EASTW : รายงานประจำปี 2561

Page 1

S M A R T

W A T E R

นํ้าประปา

นํ้าดิบ

นํ้าอุตสาหกรรม

การบําบัด นํ้าเสีย

นํ้าดื่ม

นํ้ารีไซเคิล

รายงานประจํ า ป 2561


SMART WATER

SOLUTIONS


สารบั ญ

4

ภาพรวมธุรกิจ

8

สารจากคณะกรรมการบริษัท

10

รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

12

รายงานของคณะกรรมการ การลงทุน

13

รายงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

14

รายงานของคณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและพัฒนา เพื่อความยั่งยืน

15

รายงานของคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

16

คณะกรรมการบริษัท

24

ประวัติคณะที่ปรึกษา

26

โครงสร้างการบริหารจัดการ ภายในบริษัท

27

ประวัติผู้บริหาร

32

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

35

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

40

ปัจจัยความเสี่ยง

42

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น

43

ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

44

นโยบายจ่ายเงินปันผล

45

โครงสร้างการจัดการ

57

การก�ำกับดูแลกิจการ

71

ความรับผิดชอบต่อสังคม

72

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง

76

รายการระหว่างกัน

81

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ

89

ค�ำอธิบายและวิเคราะห์ ผลการด�ำเนินงาน ของฝ่ายจัดการ

96

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน

97

งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ

ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ www.eastwater.com


SMART WATER SOLUTIONS นํ้ า อุ ต สาหกรรม

นํ้ า ดิ บ

นํ้ า ประปา

นํ้ า ดื่ ม

การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย

นํ้ า รี ไ ซเคิ ล

วิ สั ย ทั ศ น

เปนผูน าํ ในการบ ครบวงจรของ พั น ธกิ จ 1

สร า งความมั่ น คงและรั ก ษาเสถี ย รภาพด า นแหล ง นํ้ า เพื่ อ สร า งความเชื่ อ มั่ น และตอบสนองตอความตองการของผู ใชนํ้าระยะยาว

4

พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุงโครงสรางการบริหารของกลุมบริษัท เพื่อการบริหารอยางมีประสิทธิภาพ


ริหารจัดการนํ้า ประเทศ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ด ว ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย

2

ขยายการลงทุนในธุรกิจนํ้าอยางครบวงจร เพื่อการเติบโตอยางตอเนื่องและยั่งยืน

5

รับผิดชอบตอชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม และสรางความสัมพันธที่ดีกับผูมีสวนไดเสีย ดวยความโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล

3


รายงานประจ�ำปี 2561

4

ภาพรวมธุ ร กิ จ

งบก�ำไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้น�้ำดิบ รายได้น�้ำประปา รวมรายได้ EBITDA ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ งบแสดงฐานะทางการเงิน (ล้านบาท) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของบริษัทใหญ่ อัตราส่วนทางการเงิน มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้ขายและบริการ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (ร้อยละ) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (D/E) (เท่า)

2557

2558

2559

2560

2,768.38 988.74 4,035.841 2,288.42 1,334.45 1,334.21

2,898.67 1,160.24 4,563.141 2,444.71 1,591.24 1,584.94

2,696.43 1,392.87 4,295.731 2,404.24 1,318.61 1,309.23

2,452.05 1,422.75 4,080.981 2,347.33 1,232.02 1,221.18

15,243.45 19,627.46 19,860.40 6,726.37 10,127.90 9,812.09 8,517.07 9,499.56 10,048.30 8,487.56 9,294.69 9,854.47 5.10 0.80 0.45 33.59 16.31 9.29 0.79

5.59 0.95 0.47 30.55 17.83 9.09 1.09

5.92 0.79 0.47 30.96 13.67 6.63 1.00

2561 2,393.82 1,438.40 4,022.751 2,280.92 1,129.77 1,117.52

19,482.62 20,140.90 9,052.71 9,335.75 10,429.91 10,805.15 10,242.56 10,624.66 6.16 0.73 0.47 30.55 12.15 6.21 0.88

6.39 0.67 0.202 28.33 10.71 5.64 0.88

หมายเหตุ: 1 รายได้รวมปี 2557 - 2561 ไม่ได้รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน ซึ่งเกิดจากการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) เรื่องข้อตกลงสัมปทานบริการ 2 ปี 2561 เงินปันผลระหว่างกาลประกาศจ่ายตามมติคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 ในอัตราหุ้นละ 0.20 บาท


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5

ปริมาณจ�ำหน่ายน�้ำดิบและรายได้จ�ำหน่ายน�้ำดิบของกลุ่มบริษัท

2,118

1,904

233

2,261

263

248

2,899

2,768

2,694

2,612

257

(ล้าน ลบ.ม.) 350 2,696

271

257

251

209

2,452

2,394

226

220

300 250 200

2552

2553

2554

2555

2556

2557

รายได้จ�ำหน่ายน�้ำดิบ (ล้านบาท)

2558

2559

2560

2561

150

ปริมาณจ�ำหน่ายน�้ำดิบ (ล้าน ลบ.ม.)

หมายเหตุ : ไม่รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาของบริษัทและบริษัทย่อย

แหล่งที่มาของรายได้ (ล้านบาท) 4035.841

4336.821

4295.731

4080.981

100%

6.91%

80%

24.50%

26.75%

32.42%

34.86%

35.76%

68.59%

66.84%

62.77%

60.08%

59.51%

6.41%2

4.81%

5.05%

4.74%

4022.751

60% 40% 20% 0%

2557

2558

รายได้จากการขายน�้ำดิบ

2559

2560

รายได้จากการขายน�้ำประปา

2561 รายได้อื่นๆ

หมายเหตุ: 1 รายได้รวมปี 2557 - 2561 ไม่ได้รวมรายได้คา่ ก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ซึง่ เกิดจากการตีความมาตรฐานการายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (TFRIC 12) (ปรับปรุง 2557) เรื่องข้อตกลงสัมปทานบริการ 2 ปี 2558 รายได้อื่นๆ ไม่รวมก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย 15.88% ที่ถือในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ก่อนวันรวมธุรกิจ จ�ำนวน 226.32 ล้านบาท

ประวัติการจ่ายเงินปันผล (บาทต่อหุ้น) บาท/หุ้น 0.50 0.40

0.35

0.38

0.42

0.44

0.42

0.45

0.47

0.47

0.47

0.30 0.201

0.20 0.10 0.00

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

2561

หมายเหตุ: 1 ปี 2561 เงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานครึ่งปีแรก ประกาศจ่ายตามมติคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 ในอัตราหุ้นละ 0.20 บาท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะเสนอให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2562 พิจารณา อนุมัติการจ่ายเงินปันผล ประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 23 เมษายน 2562

ปริมาณจ�ำหน่ายน�้ำดิบ

รายได้จ�ำหน่ายน�้ำดิบ

(ล้านบาท) 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0


พื้ น ที่ บ ริ ก าร

ฉะเชิ ง เทรา ชลบุ รี ระยอง

โครงข า ยท อ ส ง นํ้ า ดิ บ เชื่ อ มโยงแหล ง นํ้ า หลั ก ในภาคตะวั น ออก ความยาว

491.8 กิ โ ลเมตร Geographic ระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร

ควบคุ ม ด ว ย SCADA

Hot Tapping

Wet Tapping

เทคโนโลยี ก ารต อ ประสานท อ โดยไม ห ยุ ด จ า ยนํ้ า


โครงขายทอสงนํ้าดิบ

SMART PATH FROM START TO DESTINATION เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนการส ง นํ้ า ด ว ยโครงข า ย ท อ ส ง นํ้ า ที่ ส มบู ร ณ แ บบตั้ ง แต ต  น ทางจนถึ ง ปลายทาง เพื่ อ สร า งความมั่ น คงของระบบสาธารณู ป โภคด า นนํ้ า ให กั บ เศรษฐกิ จ ของประเทศ สถานี สู บ นํ้ า

15

แหล ง นํ้ า หลั ก

สถานี

6

แหล ง นํ้ า สํ า รอง

3

บริ ห ารจั ด การนํ้ า ทั้ ง ระบบอย า งชาญฉลาด ควบคุ ม คุ ณ ภาพนํ้ า ด ว ยเทคโนโลยี อั น ทั น สมั ย พร อ มส ง ต อ นํ้ า คุ ณ ภาพดี สะอาด และปลอดภั ย สร า งเสถี ย รภาพสู  อ นาคตที่ ยั่ ง ยื น


รายงานประจ�ำปี 2561

8

1 in 79

Thailand Sustainability Investment: THSI

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานคณะกรรมการบริษัท

4

Years Corporate Governance Reporting of Thai Listed Company (CGR)

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

9

สารจากคณะกรรมการบริ ษั ท เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2561 ยังขยายตัวต่อเนือ่ ง การผลิต และส่งออกสินค้าขยายตัวได้ดี และอุปสงค์ในประเทศขยายตัว ดีขึ้นตามรายได้ครัวเรือน อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเร่งขึ้นตามค่าจ้าง ขัน้ ต�ำ ่ ราคาน�ำ้ มันในตลาดโลก รวมถึงราคาสินค้าโภคภัณฑ์ตา่ งๆ ทีป่ รับเพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ งบลงทุนภาครัฐยังสูงขึน้ กว่าหลายๆ ปี ที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาโครงการพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC รวมทั้งโครงการ ขนาดใหญ่ในพื้นที่ดังกล่าว ดังนั้น บริษัทจึงเตรียมความพร้อม เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจดังกล่าวอย่างเต็มศักยภาพ โดยใช้ ความเชีย่ วชาญ และประสิทธิภาพโครงข่ายท่อส่งน�ำ ้ หรือ Water Grid ที่ครอบคลุมพื้นที่ในภาคตะวันออกของประเทศ ในปี 2561 บริษัทยังคงมุ่งเน้นด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ “เป็ น ผู ้ น� ำ ในการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ครบวงจรของประเทศ” และมีกลยุทธ์ที่มุ่งเน้น 1) การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน ด�ำเนินงาน (Operations Excellence) 2) ธุรกิจน�้ำครบวงจร (Total Water Solutions) 3) ความยัง่ ยืน (Sustainability) และ 4) การพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ (Human Information and Organization Capital) บริษทั เดินหน้าสร้าง ความแข็ ง แกร่ ง ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ ดั ง กล่ า ว โดยได้ เริ่ ม มี สั ญ ญาโครงการจ�ำหน่ายน�้ำอุต สาหกรรมบริ ก ารให้ แก่ ผู้ประกอบการรายใหญ่ในภาคตะวันออก และได้รับคัดเลือก จากกองทัพเรือเพือ่ เข้าร่วมโครงการงานระบบประปาและบ�ำบัด น�ำ้ เสียพืน้ ทีท่ า่ อากาศยานนานาชาติอตู่ ะเภา ซึง่ เป็นการสนับสนุน โครงการ EEC ของรัฐบาล รวมถึงเป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ จากการ เป็นผู้ให้บริการจ�ำหน่ายน�้ำดิบ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังได้อนุมัติการขยายธุรกิจ ด้านบริหารจัดการน�ำ้ ครบวงจร การทบทวนโครงสร้างราคาค่าน�ำ้ ให้สอดคล้องกับต้นทุนและสามารถแข่งขันได้ การน�ำนวัตกรรม และเทคโนโลยี ด ้ า นน�้ ำ มาปรั บ ใช้ ใ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การบ�ำรุงรักษาเส้นท่อส่งน�้ำ ลดปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบ การส่งจ่ายน�้ำ ส่งผลให้สามารถใช้ทรัพยากรน�้ำได้อย่างคุ้มค่า รวมถึงการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน�ำ้ เพื่อช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้าซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัท บริษทั เล็งเห็นความส�ำคัญของบุคลากร ซึง่ มีสว่ นส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนองค์กรให้ยั่งยืน จึงสนับสนุนการพัฒนาพนักงาน ในทุกด้าน ผ่านกลยุทธ์การสร้างระบบฝึกอบรมและพัฒนา

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานคณะกรรมการบริษัท

(Training and Development System) ที่มีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายให้พนักงานทุกคนได้รบั การพัฒนาตามแผนพัฒนา รายบุคคล โดยมีวฒ ั นธรรมการเรียนรูพ้ ฒ ั นาด้วยตนเองและวัดผล การเรียนรู้ผ่านระบบการประเมินผลงาน รวมถึงก�ำหนดกลยุทธ์ การสร้างระบบการบริหารผลงาน (Performance Management System) ครอบคลุมทัง้ ด้านผลงานและคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ สอดคล้องกับระบบการให้รางวัล นอกจากนี้ ยังได้ทบทวน ค่านิยมองค์กร (Core Value) และความสามารถหลักของ บุคลากร (Core Competency) เพื่อให้พนักงานมีความพร้อม ต่อการขยายธุรกิจของบริษัทในอนาคต คณะกรรมการบริษทั และพนักงานทุกคนยึดมัน่ ปฏิบตั หิ น้าที่ ตามแนวทางก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึง การปรับเปลี่ยนคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อให้มีคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนโดยเฉพาะ จึงส่งผลให้ ได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 79 บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในรายชื่อ Thailand Sustainability Investment: THSI หรือหุ้นยั่งยืน ได้ รั บรางวั ล รายงานความยั่ ง ยื น (Sustainability Report Award) ประเภทรางวัล Recognition รวมทัง้ ในการประเมินการ ก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย หรื อ Corporate Governance Reporting of Thai Listed Company (CGR) บริษัทอยู่ในเกณฑ์ดีเลิศติดต่อกันเป็นเวลา 4 ปี ส�ำหรับการ ประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น จากสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย บริษัทได้รับคะแนน 95 คะแนนซึ่งเพิ่มขึ้น จากปีกอ่ น อีกทัง้ ในปี 2561 บริษทั ได้รบั รองต่ออายุการเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต ในขณะที่ TRIS Rating ยังคงอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ (หุ้นกู้) ของบริษัท ที่ A+ Stable จากการด�ำเนินงานและความส�ำเร็จดังกล่าวข้างต้น ในนาม คณะกรรมการบริษัทขอขอบคุณผู้ถือหุ้น หน่วยงานภาครัฐและ เอกชนทีเ่ กีย่ วข้อง พันธมิตรทางธุรกิจ คูค่ า้ ลูกค้า รวมถึงพนักงาน ทุกคน ซึ่งได้ร่วมกันสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษัทด้วยดี ตลอดมา คณะกรรมการบริษัทหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับ ความร่วมมือที่ดี เพื่อท�ำให้บริษัทเป็นองค์กรที่แข็งแกร่งและ เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมพัฒนาประเทศให้ยั่งยืนต่อไป

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่


รายงานประจ�ำปี 2561

10

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี 2561 เปิ ด เผยข้ อ มู ล ตามความจ� ำ เป็ น อย่ า งเหมาะสม นอกจากนี ้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มี ฝ่ายบริหารของบริษัท 2 ครั้ง เพื่อปรึกษาและรับทราบความเป็น อิสระและขอบเขตการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี 2. สอบทานประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแผนการตรวจสอบ ภายในประจ�ำปี 2561 ซึ่งรวมถึงขอบเขตการตรวจสอบโดย พิจารณาบนพื้นฐานความเสี่ยง (Risk Based Internal Audit พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ Plan) และการควบคุมที่มีอยู่ของกระบวนการภายในบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ผลการตรวจสอบที่ผ่านมา และข้อมูลจากผลประเมินความเสี่ยง ของบริษัท การสัมภาษณ์ผู้บริหารถึงความต้องการหรือประเด็น คณะกรรมการบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาค ข้อกังวล ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบทานผลการตรวจ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน และทีป่ รึกษาคณะกรรมการ ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบการควบคุมภายใน ตรวจสอบ 1 ท่าน ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมตามทีต่ ลาดหลักทรัพย์ ตามทีฝ่ า่ ยตรวจสอบได้ดำ� เนินการตรวจสอบตามมาตรฐานสากล แห่ ง ประเทศไทยก� ำหนด ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบ ส�ำหรับกระบวนการท�ำงานต่างๆ ภายในกลุ่มบริษัททุกไตรมาส ประกอบด้วย ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็น 1. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประโยชน์ในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประสิทธิผลยิ่งขึ้นแก่บริษัท และมีการติดตามฝ่ายบริหารในการ 2. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยให้รายงาน กรรมการตรวจสอบ การปรับปรุงแก้ไขต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน 3. นางอัศวินี ไตลังคะ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการ กรรมการตรวจสอบ ควบคุมภายในเพียงพอ และเหมาะสม 4. พลเอก ไตรรัตน์ รังคะรัตน ที่ปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ 3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับที่ 5. นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ เกี่ยวข้องและจรรยาบรรณ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้กำ� กับดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูล อย่างโปร่งใส และได้สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวมทัง้ สิน้ กฎหมายที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ 19 ครั้ง ซึ่งได้รวมถึงการประชุมหารือร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน และตลาดหลักทรัพย์ และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท และผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยมี ก ารรายงานผล ประเทศไทย โดยให้ฝ่ายบริหารรายงานสรุปผลการปฏิบัติตาม การด� ำ เนิ น งานของคณะกรรมการตรวจสอบต่ อ ที่ ป ระชุ ม กฎหมาย กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั เป็นประจ�ำทุกปี และ คณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั การมอบหมายจากคณะกรรมการ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทให้พิจารณาเพื่อให้ความเห็นต่อระเบียบการปฏิบัติงาน ซึง่ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างครบถ้วน ภายในในเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ ซึง่ เป็นไปตามนโยบายบริษทั ก่อนน�ำเสนอ สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 1. สอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานทางการเงินราย ไตรมาสและรายงานทางการเงินประจ�ำปีของบริษทั และงบการเงิน รวม โดยประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน ตลอดจน รับฟังค�ำชี้แจงจากฝ่ายบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นว่ารายงานทางการเงินของบริษัทมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ พี ย งพอและทั น เวลา และได้ ใ ห้ ข้อสังเกตในประเด็นที่จะเป็นประโยชน์แก่บริษัทเกี่ยวกับการ

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาและอนุมตั ิ แผนปฏิบตั กิ าร งบประมาณประจ�ำปี และกรอบอัตราก�ำลังของฝ่ายตรวจสอบ ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้ฝา่ ยตรวจสอบสามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างเป็นอิสระและเพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ จึงก�ำหนดให้ฝา่ ยตรวจสอบมีสายบังคับบัญชาขึน้ ตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคู่มือและกฎบัตรฝ่าย ตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้องกับ สถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป การก�ำหนดเกณฑ์วดั ผลการด�ำเนิน งานและประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายตรวจสอบประจ�ำปี คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าฝ่ายตรวจสอบด�ำเนินงาน บรรลุตามเป้าหมายและแผนที่ก�ำหนดไว้ 5. สอบทานการปฏิบตั งิ านของผูส้ อบบัญชีและการพิจารณา แต่งตั้งผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาข้อก�ำหนดการจ้างงาน ผู ้ ส อบบั ญ ชี เพื่ อ การสรรหาและคั ด เลื อ กผู ้ ส อบบั ญ ชี ข อง กลุ่มบริษัทประจ�ำปี 2562 และด้วยจากผลการประเมินการ ปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีในปีที่ผ่านมาเป็นที่น่าพอใจ รวมทั้ง ได้สอบทานคุณสมบัติของผู้สอบบัญชีพบว่าถูกต้องครบถ้วน จึงได้น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบ และให้ เสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2562 ต่อไป 6. การประเมิ น ตนเองและการทบทวนคู ่ มื อ กฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี โดยใช้แบบประเมินตนเองตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งได้รายงานผลต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ทั้งนี้ผลการ ประเมิ น ตนเองอยู ่ ใ นเกณฑ์ ดี เ ยี่ ย ม รวมทั้ ง คณะกรรมการ

11

ตรวจสอบได้ทบทวนกฎบัตรและคูม่ อื คณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า การปฏิบตั งิ านในปีทผี่ า่ นมาครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย และ สอดคล้ อ งกั บ แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วน ตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษั ท ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก� ำ หนดของ คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีความเห็นสอดคล้องกับ ความเห็ น ของผู ้ ส อบบั ญ ชี ว ่ า รายงานทางการเงิ น ของบริ ษั ท มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองทัว่ ไปของประเทศไทย อีกทัง้ บริษทั ได้จดั ให้มรี ะบบการ ควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม มีประสิทธิผล และได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องอย่าง เคร่งครัด โดยการด�ำเนินงานตลอดปี 2561 ไม่พบประเด็นปัญหา หรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ และได้มีการปรับปรุงการ ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานประจ�ำปี 2561

12

รายงานของคณะกรรมการการลงทุน

นายสุรชัย ขันอาสา

ประธานคณะกรรมการการลงทุน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการการลงทุน ประกอบด้วย 1. นายสุรชัย ขันอาสา ประธานคณะกรรมการการลงทุน 2. นายกฤษฎา ศังขมณี กรรมการ คณะกรรมการการลงทุน 3. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ กรรมการ คณะกรรมการการลงทุน 4. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า กรรมการ คณะกรรมการการลงทุน 5. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการ คณะกรรมการการลงทุน 6. นายวิชา นิลเพชร์พลอย ที่ปรึกษาคณะกรรมการการลงทุน 7. นายชรินทร์ โซนี่ เลขานุการคณะกรรมการการลงทุน

ในปี 2561 คณะกรรมการการลงทุนได้จัดประชุม จ�ำนวน 11 ครั้ง โดยมีโครงการที่ส�ำคัญซึ่งคณะกรรมการการลงทุนอนุมตั ิ ทัง้ สิน้ 4 โครงการ มูลค่ารวม 296,966,000 บาท (ไม่รวมภาษี มูลค่าเพิม่ ) และพิจารณากลั่นกรองโครงการขนาดใหญ่น�ำเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ จ�ำนวนทั้งสิ้น 4 โครงการ มูลค่ารวม 2,239,710,000 บาท (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) โดยมี ผลการด�ำเนินงาน สรุปได้ดังนี้ 1. พิจารณาขยายการลงทุนในธุรกิจน�้ำเพื่อการเติบโตอย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน ได้แก่ โครงการก่อสร้างระบบผลิตน�้ำ อุตสาหกรรมให้แก่นคิ มอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ และโครงการ ก่อสร้างระบบผลิตน�้ำอุตสาหกรรม ให้แก่โรงไฟฟ้ากัลฟ์ โดยใช้กลยุทธ์การตลาดด้านราคาและความแตกต่าง จาก จุดแข็งด้านความมั่นคงแหล่งน�้ำดิบ และความเชี่ยวชาญ ในการลงทุนก่อสร้างระบบผลิตน�้ำขนาดใหญ่ และการ บริหารจัดการ ท�ำให้สามารถให้บริการน�้ำอุตสาหกรรม ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ส ร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ น�้ ำ ดิ บ เพื่อน�ำเสนอยังลูกค้าในพื้นที่พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก

2. พิจารณาการลงทุนในโครงการให้บริการน�้ำครบวงจร ให้แก่พื้นที่ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา ซึ่งรัฐบาล ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การผลักดันให้เป็นศูนย์กลางทางการค้า การขนส่ง โลจิสติกส์ การซ่อมบ�ำรุงอากาศยาน การพัฒนา และวิจัยเทคโนโลยีด้านการบินและอวกาศ รวมถึ ง การพัฒนาและวิจยั เทคโนโลยีดา้ นความมัน่ คง เพือ่ รองรับ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก 3. พิจารณาการลงทุนโครงการผลิตน�้ำประปาจ�ำหน่าย ให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคสาขาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต จากขุมน�ำ้ ล็อคปาล์ม เนือ่ งจากจะเป็นประโยชน์กบั บริษทั ในด้านการเพิม่ รายได้ให้แก่บริษทั และเป็นการเปิดตลาด ธุรกิจน�้ำประปาในพื้นที่ใหม่ รวมถึงเพิ่มโอกาสในการ ขยายธุรกิจน�้ำครบวงจรของบริษัทไปยังพื้นที่อื่นๆ ใน จังหวัดภูเก็ต 4. ให้คำ� แนะน�ำฝ่ายบริหารในโครงการลดต้นทุนค่าพลังงาน ไฟฟ้าโดยการพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แบบลอยน�ำ้ หรือบนดิน เพื่อช่วยลดต้นทุนค่าพลังงาน ไฟฟ้าและเป็นการน�ำทรัพย์สินของบริษัทมาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด 5. กลั่นกรองเกณฑ์ในการลงทุนให้มีความชัดเจน และ พิจารณางบการลงทุนของบริษัทในภาพรวม รวมทั้ง ติดตามความก้าวหน้าในโครงการลงทุนที่ส�ำคัญ ให้เป็น ไปตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย เพื่อให้มั่นใจ ว่าการลงทุนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ 6. พิจารณาก�ำหนดอัตราผลตอบแทนโครงการ (ROI) ตาม ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการการลงทุน และก�ำหนด ระยะเวลาการติดตาม เพื่อให้แน่ใจว่าโครงการดังกล่าว ด�ำเนินการโดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง 7. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการการลงทุนโดยปรับบทบาท หน้าทีใ่ ห้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั อีกทัง้ ปรับปรุงหัวข้อในกฎบัตรให้เป็นรูปแบบเดียวกันกับ คณะกรรมการชุดย่อยอื่น คณะกรรมการการลงทุนได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทและตามกฎบัตร โดยเน้นให้มีการ ด�ำเนินงานที่ส�ำคัญควบคู่กับการพัฒนาโครงการใหม่ๆ เพื่อให้ โครงการลงทุนของบริษทั มีความเชือ่ มโยงสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ และพันธกิจ โดยได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง โดยยึดถือผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นเป็นส�ำคัญ อีกทั้ง ได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดตามกฎหมายและกฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้อง ภายใต้หลักธรรมาภิบาลเพือ่ การเติบโตอย่างมัน่ คงต่อไป

นายสุรชัย ขันอาสา ประธานคณะกรรมการการลงทุน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

13

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

นางอัศวินี ไตลังคะ

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 1. นางอัศวินี ไตลังคะ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. นายกฤษฎา ศังขมณี กรรมการ 3. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 4. นายศิวะ แสงมณี ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสาํ คัญของการบริหาร ความเสีย่ งทีจ่ ะทาํ ให้แผนธุรกิจส�ำเร็จตามเป้าหมาย จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรอง สภาพแวดล้อม บริบทองค์กร และความเสีย่ งทีม่ นี ยั สําคัญ รวมถึง ให้ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมโดยท�ำหน้าที่ในการ กําหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง การพิจารณาความเสี่ยง ระดับองค์กร การประเมินความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ

องค์กร รวมถึงกําหนดมาตรการป้องกันสาเหตุ และแก้ไขผลกระทบ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ โดยให้มกี ารติดตาม ทบทวนความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งนี้ในปี 2561 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการจัด ประชุม จ�ำนวน 5 ครั้ง ซึ่งพิจารณาเรื่องที่ส�ำคัญ สรุปดังนี้ 1. พิจารณามอบนโยบายบริหารความเสี่ยงให้ถือปฏิบัติ ทั้งองค์กร และสนับสนุนให้มีการปรับปรุงคู่มือบริหาร ความเสี่ยงองค์กร ตามหลักการแนวทาง COSO-ERM ซึ่งเป็นมาตรฐานสากลในด้านการบริหารความเสี่ยง 2. พิจารณาเกณฑ์ประเมินความเสีย่ ง และก�ำหนดดัชนีชวี้ ดั ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 3. พิจารณาและเห็นชอบประเด็นความเสี่ยงระดับองค์กร เพื่อให้เจ้าของความเสี่ยงจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง และก�ำหนดมาตรการควบคุมเชิงป้องกัน หรือแก้ไขเพื่อ ลดผลกระทบความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรต้องการ หรือยอมรับได้ 4. ติดตาม ตรวจสอบ และทบทวนความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงก�ำหนดให้มกี ารประเมินประสิทธิผลของมาตรการ ควบคุ ม เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งส� ำ เร็ จ ตามวัตถุประสงค์ 5. ทบทวนกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีความมุง่ มัน่ ให้บริษทั มีการ พัฒนา และปรับปรุงระบบการบริหารความเสี่ยง ซึ่งถือเป็นการ ก�ำกับดูแลกิจการให้สามารถด�ำเนินงานตามแผนธุรกิจอย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุดด้วยการบริหารจัดการความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเป็น ประจ�ำทุกปี เพื่อน�ำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุง แก้ ไ ขให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท สอดคล้ อ งกับ แผน กลยุทธ์ บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายทางธุรกิจต่อไป

นางอัศวินี ไตลังคะ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


รายงานประจ�ำปี 2561

14

รายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน 1. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน 2. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ กรรมการ 3. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี กรรมการ 4. นางวิราวรรณ ธารานนท์ เ ลขานุ ก ารคณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นา เพื่อความยั่งยืน ในปี 2561 คณะกรรมการบริษทั ได้ปรับเปลีย่ นบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน เพื่อ ให้สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียน ปี 2560 ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งได้ก�ำหนดหลัก ปฏิ บัติ 1 ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ในฐานะผูน้ ำ� องค์กรทีส่ ร้างคุณค่าให้แก่กจิ การอย่างยัง่ ยืน จึงเพิม่ อ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบด้านการพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ให้คณะกรรมการคณะนี้เป็นผู้รับผิดชอบไปพร้อมกับการด�ำเนิน การด้านธรรมาภิบาล ตลอดจนดูแลให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินงาน อย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายหลัก และแผนกลยุทธ์ของบริษทั คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ได้จดั ประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยในปี 2561 ได้พิจารณากลั่นกรอง เรื่องที่ส�ำคัญตามกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนา เพื่อความยั่งยืน ก่อนน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณา สรุปดังนี้

1. ทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน เพือ่ เป็นต้นแบบให้คณะกรรมการชุดย่อยอืน่ น�ำไปปรับใช้ให้เป็นไปตามมาตรฐานและรูปแบบเดียวกัน ทุกคณะ 2. ทบทวนหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท โดยปรับปรุงรูปแบบและเพิม่ เติมสาระส�ำคัญตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2560 ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 3. ทบทวนนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายใน องค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 และข้อแนะน�ำของคณะอนุกรรมการโครงการ แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition: CAC) 4. ทบทวนจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท โดยการ ปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนจากกลุ่มผู้มีส่วน ได้เสียขององค์กร เพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรมและโปร่งใส ในการปฏิบัติงานของบริษัทให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 5. แนะน�ำการจัดท�ำแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจให้กับ พนั ก งานเกี่ ย วกั บ การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละการ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กร 6. อนุมัตินโยบายการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนของ บริษัทและอนุมัติแผนกิจกรรมด้านการพัฒนาเพื่อความ ยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 เพื่อสร้างความยั่งยืนแก่บริษัททั้ง ด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG) ได้แก่ 1) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Day: CG Day) 2) การจัดอบรมเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชัน 3) การจั ด กิ จ กรรมความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) จ�ำนวน 3 โครงการ 3.1) โครงการส่งเสริมสาธารณูปโภคด้านน�้ำและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3.2) โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตชุมชน 3.3) โครงการส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด 7. เห็นชอบกรอบการจัดท�ำข้อมูลเปิดเผยเนื้อหารายงาน ความยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 ตามมาตรฐานองค์การแห่ง การริเริ่มว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) โดยมอบหมายให้กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ พิจารณาเนื้อหารายงานดังกล่าวก่อนการเผยแพร่ต่อไป

นางธัชดา จิตมหาวงศ์ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

15

รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ

ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วย 1. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นายสุรชัย ขันอาสา กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 4. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5. นางสาวจินดา มไหสวริยะ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ในปี 2561 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนอย่างครบถ้วน โดยมีการประชุมทัง้ สิน้ 8 ครัง้ เพือ่ พิจารณากลัน่ กรองก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติ สรุปดังนี้ 1. พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการกลุ่มบริษัท เพื่อ น�ำเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ โดยเทียบเคียง กับรายงานการส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการของสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) และธุรกิจใกล้เคียง 2. พิจารณากลั่นกรองหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนและ โบนัสพนักงานกลุม่ บริษทั ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ ผลการด�ำเนินงาน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการมุ่งเน้นผลการ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย 3. ก�ำหนดเกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ประจ�ำปี 2561 รวมถึงให้ข้อแนะน�ำแนวทางการ ปรับปรุงและพัฒนาการด�ำเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ พร้อมทัง้ ทบทวน คู่มือเกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัท เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและพนักงานใช้เป็นกรอบการประเมินผล การด�ำเนินงานทุกระดับ

4. ก� ำ หนดเกณฑ์ ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และรายงานผลด�ำเนินงาน ตามเกณฑ์ดงั กล่าวยังคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา การจ่ายค่าตอบแทน และการต่อสัญญาจ้าง 5. น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาปรับโครงสร้าง คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัท โดยน�ำบทบาทหน้าที่ ด้านการสรรหาให้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้รับผิดชอบ และเพิ่มบทบาทหน้าที่ด้านการพัฒนา เพือ่ ความยัง่ ยืนให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลฯรับผิดชอบ เพือ่ กระจายบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการชุดย่อยให้ สมดุลกัน 6. สรรหาบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมตามหลักเกณฑ์และ กระบวนการที่ก�ำหนดไว้ เพื่อเสนอเข้ารับการแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ตลอดจนคัดเลือกกรรมการ บริ ษั ท เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ก รรมการชุ ด ย่ อ ย น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามล�ำดับ 7. พิจารณากลั่นกรองหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการให้ สิ ท ธิ แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส่ ว นน้ อ ยที่ จ ะน� ำ เสนอระเบี ยบวาระ การประชุม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการคัดเลือก เป็นกรรมการบริษทั รวมทัง้ เสนอชือ่ กรรมการอิสระเป็น ผู้รับมอบฉันทะในการประชุมผู้ถือหุ้น 8. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลที่เหมาะสม เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท 9. ปรับปรุงเกณฑ์การคัดเลือกผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งเลขานุการ บริษัท 10. ทบทวนกฎบั ต รคณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณา ค่ า ตอบแทนให้ เ หมาะสมสอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ปัจจุบัน

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน


รายงานประจ�ำปี 2561

16

คณะกรรมการบริ ษั ท

01

02

03

04

05

06

01.

02.

03.

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล

นายอมร เลาหมนตรี

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ

04.

05.

06.

นายสุรชัย ขันอาสา

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

นางอัศวินี ไตลังคะ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริษัท

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการการลงทุน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพื่อความยั่งยืน กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

07

08

09

10

11

12

07.

08.

09.

นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์

พัน เอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

นายกฤษฎา ศังขมณี

10.

11.

12.

นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า

นางสาวสมจิณณ์ พิลึก

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง

กรรมการอิสระ กรรมการการลงทุน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการ กรรมการการลงทุน

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนา เพื่อความยั่งยืน

กรรมการ

กรรมการ กรรมการการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ กรรมการการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง

17


รายงานประจ�ำปี 2561

18

ประวั ติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริษัท

อายุ

นายอมร เลาหมนตรี กรรมการอิสระ

64

อายุ

68

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 23 เม.ย. 2561

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 1 ธ.ค. 2557

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - Master of Science (Mechanical Engineering), Texas A&I University, USA - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุณวุฒิทางการศึกษา - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเพนซิลเวเนีย - นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม - Director Certification Program (DCP) 82/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Finance for Non-Finance Director (FND) 30/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการ พลังงาน - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง Leadership Development Program “Enhancing Competitiveness” สถาบั น International Institute for Management Development (IMD) 2012 - หลักสูตรประกาศนียบัตร Top Executive Program in Commerce and Trade (TEPCoT) 2/2009 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

ประวัติการอบรม - Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) 4/2016 สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Advanced Audit Committee Program (AACP) 18/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP) 114/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Director Certification Program (DCP) 208/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Financial Statements for Directors (FSD) 27/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ก.พ. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บริษทั ทีโอเอ (เพ้นท์) ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) ม.ค. 2558 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการก�ำกับดูแล กิจการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) พ.ค. 2555 - ก.ย. 2557 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ต.ค. 2554 - เม.ย. 2555 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) ต.ค. 2551 - ต.ค. 2554 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 17 ก.ค. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการ การยาสูบแห่งประเทศไทย ก.ย. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จ�ำกัด 5 ก.ย. 2557 - 16 ต.ค. 2561 ประธานคณะกรรมการ บริษัท เอ็ช เอ็ม ซี โปลีเมอส์ จ�ำกัด

ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2557 - ปัจจุบัน คณะท�ำงานรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2550 - 2553 ทีป่ รึกษาด้านกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2548 - 2550 ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 2545 - 2548 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 2543 - 2545 ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

19

นายสุรชัย ขันอาสา อายุ

63

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการการลงทุน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

อายุ

61

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 8 ธ.ค. 2557

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 20 ก.ค. 2560

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม - นายร้อยอบรม โรงเรียนนายร้อยสามพราน รุ่น 25 - หลักสูตรโรงเรียนผู้ก�ำกับ รุ่นที่ 35 - หลักสูตรการบริหารงานต�ำรวจขั้นสูง รุ่นที่ 25

คุณวุฒิทางการศึกษา - รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) เอกนโยบายสาธารณะและการบริหาร โครงการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุน่ ที่ 10 สถาบันวิทยาการพลังงาน - Director Certification Program (DCP) 224/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Role of the Compensation Committee (RCC) 21/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Role of the Nomination & Governance Committee (RNG) 8/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Risk Management Committee Program (RMP) 6/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรการบริหารภาครัฐและกฎหมายเอกชน (ปรม.) รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 19 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุ่นที่ 4 วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร) รุ่นที่ 2 วิทยาลัยพัฒนามหานคร - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม” (นมธ.) รุ่นที่ 12 มูลนิธิสถาบัน วิทยาการธรรมศาสตร์เพื่อสังคม - การปฏิรูปธุรกิจและสร้างเครือข่ายนวัตกรรม (BRAIN) 1/2017 สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 27 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 23 มิ.ย. 2557 รองจเรต�ำรวจ ส�ำนักงานจเรต�ำรวจ 27 ธ.ค. 2554 รองผู้บัญชาการนครบาล ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ 16 ก.พ. 2552 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 1 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ 1 ต.ค. 2551 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 3 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ 18 ธ.ค. 2546 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 2 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ

ประวัติการอบรม - IT Governance a Cyber Resilience Program (ITG) 8/2018 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Certification Program (DCP) 250/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Ethical Leadership Program (ELP) 10/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 49 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 13 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 39 กระทรวงมหาดไทย - หลักสูตรนายอ�ำเภอ (นอ.) รุ่นที่ 37 วิทยาลัยการปกครอง ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 1 ต.ค. 2558 - 30 ก.ย. 2560 ผู้ว่าราชการ จังหวัดปทุมธานี 1 ต.ค. 2556 - 30 ก.ย. 2558 ผู้ว่าราชการ จังหวัดพิจิตร 8 ต.ค. 2555 - 30 ก.ย. 2556 ผู้ว่าราชการ จังหวัดจันทบุรี 28 พ.ย. 2554 - 7 ต.ค. 2555 ผู้ว่าราชการ จังหวัดล�ำพูน 20 ธ.ค. 2553 - 27 พ.ย. 2554 อธิบดีกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 1 ต.ค. 2553 - 19 ธ.ค. 2553 รักษาการในต�ำแหน่ง อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 1 ต.ค. 2552 - 30 ก.ย. 2553 ผู้ว่าราชการ จังหวัดสมุทรปราการ


รายงานประจ�ำปี 2561

นางอัศวินี ไตลังคะ

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน กรรมการตรวจสอบ

20

อายุ

61

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ

อายุ

66

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 24 ธ.ค. 2557

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 23 เม.ย. 2561

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ศิลปศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คุณวุฒิทางการศึกษา - บัญชีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Program for Management Development Graduate School of Business Administration, Harvard University (PMD 61) - Program for Families in Business From Generation to Generation, Harvard Business School, Harvard University

ประวัติการอบรม - IT Governance a Cyber Resilience Program (ITG) 7/2018 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - Boards that Make a Difference (BMD) 8/2018 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Ethical Leadership Program (ELP) 10/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Successful Formulation & Execution the Strategy (SFE) 30/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) 4/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Advanced Audit Committee Program (AACP) 18/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP) 114/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Director Certification Program (DCP) 208/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Financial Statements for Directors (FSD) 27/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 26 ก.ค. 2559 - 30 ก.ย. 2560 ผู้อ�ำนวยการกองบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2554 - 2559 ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ก� ำ กั บ และพั ฒ นาระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2550 - 2554 ผู ้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นพั ฒ นาระบบการคลั ง กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2548 - 2550 เลขานุการกรม กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2542 - 2548 คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2540 - 2541 หัวหน้าฝ่ายแผนงาน กรมบัญชีกลาง กระทรวง การคลัง 2539 - 2540 หัวหน้าผูต้ รวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง กระทรวง การคลัง

ประวัติการอบรม - Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) 11/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP) 18/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP) 15/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Director Certification Program (DCP) 18/2002 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 1 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2560 - ปัจจุบัน กรรมการอุทธรณ์ บริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 2559 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร/ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน คณะท�ำงาน Product & Marketing Steering Committee ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2543 - 2558 กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2556 ประธานกรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2556 - 2559 กรรมการ สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์

กรรมการอิสระ กรรมการการลงทุน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

21

พัน เอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี อายุ

49

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

อายุ

45

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 19 ต.ค. 2560

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 8 ธ.ค. 2557

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - อนุปริญญาการจัดการโรงแรม Billy Blue Hotel Management School, Sydney, Australia

คุณวุฒิทางการศึกษา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

ประวัติการอบรม - Director Certification Program (DCP) 230/2016 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 22 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) รุ่นที่ 3 ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ/ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - 2559 กรรมการ บริษัท ไทยรีประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2558 กรรมการ/ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่/ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - 2556 ผู้อ�ำนวยการใหญ่/ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยรี แอคชัวเรียล คอนซัลติ้ง จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยรี เซอวิสเซส จ�ำกัด 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อีเอ็มซีเอส ไทย จ�ำกัด 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทองไทยการทอ จ�ำกัด 2553 - 15 ม.ค. 2561 กรรมการ บริษัท วี เอ เอส การ์เม้น (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2553 - 15 ม.ค. 2561 กรรมการ บริษัท ไทยทันสปอร์ตแวร์ จ�ำกัด 2556 - 2559 กรรมการ บริษัท ไทยรี เทรนนิ่ง จ�ำกัด

ประวัติการอบรม ไม่มี ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2557 นายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจ�ำผู้บังคับบัญชากองทัพบก 2553 ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 3 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ 2552 ผู้ช่วยนายทหารยุทธการ กองยุทธการ กองทัพน้อยที่ 1 2549 ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายยุทธการ กองพลทหารราบที่ 6 2546 ผู้บังคับกองร้อย กองบัญชาการกองทัพบกภาคที่ 1


รายงานประจ�ำปี 2561

นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า

นายกฤษฎา ศังขมณี

กรรมการ กรรมการการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง

22

อายุ

กรรมการ กรรมการการลงทุน

56

อายุ

57

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 30 พ.ย. 2560

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 14 มี.ค. 2561

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คุณวุฒิทางการศึกษา - เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เดอ ลา แซล ประเทศฟิลิปปินส์ - พาณิชยศาสตรบัณฑิต (สาขาเศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยซานโต โทมัส ประเทศฟิลิปปินส์ - วิทยาศาสตร์พฤติกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยซานโต โทมัส ประเทศฟิลิปปินส์ - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ประวัติการอบรม - หลักสูตรวิทยาการการจัดการส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (วบส.) รุ่นที่ 2/2018 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุน่ ที่ 9/2018 วิทยาลัยนักบริหาร ป.ป.ช. สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ สัญญาธรรมศักดิ์ - หลั ก สู ต รผู ้ บ ริ ห ารการให้ เ อกชนร่ ว มลงทุ น ในกิ จ การของรั ฐ (PEP) 1/2016 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ - หลักสูตร Leadership Succession Program (LSP) 1/2013 มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาองค์กรภาครัฐ - การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ แบบบู ร ณาการส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง รุ ่ น ที่ 2/2555 สมาคมการประปาแห่งประเทศไทย ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 1 ต.ค. 2561 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าการ (วิชาการ) การประปาส่วนภูมิภาค 27 พ.ย. 2558 - 30 ก.ย. 2561 รองผู ้ ว ่ า การ (บริ ห าร)/รั ก ษาการในต� ำ แหน่ ง ผู้ช่วยผู้ว่าการ (บริหาร1) การประปาส่วนภูมิภาค 17 ต.ค. 2555 - 26 พ.ย. 2558 ผู้ช่วยผู้ว่าการ (บริหาร) การประปาส่วนภูมิภาค 29 ธ.ค. 2554 - 16 ต.ค. 2555 ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ก าร 4 การประปา ส่วนภูมิภาค

ประวัติการอบรม ไม่มี ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2561 - ปัจจุบัน สมาชิกและกรรมการสถาบัน International Water Association (IWA) 2558 - ปัจจุบัน ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายปฏิบัติการแผนกการปฏิบัติธุรกิจใหม่ Manila Water Company, Inc. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร Manila Water Philippine Ventures, Inc. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร Manila Water Asia Pacific, Pte., Ltd. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการผูจ้ ดั การ (ไปช่วยปฏิบตั งิ านที่ Manila Water Company, Inc.) Ayala Corporation ปัจจุบัน กรรมการบริษัทในเครือ Manila Water Asia Pacific, Pte., Ltd. 2542 - 2558 กรรมการกลุ่มกลยุทธ์ขององค์กรและการพัฒนาองค์กร Manila Water Company, Inc.


