Annual Report 2012

Page 1

DRT TH_4 color.indd 3

3/30/56 BE 12:20 PM


ครบทุกความตองการ มั่นใจได เร�่อง “บาน” สําหรับเรามีคําตอบ พรอมดวยผลิตภัณฑคุณภาพมาตรฐาน บร�ษัทฯ เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนังและฝา ไมสังเคราะห รวมทั้งสินคาประกอบการติดตั้ง หลังคาและสินคาโครงสรางของบาน พรอม ใหบร�การถอดแบบและติดตั้งหลังคา ภายใตเคร�่องหมายการคา ตราเพชร ตราหลังคา ตราอดามัส (Adamas) และตราเจียระไน โดยมีผลิตภัณฑหลัก ดัง ตอไปนี้ 1. กลุมผลิตภัณฑหลังคา แบงเปน 3 กลุมดังนี้ • กลุม หลังคาไฟเบอรซเี มนต ไดแก กระเบือ้ งลอนคู กระเบือ้ งลอนเล็ก กระเบือ้ ง แผนเร�ยบ กระเบื้องจตุลอน และครอบ เปนตน • กลุมหลังคาคอนกร�ต ไดแก กระเบื้องคอนกร�ตแบบลอน กระเบื้องคอนกร�ต แบบเร�ยบ และครอบ เปนตน • กลุมหลังคาเจียระไน ไดแก กระเบื้องเจียระไน และครอบ เปนตน 2. กลุมผลิตภัณฑแผนผนังและฝา ไดแก แผนผนัง แผนฝา เปนตน 3. กลุมผลิตภัณฑ ไมสังเคราะห ไดแก ไมฝา ไมระแนง และไมเชิงชาย เปนตน 4. กลุมสินคาพ�เศษ ซึ่งประกอบดวยกลุมสินคาประกอบการติดตั้งหลังคาและ กลุมสินคาโครงสรางของบาน ดังนี้ • กลุมสินคาประกอบการติดตั้งหลังคา ไดแก แป แผนสะทอนความรอน แผนปดชายกันนก สีทาปูนทราย เปนตน • กลุมสินคาโครงสรางของบาน ไดแก โครงหลังคาสําเร็จรูป ไมพ�้นลามิเนท แผนยิปซั่มบอรด และถังนํา เปนตน 5. การใหบร�การถอดแบบและติดตั้งหลังคา ติดตั้งโครงหลังคาสําเร็จรูป ติดตั้งไมพ�้นลามิเนท จากทีมงานที่มีความชํานาญและผานการอบรมจาก บร�ษัทฯ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 4

D

3/30/56 BE 12:20 PM


สารบัญ ว�สัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร 2 ขอมูลบร�ษัท 3 สารจากประธานกรรมการบร�ษัท 4 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 7 รายงานคณะกรรมการสรรหา 8 และพ�จารณาผลตอบแทน รายงานคณะกรรมการบร�หารความเสี่ยง 9 รายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 10 รายงานคณะกรรมการความรับผิดชอบ 11 ตอสังคมและสิ�งแวดลอม คณะกรรมการบร�ษัท 13 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 18 รายงานความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) 19 สูความยั่งยืน โครงการในอนาคต 30 ขอมูลที่สําคัญทางการเง�น 31 โครงสรางองคกร 32 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในปที่ผานมา 33 ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน 34 โครงสรางผูถือหุน 38 คาตอบแทนกรรมการและผูบร�หาร 39 โครงสรางการบร�หารจัดการ 41 การสรรหากรรมการและผูบร�หาร 48 การกํากับดูแลกิจการ 49 การดูแลเร�่องการใชขอมูลภายใน 53 การถือครองหลักทรัพยของกรรมการ 54 และผูบร�หาร การบร�หารความเสี่ยง 55 การควบคุมภายในของบร�ษัท 58 นโยบายการจายเง�นปนผล 60 รายการระหวางกัน 61 รายงานความรับผิดชอบ 64 ของคณะกรรมการบร�ษัท ตอรายงานทางการเง�น สรุปผลการดําเนินงาน 65 และการว�เคราะหฐานะทางการเง�น รายงานผูสอบบัญชีรับอนุญาต และงบการเง�น 72

1

DRT TH_4 color.indd 1

3/30/56 BE 11:56 AM


ว�สัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร ว�สัยทัศน “เปนทางเลือกที่ดีกวาของลูกคา” พันธกิจ “เราอยูในธุรกิจของการผลิต การจัดจําหนาย รวมถึงการให ใหพนักงานสามารถพัฒนาศักยภาพ ไดอยางเต็มความสามารถ บริการเกี่ยวกับ กระเบื้องหลังคา ผนัง และอุปกรณประกอบ เราเชื่อวา ความสามารถในการตอบสนองความตองการและความคาดหวังของ ลูกคา พนักงาน สังคม และผูถือหุนของเรา เปนพื้นฐานตอความสําเร็จ ของพันธกิจของเรา” • สําหรับลูกคาของเรา เราจะสงมอบผลิตภัณฑที่มีคุณภาพและการ ออกแบบที่แตกตางอยางมีคุณคา ในราคาที่แขงขันได โดยการประยุกตใช เทคโนโลยีทที่ นั สมัย ตลอดจนใหบริการทีเ่ ปนเลิศกับลูกคา ดวยชองทางจัด จําหนายที่แข็งแกรง และระบบการบริหารที่มีความสามารถของเรา • สําหรับพนักงานของเรา เราจะสรางและสงเสริมสภาพแวดลอม แหงการเรียนรู ความกาวหนา และความเปนอยูที่ดีของพนักงาน เพื่อ

• สําหรับสังคมของเรา เราจะใหการสนับสนุนชวยเหลือสังคมที่เรา อยูและเปนบริษัทที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม • สําหรับผูถือหุนของเรา เราจะสรางผลตอบแทนดานการเงินที่ เติบโตอยางตอเนื่องและมั่นคง

คานิยมองคกร “เราจะขยัน ตัง้ ใจทํางาน มุง มัน่ สูค วามสําเร็จและความ

เปนเลิศ เพื่อรักษาสมดุลของผลประโยชนของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย เชน ลูกคา พนักงาน และผูถือหุน ทํางานเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ดวยความ ซื่อสัตย สุจริต เปนธรรม และโปรงใส เรียนรู แบงปน ปรับปรุงอยาง ตอเนื่อง และพัฒนาอยางไมหยุดยั้งเพื่อความแตกตางที่ดีกวา”

โดยใชอักษรคานิยมของบร�ษัทฯ วา “D-BUILD” โดยมีคําจํากัดความวา “มุงมั่น โปรงใส ใฝพัฒนา” ซึ่งมีความหมายดังนี้

D B U I L D

-

Diligence Balance Unity Integrity Learning Differentiation

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 2

: ขยัน ตั้งใจทํางาน มุงมั่นสูความสําเร็จและความเปนเลิศ : รักษาสมดุลของผลประโยชนของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย เชน ลูกคา พนักงาน และผูถือหุน : ทํางาน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน : ซื่อสัตย สุจริต เปนธรรม และโปรงใส : เรียนรู แบงปน ปรับปรุงอยางตอเนื่อง : พัฒนาอยางไมหยุดยั้งเพื่อความแตกตางที่ดีกวา

2

3/30/56 BE 11:56 AM


ขอมูลบร�ษัท ชื่อบริษัท ชื่อยอ เลขทะเบียนบริษัท

บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) DRT 0107547001041

ประเภทธุรกิจ

เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนังและฝา ไมสังเคราะห รวมทั้งสินคาประกอบการติดตั้งหลังคา และสินคาโครงสรางของบาน พรอมใหบริการถอดแบบและติดตั้งหลังคา ภายใตเครื่องหมายการคา ตราเพชร ตราหลังคา ตราอดามัส (Adamas) และตราเจียระไน

ทุนจดทะเบียน

หุนสามัญจํานวน 1,049,650,000 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาทตอหุน รวมมูลคา 1,049,650,000 บาท หุนสามัญที่ออกและชําระแลวจํานวน 1,038,609,000 หุน รวมมูลคา 1,038,609,000 บาท

ประวัติความเปนมา

ป 2528 วันที่ 28 สิงหาคม 2528 กอตั้งบริษัทฯ โดยใชชื่อ บริษัท นครหลวงกระเบื้องและทอ จํากัด (นกท.) และ มีบริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) เปนผูถือหุนรายใหญ ป 2544 วันที่ 3 เมษายน 2544 ไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อเปน “บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จํากัด” (กตพ.) ป 2545 วันที่ 26 ธันวาคม 2545 มีการเปลี่ยนแปลงผูถือหุนรายใหญมาเปน บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด ป 2547 วันที่ 2 ธันวาคม 2547 ไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัด และเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จํากัด (มหาชน)” ป 2548 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ไดรบั อนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ใหนําหุนสามัญเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) และเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 ไดมีการซื้อขายหลักทรัพยครั้งแรก โดยใชชื่อยอวา “DRT” ป 2554 วันที่ 18 มกราคม 2554 ไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อเปน “บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด มหาชน” (ผตพ.)

สถานที่ตั้ง สํานักงานใหญ สํานักงานสาขาที่ 1 สํานักงานสาขาที่ 2 สํานักงานสาขาที่ 3 Call Center : บุคคลอางอิง นายทะเบียนหลักทรัพย บริษัทตรวจสอบบัญชี

เลขที่ 69-70 หมูที่ 1 ถนนมิตรภาพ กม.115 ตําบลตลิ่งชัน อําเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000 โทรศัพท : 0-3622-4001-8 โทรสาร : 0-3622-4015-7 เลขที่ 408/163-165 อาคารสํานักงานพหลโยธินเพลส ชัน้ 40 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2619-0742 โทรสาร : 0-2619-0488 เลขที่ 269 หมูที่ 3 ตําบลสําราญ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท : 0-4339-3390-1 เลขที่ 169-170 หมูที่ 4 ถนนมิตรภาพ ตําบลตาลเดี่ยว อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี 18110 โทรศัพท : 0-3622-4001-8 ตอ 401 - 420 0-2619-2333 Website : www.dbp.co.th E-mail Address : Corpcenter@dbp.co.th บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2229-2800 โทรสาร : 0-2654-5427 บริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด อาคารรัจนาการ ชั้น 25 เลขที่ 183 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท : 0-2676-5700 โทรสาร : 0-2676-5757 3

DRT TH_4 color.indd 3

3/30/56 BE 11:56 AM


สารจากประธานกรรมการบร�ษัท ฐานะการเง�นและผลการดําเนินงานในรอบป 2555 บริษทั ฯ มีรายไดจากการขายสินคาและบริการทัง้ สิน้ 3,883.58 ลานบาท เพิ่มขึ้น 5.16% จากปกอนและมีกําไรสุทธิ 545.91 ลานบาท เพิ่มขึ้น 18.64% จากปกอ น รวมทัง้ มีฐานะการเงินและกระแสเงินสดทีด่ ี สามารถ ชําระคืนเงินกูและจายเงินปนผลใหกับผูถือหุนได โดยมีอัตราสวนสภาพ คลองเทากับ 1.69 เทา และมีอตั ราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน เทากับ 0.65 : 1 ซึ่งอยูในเกณฑที่ตํ่า สําหรับหุนทุนซื้อคืน (Treasury Stock) บริษัทฯ ไดจําหนายออกทั้งหมดในเดือนมกราคม 2555 จํานวน 37.38 ลานหุน ไดรบั เงินทัง้ สิน้ 227.11 ลานบาท โดยมีสว นเกินมูลคาหุน 165.21 ลานบาท ซึ่งเปนการเพิ่มสภาพคลองใหกับบริษัทฯ และทําใหสวนของ ผูถือหุนเพิ่มขึ้น 8.18% จากปกอน ทรัพยากรบุคคลเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จของกิจการ บริษัทฯ ใหความสําคัญกับทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ เปนอยางดี โดย ในป 2555 บริษัทฯ จัดอบรมใหกับพนักงานรวมทั้งหมด 93 หลักสูตร จํานวน 127 รุน คิดเปนชั่วโมงการฝกอบรม (Training Hours) 14,701 ชั่วโมง (เฉลี่ย 17.61 ชม./คน/ป) โดยการอบรมในปนี้จะเนนไปในเรื่อง การสรางคานิยมองคกร (Core Value) โดยการจัดฝกอบรมหลักสูตร DBP-DNA : คนตราเพชร ใหกับพนักงานทุกคนในระดับผูจัดการสวนลง มา เนื้อหาเปนการเรียนรูคานิยมองคกร (D-BUILD) ผานกิจกรรมเพื่อให เกิดความตระหนักและเขาใจถึงคานิยมองคกรแตละคุณลักษณะ และ การอบรมการเพิม่ ผลผลิตทีด่ าํ เนินการตอเนือ่ งตัง้ แตป 2553 ในโครงการ TPM (TOTAL PRODUCTIVE MAINTENANCE) หลักสูตรที่จัดอบรม ไดแก TPM 6 Basics ซึ่งเปนเรื่องของการปูพื้นฐานดานชาง 6 เรื่อง (Bolt & Nut, Pneumatics, Transmission, Lubrication, Electrical และ Hydraulics) อบรมโดยวิทยากรภายในทีพ่ ฒ ั นามาจากพนักงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญใน สวนงานซอมบํารุงแตละเรือ่ ง รวมถึงหลักสูตรดานความปลอดภัย มีการ อบรมใหความรูในเรื่องบทบาทหัวหนางานกับความปลอดภัย จิตสํานึก ความปลอดภัยสําหรับหัวหนางาน การปฐมพยาบาลเบื้องตนและการ ชวยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน และมีการจัดทําแผนทีเ่ สนทางการฝกอบรม (Training Roadmap) สําหรับฝายผลิต รวมทั้งการพัฒนาระบบ HRM (Human Resource Management System) ซึ่งเปนระบบสารสนเทศ เพื่อใชใน การบริหารงานบุคคลที่เริ่มใชในป 2555

ในป 2555 เปนอีกปหนึ่งที่เศรษฐกิจไทยมีการเปลี่ยนแปลงจาก มาตรการกระตุน เศรษฐกิจของภาครัฐ เชน มาตรการปรับข�น้ คาแรง ขัน้ ต่าํ มาตรการรถยนตคนั แรก มาตรการลดหยอนภาษีสาํ หรับการ ซือ้ ทีอ่ ยูอ าศัยหลังแรก ทีม่ ผี ลกระทบตอการใชจา ยของภาคครัวเร�อน รวมทัง้ ผลกระทบจากภัยพ�บตั นิ า้ํ ทวมใหญในปกอ นทีม่ ผี ลกระทบมา ถึงปนี้ ทําใหประชาชนชะลอการซอมแซมบานเร�อน เนื่องจากเกรงวา จะเกิดน้าํ ทวมซ้าํ อีก ถึงแมภาครัฐจะมีมาตรการบร�หารจัดการน้าํ ใน ระยะยาวก็ตาม บร�ษัทฯ จึงตองมีการปรับแผนกลยุทธดานการขาย และการตลาดเพ�่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยการเพ�่ม สัดสวนการขายสินคาในตางประเทศ สําหรับรานคาในประเทศได เร�่มการพัฒนารูปแบบรานคาภายใต Concept “D –Build Shop” เพ�่อตอบสนองพฤติกรรมของผูบร�โภค เพ�่มความสะดวกในการเขา รวมทัง้ บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะดําเนินธุรกิจดวยการเคารพกฎหมายและ ยึ ด หลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และไม ส นั บ สนุ น กิ จ การที่ ล ะเมิ ด หลั ก สิ ท ธิ ถึงสินคา

มนุษยชน บริษทั ฯ จะใชหลักความยุตธิ รรมในการบริหารจัดการเกีย่ วกับ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 4

4

3/30/56 BE 11:56 AM


คาจางผลประโยชนตา งๆ และเงือ่ นไขการจางงานอืน่ ๆ รวมทัง้ ตระหนัก ถึงสิทธิเสรีภาพในการรวมกลุมของผูรวมงาน ไมใชแรงงานบังคับหรือ แรงงานเด็ก ไมยอมใหมีการเลือกปฏิบัติ และจะดําเนินการเพื่อรับรอง โอกาสที่เทาเทียมกันสําหรับผูรวมงานทุกคน มีสภาพแวดลอมในการ ทํางานที่มีมนุษยธรรม การว�จัยพัฒนาและการลงทุนอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดดําเนินการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาด ทําการ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑใหม หาแหลงวัตถุดิบใหมและปรับปรุงสูตร การผลิตเพื่อลดตนทุนการผลิต และลดการเคลมสินคา ตรวจสอบ คุณภาพวัตถุดบิ ทีจ่ ะนํามาใชในขบวนการผลิต พัฒนาผลิตสีขนึ้ มาใชเอง เพื่อลดปญหาคุณภาพสี และเพิ่มความสามารถในการแขงขัน ดานการลงทุน ไดมีการวางแผนระยะยาว 3-5 ป ภายใตยุทธศาสตรทั้ง 4 คือ ยุทธศาสตรการผลิตและการจัดจําหนาย ยุทธศาสตรการพัฒนา ชองทางการจัดจําหนาย ยุทธศาสตรเปนองคกรทีพ่ งึ ประสงคสงู สุดของ ลูกคา คูคา และบุคลากรที่มีความสามารถ และยุทธศาสตรดาน R&D ในการสนับสนุนแผนงานเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ภายใต วิสยั ทัศนของบริษทั ฯ “เปนทางเลือกทีด่ กี วาของลูกคา” ดานวัสดุกอ สราง และบริการ

จะไปติดตัง้ สายการผลิตกระเบือ้ งคอนกรีตบนทีด่ นิ ของบริษทั ฯ ในจังหวัด ขอนแกน ซึ่งคาดวาจะเริ่มทําการผลิตในเชิงพาณิชยประมาณไตรมาสที่ 4/2556 ที่มีกําลังการผลิต 50,000 ตันตอป รวมทั้งกําหนดเปนศูนย กระจายสินคาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษทั ฯ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยตงั้ แตป 2548 ดวย ความมุง มัน่ ทีจ่ ะเปนองคกรชัน้ นํา มีการบริหารงานจัดการอยางมืออาชีพ ใหความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี และยึดแนวทางปฏิบัติที่ดี ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) อยางเครงครัด โดยในป 2555 บริษัทฯ ไดรับการประเมินการกํากับดูแลกิจการ ดังนี้ )อยู  ใ นกลุ  ม ”ดี เ ลิ ศ รางวั ล ระดั บ 5 ดาว ( (Excellent)” จากการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียน และ ไดคะแนนในระดับ Top Quartile ในกลุมตลาดที่มีมูลคาหลักทรัพย 3,000-9,999 ลานบาท และรางวัล “ดีเดน” ประเภทรางวัลบริษัทจด ทะเบียนดานผลดําเนินงาน ในงาน “SET Awards 2012” ที่จัดขึ้นโดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรวมกับวารสารการเงินธนาคาร เมือ่ วัน ที่ 22 พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งไดรับรางวัลการประเมินคุณภาพการจัด AGM ไดคะแนนอยูในชวง 100 คะแนน (ดีเลิศ) ของบริษัทจดทะเบียน ประจําป 2555 โดยสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย (TIA)

โดยในป 2556 บริษัทฯ ไดเพิ่มกําลังการผลิตสินคาทดแทนไมและแผน ผนังซึง่ สามารถผลิตในเชิงพาณิชย จากสายการผลิต NT-9 และสายการ ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) สูความยั่งยืน บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการดําเนินกิจการใหเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแล ผลิต NT-10 รวมกําลังการผลิตเพิ่มขึ้น 120,000 ตันในป 2556 กิจการที่ดี (Good Governance) และไดกําหนดใหความรับผิดชอบตอ จากความไมเพียงพอในเรื่องพื้นที่ใชสอยในปจจุบัน ในป 2554 บริษัทฯ สังคมเปนสวนหนึง่ ในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ (Code of Conduct) จึงไดลงทุนซื้อที่ดินแปลงใหมประมาณ 145 ไร ที่อยูฝงตรงขามที่ดิน เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญวา “สังคม” เปนกลไกสําคัญ แปลงเดิมที่จังหวัดสระบุรี เพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิต ให ที่จะชวยสงเสริมผลักดันใหกิจการของบริษัทฯ คงอยูและเติบโตอยาง สอดคลองกับแผนระยะยาวของบริษัทฯ รวมถึงกําหนดใหเปนศูนย มัน่ คงยัง่ ยืน และเปนทีย่ อมรับจากผูท เี่ กีย่ วของทุกกลุม โดยเริม่ จากสังคม กระจายสินคาแหงที่สองในจังหวัดสระบุรี และเริ่มการลงทุนโครงการ เล็กๆ ในองคกร ไดแก กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานซึ่งเปนหัวใจ AAC (Autoclaved Aerated Concrete) ซึง่ เปนเทคโนโลยีจากประเทศ สําคัญที่เสริมศักยภาพและความสามารถในการแขงขันไปสูสังคมระดับ เยอรมัน โดยจะทําการผลิตอิฐมวลเบาประเภทอบไอนํ้าแรงดันสูง คาด ชุมชน รวมทั้งเปนการสงเสริมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของ บริษทั ฯ ไดดาํ เนินการไปในทิศทางเดียวกัน โดยในป 2555 ไดจดั โครงการ วาจะเริ่มทําการผลิตไดประมาณไตรมาสที่ 2/2556 อบรมพัฒนาฝมือแรงงานใหคนในชุมชน โดยการนําความรูและทักษะ รวมทั้งบริษัทฯ มีที่ดินที่ยังไมไดใชงานในหลายจังหวัด โครงการ CT-KK การมุงหลังคาไปอบรมใหกับคนในชุมชน เพื่อการสรางงานใหคนใน จึงเปนโครงการขยายฐานกําลังการผลิตสูภูมิภาคเปนโครงการแรก โดย ชุมชนมีความรูความสามารถยึดเปนอาชีพเพิ่มรายไดใหกับคนในชุมชน 5

DRT TH_4 color.indd 5

3/30/56 BE 11:56 AM


โดยมีหลายโครงการ เชน โครงการพระดาบส เปนการอบรมวิชาชาง และสนับสนุนวัสดุอุปกรณการเรียนแกนักเรียนโรงเรียนพระดาบส ใน พระบรมราชูปถัมภ และโครงการชางหัวใจเพชร ซึง่ เปนโครงการใหความ รูเกี่ยวกับการมุงหลังคา การติดตั้งไมฝาและไมเชิงชายใหคนในชุมชนที่ อยูใกลบริษัทฯ โดยในป 2556 บริษัทฯ ไดประสานงานกับกรมพัฒนา ฝมือแรงงาน จังหวัดสระบุรี เพื่อบรรจุโครงการนี้ เปนหลักสูตรในแผน ปฏิบัติการพัฒนาฝมือแรงงาน จังหวัดสระบุรี เปนตน รางวัลแหงความภาคภูมิใจ บริษทั ฯ ไดรบั รางวัลสถานประกอบการดีเดน ดานแรงงานสัมพันธ ติดตอ กันเปนปที่ 5 ตั้งแตป 2551 โดยในปนี้ไดรับจากกรมสวัสดิการและ คุม ครองแรงงานระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี และไดรบั ประกาศนียบัตร 5s Award Model ตั้งแตป 2554 ในงาน Thailand 5S Award จาก สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) (ส.ส.ท.) (พื้นที่สํานักงาน ฝาย บัญชีและการเงิน สํานักงานคลังพัสดุ และคลังสินคา) และไดรับตรา สั ญ ลั ก ษณ คุ ณ ภาพไทยแลนด Thailand Trust Mark จาก DITP (Department of International Trade Promotion) สํานักสงเสริมมูลคา เพิม่ เพือ่ การสงออก กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย เปนการ รับรองคุณภาพสินคาชัน้ เยีย่ มจากประเทศไทย ซึง่ จะเปนการเพิม่ คุณคา ใหกบั สินคา สรางโอกาสทางการตลาดทีแ่ ข็งแกรง และเพิม่ ความเชือ่ มัน่ ใหกับผูบริโภค รวมทั้งไดรับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม ISO 9001 : 2008, OHSAS 18001 : 2007, ISO 14001 : 2004 โดยไดรับ Certified Body จากบริษัท ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) จํากัด

จึงเสนอใหจัดสรรกําไรเพื่อจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน ในอัตราหุนละ 0.40 บาท โดยบริษัทฯ ไดจายเปนเงินปนผลระหวางกาลใหกับผูถือหุน แลวในอัตราหุนละ 0.20 บาท เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 จึงคงเหลือ เงินปนผลที่จะจายเพิ่มเติมอีกหุนละ 0.20 บาท คิดเปนรอยละ 75 ของ กําไรสุทธิตอหุนในป 2555 โดยจะจายภายในวันที่ 17 พฤษภาคม 2556 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดพิจารณาจายเงินปนผลในอัตราที่สูงตลอด หลายปที่ผานมาเพื่อสรางผลตอบแทนที่ดีใหกับผูถือหุน และในขณะ เดียวกันก็ยังคงลงทุนขยายโรงงานอยางตอเนื่องเพื่อใหบริษัทฯ เติบโต อยางมั่นคงในทุกๆ ป แนวโนมธุรกิจในป 2556 สําหรับภาวะอุตสาหกรรมในป 2556 มีแนวโนมทีด่ ขี นึ้ เนือ่ งจากมาตรการ กระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ เชน มาตรการปรับขึ้นคาแรงขั้นตํ่า และ การเรงผลักดันโครงการขนาดใหญซงึ่ เปนการฟน ฟู ระบบสาธารณูปโภค ของภาครัฐ รวมทัง้ ผูป ระกอบการรายใหญลงทุนพัฒนาโครงการในตาง จังหวัด รองรับความตองการทีอ่ ยูอ าศัยตามหัวเมืองใหญ และผูป ระกอบ การหางคาปลีกวัสดุกอ สรางขนาดใหญยงั เดินหนาลงทุนขยายสาขาอยาง ตอเนื่อง แตบริษัทฯ ก็คงตั้งอยูในความไมประมาท คณะกรรมการ บริษทั ฯ จะบริหารงานอยางระมัดระวังโดยยึดหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่ดี รวมทั้งบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนอยางมีประสิทธิภาพเพื่อให บริษัทฯ มีฐานะการเงินและสภาพคลองที่ดี มีความมั่นคงและเจริญ กาวหนาอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต

คณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณทานผูถือหุน คูคา และผูที่เกี่ยวของ การจายเง�นปนผลในป 2555 ทุกฝาย ที่ไดใหการสนับสนุนในกิจการของบริษัทฯ อยางตอเนื่องจน คณะกรรมการบริษัทฯ ขอเรียนใหผูถือหุนทราบวาผลการดําเนินงานใน กิจการของบริษัทฯ ประสบความสําเร็จและเจริญกาวหนามาเปนลําดับ รอบป 2555 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิทั้งสิ้น 545.91 ลานบาท คิดเปนกําไร จนทุกวันนี้ หุนละ 0.53 บาท จากมูลคาจดทะเบียน (PAR VALUE) หุนละ 1.00 บาท นายประกิต ประทีปะเสน ประธานกรรมการ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 6

6

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได รั บ มอบหมายให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ แ ละ ความรั บผิด ชอบตามกฎบัตรที่คณะกรรมการบร� ษั ทฯ กําหนด ข�้ น โดยมี ห น า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ สํ า คั ญ ได แ ก การสอบ ทานให มี ก ารรายงานทางการเง� น ที่ ถู ก ต อ งและเชื่ อ ถื อ ได การ สอบทานให มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบ ภายในที่ เ หมาะสม การสอบทานให มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ที่ เ กี่ ย วข อ ง พ� จ ารณาคั ด เลื อ กและเสนอแต ง ตั้ ง ผู ส อบบั ญ ชี ของบร� ษั ท ฯ รวมทั้ ง พ� จ ารณารายการได ม าและจํ า หน า ยไปซึ่ ง ทรัพยสนิ รายการเกีย่ วโยงกันหร�อรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนใหเปนไปตามกฎหมายนั้น ทั้งนี้ ไดรายงานการปฏิบัติ งานใหคณะกรรมการบร�ษัทฯ รับทราบและพ�จารณาเปนประจําทุก ไตรมาสๆ ละ 1 ครั้ง โดยขอรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการตรวจสอบในรอบป 2555 ซึ่งมีสาระสําคัญสรุปได ดังนี้

1. ไดสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2555 เมื่อ พบขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญ ก็ไดหารือผูส อบบัญชีและผูบ ริหารดานบัญชี จนมีขอ ยุตริ ว มกันแลวจึงแนะนําใหปรับปรุงแกไข ทัง้ นีเ้ ห็นวางบการเงิน รายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2555 มีความถูกตองและเชื่อถือได โดยจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปและมีการเปดเผย ขอมูลอยางเพียงพอและเหมาะสมแลว

แหงประเทศไทย โดยประเมินผลการปฏิบตั เิ ปนระยะๆ เพือ่ ใหเกิดความ เชื่อมั่นแกผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของทุกฝาย 6. ไดพิจารณาคัดเลือกผูสอบบัญชีและกําหนดจํานวนเงินคาสอบบัญชี ประจําป 2556 โดยพิจารณาคัดเลือกผูสอบบัญชีที่มีคุณสมบัติ คุณภาพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน รวมทั้งความเชี่ยวชาญ และความเปนอิสระ ในการปฏิบัติงาน และมีประสบการณในการปฏิบัติงานตรวจสอบอยู ในเกณฑที่ดีตลอดมา เมื่อไดพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณงานและ อัตราคาตอบแทนแลว จึงเห็นควรเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติตอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจําป 2556 ใหแตงตั้ง นางสาวบงกช อํา่ เสงีย่ ม ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3684 หรือนางสาว อรวรรณ ศิริรัตนวงศ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3757 หรือนางสาว วิภาวรรณ ปทวันวิเวก ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4795 หรือนางสาว วรรณาพร จงพีรเดชานนท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4098 หรือ นายธนิต โอสถาเลิศ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5155 แหงบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ซึ่งมีคุณสมบัติเปนผูสอบบัญชี บริษัทจดทะเบียนตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ใหเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และ กําหนดจํานวนเงินคาสอบบัญชีประจําป 2556 จํานวน 990,000 บาท ซึ่งเห็นวาเปนคาตอบแทนที่เหมาะสมแลว

7. ในรอบป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวม 8 ครั้ง 2. การตรวจสอบในรอบป 2555 ไดกําหนดขอบเขตการตรวจสอบให โดยประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบทั้งสามคน ครอบคลุมถึงความเสี่ยงที่สําคัญและความเพียงพอของระบบควบคุม เขาประชุมครบทุกครั้ง ภายใน ซึ่งไดแนะนําใหฝายบริหารปรับปรุงแกไขขอบกพรองและระบบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานตามภารกิจ งานตางๆ ใหรัดกุม ทีไ่ ดรบั มอบหมาย โดยไดประชุมหารือกับผูบ ริหารทีเ่ กีย่ วของเปนระยะๆ 3. ไดสอบทานวาบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และปรึกษาหารือกับผูสอบบัญชีเปนประจําทุกไตรมาสเพื่อขอทราบขอ และตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ สังเกตเกีย่ วกับงบการเงินและการควบคุมภายในดานบัญชี ไมพบประเด็น ของบริษัทฯ ในรอบป 2555 โดยไดแนะนําใหฝายบริหารใหความสําคัญ ที่ผิดปกติอยางมีนัยสําคัญ กับการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และเรื่องสุขอนามัยและ ความปลอดภัยในการทํางาน โดยเฉพาะการวาจางแรงงานภายนอกให เปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายโดยเครงครัด วันที่ 12 มีนาคม 2556 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ 4. ไดสอบทานการทํารายการไดมาและจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน รวมทั้ง รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ที่เกิดขึ้นในป 2555 แลวเห็นวาเปนการซื้อขายสินคาโดยมีราคาและ เงือ่ นไขตามปกติธรุ กิจทัว่ ไป โดยมีการเปดเผยขอมูลทีเ่ พียงพอและมีการ ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฏหมายที่เกี่ยวของแลว (นายสมบูรณ ภูวรวรรณ) ประธานกรรมการตรวจสอบ 5. ไดแนะนําใหฝายบริหารใหความสําคัญกับการบริหารงานตามหลัก การกํากับดูแลกิจการที่ดีใหเปนไปตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย 7

DRT TH_4 color.indd 7

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานคณะกรรมการ สรรหาและพ�จารณาผลตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและพ�จารณาผลตอบแทน (ก.ส.ต.) ไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบร�ษัทฯ โดยใน รอบป 2555 ที่ผานมา ไดมีการประชุมรวม 6 ครั้ง มีการพ�จารณาเร�่องตางๆ สรุปไดดังนี้ ก. การสรรหากรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการที่ตองออกจาก ตําแหนงตามวาระ

โดยทีก่ รรมการบริษทั ฯ ตองออกจากตําแหนงตามวาระเปนอัตราหนึง่ ในสาม ในการประชุมผูถ อื หุน ประจําป จึงตองพิจารณาสรรหาบุคคลทีม่ คี วามเหมาะ สมเขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษทั ฯ แทนตําแหนงทีว่ า งลงตามวาระ โดย คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดกําหนดวิธีการและขั้นตอนในการสรรหา ดังนี้ 1. คณะกรรมการ ก.ส.ต. รับทราบรายชื่อกรรมการที่ตองออก ตามวาระ และรายชื่อบุคคลภายนอกที่ไดรับการเสนอชื่อเขาคัดเลือกเพื่อ ดํารงตําแหนงกรรมการทั้งจากกรรมการบริษัทฯ และผูถือหุนรายยอย 2. คณะกรรมการ ก.ส.ต. พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสม เปนกรรมการบริษัทฯ จากรายชื่อที่ไดรับการเสนอ โดยผูที่จะไดรับการ แตงตั้งเปนกรรมการบริษัทฯ จะตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตอง หามตามที่กฎหมายกําหนด 3. คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดคัดเลือกและเสนอรายชื่อผูที่มี ความเหมาะสมเปนกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการที่ตองออกตาม วาระตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณานําเสนอตอที่ ประชุมผูถือหุนประจําปตอไป

• การจายเงินโบนัสประจําปของคณะกรรมการบริษัทฯ ตาม ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ค. การพิจารณาหลักเกณฑการวัดผลการดําเนินการของบริษัทฯ

คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาหลักเกณฑการวัดผลการดําเนินการ ของบริษทั ฯ หรือ KPIs (Key Performance Indicators) เพือ่ ใชในการพิจารณา ปรับอัตราเงินเดือนและการจายเงินรางวัลประจําป (โบนัส) ใหกับพนักงาน ของบริษัทฯ คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาหลักเกณฑการวัดผลการ ดําเนินการของบริษทั ฯ โดยพิจารณาจากงบประมาณประจําปและเปาหมาย การดําเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งสภาวะตลาดและเศรษฐกิจ ง. การพิจารณาปรับอัตราเงินเดือนและการจายเงินรางวัลประจําป (โบนัส) ใหกับผูบริหารและพนักงานบริษัทฯ

1. คณะกรรมการ ก.ส.ต.ไดพิจารณาการปรับขึ้นเงินเดือนและ เงินรางวัลประจําป (โบนัส) ใหกับผูบริหารระดับสูงของบริษัทฯ โดย พิจารณาจากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยรวมและผลการปฏิบัติ งานของผูบ ริหารแตละคน ทัง้ นีเ้ งินรางวัลประจําป (โบนัส) ของผูบ ริหาร ระดับสูงจะใชหลักเกณฑเชนเดียวกับที่จายใหกับพนักงานทั่วไป 2. คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาการปรับขึ้นเงินเดือนและ ข. การพิจารณาผลตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ ก.ส.ต. ได กํ า หนดหลั ก เกณฑ ใ นการพิ จ ารณา เงินรางวัลประจําป (โบนัส) ใหกับพนักงานของบริษัทฯ โดยพิจารณา จากผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยรวม สภาวะตลาดและเศรษฐกิจ ผลตอบแทนคณะกรรมการดังนี้ 1. ผลตอบแทนตองเหมาะสมกับขอบเขตหนาที่และความรับ สภาวะการจางงาน รวมทั้งเปรียบเทียบขอมูลการปรับอัตราเงินเดือน ของบริษัทตางๆ ในอุตสาหกรรมที่ใกลเคียงกัน ผิดชอบของกรรมการแตละคน 2. ผลตอบแทนควรอยูในระดับใกลเคียงกับบริษัทอื่นในตลาด จ. การพิจารณาปรับฐานเงินเดือนพนักงานตามนโยบายการปรับ หลักทรัพยแหงประเทศไทยที่มีผลการดําเนินงานใกลเคียงกันและอยู ขึ้นคาแรงงานขั้นตํ่า ในระดับเพียงพอที่จูงใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพไวได คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาการปรับฐานเงินเดือนพนักงานบริษัทฯ ที่ 3. ผลตอบแทนจะต อ งเชื่ อ มโยงกั บ ผลการดํ า เนิ น งานของ มีอายุงานเกิน 3 ป เพื่อใหสอดคลองกับการปรับคาจางเริ่มตนของพนักงาน บริษัทฯ โดยรวม เขาใหมทตี่ อ งปรับขึน้ ตามนโยบายภาครัฐในการปรับขึน้ คาแรงงานขัน้ ตํา่ เปน คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาผลตอบแทนคณะกรรมการ 300 บาทตอวัน และไดนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติจากที่ประชุม ผูถือหุนประจําปในเรื่องดังตอไปนี้ วันที่ 6 กุมภาพันธ 2556 • อัตราผลตอบแทนประจําเดือนของประธานกรรมการและ ในนามคณะกรรมการ ก.ส.ต. กรรมการบริษัทฯ • อัตราผลตอบแทนประจําเดือนของประธานกรรมการตรวจ สอบและกรรมการตรวจสอบ • อัตราผลตอบแทนประจําเดือนของประธานกรรมการ ก.ส.ต. (นายชัยยุทธ ศรีวิกรม) และกรรมการ ก.ส.ต. ประธานกรรมการ ก.ส.ต. รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 8

