข้าร่วมพิจารณาทุกครั้ง บริษัทฯ ได้กำ� หนดเพิม่ เติมหลักเกณฑ์ให้คคู่ า้ ทุกรายต้องแสดงรายงานการมีสว่ นได้เสีย ในแบบแสดงรายการที่บริษัทฯ ก�ำหนด เพื่อความโปร่งใส ทั้งนี้ เพื่อยืนยัน ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกันความสัมพันธ์กับบริษัทฯ กรรมการ และ/หรือผู้บริหาร ของบริษัทฯ แล้วแต่กรณี เจ้าหนี้ บริษัทฯ ยึดถือและปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลงและ สัญญากับเจ้าหนี้ทุกรายอย่างเคร่งครัด ลูกค้า บริษัทฯ ดูแลเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยการจัดหาสินค้าที่ มีคุณภาพเพื่อรองรับและให้บริการอย่างเหมาะสม ทั้งยังมีหน่วยงานรับข้อ ร้องเรียนจากลูกค้า เพื่อด�ำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องโดยเร็วที่สุดหากข้อ ร้องเรียนนั้นมีเหตุผล คู่แข่ง บริษัทฯ ถือปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี ไม่ใช้วิธีการอัน ไม่สุจริตเพื่อท�ำลายคู่แข่งและด�ำรงไว้ซึ่งหลักการอยู่ร่วมกันโดยสนับสนุน นโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม

38

รายงานประจำ�ปี 2554

ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม โดยมีการจัดตั้งและสนับสนุนทางการเงินแก่มูลนิธิบิ๊กซีเพื่อด�ำเนินการด้าน สาธารณประโยชน์และส่งเสริมสนับสนุนด้านการศึกษาของเยาวชนในชุมชน เพื่อตอบแทนและการคืนก�ำไรสู่สังคม ช่องทางการสื่อสาร ในการด�ำเนินการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ บริษัทฯ ได้ค�ำนึงถึงกลไกการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน ได้เสียเป็นส�ำคัญ ตลอดจนก�ำหนดนโยบายทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียสามารถติดต่อ หรือ ร้องเรียนเกีย่ วกับการบริหารงานของบริษทั ฯ ตลอดจนการทุจริตและประพฤติ มิชอบของผู้บริหารและพนักงานในระดับจัดการ โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีช่อง ทางการติดต่อสื่อสารเพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ได้ติดต่อกับคณะกรรม การบริษัทฯ โดยติดต่อโดยตรงที่เลขานุการคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีของบริษัทฯ (คุณร�ำภา ค�ำหอมรื่น ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และ รองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน) ผ่านทาง E-mail : kurumpa@bigc.co.th หรือ  ส่งเป็นหนังสือไปที่ ส�ำนักงานประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน  และรองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน เลขที่ 97/11 ชั้น 7 ถนนราชด�ำริห์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์หมายเลข 02-655-0666 ต่อ 4062 ในกรณีที่มีการร้องเรียนเรื่องการบริหารงานของบริษัทฯ เลขานุการ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จะด�ำเนินการตรวจสอบ และรวบรวม ข้อเท็จจริงจากฝ่ายที่เกี่ยวข้องแล้วรายงานผลการตรวจสอบให้ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ทราบ และในกรณีที่มีการร้องเรียนเรื่องทุจริต/ ประพฤติ มิ ช อบของผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานในระดั บ จั ด การ เลขานุ ก าร คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จะรายงานผลการตรวจสอบให้ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบทราบ โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) หรือ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ แล้วแต่กรณี จะเป็นผู้รายงานให้ประธาน กรรมการบริษัทฯ ทราบ หลังจากนั้น ในกรณีที่เรื่องร้องเรียนดังกล่าวเป็น ข้อร้องเรียนที่มีนัยส�ำคัญ ประธานกรรมการบริษัทฯ จะพิจารณารายงานต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป


มาตรการต่าง ๆ เพือ่ ให้ความช่วยเหลือในสิง่ ทีพ่ นักงานต้องการอย่างเต็มทีจ่ น เป็นที่รับรู้และกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในประเทศไทย นอกจากนัน้ เรายังมุง่ มัน่ ในการส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี อง พนักงาน ซึ่งยังประโยชน์ต่อสังคมในวงกว้างอีกด้วย ในปี 2554 พนักงาน ของบิก๊ ซีมจี ติ กุศลบริจาคเลือดถึง 3,285,770 ซีซ.ี ให้กบั สภากาชาดไทย และ เรายังคงบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ให้กับพนักงาน เพื่อสุขภาพ ร่างกายที่ดี และมีจ�ำนวนพนักงานที่เข้ารับการฉีดวัคซีนถึง 17,104 คน

บุคลากร “การสร้ า งแรงจู ง ใจ คื อ ศิ ล ปะในการท� ำ ให้ ค นท� ำ ในสิ่ ง ที่ เราต้องการเนื่องจากเขาต้องการที่จะท�ำสิ่งนั้น” ดไวท์ ไอเซนเฮาร์ หลังจากการควบรวมกันของบิ๊กซีและคาร์ฟูร์ในปี 2554 ความมุ่งมั่น ที่จะประสบความส�ำเร็จยิ่งเพิ่มมากเป็นเท่าทวีคูณ เนื่องจากขนาดของทีม งานซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของความส�ำเร็จขององค์กรมีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างมาก ความท้าทายคือองค์ประกอบแห่งความส�ำเร็จของเรา และความท้าทายอันดับ หนึ่งของเราคือ ความส�ำเร็จในการหลอมรวมทีมงานจากบิ๊กซีและคาร์ฟูร์เข้า ด้วยกัน โดยใช้การบริหารจัดการทางด้านทรัพยากรมนุษย์ของบิ๊กซีเป็น แนวทางหลัก บนหลักการส�ำคัญที่เราจะยึดมั่นสืบต่อไป นั่นคือ การสร้างแรง จูงใจและความเป็นอยู่ที่ดีให้กับพนักงานของเรา พนักงานทุกคนจะต้องรู้สึก ถึงความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันในฐานะสมาชิกครอบครัวบิ๊กซี เมื่อครอบครัว บิก๊ ซีเติบใหญ่ขนึ้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ ส�ำหรับเราคือ พนักงานจะต้องรูส้ กึ ว่าตนเองเป็น ส่วนหนึ่งขององค์กรและมีโอกาสในการพัฒนาตนเองและก้าวหน้าในการ ท�ำงาน เราได้น�ำความสามารถที่โดดเด่นหลายประการของคาร์ฟูร์มาใช้ใน การท�ำงานและจะด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องในการที่จะพัฒนาพนักงานของ องค์กร เรามีหน่วยงานทรัพยากรบุคคลที่มีโครงสร้างแบบใหม่ และทีมงาน ที่มุ่งมั่นในการน�ำพาองค์กรให้ก้าวหน้าต่อไป ด้วยการส่งเสริมให้พนักงานทุก คนได้ใช้ความสามารถพิเศษของตนเองท�ำงานอย่างเต็มศักยภาพ เรามุ่งมั่น ที่จะเสนอค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ที่แข่งขันได้ ส่งเสริมความผูกพัน ในองค์กร และการเรียนรู้และพัฒนาของพนักงาน ภารกิจส�ำคัญของฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์ คือการเพิม่ ขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ไม่แต่เฉพาะในส�ำนักงานใหญ่ แต่ครอบคลุมทัว่ ประเทศ บทบาททีส่ ำ� คัญอย่าง ยิ่งยวดของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ คือบทบาทของที่ปรึกษาผู้อ�ำนวยให้เกิด ความคิดทีห่ ลากหลาย การใช้ความสามารถพิเศษของพนักงานทีต่ รงต่อความ ต้องการขององค์กร ตลอดจนการให้รางวัลแก่พนักงานทีม่ คี วามสามารถพิเศษ และความทุ่มเทในการท�ำงาน

เป้ า หมายของบิ๊ ก ซี คื อ การเป็ น ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก อั น ดั บ หนึ่ ง ของ ประเทศไทย โดยมีกลยุทธ์ทสี่ ำ� คัญประการหนึง่ คือการขยายสาขา ในขณะนี้ บิก๊ ซีเป็นองค์กรขนาดใหญ่ และได้รบั การยอมรับในฐานะผูน้ ำ� ร่วมของธุรกิจค้า ปลีกผู้ซึ่งให้ความส�ำคัญกับการดูแลพนักงานเป็นอย่างดี บิ๊กซีได้วิวัฒนาการ จากธุรกิจภายในประเทศเข้าสู่การเป็นธุรกิจระดับสากล และแผนการขยาย สาขาของเราแสดงให้เห็นถึงความมั่นใจในความส�ำเร็จขององค์กรในอนาคต ถือเป็นความรับผิดชอบของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ในการให้ความส�ำคัญกับ การให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำแก่พนักงานในแนวทางการท�ำงานทีถ่ กู ต้องโดยอาศัย การสื่อสารภายในองค์กรและการให้บริการแก่พนักงานที่มีประสิทธิภาพ ในปี 2554 ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ได้จัดตั้งทีมงานสรรหาบุคลากรซึ่ง มุ่งเน้นการสรรหาผู้สมัครที่มีความสามารถพิเศษเป็นเลิศทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ การบริหารจัดการความสามารถพิเศษเป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับ ความส�ำเร็จของบิก๊ ซี ความจ�ำเป็นในการสร้าง และพัฒนาความสามารถพิเศษ ของพนักงาน และการเก็บรักษาผูท้ มี่ คี วามสามารถพิเศษเหล่านัน้ ไว้กบั องค์กร มีความส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เราจะให้รางวัลพนักงานส�ำหรับความ มานะพยายาม และทุ่มเทในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเพื่อให้ พนักงานเห็นถึงประโยชน์ที่เขาจะได้รับเป็นการตอบแทนเพื่อจูงใจให้ท�ำงาน กับองค์กรเป็นเวลายาวนาน ในทุกหน่วยงานจะมีผู้จัดการที่รับผิดชอบเฉพาะด้าน การจ้างงาน คนพิการเป็นเรื่องที่ส�ำคัญอันดับต้น ๆ ทั้งนี้ มิใช่เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนด ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องเท่านั้น บิ๊กซีมุ่งมั่นในการเป็นองค์กรที่ให้โอกาสที่ เปิดกว้างแก่ผู้สมัครงานทุกภาคส่วน และการจ้างงานที่มั่นคง ซึ่งจะเป็น รูปแบบการด�ำเนินกิจการที่ยั่งยืนในอนาคต

ปี 2554 เป็นปีทที่ า้ ทายอย่างมากส�ำหรับธุรกิจค้าปลีกของประเทศไทย อันเนื่องมากจาสถานการณ์น�้ำท่วมใหญ่ช่วงปลายปี เราประสบกับอุปสรรค ในการจัดส่งสินค้าให้กับสาขา และพนักงานตลอดจนครอบครัวพนักงานได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมทั้งทางตรงและทางอ้อม บริษัทได้ด�ำเนิน รายงานประจำ�ปี 2554

39


วัฒนธรรมในการท�ำงานในรูปแบบใหม่ของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ คือ การสร้างทีมงานทัว่ ประเทศทีพ่ ร้อมให้ความสนับสนุนการด�ำเนินงานของสาขา ในด้านที่เกี่ยวกับบุคลากรที่เชื่อมต่อไปยังส�ำนักงานใหญ่ ซึ่งได้รับการตอบรับ ที่ดีจากสาขาเช่นกัน

การสร้างสรรค์วัฒนธรรมในการท�ำงานรูปแบบใหม่ที่น่าตื่นเต้น น�ำพา บิก๊ ซีไปสูค่ วามส�ำเร็จในปัจจุบนั และอนาคต การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ จะให้ความส�ำคัญกับหน้าทีห่ ลักในการจัดพนักงานให้เหมาะสมกับงานอย่างดี ที่สุด

ฝ่ายทรัยพากรมนุษย์รับผิดชอบในการเฟ้นหาและพัฒนาพนักงาน ที่มีความสามารถพิเศษ ดังนั้น ในปี 2554 มีการจัดตั้งทีมงานเฉพาะเพื่อ รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการพนักงานที่มีความสามารถพิเศษ การ สืบทอดต�ำแหน่งและการบริหารผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจะท�ำการประเมินผล การปฏิบัติงานของพนักงานเพื่อจัดล�ำดับและการเลื่อนต�ำแหน่ง จัดท�ำ แผนการสืบทอดต�ำแหน่งทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการระบุและการพัฒนาพนักงาน ที่มีศักยภาพในการสืบทอดต�ำแหน่งที่มีความส�ำคัญขององค์กร โดยการ ประเมินและการอบรมที่เป็นระบบ

ในปี 2555 เรามีแผนที่จะริเริ่มโครงการใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาจุดแข็งของ องค์กรอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ แนะน�ำค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กรรูปแบบใหม่  แนะน�ำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานแบบใหม่  น�ำแนวทางการด�ำเนินงานตามกรอบสมรรถนะมาใช้ส�ำหรับสาขา  และส�ำนักงานใหญ่ เปิดตัว สถาบันค้าปลีก บิ๊กซี  จัดท�ำการฝึกอบรมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติม  น�ำระบบการบริหารจัดการข้อมูลทางด้านทรัพยากรมนุษย์ และ  เครื่องมือต่าง ๆ ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรมนุษย์มาใช้ เพื่อเพิ่มผลิตภาพการท�ำงานของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์คือการบริหารความสามารถพิเศษ ด้วยแนวทางใหม่นี้ บิก๊ ซีสามารถทีจ่ ะพัฒนาพนักงานทีม่ ีความสามารถพิเศษ ให้มอี นาคตในการท�ำงานทีด่ ยี งิ่ ขึน้ การขยายธุรกิจและจ�ำนวนสาขาทีเ่ พิม่ ขึน้ ได้เพิ่มพูนศักยภาพในการแข่งขันให้กับเรา เพราะหมายถึงโอกาสใหม่ ๆ ที่ น่าตื่นเต้น ขณะนี้ เราสามารถตอบสนองต่อความต้องการความก้าวหน้าใน การท�ำงานของพนักงานได้มากยิ่งขึ้น พนักงานจะตระหนักถึงโอกาสที่เขา สามารถจะเติบโตขึ้นและได้ท�ำงานที่ท้าทายยิ่งขึ้น สุดท้ายแล้วบุคลากรทั้ง หลายคืออนาคตขององค์กร นั่นมิได้หมายถึงพนักงานใหม่เท่านั้น พนักงาน ปั จ จุ บั น ซึ่ ง มี ค วามผู ก พั น กั บ องค์ ก รก็ จ ะได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการอบรม และพัฒนาบุคลากรด้วยเช่นกัน การอบรมจะมุ่งเน้นในส่วนของงานและ กระบวนการท�ำงานเพื่อให้บรรลุมาตรฐานของการท�ำงานที่เป็นเลิศในสาขา ของบิ๊กซีทุกสาขา ฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรรับผิดชอบการฝึกอบรมในส่วนที่ เกี่ยวกับการเพิ่มทักษะในการก�ำกับดูแลพนักงาน การบริหารจัดการงาน การใช้ภาวะผู้น�ำที่เหมาะสมและการบริการลูกค้า แท้ที่จริงแล้วในมุมมอง ของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ปัจจัยส�ำคัญแห่งความส�ำเร็จขององค์กรอยู่ที่การ ปรับปรุงความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการของพนักงานให้เป็นเลิศ ยิ่งขึ้นไปโดยผ่านการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและการสร้างความ ผูกพันต่อองค์กรในมวลหมูพ่ นักงาน จึงเป็นความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ในการช่วยให้ ผู้จัดการของสาขาบริหารจัดการงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

40

รายงานประจำ�ปี 2554


หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลที่สำ� คัญบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ โดยมีคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำและเสนอ แนะแนวทางเพื่อการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทฯ และน�ำมาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องและ จริงจัง

การด�ำเนินงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ในฐานะบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะ

กรรมการบริหารตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ ทั้งที่เกี่ยวกับการเงินและที่ไม่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อ กระบวนการตัดสินใจของผู้ลงทุน ดังนั้นคณะกรรมการบริหารจึงได้เน้นย�้ำ ต่อผูบ้ ริหารระดับสูงต้องเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องใด ๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ สม�่ำเสมอและทันเวลา

ในระหว่างปี 2554 บริษัทแม่ได้จัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ขึ้นเพื่อ รองรับและจัดการดูแลงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ทั้งหมด บุคคลผู้รับผิดชอบการติดต่อประสานงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์  ของบริษทั ฯ คือ นายรามี บีไรเนน ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ นักลงทุนสามารถสอบถามข้อมูลใด ๆ ทีบ่ ริษทั ฯ เปิดเผยแล้วได้ทาง โทรศัพท์หมายเลข 02 655 0666 ต่อ 7416 หรือทางอีเมล์ pirami@bigc.co.th ส่วนบุคคลผู้รับผิดชอบการติดต่อประสานงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์คือ  นายกุฎาธาร นาควิโรจน์ ผู้อ�ำนวยฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ ถ้ามีข้อสงสัย เกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์ สิ่งพิมพ์และโฆษณาสามารถติดต่อได้โดยตรง ทางโทรศัพท์หมายเลข 02 655 0666 ต่อ 7192 หรือทางอีเมล์ nakudatara@bigc.co.th

บริษัทฯ จะเปิดเผยสารสนเทศต่อสาธารณชนผ่านทางระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและช่องทางต่าง ๆ เพื่อเพิ่มทางเลือกให้แก่ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนผู้ที่สนใจผ่านทาง ช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ www.bigc.co.th

บริษัทฯ เผยแพร่ผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส รายงานประจ�ำปี รายงานการประชุม ผู้ถือหุ้น ข้อมูลทางการเงิน แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ข่าวสารแจ้ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และข่าวสารขององค์กร ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้นได้จากทางเว็บไซต์

เอกสารอธิบายผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส

ส่งผ่านสื่อ ELCID เป็นรายไตรมาส

การแถลงผลประกอบการณ์แก่นักลงทุน

บริษัทฯ จัดการแถลงผลประกอบการณ์แก่นักลงทุนเพื่อกระชับความสัมพันธ์กับ นักลงทุนและนักวิเคราะห์ และเพื่อให้โอกาสเข้าใจในธุรกิจของบริษัทฯ มากขึ้นและ ยังสามารถสอบถามค�ำถามด้วย บริษัทฯจะแถลงผลประกอบการณ์ประจ�ำไตรมาส และการพัฒนาการด�ำเนินงานด้านต่าง ๆ โดยมีผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ เข้าร่วม การน�ำเสนอข้อมูลนี ้ ทั้งนี้ข้อมูลน�ำเสนอสามารถเรียกดูได้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ

การประชุมผู้ถือหุ้น

การประชุมใหญ่ประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้โอกาสแก่ผู้ถือหุ้น ในการรับทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เสนอความคิดเห็น สอบถามและออกเสียง

การเยี่ยมชมบริษัท

บริษัทฯ ให้โอกาสแก่นักลงทุนสถาบันและนักวิเคราะห์เข้าพบกับผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับบริษัทฯ ผลการด�ำเนินงาน และแนวโน้มต่าง ๆ

การจัด Roadshow ในต่างประเทศ

บริษัทฯ จัดการเดินทางไปพบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศซึ่งสนใจที่จะเรียนรู้ เกี่ยวกับบริษัทฯ เพิ่มเติม

การจัดการประชุมทางโทรศัพท์

บริษทั ฯ จัดจัดการประชุมทางโทรศัพท์กบั นักลงทุนสถาบันต่างประเทศและนักวิเคราะห์ เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับบริษัทและธุรกิจของบริษัทฯ

การเข้าร่วมประชุม

บริษทั ฯ เลือกทีจ่ ะเข้าร่วมการประชุมบางครัง้ ในระหว่างปี เพือ่ พบปะกับนักลงทุนสถาบัน ในการประชุมแบบเฉพาะรายหรือการประชุมแบบกลุ่มย่อย

รายงานประจำ�ปี 2554

41


ในช่วงปีที่ผ่านมา บริษัทฯ มีช่องทางต่าง ๆ ส�ำหรับการติดต่อสื่อสารและกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ดังนี้ เดือน

การแถลงผล ประกอบการณ์ แก่นักลงทุน

มกราคม

การประชุมผู้ถือหุ้น การเยี่ยมชมบริษัท

1

6

1

7

1

5

3

4

5

7

1

5

3

4

4

สิงหาคม

17

5

กันยายน

8

3

2

2

1

พฤศจิกายน

7

7

1

ธันวาคม

5

1

กุมภาพันธ์ มีนาคม

1

เมษายน พฤษภาคม

1 1

มิถุนายน กรกฎาคม

ตุลาคม

1

1

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ภาวะผู้น�ำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการเป็นผูม้ ภี าวะผูน้ ำ � มีวสิ ยั ทัศน์และมีความเป็นอิสระในการ ตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม คณะกรรมการ ยังได้มสี ว่ นร่วมในการให้ความเห็นชอบวิสยั ทัศน์ ในรูปของแผนธุรกิจ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนติดตามและก�ำกับ ดูแลให้ฝ่ายจัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตามที่ได้รับความเห็นชอบอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และความมั่นคงสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการมีการดูแล และพิจารณาอย่างรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ โดยคณะกรรมการได้ประกาศเกณฑ์การรายงานการมีส่วนได้เสีย ของกรรมการและผู้บริหารทุกคน และต้องรายงานภายใน 7 วันนับแต่มีการ เปลีย่ นแปลง และก�ำหนดนโยบายและขัน้ ตอนการอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ให้เป็นไปตามประกาศทีเ่ กีย่ วข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ทั้งก�ำหนดนโยบายและวิธีการดูแลเพื่อมิให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องน�ำข้อมูล ภายในของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน โดยคณะกรรมการตรวจสอบ จะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการที่ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการกับนิติบุคคลหรือบุคคลที่เกี่ยว โยงกันที่มีสาระส�ำคัญ และได้พิจารณาความเหมาะสมของการด�ำเนินการใน แต่ละเรือ่ งนัน้ อย่างรอบคอบ พร้อมปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยก�ำหนดราคาและเงื่อนไขเสมือนท�ำรายการกับบุคคล

42

การจัดการประชุม การจัด Roadshow การเข้าร่วมประชุม ทางโทรศัพท์ ในต่างประเทศ

รายงานประจำ�ปี 2554

2

1

ภายนอก (Arm’s Length Basis) และเปิดเผยมูลค่ารายการ คู่สัญญา เหตุผล / ความจ�ำเป็น อย่างเพียงพอไว้ในรายงานประจ�ำปีและแบบ 56-1 ในส่วนของการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน ได้ก�ำหนดให้กรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ ส�ำนักงาน ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันท�ำการ นับจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน นอกจากนี้ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีได้เสนอ แนะให้กรรมการและผูบ้ ริหารรายงานการถือหลักทรัพย์ของตนในการประชุม คณะกรรมการทุกไตรมาส ซึ่งยังคงถือปฏิบัติในการประชุมกรรมการบริษัทฯ ทุกนัดในปีที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง

จริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทฯ มีนโยบายการด�ำเนินธุรกิจ โดยยึดมั่นในมาตรฐานจริยธรรม สูงสุด ได้แก่ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ความซือ่ ตรงของพนักงาน ความสัมพันธ์ กับผู้จำ� หน่ายสินค้า การเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ การแข่งขันและการรักษา สินทรัพย์ของบริษทั ฯ ซึง่ คณะกรรมการ ผูบ้ ริหารตลอดจนพนักงานทุกคนได้ให้ ความส�ำคัญและมีหน้าที่ต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด สม�่ำเสมอเป็นปกติวิสัย เพื่อให้เป็นไปตามปฏิญญาว่าด้วยการปฏิบัติตามมาตรฐานการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่ได้กำ� หนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ทั้งนี้ บริษัทยัง ได้ก�ำหนดให้มีการติดตามผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และรณรงค์ส่งเสริมให้ เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรและค่านิยมที่ดีในการด�ำเนินงาน เป็นที่ยอมรับของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่อไป


การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ มีจำ� นวน 13 ท่านประกอบด้วย กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 11 ท่าน (4 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ) กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน

โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้ บริหารจ�ำนวน 11 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 84.61 ของกรรมการทั้งคณะ และ กรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 30.77 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ คณะ และมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนทีจ่ ะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จึงเชือ่ มัน่ ได้วา่ มีการถ่วงดุล กันอย่างเหมาะสมในโครงสร้างกรรมการของบริษัทฯ

การรวมหรือแยกต�ำแหน่ง ประธานกรรมการไม่ได้เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่  ประธานกรรมการไม่ใช่บคุ คลเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร  และกรรมการผู้จัดการใหญ่ การจัดโครงสร้างคณะกรรมการของบริษัทฯ ให้มีกรรมการที่ไม่ได้เป็น  ผู้บริหารร้อยละ 84.61 และกรรมการที่เป็นอิสระร้อยละ 30.77 ท�ำให้ เกิดการถ่วงดุลและการสอบทานการบริหารงานอย่างรอบคอบ

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการอย่างเป็นธรรม สม เหตุสมผลและโปร่งใส โดยมอบหมายให้คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็น ผู้มีหน้าที่ในการพิจารณาอัตราค่าตอบแทนให้อยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และมีอตั ราสูงเพียงพอทีจ่ ะดึงดูดและรักษากรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ ตี่ อ้ งการและ เหมาะสมไว้เพื่อท�ำงานให้บริษัทฯ ในปี 2554 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่

ดี จึงได้พจิ ารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการในตลาดบริการและอุตสาหกรรม เดียวกันแล้ว และค�ำนึงถึงหน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบของคณะกรรมการ จึงเห็นควรให้คงอัตราค่าตอบแทนต่อต�ำแหน่งของกรรมการทุกคณะ รวมทั้ง เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการบริษัท ประจ�ำปี 2554 เท่ากับอัตราค่าตอบแทน ของปีที่ผ่านมา คือ ปี 2553 โดยให้เพิ่มอัตราค่าตอบแทนของต�ำแหน่งเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบเพียงต�ำแหน่งเดียว และได้กำ� หนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ประจ�ำปี 2554 ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 8,885,000 บาท ต่อปี ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือ หุ้นประจ�ำปี 2554 เมื่อวันที่ 27เมษายน 2554 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ค่าตอบแทนรายปี เป็นเงินที่จ่ายให้แก่ผู้ที่ดำ� รงต�ำแหน่ง ประธานกิตติมศักดิ์ ช�ำระ 1 ครั้งต่อปี   กรรมการ ช�ำระเป็นรายไตรมาส กรรมการตรวจสอบ เลขานุการกรรมการตรวจสอบ และ  กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ช�ำระ 2 ครั้งต่อปี เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการของกรรมการ  ช�ำระเป็นรายเดือน

ในกรณีทกี่ รรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี พ้นจากต�ำแหน่ง และแต่งตัง้ กรรมการใหม่เข้ามาแทน จะจ่ายค่าตอบแทน ตามสัดส่วนจ�ำนวนวันที่ดำ� รงต�ำแหน่ง ค่าเบี้ยประชุม เป็นเงินที่จ่ายให้แก่กรรมการที่เข้าร่วมประชุมเป็นรายครั้ง และเป็นค่า ตอบแทนที่จัดให้แก่คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการตรวจสอบเท่านั้น

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนในฐานะ คณะกรรมการ (BOD)  ประธานกรรมการ * ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของประธานกรรมการ ไม่เกิน 1 ล้านบาท ต่อปี  กรรมการ  เลขานุการ  ผู้ช่วยเลขานุการ

ค่าตอบแทนรายปี (บาท/ไตรมาส) (บาท/ครึ่งปี)

(บาท/เดือน)

ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ กรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) (บาท/ครั้ง)

71,500

38,500

49,500 – –

– – –

– 25,000 5,000

38,500 – –

– – –

คณะกรรมการตรวจสอบ (AC)  ประธานกรรมการตรวจสอบ  กรรมการตรวจสอบ  เลขานุการกรรมการตรวจสอบ

– – –

68,000 60,000 40,000

– – –

– – –

24,000 20,000 –

คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (CG)  ประธานกรรมการ  กรรมการ  กรรมการที่เป็นลูกจ้างบริษัท

– – –

68,000 60,000 25,000

– – –

– – –

– – –

ประธานกิตติมศักดิ์

100,000 บาท/ปี

**ค่าตอบแทนอื่น -ไม่มี รายงานประจำ�ปี 2554

43


ค่ า ตอบแทนรวมของคณะกรรมการที่ ไ ด้ รั บ จากบริ ษั ท ฯ ในฐานะกรรมการ, กรรมการตรวจสอบ และกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ รวมทั้งสิ้น 10,040,860.15 บาท มีรายละเอียดดังนี้ ค่าเบี้ยประชุม ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ รวม รายชื่อ ต�ำแหน่ง รายปี กรรมการ ตรวจสอบ ค่าตอบแทน (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) คุณวันชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกิตติมศักดิ์ 100,000 – – 100,000 คุณอัคนี ทับทิมทอง กรรมการ 198,000 308,000 – 506,000 ประธานกรรมการ *835,647.72 – – 835,647.72 คุณสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ 148,500 77,000 – 225,500 506,000 – 308,000 คุณนนทพล นิ่มสมบุญ กรรมการ, กรรมการอิสระ 198,000 256,000 120,000 – ประธานกรรมการตรวจสอบ 136,000 60,000 – – 60,000 กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ 68,000 – – 68,000 ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ คุณไพฑูรย์ ทวีผล กรรมการ, กรรมการอิสระ 341,000 – 192,500 148,500 ประธานกรรมการตรวจสอบ 24,000 – 24,000 60,000 – – 60,000 กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์ กรรมการ, กรรมการอิสระ 198,000 269,500 – 467,500 กรรมการตรวจสอบ 120,000 – 120,000 240,000 คุณประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ กรรมการ 198,000 308,000 – 506,000 คุณสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่ กรรมการ, กรรมการอิสระ 132,000 154,000 – 286,000 คุณอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง กรรมการ 198,000 308,000 – 506,000 คุณสตราสเซอร์ อาโนด์ กรรมการ 198,000 308,000 – 506,000 แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม คุณชาร์ค โดมินิค เอมาน คุณอูลีเซส คาเมยามา คุณกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

198,000 198,000 198,000

269,500 269,500 192,500

– – –

467,500 467,500 390,500

คุณเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเช่ คุณร�ำภา ค�ำหอมรื่น

กรรมการ

198,000

308,000

506,000

เลขานุการบริษัทฯ กรรมการ และเลขานุการกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ ผู้ช่วยเลขานุการบริษัทฯ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ และผู้ช่วยเลขานุการก�ำกับดูแลกิจการ เลขานุการกรรมการตรวจสอบ

300,000 50,000

– –

– –

300,000 50,000

26,935.48 29,166.67

– –

– –

26,935.48 29,166.67

80,000

80,000

ประธานกรรมการ

286,000 *857,212.43 68,000 198,000 120,000 66,000 33,064.52 20,833.33

192,500 – – 192,500 – 115,500 – –

– – – – 80,000 – – –

478,500 857,212.43 68,000 390,500 200,000 181,500 33,064.32 20,833.33

5,923,860.15

3,773,000

344,000

10,040,860.15

คุณอุมาวดี รัตนอุดม คุณนันทาวดี สันติบัญญัติ กรรมการที่ลาออกระหว่างปี คุณสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ พลเอก วินัย ภัททิยกุล คุณเวียด ฮง โด คุณปฐมา ระวังภัย อัมพวา

ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ กรรมการ, กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ, กรรมการอิสระ ผู้ช่วยเลขานุการบริษัทฯ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ และ ผู้ช่วยเลขานุการก�ำกับดูแลกิจการ

รวม * หมายเหตุ ค่าตอบแทนอื่นๆ: ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของประธานกรรมการ 44

รายงานประจำ�ปี 2554


ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารและผู้บริหาร บริษัทฯ มีการก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารและ ผู้บริหารอย่างเป็นธรรมและสมเหตุสมผล ได้แก่ ค่าตอบแทนที่เป็นเงินเดือน โบนัสและสวัสดิการอืน่ ซึง่ มีความสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารแต่ละท่าน โดยพิจารณาตามโครงสร้างการ บริหารและหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นหลัก จ�ำนวนคน

จ�ำนวนเงินรวม (บาท)

ปี 2553 เงินเดือน และ โบนัส ค่าตอบแทนอื่น ๆ

13

159,354,189.56

ปี 2554 เงินเดือน และ โบนัส ค่าตอบแทนอื่น ๆ

14

208,406,532.22

การประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ มี ก ารก� ำ หนดวั น นั ด ประชุ ม คณะกรรมการไว้ ล ่ ว งหน้ า ตลอดทั้ ง ปี เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกแก่ ก รรมการทุ ก ท่ า น โดยเฉพาะกรรมการที่ มี ภูมิล�ำเนาในต่างประเทศ และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจ�ำเป็น ทางธุรกิจ นอกจากนี้ ยังมีวาระพิจารณาติดตามผลการด�ำเนินงานบรรจุใน วาระการประชุมกรรมการอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งเลขานุการบริษัทฯ ได้จัดส่ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบให้ แก่กรรมการทุกท่านก่อนการประชุมล่วงหน้า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้ มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม การประชุมแต่ละครัง้ จะ ใช้เวลาประมาณ 3 ช.ม.

