DRT : Annual Report 2009 TH

Page 1

รายงานประจำป 2552 Annual Report 2009

บร�ษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

Diamond Roofing Tiles Public Company Limited

รายงานประจำปี 2552


“...เราเชื่อว่า ความสามารถในการตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้า พนักงาน สังคม และผู้ถือหุ้นของเรา เป็นพื้นฐานต่อความสำเร็จของพันธกิจของเรา...” “...We believe that our ability to serve the needs and expectations of our customers, employees, society and shareholders, is the foundation of success in our mission...”

(จากซ้าย) คุณสุหัส พินิจโรคาดูร ผู้แทนพนักงาน, คุณประกิต ประทีปะเสน ประธานกรรมการ, คุณถาวร พรหมมีชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี และคุณอภิชัย นาคะเลิศกวี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ป.ชัยเจริญ จำกัด ตัวแทนลูกค้า ร่วมตัดริบบิ้นทำพิธีเปิดสายการผลิตที่ 9 ด้วยงบลงทุน 465 ล้านบาท ณ โรงงาน จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553

(From left) Mr. Suhus Pinijrokadoon (Representative of DRT employees), Mr. Prakit Pradipasen (Chairman of the Board), Mr. Thavorn Prommechai (Saraburi Provincial Governor) and Mr. Apichai Nakhalertkawee (Managing Director of Por Chaicharoen Co., Ltd. as a Representative of DRT customers) altogether mark the official Ribbon cutting ceremony to commemorate Grand Opening of New Technology 9 (NT9) with an investment of 465 million Baht at DRT factory in Saraburi province on February 19, 2010. บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร


สารบัญ

หนา

วิสยั ทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร

2

ขอมูลบริษทั

3

สารจากประธานกรรมการบริษทั

4

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

6

รายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

7

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

9

คณะกรรมการบริษทั

10

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13

ขอมูลทีส่ ำคัญทางการเงิน

14

การดำเนินการดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย สิง่ แวดลอม และสังคม

15

การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญในปทผี่ า นมา

18

โครงการในอนาคต

18

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

19

โครงสรางองคกร

24

โครงสรางผูถ อื หุน

25

คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร

25

โครงสรางการบริหารจัดการ

27

การสรรหากรรมการและผูบ ริหาร

32

การกำกับดูแลกิจการ

32

การดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายใน

36

การบริหารความเสีย่ ง

36

การควบคุมภายในของบริษทั

38

นโยบายการจายเงินปนผล

39

รายการระหวางกัน

40

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ตอรายงานทางการเงิน

41

สรุปผลการดำเนินงานและการวิเคราะหฐานะทางการเงิน

42

รายงานผูส อบบัญชีรบั อนุญาตและงบการเงิน

46

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 1

1

1/3/08 5:08:47 AM


วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกร วิสยั ทัศน

“เปนทางเลือกทีด่ กี วาของลูกคา”

พันธกิจ

“เราอยูใ นธุรกิจของการผลิต การจัดจำหนาย รวมถึงการใหบริการเกีย่ วกับกระเบือ้ งหลังคา ผนัง และอุปกรณประกอบ เราเชือ่ วาความสามารถในการตอบสนองความตองการและความคาดหวังของลูกคา พนักงาน สังคม และผูถ อื หุน ของเราเปน พืน้ ฐานตอความสำเร็จของพันธกิจของเรา” สำหรับลูกคาของเรา เราจะสงมอบผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ ภาพและการออกแบบทีแ่ ตกตางอยางมีคณ ุ คา ในราคาทีแ่ ขงขันไดโดยการ ประยุกตใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดจนใหบริการที่เปนเลิศกับลูกคา ดวยชองทางจัดจำหนายที่แข็งแกรง และระบบการ บริหารทีม่ คี วามสามารถของเรา สำหรับพนักงานของเรา เราจะสรางและสงเสริมสภาพแวดลอมแหงการเรียนรู ความกาวหนาและความเปนอยูที่ดีของ พนักงานเพือ่ ใหพนักงานสามารถพัฒนาศักยภาพไดอยางเต็มความสามารถ สำหรับสังคมของเรา เราจะใหการสนับสนุนชวยเหลือสังคมทีเ่ ราอยูแ ละเปนบริษทั ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม สำหรับผูถ อื หุน ของเรา เราจะสรางผลตอบแทนดานการเงินทีเ่ ติบโตอยางตอเนือ่ งและมัน่ คง

คานิยมองคกร

“เราจะขยัน ตัง้ ใจทำงาน ทำงานเปนทีม ซือ่ สัตย สุจริต เปนธรรม และโปรงใส เรียนรู แบงปน ปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง มุง มัน่ สูเ ปาหมายขององคกร มุง มัน่ ทำงานใหสำเร็จ มุง สูค วามเปนเลิศ มีใจบริการลูกคาทัง้ ภายในและภายนอกองคกร” โดยใชอกั ษร คานิยมของบริษทั ฯ วา “D TILES” ซึง่ มีความหมายดังนี้ : ขยัน ตัง้ ใจทำงาน D - Diligence T - Team Work : ทำงานเปนทีม I - Integrity : ซือ่ สัตยสจุ ริต เปนธรรม และโปรงใส L - Learning : เรียนรู แบงปน ปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง E - Excellence : มุง มัน่ สูเ ปาหมายขององคกร มุง มัน่ ทำงานใหสำเร็จ และมุง สูค วามเปนเลิศ : มีใจบริการลูกคาทัง้ ภายในและภายนอกองคกร S - Service

2

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 2

1/3/08 5:08:50 AM


ขอมูลบริษทั ชือ่ บริษทั ชือ่ ยอ เลขทะเบียนบริษทั ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน

บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) DRT 0107547001041 เปนผูผ ลิตและจำหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนังและฝา ไมสงั เคราะห รวมทัง้ อุปกรณประกอบตางๆ พรอมใหบริการ ถอดแบบและติดตัง้ หลังคา ภายใตเครือ่ งหมายการคา ตราเพชร ตราหลังคา ตราอดามัส (Adamas) และตราเจียระไน หุน สามัญจำนวน 1,049,650,000 หุน มูลคาหุน ทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาทตอหุน รวมมูลคา 1,049,650,000 บาท หุน สามัญทีอ่ อกและชำระแลวจำนวน 1,005,174,700 หุน รวมมูลคา 1,005,174,700 บาท

ประวัตคิ วามเปนมา ป 2528 ป 2544 ป 2545 ป 2547 ป 2548

วันที่ 28 สิงหาคม 2528 กอตัง้ บริษทั ฯ โดยใชชอื่ บริษทั นครหลวงกระเบือ้ งและทอ จำกัด (นกท.) และมีบริษทั ปูนซีเมนต นครหลวง จำกัด (มหาชน) เปนผูถ อื หุน รายใหญ วันที่ 3 เมษายน 2544 ไดจดทะเบียนเปลีย่ นแปลงชือ่ เปน “บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด” (กตพ.) วันที่ 26 ธันวาคม 2545 มีการเปลีย่ นแปลงผูถ อื หุน รายใหญมาเปน บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด วันที่ 2 ธันวาคม 2547 ไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษทั มหาชนจำกัด และเปลีย่ นชือ่ เปน “บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)” วันที่ 9 พฤศจิกายน 2548 ไดรบั อนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ใหนำหุน สามัญเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) และเมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 ไดมกี าร ซือ้ ขายหลักทรัพยครัง้ แรก โดยใชชอื่ ยอวา “DRT”

สถานทีต่ งั้ สำนักงานใหญ สำนักงานสาขาที่ 1 สำนักงานสาขาที่ 2

เลขที่ 69 - 70 หมูท ี่ 1 ถนนมิตรภาพ กม.115 ตำบลตลิง่ ชัน อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000 โทรศัพท : 0 - 3622 - 4001 - 8 โทรสาร: 0 - 3622 - 4015 - 7 เลขที่ 408 / 163 - 165 อาคารสำนักงานพหลโยธินเพลส ชัน้ 40 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0 - 2619 - 0742 โทรสาร : 0 - 2619 - 0488 เลขที่ 490 ศูนยกระจายสินคาขอนแกน หมูท ี่ 6 ตำบลบานเปด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท : 0 - 4323 - 4644 โทรสาร : 0 - 4323 - 4643 Call Center : 0 - 2619 - 2333 Website : www.diamondtile.com E-mail Address : Corpcenter@diamondtile.com

บุคคลอางอิง นายทะเบียนหลักทรัพย บริษทั ตรวจสอบบัญชี

บริษทั ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 - 2229 - 2000 โทรสาร : 0 - 2654 - 5649 บริษทั ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำกัด อาคารรัจนาการ ชัน้ 25 เลขที่ 183 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท : 0 - 2676 - 5700 โทรสาร : 0 - 2676 - 5757

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 3

3

1/3/08 5:08:54 AM


สารจากประธานกรรมการบริษทั ในป 2552 สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยโดย รวมยังไดรบั ผลกระทบจากวิกฤตการณทางการเงินทีเ่ กิดขึน้ ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา และยุโรป เพือ่ เปนการรับมือกับสภาวะ เศรษฐกิจทีห่ ดตัว บริษทั ฯ ไดปรับแผนกลยุทธเชิงรุกทัง้ ดาน การขายและการตลาด โดยการจัดรายการสงเสริมการขาย รวมกับผูแทนจำหนาย และเพิ่มจุดกระจายสินคาทั่วประเทศ เพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการเขาถึงสินคาของลูกคา มุง เนนการ ลดตนทุนการผลิตทุกกระบวนการอยาจริงจัง และการลดคาใช จายทุกประเภททั่วทั้งองคกร รวมทั้งการเพิ่มสภาพคลองและ ลดตนทุนทางการเงินใหต่ำสุด ทำใหในป 2552 ที่ผานมานี้ บริษัทฯ สามารถผานพนวิกฤตเศรษฐกิจดังกลาวขางตนได เปนอยางดี และมีผลการดำเนินงานในรอบป 2552 ดีกวาทีค่ าด หมายไว

(นายประกิต ประทีปะเสน) ประธานกรรมการ

4

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 4

1/3/08 5:08:54 AM


ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานในรอบป 2552

การดำเนินการดานสิง่ แวดลอมและชุมชน

บริษัทฯ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 2,774.56 ลานบาทเพิ่มขึ้น 11.69% บริษัทฯ ไดดำเนินการดานสิ่งแวดลอมตามระบบ ISO 14001 จากปกอ นและมีกำไรสุทธิ 376.30 ลานบาทเพิม่ ขึน้ 32.12% จากปกอ น รวมทัง้ โดยในเดือนกันยายน 2552 ทีผ่ า นมานี้ บริษทั ฯ ไดผา นการตรวจและไดรบั การ ฐานะการเงินและกระแสเงินสดทีด่ ี สามารถชำระคืนเงินกูแ ละจายเงินปนผลใหกบั รับรองใหผานมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 โดยไดรับ ผูถ อื หุน ได โดยมีอตั ราสวนสภาพคลองเทากับ 1.48 เทา และมีอตั ราสวนหนี้ Certified by TUV NORD จากประเทศเยอรมนี ตอสวนของผูถ อื หุน เทากับ 0.47 : 1 ซึง่ ยังอยูใ นเกณฑทตี่ ำ่ หากมีโครงการ การดำเนิ น การเรื่ อ งแรงงานสั ม พั น ธ แ ละมวลชนสั ม พั น ธ ลงทุนในอนาคตก็ยงั สามารถกูย มื เพิม่ เติมไดอกี บริษัทฯ ไดจัดการประชุมรวมระหวางฝายบริหารกับคณะกรรมการสวัสดิการ ฝ า ยลู ก จ า งเป น ประจำทุ ก เดื อ น เพื่ อ หารื อ และแก ป ญ หาข อ ร อ งเรี ย น ทรัพยากรบุคคลเปนปจจัยทีส่ ำคัญตอความสำเร็จของกิจการ และการจัดกิจกรรมรวมกัน สำหรับมวลชน บริษทั ฯ ใหความสำคัญกับชุมชน บริษัทฯ ยังคงใหความสำคัญกับทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ เปน ชาวบานในบริเวณใกลเคียงกับโรงงาน กิจกรรมที่จัดรวมกับชุมชนในจังหวัด อยางดี โดยในปที่ผานมา บริษัทฯ ไดจัดใหมีการอบรมพัฒนาพนักงานรวม สระบุรี เชน จัดกิจกรรมวันเด็ก วันเขาพรรษา จัดอบรมบัญชีครัวเรือนและ ทั้ ง หมด 19 หลั ก สู ต ร โดยเน น การอบรมในเรื่ อ งการเพิ่ ม ผลผลิ ต เช น เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมกีฬามวลชนสัมพันธ แอโรบิคส กิจกรรมวันแม QC 7 Tools (จั ด อบรมให กั บ พนั ก งานสายการผลิ ต ทุ ก คน), Why กิจกรรมกีฬาประจำป รวมทั้งบริจาคกระเบื้องเพื่อใชปฏิสังขรณวัดวาอารามที่ Why Analysis (การวิ เ คราะห ป ญ หาโดยใช แ ผนภู มิ ก า งปลา), SPC ชำรุดทรุดโทรม เปนตน (Statistical Process Control) (จัดอบรมใหพนักงานระดับหัวหนางานและ การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี วิศวกร) และ QCC Presentation (จัดอบรมใหพนักงานเพิม่ ผลผลิต) สำหรับพนักงานในระดับบริหารไดจัดอบรมในเรื่องการบริหารงานและ บริษทั ฯ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ตัง้ แตป การบริหารคน ชือ่ หลักสูตร Emerging Leaders Academe ซึง่ เปนหลักสูตร 2548 ดวยความมุง มัน่ ทีจ่ ะเปนองคกรชัน้ นำ มีการบริหารงานจัดการอยางมือ ทีไ่ ดการรับรองจาก American Management Association อาชีพ โดยใหความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และยึดแนวทางปฏิบตั ิ ที ่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย และสำนั ก งานคณะกรรมการ การวิจยั พัฒนาและการลงทุนอยางตอเนือ่ ง หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) อยางเครงครัด บริษทั ฯ จึงไดรบั บริษัทฯ ไดดำเนินการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง มีการ ทดลองการผลิตสินคาใหมีตนทุนต่ำลง การพัฒนาผลิตสีขึ้นมาใชเองเพื่อลด รางวัลแหงความภูมใิ จโดยไดรบั การประเมินการกำกับดูแลกิจการใระดับ 5 ดาว ) อยูใ นกลุม ดีเลิศ (Excellent) ประจำป 2552 จาก ปญหาคุณภาพสี และการออกผลิตภัณฑใหม ‘จตุลอน’ ซึง่ จะออกสูต ลาดในป ( สมาคมส ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) อันจะสงผลใหบริษัทฯ 2553 สามารถดำเนิ น ธุ ร กิ จ ด ว ยความสำเร็ จ อย างตอเนือ่ งและยัง่ ยืน เปนทีย่ อมรับจาก ในดานการลงทุน ตามที่บริษัทฯ ไดทำสัญญาซื้อเครื่องจักรสายการ ผู ม  ส ี ว  นได เ สี ย ทุ ก ฝ า ย ผลิต NT9 กับบริษัท MFL Faserzementanlagen Ges.m.b.H แหง คณะกรรมการบริษัทฯ ขอเรียนใหทานผูถือหุนทราบวาผลการ ประเทศออสเตรีย เมือ่ ตนป 2551 โดยสายการผลิต NT9 จะใชผลิตแผนผนัง ไม ดำเนิ น งานในรอบป 2552 ดีกวาทีค่ าดหมายไว โดยบริษทั ฯ มีกำไรสุทธิทงั้ สิน้ ฝา ไมพนื้ และไมสงั เคราะหตา งๆ เพือ่ เพิม่ ความหลากหลายดานผลิตภัณฑและ 376.3 ล า นบาท คิ ด เป น กำไรหุ น ละ 0.38 บาท จากมู ล ค า จดทะเบี ย น เพิม่ ศักยภาพในการแขงขันได โดยสามารถผลิตสินคาออกจำหนายไดในเดือน (Par Value) หุ น  ละ 1 บาท จึงเสนอใหจัดสรรกำไรเพื่อจายเงินปนผลใหกับ กุมภาพันธ 2553 ทานผูถ อื หุน ในอัตราหุน ละ 0.30 บาท โดยบริษทั ฯ ไดจา ยเปนเงินปนผลระหวาง กาลใหกบั ทานผูถ อื หุน แลวในอัตราหุน ละ 0.15 บาท เมือ่ วันที่ 29 กันยายน การดำเนินการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำคัญดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2552 จึงคงเหลือเงินปนผลทีจ่ ะจายเพิม่ เติมอีกหุน ละ 0.15 บาท คิดเปนรอยละ ในการทำงาน โดยในปทผี่ า นมาไดดำเนินการอยางตอเนือ่ งตลอดทัง้ ป โดยการ 79 ของกำไรสุทธิตอ หุน ในป 2552 โดยจะจายภายในวันที่ 29 เมษายน 2553 ป 2553 เปนปที่มีสำคัญตอบริษัทฯ อีกปหนึ่ง เนื่องจากเปนปที่ จัดใหเจาหนาทีค่ วามปลอดภัย (จป.) เวียนไปใหความรูเ รือ่ งความปลอดภัยทุก เชา (Morning Safety Talk) ใหกบั พนักงานในหนวยงานตางๆ รวมกันมาก ครบรอบ 25 ปแหงการกอตัง้ บริษทั ฯ ตลอดระยะเวลา 25 ป บริษทั ฯ ไดดำเนิน กวา 500 ครั้งตอป รวมทั้งการจัดอบรมเรื่องบทบาทหนาที่การรักษาความ ธุรกิจดวยจิตสำนึกของความซื่อสัตย สุจริต และเปนธรรม โดยมุงสูความ สำเร็จ และมุงสูความเปนเลิศ ทำใหสามารถผานพนวิกฤตการณตางๆ ที่เกิด ปลอดภัยใหกบั หัวหนางาน จป. และผูบ ริหารรวมประมาณ 150 คน บริษทั ฯ ไดดำเนินการกิจกรรม 5ส อยางตอเนือ่ ง เพือ่ สงเสริมการ ขึน้ ทัง้ ภายในประเทศและตางประเทศไดเปนอยางดี สำหรับทิศทางเศรษฐกิจโลก ทำงานอยางปลอดภัยและสรางสิ่งแวดลอมที่ดี ในขณะเดียวกันก็ไดนำเอา ในป 2553 มีแนวโนมทีด่ ขี นึ้ แตกค็ งประมาทไมไดเนือ่ งจากวิกฤตเศรษฐกิจดัง กิจกรรม 5ส ไปแนะนำและอบรมใหกบั ลูกคา ซึง่ ไดผลดีและสรางความพอใจให กลาวมีความรุนแรงมากและเกิดขึ้นทั่วโลก ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทฯ จะ บริหารงานอยางระมัดระวังโดยยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good กับลูกคา Corporate Governance) รวมทั้งบริหารจัดการเงินทุนหมุนเวียนอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อใหบริษัทฯ มีฐานะการเงินและสภาพคลองที่ดี มีความมั่นคง และเจริญกาวหนาอยางยัง่ ยืนตอไปในอนาคต คณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณทานผูถือหุน คูคา และผูที่ เกีย่ วของทุกฝาย ทีไ่ ดใหการสนับสนุนในกิจการของบริษทั ฯ อยางตอเนือ่ งจน กิจการของบริษทั ฯ ประสบความสำเร็จและเจริญกาวหนามาเปนลำดับจนทุกวันนี้

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 5

5

1/3/08 5:09:01 AM


คณะกรรมการตรวจสอบไดรับมอบหมายใหปฏิบัติ หน า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบตามกฎบั ต รที่ ค ณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ กำหนดขึ้ น โดยมี ห น า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไดแก การสอบทานใหมกี ารรายงานทางการเงินทีถ่ กู ตองและ เชือ่ ถือได การสอบทานใหมรี ะบบการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบภายในที่เหมาะสม การสอบทานใหมีการปฏิบัติ กฎหมายที่เกี่ยวของ พิจารณาคัดเลือกและเสนอแตงตั้งผู บัญชีของบริษัทฯ รวมทั้งพิจารณารายการเกี่ยวโยงกันหรือ รายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตามกฎ หมายนัน้

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ขอรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ดรบั มอบหมายในรอบป 2552 ซึง่ มีสาระสำคัญสรุปไดดงั นี้ 1.) ไดสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป 2552 โดยไดหารือกับผูส อบบัญชีและผูบ ริหารดานบัญชีแลว เห็นวามีความ ถูกตองและเชื่อถือไดโดยไดจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ และมีการตั้งสำรองที่เหมาะสม สอดคลองกับสถานการณทเี่ กิดขึน้ 2.) การตรวจสอบในรอบป 2552 ไดกำหนดขอบเขตการตรวจสอบใหครอบคลุมถึงความเสี่ยงที่สำคัญและความเพียงพอของระบบ ควบคุมภายใน ซึง่ ไมพบขอบกพรองทีม่ นี ยั สำคัญ โดยไดแนะนำใหฝา ยบริหารปรับปรุงแกไขระบบงานตางๆ ใหมคี วามรัดกุม เหมาะสมยิง่ ขึน้ 3.) ไดสอบทานวาบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วของกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ ไมพบขอบกพรองทีม่ นี ยั สำคัญในรอบป 2552 4.) ไดสอบทานการทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนทเี่ กิดขึน้ ในป 2552 แลวเห็นวาเปนการซือ้ ขายสินคาโดยมีราคาและเงื่อนไขตามปกติธุรกิจทั่วไป โดยมีการเปดเผยขอมูลที่เพียงพอและมีการปฏิบัติตามขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 5.) ไดแนะนำใหฝายบริหารใหความสำคัญกับการบริหารงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีใหเปนไปตามขอกำหนดของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยประเมินผลการปฏิบตั เิ ปนระยะๆ เพือ่ ใหเกิดความเชือ่ มัน่ แกผถู อื หุน และผูม สี ว นไดเสียทีเ่ กีย่ วของทุกฝาย 6.) ไดพจิ ารณาคัดเลือกผูส อบบัญชีจากจำนวนทัง้ สิน้ 3 ราย โดยใหความเห็นเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั ติ อ ที่ ประชุมใหญสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2553 ใหแตงตัง้ นายมนตรี พาณิชกุล ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3461 หรือนางนัชลี บุญญะการกุล ผูส อบ บัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3126 หรือนางวิภาวี บุญยประสิทธิ์ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3096 แหงบริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทส ไชยยศ สอบบัญชี จำกัด ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ปนผูส อบบัญชีบริษทั จดทะเบียนตามขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ใหเปนผูส อบบัญชีของบริษทั ฯ ในป 2553 และกำหนดคาตอบแทนผูส อบบัญชี ประจำป 2553 จำนวน 850,000 บาท เทากับปกอ น 7.) ในรอบป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวม 8 ครัง้ และกรรมการตรวจสอบทุกคนไดเขารวมประชุมครบทุกครัง้ โดยได รายงานผลการดำเนินงานโดยสรุปใหคณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบและพิจารณาเปนประจำทุกไตรมาส คณะกรรมการตรวจสอบมีความเปนอิสระในการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ไดรับมอบหมาย และไดรับความรวมมือดวยดีจากทุกฝายที่ เกีย่ วของ โดยไดประชุมหารือกับผูบ ริหารทีเ่ กีย่ วของเปนระยะๆ และปรึกษาหารือกับผูส อบบัญชีเปนประจำทุกไตรมาส เพือ่ ขอทราบขอสังเกตเกีย่ วกับ งบการเงินและการควบคุมภายในดานบัญชีซงึ่ ไมพบประเด็นทีผ่ ดิ ปกติอยางมีนยั สำคัญ วันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายสมบูรณ ภูวรวรรณ) ประธานกรรมการตรวจสอบ

6

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 6

1/3/08 5:09:03 AM


คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน (ก.ส.ต.) ได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยในรอบป 2552 ทีผ่ า นมา ไดมกี าร ประชุมรวม 6 ครัง้ มีการพิจารณาเรือ่ งตางๆ สรุปไดดงั นี้ ก.) การสรรหากรรมการบริษทั ฯ แทนกรรมการ ทีต่ อ งออกจากตำแหนงตามวาระ โดยทีก่ รรมการบริษทั ฯ ตองออกจากตำแหนงตาม วาระเปนอัตราหนึง่ ในสามในการประชุมสามัญผูถ ือหุน ประจำ ป จึงตองพิจารณาสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมเขาดำรง ตำแหนงกรรมการบริษัทฯ แทนตำแหนงที่วางลงตามวาระ โดยคณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดกำหนดวิธกี ารและขัน้ ตอนใน การสรรหา ดังนี้

รายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

ข.)

ค.)

ง.)

จ.)

1.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. รับทราบรายชือ่ กรรมการทีต่ อ งออกตามวาระ และรายชือ่ บุคคลภายนอกทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ เขาคัดเลือกเพือ่ ดำรง ตำแหนงกรรมการ ทัง้ จากกรรมการบริษทั ฯ และผูถ อื หุน รายยอย 2.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. พิจารณาคัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมเปนกรรมการบริษทั ฯ จากรายชือ่ ทีไ่ ดรบั การเสนอ โดยผูท จี่ ะไดรบั การแตง ุ สมบัตแิ ละไมมลี กั ษณะตองหามตามทีก่ ฎหมายกำหนด ตัง้ เปนกรรมการบริษทั ฯ จะตองมีคณ 3.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดคดั เลือกและเสนอรายชือ่ ผูท มี่ คี วามเหมาะสมเปนกรรมการบริษทั ฯ แทนกรรมการทีต่ อ งออกตามวาระตอที่ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณานำเสนอตอทีป่ ระชุมใหญสามัญผูถ อื หุน ประจำปตอ ไป การพิจารณาผลตอบแทนคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดกำหนดหลักเกณฑในการพิจารณาผลตอบแทนคณะกรรมการดังนี้ 1.) ผลตอบแทนตองเหมาะสมกับขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการแตละคน 2.) ผลตอบแทนควรอยูใ นระดับใกลเคียงกับบริษทั อืน่ ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทีม่ ผี ลการดำเนินงานใกลเคียงกัน และอยูใ นระดับ เพียงพอทีจ่ งู ใจ และรักษากรรมการทีม่ คี ณ ุ ภาพไวได 3.) ผลตอบแทนจะตองเชือ่ มโยงกับผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษทั ฯ คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพจิ ารณาผลตอบแทนคณะกรรมการ และไดนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมใหญ สามัญผูถ อื หุน ประจำปในเรือ่ งดังตอไปนี้ อัตราผลตอบแทนประจำเดือนของประธานกรรมการและกรรมการบริษทั ฯ อัตราผลตอบแทนประจำเดือนของประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบ อัตราผลตอบแทนประจำเดือนของประธานกรรมการ ก.ส.ต. และกรรมการ ก.ส.ต. การจายเงินโบนัสประจำปของคณะกรรมการบริษทั ฯ ตามผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ การพิจารณาหลักเกณฑการวัดผลการดำเนินการของบริษทั ฯ คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพจิ ารณาหลักเกณฑการวัดผลการดำเนินการของบริษทั ฯ หรือ KPI (Key Performance Indicators) เพื่อใชในการพิจารณาปรับอัตราเงินเดือนและการจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกับพนักงานของบริษัทฯ โดยพิจารณาจากงบประมาณ ประจำปและเปาหมายการดำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ สภาวะตลาดและเศรษฐกิจ การพิจารณาปรับอัตราเงินเดือนและการจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกบั ผูบ ริหารและพนักงานบริษทั ฯ 1.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาการปรับขึ้นอัตราเงินเดือนและจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกับผูบริหารระดับสูงของ บริษัทฯ โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานโดยรวมของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคน ทั้งนี้เงินรางวัลประจำป (โบนัส) ของผูบ ริหารระดับสูงจะใชหลักเกณฑเชนเดียวกับทีจ่ า ยใหพนักงานทัว่ ไป 2.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาการปรับอัตราเงินขึ้นเงินเดือนและเงินรางวัลประจำปที่จายใหพนักงาน โดยพิจารณาจากผลการ ดำเนินงาน โดยรวมของบริษทั ฯ สภาวะตลาดและเศรษฐกิจ สภาวะการจางงาน รวมทั้งเปรียบเทียบขอมูลการปรับขึ้นอัตราเงินเดือน ของบริษทั ตางๆ ในอุตสาหกรรมทีใ่ กลเคียงกัน การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ คณะ ในรอบป 2552 คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพจิ ารณาปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ คณะในรอบป 2552 เพือ่ ใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำหรับบริษทั จดทะเบียน รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 7

7

1/3/08 5:09:04 AM


ฉ.) การจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน สามัญใหกรรมการและพนักงาน (ESOP) คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดพิจารณาจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญใหกรรมการและพนักงาน เนื่องดวยมีกรรมการและ พนักงานทีล่ าออกและทีย่ งั ไมไดรบั การบรรจุภายในเวลาทีก่ ำหนด เพือ่ ใหเปนไปตามหลักเกณฑการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน สามัญให กรรมการและพนักงาน (ESOP) ช.) ปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการ ก.ส.ต. คณะกรรมการ ก.ส.ต. ไดปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการ ก.ส.ต. ฉบับใหมเพือ่ ใหสอดคลองกับแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา ตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อใชเปน แนวทางในการปฏิบตั งิ านทีด่ ตี อ ไป

วันที่ 11 กุมภาพันธ 2553 ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

(นายชัยยุทธ ศรีวิกรม) ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

8

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 8

1/3/08 5:09:05 AM


ตามทีค่ ณะกรรมการจัดการซึง่ ไดรบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ใหแตงตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง ตามคำสัง่ ที่ 020/2551 เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ 2551 ซึง่ ประกอบดวยผูบ ริหารตัง้ แตผจู ดั การสวนขึน้ ไปอยาง นอย 10 คนจากทุกหนวยงานของบริษทั ฯ โดยมีนายสาธิต สุดบรรทัด รองกรรมการผูจ ดั การสายการขายและการตลาด เป น ประธานกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยให ก ำหนด นโยบายการบริหารความเสี่ยงใหเหมาะสมและอยูในระดับที่ ยอมรับได เปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ในรอบป 2552 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งไดจดั ใหมกี ารประชุมรวม 10 ครัง้ ทัง้ นีก้ ารประชุมแยกแตละปจจัยเสีย่ งจะจัดตามความ เหมาะสม เพือ่ ปฏิบตั หิ นาทีต่ ามทีไ่ ดรบั มอบหมาย โดยไดกำหนดนโยบาย วางแผนการปฏิบตั งิ าน และติดตามใหมรี ะบบการบริหารความเสีย่ งอยาง เพียงพอและเหมาะสม ซึง่ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ 1.) พิจารณากำหนดและทบทวนแผนการดำเนินงานและกระบวนการบริหารความเสีย่ งใหครอบคลุมความเสีย่ งทัง้ หมด ทีม่ โี อกาสจะ เกิดขึน้ กับธุรกิจของบริษทั ฯ อยางละเอียดเพียงพอและเหมาะสม 2.) พิจารณาทบทวนความเสีย่ งทุกระดับอยางสม่ำเสมอ โดยการประเมินและวิเคราะหปจ จัยเสีย่ งตางๆ เพือ่ จัดลำดับความสำคัญของ ความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ และผลกระทบตางๆ ซึง่ ไดจดั ระดับความเสีย่ งทีต่ อ งไดรบั การแกไขโดยเรงดวน (Red Risk) และระดับ ความเสีย่ งทีต่ อ งเฝาระวังซึง่ อาจจะเปนปจจัยเสีย่ งในอนาคต (Yellow Risk) โดยจะตองมีแนวทางปองกันไมใหเกิดความเสีย่ งดังกลาว 3.) ติดตามผลการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ตองไดรับการแกไขโดยเรงดวน รวมทั้งแนวทางปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นใน อนาคต โดยจัดทำรายงานการบริหารความเสี่ยงเพื่อเสนอคณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผานการสอบทานจาก คณะกรรมการตรวจสอบอยางนอยไตรมาสละ 1 ครัง้ 4.) ทบทวนนโยบายและระบบการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ กระบวนการตรวจสอบและการรายงาน เพือ่ สรางความมัน่ ใจวาบริษทั ฯ มี ระบบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ 5.) กำกับดูแลใหมกี ารปฏิบตั ติ ามกรอบแหงการบริหารความเสีย่ งและสอบทานการเปดเผยขอมูลความเสีย่ งตอหนวยงานกำกับดูแล และสาธารณะอยางถูกตองและสม่ำเสมอ การดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งในปทผี่ า นมา สามารถควบคุมความเสีย่ งตางๆ ใหอยูใ นระดับทีไ่ มกอ ใหเกิดผลเสียตอ การดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยไดกำกับดูแลงานบริหารความเสีย่ งและปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง เพือ่ ประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ ผูถ อื หุน และผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย

วันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

(นายสาธิต สุดบรรทัด) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 9

9

1/3/08 5:09:05 AM


คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวน 9 คน

....................

