สารบัญ
3
สารบัญหลัก
จุดเด่นทางการเงิน สารจากประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ล�ำดับความเป็นมาของบริษัท วิสัยทัศน์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมโรงแรมและรีสอร์ท ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานจากคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และ งบการเงิน ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลด�ำเนินการ ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ ปัจจัยความเสี่ยง นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ รายละเอียดกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารบริษัท ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รายการระหว่างกัน ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครองจ�ำนวนหุ้น 10% ขึ้นไป ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นกู้ บุคคลอ้างอิงอื่นๆ คณะเจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง
รายงานประจำ�ปี 2554
4 6 7 9 10 12 13 17 21 22 23 24 87 95 97 98 100 106 110 111 112 113 116 124 128 129 130 131
จุดเด่นทางการเงิน
4
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
จุดเด่นทางการเงิน หน่วย : ล้านบาท
2554 งบการเงินรวม
2553 งบการเงินรวม
2552
งบการเงิน เฉพาะกิจการ
งบการเงิน เฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม
(ปรับปรุงใหม่)
งบการเงิน เฉพาะกิจการ
ผลการดำ�เนินงาน รายได้จากการขาย
11,163.2
1,524.2
9,140.9
1,430.2
8,277.0
972.7
รายได้รวม
11,574.2
2,489.8
9,500.2
2,323.1
8,536.4
1,751.2
ก�ำไรขั้นต้น
6,039.2
841.6
4,910.6
764.2
4,437.1
474.0
ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้
1,259.7
472.3
513.3
516.3
455.4
340.6
550.4
130.1
(55.8)
263.2
53.1
164.3
สินทรัพย์รวม
21,683.6
15,500.1
20,437.9
15,011.1
19,817.0
13,204.3
หนี้สินรวม
15,634.9
11,237.0
14,658.8
10,760.7
13,540.4
9,149.5
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย(1)
10,002.9
8,872.3
9,452.8
8,414.5
8,251.9
6,298.2
ส่วนของผู้ถือหุ้น
6,048.6
4,263.1
5,779.1
4,250.5
6,276.6
4,054.8
ก�ำไรสะสม(2)
1,927.4
1,942.3
1,582.5
1,929.6
1,735.5
1,733.9
1,350
1,350
1,350
1,350
1,350
1,350
5.2%
-5.2%
-0.3%
-4.5%
1.8%
-0.8%
อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ (%)
2.8%
0.8%
-0.1%
1.8%
0.8%
1.2%
(4)
10.0%
3.1%
-0.5%
6.2%
2.5%
4.1%
1.7
2.1
1.6
2.0
1.3
1.6
2.6
2.6
2.5
2.5
2.2
2.3
ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท)
0.41
0.10
(0.04)
0.19
0.04
0.12
เงินปันผลต่อหุ้น (บาท)
n/a
TBA
n/a
0.05
n/a
0.05
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น(บาท)
4.48
3.16
4.28
3.15
4.65
3.00
ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ
ฐานะการเงิน
จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (ล้านหุ้น)
อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ อัตราก�ำไรสุทธิ (%)(3), (4) (4)
อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่วนของหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนของหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
(1) (2) (3) (4)
5
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการรวมเงินกู้ยืมจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ก�ำไรสะสมรวมก�ำไรสะสมที่จัดสรรแล้วเป็นส�ำรองตามกฏหมาย อัตราก�ำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการไม่รวมรายได้เงินปันผล ค่าเช่าที่ดินจ่ายกองทุนรวม และขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน อัตราก�ำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ และอัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น ในงบการเงินรวม ไม่รวมรายการพิเศษดังต่อไปนี้ ปี 2554 - ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน และส่วนแบ่งก�ำไร (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย เป็นจ�ำนวนเงินรวม 55 ล้านบาท ปี 2553 - ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน และส่วนแบ่งก�ำไร (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย เป็นจ�ำนวนเงินรวม 25.2 ล้านบาท ปี 2552 - ขาดทุนจากการปิดด�ำเนินงานเครื่องหมายการค้า ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน และส่วนแบ่งก�ำไร (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย เป็นจ�ำนวนเงินรวม 102.7 ล้านบาท
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
สารจากประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ วิกฤตอุทกภัยในปีที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการบริการท่องเที่ยวโดยรวมใน ช่วงไตรมาสที่ 4 อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยกลับสู่สภาวะ ปกติได้อย่างรวดเร็วและเข้มแข็ง ดังนั้น ถึงแม้ว่า ผลประกอบการของปี 2554 จะไม่บรรลุ เป้าหมาย แต่เรายังคงมีความมั่นใจในกลยุทธ์ตลอดจนนโยบายของบริษัทฯ ในการพัฒนา ธุรกิจให้เติบโตต่อไปในอนาคต ในปี 2554 บริษัทฯ มีการพัฒนาอย่างเห็นได้ชัดโดยเรามีการเปิดโรงแรมใหม่ๆ ภายใต้ 5 แบรนด์ เราได้เปิดโรงแรมใหม่ในเมืองพัทยาด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของตลาดท่องเที่ยวแห่งนี้ โดยเป็นโรงแรมภายใต้แบรนด์ “เซ็นทารา” 1 แห่ง และ อีก 1 แห่ง ภายใต้แบรนด์ “เซ็นทารา บูตกิ คอลเลกชัน” และในอนาคตอันใกล้ เราจะเปิดโรงแรมภายใต้แบรนด์ “เซ็นทาราแกรนด์” ในพัทยากลางและจอมเทียนอีกด้วย ในปี 2555 เราจะเปิดโรงแรมภายใต้แบรนด์ “เซ็นทรา” แห่งแรกในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ” ส�ำหรับในต่างประเทศ เรามีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2553 เรามีโรงแรมในต่างประเทศ อยูเ่ พียง 7 แห่ง ภายในเวลา 1 ปี ต่อมา เรามีโรงแรมเพิม่ เป็น 17 แห่ง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นหมูเ่ กาะมัลดีฟ ส์ เวียดนาม ฟิลปิ ปินส์ บาหลี จีน เกาะมอริเชียส และศรีลงั กา โดยเป็นโรงแรมและรีสอร์ทต่างๆ ภายใต้ 4 แบรนด์ ท�ำให้เรามั่นใจว่าจะสามารถขยายธุรกิจสู่ตลาดเฉพาะกลุ่มได้มากยิ่งขึ้น และในปลายปีนี้ เราได้สนิ้ สุดสัญญาการบริหารโรงแรมร่วมกับกลุม่ แอคคอร์ทมี่ มี ายาวนานถึง 25 ปี ในโรงแรม 3 แห่ง คือ กรุงเทพฯ หัวหิน และหาดใหญ่ และทั้งหมดได้รับการปรับโฉม และเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ, โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา หัวหิน และ โรงแรมเซ็นทาราหาดใหญ่ เรามีความมัน่ ใจในการเติบโตของธุรกิจในปี 2555 และในอนาคตทีย่ งั่ ยืน ทัง้ นี้ จากการสนับสนุน ทีด่ ยี งิ่ ของผูถ้ อื หุน้ กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร พนักงาน ตลอดจนลูกค้าผูม้ อี ปุ การคุณ ในนาม ของคณะกรรมการบริษทั ฯ ผมขอขอบคุณทุกท่านและเราจะมุง่ มัน่ เพือ่ ความส�ำเร็จในอนาคต ร่วมกัน
(วันชัย จิราธิวัฒน์์)
6
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์
สารจากประธานกรรมการ ปี 2554 ตลาดท่องเที่ยวมีความแข็งแกร่งตั้งแต่ต้นปีจนถึงเดือนตุลาคม ได้เกิดวิกฤต อุทกภัยและส่งผลกระทบตลอดไตรมาสสุดท้ายของปี ถึงแม้ว่า โรงแรมของเราจะไม่ได้ รับผลกระทบโดยตรงแต่การน�ำเสนอข่าวสารจากสื่อต่างประเทศและการตอบสนองต่อ ข่าวของนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศส่งผลกระทบต่อผลประกอบการโดยรวมของปี ในด้านการพัฒนาธุรกิจ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินกลยุทธ์เพื่อการเติบโตที่แข็งแกร่ง ในช่วงปลายปี เราได้เปิดรีสอร์ทแห่งแรกภายใต้แบรนด์ “เซ็นทรา” ในต่างประเทศ ในเกาะบาหลี คือ โรงแรมเซ็นทราทวมเซมินยัก บาหลี เป็น และในเดือนมิถุนายน ปี 2555 เราจะเปิดเซ็นทาราแกรนด์นูซาดัวรีสอร์ทและวิลลา เป็นแห่งที่ 2 ในเกาะบาหลีเช่นกัน นอกจากนี้ ในปี 2555 เราจะเปิ ด รี ส อร์ ท 2 แห่ ง ในประเทศศรี ลั ง กา และ 1 แห่ ง ในเกาะมอริเชียส และในปี 2556 เราจะมีรีสอร์ทเพิ่มอีก 1 แห่งในเกาะมอริเชียส และจากการเปิดรีสอร์ทในต่างประเทศแห่งแรกในหมู่เกาะมัลดีฟส์ซึ่งประสบความส�ำเร็จ อย่างมาก เราจึง จะเปิดรีสอร์ทแห่งที่ 2 ในปี 2555 คือ เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและ สปา มัลดีฟส์ ในประเทศไทย เราได้เข้าบริหารรีสอร์ทหรูในภูเก็ตซึง่ ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น เซ็นทาราแกรนด์เวสต์ แซนด์รีสอร์ทและวิลลา ภูเก็ต ตั้งอยู่ที่หาดไม้ขาว และยังได้เปิดให้บริการ วอเตอร์ฟรอ นท์สวีทภูเก็ตบายเซ็นทาราที่นับเป็นแบรนด์ “เซ็นทาราเรสซิเดนซ์และสวีท” แห่งแรกใน ปัจจุบนั เรามีรสี อร์ท 7 แห่งในภูเก็ตภายใต้ 4 แบรนด์ ส่งผลให้เรามีความแข็งแกร่งในตลาด ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญแห่งนี้ ในพัทยา เราได้เปิดโรงแรมใหม่ 2 แห่ง ได้แก่ โรงแรมเซ็นทาราพัทยา ภายใต้แบรนด์ “เซ็นทารา” และโรงแรมโนวาและสปาพัทยา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน และยังได้ประกาศ เปิดตัวโรงแรมอีก 2 แห่งภายใต้แบรนด์ “เซ็นทาราแกรนด์” ซึ่งขณะนี้ก�ำลังอยู่ในระหว่าง ก่อสร้าง นอกจากนี้ เรายังเชื่อมั่นว่าตลาดท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีศักยภาพสูง โดยเฉพาะตลาดธุรกิจ การจัดประชุมและการจัดงานต่างๆ เราจึงมีความมั่นใจในการ เปิดโรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี ทีพ ่ ร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ อย่างครบครัน ส�ำหรับธุรกิจอาหาร มีการเติบโตอย่างมากโดยในปี 2554 บริษัท เซ็นทรัลเรสเตอร์รอง ท์ จ�ำกัด สามารถท�ำก�ำไรสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ถึงแม้ว่าวิกฤตอุทกภัยจะมีผลกระทบ ต่อการขนส่งวัตถุดิบและการให้บริการร้านอาหารหลายแห่งต้องปิดให้บริการ บริษัทฯ ยังคงสามารถท�ำรายได้สูงถึง 6.5 ล้านบาท หรือคิดเป็นก�ำไรสูงขึ้นกว่าปี 2553 ถึง 23.7% ปัจจุบัน บริษัท เซ็นทรัลเรสเตอร์รองท์ จ�ำกัด มีร้านอาหารทั้งสิ้น 603 แห่ง 12 แบรนด์ ซึ่งรวมถึงแบรนด์ใหม่ ได้แก่ โยชิโนยะ และ โอโตยะ ผมขอแสดงความชื่นชมและขอบคุณในความร่วมมือร่วมใจของทีมงานบริหาร พันธมิตร ธุรกิจ พนักงานที่ ยอดเยี่ยม ตลอดจนการคณะกรรมการบริษัทฯ ที่เป็นแรงผลักดัน ให้ธุรกิจของเราประสบความส�ำเร็จและเติบโตอย่างรวดเร็ว เรายังคงมีความมั่นใจในความแข็งแกร่งของตลาดท่องเที่ยวของประเทศไทยและเชื่อมั่นว่า เราจะเติบโตอย่างเข้มแข็งต่อไปในปี 2555
(สุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์)
7
สารบัญหลัก
ประธานกรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2554
คณะกรรมการบริษัท
8
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คณะกรรมการบริษัท
9
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ลำ�ดับความเป็นมาของบริษัท ล�ำดับความเป็นมาโดยย่อของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน)
2526
โรงแรมไฮแอทเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ และศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เปิดอย่างเป็นทางการ 2529 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดโซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท 2531 รับบริหารกิจการเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท 2533 จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซื้อโรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ 2536 ซื้อโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลอสเองเจลิสจดทะเบียนบริษัทมหาชนจ�ำกัด 2536/37 เปิดด�ำเนินการโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ย่างกุ้ง เมียนมาร์ 2538 เปิดโรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ 2539 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท ขายกิจการโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลอสเองเจลิส 2540 เพิ่มห้องพักที่โซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ทอีก 60 ห้องฝั่งสวน รับบริหารเซ็นทรัลวอเตอร์ฟร้อนท์สวีท ที่กะรน ภูเก็ต 2541 วางแนวทางรูปแบบของเซ็นทรัลวิลเลจ ซื้อกิจการเซ็นทรัลบัตเตอร์ฟลายวิลเลจ เกาะสมุย สร้างเพิ่ม 60 วิลลา และมีห้องพักทั้งหมดรวม เปลี่ยนชื่อเป็นกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทรัล 2542 เปิดเซ็นทรัลกะรนวิลเลจภูเก็ต และเซ็นทรัลสมุยวิลเลจ (เปลี่ยนชื่อจากเซ็นทรัลบัตเตอร์ฟลายวิลเลจ) 2543 ย้ายโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ไปประเทศติมอร์ตะวันออก ตกแต่งปรับปรุงและเปลี่ยนชื่อเป็น เซ็นทรัลมาริไทม์ ดิลี ติมอร์ตะวันออก 2544 เพิ่มวิลลาอีก 8 หลังที่ เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ ภูเก็ต และมีห้องพักทั้งหมดรวม ท�ำสัญญาเป็นแฟรนไชส์ กับกลุ่มแอคคอร์และเปลี่ยนชื่อโรงแรมที่กรุงเทพเป็น โซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ และเปลี่ยนชื่อโรงแรมที่หาดใหญ่เป็น โนโวเทลเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ ด�ำเนินการก่อสร้างศูนย์แสดงสินค้า สกายฮอลล์ ที่โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ 2545 ปรับปรุงเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท และโซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท และเซ็นซิโอคาราโอเกะ บริเวณชั้นล่างของโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ 2546 เริ่มการก่อสร้างเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท โรงแรมระดับ 5 ดาว เปิดห้องอาหารบราซิลเลี่ยน (ซิโก้) ที่เกาะสมุย เซ็นสัญญาพัฒนาและบริหารโครงการโรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ ที่เซ็นทรัลเวิลด์ รวมถึงห้องประชุมและพื้นที่จัดนิทรรศการ 20,000 ตารางเมตร 2547 โครงการก่อสร้างเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท พัทยา และเซ็นทรัลภูเก็ตบีชรีสอร์ท ภูเก็ต เพิ่มห้องสวีท 10 ห้อง ที่โรงแรมโนโวเทลเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ และมีห้องพักทั้งหมดรวม 2548 เริ่มสัญญาบริหารโรงแรมเซ็นทรัลดวงตะวัน เชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม เปิดกิจการเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ทอย่างไม่เป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม
10
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
607
ห้อง
195
ห้อง
178
ห้อง
120 180 133 238 208
ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง
255 39
ห้อง ห้อง
40 100
วิลลา วิลลา
100 133
ห้อง ห้อง
72
วิลลา
238
ห้อง
192
ห้อง
505
ห้อง
555 262
ห้อง ห้อง
248 500 192
ห้อง ห้อง ห้อง
ลำ�ดับความเป็นมาของบริษัท 2549
2550 2551
2552
2553
2554
ขายโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ดิลี ประเทศติมอร์ตะวันออก เข้าซื้อและควบกิจการโรงแรมสองแห่งที่ภูเก็ต โดยร่วมทุนกับบริษัท เลแมน บราเดอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในอัตรส่วน 50:50 คือโรงแรมไอส์แลนด์เดีย ภูเก็ต โดยปรับปรุงใหม่พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็น เซ็นทรัลกะรนบีชรีสอร์ท 335 ห้อง และจีวารีสอร์ทแอนด์สปา เปลี่ยนชื่อเป็นเซ็นทรัลกะตะรีสอร์ท 128 ห้อง ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ปรับปรุงเซ็นทรัลหัวหินวิลเลจครั้งใหญ่ โดยยกระดับเป็นวิลลาพร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว เปลี่ยนชื่อเป็น เดอะ วิลลา ณ โซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท ปรับปรุงเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท โดยยกระดับห้องพักจ�ำนวนหนึ่งเป็นห้องชุด พร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว และปรับปรุงวิลลาบางหลังของเซ็นทรัลสมุยวิลเลจเป็นวิลลาพร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว ปรับภาพลักษณ์องค์กรด้วยการเปลี่ยนชื่อเป็นโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา เปิดตัวศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ที่เซ็นทรัลเวิลด์ สร้างห้องพักเพิ่ม 30 ห้อง ที่เซ็นทารากะตะรีสอร์ทภูเก็ต รวมเป็น 158 ห้อง เปิดเซ็นทาราชานทะเลรีสอร์ทและวิลลา ตราด ในเดือนมีนาคม 44 ห้อง ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดอย่างเป็นทางการของโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และศูนย์ประชุม บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว (รวมทั้งโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ) ต่อสัญญากับการรถไฟแห่งประเทศไทย ไปอีก 20 ปี จนถึง พ.ศ.2571 เซ็นสัญญาร่วมทุนและสัญญาบริหารโรงแรมส�ำหรับโครงการเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์ รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ โดยก�ำหนดเปิดให้บริการในครึ่งปีหลังของปี 2552 เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา (หาดวงศ์อมาตย์) ระดับห้าดาว 555 ห้อง ธีมรีสอร์ทแห่งแรกในประเทศไทยเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 พฤศจิกายน เปิดเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ 112 วิลลา รีสอร์ทต่างประเทศ แห่งแรกในเครือเซ็นทารา เริ่มสัญญาบริหารโรงแรม 2 แห่ง ในเดือนเมษายน บุณฑรีก์สปารีสอร์ทและวิลลาสมุย-เซ็นทารารีสอร์ท 124 ห้อง/วิลลา และเซ็นทาราปาริญารีสอร์ทและวิลลา เกาะพงัน 44 วิลลา เซ็นสัญญารับบริหารศิริปันนาวิลลารีสอร์ท เชียงใหม่-เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน 74 ห้อง/วิลลา รีสอร์ทระดับ 5 ดาว เป็นบูติกรีสอร์ทแห่งแรกในเครือเซ็นทารา ที่ จ.เชียงใหม่ เซ็นสัญญารับบริหารมอคชาหิมาลายาสปารีสอร์ท-เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน 62 ห้อง รีสอร์ทต่างประเทศแห่งที่สองใน เปิดให้บริการด้วยห้องพักแบบห้องสวีท ในช่วงปลายปี เปิดห้องอาหารบราซิลเลี่ยน (ซิโก้) สาขาที่สอง ณ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (หาดกะรน) ระดับห้าดาว เปิดให้บริการอย่างไม่เป็นทางการ 262 ห้อง ในวันที่ 3 พฤศจิกายน เปิดเซ็นทราแอชลี ป่าตอง ภูเก็ต โรงแรมระดับกลางภายใต้แบรนด์ เซ็นทราแห่งแรก 110 ห้อง ขยายแบรนด์เซ็นทาราบูติกคอลเลกชันจาก 1 โรงแรมเป็น 12 โรงแรม 494 ห้อง เปิดรีสอร์ทบริหารจัดการแห่งแรกในประเทศเวียดนาม 36 ห้อง เปิดโรงแรมบริหารจัดการแห่งแรกในประเทศฟิลิปปินส์ 96 ห้อง ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทยทั้งหมด 11 แห่ง 2,682 ห้อง ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในต่างประเทศทั้งหมด 12 แห่ง มีประเทศใหม่คือ อินโดนีเซีย ศรีลังกา จีน และเกาะมอริเชียส 1,830 ห้อง รวมโรงแรมและรีสอร์ทที่ลงทุนและบริหารเองทั้งหมด 15 แห่ง ในประเทศไทยและมัลดีฟส์ รวมโรงแรมและรีสอร์ทที่บริหารจัดการทั้งหมด 40 แห่ง ในประเทศไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ อินเดีย ศรีลังกา เกาะมอริเชียส และจีน รวมโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราทั้งสิ้น 55 แห่ง
11
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
3,827
ห้อง
6,820 10,647
ห้อง ห้อง
วิสัยทัศน์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางขององค์การยูเนสโก (UNESCO) โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารามุ่งเน้นนโยบายในการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคมของการท�ำธุรกิจด้วยหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนในการด�ำเนินงานบนพื้นฐานของคุณธรรมและจริยธรรม โดยเชื่อว่าการพัฒนาอย่างยั่งยืน จะตอบสนองต่อความต้องการและเกิดประโยชน์อย่างแท้จริงแก่ประชาชน โดยแบ่งพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญในการพัฒนาสังคมออกเป็น 4 เสาหลัก คือ ศิลปวัฒนธรรม ความเท่าเทียมทางสังคม คุณภาพสิ่งแวดล้อม และ ความพอเพียงทางเศรษฐกิจ เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
กิจกรรมเพื่อสังคม 1. จัดงานเฉลิมฉลองสมโภชพระอุโบสถวัดปทุมวนารามฯ ครั้งส�ำคัญ เนื่องในโอกาสมหามงคลที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 โดยร่วมกับบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล 2. การจัดงานเทศกาลพาเหรดรถโบราณแห่งเมืองหัวหิน ณ เซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและวิลลา หัวหิน โดยน�ำรายได้จากการจัดกิจกรรมทูลเกล้าฯ ถวายมูลนิธิชัยพัฒนา 3. การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสวันพ่อแห่งชาติ บริจาคโลหิตจ�ำนวน 9,999,999 ซีซี แก่ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ร่วมกับ บริษัทกลุ่มเซ็นทรัล 4. มอบฝาอะลู มิ เ นี ย มจากขวดน�้ ำ แก่ มู ล นิ ธิ ข าเที ย มในสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี เพื่ อ น� ำ ไปผลิ ต ขาเที ย มให้ กั บ ผู ้ พิ ก ารยากไร้ ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ 5. การเปิดตัวโครงการ “เซ็นทรัลมุ่งมั่นพัฒนาการศึกษา” ณ โรงเรียนท่านผู้หญิงสง่า อิงคุลานนท์ บ้านห้วยลอย ต�ำบลภูฟ้า อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัด น่าน ร่วมกับ บริษัทกลุ่มเซ็นทรัลในการปรับปรุง - ซ่อมแซม โรงเรียน เพื่อสร้างความเท่าเทียมทางสังคม 6. การจัดกิจกรรมตั้ง “ครัวน�้ำใจเซ็นทรัล” ปรุงอาหารกล่องวันละ 1,500 กล่อง น�้ำขวด 1,000 ขวด และจัดถุงยังชีพ เพื่อน�ำไปแจกให้กับผู้ประสบ ภัยน�้ำท่วมในพื้นที่ต่างๆ เป็นเวลา 45 วัน ร่วมกับ บริษัทกลุ่มเซ็นทรัล กรมทรัพยากรน�้ำบาดาล และกองทัพบก 7. การจัดพิธีตักบาตรพระสงฆ์ จ�ำนวน 12,600 รูป ฉลองพุทธชยันตี ครบ 2,600 ปีแห่งการตรัสรู้ธรรม และถวายเป็นพุทธบูชา เนื่องในวันวิสาขบูชาโลก ร่วมกับ สมาคมวัฒนธรรมเพื่อความดีสากล เครือข่ายองค์กรพุทธศาสนา และ บริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) 8. การจัดคอนเสิรต์ การกุศล “All Hearts For Japan” หารายได้ชว่ ยเหลือชาวญีป่ นุ่ ทีป่ ระสบภัยพิบตั สิ นึ ามิทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ ร่วมกับ บริษทั เซ็นทรัล พัฒนา อิเซตันและ พันธมิตร 9. การจัดกิจกรรมน�ำถุงยังชีพ และครัวเคลื่อนที่ปรุงอาหารกล่อง และน�ำไปแจกให้แก่ผู้ประสบภัยน�้ำท่วมที่ จ.ปทุมธานี ร่วมกับบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล 10. จัดตัง้ ศูนย์ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยชัว่ คราว ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ ร่วมกับบริษัทธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จ�ำกัด 11. การจัดกิจกรรมเสวนา “บัญญัติ 21 ประการซ่อมบ้านหลังน�ำ้ ท่วม” ให้กบั ผูท้ ปี่ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม ร่วมกับบริษทั กลุม่ เซ็นทรัล ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ 12. การจัดโครงการ “น�้ำใจเซ็นทรัล...เพราะมีคุณถึงมีเรา” มอบเครื่องใช้จ�ำเป็นภายในบ้านเพื่อฟื้นฟูคุณภาพชีวิตให้กับผู้ประสบภัยน�้ำท่วม จ�ำนวน 1,875 ชุด มูลค่าทั้งหมด 2,343,750 บาท ที่ จ. พิจิตร ร่วมกับบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล 13. การจัดตั้งโครงการ “พลังน�้ำใจไทย” เพื่อระดมทุนฟื้นฟูการศึกษาในด้านต่างๆให้กับผู้ประสบภัยน�้ำท่วม จ�ำนวน 84 โรงเรียน ครอบคลุม 17 จังหวัด ร่วมกับ บริษัทกลุ่มเซ็นทรัล และ พันธมิตร 14. การจัดงาน “รวมน�้ำใจ ซับน�้ำตา” ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพี่น้องชาวใต้ ณ เซ็นทรัลเวิลด์ ร่วมกับ นักข่าวบันเทิง และ ศิลปิน ดารา 15. มอบเงินช่วยเหลือพนักงานโรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ ที่ได้รับความเสียหายจากน�้ำท่วม จ. สงขลา 16. จัดกิจกรรม “สร้างรอยยิ้มให้ผู้ป่วยที่มารอพบหมอ” ภายใต้โครงการเซ็นทรัลห่วงใยสุขภาพ ณ โรงพยาบาลต�ำรวจ 17. การจัดเลี้ยงอาหารกลางวัน ณ สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด (บ้านนนทภูมิ) ให้แก่เด็กพิการและด้อยโอกาส โดยโรงแรม เซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ 18. มอบรถเข็นและอุปกรณ์ช่วยเหลือเด็กพิการ มูลค่ากว่า 300,000 บาท พร้อมเลี้ยงอาหารกลางวันให้กับเด็กพิการ บ้านสายรุ้ง อ.ปากเกร็ด ร่วม กับบริษัทเอ็นโซโก้ บริษัทในเครือลีฟวิ่งโซเชียล 19. มอบชุดนักกีฬาฟุตบอลจ�ำนวน 110 ชุดให้แก่นักฟุตบอลเยาวชนทีมคลองเตยเอฟซีของศูนย์พัฒนาบริการคลองเตยภายใต้การสนับสนุนของ องค์กร Urban Neighbours of Hope 20. จัดกฐินสามัคคี ณ วัดอรัญญิกาวาส จ. ราชบุรี
12
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมโรงแรมและรีสอร์ท ธุรกิจด�ำเนินไปได้ด้วยดีในไตรมาสแรก และถึงแม้ในไตรมาสที่ 2 และ 3 ของปี ซึ่งเป็นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยว ยังคงได้รับการตอบรับที่ดีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากตลาดออสเตรเลียและเอเชีย เดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยครัง้ ใหญ่ ถึงแม้วา่ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราเกือบทุกแห่งจะไม่ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยก็ตาม แต่ขา่ วทีร่ ายงาน ออกไปทั่วโลกอีกทั้งมีประกาศเตือน ท�ำให้นักท่องเที่ยว หลีกเลี่ยงการเดินทางมาประเทศไทย ส่งผลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจและผลประกอบการ โดยรวมของปี ในช่วงปลายปี สถานการณ์น�้ำท่วมได้คลี่คลายลง ท�ำให้ยอดการจองห้องพักกลับคืนมา เรายังคงมีความมั่นใจในความแข็งแกร่งของตลาดท่องเที่ยวของประเทศไทยและเชื่อมั่นว่าเราจะเติบโตอย่างเข้มแข็งต่อไปในปี 2555
รายงานผลประกอบการ
13
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ในช่วงต้นปี ธุรกิจในบริเวณแยกราชประสงค์ฟื้นตัวช้า เนื่องจากกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือกลุ่มคนเสื้อแดง ยังคงจัดกิจกรรมชุมนุมทางการเมืองอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับเหตุการณ์แผ่นดินไหว สึนามิทญ ี่ ปี่ นุ่ ส่งผลให้ยอดจองโรงแรมถูกยกเลิกถึง 9.6 ล้านบาท หลังการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ในเดือนกรกฎาคม อัตราการเข้าพัก การจัดประชุมสัมมนา และการจัดงานกิจกรรมต่างๆ เริ่มกลับเป็นปกติอีกครั้ง และมีรายได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ช่วงปลายปีเกิดวิกฤตมหาอุทกภัย ท�ำให้มีการยกเลิกการเดินทาง และการเลื่อนจัดงานทั้งในไทยและจากต่างประเทศ และมีประกาศเตือนภัย การเดินทางมาประเทศไทย ปลายเดือนธันวาคม ธุรกิจเริ่มฟื้นตัวอีกครั้ง และส่งสัญญาณที่ดีส�ำหรับไตรมาสแรกของปี 2555 โรงแรมฯ มีรายได้รวม 1,015 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 69.5%
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ (ชื่อเดิม โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ) โรงแรมฯ มีการปรับปรุงตลอดปี อีกทัง้ ภาวะเศรษฐกิจตกต�ำ่ ทัว่ โลก ความขัดแย้งในประเทศแถบตะวันออกกลาง และวิกฤตมหาอุทกภัยภายในประเทศ มีผลกระทบต่อธุรกิจการท่องเที่ยวโดยรวม ส่งผลให้อัตราการเข้าพักลดลงอย่างมาก โรงแรมฯ ปรับปรุงแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม และเปลี่ยนชื่อใหม่ หลังสิ้นสุดสัญญาการบริหารร่วมกับกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทในเครือแอคคอร์ มีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป โรงแรมฯ มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 50.8% และมีผลก�ำไรขั้นต้นก่อนหักภาษีเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมากว่า 6.4 ล้านบาท
เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา โรงแรมฯ ประสบความส�ำเร็จอย่างมากหลังเปิดให้บริการมา 2 ปี อีกทั้งยังเป็นผู้น�ำการตลาดทั้งในด้านอัตราการเข้าพักและอัตราห้องพักเฉลี่ย โรงแรมฯ มีรายได้รวม 930 ล้านบาท สูงกว่างบประมาณที่ตั้งไว้ และมีอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 74% โรงแรมยังคงมีความมั่นใจในผลประกอบการที่ดี ต่อเนื่อง ในปี 2555
เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลาหัวหิน (ชื่อเดิม โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและวิลลา หัวหิน) ในช่วงไตรมาสที่ 1 – 3 ของปี ภาพรวมของธุรกิจการท่องเที่ยวได้กลับคืนสู่สภาวะปกติ ซึ่งส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมปรับตัวดีขึ้นเช่นกัน โรงแรมฯ ด�ำเนินการปรับปรุงส่วนต่างๆ ได้แก่ ห้องพักในส่วนโคโลเนียลวิง จ�ำนวน 100 ห้อง ห้องอาหารเรลเวย์ และการเพิ่มเติมในส่วนของฟิตเนส และคิดส์คลับ อย่างไรก็ตาม โรงแรมฯ มีผลประกอบการทีย่ อดเยีย่ ม โดยมีรายได้เฉลีย่ ต่อห้องพักสูงกว่าคูแ่ ข่ง อีกทัง้ ยังมีการจัดงานส�ำคัญตลอดทัง้ ปี อาทิ เทศกาล ดนตรีแจ๊ส และงานเทศกาลพาเหรดรถโบราณแห่งเมืองหัวหิน ครั้งที่ 9 โรงแรมฯ มีรายได้รวม 514 ล้านบาท และมีผลก�ำไรขั้นต้นก่อนหักภาษี 241.7 ล้านบาท
เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต โรงแรมฯ เปิดบริการครบหนึ่งปีในปี 2554 และได้รับการจัดอันดับให้เป็นรีสอร์ทมาตรฐานระดับ 5 ดาวอย่างเป็นทางการจากมูลนิธิพัฒนามาตรฐาน และบุคลากรในอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล “10 รีสอร์ทชั้นน�ำส�ำหรับครอบครัวในประเทศไทย” ซึ่งจัด โดยเว็บไซต์ฮอล์ลิเดย์วิทคิดส์ และนิตยสารการท่องเที่ยวแบบครอบครัวชั้นน�ำของออสเตรเลีย และประกาศนียบัตรโรงแรมยอดเยี่ยมปี 2554 จาก เว็บไซต์ทริปแอดไวท์เซอร์ โรงแรมฯ มีรายได้รวม 529 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 64.56%
เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ โดยภาพรวม โรงแรมฯ มีผลการด�ำเนินงานที่ดีขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยมีรายได้รวมกว่า 372 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 50.7% นอกจากนี้ โรงแรมฯ ได้รับรางวัลระดับเงิน ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม จากองค์กรเอิร์ธเช็ค
เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย ในช่วงต้นปี เศรษฐกิจชะลอตัวลงเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมือง, สึนามิในประเทศญี่ปุ่น และอุทกภัยครั้งใหญ่ที่เกาะสมุย ในเดือนกรกฎาคม สถานการณ์เริ่มปรับตัวดีขึ้นหลังจากการเลือกตั้ง ในเดือนตุลาคมเกิดวิกฤตมหาอุทกภัย และมีประกาศเตือนภัยการเดินทางมาประเทศไทย ซึ่งส่งผลให้อัตราการเข้าพักลดลง
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมโรงแรมและรีสอร์ท โรงแรมฯ เป็นหนึ่งในสิบโรงแรมของประเทศไทยที่ได้รับรางวัลโรงแรมสีเขียว โดยได้รับการเสนอชื่อจากกลุ่มประเทศอาเซี่ยน และรางวัลระดับเงิน ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม จากองค์กรเอิร์ธเช็ค โรงแรมฯ มีรายได้รวม 352 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 62%
14
เซ็นทาราแกรนด์ ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ ในปี 2554 โรงแรมฯ เปิดให้บริการเป็นปีที่สอง และมีผลประกอบการดีขึ้น เนื่องจากมีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น 17.7% โรงแรมฯ ได้รบั รางวัลดีเด่นระดับทอง ในประเภทรีสอร์ททีด่ ที สี่ ดุ ในคาบสมุทรอินเดีย จากเวอร์จนิ ท์ฮอล์ลเิ ดย์ และได้รบั ประกาศนียบัตรรับรองคุณภาพ ระดับบรอนซ์ ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม จากองค์กรเอิร์ธเช็ค โรงแรมฯ ได้รับการตอบรับที่ดีมากจากลูกค้า และมีลูกค้าจ�ำนวนมากกลับมาใช้บริการ นอกจากนั้น โรงแรมฯ มีการปรับเปลี่ยนห้องอาหารอิตาเลียน ให้เป็นห้องอาหารซีฟู้ด ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีจากนักท่องเที่ยว และลูกค้า โรงแรมฯ มีรายได้รวมกว่า 18.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 550 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลีย่ 80% มีผลก�ำไรขัน้ ต้นก่อนหักภาษี 45.6%
เซ็นทารา วิลลา สมุย โรงแรมฯ มีผลประกอบการลดลงกว่าทีค่ าดการณ์ไว้ ทัง้ อัตราการเข้าพักและอัตราค่าห้องพักเฉลีย่ ซึง่ มีปจั จัยหลักมาจากการปิดรีสอร์ทเพือ่ ปรับปรุง ในเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน อย่างไรก็ตาม โรงแรมฯ มีผลประกอบการที่ดี หลังการเปิดให้บริการในเดือนธันวาคม นโยบายการจ�ำกัดการขยายตัวของเกาะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยมีการอภิปรายและพิจารณา ข้อจ�ำกัดในการขนส่งทางอากาศทีม่ แี นวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ในอนาคต ส่งผลให้เทีย่ วบินเช่าเหมาล�ำจากยุโรป รัสเซียและจีนซึง่ เป็นตลาดส�ำคัญและมีศกั ยภาพ สูงของเกาะสมุย เลือกจุดหมายปลายทางอื่น เช่น ภูเก็ต โรงแรมฯ มีรายได้รวม 81 ล้านบาท และมีอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 62.6%
เซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต ในปีที่ผ่านมา โรงแรมฯ ได้ปิดปรับปรุงห้องพักทั้งหมด ตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยว ส่งผลก ระทบต่อรายได้รวมของปี โรงแรมฯ มีอตั ราการเข้าพักสูงขึน้ หลังจากเปิดให้บริการอีกครัง้ นอกจากนี้ ความพึงพอใจของลูกค้าอยูใ่ นระดับสูง และมีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง โรงแรมฯ มีรายได้รวม 74 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 68.4%
เซ็นทารากะรน รีสอร์ท ภูเก็ต ผลประกอบการในปี 2554 อยู่ในระดับที่น่าพอใจตลอดทั้งปี โรงแรมฯ มีการปรับปรุงห้องพักตึกทรอปิคาเล ซึ่งเสร็จสมบูรณ์ตามก�ำหนด และได้รับ การตอบรับที่ดีจากลูกค้า นอกจากนี้ โรงแรมฯ ได้รับรางวัลอีกมากมาย เช่น ประกาศนียบัตรของเอิร์ธเช็ค ประจ�ำปี 2554 ในด้านมาตรฐานสิ่งแวดล้อม, บลูสตาร์ อวอร์ด 2554 ระดับบรอนซ์ จากรางวัลประจ�ำปีของ TUI เนื่องจากได้รับความพึงพอใจจากลูกค้ามากที่สุด ในด้านการให้บริการ และใบประกาศนียบัตรยอดเยี่ยม จาก เว็บไซต์ทริปแอดไวท์เซอร์ โรงแรมฯ มีรายได้รวม 320 ล้านบาทซึ่งสูงกว่าที่ประมาณการไว้ และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 85.2%
เซ็นทารากะตะรีสอร์ท ภูเก็ต โรงแรมฯ มีโครงการปรับปรุงหลายส่วน ได้แก่ การปรับปรุงห้องน�้ำในห้องพักแขกบางส่วน สระว่ายน�้ำ ปรับขยายระเบียงห้องอาหาร และเพิ่มพื้นที่ บาร์ เพื่อรองรับลูกค้าได้มากขึ้น เป็นอีกหนึ่งปีที่โรงแรมฯ มีผลประกอบการที่ดี ซึ่งมีอัตราการเข้าพักเกือบเต็มในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว และอัตราการเข้าพักอย่างต่อเนื่องในช่วง นอกฤดูกาลท่องเที่ยว โรงแรมฯ มีรายได้รวม 148.3 ล้านบาท และมีอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 75.2% มีผลก�ำไรขั้นต้นก่อนหักภาษี 73.5 ล้านบาท หรือ 49.5%
โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ ปี 2554 ธุรกิจในหาดใหญ่มเี สถียรภาพมากยิง่ ขึน้ เมือ่ เทียบกับปีทผี่ า่ นมาซึง่ ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยในช่วงปลายปี นักท่องเทีย่ วส่วนใหญ่เป็นชาว มาเลเซีย ซึ่งเดินทางมาพักผ่อนวันหยุดสุดสัปดาห์ และบุคลากรในส่วนของภาครัฐฯ ที่เดินทางมาประชุมหรือพักผ่อนในช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนหรือหลัง เดินทางต่อไปยัง มาเลเซีย, สิงคโปร์หรือภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย รวมถึงนักธุรกิจที่มีกิจการในหาดใหญ่และสงขลา โรงแรมฯ มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยคงที่ตลอดทั้งปีและอัตราค่าห้องพักเฉลี่ยสูงขึ้น เนื่องจากมีการใช้กลยุทธ์เพิ่มมูลค่าในการขายห้องพักที่ได้รับ การปรับปรุง โรงแรมฯ มีรายได้รวม 161 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 65.7% มีผลก�ำไรขั้นต้นก่อนหักภาษี 62 ล้านบาท
เซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท ในช่วงต้นปี 2554 ธุรกิจทีแ่ ม่สอดมีการปรับตัวค่อนข้างช้าซึง่ เป็นผลต่อเนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมา ประกอบกับเหตุการณ์อทุ กภัยท�ำให้จำ� นวนนักท่องเทีย่ วลดลง โรงแรมฯ ยังได้รับรางวัลจากหลายหน่วยงาน เช่น โครงการโรงแรมปลอดบุหรี่จากมูลนิธิใบไม้เขียว, โครงการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในอุ ต สาหกรรมการโรงแรม ซึ่ ง จั ด โดยกรมสวั ส ดิ ก ารและคุ ้ ม ครองแรงงาน และรางวั ล มาตรฐานการบริ ห ารจั ด การด้ า นเอดส์ แ ละวั ณ โรค ในสถานประกอบกิจการ ระดับทอง โดยสมาคมแนวร่วมภาคธุรกิจไทยต้านภัยเอดส์ร่วมกับสมาคมอนามัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแห่งประเทศไทย เป็นต้น โรงแรมฯ มีรายได้รวม 26 ล้านบาท และอัตราการเข้าพักเฉลี่ย 32.2%
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมโรงแรมและรีสอร์ท การพัฒนาธุรกิจโดยเซ็นทาราอินเตอร์เนชันแนล แมนเนจเม้นท์ ปี 2554 เป็นปีทปี่ ระสบความส�ำเร็จอย่างมากจากการขยายโรงแรมด้วยสัญญาบริหารจัดการ ท�ำให้เพิม่ เครือข่ายและสร้างความแข็งแกร่งในตลาดเดิม อีกทั้งยังขยายตลาดใหม่ คือบาหลี ศรีลังกา จีน และเกาะมอริเชียส ได้มีการลงนามสัญญาบริหารจัดการทั้งสิ้น 23 แห่ง แบ่งเป็น 11 แห่งในประเทศไทย ซึ่งมีจ�ำนวนห้องพัก 2,682 ห้อง และ 12 แห่งในต่างประเทศ ซึ่งมีจ�ำนวนห้องพัก 1,830 ห้อง รวมเป็นจ�ำนวนห้องพักทั้งสิ้น 4,512 ห้อง
โรงแรมเปิดใหม่จากสัญญาบริหารจัดการเดิม ดังรายการต่อไปนี้ 1. เปิดบริการโรงแรมบริหารจัดการ โรงแรมเซ็นทาราพัทยา (152 ห้อง) 2. เปิดบริการโรงแรมบริหารจัดการ โรงแรมโนวาและสปาพัทยา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน (79 ห้อง) 3. เปิดบริการโรงแรมบริหารจัดการ โรงแรมเซ็นทารามะนิลา (96 ห้อง)
โรงแรมจากสัญญาบริหารจัดการใหม่ ดังรายการต่อไปนี้ 1. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่และเปิดบริการแล้ว เชนซีรีสอร์ทและสปา ฟูก๊วก เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน (36 ห้อง) 2. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่และเปิดบริการแล้ว วอเตอร์ฟร้อนท์สวีทภูเก็ตบายเซ็นทารา (39 ห้อง) 3. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่และเปิดบริการแล้ว เซ็นทาราแกรนด์เวสต์แซนด์รีสอร์ทและวิลลา ภูเก็ต (784 ห้อง) 4. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่และเปิดบริการแล้ว เซ็นทาราอันดาเทวีรีสอร์ทและสปา กระบี่ (138 ห้อง) 5. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่และเปิดบริการแล้ว เซ็นทราทวมรีสอร์ท บาหลี (90 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 6. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ (204 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 7. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์นูซาดัวรีสอร์ทและวิลลา (82 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 8. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ โรงแรมเซ็นทาราวอเตอร์เกตพาวิลเลียน กรุงเทพฯ (281 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 9. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ (150 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 10. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา (125 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 11. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราซีย์แซนด์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา (166 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 12. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราป็อสต์ลาฟาแย็ตรีสอร์ทและสปา มอริเชียส (98 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2555) 13. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราเรสซิเดนซ์และสวีท พัทยา (146 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2556) 14. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราวูกูรีสอร์ทและสปา บาหลี (182 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2556) 15. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริเรซิเดนซ์และสวีท มอรีเชียส (85 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2556) 16. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเชียส (85 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2556) 17. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์เซี่ยงไฮ้ชีชานรีสอร์ท (125 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2556) 18. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์โมริงการีสอร์ทและสปา ภูเก็ต (350 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) 19. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ โรงแรมฟิชเชอร์แมนฮาร์เบอร์และสปา ป่าตอง บายเซ็นทารา (364 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) 20. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ นาเกลือและสปาพัทยา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน (106 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) 21. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทารานาตรังเบย์เรซิเดนซ์และสวีท เวียดนาม (530 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) 22. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราเวฟส์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา (226 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) 23. โรงแรมสัญญาบริหารจัดการใหม่ เซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและสปา จอมเทียน (120 ห้อง ก�ำหนดเปิด 2557) ในปลายปี 2555 เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ ซึ่งเป็นรีสอร์ทที่ลงทุนเองแห่งที่ 2 ในสาธารณรัฐมัลดีฟส์ จะเปิดให้บริการ รีสอร์ทแห่งนี้ อยู่ห่างจากสนามบินนานาชาติมาเล่เพียง 15 นาที มีจ�ำนวนห้องพักสไตล์วิลล่าทั้งหมด 140 หลัง แบ่งเป็นวิลล่าบนพื้นดิน 30 หลัง และ วิลล่ากลางน�้ำ 110 หลัง มีร้านอาหารและบาร์ 3 ร้าน สระว่ายน�้ำ ฟิตเนส ศูนย์สอนการด�ำน�้ำ สปาเซ็นวารี และคิดส์คลับ แผนงานการพัฒนาธุรกิจเน้นขยายโรงแรมจากสัญญาบริหารจัดการ ในประเทศไทย ประเทศกลุ่มอาเซียน ประเทศกลุ่มมหาสมุทรอินเดีย และประเทศจีน ในทุกกลุม่ เป้าหมายโดยเฉพาะตลาดโรงแรม 4 ดาวและ 3 ดาวซึง่ มีศกั ยภาพการเติบโตสูง นอกจากนี้ ในปลายปี 2555 หรือต้นปี 2556 จะมีการเพิ่มแบรนด์ส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการห้องพักระดับคุ้มค่าที่สะดวกสบาย (Economy)
15
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมโรงแรมและรีสอร์ท การตลาด ในปี 2554 เรามีความมุ่งมั่นและกระตือรือร้นในการรับมือกับภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวทั่วโลก ซึ่งถือได้ว่า เรายังคงประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี ในการสื่อสารกิจกรรมทางการตลาด ธุรกิจด�ำเนินไปได้ด้วยดีในไตรมาสแรก และถึงแม้ในไตรมาสที่ 2 และ 3 ของปี ซึ่งเป็นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยว ยังคงได้รับการตอบรับที่ดีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากตลาดออสเตรเลียและเอเชีย ต้นเดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจซึ่งก�ำลังเป็นไปด้วยดี สื่อมวลชนรายงานข่าวไปทั่วโลก มีประกาศเตือนนักท่องเที่ยว ให้หลีกเลี่ยงการเดินทางมาประเทศไทย เนื่องจากสภาวะน�้ำท่วมและอาจส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ ถึงแม้ว่าพื้นที่และแหล่งท่องเที่ยวส่วนใหญ่ จะไม่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยก็ตาม ข่าวสารที่น�ำเสนอออกไปเรื่องอุทกภัย ส่งผลกระทบอย่างมากต่อธุรกิจในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี ซึ่งคาดไว้ว่าธุรกิจจะเติบโตขึ้น อย่างไรก็ตาม สถานการณ์น�้ำท่วมได้คลี่คลายลงในช่วงปลายปี ท�ำให้ยอดการจองห้องพักกลับคืนมา ปี 2554 ฝ่ายการตลาดและการขายได้เตรียมพร้อมส�ำหรับโรงแรมเปิดใหม่ ในประเทศไทย มีการเปิดตัววอเตอร์ฟร้อนท์สวีทภูเก็ต บายเซ็นทารา, ปรับภาพลักษณ์และเปลี่ยนชื่อ เซ็นทาราแกรนด์เวสต์แซนด์รีสอร์ทและวิลลา ภูเก็ต, เปิดโรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์อุดรธานีภายหลัง การปิดปรับปรุง และเปิดรีสอร์ทใหม่ 2 แห่งที่พัทยา เมืองท่องเที่ยวยอดนิยมตลอดมา ในต่างประเทศ เปิดรีสอร์ทแห่งใหม่ ในศรีลังกา 2 แห่ง เกาะมอริเชียส 2 แห่ง เกาะบาหลี 2 แห่ง ซึ่งแห่งหนึ่งได้เปิดให้บริการไปแล้วในวันสุดท้าย ของปี 2554 และรีสอร์ทระดับ 4 ดาวใหม่ภายใต้แบรนด์เซ็นทาราในเกาะมัลดีฟส์ ซึ่งท�ำให้เรามีรีสอร์ทถึง 2 แห่งบนเกาะท่องเที่ยวที่งดงามและได้รับ ความนิยม เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจ เราได้เปิดส�ำนักงานตัวแทนฝ่ายขายระหว่างประเทศ ในประเทศจีนเพิ่มอีกสองแห่ง คือเซี่ยงไฮ้และปักกิ่ง แสดงให้เห็น ถึงความมุ่งมั่นและศักยภาพของเครือข่ายของส�ำนักงานตัวแทนฯ ทั้งหมด 9 แห่ง ในการสนับสนุนการขยายกลุ่มลูกค้าในตลาดหลักที่ส�ำคัญ กลยุทธ์ในด้านออนไลน์ เราพัฒนาเว็บไซต์ของแต่ละแบรนด์ และปรับปรุงเว็บไซต์กลางขององค์กร เพื่อแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะแบรนด์ และภาพลักษณ์ใหม่ที่ทันสมัยขึ้น นอกจากนี้ การพัฒนาเครือข่ายสังคมออนไลน์ และการพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งก�ำลัง เป็นที่นิยม ท�ำให้มั่นใจว่าเราสามารถเข้าถึงและให้บริการกับลูกค้าได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ปี 2555 เราจะมุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดประสิทธิผลที่ดีต่อองค์กร รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ของระบบรายงาน ที่เรา และลูกค้าคู่สัญญาสามารถสื่อสารและจัดเก็บข้อมูลผ่านทางระบบเดียวกัน จากองค์ประกอบทั้งหมดและทีมงานที่มุ่งมั่นให้บริการ รวมถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เรามีความเชื่อมั่นในการขยายธุรกิจให้เติบโต และมีส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้นตลอดปี 2555
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารายังคงมุง่ เน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนือ่ ง โดยได้จดั โครงการและกิจกรรมต่างๆ มากมาย ดังต่อไปนี้ 1. โครงการ 4 สร้าง: สร้างโอกาส สร้างฝัน สร้างอนาคต สร้างอาชีพกับเซ็นทารา แต่เดิมใช้ชื่อว่า โครงการพัฒนาอาชีพเยาวชน ภายใต้การ สนับสนุนของกองทุนสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ หรือยูนิเซฟ (UNICEF) ได้ร่วมโครงการนี้กับโรงแรมอื่นๆ ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2546 ถึงปี 2553
2. 3.