ค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ไม่ใช่เงิน – ไม่มี –

ในปี 2554 มีการประชุม 8 ครั้ง เป็นการประชุมปกติจำ� นวน 5 ครั้ง และประชุมนัดพิเศษจ�ำนวน 3 ครั้ง มีรายละเอียด ดังนี้

รายชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

นายอัคนี ทับทิมทอง นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายนนทพล นิ่มสมบุญ นายไพฑูรย์ ทวีผล รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์ นายประพันธ์ เอี่ยมรุ่งโรจน์ นายสุทธิลักษณ์ ส�ำราญอยู่ นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง นายสตราสเซอร์ อาโนด์ แดเนียล ชาร์ล วอลเทอร์ โจคิม* นายชาร์ค โดมินิค เอมาน* นายอูลีเซส คาเมยามา* นายกีโยม ปิแอร์ อองตวน มาแร็ง ฮัมเบิร์ต* นายเปรโดร อันโตนิโอ อาริอัส โดเช่*

กรรมการลาออกระหว่างปี 2554 1. นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 2. พลเอกวินัย ภัททิยกุล 3. นายเวียด ฮง โด*

การประขุม ปกติ

การประขุม นัดพิเศษ

รวม

5/5 2/5 5/5 3/5 5/5 5/5 2/5 5/5 5/5

3/3 0/3 3/3 2/3 2/3 3/3 2/3 3/3 3/3

8/8 2/8 8/8 5/8 7/8 8/8 4/8 8/8 8/8

5/5 4/5 3/5 5/5

2/3 3/3 2/3 3/3

7/8 7/8 5/8 8/8

5/5 5/5 3/5

0/3 0/3 0/3

5/8 5/8 3/8

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการระหว่างปี

9 มีนาคม 2554 (แทน นายทศ จิราธิวัฒน์) 9 มีนาคม 2554 (แทน นายสาธิต รังคสิริ)

27 เมษายน 2554 (แทน นายเวียด ฮง โด)

ลาออกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2554 ลาออกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 ครบวาระและมีความประสงค์ลาออก เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554

หมายเหตุ *กรรมการที่มีภูมิล�ำเนาในต่างประเทศ ทั้งนี้ มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการไว้อย่างครบถ้วน พร้อมให้ คณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ทุกขณะ

รายงานประจำ�ปี 2554

45


2. คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมสม�ำ่ เสมอ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ เลขา นุการบริษัทฯ ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบให้แก่กรรมการทุกท่านก่อนการประชุมล่วงหน้า 7 วัน คณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าที่พิจารณาและด�ำเนินการตามที่ก�ำหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการสอบทานรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและ เพียงพอ รวมทั้งการสอบทานระบบการควบคุมภายใน (internal control) และการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยในปี 2554 มีการประชุมทั้งสิ้น 6 ครั้ง ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

46

จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม

หมายเหตุ

นายนนทพล นิ่มสมบุญ

5/6

ครบวาระและมีความประสงค์ลาออก เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554

นายไพฑูรย์ ทวีผล

1/6

แทน นายนนทพล นิ่มสมบุญ

รศ. ดร. จีรเดช อู่สวัสดิ์

6/6

พลเอกวินัย ภัททิยกุล

5/6

ลาออก เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554

3. คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2554 ที่ผ่านมา คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีการประชุมรวม 4 ครั้ง ดังนี้ จ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม

หมายเหตุ

นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์

2/4

ลาออกเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2554

นายนนทพล นิ่มสมบุญ

4/4

ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2554

นายไพฑูรย์ ทวีผล

2/4

แทนนายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2554

นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรื่น

4/4

นางปฐมา ระวังภัย อัมพวา

2/4

ลาออกเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2554

นางอุมาวดี รัตนอุดม

2/4

แทนนางปฐมา ระวังภัย อัมพวา และได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2554

รายงานประจำ�ปี 2554


การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

หลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติได้

การควบคุมภายใน บริษัทฯ ก�ำหนดให้ภาระหน้าที่และอ�ำนาจการด�ำเนินการของผู้ปฏิบัติ งานและผู้บริหารไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน เพื่อควบคุมดูแลการ ใช้ทรัพย์สินของบริษัทฯ ให้เกิดประโยชน์ และป้องกันการน�ำทรัพย์สินของ บริษทั ฯ ไปใช้โดยมิชอบอย่างรัดกุม และมีการแบ่งแยกหน้าทีข่ องผูป้ ฏิบตั งิ าน และผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินผลออกจากกัน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและ ตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม

1. ประธานกรรมการของบริษัทฯ ควรเป็นกรรมการอิสระ ประธานกรรมการของบริษัทฯ ไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ เนื่องจาก บริษทั ฯ มีความเชือ่ มัน่ และมีความเห็นว่า ประธานกรรมการสมควรเป็นบุคคล ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านธุรกิจค้าปลีกเป็นส�ำคัญ เพราะจะท�ำให้บริษทั ฯ ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากความสามารถ ประสบการณ์ และความรู้ความเชี่ยวชาญดังกล่าวอย่างเต็มที่

การบริหารความเสี่ยง บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้น�ำการบริหารความ เสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management) มาใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารจัดการรับมือกับความไม่แน่นอนที่จะมีผลกระทบต่อเป้าหมายการ ด�ำเนินงาน และได้มีการพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ได้ โดยสามารถ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงและความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ กับธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งยังเป็นการให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง (Stakeholders) ว่าการบริหารงานของบริษัทฯ มีความเหมาะสม และโปร่งใส อันจะน�ำไปสู่การมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) โดยการน�ำหลักการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรมาใช้ ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้ท�ำการประเมินระดับ ความเสีย่ ง และวางมาตรการป้องกันความเสีย่ งในแต่ละเรือ่ ง พร้อมทัง้ ประเมิน ระดับการควบคุม (Control Level) ของมาตรการป้องกันที่สร้างขึ้นนั้น แล้ว จึงพิจารณาความเสี่ยงที่ยังคงเหลืออยู่ (Residual Risk) ที่เกินกว่าระดับที่ ยอมรับได้ ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่ต้องก�ำหนดแผนงานเพื่อจัดการความเสี่ยงนั้น เพิ่มเติม (Risk Treatment Plan) นอกจากนี้ยังมีการก�ำหนดดัชนีชี้วัดความ เสี่ยง (Key Risk Indicator) เพื่อใช้ในการติดตามผลการบริหารความเสี่ยงนัน้ อย่างสม�่ำเสมอ โดยบริษัทฯ จัดให้มีผู้จัดการด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Manager) เป็นผูท้ ำ� หน้าทีต่ ดิ ตามประเมินผล และจัดท�ำรายงานให้ฝา่ ยบริหาร ทราบตามระยะเวลา

2. บริษทั ฯควรจัดให้มคี ณะกรรมการค่าตอบแทนและคณะกรรมการ สรรหาโดยมีกรรมการอิสระเกินกึ่งหนึ่ง บริษทั ฯ ได้มอบหมายภารกิจให้คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั ฯ ท�ำหน้าทีค่ ณะกรรมการค่าตอบแทนและคณะกรรมการสรรหาไปด้วย ในคราวเดียวกัน ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมา คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวได้อย่างเหมาะสมและไม่มขี อ้ ขัดข้องใดๆ โครงสร้างของคณะกรรมการค่าตอบแทนและคณะกรรมการสรรหา ของบริษทั ฯ เป็นโครงสร้างเดียวกันกับโครงสร้างของคณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี จึงมิได้มอี งค์ประกอบของกรรมการอิสระเกินกึง่ หนึง่ ตามแนวทาง และหลักเกณฑ์การพิจารณาของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) อย่างไรก็ดี คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ ประกอบ ไปด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 2 ท่าน จากคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ทั้งหมด 4 ท่าน 3. คณะกรรมการบริษทั ฯควรพิจารณาก�ำหนดนโยบายจ�ำกัดจ�ำนวน บริษัทที่กรรมการแต่ละคนไปด�ำรงต�ำแหน่งไม่เกิน 3 แห่ง คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้พจิ ารณาแล้วเห็นว่าบริษทั ทีก่ รรมการบริษทั ฯ ไปด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ ส่วนใหญ่เป็นบริษทั ในเครือ และกรรมการบริษทั ฯ ก็เป็น ผู้มีความรู้ความสามารถในการบริหารกิจการของบริษัทที่ด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ แม้ว่ากรรมการแต่ละท่านอาจจะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่น หรือ บริษทั ในเครืออืน่ เกิน 3 แห่ง กรรมการท่านนัน้ ก็ยงั สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ ของตนเองได้อย่างเหมาะสมและไม่มีข้อขัดข้องใด ๆ ดังนั้น จึงท�ำให้บริษัทฯ ไม่ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับจ�ำนวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนไปด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2554

47


บิ๊กซี

เราเป็นมากกว่าห้างค้าปลีก เป็นเวลากว่า 18 ปีแล้ว ที่บิ๊กซีได้เป็นส่วนหนึ่งของสังคมและชุมชนไทยมาโดยตลอด เราไม่ได้เป็นเพียงห้างค้าปลีกธรรมดา แต่เราเป็นมิตรและครอบครัวของผู้บริโภคทั่วประเทศ บิ๊กซีไม่เคยหยุดนิ่งในการท�ำทุกอย่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องไทย ความรับผิดชอบต่อสังคมของบิ๊กซี ครอบคลุม 3 ด้านหลัก ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค คือ การศึกษา การพัฒนาและช่วยเหลือสังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

การศึกษา

การพัฒนาและช่วยเหลือสังคม

ตลอดปี 2554 มูลนิธบิ กิ๊ ซีได้ด�ำเนินโครงการเพือ่ พัฒนาการศึกษา ดังนี้

ตัวอย่างของโครงการพัฒนาและช่วยเหลือสังคม ที่บิ๊กซีได้ด�ำเนินการ ในปี 2554 คือ

มูลนิธิบิ๊กซี เป็นหน่วยงานหลักในการด�ำเนินโครงการด้านการศึกษา ของบิ๊กซี ภายใต้ปรัชญาว่า “มูลนิธิบิ๊กซี สร้างฝัน สร้างความสุข สร้างรอยยิ้ม ให้สังคมไทย” มูลนิธิบิ๊กซี ได้สนับสนุนงบประมาณ เพื่อพัฒนาการศึกษาในประเทศไทยแล้วกว่า 200 ล้านบาท นับตั้งแต่ การก่อตั้งในปี 2545  สร้างอาคารเรียน 2 หลัง มูลค่ารวม 7 ล้านบาท ให้โรงเรียนที่ได้ รับผลกระทบจากมหาอุทกภัย ที่ได้รับการคัดเลือกโดยกระทรวง ศึกษาธิการ (จนถึงวันนี้ มูลนิบิ๊กซี ได้สร้างอาคารเรียนแล้วทั้งสิ้น 29 หลัง)  มอบทุนการศึกษาจ�ำนวน 3,375 ทุน มูลค่า 10.125 ล้านบาท แก่นักเรียนมัธยมศึกษาที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทั่วประเทศ (ตลอด 8 ปีที่ผ่านมา มูลนิธิบิ๊กซี ได้มอบทุนการศึกษาแล้วกว่า 24,000 ทุน มูลค่ารวมกว่า 84 ล้านบาท)  จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนาเทคนิคการสอน วิชาวิทยาศาสตร์ให้เหมาะสมกับยุคสมัยปัจจุบัน” ให้ครูสอน วิชาวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาจาก 19 จังหวัด  มอบเครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคแก่ นั ก เรี ย นและโรงเรี ย นที่ ป ระสบ มหาอุทกภัย ทั่วประเทศ ผ่านรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ  มอบตู ้ ห นั ง สื อ ส� ำ หรั บ เด็ ก และเยาวชน จ� ำ นวน 84 ตู ้ แก่ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นที่ ป ระสบมหาอุ ท กภั ย และเพื่ อ ร่ ว มฉลอง 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

48

รายงานประจำ�ปี 2554

บิ๊กซีให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งกับการด�ำเนินโครงการพัฒนาสังคมที่ สร้างสรรค์ประโยชน์และผลดีระยะยาวให้กับชุมชน โดยเราสนับสนุนให้บิ๊กซี ทุกสาขา ซึ่งมีพนักงานส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของชุมชนท้องถิ่น ประสานงาน กับผู้แทนชุมชนเพื่อขอทราบสิ่งที่ชุมชนต้องการการสนับสนุน และแจ้งมายัง ส�ำนักงานใหญ่ ซึง่ จะน�ำข้อมูลดังกล่าวไปพิจารณาในการจัดท�ำโครงการต่างๆ

1. โครงการก่อสร้างโรงพยาบาลอาคารฝึกวิชาชีพ และร้านค้าวิสาหกิจ ให้ชุมชนท้องถิ่น

ในปี 2554 นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บมจ. บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ได้รเิ ริม่ โครงการระดมทุน จ�ำนวน 9 ล้านบาท ร่วมกับกลุ่มผู้สนับสนุนทางธุรกิจและลูกค้าทั่วประเทศ เพือ่ สร้างโรงพยาบาลชุมชนให้กบั ชาวไทยในพืน้ ทีห่ า่ งไกล เพือ่ ถวายเป็น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในมหาวโรกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษาครบรอบ 84 พรรษา เงินจ�ำนวนนี้ ได้ถูกน�ำไปถวายแด่วัดท่าตอน พระอารามหลวง ใน อ�ำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ในโอกาสที่นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ได้ รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้น�ำ บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ และ มูลนิธิบิ๊กซี อัญเชิญผ้าพระกฐินพระราชทานประจ�ำปี 2554 ไปถวายแด่วัด ท่าตอน พระอารามหลวง โดยโรงพยาบาลชุมชนนี้จะมีเตียงผู้ป่วย 30 เตียง และจะช่วยให้ประชากรกว่า 21,000 คน ใน 3,000 ครัวเรือน สามารถเข้าถึง การรักษาพยาบาลขั้นต้นและฉุกเฉินได้ ซึ่งโรงพยาบาลจะมีบริการล่ามภาษา ท้องถิ่น เพื่อช่วยผู้ป่วยและแพทย์สื่อสารและเข้าใจกันอย่างถูกต้อง


นอกจากนั้น ในปี 2554 โครงการพัฒนาชุมชนที่สำ� คัญอีก 2 โครงการ ซึ่งบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ โดยนายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง ร่วมกับพนักงาน บิ๊กซี และผู้สนับสนุนทางธุรกิจ ริเริ่มขึ้นเมื่อปี 2553 ได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จ เมื่อเดือน กรกฎาคม 2554 และเริ่มสร้างประโยชน์คุณูปการให้กับชุมชน ท้องถิ่นแล้ว ด้วยการให้ความรู้ ฝึกฝน ส่งเสริม และพัฒนาทักษะและโอกาส ในการประกอบวิชาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับเยาวชนและสมาชิกชุมชน ท้องถิน่ รอบต�ำบลท่าตอน นัน่ คือ อาคารฝึกวิชาชีพ “บิก๊ ซี ภาคี ร่วมใจ” และร้านค้าวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าตอน โดยบิก๊ ซีได้รว่ มกับผูส้ นับสนุนทาง ธุรกิจระดมทุนจ�ำนวน 6 ล้านบาท เพือ่ ท�ำการก่อสร้างอาคาร “บิก๊ ซี ภาคี ร่วมใจ” ณ วิทยาลัยการอาชีพฝาง สาขาวัดท่าตอน และในส่วนของร้านค้าวิสาหกิจ บ้านท่าตอน ได้ออกแบบและสนับสนุนวัสดุอปุ กรณ์ภายใน พร้อมจัดการอบรม และฝึกฝนการขาย การตลาด และการจัดระบบบัญชีให้กับบุคลากรท้องถิ่น ของร้านค้าฯ อันเป็นการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาชีวิตความ เป็นอยู่ของสมาชิกในชุมชนอย่างแท้จริง

2. ความช่วยเหลือระหว่างวิกฤตอุทกภัย

บิ๊กซีอยู่เคียงข้างชุมชนไทย ทั้งในเวลาปกติ และในเวลาที่เต็มไปด้วย อุปสรรคและความยากล�ำบาก ตลอดวิกฤตอุทกภัย และภายหลังวิกฤตได้ ผ่านพ้นไป บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ และมูลนิธิบิ๊กซี ได้ด�ำเนินโครงการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย และฟื้นฟูชีวิตให้กับผู้ประสบภัยอย่างต่อเนื่อง อาทิ การจัดและส่งถุงยังชีพไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย ภายใต้แคมเปญ “ไทยช่วยไทย สู้ภัยน�้ำท่วม” บิ๊กซีได้จัดซื้อและ รับบริจาคเครื่องอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็น เพื่อบรรจุเป็นถุงยังชีพและจัดส่งให้ ผู้ประสบภัยใน 31 จังหวัดทั่วประเทศกว่า 40,000 ถุง โดยได้ร่วมมืออย่าง ใกล้ชิดกับลูกค้าทั่วประเทศ คู่ค้า ผู้สนับสนุนทางธุรกิจ กองทัพไทย หน่วยงาน ภาครัฐ และองค์กรท้องถิ่น ในการน�ำถุงยังชีพเหล่านี้ไปถึงมือผู้ประสบภัยให้ ทันเวลาโดยเร็วที่สุด

อย่ า งไรก็ ดี ทุ ก วิ ก ฤตมี โ อกาส วิ ก ฤตอุ ท กภั ย ครั้ ง นี้ ได้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด “กลุ่มอาสาสร้างวันใหม่ ให้ไทยสดใสกับบิ๊กซี” ที่ประกอบด้วยพนักงาน บิ๊กซี และประชาชนที่มีจิตอาสาจากกรุงเทพและปริมณฑล ที่มารวมตัวกัน เพื่อด�ำเนินกิจกรรมช่วยเหลือและฟื้นฟูชีวิตผู้ประสบภัย โดยยังคงด�ำเนินการ มาจนถึงปัจจุบัน บิ๊กซีอยู่เคียงข้างผู้ประสบภัยเสมอ ในช่วงเวลาที่น�้ำได้โอบล้อมชุมชนจ�ำนวนมาก ท�ำให้ประชาชนในท้องถิ่น ไม่สามารถเข้าถึงการรักษาพยาบาล น�ำ้ สะอาด และเครือ่ งอุปโภคบริโภคและการ บริการที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต บิ๊กซี ได้พยายามรักษาในพื้นที่น�้ำท่วม ให้เปิด บริการได้นานที่สุด เพื่อช่วยเหลือให้ประชาชนท้องถิ่นสามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์ และบริการที่จ�ำเป็นเหล่านี้ได้ อาทิ  การจัดตั้งศูนย์การแพทย์ฉุกเฉินในสาขาบิ๊กซี โดยร่วมกับกระทรวง สาธารณสุข และหน่วยกู้ภัยและกู้ชีพฉุกเฉินต่างๆ น�ำทีมแพทย์และ พยาบาลเข้าไปยังสาขาบิ๊กซีในพื้นที่น�้ำท่วม เพื่อให้การรักษาพยาบาล และค�ำแนะน�ำในการใช้ชีวิตท่ามกลางน�้ำท่วมแก่พี่น้องในชุมชน  การจัดตัง้ ศูนย์กระจายถุงยังชีพและสิง่ ของจ�ำเป็น โดยร่วมกับหน่วยงาน ของสภากาชาดไทย ในการจัดเก็บและแจกจ่ายถุงยังชีพไปยังผูป้ ระสบภัย  การสนับสนุนที่พึ่งพิงให้แก่ผู้ประสบภัย อาทิ การเปิดให้ผู้ประสบภัย มาพักแรมชั่วคราวบริเวณรอบๆ สาขาบิ๊กซี การเปิดที่จอดรถเพื่อให้ ผู้ประสบภัยน�ำรถหนีน�้ำ และการบริการเรือรับ-ส่งระหว่างบิ๊กซีและ ชุมชนใกล้เคียง

3. การสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่น โครงการอ�ำเภอยิม้ : บิก๊ ซี ได้รว่ มกับกระทรวงมหาดไทย จัดตัง้ ศูนย์บริการ “อ�ำเภอยิ้ม” ขึ้นในสาขาบิ๊กซี 15 สาขา เพื่อเป็นศูนย์ให้บริการประชาชนแบบ ครบวงจรที่สะดวกต่อการเดินทางและให้บริการทั้งระหว่างและนอกเหนือเวลา ราชการ ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่งจากประชาชนท้องถิ่น “หน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข”: ในปี 2554 บิ๊กซี ได้ร่วมกับกระทรวง มหาดไทย จัดหน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข น�ำข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นและเป็นประโยชน์ตอ่ ชีวติ ประจ�ำวัน พร้อมเครือ่ งอุปโภคบริโภค ไปมอบแด่ชมุ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลกว่า 110 ชุมชน

รายงานประจำ�ปี 2554

49


การสนับสนุนผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น

ในปี 2554 บิก๊ ซี ได้ดำ� เนินโครงการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของชุมชน เกษตรกร และวิสาหกิจขนาดกลางและย่อมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ “โครงการข้าวสร้างสุข”: บิ๊กซี ได้ร่วมมือกับมูลนิธิชัยพัฒนา รับซื้อข้าว จากเกษตรกรที่ประสบภัยน�้ำท่วมในโครงการฯ เพื่อฟื้นฟูชีวิตและรับประกัน รายได้ให้กบั เกษตรกรไทย โดยข้าวในโครงการฯ เป็นข้าวทีไ่ ด้มาตรฐาน GMP และ GAP และได้เริ่มวางจ�ำหน่ายที่บิ๊กซีแล้วเมื่อเดือนกันยายน 2554 โครงการสนับสนุนสินค้าโอท็อป: ตลอดปี 2554 บิ๊กซี ได้ร่วมกับกระทรวง มหาดไทย จัดงานเทศกาลส่งเสริมความนิยมสินค้าโอท็อปที่บิ๊กซีสาขาต่างๆ ทั่ว ประเทศ นอกจากนัน้ ทุกสาขาของบิก๊ ซี ได้จดั จ�ำหน่ายสินค้าโอท็อปกว่า 300 รายการ

2. โครงการระบบขนส่งสีเขียว บิก๊ ซีให้ความส�ำคัญสูงสุดกับการพัฒนาระบบซัพพลายเชนของบริษทั ฯ ให้มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ด้วยการใช้เทคโนโลยี และหลักการด�ำเนินการขนส่งอย่างยั่งยืนเพื่อลดการใช้เชื้อเพลิง ลดปล่อย ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ลดภาวะโลกร้อน และร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในปี 2554 บิ๊ ก ซี เ ป็ น ห้ า งค้ า ปลี ก รายแรกในประเทศไทยและใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ที่ ไ ด้ เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม 2 ชนิด มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง และลดการแพร่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่าร้อยละ 46 ต่อปี กล่าวคือ ผ้าห่มเย็น (Thermal blanket): ผ้าห่มเก็บความเย็นพร้อมเจล รักษาอุณหภูมิที่สามารถน�ำไปห่อหุ้มอาหารสดที่ต้องการความเย็นเพื่อรักษา อุณหภูมิระหว่างการขนส่งได้นานถึง 50 ชั่วโมง การน�ำผ้าห่มเย็นมาใช้ ท�ำให้บกิ๊ ซีสามารถลดจ�ำนวนเทีย่ วของการใช้รถขนส่งแช่เย็นทัว่ ประเทศลงเป็น จ�ำนวนมาก ซึ่งน�ำไปสู่การลดการปล่อยคาร์บอนได้ถึงร้อยละ 28

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

บิ๊กซี ใช้จุดแข็งของการมีสาขาทั่วประเทศและการเป็นส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจ�ำวันของผู้บริโภค ในการเสริมสร้างการรับรู้และการมีส่วนร่วมของ ผู้บริโภค ในการร่วมรีไซเคิลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยในปี 2554 ได้ดำ� เนิน โครงการดังนี้

1. โครงการหลังคาเขียว เพื่อมูลนิธิอาสา เพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ได้ร่วมมือกับ บ. เต็ดตร้า แพ้ค (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด และ บ. ไฟเบอร์ พั ฒ น์ จ� ำ กั ด ริ เริ่ ม โครงการ “หลังคาเขียว เพื่อมูลนิธิอาสา เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก” ที่ สนั บ สนุ น ให้ ผู ้ บ ริ โ ภครี ไซเคิ ล กล่ อ งเครื่ อ งดื่ ม ใช้ แ ล้ ว แทนการน� ำ ไปทิ้ ง เป็นขยะ ด้วยการพับและน�ำมาที่บิ๊กซี ซึ่งจะเป็นผู้เก็บกล่องและส่งมอบให้ บ. ไฟเบอร์พัฒน์ น�ำกล่องไปแยกส่วนที่เป็นกระดาษและฟอยล์ออกจากกัน เพือ่ น�ำส่วนทีเ่ ป็นฟอยล์ไปอัดขึน้ รูปเป็น “หลังคาเขียว” ซึง่ เป็นหลังคาฟอยล์ ทีท่ นต่อแรงกระแทกและความเปียกชึน้ รับน�ำ้ หนักได้สงู และช่วยลดอุณหภูมิ ภายในบ้านได้ถึง 2 องศาเซลเซียส ซึ่ง บ. เต็ดตร้า แพ้ค จะน�ำหลังคาเขียว ดังกล่าวมอบแด่มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อน�ำ ไปสร้าง “บ้านชีวิตใหม่” ให้กับผู้ประสบภัยธรรมชาติต่อไป ในปี 2554 ผู้บริโภคทั่วประเทศได้นำ� กล่องเครื่องดื่มใช้แล้วไปรีไซเคิล ที่ บิ๊ ก ซี เ ป็ น จ� ำ นวน 105,000 กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง ได้ ถู ก แปลงเป็ น หลั ง คาเขี ย ว จ�ำนวน 5,300 แผ่น ส�ำหรับบ้านชีวิตใหม่ 130 หลัง

50

รายงานประจำ�ปี 2554

รถบรรทุกที่มีชั้นวางแบบปรับระดับได้ (Specialised Drop Deck Trailer): เป็นรถบรรทุกที่บิ๊กซี ได้ร่วมกับกลุ่มสยามมิชลิน และบริษัทโทลล์ โลจิสติคส์ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่อำ� นวยให้รถบรรทุกดังกล่าวสามารถใช้พื้นที่ ขนส่งในรถได้อย่างเต็มที่ เพื่อลดจ�ำนวนเที่ยวของการขนส่งให้ได้มากที่สุด โดยใช้เทคโนโลยีในการปรับระดับชัน้ วางแท่นสินค้า (pallet) ให้สามารถบรรจุ สินค้าได้เต็มความจุของตู้บรรทุก ซึ่งท�ำให้รถดังกล่าวสามารถบรรจุสินค้าได้ ถึง 48 แท่น และรับน�้ำหนักได้ถึง 57 ตันต่อเที่ยว ซึ่งมากกว่ารถบรรทุกปกติ ถึงร้อยละ 20 บิ๊กซีตั้งเป้าหมายให้เทคโนโลยีดังกล่าวช่วยประหยัดพลังงานและ ลดการแพร่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1.8 ล้านกิโลกรัมภายในปี 2557 เพื่อสนับสนุนโครงการของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการลดคาร์ บ อน 84 ล้ า นกิ โ ลกรั ม เพื่ อ เฉลิ ม ฉลองวโรกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา84 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

3. การปลูกป่า

การปลูกป่าเป็นอีกภารกิจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บิ๊กซีให้ความ ส�ำคัญ ในเดือนมีนาคม 2554 บิ๊กซีได้จัดการแข่งขันวิ่งมาราธอนรักษ์โลก (Go-Go Green Marthon) ที่มีผู้เข้าร่วมแข่งขันกว่า 1,000 คนและสามารถ ระดมทุนได้ 500,000 บาท เพื่อมอบแด่กรมป่าไม้เพื่อสนับสนุนการปลูกป่า


รายงานของ คณะกรรมการบริษัทฯ

รายงานประจำ�ปี 2554

51


รายงานของ

คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีสากลเป็น ส่วนใหญ่ โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ ใช้ดุลยพินิจ อย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดท�ำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่าง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้ จั ด ให้ มี ก ารด� ำ รงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ระบบควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอ ที่จะด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน และเพื่อให้ทราบจุดอ่อนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต หรือ การด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหารเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏใน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับ ทีน่ า่ พอใจ และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ่ ถือได้ของระบบการเงินรวม ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

52

(นายอัคนี ทับทิมทอง)

(นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง)

ประธานกรรมการ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2554


การพิจารณาและวิเคราะห์

เชิงบริหาร

จากปกรายงานประจ�ำปีของเรา บริษัทฯ จบปี 2554 ลงด้วย “ใหญ่กว่าและดีกว่า” ในทุกด้าน ปีนเี้ ป็นปีของการเปลีย่ นแปลงและท้าทาย ทัง้ ยังเป็นปีทตี่ อ้ งท�ำงานหนักแต่กป็ ระสบความส�ำเร็จไป ด้วยดี จากความส�ำเร็จดังกล่าวท�ำให้ฐานะของบริษัทฯ แข็งแกร่งขึ้นอย่างมาก และมีความพร้อม ยิ่งขึ้นกว่าเดิมที่จะแข่งขันในตลาด ซึ่งท่านจะได้พบสิ่งที่โดดเด่น สิ่งท้าทาย และการเปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ ในปี 2554 ดังต่อไปนี้

การควบรวมกิจการกับคาร์ฟูร์

ในปี 2554 เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของบริษัทฯ เพราะบริษัทฯ ได้ควบรวมกิจการกับคาร์ฟรู ป์ ระเทศไทยเข้ากับการด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2554 มีการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2554 และ ได้มีมติอนุมัติการซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวนร้อยละ 100 ของกลุ่มบริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด โดยเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2554 (วันที่ซื้อกิจการ) บริษัทฯ ได้ช�ำระ เงินจ�ำนวน 851 ล้านยูโร (คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 34,030 ล้านบาท) ในการ ซื้อกิจการและจ่ายช�ำระหนี้แก่สถาบันการเงินต่าง ๆ จ�ำนวน 5,913 ล้านบาท แทนบริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัดและบริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2554 บริษัทฯได้ลงนามในสัญญาการจ่ายช�ำระหนี้ เนื่องจากการปรับปรุงราคาซื้อธุรกิจเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 6 ล้านยูโร หรือเทียบเท่าประมาณ 255 ล้านบาท บริษัทฯได้จ่ายช�ำระเงินดังกล่าวแล้ว เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2554 ท�ำให้ต้นทุนในการซื้อกิจการเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 34,285 ล้านบาท ในการควบรวมกิจการครั้งนี้บริษัทฯ ได้กู้ยืมเงินจ�ำนวน 38,500 ล้านบาท โดยมีกำ� หนดช�ำระคืนภายในระยะเวลาหนึ่งปี โดยมีสิทธิ ขอขยายเวลาเพิม่ เติมอีก 6 เดือน โดยเงินกูย้ มื นีไ้ ม่ตอ้ งมีหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน ใด ๆ ในระหว่างปีบริษัทฯ ได้ช�ำระคืนเงินกู้ยืมจ�ำนวน 2,000 ล้านบาท ณ สิ้นปีมีเงินกู้ยืมค้างช�ำระจ�ำนวน 36,500 ล้านบาท ในระหว่ า งปี บ ริ ษั ท ฯได้ ด� ำ เนิ น การให้ มี ก ารวั ด มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ สิ น ทรั พ ย์ ที่ ร ะบุ ไ ด้ ที่ ไ ด้ ม าและหนี้ สิ น ที่ รั บ มา ณ วั น ซื้ อ กิ จ การ โดยการ วัดมูลค่านี้ได้เสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลาในการวัดมูลค่า 12 เดือนนับจาก วันที่ซื้อกิจการตามที่กำ� หนดไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) ทั้งนี้ภายในระยะเวลาวัดมูลค่าดังกล่าว บริษัทฯได้รับข้อมูล เกีย่ วกับมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ส่วนหนึง่ เพิม่ เติมและได้ทำ� การ ปรับย้อนหลังมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อกิจการโดยท�ำให้บริษัทฯมีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 4,228 ล้านบาท สิทธิการเช่าลดลงเป็นจ�ำนวนประมาณ 591 ล้านบาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิม่ ขึน้ เป็นจ�ำนวนประมาณ 255 ล้านบาท ประมาณการหนี้สินระยะสั้นเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 51 ล้านบาท และ หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิม่ ขึน้ เป็นจ�ำนวนประมาณ 1,268 ล้านบาท การซื้อกิจการครั้งนี้เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ อย่างมาก เพราะท�ำให้ บริษัทฯ สามารถเพิ่มจ�ำนวนสาขาในกรุงเทพฯ และท�ำให้บริษัทฯ เป็นผู้น�ำ ด้านไฮเปอร์มาร์เก็ตในหัวเมืองหลักเช่น กรุงเทพฯ ภูเก็ต พัทยา หาดใหญ่ และเชียงใหม่ การซือ้ กิจการครัง้ นีเ้ พิม่ จ�ำนวนสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ตจ�ำนวน 34 สาขา ซุปเปอร์มาร์เก็ต 8 สาขา และสาขาในแหล่งชุมชน 1 สาขา ทำ� ให้จำ� นวน

สาขาของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น โดยสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ตเพิ่มขึ้นจาก 71 สาขาเป็น 105 สาขา และซุปเปอร์มาร์เก็ตจาก 2 สาขาเป็น 10 สาขา บริษัทฯได้ด�ำเนิน การเปลี่ยนภาพลักษณ์ห้าง คาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) โดยแล้วเสร็จในไตรมาสที่ สอง ปี 2554 และการเปลี่ยนแปลงระบบการด�ำเนินงานอื่นๆได้ด�ำเนินการ เสร็จเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2554 ในช่วงตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 สาขาที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ได้สร้างรายได้และก�ำไรประมาณ 32,564 ล้านบาท และ 1,094 ล้านบาท ตามล�ำดับ ซึ่งปรากฏในงบการเงิน รวมของบริษัทฯ การขยายสาขา นอกเหนื อ จากการเติ บ โตจากการควบรวมกิ จ การกั บ คาร์ ฟู ร ์ แ ล้ ว บริษัทฯ ยังเติบโตต่อไปด้วยการเปิดสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ตจ�ำนวน 3 สาขา สาขาบิ๊ ก ซี ม าร์ เ ก็ ต จ� ำ นวน 2 สาขา มิ นิ บิ๊ ก ซี จ� ำ นวน 37 สาขา และ ร้านขายยาเพรียวจ�ำนวน 21 สาขาในปี 2554 การขยายสาขาท�ำให้ขณะนี้ บริษัทฯ มีจ�ำนวนสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ตรวม 108 สาขา สาขาบิ๊กซีมาร์เก็ต จ�ำนวน 12 สาขา มินิบิ๊กซีจำ� นวน 51 สาขา และร้านขายยาเพรียวจ�ำนวน 50 สาขา ท�ำให้มีจำ� นวนสาขาทั้งหมด 221 สาขา อุทกภัย ในไตรมาส 4 ปี 2554 ประเทศไทยประสบอุทกภัยครั้งร้ายแรงที่สุด ในรอบหลายทศวรรษ บริษัทฯจ�ำเป็นที่จะต้องปิดสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ต 5 สาขา, มินิบิ๊กซี 15 สาขา, เพรียว 1 สาขา และศูนย์กระจายสินค้า 4 แห่งเป็นการชั่วคราว (ณ สิ้นปี 2554 ทุกสาขาสามารถกลับมาเปิดบริการ ได้ตามปกติ ยกเว้นมินิบิ๊กซี 3 สาขาและศูนย์กระจายสินค้า 1 แห่งที่ยังปิด บริการอยู่) เมื่อเผชิญหน้ากับความยากล�ำบาก บริษัทฯและพนักงานทุกคน สามารถรับมือกับความท้าทายและความยึดหยุน่ ของบริษทั ฯในการตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าที่มีความต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นอย่างมาก บริษทั ฯตัดสินใจปิดและย้ายศูนย์กระจายสินค้าอย่างรวดเร็วไปยังศูนย์กระจาย สินค้าชั่วคราวจ�ำนวน 7 แห่ง และขอความร่วมมือให้คู่ค้าส่งสินค้าโดยตรง ไปตามสาขาต่าง ๆ เมื่อบริษัทฯเผชิญกับภาวะสินค้าขาดตลาด บริษัทฯได้ ด�ำเนินการจัดหาสินค้าทดแทน ในบางกรณีบริษัทฯได้น�ำเข้าสินค้าเพื่อการ ด�ำรงชีพ อาทิเช่นน�้ำดื่มและบะหมี่ส�ำเร็จรูป ซึ่งโดยภาพรวมบริษัทฯได้รับ ความเสียหายจากอุทกภัยครั้งนี้เป็นจ�ำนวนเงินโดยประมาณ 645 ล้านบาท ซึ่งสามารถแบ่งความเสียหายของสินค้าประมาณ 105 ล้านบาท ความ เสี ย หายจากการหยุ ด ชะงั ก ทางธุ ร กิ จ จ� ำ นวน 457 ล้ า นบาทและความ เสียหายอื่นๆ จ�ำนวน 83 ล้านบาท ความเสียหายที่ระบุไว้ข้างต้นนั้น ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่าการท�ำประกันภัยของบริษัทฯ รายงานประจำ�ปี 2554

53


และบริษัทย่อยที่มีอยู่สามารถคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ทั้งจ�ำนวน ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงได้รับรู้รายได้จากการชดเชยความเสียหายนี้ ไว้ในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

จ�ำนวน 3 สาขา บิ๊กซีมาร์เก็ตจ�ำนวน 2 สาขา มินิบิ๊กซีจ�ำนวน 37 สาขาและ ร้านขายยาเพรียวจ�ำนวน 21 สาขา โดยเฉพาะครึง่ ปีหลังซึง่ การควบรวมกิจการ ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว และการรับรู้ยอดขายจากสาขาที่เปิดบริการในปี 2553

การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ใหม่และการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีในระหว่างปี

ในระหว่างปีบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ทอี่ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชี อย่างไร ก็ตามมาตรฐานการบัญชีข้างต้นไม่ได้ส่งผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อ งบการเงินนี้ ยกเว้นการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานการบัญชีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ และการตีความมาตรฐานการบัญชี ของไทย ฉบับที่ 21 เรื่องภาษีเงินได้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน และมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุงปี 2552) เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ดังต่อไปนี้ การรับรู้รายได้จากการขายสินค้า – โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า (การเปลี่ยนคะแนนสะสมที่ให้แก่ลูกค้าส�ำหรับใช้เป็นส่วนลด) และสินค้า คงเหลือ (ค�ำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือใหม่ โดยได้มีการปันส่วนเงิน ที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการซื้อสินค้าเป็นส่วนหนึ่งของ ต้นทุนสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นปี) ผลจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ในระหว่างปีท�ำให้ผลก�ำไรลดลง 380 ล้านบาทในปี 2554 และ 71 ล้านบาทในปี 2553 ผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กล่าวและการปรับย้อนหลังงบการเงิน ท�ำให้ ก�ำไรสะสมต้นปีลดลงจ�ำนวน 357 ล้านบาทในปี 2554 และ 304 ล้านบาท ในปี 2553 (ท่านสามารถดูคำ� อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากหมายเหตุ 3 และ 5 ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน) การเปลี่ยนแปลงนโยบายค่าเสื่อมราคา บริษัทฯ ได้ท�ำการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์เพื่อให้ สะท้อนรูปแบบของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อย คาดว่าจะได้รับ ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ดำ� เนินการเปลี่ยนแปลงอายุการ ให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ โดยใช้วิธีเปลี่ยนทันที (สามารถดูรายละเอียดจาก หมายเหตุ 6.7 ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน) การเปลี่ยนแปลงนี้ท�ำให้ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่ม ขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 887 ล้านบาท (1.11 บาทต่อหุ้น)

การวิเคราะห์ทางการเงิน

ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยประจ�ำปี 2554 มีก�ำไร สุทธิจ�ำนวน 5,260 ล้านบาท ซึ่งเมี่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ซึ่งมีกำ� ไรสุทธิ จ�ำนวน 2,832 ล้านบาท จะเห็นว่าก�ำไรสุทธิปีนี้เพิ่มขึ้น 2,427 ล้านบาทหรือ อัตราร้อยละ 85.7 ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล ปี 2554 มีจ�ำนวน 8,286 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4,298 ล้านบาท หรืออัตราร้อย ละ 107.8 เมื่อเทียบกับปี 2553 โดยผลงานอันยอดเยี่ยมนี้สะท้อนให้เห็นถึง ความส�ำเร็จในการควบรวมกิจการกับคาร์ฟูร์และผลการด�ำเนินงานที่ดีอย่าง ต่อเนื่องของบริษัทฯ

ในปี 2554 บริษัทฯ มีผลการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ ยอดขาย

ยอดขายของบริษัทฯ และบริษัทย่อยในปี 2554 มีจ�ำนวน 102,563 ล้านบาทเติบโตเพิ่มขึ้น 32,704 ล้านบาทหรืออัตราร้อยละ 46.8 เมื่อเทียบ กับปี 2553 (หรืออัตราร้อยละ 5.6 เฉพาะบิ๊กซี) ยอดขายที่เติบโตขึ้นในปี 2554 แสดงให้เห็นถึงศักยภาพหลังการรวมกิจการกับคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) และการกลับมาเปิดให้บริการของสาขาราชด�ำริอกี ครัง้ ในเดือนเมษายน 2554 และการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง โดยปีนี้บริษัทฯ เปิดสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ต 54

รายงานประจำ�ปี 2554

รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ 2554

2553

% เปลี่ยนแปลง

- รายได้จากค่าเช่าและค่าบริการ

6,985

4,200

66.3 %

- รายได้อี่น

4,093

2,150

90.4%

11,078

6,350

74.5%

รวม

ในปี 2554 รายได้ค่าเช่าและค่าบริการมีจ�ำนวน 6,985 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 2,785 ล้านบาทหรืออัตราร้อยละ 66.3 (โดยใน ส่วนของบิ๊กซีเพิ่มขึ้นด้วยอัตราร้อยละ 14.0) การเพิ่มขึ้นดังกล่าวเป็นผลมา จากการมีพื้นที่ให้เช่าที่เพิ่มขึ้นจากสาขาใหม่ 5 สาขา, การรวมสาขาคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย), การกลับมาเปิดบริการอีกครัง้ ของสาขาราด�ำริ ท�ำให้อตั ราการ ให้เช่า (Occupancy rate) อยู่ในระดับสูงที่อัตราร้อยละ 95 และการน�ำวีธี การปฏิบัติที่ดีในการให้เช่าพื้นที่น�ำมาใช้กับสาขาคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) เดิม และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดโครงสร้างร้านค้าเช่าและการปรับอัตรา ค่าเช่าทั้งสาขาของบิ๊กซีและคาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) เดิม

รายได้อื่น

ก�ำไรขั้นต้น

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

ภาษีนิติบุคคล

อันได้แก่รายได้ที่ได้รับการสนับสนุนจากผู้ผลิตในการลงโฆษณาใน โบรชัวร์, ส่วนลดจากคูค่ า้ , รายได้จากการบริหารจัดการด้านการกระจายสินค้า และอื่นๆเป็นจ�ำนวนเงิน 4,093 ล้านบาทในปี 2554 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 1,943 ล้านบาท หรืออัตราร้อยละ 90.4 เนื่องจากการสนับสนุนจาก ผู้ผลิตในการลงโฆษณาในโบรชัวร์ที่เพิ่มขึ้น เงินชดเชยจากการท�ำประกันภัย ไฟไหม้ในปี 2553 และจากอุทกภัยปี 2554 จ�ำนวน 534 ล้านบาทและ 645 ล้านบาท ตามล�ำดับ ก�ำไรขัน้ ต้นของปี 2554 มีจำ� นวน 15,238 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2553 จ�ำนวน 5,981 ล้านบาท หรืออัตราร้อยละ 64.6 บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จ ในการเจรจาต่อรองกับคู่ค้าจากการรวมยอดสั่งซื้อที่มาจากการวมกิจการกับ คาร์ฟูร์ (ประเทศไทย) ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารปี 2554 มีจ�ำนวน 18,030 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 6,411 ล้านบาท หรืออัตราร้อยละ 55.2 เกิดจาก การรวมค่าใช้จ่ายของสาขาคาร์ฟูร์เดิม ค่าใช้จ่ายทางการเงินของปี 2554 มีจ�ำนวน 1,271 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,265 ล้านบาทเมื่อเทียบกับ 6 ล้านบาทในปี 2553 เนื่องจากดอกเบี้ยเงินกู้ ทีเ่ กิดจากการกูย้ มื เงินเข้าซือ้ กิจการของคาร์ฟรู ์ (ประเทศไทย)จ�ำนวน 38,500 ล้านบาท ภาษีนติ บิ คุ คลปี 2554 มีจำ� นวน 1,754 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 605 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2553 คิดเป็นอัตราภาษีเท่ากับร้อยละ 25 ซึง่ ต�ำ่ กว่าอัตราภาษีที่ ควรจะเป็นทีอ่ ตั ราร้อยละ 30 อัตราภาษีนติ บิ คุ คลทีล่ ดลงเป็นผลมาจากการได้


อัตราส่วนทางการเงิน

1. ระยะเวลาขายสินค้าและช�ำระหนี้เฉลี่ย

2. อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน

3. หนี้สินทั้งหมดต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

4. อัตราความสามารถในการท�ำก�ำไร

ในปี 2554 บริษัทฯ และ บริษัทย่อยยังคงรักษาประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนได้เป็นอย่างดี โดยภายหลังจากการเข้าซื้อกิจ การคาร์ฟูร์ บริษัทฯ ได้มีการเจรจาทางการค้าและเงื่อนไขการช�ำระเงินกับ คู่ค้าให้เป็นไปในแนวทางเดียวกับบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีระยะเวลาช�ำระหนี้ เฉลี่ยในปี 2554 อยู่ที่ 87 วัน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย ในปี 2554 อยู่ที่ 29 วัน อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนได้มาจากสินทรัพย์หมุนเวียนหารด้วยหนีส้ นิ หมุนเวียน ซึ่งเท่ากับ 0.3 เท่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ลดลงจากปี 2553 ซึ่งเท่ากับ 0.7 เท่า เหตุผลหลักในเรื่องนี้คือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินหมุนเวียน จากเงินกู้ยืมระยะสั้นซึ่งบริษัทฯ ได้กู้ยืมเพื่อซื้อกิจการคาร์ฟูร์

รับการลดหย่อนภาษีเนือ่ งจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองเมือ่ ปี 2553 ตามพระราชกฤษฎีกาออกโดยกรมสรรพากร อีกทั้งบริษัทฯ และบริษัทย่อย เลือกใช้มาตราฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ในปี 2554 ซึ่งได้มี การปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นอัตราร้อยละ 23 ในปี 2555 และเป็นอัตราร้อยละ 20 ในปี 2556

การวิเคราะห์งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์ทั้งหมด 90,726 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 51,193 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 การ เพิ่มขึ้นนี้มาจากการรวมงบดุลจากการซื้อกิจการคาร์ฟูร์และการรับรู้รายได้ จากการชดเชยความเสียหายจากเหตุอุทกภัย เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดเพิ่มขึ้น 2,290 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 โครงสร้างทุนของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ประกอบด้วยหนี้สินทั้งหมดจ�ำนวน 67,206 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้น ทั้งหมด 23,520 ล้านบาท อัตราส่วนของหนี้สินทั้งหมดต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 2.9 เท่า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของหนี้สินหมุนเวียนจากเงินกู้ระยะสั้น เพื่อซื้อกิจการคาร์ฟูร์ ในช่ ว งต้ น ปี 2554 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ท� ำ การซื้ อ กิ จ การ คาร์ฟรู ์ (ประเทศไทย) ในระหว่างปีบริษทั ฯ พยายามผลักดันกลยุทธ์เพือ่ ให้ได้ ผลประโยชน์สงู สุดจากการควบรวมกิจการ ผลทีไ่ ด้รบั ก็คอื อัตราความสามารถ ในการท�ำก�ำไรเพิม่ ขึน้ อย่างมากเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2553 อัตราก�ำไรขัน้ ต้น เพิ่มขึ้นจากอัตราร้อยละ 13.3 ในปี 2553 เป็นอัตราร้อยละ 14.9 ในปี 2554 อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงานเพิ่มขึ้นจากอัตราร้อยละ 5.7 ในปี 2553 เป็น อัตราร้อยละ 8.1 ในปี 2554 และอัตราก�ำไรสุทธิจากอัตราร้อยละ 3.7 ในปี 2553 เป็นอัตราร้อยละ 4.6 ในปี 2554

ในส่วนของหนีส้ นิ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ทัง้ หมด 67,206 ล้าน บาท เพิ่มขึ้น 47,768 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ แล้ว อันเนื่องมาจากการรวมงบดุลของคาร์ฟูร์ การเพิ่มขึ้นนี้ยังมาจากเงินกู้ เพือ่ ซือ้ กิจการคาร์ฟรู จ์ ำ� นวน 36,500 ล้านบาท เจ้าหนีก้ ารค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ 8,538 ล้านบาทจากปีที่แล้ว ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 1,237 ล้านบาท เนื่องมา จากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้เป็นปีแรก ซึง่ สะท้อนถึงอัตราภาษีนติ บิ คุ คลตามกฎหมายทีล่ ดลงมาด้วยอัตราร้อยละ 23 ในปี 2555 และอัตราร้อยละ 20 ในปี 2556 ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ ค่าใช้จ่าย ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 948 ล้านบาทเนื่องมีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการขยายสาขา ใหม่ คือสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ต 3 สาขา บิก๊ ซีมาร์เก็ต 2 สาขา มินบิ กิ๊ ซี 37 สาขา และร้านขายยาเพรียว 21 สาขา

กระแสเงินสด

กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ จ ากกิ จ กรรมการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อยส�ำหรับปี 2554 คิดเป็นจ�ำนวน 8,446 ล้านบาท หรืออัตราร้อยละ 8.2 ของยอดขาย เพิม่ ขึน้ 1,663 ล้านบาท หรืออัตราร้อยละ 24.5 จากปี 2553 การเพิม่ ขึน้ ของกระแสเงินสดท�ำให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความยืดหยุน่ มาก ในการขยายสาขา จ่ายเงินปันผล และช�ำระหนีเ้ งินกู้ ณ สิน้ ปี 2554 เงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น 2,290 ล้านบาท รายงานประจำ�ปี 2554

55


ปัจจัย

ความเสี่ยง ความเสีย่ งด้านรัฐบาล กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และปัญหา ด้านความปลอดภัย

ในช่วงปลายปี 2554 ได้เกิดเหตุอุทกภัยครั้งใหญ่ขึ้นในประเทศไทย แม้ว่ารัฐบาลจะได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ในการป้องกันแล้วแต่ปัญหา อุทกภัยดังกล่าวก็ได้ก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ในส่วนของบริษัทฯ เองก็ได้รับผลกระทบจากน�้ำท่วมในหลายสาขาโดยแยกเป็นไฮเปอร์มาร์เก็ต จ�ำนวน 5 สาขา มินิบิ๊กซี จ�ำนวน 14 สาขา ร้านยาเพรียว 1 สาขา รวมถึง ศูนย์กระจายสินค้าของบริษัทฯ จ�ำนวน 4 แห่ง อย่างไรก็ดีทางบริษัทฯ ได้ มี ก ารจั ด เตรี ย มแผนฉุ ก เฉิ น เพื่ อ รองรั บ ปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว มไว้ ล ่ ว งหน้ า แล้ ว ท�ำให้บริษัทฯ สามารถรับมือกับสถานการณ์น�้ำท่วมได้อย่างทันท่วงที และ เริ่มกลับมาทยอยเปิดด�ำเนินการสาขาและศูนย์กระจายสินค้าได้ใหม่ตั้งแต่ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2554 นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ท� ำ ประกั น ภั ย ความ เสียหายอันเกิดจากน�้ำท่วมไว้ล่วงหน้าเพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงและ บรรเทาความเสียหายจากภัยน�้ำท่วมที่เกิดขึ้นด้วย ในส่ ว นของธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก หลั ง จากที่ รั ฐ บาลได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบกั บ ร่างกฎหมายควบคุมธุรกิ จ ค้ าปลี กค้ าส่ ง เมื่ อเดื อนธั น วาคม พ.ศ.2552 โดยมอบหมายให้ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง ให้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ขณะนี้ร่างกฎหมาย ดังกล่าวยังอยู่ระหว่างการด�ำเนินการของคณะกรรมการกฤษฏีกา คาดว่าจะ ใช้เวลาสักระยะหนึง่ ก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอเข้าสูก่ ารพิจารณาในสภาผูแ้ ทนราษฏร ต่อไป ซึ่งในเรื่องนี้ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ฝ่ายกฎหมายและภาษีติดตาม ความคืบหน้าอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ศึกษาผลกระทบต่อธุรกิจและปรับแผนกลยุทธ์ ในการท�ำธุรกิจเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างเป็นขั้นเป็นตอน มาโดยตลอด

ในด้านสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยที่เกิดจากปัญหาความรุนแรง ใน 3 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ซึ่งยังคงมีอย่าง ต่อเนื่องและน�ำไปสู่ความวิตกกังวลที่มากขึ้นนั้น บริษัทฯ ยังคงไว้ซึ่งระบบ รักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด และมีความตื่นตัวในการระมัดระวัง และสอดส่องต่อสิ่งผิดปกติ โดยจัดฝึกอบรมการจัดการภายใต้สถานการณ์ ฉุกเฉินแก่พนักงานอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ การเฝ้าระวังตามนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ มีการท�ำประกันภัยเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นต่อทรัพย์สิน ของบริษัทฯ จากสถานการณ์ด้านความไม่ปลอดภัยในทุกสาขาทั่วประเทศ

ความเสี่ยงทางการเงิน

ตามมาตรฐานการบัญชีของไทยฉบับที่ 48 เรือ่ งเครือ่ งมือทางการเงิน นัน้ เครือ่ งมือทางการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบด้วยเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้า ค่าเช่าและรายได้อนื่ เงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ย่อย/เงินกูย้ มื จากบริษทั ย่อย เงินกูร้ ะยะสัน้ และเจ้าหนีก้ ารค้า โดยความเสี่ยงทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินและการ บริหารความเสี่ยงมีรายละเอียดดังนี้

1. ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ส�ำหรับความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ได้แก่ ลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืม แก่บริษทั ย่อย/เงินกูย้ มื จากบริษทั ย่อย ค่าเช่าและรายได้อนื่ ๆ โดยบริษทั ฯ มีนโยบายการบริหารและควบคุมสินเชือ่ ในระดับทีเ่ หมาะสม มีมาตรการ การเก็บหนี้อย่างเข้มงวด ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ในระดับต�่ำ

2. ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ รวมถึงความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ ที่เกิดจากเงินฝากธนาคาร เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินต่างๆ สินทรัพย์ และหนีส้ นิ ทางการเงิน ในระหว่างปีทผี่ า่ นมา บริษทั ได้เข้าท�ำ สัญญาเงินกูร้ ะยะสัน้ เพือ่ ใช้ซอื้ กิจการคาร์ฟรู ์ (ประเทศไทย) โดยมีระยะ เวลาคืนเงินกู้ 1 ปี และอัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราลอยตัวซึ่งผันแปรตาม อัตราดอกเบีย้ ระยะสัน้ 1 เดือน THBFIX บวกอัตราก�ำไรทีธ่ นาคารเรียก เก็บ (margin) อัตราดอกเบีย้ นีจ้ ะผันแปรตามสภาวะตลาดการเงิน ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งอันเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ดังกล่าว

3. ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ มีความเสี่ยงในระดับต�่ำจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจาก บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาเงินกู้เป็นเงินบาททั้งสิ้น และสินค้าส่วนใหญ่ที่ จัดจ�ำหน่ายในร้านเป็นสินค้าที่ซื้อภายในประเทศ

56

รายงานประจำ�ปี 2554


รายงานคณะกรรมการ

ตรวจสอบ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท บิ๊ กซี ซูเปอร์ เซ็ นเตอร์ จ� ำ กั ด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชี การเงิน และการบริหารจัดการ ในระหว่างปี 2554 มีการเปลี่ยนแปลงประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบ โดยนายนนทพล นิ่มสมบุญ ได้ครบวาระการเป็น ประธานกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 และแสดง เจตนาที่จะไม่ท�ำหน้าที่นี้ต่อไปเนื่องจากได้ท�ำหน้าที่นี้มาแล้วรวม 12 ปี ทั้งนี้ เพือ่ ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะในแนวปฏิบตั สิ ำ� หรับคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งก�ำหนดโดยส�ำนักงาน กลต. บริษัทฯ จึงมีมติแต่งตั้งนายไพฑูรย์ ทวีผล เป็นประธานกรรมการตรวจสอบแทน เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนของประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และบริษัทฯ อยู่ระหว่างการสรรหากรรมการ ตรวจสอบอีกท่านหนึ่งเนื่องจาก พลเอกวินัย ภัททิยกุล ได้ลาออกจาก การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 ดังนั้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท จึงประกอบด้วย นายไพฑูรย์ ทวีผล เป็นประธานกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชีและการเงิน และรศ. ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ ในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมี ก ารประชุ ม ทั้ ง สิ้ น 6 ครั้ง การประชุม 5 ครั้งแรก คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย นายนนทพล นิ่ ม สมบุ ญ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการ ตรวจสอบ 2 ท่าน คือ รศ. ดร.จีรเดช อู่สวัสดิ์ และพลเอกวินัย ภัททิยกุล ส่ ว นการประชุ ม ครั้ ง สุ ด ท้ า ย เป็ น การประชุ ม กั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ผูบ้ ริหารเข้าร่วม คณะกรรมการตรวจสอบประกอบไปด้วย นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการตรวจสอบ และ รศ. ดร.จีรเดช อูส่ วัสดิ์ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้หารือ และแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นกับผูส้ อบบัญชี ผูบ้ ริหาร และผูต้ รวจสอบภายในในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องอย่างสม�ำ่ เสมอ สาระส�ำคัญ โดยสรุปของงานที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ดำ� เนินการและให้ความเห็นใน เรื่องต่างๆ ในระหว่างปี 2554 จ�ำแนกตามลักษณะของงาน มีดังนี้

ความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส งบการเงิน ประจ�ำปี นโยบายบัญชีที่ส�ำคัญ รายการทางการเงินที่มีนัยส�ำคัญ และจาก การพิ จ ารณาขอบเขต แผนการตรวจสอบ วิ ธี ก ารตรวจสอบและประเด็ น ที่ตรวจพบ ร่วมกับฝ่ายจัดการและผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็ น ว่ า กระบวนการโดยรวมส� ำ หรั บ การบั น ทึ ก บั ญ ชี แ ละการจั ด ท� ำ

งบการเงินของบริษัท อยู่ภายใต้ระบบการควบคุมภายในที่รัดกุมมีประสิทธิผล งบการเงิน แสดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯถูกต้องตาม ที่ ค วรในสาระส� ำ คั ญ และเชื่ อ ถื อ ได้ ต ามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป สอดคล้ อ งกั บ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ประกอบอย่ า ง เพียงพอ การเลือกใช้นโยบายการบัญชีมคี วามสมเหตุสมผล การจัดท�ำทันต่อเวลา เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้ใช้ข้อมูลตามงบการเงินในการตัดสินใจลงทุน

ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบของ ฝ่ายตรวจสอบภายในและของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการประเมินระบบการ ควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้ง การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารตามข้อเสนอแนะในรายงานดังกล่าว และพิจารณากระบวนการภายในเกี่ยวกับการรับแจ้งเบาะแสและการรับ ข้อร้องเรียน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทโดยรวม มีความรัดกุม เหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล ทั้งด้านสภาพแวดล้อมภายใน การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม ระบบข้อมูลสารสนเทศ การสื่อสารในองค์กรที่ดี และมีระบบการติดตามผล การด�ำเนินงานที่ชัดเจน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้สอบทาน แผนงานประจ�ำปี (Risk-based Audit Plan) ผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน ดั ง กล่ า ว และการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยตรวจสอบภายใน รวมทั้งได้หารือกับผู้บริหารฝ่ายตรวจสอบภายในโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม อย่างสมํ่าเสมอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าการตรวจสอบภายใน มีความเป็นอิสระและเหมาะสม

การปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์และกฏหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความส�ำคัญกับการติดตามให้บริษัทฯ ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ เป็นต้นว่า พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดย พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ.2535 แก้ไข เพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ประมวลรัษฎากร กฎหมายแรงงานและสัญญาจ้างแรงงาน รวมถึงข้อก�ำหนด ภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นจากสัญญาที่กระท�ำกับบุคคลภายนอก และ ข้อเรียกร้องอื่นๆ เรื่องนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ผู้บริหารนักกฎหมาย

รายงานประจำ�ปี 2554

57


ของบริษัทฯ และผู้สอบบัญชี รายงาน อธิบายชี้แจง และตอบค�ำถามใน ประเด็นทีเ่ กีย่ วกับข้อกฎหมายข้างต้นอย่างสม�ำ่ เสมอ คณะกรรมการตรวจสอบ จึงมีความเห็นว่า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง เหมาะสมและทันต่อเวลา

รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อรายการที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัท จึงได้ให้ผู้สอบบัญชีเข้ามามี ส่วนร่วมในการสอบทานและพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฏหมายและข้อก�ำหนด ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ทั้ ง นี้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่า รายการค้ากับกิจการที่มีความเกี่ยวข้องกัน ด�ำเนินไปอย่างเป็นธรรม เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ ราคาและเงื่อนไขทางการค้าระหว่างกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน เป็นไปตามธุรกิจปกติ รวมถึงบริษัทได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่องนี้ในงบการเงินอย่างเพียงพอแล้ว

ความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี การพิจารณาคัดเลือก และเสนอ แต่งตั้งผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความเป็นอิสระ ผลการปฏิบัติงาน และประสบการณ์ของผู้สอบบัญชี รวมถึงความเหมาะสมของค่าตอบแทน เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติหน้าที่ของผู้สอบบัญชีเป็นที่น่าพอใจและสามารถ ให้ความเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นควรเสนอเพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ น�ำเข้าขอรับการอนุมัติจากที่ ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ให้แต่งตัง้ นางสาวกมลทิพย์ เลิศวิทย์วรเทพ ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4377 และ/หรือ นายวิชาติ โลเกศกระวี ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4451 และ/หรือ นางสาวศิริวรรณ สุรเทพินทร์ ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4604 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ประจ�ำปี 2555 โดยมีคา่ ตอบแทนรวมของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยเป็นจ�ำนวนเงิน 7,518,000 บาท

ความเห็น และข้อสังเกตโดยรวมจากการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฏบัตร

คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนปรับปรุงกฏบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบให้ครอบคลุมและเหมาะสมมากขึ้นอย่างสม�่ำเสมอ และได้ประเมิน ผลการปฏิบัติหน้าที่โดยตนเอง (Self-Assessment) เกี่ยวกับองค์ประกอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุม ผลงาน ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้บริหารและผู้สอบบัญชี ตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า ขอบเขตและผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เป็ น ไปโดย สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติที่ดี และกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ เสริมสร้างการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทได้ตามที่ควร

นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9 มีนาคม 2555

58

รายงานประจำ�ปี 2554


รายงานคณะกรรมการ

ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีได้ยึดถือนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ซี งึ่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในการปฏิบตั หิ น้าที ่ ทัง้ นี้ โดยท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลให้บริษัทฯด�ำเนินการและพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบัน คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีตระหนักดีว่างานด้านการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างเสริมความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน ลูกค้าและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมถึงเป็นรากฐานของการพัฒนาธุรกิจให้ เติบโตอย่างยั่งยืนและมั่นคง คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีการประชุมรวม 4 ครั้ง ใน ปี พ.ศ. 2554 โดยเป็นการประชุมเพื่อวางนโยบาย ทบทวนแผนงาน และ ติดตามผลการปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯให้เป็นไป ตามนโยบายและแผนงาน โดยมุ่งรักษามาตรฐานให้อยู่ในระดับที่ดีและ เพือ่ ให้มพี ฒ ั นาการต่อไปในอนาคต ในด้านสิทธิของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯเปิดโอกาส เต็มที่ให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและ ชื่อผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะด� ำรงต�ำแหน่งกรรมการ รวมถึงส่งค�ำถาม ที่ ต ้ อ งการให้ บ ริ ษั ท ฯชี้ แจงในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี เ ป็ น การล่วงหน้าโดยเปิดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดียังเดินหน้าในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้แก่คณะกรรมการและ ผูบ้ ริหารอย่างต่อเนือ่ ง โดยก�ำหนดให้บริษทั ฯจัดให้มกี ารทบทวนและประเมิน ผลการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีด้วยตนเอง (Corporate Governance Self Rating) โดยสม�่ำเสมอ เพื่อให้ทราบผลการด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการประเมินตนเองมาใช้ปรับปรุง เพื่อกระตุ้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในด้านการเปิดโอกาสให้ร้องเรียนนั้น ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ได้เปิดช่องทางการสื่อสารแก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายให้สามารถร้องเรียนเมื่อพบเห็น เรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบไปยังเลขานุการคณะกรรมการก� ำกับ ดูแลกิจการที่ดี (คุณร�ำภา ค�ำหอมรื่น ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินและ รองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน) ผ่านทาง Email: kurumpa@bigc.co.th หรือ ส่งหนังสือไปที่ส�ำนักงานรองประธานฝ่ายบัญชีและการเงิน เลขที่ 97/11 ชั้น 7 ถนนราชด�ำริห์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์หมายเลข 02 655 0666 ต่อ 4062

• •

ในปี พ.ศ. 2554 คณะกรรมการก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ด้ ด�ำเนินการในเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการที่ส�ำคัญ ดังนี้

• ทบทวนและปรับปรุง “กฎบัตรคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี”

(Corporate Governance Charter) และได้ เ ผยแพร่ ก ฎบั ต ร คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีดังกล่าวบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ น�ำเสนอรายงานและให้ความเห็นเกี่ยวกับงานด้านก�ำกับดูแลกิจการ ต่อคณะกรรมการและผู้บริหารบริษัทฯ ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ทบทวนและกลั่นกรองการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและตาม ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ก�ำหนดหลักเกณฑ์การรายงานความมีส่วนได้เสียของกรรมการและ ผู้บริหาร รวมทั้ง คู่ค้า สนับสนุนให้มีการปรับปรุงโครงสร้างงานด้านการตรวจสอบภายใน ของบริษัทฯ โดยประสานกับคณะกรรมการตรวจสอบ จัดท�ำคู่มือจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Conduct) เพื่อใช้เป็น แนวทางในการท�ำธุรกิจอย่างสร้างสรรค์และได้มอบให้กรรมการและ ผู้บริหารทุกระดับเพื่อท�ำความเข้าใจและถือปฏิบัติ เสริมสร้างความเข้าใจและให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมด้านการมีความ รับผิดชอบต่อสังคม (CSR หรือ Corporate Social Responsibility)