8

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานคณะกรรมการบร�หารความเสี่ยง ตามทีค่ ณะกรรมการจัดการซึง่ ไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบร�ษทั ฯ ใหแตงตัง้ คณะกรรมการบร�หารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบดวย ผูบร�หารตั้งแตผูจัดการสวนข�้นไปจํานวน 14 คนจากทุกหนวยงานของบร�ษัทฯ

โดยในรอบป 2555 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดจัดใหมีการประชุม รวม 12 ครั้ง ทั้งนี้มีการประชุมแยกแตละปจจัยเสี่ยงตามความเหมาะสม โดยไดกาํ หนดนโยบายและแนวทางในการบริหารความเสีย่ ง พรอมปรับปรุง แผนงานในการบริ ห ารความเสี่ ย งตามข อ แนะนํ า ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้

3. ประกาศนโยบาย และทบทวนระบบการบริหารความเสี่ยง การ วางแผนการบริหารงานในภาวะวิกฤต รวมทัง้ กระบวนการตรวจสอบและ การรายงาน เพื่อสรางความมั่นใจวาบริษัทฯ มีระบบการบริหารความ เสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ

4. กํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามกรอบแหงการบริหารความเสี่ยงและ 1. ทบทวนความเสีย่ งทุกระดับอยางสมํา่ เสมอ โดยการประเมินและวิเคราะห สอบทานการเปดเผยขอมูลความเสี่ยงตอหนวยงานกํากับดูแลและ ปจจัยเสี่ยงตางๆ เพื่อจัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยง โดยพิจารณา สาธารณะอยางถูกตองและสมํ่าเสมอ จากโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ และผลกระทบตางๆ ซึง่ ไดจดั ระดับความเสีย่ งทีต่ อ ง ไดรับการแกไขโดยเรงดวน (Red Risk) และระดับความเสี่ยงที่ตองเฝาระวัง การดําเนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งอยางเปนระบบ และ ซึ่งอาจจะเปนปจจัยเสี่ยงในอนาคต (Yellow Risk) โดยไดจัดทําแผนงานใน การติดตามผลการดําเนินงานอยางใกลชิดในปที่ผานมา สงผลให สามารถควบคุมความเสีย่ งตางๆ ใหอยูใ นระดับทีไ่ มกอ ใหเกิดผลกระทบ การบริหารความเสี่ยงในแตละเรื่องอยางเหมาะสม ตอการดําเนินงานของบริษัทฯ ได ทั้งนี้เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ 2. ติดตามผลการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ตองไดรับการแกไขโดยเรง ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ดวน รวมทั้งแนวทางปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดย จัดทํารายงานการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เสนอคณะกรรมการจัดการและ คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยผานการสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ อยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง วันที่ 1 มีนาคม 2556 ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

(นายสาธิต สุดบรรทัด) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

9

DRT TH_4 color.indd 9

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบร�ษัทฯ ไดเห็นความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงไดมอบหมายใหคณะกรรมการจัดการในการแตงตั้ง คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี เพ�อ่ กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทั้งการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม เพ�่อใหมีการบร�หารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส สามารถตรวจสอบ ได อันเปนการสรางความมั่นใจแกผูมีสวนไดเสียทุกฝาย

โดยในรอบป 2555 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ไดจัดใหมีการ 5. ดวยความมุงมั่นที่จะเปนองคกรชั้นนํา มีการบริหารงานจัดการอยาง ประชุม รวม 7 ครั้ง เพื่อติดตามแผนงานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่ง มืออาชีพ ใหความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ในป 2555 บริษทั ฯ สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ไดรับรางวัลจากการประเมินดานการกํากับดูแลกิจการ ดังนี้ • รางวัลระดับ 5 ดาว อยูในกลุม ”ดีเลิศ (Excellent)” รางวัล 1. จัดทําคูม อื การกํากับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance ระดับ Top Quartile ในกลุมตลาดที่มีมูลคาหลักทรัพย 3,000Handbook) เพื่อใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกคนไดยึดเปน 9,999 ลานบาท แนวปฏิบัติในการดําเนินงาน โดยไดทําการเผยแพรบนเว็บไซตและ • รางวัล “ดีเดน” ประเภทรางวัล บริษัทจดทะเบียนดานผล อินทราเน็ตของบริษัทฯ ดําเนินงาน ในงาน “SET Awards 2012” • รางวัลการประเมินคุณภาพ AGM ไดคะแนนอยูในชวง 100 2. จัดใหมีกระบวนการติดตามและดูแลใหมีการปฏิบัติตามคูมือการ คะแนน (ดีเลิศ) ของบริษัทจดทะเบียน ประจําป 2555 โดย กํากับดูแลกิจการที่ดี และประกาศเผยแพรจรรยาบรรณธุรกิจใหกับ สมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย (TIA) พนักงานทุกคนเพือ่ พัฒนาไปสูว ฒ ั นธรรมองคกร โดยบรรจุเรือ่ งการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบตอสังคม และจรรยาบรรณธุรกิจ เปน การดําเนินงานดานการกํากับดูแลกิจการในปทผี่ า นมา บริษทั ฯ สามารถ สวนหนึ่งของการปฐมนิเทศนพนักงานใหม การอบรมพัฒนาพนักงาน ดําเนินการไดบรรลุตามเปาหมายทีว่ างไว คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ การอบรม ISO และ Safety อีกทั้งจัดทําเปนเอกสารแผนพับ เพื่อเผย ที่ดี จะมุงมั่นพัฒนาการดําเนินงานดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ ความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทฯ ใหเกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้น เพื่อ แพรใหพนักงานทุกคนไดรับทราบ ประโยชนสูงสุดตอผูถ ือหุน ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม และผูมีสวน 3. เขารวมโครงการดานการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ไดแก โครงการพัฒนา ไดเสียทุกฝายในภาพรวม บริษทั จดทะเบียน ดานการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ประจําป 2555 ซึง่ ดําเนิน วันที่ 1 มีนาคม 2556 การโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ ในนามคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี กํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ใหเปนสากลและสรางความมั่นใจแกผูมี สวนไดเสียทุกฝาย 4. กําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการ บริษัทฯ ทั้งคณะ ปละ 1 ครั้ง เพื่อใหกรรมการไดทบทวนผลการปฏิบัติ งานของตนวามีจุดแข็ง จุดออน อยางไร และมีการปรับปรุงการปฏิบัติ งานของคณะกรรมการเพื่อเปนประโยชนสูงสุดตอการดําเนินงานของ บริษัทฯ ซึ่งผลการประเมินประจําป 2555 ไดคะแนนรวมสูงกวาปกอน

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 10

(นายสาธิต สุดบรรทัด) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

10

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานคณะกรรมการ

ความรับผิดชอบตอสังคมและสิ�งแวดลอม ตามที่คณะกรรมการจัดการซึ่งไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบร�ษัทฯ ใหแตงตั้งคณะกรรมการความรับผิดชอบตอสังคมและสิ�ง แวดลอม (CSR)

โดยในรอบป 2555 คณะกรรมการ CSR ไดจัดใหมีการประชุม รวม 8 ครัง้ เพือ่ กําหนดนโยบายทิศทางและแนวทางในการดําเนินการดานความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัทฯ ซึ่งสรุปสาระสําคัญได ดังนี้

5. เขารวมกิจกรรมและการฝกอบรมที่เกี่ยวของกับความรับผิดชอบตอ สังคมและสิ่งแวดลอม ไดแก โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการดาน CSR แก บริษัทจดทะเบียน เรื่อง “การบริหารความรับผิดชอบตอสังคมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน” รุนที่ 2 โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมใหมีความ รับผิดชอบตอสังคมอยางมีสวนรวม (CSR-DIW) ปงบประมาณ 2556 ซึ่ง 1. กําหนดนโยบายความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม และ จัดขึ้นวันที่ 26 กันยายน 2555 และโครงการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดีดาน ประกาศเผยแพรใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนไดรับทราบ CSR (CSR Best Practices) ของบริษัทจดทะเบียนกลุมอสังหาริมทรัพย และปฏิบัติตาม และกอสราง ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 20-21 กันยายน 2555 2. จัดทําแผนงาน และงบประมาณการดําเนินงานดานสังคม และสิ่ง 6. จัดทํารายงานความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) สูความยั่งยืนเพื่อ แวดลอม โดยจัดสรรเปน 2 สวนสําหรับกิจกรรมภายในบริษทั ฯ เพือ่ ดูแล รายงานผลการดําเนินงานในรอบป 2555 ความเปนอยูของพนักงาน และสําหรับกิจกรรมภายนอกบริษัทฯ เพื่อ ดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอม การดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม และ สิ่งแวดลอมที่ผานมา สามารถดําเนินการตามแผนงานที่ไดวางไว 3. จัดทําขอมูลเผยแพรเกีย่ วกับความรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอม เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญวา “สังคม” เปนกลไกสําคัญ บนเว็บไซตและอินทราเน็ตของบริษัทฯ เพื่อพัฒนาการติดตอสื่อสาร ที่จะชวยสงเสริมผลักดันใหกิจการของบริษัทฯ คงอยูและเติบโตอยาง ระหวางบริษัทฯ และผูมีสวนไดเสียทุกฝายเพื่อใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มั่นคง ยั่งยืน และเปนที่ยอมรับจากผูมีสวนไดเสียทุกฝาย และทําใหสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆ ของบริษัทฯ ไดอยาง รวดเร็ว ครบถวน และถูกตอง วันที่ 1 มีนาคม 2556 4. จัดทําโครงการดานความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมประจํา ในนามคณะกรรมการความรับผิดชอบ ป 2555 ไดแก โครงการอบรมชางหัวใจเพชรรุนที่ 1 เปนโครงการพัฒนา ตอสังคมและสิ่งแวดลอม อาชีพชางมุงหลังคาใหกับคนในชุมชน โครงการสนับสนุนวัสดุกอสราง ในการซอมแซมบานคนพิการ จากที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล เริงราง อําเภอเสาไห จังหวัดสระบุรี และโครงการคายคืนปญญาสู มาตุภูมิ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (นายสาธิต สุดบรรทัด) โครงการพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพชางมุงหลังคากระเบื้อง สําหรับนักเรียน ประธานกรรมการความรับผิดชอบ โรงเรียนพระดาบส เปนตน ตอสังคมและสิ่งแวดลอม

11

DRT TH_4 color.indd 11

3/30/56 BE 11:56 AM


รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 12

12

3/30/56 BE 11:56 AM


คณะกรรมการบร�ษัท คณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 12 คน นายประกิต ประทีปะเสน ประธานกรรมการ อายุ 70 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 1.89% : 1.64% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาศาสตร บั ณ ฑิ ต ทางด า นบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาวิทยาลัยซิลิแมน ประเทศฟลิปปนส • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเวยนสเตท รัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลั ก สู ต รสิ น เชื่ อ ชั้ น สู ง สถาบั น สิ น เชื่ อ ธนาคารซิ ตี้ แ บงค ประเทศฟลิปปนส • หลักสูตรผูบริหารระดับสูง มหาวิทยาลัยสแตนดฟอรด และ มหาวิทยาลัยสิงคโปร ประเทศสิงคโปร

• หลักสูตรพิเศษ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวม เอกชน รุนที่ 3 • หลักสูตรผูบริหารระดับสูง โปรแกรมสําหรับผูบริหาร สถาบัน เอ็มไอที รัฐแมชซาชูเซตส ประเทศสหรัฐอเมริกา • Director Accreditation Program (DAP 1/2003)

ประสบการณทํางาน

2545 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด 2543 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) 2543 - ปจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ซัสโก จํากัด (มหาชน) 2543 - ปจจุบัน ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัท อาเชี่ยนมารีน เซอรวิส จํากัด (มหาชน) 2543 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จํากัด (มหาชน) 2547 - 2554 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยชูการมิลเลอร คอรปอเรชั่น จํากัด ฯลฯ

นายชัยยุทธ ศร�ว�กรม

กรรมการ / ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน อายุ 46 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.21% : 0.25% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยนิวยอรก • ปริ ญ ญาโท สาขารั ฐ ประศาสนศาตร สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร (นิดา) • Director Accreditation Program (DAP 33/2005) • Role of the Compensation Committee (RCC 7/2008) • Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE 13/2011)

ประสบการณทํางาน

2547 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เค เอ็ม ซี แอพพาเรล จํากัด 2545 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด 2542 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท ที ซี เอช ซูมิโนเอะ จํากัด 2542 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยเอาทดอร สปอรต จํากัด 2541 - ปจจุบัน กรรมการผูอํานวยการ บริษัท ศรีวิกรม กรุป โฮลดิ้ง จํากัด ฯลฯ

13

DRT TH_4 color.indd 13

3/30/56 BE 11:56 AM


นายเจมส แพ็ทตริค รูนี่ย

กรรมการ อายุ 74 ป / สัญชาติอเมริกัน สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.33% : 0.37% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• The American Graduate School of International Management, MBA • Yale University Department of Far Eastern Studies • Pomona College, BA • Director Certification Program (DCP 47/2004) • Charter Director (Class 4/2008)

ประสบการณทํางาน

2546 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด 2546 - ปจจุบัน กรรมการ Samitivej Plc. 2541 - ปจจุบัน กรรมการ AsiaWorks Television Limited, Bangkok, Thailand 2537 - ปจจุบัน กรรมการ Bangkok Airways Limited, Bangkok, Thailand 2522 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เจ พี รู นีย แอนด แอสโซซิเอท จํากัด ฯลฯ

นายไพฑูรย กิจสําเร็จ

กรรมการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน อายุ 69 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.11% : 0.18% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• พาณิชยศาสตรและการบัญชี (พศ.บ.) จุฬาลงกรณ

ประสบการณทํางาน

2547 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ หอการคาไทยและ สภาหอการคาไทย 2546 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด 2546 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท เอลมทรี จํากัด 2544 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามแอดมินิสเทรทีฟ แมเนจแมนท จํากัด 2541 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอสซีเอ็มบี จํากัด ฯลฯ

มหาวิทยาลัย • Asian Institute of Management, Manila, Philippines • Pacific Rim Bankers Program, University of Washington, Seattle, U.S.A. • Director Accreditation Program (DAP 32/2005) • Director Certification Program (DCP 55/2005)

นายสมบูรณ ภูวรวรรณ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 66 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.67% : 0.71% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี วิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • Director Accreditation Program (DAP 32/2005) • Audit Committee Program (ACP 4/2005) • Director Certification Program (DCP 55/2005) & (RE DCP 1/2008) • Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 1/2007) • Monitoring the Internal Audit Function (MIA 1/2007) รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 14

• Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR 6/2008) • Monitoring Fraud Risk Management (MFM 7/2012)

ประสบการณทํางาน

2549 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เซ็มเทค อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 2544 - 2547 กรรมการบริหาร Eagle Cement Co., Ltd. 2544 - 2547 กรรมการบริหาร Holcim (Bangladesh) Co., Ltd. 2544 - 2547 กรรมการ Technical Council / Training of Holcim Group Support (Switzerland) 2520 - 2547 กรรมการบริหารและรองประธานอาวุโส บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ฯลฯ

14

3/30/56 BE 11:57 AM


นายวุฒิไกร โสตถิยานนท

กรรมการอิสระ อายุ 59 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = = - ไมมี ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2550 - 2551 กรรมการ บริษัท อยุธยา อลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผูอํานวยการอาวุโสฝายสนับสนุนเชิงกลยุทธ แบงกแอสชัวรันส บริษัท อยุธยา อลิอันซ ซี.พี.ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

• เนติบัณฑิตไทย • มหาบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร – การจัดการ ภาครัฐและเอกชน • Director Accreditation Program (DAP 89/2011)

นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ อายุ 68 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554: 2555= 0.45% : 0.44% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2542 - 2549 กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจัดการ บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) 2550 - 2551 ที่ปรึกษา บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัย FEATI ประเทศ ฟลิปปนส • Director Accreditation Program (DAP 32/2005) • Audit Committee Program (ACP 4/2005)

นายอนันต เลาหเรณู

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและ พิจารณาผลตอบแทน อายุ 59 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.14% : 0.18% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • Director Accreditation Program (DAP 1/2003) • Director Certification Program (DCP 29/2003) & (RE DCP 2/2006) • Audit Committee Program (ACP 2/2004) • Improving the Quality of Financial Reporting (QFR 2/2006) • Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 1/2007)

DRT TH_4 color.indd 15

• Monitoring the Internal Audit Function (MIA 1/2007) • Corporate Governance Workshop Board Performance • Role of the Compensation Committee (RCC 7/2008) Evaluation 2007

ประสบการณทํางาน ธันวาคม 2555 - ปจจุบัน เมษายน 2555 - ปจจุบัน 2551 - ปจจุบัน 2549 - ปจจุบัน 2546 - ปจจุบัน 2541 - ปจจุบัน 2528 - ปจจุบัน 2547 - 2554

กรรมการ บริษัท ดูอิท จํากัด กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บริษทั อุตสาหกรรมพรมไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร PT. Singlurus Pratama กรรมการ PT. Lanna Mining Services กรรมการ บริษัท ไทยอะโกรเอ็นเนอรยี จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร PT. Lanna Harita Indonesia กรรมการ / กรรมการบริหารและ ผูอํานวยการดานการเงิน บริษัท ลานนารีซอรสเซส จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จํากัด (มหาชน) ฯลฯ

15

3/30/56 BE 11:57 AM


นายอัศนี ชันทอง

กรรมการ / ประธานกรรมการจัดการ / กรรมการผูจัดการ อายุ 60 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.10% : 0.10% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2547 - 2549 กรรมการผูจัดการ S.K.I. Ceramics Co.,Ltd. 2543 - 2547 กรรมการผูจัดการรวม บริษัท โคหเลอร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี วิทยาศาสตร (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม • Master of Management, Sasin Graduate Institute of Business Administration, Chulalongkorn University • Director Accreditation Program (DAP 63/2007) • Financial Statements for Directors (FSD 6/2009)

นายไมตรี ถาวรอธิวาสน

กรรมการ / กรรมการจัดการ / รองกรรมการผูจัดการ สายการ ผลิตและวิศวกรรม อายุ 66 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.17% : 0.21% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2540 - 2547 กรรมการผูจัดการ บริษัท โคหเลอร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาเทคโนโลยี ไฟฟ า อุ ต สาหกรรม) สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า (พระนครเหนือ) • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิพฒั นบริหารศาสตร (นิดา) • Director Accreditation Program (DAP 89/2011)

นายสาธิต สุดบรรทัด

กรรมการ / กรรมการจัดการ / รองกรรมการผูจัดการ สายการ ขายและการตลาด อายุ 52 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.43% : 0.47% ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• Orchestrating Winning Performance International Institute for Management Development, Lausanne, Switzerland (6/2000) • Director Certification Program (DCP 12/2001) • Finance for Non-Finance Director (FN) 2003 • Audit Committee Program (ACP 8/2005)

ประสบการณทํางาน

2542 - 2548 กรรมการ บริษัท กะรัต ฟอเซท จํากัด

• ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิศวกรรม อุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (พระนครเหนือ) • ปริญญาโท (Engineering Administration), Major in Marketing Technology, The George Washington University, Washington D.C., U.S.A. • Managing Change and Change of Management in Asia, Insead Euro-Asia Center, Hong Kong (2/2000) รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 16

16

3/30/56 BE 11:57 AM


นายกฤษณ พันธรัตนมาลา

กรรมการ อายุ 44 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = - ไมมี ของทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ไฟฟา) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (การเงิน) มหาวิทยาลัยฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสาร) อิมพีเรียล คลอเลจ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ • Chartered Financial Analyst CFA Institute ประเทศ สหรัฐอเมริกา • Director Accreditation Program (DAP 86/2007) • Advanced Audit Committee Program (ACP 1/2009)

ประสบการณทํางาน

2554 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท บรรจุภัณฑเพื่อ สิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) 2554 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท กรุปลีส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท คลอลิตี้ เฮาส จํากัด (มหาชน) 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท สหไทยสตีลไพพ จํากัด (มหาชน) 2549 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท รอยัล ปอรซเลน จํากัด (มหาชน) 2549 - ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหโมเสคอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) 2548 - ปจจุบัน ผูอํานวยการ บริษัท ไทยพรอสเพอริตี้ แอ็ดไวซอรี่ จํากัด

ผูบร�หาร นายสุวิทย แกวอําพันสวัสดิ์

กรรมการจัดการ/ ผูชวยกรรมการผูจัดการสายการขาย และการตลาด / อายุ 49 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.25% : 0.27% ของ ทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2543 - 2547 ผูจัดการฝายขาย บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) 2542 - 2543 ผูจัดการฝายขายและการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร (นิดา)

นางสาวธนกานต พันธาภิรัตน

กรรมการจัดการ / ผูชวยกรรมการผูจัดการสายการบัญชีและ การเงิน / เลขานุการบริษัทฯ อายุ 57 ป / สัญชาติไทย สัดสวนการถือหุนบริษัทฯ ป 2554 : 2555 = 0.18% : 0.22% ของ ทุนที่ชําระแลว และมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

ประสบการณทํางาน

2544 - 2549 ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) 2540 - 2543 ผูจัดการฝายบัญชี บริษัท โตโยตา (ประเทศไทย) จํากัด

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม • ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเชียงใหม • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร (นิดา) • Company Secretary Program (CSP 5/2004)

17

DRT TH_4 color.indd 17

3/30/56 BE 11:57 AM


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บร�ษัทฯ เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนังและฝา ไมสังเคราะห รวมทั้งสินคาประกอบการติดตั้งหลังคาและสินคา โครงสรางของบาน พรอมใหบร�การถอดแบบและติดตั้งหลังคา ภายใตเคร�่องหมายการคา ตราเพชร ตราหลังคา ตราอดามัส และ ตราเจียระไน โดยมีผลิตภัณฑหลัก ดังตอไปนี้ 1. กลุมผลิตภัณฑหลังคา แบงเปน 3 กลุมดังนี้ • กลุมหลังคาไฟเบอรซีเมนต ไดแก กระเบื้องลอนคู กระเบื้องลอนเล็ก กระเบื้องแผน เรียบ กระเบื้องจตุลอน และครอบ เปนตน • กลุม หลังคาคอนกรีต ไดแก กระเบือ้ งคอนกรีตแบบลอน กระเบือ้ งคอนกรีตแบบเรียบ และครอบ เปนตน • กลุมหลังคาเจียระไน ไดแก กระเบื้องเจียระไน และครอบ เปนตน 2. กลุมผลิตภัณฑแผนผนังและฝา ไดแก แผนผนัง แผนฝา เปนตน 3. กลุมผลิตภัณฑไมสังเคราะห ไดแก ไมฝา ไมระแนง และไมเชิงชาย เปนตน 4. กลุม สินคาพิเศษ ซึง่ ประกอบดวยกลุม สินคาประกอบการติดตัง้ หลังคาและกลุม สินคาโครงสราง ของบาน ดังนี้ • กลุมสินคาประกอบการติดตั้งหลังคา ไดแก แป แผนสะทอนความรอน แผนปดชาย กันนก สีทาปูนทราย เปนตน • กลุมสินคาโครงสรางของบาน ไดแก โครงหลังคาสําเร็จรูป ไมพื้นลามิเนต แผนยิปซั่ม บอรด และถังนํ้า เปนตน 5. การใหบริการถอดแบบและติดตัง้ หลังคา ติดตัง้ โครงหลังคาสําเร็จรูป ติดตัง้ ไมพนื้ ลามิเนต จาก ทีมงานที่มีความชํานาญและผานการอบรมจากบริษัทฯ

โครงสรางรายได สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ในระยะ 3 ป ที่ผานมา ผลิตภัณฑและบร�การ

รายไดจากการขายและการใหบริการ 1. รายไดจากการขายสินคา 1.1 ผลิตภัณฑกระเบื้องหลังคา 1.2 ผลิตภัณฑแผนผนังและฝา 1.3 ผลิตภัณฑไมสังเคราะห 1.4 กลุมสินคาพิเศษ 2. รายไดจากการใหบริการ รวมรายไดจากการขายและการใหบริการ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 18

ป 2555 ลานบาท

รอยละ

3,631.54 2,579.90 226.80 581.05 243.79 252.04 3,883.58

93.51% 66.43% 5.84% 14.96% 6.28% 6.49% 100.00%

ป 2554 ลานบาท รอยละ

3,482.89 2,529.25 304.19 463.11 186.34 210.23 3,693.12

94.31% 68.48% 8.24% 12.54% 5.05% 5.69% 100.00%

ป 2553 ลานบาท

3,150.71 2,421.49 232.12 383.45 113.65 152.82 3,303.53

รอยละ

95.37% 73.29% 7.03% 11.61% 3.44% 4.63% 100.00%

18

3/30/56 BE 11:57 AM


รายงานความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) สูความยั่งยืน คณะกรรมการบร�ษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะพัฒนาองคกรใหมีการบร�หารจัดการที่โปรงใส มีธรรมาภิบาล และดูแลผลประโยชนของ ผูม สี ว นไดเสียและสังคมโดยรวม พัฒนาบุคลากรใหมคี ณ ุ ธรรม มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั งิ านดวยความระมัดระวังและซือ่ สัตยสจุ ร�ต สงเสร�มใหมีคุณภาพชีว�ตและสภาพแวดลอมที่ดีข�้น เพ�่อมุงสูประสิทธิผลของความรับผิดชอบตอสังคม เพ�่อใหกิจการของบร�ษัทฯ คงอยูและเติบโตอยางยั่งยืน เปนที่ยอมรับของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย โดยดําเนินการดังนี้ 1. การกํากับดูแลกิจการที่ดี ดวยความมุงมั่นที่จะเปนองคกรชั้นนําที่จะดําเนินธุรกิจเพื่อสรางความ นาเชื่อถือใหกับผูถือหุนและผูที่มีสวนไดเสียตอการดําเนินธุรกิจทุกฝาย เพือ่ เพิม่ มูลคาขององคกร และสงเสริมการเติบโตอยางยัง่ ยืน บริษทั ฯ จึง ใหความสําคัญตอหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยยึดหลักการดําเนิน ธุ ร กิ จ ด ว ยสํ า นึ ก รั บ ผิ ด ชอบ (Accountability) ความรั บ ผิ ด ชอบ (Responsibility) ความเทาเทียมกันและเปนธรรม (Equitable Treatment) ความโปรงใส (Transparency) การมีวิสัยทัศนที่นําไปสูการสรางมูลคา เพิ่มในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value) และการมี จรรยาบรรณ (Ethics) ในการดําเนินธุรกิจ รวมถึงการดูแลสังคม และ สิ่งแวดลอม (ดูรายละเอียดในเรื่องการกํากับดูแลกิจการ หนาที่ 49)

ตอผูใ หในทางทีก่ อ ประโยชนตา งตอบแทน หรือเกิดความไมเปนธรรมตอ ผูเ กีย่ วของอืน่ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะพิจารณาเจตนาของผูใ หและผูร บั เปนหลัก

2. การประกอบธุรกิจดวยความเปนธรรม บริษัทฯ ยึดมั่นในหลักการดําเนินธุรกิจดวยความเปนธรรม และสงเสริม ใหพนักงานทุกระดับปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความระมัดระวังและซือ่ สัตยสจุ ริต โดยยึดมั่นในจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ ที่มีนโยบายในการดําเนิน ธุรกิจตอผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม ไดแก ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า และคูแ ขงทาง ธุรกิจ ดวยความเปนธรรม และไมแสวงหาประโยชนสว นตัวที่ขดั แยงกับ ผลประโยชนของบริษัทฯ และผูมีสวนไดเสีย อันรวมถึงการเก็บรักษา ความลับที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจตอผูมีสวนไดเสีย

3. การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และการปฏิ บั ติ ต  อ แรงงาน อยางเปนธรรม บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะดําเนินธุรกิจดวยการเคารพกฎหมายและยึดหลัก สิทธิมนุษยชน และไมสนับสนุนกิจการที่ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ จะใชหลักความยุติธรรมในการบริหารจัดการเกี่ยวกับคาจาง ผลประโยชนตา งๆ และเงือ่ นไขการจางงานอืน่ ๆ รวมทัง้ ตระหนักถึงสิทธิ เสรีภาพในการรวมกลุมของผูรวมงาน ไมใชแรงงานบังคับหรือแรงงาน เด็ก ไมยอมใหมีการเลือกปฏิบัติ และจะดําเนินการเพื่อรับรองโอกาสที่ เทาเทียมกันสําหรับผูรวมงานทุกคน มีสภาพแวดลอมในการทํางานที่มี มนุษยธรรม จัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหพนักงานเขามามีสวนรวม เพื่อ สรางความสัมพันธ ความสามัคคีที่องคกรมีตอพนักงาน ดําเนินการ คัดเลือกโดยไมกีดกันทางเพศ สิทธิในการนับถือศาสนา การแสดง ความคิดเห็นทางการเมือง เปนตน โดยบริษทั ฯ มุง เนนทีจ่ ะดูแลพนักงาน อยางเปนธรรม และสมศักดิ์ศรีในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของบริษัทฯ โดย จะปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตคิ มุ ครองแรงงานและมาตรฐานแรงงานไทย รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบขอบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 3.1 ดานการจางงาน การแตงตั้ง การโยกยาย และการจายคา ตอบแทน จะกระทําดวยความเปนธรรมโดยคํานึงถึงคุณสมบัติ คุณวุฒิ การศึกษา ประสบการณ สภาพรางกายและขอกําหนดอื่นที่จําเปนแก

บริษัทฯ มีมาตรการชดเชยในกรณีที่ผูมีสวนไดเสียไดรับความเสียหาย จากการที่บริษัทฯ ละเมิดสิทธิตามกฎหมายของผูมีสวนไดเสีย และเปด โอกาสใหแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนการกระทําความผิดกฎหมายหรือ จรรยาบรรณผานกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีกระบวนการดําเนินการหลังจากมีผูแจงเบาะแส โดยใหมีการ ตรวจสอบขอมูลและมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ ตอไป บริษทั ฯ จัดใหมแี นวปฏิบตั ทิ ดี่ เี กีย่ วกับการรับ การใหของขวัญ ทรัพยสนิ หรือประโยชนอื่น โดยมีวัตถุประสงค เพื่อมิใหเกิดชองทางทุจริต หรือ เกิดความลําบากใจของผูรับ หรือเกิดผลตอการตัดสินใจในการปฏิบัติ

นอกจากนีย้ งั กําหนดแนวทางในการปฏิบตั งิ านในหนาทีข่ องผูบ ริหารและ พนักงานตามคุณคาทีบ่ ริษทั ฯ มุง หวัง รวมถึงจรรยาบรรณและภาระความ รับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียตางๆ เพื่อประโยชนในการสรางมาตรฐาน ดานพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านของผูบ ริหารและพนักงานใหอยูบ นพืน้ ฐาน ของความซื่อสัตยสุจริต โดยใหมีการเผยแพรคูมือการกํากับดูกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ บนเว็บไซตของบริษัทฯ (www.dbp.co.th) เพื่อ ใหผูบริหารและพนักงานไดรับทราบและถือปฏิบัติอยางทั่วถึงทั้งองคกร และใหมีการติดตามการปฏิบัติตามระเบียบอยางสมํ่าเสมอ

19

DRT TH_4 color.indd 19

3/30/56 BE 11:57 AM


พนักงาน ในตําแหนงนั้นๆ นอกจากนั้นบริษัทฯ ไดปรับเพิ่มกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเปนรอยละ 3-5 ตามอายุงาน เพื่อสงเสริมใหพนักงานรูจักออม และสามารถเลือกอัตราการออมไดตามที่ตองการ และบริษัทฯ จะสมทบใหในอัตราเดียวกับพนักงาน 3.2 ดานสวัสดิการ การรักษาพยาบาลและความปลอดภัย ถือเปนความรับผิดชอบของบริษัทฯ ที่จะตองดูแลสวัสดิภาพของพนักงาน และ รักษาสภาพการทํางานใหเปนไปโดยถูกตอง ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ และยึดมัน่ ในการปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับแรงงานอยางเครงครัด พรอมทั้งคํานึงถึงสวัสดิภาพที่ดีของพนักงานเปนสําคัญ 3.3 ดานการรองเรียน กําหนดใหมีการรองเรียนของพนักงานตอบริษัทฯ ในเรื่องที่เห็นวาไมไดรับความเปนธรรม มีการปฏิบัติที่ไมถูกตอง หรือมีการละเลยไมปฏิบตั ติ ามขอบังคับการทํางานหรือสัญญาหรือขอตกลงทีร่ ว มกันจัดทําไว โดยผูร อ งทุกขตอ งปฎิบตั ติ ามขัน้ ตอนหรือกระบวนการ รองทุกขที่บริษัทฯ กําหนดไว ในขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานของบริษัทฯ 3.4 ดานการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน สนับสนุนการ ฝกอบรมและสัมมนาที่เกี่ยวของกับการทํางานในแตละหนวยงาน ซึ่งถือเปนสวนสําคัญในการพัฒนาพนักงานใหมีคุณภาพและความเจริญกาวหนา ยิ่งขึ้น โดยในป 2555 บริษัทฯ จัดใหมีการอบรมและพัฒนาบุคลากร ดังนี้ ประเภทหลักสูตร

Productivity Improvement Standard System Human Resource Development Technical Training Safety Others รวม

จํานวนหลักสูตร

จํานวนรุน

จํานวนชั่วโมงฝกอบรม

17 6 16 13 10 31 93

29 6 26 20 13 33 127

3,010 234 5,625 1,287 1,314 3,231 14,701

การพัฒนาบุคลากรป 2555 มุงเนนในการพัฒนาสงเสริมคานิยมองคกรและสรางวัฒนธรรมองคกร การพัฒนาศักยภาพบุคลากร รวมทั้งการพัฒนาดาน การเพิ่มผลผลิต และความปลอดภัยในการทํางาน สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 3.4.1 การสงเสริมคานิยมองคกรและสรางวัฒนธรรมองคกร บริษทั ฯ ไดมกี ารจัดอบรมเรือ่ งคานิยมองคกร (Core Value) ใหกบั พนักงานทุกคน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เปนการสรางใหพนักงานมีคณุ ลักษณะ (Competency) ที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน รวมถึงสามารถนําเอาคานิยมองคกรไปพัฒนาตนเอง และนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได นอกจาก นี้ ยังชวยใหพนักงานเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและเกิดความรักองคกร 3.4.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (HR Development) มุงเนนใหพนักงานพัฒนาศักยภาพของตนเอง นอกเหนือจากศักยภาพในหนาที่ตําแหนงงานแลว ยังหมายรวมถึง การพัฒนาศักยภาพแฝงที่ อยูในตัวพนักงานแตละคน อาทิเชน การจัดอบรม Train the Trainer ใหกับพนักงานฝายวิศวกรรมและซอมบํารุง เพื่อกาวสูการเปนวิทยากรมืออาชีพ และ จัดชั่วโมงการสอนโดยสอนใหกับเพื่อนพนักงานดวยกันเอง ภายใตชื่อโครงการ “ครูตราเพชร” 3.4.3 การเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) การเพิ่มปริมาณดานการผลิต การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เปนการลดปริมาณของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต โดยบริษัทฯ ไดมีการ จัดฝกอบรมในทุกระดับตั้งแตพนักงานระดับบริหารจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ ไมวาจะเปนหลักสูตร TPM Kaizen และ 5S เปนตน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหพนักงานสามารถนําเอาเครื่องมือตางๆ ในแตละหลักสูตร ไปประยุกตใชในการทํางานเพื่อเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงประสิทธิภาพ และกระบวนการ ทํางานใหงายขึ้น สะดวกขึ้น รวมไปถึงการลดตนทุนการผลิตดวย รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 20

20

3/30/56 BE 11:57 AM


3.4.4 ดานความปลอดภัย ดวยบริษทั ฯ ใหความสําคัญในเรือ่ งความปลอดภัยเปนลําดับแรก จึงไดมกี ารจัดอบรมและใหความรูพ นักงานในเรือ่ งของความปลอดภัย โดยเริม่ ตั้งแตการทบทวนการสรางจิตสํานึกความปลอดภัยในระดับหัวหนางาน พนักงาน ตลอดจนผูรับเหมา อีกทั้งยังมีการจัดอบรมเพื่อใหพนักงานทราบถึง บทบาทหนาทีใ่ นการมีสว นรวมเรือ่ งความปลอดภัย อาทิหลักสูตร จป. หัวหนา งาน นอกจากนี้ ไดมกี ารจัดอบรมการปฐมพยาบาลเบือ้ งตนเพือ่ เปนประโยชน กับพนักงานที่สามารถนําความรูไปใชในการทํางานและชีวิตประจําวัน