4.
5.
16
สารบัญหลัก
ในปี 2554 องค์กรยูนิเซฟได้ยุติการสนับสนุนโครงการดังกล่าว แต่โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารายังคงเล็งเห็นความส�ำคัญ และด�ำเนิน โครงการนี้ต่อไป เพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้างอาชีพที่ยั่งยืนให้แก่เยาวชนไทย ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้รับการสนับสนุนทางการเงินบางส่วนจากกรม พัฒนาฝีมอื แรงงาน โดยรับนักเรียนจากโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และราชประชานุเคราะห์หลายแห่งทัว่ ประเทศ เข้ารับฝึกงานเป็นระยะเวลา 5 เดือน ในแผนกครัว แผนกแม่บ้าน แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม แผนกล้างจานและแผนกจัดสวน มีนักเรียนรุ่นแรกที่ส�ำเร็จหลักสูตรทั้งสิ้น 61 คน และได้บรรจุเป็นพนักงานประจ�ำในโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราหลายแห่ง การท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ซึง่ เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทีม่ ชี อื่ เสียงในประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการรับนิสติ นักศึกษาเข้าฝึกงาน และในปีพ.ศ. 2555 บริษทั ฯ มุ่งหวังที่จะสร้างเครือข่ายโดยการท�ำบันทึกข้อตกลงเพิ่มเติมกับสถาบันการศึกษาภายในประเทศอย่างน้อยอีก 20 แห่ง การรับนักศึกษาต่างชาติเข้าฝึกงาน บริษัทฯ รับนักศึกษาจากสถาบันชั้นน�ำด้านการโรงแรมจากต่างประเทศเข้าฝึกงาน ได้แก่ นักศึกษาจาก สถาบัน Glion Institute of Higher Education, Les Roches International School of Hotel Management, Erasmus University Rotterdam เป็นต้น นักศึกษาเหล่านี้ได้เข้ารับการฝึกงานในโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ทั้งในแผนกบริการลูกค้าส่วนหน้าและส่วน ส�ำนักงานของโรงแรม การจัดท�ำแผนภูมกิ ารฝึกอบรม ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส�ำนักงานใหญ่ได้สร้างแผนภูมกิ ารฝึกอบรมทีแ่ สดงถึงหลักสูตรฝึกอบรมภาคบังคับของ พนักงานแต่ละระดับขององค์กร ได้แก่ หลักสูตรฝึกอบรมทั่วไป หลักสูตรฝึกอบรมภายในแผนก หลักสูตรฝึกอบรมภาคบังคับ และหลักสูตรฝึก อบรมเพื่อการพัฒนาภาวะความเป็นผู้น�ำ นอกจากนี้ ยังได้ก�ำหนดจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมโดยเฉลี่ยทั้งปี เพื่อให้พนักงานแต่ละระดับสะสม และปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ โครงการร่วมของฝ่ายทรัพยากรบุคคลในบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล เพื่อการเป็นองค์กรที่น่าเข้าท�ำงาน โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ได้ร่วมมือกับบริษัทอื่นในกลุ่มเซ็นทรัล ในการริเริ่มโครงการทรัพยากรบุคคลร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้พนักงานภายในและบุคคล ทัว่ ไปรูจ้ กั บริษทั กลุม่ เซ็นทรัลทัง้ 5 บริษทั มากขึน้ เป็นการแสดงถึงภาพลักษณ์ของบริษทั ทีม่ ธี รุ กิจหลากหลาย อีกทัง้ ยังท�ำให้พนักงานได้ตระหนัก ถึงโอกาสในการท�ำงานภายในกลุม่ บริษทั โครงการล�ำดับแรกคือ การใช้ศนู ย์ฝกึ อบรมส่วนกลางในการจัดหลักสูตรฝึกอบรมให้พนักงานของแต่ละ กลุ่มบริษัท นอกจากนี้ ยังมีแผนในการจัดงาน “วันก้าวสู่อาชีพกับบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล” อีกด้วย รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร ปี 2554 ธุรกิจบริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (ซีอาร์จี) มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องจากปีทีผ่านมา และเป็นอีกปีที่บริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จ โดยมีผลประกอบการที่สูงกว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ถึงแม้ว่าจะเผชิญภัยธรรมชาติที่ไม่คาดคิดต่างๆ เช่น เหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิที่ประเทศ ญีป่ นุ่ ในไตรมาสแรกของปี และเหตุการณ์มหาอุทกภัยในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี ส่งผลให้ธรุ กิจได้รบั ความเสียหาย และบางส่วนต้องปิดตัวลงในระยะ เวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม จากการวางแผนกลยุทธ์ที่ดีท�ำให้บริษัทฯ สามารถปรับตัวรับสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ ลดความ เสียหายและสามารถพลิกฟืน้ ได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ท�ำให้บริษทั ฯ สามารถเติบโตได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีรายได้รวมของบริษทั ฯ เท่ากับ 6,496 ล้าน บาท เพิ่มขึ้น 23.7% ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเติบโตที่สูงที่สุด มีจ�ำนวนสาขารวมทั้งสิ้น 603 สาขา ภายใต้การด�ำเนินธุรกิจของ 12 แบรนด์ โดยมีแบรนด์ ใหม่ในปีนี้ทั้งสิ้น 2 แบรนด์ ได้แก่ แบรนด์ โยชิโนยะ ข้าวหน้าเนื้อสไตล์ญี่ปุ่น และ โอโตยะ ร้านอาหารญี่ปุ่นสไตล์ โฮมเมด นอกจากนี้ ซีอาร์จี ยังได้รับรางวัลจากต่างประเทศ 3 รางวัลด้วยกัน คือ 1. รางวัลของแบรนด์ เค เอฟ ซี ได้แก่รางวัล “CHAIRMAN’S CIRCLE AWARD FOR OUTSTANDING ACHIEVEMENT IN THAILAND” จากบริษัท ยัม แบรนด์ส อิงค์ ( Yum Brands Inc.) สหรัฐอเมริกา เป็นรางวัลแรกที่เริ่มประกาศในการประชุมแฟรนไชส์โลก (YRI Global Franchise Convention) ที่ เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา ในเดือน พฤษภาคม 2554 มอบให้กับ คุณธีระเดช จิราธิวัฒน์ ในฐานะผู้น�ำขอ งบริษัทแฟรนไชส์ที่ได้รับการคัดเลือกจากแฟรนไชส์ทั่วโลก ในการขยายแบรนด์เค เอฟ ซี ให้เติบโตอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 2 ปีติดต่อกัน โดยมี อัตรายอดขายต่อร้านค้า (same store sales) เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 40% 2. รางวัล “Best X-Factor Award” เป็นรางวัลที่มอบให้กับ ร้าน โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ที่สามารถสร้างกิจกรรมที่โดดเด่น โดยมอบประสบการณ์ แห่งความสุข สนุกให้กับลูกค้าและพนักงาน ตามวัฒนธรรมของ แบรนด์ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ 3. รางวัล Top Store Award เป็นรางวัลที่ให้กับร้าน โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ สาขาเซ็นทรัลบางนา ซึ่งมี คะแนน “QSCE score” (คุณภาพ การบริการ ความสะอาด และสร้างสรรค์ประสบการณ์ที่ดีกับผู้บริโภค) สูงเกิน 90% และมียอดขายที่ดีต่อเนื่อง
รายงานผลประกอบการ
มิสเตอร์โดนัท มิสเตอร์ โดนัท ผู้น�ำตลาดโดนัทในประเทศไทยที่รักษาส่วนแบ่งทางการตลาดได้มากกว่า 60% อันเป็นผลมาจากการวิจัยและวิเคราะห์ผู้บริโภค อย่างลึกซึ้ง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ตรงจุด ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่ถูกใจผู้บริโภคออกสู่ตลาด อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการวางแผนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการมุ่งเน้นการขยายสาขาให้ครอบคลุม พื้นที่ทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด ปี 2554 มิสเตอร์ โดนัท ได้จัดแคมเปญใหญ่ฉลองความส�ำเร็จ 33 ปีในประเทศไทย ภายใต้ชื่อแคมเปญ “แจกโชคเต็มกล่อง 3.3 ล้าน ฉลอง 33 ปี แห่งความผูกพัน” เป็นการขอบคุณลูกค้า มิสเตอร์ โดนัท ประสบความส�ำเร็จในการสร้างยอดขายเพิ่มขึ้นสูงถึง 12% ซึ่งมาจากปัจจัยต่างๆ อาทิ การจัดแคมเปญใหญ่ครบรอบ 33 ปี โดยจัดเป็นโปรโมชั่นพิเศษคืนก�ำไรให้กับลูกค้าต่อเนื่อง 3 เดือน และการจัดกิจกรรมส่งคูปองชิงโชครถยนต์ และตอกย�้ำความเป็นแบรนด์ผู้น�ำของตลาดโดนัท นอกจากนี้ ยังมีการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์แปลกใหม่ที่ตรงใจผู้บริโภคในการสร้างยอดขาย อาทิเช่น สตรอเบอร์รี่ ครีม ชีส (Strawberry Cream Cheese), ซูชิโด 2 (Sushido 2), และ แคมเปญช็อคโกมาเนีย พรีเมียม (Choco Mania Premium) มิสเตอร์ โดนัท มีการขยายร้านสาขาจ�ำนวน 21 สาขา ท�ำให้มีสาขารวมทั้งสิ้น 265 สาขา ครอบคลุมพื้นที่ 65 จังหวัดทั่วประเทศ
เค เอฟ ซี ผู้น�ำในธุรกิจร้านอาหารบริการด่วน (Quick Service Restaurant) ของประเทศไทย มีจ�ำนวนสาขาภายใต้การบริหารงานของ บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด จ�ำนวน 168 สาขา ซึ่งคิดเป็น 40% จากจ�ำนวนสาขาทั้งสิ้น 417 สาขาทั่วประเทศ เค เอฟ ซี สามารถสร้างการเติบโตของรายได้สงู ถึง 18% ภายใต้การมุง่ พัฒนาเมนูใหม่ตามแนวคิดเมนูวาไรตี้ เพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค ในทุกวัย รวมถึงขยายฐานผลิตภัณฑ์ไปยังกลุ่มเบอร์เกอร์ เพื่อเติมเต็มช่องว่างทางการตลาดส�ำหรับผู้บริโภคที่ให้ความส�ำคัญกับสุขภาพเป็นหลัก นับเป็นปีแห่งความส�ำเร็จในการสร้างยอดขาย ต่อเนื่องจากปี 2553 โดยการน�ำเสนอเมนู ทาร์ตไข่ (Egg Tart) ที่เป็นเมนูของหวานส�ำหรับทานเล่น ออกสู่ตลาดเป็นครั้งแรก ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้บริโภค ตามด้วย เมนูหลัก COB Freshly Prepared ที่เน้นการปรุงสดใหม่ ด้วยสูตรลับ และขบวนการ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ เค เอฟ ซี นอกจากนั้น เค เอฟ ซี ยังมุ่งมั่น การรักษาระดับราคา ระหว่าง เค เอฟ ซี และ คู่แข่ง ไม่ให้ต่างกันมาก ท�ำให้แบรนด์ เค เอฟ ซี เข้าถึงลูกค้าคนไทย มากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับสโลแกนใหม่ที่ว่า “เค เอฟ ซี โซ กู๊ด (KFC So Good)”
17
อานตี้ แอนส์ อานตี้ แอนส์ เติบโตอย่างโดดเด่น โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้สูงถึง 14% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ความส�ำเร็จดังกล่าวเป็นผลมาจาก การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบ และรสชาติหลากหลาย รวมถึงการพัฒนาเครื่องดื่มใหม่ ภายใต้แนวคิด”ที่สุดกับทุกเมนูสร้างสรรค์ของ อานตี้ แอนส์ (What Could Be Better!)” นอกจากนี้ ยังมีการขยายช่องทางการขายเพิ่มขึ้น เช่น โรงพยาบาล เป็นต้น การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อหลายช่องทางได้แก่ สื่อโทรทัศน์ รถไฟฟ้า นิตยสาร และสื่อสังคมออนไลน์ การจัดโปรโมชั่นร่วมกับพันธมิตรเพื่อขยายฐานลูกค้า และจัดกิจกรรมเพื่อสังคมกับกลุ่มสมาชิกเพื่อสร้างความผูกพันกับแบรนด์ โดยมีการแนะน�ำผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น ดับเบิ้ลแฮมชีส เพรทเซล โรล (Double Ham Cheese Pretzel Roll), โกลเด้น ริง เพรทเซล (Golden Ring Pretzel), ชิกเก้น เท็กซัส มอซซ่า เพรทเซล ไบท์ส (Chicken Texas Mozza Pretzel Bites) และ โนริ แฮม ชีส เพรทเซล ไบท์ส (Nori Ham & Cheese Pretzel bites)
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร นอกเหนือจากการให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้ว อานตี้ แอนส์ ยังมีระบบสมาชิกซึง่ เป็นเครือ่ งมือในการสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้าอย่าง แข็งแกร่ง มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งตลอดทัง้ ปี ซึง่ ล้วนแล้วแต่ได้รบั ความนิยมจากกลุม่ สมาชิกเป็นอย่างดี ซึง่ มีสาขาเปิดให้บริการทัง้ สิน้ 86 สาขา
เปปเปอร์ ลันซ์ ร้านสเต็กสไตล์ญปี่ นุ่ เปิดด�ำเนินการมาเป็นปีที่ 4 ซึง่ มีอตั ราการเติบโตของรายได้ 71% จากจ�ำนวนร้านทัง้ สิน้ 13 สาขา โดยมีการเปิดสาขาเพิม่ ขึน้ 6 สาขา เปปเปอร์ ลันช์ มุง่ เน้นที่ 3 กลยุทธ์หลัก คือ การสร้างสรรค์เมนูทหี่ ลากหลาย การสร้างแบรนด์ทมี่ คี วามเป็นเอกลักษณ์และเป็นทีร่ จู้ กั รวมถึงการเน้นย�ำ้ ภาพลักษณ์ของความเป็นอาหารญีป่ นุ่ ภายใต้แนวคิด “The Original Japanese DIY TEPPAN Restaurant” โดยตลอดปีทผี่ า่ นมา เปปเปอร์ ลันช์ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และโปรโมชั่นใหม่ๆออกสู่กลุ่มผู้บริโภค อาทิ ‘แคมเปญ Chick’Enjoy’ ข้าวเปปเปอร์ไก่นุ่ม มอซซาเรลาชีส ‘แคมเปญ Yaki Selection’ สเต็กเนื้อย่างยากินิขุ, ข้าวเนื้อย่างยากินิขุ ‘แคมเปญ Seafood Delights’ ข้าวเปปเปอร์กุ้ง ข้าวเปปเปอร์แซลมอน และ ‘แคมเปญ Sizzling Curry Rice’ ข้าวแกงกะหรี่ซีฟู๊ด ข้าวแกงกะหรี่ไก่และหมู ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีจากกลุ่มลูกค้าท�ำให้ เปปเปอร์ ลันช์ มีผลงานที่ดีขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เปปเปอร์ ลันช์ สร้างความแตกต่างจากร้านอาหารบริการด่วนและร้านอาหารญี่ปุ่นทั่วไป ผ่านการท�ำกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในหลากหลายช่องทาง อาทิ รายการแนะน�ำร้านอาหารในนิตยสาร สื่อสิ่งพิมพ์ ทีวี เคเบิ้ลทีวี สื่อออนไลน์ต่างๆ การร่วมโปรโมชั่นกับพันธมิตรทางการค้าต่างๆ เพื่อเพิ่มฐาน ลูกค้าอย่างต่อเนื่องตลอดปี
เบียร์ด ปาปาส์ ในปี 2554 เบียร์ด ปาปาส์ มีอัตราการเติบโตของรายได้สูงกว่าปีที่ผ่านมา 38% โดยมีการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง อาทิ ครีมพัฟ ไส้ช็อคโกแล็ตผสมกล้วย (Chocolate Banana Cream Puff), ครีมพัฟ ไส้สตรอเบอร์รี่ (Strawberry Custard Cream Puff), ครีมพัฟไส้ชอคโกแล็ตผสมอัลมอนด์ (Chocolate Almonds Cream Puff) ครีมพัฟหน้าบลูเบอร์รคี่ รีมชีส (Blueberry Cream Cheese Deluxe Cream Puff) รวมถึงการจัดชุดคอมโบ ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างดี เบียร์ด ปาปาส์ ยังมีการท�ำกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในหลากหลายช่องทาง เช่น สื่อออนไลน์ รายการแนะน�ำร้านอาหารในสื่อสิ่งพิมพ์ การร่วมโปรโมชั่น กับพันธมิตรทางการค้า นอกจากนี้ เบียร์ด ปาปาส์ ได้ขยายการเปิดสาขาเพิ่ม 4 สาขาในปี 2554 เพื่อเข้าถึงผู้บริโภค และสร้างการรับรู้แบรนด์ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ท�ำให้มีสาขาเปิดให้บริการทั้งสิ้น 14 สาขา ในเขตกรุงเทพมหานคร
ชาบูตง ราเมนต้นต�ำรับจากญีป่ นุ่ โดยสุดยอดเชฟราเมน ทีวแี ชมป์เปีย้ น เจ้าแรกในประเทศไทย ซึง่ ทางบริษทั ฯ ได้เปิดบริการตัง้ แต่ปี 2553 ชาบูตงมีตน้ ก�ำเนิด จาก มร. ยาสุจิ โมริซึมิ เชฟราเมนชื่อดังที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากรายการทีวีแชมป์เปี้ยน (TV Champion) และยังเป็นราเมนเจ้าแรกและเจ้าเดียว ที่ได้รับเกียรติตีพิมพ์ลงในนิตยสาร MICHELIN Guide LA ซึ่งเป็นนิตยสารแนะน�ำร้านอาหารชื่อดังในสหรัฐอเมริกา ชาบูตงได้รับความนิยมอย่างมากและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ในหมู่ผู้ชื่นชอบอาหารญี่ปุ่นประเภทราเมนในประเทศไทย โดยมีเมนูราเมนต้นต�ำรับ ที่ได้รับความนิยมถึง 4 แบบ คือ บะหมี่ในน�้ำซุปกระดูกหมูรสเข้มข้น (Tonkotsu Ramen), บะหมี่ในน�้ำซุปกระดูกหมูรสกลมกล่อม (Shio Tonkotsu Ramen), บะหมี่ในน�้ำซุปซีอิ๊วญี่ปุ่น (Shoyu Ramen) และ บะหมี่เย็นญี่ปุ่นสไตล์ดั้งเดิมกับซอสซารุร้อนที่ปรุงจากซีอิ๊ว (Shoyu Zaru Ramen) นอกจากนี้ยังมีท็อปปิ้งหลากชนิดให้ลูกค้าได้เลือกชิม ในปีนี้ ชาบูตงได้พัฒนาเมนูใหม่ บะหมี่ในน�้ำซุปกระดูกหมูผสมซุปมิโซะ (Tonkotsu Miso Ramen) ซึ่งก็ได้รับการตอบรับที่ดีเช่นกัน ในปี 2554 ชาบูตงมีอตั ราการเติบโต มากกว่า 3 เท่าจากปีทผี่ า่ นมา มีการขยายสาขาเพิม่ ขึน้ อีก 5 สาขา ท�ำให้มสี าขาทัง้ สิน้ 7 สาขาในเขตกรุงเทพมหานคร
โคล์ด สโตน ครีมเมอรี่ ไอศกรีม โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ เปิดสาขาแรกในประเทศไทย ในปี 2553 ที่เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 6 โดย เป็นไอศกรีม มิกซ์-อิน ระดับซูเปอร์พรีเมียม รายแรกของอเมริกา ความส�ำเร็จของ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ (Cold Stone Creamery) อยู่ที่การสร้างสรรค์ไอศกรีมในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว หรือเลือกสรร การผสมผสานความอร่อยสไตล์ของตัวเอง ด้วยรสชาติความอร่อยเข้มข้นไม่เหมือนใครสไตล์อเมริกัน โดยคัดสรรวัตถุดิบชั้นดี และความพิถีพิถัน ในการ ผสมผสาน (มิกซ์-อิน) ส่วนผสมต่างๆ บนแผ่นหินแกรนิตเย็นจัด ถึงแม้ว่าจะประสบปัญหาการขาดแคลนสินค้าจากวิกฤตอุทกภัยที่ท�ำให้วัตถุดิบเสียหาย แต่โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นกว่า 1.5 เท่าเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ (Cold Stone Creamery) โดยมีสาขาเปิดให้บริการแล้ว รวม 8 สาขา ในเขตกรุงเทพมหานคร
18
ริว ชาบู ชาบู บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ได้พัฒนาแบรนด์นี้ โดยเปิดให้บริการในเดื่อนมีนาคม ปี 2553 ที่ สยามสแควร์ ซอย 3 ซึ่งเป็นชาบู–ชาบู สไตล์ญี่ปุ่น ภายใต้คอนเซปต์ “All You Can Eat “ให้บริการแบบบุฟเฟ่ต์ ริวบุฟเฟ่ต์ชาบู-ชาบู เป็นชาบู ชาบู สไตล์โอซาก้า ที่รวมเมนูอาหาร ซูชิ บ๊อกซ์ และข้าวปั้นนานาชนิด นอกจากนี้ ความพิเศษที่มีน�้ำซุปสูตรเฉพาะรสเด็ด 2 ชนิด คือ Katsuo Bushi Dashi Soup (น�้ำซุปปลาแห้ง) และ Kombu Dashi Soup (ซุปสาหร่ายคอมบุ) น�้ำซุปที่น�ำสาหร่ายทะเลกับกระดูกหมูเคี่ยวรวมกันพร้อมกับผัก อีกทั้งน�้ำจิ้มที่มีให้เลือกรับประทาน ถึง 3 แบบ Gomadare (น�้ำจิ้มงาขาว), Ponzu Sauce (น�้ำจิ้มพอนซึ), Red Sauce (น�้ำจิ้มสุกี้) รสชาติ ความสดใหม่ และราคาที่คุ้มค่า ท�ำให้ ริว ชาบู ชาบู ได้รับการตอบรับที่ดีจากกลุ่มผู้บริโภค ในปี 2554 มีอัตราการเติบโตมากกว่า 80% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร
เดอะเทอเรส บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ได้ท�ำการซื้อลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า “เดอะ เทอเรส” ในปี 2553 โดยมีสาขาทั้งสิ้น 6 สาขาภายใน ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล และได้มีการพัฒนาแบรนด์ ด้วยการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์, โลโก้, การตกแต่งร้าน, เครื่องแบบพนักงาน, เมนูรูปเล่มใหม่ ภายใต้ แนวคิดสัมผัสความรู้สึกแห่งโลกสีเขียว (Feel the Greenery) ในปี 2554 เดอะเทอเรสได้เริ่มท�ำกิจกรรมต่างๆในการพัฒนาแบรนด์ อาทิ การจัดท�ำเมนูแคมเปญแนะน�ำอาหาร ที่เป็นเมนูยอดนิยมของเดอะ เทอเรส และพัฒนาเมนูใหม่ๆ เพื่อสร้างความแปลกใหม่ให้กับผู้บริโภค อาทิ เมนูแคมเปญ ’เพิ่มรสชาติให้ชีวิต’ (Spice of Life) เป็นเมนูรสจัดจ้าน เมนูแคมเปญ ‘สดทุกจานจากทะเล’ (Fresh from the Sea) เมนูแคมเปญ ‘สุขภาพดี สไตล์เดอะเทอเรส’ (Healthy Eating) เป็นต้น นอกจาก นี้ เดอะเทอเรสยังมีการสร้างการรับรู้ของแบรนด์ (Brand Awareness) ผ่านช่องทางประชาสัมพันธ์ ต่างๆ เดอะเทอเรส มีผลประกอบการที่ดี โดยมีการเติบโตกว่าเป้าหมายที่วางไว้ ราว 10% นอกจากนั้นยังได้เปิดสาขาตามแนวคิดสัมผัสความรู้สึกแห่งโลกสีเขียว (Feel the Greenery) เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 2 สาขา ที่เซ็นทรัล เวิลด์ และ เทอมินัล 21
คาเฟ่อันโดนัน เปิดให้บริการครั้งแรกในประเทศไทย ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2553 ที่เซ็นทรัลเวิร์ล ชั้น 6 นับเป็นคาเฟ่ อันโดนันสาขาแรกที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น คาเฟ่อันโดนันเป็นร้าน กาแฟและโดนัท (Coffee & Donut) สไตล์ญี่ปุ่น ที่น�ำเสนอกาแฟคุณภาพเยี่ยมและฟิวชั่นโดนัท ด้วยความพิถีพิถัน ในการคัดสรรเมล็ดกาแฟ จากแหล่งปลูกกาแฟอันเลือ่ งชือ่ ระดับโลก และการเลือกสรรวัตถุดบิ อย่างดี มาปรุงแต่งเป็นโดนัทอันหลากหลายทีเ่ สิรฟ ์ ร้อน ทุกชิ้น โดยเฉพาะเมนูเด่นของร้านคือ “เอสเพรสโซ่/ราสเบอร์รี่ อัฟโฟกาโต” (Espresso/Raspberry Affogato) โดนัทร้อน สอดไส้คัสตาร์ดครีม หอมหวาน ราดด้วยโฟมวิปครีมนุ่มและอัลมอนด์อบ/หรือซอสราสเบอร์รี่ ทานคู่กับกาแฟดับเบิ้ลเอสเพรสโซช็อต ซึ่งได้สูตรลับรสชาติเฉพาะ ของต้นต�ำรับจากญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมี “บลูเบอร์รี่ ชีส โดนัท” (Blueberry Cheese Doughnut), “เวรี่ สตรอเบอร์รี่ โยเกิร์ต โดนัท” (Very Strawberry Yoghurt Donut) และในปี 2554 คาเฟ่ อันโดนัน ได้มีการพัฒนาโดนัทรสชาติใหม่ อาทิเช่น ช็อคโกแล็ต บราวนี่โดนัท (Chocolate Brownie), สตรอเบอร์รี่ เฮฟเว่น โดนัท (Strawberry Heaven), บานาน่า ช็อคโกเครปสอดไส้ไอศกรีมวานิลา (Banana Choco Crepe with Vanilla Ice Cream)
โยชิโนยะ บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด เปิดตัวแบรนด์ “โยชิโนยะ (Yoshinoya)” สุดยอดต้นต�ำรับข้าวหน้าเนื้อสไตล์ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2554 ณ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว “โยชิโนะ” เป็นชื่อต�ำบลบ้านเกิดของ นายเอคิจิ มัทสึดะ ซึ่งเป็นผู้เปิดร้านโยชิโนยะร้านแรก ถือก�ำเนิดขึ้นที่ตลาดปลาแถบนิฮนบาชิ โตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น ในปี 2442 โดยมีอาหารที่ขึ้นชื่อคือ “กิวด้ง” หรือ ข้าวหน้าเนื้อ ที่ราคาคุ้มค่าและบริการได้รวดเร็ว และเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ที่โตเกียวในปี 2466 ร้านจึงย้ายมาอยู่ที่ต�ำบลทสึคิจิ ในปี 2554 โยชิโนยะฉลองครบรอบ 112 ปี ด้วยสาขามากกว่า 1,600 สาขาทั่วโลก โยชิโนยะ ได้รับความนิยมจากความส�ำเร็จ 3 ประการคือ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ การบริการที่รวดเร็ว และราคาที่คุ้มค่า โดยมีสาขาที่เปิดในปี 2554 ทั้งสิ้น 3 สาขา คือ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้าว, ศูนย์การค้าเทอมินัล 21 และเซ็นทรัลพลาซ่า พระราม 9 ตามล�ำดับ คาดว่าจะขยาย สาขาได้ตามศูนย์การค้า และแหล่งธุรกิจต่างๆ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด
โอโตยะ บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ได้เข้าซื้อกิจการและสิทธิ์การบริหารร้าน โอโตยะ ในประเทศไทยทั้งหมด (ซึ่งเปิดกิจการ ตั้งแต่ปี 2554) รวม ถึงสิทธิ์การขยายสาขาแบรนด์โอโตยะในเขตภูมิภาคเอเซีย โดยเริ่มบริหารกิจการในเดือน กันยายน 2554 โอโตยะ เริม่ เปิดร้านแรกในปี 2501 โดยนายเออิชิ มิตซูโมริ ในชือ่ “โอโตยะ โชคูโด” ทีย่ า่ นอิเคบูโคโร, โตเกียว จากความนิยมและปรัชญาการปรุงอาหาร และเคล็ดลับในการปรุงอาหารโดยการใช้ถ่านชนิดพิเศษส�ำหรับปิ้งย่างอาหาร ท�ำให้ปัจจุบันโอโตยะ มีสาขากว่า 250 สาขาทั่วโลก ซึ่งในประเทศไทยมี ทั้งหมด 35 สาขาในย่านส�ำคัญของกรุงเทพฯ โดยสาขาล่าสุดได้เปิดด�ำเนินการที่เซ็นทรัล พลาซา พระราม 9 ชั้น 6 เมื่อเดือนธันวาคม 2554
19
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ภาพรวมกลุ่มธุรกิจอาหาร การพัฒนาธุรกิจ ธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากวิกฤตอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีกทีม่ หี น้าร้านให้บริการแก่ลกู ค้า ซึ่งไม่เพียงแต่จะประสบปัญหา และอุปสรรคจากการบริหารร้านค้า รวมถึงสภาวะสินค้าขาดแคลน ในทุกภูมิภาคของประเทศ อย่างไรก็ตามธุรกิจ ค้าปลีกของไทยยังคงเติบโต 5 – 6% ต�่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ที่ 8.5 – 10% แนวโน้มของตลาดค้าปลีกในปี 2554 มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยเฉพาะการเติบโตของศูนย์การค้าในลักษณะศูนย์การค้าชุมชน หรือ ที่เรียกว่าคอมมูนิตี้มอลล์ ซึ่งเคยได้รับความนิยม ด้วยการเป็นศูนย์การค้าที่ครอบคลุมพื้นที่ในรัศมี 3-5 กิโลเมตร ซึ่งช่วยประหยัดเวลา และ พลังงาน กลับเริ่มถดถอยลง เนื่องจากผู้บริโภคกลับไปใช้บริการ ภายในศูนย์การค้าขนาดใหญ่ ซึ่งน�ำเสนอความหลากหลายของสินค้าและบริการ โดยการรวบรวมร้านอาหาร สถาบันทางการเงิน โรงภาพยนตร์ ร้านเสริมความงาม ซุปเปอร์มาร์เก็ตขนาดใหญ่ และบริการอื่นๆ ไว้ในที่แห่งเดียว เป็นการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันที่ชื่นชอบความสะดวกสบาย อย่างไรก็ตาม ศูนย์การค้าชุมชนในลักษณะคอมมูนิตี้มอลล์ ยังคงได้รับความนิยมจากผู้บริโภคและยังเป็นช่องทางทางธุรกิจ และยังคงมีบทบาท ในตลาดค้าปลีกของไทยต่อไปอันเนื่องมาจาก พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่งปี 2550 ในปี 2554 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป ยังมุ่งเน้นการลงทุนในธุรกิจอาหารญี่ปุ่นด้วยการเปิดตัวแบรนด์ใหม่ คือ “โยชิโนยะ” จากประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังเสริมความแข็งแกร่งและเน้นความเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจร้านอาหารในประเทศไทย ด้วยการซื้อกิจการธุรกิจร้านอาหาร “โอโตยะ” ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีจ�ำนวนสาขารวมทั้งสิ้น 603 สาขา ซึ่งในจ�ำนวนนี้เป็นสาขาที่ได้ลงทุนเปิดใหม่ 63 สาขา ทั่วประเทศ ไม่ว่า จะมีภาวะกดดันหลายประการ อาทิเช่น ภาวะน�้ำท่วมใหญ่ วิกฤตการณ์ทางการเมือง รวมถึง พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่งปี 2550 ในปี 2555 บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่า ตลาดค้าปลีกรวมถึงเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังคงสดใส และสามารถดึงดูดความสนใจจากนักลงทุนทั่วไป โดยคาดการณ์ว่าการบริโภคภายในประเทศ จะเติบโตประมาณ 6.4% ซึ่งจะเป็นแรงสนับสนุน ให้มีการลงทุนในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ต่อไป บริษัทฯ มีแผนในการขยายสาขาอย่างต่อเนือ่ ง โดยพิจารณาเลือกท�ำเลเปิดร้าน ความเหมาะสมกับธุรกิจแต่ละประเภท ทั้งนี้เพือ่ ให้มั่นใจว่าการพัฒนา ธุรกิจร้านอาหารของบริษัทฯ จะประสบความส�ำเร็จ และสาขาที่เปิดใหม่มีผลประกอบการที่ดี
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ มุ่งเน้นพัฒนาพนักงานทั้งองค์กรเพื่อเพิ่มความรู้ความสามารถในการท�ำงาน โดยมีการจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ตามหน้าที่การท�ำงาน ของพนักงานแต่ละฝ่าย การจัดโครงการสัมมนาให้กับผู้จัดการร้านทั่วประเทศและพนักงานส�ำนักงานทั้งหมด เพื่อให้พนักงานทุกคนทั้งส่วนหน้าร้าน และส�ำนักงาน ได้ทราบถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ธุรกิจ และเป้าหมายองค์กร อันจะท�ำให้การท�ำงานของทุกฝ่ายสอดคล้องเป็นไปในทิศทาง เดียวกันเพือ่ การประสานงานทีด่ ี นอกจากนี้ ยังเน้นการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมให้แก่พนักงานสาขาในโครงการพัฒนาเส้นทางอาชีพ เพือ่ ให้พนักงาน สาขาได้ก้าวหน้าในหน้าที่การท�ำงานและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การจัดโครงการทวิภาคีและสหกิจศึกษาร่วมกับสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาทั่วประเทศ โดยมีสถาบันการศึกษาเข้าร่วม 33 สถาบัน มีจ�ำนวนนักเรียนกว่า 500 คนในปีที่ผ่านมา เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการรองรับการขยายธุรกิจในระยะยาว
กิจกรรมเพื่อสังคม บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญกับภาพลักษณ์องค์กร และสร้างชื่อเสียงในฐานะองค์กรที่ดีของสังคม โดยได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร ของกลุ่มเซ็นทรัล ในการด�ำเนินการโครงการเซ็นทรัลพัฒนาและดูแลสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายโครงการหลักของบริษัทกลุ่มเซ็นทรัล ในปี 2554 บริษัทฯ ได้ร่วมกับกลุ่มเซ็นทรัลท�ำโครงการ “น�้ำใจเซ็นทรัล เพราะมีคุณถึงมีเรา” เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบวิกฤตอุทกภัย เช่น การท�ำข้าวกล่องไปมอบให้ผปู้ ระสบอุทกภัยในเขตต่างๆของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล , การมอบถุงยังชีพและของใช้จำ� เป็นในครัวเรือนในจังหวัด ที่ประสบภัย การรณรงค์ให้พนักงานร่วมบริจาคโลหิตให้กับสภากาชาดไทยทุกเดือน การจัดท�ำโครงการ “แบ่งปันรอยยิ้ม เสริมความรู้สู่แหล่งชุมชน 5 โรงเรียน 5 ภูมิภาค” เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการศึกษาของเยาวชนให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมช่วยเหลือสังคม โดยแบรนด์ ในกลุ่มของบริษัทฯ เอง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรทางธุรกิจและความร่วมมือจากพนักงาน
20
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบชุดนี้ของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับการแต่งตั้งตามมติของคณะกรรการบริษัทครั้งที่ 3/2554 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2554 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ทุกท่านมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ และนายวิเชฐ ตันติวานิช เป็นกรรมการตรวจสอบ ในปี พ.ศ. 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่วมประชุมครบทุกท่านรวม 4 ครัง้ โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงของบริษทั และบริษทั ย่อย ผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้อง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมในวาระที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมเสนอข้อมูลและความเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหาร งานผลการประชุมได้สรุปเป็นรายงานเสนอให้คณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2554 ร่วมกับผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริหารผูม้ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ จัดท�ำรายงานทางการเงิน โดยสอบถามและรับฟังค�ำชีแ้ จงเกีย่ วกับความถูกต้องและครบถ้วนของงบการเงินตามหลักการบัญชีและพิจารณารายการปรับปรุง บัญชีทมี่ ผี ลกระทบต่องบการเงินทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ รวมทัง้ ได้นำ� ข้อสังเกตของผูส้ อบบัญชีมาปรับปรุงแก้ไข ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา อนุมัติ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้พบและหารือกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมประชุมด้วย เพื่อขอทราบปัญหาหรือความยุ่งยาก ที่ผู้สอบบัญชีประสบในการปฏิบัติงาน คุณภาพของเจ้าหน้าที่บัญชี การควบคุมภายในด้านบัญชี และการเปิดเผยขัอมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ยืนยันว่าไม่พบปัญหาในการปฏิบัติงานและได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารเป็นอย่างดี คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่างบการเงินดังกล่าวมีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปิดเผย ข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอและทันเวลา 2. ระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในร่วมกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายในทุกไตรมาส จากรายงานผลการตรวจสอบ ในรอบปีที่ผ่านมาฝ่ายจัดการได้ด�ำเนินการแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะอย่างเหมาะสม ไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี ซึง่ ค�ำนึงถึงหลักการตรวจสอบตามความเสีย่ ง รวมทั้งได้เน้น การตรวจสอบเพือ่ เพิม่ รายได้และลดค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานให้ลดลง และติดตามความคืบหน้าในการปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ ยังได้อนุมตั งิ บประมาณฝึกอบรม เพือ่ ส่งเสริมให้ผตู้ รวจสอบภายในมีโอกาสพัฒนาความรูต้ ามมาตรฐานสากลของวิชาชีพการตรวจสอบภายในอย่างต่อเนือ่ ง 3. การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทร่วมกับฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายตรวจสอบภายในและส�ำนักงานเลขานุการบริษัทแล้ว พบว่า บริษัทได้มีการก�ำกับ ดูแลการปฏิบัติงานตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม 4. รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานรายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันทุกไตรมาสเห็นว่าบริษัทได้คิดราคาซื้อขายสินค้า และค่าบริการกับบริษทั หรือบุคคลทีอ่ าจมีผลประโยชน์ขดั แย้งกันตามราคาทีเ่ ทียบกับราคาทีค่ ดิ กับบุคคลภายนอกเป็นไปตามแนวทางการด�ำเนินธุรกิจทัว่ ไป ไม่แตกต่างกับบุคคลภายนอก ไม่มีข้อบ่งชี้ถึงความผิดปกติและได้เปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนและเพียงพอ 5. การสอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบบทานความคืบหน้าการบริหารความเสี่ยงร่วมกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับ สูงของบริษัทเป็นประจ�ำทุกไตรมาส โดยเน้นการระบุและจ�ำแนกความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดการกับความเสี่ยงและการจัดท�ำแผนบริหาร ความเสี่ยงของกระบวนการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูง พบว่าบริษัทได้บริหารและจัดการความเสี่ยงตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง ที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงก�ำหนดอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 6. การพิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2554 ในระหว่างปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2555 โดยให้ส�ำนักงานสอบบัญชีชั้นน�ำ 4 แห่ง เสนอเงื่อนไขการ ให้บริการเป็นผู้สอบบัญชีของกลุ่มบริษัท และได้สอบทานคุณสมบัติของผู้สอบบัญชีและพิจารณาความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ว จึงขอเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัท เพื่อให้ขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นให้แต่งตั้งนางณฐพร พันธุ์อุดม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3430 หรือนายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 หรือนางสาวสกุณา แย้มสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4906 จากบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2555 โดยมีค่าสอบบัญชีเท่ากับ 1,447,000.- บาท (หนึ่งล้านสี่แสนสี่หมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน) ในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบด้วยตนเอง คณะกรรมการตรวจสอบได้เปรียบเทียบกิจกรรมทีส่ ำ� คัญของคณะกรรมการ ตรวจสอบในรอบปีกับกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ และแนวทางปฏิบัติที่ดีแล้ว ผลการประเมินอยู่ในระดับดี โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า คณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัทมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้บริษัทบรรลุเป้าหมาย ตามแผนงานเยี่ยงมืออาชีพ ผู้สอบบัญชีปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมและเป็นอิสระ และมีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรุงเทพมหานคร 13 กุมภาพันธ์ 2555 21
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายงานจากคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
ในปี 2554 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อบังคับของคณะกรรมการสรรหาและก� ำหนดค่าตอบแทน โดยมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง สรุปสาระส�ำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง กรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระประจ�ำปี 2554 2. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี 2554 ส�ำหรับคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ โดยได้มีการพิจารณาความเหมาะสมของหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานและเปรียบเทียบกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน ทั้งนี้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติตามที่เสนอ 3. พิจารณาและให้ความเห็นต่อแผนการสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท 4. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง 5. พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายและการด�ำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลของบริษัท 6. พิจารณาก�ำหนดเป้าหมายและประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 7. พิจารณาทบทวนหน้าที่ความรับผิดชอบและการปฏิบัติหน้าที่ตามข้อบังคับของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถและเป็นอิสระเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ผู้ถือหุ้นตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้รายงานสรุปผลการด�ำเนินงานเสนอให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบทุกครั้ง
ดร. ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
22
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
คณะกรรมการบริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี ซึ่งงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รองรับทั่วไป โดยเลือกใช้ นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสม และถือปฏิบตั สิ ม�ำ่ เสมอ และได้ใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวังและประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดท�ำ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และประเมินระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่ามีการบันทึก ข้อมูลทางบัญชีถูกต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ซึ่งความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) โดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความมั่นใจอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินรวมของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
( นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ ) ประธานกรรมการ
( มร. เกริด เคิร์ก สตีป ) กรรมการผู้จัดการใหญ่
23
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และ งบการเงิน
24
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายงานผู้สอบบัญชีรับอณุญาต งบแสดงฐานะการเงิน งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน
25 26 28 29 33 35
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ตามล�ำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อ ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจ สอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามิได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัทร่วมแห่งหนึ่งและกิจการที่ควบคุมร่วมกันแห่งหนึ่ง มูลค่าตามวิธีส่วนได้เสียของเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันดังกล่าวในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีจ�ำนวน 143 ล้านบาท และ 26 ล้านบาท ตามล�ำดับ และส่วนแบ่งขาดทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันเหล่านั้นส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี มีจ�ำนวน 37 ล้านบาท และ 61 ล้านบาท ตามล�ำดับ งบการเงินของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น โดยข้าพเจ้า ได้รับรายงานของผู้สอบบัญชีเหล่านั้น และความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจ�ำนวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุม ร่วมกันเหล่านั้น ซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ได้ถือตามรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นนั้น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ ความเชื่ อ มั่ น อย่ า งมี เ หตุ ผ ลว่ า งบการเงิ น แสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ หรื อ ไม่ การตรวจสอบรวมถึ ง การใช้ วิ ธี ก ารทดสอบ หลั ก ฐานประกอบรายการ ทั้ ง ที่ เ ป็ น จ� ำ นวนเงิ น และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ในงบการเงิ น การประเมิ น ความเหมาะสมของหลั ก การบั ญ ชี ที่ กิ จ การใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดท�ำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดง รายการที่น�ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับรายงานของผู้สอบบัญชีอื่นที่กล่าวถึงในวรรคแรก ให้ข้อสรุป ที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากการตรวจสอบของข้ า พเจ้ า และรายงานของผู ้ ส อบบั ญ ชี อื่ น ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การข้ า งต้ น นี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ตามล�ำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 และ 4 กิจการได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ได้ปรับปรุงใหม่แล้ว
(นายวิเชียร ธรรมตระกูล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3183 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 23 กุมภาพันธ์ 2555
25
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สินทรัพย์
หมายเหตุ
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ค่าความนิยม สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน
8 9 7 7 10 11
6, 12 13 13 7 14 15 7, 16 6, 17 7, 18 19 20
รวมสินทรัพย์
2554
งบการเงินรวม 2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)
315,941,985 555,948,503 107,788,208 167,495,000 399,890,413 178,926,188 33,711,889 1,759,702,186
299,352,113 457,120,835 69,142,055 167,495,000 304,062,823 280,411,634 47,445,060 1,625,029,520
6,000,448 145,423,485 55,830,506 430,650,000 20,644,752 10,990,229 669,539,420
42,100,200 113,283,395 55,734,588 1,414,500,000 21,827,879 42,311,408 8,131,930 1,697,889,400
884,000,020 351,268,126 311,280 96,213,375 507,628,676 13,320,034,444 2,955,925,532 314,602,238 416,540,368 341,447,753 735,913,326 19,923,885,138
921,664,308 157,666,297 327,205 93,511,025 500,395,143 12,563,276,109 3,111,119,922 115,416,847 480,352,132 107,454,717 761,692,315 18,812,876,020
4,274,695,445 805,204,788 240,000,000 4,061,600,000 328,502,347 4,789,811,145 156,610,721 43,218,378 130,960,801 14,830,603,625
4,211,489,748 805,204,788 240,000,000 2,758,176,105 321,148,244 4,528,634,615 224,528,588 45,057,845 179,013,897 13,313,253,830
21,683,587,324
20,437,905,540
15,500,143,045
15,011,143,230
1,917,865,027 1,540,881,466 408,000,000 1,598,966,615 62,000,000 121,272,529 94,008 6,000,000 88,917,402 70,173,600 157,602,308 540,145,729 6,511,918,684
1,124,691,676 1,194,452,838 888,000,000 999,032,667 62,000,000 125,142,509 2,721,799 90,580,000 66,201,480 154,925,342 514,247,448 5,221,995,759
1,698,331,463 312,436,532 288,000,000 1,598,966,615 50,333,333 75,839,496 71,179,499 70,000,000 44,609,861 70,173,600 201,501,765 4,481,372,164
1,111,929,924 302,354,562 788,000,000 999,032,667 50,333,333 75,839,496 4,683,706 821,500,000 45,440,000 66,201,480 164,328,626 4,429,643,794
2,718,000,000 3,199,049,302 93,000,000 2,771,122,291 15,796,620 -
2,226,000,000 3,998,128,363 155,000,000 2,888,524,840 28,582,103 -
2,018,000,000 3,199,049,302 1,295,290,412 7,924,505 116,726,443
696,000,000 3,998,128,363 1,345,623,745 14,344,203 192,565,939
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดเรียกคืนภายในหนึ่งปี ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี รายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชีที่ถึงก�ำหนดภายในหนึ่งปี หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝากที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส�ำรองการค�้ำประกัน เจ้าหนี้สิทธิการเช่าที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม รายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชี ส�ำรองการค�้ำประกัน หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก 26
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
21 23 21 21 21 7 7 7 7 7, 22
24
21 21 21 7 7, 22 7
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
เจ้าหนี้สิทธิการเช่า ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการต้นทุนการรื้อถอน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
27
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
หมายเหตุ
25 4
2554
งบการเงินรวม 2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)
167,949,165 63,638,297 94,473,458 9,123,029,133 15,634,947,817
70,173,600 52,174,078 18,247,279 9,436,830,263 14,658,826,022
57,858,283 60,806,149 6,755,655,094 11,237,027,258
70,173,600 14,198,187 6,331,034,037 10,760,677,831
1,580,800,000 1,350,000,000 970,000,000
1,580,800,000 1,350,000,000 970,000,000
1,580,800,000 1,350,000,000 970,000,000
1,580,800,000 1,350,000,000 970,000,000
158,080,000 1,769,362,067
158,080,000 1,424,458,024
158,080,000 1,784,247,495
158,080,000 1,771,566,865
224,182 1,548,307,984 5,795,974,233 252,665,274 6,048,639,507
240,107 1,591,972,406 5,494,750,537 284,328,981 5,779,079,518
788,292 4,263,115,787 4,263,115,787
818,534 4,250,465,399 4,250,465,399
21,683,587,324
20,437,905,540
15,500,143,045
15,011,143,230
26
26
27 27
-
-
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
รายได้ ค่าห้องพัก ค่าอาหารและเครื่องดื่ม รายได้อื่นจากการด�ำเนินงาน รายได้ค่าเช่า รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รวมรายได้
หมายเหตุ 7
2554
งบการเงินรวม 2553 (ปรับปรุงใหม่) (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)
8,177,526,089 428,850,306 114,612,529 296,422,671 11,574,229,839
6,715,195,278 399,517,627 114,612,529 244,694,896 9,500,239,177
579,327,090 150,447,795 50,333,333 386,932,568 528,275,220 2,489,764,884
592,227,669 134,698,269 50,333,333 463,472,260 379,076,945 2,323,074,398
488,287,270 4,315,767,619 319,966,413 2,762,901,410 336,264,608 526,227,056 517,612,403 1,005,027,237 46,801,226 73,696,403 414,072,559 10,806,624,204
385,619,027 3,582,735,816 261,934,680 2,331,563,397 330,316,570 448,228,490 457,829,297 1,111,445,565 44,261,351 11,980,000 307,526,066 9,273,440,259
149,462,078 408,220,903 124,947,987 534,260,234 188,242,248 155,666,892 162,543,056 210,716,194 46,471,226 36,972,250 342,177,962 2,359,681,030
137,480,832 416,153,651 112,398,973 259,841,884 183,813,442 130,278,252 163,156,755 353,764,623 43,831,351 6,010,000 253,122,185 2,059,851,948
39,240,685 38,742,008 77,982,693
4,829,818 (25,811,817) (20,981,999)
845,588,328 (255,100,320) 590,488,008
205,816,919 (220,237,439) (14,420,520)
130,083,854 130,083,854
263,222,450 263,222,450
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลก�ำไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี-สุทธิจากภาษี ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
(15,925) (15,925) 590,472,083
1,960 1,960 (14,418,560)
130,083,854
263,222,450
การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี
550,385,018 40,102,990 590,488,008
(55,776,604) 41,356,084 (14,420,520)
130,083,854 130,083,854
263,222,450 263,222,450
การแบ่งปันก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี
550,369,093 40,102,990 590,472,083
(55,774,644) 41,356,084 (14,418,560)
130,083,854 130,083,854
263,222,450 263,222,450
0.41
(0.04)
0.10
0.19
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย - ห้องพัก ต้นทุนขาย - อาหารและเครื่องดื่ม ต้นทุนขาย - รายได้อื่นจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการบริหารและทั่วไป ค่าเช่าที่ดินและอาคาร ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด ค่าซ่อมแซมและพลังงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) ในตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุน กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วม รวม ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี
ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
28
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
12, 13 29 28 7
7, 30 7, 22 32 28, 31
13 13
33
34
-
-
29
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การตัดค่าเสื่อมราคาของอาคาร ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร (ขาดทุน) ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี
รายการกับผูถ้ อื หุน้ ทีบ่ นั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตามที่ รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่
35
4
หมายเหตุ
1,350,000,000
-
-
1,350,000,000
1,350,000,000
ทุนเรือนหุ้น ที่ ออกและ ช�ำระแล้ว
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
970,000,000
-
-
970,000,000
970,000,000
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
158,080,000
-
-
158,080,000
158,080,000
1,424,458,024
(55,776,604) (55,776,604)
(67,500,000)
(29,693,034) 1,547,734,628
1,577,427,662
ก�ำไรสะสม ทุนส�ำรอง ยังไม่ได้จัดสรร ตามกฎหมาย
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
1,960 1,960 240,107
-
-
238,147
(48,250,457) 1,591,972,406
-
-
(269,457,943) 1,640,222,863
(บาท) 238,147 1,909,680,806
1,960 1,960 (48,250,457) 1,592,212,513
-
-
(269,457,943) 1,640,461,010
1,909,918,953
งบการเงินรวม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการ ส่วนเกินทุน รวมองค์ประกอบอื่น เปลี่ยนแปลง จากการตีราคา ของส่วน ในมูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ ของผู้ถือหุ้น ของเงินลงทุน
(48,250,457) 5,494,750,537
(55,776,604) 1,960 (55,774,644)
(67,500,000)
(299,150,977) 5,666,275,638
5,965,426,615
รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท
(14,805,864) 284,328,981
41,356,084 41,356,084
(53,351,840)
311,130,601
311,130,601
ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม
(63,056,321) 5,779,079,518
(14,420,520) 1,960 (14,418,560)
(120,851,840)
(299,150,977) 5,977,406,239
6,276,557,216
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
30
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การตัดค่าเสื่อมราคาของอาคาร ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี
รายการกับผูถ้ อื หุน้ ทีบ่ นั ทึกโดยตรงเข้าส่วนของผูถ้ อื หุน้ เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตามที่ รายงานในปีก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ปรับปรุงใหม่ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
35
4
4
หมายเหตุ
1,350,000,000
-
-
1,350,000,000 1,350,000,000
1,350,000,000
ทุนเรือนหุ้น ที่ ออกและ ช�ำระแล้ว
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
970,000,000
-
-
970,000,000 970,000,000
970,000,000
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
158,080,000
-
-
158,080,000 158,080,000
158,080,000
1,769,362,067
550,385,018 550,385,018
(67,500,000)
(34,364,347) 1,424,458,024 (137,980,975) 1,286,477,049
1,458,822,371
ก�ำไรสะสม ทุนส�ำรอง ยังไม่ได้จัดสรร ตามกฎหมาย
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
224,182
(15,925) (15,925)
-
240,107 240,107
(43,664,422) 1,548,307,984
-
-
(267,707,173) 1,591,972,406 1,591,972,406
(บาท) 240,107 1,859,679,579
(43,664,422) 1,548,532,166
(15,925) (15,925)
-
(267,707,173) 1,592,212,513 1,592,212,513
1,859,919,686
งบการเงินรวม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการ ส่วนเกินทุน รวมองค์ประกอบอื่น เปลี่ยนแปลง จากการตีราคา ของส่วน ในมูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ ของผู้ถือหุ้น ของเงินลงทุน
(43,664,422) 5,795,974,233
550,385,018 (15,925) 550,369,093
(67,500,000)
(302,071,520) 5,494,750,537 (137,980,975) 5,356,769,562
5,796,822,057
รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท
(13,893,741) 252,665,274
40,102,990 40,102,990
(53,351,844)
284,328,981 (4,521,112) 279,807,869
284,328,981
ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุม
(57,558,163) 6,048,639,507
590,488,008 (15,925) 590,472,083
(120,851,844)
(302,071,520) 5,779,079,518 (142,502,087) 5,636,577,431
6,081,151,038
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
31
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การตัดค่าเสื่อมราคาของอาคาร ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
35
หมายเหตุ
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
1,350,000,000
-
-
1,350,000,000
ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว
970,000,000
-
-
970,000,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
158,080,000
-
-
158,080,000
ทุนส�ำรองตามกฎหมาย
1,771,566,865
263,222,450 263,222,450
(67,500,000)
(บาท) 1,575,844,415
ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินเฉพาะกิจการ ก�ำไรสะสม
(30,068) 818,534
-
-
848,602
องค์ประกอบอื่นของส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์
(30,068) 4,250,465,399
263,222,450 263,222,450
(67,500,000)
4,054,773,017
รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท
32
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การตัดค่าเสื่อมราคาของอาคาร ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี
รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ตามทีร่ ายงานในปีกอ่ น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ปรับปรุงใหม่
35
4
หมายเหตุ
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
1,350,000,000
-
-
1,350,000,000 1,350,000,000
ทุนเรือนหุ้นที่ออก และช�ำระแล้ว
970,000,000
-
-
970,000,000 970,000,000
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
158,080,000
-
-
158,080,000 158,080,000
ทุนส�ำรองตามกฎหมาย
1,784,247,495
130,083,854 130,083,854
(67,500,000)
(บาท) 1,771,566,865 (49,903,224) 1,721,663,641
ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินเฉพาะกิจการ ก�ำไรสะสม
(30,242) 788,292
-
-
818,534 818,534
องค์ประกอบอื่นของส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์
(30,242) 4,263,115,787
130,083,854 130,083,854
(67,500,000)
4,250,465,399 (49,903,224) 4,200,562,175
รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2553 (ปรับปรุงใหม่) บาท 590,488,008 (14,420,520) 2554
กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย หนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งขาดทุน (ก�ำไร) จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และกิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน เงินปันผลรับ ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าที่ลดลง (กลับรายการ) โอนรายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชีเป็นรายได้ ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการปิดสาขา ขาดทุนจากเงินลงทุน ขาดทุน (ก�ำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการค่ารื้อถอน ภาษีเงินได้
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น รายได้รับล่วงหน้าค่าบัตรสมาชิกรอตัดบัญชี จ่ายส�ำรองการค�้ำประกัน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน
33
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) 130,083,854
263,222,450
1,134,804,103 (1,281,646) 414,072,559 (77,982,693) 1,106,957 (221,146,162) 73,696,403 31,148,920 10,123,919 (2,702,350) 23,464,403 1,533,963 255,100,320 2,232,426,704
1,232,917,447 (677,091) 307,526,065 20,981,999 (2,000,246) (215,947,482) 11,980,000 19,666,442 15,652,881 6,769,305 1,265,752 220,237,439 1,603,951,991
216,376,698 1,027,150 342,177,962 (386,932,568) (130,168,005) 36,972,250 14,854,142 245,139,917 7,955,060 477,486,460
359,426,225 (389,375) 253,122,185 (463,472,260) (118,135,307) 6,010,000 7,668,786 307,452,704
(97,546,021) (38,646,153) (96,934,544) 101,485,446 23,499,163 89,698,077 (108,099,605) 259,704,687 (2,627,791) (77,203,843) 107,983,592 (88,144,483) 82,452,919 2,388,048,148 (234,545,038) 2,153,503,110
315,253 (33,676,581) (42,708,663) 15,263,130 12,251,510 83,973,754 (6,122,049) 173,358,354 (3,282,313) (68,785,105) 90,930,089 (88,621,834) 1,945,092 1,738,792,628 (138,648,915) 1,600,143,713
(33,167,240) 154,082 738,411 42,311,408 924,710 78,242,248 2,013,884 18,823,184 120,793 (39,352,724) 82,450,744 (44,222,087) 52,834,698 639,358,571 639,358,571
21,713,683 38,837,612 (1,873,513) 37,088,458 6,788,338 73,813,441 64,710,577 (14,259,789) (2,404,062) (154,810,312) 73,160,848 (44,461,574) 405,756,411 405,756,411
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับช�ำระเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซื้อเงินลงทุนในตราสารทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกองทุนรวม เงินสดรับจากการลดทุนของบริษัทย่อย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ รับเงินปันผลจากบริษัทย่อย รับเงินปันผลจากบริษัทร่วมและกองทุนรวม รับคืนมูลค่าหน่วยลงทุนในกองทุนรวม เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้างลดลง เงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดินเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการขายอาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการให้เช่าที่ดินและอาคารระยะยาว ลูกหนีต้ ามสัญญาต่างตอบแทนการก่อสร้างโรงแรม และการปรับปรุงโรงแรมลดลง เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 (ปรับปรุงใหม่) 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) บาท 1,992,926,105 1,090,000,000 (1,144,105) (2,312,500,000) (3,077,000,000) (761,807,564) 4,898,048 (879,000,000) (22,851,952) 617,360,083 (1,491,765,296) (2,293,744,148) (502,101,230) (607,444,077) (33,078,830) (22,300,139) (5,968,633) (4,420,542) 214,068,156 302,148,038 76,406,296 66,302,046 172,864,412 161,324,222 19,420,000 19,420,000 50,514,717 10,389,908 33,863,521 3,395,913 (22,050,000) 3,380,197 3,014,870 540,493 2,000 39,340,001 12,175,691 12,175,691 (2,144,174,789) (2,215,293,519) (636,351,402) (2,135,426,398)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท จ่ายเงินปันผลให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อย เงินสดรับจากเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ช�ำระคืนเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ จ่ายช�ำระหุ้นกู้ เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม จ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม ช�ำระคืนหนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
793,173,352 (409,532,947) (67,500,000) (53,351,844) 6,000,000 800,000,000 (1,000,000,000) 2,700,000,000 (2,688,000,000) (62,000,000) (11,527,010) 7,261,551
(524,812,553) (266,369,345) (67,500,000) (53,351,961) 2,400,000,000 700,000,000 (1,313,600,000) (62,000,000) (12,961,100) 799,405,041
586,401,539 (347,008,460) (67,500,000) 117,000,000 (868,500,000) 800,000,000 (1,000,000,000) 1,110,000,000 (288,000,000) (81,500,000) (39,106,921)
(502,942,548) (221,455,454) (67,500,000) 1,133,000,000 (1,399,000,000) 2,400,000,000 700,000,000 (216,000,000) (81,500,000) 1,744,601,998
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี
16,589,872 299,352,113 315,941,985
184,255,235 115,096,878 299,352,113
(36,099,752) 42,100,200 6,000,448
14,932,011 27,168,189 42,100,200
รายการที่มิใช่เงินสด ยอดหนี้ค้างช�ำระจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ยอดหนี้ค้างช�ำระจากค่าสิทธิการเช่า
293,703,618 70,173,600
229,053,741 136,375,080
88,065,868 70,173,600
109,317,418 136,375,080
2554
34
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หมายเหตุ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 35
สารบัญหลัก
สารบัญ ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน ผลกระทบจากเหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่ของไทย การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ การซื้อบริษัทย่อย บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ค่าความนิยม สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ส�ำรองการค�้ำประกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส�ำรอง รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน สัญญาระยะยาว ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่
รายงานประจำ�ปี 2554
หน้า 36 37 38 38 43 50 51 60 60 61 61 61 64 66 67 72 73 73 73 74 74 76 77 77 77 78 79 79 81 81 81 82 82 82 82 82 84 85 85 85 86
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่ จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 1695 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2533 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปีได้แก่ กองทุนเพื่อการร่วมลงทุน (ถือหุ้น 9.04%) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศ ไทย บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับโรงแรม รายละเอียดของบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้