• • • • • •

ในปี พ.ศ. 2554 บริษัทฯ ได้รับการประเมิน Corporate Governance Rating จากสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (Institute of Directors) ให้ ไ ด้ รั บ คะแนนผลการประเมิ น อยู ่ ใ นระดั บ “ดี ม าก” ซึ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น เจตนาและความมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างสม�่ำเสมอเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึ ง ความมั่ น คงและความยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และช่ ว ย รักษาผลประโยชน์ในระยะยาวให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการก� ำกับดูแลกิจการที่ดีตระหนักดีว่าภาระ ความรับผิดชอบในเรื่องนี้ต้องได้รับการพัฒนาให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นต่อไปอีก

(นายนนทพล นิ่มสมบุญ) ประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

รายงานประจำ�ปี 2554

59


รายงานคณะกรรมการ

บริหารความเสี่ยง บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) มีคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับดูแลการบริหาร จัดการความเสีย่ งหลักของบริษทั ฯ และการด�ำเนินการตามแผนกลยุทธ์ ในการ พัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กรให้มีประสิทธิภาพอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ในทุ ก ระดั บ ขององค์ ก ร โดยสามารถสรุปสาระส�ำคัญของการด�ำเนินกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้ดังนี้

1. พิจารณากระบวนการบริหารความเสี่ยง และความเสี่ยงของ องค์กร

บริษัทฯ ได้พิจารณาและปรับปรุงกระบวนการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพ เพียงพอกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยได้ระบุความเสี่ยงที่ส่งผลต่อกลยุทธ์และแผนธุรกิจ ทั้งในส่วนของความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านการด�ำเนินงาน ด้านการเงิน และด้ า นการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย/กฎระเบี ย บ โดยจั ด ท� ำ เป็ น แผนผั ง ความเสี่ ย ง (Risk Map) เพื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข องผลกระทบ และโอกาสทีจ่ ะเกิดความเสีย่ งนัน้ รวมถึงประเมินประสิทธิผลของการควบคุม ภายในที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อจัดล�ำดับความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (Residual Risk) ในภาพรวมของบริษัทฯ

2. พิจารณาแนวทางการตอบสนองต่อความเสีย่ งระดับองค์กร

ส�ำหรับความเสี่ยงที่เกินกว่าระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผู้จัดการ ความเสี่ ย งร่ ว มกั บ ฝ่ า ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จะมี ก ารจั ด ท� ำ แผนงาน เพื่อจัดการความเสี่ยงนั้นเพิ่มเติม (Risk Treatment Plan) เพื่อให้มั่นใจ ว่าความเสี่ยงต่างๆ จะได้รับการบริหารจัดการและมีการควบคุมภายในที่ เหมาะสมและเพียงพอ

3. ด�ำเนินการติดตามผลของกิจกรรมบริหารความเสี่ยง

โดยการติดตามความคืบหน้าของการด�ำเนินการตามแผนบรรเทา ความเสี่ ย งที่ ก� ำ หนดไว้ และการติ ด ตามความเสี่ ย งส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ อย่างต่อเนื่องผ่านการรายงานข้อมูลต่างๆ จากฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะ ช่วยให้ทราบถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่บ่งชี้ถึงแนวโน้มของความเสี่ยงที่สูงขึ้น และด�ำเนินการป้องกันหรือแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ก่อนทีจ่ ะเกิดความเสียหาย ต่อบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังมีดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator: KRI) ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดกิจกรรมที่อาจท�ำให้องค์กรมีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น และ สัญญาณเตือนล่วงหน้า (Early warning) เพื่อน�ำไปสู่การค้นหาสาเหตุ และ ปรับปรุงแก้ไขได้ทันต่อเหตุการณ์

60

รายงานประจำ�ปี 2554

4. การฝึกอบรมเรื่องการบริหารความเสี่ยง

บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น การอบรมเรื่ อ งการบริ ห ารความสี่ ย งให้ กั บ พนักงานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพนักงานใหม่ ซึ่งได้ถูกบรรจุเนื้อหาไว้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รการอบรมพนั ก งานใหม่ (New Employee Orientation Program) ทั้งนี้พนักงานใหม่ทุกคนจะได้รับความรู้เรื่อง การบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อให้กระบวนการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ สามารถด�ำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

5. แผนการบริหารในภาวะวิกฤต (Crisis Management Plan)

บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารงานในภาวะวิกฤต บริษัทฯ จึงได้ให้ผู้จัดการความเสี่ยง และตัวแทนจากส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการจัดท�ำแผนการบริหารงานในภาวะวิกฤต (Crisis Management Plan) ในบางส่วนเพิ่มเติม ตลอดจนท�ำการปรับปรุงแผนที่มีอยู่เดิมให้เกิด ประสิทธิภาพในการน�ำไปปฏิบัติมากขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดตั้ง คณะกรรมการบริ ห ารในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น (Crisis Management Committee) ประกอบด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารจากแต่ ล ะหน่ ว ยงาน เพื่ อ สั่ ง การ และควบคุ ม การปฏิ บั ติ ต ามแผน ตลอดจนแก้ ไขปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จนเหตุการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ จากวิกฤติการณ์มหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นใน ปี 2554 บริษัทฯ ได้รับผลกระทบบางส่วน แต่ยังคงสามารถด�ำเนินธุรกิจได้ ตามปกติ ซึ่งบริษัทฯได้น�ำแผนการบริหารงานในภาวะวิกฤตมาใช้ส�ำหรับ สาขาและคลังสินค้าที่ได้รับผลกระทบ ท�ำให้สามารถเปิดด�ำเนินการได้เป็น ปกติโดยใช้เวลาไม่นานนัก ตามที่กล่าวข้างต้น บริษัทฯ เชื่อว่าการบริหารความเสี่ยงที่ด�ำเนิน ไปอย่างเป็นระบบ รวมถึงการติดตามความเสีย่ งอย่างใกล้ชดิ จะเป็นส่วนทีท่ ำ� ให้บริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินตามแผนธุรกิจ ที่ก�ำหนด ไว้ได้ ตลอดจนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์กรเพื่อส่งมอบให้แก่ทั้งผู้ถือหุ้น และผู้ที่มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ได้อย่างยั่งยืน

(นายอีฟ แบร์กนาร์ เบรบ็อง) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


รายงานและงบการเงิน

รายงานประจำ�ปี 2554

61


รายงาน

ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2554 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู ้ ถือหุ ้ น รวมและงบกระแสเงิ น สดรวมส�ำ หรั บ ปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริ ษั ท ย่ อ ย และได้ ต รวจสอบงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การของบริ ษั ท บิ๊ ก ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็น ผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจาก ผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินรวมของบริษทั บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บิก๊ ซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ที่น�ำมาเปรียบเทียบไว้ ณ ที่นี้ได้ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นในส�ำนักงาน เดียวกันกับข้าพเจ้า ซึง่ ได้ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และเสนอรายงานไว้อย่างไม่มเี งือ่ นไขตามรายงานลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี ที่ รับรองทั่วไปซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ หรื อ ไม่ การตรวจสอบรวมถึ ง การใช้ วิ ธี ก ารทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และ ประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งผู้บริหาร เป็ น ผู ้ จั ด ท� ำ ขึ้ น ตลอดจนการประเมิ น ถึ ง ความเหมาะสมของการแสดง รายการที่ น� ำ เสนอในงบการเงิ น โดยรวม ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า การตรวจสอบ ดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของ ข้าพเจ้า ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น ข้ า งต้ น นี้ แ สดงฐานะการเงิ น ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2554 ผลการด� ำ เนิ น งาน และกระแสเงิ น สดส� ำ หรั บ ปีสิ้นสุด วันเดียวกันของบริ ษั ท บิ๊ กซี ซู เปอร์ เซ็ น เตอร์ จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

โดยไม่ ไ ด้ เ ป็ น การแสดงความเห็ น อย่ า งมี เ งื่ อ นไขต่ อ งบการเงิ น ข้ า งต้ น ข้ า พเจ้ า ขอให้ สั ง เกตหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข้ อ 15 ว่ า เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2554 บริษัทฯเข้าซื้อหุ้นสามัญจ�ำนวนร้อยละ 100 ใน บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด และบริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (รวมกันเรียกว่า “กลุม่ บริษทั เซ็นคาร์”) จากผูถ้ อื หุน้ เดิม ของบริ ษั ท เหล่ า นี้ บริ ษั ท ฯได้ ด� ำ เนิ น การให้ มี ก ารวั ด มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ สินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา ณ วันที่ซื้อกิจการโดยการ วัดมูลค่านี้ได้เสร็จสมบูรณ์แล้วในไตรมาสที่ 4 ของปี 2554 ซึ่งอยู่ภายใน ระยะเวลาในการวัดมูลค่าสิบสองเดือนนับจากวันทีซ่ อื้ กิจการตามทีก่ ำ� หนดไว้ ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) ทั้งนี้ภายใน ระยะเวลาการวัดมูลค่าดังกล่าวบริษทั ฯ ได้ทำ� การปรับย้อนหลังมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันที่ซื้อกิจการ เมื่อได้รับข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และ หนีส้ นิ ส่วนหนึง่ เพิม่ เติมตามทีไ่ ด้กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินดังกล่าว นอกจากนี้ ตามที่ ก ล่ า วไว้ ใ นหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข้ อ 3 และข้ อ 5 ในระหว่ า งปี ป ั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ป ฏิ บั ติ ต าม มาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บปรั บปรุ งและมาตรฐานการบั ญ ชี ใ หม่ ที่อ อกโดย สภาวิชาชีพบัญชีและนโยบายการบัญชีใหม่เพือ่ จัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินนี้ ทั้งนี้บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ปรับย้อนหลังงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันใหม่เพื่อสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีเนื่องจากการน�ำมาตรฐานการบัญชีและนโยบายการบัญชีใหม่ ดังกล่าวมาถือปฏิบัติ ข้าพเจ้าเห็นว่ารายการปรับปรุงเพื่อจัดท�ำงบการเงิน ดังกล่าวมีความเหมาะสมและได้น�ำไปปรับปรุง งบการเงินตามสมควรแล้ว

วิชาติ โลเกศกระวี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4451 บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 10 กุมภาพันธ์ 2555

62

รายงานประจำ�ปี 2554


สรุปข้อมูล

และการวิเคราะห์ทางการเงิน งบดุลรวม 2554

%

%

(ปรับปรุง)1

สินทรัพย์ เงินสดและเงินฝากธนาคาร สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์

2553

(หน่วย : ล้านบาท) 2552 %

7,422 8,941 4,538 20,901 21,300 26,722 21,803 90,726

8% 10% 5% 23% 23% 29% 24% 100%

5,132 5,129 2,241 12,502 14,640 361 12,030 39,533

13% 13% 6% 32% 37% 1% 30% 100%

1,951 5,785 1,860 9,596 23,145 – 3,957 36,698

5% 16% 5% 26% 63% 0% 11% 100%

36,500 24,980 2,462 63,942 3,264 67,206 23,520 90,726

40% 28% 3% 70% 4% 74% 26% 100%

– 16,442 1,608 18,050 1,388 19,438 20,095 39,533

0% 42% 4% 46% 4% 49% 51% 100%

– 13,308 3,376 16,684 1,081 17,765 18,933 36,698

0% 36% 9% 45% 3% 48% 52% 100%

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัทฯและบริษัทย่อยน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ

1

งบกำ�ไรขาดทุนรวม ขายสุทธิ ต้นทุนขาย กำ�ไรขั้นต้น รายได้ค่าเช่าและค่าบริการและรายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ดอกเบี้ยจ่าย กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิส�ำ หรับปี ส่วนแบ่งขาดทุน (กำ�ไร) ของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัท

2554

%

102,563 87,325 15,238 11,078 26,316 18,030 8,286 1,271 7,015 1,754 5,261 –19 5,242

100% 85% 15% 11% 26% 18% 8% 1% 7% 2% 5% 0% 5%

2553 (ปรับปรุง)1 69,859 60,602 9,257 6,350 15,607 11,619 3,988 6 3,982 1,149 2,833 –17 2,816

% 100% 87% 13% 9% 22% 17% 6% 0% 6% 2% 4% 0% 4%

(หน่วย : ล้านบาท) 2552 % 68,058 63,796 4,262 12,530 16,792 12,625 4,167 111 4,056 1,172 2,884 –16 2,868

100% 94% 6% 18% 25% 19% 6% 0% 6% 2% 4% 0% 4%

บริษัทฯและบริษัทย่อยน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ

1

รายงานประจำ�ปี 2554

63


สรุปข้อมูล

และการวิเคราะห์ทางการเงิน งบกระแสเงินสด 2554

(หน่วย : ล้านบาท) 2552

2553 (ปรับปรุง)1

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษี

7,015

3,981

3,063

รายการปรับกระทบกำ�ไรสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน

2,200

1,368

2,610

สินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงานสุทธิ

–770

1,434

378

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน

8,445

6,783

6,051

–41,069

–2,016

–1,160

เงินกู้ยืมและอื่นๆ

36,500

–3,000

เงินปันผลจ่าย

–1,571

–1,570

–1,306

–16

–16

–16

34,913

–1,586

–4,322

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิ่มขึ้นสุทธิ

2,289

3,181

569

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี

5,132

1,951

1,382

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

7,421

5,132

1,951

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยลดลง รวมกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

1

บริษัทฯและบริษัทย่อยน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ

อัตราส่วนทางการเงิน 2554

2553

2552

2551

2550

ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย

29

(ปรับปรุง)1 33

31

30

31

ระยะเวลาชำ�ระหนี้เฉลี่ย

87

90

73

71

71

อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน

0.3

0.7

0.6

0.4

0.4

อัตรากำ�ไรขั้นต้น

14.9

13.3

6.3

7.5

8.4

อัตรากำ�ไรสุทธิ

4.6

3.7

3.6

3.7

3.5

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

24

14.4

15.8

17.3

16.5

8

7.4

7.8

7.9

7.7

1.56

0.2

0.1

6.5

3.5

3.6

3.6

3.1

29.3

25.1

23.6

21.7

19.7

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราส่วนเงินกู้ยืมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรต่อหุ้น มูลค่าหุ้นตามบัญชี 1

64

บริษัทฯและบริษัทย่อยน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ รายงานประจำ�ปี 2554


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

8

7,421,571,489

5,131,800,224

4,701,240,886

5,071,242,773

ลูกหนี้การค้า

9

274,292,171

179,764,544

3,554,985,934

743,007,558

ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ

11

2,255,955,856

1,027,503,694

1,984,170,561

981,404,556

สินค้าคงเหลือ

12

8,941,111,269

5,128,971,993

6,260,407,882

4,959,284,068

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

13

2,007,713,269

1,033,934,038

1,611,715,085

1,024,139,415

20,900,644,054

12,501,974,493

18,112,520,348

12,779,078,370

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย

10

4,798,762,664

2,142,191

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

15

36,615,863,347

2,299,408,358

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

16

15,582,276,683

7,977,774,161

8,029,992,821

6,881,131,523

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

17

21,300,354,337

14,640,466,553

13,361,901,837

12,801,522,288

ค่าความนิยม

15.1, 20

26,722,032,240

360,621,352

สิทธิการเช่า

19

5,046,726,892

3,261,160,927

3,184,441,590

3,168,949,549

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น

18

114,405,129

126,095,401

113,193,400

125,611,797

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

29

689,811,500

358,832,352

361,818,095

345,748,360

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

14

369,839,704

306,183,663

320,819,241

306,183,654

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

69,825,446,485

27,031,134,409

66,786,792,995

25,930,697,720

รวมสินทรัพย์

90,726,090,539

39,533,108,902

84,899,313,343

38,709,776,090

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2554

65


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

21

36,500,000,000

36,500,000,000

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

22

24,979,652,895

16,441,782,115

21,449,294,685

16,098,820,875

9,848,185

11,941,724

6,853,834

8,446,826

2,567,414,144

2,450,169,183

รายได้สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี – ส่วนที่ถึงก�ำหนดภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย

10

ภาษีเงินได้ค้างจ่าย

660,831,452

287,840,803

390,008,994

190,068,967

ประมาณการหนี้สินระยะสั้น

251,038,142

156,169,026

134,427,212

156,169,026

1,540,989,963

1,151,818,357

1,278,138,632

1,086,392,465

63,942,360,637

18,049,552,025

62,326,137,501

19,990,067,342

168,581,328

164,717,039

151,252,568

158,660,618

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

23

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน รายได้สิทธิการเช่ารอตัดบัญชี – สุทธิจาก ส่วนที่ถึงก�ำหนดภายในหนึ่งปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

24

211,915,816

133,724,242

182,673,058

133,724,242

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

29

1,307,586,294

70,600,890

322,241,087

70,600,890

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

25

1,575,491,507

1,019,409,069

1,194,344,506

981,383,171

3,263,574,945

1,388,451,240

1,850,511,219

1,344,368,921

67,205,935,582

19,438,003,265

64,176,648,720

21,334,436,263

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

66

รายงานประจำ�ปี 2554


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบดุล (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 825,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

38

8,250,000,000

8,250,000,000

8,250,000,000

8,250,000,000

ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 801,386,574 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

8,013,865,740

8,013,865,740

8,013,865,740

8,013,865,740

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

2,245,689,584

2,245,689,584

2,245,689,584

2,245,689,584

901,959,479

901,959,479

825,000,000

825,000,000

12,402,118,303

8,778,133,360

9,638,109,299

6,089,245,467

13,304,077,782

9,680,092,839

10,463,109,299

6,914,245,467

(65,753,698)

135,785,338

201,539,036

23,497,879,408

20,075,433,501

22,275,549

19,672,136

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

23,520,154,957

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

90,726,090,539

ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว – ส�ำรองตามกฎหมาย

26

ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย

20,722,664,623

17,375,339,827

20,095,105,637

20,722,664,623

17,375,339,827

39,533,108,902

84,899,313,343

38,709,776,090

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

...................................................................................... กรรมการ ......................................................................................

รายงานประจำ�ปี 2554

67


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

รายได้ รายได้จากการขายสินค้า

102,563,018,206

69,858,943,614

78,678,245,671

68,434,223,749

รายได้ค่าเช่าและบริการ

6,985,260,406

4,199,999,800

4,556,849,217

3,985,428,612

1,849,189,639

412,931,153

เงินปันผลรับ

15

รายได้อื่น

27

4,092,612,157

2,149,927,044

3,542,958,030

2,060,876,083

113,640,890,769

76,208,870,458

88,627,242,557

74,893,459,597

ต้นทุนขายและบริการ

87,324,878,077

60,602,154,109

68,636,065,166

59,660,353,237

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริการ

15,400,921,820

9,845,242,420

10,014,760,117

9,770,568,712

2,581,476,656

1,382,152,493

2,083,434,376

1,366,554,474

47,715,817

391,394,763

47,715,817

391,394,763

105,354,992,370

72,220,943,785

80,781,975,476

71,188,871,186

8,285,898,399

3,987,926,673

7,845,267,081

3,704,588,411

(1,271,169,177)

(6,452,644)

(1,457,946,568)

(38,522,927)

7,014,729,222

3,981,474,029

6,387,320,513

3,666,065,484

(1,754,232,098)

(1,148,564,884)

(1,235,676,251)

(931,413,460)

5,260,497,124

2,832,909,145

5,151,644,262

2,734,652,024

5,241,756,058

2,816,226,041

5,151,644,262

2,734,652,024

18,741,066

16,683,104

5,260,497,124

2,832,909,145

6.54

3.51

6.43

3.41

รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย

28

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการซื้อธุรกิจ

15.1

รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้นิติบุคคล ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล

29

ก�ำไรส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย ก�ำไรต่อหุ้น

30

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 68

รายงานประจำ�ปี 2554


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่) ก�ำไรส�ำหรับปี

2553 (ปรับปรุงใหม่)

5,260,497,124

2,832,909,145

5,151,644,262

2,734,652,024

(835,327,082)

201,539,036

(835,327,082)

201,539,036

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากการป้องกัน ความเสี่ยงในกระแสเงินสด ตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุนระยะยาว

489,750

489,750

โอนขาดทุนจากการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด สุทธิไปเป็นส่วนหนึ่งของเงินลงทุนในบริษัทย่อย

633,788,046

ผลก�ำไร(ขาดทุน)จากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย – สุทธิจากภาษี

(47,053,430)

17,854,421

(32,062,745)

17,854,421

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

(248,592,466)

219,883,207

(233,601,781)

219,883,207

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

5,011,904,658

3,052,792,352

4,918,042,481

2,954,535,231

4,993,163,592

3,036,109,248

4,918,042,481

2,954,535,231

18,741,066

16,683,104

5,011,904,658

3,052,792,352

633,788,046

การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำ�ปี 2554

69


70 รายงานประจำ�ปี 2554

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี

5

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง

18,233,705

18,932,649,622

จัดสรรแล้ว

ยังไม่ได้จัดสรร

8,013,865,740

2,245,689,584

884,559,479

7,836,544,562

(489,750)

(65,753,698)

(66,243,448)

18,914,415,917

(304,373,979)

(304,373,979)

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วน ของผู้ถือหุ้น

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ

ผลต่างจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เพิ่มเติมในราคาที่สูงกว่า มูลค่าตามบัญชี

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

ก�ำไรสะสม

ก�ำไร จากการป้องกัน ความเสี่ยงใน กระแสเงินสด - สุทธิ

ส่วนของ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม ของบริษัทย่อย

ขาดทุนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้น ของเงินลงทุน ระยะยาว

8,013,865,740

2,245,689,584

884,559,479

7,532,170,583

(489,750)

(65,753,698)

(66,243,448)

18,610,041,938

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

ก�ำไรส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่)

2,814,226,041

2,816,226,041

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่)

17,854,421

489,750

201,539,036

202,028,786

219,883,207

ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม ของบริษัทย่อยลดลงจากการจ่ายเงินปันผล

17,400,000

(17,400,000)

8,013,865,740

2,245,689,584

901,959,479

8,778,133,360

201,539,036

(65,753,698)

เงินปันผลจ่าย

โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นส�ำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

32

26

– 18,233,705

– 16,683,104

(304,373,979) 18,628,275,643 (1,570,717,685) 2,832,909,145

219,883,207

(15,244,673)

(15,244,673)

135,785,338

20,075,433,501

19,672,136

– 20,095,105,637


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี

5

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง

19,672,136

20,452,163,159

จัดสรรแล้ว

ยังไม่ได้จัดสรร

8,013,865,740

2,245,689,584

901,959,479

9,135,190,882

201,539,036

(65,753,698)

135,785,338

20,432,491,023

(357,057,522)

(357,057,522)

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วน ของผู้ถือหุ้น

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญ

ผลต่างจากการซื้อ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เพิ่มเติมในราคาที่สูงกว่า มูลค่าตามบัญชี

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ

ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และช�ำระแล้ว

ก�ำไรสะสม

ก�ำไร (ขาดทุน) จากการป้องกัน ความเสี่ยงใน กระแสเงินสด - สุทธิ

ส่วนของ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม ของบริษัทย่อย

ขาดทุนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้น ของเงินลงทุน ระยะยาว

8,013,865,740

2,245,689,584

901,959,479

8,778,133,360

201,539,036

(65,753,698)

135,785,338

20,075,433,501

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

ก�ำไรส�ำหรับปี

5,241,756,058

5,241,756,058

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

(47,053,430)

(201,539,036)

(201,539,036)

(248,592,466)

ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ� นาจควบคุม ของบริษัทย่อยลดลงจากการจ่ายเงินปันผล

8,013,865,740

2,245,689,584

901,959,479

12,402,118,303

(65,753,698)

(65,753,698)

เงินปันผลจ่าย

รายงานประจำ�ปี 2554

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

32

– 19,672,136

– 18,741,066

(357,057,522) 20,095,105,637 (1,570,717,685) 5,260,497,124

(248,592,466)

(16,137,653)

(16,137,653)

23,497,879,408

22,275,549

23,520,154,957

71


72 รายงานประจำ�ปี 2554

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรสะสม

ขาดทุนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้น ของเงินลงทุนระยะยาว

ก�ำไร จากการป้องกัน ความเสี่ยงใน กระแสเงินสด - สุทธิ

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

(489,750)

16,289,626,236

4,924,856,707

(489,750)

(489,750)

15,991,522,281

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

2,734,652,024

2,734,652,024

17,854,421

489,750

201,539,036

17,400,000

(17,400,000)

8,013,865,740

2,245,689,584

825,000,000

6,089,245,467

201,539,036

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

จัดสรรแล้ว

8,013,865,740

2,245,689,584

807,600,000

5,222,960,662

(489,750)

(298,103,955)

8,013,865,740

2,245,689,584

807,600,000

ก�ำไรส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี (ปรับปรุงใหม่)

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

5

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง เงินปันผลจ่าย

โอนก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร เป็นส�ำรองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

32

26

ยังไม่ได้จัดสรร

202,028,786

– 201,539,036

(298,103,955)

219,883,207

– 17,375,339,827


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรสะสม

ขาดทุนสุทธิ ที่ยังไม่เกิดขึ้น ของเงินลงทุนระยะยาว

ก�ำไร จากการป้องกัน ความเสี่ยงใน กระแสเงินสด - สุทธิ

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

201,539,036

17,728,329,135

ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

จัดสรรแล้ว

8,013,865,740

2,245,689,584

825,000,000

6,442,234,775

201,539,036

(352,989,308)

8,013,865,740

2,245,689,584

825,000,000

6,089,245,467

201,539,036

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

ก�ำไรส�ำหรับปี

5,151,644,262

5,151,644,262

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

(32,062,745)

(201,539,036)

8,013,865,740

2,245,689,584

825,000,000

9,638,109,299

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ตามที่รายงานไว้เดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

5

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง เงินปันผลจ่าย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

32

ยังไม่ได้จัดสรร

– 201,539,036

(201,539,036)

(352,989,308) 17,375,339,827

(233,601,781) 20,722,664,623

รายงานประจำ�ปี 2554 73


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษี

7,014,729,222

3,981,474,029

6,387,320,513

3,666,065,484

3,307,076,114

2,539,618,788

2,090,573,593

2,339,865,799

(14,087,751)

82,000,000

(5,525,291)

82,000,000

1,770,750

(14,255,524)

(9,001,042)

(8,446,826)

82,911,659

(3,198,026)

10,193,396

(6,696,088)

154,079,178

(17,310,223)

66,749,992

(18,030,924)

22,150,202

(24,822,580)

(21,741,814)

(8,695,783)

รายการปรับกระทบยอดกำ�ไรสุทธิก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าเผื่อการด้อยค่า (โอนกลับ) ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิทธิการเช่า รายได้รอตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ(โอนกลับ) การปรับลด (โอนกลับ) สินค้าคงเหลือ เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ส�ำรองจากการประมาณการหนี้สิน (โอนกลับ) ตัดจ�ำหน่ายเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย

ส�ำรองหนี้สินที่มียอดคงค้างเป็นเวลานาน

30,714,491

1,637,280

30,714,491

ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

20,690,868

21,313,899

19,515,535

21,313,899

ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง

(707,154)

(3,351,713)

(707,154)

(3,351,713)

ขาดทุนจากเงินลงทุนระยะยาว

489,750

ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายและตัดจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

52,595,995

19,940,006

ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

96,079,957

2,275,348

เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

74

รายงานประจำ�ปี 2554

– 2,961,439 –

489,750 19,795,714 2,275,348

(1,849,189,639)

(412,931,153)

(73,301,013)

(3,165,915)

(248,041,242)

(3,296,555)

1,261,632,700

6,452,644

1,448,410,092

38,522,927

11,925,620,727

6,618,174,974

7,891,518,378

5,741,231,650


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน (ต่อ) สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า

(25,270,517)

(39,660,249)

(2,805,792,999)

(55,613,069)

สินค้าคงเหลือ

(2,010,030,353)

160,265,076

(1,367,873,806)

152,005,970

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(1,885,215,346)

(16,820,598)

(1,822,130,389)

(15,562,739)

(17,711,536)

(130,899,335)

(19,826,095)

(130,899,324)

2,929,449,909

697,962,374

5,146,750,237

718,743,585

67,371,641

657,617,735

191,746,167

633,175,638

171,723,694

105,522,454

199,332,573

103,780,643

เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

11,155,938,219

8,052,162,431

7,413,724,066

7,146,862,354

จ่ายดอกเบี้ย

(1,238,387,525)

(6,452,644)

(1,436,306,578)

(37,715,711)

จ่ายภาษีเงินได้

(1,471,982,275)

(1,262,419,627)

(750,418,752)

(1,056,280,113)

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

8,445,568,419

6,783,290,160

5,226,998,736

6,052,866,530 46,174,740

สินทรัพย์อื่น หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินอื่น

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย (เพิ่มขึ้น) ลดลง

1,116,806,212

เงินสดจ่ายซื้อบริษัทย่อย (หมายเหตุ 15.1)

(34,285,112,489)

(34,285,112,489)

เงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น (หมายเหตุ 15.2)

(31,342,500)

จ่ายช�ำระหนี้สินของบริษัทย่อย ณ วันซื้อกิจการ

(2,983,486,281)

(5,913,426,685)

เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

47,779,009

12,715,033

3,014,622

12,598,282

(3,693,412,506)

(1,807,829,487)

(3,377,517,467)

(1,794,134,125)

เงินสดรับจากดอกเบี้ยรับ

56,296,810

2,587,392

225,968,114

11,328,029

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น

(39,546,423)

(9,762,639)

(36,447,409)

(9,696,239)

(171,459,936)

(213,806,501)

(194,659,936)

(213,806,501)

1,849,189,639

412,931,153

(2,016,096,202) (40,643,527,899)

(1,534,604,661)

ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน

สิทธิการเช่าเพิ่มขึ้น เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

– (41,068,941,816)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2554

75


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น

38,500,000,000

38,500,000,000

เงินสดจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

(2,000,000,000)

(2,000,000,000)

117,244,961

281,371,969

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

(1,570,717,685)

(16,137,653)

(15,244,673)

34,913,144,662

(1,585,962,358)

35,046,527,276

(1,289,345,716)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

2,289,771,265

3,181,231,600

(370,001,887)

3,228,916,153

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี

5,131,800,224

1,950,568,624

5,071,242,773

1,842,326,620

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

7,421,571,489

5,131,800,224

4,701,240,886

5,071,242,773

เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายส่วนของผู้มีส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทย่อย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบกระแสเงินสด รายการที่ไม่ใช่เงินสด รายการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ยังไม่ได้จ่ายช�ำระ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

76

รายงานประจำ�ปี 2554

246,926,442

163,454,099

192,421,792

166,580,757


บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลำ� เนาในประเทศไทยโดยมีบริษัท Casino Guichard Perrachon ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งในประเทศฝรั่งเศสเป็นบริษัทใหญ่ของกลุ่มบริษัท บริษัทฯประกอบกิจการในประเทศไทยโดยด�ำเนินธุรกิจหลักด้านไฮเปอร์ มาร์เก็ต ที่อยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯอยู่ที่เลขที่ 97/11 ชั้น 6 ถนนราชด�ำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสาขาที่เปิดให้บริการจ�ำนวน 221 สาขา (เฉพาะบริษัทฯ 176 สาขา) (2553: บริษัทฯและบริษัทย่อย มีสาขาที่เปิดให้บริการ 117 สาขา และเฉพาะ บริษัทฯ 115 สาขา)

2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย ดังกล่าวนี้ งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี

2.2 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้จัดทำ�ขึ้นโดยรวมงบการเงินของ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัท”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้

รายงานประจำ�ปี 2554

77


บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

ทุนจดทะเบียน 2554 ล้านบาท

อัตราร้อยละของการถือหุ้น

2553 ล้านบาท

2554 ร้อยละ

2553 ร้อยละ

บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด

หยุดด�ำเนินธุรกิจ

ไทย

300

300

100.00

100.00

บริษัท เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด

ไทย

1,300

1,300

100.00

100.00

ไทย

80

80

100.00

100.00

บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และลงทุนในบริษัทอื่น ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และลงทุนในบริษัทอื่น ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

180

180

100.00

100.00

บริษัท สุราษฎร์ บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

200

200

100.00

100.00

บริษัท บิ๊กซี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด

หยุดด�ำเนินกิจการ

ไทย

1

1

100.00

100.00

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

ไทย

10,000

39.00

บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ลงทุนในบริษัทอื่น

ไทย

162

49.00

บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด

ลงทุนในบริษัทอื่น

ไทย

1

100.00

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด

ธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก

157

100.00

บริษัท เทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด

สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว

บริษัทย่อยทางอ้อมที่ถือหุ้นโดยผ่านบริษัทย่อย ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

ทุนจดทะเบียน 2554 ล้านบาท

อัตราร้อยละของการถือหุ้น

2553 ล้านบาท

2554 ร้อยละ

2553 ร้อยละ

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัทเซ็นทรัล ซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล พัทยา จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

80

80

100.00

100.00

บริษัท อุดร บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

850

850

100.00

100.00

บริษัท อินทนนท์แลนด์ จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

841

841

100.00

100.00

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัทเทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