5. การดําเนินการดานชุมชนและสังคม

5.1 นโยบายความรับผิดชอบตอสังคม

บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการดําเนินกิจการใหเปนไปตามนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) และไดกําหนดใหความรับผิดชอบ ตอสังคมเปนสวนหนึง่ ในจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ (Code of Conduct) เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญวา “สังคม” เปนกลไกสําคัญที่จะ ชวยสงเสริมผลักดันใหกจิ การของบริษทั ฯ คงอยูแ ละเติบโตอยางมัน่ คงยัง่ ยืน และเปนทีย่ อมรับจากผูท เี่ กีย่ วของทุกกลุม โดยเริม่ จากสังคมเล็กๆ ในองคกร ไดแก กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานซึ่งเปนหัวใจสําคัญที่เสริมศักยภาพ 4. ความรับผิดชอบตอผูบริโภค และความสามารถในการแขงขันไปสูสังคมระดับชุมชน รวมทั้งเปนการสง บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญดานความพอใจตอความสําเร็จของธุรกิจ เสริมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ไดดําเนินการไปใน บริษทั ฯ จึงมีเจตจํานงทีจ่ ะแสวงหาวิธกี ารทีจ่ ะตอบสนองความตองการของ ทิศทางเดียวกัน จึงกําหนดนโยบายความรับผิดชอบตอสังคม ดังนี้ ลูกคาใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยมีแนวปฏิบัติดังตอไปนี้ • สงมอบสินคาและใหบริการทีม่ คี ณุ ภาพ ตรงตามหรือสูงกวาความ “นโยบายความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม เปนหนาที่ความรับผิด คาดหมายของลูกคาในราคาที่เปนธรรม ชอบของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ในการประกอบธุรกิจอยางมี • ใหขอ มูลขาวสารทีถ่ กู ตอง เพียงพอ และทันตอเหตุการณแกลกู คา จริยธรรม และรับผิดชอบตอสังคม มีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน สังคม เพื่อใหทราบเกี่ยวกับสินคาและบริการ โดยไมมีการกลาวเกินความเปนจริง และสิ่งแวดลอมโดยรวม มีการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนโดย ทีเ่ ปนเหตุใหลกู คาเขาใจผิดเกีย่ วกับคุณภาพ ปริมาณหรือ เงือ่ นไขใดๆ ของ ไมเลือกปฏิบัติ ไมวาผูที่เกี่ยวของสวนตางๆ จะมีเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สินคาหรือบริการนั้นๆ และวัฒนธรรมที่แตกตางกัน มีการบริหารจัดการดวยความเปนธรรม ปลูก • ติดตอกับลูกคาดวยความสุภาพ มีประสิทธิภาพ และเปนทีว่ างใจ ฝงจิตสํานึกใหพนักงานทุกระดับมีความรับผิดชอบตอสังคมอยางจริงจังและ ไดของลูกคา และจัดใหมีระบบกระบวนการที่ใหลูกคารองเรียนเกี่ยวกับ ตอเนื่อง โดยไมหวังสิ่งตอบแทน มีการสงเสริมใหเกิดกิจกรรมที่สราง คุณภาพ ปริมาณ ความปลอดภัยของสินคา รวมทัง้ ความรวดเร็วในการตอบ ประโยชนแกชุมชนและสังคม เพื่อการพัฒนาอยางมั่นคงและยั่งยืน” สนองหรือสงมอบ และการดําเนินการอยางถึงที่สุดเพื่อใหลูกคาไดรับการ ตอบสนองอยางรวดเร็ว ภายใตกรอบแนวทาง ดังตอไปนี้ • รักษาความลับของลูกคา และไมนาํ ไปใชเพือ่ ประโยชนของตนเอง • กิจกรรมระดับองคกร เปนกิจกรรมที่พัฒนาทักษะของกรรมการ หรือผูที่เกี่ยวของโดยมิชอบ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกระดับ เพือ่ สรางองคความรูภ ายในองคกร สงเสริม • ใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการใชสินคา และบริการของบริษัทฯ ให ใหพนักงานมีสว นรวมในการแสดงออกถึงความคิดเห็นตอองคกร มีสว นรวม มีประสิทธิภาพเปนประโยชนกับลูกคาสูงสุด ในการพัฒนาชุมชน และรักษาสิ่งแวดลอมที่ดีภายในองคกร • กิจกรรมระดับชุมชน เปนกิจกรรมทีส่ อดคลองกับการดําเนินธุรกิจ โดยในรอบป 2555 บริษัทฯ ไมมีขอรองเรียนที่เปนสาระสําคัญอันเกิดจาก ของบริษัทฯ ที่สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง กอใหเกิดประโยชนตอ การใชผลิตภัณฑของบริษัทฯ อีกทั้งการใหขอมูลขาวสารที่ถูกตอง เพียงพอ สังคม ชุมชน และสิง่ แวดลอมในระยะยาว กอใหเกิดการพัฒนาการดานการ แกลกู คา เพือ่ กอใหเกิดประโยชนในการบริหารจัดการทัง้ ผูผ ลิตและผูบ ริโภค ศึกษาและการเรียนรูอ ยางตอเนือ่ ง ทัง้ คุณภาพชีวติ ของคนในสังคมทีบ่ ริษทั ฯ ประกอบธุรกิจ และสังคมโดยรวม เปนกิจกรรมที่ชวยเหลือสังคม กรณีเกิด ทั้งนี้ สําหรับความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียกลุมอื่นๆ ไดแก ผูถือหุน ลูกคา ภัยพิบัติ และสนับสนุนพัฒนาการเรียนรูและการสรางจิตสํานึกความรับผิด คูคา คูแขง และเจาหนี้ทางการคา บริษัทฯ ไดมีการประกาศใชจรรยาบรรณทาง ชอบตอสังคมของเยาวชน ธุรกิจ (Code of Conduct) เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานของบริษัทฯ ซึ่ง รวมอยูในคูมือการกํากับดูแลกิจการที่ดี ที่เผยแพรบนเว็บไซตของบริษัทฯ 21

DRT TH_4 color.indd 21

3/30/56 BE 11:57 AM


กําหนดใหมกี ารสือ่ สารและเผยแพรการดําเนินงานดานสังคมและชุมชน เพือ่ ใหพนักงานของบริษัทฯ และผูที่เกี่ยวของทุกฝายไดรับรู ผานเว็บไซตของ บริษัทฯ ดังนี้ • ภายในบริษทั ฯ ผาน http://drt/ หัวขอ “ความรับผิดชอบตอสังคม” • ภายนอกบริษทั ฯ ผาน http://www.dbp.co.th/trade_information. htm ในสวนของ “ขอมูลนักลงทุน” หัวขอ “ความรับผิดชอบตอสังคม” 5.2 กิจกรรมระดับองคกร จากนโยบายความรับผิดชอบตอสังคม ขางตน ในรอบป 2555 บริษัทฯ ไดสงเสริมใหเกิดกิจกรรมที่สงเสริมให พนักงานมีสว นรวมในการแสดงออกถึงความคิดเห็นตอองคกร มีสว นรวมใน การพัฒนาชุมชน สังคม และรักษาสิ่งแวดลอมที่ดีภายในองคกร ซึ่งมี แนวทางดังนี้ 5.2.1 การดําเนินการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (SHE) บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญดานอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยในการทํางาน เพราะเชื่อวาอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ และโรคที่เกิด ขึน้ จากการทํางาน เปนเรือ่ งทีส่ ามารถปองกันไดดว ยการสรางจิตสํานึกดาน ความปลอดภัย และความรวมมือรวมใจของทุกคนในองคกร โดยปที่ผานมา บริษทั ฯ ไดดาํ เนินงานเรือ่ งความปลอดภัยของพนักงาน ผูร บั เหมา และผูม า เยือนอยางตอเนือ่ ง โดยมีการอบรมพัฒนา และกิจกรรมรณรงคสง เสริมดาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน ดังนี้ (ก) กิจกรรมรณรงคดานความปลอดภัย เชน • กิจกรรม “SHE LOVE YOU : บอกรักกับชี” : รณรงคความ ปลอดภัยในเทศกาลแหงความรัก • กิจกรรม “ Safety Talk และ KYT” : รณรงคสงเสริมและ บอกเลาเรื่องราวความปลอดภัยทุกพื้นที่ • กิจกรรม “เลนนํ้ากับชี (SHE)” : การรณรงคสงกรานตกลับ บานปลอดภัย ในเทศกาลสงกรานต ไดแก พิธสี รงนํา้ พระ รดนํา้ ดําหัวผูใ หญ รวมเลนเกมส และกิจกรรมสงพนักงานกลับบานพรอมแจก “ถุงแกงวง” ให เดินทางอยางปลอดภัย • กิจกรรม “ตราเพชรรวมใจ ตานภัยยาเสพติด” : รณรงคสง เสริมดานสุขภาพและลดปจจัยที่กอเกิดปญหาอาชญากรรม • กิจกรรม “คลีนิกเคลื่อนที่ แฮปปถวนหนา” : บริการใหคํา ปรึกษาดานสุขภาพและจายยาถึงพื้นที่การทํางาน • กิจกรรม “ตรวจสภาพและขึ้นทะเบียนรถจักรยาน” : การ รณรงคขับขี่จักรยานอยางปลอดภัย จัดระเบียบและจํากัดการใชงานรถ จักรยานภายในโรงงานใหมีความปลอดภัยในการจราจร • กิจกรรม “การตรวจสุขภาพประจําป” : กําหนดใหมีการ รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 22

ตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยงทั้งในสวนของพนักงานและผูรับเหมา • กิจกรรม “Help SHE Please (ชวยชีดวย)” : รณรงคให พนักงานและผูร บั เหมาแจงเรือ่ งราวทีไ่ มปลอดภัยเมือ่ พบเห็นสิง่ ผิดปกติทไี่ ม ปลอดภัย อาทิ พฤติกรรมที่ไมปลอดภัย สภาพที่ไมปลอดภัย เหตุการณ เกือบเกิดอุบัติเหตุ DRT Accidents during 2006-2012 CASES • กิจStatistics กรรม on“งานสั ปดาหความปลอดภัยในการทํางาน” : 100 89 90 กิจกรรมที่ร80ณรงคสงเสริมดานความปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดลอม 70 • กิจกรรม “การรณรงคปใหมเมาไมขับ” : รณรงคเมาไมขับ 60 50 50 ในชวงเทศกาลป ใ หม 34 27 40 22 22 21 30 • กิจกรรม “การคัดแยกขยะ” : การอบรมเรื่องการคัดแยก 20 10 ขยะภายในโรงงาน เพื่อสงเสริมการรักษาสิ่งแวดลอม ใหทิ้งขยะใหถูกที่เพื่อ 0 ลดเวลาในการคั2006 ดแยกและการทํ 2007 2008าลายต 2009อไป 2010 2011 2012 • และกิจกรรมอื่นๆ (ข) สถิติการเกิดอุบัติเหตุ ตั้งแตป 2549-2555 ราย 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

เปรียบเทียบสถิติอุบัติเหตุเกิดขึน้ จริงปี 2549-2555 89

50 27

2549

2550

2551

22

2552

22

2553

21

2554

34

2555

โดยในป 2555 บริษัทฯ มีการเกิดอุบัติเหตุที่เพิ่มขึ้นจากปกอน 13 ครัง้ สาเหตุเกิดจากมีจาํ นวนพนักงานเพิม่ ขึน้ เปนจํานวนมากทัง้ พนักงาน ประจําและแรงงานจางเหมา และมีอตั ราการเขา-ออกสูงกวาปกอ นทําใหการ อบรมเพื่อใหความรูดานความปลอดภัยทําไดไมทั่วถึง ดังนั้นในป 2556 จึง ถือวาเรื่องความปลอดภัยของพนักงานเปนภาระกิจหลักที่ผูบริหารทุกระดับ ตองเขามาดูแลอยางจริงจัง เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุลงอยางเปนรูปธรรม การอบรมใหความรูดานความปลอดภัย คณะทํางานดานความ ปลอดภัยรวมกับฝายผลิตและฝายวิศวกรรมและซอมบํารุงไดจดั ทําคูม อื การ ลางเครื่องจักร คูมือการกอสราง และเสนอแนวทางปองกันอุบัติเหตุ โดย ตรวจประเมินและปรับปรุงความปลอดภัยที่ตัวเครื่องจักรและพื้นที่โดยรอบ เครือ่ งจักร เพือ่ ใหเครือ่ งจักรเกิดความปลอดภัย นอกจากนัน้ แลวยังดําเนิน การอบรมความปลอดภัยพนักงานใหม และผูรับเหมาเขางานใหม 100 เปอรเซ็นต และปรับหลักสูตรอบรมเปนแบบเต็มวัน 6 ชั่วโมง รวมประชุม ตอนเชากอนเริ่มงาน (Morning Safety Talk) มากกวา 800 ครั้ง/ป อบรม

22

3/30/56 BE 11:57 AM


การปฐมพยาบาลเบื้องตน วิธีการและขั้นตอนของงานลางเครื่องจักร การขับรถยกอยางถูกตองและ ปลอดภัย วิธีการใชเครนอยางถูกตอง อบรมดับเพลิงขั้นตน จัดนิทรรศการสัปดาหความปลอดภัยเปน ประจําทุกป ในป 2555 มีการจัดอบรมบทบาทดานความปลอดภัยใหเจาหนาที่ความปลอดภัยระดับ บริหาร (จป.บริหาร) จํานวน 59 คน และเจาหนาที่ความปลอดภัยระดับหัวหนางาน (จป.หัวหนางาน) จํานวน 190 คน เปนตน (ค) กิจกรรมที่เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน • กิจกรรม 5ส : เปนกิจกรรมที่ผูบริหาร พนักงานและผูรับเหมาทุกคน รวมมือรวมแรง ใจพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่ใหสะอาด มีระเบียบในการจัดเก็บสินคาและวัสดุตางๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางาน โดยแบงออกเปน 4 พื้นที่ ไดแก โรงงานขนาดใหญ โรงงานขนาดเล็ก คลัง สินคา และสํานักงาน จึงทําใหในปนี้บริษัทฯ ไดรับไดรับประกาศนียบัตร “5s Award Model” ในงาน Thailand 5S Award จากสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) (ส.ส.ท.) ในสวนของสํานักงานคลัง พัสดุ และคลังสินคา เพิ่มเติมจากปกอนที่ไดรับในสวนของพื้นที่สํานักงานฝายบัญชีและการเงิน สําหรับกิจกรรม 5ส ที่บริษัทฯ ไดดําเนินการตั้งแตป 2550 โดยมีวัตถุประสงคใหกิจกรรม 5ส เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน พนักงานทุกคนมีสวนรวมเพื่อสภาพแวดลอมที่ดี มีความปลอดภัย และสรางจิตสํานึกของการเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน และเล็งเห็นถึงประโยชนทไี่ ดรบั เชน ความ สะอาด ความมีระเบียบในการจัดเก็บสินคาและวัสดุตา งๆ ทีจ่ าํ เปนเพือ่ งายตอการใชงาน ลดการแตกหัก ของสินคา ลดพื้นที่การจัดเก็บ จึงไดริเริ่มไปจัดกิจกรรม 5ส ใหรานลูกคา ของบริษัทฯ ซึ่งไดดําเนินการตอเนื่องมาหลายป โดยในป 2555 ไดเขาไปจัด กิจกรรม 5ส ใหรานคาของบริษัทฯ หลายราย รวมทั้งไดเขาไปชวยจัดทํา โครงการ 5ส เฉพาะกิจ เปนการชวยเหลือลูกคาที่ประสบภัยนํ้าทวมที่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาของบริษัทฯ อยางมาก • โครงการ TPM : โครงการ TPM (TOTAL PRODUCTIVE MAINTENANCE) เปนระบบการบํารุงรักษาทวีผล ซึง่ ดําเนินการโดยพนักงาน ทุกคน ผานกิจกรรมกลุม ยอยโดยมีจดุ มุง หมายเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิผลของ เครื่องจักรใหไดสูงสุด พัฒนาความรู และทักษะของพนักงานอันกอใหเกิด การปรับปรุงผลการดําเนินงานขององคกร จึงจัดใหมกี ารอบรมอยางตอเนือ่ ง ตั้งแตป 2553 หลักสูตรที่จัดอบรม ไดแก TPM 6 Basics ซึ่งเปนเรื่องของการ ปูพื้นฐานดานชาง 6 เรื่อง (Bolt & Nut, Pneumatics, Transmission, Lubrication, Electrical และ Hydraulics) ในปจจุบันอบรมโดยวิทยากรภายในที่พัฒนามาจากพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญในสวน งานชางซอมบํารุงแตละเรื่อง และปลูกฝงความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งไดรับความรวมมือเปนอยางดี จากพนักงานทุกฝาย 5.2.2 กิจกรรมระดับสังคม กิจกรรมระดับสังคมในองคกร เปนกิจกรรมการดําเนินการดานสังคมภายในบริษัทฯ ตอ ผูมีสวนไดเสียกับการดําเนินงานของบริษัทฯ ไดแก ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ โดยจัดใหมี กิจกรรมในเทศกาลตางๆ เพื่อสนับสนุนใหพนักงาน มีความรัก ความเอื้ออาทรตอกัน ในกรณีที่เกิด ภัยพิบัติทําใหมีจิตสํานึกการชวยเหลือกัน ซึ่งรวมถึงคนในครอบครัวของพนักงาน ดังนี้ 23

DRT TH_4 color.indd 23

3/30/56 BE 11:57 AM


• กิจกรรม “วันแม” : บริษัทฯ จัดงานวันแมใหกับพนักงานได ประกวดทําเสื้อบอกรักแม และสงการดไปบอกรักแมถึงบาน เพื่อปลูกจิต สํานึกใหรักแม • กิจกรรม “หนูนอยขาวปน…พันธุตราเพชร” : ในชวงปดภาค เรียนบริษัทฯ ไดจัดกิจกรรมนําบุตรของพนักงานมาฝกทําซูชิ เพื่อสงเสริม กิจกรรมครอบครัวจะไดนาํ ความรู ไปสรางอาชีพ หรือรวมทํากิจกรรมในวัน หยุดกับครอบครัว • กิจกรรม “การพัฒนาจิตเพื่อชีวิตสมดุล ป 2” : บริษัทฯ สนับสนุนใหพนักงานไดปฎิบัติธรรม ฝกการทําสมาธิ ฟงธรรมะชําระจิตใจ ใหผองใส เพื่อมีสติในการใชชีวิตและการทํางาน • กิจกรรม “ชวยเหลือพนักงานประสบภัยนํ้าทวม” : บริษัทฯ มอบเงินและผลิตภัณฑชวยเหลือพนักงานที่ประสบภัยนํ้าทวม เปนจํานวน เงิน 3,127,934 บาท • กิจกรรม “มุมนมแม” : จัดพื้นที่ใหความรูและมุมสําหรับคุณ แมในการปมนมใหกับพนักงานและผูรับเหมาหญิง • กิจกรรม “การบริจาคโลหิต” : พนักงานรวมบริจาคโลหิตใน เดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม ณ ครัวตราเพชร 5.3 กิจกรรมระดับชุมชน กิจกรรมระดับชุมชน เปนกิจกรรมที่สอดคลองกับการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ที่สามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่อง กอใหเกิดประโยชนตอ สังคมและชุมชนที่อยูโดยรอบบริษัทฯ ในป 2555 บริษัทฯ ไดดําเนินการสรุป ไดดังนี้ (ก) โครงการอบรมพัฒนาฝมือแรงงานใหคนในชุมชน โดยการนําความรู และทักษะการมุงหลังคาไปอบรมใหกับคนในชุมชน เพื่อการสรางงานให คนในชุมชนมีความรูความสามารถยึดเปนอาชีพเพิ่มรายไดใหกับคนใน ชุมชน โดยมีหลายโครงการดังนี้ • โครงการ “พระดาบส” : บริษัทฯ ไดเขารวมโครงการอบรมวิชา ชางและสนับสนุนวัสดุอุปกรณการเรียนแกนักเรียนโรงเรียนพระดาบส ใน ความดูแลของมูลนิธพิ ระดาบสในพระบรมราชูปถัมภ ซึง่ ดําเนินการตอเนือ่ ง มาหลายป บริษัทฯ ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของพันธกิจนี้และมั่นใจใน ศักยภาพของบุคลากรของบริษัทฯ ในการมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร วิชาชีพชางกอสราง-เหมามุงหลังคากระเบื้อง สําหรับนักเรียนโรงเรียน พระดาบส เพื่อเปนทางเลือกของนักเรียนในโครงการ รวมถึงเปนการขยาย ฐานความรูความสามารถเชิงวิชาชีพเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งสาขาวิชา รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 24

• โครงการ “ลูกพระดาบส” : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ เป น ประธานในพิ ธี เ ป ด สวนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในโครงการ ลูกพระดาบสสมุทรปราการ ณ วันที่ 19 กันยายน 2555 ซึ่งทางบริษัทฯ รูสึก ภาคภูมใิ จในการรวมบริจาคศาลา “เพชรพระดาบส” ใหกบั มูลนิธพิ ระดาบส ในพระบรมราชูปถัมภ • โครงการ “ชางหัวใจเพชร” : บริษัทฯ จัดฝกอบรมชางหัวใจเพชร รุนที่ 1 ใหคนในชุมชนพื้นที่ใกลบริษัทฯ ใหความรูเกี่ยวกับการมุงหลังคา การติดตั้งไมฝา และไมเชิงชายโดยใชผลิตภัณฑของบริษัทฯ

24

3/30/56 BE 11:57 AM


โดยในป 2556 บริษัทฯ ไดประสานงานกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน • กิจกรรม “แบงความรัก ปนนํ้าใจ เพื่อเด็กตาบอด” : รวมบริจาค จังหวัดสระบุรี เพือ่ บรรจุโครงการ “ชางหัวใจเพชร” ใหอยูใ นแผนปฏิบตั กิ าร สิ่งของ อุปโภค-บริโภค เลี้ยงอาหารกลางวัน ใหกับโรงเรียนการศึกษา พัฒนาฝมือแรงงานป 2556 หลักสูตรการอบรมระยะเวลา 5 วัน คือ ภาค คนตาบอดและคนตาบอดพิการซํ้าซอน จังหวัดลพบุรี ทฤษฎี 2 วัน และภาคปฏิบัติ 3 วัน และจะมีใบรับรองใหกับผูที่เขารับ • กิจกรรม “ทําบุญวันเขาพรรษา ถวายเทียน สังฆทาน” : บริษัทฯ การอบรม และพนักงานรวมทําบุญถวายเทียนพรรษา ในวันเขาพรรษา ณ วัดจําศีล และวัดหนองบัว จังหวัดสระบุรี (ข) โครงการพัฒนารวมกับชุมชน • กิจกรรม “สนับสนุนเงินรวม พิธีไหวครู” : บริษัทฯ รวมสนับสนุน • โครงการ “Green Village” : บริษัทฯ ไดสนับสนุนผลิตภัณฑ เงินใหกับโรงเรียนหนองบัว ตําบลตลิ่งชัน ในพิธีไหวครูและทําบุญประจําป กระเบื้องมุงหลังคา ฝาเพดาน และผนังภายใตแบรนดตราเพชร รวมมูลคา ของโรงเรียน ประมาณ 1 ลานบาท ใหแก “โครงการ Green Village by อินทรี” หมูบาน • กิจกรรม “การแขงขันกีฬาสัมพันธ” : การแขงขันแบดมินตัน สีเขียวตนแบบ ที่ไดสงมอบบาน จํานวน 20 หลัง ใหแกชุมชนบานคลอง กระชับมิตร “ตราเพชร พบกับ ปูนนกอินทรี” ณ สนามแบดมินตัน บมจ. ทราย อําเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเปนชุมชนที่ไดรับผล ปูนซีเมนตนครหลวง กระทบจากภาวะนํ้าทวมใหญในป 2554 • โครงการ “สุขอนามัยที่ดี”: บริษัทฯ ไดรวมสนับสนุนกระเบื้อง 6. การดําเนินการดานสิ่งแวดลอม หลังคา และโครงหลังคา Diamond Ultra Truss รวมกับ บมจ. แสนสิริ ใน บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม คํานึง โครงการสรางโรงอาหาร เพื่อมอบสุขอนามัยที่ดี ใหแกเด็กในถิ่นทุรกันดาร ถึงความรับผิดชอบในการดําเนินธุรกิจ โดยเฉพาะกระบวนการผลิตจะตอง ณ โรงเรียนบานคอกชางพัฒนา จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไมสงผลกระทบหรือทําลายสิ่งแวดลอมและทรัพยากรของชุมชน รวมทั้งจัด • โครงการ “ชุมชนสัมพันธ” : บริษทั ฯ สนับสนุนผลิตภัณฑกระเบือ้ ง กิจกรรมที่รณรงคในเรื่องการรักษาสิ่งแวดลอม สรุปไดดังนี้ หลังคาและไมสังเคราะห เพื่อใชในการกอสรางใหกับหนวยงานราชการ 6.1 กระบวนการผลิต : บริ ษั ท ฯ ได รั บ การรั บ รองมาตรฐาน สถานศึกษาในชุมชนใกลเคียงบริษัทฯ และวัดวาอารามตางๆ อุตสาหกรรม จาก บริษัทฯ ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) จํากัด (TUV NORD) จึงเปนการรับประกันวากระบวนการผลิตของบริษัทฯ มีระบบการจัดการสิ่ง (ค) กิจกรรมรวมกับชุมชน แวดลอมที่ดีและมีมาตรฐาน โดยไดรับรองมาตรฐาน 3 ระบบดังนี้ • งานวันเด็กแหงชาติ : บริษัทฯ สนับสนุนจัดกิจกรรมวันเด็ก ที่ • ISO 9001 : 2008 : ระบบการบริหารคุณภาพทั้งสวนโรงงานและ อบต.ตาลเดี่ยว และ โรงเรียนวัดหวยลี่ ตําบลตลิ่งชัน วันที่ 13 มกราคม สวนสํานักงานไดรับตั้งแตป 2546 2555 มีกิจกรรมเกมส ระบายสีตุกตาปูน แจกของรางวัล เลี้ยงอาหาร และ • OHSAS 18001 : 2007 : ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ เครื่องดื่มใหกับเด็กนักเรียนและผูปกครองที่มารวมงาน ปลอดภัย ไดรับตั้งแตป 2548 • ISO 14001 : 2004 : ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ไดรับตั้งแตป 2552 การรับรองมาตรฐานอื่นๆ และรางวัลที่ไดรับ สรุปไดดังนี้ • ป 2548 ไดรับมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) จาก สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑกระทรวงอุตสาหกรรม

25

DRT TH_4 color.indd 25

3/30/56 BE 11:57 AM


• ป 2550 ไดรับรางวัลสถานประกอบการลดสถิติอุบัติเหตุดีเดน (Safety Award) จากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคม • ป 2551-4 ได รั บ รางวั ล สถานประกอบกิ จ การดี เ ด น ด า น แรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน จากกระทรวงแรงงาน และในป 2555 ไดรับจากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสระบุรี • ป 2552 ไดรบั ไทยแลนดแบรนด กรมสงเสริมการสงออก กระทรวง พาณิชย • ป 2552 ไดรับโลหรางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานความ ปลอดภัยระดับภูมิภาค จากกระทรวงแรงงาน • ป 2553 ไดรับรางวัล “โรงงานสีขาว” (ตานยาเสพติด) จาก สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัดสระบุรี • ป 2554-5 ไดรับประกาศนียบัตร “5s Award Model” ในงาน Thailand 5S Award จากสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) พื้นที่ สํานักงาน ฝายบัญชีและการเงิน พื้นที่ฝายโลจิสติกสและบริการลูกคา และ พื้นที่แผนกคลังพัสดุ • ป 2555 บริษัทฯ ไดรับการจัดอันดับที่ 1 แบรนด “ตราเพชร” เปนแบรนดกระเบื้องมุงหลังคาในหมวดวัสดุกอสรางที่นาเชื่อถือมากที่สุด จากการจัดอันดับ Thailand’s Most Admired Brand 2012 ในนิตยสาร Brand Age เดือนมกราคม 2555 • ป 2555 ไดรับตราสัญลักษณคุณภาพ Thailand Trust Mark จาก DITP (Department of International Trade Promotion) กระทรวงพาณิชย เปนการรับรองคุณภาพสินคาชั้นเยี่ยมจากประเทศไทย ซึ่งจะเปนการเพิ่ม คุณคาใหกบั สินคา สรางโอกาสทางการตลาดทีแ่ ข็งแกรง และเพิม่ ความเชือ่ มั่นใหกับผูบริโภค ในป 2555 • ป 2555 ไดรับรางวัล “ดีเดน” ประเภทบริษัทจดทะเบียนดาน ผลการดําเนินงาน ในงาน “SET Awards 2012” จากตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยรวมกับวารสารการเงินธนาคาร เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555

ตรวจวัดติดตามมลพิษ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 26

ตรวจวัดคุณภาพอากาศ

ผลการตรวจสภาพแวดลอม บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดดานสิ่งแวดลอมของกระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงแรงงาน และกระทรวงมหาดไทยอยางเครงครัด โดย บริษัทฯ ประกอบกิจการภายใตความรับผิดชอบตอสังคมและปองกันผล กระทบตอสิง่ แวดลอม อยางสมํา่ เสมอและตอเนือ่ ง โดยในป 2555 การตรวจ สอบสภาพแวดลอมในการทํางาน ทั้งอากาศ ฝุนละออง เสียง นํ้า และของ เสียในกระบวนการผลิตไดผานเกณฑมาตรฐานทั้งหมด ซึ่งไมสงผลกระทบ หรือทําลายสิ่งแวดลอมและทรัพยากรของชุมชน สรุปไดดังนี้ • ตรวจวัดคุณภาพอากาศจากสภาพแวดลอมในการทํางาน เชน ปลองหมอไอนํา้ ปลองพนสี ไซลีน เพือ่ ติดตามคุณภาพอากาศทีป่ ลอยออก ไปตองไมกระทบตอสิ่งแวดลอม • ตรวจติดตามมลพิษทางเสียง ฝุน สารเคมี ซึง่ ผานเกณฑมาตรฐาน ทั้งหมด • ตรวจติดตามคุณภาพนํ้าผิวดินบริเวณรอบโรงงาน ผลวิเคราะห คุณภาพนํ้าอยูในเกณฑมาตรฐาน • มีระบบบอพักนํ้าดาง เพื่อนํานํ้ากลับมาใชใหม สามารถลดการ ใชทรัพยากรนํ้า ลดมลพิษในนํ้า • การกําจัดของเสีย เศษกระเบือ้ งแตก เศษซีลเลอร เศษนํา้ มันและ ขยะอื่นๆ ไดดําเนินการนําออกไปกําจัดนอกโรงงาน ซึ่งไดรับอนุญาตจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม พรอมทั้งรายงานขอมูลผาน www.diw.go.th ซึ่ง เปนเว็บไซตของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ตรวจวัดคุณภาพนํา้

การกําจัดของเสีย

26

3/30/56 BE 11:57 AM


การตรวจติดตามปริมาณฝุน Chrysotile ในพื้นที่การทํางาน บร�เวณ

พื้นที่เตรียมวัตถุดิบ FC พื้นที่ทดสอบกระเบื้อง พื้นที่ปนครอบ พื้นที่เก็บเศษกระเบื้องแตก คลังเก็บ Chrysotile ลานจายสินคา

คาที่ตรวจวัดได

< 0.001 - 0.009 < 0.001 < 0.001 - 0.012 0.006 0.013 0.014

มาตรฐาน

fiber / cm3 fiber / cm3 fiber / cm3 fiber / cm3 fiber / cm3 fiber / cm3

ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร

ที่มา : รายงานผลการตรวจวัดสภาพแวดลอม เมื่อวันที่ 3-4 เมษายน, 15-16 ตุลาคม 2555 โดย บริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทัส แมนเนจเมนท จํากัด

การตรวจติดตามคุณภาพอากาศในสถานที่ทํางาน รายการที่ตรวจ

ฝุนทั่วไปในโรงงาน ฝุนละอองขนาดเล็ก (<10 ไมครอน) ไซลีน

คาที่ตรวจวัดได

มาตรฐาน

3.11 - 7.12 mg / m3 3.61 - 4.13 mg / m3 < 0.001 - 0.957 ppm

ไมเกิน 15 mg / m3 ไมเกิน 5 mg / m3 ไมเกิน 100 ppm

ที่มา : รายงานผลการตรวจวัดสภาพแวดลอม เมื่อวันที่ 3-4 เมษายน, 15-16 ตุลาคม 2555 โดย บริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทัส แมนเนจเมนท จํากัด

การตรวจติดตามคุณภาพอากาศจากปลองของโรงงาน รายการที่ตรวจ

ฝุนทั่วไป (TSP) ซัลเฟอรไดออกไซด คารบอนมอนอกไซด ไนโตรเจนไดออกไซด ไซลีน

คาที่ตรวจวัดได

มาตรฐาน 3

< 0.01 - 4.10 mg / m < 1.30 ppm 23 - 28 ppm 3.60 - 6.60 ppm 1.18 - 30.13 ppm

ไมเกิน 320 mg / m3 ไมเกิน 60 ppm ไมเกิน 690 ppm ไมเกิน 200 ppm ไมเกิน 100 ppm

ที่มา : รายงานผลการตรวจวัดสภาพแวดลอม เมื่อวันที่ 3-4 เมษายน, 15-16 ตุลาคม 2555 โดย บริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนทัส แมนเนจเมนท จํากัด

ทั้งนี้ ผลการตรวจวัดทั้งคุณภาพอากาศในสถานที่ทํางาน คุณภาพอากาศจากปลองตลอดป 2555 ไมพบวาเกินคามาตรฐานสิ่งแวดลอม สําหรับการลดปริมาณการใชนํ้า บริษัทฯ ไดทําการติดตั้งระบบบอพักนํ้าเพื่อนํานํ้ากลับเขามาใชในกระบวนการผลิตอีกครั้ง สําหรับมลภาวะทางอากาศ ซึ่งเกิดจากฝุนในการตัดกระเบื้องและสารระเหยที่ใชเคลือบกระเบื้อง บริษัทฯ ไดทําการติดตั้งระบบกําจัดฝุนแบบแหง หองดูดไอสารระเหย และระบบดักฝุนกลิ่นสีในกระบวนการผลิต รวมทั้งสรางอาคารเก็บขยะอันตราย

27

DRT TH_4 color.indd 27

3/30/56 BE 11:57 AM


การลงทุนเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในระยะเวลา 5 ปที่ผานมาดังนี้ ป

รายการ

2551 2552 2553 2554 2555

บําบัดอากาศ นํ้าเสีย และขยะอันตราย บอพักนํ้าดาง และการกําจัดขยะ ทําที่เก็บขยะ/รางระบายนํ้า/ระบบเตือนภัย/ทอดูดนํ้ากลับ ระบบดักฝุนปูน/ดินขาว ระบบดักฝุนเครื่องไสกระเบื้อง และติดตั้งหองพนสีรองพื้นครอบ ระบบดักกลิ่นแอมโมเนีย/ระบบดักฝุนบอรับเศษ/ติดตั้งหลังคาคลุมบอตะกอนสี

6.2 โครงการเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการจัดการสิ่งแวดลอม และการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ จึงมุงเนนใหมีแนวทางปฏิบัติในการอนุรักษ พลังงานแกพนักงาน เพื่อทําใหพนักงานทุกคนมีสวนรวมในการดําเนินการ อนุรักษพลังงาน และปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน โดยบริษัทฯ ไดดําเนิน การตอเนื่องมาหลายป ดังตอไปนี้ • บริษทั ฯ จะดําเนินการและพัฒนาระบบการจัดการพลังงานอยาง เหมาะสม โดยกําหนดใหการอนุรักษพลังงานเปนสวนหนึ่งของการดําเนิน งานของบริษัทฯ สอดคลองกับกฎหมายและขอกําหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวของ • บริษัทฯ จะดําเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชทรัพยากร พลังงานของบริษัทฯ อยางตอเนื่อง เหมาะสมกับธุรกิจเทคโนโลยีที่ใช และ แนวทางการปฏิบัติงานที่ดี • บริษทั ฯ จะกําหนดแผนและเปาหมายการอนุรกั ษพลังงานในแตละ ป และสื่อสารใหพนักงานทุกคนเขาใจและปฏิบัติไดอยางถูกตอง • บริษทั ฯ ถือวาการอนุรกั ษพลังงานเปนหนาทีค่ วามรับผิดชอบของ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ทุกระดับที่จะใหความรวมมือในการ ปฏิบัติตามมาตรการที่กําหนด ติดตามตรวจสอบ และรายงานตอคณะ ทํางานดานการจัดการพลังงาน • บริษัทฯ จะใหการสนับสนุนที่จําเปน รวมถึงทรัพยากรดาน บุคลากร ดานเทคโนโลยี ดานงบประมาณ ดานการฝกอบรม และการมีสว น รวมในการนําเสนอขอคิดเห็นเพื่อพัฒนางานดานพลังงาน โดยในป 2556 บริษัทฯ ไดนําพลังงานไอนํา้ จากโรงผลิตไฟฟาเอกชนที่มาตั้ง โรงงานติดกับบริษัทฯ โดยคุณภาพไอนํ้ามีความรอนสูงกวาที่บริษัทฯ ผลิต เอง 10 % ทําใหสามารถลดการใชพลังงานไอนํ้าลงได 10 % รวมทั้งบริษัทฯ ไดทําสัญญา ซื้อไฟฟาจากโรงงานผลิตไฟฟานี้ดวย ซึ่งจะเพิ่มความเสถียร ในการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ในกระบวนการผลิ ต ทํ า ให ก ารใช พ ลั ง งานมี รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 28

จํานวนเง�น (ลานบาท)

15.28 2.75 2.69 2.99 8.07

ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการลดตนทุนพลังงาน และลดผล กระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ผูบริหารและคณะทํางานดานการจัดการพลังงานจะทบทวนและปรับปรุง นโยบาย เปาหมาย และแผนการดําเนินงานดานพลังงานทุกป เพื่อการ พัฒนาอยางตอเนื่อง 7. โครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมใหม บริษัทฯ ไดมีการผลิตสินคาที่ไมมีสวนประกอบของแรใยหิน เพื่อเพิ่มความ หลากหลายของผลิตภัณฑของบริษัทฯ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไดแก กระเบื้องเจียระไน กระเบื้องจตุลอน เปนตน 8. การตอตานการทุจริต บริษัทฯ จัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายในและงานกํากับดูแล ซึ่งขึ้นตรงตอ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีหนาทีใ่ นการกํากับดูแลและตรวจสอบระบบ การควบคุมภายในของทุกหนวยงานในบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจไดวา บริษัทฯ มีการควบคุมภายในทีด่ ี และเพือ่ ลดการทุจริตทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งไดกําหนดแนวทางในการแจงเบาะแส เพื่อให พนักงานสามารถแจงเบาะแสไดทันที หากพบเห็นเหตุการณทุจริตภายใน บริษัทฯ ผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ และบริษัทฯ ไดกําหนดแนวปฏิบัติ เกีย่ วกับการตอตานการทุจริตและหามจายสินบนเพือ่ ผลประโยชนทางธุรกิจ ไวในคูมือการกํากับดูแลกิจการที่ดี

