CENTEL : Annual Report 2013 thai

Page 1


รางวัลเกียรติยศ


สารบั ญ

รายงานคณะกรรมการ จุดเด่นทางการเงิน รายงานธุรกิจ ล�ำดับความเป็นมาของบริษัท ภาพรวมธุรกิจอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ภาพรวมธุรกิจโรงแรม รายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแล รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน การก�ำกับดูแลกิจการ โครงสร้างการจัดการ รายละเอียดกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้น ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหารบริษัท ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี การก�ำกับดูแลกิจการ

4 10 16 17 30 32 33 34 150 158 164 165 167 167

สาส์นจากประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท

6 8

ภาพรวมธุรกิจอาหาร การพัฒนาอย่างยั่งยืน

21 26

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินการ ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ ปัจจัยความเสี่ยง

36 37

รายการระหว่างกัน ข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคลที่บริษัทถือครอง จ�ำนวนหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ข้อมูลของหุ้นกู้ บุคคลอ้างอิงอื่นๆ คณะเจ้าหน้าที่บริหารระดับสูง

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

47 129 144 146 148 175 185 192 193 194 195

3


รายงานคณะกรรมการ

จุดเด่นทางการเงิน รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น * รายละเอียดรายการพิเศษแสดงในหัวข้อ ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

4

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ผลการด�ำเนินงาน รายได้จากการขาย รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ

1,989.7 3,210.4 1,154.7 1,162.2 699.2

11,163.2 11,574.2 6,039.2 1,259.7 550.4

1,524.2 2,489.8 841.6 472.3 130.1

29,211.9 18,060.1 11,455.0 11,151.8 4,907.1

15,927.3 9,322.0 7,423.5 6,605.3 3,347.2

28,149.1 18,219.6 12,053.6 9,929.4 3,990.2

16,414.4 10,338.2 8,373.3 6,076.2 2,806.9

22,202.3 15,891.6 10,002.9 6,311.1 2,536.4

15,851.6 11,237.0 8,872.3 4,614.6 2,293.9

1,350

1,350

1,350

1,350

1,350

1,350

7.9% 4.8% 12.5%

36.6% 10.2% 24.5%

2.0% 1.1% 3.1%

11.4% 4.3% 11.5%

5.2% 2.8% 10.0%

-5.2% 0.8% 3.1%

1.0

1.1

1.2

1.4

1.7

2.1

1.6

1.4

1.8

1.7

2.6

2.6

0.98 n/a 8.26

0.70 TBA 4.89

1.18 n/a 7.36

0.52 0.3 4.50

0.41 n/a 4.48

0.10 0.15 3.16

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการรวมเงินกู้ยืมจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ก�ำไรสะสมรวมก�ำไรสะสมที่จัดสรรแล้วเป็นส�ำรองตามกฏหมาย อัตราก�ำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการไม่รวมรายได้เงินปันผล ค่าเช่าที่ดินจ่ายกองทุนรวม และขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน อัตราก�ำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ และอัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น ในงบการเงินรวม ไม่รวมรายการพิเศษดังต่อไปนี้ ปี 2556 - ส่วนแบ่งขาดทุน (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย เป็นจ�ำนวนเงินรวม 12.4 ล้านบาท ปี 2555 - ขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกัน, ส่วนแบ่งขาดทุน (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย และก�ำไรจากการซื้อธุรกิจ และการปรับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 632.0 ล้านบาท

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(1) (2) (3) (4)

14,389.3 15,496.9 7,849.9 2,436.2 941.1

รายงานทางการเงิ น

อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ อัตราก�ำไรสุทธิ (%) (3), (4) อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ (%) (4) อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น (%) (4) อัตราส่วนของหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วน ของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนของหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) ก�ำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)

2,204.2 3,618.3 1,306.9 1,438.2 1,618.9

รายงานธุ ร กิ จ

ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (1) ส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรสะสม (2) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (ล้านหุ้น)

16,981.4 17,557.4 9,451.5 2,335.8 1,376.6

รายงานคณะกรรมการ

หน่วย : ล้านบาท 2556 2555 (ปรับปรุงใหม่) 2554 งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิ จการ กิจการ เฉพาะกิจการ

5


สาส์นจากประธานกรรมการ

รายงานคณะกรรมการ

รายงานคณะกรรมการ

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

6


รายงานคณะกรรมการ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ผมมีความยินดีที่จะเรียนให้ท่านทราบว่า ปี 2556 เป็นปีที่บริษัท ประสบความส�ำเร็จอย่างดีเยี่ยมอีกปีหนึ่ง กล่าวคือ กลุ่มธุรกิจโรงแรม Centara Hotels and Resorts (CHR) ภายใต้บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) สามารถท�ำรายได้มากกว่า 8 พันล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 27 เมื่อเทียบกับปี 2555 ขณะที่ธุรกิจร้านอาหารภายใต้บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (CRG) มีอัตราการเติบโตในอัตราใกล้เคียงสองหลักด้วยรายได้ 9.3 พันล้านบาท รายได้ที่สูงเป็นประวัติการณ์ของธุรกิจโรงแรมนี้เป็นผลมาจากอัตรา การเข้าพักเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 79.6 และอัตราค่าห้องเฉลี่ยที่สูงถึง 4,384 บาท ขณะเดียวกันบริษัทยังมีรายได้เพิ่มขึ้นจากผลประกอบการที่ดีเยี่ยมของเซ็น ทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ โรงแรมแห่งที่สองของบริษัทในมัลดีฟส์ ซึ่ง เปิดให้บริการเมื่อเดือนมีนาคม 2556 รวมถึงรายได้จากการรับจ้างบริหารโรงแรม ที่เปิดให้บริการแล้วจ�ำนวนทั้งสิ้น 26 แห่งในปลายปี 2556 และที่ได้เซ็นสัญญา บริหารโรงแรมอีก 24 แห่งที่จะเปิดในปี 2557 และ 2558 ในส่วนของธุรกิจร้านอาหารนั้น CRG ยังคงรักษาต�ำแหน่งการ เป็นหนึ่งในผู้น�ำธุรกิจร้านอาหารและร้านอาหารบริการด่วน (Quick Service Restaurant: QSR) ของประเทศไทยไว้ได้อย่างเหนียวแน่น โดยมีแบรนด์ชั้นน�ำ อย่าง เคเอฟซี (KFC), มิสเตอร์ โดนัท, อานตี้ แอนส์ และโอโตยะจากจ�ำนวน แบรนด์อาหารระดับนานาชาติ 10 แบรนด์ รวมถึง เทนยะ และ คัตสุยะ สอง แบรนด์ล่าสุดจากญี่ปุ่นที่บริษัทเพิ่งได้รับลิขสิทธิ์เป็นผู้ประกอบการในปี 2556 นอกจากนี้ ผมขอรายงานให้ทราบว่า บริษัทได้รับการปรับเพิ่มอันดับ เครดิตจากเดิม A- เป็น A จากการจัดอันดับล่าสุดในปี 2556 ของทริสเรทติ้ง ซึ่งเป็นสถาบันจัดอันดับเครดิตที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง พร้อมกันนั้น บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตราตั้ง ครุฑให้แก่บริษัท นับเป็นบริษัทโรงแรมรายแรกที่ได้รับเกียรติยศสูงสุดนี้ และเป็น ความภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดมิได้ บริษัทยังคงยึดมั่นในการด�ำเนินสองธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจโรงแรม/ รีสอร์ท และธุรกิจร้านอาหารที่สร้างรายได้และผลก�ำไรให้กับบริษัทในสัดส่วน ที่เท่าๆกัน การที่บริษัทมีสองธุรกิจที่สมดุลนี้เป็นการลดความเสี่ยงและช่วยให้ บริษัทเติบโตอย่างยั่งยืน เช่นในกรณีที่ธุรกิจโรงแรมได้รับผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจโลกตกต�่ำ ในสถานการณ์กลับกัน ธุรกิจร้านอาหารก็ยังคงไปได้ดีจาก ความต้องการภายในประเทศที่ยังมีอยู่สูง ส�ำหรับแผนการด�ำเนินงานจากนี้ไป คณะกรรมการบริษัทได้วาง กลยุทธ์ในส่วนของธุรกิจโรงแรมไว้ดังนี้คือ เพิ่มจ�ำนวนโรงแรมที่บริษัทลงทุนและ ที่ท�ำสัญญาบริหารจัดการให้ได้ทั้งสิ้น 115 โรงแรมรวมจ�ำนวนห้องพักกว่า 20,000 ห้องภายในปี 2561 โดยส่วนใหญ่เป็นโรงแรมภายใต้สัญญาบริหารจัดการ และตั้ง เป้าให้ร้อยละ 40 ของรายได้มาจากโรงแรมในต่างประเทศ ส่วนธุรกิจร้านอาหาร นั้น นอกเหนือจากการขยายสาขาในประเทศและการซื้อแฟรนไชส์แบรนด์ร้าน อาหารเพิ่มแล้ว CRG ยังจะมองหาโอกาสทางธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้านจากการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในช่วงปลายปี 2558 ที่จะถึงนี้อีกด้วย ท้ายที่สุดนี้ ผมใคร่ขอขอบคุณผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน เราคงไม่อาจ ประสบความส�ำเร็จปีแล้วปีเล่าเช่นนี้ได้หากขาดซึ่งการสนับสนุนด้วยดีจากท่าน

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(สุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์) ประธานกรรมการ บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

7


รายงานคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท 1. นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

2. คุณหญิงสุจิตรา มงคลกิติ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

3. นายวิโรจน์ เลาหะพันธุ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

4. นายเกริด เคิร์ก สตีป ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

5. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ

6. นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ รองประธานกรรมการ

7. นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

8. นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

9. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

10. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแล

11. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 12. นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และการก�ำกับดูแล

13. ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ

14. นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ 15. นายครรชิต บุนะจินดา กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และการก�ำกับดูแล กรรมการตรวจสอบ



รายงานธุ ร กิ จ

ล�ำดับความเป็นมาของบริษัท ธุรกิจโรงแรม รายงานคณะกรรมการ

2526

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โรงแรมไฮแอทเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ และศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เปิดอย่างเป็นทางการ 2529 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดโซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท 2531 รับบริหารกิจการเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท 2533 จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซื้อโรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ 2536 ซื้อโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลอสเองเจลิสจดทะเบียนบริษัทมหาชนจ�ำกัด 2536/37 เปิดด�ำเนินการโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ย่างกุ้ง เมียนมาร์ 2538 เปิดโรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ 2539 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท ขายกิจการโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลอสเองเจลิส 2540 เพิ่มห้องพักที่โซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ทอีก 60 ห้องฝั่งสวน รับบริหารเซ็นทรัลวอเตอร์ฟร้อนท์สวีท ที่กะรน ภูเก็ต 2541 วางแนวทางรูปแบบของเซ็นทรัลวิลเลจ ซื้อกิจการเซ็นทรัลบัตเตอร์ฟลายวิลเลจ เกาะสมุย สร้างเพิ่ม 60 วิลลา และมีห้องพักทั้งหมดรวม เปลี่ยนชื่อเป็นกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทรัล 2542 เปิดเซ็นทรัลกะรนวิลเลจภูเก็ต และเซ็นทรัลสมุยวิลเลจ (เปลี่ยนชื่อจากเซ็นทรัลบัตเตอร์ฟลายวิลเลจ) 2543 ย้ายโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ไปประเทศติมอร์ตะวันออก ตกแต่งปรับปรุงและเปลี่ยนชื่อเป็น เซ็นทรัลมาริไทม์ ดิลี ติมอร์ตะวันออก 2544 เพิ่มวิลลาอีก 8 หลังที่ เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ ภูเก็ต และมีห้องพักทั้งหมดรวม ท�ำสัญญาเป็นแฟรนไชส์ กับกลุ่มแอคคอร์และเปลี่ยนชื่อโรงแรมที่กรุงเทพเป็น โซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ และเปลี่ยนชื่อโรงแรมที่หาดใหญ่เป็น โนโวเทลเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ ด�ำเนินการก่อสร้างศูนย์แสดงสินค้า สกายฮอลล์ ที่โรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ 2545 ปรับปรุงเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท และโซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท และเซ็นซิโอคาราโอเกะ บริเวณชั้นล่างของโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทรัลพลาซา กรุงเทพฯ 2546 เริ่มการก่อสร้างเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท โรงแรมระดับ 5 ดาว เปิดห้องอาหารบราซิลเลี่ยน (ซิโก้) ที่เกาะสมุย เซ็นสัญญาพัฒนาและบริหารโครงการโรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ ที่เซ็นทรัลเวิลด์ รวมถึงห้องประชุมและพื้นที่จัดนิทรรศการ 20,000 ตารางเมตร 2547 โครงการก่อสร้างเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท พัทยา และเซ็นทรัลภูเก็ตบีชรีสอร์ท ภูเก็ต เพิ่มห้องสวีท 10 ห้อง ที่โรงแรมโนโวเทลเซ็นทรัลสุคนธา หาดใหญ่ และมีห้องพักทั้งหมดรวม 2548 เริ่มสัญญาบริหารโรงแรมเซ็นทรัลดวงตะวัน เชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม เปิดกิจการเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ทอย่างไม่เป็นทางการ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2549 ขายโรงแรมเซ็นทรัลโฟล้ทติ้ง ดิลี ประเทศติมอร์ตะวันออก (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในอัตรส่วน 50:50 คือโรงแรมไอส์แลนด์เดีย ภูเก็ต โดยปรับปรุงใหม่พร้อมเปลี่ยนชื่อเป็น เซ็นทรัลกะรนบีชรีสอร์ท

10

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

607

rooms/suites

195

ห้อง

178

ห้อง

120 180 133 238 208

ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง

255 39

ห้อง ห้อง

40 100

วิลลา วิลลา

100 133

ห้อง ห้อง

72

วิลลา

238

ห้อง

192

ห้อง

505

ห้อง

555 262

ห้อง ห้อง

248 500 192

ห้อง ห้อง ห้อง

335

ห้อง


2551

2554

158 44

ห้อง ห้อง

555

ห้อง

112

วิลลา

124 44 74

ห้อง/วิลลา วิลลา ห้อง/วิลลา

62

ห้อง

262

ห้อง

110 494 36 96 2,682

ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง

1,830 100 196 204 307 308

ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง ห้อง

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

2555

ห้อง

รายงานทางการเงิ น

2553

128

รายงานธุ ร กิ จ

2552

รายงานคณะกรรมการ

2550

และจีวารีสอร์ทแอนด์สปา เปลี่ยนชื่อเป็นเซ็นทรัลกะตะรีสอร์ท ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ปรับปรุงเซ็นทรัลหัวหินวิลเลจครั้งใหญ่ โดยยกระดับเป็นวิลลาพร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว เปลี่ยนชื่อเป็น เดอะ วิลลา ณ โซฟิเทลเซ็นทรัลหัวหินรีสอร์ท ปรับปรุงเซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท โดยยกระดับห้องพักจ�ำนวนหนึ่งเป็นห้องชุดพร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว และปรับปรุง วิลลาบางหลังของเซ็นทรัลสมุยวิลเลจเป็นวิลลาพร้อมสระว่ายน�้ำส่วนตัว ปรับภาพลักษณ์องค์กรด้วยการเปลี่ยนชื่อเป็นโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา เปิดตัวศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ที่เซ็นทรัลเวิลด์ สร้างห้องพักเพิ่ม 30 ห้อง ที่เซ็นทารากะตะรีสอร์ทภูเก็ต รวมเป็น เปิดเซ็นทาราชานทะเลรีสอร์ทและวิลลา ตราด ในเดือนมีนาคม ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดอย่างเป็นทางการของโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และศูนย์ประชุม บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว (รวมทั้งโรงแรมโซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ) ต่อสัญญากับการรถไฟแห่งประเทศไทย ไปอีก 20 ปี จนถึง พ.ศ.2571 เซ็นสัญญาร่วมทุนและสัญญาบริหารโรงแรมส�ำหรับโครงการเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์ รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ โดยก�ำหนดเปิดให้บริการในครึ่งปีหลังของปี 2552 เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา (หาดวงศ์อมาตย์) ระดับห้าดาว ธีมรีสอร์ทแห่งแรกในประเทศไทยเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 พฤศจิกายน เปิดเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ รีสอร์ทต่างประเทศ แห่งแรกในเครือเซ็นทารา เริ่มสัญญาบริหารโรงแรม 2 แห่ง ในเดือนเมษายน บุณฑรีก์สปารีสอร์ทและวิลลาสมุย-เซ็นทารารีสอร์ท และเซ็นทาราปาริญารีสอร์ทและวิลลา เกาะพงัน เซ็นสัญญารับบริหารศิริปันนาวิลลารีสอร์ท เชียงใหม่-เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน รีสอร์ทระดับ 5 ดาว เป็นบูติกรีสอร์ทแห่งแรกในเครือเซ็นทารา ที่ จ.เชียงใหม่ เซ็นสัญญารับบริหารมอคชาหิมาลายาสปารีสอร์ท-เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน รีสอร์ทต่างประเทศแห่งที่สอง เปิดให้บริการด้วยห้องพักแบบห้องสวีท ในช่วงปลายปี เปิดห้องอาหารบราซิลเลี่ยน (ซิโก้) สาขาที่สอง ณ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (หาดกะรน) ระดับห้าดาว เปิดให้บริการอย่างไม่เป็นทางการ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน เปิดเซ็นทราแอชลี ป่าตอง ภูเก็ต โรงแรมระดับกลางภายใต้แบรนด์ เซ็นทราแห่งแรก ขยายแบรนด์เซ็นทาราบูติกคอลเลกชันจาก 1 โรงแรมเป็น 12 โรงแรม เปิดรีสอร์ทบริหารจัดการแห่งแรกในประเทศเวียดนาม เปิดโรงแรมบริหารจัดการแห่งแรกในประเทศฟิลิปปินส์ ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทยทั้งหมด 11 แห่ง ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในต่างประเทศทั้งหมด 12 แห่ง มีประเทศใหม่คือ อินโดนีเซีย ศรีลังกา จีน และเกาะมอริเชียส เปิดให้บริการโรงแรมแห่งแรกที่เกาะมอริเชียส โรงแรมเซ็นทาราป็อสต์ลาฟาแย็ตรีสอร์ทและสปา มอริเชียส เปิดให้บริการโรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น เปิดให้บริการโรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทย 3 แห่ง ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในต่างประเทศ 2 แห่ง

11


รายงานธุ ร กิ จ

GROUP HISTORY ธุรกิจโรงแรม (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เซ็นทาราซึวิวรีสอร์ท เขาหลัก

12

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


140 218 431

ห้อง ห้อง ห้อง

380

ห้อง

100 125

ห้อง ห้อง

ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทย 8 แห่ง ลงนามสัญญาบริหารจัดการโรงแรมและรีสอร์ทในต่างประเทศ 2 แห่ง รวมโรงแรมและรีสอร์ทที่ลงทุนและบริหารเอง 15 แห่งในประเทศไทยและเกาะมัลดีฟส์ รวมโรงแรมและรีสอร์ทรับบริหาร 51 แห่งในประเทศไทย ประเทศเวียดนาม ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศศรีลังกา เกาะมัลดีฟส์ ประเทศจีน เกาะมอริเชียส ประเทศเอธิโอเปีย และการ์ต้าร์

1,398 660 3,825

ห้อง ห้อง ห้อง

9,396

ห้อง

รวมทั้งสิ้น 66 แห่ง

13,221

รายงานธุ ร กิ จ

เปิดให้บริการโรงแรมแห่งที่สองที่เกาะมัลดีฟส์ เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ เปิดให้บริการโรงแรมในจังหวัดพังงา เซ็นทาราซึวิวรีสอร์ท เขาหลัก เปิดให้บริการโรงแรม 2 แห่งในกรุงเทพฯ โรงแรมเซ็นทาราวอเตอร์เกตพาวิลเลียน และ เซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ เปิดให้บริการโรงแรม 2 แห่งในพัทยา เซ็นทาราแกรนด์โมดัสรีสอร์ทและสปา พัทยา เซ็นทาราแกรนด์พระต�ำหนัก พัทยา เปิดให้บริการโรงแรมแห่งที่สองที่เกาะมอริเชียส เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเซียส เปิดให้บริการโรงแรมในประเทศศรีลังกา เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา

รายงานคณะกรรมการ

2556

ห้อง

เซ็นทาราแกรนด์โมดัสรีสอร์ทและสปา พัทยา

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เซ็นทาราแกรนด์พระต�ำหนัก พัทยา

โรงแรมเซ็นทาราวอเตอร์เกตพาวิลเลียน กรุงเทพฯ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

13


รายงานคณะกรรมการ เคเอฟซี

รายงานธุ ร กิ จ มิสเตอร์โดนัท

รายงานทางการเงิ น

ธุรกิจอาหาร

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

2011

1978 1984 1998 2007 2009 2010

2013

14

อานตี้ แอนส์

เป็นผู้ริเริ่มน�ำมิสเตอร์โดนัทมาสู่ผู้บริโภคชาวไทย ถือเป็นจุดก�ำเนิดของธุรกิจอาหารแฟรนไชส์ในประเทศไทย น�ำไก่ทอด KFC ซึ่งเป็นแบรนด์ที่แข็งแกร่ง เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั่วโลกสู่ตลาดอาหารในประเทศไทย เข้าสู่เซ็กเมนต์ของตลาด ไลท์แสน็คโดยแนะน�ำผลิตภัณท์เพรทเซล AUNTIE ANNE’S ซึ่งเป็นขนมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา น�ำแบรนด์ Pepper Lunch สเต็กสไตล์ญี่ปุ่น ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาท�ำตลาด ได้รับลิขสิทธิ์เป็นผู้ประกอบการ Beard Papa’s ขนมครีมพัฟที่ดีที่สุดในโลก ได้รับลิขสิทธิ์เป็นผู้ประกอบการ Chabuton สุดยอดราเมงที่ชนะเลิศทีวีแชมป์เปี้ยน ปี 2002 ได้รับลิขสิทธ์เป็นผู้ประกอบการ ไอศกรีม โคล สโตน ครีมเมอรี่ จากอเมริกา เปิดบริการ RYU Shabu Shabu สไตล์ญี่ปุ่น เปิดบริการและรับบริหารร้านอาหารไทย The Terrace ได้รับลิขสิทธ์เป็นผู้ประกอบการ แบรนด์ โยชิโนยะ (YOSHINOYA) สุดยอดต้นต�ำรับข้าวหน้าญี่ปุ่น ได้รับลิขสิทธ์เป็นผู้ประกอบการ แบรนด์ โอโตยะ (OOTOYA) ร้านอาหารญี่ปุ่นที่มีความเป็นญี่ปุ่นแท้ๆ (Authentic Japanese Home Cooking Restaurant)

ได้รับลิขสิทธ์เป็นผู้ประกอบการ แบรนด์ เทนยะ (TENYA) ร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทเทมปุระและข้าวหน้าเทมปุระ (Tempura and Tendon) ได้รับลิขสิทธ์เป็นผู้ประกอบการ แบรนด์ คัตสึยะ (KATSUYA) ร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทหมูทอดทงคัตสึ และข้าวหน้าหมูทอด ทงคัตสึ (Tonkatsu and Katsudon)

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ชาบูตง

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ เดอะ เทเรซ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เป็ปเปอร์ ลันช์

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

15


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจอุตสาหกรรมท่องเที่ ยวไทย รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

ภาวะธุรกิจของประเทศในปี 2556 ยังคงขยายตัวอย่าง ต่อเนื่องทั้งด้านการบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชนแต่เป็นการ ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง โดยในส่วนของธุรกิจท่องเที่ยวพบว่ามีการ ขยายตัวดีต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในระยะ 11 เดือนแรกของปีที่ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 21 ทั้งนี้รายงานแนวโน้มธุรกิจ จัดท�ำโดยธนาคารแห่งประเทศ ไทยระบุว่า อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยเริ่มขยายตัวตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 เห็นได้จากอัตราการเข้าพักและจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสก่อน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเพิ่มจ�ำนวนเที่ยวบิน การ พัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งในประเทศและปัจจัยด้านการเมืองที่มีความสงบเรียบ ร้อยมากขึ้นเมื่อเทียบกับช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา ส�ำหรับการจัดประชุม ปรับลดลงบ้าง เนื่องจากบริษัทและองค์กรต่างๆ ยังอยู่ในช่วงวางแผน งานสัมมนาเพราะเป็นไตรมาสแรกของปีบัญชี อย่างไรก็ตาม ก�ำไร ของธุรกิจโรงแรมทั้งระบบปรับลดลงเนื่องจากต้นทุนประกอบการเพิ่ม ขึ้น ทั้งจากค่าแรงตามนโยบายปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต�่ำ ต้นทุนวัตถุดิบ และราคาพลังงาน ขณะที่การเพิ่มราคาห้องพักท�ำได้จ�ำกัดเนื่องจาก ภาวะแข่งขันสูง ส�ำหรับในไตรมาสที่ 2 และ 3 ธุรกิจท่องเที่ยวยังขยาย ตัวต่อเนื่องในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ อาทิ ชลบุรี หาดใหญ่ และเชียงใหม่ ซึ่งเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวจาก จีน รัสเซีย และมาเลเซีย ส�ำหรับนักท่องเที่ยวจากประเทศจีน จ�ำนวน ตัวเลขที่เพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งจากการเดินทางที่สะดวกกว่าเดิม เพราะมี การจัดเที่ยวบินตรงจากจีนมายังจังหวัดท่องเที่ยวหลักๆ ของไทยเพิ่ม ขึ้น ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวไทยกลับเริ่มระมัดระวังการใช้จ่ายและงบ ประมาณการจัดประชุมของหน่วยงานภาครัฐเริ่มน้อยลง เริ่มต้นไตรมาสที่ 4 การท่องเที่ยวยังขยายตัวดี แต่เริ่มได้รับ ผลกระทบจากการบังคับใช้กฎหมายควบคุมคุณภาพแพ็คเกจทัวร์ของ จีนที่มีผลบังคับใช้ในเดือนตุลาคม ขณะเดียวกันสถานการณ์การเมือง

ในประเทศเริ่มไม่นิ่งจากการชุมนุมประท้วงในหลายพื้นที่ตั้งแต่ปลาย เดือนตุลาคม ส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเที่ยวลดลงแต่ยังไม่มากนัก เนื่องจากการประกาศเตือนนักท่องเที่ยวของหลายประเทศยังอยู่ใน ระดับต�่ำ อีกทั้งนักท่องเที่ยวส่วนหนึ่งได้เปลี่ยนเส้นทางท่องเที่ยวไป ยังจังหวัดที่ไม่ได้รับผลกระทบแทน อย่างไรก็ดี ในช่วงปลายไตรมาส สถานการณ์ชุมนุมทางการเมืองที่ยืดเยื้อส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเที่ยว ในภาพรวมเริ่มลดลงบ้าง และลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญในพื้นที่ที่มีการ ชุมนุม 1 อย่างไรก็ดีแม้จะมีปัจจัยลบที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมท่อง เที่ยวจ�ำนวนนักท่องเที่ยวตลอดทั้งปีก็ยังคงเพิ่มขึ้นเกินกว่าที่คาด การณ์ไว้ โดยกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้ สรุปตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างชาติของปี 2556 ไว้ว่ามีทั้งสิ้นจ�ำนวน 26,735,583 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.60 ซึ่งเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นที่สูง กว่าปีที่ผ่านมา สร้างรายได้ให้กับประเทศมากถึง 1,171,651.42 ล้าน บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.08 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านี้ แต่เป็นที่น่า สังเกตว่าปีน้ีเป็นปีแรกที่รายได้เฉลี่ยต่อคนจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ลดลงเล็กน้อย จากที่เคยเพิ่มขึ้นมาโดยตลอดในปี 2554 และ 2555 ส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 500,000 ล้านบาทเมื่อปี 2555 เป็น 634,000 ล้านบาทในปีนี้หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.8 ส�ำหรับสถานการณ์การท่องเที่ยวในปี 2557 นั้นสภา อุตสาหกรรมท่องเที่ ยวแห่งประเทศไทยมีความเชื่อ มั่นว่าธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวจะยังคงเติบโตอย่างเข้มแข็ง โดยคาดว่า จะมีนักท่องเที่ยวประมาณ 29.92 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.1 คิด เป็นรายได้เข้าประเทศประมาณ 1,350,000 ล้านบาท ขณะที่ตัวเลข นักท่องเที่ยวจากการประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจะต�่ำกว่าเล็กน้อยคือ คาดการณ์ไว้ที่ 27.5 ล้านคน

รายงานทางการเงิ น

ตารางสรุปจ�ำนวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2550 - 2556 (ม.ค.–ธ.ค.) ปี (พ.ศ.)

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

2550 2551 2552 2553 2554

จ�ำนวนนักท่องเที่ยว จ�ำนวน (คน) % 14,464,228 +4.65 14,584,220 +0.83 14,149,841 -2.98 15,936,400 +12.63 19,230,470 +20.67

รายได้จากการท่องเที่ยว จ�ำนวน (ล้านบาท) % 547,781.81 +13.57 574,520.52 +4.88 510,255.05 -11.19 592,794.09 +16.18 776,217.20 +30.94

2555

22,353,903

+16.24

983,928.36

+26.76

2556* (ม.ค. - ธ.ค.)

26,735,583

+19.60

1,171,651.42

+19.08

ทีม่ า: กรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา เป น็ รายงานซึง่ ธนาคารแห่งประเทศไทยประมวลผลและจัดท�ำขึน้ ตามโครงการแลกเปลีย่ นข้อมูลเศรษฐกิจ/ธุรกิจระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับธุรกิจทีม่ คี วามส�ำคัญต่อเศรษฐกิจทัง้ ธุรกิจขนาดย่อมขนาดกลาง และขนาดใหญ่กว่า 1,600 รายเพือ่ ให้ครอบคลุมและสะท้อนกิจกรรมในภาคเศรษฐกิจจริงได้มากทีส่ ดุ 1

16

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจโรงแรม ปัจจุบัน ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราแบ่งเป็น 6 แบรนด์ ได้แก่

เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน แบรนด์ที่น�ำเสนอความแตกต่างด้วยดีไซน์โดดเด่นมีเอกลักษณ์ สนองความเป็นส่วนตัวของแขกผู้เข้าพัก

รายงานธุ ร กิ จ

เซ็นทาราโฮเท็ลและรีสอร์ท โรงแรมและรีสอร์ทมาตรฐานระดับ 4 ดาว มีท�ำเลที่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ชายหาด หรือเกาะที่มีชื่อเสียง ในแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน และการบริการที่เป็นเลิศ

รายงานคณะกรรมการ

เซ็นทาราแกรนด์โฮเท็ลและรีสอร์ท โรงแรมและรีสอร์ทระดับ 5 ดาวที่ได้รับการออกแบบอย่างโดดเด่น โรงแรม ทุกแห่งตั้งอยู่บนท�ำเลที่สะดวกใจกลางเมือง หรือบนชายหาดส่วนตัว ในแหล่งท่องเที่ยว หลักที่ส�ำคัญ ครบถ้วนด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและบริการที่ได้มาตรฐานสูงสุด ทั้ง ด้านห้องพัก ห้องอาหาร ห้องจัดเลี้ยง ห้องประชุมสัมนา สปาเซ็นวารี สระว่ายน�้ำ ห้อง ออกก�ำลังกาย คิดส์คลับ และกิจกรรมสันทนาการต่างๆ

เพื่อตอบ

รายงานทางการเงิ น

เซ็นทาราเรสซิเดนซ์และสวีท ส�ำหรับแขกที่ต้องการเข้าพักระยะยาว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบ ครัน โดยมีให้เลือก 2 ระดับ ได้แก่เซ็นทาราแกรนด์ซึ่งเป็นแบรนด์ระดับ 5 ดาว และ แบรนด์เซ็นทาราระดับ 4 ดาว

เซ็นทราโฮเท็ลและรีสอร์ท โรงแรมและรีสอร์ทระดับกลางที่เน้นเรื่องความคุ้มค่าสมราคา ด้วยห้องพักที่ ตกแต่งและใช้อุปกรณ์ที่มีคุณภาพ มีบริการอื่นๆ ครบครัน

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

17

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โคซี่ โฮเทล แบรนด์ใหม่ล่าสุดในเครือเซ็นทาราเพื่อนักเดินทางที่เน้นที่พักราคาประหยัด แต่คุ้มค่าในท�ำเลที่สะดวกต่อการเดินทาง โดยโรงแรมถูกออกแบบเพื่อความสะดวก สบายให้แก่ผู้เข้าพัก


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจโรงแรม รายงานผลประกอบการ รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ในปี 2556 บริษัทมีรายได้จากธุรกิจโรงแรม 8,286 ล้าน บาท เมื่อเทียบกับรายได้ 6,473 ล้านบาทในปี 2555 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อย ละ 28 และคิดเป็นก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 65 โดยผลประกอบการ ของโรงแรมที่บริษัทลงทุนเองจ�ำนวนทั้งสิ้น 15 แห่งมีรายได้รวม 7,923 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 29 จากปีที่ผ่านมา ส่วนรายได้จากการ บริหารโรงแรม 187.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ปี นี้บริษัทมี โรงแรมที่ลงทุนเองและที่อยู่ภ ายใต้ สัญญา บริหารเพิ่มขึ้นเป็น 66 แห่งจากเดิมที่มีอยู่ 58 แห่ง โดยเป็นการเปิด เพิ่มในกรุงเทพฯ 3 แห่งได้แก่ โรงแรมเซ็นทารา วอเตอร์เกท พาวิล เลียน กรุงเทพฯ โรงแรมเซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ และ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ ซึ่ง ภาพรวมธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ โดยเฉพาะโรงแรมเซ็นทาราแก รนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งมีผลประกอบ การดีเยี่ยมต่อเนื่องมาจากปี 2555 ขณะที่โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ มีผลประกอบการดีที่สุดในรอบ 10 ปีและมีก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 12 โดยประมาณ อย่างไรก็ตาม นับตั้งเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นมา โรงแรม ในกรุงเทพฯ เริ่มได้รับผลกระทบจากการชุมนุมต่อต้านรัฐบาลที่ท�ำให้ หลายประเทศออกประกาศเตือนนักท่องเที่ยวในการเดินทางมาท่อง เที่ยวประเทศไทย ส่งผลให้มีการยกเลิกหรือเลื่อนการเข้าพักรวมถึง ยกเลิกงานประชุมสัมมนาต่างๆ ในช่วงเทศกาลปีใหม่เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ สถานการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในช่วงปลาย ปีส่งผลกระทบต่อโรงแรมในเมืองท่องเที่ยวต่างๆ เช่นกัน แต่เมื่อดู ผลประกอบการโดยเฉลี่ยทั้งปีแล้วส่วนใหญ่ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดย โรงแรมในเมืองพัทยา อาทิ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 84 สามารถท�ำรายได้ และผลก�ำไรเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ส่วน โรงแรมที่เพิ่งเปิดด�ำเนินการไม่นานอย่างโรงแรมโนวาและสปาพัทยา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน และโรงแรมเซ็นทาราพัทยา ก็ได้รับการ ตอบรับจากตลาดเป็นอย่างดี นอกจากนี้ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ พระต�ำหนัก พัทยา ซึ่งเพิ่งเปิดให้บริการในเดือนตุลาคม ก็ได้รับการ จัดอันดับจากเว็บไซต์ท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลที่สุดเว็บหนึ่งของโลกอย่าง ทริปแอดไวเซอร์ให้เป็น 1 ใน 5 โรงแรมที่ดีที่สุดจาก 350 โรงแรมใน เมืองพัทยา เช่ น เดี ย วกั บ โรงแรมเซ็ น ทาราแกรนด์ บี ช รี ส อร์ ท และ วิลลา หัวหินที่ได้รับการยอมรับและมีผลประกอบการดีเยี่ยม โดยเป็น โรงแรมระดับ 5 ดาวแห่งแรกที่อยู่ในการจัดอันดับของทริปแอดไวเซอร์ และมีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 84.8 ส่งผลให้ปี 2556 เป็นปี ที่มีผลประกอบการสูงสุดในประวัติศาสตร์ของโรงแรม

18

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

ปี 2556 ยังนับเป็นปีแห่งการปรับปรุงห้องพักและสภาพ แวดล้อมของโรงแรมหลายแห่งของบริษัทในภูเก็ต โดยเฉพาะโรงแรม เซ็นทารา แกรนด์ บีช รีสอร์ท ภูเก็ต โรงแรมเซ็นทารา วิลล่า ภูเก็ต และวอเตอร์ฟร้อนท์สวีทภูเก็ตบายเซ็นทารา แต่โดยรวมแล้ว ผล ประกอบการเฉลี่ยของโรงแรมทั้ง 8 แห่งยังอยู่ในเกณฑ์ดี หลายโรงแรม มีรายได้และก�ำไรสุทธิเพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการโปรโมทการ ท่องเที่ยวภูเก็ตของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยท�ำให้นักท่องเที่ยว ประเภทเที่ยวบินเช่าเหมาล�ำจากยุโรป รัสเซียและจีนมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ส่วนโรงแรมในกระบี่และสมุยนั้น ปีนี้เป็นปีที่ประสบความส�ำเร็จอีกปี หนึ่ง เนื่องจากทุกโรงแรมยังคงสามารถสร้างรายได้สูงกว่าประมาณ การและสูงกว่าปีที่ผ่านมา ส� ำ หรั บ โรงแรมในหั ว เมื อ งหลั ก ไม่ ว ่ า จะเป็ น เชี ย งใหม่ ขอนแก่น อุดรธานี แม่สอดและหาดใหญ่ พบว่าทุกโรงแรมมีรายได้ รวมและอัตราการเข้าพักสูงขึ้นจากปีก่อนหน้านี้ เช่นเดียวกับโรงแรม ในจังหวัดตราดรวมถึงเกาะช้างซึ่งได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยเฉพาะประเทศที่พูดภาษารัสเซียเป็น อย่างมาก ในส่วนของโรงแรมและรีสอร์ตในต่างประเทศ ปีนี้บริษัท ได้เปิดโรงแรมใหม่อีกแห่งหนึ่งในสาธารณรัฐมัลดีฟส์ภายใต้ชื่อ เซ็น ทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ ซึ่งเป็นโรงแรมที่บริษัทลงทุน เองเช่นเดียวกับเซ็นทาราแกรนด์ไอร์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ ซึ่งประสบความส�ำเร็จอย่างยอดเยี่ยมทั้งในแง่ภาพลักษณ์และรายได้ โดยปีนี้มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านี้ ขณะเดียวกันโรงแรมสองแห่งในเวียดนามสามารถสร้าง รายได้เพิ่มขึ้นแม้บางส่วนของโรงแรมจะอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง และปรับปรุง เช่นเดียวกับเซ็นทราทวมเซมินยัก บาหลี ที่ฟื้นตัวกลับ มามีอัตราเข้าพักในเกณฑ์ดีได้อย่างรวดเร็วจากสถานการณ์น�้ำท่วม กว่า 4 เดือน ส่วนปีแรกของการเปิดให้บริการของโรงแรมเซ็นทารา ป็อสต์ลาฟาแย็ตรีสอร์ทและสปา มอริเชียส เป็นไปอย่างน่าพอใจและ มีแนวโน้มที่จะดีขึ้นอย่างต่อเนื่องเมื่อโรงแรมแห่งที่สองในมอริเชียส เปิดตัวในปี 2557


h. เซ็นทาราพิลิแกนเบย์เรสซิเดนซ์และสวีท กระบี่ (92 ห้อง - เปิด ให้บริการปี 2557) i. เซ็นทาราพิลิแกนเบย์วิลล่า กระบี่ (41 ห้อง - เปิดให้บริการปี 2560) j. เซ็นทาราแกรนด์เวสต์เบย์ โดฮา (360 ห้อง - เปิดให้บริการปี 2560) และเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาธุ ร กิ จ ใน ปี 2557 บริษัทได้ประกาศที่จะเดินหน้าขับเคลื่อนกลยุทธ์การขยาย ธุรกิจใหม่ที่เรียกว่า Asset Light ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจระยะ ยาว เพื่อให้การลงทุนและการเข้าซื้อกิจการสามารถท�ำได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะในเมืองที่เป็นศูนย์กลางการบินระหว่างประเทศ อย่างไร ก็ตาม ส�ำหรับกลุ่มประเทศอาเซียน จีน ประเทศในมหาสมุทรอินเดีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์นั้น บริษัทยัง คงเน้นการขยายธุรกิจผ่านการท�ำสัญญาบริหารจัดการ เนื่องจากเป็น ตลาดที่บริษัทมีฐานลูกค้าที่แข็งแกร่งและแบรนด์ของบริษัทเป็นที่รู้จัก และได้รับการยอมรับอยู่แล้ว จึงไม่มีความจ�ำเป็นต้องเข้าซื้อกิจการ เพื่อขยายตลาดแต่อย่างใด

รายงานธุ ร กิ จ

ในปี 2557 บริษัทคาดว่าจะสามารถเปิดโรงแรมและ รีสอร์ทเพิ่มเติมอีก 8 แห่ง รวมจ�ำนวนห้องพักประมาณ 840 ห้องใน ประเทศไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย (เกาะบาหลี) ศรีลังกา และเกาะ มอริเชียส

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ปี 2556 เป็นอีกปีหนึ่งที่บริษัทประสบความส�ำเร็จใน การขยายธุรกิจไปยังตลาดใหม่ๆ ด้วยการเซ็นสัญญาบริหารจัดการ โรงแรมมาตรฐาน 5 ดาวภายใต้แบรนด์ เซ็นทารา แกรนด์ ในกรุง โดฮา รัฐการ์ตา (ตะวันออกกลาง) และกรุงแอดดิสอาบาบา ประเทศ เอธิโอเปีย (แอฟริกา) ท�ำให้ในปีนี้มีโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทา ราเพิ่มขึ้นเป็น 66 แห่ง มีจ�ำนวนห้องพักรวมแล้วมากกว่า 13,000 ห้อง ใน 9 ประเทศ ได้แก่ ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ศรีลังกา มัลดีฟ ส์ จีน และมอริเชียส การ์ตา และเอธิโอเปีย โดยเป็นโรงแรมที่บริษัท ลงทุนเอง 15 แห่ง อยู่ภายใต้สัญญาบริหารจัดการ 51 แห่ง และ 42 แห่งเปิดให้บริการแล้ว ทั้งนี้ รายละเอียดการขยายงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ การเปิดโรงแรมใหม่และการท�ำสัญญาบริหารจัดการโรงแรมในปี 2556 มีดังต่อไปนี้ A. เปิดโรงแรมภายใต้สัญญาบริหารจัดการ 7 แห่ง ได้แก่ a. ประเทศไทย I. เซ็นทาราซีวิวรีสอร์ท เขาหลัก (218 ห้อง) II. โรงแรมเซ็นทาราวอเตอร์เกตพาวิลเลียน กรุงเทพฯ (281ห้อง) III. เซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ (150 ห้อง) IV. เซ็นทาราแกรนด์โมดัสรีสอร์ทและสปา พัทยา (215 ห้อง) V. เซ็นทาราแกรนด์พระต�ำหนักรีสอร์ท พัทยา (165 ห้อง) b. ต่างประเทศ I. เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา (125 ห้อง) II. เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเชียส (100 ห้อง) B. เปิดโรงแรมที่บริษัทลงทุนเอง 1 แห่ง ได้แก่ เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ (140 ห้อง) C. เซ็นสัญญาบริหารจัดการโรงแรมใหม่ 10 แห่ง ได้แก่ a. เซ็นทาราซีวิวรีสอร์ท เขาหลัก (218 ห้อง - เปิดให้บริการแล้ว) b. โรงแรมบลูมารีนรีสอร์ทและสปา ภูเก็ต (210 ห้อง - เปิดให้ บริการแล้ว) c. โรงแรมโคซี ล�ำปาง (120 ห้อง - เปิดให้บริการปี 2559) d. เซ็นทราบางเทารีสอร์ท ภูเก็ต (170 ห้อง - เปิดให้บริการปี 2559) e. เซ็นทาราแกรนด์แอดดิสอาบาบา เอธิโอเปีย (300 ห้อง - เปิดให้ บริการปี 2560) f. เซ็นทรามารีส รีสอร์ท จอมเทียน (281 ห้อง - เปิดให้บริการปี 2559) g. เซ็นทาราพิลิแกนเบย์สอร์ทและสปา กระบี่ (210 ห้อง - เปิดให้ บริการปี 2560)

รายงานคณะกรรมการ

การพัฒนาธุรกิจโดยเซ็นทารา อินเตอร์เนชั่ นแนล แมนเนจเม้นท์ (CIM)

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

19


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจโรงแรม รายงานคณะกรรมการ

การตลาด

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

จากรายงานสรุปจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติประจ�ำปี 2556 ที่เพิ่มขึ้นเป็น 26,735,583 คน หรือเพิ่มร้อยละ 19.60 นั้น พบว่า ตลาดที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดได้แก่ จีน (ร้อยละ 68.3) รัสเซีย (ร้อย ละ 31.93) และยุโรปตะวันออก (ร้อยละ 23.23) โดยชาติต่างๆ ใน เอเชียตะวันออกรวมกันมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.47 สภาวะตลาดที่ เ ป็ น บวกดั ง กล่ า วมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การขั บ เคลื่อนกิจกรรมและทิศทางการท�ำตลาดของเซ็นทารามาโดยตลอด จนกระทั่งไตรมาสสุดท้ายของปี ซึ่งธุรกิจของเราได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ทางการเมืองและท�ำให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนการ ตลาดและการขายในช่วงระยะเวลาสั้นๆ นี้ ส�ำหรับตลาดที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดของบริษัทในปี 2556 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2555 ได้แก่ แอฟริกาใต้ (ร้อยละ 459), จีน (ร้อยละ 190), อิตาลี (ร้อยละ 96), ฝรั่งเศส (ร้อย ละ 93), ญี่ปุ่น (ร้อยละ 69), มาเลเซีย (ร้อยละ 57.9), รัสเซีย (ร้อยละ 42.8) และเยอรมนี (ร้อยละ 33) ปี 2013 ยังคงเป็นปีของการพัฒนาปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้โรงแรมและรีสอร์ทในเครือที่ก�ำลังเพิ่ม จ�ำนวนขึ้นได้รับการสนับสนุนทางการตลาดที่จ�ำเป็นอย่างครบถ้วน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ไม่ว่าจะอยู่ในตลาดที่อิ่มตัวแล้วหรือตลาด ใหม่ๆ ในส่วนของส�ำนักงานขายในต่างประเทศนั้น ปัจจุบัน เซ็นทารามีส�ำนักงานขายทั้งสิ้น 27 แห่งใน 15 ประเทศและจะเพิ่ม จ�ำนวนขึ้นเรื่อยๆ โดยก้าวส�ำคัญในรอบปีที่ผ่านมาของเรา ได้แก่ การ เข้าสู่ตลาดที่มีศักยภาพสูงอย่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ด้วยการ สนับสนุนของเครือข่ายคู่ค้าที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ นอกจากนี้เรา ยังขยายตลาดด้วยการเปิดส�ำนักงานขายในเวียดนามและอินโดนีเซีย เพื่อรองรับธุรกิจโรงแรมในประเทศและปริมาณความต้องการที่เพิ่ม ขึ้นของนักท่องเที่ยวที่นิยมเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ และเพื่อเป็นการสนับสนุนเครือข่ายการท�ำตลาดที่ก�ำลัง เติบโตนี้ บริษัทได้น�ำระบบรายงานการขายบนเว็บไซต์รูปแบบใหม่ เข้ามาใช้เพื่อช่วยในการจัดการข้อมูลและท�ำให้ทีมขายของเราที่มีอยู่ มากกว่า 250 คนทั่วโลกสามารถท�ำรายงานการขายได้แบบ real-time

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

20

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

นอกจากนี้ ยังเรายังคงท�ำกิจกรรมต่างๆ บนเครือข่าย สังคมออนไลน์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งกิจกรรมนี้เกิดจากริเริ่มของบริษัทที่ จะหาช่องทางในการสื่อสารกับแขกที่มาพักกับเรา ไม่ว่าจะเคยเข้าพัก ก�ำลังพักอยู่ หรือมีแผนการเข้าพักในอนาคต โดยได้มีการเพิ่มทีมงาน เพื่อให้การท�ำกิจกรรมเป็นไปอย่างมีคุณภาพ และได้จ�ำนวนผู้ติดตาม มากที่สุดในกลุ่มธุรกิจโรงแรมของประเทศไทย ขณะเดียวกัน เราได้ขยายทีมงานวางแผนการขายและ บริหารจัดการรายได้ เพื่อมาดูแลด้านข้อมูลและเพื่อเป็นการสนับสนุน การขายและการตลาดของโรงแรมในเครือรวมถึงลูกค้าธุรกิจหลักๆ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มฝ่ายบริหารห้องพัก ซึ่งท�ำหน้าที่วางกลยุทธ์ และจัดระบบควบคุมต่างๆ เพื่อบริหารการขายห้องพักให้เป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด ส�ำหรับบัตรเซ็นทารา - เดอะวันการ์ด นับเป็นอีกหนึ่ง เครื่องมือทางการตลาดที่ช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่โรงแรมและรีสอร์ทใน เครือ ซึ่งจากการเปิดตัวในปีแรกพบว่าได้รับความส�ำเร็จอย่างดีเยี่ยม โดยเฉพาะในแง่การเติบโตของจ�ำนวนสมาชิกบัตร และในอนาคต อันใกล้บริษัทมีแผนที่จะผนวกเซ็นทารา – เดอะวันการ์ด เข้ากับ โปรแกรม เดอะวันการ์ดของกลุ่มเซ็นทรัล เพื่อให้เป็นการ์ดเพียงใบ เดียวอย่างแท้จริงที่ให้สิทธิประโยชน์ที่เหนือกว่า ในปี 2557 บริษัทวางแผนที่จะปรับเปลี่ยนแคมเปญ โฆษณาใหม่เพื่อให้ค�ำจ�ำกัดความที่ชัดเจนและตอกย�้ำความแตกต่าง ของแต่ละแบรนด์ สโลแกน “The Best Thing in Life”, “Your Way” และ “Like it like you dream it” จะถูกน�ำมาใช้ในแคมเปญใหม่เพื่อ สะท้อนคุณลักษณะเฉพาะและสิ่งที่แต่แบรนด์ต้องการน�ำเสนอ ท้ายที่สุดนี้ เราจะยังคงให้ความส�ำคัญกับระบบอี-คอม เมิร์ซและกลยุทธ์ออนไลน์เพื่อเป็นการกระตุ้นปริมาณการท�ำธุรกรรม ผ่านทางออนไลน์ โดยจะมีการปรับปรุงและเปิดตัวเว็บไซต์ใหม่อีกไม่ น้อยกว่า 6 เว็บไซต์ รวมถึงจะมีการเพิ่มตัวเลือกภาษาที่จะใช้บนเว็บ อีกหลายภาษาภายในปี 2557