บริษัทย่อยทางตรง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเกาะกูด จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ หาดฝรั่ง รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด บริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนแวนชั่นและเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราไทยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เงินลงทุนในกองทุนรวม กองทุนรวมไทยพัฒนา 2 บริษัทย่อยทางอ้อม เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท ซี.เอส.ซี เวิลด์ ไวด์ จ�ำกัด) บริษัท เซ็นทรัลบริการซักรีด จ�ำกัด Centara Egypt for Hotels Management Co.,Ltd บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด) บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด เงินลงทุนในกองทุนรวม กองทุนรวมไทยพัฒนา 2 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด Centara Maldives Pvt. Ltd. * โดยการถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม
36
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ประเภทธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
บริษัทถือหุ้น (%) 2554 2553
โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม ลงทุนในบริษัทอื่น อาหารและเครื่องดื่ม ไม่ได้ประกอบกิจการ โรงแรม ลงทุนในบริษัทอื่นและรับบริหารโรงแรม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย
100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์
ประเทศไทย
23.83
23.83
โรงแรม โรงแรม โรงแรม
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย
100.0 100.0 98.4
100.0 100.0 98.4
อาหารและเครื่องดื่ม ไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศอียิปต์
100.0 100.0 100.0
100.0 100.0 100.0
อาหารและเครื่องดื่ม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ
ประเทศไทย ประเทศไทย
100.0 100.0
-
ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์
ประเทศไทย
0.09
0.09
โรงแรม โรงแรม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ
ประเทศไทย ประเทศไทย มัลดีฟส์
50.0* 50.0 50.0
50.0* 50.0 -
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 2. เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน (ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง และจัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย ระหว่างปี 2553 และ 2554 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงาน ของกลุ่มบริษัท/บริษัท และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่1 มกราคม 2554 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 18/2554
เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ก�ำไรต่อหุ้น งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การรวมธุรกิจ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย และการด�ำเนินงานที่ยกเลิก การบันทึกบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่
การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่นั้น มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท/บริษัท ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนี้ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้น ระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึ่งมีผลบังคับส�ำหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการน�ำมาใช้ส�ำหรับ การจัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 40 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการที่ส�ำคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะทางการเงินดังต่อไปนี้ - ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์วัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม (ค) สกุลเงินที่น�ำเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดท�ำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท ข้อมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดง เป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น
37
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดท�ำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�ำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริง อาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�ำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชี ที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบส�ำคัญต่อการรับรู้จ�ำนวนเงิน ในงบการเงินซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 22 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 25
ผลกระทบจากสถานการณ์น�้ำท่วมอย่างรุนแรงในประเทศไทย การรวมธุรกิจ การด้อยค่าของเงินลงทุน การประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ส�ำรองการค�้ำประกัน การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานที่ก�ำหนดไว้
3. ผลกระทบจากเหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่ของไทย การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยแห่ ง หนึ่ ง ที่ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ น�้ ำ ท่ ว มใหญ่ ข องไทย โดยน�้ ำ ได้ ท ่ ว มโรงงาน ณ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 เป็นผลให้ต้องหยุดการผลิตที่โรงงานดังกล่าว และปัจจุบันยังไม่ได้เริ่มผลิต นอกจาก นี้ธุรกิจร้านอาหารและเครื่องดื่มของบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้าบางแห่งในพื้นที่ที่ถูกน�้ำท่วมของกรุงเทพมหานครและต่าง จังหวัด ก็ได้รับผลกระทบจากการปิดห้างสรรพสินค้าและจากการหยุดการผลิตของโรงงานที่จังหวัดปทุมธานี ผู้บริหารของบริษัทได้ท�ำการประเมิน ผลกระทบทัง้ หมดของความเสียหายตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2554 ความเสียหายทีเ่ กิดจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมส่งผลกระทบต่อสินค้าคงเหลือและอาคาร และอุปกรณ์เป็นจ�ำนวน 15.9 ล้านบาท และ 5.8 ล้านบาท ตามล�ำดับ งบการเงินนี้ยังมิได้รวมรายการปรับปรุงที่อาจเกิดขึ้น หากการประมาณ ความเสียหายและความคุ้มครองของประกันภัยแล้วเสร็จ 4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) ภาพรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ผลจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 2 กลุ่มบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังต่อไปนี้ • การน�ำเสนองบการเงิน • การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ • การบัญชีเกี่ยวกับการได้มาซึ่งส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม • การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ • การบัญชีที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน • การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน รายละเอียดของนโยบายการบัญชีใหม่ที่ถือปฏิบัติโดยกลุ่มบริษัทและผลกระทบต่องบการเงินได้กล่าวรวมใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4(ข) ถึง 4(ช) ดังต่อไปนี้ ผลกระทบต่องบการเงิน 2554 และ 2553 สรุปได้ดังนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ตามที่รายงานในปีก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการปรับย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 - ปรับปรุงใหม่
38
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
หมายเหตุ
4(จ) 4(ฉ)
งบการเงินรวม 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 (พันบาท)
6,276,557
4,054,773
(29,693) (269,458) 5,977,406
4,054,773
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานในปีก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการปรับย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ปรับปรุงใหม่ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ก�ำไร (ขาดทุน) ตามที่รายงานในปีก่อน การเปลี่ยนแปลงก่อนภาษีเงินได้ที่เป็นผลจากการปรับย้อนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่องที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ ก�ำไร (ขาดทุน) - ปรับปรุงใหม่
หมายเหตุ
4(จ) 4(ฉ)
4(จ)
ขาดทุนต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ปรับปรุงใหม่ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการปรับ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงานผลประโยชน์พนักงาน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น (ลดลง) ซึ่งรวมผลของการถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์พนักงาน ก�ำไรเพิ่มขึ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท)
งบการเงินรวม 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 (พันบาท)
6,081,151
4,250,465
(34,364) (267,707) 5,779,080
4,250,465
(9,749)
263,222
(4,672) (14,421)
263,222
(0.0035)
-
5,779,080
4,250,465
4(ช)
(142,502) 5,636,578
(49,903) 4,200,562
4(ค) 4(จ) 4(ช)
(3,057) 222,942 (28,095) 191,790
174,612 (8,900) 165,712
0.14
0.12
(ข) การน�ำเสนองบการเงิน กลุ่มบริษัท/บริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการน�ำเสนองบการเงิน ภายใต้ข้อก�ำหนดของมาตรฐาน ที่ปรับปรุงใหม่ งบการเงินประกอบด้วย • งบแสดงฐานะการเงิน • งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น • งบกระแสเงินสด และ • หมายเหตุประกอบงบการเงิน ทั้งนี้เป็นผลให้กลุ่มบริษัท/บริษัทแสดงการเปลี่ยนแปลงของส่วนของผู้ถือหุ้นทั้งหมดในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น และแสดง การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่ไม่ใช่ส่วนของผู้ถือหุ้นในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ โดยก่อนหน้านี้การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดดังกล่าวแสดงในงบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลเปรียบเทียบได้มีการน�ำเสนอใหม่เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของมาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว มีผลกระทบต่อการน�ำเสนองบการเงินเท่านั้น โดยไม่มีผลกระทบต่อก�ำไรหรือก�ำไรต่อหุ้น (ค) การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุรกิจ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับการรวมธุรกิจที่เกิดขึ้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่งนโยบายการ บัญชีใหม่ได้ถือปฏิบัติโดยใช้วิธีเปลี่ยนทันทีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธีปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงที่ระบุในมาตรฐานฉบับปรับปรุง
39
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่อก�ำไรหรือก�ำไรต่อหุ้นปี 2554 ดังต่อไปนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
หมายเหตุ
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ลดลงซึ่งรวมผลของการถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ ก�ำไรลดลง ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท)
งบการเงินรวม 2554 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 (พันบาท)
(3,057) (3,057)
-
(0.002)
-
การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยใช้วธิ ซี อื้ ณ วันทีซ่ อื้ ซึง่ เป็นวันทีโ่ อนอ�ำนาจควบคุมให้กลุม่ บริษทั การควบคุมหมายถึงการก�ำหนดนโยบายการเงินและ การด�ำเนินงานของกิจการเพือ่ ให้ได้มาซึง่ ประโยชน์จากกิจกรรมของกิจการนัน้ ในการประเมินการควบคุม กลุม่ บริษทั ได้พจิ ารณาถึงสิทธิในการออก เสียงซึ่งสามารถใช้สิทธินั้นได้ในปัจจุบัน การซื้อกิจการในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริษัทรับรู้ค่าความนิยม ณ วันที่ซื้อ โดย • มูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ บวก • มูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทของผู้ถูกซื้อ บวก • มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียที่มีอยู่ ณ วันซื้อ หากการรวมธุรกิจแบบเป็นขั้นๆ หัก • มูลค่าสุทธิ (โดยทั่วไปคือมูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่รับมา เมื่อผลรวมสุทธิข้างต้นเป็นยอดติดลบ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจะถูกรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่โอนให้ไม่รวมค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อให้ความสัมพันธ์ที่มีอยู่ก่อนการรวมธุรกิจหมดไป จ�ำนวนเงินดังกล่าวจะถูกรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ นอกเหนือจากต้นทุนในการจดทะเบียนและออกตราสารหนี้หรือตราสารทุน กลุ่มบริษัท บันทึกต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น หนี้สินสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายรับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ หากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายจัดประเภทเป็นส่วนของเจ้าของ หนี้สินดังกล่าวจะไม่ถูกวัดมูลค่าใหม่และจะบันทึกการจ่ายช�ำระในส่วนของผู้ถือหุ้น นอกเหนือจากกรณีดังกล่าวการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ในภายหลังของสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน การซื้อกิจการระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าความนิยม ได้แก่ส่วนที่เกินระหว่างต้นทุนการซื้อและส่วนได้เสียของกลุ่มกิจการที่รับรู้จากการได้มาซึ่ง สินทรัพย์ หนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ของการผู้ถูกซื้อ (ทั่วไปเป็นมูลค่ายุติธรรม) เมื่อส่วนที่เกินเป็นยอดติดลบ ก�ำไรจากการต่อรองราคาซื้อจะถูกรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนในการท�ำรายการ นอกเหนือจากต้นทุนในการจดทะเบียนและออกตราสารหนี้หรือตราสารทุน ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการซื้อกิจการ การซื้อกิจการก่อนวันที่ 1 มกราคม 2551 ค่าความนิยมวัดมูลค่าโดยวิธีเช่นเดียวกับที่กล่าวในย่อหน้าก่อน อย่างไรก็ดีค่าความนิยมและค่าความนิยมติดลบ ถูกตัดจ�ำหน่ายตามระยะเวลา ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเป็นเวลา 20 ปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กลุ่มบริษัทได้ถือปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43 เดิม (ปรับปรุง 2550) กลุ่มบริษัทได้หยุดตัดจ�ำหน่ายค่าความนิยม ค่าความนิยมติดลบที่ยกมาในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ถูกตัดรายการ โดยการปรับปรุงกับก�ำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 (ง) การบัญชีเกี่ยวกับการได้มาซึ่งส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม (เดิมคือผู้ถือหุ้นส่วนน้อย) กลุ่มบริษัทได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับการซื้อ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมในบริษทั ย่อย นโยบายการบัญชีใหม่สำ� หรับการได้มาซึง่ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม รวมถึงนโยบายการบัญชีเดิม จะกล่าวในย่อหน้าถัดไป นโยบายการบัญชีใหม่ได้มกี ารถือปฏิบตั โิ ดยวิธเี ปลีย่ นทันทีตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ตามแนวปฏิบตั ใิ นช่วงเปลีย่ นแปลง ของมาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกล่าว ระหว่างปี 2554 กลุ่มกิจการไม่มีการซื้อส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อก�ำไรหรือก�ำไรต่อหุ้นส�ำหรับปี 2554
40
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตามนโยบายการบัญชีใหม่ การได้มาซึ่งส่วนได้เสียที่ไม่มีอ� ำนาจควบคุมบันทึกบัญชีโดยถือว่าเป็นรายการกับส่วนของผู้ถือหุ้นในฐานะของ ผูเ้ ป็นเจ้าของ ดังนัน้ จึงไม่มคี า่ ความนิยมเกิดขึน้ จากรายการดังกล่าว รายการปรับปรุงส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมขึน้ อยูก่ บั สัดส่วนของสินทรัพย์ สุทธิในบริษัทย่อย ก่อนหน้านี้ มีการรับรู้ค่าความนิยมที่เกิดจากการได้มาซึ่งส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อย ซึ่งแสดงเป็นส่วนเกินของต้นทุนเงินลงทุน ส่วนที่ลงทุนเพิ่มที่มากกว่ามูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มา ณ วันที่เกิดรายการ (จ) การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กลุ่มบริษัท/บริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในการระบุและบันทึกบัญชีต้นทุน และค่าเสื่อมราคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญจากการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 และมีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท/บริษัท ดังนี้ (ก) ต้นทุนการรื้อถอน การขนย้ายและการบูรณะสภาพของสินทรัพย์ ต้องถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์และอาจมีการคิดค่าเสื่อมราคาประจ�ำปี (ข) การก�ำหนด ค่าเสื่อมราคา ต้องพิจารณาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกันเมื่อแต่ละส่วนประกอบนั้นมีสาระส�ำคัญ (ค) มูลค่าคงเหลือของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ต้องมีการประมาณด้วยมูลค่าที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปัจจุบันจากสินทรัพย์นั้น หากมีอายุและสภาพที่คาดว่าจะได้รับในปัจจุบันเมื่อสิ้นสุดอายุ การใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ต้องมีการสอบทานมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์อย่างน้อยทุกสิ้นปี การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตามที่ก�ำหนดในวิธีปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ดังกล่าว ยกเว้นการพิจารณาต้นทุนการรื้อถอน การขนย้ายและบูรณะสถานที่ซึ่งถือปฏิบัติโดยวิธีปรับย้อนหลัง การเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่องบการเงิน 2554 และ 2553 ดังต่อไปนี้
งบแสดงฐานะการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น ค่าเสื่อมราคาสะสม (เพิ่มขึ้น) มูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น หนี้สินจากการปรับต้นทุน (เพิ่มขึ้น) ก�ำไรสะสมลดลง
งบแสดงฐานะการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น ค่าเสื่อมราคาสะสม (เพิ่มขึ้น) มูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น หนี้สินจากการปรับต้นทุน (เพิ่มขึ้น) ก�ำไรสะสมลดลง งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ค่าเสื่อมราคาลดลงท�ำให้ค่าใช้จ่ายต่อไปนี้ (เพิ่มขึ้น) ลดลง ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ก�ำไรเพิ่มขึ้น (ลดลง) ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท)
งบการเงินรวม 1 ม.ค. 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 ม.ค. 2553 (พันบาท)
38,183 (21,475) 16,708 (46,401) (29,693)
-
งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2553 และ 1 ม.ค. 2554 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2553 และ 1 ม.ค. 2554 (พันบาท)
52,857 (28,153) 24,704 (63,638) (38,934)
42,691 (24,881) 17,810 (52,174) (34,364)
-
-
2554
2553
2554
2553
(4,110) 227,052 222,942 0.17
(3,406) (1,266) (4,672) (0.0035)
174,612 174,612 0.13
-
(ฉ) การบัญชีเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กลุ่มบริษัท/บริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ภายใต้ ม าตรฐานฉบั บ ปรั บ ปรุ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุ น หมายถึ ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ ถื อ ครองเพื่ อ หาประโยชน์ จ ากรายได้ ค ่ า เช่ า หรือจากการเพิม่ ขึน้ ของมูลค่าของสินทรัพย์หรือทัง้ สองอย่าง ทัง้ นีไ้ ด้เปิดเผยแยกต่างหากจากทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ และวัดมูลค่าโดยวิธรี าคาทุน ก่อนหน้านี้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนบันทึกรวมเป็นส่วนหนึ่งของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึ่งที่ดินวัดมูลค่าโดยวิธีตีราคาใหม่และอาคาร วัดมูลค่าโดยวิธีราคาทุนและวิธีตีราคาใหม่ การเปลี่ยนแปลงของส่วนที่ตีราคาใหม่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ตามที่กล่าวในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 41
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย กลุ่มบริษัท/บริษัทเลือกวิธีราคาทุนส�ำหรับการบันทึกบัญชีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนภายใต้มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่ การเปลี่ยนนโยบาย การบัญชีได้ถือปฏิบัติโดยวิธีปรับย้อนหลังและได้ปรับปรุงงบการเงิน 2553 ซึ่งรวมอยู่ในงบการเงินของกลุ่มบริษัท/บริษัทเพื่อวัตถุประสงค์ ในการเปรียบเทียบ มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 และ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่งในอดีตรวมอยู่ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่ โดยแยกเป็นรายการต่างหากภายใต้หัวข้อ “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน” และได้ปรับปรุง ราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งบันทึกเข้ามูลค่าทรัพย์สิน เนื่องด้วยบันทึกบัญชีด้วยวิธีราคาทุนตั้งแต่วันที่ได้มา ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของ ทรัพย์สนิ ดังกล่าวและเคยบันทึกในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ได้ถกู จัดประเภทรายการใหม่ โดยโอนไปก�ำไรสะสม ผลต่างระหว่างมูลค่ายุตธิ รรมของทรัพย์สนิ ภายใต้วธิ กี ารตีราคาใหม่และวิธรี าคาทุนได้ถกู ปรับเข้าก�ำไรสะสม ค่าเสือ่ มราคาภายใต้วธิ กี ารตีราคาใหม่ได้ถกู ปรับเป็นราคาทุนอย่างเหมาะสมตัง้ แต่ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาและอายุการใช้งานของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้มีการประเมินใหม่ตามข้อก� ำหนดของมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (จ) การเปลี่ยนแปลงในเรื่องดังกล่าวได้ถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันที ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบต่องบการเงิน 2554 และ 2553 มีดังต่อไปนี้
งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ลดลง) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น (ลดลง)
งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ลดลง) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเพิ่มขึ้น ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น (ลดลง)
งบการเงินรวม 1 ม.ค. 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 ม.ค. 2553 (พันบาท)
269,458 (784,524) 515,066 -
(332,728) 332,728 -
งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2553 และ1 ม.ค. 2554 (พันบาท) 265,956 (773,585) 507,629 -
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2553 และ1 ม.ค. 2554 (พันบาท)
267,707 (768,102) 500,395 -
(328,502) 328,502 -
(321,148) 321,148 -
(ช) การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มบริษัท/บริษัทได้ปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ภายใต้นโยบายการบัญชีใหม่ หนี้สินของกลุ่มบริษัท/บริษัทเกี่ยวกับผลประโยชน์หลังออกจากงาน - ส�ำรองบ�ำเหน็จพนักงาน ได้บันทึกในงบการเงิน ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ซึ่งค�ำนวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่ผ่านมาหนี้สินเหล่านี้รับรู้เมื่อจะต้องจ่ายช�ำระ หนี้สินของกลุ่มบริษัท/บริษัทเกี่ยวกับผลประโยชน์หลังออกจากงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นจ�ำนวนเงิน 142.5 ล้านบาท และ 49.9 ล้านบาท ตามล�ำดับ กลุม่ บริษทั /บริษทั เลือกทีจ่ ะบันทึกหนีส้ นิ ทัง้ หมดดังกล่าวเป็นรายการปรับปรุงก�ำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธปี ฏิบตั ใิ นช่วง เปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ผลกระทบต่องบการเงิน 2554 มีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2554 งบแสดงฐานะการเงิน ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตามที่รายงานในปีก่อน ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้น ส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลง ก�ำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
42
สารบัญหลัก
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 (พันบาท)
1,616,902 (142,502) 4,521 1,478,921
1,929,647 (49,903) 1,879,744
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้นส่งผลให้ ต้นทุนขาย (เพิ่มขึ้น) ค่าใช้จ่ายในการขาย (เพิ่มขึ้น) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (เพิ่มขึ้น) ก�ำไร (ลดลง)
(8,709) (5,956) (13,430) (28,095)
(2,759) (1,887) (4,254) (8,900)
ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท)
(0.0208)
(0.0066)
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 5. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ นโยบายการบัญชีที่น�ำเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอส�ำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน ยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 4 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ก) เกณฑ์ ในการจัดท�ำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การรวมธุรกิจ นโยบายบัญชีส�ำหรับการรวมธุรกิจที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 4(ค) กลุ่มบริษัท/บริษัท บันทึกบัญชีส�ำหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ ยกเว้นในกรณีที่เป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน การควบคุม หมายถึงอ�ำนาจในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของกิจการนั้น ในการพิจารณาอ�ำนาจในการควบคุม กิจการต้องน�ำสิทธิในการออกเสียงที่เกิดขึ้นมารวมในการพิจารณา วันที่ซื้อกิจการคือวันที่อ�ำนาจ ในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผู้ซื้อ การก�ำหนดวันที่ซื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอ�ำนาจควบคุมจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง ต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามาเกี่ยวข้อง ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จ�ำนวนส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัท/บริษัทก่อขึ้นเพื่อจ่ายช�ำระให้แก่เจ้าของเดิม และส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มบริษัท/บริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนให้ยังรวมถึงมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หากการรวมธุรกิจมีผลให้สิ้นสุดความสัมพันธ์ของโครงการเดิมระหว่างกลุ่มบริษัท/บริษัทและผู้ถูกซื้อ ให้ใช้ราคาที่ต�่ำกว่าระหว่าง มูลค่าจากการ ยกเลิกสัญญาตามที่ระบุในสัญญา และมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาด ไปหักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรู้เป็นหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัท/บริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อของกลุ่มบริษัท/บริษัทที่เกิดขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุรกิจ เช่น ค่าที่ปรึกษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ และค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อย ได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจ�ำเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท ผลขาดทุนในบริษัทย่อยจะต้อง ถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมแม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะท�ำให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม แม้ว่าบริษัทจะถือหุ้นในกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“กองทุนรวม”) ทั้งทางตรงและทางอ้อมอยู่ 23.92% แต่บริษัทมีการควบคุมกองทุนรวมดังกล่าว เนื่องจากบริษัทมีอ�ำนาจในการควบคุมและตัดสินใจในกองทุนรวมดังกล่าวผ่านกรรมการลงทุน ดังนั้นจึงถือว่ากองทุนรวมดังกล่าวเป็นบริษัทย่อย การสูญเสียอ�ำนาจควบคุม เมือ่ มีการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมกลุม่ บริษทั ตัดรายการสินทรัพย์และหนีส้ นิ ในบริษทั ย่อย ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมและส่วนประกอบอืน่ ในส่วน ของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยนั้น ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอ�ำนาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสีย ในบริษัทย่อยเดิมที่ยังคงเหลืออยู่ให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอ�ำนาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตามวิธีส่วน ได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่ บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญโดยมีอ�ำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและการ ด�ำเนินงานแต่ไม่ถงึ ระดับทีจ่ ะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอทิ ธิพลอย่าง มีนยั สาํ คัญถูกสันนิษฐานว่ามีอยูเ่ มือ่ กลุม่ บริษทั มีอาํ นาจในการออกเสียง 43
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในกิจการอื่นตั้งแต่ 20% ถึง 50% และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีส่วนร่วมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลง ไว้ในสัญญา และได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทางการเงินและการด�ำเนินงาน เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันบันทึกในงบการเงินรวมโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย (เงินลงทุนตามวีธีส่วนได้เสียของบริษัทที่ถูกลงทุน) โดยรับรู้รายการเริ่มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิดจากการท�ำรายการดังกล่าว งบการเงินรวมได้รวมส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุน และก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของกลุ่มบริษัทภายหลังจากการปรับปรุงนโยบายการบัญชีให้เป็น นโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญและการร่วมควบคุม จนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญ และการร่วมควบคุมนั้นสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีจ� ำนวนเกินกว่าส่วน ได้เสียในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามวิธีส่วนได้เสีย รวมถึง ส่วนได้เสียระยะยาวใดๆจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และหยุดรับรูส้ ว่ นผลขาดทุน เว้นแต่กรณีทกี่ ลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือต้องจ่ายเงิน เพื่อช�ำระภาระผูกพันแทนในนามบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการระหว่างกิจการใน กลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการกับบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันถูกตัด รายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับก�ำไร ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันทีร่ ายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันนัน้ ก�ำไรหรือขาดทุน จากการแปลงค่าจะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ กิจการในต่างประเทศ รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ได้ถกู น�ำมาใช้เพือ่ จัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากกิจกรรมด�ำเนิน งาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ไม่ได้มไี ว้เพือ่ ค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพนั ธ์ทไี่ ม่เข้าเงือ่ นไข การก�ำหนดให้เป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า (ง) การป้องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ผลต่างที่เกิดจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยรับรู้และบันทึกโดยปรับปรุงกับดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมที่ได้รับการป้องกันความเสี่ยงนั้น (จ) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียก และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคล่องสูง เงินเบิก เกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้องช�ำระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ฉ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�ำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัด จ�ำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (ช) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุน (วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า บริษัทย่อยแห่งหนึ่งที่ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายไอศกรีม ตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่) หรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะ ได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า 44
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทตั้งค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง ส�ำหรับสินค้าที่เสื่อมคุณภาพ เสียหายและค้างนาน (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และกิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั บันทึกบัญชีโดยใช้วธิ รี าคาทุน ส่วนการบันทึก บัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ในงบการเงินรวมบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารทุนอื่น ตราสารทุนซึง่ เป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากทีถ่ อื ไว้เพือ่ ค้าหรือตัง้ ใจถือไว้จนครบก�ำหนด จัดประเภทเป็นเงินลงทุนเผือ่ ขาย ภายหลังการรับรู้มูลค่าในครั้งแรกเงินลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลค่ายุติธรรม และการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ใช่ผลขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกโดยตรง ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนผลขาดทุนจากการด้อยค่ารับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุน เมือ่ มีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน จะรับรูผ้ ลก�ำไรหรือขาดทุนสะสมทีเ่ คยบันทึก ในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในก�ำไรหรือขาดทุน (ฌ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นหรือทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรือใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ต้นทุนรวมค่าใช้จา่ ยทางตรงเพือ่ ให้ได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ต้นทุนการก่อสร้างทีก่ จิ การก่อสร้างเองรวมถึงต้นทุนวัตถุดบิ ค่าแรงทาง ตรงและต้นทุนทางตรงอื่นเพื่อให้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและรวมถึงต้นทุนการกู้ยืม ค่าเสื่อมราคาจะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ซึ่งค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 30-50 ปี การจัดประเภทใหม่เป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานของอสังหาริมทรัพย์โดยจัดประเภทไปเป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่มีการจัดประเภทใหม่ ถือเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ต่อไป (ญ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ยกเว้นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่แสดงด้วยราคา ทีต่ ใี หม่ ราคาทีต่ ใี หม่หมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมซึง่ ก�ำหนดจากเกณฑ์การใช้งานของสินทรัพย์ทมี่ อี ยูจ่ ริง ณ วันทีม่ กี ารตีราคาใหม่หกั ด้วยค่าเสือ่ มราคา สะสมที่ค�ำนวณจากมูลค่ายุติธรรม ณ วันนั้นและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ที่กิจการก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม นอกจากนี้ต้นทุนอาจรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนจากการ ป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสดจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งถูกโอนจากงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับ เครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ซึ่งไม่สามารถท�ำงานได้โดยปราศจากลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์นั้นให้ถือว่า ลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ดังกล่าวเป็น ส่วนหนึ่งของอุปกรณ์และถือเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละส่วนประกอบที่มีนัยส�ำคัญ แยกต่างหากจากกัน ก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้อื่นในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ จ�ำนวนเงินที่บันทึกอยู่ในส่วนเกินทุน จากการตีราคาของสินทรัพย์จะถูกโอนไปยังก�ำไรสะสม
45
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัท/บริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ จัดประเภทเป็นสัญญาเช่า การเงิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยท�ำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือมูลค่าปัจจุบันของจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำ ที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ช�ำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็น ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อท�ำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่ส�ำหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ค่าใช้จ่าย ทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบก�ำไรขาดทุน สินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ การตีราคาใหม่ด�ำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญในการประเมินราคาที่มีความเป็นอิสระอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ ที่ได้รับการประเมินไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รายงาน มูลค่าของสินทรัพย์สว่ นทีต่ เี พิม่ ขึน้ จะบันทึกไปยังก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ภายใต้ “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ยกเว้นกรณีทเี่ คยประเมิน มูลค่าของสินทรัพย์ลดลงและรับรูข้ าดทุนในก�ำไรหรือขาดทุนแล้ว จะบันทึกเฉพาะส่วนทีต่ มี ลู ค่าเพิม่ ในครัง้ หลังเกินกว่าส่วนทีเ่ คยบันทึกมูลค่าลดลง ของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกัน ในกรณีที่มูลค่าของสินทรัพย์ลดลงจากการตีราคาใหม่จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับมูลค่าที่ลดลงเฉพาะจ�ำนวนที่ ลดลงมากกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่เคยบันทึกไว้ครั้งก่อนในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันนั้น ค่าเสื่อมราคา ของสินทรัพย์ในราคาทุนเดิมจะถูกบันทึกไปยังงบก�ำไรขาดทุน ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่จะถูกหักจากบัญชีส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย์ภายใต้ส่วนของผู้ถือหุ้น ในกรณีที่มีการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่เคยตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพย์ที่จ�ำหน่าย จะโอนโดยตรงไปยังก�ำไรสะสมและไม่รวมในการค�ำนวณก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ การจัดประเภทไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานจากอสังหาริมทรัพย์ที่มีไว้ใช้งานไปยังอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน วัดมูลค่าอสังหาริมทรัพย์นั้นใหม่ด้วยมูลค่า ยุติธรรมและจัดประเภทเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้างเพื่อใช้เป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนใน อนาคตวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิ รรม หากเกิดก�ำไรจากการวัดมูลค่าใหม่ซงึ่ เป็นการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทเี่ คยบันทึก ไว้ จ�ำนวนทีเ่ พิม่ ขึน้ ให้รบั รูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนในส่วนทีไ่ ม่เกินกว่าจ�ำนวนทีท่ ำ� ให้มลู ค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์กลับไปเท่ากับมูลค่าทีค่ วรจะเป็น ก�ำไรส่วนที่เหลือรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงรายการ “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในส่วนของผู้ถือหุ้น กรณีเกิดส่วนที่ ลดลงจากการวัดมูลค่าใหม่และหากสินทรัพย์นั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและมียอดคงค้างอยู่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ลดลงรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และน�ำไปลดส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนส่วน ที่เหลือรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนทันที ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่ที่กลุ่มบริษัท/บริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบ�ำรุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำจะรับรู้ ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งบันทึกในราคาประเมิน โดยผู้ประเมินราคาอิสระ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ซื้อ มาภายหลังการประเมินราคารวมทั้งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทย่อยแห่งอื่นๆ บันทึกในราคาทุน บริษัทและบริษัทย่อยเหล่านี้มีนโยบายที่จะ ประเมินราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ใหม่ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้เคยมีการตีราคาใหม่แล้วอย่าง มีนัยส�ำคัญ ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�ำนวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยนแทน อื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสือ่ มราคาบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในก�ำไรหรือขาดทุน ค�ำนวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์ แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุง เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ
10 - 15 10 - 50 5 - 30 10 - 19 7 - 10
ปี ปี ปี ปี ปี
อาคารและอุปกรณ์ที่แสดงในราคาที่ตีเพิ่มตัดค่าเสื่อมราคาโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานที่เหลืออยู่ ส่วนปรับปรุงอาคารเช่าตัดค่าเสื่อมราคา ตามอายุของสัญญาเช่า และเครื่องใช้ในการด�ำเนินกิจการโรงแรม ตัดจ�ำหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีที่มีการตัดจ�ำหน่าย 46
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้น รอบปีบัญชี และปรับปรุงตาม ความเหมาะสม (ฎ) สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงด้วยราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าตัดจ�ำหน่าย สิทธิการเช่าตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญาเช่าที่เหลืออยู่ สิทธิการเช่าของบริษัท ตามสัญญาเช่าช่วงโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ และของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ตามสัญญาเช่าช่วงที่ดิน และอาคารโรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงานตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงปรับด้วยอัตราทบต้นคงที่ต่อปี (ฏ) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยม ได้อธิบายในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน 5(ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า ส�ำหรับตราสารทุน - การบัญชีดา้ นผูล้ งทุนมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมให้รวมอยูใ่ นมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และผลขาดทุนจากการด้อยค่าในเงินลงทุนต้อง ไม่ถูกปันส่วนให้สินทรัพย์ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนรวมถึงค่าความนิยม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนอืน่ ๆ ทีก่ ลุม่ บริษทั /บริษทั ซือ้ มาและมีอายุการใช้งานจ�ำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรูร้ ายการจะรับรูเ้ ป็นสินทรัพย์เมือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ทสี่ ามารถระบุได้ทเี่ กีย่ วข้อง นั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณโดยน�ำราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ในอนาคตจากสินทรัพย์นั้นตาม ระยะเวลาทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนซึง่ ไม่รวมค่าความนิยม โดยเริม่ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนเมือ่ สินทรัพย์นนั้ พร้อม ที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ส�ำหรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ค่าสัญญาสิทธิ
10 10
ปี ปี
วิธีการตัดจ�ำหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และมูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฐ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริษทั /บริษทั ได้รบั การทบทวน ณ ทุกวันทีร่ ายงานว่า มีขอ้ บ่งชีเ้ รือ่ งการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีทมี่ ขี อ้ บ่งชีจ้ ะท�ำการ ประมาณมูลค่าสินทรัพย์ทคี่ าดว่าจะได้รบั คืน ส�ำหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน หรือ ยังไม่พร้อม ใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสด สูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับ คืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกัน ที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมีการ ด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในก� ำไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรมในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่า ของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในก�ำไรหรือขาดทุน
47
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หัก ต้นทุนในการขายแล้วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดทีจ่ ะได้รบั ในอนาคตจะคิดลดเป็น มูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อ สินทรัพย์ ส�ำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นมีความเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน จะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์ โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ส�ำหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายและตราสารหนี้ ที่จัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หาก มีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสือ่ มราคาหรือค่าตัดจ�ำหน่าย เสมือนหนึง่ ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฑ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะ บันทึกต่อมาโดยวิธรี าคาทุนตัดจ�ำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนีเ้ ริม่ แรกและยอดหนีเ้ มือ่ ครบก�ำหนดไถ่ถอน จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุ การกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฒ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ณ) ผลประโยชน์พนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึง่ กิจการจ่ายสมทบเป็นจ�ำนวนเงินทีแ่ น่นอนไปอีกกิจการหนึง่ แยกต่างหาก (กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบ เข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในก�ำไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�ำงานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัท/ บริษทั จากโครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ถกู ค�ำนวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตทีเ่ กิดจากการท�ำงาน ของพนักงานในปัจจุบนั และในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้มกี ารคิดลดกระแสเงินลดเพือ่ ให้เป็นมูลค่าปัจจุบนั ทัง้ นีไ้ ด้สทุ ธิจากต้นทุนบริการใน อดีตที่ยงั ไม่รับรู้และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันทีร่ ายงานจากพันธบัตรทีไ่ ด้รับการจัดอันดับเครดิตระดับ A ซึง่ มีระยะเวลาครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุม่ บริษทั /บริษทั และมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ทคี่ าดว่าจะจ่าย การค�ำนวณนัน้ จัดท�ำโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยทีไ่ ด้รบั อนุญาตเป็นประจ�ำทุกปี โดยวิธคี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ เมือ่ มีการค�ำนวณผล ของผลประโยชน์ของพนักงานของกลุม่ บริษทั /บริษทั การรับรูเ้ ป็นสินทรัพย์จำ� กัดเพียงยอดรวมของต้นทุนในอดีตทีย่ งั ไม่รบั รูแ้ ละมูลค่าปัจจุบนั ของ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มีในรูปของการได้รับคืนในอนาคตจากโครงการหรือการหักการสมทบเข้าโครงการในอนาคด ในการค�ำนวณมูลค่าปัจจุบัน ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ มีการพิจารณาถึงความต้องการเงินทุนขั้นต�่ำส�ำหรับโครงการต่างๆ ของกลุ่มบริษัท/บริษัท ผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจมี ให้กับกลุ่มบริษัท/บริษัท ถ้าถูกรับรู้ภายในระยะเวลาของโครงการ หรือ การจ่ายช�ำระของหนี้สินของโครงการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนบริการในอดีตของพนักงานรับรู้ในก�ำไร หรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์นั้นเป็นสิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไร หรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัท/บริษัทรับรู้ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรายการก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรู้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน
48
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัท/บริษัทแสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจ้าง และไม่มีความเป็นไปได้ ที่จะยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็นทางการทั้งการเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติ หรือการสนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์ เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัท/บริษัทเสนอให้มีการออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการตอบรับข้อเสนอนั้น และสามารถประมาณจ�ำนวนของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงานท�ำงานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระส�ำหรับการจ่ายโบนัสเป็นเงินสดระยะสั้นหรือผลประโยชน์อื่น หากกลุ่มบริษัท/บริษัทมีภาระผูกพันตาม กฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ท�ำงานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่าง สมเหตุสมผล (ด) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัท/บริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อช�ำระภาระหนี้สินดังกล่าว ประมาณการหนี้สินพิจารณา จากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�ำนวนที่อาจประเมินได้ใน ตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไปรับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน (ต) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รบั รูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนเมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าทีม่ นี ยั ส�ำคัญไปให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว และจะไม่รบั รูร้ ายได้ถา้ ฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าทีข่ ายไปแล้วนัน้ หรือมีความไม่แน่นอนทีม่ นี ยั ส�ำคัญในการได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้า หรือให้บริการนัน้ ไม่อาจวัดมูลค่าของจ�ำนวนรายได้และต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ หรือมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนทีจ่ ะต้องรับคืนสินค้า รายได้ในกิจการโรงแรมจากค่าห้อง ค่าอาหารและเครื่องดื่ม และรายได้ค่าบริการอื่น บันทึกเป็นรายได้เมื่อแขกเข้าพักในห้อง มีการขายอาหาร และเครื่องดื่มและเมื่อมีการให้บริการแล้ว รายได้ในกิจการร้านอาหารและเครื่องดื่มจากธุรกิจอาหาร บันทึกเป็นรายได้เมื่อมีการขายอาหารและเครื่องดื่มให้กับผู้ซื้อแล้ว การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยรายได้ค่าเช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินปันผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร รายได้ค่าเช่า รายได้คา่ เช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนรับรูใ้ นงบก�ำไรขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าใช้จา่ ยเริม่ แรกทีเ่ กิดขึน้ เป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิดสัญญาเช่ารับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นรับรู้เป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งค่าเช่านั้นเกิดขึ้น เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบก�ำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ถ) รายได้รอตัดบัญชี บริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งรับรู้รายได้ค่าธรรมเนียมบัตรสมาชิกรายปีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตามอายุของบัตรสมาชิก บริษัทย่อยบางแห่งรับรู้ค่าเช่าและค่าบริการและเงินสนับสนุนเป็นรายได้รอตัดบัญชีและทยอยรับรู้เป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญา (ท) ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมและประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไป และสิ่งตอบแทนที่คาดว่า จะต้องจ่าย และขาดทุนจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง 49
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (ธ) สัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานบันทึกในก�ำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับตามสัญญาเช่า จะรับรู้ในก�ำไร หรือขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญาตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ำมารวมค�ำนวณจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับการยืนยันการปรับค่าเช่า การจ�ำแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัท/บริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิ จ ารณาจากสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ า การปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ตกลงนั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ การใช้ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�ำไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�ำให้กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริษัท/บริษัทแยกค่าตอบแทนส�ำหรับสัญญาเช่า และส่วนที่เป็นองค์ประกอบอื่น โดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริษัท/บริษัทสรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจ�ำนวนดังกล่าวได้อย่าง น่าเชื่อถือ จึงรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจ�ำนวนที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจ�ำนวนหนี้สินจะลดลง ตามจ�ำนวนที่จ่าย และต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของกลุ่มบริษัท/บริษัท รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าช่วงโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ และสัญญาเช่าช่วงที่ดินและอาคารโรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ บันทึกในก�ำไร หรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงปรับด้วยอัตราทบต้นคงที่ต่อปี (น) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระโดยค�ำนวณจากก�ำไรประจ�ำปีที่ต้อง เสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ในการก�ำหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ปัจจุบัน กลุ่มบริษัท/บริษัทค�ำนึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจท�ำให้จ�ำนวนภาษี ที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�ำระ กลุ่มบริษัท/บริษัท เชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพียงพอส�ำหรับภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่ง เกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐาน การประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะท�ำให้กลุ่มบริษัท/ บริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่าย ภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง (บ) ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไรหรือขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริษัท/บริษัท ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ที่ออกจ�ำหน่ายระหว่างปี 6. การซื้อบริษัทย่อย เมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2554 กลุม่ บริษทั ได้มาซึง่ อ�ำนาจควบคุมในบริษทั ซีอาร์จี อินเตอร์เนชัน่ แนล ฟูด้ จ�ำกัด (เดิมชือ่ บริษทั เบทาโกร โอโตยะ (ไทย แลนด์) จ�ำกัด) ซึ่งเป็นผู้ประกอบกิจการร้านอาหารประเภทภัตตาคาร ภายใต้แบรนด์ “โอโตยะ” โดยการซื้อหุ้นทุนและสิทธิออกเสียงในบริษัท 100% การมีอำ� นาจควบคุมในบริษทั ซีอาร์จี อินเตอร์เนชัน่ แนล ฟูด้ จ�ำกัด จะท�ำให้กลุม่ บริษทั สามารถเพิม่ ส่วนแบ่งทางการตลาดในธุรกิจประเภทภัตตาคาร โดยการเข้าถึงฐานลูกค้าของบริษัททีซ่ ื้อมา กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รบั ผลประโยชน์จากาการลดต้นทุนร่วมจากการจัดซื้อจัดจ้างและกระแสเงินสดรับ ในอนาคตจากการด�ำเนินงาน ส�ำหรับงวดสี่เดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด มีรายได้เป็นจ�ำนวนเงิน 207.9 ล้านบาท และขาดทุน จ�ำนวนเงิน 9.2 ล้านบาท ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท ฝ่ายบริหารคาดว่าหากกลุ่มบริษัทได้มีการซื้อธุรกิจตั้งแต่วัน ที่ 1 มกราคม 2554 จะมีรายได้รวมเพิ่มขึ้นจ�ำนวนเงิน 626.7 ล้านบาท และก�ำไรรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ลดลงจ�ำนวนเงิน 22.5 ล้านบาท ในการก�ำหนดมูลค่าดังกล่าว ฝ่ายบริหารใช้สมมุติฐานในการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรม โดยถือเสมือนว่าการรวมกิจการที่เกิดขึ้น ในระหว่างงวดนั้นได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ข้อมูลของสิ่งตอบแทนทั้งหมดที่โอนให้และมูลค่าที่รับรู้ ณ วันที่ซื้อส�ำหรับสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา แต่ละประเภทที่ส�ำคัญ มีดังนี้
50
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สิ่งตอบแทนที่โอนให้ เงินสด
มูลค่ายุติธรรม (ล้านบาท) 607.4 607.4
สินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินมัดจ�ำ สิทธิการเช่า สินทรัพย์อื่น เงินกู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน หนี้สินอื่น รวมสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้
มูลค่ายุติธรรม (ล้านบาท) 21.1 12.3 183.5 250.2 40.5 26.6 12.4 (21.8) (25.3) (18.6) (46.4) (26.3) 408.2
ค่าความนิยม ค่าความนิยมรับรู้จากผลลัพธ์ของการซื้อธุรกิจ ดังนี้
มูลค่ายุติธรรม (ล้านบาท) 607.4 (408.2) 199.2
สิ่งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ ค่าความนิยม
ค่าความนิยมส่วนใหญ่เนื่องมาจากผลประโยชน์ในอนาคตและศักยภาพที่กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับ และเนื่องด้วยการลงทุนซื้อบริษัท เบทาโกร โอ โตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด จะท�ำให้กลุ่มบริษัทมีส่วนแบ่งทางการตลาดในธุรกิจประเภทภัตตาคารเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไม่มีค่าความนิยมที่คาดว่าจะน�ำมาหัก ค่าใช้จ่ายทางภาษีเงินได้ได้ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ กลุม่ บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ จ�ำนวน 3.06 ล้านบาท ทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าทีป่ รึกษากฎหมายภายนอกและค่าใช้จา่ ยในการตรวจสอบสถานะ ทางการเงิน ค่าที่ปรึกษากฎหมายภายนอกและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสถานะทางการเงินได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมของกลุ่มบริษัท 7. บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพือ่ วัตถุประสงค์ในการจัดท�ำงบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับกลุม่ บริษทั /บริษทั หากกลุม่ บริษทั /บริษทั มีอำ� นาจ ควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทัง้ ทางตรงและทางอ้อมหรือมีอทิ ธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหาร หรือในทางกลับกัน หรือกลุ่มบริษัท/บริษัทอยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันหรืออยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการ นั้น การเกี่ยวข้องกันนี้อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ ความสัมพันธ์ที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัท โรงแรมกะรน ภูเก็ต จ�ำกัด
ประเทศที่จัดตั้ง / สัญชาติ ไทย
บริษัท โรงแรมกะตะ ภูเก็ต จ�ำกัด
ไทย
กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา กองทุนรวมไทยพัฒนา 2
ไทย
กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 Regent Maldives Pvt. Ltd. 51
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ไทย ไทย มัลดีฟส์
ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมรวม 50% เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้น 50% เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้น 25% เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม รวม 23.92% เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้น 25%
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความสัมพันธ์ที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ Centara Maldives Pvt. Ltd.