28

3/30/56 BE 11:57 AM


รางวัลแหงความภาคภูมิใจ

รางวัล Safety Award

รางวัล สถานประกอบการ ดีเดนดาน ความปลอดภัย

รางวัล สถานประกอบการ ดีเดนดาน แรงงานสัมพันธ

การพัฒนาดานความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม

การพัฒนาดานความรับผิดชอบตอสังคมใหเขากับพนักงานของบริษัทฯ ใน การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน โดยการพัฒนาทักษะความรู ความ เขาใจของบุคลากร ในเรือ่ งของการดําเนินงานของบริษทั ฯ ทีจ่ ะไมกอ ใหเกิด ผลกระทบตอสังคมและสิง่ แวดลอม โดยในป 2555 บริษทั ฯ ไดสง บุคคลากร เขารวมกิจกรรมฝกอบรมหลายโครงการ ดังนี้ 1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการดาน CSR แกบริษัทจดทะเบียน เรื่อง “การบริหารความรับผิดชอบตอสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” รุนที่ 2 จัดขึน้ โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ระหวางวันที่ 2 สิงหาคม 25552 ตุลาคม 2555 รวมระยะเวลาอบรมทั้งสิ้น 8 วันครึ่ง

รางวัล 5S Award Model

“ตราเพชร” เปนแบรนดกระเบื้อง มุงหลังคาในหมวด วัสดุกอสราง ที่นาเชื่อถือมากที่สุด

รางวัล ดีเดนประเภท บริษัทจดทะเบียน ดานผลการดําเนินงาน

2. โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมใหมีความรับผิดชอบตอ สั ง คมอย า งมี ส  ว นร ว ม (CSR-DIW) ป ง บประมาณ 2556 จั ด ขึ้ น โดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2555 3. โครงการจัดทําแนวปฏิบัติที่ดีดาน CSR (CSR Best Practices) ของบริษัทจดทะเบียนกลุมอสังหาริมทรัพยและกอสราง จัดขึ้นโดยกรม โรงงานอุตสาหกรรม ระหวางวันที่ 20-21 กันยายน 2555

29

DRT TH_4 color.indd 29

3/30/56 BE 11:57 AM


โครงการในอนาคต 1. โครงการ AAC : โครงการลงทุนในเครื่องจักรผลิตสินคาอิฐมวลเบา ตามที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 233 เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2554 ไดมีมติอนุมัติโครงการ AAC (Autoclave Aerated Concrete) ใหลงทุนจัดซือ้ เครือ่ งจักรผลิตสินคาอิฐมวลเบา กับบริษทั MASA Henke Maschinenfabrik GmbH แหงประเทศเยอรมัน โดยไดลงนามเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 มีขนาดกําลังผลิตประมาณ 140,000 ตันตอป มีมลู คา โครงการประมาณ 595 ลานบาท โดยใชแหลงเงินลงทุน จากการกูยืม เงินระยะยาวกับสถาบันการเงินจํานวน 500 ลานบาท ระยะการชําระคืน เงินกูภายใน 7 ป สวนที่เหลือใชจากเงินสดจากการดําเนินงานของ บริษัทฯ ใชเวลาในการจัดซื้อ สั่งจาง และติดตั้งประมาณ 16 เดือน โดย จะสรางบนที่ดินแปลงใหม ซึ่งคาดวาจะสามารถเริ่มผลิตไดประมาณ ไตรมาสที่ 2/2556

2. โครงการ CT-KK : โครงการขยายฐานการผลิตกระเบื้องคอนกรีต ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 238 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2555 ไดมีมติอนุมัติในหลักการใหขยายกําลังการผลิตกระเบื้อง หลังคาคอนกรีต ไปจัดตั้งที่จังหวัดขอนแกน ซึ่งบริษัทฯ มีที่ดินที่ไมได ใชงานขนาดพื้นที่ 27 ไร 2 งาน 44 ตารางวา ตั้งอยูที่ถนนมิตรภาพ เสน ทาง ขอนแกน - อุดรธานี ตําบลสําราญ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน หางจากตัวเมืองประมาณ 13 กิโลเมตร ดวยวัตถุประสงค เพื่อรองรับ แผนการจัดการพื้นที่ปจจุบันของบริษัทฯ ซึ่งมีความแออัดไมสามารถ รองรับการขยายกําลังการผลิตไดในอนาคต โดยจะตั้งเปนศูนยกระจาย สินคาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และโรงงานผลิตกระเบื้องคอนกรีตที่ มีกําลังการผลิต 50,000 ตันตอป ซึ่งคาดวาจะสามารถเริ่มผลิตได ประมาณไตรมาสที่ 4/2556 รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 30

30

3/30/56 BE 11:57 AM


ขอมูลที่สําคัญทางการเง�น (หนวย : ลานบาท)

ฐานะทางการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน ผลการดําเนินงาน รายไดจากการขายและการใหบริการ กําไรขั้นตน กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได กําไรสุทธิหลังภาษีเงินได อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรสุทธิตอรายได (%) อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยรวมเฉลี่ย (%) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) กําไรสุทธิตอหุน (บาทตอหุน) มูลคาตามบัญชี ณ วันสิ้นป (บาทตอหุน) สรุปขอมูลหลักทรัพย “DRT” ราคาตลาด ณ วันสิ้นป (บาทตอหุน) จํานวนหุนสามัญจดทะเบียน (ลานหุน) จํานวนหุนสามัญที่ชําระแลว (ลานหุน) จํานวนหุนสามัญซื้อคืน ณ วันสิ้นป (ลานหุน) ราคาพาร (บาทตอหุน) มูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาด ณ วันสิ้นป (ลานบาท) อัตราสวนราคาหุนตอกําไรสุทธิ ณ วันสิ้นป (บาทตอหุน) เงินปนผลตอหุน (บาทตอหุน) อัตราสวนเงินปนผลตอกําไรสุทธิตอหุน (%)

2555*

2554

2553

3,645 1,431 2,214

3,093 1,046 2,047

2,401 542 1,859

3,884 1,173 716 546

3,693 1,147 663 460

3,304 1,057 608 453

14.06 25.62 16.21 0.65 0.53 2.15

12.46 23.56 16.75 0.51 0.46 2.03

13.71 26.22 19.06 0.29 0.47 1.91

7.35 1,050 1,038 1.00 7,630 13.87 0.40 75

5.75 1,050 1,027 1.56 1.00 5,905 12.50 0.38 83

6.25 1,050 1,014 18.90 1.00 6,340 13.30 0.36 77

สินทรัพย รวม

3,304

รายได จากการขาย และให บร�การ

กําไรสุทธิหลังภาษีเง�นได

0.47

0.46

0.53

453

460

ป (หนวย : ลานบาท)

546

3,693

3,884 2,401

3,093

3,645

หมายเหตุ * ป 2555 มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัทฯ (ดูรายละเอียดในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในปที่ผานมา หนาที่ 32)

2555 2554 2553

กําไรสุทธิต อหุ น (บาทต อหุ น)

31

DRT TH_4 color.indd 31

3/30/56 BE 11:57 AM


โครงสรางองคกร คณะกรรมการบร�ษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและ พ�จารณาผลค าตอบแทน

สํานักงานตรวจสอบภายใน และงานกํากับดูแล

คณะกรรมการจัดการ

กรรมการผูจัดการ คณะกรรมการ บร�หารความเสี่ยง

สํานักงานลงทุนสัมพันธ สํานักงานนิติกรรม

รองกรรมการผูจัดการ สายการขายและการตลาด ผู ช วยกรรมการผู จัดการ สายการขายและการตลาด

รองกรรมการผูจัดการ สายการผลิตและว�ศวกรรม ผู ช วยกรรมการผู จัดการ สายการบัญชีและการเง�น

ฝ ายขาย

ฝ ายบัญชีและการเง�น

ฝ ายการตลาด

ฝ ายสารสนเทศ และระบบมาตรฐาน

ผู ช วยกรรมการผู จัดการ สายการผลิตและว�ศวกรรม ฝ ายว�ศวกรรม และซ อมบํารุง ฝ ายเทคโนโลยี

ฝ ายทรัพยากรบุคคล ฝ ายโลจ�สติก และบร�การลูกค า ส วนขายต างประเทศ ส วนขายโครงการ

รายงานประจําป 2555

DRT TH_4 color.indd 32

ส วนจัดซื้อ ฝ ายบร�หารโครงการ ส วนธุรการ

ฝ ายผลิตกระเบื้อง ไฟเบอร ซีเมนต ฝ ายผลิตกระเบื้อง คอนกร�ต ฝ ายผลิตอิฐมวลเบา

32

3/30/56 BE 11:57 AM


การเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญในปีที่ผ่านมา ปี 2555

เดือนกุมภาพันธ์ • เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เป็นวันใช้สิทธิแปลงสภาพครั้งที่ 8 โดยมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ

จ�านวน 2,043,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท คิดเป็นจ�านวนเงิน 2,043,000 บาท โดยบริษัทฯ ได้ด�าเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงเพิ่มทุนช�าระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555 ส่งผลให้ทุนจดทะเบียนช�าระแล้ว เพิ่มขึ้นเป็น 1,029,000,000 บาท

เดือนมิถุนายน

• เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2555 เป็นวันใช้สิทธิแปลงสภาพครั้งที่ 9 โดยมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ จ�านวน 150,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท คิดเป็นจ�านวน 150,000 บาท โดยบริษัทฯ ได้ ด�าเนินการจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงเพิม่ ทุนช�าระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที ่ 26 มิถนุ ายน 2555 ส่งผลให้ทุนจดทะเบียนช�าระแล้ว เพิ่มขึ้นเป็น 1,029,150,000 บาท

เดือนตุลาคม

• เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555 เป็นวันใช้สิทธิแปลงสภาพครั้งที่ 10 โดยมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ จ�านวน 8,954,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท คิดเป็นจ�านวน 8,954,000 บาท โดยบริษัทฯ ได้ ด�าเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงเพิ่มทุนช�าระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2555 ส่งผลให้ทุนจดทะเบียนช�าระแล้ว เพิ่มขึ้นเป็น 1,038,104,000 บาท • การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 245 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 ได้มีมติเปลี่ยนแปลง กรรมการผู้มีอ�านาจลงนามแทนบริษัทฯ ซึ่งเดิมมีกรรมการสองในหกคนลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�าคัญของบริษัทฯ เพิ่มเป็นกรรมการสองในเจ็ดคนลงลายมือชื่อร่วมกัน และ ประทับตราส�าคัญของบริษัทฯ โดยเพิ่มนายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ กรรมการ ซึ่งได้จดทะเบียน แก้ไขกรรมการผู้มีอ�านาจลงนามแทนบริษัทฯ ต่อนายทะเบียนบริษัทมหาชนจ�ากัด กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555

ปี 2556

เดือนกุมภาพันธ์ • เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เป็นวันใช้สิทธิแปลงสภาพครั้งที่ 11 โดยมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ

จ�านวน 505,000 หุ้น ราคาหุ้นละ 1.00 บาท คิดเป็นจ�านวนเงิน 505,000 บาท โดยบริษัทฯ ได้ ด�าเนินการจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงเพิม่ ทุนช�าระแล้วกับกระทรวงพาณิชย์ เมือ่ วันที ่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 ส่งผลให้ทุนจดทะเบียนช�าระแล้ว เพิ่มขึ้นเป็น 1,038,609,000 บาท

• เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 ด�าเนินการยื่นจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงที่อยู่ ส�านักงานสาขาที่ 2 จากเดิมเลขที่ 490 หมู่ที่ 6 ต�าบลบ้านเป็ด อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 เปลี่ยนแปลง แก้ไขเป็น เลขที่ 269 หมู่ที่ 3 ต�าบลส�าราญ อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2556 เป็นต้นไป

33

DRT TH_2 color.indd 33

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 1. ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะตลาดในรอบปี 2555 อุตสาหกรรมมีการขยายตัวเนื่องจากปัจจัยบวกหลายปัจจัยทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐ เช่น มาตรการปรับ ขึ้ น ค่ า แรงขั้ น ต�่ า มาตรการลดหย่ อ นภาษี ส� า หรั บ การซื้ อ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย หลั ง แรก รวมถึ ง มาตรการบริ ห ารจั ด การน�้ า ในระยะยาว และการ เร่งผลักดันโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมก่อสร้างทั้งระบบ สรุปได้ดังนี้

1.1 ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม

ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมหลังคา แผ่นผนัง และสินค้าทดแทนไม้ นอกจากกลุ่มผู้ประกอบการรายเดิม ประกอบด้วย กลุ่มปูนซิเมนต์ ไทย กลุ่มมหพันธ์ กลุ่มกระเบื้องโอฬาร และผลิตภัณฑ์ตราเพชร ในปี 2555 มีผู้ประกอบการรายใหม่คือ กลุ่มทีพีไอ เข้ามาท�าตลาดในสินค้ากลุ่ม หลังคาเพิ่มเติม ซึ่งส่งผลให้การแข่งขันมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ในส่วนของการพัฒนาสินค้าใหม่ พบว่าสินค้าในกลุ่มทดแทนไม้ยังเป็นสินค้าที่ผู้ผลิต ให้ความสนใจในเรื่องของการพัฒนารูปแบบการใช้งานที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค

1.2 ภาวะการแข่งขันตลาดในประเทศ

ตลาดในประเทศ โดยภาพรวมความต้องการสินค้าในอุตสาหกรรมก่อสร้างมีอตั ราเพิม่ ขึน้ ในพืน้ ทีต่ า่ งจังหวัด ขณะทีผ่ ผู้ ลิตหลายรายมีการ ขยายก�าลังการผลิต โดยเฉพาะในกลุม่ สินค้า ไม้สงั เคราะห์ และบอร์ด ส่งผลให้การแข่งขันมีความรุนแรงมากขึน้ ด้านผลกระทบจากสินค้าทดแทน โดยเฉพาะหลังคาเหล็ก (Metal Sheet) ซึ่งเป็นสินค้าที่เข้ามามีบทบาททดแทนในสินค้ากลุ่มลอนคู่ ส่งผลให้ผู้ประกอบการในตลาดมีการปรับตัวให้ เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ส�าหรับส่วนแบ่งทางการตลาดในปี 2554 มีรายละเอียดดังนี้ ผู้ประกอบการ

1. กลุ่มปูนซิเมนต์ไทย 2. กลุ่มมหพันธ์ 3. ผลิตภัณฑ์ตราเพชร 4. กลุ่มกฤษณ์ (กระเบื้องโอฬาร) 5. คอนวูด 6. กระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย 7. ศรีกรุงธนบุรี รวม

ยอดขาย ปี 2554

สัดส่วนยอดขาย

12,784.11 6,685.02 3,693.12 2,232.86 1,048.58 957.33 204.02 27,605.04

46.31% 24.22% 13.38% 8.09% 3.80% 3.47% 0.73% 100.00%

(หน่วย : ล้านบาท)

ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

1.3 ภาวะการแข่งขันตลาดต่างประเทศ

ในปี 2555 มูลค่าการส่งออกกระเบื้องหลังคา ไม้สังเคราะห์ แผ่นผนัง และฝ้า จากประเทศไทยไปยังตลาดต่างประเทศ 1,375.94 ล้านบาท ลดลง 12.39 % จากปี 2554 ซึ่งแยกตามประเทศคู่ค้าได้ดังนี้

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 34

34

3/30/56 BE 12:01 PM


มูลค่าการส่งออกกระเบื้องหลังคา (หน่วย : ล้านบาท)

รายการสินค้า

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

กระเบื้องไฟเบอร์ซีเมนต์ กระเบื้องคอนกรีต แผ่นผนังและฝ้า ไม้สังเคราะห์ รวมมูลค่าการส่งออก อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (ลดลง) (%)

795.10 208.14 38.20 334.50 1,375.94 (12.39%)

750.37 289.72 174.39 356.11 1,570.59 (0.52%)

595.76 281.81 24.16 677.01 1,578.74 N/A

ที่มา : กรมศุลกากร

ประเทศคู่ค้า ประเทศคู่ค้า (หน่วย : ล้านบาท)

ลาว กัมพูชา พม่า สิงคโปร์ มาเลเซีย อื่นๆ รวมมูลค่าการส่งออก

กระเบื้อง ไฟเบอร์ซีเมนต์

548.69 210.52 26.72 0.00 0.72 8.45 795.10

สัดส่วน

กระเบื้อง คอนกรีต

สัดส่วน

แผ่นผนัง และฝ้า

สัดส่วน

69.01% 26.48% 3.36% 0.00% 0.09% 1.06% 100.00%

75.10 91.82 29.69 0.00 5.10 6.43 208.14

36.08% 44.11% 14.26% 0.00% 2.45% 3.10% 100.00%

5.55 1.35 6.96 0.00 10.54 13.80 38.20

14.54% 3.52% 18.22% 0.00% 27.58% 36.14% 100.00%

ไม้สังเคราะห์ สัดส่วน

65.49 101.28 15.63 107.87 3.64 40.59 334.50

19.58% 30.28% 4.67% 32.25% 1.09% 12.13% 100.00%

ที่มา : กรมศุลกากร

บริษัทฯ ส่งออกสินค้าไปประเทศเพื่อนบ้านที่มีพื้นที่ติดกับประเทศไทยเป็นหลัก ได้แก่ ลาว กัมพูชา และพม่า เป็นต้น เนื่องจากเป็นสินค้าที่มี น�้าหนักมากแตกเสียหายง่าย และมีค่าขนส่งสูง จึงมีข้อจ�ากัดในการขนส่งระยะทางไกล รวมมูลค่าการส่งออกในปี 2555 จ�านวน 423.14 ล้านบาท คิดเป็น 30.75% ของการส่งออกทั้งประเทศ

35

DRT TH_2 color.indd 35

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

1.4 แนวโน้มการแข่งขันในอนาคต

กลุ่มผลิตภัณฑ์หลังคา ในกลุ่มผลิตภัณฑ์หลังคาไฟเบอร์ซีเมนต์ การแข่งขันในตลาดมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น ขณะที่สินค้ากระเบื้องลอนคู ่ ผู้บริโภคเริ่มลดความนิยมลง และหันไปใช้สินค้าประเภทอื่นๆ ทดแทน เช่น หลังคาเหล็ก (Metal Sheet) ขณะที่สินค้าในกลุ่มหลังคาคอนกรีต ความนิยมเพิ่มขึ้นตามทิศทางการขยายตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์จากพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนมาใช้กระเบื้องคอนกรีตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม สินค้ากลุ่มกระเบื้องคอนกรีตมีผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาส่งผลให้ทิศทางการแข่งขันมีความรุนแรงขึ้น กลุ่มไม้สังเคราะห์และแผ่นผนัง ปีที่ผ่านมามีการพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับการใช้งานที่หลากหลาย ท�าให้สามารถทดแทนไม้ ได้อย่างเต็มรูปแบบ ขณะที่ผู้ผลิตรายหลักต่างเพิ่มก�าลังการผลิตเพื่อรองรับการเติบโต ส่งผลให้การแข่งขันในตลาดมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ผู้ผลิต ส่วนใหญ่เน้นการออกรายการส่งเสริมการขายเพื่อผลักดันการขายและช่วงชิงตลาดมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อรองรับกับการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงช่องว่างในตลาดเพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้า โดยเพิ่มการจ�าหน่ายสินค้าที่มี ความหลากหลาย ทั้งกระเบื้องแกรนิตโต้ แผ่นยิปซั่มบอร์ด ไม้พื้นลามิเนต และอิฐมวลเบา รวมถึงสินค้าที่จะจ�าหน่ายในอนาคต ทั้งปูนกาวซีเมนต์ ปูนก่อ ปูนฉาบอิฐมวลเบา และกรอบประตู หน้าต่างอะลูมิเนียม เป็นต้น 2. ลักษณะลูกค้า กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และช่องทางการจ�าหน่าย บริษัทฯ มีการจ�าหน่ายสินค้าทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ โดยสัดส่วนรายได้จากการขายสินค้ามีดังนี้ รายได้จากการขายสินค้า (หน่วย : ล้านบาท)

ตลาดในประเทศ • ผ่านตัวแทนจ�าหน่าย • ผ่านงานโครงการ ตลาดต่ างประเทศ รวม

ปี 2555

สัดส่วน

ปี 2554

สัดส่วน

ปี 2553

สัดส่วน

3,208.40 2,949.68 258.72 423.14 3,631.54

88.35% 81.23% 7.12% 11.65% 100.00%

3,137.30 2,892.23 245.07 345.59 3,482.89

90.08% 83.04% 7.04% 9.92% 100.00%

2,840.89 2,660.28 180.61 309.82 3,150.71

90.17% 84.44% 5.73% 9.83% 100.00%

บริษัทฯ มีช่องทางการจ�าหน่ายสินค้าหลัก 2 ช่องทาง ดังนี้ 2.1 ตลาดในประเทศ แบ่งเป็น 3 ช่องทาง ได้แก่ กลุ่มลูกค้าตัวแทนจ�าหน่าย (Agent) ปัจจุบันมีตัวแทนจ�าหน่ายและร้านค้าช่วงมากกว่า 5,000 รายกระจายทั่วประเทศ กลุ่มร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ปัจจุบันมีการจ�าหน่ายผ่านทาง บจก. ซีอาร์ซี เพาเวอร์รีเทล และบมจ.สยามโกลบอล เฮ้าส์ ซึ่งมีสาขารวมกันกระจายอยู่ทั่วประเทศ กว่า 50 สาขาและกลุ่มลูกค้าโครงการ (Project) ปัจจุบันมีการจ�าหน่ายโดยตรงกับงานโครงการต่างๆ เกือบ 100 โครงการในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และต่างจังหวัด 2.2 ตลาดต่างประเทศ (Export) ปัจจุบันมีการจ�าหน่ายสินค้าให้ลูกค้าหลายประเทศมากขึ้น เมื่อเทียบจากปีก่อน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า จีน ฟิลิปปินส์ อิหร่าน อินเดีย ไต้หวัน มาเลเซีย เวียดนาม และฮ่องกง โดยสัดส่วนรายได้จากการส่งออกเพิ่มขึ้นประมาณ 22.44% จากปีก่อน 3. กลยุทธ์ในการแข่งขัน บริษัทฯ ได้ก�าหนดกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมองค์กรของบริษัทฯ ดังต่อไปนี้

3.1 พัฒนาการบริการให้สู่ความเป็นเลิศ

บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นการปรับปรุงประสิทธิภาพของการให้บริการ โดยให้ความส�าคัญกับการพัฒนาบุคลากรที่ให้บริการด้านการขายและทีม งานบริการหลังการขาย เพื่อให้ผู้บริโภค ลูกค้า ได้รับการบริการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มีการจัดท�าแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อ การบริการของบริษัทฯ เพื่อน�ามาปรับปรุงการบริการให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับบริษัทฯ ผ่าน Call Center และเพิ่มช่อง รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 36

36

3/30/56 BE 12:01 PM


ทางการขายผ่านระบบโทรศัพท์ (Tele Sales) เพื่อเพิ่มความสะดวกแก่ 3.6 พัฒนาศูนย์กระจายสินค้าและฐานการผลิตไปสู่ภูมิภาค ลูกค้าในกรณีที่ต้องการสินค้าเร่งด่วน บริษทั ฯ มีทดี่ นิ ทีย่ งั ไม่ได้ใช้งานในหลายจังหวัด โครงการ CT-KK 3.2 พัฒนาการส่งมอบสินค้าให้ตรงเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นโครงการขยายฐานก�าลังการผลิตสู่ภูมิภาคเป็นโครงการแรก โดย บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มัน่ ในการรักษามาตรฐานการให้บริการส่งมอบ จะไปติดตั้งสายการผลิตกระเบื้องคอนกรีต บนที่ดินของบริษัทฯ ใน สินค้าให้ตรงเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามนโยบายการส่งมอบ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งคาดว่าจะเริ่มท�าการผลิตในเชิงพาณิชย์ประมาณ สินค้าให้ถงึ มือลูกค้าภายใน 24 ชัว่ โมง มีการปรับปรุงระบบการจัดส่งทัง้ ไตรมาสที ่ 4/2556 ทีม่ กี า� ลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี รวมทัง้ ตัง้ เป็นศูนย์ ระบบให้มกี ารเชือ่ มโยงอย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่การผลิต การเก็บสินค้า การ กระจายสินค้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รับค�าสั่งซื้อ การจัดสินค้าขึ้นรถบรรทุก รวมทั้งมีการเยี่ยมลูกค้าเพื่อให้ ค� า แนะน� า ในเรื่ อ งระบบโลจิ ส ติ ก และการจั ด เก็ บ สิ น ค้ า อย่ า งมี 4. การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ ประสิทธิภาพ 4.1 การผลิต 3.3 พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อความแตกต่างที่ดีกว่า บริษัทฯ ใช้นโยบายผลิตเต็มก�าลังการผลิต เพื่อรักษาระดับการ บริษัทฯ มีการวิจัยพัฒนาปรับปรุงคุณภาพสินค้าเพื่อลดต้นทุน ผลิตให้สม�า่ เสมอตลอดทัง้ ปี เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตและเพิม่ สต๊อกส�าหรับ การผลิตอย่างต่อเนื่อง ให้ความส�าคัญต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ออก ขายในช่วงที่มียอดขายสูงกว่าก�าลังการผลิตที่มีอยู่ โดยในปี 2555 ใช้ สู่ตลาด เช่น กระเบื้องจตุลอน กลุ่มผลิตภัณฑ์ทดแทนไม้โดยเพิ่มความ ก�าลังการผลิตประมาณ 92% ในขณะที่ปี 2554 ใช้อัตราก�าลังการผลิต หลากหลายทั้งรูปแบบการใช้งานและสีสันที่เพิ่มขึ้น และผลิตภัณฑ์อิฐ ประมาณ 98% เนื่องจากในปี 2555 ใช้ก�าลังการผลิต NT-10 ไม่เต็มปี มวลเบาทีจ่ ะออกสูต่ ลาดในปี 2556 รวมทัง้ การพัฒนาระบบการให้บริการ 4.2 การจัดหาวัตถุดิบ ทีค่ รบวงจร ตัง้ แต่การออกแบบจนถึงการติดตัง้ ระบบหลังคา ระบบโครง วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตมีการจัดซือ้ มาจากทัง้ ในประเทศ หลังคาส�าเร็จรูป (Truss) และติดตัง้ ไม้พนื้ ลามิเนต เป็นต้น โดยในปัจจุบนั และต่างประเทศดังนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนาทีมงานบริการติดตั้งประจ�าที่ส่วนกลางจังหวัดสระบุรี ก. ในประเทศ และทีมงานประจ�าส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ เป็นวัตถุดิบที่มีแหล่งผลิตภายในประเทศ เช่น ปูนซีเมนต์ 3.4 ก�าหนดราคาที่เป็นธรรมและแข่งขันได้ ปอร์ตแลนด์ ทราย สีชนิดต่างๆ เยื่อกระดาษ และวัตถุดิบอื่นๆ โดยมี บริษัทฯ ยังคงใช้นโยบายการก�าหนดราคาที่เป็นธรรมและ สัดส่วนการซือ้ วัตถุดบิ ภายในประเทศเพิม่ ขึน้ จาก 54.03% ในปี 2554 มา สามารถแข่ ง ขั น ได้ โดยเน้ น ถึ ง คุ ณ ภาพบนความหลากหลายของ เป็น 62.45% ในปี 2555 เนื่องจากมีการผลิตสินค้าที่ไม่มีใยหินเพิ่มขึ้น ผลิตภัณฑ์ การให้ส่วนลดที่เหมาะสมกับลูกค้า เพื่อเป้าหมายที่แข่งขัน ข. ต่างประเทศ ได้ และรักษาอัตราผลก�าไรที่ยอมรับได้ เป็นวัตถุดิบที่มีแหล่งผลิตภายนอกประเทศ เช่น ใยหิน 3.5 พัฒนาช่องทางการจัดจ�าหน่ายให้เข้มแข็ง ใยสังเคราะห์ และเยือ่ กระดาษ เป็นต้น โดยมีสดั ส่วนการซือ้ วัตถุดบิ จาก บริษทั ฯ ยังคงมุง่ เน้นการพัฒนาตัวแทนจ�าหน่ายของบริษทั ฯ ให้ ต่างประเทศลดลง 45.97% ในปี 2554 มาเป็น 37.55% ในปี 2555 มีความเข้มแข็งและเป็นก�าลังส�าคัญในการผลักดันสินค้าของบริษทั ฯ โดย 4.3 สภาพปัญหาเกี่ยวกับวัตถุดิบ ได้มีการจัดตั้งหน่วยงานในด้านการพัฒนาช่องทางการจัดจ�าหน่าย เพื่อ บริษัทฯ ไม่เคยประสบปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบที่ใช้ในการ จัดอบรมพัฒนาให้ความรู้ในด้านต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับ ผลิต เนื่องจากบริษัทฯ มีการบริหารจัดการและมีการวางแผนในการสั่ง รูปแบบการท�าการค้าในแต่ละร้านค้าอย่างต่อเนื่อง ส�าหรับร้านค้าใน ซื้อเป็นอย่างดี รวมทั้งมีการสั่งซื้อจากคู่ค้าหลายรายของแต่ละประเภท ประเทศได้เริ่มการพัฒนารูปแบบร้านค้าภายใต้ Concept “D-Build รวมทั้งบริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อหมุนเวียนอย่างเพียงพอ และมีความ Shop” เพือ่ ตอบสนองพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคและเพิม่ ความหลากหลาย สัมพันธ์อันดีกับคู่ค้าอย่างยาวนานท�าให้บริษัทฯ ได้รับความเชื่อถือจาก และสะดวกในการเข้าถึงสินค้า คู่ค้าเป็นอย่างดี

37

DRT TH_2 color.indd 37

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรก

จ�านวนหุ้น

อัตราส่วนการถือหุ้น

1. บริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด 2. กองทุนเปิด ไทยทวีทุน 2 3. กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว 4. กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว 75/25 5. นายประกิต ประทีปะเสน 6. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 7. ดร.บูรณะ ชวลิตธ�ารง 8. นางศิริวรรณ จึงธีรพานิช 9. กองทุนเปิด บัวหลวงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเลี้ยงชีพ 10. กองทุนเปิด บัวหลวงเฟล็กซิเบิ้ลเพื่อการเลี้ยงชีพ 11. ผู้ถือหุ้นอื่น จ�านวนหุ้นสามัญทั้งหมด

629,618,600 73,192,400 24,348,800 19,812,200 17,049,500* 14,597,973 11,110,000 10,000,000 9,385,100 9,370,200 220,124,227 1,038,609,000

60.62% 7.05% 2.34% 1.91% 1.64% 1.41% 1.07% 0.96% 0.90% 0.90% 21.20% 100.00%

* จ�านวนหุ้นที่ถือนับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

บริษัทฯ ได้ก�าหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิในการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 28 (ประจ�าปี 2556) และสิทธิในการรับเงินปันผล (Record Date) ในวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2556 และให้รวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้นตาม มาตรา 225 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยวิธี ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น ในวันจันทร์ที่ 18 มีนาคม 2556 ปัจจุบัน บริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดยมีกลุ่มนายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ และกลุ่ม นายประกิต ประทีปะเสน เป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่โดยทางตรงและทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 40.00 และ ร้อยละ 25.11 ตามล�าดับ ทั้งนี้ ตัวแทนของกลุ่ม บริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด ที่ด�ารงต�าแหน่งกรรมการในบริษัทฯ มีทั้งหมด 4 คน ประกอบด้วย นายประกิต ประทีปะเสน นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ นายเจมส์ แพ็ทตริค รูนี่ย์ และ นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ อย่างไรก็ตามการอนุมตั ริ ายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กา� หนดมาตรการหรือขัน้ ตอนอนุมตั ริ ายการทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยให้ผา่ นการกลัน่ กรองจากคณะกรรมการตรวจสอบก่อน โดยบุคคลทีอ่ าจมีสว่ นได้เสียจะไม่สามารถอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วข้องกับตนได้ ก่อนเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ โดยบริษัทฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทฯ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 38

38

3/30/56 BE 12:01 PM


ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาผลตอบแทน มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาผลตอบแทนกรรมการและผู้ บ ริ ห าร โดยก� า หนดหลั ก เกณฑ์ ให้มีการเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน และบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง ได้ ก ลั่ น กรองและพิ จ ารณาอย่ า งละเอี ย ดถึ ง ความเหมาะสม รวมถึ ง พิ จ ารณาจากการขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ และการเติ บ โต ทางผลก� า ไรของบริ ษั ท ฯ เป็ น ส� า คั ญ แล้ ว เสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาผลตอบแทนผู้บริหารของ บริษัทฯ ส�าหรับผลตอบแทนกรรมการของบริษัทฯ ให้น�าเสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�าปีเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

นโยบายการจ่า ยผลตอบแทน “บริษัท ฯ มีความมุ่งมั่นในการจ่า ย ผลตอบแทน อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม โดยพิจารณาจากขอบเขต อ�านาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ รวมถึงประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั จาก กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน มีการเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นใน อุตสาหกรรมเดียวกันและบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมทั้งประเมินจากผลการ ด�าเนินงานของบริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ” 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน

1.1 ค่าตอบแทนของกรรมการรายเดือน (ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555) ค่าตอบแทนรายเดือนต่อคน

ต�าแหน่ง (หน่วย : ล้านบาท)

ประธานกรรมการ กรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการตรวจสอบ

0.08 0.05

0.03 0.02

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

0.02 0.01

39

DRT TH_2 color.indd 39

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

1.2 ค่าตอบแทนของกรรมการต่อปี (ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555) ชื่อ - นามสกุล (หน่วย : ล้านบาท)

คณะกรรมการบริษัทฯ

1. นายประกิต ประทีปะเสน 2. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ 3. นายเจมส์ แพ็ทตริค รูนี่ย์ 4. นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ 5. นายสมบูรณ์ ภู่วรวรรณ 6. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย 7. นายอนันต์ เล้าหเรณู 8. นายอัศนี ชันทอง 9. นายสาธิต สุดบรรทัด 10. นายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ 11. นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา 12. นายวุฒิไกร โสตถิยานนท์ รวม

0.93 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 0.57 7.20

ค่าตอบแทนต่อปี คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาผลตอบแทน

โบนัสกรรมการ

- - - - 0.36 0.225 0.225 - - - - - 0.81

- 0.24 - 0.12 - - 0.12 - - - - - 0.48

0.50 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 0.40 4.90

รวมค่าตอบแทน

1.43 1.21 0.97 1.09 1.33 1.195 1.315 0.97 0.97 0.97 0.97 0.97 13.39

1.3 สรุปเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทน (หน่วย : ล้านบาท)

ค่าตอบแทนและโบนัสของกรรมการ เงินเดือน โบนัส และอื่นๆ ของผู้บริหาร* รวม

ปี 2555 จ�านวนคน จ�านวนเงิน

12 6

13.39 31.09 44.48

ปี 2554 จ�านวนคน จ�านวนเงิน

12 6

10.66 29.18 39.84

ปี 2553 จ�านวนคน จ�านวนเงิน

9 6

8.32 30.04 38.36

หมายเหตุ * รวมกองทุนส�ารองเลี้ยงชีพ ปี 2555 : 2554 : 2553 = 1.16 : 1.08 : 0.93 ล้านบาท

2. ค่าตอบแทนอื่น บริษัทฯ ได้จัดโครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของบริษัทฯ (ESOP) ซึ่งได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้ง ที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2551 ให้ออกใบส�าคัญแสดงสิทธิจ�านวน 49,650,000 หน่วย ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ โดยส�านักงาน คณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มีมติอนุญาตให้บริษัทฯ เสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2551 โดย ในปี 2555 กรรมการและผู้บริหารได้มีการใช้สิทธิแล้ว 6,990,000 หน่วย ซึ่งสามารถดูรายละเอียดของโครงการและรายงานผลการใช้สิทธิได้จาก เว็บไซต์ของบริษัทฯ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 40

40

3/30/56 BE 12:01 PM


โครงสร้างการบริหารจัดการ โครงสร้างการบริหารจัดการ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ คณะอนุกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ ซึ่งมีองค์ประกอบ คุณสมบัติ บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบที่ส�าคัญและแตกต่างกัน โดยในปัจจุบันได้ก�าหนดไว้ในคู่มือการก�ากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance Handbook) อย่างชัดเจน ซึ่งได้เผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในส่วนข้อมูลนักลงทุน เพื่อเป็นแนวทางให้กรรมการ และ ผู้บริหารได้ยึดเป็นหลักในการปฏิบัติงาน สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้

1. คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ มีภาวะผู้น�า มีวิสัยทัศน์ มีความเป็น อิสระในการตัดสินใจ อุทิศเวลาและพยายามอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์สูงสุด ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจ�านวน 12 คน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 4 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 5 คน และ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 คน ชื่อ

1. นายประกิต ประทีปะเสน 2. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ 3. นายเจมส์ แพ็ทตริค รูนี่ย์ 4. นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ 5. นายสมบูรณ์ ภู่วรวรรณ 6. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย 7. นายอนันต์ เล้าหเรณู 8. นายอัศนี ชันทอง 9. นายสาธิต สุดบรรทัด 10. นายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ 11. นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา 12. นายวุฒิไกร โสตถิยานนท์ 13. นางสาวธนกานต์ พันธาภิรัตน์

ต�าแหน่ง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ กรรมการ / รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการ/ รองกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการอิสระ เลขานุการบริษัท

การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (ครั้ง) ปี 2555 ปี 2554

11/12 11/12 9/12 11/12 11/12 12/12 11/12 12/12 12/12 12/12 11/12 11/12 12/12

11/11 11/11 9/11 11/11 11/11 11/11 11/11 11/11 11/11 11/11 11/11 10/11 11/11

กรรมการผู้มีอ�านาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ นายประกิต ประทีปะเสน นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ นายเจมส์ แพ็ทตริค รูนี่ย์ นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ

นายอัศนี ชันทอง นายสาธิต สุดบรรทัด และนายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ กรรมการสองในเจ็ดคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราส�าคัญของบริษัทฯ

41

DRT TH_2 color.indd 41

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

ขอบเขตอ�านาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ สรุปสาระส�าคัญได้ดงั นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญของประสิทธิภาพการปฏิบตั ิ ก�าหนดนโยบาย เป้าหมาย แผนงาน และงบประมาณประจ�าปี ตลอดจน ก�ากับดูแลการบริหารงานของกรรมการ และผู้บริหารให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�าหนดให้มีการติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม�่าเสมอ ก�าหนดให้มีระบบการควบคุม ภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ ก�าหนดแนวทาง ในการท�ารายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ ก�าหนดให้มีการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้นรวมทั้งการจัดท�างบ แสดงฐานะการเงิน การสื่อสารและการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องทราบอย่างเพียงพอและสม�่าเสมอ ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับมี จิตส�านึกในจริยธรรมและคุณธรรม และเปิดโอกาสให้สิทธิแก่กรรมการ ทุกคนในการเสนอวาระการประชุมเป็นการล่วงหน้า เพื่อเลขานุการบริษัทฯ ได้บรรจุเป็นวาระการประชุมต่อไป