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

23

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง

นางสาวสมจิณณ์ พิลึก

กรรมการ

อายุ

57

กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ กรรมการการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง

อายุ

52

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 11 ธ.ค. 2561

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท 1 เม.ย. 2559

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - Doctor of Philosophy (Environmental Engineering and Management) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - Master of Engineering (Executive) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัย) มหาวิทยาลัยมหิดล

คุณวุฒิทางการศึกษา - M.S. in Operations Research มหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

ประวัติการอบรม - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร) รุ่นที่ 6 มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช - หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน (วธอ.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม - หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 6 วิทยาลัย การยุติธรรมทางปกครอง ส�ำนักงานศาลปกครอง - หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตยส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 17 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบัน พระปกเกล้า - หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับผู้บริหาร ระดับสูง (ปศส.) รุ่นที่ 10 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น ปัจจุบัน ผู้ว่าการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2559 - 2561 รองผู ้ ว ่ า การ (สายงานกิ จ การพิ เ ศษ) การนิ ค มอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย 2556 – 2559 รองผูว้ า่ การ (สายงานบริการและสิง่ แวดล้อม) การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย 2555 - 2556 ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การ (สายงานท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย

ประวัติการอบรม - Director Certification Program (DCP) 60/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Financial Institutions Governance Program (FGP) 4/2012 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 61 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร) รุน่ ที่ 1 วิทยาลัย พัฒนามหานคร - การปฏิรูปธุรกิจและสร้างเครือข่ายนวัตกรรม (BRAIN) 1/2017 สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2556 - 2558 กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ บริษัท คริสเตียนนี และนีลเส็น (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) 2548 - 2549 กรรมการ/กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์ บัวหลวง จ�ำกัด (มหาชน) 2547 - 2548 กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ยูไนเต็ด จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2561 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท อิ น เด็ ก ซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ จ�ำกัด (มหาชน) 16 พ.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2558 ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 2558 ประธานกรรมการ สถานธนานุบาลกรุงเทพมหานคร 2554 - 2557 กรรมการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย 2552 - 2554 กรรมการ/กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) 2552 - 2554 อุ ป นายก สมาคมโทรคมนาคมแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2549 - 2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน)


รายงานประจ�ำปี 2561

24

ประวั ติ ค ณะที่ ป รึ ก ษา

นายวิชา นิลเพชร์พลอย

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท ที่ปรึกษาคณะกรรมการการลงทุน

พลเอก ไตรรัตน์ รังคะรัตน อายุ

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท ที่ปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ

69

อายุ

67

ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท 16 ม.ค. 2559

ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท 29 มิ.ย. 2560

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ไม่มี

คุณวุฒิทางการศึกษา - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

คุณวุฒิทางการศึกษา - วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (รุ่นที่ 22) - โรงเรียนเตรียมทหาร (รุ่นที่ 11)

ประวัติการอบรม ไม่มี

ประวัติการอบรม - หลักสูตรจิตวิทยาเพื่อความมั่นคง (สจว.) รุ่นที่ 79 สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรการบริหารจัดการความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 3 สมาคมวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรในพระบรมราชูปถัมภ์ - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุน่ ที่ 20 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 48 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการ พลังงาน

ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น 2557 - ปัจจุบัน คณะท�ำงานรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2551 - 2552 รองอธิบดีกรมที่ดิน (นักบริหาร 9) กรมที่ดิน 2549 เจ้าพนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร (เจ้าหน้าที่บริหารงานที่ดิน 9) ส�ำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร 2547 ผูต้ รวจราชการกรมทีด่ นิ (เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 9 ชช.) ส�ำนักผู้ตรวจราชการ กรมที่ดิน

ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น ปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ/คณะกรรมาธิการการพลังงาน/ คณะกรรมาธิการการปกครองส่วนท้องถิ่น สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปัจจุบัน คณะท�ำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2555 - ปัจจุบัน ประธานที่ปรึกษา สมาคมขี่ม้าแห่งประเทศไทย 2559 - 2561 คณะกรรมการผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง 2557 - 2559 กรรมการ/ประธานกรรมการคณะกรรมการตรวจสอบ/ประธาน อนุกรรมการติดตามการด�ำเนินงานตามนโยบาย การประปาส่วนภูมิภาค 2528 - 2555 ราชองครักษ์พิเศษ กรมราชองครักษ์


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นายศิวะ แสงมณี

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

อายุ

73 ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท 19 ต.ค. 2560 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม - Advanced Audit Committee Program (AACP) 18/2015 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - Director Certification Program (DCP) 97/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 20 กระทรวงมหาดไทย - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 37 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์การท�ำงาน การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 22 มิ.ย. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ บริษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล รีเสริซ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ บริษัท ซีฟโก้ จ�ำกัด (มหาชน) 18 เม.ย. 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ บริษัท อุบล ไบโอ เอทานอล จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจ�ำกัด/กิจการอื่น ปัจจุบัน ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ปัจจุบัน กรรมการสภา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 6 ก.ย. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ไพร์ม สตีล มิลล์ จ�ำกัด 26 ก.พ. 2552 - 21 มิ.ย. 2553 ประธานกรรมการ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด 31 มี.ค. 2551 - 30 ม.ค. 2552 กรรมการ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด 30 พ.ย. 2549 - 15 พ.ค. 2551 ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 12 ธ.ค. 2549 - 15 พ.ค. 2551 กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 1 ม.ค. 2550 - 19 ส.ค. 2550 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ 7 พ.ย. 2549 - 7 ธ.ค. 2550 ประธานกรรมการ การรถไฟแห่งประเทศไทย

25


รายงานประจ�ำปี 2561

26

โครงสร้ า งการบริ ห ารจั ด การภายในบริ ษั ท

กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่

ส� ำ นั ก กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่

ส� ำ นั ก เลขานุ ก ารบริ ษั ท

ฝ่ า ยตรวจสอบ

สายกลยุ ท ธ์

สายพั ฒ นาธุ ร กิ จ

สายปฏิ บั ติ ก าร

สายสนั บ สนุ น

สายการเงิ น และบั ญ ชี

ฝ่ า ยกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร

ฝ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ

ฝ่ า ยปฏิ บั ติ ก าร และบริ ก ารลู ก ค้ า

ฝ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล

ฝ่ า ยการเงิ น

ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก ร

ฝ่ า ยวิ ศ วกรรม

ฝ่ า ยซ่ อ มบ� ำ รุ ง

ฝ่ า ยอ� ำ นวยการ

ฝ่ า ยบั ญ ชี

ฝ่ า ยบริ ห าร โครงการก่ อ สร้ า ง

ฝ่ า ยเทคโนโลยี สารสนเทศ

ณ ธั น วาคม 2561


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

27

ประวั ติ ผู ้ บ ริ ห าร

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่

อายุ

52

นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล

ผู้บริหาร (ได้รับมอบหมายก�ำกับดูแลกิจการในเครือ) และกรรมการผู้จัดการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์

อายุ

54

คุณวุฒิทางการศึกษา - M.S. in Operations Research, มหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (คอมพิวเตอร์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

คุณวุฒิทางการศึกษา - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประวัติการอบรม - Director Certification Program (DCP) 60/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - Financial Institutions Governance Program (FGP) 4/2012 สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 61 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร) รุน่ ที่ 1 วิทยาลัย พัฒนามหานคร - การปฏิรูปธุรกิจและสร้างเครือข่ายนวัตกรรม (BRAIN) 1/2017 สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย

ประวัติการอบรม - The 4 Essential Roles of Leadership by PacRim (2018) - Anti-Corruption: The Practical Guide, Thai Institute of Directors (IOD) (2017) - DSTART UP, มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2017) - หลักสูตรการบริหารการตลาด สร้างภาพลักษณ์และลูกค้าสัมพันธ์ยุคใหม่ส�ำหรับ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน (Smart Marketing) รุ่นที่ 4/2015 โดยมูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (2015) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) - Director Certification Program - DCP 132/2010 - Executive Development Program (EDP) รุ่น 3, 2009 Thai Institute of Directors (IOD) - การบริหารจัดการน�้ำแบบบูรณาการ ส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่น 2 โดยสมาคม การประปาแห่งประเทศไทย - Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 21 (2002) - Mini MIS มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 2 (1997)

ประสบการณ์การท�ำงาน 2561 - ปัจจุบัน 2560 - ปัจจุบัน 2559 - ปัจจุบัน 2558 2558 2556 - 2558 2554 - 2557 2552 - 2554 2552 - 2554 2549 - 2552 2548 - 2549 2547 - 2548 2545 - 2547 2541 - 2545 2538 - 2541 2535 - 2538

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท อิ น เด็ ก ซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ประธานกรรมการ สถานธนานุบาลกรุงเทพมหานคร กรรมการอิสระ บมจ. คริสเตียนี และนีลเส็น (ไทย) กรรมการ ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. กสท โทรคมนาคม อุ ป นายก สมาคมโทรคมนาคมแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. กสท โทรคมนาคม กรรมการผู้จัดการ บมจ. หลักทรัพย์ บัวหลวง กรรมการผู้จัดการ บมจ. หลักทรัพย์ ยูไนเต็ด กรรมการผู้จัดการ บจ. หลักทรัพย์ บีที รองกรรมการผู้จัดการ บจ. เลห์แมน บราเดอร์ส รองผู้อ�ำนวยการ บจ. ยูบีเอส วอร์เบอร์ก วิศวกรวางแผน คาลเท็กซ์ คอร์ปอเรชั่น สหรัฐอเมริกา

ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน ผู้บริหาร (ได้รับมอบหมายก�ำกับดูแลกิจการในเครือ) และกรรมการผู้จัดการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ก.ย. 2556 - ต.ค. 2558 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า มี.ค. 2553 - ก.ย. 2556 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า และรักษาการ กรรมการผู้จัดการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ม.ค. 2552 - มี.ค. 2553 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ส.ค. 2551 - ม.ค. 2552 รักษาการกรรมการผู้จัดการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ พ.ย. 2550 - ม.ค. 2552 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายโครงการพิเศษ พ.ย. 2544 - พ.ย. 2550 ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ปฏิบัติการฉะเชิงเทรา และรักษาการ ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ปฏิบัติการระยอง


รายงานประจ�ำปี 2561

นายชรินทร์ โซนี่

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายพัฒนาธุรกิจ

อายุ

38

นายบดินทร์ อุดล

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ

28

อายุ

49

คุณวุฒิทางการศึกษา - Master of Commerce (Finance and International Business) The University of Sydney - เศรษฐศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยฮูสตัน สหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม - Director Certificate Program (DCP), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 2017 - ผู้น�ำด้านการบริหารจัดการน�้ำ, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (2017) - Non-financial Disclosure and GRI Reporting for Executive (2017)

ประวัติการอบรม - The 4 Essential Roles of Leadership, PacRim (2018) - New Era of Governance & Internal Controls, EY 2018 - Emergency Response Planning 2018 - คณะกรรมการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (2018) - เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหาร (2018)

ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายพัฒนาธุรกิจ มิ.ย. - ต.ค. 2560 รักษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายกลยุทธ์ และผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร

ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ 2559 - 2560 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส บจ. ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ 2557 - 2559 รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายธุรกิจ จีเอ็มเอ็มวัน ดิจิตัล ทีวี บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ กรรมการผู้จัดการ บจ. จีเอ็มเอ็ม วัน ทีวี 2544 - 2557 กรรมการผู้จัดการ บจ. ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ (UBA) 2539 - 2544 ผู้จัดการโครงการ บมจ. เนาวรัตน์พัฒนาการ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นางวิราวรรณ ธารานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

อายุ

59

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ

29

อายุ

55 59

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - บัญชีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)

ประวัติการอบรม - The 4 Essential Roles of Leadership, PacRim (2018) - New Era of Governance & Internal Controls, EY (2018) - หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท Advances for Corporate Secretaries รุ่นที่ 2/2017 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - หลักสูตร Company Reporting Program (CRP 19/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - หลักสูตร Executive Development Program (EDP) Class of Year 2017 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - Strategic Execution ขับเคลื่อนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ (TMA 2016) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP 192/2014) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 8/2014) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตร Management Development Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Organization Risk Management Program สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย - หลักสูตร Company Secretary Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) - หลั ก สู ต ร “กฎหมายส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น กิ จ การที่ เ ป็ น บริ ก ารสาธารณะ” สถาบันพระปกเกล้า

ประวัติการอบรม - Board Reporting Program (BRP 23/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) - Strategic CFO in Capital Markets Program 2015 - Director Certification Program (DCP, 197/2014) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA. 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA. 2012 (Module 1) - Audit Committee Program (ACP) รุ่น 26/2009 - Executive Development Program (EDP) รุ่น 4 - หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่น 5

ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท 2558 - 2560 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท 2556 - 2558 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล 2552 - 2556 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2550 - 2551 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบ

ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ 2558 - 2560 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี 2552 - 2558 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 2550 - 2551 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี 2547 - 2550 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล


รายงานประจ�ำปี 2561

นางสาวจินดา มไหสวริยะ

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายสนับสนุน

อายุ

56

คุณวุฒิทางการศึกษา - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ประวัติการอบรม - The 4 Essential Roles of Leadership, PacRim (2018) - Board Nomination & Compensation Program (BNCP), สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) (2018) - Director Certificate Program (DCP), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (2018) - เลขานุการบริษัท (พื้นฐาน) Fundamentals for Corporate Secretaries, สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (2018) - New Era of Governance & Internal Controls, EY (2018) - Sustainability Strategy: Key Blueprint for Business Growth ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (2017) - การเสริมสร้างศักยภาพ ผู้น�ำการบริหารสายงานสนับสนุน (Ideal Forum) 2017 - นักบริหารทีมงานยุคใหม่ (GRID), 2016 - การบริหารจัดการธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Executive Micro MBA), 2015 - Train the Trainer - Anti-Corruption: The Practical Guide, Thai Institute of Directors (IOD) ACPG 13/2014 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) - Executive Development Program (EDP) 2011, Thai Institute of Directors (IOD) ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายสนับสนุน 2558 - 2560 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ ก.พ. - มิ.ย. 2558 รักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2554 - 2558 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2552 - 2554 ผู้จัดการแผนกจัดซื้อ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2549 - 2552 ผู้จัดการแผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์กร 2547 - 2549 ผู้จัดการแผนกจัดหาพัสดุ ฝ่ายอ�ำนวยการ

นายสมบัติ อยู่สามารถ

ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงิน และบัญชี

30

อายุ

48

คุณวุฒิทางการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ประวัติการอบรม - The 4 Essential Roles of Leadership, PacRim (2018) - เทคนิคการใช้ข้อมูลบัญชีการเงินส�ำหรับผู้บริหาร, บริษัทฝึกอบรมสัมมนาธรรมนิติ (2018) - New Era of Governance & Internal Controls, EY (2018) - หลักสูตรผู้น�ำด้านการจัดการน�้ำ รุ่นที่ 7, สถาบันน�้ำเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (2017) - Anti-Corruption: The Practical Guide, สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) (2014) - หลักสูตร CFO Chief Financial Officer Certification Program รุ่นที่ 16 สภาวิชาชีพบัญชี (2012) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) - Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 5, (2010) ประสบการณ์การท�ำงาน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก ต.ค. 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี และรองกรรมการผูจ้ ดั การสายบริหาร บมจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ส.ค. 2560 - ต.ค. 2560 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงิน และรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหาร บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ 2558 - 2560 รองกรรมการผู้จัดการ สายบริหาร บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ 2554 - 2558 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี 2552 - 2554 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี 2552 - 2552 รักษาการผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี 2552 - 2554 ผู้จัดการ ฝ่ายบัญชีและการเงิน (Secondment - UU) 2550 - 2552 ผู้จัดการแผนกบัญชี ฝ่ายการเงินและบัญชี 2548 - 2550 ผูจ้ ดั การ ฝ่ายบริหารและการเงิน (Secondment - GWS) 2546 - 2548 ผู้จัดการแผนกงบประมาณและการเงิน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

31

ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท

นางน�้ำฝน รัษฎานุกูล

นายวิวรรธน์ เจริญสุขรุ่งเรือง

นายศุภทรรศ สาพิมาน

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ส�ำนักกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิศวกรรม

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า

นายโสกุล เชื้อภักดี

นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

นางสาวดวงรัตน์ พิทักษ์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารโครงการก่อสร้าง

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

นางสาวอารยา พลวิชัย

นางสาวธารทิพย์ โพธิสรณ์

นางสาวสุวรรณา กอเจริญรัตน์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงิน

นายภานุมาส ปรีบัว

นางสาวสุณีวรรณ สุดสวัสดิ์วรกุล

นางสาวฉัตรแก้ว ภุมรินทร์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชี

ผู้ช่วยเลขานุการบริษัท

ผู้จัดการแผนกประชาสัมพันธ์ และรักษาการผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร


รายงานประจ�ำปี 2561

32

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ ร กิ จ วิสัยทัศน์ “เป็นผู้น�ำในการบริหารจัดการน�้ำครบวงจรของประเทศ”

กลยุทธ์ที่ 9 - บ ริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย่ า งมี ร ะบบ และด� ำ เนิ น งานอย่ า งมี จ ริ ย ธรรม (Risk Management & Ethics)

พันธกิจ 1. สร้างความมั่นคงและรักษาเสถียรภาพด้านแหล่งน�้ำ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและตอบสนองความต้องการของ ปี 2559 ผู้ใช้น�้ำในระยะยาว • เมษายน 2559 บริษทั ได้คดั เลือกให้นายจิรายุทธ รุง่ ศรีทอง 2. ขยายการลงทุนในธุรกิจน�ำ้ อย่างครบวงจร เพือ่ การเติบโต เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ โดยผ่าน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน การพิจารณาตามขั้นตอนการสรรหาและหลักเกณฑ์ที่ 3. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและ ก� ำ หนดโดยคณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและสรรหา นวัตกรรมที่ทันสมัย และการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 4. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุงโครงสร้างการ • พฤษภาคม 2559 ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ บริหารของกลุม่ บริษทั เพือ่ การบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้อนุมัติ 5. รับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และสร้างความ แบบค�ำขอเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชน (IPO) สัมพันธ์ที่ดีกับผู้มีส่วนได้เสีย ด้วยความโปร่งใสตามหลัก ของ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ โดยตลาดหลักทรัพย์ ธรรมาภิบาล แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้อนุมัติแบบค�ำขอให้รับ หลั ก ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ทรั พ ย์ จ ดทะเบี ย นเมื่ อ วั น ที่ 30 กลยุทธ์ พฤษภาคม 2559 อย่างไรก็ตาม บมจ. ยูนิเวอร์แซล ด้ า นการปฏิ บั ติ ง านที่ ดี เ ลิ ศ (Operation Excellence ยูทลี ติ สี้ ์ ยังมิได้ดำ� เนินการเสนอขายหลักทรัพย์ เนือ่ งจาก Theme) ยังอยู่ในช่วงของการพิจารณาช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุด กลยุทธ์ที่ 1 - เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า ด้วยคุณภาพ ในการเสนอขาย แ ล ะ ป ระ สิ ทธิ ภ า พใ น ก า รใ ห้ บ ริ ก า ร • มิถุนายน 2559 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับ เครดิตองค์กร และอันดับเครดิตหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี (Effectiveness) หลักประกันของบริษัทที่ระดับ “A+” ด้วยแนวโน้ม กลยุทธ์ที่ 2 - ล ดต้ น ทุ น การผลิ ต การสู บ ส่ ง และการ “Stable” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง ด�ำเนินงานภายใน (Cost Reduction) ของบริษัท และความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจที่อยู่ใน ระดับต�่ำ นอกจากนี้ TRIS RATING ยังได้ประกาศ ด้านธุรกิจน�้ำครบวงจร (Total Water Solutions Theme) คงอันดับเครดิตองค์กรของ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ กลยุทธ์ที่ 3 - บ ริ ก ารระบบน�้ ำ ครบวงจร ด้ ว ยราคาที่ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทที่ระดับ “A-” ด้วยแนวโน้ม เหมาะสม และการรั บ ประกั น คุ ณ ภาพ “Stable” ซึ่งสะท้อนถึงความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจ (Total Water Solutions) ในระดับต�ำ ่ ตลอดจนการมีอปุ สงค์ทเี่ ติบโตอย่างต่อเนือ่ ง กลยุทธ์ที่ 4 - โครงการซึง่ สร้างผลตอบแทนระยะยาวได้ใน ของอุตสาหกรรมน�้ำประปา และการมีกระแสเงินสดที่ ทันที (Monetization of Customer Asset) สม�่ำเสมอ กลยุทธ์ที่ 5 - มาตรฐานโครงสร้างราคาค่าน�้ำแบบครบ วงจร (Standard Pricing Structure) • มิถุนายน 2559 บริษัทได้รับคะแนนเต็ม 100 คะแนน ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 2 ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุม กลยุทธ์ที่ 6 - การรับรู้ถึงสินค้า และบริการของบริษัทใน สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2559 จากสมาคมส่ ง เสริ ม ระบบน�ำ้ ครบวงจรต่อกลุม่ ลูกค้า (Customer ผู้ลงทุนไทย Awareness) • พฤศจิกายน 2559 บริษัทได้รับคะแนนร้อยละ 96 อยู่ใน ด้านความยั่งยืน (Sustainability Theme) เกณฑ์ ดีเลิศ (เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่คะแนนร้อยละ 94) ใน กลยุทธ์ที่ 7 - สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้มีส่วนได้เสียหลัก การประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทย (Stakeholders Engagement) (CGR) ประจ�ำปี 2559 กลยุทธ์ที่ 8 - ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน สิง่ แวดล้อม • พฤศจิกายน 2559 บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 55 ในพื้นที่ และภาพลักษณ์องค์กร (CSR & บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ใน Thailand Sustainability Corporate Image) Investment หรือรายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” ประจ�ำปี 2559


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

33

จาก ตลท. ซึ่งพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษัท ปี 2561 จดทะเบียนที่มีความโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม • มีนาคม 2561 บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and (“EGCO”) ได้ท�ำรายการขายหุ้นของ EASTW ที่ EGCO Governance : ESG) ถืออยูท่ งั้ หมดร้อยละ 18.72 ให้กบั บริษทั มะนิลา วอเตอร์ จ�ำกัด • ธันวาคม 2559 บริษัทได้รับรางวัลรายงานความยั่งยืน ประจ�ำปี 2559 (Sustainability Report Award 2016) • มิถุนายน 2561 บริษัทได้รับคะแนน 95 คะแนน ในการ ประเภทรางวัล Recognition จัดโดยสมาคมบริษัท ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี จดทะเบี ย นไทย (CSR Club) ก.ล.ต. และสถาบั น 2561 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ไทยพัฒน์ • กรกฎาคม 2561 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับ เครดิตองค์กร และอันดับเครดิตหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี ปี 2560 หลักประกันของบริษัทที่ระดับ “A+” ด้วยแนวโน้ม “Stable” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง • กรกฎาคม 2560 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับ เครดิตองค์กร และอันดับเครดิตหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี ของบริษัท และความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจที่อยู่ใน หลักประกันของบริษัทที่ระดับ “A+” ด้วยแนวโน้ม ระดับต�่ำอย่างต่อเนื่อง “Stable” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง • พฤศจิกายน 2561 บริษัทได้รับคะแนนร้อยละ 95 อยู่ใน ของบริษัท และความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจที่อยู่ใน เกณฑ์ดีเลิศ ในการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษัท ระดับต�่ำ จดทะเบียนไทย (CGR) ประจ�ำปี 2561 • มิถุนายน 2560 บริษัทได้รับคะแนน 94 คะแนน ในการ • พฤศจิกายน 2561 บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 79 ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ใน Thailand Sustainability 2560 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย Investment หรือรายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” ประจ�ำปี 2561 จาก ตลท. ซึ่งถือเป็นหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่มีการ • พฤศจิกายน 2560 บริษัทได้รับคะแนนร้อยละ 90 อยู่ใน เกณฑ์ ดีเลิศ ในการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั ด�ำเนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental) สังคม จดทะเบียนไทย (CGR) ประจ�ำปี 2560 (Social) และบรรษัทภิบาล (Governance) หรือ ESG ที่โดดเด่น มีการค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียครอบคลุมทั้งใน • พฤศจิกายน 2560 บริษัทได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 65 บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ใน Thailand Sustainability ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม กระบวนการบริหารจัดการ Investment หรือรายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” ประจ�ำปี 2560 เพื่อสร้างความยั่งยืน จาก ตลท. ซึ่งพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษัท จดทะเบียนที่มีความโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG)


รายงานประจ�ำปี 2561

โครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น ของกลุ ่ ม บริ ษั ท นโยบายการแบ่งการด�ำเนินงานของบริษัทในเครือ บริษทั จะมุง่ เน้นการด�ำเนินธุรกิจน�ำ้ ดิบส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค ในขณะที่ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส ์ จะมุ่งเน้นการด�ำเนินธุรกิจน�้ำประปา ในกรณีที่บริษัท และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำเป็นต้องท�ำรายการทางธุรกิจ หรือรายการใดๆ ระหว่างกัน ทั้งคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จะพิจารณาถึง ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลในการเข้าท�ำรายการ โดยจะ ด�ำเนินการให้มีการเข้าท�ำรายการดังกล่าวเสมือนเป็นการท�ำ

34

รายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) บนพื้นฐาน การท� ำ ธุ ร กิ จ ทั่ ว ไปแบบ Cost Plus Basis โดยทั้ ง บริ ษั ท และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ บริษัทถือหุ้นทั้งหมด 510 ล้านหุ้น (ร้อยละ 100) ใน บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ โดยบริษัทมีสิทธิออกเสียง 1 เสียงต่อ 1 หุ้น พอสรุปได้ดังแผนภาพที่ 1

แผนภาพที่ 1 แสดงโครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในเครือ ธุรกิจนํ้าดิบ

บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก

100%

ธุรกิจนํ้าประปา

บมจ. ยูนิเวอรแซล ยูทีลิตี้ส

100%

หนวยธุรกิจการประปา • ประปาสัตหีบ • ประปาเกาะลาน • ประปาบอวิน • ประปาหนองขาม • ประปาเกาะสมุย

• ประปาระยอง บจ. ประปา • ประปาชลบุรี นครสวรรค • ประปานิคมอุตสาหกรรม หลักชัยเมืองยาง • ประปาหัวรอ

100% บจ. ประปา บางปะกง

100% บจ. ประปา ฉะเชิงเทรา

90%

บจ. เอ็กคอมธารา

หนวยธุรกิจการบริหาร ระบบบําบัดนํ้าเสียและนํ้ารีไซเคิล • การบริหารระบบบําบัดนํ้าเสียฯ นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง • การบริหารระบบบําบัดนํ้าเสียฯ บริษัท ราชบุรี กลาส อินดัสตรี จํากัด

บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ด�ำเนินธุรกิจการบริหารกิจการประปาในรูปสัญญาสัมปทานกับหน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดย บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ มีบริษัทย่อย 4 บริษัท มีรายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงทุนจดทะเบียนและสัดส่วนการถือหุ้นของ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ชื่อบริษัท 1. 2. 3. 4.

บริษัท ประปานครสวรรค์ จ�ำกัด บริษัท ประปาบางปะกง จ�ำกัด บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จ�ำกัด บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด

ความสั ม พั น ธ์ กั บ กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ของผู ้ ถื อ หุ ้ น ใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท โดยถือหุน้ ร้อยละ 40.20 และเป็นลูกค้ารายใหญ่ซงึ่ ซือ้ น�ำ้ ดิบจาก บริษัท คิดเป็นประมาณร้อยละ 13 ของปริมาณน�้ำดิบจ�ำหน่าย ทั้งหมด ทั้งนี้ มีผู้แทนจาก กปภ. 1 คน เป็นคณะกรรมการบริษัท

ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

40 40 100 345

100.00 100.00 100.00 90.07

ในการประชุมซึง่ มีระเบียบวาระทีม่ คี วามขัดแย้งของผลประโยชน์ หรือรายการเกี่ยวโยง บริษัทจะด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. เพื่อรักษาประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็น ส�ำคัญ ทัง้ นี้ กรรมการผูม้ สี ว่ นได้เสียจะไม่มสี ว่ นร่วมในการตัดสินใจ ในระเบียบวาระที่มีส่วนได้เสีย


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

35

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ บริษัทมีรายได้หลักจากการจ�ำหน่ายน�้ำดิบร้อยละ 56.25 ของรายได้รวม และมีรายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำประปาร้อยละ 40.95 และมีรายได้อื่นๆ ร้อยละ 2.80 ดังมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 2 (อ้างอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 7) โครงสร้ า งรายได้ ตารางที่ 2 แสดงรายได้จากการประกอบธุรกิจเปรียบเทียบปี 2559-2561 หน่วย : ล้านบาท ผลิตภัณฑ์/บริการ

การถือหุ้น ของบริษัท ด�ำเนินการ ปี 2559 โดย (ร้อยละ)

1. รายได้จากน�้ำดิบ - 2. รายได้จากน�้ำประปา 100.00 3. รายได้ค่าเช่าส�ำนักงาน - 4. รายได้อื่น - รวมรายได้

EW 2,696.43 UU 1,593.97 EW 86.57 EW 37.02 4,413.99

ร้อยละ

ปี 2560

61.09 2,452.05 36.11 1,767.22 1.96 88.77 0.84 48.59 100.00 4,356.63

หมายเหตุ EW : บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) UU : บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

ร้อยละ

ปี 2561

ร้อยละ

56.28 2,393.82 40.56 1,742.36 2.04 84.81 1.12 34.33 100.00 4,255.32

56.25 40.95 1.99 0.81 100.00


รายงานประจ�ำปี 2561

ลั ก ษณะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก าร บริการสูบส่งน�้ำดิบ บริษัทด�ำเนินธุรกิจการให้บริการสาธารณูปโภคด้านน�้ำ โดย การบริหารจัดการและพัฒนาระบบท่อส่งน�้ำสายหลัก (Trunk Transmission Main System) ในพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออก เพือ่ รองรับความต้องการใช้นำ้� ของชุมชนและกิจกรรมในภาคส่วน ต่างๆ ทั้งภาคอุปโภคบริโภคและภาคอุตสาหกรรม และเพื่อ สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกให้เป็น เขตอุตสาหกรรมหลักของประเทศ ปัจจุบันบริษัทให้บริการ ส่งจ่ายน�้ำดิบใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระยอง จังหวัดชลบุร ี และจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยผ่านระบบท่อส่งน�้ำสายหลัก ปัจจุบัน บริษัทมีระบบท่อส่งน�้ำสายหลักเชื่อมโยงกันเป็น โครงข่ายท่อส่งน�้ำ (Water Grid) ทันสมัยและสมบูรณ์ที่สุด แห่ ง เดี ย วในประเทศ รวมความยาว 491.8 กิ โ ลเมตร ดังแผนภาพที่ 2 โดยโครงข่ายท่อส่งน�้ำดังกล่าวเป็นการเชื่อมโยง ระหว่างแหล่งน�ำ้ หลักของภาครัฐ (อ่างเก็บน�ำ้ ) แม่นำ�้ สายหลัก และ แหล่งน�ำ้ เอกชน กับลูกค้าในพืน้ ทีบ่ ริการทัง้ 3 จังหวัด โดยบริษทั

36

ได้ใช้เงินลงทุนในการพัฒนาระบบท่อส่งน�้ำสายหลักทั้งในส่วน ของท่อส่งน�้ำขนาดใหญ่และสถานีสูบน�้ำแล้วกว่าหมื่นล้านบาท เพื่อรองรับความต้องการใช้น้�ำในปัจจุบันและในอนาคตที่มีการ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้ลูกค้าได้รับคุณภาพของน�้ำดิบ ในระดับมาตรฐาน และมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ การจ�ำหน่ายน�ำ้ ดิบให้กบั ลูกค้าในพืน้ ทีใ่ ห้บริการทัง้ 3 จังหวัดนี้ บริษทั ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูค้ า้ ส่ง (Wholesaler) โดยบริษทั ได้ทำ� สัญญา ซื้อขายน�้ำดิบกับลูกค้าของบริษัท ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ ่ ม นิ ค มอุ ต สาหกรรม 1 กลุ ่ ม โรงงานอุ ต สาหกรรมทั่ ว ไป และกลุ่มผู้ใช้น�้ำประเภทอุปโภคบริโภค การสู บ ส่ ง น�้ ำ ดิ บ ของบริ ษั ท จะด� ำ เนิ น การสู บ น�้ ำ จาก แหล่งน�้ำหลักของภาครัฐ (อ่างเก็บน�้ำ) เป็นหลักตลอดทั้งปี ส่ ว นในช่ ว งฤดู ฝ นบริ ษั ท จะมี ก ารสู บ น�้ ำ ส่ ว นหนึ่ ง จากแม่ น�้ ำ สายหลัก เพือ่ ใช้ในช่วงฤดูฝนและเก็บส�ำรองไว้ในช่วงฤดูแล้ง และ บริษัทได้มีการจัดซื้อน�้ำดิบเพิ่มเติมอีกส่วนหนึ่งจากแหล่งน�้ำ เอกชนในช่วงฤดูแล้ง เพือ่ บริหารความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ

บอน้ำเอกชน สถานีฯ บอดินเอกชน

สถานีเพ�่มแรงดัน

สำรองน้ำฉุกเฉิน สถานีฯ ประแสร

การ

ขอมูล มกราคม 2562

แผนภาพที่ 2 แผนที่แสดงระบบโครงข่ายท่อส่งน�้ำในจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา หมายเหตุ 1 นิคมอุตสาหกรรม หมายรวมถึง นิคมอุตสาหกรรมที่ กนอ. เป็นเจ้าของ นิคมอุตสาหกรรมที่ กนอ. ร่วมลงทุน และสวน/เขตอุตสาหกรรมของเอกชน 15


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทมีกระบวนการส่งน�้ำดิบไปยังลูกค้า ดังแผนภาพที่ 3 สถานีสบู น�ำ้ จะสูบน�ำ้ จากแหล่งน�ำ้ ต้นทุน ไปยังสถานียกระดับน�ำ้ ซึง่ มีความสูงมากกว่าสถานีรบั น�ำ้ ของลูกค้า สถานียกระดับน�ำ้ จะ ท�ำหน้าที่ควบคุมแรงดันของน�้ำในการส่งน�้ำผ่านท่อไปยังสถานี รับน�้ำของลูกค้า และมีการเก็บกักน�้ำส�ำรองไว้ในสระพักน�้ำแล้ว สูบน�ำ้ ต่อไปยังสถานียกระดับน�ำ้ เป็นช่วงๆ เพือ่ เพิม่ แรงดันของน�ำ ้ ลูกค้าเป็นผู้ติดตั้งสถานีรับน�้ำและเดินท่อรับน�้ำมาเชื่อมต่อกับ ระบบท่อส่งน�ำ้ หลักของบริษทั เพือ่ รับน�ำ้ ดิบไปใช้ในการผลิตและ

จ�ำหน่ายเป็นน�้ำประปาหรือน�้ำเพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรม โดยบริษทั มีมาตรการเฝ้าระวังคุณภาพน�ำ้ ดิบโดยจะตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ ดิบ ในแหล่งน�้ำหลักตลอดเวลา (Real Time) ผ่านระบบ SCADA และจะเก็บตัวอย่างน�้ำดิบจากแหล่งน�้ำหลักของบริษัท เพื่อส่ง วิเคราะห์คุณภาพน�้ำโดยละเอียดทุกเดือน โดยห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ ที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อ ติดตามความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน�้ำ รวมถึงส่งข้อมูลให้ ผู้ใช้น�้ำได้รับทราบข้อมูลดังกล่าวอย่างสม�่ำเสมอ

กระบวนการส่ ง น�้ ำ เครื่ อ งอั ด อากาศ

37

สถานียกระดับน�้ำ

สถานี สู บ น�้ ำ

นิ ค มอุ ต สาหกรรม

โรงงานอุ ต สาหกรรม

แผนภาพที่ 3 แสดงกระบวนการส่งน�้ำดิบจากแหล่งน�้ำให้แก่ลูกค้า

อุ ป โภคบริ โ ภค


รายงานประจ�ำปี 2561

38

การตลาดและการแข่ ง ขั น บริษัทเป็นผู้ประกอบการธุรกิจพัฒนาระบบท่อส่งน�้ำและจัดจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับผู้ใช้น�้ำ ทั้งภาคอุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค รายใหญ่ที่สุดในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดยมีจุดแข็งด้านระบบโครงข่ายท่อส่งน�้ำสายหลัก และระบบสูบจ่ายที่เชื่อมโยง แหล่งน�้ำส�ำคัญในภาคตะวันออก ที่มีความสมบูรณ์ ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ทั้ง 3 จังหวัด อีกทัง้ มีความยัง่ ยืนในการส่งจ่ายน�ำ้ ดิบได้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของผูป้ ระกอบการในพืน้ ที่ ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต ในขณะที่ผู้ประกอบการรายอื่นยังมีข้อจ�ำกัด ทั้งด้านพื้นที่การให้บริการ ปริมาณและเสถียรภาพแหล่งน�้ำและระบบการส่งจ่าย ปี 2561 บริษัทมีปริมาณยอดจ�ำหน่ายน�้ำดิบ รวมทั้งสิ้น 249.75 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อแบ่งตามสัดส่วนการรับซื้อพบว่า พื้นที่มาบตาพุดและบ่อวิน-ปลวกแดง ยังคงมีอัตราเติบโตโดยเฉลี่ยที่ร้อยละ 1-2 เมื่อเทียบจากปีก่อน การจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก าร ปัจจุบันบริษัทได้ด�ำเนินการบริหารทรัพย์สินท่อส่งน�้ำหลักในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดยในปี 2561 มีความยาว ของท่อส่งน�้ำทั้งสิ้น 491.8 กม. และมีความสามารถในการส่งจ่ายน�้ำในพื้นที่โดยเฉลี่ยปีละ 675 ล้าน ลบ.ม. ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดของโครงข่ายระบบท่อส่งน�้ำของบริษัท ระบบท่อส่งน�้ำ

ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง ของท่อส่งน�้ำ (มม.)

ประแสร์-หนองปลาไหล-ดอกกราย- มาบตาพุด-สัตหีบ 700 - 1,600 หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 600 - 1,200 หนองปลาไหล-หนองค้อ 700 - 1,350 ฉะเชิงเทรา-บางปะกง 600 - 1,500 บางปะกง-ชลบุรี 700 - 1,400 รวม

ความยาวของ ท่อส่งน�้ำ (กม.)