มัลดีฟส์
บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด
ไทย
บริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด
ไทย
บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เพาเวอร์บาย จ�ำกัด
ไทย ไทย ไทย
บริษัท เซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท เอเอพีซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ไทย ไทย
เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้น 50% เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นและกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย
นโยบายการก�ำหนดราคาส�ำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้: รายการ นโยบายการก�ำหนดราคา ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย อิงตามอัตราดอกเบี้ยธนาคาร รายได้ในการบริหารจัดการ ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน เงินปันผลรับ ตามการประกาศการจ่ายเงินปันผล ค่าบริหารจัดการ ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน ค่าเช่ารับและค่าเช่าจ่าย ราคาตลาดและตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน รายได้ค่าเช่าพื้นที่ ราคาตลาด ขาดทุนจากการส�ำรองการค�้ำประกัน ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน ค่าสิทธิการเช่า ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน ค่าบริการที่จอดรถจ่ายล่วงหน้า ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน ค่าขายอุปกรณ์ ตามสัญญาที่ตกลงร่วมกัน ค่าไฟฟ้า ราคาตลาด รายการที่ส�ำคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สรุปได้ดังนี้
บริษัทย่อย ค่าเช่ารับ ดอกเบี้ยรับ รายได้ในการบริหารจัดการ เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าเช่าจ่าย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน รายได้ในการบริหารจัดการ ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น บริษัทร่วม เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ รายได้ในการบริหารจัดการ ค่าเช่าจ่าย ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน
52
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
-
-
4,140 202,943 198,245 310,526 12,728 2,647 120,147
5,354 168,884 212,832 397,170 35,854 2,589 117,641
31,825 2,462 2,904
25,949 2,460 2,054
31,825 2,462 -
25,949 2,460 -
76,406 16,750 33,996 225,000 73,696
66,302 20,194 25,161 225,000 11,980
76,406 36,972
66,302 6,010
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 2554 กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ค่าเช่ารับ รายได้ในการบริหารจัดการ รายได้อื่น ค่าเช่าจ่าย ค่าไฟฟ้า ค่าบริหารจัดการ ค่าบริการอื่น
งบการเงินรวม 2553 (พันบาท)
14,279 2,095 17,159 108,498 36,142 19,328 8,082
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
14,279 7,328 20,948 99,896 41,625 19,984 6,254
ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน 107,788 69,142 รวม 107,788 69,142 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท เอส.พี. เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด บริษัทร่วม Regent Maldives Pvt. Ltd. เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด กิจการที่ควมคุมร่วมกัน บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด บริษัทร่วม Regent Maldives Pvt. Ltd. เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
53
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
อัตราดอกเบี้ย 2554 2553 ( % ต่อปี)
2,095 80,960 36,142 3,593 -
7,328 83,853 40,198 4,051 -
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 42,882 12,949 55,831
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
42,215 13,520 55,735
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
4.75 4.75 4.75 4.75
4.75 4.75 4.75 4.75 4.75 -
-
-
179,000 226,400 23,000 2,250
163,200 317,600 21,500 216,200 696,000 -
-
10.0
167,495 167,495
167,495 167,495
430,650
1,414,500
4.75 4.75 4.75 4.75 4.75 4.75 4.75
4.75 4.75 4.75 4.75 -
-
-
184,000 124,500 154,000 463,000 1,905,600 449,500 740,000
75,000 500,800 1,992,400 81,176 67,800 -
6.0
6.0
41,000
41,000
41,000
41,000
-
10.0
55,213 96,213
52,511 93,511
4,061,600
2,758,176
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 4,131,676 2,312,500 (1,992,926) 4,451,250
2,144,676 2,500,000 (513,000) 4,131,676
41,000 41,000
41,000 41,000
41,000 41,000
41,000 41,000
บริษัทร่วม ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ก�ำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
220,006 2,702 222,708
225,631 (5,625) 220,006
-
-
รวมเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ก�ำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
261,006 2,702 263,708
266,631 (5,625) 261,006
4,172,676 2,312,500 (1,992,926) 4,492,250
2,185,676 2,500,000 (513,000) 4,172,676
2,722 2,722
71,054 125 71,179
4,499 185 4,684
เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รวม เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทาราไทยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด กิจการที่ควบคุมร่วมกัน Centara Maldives Pvt. Ltd. รวม
-
94 94
อัตราดอกเบี้ย 2554 2553 ( % ต่อปี) 1.85 -3 3-4.75 4.75
4.75 4.75 3.00 1.5-1.9 4.75 -
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 6,000 6,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
-
25,000 45,000 -
24,500 18,000 85,000 340,000 354,000
-
70,000
821,500
รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้
54
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 6,000 6,000 -
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส�ำรองการค�้ำประกัน ส�ำรองการค�้ำประกันระยะสั้น ส�ำรองการค�้ำประกันระยะยาว รวม
88,917 15,797 104,714
90,580 28,582 119,162
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 821,500 1,087,500 117,000 678,500 (868,500) (944,500) 70,000 821,500 44,610 7,924 52,534
45,440 14,344 59,784
หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก ยอดคงเหลือกับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ถึงก�ำหนดจ่ายดังนี้
ยอดคงเหลือ ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ระยะเวลามากกว่าหนึ่งปีถึงห้าปี รวม
81,500 122,250 203,750
2554 ค่าใช้จ่าย รอตัดบัญชี (พันบาท) (5,661) (5,524) (11,185)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สุทธิ
ยอดคงเหลือ
75,839 116,726 192,565
81,500 203,750 285,250
2553 ค่าใช้จ่าย รอตัดบัญชี (พันบาท) (5,661) (11,184) (16,845)
สุทธิ 75,839 192,566 268,405
ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญประกอบด้วย
ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 45,926 44,261 875 46,801 44,261
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 45,596 43,831 875 46,471 43,831
สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สัญญาเช่าระยะยาว บริษัท ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาต่างตอบแทนระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด (“CID”) ซึ่งท�ำสัญญาเช่าที่ดินระยะยาวกับ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) บริษัทได้รับสิทธิในการก่อสร้างอาคารโรงแรมบนที่ดินที่เช่าช่วงจากบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด และ สามารถด�ำเนินกิจการโรงแรมเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั จนถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2551 สัญญานีต้ อ่ อายุได้อกี ครัง้ ละ 10 ปี บริษทั จะต้องจ่ายค่าตอบแทน เป็นเงินประมาณ 73.7 ล้านบาท โดยแบ่งช�ำระเป็นงวดต่างๆ กันถึงปี 2551 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 “CID” ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงกับ รฟท. โดยช�ำระค่าชดเชยสัญญาเช่าเพิ่มเติมให้แก่ รฟท.ในจ�ำนวนที่ตกลงร่วมกับ รฟท. บริษัทได้ตกลงรับแบ่งค่าชดเชยดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 65 ล้านบาท โดยช�ำระเป็นรายงวด 8 งวด เริ่มช�ำระงวดแรกภายในวันที่ 31 มีนาคม 2546 และงวดสุดท้ายภายในวันที่ 18 ธันวาคม 2551 การโอนสินทรัพย์ให้การรถไฟแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2551 ซึ่งเป็นวันครบก�ำหนดของสัญญาต่างตอบแทนดังกล่าว บริษัทต้องโอนสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินที่เช่าช่วง ส่วนติดตั้งและ ปรับปรุง รวมถึงอุปกรณ์บางส่วนให้แก่ รฟท.ซึง่ มีมลู ค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันครบก�ำหนดสัญญาเป็นจ�ำนวน 23.9 ล้านบาท เป็นผลให้บริษทั มีขาดทุน จากการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ในจ�ำนวนเดียวกัน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2551 บริษัทได้รับแจ้งจาก “CID” ว่า “CID” ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าที่ดินและ/หรืออาคารฉบับใหม่ โดยมีระยะเวลาการเช่า 20 ปีกับ รฟท. แล้ว ดังนั้น บริษัทจึงได้เข้าลงนามในบันทึกข้อตกลงกับ “CID” เพื่อรักษาสิทธิและยืนยันการใช้สิทธิในการเข้าท�ำสัญญาเช่าช่วงใหม่ กับ “CID” โดย “CID” ได้แจ้งให้บริษัทจ่ายเงินประกันสิทธิการเช่าที่ดินและ/หรืออาคารโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว จ�ำนวน 95 ล้านบาท ในวันที่ “CID” เข้าท�ำสัญญาเช่ากับ รฟท. 55
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในปี 2552 บริษัทท�ำสัญญาเช่าช่วงทรัพย์สิน ซึ่งประกอบด้วย อาคารโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ (เดิมชื่อ โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา ลาดพร้าว) และส่วนปรับปรุงอาคารโรงแรม พร้อมทั้งทรัพย์สินครุภัณฑ์ กับบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด (“ผู้ให้เช่าช่วง”) เป็นระยะเวลา 20 ปี และจะสิ้นสุดลงในวันที่ 18 ธันวาคม 2571 บริษัทจะต้องจ่ายค่าผลประโยชน์ตอบแทนการได้สิทธิเช่าช่วงและค่าเช่าส�ำหรับการเช่าช่วงสินทรัพย์ รายปีให้แก่ผู้ให้เช่าช่วงตลอดอายุสัญญาเช่าเป็นจ�ำนวนเงินรวม 2,556 ล้านบาท ในระหว่างปี 2552 บริษัทบันทึกสิทธิเช่าช่วงและค่าเช่ารายปีจ�ำนวน 361 ล้านบาท เป็นสิทธิการเช่าในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ (ดูหมายเหตุ 18) นอกจากนี้ บริษัทจะต้องจ่ายค่า เช่าครุภณ ั ฑ์ให้แก่ผใู้ ห้เช่าช่วงตลอดอายุสญ ั ญาเช่าเป็นจ�ำนวนเงินรวม 31 ล้านบาท โดยบริษทั บันทึกค่าเช่าครุภณ ั ฑ์เป็นสินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่า การเงิน (ดูหมายเหตุ 16) ทรัพย์สนิ ทีเ่ ช่าทีบ่ ริษทั ได้ดำ� เนินการบูรณะพัฒนา ปรับปรุงหรือก่อสร้าง แก้ไข ดัดแปลง ต่อเติม ซ่อมแซมหรือสร้างทดแทนทรัพย์สนิ เดิมตามสัญญา นี้ ให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ รฟท. ทันทีที่มีการด�ำเนินการดังกล่าวแล้วเสร็จ นอกจากนี้ บริษัทต้องส่งมอบครุภัณฑ์ที่เช่าตามรายการในสัญญาเช่า ให้แก่ รฟท. เมื่อสิ้นสุดสัญญาเช่าตามสภาพตามสมควรและอายุการใช้งานในขณะนั้น เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2532 บริษัทได้ท�ำสัญญาเช่าอาคารที่จอดรถและสนามเทนนิสกับบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) สัญญานี้มีก�ำหนด เวลา 3 ปี โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2532 และสามารถต่ออายุได้เป็นคราวๆ ครั้งละ 3 ปี ค่าเช่ารายปีส�ำหรับปี 2554 มีจ�ำนวนเงินประมาณ 1.4 ล้านบาท (2553: 2 ล้านบาท) บริษัทย่อย โครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย สัญญาระหว่างบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย กับกองทุนรวมไทยพัฒนา 1 เมือ่ วันที่ 12 ธันวาคม 2545 บริษทั เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CSBR”) ได้ทำ� สัญญาจะซือ้ จะขายอาคารกับกองทุนรวมไทยพัฒนา 1 (“TP1”) โดย “CSBR” ตกลงขายอาคารโรงแรมพร้อมเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจโรงแรมให้แก่ “TP1” และ “CSBR” ได้ท�ำสัญญาเช่าอาคาร ดังกล่าวกลับคืนจาก TP1 ตามสัญญาเช่าอาคาร ฉบับลงวันที่เดียวกัน เป็นระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ในสัญญา และสามารถต่อสัญญาได้อีก คราวละ 3 ปี นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2545 “CSBR” ยังได้ท�ำสัญญาให้เช่าที่ดินแก่ “TP1” เป็นระยะเวลา 15 ปี ภายใต้สัญญานี้ “TP1” ในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิในอาคารโรงแรม ซึ่งตั้งอยู่บนที่ดินที่เช่าตามสัญญานี้ ตกลงจะขายอาคารโรงแรม และเฟอร์นิเจอร์ที่มีอยู่ในอาคารโรงแรม ในวันที่มีการโอนกรรมสิทธิในอาคารโรงแรมดังกล่าวให้แก่ “CSBR” เมื่อ “CSBR” ได้ช�ำระราคาซื้อคืนอาคารโรงแรมและเฟอร์นิเจอร์ให้แก่ “TP1” ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ “TP1” ได้ว่าจ้าง “CSBR” ให้เป็นผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาว่าจ้างผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2545 เป็นระยะเวลา 15 ปี และเพื่อเป็นหลักประกันการช�ำระหนี้และปฏิบัติตามสัญญา “CSBR” ตกลงจ�ำนองที่ดินอันเป็นที่ตั้งของโรงแรม และให้ บริษัท โรงแรม เซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) (“CPH”) จัดท�ำหนังสือรับรองการช�ำระหนี้และการปฏิบัติตามสัญญาเช่าอาคาร และสัญญาบริหาร อสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุนรวม เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 “CSBR” และ “TP1” ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงเลิกสัญญา โดย “CSBR” และ “TP1” ตกลงยกเลิกสัญญาเช่าที่ดิน สัญญาเช่าอาคาร สัญญาว่าจ้างผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ และสัญญาจ�ำนองที่ดิน โดยให้สัญญาต่างๆ ดังกล่าวมีผลสิ้นสุดลง ตั้งแต่วันที่ลงนาม ในบันทึกข้อตกลง นอกจากนี้ “CSBR” ตกลงซื้อ และ “TP1” ตกลงขายเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ที่มีอยู่ในอาคารโรงแรม ณ วันที่ท�ำบันทึกข้อตกลง ในราคา 1 ล้านบาท โดย “TP1” ตกลงโอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่ “CSBR” และ “CSBR” ได้ช�ำระราคา ค่าซื้อเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่ “TP1” เสร็จสิ้นแล้วในวันที่ท�ำบันทึกข้อตกลง และในวันเดียวกัน “CPH” และ “TP1” ได้ท�ำบันทึก ข้อตกลงยกเลิกค�ำรับรองการช�ำระหนี้ เพื่อยกเลิกหนังสือรับรองการช�ำระหนี้ ฉบับลงวันที่ 12 ธันวาคม 2545 ที่ “CPH” ได้ท�ำไว้กับ ”TP1” เพื่อรับรองการช�ำระหนี้ของ “CSBR” ภายใต้สัญญาว่าจ้างผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเช่าอาคาร และสัญญาเช่าที่ดินที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 “TP1” ได้ขายอาคารโรงแรมให้แก่ “CPH” เนื่องจาก “CSBR” ไม่ประสงค์ใช้สิทธิซื้ออาคารโรงแรมตามสัญญาเช่า ที่ดิน ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2545 โดย “TP1” ได้รับค่าตอบแทนจากการขายอาคารเป็นจ�ำนวนเงิน 1,450 ล้านบาท สัญญาระหว่างบริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย กับกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ท ในเครือเซ็นทารา เมือ่ วันที่ 25 กันยายน 2551 บริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยได้เข้าท�ำสัญญาต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับทีด่ นิ และอาคารโรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย (ชื่อเดิมคือ โรงแรมเซ็นทรัลสมุย บีชรีสอร์ท) กับกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ท ในเครือเซ็นทารา (“CTARAF”) โดยมีสาระส�ำคัญต่อไปนี้ 1. บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CSBR”) ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดินกับ CTARAF เพื่อให้ CTARAF เช่าที่ดินเป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่ วันทีค่ สู่ ญ ั ญาได้นำ� สัญญาเช่าไปจดทะเบียนการเช่า (วันที่ 26 กันยายน 2551) ทัง้ นี้ CTARAF ตกลงช�ำระค่าเช่าทีด่ นิ เป็นจ�ำนวนทัง้ สิน้ 1,500 ล้าน 56
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บาท โดยช�ำระทั้งจ�ำนวนในวันจดทะเบียนการเช่า “CSBR” บันทึกรายการดังกล่าวเป็นรายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน และ ทยอยตัดบัญชีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 30 ปีในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า ดังกล่าวสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่ายจ�ำนวน 50.0 ล้านบาท (2553: 50.0 ล้านบาท) คงเหลือจ�ำนวน 1,336.7 ล้านบาท (2553: 1,386.7 ล้านบาท) 2. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) (“CPH”) ได้ท�ำสัญญาเช่าอาคารสิ่งปลูกสร้างโรงแรมเซ็น ทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย รวม ทั้งระบบสาธารณูปโภคและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ CTARAF เพื่อให้ CTARAF.เช่าเป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่คู่สัญญาได้น�ำสัญญาเช่า ไปจดทะเบียนการเช่า (วันที่ 26 กันยายน 2551) ทั้งนี้ CTARAF ตกลงช�ำระค่าเช่าอาคารเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,510 ล้านบาท โดยช�ำระทั้งจ�ำนวน ในวันจดทะเบียนการเช่า “CPH” บันทึกรายการดังกล่าวเป็นรายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินในงบการเงินเฉพาะกิจการ และทยอยตัดบัญชีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 30 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้รับล่วงหน้าสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่าย จ�ำนวน 50.3 ล้านบาท (2553: 50.3 ล้านบาท) คงเหลือจ�ำนวน 1,345.7 ล้านบาท (2553: 1,396ล้านบาท) ภายใต้สัญญาเช่าอาคารสิ่งปลูกสร้าง “CPH” ตกลงและรับรองว่า ภายในระยะเวลา 4 ปีนับจากวันจดทะเบียนการเช่า CTARAF จะมีรายได้ค่าเช่า จากการน�ำทรัพย์ที่เช่าไปหาผลประโยชน์ ไม่น้อยกว่ารายได้ค่าเช่าประกันสะสม ตามจ�ำนวนเงินที่ระบุในสัญญา โดยหาก CTARAF มีรายได้ค่าเช่า สะสมน้อยกว่ารายได้ค่าเช่าประกันสะสมตามสัญญา “CPH” ตกลงจะช�ำระเงินให้ CTARAF ในจ�ำนวนเท่ากับส่วนต่างระหว่างรายได้ค่าเช่าสะสม ของกองทุนรวม ลบด้วยรายได้ค่าเช่าประกันสะสม เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2551 “CPH” และ “CSBR” ได้ท�ำสัญญาเกี่ยวกับการประกันรายได้ของ.CTARAF โดย “CSBR” ในฐานะผู้ให้เช่าที่ดิน ซึ่งได้รับประโยชน์ส่วนหนึ่งจากการเช่าทรัพย์สินของ.CTARAF ตกลงร่วมรับประกันรายได้ค่าเช่า โดยหาก “CPH” ต้องช�ำระเงินใดๆ ให้แก่ CTATAF ภายใต้เงือ่ นไขการรับประกันข้างต้น.”CSBR” ตกลงจะช�ำระเงินค่ารับประกันบางส่วนให้แก่ “CPH” ตามอัตราร้อยละทีก่ ำ� หนดในสัญญา ในงบการเงินเฉพาะกิจการ “CPH” บันทึกขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกันเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 37 ล้านบาท (2553: 6 ล้านบาท) ในงบ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มียอดคงเหลือของส�ำรองการค�้ำประกันเป็น จ�ำนวนเงินรวมประมาณ 52.5 ล้านบาท (2553: 59.8 ล้านบาท) ในงบการเงินรวม “CPH”และ “CSBR” บันทึกขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน เป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 73.7 ล้านบาท (2553: 12 ล้านบาท) ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มียอดคงเหลือของส�ำรองการค�ำ้ ประกันเป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 104.7 ล้านบาท ในงบแสดงฐานะการเงินรวม (2553: 119.2 ล้านบาท) (ดูหมายเหตุ 22) ทั้งนี้ หาก CTARAF ประสงค์จะต่ออายุสัญญาเช่าที่ดิน และสัญญาเช่าอาคาร ตามข้อ 1 และข้อ 2 ข้างต้น ไปอีกนับจากวันครบระยะเวลาการเช่า CTARAF ต้องแจ้งความประสงค์ดังกล่าวให้แก่ “CSBR” และ “CPH” แล้วแต่กรณี ทราบเป็นลายลักษณ์อักษรภายในปีที่ 26.นับจากปีแรกของ ระยะเวลาการเช่า และคูส่ ญ ั ญาจะร่วมกันเจรจารายละเอียดในการต่ออายุสญ ั ญาเช่าให้แล้วเสร็จภายในปีที่ 27 นับจากปีแรกของระยะเวลาการเช่า 3. “CSBR” ได้ท�ำสัญญาซื้อขายเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ที่ได้ติดตั้ง / ใช้งานอยู่ในโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย กับ CTARAF โดย CTARAF ตกลงช� ำ ระค่ า ตอบแทนการรั บ โอนกรรมสิ ทธิ์ ใ นเฟอร์ นิเจอร์ แ ละอุ ปกรณ์ ดั งกล่ าว เป็ นจ� ำ นวนเงิ นทั้ งสิ้ น 80 ล้ า นบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) โดยช�ำระทั้งจ�ำนวนในวันโอนกรรมสิทธิ์ (วันที่ 26 กันยายน 2551) 4. CTARAF ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงอาคารโครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุยกับ บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (“CSHM”) เพื่อให้เช่าที่ดิน อาคารและระบบสาธารณูปโภคและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์แก่ “CSHM” เพื่อให้ “CSHM” ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจโรงแรม โดยมีระยะเวลาการเช่า 3 ปี นับจากวันที่ 26 กันยายน 2551 ทั้งนี้ CTARAF ตกลงให้ค�ำมั่นแก่ “CSHM” เพื่อ ให้ “CSHM” มีสิทธิเช่าทรัพย์ที่เช่าต่อไปอีก 3 ปีนับจากวันที่ครบระยะเวลาการเช่า โดย “CSHM” ต้องแจ้งให้ CTARAF ทราบถึงการใช้สิทธิ ตามค�ำมั่นให้สิทธิการเช่าล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันครบระยะเวลาการเช่า ตามสัญญาฉบับนี้ “CSHM” ตกลง ช�ำระค่าเช่าเป็นรายเดือน ซึ่งประกอบด้วย ค่าเช่าคงที่ ในอัตรารวม 225 ล้านบาทต่อปี และค่าเช่าแปรผัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละตามอัตราที่ก�ำหนด ในสัญญาของรายได้หลังหักต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื่นๆ และค่าเช่าคงที่ ทั้งนี้ตามสัญญาเช่าช่วงและสัญญาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง “CSHM” ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา เช่น ส่งมอบเอกสาร และข้อมูลต่างๆ ตามที่ระบุ ในสัญญา เปิดบัญชีและด�ำรงบัญชีเงินฝากต่างๆ รวมทัง้ โอนสิทธิเรียกร้องในบัญชีเงินฝากดังกล่าวให้แก่ CTARAF ไม่กอ่ หนีเ้ พิม่ เติม ขาย จ�ำหน่าย ให้เช่า ก่อภาระผูกพันในทรัพย์สินไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้เงินกู้ ลงทุนใดๆ ยกเว้นได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจาก CTARAF โครงการโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท พัทยา เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2546 บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด (“ผู้ขายฝาก”) ได้ท�ำสัญญาขายฝากที่ดินพร้อมอาคารโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์ อมาตย์บีชรีสอร์ทพัทยากับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“ผู้ซื้อฝาก”) และผู้ขายฝากอีกรายหนึ่งได้ท�ำสัญญาขายฝากที่ดิน กับ กองทุนรวมไทย พัฒนา 2 (“ผู้ซื้อฝาก”) เพื่อให้บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีช รีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) เช่าและด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับกิจการโรงแรม ซึ่งคู่สัญญาตกลง ให้ผู้ขายฝาก หรือบริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด หรือบริษัท โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา จ�ำกัด (มหาชน) รายหนึ่งรายใดเป็นผู้มีสิทธิไถ่คืน ทรัพย์ที่ขายฝากจากผู้ซื้อฝากในราคาสินไถ่ตามที่ระบุในสัญญาภายในก�ำหนดระยะเวลา 10 ปีนับตั้งแต่วันจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ หรือในกรณี ที่ผู้มีสิทธิไถ่คืนมีความประสงค์จะไถ่ทรัพย์ที่ขายฝากให้เสร็จสิ้นก่อนก�ำหนด 10 ปีต้องแจ้งเป็นหนังสือถึงผู้ซื้อฝากให้ทราบล่วงหน้าก่อนถึงก�ำหนด การผ่อนช�ำระงวดถัดไปไม่น้อยกว่าสามสิบวัน 57
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2546 ผู้ขายฝากทั้งสองรายได้ท�ำหนังสือสละสิทธิในการไถ่คืนทรัพย์ที่ขายฝากให้แก่บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด และบริษัทโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นหลักประกันการช�ำระหนี้และปฏิบัติตามสัญญาฉบับนี้ บริษัทได้ออกหนังสือรับรองการช�ำระหนี้ของบริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด กับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด ได้ท�ำหนังสือสละสิทธิในการไถ่คืนทรัพย์ที่ขายฝากให้แก่บริษัทแต่เพียงผู้เดียว เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2546 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดินและอาคารโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรี สอร์ท พัทยา (“อาคารโรงแรม”) กับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“กองทุน”) เพือ่ ประกอบธุรกิจโรงแรม โดยมีกำ� หนดระยะเวลา 10 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 23 ธันวาคม 2546 เป็นต้นไป ทั้งนี้ “CHBR” ตกลงช�ำระค่าเช่าเป็นงวดรายหกเดือน ในอัตรางวดละ 55 ล้านบาท อัตราค่าเช่านี้ใช้บังคับส�ำหรับระยะเวลา การเช่าตัง้ แต่วนั ทีล่ งนามในสัญญาจนถึงวันที.่ 28.กุมภาพันธ์ 2550 หลังจากนัน้ คูส่ ญ ั ญาจะพิจารณาปรับค่าเช่าตามความเหมาะสม ค่าเช่างวดแรก มีก�ำหนดช�ำระในวันที่ 26 สิงหาคม 2547 เพื่อเป็นค่าเช่าส�ำหรับระยะเวลาการเช่าตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม 2546 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2547 และงวด ถัดไปจะมีกำ� หนดช�ำระในวันท�ำการทีส่ ามก่อนสิน้ เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนสิงหาคมในแต่ละปี ค่าเช่างวดสุดท้ายจะช�ำระในวันทีส่ ญ ั ญานีร้ ะงับหรือสิน้ สุดลง ในจ�ำนวนเงินซึง่ คิดค�ำนวณตามจ�ำนวนวันทีเ่ กิดขึน้ จริงนับตัง้ แต่วนั ถัดจากก�ำหนดวันช�ำระค่าเช่าในงวดก่อนหน้าจนถึงวันทีส่ ญ ั ญานีส้ นิ้ สุดลง โฉนดที่ดินของบริษัทซึ่งมีราคาตามบัญชีจ�ำนวน 772 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ยังเป็นชื่อของกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ซึ่ง เป็นผู้ซื้อฝาก ที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินในโครงการโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์ บีชรีสอร์ท พัทยา นอกจากนี้ “CHBR” ตกลงที่จะด�ำเนินการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นใดบนทรัพย์ที่เช่า เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าที่ดินและอาคารโรงแรม เป็นการตอบแทนการที่กองทุนตกลงให้ “CHBR” เช่าทรัพย์ที่เช่า และภายหลังจากปีที่หนึ่งนับจากวันเริ่มต้นของระยะเวลาการเช่า “CHBR” ตกลง ที่จะซ่อมแซมใหญ่ และ/หรือพิจารณาปรับปรุงอาคารโรงแรม เพื่อปรับปรุงมูลค่าของทรัพย์ที่เช่าให้ดีขึ้นและเหมาะสมกับการประกอบธุรกิจโรงแรม เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 บริษัทได้ท�ำสัญญาโอนสิทธิการเช่ากับ “CHBR” และกองทุน โดยบริษัทได้รับโอนสิทธิการเช่ารวมถึงหน้าที่ความรับผิด ชอบตามสัญญาเช่าที่ดินพร้อมอาคารดังกล่าว บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2548 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงที่ดินและอาคารในส่วนของโรงแรมจากกองทุนรวม ธุรกิจไทย 4 (“กองทุน”) เพื่อพัฒนาและใช้ประกอบการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับโรงแรมหรือธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง “CWH” ต้องจ่ายค่าเช่าล่วงหน้า และค่าเช่ารายปีให้แก่กองทุนตลอดอายุของสัญญาซึ่งสิ้นสุดวันที่ 22 ธันวาคม 2575 เป็นจ�ำนวนเงิน 1,188.8 ล้านบาท ทั้งนี้ “CWH” ได้ช�ำระ ค่าเช่าล่วงหน้าเมื่อลงนามในสัญญาเป็นจ�ำนวนเงิน 275 ล้านบาท ในระหว่างปี 2554 “CWH” ได้จ่ายค่าเช่ารายปีเป็นจ�ำนวน 15.8 ล้านบาท (2553: 15.8 ล้านบาท) ซึ่งบันทึกเป็นสิทธิการเช่าในงบแสดงฐานะการเงินรวม (ดูหมายเหตุ 18) สัญญาข้างต้นยังได้ก�ำหนดให้ “CWH” ต้องโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างใดๆ ที่ “CWH” ได้ซ่อมแซมปรับปรุง หรือก่อสร้างขึ้นบนที่ดิน ที่เช่าช่วงให้แก่เจ้าของทรัพย์สินคือส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ทันทีที่มีการซ่อมแซม ปรับปรุงหรือก่อสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ”CWH” ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ให้แก่เจ้าของทรัพย์สิน ทั้งนี้ “CWH” ได้รับการอนุมัติ ผ่อนปรนการขยายระยะเวลาการพัฒนาและก่อสร้างอาคารโรงแรม และโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้กับเจ้าของทรัพย์สินออกไป เป็นภายในปี 2555 สัญญาบริการระยะยาว บริษัท เมื่ อ วั น ที่ 1 กรกฎาคม 2547 บริ ษั ท ได้ ท� ำ สั ญ ญาค่ า ตอบแทนการจั ด การกั บ บริ ษั ท ย่ อ ย โดยสั ญ ญาดั ง กล่ า วมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2547 ค่าตอบแทนการจัดการดังกล่าวก�ำหนดช�ำระเป็นรายไตรมาส ทั้งนี้ คู่สัญญามีสิทธิที่จะแก้ไขหรือเพิ่มเติมหรือลดงานที่ด�ำเนินการ นี้ หรือเพิ่มหรือลดเงินค่าตอบแทนโดยจะต้องท�ำความตกลงเป็นหนังสือ โดยมีรายละเอียดดังนี้ • บริษัทได้ท�ำสัญญาค่าตอบแทนการจัดการส�ำหรับบริษัทย่อย 7 แห่งในกลุ่มโรงแรมเพื่อบริหารงานกิจการโรงแรม ภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการในอัตราเป็นร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาของรายได้สุทธิจากการให้บริการ โดยแยกเป็นค่าบริหารจัดการ และค่าจัดการการตลาด • บริษัทได้ท�ำสัญญาการจัดการด้านการตลาดกับบริษัทย่อยอีกหนึ่งแห่งในกลุ่มโรงแรม ภายใต้สัญญาดังกล่าวบริษัทจะได้รับค่าตอบแทน เฉพาะการจัดการด้านการตลาดในอัตราเป็นร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาของรายได้สุทธิจากการให้บริการ
58
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย • บริษัทได้ท�ำสัญญาค่าตอบแทนการบริหารงานกับบริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ส�ำหรับการบริหารงานของ CRG ภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการเป็นจ�ำนวนเงินคงที่เป็นรายเดือน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2554 และวันที่ 26 พฤษภาคม 2554 บริษัทได้ท�ำสัญญาการจัดการกับบริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด และ บริษัท โรงแรม กะตะภูเก็ต จ�ำกัด เพื่อให้บริการบริหารงานโรงแรมเป็นระยะเวลา 5 ปี สัญญาจะสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2559 และเดือนพฤษภาคม 2559 ตามล�ำดับ สัญญาดังกล่าวสามารถต่ออายุอัตโนมัติได้อีก 5 ปี ภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการในอัตราที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 บริษัทได้ท�ำสัญญาการจัดการกับบริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เพื่อให้บริการบริหารงานโรงแรม เป็นระยะเวลา 30 ปี นับจากวันที่ในสัญญา บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการในอัตราที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) ได้ท�ำสัญญาการจัดการกับบริษัท เอเอพีซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาการจัดการ คู่สัญญาจะให้บริการด้านการจัดการและบริหารกิจการโรงแรมของ “CHBR” และ “CHBR” ตกลงที่จะจ่าย ค่าธรรมเนียมการจัดการ โดยค�ำนวณตามวิธีการที่ระบุไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2544 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) ได้ท�ำสัญญาการบริการกับบริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด มีก�ำหนด 3 ปี เพื่อรับข้อมูลทางธุรกิจและค�ำแนะน�ำต่างๆ อันเกี่ยวกับการ ตัดสินใจที่เป็นประโยชน์ต่อ “CHBR” โดยมีอัตราค่าบริการ ปีละ 10 ล้านบาท เมือ่ สิน้ สุดอายุของสัญญา คูส่ ญ ั ญาสามารถต่อสัญญาออกไปได้อกี คราวละหนึง่ ปี โดยทีอ่ ตั ราค่าบริการจะมีการพิจารณาร่วมกัน บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด (“CSH”) ได้ท�ำสัญญาให้เช่าและให้บริการกับบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด มีก�ำหนดเวลา 30 ปี สิ้นสุด วันที่ 31 พฤษภาคม 2567 โดยบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด ได้ตกลงเช่าส่วนหนึ่งของอาคารของ CSH เพื่อใช้ประกอบกิจการศูนย์การค้า โดย CSH มีรายได้รวมประมาณ 428 ล้านบาท ตลอดอายุของสัญญา ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า ดังกล่าวสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่ายคงเหลือจ�ำนวน 183.2 ล้านบาท (2553: 197.5 ล้านบาท) สัญญาสิทธิ บริษัท บริษทั ได้ทำ� สัญญาสิทธิกบั บริษทั เอเอพีซี (ประเทศไทย) โดยอนุญาตให้บริษทั เป็นผูด้ ำ� เนินกิจการโรงแรมภายใต้ชอื่ “โซฟิเทล” จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และเพือ่ เป็นการตอบแทนสิทธิดงั กล่าว บริษทั ตกลงจะจ่ายค่าธรรมเนียมสิทธิโดยค�ำนวณจากรายได้คา่ ห้องพักตามอัตราร้อยละทีร่ ะบุในสัญญา บริษัทย่อย บริษัทโรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด (“CSH”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัท เอเอพีซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยอนุญาตให้ CSH เป็นผู้ด�ำเนินกิจการ โรงแรมภายใต้ชื่อ “โนโวเทล” จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และเพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิดังกล่าว CSH ตกลงจะจ่ายค่าธรรมเนียมสิทธิโดย ค�ำนวณจากรายได้ค่าห้องพักตามอัตราร้อยละที่ระบุในสัญญา บริษัทโรงแรมเซ็นทรัลหัวหินบีช รีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัท เอเอพีซี (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยอนุญาตให้ “CHBR” เป็นผู้ด�ำเนินกิจการโรงแรมภายใต้ชื่อ “โซฟิเทล” จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และเพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CHBR” ตกลงจะจ่าย ค่าธรรมเนียมสิทธิโดยค�ำนวณจากรายได้ค่าห้องพักตามอัตราร้อยละที่ระบุในสัญญา สัญญาเช่าและบริการระยะยาว บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) มีสัญญาเช่าและบริการระยะยาวกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันเป็นเวลา 3 - 30 ปี จนถึงปี 2569 ตามเงื่อนไขของสัญญา CRG จะต้องจ่ายค่าเช่าและบริการเป็นยอดคงที่รายเดือน หรือคิดเป็นร้อยละของยอดขาย ดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) ภาระผูกพันจากสัญญาเช่าด�ำเนินงาน ระยะเวลามากกว่าหนึ่งปีถึงห้าปี ระยะเวลามากกว่าห้าปี รวม
59
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
294,493 258,895 13,730 567,118
273,921 208,594 15,786 498,301
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) -
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ภาระค�้ำประกันตามสัญญาระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทได้ค�้ำประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร วงเงินการขอเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิตและการค�้ำประกันอื่นของ บริษัทย่อยบางแห่งต่อธนาคารในประเทศหลายแห่งเป็นจ�ำนวนเงินรวม 32 ล้านบาท (2553: 93 ล้านบาท) บริษัทได้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้ของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในวงเงินค�้ำประกันไม่น้อยกว่า 2,350 ล้านบาท ในเดือนมิถุนายน 2552 “CWH” ได้เบิกเงินกู้เต็มจ�ำนวน ทั้งหมด 2,300 ล้านบาทแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกู้ดังกล่าวมียอดคงเหลือ จ�ำนวน 500 ล้านบาท (2553: 1,300 ล้านบาท) บริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด มีภาระผูกพันต่อสถาบันการเงินเกี่ยวกับการค�้ำประกันวงเงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารและวงเงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง เป็นจ�ำนวนเงินรวม 10 ล้านบาท (2553: 10 ล้านบาท) 8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินฝากธนาคารและเงินสด
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 315,942 299,352
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 6,000 42,100
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท 9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
271,757 271,757 (2,753) 269,004
280,775 280,775 (4,034) 276,741
68,257 68,257 (1,070) 67,187
51,020 51,020 (43) 50,977
ลูกหนี้อื่น บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ส�ำหรับปี
286,944 555,948 (1,281)
180,380 457,121 (677)
78,237 145,424 1,027
62,306 113,283 (390)
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินจ่ายล่วงหน้าให้ผู้ขายวัตถุดิบ เงินทดรองจ่าย ลูกหนี้อื่น อื่นๆ รวม
สารบัญหลัก
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
ลูกหนี้การค้า บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
ยอดลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้
60
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 49,955 31,028 30,330 14,974 25,078 22,715 135,277 73,818 46,304 37,845 286,944 180,380
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 23,414 13,447 16,889 18,731 10,863 7,492 27,071 22,636 78,237 62,306
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี้
บุคคลหรือกิจการอื่นๆ ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
207,294
198,210
56,877
20,403
36,795 11,300 7,058 9,310 271,757 (2,753) 269,004
48,439 14,283 1,094 18,749 280,775 (4,034) 276,741
7,633 1,722 782 1,243 68,257 (1,070) 67,187
9,857 6,791 231 13,738 51,020 (43) 50,977
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท/บริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 15 วันถึง 30 วัน ลูกหนี้การค้าของกลุ่มบริษัท/บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท 10. สินค้าคงเหลือ
อาหารและเครื่องดื่ม วัสดุสิ้นเปลืองใช้ในการด�ำเนินงาน อื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย สุทธิ
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 279,862 199,699 106,366 64,176 17,361 42,780 403,589 306,655 (3,699) (2,592) 399,890 304,063
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 13,212 12,589 7,346 8,911 532 328 21,090 21,828 (445) 20,645 21,828
ต้นทุนของอาหารและเครื่องดื่มที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขาย - อาหารและเครื่องดื่มส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มี จ�ำนวน 3,066 ล้านบาท (2553: 2,426 ล้านบาท) 11. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ เงินประกัน สินค้าเบ็ดเตล็ด อื่นๆ รวม 12. เงินลงทุนในบริษัทย่อย
ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ขายคืนเงินลงทุน ลดทุน รับคืนมูลค่าหน่วยลงทุนในกองทุนรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
61
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 3,295 15,393 5,920 6,739 6,336 5,245 7,556 8,760 10,605 11,308 33,712 47,445
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 143 186 1,256 1,618 3,615 942 5,976 5,386 10,990 8,132 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 4,211,490 4,203,160 945,375 27,750 (250) (862,499) (19,420) (19,420) 4,274,696 4,211,490
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2554 บริษัท เซ็นทรัล โฮเต็ล แมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด ได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์ จ�ำนวน 7,500,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่า ที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 750 ล้านบาท เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2554 บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด ได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์ จ�ำนวน 1,125,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตรา ไว้ 100 บาท ต่อหุ้น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 112.5 ล้านบาท เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2554 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนจากจ�ำนวน 10,000,000 หุ้นเป็น 20,000,000 หุ้น โดยมีมูลค่า ที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น (เรียกช�ำระ 80% ของทุนจดทะเบียนที่เพิ่มทุน) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 800 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 100% บริษัทได้ ช�ำระค่าหุ้นแล้วเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2554 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2554 บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ หาดฝรั่ง รีสอร์ท จ�ำกัด ได้เรียกช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมในจ�ำนวน 885,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตรา ไว้ 100 บาท ต่อหุ้น เรียกช�ำระ 75 บาท ต่อหุ้น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 66.38 ล้านบาท โดยบริษัทถือสัดส่วนจ�ำนวน 100% บริษัทได้บันทึกรายการ เจ้าหนี้ค่าหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554 บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด ได้เพิ่มทุนจดทะเบียน เป็นจ�ำนวน 800,000 หุ้น โดยมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อ หุ้น (เรียกช�ำระเต็มมูลค่า) และบริษัทได้ลงทุนเพิ่มเติมในหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเป็นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 79 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนการถือหุ้น 100% เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 บริษัทได้ขายคืนเงินลงทุนในบริษัท เอส.พี.เรียลตี้ ลันตาบีช จ�ำกัด ให้แก่ บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด จ�ำนวน 10,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 25 บาท ต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 0.25 ล้านบาท เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2553 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด จ�ำนวน 10,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 100 บาท ต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 1 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 100% บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นแล้วเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2553 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2553 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนเวนชั่น และเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด จ�ำนวน 10,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 100 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น1 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 100% บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นแล้วเมื่อ วันที่ 2 เมษายน 2553 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท เซ็นทารา ไทย โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด จ�ำนวน 1,000,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 25 บาท ต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 25 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 100% บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นแล้ว เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553
62
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
63
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
23.83
กองทุนรวม กองทุนรวมไทยพัฒนา 2
รวม
100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
บริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเกาะกูด จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ หาดฝรั่ง รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด บริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนเวนชั่น และเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด บริษัท เซ็นทารา ไทย โฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด 23.83
100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
สัดส่วน ความเป็นเจ้าของ 2554 2553 (%)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
96,458 96,458 310,526
815,000 815,000 48,550 67,970 48,550 67,970 815,000 815,000 48,550 67,970 48,550 67,970 4,937,875 4,921,625 4,484,696 4,421,490 (210,000) (210,000) 4,274,696 4,211,490
95,022 95,022 397,170
7,500 6,000 94,648 194,000 302,148
เงินปันผลรับ 2554 2553 6,420 94,648 113,000 214,068
ราคาทุน - สุทธิ 2554 2553
394,383 394,383 76,500 189,000 500,000 500,000 198,906 198,906 1,800,000 1,000,000 120,000 120,000 (210,000) 40,000 789,999 669,607 669,607 80,000 1,000 1,250 1,250 150,000 150,000 250 88,500 22,125 80,000 80,000 1,000 1,000 1,000 1,000 25,000 25,000 (210,000) 4,226,146 4,143,520
งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า 2554 2553 2554 2553 (พันบาท)
250,000 250,000 394,383 394,383 37,500 150,000 76,500 189,000 500,000 500,000 500,000 500,000 185,000 185,000 198,906 198,906 1,800,000 1,000,000 1,800,000 1,000,000 120,000 120,000 120,000 120,000 250,000 1,000,000 250,000 999,999 (210,000) 620,000 620,000 669,607 669,607 80,000 1,000 80,000 1,000 1,250 1,250 1,250 1,250 150,000 150,000 150,000 150,000 250 250 22,125 22,125 88,500 22,125 80,000 80,000 80,000 80,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 25,000 25,000 25,000 25,000 4,122,875 4,106,625 4,436,146 4,353,520 (210,000)
ทุนช�ำระแล้ว 2554 2553
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมในบริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด จ�ำนวน 10,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น เรียกช�ำระ 75 บาท ต่อหุ้น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 750,000 บาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 100%
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตามสัญญาจ�ำน�ำหุน้ ระหว่างบริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา (“CTARAF”) บริษทั ตกลงจ�ำน�ำหุน้ ของบริษทั เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด ไว้กบั CTARAF เพือ่ เป็นการประกันภาระหนีต้ ามสัญญาทีเ่ กีย่ วข้อง 13. เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) (พันบาท) บริษัทร่วม ณ วันที่ 1 มกราคม 921,664 1,018,676 805,205 810,103 ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสียในบริษัทร่วม 38,742 (25,812) รับคืนเงินมูลค่าหน่วยลงทุนในกองทุนรวม (4,898) (4,898) (76,406) (66,302) เงินปันผลรับ 884,000 921,664 805,205 805,205 ณ วันที่ 31 ธันวาคม กิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งก�ำไรสุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธสี ว่ นได้เสียในกิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม รวม ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ซื้อเงินลงทุน รับคืนเงินมูลค่าหน่วยลงทุนในกองทุนรวม เงินปันผลรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
64
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
157,667 39,240 154,361 351,268
152,837 4,830 157,667
240,000 240,000
240,000 240,000
1,079,331 77,982 154,361 (76,406) 1,235,268
1,171,513 (20,982) (4,898) (66,302) 1,079,331
1,045,205 1,045,205
1,050,103 (4,898) 1,045,205
50.0 50.0 50.0
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด Centara Maldives Pvt. Ltd.