หน้าที่ในฐานะกรรมการผู้จัดการ และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ อาจจะ ลดลงหากมีจา� นวนบริษทั ทีก่ รรมการผูจ้ ดั การไปด�ารงต�าแหน่งมีมากเกินไป จึงก�าหนดจ�านวนบริษัทที่กรรมการผู้จัดการ และผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ จะไปด�ารงต�าแหน่งให้เหมาะสมกับลักษณะหรือสภาพธุรกิจของ บริษัทฯ ซึ่งไม่ควรเกิน 3 บริษัทจดทะเบียน และต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน รวมทัง้ ก�าหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของ คณะกรรมการ บริษัทฯ ทั้งคณะ ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการได้ทบทวนผลการปฏิบัติงาน ของตนว่ามีจุดแข็ง จุดอ่อน อย่างไร และมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการด�าเนินงานของบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มกี ารปฐมนิเทศกรรมการใหม่ โดยกรรมการ ใหม่ทุกท่านต้องผ่านการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ เพื่อให้มีหน้าที่ใน (DAP) และส�าหรับกรรมการตรวจสอบต้องผ่านการอบรมหลักสูตร Audit การจั ด เตรี ย มการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ดู แ ลกิ จ กรรมของ Committee Program (ACP) รวมทั้งสนับสนุนกรรมการให้เข้าร่วมอบรม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และติ ด ตามให้ มี ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ เพิ่มความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการอย่างสม�่าเสมอ สม�่าเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยส�าคัญแก่กรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ก�าหนดให้ต�าแหน่งประธานกรรมการบริษัทฯ และ กรรมการผูจ้ ดั การเป็นคนละบุคคลกัน จึงก�าหนดขอบเขตอ�านาจหน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องการก�าหนดนโยบาย ส�าหรับกรรมการผู้จัดการท�าหน้าที่ในการบริหารงานประจ�า ประธาน กรรมการบริษัทฯ จะต้องดูแลติดตาม การบริหารจัดการของฝ่ายบริหาร คอยให้ค�าแนะน�าและช่วยเหลือ แต่ต้องไม่มีส่วนร่วมและไม่ก้าวก่ายในการ บริหารงานปกติประจ�าวันซึ่งเป็นหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการภายใต้กรอบ อ�านาจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ

หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ

บริษทั ฯ ได้กา� หนดนิยามกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดและแนวปฏิบัติที่ดีของ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริ ษั ท ฯ โดยรายละเอี ย ดหลั ก เกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กกรรมการอิ ส ระและ คุณสมบัติของกรรมการอิสระนั้น บริษัทฯ ได้จัดท�าไว้ในคู่มือการก�ากับดูแล กิจการที่ดี ซึ่งได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.dbp.co.th)

นอกจากนี้ประธานกรรมการบริษัทฯ ต้องมีภาวะผู้น�า ดูแลกรรมการ มิให้อยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่ายบริหาร โดยท�าหน้าที่ประธานในที่ประชุมทั้ง ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างเป็นธรรม มีประสิทธิภาพ สนับสนุนและผลักดันให้ผู้เข้าร่วมประชุมใช้สิทธิออกเสียง ปฏิบัติตามหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 42

42

3/30/56 BE 12:01 PM


2. คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 3 คณะดังนี้

2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�านวนอย่างน้อย 3 คน มีวาระการด�ารงต�าแหน่ง 3 ปี ผ่านการสรรหา จากคณะกรรมการ ก.ส.ต. เมื่อกรรมการตรวจสอบครบวาระการด�ารงต�าแหน่งหรือมีเหตุใดที่กรรมการตรวจสอบไม่สามารถอยู่ได้จนครบวาระ มีผลให้ จ�านวนสมาชิกน้อยกว่าจ�านวนที่ก�าหนด คณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะต้องแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบรายใหม่ให้ครบถ้วนในทันทีหรือ อย่างช้าภายใน 3 เดือนนับแต่วันที่จ�านวนสมาชิกไม่ครบถ้วน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการด�าเนินงาน และต้องมีองค์ประกอบและคุณสมบัติครบตาม หลักเกณฑ์ที่ส�านักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศก�าหนด โดยบริษัทฯ จะต้องมีคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 3 คน ซึ่งต้องเป็นกรรมการอิสระทั้งคณะ โดย 1 คนจะต้องมีความรู้ด้านบัญชีและการ เงินและจะต้องได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมจ�านวน 8 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีกรรมการตรวจสอบทั้งหมดจ�านวน 3 คน ประกอบด้วย ชื่อ

1. นายสมบูรณ์ ภู่วรวรรณ 2. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย 3. นายอนันต์ เล้าหเรณู*

ต�าแหน่ง

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (ครั้ง) ปี 2555 ปี 2554

8/8 8/8 8/8

8/8 8/8 8/8

*นายอนันต์ เล้าหเรณู เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�าหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯ โดยมีนายสามารถ วิริยะขัตติยาภรณ์ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ สอบทานระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) ที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โดย ค�านึงถึงความน่าเชื่อถือ รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พิจารณารายการเกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จัดท�ารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�าปี (แบบ 56 - 1) และรายงานประจ�าปี (แบบ 56 - 2) ของบริษัทฯ สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ จัดให้มีส�านักงานตรวจสอบภายในและงานก�ากับดูแล มีหน้าที่ดูแลและสอบทานให้มีการปฏิบัติงานเป็นไปตามระบบงานหรือตามมาตรฐาน การควบคุมภายในที่ก�าหนดและเป็นผู้ประสานงาน สนับสนุนและช่วยเหลืองานคณะกรรมการตรวจสอบในการก�ากับดูแลกิจการที่ดี โดยผู้จัดการส�านัก ตรวจสอบภายในและก�ากับดูแล ได้รับการแต่งตั้งเป็นเลขานุการกรรมการตรวจสอบโดยต�าแหน่ง

2.2 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน (ก.ส.ต.)

คณะกรรมการ ก.ส.ต. (Nomination and Remuneration Committee) ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารอย่างน้อย 3 คน และอย่าง 43

DRT TH_2 color.indd 43

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

น้อย 1 คนต้องเป็นกรรมการอิสระ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ มีวาระการด�ารงต�าแหน่ง 3 ปี โดยให้คณะกรรมการ ก.ส.ต. เป็นผู้พิจารณาคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการ ก.ส.ต. 1 คน ให้ด�ารงต�าแหน่งประธานกรรมการ ก.ส.ต. เมื่อคณะกรรมการ ก.ส.ต. มีจ�านวนสมาชิกน้อยกว่า จ�านวนที่ก�าหนด คณะกรรมการบริษัทฯ จะพิจารณาคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการ ก.ส.ต. รายใหม่ให้ครบถ้วนภายใน 3 เดือน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ในการด�าเนินงาน ทั้งนี้ในปี 2555 คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีการประชุมรวมจ�านวน 6 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีกรรมการ ก.ส.ต. ทั้งหมดจ�านวน 3 คน ประกอบด้วย ชื่อ

1. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ 2. นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ 3. นายอนันต์ เล้าหเรณู

ต�าแหน่ง

ประธานกรรมการ ก.ส.ต. กรรมการ ก.ส.ต. กรรมการ ก.ส.ต.

การประชุมคณะกรรม ก.ส.ต. (ครั้ง) ปี 2555 ปี 2554

6/6 6/6 6/6

4/4 4/4 3/4

โดยมีนายอัศนี ชันทอง กรรมการผู้จัดการ เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ก.ส.ต.

ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ก.ส.ต. สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยจะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์ สุจริต ดังต่อไปนี้ 1. การพิจารณาสรรหากรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ด�าเนินการดังต่อไปนี้ ก. พิจารณาก�าหนดและทบทวนโครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และผู้บริหารให้เหมาะสม พิจารณาหลักเกณฑ์ และกระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อด�ารงต�าแหน่งกรรมการ แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งต่อไป ข. พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ด�ารงต�าแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไป และเลขานุการบริษัทฯ เพื่อเสนอ ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่ต�าแหน่งดังกล่าวว่างลง รวมทั้งก�าหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาผู้สืบทอด และปฏิบัติการอื่น ใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้ด�าเนินการเกี่ยวกับการสรรหากรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ 2. การพิจารณาผลตอบแทนกรรมการและพนักงานของบริษัทฯ ด�าเนินการดังต่อไปนี้ ก. พิจารณาก�าหนดรูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายผลตอบแทนของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของบริษัทฯ อย่างเป็นธรรมและ เหมาะสม โดยการเปรียบเทียบกับบริษทั อืน่ ในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกัน พิจารณาจากขอบเขตอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) พิจารณาจากผลการด�าเนินงานของบริษัทฯ ในแต่ละปี พิจารณาจากการประเมินผลปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทฯ (Self Assessment of the Board of Directors’ Performance) ในแต่ละปี ได้แก่ ผลตอบแทนประจ�าเดือน (เช่น ค่าเบี้ยประชุม) และผลตอบแทนรายปี (เช่น โบนัสกรรมการ) ที่จ่ายให้กับคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของบริษัทฯ แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ข. พิจารณาก�าหนดรูปแบบและหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานของบริษัทฯ หรือ KPIs (Key Performance Indicators) เพื่อใช้ในการพิจารณาปรับอัตราเงินเดือนและการจ่ายเงินรางวัลประจ�าปี (โบนัส) ให้กับพนักงานของบริษัทฯ โดยพิจารณาจากงบประมาณประจ�าปีและ เป้าหมายการด�าเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งสภาวะตลาดและเศรษฐกิจ แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 44

44

3/30/56 BE 12:01 PM


ค. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้ด�าเนินการอันเกี่ยวกับการพิจารณาผลตอบแทน กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษัทฯ

2.3 คณะกรรมการจัดการ

คณะกรรมการจัดการ (Management Committee) ประกอบด้วยผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไปจ�านวนอย่างน้อย 3 คน ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยกรรมการผูจ้ ดั การ เป็นประธานกรรมการจัดการโดยต�าแหน่ง เมือ่ คณะกรรมการจัดการ มีจา� นวนสมาชิก น้อยกว่าจ�านวนทีก่ า� หนด คณะกรรมการ ก.ส.ต. จะพิจารณาคัดเลือกกรรมการจัดการรายใหม่ และเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ กรรมการจัดการ รายใหม่ให้ครบถ้วนภายใน 3 เดือน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการด�าเนินงาน ทั้งนี้ในปี 2555 คณะกรรมการจัดการมีการประชุมรายสัปดาห์รวมจ�านวน 35 ครั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีกรรมการจัดการทั้งหมดจ�านวน 5 คน ประกอบด้วย ชื่อ

1. นายอัศนี ชันทอง 2. นายสาธิต สุดบรรทัด 3. นายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ 4. นายสุวิทย์ แก้วอ�าพันสวัสดิ์ 5. นางสาวธนกานต์ พันธาภิรัตน์

ต�าแหน่ง

ประธานกรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการและเลขานุการ

ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดการ สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ บริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ นโยบาย แผนธุรกิจ และงบประมาณตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา กลั่นกรองข้อเสนอของฝ่ายจัดการ ในการก�าหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ ค่านิยมองค์กร วัตถุประสงค์ นโยบาย แผนธุรกิจ และกลยุทธ์การด�าเนินธุรกิจของ บริษัทฯ แผนการเงิน การบริหารเงินลงทุน การบริหารทรัพยากรบุคคล งบประมาณประจ�าปี เป้าหมายคะแนน KPIs (Key Performance Indicators) และ การประเมินผลส�าเร็จของบริษัทฯ แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ ก.ส.ต. เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติต่อไป พิจารณาก�าหนดโครงสร้างองค์กร อ�านาจการบริหารองค์กร รวมถึงการแต่งตั้ง การว่าจ้าง การโยกย้าย การก�าหนดเงินค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินรางวัล การเลิกจ้าง ตัง้ แต่ระดับพนักงานจนถึงผูบ้ ริหารระดับผูจ้ ดั การฝ่าย มีการก�าหนดอ�านาจอนุมตั ใิ นการจัดซือ้ จัดจ้างและอ�านาจอนุมตั ทิ างการเงินของผูบ้ ริหาร แต่ละระดับ ตามระเบียบในการปฏิบัติงานและอ�านาจในการอนุมัติ ที่ได้อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีการรายงานผลการด�าเนินงาน ประจ�าเดือนและประจ�าปี ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองตามเป้าคะแนน (KPIs) รายบุคคลตามที่ได้รับอนุมัติแล้ว เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ ก.ส.ต. เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ติ อ่ ไป ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ให้ด�าเนินการเป็นคราวๆ ไป รวมทั้งคณะกรรมการจัดการได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ดังต่อไปนี้

2.3.1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการจัดการเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารของ บริษัทฯ ตั้งแต่ระดับผู้จัดการส่วนขึ้นไปอย่างน้อยฝ่ายละ 1 คน รวมผู้จัดการแผนกระบบมาตรฐานและนิติกร เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงโดยต�าแหน่ง รวมจ�านวนอย่างน้อย 10 คน และคัดเลือกผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไป 1 คน ด�ารงต�าแหน่งประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และแต่ง ตั้งกรรมการบริหารความเสี่ยง 1 คนเป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 45

DRT TH_2 color.indd 45

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

ทั้งนี้ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการ ในรอบปี 2555 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ก�ากับดูแลงาน ประชุมรวมจ�านวน 12 ครั้ง บริหารความเสีย่ งด้วยความรับผิดชอบ และระมัดระวัง โดยสามารถควบคุม ความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อการด�าเนินงานของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีกรรมการบริหาร บริษัทฯ 2.3.2 คณะกรรมการชุดอื่นๆ ความเสี่ยงจ�านวน 14 คน ประกอบด้วย รองกรรมการผู้จัดการสายการขาย • คณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ และการตลาด ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การสายการขายและการตลาด ผูบ้ ริหาร คณะกรรมการจัดการเป็นผู้แต่งตั้ง คณะกรรมการก�ากับ ตัง้ แต่ผจู้ ดั การส่วนขึน้ ไปอย่างน้อย 1 คน จากทุกหน่วยงานของบริษทั ฯ รวม ดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee) โดยมีอ�านาจหน้าที่ 10 คน ผู้จัดการแผนกระบบมาตรฐาน (เลขานุการ) และนิติกร ในการก�าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่ดีในกิจการด้านต่างๆ ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สรุปสาระ ให้เป็นไปตามหลักการก�ากับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ให้มกี ารบริหารจัดการอย่าง ส�าคัญได้ดังนี้ มีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และจัดท�าคูม่ อื การก�ากับดูแล กิจการที่ดี (Good Corporate Governance Handbook) เพื่อให้กรรมการ ก�าหนดนโยบายและแผนงานด้านการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้ครอบคลุม ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับ ได้ยดึ เป็นแนวปฏิบตั ใิ นการด�าเนินงาน เป็น ความเสี่ยงทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นกับธุรกิจของบริษัทฯ และน�าเสนอต่อ ที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย โดยบริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงคู่มือ คณะกรรมการจัดการให้ความเห็นชอบก่อนน�าสู่การปฏิบัติ สร้างระเบียบ การก�ากับดูแลกิจการที่ดี อย่างเหมาะสมและสม�่าเสมอ โดยได้เผยแพร่บน ปฏิบตั ใิ นการประเมินและวิเคราะห์ปจั จัยต่างๆ ทีจ่ ะน�าไปสูค่ วามเสีย่ ง และ เว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.dbp.co.th) ครั้งแรกตั้งแต่ปี 2553 พร้อมทั้ง ก�าหนดแนวทางในการแก้ไข ตามปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้น ได้แก่ สนับสนุนให้มีการประเมินระดับมาตรฐานการก�ากับดูแลกิจการภายใน • Red Risk : ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน จะต้องมี องค์กรด้วยตนเองเป็นประจ�าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง แนวทางแก้ไขเพื่อลดความเสี่ยง • คณะกรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • Yellow Risk : ปัจจัยที่ต้องเฝ้าระวังซึ่งอาจจะเป็นปัจจัยเสี่ยง จะต้องมี คณะกรรมการจั ด การเป็ น ผู ้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ แนวทางป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยง รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : • Green Risk : ยังไม่เป็นปัจจัยความเสี่ยง CSR) โดยมีอ�านาจหน้าที่ในการก�าหนดนโยบาย ทิศทาง และแนวทาง ในการด�าเนินการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ ติดตามผลการจัดการกับความเสี่ยงที่ไม่สามารถยอมรับได้ ว่ามีแนวทาง จัดท�าแผนงาน และงบประมาณ ในการด�าเนินการในแต่ละปี ด�าเนินการ แก้ไขและป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างไร ทบทวน ตามแผนงาน และงบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ ทัง้ นี ้ อาจก�าหนดบุคคล หน่วย นโยบายและระบบควบคุมซึ่งจัดตั้งเพื่อการประเมิน การบริหารและการ งาน แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือใช้ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก ในการ ควบคุมความเสีย่ ง รวมทัง้ กระบวนการตรวจสอบและการรายงาน เพือ่ สร้าง ด�าเนินการแต่ละเรือ่ งก็ได้ รวมทัง้ ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลงาน ความมั่นใจว่าบริษัทฯ มีกรอบการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและมี เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกับองค์กร ประสิทธิภาพ ก�ากับดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกรอบแห่งการบริหารความเสีย่ ง และสอบทานการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงต่อหน่วยงานก�ากับดูแล และ สาธารณะอย่างเพียงพอและสม�่าเสมอ จัดท�ารายงานผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยเปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�าปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�าปี (แบบ 56-2) ปฏิบัติการอื่นใด ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการจัดการ มอบหมายให้ดา� เนิน การเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 46

46

3/30/56 BE 12:01 PM


3. ผู้บริหาร บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะสรรหาผูบ้ ริหารทีม่ คี วามรู ้ ความสามารถ มีประสบการณ์การท�างานทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ มีประวัตกิ ารท�างานทีด่ แี ละมีจริยธรรม ที่ ดี ง าม โดยผ่ า นความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ต. และได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยผู ้ บ ริ ห ารตั้ ง แต่ ร ะดั บ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไปเป็นกรรมการจัดการโดยต�าแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีผู้บริหารทั้งหมดจ�านวน 5 คน ประกอบด้วย ชื่อ

1. นายอัศนี ชันทอง 2. นายสาธิต สุดบรรทัด 3. นายไมตรี ถาวรอธิวาสน์ 4. นายสุวิทย์ แก้วอ�าพันสวัสดิ์ 5. นางสาวธนกานต์ พันธาภิรัตน์

ต�าแหน่ง

กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ สายการขายและการตลาด รองกรรมการผู้จัดการ สายการผลิตและวิศวกรรม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายการขายและการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายการบัญชีและการเงิน

ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ ก�าหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ ค่านิยมองค์กร วัตถุประสงค์ นโยบาย แผนธุรกิจ และกลยุทธ์การด�าเนินธุรกิจของบริษัทฯ แผนการเงิน การบริหารเงินลงทุน การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล งบประมาณประจ� า ปี เป้ า หมายคะแนน KPIs (Key Performance Indicators) และการประเมิ น ผลส� า เร็ จ ของ บริษัทฯ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานของบริษัทฯ อย่างสม�่าเสมอ เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากปัจจัยต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกบริษัทฯ ที่จะท�าให้ ผลการด�าเนินงานของบริษัทฯ ไม่บรรลุเป้าหมายตามที่ก�าหนด มีอ�านาจแต่งตั้งและบริหารงานคณะท�างานชุดต่างๆ เพื่อประโยชน์และมีประสิทธิภาพการ บริหารจัดการทีด่ ี และโปร่งใส มีอา� นาจพิจารณาก�าหนดอัตราค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินโบนัส รวมถึงสวัสดิการ เกีย่ วกับพนักงานของบริษทั ฯ ตัง้ แต่ตา� แหน่ง ผู้จัดการฝ่ายลงไป มีอ�านาจในการออกกฎระเบียบ ค�าสั่ง ข้อบังคับ ประกาศต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบายและประโยชน์สูงสุดของ บริษัทฯ และเพื่อรักษาระเบียบวินัย การท�างานภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ มีอ�านาจอนุมัติในการจัดซื้อจัดจ้างและอ�านาจอนุมัติทางการเงิน ตาม ระเบียบในการปฏิบัติงานและอ�านาจในการอนุมัติ ที่ได้อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย จาก คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือคณะกรรมการจัดการเป็นคราวๆ ไป ก�ากับดูแลกิจการให้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับ ข้อก�าหนดต่างๆ ของบริษทั ฯ และตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนด และแนวปฏิบัติที่ดีของส�านักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ

47

DRT TH_2 color.indd 47

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ก�าหนดให้คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองบุคคลตามหลักการ วิธีการที่ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูพ ้ จิ ารณาอนุมตั ติ อ่ ไป โดยมีแนวปฏิบตั ใิ นการสรรหากรรมการและผูบ้ ริหารในคูม่ อื การ ก�ากับดูแลกิจการที่ดี สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้

1. พิจารณาก�าหนดและทบทวนโครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และผูบ้ ริหารให้เหมาะสม สอดคล้องกับการประกอบธุรกิจ ของบริษัทฯ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ

4. พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ด�ารงต�าแหน่ง เลขานุการบริษัทฯ และผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการขึ้นไป แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ ในกรณี ที่ต�าแหน่งดังกล่าวว่างลง

2. พิ จ ารณาหลั ก เกณฑ์ แ ละกระบวนการสรรหาบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมเพื่อด�ารงต�าแหน่งกรรมการและผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้ช่วย กรรมการผูจ้ ดั การขึน้ ไป รวมทัง้ คัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาทีไ่ ด้ ก�าหนดไว้ และเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา ซึ่งอาจ จะต้องเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ในกรณีแต่งตั้งกรรมการ

5. พิจารณาก�าหนดแผนสืบทอดงานของกรรมการและกรรมการผู้จัดการ รวมทั้งก�าหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาผู้สืบทอด แล้วเสนอความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 6. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้ดา� เนินการ เกี่ยวกับการสรรหากรรมการและผู้บริหาร

3. พิ จ ารณารายชื่ อ กรรมการที่ ต ้ อ งออกจากต� า แหน่ ง ตามวาระและ รายชื่อบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้เข้ารับการคัดเลือกเพื่อด�ารงต�าแหน่ง ทั้งนี้บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้เสนอวาระการประชุมและเสนอ กรรมการ ทัง้ จากการเสนอของกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ โดยเฉพาะ แต่งตัง้ กรรมการรายใหม่ ตามหลักเกณฑ์การก�ากับดูแลกิจการทีด่ ี ผ่านทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.dbp.co.th) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง ผู้ถือหุ้นรายย่อย (ถ้ามี) วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ปรากฏไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอวาระการประชุม และแต่งตั้งกรรมการรายใหม่

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 48

48

3/30/56 BE 12:01 PM


การกำากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ในฐานะบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ตั้งแต่ปี 2548 ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเป็นองค์กรชั้นน�า มีการบริหารงานจัดการอย่างมือ อาชีพ ให้ความส�าคัญกับการก�ากับดูแลกิจการทีด่ ี และยึดแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�านักงานคณะกรรมการ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อย่างเคร่งครัด ซึ่งในปี 2555 บริษัทฯ ได้รับรางวัลด้านการก�ากับดูแลกิจการ ดังนี้

1. บริ ษั ท ฯ ได้รับการประเมินการก�ากับดูแ ลกิจการในระดับ 5 ดาว ) อยูใ่ นกลุม่ ดีเลิศ (Excellent) โดยใช้แบบประเมิน ( โครงการส�ารวจการก�ากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report Of Thai Listed Companies) จากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และในปี 2555 ได้มกี ารเพิม่ ประกาศ Top Quartile ของบริษัทจดทะเบียนในแต่ละกลุ่มตามมูลค่าทางการตลาด เรียงล�าดับคะแนนในกลุ่มตลาดเดียวกันจากมากไปน้อย โดยบริษัทฯ ได้ คะแนนในระดั บ Top Quartile ในกลุ ่ ม ตลาดที่ มี มู ล ค่ า หลั ก ทรั พ ย์ 3,000-9,999 ล้านบาท

ผู้บริหาร และพนักงานในการปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์และพันธกิจที่ก�าหนด โดยการปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นให้ได้รับการปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ป้องกันไม่ให้มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อ หาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและผู้อื่นโดยมิชอบ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่าง โปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย อย่างเท่าเทียม และน่าเชื่อถือ มีจรรยาบรรณในการด�าเนินธุรกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ พนักงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงนโยบายการไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเป็นกลางทางการเมือง การสื่อสารทางการตลาดอย่างเหมาะสม มีการรักษาสิ่งแวดล้อมและสังคม 2. บริษัทฯ ได้รับรางวัล ”ดีเด่น” ประเภทรางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านผล เพื่อการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน” ด�าเนินงาน ในงาน “SET Awards 2012” ที่จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 หลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 7 ส่วนดังนี้ เพือ่ เป็นการประกาศเกียรติคณุ และเชิดชูบริษทั จดทะเบียน บริษทั หลักทรัพย์ ส่วนที่ 1 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนที่มีความยอดเยี่ยมและดีเด่นในด้าน คณะกรรมการบริษัทฯ ถือเป็นหัวใจส�าคัญของการก�ากับดูแลกิจการที่ด ี ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ ต่างๆ จากผลการด�าเนินงานปี 2554 มีภาวะผู้น�า มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ อุทิศเวลาและ 3. รางวัลการประเมินคุณภาพ AGM ได้คะแนนอยู่ในช่วง 100 คะแนน พยายามอย่างเต็มทีใ่ นการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และ (ดีเลิศ) ของบริษัทจดทะเบียน ประจ�าปี 2555 โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุน ซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยได้ก�าหนด องค์ประกอบ คุณสมบัติ บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ ไทย (TIA) และคณะอนุกรรมการทุกคณะ รวมทัง้ การก�าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์วธิ กี าร บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการก�ากับดูแลกิจการ เพื่อก�าหนดนโยบาย สรรหาและก�าหนดค่าตอบแทนของกรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ตลอด หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นกิจการด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามหลักการก�ากับ จนการจัดท�าแผนสืบทอดต�าแหน่ง การจัดอบรมโครงการ HRD (Human ดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ให้มกี ารบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส สามารถ Resource Development) ส�าหรับพัฒนาผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับใน ตรวจสอบได้ และจัดท�าคู่มือการก�ากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate องค์กร มีแผนการส่งเสริมให้ผบู้ ริหารเข้าอบรมหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องและจ�าเป็น Governance Handbook) เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ในการพัฒนาทักษะการบริหาร อีกทัง้ ให้ความเห็นชอบนโยบายการก�ากับดูแล ได้ยึดเป็นแนวปฏิบัติในการด�าเนินงาน เป็นที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กิจการที่ดี นโยบายการบริหารความเสี่ยง ให้ครอบคลุมทั้งองค์กรเป็น ทุ ก ฝ่ า ย โดยบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง คู ่ มื อ การก� า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกฎบัตรการบริหารความเสี่ยง และได้ อย่ า งเหมาะสมและสม�่ า เสมอ โดยได้ เ ผยแพร่ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ เผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ และในรายงานประจ�าปี (www.dbp.co.th) ครั้งแรกตั้งแต่ปี 2553 ซึ่งสรุปสาระส�าคัญได้ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�าหนดให้ตา� แหน่งประธานกรรมการบริษทั ฯ นโยบายการก�ากับดูแลกิจการที่ดี และกรรมการผูจ้ ดั การเป็นคนละบุคคลกัน จึงก�าหนดขอบเขตอ�านาจหน้าที่ “นโยบายการก�ากับดูแลกิจการ เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ และความรับผิดชอบที่แยกจากกัน และก�าหนดจ�านวนบริษัทที่กรรมการ 49

DRT TH_2 color.indd 49

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

ผู้จัดการจะไปด�ารงต�าแหน่งให้เหมาะสมกับลักษณะหรือสภาพธุรกิจของ 3. บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น โดยอ�านวยความสะดวก สถานที่ บริษัทฯ ซึ่งไม่ควรเกิน 3 บริษัทจดทะเบียน จัดประชุมตัง้ อยูใ่ จกลางเมือง สะดวกต่อการเดินทาง และจัดให้มเี วลาด�าเนิน การประชุมอย่างเพียงพอ รวมทั้ ง ก� า หนดให้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตนเองของ คณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะ ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการได้ทบทวนผล 4. บริษัทฯ ได้ก�าหนดให้คณะกรรมการบริษัทฯ คณะอนุกรรมการ และ การปฏิบัติงานของตนว่ามีจุดแข็ง จุดอ่อน อย่างไร และมีการปรับปรุงการ ผูบ้ ริหาร เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ โดยประธานในทีป่ ระชุมจัดสรรเวลา ปฏิบัติงานของคณะกรรมการเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการด�าเนินงาน ให้เหมาะสมและเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเท่าเทียมกันในการแสดงความ ของบริษัทฯ คิดเห็น และซักถามข้อสงสัย ซึง่ บริษทั ฯ ได้จดบันทึกประเด็นข้อซักถาม หรือ ความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะของผูถ้ อื หุน้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ในรายงาน ส่วนที่ 2 สิทธิของผู้ถือหุ้น การประชุม และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษา บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� า คั ญ ถึ ง สิ ท ธิ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยไม่ ก ระท� า การใดๆ อังกฤษ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ทุกรายได้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายก�าหนด 5. บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ส่งค�าถามทีเ่ กีย่ วกับวาระการประชุม ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ผ่านทางเว็บไซต์ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ 1. บริษัทฯ ได้ก�าหนดนโยบายการก�ากับดูแลกิจการที่ดี โดยค�านึงถึงสิทธิ ของผูถ้ อื หุน้ การปกป้องสิทธิ และส่งเสริมให้ ผูถ้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานตาม 6. บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางการประเมินคุณภาพการจัดประชุม ที่กฎหมายก�าหนด ผู้ถือหุ้น (AGM Checklist) ซึ่งจัดท�าโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย สรุปใน ปี 2555 ได้รบั ผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ อยูใ่ นช่วงคะแนน 2. บริษัทฯ จัดให้มีเว็บไซต์ เพื่อเสนอข้อมูลที่ส�าคัญ ข่าวสารต่างๆ เช่น 100 คะแนน (ผลประเมิน กลุ่มดีเลิศ) รายงานงบการเงินประจ�าไตรมาส ประจ�าปี แบบแสดงข้อมูลประจ�าปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�าปี (แบบ 56-2) รวมทั้งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นซึ่ง ส่วนที่ 3 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน มีข้อมูล วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุม ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ บริษัทฯ มีมาตรการดูแลผู้ถือหุ้นให้ได้รับการปฏิบัติและปกป้องสิทธิขั้นพื้น แต่ละวาระ กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียง ฐานอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม รวมทัง้ ได้มมี าตรการป้องกันไม่ให้มกี าร อย่างครบถ้วน ซึ่งเป็นข้อมูลเดียวกับที่จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นในรูปแบบเอกสาร ขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ โดยเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ อย่างน้อย 30 วันก่อนการ ให้แก่ตนเองและผู้อื่นโดยมิชอบ ประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 50

50

3/30/56 BE 12:01 PM


แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

1. บริษัทฯ อ�านวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทั้งการเข้าร่วม ประชุม การได้รบั สารสนเทศและการใช้สทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมโดยระบุความเห็นของ คณะกรรมการ พร้อมทั้งข้อมูลประกอบการประชุมแต่ละวาระ ให้ผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน พร้อมทัง้ โฆษณาค�าบอกกล่าวเชิญ ประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่า 3 วันก่อนวันประชุม โดยไม่มีการเพิ่ม วาระการประชุมทีไ่ ม่ได้แจ้งผูถ้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าก่อน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลา เพียงพอในการพิจารณาและศึกษาข้อมูลส�าหรับการเข้าร่วมประชุมลงมติ

ส่วนที่ 4 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษทั ฯ ให้ความส�าคัญและค�านึงถึงสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ ตาม บทบัญญัตขิ องกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่กระท�าการใดๆ ทีเ่ ป็นการละเมิดสิทธิ ของผู้มีส่วนได้เสีย ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบระหว่างบริษัทฯ กับผู้มี ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ในการสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ

แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

1. บริษัทฯ ได้ก�าหนดกรอบของจรรยาบรรณทางธุรกิจ โดยประกาศใน เว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน ได้แก่ พนักงาน และผู้บริหารของ 2. บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส่ ว นน้ อ ยในการเสนอวาระ บริษัทฯ หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก เช่น ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง การประชุมผู้ถือหุ้นและเสนอแต่งตั้งกรรมการรายใหม่ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เจ้ า หนี้ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง นโยบายการไม่ ล ะเมิ ด สิ ท ธิ เดือน ก่อนวันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยมีวิธีปฏิบัติที่ก�าหนดไว้อย่างชัดเจน มนุษยชน ความเป็นกลางทางการเมือง และการสื่อสารทางการตลาด 2. บริษทั ฯ ได้กา� หนดมาตรการหรือช่องทางในการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้ เสีย โดยเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับทราบ และเปิด โอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนผ่านคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยไม่ผ่านผู้บริหารของบริษัทฯ ซึ่งสามารถส่งทางไปรษณีย์ หรือ ทาง E-Mail Address : Corpcenter@dbp.co.th ได้โดยตรง โดยไม่ต้อง เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแสหรือผู้ร้องเรียนแต่อย่างใด เพื่อให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ ด�าเนินการตรวจสอบข้อมูลหรือข้อเท็จจริงตามที่มีผู้แจ้งเบาะแส 4. บริษัทฯ สนับสนุนให้มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่ส�าคัญ เช่น ดังกล่าว แล้วน�าเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง เพื่อพิจารณา การท�ารายการเกี่ยวโยง การท�ารายการได้มาหรือจ�าหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ หามาตรการป้องกันและพิจารณาชดเชยค่าเสียหายให้ผู้ถูกละเมิดอย่าง เป็นต้น เพื่อความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ในกรณีมีข้อโต้แย้งในภายหลัง เหมาะสมตามเหตุผลของเรื่องเป็นกรณีๆ ไป

3. ในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถมอบฉันทะ ให้กบั บุคคลอืน่ เป็นผูร้ บั มอบฉันทะให้เข้าร่วมประชุมแทน ซึง่ บริษทั ฯ ได้เพิม่ ทางเลือกให้กับผู้ถือหุ้น โดยการเสนอให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะ จากผู้ถือหุ้น ในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนตามความ ประสงค์ของผู้ถือหุ้น โดยจะระบุรายชื่อกรรมการอิสระผู้รับมอบอ�านาจใน หนังสือมอบฉันทะที่แนบมาพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม

5. บริษัทฯ ได้ก�าหนดให้มีแนวทางปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน โดยห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของบ ริษัทฯ ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อประชาชนอันเป็น สาระส�าคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน ซึ่งรวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ หากบริษัทฯ พบว่า ผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ กระท�าผิดข้อห้าม ตามแนวปฏิบตั ทิ กี่ า� หนดไว้ บริษทั ฯ จะด�าเนินการตามกฎหมายและลงโทษ ต่อผู้กระท�าความผิด

3. บริษทั ฯ ได้กา� หนดนโยบายคุณภาพ นโยบายความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม นโยบายด้านการรับผิดชอบต่อสังคม และส่งเสริมให้พนักงานปฏิบัติตาม นโยบายดังกล่าว เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมั่นใจได้ว่าบริษัทฯ ค�านึงถึงปัจจัยด้าน คุณภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. บริษัทฯ ได้ก�าหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการรายงานการมีส่วนได้ เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตาม มาตรา 89/14 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551

6. บริษัทฯ ได้ก�าหนดให้มีการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และผูบ้ ริหารให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบทุกครัง้ ทีม่ กี ารประชุม 5. บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อก�าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ 51

DRT TH_2 color.indd 51

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

แนวทางในการปฏิบัติเพื่อสะท้อนถึงแนวคิด CSR กับการด�าเนินธุรกิจของ ข้อมูลแก่นักลงทุน นักวิเคราะห์ ผู้ถือหุ้น และผู้ที่สนใจทั่วไป ซึ่งสามารถ ประธานกรรมการบริษทั ฯ รวมทัง้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานทุกคนมี ติดต่อได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-3622-4001 ถึง 8 หรือ E-Mail Address : ส่วนร่วมในการด�าเนินงาน Corpcenter@dbp.co.th 6. บริษทั ฯ ได้กา� หนดแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการไม่ลว่ งละเมิดทรัพย์สนิ ทาง 6. ในปี 2555 บริษัทฯ ได้มีการพบนักลงทุนและผู้ที่สนใจทั่วไปโดยการพา ปัญญาและลิขสิทธิ์ เยี่ยมชมโรงงาน 1 ครั้ง มีการพบนักวิเคราะห์อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง เพือ่ เสนอข้อมูลผลการด�าเนินงานประจ�าปีและรายไตรมาส และมีการพบสือ่ 7. บริษทั ฯ ได้กา� หนดแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตและห้าม ต่างๆ อย่างน้อยเดือนละครั้ง เพื่อการสื่อสารข้อมูลผลการด�าเนินงานของ จ่ายสินบนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ บริษัทฯ และสื่อสารการตลาดต่างๆ เป็นต้น