ความสามารถในการส่งจ่ายน�้ำ ในพื้นที่โดยเฉลี่ย (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี)

202.68 74.70 73.61 60.10 80.71 491.80

316 110 134 65 50 675 โดยในปี 2561 มี ความยาวของท่ อ ส่ ง น�้ ำ ทั้ ง สิ้ น

491.8กม.

ความสามารถในการ ส ่ ง จ ่ า ย น�้ ำ ใ น พื้ น ที่ โดยเฉลี่ ย ปี ล ะ

675 ล้ า น ลบ.ม.


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

39

โครงการที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ส ่ ง มอบ 1. โครงการพัฒนาสระเก็บน�ำ้ ดิบทับมา เพือ่ เพิม่ แหล่งน�ำ้ ต้นทุนของบริษทั รองรับความต้องการการใช้นำ�้ ในอนาคตในพื้นที่ระยอง ไม่น้อยกว่า 47 ล้าน ลบ.ม./ปี แต่เนื่องจากผู้รับจ้างด�ำเนินการไม่แล้วเสร็จตามสัญญา บริษัทจึงแจ้งยกเลิกสัญญาและภายหลัง การเจรจาไกล่เกลี่ย สรุปให้ผู้รับจ้างด�ำเนินการโครงการต่อ โดยมีก�ำหนดก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2563

2. โครงการก่อสร้างท่อส่งน�้ำดิบหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 (งานสถานีสูบน�้ำ) เพื่อปรับปรุงระบบสูบน�ำ้ ของสถานีสบู น�ำ้ หนองปลาไหล ให้มศี กั ยภาพในการจ่ายน�ำ้ ให้กบั ผูใ้ ช้นำ�้ ในพืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่อวิน และรองรับการใช้น�้ำของโรงไฟฟ้าอิสระ (IPP) โดยอยูร่ ะหว่างการทบทวนโครงการ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการจ�ำหน่ายน�ำ้ อุตสาหกรรมให้แก่ผใู้ ช้นำ �้ คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ ภายในปี 2562


รายงานประจ�ำปี 2561

40

ปั จ จั ย ความเสี่ ย ง บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการบริ ห ารความเสี่ ย งภายใต้ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ อ าจส่ ง ผลกระทบ ต่ อธุ ร กิ จ โดยเริ่ ม จากการท�ำความเข้า ใจสภาพแวดล้ อ มทั้ งภายในและภายนอก มี ก ารด� ำ เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อง ตามหลั ก การและแนวทางของ COMMITTEE OF SPONSORING ORGANIZATIONS OF THE TREADWAY COMMISSION (COSO-ERM) ซึ่ ง เป็ น มาตรฐานสากลในเรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย ง โดยถื อ ว่ า การ บริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น องค์ ป ระกอบที่ ส� ำ คั ญ ของทุ ก กระบวนการในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และต้ อ งมี ความเชื่ อ มโยงกั น ทุ ก ระดั บ ตามโครงสร้ า งองค์ ก ร จึ ง ได้ มี ก ารก� ำ หนดนโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว องค์ ก ร ที่ พ นั ก งานทุ ก คนต้ อ งถื อ ปฏิ บั ติ โดยมี ค ณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย (คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง) และแผนกบริ ห ารความเสี่ ย ง ฝ่ า ยกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร ท� ำ หน้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งในภาพรวม เพื่ อ ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด

ความเสีย่ งระดับองค์กรจะมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และบูรณาการการบริหารความเสีย่ งควบคู่ไปกับการจัดท�ำแผน ปฏิบัติการประจ�ำปีเพื่อให้แผนบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเป้าหมายและกลยุทธ์ขององค์กร รวมถึงความเสี่ยงในการปฏิบัติงานจะอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล ของผู้บริหารที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานนั้นๆ โดยถือเป็นหน้าที่ รับผิดชอบของทุกหน่วยงานในการจัดการและควบคุมความเสีย่ ง ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ทัง้ นี้ ปัจจัยเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ภายใต้สภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไป สามารถจ�ำแนกเป็นความเสี่ยง ดังนี้ 1. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงจากภัยธรรมชาติที่ส่งผล กระทบต่อแหล่งน�้ำต้นทุนของบริษัท สรุปรายงานความเสี่ยงทั่วโลกของ World Economic Forum (WEF) ปี 2561 ระบุว่าความเสี่ยงจากภัยพิบัติจากการ เปลี่ ย นแปลงแบบกะทั น หั น ของสภาพอากาศมี แ นวโน้ ม ที่จะเกิดมากที่สุด ประกอบกับความล้มเหลวในการปรับตัวให้ เข้ากับสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง ซึง่ ความเสีย่ งดังกล่าวอาจจะ ส่งผลกระทบต่อแหล่งน�้ำต้นทุนของบริษัทได้ บริษัทด�ำเนินการตามมาตรการควบคุมที่มีอยู่โดยติดตาม สถานการณ์น�้ำในพื้นที่ภาคตะวันออกอย่างใกล้ชิดโดยมีการ ประชุมติดตามรายงานปริมาณน�้ำจัดสรร แหล่งน�้ำธรรมชาติ และเตรียมความพร้อมในการป้องกันการขาดแคลนน�้ำ (Water War Room) รวมถึ ง จั ด ท� ำ แผนการสู บ ผั น น�้ ำ ระหว่ า งพื้ น ที่ เพื่อให้ผู้ใช้น�้ำเกิดความเชื่อมั่นว่าบริษัทสามารถจัดหาน�้ำดิบ ให้เพียงพอต่อความต้องการ

2. ความเสีย่ งจากการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในภาคตะวันออก ด้านขนส่งการขยายถนนตามแนวเส้นท่อส่งน�้ำ ปี 2561 บริษัทวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั่วไปด้านเศรษฐกิจ ที่ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจภายใต้นโยบายการพัฒนา เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พบว่านโยบายดังกล่าวส่งผลดี ด้ า นโอกาสขยายธุ ร กิ จ น�้ ำ อุ ต สาหกรรม ขณะเดี ย วกั น ก็ ม ี ความเสี่ ย งจากการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นขนส่ ง การขยายถนนในเขตพื้นที่กรมทางหลวง หรือกรมทางหลวง ชนบท ซึ่ ง อาจจะกระทบต่ อ แนวเส้ น ท่ อ ส่ ง น�้ ำ และส่ ง ผลถึ ง การส่งจ่ายน�้ำให้กับผู้ใช้บริการได้ ปัจจุบนั มาตรการควบคุมเชิงป้องกันการหยุดชะงักของระบบ ส่งจ่ายน�้ำได้น�ำเทคโนโลยีการต่อประสานท่อโดยไม่หยุดจ่ายน�้ำ (Hot Tapping/Wet Tapping) ท�ำให้สามารถซ่อมบ�ำรุงท่อ Reroute แนวท่อใหม่ หรือท�ำท่อแยกเพื่อสูบส่งน�้ำไปยังจุดอื่น โดยไม่ต้องหยุดระบบการจ่ายน�้ำให้กับผู้ใช้บริการ 3. ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการการลงทุน บริษทั มีการลงทุนขยายธุรกิจน�ำ้ อุตสาหกรรม รวมถึงแสวงหา การลงทุนใหม่ การลงทุนต่างๆ เผชิญกับความเสีย่ งทีผ่ ลตอบแทน จากการลงทุนอาจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย การด�ำเนินโครงการ ล่าช้ากว่าแผนงาน ซึง่ บริษทั มีระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์การลงทุน และแนวทาง การก�ำกับดูแลเพือ่ น�ำมาใช้ในการกลัน่ กรองการตัดสินใจ ติดตาม และก�ำกับดูแลการลงทุน โดยมีกระบวนการบริหารการลงทุน เชิงกลยุทธ์ (Strategic Investment Management: SIM) ที่มีคณะกรรมการบริหารการลงทุน ประกอบด้วยผู้บริหารที่มี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ท�ำหน้าที่พิจารณากลั่นกรอง ติดตาม รายงานการลงทุนของบริษทั รวมถึงให้ความส�ำคัญกับการบริหาร งานทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการแล้วเสร็จของโครงการ (Critical Path) เพือ่ ลดระดับความเสีย่ งของการด�ำเนินงานโครงการให้อยูภ่ ายใต้ การควบคุมให้มากที่สุด

41

บริษัทได้มีการประกาศใช้นโยบายการก�ำกับดูแลการปฏิบัติ งานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบของบริษทั (Compliance Policy) เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานยึดมั่นเป็น หลักการในการปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงมีการก�ำหนดโครงสร้าง และบทบาทหน้าที่หน่วยงานเพื่อก�ำกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และกฎระเบียบต่างๆ ตามหลักการบริหารความเสี่ยง 4. ความเสีย่ งในการพัฒนาบุคลากรเพือ่ รองรับการเติบโตทาง ในภาพรวมขององค์กร โดยแบ่งความรับผิดชอบออกเป็น 3 ระดับ ธุรกิจ คือ ระดับหน่วยงานต่างๆ ระดับแผนกบริหารความเสี่ยง และ บริษัทมีการขยายตัวทางธุรกิจอย่างรวดเร็ว จากการขยาย แผนกก�ำกับดูแลกิจการ (Three Lines of Defense) และได้ ธุรกิจน�้ำครบวงจร และการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจโดยการ จัดตั้งหน่วยงานก�ำกับดูแลกิจการเพื่อเป็นหน่วยงานกลางใน ลงทุ น ในธุ ร กิ จ ใหม่ การน� ำ ระบบเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และ การก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายของหน่ ว ยงานต่ า งๆ นวั ต กรรมใหม่ ๆ มาใช้ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ ห ากบริ ษั ท และด�ำเนินการติดตามการออกร่างกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติ ไม่สามารถพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ฉบับใหม่ๆ เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปตามกฎหมายใหม่ ได้เพียงพอทันเวลา อาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจและการบรรลุ ที่จะถูกบังคับใช้ในอนาคต เป้าหมายในระยะยาว บริษทั เตรียมความพร้อมของบุคลากร เพือ่ รองรับการด�ำเนิน 6. ความเสีย่ งจากการจัดหาเงินทุนส�ำหรับการด�ำเนินการตาม งานตามแผนกลยุทธ์ของแต่ละหน่วยงานโดยการพัฒนาทักษะ แผนธุรกิจ ความสามารถของบุคลากร ปรับโครงสร้างให้สนับสนุนการ งานโครงการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อบริหารจัดการน�้ำ และ ท�ำงาน พิจารณาก�ำหนดแผนอัตราก�ำลัง ระบุต�ำแหน่งงานที่ โครงการก่อสร้างธุรกิจน�้ำอุตสาหกรรมต้องใช้เงินลงทุนสูง และ ส�ำคัญ และแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) เป็นการลงทุนล่วงหน้า ซึ่งในทางปฏิบัติบริษัทมีการติดตามและ บริหารความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการจัด 5. ความเสีย่ งทางด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับ และ โครงสร้างเงินทุนที่สามารถท�ำให้อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ต่างๆ อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ซึง่ จากการติดตามการเปลีย่ นแปลง บทบัญญัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน รวมถึงการ ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการจัดหาเงินทุนอย่างต่อเนื่อง บริษัทมี เปลี่ยนแปลงนโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับและกฎระเบียบต่างๆ ความเชื่อมั่นว่าจะสามารถจัดหาเงินทุนเพื่อการขยายธุรกิจใน ของภาครัฐอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ อนาคตได้เพียงพอ ด้วยต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสม


รายงานประจ�ำปี 2561

ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปและข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ อื่ น ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต์ โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) พัฒนาและบริหารจัดการระบบท่อส่งน�้ำดิบในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 0107539000316 (เดิม บมจ.632) www.eastwater.com (662) 272-1600 (662) 272-1601-3, (662) 272-1692 1,663,725,149 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) 1,663,725,149 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)

รายชื่อกิจการที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริหารกิจการประปาและบริหารระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในรูปสัญญาสัมปทาน สัญญาจ้างบริหาร และสัญญาเช่าบริหาร เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้นที่ 18 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 (662) 272-1688 (662) 272-1691 930,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 930,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) 510,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 510,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561)

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ (หุ้นสามัญ) โทรศัพท์: โทรสาร: ผู้สอบบัญชี โทรศัพท์: โทรสาร:

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 (662) 009-9000 (662) 009-9991 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 (662) 844-1000 (662) 286-0500

ข้อมูลส�ำคัญอื่น

ไม่มี

42


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

43

ข้ อ มู ล หลั ก ทรั พ ย์ แ ละผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียน ล่าสุด เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2561 เป็นดังนี้ ล�ำดับที่

ผู้ถือหุ้น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

การประปาส่วนภูมิภาค MANILA WATER (THAILAND) COMPANY LIMITED การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายมิน เธียรวร อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด สมอล แค็พ BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด หุ้นระยะยาว ธนชาต Low Beta อเบอร์ดีน สแตนดาร์ด โกรท ธนชาต Prime Low Beta ผู้ถือหุ้นอื่น

ที่มา :

จ�ำนวนหุ้น 668,800,000 311,443,190 76,000,000 34,500,000 30,226,600 29,812,100 27,465,700 25,181,300 25,159,500 23,728,200 411,408,559 1,663,725,149

สัดส่วน (%) 40.20% 18.72% 4.57% 2.07% 1.82% 1.79% 1.65% 1.51% 1.51% 1.43% 24.73% 100.00%

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

หมายเหตุ : ผู้ถือหุ้นในล�ำดับที่ 1 และ 3 เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่เป็นตัวแทนภาครัฐ และผู้ถือหุ้นล�ำดับที่ 2 เป็นนิติบุคคล ซึ่งผู้ถือหุ้นทั้ง 3 ราย มีส่วนในการก�ำหนดนโยบายการจัดการ โดยเสนอผู้แทนเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง


รายงานประจ�ำปี 2561

44

นโยบายจ่ า ยเงิ น ปั น ผล คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะเสนอให้ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ในอั ต รา ไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 30 ของก� ำ ไรสุ ท ธิ ต ามงบการเงิ น รวม ภายหลั ง จากการหั ก เงิ น ส� ำ รองต่ า งๆ ตาม กฎหมาย และการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลจะขึ้ น อยู ่ กั บ ความจ� ำ เป็ น และความเหมาะสมอื่ น ๆ ตามที่ บ ริ ษั ท เห็ น สมควร


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

45

โครงสร้ า งการจั ด การ โครงสร้ า งการจั ด การของบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ด� ำ เนิ น การภายในขอบเขต ของกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท มติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และมี อ� ำ นาจกระท� ำ การใดๆ ตาม ที่ ร ะบุ ไ ว้ ในหนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ย 5 คณะ ท� ำ หน้ า ที่ ก ลั่ น กรองงานที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการ การลงทุ น 3) คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง 4) คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น และ 5) คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ก� ำ กั บ ดู แ ล 5 สายงาน ประกอบด้ ว ย 1) สายกลยุ ท ธ์ 2) สายพั ฒ นาธุ ร กิ จ 3) สายปฏิ บั ติ ก าร 4) สายสนั บ สนุ น และ 5) สายการเงิ น และบั ญ ชี ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยทั้ ง หมด 13 ฝ่ า ย และ 2 ส� ำ นั ก คณะกรรมการ

บริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน�้ ำ ภาคตะวั น ออก จ� ำ กั ด (มหาชน)

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ การลงทุ น

คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย ง

คณะกรรมการ ธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นา เพื่ อ ความยั่ ง ยื น

คณะกรรมการ สรรหาและพิ จ ารณา ค่ า ตอบแทน

กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่

ส� ำ นั ก กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ ส� ำ นั ก เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฝ่ า ยตรวจสอบ

สายกลยุ ท ธ์

สายพั ฒ นาธุ ร กิ จ

สายปฏิ บั ติ ก าร

สายสนั บ สนุ น

สายการเงิ น และบั ญ ชี

ฝ่ า ยกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร

ฝ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ

ฝ่ า ยปฏิ บั ติ ก าร และบริ ก ารลู ก ค้ า

ฝ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล

ฝ่ า ยการเงิ น

ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก ร

ฝ่ า ยวิ ศ วกรรม

ฝ่ า ยซ่ อ มบ� ำ รุ ง

ฝ่ า ยอ� ำ นวยการ

ฝ่ า ยบั ญ ชี

ฝ่ า ยบริ ห าร โครงการก่ อ สร้ า ง

ฝ่ า ยเทคโนโลยี สารสนเทศ

ณ ธั น วาคม 2561


รายงานประจ�ำปี 2561

คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการบริษทั มีจำ� นวนทัง้ หมด 12 คน ซึง่ มีการตรวจ สอบและถ่วงดุลกันอย่างเหมาะสม กรรมการอิสระมีจำ� นวน 8 คน คิดเป็นสัดส่วน 2 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ คณะกรรมการ ตรวจสอบมีจ�ำนวน 3 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ ทั้งนี้กรรมการ 2 คน ได้แก่ นางธัชดา จิตมหาวงศ์ และนางอัศวินี ไตลังคะ เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านบัญชีและการเงิน สามารถสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน ในการสรรหาและพิจารณาแต่งตั้งกรรมการและกรรมการ อิสระจะอยู่บนพื้นฐานของความรู้ความสามารถตามหลักเกณฑ์ การคัดเลือกกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนจะด�ำเนินการกลัน่ กรองก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยมีการจัดท�ำตารางองค์ประกอบ ความรู้ความช�ำนาญของกรรมการ (Skills Matrix) เพื่อให้ คณะกรรมการบริษทั พิจารณา ประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ หลากหลายทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถ และ คุณลักษณะเฉพาะด้านที่จ�ำเป็นต่อการประกอบกิจการ บริษัท มีคณะกรรมการบริษัท ซึ่งเป็นผู้แทนของผู้ถือหุ้น จ�ำนวน 3 คน จากการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.) และบริษทั มะนิลา วอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ด้านการบริหารจัดการน�้ำ และได้ให้ ความเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการด�ำเนินงานของ บริ ษั ท ด้ ว ยความรอบคอบ ระมัด ระวัง ดังประวัติก รรมการ ที่ปรากฏอยู่ในหน้า 18-23 ของรายงานฉบับนี้ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการและวาระการด� ำ รงต� ำ แหน่ ง หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฉบั บ ทบทวน ปี 2561 ได้ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการว่าต้องเป็นผู้บรรลุ นิติภาวะ มีอายุไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ เป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม ไม่มคี ณ ุ ลักษณะต้องห้ามตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการบริษทั ตามทีก่ ฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายบริษทั มหาชน กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนีไ้ ด้กำ� หนด การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการดังนี้ 1. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทกุ ครัง้ กรรมการต้องออกจาก ต�ำแหน่งอย่างน้อยหนึ่งในสาม ถ้าจ�ำนวนกรรมการ ที่จะแบ่งออกให้เป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวน ใกล้เคียงทีส่ ดุ กับส่วนหนึง่ ในสาม ซึง่ กรรมการผูอ้ อกจาก ต�ำแหน่งตามวาระนัน้ อาจจะได้รบั การพิจารณาการแต่งตัง้ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งอีกก็ได้ 2. ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัท เลือก บุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ตามกฎหมายเข้ า เป็ น กรรมการแทนในการประชุ ม คณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะ เหลือน้อยกว่าสองเดือน ทัง้ นี้ มติของคณะกรรมการบริษทั ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของ จ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ และบุคคลซึ่งเข้าเป็น กรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เท่า วาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน

46

กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่งให้ยนื่ ใบลาออก ต่อบริษทั การลาออกมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกถึงบริษทั ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจาก ต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนนเสียง ไม่นอ้ ยกว่าสามในสีข่ องจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและ มีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิ ออกเสียง 3. กรรมการอิสระมีระยะเวลาในการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนือ่ ง ไม่เกิน 9 ปี นับจากวันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง กรรมการอิสระครั้งแรก ในกรณีที่จะแต่งตั้งกรรมการ อิ ส ระนั้ น ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ต่ อ ไป คณะกรรมการจะ พิจารณาอย่างสมเหตุสมผลถึงความจ�ำเป็นดังกล่าว 4. กรรมการบริ ษั ท ไปด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบียนอื่นรวมไม่เกิน 5 บริษัทจดทะเบียน 5. กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุด และผู้บริหาร สามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่น รวมไม่เกิน 2 บริษัทจดทะเบียน บทบาทหน้ า ที่ ข องประธานคณะกรรมการ 1. ก�ำกับ ติดตาม และดูแลให้มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของบริษัท 2. ดูแลให้มนั่ ใจว่า กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการส่งเสริม ให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรทีม่ จี ริยธรรม และการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี 3. เป็ น ผู ้ เ รี ย กประชุ ม และเป็ น ประธานในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ก�ำหนดวาระการประชุมคณะกรรมการ โดยหารื อ ร่ ว มกั บ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ แ ละ มี ม าตรการก� ำ กั บ ดู แ ลให้ เ รื่ อ งส� ำ คั ญ ได้ ถู ก บรรจุ เ ป็ น วาระการประชุม เป็นผู้ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง เป็นเสียงชี้ขาดถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน 4. จัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายบริหารจะเสนอเรื่อง และมากพอที่กรรมการจะอภิปรายประเด็นส�ำคัญกัน อย่างรอบคอบโดยทั่วกัน และส่งเสริมให้กรรมการมีการ ใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ ให้ความเห็นได้อย่างอิสระ 5. เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกรรมการที่เป็น ผู้บริหารและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และระหว่าง คณะกรรมการและฝ่ายบริหาร การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการและฝ่ า ย บริ ห าร คณะกรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยบริ ห ารมี ก ารแบ่ ง แยก บทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน คณะกรรมการบริษัท จะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในภาระหน้าที่ของฝ่ายบริหาร เพื่อสร้าง ดุลยภาพระหว่างการบริหาร และการก�ำกับดูแลกิจการ รวมทั้ง มีการติดตามการบริหารงานเพื่อให้มั่นใจได้ว่า นโยบายและ กระบวนการที่ เ หมาะสมได้ น� ำ มาใช้ ใ นทางปฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ประสิทธิผล


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท ปี 2561 ได้ระบุ เรื่องที่ควรดูแลให้มีการด�ำเนินการ หมายถึง เรื่องที ่ คณะกรรมการเป็นผู้รับผิดชอบหลักให้มีในการด�ำเนินการอย่าง เหมาะสม ซึ่งคณะกรรมการต้องมีความเข้าใจและการพิจารณา เป็นอย่างดี ได้แก่ 1. การก�ำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายหลักในการประกอบ ธุรกิจ 2. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ยึดมั่นในจริยธรรม รวมทั้ง ประพฤติตนเป็นต้นแบบ 3. การดูแลโครงสร้าง และการปฏิบัติของคณะกรรมการ ให้เหมาะสมต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายหลัก ในการประกอบธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ 4. สรรหา พัฒนา ก�ำหนดค่าตอบแทนและประเมินผลงาน ของกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ 5. การก�ำหนดโครงสร้างค่าตอบแทนที่เป็นเครื่องจูงใจ ให้ บุ ค ลากรปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ วัต ถุ ประสงค์ เป้าหมายหลักขององค์กร ทัง้ นี้ ในการพิจารณาด�ำเนินการในเรือ่ งดังกล่าว คณะกรรมการ อาจมอบหมายให้ฝ่ายบริหารเป็นผู้เสนอเรื่องเพื่อพิจารณาได้ เรื่องที่ด�ำเนินการร่วมกับฝ่ายบริหาร หมายถึง เรื่องที ่ คณะกรรมการ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และฝ่ายบริหารควร พิจารณาร่วมกัน โดยฝ่ายบริหารเสนอให้คณะกรรมการเห็นชอบ ซึ่งคณะกรรมการควรก�ำกับดูแลให้นโยบายภาพรวมสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายหลักในการประกอบธุรกิจ รวมทัง้ มอบหมายให้ฝา่ ยบริหารไปด�ำเนินการโดยคณะกรรมการติดตาม และให้ฝ่ายบริหารรายงานให้คณะกรรมการทราบเป็นระยะๆ ตามที่เหมาะสม ได้แก่ 1) การก�ำหนดและทบทวนกลยุทธ์ เป้าหมาย แผนงาน ประจ�ำปี 2) การดูแลความเหมาะสมเพียงพอของระบบบริหารความเสีย่ ง และการควบคุมภายใน 3) การก�ำหนดอ�ำนาจด�ำเนินการทีเ่ หมาะสมกับความรับผิดชอบ ของฝ่ายบริหาร 4) การก�ำหนดกรอบการจัดสรรทรัพยากร การพัฒนาและ งบประมาณ เช่น นโยบายและแผนการบริหารจัดการ บุคคล และนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) การติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน 6) การดูแลให้การเปิดเผยข้อมูลทางการเงินและไม่ใช่การเงิน มีความน่าเชื่อถือ

47

เรื่องที่คณะกรรมการไม่ควรด�ำเนินการ หมายถึง เรื่องที่ คณะกรรมการควรก�ำกับดูแลระดับนโยบาย โดยมอบหมายให้ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่และฝ่ายบริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบหลัก ในการด�ำเนินการ ได้แก่ 1) การจัดการให้เป็นไปตามกลยุทธ์ นโยบาย แผนงานที่ คณะกรรมการอนุมัติแล้ว 2) เรื่องที่มีข้อก�ำหนดห้ามไว้ เช่น การอนุมัติรายการที่ กรรมการมีส่วนได้เสีย เป็นต้น การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ข องประธานคณะกรรมการและ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ ประธานกรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ต้องเป็น ผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ และคุณสมบัติที่ เหมาะสม ไม่เป็นบุคคลเดียวกันเพื่อให้มีการถ่วงดุลอ�ำนาจ โดยแยกหน้าที่การก�ำกับดูแลและการบริหารงานออกจากกัน การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ประธานคณะกรรมการได้ ก� ำ หนดวั น และเวลาประชุ ม คณะกรรมการบริษัทไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปี เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการได้จัดสรรเวลาเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง ทั้งนี้ เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ระเบี ย บวาระ การประชุม และเอกสารประกอบการประชุมให้กรรมการล่วงหน้า อย่างน้อย 5 วันก่อนการประชุม เพื่อให้กรรมการได้มีระยะเวลา ศึ ก ษาข้ อ มู ล อย่ า งเพี ย งพอ ยกเว้ น กรณี เ ร่ ง ด่ ว นซึ่ ง ประธาน คณะกรรมการเห็นชอบให้น�ำเสนอเป็นระเบียบวาระ เพื่อความ รวดเร็วในการด�ำเนินการ หากกรรมการท่านใดมีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในระเบียบวาระใดจะ งดเว้นการให้ความเห็น และการออกเสียงลงมติ หรือออกจาก ที่ประชุมในการประชุมครั้งนั้น ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการ จะเปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนเสนอความคิดเห็นอย่างอิสระ เลขานุการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบการจัดท�ำรายงานการประชุม โดยจะส่ ง ให้ ค ณะกรรมการพิ จ ารณาภายใน 7 วั น ท� ำ การ จากนั้นคณะกรรมการบริษัท จะรับรองรายงานการประชุมใน การประชุมครั้งถัดไป การประชุ ม ของกรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร เมื่ อ วั น ที่ 11 ธั น วาคม 2561 บริ ษั ท ได้ จั ด ประชุ ม คณะกรรมการโดยไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหาร เพือ่ เปิดโอกาส ให้กรรมการได้อภิปรายประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงาน ของบริษทั แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และพิจารณาประเด็นที่อยู่ใน ความสนใจของกรรมการ อาทิ การติดตามความก้าวหน้าใน โครงการก่ อ สร้ า งที่ ส� ำ คั ญ กลยุ ท ธ์ ก ารขยายธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ผลการประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายในตามข้อก�ำหนดของ ก.ล.ต. และผลการประเมิน การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance) เป็นต้น


รายงานประจ�ำปี 2561

48

รายชื่อกรรมการและจ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุมคณะกรรมการบริษัทในปี 2561 ชื่อ - สกุล 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล1 2. นายอมร เลาหมนตรี 3. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ 4. นายสุรชัย ขันอาสา 5. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ 6. นางอัศวินี ไตลังคะ2 7. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ 8. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี 9. นายกฤษฎา ศังขมณี 10. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า3 11. นางสาวสมจิณณ์ พิลึก4 12. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง

ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ • ประธานคณะกรรมการบริษัท • กรรมการอิสระ • กรรมการอิสระ • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ • ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน • กรรมการอิสระ • ประธานคณะกรรมการการลงทุน • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • กรรมการอิสระ • ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ • ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ • กรรมการการลงทุน • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • กรรมการอิสระ • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • กรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน • กรรมการ • กรรมการการลงทุน • กรรมการบริหารความเสี่ยง • กรรมการ • กรรมการการลงทุน • กรรมการ • กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ • กรรมการการลงทุน • กรรมการบริหารความเสี่ยง

การประชุม (ครั้ง) 9/9 14/14 12/14

13/14 13/14 8/9 12/14 9/14 10/14 10/11 0/0 14/14

หมายเหตุ 1 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 มีมติแต่งตั้ง นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท แทน ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ ซึ่งออกตามวาระ 2 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 มีมติแต่งตั้ง นางอัศวินี ไตลังคะ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท แทนนายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร ซึ่งออกตามวาระ 3 คณะกรรมการบริษัท มีมติแต่งตั้ง นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า เป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 แทนนายชัยพัฒน์ สหัสกุล 4 คณะกรรมการบริษัท มีมติแต่งตั้ง นางสาวสมจิณณ์ พิลึก เป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2561 แทนนายอัฐพล จิรวัฒน์จรรยา


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

49

ขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ ในปี 2561 บริษัทได้ปรับปรุงหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ของบริษทั โดยยกเลิกคูม่ อื คณะกรรมการบริษทั และน�ำหลักปฏิบตั ิ บริษัท ทั้งแบบรายคณะและรายบุคคล ปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของส�ำนักงานคณะกรรมการ คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาผลงาน ปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งระบุขอบเขต ในระหว่างปีทผี่ า่ นมา โดยแบ่งการประเมินเป็น 3 แบบ ประกอบด้วย หน้าที่ของคณะกรรมการโดยแบ่งออกเป็น 8 ด้าน ประกอบด้วย 1) แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท รายคณะ 1) ตระหนักถึงบทบาทความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 2) แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย รายคณะ บริ ษั ท ในฐานะผู ้ น� ำ องค์ ก รที่ ส ร้ า งคุ ณ ค่ า ให้ กิ จ การ 3) แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั รายบุคคล อย่างยั่งยืน นอกจากนี้กฎบัตรคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ ได้ระบุ 2) ก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของกิจการที่ ให้กรรมการรายงานผลการปฏิบัติงาน และปัญหาอุปสรรค เป็นไปเพื่อความยั่งยืน ที่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ก ารปฏิ บั ติ ง านไม่ บ รรลุ ต ามขอบเขต อ� ำ นาจ 3) เสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิภาพ หน้าที่ ยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ 4) สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูง และการบริหาร คณะกรรมการบริษัทจะน�ำสรุปผลการประเมินการปฏิบัติงาน บุคลากร มาวิเคราะห์ เพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน 5) ส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบธุรกิจอย่างมีความ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รับผิดชอบ แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท รายคณะ 6) ดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง และการควบคุม ประกอบด้วยค�ำถาม 6 หัวข้อ ได้แก่ ภายในที่เหมาะสม 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 7) รักษาความน่าเชือ่ ถือทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูล 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 8) สนับสนุนการมีส่วนร่วม และการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. การท�ำหน้าที่ของกรรมการ กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร ตามข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดให้ ก รรมการผู ้ มี อ� ำ นาจ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร ลงลายมือชื่อผูกพันบริษัท โดยให้กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อ สรุปผลการประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และประทับตราส�ำคัญของบริษัท รายคณะ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 93.18 แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยรายคณะ ประกอบด้วยค�ำถาม 3 หัวข้อ ได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. การปฏิบัติตามอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อยรายคณะ ดังนี้ คณะกรรมการชุดย่อย 1. 2. 3. 4. 5.

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการการลงทุน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

คะแนน (ร้อยละ) 97.96 92.62 91.54 98.19 96.17

หมายเหตุ: คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้เปลี่ยนชื่อและบทบาทหน้าที่ ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 12/2561 วันที่ 11 ตุลาคม 2561

แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท รายบุคคล ประกอบด้วยค�ำถาม 3 หัวข้อ ได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมของคณะกรรมการ

3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สรุ ป ผลการประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ รายบุคคล มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 94.32


รายงานประจ�ำปี 2561

50

ผู ้ บ ริ ห าร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทมีรายชื่อผู้บริหารตามนิยามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ.23/2551 จ�ำนวน 8 คน ทัง้ นี้ ผูบ้ ริหารของบริษทั และบริษทั ย่อย มีความรูแ้ ละประสบการณ์ ดังรายละเอียดประวัตใิ นหน้าที่ 27-30 และโครงสร้างการบริหาร จัดการภายในบริษัท ในหน้าที่ 26 ประกอบด้วย รายชื่อผู้บริหาร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล นายชรินทร์ โซนี่ นายบดินทร์ อุดล นางวิราวรรณ ธารานนท์ นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ นางสาวจินดา มไหสวริยะ นายสมบัติ อยู่สามารถ

EWG’S CORE Competency

ต�ำแหน่ง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ผู้บริหาร (ได้รับมอบหมายก�ำกับดูแลกิจการในเครือ) และกรรมการผู้จัดการ บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายสนับสนุน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี

SHARP

S takeholder Focus H olistic Thinking A daptability R esult Acceleration P roactive & Creative Thinking


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เลขานุ ก ารบริ ษั ท คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งนางวิราวรรณ ธารานนท์ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการบริษัท โดยให้มีอ�ำนาจหน้าที่ตามที่ ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เพื่อรับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น รวมถึงให้ค�ำแนะน�ำแก่กรรมการ บริษัท ในการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องต่างๆ นอกจากนี้ ยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการจั ด ท� ำ และเก็ บ รั ก ษาทะเบี ย น กรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุม ผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปีของบริษัท รายงานการมีส่วนได้เสีย และการถือครองหลักทรัพย์ทรี่ ายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร นอกจากนี้ ยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการสนั บ สนุ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ของ คณะกรรมการ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อาทิ การปฐมนิเทศ การฝึกอบรม ตลอดจน การเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศยังหน่วยงานก�ำกับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด บริษทั ได้สง่ เสริมให้เลขานุการบริษทั เข้ารับการฝึกอบรมและ พัฒนาความรูด้ า้ นกฎหมายและด้านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งจากสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และสมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย โดยมีประวัติและประสบการณ์ของเลขานุการ บริษัทในรายงานประจ�ำปี หน้า 29 โดยในปี 2561 เลขานุการ บริษัทได้รับการอบรมด้านกฎหมายในหลักสูตร New Era of Governance & Internal Controls และการพัฒนาภาวะผู้น�ำ ในหลักสูตร Leadership Development Program by PACRIM เป็นต้น ค่ า ตอบแทนของกรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณา ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ในเบื้องต้น ก่อนน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัท พิจารณา เห็นชอบให้น�ำเสนอในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมัติ ทั้งนี้ บริษัท ได้ ก� ำ หนดอั ต ราค่ า ตอบแทนกรรมการที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น ได้ แ ก่ ค่ า ตอบแทนรายเดื อ นและเบี้ ย ประชุ ม ค่ า ตอบแทนตามผล ด�ำเนินงานของบริษัท ได้แก่ โบนัส โดยเชื่อมโยงกับมูลค่าที่สร้าง ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ อนึง่ ในการก�ำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน นั้น บริษัทได้ค�ำนึงถึงความเหมาะสมและปัจจัยอื่นประกอบด้วย 1) แนวปฏิบัติในอุตสาหกรรม 2) ผลประกอบการและขนาดของ ธุรกิจ 3) ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของกรรมการ 4) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบกรรมการ 5) ผลการ ปฏิบัติงานของกรรมการ โดยก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการให้มี ระดับที่เหมาะสม เป็นธรรม สามารถจูงใจและรักษากรรมการ ที่มีคุณภาพไว้ได้ นอกจากนี้การจ่ายค่าตอบแทนโบนัสจะต้อง สอดคล้องกับการปันผลแก่ผถู้ อื หุน้ และต้องไม่สงู เกินไปจนท�ำให้ กรรมการขาดความเป็นอิสระ

51

ทั้ ง นี้ คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ยังมีหน้าทีพ่ จิ ารณากลัน่ กรองก�ำหนดรูปแบบการจ่ายค่าตอบแทน ของกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ รวมทั้งการพิจารณากรอบอัตราโบนัสและอัตรา การขึ้ น เงิ น เดื อ นประจ� ำ ปี ข องพนั ก งาน โดยพิ จ ารณาจาก ผลประกอบการของบริษัท สภาวะเศรษฐกิจ และความสามารถ ในการแข่งขัน ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2560 เมื่ อ วั น ที่ 23 เมษายน 2561 มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการในปี 2561 ดังนี้ 1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน 1. ค่าตอบแทนรายเดือนและเบีย้ ประชุมของกรรมการ บริษัท และกรรมการชุดย่อย 1.1 คณะกรรมการบริษัท • ค่าตอบแทนรายเดือน 30,000 บาท/คน/ เดือน • เบี้ยประชุม 10,000 บาท/คน/ครั้ง จ่ายตามจ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม โดยให้ ป ระธานคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ รั บ ค่ า ตอบแทนรายเดื อ น 45,000 บาท และ เบีย้ ประชุมครัง้ ละ 15,000 บาท จ่ายตามจ�ำนวนครัง้ ที่เข้าประชุม 1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ • ค่าตอบแทนรายเดือน 10,000 บาท/คน/ เดือน • เบี้ยประชุมคนละ 10,000 บาท/คน/ครั้ง จ่ายตามจ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม 1.3 คณะกรรมการชุดย่อย • ไม่มีค่าตอบแทนรายเดือน • เบี้ยประชุม 10,000 บาท/คน/ครั้ง จ่ายตามจ�ำนวนครั้งที่เข้าประชุม 2. ค่าตอบแทน (โบนัส) ของคณะกรรมการบริษัท ให้คงอัตราการจ่ายโบนัสประจ�ำปี 2560 ในอัตรา ร้อยละ 0.80 ของเงินปันผลของผู้ถือหุ้น เป็นจ�ำนวน รวมไม่ เ กิ น 6 ล้ า นบาท โดยให้ ค ณะกรรมการ พิจารณาจัดสรรต่อไป ทั้งนี้ ประธานคณะกรรมการ บริ ษั ท ได้ รั บ เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ร้ อ ยละ 50 และอั ต รา การค� ำ นวณโบนั ส เป็ น ไปตามสั ด ส่ ว นระยะเวลา ทีเ่ ข้าด�ำรงต�ำแหน่ง 2) ค่าตอบแทนทีไ่ ม่เป็นตัวเงิน บริษทั ไม่มคี า่ สิทธิประโยชน์อนื่ รายละเอียดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่อยที่ได้รับรายบุคคล ประจ�ำปี 2561 แสดง ในตารางที่ 4


รายงานประจ�ำปี 2561

ตารางที่ 4 ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท ประจ�ำปี 2561

52

หน่วย : บาท

เบี้ยประชุมและค่าตอบแทนประจ�ำ (บาท)

รายชื่อคณะกรรมการ

1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล1 2. นายอมร เลาหมนตรี 3. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ 4. นายสุรชัย ขันอาสา 5. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ 6. นางอัศวินี ไตลังคะ2 7. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ 8. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี 9. นายกฤษฎา ศังขมณี 10. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า3 11. นางสาวสมจิณณ์ พิลึก4 12. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง

โบนัส กรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ จากผลการ สรรหาและ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล ด�ำเนินงาน บริหาร และพัฒนาเพื่อ พิจารณา บริษัท ตรวจสอบ การลงทุน ความเสี่ยง ปี 2560 ความยั่งยืน ค่าตอบแทน

รวม

507,000 576,500 480,000 490,000 490,000 328,000 480,000 450,000 460,000 387,000

- - 310,000 - 304,999 197,333 - - - -

- - - 110,000 - - 90,000 - 20,000 60,000

- - - - - 30,000 - - 30,000 -

- - 120,000 - 110,000 - - 100,000 - -

- - 20,000 70,000 - - 60,000 50,000 10,000 -

- 818,692 545,794 246,729 545,794 - 110,654 545,794 47,850 -

507,000 1,395,192 1,475,794 916,729 1,450,793 555,333 740,654 1,145,794 567,850 447,000

21,000 500,000

- -

- 110,000

- 55,000

- -

- -

- -

21,000 665,000

หมายเหตุ: 1 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 2 นางอัศวินี ไตลังคะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 3 นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 4 นางสาวสมจิณณ์ พิลึก ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2561

นอกจากนี้ ในปี 2561 คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยอืน่ เพือ่ กลัน่ กรอง เสนอความเห็นเกีย่ วกับการก�ำหนด โครงสร้างอัตราราคาค่าน�้ำ โดยมีการจ่ายค่าตอบแทนรวม 130,000 บาท ตารางที่ 5 ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท ที่ลาออกระหว่างปี 2561

หน่วย : บาท

เบี้ยประชุมและค่าตอบแทนประจ�ำ (บาท)

รายชื่อคณะกรรมการ ที่ลาออกระหว่างปี 2561

1. 2. 3. 4. 5.