....................

นายไพฑูรย กิจสำเร็จ

กรรมการ / กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน / อายุ 66 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.13 % : 0.10 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

พาณิชยศาสตรและการบัญชี (พศ.บ.) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Asian Institute of Management, Manila, Philippines Pacific Rim Bankers Program, University of Washington, Seattle, U.S.A. Director Accreditation Program Class 32/2005 (DAP 32/2005) Director Certification Program Class 55/2005 (DCP 55/2005)

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2547 - ปจจุบนั 2546 – ปจจุบนั 2546 - ปจจุบนั 2544 – ปจจุบนั 2541 – ปจจุบนั

ตำแหนง กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร

ชือ่ บริษทั หอการคาไทย และสภาหอการคาไทย บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด บริษทั เอลมทรี จำกัด บริษทั สยามแอดมินสิ เทรทีฟ แมเนจแมนท จำกัด บริษทั เอสซีเอ็มบี จำกัด

นายประกิต ประทีปะเสน

ประธานกรรมการ / อายุ 67 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 1.90 % : 1.89 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบณ ั ฑิต ทางดานบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยซิลแิ มน ประเทศฟลปิ ปนส ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเวยนสเตท รัฐมิชแิ กน ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรสินเชือ่ ชัน้ สูง สถาบันสินเชือ่ ธนาคารซิตแี้ บงค ประเทศฟลปิ ปนส หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง มหาวิทยาลัยสแตนดฟอรด และมหาวิทยาลัยสิงคโปร ประเทศสิงคโปร หลักสูตรพิเศษ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุน ที่ 3 หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง โปรแกรมสำหรับผูบ ริหาร สถาบันเอ็มไอที รัฐแมสซาชูเซตส ประเทศสหรัฐอเมริกา Director Accreditation Program Class 1/2003 (DAP 1/2003)

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2547 – ปจจุบนั 2545 - ปจจุบนั 2543 – ปจจุบนั

2543 - ปจจุบนั 2543 – ปจจุบนั

ตำแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

ชือ่ บริษทั บริษทั ไทยชูการมลิ เลอร คอรปอเรชัน่ จำกัด บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด บริษทั ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) บริษทั อาเชีย่ นมารีน เซอรวสิ จำกัด (มหาชน) บริษทั ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

นายชัยยุทธ ศรีวกิ รม

กรรมการ / ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน / อายุ 43 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.08 % : 0.07 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยนิวยอรก ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา ) Director Accreditation Program Class 33/2005 (DAP 33/2005) Role of the Compensation Committee (RCC7/2008)

10

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2547 – ปจจุบนั 2545 – ปจจุบนั 2542 – ปจจุบนั 2542 – ปจจุบนั 2541 – ปจจุบนั

ตำแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอ ำนวยการ

ชือ่ บริษทั บริษทั เค เอ็ม ซี แอพพาเรล จำกัด บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด บริษทั ที ซี เอช ซูมโิ นเอะ จำกัด บริษทั ไทยเอาทดอร สปอรต จำกัด บริษทั ศรีวกิ รม กรุป โฮลดิง้ จำกัด

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 10

1/3/08 5:09:07 AM


....................

....................

นายเจมส แพ็ทตริค รูนยี่ 

กรรมการ / อายุ 71 ป / สัญชาติ อเมริกนั / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.20 % : 0.20 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

The American Graduate School of International Management, MBA Yale University Department of Far Eastern Studies Pomona College, BA Director Certification Program Class 47/2004 (DCP 47/2004) Charter Director Class (Class 4/2008)

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2546 - ปจจุบนั 2546 - ปจจุบนั 2541 – ปจจุบนั

ตำแหนง กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2537 - ปจจุบนั

กรรมการ

2522 – ปจจุบนั

ประธานกรรมการ

ชือ่ บริษทั บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด Samitivej PCL AsiaWorks Television Limited, Bangkok, Thailand Bangkok Airways Limited, Bangkok, Thailand บริษทั เจ พี รู นีย แอนด แอสโซซิเอท จำกัด

นายอัศนี ชันทอง

กรรมการ / ประธานกรรมการจัดการ / กรรมการผูจ ดั การ / อายุ 57 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = ไมมี : 0.05 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี วิทยาศาสตร (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม Master of Management, Sasin Graduate Institute of Business Administration, Chulalongkorn University Director Accreditation Program Class 63/2007 (DAP 63/2007) Financial Statements for Directors (FSD) FSD6/2009

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2547 – 2549 2543 – 2547

ตำแหนง กรรมการผูจ ดั การ กรรมการผูจ ดั การรวม

ชือ่ บริษทั S.K.I. Ceramics Co.,Ltd. บริษทั โคหเลอร (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

นายสาธิต สุดบรรทัด

กรรมการ / กรรมการจัดการ / รองกรรมการผูจ ดั การ สายการขายและการตลาด / อายุ 49 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.30 % : 0.35 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบณ ั ฑิต (สาขาวิศวกรรมอุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (พระนครเหนือ) ปริญญาโท (Engineering Administration), Major in Marketing Technology, The George Washington University, Washington D.C., U.S.A. Managing Change and Change of Management in Asia, Insead Euro-Asia Center, Hong Kong (2/2000) Orchestrating Winning Performance International Institute for Management Development, Lausanne, Switzerland (6/2000) Director Certification Program Class 2001 (DCP 12/2001) Finance for Non-Finance Director (FN) 2003 Audit Committee Program Class 8/2005 (ACP 8/2005)

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา

ตำแหนง

ชือ่ บริษทั

2542 – 2548

กรรมการ

บริษทั กะรัต ฟอเซท จำกัด

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 11

11

1/3/08 5:09:16 AM


....................

....................

นายอนันต เลาหเรณู

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน / อายุ 56 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = ไมมี : 0.05 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี นิตศิ าสตรบณ ั ฑิต มหาวิทยาธรรมศาสตร Director Accreditation Program Class 1/2003 (DAP 1/2003) Director Certification Program Class 29/2003 (DCP 29/2003) Audit Committee Program Class 2/2004 (ACP 2/2004) DCP Refresher Course Class 2/2006 (DCP 2/2006) Improving the Quality of Financial Reporting Class 2/2006 (QFR 2/2006) Monitoring the System of Internal Control and Risk Management Class 1/2007 (MIR 1/2007) ฯลฯ

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2551 - ปจจุบนั 2549 – ปจจุบนั 2547 - ปจจุบนั 2546 – ปจจุบนั 2541 – ปจจุบนั 2528 - ปจจุบนั

ตำแหนง ชือ่ บริษทั PT. Singlurus pratama กรรมการบริหาร PT. Lanna Mining Services กรรมการ บริษทั รอยัล ปอรซเลน จำกัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษทั ไทยอะโกรเอ็นเนอรยี่ จำกัด (มหาชน) กรรมการ PT. Lanna Harita Indonesia กรรมการบริหาร บริษทั ลานนารีซอรสเซส จำกัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการบริหาร และผูอ ำนวยการดานการเงิน

นายสมบูรณ ภูว รวรรณ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / อายุ 63 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.55 % : 0.59 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี วิศวกรรมเครือ่ งกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Director Accreditation Program Class 32/2005 (DAP 32/2005) Audit Committee Program Class 4/2005 (ACP 4/2005) Director Certification Program Class 55/2005 (DCP 55/2005) Monitoring the System of Internal Control and Risk Management Class 1/2007 (MIR 1/2007) Monitoring the Internal Audit Function Class 1/2007 (MIA 1/2007) DCP Refresher Course (RE DCP 1/2008) ฯลฯ

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2549 - ปจจุบนั 2544 - 2547 2544 – 2547 2547 – 2547

ตำแหนง ประธานกรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการ

2520 – 2547

กรรมการบริหาร และรองประธานอาวุโส

ชือ่ บริษทั บริษทั เซ็มเทค อินเตอรเนชัน่ แนล จำกัด Eagle Cement Co., Ltd. Holcim (Bangladesh) Co., Ltd. Technical Council / Training of Holcim Group Support (Switzerland) บริษทั ปูนซีเมนตนครหลวง จำกัด (มหาชน) ฯลฯ

นายศักดา มณีรตั นฉัตรชัย

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / อายุ 65 ป / สัญชาติไทย / สัดสวนการถือหุน บริษทั ฯ ป 2551 : 2552 = 0.56 % : 0.59 % ของทุนทีช่ ำระแลว และมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด

คุณวุฒกิ ารศึกษา / ประวัตกิ ารอบรม

ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัย FEATI ประเทศฟลปิ ปนส Director Accreditation Program Class 32/2005 (DAP 32/2005) Audit Committee Program Class 4/2005 (ACP 4/2005)

ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปทผี่ า นมา ชวงเวลา 2542 – 2549

2550 – 2551

12

ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการผูจ ดั การ ทีป่ รึกษา

ชือ่ บริษทั บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 12

1/3/08 5:09:29 AM


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

นายไมตรี ถาวรอธิวาสน

รองกรรมการผูจ ดั การสายการผลิตและวิศวกรรม

นายสุวทิ ย แกวอำพันสวัสดิ์

ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การสายการขายและการตลาด

บริษทั ฯ เปนผูผ ลิตและจำหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนังและฝา ไมสงั เคราะห รวมทัง้ อุปกรณประกอบตางๆ พรอมใหบริการถอดแบบ และติดตัง้ หลังคา ภายใตเครือ่ งหมายการคา ตราเพชร ตราหลังคา ตราอดามัส (Adamas) และตราเจียระไน โดยมีทำเลทีต่ งั้ โรงงานอยูท จี่ งั หวัด สระบุรบี นพืน้ ทีก่ วา 147 ไร พนักงานรวมทัง้ สิน้ 706 คน โดยมีผลิตภัณฑหลักดังตอไปนี้ 1.) กลุม ผลิตภัณฑหลังคา (Tiles) กลุม หลังคาไฟเบอรซเี มนต (Fiber Cement Tile) ไดแก กระเบือ้ งลอนคู (Roman Tile) กระเบือ้ งลอนเล็ก (Small Corrugated Tile) กระเบือ้ งแผนเรียบ (Flat Sheet) และครอบ (Fiber Cement Ridge) เปนตน กลุม หลังคาคอนกรีต (Concrete Tile) ไดแก กระเบือ้ งคอนกรีตแบบลอน (Gran Onda) กระเบือ้ งคอนกรีตแบบเรียบ (Adamas) และครอบ (Concrete Ridge) เปนตน กลุม หลังคาเจียระไน (Jearanai Tile) ไดแก กระเบือ้ งเจียระไน (Jearanai Tile) และครอบ (Jearanai Ridge) เปนตน 2.) กลุม ผลิตภัณฑแผนผนังและฝา (Diamond Board & Ceiling) ไดแก แผนผนัง (Board) แผนฝา (Ceiling) เปนตน 3.) กลุม ผลิตภัณฑไมสงั เคราะห (Diamond Siding Board) ไดแก ไมฝา (Siding Board) ไมระแนง (Lath) และไมเชิงชาย (Eaves) เปนตน 4.) อุปกรณประกอบ (Accessories) ไดแก แป (Batten) แผนสะทอนความรอน (Foil) แผนปดชายกันนก (Bird Guard) สีทาปูน ทราย (Paint) เปนตน 5.) การใหบริการถอดแบบและติดตัง้ หลังคา จากทีมงานทีม่ คี วามชำนาญและผานการอบรมจากบริษทั ฯ

โครงสรางรายได สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ในระยะ 3 ป ทีผ่ า นมา รายไดจากการขายและการใหบริการ 1. รายไดจากการขายสินคา 1.1 ผลิตภัณฑกระเบื้องหลังคา 1.2 ผลิตภัณฑแผนผนังและฝา 1.3 ผลิตภัณฑไมสังเคราะห 1.4 อุปกรณประกอบและอื่น ๆ 2. รายไดจากการใหบริการ รวมรายไดจากการขายและการใหบริการ

ป 2552 ลานบาท รอยละ

ป 2551 ลานบาท รอยละ

ป 2550 ลานบาท รอยละ

2,671.12 2,133.97 177.12 291.53 68.50 103.44 2,774.56

2,380.41 1,884.77 180.95 252.26 62.43 103.68 2,484.09

2,488.52 1,936.29 169.15 333.30 49.78 78.84 2,567.36

96.27 % 76.91 % 6.38 % 10.51 % 2.47 % 3.73 % 100.00 %

95.83 % 75.89 % 7.28 % 10.15 % 2.51 % 4.17 % 100.00 %

96.93 % 75.42 % 6.59 % 12.98 % 1.94 % 3.07 % 100.00 %

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 13

13

1/3/08 5:09:37 AM


% OC[G9WgLU'S 9T*$TE_*þ; 2T;R9T*$TE_*;V

¥M; ID · G T;<T9¦ L;V9E@ S DE IC 2552*

2,348

2551

1,995

2550

1,942

M;LhW;VEIC 753

2552* 513

2551 2550

OS7ETL I;9T*$TE_*þ; OS7ET$UcELZ9:V7 OETDc6 ¥¢¦ OS7ET>G7O<`9;7 OL I;%O*>[ 8YOMZ ; ¥¢¦ OS7ET>G7O<`9;7 OLV;9ES@D EIC_,GWgD ¥¢¦ OS7ETL I;M;WhLV;7 OL I;%O*>[ 8YOMZ ; ¥_9 T¦ $UcELZ9:V7 OMZ ; ¥<T97 OMZ ;¦ C[G' T7TC<S -ÿ 5 IS;LVĢ;= ¥<T97 OMZ ;¦

2552* ®°«²³ ¯±«±³ ®´«°° ­«±´ ­«°µ ®«³¯

2551 ®®«±´ ®µ«´² ®±«±´ ­«°² ­«¯¶ ®«±µ

2550 ®²«°¯ ¯³«³­ ¯­«´³ ­«¯² ­«°¶ ®«²³

LEZ=% OC[GMGS$9ES@D ÁÏÑ ET'T7GT6 5 IS;LVĢ;= ¥<T97 OMZ ;¦ +U;I;MZ ;LTCS +69R_<WD; ¥G T;MZ ;¦ +U;I;MZ ;LTCS 9Wg-UER`G I ¥G T;MZ ;¦ +U;I;MZ ;LTCS .āhO'Y; 5 IS;LVĢ;= ¥G T;MZ ;¦ ET'T@TE ¥<T97 OMZ ;¦ C[G' TMGS$9ES@D 7TCET'T7GT6 5 IS;LVĢ;= ¥G T;<T9¦ OS7ETL I;ET'TMZ ;7 O$UcELZ9:V 5 IS;LVĢ;= ¥<T97 OMZ ;¦ _*þ;= ;>G7 OMZ ; ¥<T97 OMZ ;¦ OS7ETL I;_*þ;= ;>G7 O$UcELZ9:V7 OMZ ; ¥¢¦

2552* °«®¯ ®©­²­ ®©­­² 37 ®«­­ °©®°³

2551 ®«¶­ ®©­²­ ®©­­­ ®¶ ®«­­ ®©¶­­

2550 ¯«¶­ ®©­­­ ®©­­­ ®«­­ ¯©¶­­

µ«¯®

³«²²

7.44

­«°­ 79

­«¯² µ³

­«°­ 77

386

LI ;%O*>8 [OYM; ZEIC 2552*

1,595

2551

1,482

2550

1,555

>G$TE6U_;;V*T;

¥M; ID · G T;<T9¦

2,775

2552* 2551

2,484

2550

2,567

906

2552*

765

2551

887

2550

$UcELZ9:VMGS*BTKē_*þ;c6 2552* 2551 2550

14

376 285 393

MCTD_M7Z · §= ¯²²¯ CW$TE_=GWgD;`=G*b;_EāgO*%O*9Z;+69R_<WD;-UER`G I%O*<EþKS9Q bM c=6[$TE_=GWgD;`=G* 9WgLU'S b;= 9Wg> T;CTM; T9Wg ®µ

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 14

1/3/08 5:09:41 AM


การดำเนินการดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัย สิง่ แวดลอม และสังคม การดำเนินการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญดานความปลอดภัย ในการทำงานและมีความเชื่อวาอุบัติเหตุ การบาดเจ็บและโรคที่เกิด ขึ้นจากการทำงานเปนเรื่องที่สามารถปองกันไดดวยความรวมมือ รวมใจของทุกคนในองคกร โดยปทผี่ า นมา บริษทั ฯ ไดดำเนินงาน เรือ่ งความปลอดภัยของ พนักงาน ผูร บั เหมา และผูม าเยือนอยาง ตอเนือ่ ง นอกจากนี้ยังจัดกิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยอื่นๆ เชน กิจกรรม 5ส รณรงคสงกรานตปลอดภัย กิจกรรม Safety Walk Rally โครงการเลิกบุหรีเ่ พือ่ พอ งานสัปดาหความปลอดภัยในการทำงาน

ผลจากความมุงมั่นที่ไมหยุดนิ่งที่จะลดอุบัติเหตุจากการ ทำงานทำใหสถิตอิ บุ ตั เิ หตุลดลงอยางตอเนือ่ ง

สถิตอิ บุ ตั เิ หตุ DRT ในป 2549 - 2552 และเปาหมายป 2553

ราย 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

เปาหมายป 2553 ไมเกิน 16 ราย

2549

2550

2551

2552

2553

สำหรับกิจกรรม 5ส ทีบ่ ริษทั ฯ ไดดำเนินการตัง้ แตป 2550 โดยมีวตั ถุประสงคใหกจิ กรรม 5ส เปนสวนหนึง่ ของการปฏิบตั งิ าน พนักงานทุก คนมีสว นรวมเพือ่ สภาพแวดลอมทีด่ ี มีความปลอดภัยและสรางจิตสำนึกของการเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านและเล็งเห็นถึงประโยชนทไี่ ดรบั เชน ความสะอาด ความมีระเบียบในการจัดเก็บสินคาและวัสดุตา งๆ ทีจ่ ำเปนเพือ่ งายตอการใชงาน ลดการแตกหักของสินคา ลดพืน้ ทีก่ ารจัดเก็บ จึงได ริเริม่ ไปจัดกิจกรรม 5ส ใหรา นลูกคาของบริษทั ฯ โดยในป 2551 ไดจดั ทำ 1 แหง และในป 2552 ไดจดั ทำเพิม่ อีก 3 แหง ซึง่ ไดผลดีและสรางความ พอใจใหลกู คา รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 15

15

1/3/08 5:09:43 AM


การดำเนินการดานสิง่ แวดลอม ถื อ เป น ความรั บ ผิ ด ชอบในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ต อ งรั บ ผิ ด ชอบต อ สิ่ ง แวดล อ มและ ทรัพยากรชุมชน จึงใหความสำคัญกับการควบคุมระบบสิง่ แวดลอมในกระบวนการผลิต ซึง่ ในปทผี่ า นมาไดดำเนินการหลายดานดังนี้ 1.) ตรวจวัดคุณภาพอากาศจากสภาพแวดลอมในการทำงาน เชน ปลองหมอ ไอน้ำ ปลองพนสี ไซลีน เพื่อติดตามคุณภาพอากาศที่ปลอยออกไปตองไม กระทบตอสิง่ แวดลอม 2.) ตรวจติดตามมลพิษทางเสียง ฝุน สารเคมี ซึง่ ผานเกณฑมาตรฐานทัง้ หมด 3.) ตรวจติดตามคุณภาพน้ำผิวดินบริเวณรอบโรงงานผลวิเคราะหคุณภาพน้ำอยู ในเกณฑมาตรฐาน 4.) มีระบบบอพักน้ำดาง เพือ่ นำน้ำกลับมาใชใหม สามารถลดการใชทรัพยากรน้ำ 5.) การกำจัดของเสีย เศษกระเบื้องแตก เศษซีลเลอร เศษน้ำมันและขยะอื่นๆ ได ดำเนินการนำออกไปกำจัดนอกโรงงาน โดยไดรับอนุญาตจากกรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม พร อ มทั้ ง รายงานข อ มู ล ผ า น www.diw.go.th ซึ่ ง เปน Website ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไดรบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดลอม หรือ ISO 14001 : 2004 เมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2552

รางวัลแหงความภาคภูมใิ จ บริษทั ฯ ไดรบั การรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม จาก บริษทั ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) จำกัด (TUV NORD) ดังนี้ ISO 9001 : 2008 : ระบบการบริหารคุณภาพทัง้ ในระบบสวนโรงงานและสวนสำนักงาน OHSAS 18001 : 2007 : ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 14001 : 2004 : ระบบการจัดการสิง่ แวดลอม

บริษทั ฯ ไดรบั การรับรองมาตรฐาน และรางวัลสถานประกอบการดีเดนอืน่ ๆ ดังนี้ ป 2548 ไดรบั มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม (มอก.) จากสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ กระทรวงอุตสาหกรรม ป 2550 ไดรบั รางวัลสถานประกอบการลดสถิตอิ บุ ตั เิ หตุดเี ดน (Safety Award) จากกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ป 2552 ไดรบั ไทยแลนดแบรนด กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย ป 2552 ไดรบั โลรางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานความปลอดภัยระดับภูมภิ าค จากกระทรวงแรงงาน ป 2552 ไดรบั รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธและสวัสดิการแรงงาน จากกระทรวงแรงงาน

16

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 16

1/3/08 5:09:46 AM


การดำเนินการด้านสังคม บริษทั ฯ ไดใหความชวยเหลือและสนับสนุนแกสงั คม ดังนี้

1. บริษทั ฯ รวมกับผูน ำชุมชน ชาวบาน และผูป กครองนักเรียน จัดงานวันเด็กโดยจัดกิจกรรม เกมส รางวัล อุปกรณการเรียนและเลีย้ งอาหารกลางวันใหกบั นักเรียน และเด็กๆ เนือ่ งในวันเด็กแหงชาติ โรงเรียนวัดหนองบัว ตำบลตลิง่ ชัน อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 2. พนักงานของบริษทั ฯ รวมบริจาคโลหิตใหสภากาชาดทุกๆ 3 เดือน ตลอดป 2552 3. บริษทั ฯ และพนักงานรวมกันบริจาคเงินและกระเบือ้ งหลังคาใหกบั โรงเรียนบานวังสนวน อำเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 4. บริษทั ฯ ไดแนะนำการทำกิจกรรม 5ส ใหกบั รานคาวัสดุกอ สรางทีเ่ ปนตัวแทนจำหนายของบริษทั ฯ ทัง้ ในภาคนครหลวงและสวนภูมภิ าค 5. บริษทั ฯ และพนักงานรวมกันบริจาคเงินและสิง่ ของใหกบั สถานพักพิงคนไรทพ ี่ งึ่ ทับกวาง ตำบลทับกวาง อำเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี

1.

2.

3.

4. 1-66_thai_New1.indd 17

รายงานประจำป 2552 5.