ส่วนที่ 5 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

ส่วนที่ 6 แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวข้องกับหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทฯ ต้องดูแลการเปิดเผยข้อมูลส�าคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งรายงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การก�ากับดูแลกิจการที่ดี โดยแสดงให้เห็นว่า ทางการเงิน และทีม่ ใิ ช่ขอ้ มูลทางการเงินต่างๆ อย่างถูกต้องครบถ้วน ทันเวลา บริษัทฯ มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็น โปร่งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ เครื่องมือที่ช่วยสร้างความเชื่อมั่นและมั่นใจให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้กา� หนดแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการก�ากับดูแลกิจการ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ที่ดี เช่น แนวปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหารและพนักงาน 1. บริษัทฯ มีนโยบายเรื่องการเปิดเผยข้อมูลที่ส�าคัญของบริษัทฯ อย่าง บริษัทฯ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบัญชีและการเงิน การควบคุม ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา น่าเชื่อถือ ตามข้อก�าหนดของ ส�านักงาน ก.ล.ต. ภายใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นต้น และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยผ่านช่องทางต่างๆ และทางเว็บไซต์ ของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพือ่ ให้ผใู้ ช้ขอ้ มูลสามารถเข้าถึง ส่วนที่ 7 จรรยาบรรณ ตามที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 156 เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2548 ข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน และปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ มีมติอนุมัติให้ประกาศใช้จรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Conduct) เพื่อ 2. บริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�าปี (แบบ การด�าเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ 56-1) และรายงานประจ�าปี (แบบ 56-2) ตามข้อก�าหนดของส�านักงาน ทีด่ ี (Good Corporate Governance) จึงได้กา� หนดกรอบของจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ติ อ่ สิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ จรรยาบรรณ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายใน 3. บริษัทฯ ได้ก�า หนดให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีการรายงานความ ได้แก่ พนักงาน และผู้บริหารของบริษัทฯ หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก เช่น รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ ต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคูก่ บั ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนโยบาย รายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจ�าปี (แบบ 56-2) การไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ความเป็นกลางทางการเมือง และการสื่อสาร ทางการตลาด โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ส อบทานและปรั บ ปรุ ง 4. บริษัทฯ เปิดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะ จรรยาบรรณทางธุรกิจ อย่างเหมาะสมและสม�่าเสมอ อนุกรรมการ จ�านวนครั้งของการประชุมและจ�านวนครั้งที่กรรมการแต่ละ การพัฒนาด้านการก�ากับดูแลกิจการในปี 2555 ท่านเข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมาและความเห็นจากการท�าหน้าที่ 1. บริษัทฯ ได้จัดให้มีกระบวนการติดตามและดูแลให้มีการปฏิบัติตามคู่มือ 5. ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) บริษัทฯ มี การก�ากับดูแลกิจการที่ดี และประกาศจรรยาบรรณธุรกิจให้กับพนักงาน ส�านักงานลงทุนสัมพันธ์ โดยมอบหมายให้ผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการ ทุกคนเพือ่ พัฒนาไปสูว่ ฒั นธรรมองค์กร โดยบรรจุเรือ่ งการก�ากับดูแลกิจการ ผู้จัดการสายการขายและการตลาดขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบในการสื่อสารให้ ที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม และจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ เป็นส่วน รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 52

52

3/30/56 BE 12:01 PM


หนึง่ ของการปฐมนิเทศน์พนักงานใหม่ การอบรมพัฒนาพนักงาน การอบรม 3. บริษัทฯ ได้ร่วมโครงการให้ค�าปรึกษาด้านนักลงทุนสัมพันธ์แก่บริษัท ISO และ Safety อีกทั้งจัดท�าเป็นเอกสารแผ่นพับ เพื่อเผยแพร่ให้พนักงาน จดทะเบียนในปี 2555 ซึ่งจัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วม ทุกคนได้รับทราบ กับ PYI (PYI Consulting Co.,Ltd.) เพื่อวิเคราะห์ ให้ค�าปรึกษา ให้ความรู้ ด้านการจัดท�าข้อมูล และการน�าเสนองานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ รวมทั้ง 2. บริษัทฯ ได้ร่วมโครงการพัฒนาบริษัทจดทะเบียน ด้านการก�ากับดูแล ทบทวนและประเมินผลการด�าเนินงานเพื่อการปรับปรุงแก้ไขงานด้าน กิจการที่ดี ประจ�าปี 2555 ซึ่งจัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ ต่อไปในอนาคต ร่วมกับ PWC (PricewaterhouseCoopers ABAS Ltd.) เพื่อวิเคราะห์และ ประเมินหลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้ค�าปรึกษา ข้อเสนอ แนะ รวมถึงการวางระบบในเบื้องต้นด้าน Corporate Governance Practices ระบบบริหารความเสี่ยง และระบบการควบคุมภายใน รวมทั้ง สนับสนุนการเสริมสร้างความรูแ้ ก่บริษทั ฯ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การปรับปรุงและ พัฒนาด้านการก�ากับดูแลกิจการที่ดีต่อไป

การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษัทฯ ได้ก�าหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนอันเป็น สาระส�าคัญ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนและผู้อื่น ในคู่มือการก�ากับดูแลกิจการที่ดี สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้

1. บริษัทฯ ได้แจ้งให้กรรมการ และผู้บริหารทราบถึงภาระหน้าที่ในการ รายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษทั ฯ ของตนเองคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่ บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตาม มาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 2. บริษัทฯ ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่าย และพนักงาน ของบริษัทฯ ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนอัน เป็นสาระส�าคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน ซึ่งรวมถึงเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ห้ามมิให้บุคคล ทีล่ ว่ งรูข้ อ้ มูลภายใน และยังมิได้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชน ซือ้ ขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนที่ข้อมูลดังกล่าวจะเปิด เผยสู่สาธารณชน หากบริษัทฯ พบว่าผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ และพนักงานของบริษทั ฯ กระท�าผิดข้อห้ามตามประกาศดังกล่าว บริษทั ฯ จะ ด�าเนินการตามกฎหมายและลงโทษแก่ผู้กระท�าความผิดโดยเด็ดขาด

3. ในกรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร ผู้จัดการฝ่าย หรือพนักงานของบริษัทฯ กระท�าผิดอันเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ บริษทั ฯ จะด�าเนินการลงโทษอย่างรุนแรงอย่างใดอย่าง หนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน เช่น ตัดเงินเดือนหรือค่าตอบแทน ให้ออก หรือปลดออกจากการเป็นผู้บริหาร หากเป็นกรรมการให้เสนอต่อที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ แจ้งการกระท�าความผิดต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และ/หรือส�านักงาน ก.ล.ต. เป็นต้น 4. บริษัทฯ คาดหมายให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ของบริษัทฯ ได้รายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบัติที่ขัดหรือสงสัยจะขัดหลัก การน�าข้อมูลภายในของบริษทั ฯ ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน ต่อผูบ้ งั คับบัญชา โดยให้ถือเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาในการสอดส่องดูแลและให้ค�าแนะน�า ผู้ใต้บังคับบัญชาในการน�าข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตน เพื่อให้มีการปฏิบัติตามหลักการที่ก�าหนดอย่างถูกต้อง 53

DRT TH_2 color.indd 53

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

การถือครองหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหาร

ข้อมูลจากรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ชื่อ - นามสกุล

1. นายประกิต ประทีปะเสน* 2. นายไพฑูรย์ กิจส�าเร็จ 3. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม์ 4. นายเจมส์ แพ็ทตริค รูนี่ย์ 5. นายสมบูรณ์ ภู่วรวรรณ 6. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย 7. นายอนันต์ เล้าหเรณู 8. นายอัศนี ชันทอง 9. นายสาธิต สุดบรรทัด 10. นายไมตรี ถาวรอธิวาสน์* 11. นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา 12. นายวุฒิไกร โสตถิยานนท์ 13. นายสุวิทย์ แก้วอ�าพันสวัสดิ์ 14. นางสาวธนกานต์ พันธาภิรัตน์ 15. นายกฤช กุลเลิศประเสริฐ รวมทั้งสิ้น

31 ธ.ค. 2555

17,049,500 1,880,100 2,630,100 3,880,100 7,380,000 4,600,000 1,880,000 1,079,900 4,920,000 2,220,000 - - 2,780,000 2,280,000 210,000 52,789,700

หุ้นสามัญ (หุ้น) 31 ธ.ค. 2554

เพิ่ม (ลด)

19,409,500 1,100,100 2,160,100 3,410,100 6,910,000 4,600,000 1,410,000 1,070,000 4,440,000 1,740,000 - - 2,520,000 1,800,000 270,000 50,839,800

(2,360,000) 780,000 470,000 470,000 470,000 470,000 9,900 480,000 480,000 260,000 480,000 (60,000) 1,949,900

หมายเหตุ* จ�านวนหุ้นที่ถือนับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 54

54

3/30/56 BE 12:01 PM


การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้มีการประเมินความเสี่ยงของการด�าเนินธุรกิจอย่างสม่�าเสมอ โดยในปี 2555 ได้ด�าเนินการ ประเมินความเสี่ยง พร้อมทั้งมีการจัดท�าระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ดังต่อไปนี้

1. ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก

ภาครัฐ

1.1 ความเสีย่ งเกีย่ วกับการควบคุมการใช้แร่ใยหินจากนโยบาย

จากการติดตามผลการศึกษาการลด ละ เลิก การใช้แร่ใยหินใน 5 กลุ่มผลิตภัณฑ์ คือ กระเบื้องมุงหลังคา กระเบื้องแผ่นเรียบ กระเบื้องยาง ท่อน�้า และผ้าเบรค ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ว่าจ้างให้ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมมาธิราช ศึกษาโครงการจัดท�าร่างแผนยกเลิกการน�าเข้าและ การผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ แี ร่ใยหินเป็นส่วนประกอบเมือ่ วันที ่ 4 กรกฎาคม 2555 เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป ดังมีสาระส�าคัญสรุปได้ดังนี้ 1. การยกเลิกจะก�าหนดระยะเวลาให้ชดั เจน เพื่อให้ผผู้ ลิตและ ผู้บริโภคได้วางแผนการด�าเนินธุรกิจหรือการใช้งาน 2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ 5 กลุ่ม ได้แก่ กระเบื้องยางปูพื้น กระเบื้อง แผ่นเรียบ กระเบื้องมุงหลังคา ท่อแรงดันสูง หรือท่อน�้าซีเมนต์ใยหิน และ ผ้าเบรก คลัตช์ เนื่องจากเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ใช้แร่ใยหินเป็นส่วนประกอบ และถูกน�ามาใช้ในชีวิตประจ�าวันของประชาชน 3. ก�าหนดให้มีเวลาปรับตัว 5 ปี แล้วแต่ความพร้อมของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ เช่น 3.1 กระเบื้องแผ่นเรียบ ให้เวลาปรับตัวและพัฒนา 1-2 ปี ปีที่ 3 ยกเลิกการใช้แร่ใยหิน 3.2 กระเบื้องมุงหลังคาลอนใหญ่ ให้เวลาปรับตัวและ พัฒนา 1-2 ปี ปีที่ 3 ยกเลิกการใช้แร่ใยหิน 3.3 กระเบือ้ งมุงหลังคาลอนเล็ก ให้เวลาปรับตัวและพัฒนา 3-4 ปี ปีที่ 5 ยกเลิกการใช้แร่ใยหิน ทั้งนี้บริษัทฯ ได้จัดท�าแผนงานและมาตรการต่างๆ ในการบริหาร ความเสี่ยงเมื่อภาครัฐยกเลิกการใช้แร่ใยหิน ดังนี้ 1) พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีแร่ใยหินเป็นส่วนประกอบ เพื่อเป็นทาง เลือกให้กับผู้บริโภค ได้แก่ กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องจตุลอน กระเบื้อง เจียระไน ไม้สังเคราะห์ แผ่นผนัง และอิฐมวลเบา เป็นต้น 2) ปรับปรุงเครื่องจักรเดิมให้สามารถผลิตได้ทั้ง 2 ชนิด (Dual Machine) คือผลิตได้ทั้งผลิตภัณฑ์ที่มีแร่ใยหินและไม่มีแร่ใยหิน เป็นส่วน

ประกอบ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและเตรียมความพร้อมในกรณีที่ภาครัฐ ยกเลิกการใช้แร่ใยหินในอนาคต 3) จัดหาผลิตภัณฑ์ใหม่ในธุรกิจวัสดุก่อสร้างมาจ�าหน่าย เพื่อเพิ่ม ความหลากหลายในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของลูกค้า เช่น โครงหลังคา ส�าเร็จรูป แผ่นยิปซั่ม ไม้พื้นลามิเนต กระเบื้องปูพื้นแกรนิตโต้ และสินค้า ประกอบหลังคาต่างๆ เป็นต้น 4) จัดท�าแผนธุรกิจในอนาคต 3-5 ปี เพื่อวางแผนการด�าเนินธุรกิจ ให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการด�าเนินงาน 3 โครงการ คือ โครงการ NT-10 โครงการ AAC และโครงการ CT-KK เป็นโครงการ ขยายก�าลังการผลิตและศูนย์กระจายสินค้าไปสูภ่ มู ภิ าค ซึง่ เป็นโครงการแรก ที่ขยายไปภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดขอนแก่น เป็นต้น

1.2 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการขาดแคลนวัตถุดิบ

เนื่องจากวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ แร่ใยหิน เส้นใยสังเคราะห์ PVA และเยื่อกระดาษ มีความเสี่ยงในเรื่องของ ราคาและการขาดแคลน บริษัทฯ ได้ก�าหนดมาตรการในการลดความเสี่ยง ดังนี้ • วิจัย พัฒนา ออกแบบสูตรการผลิต เพื่อลดต้นทุนการผลิต รวม ทั้งการศึกษาเพื่อหาวัตถุดิบทดแทน • จัดหาแหล่งวัตถุดบิ ทีม่ ตี น้ ทุนต�า่ มีคณุ ภาพดี ทัง้ ในประเทศ และ ต่างประเทศเพิ่มขึ้น • เพิม่ ระดับการจัดเก็บวัตถุดบิ เพือ่ ลดความเสีย่ งในเรือ่ งราคาและ การขาดแคลนในอนาคต

1.3 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแข่งขันด้านราคา

บริษัทฯ ยังเผชิญกับความเสี่ยงในการแข่งขันด้านราคา การใช้ กลยุทธ์เพิม่ จุดกระจายสินค้าทัว่ ประเทศ เพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการเข้าถึง สินค้าของลูกค้า และสร้างความแข็งแกร่งของเครือข่ายตัวแทนจ�าหน่าย ทั่วประเทศ ให้ความส�าคัญกับการให้บริการทั้งก่อนและหลังการขาย การจัดส่งที่รวดเร็วและตรงต่อเวลา เพื่อสร้างความแตกต่างที่ดีกว่าให้กับ สินค้าของบริษัทฯ ซึ่งท�าให้บริษัทฯ มีรายได้จากการขายสินค้าและบริการ เพิ่มขึ้น 5.16% จากปีที่ผ่านมา

55

DRT TH_2 color.indd 55

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

1.4 ความเสี่ยงเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน

และมีการตรวจสอบคุณภาพทุกกระบวนการผลิต จนได้เป็นสินค้าส�าเร็จรูป ทีม่ คี ณุ ภาพตามมาตรฐาน ส�าหรับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จะวิเคราะห์หาสาเหตุ เพือ่ 1.4.1 ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ที่เกิดจากการ แก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก ส่งผลให้ปัญหาคุณภาพและข้อร้องเรียน เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการด�าเนิน ด้านคุณภาพสินค้า ลดลงจากปีที่ผ่านมา 2.2 ความเสีย่ งเกีย่ วกับความเพียงพอของก�าลังการผลิตต่อความ งานของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ยังมีการกู้ยืมระยะสั้น ที่ใช้อัตราดอกเบี้ยแบบ ไม่คงที่ แต่อย่างไรก็ตามการกู้ยืมเงินระยะยาว บริษัทฯ ได้ป้องกันความ ต้องการของตลาด บริษัทฯ ได้พิจารณาก�าลังการผลิตต่อความต้องการของตลาด ยัง เสี่ยงโดยการใช้อัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ มีความต้องการสูงกว่าก�าลังการผลิตของบริษัทฯ จึงได้ปรับปรุงเพิ่มก�าลัง 1.4.2 ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ การผลิตกับเครื่องจักรเดิม และติดตั้งเครื่องจักรใหม่ เพื่อรองรับความ ซึ่งเกิดจากการซื้อและขายสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯ ได้ท�า ต้องการของตลาดในอนาคต ดังนี ้ (ดูรายละเอียดในเรือ่ งโครงการในอนาคต สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่ หน้าที่ 30) • โครงการ NT-10 เพื่อผลิตสินค้าไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดชนิดไม่มี เกินหนึ่งปีเพื่อป้องกันความเสี่ยงของหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่าง ใยหินมีขนาดก�าลังการผลิต 72,000 ตันต่อปี ประเทศ • โครงการ AAC เพือ่ ผลิตอิฐมวลเบามีขนาดก�าลังการผลิต 140,000 1.5 ความเสีย่ งเกีย่ วกับการขึน้ ค่าจ้างแรงงานขัน้ ต�า่ จากนโยบาย ตันต่อปี ภาครัฐ • โครงการ CT-KK เป็นการขยายก�าลังการผลิตกระเบื้องคอนกรีต บริษัทฯ มีความเสี่ยงเกี่ยวกับการขึ้นค่าจ้างแรงงานขั้นต�่าจาก นโยบายภาครัฐ โดยในปี 2555 อัตราค่าแรงขั้นต�่าที่จังหวัดสระบุรีอยู่ที่ 193 ไปจังหวัดขอนแก่นมีขนาดก�าลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี 2.3 ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บาทต่อวัน หลังปรับขึน้ ค่าแรงขัน้ ต�า่ จะมาอยูท่ ี่ 269 บาทต่อวันหรือปรับเพิม่ บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดย ขึ้น 39.38% โดยจะบังคับใช้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 และจะปรับเพิ่มขึ้น เป็ น 300 บาทต่ อ วั น ในวั น ที่ 1 มกราคม 2556 ซึ่ ง จะมี ผ ลกระทบ ได้รับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 และมีการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดปริมาณของเสียในระบบ กับการด�าเนินงานของบริษัทฯ ในอนาคต โดยใช้ระบบการจัดการและกิจกรรมเพิ่มผลผลิตต่างๆ เช่น TPM, Kaizen, OPL และ QCC เป็นต้น ตลอดจนการอนุรักษ์พลังงานโดยใช้ระบบการ 2. ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายใน จัดการพลังงาน มาใช้ในกระบวนการผลิต (ดูรายละเอียดในเรื่องรายงาน 2.1 ความเสี่ยงเกี่ยวกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ ได้มีมาตรการป้องกันความเสี่ยงด้านคุณภาพสินค้า โดยมี ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) สู่ความยั่งยืน หน้าที่ 19) การตรวจสอบคุณภาพตัง้ แต่การตรวจรับวัตถุดบิ ก่อนส่งเข้ากระบวนการผลิต

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 56

56

3/30/56 BE 12:01 PM


2.4 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการวางแผนการลงทุนธุรกิจในอนาคต

2.6 ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารและการจั ด การของ บริษัทฯ ได้จัดท�าแผนธุรกิจในอนาคต 3-5 ปี เพื่อรองรับการเติบโต ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

ในการด�าเนินธุรกิจ และลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต มีการ วางแผนการลงทุนในผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยมีการศึกษา ความเป็นไปได้ของโครงการใหม่และความเสีย่ งในด้านต่างๆ เช่น ด้านธุรกิจ ด้านการเงิน รวมทั้งความสามารถในการท�าก�าไร การกู้ยืมและช�าระหนี้ เป็นต้น เช่น โครงการ NT-10 โครงการ AAC และโครงการ CT-KK ส�าหรับ โครงการอื่นๆ อยู่ในระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ

2.5 ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราก�าลังและการจ้างงาน

บริษทั ฯ มีความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราก�าลังและการจ้างงาน เนือ่ งจาก บริษัทฯ มีการเติบโตและมีแผนการขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีผลท�าให้ ความต้องการแรงงานที่มีทักษะการท�างานในโรงงานอุตสาหกรรม และ พนักงานระดับบริหารเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยบริษัทฯ มีนโยบายพัฒนา บุคคลากรทุกระดับของบริษัทฯ ให้มีความรู้ความสามารถ รวมทั้งการ ปรับปรุงนโยบายการจ่ายผลตอบแทนให้กบั พนักงานอย่างเหมาะสมและเป็น ธรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในด้านการแข่งขันและรองรับการเติบโต อย่างต่อเนื่องในอนาคต

บริษัทฯ มีสถานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด ซึ่งมีฐานะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ถือหุ้นร้อยละ 60.65 (ณ 31 ธันวาคม 2555) รวมกับหุ้นที่ถือโดยกรรมการที่เป็นตัวแทนของบริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด แล้วจะมีสัดส่วนการถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 65 ซึ่งจะท�าให้ บริษัท มายเรียด วัสดุ จ�ากัด สามารถควบคุมมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ทงั้ หมด แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีส�าหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน (Code of Best Practices) โดยมุง่ มัน่ ในการด�าเนินธุรกิจตามหลักการก�ากับ ดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) มีจริยธรรมในการปฏิบตั ิ งานและเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และมีหลักการอนุมัติรายการระหว่าง กัน ซึ่งบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์จะไม่สามารถอนุมัติ รายการทีเ่ กีย่ วข้องกับตนได้ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณากลัน่ กรอง ให้ความเห็นก่อนท�ารายการดังกล่าวแล้วเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ และ/ หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป โดยจะเปิดเผยรายการ ระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทฯ

57

DRT TH_2 color.indd 57

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

การควบคุมภายในของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบท�าหน้าทีส่ อบทานการด�าเนินงานให้ถกู ต้องตามนโยบายและระเบียบข้อบังคับของบริษทั ฯ ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบ ปฏิบตั ิ และข้อก�าหนดของหน่วยงานก�ากับดูแล ส่งเสริมให้พฒ ั นาระบบรายงานทางการเงินและบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รอง ทั่วไป รวมทั้งสอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงที่รัดกุม เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ โดยมีสา� นักงานตรวจสอบภายในและงานก�ากับ ดูแลเป็นหน่วยปฏิบัติงานที่รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

ส�านักงานตรวจสอบภายในและงานก�ากับดูแลท�าหน้าทีป่ ระเมินการควบคุม ภายในตามแนวปฏิบัติที่คณะกรรมการตรวจสอบก�าหนด โดยมีนโยบาย ตรวจสอบในเชิงป้องกันและเป็นประโยชน์กับหน่วยงาน พิจารณาความน่า เชื่อถือในความถูกต้องของรายงานทางการเงิน รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบตามแนวทางการก�ากับดูแล กิจการทีด่ ี และเพิม่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการด�าเนินงาน โดยยึดแนว การตรวจสอบตามมาตรฐานสากล จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในด้านต่างๆ 5 ส่วน คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการ ปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และระบบ ติดตาม คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและเพียงพอแล้ว ทัง้ นีร้ ะบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ สรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organization Control and Environment Measure) บริษัทฯ ได้ก�าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายด้านคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย สภาพแวดล้อมในการท�างาน นโยบาย 5ส ระบบ TPM ซึ่ง เป็นระบบการบ�ารุงรักษาทวีผลทีท่ กุ คนมีสว่ นร่วม นโยบายการบริหารความ เสี่ยง มีการจัดการโครงสร้างขององค์กรอย่างเหมาะสม มีการก�าหนด ขอบเขตอ�านาจหน้าที่อย่างชัดเจน มีนโยบายและระเบียบที่เป็นลายลักษณ์ อักษร และได้เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ก�าหนดเป้าหมายการด�าเนิน ธุรกิจที่ชัดเจนและวัดได้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงาน มี การทบทวนแก้ไขงบประมาณให้สอดคล้องกับความเป็นจริงเมือ่ มีเหตุการณ์ ทีม่ ผี ลกระทบรุนแรงกับการด�าเนินงาน มีขอ้ ก�าหนดเกีย่ วกับจรรยาบรรณต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และข้อก�าหนดห้ามฝ่ายบริหารและ พนักงานปฏิบตั ติ นในลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทฯ รวมทั้งบทลงโทษหากมีการฝ่าฝืน

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 58

2. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) บริษัทฯ มีการประเมินความเสี่ยงของธุรกิจโดยผู้บริหารและคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และก�าหนดมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น จากทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ ดีส�าหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย จนได้รบั การประเมินจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ร่วมกับส�านักงาน ก.ล.ต. และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ว่าเป็นบริษัทที่ได้ปฏิบัติตามหลักการก�ากับดูแลกิจการในระดับสูงสุด คือ ดีเลิศ (ห้าดาว) ในปี 2555 และก�าหนดมาตรการเพือ่ ลดความเสีย่ งอืน่ ๆ เช่น ความเสีย่ งจากการควบคุมการใช้ใยหินจากภาครัฐ ความเสีย่ งด้านราคาและ การขาดแคลนวัตถุดิบ ความเสี่ยงจากการแข่งขันด้านราคาสินค้า เป็นต้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมเพือ่ ติดตามการปฏิบตั งิ านของ แต่ละหน่วยงานอย่างน้อยเดือนละครั้ง และรายงานต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุ ก ไตรมาส โดยคณะกรรมการตรวจสอบ และส� า นั ก งาน ตรวจสอบภายในและงานก� า กั บ ดู แ ลจะสอบทานและประเมิ น ความ เหมาะสมในการด�าเนินงานของแต่ละหน่วยงานเพือ่ ควบคุมความเสีย่ งให้อยู่ ในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได้ 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร (Management Control Activities) บริษทั ฯ มีการก�าหนดขอบเขตอ�านาจหน้าทีแ่ ละวงเงินอนุมตั ขิ องฝ่ายบริหาร ในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร และมีความคล่องตัว มี การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง หน้าที่อนุมัติ หน้าที่บันทึก รายการบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน ออกจากกันโดยเด็ดขาด โดยส�านักงานตรวจสอบภายในและงานก�ากับดูแล ท�าหน้าที่สอบทานการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติงานของ บริษัทฯ ในกรณีที่บริษัทฯ มีการท�าธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว บริษัทฯ มีมาตรการให้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นก่อนท�ารายการดังกล่าว และ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ

58

3/30/56 BE 12:01 PM


เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน มีการคุ้มครอง ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือข้อเรียกร้อง และมีการด�าเนินการหลังจากมีผแู้ จ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียน และมาตรการแก้ไขและการชดเชยให้แก่ผู้เสียหาย และมี การติดตามให้การด�าเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4. ระบบสารสนเทศและสื่ อ สารข้ อ มู ล (Information and Communication Measure) บริษัทฯ ได้ปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบงานและ การจัดการให้มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงทั้งองค์กร และสื่อสารข้อมูล ดังกล่าวไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยน�าระบบซอฟท์แวร์ Enterprise Resources Planning (ERP) ของ SAP รุ่น ECC6 เข้ามาใช้แทนระบบเดิมตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2551 เพื่อการรายงานข้อมูลแบบ Real Time และในปี 2553 ได้ พัฒนาต่อยอดโดยน�าระบบ SAP BI (Business Intelligence) เพิ่มจากระบบ ERP เดิม เพื่อให้มีการรายงานที่รวดเร็วและเพียงพอต่อการตัดสินใจของ คณะกรรมการและผูบ้ ริหาร มีการจัดเก็บข้อมูลทีด่ ี และใช้นโยบายบัญชีตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ โดยมีการเปิด เผยข้อมูลอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผ่านการ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจากภายนอก และผ่านการสอบทาน จากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งการทบทวนและตรวจสอบระบบให้มี ความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูลของบริษัทฯ ตามที่ผู้สอบบัญชีและ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอแนะแล้ว

5. ระบบการติดตาม (Monitoring) บริษัทฯ มีการก�าหนดแผนงานและเป้าหมายการด�าเนินธุรกิจ โดยก�าหนด เป็นงบประมาณประจ�าปี และประจ�าเดือน โดยผู้บริหารแต่ละหน่วยงาน จะต้ อ งรายงานผลการด� า เนิ น งานเปรี ย บเที ย บเป้ า หมายที่ ก� า หนด ให้คณะกรรมการจัดการ และคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อการปรับแผน กลยุทธ์ให้ทันกับเหตุการณ์ โดยฝ่ายบริหารแต่ละสายงาน จะเสนอแผนงาน แก้ไข พร้อมทัง้ ได้ตดิ ตามผลการแก้ไขอย่างใกล้ชดิ และน�ามารายงานความ ก้าวหน้าในการประชุมทุกสัปดาห์จนกว่าปัญหาได้รับการแก้ไข โดยมี ส�านักงานตรวจสอบภายในและงานก�ากับดูแลตรวจสอบการปฏิบัติตาม ระบบการควบคุมภายใน และรายงานผลการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ บริษัทฯ มีนโยบายให้ฝ่ายบริหารมีหน้าที่ต้องรายงานเหตุการณ์ ทันทีตอ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบว่าจะ กระทบต่อชื่อเสียงและฐานะการเงินของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�าคัญ รวมทั้ง ก�าหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทั้งคณะ ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการได้ทบทวนผลการปฏิบัติงานของตน ว่ามีจุดแข็ง จุดอ่อน อย่างไร และมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการด�าเนินงานของบริษัทฯ

59

DRT TH_2 color.indd 59

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ที่จะจ่ายให้ผู้ถือหุ้น : บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในแต่ละปีไม่ต่�ากว่า ร้อยละ 50 ของก�าไร สุทธิทเี่ หลือจากหักเงินส�ารองต่างๆ ทุกประเภทตามที่ได้กา� หนดไว้ในข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมาย หากไม่มเี หตุจา� เป็นอืน่ ใดและการ จ่ายเงินปันผลนั้นไม่มีผลกระทบต่อการด�าเนินงานปกติของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�าคัญ

บริษทั ฯ สามารถจ่ายเงินปันผลให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ได้นบั ตัง้ แต่ป ี 2547 ซึง่ บริษทั ฯ เริม่ มีผลก�าไรหลังหักยอดขาดทุนสะสมทัง้ หมด ส�าหรับการจ่ายเงินปันผล ในปี 2555 มีรายละเอียดดังนี้ เงินปันผล

ปี 2555*

ก�าไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) เงินปันผลต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) เงินปันผล % ต่อก�าไรสุทธิต่อหุ้น เงินปันผลจ่าย (ล้านบาท) จ�านวนหุ้นสามัญที่ช�าระแล้ว (ล้านหุ้น) จ�านวนหุ้นสามัญซื้อคืน ณ วันสิ้นปี 25XX (ล้านหุ้น) ราคาพาร์ (บาทต่อหุ้น)

0.53 0.40 75% 413 1,038 - 1.00

ปี 2554

0.46 0.38 83% 388 1,027 1.56 1.00

ปี 2553

0.47 0.36 77% 354 1,014 18.90 1.00

หมายเหตุ* ปี 2555 มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของทุนจดทะเบียนบริษัทฯ (ดูรายละเอียดในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญในปีที่ผ่านมาหน้าที่ 32) จากตารางข้างต้นปี 2555 ประมาณ การเงินปันผลจ่าย ค�านวณจากหุ้นสามัญที่ออกและช�าระแล้วคงเหลือ ณ วันสิ้นปี 2555 แต่จ�านวนหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผลจริงจะต้องค�านวณจากหุ้นสามัญที่ออกและช�าระแล้ว คงเหลือ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2556 (Record Date)

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 60

60

3/30/56 BE 12:01 PM


รายการระหว่างกัน บริษัทฯ ได้ก�าหนดมาตรการและขั้นตอนการอนุมัติรายการเกี่ยวโยงกันและรายการเกี่ยวกับการได้มาหรือจ�าหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของ บริษัทฯ เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�านักงาน ก.ล.ต. รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในคู่มือก�ากับ ดูแลกิจการที่ดี ซึ่งสรุปสาระส�าคัญได้ดังนี้

1. บุคคลที่มีส่วนได้เสียหรือที่อาจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 4. บริษทั ฯ จะต้องเปิดเผยการท�ารายการดังกล่าวตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร จะไม่สามารถอนุมัติรายการที่เกี่ยวข้องกับตนได้ ที่ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. การก�าหนดราคาหรือค่าตอบแทนจะต้องเป็นไปตามปกติทางธุรกิจและ 5. กรรมการทุกคนจะต้องปฏิบัติตามมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติบริษัท เงื่อนไขทางการค้าทั่วไปโดยค�านึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทฯ เป็นส�าคัญ มหาชนจ�ากัด พ.ศ. 2535 ซึ่งก�าหนดให้กรรมการแจ้งให้บริษัทฯ ทราบโดย มิชักช้าเมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ 3. คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ความเห็นก่อนท�ารายการดังกล่าว ถ้าคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�านาญในการให้ความเห็นในเรือ่ งหรือ • มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ รายการใด บริษัทฯ จะต้องจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระเป็นผู้ให้ความเห็นต่อ ท�าขึน้ ระหว่างรอบปีบญั ชี โดยระบุขอ้ เท็จจริงเกีย่ วกับลักษณะของสัญญา ชือ่ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อประกอบการพิจารณากลั่นกรองก่อนจะ ของคู่สัญญาและส่วนได้เสียของกรรมการในสัญญานั้น (ถ้ามี) น�าเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา • ถือหุ้นหรือหุ้นกู้ในบริษัทฯ และบริษัทในเครือโดยระบุจ�านวน อนุมัติ ทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในระหว่างรอบปีบัญชี (ถ้ามี) ในกรณี รายการดังกล่าวเป็นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่ วิญูชนจะพึงกระท�ากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�านาจ ต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี หรือรายการธุรกิจปกติหรือ รายการสนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป บริษัทฯ จะต้อง น�าข้อตกลงดังกล่าวไปขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ หรือขออนุมัติ ในหลักการจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อนท�ารายการนั้น ทั้งนี้เป็นไปตาม มาตรา 89/12 (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551

ทัง้ นีม้ าตรา 114 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ากัดได้กา� หนดให้บริษทั ฯ ต้องเปิดเผยรายละเอียดที่กรรมการแจ้งต่อบริษัทฯ ตามมาตรา 88 ข้างต้น ไว้ในรายงานประจ�าปีของบริษัทฯ ด้วย

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นและ บันทึกบัญชีในปี 2555 ตามรายละเอียดข้างต้น เห็นว่ารายการดังกล่าว เป็นรายการทีม่ เี งือ่ นไขและราคาทีย่ ตุ ธิ รรมเหมาะสมซึง่ ได้ผา่ นการอนุมตั ิ จากคณะกรรมการจัดการหรือคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อนการท�า รายการแล้ว

การท�ารายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในอนาคตจะเป็นรายการที่ด�าเนินการ ทางธุรกิจตามปกติและไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ กับ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ จะยึดถือและปฏิบตั ิ ตามข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�านักงาน ก.ล.ต. รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และค�านึงถึงความ สมเหตุสมผล ความเหมาะสมในเงือ่ นไขและราคาตลาดทีอ่ า้ งอิงได้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายได้รบั การดูแลผลประโยชน์อย่างเป็น ธรรมและเท่าเทียมกันตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ

6. ผู้บริหารทุกคนจะต้องปฏิบัติเช่นเดียวกับกรรมการในข้อ 5 โดยแจ้งต่อ เลขานุการบริษัทฯ ต่อไป

61

DRT TH_2 color.indd 61

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

บริษทั ฯ มีการท�ารายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ดังนี้ จ�านวนเงิน (ล้านบาท) บริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

มีกรรมการร่วมกันแต่ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) มี นายประกิต ประทีปะเสน เป็นประธานกรรมการ • บมจ.ศุภาลัย (ผู้ซื้อ) มีนายประกิต ประทีปะเสน เป็นกรรมการอิสระ ประธาน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและ ก�าหนดค่าตอบแทน มีกรรมการร่วมกันแต่ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ บมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) (ผู้ซื้อ) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการ • บมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ (ผู้ซื้อ) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บจก.คาซ่าวิลล์ (ผู้ซื้อ) เป็นบริษัทย่อยของบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ เนื่องจากถือหุ้นจ�านวน 100% จึงมีกรรมการ ร่วมกันแต่ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) มี นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการ • บจก.คาซ่าวิลล์ (ผู้ซื้อ) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบในบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ บจก.เดอะคอนฟิเด้นซ์ เป็นบริษัทย่อยของบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ เนื่องจาก ถือหุ้นจ�านวน 100% จึงมีกรรมการร่วมกันแต่ (ผู้ซื้อ) ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) มี นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการ • บจก.เดอะคอนฟิเด้นซ์ (ผู้ซื้อ) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบในบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์ บมจ.ศุภาลัย (ผู้ซื้อ)

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 62

ลักษณะรายการ

ขายสินค้าและให้บริการ

ลูกหนี้การค้า

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2554

ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป

20.76

17.62

11.00

3.75

ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป

1.94

12.54

0.90

5.12

32.89

32.44

16.13

10.66

14.69

12.14

4.83

4.74

ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป

62

3/30/56 BE 12:01 PM


(ต่อ) จ�านวนเงิน (ล้านบาท) บริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

ขายสินค้าและให้บริการ ปี 2555

ปี 2554

ลูกหนี้การค้า ปี 2555

ปี 2554

เป็นบริษัทย่อยของ บจก.คาซ่าวิลล์ (บจก.คาซ่า วิลล์เป็นบริษัทย่อยของ บมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์) เนื่องจากถือหุ้นจ�านวน 100% จึงมีกรรมการร่วม กันแต่ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการ • บจก.กัสโต้ วิลเลจ (ผู้ซื้อ) มีนายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบในบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์

ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป

7.11

-

4.93

-

เป็นบริษัทย่อยของ บจก.คาซ่าวิลล์ (บจก.คาซ่า บจก.คาซ่าวิลล์ (เพชรบุรี 2553) (ผู้ซื้อ) วิลล์เป็นบริษัทย่อยของ บมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์) เนื่องจากถือหุ้นจ�านวน 100% จึงมีกรรมการร่วม กันแต่ไม่ได้ถือหุ้นระหว่างกันดังนี้ • บมจ.ผลิตภัณฑ์ตราเพชร (ผู้ขาย) มี นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการ • บจก.คาซ่าวิลล์ (เพชรบุรี 2553) (ผู้ซื้อ) มี นายกฤษณ์ พันธ์รัตนมาลา เป็นกรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบในบมจ.ควอลิตี้เฮ้าส์