120,985 926,190
484,935 484,935 3,684,935 3,684,935
120,985 926,190
805,205 (391) 884,000
884,391 25,684 921,664
895,980
-
-
-
-
-
-
วิธีส่วนได้เสีย การด้อยค่า 2554 2553 2554 2553 (พันบาท)
520,000 520,000 260,000 260,000 140,227 93,653 120,000 120,000 60,000 60,000 67,470 64,014 308,722 154,361 143,571 948,722 640,000 474,361 320,000 351,268 157,667 4,633,657 4,324,935 1,400,551 1,246,190 1,235,268 1,079,331
805,205
วิธีราคาทุน 2554 2553
3,200,000 3,200,000
ทุนช�ำระแล้ว 2554 2553
งบการเงินรวม
25,684 921,664
895,980
140,227 93,653 67,470 64,014 143,571 351,268 157,667 1,235,268 1,079,331
(391) 884,000
884,391
ส่วนได้เสีย - สุทธิ 2554 2553
76,406
76,406
76,406
66,302
66,302
66,302
เงินปันผลรับ 2554 2553
65
รวม
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด
บริษัทร่วม กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ โรงแรมและ รีสอร์ทในเครือเซ็นทารา
34.6 50.0
25.3
2554
(%)
34.6 50.0
25.3
2553
สัดส่วนความเป็น เจ้าของ
805,205
805,205
2553
520,000 520,000 180,000 180,000 120,000 120,000 60,000 60,000 640,000 640,000 240,000 240,000 3,840,000 3,840,000 1,045,205 1,045,205
805,205
3,200,000 3,200,000
2554 805,205
2553
วิธีราคาทุน
3,200,000 3,200,000
2554
ทุนช�ำระแล้ว
-
-
-
2554
-
-
-
805,205
805,205
180,000 180,000 60,000 60,000 240,000 240,000 1,045,205 1,045,205
805,205
805,205
2553
ราคาทุน - สุทธิ 2553 2554 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ การด้อยค่า
660,912
660,912
660,912
697,404
697,404
697,404
ราคาตลาดส�ำหรับ หลักทรัพย์จดทะเบียนฯ 2554 2553
76,406
76,406
76,406
2554
66,302
66,302
66,302
2553
เงินปันผลรับ
เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554 กลุ่มบริษัทได้ลงทุนใน Centara Maldives Pvt. Ltd. จ�ำนวน 10,000,000 หุ้น (ทุนจดทะเบียนทั้งหมด 20,000,000 หุ้น) ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 1 เหรียญสหรัฐต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 0.5 เหรียญสหรัฐต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 154.4 ล้านบาท (5 ล้านเหรียญสหรัฐ) โดยถือสัดส่วนจ�ำนวน 50% บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นแล้วเมื่อวันที่ 23 และ 28 กันยายน 2554
รวม
25.0
25.0 50.0 50.0 -
25.3
25.3
บริษัทร่วม กองทุ น รวมสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา Regent Maldives Pvt. Ltd.
สัดส่วนความเป็น เจ้าของ 2554 2553 (%)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้
เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 14. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน วิธีราคาทุน
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม
618,100 25,184 643,284
614,945 3,155 618,100
347,384 20,105 367,489
347,384 347,384
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
117,705 17,950 135,655
99,879 17,826 117,705
26,236 12,751 38,987
14,656 11,580 26,236
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
507,629
515,066 500,395 -
328,502
332,728 321,148 -
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิทางบัญชี 336.3 ล้านบาท ประเมินราคาโดยบริษัท บรูค เรียลเอสเตท จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประเมินราคาอิสระ โดยพิจารณาราคาตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ราคาประเมินมีมูลค่า 3,336 ล้านบาท อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่เหลือซึ่งมีมูลค่าสุทธิทางบัญชี 171.3 ล้านบาท ประเมินราคาโดยบริษัท อเมริกัน แอ๊พเพรซัล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประเมินราคาอิสระ โดยพิจารณาราคาตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ราคาประเมินมีมูลค่า 307 ล้านบาท อสังหาริมทรัพทย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รวมมีมูลค่าสุทธิทางบัญชี 3,643 ล้านบาท
66
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
67
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ราคาทุน / ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น จ�ำหน่าย โอน โอนไปสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน โอนจากเงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดิน โอนไปลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ประมาณการต้นทุนการรื้อถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น จ�ำหน่าย โอน / ปรับปรุง โอนไปลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
15. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
3,187,131 101,278 (47,783) 3,240,626 36,969 3,277,595
ที่ดิน
521,489 1,574 644,294 1,167,357 2,817 394,713 1,564,887
ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
6,852,352 184,293 (263,015) 27,202 (9,950) (157) (570,317) 4,507 6,224,915 400,553 (113,356) 196,422 6,708,534
2,926,614 125,329 (64,793) 351,996 (501) 3,338,645 289,442 (19,601) 395,948 4,004,434
อาคารและ เครื่องจักร และ ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวม ส่วนปรับปรุง เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ใน ติดตั้งและ การด�ำเนินงาน อาคารเช่า กิจการโรงแรม เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 1,476,069 241,173 34,540 107,824 56,508 1,680 (69,239) (19,659) (1,736) 148,285 3,569 188,748 (317) (673) 1,661,949 281,591 223,232 322,672 33,483 44,335 (37,944) (26,959) 239,339 1,059 377,776 2,186,016 289,174 645,343
222,493 23,707 (2,419) 1,732 245,513 16,373 (14,917) 246,969
ยานพาหนะ
975,395 1,621,918 (58,526) (1,365,826) (3,412) (7,481) 1,162,068 814,775 (1,637,533) (1,025) 338,285
สินทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง การก่อสร้าง
16,437,256 2,122,833 (479,387) (13,679) 101,278 (8,812) (618,100) 4,507 17,545,896 1,961,419 (212,777) (32,276) (1,025) 19,261,237
รวม
68
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย โอน โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน โอนกลับรายการส่วนเกินทุน ประมาณการต้นทุนการรื้อถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)
-
ที่ดิน
98,738 50,731 2,294 151,763 60,435 212,198
ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
งบการเงินรวม ส่วนปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร และ เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ใน ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์ ติดตั้งและ การด�ำเนินงาน อาคารเช่า กิจการโรงแรม เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 1,895,328 1,320,788 838,741 1,329 12,634 414,668 324,589 206,601 891 10,836 (255,261) (56,480) (69,059) (323) (2,294) (17,826) (1,751) 3,406 2,036,270 1,588,897 976,283 2,220 23,147 367,578 348,974 312,106 878 37,160 (114,649) (18,882) (35,703) 2,289,199 1,918,989 1,252,686 3,098 60,307
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
164,525 27,873 (2,001) 190,397 17,211 (14,076) 193,532
ยานพาหนะ
-
สินทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง การก่อสร้าง
4,332,083 1,036,189 (383,124) (17,826) (1,751) 3,406 4,968,977 1,144,342 (183,310) 5,930,009
รวม
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
3,277,595 3,277,595
ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
69
3,240,626 3,240,626
-
-
ที่ดิน
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)
491
491
1,352,198 1,352,198
1,015,103 1,015,103
-
4,409,144 4,409,144
4,176,450 4,176,450
12,195 (2,004) 10,191
2,085,445 2,085,445
1,749,359 1,749,359
-
389 (389)
917,455 15,363 932,818
661,913 23,185 685,098
568 (56) 512
286,076 286,076
279,371 279,371
-
งบการเงินรวม ส่วนปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร และ เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ใน ที่ดิน ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์ ติดตั้งและ การด�ำเนินงาน กิจการโรงแรม เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 491 12,600 1,593 1,693 (405) (1,204) (1,125) -
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
585,036 585,036
200,085 200,085
-
-
ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า
53,437 53,437
55,116 55,116
-
-
ยานพาหนะ
338,285 338,285
1,162,068 1,162,068
-
-
สินทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง การก่อสร้าง
13,304,671 15,363 13,320,034
12,540,091 23,185 12,563,276
13,643 (2,449) 11,194
16,377 (2,734)
รวม
70
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ราคาทุน / ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น โอน โอนไปลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน / ปรับปรุง โอนไปลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)
772,117 772,117 772,117
ที่ดิน
322,570 1,320 323,890 458 (64,400) 259,948
ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร และ เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ใน ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์ ติดตั้งและ การด�ำเนินงาน อาคารเช่า กิจการโรงแรม เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 1,998,710 989,265 277,407 93,436 34,152 7,259 13,543 15,624 9,531 1,336 13,186 37,155 3,569 118,543 (157) (501) (673) (3,658) (80) (49) (6,966) (323) 2,002,154 1,015,413 329,464 99,570 153,708 17,690 10,320 12,833 7,939 42,923 (13,460) 53,361 93,121 85 319,977 (395) (5,218) (9,630) 2,006,384 1,078,699 430,200 97,964 516,608
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
85,768 3,209 88,977 10,591 (10,923) 88,645
ยานพาหนะ
105,133 357,861 (172,453) (2,949) (2,416) 285,176 397,129 (420,960) (913) 260,432
สินทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง การก่อสร้าง
4,678,558 409,683 (4,280) (13,492) 5,070,469 499,883 (32,276) (913) (26,166) 5,510,997
รวม
772,117 772,117
ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
71
772,117 772,117
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 198,574 198,574
286,083 286,083
5,391 32,416 37,807 23,567 61,374
ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
1,852,655 1,852,655
1,877,967 1,877,967
25,372 114,052 (11,579) (3,658) 124,187 29,542 153,729
834,632 834,632
840,808 840,808
49,240 125,380 (15) 174,605 69,613 (151) 244,067
อาคารและ เครื่องจักร และ ส่วนปรับปรุง อุปกรณ์
279,078 15,363 294,441
199,098 23,185 222,283
97,964 97,964
99,570 99,570
งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ใน ติดตั้งและ การด�ำเนินงาน กิจการโรงแรม เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 50,199 57,008 (26) 107,181 33,668 (5,090) 135,759 -
463,424 463,424
130,685 130,685
12,630 10,716 (323) 23,023 30,161 53,184
ส่วนปรับปรุง อาคารเช่า
15,572 15,572
13,946 13,946
68,423 6,608 75,031 8,042 (10,000) 73,073
ยานพาหนะ
260,432 260,432
285,176 285,176
-
สินทรัพย์ที่อยู่ ระหว่าง การก่อสร้าง
4,774,448 15,363 4,789,811
4,505,450 23,185 4,528,635
211,255 346,180 (11,579) (4,022) 541,834 194,593 (15,241) 721,186
รวม
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
อาคารโรงแรม สิ่งปลูกสร้างและส่วนติดตั้งเพิ่มเติมของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งคือ บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด ได้ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตามสัญญาเช่าที่ดิน อาคารและทรัพย์สินของโรงแรมรถไฟหัวหิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยสองแห่งได้จ�ำนองที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 3,933 ล้านบาท (2553: 4,075 ล้านบาท) เป็นหลักประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะ ยาวกับสถาบันการเงิน
-
ที่ดิน
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอนไปอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ราคาทรัพย์สินก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ 2554
2553 (พันบาท) 2,374,857 1,958,360 80,213 86,759
กลุ่มบริษัท บริษัท
การประเมินราคาของสินทรัพย์ ในไตรมาสที่สามของปี 2551 บริษัทย่อย 8 แห่ง ได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระให้ประเมินราคาทรัพย์สินที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ซึ่งรวม ทั้งที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่เคยประเมินราคาไว้แล้ว บริษัทย่อยได้บันทึกที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ในราคาที่ประเมินใหม่ตามรายงานการประเมิน ราคาลงวันที่ 31 สิงหาคม 2551 การบันทึกรายการการประเมินราคาทรัพย์สินดังกล่าว ท�ำให้ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ของบริษัทและบริษัทย่อย ในงบดุลรวม ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2551 เพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนประมาณ 1,824 ล้านบาท โดยส่วนเกินทุนจากการตีราคานี้จะน�ำไปจ่ายเงินปันผล ไม่ได้ นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิจากการประเมินราคา และขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม เป็นจ�ำนวนประมาณ 3.1 ล้านบาท และ 15.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศฉบับที่ 18/2554 เรื่อง “การบันทึกบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่” ประกาศของสภา วิชาชีพบัญชีดงั กล่าว ก�ำหนดให้กลุม่ บริษทั สามารถเลือกปฏิบตั กิ ารบันทึกบัญชีสนิ ทรัพย์ เมือ่ มีการตีราคาใหม่ได้ 2 วิธี คือ (ก) บันทึกตามหลักการ ที่ก�ำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 38 ของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่อง “ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์” โดยคิดค่าเสื่อมราคาจากยอดรวมของสินทรัพย์ ที่ตีราคาใหม่ หรือ (ข) ปฏิบัติตามเกณฑ์ราคาทุน เมื่อมีการตีราคาเพิ่ม โดยคิดค่าเสื่อมราคาจากราคาทุนเดิม กลุ่มบริษัทเลือกที่จะปฏิบัติตามเกณฑ์ราคาทุน เมื่อมีการตีราคาเพิ่มโดยคิดค่าเสื่อมราคาจากราคาทุนเดิม ซึ่งวิธีการดังกล่าว ท�ำให้งบการเงินของ กลุ่มบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีก�ำไรของกลุ่มบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 43.7 ล้านบาท และ 50 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ และก�ำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 0.03 บาทต่อหุ้น และ 0.04 บาทต่อหุ้น ตามล�ำดับ 16. สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน อาคารโรงแรม สิ่งปลูกสร้างและส่วนติดตั้งของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งคือ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) ต้องโอนกรรมสิทธิ์ใน อาคารและสิ่งปลูกสร้างใดๆ ที่ “CWH” ได้ซ่อมแซมปรับปรุง หรือก่อสร้างขึ้น บนที่ดินที่เช่าช่วงให้แก่เจ้าของทรัพย์สินคือส�ำนักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ ทันทีที่มีการซ่อมแซม ปรับปรุงหรือก่อสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้นตามสัญญาเช่าช่วงที่ดิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน มีดังนี้ ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
72
สารบัญหลัก
งบการเงินรวม อาคารและส่วน เครื่องจักรและ เครื่องตกแต่ง ปรับปรุง อุปกรณ์ ติดตั้งและ เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท)
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
65,994 65,994 65,994
2,410,411 4,164 2,882 2,417,457 3,630 776 2,421,863
1,024,453 4,963 567 1,029,983 1,029,983
17,496 10,230 27,726 27,726
3,518,354 9,127 13,679 3,541,160 3,630 776 3,545,566
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
3,409 2,721 6,130 2,719 8,849
170,005 97,071 267,076 97,926 365,002
94,244 58,208 152,452 55,460 207,912
2,632 1,750 4,382 3,495 7,877
270,290 159,750 430,040 159,600 589,640
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน (ต่อ)
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ส่วนปรับปรุง ที่ดิน
62,585 59,864 57,145
งบการเงินรวม อาคารและส่วน เครื่องจักรและ เครื่องตกแต่ง ปรับปรุง อุปกรณ์ ติดตั้งและ เครื่องใช้ ส�ำนักงาน (พันบาท) 2,240,406 2,150,381 2,056,861
930,209 877,531 822,071
17. ค่าความนิยม หมายเหตุ ณ วันที่ 1 มกราคม ได้จากการรวมธุรกิจ รวม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 18. สิทธิการเช่า
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ตัดเป็นค่าใช้จ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม
6
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 480,352 563,330 57,097 27,173 (120,909) (110,151) 416,540 480,352
14,864 23,344 19,849
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 224,529 288,954 10,324 9,388 (78,242) (73,813) 156,611 224,529
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
73
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
157,288 16,941 7,404 (3,581) 178,052 32,583 1,025 (4,278) 207,382
งบการเงินรวม ค่าสัญญาสิทธิ (พันบาท) 239,926 239,926
3,248,064 3,111,120 2,955,926
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 115,417 115,417 199,185 314,602 115,417 314,602 115,417
19. สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์
รวม
รวม 157,288 16,941 7,404 (3,581) 178,052 272,509 1,025 (4,278) 447,308
งบการเงิน เฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์ (พันบาท) 66,677 2,615 4,279 (3,581) 69,990 5,968 913 76,871
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์ ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี โอนจากที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
53,374 21,806 (4,583) 70,597 31,507 35 (4,277) 97,862
ค่าเผื่อการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 1 มกราคม 2554 จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
-
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
103,687 107,455 109,520
20. สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น
ค่าสิทธิแรกเริ่มรอตัดบัญชี ลูกหนีต้ ามสัญญาต่างตอบแทน การก่อสร้างโรงแรมและการปรับปรุงโรงแรม เงินมัดจ�ำ เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ที่ดินและอุปกรณ์ ค่าบริการที่จอดรถจ่ายล่วงหน้า ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อื่นๆ รวม
227 (277)
งบการเงินรวม ค่าสัญญาสิทธิ (พันบาท)
53,374 21,806 (4,583) 70,597 39,505 35 (4,277) 105,860
20,917 7,589 (3,574) 24,932 8,721 33,653
-
-
-
231,928
103,914 107,455 341,448
45,760 45,058 43,218
-
7,998
รวม
งบการเงิน เฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์ (พันบาท)
7,998
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 148,170 136,422 15,324 27,500 308,047 196,576 129,781 200,736 92,310 96,706 14,157 73,915 28,124 29,837 735,913 761,692
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 15,324 27,500 8,206 2,135 81,300 115,164 11,169 17,907 14,962 16,308 130,961 179,014
เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2547 บริษทั ได้ทำ� สัญญาต่างตอบแทนกับ บริษทั ดวงตะวันโฮเท็ล จ�ำกัด (“CDC”) เพือ่ ปรับปรุงโรงแรม เกีย่ วกับการก่อสร้าง และปรับปรุงอาคารโรงแรมของ “CDC” ตามรายละเอียดและเอกสารที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาและปรับปรุงสถานที่ก่อสร้างโรงแรม ในวงเงินจ�ำนวน ไม่เกิน 50 ล้านบาท ก�ำหนดช�ำระคืนภายในระยะเวลา 5 ปี นับตั้งแต่วันท�ำสัญญา และค�้ำประกันโดยการจ�ำน�ำหุ้นของ “CDC” และโดยบุคคลซึ่งเป็น ผู ้ ถื อ หุ ้ น / กรรมการของ “CDC” โดยคิ ด ค่ า ตอบแทนเป็ น เงิ น เท่ า กั บ ดอกเบี้ ย ในอั ต รา MLR ของธนาคารพาณิ ช ย์ แ ห่ ง หนึ่ ง ลบ 1% ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดลูกหนี้คงเหลือตามสัญญาดังกล่าวมีจ�ำนวน 15.3 ล้านบาท (2553: 27.5 ล้านบาท) 21. หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
ส่วนที่มีหลักประกัน ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน รวม
74
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 1,600 1,000 1,916,265 1,123,692 1,917,865 1,124,692
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 1,698,331 1,111,930 1,698,331 1,111,930
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินมีภาระดอกเบี้ยในอัตราตลาด เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
ส่วนที่มีหลักประกัน ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน รวม
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 2,326,000 2,314,000 800,000 800,000 3,126,000 3,114,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 1,506,000 684,000 800,000 800,000 2,306,000 1,484,000
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 408,000 888,000 2,498,000 1,300,000 220,000 926,000 2,718,000 2,226,000 3,126,000 3,114,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 288,000 788,000 2,018,000 696,000 2,018,000 696,000 2,306,000 1,484,000
เงินกู้ยืมระยะยาวแยกแสดงตามระยะเวลาครบก�ำหนดการจ่ายช�ำระได้ดังนี้
ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ครบก�ำหนดหลังจากห้าปี รวม เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีภาระดอกเบี้ยในอัตราตลาด
ในระหว่างปี 2554 บริษทั ได้ตอ่ สัญญาเงินกูจ้ ากสถาบันการเงินเพือ่ ท�ำการช�ำระคืนเงินต้นของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินดังกล่าวทีถ่ งึ ก�ำหนด ช�ำระในปี 2554 เป็นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านบาท สัญญาเงินกู้ฉบับใหม่มีก�ำหนดระยะเวลาช�ำระคืนเงินต้นของเงินกู้ยืมระยะยาวในปี 2557 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ค�้ำประกัน โดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัท ซึ่งมีราคาตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 3,933 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (2553: 4,075 ล้านบาท) บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญากับธนาคารในประเทศสามแห่งเพื่อรับวงเงินสินเชื่อระยะสั้นประเภทต่างๆ ตาม สัญญา “CRG” จะไม่จ�ำหน่าย จ�ำน�ำหรือจ�ำนองอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าที่มีอยู่หรือที่จะมีในอนาคตเป็นจ�ำนวนเกินกว่าที่ตกลงตามสัญญา โดยไม่ได้รับการยินยอมจากธนาคาร ตามสัญญาเงินกู้ยืมระหว่างบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) กับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง “CWH” ตกลงจะไม่จ�ำหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ก่อให้เกิดภาระผูกพันในสิทธิการเช่าช่วงที่ดิน รวมทั้งอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยไม่ได้รับการยินยอมจากธนาคาร หุ้นกู้
ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 1 ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 2 ครั้งที่ 2/2552 ครั้งที่ 1/2553 ครั้งที่ 2/2553 ครั้งที่ 3/2553 ครั้งที่ 4/2553 ครั้งที่ 1/2554 ครั้งที่ 2/2554 หัก ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอตัดบัญชี สุทธิ หัก หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดเรียกคืนภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดเรียกคืนเกินกว่าหนึ่งปี
75
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
อัตราดอกเบี้ย ครบก�ำหนด ช�ำระ (%) (พันบาท) 4.00 29 กรกฎาคม 2554 4.55 29 กรกฎาคม 2555 4.45 24 กรกฎาคม 2555 3.50 30 กันยายน 2556 3.85 23 มิถุนายน 2560 3.85 29 มิถุนายน 2560 3.40 3 กันยายน 2556 4.86 29 มีนาคม 2559 4.75 29 มีนาคม 2559
งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 600,000 1,000,000 1,000,000 500,000 500,000 400,000 500,000 300,000 4,800,000 (1,984) 4,798,016 (1,598,967) 3,199,049
1,000,000 600,000 1,000,000 1,000,000 500,000 500,000 400,000 5,000,000 (2,839) 4,997,161 (999,033) 3,998,128
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หุ้นกู้เหล่านี้เป็นหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อ ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้เหล่านี้มีข้อจ�ำกัดและเงื่อนไขเกี่ยวกับการรักษาอัตราส่วนทางการเงิน การจ่ายเงินปันผล การลดทุนช�ำระแล้ว การจ�ำน�ำ การจ�ำนองสินทรัพย์ และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่ประกอบธุรกิจที่ส�ำคัญ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทได้ท�ำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยหลายฉบับ โดยมีรายละเอียดของสัญญา ดังต่อไปนี้ เงื่อนไขตามข้อตกลงเดิม เงินต้น อัตราดอกเบี้ย
3,600,000,000 บาท รายไตรมาส, อัตราดอกเบี้ยคงที่ 3.50% – 4.55% ต่อปี รายหกเดือน, อัตราดอกเบี้ยคงที่ 4.45% ต่อปี
เงื่อนไขตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย เงินต้น อัตราดอกเบี้ย
3,600,000,000 บาท รายเดือน, อัตราดอกเบี้ยลอยตัว MLR ลบ 3% ต่อปี รายไตรมาส, อัตราดอกเบี้ยลอยตัว อัตราเงินฝากประจ�ำ 6 เดือน บวก 2.815% ต่อปี รายหกเดือน, อัตราดอกเบี้ยลอยตัว อัตราเงินฝากประจ�ำ 6 เดือน บวก 1.90% ถึง 2.805% ต่อปี รายไตรมาส, อัตราดอกเบี้ยคงที่ 4.65% ต่อปี
สัญญาข้างต้นครบก�ำหนดระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 ถึงวันที่ 29 มิถุนายน 2560 ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมไทยพัฒนา 2
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 62,000 62,000 93,000 155,000 155,000 217,000
ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม
ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เป็นเงินลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนประเภท ก (ตราเป็นเงินบาท) ซึ่ง ได้รับการค�้ำประกันการช�ำระโดยบริษัท ทั้งนี้ เงินปันผลที่พึงจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนประเภทดังกล่าวค�ำนวณขึ้นจากอัตราร้อยละของมูลค่าสุทธิต่อ หน่วยครั้งล่าสุดตามที่กล่าวไว้ในสัญญาผู้ถือหน่วยลงทุน วงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้ใช้ กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้ใช้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็นจ�ำนวนเงินรวม 2,202 ล้านบาท และ 158 ล้านบาท ตามล�ำดับ (2553: 3,470 ล้านบาท และ 1,304 ล้านบาท ตามล�ำดับ) 22. ส�ำรองการค�้ำประกัน ส�ำรองการค�ำ้ ประกันเป็นการค�ำ้ ประกันรายได้คา่ เช่าภายใต้สญ ั ญาเช่าอาคารสิง่ ปลูกสร้างทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ให้แก่กองทุนรวมสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา โดยมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ดังนี้
ส�ำรองการค�้ำประกันระยะสั้น ส�ำรองการค�้ำประกันระยะยาว รวม
76
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 88,917 90,580 15,797 28,582 104,714 119,162
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 44,610 45,440 7,924 14,344 52,534 59,784
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รายการเคลื่อนไหวของส�ำรองการค�้ำประกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้
ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ใช้ไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 119,162 195,804 73,696 11,980 (88,144) (88,622) 104,714 119,162
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 59,784 98,236 36,972 6,010 (44,222) (44,462) 52,534 59,784
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 571,606 467,196 969,275 727,257 1,540,881 1,194,453
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 36,567 40,114 275,870 262,240 312,437 302,354
23. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
เจ้าหนี้การค้าบุคคลหรือกิจการอื่นๆ เจ้าหนี้อื่นบุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ยอดเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ เจ้าหนี้ค่าซื้ออาคารและอุปกรณ์ รายได้ค่าบัตรสมาชิกรอตัดบัญชี ค่าเช่าค้างจ่าย - กองทุนรวม เงินปันผลของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอื่น เจ้าหนี้อื่น รวม
285,732 54,234 22,500 3,238 545,877 57,694 969,275
208,629 46,124 22,500 3,645 436,594 9,765 727,257
80,094 39,503 36,667 100,576 19,030 275,870
95,119 36,886 36,667 85,757 7,811 262,240
24. หนี้สินหมุนเวียนอื่น
เงินมัดจ�ำ เงินประกันผลงาน ภาษีเงินได้ค้างจ่าย สัญญาเช่าการเงิน อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 270,542 183,475 156,299 200,415 42,458 53,948 13,699 57,148 76,409 540,146 514,247
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 118,201 62,551 37,930 41,891 16,715 45,371 43,172 201,502 164,329
25. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ผลกระทบ ต่องบการเงินได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (ช) ตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 (ช) กลุ่มบริษัทได้เลือกบันทึก
77
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ภาระผูกพันในช่วงเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นเงินรวม 142.5 ล้านบาทส�ำหรับกลุ่มบริษัทและ 49.9 ล้านบาทส�ำหรับบริษัท ทั้งนี้ได้มีการปรับปรุงก�ำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 แล้ว ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงินมีดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 (พันบาท) (พันบาท) 167,949 57,858 มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันที่ไม่ได้จัดให้มีกองทุน 167,949 57,858 ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
142,502 (2,648) 28,095 167,949
-
49,903 (945) 8,900 57,858
-
21,126 6,969 28,095
-
6,583 2,317 8,900
-
ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ต้นทุนบริการปัจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม ค่าใช้จ่ายดังกล่าวข้างต้นรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 8,709 5,956 13,430 28,095 -
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 2,759 1,887 4,254 8,900 -
ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถัวเฉลี่ย ถ่วงน�้ำหนัก) งบการเงินรวม 2554 2553 (%) 4.75 4.75 4.0 – 6.0 4.00
อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (%) 4.75 4.75 4.00 4.00
ข้อสมมุตฐิ านเกีย่ วกับอัตรามรณะอ้างอิงตามตารางมรณะปี 2540 (TMO97) ซึง่ ประกาศโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย 26. ทุนเรือนหุ้น
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
78
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท)
2554 จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน (พันหุ้น / พันบาท)
2553 จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน (พันหุ้น / พันบาท)
1 1
1,580,800 1,580,800
1,580,800 1,580,800
1,580,800 1,580,800
1,580,800 1,580,800
1 1
1,350,000 1,350,000
1,350,000 1,350,000
1,350,000 1,350,000
1,350,000 1,350,000
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีทบี่ ริษทั เสนอขายหุน้ สูงกว่ามูลค่าหุน้ ทีจ่ ดทะเบียนไว้ บริษทั ต้องน�ำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนส�ำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 27. ส�ำรอง ส�ำรองประกอบด้วย การจัดสรรก�ำไร และ/หรือ ก�ำไรสะสม ส�ำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนส�ำรอง (“ส�ำรองตามกฎหมาย”) อย่างน้อย 5% ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองดังกล่าวมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 10% ของทุนจดทะเบียน เงินส�ำรองนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ผลต่างจากการเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมการเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทางการ เงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ ใหม่ ผลต่างจากการเปลีย่ นแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ใหม่แสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมของการเปลีย่ นแปลงสุทธิของการตีราคาทีด่ นิ อาคาและอุปกรณ์ที่แสดงในงบการเงินด้วยการตีราคาใหม่จนกระทั่งมีการขายหรือจ�ำหน่าย การเคลื่อนไหวในทุนส�ำรอง การเคลื่อนไหวในทุนส�ำรองแสดงรายการในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น 28. รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้น�ำเสนอรายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานธุรกิจ รูปแบบหลักในการรายงานส่วนงานธุรกิจพิจารณาจากระบบการบริหาร การจัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดส่วนงาน การก�ำหนดราคาระหว่างส่วนงานอยู่บนเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่าย ผลได้ (เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงาน หรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้อย่าง สมเหตุสมผล รายการทีไ่ ม่สามารถปันส่วนได้สว่ นใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบีย้ หรือเงินปันผลทัง้ ส่วนของสินทรัพย์และรายได้ เงินให้กยู้ มื ทีม่ ดี อกเบีย้ เงินกู้ยืมและดอกเบี้ยจ่าย และสินทรัพย์และค่าใช้จ่ายของกิจการโดยรวม ส่วนงานธุรกิจ บริษัทและบริษัทย่อยเสนอส่วนงานธุรกิจที่ส�ำคัญ ดังนี้ ส่วนงาน 1 ส่วนงานโรงแรม ส่วนงาน 2 ส่วนงานการขายอาหารและไอศกรีม ส่วนงานภูมิศาสตร์ บริษัทและบริษัทย่อยด�ำเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านั้น ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีส่วนงานภูมิศาสตร์เพียงส่วน งานเดียว
79
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
80
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ รวมสินทรัพย์
12,088 34,516
11,776 35,423
(21) (313) (66) (379)
78 157 (46) 111
ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี
1,665 830 884 1,117 519 5,015
1,961 908 766 1,286 705 5,626
ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายอื่น ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย
3,892 242 589 4,723
2553
4,668 319 718 5,705
2554
ส่วนงานโรงแรม
รายได้ ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น รวมรายได้
ข้อมูลเกีย่ วกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ
-
1,217 3,304
697 (209) 488
3,237 2,118 239 334 4 5,932
6,569 9 51 6,629
-
771 2,170
534 (154) 380
2,638 1,684 227 286 2 4,837
5,322 4 45 5,371
ส่วนงานการขาย อาหารและไอศครีม 2554 2553
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
13,305 37,820
78 854 (255) 599
5,198 3,026 1,005 1,620 709 11,558
12,547 37,593
(21) 221 (220) 1
4,303 2,514 1,111 1,403 521 9,852
2553 (ล้านบาท) 11,237 9,214 328 246 769 634 12,334 10,094
2554
รวมส่วนงานที่ด�ำเนินอยู่
(9) (9)
(120) (295) (751)
15 (16,136)
-
-
(74) (262)
(74) (309) (377) (760)
2554
(15) (15)
(111) (213) (579)
16 (17,155)
-
-
(72) (183)
(72) (216) (306) (594)
2553
ตัดรายการระหว่างกัน
13,320 21,684
78 845 (255) 590
5,124 2,764 1,005 1,500 414 10,807
11,163 19 392 11,574
2554
รวม
12,563 20,438
(21) 206 (220) (14)
4,231 2,331 1,111 1,292 308 9,273
9,142 30 328 9,500
2553
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 29. รายได้อื่น
ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่าบริหารจัดการ ค่าเช่ารับ เงินสนับสนุน รายได้จากการขายน�้ำมันใช้แล้ว อื่นๆ รวม 30. ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน
ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ อื่นๆ พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 19,389 30,004 191,152 108,648 17,843 9,120 6,887 13,447 18,400 11,051 42,752 72,425 296,423 244,695
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 205,820 151,828 285,525 201,420 8,449 5,354 28,481 20,475 528,275 379,077
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
28,503 1,709 16,589 46,801
29,427 1,595 13,239 44,261
28,503 1,709 16,259 46,471
29,427 1,595 12,809 43,831
1,607,145 49,766 820,562 2,477,473 2,524,274
1,379,098 21,699 661,409 2,062,206 2,106,467
375,734 14,758 210,236 600,728 647,199
349,753 13,676 193,947 557,376 601,207
กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 5 - 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุม่ บริษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 - 10 ของเงินเดือนของพนักงาน ทุกเดือน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพตามข้อก�ำหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการ กองทุนที่ได้รับอนุญาต 31. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้
ต้นทุนของอาหารและเครื่องดื่มใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิ ค่าเช่าที่ดินและอาคาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน ต้นทุนทางการเงิน อื่นๆ รวมค่าใช้จ่าย
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 3,065,899 2,426,121 2,440,908 2,055,066 290,856 259,528 336,265 259,108 1,036,061 1,229,512 73,696 11,980 414,073 307,526 3,148,866 2,724,599 10,806,624 9,273,440
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนหนึ่งได้รวมอยู่ในต้นทุนขายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
81
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 197,477 200,263 594,593 557,507 188,242 92,749 124,923 359,426 36,972 6,010 342,178 253,122 875,296 590,775 2,359,681 2,059,852
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 32. ต้นทุนทางการเงิน หมายเหตุ ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงินและเจ้าหนี้หุ้นกู้ เงินปันผลผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม หักส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ สุทธิ
7
งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท) 402,953 11,120 414,073 414,073
297,944 12,518 310,462 (2,936) 307,526
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท) 9,753 332,425 342,178 342,178
35,854 217,268 253,122 253,122
ค่าใช้จ่ายทางการเงินบันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างในปี 2553 อัตรา 4.75% ต่อปี 33. ภาษีเงินได้ จ�ำนวนภาษีเงินได้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมน้อยกว่าและมากกว่าจ�ำนวนภาษีเงินได้ที่ค�ำนวณโดยการใช้อัตราภาษีเงินได้คูณกับยอดก�ำไรสุทธิ ตามบัญชีส�ำหรับปี 2554 และ 2553 ตามล�ำดับ เนื่องจาก (ก) กลุ่มบริษัทมีขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกมาจากปีก่อน และได้ถูกน�ำมาใช้เพื่อลดจ�ำนวนก�ำไรที่ต้องเสียภาษีในปีปัจจุบัน (ข) ความแตกต่างระหว่างการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ทั้งทางบัญชีและทางภาษีบางรายการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องเกี่ยวกับค่าเสื่อมราคา ของสินทรัพย์ (ค) ขาดทุนของบริษัทย่อยบางแห่งของกลุ่มบริษัท ซึ่งไม่สามารถจะน�ำมาสุทธิกับก�ำไรของบริษัทย่อยแห่งอื่นๆ ของกลุ่มบริษัทในการค�ำนวณภาษี เงินได้ การเปลี่ยนแปลงภาษีเงินได้นิติบุคคล เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอัตรา 23% ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตราร้อยละ 20 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เป็นต้นไป การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัท/บริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 34. ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ค�ำนวณจากก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปีที่เป็นส่วนของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทและจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้วระหว่างปีโดยแสดงการค�ำนวณดังนี้
ก�ำไร (ขาดทุน) ที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)
งบการเงินรวม 2554 2553 (ล้านบาท / ล้านหุ้น) 550 (56) 1,350 1,350 0.41 (0.04)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ล้านบาท / ล้านหุ้น) 130 263 1,350 1,350 0.10 0.19
35. เงินปันผล ในการประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.05 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 67.5 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2554 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2553 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.05 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 67.5 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างปี 2553 36. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและจากการไม่ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดตามสัญญา ของคู่สัญญา กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์เพื่อการเก็งก�ำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่ส�ำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท/บริษัท กลุ่มบริษัท/บริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับ ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนทีเ่ กิดจากความเสีย่ งและต้นทุนของการจัดการความเสีย่ ง ฝ่ายบริหารได้มกี ารควบคุมกระบวนการ การจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท/บริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง 82
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย การบริหารจัดการส่วนทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษทั คือการรักษาระดับเงินทุนให้มนั่ คงเพือ่ รักษาความเชือ่ มัน่ ของนักลงทุน เจ้าหนีแ้ ละตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนา ของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการก�ำกับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทเพื่อพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจาก กิจกรรมด�ำเนินงานต่อส่วนของเจ้าของร่วม ซึง่ ไม่รวมส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม อีกทัง้ ยังก�ำกับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ สามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อ การด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบัน การเงิน บริษัทไม่ได้ใช้เครื่องมือทางการเงินเพื่อจัดการกับความเสี่ยงนี้ ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัท/บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเป็นเงินบาท กลุ่มบริษัท/บริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระส�ำคัญจากเงินตราต่างประเทศ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�ำระหนี้แก่กลุ่มบริษัท/บริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบก�ำหนด ฝ่ายบริหารได้ก�ำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวโดยสม�่ำเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�ำคัญ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ แสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัท/บริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการ ด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท/บริษัท และเพื่อท�ำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การก�ำหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุ่มบริษัทกลุ่มบริษัท/บริษัทก�ำหนดให้มีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมทั้งสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือช�ำระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่าย มีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ ของการวัดมูลค่าและ/หรือการเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมถูกก�ำหนดโดยวิธีต่อไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรม ถูกเปิดเผยใน หมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ และเจ้าหนี้เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี มูลค่ายุตธิ รรมของหนีส้ นิ ทางการเงินทีไ่ ม่ใช่ตราสารอนุพนั ธ์ ซึง่ พิจารณาเพือ่ ความมุง่ หมายในการเปิดเผยใน งบการเงิน ค�ำนวณจากมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินต้นและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใช้อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่รายงาน มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินทางการเงิน พร้อมทั้งมูลค่าตามบัญชีตามที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้
83
สารบัญหลัก
งบการเงินรวม มูลค่า มูลค่า ยุติธรรม ตามบัญชี (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่า มูลค่า ยุติธรรม ตามบัญชี (พันบาท)
ปี 2554 หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก รวม
4,788,629 3,277,709 161,313 8,227,651
4,800,000 3,126,000 155,000 8,081,000
4,788,629 2,405,322 212,049 7,406,000
4,800,000 2,306,000 203,750 7,309,750
ปี 2553 หุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก รวม
4,772,231 2,841,210 214,126 7,827,567
5,000,000 3,114,000 217,000 8,331,000
4,772,231 1,368,000 281,472 6,421,703
5,000,000 1,484,000 285,250 6,769,250
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 37. สัญญาระยะยาว สัญญาเช่าระยะยาว บริษัทย่อย เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2528 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”)ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดิน อาคาร โรงแรมและทรัพย์สินของโรงแรมรถไฟ หัวหินกับการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) เป็นเวลา 30 ปี สิ้นสุดวันที่ 15 มกราคม 2559 สัญญาเช่านี้สามารถต่อสัญญาออกไปได้โดยอัตโนมัติ อีก 3 ปี 4 เดือน และมีสิทธิที่จะต่ออายุสัญญาได้อีก.2.ครั้งๆ ละ.15.ปี “CHBR” จะต้องจ่ายค่าเช่าตามจ�ำนวนเงินที่ระบุไว้ในสัญญาเริ่มตั้งแต่ วันที่ 15 มกราคม 2529 ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา “CHBR” จะต้องโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่ “CHBR” เป็นผู้จัดหาเพิ่มเติมรวมทั้งส่วนที่ติดตั้งเพิ่มเติม ให้แก่ รฟท. สัญญา Exclusive Supply Agreement ในเดือนกันยายน 2548 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญา Exclusive Supply Agreement กับบริษัทในประเทศ 2 แห่ง โดย “CRG” จะได้รับการสนับสนุนเกี่ยวกับเครื่องดื่มผสมคาร์บอเนตที่ขายในร้านอาหารส่วนหนึ่งของบริษัท สัญญามีอายุ 6 ปี ภายใต้ เงื่อนไขของสัญญา บริษัทต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขและข้อจ�ำกัดบางประการตามที่ระบุในสัญญา ทั้งนี้ “CRG” ได้รับเงินสนับสนุนและบันทึกไว้ใน “รายได้รอตัดบัญชี” ในงบแสดงฐานะการเงินและรับรู้รายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญา ในเดือนพฤศจิกายน 2550 “CRG” ได้ท�ำสัญญาเพิ่มเติมกับบริษัทดังกล่าวอีกฉบับหนึ่ง โดยสัญญามีอายุ 10 ปี “CRG” ได้รับเงินสนับสนุนเพิ่ม เติมจากการท�ำสัญญาและบันทึกไว้ใน “รายได้รอตัดบัญชี” ในงบแสดงฐานะการเงินและรับรู้รายได้โดยวิธีเส้นตรงตามอายุสัญญา ในเดือนมกราคม 2553 “CRG”ได้ท�ำสัญญาฉบับใหม่กับบริษัทโดยสัญญามีอายุ 6 ปี “CRG” ได้รับเงินสนับสนุน จากการท�ำสัญญาฉบับใหม่ และ บันทึกไว้ใน “รายได้รอตัดบัญชี” ในงบแสดงฐานะการเงินและรับรูร้ ายได้โดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาโดยถือว่าได้ยกเลิกสัญญาฉบับเดิมซึง่ ท�ำ ในเดือนกันยายน 2548 ในวันที่ท�ำสัญญาฉบับใหม่ สัญญาสิทธิ บริษัทย่อย เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2546 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญารับโอนสิทธิภายใต้สัญญาพัฒนา สัญญาสิทธิ และ สัญญาเครื่องหมายการค้ากับบริษัท ฟู้ด โนเวลตี้ส์ จ�ำกัด และบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง ซึ่งบริษัทต่างประเทศดังกล่าวได้อนุมัติให้ “CRG” ได้รับ สิทธิเครื่องหมายการค้า สิทธิประโยชน์ สิทธิในการพัฒนา สิทธิในการเป็นผู้จัดตั้งและสิทธิในการด�ำเนินงานร้านขายขนมอบและเครื่องดื่มภายใต้ ชื่อ “AUNTIE ANNE’S” ตามเงื่อนไขของสัญญา “CRG” ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในการพัฒนา และค่าสิทธิแรกเริ่มส�ำหรับทุกๆ ร้านค้าที่เปิดใหม่ นอกจากนี้ “CRG” ต้องจ่ายค่าสิทธิและค่าโฆษณาในอัตราร้อยละที่ตกลงกันตามยอดขาย สัญญานี้มีผลบังคับใช้จนถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 เมื่ อ วั น ที่ 20 มกราคม 2547 บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล เรสตอรองส์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (“CRG”) ได้ ท� ำ สั ญ ญารั บ โอนสิ ท ธิ ภ ายใต้ สั ญ ญาสิ ท ธิ กั บ บริษัท ไทยแฟรนไชซิ่ง จ�ำกัด และบริษัท ดัสกินส์ จ�ำกัด ซึ่งตั้งตามกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นโดยอนุญาตให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินกิจการร้านค้า ภายใต้เครื่องหมายการค้า ‘มิสเตอร์โดนัท’ ในประเทศไทย เพื่อเป็นการ ตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CRG” ตกลงจะจ่ายค่าธรรมเนียมสิทธิเป็นราย เดือนตามอัตราร้อยละที่ระบุในสัญญา สัญญามีผลบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 ในเดือนพฤษภาคม 2547 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทในประเทศแห่งหนึ่ง โดยบริษัทดังกล่าว อนุญาตให้ “CRG” เป็นผู้ด�ำเนินกิจการร้านค้าภายใต้เครื่องหมายการค้า “เค เอฟ ซี” สัญญานี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 10 ปี นับจากวันที่แต่ละร้าน ภายใต้เครื่องหมายข้างต้นเปิดด�ำเนินการ/”CRG”/สามารถต่ออายุสัญญาสิทธิของแต่ละร้านได้อีก 10 ปี โดยท�ำหนังสือแจ้งล่วงหน้าก่อนสัญญา หมดอายุ 12 - 18 เดือน เพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CRG” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามที่ระบุในสัญญา บริษัทต้องปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดและเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญา ในเดือนสิงหาคม 2547 “CRG” ได้รบั หนังสือแจ้งการโอนสิทธิจากบริษทั ในประเทศดังกล่าว ผูซ้ งึ่ ได้มอบหมายการเป็นเจ้าของสิทธิทงั้ หมดตามสัญญา ข้างต้นให้แก่บริษัทในประเทศอีกแห่งหนึ่งซึ่งเป็นผู้รับโอนสิทธิ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2547 ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง เป็นระยะเวลา 10 ปี โดยบริษัทดังกล่าวอนุญาตให้ “CRG” ได้รับสิทธิในการพัฒนา สิทธิด�ำเนินธุรกิจภายใต้ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิเครื่องหมายการค้าและ สิทธิในการให้ผรู้ บั สิทธิตอ่ ด�ำเนินงานร้านอาหารภายในประเทศไทยภายใต้ชอื่ “ Pepper Lunch” เพือ่ เป็นการตอบแทนสิทธิดงั กล่าว “CRG” ตกลง จ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามที่ระบุในสัญญา บริษัทต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ในเดือนพฤศจิกายน 2551 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง เป็นระยะเวลา 20 ปี โดยบริษัทดังกล่าวอนุญาตให้ “CRG” ได้รับสิทธิในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิเครื่องหมายการค้าและสิทธิในการให้ผู้รับ สิทธิตอ่ ด�ำเนินงานร้านค้าภายในประเทศภายใต้ชอื่ “Beard Papa” เพือ่ เป็นการตอบแทนสิทธิดงั กล่าว “CRG” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ตาม ที่ระบุในสัญญา “CRG” ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา 84
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในเดือนธันวาคม 2552 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิเฉพาะสาขากับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง เป็นระยะ เวลา 10 ปี โดยบริษทั ดังกล่าวอนุญาตให้ “CRG” ได้รบั สิทธิในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้สทิ ธิเครือ่ งหมายการค้าภายในประเทศภายใต้ชอื่ “CHABUYA Tonkotsu Ramen CHABUTON” เพื่อเป็นการ ตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CRG” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆตามที่ระบุในสัญญา “CRG” ต้อง ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ในเดือนธันวาคม 2552 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง เป็นระยะเวลา 20 ปี โดย บริษทั ดังกล่าวอนุญาตให้บริษทั ได้รบั สิทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการพัฒนา สิทธิดำ� เนินธุรกิจภายใต้ทรัพย์สนิ ทางปัญญา สิทธิเครือ่ งหมายการค้า เพือ่ ด�ำเนินงานร้านค้าภายในประเทศไทย ภายใต้ชื่อ “Cold Stone Creamery” เพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CRG” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียม ต่างๆ ตามที่ระบุในสัญญา “CRG” ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญารับโอนกรรมสิทธิ์เครื่องหมายการค้าและเครื่องหมาย บริการ “ The Terrace” จากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2553 “CRG” มีสิทธิที่จะเปิดร้านอาหารภายใต้ เครื่องหมายดังกล่าวทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยมีอัตราค่าตอบแทนการโอนกรรมสิทธ์ตามที่ระบุในสัญญา ในเดือนธันวาคม 2553 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่ง เป็นระยะเวลา 10 ปี และสามารถต่ อสั ญ ญาได้ อีก 10 ปี โดยบริ ษัท ดั งกล่ าวอนุ ญาตให้ “CRG” ได้ รั บสิ ทธิ ใ นการด� ำ เนิ นธุ ร กิ จ ภายใต้ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา สิทธิเครื่องหมายการค้าและสิทธิในการให้ผู้รับสิทธิต่อด�ำเนินงานร้านค้า ภายในประเทศภายใต้ชื่อ “YOSHINOYA” เพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิ ดังกล่าว “CRG” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามที่ระบุในสัญญา “CRG” ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2554 บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด (“CRGI”) ได้ท�ำสัญญาสิทธิกับบริษัทต่างประเทศแห่งหนึ่งเป็นระยะ เวลา 10 ปี และสามารถต่อสัญญาได้อีก 10 ปี โดยบริษัทดังกล่าวอนุญาตให้ “CRGI” ได้รับสิทธิในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้ทรัพย์สิทนทางปัญญา สิทธิเครื่องหมายการค้าและสิทธิในการให้ผู้รับสิทธิต่อด�ำเนินงานภายในประเทศภายใต้ชื่อ “OOTOYA” เพื่อเป็นการตอบแทนสิทธิดังกล่าว “CRGI” ตกลงจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามที่ระบุในสัญญา “CRGI” ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา 38. ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2554 2553 (พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (พันบาท)
ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ การก่อสร้างโรงแรม รวม
166,455 166,455
308,730 308,730
9,564 9,564
254,320 254,320
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานและค่าบริการ ของบริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ภายในระยะเวลาหนึ่งปี ระยะเวลามากกว่าหนึ่งปีถึงห้าปี ระยะเวลามากกว่าห้าปี รวม
107,124 102,326 2,752 212,202
92,938 82,796 3,138 178,872
-
-
39. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 อนุมัติมติที่ส�ำคัญดังนี้ • อนุมัติการประกาศจ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2554 จ�ำนวน 0.15 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 202.5 ล้านบาท 40. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ กลุ่มบริษัท/บริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ก�ำหนดให้ถือปฏิบัติกับ งบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ 2556 2556 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 85
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 – ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ระบุให้กิจการต้องบันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ในงบการเงิน สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคือ จ�ำนวนภาษีเงินได้ที่กิจการต้องจ่าย หรือได้รับ ตามล�ำดับใน อนาคต ซึง่ เกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะทางการเงินกับฐานภาษีของสินทรัพย์ และหนี้สินนั้น และ ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ ปัจจุบันกลุ่มบริษัท/บริษัทไม่ได้บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบการเงิน ขณะนีผ้ บู้ ริหารก�ำลังพิจารณาถึงผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ ดังกล่าวต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) – ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆที่ใช้ในการรายงาน ซึ่งเป็นสกุลเงินที่พิจารณาว่า เป็นสกุลเงินในสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั้นประกอบกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ก�ำหนดให้กิจการ ระบุสกุลเงินที่ใช้รายงาน และแปลงค่ารายการที่เป็นสกุลต่างประเทศให้เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่าดังกล่าวตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 21 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ได้ให้ค�ำนิยามส�ำหรับ เงินตราต่างประเทศ กล่าวคือ เงินตราสกุลอื่น นอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ใน การด�ำเนินงานของกิจการ ผู้บริหารก�ำหนดสกุลเงินที่ใช้รายงานของบริษัทเป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้รับผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญต่อสินทรัพย์ หนี้สิน และ ก�ำไรสะสมของบริษัท 41. การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบการเงินปี 2553 ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการน�ำเสนอในงบการเงินปี 2554 การจัดประเภท รายการเหล่านีส้ ว่ นใหญ่เป็นไปตามการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี ซึง่ เป็นผลจากการการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุง ใหม่ ดังที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 การจัดประเภทรายการอื่นที่มีสาระส�ำคัญเป็นดังนี้ 2553 ก่อนจัด ประเภทใหม่
งบการเงินรวม จัดประเภทใหม่
หลัง จัดประเภทใหม่
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ก่อนจัด ประเภทใหม่
(ล้านบาท) งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น
277 227 467 1,241 -
180 (180) 727 (727) -
จัดประเภทใหม่
หลัง จัดประเภทใหม่
(ล้านบาท) 457 47 1,194 514
51 70 40 426
62 (62) 262 (262) -
113 8 302 164
การจัดประเภทรายการใหม่นี้เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง ก�ำหนดรายการย่อที่ต้องมีใน งบการเงิน พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 28 กันยายน 2554
86
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ 1. ผลการด�ำเนินงาน
ภาพรวมของผลการด�ำเนินงาน ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวม 11,455.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,055.3 ล้านบาท หรือ 21.9% จากปีก่อน ประกอบด้วย รายได้รวม ของธุรกิจโรงแรมเพิ่มขึ้น 19.9% และรายได้รวมของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น 23.7% บริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้ (EBITDA) จ�ำนวน 2,349.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 681.6 ล้านบาท หรือ 40.9% และมีก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 550.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 606.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 1,086.4% ในปี 2554 การด�ำเนินงานในส่วนธุรกิจโรงแรมของกลุ่มบริษัทได้เริ่มกลับสู่ภาวะการด�ำเนินงานตามปกติ ส่งผลให้จ�ำนวนแขกที่เข้าพักและใช้บริการ ของโรงแรม รวมถึงจ�ำนวนการจัดงานประชุม งานเลี้ยงต่างๆ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (CPBR) ซึ่งเป็นรีสอร์ท ระดับ 5 ดาว จ�ำนวน 262 ห้อง ริมหาดภูเก็ต ซึ่งเป็นโรงแรมที่กลุ่มบริษัทได้เริ่มเปิดให้บริการบางส่วนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2553 และเปิดให้บริการ เต็มโครงการในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 สามารถท�ำรายได้จากการให้บริการเต็มปีในปีแรกเกินความคาดหมาย ในส่วนของโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ มิราจ บีชรีสอร์ท พัทยา (CMBR) ที่เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่พฤศจิกายน 2552 ก็มีอัตราการเข้าพักเป็นที่น่าพอใจอย่างต่อเนื่อง รวมถึงหลายโรงแรม ของกลุม่ บริษทั ทีไ่ ด้ทำ� การปิดปรับปรุงห้องพัก ห้องจัดเลีย้ งและห้องอาหารบางส่วนก็แล้วเสร็จพร้อมเปิดให้บริการในปี 2554 นี้ ส่งผลให้ธรุ กิจโรงแรม มีรายได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ธุรกิจอาหารนั้นประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมากอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเรื่องของรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นถึง 1,246.0 ล้านบาท หรือคิดเป็น 23.7% และจ�ำนวนสาขาที่ขยายเพิ่มมากขึ้นถึง 91 สาขา (รวมสาขาของโอโตยะ) นอกจากนี้ ในระหว่างปี ธุรกิจอาหารยังได้ท�ำการขยาย ธุรกิจ โดยลงทุนซื้อบริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบกิจการร้านอาหารประเภทภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น ภายใต้แบรนด์ “โอโตยะ” รวมถึงการเปิดให้บริการเครื่องหมายการค้าใหม่อีก 2 เครื่องหมายการค้า ในเดือนกันยายน และ ตุลาคม 2554 ได้แก่ “โยชิโนยะ” และ “เดอะ เทอเรส” ตามล�ำดับ ส่งผลให้ธุรกิจอาหารมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างมากจากปีก่อน ในด้านของก�ำไร การด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั ในปี 2554 ถือได้วา่ เป็นอีกปีทปี่ ระสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก โดยกลุม่ บริษทั มีผลการด�ำเนินงานเป็น ก�ำไรสุทธิ 550.4 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อนซึ่งผลการด�ำเนินงานขาดทุน แม้ว่าในช่วงปลายปี การด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทจะได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์นำ�้ ท่วมครัง้ ใหญ่ของประเทศไทย ส่งผลกระทบทัง้ ต่อธุรกิจโรงแรมและธุรกิจอาหาร กล่าวคือ โรงแรมได้รบั ผลกระทบจากการยกเลิกห้องพัก การจัดงานเลี้ยงและการประชุมต่างๆ ในส่วนของธุรกิจอาหาร ก็ได้รับผลกระทบทั้งในส่วนของโรงงานที่ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมนวนคร และ สาขาที่ ตั้งอยู่ในศูนย์การค้าที่โดนน�้ำล้อม ท�ำให้รายได้ในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2554 ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ตามงบก�ำไรขาดทุนรวม ประจ�ำปี 2554 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 สามารถวิเคราะห์ได้ ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) รายได้จากธุรกิจโรงแรม รายได้จากธุรกิจอาหาร รายได้อื่น รวมรายได้ ต้นทุนขาย – ธุรกิจโรงแรม ต้นทุนขาย - ธุรกิจอาหาร(1) รวมต้นทุนขาย(1) หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร บวก ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ก�ำไรก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้ (EBITDA) หัก ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้ (EBIT) หัก ต้นทุนทางการเงิน หัก ภาษีเงินได้ หัก ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม บวก รายได้จากการตัดจ�ำหน่ายค่าเช่ารับล่วงหน้า –เซ็นทาราแกรนด์ สมุย ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิจากการด�ำเนินงานปกติ รายการพิเศษ หัก ขาดทุนจากการส�ำรองการค�้ำประกัน บวก ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธี ส่วนได้เสีย (25% ของขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน และก�ำไรจากการประเมินสินทรัพย์) ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ก�ำไรขั้นต้น
ปี 2554 จ�ำนวนเงิน 4,667.9 6,495.3 292.0 11,455.2 (1,961.1) (3,068.9) (5,030.0) (4,154.1) 78.0
% 40.7% 56.7% 2.6% 100.0% (42.0%) (47.2%) (43.9%) (36.3%) 0.7%
% 41.4% 55.8% 2.8% 100.0% (42.8%) (47.1%) (44.0%) (38.2%) (0.1%)
2,349.1
20.5%
1,667.5
17.7%
+681.6
+40.9%
(1,134.7) 1,214.4 (414.1) (255.1) (40.1) 100.3
(9.9%) 10.6% (3.6%) (2.2%) (0.3%) 0.9%
(1,229.3) 438.2 (307.5) (220.2) (41.4) 100.3
(13.1%) 4.7% (3.3%) (2.3%) (0.4%) 1.1%
-94.6 +776.2 +106.6 +34.9 -1.3 -
-7.7% +177.1% +34.7% +15.8% -3.1% -
605.4
5.3%
(30.6)
(0.3%)
+636.0
+2,078.4%
(73.7) 18.7
(0.6%) (0.2%)
(12.0) (13.2)
(0.1%) (0.1%)
-61.7 +31.9
-514.2% +241.7%
550.4 6,133.2
4.8% 54.9%
(55.8) 5,006.3
(0.6%) 54.8%
+606.2 +1,126.9
+1,086.4% +22.5%
(1) ต้นทุนขายไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนที่ปันส่วนเป็นต้นทุนขาย 87
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
เปลี่ยนแปลง (เพิ่มขึ้น + / ลดลง -) จ�ำนวนเงิน % +776.3 +19.9% +1,246.0 +23.7% +33.0 +12.7% +2,055.3 +21.9% +296.5 +17.8% +598.9 +24.2% +895.4 +21.7% +564.1 +15.7% +85.8 +1,100.0%
ปี 2553 จ�ำนวนเงิน 3,891.6 5,249.3 259.0 9,399.9 (1,664.6) (2,470.0) (4,134.6) (3,590.0) (7.8)
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ
รายได้จากการขายและบริการ บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการด�ำเนินงานหลัก 2 ประเภท ได้แก่ รายได้จากธุรกิจโรงแรม และรายได้จากธุรกิจอาหาร โดยรายได้จากธุรกิจ โรงแรมและรายได้จากธุรกิจอาหารในปี 2554 มีสัดส่วน 42 : 58 (ปี 2553: 43 : 57) ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวม 11,455.2 ล้านบาท (ปี 2553: 9,399.9 ล้านบาท) เพิ่มขึ้น 2,055.3 ล้านบาท หรือ 21.9% ดังนี้
รายได้จากธุรกิจโรงแรม รายได้จากธุรกิจโรงแรมประกอบด้วย 1) รายได้ค่าห้องพัก 2) รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม และ 3) รายได้จากการให้บริการอื่นๆ เช่น การบริการรถรับส่ง การบริการซักรีด การบริการสปา ค่าเช่าห้องจัดเลี้ยง เป็นต้น โดยสัดส่วนระหว่างรายได้ทั้ง 3 ประเภท ในปี 2554 เฉลี่ยประมาณ 55 : 36 : 9 อัตราการเข้าพักเฉลี่ย อัตราค่าห้องพักเฉลี่ย รายได้เฉลี่ยต่อห้อง และรายได้จากธุรกิจโรงแรมของบริษัทและบริษัทย่อยแยกตามโรงแรม สรุปได้ดังนี้
อัตราการเข้าพักเฉลี่ย -%* อัตราค่าห้องพักเฉลี่ย – บาท* รายได้เฉลี่ยต่อห้อง (Rev Par) – บาท*
ปี 2554 63.9% 3,663 2,341
ปี 2553 58.1% 3,409 1,981
เพิ่มขึ้น (ลดลง) +5.8% +254 +360
% +10.0% +7.5% +18.2%
* รวมโรงแรมเซ็นทารากะรนรีสอร์ท และโรงแรมเซ็นทารากะตะรีสอร์ท ภูเก็ต ซึ่งเป็นกิจการร่วมค้า
โรงแรม 1. โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (CGCW) 2. โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา (CMBR) 3. โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ (SCGB)* 4. โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและวิลลา หัวหิน (SCHH) 5. โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (CPBR)** 6. โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ (CKBR) 7. โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย (CSBR) 8. โรงแรมโนโวเทลเซ็นทารา หาดใหญ่ (NCH) 9. โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย (CSV) 10. โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต (CVP) 11. โรงแรมเซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท (CMS) รวมรายได้ธุรกิจโรงแรม
ปี 2554 1,016.3
ปี 2553 779.2
907.9 616.3 529.7 528.6 377.1 348.0 161.2 80.2 76.1 26.5 4,667.9
765.3 664.9 515.9 52.2 363.0 401.0 147.1 89.9 82.8 30.3 3,891.6
(หน่วย : ล้านบาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) % +237.1 +30.4% +142.6 -48.6 +13.8 +476.4 +14.1 -53.0 +14.1 -9.7 -6.7 -3.8 +776.3
+18.6% -7.3% +2.7% +912.6% +3.9% -13.2% +9.6% -10.8% -8.1% -12.5% +19.9%
* SCGB ปิดห้องพักบางส่วนเพื่อปรับปรุง ดังนี้ • ในระหว่างปี 2554 ปิดปรับปรุงห้องพักจ�ำนวน 193 ห้อง (ชั้น 16-22) โดยทยอยปิดปรับปรุงทีละ 3 ชั้น • ปี 2553 ปิดปรับปรุงห้องพักจ�ำนวน 124 ห้อง (ชั้น 7-15) โดยทยอยปิดปรับปรุงทีละ 3 ชั้น ** CPBR เปิดให้บริการบางส่วน (soft opening) ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และเปิดให้บริการเต็มโครงการ (grand opening) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 รายได้จากธุรกิจโรงแรมมีจ�ำนวน 4,667.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 776.3 ล้านบาท หรือ 19.9% จากปีก่อน สาเหตุส�ำคัญเนื่องจาก โรงแรมใหม่ (New Hotel) : เซ็นทาราแกรนด์บีช รีสอร์ท ภูเก็ต ซึ่งเป็นรีสอร์ทระดับ 5 ดาว จ�ำนวน 262 ห้อง ได้เริ่มเปิดให้บริการบางส่วน (Soft opening) ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และ เปิดให้บริการเต็มโครงการในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 มีรายได้จากการให้บริการในปี 2554 เป็นจ�ำนวน 528.6 ล้านบาท (ปี 2553: 52.2 ล้านบาท) โรงแรมเดิม (Existing Hotels) : รายได้ของโรงแรมเดิมเพิ่มขึ้น 299.9 ล้านบาท หรือ 7.8% เมื่อเทียบกับปีก่อน สาเหตุเนื่องจากการสนับสนุน ส่งเสริมและกระตุ้นการท่องเที่ยวโดยภาครัฐและองค์กรต่างๆ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น และสถานการณ์ทางด้านการเมืองที่ค่อนข้างนิ่ง โดยโรงแรมเดิมมีอตั ราการเข้าพักเฉลีย่ เท่ากับ 63.8% เพิม่ ขึน้ 5.7% ในขณะทีอ่ ตั ราค่าห้องพักเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 2.0% ทัง้ นี้ โรงแรมทีม่ รี ายได้เพิม่ ขึน้ มากคือ • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ มีรายได้เพิม่ ขึน้ 237.1 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ 30.4% จากปีกอ่ น สาเหตุหลัก เนื่องจาก โรงแรมเริ่มกลับสู่ภาวะการด�ำเนินงานตามปกติ ส่งผลให้จ�ำนวนแขกที่เข้าพักและใช้บริการของโรงแรม รวมถึงจ�ำนวนการจัดงานประชุม งานเลี้ยงต่างๆ เพิ่มขึ้น แม้ว่าในช่วงปลายปีจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์น�้ำท่วม ท�ำให้รายได้ในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม ไม่เป็นไปตามที่ คาดการณ์ไว้
88
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ มิราจบีช รีสอร์ท พัทยา ได้รับการตอบรับจากลูกค้าด้วยดีอย่างต่อเนื่อง โดยมีรายได้เพิ่มขึ้น 142.6 ล้านบาท หรือคิดเป็น 18.6% • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและวิลล่า หัวหิน มีรายได้เพิ่มขึ้น 13.8 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 2.7% จากปีก่อน ในปี 2554 ธุรกิจโรงแรมได้มีการขยายธุรกิจ โดยเข้าลงทุนใน Centara Maldives Pvt. Ltd. ซึ่งเป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน (บริษัทถือหุ้น 50%) ยังไม่ได้เปิดให้บริการ ซึ่งบริษัทได้รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิในเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 10.8 ล้านบาท ในปี 2554
รายได้จากธุรกิจอาหาร รายได้จากธุรกิจอาหารประกอบด้วยรายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่มภายใต้เครื่องหมายการค้าเคเอฟซี มิสเตอร์โดนัท อานตี้แอนส์ เป็บเปอร์ลันช์ เบียร์ดปาปา ชาบูตง ราเมน โคล์ดสโตน ครีมเมอรี่ ริว ชาบู ชาบู โยชิโนยะ โอโตยะ และ เดอะ เทอเรส รายได้จากธุรกิจอาหารของแต่ละ เครื่องหมายการค้า และอัตราการเติบโตของรายได้ แสดงได้ดังนี้ เครื่องหมายการค้า 1. เคเอฟซี 2. มิสเตอร์ โดนัท 3. อานตี้แอนส์ 4. โอโตยะ** 5. เป็บเปอร์ลันช์ 6. ชาบูตง ราเมน* 7. เบียร์ดปาปา 8. โคล์ดสโตน ครีมเมอรี่* 9. ริว ชาบู ชาบู* 10. โยชิโนยะ** 11. เดอะ เทอเรส*** 12. รายได้จากการขายอื่นๆ รวมรายได้ธุรกิจอาหาร
ปี 2554 3,768.9 1,476.4 530.5 207.5 137.0 119.4 69.7 38.5 28.3 19.9 7.4 91.8 6,495.3
ปี 2553 3,185.4 1,318.7 463.4 80.2 25.6 50.3 15.3 15.4 95.0 5,249.3
(หน่วย : ล้านบาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง) % +583.5 +18.3% +157.7 +12.0% +67.1 +14.5% +207.5 +100.0% +56.8 +70.8% +93.8 +366.4% +19.4 +38.6% +23.2 +151.6% +12.9 +83.8% +19.9 +100.0% +7.4 +100.0% -3.2 -3.4% +1,246.0 +23.7%
* ชาบูตง ราเมน, โคล์ดสโตน ครีมเมอรี่ และ ริว ชาบู ชาบู เป็นเครื่องหมายการค้าที่เปิดให้บริการตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคม 2553 ** โอโตยะ และ โยชิโนยะ เป็นเครื่องหมายการค้าใหม่ที่เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนกันยายน 2554 *** เดอะ เทอเรส เป็นเครื่องหมายการค้าใหม่ที่เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554 อัตราการเติบโตของรายได้ อัตราการเพิ่มของยอดขายรวม (Total System Sales - TSS) อัตราการเพิ่มของยอดขายของสาขาเดียวกัน (Same Store Sales -SSS)
ปี 2554 +23.7% +14.8%
จ�ำนวนสาขาของแต่ละเครื่องหมายการค้า ณ สิ้นปี 2554 และ 2553 เป็นดังนี้ เครื่องหมายการค้า 1. เคเอฟซี 2. มิสเตอร์ โดนัท 3. อานตี้แอนส์ 4. เป็บเปอร์ลันช์ 5. เบียร์ดปาปา 6. ชาบูตง ราเมน (เปิด 13 มีนาคม 2553) 7. โคล์ดสโตน ครีมเมอรี่ (เปิด 14 มีนาคม 2553) 8. ริว ชาบู ชาบู (เปิด 18 มีนาคม 2553) 9. โยชิโนยะ (เปิด 1 กันยายน 2554) 10. โอโตยะ (เปิด 1 กันยายน 2554) 11. เดอะ เทอเรส (เปิด 1 ตุลาคม 2554) รวม
31 ธ.ค. 54 168 266 86 13 14 7 8 1 3 35 2 603
31 ธ.ค. 53 160 245 83 7 10 2 4 1 512
เพิ่มขึ้น (ลดลง) +12 / -4 +29 / -8 +14 / -11 +6 / -0 +6 / -2 +5 / -0 +4 / -0 +0 / -0 +3 / -0 +35 / -0 +2 / -0 +116 / -25
รายได้ของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น 1,246.0 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 23.7% จากปีก่อน สาเหตุหลักเนื่องจาก การขยายสาขาเพิ่มขึ้นส�ำหรับแบรนด์เดิม และการเปิดด�ำเนินการแบรนด์ใหม่ การจัดท�ำแผนการตลาดและรายการส่งเสริมการขายในเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ธุรกิจอาหารยังได้มีการปรับราคาขายสินค้าให้สอดคล้องกับต้นทุนของวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
89
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ ในปี 2554 ธุรกิจอาหารได้มีการขยายธุรกิจและเปิดสาขาภายใต้เครื่องหมายการค้าใหม่ คือ
ในเดือนกันยายน 2554 เปิดให้บริการร้านอาหารต้นต�ำรับข้าวหน้าญี่ปุ่นภายใต้เครื่องหมายการค้า “โยชิโนยะ” ปัจจุบันมีสาขารวมทั้งสิ้น 3 สาขา ลงทุนซื้อบริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบกิจการร้านอาหารประเภทภัตตาคาร (อาหารญี่ปุ่น) ภายใต้แบรนด์ “โอโตยะ” ปัจจุบันมีสาขารวมทั้งสิ้น 35 สาขา
ในเดือนตุลาคม 2554 เปิดให้บริการร้านอาหารภายใต้แบรนด์ “เดอะ เทอเรส ” ปัจจุบันมีสาขารวมทั้งสิ้น 2 สาขา ในปี 2554 ธุรกิจร้านอาหารมีการเปิดสาขาเพิ่มขึ้น 116 สาขา (รวมแบรนด์โยชิโนยะ 3 สาขา, แบรนด์โอโตยะ 35 สาขา และแบรนด์ เดอะ เทอเรส 2 สาขา) และปิดสาขาที่หมดสัญญา และ สาขาที่ไม่ท�ำก�ำไรรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 25 สาขา รวมมีจ�ำนวนสาขา ณ สิ้นปี 2554 ทั้งสิ้น 603 สาขา โดยมีอัตรา การเพิ่มของยอดขายของสาขาเดียวกัน (Same-Store-Sales Growth) และอัตราการเพิ่มของยอดขายรวม (Total-System-Sales Growth) เป็น 14.8% และ 23.7% (ปี 2553: 14.5% และ 15.4%) ตามล�ำดับ
รายได้อื่น รายได้อนื่ ประกอบด้วย รายได้คา่ บริหารโรงแรม รายได้คา่ เช่าและค่าบริการ รายได้จากเงินสนับสนุนทางการตลาด เป็นต้น โดยรายได้คา่ บริหารโรงแรม ได้แก่ รายได้จากการบริหารโรงแรมของบุคคลอืน่ ซึง่ ว่าจ้างให้บริษทั เข้าบริหารงานภายใต้สญ ั ญาบริหารโรงแรม (Hotel Management Agreement) โดยรายได้ค่าบริหารโรงแรมเพิ่มขึ้นประมาณ 24.3 ล้านบาท จากปีก่อน เนื่องจากรายได้และจ�ำนวนสัญญาบริหารโรงแรมเพิ่มขึ้น
ต้นทุนขายและก�ำไรขั้นต้น ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจ�ำนวน 5,030.0 ล้านบาท (ปี 2553: 4,134.6 ล้านบาท) โดยคิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 54.9% (ปี 2553: 54.8%) โดยสามารถแยกแสดงตามธุรกิจหลักได้ดังนี้
ประเภทธุรกิจ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจอาหาร รวม*
ต้นทุนขาย (ล้านบาท) 1,961.1 3,068.9 5,030.0
ปี 2554 ก�ำไรขั้นต้น (ล้านบาท) 2,706.8 3,426.4 6,133.2
อัตราก�ำไร ขั้นต้น (%) 58.0% 52.8% 54.9%
ต้นทุนขาย (ล้านบาท) 1,664.6 2,470.0 4,134.6
ปี 2553 ก�ำไรขั้นต้น (ล้านบาท) 2,227.0 2,779.3 5,006.3
อัตราก�ำไร ขั้นต้น (%) 57.2% 52.9% 54.8%
% เปลี่ยนแปลง ของต้นทุนขาย +17.8% +24.2% +21.7%
*หมายเหตุ: ต้นทุนขายและก�ำไรขั้นต้นไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนที่ปันส่วนเป็นต้นทุนขาย
90
ธุรกิจโรงแรม ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจากธุรกิจโรงแรมจ�ำนวน 1,961.1 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุนการให้บริการ ห้องพัก ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานของแผนกที่เกี่ยวข้อง ค่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น โดยเมื่อเปรียบเทียบกับราย ได้ คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 58.0% ของรายได้จากการขายและบริการ (ปี 2553: 57.2%) อัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน สาเหตุหลักเนื่องจาก รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากโรงแรมใหม่ และการด�ำเนินงานของโรงแรมเดิมกลับสู่ภาวะปกติโดยเฉพาะโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์
ธุรกิจอาหาร ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจากธุรกิจอาหารจ�ำนวน 3,068.9 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุนอาหาร และเครื่องดื่ม เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานของแผนกที่เกี่ยวข้อง ค่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น โดยคิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 52.8% ของรายได้ จากการขาย (ปี 2553: 52.9%) อัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงจากปีก่อน สาเหตุหลักเกิดจากวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตมีการปรับราคาเพิ่มขึ้นและ การจัดรายการส่งเสริมการขาย ท�ำให้มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้า
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ได้แก่ เงินเดือนและสวัสดิการพนักงาน ค่าบริหารโรงแรม ค่าเช่า ค่าบริการการใช้บตั รเครดิต ค่าสิทธิเ์ ครือ่ งหมายการค้า เป็นต้น โดยในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมจ�ำนวน 4,154.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 564.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 15.7% โดยเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้รวม คิดเป็น 36.3% ของรายได้รวม (ปี 2553: 38.2%) อัตราค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลงจากปีก่อน เนื่องจากรายได้เพิ่มขึ้นดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปี 2554 มีจ�ำนวน 1,134.7 ล้านบาท ลดลง 94.6 ล้านบาท หรือคิดเป็น 7.7% จากปีก่อน โดยเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้รวมคิดเป็น 9.9% ของรายได้รวม (ปี 2553: 13.1%) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายลดลงจากปีก่อน มีสาเหตุหลักจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554
ต้นทุนทางการเงิน ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินเป็นจ�ำนวน 414.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 106.6 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้น 34.7% โดยเมื่อเทียบกับ รายได้รวม คิดเป็น 3.6% ของรายได้รวม (ปี 2553: 3.3%) ต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน สาเหตุเนื่องจาก โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์บชี รีสอร์ท ภูเก็ต ซึง่ เป็นโรงแรมใหม่ ก่อสร้างเสร็จและได้เริม่ เปิดให้บริการตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2553 จึงไม่สามารถบันทึกดอกเบีย้ เงินกู้ของโครงการดังกล่าวเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ได้ นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ปรับตัวสูงขึ้นก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้บริษัทและบริษัท ย่อยมีต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มขึ้น
ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน ส�ำรองการค�้ำประกันเป็นการค�้ำประกันรายได้ค่าเช่าภายใต้สัญญาเช่าอาคารสิ่งปลูกสร้างโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย ที่บริษัท และ บริษัทย่อยแห่งหนึ่งให้แก่กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา (CTARAF) เป็นระยะเวลา 4 ปี (สิ้นสุด ในปี 2555) โดยในปี 2554 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ สมุย ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก ทั้งด้านภาวะเศรษฐกิจโลกและภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น รวมถึงการแข่งขันทีค่ อ่ นข้างสูงในธุรกิจการท่องเทีย่ วทีเ่ กาะสมุย จึงท�ำให้รายได้การจากประกอบธุรกิจโรงแรมไม่เป็นไปตามทีค่ าดหมาย ส่งผลให้บริษทั และบริษัทย่อยต้องจ่ายเงินค�้ำประกันรายได้ค่าเช่าเพิ่มขึ้นจากที่เคยประมาณการไว้ ดังนั้น ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยจึงได้พิจารณาตั้งส�ำรอง การค�้ำประกันดังกล่าวเพิ่มเติมเป็นจ�ำนวน 73.7 ล้านบาท
ก�ำไรก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ดอกเบี้ยจ่าย และภาษีเงินได้ (EBITDA) และก�ำไรสุทธิ ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมี EBITDA จ�ำนวน 2,349.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 681.6 ล้านบาท หรือ 40.9% โดยมีสัดส่วน EBITDA ต่อรายได้รวมเท่ากับ 20.5% เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วซึ่งเท่ากับ 17.7% สามารถแยกพิจารณาได้ดังนี้ ธุรกิจโรงแรม: EBITDA เพิ่มขึ้น 479.1 ล้านบาท จากปีก่อน หรือคิดเป็น 60.4% สาเหตุหลักเนื่องจาก ผลประกอบการที่ดีขึ้นเกือบทุกโรงแรม รวมถึงโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีช รีสอร์ท ภูเก็ต ที่ได้เริ่มเปิดด�ำเนินการตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2553 • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กลับสู่ภาวะการด�ำเนินงานตามปกติ และเป็นโรงแรมที่ท�ำรายได้สูงที่สุด ในธุรกิจโรงแรมในปี 2554 • โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ (SCGB), โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ทและวิลลา หัวหิน (SCHH), โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต (CVP) และ โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย (CSV) ได้ท�ำการปรับปรุงห้องพัก ห้องจัดเลี้ยง และห้องอาหารบางส่วนแล้วเสร็จในปี 2554 โดยบริษัท คาดว่าผลการด�ำเนินงานของโรงแรมดังกล่าวจะปรับตัวดีขึ้นและเป็นไปตามเป้าหมายในอนาคต ธุรกิจอาหาร: EBITDA เพิ่มขึ้น 202.5 ล้านบาท จากปีก่อน หรือคิดเป็น 23.2% สาเหตุหลักเนื่องจาก การขยายสาขา การเพิ่มแบรนด์สินค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และท�ำการตลาดเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีรายได้และ EBITDA เพิ่มขึ้น บริษทั และบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิ 550.4 ล้านบาท ในปี 2554 เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น (ซึง่ ขาดทุนสุทธิจำ� นวน 55.8 ล้านบาท) 606.2 ล้านบาท หรือ 1,086.4% โดยมีสดั ส่วนก�ำไรสุทธิตอ่ รายได้รวมเท่ากับ 4.8% เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้วซึง่ เท่ากับ -0.6% สาเหตุหลักจากรายได้ทเี่ พิม่ ขึน้ ทัง้ จากโรงแรมใหม่และโรงแรม เดิมมีผลประกอบการดีขึ้น และรายได้จากการเติบโตของธุรกิจอาหาร ในปี 2554 การด�ำเนินงานของกลุม่ บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์นำ�้ ท่วมใหญ่ของไทย โดยน�ำ้ ได้เข้าท่วมโรงงานแห่งหนึง่ ณ นิคมอุตสาหกรรม นวนคร เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 เป็นผลให้ต้องหยุดการผลิตที่โรงงานดังกล่าว และปัจจุบันยังไม่ได้เริ่มผลิต กลุ่มบริษัทได้รับรู้ผลขาดทุนที่เกิดขึ้น เนื่องจากผลกระทบจากเหตุการณ์น�้ำท่วมของโรงงานดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 23.4 ล้านบาท ทั้งนี้ จากสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง รวมถึงภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น อาจส่งผลกระทบโดยรวมต่อธุรกิจการท่องเที่ยวและโรงแรม กลุ่มบริษัทได้พยายามหามาตรการต่างๆ เพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย เช่น การเจรจากับผู้ขาย การใช้สาธารณูปโภคอย่างประหยัด การบริหารและ ควบคุมค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทมีแผนในการหารายได้เพิ่ม โดยมุ่งเน้นการขยายธุรกิจบริหารโรงแรมให้มากขึ้น ในส่วนของธุรกิจอาหาร ก็ยังคงเน้นกลยุทธ์ในการขยายสาขา เพิ่มแบรนด์ธุรกิจใหม่ๆ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และท�ำการตลาดเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง
2. ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 21,683.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2553 จ�ำนวน 1,245.7 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้น 6.1% ส่วนใหญ่เนื่องจากการลงทุนขยายกิจการ จากการซื้อบริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด และ การลงทุนในกิจการที่ควบคุม ร่วมกัน นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยยังมีการลงทุนเพิ่มเติมในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพื่อปรับปรุงโรงแรมเดิม และขยายสาขาส�ำหรับธุรกิจ อาหาร ซึ่งมีการเปิดสาขาเพิ่มขึ้นภายใต้ทุกเครื่องหมายการค้ารวม 116 สาขา (รวมโอโตยะ 35 สาขา) ในปี 2554 ทั้งนี้ สินทรัพย์ของบริษัทและบริษัทย่อยที่มีสาระส�ำคัญมีดังนี้
91
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ
ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้า-สุทธิจ�ำนวน 269.0 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2553 จ�ำนวน 7.7 ล้านบาท หรือ ประมาณ 2.8% บริษัทและบริษัทย่อยมีระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยประมาณ 30 วัน (ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยค�ำนวณโดยไม่รวมยอดขายของ CRG เนื่องจาก ยอดขายเกือบทั้งหมดของ CRG เป็นการขายเงินสด) ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายการให้สินเชื่อของบริษัทและบริษัทย่อย คือ 15-30 วัน โดยมีรายละเอียดตารางแยกวิเคราะห์อายุลูกหนี้ ดังนี้ ภายในวันที่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินวันครบก�ำหนดช�ำระ น้อยกว่า 3 เดือน 3-6 เดือน 6-12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า – สุทธิ
31 ธ.ค. 2554 ล้านบาท % 207.3 76.3% 36.8 11.3 7.1 9.3 271.8 (2.8) 269.0
13.5% 4.2% 2.6% 3.4% 100.0%
31 ธ.ค. 2553 ล้านบาท % 198.2 70.6% 48.4 14.3 1.1 18.7 280.7 (4.0) 276.7
17.2% 5.1% 0.4% 6.7% 100.0%
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ลูกหนี้การค้าเป็นลูกหนี้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระร้อยละ 76.3 และเป็นลูกหนี้ที่ครบก�ำหนดช�ำระไม่เกิน 3 เดือน 13.5% โดยบริษทั และบริษทั ย่อยมีนโยบายในการตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ซึง่ วิเคราะห์จากประวัตกิ ารช�ำระหนีแ้ ละคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนีใ้ นอนาคต ของลูกค้า และได้พิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจ�ำนวนทั้งสิ้น 2.8 ล้านบาท ส�ำหรับลูกหนี้การค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2554 ซึ่งคาดว่าเพียงพอตาม จ�ำนวนหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซอฟท์แวร์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่นและสิทธิการเช่า – สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซอฟท์แวร์ – สุทธิ จ�ำนวน 13,429.6 ล้านบาท (ปี 2553: 12,670.7 ล้าน บาท) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น 231.9 ล้านบาท (ปี 2553: - ล้านบาท) และมีสิทธิการเช่า – สุทธิจ�ำนวน 416.5 ล้านบาท (ปี 2553: 480.4 ล้านบาท) ซึ่งสามารถแสดงแยกที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซอฟท์แวร์ และสิทธิการเช่าตามประเภทธุรกิจได้ดังนี้ สินทรัพย์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และซอฟท์แวร์ – สุทธิ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจอาหาร รวม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น – ธุรกิจอาหาร สิทธิการเช่า – สุทธิ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจอาหาร รวม รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซอฟท์แวร์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น และสิทธิการเช่า - สุทธิ
31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2553 12,171.4 11,882.3 1,258.2 788.4 13,429.6 12,670.7 231.9 350.1 66.4 416.5 14,078.0
430.0 50.4 480.4 13,151.1
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และซอฟท์แวร์ เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2554 จ�ำนวน 758.9 ล้านบาท หรือประมาณ 6.0% เนื่องจากเหตุผลต่างๆ ดังนี้ 1. ปรับปรุงโรงแรมเดิม รวมประมาณ 435.6 ล้านบาท ส่วนใหญ่ได้แก่ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพ, โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต และโรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย 2. ขยายสาขาของธุรกิจอาหาร (เปิดเพิ่มอีก 56 สาขาจากสิ้นปี 2553) รวมประมาณ 276.4 ล้านบาท 3. การลงทุนซือ้ บริษทั เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ท�ำให้กลุม่ บริษทั มีสาขาของธุรกิจอาหารเพิม่ ขึน้ อีก 35 สาขา รวมประมาณ 186.5 ล้านบาท 4. ลดลงจากค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายรวม 223.0 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 231.9 ล้านบาท จากการลงทุนซื้อบริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 สิทธิการเช่าลดลงจากสิ้นปี 2554 จ�ำนวน 63.9 ล้านบาท หรือประมาณ 13.3% เนื่องจากการตัดจ�ำหน่ายสิทธิการเช่าที่ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงไว้ตั้งแต่ ปีก่อน และสิทธิการเช่าที่เพิ่มขึ้นจากการลงทุนซื้อบริษัท เบทาโกร โอโตยะ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 92
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ 3. แหล่งที่มาของเงินทุน
หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมจ�ำนวน 15,634.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2553 จ�ำนวน 976.1 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6.7% จากการที่บริษัทมีเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 267.9 ล้านบาท และ 550.0 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในปี 2554 บริษัทมีการจ่ายช�ำระคืนหุ้นกู้ที่ครบก�ำหนดในปี 2554 จ�ำนวน 1,000 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษัทได้ออกหุ้นกู้ใหม่ ซึ่งเป็นหุ้นกู้ระยะยาวครบก�ำหนด ในปี 2559 เป็นจ�ำนวน 500 ล้านบาท และ 300 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพื่อน�ำไปช�ำระเงินกู้ของโครงการโรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จากธนาคารพาณิชย์ ในประเทศก่อนก�ำหนด เป็นจ�ำนวน 800 ล้านบาท ท�ำให้ประหยัดดอกเบี้ยลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย รายละเอียดดังต่อไปนี้ ประเภทเงินกู้ 1. เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว*
วงเงิน (ล้านบาท)
ยอดเบิกใช้ (ล้านบาท)
อัตราดอกเบี้ย
790.0 1,830.0 4,626.0
87.9 1,830.0 3,126.0
MOR 3.49% ถึง 3.85% อัตราเงินฝากประจ�ำ 3 เดือน + 2.0% ถึง 2.50%, MLR -1.50% ถึง -1.75% 3.40% - 4.86% 3mFDR + 2.5%, MLR - 1.75% to -3.0% MLR – 1.0%
2. หุ้นกู้ – สุทธิ**
4,798.0
3. หนี้สินภายใต้รายการส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม รวม
155.0 9,996.9
* เพื่อใช้ในโครงการของ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ (CKBR) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (CGCW) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา (CMBR) และโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (CPBR) ** สุทธิจากค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 2.0 ล้านบาท
ส่วนของผู้ถือหุ้น ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ผู้ถือหุ้นได้มีมติที่เกี่ยวข้องกับทุนจดทะเบียน ดังต่อไปนี้ 1. อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ของบริษัทจากเดิมหุ้นละ 5 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท อันเป็นผลให้จ�ำนวนหุ้นที่ออกเสนอขายแล้วทั้งหมดของ บริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิมจ�ำนวน 180 ล้านหุ้น เป็นจ�ำนวน 900 ล้านหุ้น 2. อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 900 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 1,580.8 ล้านบาท โดยการออก หุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 680.8 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 3. อนุมัติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจากการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังนี้ • จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 450 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน • จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 170 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาทเพื่อเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป • จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 60.8 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัท ในเดือนสิงหาคม 2549 บริษัทได้รับเงินจากการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 450 ล้านหุ้น เสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 720 ล้านบาท (เสนอขายในราคาหุ้นละ 1.60 บาท) และได้จดทะเบียนเพิ่มทุนช�ำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์จาก 900 ล้านบาทเป็น 1,350 ล้านบาท เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2549
93
ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.53 เท่า และ 1.20 เท่า ตามล�ำดับ ซึ่งเป็นการจัดโครงสร้างทางการเงินที่ยังคงอยู่ในข้อก�ำหนดตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ยืม (Covenant) โดยแหล่งที่มาของเงินทุนส่วน หนึ่งมาจากกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษัท และจากการกู้ยืม
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลดำ�เนินการ 4. กระแสเงินสดและการด�ำรงอัตราส่วนสภาพคล่อง
กระแสเงินสด บริษัทและบริษัทย่อยมีรายละเอียดกระแสเงินสดจากกิจกรรมต่าง ๆ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ดังต่อไปนี้
• กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน • กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุน • กระแสเงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน สุทธิ
94
2554 2,153.5 (2,144.2) 7.3 16.6
(หน่วย : ล้านบาท) 2553 % เปลี่ยนแปลง 1,600.2 +34.6% (2,215.3) -3.2% 799.4 -99.1% 184.3
กิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อยส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจำ� นวน 2,153.5 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 34.6%
กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจ�ำนวน 2,144.2 ล้านบาท ส่วนใหญ่เพื่อการ ลงทุนในบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันที่เพิ่มขึ้น การปรับปรุงโรงแรมเดิม และขยายสาขาธุรกิจอาหาร
กิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจ�ำนวน 7.3 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการ จ่ายเงินคืนสถาบันการเงิน การจ่ายดอกเบี้ย และการออกหุ้นกู้ใหม่
การด�ำรงอัตราส่วนสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.27 เท่า และ 0.31 เท่า ตามล�ำดับ อัตราส่วน สภาพคล่องลดลงจากปี 2553 สาเหตุหลักเนือ่ งจาก เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึงหุน้ กูท้ ถี่ งึ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึง่ ปี จ�ำนวน 793.2 ล้านบาท และ 599.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ เมื่อพิจารณาอัตราส่วนความสามารถในการจ่ายช�ำระภาระผูกพันและดอกเบี้ย (Debt Service Coverage Ratio) ของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งเท่ากับ 1.10 เท่า (ปี 2553: 0.54 เท่า) บริษัทและบริษัทย่อย ยังคงมีกระแสเงินสดเพียงพอที่จะช�ำระภาระผูกพันและดอกเบี้ยได้ นอกจากนี้ บริษัทและบริษัทย่อยยังมีเงินกู้ยืมระยะยาวที่ยังไม่ได้เบิกใช้อีกจ�ำนวน 1,500 ล้านบาท ซึ่งเป็นของโครงการเซ็นทาราแกรนด์ ภูเก็ต
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
95
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
บจ. เอส.พ�. เร�ยลตี้ พัทยาบีช ทุนชำระแลว 80 ลานบาท
96
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
โครงสร้างรายได้ ธุรกิจ โรงแรม รายได้จากการขาย โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์รีสอร์ท และวิลลา หัวหิน โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย โรงแรมโนโวเทลเซ็นทารา หาดใหญ่ โรงแรมเซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท และวิลลา กระบี่ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา(1) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต(2) รวมรายได้ธุรกิจโรงแรม อาหาร รายได้จากการขาย มิสเตอร์ โดนัท เคเอฟซี บาสกิ้น ร้อบบิ้นส์(3) อานตี้แอนส์ พิซซ่าฮัท(3) เป็บเปอร์ลันช์ เบียร์ดปาปา ชาบูตง ราเมน โคลด์สโตน ครีมเมอรี่ ริว ชาบู ชาบู โยชิโนยะ โอโตยะ เดอะ เทอเรส รายได้จากการขายอื่นๆ รวมรายได้ธุรกิจอาหารบริการด่วน รายได้อื่น(4) รวมรายได้ทั้งหมด(5)
% การถือ หุ้นปัจจุบัน
ปี 2554 รายได้ %
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2552 รายได้ %
ปี 2553 รายได้ %
63.9%
616.3 529.7
5.4 4.6
664.9 515.9
7.1 5.5
799.4 530.8
9.5 6.3
100.0% 100.0% 98.4% 100.0% 100.0% 100.0%
348.0 161.2 26.5 80.2 76.1 377.1
3.0 1.4 0.2 0.7 0.7 3.3
401.0 147.1 30.3 89.9 82.8 363.0
4.2 1.5 0.3 1.0 0.9 3.9
423.0 131.7 30.6 101.7 88.9 398.8
5.0 1.6 0.4 1.2 1.1 4.7
100.0%
1,016.3
8.9
779.2
8.3
1,049.6
12.4
100.0%
907.9
7.9
765.3
8.1
173.3
2.0
100.0%
528.6 4,667.9
4.6 40.7
52.2 3,891.6
0.6 41.4
3,727.8
44.2
100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
1,476.4 3,768.9 530.5 137.0 69.7 119.4 38.5 28.3 19.9 207.5 7.4 91.8 6,495.3 292.0 11,455.2
12.9 32.9
1,318.7 3,185.4 463.4 80.2 50.3 25.6 15.3 15.4 95.0 5,249.3 259.0 9,399.9
14.0 33.9
1,186.5 2,652.7 82.6 389.1 94.7 57.3 12.1 74.3 4,549.3 159.0 8,436.1
14.1 31.4 1.0 4.6 1.1 0.7 0.1
-
4.6
1.2 0.6 1.1 0.3 0.2 0.2 1.8 0.1 0.8 56.7 2.6 100.0
-
-
4.9 0.8 0.5 0.3 0.2 0.2
1.0 55.8 2.8 100.0
-
0.9 53.9 1.9 100.0
หมายเหตุ: (1) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์มริ าจบีชรีสอร์ท พัทยา เปิดให้บริการบางส่วน (soft opening) ในเดือนสิงหาคม 2552 และเปิดให้บริการเต็มโครงการ (grand opening) ในเดือนพฤศจิกายน 2552 (2) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต เปิดให้บริการบางส่วน (soft opening) ในเดือนพฤศจิกายน 2553 และเปิดให้บริการเต็มโครงการ (grand opening) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 (3) พิซซ่า ฮ้ท และบาสกิ้น รอบบิ้นส์ ปิดด�ำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2552 และ 31 ธันวาคม 2552 ตามล�ำดับ (4) รายได้อื่น ประกอบด้วย รายได้ค่าบริหารโรงแรม รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้จากเงินสนับสนุนทางการตลาด เป็นต้น (5) รายได้ทั้งหมด ไม่รวมรายได้จากการตัดจ�ำหน่ายค่าเช่ารับล่วงหน้า (จากกองทุนอสังหาริมทรัพย์) ของโครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ สมุย ใน ปี 2554 จ�ำนวน 100.3 ล้านบาท และส่วนแบ่งก�ำไร (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย จ�ำนวน 18.7 ล้านบาท (ในปี 2553 และ 2552: ปีละ 100.3 ล้านบาท)
97
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ปัจจัยความเสี่ยง
ปัจจัยความเสี่ยง บริษทั ได้กล่าวถึงปัจจัยความเสีย่ งซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ไว้ในเอกสารฉบับนี้ ซึง่ ยังอาจมีความไม่แน่นอน อื่นที่ไม่สามารถระบุได้ในขณะนี้ ดังนั้น ผู้มีส่วนได้เสียควรพิจารณาปัจจัยเสี่ยงอื่นๆนอกเหนือจากที่แสดงไว้ในเอกสารนี้ด้วย
ความเสี่ยงจากปัจจัยภายนอก ธุรกิจโรงแรมเป็นธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากปัจจัยภายนอกที่ท�ำให้เกิดความผันผวนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งอยู่นอกเหนือ การควบคุมของผู้ประกอบการ เช่นปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองและการชุมนุมทางการเมือง ปัญหาภัยธรรมชาติ ปัญหาเศรษฐกิจ ตกต�่ำ และปัญหาราคาน�้ำมันที่พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งล้วนส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อการตัดสินใจในการเดินทางของนักเดินทางทั้งในและ ต่างประเทศ อย่างไรก็ตามบริษัทเชื่อว่าการที่บริษัทและบริษัทย่อยได้กระจายท�ำเลที่ตั้งของโรงแรมตามภูมิภาคต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ รวมถึง มุ่งเน้นขยายธุรกิจด้านการรับบริหารโรงแรมมากขึ้น ประกอบกับความสามารถในการบริหารค่าใช้จ่าย การปรับตัวตามทิศทางการตลาด รวมทั้ง การร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ เช่น สายการบินและบริษัทน�ำเที่ยว ซึ่งสามารถช่วยลดผลกระทบจากปัจจัยลบดังกล่าวได้พอสมควร ธุรกิจอาหารบริการด่วนนั้นอาจได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก เช่น การแพร่ระบาดของโรคติดต่อในสัตว์ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการประกอบ อาหาร เช่น โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza หรือ Bird Flu) เหตการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อยอดขายของบริษัทในระยะแรกแต่เมื่อผู้บริโภค ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ผลกระทบนี้ก็ได้ลดลง อย่างไรก็ตามการที่ธุรกิจอาหารบริการด่วนมีประเภทอาหารที่แตกต่างกันมากกว่า 10 แบรนด์ และมีกระจายตัวของสาขาครอบคลุมไปในหลายพื้นที่จะสามารถช่วยบรรเทาผลกระทบจากปัจจัยภายนอกดังกล่าวได้ ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทย่อยยังคงเน้นให้ความส�ำคัญเรื่องการวิจัยและพัฒนา ทั้งทางด้านผลิตภัณฑ์ การบริการ และช่องทางการตลาด เพื่อรองรับ ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่างๆ ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง
ความเสี่ยงในการสูญเสียรายได้บางส่วนจากการแข่งขันทางธุรกิจ ธุรกิจโรงแรมเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูงมาโดยตลอด ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเพิ่มจ�ำนวนของโรงแรมระดับบน ส่งผลให้เกิดการแข่งขันด้านราคามาก ขึ้น รวมทั้งผู้ประกอบการเดิมได้มีการพัฒนาและปรับตัวเพื่อการแข่งขันมากขึ้น ปัจจัยดังกล่าวส่งผลกระทบต่อรายได้และก�ำไรของบริษัทบ้าง ในส่วนของธุรกิจอาหารบริการด่วนเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันค่อนข้างสูงมาโดยตลอด เพราะมีคู่แข่งรายใหม่เข้ามาแข่งขันเสมอ เนื่องจากธุรกิจอาหาร เป็นธุรกิจที่มีการป้องกันผู้เข้าร่วมธุรกิจรายใหม่อยู่ในระดับต�่ำ อีกทั้งยังมีสินค้าชนิดใหม่ซึ่งเป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และก�ำไรของบริษัทได้ บริษัทและบริษัทย่อยได้ตระหนักถึงสภาวะการแข่งขันที่เกิดขึ้นมาโดยตลอด จึงได้ให้ความส�ำคัญด้านการพัฒนาและการอบรมบุคลากรอย่างต่อ เนือ่ ง รวมถึงเน้นเรือ่ งคุณภาพของการให้บริการเพือ่ ให้แบรนด์เป็นทีย่ อมรับ โดยมีทมี ผูบ้ ริหารทีม่ ปี ระสบการณ์สงู ในวงการธุรกิจร่วมอยูใ่ นทีมบริหาร อีกทั้งบริษัทยังให้ความส�ำคัญในการวางแผนการตลาดทั้งในส่วนของธุรกิจโรงแรมและธุรกิจอาหารบริการด่วน โดยเฉพาะในส่วนของธุรกิจอาหาร บริการด่วน บริษัทได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกเมนูอาหารใหม่อย่างต่อเนื่อง และขยายตลาดให้ครอบคลุมทุกภูมิภาค ส่งผลให้ชื่อเสียง ของโรงแรมและแบรนด์อาหารบริการด่วนที่เป็นที่นิยมและได้รับการยอมรับจากผู้บริโภค บริษัทมีความเชื่อมั่นว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีศักยภาพ ในการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นได้เป็นอย่างดี
ความเสี่ยงในการสูญเสียรายได้บางส่วนจากการด�ำเนินธุรกิจภายใต้สัญญาแฟรนไชส์ บริษัทย่อยด�ำเนินธุรกิจอาหารบริการด่วนทั้งหมดภายใต้สัญญาแฟรนไชส์จากผู้ให้สิทธิ (Franchisor) ในต่างประเทศ ทั้งนี้สัญญาแฟรนไชส์ต่างๆ นั้น มีการระบุเงื่อนไขและอายุของสัญญาไว้ หากสัญญาดังกล่าวครบก�ำหนดและผู้ให้สิทธิในต่างประเทศไม่ประสงค์จะต่อสัญญาดังกล่าว หรือตกลง ต่อสัญญาดังกล่าวภายใต้ขอ้ ก�ำหนดหรือเงือ่ นไขทีไ่ ม่เป็นคุณต่อบริษทั ย่อย เช่น การปรับเพิม่ ค่า Initial Fee ส�ำหรับการเปิดสาขาใหม่ของร้านอาหาร บริการด่วนหรือปรับเพิ่มอัตราส่วนแบ่งรายได้อย่างมีนัยส�ำคัญ กรณีนี้อาจส่งผลให้บริษัทสูญเสียรายได้จากการด�ำเนินธุรกิจอาหารบริการด่วน ภายใต้สัญญาแฟรนไชส์ไปทั้งหมดหรือบางส่วน บริษัทได้ให้ความส�ำคัญในการรักษาความสัมพันธ์อันดีกับผู้ให้สิทธิมาโดยตลอดและเตรียมพร้อมในการเจรจาต่ออายุสัญญาแฟรนไชส์ล่วงหน้า ก่ อ นที่ สั ญ ญาจะครบก� ำ หนดในแต่ ล ะคราว จากการที่ บ ริ ษั ท ได้ ร ่ ว มงานกั น กั บ เจ้ า ของแฟรนไชส์ ใ นต่ า งประเทศมาเป็ น ระยะเวลานาน และมีประสบการณ์การบริหารงานแฟรนไชส์จนเป็นที่ยอมรับ ท�ำให้บริษัทประสบความส�ำเร็จในการต่อสัญญาแฟรนไชส์มาโดยตลอด
98
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ปัจจัยความเสี่ยง
ความเสี่ยงในการสูญเสียรายได้บางส่วนจากการด�ำเนินธุรกิจอาหารบริการด่วนอันเป็นผลจากการต่อสัญญาเช่าพื้นที่ประกอบธุรกิจ ช่องทางการจ�ำหน่ายส�ำหรับธุรกิจอาหารบริการด่วนที่ด�ำเนินการโดยบริษัทย่อย ทั้งในลักษณะร้านค้าหรือการตั้งเคาน์เตอร์ ส่วนใหญ่จะเป็นการ เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าภายใต้สัญญาเช่าพื้นที่ ซึ่งมีการระบุเงื่อนไขและอายุของสัญญาไว้ หากสัญญาดังกล่าวครบก�ำหนดและ บริษทั ย่อยไม่ได้รบั การต่อสัญญาโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนของพืน้ ทีเ่ ช่าทีม่ ศี กั ยภาพหรือหากผูใ้ ห้เช่าตกลงต่อสัญญาเช่าภายใต้ขอ้ ก�ำหนดหรือเงือ่ นไข ทีไ่ ม่เป็นคุณต่อบริษทั ย่อย เช่น มีการปรับเพิม่ อัตราค่าเช่าขึน้ จากเดิมอย่างมีนยั ส�ำคัญหรือบริษทั ย่อยอาจต้องช�ำระค่าตอบแทนสิทธิการเช่าหรือค่าจด ทะเบียนสิทธิการเช่าเป็นจ�ำนวนมาก บริษทั อาจได้รบั ผลกระทบจากการสูญเสียรายได้จากการด�ำเนินธุรกิจในพืน้ ทีเ่ ช่าดังกล่าวไปทัง้ หมดหรือบางส่วน อย่างไรก็ตามพืน้ ทีเ่ ช่าทีบ่ ริษทั ย่อยมีสญ ั ญาอยูใ่ นปัจจุบนั มีกำ� หนดอายุสญ ั ญาทีแ่ ตกต่างกันตามอายุและวันทีเ่ ริม่ ท�ำสัญญาเช่าพืน้ ทีแ่ ต่ละแห่ง ท�ำให้ เป็นการกระจายความเสี่ยงได้บางส่วน ในขณะเดียวกันบริษัทก็มีการเปิดขยายสาขาใหม่กระจายออกไปในท�ำเลที่หลากหลายอยู่ตลอด รวมทั้งยังได้ ให้ความส�ำคัญกับการพิจารณาต่อสัญญาในพื้นที่ที่ให้ผลตอบแทนที่น่าพอใจ โดยเริ่มเจรจาต่ออายุสัญญาก่อนที่สัญญาดังกล่าวจะครบก�ำหนดใน แต่ละคราว โดยที่บริษัทย่อยมีแบรนด์อาหารบริการด่วนที่เป็นที่นิยมติดตลาดและได้รับการยอมรับจากผู้บริโภค ซึ่งสามารถดึงดูดให้ผู้บริโภคเข้ามา ซือ้ สินค้าและบริการอันเป็นปัจจัยส�ำคัญในการบริหารธุรกิจศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า ประกอบกับการทีบ่ ริษทั ย่อยมีการเช่าพืน้ ทีร่ วมกันขนาด ใหญ่ เพื่อเป็นช่องทางการจ�ำหน่ายอาหารบริการด่วนมากกว่า 10 แบรนด์ ท�ำให้บริษัทย่อยมักจะได้รับการพิจารณาเป็นล�ำดับต้นๆ ในการต่ออายุ สัญญาเช่าจากผู้บริหารพื้นที่เช่าในศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า
ความเสี่ยงจากการต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของการออกหุ้นกู้และสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาว ภายใต้เงื่อนไขของหุ้นกู้ของบริษัทและสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ก�ำหนดให้บริษัทด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระ ดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ โดยค�ำนวณจากงบการเงินรวมทุกรายไตรมาสของบริษทั และบริษทั ย่อยไว้ในอัตราไม่เกิน 2:1 ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีระดับอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่ 1.68 เท่า
ความเสี่ยงจากโครงสร้างของเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระเงินกู้ยืมในรูปของเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาวเท่ากับ 3,986.8 และ 6,010 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยบริษัทมีวงเงินกู้ที่ยังไม่ได้เบิกรองรับเป็นจ�ำนวนที่เพียงพอกับเงินกู้ระยะสั้น
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้บางส่วนที่เปนเงินสกุลต่างประเทศ ซึ่งไดรับจากผู้จองห้องพักโรงแรมจากต่างประเทศ ซึ่งทางบริษัทได้มีการตั้งอัตรา ค่าห้องพักโดยดูจากอัตราแลกเปลี่ยนในแต่ละปี จากการประเมินของนักวิเคราะห์ และได้ตั้งค่าเผื่อความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนไว้อีกทอด หนึ่ง รวมทั้งมีรายจ่ายบางส่วนที่เปนเงินสกุลตางประเทศเช่น ค่า Initial Fee ส�ำหรับการเปิดสาขาใหม่ของร้านอาหารประเภท Franchise รวมทั้ง การสั่งซื้อวัตถุดิบบางประเภทของธุรกิจอาหารบริการด่วนจากต่างประเทศ อย่างไรก็ดี เนื่องจากในอดีตที่ผ่านมา ทั้งรายได้และค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศคิดเป็นสัดส่วนที่น้อยมากเมื่อเทียบกับรายได้รวมและค่าใช้ จ่ายรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ตามล�ำดับ ซึ่งอยู่ในระดับที่ไม่เกิดผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนอย่างเป็นนัยส�ำคัญ ดังนั้นบริษัทและบริษัทยอย จึงยังไม่จ�ำเป็นต้องทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศล่วงหนา เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนนี้