นายชัยพัฒน์ สหัสกุล1 ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ2 นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร3 ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม4 นายอัฐพล จิรวัฒน์จรรยา

โบนัส กรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ จากผลการ สรรหาและ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล ด�ำเนินงาน บริหาร และพัฒนาเพื่อ พิจารณา บริษัท ตรวจสอบ การลงทุน ความเสี่ยง ปี 2560 ความยั่งยืน ค่าตอบแทน 104,000 153,000 143,000 150,000 179,000

- 87,666 40,000 - -

20,000 - - - -

20,000 - 20,000 - 10,000

- 30,000 - - -

หมายเหตุ: 1 นายชัยพัฒน์ สหัสกุล ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท มีผล ณ วันที่ 14 มีนาคม 2561 2 ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท มีผล ณ วันที่ 23 เมษายน 2561 3 นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท มีผล ณ วันที่ 23 เมษายน 2561 4 ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท มีผล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 5 นายอัฐพล จิรวัฒน์จรรยา ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษทั มีผล ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2561

- - - - -

545,794 545,794 545,794 545,794 -

รวม

689,794 816,460 748,794 695,794 189,000


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

53

ตารางที่ 6 การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 จ�ำนวนหุ้น ล�ำดับ

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

31 ธ.ค. 60 31 ธ.ค. 61

เพิ่ม/ลด ระหว่าง ปี 2561

1.

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล1 คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ประธานคณะกรรมการ

N/A -

- -

-

2.

นายอมร เลาหมนตรี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

3.

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

4.

นายสุรชัย ขันอาสา คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

5.

นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

6.

นางธัชดา จิตมหาวงศ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

7.

พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

-

8.

นายกฤษฎา ศังขมณี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

- -

- -

-

9.

นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า2 คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

N/A -

- -

-

10.

นางอัศวินี ไตลังคะ3 คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

N/A -

- -

-

11.

นางสาวสมจิณณ์ พิลึก4 คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

N/A N/A

- -

-

12.

นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

- -

- -

-

หมายเหตุ: 1 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 2 นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 3 นางอัศวินี ไตลังคะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 4 นางสาวสมจิณณ์ พิลึก ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2561


รายงานประจ�ำปี 2561

54

ตารางที่ 7 รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2561 จ�ำนวนหุ้น เพิ่ม/ลด

วันที่ พ้นจาก ต�ำแหน่ง

- -

- -

1 พ.ค. 61

- -

- -

- -

14 มี.ค. 61

กรรมการอิสระ

- -

- -

- -

23 เม.ย. 61

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

- -

- -

- -

23 เม.ย. 61

นายอัฐพล จิรวัฒน์จรรยา คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

- N/A

- -

- -

7 ธ.ค. 61

ล�ำดับ

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

1.

ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

- -

2.

นายชัยพัฒน์ สหัสกุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

3.

ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

4. 5.

ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร บริษัทมีนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนให้พนักงานทุกระดับ อย่างเหมาะสม ทั้งในระยะสั้นที่สอดคล้องกับผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทแต่ละปี และการจ่ายค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับ ผลตอบแทนของบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยบริษัทมี การส�ำรวจการจ่ายค่าจ้างและผลตอบแทนของพนักงานกับ องค์กรภายนอกเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทมีโครงสร้างค่าตอบแทนที่ เหมาะสมและสามารถแข่งขันได้ นอกจากนีย้ งั น�ำข้อมูลดัชนีราคา ผู้บริโภคจากหน่วยงานภาครัฐ อาทิ กระทรวงพาณิชย์ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย มาใช้ประกอบการจ่ายค่าจ้างและ ผลตอบแทนแก่ผู้บริหารและพนักงาน บริษัทมุ่งเน้นการจ่ายผลตอบแทนตามผลงาน มีการน�ำดัชนี วัดความส�ำเร็จของงาน (Key Performance Indicator : KPIs) มาใช้ในการประเมินผลพนักงานทุกระดับ ทั้งนี้ KPIs จะมีความ สอดคล้องตั้งแต่ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล เพือ่ ให้เป้าหมายในการท�ำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันสอดคล้อง กับวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร ค่าตอบแทนของผู้บริหาร จะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน โดยตรง การบรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายกลยุทธ์ของบริษัท

31 ธ.ค. 60 31 ธ.ค. 61

โครงสร้างการจ่ายค่าตอบแทนของบริษทั ค่าตอบแทนซึ่งจ่ายให้ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และ ผู้บริหารสี่รายแรก ประกอบด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนและผลประโยชน์แบบคงที่ • เงินเดือน โดยค่าจ้างเงินเดือนจะจ่ายตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ ทักษะและความช�ำนาญ เป็ น การจ่ า ยแบบประจ� ำ ทุ ก เดื อ น ซึ่ ง มี ก ารทบทวน เป็นประจ�ำทุกปีจากผลการปฏิบตั งิ านและอัตราการปรับ ค่าจ้างเงินเดือนตามตลาดแรงงาน • ผลประโยชน์อนื่ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นหลักประกันในการ สร้างความมั่นคงปลอดภัยให้กับพนักงาน การช่วยเหลือ กรณีเจ็บป่วย การประกันสุขภาพ การประกันชีวิตและ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น 2. ค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ได้แก่ โบนัสประจ�ำปี ซึ่ ง เป็ น ค่ า ตอบแทนที่ บ ริ ษั ท จ่ า ยตามผลการปฏิ บั ติ ง าน (Corporate KPIs) ในแต่ละปีตามที่คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมตั ิ ทัง้ นีผ้ ลการปฏิบตั งิ านนีเ้ ป็นผลรวมจากปัจจัย หลายด้าน ทั้งด้านการเงิน การจัดการกระบวนการ ด้านผู้มี ส่วนได้เสีย และด้านการเรียนรูแ้ ละพัฒนาองค์กร ซึง่ มีการให้ น�้ำหนักตามความส�ำคัญในแต่ละปี

การจ่ายค่าตอบแทนของบริษัท เงินเดือน โบนัสตามผลงาน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

CEO

ผู้บริหาร

พนักงาน

✓ ✓ -

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓


55

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

สรุปค่าตอบแทนที่กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่และผู้บริหาร ที่ได้รับในปี 2561 ดังนี้ ค่าตอบแทน

ปี 2561 ผู้บริหารรวม 8 ราย(1) (บาท)

เงินเดือนรวม โบนัส(2) กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ (เงินสมทบ) รวม

26,424,156 8,689,190 1,819,973 36,933,319

หมายเหตุ (1) ผู้บริหาร 8 ราย ได้แก่ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ผู้บริหารได้รับมอบหมายก�ำกับดูแลกิจการในเครือ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่และเลขานุการบริษัท ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่สายปฏิบัติการ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายสนับสนุน และผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายการเงินและบัญชี (2) โบนัสของปี 2560 จ่ายในเดือนมีนาคม 2561

การถือครองหลักทรัพย์ของผู้บริหาร ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ล�ำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รายชื่อ นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชรินทร์ โซนี่ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายบดินทร์ อุดล คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางวิราวรรณ ธารานนท์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวจินดา มไหสวริยะ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมบัติ อยู่สามารถ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ต�ำแหน่ง

จ�ำนวนหุ้น 31 ธ.ค. 60 31 ธ.ค. 61

กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ - และรักษาการผู้ช่วยกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่สายกลยุทธ์ - ผู้บริหาร - (ได้รับมอบหมายก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทในเครือ) - ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ - สายพัฒนาธุรกิจ และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ - ผู้ช่วยกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่สายปฏิบัติการ - และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายซ่อมบ�ำรุง - ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ - และเลขานุการบริษัท - ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ 600,000 ฝ่ายตรวจสอบ - ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายสนับสนุน - - ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ - สายการเงินและบัญชี -

เพิ่ม/ลด

-

-

- -

- -

- -

-

- -

-

- -

-

- 600,000

0

- - - -

-

-

-


รายงานประจ�ำปี 2561

56

3. การเน้นประสิทธิภาพการบริหารงาน 4. ความสมดุลของการตรวจสอบและการควบคุม (Check and Balance) 5. สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและเส้นทางสายอาชีพ

บุ ค ลากร ในปี 2561 เป็นปีที่การด�ำเนินงานแบบโครงสร้างองค์กร แบบรวมศูนย์หน่วยงานสนับสนุนภายในกลุ่มบริษัท (Shared Service Center : SSC) ครบปี ซึ่งมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. การสอดรับกับยุทธศาสตร์ขององค์กร 2. การแบ่งบทบาทหน้าทีช่ ดั เจน และมีสายการบังคับบัญชา ที่เหมาะสม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 221 คน แบ่งเป็นพนักงานประจ�ำ 217 คน พนักงานสัญญาจ้าง 4 คน ดังนี้

ส�ำนัก/สาย

จ�ำนวน (คน)

กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ส�ำนักเลขานุการบริษัท ฝ่ายตรวจสอบ สายกลยุทธ์ สายพัฒนาธุรกิจ สายปฏิบัติการ สายสนับสนุน สายการเงินและบัญชี รวม

5 19 8 19 22 66 40 42 221


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

57

การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ บริ ษั ท มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะเป็ น ผู ้ น� ำ ในการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ครบวงจรของประเทศ และพั ฒ นาองค์ ก รให้ เ ป็ น ต้ น แบบด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ด้ ว ยเชื่ อ มั่ น ว่ า หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ระบบบริ ห ารจั ด การ ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น ธรรม สร้ า งความมั่ น ใจในการลงทุ น ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย รวมถึ ง ท� ำ ให้ อ งค์ ก รมี ก ารจั ด การที่ เ หมาะสม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ขององค์ ก รให้ เ ติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น

นโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ ดี ไ ว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 สิงหาคม 2546 โดยมอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อ ความยัง่ ยืนพิจารณาทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ อี ย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พร้อมทัง้ น�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ ในปี 2561 บริษัทได้ทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการของ กลุม่ บริษทั เป็นครัง้ ที่ 12 โดยอ้างอิงจากหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ส�ำหรับบริษทั จดทะเบียนปี 2555 ของ ตลท. และหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 ของ ก.ล.ต. ซึ่ง คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาแล้วพบว่า บริษทั สามารถน�ำหลัก ปฏิบตั มิ าปรับใช้ได้ทงั้ หมด คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนา เพื่อความยั่งยืนจึงน�ำเสนอหลักการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท ต่อคณะกรรมการบริษัท ซึ่งได้พิจารณาอนุมัติในการประชุม ครัง้ ที่ 14/2561 วันที่ 11 ธันวาคม 2561 เพื่อเป็นแนวทางให้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับของกลุ่มบริษัทในการ ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด บริ ษั ท จั ด ท� ำ และเผยแพร่ ห ลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท ไว้ในรูปแบบสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์ www.eastwater.com และ Internal Web ของบริษัทเพื่อให้สะดวกต่อการศึกษาท�ำความ เข้าใจยิง่ ขึน้ พนักงานใหม่จะลงนามรับทราบเอกสารจรรยาบรรณ ทางธุรกิจฯ ในวันปฐมนิเทศด้วย เพื่อให้ตระหนักถึงการปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งเป็นหัวข้อหนึ่งที่ก�ำหนดไว้ใน หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ที่จะต้องน�ำไปปฏิบัติให้สอดคล้อง ต่อไป เช่นเดียวกับคณะกรรมการบริษัทจะลงนามและรับทราบ หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ นวั น ปฐมนิ เ ทศกรรมการที ่ เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ทุกครั้ง เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าพนักงานทุกคนมีความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนจรรยาบรรณทางธุรกิจของ กลุม่ บริษทั และสามารถน�ำไปปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม

บริษัทจึงให้พนักงานทุกคนท�ำแบบทดสอบเกี่ยวกับการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี และนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายใน องค์กรผ่านระบบอินทราเน็ตของบริษทั เป็นประจ�ำทุกปี และน�ำผล ที่ได้มาประเมินระดับความรู้และความเข้าใจของพนักงานเพื่อ ปรับปรุงการสือ่ สารและให้ความรูแ้ ก่พนักงานมีความเข้าใจอย่าง ทัว่ ถึง และตระหนักถึงหน้าทีข่ องตนในการส่งเสริมการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี ององค์กร โดยบริษทั ปรับปรุงและพัฒนาแบบทดสอบ ดังกล่าวให้สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดเวลา บริษทั ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั อย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งประกอบด้วย 8 หลักปฏิบัติดังนี้ หลักปฏิบัติ 1 ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในฐานะผู ้ น� ำ องค์ ก รที่ ส ร้ า ง คุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ จากผูถ้ อื หุน้ ให้มหี น้าที่ รับผิดชอบการด�ำเนินงานของบริษทั ทัง้ หมด ซึง่ รวมถึงการสัง่ การ การอนุ มั ติ และติ ด ตามดู แ ลให้ มี ก ารน� ำ กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ไปปฏิบตั ิ ตลอดจนการก�ำกับดูแลกิจการ ความเสีย่ ง ความมัน่ คง ทางการเงิน รวมถึงโครงสร้างองค์กร (สามารถดูรายละเอียด ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ได้ที่หัวข้อโครงสร้างการจัดการ) คณะกรรมการบริษทั ในการประชุมครัง้ ที่ 10/2561 เมือ่ วันที่ 17 สิงหาคม 2561 มีมติอนุมัติวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผน กลยุทธ์ของกลุ่มบริษัท ประจ�ำปี 2562-2564 (แผน 3 ปี) ตามที่ ฝ่ายบริหารเสนอ ซึ่งวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ดังกล่าว มุง่ เน้นให้บริษทั สามารถแข่งขันได้ และมีผลประกอบการทีด่ โี ดย ค�ำนึงถึงผลกระทบในระยะยาว ประกอบธุรกิจอย่างมีจริยธรรม เคารพสิทธิและมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย เป็นประโยชน์ต่อสังคม และพัฒนาหรือลดผลกระทบด้านลบต่อ สิง่ แวดล้อม และสามารถปรับตัวได้ภายใต้ปจั จัยการเปลีย่ นแปลง (สามารถดูรายละเอียด วิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ได้ที่ หัวข้อ “นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ”)


รายงานประจ�ำปี 2561

หลักปฏิบัติ 2 ก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของ กิจการที่เป็นไปเพื่อความยั่งยืน คณะกรรมการบริษัทก�ำกับ ดูแ ลให้บ ริษัทมีวัต ถุป ระสงค์ และเป้าหมายหลักของกิจการที่เป็นไปเพื่อความยั่งยืน กล่าวคือ บริษัทมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็นผู้น�ำในการบริหารจัดการน�้ำครบวงจร ของประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงและรักษาเสถียรภาพด้าน แหล่งน�้ำ และมีการขยายการลงทุนในธุรกิจน�้ำให้ครบวงจร เพื่อ สร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนให้แก่องค์กร พร้อมทั้ง รับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิง่ แวดล้อม และสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี กับผูม้ สี ว่ นได้เสียควบคูไ่ ปพร้อมกัน (สามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่หัวข้อ “นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ”) หลักปฏิบัติ 3 เสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิผล บริษัทก�ำหนดโครงสร้างคณะกรรมการให้สอดคล้องกับ กฎหมายบริษัทมหาชนจ�ำกัดและหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 ของ ก.ล.ต. ทั้งในเรื่องขนาด องค์ ป ระกอบและสั ด ส่ ว นกรรมการที่ เ ป็ น อิ ส ระ กล่ า วคื อ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน และต้องไม่เกินกว่า 12 คน และก�ำหนดสัดส่วนกรรมการอิสระ ให้มีจ�ำนวน 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่งในปี 2561 มีคณะกรรมการบริษทั ทีป่ ระกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒทิ งั้ สิน้ 12 คน โดยมีกรรมการทีเ่ ป็นกรรมการอิสระ จ�ำนวน 8 คน คิดเป็น 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด อนึ่ง กรรมการอิสระไม่มีส่วนร่วม ในการบริหาร รวมถึงไม่ได้เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทและกรรมการ อิสระ 3 จาก 8 คน ยังด�ำรงต�ำแหน่งเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ และมีประธานคณะกรรมการเป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็นประธาน หรือสมาชิกในคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยต่ า งๆ ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ติดตาม และดูแลให้มนั่ ใจได้วา่ การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายหลักของบริษัท คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้ท�ำหน้าที่ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการบริษัท ให้สอดคล้องกับองค์ประกอบที่ก�ำหนดไว้ รวมทั้งพิจารณาค่า ตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ น�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั พิจารณาเห็นชอบในเบือ้ งต้น ก่อนน�ำเสนอผูถ้ อื หุน้ อนุมตั ิ โดยมีหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม เพียงพอ เป็นธรรม สามารถจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ได้ โดยต้องสอดคล้องกับ ผลประโยชน์ของผู้ถอื หุ้นและต้องไม่สงู เกินไปจนท�ำให้กรรมการ ขาดความเป็นอิสระ (สามารถดูรายละเอียดหน้าที่และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้ที่กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนที่ www.eastwater.com) บริษทั ก�ำหนดแนวปฏิบตั ทิ เี่ ป็นการเสริมสร้างคณะกรรมการ ให้มีประสิทธิผล ได้แก่ การก�ำหนดวันประชุมล่วงหน้าทั้งปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาและเข้าประชุมได้อย่าง พร้อมเพรียงกัน มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการรายบุคคล โดยผลประเมิน

58

จะถูกน�ำไปใช้ส�ำหรับการพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ ต่อไป นอกจากนีบ้ ริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษทั เข้าร่วมฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้ กรรมการสามารถท� ำ หน้ า ที่ แ ละก� ำ กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ทัง้ ในด้านการก�ำกับดูแลกิจการ การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมภายใน เทคโนโลยีด้านน�้ำ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็ น ต้ น โดยสนั บ สนุ น ให้ ก รรมการได้ ศึ ก ษาหลั ก สู ต รที่ เ ป็ น ประโยชน์ ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และสถาบันที่มีชื่อเสียงอื่นๆ หลักปฏิบัติ 4 สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและการ บริหารบุคลากร คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้ท�ำหน้าที่ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธี การสรรหาบุคคลเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดของบริษัทในเครือ และผู้บริหารสูงสุดของบริษัท ในแต่ละสายงาน เพื่อให้มั่นใจว่ามีการสรรหาผู้บริหารระดับสูง ให้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ คุณลักษณะที่จ�ำเป็นต่อการ ขับเคลือ่ นองค์กรไปสูเ่ ป้าหมาย (สามารถดูรายละเอียดการสรรหา ได้ทหี่ วั ข้อ “การสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการและผูบ้ ริหารสูงสุด”) บริ ษั ท สนั บ สนุ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารเข้ า ร่ ว มอบรมกั บ มู ล นิ ธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐ (IRDP) เข้าร่วมอบรม หลั ก สู ต ร Executive Development Program (EDP) ของสมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย ส� ำ หรั บ พนักงานบริษัท มีแผนพัฒนาบุคลากร Individual Development Plan (IDP) ของพนักงานด้วย หลักปฏิบัติ 5 ส่ ง เสริ ม นวั ต กรรมและการประกอบธุ ร กิ จ อย่างมีความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญและสนับสนุนการสร้าง นวัตกรรมที่ก่อให้เกิดมูลค่าแก่ธุรกิจ โดยก�ำหนดให้บริษัทเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ทันสมัยไว้เป็นพันธกิจของบริษัทข้อหนึ่ง นอกจากนี้ บริษัทได้ก�ำหนดปรัชญาการท�ำงานโดยมุ่งเน้น ความรับผิดชอบและการปฏิบัติอย่างเสมอภาคเป็นที่น่าเชื่อถือ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้ (1) ผู้ถือหุ้น บริษัทตระหนักถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น และอ�ำนวย ความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้นมาโดยตลอด เช่น สิทธิที่ ก�ำหนดไว้ตามกฎหมายหรือตามข้อบังคับของบริษัท สิทธิในการ เข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงลงคะแนน รวมถึงสิทธิในการ แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระและให้สิทธิผู้ถือหุ้นในการเสนอ แนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ในฐานะ เจ้าของบริษัทคนหนึ่ง รวมทั้งรักษาสถานภาพทางการเงินให้มี สภาวะมั่นคง และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือรายย่อย บุคคลธรรมดาหรือ สถาบัน สัญชาติไทยหรือต่างชาติ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(2) พนักงาน บริษทั ให้ความเคารพต่อสิทธิตามกฎหมายของพนักงานทุกคน รวมทั้งจัดให้มีสภาพแวดล้อมของการท�ำงานที่ดีและปลอดภัย จัดให้มีสวัสดิการที่ดีและสภาพการจ้างที่ยุติธรรมเหมาะสมกับ สภาวะตลาด รวมทัง้ ส่งเสริมให้ใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีคา่ และ เปิดโอกาสการจ้างงานให้แก่ทุกคนโดยเท่าเทียมกัน ตลอดจน สนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการด� ำ เนิ น งานและมี จิตส�ำนึกในภาระหน้าที่และการท�ำงานอย่างมุ่งมั่น โดยบริษัท ก�ำหนดแนวทางปฏิบตั งิ านให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ของกลุ่มบริษัทไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท (ราย ละเอียดของจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ www.eastwater.com

59

3. จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 4. กล่องรับฟังความคิดเห็น : ฝ่ายทรัพยากรบุคคล นอกเหนือจากช่องทางดังกล่าวข้างต้น บริษทั จัดให้มหี น่วยงาน นักลงทุนสัมพันธ์รับผิดชอบในการรับความคิดเห็น ข้อร้องเรียน ต่ า งๆ จากผู ้ ถื อ หุ ้ น และนั ก ลงทุ น และจั ด ท� ำ แนวนโยบาย และวิธปี ฏิบตั งิ านต่อข้อร้องเรียนของผูม้ สี ว่ นได้เสียไว้อย่างชัดเจน ในจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท อี ส ท์ วอเตอร์ เพื่อรักษาสิทธิ รวมถึงคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้ร้องเรียน โดยผู ้ ร ้ อ งเรี ย นดั ง กล่ า วจะได้ รั บ การคุ ้ ม ครองและเก็ บ รั ก ษา ข้อมูลส่วนตัวไว้เป็นความลับ

(3) ลูกค้า บริษัทมุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าในการ บริหารจัดการน�้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าทุกราย ด้วยบริการอย่างใส่ใจและเท่าเทียมกันในการแก้ปัญหา เพื่อให้ หลักปฏิบัติ 6 ดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงและการ บริการแก่ลูกค้าอย่างดีที่สุดในเวลาที่เหมาะสม และให้บริการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม ที่มีคุณภาพที่ดีในทุกพื้นที่ บริษัทมีหน่วยงานบริหารความเสี่ยง ภายใต้การก�ำกับดูแล ของฝ่ายกลยุทธ์องค์กร ซึง่ จะประสานงานร่วมกับฝ่ายตรวจสอบ (4) คู่ค้าและเจ้าหนี้ ที่มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ เป็นผู้รับผิดชอบในการ บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อก�ำหนดในสัญญาและไม่ปกปิด พัฒนาและสอบทานประสิทธิภาพถึงความเพียงพอของระบบ สถานะการเงินที่แท้จริงของบริษัทและบริษทั ย่อย ไม่ใช้เงินทุนที่ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน พร้อมทั้งรายงาน ได้จากการกู้ยืมเงินไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลง ยังคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยรายงานการสอบทานไว้ ที่ ท� ำ กั บ ผู ้ ใ ห้ กู ้ ยื ม เงิ น รวมทั้ ง ได้ ก� ำ หนดนโยบายการปฏิ บั ติ ในรายงานประจ�ำปี (สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หัวข้อ ที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ในเรื่องเงื่อนไขค�้ำประกัน “การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง”) การบริหารเงินทุน และกรณีที่ผิดนัดช�ำระหนี้ไว้อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม และเปิดเผยถึงแนวทางปฏิบัติไว้ หลักปฏิบัติ 7 รั ก ษาความน่ า เชื่ อ ถื อ ทางการเงิ น และการ เปิดเผยข้อมูล (5) สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องตาม บริษทั ด�ำเนินธุรกิจโดยตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับดูแล นอกจากนีย้ งั สร้างช่องทางการ เคารพ และปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องและ เปิดเผยข้อมูลทีห่ ลากหลายเพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายสามารถ ตระหนักถึงการปฏิบัติตามมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการรักษา เข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย รณรงค์ให้กรรมการ ผู้บริหาร และ สุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง พนักงาน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูลและความ เหมาะสมเพื่อปกป้องผลกระทบใดๆ ที่ก่อให้เกิดความสูญเสีย โปร่งใสในการด�ำเนินงานและสร้างกลไกในการรับเรื่องร้องเรียน ต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากร ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรมส�ำหรับผูร้ อ้ งเรียนและผูถ้ กู ร้องเรียนไว้ ในจรรยาบรรณทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท (6) คู่แข่ง คณะกรรมการบริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยดู แ ลให้ ฝ ่ า ยบริ ห าร บริ ษั ท ปฏิ บั ติ ภ ายใต้ ห ลั ก การของการแข่ ง ขั น ที่ ดี แ ละถู ก เผยแพร่ข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัทที่มีสาระส�ำคัญครบถ้วนและ กฎหมาย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า เผยแพร่ในเวลาที่เหมาะสม เช่น การรายงานข้อมูลทางการเงิน ด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม หรือค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ม่ใช่ขอ้ มูลทางการเงินอืน่ บริษัทจัดให้มีช่องทางส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียสามารถแสดง ทีส่ ำ� คัญ ไม่วา่ จะโดยกฎหมายบังคับหรือบนพืน้ ฐานความสมัครใจ ความคิดเห็น ร้องเรียน หรือเสนอเรือ่ งส�ำคัญอืน่ ๆ หลายช่องทาง โดยข้อมูลต่างๆ จะเผยแพร่ผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ แห่งประเทศไทยและน�ำเผยแพร่ผ่าน www.eastwater.com 1. เว็บไซต์บริษัท : www.eastwater.com และ www.uu.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยฝ่าย 2. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : บริ ห ารน� ำ เสนอข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น รวมทั้ ง ให้ ข ้ อ มู ล ยั ง - คณะกรรมการตรวจสอบ : AC_EW@eastwater.com หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทด้วย - กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ : CEO@eastwater.com บริ ษั ท มอบหมายให้ แ ผนกก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและแผนก - เลขานุ ก ารบริ ษั ท : Corporate_secretary@ วิเคราะห์การเงินและลงทุนสัมพันธ์ท�ำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูล eastwater.com


รายงานประจ�ำปี 2561

องค์กร ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทั่วไปให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ สถาบันจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือ ในการลงทุน และหน่วยงานก�ำกับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง ผ่านทางช่องทาง ต่างๆ ได้แก่ การรายงานต่อ ตลท., ก.ล.ต. และเว็บไซต์ของบริษทั ในหัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุนสัมพันธ์” เพือ่ ให้ผสู้ นใจสามารถศึกษา ข้อมูลได้โดยสะดวก กรณี ที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก ลงทุ น และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ข ้ อ สงสั ย และต้องการสอบถาม สามารถติดต่อมายังแผนกวิเคราะห์การเงิน

60

และลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2272-1600 ต่อ 2438, 2411 อี เ มล: IR@eastwater.com หรื อ ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท www.eastwater.com ในปี 2561 แผนกวิเคราะห์การเงินและลงทุนสัมพันธ์ได้จัด กิจกรรมต่างๆ เพื่อเผยแพร่และชี้แจงข้อมูล รวมถึงเปิดโอกาส ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมซักถาม โดยมีผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วม การชี้แจงด้วย โดยสรุปกิจกรรมได้ ดังนี้

ประเภทกิจกรรม การประชุมกับสื่อมวลชน (Press Meeting) การประเมินการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (Credit Rating Review) การเข้าพบผู้บริหารเพื่อสอบถามถึงแนวทางการบริหารจัดการ และความคืบหน้าของโครงการต่างๆ (Company Visit) การประชุมทางไกลทางโทรศัพท์ (Conference Call) ร่วมกิจกรรมตลาดหลักทรัพย์พบนักลงทุนรายย่อย (Opportunity Day) การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการของบริษัท (Site Visit)

จ�ำนวน : ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 11 ครั้ง 14 ครั้ง 1 ครั้ง 2 ครั้ง

หลักปฏิบัติ 8 สนับสนุนการมีส่วนร่วมและการสื่อสารกับ บริษัทให้ความส�ำคัญกับการประชุมผู้ถือหุ้น และได้อ�ำนวย ผู้ถือหุ้น ความสะดวกต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นก่อนวันประชุม เช่น • บริษัทเปิดโอกาสให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระ บริษัทตระหนักถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น และอ�ำนวย การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อด�ำรง ความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้นมาตลอด ได้แก่ การซื้อ ต�ำแหน่งกรรมการเป็นการล่วงหน้า 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ ขาย หรือการโอนหุน้ การมีสว่ นแบ่งในก�ำไรของบริษทั การได้รบั 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2560 โดยแจ้งผ่านระบบ ข้อมูลข่าวสารอย่างเพียงพอผ่านทางช่องทางและเวลาทีเ่ หมาะสม สารสนเทศของ ตลท. และเว็บไซต์ของบริษัท การเข้าร่วมประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น • บริษัทแจ้งก�ำหนดวันประชุม และระเบียบวาระการ การเลือกตั้งหรือถอดถอนกรรมการ รวมถึงการได้รับข้อมูล ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 ให้ผ้ถู ือหุ้นทราบ ข่าวสารเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ของบริษทั อย่างเพียงพอ ผ่านระบบสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ เพื่อประกอบการตัดสินใจ บริษัทล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษัทมีนโยบายส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกรายเข้าร่วมประชุม • บริ ษั ท จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และรายละเอี ย ด ผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่าง ระเบียบวาระการประชุม โดยได้จัดส่งยังผู้ถือหุ้นพร้อม เท่าเทียมกัน โดยบริษัทก�ำหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น หนังสือมอบฉันทะเพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วม ปีละครั้ง ภายในเวลา 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของ ประชุมได้ มอบฉันทะให้ผอู้ นื่ เข้าร่วมประชุมแทน ทัง้ ฉบับ บริษัท และในกรณีที่มีความจ�ำเป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งแจ้งการเผยแพร่ กรณีพิเศษ ซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ เอกสารการประชุมยังผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนวันประชุม ของผู้ถือหุ้น หรือเกี่ยวข้องกับเงื่อนไข หรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ไม่นอ้ ยกว่า 28 วัน และได้ประกาศลงหนังสือพิมพ์ตดิ ต่อ ที่ใช้บังคับที่ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้น บริษัทจะเรียก กัน 3 วัน ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน ทั้งนี้ บริษัท ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป ได้น�ำข้อมูลหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และเอกสาร ในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 บริษัทได้จัด ประกอบการประชุมเปิดเผยในเว็บไซต์บริษัทล่วงหน้า การประชุมในวันจันทร์ที่ 23 เมษายน 2561 ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม ก่อนวันประชุม 30 วัน เอ บี โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว ในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 บริษัทได้อ�ำนวย และไม่มีการเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ บริษัทอ�ำนวย ความสะดวกในการช่วยตรวจสอบเอกสารการเข้าร่วมประชุม ความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นในเรื่องต่างๆ เช่น • การน�ำโปรแกรมการลงทะเบียน (E-Voting) และการ ก่อนล่วงหน้า รวมถึงมีการให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามต่างๆ ตรวจนับคะแนนเสียงด้วยระบบ Barcode มาใช้ในการ อีกด้วย ประชุม


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

• บริษทั จัดให้มผี ตู้ รวจสอบการนับคะแนนเสียงในการประชุม

ผู้ถือหุ้น จ�ำนวน 3 คน โดยเป็นผู้แทนจากส�ำนักงาน กฎหมาย และผู้แทนจากผู้ถือหุ้นที่อยู่ในที่ประชุม • ก่อนเริ่มการประชุม ประธานในที่ประชุมแจ้งวิธีการลง คะแนน นับคะแนนในแต่ละระเบียบวาระ ทั้งนี้ก่อนการ ลงมติทกุ ระเบียบวาระ ประธานในทีป่ ระชุมเปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิในการตรวจสอบการด�ำเนินงานของ บริษทั โดยเปิดโอกาสให้สอบถาม แสดงความคิดเห็น โดย ได้แจ้งผู้ถือหุ้นอภิปรายภายในระยะเวลาอย่างเหมาะสม รวมทัง้ ให้สทิ ธิเสนอแนะอย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ นีก้ รรมการ และผู้บริหารตอบข้อซักถามอย่างชัดเจนทุกค�ำถามแล้ว จึงให้ที่ประชุมออกเสียงลงมติ ส�ำหรับระเบียบวาระการ เลือกตั้งกรรมการ ประธานแจ้งให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนใน บัตรลงคะแนนเป็นรายบุคคล • ประธานในที่ประชุมได้แจ้งผลการลงคะแนนในแต่ละ ระเบียบวาระการประชุมให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบทั้ง ก่อนเสนอระเบียบวาระใหม่และก่อนสิ้นสุดการประชุม โดยประธานด�ำเนินการประชุมให้สอดคล้องกับข้อบังคับ บริษทั โดยได้ประชุมตามล�ำดับระเบียบวาระทีก่ ำ� หนดไว้ ในหนังสือเชิญประชุม เว้นแต่ที่ประชุมมีมติให้เปลี่ยน ล�ำดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้ ไม่มีการเปลี่ยน ล�ำดับระเบียบวาระจากทีร่ ะบุในหนังสือเชิญประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ และเมือ่ ทีป่ ระชุมได้พจิ ารณาครบทุกระเบียบวาระ แล้ ว ประธานเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทราบว่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น ซึ่งรวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย ได้ทั้งหมดอาจขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นได้ ภายหลังการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2560 บริษัท เผยแพร่มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ผ่านระบบสารสนเทศของ ตลท. ทันที ภายในวันประชุม และได้จัดท�ำรายงานการประชุมฯ ที่มีสาระ ส�ำคัญครบถ้วน พร้อมทั้งบันทึกมติที่ประชุมที่ชัดเจน และระบุ ผลการลงคะแนน ทั้งประเภทเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองด ออกเสียงและเผยแพร่รายงานดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท และน�ำส่ง ตลท. ภายใน 14 วันนับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น ด้านมาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัท ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติของพนักงานให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ และไม่ให้ ความส�ำคัญต่อผลประโยชน์สว่ นตนเหนือความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ บริษทั และรวมถึงการไม่นำ� ข้อมูลภายในบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์ ส่วนตน และก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหารสูงสุด หรือผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้บริหารสูงสุดลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหาร รายที่ 4 ทุกราย จะต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ที่ตนเองรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องถือเมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งต่อ ก.ล.ต. ภายใน 30 วันนับจากวันทีด่ ำ� รงต�ำแหน่ง และรายงานการ

61

เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วันท�ำการนับจาก วันที่มีการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งยังห้ามคณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงานประจ�ำของบริษัท รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิตภิ าวะของบุคคลดังกล่าว ท�ำการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลท. และในช่วงระยะเวลา 3 วันหลังการเปิดเผยข้อมูลงบการเงิน ต่อ ตลท. ด้วย ทั้งนี้ ในปีที่ผ่านมา บริษัทได้รับการประเมินคุณภาพการจัด ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 ด้วยคะแนน 95 คะแนน โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย และบริษัทยังได้รับการประเมิน การก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจ�ำปี 2561 ในระดั บ “ดี เ ลิ ศ ” (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2018) จากการประเมินโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ซึง่ พิจารณาจากข้อมูล ที่บริษัทเผยแพร่ผ่านช่องทางการสื่อสารของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยตลอดจนเอกสารเผยแพร่อื่นๆ ของบริษัท นอกจากนี้ บริษทั ยังได้รบั รางวัลรายงานความยัง่ ยืน ประจ�ำปี 2561 (Sustainability Report Award 2018) ประเภท Recognition อีกด้วย คณะกรรมการชุดย่อย ในระหว่างปี 2561 คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาทบทวน โครงสร้างคณะกรรมการชุดย่อยของบริษทั ให้เหมาะสมกับธุรกิจ และมุ่งเน้นการพัฒนาองค์กรให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน โดย อนุมัติการปรับโครงสร้างคณะกรรมการชุดย่อยเป็น 5 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการ การลงทุน 3) คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความ ยัง่ ยืน 4) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และ 5) คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทัง้ คณะ จ�ำนวน 3 คน ซึง่ มีความ เป็นอิสระ มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ด้านการสอบ ทานรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ตลอดจนมีความเข้าใจในธุรกิจขององค์กร และมีคุณสมบัติ ตามประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น และประกาศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขต การด� ำ เนิ น งานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2558 มีรายชื่อดังนี้ 1. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประธานกรรมการ 2. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ กรรมการ 3. นางอัศวินี ไตลังคะ กรรมการ


รายงานประจ�ำปี 2561

โดยมีนางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ใหญ่ฝ่ายตรวจสอบ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่รับผิดชอบการสอบทาน รายงานทางการเงินของบริษัท ความเพียงพอของระบบการ ควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบที่เกี่ยวข้องว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รายการที่เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส สอบทานกระบวนการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันให้สอดคล้อง ตามแนวทางของหน่วยงานก�ำกับดูแล สอบทานกระบวนการ ภายในเกี่ยวกับการรับและก�ำกับดูแลการรับแจ้งเบาะแส และ การรับเรื่องร้องเรียน รวมทั้งพิจารณาคัดเลือกและก�ำหนด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดจากกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบได้ในเว็บไซต์ของบริษัท อนึง่ บริษทั ได้รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีไว้ในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว 2. คณะกรรมการการลงทุน ประกอบด้วยกรรมการบริษัท จ�ำนวน 5 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มี ความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ ด ้ า นการลงทุ น การบริหารโครงการ ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน มีรายชือ่ ดังนี้ 1. นายสุรชัย ขันอาสา ประธานกรรมการ 2. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ กรรมการ 3. นายกฤษฎา ศังขมณี กรรมการ 4. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ กรรมการ เซอร์แวนเซส ริเวร่า 5. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการ โดยมีนายชรินทร์ โซนี่ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายพัฒนาธุรกิจ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการการลงทุน หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการการลงทุน คณะกรรมการการลงทุนมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบพิจารณานโยบาย การลงทุนของบริษัท ก�ำหนดเกณฑ์การลงทุนให้มีความชัดเจน ให้คำ� ปรึกษาหรือเสนอแนะเกีย่ วกับการลงทุนแก่ฝา่ ยบริหารและ คณะกรรมการบริษัท พิจารณากลั่นกรองเรื่องที่เกี่ยวกับการ ลงทุนและเสนอแนะความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ตลอดจน ติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติงานในโครงการลงทุนที่ส�ำคัญ นอกจากนีย้ งั มีอำ� นาจอนุมตั กิ ารจัดซือ้ จัดจ้างทีเ่ กีย่ วกับการลงทุน ตามระเบียบบริษัทด้านการจัดซื้อจัดจ้างภายในวงเงินที่ก�ำหนด ทั้งนี้สามารถดูรายละเอียดจากกฎบัตรคณะกรรมการการลงทุน ได้ในเว็บไซต์ของบริษัท อนึง่ บริษทั ได้รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีไว้ในรายงาน ของคณะกรรมการการลงทุนแล้ว

62

3. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืน ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ จ�ำนวน 3 คน ซึ่งเป็น ผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเข้าใจในธุรกิจ ของบริ ษัท ตลอดจนมี ค วามรู ้ ด ้ า นการก� ำ กั บดู แลกิ จ การที่ดี บรรษัทภิบาล และการพัฒนาองค์กรเพื่อความยั่งยืน มีรายชื่อ ดังนี้ 1. นางธัชดา จิตมหาวงศ์ ประธานกรรมการ 2. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ กรรมการ 3. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี กรรมการ โดยมีนางวิราวรรณ ธารานนท์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการธรรมาภิบาล และพัฒนาเพื่อความยั่งยืน คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและพั ฒ นาเพื่ อ ความยั่ ง ยื น มีหน้าที่หลัก 2 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านธรรมาภิบาล โดยการพิจารณานโยบายและแนว ปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านทุจริต คอร์รัปชั่นภายในองค์กรและจรรยาบรรณทางธุรกิจ กลุม่ บริษทั ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) หรือหน่วยงาน ก�ำกับดูแล รวมทั้งการทบทวนนโยบายและแนวปฏิบัติ ดังกล่าว อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตลอดจนสอดส่องดูแล ให้มีการน�ำนโยบายไปปฏิบัติ 2) ด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน โดยการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และแผนการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืนด้วยการ บริหารจัดการน�้ำบนพื้นฐานการใช้ทรัพยากรน�้ำร่วมกับ ชุมชน และรักษาสมดุลของระบบนิเวศ โดยการสร้าง ความเชือ่ มัน่ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ผ่านกระบวนการด�ำเนินงาน ที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ตามกรอบการบริหาร จั ด การให้ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ไ ปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ตาม มาตรฐานองค์การแห่งการริเริม่ ว่าด้วยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) รวมทัง้ ติดตามดูแล ให้ฝ่ายจัดการประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม และสะท้อนอยู่ในแผนด�ำเนินการ เพื่ อ ให้ มั่น ใจได้ ว ่ า ทุ ก ฝ่ า ยขององค์ ก รได้ ด�ำ เนิ น การ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมายหลัก และแผน กลยุ ท ธ์ ข องกิ จ การ ทั้ ง นี้ ส ามารถดู ร ายละเอี ย ดจาก กฎบัตรคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพือ่ ความ ยั่งยืนได้ในเว็บไซต์ของบริษัท อนึ่ง บริษั ทได้ร ายงานผลการปฏิบัติงานประจ� ำปีไว้ ในรายงานของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อ ความยั่งยืนแล้ว