ไทย

440

440

96.82

96.82

บริษัท พระราม 2 บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

ไทย

5

5

99.99

99.99

บริษัท พิษณุโลก บิ๊กซี จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

ไทย

1,050

1,050

92.38

92.38

ไทย

10,000

61.00

ไทย

162

51.00

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด

78

รายงานประจำ�ปี 2554

ลงทุนในบริษัทอื่น


ข) บริษทั ฯน�ำงบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตัง้ แต่วนั ทีบ่ ริษทั ฯมีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันทีบ่ ริษทั ฯสิน้ สุด การควบคุมบริษทั ย่อยนัน้ งบการเงินของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด ซึ่งมีสินทรัพย์รวมอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็นจ�ำนวน ประมาณ 31 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.03 ของสินทรัพย์รวมเป็นงบการเงินที่จัดท�ำโดยฝ่ายบริหาร ซึ่งยังมิได้ผ่านตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของ บริษัทย่อยแห่งนั้น ค) งบการเงินของบริษัทย่อยจัดท�ำขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ ง) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะ เวลารายงาน จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระส�ำคัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว ฉ) ในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อกิจการ ผลต่างระหว่างมูลค่าสุทธิของสินทรัพย์ที่ซื้อตามราคายุติธรรมและมูลค่าที่จ่ายซื้อได้แสดงไว้เป็น “ค่าความนิยม” ในงบแสดงฐานะการเงินรวม ช) ในการบันทึกบัญชีเกีย่ วกับการซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม่ เติม (ซือ้ หุน้ คืนจากผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย) ผลต่างระหว่างมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิ ซึ่งต�่ำกว่าราคาทุนที่จ่ายซื้อได้แสดงไว้ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมภายใต้หัวข้อ “ผลต่างจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิม่ เติมในราคาทีส่ งู กว่ามูลค่าตามบัญชี” ซ) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม คือ จ�ำนวนก�ำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็นของบริษัทฯ และ แสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงินรวม

2.3 บริษัทฯจัดท�ำงบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทย่อยตามวิธีราคาทุน

3. การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีใหม่และการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในระหว่างปี

3.1 การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีใหม่ในระหว่างปี

บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีดังนี้

ก) มาตรฐานการบัญชีที่บริษัทฯและบริษัทย่อยถือปฏิบัติแล้วในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553

มาตรฐานการบัญชี แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ

รายงานประจำ�ปี 2554

79


ข) มาตรฐานการบัญชีที่บริษัทฯและบริษัทย่อยถือปฏิบัติในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 19 ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 26 ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552)

การน�ำเสนองบการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เงินลงทุนในบริษัทร่วม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ก�ำไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 6

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก การส�ำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ฉบับที่ 25 ฉบับที่ 31

80

รายงานประจำ�ปี 2554

ภาษีเงินได้ – การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม่ ภาษีเงินได้ – การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น รายได้ – รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา


มาตรฐานการบัญชีข้างต้นไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินนี้ ยกเว้นมาตรฐานการบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ (ถือปฏิบัติก่อนวันที่มีผลบังคับใช้) มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการระบุผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดจากความแตกต่างของมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินระหว่างเกณฑ์ทางบัญชี และภาษีอากร เพื่อรับรู้ผลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด ซึ่งมาตรฐานการบัญชี ดังกล่าวมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เลือกที่จะใช้นโยบายการบัญชีดังกล่าวในปีปัจจุบันและปรับย้อนหลังงบการเงินของปีก่อนที่แสดง เปรียบเทียบเสมือนหนึง่ ว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลกระทบทางภาษีเป็นสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมาโดยตลอด ผลสะสม ของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกิจการได้รับบริการจ้างงานจากพนักงานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการจะต้องประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานเนื่องจากเกษียณอายุ โดยใช้การค�ำนวณตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลประโยชน์ที่ให้กับพนักงานดังกล่าวเมื่อเกิดรายการ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวในปีปัจจุบันและรับรู้หนี้สินในช่วงที่เปลี่ยนแปลงโดยปรับย้อนหลังเสมือนว่า ได้บันทึกค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาโดยตลอด ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว แสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ก�ำหนดให้กิจการเลือกบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยวิธีราคาทุน (ต้องเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน) หรือด้วยวิธมี ลู ค่ายุตธิ รรม ซึง่ การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมให้รบั รูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุน เดิมบริษทั ฯบันทึกอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนภายใต้รายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งแสดงตามวิธีราคาทุน บริษัทฯได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีโดยจัดประเภท อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็นรายการแยกต่างหาก และบันทึกด้วยวิธีราคาทุน ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว แสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5

3.2 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในระหว่างปี การรับรู้รายได้จากการขายสินค้า – โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ปนั ส่วนมูลค่าจากรายการขายให้กบั คะแนนสะสมทีใ่ ห้แก่ลกู ค้าส�ำหรับใช้เป็นส่วนลดในการซือ้ สินค้าหรือบริการในอนาคต โดยอ้างอิงจากมูลค่ายุติธรรมของคะแนนสะสมดังกล่าว และทยอยรับรู้เป็นรายได้เมื่อลูกค้ามาใช้สิทธิและบริษัทฯและบริษัทย่อยได้ปฏิบัติ ตามสัญญาภาระผูกพันที่จะจัดหารางวัลนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเสมือนว่าได้ใช้นโยบายการบัญชีดังกล่าวมาโดยตลอด ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 สินค้าคงเหลือ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ค�ำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือใหม่ โดยได้มีการปันส่วนเงินที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการซื้อสินค้า เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนสินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นปี บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ปรับย้อนหลังงบการเงินเสมือนว่าได้ใช้นโยบายการบัญชีดังกล่าวมาโดยตลอด ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีดังกล่าวแสดงอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5

รายงานประจำ�ปี 2554

81


3.3 ผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีใหม่และการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในระหว่างปี (หน่วย: พันบาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

ภาษีเงินได้

(92,376)

(64,263)

(249,311)

(65,715)

ผลประโยชน์ของพนักงาน

(20,691)

(21,582)

(19,515)

(21,582)

การรับรู้รายได้จากการขายสินค้า – โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

(40,134)

896

(40,134)

896

(227,212)

14,143

(221,377)

13,394

(380,413)

(70,806)

(530,337)

(73,007)

ก�ำไรเพิ่มขึ้น (ลดลง)

สินค้าคงเหลือ

4. มาตรฐานการบัญชีใหม่ที่ยังไม่มีผลบังคับใช้

สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10

การบัญชีส�ำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล – กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมด�ำเนินงาน

ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเชื่อว่ามาตรฐานการบัญชีข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่องบการเงินเมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ

5. ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในระหว่างปี

ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เนื่องจาก บริษัทฯและบริษัทย่อยน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ และได้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ผลสะสมของ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าวแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ผลสะสมต่อก�ำไรสะสมต้นปี 2554 และ 2553 จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการน�ำมาตรฐานการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติ และ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทฯและบริษัทย่อย และมีการปรับย้อนหลังงบการเงิน ประกอบด้วย (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553

2554

2553

(133,724)

(137,916)

(133,724)

(137,916)

(13,053)

(13,949)

(13,053)

(13,949)

(498,512)

(512,654)

(481,360)

(494,753)

288,232

360,145

275,148

348,514

(357,057)

(304,374)

(352,989)

(298,104)

ก�ำไรสะสมต้นปีเพิ่มขึ้น (ลดลง) ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเรื่อง: ผลประโยชน์ของพนักงาน การรับรู้รายได้จากการขายสินค้า – โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า สินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้ รวม

82

รายงานประจำ�ปี 2554


จ�ำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่มีผลกระทบต่อรายการในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้

งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์เพิ่มขึ้น (ลดลง) สินค้าคงเหลือ

(498,512)

(481,360)

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

7,977,774

6,881,132

(7,977,774)

(6,881,132)

358,832

345,748

(139,680)

(135,612)

13,053

13,053

133,724

133,724

70,600

70,600

(357,057)

(352,989)

(139,680)

(135,612)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น (ลดลง) หนี้สินหมุนเวียนอื่น ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ก�ำไรสะสม – ยังไม่ได้จัดสรร

งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบก�ำไรขาดทุน/งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้เพิ่มขึ้น (ลดลง) รายได้จากการขายสินค้า

(377,320)

(377,320)

รายได้ค่าเช่าและบริการ

(15,002)

(24,774)

รายได้อื่น

(7,251,469)

(6,999,525)

รายได้ลดลงสุทธิ

(7,643,791)

(7,401,619)

ต้นทุนขาย

5,730,686

5,478,067

ค่าใช้จ่ายในการขาย

2,040,255

2,034,355

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

(133,693)

(118,095)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

(64,263)

(65,715)

ค่าใช้จ่ายลดลงสุทธิ

7,572,985

7,328,612

(70,806)

(73,007)

17,854

17,854

(52,952)

(55,153)

(0.07)

(0.07)

ค่าใช้จ่ายลดลง (เพิ่มขึ้น)

ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ลดลง ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเพิ่มขึ้น (ลดลง) ผลก�ำไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย – สุทธิจากภาษี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ลดลง ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท)

รายงานประจำ�ปี 2554

83


6. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ

6.1 การรับรู้รายได้

รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมือ่ บริษัทฯและบริษัทย่อยได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีนยั ส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้กับผูซ้ ื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบก�ำกับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ส�ำหรับสินค้าที่ได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้จากการขายสินค้า – โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดให้มีโปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า โดยจะให้คะแนนสะสมแก่ลูกค้าที่ซื้อสินค้าหรือบริการจากกิจการ ซึ่งสามารถน�ำไป ใช้เป็นส่วนลดในสินค้าหรือบริการในอนาคต บริษัทฯและบริษัทย่อยปันส่วนมูลค่าจากรายการขายให้กับคะแนนสะสม ด้วยมูลค่ายุติธรรมของคะแนนสะสมดังกล่าว และทยอยรับรู้เป็นรายได้ เมื่อลูกค้ามาใช้สิทธิและกิจการได้ปฏิบัติตามสัญญาภาระผูกพันที่จะจัดหารางวัลนั้น รายได้ค่าเช่าและบริการ บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการให้เช่าพื้นที่และการให้บริการที่เกี่ยวข้องตามแต่ละงวดที่ได้ให้บริการตามระยะเวลาของสัญญา ให้เช่าและบริการ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยค�ำนึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล

6.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนดจ่ายคืนภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มา และไม่มีข้อจ�ำกัดในการเบิกใช้

6.3 ลูกหนี้การค้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารค้าแสดงมูลค่าตามจ�ำนวนมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญส�ำหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจ เกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้

6.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ทั้งนี้ ต้นทุนของสินค้าคงเหลือจะแสดงสุทธิจาก ส่วนของเงินที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการซื้อสินค้า

6.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน

6.6 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยบั น ทึ ก มู ล ค่ า เริ่ ม แรกของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น ในราคาทุ น ซึ่ ง รวมต้ น ทุ น การท� ำ รายการ หลั ง จากนั้ น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนค�ำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ภายใน 20 – 30 ปี หรือตาม อายุสัญญาเช่า ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินที่ได้รับสุทธิจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน ในงวดที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี บริษัทฯเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

84

รายงานประจำ�ปี 2554


6.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน 5 – 20 ปี ส่วนปรับปรุงสิทธิการเช่า 5 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร อาคารและส่วนปรับปรุงอาคารบนที่ดินเช่า 5 ปี และ 30 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ 3 – 20 ปี ระบบสาธารณูปโภค 5 ปี และ 20 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 20 ปี ยานพาหนะ 5 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้างและโครงการระหว่างพัฒนา ในไตรมาสที่ 1 และ 2 ของปี 2554 บริษทั ย่อยและบริษทั ฯตามล�ำดับได้ทำ� การทบทวนอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์เพือ่ ให้สะท้อนรูปแบบของ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตทีบ่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยคาดว่าจะได้รบั ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ดำ� เนินการเปลีย่ นแปลงอายุการให้ประโยชน์ ของสินทรัพย์ โดยใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป

ส่วนปรับปรุงสิทธิการเช่า

อายุการให้ประโยชน์เดิม

อายุการให้ประโยชน์ที่ทบทวนใหม่

5 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี

ตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี

5 – 20 ปี

30 ปี

ตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 20 ปี

ตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี

5 ปี

ตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 30 ปี

5 ปี และ 20 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 20 ปี

20 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่าแต่ไม่เกิน 20 ปี

อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร อาคารบนที่เช่า ส่วนปรับปรุงอาคารบนที่เช่า ระบบสาธารณูปโภค

การเปลี่ยนแปลงนี้ท�ำให้บริษัทฯและบริษัทย่อยมีก�ำไรส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 887 ล้านบาท (1.11 บาทต่อหุ้น) (เฉพาะของบริษัทฯ: ก�ำไรเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 336 ล้านบาท (0.42 บาทต่อหุ้น)) บริษัทฯ และบริษัทย่อยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจ�ำหน่ายสินทรัพย์หรือคาดว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนาคตจากการใช้หรือการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์จะรับรูใ้ นส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนเมือ่ บริษทั ฯ ตัดรายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี

6.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน บริษัทฯบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการรวมธุรกิจตามมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์นั้น ณ วันที่ซื้อธุรกิจ ส่วนสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่ได้มาจากการอื่น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์นั้นตามราคาทุน และภายหลังการรับรู้รายการเริ่มแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จ�ำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของ สินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวน ระยะเวลาการตัดจ�ำหน่ายและวิธีการตัดจ�ำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วน ของก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีอายุการใช้ประโยชน์ 5 ปี

รายงานประจำ�ปี 2554

85


6.9 การรวมธุรกิจและค่าความนิยม บริษัทฯบันทึกบัญชีสำ� หรับการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบัติตามวิธีซื้อ บริษัทฯ (ผู้ซื้อ) วัดมูลค่าต้นทุนการซื้อธุรกิจด้วยผลรวมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ ซึ่งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ และจ�ำนวนของส่วนของผู้ที่ไม่มีอำ� นาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง ผู้ซื้อจะวัดมูลค่า ส่วนของผู้ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม (ถ้ามี) ในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ โดยผู้ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมนั้น บริษัทฯบันทึกต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อธุรกิจเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่ต้นทุนดังกล่าวเกิดขึ้นและเมื่อได้รับบริการ บริษัทฯบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา บริษัทฯแสดงค่าความนิยมตามราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมและจะทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกปีหรือเมื่อใดก็ตามที่มีข้อบ่งชี้ ของการด้อยค่าเกิดขึ้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการทดสอบการด้อยค่า บริษัทฯจะปันส่วนค่าความนิยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิจการให้กับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด (หรือกลุ่มของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด)ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และบริษัทฯจะท�ำการประเมินมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแต่ละรายการ (หรือกลุ่มของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด) หากมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี บริษัทฯจะรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของก�ำไรหรือ ขาดทุน และบริษัทฯไม่สามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าได้ในอนาคต

6.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำ� นาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯควบคุมไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรง หรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งท�ำให้มีอิทธิพล อย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารส�ำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำ� นาจในการวางแผนและควบคุมการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ

6.11 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตาม สัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต�ำ่ กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึก ในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของ สินทรัพย์ที่เช่า จ�ำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า

6.12 สิทธิการเช่า บริษัทฯและบริษัทย่อยตัดจ�ำหน่ายสิทธิการเช่าโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า

6.13 เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ใน สกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน

86

รายงานประจำ�ปี 2554


6.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่น ของบริษัทฯและบริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า และจะท�ำการประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นรายปี บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต�ำ่ กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่ คาดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมิน มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯและบริษัทย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และค�ำนวณคิดลด เป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่ก�ำลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้แบบจ�ำลอง การประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจ�ำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนใน การจ�ำหน่าย โดยการจ�ำหน่ายนัน้ ผูซ้ อื้ กับผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะ ของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีข้อบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อนได้หมดไปหรือ ลดลง บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์นั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ใน งวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ก�ำหนดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนภายหลังจากการรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าครั้งล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควรจะเป็นหากกิจการ ไม่เคยรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ในงวดก่อนๆ บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สินทรัพย์โดยรับรู้ไปยังส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนทันที เว้นแต่สินทรัพย์นั้นแสดงด้วยราคาที่ตีใหม่ การกลับรายการส่วนที่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชี ที่ควรจะเป็นถือเป็นการตีราคาสินทรัพย์เพิ่ม

6.15 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯและ บริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัทฯและบริษัทย่อย เงินที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีภาระส�ำหรับเงินชดเชยทีต่ อ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง่ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยถือว่า เงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานส�ำหรับพนักงาน บริษัทฯและบริษัทย่อยค�ำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ท�ำการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลก�ำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial gains and losses) ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เป็นครั้งแรกบริษัทฯและบริษัทย่อยเลือกรับรู้หนี้สินในช่วง การเปลี่ยนแปลงที่มากกว่าหนี้สินที่รับรู้ ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยปรับย้อนหลังเสมือนว่าได้บันทึกค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ ของพนักงานตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาโดยตลอด

รายงานประจำ�ปี 2554

87


6.16 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯและบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็น ไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพือ่ ปลดเปลือ้ งภาระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯและบริษทั ย่อยสามารถ ประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ

6.17 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทฯและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยค�ำนวณจากก�ำไรทางภาษี ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ณ วันสิน้ รอบระยะ เวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ โดยใช้อตั ราภาษีทมี่ ผี ลบังคับใช้อยูห่ รือคาดการณ์ได้คอ่ นข้างแน่วา่ จะมีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงานของปีที่สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะได้ใช้ประโยชน์หรือปีที่ต้องจ่ายช�ำระหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีจะถูกรับรู้ทุกรายการยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของค่าความนิยมหรือเกิดจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและไม่ส่งผลกระทบต่อก�ำไรทางบัญชีและก�ำไรหรือขาดทุนทางภาษี

• หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษีทเี่ กีย่ วข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีก่ จิ การสามารถควบคุมระยะ

เวลาในการกลับรายการของผลแตกต่างชั่วคราว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่มีการกลับรายการของผลแตกต่างชั่วคราวในอนาคต อันใกล้

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกรับรูส้ ำ� หรับผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษี และผลขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ในจ�ำนวนเท่าทีม่ คี วามเป็น ไปได้คอ่ นข้างแน่ทบี่ ริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีและผลขาดทุน ทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น ยกเว้นกรณีดังต่อไปนี้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย์หรือหนี้สินที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและไม่ส่งผลกระทบต่อ ก�ำไรทางบัญชีและก�ำไรหรือขาดทุนทางภาษี

• สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีทเี่ กีย่ วข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยจะถูกรับรูเ้ มือ่ มีความเป็นไป

ได้คอ่ นข้างแน่วา่ จะมีการกลับรายการของผลแตกต่างชัว่ คราวในอนาคตอันใกล้และจะมีกำ� ไรทางภาษีเพียงพอทีจ่ ะน�ำผลแตกต่างชัว่ คราวมาใช้ ประโยชน์ได้

บริษัทฯและบริษัทย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะท�ำการปรับลด มูลค่าตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯและบริษัทย่อยจะไม่มีก�ำไรทางภาษีเพียงพอต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ นอกจากนี้บริษัทฯและบริษัทย่อยจะประเมินสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ยังไม่ได้ รับรู้ใหม่ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะท�ำการรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่ยังไม่ได้รับรู้นั้นได้ตามจ�ำนวนที่มีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ว่าจะมีกำ� ไรทางภาษีในอนาคตที่จะท�ำให้ได้รับประโยชน์ในอนาคตในสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีดังกล่าว บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกรายการภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ หากภาษีทเี่ กิดขึน้ เกีย่ วข้องกับรายการทีไ่ ด้บนั ทึก โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจะน�ำรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและรายการหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมาหักกลบกัน หากบริษัทฯ และบริษทั ย่อยมีสทิ ธิตามกฎหมายในการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้ปจั จุบนั และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้ปจั จุบนั มาหักกลบกัน และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี นั้นเกี่ยวข้องกับหน่วยภาษีเดียวกันและหน่วยงานจัดเก็บภาษีเงินได้เป็นหน่วยงานเดียวกัน

88

รายงานประจำ�ปี 2554


ผลประโยชน์ทางภาษีที่ได้มาจากการรวมธุรกิจอาจจะไม่เข้าเงื่อนไขในการแยกรับรู้ในวันที่มีการซื้อธุรกิจ แต่ในภายหลังอาจจะรับรู้ผลประโยชน์ ทางภาษีได้ถ้าบริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับข้อมูลใหม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงและสถานการณ์ที่มีอยู่ ณ วันที่ซื้อธุรกิจ โดยน�ำไปปรับลดมูลค่าตามบัญชี ของค่าความนิยม (ตราบเท่าที่ยังไม่เกินจ�ำนวนค่าความนิยม) ถ้ายังอยู่ในช่วงระยะเวลาในการวัดมูลค่า (Measurement period) หรือรับรู้ในก�ำไร หรือขาดทุน

6.18 ตราสารอนุพันธ์ บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบแสดงฐานะการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็งก�ำไร หรือเพื่อการค้า ยกเว้นเพื่อป้องกันความเสี่ยง บริษัทฯได้เข้าท�ำรายการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดเพื่อป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวน ของกระแสเงินสดที่อาจเกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของรายการคาดการณ์จากการซื้อธุรกิจ โดยใช้ตราสารอนุพันธ์ทาง การเงิน คือ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า บริษัทฯรับรู้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ดังกล่าวเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ท�ำสัญญา และวัดมูลค่าใหม่ในภายหลัง ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่เริ่มท�ำการป้องกันความเสี่ยง บริษัทฯมีการจัดท�ำเอกสารซึ่งระบุถึงความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยงที่บริษัทฯต้องการน�ำการบัญชี ป้องกันความเสี่ยงมาใช้ วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง และกลยุทธ์ในการป้องกันความเสี่ยง ทั้งนี้รวมถึงมีการระบุตราสารอนุพันธ์ทาง การเงินที่ใช้ในการป้องกันความเสี่ยง รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ลักษณะของความเสี่ยงที่จะป้องกัน และวิธีประเมินประสิทธิผลของ การป้องกันความเสี่ยง บริษัทฯได้ท�ำการประเมินประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องเพื่อพิจารณาว่าการป้องกันความเสี่ยงนั้นมีประสิทธิผลสูงตลอดงวดที่ เสนอรายงานทางการเงินที่การป้องกันความเสี่ยงถูกน�ำมาใช้ ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ที่ถูกระบุเพื่อป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดในส่วนที่ถูก ทดสอบว่ามีประสิทธิผลสูงตามเงื่อนไขของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงจะถูกบันทึกไว้ในส่วนของเจ้าของ บริษัทฯรับรู้ผลก�ำไรหรือขาดทุนส่วน ที่ไม่มีประสิทธิผลในก�ำไรหรือขาดทุนทันที บริษัทฯจะโอนรายการส่วนที่รับรู้ในส่วนของเจ้าของไปยังก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อมีการรับรู้รายการที่มี การป้องกันความเสี่ยงในก�ำไรหรือขาดทุน ส�ำหรับตราสารอนุพันธ์ทางการเงินที่ไม่เข้าเงื่อนไขของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง บริษัทฯรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินด้วย มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ท�ำสัญญา และวัดมูลค่าใหม่ในภายหลังด้วยมูลค่ายุติธรรม ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของตราสารอนุพันธ์นั้นจะถูกบันทึกในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

7. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ

ในการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจ�ำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่ เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจ�ำนวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่ส�ำคัญมีดังนี้

7.1 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น

7.2 ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ ในการประมาณค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากสินค้า คงเหลือนัน้ โดยค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั พิจารณาจากราคาทีค่ าดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จา่ ยในการขายสินค้า นั้น และค่าเผื่อส�ำหรับสินค้าเก่าล้าสมัย เคลื่อนไหวช้าหรือเสื่อมคุณภาพพิจารณาจากอายุโดยประมาณของสินค้าแต่ละชนิด จ�ำนวนค่าเผื่อการ ลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือที่ประมาณได้ เมื่อน�ำมาเปรียบเทียบกับจ�ำนวนเดิมที่มีในบัญชี ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือทั้งที่ลดลง และเพิ่มขึ้นจะแสดงเป็นค่าใช้จ่ายภายใต้หัวข้อต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการขายและบริการในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุน

รายงานประจำ�ปี 2554

89


7.3 สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประเมินเงือ่ นไขและ รายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

7.4 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

7.5 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา

ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารต้อง ใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจ�ำลองการประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ใน แบบจ�ำลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยค�ำนึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของ เครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งาน ของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหาก คาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

7.6 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ในการค�ำนวณค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องท�ำการประมาณอายุการให้ประโยชน์ของอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์ใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหาก คาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

7.7 ค่าความนิยม และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหารจ�ำเป็น ต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือ หน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลด ที่เหมาะสมในการค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้น ๆ

7.8 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีใน อนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้นนั้ ในการนีฝ้ า่ ยบริหารจ�ำเป็นต้องประมาณการว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ ำ� นวน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นจ�ำนวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา

7.9 ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ใน การประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจ�ำนวนพนักงาน เป็นต้น

7.10 คดีฟ้องร้อง บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูก ฟ้องร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะชนะคดี อย่างไรก็ตาม เพื่อความรอบคอบ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณการหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะ เวลารายงาน

7.11 การรับรู้และการตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สิน ในการพิจารณาการรับรูห้ รือตัดรายการสินทรัพย์และหนีส้ นิ ฝ่ายบริหารต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการพิจารณาว่าบริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้โอนความเสีย่ ง และผลประโยชน์ในสินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวแล้วหรือไม่ โดยใช้ดุลยพินิจบนพื้นฐานของข้อมูลที่ดีที่สุดที่รับรู้ได้ในสภาวะปัจจุบัน 90

รายงานประจำ�ปี 2554


8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

เงินสด

1,256,294

1,085,580

889,229

1,032,890

เงินฝากธนาคาร

6,165,277

1,846,220

3,812,012

1,838,353

2,200,000

2,200,000

7,421,571

5,131,800

4,701,241

5,071,243

เงินฝากประจ�ำ (อายุไม่เกิน 3 เดือน) รวม

2554

2553

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินฝากออมทรัพย์ มีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.10 ถึง 2.50 ต่อปี (2553: ร้อยละ 0.10 ถึง 1.25 ต่อปี)

9. ลูกหนี้การค้า (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

123,094

81,816

2,628,200

460,369

3,153

561

853,463

187,021

3 – 6 เดือน

184

16

8,976

316

6 – 12 เดือน

102

409

180

434

2,298

2,416

3,478

3,633

128,831

85,218

3,494,297

651,773

145,461

94,546

60,689

91,235

312

312

312

312

145,773

94,858

61,001

91,547

(312)

(312)

(312)

(312)

รวมลูกหนี้การค้า – กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน – สุทธิ

145,461

94,546

60,689

91,235

รวมลูกหนี้การค้า – สุทธิ

274,292

179,764

3,554,986

743,008

ลูกหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 10) อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ: ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน

มากกว่า 12 เดือน รวมลูกหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้การค้า – กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ: ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

รายงานประจำ�ปี 2554

91


10. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า และเกณฑ์ที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยบริษัทฯมีนโยบายในการก�ำหนดราคาส�ำหรับ รายการค้าระหว่างกันดังต่อไปนี้คือ 1. รายได้จากการขายและต้นทุนสินค้าก�ำหนดโดยราคาที่ตกลงร่วมกันในกลุ่มบริษัท 2. รายได้และค่าใช้จ่ายจากการเช่า/ให้เช่าทรัพย์สินและบริการก�ำหนดราคาโดยราคาตามสัญญาที่ตกลงร่วมกันซึ่งเป็นไปตามราคาตลาด 3. รายได้ค่าบริการการจัดการและรายจ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการก�ำหนดโดยราคาที่ตกลงร่วมกันในกลุ่มบริษัทและ/หรือราคาตลาด 4. อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมและเงินกู้ยืมก�ำหนดจากอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราที่ธนาคารพาณิชย์คิดกับลูกค้าทั่วไป 5. เงินปันผลรับจะรับรู้เป็นรายได้เมื่อประกาศจ่าย

รายการธุรกิจที่ส�ำคัญระหว่างบริษัทฯและบริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม

2554

2553

2554

2553

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการบริหารสินค้า รายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินและบริการ ดอกเบี้ยรับ ค่าธรรมเนียมการจัดการรับ เงินปันผลรับ (หมายเหตุ 15.3) ซื้อสินค้า ค่าเช่าและค่าบริการจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย ค่าบริหารสินค้า

– – – – – – – – – –

– – – – – – – – – –

8,191 120 4 190 242 1,849 601 469 196 –

1,966 29 7 – – 413 63 465 32 13

รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายได้อื่น รายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินและบริการ ซื้อสินค้า ค่าเช่าและค่าบริการจ่าย ค่าธรรมเนียมการจัดการและค่าใช้จ่ายอื่น ค่าที่ปรึกษาทางภาษีอากร

120 360 28 231 154 2

84 263 24 227 120 1

119 255 24 208 153 2

83 240 22 202 120 1

ยอดคงค้างของรายการข้างต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม

92

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

ลูกหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 9) บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน) รวมลูกหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

– 128,831 128,831

เจ้าหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 22) บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีผู้ถือหุ้นร่วมกัน) รวมเจ้าหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

– 190,907 190,907

รายงานประจำ�ปี 2554

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553

– 85,218 85,218

3,380,066 114,231 3,494,297

568,471 83,302 651,773

– 151,267 151,267

1,752,356 176,904 1,929,260

101,569 134,374 235,943


เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยและเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยและเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมและ เงินกู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือ การเคลื่อนไหวในระหว่างปี ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น ลดลง 31 ธันวาคม 2554 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด

44,425

(44,425)

บริษัท อุดร บิ๊กซี จ�ำกัด

13,409

(13,409)

75

1,604,742

(1,604,771)

46

110

2,029,667

(2,029,433)

344

บริษัท พิษณุโลก บิ๊กซี จ�ำกัด บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จ�ำกัด บริษัท สุราษฎร์ บิ๊กซี จ�ำกัด

8,244

(8,244)

บริษัท เทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด

15,299

(15,299)

บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด

1,957

12,650

(12,650)

บริษัท พระราม 2 บิ๊กซี จ�ำกัด

1,237

(1,237)

บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด

1,966

(1,966)

บริษัท เซ็นทรัลพัทยา จ�ำกัด

8,186

(8,186)

บริษัท อินทนนท์แลนด์ จ�ำกัด

12,759

(12,759)

บริษัท บิ๊กซี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด

32

(32)

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด

10,769,933

(10,267,799)

502,134

บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด

185,885

(92,285)

93,600

บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด

15,695,015

(11,494,333)

4,200,682

รวมเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย

2,142

30,403,449

(25,606,828)

4,798,763

บริษัท เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด

380,619

282,093

(152,103)

510,609

บริษัท สุราษฎร์ บิ๊กซี จ�ำกัด

126,050

31,220

(17,253)

140,017

บริษัท เทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด

1,492,212

1,972,555

(2,255,967)

1,208,800

บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด

138,104

51,245

(26,772)

162,577

3,356

3,973

(3,914)

3,415

309,828

6,698

(4,227)

312,299

1,957

เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย

บริษัท บิ๊กซี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด บริษัท พิษณุโลก บิ๊กซี จ�ำกัด

144

(99)

45

บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จ�ำกัด

441

(338)

103

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด

5,303,470

(5,093,568)

209,902

บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด

726

(553)

173

บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด

7,286,770

(7,267,296)

19,474

2,450,169

14,939,335

(14,822,090)

2,567,414

รวมเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย

รายงานประจำ�ปี 2554

93


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

(ปรับปรุงใหม่) ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

2553 (ปรับปรุงใหม่)

886

717

849

592

22

19

22

18

908

736

871

610

11. ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ 1,890,082

886,358

1,626,920

845,640

381,185

147,097

361,482

141,652

3 – 6 เดือน

35,194

6,849

26,003

6,504

6 – 12 เดือน

37,615

9,720

12,079

8,435

122,417

35,199

17,438

28,732

รวม

2,466,493

1,085,223

2,043,922

1,030,963

หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

(210,537)

(57,719)

(59,751)

(49,558)

รวมลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ – สุทธิ

2,255,956

1,027,504

1,984,171

981,405

ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ ค้างช�ำระ ไม่เกิน 3 เดือน

มากกว่า 12 เดือน

ในระหว่างปี 2554 บริษัทฯได้น�ำลูกหนี้จ�ำนวนเงิน 550 ล้านบาท (2553: 219 ล้านบาท) ไปขายลดแก่สถาบันการเงิน โดยสถาบันการเงินดังกล่าว ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยบริษัทฯ และบริษัทฯได้ตัดรายการลูกหนี้ดังกล่าวออกจากงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

94

รายงานประจำ�ปี 2554


12. สินค้าคงเหลือ งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้เป็น มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