17

1/3/08 5:09:51 AM


การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญในปทผี่ า นมา เดือนเมษายน

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 198 เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2551 มีมติอนุมตั ิ โครงการซือ้ หุน สามัญคืน (Treasury Stock) เพือ่ การบริหารทางการเงิน ภายในวงเงินไม เกิน 75,000,000 บาท จำนวนหุน ไมเกินรอยละ 5 ของหุน ทีอ่ อกและชำระแลว คิดเปน 50,000,000 หุน ณ วันที่ 30 เมษายน 2552 บริษทั ฯ ซือ้ หุน สามัญคืนทัง้ สิน้ 37,376,800 หุน จำนวนเงิน 61,898,914.20 บาท ราคาถัวเฉลีย่ 1.66 บาทตอหุน หุน สามัญทีซ่ อื้ คืน ดังกลาวมีกำหนดระยะเวลาจำหนายคืนกับบุคคลภายนอกภายใน 6 เดือน นับตัง้ แตการ ซือ้ หุน สามัญคืนแลวเสร็จแตไมเกิน 3 ป บริษทั ฯ ตองจำหนายหุน สามัญทีซ่ อื้ คืนภายใน วันที่ 2 พฤษภาคม 2555

เดือนสิงหาคม

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 208 เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2552 ไดมมี ติอนุมตั ิ การจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ โดยไมคิดมูลคาใหแก กรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ ซึง่ จัดสรรไดทงั้ หมด จำนวน 49,650,000 หนวย

เดือนตุลาคม

เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2552 บริษัทฯ ไดออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของ บริษทั ฯ ใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ จำนวน 49,650,000 หนวย เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2552 ซึง่ เปนวันใชสทิ ธิแปลงสภาพครัง้ ที่ 1 มีกรรมการและพนักงาน ใชสทิ ธิทงั้ สิน้ จำนวน 27 ราย โดยมีใบสำคัญแสดงสิทธิทขี่ อใชสทิ ธิ 5,174,700 หนวย ในการเพิ่ ม ทุ น จากการใช สิ ท ธิ ซื้ อ หุ น สามั ญ จำนวน 5,174,700 หุ น ราคาหุ น ละ 1 บาท คิดเปนจำนวน 5,174,700 บาท โดยบริษัทฯ ไดดำเนินการจดทะเบียน เปลีย่ นแปลงเพิม่ ทุนชำระแลวกับกระทรวงพาณิชย เมือ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2552 สงผลให ทุนจดทะเบียนชำระแลว เพิม่ ขึน้ เปน 1,005,174,700 บาท

เดือนพฤศจิกายน

เปลี่ยนแปลงผูรับรองระบบมาตรฐานมาเปนบริษัท ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) จำกัด (TUV NORD) จากประเทศเยอรมนี (เดิมใชบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด (SGS)) ดังนี้ ISO 9001:2008 : ระบบการบริหารคุณภาพทั้งในระบบสวนโรงงาน และสวนสำนักงาน OHSAS 18001:2007 : ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 14001:2004 : ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม (ไดรับการรับรอง เมือ่ 22 พฤศจิกายน 2552) Upgrade การรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 เปน ISO 9001:2008 และมีการเปลีย่ นนโยบายคุณภาพ

โครงการในอนาคต โครงการสายการผลิตแผนผนังแบบไมมใี ยหิน (Autoclave Cured) (โครงการ NT9) ตามที่บริษัทฯ ไดทำสัญญาซื้อเครื่องจักรสายการผลิต NT9 กับบริษัท MFL Faserzementanlagen Ges.m.b.H แหงประเทศ ออสเตรีย เมือ่ ตนป 2551 โดยสายการผลิต NT9 จะใชผลิตแผนผนังและไมสงั เคราะหตา งๆ แบบไมมใี ยหิน (Autoclave Cured) เพือ่ เพิม่ ความหลาก หลายดานผลิตภัณฑและเพิม่ ศักยภาพในการแขงขัน สายการผลิตใหมสามารถผลิตแผนผนังไดประมาณ 50,000 ตันตอป ใชงบลงทุนทัง้ โครงการ ประมาณ 465 ลานบาท ระยะเวลาในการติดตัง้ ประมาณ 22 เดือน คาดวาจะสามารถผลิตสินคาออกจำหนายไดในเดือนกุมภาพันธ 2553

18

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 18

1/3/08 5:10:04 AM


ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน 1.) ลักษณะผลิตภัณฑ บริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจในการผลิตและจำหนายผลิตภัณฑหลังคา แผนผนัง ไมสงั เคราะห และอุปกรณประกอบตางๆ รวมทัง้ การใหบริการ เกีย่ วกับการบริการถอดแบบและติดตัง้ หลังคา ดังตอไปนี้ 1.1) กลุมผลิตภัณฑหลังคา (Tiles) ไดแก กลุม กระเบือ้ งหลังคาไฟเบอรซเี มนต (Fiber Cement Tile) กลุม กระเบือ้ งคอนกรีต (Concrete Tile) และกลุม กระเบือ้ งเจียระไน ( Jearanai Tile) เปนตน 1.2) กลุมผลิตภัณฑแผนผนังและฝา (Diamond Board & Ceiling) ไดแก แผนผนัง (Board) แผนฝา (Ceiling) เปนตน 1.3) กลุมผลิตภัณฑไมสังเคราะห (Diamond Siding Board) ไดแก ไมฝา (Siding Board) ไมระแนง (Lath) และไมเชิงชาย (Eaves) เปนตน 1.4) อุปกรณประกอบ (Accessories) ไดแก แป (Batten) แผนสะทอนความรอน (Foil) แผนปดชายกันนก (Bird Guard) สีทาปูน ทราย (Paint) เปนตน 1.5) การใหบริการถอดแบบและติดตั้งหลังคา จากทีมงานที่มีความชำนาญและผานการอบรมจากบริษัทฯ

2.) การตลาดและการแขงขัน 2.1) ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน ในรอบป 2552 ทีผ่ า นมา ภาวะเศรษฐกิจในประเทศเริม่ กลับมาฟน ตัว ภาวะการเมืองในประเทศเริม่ มีเสถียรภาพ ภาครัฐมีความ ชัดเจนในการผลักดันโครงการสาธารณูปโภคและออกมาตรการสนับสนุนภาคอสังหาริมทรัพยอยางตอเนื่อง เพื่อเปนการกระตุน เศรษฐกิจขณะที่ภาคเอกชนเริ่มมีความมั่นใจกลับเขามาลงทุน สงผลใหมีการกอสรางบานที่อยูอาศัย รวมทั้งโครงการบานจัดสรร เพิม่ ขึน้ อยางไรก็ตามภาวะการแขงขันยังคงมีอยู ก.) ผูประกอบการในอุตสาหกรรม ผู ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมหลั ง คาและไม สั ง เคราะห ยั ง คงเป น การแข ง ขั น ในกลุ ม ผู ป ระกอบการรายเดิ ม เช น กลุม ปูนซิเมนตไทย กลุม มหพันธ กลุม กระเบือ้ งโอฬาร และกระเบือ้ งตราเพชร โดยผูป ระกอบการแตละรายจะแขงขันในการ พัฒนาสินคาใหม เพือ่ รองรับความตองการของผูบ ริโภคทีม่ คี วามตองการทีห่ ลากหลายมากขึน้ ข.) ภาวะการแขงขันตลาดในประเทศ ตลาดในประเทศโดยรวมมีความตองการเพิม่ ขึน้ จากปกอ น เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจทีป่ รับตัวดีขนึ้ โดยเฉพาะราคาพืชผล ภาคเกษตรกรรมสูงขึ้น สงผลใหตลาดมีกำลังซื้อมากขึ้น ทั้งนี้ผลิตภัณฑสวนใหญของบริษัทฯ มีการขายผานชองทางการ จัดจำหนายในตางจังหวัดเปนหลัก ทำใหยอดขายของบริษทั ฯ ปรับตัวสูงขึน้ อยางไรก็ดรี าคาเปนสวนสำคัญในการตัดสินใจของ ผูบ ริโภค ดังนัน้ ผูป ระกอบการสวนใหญมกี ารจัดรายการสงเสริมการขายในรูปแบบตางๆ เพือ่ การแขงขันในการชวงชิงตลาด

สำหรับสวนแบงทางการตลาดในป 2551 มีรายละเอียด ดังนี้ ผูประกอบการ (หนวย : ลานบาท) 1. กลุมปูนซิเมนตไทย 2. กลุมมหพันธ 3. กระเบื้องตราเพชร 4. กลุมกฤษณ (กระเบื้องโอฬาร) 5. กระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย 6. ศรีกรุงธนบุรี รวม

ยอดขาย ป 2551 9,442.55 5,287.85 2,484.09 1,954.77 635.08 225.79 20,030.13

สัดสวนยอดขาย 47.14 % 26.40 % 12.40 % 9.76 % 3.17 % 1.13 % 100.00 %

ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

ในป 2552 มูลคานำเขาจากตางประเทศของกระเบื้องหลังคา 208.13 ลานบาท ลดลง 44.83% จากป 2551 รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 19

19

1/3/08 5:10:05 AM


ค.) ภาวะการแขงขันตลาดตางประเทศ ในป 2552 มูลคาการสงออกกระเบือ้ งหลังคาจากประเทศไทยไปยังตลาดตางประเทศ 767.74 ลานบาท ลดลง 2.78% จาก ป 2551 ซึง่ แยกตามประเภทสินคาและแยกตามประเทศคูค า ไดดงั นี้

มูลคาการสงออกกระเบือ้ งหลังคา รายการสินคา (หนวย : ลานบาท) กระเบื้องไฟเบอรซีเมนต กระเบื้องคอนกรีต รวมมูลคาสงออก อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (ลดลง) (%)

ป 2552 544.58 223.16 767.74 (2.78 %)

ป 2551 552.70 236.96 789.66 38.12 %

ป 2550 407.58 164.16 571.74 (0.49 %)

ที่มา: กรมศุลกากร

ประเทศคูค า ประเทศคูคา (หนวย : ลานบาท) ลาว กัมพูชา พมา อื่นๆ รวมมูลคาการสงออก

กระเบื้องไฟเบอรซีเมนต 363.46 175.06 5.69 0.37 544.58

สัดสวน 66.74 % 32.15 % 1.04 % 0.07 % 100.00 %

กระเบื้องคอนกรีต 39.45 135.43 29.31 18.97 223.16

สัดสวน 17.68 % 60.69 % 13.13 % 8.50 % 100.00 %

ที่มา: กรมศุลกากร บริษทั ฯ สงออกสินคาไปประเทศเพือ่ นบานทีม่ พ ี นื้ ทีต่ ดิ กับประเทศไทยเปนหลัก ไดแก ลาว กัมพูชา มาเลเซีย และพมา เนือ่ งจากเปนสินคา ทีม่ นี ำ้ หนักมากแตกเสียหายงาย และมีคา ขนสงสูง จึงมีขอ จำกัดในการขนสงระยะทางไกล ง.) แนวโนมการแขงขันในอนาคต กลุมผลิตภัณฑหลังคา ผูประกอบการแตละรายมีการนำเสนอรูปลอนใหมๆ ใหเกิดความแตกตางจากที่มีอยูใน ปจจุบนั เขาสูท อ งตลาดสอดคลองกับความตองการของผูบ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไปรวมทัง้ สถาปนิกผูอ อกแบบทีม่ คี วามตองการสราง ความแตกตางของโครงการ กลุมไมสังเคราะห และแผนผนัง เปนสินคาที่ไดรับความนิยมอยางตอเนื่องและมีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น ในขณะที่ผู บริโภคมีความตองการทีห่ ลากหลาย จึงเปนโอกาสใหผปู ระกอบการสวนใหญใหความสำคัญในการพัฒนาสินคากลุม ดังกลาว เพือ่ ตอบสนองความตองการของผูบ ริโภค โดยนำเสนอผานชองทางการจัดจำหนายในรูปแบบทีแ่ ตกตางกัน 2.2) ลักษณะลูกคา กลุมลูกคาเปาหมาย และชองทางการจำหนาย บริษทั ฯ มีการจำหนายสินคาทัง้ ตลาดในประเทศและตางประเทศ โดยสัดสวนรายไดจากการขายสินคามีดงั นี้ รายไดจากการขายสินคา (หนวย : ลานบาท) ในประเทศ ตางประเทศ รวม 20

ป 2552

สัดสวน

ป 2551

สัดสวน

ป 2550

สัดสวน

2,374.91 296.21 2,671.12

88.91 % 11.09 % 100.00 %

2,073.22 307.19 2,380.41

87.10 % 12.90 % 100.00 %

2,253.26 235.26 2,488.52

90.55 % 9.45 % 100.00 %

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 20

1/3/08 5:10:06 AM


บริษทั ฯ มีชอ งทางการจำหนายสินคาหลัก 3 ชองทาง ดังนี้ กลุมลูกคาตัวแทนจำหนาย (Agent) ปจจุบันมีตัวแทนจำหนายและรานคาชวงมากกวา 3,000 รายกระจายทั่วประเทศ กลุมลูกคาโครงการ (Project) ปจจุบันมีการจำหนายโดยตรงกับงานโครงการตางๆ ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และ ตางจังหวัด ตลาดตางประเทศ (Export) ปจจุบนั มีการจำหนายสินคาใหลกู คาประเทศเพือ่ นบาน ไดแก ลาว กัมพูชา พมา และจีน สัดสวน รายไดจากการสงออกลดลงเล็กนอยจากปกอ น เนือ่ งจากสภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ในป 2553 บริษทั ฯ จะพัฒนาตลาดตาง ประเทศมุง เนนการขยายตลาดไปในประเทศจีน มาเลเซีย และอินเดีย เปนตน 2.3) กลยุทธในการแขงขัน บริษทั ฯ ไดกำหนดกลยุทธใหสอดคลองกับวิสยั ทัศน พันธกิจ และคานิยมองคกรของบริษทั ฯ ดังตอไปนี้ ก.) พัฒนาการบริการใหสูความเปนเลิศ บริษทั ฯ ยังคงมุง มัน่ พัฒนาการใหความรูแ ละสรางความสัมพันธทดี่ รี ะหวางบริษทั ฯ กับลูกคาทุกกลุม เชน การจัดอบรม ชางประจำรานคา การพัฒนาพนักงานขายหนาราน รวมทั้งผูบริหารรานคาตัวแทนจำหนายอยางตอเนื่อง มีการจัดทำแบบ สอบถามความพึงพอใจของลูกคาทีม่ ตี อ การบริการของบริษทั ฯ เพือ่ นำมาปรับปรุงการบริการใหดยี งิ่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั เพิม่ ชอง ทางการสือ่ สารกับบริษทั ฯ ผาน Call Center ไดทหี่ มายเลข 0 - 2619 - 2333 ข.) พัฒนาการสงมอบสินคาใหตรงเวลาอยางมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ยังคงมุง มัน่ ในการรักษามาตรฐานการใหบริการสงมอบสินคาใหตรงเวลาอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามนโยบาย การสงมอบสินคาใหถงึ มือลูกคาภายใน 24 ชัว่ โมง โดยในป 2552 ไดเพิม่ การขนสงโดยใชรถ 4 ลอขนาดกลางเพือ่ รองรับคำสัง่ ซือ้ ทีม่ คี วามจำเปนเรงดวน มีการปรับปรุงระบบการจัดสงสินคาทัง้ ระบบใหมคี วามเชือ่ มโยงกัน ตัง้ แตการผลิต การเก็บสินคา การรับคำสัง่ ซือ้ การขนยายสินคาจากคลังสินคาขึน้ รถบรรทุก รวมทัง้ การบริการหลังการขายเพือ่ สรางความแตกตางทีด่ กี วา มี การเยีย่ มลูกคาและใหคำแนะนำในเรือ่ งโลจิสติก และการกองเก็บสินคาอยางมีประสิทธิภาพ ค.) พัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อความแตกตางที่ดีกวา บริษทั ฯ มีนโยบายเกีย่ วกับการพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ ออกสูต ลาด เพือ่ เพิม่ ความหลากหลายของผลิตภัณฑ โดยใน ป 2552 บริษัทฯ ไดดำเนินการวิจัยพัฒนาทดลองการผลิตสินคาใหมีตนทุนต่ำลง การพัฒนาผลิตสีขึ้นมาใชเองเพื่อ ลดปญหาคุณภาพสี และการออกผลิตภัณฑใหม ‘จตุลอน’ ซึง่ ไดจะออกสูต ลาดในป 2553 สำหรับในป 2552 บริษทั ฯ ไดพฒ ั นาสินคาใหมในกลุม แผนผนัง ไมระแนง ไมเชิงชาย ซึง่ เปนสินคาทีผ่ ลิตจากสายการผลิต ใหมเขาสูต ลาด โดยจะเริม่ จำหนายตนป 2553 เพือ่ รองรับความตองการของตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้ ง.) กำหนดราคาที่เปนธรรมและแขงขันได บริษทั ฯ ยังคงใชนโยบายการกำหนดราคาทีเ่ ปนธรรมและสามารถแขงขันได โดยเนนถึงคุณภาพบนความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ การใหสว นลดทีเ่ หมาะสมกับลูกคา เพือ่ เปาหมายทีแ่ ขงขันไดและรักษาอัตราผลกำไรทีย่ อมรับได จ.) พัฒนาชองทางการจัดจำหนายใหเขมแข็ง บริษทั ฯ ยังคงมุง เนนการพัฒนาตัวแทนจำหนายของบริษทั ฯ ใหมคี วามเขมแข็งและเปนกำลังสำคัญในการผลักดันสินคา ของบริษทั ฯ โดยจัดอบรมพัฒนาใหความรูใ นดานตางๆ ทีเ่ หมาะสม และสอดคลองกับรูปแบบการทำการคาในแตละกลุม ราน คาอยางตอเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ฉ.) พัฒนาจุดกระจายสินคาสวนภูมิภาค (HUB) บริษทั ฯ ยังคงเพิม่ ประสิทธิภาพในการแขงขันและเปนการตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุม โดยไดจดั ตัง้ ศูนย กระจายสินคาสวนภูมภิ าคขึน้ ในการใหบริการกับลูกคาในพืน้ ทีภ่ าคอีสานตอนบน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการแขงขันในเรือ่ งการ จัดสงสินคาใหลกู คาในพืน้ ทีไ่ ดรวดเร็วยิง่ ขึน้

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 21

21

1/3/08 5:10:06 AM


3.) การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 3.1) การผลิต บริษทั ฯ ใชนโยบายผลิตเต็มกำลังการผลิต เพือ่ รักษาระดับการผลิตใหสม่ำเสมอตลอดทัง้ ป เพือ่ ลดตนทุนการผลิต และเพิม่ สตอก สำหรับขายในชวงทีม่ ยี อดขายสูงกวากำลังการผลิตทีม่ อี ยู โดยในป 2552 ใชกำลังการผลิตประมาณ 85% (ไดมกี ารปรับปรุง Lead Time ในกระบวนการผลิต) ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากป 2551 ทีใ่ ชอตั รากำลังการผลิตประมาณ 81% เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว 3.2) การจัดหาวัตถุดิบ วัตถุดบิ ทีใ่ ชในกระบวนการผลิตมีการจัดซือ้ มาจากทัง้ ในประเทศและตางประเทศดังนี้ ก.) ในประเทศ เปนวัตถุดบิ ทีม่ แี หลงผลิตภายในประเทศ เชน ปูนซีเมนตปอรตแลนด ทราย สีชนิดตางๆ เยือ่ กระดาษ และวัตถุดบิ อืน่ ๆ โดยมีสดั สวนการซือ้ วัตถุดบิ ภายในประเทศเพิม่ ขึน้ จาก 57.05% ในป 2551 มาเปน 61.68% ในป 2552 เนือ่ งจากภาวะ เศรษฐกิจทีด่ ขี นึ้ สงผลใหการผลิตโดยรวมเพิม่ ขึน้ ข.) ตางประเทศ เปนวัตถุดบิ ทีม่ แี หลงผลิตภายนอกประเทศ เชน ใยหิน ใยสังเคราะห และเยือ่ กระดาษ เปนตน โดยมีสดั สวนการซือ้ วัตถุดบิ จากตางประเทศลดลงจาก 42.95% ในป 2551 มาเปน 39.32% ในป 2552 เนือ่ งจากมีการใชวตั ถุดุ บิ ทดแทนในประเทศเพิม่ ขึน้ เชน เยือ่ กระดาษ เปนตน 3.3) สภาพปญหาเกี่ยวกับวัตถุดิบ บริษทั ฯ ไมเคยประสบปญหาการขาดแคลนวัตถุดบิ ทีใ่ ชในการผลิต เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีการบริหารจัดการและมีการวางแผนใน การสัง่ ซือ้ เปนอยางดี รวมทัง้ มีการสัง่ ซือ้ จากคูค า หลายรายของแตละประเภท รวมทัง้ บริษทั ฯ มีวงเงินสินเชือ่ หมุนเวียนอยางเพียงพอ และมีความสัมพันธอนั ดีกบั คูค า อยางยาวนาน ทำใหบริษทั ฯ ไดรบั ความเชือ่ ถือจากคูค า เปนอยางดี 3.4) ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตลอดระยะ 4 ปทผี่ า นมา บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและขอกำหนดดานสิง่ แวดลอมของกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงมหาดไทยอยางเครงครัด โดยบริษัทฯ ประกอบกิจการ ภายใตความรับผิดชอบตอสังคมและปองกันผลกระทบตอสิง่ แวดลอม 3.4.1.) การตรวจติดตามปริมาณฝุน Chrysotile ในพื้นที่การทำงาน บริเวณ พื้นที่เตรียมวัตถุดิบ FC พื้นที่ตัด / ลบมุมกระเบื้อง พื้นที่ปนครอบ คลังเก็บ Chrysotile

คาที่ตรวจวัดได < 0.001 - 0.002 เสนใย < 0.001 เสนใย < 0.001 เสนใย < 0.001 เสนใย

มาตรฐาน ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร ไมเกิน 2 เสนใยตอบรรยากาศหนึ่งลูกบาศกเซนติเมตร

ที่มา : รายงานผลการตรวจวัดสภาพแวดลอม เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 โดย บริษัท เฮลธ แอนด เอ็นไวเทค จำกัด

3.4.2.) การตรวจติดตามคุณภาพอากาศจากปลองของโรงงาน รายการที่ตรวจ ฝุนทั่วไป ซัลเฟอรไดออกไซด คารบอนมอนอกไซด ไนโตรเจนไดออกไซด ไซลีน

คาที่ตรวจวัดได 0.66 mg/m3 0 ppm 16 ppm 13.36 ppm 0.06 – 2.37 ppm

มาตรฐาน ไมเกิน 320 mg/m3 ไมเกิน 60 ppm ไมเกิน 690 ppm ไมเกิน 200 ppm ไมเกิน 200 ppm

ที่มา : รายงานผลการตรวจวัดสภาพแวดลอม เมื่อวันที่ 27-28 พฤษภาคม 2552 โดย บริษัท เฮลธ แอนด เอ็นไวเทค จำกัด

22

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 22

1/3/08 5:10:07 AM


ทัง้ นี้ ผลการตรวจวัดทัง้ คุณภาพอากาศในสถานทีท่ ำงาน คุณภาพอากาศจากปลองตลอดป 2552 ไมพบวาเกินคามาตรฐาน สิง่ แวดลอม สำหรับการบำบัดน้ำเสีย บริษัทฯ ไดทำการติดตั้งระบบบอพักน้ำดางเพื่อนำน้ำกลับเขามาใชในกระบวนการผลิตอีก ครัง้ สำหรับการลดมลภาวะทางอากาศซึง่ เกิดจากฝุน ในการตัดกระเบือ้ งและสารระเหยทีใ่ ชเคลือบกระเบือ้ ง บริษทั ฯ ไดทำการติดตัง้ ระบบกำจัดฝุน แบบแหง หองดูดไอสารระเหย และระบบดักฝุน กลิน่ สีในกระบวนการผลิต รวมทัง้ สรางอาคารเก็บขยะอันตราย การลงทุนเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในระยะเวลา 4 ปที่ผานมาดังนี้ ป 2549 2550 2551 2552

รายการ บำบัดอากาศ และน้ำเสีย บำบัดอากาศ และน้ำเสีย บำบัดอากาศ น้ำเสีย และขยะอันตราย บอพักน้ำดาง และการกำจัดขยะ

จำนวนเงิน (ลานบาท) 2.05 2.12 15.28 2.75

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 23

23

1/3/08 5:10:07 AM


โครงสรางองคกร คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

สำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล

คณะกรรมการจัดการ

กรรมการผูจัดการ สำนักงานลงทุนสัมพันธ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สำนักงานนิติกรรม รองกรรมการผูจัดการสายการขายและการตลาด

ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการขายและการตลาด

24

รองกรรมการผูจัดการสายการผลิตและวิศวกรรม

ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการบัญชีและการเงิน

ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการผลิตและวิศวกรรม

ฝายขาย

ฝายบัญชีและการเงิน

ฝายวิศวกรรมและซอมบำรุง

ฝายการตลาด

ฝายสารสนเทศ และระบบมาตรฐาน

ฝายเทคโนโลยี

ฝายโลจิสติกและบริการลูกคา

ฝายทรัพยากรบุคคล

ฝายผลิตกระเบื้องไฟเบอรซีเมนต

สวนขายตางประเทศ

แผนกจัดซื้อ

ฝายผลิตกระเบื้องคอนกรีต

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 24

1/3/08 5:10:08 AM


โครงสรางผูถ อื หุน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผูถือหุน 10 รายแรก บริษัท มายเรียด วัสดุ จำกัด บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) นายประกิต ประทีปะเสน นายอนันต เหลาพาณิชย บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด นางศิริวรรณ จึงธีรพานิช ดร.บูรณะ ชวลิตธำรง บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) นายสมบูรณ ภูวรวรรณ นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย ผูถือหุนอื่น จำนวนหุนสามัญทั้งหมด

จำนวนหุน 733,250,000 37,376,800 18,969,500* 14,280,000 10,688,100 10,000,000 9,400,000 8,563,600 5,970,000 5,600,000 151,868,700 1,005,966,700

อัตราสวนการถือหุน 72.89 % 3.72 % 1.89 % 1.42 % 1.06 % 0.99 % 0.93 % 0.85 % 0.59 % 0.56 % 15.10 % 100.00 %

* จำนวนหุนที่ถือนับรวมหุนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

บริษทั ฯ ไดกำหนดรายชือ่ ผูถ อื หุน ทีม่ สี ทิ ธิในการเขารวมประชุมใหญสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 25 (ประจำป 2553) และสิทธิในการรับเงินปนผล (Record Date) ในวันอังคารที่ 9 มีนาคม 2553 และใหรวบรวมรายชือ่ ผูถ อื หุน ตามมาตรา 225 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยวิธปี ด สมุดทะเบียนพักการโอนหุน ในวันพุธที่ 10 มีนาคม 2553 ปจจุบนั บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด เปนผูถ อื หุน รายใหญของบริษทั ฯ โดยมีกลุม นายชัยยุทธ ศรีวกิ รม กลุม นายประกิต ประทีปะเสน และกลุม คุณหญิงศศิมา ศรีวกิ รม เปนผูถ อื หุน ใหญโดยทางตรงและทางออม ในสัดสวนรอยละ 40.00 รอยละ 25.11 และรอยละ 25.00 ตามลำดับ ทัง้ นี้ ตัวแทนของกลุม บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด ทีด่ ำรงตำแหนงกรรมการในบริษทั ฯ มีทงั้ หมด 4 คน ประกอบดวย นายประกิต ประทีปะเสน นายชัยยุทธ ศรีวกิ รม นายเจมส แพ็ทตริค รูนยี่  และนายไพฑูรย กิจสำเร็จ แตอยางไรก็ตามการอนุมตั ริ ายการระหวางกัน คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดกำหนดมาตรการหรือขัน้ ตอนอนุมตั ริ ายการทีม่ คี วามขัดแยงทาง ผลประโยชน โดยใหผา นการกลัน่ กรองจากคณะกรรมการตรวจสอบกอน โดยบุคคลทีอ่ าจมีสว นไดเสียจะไมสามารถอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วของกับตน ได กอนเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน อนุมตั ิ โดยบริษทั ฯ จะเปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ของบริษทั ฯ

คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน มีหนาทีพ ่ ิจารณาผลตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร โดยกำหนดหลักเกณฑใหมีการ เปรียบเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งไดกลั่นกรองและพิจารณาอยาง ละเอียดถึงความเหมาะสม รวมถึงพิจารณาจากการขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโตทางผลกำไรของบริษทั ฯ เปนสำคัญ แลวเสนอความเห็นตอคณะ กรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาผลตอบแทนผูบ ริหารของบริษทั ฯ สำหรับผลตอบแทนกรรมการของบริษทั ฯ ใหนำเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 25

25

1/3/08 5:10:08 AM


1.) คาตอบแทนทีเ่ ปนตัวเงิน 1.1) คาตอบแทนของกรรมการ (สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552) ชื่อ - นามสกุล

(หนวย : ลานบาท)

คาตอบแทน โบนัส คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา กรรมการ ตรวจสอบ และพิจารณาผลตอบแทน

1. นายประกิต ประทีปะเสน 2. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม 3. นายเจมส แพ็ทตริค รูนี่ย 4. นายไพฑูรย กิจสำเร็จ 5. นายสมบูรณ ภูวรวรรณ 6. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย (เริ่ม 17/04/2552) นายสุวิทย นาถวังเมือง (ลาออก 17/04/2552) 7. นายอนันต เลาหเรณู 8. นายอัศนี ชันทอง 9. นายสาธิต สุดบรรทัด รวม

0.72 0.36 0.36 0.36 0.36 0.27 0.09 0.36 0.36 0.36 3.60

0.36 0.14 0.04 0.18 0.72

0.24 0.12 0.03 0.12 0.51

0.30 0.20 0.20 0.20 0.20 0.20 0.20 0.20 0.20 1.90

รวม คาตอบแทน

1.02 0.80 0.56 0.68 0.92 0.41 0.36 0.86 0.56 0.56 6.73

สรุปเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทน

(หนวย : ลานบาท)

คาตอบแทน โบนัสกรรมการ รวม

ป 2552 จำนวนคน จำนวนเงิน 9 4.83 9 1.90 6.73

ป 2551 จำนวนคน จำนวนเงิน 9 4.60 9 1.90 6.50

ป 2550 จำนวนคน จำนวนเงิน 9 3.50 9 1.42 4.92

ในป 2550 บริษทั ฯ ไดเริม่ จายคาตอบแทนกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทนจำนวน 4 คนตามมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 22 (ประจำป 2550) ตัง้ แตเดือน เมษายน 2550 เปนตนไป

1.2) คาตอบแทนของผูบริหาร ป 2552 คาตอบแทน (หนวย : ลานบาท) จำนวนคน จำนวนเงิน 6 18.70 เงินเดือน 6 5.65 โบนัส และอื่นๆ 6 0.65 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 25.00 รวม

ป 2551 จำนวนคน จำนวนเงิน 6 17.81 6 3.05 6 0.69 21.55

ป 2550 จำนวนคน จำนวนเงิน 6 16.34 6 4.75 6 0.63 21.72

2.) คาตอบแทนอืน่ บริษทั ฯ ไดจดั โครงการเสนอขายหลักทรัพยใหแกกรรมการและ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ (ESOP) ซึง่ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมวิสามัญ ผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 1/2551 เมือ่ วันที่ 17 มิถนุ ายน 2551 ใหออกใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 49,650,000 หนวย ใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั ฯ โดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) มีมติอนุญาตใหบริษทั ฯ เสนอขายหลักทรัพยดงั กลาวเมือ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2551 ซึง่ สามารถดูรายละเอียดของโครงการและรายงานผลการใชสทิ ธิไดจากเว็บไซตของบริษทั ฯ 26

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 26

1/3/08 5:10:08 AM


โครงสรางการบริหารจัดการ โครงสรางการบริหารจัดการ ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัทฯ คณะอนุกรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ ซึ่งมีองคประกอบ คุณสมบัติ บทบาท หนาทีค่ วามรับผิดชอบทีส่ ำคัญและแตกตางกัน โดยในปจจุบนั ไดกำหนดไวในคูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance Handbook) อยางชัดเจนซึง่ ไดเผยแพรบนเว็บไซตบริษทั ฯ ในสวนของขอมูลนักลงทุน เพือ่ เปนแนวทางใหกรรมการและผูบ ริหารไดยดึ เปนหลักในการปฏิบตั งิ าน สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้

1.) คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบดวยผูท รงคุณวุฒใิ นสาขาตางๆ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ มีประสบการณ มีภาวะผูน ำ มีวสิ ยั ทัศน มีความ เปนอิสระในการตัดสินใจ อุทศิ เวลาและพยายามอยางเต็มทีใ่ นการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซือ่ สัตยสจุ ริต เพือ่ ประโยชนสงู สุด ของบริษทั ฯ ผูถ อื หุน และผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวน 9 คน ประกอบดวย กรรมการอิสระ 3 คน กรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหาร 4 คน และกรรมการทีเ่ ปนผูบ ริหาร 2 คน ชื่อ

ตำแหนง

นายประกิต ประทีปะเสน นายชัยยุทธ ศรีวิกรม นายเจมส แพ็ทตริค รูนี่ย นายไพฑูรย กิจสำเร็จ นายสมบูรณ ภูวรวรรณ นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย นายสุวิทย นาถวังเมือง 7. นายอนันต เลาหเรณู 8. นายอัศนี ชันทอง 9. นายสาธิต สุดบรรทัด 10. นางสาวธนกานต พันธาภิรัตน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ (เริ่ม 17/04/2552) กรรมการอิสระ (ลาออก 17/04/2552) กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการผูจัดการ กรรมการ / รองกรรมการผูจัดการ เลขานุการบริษัท (เริ่ม 01/08/2551)

1. 2. 3. 4. 5. 6.

การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (ครั้ง) ป 2552 ป 2551 12/12 11/12 9/12 12/12 11/12 9/12 2/12 10/12 12/12 12/12 12/12

13/13 12/13 11/13 10/13 13/13 13/13 13/13 13/13 13/13 13/13

กรรมการผูม อี ำนาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั ฯ คือ นายประกิต ประทีปะเสน นายชัยยุทธ ศรีวกิ รม นายเจมส แพ็ทตริค รูนยี่  นายไพฑูรย กิจสำเร็จ นายอัศนี ชันทอง และนายสาธิต สุดบรรทัด กรรมการสองในหกคนนีล้ งลายมือชือ่ รวมกัน และประทับตราสำคัญของบริษทั ฯ

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ กำหนดนโยบาย เปาหมาย แผนงาน และงบประมาณประจำป ตลอดจนกำกับดูแลการบริหารงานของกรรมการ และผูบ ริหารใหปฏิบตั หิ นา ทีต่ ามทีไ่ ดรบั มอบหมายอยางมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดใหมกี ารติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านอยางสม่ำเสมอ กำหนดใหมรี ะบบการควบคุม ภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ กำหนดแนวทางในการทำรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงของผลประโยชน กำหนดใหมกี าร ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และการประชุมผูถ อื หุน รวมทัง้ การจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน การสือ่ สารและการเปดเผยขอมูลของบริษทั ฯ ใหผทู ี่ เกีย่ วของทราบอยางเพียงพอและสม่ำเสมอ สงเสริมใหพนักงานทุกระดับมีจติ สำนึกในจริยธรรมและคุณธรรม และเปดโอกาสใหสทิ ธิแกกรรมการทุก คน ในการเสนอวาระการประชุมเปนการลวงหนา เพือ่ เลขานุการบริษทั ฯ ไดบรรจุเปนวาระการประชุมตอไป คณะกรรมการบริษทั ฯ เปนผูแ ตงตัง้ เลขานุการบริษทั ฯ เพือ่ ใหมหี นาทีใ่ นการจัดเตรียมการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ดูแลกิจกรรม ของคณะกรรมการบริษทั ฯ และติดตามใหมกี ารปฏิบตั อิ ยางถูกตองและสม่ำเสมอ รวมถึงรายงานการเปลีย่ นแปลงทีม่ นี ยั สำคัญแกกรรมการ รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 27

27

1/3/08 5:10:09 AM


2.) คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดแตงตัง้ คณะอนุกรรมการ 3 คณะดังนี้ 2.1.) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวนอยางนอย 3 คน มีวาระการดำรงตำแหนง 3 ป ผานการสรรหาจากคณะกรรมการ ก.ส.ต. เมือ่ กรรมการตรวจสอบครบวาระการดำรงตำแหนงหรือมีเหตุใดทีก่ รรมการตรวจสอบไมสามารถอยูไ ด จนครบวาระ มีผลใหจำนวนสมาชิกนอยกวาจำนวนทีก่ ำหนด คณะกรรมการบริษทั ฯ หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน จะตองแตงตัง้ กรรมการตรวจสอบรายใหม ใหครบถวนในทันทีหรืออยางชาภายใน 3 เดือนนับแตวันที่จำนวนสมาชิกไมครบถวน เพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการดำเนินงาน และตองมี องคประกอบและคุณสมบัตคิ รบตามหลักเกณฑทสี่ ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประกาศกำหนด โดยบริษทั ฯ จะตองมีคณะกรรมการตรวจสอบไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ คณะซึง่ ตองประกอบดวยกรรมการอิสระอยาง นอย 3 คน โดย 1 คนจะตองมีความรูด า นบัญชีและการเงินและจะตองไดรบั การแตงตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ทัง้ นีใ้ น ป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมจำนวน 8 ครัง้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีกรรมการตรวจสอบทัง้ หมดจำนวน 3 คน ประกอบดวย ชื่อ

ตำแหนง

1. นายสมบูรณ ภูวรวรรณ 2. นายศักดา มณีรัตนฉัตรชัย นายสุวิทย นาถวังเมือง 3. นายอนันต เลาหเรณู*

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ (เริ่ม 17/04/2552) กรรมการตรวจสอบ (ลาออก 17/04/2552) กรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (ครั้ง) ป 2552 ป 2551 8/8 5/8 3/8 8/8

9/9 9/9 9/9

*นายอนันต เลาหเรณู เปนกรรมการตรวจสอบทีม่ คี วามรูแ ละประสบการณเพียงพอทีจ่ ะสามารถทำหนาทีใ่ นการสอบทานความนาเชือ่ ถือของงบการเงิน ของบริษทั ฯ โดยมีนายสามารถ วิรยิ ะขัตติยาภรณ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ สอบทานใหบริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ สอบทานระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีม่ คี วามเหมาะสมและมีประสิทธิผล พิจารณาคัดเลือกและเสนอแตงตัง้ ผูส อบบัญชีและเสนอคาตอบแทนของ ผูส อบบัญชี โดยคำนึงถึงความนาเชือ่ ถือ รวมทัง้ เขารวมประชุมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุมดวย อยางนอยปละ 1 ครัง้ พิจารณา รายการเกีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการ ขอมูลประจำป (แบบ 56-1) และรายงานประจำป (แบบ 56-2) ของบริษัทฯ สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั ฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ จัดใหมสี ำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล มีหนาทีด่ แู ลและสอบทานใหมกี ารปฏิบตั งิ านเปนไปตามระบบงานหรือ ตามมาตรฐานการควบคุมภายในทีก่ ำหนดและเปนผูป ระสานงาน สนับสนุนและชวยเหลืองานคณะกรรมการตรวจสอบในการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยผูจ ดั การสำนักตรวจสอบภายในและกำกับดูแลไดรบั การแตงตัง้ เปนเลขานุการกรรมการตรวจสอบโดยตำแหนง

2.2.) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน (ก.ส.ต.) คณะกรรมการ ก.ส.ต. (Nomination and Remuneration Committee) ประกอบดวยกรรมการทีไ่ มไดเปนผูบ ริหารอยางนอย 3 คน และอยางนอย 1 คนตองเปนกรรมการอิสระ ซึง่ ไดรบั การแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ มีวาระการดำรงตำแหนง 3 ป โดยใหคณะกรรมการ ก.ส.ต. เปนผูพ  จิ ารณาคัดเลือกและแตงตัง้ กรรมการ ก.ส.ต. 1 คน ใหดำรงตำแหนงประธานกรรมการ ก.ส.ต. เมือ่ คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีจำนวน สมาชิกนอยกวาจำนวนทีก่ ำหนด คณะกรรมการบริษทั ฯ จะพิจารณาคัดเลือกและแตงตัง้ กรรมการ ก.ส.ต. รายใหมใหครบถวนภายใน 3 เดือน เพือ่ ใหเกิดความตอเนือ่ งในการดำเนินงาน

28

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 28

1/3/08 5:10:09 AM


ทัง้ นีใ้ นป 2552 คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีการประชุมรวมจำนวน 6 ครัง้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีกรรมการ ก.ส.ต.ทัง้ หมดจำนวน 3 คน ประกอบดวย ชื่อ

ตำแหนง

1. นายชัยยุทธ ศรีวิกรม 2. นายไพฑูรย กิจสำเร็จ 3. นายอนันต เลาหเรณู

ประธานกรรมการ ก.ส.ต. กรรมการ ก.ส.ต. กรรมการ ก.ส.ต.

การประชุมคณะกรรมการ ก.ส.ต. (ครั้ง) ป 2552 ป 2551 6/6 6/6 6/6

6/6 6/6 6/6

โดยมีนายอัศนี ชันทอง กรรมการผูจ ดั การ เปนเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการ ก.ส.ต. สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ คณะกรรมการ ก.ส.ต. มีหนาทีต่ ามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยจะตองปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซือ่ สัตยสจุ ริต ดังตอไปนี้ 1.) การพิจารณาสรรหากรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ดำเนินการดังตอไปนี้ ก.) พิจารณากำหนดและทบทวนโครงสรางและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และผูบ ริหารใหเหมาะสม พิจารณา หลักเกณฑและกระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำรงตำแหนงกรรมการ แลวเสนอความเห็นตอ คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ เสนอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน พิจารณาอนุมตั แิ ตงตัง้ ตอไป ข,) พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ ใหดำรงตำแหนงผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การขึน้ ไป และเลขานุการบริษทั ฯ เพือ่ เสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ ในกรณีทตี่ ำแหนงดังกลาววางลง รวมทัง้ กำหนดหลักเกณฑการ พิจารณาผูสืบทอด และปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหดำเนินการเกี่ยวกับการสรรหา กรรมการและผูบ ริหารของบริษทั ฯ 2.) การพิจารณาผลตอบแทนกรรมการและพนักงานของบริษัทฯ ดำเนินการดังตอไปนี้ ก.) พิจารณากำหนดรูปแบบและหลักเกณฑการจายผลตอบแทนของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของบริษทั ฯ อยางเปน ธรรมและเหมาะสม โดยการเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันและบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ในกลุม อุตสาหกรรมเดียวกัน พิจารณาจากขอบเขตอำนาจหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) พิจารณาจากผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ในแตละป พิจารณาจากการประเมินผลปฏิบตั งิ านตนเองของ คณะกรรมการบริษทั ฯ (Self Assessment of the Board of Directors’ Performance) ในแตละป ไดแก ผลตอบแทน ประจำเดื อ น (เช น ค า เบี้ ย ประชุ ม ) และผลตอบแทนรายป (เช น โบนั ส กรรมการ) ที่ จ า ยให กั บ คณะกรรมการและ คณะอนุกรรมการของบริษทั ฯ แลวเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ เสนอใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน พิจารณาอนุมตั ิ ข.) พิจารณากำหนดรูปแบบและหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานของบริษทั ฯ หรือ KPI (Key Performance Indicators) เพือ่ ใชในการพิจารณาปรับอัตราเงินเดือนและการจายเงินรางวัลประจำป (โบนัส) ใหกบั พนักงานของบริษทั ฯ โดย พิจารณาจากงบประมาณประจำปและเปาหมายการดำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ สภาวะตลาดและเศรษฐกิจ แลวเสนอความ เห็นตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ค.) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหดำเนินการอันเกี่ยวกับการพิจารณาผลตอบแทน กรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ

2.3.) คณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ (Management Committee) ประกอบดวยผูบ ริหารตัง้ แตระดับผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การขึน้ ไปจำนวน อยางนอย 3 คน ซึง่ ไดรบั การแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยกรรมการผูจ ดั การเปนประธานกรรมการจัดการโดยตำแหนง เมือ่ คณะกรรมการ จั ด การมี จ ำนวนสมาชิ ก น อ ยกว า จำนวนที่ ก ำหนด คณะกรรมการ ก.ส.ต. จะพิ จ ารณาคั ด เลื อ กกรรมการจั ด การรายใหม และเสนอให คณะกรรมการ บริษทั ฯ แตงตัง้ กรรมการจัดการรายใหมใหครบถวนภายใน 3 เดือน เพือ่ ใหเกิดความตอเนือ่ งในการดำเนินงาน ทัง้ นีใ้ นป 2552 คณะกรรมการจัดการมีการประชุมรายสัปดาหรวมจำนวน 37 ครัง้

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 29

29

1/3/08 5:10:10 AM


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีกรรมการจัดการทัง้ หมดจำนวน 5 คน ประกอบดวย ตำแหนง

ชื่อ 1. 2. 3. 4. 5.

นายอัศนี ชันทอง นายสาธิต สุดบรรทัด นายไมตรี ถาวรอธิวาสน นายสุวิทย แกวอำพันสวัสดิ์ นางสาวธนกานต พันธาภิรัตน

ประธานกรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการ กรรมการจัดการและเลขานุการ

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการจัดการ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ บริหารกิจการของบริษทั ฯ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค นโยบาย แผนธุรกิจ และงบประมาณตามทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณากลัน่ กรองขอเสนอของฝายจัดการ ในการกำหนดวิสยั ทัศน ภารกิจ คานิยมองคกร วัตถุประสงค นโยบาย แผนธุรกิจ และกลยุทธการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แผนการเงิน การบริหารเงินลงทุน การบริหารทรัพยากรบุคคล งบประมาณประจำป เปาหมายคะแนน KPI (Key Performance Indicators) และการประเมินผลสำเร็จของบริษัทฯ แลวเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ก.ส.ต. เพื่อเสนอตอคณะ กรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป พิจารณากำหนดโครงสรางองคกร อำนาจการบริหารองคกร รวมถึงการแตงตั้ง การวาจาง การโยกยาย การกำหนดเงินคาจาง คาตอบแทน เงินรางวัล การเลิกจาง ตัง้ แตระดับพนักงานจนถึงผูบ ริหารระดับผูจ ดั การฝาย มีอำนาจอนุมตั ทิ างการเงิน ตามระเบียบในการปฏิบตั งิ าน และอำนาจในการอนุมตั ิ รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือนและประจำป ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองตาม เปาคะแนน (KPI) รายบุคคลตามทีไ่ ดรบั อนุมตั แิ ลวเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ก.ส.ต. เพือ่ เสนอตอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ ตอไป ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายใหดำเนินการเปนคราวๆ ไป 2.3.1) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการจัดการเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ซึ่งประกอบดวย ผูบ ริหารของบริษทั ฯ ตัง้ แตระดับผูจ ดั การสวนขึน้ ไปอยางนอยฝายละ 1 คน รวมผูจ ดั การแผนกระบบมาตรฐานและนิตกิ ร เปนกรรมการบริหารความ เสีย่ งโดยตำแหนง รวมจำนวนอยางนอย 10 คน และคัดเลือกผูบ ริหารระดับผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การขึน้ ไป 1 คน ดำรงตำแหนงประธานกรรมการ บริหารความเสีย่ ง และแตงตัง้ กรรมการบริหารความเสีย่ ง 1 คนเปนเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ทัง้ นีใ้ นป 2552 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมรวมจำนวน 10 ครัง้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีกรรมการบริหารความเสีย่ งจำนวน 14 คน ประกอบดวย รองกรรมการผูจ ดั การสายการขาย และการตลาด ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การสายการขายและการตลาด ผูจ ดั การฝายทุกฝายรวม 10 คน ผูจ ดั การแผนกระบบมาตรฐาน (เลขานุการ) และ นิตกิ ร

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ กำหนดนโยบายและแผนงานดานการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ใหครอบคลุมความเสีย่ งทัง้ หมดทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับธุรกิจของบริษทั ฯ และนำ เสนอตอคณะกรรมการจัดการใหความเห็นชอบกอนนำสูก ารปฏิบตั ิ สรางระเบียบปฏิบตั ใิ นการประเมินและวิเคราะหปจ จัยตางๆ ทีจ่ ะนำไปสูค วามเสีย่ ง และกำหนดแนวทางในการแกไข ตามปจจัยเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ไดแก Red Risk : ปจจัยเสีย่ งทีต่ อ งไดรบั การแกไขโดยเรงดวน จะตองมีแนวทางแกไขเพือ่ ลดความเสีย่ ง Yellow Risk : ปจจัยทีต่ อ งเฝาระวังซึง่ อาจจะเปนปจจัยเสีย่ ง จะตองมีแนวทางปองกันไมใหเกิดความเสีย่ ง Green Risk : ยังไมเปนปจจัยความเสีย่ ง

30

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 30

1/3/08 5:10:10 AM


ติดตามผลการจัดการกับความเสี่ยงที่ไมสามารถยอมรับได วามีแนวทางแกไขและปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอยางไร ทบทวนนโยบายและระบบควบคุมซึง่ จัดตัง้ เพือ่ การประเมิน การบริหารและการควบคุมความเสีย่ ง รวมทัง้ กระบวนการตรวจสอบและการรายงาน เพือ่ สรางความมัน่ ใจวาบริษทั ฯ มีกรอบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ พียงพอและมีประสิทธิภาพ กำกับดูแลใหมกี ารปฏิบตั ติ ามกรอบแหงการบริหารความเสีย่ ง และสอบทานการเปดเผยขอมูลความเสีย่ งตอหนวยงานกำกับดูแล และสาธารณะอยางเพียงพอและสม่ำเสมอ จัดทำรายงานผลการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยเปดเผยไวในแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) และรายงานประจำป (แบบ 56-2) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใด ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการจัดการ มอบหมายใหดำเนินการเกีย่ วกับการบริหารความเสีย่ ง โดยในรอบป 2552 ทีผ่ า นมา คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งไดกำกับดูแลงานบริหารความเสีย่ งดวยความรับผิดชอบและระมัดระวัง โดย สามารถควบคุมความเสีย่ งตางๆใหอยุใ นระดับทีไ่ มกอ ใหเกิดผลเสียหายตอการดำเนินงานของบริษทั ฯ

3.) ผูบ ริหาร บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะสรรหาผูบ ริหารทีม่ คี วามรู ความสามารถ มีประสบการณทำงานทีเ่ ปนประโยชนกบั บริษทั ฯ มีประวัตกิ ารทำงานทีด่ ี และมีจริยธรรมทีด่ งี าม โดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ส.ต. และไดรบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยผูบ ริหารตัง้ แตระดับ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การขึน้ ไปเปนกรรมการจัดการโดยตำแหนง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ฯ มีผบู ริหารทัง้ หมดจำนวน 5 คน ประกอบดวย

1. 2. 3. 4. 5.

ชื่อ นายอัศนี ชันทอง นายสาธิต สุดบรรทัด นายไมตรี ถาวรอธิวาสน นายสุวิทย แกวอำพันสวัสดิ์ นางสาวธนกานต พันธาภิรัตน

ตำแหนง กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ สายการขายและการตลาด รองกรรมการผูจัดการ สายการผลิตและวิศวกรรม ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการขายและการตลาด ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายการบัญชีและการเงิน

ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องกรรมการผูจ ดั การ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ กำหนดวิสยั ทัศน ภารกิจ คานิยมองคกร วัตถุประสงค นโยบาย แผนธุรกิจ และกลยุทธการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ แผนการเงิน การ บริหารเงินลงทุน การบริหารทรัพยากรบุคคล งบประมาณประจำป เปาหมายคะแนน KPI (Key Performance Indicators) และการประเมินผล สำเร็จของบริษทั ฯ เสนอความเห็นตอคณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของบริษัทฯ อยางสม่ำเสมอ เพื่อปองกันความเสี่ยงจากปจจัยตางๆ ทั้งจากภายในและภายนอก บริษทั ฯ ทีจ่ ะทำใหผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ไมบรรลุเปาหมายตามทีก่ ำหนด มีอำนาจแตงตัง้ และบริหารงานคณะทำงานชุดตางๆ เพือ่ ประโยชน และมีประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีและโปรงใส มีอำนาจพิจารณากำหนดอัตราคาจาง คาตอบแทน เงินโบนัส รวมถึงสวัสดิการ เกี่ยวกับ พนักงานของบริษทั ฯ ตัง้ แตตำแหนงผูจ ดั การฝายลงไป มีอำนาจในการออกกฎระเบียบ คำสัง่ ขอบังคับ ประกาศตางๆ เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไป ตามนโยบายและประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ และเพือ่ รักษาระเบียบวินยั การทำงานภายในองคกรอยางมีประสิทธิภาพ มีอำนาจตามระเบียบในการ ปฏิบัติงานและอำนาจอนุมัติที่ไดอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการ บริษทั ฯ และ/หรือคณะกรรมการจัดการเปนคราวๆ ไป กำกับดูแลกิจการใหมีการปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับ ขอกำหนดตางๆ ของบริษัทฯ และตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดและแนวปฏิบัติที่ดีของสำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของ บริษทั ฯ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 31

31

1/3/08 5:10:11 AM


การสรรหากรรมการและผูบ ริหาร บริษทั ฯ กำหนดใหคณะกรรมการ ก.ส.ต. มีหนาทีพ ่ จิ ารณากลัน่ กรองบุคคลตามหลักการ วิธกี ารทีร่ ะบุไวในขอบังคับของบริษทั ฯ เพือ่ เสนอตอคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เปนผูพ  จิ ารณาอนุมตั ติ อ ไป โดยมีแนวปฏิบตั ใิ นการสรรหากรรมการและผูบ ริหารในคูม อื การ กำกับดูแลกิจการทีด่ ี สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ 1.) พิจารณากำหนดและทบทวนโครงสรางและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และผูบ ริหารใหเหมาะสม สอดคลองกับ การประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ ทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ 2.) พิจารณาหลักเกณฑและกระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำรงตำแหนงกรรมการและผูบริหารตั้งแตระดับ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การขึน้ ไป รวมทัง้ คัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาทีไ่ ดกำหนดไว และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ บริษทั ฯ พิจารณา ซึง่ อาจจะตองเสนอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน พิจารณาอนุมตั ิ ในกรณีแตงตัง้ กรรมการ 3.) พิจารณารายชื่อกรรมการที่ตองออกจากตำแหนงตามวาระและรายชื่อบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อใหเขารับการคัดเลือกเพื่อดำรง ตำแหนงกรรมการ ทัง้ จากการเสนอของกรรมการและผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ โดยเฉพาะผูถ อื หุน รายยอย (ถามี) 4.) พิจารณาความเหมาะสมของบุคคลทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ ใหดำรงตำแหนงเลขานุการบริษทั ฯ และผูบ ริหารตัง้ แตระดับผูช ว ยกรรมการ ผูจ ดั การขึน้ ไป แลวเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ในกรณีทตี่ ำแหนงดังกลาววางลง 5.) พิจารณากำหนดแผนสืบทอดงานของกรรมการและกรรมการผูจ ดั การ รวมทัง้ กำหนดหลักเกณฑการพิจารณาผูส บื ทอด แลวเสนอ ความเห็นตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป 6.) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ไดมอบหมายใหดำเนินการเกีย่ วกับการสรรหากรรมการและผูบ ริหาร

การกำกับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยตงั้ แตป 2548 ดวยความมุง มัน่ ทีจ่ ะเปนองคกรชัน้ นำ มีการบริหารงานจัดการอยาง มืออาชีพ โดยใหความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี และยึดแนวทางปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสำนักงาน คณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) อยางเครงครัด บริษทั ฯ จึงไดรบั รางวัลแหงความภูมใิ จ โดยไดรบั การประเมินการกำกับ ดูแลกิจการในระดับ 5 ดาว ( ) อยูใ นกลุม ดีเลิศ (Excellent) ประจำป 2552 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) อันจะสงผลใหบริษทั ฯ สามารถดำเนินธุรกิจดวยความสำเร็จอยางตอเนือ่ งและยัง่ ยืน เปนทีย่ อมรับจากผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย รวมทั้งคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหบริษัทฯ จัดทำนโยบายและคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance Handbook) เพือ่ ใหกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกระดับของบริษทั ฯ ไดยดึ เปนหลักปฏิบตั ใิ นการดำเนินงาน โดยถือเปนภาระหนาทีท่ สี่ ำคัญ ของทุกคน และตองไมละเลยการปฏิบัติตามหลักการที่ปรากฏอยูในคูมือดังกลาว โดยบริษัทฯ ไดนำเผยแพรบนเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.diamondtile.com ตัง้ แตตน เดือนกุมภาพันธ 2553 ซึง่ สรุปสาระสำคัญไดดงั ตอไปนี้

นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี นโยบายการกำกับดูแลกิจการ เพือ่ ใหกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบตั งิ านดวยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซือ่ สัตยสจุ ริต ดังตอไปนี้ 1.) กำหนดบทบาทหนาทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานในการปฏิบตั งิ านดวยความระมัดระวังและซือ่ สัตยสจุ ริต ใหบรรลุตามวัตถุประสงคและพันธกิจทีก่ ำหนด เพือ่ ประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ 2.) กำหนดแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับสิทธิของผูถ อื หุน โดยสงเสริมใหผถู อื หุน ทุกรายมีโอกาสรับรูข อ มูลขาวสารตางๆ และเปดโอกาสใหมกี าร แสดงความเห็น และการใชสทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน 3.) กำหนดแนวปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียมกัน โดยกำหนดมาตรการดูแลผูถ อื หุน ใหไดรบั การปฏิบตั แิ ละปกปองสิทธิขนั้ พืน้ ฐาน อยางเทาเทียมกันและเปนธรรม รวมทัง้ ปองกันไมใหมกี ารขัดแยงทางผลประโยชนหรือการใชขอ มูลภายใน เพือ่ หาผลประโยชนใหแก ตนเองและผูอ นื่ โดยมิชอบ มีการดูแลใหสทิ ธิดงั กลาวไดรบั การคุม ครองและปฏิบตั ดิ ว ยดี 4.) กำหนดแนวปฏิบตั ติ อ ผูม สี ว นไดเสีย ใหความสำคัญและคำนึงถึงสิทธิของผูม สี ว นไดเสียกลุม ตางๆ ตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายที่ เกีย่ วของ ดูแลใหมนั่ ใจวา บริษทั ฯ ไดดำเนินการใหสทิ ธิดงั กลาวไดรบั การคุม ครองและปฏิบตั ดิ ว ยดี สงเสริมใหเกิดความรับผิดชอบ ระหวางบริษทั ฯ กับผูม สี ว นไดเสียในการสรางความมัง่ คงของกิจการ การรักษาสิง่ แวดลอมและสังคม เพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน 5.) กำหนดแนวทางการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส โดยดูแลใหการเปดเผยขอมูลสำคัญทีเ่ กีย่ วของกับบริษทั ฯ ทัง้ รายงานทางการเงิน และทีม่ ใิ ชขอ มูลทางการเงินตางๆ อยางถูกตองครบถวน ทันเวลา ผานชองทางทีเ่ ขาถึงขอมูลไดงา ย มีความเทาเทียมกันและนาเชือ่ ถือ โดยจัดใหมหี นวยงานและผูร บั ผิดชอบทีช่ ดั เจน 32

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 32

1/3/08 5:10:11 AM


6.) กำหนดแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยแสดงใหเห็นวาบริษทั ฯ มีระบบบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได มีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การดำเนินงานกำกับดูแล การปฏิบตั งิ าน การควบคุม และการบริหาร ความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เปนเครือ่ งมือทีช่ ว ยสรางความเชือ่ มัน่ ใหแกผมู สี ว นไดเสียทุกกลุม อยางเพียงพอและเหมาะสม 7.) กำหนดจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจตอผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม ไดแก ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า คูแ ขง เจาหนี้ พนักงาน สังคม และ สิง่ แวดลอมอยางเหมาะสม

สำหรับหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ ไดแบงออกเปน 7 สวน ดังตอไปนี้ สวนที่ 1 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ ถือเปนหัวใจสำคัญของการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ประกอบดวยผูท รงคุณวุฒใิ นสาขาตางๆ ทีม่ คี วาม เชีย่ วชาญ มีประสบการณ มีภาวะผูน ำ มีวสิ ยั ทัศน มีความเปนอิสระในการตัดสินใจ อุทศิ เวลาและพยายามอยางเต็มทีใ่ นการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามความ รับผิดชอบ ระมัดระวัง และซือ่ สัตยสจุ ริต เพือ่ ประโยชนสงู สุดของบริษทั ฯ และผูถ อื หุน โดยไดกำหนดองคประกอบ คุณสมบัติ บทบาท หนาทีค่ วามรับ ผิดชอบ ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการทุกคณะ รวมทัง้ การกำหนดหลักเกณฑวธิ กี ารสรรหาและกำหนดคาตอบแทนของกรรมการ และผู บริหาร ของบริษทั ฯ ตลอดจนการจัดทำแผนสืบทอดตำแหนง สวนที่ 2 สิทธิของผูถือหุน บริษทั ฯ ใหความสำคัญถึงสิทธิของผูถ อื หุน โดยไมกระทำการใดๆ อันเปนการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผูถ อื หุน และสงเสริม ใหผถู อื หุน ทุกรายไดใชสทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานตามทีก่ ฎหมายกำหนด แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับสิทธิของผูถือหุน 1.) บริษทั ฯ ไดกำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยคำนึงถึงสิทธิของผูถ อื หุน การปกปองสิทธิ และสงเสริมใหผถู อื หุน ใชสทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานตามทีก่ ฎหมายกำหนด 2.) บริษทั ฯ จัดใหมเี ว็บไซต เพือ่ เสนอขอมูลทีส่ ำคัญ ขาวสารตางๆ เชน รายงานงบการเงินประจำไตรมาส ประจำป แบบแสดงขอมูล ประจำป (แบบ 56-1) รายงานประจำป (แบบ 56-2) รวมทัง้ หนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน ซึง่ มีขอ มูล วัน เวลา สถานที่ วาระการ ประชุม ขอมูลประกอบการตัดสินใจแตละวาระ กฎเกณฑตา งๆ ทีใ่ ชในการประชุม และขัน้ ตอนการออกเสียงอยางครบถวน ซึง่ เปนขอมูลเดียวกับทีจ่ ดั สงใหผถู อื หุน ในรูปแบบเอกสาร โดยเผยแพรขอ มูลผานทางเว็บไซตของบริษทั ฯ อยางนอย 30 วันกอน การประชุม เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดมเี วลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอ 3.) บริษทั ฯ จัดใหมกี ารประชุมผูถ อื หุน โดยอำนวยความสะดวกสถานทีจ่ ดั ประชุม ตัง้ อยูใ จกลางเมือง สะดวกตอการเดินทาง และจัด ใหมเี วลาดำเนินการประชุมอยางเพียงพอ 4.) บริษทั ฯ ไดกำหนดใหคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะอนุกรรมการ และผูบ ริหาร เขารวมประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ เวนแตจะมีภารกิจที่ สำคัญทำใหไมสามารถเขารวมประชุมผูถ อื หุน ได โดยประธานในทีป่ ระชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและเปดโอกาสใหผถู อื หุน มีสทิ ธิ เทาเทียมกันในการแสดงความคิดเห็น และซักถามขอสงสัย ซึง่ บริษทั ฯ ไดจดบันทึกประเด็นขอซักถาม หรือความคิดเห็น หรือ ขอเสนอแนะของผูถ อื หุน อยางถูกตอง ครบถวน ในรายงานการประชุม และเผยแพรบนเว็บไซตของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ 5.) บริษทั ฯ เปดโอกาสใหสทิ ธิแกผถู อื หุน สงคำถามทีเ่ กีย่ วกับวาระการประชุมลวงหนาประมาณ 30 วันกอนการประชุม ผานทาง เว็บไซตของบริษทั ฯ 6.) บริษทั ฯ ไดปฏิบตั ติ ามแนวทางการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ อื หุน (AGM Checklist) ซึง่ จัดทำโดยสมาคมสงเสริม ผูล งทุนไทย สรุปในป 2552 ไดรบั ผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ อื หุน อยูใ นชวงคะแนน 100 คะแนน (ดีเยีย่ ม+ สมควรเปนตัวอยาง) สวนที่ 3 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน บริษัทฯ มีมาตรการดูแลผูถือหุนใหไดรับการปฏิบัติและปกปองสิทธิขั้นพื้นฐานอยางเทาเทียมกันและเปนธรรม รวมทั้งไดมี มาตรการปองกันไมใหมกี ารขัดแยงทางผลประโยชน หรือการใชขอ มูลภายใน เพือ่ แสวงหาผลประโยชนใหแกตนเองและผูอ นื่ โดยมิชอบ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 33

33

1/3/08 5:10:12 AM


แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1.) บริษทั ฯ อำนวยความสะดวกแกผถู อื หุน อยางเทาเทียมกันทัง้ การเขารวมประชุม การไดรบั สารสนเทศและการใชสทิ ธิออกเสียงลง คะแนนในที่ประชุมผูถือหุน โดยบริษัทฯ จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมโดยระบุความเห็นของคณะกรรมการ พรอมทั้งขอมูล ประกอบการประชุมแตละวาระ ใหผถู อื หุน ลวงหนากอนวันประชุมไมนอ ยกวา 7 วัน พรอมทัง้ โฆษณาคำบอกกลาวเชิญประชุมใน หนังสือพิมพไมนอ ยกวา 3 วันกอนวันประชุม โดยไมมกี ารเพิม่ วาระการประชุมทีไ่ มไดแจงผูถ อื หุน ทราบลวงหนากอน เพือ่ ให ผูถ อื หุน มีเวลาเพียงพอในการพิจารณาและศึกษาขอมูลสำหรับการเขารวมประชุมลงมติ 2.) บริษทั ฯ เปดโอกาสใหสทิ ธิแกผถู อื หุน สวนนอยในการเสนอวาระการประชุมผูถ อื หุน และเสนอแตงตัง้ กรรมการรายใหมลว งหนา กอนการประชุม โดยมีวธิ ปี ฏิบตั ทิ กี่ ำหนดไวอยางชัดเจน 3.) ในกรณีทผี่ ถู อื หุน ไมสามารถเขารวมประชุมได ผูถ อื หุน สามารถมอบฉันทะใหกบั บุคคลอืน่ เปนผูร บั มอบฉันทะใหเขารวมประชุม แทน ซึง่ บริษทั ฯ ไดเพิม่ ทางเลือกใหกบั ผูถ อื หุน โดยการเสนอใหกรรมการอิสระเปนผูร บั มอบฉันทะจากผูถ อื หุน ในการเขารวม ประชุมและออกเสียงลงคะแนนตามความประสงคของผูถ อื หุน โดยจะระบุรายชือ่ กรรมการอิสระผูร บั มอบอำนาจในหนังสือมอบ ฉันทะทีแ่ นบมาพรอมกับหนังสือเชิญประชุม 4.) บริษทั ฯ สนับสนุนใหมกี ารใชบตั รลงคะแนนเสียงในวาระทีส่ ำคัญ เชน การทำรายการเกีย่ วโยง การทำรายการไดมาหรือจำหนาย ไปซึง่ สินทรัพย เปนตน เพือ่ ความโปรงใสและตรวจสอบได ในกรณีมขี อ โตแยงในภายหลัง 5.) บริษัทฯ ไดกำหนดใหมีแนวทางปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยหามมิใหกรรมการ ผูบริหาร และ พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ ที่ยังไมไดเปดเผยตอประชาชนอันเปนสาระสำคัญตอการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพยของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตน ซึ่งรวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย หากบริษัทฯ พบวา ผูถ อื หุน กรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ กระทำผิดขอหามตามแนวปฏิบตั ทิ กี่ ำหนดไว บริษทั ฯ จะดำเนินการตาม กฎหมายและลงโทษตอผูก ระทำความผิด 6.) บริษทั ฯ ไดกำหนดใหมกี ารรายงานการถือครองหลักทรัพยของกรรมการ และผูบ ริหารใหทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ ทุกครัง้ ทีม่ กี ารประชุม สวนที่ 4 บทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษทั ฯ ใหความสำคัญและคำนึงถึงสิทธิของผูม สี ว นไดเสียกลุม ตางๆ ตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ ไมกระทำการ ใดๆ ทีเ่ ปนการละเมิดสิทธิของผูม สี ว นไดเสีย สงเสริมใหเกิดความรับผิดชอบระหวางบริษทั ฯ กับผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม ในการสรางความมัน่ คงอยาง ยัง่ ยืน ของบริษทั ฯ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับบทบาทของผูมีสวนไดเสีย 1.) บริษทั ฯ ไดกำหนดกรอบของจรรยาบรรณทางธุรกิจ โดยประกาศในเว็บไซตของบริษทั ฯ เพือ่ เปนแนวปฏิบตั ติ อ สิทธิของผูม สี ว น ไดเสียทุกกลุม ไมวา จะเปนผูม สี ว นไดเสียภายใน ไดแก พนักงาน และผูบ ริหารของบริษทั ฯ หรือผูม สี ว นไดเสียภายนอก เชน ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า คูแ ขง เจาหนี้ สังคม และสิง่ แวดลอม 2.) บริษทั ฯ ไดกำหนดมาตรการหรือชองทางในการมีสว นรวมของผูม สี ว นไดเสีย โดยเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของใหผมู สี ว นไดเสียได รับทราบ และเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนผานคณะกรรมการตรวจสอบโดยไมผานผูบริหารของ บริษทั ฯ ซึง่ สามารถสงทางไปรษณีย หรือทาง E-Mail Address : Corpcenter@diamondtile.com ไดโดยตรง โดยไมตอ ง เปดเผยชือ่ ผูแ จงเบาะแสหรือผูร อ งเรียนแตอยางใด เพือ่ ใหคณะกรรมการตรวจสอบ ดำเนินการตรวจสอบขอมูลหรือขอเท็จจริง ตามทีม่ ผี แู จงเบาะแสดังกลาว แลวนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยตรง เพือ่ พิจารณาหามาตรการปองกันและพิจารณา ชดเชยคาเสียหายใหผถู กู ละเมิดอยางเหมาะสมตามเหตุผลของเรือ่ งเปนกรณีๆ ไป 3.) บริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายคุณภาพ นโยบายความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม และสงเสริมใหพนักงานปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาว เพือ่ ใหผเู กีย่ วของมัน่ ใจไดวา บริษทั ฯ คำนึงถึงปจจัยดานคุณภาพ ความปลอดภัยและสิง่ แวดลอม และมีการพัฒนา อยางตอเนือ่ ง ในป 2552 บริษทั ฯ ไดรบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดลอม (ISO 14001:2004) จาก บริษทั ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) จำกัด (TUV NORD) เมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2552 4.) บริษทั ฯ กำหนดหลักเกณฑ เงือ่ นไขและวิธกี ารรายงานการมีสว นไดเสียของกรรมการ ผูบ ริหาร และบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วของ ให เปนไปตามมาตรา 89/14 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551

34

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 34

1/3/08 5:10:12 AM


สวนที่ 5 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษทั ฯ ตองดูแลการเปดเผยขอมูลสำคัญทีเ่ กีย่ วของกับบริษทั ฯ ทัง้ รายงานทางการเงิน และทีม่ ใิ ชขอ มูลทางการเงินตางๆ อยาง ถูกตองครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางทีเ่ ขาถึงขอมูลไดงา ย มีความเทาเทียมกันและนาเชือ่ ถือ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1.) บริษทั ฯ มีนโยบายเรือ่ งการเปดเผยขอมูลทีส่ ำคัญของบริษทั ฯ อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา นาเชือ่ ถือ ตามขอกำหนดของ สำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยผานชองทางตางๆ และทางเว็บไซตของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ เพือ่ ใหผใู ชขอ มูลสามารถเขาถึงขอมูลไดอยางเทาเทียมกัน และปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบนั อยูเ สมอ 2.) บริษทั ฯ มีการเปดเผยขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) และรายงานประจำป (แบบ 56-2) ตามขอกำหนด ของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 3.) บริษทั ฯ ไดกำหนดใหคณะกรรมการบริษทั ฯ มีการรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ ตอรายงานทางการเงิน แสดงควบคูก บั รายงานของผูส อบบัญชีในรายงานประจำป (แบบ 56-2) 4.) บริษทั ฯ เปดเผยบทบาทและหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะอนุกรรมการ จำนวนครัง้ ของการประชุมและจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการแตละทานเขารวมประชุมในปทผี่ า นมาและความเห็นจากการทำหนาที่ 5.) ในสวนของงานดานผูล งทุนสัมพันธ (Investor Relations) บริษทั ฯ มีสำนักงานลงทุนสัมพันธ โดยมอบหมายใหผบู ริหารระดับ ผูชวยกรรมการผูจัดการสายการขายและการตลาดขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบในการสื่อสารใหขอมูลแกนักลงทุน นักวิเคราะห ผูถือหุน และผูที่สนใจทั่วไป ซึ่งสามารถติดตอไดที่หมายเลขโทรศัพท 0-3622-4001 ถึง 8 หรือ E-Mail Address : Corpcenter@diamondtile.com 6.) ในป 2552 บริษทั ฯ ไดมกี ารพบนักวิเคราะหอยางนอยไตรมาสละ 1 ครัง้ เพือ่ เสนอขอมูลผลการดำเนินงานประจำปและราย ไตรมาส และมีการพบสือ่ ตางๆ อยางนอยเดือนละครัง้ เพือ่ การสือ่ สารขอมูลผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ และสือ่ สารการ ตลาดตางๆ เปนตน สวนที่ 6 แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวของกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงคการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยแสดงใหเห็นวาบริษทั ฯ มีระบบบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได เปนเครือ่ งมือทีช่ ว ยสรางความเชือ่ มัน่ และมัน่ ใจใหแกผมู สี ว นไดเสีย คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงไดกำหนดแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการกำกับ ดูแลกิจการทีด่ เี พิม่ เติม เชน แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ขี องคณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ ริหารและพนักงานบริษทั ฯ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบัญชีและการ เงิน การควบคุมภายใน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เปนตน สวนที่ 7 จรรยาบรรณ ตามทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 156 เมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2548 มีมติอนุมตั ใิ หประกาศใชจรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Conduct) เพือ่ การดำเนินกิจการของบริษทั ฯ ใหเปนไปตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) จึงได กำหนดกรอบของจรรยาบรรณทางธุรกิจ เพือ่ เปนแนวปฏิบตั ติ อ สิทธิของผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม จรรยาบรรณในเรือ่ งความขัดแยงทางผลประโยชน ไมวา จะเปนผูม สี ว นไดเสียภายใน ไดแก พนักงาน และผูบ ริหารของบริษทั ฯ หรือผูม สี ว นไดเสียภายนอก เชน ผูถ อื หุน ลูกคา คูค า คูแ ขง เจาหนี้ สังคม และ สิง่ แวดลอม

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 35

35

1/3/08 5:10:13 AM


การดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายใน บริษทั ฯ ไดกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วการดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายในของบริษทั ฯ ทีย่ งั ไมไดเปดเผยตอสาธารณชนอันเปน สาระสำคัญ ไปใชเพือ่ ประโยชนสว นตนและผูอ นื่ ในคูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ 1.) บริษทั ฯ ไดแจงใหกรรมการและผูบ ริหารทราบถึงภาระหนาทีใ่ นการรายงานการถือหลักทรัพยในบริษทั ฯ ของตนเอง คูส มรส และ บุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะ ตลอดจนรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยตอ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 2.) บริษทั ฯ หามมิใหกรรมการ ผูบ ริหาร ผูจ ดั การฝาย และพนักงานของบริษทั ฯ ใชขอ มูลภายในของบริษทั ฯ ทีย่ งั ไมไดเปดเผยตอ สาธารณชนอันเปนสาระสำคัญตอการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพยของบริษทั ฯ ไปใชเพือ่ ประโยชนสว นตน ซึง่ รวมถึงเพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพย ทัง้ นี้ หามมิใหบคุ คลทีล่ ว งรูข อ มูลภายใน และยังมิไดเปดเผยขอมูลดังกลาวตอสาธารณชน ซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ฯ ในชวงระยะเวลา 1 เดือนกอนที่ ขอมูลดังกลาวจะเปดเผยสูส าธารณชน หากบริษทั ฯ พบวาผูถ อื หุน กรรมการ ผูบ ริหาร ผูจ ดั การ และพนักงานของบริษทั ฯ กระทำผิดขอหามตาม ประกาศดังกลาว บริษทั ฯ จะดำเนินการตามกฎหมายและลงโทษแกผกู ระทำความผิดโดยเด็ดขาด 3.) ในกรณีทกี่ รรมการ ผูบ ริหาร ผูจ ดั การฝาย หรือพนักงานของบริษทั ฯ กระทำผิดอันเปนความผิดอาญาตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย บริษัทฯ จะดำเนินการลงโทษอยางรุนแรงอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน เชน ตัดเงินเดือนหรือ คาตอบแทน ใหออกหรือปลดออกจากการเปนผูบริหาร หากเปนกรรมการใหเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ แจงการกระทำความผิดตอ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ/หรือสำนักงาน ก.ล.ต. เปนตน 4.) บริษทั ฯ คาดหมายให กรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกระดับของบริษทั ฯ ไดรายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบตั ทิ ขี่ ดั หรือสงสัยจะ ขัดหลักการนำขอมูลภายในของบริษทั ฯ ไปใชเพือ่ ประโยชนสว นตน ตอผูบ งั คับบัญชา โดยใหถอื เปนหนาทีข่ องผูบ งั คับบัญชาในการสอดสองดูแลและ ใหคำแนะนำผูใ ตบงั คับบัญชาในการนำขอมูลภายในของบริษทั ฯ ไปใชเพือ่ ประโยชนสว นตน เพือ่ ใหมกี ารปฏิบตั ติ ามหลักการทีก่ ำหนดอยางถูกตอง

การบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ไดมีการประเมินความเสี่ยงของธุรกิจอยางสม่ำเสมอ โดยในป 2552 ไดมีการประเมิน ความเสีย่ ง พรอมทัง้ มีมาตรการลดความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ดังตอไปนี้

1.) ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากปจจัยภายนอก 1.1.) ความเสี่ยงเรื่องการควบคุมการใชใยหินจากภาครัฐ ดวยคณะกรรมการวาดวยฉลาก สำนักงานคุมครองผูบริโภค ไดออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา เรื่องใหผลิตภัณฑที่มีสวน ประกอบของแรใยหินเปนสินคาทีค่ วบคุมฉลาก (ฉบับที่ 27) พ.ศ. 2552 เมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 ซึง่ มีผลบังคับใชภายใน 120 วัน บริษทั ฯ จึง ตองดำเนินการติดฉลากบนผลิตภัณฑที่มีแรใยหินเปนสวนประกอบตามที่ประกาศไว และไดมีมาตรการลดความเสี่ยงจากการใชใยหินเปนสวน ประกอบของผลิตภัณฑ ดังนี้ บริษทั ฯ ไดผลิตสินคาทีไ่ มมแี รใยหินเปนสวนประกอบออกสูต ลาดแลว เพือ่ ลดความเสีย่ งและผลกระทบของผลิตภัณฑทมี่ แี ร ใยหินเปนสวนประกอบ และเปนทางเลือกใหกับผูบริโภค ไดแก ผลิตภัณฑเจียระไน ทั้งกระเบื้องหลังคา ไมสังเคราะห และ แผนผนัง ผลิตภัณฑใหมทมี่ คี วามหลากหลายในเรือ่ งของความหนา จากสายการผลิต NT9 ซึง่ จะออกจำหนายตนป 2553 ก็จะ ไมมแี รใยหินเปนสวนประกอบเชนกัน เครือ่ งจักรของบริษทั ฯ บางสวนไดมกี ารปรับปรุงใหผลิตสินคาไดทงั้ 2 ชนิดในเครือ่ งเดียวกัน โดยผลิตไดทงั้ ทีม่ ใี ยหินและไมมี ใยหิน (Dual Machine) เพือ่ ใหเกิดความคลองตัว ฝายการตลาดไดมกี ารติดตาม สำรวจพฤติกรรมและความคิดเห็นจาก ชองทางการจัดจำหนายผานพนักงานขายและผูบ ริโภค เพือ่ รวบรวมขอมูลประกอบการวิเคราะหและวางแผนงานในการปรับปรุง เครือ่ งจักรสวนทีเ่ หลือเพือ่ รองรับตลาดในอนาคต 1.2.) ความเสี่ยงเรื่องราคาและการขาดแคลนวัตถุดิบ เนือ่ งจากวัตถุดบิ หลักของบริษทั ฯ มีความเสีย่ งในเรือ่ งของราคาและการขาดแคลน บริษทั ฯ มีมาตรการลดความเสีย่ งเรือ่ งดังกลาว ดังนี้ ควบคุมสูตรการผลิตโดยการมอบหมายใหฝายเทคโนโลยีทำการวิจัยพัฒนาออกแบบสูตรการผลิต เพื่อลดตนทุนการผลิต โดยไมใหกระทบกับคุณภาพของผลิตภัณฑ เชน สูตรการใชเยือ่ กระดาษ หรือใยหิน เปนตน ใหฝา ยจัดซือ้ หาแหลงผลิตวัตถุดบิ ทีม่ ตี น ทุนต่ำ ทัง้ ในประเทศและตางประเทศเพิม่ ขึน้ เพิม่ ระดับการ Stocks วัตถุดบิ เพือ่ ลดความเสีย่ งในเรือ่ งราคาและการขาดแคลนในอนาคต 36

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 36

1/3/08 5:10:13 AM


1.3.) ความเสี่ยงจากตนทุนคาขนสง เนือ่ งจากสินคาของบริษทั ฯ เปนสินคาหนัก แตกหักงาย ดังนัน้ การขนสงไปยังรานลูกคาจึงเปนตนทุนหลักบริษทั ฯ จึงมีมาตรการลด ความเสีย่ งจากตนทุนคาขนสง ดังนี้ ใชมาตรการแบบผสมผสาน (Multimodal transportation) เพือ่ ลดตนทุนคาขนสง เชน ใชการขนสงทัง้ ทางรถบรรทุก รถไฟ และเรือ สงเสริมใหลกู คาใชรถบรรทุกในพืน้ ทีม่ ารับสินคาเอง สนับสนุนการวิง่ รถ 2 ขา ซึง่ มีผลใหสามารถควบคุมตนทุนคาขนสง ไดเปนทีน่ า พอใจ โดยไมกระทบตอคุณภาพสินคา การเปดตัวศูนยกระจายสินคาจังหวัดขอนแกน เพื่อเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการจัดสงสินคาในภาคอีสาน และรองรับการ ขายสินคารายเล็กๆ ขนาดบาน 1 หลัง ไดทนั ที 1.4.) ความเสี่ยงจากการแขงขันดานราคา บริษทั ฯ ยังเผชิญกับความเสีย่ งการแขงขันดานราคา อันเนือ่ งมาจากการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย และกำลังการผลิตสวน เกินของคูแขงขัน บริษัทฯ จึงไดปรับแผนกลยุทธเชิงรุกทั้งดานการขายและการตลาด โดยการจัดรายการสงเสริมการขายรวมกับผูแทน จำหนาย และเพิม่ จุดกระจายสินคาทัว่ ประเทศเพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการเขาถึงสินคาของลูกคา สรางฐานตลาดผลิตภัณฑแผนผนังจาก NT9 ให ความสำคัญกับการใหบริการกอนและหลังการขาย และการจัดสงทีต่ รงเวลา เพือ่ สรางความแตกตางทีด่ กี วาใหกบั สินคาของบริษทั ฯ 1.5.) ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ ไมมนี โยบายการกูส กุลเงินตางประเทศ แตในธุรกรรมปกติเกิดจากการนำเขา วัตถุดบิ อะไหล และอุปกรณทใี่ ชในการผลิต สินคา ไดมกี ารสัง่ ซือ้ จากตางประเทศ ทำใหบริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น จึงไดมมี าตรการปองกันความเสีย่ งโดยการ ทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา สำหรับการซื้อวัตถุดิบทุกรายการ นับตั้งแตวันที่วัตถุดิบเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัทฯ และเปดบัญชี FCD เพื่อนำเงินสกุลดอลลารสหรัฐจากการขายสินคาไปตางประเทศเขาฝากในบัญชีและเก็บไวสำหรับชำระคาสินคาโดยไมตองแปลงเปนเงินบาท เพือ่ ลดความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น

2.) ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากปจจัยภายใน 2.1.) ความเสี่ยงดานคุณภาพสินคา บริษทั ฯ ไดมมี าตรการปองกันความเสีย่ งดานคุณภาพสินคา โดยมีการตรวจสอบคุณภาพตัง้ แตการตรวจรับวัตถุดบิ ทุกรายการ กอนสงเขากระบวนการผลิต และมีการตรวจสอบคุณภาพสินคาทุกกระบวนการผลิต จนไดเปนสินคาสำเร็จรูป เพือ่ ปองกันความเสีย่ งดานคุณภาพ สินคา หากพบวาสินคาชนิดใดมีคณ ุ ภาพไมเปนไปตามมาตรฐานทีก่ ำหนด จะทำการตรวจสอบ วิเคราะหหาสาเหตุวา เกิดจากกระบวนการผลิตใด เพือ่ แกไขและปองกันไมใหเกิดปญหาดังกลาวอีก 2.2.) ความเสี่ยงดานความปลอดภัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารถือเปนปจจัยสำคัญทีช่ ว ยสงเสริมการดำเนินธุรกิจและเพิม่ ประสิทธิภาพการทำงาน จึงมีมาตรการปองกันความเสีย่ งดานความปลอดภัยจากระบบสารสนเทศ โดยกำหนดใหเปนความรับผิดชอบรวมกันของพนักงานทุกคน ทีจ่ ะตองใช ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายใตขอบังคับของกฎหมาย ระเบียบคำสั่งและมาตรฐานที่บริษัทฯ กำหนด ตองดูแลรักษาเครื่อง คอมพิวเตอร และอุปกรณทรี่ บั ผิดชอบใหอยูใ นสภาพดี และมีการใชงานอยางเหมาะสม 2.3.) ความเสี่ยงดานการบริหารและการจัดการของผูถือหุนรายใหญ บริษทั ฯ มีสถานะเปนบริษทั ยอยของบริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด ซึง่ มีฐานะเปนผูถ อื หุน รายใหญถอื หุน รอยละ 73.33 รวมกับหุน ที่ ถือโดยกรรมการทีเ่ ปนตัวแทนของบริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด แลวจะมีสดั สวนการถือหุน มากกวารอยละ 75 ซึง่ จะทำให บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด สามารถควบคุมมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน ไดทงั้ หมด แตอยางไรก็ตาม บริษทั ฯ ไดปฏิบตั ติ ามขอพึงปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำหรับกรรมการบริษทั จดทะเบียน (Code of Best Practices) โดยมุง มัน่ ในการดำเนินธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) มีจริยธรรมในการ ปฏิบตั งิ านและเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และมีหลักการอนุมตั ริ ายการระหวางกัน บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนจะไมสามารถอนุมตั ิ รายการทีเ่ กีย่ วของกับตนได คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณากลัน่ กรองใหความเห็นกอนทำรายการดังกลาว แลวเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป โดยบริษทั ฯ จะเปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 37

37

1/3/08 5:10:14 AM


การควบคุมภายในของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบทำหนาที่สอบทานการดำเนินงานใหถูกตองตามนโยบายและระเบียบขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิ และขอกำหนดของหนวยงานกำกับดูแล สงเสริมใหพฒ ั นาระบบรายงานทางการเงินและบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่ รับรองทัว่ ไป รวมทัง้ สอบทานใหบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหารความเสีย่ งทีร่ ดั กุม เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั หิ นาทีแ่ ละแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ โดยมีสำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล เปนหนวยปฏิบตั ทิ รี่ ายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ สำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล ทำหนาทีป่ ระเมินการควบคุมภายในตามแนวปฏิบตั ทิ คี่ ณะกรรมการตรวจสอบกำหนด โดย มีนโยบายตรวจสอบในเชิงปองกันและเปนประโยชนกบั หนวยงาน พิจารณาความนาเชือ่ ถือในความถูกตองของรายงานทางการเงิน รวมทัง้ การเปดเผย ขอมูลอยางเพียงพอใหเกิดความโปรงใส ตรวจสอบตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และเพิม่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการดำเนินงาน โดยยึด แนวการตรวจสอบตามมาตรฐานสากล จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ในดานตางๆ 5 สวน คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสีย่ ง การ ควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารขอมูล และระบบติดตาม คณะกรรมการมีความเห็นวา บริษทั ฯ มีระบบการ ควบคุมภายในสำหรับเรือ่ งการทำธุรกรรมกับผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการ ผูบ ริหาร หรือผูท เี่ กีย่ วของกับบุคคลดังกลาวอยางเพียงพอแลว สำหรับ การควบคุมภายในในหัวขออื่นๆ ของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการเห็นวาบริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอแลวเชนกัน ทัง้ นีร้ ะบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ สรุปได ดังนี้

1.) องคกรและสภาพแวดลอม (Organization Control and Environment Measure) บริษทั ฯ ไดกำหนดวิสยั ทัศน พันธกิจ นโยบายดานคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย สภาพแวดลอมในการทำงาน นโยบาย 5ส มีการจัดการโครงสรางขององคกรอยางเหมาะสม กำหนดหนาทีอ่ ยางชัดเจน มีนโยบายและระเบียบทีเ่ ปนลายลักษณอกั ษร และไดเผยแพรในเว็บไซต ของบริษทั ฯ กำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจนและวัดไดเพือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั งิ านของพนักงาน มีการทบทวนแกไขงบประมาณให สอดคลองกับความเปนจริงเมือ่ มีเหตุการณทมี่ ผี ลกระทบรุนแรงกับการดำเนินงาน มีขอ กำหนดเกีย่ วกับจริยธรรม และจรรยาบรรณตอผูม สี ว นไดเสีย ทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ และขอกำหนดหามฝายบริหารและพนักงานปฏิบตั ติ นในลักษณะทีอ่ าจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั ฯ รวมทัง้ บทลงโทษหากมีการฝาฝน

2.) การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Measure) บริษทั ฯ มีการประเมินความเสีย่ งของธุรกิจโดยผูบ ริหารและคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และกำหนดมาตรการเพือ่ ลดความเสีย่ งทีอ่ าจ จะเกิดขึ้นจากทั้งปจจัยภายในและภายนอก โดยบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนตามแนวทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยจนได รั บ การประเมิ น จากตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยซึ่ ง ร ว มกั บ สำนั ก งานกำกั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย และสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยวาเปนบริษัทที่ไดปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลที่ดีในระดับสูงสุด คือ ดีเลิศ (หาดาว) ในป 2552 และกำหนดมาตรการเพือ่ ลดความเสีย่ งอืน่ ๆ เชน ความเสีย่ งจากการควบคุมการใชใยหินจากภาครัฐ ความเสีย่ งดานราคาและ การขาดแคลนวัตถุดบิ ความเสีย่ งจากการแขงขันดานราคาสินคา เปนตน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมเพือ่ ติดตามการปฏิบตั งิ าน ของแตละหนวยงานอยางนอยเดือนละครัง้ และรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการตรวจสอบ และสำนักงานตรวจ สอบภายในและงานกำกับดูแล จะสอบทานและประเมินความเหมาะสมในการดำเนินงานของแตละหนวยงานเพื่อควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ เหมาะสมและยอมรับได