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 3 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความเข้าใจในธุรกิจของบริษัท ตลอดจนมี ค วามเชี่ ย วชาญทั้ ง ในธุ ร กิ จ ด้ า นน�้ ำ ด้ า นการเงิ น วิศวกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศที่เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ มีรายชื่อดังนี้ 1. นางอัศวินี ไตลังคะ ประธานกรรมการ 2. นายกฤษฎา ศังขมณี กรรมการ 3. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการ โดยมีนายจิรายุทธ รุง่ ศรีทอง กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายกลยุทธ์ ปฏิบัติ หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีก่ ำ� หนดและทบทวน นโยบายการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ก�ำกับดูแลและสนับสนุน ให้มกี ารด�ำเนินงานด้านบริหารความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกันนโยบาย การบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะและพิจารณาเห็นชอบ แผนบริหารจัดการความเสี่ยง ตลอดจนติดตามและทบทวน ความเสี่ยง รวมถึงการสื่อสารและให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการ บริหารความเสี่ยงให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งบริษัท ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดจากกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ได้ในเว็บไซต์ของบริษัท อนึง่ บริษทั ได้รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปีไว้ในรายงาน ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงแล้ว 5. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ จ�ำนวน 4 คน ซึ่งเป็น ผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ด้านการสรรหาและ พิจารณาคุณสมบัติบุคลากร ด้านการเงิน และด้านการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน มีรายชื่อดังนี้ 1. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประธานกรรมการ 2. นายสุรชัย ขันอาสา กรรมการ 3. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี กรรมการ 4. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ กรรมการ โดยมีนางสาวจินดา มไหสวริยะ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ สายสนับสนุน ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

63

หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าทีห่ ลัก 3 ด้าน ประกอบด้วย 1) การสรรหา โดยพิจารณาโครงสร้างและองค์ประกอบของ คณะกรรมการของกลุ่มบริษัท พิจารณาคุณสมบัติของ บุคคลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานก�ำกับดูแล ก�ำหนด จัดท�ำองค์ประกอบความรู้ความช�ำนาญของ กรรมการ (Skills Matrix) รวมถึงก�ำหนดหลักเกณฑ์และ วิธกี ารสรรหาคัดเลือกบุคคลเพือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ กลุ ่ มบริ ษัท กรรมการชุ ดย่ อยกลุ่ มบริ ษัท กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ผูบ้ ริหารสูงสุดบริษทั ในเครือ ตลอดจน ก�ำกับดูแลให้บริษัทจัดปฐมนิเทศกรรมการใหม่ จัดท�ำ และทบทวนแผนการพัฒนากรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และผูบ้ ริหารระดับสูง รวมทัง้ แผนการสืบทอดต�ำแหน่งงาน 2) การประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัท โดยพิจารณา เกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีของบริษทั ให้สอดคล้องกับนโยบายและภารกิจที่คณะกรรมการ บริ ษั ท ได้ ม อบหมาย พร้ อ มทั้ ง ติ ด ตามประเมิ น ผล การด�ำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินผล เสนอแนะ แนวทางและมาตรการในการปรั บปรุ ง ประสิ ท ธิภาพ การด�ำเนินงาน รวมทัง้ พิจารณาเกณฑ์การประเมินผลงาน ของกรรมการบริษัทและกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ 3) การพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน โดยก� ำ หนดรู ป แบบและ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย รวมทั้ ง เปิ ด เผยนโยบาย และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน ตลอดจนรายงาน ผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ สามารถ ดูรายละเอียดจากกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนได้ในเว็บไซต์ของบริษัท อนึ่ง บริษัทได้รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีไว้ใน รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน แล้ว


รายงานประจ�ำปี 2561

64

รายชื่อคณะกรรมการชุดย่อย และสรุปการเข้าประชุม ปี 2561 จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม / จ�ำนวนครั้งการประชุม ชื่อ-นามสกุล

1. พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ1 2. นายสุรชัย ขันอาสา 3. นางธัชดา จิตมหาวงศ์2 4. นางอัศวินี ไตลังคะ3 5. นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์4 6. พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี 7. นายกฤษฎา ศังขมณี5 8. นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า6 9. นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง

คณะ กรรมการ ตรวจสอบ

คณะ กรรมการ การลงทุน

คณะ กรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

19/19 - 19/19 12/13 - - - - -

- 11/11 - - 9/11 - 2/5 6/7 11/11

- - - 3/3 - - 3/3 - 4/5

คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ ธรรมาภิบาล สรรหาและ และพัฒนา พิจารณา เพื่อความ ค่าตอบแทน ยั่งยืน 12/12 - 11/11 - - 10/12 - - -

2/2 7/8 6/7 5/8 1/1 -

หมายเหตุ 1 พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2561 2 นางธัชดา จิตมหาวงศ์ เป็นกรรมการบริษัทที่ออกตามวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560 และได้รับการแต่งตั้งกลับเข้ามา ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและพัฒนาเพื่อความยั่งยืน 3 นางอัศวินี ไตลังคะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2561 และได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2561 4 นายโอฬาร วงศ์สรุ พิเชษฐ์ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม 2560 และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 5 นายกฤษฎา ศังขมณี ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2561 และ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการการลงทุน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2561 6 นายเวอร์จิลิโอ จูเนียร์ เซอร์แวนเทส ริเวร่า ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 และได้รับการแต่งตั้ง เป็น กรรมการการลงทุน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2561


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การสรรหาและการแต่ ง ตั้ ง กรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง สุ ด ในการแต่งตั้งกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ มีหน้าที่ พิจารณาคุณสมบัติบุคคลที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการ ของกลุ่มบริษัท รวมทั้งบุคคลตามที่เสนอโดยผู้ถือหุ้น เพื่อให้ เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะธุรกิจของบริษัท รวมถึงพิจารณา ความหลากหลายด้านทักษะ ความรู้ ความช�ำนาญ และให้เป็น ไปตามหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนด จัดท�ำตาราง องค์ประกอบความรู้ และความช�ำนาญของกรรมการ (Skills Matrix) นอกจากนี้ มีหน้าที่พิจารณาทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติของ กรรมการอิ ส ระ ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนิ ย ามกรรมการอิ ส ระ โดยสอดคล้ อ งตามประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น ที่ ทจ.39/2559 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอ ขายหุ้นที่ออกใหม่ หลักเกณฑ์และวิธกี ารสรรหาบุคคลทีจ่ ะแต่งตัง้ เป็นกรรมการ ดังนี้ 1) บริ ษั ท เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถเสนอชื่ อ บุ ค คล เป็นกรรมการบริษัท เพื่อน�ำเสนอการเลือกตั้งในการ ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าระหว่างเดือนตุลาคม ถึงธันวาคมของทุกปี และผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิอย่าง เท่าเทียมกันที่จะเสนอชื่อบุคคลเป็นกรรมการบริษัท ในการประชุมผู้ถือหุ้น 2) คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน จะพิจารณากลัน่ กรองรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม และจากทีผ่ ถู้ อื หุน้ เสนอ (ถ้ามี) น�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อพิจารณาเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3) คณะกรรมการบริษัทซึ่งไม่รวมกรรมการผู้มีส่วนได้เสีย พิจารณาคุณสมบัตขิ องผูไ้ ด้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการ บริษทั รายบุคคลอย่างละเอียดรอบคอบ และน�ำเสนอชือ่ บุคคลที่เหมาะสมเป็นกรรมการบริษัท แทนกรรมการที่ ครบก�ำหนดออกตามวาระเข้ารับการเลือกตัง้ ในทีป่ ระชุม สามัญผู้ถือหุ้นต่อไป 4) ในการเลือกตั้งกรรมการ ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนน เลือกกรรมการเป็นรายบุคคลและผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเลือกตัง้ บุคคลทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการได้ไม่เกินจ�ำนวน กรรมการทีจ่ ะเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ โดยจะแบ่งคะแนนเสียง ไม่ได้ 5) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดตามล�ำดับลงมาเป็นผู้ได้รับ การเลื อ กตั้งเป็น กรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่ จ ะ เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ในล� ำ ดั บ ถั ด ลงมามี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั น อั น จะท� ำ ให้ เกินจ�ำนวนกรรมการที่จะเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ประธาน ในที่ประชุมลงคะแนนเสียงอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด เพื่อให้ได้จ�ำนวนกรรมการที่จะเลือกตั้งในครั้งนั้น 6) กรณี ก รรมการลาออกหรื อ ต�ำ แหน่ ง กรรมการว่ า งลง เพราะเหตุอื่น คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน จะสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อ

65

น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งในที่ประชุมคณะ กรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ โดยมีมติไม่นอ้ ยกว่า สามในสี่ของจ�ำนวนกรรมการที่เหลืออยู่ การสรรหาผู้บริหารระดับสูงสุด บริษัทได้มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ โดยบริษัทได้สรรหาและแต่งตั้งผู้ที่จะเข้ามา ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงสุดทั้งจากภายในและภายนอก องค์กร หากมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์จึงน�ำเสนอยังคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเพื่อพิจารณากลั่นกรองและ เห็นชอบคุณสมบัติเบื้องต้น ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติ นอกจากนี้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ยังมีหน้าทีใ่ นการสรรหาผูบ้ ริหารสูงสุดของบริษทั ในเครือ โดยจะ พิจารณาจากผู้บริหารของบริษัทซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ อันเป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงานของบริษทั และบริษทั ในเครือ เพื่อน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่ง การปฐมนิเทศกรรมการ บริษัทจัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการที่เข้ารับต�ำแหน่งใหม่ เพื่อให้รับทราบลักษณะธุรกิจและแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัท ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง อาทิ โครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา และโครงการ ก่อสร้างทีส่ ำ� คัญของบริษทั ตลอดจนแนวปฏิบตั ใิ นการก�ำกับดูแล กิจการ กฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นประโยชน์ ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ โดยมีกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ เป็นผู้บรรยายสรุปข้อมูล ดังกล่าว เลขานุการบริษัทได้จัดเตรียมเอกสารส�ำคัญซึ่งประกอบด้วย ข้อบังคับบริษัท ระเบียบบริษัท หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ด ี ของกลุม่ บริษทั กฎบัตรคณะกรรมการชุดย่อย ก�ำหนดวันประชุม ล่วงหน้าตลอดทั้งปี รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ที่ผ่านมา รายงานประจ�ำปี เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที ่ ของกรรมการอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทยังได้ จัดให้กรรมการเข้าเยีย่ มชมศูนย์ปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง อ่างเก็บน�้ำ สถานีสูบต่างๆ รวมทั้งโครงการที่อยู่ในระหว่าง ก่อสร้าง การพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการ บริษัทมีนโยบายสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทเข้าร่วม ฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้กรรมการ สามารถท�ำหน้าที่และก�ำกับดูแลบริษัทได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการก�ำกับดูแลกิจการ การบริหารความเสี่ยง การ ควบคุมภายใน เทคโนโลยีด้านน�้ำ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็ น ต้ น โดยสนั บ สนุ น ให้ ก รรมการได้ ศึ ก ษาหลั ก สู ต รที่ เ ป็ น ประโยชน์ ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และสถาบันที่มีชื่อเสียงอื่นๆ รวมถึงการจัดให้ผู้เชี่ยวชาญ มาบรรยายเรื่องหลัก CG Code 2017 และกฎหมายใหม่ที่เป็น


รายงานประจ�ำปี 2561

ประโยชน์สำ� หรับธุรกิจอีกด้วย กรรมการส่วนใหญ่ได้รบั การอบรม หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ของสถาบัน รายชื่อกรรมการ

66

IOD แล้ว ในปี 2561 มีกรรมการที่เข้าร่วมอบรมและสัมมนา เพิ่มเติมในหลักสูตรต่างๆ ดังนี้

หลักสูตรอบรม/สัมมนา

สถาบัน

นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล นายอมร เลาหมนตรี พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี นายกฤษฎา ศังขมณี Lunch Talk “New CG Code & New Law” บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด นางอัศวินี ไตลังคะ นายโอฬาร วงศ์สุรพิเชษฐ์ นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ ประชุมเชิงวิชาการ New Era of บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด Governance & Internal Controls Lunch Talk “New CG Code & New Law” นายสุรชัย ขันอาสา

IT Governance and Cyber Resilience สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) Program (ITG) 8/2018 Lunch Talk “New CG Code & New Law” บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

IT Governance and Cyber Resilience Program (ITG) 7/2018 Boards That Make a Difference (BMD) 6/2018 ประชุมเชิงวิชาการ New Era of Governance & Internal Controls

การก� ำ กั บ ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยและ บริ ษั ท ร่ ว ม คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ลไกในการก� ำ กั บ ดู แ ลที่ ท� ำ ให้ สามารถควบคุมดูแลการจัดการและรับผิดชอบการด�ำเนินงาน ของบริ ษั ท ย่ อ ย เพื่ อ ดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน์ ใ นเงิ น ลงทุ น ของบริษัท โดยการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงของบริษัทไปเป็น กรรมการหรือผู้บริหารในบริษัทย่อย เพื่อร่วมบริหารจัดการ ทั้ ง ในระดั บ นโยบายและระดับ ปฏิบัติก าร ทั้งนี้ การแต่ ง ตั้ ง ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทดังกล่าวจะต้องได้รับมติเห็นชอบ จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท บริษัทก�ำหนดนโยบายการบริหารงานบริษัทย่อยไว้ สรุป รายละเอียดได้ดังนี้ (1) นโยบายการลงทุน 1) บริ ษั ท ย่ อ ยต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ โดยถือประโยชน์ของบริษัท และผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึง การลงทุ น ที่ ใ ห้ ผ ลตอบแทนที่ เ หมาะสมและยุ ติ ธ รรม รวมทั้งรักษาสถานภาพทางการเงินให้มีสภาวะมั่นคง เพื่ อ ประโยชน์ ต ่ อ ความคงอยู ่ แ ละความเจริ ญ เติ บ โต เป็นส�ำคัญ

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด

2) เมื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ย่ อ ยได้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ การด�ำเนินธุรกิจแล้ว คณะกรรมการบริษัทย่อยต้องแจ้ง ยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบทุกครั้ง 3) หากบริษทั ย่อยมีการท�ำธุรกิจมีลกั ษณะทีเ่ ข้าข่ายรายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือการได้มา จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ หรือการท�ำรายการส�ำคัญอื่นใด เช่น การอนุมัติการ เพิ่มทุนหรือลดทุน การเลิกบริษัทย่อยเพื่อให้เป็นไป ตามประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ บริษทั ย่อยต้องให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการก่อน ทั้งนี้ การลงทุนหลัก ที่ส�ำคัญจ�ำเป็นต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษทั ย่อย โดยมีผแู้ ทนของบริษทั ร่วมเป็นคณะกรรมการ พิจารณาโครงการดังกล่าว ก่อนจะน�ำเสนอยังคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาต่อไป 4) บริ ษั ท ย่ อ ยต้ อ งรายงานผลการประกอบการและ การด�ำเนินงานของธุรกิจที่ส�ำคัญ พร้อมทั้งวิเคราะห์ ความอ่ อ นไหวทางธุ ร กิ จ และการประเมิ น ผล โดย เปรียบเทียบกับเป้าหมาย รวมถึงแสดงความคิดเห็น หรื อ ข้ อ เสนอแนะแนวทางการบริ ห ารกิ จ การเพื่ อ ใช้ ประกอบการพิ จ ารณาก� ำ หนดนโยบายหรื อ ปรั บ ปรุ ง


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ส่ ง เสริ ม ให้ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ย่ อ ยมี ก ารพั ฒ นาและ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง (2) นโยบายการบริหารงานส่วนกลาง 1) บริษัทจะแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเพื่อร่วม บริ ห ารจั ด การบริ ษั ท ย่ อ ย ทั้ ง ในระดั บ นโยบายและ ระดับปฏิบัติการเพื่อให้บริษัทย่อยมีการบริหารธุรกิจ ที่เป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจหลัก ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในภาพรวมและให้ มี ค วาม เชือ่ มโยงในด้านนโยบายและกลยุทธ์รวมทัง้ สร้างผลก�ำไร ให้กับบริษัทย่อยในอนาคต 2) การควบคุมภายในบริษัทย่อยต้องให้ความส�ำคัญกับ การบริ ห ารความเสี่ ย งและการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการตรวจประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลของ ระบบควบคุม ภายในของฝ่ายตรวจสอบให้ ทั น ท่ ว งที และหมัน่ ทบทวนระบบการท�ำงานเพือ่ ควบคุมความเสีย่ ง ให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ นอกจากนั้ น การก� ำ หนด ระเบียบพนักงานและระเบียบการจัดหาพัสดุตอ้ งด�ำเนินการ ให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว คล่องตัวและมีมาตรฐาน เดียวกันในการปฏิบัติงานตามระเบียบดังกล่าว โดย พิจารณาวงเงินการบริหารงานบุคคลและสวัสดิสงเคราะห์ พนักงานให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทที่ก�ำหนดไว้ ในคู่มือพนักงาน โดยให้สอดคล้องและเป็นอัตราส่วนกับ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย

67

2.3 จัดให้มกี ารติดตามและประเมินผลการใช้งบประมาณ ทั้งด้านลงทุนและด�ำเนินการอย่างเหมาะสม 3) ด้านการบัญชี 3.1 การจัดท�ำบัญชีต้องเป็นไปตามนโยบายการบัญชี ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย และภายใต้กฎเกณฑ์การเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลท. 3.2 การส่งงบการเงิน ให้บริษัทท�ำงบการเงินรวม ต้อง ผ่านการสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของกลุ่มบริษัท ที่ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ตามที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการบริษัทและผ่านการอนุมัติโดยมติ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีแล้ว 3.3 การส่งงบการเงินให้บริษัทท�ำงบการเงินรวมต้อง ด�ำเนินการตามระยะเวลาที่ฝ่ายการเงินและบัญชี ของบริษทั แจ้งให้บริษทั ย่อยทราบในแต่ละไตรมาส 3.4 การจั ด ท� ำ บั ญ ชี ข องบริ ษั ท ย่ อ ยต้ อ งใช้ ผั ง บั ญ ชี ในระบบบัญชีแยกประเภทและ Software บัญชี ระบบเดียวกับของบริษัท 4) ด้านการภาษี 4.1 การจัดท�ำและน�ำส่งภาษีให้เป็นไปตามกฎหมาย 4.2 ในกรณีที่มีประเด็นความเสี่ยงทางภาษีที่มีสาระ ส�ำคัญให้บริษัทย่อยแจ้งข้อมูลให้ฝ่ายการเงินและ บัญชีของบริษทั ทราบโดยทันทีในกรณีเร่งด่วนและ มีการสรุปรายงานความคืบหน้าของการด�ำเนินการ ที่เกี่ยวข้องเป็นประจ�ำรายไตรมาส 4.3 บริษัทมีการวางแผนภาษี โดยมีฝ่ายการเงินและ บัญชีรับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้บริษัทช�ำระภาษี ให้ถกู ต้องครบถ้วนตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด และคอย ติดตามกฎหมายใหม่ทเี่ กีย่ วข้องกับภาษีอย่างต่อเนือ่ ง

(3) นโยบายทางการเงินและบัญชีต่อบริษัทย่อย 1) ด้านการจัดการและบริหารการเงิน 1.1 การจัดหาแหล่งเงินกู้ บริษัทย่อยต้องแจ้งข้อมูล ความต้ อ งการเงิ น กู ้ โดยแสดงที่ ม าของความ ต้องการในรูปโครงการเงินลงทุนให้ฝา่ ยการเงินและ บัญชีของบริษัททราบล่วงหน้าอย่างน้อย 6 เดือน ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ไม่ มี ข ้ อ ตกลงระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อื่ น ก่อนการเริ่มด�ำเนินการโครงการลงทุนนั้นๆ เพื่อ (Shareholders’ Agreement) ในการบริหารจัดการบริษทั ย่อย ประโยชน์ในการพิจารณาทางเลือกแหล่งเงินกู้ และบริษัทไม่มีการประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น ที่มีข้อเสนอที่เหมาะสม (Holding Company) 1.2 การประกาศจ่ายปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของ ก�ำไรสุทธิในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี เว้นแต่มี การดู แ ลเรื่ อ งการใช้ ข ้ อ มู ล ภายใน เหตุผลอันสมควรที่จะต้องน�ำเงินสดจากส่วนของ บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การใช้ ข ้ อ มู ล ภายใน เงินปันผลไปใช้แทน โดยระบุ ไ ว้ ใ นหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท 1.3 การด�ำรงอัตราส่วนทางการเงินทีส่ ำ� คัญตามเงือ่ นไข เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน สัญญากู้ยืมเงินจะต้องด�ำเนินการอย่างเคร่งครัด สรุปรายละเอียดได้ดังนี้ และแจ้งข้อมูลให้ฝ่ายการเงินและบัญชีของบริษัท ทราบเป็นรายเดือน (1) นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน 2) ด้านการงบประมาณ ห้ามผู้บริหาร พนักงานประจ�ำของบริษัท รวมทั้งคู่สมรส 2.1 การท� ำ งบประมาณลงทุ น และด� ำ เนิ น การต้ อ ง และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะของบุคคลดังกล่าวน�ำข้อมูลภายใน เป็นไปตามระเบียบงบประมาณของแต่ละบริษัท ของบริษัทที่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ที่สอดคล้องกับระเบียบงบประมาณของบริษัท ไปใช้ประโยชน์ในการซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อเก็งก�ำไร หรือสร้าง 2.2 การจัดท�ำและทบทวนงบประมาณต้องด�ำเนินการ ความได้เปรียบให้กับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึง่ ตามกรอบเวลาและจัดส่งข้อมูลให้สอดคล้องกับการ ด�ำเนินการของบริษัท


รายงานประจ�ำปี 2561

(2) นโยบายเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานประจ� ำ ของบริ ษั ท รวมทั้ ง คู ่ ส มรส และบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะของบุ ค คลดั ง กล่ า ว งดการ ซื้อ ขาย หรือโอนหุ้นบริษัท ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการ เปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลท. และในช่วงระยะเวลา 3 วัน หลังการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลท. เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและ ผูล้ งทุนได้มรี ะยะเวลาทีเ่ พียงพอในการเข้าถึงและท�ำความเข้าใจ ในสาระส�ำคัญของข้อมูลข่าวสารของบริษัท หรืองบการเงิน ที่เปิดเผยได้ต่อ ตลท. เสร็จสิ้นแล้ว กรรมการและผู้บริหารระดับสูงต้องแจ้งต่อคณะกรรมการ หรือผู้ท่ีคณะกรรมการมอบหมายเกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นของ บริษัทอย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อนการซื้อขาย กรรมการต้องเปิดเผยรายงานการซื้อ-ขายหุ้นของบริษัท ให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัททราบทุกครั้ง (3) นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท ผู ้ ที่ ไ ด้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ ฝ่ า ยบริ ห าร พนั ก งาน ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสมทบ พนั ก งานผู ้ รั บ จ้ า งของกลุ ่ ม บริ ษั ท หรื อ

68

บริษัทย่อย มีหน้าที่ต้องยอมรับพันธะผูกพันตามกฎหมายและ จรรยาบรรณที่ต้องไม่เปิดเผยข้อมูลและเอกสารที่เป็นความลับ หรือความลับทางการค้านั้นๆ ค่ า ตอบแทนของผู ้ ส อบบั ญ ชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ ผู้สอบบัญชีของบริษัทและบริษัทย่อย ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา เป็นจ�ำนวนเงินรวม 3,292,000บาท โดยมีค่าตอบแทนเฉพาะ บริษัท 1,200,000 บาท และบริษัทจ่ายค่าใช้จ่ายอื่น (Out of package expense) ให้แก่ผสู้ อบบัญชีของบริษทั และบริษทั ย่อย ไม่เกินร้อยละ 2 ของค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี 2. ค่าบริการอื่น (non-audit fee) บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ซึง่ ได้แก่ ค่าทีป่ รึกษาพัฒนาองค์กรเป็นจ�ำนวนเงิน 4,400,000 บาท


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ น เรื่ อ งอื่ น ๆ ในปี 2561 บริษัทได้จัดกิจกรรมและเข้าร่วมสัมมนาและ กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ตระหนักถึงความส�ำคัญของ การก�ำกับดูแลกิจการและการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันภายใน องค์กร ดังนี้ - เมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2561 บริษทั จัดอบรมให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทเข้าร่วมฟังค�ำบรรยาย เรื่อง New CG Code 2017 and New Laws โดย ที่ปรึกษา บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด - เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2561 พนักงานเข้าร่วมงานเสวนา วิชาการเนือ่ งในวันต่อต้านคอร์รปั ชัน 2561 ภายใต้หวั ข้อ “คนไทย ตืน่ รูส้ โู้ กง” ซึง่ จัดโดยองค์กรต่อต้านคอร์รปั ชัน (ประเทศไทย) - เมือ่ วันที่ 8 ตุลาคม 2561 บริษทั จัดงานกิจกรรมครบรอบ 26 ปี อีสท์ วอเตอร์ และกิจกรรม CG Day โดยมี คุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานคณะกรรมการบริษัท ร่วมบรรยายในหัวข้อ “EWG กับการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท - เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2561 บริษัทจัดอบรมให้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทเข้าร่วมฟัง ค�ำบรรยายหัวข้อ “การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน” โดย ดร.มานะ นิ มิ ต รมงคล เลขาธิ ก ารองค์ ก รต่ อ ต้ า น คอร์รัปชัน (ประเทศไทย) นอกจากนี้ เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้ประกาศใช้ “หลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท” และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ โดยได้ปรับปรุงให้ทนั สมัย และเหมาะสมกับหลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ปี 2560 เพื่อเป็น มาตรฐานในการประพฤติปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษัททุกท่านลงนามรับคู่มือหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั และส�ำหรับพนักงานกลุม่ บริษทั ได้จดั ให้มโี ครงการส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจด้านหลักธรรมาภิบาลให้แก่ พนักงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้พนักงานใหม่จะได้รับความรู้ ดังกล่าวในการปฐมนิเทศ และการจัดท�ำแบบทดสอบไปพร้อมกับ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทได้เผยแพร่เอกสาร ดังกล่าวข้างต้นไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั www.eastwater.com

69

การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น เมือ่ วันที่ 3 เมษายน 2558 บริษทั ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition: CAC) ซึง่ เป็นโครงการทีจ่ ดั ขึน้ โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และได้รับการ สนับสนุนจากรัฐบาลและส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และในปี 2561 บริษทั ได้ รั บ การต่ อ อายุ ก ารรั บ รองเป็ น สมาชิ ก CAC แล้ ว ตามมติ คณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติฯ ซึ่งได้พิจารณาให้การรับรอง ในไตรมาสที่ 3/2561 เมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561 ใบรับรอง ดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี นับจากวันทีม่ มี ติให้การรับรอง ตั้งแต่ปี 2557 บริษัทประกาศใช้นโยบายต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันภายในองค์กร โดยก�ำหนดให้นโยบายต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันของบริษทั เป็นส่วนหนึง่ ของหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี ซึ่งมีผลใช้กับทั้งกลุ่มบริษัท เพื่อให้กลุ่มบริษัทมีมาตรฐาน และแนวทางการบริหารจัดการเป็นไปในแนวทางเดียวกัน และ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 คณะกรรมการบริษัทได้เห็นชอบ การทบทวนนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปัองกันและ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 รวมถึงแนวทางการประเมิน ของโครงการ CAC และรองรับการต่ออายุการรับรองการเป็น สมาชิกของโครงการด้วย นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันของบริษัท ก�ำหนดให้ บุคลากรของกลุ่มบริษัทต้องไม่ด�ำเนินการหรือเข้าไปมีส่วนร่วม ในการคอร์รัปชัน การให้/รับสินบนทุกรูปแบบทั้งทางตรงและ ทางอ้ อ ม โดยบุ ค ลากรของกลุ ่ ม บริ ษั ท ต้ อ งด� ำ เนิ น การตาม แนวปฏิบตั ใิ นนโยบาย ซึง่ ครอบคลุมกระบวนการด�ำเนินงานต่างๆ เช่ น การช่ ว ยเหลื อ ทางการเมื อ ง การบริ จ าคเพื่ อ การกุ ศ ล กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบการควบคุมภายใน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทประกาศ นโยบายการงดให้-รับของขวัญของก�ำนัล มาตั้งแต่ปี 2559 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็นการสร้างมาตรฐานที่ดีในการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรภายในกลุม่ บริษทั โดยมุง่ หวังให้บคุ ลากร ทุกระดับปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถ โดยไม่หวัง ผลประโยชน์ตอบแทน และได้ประชาสัมพันธ์ให้บุคคลภายนอก อาทิ ผู้ค้า ผู้เช่าอาคาร ทราบนโยบายดังกล่าวด้วย ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดแนวทางในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ที่ เหมาะสมเกี่ยวกับเรื่องการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กรของ คณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานของบริษทั ไว้ในนโยบาย ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กร และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจกลุ่มบริษัท โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบให้มกี ารสอบทานการปฏิบตั ติ ามนโยบายอย่างสม�่ำเสมอ สามารถดูได้ที่ www.eastwater.com หน้านักลงทุนสัมพันธ์


รายงานประจ�ำปี 2561

กิ จ ก ร ร ม

ต่อต้าน การทุจริต คอร์รัปชัน

70


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

71

ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม บริษัทมุ่งมั่นเป็นผู้น�ำในการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการน�้ำบนพื้นฐานการใช้ ทรัพยากรน�้ำร่วมกับชุมชน และรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านกระบวนการด�ำเนินงาน ที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยก�ำหนดหลักการตลอดจน แนวปฏิบตั ดิ า้ นความรับผิดชอบต่อสังคมตามนโยบายการบริหาร จัดการเพื่อความยั่งยืนของบริษัท นอกจากการด�ำเนินธุรกิจด้วยหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีแล้ว บริษัทได้ใส่ใจ ห่วงใยชุมชนในพื้นที่ประกอบกิจการ โดยร่วมกับชุมชนพัฒนาคุณภาพชีวิต น�ำไปสู่การเจริญเติบโต ของสังคมอย่างยัง่ ยืน ประกอบด้วย 3 ด้าน ดังนี้ 1) การส่งเสริม สาธารณูปโภคด้านน�้ำ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2) การส่งเสริม คุณภาพชีวิตชุมชน 3) การส่งเสริมการเรียนรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ กับผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ได้แก่ การบริจาคโลหิต กิจกรรมทางศาสนา เป็นต้น

ทั้งนี้ บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลการด�ำเนินงานใน 3 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านสิ่งแวดล้อม 2) ด้านสังคม และ 3) ด้านบรรษัทภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG) ผ่านรายงาน ความยั่งยืนประจ�ำปี 2561 โดยรายงานตามกรอบการรายงาน สากลขององค์ ก ารแห่ ง ความริ เ ริ่ ม ว่ า ด้ ว ยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative: GRI) พร้อมเปิดเผยข้อมูล ในประเด็นการวิเคราะห์และคัดเลือกประเด็นส�ำคัญขององค์กร (Material Aspects) และประเด็นการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย ขององค์กร (Stakeholders Analysis) ตลอดจนการเชื่อมโยง ความสนใจและคาดหวังของกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย และรายงานการ ด�ำเนินงานทีค่ รอบคลุมประเด็นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เห็นถึงแนวทางในการพัฒนาธุรกิจของบริษทั สูค่ วามยัง่ ยืน ในอนาคต ส�ำหรับรายละเอียดปรากฏในรายงานความยั่งยืน ของบริษัท ซึ่งเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ www.eastwater.com


รายงานประจ�ำปี 2561

72

การควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง การประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายในประจ� ำ ปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบการรายงานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในโดยฝ่ายบริหารซึ่งได้ประเมินระบบการ ควบคุมภายในของบริษัททั้ง 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การควบคุม ภายในองค์กร การประเมินความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ าน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยมีรายละเอียดดังนี้ การควบคุ ม ภายในองค์ ก ร (Control Environment) คณะกรรมการบริษทั และฝ่ายบริหารมีการทบทวน ปรับปรุง และประกาศใช้ “หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)” ฉบับปัจจุบันให้สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบั บ ปี 2560 รวมทั้ ง “จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ กลุ ่ ม บริ ษั ท อีสท์ วอเตอร์ (Code of Conduct )” ให้สอดคล้องกับนโยบาย ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ภายในองค์กร ตามแนวทางโครงการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต ซึ่งเป็น นโยบายและวินยั อย่างหนึง่ ทีพ่ นักงานของกลุม่ บริษทั ต้องรับทราบ และท�ำความเข้าใจและปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบาย และ จรรยาบรรณต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ ทีค่ รอบคลุมถึงการปฏิบตั หิ น้าที่ ประจ�ำวัน และการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ รวมทั้งการปฏิบัติต่อ คูค่ า้ ลูกค้า และบุคคลภายนอก โดยข้อบังคับเกีย่ วกับการท�ำงาน ก�ำหนดว่า “จรรยาบรรณทางธุรกิจกลุ่มบริษัท ถือเป็นส่วนหนึ่ง ของข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน การละเมิดจรรยาบรรณถือว่า เป็นความผิดทางวินยั จะต้องได้รบั การพิจารณาโทษทางวินยั ตาม ระเบียบหรือข้อบังคับที่บริษัทก�ำหนด และหากการกระท�ำนั้น ผิ ด กฎหมายให้ ด� ำ เนิ น การตามกฎหมายด้ ว ย” บริ ษั ท มี ก าร บรรยายเพื่อชี้แจงและท�ำความเข้าใจข้อก�ำหนดและบทลงโทษ ให้แก่ฝ่ายบริหารและพนักงานทุกคนได้รับทราบ โดยส่งมอบ Code of Conduct ให้แก่พนักงานทุกคน และบรรจุไว้ใน หลักสูตรการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อให้ทุกคนยึดถือเป็น หลักปฏิบัติในการด�ำเนินงานอย่างเคร่งครัด รวมทั้งจัดให้มี การทดสอบความรู้ความเข้าใจของพนักงานเรื่อง การก�ำกับดูแล กิจการที่ดีและนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันเป็นประจ�ำ ทุ ก ปี ตลอดจนจั ด ให้มีก ารสื่อสารไว้ในระบบสื่อสารภายใน (Internal Web) และสื่อสารภายนอกทางเว็บไซต์บริษัท บริษัทได้ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัทและฝ่ายบริหาร แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน คณะกรรมการ บริษัทจะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในภาระหน้าที่ของฝ่ายบริหาร เพื่อ

สร้างดุลยภาพระหว่างการบริหารและการก�ำกับดูแลกิจการ รวมทัง้ มีการติดตามการบริหารงานเพือ่ ให้มนั่ ใจว่า นโยบาย และ กระบวนการที่ เ หมาะสมได้ น� ำ มาใช้ ใ นทางปฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยคณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมเพื่อมาด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บริหารระดับสูงและแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ ซึ่งจะต้อง ด�ำเนินการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน�้ ำ ภาคตะวั น ออกและตามที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด และมีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์ระยะ 3 ปี และแผน ปฏิบตั กิ ารประจ�ำปี โดยฝ่ายบริหารจัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารประจ�ำปี (Action Plan) ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนดไว้ใน แผนระยะยาวเพือ่ น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ มี่ ี วัตถุประสงค์ งบประมาณ ปัจจัยความเสี่ยง กิจกรรมหลักที่จะด�ำเนินการในแต่ละช่วงเวลา ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับที่สามารถวัดได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายโดยรวม บริษัทมีโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการบรรลุ วัตถุประสงค์ของบริษัท และให้การควบคุมภายในเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทัง้ ในสายงาน ปฏิบตั งิ านหลักและสายงานสนับสนุน จัดตัง้ หน่วยงานตรวจสอบ ภายในเป็นหน่วยงานระดับฝ่ายทีข่ นึ้ ตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ จัดตั้งคณะท�ำงานบริหาร (Executive Committee) เพื่อการ พิจารณาเรือ่ งส�ำคัญๆ ร่วมกันก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั และเพื่อติดตามความก้าวหน้างานโดยมีการประชุมเป็นประจ�ำ ทุกเดือน รวมทั้งมุ่งเน้นให้มีกลไกการถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่าง คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น ตลอดจนจัดให้มี การสื่อสารกับผู้ลงทุนเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารข้อมูลต่างๆ ของ บริษัทให้สาธารณชนได้ทราบอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้บริษัทได้ค�ำนึงถึงความมุ่งมั่นในการจูงใจ พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ จึงได้จัดให้มีแผน พัฒนาพนักงานรายบุคคล (IDP) และน�ำแบบประเมิน 360 องศา มาใช้ ใ นการพั ฒ นาพนั ก งาน รวมทั้ ง มี น โยบายการบริ ห าร สายอาชีพ และแผนทดแทนต�ำแหน่งงานเพื่อเตรียมความพร้อม การทดแทนพนักงานโดยเฉพาะระดับบริหารในกลุ่มธุรกิจหลัก มีการจัดท�ำเกณฑ์การพัฒนาและประเมินผลงานของบุคลากร ที่มีศักยภาพสูง (Talent) เพื่อใช้ในการสืบทอดต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ เพื่อให้การด�ำเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างต่อเนื่องและบรรลุ วิสัยทัศน์ขององค์กร รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผู้บริหารและพนักงานทุกระดับว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดผลการ ด�ำเนินงานที่บริษัทก�ำหนด


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การประเมิ น ความเสี่ ย ง (Risk Assessment) คณะกรรมการตรวจสอบท�ำหน้าทีส่ อบทานรายงานทางการเงิน ร่วมกับผู้สอบบัญชีและฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อพิจารณา ถึงความถูกต้องและสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปรวมถึงความเพียงพอในด้านการเปิดเผยข้อมูล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ท�ำหน้าที่พิจารณากลั่น กรองแผนการบริหารความเสี่ยงของบริษัท ตลอดจนก�ำกับดูแล ประเมินผลการบริหารความเสี่ยงเป็นรายไตรมาสตามกฎบัตร และคูม่ อื การบริหารความเสีย่ งก�ำหนดไว้ และส่งเสริมให้ผบู้ ริหาร และพนักงานทุกคนได้มีส่วนร่วมในการบริหารความเสี่ยงที่ตน เกีย่ วข้องผ่านการระบุความเสีย่ งไว้ในแผนปฏิบตั กิ าร การประชุม เชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่ บ่งชีค้ วามเสีย่ ง การวิเคราะห์ปจั จัยความเสีย่ ง มาตรการควบคุมทีม่ ใี นปัจจุบนั ก�ำหนดมาตรการควบคุมเพิม่ เติม ตามความเหมาะสมและจ�ำเป็นในการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ แผนก บริหารความเสีย่ ง ฝ่ายกลยุทธ์องค์กรเป็นผูม้ หี น้าทีร่ วบรวมข้อมูล ทั้ ง หมดและสื่ อ สารให้ พ นั ก งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก คนรั บ ทราบ พร้อมทั้งมีการติดตามผลการบริหารความเสี่ยง เพื่อรายงานยัง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการบริษัท เป็น ประจ�ำทุกไตรมาส เพื่อพิจารณาและให้ค�ำวินิจฉัยอันจะส่งผลให้ กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท มี ค วามต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ใ นการวางแผนการตรวจสอบภายในประจ� ำ ปี ฝ่ายตรวจสอบได้ประเมินการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญๆ ที่อาจมีผล กระทบต่อความเสีย่ งและระบบการควบคุมภายใน เพือ่ พิจารณา ขอบเขตการตรวจสอบด้วย บริ ษั ท ได้ สื่ อ สารนโยบายและแนวปฏิ บั ติ ใ นการบริ ห าร ความเสี่ยงให้พนักงานทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติเพื่อให้เป็น ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมขององค์กรว่า ทุกคนมีส่วนร่วมดูแล องค์กรร่วมกันผ่านกระบวนการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ข้าใจตรงกัน นอกจากนั้นบริษัทได้มีการจัดท�ำแผนบริหารความต่อเนื่องทาง ธุรกิจ (Business Continuities Plan: BCP) และมีการซักซ้อม แผนประจ�ำทุกปี เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่า บริษัทจะสามารถ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและไม่ ห ยุ ด ชะงั ก หากเกิ ด ภาวะฉุกเฉิน การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง าน (Control Activities) บริษัทประกาศใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติต่างๆ ได้แก่ ด้าน การจัดซือ้ จัดจ้าง ด้านการงบประมาณการบัญชีและการเงิน ด้าน การลงทุนและบริหารโครงการ ด้านการบริหารสัญญา และด้าน อ�ำนาจด�ำเนินการภายในองค์กร เป็นต้น ทีส่ อดคล้องกับหลักการ ควบคุมภายในที่ดีรวมทั้งจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่งาน และ การสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่การอนุมัติ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และการดูแลจัดเก็บ ทรัพย์สนิ ออกจากกัน นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้รบั การรับรองระบบ มาตรฐานคุณภาพ ISO 9001:2015 และ ISO 14001:2015 ซึ่ง ก�ำหนดให้บริษทั ต้องจัดท�ำคูม่ อื และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ เพือ่ เป็น มาตรฐานอ้ า งอิ ง ในการปฏิ บั ติ ง าน รวมถึ ง การจั ด ฝึ ก อบรม พนั ก งานให้ เ ข้ า ใจ และสามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติงานที่บริษัทก�ำหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อย รวมถึง ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติอย่าง