ราคาทุน 2554

2553

2554

2553

(หน่วย: พันบาท) สินค้าคงเหลือ–สุทธิ 2554

(ปรับปรุงใหม่) สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างทาง รวม

9,246,820

5,362,151

225,545

77,306

9,472,365

5,439,457

(ปรับปรุงใหม่) (531,254)

(310,485)

8,715,566

5,051,666

225,545

77,306

(531,254)

(310,485)

8,941,111

5,128,972

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให้เป็น มูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

ราคาทุน 2554

2553

2554

2553

(หน่วย: พันบาท) สินค้าคงเหลือ–สุทธิ 2554

(ปรับปรุงใหม่) สินค้าส�ำเร็จรูป สินค้าระหว่างทาง รวม

6,463,691

5,181,045

158,525

73,297

6,622,216

5,254,342

2553

2553 (ปรับปรุงใหม่)

(361,808)

(295,058)

6,101,883

4,885,987

158,525

73,297

(361,808)

(295,058)

6,260,408

4,959,284

13. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

677,229

465,803

607,872

465,321

1,060,422

289,980

789,943

289,980

สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์

201,539

ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี

84,014

ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน เงินชดเชยจากการประกันความเสียหายค้างรับ (หมายเหตุ 13.1)

อื่น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

– 84,014

201,539 –

186,048

76,612

129,886

67,299

2,007,713

1,033,934

1,611,715

1,024,139

รายงานประจำ�ปี 2554

95


13.1 เงินชดเชยจากการท�ำประกันความเสียหายค้างรับ สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง เนื่องจากความไม่สงบทางการเมืองในกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม 2553 สาขาแห่งหนึ่งของบริษัทฯได้รับความ เสียหายจากเหตุการณ์ไฟไหม้เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 เป็นจ�ำนวนเงินโดยประมาณ 1,478 ล้านบาท ซึง่ สามารถแบ่งเป็นความเสียหายของ สินทรัพย์ถาวร 946 ล้านบาท (สุทธิจากส่วนทีย่ งั ไม่ได้เรียกชดเชยจากประกันภัย) สินค้า 96 ล้านบาท การหยุดชะงักทางธุรกิจ 352 ล้านบาท และอืน่ ๆ 84 ล้านบาท ความเสียหายทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้นนัน้ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯมีความเชือ่ มัน่ ว่า การท�ำประกันภัยของบริษทั ฯทีม่ อี ยูส่ ามารถครอบคลุมความเสียหาย ที่เกิดขึ้นได้ทั้งจ�ำนวน ดังนั้นบริษัทฯจึงได้รับรู้รายได้จากการชดเชยความเสียหายนี้ไว้ในงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน ในระหว่างปี 2553 และ 2554 บริษัทฯได้รับเงินชดเชยจากการประกันภัยเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 401 ล้านบาท และ 662 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยบันทึกเป็นส่วนหักจากบัญชีเงินชดเชยจากการประกันความเสียหายค้างรับในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2554 สถานการณ์น�้ำท่วม เนือ่ งจากเหตุการณ์น�้ำท่วมอย่างรุนแรงในหลายจังหวัดในระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 ศูนย์กระจายสินค้าจ�ำนวน 4 แห่ง สาขาขนาดใหญ่ 5 แห่ง และสาขาขนาดเล็กจ�ำนวน 15 แห่งของบริษัทฯและบริษัทย่อยได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมดังกล่าว เป็นจ�ำนวนเงินโดยประมาณ 645 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 375 ล้านบาท) ซึ่งสามารถแบ่งเป็นความเสียหายของสินค้า 105 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 54 ล้านบาท) การหยุดชะงักทางธุรกิจ 457 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 238 ล้านบาท) และอืน่ ๆ 83 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ: 83 ล้านบาท) ในปัจจุบนั ศูนย์กระจายสินค้าจ�ำนวน 3 แห่ง สาขาขนาดใหญ่ 5 แห่ง และสาขาขนาดเล็ก 13 แห่ง ของบริษัทฯและบริษัทย่อยได้เปิดด�ำเนินการ ตามปกติแล้ว ความเสียหายทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้นนัน้ ฝ่ายบริหารของบริษทั ฯมีความเชือ่ มัน่ ว่า การท�ำประกันภัยของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยทีม่ อี ยูส่ ามารถครอบคลุม ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ทั้งจ�ำนวน ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงได้รับรู้รายได้จากการชดเชยความเสียหายนี้ไว้ในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554

14. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

2554

2553

ค่าบริการจ่ายล่วงหน้า

174,028

180,850

174,028

180,850

เงินประกันการเช่า

106,494

39,084

63,592

39,084

เงินมัดจ�ำ

58,823

57,451

58,742

57,451

อื่น ๆ

30,495

28,799

24,457

28,799

369,840

306,184

320,819

306,184

รวมสินทรัพย์หมุนไม่เวียนอื่น

15. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

15.1 การซื้อบริษัทย่อยในระหว่างปี เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯได้เข้าท�ำสัญญาซื้อกิจการโดยการซื้อหุ้นในบริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด และ บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท เซ็นคาร์”) จากบริษัท คาร์ฟูร์ เนเดอร์แลนด์ บีวี และ บริษัท มิสดิว บีวี โดยมีวัตถุประสงค์ในการเข้าซื้อกิจการเพื่อเพิ่มเครือข่ายสาขาในกรุงเทพฯและปริมณฑล ขยายรูปแบบธุรกิจที่ผสมผสานระหว่างธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจให้เช่าพื้นที่ไว้ด้วยกัน สร้างผลประโยชน์ส่วนเพิ่มให้แก่ธุรกิจปัจจุบันของบริษัทฯ และขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่

96

รายงานประจำ�ปี 2554


เมื่ อ วั น ที่ 5 มกราคม 2554 ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ครั้ ง ที่ 1/2554 ได้ มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารเข้ า ซื้ อ หุ ้ น สามั ญ จ� ำ นวนร้ อ ยละ 100 ของ กลุ่มบริษัท เซ็นคาร์ โดยเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2554 (วันที่ซื้อ) บริษัทฯได้จ่ายช�ำระเงินซื้อธุรกิจดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงิน 851 ล้านยูโร (คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 34,030 ล้านบาท) และจ่ายช�ำระหนี้สินจ�ำนวนเงิน 5,913 ล้านบาท แก่สถาบันการเงินแทนบริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด และ บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ตามเงื่อนไขที่กำ� หนดไว้ในสัญญาซื้อกิจการ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2554 บริษัทฯได้ลงนามในสัญญาการจ่ายช�ำระหนี้เนื่องจากการปรับปรุงราคาซื้อธุรกิจเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 6 ล้านยูโร หรือเทียบเท่าประมาณ 255 ล้านบาท (อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันซื้อกิจการ 39.6671 บาทต่อยูโร) บริษัทฯได้จ่ายช�ำระเงินดังกล่าว แล้วเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2554 บริษทั ฯได้ดำ� เนินการให้มกี ารวัดมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทรี่ ะบุได้ทไี่ ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ณ วันซือ้ กิจการ โดยการวัดมูลค่านีไ้ ด้เสร็จสมบูรณ์ แล้วในไตรมาสที่ 4 ของปี 2554 ซึง่ อยูภ่ ายในระยะเวลาในการวัดมูลค่า 12 เดือนนับจากวันทีซ่ อื้ กิจการตามทีก่ ำ� หนดไว้ในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) ทั้งนี้ภายในระยะเวลาวัดมูลค่าดังกล่าว บริษัทฯได้รับข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และ หนีส้ นิ ส่วนหนึง่ เพิม่ เติมและได้ทำ� การปรับย้อนหลังมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันซือ้ กิจการโดยท�ำให้บริษทั ฯมีทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 4,228 ล้านบาท สิทธิการเช่าลดลงเป็นจ�ำนวนประมาณ 591 ล้านบาท สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชีเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 255 ล้านบาท ประมาณการหนี้สินระยะสั้นเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 51 ล้านบาท และหนี้สิน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 1,268 ล้านบาท มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทรี่ ะบุได้ทไี่ ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ณ วันซือ้ กิจการของกลุม่ บริษทั เซ็นคาร์ เป็นดังนี้ (หน่วย: พันบาท) เงินสดและเงินฝากธนาคาร 2,929,940 ลูกหนี้การค้า 69,195 สินค้าคงเหลือ 1,956,188 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 620,469 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 6,624,673 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 6,676,499 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 107,174 สิทธิการเช่า 1,929,143 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 434,572 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 51,136 เจ้าหนี้การค้า (4,544,225) เงินกู้ยืมจากบริษัทฯ (5,913,427) ประมาณการหนี้สินระยะสั้น (72,719) หนี้สินหมุนเวียนอื่น (1,299,166) หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (1,268,368) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น (377,382) สินทรัพย์สุทธิจากการซื้อบริษัทย่อย 7,923,702 เงินจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย 34,285,113 ค่าความนิยม 26,361,411 ต้นทุนการท�ำรายการเข้าซื้อกิจการมีจ�ำนวนทั้งสิ้นประมาณ 439 ล้านบาท ซึ่งได้แสดงภายใต้รายการ “ค่าใช้จ่ายในการซื้อธุรกิจ” ใน งบก�ำไรขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เป็นจ�ำนวนประมาณ 48 ล้านบาท และ 391 ล้านบาท ตามล�ำดับ ค่าความนิยมจ�ำนวนประมาณ 26,361 ล้านบาททีเ่ กิดขึน้ จากการรวมธุรกิจครัง้ นี้ โดยหลักประกอบไปด้วยส่วนของพลังจากการรวมกัน (Synergy) และการประหยัดจากขนาดที่คาดว่าจะเกิดจากการรวมการด�ำเนินงานของผู้ซื้อและผู้ถูกซื้อเข้าด้วยกัน กลุ่มบริษัท เซ็นคาร์ มีรายได้และก�ำไรส�ำหรับงวดตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม 2554 จนถึงวันที ่ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งรวมอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมเท่ากับประมาณ 32,564 ล้านบาทและ 1,094 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีจ�ำนวนใกล้เคียงกันหากกลุ่มบริษัท เซ็นคาร์ ถูกรวมใน การจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายงานประจำ�ปี 2554

97


15.2 การจดทะเบียนบริษัทย่อยในต่างประเทศ เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2554 บริษทั ฯได้รบั ใบอนุญาตลงทุนต่างประเทศ (Foreign Investment License: FIL) จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ให้ดำ� เนินกิจการด้านการค้าในรูปแบบค้าส่งและค้าปลีกสินค้าประเภทเครื่องอุปโภคและบริโภคในประเทศดังกล่าวเป็นระยะเวลา 30 ปี เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2554 บริษัทฯได้จดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายของ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีทุนจดทะเบียน 5 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งบริษัทฯจะถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวทั้งจ�ำนวน ต่อมาในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติการโอนเงินทุนให้กับ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือคิดเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 31 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทย่อยดังกล่าวยังไม่ได้เริ่มประกอบกิจการ

15.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนช�ำระแล้ว ชื่อบริษัท

สัดส่วนเงินลงทุน

2554 2553 ล้านบาท ล้านบาท

2554 ร้อยละ

2553 ร้อยละ

ราคาทุน 2554 พันบาท

เงินปันผลรับระหว่างปี

2553 พันบาท

2554 พันบาท

2553 พันบาท

บริษัทย่อยในประเทศ บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด

300

300

100.00

100.00

190,979

190,979

3,360

4,710

บริษัท เซ็นทรัล ซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด

1,220

1,220

100.00

100.00

1,301,998

1,301,998

78,000

67,860

บริษัท เทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด

80

80

100.00

100.00

380,137

380,137

592,123

315,981

บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด

180

180

100.00

100.00

284,994

284,994

15,660

12,780

บริษัท สุราษฎร์ บิ๊กซี จ�ำกัด

140

140

100.00

100.00

140,300

140,300

12,400

11,600

1

1

100.00

1,000

1,000

13,371,194

บริษัท บิ๊กซี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท นวครินทร์ จ�ำกัด

8,950

100.00 39.00*

1,147,647

162

49.00*

19,868,223

1

100.00

1,045,696

31

100.00

31,342

บริษัทย่อยในต่างประเทศ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย

36,615,863

2,299,408 1,849,190

412,931

* เป็นสัดส่วนที่บริษัทฯถือหุ้นโดยตรงโดยบริษัท นวครินทร์ จ�ำกัด และบริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นผู้ถือหุ้นที่นอกเหนือจากที่ บริษัทฯถือทางตรงทั้งหมด

98

รายงานประจำ�ปี 2554


16. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งเป็นที่ดินและอาคารให้เช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 : ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ

24,906,352 (9,324,076) 15,582,276

11,576,542 (3,546,549) 8,029,993

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ

11,956,486 (3,978,712) 7,977,774

9,755,520 (2,874,388) 6,881,132

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนส�ำหรับปี 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชีต้นปี โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์–สุทธิ ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี (หมายเหตุ 15.1) ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า จ�ำหน่ายสินทรัพย์ – ราคาตามบัญชี ค่าเสื่อมราคา มูลค่าตามบัญชีปลายปี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

2554

2553

7,977,774

8,061,628

6,881,132

6,900,901

951,470

724,455

6,624,673

838,824

488,471

850,609

487,029

(4,151)

(21,850)

(124)

(21,850)

(806,314)

(550,475)

(426,079)

(484,948)

15,582,276

7,977,774

8,029,993

6,881,132

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจ�ำนวนประมาณ 33,671 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 20,338 ล้านบาท) มูลค่ายุติธรรมประเมินโดยผู้ประเมินราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์วิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) ส�ำหรับที่ดินและอาคารให้เช่า ข้อสมมติฐาน หลักที่ใช้ในการประเมินราคาอาคารดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราเงินเฟ้อ อัตราพื้นที่ว่างระยะยาว และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่/มูลค่าตาม บัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ� นวน 2,597 ล้านบาท (2553: 725 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน ประมาณ 604 ล้านบาท (2553: 495 ล้านบาท))

รายงานประจำ�ปี 2554

99


100 รายงานประจำ�ปี 2554

17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ งบการเงินรวม

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

ที่ดิน

ส่วนปรับปรุง สิทธิการเช่า

(หน่วย: พันบาท)

อาคารและ ส่วนปรับปรุงอาคาร และอาคาร และส่วนปรับปรุง อาคาร เครื่องตกแต่ง บนที่ดินเช่า ติดตั้งและอุปกรณ์

ระบบ สาธารณูปโภค

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง และโครงการ ระหว่างพัฒนา

รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552

4,005,337

54,440

1,180,578

9,067,820

6,943,108

5,760,890

7,357

314,202

27,333,732

167,133

29,546

158,942

252,163

410,284

338,089

1,377,459

2,733,616

(2,466)

(29,213)

(737,496)

(122,644)

(24)

(1,277,601)

(2,169,444)

31 ธันวาคม 2553

4,172,470

83,986

1,337,054

9,290,770

6,615,896

5,976,335

7,333

414,060

27,897,904

ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี

1,077,819

7,537

352,945

5,436,548

4,078,487

3,097,245

797

3,714

14,055,092

228,809

24,418

320,353

426,718

1,586,598

516,044

522

2,279,330

5,382,792

(431,350)

(6,609)

(703,309)

(232,730)

(1,373,998)

(2,893)

(23,377)

(728,200)

(31,458)

(7,496)

(2,257,071)

(3,050,495)

5,047,748

109,332

2,007,459

14,427,350

11,552,781

9,325,436

1,156

440,033

42,911,295

31 ธันวาคม 2552

31,109

679,460

3,605,204

5,184,337

2,747,023

3,071

12,250,204

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย

9,326

99,827

547,887

728,703

350,189

1,382

1,737,314

(898)

(23,417)

(679,763)

(88,979)

(24)

(793,081)

ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย

ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสม


31 ธันวาคม 2553

40,435

778,389

4,129,674

5,233,277

3,008,233

4,429

13,194,437

ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี

4,266

104,721

1,555,566

3,383,450

2,220,046

746

7,268,795

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี

13,823

88,022

529,995

1,029,724

436,194

911

2,098,669

(2,814)

(318,337)

(101,377)

(422,528)

– –

(549) 55,161

(1,764) 969,368

(22,314) 5,874,584

(640,116) 9,006,335

(25,314) 5,537,782

(5,437) 649

– –

(695,494) 21,443,879

บันทึกเพิ่มขึ้นระหว่างปี

63,000

63,000

31 ธันวาคม 2553

63,000

63,000

ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี

75,490

6,255

28,053

109,798

บันทึกเพิ่มขึ้นระหว่างปี 31 ธันวาคม 2554

– 63,000

– –

– –

1,993 77,483

– 6,255

(7,730) 20,323

– –

– –

(5,737) 167,061

31 ธันวาคม 2553

4,109,470

43,551

558,665

5,161,096

1,382,619

2,968,102

2,904

414,060

14,640,467

31 ธันวาคม 2554

4,984,748

54,171

1,038,091

8,475,283

2,540,191

3,767,331

507

440,033

21,300,355

โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2554

ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี รายงานประจำ�ปี 2554

ปี 2553 (จ�ำนวน 4 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร) ปี 2554 (จ�ำนวน 10 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

1,737,314 2,098,669

101


102 รายงานประจำ�ปี 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

ที่ดิน

ส่วนปรับปรุง สิทธิการเช่า

(หน่วย: พันบาท)

อาคารและ ส่วนปรับปรุงอาคาร และอาคาร และส่วนปรับปรุง อาคาร เครื่องตกแต่ง บนที่ดินเช่า ติดตั้งและอุปกรณ์

ระบบ สาธารณูปโภค

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง และโครงการ ระหว่างพัฒนา

รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552

2,896,731

38,894

1,172,943

7,168,397

6,643,587

4,902,259

7,345

311,105

23,141,261

167,133

29,546

158,942

252,163

404,116

335,436

1,377,012

2,724,348

(2,466)

(29,213)

(706,312)

(122,501)

(12)

(1,277,377)

(2,137,881)

3,063,864

68,440

1,329,419

7,391,347

6,341,391

5,115,194

7,333

410,740

23,727,728

228,809

25,004

307,510

396,867

1,175,668

570,333

468

2,029,258

4,733,917

(286,130)

(5,741)

(499,559)

(180,272)

(971,702)

(2,424)

(286,325)

(4,411)

(6,700)

(2,025,481)

(2,325,341)

3,006,543

87,703

1,634,505

7,288,655

7,230,734

5,500,844

1,101

414,517

25,164,602

31 ธันวาคม 2552

17,675

674,935

2,331,725

4,904,380

2,083,545

3,060

10,015,320

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย

8,966

99,607

463,677

717,804

318,371

1,381

1,609,806

(898)

(23,417)

(648,756)

(88,837)

(12)

(761,920)

ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสม


31 ธันวาคม 2553

26,641

773,644

2,771,985

4,973,428

2,313,079

4,429

10,863,206

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี

12,280

76,618

269,515

721,819

330,594

909

1,411,735

โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/โอนออก/ตัดจ�ำหน่าย

(1,953)

(185,787)

(59,507)

(247,247)

(1,470)

(280,308)

(4,354)

(4,688)

(290,820)

31 ธันวาคม 2554

36,968

848,792

2,855,713

5,414,939

2,579,812

650

11,736,874

บันทึกเพิ่มขึ้นระหว่างปี

63,000

63,000

31 ธันวาคม 2553

63,000

63,000

1,722

1,104

2,826

63,000

1,722

1,104

65,826

31 ธันวาคม 2553

3,000,864

41,799

555,775

4,619,362

1,367,963

2,802,115

2,904

410,740

12,801,522

31 ธันวาคม 2554

2,943,543

50,735

785,713

4,431,220

1,815,795

2,919,928

451

414,517

13,361,902

ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552

บันทึกเพิ่มขึ้นระหว่างปี 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ปี 2553 (จ�ำนวน 4 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

1,609,806

ปี 2554 (จ�ำนวน 7 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนขายและบริการ ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

1,411,735

รายงานประจำ�ปี 2554 103


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชี ก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวน 12,347 ล้านบาท (2553: 5,439 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน ประมาณ 7,473 ล้านบาท (2553: 4,710 ล้านบาท))

18. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 : ราคาทุน

421,144

414,358

หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

(306,739)

(301,165)

มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ

114,405

113,193

373,784

372,669

หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

(247,689)

(247,057)

มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ

126,095

125,612

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : ราคาทุน

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนส�ำหรับปี 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

มูลค่าตามบัญชีต้นปี

126,095

157,041

125,612

156,470

ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี (หมายเหตุ 15.1)

107,174

ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า

39,546

9,763

36,447

9,697

5,242

15,233

5,242

15,233

(281,137)

(91,082)

(91,082)

ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์

(67,573)

(53,667)

(54,108)

(53,513)

ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมส�ำหรับสินทรัพย์ที่จ�ำหน่าย

185,058

88,807

88,807

มูลค่าตามบัญชีปลายปี

114,405

126,095

113,193

125,612

โอนจากงานระหว่างก่อสร้าง จ�ำหน่ายสินทรัพย์ – ราคาตามบัญชี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์ไม่มีตัวตนจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดจ�ำหน่ายหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อน หักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวนประมาณ 133 ล้านบาท (2553: 113 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวนประมาณ 133 ล้านบาท (2553: 113 ล้านบาท))

104

รายงานประจำ�ปี 2554


19. สิทธิการเช่า

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 : ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

8,643,692

4,867,268

(3,498,659)

(1,672,177)

(98,306)

(10,649)

5,046,727

3,184,442

4,862,399

4,672,608

(1,582,238)

(1,484,658)

(19,000)

(19,000)

3,261,161

3,168,950

ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553: ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม มูลค่าตามบัญชี – สุทธิ

การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิทธิการเช่าส�ำหรับปี 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

มูลค่าตามบัญชีต้นปี

3,261,161

3,251,233

3,168,950

3,152,543

ซื้อบริษัทย่อยระหว่างปี (หมายเหตุ 15.1)

1,929,143

ซื้อเพิ่ม/โอนเข้า ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ – ราคาตามบัญชี ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับสิทธิการเช่าที่ตัดจ�ำหน่าย ค่าเผื่อการด้อยค่าลดลง (เพิ่มขึ้น) มูลค่าตามบัญชีปลายปี

171,461 (674) (323,388) 673

213,806

194,660

213,807

(184,878)

(187,519)

(178,400)

8,351

(19,000)

8,351

(19,000)

5,046,727

3,261,161

3,184,442

3,168,950

รายงานประจำ�ปี 2554

105


20. ค่าความนิยม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

มูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

360,621

ค่าความนิยมของบริษัทย่อยที่ซื้อมาในระหว่างปี (รายละเอียดตามหมายเหตุ 15.1)

26,361,411

มูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

26,722,032

21. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2553 บริษัทฯได้เข้าท�ำสัญญากู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินหลายแห่ง วงเงินกู้ยืมจ�ำนวน 38,500 ล้านบาทโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจ่ายช�ำระเงินค่าซื้อธุรกิจ (ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15.1) วงเงินกู้ยืมดังกล่าวคิดดอกเบี้ยในอัตรา THBFIX 1 M บวก ร้อยละ 0.90 ต่อปี และมีกำ� หนดช�ำระคืนภายในระยะเวลา 1 ปี โดยมีสิทธิขอขยายเวลาเพิ่มเติมอีก 6 เดือน ซึ่ง ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2554 บริษัทฯได้ขอขยาย ก�ำหนดเวลาช�ำระคืนจากวันที่ 6 มกราคม 2555 เป็นวันที่ 7 กรกฎาคม 2555 เงินกู้ยืมนี้ไม่มีหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน และภายใต้เงือ่ นไขของสัญญาเงินกูย้ มื ข้างต้น บริษทั ฯจะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ทีก่ ำ� หนดในสัญญาดังกล่าว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกู้ยืมระยะสั้นดังกล่าวมียอดคงเหลือจ�ำนวน 36,500 ล้านบาท

22. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

21,015,351

14,003,920

16,755,440

13,635,815

190,907

151,267

1,929,260

235,943

เจ้าหนี้อื่น – กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

1,628,353

1,125,687

1,279,849

1,103,022

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

2,145,042

1,160,908

1,484,746

1,124,041

24,979,653

16,441,782

21,449,295

16,098,821

เจ้าหนี้การค้า – กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

23. หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2553

2554

2553

ภาษีมูลค่าเพิ่มรอน�ำส่ง

603,628

483,570

587,523

481,705

อื่น ๆ

937,362

668,248

690,616

604,687

1,540,990

1,151,818

1,278,139

1,086,392

รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น

106

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2554


24. ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

จ�ำนวนเงินส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป็นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553

2554

2553

(ปรับปรุงใหม่) ยอดคงเหลือต้นปี

133,724

(ปรับปรุงใหม่)

137,916

133,724

137,916

ซื้อบริษัทย่อยในระหว่างปี

7,094

ต้นทุนบริการในปัจจุบัน

14,456

14,277

13,552

14,277

6,235

7,305

5,963

7,305

67,219

(25,506)

45,804

(25,506)

ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี

(16,812)

(268)

(16,370)

(268)

ยอดคงเหลือปลายปี

211,916

133,724

182,673

133,724

ต้นทุนดอกเบี้ย ขาดทุน (ก�ำไร) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของบริษัทฯและบริษัทย่อย รวมอยู่ในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จ�ำนวนประมาณ 21 ล้านบาท (2553: 22 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ จ�ำนวนประมาณ 20 ล้านบาท (2553: 22 ล้านบาท)) ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสะสมของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยทีร่ บั รูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจำ� นวนประมาณ 42 ล้านบาท (2553: ก�ำไร 26 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ขาดทุนจ�ำนวนประมาณ 20 ล้านบาท (2553: ก�ำไร 26 ล้านบาท))

สมมติฐานที่ส�ำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต

2554

2553

2554

2553

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

(ร้อยละต่อปี)

3.8

4.1

3.8

4.1

3.5 – 10

3

3.5 – 10

3

จ�ำนวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์สำ� หรับปีปัจจุบันและสองปีย้อนหลังแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

ปี 2554

211,916

182,673

ปี 2553

133,724

133,724

ปี 2552

137,916

137,916

รายงานประจำ�ปี 2554

107


25. หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

91,168

48,076

75,833

48,076

เงินมัดจ�ำการเช่าพื้นที่และอื่น ๆ

1,484,323

971,333

1,118,512

933,307

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

1,575,491

1,019,409

1,194,345

981,383

เงินประกันการก่อสร้าง

26. ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเงินปันผลได้

27. รายได้อื่น

รายได้อื่นส่วนใหญ่ประกอบด้วยรายได้รับค่าโฆษณาซึ่งเรียกเก็บจากผู้ขายโดยคิดตามการลงโฆษณาในแผ่นพับโฆษณาของบริษัทฯและบริษัทย่อย และ เงินชดเชยจากการท�ำประกันความเสียหาย

28. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2554

2553

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

(ปรับปรุงใหม่)

2553 (ปรับปรุงใหม่)

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน

5,256,397

3,317,806

3,811,098

3,231,789

การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูป

4,032,908

(174,407)

1,367,874

(165,400)

ค่าสาธารณูปโภค

2,754,500

1,655,095

1,750,521

1,593,858

ค่าเสื่อมราคา

2,904,982

2,287,790

1,837,814

2,094,755

ค่าโฆษณา

1,472,153

912,624

998,861

871,105

ค่าบริหารสินค้า

1,278,568

931,045

998,914

913,849

ค่าเช่าและค่าบริการ

704,694

449,305

952,042

866,495

ค่าตัดจ�ำหน่าย

402,094

251,829

252,760

245,111

47,715

391,395

47,715

391,395

ค่าใช้จ่ายในการซื้อธุรกิจ

นอกจากนี้ บริษัทฯและบริษัทย่อยยังมีรายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะอื่นๆอีก ซึ่งไม่ได้แจกแจงไว้ข้างต้น ได้แก่ค่าส่งเสริมการขาย ค่าใช้จ่ายใน การบริหารคลังสินค้า ค่าว่าจ้างบุคคลภายนอกเพื่อให้บริการด้านท�ำความสะอาดและรักษาความปลอดภัย และค่าใช้จ่ายอื่นๆ

108

รายงานประจำ�ปี 2554


29. ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

29.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

(ปรับปรุงใหม่) ภาษีเงินได้ปัจจุบัน: ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากผลแตกต่างชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ผลกระทบต่อภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

2553 (ปรับปรุงใหม่)

1,658,728 3,128

1,087,099 (2,797)

981,883 4,482

868,349 (2,651)

399,703 (307,327) 1,754,232

64,263 – 1,148,565

226,957 22,354 1,235,676

65,715 – 931,413

จ�ำนวนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับส่วนประกอบแต่ละส่วนของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553

2554

(ปรับปรุงใหม่) ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับผลก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตาม หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่บันทึกโดยตรงไปยังก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

(20,166)

7,652

2553 (ปรับปรุงใหม่)

(13,741)

7,652

29.2 รายการกระทบยอดจ�ำนวนเงินระหว่างค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้กับผลคูณของก�ำไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใช้ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สามารถแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม

ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ผลกระทบต่อภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี และอัตราภาษีขั้นบันได ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่รับรู้ ผลกระทบทางภาษีของเงินปันผลที่ได้รับยกเว้นภาษี ผลกระทบทางภาษีจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองที่ได้รับยกเว้นภาษี ผลกระทบทางภาษีของผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยที่เลิกด�ำเนินงาน รายการที่ยังไม่รับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในปีก่อน ที่รับรู้ในระหว่างปี อื่น ๆ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

2554

2553

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2553

7,014,729 30% 2,104,419 3,128

(ปรับปรุงใหม่) 3,981,474 30% 1,194,442 (2,797)

6,387,320 30% 1,916,196 4,482

(ปรับปรุงใหม่) 3,666,065 30% 1,099,820 (2,651)

(307,327) 60,614 – (118,327) –

(15,000) – – – (15,300)

22,354 – (554,757) (118,327) –

(15,000) – (123,879) – (15,300)

(31,325) 43,050 1,754,232

– (12,780) 1,148,565

(31,325) (2,947) 1,235,676

– (11,577) 931,413 รายงานประจำ�ปี 2554

109


29.3 ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2554

2553

2554

2553

(ปรับปรุงใหม่)

(ปรับปรุงใหม่)

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

42,170

17,333

12,013

14,867

122,188

93,145

83,216

88,517

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์

53,073

24,600

15,295

24,600

ส�ำรองส่วนลดรับจากผู้ขายสินค้า

233,522

149,554

161,629

144,408

42,480

47,769

36,628

47,769

ค่าเผื่อสินค้าเสื่อมคุณภาพ

ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ผลต่างจากการปรับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ของบริษัทย่อยจากการรวมธุรกิจ

112,234

ประมาณการหนี้สินระยะสั้น

52,886

16,921

27,922

16,921

ส�ำรองหนี้สินเกี่ยวกับโปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

16,131

3,916

12,233

3,916

ผลกระทบจากสัญญาเช่าระยะยาว

8,858

4,750

6,847

4,750

อื่น ๆ

6,269

844

6,035

รวม

689,811

358,832

361,818

345,748

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ผลต่างจากการปรับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ของบริษัทย่อยจากการรวมธุรกิจ

(815,884)

ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์

(186,341)

เงินชดเชยจากการท�ำประกันความเสียหายค้างรับ

(305,361)

– (70,728)

(70,077) (523)

(251,513) –

– – (70,077)

อื่น ๆ

(523)

รวม

(1,307,586)

(70,600)

(322,241)

(70,600)

สุทธิ

(617,775)

288,232

39,577

275,148

ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ในปี 2555 และเป็นร้อยละ 20 ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป และในเดือนธันวาคม 2554 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ส�ำหรับปี 2555–2557 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้สะท้อนผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงอัตราภาษีดงั กล่าวในการค�ำนวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามทีแ่ สดง ไว้ข้างต้นแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ย่อยมีผลขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 202 ล้านบาท ซึง่ บริษทั ย่อยดังกล่าวไม่ได้บนั ทึกสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากผลขาดทุนทางภาษีดงั กล่าว เนือ่ งจากฝ่ายบริหารพิจารณาแล้วเห็นว่ายังมีความไม่แน่นอนว่าบริษทั ย่อยจะมีกำ� ไรทางภาษีเพียงพอ ต่อการน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีมาใช้ประโยชน์

110

รายงานประจำ�ปี 2554


30. ก�ำไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีทเี่ ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ) ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของ หุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี

31. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงานจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3 และร้อยละ 5.5 ของเงินเดือน กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพนีบ้ ริหารโดยบริษทั หลักทรัพย์ จัดการ กองทุนกสิกรไทย จ�ำกัด และจะจ่ายให้กบั พนักงานในกรณีทอี่ อกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2554 บริษทั ฯและ บริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 94 ล้านบาท (2553: 68 ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ: 78 ล้านบาท (2553: 67 ล้านบาท)

32. เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลจ่ายประกาศจ่ายในปี 2554 และ 2553 ประกอบด้วย เงินปันผล

อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย (พันบาท)

เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท)

วันที่จ่าย

1,570,718 1,570,718

1.96

พฤษภาคม 2553

1,570,718 1,570,718

1.96

พฤษภาคม 2554

2553 เงินปันผลประจ�ำปี 2552

ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2553

รวมเงินปันผลส�ำหรับปี 2553 2554 เงินปันผลประจ�ำปี 2553

ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554

รวมเงินปันผลส�ำหรับปี 2554

33. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบด้วย

33.1 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีหนังสือค�้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทฯและบริษัทย่อย แก่หน่วยงานราชการบางแห่งเหลืออยู่