3.) การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร (Management Control Activities) บริษทั ฯ มีการกำหนดขอบเขตอำนาจหนาทีแ่ ละวงเงินอนุมตั ขิ องฝายบริหารในแตละระดับไวอยางชัดเจน เปนลายลักษณอกั ษร และมีความ คลองตัว มีการแบงแยกหนาทีค่ วามรับผิดชอบระหวาง หนาทีอ่ นุมตั ิ หนาทีบ่ นั ทึกรายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และหนาทีใ่ นการดูแลจัดเก็บ ทรัพยสนิ ออกจากกันโดยเด็ดขาด โดยสำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล ทำหนาทีส่ อบทานการปฏิบตั งิ านใหเปนไปตามระเบียบปฏิบตั ิ งานของบริษัทฯ ในกรณีที่บริษัทฯ มีการทำธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว บริษัทฯ มีมาตรการใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นกอนทำรายการดังกลาว และจะเปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษทั ฯ เปดโอกาสใหผมู สี ว นไดเสียแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน มีการคุม ครองผูแ จงเบาะแสหรือขอเรียกรอง และมีการดำเนินการหลัง จากมีผแู จงเบาะแสหรือขอรองเรียน และมาตรการแกไขและการชดเชยใหแกผเู สียหาย และมีการติดตามใหการดำเนินงานของบริษทั ฯ เปนไปตาม กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ 38

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 38

1/3/08 5:10:15 AM


4.) ระบบสารสนเทศและสือ่ สารขอมูล (Information and Communication Measure) บริษทั ฯ ไดปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ พัฒนาระบบงานและการจัดการใหมปี ระสิทธิภาพและเชือ่ มโยงทัง้ องคกร และสือ่ สาร ขอมูลดังกลาวไปยังผูท เี่ กีย่ วของ โดยนำระบบซอฟตแวร Enterprise Resources Planning (ERP) ของ SAP ECC 6.0 เขามาใชแทนระบบเดิม ตัง้ แตวนั ที่ 2 มกราคม 2551 และมีการรายงานขอมูลแบบ Real Time เพือ่ ใหการตัดสินใจในการบริหารจัดการของคณะกรรมการและผูบ ริหารไดมี ขอมูลที่เพียงพอตอการตัดสินใจ และมีการจัดเก็บที่ดี ใชนโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของ บริษทั ฯ โดยมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษทั ฯ ซึง่ ผานการตรวจสอบโดยผูส อบบัญชีรบั อนุญาตจาก ภายนอก และผานการสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และสำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล

5.) ระบบการติดตาม (Monitoring) บริษทั ฯ มีการกำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจ โดยกำหนดเปนงบประมาณประจำป และประจำเดือน โดยผูบ ริหารแตละหนวยงานจะตอง รายงานผลการดำเนินงานเปรียบเทียบเปาหมายทีก่ ำหนดใหคณะกรรมการจัดการ คณะผูบ ริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ การปรับแผนกลยุทธให ทันกับเหตุการณ โดยฝายบริหารแตละสายงานจะเสนอแผนการแกไข พรอมทัง้ ไดตดิ ตามผลการแกไขอยางใกลชดิ และนำมารายงานความกาวหนา ในการประชุมทุกสัปดาหจนกวาปญหาไดรบั การแกไข โดยมีสำนักงานตรวจสอบภายในและงานกำกับดูแล ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามระบบการควบคุม ภายใน และรายงานผลการตรวจสอบตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทฯ มีนโยบายใหฝายบริหารมีหนาที่ตองรายงานเหตุการณทันทีตอ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบวาจะกระทบตอชือ่ เสียงและฐานะการเงินของบริษทั ฯ อยางมีนยั สำคัญ

นโยบายการจายเงินปนผล นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ที่จะจายใหผูถือหุน : บริษทั ฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในแตละปไมตำ่ กวารอยละ 50 ของ กำไรสุทธิทเี่ หลือจากหักเงินสำรองตางๆ ทุกประเภทตามทีไ่ ดกำหนดไวในขอบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมาย หากไมมเี หตุจำเปนอืน่ ใดและการจาย เงินปนผลนัน้ ไมมผี ลกระทบตอการดำเนินงานปกติของบริษทั ฯ อยางมีนยั สำคัญ บริษทั ฯ สามารถจายเงินปนผลใหกบั ผูถ อื หุน ไดนบั ตัง้ แตป 2547 ซึง่ บริษทั ฯ เริม่ มีผลกำไรหลังหักยอดขาดทุนสะสมทัง้ หมด สำหรับการ จายเงินปนผลในป 2552 มีรายละเอียดดังนี้ เงินปนผล กำไรสุทธิตอหุน (บาทตอหุน) เงินปนผลตอหุน (บาทตอหุน) เงินปนผล % ตอกำไรสุทธิตอหุน เงินปนผลจาย (ลานบาท) จำนวนหุนสามัญที่ชำระแลว (ลานหุน) จำนวนหุนสามัญซื้อคืน ณ วันสิ้นป 25XX (ลานหุน) ราคาพาร (บาทตอหุน)

ป 2552* 0.38 0.30 79 % 290 1,005 37.38 1.00

ป 2551 0.29 0.25 86 % 247 1,000 19.41 1.00

ป 2550 0.39 0.30 76 % 300 1,000 1.00

หมายเหตุ : * ป 2552 มีการเปลีย่ นแปลงในเรือ่ งของทุนจดทะเบียนบริษทั ฯ ใหไปดูการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญในปทผี่ า นมาหนาที่ 18 จากตารางขางตนป 2552 ประมาณ การเงินปนผลจายคำนวณจากหุน สามัญทีอ่ อกและชำระแลวคงเหลือ ณ วันสิน้ ป 2552 แตจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิไดรบั เงินปนผลจริงจะตองคำนวณจากหุน สามัญทีอ่ อก และชำระแลวคงเหลือ ณ วันที่ 9 มีนาคม 2553 (Record Date)

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 39

39

1/3/08 5:10:15 AM


รายการระหวางกัน บริษัทฯ ไดกำหนดมาตรการและขั้นตอนการอนุมัติรายการเกี่ยวโยงกันและรายการเกี่ยวกับการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งสินทรัพยของ บริษทั ฯ เพือ่ ใหเปนไปตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสำนักงาน ก.ล.ต. รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ ในคูม อื กำกับดูแล กิจการทีด่ ี ซึง่ สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ 1.) บุคคลทีม่ สี ว นไดเสียหรือทีอ่ าจจะมีความขัดแยงทางผลประโยชนจะไมสามารถอนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วของกับตนได 2.) การกำหนดราคาหรือคาตอบแทนจะตองเปนไปตามปกติทางธุรกิจและเงือ่ นไขทางการคาทัว่ ไปโดยคำนึงถึงผลประโยชนของบริษทั ฯ เปนสำคัญ 3.) คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นกอนทำรายการดังกลาว ถาคณะกรรมการตรวจสอบไมมคี วามชำนาญในการใหความเห็นในเรือ่ ง หรือรายการใด บริษทั ฯ จะตองจัดใหผเู ชีย่ วชาญอิสระเปนผูใ หความเห็นตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ประกอบการพิจารณากลัน่ กรองกอน จะนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ในกรณีรายการดังกลาวเปนขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ูชนจะพึงกระทำกับคูส ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณเดียวกันดวยอำนาจ ตอรองทางการคาทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ นมีสถานะเปนกรรมการ ผูบ ริหาร หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วของ แลวแตกรณี หรือรายการธุรกิจปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติทมี่ เี งือ่ นไขการคาโดยทัว่ ไป บริษทั ฯ จะตองนำขอตกลงดังกลาวไปขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือ ขออนุมตั ใิ นหลักการจากคณะกรรมการบริษทั ฯ กอนทำรายการนัน้ ทัง้ นีเ้ ปนไปตามมาตรา 89/12 (1) แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 4.) บริษทั ฯ จะตองเปดเผยการทำรายการดังกลาวตามหลักเกณฑและวิธกี ารทีส่ ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 5.) กรรมการทุกคนจะตองปฏิบตั ติ ามมาตรา 88 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ซึง่ กำหนดใหกรรมการแจงใหบริษทั ฯ ทราบ โดยมิชกั ชาเมือ่ มีกรณีดงั ตอไปนี้ มีสว นไดเสียไมวา โดยตรงหรือโดยออมในสัญญาใดๆ ทีบ่ ริษทั ฯ ทำขึน้ ระหวางรอบปบญ ั ชี โดยระบุขอ เท็จจริงเกีย่ วกับลักษณะของสัญญา ชือ่ ของคูส ญ ั ญาและสวนไดเสียของกรรมการในสัญญานัน้ (ถามี) ถือหุน หรือหุน กูใ นบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือโดยระบุจำนวนทัง้ หมดทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลงในระหวางรอบปบญ ั ชี (ถามี) ทัง้ นีม้ าตรา 114 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัดไดกำหนดใหบริษทั ฯ ตองเปดเผยรายละเอียดทีก่ รรมการแจงตอบริษทั ฯ ตามมาตรา 88 ขางตนไวในรายงานประจำปของบริษทั ฯ ดวย 6.) ผูบ ริหารทุกคนจะตองปฏิบตั เิ ชนเดียวกับกรรมการในขอ 5 โดยแจงตอเลขานุการบริษทั ฯ ตอไป บริษทั ฯ มีการทำรายการระหวางกันกับบุคคลทีม่ ผี ลประโยชนรว มและรายการธุรกิจทีเ่ กีย่ วของกันดังนี้

บริษัท บมจ.ศุภาลัย (ผูซื้อ)

40

ลักษณะความสัมพันธ มีกรรมการรวมกันแตไมไดถือหุน ระหวางกันดังนี้ • บมจ.กระเบื้องหลังคาตราเพชร (ผูขาย) มีนายประกิต ประทีปะเสน เปนประธานกรรมการ • บมจ.ศุภาลัย (ผูซื้อ) มีนายประกิต ประทีปะเสน เปนกรรมการและประธานกรรมการ ตรวจสอบ

ลักษณะรายการ ซื้อขายกระเบื้องพรอมติดตั้งที่มีราคาและเงื่อนไข การคาตามปกติทั่วไป

จำนวนเงิน (ลานบาท) ป 2552 ป 2551 8.36

2.80

นโยบายการกำหนดราคา ใชราคาสินคาตามปกติเทียบเคียงกับลูกคา รายใหญที่มีเงื่อนไขการคาตามปกติทั่วไป

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 40

1/3/08 5:10:16 AM


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดใหความสำคัญและรับผิดชอบตองบการเงินของ บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) ประจำป 2552 รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำป งบการเงินดังกลาวไดจดั ทำขึน้ ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 เรือ่ ง การกำหนดรายการยอทีต่ อ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ซึง่ สอดคลองกับขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ลงวัน ที่ 22 มกราคม 2544 เรือ่ ง การจัดทำและสงงบการเงินและรายงานเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษทั จดทะเบียน และเปนไปตาม มาตรฐานการบัญชีและวิธปี ฏิบตั ทิ างการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทยทีก่ ำหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ.2547 คณะกรรมการบริษทั ฯ รับผิดชอบตอรายงานทางการเงินของ บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) ซึง่ ไดจดั ทำขึน้ เพือ่ ใหเกิด ความมั่นใจวาไดแสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดโดยรวมที่เปนจริงและสมเหตุผลโดยไดจัดใหมีการบันทึกขอมูลทางบัญชีที่ ถูกตองครบถวนเพียงพอ และรายงานทางการเงินนีไ้ ดจดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปโดยพิจารณาเลือกใชนโยบายบัญชีทเี่ หมาะสม และสอดคลองกับกิจการซึง่ ถือปฏิบตั โิ ดยสม่ำเสมอ ตลอดจนไดพจิ ารณาถึงความพอเพียงในการตัง้ สำรองสำหรับรายการทีม่ คี วามไมแนนอน หรือ อาจจะมีผลกระทบอยางสำคัญตอกิจการในอนาคต โดยไดเปดเผยขอมูลทีส่ ำคัญไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และผูส อบบัญชีไดแสดงความเห็น ไวในรายงานของผูส อบบัญชีแลว ในการนีค้ ณะกรรมการบริษัทฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ประกอบดวยกรรมการทีม่ ีความอิสระและไมไดเปนผูบ ริหาร ซึง่ มี คุณสมบัตคิ รบถวนตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551) และขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ใหเขามาทำหนาทีส่ อบทานงบการเงิน ดูแลใหมกี ารปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี สอบทานระบบควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายในและการ บริหารความเสี่ยงใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีการปฏิบัติงานที่โปรงใสเปนไปตามระเบียบของบริษัทฯ และเปนไปตามบทบัญญัติแหง กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของรวมทั้งดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตลอดจนพิจารณาและเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ โดย คณะกรรมการตรวจสอบไดแสดงความเห็นไวในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ แสดงไวในรายงานประจำป 2552 แลว

วันที่ 22 กุมภาพันธ 2553 ในนามคณะกรรมการบริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

(นายประกิต ประทีปะเสน) ประธานกรรมการ

(นายอัศนี ชันทอง) กรรมการผูจัดการ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 41

41

1/3/08 5:10:16 AM


สรุปผลการดำเนินงานและการวิเคราะหฐานะทางการเงิน (ขอมูลตามงบการเงินประจำป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552)

1.) กำไรขัน้ ตน และกำไรกอนคาใชจา ย รายการ รายไดจากการขายและการใหบริการ ตนทุนขายและการใหบริการ กำไรขั้นตน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุทธิ รายไดอื่น กำไรกอนคาใชจาย

ป 2552 ลานบาท % ยอดขาย 2,774.56 1,868.83 905.73 3.80 11.13 920.66

100.00 67.36 32.64 0.14 0.40 33.18

ป 2551 ลานบาท % ยอดขาย 2,484.09 1,718.76 765.33 15.65 780.98

100.00 69.19 30.81 0.63 31.44

เพิ่ม / (ลด) ลานบาท % 290.47 150.07 140.40 3.80 (4.52) 139.68

11.69 8.73 18.35 (28.88) 17.89

บริษทั ฯ มีกำไรขัน้ ตน และกำไรกอนคาใชจา ยในป 2552 เพิม่ ขึน้ จากป 2551 รอยละ 18.35 และรอยละ 17.89 ตามลำดับ ประกอบดวย รายไดจากการขายและการใหบริการจำนวน 2,774.56 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 จำนวน 290.47 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 11.69 ซึ่งเปนผลจากการใชนโยบายการตลาดเชิงรุกอยางตอเนื่อง โดยการจัดรายการสงเสริมการขายรวมกับผูแทน จำหนายและเพิม่ จุดกระจายสินคาทุกพืน้ ที่ รวมทัง้ มาตรการกระตุน เศรษฐกิจจากภาครัฐ ตนทุนขายและการใหบริการจำนวน 1,868.83 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 จำนวน 150.07 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 8.73 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ตามปริมาณการขาย แตเพิม่ ในอัตราทีล่ ดลง เนือ่ งจากมาตรการลดตนทุนการผลิตทุกกระบวนการ และการลดคาใชจา ยทุก ประเภททัว่ ทัง้ องคกร รายไดอนื่ จำนวน 11.13 ลานบาท ลดลงจากป 2551 จำนวน 4.52 ลานบาทหรือลดลงรอยละ 28.88 เนือ่ งจากรายไดจากการขาย เศษวัสดุลดลงจำนวน 5.21 ลานบาท

2.) คาใชจา ย รายการ คาใชจายในการขายและบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร* รวมคาใชจาย

ป 2552 ลานบาท 417.25 32.63 449.88

% 92.75 7.25 100.00

ป 2551 ลานบาท 381.09 28.86 409.95

% 92.96 7.04 100.00

เพิ่ม / (ลด) % ลานบาท 36.16 3.77 39.93

9.49 13.06 9.74

* ผูบ ริหาร หมายถึง กรรมการ กรรมการผูจ ดั การ ผูด ำรงตำแหนงระดับบริหารสีร่ ายแรกนับตอจากกรรมการผูจ ดั การลงมา ผูซ งึ่ ดำรงตำแหนงเทียบเทากับผูด ำรง ตำแหนงระดับบริหารรายทีส่ ที่ กุ ราย และผูจ ดั การฝายบัญชีและการเงิน

บริษทั ฯ มีคา ใชจา ยรวมทัง้ สิน้ ในป 2552 เพิม่ ขึน้ จากป 2551 รอยละ 9.74 ประกอบดวย คาใชจา ยในการขายและบริหารจำนวน 417.25 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 จำนวน 36.16 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 9.49 เนือ่ งจากมีคา ใชจา ยทางดานการตลาดและการสงเสริมการขายเพิม่ ขึน้ จำนวน 47.84 ลานบาท แตคา ใชจา ยบริหารลดลงจำนวน 11.68 ลานบาท คาตอบแทนผูบ ริหารจำนวน 32.63 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 จำนวน 3.77 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 13.06 เนือ่ งจากการ ปรับขึน้ คาตอบแทนประจำป และการจายเงินโบนัสประจำป 2552 เพิม่ ขึน้ จากปกอ น

42

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 42

1/3/08 5:10:17 AM


3.) กำไรสุทธิ ป 2552 ลานบาท % ยอดขาย

รายการ

รายไดจากการขายและการใหบริการ 2,774.56 กำไรขั้นตน 905.73 กำไรกอนคาเสื่อมราคา ตนทุนทางการเงิน 611.96 ภาษีเงินไดนิติบุคคล กำไรสุทธิกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล 470.78 376.30 กำไรสุทธิหลังภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 0.38 กำไรสุทธิตอหุน (บาทตอหุน) * 24.46 % ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%)

ป 2551 ลานบาท % ยอดขาย

เพิ่ม / (ลด) ลานบาท %

100.00 32.64 22.06

2,484.09 765.33 505.01

100.00 30.81 20.33

290.47 140.40 106.95

11.69 18.35 21.18

16.97 13.56

371.02 284.82 0.28 18.75 %

14.94 11.47

99.76 91.48 0.09 5.71 %

26.89 32.12 32.12

(* ใชฐานจำนวนหุนสามัญ 1,000 ลานหุน)

บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิ และกำไรสุทธิตอ หุน ในป 2552 ดังนี้ บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจำนวน 376.30 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 จำนวน 91.48 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 32.12 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ตามรายไดทเี่ พิม่ ขึน้ และไดรบั ประโยชนทางภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจากเงินไดทจี่ า ยเพือ่ การลงทุนใน ทรัพยสนิ ถาวรจำนวน 25.84 ลานบาท บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิตอ หุน ละ 0.38 บาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 ทีม่ กี ำไรสุทธิหนุ ละ 0.28 บาท คิดเปนกำไรสุทธิเพิม่ ขึน้ หุน ละ 0.09 บาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 32.12 โดยมีผลตอบแทนตอสวนของผูถ อื หุน เพิม่ ขึน้ จากรอยละ 18.75 ณ วันสิน้ ป 2551 มาเปน รอยละ 24.46 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

4.) ฐานะทางการเงิน รายการ

(หนวย : ลานบาท) สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนรวม มูลคาหุนตามบัญชี (บาทตอหุน)*

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 2,347.75 752.80 1,594.95 1.59

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 1,995.38 513.04 1,482.34 1.48

เพิ่ม / (ลด) จำนวนเงิน % 17.66 352.37 46.73 239.76 7.60 112.61 7.60 0.11

(* ใชฐานจำนวนหุนสามัญ 1,000 ลานหุน)

บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิม่ ขึน้ จากวันสิน้ ป 2551 จำนวน 352.37 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 17.66 เนือ่ งจากมีลกู หนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ สุทธิ 54.55 ลานบาท สินคาคงเหลือเพิม่ ขึน้ สุทธิ 5.09 ลานบาท ทรัพยสนิ ถาวรและ ทรัพยสนิ ไมหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 280.98 ลานบาท และทรัพยสนิ หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 13.73 ลานบาท แตมเี งินสด และรายการเทียบเทาเงินสดลดลงเล็กนอยที่ 1.98 ลานบาท บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิม่ ขึน้ จากวันสิน้ ป 2551 จำนวน 239.76 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 46.73 เนือ่ งจากมีหนีส้ นิ ไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 160.72 ลานบาท และเจาหนีก้ ารคาและหนีส้ นิ อืน่ ๆ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 79.04 ลานบาท บริษทั ฯ มีสว นของผูถ อื หุน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิม่ ขึน้ จากวันสิน้ ป 2551 จำนวน 112.61 ลานบาทหรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 7.60 เนือ่ งจากมีกำไรสุทธิทเี่ พิม่ ขึน้ 376.30 ลานบาท มีทนุ จดทะเบียนและสวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ 12.11 ลานบาท (จากการใชสทิ ธิ ESOP ครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2552 รวมจำนวนใชสทิ ธิ 5,174,700 หุน ราคาใชสทิ ธิ 2.34 บาทตอหุน ) แตมกี ารซือ้ คืนหุน สามัญในป 2552 จำนวน 33.96 ลานบาท (รวมหุน ทุนซือ้ คืนทัง้ สิน้ 61.90 ลานบาท) และจายเงินปนผล 241.84 ลานบาท ทำใหมลู คาหุน ตามบัญชีเพิม่ ขึน้ จาก 1.48 บาทตอหุน ณ วันสิน้ ป 2551 มาเปน 1.59 บาทตอหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 43

43

1/3/08 5:10:18 AM


5.) กระแสเงินสด รายการ (หนวย : ลานบาท) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดยกมาตนงวด เงินสดคงเหลือปลายงวด CFROE : Cash Flow Return on Equity (%)

ป 2552 573.99 (413.03) (162.57) (0.37) (1.98) 43.49 41.51 37.30 %

ป 2551 356.46 (206.97) (206.43) 0.45 (56.49) 99.98 43.49 23.47 %

บริษทั ฯ มีเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมการดำเนินงานในป 2552 จำนวน 573.99 ลานบาท ซึง่ สูงกวากำไรสุทธิกอ นภาษีเงินได นิตบิ คุ คลจำนวน 106.95 ลานบาท เนือ่ งจากมีรายการทีไ่ มกระทบเงินสด เชน คาเสือ่ มราคาทรัพยสนิ และคาสิทธิตดั จำหนาย จำนวน 141.18 ลานบาท มีเจาหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ 80.30 ลานบาท หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ 25.68 ลานบาท หนีส้ นิ ไมหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ 4.07 ลานบาท และสินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ ลดลง 1 ลานบาท แตมภี าษีเงินไดนติ บิ คุ คลจาย 64.79 ลานบาท ลูกหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ สุทธิ 54.69 ลานบาท สินคาคงเหลือเพิม่ ขึน้ สุทธิ 7.41 ลานบาท และสินทรัพยหมุนเวียนอืน่ ๆ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 18.39 ลานบาท บริษทั ฯ มีเงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมการลงทุนในป 2552 จำนวน 413.03 ลานบาท เนือ่ งจากมีการลงทุนในโครงการ NT9 จำนวน 385.84 ลานบาท และทรัพยสนิ อืน่ ๆ จำนวน 27.19 ลานบาท บริษทั ฯ มีเงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมการจัดหาเงินในป 2552 จำนวน 162.57 ลานบาท เนือ่ งจากมีการชำระคืนเงินกูร ะยะยาว และหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาทางการเงิน 115.40 ลานบาท มีการชำระคืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูร ะยะสัน้ 65.14 ลานบาท ซือ้ คืน หุน สามัญ 33.96 ลานบาท และจายเงินปนผล 241.84 ลานบาท แตมเี งินกูร ะยะยาวเพิม่ ขึน้ 281.66 ลานบาท และมีทนุ จดทะเบียนและสวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ 12.11 ลานบาท (จากการใชสทิ ธิ ESOP ครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2552 จำนวนใช สิทธิ 5,174,700 หุน ราคาใชสทิ ธิ 2.34 บาทตอหุน )

6.) สภาพคลอง รายการ อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้ถัวเฉลี่ย (วัน) ระยะเวลาหมุนเวียนสินคาสำเร็จรูปคงเหลือ (วัน) ระยะเวลาชำระหนี้ถัวเฉลี่ย (วัน) Cash Cycle (วัน)

44

ป 2552

ป 2551

1.49 0.76 1.05 8.16 44 22 27 39

1.58 0.75 0.85 8.04 45 25 21 49

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 44

1/3/08 5:10:19 AM


บริษทั ฯ มีอตั ราสวนสภาพคลอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เทากับ 1.49 เทา เนือ่ งจากมีสนิ ทรัพยหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ จากวันสิน้ ป 2551 รอยละ 8.93 และมีหนีส้ นิ หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ รอยละ 15.60 มีอตั ราสวนสภาพคลองหมุนเร็วเทากับ 0.76 เทา และ อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสดเทากับ 1.05 เทา เนือ่ งจากมีเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานเพิม่ ขึน้ บริษทั ฯ มี Cash Cycle ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 39 วัน ลดลงจากวันสิน้ ป 2551 จำนวน 10 วัน เนือ่ งจากระยะเวลา เก็บหนีถ้ วั เฉลีย่ ลดลง 1 วัน และระยะเวลาหมุนเวียนสินคาสำเร็จรูปคงเหลือลดลง 3 วัน แตระยะเวลาชำระหนีถ้ วั เฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 6 วัน

7.) ความสามารถในการกูย มื และชำระหนี้ รายการ อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชำระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชำระภาระผูกพัน (เทา)

ป 2552 0.47 178.25 5.14

ป 2551 0.35 54.61 4.55

บริษทั ฯ มีอตั ราสวนหนีส้ นิ รวมตอสวนของผูถ อื หุน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เทากับ 0.47 เทา เนือ่ งจากมีหนีส้ นิ ระยะยาวเพิม่ ขึน้ แตมอี ตั ราสวนความสามารถชำระดอกเบีย้ เทากับ 178.25 เทา เนือ่ งจากมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเพิม่ ขึน้ บริษทั ฯ มีอตั ราสวนความสามารถในการชำระภาระผูกพันเพิม่ ขึน้ จาก 4.55 เทา ณ วันสิน้ ป 2551 มาเปน 5.14 เทา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เนือ่ งจากมี EBITDA เทากับ 611.96 ลานบาท มีหนีส้ นิ ระยะยาวและหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาทางการเงินทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เทากับ 115.40 ลานบาท และจายชำระตนทุนทางการเงิน 3.75 ลานบาท

แนวโนมธุรกิจในป 2553 สำหรับแนวโนมธุรกิจในป 2553 มีทศิ ทางดีขนึ้ จากสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมทีค่ าดวาจะเติบโตขึน้ ราคาพืชผลทีส่ งู ขึน้ รวมทัง้ ผลิตภัณฑ ใหมจากสายการผลิตใหม NT9 ทีเ่ ริม่ ออกจำหนายในตนป 2553 บริษทั ฯ จึงมีประมาณการวาในป 2553 จะมีผลการดำเนินงานทีเ่ ติบโตขึน้ จากปกอ น

คาตอบแทนทีจ่ า ยใหแกผสู อบบัญชี รอบปบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตของบริษทั ฯ ป 2552 ไดแก นายมนตรี พาณิชกุล ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3461 แหงบริษทั ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำกัด และผูส อบบัญชีรบั อนุญาตของบริษทั ฯ ป 2551 ไดแก นางสาวบงกช อ่ำเสงีย่ ม ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3684 แหงบริษทั เค พี เอ็ม จี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด สำหรับคาใชจา ยทีจ่ า ยเปนคาสอบบัญชีในป 2552 ลดลง 19 % จากป 2551 มีรายละเอียดดังนี้ รายการ (หนวย : บาท) คาสอบบัญชีประจำป คาสอบทานงบการเงินระหวางกาล คาใชจายอื่นๆ

ป 2552 550,000 300,000 40,898

ป 2551 630,000 390,000 80,000

รวมทั้งสิ้น

890,898

1,100,000

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 45

45

1/3/08 5:10:20 AM


รายงานผูส อบบัญชีรบั อนุญาตและงบการเงิน เสนอ

คณะกรรมการ บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลของบริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกำไรขาดทุน งบแสดงการ เปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน และงบกระแสเงินสด สำหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน ซึง่ ผูบ ริหารของกิจการเปนผูร บั ผิดชอบตอความถูกตองและครบถวน ของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงิน ของบริษทั สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทีน่ ำมาแสดงเปรียบเทียบตรวจสอบโดยผูส อบบัญชีอนื่ ซึง่ แสดงความเห็นอยางไมมเี งือ่ นไขตาม รายงานลงวันที่ 13 กุมภาพันธ 2552 ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำหนดใหขา พเจาตองวางแผนและปฏิบตั งิ านเพือ่ ใหไดความ เชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐาน ประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีทกี่ จิ การใช และประมาณการ เกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ปนสาระสำคัญ ซึง่ ผูบ ริหารเปนผูจ ดั ทำขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอใน งบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชือ่ วาการตรวจสอบดังกลาวใหขอ สรุปทีเ่ ปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงินของบริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดำเนินงาน และงบกระแสเงินสดสำหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป

กรุงเทพมหานคร วันที่ 12 กุมภาพันธ 2553

46

มนตรี พาณิชกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3461 บริษัท ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำกัด

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 46

1/3/08 5:10:21 AM


บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หนวย : บาท) หมายเหตุ สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ - สุทธิ ทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดำเนินงาน - สุทธิ สินทรัพยไมมตี วั ตน - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจาหนีก้ ารคา เงินกูย มื ระยะยาวทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงินทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป ภาษีเงินไดคา งจาย หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนีส้ นิ ไมหมุนเวียน เงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ประมาณการหนีส้ นิ เงินบำเหน็จพนักงาน รวมหนีส้ นิ ไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถ อื หุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ 1,049,650,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท ทุนทีอ่ อกและชำระแลว หุน สามัญ 1,005,174,700 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท ชำระครบแลว หุน สามัญ 1,000,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท ชำระครบแลว สวนเกินมูลคาหุน สามัญ กำไรสะสม จัดสรรแลว สำรองตามกฎหมาย สำรองสำหรับหุน ทุนซือ้ คืน ยังไมไดจดั สรร หุน ทุนซือ้ คืน รวมสวนของผูถ อื หุน รวมหนีส้ นิ และสวนของผูถ อื หุน

2552

2551

5 6 7 8

41,505,021 356,657,696 424,768,873 47,733,542 870,665,132

43,487,665 302,110,728 419,677,754 34,002,869 799,279,016

9 10 11

1,354,193,823 86,529,488 35,018,719 1,340,460 1,477,082,490 2,347,747,622

1,067,679,346 86,529,488 39,544,741 2,343,660 1,196,097,235 1,995,376,251

12

120,606,539 182,219,028 125,000,000 44,254,963 113,739,737 585,820,267

185,743,217 102,629,722 112,500,000 2,899,501 18,317,517 84,694,558 506,784,515

162,911,099 4,068,046 166,979,145 752,799,412

6,255,000 6,255,000 513,039,515

1,049,650,000

1,049,650,000

13 14 15 13 16

18

1,005,174,700

19 20 20

109,181,898

1,000,000,000 102,247,800

105,000,000 61,898,914 375,591,612 (61,898,914) 1,594,948,210 2,347,747,622

105,000,000 27,938,661 275,088,936 (27,938,661) 1,482,336,736 1,995,376,251

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้ รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 47

47

1/3/08 5:10:21 AM


บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

งบกำไรขาดทุน

สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หนวย : บาท) หมายเหตุ

2552

2551

รายไดจากการขายและการใหบริการ

2,774,561,814

2,484,090,510

ตนทุนขายและการใหบริการ

1,868,830,305

1,718,761,481

905,731,509

765,329,029

3,801,079

-

11,132,629

15,647,159

กำไรกอนคาใชจา ย

920,665,217

780,976,188

คาใชจา ยในการขายและบริหาร

417,253,927

381,096,579

32,627,409

28,857,238

รวมคาใชจา ย

449,881,336

409,953,817

กำไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได

470,783,881

371,022,371

ตนทุนทางการเงิน

(3,750,217)

(8,105,281)

กำไรกอนภาษีเงินได

467,033,664

362,917,090

ภาษีเงินได

(90,730,725)

(78,101,628)

กำไรสุทธิ

376,302,939

284,815,462

กำไรขัน้ ตน รายไดอนื่ กำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น - สุทธิ อืน่

คาตอบแทนผูบ ริหาร

กำไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐาน

29

0.38

0.29

กำไรตอหุน ปรับลด

29

0.38

0.29

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

48

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 48

1/3/08 5:10:22 AM


บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน

ยอดเงินคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หนวย : บาท) กำไรสะสม จัดสรร หมายเหตุ

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 หุน สามัญซือ้ คืน

สวนเกิน มูลคา หุน สามัญ

หุน ทีอ่ อก และ ชำระแลว

สำรอง ตาม กฎหมาย

ยังไมได จัดสรร

สำรอง สำหรับ หุน ทุนซือ้ คืน

หุน ทุนซือ้ คืน

รวม

1,000,000,000 102,247,800

88,000,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- (330,000,000)

- (330,000,000)

20

กำไรสุทธิ

365,212,135

- 1,555,459,935

- (27,938,661) 284,815,462

-

(27,938,661) 284,815,462

เงินปนผล

22

-

-

-

สำรองตามกฎหมาย

19

-

-

17,000,000

-

(17,000,000)

-

-

สำรองสำหรับหุน ทุนซือ้ คืน

20

-

-

-

27,938,661

(27,938,661)

-

-

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

1,000,000,000 102,247,800

105,000,000

27,938,661

275,088,936 (27,938,661) 1,482,336,736

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

1,000,000,000 102,247,800

105,000,000

27,938,661

275,088,936 (27,938,661) 1,482,336,736

5,174,700

-

-

-

-

-

5,174,700

-

6,934,098

-

-

-

-

6,934,098

-

-

-

-

- (33,960,253)

(33,960,253)

-

-

-

-

- (241,840,010)

ทุนเรือนหุน เพิม่ ขึน้

18

สวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ หุน สามัญซือ้ คืน

20

กำไรสุทธิ

376,302,939

-

376,302,939

เงินปนผล

22

-

-

-

สำรองสำหรับหุน ทุนซือ้ คืน

20

-

-

-

33,960,253

(33,960,253)

1,005,174,700 109,181,898

105,000,000

61,898,914

375,591,612 (61,898,914) 1,594,948,210

ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

- (241,840,010) -

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 49

49

1/3/08 5:10:22 AM


บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด

สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (หนวย : บาท) หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรกอนภาษีเงินได ปรับปรุงดวย : คาเสือ่ มราคาและคาตัดจำหนาย (กำไร) ขาดทุนจากการจำหนายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญ ู คาเผือ่ สินคาเสือ่ มสภาพและการลดลงของมูลคาสินคา (โอนกลับ) คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย (โอนกลับ) คาเผือ่ ผลขาดทุนจากสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (กำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ ดอกเบีย้ รับ ดอกเบีย้ จาย ลูกหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ สินคาคงเหลือ (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง เจาหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ (ลดลง) หนีส้ นิ ไมหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ เงินสดรับจากการดำเนินงาน รับดอกเบีย้ จายภาษีเงินได จายดอกเบีย้ เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายสำหรับทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร เงินสดรับจากการขายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (จายคืน) รับเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จาก สถาบันการเงิน รับเงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจายสำหรับหุน ทุนซือ้ คืน จายชำระคืนเงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายชำระหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน ทุนเรือนหุน และสวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ จายเงินปนผล เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไมเกิดขึน้ จริงของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5

2552

2551

467,033,664

362,917,090

141,180,840 (2,900,578) 4,228,308 7,464,731 258,043 (789,019) (182,136) 3,750,217 620,044,070 (58,918,774) (14,878,805) (14,950,125) 1,003,200 80,298,869 34,992,982 4,068,046 651,659,463 182,136 (64,793,279) (13,062,453) 573,985,867

133,984,782 921,323 4,709,498 (29,847,387) (3,860,000) 15,370,000 399,683 (1,268,962) 8,105,281 491,431,308 (20,148,983) 6,648,816 7,256,729 (1,434,552) 4,664,820 (9,924,884) 478,493,254 1,952,250 (114,030,210) (9,962,887) 356,452,407

(416,032,209) (579,000) 3,582,739 (413,028,470)

(204,260,834) (2,725,490) 19,500 (206,966,824)

(65,136,678) 281,656,099 (33,960,253) (112,500,000) (2,899,501) 12,108,798 (241,838,730) (162,570,265) (369,776) (1,982,644) 43,487,665 41,505,021

185,743,217 68,755,000 (27,938,661) (100,000,000) (2,987,616) (329,998,350) (206,426,410) 446,378 (56,494,449) 99,982,114 43,487,665

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึง่ ของงบการเงินนี้ 50

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 50

1/3/08 5:10:23 AM


บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

1. ขอมูลทัว่ ไป บริษทั กระเบือ้ งหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) จัดตัง้ เปนบริษทั มหาชนจำกัดในประเทศไทย บริษทั จดทะเบียนกับตลาดหลัก ทรัพยแหงประเทศไทยเมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2548 ทีอ่ ยูจ ดทะเบียนและโรงงานตัง้ อยูเ ลขที่ 69 - 70 หมู 1 ถนนมิตรภาพ (กม. 115) ตำบล ตลิ่งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ประเทศไทย บริษัทดำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตกระเบื้องมุงหลังคาและวัสดุแทนไม ผูถือหุนราย ใหญคอื บริษทั มายเรียด วัสดุ จำกัด (ถือหุน รอยละ 73.33) ซึง่ บริษทั ดังกลาวเปนนิตบิ คุ คลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ในประเทศไทย

2. เกณฑการเสนองบการเงินและนโยบายการบัญชีทสี่ ำคัญ งบการเงินของบริษทั ไดจดั ทำขึน้ ในสกุลเงินบาทและตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 30 มกราคม 2552 เรือ่ ง กำหนดรายการ ยอทีต่ อ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ซึง่ สอดคลองกับขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยลงวันที่ 22 มกราคม 2544 เรือ่ งการจัดทำ และสงงบการเงินและรายงานเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษทั จดทะเบียนและเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและวิธปี ฏิบตั ิ ทางการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 12/2552 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เรือ่ งการจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการ บัญชีของไทยใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ ดังนัน้ มาตรฐานการบัญชีทอี่ า งอิงในงบการเงินนี้ จึงใชเลขระบุฉบับมาตรฐานใหม ตามประกาศดังกลาวแลว สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 16/2552 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 เกีย่ วกับมาตรฐานดังตอไปนี้ ซึง่ ได ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว แตยงั ไมมผี ลบังคับใชในป 2552 มาตรฐานการบัญชีไทย

วันทีม่ ผี ลบังคับใช

แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) ฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 24 การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (ปรับปรุง 2550) (ฉบับ 47 เดิม) ฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุน

1 มกราคม 2554 1 มกราคม 2555 1 มกราคม 2554 1 มกราคม 2554

ผูบริหารของบริษัทคาดวาจะนำมาตรฐานการบัญชีขางตนมาเริ่มถือปฏิบัติกับงบการเงินของบริษัทเมื่อมาตรฐานดังกลาวมีผลบังคับ ใช และ ผูบ ริหารไดประเมินผลกระทบจากมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาวขางตน เมือ่ ถือปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ริม่ ถือปฏิบตั ไิ มมผี ลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินของบริษทั งบการเงินนีไ้ ดจดั ทำขึน้ โดยใชเกณฑการวัดมูลคาดวยราคาทุนเดิม ยกเวนตามทีไ่ ดเปดเผยในนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สำคัญของบริษัทโดยสรุปมีดังตอไปนี้ 2.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดหมายถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงินอืน่ ทีม่ กี ำหนดระยะเวลา 3 เดือน หรือนอยกวา 2.2 ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ (รวมยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน) แสดงในราคาตามใบแจงหนีห้ กั คาเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนีจ้ ะถูกตัด จำหนายบัญชีเมือ่ ทราบวาเปนหนีส้ ญ ู

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 51

51

1/3/08 5:10:23 AM


2.3 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน หรือมูลคาสุทธิทไี่ ดรบั แลวแตราคาใดจะต่ำกวา ราคาทุนคำนวณโดยใชวธิ ถี วั เฉลีย่ เคลือ่ นที่ เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2551 บริษทั ไดรบั การอนุมตั จิ ากกรมสรรพากรสำหรับการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับการตีราคา สินคาคงเหลือ (วัสดุใชสนิ้ เปลือง) จากราคาทุนตามวิธเี ขากอน-ออกกอนเปนราคาทุนถัวเฉลีย่ เคลือ่ นทีโ่ ดยมีผลตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2551 การเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กลาวไมมผี ลกระทบทีเ่ ปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 2.4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดิ น แสดงตามราคาทุ น อาคารและอุ ป กรณ แ สดงตามราคาทุ น หั ก ด ว ยค า เสื่ อ มราคาสะสม และขาดทุ น จากการด อ ยคา คาเสือ่ มราคาคำนวณโดยวิธเี สนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพย ดังตอไปนี้ อาคารและสิง่ ปลูกสราง เครือ่ งจักรและอุปกรณ เครือ่ งตกแตง ติดตัง้ และเครือ่ งใชสำนักงาน ยานพาหนะ

5-20 ป 5-20 ป 3-5 ป 5 ป

2.5 สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมตี วั ตนทีบ่ ริษทั ซือ้ มาและมีอายุการใชงานจำกัด แสดงในราคาทุนหักคาตัดจำหนายสะสมคาตัดจำหนายบันทึกเปนคาใช จายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธเี สนตรงตามเกณฑระยะเวลาทีค่ าดวาจะไดรบั ประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยไมมตี วั ตนแตละ ประเภท ระยะเวลาทีค่ าดวาจะไดรบั ประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงได ดังนี้ คาสิทธิและการชวยเหลือทางเทคนิครอตัดบัญชี คาลิขสิทธิซ์ อฟแวร

10 ป 10 ป

2.6 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาดำเนินงาน สัญญาเชาซึ่งความเสี่ยงและประโยชนสวนใหญจากการเปนเจาของสินทรัพยยังคงอยูกับผูใหเชาบันทึกเปนสัญญาเชาดำเนินงาน คาเชาทีเ่ กิดขึน้ จากสัญญาเชาดังกลาวรับรูเ ปนคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุนตามอายุของสัญญาเชา สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงิน ซึ่งบริษัทไดรับโอนผลตอบแทนและความเสี่ยงสวนใหญของการเปนเจาของสินทรัพย ยกเวนกรรมสิทธิ์ทาง กฎหมายถือเปนสัญญาเชาทางการเงิน บริษัทบันทึกสินทรัพยที่เชาในมูลคายุติธรรม ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชาหรือมูลคาปจจุบัน ของจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีจ่ ะตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา คาเสือ่ มราคาของสินทรัพยทเี่ ชาคำนวณโดยวิธเี สนตรงตาม อายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพย ดอกเบีย้ หรือคาใชจา ยทางการเงินคำนวณโดยใชวธิ อี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ทจริงตลอดระยะเวลาของ สัญญา ดอกเบีย้ หรือคาใชจา ยทางการเงินและคาเสือ่ มราคารับรูเ ปนคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุน 2.7 ประมาณการหนี้สินเงินบำหน็จพนักงาน บริษัทบันทึกเงินบำหน็จพนักงานเมื่อเกษียณอายุตามจำนวนที่ประมาณขึ้น ซึ่งอาจตองจายถาพนักงานผูมีสิทธิแตละคนเกษียณ อายุ ณ วันทีใ่ นงบดุล ในการประมาณการดังกลาว บริษทั พิจารณาจากเงินเดือนเดือนสุดทายและระยะเวลาทีป่ ฏิบตั งิ าน 2.8 รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีทเี่ ปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาท โดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ สินทรัพยและหนีส้ นิ ที่ เปน ตัวเงินทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศคงเหลือ ณ วันสิน้ ปแสดงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ นทีอ่ า งอิงโดยธนาคารแหงประเทศไทยใน วันนัน้ กำไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จากการแปลงคาและทีเ่ กิดจากการรับหรือจายชำระทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศดังกลาวรับรูเ ปนรายไดหรือ คา ใชจา ยในงบกำไรขาดทุน 2.9 การรับรูรายได รายไดจากการรับรูตามเกณฑคงคาง โดยรับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบสินคาใหกับลูกคาแลวรายไดจากการขายสินคาแสดง มูลคาตามราคาในใบกำกับสินคาหลังจากหักสวนลดการคา ซึง่ ไมรวมภาษีมลู คาเพิม่ ของสินคาทีไ่ ดสง มอบ รายไดดอกเบีย้ รับรับรูต ามเกณฑคงคาง 52

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 52

1/3/08 5:10:24 AM


2.10 เครื่องมือทางการเงิน บริษทั ไดทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Foreign Exchange Contracts) ในการบริหารความเสีย่ งของ สินทรัพยและหนีส้ นิ ทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ โดยไดเปดเผยรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับเครือ่ ง มือทางการเงินไวแลวในหมายเหตุขอ 25 กำไรขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จากสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและสัญญาแลกเปลีย่ นสกุล เงินซึง่ ใชเพือ่ ปองกันความเสีย่ งของสินทรัพยและหนีส้ นิ รับรูเ ปนรายไดหรือคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุน จำนวนเงินทีต่ อ งจายและจำนวนเงิน ทีจ่ ะไดรบั ตามสัญญาดังกลาวแสดงหักกลบกันในงบดุล สวนเกินหรือสวนต่ำจากการทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนานำมา เฉลีย่ รับรูเ ปนรายไดหรือคาใชจา ยตามอายุสญ ั ญา บริษทั ไมมนี โยบายทีจ่ ะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบดุลทีเ่ ปนตราสาร อนุพนั ธเพือ่ การเก็งกำไรหรือเพือ่ การคา 2.11 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษทั ไดจดั ตัง้ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพพนักงานของบริษทั ทีส่ มัครเปนสมาชิกโดยหักจากเงินเดือนของพนักงานสวนหนึง่ และบริษทั จายสมทบใหอกี สวนหนึง่ บริษทั บันทึกเงินจายสมทบนีเ้ ปนคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุน 2.12 ภาษีเงินได ภาษีเงินไดบนั ทึกตามจำนวนทีจ่ า ยและทีไ่ ดตงั้ คางจายไวสำหรับป 2.13 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิดว ยจำนวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนัก ทีม่ อี ยู ณ วันสิน้ ป กำไรตอหุน ปรับ ลดคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปดว ยผลรวมของจำนวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนักทีอ่ อกในระหวางปบวกดวยจำนวนถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนักของหุน สามัญทีบ่ ริษทั ตองออกโดยสมมติวา ผูถ อื ใบสำคัญแสดงสิทธิไดมกี ารใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญ ณ วันตนปหรือวันออกหุน สามัญเทียบเทา 2.14 การใชประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป บริษทั ตองอาศัยดุลยพินจิ ของผูบ ริหารในการกำหนดนโยบายการ บัญชี การประมาณการและการตัง้ ขอสมมติฐานหลายประการ ซึง่ มีผลกระทบตอการแสดงจำนวนสินทรัพย หนีส้ นิ และการเปดเผยขอมูล เกีย่ วกับสินทรัพยและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ วันสิน้ งวด รวมทัง้ การแสดงรายไดและคาใชจา ยของปบญ ั ชี ถึงแมวา การประมาณการของ ผูบ ริหาร ไดพจิ ารณาอยางสมเหตุสมผลภายใตเหตุการณ ณ ขณะนัน้ ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจมีความแตกตางไปจากประมาณการนัน้

3. การจัดประเภทรายการใหม รายการในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ตอไปนีไ้ ดมกี ารจัดประเภทรายการใหมเพือ่ ใหสอดคลองกับการจัด ประเภทรายการในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 3.1 คาตอบแทนผูบ ริหารจำนวน 28,857,238 บาท ซึง่ เดิมไดแสดงรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและบริหารในงบการเงินไดนำมาแสดงเปน รายการแยกตางหาก 3.2 กลับรายการคาเผือ่ มูลคาสินคาลดลงและสินคาเสือ่ มคุณภาพจำนวน 17,059,254 บาท ซึง่ เดิมแสดงรวมอยูใ นรายไดอนื่ ในงบการเงินได นำมาแสดงรวมอยูใ นตนทุนขายและการใหบริการ 3.3 คาสวนลดตามปริมาณซือ้ จำนวน 25,930,815 บาท ซึง่ เดิมแสดงรวมอยูใ นคาใชจา ยในการขายและบริหารในงบการเงินไดนำมาแสดงรวม อยูใ นรายไดจากการขายและการใหบริการ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 53

53

1/3/08 5:10:24 AM


4. ขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับกระแสเงินสด เจาหนีค้ า ซือ้ สินทรัพยสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดงั นี้

เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยยกมา บวก คาซื้อสินทรัพย หัก เงินสดจาย ดอกเบี้ยจาย เจาหนี้คาซื้อสินทรัพยยกไป

(หนวย : พันบาท) ป 2552

ป 2551

13,138 419,881 416,611 9,201 7,207

13,138 208,947 206,986 1,961 13,138

5. เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย เงินสดในมือ เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย เงินฝากประจำ

(หนวย : พันบาท) ป 2552 130 14,161 27,060 154 41,505

ป 2551 130 13,124 30,082 152 43,488

6. ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จำแนกตามอายุหนีท้ คี่ า งชำระไดดงั นี้ (หนวย : พันบาท) ลูกหนี้การคาบริษัทอื่น ยังไมถึงกำหนดชำระ คางชำระ นอยกวา 60 วัน 60 วัน - 120 วัน 120 วัน - 360 วัน มากกวา 360 วัน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมถึงกำหนดชำระ คางชำระ นอยกวา 60 วัน รวมลูกหนี้การคา - สุทธิ 54

ป 2552

ป 2551

299,700

255,327

47,304 1,290 41 18,849 367,184 (12,590) 354,594

37,498 2,407 8,669 5,489 309,390 (8,330) 301,060

1,410

806

654 2,064 356,658

245 1,051 302,111

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 54

1/3/08 5:10:24 AM


7. สินคาคงเหลือ - สุทธิ​ิ สินคาคงเหลือ - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

สินคาสำเร็จรูป งานระหวางทำ วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง สินคาระหวางทาง หัก คาเผื่อการลดมูลคาของสินคาคงเหลือ คาเผื่อสินคาลาสมัย สินคาคงเหลือ - สุทธิ

(หนวย : พันบาท) ป 2552

ป 2551

125,101 88,857 159,721 25,358 49,681 448,718 (14,102) (9,847) 424,769

98,864 87,793 215,644 23,385 10,476 436,162 (13,810) (2,674) 419,678

มูลคาของสินคาคงเหลือทีร่ บั รูเ ปนคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีจำนวน 1,719,570 พันบาท และ 1,599,840 พันบาท ตามลำดับ มูลคาของสินคาคงเหลือของบริษทั ทีบ่ นั ทึกเปนคาใชจา ยในงบการเงินสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ไดรวมขาดทุน จากสินคาลาสมัยและการลดมูลคาของสินคาคงเหลือจากมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั จำนวน 7,465 พันบาท และบันทึกกลับรายการขาดทุนจากสินคา ลาสมัยและการลดมูลคาของสินคาคงเหลือจากมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั จำนวน 17,059 พันบาท ตามลำดับ

8. สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

เงินจายลวงหนาคาซื้อสินคา คาใชจายจายลวงหนา อื่นๆ

(หนวย : พันบาท) ป 2552

ป 2551

32,377 972 14,385 47,734

28,229 950 4,824 34,003

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 55

55

1/3/08 5:10:25 AM


9. ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ - สุทธิ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย

ทีด่ นิ

ราคาทุน วันที่ 31 ธันวาคม 2550 17,647 เพิ่มขึ้น โอน จำหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2551 17,647 เพิ่มขึ้น โอน จำหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2552 17,647 คาเสื่อมราคาสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคา - จำหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคา - จำหนาย วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาเผื่อการดอยคา วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ลดลง (กลับรายการ) วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น ลดลง (กลับรายการ) วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลคาสุทธิตามบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2551 17,647 วันที่ 31 ธันวาคม 2552 17,647 คาเสื่อมราคาสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551

56

อาคาร เครือ่ งจักร และ และ สิง่ ปลูกสราง อุปกรณ

เครือ่ งตกแตง ติดตัง้ และ เครือ่ งใช สำนักงาน ยานพาหนะ

สินทรัพย ระหวาง กอสราง และติดตัง้

รวม

405,346 12,387 7,441 (23,580) 401,594 230 1,961 (1,048) 402,737

1,920,573 63,268 33,305 (19,701) 1,997,445 7,162 38,470 (16,860) 2,026,217

35,303 5,229 4,843 (1,816) 43,559 2,580 608 (1,159) 45,588

57,569 207 (30) 57,746 2,035 (9,777) 50,004

53,398 2,489,836 125,131 206,222 (45,589) - (45,127) 132,940 2,650,931 409,676 421,683 (41,039) - (28,844) 501,577 3,043,770

252,860 15,020 (22,710) 245,170 15,091 (771) 259,490

1,178,230 98,902 (19,638) 1,257,494 106,713 (16,420) 1,347,787

20,976 6,096 (1,808) 25,264 7,024 (1,136) 31,152

38,455 8,890 (30) 47,315 5,342 (9,777) 42,880

- 1,490,521 - 128,908 - (44,186) - 1,575,243 - 134,170 - (28,104) - 1,681,309

1,400 (1,281) 119 151 (119) 151

2,280 (2,280) 225 225

300 (280) 20 21 (20) 21

20 (19) 1 1 (1) 1

156,305 143,096

739,951 678,205

18,275 14,415

10,430 7,123

7,869 7,869 7,869

11,869 (3,860) 8,009 398 (140) 8,267

125,071 1,067,679 493,708 1,354,194 134,170 128,908

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 56

1/3/08 5:10:25 AM


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ราคาทุนของทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณทไี่ ดคำนวณคาเสือ่ มราคาเต็มจำนวนแลว แตยงั ใชงานอยูม ี จำนวน 1,132 ลานบาท และ 1,131 ลานบาท ตามลำดับ ที่ดิน สิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ และที่ดินที่ไมไดใชในการดำเนินงานบางสวนของบริษัทไดถูกนำไปจำนองและจำนำเพื่อค้ำ ประกันวงเงินสินเชือ่ ทีไ่ ดรบั จากสถาบันการเงินแหงหนึง่ (ดูหมายเหตุขอ 13)

10. ทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชดำเนินงาน - สุทธิ ทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชดำเนินงาน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

ราคาทุน หัก คาเผื่อผลขาดทุนจากการดอยคา

(หนวย : พันบาท) ป 2552

ป 2551

109,529 23,000 86,529

109,529 23,000 86,529

สวนหนึง่ ของโฉนดทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดำเนินงานของบริษทั ซึง่ มีมลู คาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จำนวนเงินรวม 16.4 ลานบาท ไดถอื กรรมสิทธิร์ ว มกันกับบริษทั อืน่ สองแหง สวนหนึง่ ของทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดำเนินงานไดใชเปนหลักทรัพยคำ้ ประกันเงินกูย มื ระยะยาวและวงเงินสินเชือ่ อืน่ ๆ จากสถาบันการเงินใน ประเทศแหงหนึง่ (ดูหมายเหตุขอ 13)

11. สินทรัพยไมมตี วั ตน - สุทธิ สินทรัพยไมมตี วั ตน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย (หนวย : พันบาท) คาสิทธิและ การชวยเหลือ ทางเทคนิค รอตัดบัญชี

ราคาทุน วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาตัดจำหนายสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสำหรับป วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลคาสุทธิทางบัญชี วันที่ 31 ธันวาคม 2551 วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาตัดจำหนายสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2551

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวร

รวม

26,888 26,888 26,888

159 23,858 24,017 579 24,596

27,047 23,858 50,905 579 51,484

6,274 2,688 8,962 2,689 11,651

9 2,389 2,398 2,416 4,814

6,283 5,077 11,360 5,105 16,465

17,926 15,237

21,619 19,782

39,545 35,019 5,105 5,077 รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 57

57

1/3/08 5:10:26 AM


12. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย (หนวย : พันบาท)

เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน มีหลักประกัน ไมมีหลักประกัน

ป 2552

ป 2551

10,607

-

60,000 50,000 120,607

90,000 95,743 185,743

วัตถุประสงคของเงินกูย มื ดังกลาวเพือ่ ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนภายในบริษทั เงินกูย มื ระยะสัน้ ทีม่ หี ลักประกันค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ ดินและสิง่ ปลูกสราง เครือ่ งจักรและอุปกรณ และทีด่ นิ ทีไ่ มไดใช ในการดำเนินงานบางสวน (ดูหมายเหตุขอ 13)

13. เงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551ประกอบดวย (หนวย : พันบาท)

1)เงินกูตามสัญญาเงินกูลงวันที่ 21 เมษายน 2549 2)เงินกูตามสัญญาเงินกูลงวันที่ 30 เมษายน 2551 3)เงินกูตามสัญญาเงินกูลงวันที่ 17 มิถุนายน 2551 หัก เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

ป 2552

ป 2551

167,324 120,587 287,911 (125,000) 162,911

50,000 68,755 118,755 (112,500) 6,255

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและสินเชือ่ อืน่ ๆ กับสถาบันการเงินหลายแหง โดยมีอตั ราดอกเบีย้ ระหวางรอยละ 1.80 ถึงรอยละ 6.75 ตอป และรอยละ 4.50 ถึงรอยละ 6.50 ตอป ตามลำดับ 1) ในเดือนเมษายน 2549 บริษทั ไดทำสัญญาเงินกูย มื ระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึง่ จำนวนเงิน 200 ลานบาท โดยมีอตั รา ดอกเบีย้ ดังตอไปนี้ อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ ยละ 5.75 ตอป ในปที่ 1 อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ ยละ 6 ตอป ในปที่ 2 และ หลังจากนัน้ ในอัตรารอยละ MLR ลบรอยละ 0.5 ตอป เงินกูย มื นีม้ กี ำหนดชำระคืนทุก 3 เดือน รวม 8 งวด งวดละ 25 ลานบาท เริม่ ตัง้ แตเดือนสิงหาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั ไมมเี งินกูย มื ระยะยาวคางชำระโดยไดชำระงวดสุดทายเมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2552 เงินกูย มื ขางตนค้ำประกันโดยการจดจำนองทีด่ นิ อาคารและสิง่ ปลูกสราง เครือ่ งจักรและอุปกรณ และทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดำเนิน งานบางสวน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ราคาตามบัญชีของหลักประกันมีดงั นี้