73

ถูกต้อง หากมีรายการระหว่างกันที่มีนัยส�ำคัญฝ่ายตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร และผูส้ อบบัญชีจะด�ำเนินการ พิจารณาอย่างรอบคอบและด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานให้ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ทราบ อีกทั้งในการออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับ รายการเกี่ยวโยง กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะงดออกเสียงในมติ ดังกล่าว นอกจากนี้ บริษทั ยังได้กำ� หนดแนวปฏิบตั เิ รือ่ งความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจ โดยก�ำหนดให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ จะต้องหลีกเลี่ยงการ เข้าไปมีส่วนได้เสียหรือเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการในลักษณะที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทมีการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยอย่าง ต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ โดยมอบหมายบุคคลให้ไปเป็นกรรมการ หรือผูบ้ ริหารในบริษทั ย่อยเพือ่ ประสานนโยบายให้ทกุ บริษทั มีทศิ ทาง การด�ำเนินงานที่สอดคล้องเป็นทิศทางเดียวกับนโยบายของ คณะกรรมการบริษัทและให้มีการรายงานความก้าวหน้าผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยแต่ละแห่งต่อคณะกรรมการบริษทั ทราบ นอกจากนั้นบริษัทมอบหมายให้เลขานุการบริษัทดูแลงาน ด้านกฎหมาย รวมถึงงานก�ำกับดูแลกิจการ เพือ่ ก�ำกับดูแลให้การ ด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของ บริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารข้ อ มู ล (Information & Communication) บริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ข ้ อ มู ล ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งเพี ย งพอและน� ำ ส่ ง ล่วงหน้าผ่านอุปกรณ์สอื่ สารหลายรูปแบบ เพือ่ ให้คณะกรรมการ บริษัทใช้ประกอบการตัดสินใจก่อนการประชุมคณะกรรมการ ทั้ ง นี้ ใ นการประชุ ม มี ก ารก� ำ หนดให้ ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ เข้าประชุมเพื่อน�ำเสนอรายละเอียดและตอบข้อซักถามของ คณะกรรมการ บริษัทจัดให้มีกระบวนการสื่อสารข้อมูลกับผู้มีส่วนได้เสีย ภายนอกองค์กร ผ่านเว็บไซต์บริษัท (www.eastwater.com) หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (ผู้ถือหุ้น นักลงทุน) หน่วยงานลูกค้า สัมพันธ์ (ลูกค้า) ฝ่ายสื่อสารองค์กร (สื่อมวลชน ชุมชน) ส�ำนัก เลขานุการบริษทั (หน่วยงานก�ำกับดูแล) หน่วยงานรัฐกิจสัมพันธ์ (หน่วยงานราชการ) รวมทั้งมีช่องทางการสื่อสารพิเศษเพื่อให้ พนักงานและหน่วยงานภายนอกสามารถแจ้งข้อมูล ร้องเรียน หรื อ แจ้ ง ข้ อ มู ล -เบาะแสเกี่ ย วกั บ การฉ้ อ ฉลหรื อ ทุ จ ริ ต (whistle-blower hotline) แก่บริษัท โดยผ่านทาง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : CEO@eastwater.com : AC_EW@eastwater.com กล่องรับความคิดเห็น : ฝ่ายทรัพยากรบุคคล จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900


รายงานประจ�ำปี 2561

บริษัทประยุกต์ใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบ ฐานข้อมูลภายในอย่างต่อเนือ่ ง โดยก�ำหนดเป็นนโยบายเกีย่ วกับ การใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารไว้ ใ นหลั ก การ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั เพือ่ ให้พนักงานมีความเข้าใจ การใช้สื่อภายในต่างๆ ภายใต้การควบคุมภายในที่ดี อาทิ การใช้ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต อีเมล และสื่อโทรคมนาคมต่างๆ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร อุปกรณ์รบั สัญญาณระบบวงจรสือ่ สารระหว่าง ส�ำนักงานใหญ่และสาขา เป็นต้น รวมทั้งได้สื่อสารให้บุคลากร ของบริษัทได้เข้าใจถึงการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สารสนเทศ เพื่อไม่ให้เกิดการฝ่าฝืนกฎหมายและเกิดความ เสียหายแก่องค์กร ซึ่งได้แก่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ บริษทั ได้กำ� หนดนโยบายเกีย่ วกับข้อมูลทางธุรกิจ ของบริษัทไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท ซึ่ง ก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหารและพนักงานของกลุม่ บริษทั รวมทัง้ พนักงานของผูร้ บั จ้างของกลุม่ บริษทั ต้องไม่เปิดเผยข้อมูล และเอกสารที่เป็นความลับของบริษัท ระบบการติ ด ตาม (Monitoring Activities) บริษัทก�ำหนดให้มีระบบการติดตามและการรายงานผลการ ด�ำเนินงาน ความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรค ของโครงการตาม แผนกลยุทธ์ตอ่ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาและให้ความเห็นข้อเสนอแนะ โดยมีฝ่ายตรวจสอบ ท�ำหน้าทีต่ ดิ ตามผลการด�ำเนินการดังกล่าวเพือ่ ให้การด�ำเนินการ ของโครงการตามแผนกลยุทธ์ของบริษัทเป็นไปตามเป้าหมายที่ วางไว้ รวมทั้งติดตามการแก้ไขของฝ่ายบริหารตามข้อเสนอแนะ ของฝ่ายตรวจสอบ ทั้งนี้ผลการติดตามการแก้ไขมีการน�ำเสนอ คณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกเดือน และน�ำเสนอ คณะกรรมการบริษัทเป็นประจ�ำทุกไตรมาส บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อการตรวจสอบภายในเพือ่ เพิม่ คุณค่า ต่อองค์กรผ่านกระบวนการตรวจสอบภายในโดยมอบหมายให้ ฝ่ า ยตรวจสอบวางแผนการตรวจสอบโดยใช้ ข ้ อ มู ล จากการ ประเมินความเสี่ยงของกระบวนการภายในบริษัท (Risk Based

74

Audit) ด�ำเนินการสอบทานระบบการควบคุมภายในของทุก กระบวนการท� ำ งาน และรายงานยั ง ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด และ คณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั รวมถึงฝ่ายบริหารสามารถเชื่อมั่นในประสิทธิภาพประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายในของบริษัท รวมถึงความถูกต้อง น่าเชือ่ ถือได้ของข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ทัง้ สารสนเทศทางการเงิน การบัญชี และสารสนเทศทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงาน รวมทัง้ บริษทั ยังได้ รับการรับรองด้านมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพตามมาตรฐาน สากล ISO 9001:2015 และด้านมาตรฐานระบบการจัดการ สิง่ แวดล้อม ISO 14001:2015 จากบริษทั ผูใ้ ห้การรับรองซึง่ มีการ ตรวจติดตามผลการด�ำเนินงาน จากการพิจารณาสาระส�ำคัญของการประเมินความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในข้างต้น คณะกรรมการบริษทั มีความเห็น สอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบและผู้สอบบัญชีว่า ระบบ การควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม กับการด�ำเนินธุรกิจ โดยบริษัทจัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอ ที่จะด�ำเนินการตามระบบได้ รวมทั้งมีระบบการติดตามดูแล การด�ำเนินงานของบริษัทย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลในการประกอบกิจการที่ยั่งยืน หั ว หน้ า งานตรวจสอบภายใน ตามโครงสร้างของบริษัทก�ำหนดให้มีฝ่ายตรวจสอบขึ้นตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบเป็น ผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั งิ านร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูง (CEO) และ ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบก�ำหนดให้การแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง และพิจารณาความดีความชอบของหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ปัจจุบันหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ได้แก่ นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการใหญ่ ส�ำนักตรวจสอบ ผลการประเมินสรุปได้ว่าบุคคลดังกล่าวมีความ เข้าใจในกิจกรรมและการด�ำเนินงานของบริษทั ซึง่ มีความเหมาะสม กับต�ำแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

75

รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ หั ว หน้ า งานผู ้ ต รวจสอบภายในบริ ษั ท รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน ชื่อ-สกุล ต�ำแหน่ง คุณวุฒิทางการศึกษา วุฒิบัตร ประสบการณ์การท�ำงาน การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ส�ำนักตรวจสอบ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ฝ่ายตรวจสอบ 2558 - ก.ค. 2560 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี 2552 - 2558 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ 2550 - 2551 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี 2547 - 2550 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและทรัพยากรบุคคล • Director Certificate Program (DCP) รุ่น 197/2014 • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2012 & 2013 • Audit Committee Program (ACP) รุ่น 26/2009 • Executive Development Program (EDP) รุ่น 4 • หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่น 5

หั ว หน้ า งานก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของบริ ษั ท (Compliance) หัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท คือ นางวิราวรรณ ธารานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่และเลขานุการ บริษัท ดังมีรายละเอียดประวัติในหน้าที่ 29 ซึ่งมีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลให้บริษัทปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ ของหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลการประกอบธุรกิจของบริษัท


2. การประปา ส่วนภูมิภาค (กปภ.)

1. การประปา ส่วนภูมิภาค (กปภ.)

นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

ปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่าย 6.57 (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าทีจ่ ดั จ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา 122.96 (ล้านบาท)

54.36

- นายกฤษฎา ศั ง ขมณี เป็นรองผูว้ า่ การ (วิชาการ) ของ กปภ. และเป็ น กรรมการบริษัท

0.88

319.78

32.30

ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าทีจ่ ดั จ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา (ล้านบาท)

ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จัดจ�ำหน่าย (ล้านบาท)

ลักษณะของรายการ

- กปภ. เป็น ผู้ ถือหุ้ นใหญ่ ของบริษทั โดย ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2561 กปภ. ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40.20 ของทุนจดทะเบียน ที่ช�ำระแล้วของบริษัท

- นายกฤษฎา ศังขมณี เป็น รองผู ้ ว ่ า การ (วิ ช าการ) ของ กปภ. และเป็ น กรรมการบริษัท

- กปภ. เป็น ผู ้ถือหุ้น ใหญ่ ของบริษทั โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กปภ. ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 40.20 ของทุนจดทะเบียนทีช่ ำ� ระ แล้วของบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ปริมาณและ มูลค่าของ รายการ

นโยบายในการก�ำหนดราคา

บริ ษั ท จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ประปาให้กับ กปภ. ในพื้นที่พัทยา

บริ ษั ท จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ประปาให้กับ - บริษัทจ�ำหน่ายน�้ำประปาให้กับ กปภ. ในอัตราที่ กปภ. ในพื้นที่เกาะสมุย ตกลงกันและการปรับอัตราค่าน�ำ้ เป็นไปตามเงือ่ นไข สัญญาสัมปทาน

บริษัทจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ กปภ. - บริษัทจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ กปภ. ในอัตราเดียวกับ ในพื้ น ที่ ห นองค้ อ -แหลมฉบั ง - ที่จ�ำหน่ายน�้ำให้กับผู้ใช้น�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค พั ท ย า - บ า ง พ ร ะ แ ล ะ พื้ น ที่ รายอืน่ ๆ และมีการท�ำสัญญาทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ ที่ชัดเจน ทั้งนี้ ในการออกเสียงลงมติเกี่ยวกับอัตรา ค่าน�้ำ กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่มีสิทธิในการ ออกเสียงลงคะแนน

ความจ�ำเป็น/หมายเหตุ

ตารางที่ 8 รายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำดิบและน�้ำประปา ระหว่างกลุ่มบริษัท กับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยมีปริมาณการซื้อขายและนโยบายการก�ำหนดราคา

รายละเอี ย ดของรายการระหว่ า งกั น บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ซึง่ ผูส้ อบบัญชีได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน (ข้อ 34) ประจ�ำปีสนิ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โดยมีรายละเอียด ประเภทรายการ ดังต่อไปนี้

รายการระหว่ า งกั น

รายงานประจ�ำปี 2561

76


4. บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์

3. การนิคม อุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.)

นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

- บริ ษั ท ถื อ หุ ้ น 100% และมีกรรมการร่วมกัน

- นางสาวสมจิณณ์ พิลึก เป็นผู้ว่าการของ กนอ. และเป็นกรรมการบริษทั

- กนอ. เป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายหนึ่งของบริษัท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กนอ. ถือหุ้นใน สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 4.57 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ ช�ำระแล้วของบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จัดจ�ำหน่าย (ล้านบาท)

ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จัดจ�ำหน่าย (ล้านบาท)

ลักษณะของรายการ

40.31

6.72

975.15

88.65

ปริมาณและ มูลค่าของ รายการ

บริ ษั ท จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ดิ บ ให้ กั บ บมจ.ยู นิ เ วอร์ แ ซล ยู ที ลิ ตี้ ส ์ (โครงการชลบุ รี ) ในพื้ น ที่ ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี

บริ ษั ท จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ดิ บ ให้ กั บ ก น อ . ใ น พื้ น ที่ ห น อ ง ค ้ อ - แหลมฉบั ง -พั ท ยา-บางพระ และพืน้ ทีด่ อกกราย-มาบตาพุดสัตหีบ

ความจ�ำเป็น/หมายเหตุ

- บริ ษั ท จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ดิ บ ให้ กั บ บมจ.ยู นิ เ วอร์ แ ซล ยูทีลิตี้ส์ ในอัตราเดียวกับที่จ�ำหน่ายน�้ำให้กับผู้ใช้น�้ำ เพือ่ การอุปโภคบริโภครายอืน่ ๆ และมีการท�ำสัญญา ทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษรทีช่ ดั เจน ทัง้ นีใ้ นการออกเสียง ลงมติเกีย่ วกับอัตราค่าน�ำ้ และการเปลีย่ นแปลงอัตรา ค่าน�ำ้ ทีบ่ ริษทั จ�ำหน่ายให้กบั บมจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะไม่มสี ทิ ธิในการออกเสียง ลงคะแนน

- บริษัทจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ กนอ. ในอัตราเดียวกับ ทีจ่ ำ� หน่ายน�ำ้ ให้กบั ผูใ้ ช้นำ�้ ประเภทนิคมอุตสาหกรรม ของรัฐรายอืน่ ๆ และมีการท�ำสัญญาทีเ่ ป็นลายลักษณ์ อักษรที่ชัดเจน ทั้งนี้ ในการออกเสียงลงมติเกี่ยวกับ อัตราค่าน�ำ้ และการเปลีย่ นแปลงอัตราค่าน�ำ้ ทีบ่ ริษทั จ�ำหน่ายให้กบั กนอ. กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะไม่มี สิทธิในการออกเสียงลงคะแนน

นโยบายในการก�ำหนดราคา

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

77


5. กปภ. และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์

นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

- บมจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ เป็นบริษัทย่อยที่บริษัท ถื อ หุ ้ น อยู ่ ใ นสั ด ส่ ว น ร้อยละ 100 ของทุ น จดทะเบียนที่ช�ำระแล้ว ของบริษัทดังกล่าว

ลักษณะความสัมพันธ์

13.33 148.80 11.88 144.02 4.57 54.90 18.59 213.88 12.31 135.34 14.24 356.30

ปริมาณรายการ รายได้จ�ำหน่ายน�้ำประปา ประปาบางปะกง - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาฉะเชิงเทรา - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปานครสวรรค์ - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาระยอง - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาชลบุรี - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาราชบุรี - ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท

ลักษณะของรายการ

ปริมาณและ มูลค่าของ รายการ เป็นรายการที่ บมจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำหน่ายน�้ำประปาให้ แก่ กปภ. ตามสัญญาสัมปทานของ บจ.ประปาบางปะกง บจ. ประปา ฉะเชิงเทรา บจ. ประปานครสวรรค์ และ บจ. เอ็กคอมธารา

ความจ�ำเป็น/หมายเหตุ - บมจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำหน่ายน�ำ้ ประปา ให้แก่ กปภ. โดยราคาค่าน�้ำและวิธีการปรับอัตราค่าน�้ำ เป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาสัมปทาน

นโยบายในการก�ำหนดราคา

รายงานประจ�ำปี 2561

78


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

79

ตารางที่ 9 แสดงรายการระหว่างกันกับผู้ถือหุ้นและบริษัทย่อย ประจ�ำปี 2561 บริษัท

ความสัมพันธ์

รายการที่เกี่ยวโยงกัน

กปภ.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

- รายได้ค่าก่อสร้างฯ - รายได้ค่าเช่า และค่าบริการ - ต้นทุนขาย และต้นทุนบริการ - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้อื่น - เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่น

กนอ.

ผู้ถือหุ้นใหญ่

- ลูกหนี้การค้า

บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์

บริษัทย่อย (บริ ษั ท มี สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น (100%) และมีกรรมการร่วม)

- ดอกเบี้ยรับ - รายได้ค่าเช่า และค่าบริการ - เงินปันผลรับ - รายได้อื่น - ต้นทุนขาย และต้นทุนบริการ - ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้อื่น - เจ้าหนี้การค้า - เงินประกันการเช่า

บจ. เอ็กคอมธารา

บริษัทย่อยของ บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ถือหุ้น 90.07% (บริษทั ย่อยทางอ้อมของบริษัท)

- ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ม า ต ร ก า ร ห รื อ ขั้ น ต อ น อ นุ มั ติ ก า ร ท� ำ ร า ย ก า ร ระหว่ า งกั น ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทจะเกิดรายการระหว่างกัน ระหว่างบริษัท กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ลงทุน บริษัทได้ก�ำหนด นโยบายและขั้นตอนการอนุมัติและด�ำเนินรายการประเภท ดังกล่าว เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยมี กรรมการตรวจสอบและกรรมการทีเ่ ป็นอิสระเข้าร่วมประชุมด้วย จะเป็นผูพ้ จิ ารณาและอนุมตั ริ ายการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ตามขั้นตอนดังนี้

ในการพิจารณาการด�ำเนินธุรกรรมต่างๆ ทีเ่ ป็นรายการที่ เกี่ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. จะต้องมีการ ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของ ตลท. และคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน อย่างถูกต้องและครบถ้วน รวมทัง้ ได้ผา่ น การตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบในกรณีทตี่ อ้ ง ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 (บาท) 209,070,733 28,989,696 20,766,245 326,361 211,441,229 16,274 1,805,294 37,925,412 88,598,051 14,657,534 52,524,306 126,581,983 10,974,300 214,628,463 5,777,881 9,419,406 20,155,729 58,000 159,577

• ในกรณีที่เป็นการอนุมัติรายการระหว่างกันที่มีข้อตกลง

ทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระท�ำกับ คูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อรอง ทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็น กรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง โดยฝ่ า ยบริ ห าร หรื อ คณะกรรมการลงทุ น ตามที่ คณะกรรมการบริษัทได้มอบอ�ำนาจให้ โดยฝ่ายบริหาร จะต้องสรุปรายการทีเ่ กีย่ วโยงทัง้ หมดเสนอคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัททราบ เพื่อให้มั่นใจ ว่าการท�ำรายการสมเหตุสมผล เป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัท และเป็นไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง • ในกรณีที่รายการที่เกี่ยวโยงกันมีมูลค่าเข้าเกณฑ์ที่ต้อง ขออนุ มั ติ จ ากผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใหญ่ ที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย สามารถเข้าประชุมได้เพือ่ นับเป็นองค์ประชุม แต่ไม่มสี ทิ ธิ ออกเสียงลงคะแนน ซึ่งฐานในการค�ำนวณคะแนนเสียง เพื่ออนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกัน ไม่นับส่วนของผู้มีส่วน ได้เสีย เกณฑ์ดังกล่าวจึงไม่มีปัญหากับองค์ประชุมและ คะแนนเสียง


รายงานประจ�ำปี 2561

กรรมการหรือผูบ้ ริหารซึง่ มีสว่ นได้เสียในเรือ่ งใดไม่มสี ทิ ธิ ออกเสียงและไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมประชุมหรือ อนุมัติรายการในเรื่องนั้น • ในกรณีทบี่ ริษทั เข้าท�ำสัญญาใดๆ หรือมีรายการระหว่างกัน กับบริษัทย่อย นิติบุคคลและ/หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน บริษทั จะพิจารณาถึงความจ�ำเป็น ความส�ำคัญและความ เหมาะสมในการท�ำสัญญา โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของบริษัทเป็นหลัก และมีการคิดราคาระหว่างกันตาม เงื่อนไขทางการค้าเช่นเดียวกับลูกค้าทั่วไป ตามราคา

80

ตลาดยุติธรรม โดยจะก�ำหนดราคาและเงื่อนไขเช่นเดียว กับการท�ำรายการกับบุคคลภายนอก และหากไม่มีราคา ดังกล่าว บริษทั จะเปรียบเทียบราคาสินค้าหรือบริการกับ บุคคลภายนอกภายใต้เงือ่ นไขทีเ่ หมือนหรือคล้ายคลึงกัน หรืออาจจะใช้รายงานจากผู้ประเมินอิสระซึ่งว่าจ้างโดย บริ ษั ท มาท� ำ การเปรี ย บเที ย บราคาส� ำ หรั บ รายการ ระหว่างกันทีส่ ำ� คัญ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าราคาดังกล่าว เป็นไปอย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ของบริษัท


81

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ที่ ส� ำ คั ญ งบการเงิ น สรุ ป รายงานการสอบบั ญ ชี 1. สรุปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา ผู้สอบบัญชี ได้ให้ความเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินของบริษัท ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานของบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดของบริษัท โดยถูกต้องตามที่ควร ในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2. ตารางสรุปฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานเปรียบเทียบ 3 ปี (2559 – 2561) เนื่องจากบริษัทเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ลงทุนสามารถดูงบการเงินล่าสุดของบริษัท ได้จาก Website ของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) หรือดูได้ จาก Website ของบริษัท (www.eastwater.com) โดยสามารถดูสรุปรายละเอียดฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานได้ดังตารางต่อไปนี้ ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี ก) งบแสดงฐานะการเงิน เปรียบเทียบ 3 ปี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 578,213 2.87 37,478 เงินลงทุนระยะสั้น 404,277 2.00 393,039 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 444,237 2.21 407,424 สินค้าคงเหลือ 13,344 0.07 13,069 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 29,206 0.15 38,127 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,469,277 7.30 889,137 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ 177,633 0.88 185,929 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 14,382,227 71.41 14,228,392 ค่าความนิยม - สุทธิ 103,283 0.51 103,283 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ 3,643,974 18.09 3,702,734 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 21,936 0.11 22,234 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 342,572 1.70 350,907 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 18,671,625 92.70 18,593,479 รวมสินทรัพย์ 20,140,902 100.00 19,482,616

% 0.19 2.02 2.09 0.07 0.19 4.56 0.95 73.03 0.53 19.01 0.11 1.80 95.44 100.00

พันบาท 185,531 736,499 420,745 10,587 31,034 1,384,396

% 0.93 3.71 2.12 0.05 0.16 6.97

193,923 0.98 14,062,211 70.81 103,283 0.52 3,692,725 18.59 24,051 0.12 399,806 2.01 18,475,999 93.03 19,860,395 100.00


82

รายงานประจ�ำปี 2561

ก) งบแสดงฐานะการเงิน เปรียบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 814,000 4.04 83,000 0.43 1,600,000 8.06 เจ้าหนี้การค้า 147,205 0.73 139,728 0.72 133,254 0.67 เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร 98,782 0.49 82,433 0.42 117,997 0.59 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-ส่วนที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 2,121 0.01 1,600 0.01 1,407 0.01 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 826,200 4.10 808,200 4.15 808,200 4.07 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 118,460 0.59 131,181 0.67 129,308 0.65 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 163,187 0.81 176,013 0.90 176,960 0.89 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 59,404 0.29 70,767 0.36 59,394 0.30 รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,229,359 11.06 1,492,922 7.66 3,026,520 15.24 หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 1,785 0.01 2,637 0.01 435 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 3,166,200 15.72 3,992,400 20.49 3,200,600 16.12 หุ้นกู้ 2,397,955 11.91 2,397,562 12.31 2,397,185 12.07 เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร 862,204 4.28 - - - หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 364,611 1.81 385,210 1.98 410,098 2.06 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 150,461 0.75 135,062 0.70 129,087 0.65 ประมาณการหนี้สินระยะยาว 20,786 0.10 33,188 0.17 20,670 0.10 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 142,391 0.71 613,729 3.15 627,499 3.16 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 7,106,393 35.29 7,559,788 38.81 6,785,574 34.16 รวมหนี้สิน 9,335,752 46.35 9,052,710 46.47 9,812,094 49.40


83

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ก) งบแสดงฐานะการเงิน เปรียบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน 1,663,725 ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว 1,663,725 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 2,138,522 ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว-ทุนส�ำรองตามกฎหมาย 166,500 จัดสรรแล้ว-ทุนส�ำรองสัมปทาน 351,481 ยังไม่ได้จัดสรร 6,293,040 องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้น 11,388 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 180,494 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 10,805,150 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 20,140,902 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท/หุ้น) ** 6.39 มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุ้น) 1.00 จ�ำนวนหุ้นสามัญปลายงวด (หุ้น) 1,663,725,149 หมายเหตุ : **ค�ำนวณจากส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนของบริษัทใหญ่

% 8.26

พันบาท 1,663,725

8.26 1,663,725 10.62 2,138,522 0.83 166,500 1.75 298,762 31.25 5,960,276 0.05 14,774 0.89 187,347 53.65 10,429,906 100.00 19,482,616 6.16 1.00 1,663,725,149

% 8.54

พันบาท

%

1,663,725 8.38

8.54 1,663,725 8.38 10.98 2,138,522 10.77 0.85 166,500 0.84 1.53 236,323 1.19 30.59 5,630,700 28.35 0.08 18,696 0.09 0.96 193,835 0.98 53.53 10,048,301 50.60 100.00 19,860,395 100.00 5.92 1.00 1,663,725,149


84

รายงานประจ�ำปี 2561

ข) งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

ข) งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท รายได้ รายได้จากการขายน�้ำดิบ รายได้จากการขายน�้ำประปา รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน�้ำดิบ ต้นทุนขายน�้ำประปา ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี

%

2,393,820 56.25 1,438,402 33.80 232,571 5.47 156,196 3.67 34,335 0.81 4,255,324 100.00 944,244 22.19 912,597 21.45 232,571 5.47 129,898 3.05 487,841 11.46 157,212 3.69 261,187 6.14 3,125,550 73.45 1,129,774 26.55

พันบาท

%

2,452,053 56.28 1,422,746 32.66 275,652 6.33 157,591 3.62 48,592 1.11 4,356,634 100.00 935,250 21.47 879,017 20.18 275,652 6.33 134,629 3.09 457,569 10.50 140,848 3.23 301,654 6.92 3,124,619 71.72 1,232,015 28.28

พันบาท

%

2,696,427 61.09 1,392,873 31.56 118,258 2.68 169,405 3.84 37,026 0.83 4,413,989 100.00 1,150,387 26.06 824,580 18.68 118,258 2.68 138,797 3.14 417,147 9.45 119,556 2.72 326,656 7.40 3,095,381 70.13 1,318,608 29.87


85

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ข) งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น : รายการที่จะไม่จัดประเภทรายการใหม่ ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับรายการที่จะไม่จัดประเภท รายการใหม่ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รวมรายการที่จะไม่จัดประเภทรายการใหม่ ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง ทรัพย์สินที่รับโอนมาจากลูกค้า การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ภาษีเงินได้ของรายการที่จะจัดประเภท รายการใหม่ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี

%

พันบาท

%

พันบาท

%

-

3,371

-

-

(674)

-

-

2,697

-

(3,386) -

(3,390) (664)

(3,398) (719)

-

133

144

(3,921) (1,224) 1,230,791 1,221,179 10,836 1,232,015 1,219,955 10,836 1,230,791

(3,973) (3,973) 1,314,635 1,309,226 9,382 1,318,608 1,305,253 9,382 1,314,635

(3,386) (3,386) 1,126,388 1,117,522 12,252 1,129,774 1,114,135 12,253 1,126,388


86

รายงานประจ�ำปี 2561

ข) งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี (ต่อ) ก�ำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรยกมา หัก จ่ายเงินปันผล บวก ก�ำไรสุทธิประจ�ำปี หัก ส�ำรองทุนสัมปทาน ก�ำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรยกไป จัดสรรแล้ว-ส�ำรองตามกฎหมาย จัดสรรแล้ว-ส�ำรองทุนสัมปทาน ก�ำไรสะสม ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุ้น) จ�ำนวนหุ้นสามัญ (หุ้น)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

5,960,276 5,630,700 5,306,474 (732,039) (831,862) (748,677) 1,117,522 1,223,877 1,309,226 (52,719) (62,439) (236,323) 6,293,040 5,960,276 5,630,700 166,500 166,500 166,500 351,481 298,762 236,323 6,811,021 6,425,538 6,033,523 0.67 0.73 0.79 1.00 1.00 1.00 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว)

2561

2560

หน่วย: พันบาท 2559

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 1,390,961 1,533,669 1,645,264 รายการปรับกระทบก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา 432,019 393,619 379,473 ค่าตัดจ�ำหน่าย 304,108 282,588 263,346 รายได้จากการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ที่ได้รับโอนจากลูกค้า (3,386) (3,390) (3,398) ตัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์ 513 1,441 7,893 ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิทธิข้อตกลงสัมปทาน 860 1,960 3,320 ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนระยะสั้น (128) (1,863) (3,173) ประมาณการหนี้สินระยะยาว (589) 21,491 4,211 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 18,186 16,643 15,764 รายได้ดอกเบี้ย (6,989) (6,938) (9,557) ดอกเบี้ยจ่าย 155,970 139,811 118,260 ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สิน 2,291,525 2,379,031 2,421,403


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน จ่ายประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และเงินค่าจ้างล่วงหน้าค่าก่อสร้าง เงินสดรับคืนค่าก่อสร้าง เงินสดรับจากเงินค�้ำประกันธนาคาร เงินสดจ่ายดอกเบี้ยส�ำหรับเงินกู้ยืมที่ตั้งขึ้นเป็นทุน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มเติม เงินปันผลจ่าย เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

2561

2560

87

หน่วย: พันบาท 2559

(36,813) 13,321 26,576 (275) (2,482) (1,206) 27,834 2,093 2,908 (26,336) 16,766 (1,249) 7,477 6,475 (677) (16,978) (819) 2,000 (13,252) 15,740 (4,405) (2,787) (7,227) (6,363) (11,814) (8,972) (12,469) (138,372) (23,849) 41,339 2,080,209 2,390,077 2,467,857 (312,057) (332,330) (358,599) 1,768,152 2,057,747 2,109,258 (1,067,580) (1,154,426) (1,134,876) 1,056,470 1,499,084 1,263,429 5,924 6,690 9,307 18,158 2,288 180 (244,406) (305,155) (101,777) (218) (1,265) (393) (480,475) (450,499) (873,108) 529,238 - - 10,079 371,735 (70,421) (92,318) (132,523) (253,310) (485,522) (598,026) 4,409,000 1,178,000 155,000 (3,678,000) (2,695,000) (155,000) 1,600,000 1,600,000 (2,408,200) (808,200) (752,200) (331) (1,838) (2,856) (750,973) (853,547) (762,656) (145,603) (139,693) (119,207) (974,107) (1,720,278) (1,636,919)


รายงานประจ�ำปี 2561

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี

2561

2560

88

หน่วย: พันบาท 2559

540,735 (148,053) (125,687) 37,478 185,531 311,218 578,213 37,478 185,531

ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสด เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 261,363 84,023 59,575 การเปลี่ยนเจ้าหนี้เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 4,232 -


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

89

ค� ำ อธิ บ ายและวิ เ คราะห์ ผ ลการด� ำ เนิ น งาน ของฝ่ า ยจั ด การ 1. สรุปภาพรวมการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน ในภาพรวมผลการด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2561 บริษัทมีรายได้จากการขายและบริการรวมทั้งสิ้น 4,220.99 ล้านบาท ลดลง 87.05 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.02 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 เนื่องจากปริมาณน�้ำดิบจ�ำหน่ายลดลง และมีก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ จ�ำนวน 1,117.52 ล้านบาท ลดลง 103.66 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.49 องค์ประกอบรายได้และต้นทุนของกลุ่มบริษัท รายได้ปี 2561 = 4,220.99 ล้านบาท

ต้นทุนปี 2561 = 2,219.31 ล้านบาท

รายได้ค่าก่อสร้าง ภายใต้สัญญาสัมปทาน

5.51%

รายได้ค่าเช่า และค่าบริการ

3.70%

ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้ สัญญาสัมปทาน รายได้น�้ำดิบ

ต้นทุนค่าเช่า และค่าบริการ

56.71%

รายได้น�้ำประปา

ต้นทุนน�้ำดิบ

42.55%

5.85% ต้นทุนน�้ำประปา

34.08% งบก�ำไรขาดทุน (ล้านบาท)

10.48%

41.12% ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561

ปี 2560

รายได้จากการขายและบริการ 1,050.08 1,039.90 รายได้น�้ำดิบ 588.09 566.33 รายได้น�้ำประปา 361.96 353.34 รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ 38.44 36.92 83.31 รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน1) 61.59 ต้นทุนขายและบริการ 577.61 584.67 ต้นทุนขายน�้ำดิบ 245.32 222.91 ต้นทุนขายน�้ำประปา 241.09 242.29 ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ 29.61 36.16 1) 83.31 ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน 61.59 ก�ำไรขั้นต้น 472.47 455.23 รายได้อื่นๆ 9.45 8.74 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 151.65 156.44 ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน 330.27 307.54 ต้นทุนทางการเงิน 54.83 35.03 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 35.20 47.54 ก�ำไรสุทธิ 240.25 224.96 ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 236.49 222.55 อัตราส่วนก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (EPS) 0.14 0.13

เพิ่ม (ลด) 10.18 21.76 8.62 1.52 (21.73) (7.06) 22.41 (1.20) (6.55) (21.73) 17.24 0.71 (4.78) 22.73 19.79 (12.35) 15.29 13.94 0.01

% 0.98% 3.84% 2.44% 4.13% (26.08%) (1.21%) 10.06% (0.50%) (18.10%) (26.08%) 3.79% 8.09% (3.06%) 7.39% 56.50% (25.97%) 6.79% 6.27% 6.27%

ปี 2561

ปี 2560 เพิ่ม (ลด)

%

4,220.99 2,393.82 1,438.40 156.20 232.57 2,219.31 944.24 912.60 129.90 232.57 2,001.68 34.34 487.84 1,548.17 157.21 261.19 1,129.77 1,117.52 0.67

4,308.04 (87.05) (2.02%) 2,452.05 (58.23) (2.37%) 1,422.75 15.66 1.10% 157.59 (1.40) (0.89%) 275.65 (43.08) (15.63%) 2,224.55 (5.24) (0.24%) 935.25 8.99 0.96% 879.02 33.58 3.82% 134.63 (4.73) (3.51%) 275.65 (43.08) (15.63%) 2,083.49 (81.81) (3.93%) 48.59 (14.26) (29.34%) 457.57 30.27 6.62% 1,674.52 (126.34) (7.55%) 140.85 16.36 11.62% 301.65 (40.47) (13.42%) 1,232.02 (102.24) (8.30%) 1,221.18 (103.66) (8.49%) 0.73 (0.06) (8.49%)

หมายเหตุ: 1) รายได้และต้นทุนที่จะถูกรับรู้เมื่อมีการก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทานของกิจการประปาตามมาตรฐานบัญชีเรื่องข้อ ตกลงสัมปทานTFRIC12


รายงานประจ�ำปี 2561

90

1. สรุปภาพรวมการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน (ต่อ) EBITDA (ล้านบาท) ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย EBITDA

ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561 330.27 127.12 76.69 534.08

ปี 2560

เพิ่ม (ลด)

307.54 103.90 69.78 481.22

%

ปี 2561

ปี 2560 เพิ่ม (ลด)

%

22.73 7.39% 1,548.17 1,674.52 (126.34) (7.55%) 23.22 22.35% 432.02 393.62 38.40 9.76% 6.90 9.90% 300.72 279.20 21.52 7.71% 52.86 10.98% 2,280.92 2,347.33 (66.42) (2.83%)

2. สภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 4 ของปี 2561 ขยายตัวต่อเนื่อง ในส่วนธุรกิจการผลิตเพื่อส่งออกสินค้าขยายตัวได้ดี ขณะที่ การผลิตเพื่อตอบสนองอุปสงค์ในประเทศมีแนวโน้มคงที่ เนื่องจากการบริโภคของภาคครัวเรือนยังไม่ฟื้นตัวและหนี้ครัวเรือนยังอยู่ใน ระดับสูง การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องโดยผู้ประกอบการรายใหญ่มีการใช้เม็ดเงินลงทุนเพิ่มขึ้นชัดเจน เช่น ธุรกิจผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม ทีม่ แี ผนการลงทุนในภาคตะวันออก ธุรกิจผลิตอาหารทีม่ แี ผนการลงทุนก่อสร้างโรงงาน เป็นต้น ภาคการท่องเทีย่ วโดยรวม ขยายตัวต่อเนื่องในทุกภูมิภาค โดยมีปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจากนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ ด้านต้นทุนปรับขึ้นเล็กน้อยตามการปรับขึ้นค่าแรงและการเพิ่มของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ในขณะที่ราคา น�้ำมันในตลาดโลกลดลงในไตรมาสที่ 4 ส่งผลดีต่อต้นทุนในการผลิต ในไตรมาส 1 ปี 2562 คาดว่าการส่งออกยังคงมีการเติบโตต่อเนื่อง ขณะที่การบริโภคในประเทศจะขยายตัวดีขึ้นแต่ยังมีความ เปราะบางจากระดับหนี้ครัวเรือนในปัจจุบัน ต้นทุนการผลิตยังมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นจากมาตรการกีดกันทางการค้า และการเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยนโยบายในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา 3. สถานการณ์น�้ำปัจจุบัน สถานการณ์น�้ำ ณ วันที่ 31 มกราคม 2562 พบว่าแหล่งน�้ำของบริษัทในพื้นที่ชลบุรีและระยองอยู่ในเกณฑ์ปานกลางโดยปริมาณ น�ำ้ ในอ่างเก็บน�ำ้ หลักใกล้เคียงค่าเฉลีย่ ในระยะ 10 ปีทผี่ า่ นมา ทัง้ นีจ้ ากการคาดหมายลักษณะอากาศของกรมอุตนุ ยิ มวิทยา คาดการณ์ ว่าปริมาณฝนรวมในภาคตะวันออก เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน จะมีปริมาณฝนต�่ำกว่าค่าปกติร้อยละ 10-20 ทั้งนี้ปริมาณน�้ำ ในอ่างเก็บน�้ำหลักของบริษัทในพื้นที่ชลบุรีและระยองเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 62 และ 75 ของความจุอ่างเก็บน�้ำตามล�ำดับ พื้นที่ชลบุรี ปริมาณน�้ำ (ล้าน ลบ.ม.)

ปริมาณน�้ำ ร้อยละของความจุ ค่าเฉลี่ย (2552 - 2561) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (2552 - 2561)

พื้นที่ระยอง

บางพระ

หนองค้อ

ดอกกราย

หนองปลาไหล

คลองใหญ่

ประแสร์

75.02 64% 69.95 5.07

10.55 49% 13.23 (2.68)

65.09 82% 55.79 9.30

136.65 83% 137.55 (0.90)

34.24 75% 30.01 4.23

202.01 68% 214.15 (12.14)

4. เหตุการณ์ส�ำคัญ วันที่ 12 กรกฎาคม 2561 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับเครดิตองค์กรและอันดับเครดิตหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน ของบริษัทที่ระดับ “A+” ด้วยแนวโน้ม “Stable” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะที่แข็งแกร่งของบริษัทในฐานะผู้ประกอบการรายส�ำคัญ ที่มีโครงข่ายท่อส่งน�้ำดิบครอบคลุมพื้นที่เขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตลอดจนการมีอัตราก�ำไรที่สูงและกระแสเงินสดที่สม�่ำเสมอ วันที่ 9 สิงหาคม 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9/2561 ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล จากก�ำไรสุทธิ ส�ำหรับงวดระยะเวลาหกเดือนสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2561 ในอัตรา 0.20 บาทต่อหุ้น คิดเป็นเงินปันผลจ่ายรวมทั้งสิ้น 332.75 ล้านบาท โดยมีวันก�ำหนดรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับเงินปันผลในวันที่ 23 สิงหาคม 2561 และจ่ายเงินปันผลในวันที่ 5 กันยายน 2561 วันที่ 24 สิงหาคม 2561 บริษัทลงนามสัญญาซื้อขายน�้ำอุตสาหกรรมกับบริษัท กัลฟ์ พีดี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นระยะเวลา 25 ปี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

91

4. เหตุการณ์ส�ำคัญ (ต่อ) วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561 บริษทั ได้รบั คัดเลือกให้เป็น 1 ใน 79 บริษทั จดทะเบียนทีอ่ ยูใ่ น Thailand Sustainability Investment หรือ รายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” ประจ�ำปี 2561 ถือเป็นหุ้นของบริษัทจดทะเบียนที่มีการด�ำเนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental) สังคม (Social) และบรรษัทภิบาล (Governance) หรือ ESG ที่โดดเด่น มีการค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียครอบคลุมทั้งในด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม กระบวนการบริหารจัดการเพื่อสร้างความยั่งยืน วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561 บริษทั ลงนามสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ อุตสาหกรรมกับบริษทั อมตะ วอเตอร์ จ�ำกัด เพือ่ จ�ำหน่ายน�ำ้ อุตสาหกรรม แก่นิคมอมตะซิตี้ ระยอง เป็นระยะเวลา 30 ปี วันที่ 7 ธันวาคม 2561 บริษัทได้รับรางวัลรายงานความยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 (Sustainability Report Award 2018) โดยสมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย (CSR Club) ประเภทรางวัล Recognition ซึง่ เป็นรางวัลส�ำหรับบริษทั ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับเรือ่ งของ ESG (Environment, Social and Governance) ที่โดดเด่น 5. ธุรกิจน�้ำดิบ บริษัทมีรายได้จากการขายน�้ำดิบส�ำหรับปี 2561 จ�ำนวน 2,393.82 ล้านบาท ลดลง 58.23 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.37 เมื่อ เปรียบเทียบกับ ปี 2560 โดยมีปริมาณน�้ำดิบจ�ำหน่ายรวม 219.98 ล้าน ลบ.ม. (ไม่รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาของบริษัท และบริษัทย่อย จ�ำนวน 29.76 ล้าน ลบ.ม.) ลดลง 5.92 ล้าน ลบ.ม. หรือร้อยละ 2.62 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 เนื่องจากลูกค้า ใช้น�้ำลดลงในช่วงไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 โดยเฉพาะในกลุ่มอุปโภคบริโภค โดยปัจจุบันราคาจ�ำหน่ายน�้ำดิบเฉลี่ย เท่ากับ 10.88 บาท/ลบ.ม. เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 0.03 บาท/ลบ.ม. หรือร้อยละ 0.25 เนื่องจากสัดส่วนน�้ำดิบที่จ�ำหน่ายให้กับลูกค้ากลุ่มอุปโภค บริโภคซึ่งมีอัตราค่าน�้ำดิบที่ต�่ำกว่ามีปริมาณลดลง ปริมาณน�้ำดิบจ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน�้ำดิบที่สูบจ่าย หักปริมาณน�้ำดิบที่ใช้ในกิจการประปา ของบริษัท ปริมาณน�้ำดิบจ�ำหน่าย

ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561

ปี 2560

เพิ่ม (ลด)

ปี 2561

%

61.62

59.46

2.15

3.62%

7.45 54.17

7.53 51.93

(0.08) 2.24

ปี 2560 เพิ่ม (ลด)

%

249.75

256.13

(6.38) (2.49%)

(1.09%) 29.76 4.31% 219.98

30.23 225.90

(0.46) (1.54%) (5.92) (2.62%)

ปริมาณน�้ำดิบสูบจ่ายจ�ำแนกตามกลุ่มลูกค้า (รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาในกลุ่มบริษัท) ม.ค.-ธ.ค. 2560 = 256.13 ล้าน ลบ.ม. กิจการประปา ของกลุ่มบริษัท

11.80% โรงงานทั่วไป 1.14% สวนอุตสาหกรรม 1.48%

อุปโภคบริโภค

15.03%

นิคม อุตสาหกรรม

70.55%

ม.ค.-ธ.ค. 2561 = 249.75 ล้าน ลบ.ม. กิจการประปา ของกลุ่มบริษัท

11.92% โรงงานทั่วไป 1.23% สวนอุตสาหกรรม 1.92%

อุปโภคบริโภค

13.28%

นิคม อุตสาหกรรม

71.65%

ปริมาณน�้ำดิบสูบจ่ายจ�ำแนกตามพื้นที่ (รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาในกลุ่มบริษัท) ม.ค.-ธ.ค. 2560 = 256.13 ล้าน ลบ.ม. ฉะเชิงเทรา

ฉะเชิงเทรา

4.32% ปลวกแดง-บ่อวิน

10.26% ชลบุรี

17.45%

ม.ค.-ธ.ค. 2561 = 249.75 ล้าน ลบ.ม.