99
ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินรวม 9,996.8 ล้านบาท คิดเป็น 64% ของ หนี้สินรวม อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ส่วนใหญ่เป็นแบบลอยตัว (Float rate) โดยหากอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นหรือลดลงทุก 0.25% จะส่งผลให้บริษัท และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นหรือลดลงประมาณปีละ 16 ล้านบาท
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) เชื่อมั่นว่าระบบและกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทที่ดีมีส่วนส�ำคัญในการน�ำมาซึ่ง ความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืนแก่ผู้ถือหุ้น จึงได้จัดท�ำเอกสารฉบับนี้ขึ้น โดยได้ประมวลนโยบายและข้อปฏิบัติหลักๆ ที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน จะต้องยึดถือในการปฏิบัติหน้าที่ของตนตามความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย โดยอิงหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดี 6 ประการคือ 1. Accountability คือ ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระท�ำของตนเอง และสามารถชี้แจง/อธิบายการตัดสินใจได้ 2. Responsibility คือ ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ 3. Equitable Treatment คือ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรมต่อทุกฝ่าย และมีค�ำอธิบายได้ 4. Transparency คือ ความโปร่งใสในการด�ำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 5. Vision to create long term value คือ การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว 6. Ethics คือ การมีจริยธรรม/จรรยาบรรณ ในการประกอบธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ จะใช้ความพยายามอย่างที่สุดเท่าที่ท�ำได้ที่จะดูแลให้มีการปฏิบัติตามนโยบายและ ข้อปฏิบัติที่ระบุไว้อย่างเคร่งครัด โดยจะติดตาม และปรับปรุงให้เหมาะสมกับเวลาและสถานการณ์สอดคล้องกับประโยชน์และความคาดหวังของผู้ถือหุ้นอยู่ตลอดเวลา คณะกรรมการบริษัทฯ หวังว่า เอกสารนี้จะแสดงให้เห็นความชัดเจนของเจตนารมณ์ ความโปร่งใสและความมุ่งมั่นของคณะกรรมการที่จะก�ำหนดแนวทาง และก�ำกับดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯให้เป็นที่เชื่อมั่นของผู้ถือหุ้นว่าผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นได้รับการดูแลอย่างดีที่สุด
( นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ ) ประธานกรรมการ พฤศจิกายน 2554
100
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ องค์ประกอบและการแต่งตั้ง คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒทิ มี่ คี วามรู้ความสามารถ มีทกั ษะ ประสบการณ์ดา้ นธุรกิจอย่างกว้างขวาง และมีวสิ ัยทัศน์ ซึง่ เป็นผู้ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยคณะกรรมการจะมีการเลือกประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการอืน่ ในจ�ำนวนทีเ่ หมาะ สมกับขนาดของกิจการของบริษัทฯ และกับการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ 1. คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมคร จะเลือกกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนเป็น รองประธานกรรมการก็ได้ คณะกรรมการอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฎิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทน คณะกรรมการก็ได้ 3. ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ไม่เป็นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีการแบ่งแยกบทบาทอย่างชัดเจนและมีการถ่วงดุลอ�ำนาจในการ ด�ำเนินงาน 4. การแต่งตั้งกรรมการบริษัทให้เป็นไปตามกฏหมาย ข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยจะต้องด�ำเนินการด้วยความโปร่งใสและชัดเจน 1. กรณีที่มีกรรมการครบวาระออกจากต�ำแหน่งกรรมการ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งกรรมการโดยบุคคลที่ได้รับคะแนนสูงสุดตาม ล�ำดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่ากับจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน ในที่ประชุมออกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด 2. กรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเนือ่ งจากเหตุอนื่ นอกจากการครบวาระออกจากต�ำแหน่งกรรมการให้คณะกรรมการพิจารณาแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มี คุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฏหมายเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการทีพ ่ น้ จากต�ำแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการซึง่ ตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่
คุณสมบัติ 1. กรรมการต้องเป็นบุคคลธรรมดา และ • บรรลุนิติภาวะ • ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ • ไม่เคยรับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ได้กระท�ำโดยทุจริต • ไม่เคยถูกลงโทษไล่ออก หรือปลดออกจากราชการ หรือองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริตต่อหน้าที่ 2. กรรมการต้องมีความรู้สามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีคุณธรรมมีความซื่อสัตย์ และมีเวลาอย่างเพียงพอ ที่จะอุทิศให้กับการปฎิบัติหน้าที่กรรมการอย่างเต็มที่ 3. กรรมการสามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในกิจการอืน่ ได้ แต่ตอ้ งไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการของ บริษทั โดยก�ำหนดให้กรรมการ ควรด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 บริษัท 4. ห้ามมิให้กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกิจการของบริษัท หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จ�ำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด หรือเป็นกรรมการของบริษัทเอกชนหรือบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพ อย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทไม่ว่าจะท�ำเพื่อประโยชน์ผู้อื่นเว้นแต่จะแจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนมีมติแต่งตั้ง 5. กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจากการควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และต้องไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ ส่วนเสียกับการตัดสินใจของผู้บริหาร ทั้งนี้ คุณสมบัติความเป็นอิสระของกรรมการมีดังนี้ • ถือหุ้นไม่เกิน 0.5% ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง ทั้งนี้ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย • ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจ�ำ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง • ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฏหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย
101
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ • ไม่มีหรือเคยมีสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะ ที่อาจขัดขวาง การใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะพ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคแรก รวมถึงการท�ำรายการทางการค้าที่กระท�ำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงินด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การ ให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สินรวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือคู่สัญญามีภาระหนี้สินที่ต้องช�ำระต่ออีก ฝ่ายหนึ่งตั้ง 3% ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนี้ ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ ท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าวให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน • ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะพ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ นได้รบั การแต่งตัง้ • ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฏหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกิน กว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการทางวิชาชีพ เป็นนิตบิ คุ คลให้รวมถึงการเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ นั้นด้วย เว้นแต่จะพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง • ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท • ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือ บริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือ เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกิน 1 %ของจ�ำนวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย • ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับ เดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะได้
วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 1. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรง เป็นสามส่วนไม่พอดี ให้ออกจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 2. กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้จบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการ คนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากต�ำแหน่ง ทัง้ นี้ กรรมการทีค่ รบก�ำหนดวาระ อาจได้รบั การพิจารณาเลือกตัง้ ให้เป็นกรรมการบริษทั ต่อไปได้ นอกจากการพ้นต�ำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากต�ำแหน่งเมื่อ • เสียชีวิต • ลาออก • ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฏหมายหรือข้อบังคับของบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออกจากต�ำแหน่ง ด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ ถือหุ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง • ศาลมีค�ำสั่งให้ออก 3. กรรมการที่ประสงค์จะลาออกจากต�ำแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัท 4. กรรมการอิสระสามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระในการให้ความเห็นและปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะกรรมการอิสระของบริษัท
หน้าที่และความรับผิดชอบ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติคณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) ความระมัดระวัง (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมีจริยธรรม (Ethic) โดยค�ำนึง ถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 2. ก�ำหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ แผนงานและงบประมาณประจ�ำปีของบริษัท โดยมีการติดตามผลการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของบริษัทอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด และสามารถจัดการอุปสรรคปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันเวลา 102
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ 3. พิจารณาอนุมัติรายการที่ส�ำคัญตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ตามที่กฏหมายและข้อบังคับของบริษัทก�ำหนดรวมถึงพิจารณา อนุมัติงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่มีวงเงินมากกว่า 100 ล้านบาท 4. พิจารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั งิ านตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการตามความเหมาะสมและความ จ�ำเป็น โดยมีการติดตามผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อยอย่างสม�่ำเสมอ 5. กรรมการที่เป็นอิสระควรใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระในการพิจารณาก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตั้งกรรมการและ การก�ำหนดมาตรฐานในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งพร้อมที่จะคัดค้านการกระท�ำของฝ่ายจัดการหรือกรรมการอื่น ในกรณีที่มีความเห็นขัดแย้งใน เรื่องที่มีผลกระทบต่อความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย 6. จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เชื่อถือได้ ทันเวลา และเท่าเทียมกัน 7. จัดให้มีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 8. จัดให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถประเมิน ติดตาม และบริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญได้ 9. จัดให้มีเลขานุการบริษัทเพื่อช่วยดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการและช่วยให้คณะกรรมการและบริษัทปฎิบัติให้เป็นไปตามกฏหมายและ ข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง 10. จัดให้มีจรรยาบรรณธุรกิจของกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน เพื่อเป็นมาตรฐานแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท 11. จัดให้มกี ารด�ำเนินงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และสนับสนุนให้มกี ารสือ่ สารไปสูท่ กุ คนในบริษทั ให้ได้รบั ทราบยึดถือปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง 12. จัดให้มีกระบวนการที่ชัดเจนและโปร่งใสเกี่ยวกับการท�ำรายการระหว่างกัน 13. จัดให้มีกระบวนการที่ชัดเจนในการรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ เมื่อพบหรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายการหรือ การกระท�ำ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัท คณะกรรมการต้องด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 14. จัดให้มีการก�ำหนดผลการสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท 15. จัดให้มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายและแผนงานที่ส�ำคัญต่างๆ ให้เป็นปัจจุบันและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจอย่างสม�่ำเสมอ 16. จัดให้มีการทบทวนและแก้ไขกฏบัตรคณะกรรมการบริษัทให้สอดคล้องกับภาวการณ์ 17. สามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจด้วยการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอกด้วยค่าใช้จ่ายบริษัท 18. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดเกี่ยวกับกิจการของบริษัทตามที่ผู้ถือหุ้นมอบหมาย
การประชุมของคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการต้องประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง โดยก�ำหนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี และอาจมีการประชุมวาระพิเศษตามความจ�ำเป็น 2. กรรมการอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป มีสิทธิร้องขอให้เรียกประชุม ทั้งนี้ ประธานกรรมการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจะต้องก�ำหนดวันประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันที่ได้รับการร้องขอ 3. การเรียกประชุมคณะกรรมการให้ประธานกรรมการหรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมายส่งหนังสือนัดประชุม โดยระบุวนั เวลา สถานที่ และกิจการทีจ่ ะประชุมไป ยังกรรมการทุกคนล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ� เป็นรีบด่วนเพือ่ รักษาสิทธิประโยชน์ของบริษทั จะแจ้งการนัดประชุม โดยวิธีอื่น และก�ำหนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ 4. การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ทั้งนี้ประธาน กรรมการจะท�ำหน้าที่เป็นประธานในการประชุม หากในการประชุมคราวใดประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม 5. การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการ ให้ถือเสียงข้างมากโดยกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน และถ้าคะแนนเสียงเท่า กันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มมากขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ทั้งนี้ กรรมการที่มีส่วนได้เสียในวาระใดไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในวาระนั้น 6. คณะกรรมการมีอำ� นาจเชิญฝ่ายจัดการ ผูบ้ ริหาร หรือ บุคคลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั มาให้ความเห็นเข้าร่วมประชุม หรือให้ขอ้ มูลเพือ่ ประกอบ การพิจารณา 7. กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารต้องประชุมร่วมกัน โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ 8. ให้เลขานุการบริษัทหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายท�ำหน้าที่จดบันทึกการประชุม
การรายงาน กรรมการต้องรายงานผลการด�ำเนินงานให้ผู้ถือหุ้นทราบในแบบแสดงข้อมูลประจ�ำปี (แบบ56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ของบริษัท โดยมี รายละเอียดอย่างน้อยตามที่กฏหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องก�ำหนด
คณะกรรมการย่อย คณะกรรมการบริษทั ฯ มีอำ� นาจแต่งตัง้ กรรมการจ�ำนวนหนึง่ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นกรรมการในคณะกรรมการทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ แต่ง ตั้งขึ้นเพื่อท�ำหน้าที่พิเศษตามที่ได้รับมอบหมายจ�ำนวน 2 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นดังกล่าวมีอ�ำนาจให้ฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมชี้แจงหรือจัดท�ำรายงานเสนอและว่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อให้ค�ำแนะน�ำการด�ำเนิน การได้ตามที่เห็นสมควร โดยบริษัทฯเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย คณะกรรมการแต่ละคณะมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งตามวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการบริษัทฯ
103
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในภารกิจตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั โดยปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้ขอบเขตของ กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล โดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน สอบทานหลักฐานการไต่สวนภายในเมื่อมีข้อสงสัยหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่อง ส�ำคัญในระบบการควบคุมภายใน และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาต่อไป และคณะกรรมการตรวจสอบยังมีหน้าทีพ ่ จิ ารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบ บัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน หรือตามจ�ำนวนทีก่ ำ� หนดโดยประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการและกรรมการตรวจสอบ โดยทัง้ หมดต้องมีคณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการทีเ่ ป็นอิสระ สามารถใช้ดลุ ยพินจิ ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ ได้รับมอบหมายด้วยความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม และมีคุณสมบัติตามที่ก�ำหนดในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. กรรมการตรวจสอบต้องมีความรู้ และประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะท�ำหน้าทีใ่ นฐานะกรรมการตรวจสอบ ทัง้ นีต้ อ้ งมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพียง พอที่สามารถท�ำหน้าที่สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ ในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงจะครบองค์ประชุม กรรมการตรวจสอบมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละไม่เกิน 3 ปี หรือมีวาระเท่ากับจ�ำนวนทีย่ งั คงมีอยูใ่ นคณะกรรมการบริษทั กรรมการทีพ ่ น้ ต�ำแหน่ง ตามวาระมีสิทธิได้รับเลือกกลับเข้ามาใหม่ได้ ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากการออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ บริษัทแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจ�ำนวนครบตามที่ก�ำหนด โดยบุคคลที่รับต�ำแหน่ง แทนนั้นจะด�ำรงต�ำแหน่งเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่รับต�ำแหน่งแทน ให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในของบริษัทเป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่เตรียมและจัดการประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบ ตลอดจนประสานงานให้มกี ารรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในคณะกรรมการตรวจสอบ และชอบที่จะเสนอผู้ช่วยได้ คณะกรรมการตรวจสอบก�ำหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เพื่อพิจารณางบการเงิน การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์และกฎหมายบริษทั มหาชน การเรียกประชุมให้ท�ำเป็นหนังสือเชิญประชุมไปยังกรรมการตรวจสอบไม่นอ้ ยกว่า 5 วัน ก่อนวันประชุม โดยก�ำหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี กรรมการตรวจสอบทุกท่านจะต้องเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบไม่ต�่ำกว่า 3 ใน 4 ของจ�ำนวนครั้งที่มีการประชุมในปีนั้นๆ
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนให้มีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน ประกอบด้วย กรรมการอิสระหรือกรรมการภายนอกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของกรรมการ และในการประชุมแต่ละครั้งต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และต้องมีกรรมการอิสระหรือ กรรมการภายนอกร่วมประชุมอย่างน้อย 1 คน จึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี แต่วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการแต่ละคนนั้นจะอยู่ ในต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท โดยจะต้องได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท กรรมการที่พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งใหม่ได้ คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนต้องจัดให้มีการประชุมตามความจ�ำเป็นและสมควรแก่หน้าที่รับผิดชอบตามข้อบังคับเกี่ยวกับคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะต้องแจ้งก�ำหนดการ ประชุมไว้ล่วงหน้า รวมถึงจัดส่งวาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุมให้ล่วงหน้าในเวลาอันสมควร เพื่อให้กรรมการได้พิจารณาเอกสาร ก่อนถึงวันประชุมพร้อมทั้งเสนอและรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบภายหลังจากมีการประชุมคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนในแต่ละครั้ง
หน้าที่และความรับผิดชอบในการสรรหา 1. เสนอนโยบายการคัดเลือกและสรรหากรรมการ โดยต้องมีวธิ กี ารและหลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจนเป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพือ่ น�ำเสนอให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณา แล้วจึงเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. เสนอนโยบายการคัดเลือกและสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยต้องมีวิธีการหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อน�ำเสนอให้ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. ทบทวนและน�ำเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัทในเรื่องเกี่ยวกับนโยบายและกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งควรสอดคล้องกับกลยุทธ์ใน การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท 4. สรรหา คัดเลือกและเสนอชือ่ บุคคลทีท่ รงคุณวุฒิ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรมและคุณสมบัตเิ หมาะสมทีส่ มควรได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการและหรือ กรรมการผู้จัดการใหญ่แล้วแต่กรณี 5. ทบทวนสัดส่วน จ�ำนวน และประสบการณ์ของกรรมการบริษัท รวมถึงให้ข้อเสนอแนะในการสรรหากรรมการแทนต�ำแหน่งที่ว่างลง 6. ดูแลให้มีแผนสืบแทนต�ำแหน่งที่เฉพาะเจาะจงของกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 7. วางข้อก�ำหนดต่างๆในสัญญาจ้างกรรมการผู้จัดการใหญ่รวมทั้งประเมินผลงานและเสนอแนะผู้สืบแทนต�ำแหน่ง
104
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ หน้าที่และความรับผิดชอบในการก�ำหนดค่าตอบแทน 1. ก�ำหนดนโยบายและรูปแบบการให้ผลประโยชน์ตอบแทนกรรมการ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยต้องมีวิธีการและ หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรมและสมเหตุผล เพื่อน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา แล้วจึงเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. ก�ำหนดนโยบายและรูปแบบการให้ผลประโยชน์ตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยต้อง มีวิธีการและหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. เสนอแนะแนวทางและวิธกี ารจ่ายค่าตอบแทนทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงิน หรือค่าตอบแทนรูปแบบอืน่ ให้แก่คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดอืน่ ทีค่ ณะ กรรมการบริษัทแต่งตั้ง รวมถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัท 4. พิจารณาและทบทวนโครงสร้างและระบบการจ่ายค่าตอบแทนและอัตราค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับสภาวะตลาด ณ ปัจจุบันและเหมาะสมกับผล การด�ำเนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ แล้วแต่กรณี 5. ดูแลปรับปรุงให้กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อบริษัท 6. ก�ำหนดวิธีการประเมินผลงานของกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อพิจารณาปรับค่าตอบแทนประจ�ำปี โดยค�ำนึงถึงหน้าที่ ความรับผิด ชอบและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องรวมถึงการให้ความส�ำคัญกับการเพิ่มมูลค่าของส่วนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว 7. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปีแก่กรรมการเพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายทีจ่ ะเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศทัง้ ด้านการเงินและไม่ใช่ดา้ นการเงิน ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษทั ฯ ที่ตรงต่อความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอ สม�่ำเสมอ ทันเวลา และแสดงให้เห็นถึงสถานภาพของการประกอบการและสถานภาพทางการเงินที่แท้จริง ของบริษัทฯ รวมทั้งอนาคตของธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทมุ่งมั่นที่จะดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสอย่าง เคร่งครัด จัดให้มหี น่วยงานโดยเฉพาะเพือ่ ท�ำหน้าทีส่ อื่ สารกับผูถ้ อื หุน้ และให้ความสะดวกแก่นกั ลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ทวั่ ไปอย่างเท่าเทียม กันและด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
การประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญแก่การประชุมผู้ถือหุ้น และมีนโยบายที่จะอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นทุกคนอย่างเท่าเทียมกันในการเข้าร่วม ประชุม การได้รับข้อสนเทศ ซักถามและการใช้สิทธิ์ออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เป็นนโยบายของบริษัทฯ ที่คณะกรรมการบริษัทจะต้องจัดท�ำรายงานประจ�ำปี และเสนอผลการด�ำเนินงานแก่ผู้ถือหุ้นในที่ประชุมสามัญประจ�ำปี และ พร้อมที่จะเสนอเรื่องส�ำคัญๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและจะจัดการให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อสนเทศ อย่างครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลา เพื่อการตัดสินใจ สนับสนุนและอ�ำนวยความสะดวกแก่การออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งการออกเสียงลงคะแนน โดยการมอบฉันทะ สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและเปิดโอกาสให้ขอค�ำอธิบายหรือตั้งค�ำถามใดๆ และกรรมการมีหน้าที่เข้าร่วมประชุม เพื่อตอบค�ำถามผู้ถือหุ้นโดยพร้อมเพรียงกัน คณะกรรมการบริษัทต้องจัดให้มีการจัดท�ำรายงานการประชุมให้เสร็จสมบูรณ์และแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ เร็วที่สุดเท่าที่จะ ท�ำได้แต่ไม่เกิน 14 วัน นับจากวันประชุม
การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั จัดให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีค่ รอบคลุมทุกด้าน ทัง้ ด้านการเงินการปฏิบตั งิ าน การด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการบริหารความเสี่ยง และจัดให้มีกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปกป้องรักษา และดูแลเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและสินทรัพย์ของบริษัทฯ อยู่เสมอ จัดให้มีการก�ำหนดล�ำดับขั้นของอ�ำนาจอนุมัติและความรับผิดชอบของผู้บริหาร และพนักงาน ก�ำหนดระเบียบการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร มีส�ำนักตรวจสอบภายในท�ำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน ทั้ง หน่วยงานธุรกิจและหน่วยงานสนับสนุนให้เป็นไปตามที่วางไว้ รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายในของหน่วยงาน นั้นๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการดูแลให้ส�ำนักตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถท�ำหน้าที่ตรวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ และให้รายงานตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำตามเวลาที่ก�ำหนดไว้
จริยธรรมธุรกิจ ในการด�ำเนินธุรกิจให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะให้ความส�ำคัญเท่าเทียมและควบคู่กันไประหว่างความ ส�ำเร็จตามเป้าหมายและรูปแบบและวิธีการที่ใช้ในการให้ได้มาซึ่งความส�ำเร็จนั้นๆ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดข้อประพฤติปฏิบัติส�ำหรับการประกอบธุรกิจขึ้นไว้ส�ำหรับให้กรรมการผู้บริหาร และพนักงานยึดถือในการปฏิบัติงาน และได้รวบรวมข้อพึงปฏิบัติดังกล่าวจัดท�ำเป็นเอกสาร “คู่มือจริยธรรมธุรกิจ” ขึ้นเพื่อให้เกิดความชัดเจน สะดวกแก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ที่จะได้รับทราบถึงมาตรฐานการปฏิบัติที่บริษัทฯ คาดหวัง นับตั้งแต่การปฏิบัติต่อพนักงาน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่งขันทางการค้า และต่อสังคมส่วนรวม ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีกลไกและกระบวนการที่จะดูแลให้มีการปฏิบัติ อย่างจริงจังโดยเคร่งครัด
105
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายละเอียดกรรมการบริษัท ชื่อ/ ต�ำแหน่ง
106
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว กับผู้บริหารอื่น
ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน
ประสบการณ์
1. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ • ประธานกรรมการ
69 • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสื่อสาร มวลชน คณะมนุษย์ศาสตร์มหา วิทยลัยรามค�ำแหง • ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรม เครื่องกล South West Essex Technical College สหราช อาณาจักร • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 1 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร การจัดการสมัยใหม่ รุ่นที่ 1 • ปี 2551 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
2.75%
น้องบุคคลที่ 2 พี่บุคคลที่ 3,4,5 อาบุคคลที่ 6
• ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โพสต์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่ม เซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลกาเม้นท์แฟค ทอรี่ จ�ำกัด
• นายกสมาคมรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • กรรมการสภามหาวิทยาลัย รามค�ำแหง • ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา • กรรมการ สมาคมการค้า ไทย อุตสาหกรรม เพื่อการ ท่องเที่ยว • ผู้ก่อตั้ง, นายกสมาคม สมาคมผู้ค้าปลีกห้างสรรพ สินค้า • สมาชิก สมาคมนักเรียนเก่า อังกฤษ • ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด • ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด • เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการ ผู้น�ำเข้า และเป็นเจ้าของ คนแรกที่ น�ำบาร์โค๊ดมาใช้ใน ประเทศไทย ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
2. นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ • รองประธานกรรมการ
71 • ปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขา บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย • ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรม โยธา Kingston College of Technology ประเทศอังกฤษ • ปี 2549 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • ปี 2543 หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)
3.74%
พี่บุคคลที่ 1,3,4,5 อาบุคคลที่ 6
• ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัล พัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลกาเม้นท์ แฟคทอรี่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จ�ำกัด
• รองประธานกรรมการบริหาร, ประธานอ�ำนวยการฝ่ายการ เงิน และบัญชี บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บริษัท ห้างเซ็นทรัล ดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด • ผู้จัดการสาขา ห้างเซ็นทรัล สาขาสีสม • ผู้ช่วยจัดการสาขา ห้าง เซ็นทรัล สาขาสีลม
3. นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ • กรรมการ
66 • ปริญญาตรี สาขาบัญชี จาก เซ็นโยเซฟ คอลเลจ ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 11 • ปี 2547 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • ปี 2546 หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND), หลักสูตร Board and CEO Assessment • ปี 2543 หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)
0.83%
น้องบุคคล ที่ 1,2 พี่บุคคลที่ 4,5 อาบุคคลที่ 6
• กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการ มูลนิธิเตียง จิราธิวัฒน์
• ประธานกรรมการบริหารและ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัทเซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท บิ๊กซี ซูปเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานสมาคม ผู้ค้าปลีกไทย • ประธานคณะกรรมการธุรกิจ ค้าปลีก หอการค้าไทย • ที่ปรึกษา สภาหอการค้าแห่ง ประเทศไทย • กรรมการ, เหรัญญิก มูลนิธิ เพื่อสิ่งแวดล้อม
4. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ • กรรมการ
66 • ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ St. John Fisher College ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปี 2550 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), หลักสูตร Director Certification Program (DCP)
1.63%
พี่บุคคลที่ 5 น้องบุคคลที่ 1,2,3 อาบุคคลที่ 6
• ประธานกรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้า • ประธานกรรมการบริหาร โรบินสันจ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เซ็นทรัลมาร์เก็ตติ้ง • กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา กรุ๊ป จ�ำกัด จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการผู้จัดการ • กรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล บริษัท เซ็นทรัล จ�ำกัด กาเมนท์แฟคทอรี่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล • กรรมการผู้จัดการ กาเมนท์แฟคทอรี่ จ�ำกัด บริษัท ปริญญ์ อินเตอร์เทรด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล จ�ำกัด คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้า เชียงใหม่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จ�ำกัด
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายละเอียดกรรมการบริษัท ชื่อ/ ต�ำแหน่ง
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษา
ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว กับผู้บริหารอื่น
ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน
ประสบการณ์
5. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ • กรรมการ • กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน
64 • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Operations Research) IONA University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) University of Maryland (College Park) สหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 13 ปี 2546 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)
1.04%
น้องบุคคลที่ 1,2,3,4 อาบุคคลที่ 6
• ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • รองประธานกรรมการ บริษัท ห้างสรรพ สินค้าโรบินสัน จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จ�ำกัด • กรรมการอิสระ บริษัท จัสมิน อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด(มหาชน) • กรรมการ บริษัท เดอะวินเทจคลับ จ�ำกัด
• กรรมการ สภาหอการค้าไทย • นายกสโมสร สโมสรโรตารี่ บางเขน • ประธานกรรมการ บริษัท คอฟฟี่ พาร์ทเนอร์ส จ�ำกัด (Starbucks ประเทศไทย) • นายกและผู้ก่อตั้งสมาคม ศูนย์การค้าไทย • กรรมการผู้จัดการใหญ่, ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวง พาณิชย์
6. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน • ์กรรมการ • กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน
49 • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี Skidmore Collage ประเทศ สหรัฐอเมริกา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 22 • หลักสูตรการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา ฝ่ายอ�ำนวยการ รุ่นที่ 73 จาก สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจ สาธารณะ ส�ำหรับนักบริหาร ระดับสูง รุ่นที่ 4 จาก สถาบัน พระปกกล้า • ปริญญาบัตร สถาบันวิทยาการ ตลาดทุน รุ่นที่ 1 • ปี 2553 หลักสูตร Advanced Audit Committee Program • ปี 2552 หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM), หลักสูตร Monitoring of Quality of Financial Reporting (MFR) • ปี 2551 หลักสูตรกระบวนการผู้ บริหาร ความยุติธรรมระดับสูง (บยส) รุ่นที่ 13 • ปี 2550 หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA), หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) • ปี 2549 หลักสูตร Chief Financial Officer • ปี 2548 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), หลักสูตร Audit Committee Program (ACP), หลักสูตร The Role of Chairman (RCP) • ปี 2543 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)
2.71%
หลานบุคคลที่ 1,2,3,4,5
• ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท หลักทรัพย์ บัวหลวง จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท มาลีสามพราน จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เดอะวินเทจคลับ จ�ำกัด • ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI) • คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย
• กรรมการ บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท อินทร ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริหาร บริษัท อินเตอร์ไลฟ์ จอห์นแฮนคอค ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เจเนอรัล คาร์ดซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการบริหาร บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด (มหาชน) • เจ้าหน้าที่ฝ่ายวาณิชธนกิจ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนชาติ จ�ำกัด (มหาชน)
• ประธานกรรมการ บริษัท ส้มบิน จ�ำกัด • รองประธานกรรมการ บริษัทร่วมทุน สตางค์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ดรั๊ก ดีเวลลอปเม้ท์ จ�ำกัด
• กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัย มหิดล • ที่ปรึกษา สภาอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย • ที่ปรึกษา คณบดี คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล
70 • ปริญญาโท สาขา 7. นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ วิศวกรรมศาสตร์ • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการ ตรวจสอบรรม • New South Wale • การสรรหา University ประเทศ และก�ำหนดค่าตอบแทน ออสเตรเลีย • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ • The University of Sydney ประเทศออสเตรเลีย • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร • หลักสูตรรุ่นเอกชน รุ่นที่ 8
107
สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
-
-
รายละเอียดกรรมการบริษัท ชื่อ/ ต�ำแหน่ง
108
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว กับผู้บริหารอื่น
ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน
ประสบการณ์
8. ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ • กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการ สรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการ ตรวจสอบ
59 • นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต กฎหมายเอกชน จากมหาวิทยาลัยเมืองกอง ประเทศฝรั่งเศส • ประกาศนียบัตรทางกฏหมาย อเมริกันจาก มหาวิทยาลัย วิสคอนซิน (เมดิสัน), สหรัฐอเมริกา • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • ปี 2548 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP), หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
-
-
• กรรมการ บริษัท ดีแอลเอ ไปเปอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เคนท็อป (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซีเอส แอนด์ ซีวี จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ฮุนได เมอร์ชานมารีน (ประเทศไทย) จ�ำกัด
• ทนายความ และกรรมการผู้จัดการ บริษัท คูแดร์ บราเทอร์ส จ�ำกัด • ทนายความ ส�ำนักงาน ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
9. นายวิเชฐ ตันติวานิช • กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ
50 • Executive Leadership Program, Nida Wharton, Pennsylvania, USA • MBA, Finance & Marketing, University of Hartford Connecticut, USA • เศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์การเงินและการ คลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 1 สถาบันวิทยาการตลาด ทุน (วตท.) • ปี 2553 หลักสูตรผู้บริหาร ระดับสูงด้านการค้าและพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 3 • ปี 2552 Certified Financial Planner (CFP) ปี 2543 หลักสูตร Director Certificate Program (DCP)
-
-
• ประธานกรรมการบริหาร สถาบันพัฒนา ผูป้ ระกอบการ เพือ่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั สยาม ฟิวเจอร์ ดีเวลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) • ทีป่ รึกษา ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (MAI) • รองประธานคณะกรรมการอ�ำนวย การ สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • กรรมการบริหาร บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน) • ผูท้ รงคุณวุฒิ ด้านเศรษฐกิจ ตลาดทุน บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) • ทีป่ รึกษา คณะอนุกรรมาธิการตลาดเงิน ตลาดทุน การประกันภัย และสถาบันการเงิน • ทีป่ รึกษา คณะกรรมการกฎหมายและกฎ ระเบียบ ประจ�ำปี 2552-2554 สมาคมประกัน วินาศภัย • “ทีป่ รึกษา สมาคมไทย-ญีป่ นุ่ “ • กรรมการและประธานด้านคณะท�ำงาน ด้านธุรกิจการเงินหอการค้านานาชาติ ประเทศไทย (International Chamber of Commerce-Thailand) • กรรมการอิสสระ, ประธานอนุกรรมการ โครงสร้างองค์กร และทรัพยากรมนุษย์, ประธานอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง, อนุกรรมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ,ี อนุกรรมการวิจยั และพัฒนา, อนุกรรมการ ก�ำกับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และอนุกรรมการบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศ ธนาคารเพือ่ การเกษตร และ สหกรณ์การเกษตร
• นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการ สถาบันพัฒนา ผู้ประกอบการเพื่อเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • อนุกรรมการ ด้านส่งเสริม และสนับสนุนรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ • สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ • ที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ พัฒนาทรัพย์สินของการ รถไฟ แห่งประเทศไทย • กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บรรษัทประกัน สินเชื่อ อุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) • ประธานจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จ�ำกัด ในเครือตลาดหลักทรัพย์ แห่ง ประเทศไทย
10. นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ • กรรมการอิสระ • กรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน
72 • ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย บอสตัน สหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 2 • สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 1 • ปริญญาบัตรสถาบันวิทยาการ ตลาดทุน รุ่นที่ 10 (วตท. 10) ปี 2549 หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) • ปี 2547 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)
-
-
• ประธานกรรมการ บริษัท ภัทรสาธิต จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ฟิล์มเมเนีย พลัส จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เอเซียไฟเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เตชะไพบูลย์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อุเทนแคปปิตอล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ซีบี ริชาร์ดเอลริส (ประเทศไทย) จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยเฮ้าส์ซิ่ง ดีเวลลอป เม้นท์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท วรวัฒน์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เศรษฐการ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ประชานุเคราะห์ จ�ำกัด
• รองประธานกรรมการ ธนาคารศรีนคร จ�ำกัด • สมาชิกวุฒิสภา ที่ปรึกษาผู้แทนการค้าของไทย (ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล) • ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา (พลเอกธีรเดช มีเพียร) • ประธานกิตติมศักดิ์ สภา หอการค้าแห่งประเทศไทย และหอการค้าไทย • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • ประธานกรรมการ บริหาร เงินกองทุนของมหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ • ประธานกรรมการ บริษัท โตเกียวมารีนศรีเมืองประกัน ภัย จ�ำกัด
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายละเอียดกรรมการบริษัท ชื่อ
109
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดส่วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (%)
ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว กับผู้บริหารอื่น
ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน
ประสบการณ์
• ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่าย วานิชธนกิจ หัวหน้าคณะท�ำงาน ด้านการควบรวมกิจการ บริษัท หลักทรัพย์ เมอริล ลินซ์ ภัทร จ�ำกัด (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท หลักทรัพย์ภัทร จ�ำกัด)
11. นายครรชิต บุนะจินดา • กรรมการ
44 • Kellogg Graduate School Management Northwestern University ภายใต้โครงการ แลกเปลี่ยน สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาการเงิน และธุรกิจระหว่างประเทศสถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมศาสตร์ (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส/ สมาคมส่งเสริม สถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • ปี 2552 หลักสูตร Director Luncheon Briefing (DLB), หลักสูตร Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR), หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA), หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) • ปี 2549 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) • ปี 2548 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • ปี 2546 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)
-
-
• รองกรรมการผู้จัดการ • บริษัท ไพรเวทอิควิตี้ ประเทศไทย จ�ำกัด (บริษัทในเครือลอมบาร์ด อินเวสเม้นต์ กรุ๊ป) • กรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรูวิชั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการร่วม Asian Corporate Governance Association, Hongkong
12. มร. เกิร์ด เคิร์ท สตีบ • กรรมการผู้จัดการใหญ่
68 • Hotel and Catering School Bad Ueberkinger, Germany • Senior Hotel Management Institute Heidelberg, Germany • Diploma/Bachelor of Business Administration (equivalent) Vice President Students Organisation
-
-
-
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
• รองประธานบริหาร, รอง ประธาน ฝ่ายปฏิบัติการ Centara Hotels & Resorts • ผู้จัดการทั่วไป, ผู้จัดการทั่วไปและผู้จัดการ ภาคพื้นดิน กลุ่มแอคคอร์
ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
รายชื่อผู้ถือหุ้น กองทุนเพื่อการร่วมลงทุน (Thailand Equity Fund) บริษัท เตียง จิราธิวัฒน์ จ�ำกัด นางณัฐธีรา บุญศรี นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิลักษณ์ จิราธิวัฒน์ คุณหญิงสุจิตรา มงคลกิติ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายทศ จิราธิวัฒน์ นายนิติ โอสถานุเคราะห์
จ�ำนวนหุ้น 122,036,128 67,523,190 53,000,000 50,448,773 48,893,148 39,989,694 37,123,646 36,613,816 36,182,192 36,129,511
จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด (%) 9.04 5.00 3.93 3.74 3.62 2.96 2.75 2.71 2.68 2.68
กลุ่มตระกูลจิราธิวัฒน์มีการถือหุ้นในบริษัทฯรวมกันเป็นสัดส่วน 63.19% ของทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้ว
รายชื่อกรรมการและผู้บริหารที่ถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัท รายชื่อกรรมการและผู้บริหารที่ถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัท ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
รายชื่อผู้ถือหุ้น นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักด์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ นางสุพัตรา จิราธิวัฒน์ นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ นายรณชิต มหัทธนะพฤทธิ์
จ�ำนวนหุ้น 50,448,773 37,123,646 36,613,816 22,055,095 13,977,754 11,182,054 10,326,576 5,875,506 158,831
จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด (%) 3.74 2.75 2.71 1.63 1.04 0.83 0.76 0.44 0.01
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่า 60% ของก�ำไรสุทธิหลังภาษีเงินได้ เว้นแต่หากมีการขยายกิจการ ก็อาจพิจารณา งดจ่ายเงินปันผลหรือจ่ายเงินปันผลต�่ำกว่า 60% ของก�ำไรสุทธิ
ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทได้มีนโยบายในการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการอย่างเป็นธรรมและสมเหตุสมผล โดยต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน โดยค�ำนึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผลการด�ำเนินงานของบริษัท และได้มีการเปรียบเทียบกับบริษัท อื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ค่าตอบแทนรวมที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2554 มีวงเงินไม่เกิน 7,000,000 บาท มีรายละเอียดดังนี้
ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
ประเภทค่าตอบแทน 1. ค่าตอบแทนประจ�ำไตรมาส (บาท/ไตรมาส) • ประธานกรรมการ • กรรมการ 2. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการ • กรรมการ 3. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการ • กรรมการ 4. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (บาท/ครั้ง) • ประธานกรรมการ • กรรมการ
จ�ำนวน (บาท) 50,000 37,500 25,000 20,000 25,000 24,000 17,000 16,000
ค่าตอบแทนรวมของคณะกรรมการซึ่งได้รับเงินค่าตอบแทนประจ�ำและค่าเบี้ยประชุมในปี 2554 รวมทั้งสิ้น 3,688,000 บาท ทั้งนี้ รายละเอียดการเข้าร่วม ประชุมและค่าตอบแทนกรรมการปี 2554 มีดังนี้ 110
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารบริษัท การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง) รายชื่อกรรมการ 1 2 3
นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์
ต�ำแหน่ง
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน กรรมการอิสระ 4 นางละเอียด ว่องวงศ์ภพ (1) ประธานกรรมการตรวจสอบ 5 ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 6 นายวิเชฐ ตันติวานิช (2) กรรมการตรวจสอบ 7 นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน 8 นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน 9 นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน 10 นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ 11 นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ 12 นายครรชิต บุนะจินดา กรรมการ 13 นายเกริด เคิร์ก สตีป กรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
6/6 6/6 5/6
4/4
1/1
1/1
5/6
4/4
3/5
3/3
คณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน 4/4
ค่าตอบแทน (บาท/ปี) 350,000 350,000 413,000
82,500 4/4
414,000
244,500
6/6
3/4
318,000
5/6
3/4
298,000
5/6
3/4
298,000
5/6 6/6 5/6 6/6
250,000 270,000 250,000
150,000 3,688,000
หมายเหตุ (1.) ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 (2.) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 ค่าตอบแทนผู้บริหาร: ค่าตอบแทนผู้บริหาร 6 ราย ในปี 2554 ซึ่งได้รับเป็นเงินเดือน โบนัส และผลประโยชน์อื่นๆ เป็นเงินทั้งสิ้น 41,188,188 บาท ค่าตอบแทนอื่น (ก) เบี้ยเลี้ยงรับรองพิเศษ นอกจากค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน บริษัทได้ให้เบี้ยเลี้ยงรับรองพิเศษในการมาใช้บริการที่ห้องอาหารของโรงแรม แก่กรรมการบริษัทท่านละ 40,000 บาท โดยในปี 2554 ค่าเบี้ยเลี้ยงรับรองที่กรรมการทุกท่านใช้ไปจริงมีจ�ำนวน 261,057 บาท (ข) เงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทมีโครงการกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับพนักงานคนไทยทุกคนที่ท�ำงานครบ 6 เดือนมีสิทธิได้เข้าเป็นสมาชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยอัตโนมัติ โดยบริษัทจะหักเงินดังกล่าวจากบัญชีเงินเดือนของพนักงานและบริษัทจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเท่ากับส่วนเงินสะสมของพนักงาน ที่ถูกหัก
111
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ในปี 2554 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบ บัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาเป็นจ�ำนวนเงิน รวม 7,370,000 บาท 2. ค่าบริการอื่น ในปี 2554 บริษัทย่อยจ่ายค่าที่ปรึกษาด้านการเงินและภาษีอากรส�ำหรับการประเมินสินทรัพย์สุทธิก่อนท�ำการซื้อกิจการให้แก่กิจการที่เกี่ยวข้อง กับผู้สอบบัญชีของบริษัท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 954,650 บาท
112
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให้องค์กรมีศกั ยภาพ ในการแข่งขันทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว นอกจากนีก้ ารก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ยี งั ช่วยสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่นกั ลงทุน สถาบันการเงิน พันธมิตรทางธุรกิจ และ ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในการด�ำเนินธุรกิจอันจะน�ำไปสู่การเพิ่มมูลค่าของผู้ถือหุ้นและประโยชน์ที่สมดุลร่วมกันของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท คณะกรรมการ บริษัทได้ก�ำหนดหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ทั้งนี้ คณะ กรรมการได้มีการทบทวนและปรับปรุงหลักการก�ำกับดูแลกิจการให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ บริษัทเผยแพร่นโยบายดังกล่าวผ่านเว็บไซต์ของบริษัทที่ http://www.centarahotelsresorts.com และมีการสื่อสารแนวทางปฏิบัติที่ดีสอดคล้องกับ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ผ่านสือ่ ภายในของบริษทั เช่นป้ายประชาสัมพันธ์ โดยนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ปี ระกอบด้วย 5 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1. หมวดที่ 2. หมวดที่ 3. หมวดที่ 4. หมวดที่ 5.