58

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 58

1/3/08 5:10:26 AM


(หนวย : พันบาท)

ที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ ที่ดินที่ไมไดใชในการดำเนินงาน

ป 2552

ป 2551

17,647 37,115 31 40,735 95,528

17,647 44,104 33 40,735 102,519

2)

ในเดือนเมษายน 2551 บริษทั ไดทำสัญญาเงินกูย มื ระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึง่ จำนวนเงิน 250 ลานบาท สำหรับซือ้ เครือ่ งจักร เงินกูย มื นีม้ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีร่ อ ยละ 4.5 ตอป และมีกำหนดชำระคืนทุก 3 เดือน รวม 8 งวด งวดละ 31.25 ลานบาท เริม่ ตัง้ แตเดือนกรกฎาคม 2552 โดยบริษทั จะไมนำเครือ่ งจักรดังกลาวไปกอภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดคงเหลือ เงินกูย มื มีจำนวนเงิน 167.32 ลานบาท และจำนวน 68.75 ลานบาท ตามลำดับ 3) ในเดือนมิถนุ ายน 2551 บริษทั ไดทำสัญญาเงินกูย มื ระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึง่ จำนวนเงิน 150 ลานบาท สำหรับซือ้ เครือ่ งจักร เงินกูย มื นีม้ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีร่ อ ยละ 4.3 ตอป และมีกำหนดชำระดอกเบีย้ ทุกเดือน รวม 24 งวด นับตัง้ แตวนั เบิกเงินกูย มื งวดแรก หลังจากนัน้ จะชำระคืนเงินตนทุก 3 เดือน รวม 8 งวด งวดละ 18.75 ลานบาท โดยบริษทั จะไมนำเครือ่ งจักรดังกลาวไปกอภาระ ผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ยอดคงเหลือเงินกูย มื มีจำนวนเงิน 120.59 ลานบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั ยังไมเบิกรับ เงินกูย มื จากสถาบันการเงินดังกลาว) เงินกูย มื ระยะยาวตามขอ 2) และ 3) ไมมหี ลักทรัพยคำ้ ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีวงเงินสินเชือ่ ซึง่ ยังมิไดเบิกใชเปนจำนวนเงินรวม 855 ลานบาท และจำนวน 732 ลานบาท ตามลำดับ

14. หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน บริษทั ไดทำสัญญาเชาการเงินสำหรับยานพาหนะและอุปกรณสำนักงานโดยมีจำนวนเงินขัน้ ต่ำทีจ่ ะตองจายสำหรับสัญญาเชาการเงินคง เหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ดังนี้ (หนวย : พันบาท)

ไมเกิน 1 ป เกิน 1 ป รวมจำนวนขั้นต่ำที่จะตองจาย หัก ดอกเบี้ยจาย รวมจำนวนขั้นต่ำที่จะตองจาย - สุทธิ หัก หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

ป 2552

ป 2551

-

3,005 3,005 (106) 2,899 (2,899) -

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 59

59

1/3/08 5:10:27 AM


15. หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

คาใชจายในการดำเนินงานคางจาย เจาหนี้จากการซื้อทรัพยสินและอื่นๆ คาเผื่อผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนของสัญญาซื้อขายลวงหนา เจาหนี้เงินประกันผลงาน เงินมัดจำและเงินรับลวงหนา รวม

(หนวย : พันบาท) ป 2552

ป 2551

26,209 46,131 47 38,568 2,785 113,740

27,930 34,777 15,370 2,871 3,747 84,695

16. ประมาณการหนีส้ นิ เงินบำเหน็จพนักงาน บริษทั มีขอ กำหนดการเกษียณอายุของพนักงานเมือ่ อายุ 60 ป โดยจะมีการจายคาตอบแทนในลักษณะของเงินบำเหน็จพนักงาน ซึง่ บริษทั จะเริม่ ตัง้ ประมาณการหนีส้ นิ เงินบำเหน็จพนักงานสำหรับพนักงานทุกคนทีม่ อี ายุ 50 ปขนึ้ ไป โดยคำนวณจากเงินเดือนทีไ่ ดรบั ในปจจุบนั คูณดวยจำนวนปทที่ ำงาน แตตอ งไมนอ ยกวาอัตราคาชดเชยตามกฎหมาย สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ประมาณการหนีส้ นิ เงินบำเหน็จพนักงานซึง่ ไดบนั ทึกเปนคาใชจา ยในการขายและบริหารมีจำนวน 4.07 ลานบาท (ป 2551 : ไมม)ี

17. กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ บริษทั ไดจดั ตัง้ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพพนักงาน ตามความในพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 ตามระเบียบกองทุน พนักงานตองจายเงินสะสมเขากองทุนในอัตรารอยละ 3 ถึงรอยละ 5 ของเงินเดือนพนักงาน และบริษทั จายสมทบเขากองทุนในอัตราเดียวกัน บริษัทไดแตงตั้งผูจัดการกองทุนรับอนุญาตแหงหนึ่งเพื่อบริหารกองทุนใหเปนไปตามขอกำหนดของกฎกระทรวงซึ่งออกตามความใน พระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2542 สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั จายสมทบเขากองทุนและบันทึกเปนคาใชจา ยในงบกำไรขาดทุนเปนจำนวน 5.96 ลานบาท และ 5.62 ลานบาท ตามลำดับ

18. ทุนเรือนหุน เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2551 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทมีมติอนุมัติโครงการเสนอขายหลักทรัพยใหแกกรรมการและ พนักงานของบริษัท ดังนั้น ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนจึงมีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจำนวน 49,650,000 บาท จาก 1,000,000,000 บาท (1,000,000,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) เปน 1,049,650,000 บาท (1,049,650,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) ทัง้ นี้ หุน สามัญทีเ่ พิม่ ทุน ดังกลาวจำนวน 49,650,000 บาท (49,650,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) มีวตั ถุประสงคเพือ่ ออกใบสำคัญแสดงสิทธิใหแก กรรมการและพนักงานของ บริษทั บริษทั ไดจดทะเบียนการเพิม่ ทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยแลวเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 และไดรบั อนุมตั กิ ารเสนอขายหลักทรัพย ดังกลาวจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลวเมือ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2551 ซึง่ จะตองจัดสรรและจำหนายใหแลว เสร็จภายใน 1 ป นับจากวันทีไ่ ดรบั อนุมตั ิ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2552 ไดมมี ติอนุมตั กิ ารจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญของบริษทั โดยไมคดิ มูลคาใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั ซึง่ บริษทั จัดสรรไดทงั้ หมด เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2552 ผูถ อื ใบสำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญขอใชสทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 5,174,700 หนวย ซือ้ หุน สามัญของบริษทั จำนวน 5,174,700 หุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท ทำใหทุนชำระแลวของบริษัทเพิ่มจาก 1,000,000,000 บาท (1,000,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปน 1,005,174,700 บาท (1,005,174,700 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) บริษทั จดทะเบียนเพิม่ ทุนทีอ่ อกและชำระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมือ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2552 60

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 60

1/3/08 5:10:27 AM


19. สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั จะตองจัดสรรเงินสำรองอยางนอยรอยละหาของกำไรสุทธิประจำปหลังจาก หักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสำรองดังกลาวมีจำนวนเทากับรอยละสิบของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนำไป จาย เปนเงินปนผลได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สำรองตามกฎหมายของบริษทั มีจำนวนเงินเทากับรอยละสิบของทุนจดทะเบียนแลว

20. หุน ทุนซือ้ คืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั ถือหุน ของบริษทั จำนวน 37,376,800 หุน และ 19,409,100 หุน ตามลำดับ ซึง่ คิดเปนอัตรา รอยละ 3.7 และรอยละ 1.9 ของหุน ทุนทีบ่ ริษทั ออกตามลำดับ ซึง่ มีราคาทุนรวม 61.90 ลานบาท และ 27.94 ลานบาท ตามลำดับ ในเดือนตุลาคม 2551 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั มีอนุมตั โิ ครงการการซือ้ หุน ของบริษทั เพือ่ ซือ้ หุน คืนในจำนวนไมเกินรอยละ 5 หรือ 50 ลานหุน ของหุน ทีอ่ อกจำหนายแลวในขณะนัน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ บริหารเงินสวนเกินของบริษทั จำนวนเงินสูงสุดทีม่ มี ติอนุมตั ภิ ายใต แผนมีจำนวน 75 ลานบาท และในราคาเสนอซือ้ ไมเกินรอยละ 115 ของราคาปดของหุน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ต.ล.ท.”) เฉลีย่ 5 วันทำการกอนวันทีท่ ำการซือ้ ขาย บริษทั จะดำเนินการซือ้ หุน ใน ต.ล.ท. ตัง้ แตวนั ที่ 4 พฤศจิกายน 2551 ถึงวันที่ 3 พฤษภาคม 2552 หุน ทีซ่ อื้ คืน ดังกลาวมีกำหนดระยะเวลาจำหนายหุน คืนกับบุคคลภายนอกหลัง 6 เดือน นับตัง้ แตการซือ้ หุน คืนแลวเสร็จแตไมเกิน 3 ป ทั้งนี้ ตามหนังสือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ กลต.ชส. (ว) 2/2548 และหนังสือสภาวิชาชีพ บัญชี ที่ ส.สวบช. 016/2548 ไดกำหนดหลักเกณฑใหบริษทั มหาชนทีม่ กี ารซือ้ หุน ทุนคืนตองมีมลู คาหุน ซือ้ คืนไมเกินวงเงินกำไรสะสมและตอง กันกำไรสะสมไวเปนเงินสำรองเทากับจำนวนเงินทีไ่ ดจา ยซือ้ หุน คืน จนกวาจะมีการจำหนายหุน ทีซ่ อื้ คืนไดหมด หรือลดทุนทีช่ ำระแลวโดยวิธตี ดั หุน ซือ้ คืน ทีจ่ ำหนายไมหมดแลวแตกรณี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั ไดจดั สรรกำไรสะสมจำนวน 61.90 ลานบาทและ 27.94 ลานบาท ตามลำดับ เปนสำรองสำหรับหุน ทุนซือ้ คืน บริษทั ตองจำหนายหุน ทีซ่ อื้ คืนภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2555

21. ใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน สามัญ เมือ่ วันที่ 17 มิถนุ ายน 2551 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั มีมติใหเพิม่ ทุนจดทะเบียนเพือ่ รองรับการใชสทิ ธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 49,650,000 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท และบริษทั ไดดำเนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 (ดูหมายเหตุขอ 18) เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 บริษทั ไดออกใบสำคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานทีจ่ ะซือ้ หุน สามัญจำนวน 49,650,000 หนวย โดยมีรายละเอียดดังนี้ อัตราการใชสทิ ธิ ราคาใชสทิ ธิ อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสทิ ธิ

: : : :

ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย ใชสทิ ธิซอื้ หุน สามัญได 1 หุน เวนแตจะมีการปรับอัตราการใชสทิ ธิ ราคาหุน ละ 2.34 บาท 5 ป นับแตวนั ทีอ่ อกใบสำคัญแสดงสิทธิ ทุกวันที่ 15 ของเดือนกุมภาพันธ มิถนุ ายน และตุลาคมของแตละป โดยวันใชสทิ ธิในครัง้ แรกคือวันที่ 15 ตุลาคม 2552

เมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2552 มีการใชสทิ ธิใบสำคัญแสดงสิทธิขา งตนจำนวน 5,174,700 หนวย ซือ้ หุน สามัญของบริษทั จำนวน 5,174,700 หุน ในราคาหุน ละ 2.34 บาท รวมจำนวนเงินทัง้ สิน้ 12,108,798 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีใบสำคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน สามัญทีย่ งั มิไดมกี ารใชสทิ ธิ จำนวน 44,475,300 หนวย และจำนวน 49,650,000 หนวย ตามลำดับ

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 61

61

1/3/08 5:10:27 AM


22. เงินปนผล ในการประชุมสามัญประจำปของผูถ อื หุน ของบริษทั เมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2552 ผูถ อื หุน มีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรเงินปนผลแกผถู อื หุน ใน อัตราหุน ละ 0.25 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 250 ลานบาท หลังจากหักเงินปนผลจายระหวางกาลหุน ละ 0.15 บาท คงเหลือเปนเงินปนผลทีจ่ ะจาย อีกหุน ละ 0.10 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 97.45 ลานบาท (คำนวณจากหุน ทุนทีบ่ ริษทั ออกหลังหักหุน ทุนซือ้ คืนทีถ่ อื โดยบริษทั ) บริษทั ไดจา ย เงินปนผลใหแกผถู อื หุน ในวันที่ 29 เมษายน 2552 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั เมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2552 คณะกรรมการมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรเงินปนผลระหวางกาลแกผถู อื หุน ในอัตราหุน ละ 0.15 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 144.39 ลานบาท (คำนวณจากหุน ทุนทีบ่ ริษทั ออกหลังหักหุน ทุนซือ้ คืนทีถ่ อื โดยบริษทั ) บริษทั ไดจา ยเงินปนผลระหวางกาลใหแกผถู อื หุน ในวันที่ 29 กันยายน 2552 ในการประชุมสามัญประจำปของผูถ อื หุน ของบริษทั เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2551 ผูถ อื หุน มีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรเงินปนผลแกผถู อื หุน ใน อัตราหุน ละ 0.3 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 300 ลานบาท หลังจากหักเงินปนผลจายระหวางกาลหุน ละ 0.12 บาท คงเหลือเปนเงินปนผลทีจ่ ะจาย อีกหุน ละ 0.18 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 180 ลานบาท บริษทั ไดจา ยเงินปนผลใหแกผถู อื หุน ในวันที่ 29 เมษายน 2551 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม 2551 คณะกรรมการมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรรเงินปนผลระหวางกาลแกผถู อื หุน ในอัตราหุน ละ 0.15 บาท เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 150 ลานบาท บริษทั ไดจา ยเงินปนผลระหวางกาลใหแกผถู อื หุน ในวันที่ 19 กันยายน 2551

23. รายการบัญชีกบั กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทมีรายการบัญชีที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวของกันโดยมีผูถือหุนกลุมเดียวกันและ/หรือมีกรรมการรวมกัน ดังนั้นงบการเงินนี้จึง แสดงรวมถึงผลของรายการดังกลาว ซึง่ เปนรายการตามปกติธรุ กิจ โดยถือตามราคาตลาดทัว่ ไปหรือเปนไปตามสัญญาทีต่ กลงกันไวสำหรับ รายการทีไ่ มมรี าคาตลาด ยอดคงเหลือและรายการบัญชีทสี่ ำคัญระหวางบริษทั กับกิจการทีเ่ กีย่ วของกันมีดงั นี้ (หนวย : พันบาท) ประเภทรายการ/ชื่อบริษัท ลูกหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน)

ขายสินคาและใหบริการ บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน)

ความสัมพันธ มีกรรมการรวมกัน

มีกรรมการรวมกัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2551 ป 2552 1,051 2,064 1,051 2,064 สำหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม ป 2552 ป 2551 8,363 8,363

2,796 2,796

บริษทั มีนโยบายการกำหนดราคาซือ้ ขายสินคาและบริการกับกิจการทีเ่ กีย่ วของกันในหลักการเชนเดียวกับบุคคลภายนอกซึง่ เปนไปตาม ปกติธรุ กิจ

62

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 62

1/3/08 5:10:28 AM


24. ภาษีเงินได ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีหลังจากปรับปรุงรายการใหเปนไปตามประมวลรัษฎากร และหักผลขาดทุนทางภาษี สะสมยกมาจากปกอ นของบริษทั (ถามี) พระราชกฤษฎีออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยลดอัตรารัษฎากรฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ใหสทิ ธิทาง ภาษีแกบริษทั ทีน่ ำหลักทรัพยมาจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในหรือกอนวันที่ 31 ธันวาคม 2548 โดยลดอัตราภาษีเงินได นิตบิ คุ คลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 25 เปนเวลาหารอบระยะเวลาบัญชีตอ เนือ่ งกันนับแตรอบระยะเวลาบัญชีแรกทีเ่ ริม่ ในหรือหลังวันที่ บริษัทที่มีหลักทรัพยมาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บริษัทไดจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2548 และไดรบั สิทธิในการลดภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553

25. การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับเครือ่ งมือทางการเงิน 25.1 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มูลคาสูงสุดของความเสีย่ งดานการใหสนิ เชือ่ ในกรณีทคี่ สู ญ ั ญาไมสามารถปฏิบตั ติ าม ภาระผูกพันไดนนั้ เทากับมูลคาของสินทรัพยทางการเงินทีแ่ สดงอยูใ นงบดุล 25.2 ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นตางประเทศ ซึง่ เกิดจากการซือ้ และขายสินคาทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ บริษทั ไดทำสัญญา ซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึง่ รายการดังกลาวจะมีอายุไมเกินหนึง่ ปเพือ่ ปองกันความเสีย่ งของหนีส้ นิ ทางการเงินทีเ่ ปนเงินตรา ตางประเทศ สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันทีใ่ นงบดุลเปนรายการทีเ่ กีย่ วของกับรายการซือ้ สินคาทีเ่ ปนเงินตราตาง ประเทศในงวดถัดไป บริษทั ไดเขาทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพือ่ ปองกันความเสีย่ งดานอัตราแลกเปลีย่ นโดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษทั มียอดคงเหลือของสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนากับสถาบันการเงินซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับการซือ้ อะไหลและวัตถุดบิ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย : พันบาท) วันครบกำหนด 11 มกราคม 2553 – 17 กุมภาพันธ 2553 7 มกราคม 2553 – 2 มีนาคม 2553 4 มกราคม 2553 – 23 มีนาคม 2553

จำนวนเงินตามสัญญา สกุลเงินตางประเทศ บาท ดอลลารสหรัสฯ 1,927.94 ดอลลารแคนาดา 487.00 ยูโร 204.58

64,240.48 15,460.99 9,799.51 89,500.98

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 63

63

1/3/08 5:10:28 AM


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีสนิ ทรัพย (หนีส้ นิ ) หมุนเวียนสุทธิทเี่ ปนเงินตราตางประเทศ ซึง่ ไมไดทำสัญญา ปองกันความเสีย่ งดานอัตราแลกเปลีย่ นดังตอไปนี้ (หนวย : พัน) ป 2552

ป 2551

(755.67) (277.75) (0.82)

(1,059.29) (707.00) (18.54) -

สกุลเงินตางประเทศ ดอลลารสหรัฐฯ ดอลลารแคนาดา ยูโร ดอลลารออสเตรเลีย

25.3 ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการที่อัตราดอกเบี้ยจะเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบตอการดำเนินงานแก บริษทั ในงวดปจจุบนั และงวดตอไป โดยบริษทั มีหนีส้ นิ ทีม่ คี วามเสีย่ ง จากอัตราดอกเบีย้ ดังนี้ (หนวย : พันบาท)

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2552 ป 2551

อัตราดอกเบี้ยตอป ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2552 ป 2551 รอยละตอป รอยละตอป

110,000 287,911

1.80 - 2.00 4.50 - 5.15 4.30 - 4.50 4.50 - 6.50

185,743 118,755

25.4 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน การเปดเผยมูลคายุติธรรมซึ่งตองใชดุลยพินิจในการประมาณมูลคายุติธรรม ดังนั้นมูลคายุติธรรมที่ประมาณขึ้นที่เปดเผยใน หมายเหตุประกอบงบการเงินนี้จึงไมจำเปนตองบงชี้ถึงจำนวนเงินซึ่งเกิดขึ้นจริงในตลาดแลกเปลี่ยนในปจจุบัน การใชขอสมมติฐาน ทางการตลาดและ หรือวิธกี ารประมาณทีแ่ ตกตางกันอาจมีผลกระทบทีม่ สี าระสำคัญในมูลคายุตธิ รรมทีป่ ระมาณขึน้ บริษทั ใชวธิ กี ารและ ขอสมมติฐานดังตอไปนีใ้ นการประมาณมูลคายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา เงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจาหนีก้ ารคา เจาหนีอ้ นื่ และหนีส้ นิ หมุนเวียน อืน่ มีมลู คาตามบัญชีซงึ่ เทากับมูลคายุตธิ รรมโดยประมาณ เนือ่ งจาก ถึงกำหนดในระยะเวลาอันสัน้ มูลคายุตธิ รรมของเงินกูย มื ระยะยาวทีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีโ่ ดยประมาณ คำนวณโดยวิธคี ดิ ลดกระแสเงินสดโดยใชอตั ราดอกเบีย้ ถัวเฉลี่ยในปจจุบันคิดลดตลอดอายุที่เหลือของสัญญาเงินกูซึ่งมูลคาตามบัญชีของเงินกูดังกลาวเทากับมูลคายุติธรรมโดยประมาณ เนือ่ งจากอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูใ กลเคียงกับอัตราดอกเบีย้ ในตลาด

26. ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน บริษทั ประกอบธุรกิจผลิตกระเบือ้ งมุงหลังคาและไมฝาซึง่ เปนกลุม ของผลิตภัณฑเดียวกันและมีลกั ษณะการดำเนินงานทีส่ นับสนุนซึง่ กัน และกัน ฝายบริหารจึงพิจารณาวาบริษัทมีสวนงานธุรกิจเพียงสวนงานเดียว นอกจากนี้ บริษัทดำเนินธุรกิจสวนใหญในประเทศ ดังนั้น ฝายบริหารจึงพิจารณาวาบริษทั มีสว นงานทางภูมศิ าสตรเพียงสวนงานเดียว

64

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 64

1/3/08 5:10:28 AM


27. คาใชจา ยตามลักษณะ กำไรสุทธิสำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เกิดขึน้ ภายหลังจากหักคาใชจา ยตามลักษณะ ดังตอไปนี้

การเปลี่ยนแปลงในสินคาคงเหลือของสินคาสำเร็จรูปและงานระหวางทำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน

(หนวย : พันบาท)

ป 2552

ป 2551

(27,300) 1,140,657 139,276 261,608

98,156 950,942 133,985 225,080

28. ภาระผูกพันและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั มีภาระผูกพันและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ดังตอไปนี้ 28.1 ภาระผูกพัน 28.1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีภาระผูกพันตามสัญญาการกอสราง และซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณตา งๆ เปน จำนวนเงินรวม รวม 31 ลานบาท และ 362 ลานบาท ตามลำดับ 28.1.2 บริษทั ไดทำสัญญาเชาพืน้ ทีอ่ าคารสำนักงานและสัญญาบริการอืน่ ทีส่ ำคัญโดยสรุปมีดงั นี้ (หนวย : บาท) วันที่ทำสัญญา

คูสัญญา

อายุสัญญา

คาเชาตอเดือน

12 มิถุนายน 2550 27 กรกฎาคม 2550 9 มิถุนายน 2552 10 กรกฎาคม 2552 10 เมษายน 2552 1 มิถุนายน 2552 6 กรกฎาคม 2552 30 กรกฎาคม 2552 31 สิงหาคม 2552

บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง บริษัทในประเทศแหงหนึ่ง

29 มิถุนายน 2550 -28 มิถุนายน 2555 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2553 9 มิถุนายน 2552 - 8 มกราคม 2553 10 กรกฎาคม 2552 - 9 มกราคม 2553 1 มิถุนายน 2552 – 31 พฤษภาคม 2555 1 มิถุนายน 2552 – 31 พฤษภาคม 2555 1 กรกฎาคม 2552 – 1 กรกฎาคม 2557 1 สิงหาคม 2552 – 31 กรกฎาคม 2553 31 สิงหาคม 2552 – 31 สิงหาคม 2557

45,300 157,800 222,567 336,914 55,000 237,383 71,000 70,000 26,500

28.1.3 บริษทั มีสญ ั ญาสิทธิและการชวยเหลือทางเทคนิคจากบริษทั ตางประเทศแหงหนึง่ โดยบริษทั ตางประเทศดังกลาวจะใหความชวย เหลือทางเทคนิคในการผลิตผลิตภัณฑบางชนิด สัญญานีม้ กี ำหนดเวลา 5 ป เริม่ ตัง้ แตเดือนกุมภาพันธ 2547 ถึงมีนาคม 2552 และอาจบอกเลิกตามเงือ่ นไขทีก่ ำหนดในสัญญา บริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะตองจายคาธรรมเนียมตามทีร่ ะบุไวในสัญญา

รายงานประจำป 2552

1-66_thai_New1.indd 65

65

1/3/08 5:10:29 AM


28.2 หนังสือค้ำประกันและเลตเตอรออฟเครดิตที่ยังไมไดใช 28.2.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีหนังสือค้ำประกันทีอ่ อกโดยธนาคารในนามบริษทั ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพัน บางประการตามธุรกิจปกติของบริษทั เปนจำนวนเงิน 10.43 ลานบาท และ 11.48 ลานบาท ตามลำดับ 28.2.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษทั มีภาระผูกพันกับธนาคารเกีย่ วกับเลตเตอรออฟเครดิตทีย่ งั ไมไดใชเปนจำนวนเงิน ประมาณ 219.20 ลานบาท และ 195.28 ลานบาท ตามลำดับ

29. กำไรตอหุน กำไรตอหุน สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 คำนวณไดดงั นี้

กำไรสุทธิ พันบาท

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน ผลกระทบของหุนสามัญ เทียบเทาปรับลดใบสำคัญแสดงสิทธิ กำไรตอหุนปรับลด

จำนวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก พันหุน

กำไรตอหุน บาท

ป 2552

ป 2551

ป 2552

ป 2551

ป 2552

ป 2551

376,303

284,815

986,224

998,383

0.38

0.29

376,303

284,815

130 986,354

998,383

0.38

0.29

30. การจัดการสวนทุน วัตถุประสงคของบริษทั การจัดการสวนทุน มีดงั นี้ รักษาความสามารถของบริษทั ในการดำเนินงานตอเนือ่ ง เพือ่ ทีบ่ ริษทั จะสามารถใหผลตอบแทนแกผถู อื หุน และประโยชนตอ ผูม สี ว นไดเสีย อืน่ ๆเพือ่ ใหไดผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมแกผถู อื หุน บริษทั ไดพจิ ารณาโครงการลงทุนอยางระมัดระวังรอบคอบ โดยมีระดับความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม

31. การอนุมตั งิ บการเงิน งบการเงินนีไ้ ดรบั การอนุมตั ใิ หออกงบการเงินจากกรรมการผูม อี ำนาจลงนามของบริษทั แลวเมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ 2553

66

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร

1-66_thai_New1.indd 66

1/3/08 5:10:29 AM


ปี 2552 เป็นปีแห่งความมุ่งมั่น ด้วยความอุตสาหะ ขยัน ตั้งใจทำงาน จึงทำให้สามารถ ผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจโลกได้เป็นอย่างดี สำหรับปี 2553 เป็นปีแห่งความท้าทาย เนื่องจากเป็นปีที่ครบรอบ 25 ปี และเริ่มเดินสายการผลิตใหม่ NT9 จึงเป็นปีที่ต้องเติบโตเพื่อสร้างความสำเร็จให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย Year 2009 was the year of spirit with efforts, diligence, and determination to overcome the world economic crisis. Year 2010 will be a challenging year as the company’s 25th year anniversary and commencement of the new NT9 production line Accordingly, it will be flourishing year to build success and best interest for the company, shareholders, and all stakeholders.

พิธีมอบประกาศนียบัตรตัวแทนจำหน่ายยอดขายสูงสุด (Top Sales Award) และตัวแทนจำหน่ายดีเด่น (Distinguished Dealer Award) ในงานเลี้ยงฉลองครบรอบ 25 ปี เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553 ณ Centara Grand Mirage Beach Resort Pattaya Certificate Presentation Ceremony for Top Sales Award and Distinguished Dealer Award on the Celebration of 25th DRT Anniversary at Centara Grand Mirage Beach Resort Pattaya on February 19, 2010.

74

บมจ. กระเบื้องหลังคาตราเพชร


สำนักงานใหญ สำนักงานสาขาที่ 1 สำนักงานสาขาที่ 2

Head Office Branch Office 1 Branch Office 2

บร�ษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 69 - 70 หมูที่ 1 ถนนมิตรภาพ กม.115 ตำบลตลิ�งชัน อำเภอเมือง จังหวัดสระบุร� 18000 โทรศัพท : 0 - 3622 - 4001 - 8 โทรสาร : 0 - 3622 - 4015 - 7 เลขที่ 408/163-165 อาคารสำนักงานพหลโยธินเพลส ชั�น 40 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0 - 2619 - 0742 โทรสาร : 0 - 2619 - 0488 เลขที่ 490 ศูยนกระจายสินคาขอนแกน หมูที่ 6 ตำบลบานเปด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 โทรศัพท : 0 - 4323 - 4644 โทรสาร : 0 - 4323 - 4643

Diamond Roofing Tiles Public Company Limited

69 - 70 Moo 1 Mitrapharp Road, Km. 115 Tambol Talingchan, Amphur Muang, Saraburi 18000 Tel : 0 - 3622 - 4001 - 8 Fax : 0 - 3622 - 4015 - 7 408/163-165, Phaholyothin Place Bldg., 40 th Floor, Phaholyothin Road, Samsennai, Phayathai, Bangkok 10400 Tel : 0 -2619 - 0742 Fax : 0 - 2619 - 0488 490 Khon Kaen Distribution Center, Tambol Banped, Amphur Muang, Khon Kaen 40000 Tel : 0 - 4323 - 4644 Fax : 0 - 4323 - 4643

Call Center : 0 - 2619 - 2333 Website : www.diamondtile.com E - mail Address : Corpcenter@diamondtile.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.