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจอาหาร และเปิดให้บริการอยู่ทั่วประเทศไทย จากการที่อุตสาหกรรมนี้มีการ เติบโตอย่างต่อเนื่องนี้เอง ท�ำให้ภาวะการแข่งขันสูงมากขึ้นตามไป ด้วย ซึ่งจะเห็นได้จากการเข้าลงทุนอย่างมากมายในธุรกิจร้านอาหาร เครือข่ายของบรรดาผู้ประกอบการธุรกิจอาหารเองและผู้ประกอบการ ธุรกิจในด้านอื่นๆ อาทิเช่น อสังหาริมทรัพย์ ลอจิสติกส์ บริษัท สินค้าอุปโภคบริโภค ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น

รายงานธุ ร กิ จ

อุตสาหกรรมอาหารเครือข่าย (Food Chain Industry) แบ่ง ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คืออุตสาหกรรมร้านอาหารจานด่วน (Quick Service Restaurants - QSRs) และ อุตสาหกรรมอาหารนั่งทานบริการ ที่โต๊ะ (Casual Dining Restaurants - CDRs) ในปัจจุบันอุตสาหกรรม อาหารเครือข่าย (Food Chain Industry) เป็นอุตสาหกรรมที่มีการ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุที่ผู้บริโภคในปัจจุบันมีความจ�ำเป็น ต้องออกไปท�ำงานนอกบ้านมากขึ้น สภาพสังคมที่รีบเร่งแข่งกับเวลา อีกทั้งปัญหาการจราจร ท�ำให้เวลา และความสะดวกในการประกอบ อาหารเพื่อรับประทานเองลดน้อยลง ผู้บริโภคที่รับประทานอาหาร นอกบ้าน จึงมีจ�ำนวนเพิ่มสูงมากขึ้น ประกอบกับอาหารประเภทนี้ มีความสะดวก รวดเร็ว สะอาด และราคาไม่สูงนัก สามารถตอบ สนองความต้องการ และรูปแบบการด�ำเนินชีวิตของกลุ่มคนในสังคม เมืองได้เป็นอย่างดี ซึ่งส่งผลให้การใช้บริการอุตสาหกรรมอาหารเครือ ข่ายเพิ่มสูงขึ้น โดยกลุ่มเป้าหมายไม่ใช่เฉพาะแค่ ผู้บริโภคกลุ่มวัยรุ่น เท่านั้นที่นิยมเข้ามาใช้บริการ แต่ยังครอบคลุมไปถึงกลุ่มครอบครัว เด็ก และคนท�ำงาน จึงท�ำให้ปัจจุบัน ฟู้ดเชนเรสตอรองส์เป็นที่นิยม

รายงานคณะกรรมการ

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

ผลประกอบการที่ ผ่านมา

รายงานทางการเงิ น

หลายปีที่ผ่านมา บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด “ซีอาร์จี” มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องโดยมีผลประกอบการเฉลี่ยที่ดีเกิน เป้าหมายถึงแม้ว่าจะเผชิญเหตุการณ์ความผันผวนของเศรษฐกิจโลก และการเมืองภายในประเทศ ซีอาร์จี ก็ยังคงสามารถสร้างการเติบโต ได้อย่างต่อเนื่อง จากการที่บริษัทฯมีการวางแผนกลยุทธ์ที่ดี และมี การเตรียมพร้อมในการปรับตัวและแก้ปัญหาต่อวิกฤตการณ์ต่างๆได้ ในปี 2556 บริษัทฯ มีรายได้ 9,058 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 จากปี ที่ผ่านมา โดยมีจ�ำนวนสาขารวมทั้งสิ้น 743 สาขา ภายใต้การด�ำเนิน ธุรกิจของ 12 แบรนด์ ซึ่งบริหารงานโดยบุคลากรที่มีความสามารถ เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจไปสู่ความส�ำเร็จ นอกจากการมีผลประกอบการ ที่น่าพอใจแล้ว ซีอาร์จี ยังได้รับรางวัลจากต่างประเทศรวม 4 รางวัล โดยได้รับจากแบรนด์ เค เอฟ ซี และ แบรนด์ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ ในปี 2557 คาดว่าสภาวะเศรษฐกิจจะมีแนวโน้มดีขึ้นในขณะเดียวกัน สภาวะการแข่งขันในธุรกิจร้านอาหารสูงขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ดี ซีอาร์จี ได้วางแผนกลยุทธ์ต่างๆทั้งด้านการบริหารภายใน ทั้งด้าน ต้นทุนการผลิตและการบริการ, ด้านบุคลากรและ ด้านการส่งเสริม การตลาด เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆไว้เป็นอย่างดี

รางวัลจากแบรนด์ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ “Golden Spade“ IPS Award Nominations ได้รับ จาก Cold Stone Creamery ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้าเป็นสาขาที่เปิด ใหม่แล้วสามารถท�ำยอดขายได้สูงสุด บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

21

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รางวัลจากแบรนด์ เค เอฟ ซี ได้รับการโหวตจากผู้อ่านนิตยสารรีดเดอร์ส ไดเจสท์ ทั่วประเทศ ให้ เคเอฟซี เป็น “สุดยอดแบรนด์ร้านอาหารส�ำหรับครอบครัวที่ผู้บริโภคให้ความไว้วางใจ” โดยได้ รับรางวัล “โกลด์ อวอร์ด แบรนด์สุดยอด” TRUSTED BRAND ประจ�ำปี 2556 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจอาหาร รายงานคณะกรรมการ

ผลประกอบการที่ ผ่านมา (ต่อ) รางวัลจากแบรนด์ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ “Best Seasonality Created Product“ IPS Award Nominations ได้รับจาก Cold Stone Creamery ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากชนะเลิศด้าน การพัฒนาสินค้า

รางวัลจากแบรนด์ โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ “Best Social Media Program“ IPS Award Nominations ได้รับจาก Cold Stone Creamery ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากจัด กิจกรรม การพัฒนายอดขายและสร้างแบรนด์ผ่านโซเชียล มีเดียดีเด่น

รายงานธุ ร กิ จ

มิส เตอร์ โดนัท รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ผู้น�ำตลาดโดนัทในประเทศไทยที่ยังคงรักษาส่วนแบ่ง ทางการตลาดได้มากกว่าร้อยละ 55 อันเป็นผลมาจากการวิจัยและ วิเ คราะห์ ผู ้ บริ โ ภคอย่ า งลึก ซึ้งเพื่อตอบสนองความต้องการของผู ้ บริโภคได้ตรงจุด ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่ถูกใจ ผู้บริโภคออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการวางแผนการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงผู้บริโภคอย่างมีประสิทธิภาพ และการมุ่งเน้น การขยายสาขาให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อเข้าถึงผู้บริโภคให้ได้ มากที่สุด ส�ำหรับปี 2556 นี้ มิสเตอร์ โดนัท ประสบความส�ำเร็จ ในการสร้างยอดขายรวมทุกสาขา (Total System Sales) เพิ่มขึ้นร้อย ละ 12.6 และการเพิ่มยอดขายต่อร้าน (Same Store Sales) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.5 จากปีที่ผ่านมา และมีการเปิดร้านเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 20 สาขาทั่วประเทศ โดยมีร้านมิสเตอร์ โดนัท รวมทั้งสิ้น 309 สาขา ครอบคลุม กว่า 70 จังหวัดทั่วประเทศ ในปีที่ผ่านมา มิสเตอร์ โดนัท พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด รวมถึงได้มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ อาทิเช่น โฆษณาทีวี รถไฟฟ้า รวมถึงได้ให้ความส�ำคัญกับสื่อทางด้าน ออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงผู้บริโภคได้มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการขยายฐาน ลูกค้า มิสเตอร์ โดนัท ได้มีการจัดโปรโมชั่นร่วมกับพันธมิตรต่างๆ นับเป็นการตอกย�้ำการรับรู้ แบรนด์ของผู้บริโภคให้มีความแข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น

22

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานธุ ร กิ จ

ผู้น�ำในธุรกิจร้านอาหารบริการด่วน (QSR) ของ ประเทศไทย มีจ�ำนวนร้านอาหารของ เค เอฟ ซี ในปี 2556 ทั้งสิ้น กว่า 500 สาขาทั่วประเทศ ในขณะที่ร้านสาขาภายใต้การบริหารงาน ของ บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด มีจ�ำนวน 194 สาขา ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 40 จากจ�ำนวนร้านทั้งหมด ส่วนร้านที่เหลืออยู่ภาย ใต้การบริหารจัดการของบริษัท ยัม ไทยแลนด์ (บริษัทเจ้าของแฟรน ไชส์) ในปี 2556 เค เอฟ ซี มุ่งพัฒนาเมนูใหม่ เพื่อตอบสนอง ความต้องการ และความพึงพอใจของผู้บริโภคในทุกมื้ออาหาร รวม ถึงเติมเต็มช่องว่างทางการตลาดส�ำหรับผู้บริโภคด้วยเมนูที่เหมาะกับ ชีวิตและไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคในสังคมเมืองมากขึ้น รวมทั้งการจัด ชุดเมนูที่หลากหลายให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้บริโภคในแต่ละกลุ่ม ใน ราคาเริ่มต้นที่ทุกคนสามารถจ่ายได้ นอกจากนี้ เค เอฟ ซี ยังมุ่งเน้นการสร้างความผูกพัน กับแบรนด์ (Brand Loyalty) และพันธสัญญาที่มีต่อกลุ่มลูกค้ากลุ่ม ต่างๆ ผ่านหนังโฆษณาชุดต่างๆ ตลอดจนสนับสนุน โครงการลีก ฟุตบอลสนามเล็ก 7คน เซเว่น ชู๊ท (7-Shoot Football League) และ การเข้าถึงลูกค้ากลุ่มโรงเรียน (School Tour) อย่างต่อเนื่องที่ท�ำให้ แบรนด์ เค เอฟ ซี เข้าถึงชุมชนได้เป็นอย่างดี

รายงานคณะกรรมการ

เค เอฟ ซี

รายงานทางการเงิ น

อานตี้ แอนส์

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

23

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ผู้น�ำในตลาดซอฟท์เพรทเซลในประเทศไทย ยังคงความ แข็งแกร่งของ แบรนด์อย่างต่อเนื่อง จากอัตราการเติบโตของรายได้ที่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 14% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา และมีการเปิดร้านเพิ่ม 16 สาขา โดยมีร้านรวมทั้งสิ้น 117 สาขา ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีจ�ำนวน ร้าน อานตี้ แอนส์ มากเป็นอันดับ 2 ของอานตี้ แอนส์ ทั่วโลกรองจาก สหรัฐอเมริกา ความส�ำเร็จต่างๆมาจากการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่มีรูป แบบที่หลากหลายและรสชาติที่อร่อยภายใต้แนวคิด ”ความสุข อร่อย เกินขาด”(Happiness x 2) การขยายช่องทางการขายผ่านช่อง ทางใหม่ๆ เพิ่มขึ้น อาทิเช่น โรงพยาบาล พร้อมทั้ง การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพผ่านช่องทางต่างๆ อย่างต่อเนื่อง การ จัดโปรโมชั่นร่วมกับพันธมิตรเพื่อขยายฐานลูกค้า การจัดกิจกรรมเพื่อ สังคมกับกลุ่มสมาชิกเพื่อสร้างความผูกพันกับแบรนด์


รายงานธุ ร กิ จ

ภาพรวมธุรกิจอาหาร รายงานคณะกรรมการ

โอโตยะ

รายงานธุ ร กิ จ

ในปี 2556 มีการพัฒนาในหลายๆด้านหลังจาก ซีอาร์จี ได้เข้าซื้อกิจการและสิทธิ์การบริหารแบรนด์ โอโตยะ ในประเทศไทย โดยเริ่มจากการพัฒนาเมนูหลัก (Grand Menu) โดยมีการพัฒนา เมนูใหม่ๆเข้ามาเพิ่มเติมอย่างหลากหลาย การทยอยปรับปรุงร้าน อาหารให้มีความทันสมัยมากขึ้น การตอกย�้ำความเป็นร้านอาหาร ญี่ปุ่นที่มีความเป็นญี่ปุ่นแท้ๆ (Authentic Japanese Home Cooking Restaurant) โดยสื่อสารถึงกลุ่มผู้บริโภคของแบรนด์โอโตยะ ผ่านการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ อาทิเช่น โฆษณาทีวี รถไฟฟ้า ป้ายโฆษณาดิจิตอล และโซเชียล มีเดีย การขยายร้านอาหารเพิ่ม ทั้งในกรุงเทพและเมืองใหญ่ เช่น เชียงใหม่ นครราชสีมา ศรีราชา หาดใหญ่ ปัจจุบันมีร้านโอโตยะทั้งหมดรวม 40 สาขา นอกจากนี้ยัง มีการขยายการบริการส่งอาหารถึงบ้าน (Home Delivery) อย่างต่อ เนื่องโดยมีการขยายโซนให้ครอบคลุมกรุงเทพให้มากขึ้น

แบรนด์อื่ นๆ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ซีอาร์จี มีการขยายร้านอย่างต่อเนื่องโดยมีการเพิ่มจ�ำนวน สาขาควบคู่ไปกับการท�ำกิจกรรมการตลาดไม่ว่าจะเป็นแบรนด์ชาบูต ง ราเมน แบรนด์โยชิโนยะ แบรนด์เดอะ เทอเรส แบรนด์โคลด์ ส โตน ครีมเมอรี่ โดยมีการเปิดร้านในปี 2556 รวมกันกว่า 25 สาขา และในปี 2556 ซีอาร์จี ได้น�ำ แบรนด์ “เทนยะ” (TENYA) ซึ่งเป็นร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทข้าวหน้า เทมปุระ (Tendon) ใหม่เข้า สู่ตลาดในเดือน ตุลาคม โดยมีการเปิดร้านไปแล้ว 2 สาขา นอกจาก นั้นยังมีการเซ็นสัญญากับแบรนด์”คัตสึยะ”(KATSUYA) ซึ่งเป็นร้าน อาหารญี่ปุ่นประเภทข้าวหน้าหมูทอด (ทงคัตสึ) ที่มีชื่อเสียงในประเทศ

24

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ญี่ปุ่น โดยได้ลิขสิทธ์การบริหารจัดการแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย (Master Franchise Agreement)เช่นเดียวกัน ซึ่งในปีต่อๆไป แบรนด์ต่างๆเหล่านี้จะมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้นและ การสร้างแบรนด์ให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง

รายงานธุ ร กิ จ

การพัฒนาธุรกิจ รายงานทางการเงิ น

ตลาดค้าปลีกในปี 2556 และในปีถัดๆ ไป จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ประกอบการค้าปลีก ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ บริโภคและนักลงทุน ร้านค้าที่ขายสินค้าหรือให้บริการเฉพาะอย่างจะได้รับความนิยมมากขึ้น ตลาดค้าปลีกจะมุ่งเน้นการให้บริการผู้บริโภค เป็นพิเศษในแต่ละกลุ่ม การรวมตัวของ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน” จะน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อรูปแบบธุรกิจค้าปลีกของไทย โดยเฉพาะเมื่อผู้ประกอบการค้าปลีกข้ามขาติ ได้เข้าสู่ตลาด เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะมีขึ้น ตลอดจนเพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันที่จะทวีความรุนแรง มากขึ้น จากการเข้ามาของผู้ประกอบการค้าปลีกข้ามชาติ บจก. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป ได้วางแผนการขยายสาขาร้านอาหารในเครือขอ งบริษัทฯ ในเชิงรุก มุ่งเน้นการขยายสาขาเพื่อขยายตลาด ไปสู่กลุ่มผู้บริโภคที่ยังไม่มีโอกาสได้ใช้บริการต่างๆ ของร้านอาหารในเครือบริษัทฯ ในทุกพื้นที่ บริษัทฯ มีแผนในการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ความระมัดระวังในการเลือกสถานที่เปิดร้านให้มีความเหมาะสมกับแต่ละ ประเภทธุรกิจ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจร้านอาหารของบริษัทฯ จะประสบความส�ำเร็จและมีก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ตลอดจนธุรกิจร้าน อาหารใหม่ของบริษัทฯ ต้องได้รับการตอบรับจากผู้บริโภคอย่างดีเยี่ยม การคัดเลือกสถานที่ตั้งร้านให้มีความโดดเด่นกว่าร้านค้าคู่แข่ง และ การขยายสาขาเพื่อเพิ่มช่องทางใหม่ในการเพิ่มยอดขายของบริษัทฯ เป็นสิ่งที่บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญเป็นอันดับต้นๆ และได้บรรจุไว้ใน แผนการขยายสาขาของบริษัทฯ ในทุกปี

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

25


รายงานธุ ร กิ จ

การพัฒนาอย่างยั่ งยืน ธุรกิจโรงแรม รายงานคณะกรรมการ

นโยบายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของโรงแรมและรีสอร์ทใน เครือเซ็นทารา

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายให้การด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทและบริษัทย่อย เป็นไปด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่ง แวดล้อม และผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นไปเพื่อความยั่งยืนของบริษัท รวม ทั้งระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดยรวม ดังที่ระบุไว้ ใน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ก�ำหนดนโยบายด้าน การพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน เชื่อมโยงและประสานสอดคล้องกันทั้งองค์กร และมีผลการด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าประสงค์ ดังนี้ • ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลั ก ธรรมภิ บ าลและการก� ำ กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี มีจริยธรรมและคุณธรรมใน การด�ำเนินธุรกิจ ซื่อสัตย์ โปร่งใส และตรวจสอบได้ • ด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยยึด 4 เสาหลักในการพัฒนา ได้แก่ด้านศิลปวัฒนธรรม และประเพณี ด้านความเท่าเทียมทางสังคม ด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม และความพอเพียงทางเศรษฐกิจ โดยค�ำนึง ถึงผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียเป็นส�ำคัญ และให้เกิด ประโยชน์อย่างแท้จริงต่อสังคมรวม • บูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้เป็นหนึ่งเดียวกับนโยบายการด�ำเนินกิจการขององค์กร • สื่อสาร สร้างความเข้าใจที่ดีภายในองค์กร เป็นการปลูก จิตส�ำนึกและสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงาน เพื่อร่วมกัน ปฏิบัติงานประสบผลส�ำเร็จตามเป้าประสงค์ • เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน ทั้งแก่ลูกค้า คู่ค้า และผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อ ความร่วมมือสนับสนุนซึ่งกันและกัน • ประกาศใช้แผนงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมี ข ้ อ ก� ำ หนดในการปฏิ บั ติ อ ย่ า งชั ด เจนและวิ ธี ก าร ติดตามประมวลผล • ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ ปฏิบัติงานโดยยึดมั่นใน คุณธรรมและจริยธรรมอย่างเคร่งครัด • ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพื่อ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน สามารถ พึ่งพาตนเองและเลี้ยงดูครอบครัวได้ • เสริ ม สร้ า งการปลูก จิตส�ำนึก ให้พ นัก งานมีความรั บ ผิ ด ชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมในการช่วยกันประหยัดพลังงาน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือ และพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ที่บริษัทด�ำเนินธุรกิจ • วางระบบการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การประหยัด พลังงาน และการอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างเป็นรูปธรรม โดย มีตัวชี้วัดเป็นก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร • ท�ำรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยแสดงผลจากตัว ชี้วัดที่ก�ำหนด และน�ำประเด็นด้านผลกระทบที่เกิดขึ้นน�ำ เสนอต่อลูกค้า ชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มรับทราบ เพื่อสร้างความตระหนักรู้และร่วมมือกันรณรงค์ลดผลกระ ทบต่อสิ่งแวดล้อม

26

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

การบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ของ กลุ่ม บริษัท โรงแรม และ รีสอร์ทในเครือเซ็นทารา เป็น สิ่ง ส�ำคัญในการป้องกัน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ต่อ สังคม ชุมชน และผู้คน ที่ อาศัยในชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ดังนั้นเซ็นทาราได้ มองเห็นถึงความส�ำคัญในเรื่อง นี้ จึงได้เกิดการตั้งพันธสัญญาขึ้นในเรื่องการใส่ใจในเรื่องสิ่งแวดล้อม และการพั ฒนาอย่างยั่งยืนในปี 2007 จุดประสงค์หลัก คือการ มีพันธะสัญญากับทุกมีส่วนได้ ส่วนเสียใน ธุรกิจ ในการ อนุรักษ์และรักษา สิ่งแวดล้อม และส่งเสริม รายได้ โอกาส และการช่วยเหลือให้กับชุมชมใกล้เคียง เพื่อมุ่งเน้น พันธสัญญาและ การปฏิบัติให้ สอดคล้อง เป้นไปในทิศทางเดียวกัน และ มีการวัดผลที่ ได้ มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ เซ็นทาราได้ เลือก บริษัทที่มีความช�ำนาญ ในด้านนี้มาเป็น ที่ปรึกษา เพิ่อช่วยจัดการและพัฒนา และวัดผลในเรื่องสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับกลุ่ม โรงแรม Grand hotels (owned hotels) โรงแรมและรีสอร์ทในเครือ บริหารจัดการการคุณภาพสิ่ง แวดล้อม โดยมีเกณฑ์ในการตรวจสอบที่เป็นมาตรฐานและได้รับการ ยอมรับในระดับสากล ในดังนี้ : • การกระจายของก๊าซเรือนกระจก • การบริหารจัดการด้านการอนุรักษ์ • การอนุรักษ์และการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ • การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ • การบริหารจัดการปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม • การบริหารจัดการและการวางแผนการใช้ที่ดิน • การควบคุมเสียงและการรักษาคุณภาพอากาศ • การบริหารจัดการน�้ำเสีย • การจัดเก็บวัตถุที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ในการจัดการประเมินผลในเรื่องสังคมและสิ่งแวดล้อม ใช้ระบบการวัดผลผ่าน ระบบคอมพิวเตอร์และ หลังจากนั้นจะมี องค์กรอิสระเข้ามาตรวจทุกปีเพื่อความโปร่งใสและ ความถูกต้อง โดยมีโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราที่ได้รับการรับรองและได้ ปะกาศนียบัตรด้านการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับธุรกิจ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและโรงแรม ดังนี้


นักเรียนที่ส�ำเร็จการศึกษาเข้าร่วมโครงการ นักเรียนที่เข้าร่วม โครงการจะได้รับการฝึกอบรมเตรียมความพร้อมในระยะเวลา 5 เดือน ในส่วนของงานห้องพัก งานบริการอาหารและเครื่อง ดื่ม และงานประกอบอาหาร โดยในระหว่างการฝึก จะได้รับ สวัสดิการด้านที่พัก อาหาร เครื่องแบบ อุปกรณ์ เงินเบี้ยเลี้ยง ประกันสุขภาพ และได้รับประกาศนียบัตรเมื่อส�ำเร็จการฝึก อบรม และที่ส�ำคัญมีโอกาสได้รับเข้าเป็นพนักงานประจ�ำ ใน โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ในจังหวัดต่างๆ ในปีพ.ศ. 2546 มีนักเรียนที่ส�ำเร็จการฝึกอบรมและท�ำงานเป็นพนักงาน ประจ�ำทั้งสิ้น 121 ราย โดยในจ�ำนวนนี้มีนักเรียนที่มีความ บกพร่องทางร่างกายจ�ำนวน 26 ราย และมีจ�ำนวนพนักงาน ประจ�ำที่ส�ำเร็จการฝึกอบรมจากโครงการนี้ รวมทั้งหมดตั้งแต่ปี แรก ที่ด�ำเนินโครงการ 4 สร้างนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2554 ถึงปีล่าสุด ปีพ.ศ. 2556 เป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 281 ราย นอกจากนี้ในปีพ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารายังได้รับ เกียรติ จากสมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (PATA: Pacific Asia Travel Association) ที่มอบรางวัลชนะ เลิศสาขาการศึกษาและการฝึกอบรม (PATA Grand Award in Education and Training) บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

27

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารามุ่งมั่นให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อนส�ำคัญที่จะช่วย เสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและสังคมให้พัฒนาได้อย่างยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราจึงได้ด�ำเนิน โครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้านการพัฒนาบุคลากร ดังต่อไปนี้ 1. โครงการ 4 สร้าง: สร้างฝัน สร้างโอกาส สร้างอาชีพ สร้างอนาคต กับเซ็นทารา (4 Cs: Centara Career Creation for Children) ซึ่งเป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาฝึกอบรมเตรียม ความพร้อมฝีมือแรงงานของเยาวชนผู้ด้อยโอกาส ที่ส�ำเร็จการ ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และ ราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมถึงจากโรงเรียน โสตศึกษา และโรงเรียนสอนคนตาบอดด้วย โครงการนี้เป็น โครงการพัฒนาอาชีพเยาวชนที่ด�ำเนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2546 เมื่อครั้งยังเป็นโครงการที่มีชื่อว่า Youth Career Development Programme (YCDP) ในอดีต แต่ในปัจจุบัน โครงการนี้ได้มีการลงนามบันทึกความร่วมมือกับส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และกรม พัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยทุกปี ฝ่ายทรัพยากร บุคคลจะเดินทางไปประชาสัมพันธ์ แนะแนว และสัมภาษณ์

รายงานทางการเงิ น

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

รายงานธุ ร กิ จ

ประกาศนียบัตร EarthCheck ‘SILVER CERTIFICATED 2013’ • เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ • เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา หัวหิน • เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกออกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์

รายงานคณะกรรมการ

ประกาศนียบัตร EarthCheck ‘BRONZE BENCHMARKED 2013’ • เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ • เซ็นทาราแกรนด์ไอแลนด์และสปา มัลดีฟส์ • เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต

นอกจากนี้ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ยังได้ด�ำเนินนโยบาย ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ อีกหลายโครงการ ดังนี้ • การติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Hot Water และ Heat Recovery เป็นการใช้ความร้อนทิ้งจากแอร์และเครื่อง หุงต้มมาท�ำเป็นระบบผลิตน�้ำร้อนใช้ในโรงแรมฯ แทนการใช้ หม้อต้มไฟฟ้า ท�ำให้ประหยัดทั้งการใช้พลังงานฟ้าฟ้า และลด ค่าใช้จ่ายลงอย่างชัดเจน โดยใน ปี 2556 นี้ เซ็นทาราแก รนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา หัวหิน ได้รับรางวัล Thailand Energy Awards 2013 รางวัลดีเด่นด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภท อาคารควบคุมดีเด่น • การพัฒนาระบบการซักผ้าโดยใช้โอโซน ส่งผลให้ไม่ต้องใช้สาร เคมีในการบ�ำบัดน�้ำเสียจากการซักผ้า โดยสามารถน�ำน�้ำที่ผ่าน การบ�ำบัดไปรดต้นไม้ แปลงผักและพืชสมุนไพรในสวนของโรง แรมฯ ได้อีกทางหนึ่ง • การรณรงค์งดใช้โฟม โดยเปลี่ยนมาใช้วัสดุที่ท�ำมาจากวัสดุ ธรรมชาติและย่อยสลายได้ง่าย • การลดการใช้กระดาษ โดยการใช้ซ�้ำและใช้กระดาษพิมพ์ งานเท่าที่จ�ำเป็น เช่น การจัดเก็บเอกสารรวมถึงการเผยแพร่ เอกสารประชาสัมพันธ์ต่างๆ ในรูปแบบ Electronic เป็นต้น • การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก โดยโรงแรมฯ ใช้ถุงผ้าส�ำหรับส่ง ผ้าซักรีด และใส่หนังสือพิมพ์แทนการใช้ถุงพลาสติก • การน�ำสบู่ก้อนที่แขกของโรงแรมใช้ไม่หมดไปต้มเพื่อใช้ส�ำหรับ งานซักล้างและท�ำความสะอาด เช่น ใช้ซักผ้าถูพื้น เป็นต้น • การปลูกพืชสมุนไพรและผักสวนครัวในพื้นที่สวนของโรงแรม โดยปักป้ายชื่อพืชผักต่าง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อ ให้แขกของโรงแรมฯ สามารถเดินชม ได้ทั้งความรู้และความ เพลิดเพลิน นอกจากนี้ ยังน�ำผลผลิตที่ได้มาปรุงเป็นเมนู สุขภาพต่าง ๆ และสามารถใช้พืชผักสมุนไพรแทนดอกไม้ใน การตกแต่งสถานที่และห้องอาหารโรงแรมฯ ได้อีกด้วย


รายงานธุ ร กิ จ

การพัฒนาอย่างยั่ งยืน รายงานคณะกรรมการ

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

2. โครงการ Management Development Programme (MDP) เป็นโครงการการศึกษาและพัฒนาบุคลากรภายใน ของโรงแรม และรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา เพื่อพัฒนาสู่สายงานบริหารใน อนาคต โครงการนี้ได้รับการปรับปรุงพัฒนา โดยความร่วม มือกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยการจัดการ ธุรกิจการบริการแห่งเมืองเลงค์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (Swiss College of Hospitality Management Lenk) โดยพนักงาน ที่ผ่านการคัดเลือก จะต้องเข้ารับการฝึกอบรมในระยะเวลา 1 ปีเต็ม โดยช่วงแรก เป็นการฝึกอบรมภาคทฤษฎีด้านบริหาร จัดการกับมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ในระยะเวลา 2.5 เดือน จากนั้นเข้ารับการฝึกงานด้านการบริหารในโรงแรมและรีสอร์ท รางวัลชนะเลิศสาขาการศึกษาและการฝึกอบรม (PATA Grand Award in Education and Training) ในเครือเป็นระยะเวลา 2.5 เดือน และการฝึกอบรมในส่วน สุดท้าย จะเป็นการฝึกอบรมด้านงานโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ รวมถึงการฝึกงานในสถานประกอบการ ณ ประเทศส วิตเซอร์แลนด์ รวมเป็นระยะเวลา 7 เดือน โครงการนี้ได้ด�ำเนิน มาแล้วทั้งหมด 9 รุ่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จนถึงปัจจุบัน โดย ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา มีพนักงานที่ส�ำเร็จการฝึกอบรมใน โครงการนี้ 10 คน และมีพนักงานที่ส�ำเร็จโครงการนี้ตั้งแต่รุ่นที่ 1 จนถึงรุ่นล่าสุด และยังคงท�ำงานในโรงแรมและรีสอร์ทในเครือ เซ็นทาราอยู่ทั้งสิ้น 39 คน ส�ำหรับพนักงานที่มีศักยภาพ แต่ ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการ MDP ได้เนื่องด้วยข้อจ�ำกัดในการ โครงการ Management Development Programme (MDP) เดินทางไปต่างประเทศ สามารถเข้าร่วมโครงการ Fast Track Career Development Programme ที่ใช้ระยะเวลาตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปี โดยท�ำการฝึกอบรมและประเมินผลจากหัวหน้า พั ฒ นาพนั ก งานในกลุ ่ ม นี้ ใ ห้ เ ป็ น ผู ้ ฝ ึ ก อบรมประจ� ำ แผนก แผนกและหัวหน้างานในแผนกต่างๆ เมื่อฝึกส�ำเร็จ ก็จะได้รับ (Departmental Trainers) ที่มีประสิทธิภาพ โดยในปี พ.ศ. 2556 การพิจารณาเลื่อนขั้นเป็นหัวหน้างาน และผู้ช่วยผู้จัดการ หรือ ที่ผ่านมา มีผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรมในโครงการนี้ทั้งสิ้น 214 คน จากผู้ช่วยผู้จัดการเป็นผู้จัดการตามล�ำดับ 5. การก�ำหนดตัวชี้วัดจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมของพนักงาน เพื่อ 3. การตรวจสอบคุณภาพการด�ำเนินงานด้านฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส่งเสริมให้พนักงานได้รับการฝึกอบรมพัฒนาอย่างสม�่ำเสมอ และการฝึกอบรม (Human Resources and Training Audit) โดยในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส�ำนักงาน โดยในทุกปี ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส�ำนักงานใหญ่จะเดินทางไป ใหญ่ได้ก�ำหนดตัวชี้วัดจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมขั้นต�่ำประจ�ำ ตรวจเยี่ยมโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา และใช้เกณฑ์ ปีของพนักงาน อยู่ที่ 30 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยต่อคน โดยพนักงาน ที่สร้างขึ้น ในการประเมินคุณภาพด้านการจัดการทรัพยากร สามารถบันทึกชั่วโมงการฝึกอบรมได้ในสมุดบันทึก ที่เรียกว่า บุคคล เพื่อสร้างความมั่นใจว่าโรงแรมและรีสอร์ทในแต่ละแห่ง 3 Ms Record: My Learning, My Career, My Future และ ด�ำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลและการฝึกอบรม ที่เป็นไปตาม สามารถบั น ทึ ก ชั่ ว โมงการฝึ ก อบรมได้ จ ากการเข้ า ฝึ ก อบรม นโยบายที่เป็นมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2556 ที่ ภายใน (in-house training) ที่จัดโดยฝ่ายทรัพยากรบุคคล ตาม ผ่านมา คะแนนการประเมินคุณภาพโดยเฉลี่ยของโรงแรมและ นโยบายของฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส�ำนักงานใหญ่ การฝึกอบรม รีสอร์ทในเครือเซ็นทาราอยู่ในระดับ ร้อยละ 82.45 ซึ่งนับว่ามี ภายนอก (external training) การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย การพัฒนาขึ้นจากปีก่อนหน้านี้ ในปีพ.ศ. 2555 ที่ได้คะแนนการ ด้านสุขอนามัย และการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (training for safety, ประเมินผลอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 78.98 security, hygiene and sustainability) และจากการฝึกอบรม ภายในแผนก (departmental training) โดยในปี พ.ศ. 2556 ที่ 4. โครงการการฝึกอบรมเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ฝึกอบรมของโรงแรม ผ่านมา โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทาราทั้งหมด สามารถ และรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา (Centara Hub Training) โดย บรรลุตัวชี้วัดจ�ำนวนชั่วโมงการฝึกอบรม อยู่ที่ 64 ชั่วโมงโดย ฝ่ายฝึกอบรม ส�ำนักงานใหญ่ ได้เดินทางไปจัดหลักสูตร เฉลี่ยต่อคน จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 30 ชั่วโมงโดยเฉลี่ยต่อคน การฝึกอบรม ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ Centara Spirit, Guest Experience Management, Professional Upselling, Effective 6. การลงนามบันทึกความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างๆ ใน Communication, และ Emotional Connections ให้กับ ทุกภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกงานเตรียมความพร้อม กลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นหัวหน้างาน และหัวหน้าแผนก เพื่อ

28

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ได้จัดโครงการ “สนามเด็กเล่นของหนู” เพื่อสร้างความสุขให้กับเด็ก นักเรียนในโรงเรียนที่ห่างไกลและขาดแคลนงบประมาณในจังหวัด ต่างๆ แบรนด์ อานตี้ แอนส์ ก็มีการจัดหาอุปกรณ์เพื่อสนับสนุน การศึกษาและอุปกรณ์การสันทนาการต่างๆ อาทิเช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์กีฬาต่างๆ เป็นต้น

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

29

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

นอกจากนี้ในส่วนของบริษัทฯก็มีการรณรงค์ให้พนักงาน ร่วมบริจาคโลหิตให้กับสภากาชาดไทย โดยมีการร่วมบริจาคทุกเดือน นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมสนับสนุนทางสังคมต่างๆ ผ่านทางแบรนด์ ในกลุ่มและในนามของบริษัท ซีอาร์จี เอง ทั้งนี้การจัดกิจกรรมช่วย เหลือสังคมดังกล่าว บริษัทฯ ได้รับการสนับสนุนที่ดีจากพนักงานและ คู่ค้าทางธุรกิจต่างๆ

รายงานทางการเงิ น

บริษัทฯมีนโยบายที่เน้นให้ความส�ำคัญกับการสร้างภาพ ลักษณ์ และสร้างชื่อเสียงในฐานะองค์กรที่ดีของสังคม โดยได้รับ การมอบหมายจากคณะกรรมการบริหารของกลุ่มเซ็นทรัล ในการ ด�ำเนินการโครงการ”ครัวอนามัย” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในหลายโครงการ หลักของกลุ่มเซ็นทรัล ในปี 2556 โครงการครัวอนามัยถือเป็นส่วน ส�ำคัญของโครงการหลักในด้านการพัฒนาการศึกษาของกลุ่มเซ็นทรัล โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ที่ จ ะให้ เ ยาวชนในโรงเรี ย นที่ ข าดแคลนมี สุขภาพอนามัยที่ดีและเติบโตอย่างมีคุณภาพ โดยที่ทางบริษัทฯ ด�ำเนินการสนับสนุนอุปกรณ์การท�ำครัวและปรุงอาหารให้โรงเรียน ที่ขาดแคลน ส่งเสริมให้โรงเรียนตระหนักถึงสุขอนามัยที่ดีแก่เด็ก นักเรียน และส่งเสริมให้นักเรียน ครู อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ มี ความรู้ด้าน Food Safety ในการท�ำครัวและ ปรุงอาหารที่ถูกหลักสุข อนามัย มีโภชนาการที่ดี โดยในปี 2556 นี้ทางบริษัทฯได้ด�ำเนินการ โครงการครัวอนามัยใน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนธงชัยวิทยา จังหวัด ล�ำปาง โรงเรียนคลองสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงเรียนบ้านตาก แดด จังหวัดอุบลราชธานี และยังมีโรงเรียนที่ด�ำเนินโครงการต่อเนื่อง ในปี 2556 อีก 2 โรงเรียนในจังหวัด ตากและจังหวัดสุรินทร์ ใน ส่วนของแบรนด์ต่างๆของ ซีอาร์จี อาทิเช่น แบรนด์ มิสเตอร์ โดนัท

รายงานธุ ร กิ จ

ธุรกิจอาหาร

รายงานคณะกรรมการ

นักศึกษา ส�ำหรับการท�ำงานด้านการโรงแรม โดยโรงแรมและ รองรับการสืบทอดต�ำแหน่ง โดยต้องเข้ารับการฝึกอบรมใน รีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ในจังหวัดต่างๆ ได้ลงนามบันทึกความ 3 ด้าน ในระยะเวลา 1 ปี ได้แก่ การฝึกอบรมทักษะเฉพาะ ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาทั้งสิ้น 47 แห่ง อาทิ มหาวิทยาลัย งาน (functional skill) การฝึกอบรมด้านทักษะความเป็นผู้น�ำ ธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (leadership training) และการฝึกอบรมทักษะด้านการบริหาร มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัย จัดการโครงการ (project management skill) และรับการ อาชีวศึกษา เชียงใหม่ เป็นต้น ประเมินผลจากหัวหน้างาน หัวหน้าแผนก และฝ่ายทรัพยากร บุคคล ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา มีพนักงานที่เข้าร่วมโครงการนี้ 7. การฝึกงานเตรียมความพร้อมของนักศึกษาฝึกงานสาขาการ คิดเป็นร้อยละ 6.3 โดยแบ่งเป็นพนักงานในระดับบริหาร ร้อยละ โรงแรมจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศ โดยโรงแรมและ 8.9 และพนักงานในระดับปฏิบัติการ ร้อยละ 5.9 รีสอร์ทในเครือเซ็นทาราได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาจากสถาบัน ในต่างประเทศ เข้ารับการฝึกงานทั้งในแผนกบริการอาหาร 9. โครงการการฝึกอบรมร่วมกับบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล เพื่อสร้าง และเครื่องดื่ม และแผนกห้องพัก ในระยะเวลา 6 เดือน และ ความหลากหลายในหัวข้อการฝึกอบรม ที่ครอบคลุมความรู้และ ยังให้โอกาสในการเข้าท�ำงานเป็นพนักงานประจ�ำหลังส�ำเร็จ ทักษะที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพในหลายๆ การฝึกงานอีกด้วย โดยมีนักศึกษาจากสถาบันนานาชาติหลาย ด้าน รวมถึงเพื่อสร้างความสามัคคีในกลุ่มของพนักงานจาก แห่งเข้ารับการฝึกงาน ไม่ว่าจะเป็น Les Roches School of แต่ละบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล ให้ได้มารู้จักกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Hospitality Management (Switzerland and in Jin Jiang, ซึ่งกันและกัน และท�ำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนร่วมกัน โดยในปี China), University of Stenden (The Netherlands), Glion พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา มีการจัดการฝึกอบรมร่วมกับบริษัทในกลุ่ม Institute of Hospitality Management (Switzerland), เซ็นทรัล ในหัวข้อที่หลากหลาย อาทิ เช่น ทักษะการจัดล�ำดับ Erasmushogeschool (Belgium) ความส�ำคัญของงาน ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการท�ำงาน เป็นทีม ทักษะการน�ำเสนออย่างมืออาชีพ ทักษะการมอบหมาย 8. โครงการการฝึกอบรมเพื่อหาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง (Succession งานและการติดตามผล เป็นต้น Planning Programme) โดยมีวัตถุประสงค์ในการคัดเลือก พนักงานที่มีศักยภาพ เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาไว้ส�ำหรับ


รายงานทางการเงิ น

รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 ท่าน ประกอบด้วย นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ นายวิเชียร เตชะไพบูลย์และนายครรชิต บุนะจินดา เป็นกรรมการตรวจสอบ ทุกท่านมีคุณสมบัติครบถ้วนตาม ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและมีความเป็นอิสระ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี พ.ศ. 2556 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบมีรวมทั้ง สิ้น 8 ครั้ง กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง เว้นแต่ นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ ลาประชุมเนื่องจากติดภารกิจส�ำคัญ จ�ำนวน 2 ครั้ง โดยมีผู้บริหารระดับสูงของบริษัทและบริษัทย่อย ผู้บริหารที่ เกี่ยวข้อง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานตรวจสอบภายในเข้าร่วมประชุมใน ฐานะเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้สอบบัญชีเข้าร่วม ประชุมในวาระที่เกี่ยวข้องบางครั้ง เพื่อร่วมเสนอข้อมูลและความเห็น ที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานและมีส่วนเกี่ยวข้องกับข้อมูลทาง บัญชี ผลการประชุมได้สรุปเป็นรายงานเสนอให้คณะกรรมการบริษัท ทราบทุกครั้ง สาระส�ำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. งบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสทุก ไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2556 ร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้บริหาร ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดท�ำรายงานทางการเงิน เพื่อพิจารณา รายงานทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูลและประมาณการที่ส�ำคัญและ รายการปรับปรุงบัญชีที่มีผลกระทบต่องบการเงินที่เป็นสาระส�ำคัญ ก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้พบและหารือกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่าย จัดการร่วมประชุมด้วย เพื่อสอบถามถึงความเป็นอิสระในการปฏิบัติ งานตรวจสอบ และประเด็นที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือทุจริต ซึ่งผู้สอบบัญชีได้รายงานว่าไม่พบปัญหาเกี่ยวกับการทุจริตหรือการ ฝ่าฝืนกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่างบการเงิน ดังกล่าวมีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญและตามมาตรฐาน รายงานทางการเงิน 2. ระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ผู้ตรวจสอบภายในสอบทานระบบ การควบคุมภายในทุกไตรมาส จากรายงานผลการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปี 2556 และผลการแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ ในรายงานผลการตรวจสอบภายใน ได้พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่ เป็นสาระส�ำคัญหลายประการ และได้เสนอแนะให้ฝ่ายจัดการสั่งการ ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการ ตรวจสอบภายในประจ�ำปี ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายและความเสี่ยง ที่ส�ำคัญของบริษัท โดยมีขอบเขตที่ครอบคลุมหน่วยงานรวมทั้งที่เป็น บริษัทย่อยและบริษัทที่รับจ้างบริหารในต่างประเทศด้วย แต่ความ เพียงพอของบุคลากรในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในปัจจุบันยังไม่ ได้สัดส่วนกับจ�ำนวนโรงแรมที่บริหารและรับจ้างบริหาร

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

30

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

3. การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัท ร่วมกับฝ่ายกฎหมายและส�ำนักงานเลขานุการบริษัทแล้ว พบ ว่าบริษัทได้มีการก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อก�ำหนดอย่างเหมาะสม ปีปัจจุบันยังไม่พบผลเสียหายอย่างมีสาระ ส�ำคัญ 4. รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานรายการที่เกิด ขึ้นกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันทุกไตรมาสเห็นว่าบริษัทได้ คิดราคาซื้อขายสินค้าและค่าบริการกับบริษัทหรือบุคคลซึ่งอาจมีผล ประโยชน์ขัดแย้งกันด้านราคาที่เทียบกับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก ปรากฎว่าเป็นไปตามแนวทางการด�ำเนินธุรกิจทั่วไปตามกฎหมายและ กฎระเบียบ และได้เปิดเผยข้อมูลไว้อย่างครบถ้วนและเพียงพอ 5. การพิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบ บัญชี โดยพิจารณาความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ด้านการตรวจ สอบธุรกิจโรงแรม ความเพียงพอของทรัพยากร รวมถึงการประเมิน ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีตามหลักเกณฑ์ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. และได้น�ำข้อคิดเห็นของฝ่ายบริหารมาประกอบด้วย เมื่อเทียบกับ จ�ำนวนงานและความรู้ความสามารถของผู้สอบบัญชีกับค่าสอบบัญชี จึงขอเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ขออนุมัติต่อที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นให้แต่งตั้งนางณฐพร พันธุ์อุดม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3430 หรือนายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 หรือนางสาวสกุณา แย้มสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4906 จาก บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษัทประจ�ำปี 2557 ต่อไปอีกวาระหนึ่ง โดยมีค่าสอบบัญชีเท่ากับ ปีที่ผ่านมา โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า คณะกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อให้บริษัท บรรลุเป้าหมายตามแผนงานเยี่ยงมืออาชีพ และผู้สอบบัญชีก็ได้ปฏิบัติ หน้าที่อย่างเหมาะสมเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพอิสระแล้ว

รายงานทางการเงิ น

คณะกรรมการตรวจสอบ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรุงเทพมหานคร 28 กุมภาพันธ์ 2557

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

31


รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

รายงานจากคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน

รายงานธุ ร กิ จ

ในปี 2556 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อบังคับของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทนโดยมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 2 ครั้ง สรุปสาระส�ำคัญของการ ปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่อพิจารณาแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ ประจ�ำปี 2556 โดยบริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อย สามารถเสนอรายชื่อบุคคลเป็นกรรมการบริษัทได้ แต่ไม่มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใดเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็นกรรมการ ดังนั้น คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทนจึงเสนอให้พิจารณาแต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระ ประจ�ำปี 2556 กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระหนึ่ง โดยที่ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นได้มีมติอนุมัติแต่งตั้งกรรมการทุกท่านตามที่ เสนอ 2. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปี 2556 ส�ำหรับคณะ กรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ โดยได้มีการพิจารณาความ เหมาะสมของหน้าที่ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงาน และ ปัจจัยแวดล้อมอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเปรียบเทียบกับบริษัท ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน ทั้งนี้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติตามที่ เสนอ 3. พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ต่ อ แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ผู ้ บริหารระดับสูงของบริษัท เพื่อให้มีความต่อเนื่อง และ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของบริษัท 4. พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายและการด�ำเนินงาน ด้านทรัพยากรบุคคลของบริษัท 5. พิจารณาก�ำหนดเป้าหมายและประเมินผลการปฏิบัติงานของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารประจ�ำปี 2556 โดยประธานเจ้าหน้าที่ บริหารมีส่วนร่วมในการก�ำหนดเป้าหมายและวิธีการประเมิน ผลการปฏิบัติงานของตัวเอง 6. พิ จ ารณาทบทวนหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและการปฏิ บั ติ หน้าที่ตามข้อบังคับของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน โดยเห็นว่ากฎบัตรฉบับปัจจุบันยังคงมีความเหมาะ สม สอดคล้องกับสภาวการณ์และแนวปฏิบัติของหน่วยงาน ก�ำกับดูแลต่างๆ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้ปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถและเป็นอิสระเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัท ผู้ถือหุ้น ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ทั้งนี้ คณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้รายงานสรุปผลการด�ำเนิน งานเสนอให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกครั้ง

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(ดร. ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์) ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

32

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

รายงานธุ ร กิ จ

คณะผู้บริหารของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างสูงกับการบริหารความเสี่ยง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงตามแนวทางก�ำกับดูแล กิจการที่ดีเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยคณะผู้บริหารให้สามารถบ่งชี้และ จัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนเป็นส่วน หนึ่งในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบต่อการก�ำกับดูแลการ ก�ำหนดนโยบายบริหารความเสี่ยงองค์กรในภาพรวม โดยมีคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแลระดับองค์กรและคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงระดับหน่วยธุรกิจเป็นผู้ให้ความสนับสนุน ในการด�ำเนินการและติดตามการน�ำนโยบายบริหารความเสี่ยงไป ปฏิบัติ ทั้งนี้การด�ำเนินการบริหารความเสี่ยงในปี 2556 สรุปพอสังเขป ได้ดังนี้ 1. การบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทุกมิติ ในขณะที่ยังคงให้ความ ส�ำคัญกับความเสี่ยงที่ส�ำคัญๆ 4 ด้านต่อไปนี้ 1.1 ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ บริษัทมุ่งเน้นการด�ำเนินการตามกลยุทธ์ตามแนวทางกับ พันธกิจของบริษัทฯ และมั่นใจว่าการก�ำหนดกลยุทธ์และ แผนธุรกิจของบริษัทมีความสอดคล้องกับความเสี่ยงต่างๆ ที่บริษัทสามารถยอมรับได้ 1.2 ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ บริษัทมุ่งเน้นตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงานในแต่ละขั้น ตอน ครอบคลุมทุกกระบวนการและทุกระดับ ว่าด้วยการ ลงทุน เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรในการปฏิบัติงาน ตลอดจนความเสี่ยงด้านความปลอดภัยจากเหตุต่างๆที่ อาจส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินขององค์กรได้ 1.3 ความเสี่ยงด้านการเงิน บริษัทมุ่งเน้นนโยบายการใช้เงินอย่างระมัดระวังภายในงบ ประมาณที่ก�ำหนดทั้งนี้เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนต่อผู้มีส่วน ได้เสียที่เหมาะสม และเกิดความเชื่อมั่นว่าการบริหารความ เสี่ยงตลอดจนการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ กับระดับความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้และเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 1.4 ความเสี่ยงด้านกฏระเบียบ บริษัทมุ่งเน้นการปฏิบัติตามระเบียบกฏหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆทั้ ง ระดั บ ภายในและภายนอก องค์กรอย่างเข้มงวด 2. ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงต่อคณะผู้บริหาร แต่ละระดับปฏิบัติการของทุกส่วนงาน ทบทวนอบรมความรู้ ความเข้าใจแก่พนักงานทุกระดับและสร้างวัฒนธรรมและความ ตระหนักรู้ถึงความส�ำคัญของการบริหารความเสี่ยงองค์กร 3. ด�ำเนินการติดตามและประเมินผลของกิจกรรมหรือเครื่องมือที่ ก�ำหนดใช้บริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและสม�่ำเสมอผ่าน การรายงานข้อมูลจากคณะท�ำงานทุกระดับที่เกี่ยวข้อง

รายงานคณะกรรมการ

รายการคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง และการก�ำกับดูแลกิจการ

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(นายครรชิต บุณะจินดา) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

33


รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

34

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ


รายงานคณะกรรมการ รายงานทางการเงิ น

(นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์) ประธานกรรมการ

รายงานธุ ร กิ จ

คณะกรรมการบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏ ในรายงานประจ�ำปี ซึ่งงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และ ถือปฏิบัติสม�่ำเสมอ และได้ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณ การที่ดีที่สุดในการจัดท�ำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียง พอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็น อิสระ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และประเมินระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล เพื่อให้มีความ มั่นใจได้ว่ามีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติ อย่างมีสาระส�ำคัญ ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏ ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) โดยรวมอยู่ในระดับ ที่น่าพอใจและสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อ ถือได้ของงบการเงินรวมของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

(นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

35


รายงานทางการเงิ น

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการ ของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐาน จ�ำกัด (มหาชน) การสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวม ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัทของ ถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอัน บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และ เป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิด ของเฉพาะของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่ง พลาดในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงิน ควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดย เฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และงบก�ำไรขาดทุน ถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะ เบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการ สมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็น เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการการตรวจสอบรวม ของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส ถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และ เงินสดเฉพาะบริษัท ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุป ความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่า นี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับ ผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อ ให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ จริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและ เหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

รายงานทางการเงิ น

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้น นี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของ เฉพาะของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน)ณ วันที่ 31 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ธันวาคม พ.ศ. 2556 และผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงาน ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว เฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตาม ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ก�ำหนดด้านจรรยาบรรณรวมถึง วางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการ แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นหรือไม่

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณฐพร พันธุ์อุดม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3430 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

36

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

37


รายงานทางการเงิ น

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

38

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

39


รายงานทางการเงิ น

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

40

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

41


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

งบแ สดง การเป ลี่ ยนแป ลงส่วนข องผู้ถือหุ้น

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

42


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานทางการเงิ น

43

รายงานธุ ร กิ จ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

งบแ สดง การเป ลี่ ยนแป ลงส่วนข องผู้ถือหุ้น (ต่อ)

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )


รายงานทางการเงิ น

งบกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

44

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

45


รายงานทางการเงิ น

งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 47 ถึง 128 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

46

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท” ) เป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและเป็นบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2533 และมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนดังนี้ เลขที่ 1695 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่ากลุ่มบริษัท

รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับโรงแรม รายละเอียดของบริษัทย่อย บริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนลแมนเนจเม้นท์(ประเทศไทย) จ�ำกัด

เงินลงทุนในกองทุนรวม กองทุนรวมไทยพัฒนา 2

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

100.0 100.0 100.0 63.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 99.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 83.9* 100.0 100.0 -

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

ประเทศไทย

23.9*

23.9*

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

47

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด บริษัท โคซี่ โฮเต็ล จ�ำกัด บริษัท เซ็นทารา อิมพอร์ต-เอ็กซพอร์ต จ�ำกัด บริษัท โคซี่ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราลอยัลตี้มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด บริษัท ศูนย์การเรียนรู้เซ็นทารา จ�ำกัด

โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม โรงแรม ลงทุนในบริษัทอื่น อาหารและเครื่องดื่ม ไม่ได้ประกอบกิจการ โรงแรม ลงทุนในบริษัทอื่นและ รับบริหารโรงแรม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ รับบริหารโรงแรม โรงแรม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ ยังไม่ได้ประกอบกิจการ จัดหาสิทธิพิเศษให้กับลูกค้า ศูนย์ฝึกอบรมและ พัฒนาบุคลากร

รายงานทางการเงิ น

บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ หาดฝรั่ง รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เอส. พี. เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด บริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนแวนชั่นและเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด

ประเภทธุรกิจ

รายงานธุ ร กิ จ

ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางตรง เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเกาะกูด จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุ้นร้อยละ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

1. ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับโรงแรม รายละเอียดของบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้ (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ

ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางอ้อม เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลสมุยวิลเลจ จ�ำกัด บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด บริษัท เซ็นทรัลบริการซักรีด จ�ำกัด บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด บริษัท เอส.พี. เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด Centara Maldives Pvt. Ltd. R.M.L. Leisure Pvt. Ltd.