สิทธิของผู้ถือหุ้น การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
•
• • • • •
บริษัท ตระหนักและให้ความส�ำคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้ก�ำหนดไว้ในนโยบายการก�ำกับดูแลแลกิจการที่ดี และได้ก�ำหนดแนวทางด�ำเนินการต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้นจะได้รับความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานอันได้แก่ การได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งการใช้ สิทธิลงคะแนนในเรื่องที่ส�ำคัญๆ ของบริษัท ดังนี้ ด�ำเนินการให้ผู้ถือหุ้นได้รับสิทธิพื้นฐานและได้รับการปฎิบัติในการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ได้แก่สิทธิในการซื้อขายหรือโอนหุ้น สิทธิ ที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ชัดเจน สิทธิในการเข้าร่วมประชุมและลงมติอนุมัติการเข้าท�ำรายการที่ส�ำคัญ สิทธิในการเลือกตั้งกรรมการที่จะเข้า มาบริหารบริษัทเป็นรายบุคคล สิทธิในการก�ำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท สิทธิในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนดค่าสอบบัญชี สิทธิ ในการได้รับเงินปันผล บริษัทมอบให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหุ้นของบริษัทเป็นผู้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อน วันประชุม 9 วัน หนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ และเอกสารประกอบทีส่ ง่ ให้ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าจะมีรายละเอียดระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อม ความเห็นของคณะกรรมการ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม บริษัทน�ำหนังสือนัดประชุมไว้ในเวปไซต์ของบริษัท (http://www.centarahotelsresorts.com) ก่อนวันประชุม 30 วัน ส่วนรายงานการประชุมผู้ถือ หุ้นที่จัดในปี 2554 ได้น�ำไป Post ไว้หลังวันประชุม 14 วัน บริษัทให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุมผู้ถือหุ้นภายหลังเริ่มการประชุมแล้วมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในระเบียบวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและ ยังไม่ได้ลงมติ ในการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานคณะกรรมการชุดต่างๆ จะเข้าประชุมผู้ถือหุ้นครบทุกท่านเพื่อตอบค�ำถามที่ประชุมซึ่งประธานที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้ผู้ ถือหุ้นทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการด�ำเนินงานของบริษัท สอบถาม แสดงความคิดเห็น และได้แจ้งวิธีการที่จะใช้ในการนับคะแนนให้ ผู้ถือหุ้นทราบก่อนลงคะแนน ซึ่งท�ำให้สามารถรวบรวมคะแนนเสียงได้อย่างถูกต้อง โปร่งใส และตรวจสอบได้ รวมทั้งได้มีการบันทึกการประชุมถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้
2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทให้ความส�ำคัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม 1) บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอเพิม่ ระเบียบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ลว่ งหน้าก่อนการประชุม ซึง่ ได้ประกาศแจ้งให้ทราบโดยทัว่ กันผ่านช่อง ทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยล่วงหน้าก่อนการประชุม รวมทัง้ ได้แจ้งให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าจะรับเรือ่ งทีเ่ สนอมานัน้ อย่าง ชัดเจน โดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทด้วย 2) เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอชือ่ บุคคล เพือ่ เข้ารับเลือกเป็นกรรมการซึง่ ผูท้ ไี่ ด้รบั การเสนอชือ่ จะต้องมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามข้อสรุปคุณสมบัติ กรรมการบริษทั เพือ่ บริษทั จะได้ดำ� เนินการตามกระบวนการสรรหาผ่านทางคณะกรรมการสรรหาต่อไปซึง่ บริษทั ได้ประกาศแจ้งการรับเสนอชือ่ รวมถึง หลักเกณฑ์ต่างๆผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญประจ�ำปีโดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท ด้วย ทั้งนี้การคัดเลือกกรรมการในที่ประชุม บริษัทจัดให้มีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล 3) ด�ำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมเสมอ และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าเพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระก่อนการตัดสินใจ 4)ื เสนอรายชื่อของกรรมการอิสระทั้งหมดในหนังสือมอบอ�ำนาจฉันทะรูปแบบที่สามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนได้ให้แก่ผู้ถือหุ้น เพื่อสนับสนุนให้ ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดการลงคะแนนเสียงได้เองรวมทั้งเป็นทางเลือกในการมอบฉันทะและมีโอกาสเลือกมอบฉันทะแก่กรรมการอิสระคนใดคนหนึ่ง 5) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบวาระ โดยจัดท�ำบัตรลงคะแนนแยกตามเรื่องที่ส�ำคัญๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนน ได้ตามทีเ่ ห็นสมควร ซึง่ จะมีการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพือ่ น�ำผลคะแนนมารวมค�ำนวณกับคะแนนเสียงทีไ่ ด้ลงไว้ลว่ งหน้าในหนังสือ มอบฉันทะก่อนที่จะประกาศแจ้งมติของคะแนนเสียงในห้องประชุมในที่สุด
113
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 6) บนั ทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานการประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกรายภายหลังจากทีไ่ ด้จดั ส่งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ และ ก.ล.ต.แล้วหลังการประชุมเสร็จสิ้น 14 วันเสมอ และได้เผยแพร่รายงานดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูงจะ ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์เมื่อแรกเข้ารับต�ำแหน่งและรายงานทุกครั้งเมื่อมีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ภายใน 3 วันท�ำการต่อ ก.ล.ต. และห้าม กรรมการและผู้บริหารรวมถึงพนักงานที่ได้รับทราบข้อมูลภายในท�ำการซื้อขายโอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือนก่อนและหลังวัน ที่ในงบการเงินเผยแพร่สาธารณชน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้จัดท�ำข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและพนักงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องยึดถือเป็นแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ ตามภาระกิจของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม ทั้งการปฏิบัติต่อบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้ • พนักงาน - บริษัทได้ปฏิบัติและดูแลพนักงานด้วยความเป็นธรรมและให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มธุรกิจด้วยกัน • เจ้าหนี้ - บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลง • ลูกค้า - บริษัทเอาใจใส่ดูแลและรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการแก่ลูกค้าตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ รักษาความลับลูกค้า และมีหน่วยงานหรือบุคคลที่ ท�ำหน้าที่รับข้อร้องเรียนของลูกค้า เพื่อเร่งด�ำเนินการแก้ไขให้โดยเร็วที่สุด • คู่แข่ง - บริษัทประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี รักษาบรรทัดฐานข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขัน ไม่มีการน�ำเอากลยุทธ์การตัดราคาคู่แข่งขันหรือ กลยุทธ์ใดๆ ที่ไม่สุจริตเพื่อท�ำลายคู่แข่งมาปฏิบัติ • ชุมชน - บริษัทมีการสนับสนุนโครงการและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมอย่างสม�่ำเสมอ เช่น การร่วมกับ UNICEF ในโครงการ Youth Career Development Program การช่วยกันท�ำความสะอาดพื้นที่โดยรอบโรงแรมของพนักงาน และการบริจาคโลหิต 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส การเปิดเผยสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มีความส�ำคัญต่อการก�ำกับดุแลกิจการที่ดี บริษัทให้ความส�ำคัญกับข้อมูลข่าวสารที่ต้องแจ้งแก่ตลาดหลัก ทรัพย์ฯ และผู้ถือหุ้นทั้งในด้านของความถูกต้อง ความเพียงพอ ความรวดเร็ว และความเท่าเทียมกันของการให้ข้อมูลแก่ทุกกลุ่มซึ่งการจัดเตรียมข้อมูล ดังกล่าว เป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ และฝ่ายกิจการสัมพันธ์ คอยดูแลให้ข้อมูลและตอบข้อซักถาม สารสนเทศที่ส�ำคัญของบริษัทประกอบด้วยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงินในปี 2554 การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่วน ของงบการเงินนั้น ได้ผ่านการสอบทาน/ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีว่าถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการบริษัทก่อนเปิดเผยแก่ผู้ถือหุ้น ส�ำหรับการเปิดเผยข้อมูลที่ไม่ใช่ทางการเงินนั้น บริษัทได้เปิดเผย รายการระหว่างกัน บทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รวมถึงรายงานการก�ำกับดูแลกิจการไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบ 56-1 เป็นต้น ข้อมูลต่างๆ ของบริษัทที่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชนรวมถึงผู้ถือหุ้นและนักลงทุนแล้ว จะเผยแพร่ไว้ในเว็บไซด์ของบริษัท เช่น รายงานประจ�ำปีแบบ 56-1 หนังสือเชิญและรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ผลการด�ำเนินงานทีน่ ำ� เสนอต่อนักวิเคราะห์รายไตรมาส บริษทั ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และจ�ำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าร่วมประชุม และเปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับ สูงไว้ในรายงานประจ�ำปีและแบบ 56-1 ด้วย บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใสซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยา บรรณธุรกิจมาโดยตลอดและมีความมุ่งมั่นที่จะทุ่มเทในการด�ำเนินการอย่างดีที่สุด
นักลงทุนสัมพันธ์ คณะกรรมการตระหนักดีว่า ข้อมูลของบริษัททัง้ ที่เกี่ยวกับการเงินและทีไ่ ม่ใช่การเงินล้วนมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียงของ บริษทั จึงได้กำ� ชับให้ฝา่ ยบริหารด�ำเนินการในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลทีค่ รบถ้วน เชือ่ ถือได้ สม�ำ่ เสมอ และทันเวลา ซึง่ ฝ่ายบริหารของบริษทั ได้ให้ความ ส�ำคัญและยึดถือปฏิบตั มิ าโดยตลอด ในส่วนของงานด้านผูล้ งทุนสัมพันธ์นนั้ บริษทั ได้จดั ให้มหี น่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์โดยเฉพาะ โดยได้มอบหมายให้รอง ประธานอาวุโสฝ่ายบริหารและการเงินและคณะท�ำหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับ ผูล้ งทุนสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์และภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ผูล้ งทุนสามารถติดต่อ ขอทราบข้อมูลบริษัทได้ที่โทรศัพท์ 66 (0) 2769-1234 ต่อ 6640 หรือ e-mail address: siwichayali@chr.co.th ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมในปี 2554 เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ สู ง ของบริ ษั ท รวมถึ ง ส่ ว นงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ไ ด้ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ แยกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมบริษัทจดทะเบียนพบนักลงทุนร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Opportunity day) ไตรมาสละครั้ง เพื่อแถลงผลการ ด�ำเนินงานรายไตรมาส 2. การเข้าพบผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าทีน่ กั ลงทุนสัมพันธ์โดยการนัดหมายจากนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เพือ่ สอบถามข้อมูลบริษทั (Company Visit) จ�ำนวน 46 ครั้ง 3. การจัดพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์กลุ่มย่อยจ�ำนวน 5 ครั้ง 4. การสัมภาษณ์ และประชุมทางโทรศัพท์ จ�ำนวน 581 ครั้ง 5. การเดินทางพบปะนักลงทุน (Road Show) จ�ำนวน 12 ครั้ง 114
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 6. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ องค์ประกอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่านประกอบด้วย • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน • กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 6 ท่าน • กรรมการอิสระ 4 ท่าน โดยประวัติกรรมการแต่ละท่านปรากฎตามเอกสารแนบ
คณะอนุกรรมการ บริษัทมีการแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการ เพื่อช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ทั้งนี้คณะกรรมการเห็นว่านายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ เป็นกรรมการอิสระที่มี ความรู้ด้านบัญชีและการเงินจึงได้แต่งตั้งให้เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 5 ท่าน ท�ำหน้าที่ก�ำหนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหา และก� ำ หนดค่ า ตอบแทนที่ จ� ำ เป็ น และเหมาะสมส� ำ หรั บ คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เพื่ อ เสนอแก่ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ
การแยกต�ำแหน่งประธานและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รวมทั้งการก�ำหนดหน้าที่ บริษทั ก�ำหนดให้ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เลือกตัง้ มาจากกรรมการบริษทั และเป็นคนละบุคคลกันเสมอ และประธานกรรมการเป็นตัวแทน ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 63.19 ของหุ้นทั้งหมด โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่ด้านนโยบาย การติดตามประเมินผล และการบริหารงานออกจาก กัน ประธานกรรมการมีภาวะผู้น�ำและบทบาทหลักในการดูแลให้การท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการเป็นอิสระจากฝ่ายผู้บริหาร ก�ำหนดระเบียบวาระการประชุม ตามหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ท�ำหน้าที่ประธานในที่ประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้นอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการสนับสนุนและผลักดัน ให้กรรมการทุกคนมีส่วนร่วมในการประชุม
เลขานุการบริษัท บริษัทได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัท มีหน้าที่ด�ำเนินการดังนี้ 1. จัดเตรียมและจัดเก็บเอกสารของคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ รายงานการประชุม คณะกรรมการและผู้ถือหุ้น และรายงานประจ�ำปีของบริษัทรวมถึงงบการเงินรายไตรมาสของบริษัท 2. จัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้บริหารของบริษัท 3. แนะน�ำกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานและความรับผิดชอบของกรรมการ 4. ด�ำเนินการอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการได้จัดให้มีมาตรการเพื่อดูแลอย่างรอบคอบเมื่อมีรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีการก�ำหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติ รายการที่เกี่ยวโยงกันไว้อย่างชัดเจนและถือปฎิบัติอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะสอบทานและให้ความเห็นต่อการท�ำรายการระหว่างกันที่มี นัยส�ำคัญซึง่ ไม่อยูใ่ นอ�ำนาจการพิจารณาของคณะกรรมการจัดการ และคณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ สูงสุดของบริษัทเป็นส�ำคัญ ซึ่งคณะกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและงดออกเสียงในการพิจารณาวาระดังกล่าว คณะกรรมการมีการก�ำหนดมาตรการในการเปิดเผยข้อมูลการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี โดยมี เลขานุการบริษัทเป็นผู้รวบรวมข้อมูลและรายงานต่อคณะกรรมการ
115
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งมีลักษณะรายการเป็นปกติและเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป และมีการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันตามอ�ำนาจด�ำเนินการของบริษัท โดยมี รายละเอียดตามแนบ มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน บริษัทในฐานะที่เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาตั้งแต่ปี 2533 ได้ตระหนักดีถึงความจ�ำเป็นในการเปิดเผยข้อมูล และการด�ำเนินการอย่างโปร่งใสในการท�ำรายการระหว่างกันมาโดยตลอด ทั้งนี้ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 78 (1/2555) ซึ่งได้ประชุม เมือ่ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 ทีป่ ระชุมได้รบั ทราบถึงรายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในปี 2554 รวมทัง้ ได้พจิ ารณาถึงความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการดังกล่าวแล้ว โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้นเหมาะสมและสมเหตุสมผล ส�ำหรับรายการระหว่างกันที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต บริษัทได้ก�ำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเป็นผู้พิจารณาและให้ความเห็นต่อ รายการดังกล่าว ซึง่ รายการระหว่างกันในอนาคตขึน้ อยูก่ บั เหตุผลและความจ�ำเป็นของบริษทั การรับและจ่ายค่าตอบแทนระหว่างกันจะต้องเป็นไปตาม ราคาตลาด ยุติธรรม และโปร่งใส นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกัน บริษัทมีนโยบายในการท�ำธุรกรรมกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เฉพาะในส่วนที่เป็นการประกอบธุรกิจตามปกติของบริษัท โดยให้มี การก�ำหนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินการค้าปกติ และเป็นราคาซึ่งไม่มีความแตกต่างจากบุคคลภายนอก ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2546 ซึง่ ได้ประชุมเมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2546 ทีป่ ระชุมได้กำ� หนดนโยบายและมาตรการอนุมตั ริ ายการ ระหว่างกัน โดยให้เป็นไปตามขัน้ ตอนการอนุมตั ติ ามปกติ แต่กรรมการหรือผูบ้ ริหารจะต้องไม่ทำ� การอนุมตั ริ ายการทีบ่ ริษทั กระท�ำกับตนเองหรือบุคคล ที่มีความเกี่ยวข้องกับตนเอง หากมีรายการดังกล่าวเกิดขึ้นจะต้องเปิดเผยรายการดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อท�ำการพิจารณา และจะไม่มี สิทธิออกเสียงในการอนุมตั ทิ ำ� รายการนัน้ ๆ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั จะต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อืน่ ใดในอนาคต บริษทั จะได้ให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความจ�ำเป็นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ในกรณีทกี่ รรมการ ตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัท เป็นผู้ให้ความ เห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการตรวจสอบ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ในการเปิดเผยรายการระหว่างกันนัน้ บริษทั จะปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รวมทั้งให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีเรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง
116
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
117
5
4
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายได้ค่าเช่าและค่าบริการรับ จาก บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล ผู้เช่า : บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล (ประกอบธุรกิจศูนย์การค้า ให้เช่าพื้นที่และอสังหาริมทรัพย์) ผู้ให้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่าน คือ 1) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 6) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่และการให้บริการแก่บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ ผู้เช่า - ผู้รับบริการ : บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า-ผู้ให้บริการ : บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 8 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 8) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่และบริการจาก บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา (ประกอบธุรกิจให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้าและอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 7 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. เซ็นทรัล ออนไลน์ ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. เซ็นทรัล ออนไลน์ (ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับจัดท�ำเว็บไซท์และจ�ำหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์
2
3
ค่าเช่าช่วงจ่ายล่วงหน้าและค่าเช่าช่วงที่ดินและอาคารโรงแรม โครงการเซ็นทรัลเวิลด์ ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 มี บมจ. เซ็นทรัลพัฒนาและบริษัทย่อยเป็นผู้ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 50% ของ หน่วยลงทุนทั้งหมด (หรือ 100% ของหน่วยลงทุนประเภท ค [Owner Type] ) โดยกลุ่มจิราธิวัฒน์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา
1
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
รายละเอียดรายการเกี่ยวโยง ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จาก บจ. เซ็นทรัล ออนไลน์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและ บจ. โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ เช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงาน อาคารส�ำหรับการประชุมและจัดนิทรรศการ และอาคารที่จอดรถจาก บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา เพื่อใช้ในการให้บริการแก่ ลูกค้าโรงแรม บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ศูนย์การค้าเพื่อใช้ในการ ขายอาหารและเครื่องดื่มของบริษัทย่อย โดยคิดอัตรา ค่าเช่าและค่าบริการ ต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือตามอัตราร้อยละของยอดขาย โดยมีสัญญาเช่าที่ ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ปเช่าพี้นที่ในอาคารเซ็นทรัลสีลม จาก บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ เพื่อใช้เป็นที่ท�ำการส�ำนักงานใหญ่ โดยคิด อัตราค่าเช่าและค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยมีสัญญาเช่า ที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
กิจการอาหาร 133,243,183 กิจการโรงแรม ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น 3,239,998 ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อ เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด กิจการอาหาร ซื้อจัดจ้าง 6,979,607
ค่าบริการไฟฟ้า 31,061,986
กิจการโรงแรม อัตราค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะ ค่าเช่าและค่าบริการ สมกับท�ำเลทีต่ งั้ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตรา 8,617,729 เดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป
ค่าเช่าจ่าย อัตราค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุตธิ รรม เหมาะสม 17,362,851 กับท�ำเลที่ตั้ง และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตรา เดียว กับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้า ทั่วไป
ค่าเช่ารับ อัตราค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม 14,279,198 เหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้ง และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก โดยมีสัญญาเช่าที่มีก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่า ค่าไฟฟ้าและบริการ เช่าที่ชัดเจน สาธารณูปโภค 17,158,582
กิจการอาหาร ค่าเช่าช่วงรายปี 11,798,764
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ จาก บจ.เซ็นทรัลเวิลด์ (เดิมชื่อ บจ.เวิลด์ เทรดพลาซ่า) เพื่อขายอาหารและ เครื่องดื่มโดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดค่าบริการ ต่อตารางเมตร ต่อเดือนในส่วนของค่าเช่าได้จ่ายให้กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ในอัตราค่าเช่าที่ ชัดเจน บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด (“CSH”) ได้ท�ำสัญญาให้เช่า และให้บริการกับบริษัทสรรพสินค้าเซ็นทรัล (สาขาหาดใหญ่) มีก�ำหนดเวลา 30 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 โดยบริษัท สรรพสินค้า เซ็นทรัล จ�ำกัด ได้ตกลงเช่าส่วนหนึ่งของอาคารของ CSH เพื่อใช้ประกอบกิจการ ศูนย์การค้า และ CSH ได้รับค่าเช่าและค่าบริการรับล่วงหน้า เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 428 ล้านบาท
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท) กิจการโรงแรม การตกลงเข้าท�ำรายการนี้มีความสมเหตุผล ค่าเช่าช่วงรายปี เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทและได้ตกลง 15,750,000 ท�ำรายการในราคาที่ยุติธรรมแล้ว
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2548 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงที่ดินและอาคารในส่วนของโรงแรมจาก กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 เพื่อพัฒนาและใช้ประกอบการด�ำเนินธุรกิจ เกี่ยวกับโรงแรมหรือธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง โดย CWH ต้องจ่ายค่าเช่า ล่วงหน้าและค่าเช่ารายปีให้แก่กองทุนตลอดอายุของสัญญาซึ่งสิ้นสุด วันที่ 22 ธันวาคม 2575 เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 1,188.75 ล้านบาท
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
118
11
10
9
8
7
6
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การซื้อสินค้าและการเช่าพื้นที่จาก บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง ผู้ซื้อ - ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย - ผู้ให้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เทรดดิ้ง (ประกอบธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าส�ำนักงานและ ให้เช่าพื้นที่) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 7 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. เพาเวอร์บาย ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. เพาเวอร์บาย (ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ 1) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้า, บริการ และการเช่าพื้นที่จาก บจ. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ ผู้ซื้อ - ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย - ผู้ให้เช่า : บจ. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ (ประกอบธุรกิจค้าปลีก และให้เช่าศูนย์การค้า) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 8 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 8) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. ออฟฟิซ คลับ (ไทย) ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. ออฟฟิซ คลับ(ไทย) (ประกอบธุรกิจอุปกรณ์เครื่องใช้ส�ำนักงาน) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ การซื้อบริการโฆษณาและหนังสือพิมพ์จาก บมจ.โพสต์ พับลิชซิ่ง ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บมจ. โพสต์ พับลิชซิ่ง (ประกอบธุรกิจสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าและเช่าพื้นที่จาก บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล ผู้ซื้อ - ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย - ผู้ให้เช่า : บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล (ประกอบธุรกิจซูเปอร์มาเก็ต และ ให้เช่าพื้นที่ ) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในท็อปส์ ซูเปอร์มาเก็ต จาก บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล เพื่อขายอาหาร และ เครื่องดื่ม โดยคิดค่าเช่า และบริการ ตามอัตราร้อยละของยอดขาย โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะ เวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อบริการเกี่ยวกับ การโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์และซื้อหนังสือพิมพ์จาก บมจ. โพสต์ พับลิชซิ่ง เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโรงแรมและร้านอาหาร โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์เครื่องเขียนและเครื่องใช้ส�ำนักงาน จาก บจ. ออฟฟิซ คลับ(ไทย) โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์ไฟฟ้า, เครื่องใช้ส�ำนักงาน ฯลฯ, และรับบริการปรึกษาทางด้าน กฎหมายบริการข้อมูลทางธุรกิจและค�ำแนะน�ำต่างๆ รวมทั้งเช่าพื้นที่ ในศูนย์การค้า จาก บจ.ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ ทั้งนี้ ราคาซื้อขายสินค้าและค่าบริการที่ปรึกษาคิดในอัตราราคาตลาด ส่วนอัตราค่าเช่าและค่าบริการคิดต่อตารางเมตรต่อเดือน และมี สัญญาที่ก�ำหนดระยะเวลา, อัตราค่าเช่า และค่าบริการที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์เครื่องเสียง เช่น ล�ำโพง, กล้องถ่ายรูป, เครื่องเล่น DVD จาก บจ. เพาเวอร์บาย โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (บริษัทย่อย) เช่าพื้นที่ จาก บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งคิดอัตราค่าเช่าเหมาจ่าย ต่อเดือนโดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภทอุปกรณ์เครื่อง ใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในร้านเช่น เครื่องบันทึกเงินสด, เครื่องคิดเลขไฟฟ้า, อะไหล่ และอุปกรณ์ฯลฯ จาก บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
ค่าสินค้า ค่าบริการ และค่าเช่า - บริการ เป็นราคา ยุติธรรม การสั่งซื้อและว่าจ้างเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของ การจัดซื้อจัดจ้าง
กิจการโรงแรม ราคาที่ ต กลงซื้ อ ขายเป็ น ราคาตลาดทั่ ว ไป และ 3,481,267 ยุติธรรม และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้ กิจการอาหาร เช่าคิดกับลูกค้า 4,287,465 ทั่วไป
กิจการโรงแรม ราคาที่ตกลงกันเป็นราคายุติธรรมและเป็นประโยชน์ 8,963,042 ของบริษัท การพิจารณาสัง่ ซือ้ - ว่าจ้าง เป็นไปตามระเบียบปฏิบตั ิ กิจการอาหาร ของการ จัดซื้อจัดจ้าง 5,182,297
กิจการโรงแรม ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น 750,637 ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด กิจการอาหาร ซื้อจัดจ้าง 3,030,890
กิจการอาหาร 1,020,000
กิจการโรงแรม ค่าบริการ 10,000,000 ค่าซื้อสินค้าและค่าเช่า 3,142,787
กิจการโรงแรม ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น 620,705 ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด กิจการอาหาร ซื้อจัดจ้าง 16,228
กิจการโรงแรม ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น 1,316,897 ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด ซื้อจัดจ้าง กิจการอาหาร 8,069,659 อัตราค่าเช่าเป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ ตั้งเป็นอัตรา เดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
119
17
16
15
14
13
12
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ค่าบริการเช่าพื้นที่จาก บจ. เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บจ. เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส (ประกอบธุรกิจให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า และบริการ) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่จาก บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ ผู้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า และบริการ) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่จาก บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ ผู้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า และบริการ) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่จาก บมจ. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ผู้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บมจ. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า และอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าและการเช่าพื้นที่จาก บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล ผู้ซื้อ - ผู้เช่า : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย - ผู้ให้เช่า : บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล (ประกอบธุรกิจศูนย์การค้า ให้เช่าพื้นที่ และอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 6) สุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่จาก บจ.เซ็นทรัลกาเมนท์แฟคทอรี่ ผู้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บจ. เซ็นทรัลกาเมนท์แฟคทอรี่ (ประกอบธุรกิจผลิตเสื้อผ้าส�ำเร็จรูปจ�ำหน่าย และให้บริการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ให้เช่าสถานที่) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า จาก บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล เพื่อขายอาหาร และเครื่องดื่ม โดยคิดค่าเช่า เป็นอัตราต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือตามอัตราร้อยละของยอดขาย ซึ่งอัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็นอัตราเดียวกับที่คิดกับลูกค้าทั่วไป โดยมี สัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่เพื่อเป็นโกดังเก็บของจาก บจ.เซ็นทรัลกาเมนท์แฟคทอรี่ โดยคิดอัตราค่าเช่าเป็นอัตราค่าเช่าต่อตาราง เมตร ต่อเดือน ซึ่งอัตราค่าเช่าดังกล่าว เป็นอัตราเดียวกับที่คิดกับลูกค้าทั่วไป โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ. สรรพสินค้า เซ็นทรัล เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าโรบินสัน จาก บมจ. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดอัตราค่าเช่าเป็นต่อตารางเมตรต่อเดือนซึ่งอัตราค่าเช่าดังกล่าว เป็นอัตราเดียวกับที่คิดกับลูกค้าทั่วไป โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในอาคารเซ็นทรัลบางนา จาก บจ.บางนา เซ็นทรัลพร็อพเพอตี้ เพื่อขายอาหาร และเครื่องดื่ม โดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดอัตราค่าเช่าและค่าบริการ ต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในศูนย์การค้าจาก บจ.เซ็นทรัล เรียลตี้ เซอร์วิส เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดอัตราค่าเช่า และค่าบริการ ต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือตามอัตราร้อยละของ ยอดขาย โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ จาก บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ (เดิมชื่อ บจ. เวิลด์ เทรดพลาซ่า) เพื่อขาย อาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดอัตรา ค่าเช่า และค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยมีสัญญาเช่าที่ ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย ใช้บริการสาธารณูปโภคจาก บจ. เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
877,200 อัตราค่าเช่าเป็นราคายุติธรรมเหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้ง และได้ตกลงท�ำรายการในราคาที่ยุติธรรมเดียวกับที่ ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป
กิจการโรงแรม ราคาที่ ต กลงซื้ อ ขายเป็ น ราคาตลาดทั่ ว ไป และ 1,751,733 ยุติธรรม และได้ตกลงท�ำรายการในราคาที่ยุติธรรมเดียวกับ กิจการอาหาร ที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป 22,583,497
34,703,868 อัตราค่าเช่าเป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้ง เป็นอัตรา เดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป
16,956,183 อัตราค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะ สมกับท�ำเลที่ ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็น อัตราเดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
10,544,704 อัตราค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะ สมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ ผู้ให้เช่าคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
กิจการโรงแรม ราคาที่ตกลงค่าบริการเป็นราคาตลาดทั่วไป และ 193,790 ยุติธรรม และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้ กิจการอาหาร เช่าคิดกับลูกค้า 1,782,106 ทั่วไป
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
120
23
22
21
20
19
18
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การซื้อบริการจาก บจ.เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น (ประกอบธุรกิจให้บริการให้ค�ำปรึกษา วางแผน และบริหาร การจัดการ) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล (ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับค้าปลีก) ความสัมพันธ์ มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ การเช่าพื้นที่จากบมจ. บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ ผู้เช่า : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ให้เช่า : บมจ. บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า และอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ การใช้บริการจาก บมจ. ทีที แอนด์ ที ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บมจ. ทีที แอนด์ ที ความสัมพันธ์ มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. บีทูเอส ผู้ซื้อ : บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. บีทูเอส (ประกอบธุรกิจจ�ำหน่ายเครื่องเขียน) ความสัมพันธ์ มีกรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ 1) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 3) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล ผู้ซื้อ : บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล (ประกอบธุรกิจซุเปอร์มาเก็ต และให้เช่าพื้นที่) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บจ. เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล ซื้อบริการห้องพัก - จัดเลี้ยง จาก บมจ. โรงแรม เซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าเกี่ยวกับ เครื่องเขียน จาก บจ.บีทูเอส โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าบิ๊กซี จาก บมจ. บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ เพื่อวางขายอาหาร และเครื่องดื่ม โดยคิดอัตราค่าเช่าเป็นอัตราค่าเช่าต่อตารางเมตร ต่อเดือน ซึ่งอัตราค่าเช่าดังกล่าวเป็นอัตราเดียวกับที่คิดกับลูกค้า ทั่วไป โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ใช้บริการโทรศัพท์และสื่อสารจาก บมจ.ทีที แอนด์ ที โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภทวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในร้านอาหาร เช่น บันไดอลูมิเนียม รถเข็น, เครื่องเป่ามือ จาก บจ.ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป ซื้อบริการเกี่ยวกับการวางแผนให้ ค�ำปรึกษาและบริหารคลังสินค้า จาก บจ.เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
160,727 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
23,945 ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุตธิ รรม และการสัง่ ซือ้ เป็นไปตามระเบียบปฏิบตั ิ ของการจัดซื้อจัดจ้าง
344,588 อัตราค่าบริการเป็นราคาตลาดเช่นเดียวกับที่คิดกับ บุคคลทั่วไป
กิจการโรงแรม ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น 5,605,477 ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อเป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด กิจการอาหาร ซื้อจัดจ้าง 3,323,928 270,325,020 อัตราค่าเช่าเป็นราคายุติธรรมเหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้ง และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้ เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป
1,096,404 ผู้ให้บริการมีความสามารถและประสบการณ์ที่เหมาะ สม ราคาที่ ตกลงกันเป็นราคายุติธรรม และการพิจารณาว่าจ้าง เป็นไปตาม ระเบียบของบริษัท
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
121
28
27
26
25
24
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ผู้ซื้อ : บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา (ประกอบธุรกิจให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า และอสังหาริมทรัพย์) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 7 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บมจ.โพสต์ พับลิชซิ่ง ผู้ซื้อ : บมจ. โพสต์ พับลิชซิ่ง (ประกอบธุรกิจสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านคือ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บจ. เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปอเรชั่น ผู้ซื้อ : บจ.เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปอเรชั่น (ประกอบธุรกิจให้บริการให้ค�ำปรึกษาวางแผนและบริหารการจัดการ) ผู้ขาย : บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 7 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บจ.สรรพสินค้าเซ็นทรัล ผู้ซื้อ : บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล (ประกอบธุรกิจ ศูนย์การค้า ให้เช่าพื้นที่และอสังหาริมทรัพย์) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจากบจ.ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ ผู้ซื้อ : บจ. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ (ประกอบธุรกิจค้าปลีกและให้เช่าศูนย์การค้า) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 8 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 8) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บจ. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ ซื้อบริการห้องพักจัดเลี้ยง จาก บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการเช่าร้านค้า อาหารและเครื่องดื่ม ให้กับ บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บจ. เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปเรชั่น ซื้อบริการห้องพัก - จัดเลี้ยง จาก บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ให้บริการห้องพักและ ขายอาหารและเครื่องดื่มให้กับ บมจ. โพสต์ พับลิชซิ่ง โดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด
บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ซื้อบริการห้องพัก - จัดเลี้ยง จาก บมจ. โรงแรม เซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
184,530 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
38,780 อั ต ราค่ า บริ ก ารเป็ น ราคายุ ติ ธ รรม เช่ น เดี ย วกั บ ลูกค้าทั่วไป
672,298 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
11,466 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
3,918,321 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
122
34
33
32
31
30
29
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
การซื้อบริการจาก บจ. เซ็นทรัล เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. เซ็นทรัล เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ (ประกอบธุรกิจให้บริการอบรมและสัมมนาภาษี) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 5 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายธีระเดช จิราธิวัฒน์ 5) นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ การซื้อบริการโฆษณาจาก บจ. โพสต์-เอซีพี (เดิมชื่อบจ. ฮาเชท ฟิลิปปาคิ โพสต์-เอซีพี) ผู้ซื้อ : บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (ประกอบธุรกิจให้บริการร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. ฮาเชท ฟิลิปปาคิ โพสต์-เอซีพี (ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ ผู้ซื้อ : บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าพื้นที่ศูนย์การค้าและบริการ) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย (ประกอบธุกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าเช่าพื้นที่และค่าบริการ จาก บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง ผู้ซื้อ : บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง (ประกอบธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าส�ำนักงานและให้เช่าพื้นที่) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 7 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการอาหารและเครื่องดื่มจาก บจ. เซ็นทรัลวัตสัน ผู้ให้บริการ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้รับบริการ : บจ. เซ็นทรัลวัตสัน ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ การซื้อสินค้าจาก บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด (ประกอบธุรกิจศูนย์การค้า ให้เช่าพื้นที่และอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 6 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 4) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 6) สุทธิชาติ จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท เครื่องใช้ ส�ำนักงาน เช่น เครื่องเขียน จาก บจ. สรรพสินค้าเซ็นทรัล (สาขาหาดใหญ่)
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อยให้บริการอาหารและเครื่องดื่มกับ บจ.เซ็นทรัลวัตสันโดยคิดราคาตลาดทั่วไป
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการอาหารและเครื่องดื่มกับ บจ. เซ็นทรัล เทรดดิ้ง โดยคิดราคาในอัตราตลาดทั่วไป
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการอาหารและเครือ่ งดืม่ กับ บจ.เซ็นทรัลเวิลด์ โดยคิดราคาในอัตราตลาดทั่วไป
บจ. เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป ลงโฆษณาในนิตยสาร Cleo ซึ่งเป็นนิตยสาร เกี่ยวกับวัยรุ่นของ บจ. โพสต์-เอซีพี โดยคิดอัตราค่าโฆษณา เป็นอัตราค่าโฆษณาต่อเดือน ซึ่งอัตราค่าโฆษณาดังกล่าวเป็นอัตราเดียวกับที่ คิดกับลูกค้าทั่วไป โดยมีสัญญาโฆษณาที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าโฆษณา ที่ชัดเจน
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ซื้อบริการเกี่ยวกับการอบรมสัมมนาภาษีอากร จาก บจ. เซ็นทรัล เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
16,462 ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุตธิ รรมและ การสัง่ ซือ้ เป็นไปตามระเบียบปฏิบตั ิ ของการจัดซื้อจัดจ้าง
499,500 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
221,283 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
371,008 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
324,000 ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม ที่ ดี มี ค วามเข้ า ใจใน ผลิตภัณฑ์ของบริษัท และตรงกับกลุ่มลูกค้า อัตรา ค่าโฆษณาเป็นราคายุติธรรม
กิจการอาหาร 133,626
กิจการโรงแรม ผู้ให้บริการมีความรู้ดี 67,030 ค่าบริการเป็นราคาตลาดเช่นเดียวกับลูกค้าทั่วไป
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
123
37
36
35
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
รายการระหว่างกันในปี 2554 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้น
การซื้อสินค้าจาก บจ. ซีอาร์ซี สปอร์ต ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. ซีอาร์ซี สปอร์ต (ประกอบธุรกิจค้าอุปกรณ์กีฬา, เสื้อ, กางเกง, รองเท้ากีฬา) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ 1) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 2) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ รายได้ค่าบริการห้องพักและอาหารจาก บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ ผู้ซื้อ : บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า) ผู้ขาย : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 8 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 8) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ การซื้อบริการจาก บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ ผู้ซื้อ : บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย (ประกอบธุรกิจให้บริการโรงแรมและร้านอาหาร) ผู้ขาย : บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ (ประกอบธุรกิจให้เช่าศูนย์การค้า) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน 8 ท่าน คือ 1) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 2) นายวันชัย จิราธิวัฒน์ 3) นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 4) นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ 5) นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ 6) นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ 7) นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ 8) นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์
รายการ / รายละเอียดของผู้ท�ำรายการ
ลักษณะรายการ/ การคิดอัตราสินค้าและบริการ
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ เพื่อให้บริการแก่ลูกค้า โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ให้บริการห้องพัก - จัดเลี้ยงกับ บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซ่าและบริษัทย่อยซื้อสินค้าจาก บจ. ซีอาร์ซี สปอร์ต เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
686,763,517
14,505 ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุติธรรม และการสั่งซื้อ เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติของการจัด ซื้อจัดจ้าง
622,674 อัตราค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้ บริการคิดกับ ลูกค้าทั่วไป
21,092 ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุตธิ รรมและ การสัง่ ซือ้ เป็นไปตามระเบียบปฏิบตั ิ ของการจัดซื้อจัดจ้าง
มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (บาท)
ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครองจำ�นวนหุ้น 10% ขึ้นไป บริษัท
จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว 1,850,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ บริษัทถือ 1,183,104 หุ้น
2. บริษทั เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีชรีสอร์ท เลขที่ 38/2 ม. 3 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย สมุย (203 ห้อง) จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 230-500 โทรสาร : (077) 230-522
12,500 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
12,493 หุ้น
100.0%
3. บริษัท เซ็นทรัลสมุยวิลเลจ จ�ำกัด เลขที่ 111 หมู่ 2 ต�ำบลมะเร็ต อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 424-020 โทรสาร : (077) 424-022
โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย (102 ห้อง)
550,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
549,994 หุ้น (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทรัลสมุย บีชรีสอร์ท จ�ำกัด)
100.0%
4. พ�ำกเลขที่ 3 ถนนเสน่หานุสรณ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ : (074) 352-222 โทรสาร : (074) 352-223
โรงแรมโนโวเทลเซ็นทารา หาดใหญ่ (248 ห้อง)
1,450,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
1,449,994 หุ้น (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทรัล โฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด)
100.0%
5. บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด เลขที่ 701 ถนนปฏัก ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 286-300 โทรสาร : (076) 286-316
โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต (72 ห้อง)
375,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
374,994 หุ้น
100.0%
6. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ จ�ำกัด โรงแรมเซ็นทาราแม่สอดฮิลล์ รีสอร์ท 190,000 หุ้น เลขที่ 100 ถ.สายเอเชีย (120 ห้อง) มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก หุ้นละ 1,000 บาท โทรศัพท์ : (055) 532-601 โทรสาร : (055) 532-600
186,996 หุ้น (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทรัล โฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด)
98.4%
7. บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 396-396/1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : (075) 637-789 โทรสาร : (075) 637-800
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ (193 ห้อง)
5,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
4,999,993 หุ้น
100.0%
8
บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด เลขที่ 502/3 ถนนปฏัก ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 396-200-5 โทรสาร : (076) 396-491
โรงแรมเซ็นทารากะรน รีสอร์ท ภูเก็ต (335 ห้อง)
5,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
2,599,995 หุ้น (ถือหุ้นทางตรง 1,799,995 หุ้น (34.6%) โดยบริษัท และถือหุ้นทางอ้อม 1,600,000 หุ้น (15.4%) โดยบริษัท โรงแรมกะ ตะภูเก็ต จ�ำกัด)
50.0%
9
บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด เลขที่ 54 ถนนเกศขวัญ ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 370-300 โทรสาร : (076) 333-462
โรงแรมเซ็นทารากะตะ รีสอร์ท ภูเก็ต (158 ห้อง)
1,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
600,000 หุ้น
50.0%
1. บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 1 ถ.ด�ำเนินเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทรศัพท์ : (032) 512-021 โทรสาร : (032) 511-099
124
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ประเภทธุรกิจ โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทารา แกรนด์รีสอร์ทและวิลลาหัวหิน (248 ห้อง)
สัดส่วน การถือหุ้น (%) 63.9%
ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครองจำ�นวนหุ้น 10% ขึ้นไป บริษัท
125
ประเภทธุรกิจ
จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว
จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ บริษัทถือ
สัดส่วนการ ถือหุ้น (%) 100.0%
10 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 100-1234 โทรสาร : (02) 100-1235
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (512 ห้อง)
20,000,000 หุ้น 19,999,993 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้ว หุ้นละ 100 บาท 10,000,000 หุ้น 80 บาท 10,000,000 หุ้น
11 บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 38/2 ม. 3 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 230-500 โทรสาร : (077) 230-522
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีช รีสอร์ท ภูเก็ต (262 ห้อง)
2,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
2,499,994 หุ้น
100.0%
12 บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด ลงทุนในบริษัทอื่น เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
2,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
2,499,993 หุ้น
100.0%
13 บริษัท เซ็นทรัลบริการซักรีด จ�ำกัด เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
15,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
14,994 หุ้น (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนช เม้นท์ จ�ำกัด)
100.0%
14 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเกาะกูด จ�ำกัด เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
โรงแรมเซ็นทาราเกาะกูด
1,200,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
1,199,993 หุ้น
100.0%
15 บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
799,994 หุ้น
100.0%
16 บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
360,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
359,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์ รีสอร์ท จ�ำกัด)
100.0%
17 บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
799,993 หุ้น
100.0%
18 บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ หาดฝรั่งรีสอร์ท จ�ำกัด ไม่ได้ประกอบกิจการ เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
885,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
884,994 หุ้น
100.0%
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครองจำ�นวนหุ้น 10% ขึ้นไป บริษัท
126
ประเภทธุรกิจ
จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว
จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ บริษัทถือ
สัดส่วนการ ถือหุ้น (%) 100.0%
19 บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ลงทุนในบริษัทอื่น และรับบริหารโรงแรม
1,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
1,499,996 หุ้น
20 Regent Maldives Pvt. Ltd. 4th Floor Rowville, Fareedhi Magu Maafannu, Republic of Maldives Tel : + 960 330 6566 Fax : + 960 330 9796
โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ ไอร์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ (112 ห้อง/วิลลา)
17,990 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 778.21 ดอลลาร์สหรัฐ
4,498 หุ้น (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทารา อินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด)
25.0%
21 บริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
9,994 หุ้น
100.0%
22 บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนเวนชัน และเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท
9,994 หุ้น
100.0%
23 บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนเวนชัน และเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232
ไม่ได้ประกอบกิจการ
1,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 25 บาท
999,997 หุ้น
100.0%
24 Centara Maldives Pvt. Ltd. 2nd Floor (Eastwing), AAGE Henveiru, Male 20094 Republic of Maldives Tel : + 960 333 3644 Fax : + 960 331 5453
โรงแรมเซ็นทารา กีราวารู รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์
20,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐ เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 0.5 ดอลลาร์สหรัฐ
10,000,000 หุ้น ( ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทารา อินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด)
50.0%
25 Centara Egypt for Hotels Management Co., Ltd. 39 Bayrout Street, off El Orouba Road, Heliopolis, Cairo Tel : + 202 2795 8435 Fax : + 202 2794 763
ไม่ได้ประกอบกิจการ
20,000 shares at par of EGP 1 per share
19,600 shares (ถือหุ้นโดย บริษัท เซ็นทารา อินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด)
100.0%
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครองจำ�นวนหุ้น 10% ขึ้นไป บริษัท
127
ประเภทธุรกิจ
จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว
จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ บริษัทถือ
สัดส่วนการ ถือหุ้น (%) 100.0%
26 บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด เลขที่ 306 ถ.สีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 635-7930-9 โทรสาร : (02) 635-7940-1
ผู้รับสิทธิ์ในการประกอบการ 6,200,000 หุ้น เค เอฟ ซี, มิสเตอร์โดนัท, อานตี้ มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ แอนส์, เปปเปอร์ ลันซ์, เบียร์ด ปา หุ้นละ 100 บาท ปาส์, ชาบูตง,โคล์ด สโตน, ครีมเมอรี่, ริว ชาบู ชาบู, โยชิโนยะ, เดอะเทอเรส และ คาเฟ่อันโดนัน
6,199,991 หุ้น
27 บริษัท ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด เลขที่ 55/18 หมู่ 13 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท์ : (02) 909-2277-9 โทรสาร : (02) 529-4900
โรงงานผลิตไอศกรีม
16,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท
15,999,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็น ทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด)
100.0%
28 บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด ภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น “240/35 อาคารอโยธยาทาวเวอร์ ชั้น 18” “โอโตยะ ” ซอยรัชดาภิเษก 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 274-1724-27 โทรสาร : (02) 692-6634
1,797,600 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท
1,797,591 หุ้น
100.0%
29 กองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ชั้น 21-23 อาคารคอลัมน์ทาวเวอร์ เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 649-2000 โทรสาร : (02) 649-2100
ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
หน่วยลงทุน ของกองทุน 81,500,000 หน่วย มูลค่าหน่วยลงทุน หน่วยละ 10 บาท
หน่วยลงทุน ของกองทุน 19,500,000 หน่วย (ถือหุ้นโดยตรง 19,420,000 หน่วย และถือหุ้นโดย บริษัทย่อย 80,000 หน่วย)
23.9%
30 กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา 400/22 ชั้น 6 อาคารธนาคารกสิกรไทย ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 673-3999 โทรสาร : (02) 276-3900
ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
หน่วยลงทุน ของกองทุน 320,000,000 หน่วย มูลค่าหน่วยลงทุน หน่วยละ 10 บาท
หน่วยลงทุน ของกองทุน 81,093,500 หน่วย
25.3%
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท Home Page
ทุนเรือนหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนจดทะเบียน: 1,580,800,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,580,800,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว: 1,350,000,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,350,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท
ส�ำนักงานใหญ่ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา สถานที่ตั้ง 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ (02) 769-1234 โทรสาร (02) 769-1235
ส�ำนักงาน โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ (เปลี่ยนชื่อเป็น โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ เมื่อ 1 ม.ค. 2555) สถานที่ตั้ง 1695 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ (02) 541-1234 โทรสาร (02) 541-1087
128
สารบัญหลัก
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ธุรกิจบริการ เช่น โรงแรม ภัตตาคาร อาหาร และเครื่องดื่ม ฯลฯ 0107536001389 (เดิม บมจ. 212) http://www.centarahotelsresorts.com
รายงานประจำ�ปี 2554
A-
A-
A-
A-
A-
A-
A-
A-
CENT127A
CENT127B
CENT139A
CENT176A
CENT176B
CENT139B
CENT163A
CENT163B
129
300
500
400
500
500
1,000
1,000
600
จ�ำนวน (ล้านบาท)
09/08/2554
29/07/2554
03/09/2553
05/07/2553
23/06/2553
25/02/2553
24/07/2552
29/07/2552
วันที่ออกหุ้นกู้
4 ปี 7 เดือน
4 ปี 8 เดือน
3 ปี
6 ปี 11 เดือน 24 วัน
7 ปี
3 ปี 7 เดือน 5 วัน
3 ปี
3 ปี
อายุ (ปี)
4.75%
4.86%
3.40%
4.65%
4.65%
MLR -3%
6MFDR +2.805%
6MFDR +2.815%
อัตราดอกเบี้ย
-
-
-
-
-
-
-
-
หลักประกัน
3 เดือน
3 เดือน
3 เดือน
3 เดือน
3 เดือน
1 เดือน
6 เดือน
3 เดือน
รอบการจ่าย ดอกเบี้ย
09/03/2559
29/03/2559
03/09/2556
29/06/2560
23/06/2560
30/09/2556
24/07/2555
29/07/2555
วันครบก�ำหนด
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
2. บริษัทฯ จะไม่จ่ายเงินปันผลในแต่ละปีให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นจ�ำนวนเกินกว่า 60% ของผลก�ำไรสุทธิในปีนั้นๆ
1. บริษัทฯ ต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Interest - bearing debt to Equity Ratio) ในอัตราส่วนไม่เกิน 2 : 1 ณ วันสิ้นงวดบัญชีของแต่ละปี โดยค�ำนวณจากงบการเงินรวม
เงื่อนไขของผู้ออกหุ้นกู้
อันดับ เครดิตตราสารหนี้
หุ้นกู้
ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นกู้
300
500
400
500
500
1,000
1,000
600
ยอดคงเหลือ 31 ธ.ค. 2554
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4,6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (02) 359-1200-01 โทรสาร : (02) 359-1259
นายทะเบียนหุ้นกู้ ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 44 ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : (02) 626-7000 • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2555”(CENTEL127A) • “หุน้ กู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 4/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556”(CENTEL139B) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : (02) 544-1000 • • • •
“หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2552 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2555”(CENTEL127B) “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556”(CENTEL139A) “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560”(CENTEL176A) “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560”(CENTEL176B)
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : (02) 296-3582 • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559”(CENTEL163A) • “หุน้ กู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2554 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559”(CENTEL163B)
ผู้สอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด โดย คุณวิเชียร ธรรมตระกูล ทะเบียนเลขที่ 3183 ชั้น 50-51 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนนสาธรใต้ ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (02) 677-2000 โทรสาร : (02) 677-2222
ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จ�ำกัด ชั้น 22 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ เลขที่ 540 ถนนเพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : (02) 264-8000, (02) 657-2121 โทรสาร : (02) 657-2222 บริษัท บิซซิเนส แอ็ดไว.เซอรี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ชั้น 15 อาคารมณียา เลขที่ 518/5 ถนนเพลินจิต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : (02) 255-8977-8, (02) 251-2285 โทรสาร : (02) 254-4576
บริษัทจัดอันดับเครดิต บริษัท ทริส เรทติ้ง จ�ำกัด ชั้น 24 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ เลขที่ 191 ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : (02) 231-3011
130
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
คณะเจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง ฝ่ายบริหาร
ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ที่ปรึกษาคณะกรรมการกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษาประธานกรรมการ
พลตรี กระวี สุทัศน์ ณ อยุธยา ศาตราจารย์ วิโรจน์ เลาหะพันธ์ นาย แดน ชินสุภัคกุล
กลุ่มธุรกิจโรงแรม ฝ่ายปฏิบัติการ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองประธานฝ่ายปฎิบัติการ รองประธานฝ่ายปฎิบัติการ
ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ และภาพลักษณ์
รองประธานอาวุโส ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และภาพลักษณ์
ฝ่ายบริหารโครงการ
รองประธานอาวุโส ฝ่ายบริหารโครงการ
มร. เกิร์ด เคิร์ท สตีบ มร. เดวิด กู๊ด มร. มิเชล ฮอร์น นาง สุพัตรา จิราธิวัฒน์ นาย ธีระยุทธ จิราธิวัฒน์
ฝ่ายเซ็นทาราอินเตอร์เนชันแนลแมนเนจเมนท์ รองประธาน ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
ฝ่ายการเงินและบริหาร
รองประธานอาวุโส ฝ่ายการเงินและบริหาร รองประธาน ฝ่ายจัดซื้อ
ฝ่ายขายและการตลาด
รองประธานอาวุโส ฝ่ายขายและการตลาด
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
รองประธาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคล
ผู้จัดการทั่วไป
เซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา หัวหิน เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ เซ็นทาราวิลลา สมุย เซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต เซ็นทารากะตะรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทารากะรนรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่
นาย ศุภรัฐ เอื้อวัฒนะสกุล ดร. รณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ นาย ธีระเกียรติ จิราธิวัฒน์ มร. คริสโตเฟอร์ เบลีย์ นางสาว ภัทรา จองเจริญกุลชัย มร. โรเบิร์ท มัวเรอร์-ลอฟเฟลอร์ มร. มิเชล เซอราโน มร. เดวิด มาเทนส์ มร. แดนนี่ แมคแคฟเฟอร์ตี้ มร. ฌาร์ค มูรี่ มร. อังเดร บรูลฮาร์ท มร. เดนิส ธูวาร์ด มร. จอห์น เบ็นด์สเตน มร. สก๊อต โบเว็น มร. อเล็กซานเดอร์ กลาวเซอร์ มร. อเล็กซานเดอร์ กลาวเซอร์ มร. ดาร์เรน ชอว์ นาย สมศักด์ สายสวาท นาย ปฐวี พงษ์นนทกุล
กลุ่มธุรกิจอาหารบริการด่วน ฝ่ายปฏิบัติการ
กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการทั่วไป มิสเตอร์โดนัท เค เอฟ ซี อานตี้ แอนส์ เปปเปอร์ ลันซ์ เบียร์ด ปาปาส์ ชาบูตง โคล์ด สโตน ครีมเมอรี่ เดอะเทอเรส, ริว ชาบู ชาบู โยชิโนยะ ผู้จัดการทั่วไป ซีอาร์จี (โรงงาน)
131
สารบัญหลัก
รายงานประจำ�ปี 2554
นาย ธีระเดช จิราธิวัฒน์ นาง กัลยา ศุภกรพิชาญ นาย ชัยณรงค์ เลอเลิศวณิชย์ นาง นงนภัส ร�ำเพย นาง อรวรรณ โกมลพันธ์พร นาง พนัญญา บวรนันทกุล มร. ยะสึโตะ โทกาชิ นาง วชิราภรณ์ วานิชชัย นาง ภาวิณี วชิรพิศุทธ์โศภิณ นาย พล ศรีแดง นาย รัสทัม เบ็ญราฮีม