ซื้อขายกระเบื้องพร้อมติดตั้งที่มีราคาและ เงื่อนไขการค้าตามปกติทั่วไป นโยบายการก�าหนดราคา ใช้ราคาสินค้าตามปกติเทียบเคียงกับกลุ่ม พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มีเงื่อนไขการค้า ตามปกติทั่วไป

0.89

-

0.34

-

78.28

74.74

38.13

24.27

บจก.กัสโต้ วิลเลจ (ผู้ซื้อ)

รวมทั้งสิ้น

63

DRT TH_2 color.indd 63

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

รายงานความรับผิดชอบ

ของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้ความส�าคัญและรับผิดชอบต่องบการเงินของ บริษทั ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ประจ�าปี 2555 รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจ�าปี งบการเงินดังกล่าวได้จดั ท�าขึน้ ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่อง การก�าหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 ซึ่งสอดคล้องกับข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ลงวัน ที่ 22 มกราคม 2544 เรื่อง การจัดท�าและส่งงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการด�าเนินงานของบริษัทจดทะเบียน และเป็น ไปตามมาตรฐานการบัญชีและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย

คณะกรรมการบริษัทฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของ บริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งได้จัดท�าขึ้นเพื่อให้เกิดความ มั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการด�าเนินงานและกระแสเงินสดโดย รวมที่เป็นจริงและสมเหตุผลโดยได้จัดให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ และรายงานทางการเงินนี้ได้จัดท�าขึ้นตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปโดยพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจการซึ่งถือปฏิบัติโดยสม�่าเสมอ ตลอดจน ได้พจิ ารณาถึงความพอเพียงในการตัง้ ส�ารองส�าหรับรายการทีม่ คี วามไม่ แน่นอน หรืออาจจะมีผลกระทบอย่างส�าคัญต่อกิจการในอนาคต โดย ได้เปิดเผยข้อมูลที่ส�าคัญไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และผู้สอบ บัญชีได้แสดงความเห็นไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีแล้ว

ในการนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่ง ประกอบด้วยกรรมการที่มีความอิสระและไม่ได้เป็นผู้บริหาร ซึ่งมี คุณสมบัติครบถ้วนตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551) และข้อก�าหนดของคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ให้เข้ามาท�าหน้าทีส่ อบทานงบการเงิน ดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การบัญชี สอบทานระบบควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายในและ การบริหารความเสี่ยงให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีการ ปฏิบัติงานที่โปร่งใสเป็นไปตามระเบียบของบริษัทฯ และเป็นไปตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งดูแลไม่ให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ตลอดจนพิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี ของบริษทั ฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นไว้ในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�าปี 2555 แล้ว

วันที่ 1 มีนาคม 2556 ในนามคณะกรรมการบริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน)

(นายประกิต ประทีปะเสน) ประธานกรรมการ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 64

(นายอัศนี ชันทอง) กรรมการผู้จัดการ

64

3/30/56 BE 12:01 PM


สรุปผลการดำาเนินงานและวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน (ข้อมูลตามงบการเงินประจ�าปี 2555 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555) 1. รายได้จากการขายและการให้บริการ รายการ

ปี 2555 ล้านบาท % ยอดขาย

ปี 2554 ล้านบาท % ยอดขาย

รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการให้บริการ รวมรายได้จากการขายและการให้บริการ ก�าไรจากการจ�าหน่ายสินทรัพย์ถาวร ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้อื่นๆ รวมรายได้

3,631.54 252.04 3,883.58 58.27 2.67 8.66 69.60 3,953.18

3,482.89 210.23 3,693.12 3.64 2.04 7.94 13.62 3,706.74

91.86 6.38 98.24 1.47 0.07 0.22 1.76 100.00

93.96 5.67 99.63 0.10 0.06 0.22 0.37 100.00

เพิ่ม / (ลด) ล้านบาท %

148.65 4.27 41.81 19.89 190.46 5.16 54.63 1,500.82 0.63 30.88 0.72 9.07 55.98 411.01 246.44 6.65

บริษัทฯ มีรายได้รวมใน ปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 6.65 ประกอบด้วย • รายได้จากการขายสินค้าจ�านวน 3,631.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 148.65 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.27 จากการขายสินค้า กระเบื้องคอนกรีต รุ่นอดามัส และสินค้าทดแทนไม้ ประเภทไม้ระแนงและไม้รั้วที่เพิ่มสูงขึ้น • รายได้จากการให้บริการจ�านวน 252.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 41.81 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.89 เนื่องจากรายได้ค่าขนส่ง เพิ่มขึ้น 22.42 ล้านบาท และรายได้ค่าบริการอื่นเพิ่มขึ้น 19.39 ล้านบาท • ก�าไรจากการจ�าหน่ายสินทรัพย์ถาวร จ�านวน 58.27 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 54.63 ล้านบาท เนื่องจากมีก�าไรจากการขายที่ดินที่ไม่ ได้ใช้งานจ�านวน 57.10 ล้านบาท 2. ต้นทุนขายและการให้บริการ รายการ

ปี 2555 ล้านบาท % ยอดขาย

ปี 2554 ล้านบาท % ยอดขาย

ต้นทุนจากการขายสินค้า ต้นทุนจากการให้บริการ รวมต้นทุนจากการขายและการให้บริการ

2,397.70 313.01 2,710.71

2,276.88 269.31 2,546.19

61.74 8.06 69.80

61.65 7.29 68.94

เพิ่ม / (ลด) ล้านบาท %

120.82 43.70 164.52

5.31 16.23 6.46

65

DRT TH_2 color.indd 65

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

บริษัทฯ มีต้นทุนจากการขายสินค้าและการให้บริการในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 6.46 ประกอบด้วย • ต้นทุนจากการขายสินค้าจ�านวน 2,397.70 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 120.82 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.31 เนื่องจากปริมาณการ ขายสินค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และต้นทุนจากการปรับค่าแรงขั้นต�่าเพิ่มขึ้น • ต้นทุนจากการให้บริการจ�านวน 313.01 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 43.70 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.23 เนื่องจากการขายสินค้า และบริการที่เพิ่มขึ้น โดยมีต้นทุนค่าขนส่งเพิ่มขึ้น 27.89 ล้านบาท และต้นทุนค่าบริการอื่นเพิ่มขึ้น 15.81 ล้านบาท 3. ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร ปี 2555 ล้านบาท % ยอดขาย

รายการ

ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร* รวมค่าใช้จ่าย

143.51 338.14 44.48 526.13

3.70 8.71 1.15 13.55

ปี 2554 ล้านบาท % ยอดขาย

158.83 298.51 39.84 497.18

4.30 8.08 1.08 13.46

เพิ่ม / (ลด) ล้านบาท %

(15.32) 39.63 4.64 28.95

(9.65) 13.28 11.65 5.82

หมายเหตุ *ผู้บริหาร หมายถึง กรรมการ กรรมการผู้จัดการ ผู้ด�ารงต�าแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากกรรมการผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ารงต�าแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ารงต�าแหน่ง ระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน

บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้นในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 5.82 ประกอบด้วย • ค่าใช้จ่ายในการขายจ�านวน 143.51 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 15.32 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 9.65 เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายทางด้านการ ตลาดและส่งเสริมการขายลดลง 14.64 ล้านบาท และการตั้งหนี้สงสัยจะสูญลดลง 2.01 ล้านบาท • ค่าใช้จ่ายในการบริหารจ�านวน 338.14 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 39.63 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.28 เนื่องจากมีเงินเดือนและ สวัสดิการพนักงานเพิ่มขึ้น 18.27 ล้านบาท (รวมการปรับค่าแรงขั้นต�่าพนักงาน) ค่าใช้จ่ายบริจาคกระเบื้องช่วยเหลือน�้าท่วมเพิ่มขึ้น 11.07 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมในการขายที่ดินที่ไม่ได้ใช้งานเพิ่มขึ้น 3.38 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายบรรจุภัณฑ์เพิ่มขึ้น 5.92 ล้านบาท เป็นต้น • ค่าตอบแทนผู้บริหารจ�านวน 44.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.64 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.65 เนื่องจากการปรับขึ้นเงินเดือน ประจ�าปีของผู้บริหาร และการปรับขึ้นค่าตอบแทนประจ�าปีของกรรมการ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 66

66

3/30/56 BE 12:01 PM


4. ความสามารถในการท�าก�าไร รายการ

ปี 2555 ล้านบาท % ยอดขาย

ปี 2554 เพิ่ม / (ลด) ล้านบาท % ยอดขาย ล้านบาท %

รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนจากการขายและการให้บริการ GP EBITDA EBIT NP EPS (บาทต่อหุ้น) * จ�านวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้าหนัก (ล้านหุ้น) * ผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น, (ROE) (%) ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม, (ROA) (%)

3,883.58 2,710.71 1,172.87 926.10 716.34 545.91 0.53 1,030.37 25.62% 16.21%

3,693.12 2,546.19 1,146.93 864.16 663.39 460.13 0.46 1,007.44 23.56% 16.75%

100.00 69.80 30.20 23.85 18.45 14.06

100.00 68.94 31.06 23.40 17.96 12.46

190.46 164.52 25.94 61.94 52.95 85.78 0.07 22.93 2.06% (0.54%)

5.16 6.46 2.26 7.17 7.98 18.64 15.22 2.28

หมายเหตุ *ค�านวณโดยใช้ฐานจ�านวนหุ้นสามัญที่ออกและช�าระแล้วหักด้วยจ�านวนหุ้นสามัญซื้อคืน GP = ก�าไรขั้นต้น, EBITDA = ก�าไรก่อนค่าเสื่อมราคา ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้นิติบุคคล, EBIT = ก�าไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล, NP = ก�าไรสุทธิหลัง ภาษีเงินได้นิติบุคคล, EPS = ก�าไรสุทธิต่อหุ้น

4.1 ก�าไรขั้นต้น (Gross Profit : GP)

• บริษทั ฯ มีกา� ไรขัน้ ต้นในปี 2555 เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 25.94 ล้านบาทหรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.26 เนือ่ งจากรายได้จากการขายและการให้บริการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.16 และต้นทุนจากการขายและการให้บริการโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.46

4.2 ก�าไรสุทธิ (Net Profit : NP)

บริษัทฯ มีก�าไรสุทธิ และก�าไรสุทธิต่อหุ้นในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ดังนี้ • บริษัทฯ มีก�าไรสุทธิจ�านวน 545.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 85.78 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.64 เนื่องจากก�าไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น มีก�าไรจากการขายที่ดินที่ไม่ได้ใช้งานจ�านวน 43.97 ล้านบาท (หลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล) และอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ลดลงจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 • บริษัทฯ มีก�าไรสุทธิต่อหุ้นละ 0.53 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหุ้นละ 0.07 บาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.22 เนื่องจากก�าไรสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.64

4.3 EBITDA

• บริษัทฯ มี EBITDA ในปี 2555 จ�านวน 926.10 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 61.94 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.17 เนื่องจากมีก�าไร ขั้นต้นเพิ่มขึ้น มีก�าไรจากการขายที่ดินที่ไม่ได้ใช้งานจ�านวน 57.10 ล้านบาท แต่มีค่าใช้จ่ายขายและบริหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.82

4.4 ประสิทธิภาพในการท�าก�าไร

• ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) (Return on Equity : ROE) บริษัทฯ มี ROE เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 23.56 ณ วันสิ้นปี 2554 มาเป็น ร้อยละ 25.62 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.06 เนื่องจากบริษัทฯ มีก�าไรสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.64 และส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 9.10 จากปีก่อน • ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (%) (Return on Assets : ROA) บริษัทฯ มี ROA ลดลงจากร้อยละ 16.75 ณ วันสิ้นปี 2554 มาเป็นร้อยละ 16.21 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 หรือลดลงร้อยละ 0.54 เนื่องจากบริษัทฯ มีก�าไรสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.64 และส่วนของสินทรัพย์รวมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.64 จากปีก่อน 67

DRT TH_2 color.indd 67

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

5. ฐานะทางการเงิน รายการ

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม จ�านวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้าหนัก (ล้านหุ้น) * มูลค่าหุ้นตามบัญชี (บาทต่อหุ้น) *

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท

เพิ่ม / (ลด) ล้านบาท

%

3,644.66 1,430.43 2,214.23 1,030.37 2.15

3,092.87 1,046.09 2,046.78 1,007.44 2.03

551.79 384.34 167.45 22.93 0.12

17.84 36.74 8.18 2.28 5.91

หมายเหตุ *ค�านวณโดยใช้ฐานจ�านวนหุ้นสามัญที่ออกและช�าระแล้วหักด้วยจ�านวนหุ้นสามัญซื้อคืน

• บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 จ�านวน 551.79 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.84 เนื่องจาก มีลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นสุทธิเพิ่มขึ้น 44.62 ล้านบาท เงินสดและเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น 34.30 ล้านบาท สินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น 710.49 ล้านบาท และสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ เพิ่มขึ้น 3.47 ล้านบาท แต่สินค้าคงเหลือสุทธิลดลง 59.39 ล้านบาท เงินสดจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ ถาวรลดลง 174.44 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายลดลง 2.89 ล้านบาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 4.37 ล้านบาท • บริษัทฯ มีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 จ�านวน 384.34 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 36.74 เนื่องจาก มีเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 35.65 ล้านบาท มีการกู้ยืมเงินระยะยาวในโครงการ NT-10 และโครงการ AAC เพิ่มขึ้น 290.93 ล้านบาท เงินกู้ระยะยาวที่ถึงก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปีเพิ่มขึ้น 95.40 ล้านบาท หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินเพิ่มขึ้น 1.59 ล้านบาท และหนี้สินหมุนเวียน อื่นเพิ่มขึ้น 53.87 ล้านบาท แต่มีเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ระยะสั้นลดลง 66.30 ล้านบาท มีการตั้งส�ารองภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานหลัง ออกจากงานลดลง 0.96 ล้านบาท และภาษีเงินได้ค้างจ่ายลดลง 25.84 ล้านบาท • บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 จ�านวน 167.45 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.18 เนื่องจากก�าไรสุทธิที่เพิ่มขึ้น 545.91 ล้านบาท ขายหุ้นสามัญซื้อคืน 9.01 ล้านบาท (จ�านวน 1,562,700 หุ้น มูลค่า 2.45 ล้านบาท และส่วนเกินมูลค่า หุ้นสามัญซื้อคืน 6.56 ล้านบาท) ทุนจดทะเบียนและส่วนเกินมูลค่าหุ้นเพิ่มขึ้น 26.08 ล้านบาท (จากการใช้สิทธิ ESOP ครั้งที่ 8 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 จ�านวน 2,043,000 หุ้น ครั้งที่ 9 วันที่ 15 มิถุนายน 2555 จ�านวน 150,000 หุ้น และครั้งที่ 10 วันที่ 15 ตุลาคม 2555 จ�านวน 8,954,000 หุ้น โดยมีราคาใช้สิทธิ 2.34 บาทต่อหุ้น) แต่จ่ายเงินปันผล 411.63 ล้านบาท และมีผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย จ�านวน 1.92 ล้านบาท ท�าให้มูลค่าหุ้นตามบัญชีเพิ่มขึ้นจาก 2.03 บาทต่อหุ้น ณ วันสิ้นปี 2554 มาเป็น 2.15 บาทต่อหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 68

68

3/30/56 BE 12:01 PM


6. งบกระแสเงินสด

หน่วย : ล้านบาท

รายการ

ปี 2555

ปี 2554

เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�าเนินงาน เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน ก�าไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดยกมาต้นงวด เงินสดคงเหลือปลายงวด กระแสเงินสดจากการด�าเนินงานต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เพิ่มขึ้น (ลดลง) (%) CFROE : Cash Flow Return on Equity

720.07 (623.37) (62.54) 0.14 34.30 22.19 56.49

341.48 (565.37) 189.19 0.27 (34.43) 56.62 22.19

33.80%

17.49%

• บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�าเนินงานในปี 2555 จ�านวน 720.07 ล้านบาท ซึ่งต�่ากว่าก�าไรสุทธิก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 11.38 ล้านบาท เนื่องจากมีรายการที่ไม่กระทบเงินสด เช่น ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�าหน่าย 209.76 ล้านบาท หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 54.60 ล้านบาท และสินค้าคงเหลือสุทธิลดลง 54.51 ล้านบาท แต่มีเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นลดลง 8.02 ล้านบาท หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 2.87 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นสุทธิเพิ่มขึ้น 44.69 ล้านบาท มีก�าไรจากการขายที่ดินที่ไม่ได้ใช้งานจ�านวน 57.10 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียน อื่นๆ และไม่หมุนเวียนเพิ่มขึน้ 6.19 ล้านบาท มีการจ่ายภาษีเงินได้นติ ิบุคคลค้างจ่ายของปี 2554 จ�านวน 86.69 ล้านบาท จ่ายภาษีเงินได้นติ บิ ุคคล ครึ่งปี 2555 จ�านวน 101.15 ล้านบาท และจ่ายภาษี หัก ณ ที่จ่ายปี 2555 จ�านวน 0.78 ล้านบาท • บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมลงทุนในปี 2555 จ�านวน 623.37 ล้านบาท เนื่องจากมีการลงทุนในโครงการ NT-10 จ�านวน 247.26 ล้านบาท โครงการ AAC จ�านวน 331.90 ล้านบาท ซื้อสินทรัพย์ถาวรอื่นๆ 83.62 ล้านบาท เงินสดจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ถาวร 23.33 ล้านบาท และเงินสดจ่ายส�าหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 1.27 ล้านบาท แต่มีเงินสดรับจากการขายที่ดินที่ไม่ได้ใช้งานจ�านวน 59.99 ล้านบาท และมี เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ถาวรที่ช�ารุดเสียหายใช้งานไม่ได้จ�านวน 4.02 ล้านบาท • บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินในปี 2555 จ�านวน 62.54 ล้านบาท เนื่องจากมีการช�าระคืนเงินกู้ระยะยาวและหนี้สิน ตามสัญญาเช่าทางการเงินสุทธิ 81.03 ล้านบาท มีเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ระยะสั้นลดลง 66.30 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผล 411.63 ล้านบาท แต่มีเงินกู้ระยะยาวเพิ่มขึ้น 461.33 ล้านบาท มีเงินสดรับจากการจ�าหน่ายหุ้นสามัญซื้อคืนและส่วนเกินทุนหุ้นสามัญซื้อคืน 9.01 ล้านบาท และมีทุน จดทะเบียนและส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญเพิ่มขึ้น 26.08 ล้านบาท (จากการใช้สิทธิ ESOP ครั้งที่ 8-10)

69

DRT TH_2 color.indd 69

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

7. สภาพคล่อง อัตราส่วนทางการเงิน

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้ถัวเฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาหมุนเวียนสินค้าส�าเร็จรูปคงเหลือ (วัน) ระยะเวลาช�าระหนี้ถัวเฉลี่ย (วัน) Cash Cycle (วัน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1.69 0.79 1.09 8.30 43 22 16 49

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

1.91 0.78 0.65 8.91 40 20 19 41

• บริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1.69 เท่า ลดลงจากวันสิ้นปี 2554 เนื่องจากมีสินทรัพย์หมุนเวียน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.71 และมีหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.36 และมีอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วเท่ากับ 0.79 เท่า เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 เนื่องจากสินค้าคงเหลือลดลงร้อยละ 8.58 และอัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดเท่ากับ 1.09 เท่า เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 เนื่องจากมีเงินสด จากกิจกรรมด�าเนินงานเพิ่มขึ้นจากปีก่อน • บริษัทฯ มี Cash Cycle ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จ�านวน 49 วัน เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 จ�านวน 8 วัน เนื่องจากระยะเวลาหมุนเวียน สินค้าส�าเร็จรูปคงเหลือเพิ่มขึ้น 2 วัน ระยะเวลาเก็บหนี้ถัวเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3 วัน และระยะเวลาช�าระหนี้ถัวเฉลี่ยลดลง 3 วัน 8. ความสามารถในการกู้ยืมและช�าระหนี้ อัตราส่วนทางการเงิน

อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถช�าระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถช�าระภาระผูกพัน (เท่า)

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 70

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

0.65 116.43 10.65

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

0.51 43.34 7.50

70

3/30/56 BE 12:01 PM


• บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 0.65 เท่า เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 เนื่องจากมีส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 ร้อยละ 8.18 แต่มี หนีส้ นิ รวมเพิม่ ขึน้ จากวันสิน้ ปี 2554 ร้อยละ 36.74 และมีอตั ราส่วนความ สามารถช�าระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นเท่ากับ 116.43 เท่า เนื่องจากมีเงินสดจาก กิจกรรมด�าเนินงานเพิ่มขึ้นจากปีก่อน และมีดอกเบี้ยเงินกู้ลดลงร้อยละ 39.15 จากปีก่อน

ค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตของบริษทั ฯ ปี 2555 คือ นายเพิม่ ศักดิ ์ วงศ์พชั รปกรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3427 แห่งบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จ�ากัด และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัทฯ ปี 2554 คือ นายมนตรี พาณิชกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3461 แห่งบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จ�ากัด ส�าหรับค่าใช้จ่ายที่จ่าย • บริษัทฯ มีอัตราส่วนความสามารถในการช�าระภาระผูกพัน เป็นค่าสอบบัญชีในปี 2555 ลดลง 0.86% จากปี 2554 มีรายละเอียดดังนี้ เพิ่มขึ้นจาก 7.50 เท่า ณ วันสิ้นปี 2554 มาเป็น 10.65 เท่า วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เนื่องจากมี EBITDA เพิ่มขึ้นจากวันสิ้นปี 2554 ร้อยละ หน่วย : ล้านบาท 7.17 มีหนีส้ นิ ระยะยาวและหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการเงินทีถ่ งึ ก�าหนด รายการ ปี 2555 ปี 2554 ช�าระภายในหนึง่ ปีลดลงร้อยละ 22.74 และจ่ายช�าระดอกเบีย้ เงินกูล้ ดลง ค่าสอบบัญชีประจ�าปี 490,000 490,000 ร้อยละ 39.15 แนวโน้มธุรกิจในปี 2556 แนวโน้มธุรกิจในปี 2556 มีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ โดยมีปจั จัยหนุนจากนโยบาย การลงทุนภาครัฐและการเติบโตของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ที่ผู้ประกอบ การรายใหญ่ลงทุนพัฒนาโครงการในต่างจังหวัด รองรับความต้องการ ที่อยู่อาศัยตามหัวเมืองใหญ่ ขณะเดียวกัน กลุ่มผู้ประกอบการร้านค้า ปลีกวัสดุขนาดใหญ่ยังเดินหน้าลงทุนขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็น ปัจจัยส�าคัญทีช่ ว่ ยกระตุน้ ให้เกิดความต้องการสินค้าวัสดุกอ่ สร้างเพิม่ สูง ขึ้น และสร้างโอกาสการขายสินค้าแบรนด์ “ตราเพชร” ผ่านช่องทาง ดังกล่าวได้มากขึ้น

ค่าสอบทานงบการเงินระหว่างกาล 300,000 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 24,013 รวมทั้งสิ้น 814,013

300,000 31,086 821,086

71

DRT TH_2 color.indd 71

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการ บริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ และงบกระแสเงินสดส�าหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�าคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน

ตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการ ประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ ส�าคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการ ประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่ เกี่ยวข้องกับการจัดท�าและการน�าเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควร ของกิจการ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการ ควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความ เหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของ ประมาณการทางบัญชีทจี่ ดั ท�าขึน้ โดยผูบ้ ริหาร รวมทัง้ การประเมินการน�า เสนองบการเงินโดยรวม

ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�าและการน�าเสนองบการเงินเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับ ผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�าเป็นเพื่อให้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและ สามารถจัดท�างบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง เหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า อันเป็นสาระส�าคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ความเห็น

ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น ข้ า งต้ น นี้ แ สดงฐานะการเงิ น ของบริ ษั ท ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจาก ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ ผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตาม ผลการด�าเนินงานและกระแสเงินสดส�าหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดย มาตรฐานการสอบบัญชี ซึง่ ก�าหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อก�าหนดด้าน ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความ เชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อ เรื่องอื่นๆ งบการเงินของบริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จ�ากัด (มหาชน) ส�าหรับปี ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญหรือไม่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นในส�านักงาน การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการ เดียวกัน ซึ่งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ สอบบัญชีเกีย่ วกับจ�านวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธกี าร 14 กุมภาพันธ์ 2555

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี

กรุงเทพมหานคร วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 72

เพิ่มศักดิ์ วงศ์พัชรปกรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3427 บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จ�ากัด

72

3/30/56 BE 12:01 PM


งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ถาวร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการด�าเนินงาน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปี ส่วนของหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินประกันผลงานค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

2555

2554

5 6 7 8 4.2 9 10 11

56,496,370 498,492,207 632,434,441 5,589,578 - 1,193,012,596

22,195,527 453,873,291 691,826,486 2,122,470 2,891,540 1,172,909,314

45,317,330 2,287,460,415 91,437,948 26,129,758 1,306,354 2,451,651,805 3,644,664,401

219,757,830 1,576,966,442 91,437,948 30,501,078 1,298,625 1,919,961,923 3,092,871,237

12 13 14

111,141,780 280,787,958 170,395,817

177,441,390 245,138,474 75,000,000

15

5,738,641 60,849,869

4,295,668 86,693,378

55,065,190 23,767,148 78,832,338 707,746,403

6,923,897 18,043,046 24,966,943 613,535,853

14 15 16

648,552,257 12,829,486 61,302,666 722,684,409 1,430,430,812

357,619,917 12,679,851 62,258,266 432,558,034 1,046,093,887 73

DRT TH_2 color.indd 73

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หมายเหตุ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,049,650,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและช�าระแล้ว หุ้นสามัญ 1,038,104,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ช�าระครบแล้ว หุ้นสามัญ 1,026,957,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ช�าระครบแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ส�ารองส�าหรับหุ้นทุนซื้อคืน ยังไม่ได้จัดสรร หุ้นทุนซื้อคืน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

17 18 19 20

2555

1,049,650,000 1,038,104,000 153,307,160 165,206,460 105,000,000 - 752,615,969 - 2,214,233,589 3,644,664,401

2554

1,049,650,000

1,026,957,000 138,370,180 158,646,588 105,000,000 2,447,508 617,803,582 (2,447,508) 2,046,777,350 3,092,871,237

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 74

74

3/30/56 BE 12:01 PM


งบกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ ก�าไรขั้นต้น รายได้อื่น ก�าไรจากการจ�าหน่ายสินทรัพย์ถาวร และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ อื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้นทุนทางการเงิน ก�าไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�าไรส�าหรับปี ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี ก�าไรต่อหุ้น ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�าไรต่อหุ้นปรับลด

2555

2554

3,883,579,465 (2,710,706,594) 1,172,872,871

3,693,120,117 (2,546,186,437) 1,146,933,680

26

58,269,954 2,668,895 8,663,358 (143,509,818) (338,143,380) (44,483,700) (7,648,066) 708,690,114 (162,779,568) 545,910,546

3,640,575 2,043,978 7,944,055 (158,827,270) (298,511,510) (39,835,360) (12,567,944) 650,820,204 (190,690,934) 460,129,270

16 24 บาท บาท

(1,915,667) 543,994,879

- 460,129,270

0.53 0.52

0.46 0.45

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

75

DRT TH_2 color.indd 75

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่วย : บาท หมายเหตุ

ทุนที่ออก และช�าระแล้ว

ส่วนเกิน ส่วนเกินทุน มูลค่าหุ้นสามัญ หุ้นทุนซื้อคืน

จัดสรรแล้ว

ก�าไรสะสม ยังไม่ได้จัดสรร

ทุนส�ารองตามกฎหมาย ส�ารองส�าหรับหุ้นทุนซื้อคืน

ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 1,014,331,700 121,452,278 79,077,589 หุ้นสามัญที่ออก 17 และ 21 12,625,300 16,917,902 - ขายหุ ้นทุนซื้อคืน 20 - - 79,568,999 เงินปันผลจ่าย 23 - - - ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี - - - ส�ารองส�าหรับหุ้นทุนซื้อคืน 19 - - - ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 1,026,957,000 138,370,180 158,646,588

105,000,000 31,229,584 - - - - - - - - - (28,782,076) 105,000,000 2,447,508

ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 1,026,957,000 หุ้นสามัญที่ออก 17 และ 21 11,147,000 ขายหุ้นทุนซื้อคืน 20 - เงินปันผลจ่าย 23 - ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี - ส�ารองส�าหรับหุ้นทุนซื้อคืน 19 - ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 1,038,104,000

105,000,000 - - - - - 105,000,000

138,370,180 158,646,588 14,936,980 - - 6,559,872 - - - - - - 153,307,160 165,206,460

หุ้นทุนซื้อคืน

491,352,386 (31,229,584) - - - 28,782,076 (362,460,150) - 460,129,270 - 28,782,076 - 617,803,582 (2,447,508)

2,447,508 617,803,582 - - - - - (411,630,000) - 543,994,879 (2,447,508) 2,447,508 752,615,969

รวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

1,811,213,953 29,543,202 108,351,075 (362,460,150) 460,129,270 - 2,046,777,350

(2,447,508) 2,046,777,350 - 26,083,980 2,447,508 9,007,380 - (411,630,000) - 543,994,879 - - 2,214,233,589

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบกระแสเงินสด ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่วย : บาท

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�าเนินงาน ก�าไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ปรับปรุงด้วย หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ ขาดทุนจากการตัดจ�าหน่ายสินค้าคงเหลือ ขาดทุนจากสินค้าล้าสมัย (โอนกลับ) ขาดทุนจากการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ (โอนกลับ) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�าหน่าย ค่าตัดจ�าหน่ายส่วนเกินจากการท�าสัญญาซื้อขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ก�าไรจากการจ�าหน่ายสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย ก�าไรจากการจ�าหน่ายสินทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการตัดจ�าหน่ายสินทรัพย์ถาวร โอนกลับขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร ค่าใช้จ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (โอนกลับ) รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 76

หมายเหตุ

2555

2554

708,690,114 490,000 - 133,957 464,198 208,299,673 1,461,434 (57,104,252) (1,165,702) 280,415 - (2,871,267)

650,820,204 2,430,000 18,598,801 (13,667,630) (8,269,960) 198,830,337 1,940,876 - (3,640,575) 86,075 (525,662) 7,908,452

76

3/30/56 BE 12:01 PM


งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 หน่วย : บาท

หมายเหตุ

2555

2554

(366,905) (372,083) 7,648,066 865,587,648

(188,206) (406,521) 12,567,944 866,484,135

(45,175,166) 53,908,173 (4,928,542) (7,729) (8,015,976) 53,863,395 915,231,803 372,083 (6,907,485) (188,623,077) 720,073,324

(59,390,282) (281,636,847) (1,894,172) (191,538) (10,695,741) 9,014,232 521,689,787 406,521 (10,586,292) (170,030,489) 341,479,527

(662,780,537) (23,329,301) (1,274,321) 59,995,792 4,015,602 (623,372,765)

(349,335,620) (219,757,830) (907,014) - 4,628,913 (565,371,551)

5

2,991,956,026 (3,058,255,636) 461,328,157 (75,000,000) (6,029,829) 26,083,980 9,007,380 (411,628,000) (62,537,922) 138,206 34,300,843 22,195,527 56,496,370

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�าเนินงาน (ต่อ) ก�าไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นเพิ่มขึ้น สินค้าคงเหลือ (เพิ่มขึ้น) ลดลง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นลดลง หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการด�าเนินงาน รับดอกเบี้ย จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�าเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายส�าหรับซื้อสินทรัพย์ถาวร เงินสดจ่ายล่วงหน้าค่าซื้อสินทรัพย์ถาวร เงินสดจ่ายส�าหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ถาวร เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายช�าระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายช�าระหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญและ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เงินสดรับจากการขายหุ้นทุนซื้อคืนและ ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน จ่ายเงินปันผล เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นของ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2,017,907,884 (1,850,466,494) 349,724,100 (98,574,000) (4,835,631) 29,543,202 108,351,075 (362,458,350) 189,191,786 272,775 (34,427,463) 56,622,990 22,195,527

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

77

DRT TH_2 color.indd 77

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

หมายเหตุประกอบงบการเงิน 1.

ขอมูลทั่วไป บริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) จัดตั้งเปนบริษัทมหาชนจํากัดในประเทศไทยและบริษัทไดจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2548 โดยมีที่อยูจดทะเบียนและโรงงานตั้งอยูเลขที่ 69 - 70 หมู 1 ถนนมิตรภาพ (กม. 115) ตําบลตลิ่งชัน อําเภอ เมือง จังหวัดสระบุรี ประเทศไทย บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตกระเบื้องมุงหลังคาและวัสดุแทนไม ผูถือหุนรายใหญของบริษัทคือ บริษัท มายเรียด วัสดุ จํากัด (ถือหุนรอยละ 60.65) ซึ่งเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย

2.

เกณฑการจัดทําและนําเสนองบการเงิน งบการเงินของบริษัทไดจัดทําขึ้นในสกุลเงินบาทและตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่อง “กําหนดรายการยอที่ตอง มีในงบการเงิน พ.ศ. 2554” และเปนไปตามขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยลงวันที่ 22 มกราคม 2544 เรื่องการจัดทําและสงงบการเงิน และรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทจดทะเบียน และเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและวิธีปฏิบัติทางการ บัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหมและปรับปรุงใหมที่ประกาศแลวแตยังไมมีผลบังคับใช สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศที่เกี่ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมมีผลบังคับใชในงวดปจจุบัน ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20

ภาษีเงินได การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 สวนงานดําเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไมมคี วามเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจง กับกิจกรรมดําเนินงาน ฉบับที่ 21 ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม ฉบับที่ 25 ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผูถือหุน ฉบับที่ 29 การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 12 ขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับการโอนและรับโอนสินทรัพยทางการเงิน

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 78

วันที่ผลบังคับใช 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2556 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2556

78

3/30/56 BE 12:01 PM


ฝายบริหารของบริษัทคาดวาจะนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่เกี่ยวของกับบริษัทมาเริ่มถือปฏิบัติกับงบการเงินของบริษัท เมื่อมาตรฐานดัง กลาวมีผลบังคับใช โดยฝายบริหารของบริษัทไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตอ งบการเงินของบริษัทสําหรับงวดที่เริ่มใชมาตรฐานดังกลาว 3.

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑวัดมูลคาตามราคาทุนเดิม ยกเวนตามที่ไดเปดเผยในนโยบายการบัญชี ดังตอไปนี้

3.1

3.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดหมายถึงเงินสดในมือ และเงินฝากทุกประเภทกับสถาบันการเงินที่มีกําหนดระยะเวลา 3 เดือนหรือนอย กวานับจากวันที่ไดมา ทั้งนี้ไมรวมเงินฝากสถาบันการเงินที่ใชเปนหลักประกัน

ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

ลูกหนี้การคา (รวมยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน) แสดงตามมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ

บริษัทประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากจํานวนที่คาดวาจะเรียกเก็บเงินไมได โดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณ เกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกคา

3.3

สินคาคงเหลือ

สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยแบบเคลื่อนที่

มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนราคาโดยประมาณที่คาดวาจะขายไดตามลักษณะการประกอบธุรกิจตามปกติหักดวยประมาณการตนทุนที่จําเปนตอง จายไปเพื่อใหขายสินคานั้นได บริษัทบันทึกบัญชีคาเผื่อการลดมูลคาของสินคาคงเหลือเมื่อสินคานั้นเสื่อมสภาพและเคลื่อนไหวชา (ถามี)

3.4

ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ

ที่ดินแสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงในราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพย ดังตอไปนี้ อาคารและสิ่งปลูกสราง 5 - 20 ป เครื่องจักรและอุปกรณ 5 - 20 ป เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน 3 - 5 ป ยานพาหนะ 5 ป

ตนทุนการกูยืมสุทธิที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดมาของเครื่องจักรไดบันทึกเปนสวนหนึ่งของตนทุนของเครื่องจักร และคิดคาเสื่อมราคาตาม ระยะเวลาการใชประโยชนของเครื่องจักรนั้น

3.5

สินทรัพยไมมีตัวตน

สินทรัพยไมมีตัวตนที่บริษัทซื้อมาและมีอายุการใหประโยชนทราบไดแนนอน แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม

79

DRT TH_2 color.indd 79

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

คาตัดจําหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิง เศรษฐกิจของสินทรัพยไมมีตัวตนแตละประเภท ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงได ดังตอไปนี้ คาสิทธิและการชวยเหลือทางเทคนิครอตัดบัญชี 10 ป คาลิขสิทธิ์ซอฟแวร 10 ป

3.6

สัญญาเชา

สัญญาเชาดําเนินงาน สัญญาเชาซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญของการเปนเจาของสินทรัพยยังคงอยูกับผูใหเชาบันทึกเปนสัญญาเชาดําเนินงาน คาเชาที่ เกิดขึ้นจากสัญญาเชาดังกลาวรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงิน ซึ่งบริษัทไดรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญของการเปนเจาของสินทรัพย ยกเวนกรรมสิทธิ์ทางกฎหมายถือเปน สัญญาเชาการเงิน บริษัทบันทึกสินทรัพยที่เชาในมูลคายุติธรรม ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชาพรอมกับภาระหนี้สินที่จะตองจาย คาเสื่อมราคา ของสินทรัพยที่เชาคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพย ดอกเบี้ยหรือคาใชจายทางการเงินคํานวณโดยใชวิธี อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดระยะเวลาของสัญญา ดอกเบี้ยหรือคาใชจายทางการเงินและคาเสื่อมราคารับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ

3.7

3.8

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน เปนประมาณการเกี่ยวกับภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงานที่ไดสิทธิรับเงินชดเชยเมื่อเกษียณอายุตาม พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน โดยภาระผูกพันดังกลาวไดคํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยอิสระ และจากขอสมมติฐานทาง คณิตศาสตรประกันภัยตามวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) อันเปนประมาณการจากมูลคาปจจุบัน ของกระแสเงินสดของผลประโยชนที่คาดวาจะตองจายในอนาคตโดยคํานวณบนพื้นฐานของเงินเดือนพนักงาน อัตราการหมุนเวียนของ พนักงาน อัตรามรณะ อายุงาน และปจจัยอื่นๆ

รายการที่เปนเงินตราตางประเทศ

รายการบัญชีในสกุลเงินตราตางประเทศที่เกิดขึ้นในระหวางปแปลงคาเปนเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและ หนี้สินที่เปนตัวเงินในสกุลเงินตราตางประเทศซึ่งคงเหลือ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานแปลงคาเปนเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนอางอิงที่ กําหนดโดยธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันนั้น บริษัทรับรูกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน เมื่อมีการชําระเงินหรือที่เกิดจากการแปลงคาเปนรายได หรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ

3.9

การรับรูรายได

บริษัทรับรูรายไดจากการขายและการใหบริการเมื่อมีการสงมอบสินคาและใหบริการแกลูกคาแลวรายไดแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับ สินคา ซึ่งไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มและหลังจากหักสวนลดการคาแลว รายไดดอกเบี้ยรับรับรูตามเกณฑคงคาง

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 80

80

3/30/56 BE 12:01 PM


3.10

เครื่องมือทางการเงิน

บริษัทไดทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Foreign Exchange Contracts) และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap Contracts) ในการบริหารความเสี่ยงของสินทรัพยและหนี้สินที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศและอัตราดอกเบี้ย โดยไดเปดเผยรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงินไวในหมายเหตุขอ 27 กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาซึ่งใชเพื่อปองกันความเสี่ยงของสินทรัพยและหนี้สินรับรูเปนรายได หรือคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนเกินหรือสวนลดที่เกิดจากการทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนานํามาเฉลี่ยรับรูเปนรายไดหรือคาใชจายตามอายุสัญญา รายไดและคาใชจายที่เกิดขึ้นจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยบันทึกเปนรายการดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัทไมมีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบแสดงฐานะการเงินที่เปนตราสารอนุพันธเพื่อการเก็งกําไรหรือเพื่อการคา

3.11

3.12 3.13

กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ

บริษัทไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานของบริษัทที่สมัครเปนสมาชิกโดยหักจากเงินเดือนของพนักงานสวนหนึ่งและบริษัทจายสมทบให อีกสวนหนึ่ง บริษัทบันทึกเงินจายสมทบนี้เปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

คาใชจายภาษีเงินได

คาใชจายภาษีเงินไดบันทึกตามจํานวนที่จายและที่ไดตั้งคางจายไวสําหรับป

กําไรตอหุนขั้นพืน้ ฐาน

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสําหรับปดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่มีอยู ณ วันสิ้นป

กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสําหรับป ดวยผลรวมของจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกในระหวางป บวกดวย จํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทตองออกโดยสมมติวาผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิไดมีการใชสิทธิซื้อหุนสามัญ ณ วันตนปหรือวัน ออกหุนสามัญเทียบเทา

3.14

การใชประมาณการทางบัญชี

ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน บริษัทตองอาศัยดุลยพินิจของผูบริหารในการกําหนดนโยบายการ บัญชี การประมาณการ และการตั้งขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่รายงานของสินทรัพย หนี้สินและการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ในงบการเงิน รวมทั้งการแสดงรายไดและคาใชจายของรอบระยะเวลารายงาน ถึงแม วาการประมาณการของผูบริหาร ไดพิจารณาอยางสมเหตุสมผลภายใตเหตุการณ ณ ขณะนั้น ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจมีความแตกตางไปจาก ประมาณการนั้น

81

DRT TH_2 color.indd 81

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

4.

ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด

4.1

เจาหนี้คา ซื้อสินทรัพยถาวรและสินทรัพยไมมตี ัวตนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ 2555

เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยถาวรและสินทรัพยไมมีตัวตนยกมา บวก คาซื้อสินทรัพยถาวร คาซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน หัก เงินสดจายซื้อสินทรัพยถาวร เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน รับโอนสินทรัพยจากเงินสดจายลวงหนาคาซื้อสินทรัพยถาวร โอนสินคาคงเหลือเปนสินทรัพยถาวร สวนที่บันทึกเปนหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยถาวรและสินทรัพยไมมีตัวตนยกไป

4.2

36,753 916,279 1,274 (662,781) (1,274) (197,770) (4,885) (6,460) 81,136

22,581 363,508 907 (349,336) (907) 36,753

เงินจายลวงหนาคาซื้อสินทรัพยถาวรสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ 2555

เงินสดจายลวงหนายกมา บวก เงินที่จายในระหวางป หัก สวนที่โอนไปเปนสินทรัพยถาวร เงินสดจายลวงหนายกไป 5.

หนวย : พันบาท 2554

219,758 23,329 197,770 45,317

หนวย : พันบาท 2554

219,758 219,758

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย 2555

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากประจํา 3 เดือน

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 82

100 30,674 25,562 160 56,496

หนวย : พันบาท 2554

100 12,488 9,451 157 22,196

82

3/30/56 BE 12:01 PM


6.

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย หนวย : พันบาท 2554

2555

ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา คาใชจายจายลวงหนา

470,148 10,474 14,079 3,791 498,492

437,542 5,863 8,789 1,679 453,873

ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 จําแนกตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ หนวย : พันบาท 2554

2555

ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ นอยกวา 61 วัน 61 วัน - 120 วัน 121 วัน - 360 วัน มากกวา 360 วัน ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ นอยกวา 61 วัน 61 วัน - 120 วัน 121 วัน - 360 วัน มากกวา 360 วัน รวมลูกหนี้การคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

341,252

330,284

90,227 4,100 3,553 6,958 446,090

82,877 3,198 2,712 7,779 426,850

16,751

9,276

13,603 4,856 2,651 267 38,128 484,218 (14,070) 470,148

10,656 3,135 1,205 24,272 451,122 (13,580) 437,542

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของบริษทั มีระยะเวลาตั้งแต 30 วันถึง 120 วัน

83

DRT TH_2 color.indd 83

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

7.

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย 2555

สินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง สินคาระหวางทาง หัก คาเผื่อการลดมูลคาของสินคาคงเหลือ คาเผื่อสินคาลาสมัย

165,592 148,669 264,068 37,961 37,104 653,394 (4,207) (16,753) 632,434

หนวย : พันบาท 2554

165,719 106,986 340,788 31,950 66,745 712,188 (3,743) (16,619) 691,826

ตนทุนของสินคาที่บันทึกเปนตนทุนขายในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีจํานวน 2,397.69 ลานบาท และ 2,276.88 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ตนทุนสินคาของบริษัทที่บันทึกเปนตนทุนขายในงบการเงินไดรวมขาดทุน (โอนกลับ) จากสินคา ลาสมัยและจากการลดมูลคาของสินคาคงเหลือจํานวน 0.60 ลานบาท และ (21.94) ลานบาท ตามลําดับ 8.

สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีที่ดินรอการจําหนาย (มูลคาตามบัญชีจํานวน 2.89 ลานบาท) ภายใตสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2554 ซึ่งบริษัทไดรับเงินมัดจําลวงหนาบางสวนจํานวน 6.22 ลานบาท แลวตามที่ระบุไวในสัญญา (ดูหมายเหตุขอ 13) ตอมาบริษัทไดรับชําระคาที่ดินสวนที่ เหลือและโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินเรียบรอยแลวในเดือนมีนาคม 2555

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 84

84

3/30/56 BE 12:01 PM


9.

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย

ที่ดิน

อาคารและ สิ่งปลูกสราง

เครื่องจักร และอุปกรณ

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ เครื่องใช สํานักงาน

ยานพาหนะ

หนวย : พันบาท สินทรัพย ระหวาง กอสราง และติดตั้ง รวม

ราคาทุน วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2555

17,647 116,796 134,443 134,443

426,524 1,540 21,176 (5,895) 443,345 1,676 67,047 (6,580) 505,488

2,620,124 16,482 42,846 (58,475) 2,620,977 24,974 470,529 (13,451) 3,103,029

48,205 3,401 299 (2,463) 49,442 5,040 7,485 (694) 61,273

58,726 239 (2,801) 56,164 12,422 (4,097) 64,489

34,021 341,846 (181,117) 194,750 872,167 (545,061) 521,856

3,205,247 363,508 (69,634) 3,499,121 916,279 (24,822) 4,390,578

คาเสื่อมราคาสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคา - จําหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคา - จําหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

274,556 16,153 (5,894) 284,815 15,639 (5,133) 295,321

1,448,036 164,149 (57,473) 1,554,712 172,655 (11,794) 1,715,573

34,941 6,093 (2,399) 38,635 6,840 (667) 44,808

31,670 7,248 (2,794) 36,124 7,520 (4,097) 39,547

-

1,789,203 193,643 (68,560) 1,914,286 202,654 (21,691) 2,095,249

คาเผื่อการดอยคา วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น ลดลง (กลับรายการ) วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้น ลดลง (กลับรายการ) วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

-

-

7,869 7,869 7,869

8,394 (525) 7,869 7,869

มูลคาสุทธิตามบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2554 วันที่ 31 ธันวาคม 2555

134,443 134,443

158,530 210,167

186,881 513,987

1,576,966 2,287,460

พันบาท พันบาท

202,654 193,643

คาเสื่อมราคาสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

518 (518) 1,066,265 1,387,456

-

7 (7)

10,807 16,465

20,040 24,942

85

DRT TH_2 color.indd 85

3/30/56 BE 12:01 PM


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ราคาทุนของอาคารและอุปกรณบางสวนที่ไดคํานวณคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังใชงานอยูมีจํานวน 1,126.32 ลานบาท และ 1,063.19 ลานบาท ตามลําดับ 10. ที่ดินที่ไมไดใชในการดําเนินงาน ที่ดินที่ไมไดใชในการดําเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย

ราคาทุน หัก โอนไปสินทรัพยเพื่อขาย คาเผื่อการดอยคา

106,638 (15,200) 91,438

109,529 (2,891) (15,200) 91,438

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มูลคายุติธรรมของที่ดินที่ไมไดใชในการดําเนินงานของบริษัทมีจํานวน 162.14 ลานบาท สวนหนึ่งของโฉนดที่ดินที่ไมไดใชในการดําเนินงานของบริษัทซึ่งเปนสวนหนึ่งของที่ดินที่ไมไดใชในการดําเนินงานมีมูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 จํานวนเงิน 25.35 ลานบาท ไดถือกรรมสิทธิ์รวมกันกับบริษทั อื่นสองแหง 11. สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย หนวย : พันบาท คาสิทธิและ การชวยเหลือ ทางเทคนิค รอตัดบัญชี

อ ก น

หนวย : พันบาท 2554

2555

ราคาทุน วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน วันที่ 31 ธันวาคม 2555

26,888 26,888 26,888

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวร

โปรแกรม ระหวาง การพัฒนา

24,686 382 25,068 6,624 31,692

4,825 525 5,350 1,274 (6,624) -

รวม

56,399 907 57,306 1,274 58,580

อ ม

12

55

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 86

86

3/30/56 BE 12:01 PM


หนวย : พันบาท คาสิทธิและ การชวยเหลือ ทางเทคนิค รอตัดบัญชี

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวร

โปรแกรม ระหวาง การพัฒนา

รวม

คาตัดจําหนายสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาตัดจําหนายสําหรับป วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาตัดจําหนายสําหรับป วันที่ 31 ธันวาคม 2555

14,340 2,689 17,029 2,688 19,717

7,278 2,498 9,776 2,957 12,733

-

21,618 5,187 26,805 5,645 32,450

มูลคาสุทธิทางบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2554 วันที่ 31 ธันวาคม 2555

9,859 7,171

15,292 18,959

5,350 -

30,501 26,130

คาตัดจําหนายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

พันบาท พันบาท

5,645 5,187

12. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย อัตราดอกเบี้ย 2555 2554 รอยละตอป รอยละตอป

เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ไมมีหลักประกัน

ยอดคงเหลือ 2555 พันบาท

2554 พันบาท

8.13

7.88

1,142

17,441

2.95

3.45

110,000 111,142

160,000 177,441

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นกับสถาบันการเงินหลายแหง เปนจํานวนเงิน 1,050 ลานบาท และ 790 ลานบาท ตามลําดับ เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษัท

87

DRT TH_2 color.indd 87

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

13. เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย 2555

เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยถาวรและสินทรัพยไมมีตัวตน คาใชจายคางจาย เงินมัดจําที่ดินรอจําหนาย (ดูหมายเหตุขอ 8)

123,791 41,206 81,136 34,655 280,788

หนวย : พันบาท 2554

120,926 49,885 36,753 31,350 6,224 245,138

14. เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบดวย 2555

1) เงินกูตามสัญญาเงินกูลงวันที่ 17 มิถุนายน 2551 2) เงินกูตามสัญญาเงินกูลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2554 3) เงินกูต ามสัญญาเงินกูลงวันที่ 11 ตุลาคม 2554 หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

7,896 450,000 361,052 818,948 (170,396) 648,552

หนวย : พันบาท 2554

82,896 228,500 121,224 432,620 (75,000) 357,620

1)

ในเดือนมิถุนายน 2551 บริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึ่ง จํานวนเงิน 150 ลานบาท สําหรับซื้อ เครื่องจักร เงินกูยืมนี้มีอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 4.30 ตอป และมีกําหนดชําระดอกเบี้ยทุกเดือน รวม 24 งวด นับตั้งแตวันเบิกเงินกูยืมงวดแรก หลังจากนั้นจะชําระคืนเงินตนทุก 3 เดือน รวม 8 งวด งวดละ 18.75 ลานบาท โดยบริษัทจะไมนําเครื่องจักรดังกลาวไปกอภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ยอดคงเหลือเงินกูยืมมีจํานวนเงิน 7.90 ลานบาท และจํานวน 82.90 ลานบาท ตามลําดับ

2)

ในเดือนกุมภาพันธ 2554 บริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึ่งดวยวงเงินจํานวน 450 ลานบาท สําหรับซื้อ เครื่องจักร เงินกูยืมนี้มีอัตราดอกเบี้ย THBFIX 3 (สาม) เดือน บวกดวยอัตราสวนตางรอยละ 1.25 ตอป และมีกําหนดชําระคืนทุก 3 เดือน รวม 12 งวด งวดละ 37.50 ลานบาท โดยบริษัทจะไมนําเครื่องจักรดังกลาวไปกอภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ยอดคงเหลือ เงินกูยืมมีจํานวนเงิน 450 ลานบาท และจํานวน 228.50 ลานบาท ตามลําดับ ตอมาในเดือนมิถุนายน 2555 บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง เพื่อเปลี่ยนจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัว THBFIX 3 (สาม) เดือน เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 2.96 - 3.09 ตอป โดยคํานวณจากเงินกูยืมระยะยาวดังกลาวขางตน โดยมีผลตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน 2555 จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2559 (ดูหมายเหตุขอ 27.3)

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 88

88

3/30/56 BE 12:01 PM


3)

ในเดือนตุลาคม 2554 บริษัทไดทําสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึ่งดวยวงเงินจํานวน 500 ลานบาท สําหรับซื้อ เครื่องจักร เงินกูยืมนี้มีอัตราดอกเบี้ยตั้งแตรับเงินกูยืมงวดแรกถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 ในอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 4.35 ตอป และตั้งแต วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2561 ในอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 5.10 ตอป และมีกําหนดชําระคืนทุก 3 เดือนรวม 20 งวด งวดละ 25 ลานบาท โดยบริษัทจะไมนําเครื่องจักรดังกลาวไปกอภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ยอดคงเหลือเงินกูยืมมี จํานวนเงิน 361.05 ลานบาท และจํานวนเงิน 121.22 ลานบาท ตามลําดับ

เงินกูยืมระยะยาวตามขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 เปนเงินกูที่ไมมีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิไดเบิกใชเปนจํานวนเงินรวม 3,590.41 ลานบาท และ 3,772.53 ลานบาท ตามลําดับ บริษัทตองดํารงสัดสวนทางการเงินใหเปนไปตามสัญญาเงินกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทไดปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกลาวแลว 15. หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน บริษัทไดทําสัญญาเชาการเงินสําหรับยานพาหนะโดยมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่จะตองจายสําหรับสัญญาเชาการเงินคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ดังนี้ จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย 2555 2554

ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป หัก ดอกเบี้ยรอตัดจาย การแสดงยอดในงบแสดงฐานะการเงินดังนี้ สวนของหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน

6,772 13,913 20,685 (2,117) 18,568

5,251 13,860 19,111 (2,135) 16,976

หนวย : พันบาท มูลคาปจจุบันของ จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย 2555 2554

5,739 12,829 18,568 18,568

4,296 12,680 16,976 16,976

5,739 12,829 18,568

4,296 12,680 16,976

16. ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน บริษัทมีภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงานตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน ซึ่งจัดเปนโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวที่ไมไดจัดใหมีกองทุน จํานวนที่รับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวดังกลาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้

89

DRT TH_2 color.indd 89

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

2555

ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย

5,588 2,354 7,942

หนวย : พันบาท 2554

5,436 2,472 7,908

การเปลี่ยนแปลงในภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ 2555

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานยกมา โอนกลับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานยกไป

62,258 (10,813) 5,588 2,354 1,916 61,303

หนวย : พันบาท 2554

54,350 5,436 2,472 62,258

ขอสมมติฐานในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยที่สําคัญที่ใชในการคํานวณภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ2554 มีดังตอไปนี้ อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนที่คาดไว อัตราการลาออกของพนักงาน อายุเกษียณ

2555

2554

4.25% 6.33% 0% - 12% 60 ป

4.70% 6.00% 0% - 15% 60 ป

17. ทุนเรือนหุน เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทมีมติอนุมัติโครงการเสนอขายหลักทรัพยใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัท ดังนั้น ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนจึงมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจํานวน 49.65 ลานบาท จากเดิม 1,000 ลานบาท (1,000 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปนจํานวน 1,049.65 ลานบาท (1,049.65 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) ทั้งนี้ หุนสามัญที่เพิ่มทุนดังกลาวจํานวน 49.65 ลานบาท (49.65 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) มีวัตถุประสงคเพื่อออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัท บริษัทไดจดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 และไดรับอนุมัติโครงการเสนอขายหลักทรัพยใหแก กรรมการ และพนักงานของบริษัท จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลวเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2551 ซึ่งจะตองจัดสรร ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวใหแลวเสร็จภายใน 1 ป นับจากวันที่ไดรับอนุมัติ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 90

90

3/30/56 BE 12:01 PM


ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 ไดมีมติอนุมัติการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทโดยไมคิดมูลคา ใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัท ซึ่งบริษัทจัดสรรไดทั้งหมด เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 2.24 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของ บริษัทจํานวน 2.24 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,014.33 ลานบาท (1,014.33 ลานหุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) เปน 1,016.57 ลานบาท (1,016.57 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 เมื่อวันที่ 15 มิถนุ ายน 2554 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 2.73 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 2.73 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,016.57 ลานบาท (1,016.57 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 1,019.30 ลานบาท (1,019.30 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลวกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 7.66 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 7.66 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,019.30 ลานบาท (1,019.30 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เป น 1,026.96 ล า นบาท (1,026.96 ล า นหุ น มู ล ค า หุ น ละ 1 บาท) บริ ษั ท จดทะเบี ย นเพิ่ ม ทุ น ที่ อ อกและชํ า ระแล ว กั บ กระทรวงพาณิ ช ย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2555 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 2.04 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของ บริษัทจํานวน 2.04 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,026 ลานบาท (1,026.96 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 1,029.00 ลานบาท (1,029 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2555 เมื่อวันที่ 15 มิถนุ ายน 2555 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 0.15 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 0.15 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,029.00 ลานบาท (1,029 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 1,029.15 ลานบาท (1,029.15 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2555 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญขอใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 8.95 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 8.95 ลานหุน ในราคาหุนละ 2.34 บาท ทําใหทุนที่ออกและชําระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,029.15 ลานบาท (1,029.15 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 1,038.10 ลานบาท (1,038.10 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท) บริษัทจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2555 18. ทุนสํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทตองจัดสรรเงินสํารองอยางนอยรอยละหาของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยก มา (ถามี) จนกวาทุนสํารองดังกลาวมีจํานวนเทากับรอยละสิบของทุนจดทะเบียน ทุนสํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเปนเงินปนผลได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ทุนสํารองตามกฎหมายของบริษัทมีจํานวนเงินเทากับรอยละสิบของทุนจดทะเบียนแลว

91

DRT TH_2 color.indd 91

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

19. สํารองสําหรับหุนทุนซื้อคืน ตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพบัญชีที่ ส.สวบช. 016/2548 ไดกําหนดหลักเกณฑใหบริษัทมหาชนจํากัดที่มีการซื้อหุนคืนตองมีกําไรสะสมไมนอยกวามูลคาหุนซื้อคืนที่ยังคงเหลืออยูในบัญชี และในกรณีที่จะนํากําไร สะสมไปจายเงินปนผล กําไรสะสมคงเหลือหลังจากจายเงินปนผลตองมีจํานวนไมนอยกวาหุนซื้อคืนที่ยังคงเหลืออยูในบัญชีดวยเชนกัน ดังนั้น บริษัทได ถือปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวโดยการจัดสรรกําไรสะสมเปนสํารองหุนทุนซื้อคืนเทากับจํานวนเงินที่ไดจายซื้อหุนคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทไมมีสํารองสําหรับหุนทุนซื้อคืน เนื่องจากไดจําหนายหุนทุนซื้อคืนหมดแลว และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท ไดจัดสรรสํารองหุนทุนซื้อคืนจํานวน 2.45 ลานบาท 20. หุนทุนซื้อคืน ในเดือนตุลาคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทไดอนุมัติโครงการการซื้อหุนของบริษัท เพื่อซื้อหุนคืนในจํานวนไมเกินรอยละ 5 หรือ 50 ลานหุน ของหุนที่ออกจําหนายแลวในขณะนั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อบริหารเงินสวนเกินของบริษัท จํานวนเงินสูงสุดที่มีมติอนุมัติภายใตแผนมีจํานวน 75 ลาน บาท และในราคาเสนอซื้อไมเกินรอยละ 115 ของราคาปดของหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ต.ล.ท.”) เฉลี่ย 5 วันทําการกอนวันที่ทําการซื้อ ขาย บริษัทจะดําเนินการซื้อหุนใน ต.ล.ท. ตัง้ แตวันที่ 4 พฤศจิกายน 2551 ถึงวันที่ 3 พฤษภาคม 2552 หุนที่ซื้อคืนดังกลาวมีกําหนดระยะเวลาจําหนาย หุน คืนกับบุคคลภายนอกหลัง 6 เดือน นับตั้งแตการซื้อหุนคืนแลวเสร็จแตไมเกิน 3 ป ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติการจําหนายหุนที่ซื้อคืนรวมจํานวน 37.38 ลานหุน คิดเปนอัตรารอยละ 3.71 ของหุนทุนที่บริษัทออกและรับชําระแลว โดยในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทไดจําหนายหุนที่ซื้อ คืนจํานวน 1.56 ลานหุน และ 17.34 ลานหุน รวมเปนเงิน 9.01 ลานบาท และ 108.35 ลานบาท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทไดจําหนายหุนทุนซื้อคืนหมดแลว และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีหุนทุนซื้อคืนจํานวน 1.56 ลานหุน ซึ่งคิด เปนอัตรารอยละ 0.15 ของหุนทุนที่บริษัทออก ซึ่งมีราคาทุนรวม 2.45 ลานบาท 21. ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทมีมติใหเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 49.65 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท และบริษัทไดดําเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 (ดูหมายเหตุขอ 17) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2552 บริษัทไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานที่จะซื้อหุนสามัญจํานวน 49.65 ลานหนวย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ อัตราการใชสิทธิ ราคาใชสิทธิ อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 92

: : : :

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย ใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน เวนแตจะ มีการปรับอัตราการใชสิทธิ ราคาหุนละ 2.34 บาท 5 ป นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ทุกวันที่ 15 ของเดือนกุมภาพันธ มิถนุ ายน และตุลาคมของแตละปโดยวันใชสิทธิในครั้งแรกคือวันที่ 15 ตุลาคม 2552

92

3/30/56 BE 12:01 PM


เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 2.24 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 2.24 ลานหุน ในราคา หุนละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 5.23 ลานบาท เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 2.73 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 2.73 ลานหุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 6.39 ลานบาท เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 7.66 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 7.66 ลานหุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 17.92 ลานบาท เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2555 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 2.04 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 2.04 ลานหุน ในราคา หุนละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 4.78 ลานบาท เมื่อวันที่ 15 มิถนุ ายน 2555 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 0.15 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 0.15 ลานหุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 0.35 ลานบาท เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555 มีการใชสิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิขางตนจํานวน 8.95 ลานหนวย ซื้อหุนสามัญของบริษัท จํานวน 8.95 ลานหุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท รวมจํานวนเงินทั้งสิ้น 20.95 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญที่ยังมิไดมีการใชสิทธิจํานวน 11.55 ลานหนวย และจํานวน 22.69 ลานหนวย ตามลําดับ 22. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน ตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ตามระเบียบกองทุนพนักงานตองจายเงิน สะสมเขากองทุนในอัตรารอยละ 3 ถึงรอยละ 5 ของเงินเดือนพนักงาน และบริษัทจายสมทบเขากองทุนในอัตราเดียวกัน บริษัทไดแตงตั้งผูจัดการ กองทุนรับอนุญาตแหงหนึ่งเพื่อบริหารกองทุนใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎกระทรวงซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2542 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทจายสมทบเขากองทุนเปนจํานวน 8.94 ลานบาท และ 7.33 ลานบาท ตามลําดับ 23. เงินปนผลจาย ในการประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2555 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรเงินปนผลแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.38 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 388.68 ลานบาท หลังจากหักเงินปนผลจายระหวางกาลหุนละ 0.18 บาท คงเหลือเปนเงินปนผลที่จะจายอีกหุนละ 0.20 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 205.80 ลานบาท (คํานวณจากหุนทุนที่บริษัทออกและชําระแลวหักดวยหุนทุนซื้อคืนที่ถือโดยบริษัท) บริษัทไดจายเงินปนผล ใหแกผูถือหุนในวันที่ 18 พฤษภาคม 2555

93

DRT TH_2 color.indd 93

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการมีมติอนุมัตกิ ารจัดสรรเงินปนผลระหวางกาลแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.20 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 205.83 ลานบาท (คํานวณจากหุนทุนที่บริษัทออกและชําระแลวหักดวยหุนทุนซื้อคืนที่ถือโดยบริษัท) บริษัทไดจายเงินปน ผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนในวันที่ 25 กันยายน 2555 ในการประชุมสามัญประจําปของผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรเงินปนผลแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.36 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 354.43 ลานบาท หลังจากหักเงินปนผลจายระหวางกาลหุนละ 0.18 บาท คงเหลือเปนเงินปนผลที่จะจายอีกหุนละ 0.18 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 179.58 ลานบาท (คํานวณจากหุนทุนที่บริษัทออกหลังหักหุนทุนซื้อคืนที่ถือโดยบริษัท) บริษัทไดจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนใน วันที่ 29 เมษายน 2554 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2554 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรรเงินปนผลระหวางกาลแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.18 บาท เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 182.88 ลานบาท (คํานวณจากหุนทุนที่บริษัทออกหลังหักหุนทุนซื้อคืนที่ถือโดยบริษัท) บริษัทไดจายเงินปนผลระหวาง กาลใหแกผูถือหุนในวันที่ 23 กันยายน 2554 24. กําไรตอหุน กําไรตอหุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 คํานวณไดดังนี้ กําไรสุทธิ

จํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้าํ หนัก พันหุน 2555 2554

พันบาท

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน ผลกระทบของหุนสามัญ เทียบเทาปรับลดใบสําคัญแสดงสิทธิ กําไรตอหุนปรับลด

กําไรตอหุน บาท

2555

2554

2555

2554

545,910

460,129

1,030,368

1,007,444

0.53

0.46

545,910

460,129

12,306 1,042,674

18,806 1,026,250

0.52

0.45

25. รายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวของกัน 25.1 บริษัทมีรายการบัญชีที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวของกันโดยมีผูถือหุนกลุมเดียวกันและ/หรือมีกรรมการรวมกัน ดังนั้นงบการเงินนี้จึงแสดง รวมถึงผลของรายการดังกลาว ซึ่งเปนรายการตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคาตลาดทั่วไปหรือเปนไปตามสัญญาที่ตกลงกันไวสําหรับรายการ ที่ไมมีราคาตลาด ยอดคงเหลือและรายการบัญชีที่สําคัญระหวางบริษัทกับกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 94

94

3/30/56 BE 12:01 PM


ประเภทรายการ/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้เฮาส จํากัด (มหาชน) บริษัท คาซาวิลล จํากัด บริษัท เดอะคอนฟเดนซ จํากัด บริษัท กัสโต วิลเลจ จํากัด บริษัท คาซาวิลล (เพชรบุรี 2553) จํากัด

มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน

ประเภทรายการ/ชื่อบริษัท

ความสัมพันธ

ขายสินคาและใหบริการ บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้เฮาส จํากัด (มหาชน) บริษัท คาซาวิลล จํากัด บริษัท เดอะคอนฟเดนซ จํากัด บริษัท กัสโต วิลเลจ จํากัด บริษัท คาซาวิลล (เพชรบุรี 2553) จํากัด

มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน มีกรรมการรวมกัน

หนวย : พันบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

10,998 896 16,133 4,831 4,930 340 38,128

3,748 5,125 10,660 4,739 24,272

หนวย : พันบาท สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

20,758 1,946 32,895 14,691 7,107 887 78,284

17,616 12,541 32,443 12,139 74,739

บริษัทมีนโยบายการกําหนดราคาซื้อขายสินคาและบริการกับกิจการที่เกี่ยวของกันตามราคาตลาดซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ 25.2

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 คาตอบแทนที่จายใหผูบริหารสําคัญตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง “การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน” มีดังนี้ หนวย : พันบาท 2554

2555

ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน

36,802 1,506 38,308

33,829 1,456 35,285

95

DRT TH_2 color.indd 95

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

26. คาใชจายภาษีเงินได ภาษีเงินไดนิติบุคคลคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีหลังจากปรับปรุงรายการใหเปนไปตามประมวลรัษฎากร และหักผลขาดทุนทางภาษีสะสมยกมาจากป กอนของบริษัท (ถามี) พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 530) พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2554 ประกาศ ใหลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล เปนระยะเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชี จากอัตรารอยละ 30 เปน รอยละ 23 สําหรับหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และลดเปนรอยละ 20 สําหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมาที่ เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ซึ่งบริษัทไดรับสิทธิในการลดภาษีเงินไดนิติบุคคลจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 27. การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน

27.1

27.2

ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มูลคาสูงสุดของความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อในกรณีที่คูสัญญาไมสามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันได นั้นเทากับมูลคาของสินทรัพยทางการเงินที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน

ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน

บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อและขายสินคาที่เปนเงินตราตางประเทศ บริษัทไดทําสัญญาซื้อ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งรายการดังกลาวจะมีอายุไมเกินหนึ่งป เพื่อปองกันความเสี่ยงของหนี้สินทางการเงินที่เปนเงินตราตาง ประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินเปนรายการที่เกี่ยวของกับรายการซื้อสินคาที่เปน เงินตราตางประเทศในงวดถัดไป บริษัทไดเขาทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อปองกันความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทไมมียอดคงเหลือของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีสินทรัพย (หนี้สิน) หมุนเวียนสุทธิที่เปนเงินตราตางประเทศ ซึ่งไมไดทําสัญญาปองกันความ เสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนดังตอไปนี้

27.3

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 96

สกุลเงินตางประเทศ

2555

ดอลลารสหรัฐฯ ยูโร ดอลลารออสเตรเลีย

(1,134.46) (52.85) -

หนวย : พัน 2554

(592.47) (26.61) (5.50)

ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย

ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการที่อัตราดอกเบี้ยจะเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานแกบริษัทในงวด ปจจุบันและงวดตอไป โดยมีหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ดังนี้

96

3/30/56 BE 12:01 PM


วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ อัตราลอยตัว อัตราคงที่ พันบาท พันบาท รอยละตอป รอยละตอป

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

450,000

110,000 368,948

3.62 - 4.15

2.95 4.30 - 4.35

วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ อัตราดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ อัตราลอยตัว อัตราคงที่ พันบาท พันบาท รอยละตอป รอยละตอป

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

228,500

160,000 204,120

3.83 - 4.14

3.45 4.30 - 4.35

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2555 ไดมีมติอนุมัติการทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินแหง หนึ่ง เพื่อเปลี่ยนจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัว THBFIX 3 (สาม) เดือน เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 2.96 - 3.09 ตอป โดยคํานวณจากเงินกูยืม ระยะยาวดังกลาวขางตน โดยมีผลตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน 2555 จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2559 (ดูหมายเหตุขอ 14)

27.4

มูลคายุตธิ รรมของเครื่องมือทางการเงิน

การเปดเผยมูลคายุติธรรมซึ่งตองใชดุลยพินิจในการประมาณมูลคายุติธรรม ดังนั้นมูลคายุติธรรมที่ประมาณขึ้นที่เปดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินนี้จึงไมจาํ เปนตองบงชี้ถึงจํานวนเงินซึ่งเกิดขึ้นจริงในตลาดแลกเปลี่ยนในปจจุบัน การใชขอสมมติฐานทางการตลาดและ หรือวิธีการประมาณที่แตกตางกันอาจมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญในมูลคายุติธรรมที่ประมาณขึ้น บริษัทใชวิธีการและขอสมมติฐานดังตอไปนี้ ในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและ เจาหนี้อื่น ภาษีเงินไดคางจาย และหนี้สินหมุนเวียนอื่นมีมูลคาตามบัญชี ซึ่งเทากับมูลคายุติธรรมโดยประมาณเนื่องจากถึงกําหนดใน ระยะเวลาอันสั้น

28. ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทประกอบธุรกิจผลิตกระเบื้องมุงหลังคาและวัสดุแทนไมซึ่งเปนกลุมของผลิตภัณฑเดียวกันและมีลักษณะการดําเนินงานที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน ฝายบริหารจึงพิจารณาวาบริษัทมีสวนงานธุรกิจเพียงสวนงานเดียว นอกจากนี้ บริษัทดําเนินธุรกิจสวนใหญในประเทศ ดังนั้น ฝายบริหารจึงพิจารณาวา บริษัทมีสวนงานทางภูมิศาสตรเพียงสวนงานเดียว

97

DRT TH_2 color.indd 97

3/30/56 BE 12:01 PM


12

55

29. คาใชจายตามลักษณะ คาใชจายตามลักษณะที่สําคัญสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังตอไปนี้ 2555

การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทํา วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน

(41,557) 1,381,973 208,300 352,847

หนวย : พันบาท 2554

(59,681) 1,396,256 198,830 315,160

30. ภาระผูกพัน สัญญาเชาระยะยาวและหนังสือค้ําประกัน บริษัทมีภาระผูกพัน สัญญาเชาระยะยาวและหนังสือค้ําประกันดังตอไปนี้

30.1

ภาระผูกพัน

30.2

สัญญาเชาระยะยาว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาการกอสรางและซื้อเครื่องจักรและอุปกรณตางๆ เปนจํานวนเงินรวม 176.77 ลานบาท และ 1.09 ลานยูโร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 : 277.14 ลานบาท และ 6.95 ลานยูโร)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีสัญญาเชาดําเนินงานเพื่อเชาพื้นที่อาคารสํานักงานและสัญญาบริการอื่น ซึ่งมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่ ตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดําเนินงาน ดังนี้ 2555

ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป ครบกําหนดชําระเกินกวา 1 ปแตไมเกิน 5 ป

30.3

รายงานประจำาปี 2555

DRT TH_2 color.indd 98

7,399 123 7,522

หนวย : พันบาท 2554

10,965 2,907 13,872

หนังสือค้ําประกันและเลตเตอรออฟเครดิตที่ยังไมไดใช 30.3.1

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารในนามบริษัท ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพัน บางประการตามธุรกิจปกติของบริษัทเปนจํานวนเงิน 19.96 ลานบาท และ 13.96 ลานบาท ตามลําดับ

30.3.2

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทมีเลตเตอรออฟเครดิตที่ยังไมไดใชกับธนาคารหลายแหงรวมเปนจํานวนเงิน ประมาณ 604.63 ลานบาท และ 495.86 ลานบาท ตามลําดับ

98

3/30/56 BE 12:01 PM


31. การจัดประเภทรายการใหม งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไดมีการจัดประเภทรายการใหม เพื่อใหสอดคลองกับการแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้ บัญชี

จํานวนเงิน (พันบาท)

การแสดงรายการเดิม

การแสดงรายการใหม

ลูกหนี้อื่น เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา คาใชจายจายลวงหนา เงินจายลวงหนาคาซื้อสินทรัพยถาวร

5,863 8,789 1,679 25,488

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

โปรแกรมระหวางพัฒนา เจาหนี้อื่น เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยถาวรและ สินทรัพยไมมีตัวตน คาใชจายคางจาย เงินมัดจําที่ดินรอจําหนาย

5,350 49,885 36,753

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินจายลวงหนาคาซื้อ สินทรัพยถาวร สินทรัพยไมมีตัวตน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

31,350 6,224

หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

32. การจัดการสวนทุน วัตถุประสงคของบริษัทในการจัดการสวนทุน มีดังนี้ - รักษาความสามารถของบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่อง เพื่อที่บริษัทจะสามารถใหผลตอบแทนแกผูถือหุนและประโยชนตอผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ตอไป -

เพื่อใหไดผลตอบแทนที่เหมาะสมแกผูถือหุน บริษัทไดพิจารณาโครงการลงทุนอยางระมัดระวังรอบคอบ โดยมีระดับความเสี่ยงที่เหมาะสม

33. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับการอนุมัติใหออกงบการเงินจากกรรมการผูมีอํานาจลงนามของบริษัทแลวเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2556

99

DRT TH_2 color.indd 99

3/30/56 BE 12:01 PM


DRT TH_4 color.indd 97

3/30/56 BE 12:11 PM


DRT TH_4 color.indd 98

3/30/56 BE 12:11 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.