4.41% ระยอง

67.96%

ปลวกแดง-บ่อวิน

11.52% ชลบุรี

14.20%

ระยอง

69.87%


รายงานประจ�ำปี 2561

92

ก�ำไรขัน้ ต้นธุรกิจน�ำ้ ดิบ ส�ำหรับปี 2561 เท่ากับ 1,449.58 ล้านบาท ลดลง 67.23 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.43 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ปี 2560 สาเหตุหลักจากรายได้น�้ำดิบที่ลดลงจากการใช้น้�ำของกลุ่มลูกค้าอุปโภคบริโภคและบริษัทมีต้นทุนเพิ่มขึ้นจากการซื้อน�้ำดิบ จากแหล่งน�้ำเอกชนเพื่อรักษาเสถียรภาพในการสูบจ่ายน�้ำตลอดทั้งปี ค่าเสื่อมราคาจากการลงทุนเพิ่มความสามารถในการสูบส่งน�้ำ และค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร อย่างไรก็ตามค่าไฟฟ้าของบริษทั ลดลง 59.21 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั สามารถหยุดผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหลไปให้พนื้ ทีช่ ลบุรี เนือ่ งจากแหล่งน�ำ้ ในพืน้ ทีช่ ลบุรมี คี วามเพียงพอต่อความต้องการใช้นำ�้ ในปัจจุบนั สาเหตุขา้ งต้นส่งผลให้ อัตราก�ำไรขั้นต้นลดลงเล็กน้อย อยู่ที่ร้อยละ 60.55 ต้นทุนขายน�้ำดิบ (ล้านบาท) รายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำดิบ ต้นทุนขายน�้ำดิบ ค่าน�้ำดิบ ค่าไฟฟ้า ค่าเสื่อมราคา ค่าซ่อมบ�ำรุง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไรขั้นต้น

ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561

ปี 2560

เพิ่ม (ลด)

%

588.09 566.33 21.76 3.84% 245.32 222.91 22.41 10.06% 28.12 28.24 (0.13) (0.46%) 64.64 67.25 (2.61) (3.88%) 96.65 76.40 20.25 26.50% 17.25 15.53 1.72 11.04% 38.67 35.48 3.19 8.99% 342.77 343.42 (0.65) (0.19%) 58.29% 60.64%

ปี 2561

ปี 2560 เพิ่ม (ลด)

2,393.82 2,452.05 (58.23) 944.24 935.25 8.99 141.40 120.00 21.40 268.64 327.85 (59.21) 326.09 300.73 25.36 59.18 56.80 2.38 148.92 129.87 19.05 1,449.58 1,516.80 (67.23) 60.55% 61.86%

% (2.37%) 0.96% 17.84% (18.06%) 8.43% 4.19% 14.67% (4.43%)

6. ธุรกิจน�้ำประปา บริษัทมีรายได้จากการขายน�้ำประปา ส�ำหรับปี 2561 จ�ำนวน 1,438.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 15.66 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.10 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 โดยมีปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่ายรวม 96.55 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้น 0.12 ล้าน ลบ.ม. หรือร้อยละ 0.13 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 ปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) ปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่ายของบริษัท ปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่ายของบริษัทย่อย รวมปริมาณน�้ำประปาจ�ำหน่าย

ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561 5.18 19.13 24.31

ปี 2560 5.18 18.62 23.81

เพิ่ม (ลด) (0.003) 0.51 0.51

% (0.06%) 2.74% 2.13%

ปี 2561 20.96 75.59 96.55

ปี 2560 เพิ่ม (ลด) 21.28 75.15 96.43

%

(0.32) (1.48%) 0.44 0.58% 0.12 0.13%

ก�ำไรขั้นต้นธุรกิจน�้ำประปา ส�ำหรับปี 2561 เท่ากับ 525.80 ล้านบาท ลดลง 17.92 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.30 เมื่อเปรียบเทียบ กับปี 2560 จากการที่สัมปทานบางแห่งมีการซื้อน�้ำดิบจากแหล่งน�้ำเอกชนมากขึ้นและค่าเสื่อมราคาจากการตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ สัมปทานของกิจการประปาทีม่ กี ารขยายก�ำลังการผลิตเพิม่ ขึน้ 18.38 ล้านบาท สาเหตุขา้ งต้นส่งผลให้อตั ราก�ำไรขัน้ ต้นลดลงเล็กน้อย อยู่ที่ร้อยละ 36.55 ต้นทุนขายน�้ำประปา (ล้านบาท)

ไตรมาสที่ 4 (3 เดือน) ปี 2561

ปี 2560

เพิ่ม (ลด)

%

รายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำประปา 361.96 353.34 8.62 2.44% ต้นทุนขายน�้ำประปา 241.09 242.29 (1.20) (0.50%) ค่าน�้ำดิบ 45.67 40.86 4.81 11.77% ค่าไฟฟ้า 35.85 38.31 (2.46) (6.42%) ค่าสารเคมี 8.73 7.80 0.92 11.84% คชจ.พนักงาน + Outsources + ค่าซ่อมบ�ำรุง 64.77 71.26 (6.49) (9.11%) ค่าเสื่อมราคา 81.32 71.10 10.22 14.37% ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 4.76 12.96 (8.20) (63.26%) ก�ำไรขั้นต้น 120.87 111.05 9.82 8.84% อัตราก�ำไรขั้นต้น 33.39% 31.43%

ปี 2561

ปี 2560 เพิ่ม (ลด)

1,438.40 1,422.75 15.66 912.60 879.02 33.58 169.57 151.39 18.18 143.82 148.99 (5.17) 33.51 28.06 5.45 219.77 226.22 (6.45) 300.79 282.42 18.38 45.14 41.94 3.20 525.80 543.73 (17.92) 36.55% 38.22%

% 1.10% 3.82% 12.01% (3.47%) 19.43% (2.85%) 6.51% 7.62% (3.30%)


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

93

7. การวิเคราะห์สถานะการเงิน ฐานะการเงิน (ล้านบาท)

31 ธ.ค. 2561

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น - ส่วนของบริษัทใหญ่

31 ธ.ค. 2560

20,140.90 9,335.75 10,805.15 10,624.66

19,482.62 9,052.71 10,429.91 10,242.56

เพิ่ม (ลด)

%

658.29 283.04 375.25 382.10

3.38% 3.13% 3.60% 3.73%

1) สินทรัพย์ บริษัทมีสินทรัพย์รวม ณ 31 ธันวาคม 2561 จ�ำนวน 20,140.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 658.29 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.38 โดยมีรายการหลักที่เปลี่ยนแปลง ดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด จ�ำนวน 578.21 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 540.74 ล้านบาท สาเหตุหลักจากการได้รับเงินคืนค่าก่อสร้างจากการไกล่เกลี่ยคดีความโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมาจ�ำนวน 529.24 ล้านบาท - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จ�ำนวน 14,382.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 153.84 ล้านบาท สาเหตุหลัก จากการลงทุนในโครงการก่อสร้างปี 2561 2) หนี้สิน บริษัทมีหนี้สินรวม ณ 31 ธันวาคม 2561 จ�ำนวน 9,335.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 283.04 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.13 โดยมีรายการหลักที่เปลี่ยนแปลง ดังนี้ - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 814.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 731.00 ล้านบาท สาเหตุหลักจากการเบิกถอนเงินกู้ระยะสั้นเพื่อบริหารสภาพคล่อง - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 3,116.20 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 826.20 ล้านบาท สาเหตุหลักจากการช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวที่ครบก�ำหนดช�ำระ จ�ำนวน 808.20 ล้านบาท - เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น จ�ำนวน 862.20 ล้านบาท สาเหตุจากการบันทึกรายการเจ้าหนี้ซื้อทรัพย์สิน โครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมา - หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ�ำนวน 142.39 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2560 จ�ำนวน 471.34 ล้านบาท สาเหตุหลักจากการ ปรับปรุงรายการหนี้สินประกันผลงานและค่าใช้จ่ายล่วงหน้าโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมา เป็นรายการเจ้าหนี ้ จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร องค์ประกอบหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ม.ค.-ธ.ค.2560 = 7,281.16 ล้าน ลบ.ม.

ม.ค.-ธ.ค.2561 = 7,204.35 ล้านบาท

เงินกู้ยืมระยะยาว ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี

เงินกู้ยืมระยะยาว ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี

เงินกู้ยืมระยะสั้น

เงินกู้ยืมระยะสั้น

11.10% 1.14% หุ้นกู้ 32.93%

11.47%

เงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน

54.83%

11.30% หุ้นกู้ 33.28%

เงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน

43.95%

หมายเหตุ: ตามสัญญาเงินกู้ระยะยาวและหุ้นกู้ ให้บริษัทด�ำรงอัตราส่วน D/E Ratio ในอัตราไม่เกิน 2 เท่า ทั้งนี้ ในส่วนของสัญญา เงินกู้ระยะยาวมีเงื่อนไขให้ด�ำรงอัตราส่วน DSCR เพิ่มเติมด้วย โดยก�ำหนดให้ไม่น้อยกว่า 1.1 เท่า 3) ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนของบริษัทใหญ่ ณ 31 ธันวาคม 2561 จ�ำนวน 10,624.66 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากสิน้ ปี 2560 จ�ำนวน 382.10 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.73 เนือ่ งจากการรับรูก้ ำ� ไรสุทธิ และการจ่ายเงินปันผลในระหว่างปี 2561


รายงานประจ�ำปี 2561

94

8. การวิเคราะห์สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน ในปี 2561 บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวดยกมา 37.48 ล้านบาท โดยในปี 2561 มีเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 540.74 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการ ดังนี้ 1) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ�ำนวน 1,768.15 ล้านบาท จากผลก�ำไรสุทธิและจากการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินจากการด�ำเนินงาน 2) เงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมการลงทุน จ�ำนวน 253.31 ล้านบาท โดยหลักจากเงินสดจ่ายโครงการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร และเงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง รวมทั้งการลงทุนในสินทรัพย์สัมปทานของบริษัทสุทธิกับเงินสดรับคืนค่าก่อสร้างโครงการ พัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมา จ�ำนวน 529.24 ล้านบาท 3) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จ�ำนวน 974.11 ล้านบาท โดยหลักจากการจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมระยะยาว สุทธิจ�ำนวน 808.20 ล้านบาท เงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 750.97 ล้านบาท และเงินสดจ่ายดอกเบี้ย 145.60 ล้านบาท สุทธิกับการกู้ยืมเงิน ระยะสั้นเพื่อบริหารสภาพคล่อง จ�ำนวน 731.00 ล้านบาท 9. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ อัตราส่วนทางการเงิน

ปี 2561

ปี 2560

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (เท่า) อัตราส่วนแสดงความสามารถในการท�ำก�ำไร(1) อัตราก�ำไรขั้นต้น /รายได้ขายและบริการ (%) อัตราก�ำไรสุทธิ /รายได้ขายและบริการ (%) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (ROE) (%) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) (%) อัตราส่วนโครงสร้างทางการเงินและภาระหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) (เท่า)

0.66 50.19% 28.33% 10.71% 5.64% 0.88 2.19

0.60 51.67% 30.55% 12.15% 6.21% 0.88 2.26

หมายเหตุ: (1) อัตราก�ำไรขั้นต้น และอัตราก�ำไรสุทธิไม่รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทานและรายได้อื่นๆ โดยสรุปผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2561ของบริษทั และบริษทั ย่อยมีกำ� ไรสุทธิลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2560 เนือ่ งจากปริมาณ น�้ำจ�ำหน่ายลดลงโดยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับร้อยละ 50.19 และอัตราก�ำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 28.33 อัตราผลตอบแทนต่อส่วน ผูถ้ อื หุน้ (ROE) ลดลงเป็นร้อยละ 10.71 และอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ลดลงเป็นร้อยละ 5.64 ลดลงจากปี 2560 เนือ่ งจาก ก�ำไรสุทธิลดลงส�ำหรับสภาพคล่อง ณ สิ้นปี 2561 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นเป็น 0.66 เท่า เนื่องจากมีการบันทึกรายการ เงินคืนค่าก่อสร้างโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบทับมา ในขณะที่อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นอยู่ที่ 0.88 เท่า ความสามารถในการ ช�ำระหนี้ของบริษัทยังคงอยู่ในเกณฑ์ดีโดยมีอัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) ที่ 2.19 เท่า


จากธุรกิจ

น�้ำดิบ

เดินหน้าสู่

น�้ำครบวงจร เพื่อรองรับการด�ำเนินธุรกิจน�้ำครบวงจร

S M A R T WAT E R บริษัท จึงได้ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ สร้างภาพพจน์ใหม่ที่ชัดเจน คุณจิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่


รายงานประจ�ำปี 2561

96

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน�้ ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำ และเปิ ด เผยงบการเงิ น ของบริ ษั ท ส� ำ หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธันวาคม 2561 ซึง่ จัดท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารบั ญ ชี พ.ศ. 2543 และตาม ข้อก�ำหนดภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ได้ดแู ลและสอบทานการก�ำกับดูเเลกิจการ ของบริษัท โดยจัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง และระบบ การควบคุมภายในทีเ่ ป็นเชิงรุก เพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผล ว่า การบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และ ทั น ต่ อเหตุ ก ารณ์ และสามารถด�ำรงรัก ษาปกป้องทรัพ ย์ สิ น จากการทุจริต การด�ำเนินการที่ผิดปกติ และความเสี่ยงอื่นๆ คณะกรรมการบริษัทมีก ารก�ำหนดนโยบายการบัญ ชี ที่ ม ี ความเหมาะสมและได้ถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีการ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ป ระกอบ

งบการเงิน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ ให้คณะกรรมการ ตรวจสอบซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็นผู้ดูแลสอบทาน การจัดท�ำรายงานทางการเงิน ระบบการควบคุมภายใน และ การตรวจสอบภายในของบริ ษั ท อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและ ประสิทธิภาพ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ปรากฏอยู่ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่แสดง ไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีภายนอก ของบริษัทได้ตรวจสอบงบการเงินและแสดงความเห็นอย่างไม่มี เงื่อนไขไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความมั่นใจว่า ระบบการควบคุม ภายในและระบบการตรวจสอบภายในของบริษัท จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ส่งผลให้รายงาน ทางการเงิน แสดงฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแส เงินสดของบริษัท โดยถูกต้องตามที่ควร ตามมาตรฐานรายงาน ทางการเงินของประเทศไทย

(นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล) ประธานคณะกรรมการ

(นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง) กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่


งบการเงิ น บริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน�้ า ภาคตะวั น ออก จ� า กั ด (มหาชน) วั น ที่ 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2561


รายงานประจ�ำปี 2561

98

รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) และบริ ษทั ย่อย (กลุ่มกิจการ) และงบการเงิน เฉพาะกิ จการของบริ ษ ัทแสดงฐานะการเงิน รวมของกลุ่ มกิ จการและฐานะการเงิน เฉพาะกิ จการของบริ ษ ัท ณ วัน ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนิ นงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ� นสุ ดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที�ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

งบการเง�น�ีต� รว�สอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการประกอบด้วย  งบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561  งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ� นสุ ดวันเดียวกัน  งบแสดงการเปลี� ยนแปลงส่ วนของเจ้าของรวมและงบแสดงการเปลี� ยนแปลงส่ วนของเจ้าของเฉพาะกิ จการสําหรั บปี สิ� นสุ ด วันเดียวกัน  งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ� นสุ ดวันเดียวกัน และ  หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ���งรวมถ�งหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที�สาํ คัญ

เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่ วนของความรั บผิดชอบของ ผูส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากกลุ่มกิจการ และบริ ษทั ตามข้อกําหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีในส่ วนที�เกี�ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิ จการที�กาํ หนดโดยสภาวิชาชี พบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ� และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื�น� ��� งเป็ นไปตามข้อกําหนดเหล่านี� ข้าพเจ้าเชื� อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที�ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื�อใช้เป็ นเกณ��ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า

ข้ อมูลและเหตุการณ์ �เี� น้ น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 เรื� องค่าตอบแทนโครงการท่อส่ งนํ�าของบริ ษทั ปั จจุบนั บริ ษทั ได้จ่ายค่าตอบแทน ตามอัตราที�กาํ หนดในเบื�องต้น เนื� องจากหน่ วยงานของรัฐอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริ ษทั เช่ าหรื อบริ หาร และการพิจารณาอัตรา ผลตอบแทน ���งอัตราผลตอบแทนอาจมีการเปลี�ยนแปลงในภายหลัง ทั�งนี� ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมีเงื�อนไขในเรื� องเหล่านี�


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

99


รายงานประจ�ำปี 2561

100

ข้ อมูลอ�น� กรรมการเป็ นผูร้ ั บผิดชอบต่อข้อมูลอื�น ข้อมูลอื�นประกอบด้วย ข้อมูล�ึ� งรวมอยู่ในรายงานประจําปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผูส้ อบบัญชีที�อยู่ในรายงานนั�น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจําปี �ายหลังวันที� ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน� ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื�น และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื�อมัน� ต่อข้อมูลอื�น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที�เกี�ยวเนื�องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื�น มีความขัดแย้งที�มีสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ หรื อกับความรู้ ที�ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรื อ ปรากฏว่าข้อมูลอื�นมีการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ เมื�อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจําปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องสื� อสาร เรื� องดังกล่าวกับคณะกรรมการตรวจสอบ

ความรับผิดชอบของกรรมการต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหน้าที�รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี� �ดยถูกต้องตามที�ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และรั บผิดชอบเกี� ยวกับการควบคุ ม�ายในที� กรรมการพิจารณาว่าจําเป็ น เพื�อให้ส ามารถจัดทํา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที�ปรา�จากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริ ต หรื อข้อผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ในการดําเนิ นงานต่อเนื� อง เปิ ดเผยเรื� องที�เกี� ยวกับ การดําเนิ นงานต่อเนื� อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชี สําหรั บ การดําเนิ นงานต่อเนื� อง เว้นแต่กรรมการมีความตั�งใจที�จะเลิกกลุ่มกิจการและบริ ษทั หรื อหยุดดําเนิ นงาน หรื อไม่สามารถดําเนิ นงาน ต่อเนื�องต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที�ช่วยกรรมการในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการและบริ ษทั


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

101

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื�อให้ได้ความเชื�อมัน� อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผูส้ อบบัญชี ซ� ึ งรวมความเห็ น ของข้า พเจ้า อยู่ด้วย ความเชื� อ มั�น อย่า งสมเหตุ ส มผลคื อ ความเชื� อ มัน� ในระดับสู ง แต่ ไม่ได้เป็ น การรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ที� มีอ ยู่ได้เ สมอไป ข้อ มูล ที� ขัดต่ อ ข้อ เท็จจริ งอาจเกิ ดจากการทุ จริ ต หรื อ ข้อ ผิดพลาด และถื อ ว่า มีส าระสํา คัญ เมื�อ คาดการณ์ อ ย่า ง สมเหตุ สมผลได้ว่ารายการที� ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ล ะรายการ หรื อทุ กรายการรวมกันจะมีผลต่อ การตัดสิ นใจทางเศรษฐกิ จของผูใ้ ช้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี� ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจเยี�ยงผูป้ ระกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยี�ยง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง  ระบุและประเมินความเสี� ยงจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื�อตอบสนองต่อความเสี� ยง เหล่านั�น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที�เพียงพอและเหมาะสมเพื�อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี� ยง ที�ไม่พบข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึ� งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี� ยงที�เกิ ดจากข้อผิดพลาด เนื� องจากการทุจริ ตอาจเกี� ยวกับการสมรู้ ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั�งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดง ข้อมูลที�ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน  ทํา ความเข้า ใจในระบบการควบคุ มภายในที� เกี� ยวข้อ งกับ การตรวจสอบ เพื� อ ออกแบบวิธี ก ารตรวจสอบที� เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื�อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็ นต่อความมีประสิ ทธิ ผลของการควบคุ มภายในของกลุ่มกิ จการ และบริ ษทั  ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที�กรรมการใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการ เปิ ดเผยข้อมูลที�เกี�ยวข้องซึ�งจัดทําขึ�นโดยกรรมการ  สรุ ปเกี� ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชี สําหรั บการดําเนิ นงานต่อเนื� องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบ บัญชีที�ได้รับ และประเมินว่ามีความไม่แน่ นอนที�มีสาระสําคัญที�เกี�ยวกับเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที�อาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อ สงสัยอย่างมีนยั สําคัญต่อความสามารถของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ในการดําเนินงานต่อเนื�องหรื อไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามี ความไม่แน่ นอนที�มีสาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ขอ้ สังเกตถึงการเปิ ดเผย ข้อมูลในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที�เกี� ยวข้อง หรื อถ้าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้า จะเปลี�ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ�นอยู่กบั หลักฐานการสอบบัญชีที�ได้รับจนถึงวันที�ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของ ข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มกิจการและบริ ษทั ต้องหยุดการดําเนิ นงาน ต่อเนื�อง  ประเมินการนําเสนอ โครงสร้างและเนื�อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยข้อมูล ว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรู ปแบบที�ทาํ ให้มีการนําเสนอข้อมูลโดยถูกต้อง ตามที�ควรหรื อไม่  ได้รับหลักฐานการสอบบัญชี ที�เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี�ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิ จการภายในกลุ่มหรื อกิ จกรรมทาง ธุ รกิจภายในกลุ่มกิจการเพื�อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแลและการ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบกลุ่มกิจการ ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า


รายงานประจ�ำปี 2561

102

ข้าพเจ้าได้สื�อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบในเรื� องต่างๆ ที�สําคัญซึ� งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที�ได้วางแผนไว้ ประเด็นที�มีนยั สําคัญที�พบจากการตรวจสอบ และข้อบกพร่ องที�มีนยั สําคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการ ตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คาํ รับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดจรรยาบรรณที�เกี�ยวข้องกับความเป็ นอิสระและ ได้สื�อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี� ยวกับความสัมพันธ์ท� งั หมด ตลอดจนเรื� องอื�นซึ� งข้าพเจ้าเชื� อว่ามีเหตุผลที�บุคคลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที�ขา้ พเจ้าใช้เพื�อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื� องที� สื� อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื� องต่ างๆ ที� มีนัยสําคัญที� สุ ดในการตรวจสอบงบการเงิ นรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบนั และกําหนดเป็ นเรื� องสําคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บายเรื� องเหล่านี� ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี�ยวกับเรื� องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที�ยากที�จะเกิดขึ�น ข้าพเจ้าพิจารณาว่า ไม่ควรสื� อสารเรื� องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทําดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื� อสารดังกล่าว บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด

สุ ขุมาภรณ์ วงศ์ อริยาพร ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที� 4843 กรุ งเทพมหานคร 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

103

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรั พยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 (หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น

8 9 10

578,213,162 404,276,814 444,237,325

37,477,981 393,039,207 407,424,378

540,945,900 55,053,467 299,579,642

4,620,675 39,316,426 273,841,873

สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

11

13,343,706 29,206,528

13,068,626 38,126,761

16,196,275

13,620,675

1,469,277,535

889,136,953

911,775,284

331,399,649

รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย

12

-

-

510,000,000

510,000,000

34.4

-

-

1,600,000,000

-

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ค่าความนิ ยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ

13 14 15 16

177,633,381 14,382,226,848 103,283,004 3,643,973,788

185,929,674 14,228,391,546 103,283,004 3,702,733,589

190,426,863 14,106,295,465 54,184,108

199,391,345 13,970,222,013 50,150,870

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

17 18

21,935,597 342,571,735

22,233,644 350,907,331

289,062,198

320,645,824

รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน

18,671,624,353

18,593,478,788

16,749,968,634

15,050,410,052

รวมสินทรัพย์

20,140,901,888

19,482,615,741

17,661,743,918

15,381,809,701

……………………………………………….. ( นายจิ ร ายุ ท ธ รุ ่ ง ศรี ท อง ) กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่

…………………………………………….. ( นายสมบั ติ อยู ่ ส ามารถ )

ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ สายการเงิ น และบั ญ ชี

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

6


รายงานประจ�ำปี 2561

104

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรั พยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 (หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ าของ หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

19.1

814,000,000

83,000,000

580,000,000

10,000,000

เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น

20

147,205,473

139,728,150

101,460,062

97,283,425

98,782,240

82,432,874

89,186,017

73,737,745

เจ้าหนี้ จากการซื้ อสิ นทรัพย์ถาวร หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

21

2,120,878

1,600,100

2,120,878

1,600,100

- ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี

19.2

826,200,000

808,200,000

634,000,000

616,000,000

23

131,181,159 176,013,280 70,766,620

98,430,668 113,407,971 37,114,058

98,469,579 115,495,812

หนี้ สินหมุนเวียนอื่น

118,460,134 163,187,352 59,403,122

รวมหนีส้ ินหมุนเวียน

2,229,359,199

1,492,922,183

1,655,719,654

1,056,661,879

เจ้าหนี้ จากการซื้ อสิ นทรัพย์ถาวร หนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้ สินระยะยาว

21 19.2 19.3 36 17 24 25

1,785,186 3,166,200,000 2,397,954,566 862,203,611 364,610,967 150,460,939 20,786,080

2,636,601 3,992,400,000 2,397,562,352 385,209,627 135,061,993 33,188,538

1,785,186 2,974,000,000 2,397,954,566 862,203,611 45,005,082 107,575,717 -

2,636,601 2,008,000,000 2,397,562,352 41,053,052 96,981,570 -

หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น

26

142,390,816

613,728,663

103,663,855

574,373,260

รวมหนีส้ ินไม่หมุนเวียน

7,106,392,165

7,559,787,774

6,492,188,017

5,120,606,835

รวมหนีส้ ิน

9,335,751,364

9,052,709,957

8,147,907,671

6,177,268,714

ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

44,075,218

หนีส้ ินไม่หมุนเวียน หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ ้นกู้

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

7


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

105

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 (หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

27

166,500,000

166,500,000

166,500,000

166,500,000

27

351,481,143

298,762,142

52,222,751

39,316,426

6,293,040,408

5,960,276,230

5,481,478,094

5,181,702,905

11,387,974

14,774,228

11,387,974

14,774,228

รวมส่ วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

10,624,656,953 180,493,571

10,242,560,028 187,345,756

9,513,836,247 -

9,204,540,987 -

รวมส่ วนของเจ้ าของ

10,805,150,524

10,429,905,784

9,513,836,247

9,204,540,987

รวมหนีส้ ินและส่ วนของเจ้ าของ

20,140,901,888

19,482,615,741

17,661,743,918

15,381,809,701

หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ าของ (ต่อ) ส่ วนของเจ้ าของ ทุนเรื อนหุ ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสารองตามกฎหมาย - ทุนสารองสัมปทาน ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ

28

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

8


รายงานประจ�ำปี 2561

106

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 (หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได้

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

34

2,393,819,753 2,452,052,565 2,434,127,657 2,501,454,822 1,438,401,964 1,422,746,044 376,608,687 377,436,705 232,570,908 275,652,329 156,196,427 157,590,954 142,034,069 114,918,675

รายได้จากการขายน้ าดิ บ รายได้จากการขายน้ าประปา รายได้ค่าก่อสร้ างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รวมรายได้ จากการขายและบริการ รายได้อื่น

พ.ศ. 2561

4,220,989,052 34,335,133

4,308,041,892 48,592,895

2,952,770,413 167,282,997

2,993,810,202 138,823,265

4,255,324,185

4,356,634,787

3,120,053,410

3,132,633,467

ต้นทุนขายน้ าดิ บ

944,243,793

935,249,669

973,079,878

964,190,281

ต้นทุนขายน้ าประปา ต้นทุนค่าก่อสร้ างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ

912,597,462 232,570,908 129,897,602

879,017,344 275,652,329 134,628,908

312,904,810 106,860,741

313,565,066 86,390,504

ต้นทุนทางการเงิน

2,219,309,765 10,097,242 477,743,902 157,212,055

2,224,548,250 18,987,845 438,581,118 140,848,473

1,392,845,429 7,840,004 329,365,948 117,185,312

1,364,145,851 16,550,640 308,804,675 87,875,737

รวมค่ าใช้ จ่าย

2,864,362,964

2,822,965,686

1,847,236,693

1,777,376,903

กาไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้

1,390,961,221 (261,187,123)

1,533,669,101 (301,653,750)

1,272,816,717 (228,096,859)

1,355,256,564 (252,760,488)

1,129,774,098

1,232,015,351

1,044,719,858

1,102,496,076

30

รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย

34

รวมต้ นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

กาไรสุ ทธิสาหรับปี

32

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

9


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

107

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : รายการที่ จะไม่ จัดประเภทรายการใหม่ ไปยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับรายการที่จะไม่จดั ประเภท รายการใหม่ไปยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

(หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

23

-

3,371,809

-

(7,734,133)

32

-

(674,361)

-

1,546,827

-

2,697,448

-

(6,187,306)

(3,386,254)

(3,390,304)

(3,386,254)

(3,390,304)

-

(663,994)

-

(663,994)

-

132,798

-

132,798

รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

(3,386,254)

(3,921,500)

(3,386,254)

(3,921,500)

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี - สุ ทธิจากภาษี

(3,386,254)

(1,224,052)

(3,386,254)

(10,108,806)

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,126,387,844

1,230,791,299

1,041,333,604

1,092,387,270

การแบ่ งปันกาไรสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,117,521,523 12,252,575

1,221,179,490 10,835,861

1,044,719,858 -

1,102,496,076 -

1,129,774,098

1,232,015,351

1,044,719,858

1,102,496,076

1,114,135,269 12,252,575

1,219,955,438 10,835,861

1,041,333,604 -

1,092,387,270 -

1,126,387,844

1,230,791,299

1,041,333,604

1,092,387,270

0.67

0.73

0.63

0.66

รวมรายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ไปยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ ไปยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย ที่จดั ประเภทใหม่เข้าไปไว้ในกาไรหรื อขาดทุน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับรายการที่จะจัดประเภทใหม่ เข้าไปไว้ในกาไรหรื อขาดทุน

32

การแบ่ งปันกาไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน

33

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

10


29 27

1,663,725,149

1,663,725,149 2,138,522,279

2,138,522,279 -

2,138,522,279 -

2,138,522,279

2,138,522,279 -

2,138,522,279 -

ส่ วนเกิน มูลค่าหุ้น

166,500,000

166,500,000 -

166,500,000 -

166,500,000

-

166,500,000 -

166,500,000 -

––

— —

――

351,481,143

298,762,142 52,719,001 -

39,316,426 259,445,716

298,762,142

236,323,231 62,438,911 -

236,323,231

6,293,040,408

5,960,276,230 (732,038,344) (52,719,001) 1,117,521,523

6,219,721,946 (259,445,716)

5,960,276,230

5,630,699,940 (831,861,737) (62,438,911) 1,223,876,938

5,867,023,171 (236,323,231)

ยังไม่ ได้จัดสรร

11,387,974

14,774,228 (3,386,254)

14,774,228 -

14,774,228

18,164,532 (3,390,304)

18,164,532 -

ทรัพย์สินทีไ่ ด้ รับโอนจากลูกค้า - สุ ทธิ

-

-

-

-

531,196 (531,196)

531,196 -

เงินลงทุน เผือ่ ขาย

–– ‘…— ‘…—

11,387,974

14,774,228 (3,386,254)

14,774,228 -

14,774,228

18,695,728 (3,921,500)

18,695,728 -

10,624,656,953

10,242,560,028 (732,038,344) 1,114,135,269

10,242,560,028 -

10,242,560,028

9,854,466,327 (831,861,737) 1,219,955,438

9,854,466,327 -

180,493,571

187,345,756 (19,104,760) 12,252,575

187,345,756 -

187,345,756

193,834,265 (17,324,370) 10,835,861

206,543,768 (12,709,503)

รวม รวม องค์ประกอบอืน่ ของ ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ ส่ วนได้เสียทีไ่ ม่ มี ส่ วนของเจ้ าของ ของบริษัทใหญ่ อานาจควบคุม

งบการเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษัทใหญ่ องค์ประกอบอืน่ ของส่ วนของเจ้ าของ กาไรสะสม กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ จัดสรรแล้ว - จัดสรรแล้ว ทุนสารอง ทุนสารอง ตามกฎหมาย สัมปทาน

®®

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 - ตามทีร่ ายงานใหม่ เงินปันผลจ่าย การจัดสรรทุนสารองสัมปทานสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

1,663,725,149 -

6

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 - ตามทีร่ ายงานไว้ เดิม การจัดสรรทุนสารองสัมปทาน

1,663,725,149 -

1,663,725,149 -

1,663,725,149

29 27

6

ทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและ หมายเหตุ ชาระแล้ว

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 - ตามทีร่ ายงานใหม่ เงินปันผลจ่าย การจัดสรรทุนสารองสัมปทานสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 - ตามทีร่ ายงานไว้เดิม การจัดสรรทุนสารองสัมปทาน

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ‘…— ‘…—®® งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ

10,805,150,524

10,429,905,784 (751,143,104) 1,126,387,844

10,429,905,784 -

10,429,905,784

10,048,300,592 (849,186,107) 1,230,791,299

10,061,010,095 (12,709,503)

รวมส่ วนของ เจ้ าของ

(หน่ วย : บาท)

11

รายงานประจ�ำปี 2561

108


27

การจัดสรรทุนสารองสัมปทานสาหรับปี

27

การจัดสรรทุนสารองสัมปทานสาหรับปี

1,663,725,149

-

-

-

2,138,522,279

-

-

-

2,138,522,279

2,138,522,279

-

-

-

2,138,522,279

มูลค่ าหุ้น

166,500,000

-

-

-

166,500,000

166,500,000

-

-

-

166,500,000

ตามกฎหมาย

52,222,751

-

12,906,325

-

39,316,426

39,316,426

-

39,316,426

-

-

สั มปทาน

ทุนสารอง

จัดสรรแล้ ว -

กาไรสะสม

5,481,478,094

1,044,719,858

(12,906,325)

(732,038,344)

5,181,702,905

5,181,702,905

1,096,308,770

(39,316,426)

(831,861,737)

4,956,572,298

ยังไม่ ได้ จัดสรร

11,387,974

(3,386,254)

-

-

14,774,228

14,774,228

(3,390,304)

-

-

18,164,532

- สุ ทธิ

รับโอนจากลูกค้ า

-

-

-

-

-

-

(531,196)

-

-

531,196

เผือ่ ขาย

เงินลงทุน

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ รวม

11,387,974

(3,386,254)

-

-

14,774,228

14,774,228

(3,921,500)

-

-

18,695,728

ส่ วนของเจ้ าของ

องค์ ประกอบอืน่ ของ

องค์ ประกอบอืน่ ของส่ วนของเจ้ าของ ทรัพย์สินทีไ่ ด้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

29

1,663,725,149

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561

เงินปันผลจ่าย

1,663,725,149

-

-

-

1,663,725,149

ชาระแล้ ว

ทุนสารอง

ทีอ่ อกและ

ส่ วนเกิน

จัดสรรแล้ ว -

ทุนจดทะเบียน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

กาไรเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี

29

เงินปั นผลจ่าย

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุ

งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ (ต่อ) สาหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

9,513,836,247

1,041,333,604

-

(732,038,344)

9,204,540,987

9,204,540,987

1,092,387,270

-

(831,861,737)

8,944,015,454

เจ้ าของ

รวมส่ วนของ

(หน่ วย : บาท)

12

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

109


รายงานประจ�ำปี 2561

110

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกาไรก่อนภาษีเงินได้เป็ นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดาเนิ นงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน รายได้จากการตัดจาหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า ขาดทุนจากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการด้อยค่าสิ ทธิในการให้บริ การจากข้อตกลงสัมปทาน กาไรจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย ประมาณการหนี้สินระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินปั นผลรับ รายได้ดอกเบี้ย ดอกเบี้ยจ่าย

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

(หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

1,390,961,221

1,533,669,101

1,272,816,717

1,355,256,564

432,019,718 304,107,746 (3,386,254) 512,966 860,000 (127,780) (588,697) 18,185,685 (6,989,137) 155,969,725

393,619,482 282,587,731 (3,390,304) 1,441,471 1,960,000 (1,862,672) 21,490,806 16,642,870 (6,938,348) 139,810,617

401,632,215 8,686,839 (3,386,254) 512,966 (127,780) 12,681,831 (126,581,983) (16,301,893) 115,904,051

372,213,358 7,337,322 (3,390,304) 1,802,967 (1,862,672) 10,035,301 (105,569,986) (1,154,879) 86,837,881

2,291,525,193

2,379,030,754

1,665,836,709

1,721,505,552

(36,812,947) (275,080) 27,833,886 (26,335,970)

13,321,220 (2,481,644) 2,093,356 16,765,580

(26,070,055) (2,440,217) (3,246,245)

17,279,746 5,483,332 14,680,971

7,477,323 (16,977,829) (13,251,900) (2,786,739) (11,813,760) (138,372,577)

6,474,591 (818,968) 15,739,721 (7,226,643) (8,972,321) (23,849,057)

4,176,637 (6,239,742) (7,130,845) (1,755,398) (137,744,134)

(4,463,729) (617,220) 15,581,509 (6,956,347) (31,298,285)

กระแสเงินสดจากการดาเนิ นงาน จ่ายภาษีเงินได้

2,080,209,600 (312,057,154)

2,390,076,589 (332,330,685)

1,485,386,710 (224,183,740)

1,731,195,529 (248,779,074)

เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน

1,768,152,446

2,057,745,904

1,261,202,970

1,482,416,455

กาไรจากการดาเนินงานก่ อนการเปลีย่ นแปลงในสิ นทรัพย์ และหนีส้ ิ นดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดาเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน จ่ายประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

13 และ 14 16

16 25 24 30 30

25

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้

13


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

111

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื�อเงินลงทุนระยะสั�น เงินสดรับจากการไถ่ถอนเงินลงทุนระยะสั�น เงินสดรับจากดอกเบี�ย เงินสดรับจากเงินปันผล เงินสดรับจากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวร เงินสดจ่ายเพื�อซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน เงินสดจ่ายเพื�อซื�อสินทรัพย์ถาวร และจ่ายเงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง เงินสดจ่ายเพื�อซื�อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดรับคืนค่าก่อสร้าง เงินสดรับจากเงินคํ�าประกันธนาคาร เงินสดจ่ายดอกเบี�ยสําหรับเงินกู้ยืมที�ตั�งขึ�นเป็นทุน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย

12

36

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชําระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชําระหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินปันผลจ่าย เงินสดจ่ายดอกเบี�ย

19.1 19.1 19.2 19.2 22

เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ�มขึ�น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลเพิ�มเติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที�มิใช่เงินสด เจ้าหนี�จากการซื�อสินทรัพย์ถาวรและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การซื�ออุปกรณ์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

8

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

(1,067,580,045) 1,056,470,219 5,923,878 18,158,226 (218,387) (480,475,196) (244,406,111) 529,238,341 (70,421,411) -

(1,154,426,026) 1,499,084,104 6,690,244 2,288,431 (1,264,948) (450,499,162) (305,155,028) 10,078,973 (92,318,077) -

(160,737,041) 145,127,780 16,166,511 126,581,983 18,158,226 (235,976) (428,993,527) (12,720,077) 529,238,341 (70,421,411) (1,600,000,000)

(432,227,972) 760,862,672 1,165,443 105,569,986 719,775 (1,465,502) (381,833,121) (18,903,605) 10,078,973 (92,318,077) -

(253,310,486)

(485,521,489)

(1,437,835,191)

(48,351,428)

4,409,000,000 (3,678,000,000) 1,600,000,000 (2,408,200,000) (330,637) (750,973,359) (145,602,783)

1,178,000,000 (2,695,000,000) 1,600,000,000 (808,200,000) (1,837,899) (853,546,692) (139,692,944)

3,560,000,000 (2,990,000,000) 1,600,000,000 (616,000,000) (330,637) (731,868,661) (108,843,256)

903,000,000 (893,000,000) (616,000,000) (1,837,899) (831,805,443) (86,669,757)

(974,106,779)

(1,720,277,535)

712,957,446

(1,526,313,099)