รายงานทางการเงิ น

เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด

บริษัทถือหุ้นร้อยละ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555

ประเภทธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

โรงแรม โรงแรม โรงแรม อาหารและเครื่องดื่ม ไม่ได้ประกอบกิจการ อาหารและเครื่องดื่ม ยังไม่ได้ประกอบกิจการ โรงแรม โรงแรม

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศมัลดีฟส์ ประเทศมัลดีฟส์

100.0 100.0 98.4 100.0 100.0 100.0 100.0 75.0 74.0

100.0 100.0 98.4 100.0 100.0 100.0 100.0 75.0 74.0

ลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ โรงแรม

ประเทศไทย ประเทศไทย

25.3 50.0

25.3 50.0

* โดยการถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

48

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


2.1 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่ง หมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ.2547 และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

รายงานคณะกรรมการ

2. นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญซึ่งใช้ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้น การตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และเงินลงทุนเผื่อขายซึ่งใช้มูลค่ายุติธรรมตามที่อธิบายในนโยบายการบัญชี

รายงานธุ ร กิ จ

การจัดท�ำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย ก�ำหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญและ การใช้ดลุ ยพินจิ ของผูบ้ ริหารซึง่ จัดท�ำขึน้ ตามกระบวนการในการน�ำนโยบายการบัญชีของกลุม่ กิจการไปถือปฏิบตั แิ ละต้องเปิดเผยเรือ่ ง การใช้ดลุ ยพินจิ ของผูบ้ ริหาร หรือความซับซ้อน หรือเกีย่ วกับข้อสมมติฐานและประมาณการทีม่ นี ยั ส�ำคัญต่องบการเงินรวมในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อที่ 5 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดท�ำขึน้ จากงบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ป็นภาษาไทยในกรณีทมี่ เี นือ้ ความ ขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก 2.2 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรือ่ ง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรือ่ ง ส่วนงานด�ำเนินงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ก�ำหนดให้กจิ การต้องรับรูค้ า่ ใช้จา่ ยภาษีเงินได้สำ� หรับงวด ซึง่ ประกอบไปด้วยภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี นโยบายการบัญชีใหม่ และผลกระทบที่เป็นสาระส�ำคัญต่อกลุ่มบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 4

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 ก�ำหนดการน�ำเสนอส่วนงานด�ำเนินงานในลักษณะเดียวกับรายงานน�ำเสนอให้แก่ ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน นโยบายการบัญชีใหม่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 ทั้งนี้การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบเพียงการเปิดเผยข้อมูลเท่านั้น

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

49

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับนี้ที่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัทคือ เรื่อง การพิจารณาสกุลเงินหลักที่ใช้ในการด�ำเนินงานในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักซึ่งกิจการด�ำเนินอยู่ บริษัทได้พิจารณาและ ได้ข้อสรุปว่าสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทเป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 จึงไม่มีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สินและก�ำไรสะสมของบริษัท นโยบายการบัญชีเพิ่มใหม่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 2.4

รายงานทางการเงิ น

(1) มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 โดยเกี่ยวข้องและ มีผลกระทบต่อบริษัท มีดังนี้


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ

(2) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง ซึ่งยังไม่มีผลบังคับใช้ และกลุ่มบริษัทยังไม่ได้น�ำมาถือปฏิบัติ ก) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นส�ำหรับลักษณะการแปลงสภาพที่การตัดสินใจเป็นของ ผู้ถือตราสารการปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่มีผลกระทบกับการจัดประเภทของหนี้สินส�ำหรับเครื่องมือทางการเงิน ที่แปลงสภาพได้ นอกจากนี้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 ยังได้อธิบายส่วนประกอบของส่วนของเจ้าของว่ากิจการอาจแสดง รายละเอียดการวิเคราะห์ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แต่ละรายการในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของหรือในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินอย่างใดอย่างหนึ่งได้ การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับกระแสเงินสดในกิจกรรมลงทุนให้เกิดการ รับ รู้สินทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินเท่านั้นจึงสามารถจัดประเภทเป็นกิจกรรมลงทุนการปรับปรุงมาตรฐาน ดังกล่าวไม่ส่ง ผลก ระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมข้อยกเว้นของหลักการที่มีอยู่ส�ำหรับการวัดมูลค่า ของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีหรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นจากอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ซึ่งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบันก�ำหนดให้กิจการวัดค่าภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์โดยขึ้นกับการคาดการณ์ของกิจการเกี่ยวกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากมูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์จากการใช้หรือจากการขาย การปรับปรุงมาตรฐานฉบับนี้ได้มีการเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อสมมติฐาน ว่า ราคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งวัดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรมคาดว่าจะได้รับคืนโดยการขาย นอกจากนี้ได้มีการรวมการตีความฉบับที่ 21 เรื่องภาษีเงินได้-การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ท่ีไม่ได้คิดค่าเสื่อมราคา ที่ตีราคาใหม่เป็นส่วนของมาตรฐานฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบ จากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

50

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

51

รายงานธุ ร กิ จ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

รายงานคณะกรรมการ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดแนวทางปฏิบัติส�ำหรับการเช่าที่ดินซึ่งมีอายุการใช้งานไม่จ�ำกัด ให้เป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน มาตรฐานได้มีการแก้ไขโดยมีการท�ำให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับการเช่าที่ดินและอาคารโดยจะต้องมี การพิจารณาแยกจากกันว่า ควรจัดประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงินหรือสัญญาเช่าด�ำเนินงานโดยใช้หลักการทั่วไปที่กล่าว ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐาน ฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ได้ตัดภาคผนวกของมาตรฐานการบัญชีของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 ออก การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการตัดข้อความในส่วนของการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 19 ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันออก การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ผลสะสมของผลต่างจากอัตรา แลกเปลีย่ นรอการตัดบัญชีทเี่ กีย่ วกับการจ�ำหน่ายหรือการจ�ำหน่ายบางส่วนของหน่วยงานในต่างประเทศ วิธกี ารทางบัญชีดงั กล่าว ต้องใช้วิธีการปรับไปข้างหน้าซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาที่มีวันเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้น ไป การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการยกเลิกการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับกิจการที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล โดยยกเลิกการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดส�ำหรับรายการทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ได้มีการก�ำหนดค�ำนิยามของกิจการที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลให้ง่ายและชัดเจนขึ้น การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่ง ผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นส�ำหรับการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีจากวิธีส่วน ได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีก�ำหนดให้มีการปรับปรุงโดยวิธีย้อนหลัง กรณีที่กิจการ สูญเสียอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญส่วนได้เสียในบริษัทดังกล่าวที่คงเหลืออยู่ต้องวัดมูลค่าด้วยวิธียุติธรรม การปรับปรุงเรื่องนี้ต้อง ใช้วิธีปรับไปข้างหน้าซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่มีวันเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นส�ำหรับการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีจากวิธีส่วน ได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีก�ำหนดให้มีการปรับปรุงโดยวิธีย้อนหลัง กรณีที่กิจการ สูญเสียการควบคุมร่วมได้เสียในบริษัทดังกล่าวที่คงเหลืออยู่ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรม การปรับปรุงเรื่องนี้ต้องใช้วิธีปรับไป ข้างหน้าซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่มีวันเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป การปรับปรุง มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการเน้นหลักการของการเปิดเผยที่มีอยู่ในปัจจุบันส�ำหรับ เหตุการณ์และ รายการที่มีสาระส�ำคัญ มีการเพิ่มเติมข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลให้ครอบคลุมการเปิดเผยเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลง มูลค่ายุติธรรม (ถ้าหากมีสาระส�ำคัญ) และต้องมีการปรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบันจากข้อมูลล่าสุด ของรายงานประจ�ำ ปี ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายการปันส่วนค่าความนิยมให้หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด จะ ต้องไม่เกินกว่าส่วนงานด�ำเนินงาน ก่อนการรวมส่วนงานตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรือ่ ง ส่วนงาน ด�ำเนินงาน ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ได้จากการรวม ธุรกิจอาจต้องมีการแบ่งแยกได้ แต่จะรวมได้เฉพาะกับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่สามารถระบุได้ในสัญญาที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ในกรณี ดั ง กล่ า วสิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตนต้ อ งรั บ รู ้ แ ยกต่ า งหากจากค่ า ความนิ ย มแต่ ส ามารถรวมกั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น ที่เกี่ยวข้องได้ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอาจรับรู้รวมกันเป็นสินทรัพย์ชุดเดียวโดยที่สินทรัพย์แต่ละรายการมีอายุการให้ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกัน ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) ได้ขยายขอบเขตครอบคลุมการจัดประเภทและวิธีการบันทึก บัญชีของรายการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ทชี่ ำ� ระด้วยเงินสดและการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ทชี่ ำ� ระด้วยตราสารทุนในกลุม่ กิจการ การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) ได้แก้ไขการวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ให้ทาง เลือกในการวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมโดยวัดจากมูลค่ายุติธรรม หรือ มูลค่าของสินทรัพย์สุทธิของผู้ถูกซื้อ จะท�ำได้กต็ อ่ เมือ่ ตราสารนัน้ แสดงถึงส่วนได้เสียในความเป็นเจ้าของปัจจุบนั และท�ำให้ผถู้ อื มีสทิ ธิได้รบั ส่วนแบ่งในสินทรัพย์สทุ ธิ ของกิจการตามสัดส่วนทีล่ งทุนในกรณีทมี่ กี ารช�ำระบัญชี ส�ำหรับองค์ประกอบอืน่ ของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมให้วดั มูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรม เว้นแต่มาตรฐานการรายงานทางการเงินจะก�ำหนดให้ใช้เกณฑ์อื่นในการวัดมูลค่า แนวทางของมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับนี้จะน�ำมาใช้กับรายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ทั้งหมดซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรวมธุรกิจ รวมถึง การจ่ายค่าตอบแทนโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมิน ผลกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) ได้มีการก�ำหนดการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับสินทรัพย์ที่ถือไว้ เพื่อขายและการด�ำเนินงานที่ยกเลิก การเปิดเผยข้อมูลโดยมาตรฐานฉบับอื่นมิต้องน�ำมาปฏิบัติใช้ยกเว้นมาตรฐานการ รายงานทางการเงินมีการก�ำหนดให้เปิดเผย การปรับปรุงมาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) มีการอธิบายให้ชัดเจนขึ้นว่ากิจการจะเปิดเผยการวัดมูลค่าของ สินทรัพย์ของแต่ละส่วนงานเมื่อมีการรายงานการวัดมูลค่านั้นให้ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน การปรับปรุ งมาตรฐาดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท ข) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการบัญชีทมี่ ผี ลบังคับใช้สำ� หรับรอบระยะเวลา บัญชีทเี่ ริม่ ต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้ สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 เรื่อง สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุง สภาพแวดล้อม การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 เรื่อง การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริการ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 เรื่อง การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 เรื่อง การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 เรื่อง สิ่งจูงใจสัญญาเช่าด�ำเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 เรื่อง การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของ กฎหมายตาม สัญญาเช่า การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

52

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 1 ก�ำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีส�ำหรับหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงในประมาณการระยะเวลา หรือจ�ำนวนของ ทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจซึ่งน�ำมาจ่ายช�ำระภาระผูกพัน หรือการเปลี่ยนแปลงอัตราคิดลด การตีความนี้ไม่มีผลก ระทบต่อกลุ่มบริษัท การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ก�ำหนดให้มีการพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นหรือประกอบด้วยสัญญาเช่า หรือไม่ โดยอ้างอิงจากเนื้อหาของข้อตกลง การตีความนี้ก�ำหนดให้ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไขต่อไปนี้หรือไม่ (1) การปฏิบัติตามข้อตกลงขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และ (2) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการให้สิทธิในการใช้ สินทรัพย์นนั้ ผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั อยูใ่ นระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบตั ติ ามการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 เกี่ยวข้องกับข้อตกลงสัมปทานบริการระหว่างภาครัฐกับเอกชน ในการให้บริการสาธารณะโดยที่เอกชนได้เข้าร่วมในการสร้าง การลงทุน การด�ำเนินงาน และการบ�ำรุงรักษาโครงสร้าง พื้นฐานส�ำหรับบริการสาธารณะ การตีความฉบับนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท

53

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

รายงานทางการเงิ น

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 ให้ค�ำอธิบายเกี่ยวกับกรณีที่ขายสินค้าหรือให้บริการพร้อมกับ ให้สิทธิพิเศษแก่ลูกค้า (เช่น คะแนนหรือได้รับสินค้าโดยไม่ต้องจ่ายค่าตอบแทน) ว่าเป็นรายการที่มีหลายองค์ประกอบ และสิ่งตอบแทนที่ได้รับหรือค้างรับจากลูกค้าต้องปันส่วนให้แต่ละองค์ประกอบของรายการโดยใช้มูลค่ายุติธรรม ผู้ บริ ห ารของกลุ ่ ม บริ ษั ท อยู ่ ใ นระหว่ า งการประเมิ น ผลกระทบจากการปฏิ บั ติ ต ามการตี ค วามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 17 ก�ำหนดแนวปฏิบัติในการบันทึกการจ่ายสินทรัพย์นอกเหนือจาก เงินสดเป็นเงินปันผลให้แก่เจ้าของที่ปฏิบัติตนอยู่ในลักษณะที่เป็นเจ้าของ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับนี้กล่าวถึงการก�ำหนดเวลารับรู้เงินปันผลค้างจ่าย การวัดมูลค่าเงินปันผลค้างจ่ายและการบัญชีส�ำหรับผลต่าง ระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทจี่ า่ ยให้และมูลค่าตามบัญชีของเงินปันผลค้างจ่ายเมือ่ กิจการช�ำระเงินปันผลค้างจ่าย การ ตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 18 ก�ำหนดวิธีการบัญชีส�ำหรับการโอนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึ่งกิจการ ได้รบั โอนมาจากลูกค้า ข้อตกลงซึง่ อยูภ่ ายใต้ขอบเขตของการตีความฉบับนี้ หมายถึงข้อตกลงทีท่ ำ� ให้กจิ การได้รบั ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์จากลูกค้าเพือ่ ท�ำให้ลกู ค้าสามารถเชือ่ มต่อกับเครือข่าย ได้หรือเพือ่ ให้ลกู ค้าเข้าถึงสินค้าหรือบริการได้อย่างต่อเนือ่ ง การตีความฉบับนี้กล่าวถึงการวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ ที่รับโอนและการบันทึกบัญชี การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15 ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีในการรับรู้สิ่งจูงใจที่ผู้ให้เช่าให้แก่ผู้เช่าส�ำหรับ สัญญาเช่าด�ำเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 ก�ำหนดแนวทางในประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ท�ำขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย ระหว่างกิจการกับผู้ลงทุน ว่ารายการดังกล่าวมีความเชื่อมโยงกัน ควรบันทึกเป็นรายการเดียวกันและเข้าเงื่อนไขของ สัญญาเช่าภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า หรือไม่ โดยก�ำหนดให้วิธีปฏิบัติทางบัญชีจะต้องสะท้อนถึง เนื้อหาสาระของสัญญา ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการประเมินผลกระทบจากการปฏิบัติตามการตีความ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 ก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับข้อตกลงสัมปทานบริการระหว่าง ภาครั ฐ กั บ เอกชน การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ นี้ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ เนิ น งานของกลุ ่ ม บริ ษั ท

รายงานธุ ร กิ จ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 ก�ำหนดว่าห้ามกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยม ที่เคยรับรู้ในงวดระหว่างกาลงวดก่อน การตีความนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท

รายงานคณะกรรมการ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 ก�ำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีในงบการเงินของผู้ลงทุนส�ำหรับส่วนได้เสีย จากกองทุนเพื่อการรื้อถอน ซึ่งสินทรัพย์ของกองทุนมีการจัดการแยกต่างหาก และมีการจ�ำกัดสิทธิของผู้ลงทุนในการเข้าถึง สิ น ทรั พ ย์ ข องกองทุ น ผู ้ บ ริ ห ารของกลุ ่ ม บริ ษั ท อยู ่ ใ นระหว่ า งการประเมิ น ผลกระทบจากการปฏิ บั ติ ต ามการตี ค วาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 7 ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 29 เรื่องการรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้อรุนแรง ส�ำหรับรอบระยะเวลา ซึ่งกิจการได้ ระบุแล้วว่า สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานของตนเป็นสกุลเงินของระบบเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง โดยที่ในงวดก่อน สภาวะเศรษฐกิจไม่ได้มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง การตีความนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) (2) การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง ซึ่งยังไม่มีผลบังคับใช้ และกลุ่มบริษัทยังไม่ได้น�ำมาถือปฏิบัติ ข) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ส�ำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่ เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ

การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติส�ำหรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นภายในกิจการในการพัฒนา และการด�ำเนินงานส�ำหรับเว็บไซต์ที่กิจการมีไว้เพื่อการงานภายในหรือภายนอก โดยให้กิจการต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดใน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท ค) มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ซึง่ มีผลบังคับใช้สำ� หรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย 2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในการร่วมค้า (1) บริษัทย่อย

รายงานทางการเงิ น

บริษทั ย่อยหมายถึงกิจการ(ซึง่ รวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ทีก่ ลุม่ บริษทั มีอำ� นาจในการควบคุมนโยบายการเงินและการด�ำเนินงาน และโดยทัว่ ไปแล้วกลุม่ บริษทั จะถือหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงมากกว่ากึง่ หนึง่ ในการประเมินว่ากลุม่ บริษทั มีการควบคุมบริษทั อืน่ หรือ ไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยูแ่ ละผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงทีเ่ ป็นไปได้ทกี่ จิ การสามารถใช้สทิ ธิหรือแปลงสภาพ ตราสารนั้นในปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่นถืออยู่ด้วย กลุ่มบริษัทรวมงบการเงินของบริษัทย่อย ไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทจะไม่น�ำงบการเงินของบริษัทย่อย มารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสียอ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยใช้วิธีการซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ส�ำหรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่ผู้ซื้อโอนให้และหนี้สินที่ก่อขึ้นและส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นที่ออกโดยกลุ่มบริษัทรวมถึงมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ หรือหนีส้ นิ ทีค่ าดว่าจะต้องจ่ายช�ำระต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ จะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ และวัดมูลค่าเริม่ แรก ของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวม ธุรกิจแต่ละครัง้ กลุม่ บริษทั วัดมูลค่าของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมในผูถ้ กู ซือ้ ด้วยมูลค่าของสินทรัพย์สทุ ธิ ทีร่ ะบุได้ของผูถ้ กู ซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกบัญชีด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลง สิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

กรณีที่มูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของ ส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ ระบุได้และหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ผูซ้ อ้ื ต้องรับรูค้ า่ ความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิง่ ตอบแทนทีโ่ อนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจ ควบคุมในผูถ้ กู ซือ้ และมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันซือ้ ธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของผูถ้ กู ซือ้ ทีผ่ ซู้ อื้ ถืออยูก่ อ่ นการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยเนือ่ งจากมีการต่อรองราคาซือ้ จะรับรูส้ ว่ นต่างโดยตรงไปยังงบก�ำไร ขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการก�ำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท

54

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


กลุ่มบริษัทปฏิบัติต่อรายการกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท ส�ำหรับการ ซื้อส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้และหุ้นที่ได้มาของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิ ของหุน้ ทีซ่ อื้ มาในบริษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และก�ำไรหรือขาดทุนจากการขายในส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม จะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานคณะกรรมการ

(2) รายการและส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

เมื่อกลุ่มบริษัทสูญเสียการควบคุมหรือมีอิทธิพลมีนัยส�ำคัญ ส่วนได้เสียในหุ้นที่เหลืออยู่จะวัดมูลค่าใหม่โดยใช้ราคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็นมูลค่าตามบัญชีเริ่มแรกของมูลค่าของ เงินลงทุนทีเ่ หลือของบริษทั ร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า หรือสินทรัพย์ทางการเงิน ส�ำหรับทุกจ�ำนวนทีเ่ คยรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นจะถูกจัดประเภทใหม่เป็นก�ำไรหรือขาดทุนเสมือนมีการขายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้อง

(3) บริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า

รายงานธุ ร กิ จ

ถ้าส่วนได้เสียของเจ้าของในบริษัทร่วมนัน้ ลดลงแต่ยังคงมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการที่เคยรับรู้ใน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเข้าก�ำไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดส่วนในส่วนได้เสียของเจ้าของที่ลดลง บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่งโดยทั่วไปก็คือการที่กลุ่มบริษัทถือหุ้น ที่มีสิทธิออกเสียงอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมด เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการ ร่วมค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยราคาทุนและใช้วิธีส่วนได้เสียในการแสดงในงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทรับรู้เงินลงทุนในบริษัทร่วม ซึ่งได้รวมค่าความนิยมที่ระบุไว้เมื่อได้มา สุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.14 ส�ำหรับ การด้อยค่าสินทรัพย์รวมทั้งค่าความนิยม)

รายการก�ำไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัทกับบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้าจะตัดบัญชีเท่าที่กลุ่มบริษัท มีส่วนได้เสียในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้านั้น รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในท�ำนองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า

เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้าแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยใช้วิธีราคาทุน รายชื่ อ ของบริ ษั ท ร่ ว มและส่ ว นได้ เ สี ย ในการร่ ว มค้ า ได้ เ ปิ ด เผยไว้ ใ นหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข้ อ 12 ส่ ว นผล กระทบทางการเงินจากการได้มาและจ�ำหน่ายบริษัทร่วมออกไปได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 34

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

55

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัทร่วมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเท่าที่จ�ำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท ก�ำไรและขาดทุน เงินลงทุนจากการลดสัดส่วนในบริษัทร่วมจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน

รายงานทางการเงิ น

ส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนของกลุม่ บริษทั ในบริษทั ร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้าทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในก�ำไร หรือขาดทุน และความเคลือ่ นไหวในบัญชีกำ� ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ จากการตีมลู ค่ายุตธิ รรมภายหลังการได้มาจะรวมไว้เป็นส่วน หนึง่ ของบัญชี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงภายหลังการได้มาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงิน ลงทุน เมื่อส่วนแบ่ง ขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้ามีมูลค่าเท่ากับหรือเกินกว่ามูลค่าส่วนได้ เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัท ร่วมนั้น กลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของ บริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้าหรือรับว่าจะจ่ายหนี้แทนบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ

(ก) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงิน รายการที่รวมในงบการเงินของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัทถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลัก ทีบ่ ริษทั ด�ำเนินงานอยู่ (สกุลเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึง่ เป็นสกุลเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงาน และสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินของบริษัท (ข) รายการและยอดคงเหลือ

รายงานธุ ร กิ จ

รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ หรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายช�ำระที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งเป็นเงินตราต่างประเทศ ได้บันทึกไว้ในก�ำไรหรือ ขาดทุน เมือ่ มีการรับรูร้ ายการก�ำไรหรือขาดทุนของรายการทีไ่ ม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบของอัตราแลกเปลีย่ น ทัง้ หมดของก�ำไรหรือขาดทุนนัน้ จะรับรูไ้ ว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ด้วย ในทางตรงข้ามการรับรูก้ ำ� ไรหรือขาดทุน ของรายการทีไ่ ม่ เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนด้วย (ค) กลุ่มบริษัท

รายงานทางการเงิ น

การแปลงค่าผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุ่มบริษัท (ที่มิใช่สกุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อ รุนแรง) ซึ่งมีสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานแตกต่างจากสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงินได้ถูกแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนอ งบการเงินดังนี้ • สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินแต่ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิด ณ วันที่ของแต่ละงบแสดงฐานะการ เงินนั้น • รายได้และค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และงบก�ำไรขาดทุนแปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี่ย และ • ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ค่าความนิยมและการปรับมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศถือเป็นสินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานใน ต่างประเทศนั้นและแปลงค่าด้วยอัตราปิด 2.5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา และเงินเบิกเกิน บัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท

56

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจ�ำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของ ลูกหนีก้ ารค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั จากลูกหนีก้ ารค้า หนีส้ ญู ทีเ่ กิดขึน้ จะรับรูไ้ ว้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นส่วน หนึ่งของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

รายงานคณะกรรมการ

2.6 ลูกหนี้การค้า

2.7 สินค้าคงเหลือ

รายงานธุ ร กิ จ

สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า ราคาทุนของสินค้าประเภทอาหารและเครือ่ งดืม่ สินค้าส�ำเร็จรูปและวัตถุดิบจากธุรกิจการผลิต และสินค้าประเภทสปา ค�ำนวณโดยวิธีเข้าก่อนออกก่อน ส่วนไอศกรีมค�ำนวณโดย วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น เช่น ค่าอากร ขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการจ่ายเงินตามเงื่อนไข ส่วนลดจากการรับประกันสินค้า หรือส่วนลดการน�ำบัตรส่วนลด ไปขึ้นเป็นเงินสด (rebate) ต้นทุนของสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำประกอบด้วยค่าออกแบบ ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่า ใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิตซึ่งปันส่วนตามเกณฑ์การด�ำเนินงานตามปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนการกู้ยืม มูลค่าสุทธิที่ จะได้รบั ประมาณจากราคาปกติทคี่ าดว่าจะขายได้ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ ให้สนิ ค้านัน้ ส�ำเร็จรูปรวมถึงค่าใช้จา่ ยใน การขาย กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพเท่าที่จ�ำเป็น 2.8 เงินลงทุน

(1) เงินลงทุนเพื่อค้า คือ เงินลงทุนเพื่อจุดมุ่งหมายหลักในการหาก�ำไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั้นไม่เกิน 3 เดือน นับแต่เวลาที่ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน (2) เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด คือ เงินลงทุนที่มีก�ำหนดเวลาและผู้บริหารตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถถือไว้จนครบ ก�ำหนดได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่จะครบก�ำหนดภายใน 12 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานก็ จะแสดงไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน

(4) เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับเงินลงทุนทั้ง 4 ประเภทรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วย ราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุนนั้นรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการท�ำรายการ เงินลงทุนทัง้ 4 ประเภทรับรูม้ ลู ค่าเริม่ แรกด้วยราคาทุน ซึง่ หมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมของสิง่ ตอบแทนทีใ่ ห้ไปเพือ่ ให้ได้มาซึง่ เงินลงทุนนัน้ รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการท�ำรายการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

57

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(3) เงินลงทุนเผื่อขาย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื่อเสริมสภาพคล่องหรือเมื่ออัตราดอกเบี้ย เปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารแสดงเจตจ�ำนงที่จะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือเว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารมีความ จ�ำเป็นที่ต้องขายเพื่อเพิ่มเงินทุนด�ำเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน

รายงานทางการเงิ น

กลุ่มบริษัทจัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในส่วนได้เสียในการร่วมค้า เป็น 4 ประเภท คือ (1) เงินลงทุนเพื่อค้า (2) เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด (3) เงินลงทุนเผื่อขาย และ (4) เงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภทขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ายบริหารจะเป็นผู้ก�ำหนดการจัดประเภทที่เหมาะสมส�ำหรับเงินลงทุน ณ เวลา ลงทุนและทบทวนการจัดประเภทเป็นระยะ


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.8 เงินลงทุน (ต่อ)

เงินลงทุนเพือ่ ค้าและเงินลงทุนเผือ่ ขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซือ้ ทีอ่ า้ งอิงจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันท�ำการสุดท้ายของวันสิน้ รอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิงราคาเสนอซือ้ ล่าสุด จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายการก�ำไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเพื่อค้ารับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน รายการก�ำไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเผื่อขายรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนที่จะถือไว้จนครบก�ำหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธีราคาทุนตัดจ�ำหน่ายตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง หักด้วยค่า เผื่อการลดลงของมูลค่า เงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า

รายงานธุ ร กิ จ

บริษัทจะทดสอบค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนนั้นอาจมีค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าเกิดขึ้น หากราคาตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน บริษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่า รวมไว้ในงบก�ำไรขาดทุน ในการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในก�ำไรหรือขาดทุน กรณีที่จ�ำหน่ายเงินลงทุนที่ถือไว้ในตราสารหนี้หรือตราสารทุน ชนิดเดียวกันออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่จ�ำหน่ายจะก�ำหนดโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักด้วยราคาตามบัญชี จากจ�ำนวนทั้งหมดที่ถือไว้ 2.9 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

รายงานทางการเงิ น

อสังหาริมทรัพย์ทถี่ อื ครองโดยกลุม่ บริษทั เพือ่ หาประโยชน์จากรายได้คา่ เช่า หรือจากการเพิม่ ขึน้ ของมูลค่าของสินทรัพย์หรือทัง้ สอง อย่าง และไม่ได้มีไว้ใช้งานโดยกิจการในกลุ่มบริษัท จะถูกจัดประเภทเป็น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่ระหว่างก่อสร้างหรือพัฒนาเพื่อเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยวิธีราคาทุน รวมถึงต้นทุนในการท�ำรายการและต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์ของการได้มา การก่อสร้างหรือผลิตอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนนัน้ จะรวมเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุนของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการกู้ยืมจะถูกรวมในขณะที่การซื้อหรือการก่อสร้างและจะหยุดพักทันที เมื่อสินทรัพย์นั้นก่อสร้างเสร็จอย่างมีนัยส�ำคัญ หรือระหว่างที่การด�ำเนินการพัฒนาสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขหยุดชะงักลง หลังจากการรับรูเ้ มือ่ เริม่ แรก อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนจะบันทึกด้วยวิธรี าคาทุน หักค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ ผลขาดทุน จากการด้อยค่า

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ที่ดินไม่มีการหักค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอื่น ๆ จะค�ำนวณตามวิธีเส้นตรง เพื่อที่ปันส่วน ราคาทุนตลอดประมาณการอายุการให้ประโยชน์ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร

15 และ 30 ปี

การรวมรายจ่ายในภายหลังเข้าเป็นมูลค่าบัญชีของสินทรัพย์จะกระท�ำก็ต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะได้รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตในรายจ่ายนัน้ และต้นทุนสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาทัง้ หมด จะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ เมือ่ มีการเปลีย่ นแทนชิน้ ส่วนของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน จะตัดมูลค่าตามบัญชีของส่วนทีถ่ กู เปลี่ยนแทนออก

58

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ซงึ่ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทีด่ นิ และอาคาร ยกเว้นสินทรัพย์ภายใต้สญั ญาเช่าการเงินแสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ตามราคาประเมินซึ่งผู้ประเมินราคาอิสระภายนอกได้ประมาณการไว้และจะทบทวนการประเมินทุกๆ 5 ปี หักด้วยค่าเสื่อมราคา สะสมของอาคาร ณ วันที่ตีราคาใหม่ จะน�ำค่าเสื่อมราคาสะสมหักออกจากมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมสะสมและผลขาดทุน จากการด้อยค่าสะสม เพือ่ ให้มลู ค่าสุทธิทปี่ รับใหม่แสดงในราคาทีต่ ใี หม่ของสินทรัพย์ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์อนื่ ทัง้ หมดวัดมูลค่า ด้วยราคาทุน หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น

การตีราคาทีด่ นิ และอาคารใหม่ทำ� ให้มลู ค่าตามบัญชีทเี่ พิม่ ขึน้ จะรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และจะแสดงอยูใ่ นส่วนเกินทุนจาก การตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และหากมูลค่าของส่วนทีเ่ คยมีการตีราคาเพิม่ นัน้ ลดลงกิจการต้องน�ำส่วนทีล่ ดลงจากการ ตีราคาใหม่ไปรับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และลดส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ข้างต้นที่อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง ตามไปด้วย ส่วนที่ลดลงที่เหลือจะบันทึกไปยังก�ำไรหรือขาดทุน ในแต่ละปีผลต่างระหว่างวิธีคิดค่าเสื่อมราคาที่ค�ำนวณจากมูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์ที่มีตีราคาใหม่ที่บันทึกไปยังก�ำไรหรือขาดทุนกับค่าเสื่อมราคาที่ค�ำนวณจากราคาทุนเดิมของสินทรัพย์ จะ ถูกโอนจากส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ไปยังก�ำไรสะสม ตามประกาศทางเลือกปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพ ดูหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 14

ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุง เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�ำนักงาน ยานพาหนะ

10 - 25 ปี หรือตามอายุสัญญาเช่า 10 - 50 ปี 5 - 30 ปี 3 - 19 ปี 5 - 10 ปี

รายงานทางการเงิ น

ที่ดินไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์อื่นค�ำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื่อลดราคาทุน (หรือราคาที่ตีใหม่) แต่ละ ชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ

ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือรับรู้แยกเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อ ต้นทุนนั้น เกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริษัทและต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อ ถือ และจะตัดมูลค่า ตามบัญชีของชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนออก ส�ำหรับค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาอื่น ๆ บริษัทจะรับรู้ต้นทุน ดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไร หรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น

รายงานคณะกรรมการ

2.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

ทุกสิ้นรอบรอบระยะเวลารายงาน ได้มีการทบทวนและปรับปรุงมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ให้เหมาะสม

ผลก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค�ำนวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จ�ำหน่ายสินทรัพย์กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู้บัญชีผลก�ำไรหรือขาดทุนอื่นสุทธิในก�ำไรหรือขาดทุน ในการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่มีการตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์จะโอนไปยังก�ำไรสะสม

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

59

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ในกรณีทมี่ ลู ค่าตามบัญชีสงู กว่ามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนทันที (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.14)


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.11 ค่าความนิยม

ค่าความนิยมคือต้นทุนของเงินลงทุนที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่กลุ่มบริษัทมีส่วนแบ่งในสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อย ณ วันที่ได้มาซึ่งบริษัทนั้น ค่าความนิยมที่เกิดจากการได้มาซึ่งบริษัทย่อยจะแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการ เงินรวม ค่าความนิยมที่รับรู้จะต้องถูกทดสอบการด้อยค่าทุกปี และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของ ค่าความนิยมทีร่ บั รูแ้ ล้วจะไม่มกี ารกลับรายการ ทัง้ นีม้ ลู ค่าคงเหลือตามบัญชีของค่าความนิยมจะถูกรวมค�ำนวณในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายกิจการ

รายงานธุ ร กิ จ

ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ค่าความนิยมจะถูกปันส่วนไปยังหน่วยที่ก่อให้เกิดกระแสเงินสด โดยที่หน่วยนั้นอาจ จะเป็นหน่วยเดียวหรือหลายหน่วยรวมกันซึง่ คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากการรวมธุรกิจ ซึง่ ค่าความนิยมเกิดขึน้ จากส่วนงานปฏิบตั ิ การที่ระบุได้ 2.12 สิทธิการเช่า สิทธิการเช่า หมายถึง ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าทีไ่ ด้บนั ทึกเป็นสินทรัพย์และตัดจ�ำหน่ายโดยใช้วธิ เี ส้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่า สิทธิการเช่า จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าใหม่ แต่จะมีการทบทวนราคาตามบัญชีใหม่ในแต่ละปีและปรับปรุงหากการด้อยค่าเกิดขึ้น 2.13 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าสัญญาสิทธิ

รายงานทางการเงิ น

รายจ่ายที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิบัตร เครื่องหมายทางการค้า และใบอนุญาตของแฟรนชายส์ต่าง ๆ บันทึกไว้เป็นสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน และตัดจ�ำหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรง ตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ ซึ่งเป็นระยะเวลา 10 ปี สินทรัพย์ไม่มีตัวตนดัง กล่าวจะไม่มีการตีราคาเพิ่ม แต่จะมีการทบทวนราคาตามบัญชีใหม่ในแต่ละปีและปรับปรุงหากการด้อยค่าเกิดขึ้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยที่ซื้อมามีลักษณะเฉพาะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยค�ำนวณจากต้นทุนในการได้มาและ การด�ำเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถน�ำมาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจ�ำหน่ายตลอดอายุประมาณการ ให้ประโยชน์ภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ต้นทุนที่ใช้ในการบ�ำรุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง โดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงซึ่งกลุ่มบริษัทเป็นผู้ดูแล จะรับรู้เป็นสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนเมื่อเป็นไปตามข้อก�ำหนดทุกข้อดังนี้ • • • • •

มีความเป็นไปได้ทางเทคนิคที่กิจการจะท�ำสินทรัพย์ไม่มีตัวตนให้เสร็จสมบูรณ์เพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์หรือขายได้ ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะท�ำสินทรัพย์ไม่มีตัวตนให้เสร็จสมบูรณ์และน�ำมาใช้ประโยชน์หรือขาย กิจการมีความสามารถที่จะน�ำสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้นมาใช้ประโยชน์หรือขาย สามารถแสดงว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนาคตอย่างไร มีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรด้านเทคนิค ด้านการเงิน และิ้ด้านอื่นได้เพียงพอที่จะน�ำมาใช้เพื่อท�ำให้การพัฒนา เสร็จ สิ้นสมบูรณ์ และน�ำสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมาใช้ประโยชน์หรือน�ำมาขายได้ • กิจการมีความสามารถทีจ่ ะวัดมูลค่าของรายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการพัฒนาได้อย่างน่า เชื่อถือ

60

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ต้นทุนการพัฒนาอืน่ ทีไ่ ม่เข้าเงือ่ นไขเหล่านีจ้ ะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ ค่าใช้จา่ ยในการพัฒนาหากก่อนหน้านีร้ บั รูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ย ไปแล้วจะไม่รับรู้เป็นสินทรัพย์ในเวลาภายหลัง

รายงานคณะกรรมการ

ต้นทุนโดยตรงทีร่ บั รูเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะรวมถึงต้นทุนพนักงานทีท่ ำ� งานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในจ�ำนวนเงินที่เหมาะสม

2.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์

2.15 สัญญาเช่าระยะยาว

รายงานธุ ร กิ จ

สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชัด (เช่น ค่าความนิยม) ซึ่งไม่มีการตัดจ�ำหน่ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็นประจ�ำ ทุกปี สินทรัพย์อื่นที่มีการตัดจ�ำหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจสูง กว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุทธิที่คาดว่า จะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจ�ำนวนที่สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์จะถูกจัด เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน นอกเหนือจากค่าความนิยมซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุน จากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า

สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ซงึ่ ผูเ้ ช่าเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทัง้ หมดถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน ซึง่ จะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ ช่า หรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของจ�ำนวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตาม สัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า จ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่าย จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อท�ำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่ส�ำหรับยอดคงเหลือของ หนี้สินที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของ สัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า

รายงานทางการเงิ น

สัญญาระยะยาวเพือ่ เช่าสินทรัพย์ซงึ่ ผูใ้ ห้เช่าเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านัน้ ถือเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึก ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น

กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้ให้เช่า

สินทรัพย์ทใี่ ห้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรวมแสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงินในส่วนทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ และตัดค่าเสือ่ ม ราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ด้วยเกณฑ์เดียวกันกับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัทซึ่งมีลักษณะ คล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ให้เช่า) รับรู้ด้วยวิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

61

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าทางการเงินบันทึกเป็นลูกหนี้สัญญาเช่าทางการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของจ�ำนวนเงินที่จ่ายตาม สัญญาเช่า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้เบื้องต้นกับมูลค่าปัจจุบันของลูกหนี้บันทึกเป็นรายได้ทางการเงินค้างรับ รายได้จาก สัญญาเช่าระยะยาวรับรู้ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุทธิซึ่งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที่ทุกงวด ต้นทุนทางตรง เริ่มแรกที่รวมอยู่ในการวัดมูลค่าลูกหนี้สัญญาเช่าทางการเงินเริ่มแรกและจะทยอยรับรู้โดยลดจากรายได้ตลอดอายุของสัญญาเช่า


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.16 เงินกู้ยืม

เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมา เงินกู้ยืมวัด มูลค่าด้วยวิธีราคาทุน เงินกูย้ มื จัดประเภทเป็นหนีส้ นิ หมุนเวียนเมือ่ กลุม่ บริษทั ไม่มสี ทิ ธิอนั ปราศจากเงือ่ นไขให้เลือ่ นช�ำระหนีอ้ อกไปอีกเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.17 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

รายงานธุ ร กิ จ

ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้สำ� หรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรูใ้ นก�ำไร หรือขาดทุน ยกเว้นส่วนที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรับรู้โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น ในกรณีนี้ ภาษีเงินได้ต้องรับรู้ใน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันค�ำนวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผล บังคับใช้ภายในสิน้ รอบระยะเวลาทีร่ ายงานในประเทศทีบ่ ริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมของกลุม่ บริษทั ได้ดำ� เนินงานและเกิดรายได้ทาง ภาษี ผูบ้ ริหารจะประเมินสถานะของการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเป็นงวด ๆ โดยค�ำนึงถึงสถานการณ์ทสี่ ามารถน�ำกฎหมายภาษี อากรไปปฏิบตั ซิ งึ่ ขึน้ อยูก่ บั การตีความ และจะตัง้ ประมาณการค่าใช้จา่ ยภาษีอากร หากคาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระเจ้าหน้าทีภ่ าษีอากร

รายงานทางการเงิ น

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตงั้ เต็มจ�ำนวนตามวิธหี นีส้ นิ เมือ่ เกิดผลต่างชัว่ คราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ และราคา ตามบัญชีทแี่ สดงอยูใ่ นงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุม่ บริษทั จะไม่รบั รูภ้ าษีเงินได้รอการตัดบัญชีทเี่ กิดจากการรับรูเ้ ริม่ แรกของรายการ สินทรัพย์หรือรายการหนีส้ นิ ทีเ่ กิดจากรายการทีไ่ ม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันทีเ่ กิดรายการ รายการนัน้ ไม่มผี ลกระทบต่อก�ำไรทาง บัญชีและก�ำไร(ขาดทุน)ทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคำ� นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ทีม่ ผี ลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดังกล่าวจะน�ำไปใช้เมื่อสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์ หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายช�ำระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรูห้ ากมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ กลุม่ บริษทั จะมีกำ� ไรทางภาษีเพียงพอทีจ่ ะน�ำจ�ำนวนผล ต่างชัว่ คราวนัน้ มาใช้ประโยชน์ กลุม่ บริษทั ได้ตงั้ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชัว่ คราวของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และส่วนได้เสียในการร่วมค้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเว้นแต่กลุม่ บริษทั สามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว่ คราวและ การกลับรายการผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ที่จะน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และทั้งสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัด บัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันโดยการ เรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีตา่ งกันซึง่ ตัง้ ใจจะจ่ายหนีส้ นิ และสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุทธิ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

2.18 ผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มบริษัทจัดให้มีทั้งโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ ส�ำหรับโครงการผลประโยชน์คือโครงการบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ที่ไม่ใช่โครงการสมทบเงิน ซึ่งจะก�ำหนดจ�ำนวนเงินผลประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับเมื่อเกษียณอายุ โดยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับ หลายปัจจัย เช่น อายุ จ�ำนวนปีที่ให้บริการ และ ค่าตอบแทน หนี้สินส�ำหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลา รายงานหักด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์โครงการ และ ปรับปรุงด้วยต้นทุนบริการในอดีตทีย่ งั ไม่รบั รู้ ภาระผูกพันนีค้ ำ� นวณโดยนัก คณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระทุกปีดว้ ยวิธคี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ ซึง่ มูลค่าปัจจุบนั ของโครงการผลประโยชน์จะประมาณ

62

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน เว้นแต่การเปลี่ยนแปลงโครงการผลประโยชน์นั้นจะมีเงื่อนไขซึ่งผูกกับ ระยะเวลาที่พนักงานยังคงต้องให้บริการตามที่ก�ำหนด (ระยะเวลาการให้สิทธิ์) ซึ่งในกรณีนี้ต้นทุนการให้บริการในอดีตจะถูกตัด จ�ำหน่ายโดยวิธีเส้นตรงตลอดระยะเวลาการให้สิทธิ์

รายงานคณะกรรมการ

โดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้อตั ราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึง่ เป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงิน ที่จะจ่ายภาระผูกพัน และวันครบก�ำหนดของหุ้นกู้ใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องช�ำระภาระผูกพันกองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญ

ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเกิดขึ้นจากการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อสมมติฐานจะ ต้องรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิด

2.19 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สิน (ซึ่งไม่รวมถึงประมาณการหนี้สินส�ำหรับผลตอบแทนพนักงาน) อันเป็นภาระผูกพันใน ปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดท�ำไว้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการช�ำระภาระผูกพันนั้นมีความ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้บริษัทต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจ�ำนวนที่ต้องจ่าย ในกรณีที่กลุ่มบริษัทคาดว่าประมาณการหนี้สินเป็นรายจ่ายที่จะได้รับคืน กลุ่มบริษัทจะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากเมื่อคาด ว่าน่าจะได้รับรายจ่ายนั้นคืนอย่างแน่นอน

รายงานธุ ร กิ จ

ส�ำหรับโครงการสมทบเงิน กลุม่ บริษทั จัดให้มกี องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพซึง่ เป็นแผนการจ่ายสมทบตามทีก่ ำ� หนดไว้ สินทรัพย์ของกองทุน ส�ำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัท และมีการบริหารโดยผู้จัดการกองทุนภายนอก กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ได้รับเงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากกลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพบันทึก เป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น