เป็นเงินประมาณ 425 ล้านบาท (2553: 219 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวนเงินประมาณ 227 ล้านบาท (2553: 213 ล้านบาท)) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการค�ำ้ ประกันการใช้ไฟฟ้าและอื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทย่อย

33.2 บริษัทฯและบริษัทย่อยท�ำสัญญาเช่าและเช่าช่วงที่ดินกับบุคคล บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่นบางแห่ง เพื่อใช้เป็นสถานที่ก่อสร้าง อาคารที่ท�ำการและห้างสรรพสินค้า โดยมีระยะเวลาการเช่าตั้งแต่ 1 ถึง 30 ปี และบริษัทฯและบริษัทย่อยจะต้องจ่ายค่าเช่าและค่าบริการใน แต่ละปีเป็นดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2554

111


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีจำ� นวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ดังนี้ งบการเงินรวม

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

จ่ายช�ำระภายใน ภายใน 1 ปี

708

903

1 ถึง 5 ปี

2,791

1,867

มากกว่า 5 ปี

6,653

3,899

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากการให้เช่าช่วงพื้นที่บางส่วนที่บอกเลิก ไม่ได้ 107 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 74 ล้านบาท) และในระหว่างปี 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีรายจ่ายตามสัญญาเช่าและ รายได้จากการให้เช่าช่วงพื้นที่บางส่วนที่รับรู้แล้วในส่วนของก�ำไรหรือขาดทุนเป็นจ�ำนวนเงิน 24 ล้านบาท และ 14 ล้านบาท ตามล�ำดับ (งบการเงินเฉพาะกิจการ: รายจ่ายตามสัญญาเช่าจ�ำนวน 11 ล้านบาท และรายได้จากการให้เช่าช่วงพื้นที่บางส่วนที่รับรู้แล้วในส่วนของ ก�ำไรหรือขาดทุนจ�ำนวนเงิน 5 ล้านบาท) ภายใต้สัญญาเช่าข้างต้นได้ระบุข้อจ�ำกัดบางประการเพื่อให้บริษัทฯและบริษัทย่อยปฏิบัติตาม

33.3 บริษัทฯได้ท�ำสัญญารับโอนสิทธิการเช่าและสัญญาเช่าช่วงอาคารบางส่วนจากผู้เช่าเดิมซึ่งเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันสองแห่ง โดยสัญญาเช่าได้ท�ำขึ้นกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งและบริษัทในประเทศแห่งหนึ่ง โดยได้ก�ำหนดอัตราค่าตอบแทนในการรับโอนสิทธิ การเช่าและอัตราค่าเช่าช่วงส�ำหรับระยะเวลา 8 ปีแรกเริ่มตั้งแต่ปี 2543 อยู่ในช่วงประมาณ 688 ล้านบาท ถึง 1,202 ล้านบาทขึ้นอยู่กับ ยอดขาย ส�ำหรับอัตราค่าตอบแทนตั้งแต่ปีที่ 9 เป็นต้นไปให้เป็นไปตามราคาตลาดในขณะนั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่คู่สัญญาจะตกลงกัน ตามที่ระบุไว้ในสัญญาดังกล่าว

33.4 บริษทั ฯมีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายเงินตามสัญญาก่อสร้างอาคารทีท่ �ำการและห้างสรรพสินค้ากับผูร้ บั เหมาหลายแห่งเป็นเงินประมาณ 888 ล้านบาท (2553: 532 ล้านบาท)

33.5 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับส่วนของเงินลงทุนที่ยังไม่เรียกช�ำระในบริษัทย่อยหลายแห่งเป็นจ�ำนวนประมาณ 1,427 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน 685 ล้านบาท)

33.6 บริษทั ฯได้ท�ำสัญญาการรับความช่วยเหลือทางด้านการบริหารงานและการจัดการเกีย่ วกับสินค้ากับบริษทั แห่งหนึง่ ภายใต้เงือ่ นไขของ สัญญาดังกล่าวบริษัทฯมีภาระผูกพันที่ต้องจ่ายค่าตอบแทนในอัตราร้อยละของยอดซื้อสินค้าภายใต้เงื่อนไขที่ระบุในสัญญาให้แก่บริษัทดังกล่าว

33.7 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ถูกฟ้องร้องโดยนิติบุคคลอื่นให้เป็นจ�ำเลยร่วมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการผิดสัญญาซื้อขายและคดีอื่น ๆ โดยเรียกค่าเสียหายจากบริษัทฯและบริษัทย่อย ในขณะนี้คดียังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลแพ่ง นอกจากนั้นบริษัทฯและบริษัท ย่อยยังถูกฟ้องร้องจากบุคคล ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเชื่อว่าจะชนะคดีดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เพื่อความรอบคอบบริษัทฯและ บริษัทย่อยได้ตั้งส�ำรองหนี้สินจ�ำนวนหนึ่งไว้ในบัญชี

33.8 บริษัทฯได้ต่ออายุสัญญาเช่าที่ดิน สัญญาเช่า และสัญญาบริการอาคารศูนย์การค้าวงศ์สว่าง ทาวน์ เซ็นเตอร์ โดยมีระยะเวลา การเช่า 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2549 และต่อไปอีก 2 ปีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยมีอัตราค่าเช่าที่ดินในปีที่ 1–3 เท่ากับ เดือนละ 458,544 บาท และปรับค่าเช่าขึ้นในอัตราร้อยละ 15 ทุก ๆ 3 ปี โดยปีที่ 11–12 อัตราค่าเช่าที่ดินเท่ากับปีที่ 10 (ตามมติที่ ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทฯเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2549)

33.9 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง สัญญาเช่ามีระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 2539 โดยบริษัทฯและบริษัทย่อยต้องจ่ายค่าเช่าเป็นรายปีในอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา โดยค�ำนวณอัตราค่าเช่าจากมูลค่าที่ดินเริ่มแรก คูณด้วยอัตราถัวเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สำ� หรับลูกหนี้ชั้นดีของธนาคารพาณิชย์ โดยอัตราดอกเบี้ยในปี 2554 ร้อยละ 6.25 – 7.33 ต่อปี (2553: ร้อยละ 5.94 – 6.20 ต่อปี)

112

รายงานประจำ�ปี 2554


33.10 บริษัทฯได้ท�ำบันทึกความเข้าใจกับบริษัทแห่งหนึ่งเพื่อเช่าอาคารศูนย์การค้าในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยมี ระยะเวลาเช่า 20 ปี นับตั้งแต่วันที่เปิดศูนย์การค้าและต่อไปอีก 20 ปี บริษัทฯต้องจ่ายค่าเช่าเป็นรายปีโดยค�ำนวณจากมูลค่าขาย

34. การเสนอข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยด�ำเนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียว คือ การค้าปลีก โดยเป็นการขายในประเทศไทย ดังนัน้ รายได้ ก�ำไร และสินทรัพย์ทงั้ หมด ที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้

35. เครื่องมือทางการเงิน

35.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง

เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิดเผย ข้อมูลส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ เงินให้กู้ยืม แก่บริษัทย่อย เจ้าหนี้การค้าและเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และ มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้

ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการก�ำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงไม่ คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระส�ำคัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี ้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีการกระจุกตัวเนื่อง จากบริษัทฯและบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จ�ำนวนมากราย จ�ำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสีย จากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการและเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะ การเงิน

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ย งจากอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ส� ำ คั ญ อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สด ลู ก หนี้ ก ารค้ า ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย เจ้าหนี้การค้า และเงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และ หนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ของบริษัทฯและบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต�่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำ� คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย ได้ดังนี้

งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

ไม่มีอัตราดอกเบี้ย

รวม

(หน่วย: ล้านบาท) อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน 5,986

1,436

7,422

0.10 – 2.50

ลูกหนี้การค้า

274

274

ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ

2,256

2,256

5,986

3,966

9,952

36,500

36,500

1.87 – 4.36

24,980

24,980

36,500

24,980

61,480

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า

รายงานประจำ�ปี 2554

113


งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

ไม่มีอัตราดอกเบี้ย

รวม

(หน่วย: ล้านบาท) อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

3,627

1,074

4,701

0.10 – 2.50

ลูกหนี้การค้า

3,555

3,555

ลูกหนี้ค่าเช่าพื้นที่และบริการ

1,984

1,984

4,799

4,799

1.79 – 4.36

8,426

6,613

15,039

36,500

36,500

1.87 – 4.36

21,449

21,449

2,567

2,567

1.79 – 4.36

39,067

21,449

60,516

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย หนี้สินทางการเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นอันเกีย่ วเนือ่ งจากรายได้และค่าใช้จา่ ยในการบริหารส่วนหนึง่ ซึง่ เป็นเงินตราต่างประเทศ กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศที่ไม่ได้ท�ำการป้องกัน ความเสี่ยง ดังนี้ (หน่วย: พัน) งบการเงินรวม สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

114

รายงานประจำ�ปี 2554

สินทรัพย์ ทางการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หนี้สิน ทางการเงิน

สินทรัพย์ ทางการเงิน

หนี้สิน ทางการเงิน

อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) อัตราซื้อ

อัตราขาย

125

931

125

931

31.5505

31.8319

1,036

2,772

1,036

2,772

40.7150

41.3397


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นอันเนือ่ งมาจากรายการคาดการณ์จากการซื้อธุรกิจตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 15.1 บริษัทฯได้เข้าท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวใน เดือนพฤศจิกายน 2553 โดยมีรายละเอียดของตราสารอนุพันธ์ ดังนี้ มูลค่าตามสัญญา ตราสารอนุพันธ์

สัญญาซื้อเหรียญสหรัฐอเมริกาล่วงหน้า สัญญาแลกเปลี่ยนเหรียญสหรัฐอเมริกาและยูโร

จ�ำนวนที่ซื้อ 1,128 ล้านเหรียญสหรัฐ 850 ล้านยูโร

จ�ำนวนที่ขาย 33,981 ล้านบาท 1,128 ล้านเหรียญสหรัฐ

วันครบก�ำหนดตามสัญญา 7 มกราคม 2554 7 มกราคม 2554

ณ วันที่ 7 มกราคม 2554 บริษัทฯรับรู้ขาดทุนสุทธิจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ดังกล่าวข้างต้นจ�ำนวนเงินรวม ประมาณ 634 ล้านบาท โดยบริษทั ฯได้โอนออกจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ และบันทึกเป็นส่วนหนึง่ ของ “เงินลงทุนในบริษทั ย่อย” ในงบการเงินเฉพาะ กิจการและบันทึกเป็นส่วนหนึ่งของจ�ำนวนเงินที่จ่ายซื้อธุรกิจตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15.1 ในงบการเงินรวม บริษัทฯและบริษัทย่อยไม่มีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

35.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบีย้ ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่า ตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จ�ำนวนเงินทีผ่ ซู้ อื้ และผูข้ ายตกลงแลกเปลีย่ นสินทรัพย์กนั หรือจ่ายช�ำระหนีส้ นิ ในขณะทีท่ งั้ สองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจ ในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน วิธกี ารก�ำหนดมูลค่ายุตธิ รรมขึน้ อยูก่ บั ลักษณะ ของเครือ่ งมือทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรมจะก�ำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือก�ำหนดขึน้ โดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าทีเ่ หมาะสม

36. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่ส�ำคัญของบริษัทฯและบริษัทย่อยคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯและบริษัทย่อยและเสริมสร้างมูลค่าการถือหุ้นให้กับผู้ถือหุ้นโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 2.86:1 (2553: 0.97:1) และเฉพาะบริษัทฯมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 3.10:1 (2553: 1.23:1)

37. หุ้นกู้

เมือ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2546 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯมีมติอนุมตั กิ ารออกหุน้ กูอ้ ายุไม่เกิน 6 ปี จ�ำนวนไม่เกิน 3,000 ล้านบาท หรือใน สกุลเงินอื่นในจ�ำนวนที่เท่ากัน โดยจะเสนอขายต่อนักลงทุนเฉพาะเจาะจงและ/หรือเสนอขายให้แก่ประชาชนตามประกาศของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯยังไม่ได้มกี ารออกหุน้ กูต้ ามมติดงั กล่าวข้างต้น

รายงานประจำ�ปี 2554

115


38. ทุนจดทะเบียน

เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯครั้งที่ 5/2554 ได้มีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จากทุนจดทะเบียน ปัจจุบันจ�ำนวน 8,250 ล้านบาท เป็นประมาณ 8,014 ล้านบาท โดยการยกเลิกหุ้นที่มิได้ออกจ�ำหน่ายจ�ำนวน 23,613,426 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ จากทุนจดทะเบียนจ�ำนวนประมาณ 8,014 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียนประมาณ 11,514 ล้านบาทโดยการออก หุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯจ�ำนวน 350 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยจะน�ำเรื่องดังกล่าวเสนอต่อที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2554 ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2554 เพื่อพิจารณาอนุมัติ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯได้พิจารณาถึงผลกระทบจากภาวะน�้ำท่วมในประเทศไทยในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 และจ�ำนวนผู้ถือหุ้น ซึ่งอยู่ในท้องที่ของผู้ประสบภัยที่ได้แจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมแต่ไม่สามารถเดินทางมาได้ ดังนั้น เพื่อคุ้มครองสิทธิและให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสเข้าร่วม พิจารณาในการประชุม บริษัทฯจึงขอเลื่อนก�ำหนดการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2554 ออกไปจนถึงวันที่สะดวกและเหมาะสมส�ำหรับการจัดการประชุม ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯจะพิจารณาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมส�ำหรับแผนการเพิ่มทุนและก�ำหนดวันประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ซึ่งจะจัดขึ้นในปี 2555 ต่อไป

39. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน

เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการในงบการเงินตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 2 และผลจากการน�ำมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่และฉบับปรับปรุงมาถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 3 บริษัทฯและบริษัทย่อยได้จัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปีปัจจุบันโดยไม่มีผลกระทบต่อก�ำไรหรือส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่ได้รายงานไว้ ยกเว้นการปรับย้อนหลัง งบการเงินส�ำหรับปี 2553 ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5

40. การอนุมัติงบการเงิน

116

งบการเงินนีไ้ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการผูร้ บั มอบอ�ำนาจของบริษทั ฯเมือ่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555

รายงานประจำ�ปี 2554


ภาคผนวก

รายงานประจำ�ปี 2554

117


118 รายงานประจำ�ปี 2554

ตารางสรุป รายการระหว่างกัน รายการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายละเอียดสัญญา

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท)

ความเห็นกรรมการอิสระ/ผู้สอบบัญชี

1. บริษัทฯ และบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจากบริษัท ในเครือค้าส่งของ กลุ่มจิราธิวัฒน์​์

บจก. ซีเทรคสากล บจก. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง บจก. เซ็นทรัลกาเมนท์ แฟคทอรี่ บจก. เซ็นทรัลบุ๊คส์ ดิสทริบิวชั่น บจก. เท็กซ์ทรัล เท็กซ์ไทลส์ บจก. ไทยแฟรนไชซิ่ง บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล บจก. อัพฟรอนท์ โซลูชั่น ซิสเต็ม อื่นๆ

2. สัญญาบริหารจัดการ ภาษีอากร

ผู้รับบริการ : บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้บริการ : บจก. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์

สัญญา เริ่ม 1 มี.ค. 54 ถึง 31 ธ.ค. 54 ค่าบริการ 150,000 บาทต่อเดือน

ค่าใช้จ่าย

1.5

กรรมการอิสระให้ความเห็นว่าเป็นรายการที่ สมเหตุสมผลและมีความจ�ำเป็นและเป็นประโยชน์ ต่อการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

3. สัญญาสิทธิการเช่าที่ดิน ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาโคราช

ผู้เช่า: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้เช่า: บจก. เตียง จิราธิวัฒน์

สัญญา 30 ปี เริ่ม 1 ธ.ค. 39 ถึง 30 พ.ย. 69 สิทธิการเช่า 105 ล้านบาท ค่าเช่าเดือนละ 275,000 บาท และปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ทุก 3 ปี

ค่าเช่า

4.8

ที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัทฯ ให้ความเห็น ว่ามีความสมเหตุสมผลและกรรมการอิสระ ไม่มีความเห็นขัดแย้ง

4. สัญญาเช่าอาคาร ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาวงศ์สว่าง

ผู้เช่า: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้เช่า: บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล

สัญญา 10 ปี เริ่ม 1 เม.ย. 49 ถึง 31 มี.ค.59 ค่าเช่าและบริการ คิดตามจ�ำนวนพื้นที่เช่า ค่าเช่าปรับเพิ่มร้อยละ 10 ทุก 3 ปี​ี

ค่าเช่าและบริการ

5. สัญญาเช่าที่ดิน ในห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาราษฎร์บูรณะ

ผู้เช่า: บจก. เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลธนบุรี

สัญญา 30 ปี เริ่ม 1 พ.ค. 38 ค่าตอบแทนสิทธิการเช่า 119.9 ล้านบาท ค่าเช่าปีละ 1.2 ล้านบาท ปรับขึ้นร้อยละ 10 ทุก 3 ปี

ค่าเช่า

มูลค่าซื้อ เจ้าหนี้การค้า

27.9 3.8

ราคาตลาดตามความเหมาะสมและยุติธรรม

44.7

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็นราคาตลาด

1.9

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็นราคาตลาด


รายการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายละเอียดสัญญา

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท)

ความเห็นกรรมการอิสระ/ผู้สอบบัญชี

รายงานประจำ�ปี 2554

6. สัญญาเช่าที่ดินลานจอดรถ ในห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาราษฎร์บูรณะ

ผู้เช่า: บจก. เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลธนบุรี

สัญญา 3 ปี เริ่ม 1 ม.ค. 52 ถึง 31 ธ.ค. 54 ค่าเช่าเดือนละ 150,000 บาท จ่าย 6 เดือนล่วงหน้า

ค่าเช่า

1.8

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็นราคาตลาด

7. สัญญาเช่าที่ดินใน ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาขอนแก่น

ผู้เช่า: บจก. บิ๊กซีแฟรี่ ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น

สัญญา 30 ปี เริ่ม 17 ก.ค. 39 ค่าเช่าปีละ 25.8 ล้านบาท

ค่าเช่า

25.8

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็นราคาตลาด

8. สัญญาให้บริการพื้นที่ ส�ำหรับ Western Union

ผู้รับบริการ: บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล ผู้ให้บริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บจก. เชียงราย บิ๊กซี บจก. บิ๊กซี แฟรี่

สัญญา 4 ปี

รายได้ค่าบริการ ลูกหนี้

10.2 0.2

9. สัญญาให้เช่า พื้นที่และบริการ ของห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาต่างๆ

ผู้เช่า: บจก. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (เค.เอฟ.ซี) บจก. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (มิสเตอร์ โดนัท) บจก. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (อานตี้ แอนส์) บจก. เซ็นทรัล วัตสัน บจก. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา บจก. เพาเวอร์บาย บจก. บีทูเอส บจก. ออฟฟิช คลับ(ไทย) บจก. ซีอาร์ซี สปอร์ต ผู้ให้เช่า: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์และบริษัทย่อย

อายุสัญญาระหว่าง 3 ปี – 15 ปี

ค่าเช่าค่าบริการ ลูกหนี้

360.3 25.9

10. สัญญารับโอนสิทธิ การเช่าอาคาร เซ็นทรัลหัวหมาก

ผู้รับโอน: บมจ.บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้โอน: บจก. สรรพสินค้ารามอินทรา ผู้ให้เช่า: บจก. ห้างเซ็นทรัลดีพาทเมนท์สโตร์

สัญญา 15 ปี 1 เดือน เริ่ม 25 เม.ย. 43 ถึง 31 พ.ค. 58 ค่าตอบแทนการโอนสิทธิรายเดือน 4.02 ล้านบาท และค่าบริการ 1.7 ล้านบาท ในช่วง 8 ปีแรก ค่าตอบแทนคิดเป็นสัดส่วนของยอดขายซึ่งได้มีการก�ำหนด ค่าเช่าต�่ำสุดและสูงสุดไว้ หลังจากนั้นเป็นราคาที่ตกลงกัน

ค่าตอบแทน การโอนสิทธิและ บริการ

81.4

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็นราคาตลาด

ที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัทฯ ให้ความเห็นว่าเป็นรายการที่มีความเหมาะสม และยุติธรรม มีความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์แก่บริษัทฯ และกรรมการอิสระไม่มีความเห็นขัดแย้ง

119


120 รายงานประจำ�ปี 2554

รายการ สัญญาให้บริการระบบ อ�ำนวยความสะดวก ในอาคารเซ็นทรัลหัวหมาก

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายละเอียดสัญญา

ผู้รับบริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้บริการ: บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล

สัญญา 15 ปี 1 เดือน เริ่ม 25 เม.ย. 43 ต่อสัญญาได้อีก 4 ปี 11 เดือน ค่าบริการคิดจาก พื้นที่ที่ให้บริการตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

ผู้เช่าช่วง: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้เช่าช่วง: บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล

สัญญา 12 ปี เริ่ม 20 ต.ค. 46 ถึง 19 ต.ค. 58 ต่อสัญญาได้อีก 9 ปี ค่าเช่าเดือนละ 792,000 บาท ปีละ 9.5 ล้านบาท

ผู้รับบริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้บริการ: บจก. สรรพสินค้าเซ็นทรัล

สัญญา 15 ปี เริ่ม 20 ต.ค. 43 ถึง 10 ต.ค. 58 ต่อสัญญาได้อีก 9 ปี การคิดค่าบริการ ส่วนแรก : คิดจากพื้นที่ที่ให้บริการตาม อัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ส่วนที่สอง : ช่วง 8 ปีแรกค่าบริการคิดตามสัดส่วน ของยอดขาย หลังจากนั้นคิดตามอัตราที่กำ� หนด

12. สัญญาให้เช่าช่วงที่ดิน เพื่อจัดท�ำโครงการเซ็นทรัล เฟสติวัลเซ็นเตอร์พัทยา

ผู้เช่า: บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลพัทยา

สัญญา 21 ปี 6 เดือน เริ่ม 1 พ.ย. 36 ถึง 30 เม.ย. 58 ค่าเช่าเดือนละ 167,500 บาท ในปีแรก จนถึงเดือนละ 834,000 บาท ในปีสุดท้าย ค่าค�้ำประกันการเช่า 61.7 ล้านบาท (ผู้ให้เช่าจะทยอยคืนให้ผู้เช่า 80 งวด ทุก 3 เดือน เป็นเงินงวดละ 771,625 บาท)

13. สัญญาให้เช่าพื้นที่บางส่วน ของห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาพัทยา

ผู้เช่า: บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลพัทยา

14. สัญญาให้บริการระบบ สาธารณูปโภคของ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาพัทยา

ผู้เช่า: บจก. เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส ผู้ให้เช่า: บจก. เซ็นทรัลพัทยา

11. สัญญาเช่าช่วงอาคาร ศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์

สัญญาให้บริการระบบ อ�ำนวยความสะดวกในอาคาร ศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท)

ความเห็นกรรมการอิสระ/ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัทฯ ให้ความเห็นว่า เป็นรายการที่มีความเหมาะสมและยุติธรรม มีความสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์แก่บริษัทฯ และกรรมการอิสระไม่มีความเห็นขัดแย้ง

ค่าเช่าและบริการ

80.7

ที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัทฯ ให้ความเห็นว่า เป็นรายการที่มีความเหมาะสมและยุติธรรม มีความสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์แก่บริษัทฯ และกรรมการอิสระไม่มีความเห็นขัดแย้ง

ค่าเช่า เจ้าหนี้เงินมัดจ�ำ

9.3 13.6

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นราคาตลาด

สัญญา 19 ปี 4 เดือน เริ่ม 29 ธ.ค. 38 สิทธิการเช่า 19.2 ล้านบาท

-

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นราคาตลาด

สัญญา 19 ปี 4 เดือน เริ่ม 29 ธ.ค. 38 ค่าสาธารณูปโภค 12.8 ล้านบาท (รับช�ำระหมดแล้ว)

-

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นราคาตลาด


รายการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายละเอียดสัญญา

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท)

15. สัญญาเช่าพื้นที่บางส่วน ของอาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัล เฟสติวัล เซ็นเตอร์ พัทยา

ผู้เช่า: บจก. เซ็นทรัลพัทยา ผู้ให้เช่า: บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา

สัญญา 19 ปี 9 เดือน เริ่ม 29 ก.ค. 38 สิทธิการเช่า 1.2 ล้านบาท

16. สัญญาแบ่งค่าใช้จ่าย ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สาขาพัทยา

ผู้รับบริการ: บจก. เซ็นทรัลพัทยา ผู้ให้บริการ: บจก. เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส

สัญญาเริ่ม 1 มกราคม 2547 การคิดค่าบริการ ส่วนแรก : ค่าบริการเดือนละ 271,149.76 บาท ปรับเพิ่มตามภาวะเศรษฐกิจ ตามที่ตกลงกัน แต่ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี ส่วนที่สอง : ค�ำนวณจากพื้นที่ใช้งานตามค่าใช้จ่ายร่วม ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าใช้จ่าย

17. บริษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียม การจัดการและค่าใช้จ่ายอื่น

Distribution Casino France

ค่าธรรมเนียมตามสัญญา

ค่าธรรมเนียม การจัดการ และ ค่าใช้จ่ายอื่น เจ้าหนี้ / ค้างจ่าย

18. สัญญาอนุญาตให้ใช้ เครื่องหมาย Big C

ผู้รับอนุญาต: Cavi Retail Limited (Big-C Vietnam) ผู้อนุญาต: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

สัญญา 5 ปี

รายได้ ลูกหนี้/ ค้างรับ

14.9 3.9

19. รายได้อื่น

ผู้รับบริการ: Casino International ผู้ให้บริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

สัญญาตอบแทนการร่วมสั่งซื้อสินค้า (IRTS Income) ค่าธรรมเนียมคิดตามประเภทสินค้าและปริมาณการสั่งซื้อ

รายได้ ลูกหนี้ / ค้างรับ

77.9 82.0

20. สัญญาค่าบริการจัดหา แหล่งสินค้าในกลุ่ม Casino

ผู้รับบริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้ให้บริการ: Group Casino Limited

ค่าธรรมเนียมตามสัญญา

ค่าบริการ เจ้าหนี้ / ค้างจ่าย

5.6 -

21. สัญญาค่าบริหารจัดการ

ผู้รับบริการ: กลุ่มบริษัทย่อย ผู้ให้บริการ: บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

ค่าธรรมเนียมตามสัญญา คิดจากยอดขายสินค้า และรายรับอื่น ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา

รายได้ ลูกหนี้ / ค้างรับ

ความเห็นกรรมการอิสระ/ผู้สอบบัญชี

-

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นราคาตลาด

8.5

ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นราคาตลาด

129.4 138.7

242.2 242.2

กรรมการอิสระให้ความเห็นว่าเป็น รายการที่สมเหตุสมผลและมีความจ�ำเป็น และเป็นประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

รายงานประจำ�ปี 2554 121


ผู้ถือหุ้น รายใหญ่

กลุ่มผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 31 มกราคม 2555 มีดังนี้ ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้นที่ถือ

%

287,820,000 218,280,000

35.92 27.24

9,135,243 7,093,200 7,082,400 5,117,100 4,169,400

1.14 0.89 0.88 0.64 0.52

3. The Bank of New York (Nominees) Limited

25,509,409

3.18

4. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด

20,402,604

2.55

5. UBS AG SINGAPORE BRANCH

18,000,000

2.25

6. BARCLAYS BANK PLC, SINGAPORE

15,900,000

1.98

7. นายอ�ำนวย ธนารักษ์โชค

13,146,600

1.64

8. MRS. ARUNEE CHAN

12,255,431

1.53

9. นายนิติ โอสถานุเคราะห์

7,475,400

0.93

10. นายพูนศักดิ์ เธียไพรัตน์

7,270,400

0.91

1. กลุ่มคาสิโน อันได้แก่ บริษัท Geant International B.V. และ บริษัท เสาวนีย์ โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ร่วมก�ำหนดนโยบายการจัดการโดยส่งบุคคลเข้ามาเป็นกรรมการที่มีอ�ำนาจจัดการ และนโยบายการจัดการดังกล่าว จะมีการน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. กลุ่มจิราธิวัฒน์ อันได้แก่ นางวันทนีย์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายทศ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ร่วมก�ำหนดนโยบายการจัดการโดยส่งบุคคลเข้ามาเป็นกรรมการที่มีอ�ำนาจจัดการ และนโยบายการจัดการดังกล่าว จะมีการน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิของปีที่ผ่านมา โดยในปี 2552, ปี 2553 และปี 2554 บริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลในอัตราร้อยละ 50, 59 และ 57 ของก�ำไรสุทธิ (เฉพาะของบริษัท) หลังหักเงินส�ำรองตามกฎหมาย ตามล�ำดับ ส่วนบริษัทย่อยได้จ่าย เงินปันผลในอัตราร้อยละ 100 ของก�ำไรสุทธิหลังหักเงินส�ำรองตามกฎหมาย

122

รายงานประจำ�ปี 2554


บริษัทย่อย บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นทางตรง และทางอ้อมมีดังนี้ บริษัทย่อย

ประเภทธุรกิจ

% การถือหุ้น

ทุนที่ชำ� ระแล้ว (ล้านบาท)

บริษัท พิษณุโลก บิ๊กซี จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

92.38

1,050

บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จ�ำกัด

ธุรกิจค้าปลีก

96.82

440

บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

100.00

180

บริษัท เซ็นทรัลซูเปอร์สโตร์ จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และลงทุนในบริษัทอื่น

100.00

1,220

บริษัท อินทนนท์แลนด์ จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

100.00

841

บริษัท สุราษฎร์ บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

100.00

140

บริษัท เซ็นทรัล พัทยา จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

100.00

80

บริษัท เทพารักษ์ บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และลงทุนในบริษัทอื่น

100.00

80

บริษัท พระราม 2 บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

99.99

5

บริษัท อุดร บิ๊กซี จ�ำกัด

ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์

100.00

738

บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด

หยุดด�ำเนินกิจการ

100.00

300

บริษัท บิ๊กซี ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด

หยุดด�ำเนินกิจการ

100.00

1

ธุรกิจค้าปลีก

39.00

8,950

บริษัท นวนครินทร์ จ�ำกัด

ลงทุนในบริษัทอื่น

100.00

1

บริษัท เอสเอสซีพี (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ลงทุนในบริษัทอื่น

49.00

162

ธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก

100.00

31

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ลาว) จ�ำกัด

รายงานประจำ�ปี 2554

123


ข้อมูล

สาขาของบิ๊กซี ในปี 2554

3

1

6

2

6 7

5

9

10

14

4 4 1

10

12 5

1

9

2

11

8

7

12

1 13

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

124

พิษณุโลก เชียงใหม่ เชียงราย หางดง หางดง 2 ล�ำปาง ล�ำพูน เพชรบูรณ์ แพร่ สุโขทัย ตาก ก�ำแพงเพชร นครสวรรค์

รายงานประจำ�ปี 2554

11

8

3

สาขาในภาคเหนือ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์

13

สาขาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 1. เชียงใหม่ 2

บิ๊กซี มาร์เก็ต 1. หล่มสัก

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

บุรีรัมย์ ชัยภูมิ โคราช ขอนแก่น มหาสารคาม สกลนคร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานี วารินชำ�ราบ ยโสธร อำ�นาจเจริญ อุดรธานี 2


10

1

9

1 4

2 18

15

17

14

1

8

5

3

7 11 2

13

15

19

12

6

7

5

6

4

8 1

2

2

2 1

สาขาในภาคกลาง และภาคตะวันออก บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

อยุธยา บ้านโป่ง บ้านบึง ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา 2 จันทบุรี ชลบุรี ชลบุรี 3 เซ็นทรัล ลพบุรี ลพบุรี 2 พัทยาเหนือ พัทยาใต้ เพชรบุรี ปราจีนบุรี ราชบุรี ระยอง สระแก้ว มหาชัย แหลมทอง ระยอง

1

3

สาขาในภาคใต้ บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 1. ชลบุรี 2 2. พัทยา 3

บิ๊กซี มาร์เก็ต 1. สระบุรี

บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

หาดใหญ่ กระบี่ ปัตตานี ภูเก็ต สมุย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช

บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 1. หาดใหญ่ 2 2. ภูเก็ต 2

บิ๊กซี มาร์เก็ต 1. พังงา 2. เทพกษัตรีย์ รายงานประจำ�ปี 2554

125


36

15 24

23

1

25 4

ปทุมธานี

13

5

ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 2

27

5

8

7

2

9

6

26

9

37 7

38

นนทบุรี

1

20

3

10

10 8

6

18

กรุงเทพฯ

1

3

17

16

32

6

11

4

28 3

5

14

7

12

31

35 33

19

29

1

2

34

4

21 4 22

30

สมุทรปราการ

สาขาในกรุงเทพฯ และพื้นที่ ใกล้เคียง บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.

126

บางนา บางพลี บางบอน บางปะกอก แจ้งวัฒนะ ดาวคะนอง ดอนเมือง เอกมัย แฟชั่นไอส์แลนด์ หัวหมาก อิสรภาพ ลาดพร้าว ลำ�ลูกกา นครปฐม นวนคร หนองจอก อ้อมใหญ่ เพชรเกษม ราษฎร์บูรณะ

รายงานประจำ�ปี 2554

20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38.