2.20 ทุนเรือนหุ้น ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการออกหุ้นใหม่หรือสิทธิในการซื้อขายหุ้นที่จ่ายออกไปโดยไม่รวมถึงกรณีการรวมธุรกิจ แสดงรายการ ดังกล่าวด้วยจ�ำนวนเงินสุทธิจากภาษีไว้เป็นรายการหักในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยน�ำไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกหุ้น สิ่งตอบแทนที่จ่ายออกไปและเกี่ยวข้องโดยตรงกับการที่บริษัทใดก็ตามในกลุ่มบริษัทซื้อคืนหุ้นสามัญของบริษัทซึ่งรวมถึงต้นทุน เพิ่มเติมที่จ่ายออกไปภายนอกสุทธิจากภาษีเงินได้แล้ว จะรับรู้เป็นหุ้นทุนซื้อคืนและแสดงเป็นรายการหักจากยอดรวมของส่วน ของผู้ถือหุ้นของบริษัทจนกว่าหุ้นทุนซื้อคืนดังกล่าวจะถูกยกเลิกไปหรือจ�ำหน่ายใหม่ สิ่งตอบแทนใดๆ ที่ได้รับจากการขายหรือ น�ำหุ้นทุนซื้อคืนออกจ�ำหน่ายใหม่สุทธิจากต้นทุนเพิ่มเติมที่จ่ายออกไปภายนอกสุทธิจากผลกระทบของภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องจะ แสดงรวมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานทางการเงิ น

หุ้นสามัญจะจัดประเภทไว้เป็นส่วนของผู้ถือหุ้น

2.21 การรับรู้รายได้

รายได้ในกิจการร้านอาหารและเครื่องดื่มจากธุรกิจอาหาร บันทึกเป็นรายได้เมื่อมีการขายอาหารและเครื่องดื่มให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยรายได้คา่ เช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน เงินปันผลและดอกเบีย้ รับจากการลงทุนและเงิน ฝากธนาคาร

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

63

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายได้ในกิจการโรงแรมจากค่าห้อง ค่าอาหารและเครื่องดื่ม และรายได้ค่าบริการอื่น บันทึกเป็นรายได้เมื่อแขกเข้าพักในห้อง มี การขายอาหารและเครื่องดื่มและเมื่อมีการให้บริการแล้ว


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2. นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.21 การรับรู้รายได้ (ต่อ)

รายได้คา่ เช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนรับรูใ้ นงบก�ำไรขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่า ค่าใช้จา่ ยเริม่ แรกทีเ่ กิดขึน้ เป็นการเฉพาะเพื่อให้เกิดสัญญาเช่ารับรู้เป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นรับรู้เป็นรายได้ในรอบระยะ เวลาบัญชีซึ่งค่าเช่านั้นเกิดขึ้น เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบก�ำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง

รายงานธุ ร กิ จ

2.22 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายไปยังผู้ถือหุ้นของบริษัทจะรับรู้ในด้านหนี้สินในงบการเงินของกลุ่มบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือ หุ้นของบริษัทได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผลนั้น 3. การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน 3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน

รายงานทางการเงิ น

กิจกรรมของกลุ่มบริษัทย่อมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ แผนการจัดการความเสีย่ งโดยรวมของกลุม่ บริษทั จึงแสวงหาวิธกี ารลดผลกระทบทีท่ ำ� ให้เสียหาย ต่อผลการด�ำเนินงานทางการเงินของกลุม่ บริษทั ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ เท่าทีเ่ ป็นไปได้ กลุม่ บริษทั จึงใช้เครือ่ งมือทางการเงิน ตัวอย่างเช่น สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทส่วนใหญ่ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุ่มบริษัท ไม่มสี นิ ทรัพย์ทตี่ อ้ งอ้างอิงอัตราดอกเบีย้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ นโยบายของกลุม่ บริษทั คือ การท�ำสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ท�ำให้ กลุ่มบริษัทตกลงกับคู่สัญญาที่จะแลกเปลี่ยนผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินตามดอกเบี้ยคงที่กับตามอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในช่วงเวลา ทีก่ ำ� หนดไว้ (โดยส่วนมากจะเป็นรายไตรมาส) โดยอ้างอิงจากจ�ำนวนฐานทีใ่ ช้เป็นเกณฑ์คำ� นวณเงินต้นตามทีต่ กลงกันไว้ และรับรู้ ส่วนต่างทีจ่ ะต้องจ่ายตามสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ไว้เป็นส่วนประกอบของดอกเบีย้ จ่ายตลอดระยะเวลาตามข้อตกลงพร้อม กับรับรูร้ ายการก�ำไรและรายการขาดทุนจากการยกเลิกข้อตกลงก่อนถึงเวลาทีก่ ำ� หนดในสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ หรือจาก การจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทลงทุนในบริษัทย่อยที่อยู่ในต่างประเทศสองแห่งซึ่งสินทรัพย์สุทธิมีความเสี่ยงจากการแปลงค่า อย่างไรก็ตามกลุ่มบริษัท ไม่ได้ท�ำสัญญาแลกเปลี่ยนล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว 3.2 การบัญชีส�ำหรับอนุพันธ์ที่เป็นเครื่องมือทางการเงินและกิจกรรมป้องกันความเสี่ยง สัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ ช่วยป้องกันกลุม่ บริษทั จากความเคลือ่ นไหวของอัตราดอกเบีย้ ส่วนต่างทีจ่ ะต้องจ่ายหรือทีจ่ ะได้รบั จากสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ รับรูเ้ ป็นส่วนประกอบของรายได้ดอกเบีย้ หรือดอกเบีย้ จ่ายตลอดอายุของสัญญา รายการก�ำไร และรายการขาดทุนจากการเลิกสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยก่อนก�ำหนดหรือจากการจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมจะรับรู้ในก�ำไรหรือ ขาดทุน

64

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ตัวเลขเปรียบเทียบได้ปรับปรุงเพือ่ ให้เหมาะสมยิง่ ขึน้ และสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงการน�ำเสนอข้อมูลในปีปจั จุบนั เท่าทีจ่ ำ� เป็น โดยมีรายการดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

4. การจัดประเภทรายการใหม่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง 4.1 การจัดประเภทรายการใหม่

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

65


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

4. การจัดประเภทรายการใหม่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง (ต่อ) 4.1 การจัดประเภทรายการใหม่ (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ

เนือ่ งจากการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ขา้ งต้น กลุม่ บริษทั จึงแสดงงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 ซึง่ การจัดท�ำงบการเงินสามงบดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน 4.2 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

รายงานทางการเงิ น

ตามทีอ่ ธิบายในหมายเหตุ 2 กลุม่ บริษทั ได้นำ� มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรือ่ ง ภาษีเงินได้ ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 มาถือปฏิบัติและปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังเสมือนว่าบริษัทใช้นโยบายการบัญชีดังกล่าวมาโดยตลอด ซึ่งเป็นไปตาม ข้อก�ำหนดของมาตรฐานการบัญชี งบการเงินที่แสดงเปรียบเทียบได้ปรับปรุงตามมาตรฐานฉบับนี้ ผลกระทบของการน�ำนโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 และวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีดังนี้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

66

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

ผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

67


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

4. การจัดประเภทรายการใหม่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง (ต่อ) 4.3 การปรับปรุงงบการเงินย้อนหลัง (1) รายการปรับปรุงรายได้อื่นจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้และหนี้สินรับมาสุทธิของบริษัท โรงแรม กะรน ภูเก็ต จ�ำกัด หลังปรับปรุงภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

รายงานธุ ร กิ จ

ในระหว่างไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทท�ำการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้และหนี้สินรับมาสุทธิของ บริษัท โรงแรม กะรน ภูเก็ต จ�ำกัด ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุรกิจ โดยผู้ซื้อต้องปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังส�ำหรับประมาณการที่เคยรับรู้ไว้ ณ วันที่ซื้อ เพื่อสะท้อนผลของข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้รับ เกี่ยวกับข้อเท็จจริงและสถานการณ์แวดล้อมที่มีอยู่ ณ วันที่ซื้อ (วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555) ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการ วัดมูลค่าของจ�ำนวนต่าง ๆ ที่เคยรับรู้ไว้ ณ วันที่ซื้อ และระยะเวลาในการวัดมูลค่าต้องไม่เกินกว่าหนึ่งปีนับจากวันที่ซื้อ ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีดังนี้ งบการเงิ น รวม

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ลดลง ก�ำไรสะสมลดลง ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ตามที่ แสดงไว้เดิม รายการปรับปรุง บาท บาท 19,191,653,595 (107,454,150) 3,147,628,281 (90,154,032) 681,735,714 (17,300,118)

ปรับใหม่ บาท 19,084,199,445 3,057,474,249 664,435,596

รายงานทางการเงิ น

ผลกระทบที่มีต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ(ก่อนปรับปรุงภาษีเงินได้รอตัดบัญชี)ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 สรุปได้ดังนี้

รายได้อื่นลดลง ก�ำไรส่วนที่เป็นของใหญ่ส�ำหรับงวดลดลง ก�ำไรส่วนที่เป็นส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมส�ำหรับงวดลดลง ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง

ตามที่ปรับใหม่ งบการเงินรวม บาท 107,454,150 90,154,032 17,300,118 0.08

(2) รายการปรับปรุงรายได้อื่นจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้และหนี้สินรับมาสุทธิของ R.M.L. Leisure Pvt. Ltd.

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ในระหว่างไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2556 กลุ่มบริษัทท�ำการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้และหนี้สินรับมาสุทธิของ R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุรกิจ โดยผู้ซื้อ ต้องปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังส�ำหรับประมาณการที่เคยรับรู้ไว้ ณ วันที่ซื้อ เพื่อสะท้อนผลของข้อมูลเพิ่มเติมที่ได้รับเกี่ยวกับ ข้อเท็จจริงและสถานการณ์แวดล้อมที่มีอยู่ ณ วันที่ซื้อ (วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2555) ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการวัดมูลค่าของ จ�ำนวนต่าง ๆ ที่เคยรับรู้ไว้ ณ วันที่ซื้อ และระยะเวลาในการวัดมูลค่าต้องไม่เกินกว่าหนึ่งปีนับจากวันที่ซื้อ

68

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


งบการเงิ น รวม

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้น ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมเพิ่มขึ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555 ตามที่ แสดงไว้เดิม รายการปรับปรุง บาท บาท 19,191,653,595 406,581,253 3,147,628,281 235,872,803 681,735,714 170,708,450

ปรับใหม่ บาท 19,598,234,848 3,383,501,084 852,444,164

ตามที่ปรับใหม่ งบการเงินรวม บาท 228,518,197 7,354,606 235,872,803 0.17

รายได้อื่นเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งก�ำไรสุทธิจากเงินลงทุน-บริษัทร่วมเพิ่มขึ้น ก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ส�ำหรับงวดเพิ่มขึ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น

ในระหว่างปี พ.ศ. 2556 ผู้บริหารของกลุ่มบริษัทได้มีการทบทวนและปรับปรุงอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ถาวรให้เหมาะสม กับอายุการใช้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้และสอดคล้องกับกฎหมายภาษีอากรของประเทศนั้น รวมทั้งผู้บริหารของกลุ่มกิจการ ตัดสินใจขยายอายุสัญญาเช่าที่ดินจึงท�ำให้บริษัทย่อยต้องปรับปรุงค่าเสื่อมราคาสะสมให้เป็นไปตามอายุสัญญาเช่าฉบับใหม่ ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานทางการเงิ น

3) รายการปรับปรุงจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการคิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกลุ่มบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

ผลกระทบที่มีต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ(หลังปรับปรุงภาษีเงินได้รอตัดบัญชี)ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 สรุปได้ดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีดังนี้

งบการเงิ น รวม

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง สิทธิการเช่าลดลง ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมลดลง

19,191,653,595 876,087,576 3,147,628,281 3,751,378,559 681,735,714

(9,314,770) (115,395,756) 69,388,051 (161,673,840) (32,424,737)

ปรับใหม่ บาท 19,182,338,825 760,691,820 3,217,016,332 3,589,704,719 649,310,977

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

69

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555 ตามที่ แสดงไว้เดิม รายการปรับปรุง บาท บาท


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ผลกระทบที่มีต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ(ก่อนปรับปรุงภาษีเงินได้รอตัดบัญชี)ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 สรุปได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

ต้นทุนขาย - กิจการโรงแรมและบริการที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น ก�ำไรส�ำหรับงวดลดลง ก�ำไรเบ็ดเสร็จส�ำหรับงวดลดลง ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง

ตามที่ปรับใหม่ งบการเงินรวม บาท 9,469,263 9,469,263 9,469,263 0.01

5. ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ และข้อสมมติฐาน กลุม่ บริษทั มีการประมาณการทางบัญชี และใช้ขอ้ สมมติฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชีอาจไม่ตรงกับ ผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณทางการบัญชีที่ส�ำคัญและข้อสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอย่างเป็นสาระส�ำคัญที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการปรับปรุง ยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดังนี้ (ก) ประมาณการการด้อยค่าของค่าความนิยม และเงินลงทุนในบริษัทย่อย

รายงานทางการเงิ น

กลุ่มบริษัททดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกปี ตามที่ได้กล่าวในหมายเหตุข้อ 2.14 รวมถึงเงินลงทุนในบริษัทย่อยมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด พิจารณาจากการค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ การค�ำนวณดังกล่าวอาศัย การประมาณการทางการเงินครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี ซึ่งได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร (ข) ภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญ มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยที่ใช้ในการค�ำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยมี ข้อสมมติฐานหลายตัว รวมถึงข้อสมมติฐานเกีย่ วกับอัตราคิดลด การเปลีย่ นแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านีจ้ ะส่งผลกระทบต่อมูลค่า ของภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญ กลุม่ บริษทั ได้พจิ ารณาอัตราคิดลดทีเ่ หมาะสมในแต่ละปี ซึง่ ได้แก่อตั ราดอกเบีย้ ทีค่ วรจะใช้ในการก�ำหนดมูลค่าปัจจุบนั ของประมาณ การกระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ในการพิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสมกลุ่มบริษัทพิจารณาใช้ อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่ต้องจ่ายช�ำระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ และ มีอายุครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องจ่ายช�ำระภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญที่เกี่ยวข้อง

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ข้อสมมติฐานหลักอื่นๆ ส�ำหรับภาระผูกพันบ�ำเหน็จบ�ำนาญอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบันในตลาด ข้อมูลเพิ่มเติมเปิดเผยใน หมายเหตุ 24

70

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


7. ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้น�ำเสนอรายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานธุรกิจ ส่วนงานด�ำเนินงานได้ถูกรายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายใน ทีน่ ำ� เสนอให้ผมู้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ผูม้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานหมายถึงบุคคลทีม่ หี น้าทีใ่ นการจัดสรร ทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงานด�ำเนินงาน ซึง่ พิจารณาว่าคือ คณะกรรมการผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั ทีท่ ำ� การตัดสิน ใจเชิงกลยุทธ์

รายงานธุ ร กิ จ

ในการด�ำรงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การออก หุ้นใหม่ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทจะต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้เงื่อนไขที่ ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ (ในหมายเหตุข้อ 20)

รายงานคณะกรรมการ

6. การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุม่ บริษทั ในการบริหารทุนของบริษทั นัน้ เพือ่ ด�ำรงไว้ซงึ่ ความสามารถในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งของกลุม่ บริษทั เพือ่ สร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น และเพื่อด�ำรงไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนของ เงินทุน

การก�ำหนดราคาระหว่างส่วนงานอยู่บนเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่าย

7.1 ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานธุรกิจ บริษัทและบริษัทย่อยเสนอส่วนงานธุรกิจที่ส�ำคัญ ดังนี้ ส่วนงาน 1

ส่วนงานโรงแรมและบริการที่เกี่ยวข้องกัน

ส่วนงาน 2

ส่วนงานการขายอาหารและไอศกรีม

รายงานทางการเงิ น

ผลได้ (เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงาน หรือที่สามารถปันส่วนให้กับส่วนงานได้ อย่างสมเหตุสมผล รายการที่ไม่สามารถปันส่วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบี้ยหรือเงินปันผลทั้งส่วนของสินทรัพย์และรายได้ เงินให้ กู้ยืมที่มีดอกเบี้ย เงินกู้ยืมและดอกเบี้ยจ่าย และสินทรัพย์และค่าใช้จ่ายของกิจการโดยรวม

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

71


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

7. ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) 7.1 ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานธุรกิจ (ต่อ) รายได้และผลการด�ำเนินงานจากส่วนงานทางธุรกิจในงบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

หม ายเหตุป ระกอบงบ การเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

72

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท 7. ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) 7.2 ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทได้มีการจัดการส่วนงานธุรกิจทั่วโลกในลักษณะเดียวกัน ส่วนงานธุรกิจเหล่านี้ด�ำเนินงานใน เขตภูมิศาสตร์หลัก มีดังนี้ ประเทศไทย เป็นประเทศแม่ที่บริษัทใหญ่ตั้งอยู่และด�ำเนินงานทางธุรกิจเป็นหลักของบริษัท ขอบเขตการด�ำเนินงานหลักใน เขตภูมิศาสตร์นี้ประกอบด้วย ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจขายอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจการผลิต และธุรกิจการจัดการ

รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ประเทศสาธารณรัฐมัลดีฟส์ กิจกรรมหลักคือ ธุรกิจโรงแรม และธุรกิจสปา

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารมีอัตราถัวเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.6 ถึงร้อยละ 2.8 ต่อปี (พ.ศ. 2555 : ร้อยละ 0.8 ถึงร้อยละ 2.1 ต่อปี)

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

73


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

รายงานธุ ร กิ จ ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม สามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี้ที่ค้างช�ำระได้ดังนี้

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

74

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

10. สินค้าคงเหลือ

รายงานธุ ร กิ จ ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายและรวมอยู่ในต้นทุนขายเป็นจ�ำนวน 4,240 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 3,736 ล้านบาท)

11. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

รายงานทางการเงิ น

กลุ่มบริษัทได้กลับรายการผลขาดทุนจากสินค้าล้าสมัยในงบก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปี เป็นจ�ำนวนเงิน 0.12 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 0.52 ล้านบาท)

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

75


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

12. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในการร่วมค้า ก) เงินลงทุนในบริษัทย่อย

รายงานธุ ร กิ จ

ปี พ.ศ. 2556

เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท โคซี่ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด จ�ำนวน 49,997 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 100 บาทต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 25 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 1.3 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 บริษัทได้ช�ำระ ค่าหุ้นแล้ว เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท เซ็นทาราลอยัลตี้มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด จ�ำนวน 499,997 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 100 บาทต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 25 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 12.5 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 บริษัทได้ช�ำระ ค่าหุ้นแล้ว เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 บริษทั ได้ซอื้ หุน้ สามัญเพิม่ เติมจากส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุมของบริษทั โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด จ�ำนวน160,000 หุ้น คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 120 ล้านบาท ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 83.91 เป็นร้อยละ 99.32 และบริษัทรับรู้ ส่วนเกินจากการลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยภายใต้การควบคุมเดียวกันดังกล่าวจ�ำนวน 143,421,726 บาท ในส่วนของผู้ถือหุ้น ในงบการเงินรวม เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556 บริษัท โคซี่ โฮเต็ล จ�ำกัด ได้เรียกช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมจ�ำนวน 300,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท ต่อหุ้น โดยเรียกช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติม 25 บาท ต่อหุ้น รวมเป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 7.5 ล้านบาท โดยบริษัทถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 ซึ่งบริษัทช�ำระค่าหุ้นในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ศูนย์การเรียนรู้เซ็นทารา จ�ำกัด จ�ำนวน 1,000,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 10 บาทต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 2.5 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 2.5 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 บริษัทได้ช�ำระ ค่าหุ้นแล้วเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปี พ.ศ. 2555

เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท โคซี่ โฮเต็ล จ�ำกัด จ�ำนวน 300,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 100 บาทต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 25 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 7.5 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นแล้ว เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555

76

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท เซ็นทารา อิมพอร์ต-เอ็กซพอร์ต จ�ำกัด จ�ำนวน 100,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 10 บาทต่อหุ้น (เรียกช�ำระแล้ว 10 บาทต่อหุ้น) จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 1.0 ล้านบาท โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 100 บริษัทได้ช�ำระค่าหุ้น แล้ว เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

* โดยการถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม ** โดยการถือหุ้นทางอ้อม

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

77


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

12. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และส่วนได้เสียในการร่วมค้า (ต่อ) ข) เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555 และวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้ช�ำระค่าหุ้นเพิ่มเติมใน Centara Maldives Pvt. Ltd. จ�ำนวน 10,000,000 หุ้น ซึ่งมีมูลค่าตราไว้ 1 เหรียญสหรัฐต่อหุ้น (เรียกช�ำระเพิ่มเติมครั้งละ 0.25 เหรียญต่อหุ้น) จ�ำนวนทั้งสิ้น 77.88 ล้าน บาท (2.5 ล้านเหรียญสหรัฐ) และ 77.12 ล้านบาท (2.5 ล้านเหรียญสหรัฐ) ตามล�ำดับ โดยถือสัดส่วนจ�ำนวนร้อยละ 50.00 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อยละ 33.92 (เดิมถือหุ้นร้อยละ 50.00) ของบริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงิน 179.19 ล้านบาท ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุนรวมคิดเป็นร้อยละ 83.92 เงินลงทุนในบริษัท โรงแรมกะรน ภูเก็ต จ�ำกัด ได้เปลี่ยนสถานะจากส่วนได้เสียในการร่วมค้าเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่กลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจในการ ควบคุมบริษัทดังกล่าว

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อยละ 25.00 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 50.00) ของ Centara Maldives Pvt. Ltd. เป็นจ�ำนวนเงิน 157.38 ล้านบาท (5 ล้านเหรียญสหรัฐ) ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 75.00 เงินลงทุนใน Centara Maldives Pvt. Ltd. ได้เปลี่ยนสถานะจากส่วนได้เสียในการร่วมค้าเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่กลุ่มบริษัท มีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทดังกล่าว เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อยละ 49.00 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 25.00) ของ R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. เป็นจ�ำนวนเงิน 264.60 ล้านบาท (8.6 ล้านเหรียญสหรัฐ) ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 74.00 เงินลงทุนใน R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. ได้เปลี่ยนสถานะจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่กลุ่มบริษัท มีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทดังกล่าว

78

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

* โดยการถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

79


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 13. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน วิธีราคาทุน

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 มีมูลค่าสุทธิทางบัญชี 473.2 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะบริษัท 302.7 ล้านบาท) ประเมินราคาโดยบริษัท บรูค เรียลเอสเตท จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประเมินราคาอิสระ ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 โดยพิจารณา ราคาตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ราคาประเมินมีมูลค่า 3,336 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะบริษัท 1,673.7 ล้าน บาท) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่เหลือ ซึ่งมีมูลค่าสุทธิทางบัญชี 162.7 ล้านบาท ประเมินราคาโดยบริษัท อเมริกัน แอ๊พเพรซัล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประเมินราคาอิสระ ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยพิจารณาราคาตลาดตามเกณฑ์ของสินทรัพย์ที่ ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ราคาประเมินมีมูลค่า 307 ล้านบาท อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รวมมีมูลค่า ราคาประเมิน 3,643 ล้านบาท จ�ำนวนเงินที่เกี่ยวข้องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ได้แก่

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

80

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

รายงานทางการเงิ น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ

หมา ยเห ตุประก อบ งบ กา รเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

81


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

หม ายเหตุป ระกอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

82

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ต้นทุนการกู้ยืมจ�ำนวน 5.0 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 1.2 ล้านบาท) ได้รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ที่ซื้อเพิ่มในระหว่างปี

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

หม ายเหตุป ระกอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

83


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

หมา ยเห ตุประก อบ งบ กา รเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

84

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ)

รายงานทางการเงิ น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ

หมา ยเห ตุประก อบ งบ กา รเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

85


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

14. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (ต่อ) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ท�ำให้ สินค้าคงเหลือ อาคารและอุปกรณ์มีมูลค่าสุทธิ จ�ำนวน 813,950 ดอลลาร์สหรัฐหรือเท่ากับ 25,550,460 บาท ที่เสียหายจากเหตุการณ์ไฟไหม้ (สินค้าคงเหลือ จ�ำนวน 30,263 ดอลลาร์สหรัฐหรือ เท่ากับ 949,977 บาท และอาคารและอุปกรณ์ จ�ำนวน 783,687 ดอลลาร์สหรัฐหรือเท่ากับ 24,600,483 บาท) ซึ่งได้มีการท�ำประกันภัยไว้ อย่างไรก็ตามในขณะนี้บริษัทอยู่ระหว่างการด�ำเนินการเรียกค่าชดเชยความเสียหายจากบริษัทประกันภัย บริษัทประกันภัยยืนยันเบื้องต้น ว่าบริษัทจะได้รับค่าชดเชยความเสียหายไม่ต�่ำกว่า 774,032 ดอลลาร์สหรัฐหรือเท่ากับ 24,297,406 บาท กลุ่มบริษัทรับรู้และตัดจ�ำหน่าย ทรัพย์สินที่เสียหายทั้งหมดแล้วในงบการเงินนี้ อย่างไรก็ตามบริษัทจะรับรู้รายได้ค่าชดเชยความเสียหายในงวดที่กลุ่มบริษัทสามารถวัด มูลค่าได้อย่างเชื่อถือ

รายงานธุ ร กิ จ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัทและบริษัทย่อย 2 แห่งได้จ�ำนองที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 4,641 ล้านบาท (พ.ศ. 2555: 6,202 ล้านบาท) เป็นหลักประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะยาวกับสถาบันการเงิน และ ต่อมาในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับโอนที่ดินที่ได้จ�ำนองไว้คืนจากสถาบันการเงินภายหลังจากการสิ้นสุด สัญญาเงินกู้ในระหว่างปี พ.ศ. 2556 อาคารโรงแรม สิ่งปลูกสร้างและส่วนติดตั้งเพิ่มเติมของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งคือ บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด ได้ให้เป็นกรรมสิทธิ์ ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตามสัญญาเช่าที่ดิน อาคารและทรัพย์สินของโรงแรมรถไฟหัวหิน ราคาทรัพย์สินก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานทางการเงิ น

กลุ่มบริษัท บริษัท

พ.ศ. 2556 บาท 4,614,560,036 132,350,769

พ.ศ. 2555 บาท 3,730,547,209 123,002,039

การประเมินราคาของสินทรัพย์ ในไตรมาสที่ 3 ในปี พ.ศ. 2556 บริษัทย่อย 5 แห่ง ได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระให้ประเมินราคาทรัพย์สินที่มีอยู่ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งรวมทั้งที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เคยประเมินราคาไว้แล้ว บริษัทย่อยได้บันทึกที่ดิน อาคารในราคาที่ประเมินใหม่ตาม รายงานการประเมินราคา บริษัทย่อยได้บันทึกส่วนเกินจากการตีราคาสุทธิจากภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 393.90 ล้านบาทไปยังบัญชี องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น นอกจากนี้บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของทรัพย์สิน ในงบก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมเป็นจ�ำนวนประมาณ 4.06 ล้านบาท ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 บริษัทและบริษัทย่อย 4 แห่ง ได้ว่าจ้างผู้ประเมินอิสระให้ประเมินราคาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยใช้วิธี ประมาณการรายได้ บริษัทและบริษัทย่อยได้บันทึกส่วนเกินจากการตีราคาสุทธิจากภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 2,190.6 ล้านบาท (งบ การเงินเฉพาะบริษัท 1,185.9 ล้านบาท) ไปยังบัญชีองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2554 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศฉบับที่ 18/2554 เรื่อง “การบันทึกบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่” ประกาศ ของสภาวิชาชีพบัญชีดังกล่าว ก�ำหนดให้กลุ่มบริษัทสามารถเลือกปฏิบัติการบันทึกบัญชีสินทรัพย์ เมื่อมีการตีราคาใหม่ได้ 2 วิธี คือ (ก) บันทึกตามหลักการที่ก�ำหนดไว้ในย่อหน้าที่ 38 ของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่อง “ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์” โดยคิดค่าเสื่อมราคา จากยอดรวมของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ หรือ (ข) ปฏิบัติตามเกณฑ์ราคาทุน เมื่อมีการตีราคาเพิ่ม โดยคิดค่าเสื่อมราคาจากราคาทุนเดิม กลุม่ บริษทั เลือกทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ราคาทุน เมือ่ มีการตีราคาเพิม่ โดยคิดค่าเสือ่ มราคาจากราคาทุนเดิม ซึง่ วิธกี ารดังกล่าวท�ำให้งบการเงิน ของกลุ่มบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีก�ำไรของกลุ่มบริษัทเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนเงิน 126.4 ล้านบาท และ 42.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ และก�ำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 0.09 บาทต่อหุ้น และ 0.03 บาทต่อหุ้น ตามล�ำดับ

86

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน อาคารโรงแรม สิ่งปลูกสร้างและส่วนติดตั้งของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งคือ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) ต้องโอนกรรมสิทธิ์ ในอาคารและสิง่ ปลูกสร้างใดๆ ที่ CWH ได้ซอ่ มแซมปรับปรุง หรือก่อสร้างขึน้ บนทีด่ นิ ทีเ่ ช่าช่วงให้แก่เจ้าของทรัพย์สนิ คือส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ทันทีที่มีการซ่อมแซม ปรับปรุงหรือก่อสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้นตามสัญญาเช่าช่วงที่ดิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน มีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

87


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 15. ค่าความนิยม

รายงานธุ ร กิ จ

ค่าความนิยมจ�ำนวน 115 ล้านบาท และจ�ำนวน 199 ล้านบาท เกิดจากการซื้อเงินลงทุนใน บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด และ ลงทุนทางอ้อมใน บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด ตามล�ำดับ กลุ่มบริษัททดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นประจ�ำทุก ปี โดยกลุ่มบริษัทได้เปรียบเทียบมูลค่าตามบัญชีของค่าความนิยมกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดซึ่ง พิจารณาจากการค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ การค�ำนวณดังกล่าวใช้ประมาณการกระแสเงินสดโดยอ้างอิงจากประมาณการทางการเงินซึ่ง คลอบคลุมระยะเวลาเป็นระยะเวลา 5 ปี และกระแสเงินสดหลังจากปีที่ 5 ใช้ประมาณการของอัตราการเติบโตที่ร้อยละ 0.00 ต่อปี โดย ใช้อัตราคิดลดหลังหักภาษีที่ร้อยละ 10.00 ต่อปี 16. สิทธิการเช่า

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

88

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

17. สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่น

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

89


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

18. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

90

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

18. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

91


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 18. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

92

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

18. ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (ต่อ) งบแสดงฐานะการเงินแสดงยอดคงเหลือดังนี้

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสำ� หรับรายการขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ยกไปจะรับรูไ้ ด้ไม่เกินจ�ำนวนทีเ่ ป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ จะมีกำ� ไร ทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจ่ ะใช้ประโยชน์ทางภาษีนนั้ กลุม่ บริษทั มีรายการขาดทุนทางภาษีทยี่ งั ไม่ได้ใช้ยกไปเพือ่ หักกลบกับก�ำไรทาง ภาษีในอนาคตเป็นจ�ำนวนเงิน 603,282,746 บาท (พ.ศ.2555: 507,406,643 บาท) โดยทีร่ ายการขาดทุนทางภาษีดงั กล่าวสามารถน�ำไปหักกลบ กับก�ำไรทางภาษีในอนาคต รายการขาดทุนสะสมยกไปดังกล่าวสามารถแยกตามปีที่จะหมดประโยชน์ทางภาษีได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

สินทรัพย์และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะหักกลบกันก็ตอ่ เมือ่ สินทรัพย์ และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้ดงั กล่าวเกีย่ วข้องกับหน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเดียวกันส�ำหรับงบแสดงฐานะทางการเงินรวม สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีแสดงยอดรวมของสินทรัพย์และหนี้สินสุทธิ ในแต่ละบริษัท

รายงานทางการเงิ น

19. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

93


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 20. เงินกู้ยืม

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

เงินกู้ยืมที่มีหลักประกันมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 4,359 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 4,284 ล้านบาท) การกู้ยืมจากธนาคารใช้หลักประกันเป็นที่ดินและ อาคาร ของกลุ่มบริษัท (หมายเหตุ 14) ส่วนหลักประกันของหนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาว คือ การที่บริษัทจะต้องมอบคืนสิทธิในสัญญา เช่าแก่ผู้ให้เช่าในกรณีที่กลุ่มบริษัทผิดสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 กลุ่มบริษัท มีเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเป็นจ�ำนวน 6,440 ล้านบาท และ 64.15 ล้านเหรียญดอลลาร์ สหรัฐ (พ.ศ. 2555 : 7,257 ล้านบาท และ 43.18 ล้านเหรียญดอลลาร์หสรัฐ)

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

94

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมของกลุ่มบริษัทและบริษัท มีดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีภาระดอกเบี้ยในอัตราตลาด ในระหว่างปี พ.ศ. 2554 บริษัทได้ต่อสัญญาเงินกู้จากสถาบันการเงินเพื่อท�ำการช�ำระคืนเงินต้นของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ดังกล่าวที่ถึงก�ำหนดช�ำระในปี พ.ศ. 2554 เป็นจ�ำนวนเงิน 500 ล้านบาท สัญญาเงินกู้ฉบับใหม่มีก�ำหนดระยะเวลาช�ำระคืนเงินต้นของเงิน กู้ยืมระยะยาวในปี พ.ศ. 2557

รายงานทางการเงิ น

ภายใต้เงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญากูเ้ งิน กลุม่ บริษทั จะต้องด�ำรงสัดส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตราส่วนไม่เกิน 2 : 1, 2.5 : 1 และ 2.75 : 1

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 ค�้ำประกันโดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัท ซึ่งมีราคาตามบัญชีเป็นจ�ำนวน 4,641 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (พ.ศ. 2555: 6,202 ล้านบาท)

ตามสัญญาเงินกู้ยืมระหว่างบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) กับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง CWH ตกลงจะไม่จ�ำหน่าย จ่าย โอนให้เช่า ก่อให้เกิดภาระผูกพันในสิทธิการเช่าช่วงที่ดิน รวมทั้งอาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยไม่ได้รับการยินยอมจากธนาคาร

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

95

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ได้ท�ำสัญญากับธนาคารในประเทศสามแห่งเพื่อรับวงเงินสินเชื่อระยะสั้นประเภทต่างๆ ตามสัญญา CRG จะไม่จำ� หน่าย จ�ำน�ำหรือจ�ำนองอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าทีม่ อี ยูห่ รือทีจ่ ะมีในอนาคตเป็นจ�ำนวนเกินกว่าทีต่ กลงตาม สัญญา โดยไม่ได้รับการยินยอมจากธนาคาร


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 20. เงินกู้ยืม (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

หุ้นกู้เหล่านี้เป็นหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อ ประเภทไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้เหล่านี้มีข้อจ�ำกัดและเงื่อนไขเกี่ยวกับการรักษาอัตราส่วนทางการเงิน การจ่ายเงินปันผล การลดทุนช�ำระแล้ว การจ�ำน�ำ การจ�ำนอง สินทรัพย์และการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่ประกอบธุรกิจที่ส�ำคัญภายใต้เงื่อนไขที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน บริษัทจะต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินที่มี ภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในอัตราส่วนไม่เกิน 2 : 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 บริษทั มีสญั ญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ หลายฉบับ โดยมีรายละเอียดของสัญญา ดังต่อไปนี้ เงื่อนไขตามข้อตกลงเดิม

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ สัญญาข้างต้นครบก�ำหนดระหว่างวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560

96

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมไทยพัฒนา 2

ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยาว มีดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ

ส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 เป็นเงินลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนประเภท ก (ตราเป็นเงินบาท) ซึง่ ได้รบั การค�ำ้ ประกันการช�ำระโดยบริษทั ทัง้ นี้ เงินปันผลทีพ่ งึ จ่ายแก่ผถู้ อื หน่วยลงทุนประเภทดังกล่าวค�ำนวณขึน้ จาก อัตราร้อยละของมูลค่าสุทธิต่อหน่วยครั้งล่าสุดตามที่กล่าวไว้ในสัญญาผู้ถือหน่วยลงทุน

รายงานทางการเงิ น

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

97

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

มูลค่ายุตธิ รรมของเงินกูย้ มื ระยะยาวค�ำนวณจากกระแสเงินสดในอนาคตคิดลดด้วยอัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ทีฝ่ า่ ยบริหารคาดว่ากลุม่ บริษทั และ บริษทั จะต้องจ่าย ณ วันทีใ่ นงบแสดงฐานะทางการเงิน ส่วนมูลค่ายุตธิ รรมของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันและหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ใกล้เคียยงกับราคาตามบัญชีของรายการดังกล่าว


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 20. เงินกู้ยืม (ต่อ) วงเงินกู้ยืม

กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกู้ยืมที่ยังไม่ได้เบิกออกมาใช้ดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ 21. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

98

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

22. ส�ำรองการค�้ำประกัน ส�ำรองการค�ำ้ ประกันเป็นการค�ำ้ ประกันรายได้คา่ เช่าภายใต้สญั ญาเช่าอาคารสิง่ ปลูกสร้างทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ให้แก่กองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา โดยมียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

รายการเคลื่อนไหวของส�ำรองการค�้ำประกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานทางการเงิ น

23. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

99


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 24. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน จ�ำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินมีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ระหว่างปีมีดังนี้

รายงานทางการเงิ น ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับแต่ละรายการดังนี้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 15,788,574 บาท (พ.ศ. 2555 : 27,890,329 บาท) ถูกรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร

100

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ใช้เป็นดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตรามรณะอ้างอิงตามตารางมรณะปี พ.ศ. 2551 (TMO08) ซึ่งประกาศโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่ง เสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 25. ทุนเรือนหุ้น

รายงานทางการเงิ น ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั เมือ่ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 ผูถ้ อื หุน้ มีมติอนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียนของบริษทั จ�ำนวน 230,800,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 1,580,800,000 บาท เป็น 1,350,000,000 บาท โดยการตัดหุ้น ที่ยังไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษัท

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

101

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 หุน้ จดทะเบียนทัง้ หมดได้แก่หนุ้ สามัญ 1,350,000,000 หุน้ (พ.ศ. 2555 : 1,350,000,000 หุน้ ) ซึง่ มีมลู ค่าหุน้ ละ 1 บาท โดยมีหุ้นสามัญจ�ำนวน 1,350,000,000 หุ้น ที่ได้ออกและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว (พ.ศ. 2555 : 1,350,000,000 หุ้น)


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 26. ส�ำรองตามกฎหมาย

รายงานธุ ร กิ จ

ภายใต้พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด บริษัทต้องจัดสรรส�ำรองตามกฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังหัก ขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ส�ำรองดังกล่าวเป็นส�ำรองที่ ไม่สามารถจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ส�ำรองตามกฎหมายของบริษัทย่อยจ�ำนวน 6,987,143 บาท (พ.ศ. 2555 : 6,463,000 บาท) ได้รวมอยู่ใน ก�ำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรในงบการเงินรวม

รายงานทางการเงิ น

27. องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

102

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

27. องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

103


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 28. รายได้อื่น

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

29. ต้นทุนทางการเงิน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

104

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

30. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ รายการบางรายการที่รวมอยู่ในก�ำไรจากการด�ำเนินงาน สามารถแยกตามลักษณะได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

31. ภาษีเงินได้

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

105


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

31. ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภาษีเงินได้ส�ำหรับก�ำไรก่อนหักภาษีของกลุ่มบริษัทมียอดจ�ำนวนเงินที่แตกต่างจากการค�ำนวณก�ำไรทางบัญชีคูณกับภาษีของประเทศที่ บริษัทใหญ่ตั้งอยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

อัตราภาษีเงินได้ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักคิดเป็นร้อยละ 24.74 (พ.ศ. 2555 : ร้อยละ 16.71) การเพิ่มขึ้นเกิดจากรายการก�ำไรจากการซื้อธุรกิจ ซึ่งแสดงรวมไว้ในรายได้อื่นในงบการเงินปีพ.ศ. 2555

106

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

ภาษีเงินได้ที่(ลด) / เพิ่ม ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

107


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

32. ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทใหญ่ด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ที่ออกจ�ำหน่ายและช�ำระแล้วในระหว่างปี (หมายเหตุ 25)

รายงานธุ ร กิ จ บริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555

รายงานทางการเงิ น

33. เงินปันผลต่อหุ้น เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2556 ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีมติอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลส�ำหรับผู้ถือหุ้นสามัญ ในอัตรา หุ้นละ 0.30 บาท (พ.ศ. 2555 : หุ้นละ 0.15 บาท) รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้น 405 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 202.5 ล้านบาท) โดยมีการจ่ายเงิน ปันผลในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 34. การซื้อธุรกิจ งวดก่อน บริษัท โรงแรม กะรน ภูเก็ต จ�ำกัด

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการจากผู้ถือหุ้นเดิมรายหนึ่งซึ่งต้องการออกจากธุรกิจในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อย ละ 33.92 (เดิมถือหุ้นร้อยละ 50.00) ของบริษัทโรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด เป็นจ�ำนวนเงิน 179.19 ล้านบาท ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุน รวมคิดเป็นร้อยละ 83.92 เงินลงทุนในบริษัทโรงแรมกะรน ภูเก็ต จ�ำกัด ได้เปลี่ยนสถานะจากส่วนได้เสียในการร่วมค้าเป็นเงินลงทุนใน บริษทั ย่อย ณ วันทีก่ ลุม่ บริษทั มีอำ� นาจในการควบคุมบริษทั ดังกล่าว และกลุม่ บริษทั ได้ปรับมูลค่าของเงินลงทุน ณ วันดังกล่าวให้เป็นมูลค่า ยุตธิ รรมโดยก�ำไรจากการปรับมูลค่ายุตธิ รรมเป็นจ�ำนวนเงิน 287.59 ล้านบาท ถูกบันทึกในรายได้อนื่ ในงบก�ำไรขาดทุน บริษทั ทีซ่ อื้ มาสร้าง รายได้ ให้แก่กลุม่ บริษทั 281.68 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิ67.43 ล้านบาท ส�ำหรับงวดตัง้ แต่วนั ที่1 มีนาคม พ.ศ.2555 ถึงวันที่31 ธันวาคม พ.ศ.2555 หาก บริษทั ซือ้ กลุม่ บริษทั นีต้ งั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายได้ทเี่ กิดแก่กลุม่ บริษทั จะเป็นจ�ำนวน 380.57 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิ 115.49 ล้านบาท

108

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

รายละเอียดของข้อมูลสินทรัพย์สุทธิที่เกิดจากการซื้อกิจการมีดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

Centara Maldives Pvt. Ltd.

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

109

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการเพื่อขยายธุรกิจในต่างประเทศในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อยละ 25.00 (เดิมถือหุ้น ร้อยละ 50.00) ของ Centara Maldives Pvt. Ltd. เป็นจ�ำนวนเงิน 157.38 ล้านบาท (5 ล้านเหรียญสหรัฐ) ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุน คิดเป็นร้อยละ 75.00 ส่งผลให้เงินลงทุนใน Centara Maldives Pvt. Ltd. ได้เปลี่ยนสถานะจากส่วนได้เสียในการร่วมค้าเป็นเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ณ วันที่กลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทดังกล่าวและกลุ่มบริษัทได้ปรับมูลค่าของเงินลงทุน ณ วันดังกล่าวให้เป็น มูลค่ายุติธรรม โดยก�ำไรจากการปรับมูลค่ายุติธรรมเป็นจ�ำนวนเงิน 24.55 ล้านบาท ถูกบันทึกในรายได้อื่นในงบก�ำไรขาดทุน บริษัทที่ซื้อ มาสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มบริษัท 2.2 ล้านบาท และมีขาดทุนสุทธิ 50.54 ล้านบาท ส�ำหรับงวดตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 หากบริษัทซื้อกลุ่มบริษัทนี้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายได้ที่เกิดแก่กลุ่มบริษัทจะเป็นจ�ำนวน 3.00 ล้าน บาท และขาดทุนสุทธิ 50.49 ล้านบาท


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

34. การซื้อธุรกิจ (ต่อ) รายละเอียดของข้อมูลสินทรัพย์สุทธิที่เกิดจากการซื้อกิจการมีดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

สินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากการซื้อเงินลงทุนใน Centara Maldives Pvt. Ltd. ที่แสดงข้างต้นเป็นราคาตามบัญชี ณ วันที่ซื้อเงินลงทุน ซึ่งมี มูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุตธิ รรม เนือ่ งจากบริษทั ดังกล่าวอยูใ่ นช่วงเริม่ ประกอบกิจการ และอยูใ่ นระหว่างการก่อสร้างเป็นโรงแรม ผลต่าง ระหว่างราคาที่ตกลงซื้อขาย และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิตามส่วนที่ได้เสียที่ได้มาแสดงรวมในค่าใช้จ่าย

110

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2555 กลุ่มบริษัทได้เข้าซื้อกิจการเพื่อขยายธุรกิจในต่างประเทศในสัดส่วนเพิ่มเติมร้อยละ 49.00 (เดิมถือหุ้นร้อย ละ 25.00) ของ R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. เป็นจ�ำนวนเงิน 264.61 ล้านบาท (8.6 ล้านเหรียญสหรัฐ) ท�ำให้สัดส่วนของการลงทุนคิดเป็น ร้อยละ 74.00 เงินลงทุนใน R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. ได้เปลี่ยนสถานะจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมเป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่กลุ่ม บริษัทมีอ�ำนาจในการควบคุมบริษัทดังกล่าว บริษัทที่ซื้อมายังสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มบริษัท 68.10 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิ 9.77 ล้านบาท ส�ำหรับงวดตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 หากบริษัทซื้อกลุ่มบริษัทนี้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายได้ที่เกิดแก่กลุ่มบริษัทจะเป็นจ�ำนวน 672.44 ล้านบาท แต่มีขาดทุนสุทธิ 22.74 ล้านบาท

รายงานธุ ร กิ จ

รายละเอียดของข้อมูลสินทรัพย์สุทธิที่เกิดจากการซื้อกิจการมีดังต่อไปนี้

รายงานคณะกรรมการ

R.M.L. Leisure Pvt. Ltd.

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

111


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัท ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยผ่านกิจการอื่นแห่งหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งแห่ง โดยที่บุคคล หรือกิจการนัน้ มีอำ� นาจควบคุมบริษทั หรือถูกควบคุมโดยบริษทั หรืออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั รวมถึงบริษทั ทีด่ ำ� เนินธุรกิจการ ลงทุน บริษทั ย่อย และบริษทั ย่อยในเครือเดียวกัน ถือเป็นกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั บริษทั ร่วมและบุคคลทีเ่ ป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิ ออกเสียงของบริษทั ซึง่ มีอทิ ธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญเหนือกิจการ ผูบ้ ริหารส�ำคัญรวมทัง้ กรรมการและพนักงานของบริษทั ตลอดจนสมาชิก ในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ อาจมีขนึ้ ได้ตอ้ งค�ำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่ารูป แบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย

รายงานธุ ร กิ จ

ความสัมพันธ์ทกี่ ลุม่ บริษทั มีกบั บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ มีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษทั หรือเป็นกิจการทีบ่ ริษทั ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้

รายงานทางการเงิ น

นโยบายการก�ำหนดราคาส�ำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

112

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


35.1) รายได้และค่าใช้จ่าย

รายงานคณะกรรมการ

รายการต่อไปนี้เป็นรายการที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 สรุป ได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

113


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.2) ลูกหนี้และเจ้าหนี้ ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

114

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.3) เงินให้กู้ยืมแก่กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

รายงานทางการเงิ น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ

ห มา ยเห ตุประกอบ งบก ารเ งินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

115


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.3) เงินให้กู้ยืมแก่กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ห มายเหตุป ระกอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

116

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท 35. Related party transactions (Cont’d) 35.3) เงินให้กู้ยืมแก่กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) รายการเคลือ่ นไหวของเงินให้กยู้ มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดงั นี้

รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

117


รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.3) เงินให้กู้ยืมแก่กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ห มายเหตุป ระกอบงบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

รายงานคณะกรรมการ

118

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.4) เงินกู้ยืมจากกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) รายการเคลือ่ นไหวของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 มีดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

35.5) ส�ำรองการค�้ำประกัน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

119


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.6) หนี้สินภายใต้สัญญาขายฝาก ยอดคงเหลือกับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ถึงก�ำหนดจ่ายดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

35.7) ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญประกอบด้วย

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

120

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

35.8) สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สัญญาเช่าระยะยาว บริษัท

เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2546 CID ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงกับ รฟท. โดยช�ำระค่าชดเชยสัญญาเช่าเพิ่มเติมให้แก่ รฟท.ในจ�ำนวน ที่ตกลงร่วมกับ รฟท. บริษัทได้ตกลงรับแบ่งค่าชดเชยดังกล่าวเป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 65 ล้านบาท โดยช�ำระเป็นรายงวด 8 งวด เริ่มช�ำระงวดแรกภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2546 และงวดสุดท้ายภายในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551 การโอนสินทรัพย์ให้การรถไฟแห่งประเทศไทย

รายงานธุ ร กิ จ

ภายใต้เงือ่ นไขของสัญญาต่างตอบแทนระหว่างบริษทั กับ บริษทั เซ็นทรัลอินเตอร์พฒั นา จ�ำกัด (“CID”) ซึง่ ท�ำสัญญาเช่าทีด่ นิ ระยะ ยาวกับการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) บริษทั ได้รบั สิทธิในการก่อสร้างอาคารโรงแรมบนทีด่ นิ ทีเ่ ช่าช่วงจากบริษทั เซ็นทรัลอินเตอร์ พัฒนา จ�ำกัด และสามารถด�ำเนินกิจการโรงแรมเพื่อประโยชน์ของบริษัทจนถึงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551 สัญญานี้ต่ออายุได้ อีกครั้งละ 10 ปี บริษัทจะต้องจ่ายค่าตอบแทนเป็นเงินประมาณ 73.7 ล้านบาท โดยแบ่งช�ำระเป็นงวดต่างๆ กันถึงปี พ.ศ. 2551

เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นวันครบก�ำหนดของสัญญาต่างตอบแทนดังกล่าว บริษัทต้องโอนสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินที่เช่า ช่วง ส่วนติดตัง้ และปรับปรุง รวมถึงอุปกรณ์บางส่วนให้แก่ รฟท.ซึง่ มีมลู ค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันครบก�ำหนดสัญญาเป็นจ�ำนวน 23.9 ล้านบาท เป็นผลให้บริษัทมีขาดทุนจากการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ในจ�ำนวนเดียวกัน

เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษัทได้รับแจ้งจาก CID ว่า CID ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าที่ดินและอาคารฉบับใหม่ โดยมีระยะเวลา การเช่า 20 ปีกับ รฟท. แล้ว ดังนั้น บริษัทจึงได้เข้าลงนามในบันทึกข้อตกลงกับ CID เพื่อรักษาสิทธิและยืนยันการใช้สิทธิในการ เข้าท�ำสัญญาเช่าช่วงใหม่กับ CID โดย CID ได้แจ้งให้บริษัทจ่ายเงินประกันสิทธิการเช่าที่ดินและอาคารโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว จ�ำนวน 95 ล้านบาท ในวันที่ CID เข้าท�ำสัญญาเช่ากับ รฟท.

รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษัทได้รับแจ้งจาก CID ว่า CID ได้เข้าท�ำสัญญาเช่าที่ดินและอาคารฉบับใหม่ โดยมีระยะเวลา การเช่า 20 ปีกับ รฟท. แล้ว ดังนั้น บริษัทจึงได้เข้าลงนามในบันทึกข้อตกลงกับ CID เพื่อรักษาสิทธิและยืนยันการใช้สิทธิในการ เข้าท�ำสัญญาเช่าช่วงใหม่กับ CID โดย CID ได้แจ้งให้บริษัทจ่ายเงินประกันสิทธิการเช่าที่ดินและอาคารโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว จ�ำนวน 95 ล้านบาท ในวันที่ CID เข้าท�ำสัญญาเช่ากับ รฟท.

ทรัพย์สนิ ทีเ่ ช่าทีบ่ ริษทั ได้ดำ� เนินการบูรณะพัฒนา ปรับปรุงหรือก่อสร้าง แก้ไข ดัดแปลง ต่อเติมซ่อมแซมหรือสร้างทดแทนทรัพย์สนิ เดิมตามสัญญานี้ ให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ รฟท. ทันทีที่มีการด�ำเนินการดังกล่าวแล้วเสร็จ นอกจากนี้ บริษัทต้องส่งมอบครุภัณฑ์ ที่เช่าตามรายการในสัญญาเช่าให้แก่ รฟท. เมื่อสิ้นสุดสัญญาเช่าตามสภาพตามสมควรและอายุการใช้งานในขณะนั้น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

121


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.8) สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) สัญญาเช่าระยะยาว (ต่อ) บริษัทย่อย โครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย

รายงานธุ ร กิ จ

สั ญ ญาระหว่ า งบริ ษั ท โรงแรมเซ็ น ทรั ล พลาซา จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย กั บ กองทุ น รวมไทยพั ฒ นา 1 เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CSBR”) ได้ท�ำสัญญาจะซื้อจะขายอาคารกับกองทุน รวมไทยพัฒนา 1 (“TP1”) โดย CSBR ตกลงขายอาคารโรงแรมพร้อมเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจโรงแรมให้แก่ TP1 และ CSBR ได้ท�ำสัญญาเช่าอาคารดังกล่าวกลับคืนจาก TP1 ตามสัญญาเช่าอาคาร ฉบับลงวันที่เดียวกัน เป็นระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่ วันที่ในสัญญา และสามารถต่อสัญญาได้อีกคราวละ 3 ปี นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 CSBR ยังได้ท�ำสัญญาให้ เช่าที่ดินแก่ TP1 เป็นระยะเวลา 15 ปี ภายใต้สัญญานี้ TP1 ในฐานะเจ้าของกรรมสิทธิในอาคารโรงแรม ซึ่งตั้งอยู่บนที่ดินที่เช่าตาม สัญญานี้ ตกลงจะขายอาคารโรงแรม และเฟอร์นิเจอร์ที่มีอยู่ในอาคารโรงแรมในวันที่มีการโอนกรรมสิทธิในอาคารโรงแรมดังกล่าว ให้แก่ CSBR เมื่อ CSBR ได้ช�ำระราคาซื้อคืนอาคารโรงแรมและเฟอร์นิเจอร์ให้แก่ TP1 ตามที่ระบุไว้ในสัญญาเรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้ TP1 ได้ว่าจ้าง CSBR ให้เป็นผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาว่าจ้างผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็นระยะเวลา 15 ปี และเพื่อเป็นหลักประกันการช�ำระหนี้และปฏิบัติตามสัญญา CSBR ตกลงจ�ำนองที่ดินอันเป็นที่ตั้ง ของโรงแรม และให้บริษัท โรงแรม เซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) (“CPH”) จัดท�ำหนังสือรับรองการช�ำระหนี้และการปฏิบัติตาม สัญญาเช่าอาคาร และสัญญาบริหารอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุนรวม

รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 CSBR และ TP1 ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงเลิกสัญญา โดย CSBR และ TP1 ตกลงยกเลิกสัญญาเช่าที่ดิน สัญญาเช่าอาคาร สัญญาว่าจ้างผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ และสัญญาจ�ำนองทีด่ นิ โดยให้สญั ญาต่างๆ ดังกล่าวมีผลสิน้ สุดลง ตัง้ แต่ วันที่ลงนามในบันทึกข้อตกลง นอกจากนี้ CSBR ตกลงซื้อ และ TP1 ตกลงขายเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ที่มีอยู่ในอาคารโรงแรม ณ วันที่ ท�ำบันทึกข้อตกลง ในราคา 1 ล้านบาท โดย TP1 ตกลงโอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่ CSBR และ CSBR ได้ชำ� ระราคาค่าซือ้ เฟอร์นเิ จอร์และอุปกรณ์ดงั กล่าวให้แก่ TP1 เสร็จสิน้ แล้วในวันทีท่ ำ� บันทึกข้อตกลง และในวันเดียวกัน CPH และ TP1 ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงยกเลิกค�ำรับรองการช�ำระหนี้ เพื่อยกเลิกหนังสือรับรองการช�ำระหนี้ ฉบับลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ที่ CPH ได้ท�ำไว้กับ TP1 เพื่อรับรองการช�ำระหนี้ของ CSBR ภายใต้สัญญาว่าจ้างผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ สัญญาเช่า อาคาร และสัญญาเช่าที่ดินที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 TP1 ได้ขายอาคารโรงแรมให้แก่ CPH เนื่องจาก CSBR ไม่ประสงค์ใช้สิทธิซื้ออาคารโรงแรมตาม สัญญาเช่าที่ดิน ลงวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2545 โดย TP1 ได้รับค่าตอบแทนจากการขายอาคารเป็นจ�ำนวนเงิน 1,450 ล้านบาท

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

สัญญาระหว่างบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย กับกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรม และรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2551 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยได้เข้าท�ำสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยว กับที่ดิน และอาคารโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย (ชื่อเดิมคือ โรงแรมเซ็นทรัลสมุย บีชรีสอร์ท) กับกองทุนรวมสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา (“CTARAF”) โดยมีสาระส�ำคัญต่อไปนี้

122

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ภายใต้สัญญาเช่าอาคารสิ่งปลูกสร้าง CPH ตกลงและรับรองว่า ภายในระยะเวลา 4 ปีนับจากวันจดทะเบียนการเช่า CTARAF จะมีรายได้ค่าเช่าจากการน�ำทรัพย์สินที่เช่าไปหาผลประโยชน์ ไม่น้อยกว่ารายได้ค่าเช่าประกันสะสม ตามจ�ำนวนเงินที่ระบุ ในสัญญา โดยหาก CTARAF มีรายได้ค่าเช่าสะสมน้อยกว่ารายได้ค่าเช่าประกันสะสมตามสัญญา CPH ตกลงจะช�ำระเงินให้ CTARAF ในจ�ำนวนเท่ากับส่วนต่างระหว่างรายได้ค่าเช่าสะสมของกองทุนรวม ลบด้วยรายได้ค่าเช่าประกันสะสม

ในงบการเงินเฉพาะกิจการ CPH บันทึกขาดทุนจากส�ำรองการค�้ำประกันเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 20.3 ล้านบาทในงบก�ำำำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ไม่มียอดคงเหลือของส�ำรองการ ค�ำ้ ประกัน (พ.ศ. 2555 : 28.2 ล้านบาท) ในงบการเงินรวม CPH และ CSBR บันทึกขาดทุนจากส�ำรองการค�ำ้ ประกันเป็นจ�ำนวนเงิน รวมประมาณ 40.4 ล้านบาท ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ไม่มียอดคงเหลือของส�ำรองการค�้ำประกัน ในงบแสดงฐานะการเงินรวม (พ.ศ. 2555 : 56.2 ล้านบาท) (หมายเหตุ 22)

3. CSBR ได้ท�ำสัญญาซื้อขายเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ที่ได้ติดตั้งใช้งานอยู่ในโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย กับ CTARAF โดย CTARAF ตกลงช�ำระค่าตอบแทนการรับโอนกรรมสิทธิใ์ นเฟอร์นเิ จอร์และอุปกรณ์ดงั กล่าว เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 80 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) โดยช�ำระทั้งจ�ำนวนในวันโอนกรรมสิทธิ์ (วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551)

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

123

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ทั้งนี้ หาก CTARAF ประสงค์จะต่ออายุสัญญาเช่าที่ดิน และสัญญาเช่าอาคาร ตามข้อ 1 และข้อ 2 ข้างต้น ไปอีกนับจากวันครบ ระยะเวลาการเช่า CTARAF ต้องแจ้งความประสงค์ดงั กล่าวให้แก่ CSBR และ CPH แล้วแต่กรณี ทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษรภายใน ปีที่ 26 นับจากปีแรกของระยะเวลาการเช่า และคูส่ ญั ญาจะร่วมกันเจรจารายละเอียดในการต่ออายุสญั ญาเช่าให้แล้วเสร็จภายใน ปีที่ 27 นับจากปีแรกของระยะเวลาการเช่า

รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551 CPH และ CSBR ได้ท�ำสัญญาเกี่ยวกับการประกันรายได้ของ CTARAF โดย CSBR ในฐานะผู้ ให้เช่าที่ดินซึ่งได้รับประโยชน์ส่วนหนึ่งจากการเช่าทรัพย์สินของ CTARAF ตกลงร่วมรับประกันรายได้ค่าเช่า โดยหาก CPH ต้อง ช�ำระเงินใดๆ ให้แก่ CTARAF ภายใต้เงื่อนไขการรับประกันข้างต้น CSBR ตกลงจะช�ำระเงินค่ารับประกันบางส่วนให้แก่ CPH ตามอัตราร้อยละที่ก�ำหนดในสัญญา

รายงานธุ ร กิ จ

2. บริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) (“CPH”) ได้ทำ� สัญญาเช่าอาคารสิง่ ปลูกสร้างโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย รวมทั้งระบบสาธารณูปโภคและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ CTARAF เพื่อให้ CTARAF เช่าเป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วัน ที่คู่สัญญาได้น�ำสัญญาเช่าไปจดทะเบียนการเช่า (วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551) ทั้งนี้ CTARAF ตกลงช�ำระค่าเช่าอาคารเป็น จ�ำนวนทั้งสิ้น 1,510 ล้านบาท โดยช�ำระทั้งจ�ำนวนในวันจดทะเบียนการเช่า CPH บันทึกรายการดังกล่าวเป็นรายได้รับล่วงหน้า รอตัด บัญชีในงบแสดงฐานะการเงินในงบการเงินเฉพาะกิจการ และทยอยตัดบัญชีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญา เช่า 30 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายได้รับล่วงหน้าสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่ายจ�ำนวน 50.3 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 50.3 ล้านบาท) คงเหลือจ�ำนวน 1,245.0 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 1,295.0 ล้านบาท)

รายงานคณะกรรมการ

1. บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CSBR”) ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดินกับ CTARAF เพื่อให้ CTARAF เช่าที่ดินเป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่คู่สัญญาได้น�ำสัญญาเช่าไปจดทะเบียนการเช่า (วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551) ทั้งนี้ CTARAF ตกลงช�ำระ ค่าเช่าที่ดินเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท โดยช�ำระทั้งจ�ำนวนในวันจดทะเบียนการเช่า CSBR บันทึกรายการดังกล่าว เป็นรายได้รับล่วงหน้ารอตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน และทยอยตัดบัญชีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า 30 ปี ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้าดังกล่าวสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่ายจ�ำนวน 50.0 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 50.0 ล้านบาท) คงเหลือจ�ำนวน 1,236.7 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 1,286.7 ล้านบาท)


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.8) สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) สัญญาเช่าระยะยาว (ต่อ) บริษัทย่อย (ต่อ)

โครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุย (ต่อ)

รายงานธุ ร กิ จ

4. CTARAF ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงอาคารโครงการโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ท สมุยกับ บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (“CSHM”) เพื่อให้เช่าที่ดิน อาคารและระบบสาธารณูปโภคและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และเฟอร์นิเจอร์และ อุปกรณ์แก่ CSHM เพื่อให้ CSHM ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจโรงแรม โดยมีระยะเวลาการเช่า 3 ปี นับจากวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 ทั้งนี้ CTARAF ตกลงให้ค�ำมั่นแก่ CSHM เพื่อให้ CSHM มีสิทธิเช่าทรัพย์ที่เช่าต่อไปอีก 3 ปีนับจากวันที่ครบระยะเวลาการ เช่า โดย CSHM ต้องแจ้งให้ CTARAF ทราบถึงการใช้สิทธิตามค�ำมั่นให้สิทธิการเช่าล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันครบ ระยะเวลาการเช่า ตามสัญญาฉบับนี้ CSHM ตกลงช�ำระค่าเช่าเป็นรายเดือน ซึ่งประกอบด้วย ค่าเช่าคงที่ ใน อัตรารวม 225 ล้านบาท ต่อปี และค่าเช่าแปรผันซึ่งคิดเป็นร้อยละตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญาของรายได้หลังหักต้นทุน และ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายอื่นๆ และค่าเช่าคงที่ ทั้งนี้ตามสัญญาเช่าช่วงและสัญญาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง CSHM ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา เช่น ส่งมอบเอกสาร และข้อมูล ต่างๆ ตามทีร่ ะบุในสัญญา เปิดบัญชีและด�ำรงบัญชีเงินฝากต่างๆ รวมทัง้ โอนสิทธิเรียกร้องในบัญชีเงินฝากดังกล่าวให้แก่ CTARAF ไม่ก่อหนี้เพิ่มเติม ขาย จ�ำหน่าย ให้เช่า ก่อภาระผูกพันในทรัพย์สินไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ให้เงินกู้ ลงทุนใดๆ ยกเว้นได้ รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจาก CTARAF

รายงานทางการเงิ น

โครงการโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ท พัทยา เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546 บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จ�ำกัด (“ผู้ขายฝาก”) ได้ท�ำสัญญาขายฝากที่ดินพร้อมอาคาร โรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บีชรีสอร์ทพัทยากับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“ผู้ซื้อฝาก”) และผู้ขายฝากอีกรายหนึ่งได้ท�ำสัญญา ขายฝากที่ดิน กับ กองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“ผู้ซื้อฝาก”) เพื่อให้บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีช รีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) เช่า และด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับกิจการโรงแรม ซึ่งคู่สัญญาตกลงให้ผู้ขายฝาก หรือบริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด หรือ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา จ�ำกัด (มหาชน) รายหนึ่งรายใดเป็นผู้มีสิทธิไถ่คืนทรัพย์ที่ขายฝากจากผู้ซื้อฝากในราคาสินไถ่ ตามที่ระบุในสัญญาภายในก�ำหนดระยะเวลา 10 ปีนับตั้งแต่วันจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ หรือในกรณีที่ผู้มีสิทธิไถ่คืนมี ความประสงค์จะไถ่ทรัพย์ที่ขายฝากให้เสร็จสิ้นก่อนก�ำหนด 10 ปีต้องแจ้งเป็นหนังสือถึงผู้ซื้อฝากให้ทราบล่วงหน้าก่อนถึง ก�ำหนดการผ่อนช�ำระงวดถัดไปไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ผู้ขายฝากทั้งสองรายได้ท�ำหนังสือสละสิทธิในการไถ่คืนทรัพย์ที่ขายฝากให้แก่บริษัท เซ็นทรัล หัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด และบริษัทโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน)

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

เพือ่ เป็นหลักประกันการช�ำระหนีแ้ ละปฏิบตั ติ ามสัญญาฉบับนี้ บริษทั ได้ออกหนังสือรับรองการช�ำระหนีข้ องบริษทั เซ็นทรัลหัวหิน บีชรีสอร์ท จ�ำกัด กับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด ได้ท�ำหนังสือสละสิทธิในการไถ่คืนทรัพย์ที่ขายฝากให้แก่ บริษัทแต่เพียงผู้เดียว

124

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


นอกจากนี้ CHBR ตกลงทีจ่ ะด�ำเนินการก่อสร้างอาคารหรือสิง่ ปลูกสร้างอืน่ ใดบนทรัพย์ทเี่ ช่า เพือ่ เป็นการเพิม่ มูลค่าทีด่ นิ และอาคาร โรงแรมเป็นการตอบแทนการที่กองทุนตกลงให้ CHBR เช่าทรัพย์ที่เช่า และภายหลังจากปีที่หนึ่งนับจากวันเริ่มต้นของระยะเวลา การเช่า CHBR ตกลงที่จะซ่อมแซมใหญ่หรือพิจารณาปรับปรุงอาคารโรงแรม เพื่อปรับปรุงมูลค่าของทรัพย์ที่เช่าให้ดีขึ้นและ เหมาะสมกับ การประกอบธุรกิจโรงแรม

รายงานธุ ร กิ จ

โฉนดที่ดินของบริษัทซึ่งมีราคาตามบัญชีจ�ำนวน 772 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2555 ยังเป็นชื่อ ของกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ซึ่งเป็นผู้ซื้อฝาก ที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินในโครงการโรงแรมเซ็นทรัลวงศ์อมาตย์ บีชรีสอร์ท พัทยา

รายงานคณะกรรมการ

เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546 บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด (“CHBR”) ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดินและอาคารโรงแรม เซ็นทรัลวงศ์อมาตย์บชี รีสอร์ท พัทยา (“อาคารโรงแรม”) กับกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (“กองทุน”) เพือ่ ประกอบธุรกิจโรงแรม โดย มีก�ำหนดระยะเวลา 10 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นไป ทั้งนี้ CHBR ตกลงช�ำระค่าเช่าเป็นงวดรายหกเดือน ในอัตรางวดละ 55 ล้านบาท อัตราค่าเช่านีใ้ ช้บงั คับส�ำหรับระยะเวลาการเช่าตัง้ แต่วนั ทีล่ งนามในสัญญาจนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นคู่สัญญาจะพิจารณาปรับค่าเช่าตามความเหมาะสม ค่าเช่างวดแรกมีก�ำหนดช�ำระในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพื่อเป็นค่าเช่าส�ำหรับระยะเวลาการเช่าตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2547 และงวด ถัดไปจะมีกำ� หนดช�ำระในวันท�ำการทีส่ ามก่อนสิน้ เดือนกุมภาพันธ์ และเดือนสิงหาคมในแต่ละปี ค่าเช่างวดสุดท้ายจ�ำช�ำระในวัน ทีส่ ญั ญานีร้ ะงับหรือสิน้ สุดลงในจ�ำนวนเงินซึง่ คิดค�ำนวณตามจ�ำนวนวันทีเ่ กิดขึน้ จริงนับตัง้ แต่วนั ถัดจากก�ำหนดวันช�ำระค่าเช่าใน งวดก่อนหน้าจนถึงวันที่สัญญานี้สิ้นสุดลง

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549 บริษัทได้ท�ำสัญญาโอนสิทธิการเช่ากับ CHBR และกองทุน โดยบริษัทได้รับโอนสิทธิการเช่ารวม ถึงหน้าที่ความรับผิดชอบตามสัญญาเช่าที่ดินพร้อมอาคารดังกล่าว เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2548 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงที่ดินและอาคารในส่วนของ โรงแรมจากกองทุนรวมธุรกิจไทย 4 (“กองทุน”) เพือ่ พัฒนาและใช้ประกอบการด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับโรงแรมหรือธุรกิจอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง CWH ต้องจ่ายค่าเช่าล่วงหน้าและค่าเช่ารายปีให้แก่กองทุนตลอดอายุของสัญญาซึ่งสิ้นสุดวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2575 เป็น จ�ำนวนเงิน 1,188.8 ล้านบาท ทั้งนี้ CWH ได้ช�ำระค่าเช่าล่วงหน้าเมื่อลงนามในสัญญาเป็นจ�ำนวนเงิน 275 ล้านบาท ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2556 CWH ได้จ่ายค่าเช่ารายปีเป็นจ�ำนวน 15.8 ล้านบาท (พ.ศ. 2555: 15.8 ล้านบาท) ซึ่งบันทึกเป็นสิทธิการเช่าในงบ แสดงฐานะการเงินรวม (หมายเหตุ 16)

รายงานทางการเงิ น

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด

สัญญาข้างต้นยังได้ก�ำหนดให้ CWH ต้องโอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างใดๆ ที่ CWH ได้ซ่อมแซมปรับปรุง หรือ ก่อสร้างขึ้นบนที่ดินที่เช่าช่วงให้แก่เจ้าของทรัพย์สินคือส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ทันทีที่มีการซ่อมแซม ปรับปรุง หรือก่อสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้น

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

125

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 CWH ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ให้แก่เจ้าของทรัพย์สิน ทั้งนี้ CWH ได้รบั การอนุมตั ผิ อ่ นปรนการขยายระยะเวลาการพัฒนาและก่อสร้างอาคารโรงแรม และโอนกรรมสิทธิใ์ นอาคารและสิง่ ปลูกสร้าง ให้กับเจ้าของทรัพย์สิน


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 35. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 35.8) สัญญาส�ำคัญที่ท�ำกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) สัญญาบริการระยะยาว บริษัท

เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 บริษทั ได้ทำ� สัญญาค่าตอบแทนการจัดการกับบริษทั ย่อย โดยสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 ค่าตอบแทนการจัดการดังกล่าวก�ำหนดช�ำระเป็นรายไตรมาส ทัง้ นี้ คูส่ ญั ญามีสทิ ธิทจี่ ะแก้ไขหรือเพิม่ เติม หรือลดงานที่ด�ำเนินการนี้ หรือเพิ่มหรือลดเงินค่าตอบแทนโดยจะต้องท�ำความตกลงเป็นหนังสือ โดยมีรายละเอียดดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

- บริษัทได้ท�ำสัญญาค่าตอบแทนการจัดการส�ำหรับบริษัทย่อย 7 แห่งในกลุ่มโรงแรมเพื่อบริหารงานกิจการโรงแรมภายใต้สัญญา ดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการในอัตราเป็นร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาของรายได้สุทธิจากการให้บริการ โดย แยกเป็นค่าบริหารจัดการและค่าจัดการการตลาด - บริษัทได้ท�ำสัญญาการจัดการด้านการตลาดกับบริษัทย่อยอีกหนึ่งแห่งในกลุ่มโรงแรม ภายใต้สัญญาดังกล่าวบริษัทจะได้รับค่า ตอบแทนเฉพาะการจัดการด้านการตลาดในอัตราเป็นร้อยละที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาของรายได้สุทธิจากการให้บริการ - บริษัทได้ท�ำสัญญาค่าตอบแทนการบริหารงานกับบริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) ส�ำหรับการบริหารงานของ CRG ภายใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการเป็นจ�ำนวนเงินคงที่เป็นรายเดือน เมือ่ วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 บริษทั ได้ทำ� สัญญาการจัดการกับบริษทั เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เพือ่ ให้บริการ บริหารงานโรงแรมเป็นระยะเวลา 30 ปี นับจากวันทีใ่ นสัญญา บริษทั จะได้รบั ค่าตอบแทนการจัดการในอัตราทีก่ ำ� หนดไว้ในสัญญา

รายงานทางการเงิ น

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 และวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 บริษัทได้ท�ำสัญญาการจัดการกับบริษัท โรงแรมกะรน ภูเก็ต จ�ำกัด และ บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด เพื่อให้บริการบริหารงานโรงแรมเป็นระยะเวลา 5 ปี สัญญาจะสิ้นสุดใน เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 และเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 ตามล�ำดับ สัญญาดังกล่าวสามารถต่ออายุอัตโนมัติได้อีก 5 ปี ภาย ใต้สัญญาดังกล่าว บริษัทจะได้รับค่าตอบแทนการจัดการในอัตราที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2555 บริษัทได้ท�ำสัญญาการบริการกับบริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด มีก�ำหนด 1 ปี เพื่อรับข้อมูลทางธุรกิจและค�ำแนะน�ำต่างๆ อันเกี่ยวกับการตัดสินใจที่เป็นประโยชน์โดยมีอัตราค่าบริการเดือนละ 500,000 บาท สัญญาดังกล่าวสามารถต่ออายุอัตโนมัติได้ทุก 1 ปี โดยที่อัตราค่าบริการจะเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 ต่อปี บริษัทย่อย

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด (“CHY”) ได้ท�ำสัญญาให้เช่าและให้บริการกับบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด มีก�ำหนด เวลา 30 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 โดยบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด ได้ตกลงเช่าส่วนหนึ่งของอาคารของ CHY เพื่อใช้ประกอบกิจการศูนย์การค้า โดย CHY มีรายได้รวมประมาณ 428 ล้านบาท ตลอดอายุของสัญญา ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้าดังกล่าวสุทธิจากค่าตัดจ�ำหน่ายคงเหลือจ�ำนวน 154.6 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 168.9 ล้านบาท) เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2555 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด ได้ท�ำสัญญาการบริการกับบริษัท ห้างเซ็นทรัล ดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จ�ำกัด มีก�ำหนด 1 ปี เพื่อรับข้อมูลทางธุรกิจและค�ำแนะน�ำต่างๆ อันเกี่ยวกับการตัดสินใจที่เป็นประโยชน์ โดย มีอัตราค่าบริการเดือนละ 500,000 บาท สัญญาดังกล่าวสามารถต่ออายุอัตโนมัติได้ทุก 1 ปีโดยที่อัตราค่าบริการจะเพิ่มขึ้นในอัตรา ร้อยละ 5 ต่อปี

126

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

สัญญาเช่าและบริการระยะยาว บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด (“CRG”) มีสัญญาเช่าและบริการระยะยาวกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันเป็นเวลา 3-30 ปี จนถึง ปี พ.ศ. 2569 ตามเงือ่ นไขของสัญญา CRG จะต้องจ่ายค่าเช่าและบริการเป็นยอดคงทีร่ ายเดือน หรือคิดเป็นร้อยละของยอดขาย ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

35.9) ภาระค�้ำประกันตามสัญญาระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท

บริษัทได้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้ของบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CWH”) กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในวงเงินค�้ำประกัน ไม่น้อยกว่า 2,350 ล้านบาท ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 CWH ได้เบิกเงินกู้เต็มจ�ำนวน ทั้งหมด 2,300 ล้านบาทแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เงินกู้ ดังกล่าวมียอดคงเหลือจ�ำนวน 500 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 500 ล้านบาท)

รายงานทางการเงิ น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัทได้ค�้ำประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร วงเงินการขอเปิดเลตเตอร์ออฟเครดิตและการ ค�้ำประกันอื่นของบริษัทย่อยบางแห่งต่อธนาคารในประเทศหลายแห่งเป็นจ�ำนวนเงินรวม 32 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 32 ล้านบาท)

บริษัทย่อย

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

127

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด มีภาระผูกพันต่อสถาบันการเงินเกี่ยวกับการค�้ำประกัน วงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและวงเงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเป็นจ�ำนวนเงินรวม 50 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 10 ล้านบาท)


รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

36. ภาระผูกพันที่เป็นข้อผูกมัด

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

37. หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นภายหน้า ในปี พ.ศ. 2556 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกลุ่มบริษัทถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 50 ล้านบาทในคดีผู้บริโภค ขณะ นี้ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของกลุ่มบริษัทอยู่ระหว่างการด�ำเนินการและรอการพิจารณาจากศาลอุธรณ์ว่าเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ แต่ อย่างไรก็ตามผู้บริหารของกลุ่มบริษัทเชื่อว่าจะไม่เกิดผลเสียหายอย่างมีสาระส�ำคัญต่อกลุ่มบริษัท

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

38. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการลงทุนกองทุนรวมไทยพัฒนา 2 (‘กองทุน’)ได้มีมติให้เลิกกองทุนในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการลงทุนกองทุนได้มีมติยกเลิกมติดังกล่าว ข้างต้น และได้มีมติใหม่ โดยให้เลิกกองทุนในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 คณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติให้ จ่ายเงินปันผลส�ำหรับผู้ถือหุ้นสามัญ ในอัตราหุ้นละ 0.40 บาท (พ.ศ. 2555 : หุ้นละ 0.30 บาท) รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้น 540.0 ล้านบาท (พ.ศ. 2555 : 405.0 ล้านบาท)

128

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน 1. ผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวม 17,469.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,640.3 ล้านบาท หรือ 17.8% จากปีก่อน ประกอบด้วย รายได้รวมของธุรกิจโรงแรมเพิ่มขึ้น 29.2% และรายได้รวมของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น 9.7% บริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรก่อนค่าเสื่อม ราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ (EBITDA) จ�ำนวน 3,799.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 782.4 ล้านบาท หรือ 25.9% และมีก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานปกติ 1,334.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 270.2 ล้านบาท หรือ 25.4% จากปีก่อน และมี ก�ำไรสุทธิหลังรายการพิเศษ 1,321.9 ล้านบาท ลดลง 273.9 ล้านบาท หรือ 17.2%

รายงานธุ ร กิ จ

ในปี 2556 โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ ได้เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม 2556 และมีรายได้จาก การเปิดให้บริการเป็นที่น่าพอใจในระหว่างปี 2556 นอกจากนี้ โรงแรมขนาดใหญ่ของกลุ่มบริษัท ได้แก่ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว กรุงเทพฯ, โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์, โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา และ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต สามารถท�ำรายได้จากการให้บริการ และ อัตราการ เข้าพักเป็นที่น่าพอใจอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมเติบโตและมีรายได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ธุรกิจอาหารนั้นประสบความส�ำเร็จ เป็นอย่างมากอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเรื่องของรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นถึง 800 ล้านบาท หรือคิดเป็น 9.7% จ�ำนวนสาขาที่ขยายเพิ่มมาก ขึ้นถึง 66 สาขา และการเปิดให้บริการของแบรนด์ใหม่ คือ เทนยะ

รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

129


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ทั้งนี้ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ตามงบก�ำไรขาดทุนรวม ประจ�ำปี 2556 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 สามารถ วิเคราะห์ได้ ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น (1) ต้นทุนขายไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนที่ปันส่วนเป็นต้นทุนขาย รายได้จากการขายและบริการ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการด�ำเนินงานหลัก 2 ประเภท ได้แก่ รายได้จากธุรกิจโรงแรม และรายได้จากธุรกิจอาหาร โดย รายได้จากธุรกิจโรงแรมและรายได้จากธุรกิจอาหารในปี 2556 มีสัดส่วน 47 : 53 (ปี 2555: 43 : 57) ในปี 2556 บริษัทและบริษัท ย่อยมีรายได้รวม 17,469.5 ล้านบาท (ปี 2555: 14,829.2 ล้านบาท) เพิ่มขึ้น 2,640.3 ล้านบาท หรือ 17.8% ดังนี้ รายได้จากธุรกิจโรงแรม รายได้จากธุรกิจโรงแรมประกอบด้วย 1) รายได้ค่าห้องพัก 2) รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม และ 3) รายได้จากการให้ บริการอื่นๆ เช่น การบริการรถรับส่ง การบริการซักรีด การบริการสปา ค่าเช่าห้องจัดเลี้ยง เป็นต้น โดยสัดส่วนระหว่างรายได้ทั้ง 3 ประเภท ในปี 2556 เฉลี่ยประมาณ 56 : 30 : 14

130

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ

อัตราการเข้าพักเฉลี่ย อัตราค่าห้องพักเฉลี่ย รายได้เฉลี่ยต่อห้อง และรายได้จากธุรกิจโรงแรมของบริษัทและบริษัทย่อยแยกตาม โรงแรม สรุปได้ดังนี้

* รวมโรงแรมเซ็นทารากะตะรีสอร์ท ภูเก็ต ซึ่งเป็นกิจการร่วมค้า

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

* CRF เริ่มเปิดบริการบางส่วน เมื่อเดือนมีนาคม 2556 และเปิดบริการเต็มโครงการ เมื่อเดือนมิถุนายน 2556

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

131


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

รายได้ของธุรกิจโรงแรมเพิม่ ขึน้ 1,792.1 ล้านบาท (หรือเพิม่ ขึน้ 29.2%) จากปีกอ่ น โดยโรงแรมมีอตั ราการเข้าพักเฉลีย่ เท่ากับ 79.8% เพิ่มขึ้น 9.8% ในขณะที่อัตราค่าห้องพักเท่ากับ 4,370 บาท เพิ่มขึ้น 368 บาท สาเหตุหลักเนื่องจาก ดังนี้ 1. โรงแรมใหม่

รายงานธุ ร กิ จ

• โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ ซึ่งเป็นรีสอร์ทระดับ 4 ดาว จ�ำนวน 140 ห้อง ได้เริ่มเปิดให้บริการบาง ส่วนตัง้ แต่วนั ที่ 24 มีนาคม 2556 และมีรายได้จากการเปิดให้บริการเป็นทีน่ า่ พอใจในระหว่างปี 2556 จ�ำนวน 452.3 ล้านบาท • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ ซึ่งบริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 49 ในเดือนธันวาคม 2555 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 25) ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 74 ส่งผลให้จากเดิมที่เป็นบริษัทร่วมกลาย มาเป็นบริษัทย่อยและต้องน�ำมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 และมีรายได้ในระหว่างปี 2556 จ�ำนวน 762.5 ล้านบาท • โรงแรมเซ็นทารากะรนรีสอร์ท ภูเก็ต ซึ่งบริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 33.9 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 (เดิมถือหุ้นทาง ตรงและทางอ้อมร้อยละ 50) ท�ำให้สดั ส่วนการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 83.9 ส่งผลจากเดิมทีบ่ ริษทั ดังกล่าวเป็นกิจการควบคุม ร่วมกัน กลายมาเป็นบริษัทย่อย และต้องน�ำมารวมในการจัดท�ำงบการเงินรวมตั้งแต่เดือนมีนาคม 2555 และมีรายได้ใน ระหว่างปี 2556 จ�ำนวน 370.3 ล้านบาท 2. โรงแรมเดิม

รายงานทางการเงิ น

รายได้ของธุรกิจโรงแรมเพิ่มขึ้น 645.4 ล้าน จากปีก่อน สาเหตุหลักเนื่องจาก การสนับสนุนส่งเสริมและกระตุ้นการท่องเที่ยว โดยภาครัฐและองค์กรต่างๆ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้โรงแรมที่มีรายได้เพิ่มขึ้นมากคือ • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลลาดพร้าว กรุงเทพฯ และ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ มีรายได้เพิ่มขึ้น 111.7 ล้านบาท และ 66.5 ล้านบาท ตามล�ำดับ เป็นผลจากจ�ำนวนแขกที่เข้าพักและใช้ บริการของโรงแรม รวมถึงจ�ำนวนการจัดงานประชุม และงานเลี้ยงต่างๆ เพิ่มขึ้น • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ มิราจ บีช รีสอร์ท พัทยา มีรายได้เพิ่มขึ้น 101.9 ล้านบาท เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอัตราการ เข้าพักเฉลี่ย ร้อยละ 1.7 และการเพิ่มขึ้นของอัตราราคาห้องพักเฉลี่ย 313 บาท เมื่อเทียบกับปีก่อน • โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ บีช รีสอร์ต แอนด์ วิลล่า หัวหิน มีรายได้เพิ่มขึ้น 66.2 ล้านบาท เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของ อัตราการเข้าพักเฉลี่ย ร้อยละ 11.7 เมื่อเทียบกับปีก่อน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

132

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายได้จากธุรกิจอาหารประกอบด้วยรายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่มภายใต้เครื่องหมายการค้าเคเอฟซี มิสเตอร์โดนัท อานตี้แอนส์ เป็บเปอร์ลันช์ เบียร์ดปาปา ชาบูตง ราเมน โคล์ดสโตน ครีมเมอรี่ ริว ชาบู ชาบู โยชิโนยะ โอโตยะ เดอะ เทอเรส และเทนยะ รายได้จากธุรกิจอาหารของแต่ละเครื่องหมายการค้า และอัตราการเติบโตของรายได้ แสดงได้ดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

รายได้จากธุรกิจอาหาร

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

* เทนยะ เริ่มเปิดบริการ เมื่อเดือนตุลาคม 2556

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

133


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

จ�ำนวนสาขาของแต่ละเครื่องหมายการค้า ณ สิ้นปี 2556 และ 2555 เป็นดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

รายได้ของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น 800 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 9.7% จากปีก่อน สาเหตุหลักเนื่องจาก รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขยาย สาขาของแต่ละแบรนด์สุทธิ 66 สาขา การพัฒนาและออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ รวมถึงการปรับขึ้นราคาขายสินค้า ตลอดจนถึง การจัดท�ำรายการส่งเสริมการขายและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2556 ธุรกิจอาหารมีการเปิดสาขาเพิ่มขึ้น 66 สาขา รวมเป็นจ�ำนวนสาขา ณ สิ้นปี 2556 ทั้งสิ้น 743 สาขา โดยมีอัตรา การเพิ่มของยอดขายรวม (Total-System-Sales Growth) เป็น 9.7% และอัตราการเติบโตจากสาขาเดิม (Same-Store-Sales Growth) เป็น 0.9% (ปี 2555: 27.1% และ 6.2%) ตามล�ำดับ รายได้อื่น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายได้อื่นประกอบด้วย รายได้จากการบริหารโรงแรมของบุคคลอื่น ซึ่งว่าจ้างให้บริษัทเข้าบริหารงานภายใต้สัญญาบริหาร โรงแรม (Hotel Management Agreement) รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้จากเงินสนับสนุนทางการตลาด เป็นต้น ราย ได้อื่นเพิ่มขึ้น 48.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.9 สาเหตุหลักมาจาก รายได้ค่าบริหารจัดการที่เพิ่มขึ้น

134

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจ�ำนวน 7,398.4 ล้านบาท (ปี 2555: 6,437.4 ล้านบาท) โดยคิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 56.4% (ปี 2555: 55.3%) โดยสามารถแยกแสดงตามธุรกิจหลักได้ดังนี้

รายงานคณะกรรมการ

ต้นทุนขายและก�ำไรขั้นต้น

รายงานธุ ร กิ จ *หมายเหตุ: ต้นทุนขายและก�ำไรขั้นต้นไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายส่วนที่ปันส่วนเป็นต้นทุนขาย ธุรกิจโรงแรม

ธุรกิจอาหาร

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

135

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจากธุรกิจอาหารจ�ำนวน 4,398.3 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานของแผนกที่เกี่ยวข้อง ค่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น โดย คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 51.4% ของรายได้จากการขาย (ปี 2555: 51.9%) อัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงจากปีก่อน สาเหตุหลัก เกิดจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนทางตรง ซึ่งแปรผันตามการเพิ่มขึ้นอย่างเป็นสาระส�ำคัญของยอดขายรวม และ จากการ เพิ่มขึ้นของต้นทุนจากการปันส่วนมาจากค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตมีการปรับราคา เพิ่มขึ้นและการจัดรายการส่งเสริมการขาย ก็เป็นอีกสาเหตุที่ท�ำให้มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้า

รายงานทางการเงิ น

ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายจากธุรกิจโรงแรมจ�ำนวน 3,000.1 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุนการให้บริการห้องพัก ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานของแผนกที่เกี่ยวข้อง ค่าวัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น โดยเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้ คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้น 62.1% ของรายได้จากการขายและ บริการ (ปี 2555: 59.8%) อัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นจากปีก่อน สาเหตุหลักเนื่องจากรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากเกือบทุกโรงแรม โดยเฉพาะ โรงแรมใหม่สองแห่ง คือ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ และ โรงแรมเซ็นทา ราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ รวมถึงผลการด�ำเนินงานของโรงแรมเดิมที่ดีขึ้นจากปีก่อน


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ เงินเดือนและสวัสดิการพนักงาน ค่าบริหารโรงแรม ค่าเช่า ค่าบริการการใช้บัตรเครดิต ค่า สิทธิ์เครื่องหมายการค้า เป็นต้น โดยในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมจ�ำนวน 6,293.1 ล้าน บาท เพิ่มขึ้น 852.9 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 15.7% โดยเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้รวม คิดเป็น 36.0% ของรายได้รวม (ปี 2555: 36.7%) อัตราค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลงจากปีก่อน เป็นผลมาจากรายได้ที่เพิ่มขึ้น จากโรงแรมแห่งใหม่ทั้งสองแห่งที่ มัลดีฟส์ รวมถึงการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้อัตราค่าจ่ายในการขายและบริหารของกลุ่ม ลดลงจากปีก่อน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

รายงานธุ ร กิ จ

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปี 2556 มีจ�ำนวน 1,551.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 338.6 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 27.9% จากปีก่อน โดยเมื่อเปรียบเทียบกับรายได้รวมคิดเป็น 8.9% ของรายได้รวม (ปี 2555: 8.2%) ค่าเสื่อมราคาและค่า ตัดจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้นจากปีก่อน มีสาเหตุหลักจากอาคารและอุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้น จากการรวมธุรกิจที่เกิดขึ้นในปีก่อน ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย 21.5 ล้านบาท กล่าวคือ ลดลงจากปี 2555 จ�ำนวน 44.0 ล้านบาท หรือคิดเป็น 67.1% ของส่วนแบ่งก�ำไรในปีก่อน สาเหตุเกิดจากการที่ธุรกิจโรงแรมได้ขยายธุรกิจตั้งแต่ต้นปี 2555 จนถึงปัจจุบัน โดยเข้าลงทุนเพิ่มเติม ดังนี้

รายงานทางการเงิ น

1. บริษทั โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด : เข้าซือ้ กิจการเพิม่ เติมในสัดส่วนร้อยละ 33.9 (ไตรมาส 1 ปี 2555) และร้อยละ 30.8 (ไตรมาส 1 ปี 2556) จากเดิมที่บริษัทดังกล่าวเป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เดิมบริษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมรวม 50%) กลายมา เป็นบริษัทย่อย (ปัจจุบันบริษัทถือหุ้นทางตรง 99.32%) 2. Centara Maldives Pvt. Ltd. : ไตรมาส 2/2555 ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 25 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 50) ท�ำให้สัดส่วนของ การลงทุนคิดเป็นร้อยละ 75 ส่งผลให้ จากเดิมที่บริษัทเป็นส่วนได้เสียในการร่วมค้ากลายมาเป็นบริษัทย่อย 3. R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. : ไตรมาส 4/2555 ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 49 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 25) ท�ำให้สัดส่วนของการ ลงทุนคิดเป็นร้อยละ 74 ส่งผลให้ จากเดิมที่บริษัทเป็นบริษัทร่วมกลายมาเป็นบริษัทย่อย ผลจากการขยายธุรกิจดังกล่าว ส่งผลให้จากเดิมที่บริษัทดังกล่าวเป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน 2 บริษัท และบริษัทร่วม 1 บริษัท กลายมาเป็นบริษัทย่อยทั้งหมด ซึ่งส่งผลให้ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในส่วนนี้ลดลง

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

136

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินเป็นจ�ำนวน 506.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 20.3 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้น 4.2% โดย เมื่อเทียบกับรายได้รวม คิดเป็น 2.9% ของรายได้รวม (ปี 2555: 3.2%) ต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน สาเหตุ หลักจากจ�ำนวนเงินกู้ยืมที่เพิ่มขึ้นตามการเติบโตของธุรกิจ

รายงานคณะกรรมการ

ต้นทุนทางการเงิน

ก�ำไรก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ (EBITDA) และก�ำไรสุทธิ

• ธุรกิจโรงแรม: EBITDA เพิ่มขึ้น 724.1 ล้านบาท จากปีก่อน หรือคิดเป็น 38.6% สาเหตุหลักเนื่องจาก ผลประกอบการที่ ดีขึ้นทุกโรงแรม • ธุรกิจอาหาร: EBITDA เพิ่มขึ้น 58.3 ล้านบาท จากปีก่อน หรือคิดเป็น 5.1% สาเหตุหลักเนื่องจาก การขยายสาขา การ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และท�ำการตลาดเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีรายได้และ EBITDA เพิ่มขึ้น ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ (EBIT) และก�ำไรสุทธิ

รายงานทางการเงิ น

ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมี EBIT จ�ำนวน 2,247.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 443.8 ล้านบาท หรือ 24.6% โดยมี สัดส่วน EBIT ต่อรายได้รวมเท่ากับ 12.9% เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วซึ่งเท่ากับ 12.1% และบริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรสุทธิจากการ ด�ำเนินงานปกติ 1,334.3 ล้านบาท ในปี 2556 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 270.2 ล้านบาท หรือ 25.4% โดยมีสัดส่วนก�ำไรสุทธิต่อรายได้ รวมเท่ากับ 7.6% เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วซึ่งเท่ากับ 7.1% สาเหตุจากผลประกอบการที่ดีขึ้น ทั้งจากธุรกิจโรงแรมและธุรกิจอาหาร ดังที่อธิบายตามข้างต้น แต่เนื่องจากในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีก�ำไรจากการซื้อธุรกิจและการปรับมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนซึ่งเป็นรายการพิเศษ 579.3 ล้านบาท ท�ำให้ก�ำไรสุทธิหลังรายการพิเศษในปี 2556 จ�ำนวน 1,321.9 ล้านบาท ลดลง จากปีก่อน 273.9 ล้านบาท หรือ 17.2%

รายงานธุ ร กิ จ

ในปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมี EBITDA จ�ำนวน 3,799.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 782.4 ล้านบาท หรือ 25.9% สามารถ แยกพิจารณาได้ดังนี้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

137


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 รายการพิเศษ (ปี 2555)

ก�ำไรจากการซื้อธุรกิจและการปรับมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน – จากการที่ธุรกิจโรงแรมได้ขยายธุรกิจ โดยเข้าลงทุนเพิ่ม เติมในปี 2555 ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

• ไตรมาสที่ 1 : บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด เข้าซื้อกิจการเพิ่มเติมในสัดส่วนร้อยละ 33.9 จากเดิมที่บริษัทดังกล่าว เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เดิมบริษัทถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมรวม 50%) กลายมาเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นทาง ตรงและทางอ้อมรวม 83.9% • ไตรมาสที่ 2 : Centara Maldives Pvt. Ltd. ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 25 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 50) ท�ำให้สัดส่วนของ การลงทุนคิดเป็นร้อยละ 75 ส่งผลให้ จากเดิมที่บริษัทเป็นส่วนได้เสียในการร่วมค้ากลายมาเป็นบริษัทย่อย • ไตรมาสที่ 4 : R.M.L. Leisure Pvt. Ltd. ลงทุนเพิ่มเติมร้อยละ 49 (เดิมถือหุ้นทางอ้อมร้อยละ 25) ท�ำให้สัดส่วนของการ ลงทุนคิดเป็นร้อยละ 74 ส่งผลให้ จากเดิมที่บริษัทเป็นบริษัทร่วมกลายมาเป็นบริษัทย่อย เนื่องจาก เงินลงทุนที่แต่เดิมกลุ่มบริษัทได้เคยบันทึกส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน และ บริษัทร่วมดังกล่าว เมื่อกลุ่มบริษัทได้ขยายธุรกิจและเข้าลงทุนเพิ่มเติม อันส่งผลให้กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และ บริษัท ร่วม กลายมาเป็นบริษัทย่อย ในทางบัญชี บริษัทจะต้องท�ำการประเมินมูลค่ายุติธรรมก่อนการเข้าซื้อกิจการดังกล่าว ส่งผลให้ เงินลงทุนที่แต่เดิมเคยรับรู้มูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย ต้องปรับราคาให้เท่ากับมูลค่ายุติธรรมของกิจการ จากสาเหตุที่ได้กล่าวมา เบื้องต้น ท�ำให้บริษัทต้องปรับงบการเงินปี 2555 ย้อนหลังและรับรู้รายการพิเศษเป็นก�ำไรจากการซื้อธุรกิจและการปรับมูลค่า ยุติธรรมของเงินลงทุนจ�ำนวน 579.3 ล้านบาท ในปี 2555

รายงานทางการเงิ น

ทั้งนี้ จากสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง รวมถึงภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น อาจส่งผลกระทบโดยรวมต่อธุรกิจการ ท่องเที่ยวและโรงแรม กลุ่มบริษัทได้พยายามหามาตรการต่างๆ เพื่อลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย เช่น การเจรจากับผู้ขาย การใช้ สาธารณูปโภคอย่างประหยัด การบริหารและควบคุมค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทมีแผนในการหารายได้เพิ่ม โดยมุ่งเน้น การขยายธุรกิจรับบริหารโรงแรมให้มากขึ้น ในส่วนของธุรกิจอาหาร ก็ยังคงเน้นกลยุทธ์ในการขยายสาขา เพิ่มแบรนด์ ธุรกิจใหม่ๆ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และท�ำการตลาดเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

138

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 29,211.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 จ�ำนวน 1,062.8 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 3.8% ส่วนใหญ่เนื่องจากการลงทุนเพิ่มเติมอาคาร และอุปกรณ์ของโรงแรมใหม่ และขยายสาขาส�ำหรับธุรกิจ อาหาร ซึ่งมีการเปิดสาขาเพิ่มขึ้นภายใต้ทุกเครื่องหมายการค้ารวมทั้งสิ้น 66 สาขา ในปี 2556

รายงานคณะกรรมการ

2. ฐานะการเงิน

ทั้งนี้ สินทรัพย์ของบริษัทและบริษัทย่อยที่มีสาระส�ำคัญมีดังนี้ ลูกหนี้การค้า

รายงานธุ ร กิ จ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้า-สุทธิจ�ำนวน 551.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 จ�ำนวน 6.2 ล้านบาท หรือประมาณ 1.1% บริษัทและบริษัทย่อยมีระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยประมาณ 20 วัน (ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ย ค�ำนวณโดยไม่รวมยอดขายของ CRG เนื่องจาก ยอดขายเกือบทั้งหมดของ CRG เป็นการขายเงินสด) ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กับนโยบายการให้สินเชื่อของบริษัทและบริษัทย่อย คือ 15-30 วัน โดยมีรายละเอียดตารางแยกวิเคราะห์อายุลูกหนี้ ดังนี้

รายงานทางการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลูกหนี้การค้าเป็นลูกหนี้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระร้อยละ 71.4 และเป็นลูกหนี้ที่ครบก�ำหนดช�ำระไม่เกิน 3 เดือนร้อยละ 19.6 โดยบริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายในการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งวิเคราะห์จากประวัติการช�ำระหนี้และ คาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของลูกค้า และได้พิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจ�ำนวนทั้งสิ้น 23.4 ล้านบาท ส�ำหรับ ลูกหนี้การค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2556 ซึ่งคาดว่าเพียงพอตามจ�ำนวนหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

139


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นและสิทธิการเช่า – สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – สุทธิ จ�ำนวน 22,945.2 ล้านบาท (ปี 2555: 22,277.7 ล้านบาท) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น 459.1 ล้านบาท (ปี 2555: 473.4 ล้านบาท) และมีสิทธิการเช่า – สุทธิจ�ำนวน 920.6 ล้านบาท (ปี 2555: 760.7 ล้านบาท) ซึ่งสามารถแสดงแยกที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น และสิทธิการเช่าตาม ประเภทธุรกิจได้ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 จ�ำนวน 667.5 ล้านบาท หรือประมาณ 3.0% เนื่องจากเหตุผลต่างๆ ดังนี้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

1. การลงทุนในโรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ ซึ่งเป็นโรงแรมใหม่ เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 518.1ล้านบาท 2. การขยายสาขาของธุรกิจอาหาร (เปิดเพิ่มอีก 66 สาขาจากสิ้นปี 2555) 3. การประเมินราคาสินทรัพย์ในเดือน ธันวาคม 2556 ของบริษัทและบริษัทย่อย 5 แห่ง โดยใช้วิธีประมาณการรายได้ ส่งผลให้ บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกส่วนเกินจากการตีราคาสินทรัพย์สุทธิจากภาษีเงินได้รอตัดบัญชี จ�ำนวน 267.3 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นลดลงจากปีก่อน 14.3 ล้านบาท จากค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกิดขึ้นในปี 2556 สิทธิการเช่าเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 จ�ำนวน 159.9 ล้านบาท หรือประมาณ 21.0% สาเหตุหลักจากต่ออายุสัญญาเช่าในการเช่าเกาะ ในประเทศมัลดีฟท์ ของ Centara Maldives Pvt. Ltd.

140

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมจ�ำนวน 18,060.1 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2555 จ�ำนวน 159.5 ล้าน บาท หรือลดลง 0.9% จากการที่บริษัทมีเงินกู้ยืมระยะสั้นลดลง 1,598.6 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น 1,000 ล้านบาท ในปี 2556 บริษัทมีการจ่ายช�ำระคืนหุ้นกู้ที่ครบก�ำหนดในปี 2556 จ�ำนวน 1,400 ล้านบาท และได้มีการออกหุ้นกู้เพิ่มเติมจ�ำนวน 1,000 ล้านบาท

รายงานคณะกรรมการ

3. แหล่งที่มาของเงินทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย รายละเอียดดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

** สุทธิจากค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นกู้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 1.0 ล้านบาท

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

141

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

* เพือ่ ใช้ในโครงการของโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รสี อร์ทและสปา มัลดีฟส์ (CIRM) โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิ รีสอร์ท และ สปา มัลดีฟส์ (CRF) โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (CGCW) โรงแรมเซ็นทาราแก รนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา (CMBR) และโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต (CPBR)


รายงานทางการเงิ น

ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน รายงานคณะกรรมการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ส่วนของผู้ถือหุ้น

ในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ผู้ถือหุ้นได้มีมติที่เกี่ยวข้องกับทุนจดทะเบียน ดังต่อไปนี้

รายงานธุ ร กิ จ

1. อนุมตั ใิ ห้เปลีย่ นแปลงมูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้ของบริษทั จากเดิมหุน้ ละ 5 บาท เป็นหุน้ ละ 1 บาท อันเป็นผลให้จำ� นวนหุน้ ทีอ่ อกเสนอ ขายแล้วทั้งหมดของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิมจ�ำนวน 180 ล้านหุ้น เป็นจ�ำนวน 900 ล้านหุ้น 2. อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 900 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 1,580.8 ล้าน บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 680.8 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 3. อนุมัติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจากการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังนี้ ก. จัดสรรหุ้นเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 450 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน ข. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 170 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาทเพื่อเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป ค. จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวนไม่เกิน 60.8 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในเดือนสิงหาคม 2549 บริษัทได้รับเงินจากการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 450 ล้านหุ้น เสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน เป็น จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 720 ล้านบาท (เสนอขายในราคาหุ้นละ 1.60 บาท) และได้จดทะเบียนเพิ่มทุนช�ำระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์จาก 900 ล้านบาทเป็น 1,350 ล้านบาทเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2549

รายงานทางการเงิ น

ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนของ บริษัท จ�ำนวน 230,800,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 1,580,800,000 บาท เป็น 1,350,000,000 บาท โดยการตัดหุ้นที่ยังไม่ได้ออกจ�ำหน่ายของบริษัท ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.02 เท่า และ 1.05 เท่า ตามล�ำดับ ซึง่ เป็นการจัดโครงสร้างทางการเงินทีย่ งั คงอยูใ่ นข้อก�ำหนดตามเงือ่ นไขของสัญญาเงินกูย้ มื (Covenant) โดยแหล่งที่มาของเงินทุนส่วนหนึ่งมาจากกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษัท และจากการกู้ยืม

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

142

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


กระแสเงินสด บริษัทและบริษัทย่อยมีรายละเอียดกระแสเงินสดจากกิจกรรมต่าง ๆ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ดังต่อไปนี้

รายงานคณะกรรมการ

4. กระแสเงินสดและการด�ำรงอัตราส่วนสภาพคล่อง

รายงานธุ ร กิ จ กิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจ�ำนวน 3,913.5 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 44.4%

กิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจ�ำนวน 1,646.3 ล้าน บาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการจ่ายช�ำระเงินคืนสถาบันการเงิน และการจ่ายดอกเบี้ย การด�ำรงอัตราส่วนสภาพคล่อง

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

143

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.38 เท่า และ 0.26 เท่า ตามล�ำดับ อัตราส่วนสภาพคล่องเพิม่ ขึน้ จากปี 2555 สาเหตุหลักเนือ่ งจาก หุน้ กูท้ ถี่ งึ ก�ำหนดช�ำระคืนภายในหนึง่ ปีลดลง เมือ่ พิจารณาอัตราส่วน ความสามารถในการจ่ายช�ำระภาระผูกพันและดอกเบี้ย (Debt Service Coverage Ratio) ของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึ่งเท่ากับ 1.36 เท่า (ปี 2555: 1.20 เท่า) บริษัทและบริษัทย่อยยังคงมีกระแสเงินสดเพียงพอที่จะช�ำระ ภาระผูกพันและดอกเบี้ยได้

รายงานทางการเงิ น

กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจ�ำนวน 1,841.3 ล้าน บาท ส่วนใหญ่เพื่อการลงทุนในบริษัทย่อยที่เพิ่มขึ้นตามที่ได้กล่าวมาแล้ว และขยายสาขาธุรกิจอาหาร


รายงานทางการเงิ น

ลักษณะการประกอบธุรกิจ รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

144

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

145

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )


รายงานทางการเงิ น

โครงสร้างของรายได้ รายงานคณะกรรมการ

Operated by

โรงแรม

รายได้จากการขาย โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและ วิลลา หัวหิน โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ โรงแรมเซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและ วิลลา กระบี่ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทภูเก็ต โรงแรมเซ็นทารากะรนรีสอร์ท ภูเก็ต โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์(1) อื่นๆ รวมรายได้ธุรกิจโรงแรม

รายงานธุ ร กิ จ

ธุรกิจ

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

146

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2555 ปี 2556 (ปรับปรุงใหม่) รายได้ % รายได้ %

ปี 2554 รายได้ %

--

1,052.4

6.0

940.7

6.3

616.3

5.4

63.9% 100.0% 100.0% 98.4% 100.0% 100.0% 100.0%

618.6 443.1 182.2 34.1 132.6 98.0 430.6

3.5 2.5 1.0 0.2 0.8 0.6 2.5

552.4 389.8 155.4 31.6 120.6 99.1 403.0

3.7 2.6 1.0 0.2 0.8 0.7 2.7

529.7 348.0 161.2 26.5 80.2 76.1 377.1

4.6 3.0 1.4 0.2 0.7 0.7 3.3

100.0%

1,458.4

8.3

1,392.0

9.4

1,016.3

8.9

100.0% 100.0% 99.3% 74.0%

1,150.9 719.2 370.3 762.5

6.6 4.1 2.1 4.4

1,049.0 677.4 251.8 67.9

7.1 4.6 1.7 0.5

907.9 528.6 -

7.9 4.6 -

75.0% --

452.3 17.6 7,922.8

2.6 45.35

6,130.7

41.3

4,667.9

40.7

% การถือหุ้น ปัจจุบัน


อาหาร

Operated by

% การถือหุ้น ปัจจุบัน

ปี 2556 รายได้

ปี 2554 รายได้ %

รายงานคณะกรรมการ

ธุรกิจ

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2555 (ปรับปรุงใหม่) % รายได้ %

รายได้จากการขาย

1,852.7 4,723.5 756.4 209.6 47.5 233.1 70.5 21.3 174.8 771.2 70.1 4.8 123.1 9,058.6

10.6 27.0 4.3 1.2 0.3 1.3 0.4 0.1 1.0 4.4 0.4 0.1 0.7 51.85

1,646.8 4,425.5 664.0 184.2 88.8 190.3 63.9 26.3 100.2 719.7 45.5 103.4 8,258.6

29.8 11.1 4.5 1.2 0.6 1.3 0.4 0.2 0.7 4.9 0.3 0.7 55.7

1,476.4 3,768.9 530.5 137.0 69.7 119.4 38.5 28.3 19.9 207.5 7.4 91.8 6,495.3

12.9 32.9 4.6 1.2 0.6 1.1 0.3 0.2 0.2 1.8 0.1 0.8 56.7

488.1

2.8

439.9

3.0

292.0

2.6

17,469.5

100.0

14,829.2

100.0

11,455.2

100.0

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

147

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หมายเหตุ: 1. โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ เปิดให้บริการเต็มโครงการ ในเดือนมีนาคม 2556 2. รายได้อื่น ประกอบด้วย รายได้ค่าบริหารโรงแรม รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้จากเงินสนับสนุนทางการตลาดเป็นต้น 3. รายได้ทั้งหมด ไม่รวมรายได้จากการตัดจ�ำหน่ายค่าเช่ารับล่วงหน้า (จากกองทุนอสังหาริมทรัพย์) ของโครงการโรงแรมเซ็นทาราแก รนด์ สมุย ในปี 2556 จ�ำนวน 100.3 ล้านบาท (ในปี 2555 และ 2554: ปีละ 100.3 ล้านบาท ทั้งนี้ ในปี 2555 มีส่วนแบ่งขาดทุน (พิเศษ) จากเงินลงทุนในกองทุนรวมตามวิธีส่วนได้เสีย จ�ำนวน 7.2 ล้านบาท และปี 2554 มีส่วนแบ่งก�ำไร(พิเศษ) จ�ำนวน 18.7 ล้านบาท)

รายงานทางการเงิ น

รวมรายได้ทั้งหมด(3)

100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

รายงานธุ ร กิ จ

มิสเตอร์ โดนัท เคเอฟซี อานตี้แอนส์ เป็บเปอร์ลันช์ เบียร์ดปาปา ชาบูตง ราเมน โคลด์สโตน ครีมเมอรี่ ริว ชาบู ชาบู โยชิโนยะ โอโตยะ เดอะ เทอเรส เทนยะ รายได้จากการขายอื่นๆ รวมรายได้ธุรกิจอาหาร บริการด่วน รายได้อื่น(2)


รายงานทางการเงิ น

ปัจจัยความเสี่ ยง รายงานคณะกรรมการ

ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานธุรกิจของ บริษัท มีดังต่อไปนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ บริ ษั ท มุ่ ง เน้ น การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ตามแนวทางพั น ธกิ จ ของ บริษัทฯ โดยการกำ�หนดกลยุทธ์และแผนธุรกิจของบริษัทให้มีความ สอดคล้องกับความเสี่ยงต่างๆที่บริษัทสามารถยอมรับได้

รายงานธุ ร กิ จ

1.1 เรื่องความพร้อมทางธุรกิจ (Business Readiness) บริษัทฯมีการกำ�หนดแผนงานการขยายธุรกิจทั้งใน และต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง จึงต้องมีการเตรียม ความพร้อมทางธุรกิจเพื่อรองรับนโยบายการเติบโต ทางธุรกิจท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น จึงจำ�เป็น อย่างยิ่งต้องมีการพัฒนาบุคลากรที่จำ�เป็นทุกระดับ ในขณะที่การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการใหม่ๆ จะดำ�เนินการอย่างละเอียดรอบคอบ ตลอดจนการ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของคู่ค้าทุกกระบวนการ

รายงานทางการเงิ น

1.2 การลงทุนเพิ่มเติมในต่างประเทศ (Foreign Investment) บริษัทฯมีแผนการขยายธุรกิจไปในต่าง ประเทศเพิ่มเติมจากการลงทุนในประเทศมัลดีฟส์ จึง จำ�เป็นต้องศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทุกกระบวนการใน การประกอบธุรกิจของแต่ละประเทศอย่างละเอียด รอบคอบก่อนมีการตัดสินใจลงทุน นอกเหนือจาก นี้แล้ว บริษัทฯจัดตั้งทีมงานให้มีการติดตามความ เป็นไปของสภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ของประเทศนั้น และบริษัทฯมีนโยบายร่วมลงทุนกับ พันธมิตรทางธุรกิจที่มีศักยภาพเพียงพอเท่านั้น 2. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ บริษัทมุ่งเน้นตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงานในแต่ละ ขั้นตอน ครอบคลุมทุกกระบวนการและทุกระดับ ว่าด้วยการลงทุน เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรในการปฏิบัติงาน ตลอดจนความ เสี่ยงด้านความปลอดภัยจากเหตุต่างๆที่อาจส่งผลกระทบต่อชีวิตของ ลูกค้าและพนักงานเจ้าหน้าที่ทุกระดับตลอดจนทรัพย์สินขององค์กร และทุกฝ่าย

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

148

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

2.1 การสรรหาบุ ค ลากรและการสร้ า งความผู ก พั น กั บ องค์กร เพื่อรองรับการขยายธุรกิจทั้งในและต่าง ประเทศตามนโยบายการเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อ เนื่อง บริษัทฯจึงให้ความสำ�คัญกับการศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลว่าด้วยการจ้างงานของคู่แข่งทางธุรกิจ มีการจัด ตั้งคณะกรรมการพิจารณาปรับโครงสร้างผลตอบแทน ทุกระดับอย่างเป็นระบบ ตลอดจนจัดตั้งทีมงานมี บทบาทหน้าที่ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับ ขององค์กร 2.2 การบริหารความเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ บริษัทฯมีน โยบายการปรับปรุงพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร เพื่อรองรับความต้องการที่จำ�เป็นทางธุรกิจ จึงจำ�เป็น ต้องสรรหาระบบใหม่ๆที่มีประสิทธิภาพครอบคลุม ทุ ก กระบวนการและมี ความสอดคล้ อ งตามกลยุ ท ธ์ ทางธุรกิจของบริษัทฯที่มุ่งเน้นความพร้อมทางธุรกิจ และการเติบโตทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการ เดี ย วกั น นี้ จำ�เป็ น ต้ อ งมี ก ารคั ด เลื อ กผู้ ค้าที่ มี ค วามรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการพัฒนาระบบ ที่น่าเชื่อถือ 2.3 การบริหารสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมือง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อบริหารจัดการสถานการณ์ตามระดับความรุนแรง ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีการจัดทำ� แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) โดยป้องกันไม่ให้เกิดการหยุดชะงักทางธุรกิจ และองค์กรได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์เหล่านั้น น้อยที่สุดเท่าที่จะสามารถบริหารได้ 2.4 ด้านอุบัติภัยอื่นๆ เช่นภัยธรรมชาติ บริษัทฯให้ ความสำ�คัญการบริหารจัดการป้องกันและการกอบกู้ สถานการณ์ในเชิงรุก โดยมีการกำ�หนดระเบียบปฏิบัติ การให้ทุกสาขาใช้ปฏิบัติ มีการฝึกซ้อมแผนปฏิบัติ การตามกำ�หนด นอกจากนี้ยังมีการกำ�หนดแผนความ ต่อเนื่องทางธุรกิจเพื่อรองรับความเสี่ยงเหล่านั้นอีก ด้วย


รายงานคณะกรรมการ

3. ความเสี่ยงด้านการเงิน บริษัทมุ่งเน้นนโยบายการใช้เงินอย่างระมัดระวังภายในงบ ประมาณที่กำ�หนดทั้งนี้เพื่อให้ได้รับผลตอบแทนต่อผู้มีส่วนได้เสียที่ เหมาะสม และเกิดความเชื่อมั่นว่าการบริหารความเสี่ยงตลอดจนการ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพเพียงพอกับระดับความเสี่ยงที่สามารถ ยอมรับได้และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอ

รายงานธุ ร กิ จ

การจัดสรรแหล่งเงินทุนที่เพียงพอ บริษัทฯมีนโยบายการ จัดสรรเงินทุนที่เหมาะสมและเพียงพอโดยสามารถบริหารต้นทุน ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อคงศักยภาพในการดำ�เนินธุรกิจ ท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรง อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนในระดับต่ำ�เป็น ผลให้บริษัทฯสามารถดำ�รงสภาพคล่องในการดำ�เนินธุรกิจและการ ขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารหนี้สินอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เครื่องมือทางการเงินในการระดมทุนอย่างเหมาะสม 4. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย บริษัทฯมุ่งเน้นการปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อบังคับต่างๆทั้งระดับภายในและภายนอกองค์กรอย่างเข้ม งวด ให้การดำ�เนินธุรกิจทุกกระบวนการได้รับใบอนุญาตอย่างถูกต้อง ตามกฎหมายโดยไม่มีข้อยกเว้น ทั้งนี้เพื่อรองรับการดำ�เนินธุรกิจเนื่อง ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างบูรณาการ

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

149


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โค รงสร้างการจัดการ รายงานคณะกรรมการ

โครงสร้างการจัดการของบริษัทประกอบด้วย 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการชุดย่อย จำ�นวน 3 คณะ รายละเอียดของแต่ละคณะ มีดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

1.1 องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ • คณะกรรมการต้องมีประสบการณ์ในธุรกิจหรืออุตสาหกรรม หลั ก ที่ บ ริ ษั ท ดำ�เนิ น กิ จ การอยู่ แ ละจะต้ อ งมี ก ารเปิ ด เผย นโยบายในการกำ�หนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ • คณะกรรมการกำ�หนดโครงสร้ า งของคณะกรรมการให้ ประกอบด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งใน ด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็น ประโยชน์กับบริษัท ควรประกอบด้วยกรรมการจำ�นวนไม่น้อย กว่า 5 คน โดยต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร • ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีหน้าที่ความ รับผิดชอบต่างกัน คณะกรรมการควรกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ ของประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารให้ชัดเจน และเพื่อไม่ให้คนใดคนหนึ่งมีอำ�นาจโดยไม่จำ�กัด ควรแยก บุคคลที่ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการออกจากบุคคลที่ ดำ�รงตำ�แหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พร้อมทั้งเปิดเผยไว้ ในรายงานประจำ�ปี • ประธานกรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ ผู้ บ ริ ห ารไม่ เ ป็ น บุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีการแบ่งแยกบทบาทอย่างชัดเจนและ มีการถ่วงดุลอำ�นาจในการดำ�เนินงาน • การแต่งตั้งกรรมการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายข้อบังคับ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยจะต้องดำ�เนินการด้วยความ โปร่งใสและชัดเจน • กรณีที่มีกรรมการครบวาระออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ให้ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งกรรมการโดยมติการแต่งตั้ง กรรมการ ต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมา ประชุมและออกเสียงลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียง ชี้ขาด • กรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอื่นนอกจาก การครบวาระออกจากตำ�แหน่งกรรมการให้คณะกรรมการ พิจารณาแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้อง ห้ามตามกฎหมายเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะ กรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจาก ตำ�แหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็น กรรมการแทนจะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระ

150

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้ง บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว ต้องได้รับคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 1.2 คุณสมบัติของกรรมการ • กรรมการต้องเป็นบุคคลธรรมดา และบรรลุนิติภาวะ ไม่เป็น บุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความ สามารถ ไม่เคยรับโทษจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงที่สุดให้จำ� คุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ได้กระทำ�โดยทุจริต ไม่เคยถูก ลงโทษไล่ออก หรือปลดออกจากราชการ หรือองค์การ หรือ หน่วยงานของรัฐ ฐานทุจริตต่อหน้าที่ • กรรมการต้องมีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็น ประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจ มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ และมี เ วลาอย่ า งเพี ย งพอที่ จ ะอุ ทิ ศ ให้ กั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กรรมการอย่างเต็มที่ • กรรมการสามารถดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในกิจการอื่นได้ แต่ ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการของบริษัท โดยกำ�หนดให้กรรมการควรดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 บริษัท • กรรมการต้องไม่กระทำ�การใดๆ ที่มีลักษณะเข้าไปบริหาร หรือจัดการในกิจการอื่น อันจะก่อให้เกิดการบั่นทอนผล ประโยชน์ของบริษัท หรือเอื้อประโยชน์ให้บุคคลหรือนิติบุคคล ใด ไม่ว่าจะทำ�เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น 1.3 กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจาก การควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และต้องไม่มีส่วน เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับการตัดสินใจของผู้บริหาร ทั้งนี้ คุณสมบัติความเป็นอิสระของกรรมการมีดังนี้ • ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย • ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ� หรือ ผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท ย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้น แต่จะพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง • ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจด ทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการ เสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือ บริษัทย่อย


เสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง เดี ย วกั น และเป็ น การแข่ ง ขั น ที่ มี กั บ กิ จ การของบริ ษั ท หรื อ บริษัทย่อย • ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท กรรมการอิ ส ระอาจได้ รั บ มอบหมายจากคณะ กรรมการให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษัท บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบ ขององค์คณะได้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

151

รายงานทางการเงิ น

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

รายงานธุ ร กิ จ

1.4 หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ ข้อบังคับ กฎระเบียบต่างๆของบริษัท ตลอดจนมติคณะ กรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความสุจริต มีความ รับผิดชอบและมีจริยธรรมโดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้มี ส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน • คณะกรรมการทำ�หน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่อง ที่สำ�คัญเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท กำ�หนดวิสัยทัศน์ และภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายทางธุรกิจ งบประมาณ รวม ทั้งกำ�กับ ควบคุม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนินงานตามนโยบาย และแผนงานที่กำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • คณะกรรมการทำ�หน้าที่จัดให้มีนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ของบริษัทเป็นลายลักษณ์อักษร และให้ความเห็นชอบนโยบาย ดังกล่าว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบัติ ตามนโยบายดังกล่าวเป็นประจำ� นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้จัด ทำ�จรรยาบรรณธุรกิจที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนเข้าใจถึงมาตรฐานด้านจริยธรรม ที่บริษัทใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการจะติดตามให้มี การปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริงจัง • พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการตาม ความเหมาะสมและความจำ�เป็น โดยมีการติดตามผลการ ดำ�เนินงานของคณะกรรมการชุดย่อยอย่างสม่ำ�เสมอ • กรรมการที่เป็นอิสระควรใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระในการ พิจารณากำ�หนดกลยุทธ์ การบริหารงานการใช้ทรัพยากร การแต่งตั้งกรรมการและการกำ�หนดมาตรฐานในการดำ�เนิน ธุรกิจ รวมทั้งพร้อมที่จะคัดค้านการกระทำ�ของฝ่ายจัดการ หรือกรรมการอื่น ในกรณีที่มีความเห็นขัดแย้งในเรื่องที่มีผลก ระทบต่อความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย • คณะกรรมการจะพิจารณาเรื่องความขัดแย้งของผลประโยชน์ อย่างรอบคอบ การพิจารณาทำ�รายการที่อาจมีความขัดแย้ง ของผลประโยชน์จะต้องมีแนวทางที่ชัดเจน และเป็นไปเพื่อ ผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นสำ�คัญ โดยที่ ผู้มีส่วนได้เสียไม่ควรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และคณะ กรรมการจะต้องกำ�กับดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด เกี่ยวกับขั้นตอนการดำ�เนินการและการเปิดเผยข้อมูลของ

รายงานคณะกรรมการ

• ไม่ มี ห รื อ เคยมี สั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทใหญ่ บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะ ที่อาจขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของ ตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่ง ไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษัทและบริษัทย่อย บริษัทใหญ่ บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะพ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคแรก รวมถึงการ ทำ�รายการทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์ หรือบริการ การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงินด้วยการ รับหรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกัน หนี้สินรวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ บริษัทหรือคู่สัญญามีภาระหนี้สินที่ต้องชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท หรือ ตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคำ�นวณ มูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกี่ยวโยง กันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าวให้นับรวม ภาระหนี้ที่เกิดขึ้นระหว่าง 1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน • ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และไม่ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้ บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้ สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะพ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการ แต่งตั้ง • ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการ ให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่ง ได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัท บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัด แย้ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการทางวิชาชีพเป็นนิติบุคคลให้ รวมถึงการเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการ อิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ให้บริการทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมา แล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง • ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ กรรมการบริ ษั ท ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ห รื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท • ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือ บริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้น ส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือ เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วม ในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือน ประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออก


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โครงสร้างการจัดการ รายงานคณะกรรมการ

• •

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• •

รายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ให้ถูกต้องครบ ถ้วน จัดให้มีการะบวนการที่ชัดเจนและโปร่งใสเกี่ยวกับการทำ� รายการระหว่างกัน คณะกรรมการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมการดำ�เนินงาน รายงานทางการเงิน และการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และ นโยบาย จัดให้มีบุคคลหรือหน่วยงานที่มีความเป็นอิสระใน การปฏิบัติหน้าที่ เป็นผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบระบบการ ควบคุมดังกล่าว และระบบที่สำ�คัญอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง คณะกรรมการจะกำ�หนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Policy) ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดย ให้ฝ่ายจัดการเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายและรายงานให้คณะ กรรมการทราบเป็นประจำ� และควรมีการทบทวนระบบหรือ ประเมินประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และในทุกๆ ระยะเวลาที่พบว่าระดับความเสี่ยงมีการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการให้ความสำ�คัญกับสัญญาณเตือน ภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติทั้งหลาย จั ด ให้ มี ร ะบบควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในที่ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการหรือคณะ กรรมการตรวจสอบจะให้ ค วามเห็ น ถึ ง ความเพี ย งพอของ ระบบการควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารความเสี่ ย งไว้ ใ น รายงานประจำ�ปี จั ด ให้ มี ก ระบวนการที่ ชั ด เจนในการรายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ เมื่อพบหรือมีข้อสงสัย เกี่ยวกับรายการหรือการกระทำ� ซึ่งอาจมีผลระทบอย่างมีนัย สำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท คณะ กรรมการต้องดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะ กรรมการตรวจสอบเห็นสมควร จัดให้มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบาย แผนงานที่สำ�คัญ ต่างๆ ให้เป็นปัจจุบันและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจอย่าง สม่ำ�เสมอ นอกจากนี้จัดให้มีการกำ�หนดแผนการสืบทอด ตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท รวมถึงจัดให้มีเลขา นุการบริษัทเพื่อช่วยดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการ และช่วยให้คณะกรรมการและบริษัทปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีการดำ�เนินงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และ สนับสนุนให้มีการสื่อสารไปสู่ทุกคนในบริษัทให้ได้รับทราบ ยึดถือปฏิบัติอย่างจริงจัง ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวกับกิจการของบริษัทตามที่ผู้ถือหุ้น มอบหมาย

1.5 การประชุมคณะกรรมการ • คณะกรรมการต้องประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง โดย กำ�หนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี และอาจมีการประชุม วาระพิเศษตามความจำ�เป็น

152

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

• กรรมการอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป มีสิทธิร้องขอให้เรียกประชุม ทั้งนี้ ประธานกรรมการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจะต้อง กำ�หนดวันประชุมภายใน 14 วันนับแต่วันที่ได้รับการร้องขอ • การเรียกประชุมคณะกรรมการให้ประธานกรรมการหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมายส่งหนังสือนัดประชุม โดยระบุวันเวลา สถาน ที่ และกิจการที่จะประชุมไปยังกรรมการทุกคนล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจำ�เป็นรีบด่วน เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของบริษัทจะแจ้งการนัดประชุมโดย วิธีอื่น และกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้ • การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่ น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ ประชุม ทั้งนี้ประธานกรรมการจะทำ�หน้าที่เป็นประธานใน การประชุม หากในการประชุมคราวใดประธานกรรมการไม่ อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการ ที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม • การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการ ให้ถือเสียงข้าง มากโดยกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนน และถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียง เพิ่มมากขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ทั้งนี้ กรรมการที่มี ส่วนได้เสียในวาระใดไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระนั้น • คณะกรรมการมีอำ�นาจเชิญฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือ บุคคล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของบริษัทมาให้ความเห็นเข้าร่วมประชุม หรือให้ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณา • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารต้องประชุมร่วมกัน โดยไม่มีฝ่าย จัดการเข้าร่วม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อหารือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ของฝ่ายบริหาร • ให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท หรื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายทำ�หน้ า ที่ จ ด บันทึกการประชุม


2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อและตำ�แหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ 2. ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ 3. นายครรชิต บุนะจินดา 4. นายวิเชียร เตชะไพบูลย์

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

153

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

รายงานทางการเงิ น

2.2 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนให้มีจำ�นวนไม่ น้อยกว่า 5 คน ประกอบด้วย กรรมการอิสระหรือกรรมการ ภายนอกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการ และในการประชุม แต่ละครั้งต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำ�นวนกรรมการทั้งหมด และต้องมีกรรมการอิสระหรือ กรรมการภายนอกร่วมประชุมอย่างน้อย 1 คน จึงจะถือว่า เป็นองค์ประชุม คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีวาระการ ดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี แต่วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของ กรรมการแต่ละคนนั้นจะอยู่ในตำ�แหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ ยังเหลืออยู่ของการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท โดยจะ ต้องได้รับการคัดเลือกและแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท กรรมการที่พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้ง ใหม่ได้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ต้องจัดให้มีการประชุมตามความจำ�เป็นและสมควรแก่หน้าที่ รับผิดชอบตามข้อบังคับเกี่ยวกับคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยประธาน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะต้องแจ้ง กำ�หนดการประชุมไว้ล่วงหน้า รวมถึงจัดส่งวาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุมให้ล่วงหน้าในเวลาอันสมควร เพื่อให้กรรมการได้พิจารณาเอกสารก่อนถึงวันประชุมพร้อม ทั้ ง เสนอและรายงานผลการปฏิ บั ติ ง านต่ อ คณะกรรมการ บริษัท เพื่อทราบภายหลังจากมีการประชุมคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนในแต่ละครั้ง

รายงานธุ ร กิ จ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบมี ห น้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบใน ภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท โดย ปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ขอบเขตของกฎบัตรคณะกรรมการตรวจ สอบ สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มีความ เหมาะสมและมีประสิทธิผลโดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน สอบทานหลักฐานการไต่สวนภายใน เมื่อมีข้อสงสัยหรือสันนิษฐานว่าอาจมีการทุจริตหรือมีสิ่งผิด ปกติ หรือมีความบกพร่องสำ�คัญในระบบการควบคุมภายใน และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาต่อไป และ คณะกรรมการตรวจสอบยังมีหน้าที่พิจารณาคัดเลือก เสนอ แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบ บัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม ประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่าง น้อย 3 คน หรือตามจำ�นวนที่กำ�หนดโดยประกาศของคณะ กรรมการ ก.ล.ต. ประกอบด้วยประธานคณะกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ โดยทั้งหมดต้องมีคุณสมบัติเป็น กรรมการที่เป็นอิสระ สามารถใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม และ มีคุณสมบัติตามที่กำ�หนดในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. กรรมการตรวจสอบต้องมีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่ จะทำ�หน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ต้องมีกรรมการ ตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ที่มีความรู้และประสบการณ์เพียง พอที่สามารถทำ�หน้าที่สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการ เงินได้ 3. ในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงจะครบองค์ประชุม 4. กรรมการตรวจสอบมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละไม่เกิน 3 ปี หรือมีวาระเท่ากับจำ�นวนที่ยังคงมีอยู่ในคณะกรรมการ บริษัท กรรมการที่พ้นตำ�แหน่งตามวาระมีสิทธิได้รับเลือก กลับเข้ามาใหม่ได้ ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบว่าง ลงเพราะเหตุอื่นนอกจากการออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ บริษัทแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการตรวจ สอบ เพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจำ�นวนครบตามที่กำ�หนด

โดยบุคคลที่รับตำ�แหน่งแทนนั้นจะดำ�รงตำ�แหน่งเท่าวาระที่ เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนมาที่รับตำ�แหน่งแทน 5. ให้ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานตรวจสอบภายในของบริษัทเป็น เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่เตรียมและ จัดการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนประสาน งานให้มีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ผู้ลงทุน ผู้ถือ หุ้น และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขานุการคณะ กรรมการตรวจสอบมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมแต่ไม่มีสิทธิออก เสียงในคณะกรรมการตรวจสอบ และชอบที่จะเสนอผู้ช่วยได้ 6. คณะกรรมการตรวจสอบกำ�หนดให้ มี ก ารประชุ ม อย่ า ง น้อยปีละ 4 ครั้ง เพื่อพิจารณางบการเงิน การควบคุม ภายใน การบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตามข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์และกฎหมายบริษัทมหาชน การเรียก ประชุมให้ทำ�เป็นหนังสือเชิญประชุมไปยังกรรมการตรวจสอบ ไม่น้อยกว่า 5 วัน ก่อนวันประชุม โดยกำ�หนดวันประชุมไว้ ล่วงหน้าตลอดทั้งปี กรรมการตรวจสอบทุกท่านจะต้องเข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบไม่ต่ำ�กว่า 3 ใน 4 ของ จำ�นวนครั้งที่มีการประชุมในปีนั้นๆ

รายงานคณะกรรมการ

2. คณะกรรมการชุดย่อย


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โครงสร้างการจัดการ รายงานคณะกรรมการ

รายชื่อและตำ�แหน่งของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทน 1. ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 3. นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 4. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 5. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. เสนอนโยบายการคัดเลือกและสรรหากรรมการ โดยต้องมี วิธีการและหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนเป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา แล้วจึงเสนอที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. เสนอนโยบายการคัดเลือกและสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยต้องมีวิธีการหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรมและสมเหตุสม ผล เพื่อนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. ทบทวนและนำ�เสนอขออนุ มั ติ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ใน เรื่องเกี่ยวกับนโยบายและกลยุทธ์ด้านทรัพยากรบุคคลซึ่งควร สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท 4. สรรหาคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่ทรงคุณวุฒิ มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณสมบัติเหมาะสมที่สมควรได้รับการแต่งตั้ง เป็นกรรมการและหรือกรรมการผู้จัดการใหญ่แล้วแต่กรณี 5 ทบทวนสัดส่วน จำ�นวน และประสบการณ์ของกรรมการ บริษัท รวมถึงให้ข้อเสนอแนะในการสรรหากรรมการแทน ตำ�แหน่งที่ว่างลง 6. ดูแลให้มีแผนสืบแทนตำ�แหน่งที่เฉพาะเจาะจงของกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ 7. วางข้อกำ�หนดต่างๆในสัญญาจ้างกรรมการผู้จัดการใหญ่รวม ทั้งประเมินผลงานและเสนอแนะผู้สืบแทนตำ�แหน่ง หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการกำ � หนดค่ า ตอบแทน 1. กำ�หนดนโยบายและรูปแบบการให้ผลประโยชน์ตอบแทน กรรมการ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัท โดยต้องมีวิธีการและหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นธรรม และสมเหตุผล เพื่อนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณา แล้วจึงเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ

154

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

2. กำ�หนดนโยบายและรูปแบบการให้ผลประโยชน์ตอบแทน ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการ ดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยต้องมีวิธีการและหลักเกณฑ์ ที่ชัดเจน เป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพื่อนำ�เสนอให้คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 3. เสนอแนะแนวทางและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนทั้งที่เป็นตัว เงินหรือค่าตอบแทนรูปแบบอื่นให้แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดอื่นที่คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง รวมถึง กรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัท 4. พิ จ ารณาและทบทวนโครงสร้ า งและระบบการจ่ า ยค่ า ตอบแทนและอัตราค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับสภาวะตลาด ณ ปัจจุบันและเหมาะสมกับผลการดำ�เนินงานของบริษัทและ ผลการปฏิบัติงานของกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แล้วแต่กรณี 5. ดูแลปรับปรุงให้กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้รับ ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อ บริษัท 6. กำ�หนดวิธีการประเมินผลงานของกรรมการและประธานเจ้า หน้าที่บริหาร เพื่อพิจารณาปรับค่าตอบแทนประจำ�ปี โดย คำ�นึงถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการให้ความสำ�คัญกับการเพิ่มมูลค่าของส่วนของผู้ถือ หุ้นในระยะยาว 7. พิ จ ารณากำ�หนดค่ า ตอบแทนประจำ�ปี แ ก่ ก รรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการกำ�กับดูแล รายชื่อและตำ�แหน่งของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและ การกำ�กับดูแล 1. นายครรชิต บุนะจินดา ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงและการกำ�กับ ดูแลกิจการ 2. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และการกำ�กับดูแลกิจการ 3. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และการกำ�กับดูแลกิจการ 4. นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และการกำ�กับดูแลกิจการ 5. นายรณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และการกำ�กับดูแลกิจการ


1. จัดเตรียมและจัดเก็บเอกสารของคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น ซึ่งได้แก่ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมกรรมการและ ผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้นและ รายงานประจำ�ปีของบริษัทรวมถึงงบการเงินรายไตรมาสของ บริษัท 2. จัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้ บริหารของบริษัท 3. แนะนำ�กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำ�งานและความรับผิด ชอบของกรรมการ 4. ดำ�เนินการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการได้จัดให้มีมาตรการเพื่อดูแลอย่าง รอบคอบเมื่อมีรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีการกำ�หนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยว โยงไว้อย่างชัดเจนและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยคณะ กรรมการตรวจสอบจะสอบทานและให้ ค วามเห็ น ต่ อ การ ทำ�รายการระหว่ า งกั น ที่ มี นั ย สำ�คั ญ ซึ่ ง ไม่ อ ยู่ ใ นอำ�นาจการ พิจารณาของคณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ คำ�นึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษัทเป็นสำ�คัญ ซึ่งคณะกรรมการคนใดที่ที่มีส่วน ได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและงดออกเสียงในการพิจารณา วาระดังกล่าว การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการร่วมกันกำ�หนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการ ปฏิบัติงานของตนเอง โดยมีทั้งการประเมินผล การปฏิบัติ หน้าที่ของตนเองเป็นคณะซึ่งจะประเมินทุกครั้งที่ประชุมคณะ กรรมการ และการประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของตนเองเป็น รายบุคคลซึ่งจะประเมินเป็นประจำ�ทุกปีและคณะกรรมการมี การนำ�ผลการประเมินมาร่วมกันพิจารณาและกำ�หนดแนวทาง ปรับปรุงการทำ�งานต่อไป บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

155

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทที่ได้รับ การแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่รับผิดชอบบริหาร และจัดการบริษัทให้มีการดำ�เนินงานตามแผนกลยุทธ์ วิสัย ทัศน์ และพันธกิจที่กำ�หนดไว้ โดยมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ภาย ใต้กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจน มติคณะกรรมการและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ กรรมการผู้ จัดการใหญ่อาจจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นได้แต่ ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการใหญ่ ของบริษัทและกิจการนั้นต้องไม่เป็นธุรกิจประเภทเดียวกัน

เลขานุการบริษัท บริษัทได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทมีหน้าที่ดำ�เนินการดัง ต่อไปนี้

รายงานทางการเงิ น

ด้านการกำ�กับดูแล กำ�หนดและทบทวนนโยบาย ข้อกำ�หนด และวิธีการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กำ�หนดนโยบาย และวางแผนเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม ประชุมติดตามความคืบหน้าของแผนงานบรรษัทภิ บาล และความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งให้ข้อแนะนำ�และ การสนับสนุนที่จำ�เป็นแก่คณะทำ�งานบรรษัทภิบาล ตรวจ ประเมินภายในด้วยเกณฑ์บรรษัทภิบาล เพื่อกำ�หนดประเด็น ที่ควรปรับปรุง เป็นตัวแทนบริษัทในการสื่อสารและการดำ�เนิน กิจกรรมด้านบรรษัทภิบาลทั้งกับผู้บริหาร พนักงานและหน่วย งานภายนอก

ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้ จัดการใหญ่เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน จากนั้นจึงนำ�เสนอผลการประเมินต่อคณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเห็นชอบ โดยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่มีส่วนร่วมในการกำ�หนดเป้าหมายการปฏิบัติงานของ ตนเองและรับทราบเป้าหมายที่ได้รับอนุมัติในแต่ละปี

รายงานธุ ร กิ จ

ด้านการบริหารความเสี่ยง 1. มีหน้าที่พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ โครงสร้างการบริหาร ความเสี่ยงและดำ�เนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่าแผนกลยุทธ์ที่นำ� เสนอมีความสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่บริษัทยอมรับได้ และเป็นไปตามความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย 2. ให้การสนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงระดับปฏิบัติการ 3. มีการติดตามและประเมินผลถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวม 4. เข้าใจและสามารถประเมินความเสี่ยงที่อาจจะส่งผลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ต่อองค์กรและสามารถทำ�ให้มั่นใจ ได้ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นได้รับการจัดการกับความเสี่ยงนั้น ๆ จนถึงระดับที่บริษัทยอมรับได้ 5. ให้คำ�แนะนำ�และให้ความเห็นชอบในการบริหารความเสี่ยง ขององค์กร

หรือเป็นการแข่งขันกับธุรกิจของบริษัท โดยต้องได้รับความ เห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ษั ท ก่ อ นไปดำ�รงตำ�แหน่ ง กรรมการในบริษัทอื่น

รายงานคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและกำ�กับดูแลระดับองค์กร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและกำ�กับดูแลระดับองค์กร ซึ่งผ่านการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดยประกอบด้วย กรรมการอิสระ และกรรมการที่เป็นตัวแทนจากฝ่ายบริหาร โดยมีประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ โดยมีหน้าที่ ดังนี้


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

โครงสร้างการจัดการ รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ 1. คณะกรรมการกำ�หนดรู ป แบบและหลั ก เกณฑ์ ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆแก่คณะกรรมการ ที่ชัดเจน โดยเปรียบเทียบกับระดับที่ปฏิบัติในอุตสาหกรรม และนำ�เสนอของอนุมัติจากผู้ถือหุ้น โดยมีคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้ พิ จ ารณากลั่ น กรอง จำ�นวนเงินค่าตอบแทนแต่ละปีอย่างโปร่งใส เป็นธรรม และ เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ตลอดจนปัจจัยแวดล้อม อื่นที่เกี่ยวข้อง และประโยชน์ที่ได้รับจากกรรมการแต่ละคน 2. กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่จะได้รับทราบข้อมูลบริษัท ลักษณะธุรกิจ กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆและข้อมูลธุรกิจ ที่สำ�คัญต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ รายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัทและรายงานการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบย้อนหลัง มีการแนะนำ�ให้รู้จักคณะกรรมการและผู้ บริหาร นอกจากนี้ มีการส่งเสริมให้กรรมการได้รับการอบรม และเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการ

รายงานทางการเงิ น

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทจัดให้บริษัท มีระบบการควบคุมภายในที่ ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งด้านการเงินการปฏิบัติงาน การดำ�เนิน การให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการบริหารความเสี่ยง และจัดให้มีกลไกการตรวจสอบ และถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปกป้องรักษาและ ดูแลเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและสินทรัพย์ของบริษัทอยู่เสมอ จัดให้มีการกำ�หนดลำ�ดับขั้นของอำ�นาจอนุมัติและความรับ ผิดชอบของผู้บริหารและพนักงาน กำ�หนดระเบียบการปฏิบัติ งานเป็นลายลักษณ์อักษร มีสำ�นักตรวจสอบภายในทำ�หน้าที่ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน ทั้งหน่วยงานธุรกิจ และหน่วยงานสนับสนุนให้เป็นไปตามที่วางไว้ รวมทั้งประเมิน ประสิทธิภาพและความเพียงพอของการควบคุมภายในของ หน่วยงานนั้นๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการดูแลให้สำ�นักตรวจสอบ ภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทำ�หน้าที่ตรวจสอบและถ่วง ดุลได้อย่างเต็มที่ และให้รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจ สอบเป็นประจำ�ตามเวลาที่กำ�หนดไว้ คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณา คุณสมบัติและความเหมาะสมของผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน ตรวจสอบภายใน แล้วจึงมีมติแต่งตั้งผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานตรวจสอบภายในของบริษัทเป็นเลขานุการคณะ กรรมการตรวจสอบ โดยมีหน้าที่เตรียมและจัดการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนประสานงานให้มีการ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงใน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

156

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

คณะกรรมการตรวจสอบ และชอบที่จะเสนอผู้ช่วยได้ ในกรณี การแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้ายผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน ตรวจสอบภายใน ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สำ�นักงานตรวจสอบภายในมี จำ�นวนพนักงานทั้งสิ้น 12 คน ประวัติและคุณสมบัติของผู้อำ�นวยการสำ�นักงานตรวจสอบ ภายใน มีดังนี้ ชื่อ – นามสกุล : ตำ�แหน่ง : อายุ : คุณวุฒิทางการศึกษา และประวัตการฝึกอบรม ที่เกี่ยวข้อง : ประสบการณ์ :

นายพิพิธ เยี่ยงยุกดิ์สากล ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานตรวจ สอบภายใน 49 ปี - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัย รามคำ�แหง - นิติศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สภาวิชาชีพ บัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ - ผู้สอบบัญชีภาษีอากร กรมสรรพากร - ทนายความ สภาทนายความ - Certified Professional Internal Audit of Thailand (CPIAT 17) จาก สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ง ประเทศไทย ปี 2532 – 2545 ผู้จัดการฝ่ายตรวจ สอบสำ�นักงานสอบบัญชีและทนาย ความมิตรประชา/ สอบบัญชี, ที่ ปรึกษากฎหมาย


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

จริยธรรมธุรกิจ ในการดำ�เนินธุรกิจให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น คณะ กรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะให้ความสำ�คัญเท่าเทียมและ ควบคู่กันไประหว่างความสำ�เร็จตามเป้าหมายและรูปแบบ และวิธีการที่ใช้ในการให้ได้มาซึ่งความสำ�เร็จนั้นๆ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทได้ กำ�หนดข้อประพฤติปฏิบัติสำ�หรับการประกอบธุรกิจขึ้นไว้ สำ�หรับให้กรรมการผู้บริหารและพนักงานยึดถือในการปฏิบัติ งาน รวมถึงได้รวบรวมข้อพึงปฏิบัติดังกล่าวจัดทำ�เป็นเอกสาร “คู่มือจริยธรรมธุรกิจ” ขึ้นเพื่อให้เกิดความชัดเจนสะดวกแก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ที่จะได้รับทราบ ถึงมาตรฐานการปฏิบัติที่บริษัทคาดหวัง นับตั้งแต่การปฏิบัติ ต่อพนักงาน ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่งขันทางการค้า และ ต่อสังคมส่วนรวม ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีกลไก และกระบวนการที่จะดูแลให้มีการปฏิบัติอย่างจริงจังโดย เคร่งครัด

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

157


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายละเอียดกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้ รายงานคณะกรรมการ

01 นายสุทธิเกียรติ

จิราธิวัฒน์

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• • • อายุ 71 ปี การถือหุ้นในบริษัท : 44,728,146 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 3.31 ของทุนที่ • • ออกและเรียกชำ�ระแล้ว)

ประธานกรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

รายงานธุ ร กิ จ

• • • • • • • •

ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาธุรกิจการ โรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยลัยรามคำ�แหง ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล South West Essex Technical College ประเทศอังกฤษ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการจัดการสมัยใหม่ รุ่นที่ 1

รายงานทางการเงิ น

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2551 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

ประสบการณ์ • • •

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ผู้ช่วยผู้จัดการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำ�กัด ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จำ�กัด นายกสมาคมศิษย์เก่ารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง และ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัย รามคำ�แหง • ผู้ก่อตั้ง, นายกสมาคม สมาคมผู้ค้าปลีกห้างสรรพสินค้า • ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • ป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการ ผู้นำ�เข้า และเป็นเจ้าของคนแรกที่ นำ�บาร์โค๊ดมาใช้ในประเทศไทยที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท โพสต์ พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)

158

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

รองประธานกรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด กรรมการ บริษัท โพสต์ อินเตอร์เนชั่นแนล มีเดีย จำ�กัด กรรมการ บริษัท โพสต์-เอซีพี จำ�กัด กรรมการ บริษัท โพสต์-ไอเอ็ม พลัส จำ�กัด กรรมการ สมาคมการค้าไทย อุตสาหกรรม เพื่อการท่องเที่ยว

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง

02 นายสุทธิชัย

จิราธิวัฒน์

อายุ 73 ปี การถือหุ้นในบริษัท : 57,764,473 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 4.28 ของทุนที่ ออกและเรียกชำ�ระแล้ว)

รองประธานกรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย • ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมโยธา Kingston College of Technology ประเทศอังกฤษ

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2549 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • ปี 2543 หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)

ประสบการณ์ • • • •

ประธานกรรมการบริหาร, ประธานอำ�นวยการฝ่ายการเงินและ บัญชี บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ บริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาร์ทเมนท์สโตร์ จำ�กัด ผู้จัดการสาขา ห้างเซ็นทรัล สาขาสีสม ผู้ช่วยจัดการสาขา ห้างเซ็นทรัล สาขาสีลม

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• ประธานกรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• ประธานกรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด


04 ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์

03 นายพิสิฐ

อายุ 61 ปี การถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี

การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง

กุศลาไสยานนท์

อายุ 72 ปี การถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน • • • •

คุณวุฒิทางการศึกษา

• นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต กฎหมายเอกชน จากมหาวิทยาลัยเมือง กอง ประเทศฝรั่งเศส • ประกาศนียบัตรทางกฏหมายอเมริกันจากมหาวิทยาลัย วิสคอนซิน (เมดิสัน), สหรัฐอเมริกา • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมศาสตร์ New South Wale University ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ The University of Sydney การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประเทศออสเตรเลีย ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรรุ่นเอกชน • ปี 2548 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP), รุ่นที่ 8 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

ประสบการณ์

กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ โรงแรมรอยัลออร์คิด เชอร์ราตัน ประธานกรรมการ โรงแรมแอร์พอร์ท โฮเต็ล

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• ประธานกรรมการ บริษัท ส้มบิน จำ�กัด • รองประธานกรรมการ บริษัทร่วมทุน สตางค์ จำ�กัด • กรรมการ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ดรั๊ก ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556

• • •

ทนายความและกรรมการผู้จัดการ บริษัท คูแดร์ บราเทอร์ส จำ�กัด ทนายความ สำ�นักงาน ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • • • • •

กรรมการ บริษัท ดีแอลเอ ไปเปอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท เคนท็อป (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท ฮุนได เมอร์ชานมารีน (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท เฟรเกรนท์พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด ผู้อำ�นวยการหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีปทุม (วิทยาคารพญาไท)

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 8/8 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

159

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 8/8 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 1/2 ครั้ง

ประสบการณ์

รายงานทางการเงิ น

• • • •

ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ

รายงานธุ ร กิ จ

คุณวุฒิทางการศึกษา

รายงานคณะกรรมการ

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายละเอียดกรรมการบริษัท (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้ รายงานคณะกรรมการ

05 นายวิเชียร เตชะไพบูลย์ อายุ 74 ปี การถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คุณวุฒิทางการศึกษา

รายงานธุ ร กิ จ

• • • •

ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 2 สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 1 ปริญญาบัตรสถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 10 (วตท. 10)

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2549 หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) • ปี 2547 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

ประสบการณ์

รายงานทางการเงิ น

• • • • • • • •

รองประธานกรรมการ ธนาคารศรีนคร จำ�กัด สมาชิกวุฒิสภา ที่ปรึกษาผู้แทนการค้าของไทย (ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล) ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา (พลเอกธีรเดช มีเพียร) ประธานกิตติมศักดิ์ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ หอการค้าไทย ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ประธานกรรมการ บริหารเงินกองทุนของมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ ประธานกรรมการ บริษัท โตเกียวมารีนศรีเมืองประกันภัย จำ�กัด

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน •

กรรมการ บริษัท เอเซียไฟเบอร์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• • • • • • • • •

ประธานกรรมการ บริษัท ภัทรสาธิต จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษัท ฟิล์มเมเนียพลัส จำ�กัด กรรมการ บริษัท เตชะไพบูลย์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท อุเทนแคปปิตอล จำ�กัด กรรมการ บริษัท ซีบี ริชาร์ดเอลริส (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไทยเฮ้าส์ซิ่ง ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท วรวัฒน์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท เศรษฐการ จำ�กัด กรรมการ บริษัท ประชานุเคราะห์ จำ�กัด

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 6/8 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 1/2 ครั้ง

06 นายครรชิต

บุนะจินดา

อายุ 46 ปี การถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล กรรมการตรวจสอบ คุณวุฒิทางการศึกษา

• Kellogg Graduate School Management Northwestern University ภายใต้โครงการแลกเปลี่ยน สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาการเงินและธุรกิจระหว่างประเทศ สถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (โยธา) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2552 หลักสูตร Director Luncheon Briefing (DLB), หลักสูตร Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR), หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA), หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) • ปี 2549 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) • ปี 2548 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) • ปี 2546 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

ประสบการณ์

• รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไพรเวทอิควิตี้ ประเทศไทย จำ�กัด (บริษัทในเครือลอมบาร์ดอินเวสเม้นต์ กรุ๊ป) • ผู้อำ�นวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวานิชธนกิจ หัวหน้าคณะทำ�งาน ด้านการควบรวมกิจการหัวหน้าคณะทำ�งานด้านการควบรวม กิจการ บริษัท หลักทรัพย์ เมอริล ลินซ์ ภัทร จำ�กัด (ปัจจุบัน เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำ�กัด) • กรรมการร่วม Asian Corporate Governance Association, Hong Kong

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรูวิชั่น จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)

160

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน - ไม่มี • ประธานกรรมการ บริษัท เอิร์ธแคร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ • กรรมการ บริษัท เดอะวินเทจคลับ จำ�กัด ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 8/8 ครั้ง ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และการกำ�กับดูแล 3/3 ครั้ง

07 นายสุทธิธรรม

จิราธิวัฒน์

การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และการกำ�กับดูแล 3/3 ครั้ง

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (Operations Research) Iona University สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) University of Maryland (College Park) สหรัฐอเมริกา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 13

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2546 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

ประสบการณ์

กรรมการ สภาหอการค้าไทย นายกสโมสร สโมสรโรตารี่ บางเขน ประธานกรรมการ บริษัท คอฟฟี่พาร์ทเนอร์ส จำ�กัด (Starbucks ประเทศไทย) นายกและผู้ก่อตั้งสมาคมศูนย์การค้าไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่, ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน)

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ • ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี Skidmore Collage ประเทศ สหรัฐอเมริกา

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • • • • • • • • • •

ปี 2552 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 22 ปี 2551 หลักสูตรกระบวนการผู้บริหารความยุติธรรมระดับสูง (บยส) รุ่นที่ 13 ปี 2547 ปริญญาบัตร สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 1 ปี 2553 หลักสูตร Advanced Audit Committee Program ปี 2552 หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM), หลักสูตร Monitoring of Quality of Financial Reporting (MFR) ปี 2550 หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA), หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and risk Management (MIR) ปี 2549 หลักสูตร Chief Financial Officer ปี 2548 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), หลักสูตร Audit Committee Program (ACP), หลักสูตร The Role of Chairman (RCP) ปี 2543 หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

161

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• • • • • •

กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล

รายงานทางการเงิ น

• • •

รายงานธุ ร กิ จ

08

อายุ 66 ปี การถือหุ้นในบริษัท : 16,016,654 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 1.19 ของทุนที่ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ ออกและเรียกชำ�ระแล้ว) อายุ 51 ปี กรรมการ การถือหุ้นในบริษัท : 29,263,374 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 2.17 ของทุนที่ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ออกและเรียกชำ�ระแล้ว) กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล

คุณวุฒิทางการศึกษา

รายงานคณะกรรมการ

• กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน)


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายละเอียดกรรมการบริษัท (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 11 ท่าน ดังนี้ รายงานคณะกรรมการ

ประสบการณ์ • • • • • • • •

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท มาลีสามพราน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท อินทรประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท อินเตอร์ไลฟ์ จอห์นแฮนคอคประกัน ชีวิต จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท เจเนอรัล คาร์ด เซอร์วิสเซส จำ�กัด กรรมการบริหาร บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด เจ้าหน้าที่ฝ่ายวาณิชธนกิจ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนชาติ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานธุ ร กิ จ

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • • •

ปี 2547 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2546 หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND), หลักสูตร Board and CEO Assessment ปี 2543 หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)

ประสบการณ์ • • • • • •

ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษัท บิ๊กซี ซูปเปอร์เซ็นเตอร์ จำ�กัด (มหาชน) ประธานสมาคมผู้ค้าปลีกไทย ประธานคณะกรรมการธุรกิจค้าปลีก หอการค้าไทย ที่ปรึกษา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กรรมการ, เหรัญญิก มูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อม

• กรรมการตรวจสอบ บริษัท โรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์ จำ�กัด (มหาชน) ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ, กรรมการบริหารความเสี่ยง และ ที่ปรึกษาคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน)

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

รายงานทางการเงิ น

• • • •

กรรมการ, กรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าที่บริหารการ เงิน บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI) คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • • • • •

รองประธานกรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จำ�กัด กรรมการ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำ�กัด กรรมการ บริษัท เดอะวินเทจ คลับ จำ�กัด กรรมการ มูลนิธิเตียง จิราธิวัฒน์

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556

สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 2/2 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และการกำ�กับดูแล 3/3 ครั้ง

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

09 นายสุทธิชาติ

จิราธิวัฒน์

10 นายสุทธิศักดิ์

จิราธิวัฒน์

อายุ 68 ปี การถือหุ้นในบริษัท : 22,055,095 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 1.63 ของทุนที่ ออกและเรียกชำ�ระแล้ว)

กรรมการ คุณวุฒิทางการศึกษา

อายุ 68 ปี • ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ St. John Fisher College การถือหุ้นในบริษัท : 19,609,854 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 1.45 ของทุนที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ออกและเรียกชำ�ระแล้ว)

กรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี สาขาบัญชี จาก เซ็นโยเซฟ คอลเลจ ประเทศ สหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 11

162

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ปี 2550 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), หลักสูตร Director Certification Program (DCP)


การอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เซ็นทรัลมาร์เก็ตติ้งกรุ๊ป จำ�กัด กรรมการบริษัทไทย (IOD) • กรรมการผู้จัดการ บริษัท เซ็นทรัลกาเมนท์แฟคทอรี่ จำ�กัด • กรรมการผูจ้ ัดการ บริษัท ปริญญ์อินเตอร์เทรด จำ�กัด

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• ประธานกรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

กรรมการ บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำ�กัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลกาเมนท์แฟคทอรี่ จำ�กัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด กรรมการ บริษัท ห้างสรรพสินค้าเชียงใหม่ จำ�กัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำ�กัด

ประสบการณ์ • • • • • •

รองประธานอาวุโสฝ่ายบริหารโครงการ รองประธานฝ่ายบริหารโครงการ ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารโครงการและจัดซื้อ ผู้จัดการแผนกส่งเสริมการขายและพัฒนาโครงการ ผู้ประสานงานแผนกอาหารและเครื่องดื่มโรงแรมและรีสอร์ทใน เครือเซ็นทารา ผู้ช่วยผู้จัดการห้องอาหาร Marriott Hotel & Resort, Park Ridge, NJ, USA

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน กิจการที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี

กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ • กรรมการบริษัทย่อย โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา ประชุมย่อยในรอบปี 2556 การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ/คณะกรรมการ ประชุมย่อยในรอบปี 2556

11 นายธีระยุทธ

จิราธิวัฒน์

อายุ 48 ปี การถือหุ้นในบริษัท : 5,875,506 หุ้น (คิดเป็น ร้อยละ 0.44 ของทุนที่ หมายเหตุ ออกและเรียกชำ�ระแล้ว) 1. ข้อมูลประกอบการพิจารณาแต่งตั้งกรรมการอิสระ

กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท สาขา Food, Hotel and Tourism Management, Rochester Institute of Technology, Rochester, USA ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2554 หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 15 ปี 2551 TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 1 ปี 2546 Program for Management Development, Executive Education Harvard Business School ปี 2540 หลักสูตรการเงินเพื่อการบริหาร ภาควิชาการธนาคาร และการเงิน คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปี 2539 หลักสูตร Mini MBA Program คณะพาณิชศาสตร์และ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปี 2536 หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันจิตวิทยาความ มั่นคง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

2. คณะกรรมการทุกท่านไม่มีกิจการอื่นที่อาจท�ำให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ต่อ บมจ. เซ็นทรัลพลาซา

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• • • • • •

การมีส่วนได้เสียกับบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน • ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษา ที่ได้รับเงินเดือนประจำ� • ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพ (เช่น ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย) • ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจที่มีนัยสำ�คัญอันอาจมีผลทำ�ให้ไม่สามารถทำ� หน้าที่ได้อย่างอิสระ (เช่น การซื้อ/ขาย วัตถุดิบ/บริการ การยืม/ให้กู้เงิน)

รายงานทางการเงิ น

การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 4/4 ครั้ง การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และการกำ�กับดูแล 3/3 ครั้ง

รายงานธุ ร กิ จ

• • • • •

• ปี 2545 Directors Certification of Program (DCP)

รายงานคณะกรรมการ

ประสบการณ์

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

163


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ผู้ถือหุ้น รายงานคณะกรรมการ

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท เตียง จิราธิวัฒน์ จ�ำกัด นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ คุณหญิงสุจิตรา มงคลกิติ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิลักษณ์ จิราธิวัฒน์ นายนิติ โอสถานุเคราะห์ THE BANK OF NEW YORK MELLON นายสุทธิพร จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายทศ จิราธิวัฒน์

ร้อยละของ จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด 67,523,190 5.00 57,764,473 4.28 45,850,794 3.40 44,728,146 3.31 37,690,648 2.79 36,129,511 2.68 31,211,100 2.31 29,480,726 2.18 29,263,374 2.17 28,976,874 2.15

หมายเหตุ : กลุ่มจิราธิวัฒน์มีการถือหุ้นในบริษัทรวมกันเป็นสัดส่วนร้อยละ 71.21 ของทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้ว รายชื่อกรรมการและผู้บริหารที่ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท รายชื่อกรรมการและผู้บริหารที่ถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายชื่อผู้ถือหุ้น นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักด์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นางสุพัตรา จิราธิวัฒน์ นายธีระเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ นายรณชิต มหัทธนะพฤทธิ์

ร้อยละของ จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนหุ้นทั้งหมด 57,764,473 4.28 44,728,146 3.31 29,263,374 2.17 22,055,095 1.63 19,609,854 1.45 16,016,654 1.19 11,819,576 0.88 6,261,506 0.46 5,875,506 0.44 158,831 0.01

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของก�ำไรสุทธิหลังภาษีเงินได้ เว้นแต่หากมีการขยายกิจการ ก็ อาจพิจารณางดจ่ายเงินปันผลหรือจ่ายเงินปันผลต�่ำกว่าร้อยละ 60 ของก�ำไรสุทธิ

164

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

1. 2.

4.

จ�ำนวน (บาท) 55,000 42,000 27,500 23,500

รายงานธุ ร กิ จ

3.

ประเภทค่าตอบแทน ค่าตอบแทนประจ�ำไตรมาส (บาท/ไตรมาส) - ประธานกรรมการ - กรรมการ ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ

27,500 25,000 25,000 20,000

5. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแลกิจการ (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ

25,000 20,000

ต�ำแหน่ง

การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง) คณะกรรมการ คณะ คณะ คณะกรรมการ สรรหาและ บริหารความ กรรมการ กรรมการ ก�ำหนด บริษัท ตรวจสอบ ค่าตอบแทน และก�เสีำกั่ยบง ดูแล

ค่าตอบแทน (บาท/ปี)

ประธานกรรมการ

4/4

330,000

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายพิสิฐ กุศลาไสยานนท์

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

4/4 4/4

262,000 262,000 192,500 20,000 262,000 50,000 175,000 262,000 150,000 20,000

ดร.ชาญวิทย์ สุวรรณะบุณย์ นายวิเชียร เตชะไพบูลย์

8/8 1/2 4/4 2/2 8/8 4/4 6/8 1/2

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

165

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

รายงานทางการเงิ น

ค่าตอบแทนรวมของคณะกรรมการซึ่งได้รับเงินค่าตอบแทนประจ�ำและค่าเบี้ยประชุมในปี 2556 รวมทั้งสิ้น 3,973,500 บาท ทั้งนี้รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมและค่าตอบแทนกรรมการปี 2556 มีดังนี้ รายชื่อกรรมการ

รายงานคณะกรรมการ

บริษทั ได้มนี โยบายในการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการอย่างเป็นธรรมและสมเหตุสมผล โดยต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยค�ำนึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผลการด�ำเนินงานของบริษัท และได้มีการเปรียบเทียบ กับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ค่าตอบแทนรวมที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 มีวงเงินไม่เกิน 7,000,000 บาท มีราย ละเอียดดังนี้


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

รายชื่อกรรมการ นายครรชิต บุนะจินดา

นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

รายงานธุ ร กิ จ

นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์

ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแล

รวมค่าตอบแทนทั้งสิ้น

การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง) คณะ คณะ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหารความ กรรมการ กรรมการ สรรหาและ ก� ำ หนด บริษัท ตรวจสอบ ค่าตอบแทน และก�เสีำกั่ยบง ดูแล 4/4 3/3 8/8 4/4 2/2 3/3 4/4 2/2 3/3 4/4 4/4 4/4 3/3

ค่าตอบแทน (บาท/ปี) 262,000 75,000 175,000 262,000 40,000 60,000 262,000 40,000 60,000 262,000 262,000 168,000 60,000

3,973,500

รายงานทางการเงิ น

หมายเหตุ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2556 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 ได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และการก�ำกับดูแลกิจการ โดยมีรายนาม ดังนี้ 1. นายครรชิต บุนะจินดา ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและการก�ำกับดูแลกิจการ 2. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ 3. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ 4. นายธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ กรรมการ 5. นายรณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ กรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหาร: ค่าตอบแทนผู้บริหาร 9 รายในปี 2556 ซึ่งได้รับเป็นเงินเดือน โบนัส และผลประโยชน์อื่นๆ เป็นเงินทั้งสิ้น 49,475,317 บาท ค่าตอบแทนอื่น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

(ก) เบี้ยเลี้ยงรับรองพิเศษ นอกจากค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน บริษัทได้ให้เบี้ยเลี้ยงรับรองพิเศษในการมาใช้บริการที่ห้องอาหารของโรงแรม แก่กรรมการบริษัทท่านละ 40,000 บาท โดยในปี 2556 ค่าเบี้ยเลี้ยงรับรองที่กรรมการทุกท่านใช้ไปจริงมีจ�ำนวน 347,762 บาท (ข) เงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษัทมีโครงการกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับพนักงานคนไทยทุกคนที่ท�ำงานครบ 6 เดือนมีสิทธิได้เข้าเป็นสมาชิกกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยอัตโนมัติ โดยบริษัทจะหักเงินดังกล่าวจากบัญชีเงินเดือนของพนักงานและบริษัทจะจ่ายสมทบเข้ากองทุนเท่ากับส่วนเงินสะสมของ พนักงานที่ถูกหัก

166

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี รายงานคณะกรรมการ

1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี 2. ค่าบริการอื่น ในปี 2556 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และ ในปี 2556 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ ส�ำนักงานสอบบัญชี บริษทั ย่อย ไม่มกี ารจ่ายค่าบริการอืน่ ๆ ให้กบั ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ทีผ่ สู้ อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ อบบัญชีและ ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาเป็น จ�ำนวนเงินรวม 7,062,500 บาท

การก�ำกับดูแลกิจการ ผิดชอบต่อสังคม เพือ่ เป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการได้มีการทบทวน และปรับปรุงหลักการก�ำกับดูแลกิจการให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนได้รับทราบจรรยาบรรณ และนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและถือปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งของ วินัย นอกจากนี้บริษัทยังมีการเผยแพร่และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กร ตระหนักในเรือ่ งจรรยาบรรณและแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี โดยได้เผยแพร่นโยบาย ดังกล่าวผ่านเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.centarahotelsresorts. com) การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ และป้ายประชาสัมพันธ์ โดยนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีประกอบด้วย 5 หมวด โดยมีรายละเอียดดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

คณะกรรมการบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) มีความ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะบริหารองค์กร โดยยึดหลักบรรษัท ภิบาลทีด่ แี ละตระหนักถึง ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้องค์กร มีศักยภาพในการแข่งขันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว นอกจากนี้การ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดียังช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน สถาบัน การเงิน พันธมิตรทางธุรกิจ และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อั น จะน� ำ ไปสู ่ ก ารเพิ่ ม มู ล ค่ า ของผู ้ ถื อ หุ ้ น และ ประโยชน์ทสี่ มดุลร่วมกันของผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับบริษทั คณะกรรมการ บริษัท จึงได้ก�ำหนดนโยบายกลไกการบริหาร การด�ำเนินงาน และ ระบบการก�ำกับดูแลบนหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ ยึดมัน่ ในความ โปร่งใส รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งยึดมั่นในความรับ

นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญในการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นทุก ราย ดังต่อไปนี้

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

167

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• ดูแลและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกรายไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ ได้รับ สิทธิพื้นฐานและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน และไม่กระท�ำการ ใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น รวมถึงการ จ�ำกัดโอกาสของผู้ถือหุ้นในการได้รับข้อมูลสารสนเทศของบริษัท และการเข้าร่วมประชุมของผูถ้ อื หุน้ ได้แก่ สิทธิในการจดทะเบียน เป็นเจ้าของหุ้นของบริษัท สิทธิในการเปลี่ยนมือหรือการโอนสิทธิ ในหุ้นของตน สิทธิในการได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่มีนัยส�ำคัญ ของบริษัทอย่างถูกต้อง สม�่ำเสมอ และเพียงพอ สิทธิในการเข้า ร่วมประชุมเพื่อออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท สิทธิใน การแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการบริษัท สิทธิในการพิจารณาค่า ตอบแทนของกรรมการบริษัท สิทธิในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและ ก�ำหนดค่าสอบบัญชี สิทธิในการรับส่วนแบ่งก�ำไรหรือเงินปันผล ของบริษัท สิทธิในการเข้าร่วมตัดสินใจและทราบถึงผลของการ ตัดสินใจของบริษัทที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยพื้นฐาน ของบริษัท

• เผยแพร่สารสนเทศ รายละเอียดการใช้สิทธิในเรื่องต่างๆผ่าน ระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของ บริษัท โดยค�ำนึงถึงความเท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสาร โดย ไม่กระท�ำการใดๆที่เป็นการจ�ำกัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศ ของบริษัท ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น 1. ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอเรื่องเข้าสู่ระเบียบวาระการ ประชุมผู้ถือหุ้น และสามารถเสนอชื่อบุคคลผู้มีคุณสมบัติเพื่อ รับการพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทได้ก่อนวันประชุม ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำ�หนด 2. หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบการพิจารณามี ข้อมูลที่สำ�คัญครบถ้วนและชัดเจน ประกอบด้วยรายละเอียด ระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ รวมทั้งแผนที่แสดงสถาน ที่ประชุม โดยจัดทำ�ทั้งในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3. เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบ การประชุมต่างๆ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 30 วัน ทางเว็บไซต์ของบริษัท (www.centarahotelsresorts. com) และมีการแจ้งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

รายงานทางการเงิ น

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การก�ำกับ ดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

4. จัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบ การประชุมต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่าง น้อย 7 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาเพียงพอในการศึกษาข้อมูล ประกอบการตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ 5. ผู้ถือหุ้นสามารถส่งคำ�ถามเกี่ยวกับวาระในการประชุมผู้ถือหุ้น ล่วงหน้ามาที่เลขานุการบริษัท วันประชุมผู้ถือหุ้น 6. กำ�หนดวัน เวลา สถานที่ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึง ถึงความสะดวกของผู้ถือหุ้นที่จะเข้าประชุม 7. นำ�เทคโนโลยีมาใช้กับการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งการลงทะเบียน ผู้ถือหุ้น การนับคะแนนและแสดงผล เพื่อให้การดำ�เนินการ ประชุมสามารถกระทำ�ได้รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ� 8. ในการประชุมผู้ถือหุ้น ประธานคณะกรรมการชุดต่างๆ เข้า ร่วมประชุมผู้ถือหุ้นครบทุกท่าน เพื่อตอบคำ�ถามในเรื่องที่ เกี่ยวข้องได้ ซึ่งประธานที่ประชุมเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุก คน มีโอกาสเท่าเทียมกันในการตรวจสอบการดำ�เนินงานของ บริษัท สอบถาม หรือแสดงความคิดเห็น 9. กรรมการ ผู้บริหารของบริษัท และผู้ตรวจสอบบัญชี เข้าร่วม การประชุมผู้ถือหุ้น และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถซักถาม แสดงความคิดเห็น และขอรับการชี้แจงจากคณะกรรมการ ผู้ บริหาร หรือผู้สอบบัญชีในวาระที่เกี่ยวข้อง 10. ชี้ แ จงให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบหลั ก เกณฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นการควบคุ ม การ ประชุมผู้ถือหุ้น การออกเสียงลงคะแนนและการนับคะแนน อย่างชัดเจนตั้งแต่เริ่มประชุม จัดให้มีการลงมติเป็นแต่ละ รายการในกรณีที่วาระนั้นมีหลายรายการ 11. เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการเป็นรายบุคคล และสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลง คะแนนเสียงในทุกวาระ 12. บริษัทให้สิทธิผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุมผู้ถือหุ้นภายหลังเริ่มการ ประชุมแล้วมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในระเบียบวาระที่อยู่ ระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ 13. ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถออก เสียงลงคะแนนโดยการมอบฉันทะให้กรรมการอิสระของบริษัท หรื อ บุ ค คลอื่ น ที่ ผู้ ถื อ หุ้ น เห็ น สมควรเข้ า ร่ ว มประชุ ม และลง คะแนนเสียงแทนได้ 14. ส่งเสริมให้บริษัทจัดให้มีบุคคลที่เป็นอิสระเป็นผู้ตรวจนับหรือ ตรวจสอบคะแนนเสียงในการประชุมสามัญและวิสามัญผู้ถือ หุ้น และเปิดเผยให้ที่ประชุมทราบอย่างชัดเจนและโปร่งใส พร้อมบันทึกไว้ในรายงานการประชุม 15. ไม่เพิ่มวาระการประชุมนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในหนังสือเชิญ ประชุมผู้ถือหุ้น หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลที่สำ�คัญ โดยไม่แจ้งให้ ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

168

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

หลังการประชุมผู้ถือหุ้น 16. เปิดเผยให้สาธารณชนทราบถึงผลการลงคะแนนของแต่ละ วาระ และมติที่การประชุมสามัญและวิสามัญผู้ถือหุ้น ผ่าน ระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ website ของบริษัทในวันทำ�การถัดไป 17. เผยแพร่บันทึกภาพการประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะสื่อวีดีทัศน์ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท 18. จัดทำ�รายงานการประชุมที่มีสาระสำ�คัญครบถ้วน ควรบันทึก การชี้แจงขั้นตอนการลงคะแนน และวิธีการแสดงผลคะแนน ให้ที่ประชุมทราบก่อนจะดำ�เนินการประชุม รวมทั้งบันทึกราย ชื่อกรรมการผู้เข้าร่วมประชุมและกรรมการที่ลาประชุมด้วย เพื่อจัดส่งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่บน เว็บไซต์บริษัทภายใน 14 วันนับแต่วันประชุม

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย โดยไม่คำ� นึงถึง เพศ อายุ สีผวิ เชือ้ ชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชือ่ ความคิดเห็นทางการเมือง ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายทัง้ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่และผูถ้ อื หุน้ รายย่อย ควรได้รบั การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม ไม่แสดงความเอนเอียงกับผูถ้ อื หุน้ กลุม่ ใดกลุ่มหนึ่งโดยการให้สารสนเทศที่ยังไม่เปิดเผย โดยบริษัทมีนโยบาย ในการก�ำกับดูแล เพือ่ ปกป้องสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ อย่างเสมอภาค และยุติธรรม สร้างความมั่นใจในการลงทุนกับบริษัทดังนี้ 1. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ • คณะกรรมการบริษัทกำ�กับดูแลได้กำ�หนดให้มีนโยบายที่ใช้ ในการควบคุมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท และ การใช้ข้อมูลภายใน เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและยุติธรรม ต่อผู้ถือหุ้นทุกราย และป้องกันมิให้กรรมการและผู้บริหารที่ เกี่ยวข้องซื้อขายหลักทรัพย์และหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้ อื่นในทางมิชอบ 1.1 การถือหลักทรัพย์ของบริษัท • ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผู้บริหารระดับสูง จะต้องรายงาน การถือหลักทรัพย์เมื่อแรกเข้ารับตำ�แหน่งและรายงานทุก ครั้งเมื่อมีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทำ�การ ต่อ ก.ล.ต. และให้กรรมการทุกคนและผู้บริหาร มีหน้าที่ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย โดยจัดส่ง รายงานดังกล่าวให้แก่คณะกรรมการเป็นประจำ� รวมทั้งมี การเปิดเผยในรายงานประจำ�ปี • ในกรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ มีการ ซื้อ ขาย โอน หรือ รับโอน หลักทรัพย์ของบริษัท จะต้องจัดทำ�และเปิดเผย รายงานการถือหลักทรัพย์ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการ ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อหน่วยงานกำ�กับดูแลให้รับ ทราบตามเกณฑ์ที่กำ�หนด


บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

169

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

• ห้ามประกอบหรือมีส่วนร่วมในธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัท หลีก เลี่ยงการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกับตนเองหรือบุคคล/นิติบุคคล ที่เกี่ยวข้อง ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ บริษัท • คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ดูแลให้บริษัทมีการปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยง กัน ตามที่กฎหมายหรือหน่วยงานกำ�กับดูแลกำ�หนดไว้อย่าง เคร่งครัด • ในกรณีที่มีความจำ�เป็นต้องทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการ นั้ น จะต้ อ งเป็ น ไปตามเงื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปตามหลั ก การที่ คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม เปรียบเสมือนการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก และคำ�นึงถึง ประโยชน์สูงสุดของบริษัท • กรรมการที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย จะต้ อ งไม่ มี ส่ ว นในการพิ จ ารณา รายการที่ตนมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ในกรณีที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขการ ค้าทั่วไปตามหลักการที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ซึ่งอาจก่อ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต้องผ่านการสอบทาน และให้ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ ก่อนนำ�เสนอ

• ผู้ถือหุ้น: บริษัทมุ่งมั่นเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในสร้าง การเติบโตของธุรกิจและองค์กรอย่างมีเถียรภาพ รวมถึงการ เติบโตของมูลค่าบริษัทอย่างยั่งยืน มีการดำ�เนินการเปิดเผย ข้อมูลที่ถูกต้องและโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ยังส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตนอันเป็นสิทธิขั้นพื้น ฐานของผู้ถือหุ้น ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทจากผู้ถือหุ้น • พนักงาน: บริษัทถือว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีค่า และเป็น ปัจจัยสำ�คัญที่ช่วยขับเคลื่อนบริษัท ให้ก้าวหน้าและประสบ ความสำ�เร็จ บริษัทมุ่งมั่นที่จะดูแลและปฏิบัติต่อพนักงาน อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม ทั้งในด้านโอกาสในหน้าที่การ งาน ผลตอบแทน การพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการควบคุม ดูแลสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน โดยไม่เอาเปรียบในการ ทำ�สัญญาจ้างงาน มีการกำ�หนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม มี การฝึกอบรม และให้การศึกษาเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มศักยภาพของ บุคลากร พนักงานทุกคนควรได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง • เจ้าหนี้: บริษัทกำ�หนดวิธีการและแนวปฏิบัติในการไม่ละเมิด สิทธิของเจ้าหนี้ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่าง เคร่งครัด ควบคุมให้มีการชำ�ระคืนเงินกู้และดอกเบี้ยให้กับเจ้า หนี้เงินกู้ยืมทุกประเภทอย่างครบถ้วนตามกำ�หนดเวลา และ ปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลงอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ จะไม่ดำ�เนินการใดๆ ที่เป็นการทุจริตต่อเจ้าหนี้ทุก ราย • ลูกค้า: บริษัทมุ่งเน้นในการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ ลูกค้า โดยเอาใจใส่ดูแลและรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการ แก่ลูกค้าตามมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ รักษาความลับลูกค้า ไม่ ทำ�การเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าหากมิได้รับการอนุญาตจาก ลูกค้า บริษัทมีระบบและหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่รับข้อร้องเรียน ของลูกค้า มีแนวทางในการพิจารณา เพื่อเร่งดำ�เนินการหาข้อ ยุติด้วยความเป็นธรรมและแก้ไขข้อร้องเรียนดังกล่าวโดยเร็ว ที่สุด • คู่แข่ง: บริษัทปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี รักษา

รายงานทางการเงิ น

บริษทั มีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต เปิด กว้าง โปร่งใส และเป็นธรรม โดยก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ปฏิบัติดังนี้

บริษัทมีการก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม โดย เฉพาะเรือ่ งทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจโดยตรงให้ครบ ถ้วน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียทุกฝ่าย มั่นใจว่าการ ประกอบธุรกิจของบริษัทได้ค�ำนึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและ สังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้จัดท�ำข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับ จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและพนักงาน เพื่อ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องยึดถือเป็นแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจ ของบริษทั ด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต และเทีย่ งธรรม ทัง้ การปฏิบตั ิ ต่อบริษทั และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ โดยบริษทั ได้ให้ความส�ำคัญ ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนี้

รายงานธุ ร กิ จ

2. การก�ำกับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์

ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

รายงานคณะกรรมการ

• เพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องไม่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลัก ทรัพย์ของบริษัทในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการเปิดเผย งบการเงินแก่สาธารณชน 1.2 การควบคุมเกี่ยวกับข้อมูลภายใน • การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันเพื่อจุดประสงค์ในการทำ�งาน ต้องอยู่ในกรอบของหน้าที่และความรับผิดชอบเฉพาะที่ได้ รับมอบหมายหรืออนุญาตเท่านั้น ทั้งนี้พนักงานอื่นจะไม่ได้ รับอนุญาตให้สื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหรือข้อมูลบริษัท เป็นการส่วนตัว • กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้องไม่ใช้ข้อมูล ภายในของบริษัทที่มีสาระสำ�คัญ และยังไม่ได้เปิดเผย สารสนเทศต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเองและผู้ อื่น และยึดถือปฏิบัติตามนโยบายการเก็บรักษาและการใช้ ข้อมูลภายในที่บริษัทกำ�หนดไว้อย่างเคร่งครัด • กำ�หนดแนวทางในการเก็บรักษา และป้องกันการใช้ข้อมูล ภายในเป็นลายลักษณ์อักษร และแจ้งแนวทางดังกล่าวให้ ทุกคนในองค์กรถือปฏิบัติ


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การก�ำกับ ดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ

บรรทัดฐานข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขัน และจะไม่แสวงหา ข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางธุรกิจด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต หรือไม่ชอบธรรม ตลอดจนไม่ทำ�ลายชื่อเสียงทางธุรกิจของคู่ แข่งโดยการกล่าวหาในทางร้าย • สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม: บริษัทยึดมั่นในการดำ�เนิน ธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรม และปฏิบัติตามกฎหมาย และ/ หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ดูแลป้องกันมิให้การดำ�เนินงาน ของบริษัทก่อให้เกิดความเสียหายต่อคุณภาพชีวิตของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม สร้างปฏิสัมพันธ์อันดีกับชุมชนที่สถาน ประกอบการของบริษัทตั้งอยู่ สนับสนุนโครงการและกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมอย่างสม่ำ�เสมอ • ภาครัฐ: ให้ความร่วมมือและสนับสนุนนโยบายภาครัฐเพื่อผล ประโยชน์ของประเทศชาติภายใต้กฎหมายและหลักเกณฑ์ที่ เกี่ยวข้อง และเข้าโครงการหรือแนวทางในการต่อต้านการ ทุจริตการคอรัปชั่น รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริม และปลูกฝังให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามกฎหมาย และ ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

รายงานทางการเงิ น

นโยบายด้านความปลอดภัยสารสนเทศ • การใช้งานระบบสารสนเทศจะต้องเป็นไปเพื่อการดำ�เนิน ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น โดยพนักงานทุกคน มี ห น้ า ที่ ที่ จ ะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามนโยบายความปลอดภั ย สารสนเทศ รวมถึงกฏหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พนักงานจะต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มี ลิขสิทธิ์ที่ถูกต้อง นอกจากนี้ พนักงานทุกคนจะต้องไม่ใช้ สื่ออินเตอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมอันดีหรือ ขัดต่อกฏหมายและนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง นโยบายเคารพกฏหมายและสิทธิมนุษยชน • บริษัทให้การสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิมนุษย ชน ให้ความเคารพนับถือและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุก ฝ่ายด้วยความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติไม่แบ่งแยกเชื้อ ชาติ ศาสนา อายุ เพศ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

170

นโยบายด้านสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม • บริษัทมีนโยบายที่จะสื่อสารสร้างความเข้าใจที่ดีภายใน องค์กรในด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชนและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงทำ�การ ประชาสัมพันธ์แนวทางและนโยบายความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมต่อบุคคลภายนอกเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์และทัศนคติที่ดีเพื่อสนับสนุนการดำ�เนิน การของบริษัท เช่น การรับนักศึกษาวิชาการโรงแรมจาก สถาบันการศึกษาต่างๆเข้าฝึกงานกับโรงแรมและรีสอร์ท ในเครือเซ็นทาราเพื่อเป็นการสร้างโอกาสให้กับนักศึกษา นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้มีการพัฒนาโครงการช่วยเหลือ ชุมชนแบบครบวงจรในการสร้างงาน สร้างอาชีพให้ สามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

นอกจากนี้บริษัทยังได้มุ่งมั่นดำ�เนินการให้สอดคล้องกับ ข้อกำ�หนดกฏหมายและข้อกำ�หนดอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับ ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร มีการทบทวน ติดตามและประเมินผลด้านสิ่งแวดล้อมจากบริการของ บริษัทในการลดภาระให้กับสิ่งแวดล้อม โดยมีการสร้าง จิตสำ�นึกให้กับพนักงานทุกคนเพื่อให้มีความเข้าใจใน หน้าที่และบทบาทความรับผิดชอบในการมุ่งมั่นในการที่ จะรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการต่อต้านการทุจริตและทุจริต คอร์รัปชั่น • บริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินการนโยบายการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น โดยในปี 2555 บริษัทได้เข้าร่วมแสดง เจตนารมณ์ในโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition) รวมทั้งได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับการ ต่อต้านคอร์รัปชั่นเพื่อพัฒนาความรู้อย่างสม่ำ�เสมอ • จัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการประเมินและการ บริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เพื่อ ป้องกันการทุจริต ตลอดจนการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสมของ บุคลากรในบริษัทและบุคลภายนอกที่เกี่ยวข้องของบริษัท • ส่งเสริมการสร้างค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริตและความรับ ผิดชอบให้เป็นวัฒนธรรมองค์กร รวมทั้งยกระดับความ ตระหนักแก่บุคลากรของบริษัทว่าการทุจริตเป็นสิ่งที่ไม่ ควรปฏิบัติ • จัดให้มีกลไกการรายงานสถานะทางการเงินที่โปร่งใส และถูกต้อง ภายใต้มาตรฐานการบัญชีที่ได้รับการยอมรับ ระดับสากล • จัดให้มีช่องทางในการสื่อสารให้พนักงานและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องสามารถที่จะแจ้งเบาะแส ข้อเสนอแนะหรือร้อง เรียนกรณีเกี่ยวกับการทุจริต โดยมีมาตรการคุ้มครอง สิทธิและความปลอดภัยของผู้แจ้งเบาะแส • กำ�หนดให้มีมาตรการป้องกันการมอบหรือรับของกำ�นัล ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด การเลี้ยงรับรองหรือค่าใช้ จ่ายที่เกินขอบเขตจำ�กัด ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ บริษัทหรือเป็นการฝ่าฝืนกฏหมายในประเทศที่เกี่ยวข้อง • กำ�หนดให้มีมาตรการป้องกันการติดสินบนทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะกระทำ�ไปเพื่ออำ�นวยความสะดวกหรือเพื่อความ สัมพันธ์ในการดำ�เนินธุรกิจทุกชนิด ไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อม • การจัดซื้อจัดจ้างกับภาครัฐและภาครัฐวิสาหกิจทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ต้องดำ�เนินไปอย่างโปร่งใส เป็นธรรม ภายใต้กฏระเบียบและขั้นตอนปฏิบัติที่ถูกต้อง


กรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆมีข้อสงสัยหรือพบเห็นการก ระทำ�ที่น่าสงสัยว่าจะมีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ หรือจรรยาบรรณทางธุรกิจ สามารถแจ้ง เบาะแสหรือร้องเรียนพร้อมส่งรายละเอียดหลักฐานต่างๆได้ที่

สำ�หรับบุคคลที่แจ้งเบาะแสจะได้รับการคุ้มครองสิทธิตาม กฎหมาย ทั้งนี้ในปี 2556 บริษัทไม่มีข้อพิพาทใดๆที่มีนัย สำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

171

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

รายงานทางการเงิ น

1. การเปิดเผยข้อมูล บริษัทให้ความสำ�คัญในการสื่อสารอย่างเปิดเผย ถูกต้อง ครบ ถ้วน ตรงเวลา และสม่ำ�เสมอ ไม่เลือกปฏิบัติต่อข้อมูลทั้งเชิง บวกและเชิงลบ การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท เป็นไปตามหลัก เกณฑ์และข้อกำ�หนดการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การเปิดเผยข้อมูลทางการเงินและ ข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ มีดังนี้ • ให้ ค วามสำ�คั ญ ต่ อ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน โปร่งใส ทั่วถึงและทันเวลาทั้งข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่ไม่ใช่การเงิน เพื่อให้นักลงทุนและผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ายมีข้อมูลที่เชื่อถือได้และเพียงพอประกอบการ ตัดสินใจอย่างสม่ำ�เสมอ • เผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของบริ ษั ท ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบัน นักวิเคราะห์และ บุ ค คลทั่ ว ไปทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศอย่ า งเท่ า เทียม เป็นธรรมและทั่วถึงผ่านหลายช่องทางทางการ สื่อสารเช่น เว็บไซต์ของบริษัท ระบบการแจ้งข่าวผ่าน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การแถลงผลประกอบ การประจำ�ไตรมาส การแถลงแผนงานในการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัท รายงานประจำ�ปี เป็นต้น • ข้อมูลที่สำ�คัญที่มีการเปิดเผยต่อสาธารณชน อาทิ แบบ แสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงาน

รายงานธุ ร กิ จ

คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำ�กัด (มหาชน) 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ประจำ�ปี (56-2) ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือ หุ้นรายใหญ่และสิทธิในการออกเสียง ข้อมูลเกี่ยวกับ กรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ สารสนเทศ แจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นโยบายการจ่าย เงินปันผล นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ กิจกรรมและแผนการ ดำ�เนินงานต่าง ๆของบริษัท เป็นต้น 2. ผู้มีหน้าที่ในการเปิดเผยข้อมูล • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือผู้ที่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารมอบหมายให้เป็นผู้ดำ�เนินการเปิดเผยข้อมูลของ บริษัทโดยต้องยึดถือหลักการด้านความถูกต้อง ครบถ้วน ทันต่อเวลาและเท่าเทียมกัน • เลขานุการบริษัทรับผิดชอบในการเปิดเผยสารสนเทศที่ สำ�คัญต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ผู้ ถือหุ้น และนักลงทุน • ผู้บริหารระดับสูงในสายงานทางการเงินและหน่วยงาน ลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบในการให้ข้อมูลและตอบข้อซัก ถามของผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์และ บุคคลทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน ลักษณะการประกอบธุรกิจ นโยบายบริษัท แผนงานและ การลงทุน โครงการระหว่างการพัฒนา โครงสร้างการ ถือหุ้น ปัจจัยที่อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผลการ ดำ�เนินงานที่สำ�คัญ • ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในสายงานการตลาดและหน่ วยงาน ประชาสัมพันธ์ รับผิดชอบในการให้ข้อมูลและตอบข้อ ซักถามของสื่อมวลชนและบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับแผนการ ตลาดและการจั ด กิ จ กรรมทางการตลาดของบริ ษั ท นอกจากนี้ ใ นกรณี ที่ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ สำ�คั ญ กั บ บริ ษั ท หน่วยงานประชาสัมพันธ์จะต้องประสานกับหน่วยงาน เจ้าของข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง เพื่อชี้แจงและตอบข้อ ซักถามของสื่อมวลชนภายใต้ขอบเขตที่ได้รับมอบหมาย • ผู้ที่ไม่มีหน้าที่รับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท หรื อ ไม่ ใ ช่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร ห้ามเปิดเผยข้อมูลภายในที่อาจมีผลกระทบต่อ ชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของบริษัท รวมถึงข้อมูลที่อาจมี ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาและปริมาณการ ซื้อขายหลักทรัพย์บริษัท

รายงานคณะกรรมการ

การรับแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน บริษัทจัดให้มีการรับแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการกระทำ� ผิดกฎหมาย หรือพฤติกรรมที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตหรือ ประพฤติมิชอบของบุคลากร ทั้งจากพนักงานและผู้มีส่วนได้ เสีย เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการสอดส่องดูแลผล ประโยชน์ของบริษัทได้อย่างมีประสิทธิภาพ


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การก�ำกับ ดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

3. ผู้สอบบัญชีและการจัดท�ำรายการทางการเงิน

รายงานธุ ร กิ จ

ข้อมูลบริษัทได้ทโี่ ทรศัพท์ 66(0) 2769-1234 ต่อ 6640 หรือ e-mail address: siwichayali@chr.co.th สำ�หรับกิจกรรมในปี 2556 เจ้าหน้าที่ระดับสูงของบริษัทรวมถึง ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ดำ�เนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในรูป แบบต่างๆ แยกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้ 1. การจั ด กิ จ กรรมบริ ษั ท จดทะเบี ย นพบนั ก ลงทุ น ร่ ว มกั บ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Opportunity day) ไตรมาสละครั้ง เพื่อแถลงผลการดำ�เนินงานรายไตรมาส 2. การเข้ า พบผู้ บ ริ ห ารและเจ้ า หน้ า ที่ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ โ ดย การนัดหมายจากนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เพื่อ สอบถามข้อมูลบริษัท (Company Visit) จำ�นวน 70 ครั้ง 3. การจัดพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์กลุ่มย่อยจำ�นวน 4 ครั้ง 4. การสัมภาษณ์ และประชุมทางโทรศัพท์ จำ�นวน 469 ครั้ง 5. การเดินทางพบปะนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Road Show) จำ�นวน 15 ครั้ง

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีที่มีความเป็นอิสระ มีความรู้ความ ชำ�นาญและมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กำ�หนด เพื่อให้มั่นใจแก่คณะ กรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นว่างบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย สะท้อนให้เห็นฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท ได้ตามความเป็นจริง คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญและรับ ผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งจัดทำ�ขึ้นตาม มาตรฐานและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมตามหลักความระมัดระวังถูกต้องและครบถ้วน เพื่อให้ สามารถสะท้อนผลการดำ�เนินงานของบริษัทตามความเป็นจริง คณะ กรรมการบริษัทจัดให้มีการรายงานผลการดำ�เนินงานและเปิดเผย ข้อมูลที่สำ�คัญอย่างโปร่งใสและเพียงพอโดยรายงานต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนนอกจากนี้ คณะ กรรมการบริษัทได้แต่งตั้งให้คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบ ทานความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของรายงานทางการเงิน รวม ทั้งระบบควบคุมภายในให้เป็นไปอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้ 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ มั่นใจว่างบการเงินของบริษัทสามารถเชื่อถือได้ องค์ประกอบของคณะกรรมการ 4. สารสนเทศที่มีนัยส�ำคัญ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 11 ท่าน • บริษทั จะไม่เปิดเผยหรือให้ข้อมูลทีม่ ีนยั ส�ำคัญ ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผย ประกอบด้วย ต่อสาธารณชนให้แก่พนักงานที่ไม่ได้รับอนุญาต รวมถึงนักลงทุน • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน นักวิเคราะห์ และสื่อมวลชน จนกว่าข้อมูลดังกล่าวจะได้รับการ • กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 5 ท่าน เปิดเผยออกสู่สาธารณชนแล้ว หากมีข้อมูลใดที่มิควรถูกเปิดเผย ได้เผยแพร่ออกไป บริษัทจะด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อ • กรรมการอิสระ 4 ท่าน สาธารณชนโดยทันที คณะอนุกรรมการ • บุคลากรของบริษัทมีหน้าที่รักษาข้อมูลภายใน ข้อมูลความลับ ของคูค่ า้ ข้อมูลความลับของลูกค้ารวมถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีร่ ว่ ม บริษัทมีการแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการ เพื่อช่วยในการ ด�ำเนินธุรกิจไว้เป็นความลับ โดยไม่น�ำข้อมูลที่ได้ล่วงรู้จากการ กำ�กับดูแลกิจการบริษัทดังนี้ ปฏิบัติหน้าที่ไปเผยแพร่หรือน�ำไปใช้แสวงหาประโยชน์ ตลอดจน 1. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระ จำ�นวน 4 ท่าน ทั้งนี้นายครรชิต บุนะจินดา เป็นกรรมการ ระมัดระวังการให้ข้อมูลข่าวสาร การแสดงความคิดเห็นใดๆ ซึ่ง อิสระที่มีความรู้ด้านบัญชีและการเงินจึงได้รับการแต่งตั้งให้ ตนเองไม่ได้มหี น้าทีห่ รือได้รบั มอบหมายให้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าว เป็นกรรมการตรวจสอบ นักลงทุนสัมพันธ์ คณะกรรมการตระหนักดีว่า ข้อมูลของบริษัททั้งที่เกี่ยวกับการเงิน 2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 5 ท่าน ทำ�หน้าที่กำ�หนดหลักเกณฑ์และ และที่ไม่ใช่การเงินล้วนมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน นโยบายในการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนที่จำ�เป็นและ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียงของบริษัท จึงได้กำ�ชับให้ฝ่ายบริหาร เหมาะสมสำ�หรับคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุด ดำ�เนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลที่ครบถ้วน เชื่อถือ ย่อย และผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอแก่คณะกรรมการบริษัท ได้ สม่ำ�เสมอ และทันเวลา ซึ่งฝ่ายบริหารของบริษัทได้ให้ความ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ (แล้วแต่กรณี) สำ�คัญและยึดถือปฏิบัติมาโดยตลอด ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุน สัมพันธ์นั้น บริษัทได้จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์โดยเฉพาะ 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการกำ�กับดูแล ประกอบ ด้วยกรรมการจำ�นวน 5 ท่าน ทำ�หน้าที่ดังนี้ โดยได้มอบหมายให้รองประธานอาวุโสฝ่ายบริหารและการเงิน และคณะทำ�หน้าที่ติดต่อสื่อสารกับ ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ถือหุ้น นัก วิเคราะห์และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบ

172

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ดร. รณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ • รองประธานอาวุโสฝ่ายการเงินและ และเลขานุการบริษัท • 57 ปี • ปริญญาเอก การจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตรจากสมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • ผู้อำ�นวยการฝ่ายวางแผนและ บริหารการเงิน บมจ. ประสิทธิ์ พัฒนา • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