ราชดำ�ริ พระราม 2 พระราม 2 (2) รังสิต รังสิต 2 รังสิตคลอง 3 รัตนาธิเบศร์ รัตนาธิเบศร์ 2 ร่มเกล้า สำ�โรง สมุทรปราการ สะพานควาย ศรีนครินทร์ สุขาภิบาล 3 สุขสวัสดิ์ สุวินทวงศ์ รังสิตคลอง 6 ติวานนท์ วงศ์สว่าง

บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

บางใหญ่ แจ้งวัฒนะ 2 พระราม 4 เพชรเกษม 2 รัชดาภิเษก รามอินทรา ลาดพร้าว 2 ลำ�ลูกกา คลอง 4 สุขาภิบาล 3 (2) อ่อนนุช

บิ๊กซี จั้มโบ้ 1. สำ�โรง 2

บิ๊กซี มาร์เก็ต 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

บางโพ หทัยราษฎร์ เคหะร่มเกล้า ประชาอุทิศ สายไหม สวนหลวง สุขาภิบาล 1 สุขาภิบาล 5


7 42

41

32

ปทุมธานี

14

34

33 25

39

20

44

29 22

28 5

11 16

นนทบุรี

กรุงเทพฯ

26

19

13

51

1

18

23

15

46

10

51

4

17

38

6

45

21

50

36

30

2 9 31

27

48 12

37

43 3

49 24 35

40

8

สมุทรปราการ

สาขาในกรุงเทพฯ และพื้นที่ ใกล้เคียง มินิบิ๊กซี 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

เสนานิคม อุดมสุข บ่อทอง ลาดพร้าว 130 ชินเขต อุดมสุข 51 นวนคร บางพลี แฉล้มนิมิตร พัฒนาการ 20 พระปิ่น 3 ลาซาล 24 ท่าอิฐ รังสิต คลอง 2 หมู่บ้านสหกรณ์ ศาลายา ดอนหวาย ตลาดกรุงธน ประชาชื่น 12 ทิพย์พิมาน

21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40.

เฉลิมพระเกียรติ หมู่บ้านบัวทอง เสรีไทย 41 วัดหนามแดง เอื้ออาทร วัดกู้ พระยาสุเรนทร์ 38 วงแหวนเซ็นเตอร์ นิมิตรใหม่ เมืองทองธานี สุขาภิบาล 2 ซอยหนองใหญ่ ตลาดสุชาติ ซอยเปียร์นนท์ รัตนโกสินทร์ แพรกษา หลวงแพ่ง 5 เพชรเกษม 81 หลวงแพ่ง 1 หมู่บ้านพฤกษา 3 เพชรอารี

41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51.

ตลาดบางขันธ์ ซอยคุณพระ ซอยพูลเจริญ ตลาดออเงิน ซอยพึ่งมี 17 อ่อนนุช 17 คลองพยอม ซอยแบริ่ง 34 ซอยศรีสมิตร เอื้ออาทร ลาดกระบัง ราษฎร์พัฒนา

รายงานประจำ�ปี 2554

127


สถานที่ตั้งของส�ำนักงานใหญ่

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน)

ชั้น 6 เลขที่ 97/11 ถนนราชด�ำริห์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330 โทรศัพท์ 02-655-0666 โทรสาร 02-655-5801 ทะเบียนบริษัทเลขที่ 0107536000633 (เดิมเลขที่ บมจ.137)

สถานที่ตั้งสาขาของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ล�ำดับ

128

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

1

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาแจ้งวัฒนะ) 96 หมู่ที่ 1 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

15 ม.ค. 2536

2

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) *สาขารังสิต* 94 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลประชาธิปัตย์ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130

13 พ.ค. 2537

3

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาราษฎร์บูรณะ) 19 หมู่ที่ 9 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

25 พ.ย. 2537

4

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาพัทยาเหนือ) 78/12 หมู่ที่ 9 ถนนพัทยาสาย 2 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150

17 มิ.ย. 2538

5

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาวงศ์สว่าง) 888 ถนนพิบูลสงคราม แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

1 ก.ย. 2538

6

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาบางพลี) 89 หมู่ที่ 9 ถนนเทพารักษ์กิโลเมตร 13 ต�ำบลบางพลีใหญ่ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

1 ก.พ. 2539

7

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขานครปฐม) 754 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลห้วยจรเข้ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000

1 มี.ค. 2539

8

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาอุดรธานี) 415 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000

15 ต.ค. 2539

9

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) *สาขาโคราช* 118 ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000

19 ธ.ค. 2539

10

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสุราษฎร์ธานี) 130 หมู่ที่ 1 ถนนเลี่ยงเมือง ต�ำบลบางกุ้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000

26 มี.ค. 2540

11

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขารัตนาธิเบศร์) 6 หมู่ที่ 6 ต�ำบลเสาธงหิน อ�ำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140

10 เม.ย. 2540

12

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาระยอง) 15/11 ถนนบางนา-ตราด ต�ำบลเชิงเนิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000

15 ก.ค. 2540

13

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาธนบุรี-ปากท่อ) 127 ถนนพระรามที่ 2 แขวงแสมด�ำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10510

19 ก.ย. 2540

14

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเชียงราย) 184 หมู่ที่ 25 ต�ำบลรอบเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 * วันที่ 24 ก.ย. 40 ถึง 31 มี.ค. 49 สาขานี้บริหารงานภายใต้ชื่อ บริษัท เชียงราย บิ๊กซี จ�ำกัด *

24 ก.ย. 2540

15

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาล�ำปาง) 65 ถนนไฮเวย์ล�ำปาง-งาว ต�ำบลสบตุ๋ย อ�ำเภอเมืองล�ำปาง จังหวัดล�ำปาง 52100

31 ต.ค. 2540

16

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาลพบุรี) 2 หมู่ที่ 1 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 15000

20 พ.ย. 2540

17

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเพชรบุรี) 130 หมู่ที่ 1 ต�ำบลต้นมะม่วง อ�ำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 76000

26 ม.ค. 2541

รายงานประจำ�ปี 2554


ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

18

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาหาดใหญ่) 111/19 หมู่ที่ 4 ต�ำบลคลองแห อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

19 ต.ค. 2543

19

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาหัวหมาก) 2001 ถนนรามค�ำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

21 ต.ค. 2543

20

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสมุทรปราการ) 498/1 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลปากน�ำ้ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280

2 พ.ย. 2543

21

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาอุบลราชธานี) 92 ซอยธรรมวิถี 4 ถนนธรรมวิถี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000

28 เม.ย. 2544

22

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาดอนเมือง) 1 ซอยพหลโยธิน 50 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220

28 มิ.ย. 2544

23

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาแฟชั่นไอซ์แลนด์) 593 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230

5 ก.ค. 2544

24

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเชียงใหม่) 208 หมู่ที่ 3 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000 * วันที่ 6 ก.ค. 44 – 30 เม.ย. 48 บริหารงานภายใต้ชื่อ บริษัท เชียงใหม่ บิ๊กซี (2001) จ�ำกัด*

6 ก.ค. 2544

25

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสุขสวัสดิ์) 94 หมู่ที่ 18 ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 10130

9 พ.ย. 2544

26

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาภูเก็ต) 72 หมู่ที่ 5 ต�ำบลวิชิต อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000

29 พ.ย. 2544

27

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาบางนา) 111 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

8 ก.พ. 2545

28

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาลาดพร้าว) 2539 ถนนลาดพร้าว แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310

28 มิ.ย. 2545

29

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาดาวคะนอง) 1050 ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600

6 ส.ค. 2545

30

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาติวานนท์) 9/9 หมู่ที่ 5 ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

1 พ.ย. 2545

31

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาพัทยาใต้) 565/41 หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150

28 มี.ค 2546

32

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาราชด�ำริ) 97/11 ถนนราชด�ำริห์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

29 เม.ย. 2546

33

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขานครสวรรค์) 320/10 ถนนสวรรค์วิถี ต�ำบลปากน�้ำโพ อ�ำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 60000

27 มิ.ย 2546

34

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสะพานควาย) 618/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

26 พ.ย 2546

35

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาฉะเชิงเทรา) 9/1 ถนนฉะเชิงเทรา-บางปะกง ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000

25 ก.พ. 2547

36

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาส�ำโรง) 999 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270

23 ก.ย. 2547

รายงานประจำ�ปี 2554

129


ล�ำดับ

130

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

37

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาปัตตานี) 301 หมู่ที่ 4 ต�ำบลรูสะมิแล อ�ำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000

27 ต.ค. 2547

38

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสุรินทร์) 8 ถนนหลักเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000

24 ธ.ค. 2547

39

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาอ้อมใหญ่) 17/17 หมู่ที่ 8 ต�ำบลอ้อมใหญ่ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73160

12 เม.ย. 2548

40

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเพชรเกษม) 611 หมู่ที่ 10 แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

17 ก.ค. 2548

41

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสุขาภิบาล 3) 103 ถนนรามค�ำแหง แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10110

1 ก.ย. 2548

42

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเอกมัย) 78 ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

9 พ.ย. 2548

43

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสกลนคร) 1594/16 ถนนรอบเมือง ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร 47000

26 พ.ย. 2548

44

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาแพร่) 600 หมู่ที่ 9 ต�ำบลนาจักร อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000

11 พ.ค. 2549

45

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาราชบุรี) 534 หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกหม้อ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000

6 มิ.ย. 2549

46

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาล�ำลูกกา) 10 หมู่ที่ 12 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150

17 ต.ค. 2549

47

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาปราจีนบุรี) 630/1 ถนนราษฎรด�ำริ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25000

14 ธ.ค. 2549

48

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาล�ำพูน) 200 หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเมืองล�ำพูน จังหวัดล�ำพูน 51000

2 พ.ค. 2550

49

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสมุย) 129/19 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ่อผุด อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320

6 ก.ย. 2550

50

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาชลบุรี) 49/1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลห้วยกะปิ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000

11 ต.ค. 2550

51

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาบุรีรัมย์) 150 หมู่ที่ 7 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000

11 ต.ค. 2550

52

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาหางดง) 433/4-5 หมู่ที่ 7 ต�ำบลแม่เหียะ อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000

21 พ.ย. 2550

53

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาอยุธยา) 80 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านกรด อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160

27 ก.พ. 2551

54

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาบ้านโป่ง) 58 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองอ้อ อ�ำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 70110

10 พ.ค. 2551

55

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสุโขทัย) 68 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านกล้วย อ�ำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 64000

10 พ.ค. 2551

56

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาชัยภูมิ) 99 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบุ่งคล้า อ�ำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 36000

15 พ.ค. 2551

รายงานประจำ�ปี 2554


ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

57

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเพชรบูรณ์) 939 หมู่ที่ 2 ต�ำบลสะเดียง อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000

5 มิ.ย. 2551

58

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขากระบี่) 349 หมู่ที่ 11 ต�ำบลกระบี่น้อย อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000

27 มิ.ย. 2551

59

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขานวนคร) 98/196 หมู่ที่ 13 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

2 ส.ค. 2551

60

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขารังสิตคลองหก) 158/17 หมู่ที่ 4 ต�ำบลรังสิต อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

4 ส.ค. 2551

61

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขายโสธร) 323 หมู่ที่ 2 ต�ำบลส�ำราญ อ�ำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 35000

23 ก.ย. 2551

62

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาสระแก้ว) 352 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 27000

8 ต.ค. 2551

63

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาวารินช�ำราบ) 322 หมู่ที่ 8 ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

30 ต.ค. 2551

64

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขามหาสารคาม) 238/1-3 หมู่ที่ 11 ต�ำบลเกิ้ง อ�ำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 44000

11 พ.ย. 2551

65

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาศรีสะเกษ) 29/49 หมู่ที่ 11 ต�ำบลหญ้าปล้อง อ�ำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ 33000

9 เม.ย. 2552

66

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (มหาชัย) 79 หมู่ที่ 8 ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000

1 เม.ย. 2553

67

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา สระบุรี) *จูเนียร์ สระบุรี* 57/5 ถนนสุดบรรทัด ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี 18000

25 มิ.ย. 2553

68

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา พังงา) *จูเนียร์ พังงา* 297 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา 82000

15 ต.ค. 2553

69

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาอ�ำนาจเจริญ) 477 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000

28 ต.ค. 2553

70

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาแหลมทอง) 554 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000

17 พ.ย. 2553

71

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาก�ำแพงเพชร) 613/1 ถนนเจริญสุข ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000

3 ธ.ค. 2553

72

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาตาก) 18/3 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 63000

16 ส.ค. 2554

73

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาหล่มสัก) 70 ถนนสามัคคีชัย ต�ำบลหล่มสัก อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ 67110

16 ก.ย. 2554

74

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาบ้านบึง) 181 ถนนบ้านบึง-แกลง ต�ำบลบ้านบึง อ�ำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี 20170

20 พ.ย. 2554

75

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาเทพกษัตรีย์) 888 หมู่ที่ 2 ต�ำบลรัษฎา อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000

25 พ.ย. 2554

76

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขาจันทบุรี) 1012 ถนนท่าแฉลบ ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000

19 ธ.ค. 2554

รายงานประจำ�ปี 2554

131


ห้างบิ๊กซีที่บริหารงานโดยบริษัทย่อยของบริษัทฯ มีดังนี้คือ ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

1

บริษัท บิ๊กซี แฟรี่ จ�ำกัด (สาขาขอนแก่น) 290/1 หมู่ที่ 17 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000

11 ธ.ค. 2539

2

บริษัท พิษณุโลก บิ๊กซี จ�ำกัด (สาขาพิษณุโลก) 939 ถนนพิชัยสงคราม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000

3 เม.ย. 2540

สถานที่ตั้งสาขาที่บริหารงานโดยบริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด ล�ำดับ

132

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

1

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาบางปะกอก) 278 หมู่ที่ 1 ถนนสุขสวัสดิ์ แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140

25 พ.ย. 2538

2

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสุขาภิบาล 3) 1245 ถนนรามค�ำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพ ฯ 10240

7 มี.ค. 2539

3

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาศรีนครินทร์) 425 หมู่ที่ 5 ถนนศรีนครินทร์ ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270

19 ก.ย. 2539

4

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสุวินทวงศ์) 123 หมู่ที่ 16 ถนนสุวินทวงศ์ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

14 ก.พ. 2540

5

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาบางใหญ่) 9/9 หมู่ที่ 11 ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ต�ำบลบางรักพัฒนา อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110

11 มิ.ย. 2540

6

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขารังสิต) 70/1 หมู่ที่ 15 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคูคต อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130

26 มิ.ย. 2540

7

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาเชียงใหม่) 94 หมู่ที่ 4 ถนนเชียงใหม่ - ล�ำปาง ต�ำบลหนองป่าครั่ง อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000

20 พ.ย. 2540

8

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาเพชรเกษม) 29/1 หมู่ที่ 11 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160

16 ม.ค. 2541

9

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขารามอินทรา) 59 หมู่ที่ 4 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220

21 พ.ค. 2542

10

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขารัตนาธิเบศร์) 68/777 หมู่ที่ 8 ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

2 ก.พ. 2543

11

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาพระราม 4) 2929 ถนนพระราม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

6 ก.ค. 2543

12

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขารัชดาภิเษก) 125 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

30 มิ.ย. 2544

13

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาบางบอน) 371 ถนนเอกชัย แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150

27 ก.ค. 2544

14

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาแจ้งวัฒนะ) 112 หมู่ที่ 5 ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลปากเกร็ด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120

24 ก.ย. 2544

15

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาอ่อนนุช) 114 ซอยสุขุมวิท 77 (อ่อนนุช 1) แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

2 เม.ย. 2545

16

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาส�ำโรง) 1293 หมู่ที่ 4 ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270

18 ก.ค. 2545

รายงานประจำ�ปี 2554


ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

17

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาลาดพร้าว) 669 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

8 ต.ค. 2545

18

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาพัทยา) 333 หมู่ที่ 9 ถนนพัทยากลาง ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150

3 ธ.ค. 2545

19

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาหาดใหญ่) 677 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

15 ต.ค. 2547

20

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาฉะเชิงเทรา) 28/73 ถนนศรีโสธรตัดใหม่ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000

26 ส.ค. 2548

21

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขานครศรีธรรมราช) 1392 ถนนศรีปราชญ์ ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000

1 ต.ค. 2548

22

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาอิสรภาพ) 2 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600

1 ธ.ค. 2548

23

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาภูเก็ต) 201 ถนนราษฎร์อุทิศ 200 ปี ต�ำบลป่าตอง อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83150

20 ธ.ค. 2549

24

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาชลบุรี) 15/17 หมู่ที่ 3 ต�ำบลห้วยกะปิ อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000

27 เม.ย. 2550

25

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาพระราม 2) 282/2 ถนนพระรามที่ 2 แขวงแสมด�ำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150

13 ธ.ค. 2550

26

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาคลองสาม) 99 หมู่ที่ 3 ต�ำบลคลองสาม อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

27 ธ.ค. 2550

27

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสุขาภิบาล 1) 13/40 หมู่ที่ 9 แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230

29 ก.พ. 2551

28

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาหนองจอก) 34 หมู่ที่ 1 ถนนเลียบวารี แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530

29 มี.ค. 2551

29

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสวนหลวง) 314-314/1-4 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

30 พ.ค. 2551

30

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาหางดง) 111 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหางดง อ�ำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 50230

14 ธ.ค. 2551

31

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาร่มเกล้า) 42, 44 ถนนร่มเกล้า แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

28 มี.ค. 2552

32

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาอุดรธานี) 204 หมู่ที่ 2 ต�ำบลนาดี อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000

31 มี.ค. 2552

33

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาชลบุรี 3 เซ็นทรัล) 55/92 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000

9 เม.ย. 2552

34

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาประชาอุทิศ) 523-523/3 ถนนประชาอุทิศ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140

12 มิ.ย. 2552

35

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาลพบุรี) 319 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 15000

24 ก.ย. 2552

36

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาล�ำลูกกา คลอง 4) 3/83 หมู่ที่ 7 ต�ำบลลาดสวาย อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150

8 ต.ค. 2552

รายงานประจำ�ปี 2554

133


ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

37

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาบางโพ) 162/1-2, 168/10 ถนนประชาราษฎร์ 2 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800

16 ก.ย. 2552

38

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขา MBC ประชาชื่น 12) 332 หมู่ที่ 6 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

10 ต.ค. 2552

39

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาชุมพร) 195 หมู่ที่ 3 ต�ำบลวังไผ่ อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร 86000

19 ธ.ค. 2552

40

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาหทัยราษฎร์) 458, 458/1-2 ถนนเลียบคลองสอง แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510

26 มี.ค. 2553

41

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาเคหะร่มเกล้า) 8/1-3 ถนนเคหะร่มเกล้า แขวงคลองสองต้นนุ่น เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

29 เม.ย. 2553

42

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสายไหม) 89-89/3 หมู่ 3 แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220

17 ธ.ค. 2554

43

บริษัท เซ็นคาร์ จ�ำกัด (สาขาสุขาภิบาล 5) 98, 98/1-3 หมู่ที่ 4 แขวงออเงิน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220

17 ธ.ค. 2554

นอกจากนี้ยังมีสถานที่ตั้งสาขาของมินิบิ๊กซี ที่บริหารงานโดยบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ดังนี้ ล�ำดับ

134

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

1

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา LP อุดมสุข) 91, 93 ถนนอุดมสุข แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

14 ก.ค. 2549

2

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา LP เสนานิคม) 2008/121 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

18 ก.ค. 2550

3

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC บ่อทอง) 457/1 หมู่ที่ 1 ถนนรัตนราช ต�ำบลบางบ่อ อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ 10560

8 เม.ย. 2551

4

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ลาดพร้าว 130) 29 ซอยลาดพร้าว 130 (มหาดไทย2) แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10310

27 มิ.ย. 2551

5

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ชินเขต) 31/19-20 หมู่ที่ 6 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

29 ก.ค. 2551

6

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC อุดมสุข 51) 27, 29 ซอยอุดมสุข 51 แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260

30 ต.ค. 2551

7

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC นวนคร) 80/15-16 หมู่ที่ 19 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

14 พ.ย. 2551

8

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC แฉล้มนิมิตร) 1/1 ถนนแฉล้มนิมิตร แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120

11 ส.ค. 2553

9

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC บางพลี) 4/575 - 577 หมู่ที่ 16 ต�ำบลบางเสาธง อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540

31 ก.ค. 2553

10

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC พัฒนาการ 20) 79/1 ซอยพัฒนาการ 20 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

5 ต.ค. 2553

11

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC พระปิ่น 3) 66/13-15 หมู่ 15 ต�ำบลบางแม่นาง อ�ำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140

15 ต.ค. 2553

รายงานประจำ�ปี 2554


ล�ำดับ

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

12

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ลาซาล 24) 492, 492/1-2 ถนนลาซาล แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

26 พ.ย. 2553

13

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ท่าอิฐ) 100/8-10 หมู่ที่ 3 ต�ำบลไทรม้า อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

30 ธ.ค. 2553

14

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC รังสิตคลอง 2) 555/2 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลประชาธิปัตย์ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130

10 ม.ค. 2554

15

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC หมู่บ้านสหกรณ์) 1807-9 หมู่ที่ 4 แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240

27 ม.ค. 2554

16

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ศาลายา) 88/2 หมู่ที่ 4 ต�ำบลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170

1 ก.พ. 2554

17

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ดอนหวาย) 89/21 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบางกระทึก อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110

17 ก.พ. 2554

18

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ตลาดกรุงธน) 110/1 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700

4 มี.ค. 2554

19

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ทิพย์พิมาน) 55/176-178 หมู่ที่ 3 ต�ำบลพิมลราช อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110

18 มี.ค. 2554

20

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เฉลิมพระเกียรติ) 44 ซอยเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 22 แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

27 เม.ย. 2554

21

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC หมู่บ้านบัวทอง) 113/17-18 หมู่ที่ 10 ต�ำบลบางรักพัฒนา อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110

22

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ประชาชื่น 12) 332 หมู่ที่ 6 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

25 พ.ค. 2554

23

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เสรีไทย 41) 48/863 หมู่ที่ 4 แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร 10240

13 มิ.ย. 2554

24

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC วัดหนามแดง) 18/158-160 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางแก้ว อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

29 มิ.ย. 2554

25

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เอื้ออาทรวัดกู้) 219/38 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120

22 ก.ค. 2554

26

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC พระยาสุเรนทร์ 38) 42/2-4 ซอยพระยาสุเรนทร์ 38 แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510

27 ก.ค. 2554

27

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC วงแหวนเซ็นเตอร์) 1/12 ชั้นที่ 1 ซอยกาญจนาภิเษก 005 แขวงหลักสอง เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

28

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC นิมิตรใหม่) 57/5, 57/7, 57/9 หมู่ 1 ซอยนิมิตรใหม่9 แขวงทรายกองดิน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510

11 ส.ค. 2554

29

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เมืองทองธานี) 101,101/1 ถนนป๊อบปูล่า ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120

12 ส.ค. 2554

30

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC สุขาภิบาล 2) 69/8 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

25 ส.ค. 2554

31

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยหนองใหญ่) 1311/1 ซอยกาญจนาภิเษก 008 แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160

27 ส.ค. 2554

14 พ.ค. 2554

29 ก.ค. 2554

รายงานประจำ�ปี 2554

135


ล�ำดับ

136

ชื่อ-ที่อยู่ สาขาของบริษัทฯ

วันที่เปิดด�ำเนินการ

32

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ตลาดสุชาติ) 109/1-4 หมู่ที่ 1 ต�ำบลล�ำผักกูด อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

29 ส.ค. 2554

33

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยเปียร์นนท์) 98/1-3 หมู่ 3 ต�ำบลคูคต อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130

30 ส.ค. 2554

34

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC รัตนโกสินทร์) 1,3 ซอยรังสิต-ปทุมธานี12 ต�ำบล ประชาธิปัตย์ อ�ำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130

31 ส.ค. 2554

35

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC แพรกษา) 157/2-4 หมู่ที่ 5 ต�ำบลแพรกษา อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280

10 ก.ย. 2554

36

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC หลวงแพ่ง 5) 199/2 ถนนหลวงแพ่ง แขวงขุมทอง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

17 ก.ย. 2554

37

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC หลวงแพ่ง 1) 545/12-16 ถนนหลวงแพ่ง แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

25 ก.ย. 2554

38

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC หมู่บ้านพฤกษา 3) 50/824-825,50/784 หมู่ที่ 5 ต�ำบลบางคูรัด อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110

28 ก.ย. 2554

39

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ตลาดบางขันธ์) 91/48-50 หมู่ที่ 8 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

29 ก.ย. 2554

40

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เพชรอารี) 890 หมู่ที่ 2 ต�ำบลแพรกษาใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280

29 ก.ย. 2554

41

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยพูลเจริญ) 41/50-41/53 ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

30 ก.ย. 2554

42

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยคุณพระ) 29/138 หมู่ที่ 6 แขวงคลองหนึ่ง เขตคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

30 ก.ย. 2554

43

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ตลาดออเงิน) 111 หมู่ที่ 3 แขวงออเงิน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220

6 ต.ค. 2554

44

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เพชรเกษม 81) 150/1 ถนนมาเจริญ แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160

6 ต.ค. 2554

45

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยพึ่งมี 17) 415 ซอยสุขุมวิท 93 แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260

2 ธ.ค. 2554

46

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยแบริ่ง 34) 5555 หมู่ที่ 10 ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270

2 ธ.ค. 2554

47

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ซอยศรีสมิตร) 2416/59-61 หมู่ที่ 7 ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10270

2 ธ.ค. 2554

48

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC อ่อนนุช 17) 231 ซอย อ่อนนุช 17 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

2 ธ.ค. 2554

49

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC เอื้อฯ ลาดกระบัง) 396/2 ถนนประชาพัฒนา แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

2 ธ.ค. 2554

50

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC คลองพยอม) 108,147/11 หมู่ที่ 5 ต�ำบลพยอม อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170

9 ธ.ค. 2554

51

บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (สาขา MBC ราษฎร์พัฒนา) 128/1 ถนนราษฎร์พัฒนา แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240

12 ธ.ค. 2554

รายงานประจำ�ปี 2554


รายงานประจำ�ปี 2554

137


138

รายงานประจำ�ปี 2554


ขอตอนรับสู

“ใหญขึ้น

และใหคุณไดมากกวา” • เครือขายสาขาในทุกรูปแบบ รานคากวา 221 สาขา และ

ศูนยการคา 115 แหง

ทั่วประเทศในป 2554 • พนักงานกวา 23,000 คน ที่มุงมั่นและพรอมจะนำ ความประหยัดคุมคา และความพึงพอใจ สูงสุดมอบแดลูกคาทุกคน • สนับสนุนการศึกษาของ นักเรียนไทยแลวกวา 200 ลานบาท เพ.ออนาคต ที่สดใสของเยาวชนไทยทุกคน

วิสัยทัศนของบิ๊กซี “มุงสูการเปนผูคาปลีกสมัยใหมอันดับ 1 ของประเทศไทย โดยใหความสำคัญสูงสุดแกลูกคาของเรา”

ภารกิจของบิ๊กซี “ลูกคาและพนักงานทุกคน คือสมาชิกของครอบครัวบิ๊กซี” บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) (ชื่อยอในการซื้อขายหลักทรัพยฯ: BIGC) กอตั้งขึ้นเมื่อ ป 2536 เปนผูดำเนินธุรกิจคาปลีกสมัยใหมชั้นนำของไทย ภายใตสโลแกน “เราใหคุณมากกวาคำวาถูก” บิ๊กซี มุงมั่นและภูมิใจที่ไดสรางความประหยัดคุมคาและ ความพึงพอใจสูงสุดแกผูบริโภคทุกกลุมทั่วประเทศ ผานการผสมผสานอยางสมบูรณแบบของรานคา หลากหลายรูปแบบราคาถูกและประหยัด สินคาคุณภาพที่หลากหลายครบครัน บริการที่ดีเยี่ยม และบรรยากาศการจับจายที่สนุกสนานและเปนกันเอง

นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800, 02-229-2888 โทรสาร 02-654-5427

ผูสอบบัญชี

บริษัท สำนักงาน เอินสท แอนด ยัง จำกัด อาคารเลครัชดา ชั้น 33 เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-264-0777 โทรสาร 02-661-9190

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท ลิ้งคเลเทอรส (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 20 แคปปตอล ทาวเวอร ออลซีซั่นส เพลส เลขที่ 87/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-305-8000, 02-654-3130 โทรสาร 02-305-8010, 02-654-3131

ศูนยกลางการใหขอ มูลกับผูถ อื หุน / นักลงทุน/นักวิเคราะห

คุณรำภา คำหอมรื่น ตำแหนงรองประธานฝายบัญชีและการเงิน หรือ คุณรามี่ บีไรแนน (Khun Rami Piirainen) ตำแหนงผูอำนวยการฝายนักลงทุนสัมพันธ โทรศัพท 02-655-0666 ตอ 7444 หรือ E-Mail Address: kurumpa@bigc.co.th , pirami@bigc.co.th

Security Registrar Securities Depository (Thailand) Co., Ltd. The Stock Exchange of Thailand Building, 62 Ratchadaphisek Road, Khlong Toei sub-district Khlong Toei district, Bangkok 10110 Tel.: 02-229-2800, 02-229-2888; Fax: 02-654-5427

Auditor Ernst & Young Office Ltd. 33rd Floor, Lake Ratchada Building 193/136-137 Ratchadaphisek Road, Khlong Toei sub-district Khlong Toei district, Bangkok 10110 Tel.: 02-264-0777; Fax: 02-661-9190

Legal Advisor Linklaters (Thailand) Ltd. 20th Floor, Capital Tower, 87/1 All Seasons Place Wireless Road, Lumpini sub-district Pathumwan district, Bangkok 10330 Tel.: 02-305-8000, 02-654-3130; Fax: 02-305-8010, 02-654-3131

Information Centre for Shareholders/ Investors/Analysts Ms. Rumpa Kumhomreun Vice President, Accounting & Finance Department Mr. Rami Piirainen Director, Investor Relations Department Tel.: 02-655-0666 Ext. 7444 or E-Mail Address: kurumpa@bigc.co.th, pirami@bigc.co.th

ในป 2554 บิ๊กซีเติบโตอยางกาวกระโดด ทั้งจากการพัฒนาภายในของบริษัทฯ และการควบรวม กิจการคาปลีกของผูดำเนินธุรกิจคาปลีกอีกรายหนึ่ง ในปจจุบัน บริษัทฯ มีพนักงานกวา 23,000 คน ทั่วประเทศ และดวยกลยุทธการขยายกิจการทุกรูปแบบและการพัฒนาพื้นที่คาปลีกควบคูกับพื้นที่เชา ในป 2554 บิ๊กซีมีเครือขายสาขาที่เปดใหบริการจำนวนทั้งสิ้น 221 สาขา ประกอบดวย บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร 108 สาขา บิ๊กซี มารเก็ต 12 สาขา มินิบิ๊กซี 51 สาขา และรานขายยาเพรียว 50 สาขา อีกทั้งศูนยการคา 115 แหงทั่วประเทศ

เปาหมายสูงสุดของบิ๊กซี คือการเปนองคกรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบตอสังคม และดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูบริโภคทุกคน รวมทั้งสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคา พนักงาน และผูถือหุนบิ๊กซี

ศูนยกลางการใหขอมูลผานส9อโทรทัศน ส9อโฆษณา และสิ่งพิมพตางๆ คุณรีจิส ฟลิป พรีซอง ตำแหนงรองประธานฝายการตลาดและการสื่อสาร หรือ คุณกุฏาธาร นาควิโรจน ตำแหนง ผูอำนวยการฝายองคกรสัมพันธ หมายเลขโทรศัพท 02-655-0666 ตอ 7192 หรือ E-Mail Address: nakudatara@bigc.co.th

Information Centre for the Media Mr. Regis, Philippe PRIGENT Vice President, Marketing and Communications Mr. Kudatara Nagaviroj Director, Corporate Affairs Tel.: 02-655-0666 Ext. 7192 or E-Mail Address: nakudatara@bigc.co.th

ในการมุงหนาไปสูเปาหมายสูงสุดของเรา บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร ใหความสำคัญสูงสุดตอการยึดถือและปฏิบัติ ตามคุณคาประจำบริษัทฯ 4 ประการ คือ 1. เราจะเปนผูนำดานราคาถูก ที่มอบการบริการที่ดีเยี่ยมและความคุมคาสูงสุดแกลูกคาเสมอ 2. เราจะอยูเคียงขางผูบริโภคและจะชวยเหลือสนับสนุนทุกชุมชนอยางเต็มความสามารถเสมอ 3. เราจะเปนองคกรธุรกิจที่สรางสรรคและรับผิดชอบตอสังคมที่นำการพัฒนาที่ยั่งยืนมาสูทุกชุมชนทั่วประเทศ 4. พนักงานของบิ๊กซีทุกคนเปนครอบครัวของเรา และเราจะสนับสนุนใหทุกคนพัฒนาเพื่อกาวไปขางหนา สูอนาคตอยางมั่นคงไปกับเราเสมอ

Big C: www.bigc.co.th Casino: www.groupe-casino.com Central Group: www.centralcompany.com


รายงานประจำป 2554 Annual Report 2011


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.