173

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ชื่อ – สกุล ตำ�แหน่ง บริหาร อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา การอบรมหลักสูตร ที่จัดโดยสมาคม ส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ ตำ�แหน่งอื่นในปัจจุบัน

รายงานทางการเงิ น

การแยกตำ�แหน่งประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทกำ�หนดให้ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เลือกตั้งมาจากกรรมการบริษัท และเป็นคนละบุคคลกันเสมอ โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่ด้านนโยบาย การติดตามประเมินผล และการบริหารงานออกจากกัน ประธานกรรมการมีภาวะผู้นำ� และบทบาทหลักในการดูแลให้การทำ�หน้าที่ของคณะกรรมการ เป็นอิสระจากฝ่ายผู้บริหาร กำ�หนดระเบียบวาระการประชุมตาม หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทำ�หน้าที่ประธานในที่ ประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้นอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการ สนับสนุนและผลักดันให้กรรมการทุกคนมีส่วนร่วมในการประชุม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เลขานุการบริษัท ของบริษัทคือ ดร. รณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบการณ์และมีคุณสมบัติ ที่เหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งดังกล่าว

รายงานธุ ร กิ จ

3.2 ด้านการกำ�กับดูแล กำ�หนดและทบทวนนโยบาย ข้อกำ�หนด และวิธีการปฏิบัติ งานให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กำ�หนด นโยบายและวางแผนเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรับ ผิดชอบต่อสังคม ประชุมติดตามความคืบหน้าของแผนงา นบรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งให้ข้อ แนะนำ�และการสนับสนุนที่จำ�เป็นแก่คณะทำ�งานบรรษัทภิ บาล ตรวจประเมินภายในด้วยเกณฑ์บรรษัทภิบาล เพื่อ กำ�หนดประเด็นที่ควรปรับปรุง เป็นตัวแทนบริษัทในการ สื่ อ สารและการดำ�เนิ น กิ จ กรรมด้ า นบรรษั ท ภิ บ าลทั้ ง กั บ ผู้ บริหาร พนักงานและหน่วยงานภายนอก

เลขานุการบริษัท บริษัทได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัท มีหน้าที่ดำ�เนินการดังนี้ 1. จัดเตรียมและจัดเก็บเอกสารของคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น ซึ่งได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ และผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น และรายงานประจำ�ปีของบริษัทรวมถึงงบการเงินรายไตรมาส ของบริษัท 2. จัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้ บริหารของบริษัท 3. แนะนำ�กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำ�งานและความรับผิด ชอบของกรรมการ 4. ดำ�เนินการอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท

รายงานคณะกรรมการ

3.1 ด้านการบริหารความเสี่ยง 1. หน้าที่พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ โครงสร้างการบริหาร ความเสี่ยงและดำ�เนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่าแผนกลยุทธ์ ที่นำ�เสนอมีความสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่บริษัท ยอมรับได้ และเป็นไปตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ เสีย 2. ให้ ก ารสนั บ สนุ น การบริ ห ารงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงระดับปฏิบัติการ 3. มี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผลถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวม 4. เข้าใจและสามารถประเมินความเสี่ยงที่อาจจะส่งผลก ระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรและสามารถ ทำ�ให้มั่นใจได้ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นได้รับการจัดการกับ ความเสี่ยงนั้น ๆ จนถึงระดับที่บริษัทยอมรับได้ 5. ให้คำ�แนะนำ�และให้ความเห็นชอบในการบริหารความ เสี่ยงขององค์กร


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

การก�ำกับ ดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

คณะกรรมการได้จัดให้มีมาตรการเพื่อดูแลอย่างรอบคอบเมื่อ มีรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีการกำ�หนด นโยบายและขั้ น ตอนการอนุ มั ติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ไว้ อ ย่ า ง ชัดเจนและถือปฎิบัติอย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการตรวจ สอบจะสอบทานและให้ความเห็นต่อการทำ�รายการระหว่างกัน ที่มีนัยสำ�คัญซึ่งไม่อยู่ในอำ�นาจการพิจารณาของคณะกรรมการ จัดการ และคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาความเหมาะสมอ ย่างรอบคอบ คำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำ�คัญ ซึ่ง คณะกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและงดออกเสียง ในการพิจารณาวาระดังกล่าว

รายงานธุ ร กิ จ

คณะกรรมการมีการกำ�หนดมาตรการในการเปิดเผยข้อมูลการมี ส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี โดยมีเลขานุการบริษัทเป็นผู้รวบรวมข้อมูลและ รายงานต่อคณะกรรมการ

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

174

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน

รายงานธุ ร กิ จ

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน บริ ษั ท ในฐานะที่ เ ป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยมาตั้งแต่ปี 2533 ได้ตระหนักดีถึงความจำ�เป็นในการเปิด เผยข้อมูลและการดำ�เนินการอย่างโปร่งใสในการทำ�รายการระหว่าง กันมาโดยตลอด ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจ สอบได้กำ�กับดูแลให้มีการทำ�รายการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวข้อง มีการกำ�หนดนโยบายการประกอบ ธุรกิจระหว่างกันที่ชัดเจน มีการพิจารณาราคาและเงื่อนไขให้เป็น ไปตามปกติธุรกิจ มีการสรุปรายการที่เกี่ยวโยงกันให้คณะกรรมการ ตรวจสอบทราบ การขออนุมัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สำ�นักงาน กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด และมีการเปิดเผย สารสนเทศต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�หรับรายการระหว่างกันที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต บริษัทได้ กำ�หนดให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทเป็นผู้พิจารณาและให้ ความเห็นต่อรายการดังกล่าว ซึ่งรายการระหว่างกันในอนาคตขึ้นอยู่ กับเหตุผลและความจำ�เป็นของบริษัท การรับและจ่ายค่าตอบแทน ระหว่างกันจะต้องเป็นไปตามราคาตลาด ยุติธรรม และโปร่งใส

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์อื่นใดในอนาคต บริษัทจะได้ให้คณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจำ�เป็นและความเหมาะสม ของรายการนั้น ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบไม่มีความชำ�นาญใน การพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญ อิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัท เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการ ระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะ กรรมการตรวจสอบ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ในการเปิดเผยรายการระหว่างกันนั้น บริษัทจะปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งให้เป็นไปตามมาตรฐานการ บัญชีเรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง

รายงานคณะกรรมการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีการทำ�รายการ ระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ซึ่งมีลักษณะรายการเป็นปกติและเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไป และมีการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกันตามอำ�นาจ ดำ�เนินการของบริษัท โดยมีรายละเอียดตามแนบ

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทมีนโยบายในการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ เฉพาะในส่วนที่เป็นการประกอบธุรกิจตามปกติของ บริษัท โดยให้มีการกำ�หนดเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการ ดำ�เนินการค้าปกติ และเป็นราคาซึ่งไม่มีความแตกต่างจากบุคคล ภายนอก ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2546 ซึ่งได้ประชุมเมื่อวัน ที่ 13 พฤศจิกายน 2546 ที่ประชุมได้กำ�หนดนโยบายและมาตรการ อนุมัติรายการระหว่างกัน โดยให้เป็นไปตามขั้นตอนการอนุมัติตาม ปกติ แต่กรรมการหรือผู้บริหารจะต้องไม่ทำ�การอนุมัติรายการที่ บริษัทกระทำ�กับตนเองหรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับตนเอง หาก มีรายการดังกล่าวเกิดขึ้นจะต้องเปิดเผยรายการดังกล่าวต่อคณะ กรรมการบริษัทเพื่อทำ�การพิจารณา และจะไม่มีสิทธิออกเสียงในการ อนุมัติทำ�รายการนั้นๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทจะต้องปฏิบัติให้เป็น ไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมี

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

175


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะรายการ

1. กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 มี บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา และบริษัทย่อย เป็นผู้ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 50% ของหน่วยลงทุนทั้งหมด (หรือ 100% ของหน่วย ลงทุนประเภท ค [Owner Type] ) โดยกลุ่มจิราธิวัฒน์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

เหตุผลและความจ�ำเป็น

รายงานธุ ร กิ จ

เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2548 บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด (“CGCW”) ได้ท�ำสัญญาเช่าช่วงที่ดินและอาคารในส่วนของ โรงแรมจากกองทุนรวมธุรกิจไทย 4 เพื่อพัฒนาและใช้ประกอบ การด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับโรงแรมหรือธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง โดย CGCW ต้องจ่ายค่าเช่าล่วงหน้าและค่าเช่ารายปีให้แก่กองทุน ตลอดอายุของสัญญาซึ่งสิ้นสุดวันที่ 22 ธันวาคม 2575 เป็น จ�ำนวนเงินประมาณ 1,188.75 ล้านบาท

15.75

ที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2547 ได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า การตกลงเข้าท�ำรายการนีม้ คี วามสมเหตุ ผลเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัท และ ได้ตกลงท�ำรายการในราคาที่ยุติธรรม แล้ว

บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าเซ็นทรัล เวิลด์ จาก บจ.เซ็นทรัลเวิลด์ (เดิมชื่อ บจ.เวิลด์ เทรดพลาซ่า) เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่มโดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือนในส่วนของค่าเช่าได้ จ่ายให้กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ในอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

23.90

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด (“CSH”) ได้ท�ำสัญญาให้ เช่าและให้บริการกับบริษทั สรรพสินค้าเซ็นทรัล(สาขาหาดใหญ่) มีก�ำหนดเวลา 30 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 โดย บริษัท สรรพสินค้า เซ็นทรัล จ�ำกัดได้ตกลงเช่าส่วนหนึ่งของ อาคารของ CSH เพื่อใช้ประกอบกิจการศูนย์การค้า และ CSH ได้รับค่าเช่าและ ค่าบริการรับล่วงหน้า

41.02

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดยมี สั ญ ญาเช่ า ที่ มี ก� ำ หนดระยะเวลาและ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อ สินค้าจากบจ.สรรพสินค้าเซ็นทรัล เพื่อให้บริการแก่ ลูกค้า

0.56

เห็นว่า ผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงซื้อขายกันเป็นราคาตลาด รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

บริษัทย่อยคือ บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพื้นที่ใน ศูนย์การค้าจาก บจ.สรรพสินค้าเซ็นทรัล เพื่อขายอาหาร และ เครื่องดื่ม

25.01

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการเช่าร้านค้า อาหาร และเครื่องดื่มให้กับ บจ.สรรพสินค้าเซ็นทรัล โดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด

0.64

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดยมี สั ญ ญาเช่ า ที่ มี ก� ำ หนดระยะเวลาและ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดยมี สั ญ ญาเช่ า ที่ มี ก� ำ หนดระยะเวลาและ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

2. Central Department Store Co., Ltd. ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

176

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


TRANSACTION DETAILS

FACTS AND REASONS

3. บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

24.37

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดยมี สั ญ ญาเช่ า ที่ มี ก� ำ หนดระยะเวลาและ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการเช่าร้านค้า อาหารและ เครื่องดื่มให้กับ บจ. เตียง จิราธิวัฒน์ โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด

0.87

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและ บจ. โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ เช่าพื้นที่อาคารส�ำนักงาน อาคารส�ำหรับการประชุมและจัด นิทรรศการ และอาคารที่จอดรถจาก บมจ.เซ็นทรัลพัฒนาเพื่อใช้ในการให้ บริการแก่ลูกค้า โรงแรม และบจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุป๊ เช่าพืน้ ทีศ่ นู ย์การค้า เพื่อใช้ในการขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดอัตราค่าเช่า และค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือตามอัตราร้อยละ ของยอดขาย โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตรา ค่าเช่าที่ชัดเจน

66.92

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเป็นอัตรา เดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป

4. บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

2.25

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

5. บจ. เซ็นทรัล ออนไลน์ ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จาก บจ.เซ็นทรัล ออนไลน์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

2.29 10.28

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท

รายงานทางการเงิ น

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการเช่าร้านค้า อาหารและ เครื่องดื่มให้กับ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด

245.14

รายงานธุ ร กิ จ

บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ปเช่าพี้นที่ในอาคารเซ็นทรัลสีลม จาก บจ.เตียง จิราธิวัฒน์ เพื่อใช้เป็นที่ท�ำการส�ำนักงานใหญ่ โดยคิดอัตราค่าเช่าและค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน โดย มีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

รายงานคณะกรรมการ

RELATED COMPANIES

FOR THE YEAR 2013 (BAHT MILLION)

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

177


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะรายการ

6. บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

เหตุผลและความจ�ำเป็น

รายงานธุ ร กิ จ

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์เครือ่ งไฟฟ้าทีใ่ ช้ในร้านเช่น เครือ่ งบันทึกเงินสด, เครือ่ ง คิดเลขไฟฟ้า,อะไหล่และอุปกรณ์ฯลฯ จาก บจ.เซ็นทรัลเทรดดิง้ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

1.20

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท อัตราค่าเช่าเป็นราคายุติธรรม เหมาะ สมกับท�ำเลทีต่ งั้ เป็นอัตราเดียวกับทีผ่ ใู้ ห้ เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป

บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป (บริษัทย่อย) เช่าพื้นที่ จาก บจ.เซ็นทรัลเทรดดิ้ง เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งคิดอัตรา ค่าเช่าเหมาจ่ายต่อเดือนโดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

11.47

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการเช่าร้านค้า อาหารและ เครื่องดื่มให้กับ บจ. เซ็นทรัลเทรดดิ้ง โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด

0.48

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์ เช่น ล�ำโพง, กล้องถ่ายรูป, เครื่องเล่น DVD จาก บจ.เพาเวอร์บาย โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

1.35

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท

7. บจ. เพาเวอร์บาย

รายงานทางการเงิ น

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

8. Harng Central Department Store Co., Ltd. ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท อุปกรณ์ไฟฟ้า, เครื่องใช้ส�ำนักงานฯลฯ,บริการปรึกษาทางด้าน กฎหมายบริการข้อมูลทางธุรกิจและค�ำแนะน�ำต่างๆ และ เช่า พื้นที่ในศูนย์การค้า จาก บจ.ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ให้บริการ ห้องจัดเลีย้ งและบริการ ให้กับ บจ. ห้างเซ็นทรัล ดีพาทเมนท์สโตร์ โดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด

178

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

12.55 6.55 0.44

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท


ลักษณะรายการ

9. บจ. ออฟฟิซ คลับ (ไทย) ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษทั ย่อย ซือ้ สินค้าประเภท อุปกรณ์เครื่องเขียนและเครื่องใช้ส�ำนักงาน จาก บจ. ออฟฟิซ คลับ(ไทย) โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

0.95 3.02

เหตุผลและความจ�ำเป็น คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อบริการการ โฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์และซื้อหนังสือพิมพ์จาก บมจ.โพสต์ พับลิชซิ่ง เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโรงแรมและร้านอาหาร โดย คิดราคาในอัตราราคาตลาด - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

7.61 8.42

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด

5.54

บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุป๊ เช่าพีน้ ทีใ่ นท็อปส์ ซูเปอร์มาเก็ต จาก บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล เพื่อขายอาหาร และ เครื่องดื่ม โดยคิดค่าเช่าและบริการ ตามอัตราร้อยละของยอดขาย โดยมี สัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

2.57

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย ขายห้องพัก ให้เช่าและอ�ำนวยความสะดวกในการจัดประชุม จัดเตรียม อาหารและเครื่องดื่มให้กับ บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล โดยคิด ราคาในอัตราราคาตลาด

0.02

11. บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าราคาที่ตกลงซื้อขาย เป็นราคาตลาดทัว่ ไป และยุตธิ รรมอัตรา ค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับทีผ่ ใู้ ห้เช่า คิดกับลูกค้าทั่วไป

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

179

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

0.25

รายงานทางการเงิ น

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ขายห้องพัก และ อาหารและ เครื่องดื่มให้กับ บมจ.โพสต์ พับลิชซิ่ง โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

รายงานธุ ร กิ จ

10. บมจ.โพสต์ พับลิชซิ่ง

รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะรายการ

12. บจ.เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

เหตุผลและความจ�ำเป็น

รายงานธุ ร กิ จ

บมจ.โรงแรมเซ็ น ทรั ล พลาซา และบริ ษั ท ย่ อ ย ใช้ บ ริ ก าร สาธารณูปโภคจาก บจ.เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส โดยคิดราคา ในอัตราราคาตลาด

0.14

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าราคาทีต่ กลงค่าบริการเป็น ราคาตลาดทั่วไป และยุติธรรมอัตรา ค่าเช่าและค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป

บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในศูนย์การค้าจาก บจ.เซ็นทรัลเรียลตี้ เซอร์วิส เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม โดย คิดอัตราค่าเช่าและค่าบริการ ต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือตาม อัตราร้อยละของยอดขาย โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

1.34

บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในศูนย์การค้าเซ็นทรัล เวิลด์ จาก บจ.เซ็นทรัลเวิลด์ (เดิมชื่อ บจ. เวิลด์ เทรดพลาซ่า) เพื่อขายอาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดอัตราค่าเช่า และค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยมีสัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

23.12

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จัดหาอาหารและเครื่องดื่มให้กับ บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.10

บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป เช่าพี้นที่ในอาคารเซ็นทรัล บางนา จาก บจ.บางนา เซ็นทรัลพร็อพเพอตี้ เพื่อขายอาหาร และเครื่องดื่มโดยคิดเป็นค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า และคิดอัตราค่า เช่าและค่าบริการต่อตารางเมตรต่อเดือน โดยมีสัญญาเช่าที่ ก�ำหนดระยะเวลา และอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

17.06

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและ ค่าบริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะ สมกั บ ท� ำ เลที่ ตั้ ง และสิ่ ง อ� ำ นวยความ สะดวกเป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิด กับลูกค้าทั่วไป

บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุป๊ เช่าพืน้ ทีใ่ นศูนย์การค้าโรบินสัน จาก บมจ.ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน และบริษัทย่อย เพื่อขาย อาหารและเครื่องดื่ม

47.87

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าเป็น ราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเลที่ ตั้งเป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับ ลูกค้าทั่วไป

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา และบริษัทย่อย ขายห้องพัก ให้เช่าและอ�ำนวยความสะดวกในการจัดประชุม จัดเตรียม อาหารและเครื่องดื่มให้กับ บจ.เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล โดยคิด ราคาในอัตราราคาตลาด

0.00

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

13. บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่า บริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะสม กับท�ำเลทีต่ งั้ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก เป็นอัตราเดียว กับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้าทั่วไป คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

14. บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้

รายงานทางการเงิ น

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

15. บมจ. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

180

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

บมจ.โรงแรมเซ็ น ทรั ล พลาซาและบริ ษั ท ย่ อ ย ซื้ อ สิ น ค้ า จาก บจ.รอยัลปอร์ซเลน โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.02

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุป๊ ซือ้ บริการเกีย่ วกับการวางแผน ให้ค�ำปรึกษาและบริหารคลังสินค้า จาก บจ.เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่นโดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

1.11

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ให้บริการมีความ สามารถและประสบการณ์ที่เหมาะสม ราคาทีต่ กลงกันเป็นราคายุตธิ รรม และ การพิจารณาว่าจ้างเป็นไปตามระเบียบ ของบริษัท

16. บจ.รอยัลปอร์ซเลน ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

17. บจ.เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

Relationship: 1. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าประเภท วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในร้านอาหาร เช่น บันไดอลูมิเนียม รถเข็น , เครื่องเป่ามือ จาก บจ.ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล โดยคิดราคา ในอัตราราคาตลาด - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

0.26 2.31

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบตั ขิ องของการจัดซือ้ จัดจ้าง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท

รายงานธุ ร กิ จ

18. บจ. ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล

19. บมจ. บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ Relationship: 1. มีกรรมการร่วมกัน

451.98

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่าบริการ เป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับท�ำเล ที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโดยมี สั ญ ญาเช่ า ที่ มี ก� ำ หนดระยะเวลาและ อัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จัดหาอาหารและเครื่องดื่มให้กับ บมจ. บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

1.40

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่า อัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

รายงานทางการเงิ น

บจ.เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุป๊ เช่าพืน้ ทีใ่ นศูนย์การค้าบิก๊ ซี จาก บมจ.บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์และบริษัทย่อย เพื่อวางขายอาหาร และเครื่องดื่ม

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

181


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายงานธุ ร กิ จ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา ใช้บริการโทรศัพท์และสือ่ สารจาก บมจ.ทีที แอนด์ ที โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.19

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็นอัตรา เดียวกันกับอัตราที่ให้กับลูกค้าภายนอก รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าเกี่ยวกับ เครื่องเขียน จาก บจ.บีทูเอส โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.03

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบตั ขิ องของการจัดซือ้ จัดจ้าง รายการที่เกิดขึ้นมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บริษัท

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซ่า และบริษัทย่อยซื้อสินค้าจาก บจ.ซีอาร์ซี สปอร์ต เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าโดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด

0.03

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ ว มี ค วามเห็ น ว่ า ผู ้ ข ายจ� ำ หน่ า ย สินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุติธรรมและการสั่งซื้อเป็นไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ขายห้องพักให้กับ บจ.ซีอาร์ซี สปอร์ต โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.01

20. บมจ. ทีที แอนด์ ที ความสัมพันธ์ 1. มีกรรมการร่วมกัน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

21. บจ.บีทูเอส ความสัมพันธ์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

22. บจ.ซีอาร์ซี สปอร์ต ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

182

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


ลักษณะรายการ

23. บจ.เซ็นทรัล มาร์เก็ตติ้ง กรุ๊ป อินเตอร์เทรด ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ.เซ็นทรัล มาร์เก็ตติ้ง กรุ๊ป อินเตอร์เทรด โดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด - บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา - บจ. เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

0.06 0.91

เหตุผลและความจ�ำเป็น คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้ออาหารและ เครื่องดื่มจาก บจ.เซ็นทรัลฟู๊ดอเวนิว โดยคิดราคาในอัตรา ราคาตลาด

0.04

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ ว มี ค วามเห็ น ว่ า ผู ้ ข ายจ� ำ หน่ า ย สินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุติธรรมและการสั่งซื้อเป็นไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อยให้บริการอาหาร และเครื่องดื่มแก่ บจ. ซีจี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ โดยคิดราคาใน อัตราราคาตลาด

0.01

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็น ราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้บริการ คิดกับลูกค้าทั่วไป

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ให้บริหารห้อง พัก - จัดเลี้ยง แก่ บจ. เซ็นทรัลแอมบาสซีโฮเต็ล โดยคิดราคา ในอัตราราคาตลาด

0.21

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าบริการเป็น ราคายุติธรรม เช่นเดียวกับผู้ให้บริการ คิดกับลูกค้าทั่วไป

บมจ.โรงแรมเซ็ น ทรั ล พลาซาและบริ ษั ท ย่ อ ย ซื้ อ สิ น ค้ า จาก บมจ.ออฟฟิศเมท โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.21

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าผู้ขายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง

รายงานธุ ร กิ จ

24. บจ.เซ็นทรัลฟู๊ดอเวนิว

รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

25. บจ. ซีจี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์

26. บจ. เซ็นทรัลแอมบาสซีโฮเต็ล ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

183

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

27. บมจ.ออฟฟิศเมท

รายงานทางการเงิ น

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายการระหว่างกัน (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

รายงานธุ ร กิ จ

ลักษณะรายการ

มูลค่ารายการ ปี 2556 (ล้านบาท)

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ. ซี อาร์จี แมนูแฟตเจอริ่ง โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

0.32

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่า ผูข้ ายจ�ำหน่ายสินค้า คุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็นราคา ยุ ติ ธ รรมและการสั่ ง ซื้ อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษัทย่อย ซื้อสินค้าจาก บจ.ซีอาร์ซี ไทวัสดุ โดยคิดราคาในอัตราราคาตลาด

1.03

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ ว มี ค วามเห็ น ว่ า ผู ้ ข ายจ� ำ หน่ า ย สินค้าคุณภาพดี ราคาที่ตกลงกันเป็น ราคายุติธรรมและการสั่งซื้อเป็นไปตาม ระเบียบปฏิบัติของการจัดซื้อจัดจ้าง

บมจ. โรงแรมเซ็ น ทรั ล พลาซาและบริ ษั ท ย่ อ ย เช่ า พื้ น ที่ Consignment จาก บจ.ซีพีเอ็น พัทยา บีช เพื่อใช้ในการขาย อาหารและเครื่องดื่ม โดยคิดอัตราค่าเช่าและค่าบริการต่อตา รางเมตรต่อเดือน หรือตามอัตราร้อยละของยอดขาย โดยมี สัญญาเช่าที่ก�ำหนดระยะเวลาและอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน

3.43

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเช่าและค่า บริการเป็นราคายุติธรรม เหมาะสมกับ ท�ำเลที่ตั้งและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เป็นอัตราเดียวกับที่ผู้ให้เช่าคิดกับลูกค้า ทั่วไป

บมจ.โรงแรมเซ็นทรัลพลาซาและบริษทั ย่อย ซือ้ ประกันภัยกลุม่ ให้กับพนักงาน จาก บจ.เซ็นทรัล ไลฟ์ โปรคเกอร์ โดยอัตรา ค่าเบี้ยประกันคิดตามจ�ำนวนมูลค่าของกรมธรรม์ และความ คุ้มครองที่ได้รับ

0.82

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณา แล้ว มีความเห็นว่าอัตราค่าเบี้ยประกัน เป็นราคายุติธรรมเหมาะสมกับความ คุม้ ครอง และจ�ำนวนเงินทีเ่ อาประกันภัย

28. บจ.ซี อาร์จี แมนูแฟตเจอริ่ง ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

เหตุผลและความจ�ำเป็น

29. บจ.ซีอาร์ซี ไทวัสดุ ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

30. บจ.ซีพีเอ็น พัทยา บีช

รายงานทางการเงิ น

ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

31. บจ.เซ็นทรัล ไลฟ์ โปรคเกอร์ ความสัมพันธ์ 1. มีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน คือกลุ่มจิราธิวัฒน์ 2. มีกรรมการร่วมกัน

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

184

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่บริษัทถือ

สัดส่วนการ ถือหุ้น (%) 63.9%

2. บริษัท เซ็นทรัลสมุยโฮเต็ลแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เลขที่ 38/2 ม. 3 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 230-500 โทรสาร : (077) 230-522

โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ 12,500 หุ้น บีชรีสอร์ท สมุย มูลค่าหุน้ ที่ตราไว้ (203 ห้อง) หุ้นละ 100 บาท

12,493 หุ้น

100.0%

3. บริษัท เซ็นทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 38/2 ม. 3 ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 230-500 โทรสาร : (077) 230-522 4. บริษัท เซ็นทรัลสมุยวิลเลจ จ�ำกัด เลขที่ 111 หมู่ 2 ต�ำบลมะเร็ต อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : (077) 424-020 โทรสาร : (077) 424-022 5. บริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 6. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลสุคนธา จ�ำกัด เลขที่ 3 ถนนเสน่หานุสรณ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ : (074) 352-222 โทรสาร : (074) 352-223

โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ บีช รีสอร์ท ภูเก็ต (262 ห้อง)

2,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

2,499,994 หุ้น

100.0%

โรงแรมเซ็นทาราวิลลา สมุย (102 ห้อง)

550,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

549,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็น ทรัลสมุยบีชรีสอร์ท จ�ำกัด)

100.0%

ลงทุนในบริษัทอื่น

2,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

2,499,993 หุ้น

100.0%

โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ (248 ห้อง)

1,450,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

1,449,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ล แมนเนชเม้นท์ จ�ำกัด)

100.0%

7. บริษัท เซ็นทรัลกะรนวิลเลจ จ�ำกัด เลขที่ 701 ถนนปฏัก ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 286-300 โทรสาร : (076) 286-316 8. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลแม่สอดฮิลล์ จ�ำกัด เลขที่ 100 ถ.สายเอเชีย อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โทรศัพท์ : (055) 532-601 โทรสาร : (055) 532-600

โรงแรมเซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต (72 ห้อง)

375,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

374,994 หุ้น

100.0%

186,996 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนช เม้นท์ จ�ำกัด)

98.4%

โรงแรมเซ็นทาราแม่สอด 190,000 หุ้น ฮิลล์ รีสอร์ท มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ (120 ห้อง) หุ้นละ 1,000 บาท

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

185

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

1,183,104 หุ้น

รายงานทางการเงิ น

โรงแรมเซ็นทารา 1,850,000 หุ้น แกรนด์ บีช มูลค่าหุ้นทีต่ ราไว้ รีสอร์ทและวิลลา หัวหิน หุ้นละ 100 บาท (248 ห้อง)

รายงานธุ ร กิ จ

1. บริษัท เซ็นทรัลหัวหินบีชรีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 1 ถ.ด�ำเนินเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทรศัพท์ : (032) 512-021 โทรสาร : (032) 511-099

รายงานคณะกรรมการ

ข้อมูลทั่ วไปของนิติบุคคลที่ บริษัทถือครอง จ�ำนวนหุ้นร้อยละ 10 ขึ้ นไป


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ข้อมูลทั่ วไปของนิติบุคคลที่ บริษัทถือครอง จ�ำนวนหุ้นร้อยละ 10 ขึ้ นไป รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ 5,000,000 หุ้น บีชรีสอร์ทและวิลลา มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ กระบี่ หุ้นละ 100 บาท (193 ห้อง)

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่บริษัทถือ 4,999,993 หุ้น

โรงแรมเซ็นทารากะรน รีสอร์ท ภูเก็ต (335 ห้อง)

5,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

5,164,000 หุ้น

99.3%

โรงแรมเซ็นทารากะตะ รีสอร์ท ภูเก็ต (158 ห้อง)

1,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

600,000 หุ้น

50.0%

โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ (512 ห้อง)

20,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 100 บาท 10,000,000 หุ้น 80 บาท 10,000,000 หุ้น

19,999,993 หุ้น

100.0%

13. บริษัท เซ็นทรัลบริการซักรีด จ�ำกัด เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232

ไม่ได้ประกอบกิจการ

15,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

14,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทรัลโฮเต็ลแมนเนช เม้นท์ จ�ำกัด)

100.0%

14. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเกาะกูด จ�ำกัด เลขที่ 1695 ถ.พหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 15. บริษัท ทริปเปิลไนน์ เดคคอร์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 16. บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ ลันตา บีช จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232

โรงแรมเซ็นทาราเกาะกูด 1,200,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

1,199,993 หุ้น

100.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

799,994 หุ้น

100.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

360,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

359,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด)

100.0%

บริษัท 9. บริษัท เซ็นทรัลกระบี่เบย์รีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 396-396/1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ โทรศัพท์ : (075) 637-789 โทรสาร : (075) 637-800 10. บริษัท โรงแรมกะรนภูเก็ต จ�ำกัด เลขที่ 502/3 ถนนปฏัก ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 396-200-5 โทรสาร : (076) 396-491 11. บริษัท โรงแรมกะตะภูเก็ต จ�ำกัด เลขที่ 54 ถนนเกศขวัญ ต�ำบลกะรน อ�ำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ : (076) 370-300 โทรสาร : (076) 333-462 12. บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 100-1234 โทรสาร : (02) 100-1235

186

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

ประเภทธุรกิจ

สัดส่วนการ ถือหุ้น (%) 100.0%


จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่บริษัทถือ

สัดส่วนการ ถือหุ้น (%)

800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

799,993 หุ้น

100.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

885,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

884,994 หุ้น

100.0%

ลงทุนในบริษัทอื่น และรับบริหารโรงแรม

1,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

1,499,996 หุ้น

100.0%

โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ ไอร์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ (112 ห้อง/วิลลา)

17,990 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 778.21 ดอลลาร์สหรัฐ

13,312 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทา ราอินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด)

74.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

9,994 หุ้น

100.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

10,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท

9,994 หุ้น

100.0%

รับบริหารโรงแรม

1,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 25 บาท

999,997 หุ้น

100.0%

โรงแรมเซ็นทาราราสฟูชิ รีสอร์ท และสปา มัลดีฟส์ (140 ห้อง/วิลลา)

20,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 1 ดอลลาร์ สหรัฐ

15,000,000 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็นทาราอินเตอร์ เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด)

75.0%

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

187

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ไม่ได้ประกอบกิจการ

รายงานทางการเงิ น

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว

รายงานธุ ร กิ จ

17. บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ พัทยา บีช จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 18. บริษัท เอส.พี.เรียลตี้ หาดฝรั่งรีสอร์ท จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 19. บริษัท เซ็นทาราอินเตอร์เนชั่นแนล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 20. R.M.L. LEISURE Pvt. Ltd. (Formerly is Regent Maldives Pvt. Ltd.) 4th Floor Rowville, Fareedhi Magu Maafannu, Republic of Maldives Tel : + 960 330 6566 Fax : + 960 330 9796 21. บริษัท เซ็นวารี เฮลตี้ สปา จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 22. บริษัท เซ็นทรัล บางกอกคอนเวนชัน และเอ็กซิบิชั่น จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 23. บริษัท เซ็นทารา อินเตอร์เนชันแนล แมนเนจเม้นท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 24. Centara Maldives Pvt. Ltd. 2nd Floor (Eastwing), AAGE Henveiru, Male 20094 Republic of Maldives Tel : + 960 333 3644 Fax : + 960 331 5453

ประเภทธุรกิจ

รายงานคณะกรรมการ

บริษัท


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ข้อมูลทั่ วไปของนิติบุคคลที่ บริษัทถือครอง จ�ำนวนหุ้นร้อยละ 10 ขึ้ นไป (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่บริษัทถือ

สัดส่วนการ ถือหุ้น (%)

รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

25. บริษัท เซ็นทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด เลขที่ 306 ถ.สีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 635-7930-9 โทรสาร : (02) 635-7940-1

ผู้รับสิทธิในการประกอบการ KFC, Mister Donut, Auntie Anne’s, Pepper Lunch Beard Papa, Chabuton, Cold Stone Creamery, Ryu Shabu Shabu, Yoshinoya, The Terrace and Tenya

6,200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

6,199,991 หุ้น

100.0%

26. บริษัท ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด เลขที่ 55/18 หมู่ 13 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท์ : (02) 909-2277-9 โทรสาร : (02) 529-4900 27. บริษัท ซีอาร์จี อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด จ�ำกัด 240/35 อาคารอโยธยาทาวเวอร์ ชั้น 18 ซอยรัชดาภิเษก 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 274-1724-27 โทรสาร : (02) 692-6634

โรงงานผลิตไอศกรีม

16,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท

15,999,994 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็น ทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด)

100.0%

ภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น “Ootoya”

1,797,600 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท

1,797,591 หุ้น (ถือหุ้นโดยบริษัท เซ็น ทรัลเรสตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด)

100.0%

28. บริษัท เซ็นทารา อิมพอร์ต-เอ็กซพอร์ต จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 29. บริษัท โคซี่ โฮเต็ล จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232 30. บริษัท โคซี่ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232

ไม่ได้ประกอบกิจการ

100,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท

99,997 หุ้น

100.0%

ไม่ได้ประกอบกิจการ

300,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 25 บาท 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 25 บาท

299,997 หุ้น

100.0%

49,997 หุ้น

100.0%

188

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

ไม่ได้ประกอบกิจการ


ประเภทธุรกิจ

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ที่บริษัทถือ

สัดส่วนการ ถือหุ้น (%)

499,997 หุ้น

100.0%

32. บริษัท ศูนย์การเรียนรู้เซ็นทารา จ�ำกัด เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232

พัฒนาบุคลากร

1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 2.5 บาท

999,996 หุ้น

100.0%

33. กองทุนรวมไทยพัฒนา 2 ชั้น 21-23 อาคารคอลัมน์ทาวเวอร์ เลขที่ 199 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 649-2000 โทรสาร : (02) 649-2100 34.. กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา 400/22 ชั้น 6 อาคารธนาคารกสิกรไทย ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 673-3999 โทรสาร : (02) 276-3900

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

หน่วยลงทุนของกอง ทุน 81,500,000 หน่วย มูลค่าหน่วยลงทุน หน่วยละ 10 บาท

หน่วยลงทุนของกองทุน 19,500,000 หน่วย (ถือหุ้นโดยตรง 19,420,000 หน่วย และ ถือหุ้นโดย บริษัทย่อย 80,000 หน่วย)

23.9%

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

หน่วยลงทุนของกอง ทุน 320,000,000 หน่วย มูลค่าหน่วย ลงทุน หน่วยละ 10 บาท

หน่วยลงทุนของกองทุน 81,093,500 หน่วย

25.3%

รายงานทางการเงิ น

500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 100 บาท เรียกช�ำระแล้วหุ้นละ 25 บาท

รายงานธุ ร กิ จ

31. บริษัท เซ็นทาราลอยัลตี้มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด จัดหาสิทธิพิเศษให้กับลูกค้า เลขที่ 999/99 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : (02) 769-1234 โทรสาร : (02) 100-6232

รายงานคณะกรรมการ

บริษัท

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

189


รายงานคณะกรรมการ

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

เซ็นทาราเกาะช้างทรอปิคานารีสอร์ท

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6

190


รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

191


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ข้อมูลทั่ วไปของบริษัท รายงานคณะกรรมการ

ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท Home Page

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ธุรกิจบริการ เช่น โรงแรม ภัตตาคาร อาหาร และเครื่องดื่ม ฯลฯ 0107536001389 (เดิม บมจ. 212) http://www.centarahotelsresorts.com

รายงานธุ ร กิ จ

ทุนเรือนหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2556 ทุนจดทะเบียน: 1,350,000,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,350,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว: 1,350,000,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 1,350,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส�ำนักงานใหญ่ โรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา สถานที่ตั้ง 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ (02) 769-1234 โทรสาร (02) 769-1235 ส�ำนักงาน โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ สถานที่ตั้ง 1695 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ (02) 541-1234 โทรสาร (02) 541-1087

รายงานทางการเงิ น

เซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

192

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


A

A

A

A

A

CENT176A

CENT176B

CENT163A

CENT163B

CENT169A

1,000

300

500

500

500

จ�ำนวน (ล้านบาท)

30/09/2556

09/08/2554

29/07/2554

05/07/2553

23/06/2553

วันที่ออก หุ้นกู้

3 ปี

4 ปี 7 เดือน

4 ปี 8 เดือน

6 ปี 11 เดือน 24 วัน

7 ปี

อายุ (ปี)

4.02%

4.75%

6 mFDR + 1.9%

6 mFDR + 1.9%

4.65%

อัตราดอกเบี้ย

รายงานธุ ร กิ จ

รายงานทางการเงิ น

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

-

-

-

-

-

หลัก ประกัน

6 เดือน

3 เดือน

6 เดือน

6 เดือน

3 เดือน

รอบการจ่ายดอกเบี้ย

30/09/2559

09/03/2559

29/03/2559

29/06/2560

23/06/2560

วันครบก�ำหนด

1,000

300

500

500

500

ยอดคงเหลือ 31 ธ.ค. 2556

1. บริษัทต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Interest - bearing debt to Equity Ratio) ในอัตราส่วนไม่เกิน 2 : 1 ณ วันสิ้นงวดบัญชีของแต่ละปี โดยค�ำนวณจากงบการเงินรวม 2. บริษัทจะไม่จ่ายเงินปันผลในแต่ละปีให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นจ�ำนวนเกินกว่าร้อยละ 60 ของผลก�ำไรสุทธิในปีนั้นๆ

เงื่อนไขของผู้ออกหุ้นกู้

อันดับเครดิต ตราสารหนี้

หุ้นกู้

ข ้อมูล เกี่ ยวกับ หุ้นกู้

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

รายงานคณะกรรมการ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

193


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บุคคลอ้างอิงอื่ นๆ รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (02) 359-1200-01 โทรสาร : (02) 359-1259 นายทะเบียนหุ้นกู้ ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ : (02) 544-1000 • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560” (CENTEL176A) • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2553 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2560” (CENTEL176B) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : (02) 296-3582 • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559” (CENTEL163A) • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2554 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559” (CENTEL163B) ธนาคารยูโอบี จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ 191 ถนนสาทรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (02) 343-3000 • “หุ้นกู้ของ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2556 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559”(CENTEL169A) ผู้สอบบัญชี บริษัท ไพร์ซวอเต้อร์เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดย คุณณฐพร พันธุ์อุดม ทะเบียนเลขที่ 3430 ชั้น 15 บางกอกซิตี้ทาวเวอร์ เลขที่ 179/74-80 ถนนสาธรใต้ กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (02) 344-1000 โทรสาร : (02) 286-5050 ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จ�ำกัด ชั้น 22 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ เลขที่ 540 ถนนเพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : (02) 264-8000, (02) 657-2121 โทรสาร : (02) 657-2222 บริษัท บิซซิเนส แอ็ดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ชั้น 15 อาคารมณียา เลขที่ 518/5 ถนนเพลินจิต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ : (02) 255-8977-8, (02) 251-2285 โทรสาร : (02) 254-4576 บริษัทจัดอันดับเครดิต บริษัท ทริส เรทติ้ง จ�ำกัด ชั้น 24 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ เลขที่ 191 ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : (02) 231-3011

194

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

คณะเจ้าหน้าที่ บริหารระดับสูง ฝ่ายบริหาร ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ที่ปรึกษาคณะกรรมการกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษาประธานกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ

กลุ่มธุรกิจโรงแรม

นาย ธีระยุทธ จิราธิวัฒน์ มร. เดวิด กู๊ด มร. มิเชล ฮอร์น นาง สุพัตรา จิราธิวัฒน์ นาย ศุภรัฐ จิราธิวัฒน์ ดร. รณชิต มหัทธนะพฤทธิ์ นาย ธีระเกียรติ จิราธิวัฒน์ มร. คริส เบลีย์ นางสาว ภัทรา จองเจริญกุลชัย

รายงานทางการเงิ น

มร. โรเบิร์ท มัวเรอร์-ลอฟเฟลอร์ มร. อังเดร บรูลฮาร์ท มร. เดวิด มาร์เทนส์ มร. มาร์ติน ไฮนิเกอร์ มร. ฌาร์ค มูรี่ มร. โรเบิร์ต เจ ลอห์มันน์ มร. ดาร์เรน ชอว์ มร. อันเดรียส์ คอร์ฟ มร. วอยเทค คลาสซิกี้ มร. ปิแอร์ แลง มร. ทิมมอธี รอว์ลินสัน มิส เรจีน่า ซัลซ์มันน์ มร. ออสติน รอบินสัน นาย ปฐวี พงษ์นนทกุล นาย กฤษณ์ วาณิชนนท์ นาย โอภาส ด�ำรงกุล นาย บุญชัย สุวัติสกุลสวัสดิ์ นาย ชัยพันธ์ ทองสุธรรม มร. แพททริค ตัน มร. สเวน วอลเทอร์ มร. วิม เอ็น เอ็ม ฟาเก็ล บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ผู้จัดการทั่วไป เซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา กระบี่ เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท สมุย เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ทและวิลลา หัวหิน เซ็นทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พัทยา เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทาราแกรนด์เวสต์แซนด์รีสอร์ทและวิลลา ภูเก็ต เซ็นทาราแกรนด์ไอส์แลนด์รีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ เซ็นทาราแกรนด์นูซาดัวรีสอร์ทและวิลลา เซ็นทาราวิลลา สมุย เซ็นทารากะตะรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทารากะรนรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทาราแม่สอดฮิลล์รีสอร์ท เซ็นทาราชานทะเลรีสอร์ทและวิลลา ตราด โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน เชียงใหม่ โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ขอนแก่น เซ็นทาราอันดาเทวีรีสอร์ทและสปา กระบี่ โรงแรมเซ็นทาราวอเตอร์เกตพาวิลเลียนและสปา กรุงเทพฯ

พลตรี กระวี สุทัศน์ ณ อยุธยา ศาตราจารย์ วิโรจน์ เลาหะพันธ์ นาย แดน ชินสุภัคกุล มร. เกิร์ด เคิร์ท สตีบ

รายงานธุ ร กิ จ

ฝ่ายปฏิบัติการณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองประธานฝ่ายปฎิบัติการ รองประธานฝ่ายปฎิบัติการ ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ และภาพลักษณ์ รองประธานอาวุโสฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และภาพลักษณ์ ฝ่ายเซ็นทาราอินเตอร์เนชันแนลแมนเนจเมนท์ รองประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายการเงินและบริหาร รองประธานอาวุโสฝ่ายการเงินและบริหาร รองประธานฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายขายและการตลาด รองประธานอาวุโสฝ่ายขายและการตลาด ฝ่ายทรัพยากรบุคคล รองประธานฝ่ายทรัพยากรบุคคล

รายงานคณะกรรมการ

Centara Hotels & Resor ts

195


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

คณะเจ้าหน้าที่ บริหารระดับสูง กลุ่มธุรกิจโรงแรม (ต่อ) รายงานคณะกรรมการ รายงานธุ ร กิ จ รายงานทางการเงิ น

ผู้จัดการทั่วไป โรงแรมเซ็นทาราพัทยา เซ็นทาราราสฟูชิรีสอร์ทและสปา มัลดีฟส์ คุ้มพญารีสอร์ทและสปา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน โรงแรมโนวาและสปาพัทยา เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน เชนซีรีสอร์ทและสปา ฟูก๊วก เซ็นทาราบูติกคอลเลกชัน โรงแรมเซ็นทราแอชลี ป่าตอง โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ วอเตอร์ฟร้อนท์สวีทภูเก็ตบายเซ็นทารา เซ็นทาราซีย์แซนด์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา เซ็นทาราเกาะช้างทรอปิคานารีสอร์ท เซ็นทาราป็อสต์ลาฟาแย็ตรีสอร์ทและสปา มอริเชียส เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเชียส เซ็นทาราแกรนด์พระต�ำหนักรีสอร์ทและสปา พัทยา แซนดีบีชรีสอร์ท นอนนุค ดานัง เวียดนาม เซ็นทาราวูกูรีสอร์ทและสปา บาหลี เซ็นทราเซ็นทรัลสเตชัน กรุงเทพฯ เดอะ บลู มารีน รีสอร์ท แอนด์ สปา ภูเก็ต บริหารโดยเซ็นทารา เซ็นทราโคโคนัทบีชรีสอร์ท สมุย เซ็นทาราแกรนด์โมดัสรีสอร์ท พัทยา เซ็นทาราซีวิวรีสอร์ท เขาหลัก ผู้จัดการรีสอร์ท เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเชียส เซ็นทาราป็อสต์ลาฟาแย็ตรีสอร์ทและสปา มอริเชียส ผู้จัดการโรงแรม เซ็นทาราวิลลา ภูเก็ต เซ็นทาราแกรนด์บีชรีสอร์ท ภูเก็ต เซ็นทาราซีย์แซนด์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา เซ็นทราทวมรีสอร์ท บาหลี

มร. โจนัส เฮอร์สเต็ด นางสาว ประไพจิต ทองมา มร. จีโรม ซิม มร. โจนัส เฮอร์สเต็ด มร. โอลิวิเย่ เพอทิ นาง วิลาวัณย์ เจียมมานะสมบัติ นางสาว เต็มศิริ คิดชอบ มร. ออสติน รอบินสัน มร. อเล็กซานเดอร์ กลาวเซอร์ มร. อเล็กซานเดอร์ กลาวเซอร์ มร. พิอุส ลิวชิงเจอร์ มร. จอห์น ไดมอน เบนด์สเต็น มร. จอห์น ไดมอน เบนด์สเต็น มร.โดมินิค รองเช่ นาย วรรธนะชัย พิพัฒน์ทองพันธ์ มร. เดอร์มัต เกล นาย อัษฎางค์ สุขวิเศษ มร. สกอตต์ โบอิน นาย ขจร วิมลเจริญสุข นาย พนัศ จุรีรีตนา มร. เวย์น ดิวเบอร์ลีย์ มร. อแวน แคทเธอรีน มร. เควิน โกวินเดน นางไฉไล คุ้มสวัสดิ์ มร. ไมเคิล การ์ด-นีลสัน มร. สิสิรา เสนาร์ทนี มร. ไมเคิล อาร์มสตรอง มร. อากุห์ ฮุวานันดา *ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 เซ็นทาราแกรนด์อัซซูริรีสอร์ทและสปา มอริเชียส

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

196

ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี 2 5 5 6


การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

คณะเจ้าหน้าที่ บริหารระดับสูง

กลุ่มธุรกิจอาหาร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายปฏิบัติการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่าย Supply Chain Management ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน ผู้จัดการทั่วไป มิสเตอร์ โดนัท ผู้จัดการทั่วไป เค เอฟ ซี ผู้จัดการทั่วไป อานตี้ แอนส์ ประธาน โอโตยะ ผู้จัดการทั่วไป เปปเปอร์ ลันช์ ผู้จัดการทั่วไป ชาบูตง ผู้จัดการทั่วไป โคลด์ สโตน ครีมเมอรี่ ผู้จัดการทั่วไป เดอะ เทอเรส ผู้จัดการทั่วไป โยชิโนยะ ผู้จัดการทั่วไป เทนยะ ผู้จัดการทั่วไป ซีอาร์จี แมนูแฟคตอริ่ง

รายงานคณะกรรมการ

Central Restaurant Group

นายธีระเดช จิราธิวัฒน์ นายสุชีพ ธรรมาชีพเจริญ นางเปรมหทัย พึ่งบุญ ณ อยุธยา นายฐากฤต สนิทประชากร นายณัฏฐพล มณฑลโสภณ นางอ�ำไพพรรณ จิราธิวัฒน์ นางกัลยา ศุภกรพิชาญ

รายงานธุ ร กิ จ

นายกันตภณ ศรีสุวรรณ นายชัยณรงค์ เลอเลิศวนิชย์ นางนงนภัส ร�ำเพย นายวิชัย เจริญธรรมานนท์ นางอรวรรณ โกมลพันธ์พร มร. ยาสุโตะ โทกาชิ นางวชิราภรณ์ วานิชชัย นางสาวฉัตรฤดี ศุขตระกูล นายพล ศรีแดง นางสาวกนกภรณ์ พิรวัฒนกุล นายรัสทัม เบ็ญราฮีม

เซ็นทาราปัสสิกุดาห์รีสอร์ทและสปา ศรีลังกา

รายงานทางการเงิ น

เทนยะ

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ

บ ริ ษั ท โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท รั ล พ ล า ซ า จ� ำ กั ด ( ม ห า ช น )

197


CENTARA HOTELS & RESORTS


CENTRAL RESTAURANT GROUP (CRG)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.