540,735,181 37,477,981

(148,053,120) 185,531,101

536,325,225 4,620,675

(92,248,072) 96,868,747

578,213,162

37,477,981

540,945,900

4,620,675

261,362,526 -

84,022,686 4,232,378

251,766,301 -

73,737,745 4,232,378

หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การในหน้ า 112 ถึ ง หน้ า 183 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงบการเงิ น นี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึงหน้า 86 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

14


รายงานประจ�ำปี 2561

112

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 1

ข้ อมูลทั�ว�ป บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด ซึ� งจดทะเบียนจัดตั�งขึ�น ในประเทศไทยและมีที�อยูต่ ามที�ได้จดทะเบียนดังนี� อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั�น 23-26 เลขที� 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร บริ ษ ทั เป็ นบริ ษ ทั จดทะเบี ยนในตลาดหลักทรั พย์แ ห่ งประเทศไทย เพื�อ วัตถุ ป ระสงค์ในการรายงานข้อ มูล จึ งรวมเรี ยกบริ ษ ัท และบริ ษทั ย่อยว่ากลุ่มกิจการ บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิจหลัก คือ พัฒนาและดูแลจัดการระบบท่อส่ งนํ�าสายหลักในพื�นที�บริ เวณชาย�ั�งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย ขายนํ�าดิบ รวมถึงการผลิตและขายนํ�าประปา งบการเงินรวมนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยรวมงบการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดังต่อไปนี�

ชื�อบริ�ทั

บริ ษทั ย่อยที�บริ ษทั ถือหุ ้นโดยตรง บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั ย่อยที�ถือหุ ้นโดยบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ประปาฉะเชิ งเทรา จํากัด บริ ษทั ประปาบางปะกง จํากัด บริ ษทั ประปานครสวรรค์ จํากัด บริ ษทั เอ็กคอมธารา จํากัด

ประเภทธุรกิจ

จั�ตั�งข�น� ในประเทศ

ผลิตและขายนํ�าประปา การลดนํ�าสูญเสี ย และลงทุน ในกิจการประปา 4 แห่ ง

ไทย

100

100

ผลิตและขายนํ�าประปา ผลิตและขายนํ�าประปา ผลิตและขายนํ�าประปา ผลิตและขายนํ�าประปา

ไทย ไทย ไทย ไทย

100 100 100 90.07

100 100 100 90.07

งบการเงินนี�ได้รับอนุมตั ิเมื�อวันที� 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 โดยคณะกรรมการของบริ ษทั

อัตราร้ อยละ ของการถือหุ้น พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ร้ อยละ ร้ อยละ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

113

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที�สาํ คัญ�ึ�งใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดงั ต่อไปนี�

2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จดั ทําขึ�นตามหลักการบัญชีที�รับรองทัว� ไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 �ึ�งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการได้จดั ทําขึ�นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้นนโยบายการบัญชีในเรื� องเงินลงทุนสําหรับเงินลงทุนเผือ� ขาย การจัดทํางบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที�รับรองทัว� ไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีที�สําคัญและ การใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หาร�ึ� งจัดทําขึ�นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการไปถือปฏิบตั ิ กิจการเปิ ดเผย เรื� องการประมาณการบัญชีที�สาํ คัญ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจที�มีนัยสําคัญต่องบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที� 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ�นจากงบการเงินตามกฎหมายที� เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที� มี เนื�อความขัดแย้งกันหรื อมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง ��� งมี�ลบังคับใช� สําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต� นในหร� อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ที�มีการเปลีย� นแปลงอย่ างมีสาระสํ าคัญและเกีย� ว�� องกับกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 7 (ปรั บปรุ ง 2560) เรื� อง งบกระแสเงินสด ได้มีการปรั บปรุ งโดยกําหนดการเปิ ดเผยข้อมูลเพิ�มเติม เกี�ยวกับการเปลี�ยนแปลงในหนี�สินของกิจการที�เกิดขึ�นจากกิจกรรมจัดหาเงินทั�งรายการที�เป็ นเงินสดและรายการที�ไม่ใช่เงินสด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2560) เรื� อง ภาษีเงินได้ ได้มีการอธิ บายให้ชดั เจนในเรื� องวิธีการบัญชีสําหรับภาษีเงินได้ รอตัดบัญชีกรณี มีสินทรัพย์ที�วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมที�มีจาํ นวนตํ�ากว่ามูลค่าฐานภาษีของสิ นทรัพย์ ในเรื� องดังต่อไปนี� - กรณี สินทรั พย์ที�วดั ด้วยมูลค่ายุติธรรมมีมูลค่าตํ�ากว่าฐานภาษีของสิ นทรั พย์น� ัน จะถือว่ามีผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หัก ภาษีเกิดขึ�น - ในการประมาณการกําไรทางภาษีในอนาคต กิจการสามารถสันนิษฐานว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรัพย์ในมูลค่าที�สูงกว่า มูลค่าตามบัญชีได้ - ในกรณี ที�กฎหมายภาษีอากรมีขอ้ จํากัดเกี� ยวกับแหล่งที�มาของกําไรทางภาษี ที�สามารถใช้ประโยชน์สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ได้เฉพาะในประเภทที�กาํ หนด การพิจารณาการจะได้ใช้ป ระโยชน์ ของสิ นทรั พย์ภ าษี เงิ นได้รอตัดบัญชี จะต้องนําไปประเมินรวมกันกับสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที�เป็ นประเภทเดียวกันเท่านั�น - ในการประมาณกําไรทางภาษีในอนาคตจะไม่รวมจํานวนที�ใช้หกั ภาษีที�เกิดจากการกลับรายการของผลแตกต่างชัว� คราว ที�ใช้หกั ภาษีน� นั


รายงานประจ�ำปี 2561

114

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรั บปรุ ง ��� งมี�ลบังคับใช้ สําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ที�มีการเปลีย� นแปลงอย่ างมีสาระสํ าคัญและเกีย� ว�้ องกับกลุ่มกิจการ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 (ปรับปรุ ง 2560) เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื�น ได้มีการ อธิบายให้ชดั เจนว่าการเปิ ดเผยตามข้อกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี� ให้ถือปฏิบตั ิกบั ส่ วนได้เสี ยที�ถูกจัด ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที�ถือไว้เพื�อขาย ตามขอบเขตของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 5 (ปรับปรุ ง 2560) เรื� อง สิ นทรั พย์ไม่หมุนเวียนที�ถือไว้เพื�อขายและการดําเนิ นงานที�ยกเลิก ยกเว้นการเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสําหรั บ บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า หรื อบริ ษทั ร่ วมที�ถูกจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที�ถือไว้เพื�อขาย มาตรฐานที�ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวข้างต้นไม่มีผลกระทบที�มีนยั สําคัญต่อกลุ่มกิจการ ยกเว้นเรื� องการเปิ ดเผยข้อมูล 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน��� งจะมี�ลบังคับใช้ สําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต้ นในหรื อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2562 ที�เกีย� ว�้ องกับกลุ่มกิจการ กลุ่มกิจการไม่ ได้นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินนีม� าถือปฏิบัติก่อนวันบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 28 (ปรับปรุ ง 2561) เรื� อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า ได้มีการอธิ บายให้ชดั เจนว่า กิจการร่ วมลงทุน กองทุนรวม กองทรัสต์ และกิจการที�มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันที�สามารถเลือกวิธีการวัดมูลค่าเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าด้วยวิธีมลู ค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน การเลือกวิธีการนี�สามารถทําได้ในแต่ละเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้า ณ วันที�รับรู้รายการครั�งแรกของบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที� 40 (ปรับปรุ ง 2561) เรื� อง อสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุน ได้มีการอธิ บายให้ชดั เจนเกี�ยวกับการ โอนอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนไปยังบัญชีอื�น� หรื อโอนจากบัญชีอื�น� มาเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนจะทําได้ ก็ต่อเมื�อมีการเปลี�ยนแปลงการใช้งานของอสังหาริ มทรั พย์น� ันโดยมีหลักฐานสนับสนุ น การเปลี�ยนแปลงในการใช้งาน จะเกิดขึ�นเมื�ออสังหาริ มทรัพย์เข้าเงื�อนไข หรื อสิ� นสุ ดการเข้าเงื�อนไขของอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุน การเปลี�ยนแปลง ในความตั�งใจเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที�จะสนับสนุนว่าเกิดการโอนเปลี�ยนประเภทของสิ นทรัพย์น� นั มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 2 (ปรับปรุ ง 2561) เรื� อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ ได้มีการอธิบายให้ชดั เจนเกี�ยวกับ -

การวัดมูลค่าของรายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที�ชาํ ระด้วยเงินสด กิจการต้องไม่นาํ เงื�อนไขการได้รับสิ ทธิ �ึ� งอยู่ นอกเหนือเงื�อนไขทางตลาดมาพิจารณาในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที�ชาํ ระด้วยเงินสด ณ วันที�วดั มูล ค่า แต่ ตอ้ งนํามาปรั บปรุ งจํานวนผลตอบแทนที�รวมอยู่ในจํานวนที�วดั มูลค่ าของหนี� สิน ที�เกิ ดขึ�น จาก รายการดังกล่าว

-

เมื�อกิจการต้องหักจํานวนภาระผูกพันภาษีเงินได้ของพนักงานที�เกี�ยวข้องกับการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ และนําส่ ง ภาษีที�หักไว้ดงั กล่าว�ึ� งโดยปกติเป็ นเงินสด กิ จการต้องจัดประเภทรายการดังกล่าวเป็ นรายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ที�ชาํ ระด้วยตราสารทุนทั�งหมด เสมือนว่าไม่มีลกั ษณะของการชําระด้วยยอดสุ ทธิ

-

การบัญชีสําหรับการปรับปรุ งเงื�อนไขของรายการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ที�เปลี�ยนการจัดประเภทจากการจ่ายชําระ ด้วยเงินสดเป็ นการจ่ายชําระด้วยตราสารทุน 17


115

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ��� งจะมี�ลบังคั บใช� สําหรั บรอบระยะเวลาบัญชี ที�เริ� มต� น ในหร� อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2562 ที�เกีย� ว�� องกับกลุ่มกิจการ กลุ่มกิจการ�ม่ ��� นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินนี�มา��อป�ิบัติก่อนวันบังคับใช� (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 15 เรื� อง รายได้จากสัญญาที�ทาํ กับลูกค้า มาตรฐานฉบับนี�เป็ นมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหม่เกี� ยวกับการรั บรู้ รายได้ โดยจะนํามาใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 18 สําหรั บการขายสิ นค้าและ ให้บริ การ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 11 สําหรับสัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่น� ี มีหลักการว่า รายได้จะรับรู้เมื�อการควบคุมในสิ นค้าหรื อบริ การได้โอนไปยังลูกค้า มาตรฐานมีทางเลือกในการปรับใช้โดยการปรับย้อนหลัง หรื อการปรับย้อนหลังแบบประยุกต์ ���งจะรับรู้ผลกระทบย้อนหลังกับกําไรสะสมต้นงวด การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 22 เรื� อง รายการที�เป็ นเงินตราต่างประเทศและสิ� งตอบแทนจ่ายล่วงหน้า ได้ให้หลักเกณฑ์ว่าควรใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันใดมาใช้สําหรั บการรับรู้มูลค่าเมื�อเริ� มแรกของสิ นทรัพย์ ค่าใช้จ่ายหรื อ รายได้ที�เกี� ยวข้องกับการจ่ายชําระหรื อรั บชําระสิ� งตอบแทนล่วงหน้าที�เป็ นสกุลเงินต่างประเทศ โดยกําหนดให้ใช้อตั รา แลกเปลี�ยน ณ วันที�กิจการรับรู้สินทรัพย์ที�ไม่เป็ นตัวเงิน เช่น เงินจ่ายล่วงหน้า หรื อหนี� สินที�ไม่เป็ นตัวเงิน เช่น รายได้รับ ล่วงหน้า ที�เกิดจากการจ่ายหรื อรับชําระสิ� งตอบแทนล่วงหน้านั�น กรณี ที�มีการจ่ายสิ� งตอบแทนล่วงหน้าหลายงวดให้ใช้อตั รา แลกเปลี�ยน ณ วันที�เกิดการรับรู้สินทรัพย์ที�ไม่เป็ นตัวเงินหรื อหนี� สินที�ไม่เป็ นตัวเงินในแต่ละงวดของการจ่ายสิ� งตอบแทน ล่วงหน้า ผูบ้ ริ หารของกลุ่มกิจการประเมินว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินเหล่านี�จะไม่มีผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญต่อกลุ่มกิจการ

18


รายงานประจ�ำปี 2561

116

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เกี�ยว�้ องกับเคร�� องม�อทางการเงินที�ประกาศแล้ ว และจะมี� ลบั งคับ ใช้ สํา หรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที�เริ�มต้ นในหร�อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2563 กลุ่มกิจการไม่ ได้ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ ใหม่ นี�มา��อป�ิบัติก่อนวันที�มี�ลบังคับใช้ กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เกี�ยวข้องกับเครื� องมือทางการเงินดังกล่าว ประกอบด้วยมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังต่อไปนี� มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 32 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 7 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 9 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 16 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 19

เรื� อง การแสดงรายการเครื� องมือทางการเงิน เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลเครื� องมือทางการเงิน เรื� อง เครื� องมือทางการเงิน เรื� อง การป้ องกันความเสี� ยงของเงินลงทุนสุ ทธิในหน่วยงานต่างประเทศ เรื� อง การชําระหนี�สินทางการเงินด้วยตราสารทุน

กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ดงั กล่าวข้างต้น จะนํามาใช้แทนมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังต่อไปนี� มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 101 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 103 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 104 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 105 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 106 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 107

เรื� อง หนี�สงสัยจะสู ญและหนี�สูญ เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและ สถาบันการเงินที�คล้ายคลึงกัน เรื� อง การบัญชีสาํ หรับการปรับ�ครงสร้างหนี�ที�มีปัญหา เรื� อง การบัญชีสาํ หรับเงินลงทุนในตราสารหนี�และตราสารทุน เรื� อง การบัญชีสาํ หรับกิจการที�ดาํ เนินธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน เรื� อง การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับ เครื� องมือทางการเงิน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที� 32 เรื� อ ง การแสดงรายการเครื� อ งมือ ทางการเงิน กําหนดหลักการเกี� ยวกับการแสดงรายการ เครื� องมือทางการเงินเป� นหนี�สินหรื อส่ วนของเจ้าของ และการหักกลบสิ นทรัพย์ทางการเงินกับหนี�สินทางการเงิน มาตรฐาน การบัญชีฉบับนี�ใช้กบั การจัดประเภทเครื� องมือทางการเงินในมุมของผูอ้ อกเครื� องมือทางการเงินเพื�อจัดเป� นสิ นทรัพย์ทางการเงิน หนี� สิ น ทางการเงิ น และตราสารทุ น รวมถึ ง การจัด ประเภทดอกเบี� ย เงิ น ปั น ผล ผลกําไรและขาดทุ นที� เกี� ยวข้อง และ สถานการณ์ที�ทาํ ให้สินทรัพย์ทางการเงินและหนี�สินทางการเงินต้องหักกลบกัน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 7 เรื� อง การเปิ ดเผยข้อมูลเครื� องมือทางการเงิน กําหนดให้กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูล เพื�อให้ผใู้ ช้งบการเงินสามารถประเมินเกี� ยวกับความมีนัยสําคัญของเครื� องมือทางการเงินที�มีต่อฐานะการเงินและผลการ ดําเนิ นของกิ จการ และลักษณะและระดับของความเสี� ยงที�เกิ ดขึ�นจากเครื� องมือทางการเงินที�กิจการเปิ ดรั บระหว่างรอบ ระยะเวลารายงานและ ณ วันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน รวมทั�งแนวทางการบริ หารความเสี� ยงดังกล่าว 19


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

117

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เกี�ยว�้ องกับเคร�� องม�อทางการเงินที�ประกาศแล้ ว และจะมีผ ลบั งคับ ใช้ สํา หรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที�เริ�มต้ นในหร�อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2563 กลุ่มกิจการไม่ ได้ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ ใหม่ นี�มา��อป�ิบัติก่อนวันที�มีผลบังคับใช้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน �บับที� 9 เรื� อง เครื� องมือทางการเงิน กล่าวถึงการจัดประเภทรายการ การวัดมูลค่า การตัด รายการสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี�สินทางการเงิน การคํานวณการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ทางการเงิน และการบัญชีป้องกัน ความเสี� ยง ดังต่อไปนี� -

การจัดประเภทรายการและการวัดมูลค่า -

สิ นทรัพย์ทางการเงินประเภทตราสารหนี�ถูกจัดประเภทรายการและการวัดมูลค่าเป็ นสามประเภทได้แก่ ราคาทุน ตัดจําหน่ าย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุ น มูลค่ ายุติธรรมผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื� น โดยขึ�นอยู่กับ โมเดลธุ รกิ จของกิจการในการจัดการสิ นทรัพย์ทางการเงินและลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญาของสิ นทรัพย์ ทางการเงินนั�น

-

สิ นทรั พย์ทางการเงินประเภทตราสารทุนถูกจัดประเภทรายการและการวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร หรื อขาดทุน โดยกิจการสามารถเลือกรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินประเภทตราสารทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นโดยไม่สามารถโอนไปเป็ นกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

-

หนี�สินทางการเงินถูกจัดประเภทรายการและวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย ยกเว้นหนี� สินทางการเงินที�ตอ้ ง วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน หรื อกิจการเลือกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน เมื�อเข้าเงื�อนไขที�กาํ หนด

-

ตราสารอนุพนั ธ์ถูกจัดประเภทและวัดมูลค่าด้วยวิธีมลู ค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน

-

ข้อกําหนดการด้อยค่ากล่าวถึงการบัญชี สําหรับผลขาดทุนด้านเครดิตที�คาดว่าจะเกิดขึ�นต่อสิ นทรั พย์ทางการเงินที�วดั มูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ าย หรื อสิ นทรัพย์ทางการเงินประเภทตราสารหนี� ที�วดั มูลค่าด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมผ่าน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น ลูกหนี�ตามสัญญาเช่า และสิ นทรัพย์ที�เกิดจากภาระผูกพันวงเงินสิ นเชื�อและสัญญาคํ�าประกัน ทางการเงิน โดยไม่จาํ เป็ นต้องรอให้เกิดเหตุการณ์ดา้ นเครดิตขึ�นก่อน กิจการต้องพิจารณาการเปลี�ยนแปลงในคุณภาพ เครดิตของสิ นทรัพย์ทางการเงินเป็ นสามระดับ ในแต่ละระดับจะกําหนดวิธีการวัดค่าเผือ� การด้อยค่าและการคํานวณวิธี ดอกเบี�ยที�แท้จริ งที�แตกต่างกันไป โดยมีขอ้ ยกเว้นสําหรับลูกหนี�การค้าหรื อสิ นทรัพย์ที�เกิดจากสัญญาภายใต้มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน�บับที� 15 ที�ไม่มีองค์ประกอบเกี� ยวกับการจัดหาเงินที�มีนัยสําคัญ และลูกหนี� ตามสัญญาเช่ า จะใช้วธิ ีการอย่างง่าย (simplified approach) ในการพิจารณาค่าเผือ� การด้อยค่า

-

การบัญชีป้องกันความเสี� ยงมีวตั ถุประสงค์เพื�อแสดงผลกระทบในงบการเงิน �ึ�งเกิดจากกิจกรรมการบริ หารความเสี� ยง ของกิจการที�ใช้เครื� องมือทางการเงินในการจัดการฐานะเปิ ดที�เกิดขึ�นจากความเสี� ยงนั�นๆ �ึ� งอาจส่ งผลกระทบต่อกําไร หรื อขาดทุน (หรื อกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น ในกรณี ของเงินลงทุนในตราสารทุนที�กิจการเลือกแสดงการเปลี�ยนแปลง มูลค่ายุติธรรมในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น) วิธีการดังกล่าวมีเป้ าหมายในการแสดงถึงบริ บทของเครื� องมือที�ใช้ป้องกัน ความเสี� ยงภายใต้การบัญชีป้องกันความเสี� ยงเพื�อให้เกิดความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และผลกระทบที�เกิดขึ�น 20


รายงานประจ�ำปี 2561

118

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�มีการปรับปรุ ง (ต่อ) 2.2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เกี�ยว�้ องกับเคร�� องม�อทางการเงินที�ประกาศแล้ ว และจะมี� ลบั งคับ ใช้ สํา หรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที�เริ�มต้ นในหร�อหลังวันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2563 กลุ่มกิจการไม่ ได้ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ ใหม่ นี�มา��อป�ิบัติก่อนวันที�มี�ลบังคับใช้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 16 เรื� อง การป้ องกันความเสี� ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่ วยงานต่างประเทศ ให้ความชัดเจนเกี�ยวกับวิธีการทางบัญชีที�เกี�ยวกับการป้ องกันความเสี� ยงของเงินลงทุนสุ ทธิในหน่วยงานต่างประเทศ โดยให้ แนวทางในการระบุความเสี� ยงของอัตราแลกเปลี�ยนเงินตราต่างประเทศที�เข้าเงื�อนไข ให้แนวทางเกี�ยวกับเครื� องมือป้ องกัน ความเสี� ยงในการป้ องกันความเสี� ยงของเงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่ วยงานต่างประเทศ ว่าสามารถถือโดยกิ จการใดๆ ภายใน กลุ่มกิจการมิใช่เฉพาะเพียงบริ ษทั ใหญ่เท่านั�น และให้แนวทางในการที�จะระบุมูลค่าที�จะจัดประเภทรายการใหม่จากส่ วน ของเจ้าของไปยังกําไรหรื อขาดทุนสําหรับทั�งเครื� องมือป้ องกันความเสี� ยงและรายการที�มีการป้ องกันความเสี� ยง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 19 เรื� อง การชําระหนี� สินทางการเงินด้วยตราสารทุน ให้ขอ้ กําหนด ทางบัญชีสาํ หรับกร�ี ที�กิจการออกตราสารทุนให้แก่เจ้าหนี� เพื�อชําระหนี� สินทางการเงินทั�งหมดหรื อบางส่ วน กิจการต้องวัดมูลค่า ตราสารทุนที�ออกให้แก่เจ้าหนี�ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม กิจการต้องตัดรายการหนี� สินทางการเงินทั�งหมดหรื อบางส่ วนเมื�อเป็ นไป ตามข้อ กําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที� 9 ผลต่ างระหว่างมูล ค่ าตามบัญชี ของหนี� สิ นทางการเงิ น (หรื อบางส่ วนของหนี�สินทางการเงิน)ที�ชาํ ระและมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที�ออกต้องรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน ผูบ้ ริ หารของกลุ่มกิจการอยูร่ ะหว่างการประเมินผลกระทบของการนํามาตรฐานกลุ่มเครื� องมือทางการเงินฉบับเหล่านี� มาใช้ เป็ นครั�งแรก


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

119

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย (1)

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยหมายถึงกิจการ(ซึ�งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที�กลุ่มกิจการควบคุม กลุ่มกิจการควบคุมกิจการเมื�อกลุ่มกิจการมีการ เปิ ดรับหรื อมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี�ยวข้องกับผูไ้ ด้รับการลงทุนและมีความสามารถทําให้เกิดผลกระทบต่อ ผลตอบแทนจากการใช้อาํ นาจเหนื อผูไ้ ด้รับการลงทุน กลุ่มกิจการรวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั�งแต่ วันที�กลุ่มกิจการมีอาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิจการจะไม่นาํ งบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวม นับจากวันที�กลุ่มกิจการสู ญเสี ยอํานาจควบคุม กลุ่มกิจการบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจที�ไม่ใช่การรวมธุ รกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันโดยถือปฏิบตั ิตามวิธีซ�ื อ สิ� งตอบแทนที� โอนให้สาํ หรับการซื�อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที�ผซู้ �ื อโอนให้และหนี� สินที�ก่อขึ�นเพื�อจ่ายชําระ ให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ ูกซื� อและส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของที�ออกโดยกลุ่มกิ จการ สิ� งตอบแทนที�โอนให้รวมถึงมูลค่า ยุติธรรมของสิ นทรั พย์ หรื อหนี� สิ นที� ผูซ้ �ื อคาดว่าจะต้อ งจ่ ายชําระตามข้อ ตกลง ต้น ทุ น ที�เกี� ยวข้อ งกับ การซื� อจะรั บรู้ เป็ น ค่าใช้จ่ายเมื�อเกิ ดขึ�น มูลค่าเริ� มแรกของสิ นทรัพย์ที�ระบุได้ที�ได้มาและหนี� สินและหนี� สินที�อาจเกิ ดขึ�นที�รับมาจากการรวม ธุ รกิ จจะถูกวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ื อ ในการรวมธุ รกิจแต่ละครั� ง กลุ่มกิจการวัดมูลค่าของส่ วนได้เสี ยที�ไม่มี อํานาจควบคุมในผูถ้ ูกซื�อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรื อ มูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิ ที�ระบุได้ของผูถ้ ูกซื� อตามสัดส่ วนของหุ ้นที�ถือโดย ส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม ในการรวมธุ รกิ จที�ดาํ เนิ นการสําเร็ จจากการทยอยซื� อ ผูซ้ �ื อต้องวัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที�ผซู้ �ื อถืออยู่ในผูถ้ ูกซื� อก่ อนหน้าการรวม ธุรกิจใหม่โดยใช้มลู ค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ือและรับรู้ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิดขึ�นจากการวัดมูลค่าใหม่น� นั ในกําไรหรื อขาดทุน สิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปโดยกลุ่มกิจการ รับรู้ ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที�ซ�ื อ การเปลี�ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของสิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้องจ่ายที�รับรู้ภายหลังวันที�ซ�ื อซึ� งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี� สินให้รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน สิ� งตอบแทนที� คาดว่าจะต้องจ่ายซึ� งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของต้องไม่มีการวัดมูลค่ าใหม่ และให้บ ันทึ กการจ่ ายชําระ ในภายหลังไว้ในส่ วนของเจ้าของ ส่ วนเกิ นของมูลค่าสิ� งตอบแทนที�โอนให้ มูลค่าส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื� อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื� อ ธุรกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซื� อที�ผซู้ �ื อถืออยู่ก่อนการรวมธุ รกิจ ที�มากกว่ามูลค่ายุติธรรมสุ ทธิ ณ วันที� ซื�อของสิ นทรัพย์สุทธิ ที�ระบุได้ที�ได้มา ต้องรับรู้เป็ นค่าความนิ ยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ� งตอบแทนที�โอนให้ มูลค่าส่ วนได้ เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื�อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื�อธุรกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซื� อที�ผซู้ �ื อ ถืออยู่ก่อนการรวมธุ รกิจ น้อยกว่ามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยที�ได้มาเนื� องจากการซื� อในราคาตํ�ากว่า มูลค่ายุติธรรม จะรับรู้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที�ยงั ไม่ได้เกิดขึ�นจริ งระหว่างกันในกลุ่มกิ จการ ขาดทุนที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ งก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั�นมีหลักฐานว่าสิ นทรัพย์ที�โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื�อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ


รายงานประจ�ำปี 2561

120

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อย (ต่อ) (2) รายการกับส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มกิ จการปฏิบตั ิต่อรายการกับส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมเช่ นเดียวกันกับส่ วนที�เป็ นของเจ้าของกลุ่มกิ จการ สําหรั บ การซื� อส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมที�มีผลต่างระหว่างสิ� งตอบแทนที�จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรั พย์สุทธิ ของ หุน้ ที�ซ�ือมาในบริ ษทั ย่อย และการขายส่ วนได้เสี ยที�ไม่มีอาํ นาจควบคุมที�มีกาํ ไรหรื อขาดทุนจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้าของ (3) งบการเงินเฉพาะกิจการ ในงบการเงิน เฉพาะกิ จการ เงินลงทุ นในบริ ษทั ย่อยจะบันทึ กบัญชี ด้วยราคาทุ นหักค่าเผื�อ การด้อยค่ า ต้นทุ นจะมีการปรั บ เพื�อ สะท้อนการเปลี�ยนแปลงสิ� งตอบแทนที�เกิ ดขึ� นจากการเปลี�ยนแปลงมูล ค่าสิ� งตอบแทนที�คาดว่าจะต้อ งจ่าย ต้นทุ นนั�น จะรวมต้นทุนทางตรงที�เกี�ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนนี�

2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก) สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงิน รายการที�รวมในงบการเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มกิจการถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลัก ที�บริ ษทั ดําเนินงานอยู่ (สกุลเงินที�ใช้ในการดําเนินงาน) งบการเงินแสดงในสกุลเงินบาท ซึ�งเป็ นสกุลเงินที�ใช้ในการดําเนิ นงาน และสกุลเงินที�ใช้นาํ เสนองบการเงินของบริ ษทั (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที�เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที�ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน � วันที�เกิดรายการ หรื อวันที�ตีราคาหากรายการนั�นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุนที�เกิดจากการรับหรื อจ่ายชําระที�เป็ นเงินตรา ต่างประเทศ และที�เกิดจากการแปลงค่าสิ นทรัพย์และหนี� สินที�เป็ นตัวเงินซึ� งเป็ นเงินตราต่างประเทศด้วยอัตราแลกเปลี�ยน � วันสิ� นปี ได้บนั ทึกไว้ในกําไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการรับรู้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี�ยน ทั�งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรั บรู้ ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นด้วย ในทางตรงข้ามการรั บรู้ กาํ ไรหรื อขาดทุนของรายการ ที�ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรหรื อขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี�ยนทั�งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั�นจะรับรู้ไว้ในกําไร ขาดทุนด้วย

23


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

121

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ในงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื�อทวงถาม และเงิน ลงทุนระยะสั�นอื�นที�มีสภาพคล่องสู งซึ�งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที�ได้มา

2.6

ลูกหนี�การค้ า ลู กหนี� การค้ารั บรู้ เริ� มแรกด้วยมูลค่ าตามใบแจ้งหนี� และจะวัดมู ลค่ าต่ อมาด้วยจํานวนเงิ นที� เหลื ออยู่หักด้วยค่ าเผื�อหนี� สงสั ยจะสู ญ ซึ� งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ� นงวด ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของลูกหนี� การค้า เปรี ยบเทียบกับมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี�การค้า หนี�สูญที�เกิดขึ�นจะรับรู้ไว้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึ� งของค่าใช้จ่าย ในการบริ หาร

2.7

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ�ากว่า ราคาทุนของสิ นค้าคํานวณโดยวิธีร าคาถัว เ�ลี�ย เคลื�อนที� ต้นทุนของการซื� อประกอบด้วยราคาซื� อ และค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการซื� อสิ นค้านั�น เช่นค่าอากรขาเข้าและ ค่าขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดที�เกี�ยวข้องทั�งหมดหรื อเงินที�ได้รับคืน มูลค่าสุ ทธิ ที�จะได้รับประมาณจากราคาปกติที�คาดว่าจะขายได้หัก ด้วยค่าใช้จ่ายในการขาย กลุ่มกิจการบันทึกบัญชีค่าเผือ� การลดมูลค่าของสิ นค้าเก่า ล้าสมัย และเสื� อมคุณภาพเท่าที�จาํ เป็ น

2.8

เงินลงทุน กลุ่มกิ จการจัดประเภทเงินลงทุนที�นอกเหนื อจากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เป็ น 4 ประเภท การจัดประเภท ขึ�นอยูก่ บั จุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ ายบริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการจัดประเภทที�เหมาะสมสําหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวน การจัดประเภทอย่างสมํ�าเสมอ (1)

เงินลงทุนเพื�อค้า คือ เงินลงทุนเพื�อจุดมุ่งหมายหลักในการหากําไรจากการเปลี�ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั�นไม่เกิน 3 เดือน นับแต่เวลาที�ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน

(2)

เงินลงทุนที�ถือไว้จนครบกําหนด คือ เงินลงทุนที�มีกาํ หนดเวลาและผูบ้ ริ หารตั�งใจแน่ วแน่ และมีความสามารถถือไว้จนครบ กําหนด ได้แ สดงรวมไว้ในสิ น ทรั พย์ไม่หมุน เวียน เว้น แต่ จะครบกํา หนดภายใน 12 เดื อ นนับ แต่ วนั สิ� นรอบระยะเวลา รายงานก็จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน

(3)

เงินลงทุนเผื�อขาย คือ เงินลงทุนที� จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื�อเสริ มสภาพคล่องหรื อ เมื�ออัตราดอกเบี� ย เปลี� ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสิ น ทรั พย์ไม่หมุน เวียน เว้นแต่กรณี ที�ฝ่ายบริ หารแสดงเจตจํานงที�จะถื อไว้ในช่ วงเวลา น้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั สิ� นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน หรื อเว้นแต่กรณี ที�ฝ่ายบริ หาร มีความจําเป็ นที�ตอ้ งขายเพื�อเพิ�มเงินทุนดําเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน

(4)

เงินลงทุนทัว� ไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที�ไม่มีตลาดซื�อขายคล่องรองรับ 24


รายงานประจ�ำปี 2561

122

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.8

เงินลงทุน (ต่อ) เงินลงทุนทั�ง 4 ประเภทรับรู้มลู ค่าเริ� มแรกด้วยราคาทุน ซึ� งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที�ให้ไปเพื�อให้ได้มาซึ� งเงินลงทุนนั�น รวมทั�งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ เงิ นลงทุ นเพื�อค้า และเงิ นลงทุ นเผื�อขายวัดมูลค่ าในเวลาต่ อมาด้วยมูลค่ ายุติธรรม รายการกําไรและขาดทุ นที� ยงั ไม่เกิ ดขึ� นจริ งของ เงินลงทุนเพื�อค้ารับรู้ในกําไรขาดทุน รายการกําไรและขาดทุนที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริ งของเงินลงทุนเผือ� ขายรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น เงินลงทุนที�จะถือไว้จนครบกําหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ ายตามอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง หักด้วยค่าเผื�อ การด้อยค่า เงินลงทุนทัว� ไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผือ� การด้อยค่า บริ ษทั จะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื�อมีขอ้ บ่งชี�วา่ เงินลงทุนนั�นอาจเกิดการด้อยค่า หากราคาตามบัญชีของเงินลงทุนสู งกว่า มูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน บริ ษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากการด้อยค่าไว้ในกําไรหรื อขาดทุน ในการจําหน่ ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุ ท ธิ ที�ได้รับจากการจําหน่ ายเมื�อเปรี ยบเทียบกับราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนนั�นจะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน

2.9

อสั งหาริมทรัพย� เพ�อ� การลงทุน อสังหาริ มทรั พย์ที�ถือ ครองโดยกลุ่มกิ จการเพื�อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่ า หรื อจากการเพิ�มขึ�นของมูล ค่าของสิ นทรั พย์หรื อ ทั�ง สองอย่า ง และไม่ ไ ด้มี ไว้ใ ช้งานโดยกิ จ การในกลุ่ ม กิ จ การ จะถู ก จัดประเภทเป็ น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื�อ การลงทุ น รวมถึ ง อสังหาริ มทรัพย์ที�อยูร่ ะหว่างก่อสร้างหรื อพั�นาเพื�อเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนในอนาคต การรับรู้รายการเมื�อเริ� มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนด้วยวิธีราคาทุน รวมถึงต้นทุนในการทํารายการและต้นทุนการกูย้ ืม หลังจากการรั บรู้เมื�อเริ� มแรกแล้วอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนจะบันทึกด้วยวิธีราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม และผลขาดทุน จากการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ที�ดินไม่มีการหักค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุนอื�น � จะคํานว�โดยใช้วิธีเส้นตรงเพื�อปั นส่ วนราคา ทุนตลอดอายุการให้ประโยชน์ที�ประมา�การไว้ดงั นี� อาคาร ส่ วนปรับปรุ งอาคาร

20 ปี และ 35 ปี 10 ปี

การรวมรายจ่ ายในภายหลังเข้าเป็ นมูลค่ า ตามบัญชี ของสิ นทรั พย์จะกระทําก็ต่อ เมื�อ มีความเป็ นไปได้ค่อ นข้างแน่ ที� กลุ่ มกิ จการ จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตในรายจ่ายนั�น และต้นทุนสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่ าเชื�อถือ ค่าซ่ อมแซมและบํารุ งรักษา ทั�งหมดจะรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื�อเกิดขึ�น เมื�อมีการเปลี�ยนแทนชิ�นส่ วนของอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการลงทุน จะตัดมูลค่าตามบัญชีของ ส่ วนที�ถูกเปลี�ยนแทนออก


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

123

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.10 �ี��นิ อาคารและอุปกรณ์ ที�ดินแสดงด้วยราคาทุนหลังหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื� อมราคาสะสม และผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ต้นทุนเริ� มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื�น� ที�เกี�ยวข้องกับการซื� อสิ นทรัพย์น� ัน ต้นทุนที�เกิดขึ�นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์หรื อรับรู้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ�งตามความเหมาะสม เมื�อต้นทุนนั�นเกิดขึ�นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคตแก่บริ ษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื�อถือ และจะตัดมูลค่าตามบัญชีของชิ�นส่ วนที�ถูกเปลี�ยนแทนออก สําหรับค่าซ่อมแซมและบํารุ งรักษาอื�น � บริ ษทั จะรับรู้ตน้ ทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื�อเกิดขึ�น ที�ดินไม่มีการคิดค่าเสื� อมราคา ค่าเสื� อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คาํ นวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์โดยใช้วิธีเส้นตรงเพื�อลดราคาทุน ตลอดอายุการให้ประโยชน์ที�ประมาณการไว้ของสิ นทรัพย์ ดังต่อไปนี� โรงสู บนํ�า อาคาร ส่ วนปรับปรุ งอาคาร และอาคารเช่า เครื� องจักรและอุปกรณ์ - ท่อส่ งนํ�า - ระบบผลิตนํ�าประปา - เครื� องมือและอุปกรณ์ อุปกรณ์สาํ นักงาน ยานพาหนะ

20 ปี และ 35 ปี 20 ปี และ 35 ปี 5 ปี และ 10 ปี แต่ไม่เกินอายุสัญญาเช่า 30 ปี และ 40 ปี 5 ปี 15 ปี และ 20 ปี 5 ปี 3 ปี และ 5 ปี 5 ปี

กลุ่มกิจการมีการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื� อมราคาอย่างน้อยที�สุดทุกสิ� นรอบปี บัญชี ในกรณี ที�มลู ค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนทันที ผลกําไรหรื อขาดทุนที�เกิ ดจากการจําหน่ ายที�ดิน อาคารและอุ ปกรณ์ คํานวณโดยเปรี ยบเที ยบจากสิ� งตอบแทนสุ ทธิ ที�ได้รับจาก การจําหน่ายสิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน


รายงานประจ�ำปี 2561

124

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.11 ค่ าความนิยม ค่าความนิยมที�เกิดจากการได้มาซึ�งบริ ษทั ย่อยจะแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงินรวม ค่าความนิ ยมที�รับรู้ จะต้องถูกทดสอบการด้อยค่าทุกปี และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื�อการด้อยค่าสะสม ค่าเผื�อการด้อยค่าของ ค่าความนิยมที�รับรู้แล้วจะไม่มีการกลับรายการ ทั�งนี�มลู ค่าคงเหลือตามบัญชีของค่าความนิยมจะถูกรวมคํานวณในกําไรหรื อขาดทุน เมื�อมีการขายกิจการ ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ค่าความนิยมจะถูกปันส่ วนไปยังหน่วยที�ก่อให้เกิดกระแสเงินสด โดยที�หน่ วยนั�นอาจจะ เป็ นหน่ วยเดียวหรื อหลายหน่ วยรวมกันซึ� งคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการรวมธุ รกิจที�เกิดค่าความนิ ยมเกิดขึ�นและระบุส่วนงาน ดําเนินงานได้ 2.12 ข้ อตกลงสั มปทานบริการ ข้อตกลงสัมปทานบริ การ คือ ข้อตกลงระหว่างภาครั ฐ (ผูใ้ ห้สัมปทาน) กับเอกชน (ผูป้ ระกอบการ) ที�ให้ผปู้ ระกอบการเป็ นผูก้ ่อสร้ าง โครงสร้างพื�นฐานเพื�อให้บริ การสาธารณะหรื อเพื�อยกระดับโครงสร้างพื�นฐาน การดําเนิ นการ และการบํารุ งรักษาโครงสร้างพื�นฐาน ในช่วงเวลาที�ระบุไว้ ซึ�งผูป้ ระกอบการจะได้รับค่าบริ การตลอดระยะเวลาของข้อตกลง โดยผูใ้ ห้สัมปทานจะมีการควบคุมหรื อกํากับ ดูแลประเภทของบริ การที�ผปู้ ระกอบการต้องดําเนิ นการในการใช้โครงสร้างพื�นฐานเพื�อให้บริ การ กลุ่มผูท้ ี�ได้รับบริ การ และราคา การให้บริ การ และผูใ้ ห้สัมปทานควบคุมส่ วนได้เสี ยคงเหลือที�สําคัญในโครงสร้างพื�นฐานเมื�อสิ� นสุ ดระยะเวลาของข้อตกลงไม่ว่า โดยการเป็ นเจ้าของ การได้รับประโยชน์ หรื อวิธีอื�นใด ในกรณี ที�กลุ่มกิจการในฐานะผูป้ ระกอบการเป็ นผูด้ าํ เนินการก่อสร้างหรื อยกระดับการให้บริ การ จะบันทึกรายได้และต้นทุนที�เกี�ยวข้อง กับการก่อสร้างหรื อการยกระดับการให้บริ การ โดยอ้างอิงกับขั�นความสําเร็ จของงานก่อสร้าง โดยรับรู้ส�ิ งตอบแทนที�ได้รับหรื อค้างรับ สําหรับมูลค่าเริ� มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินหรื อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กลุ่มกิจการรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินหากกลุ่มกิจการสร้างโครงสร้างพื�นฐานและมีสิทธิ อนั ปรา�จากเงื�อนไขตามสัญญาที�จะได้รับ เงินสดหรื อสิ นทรัพย์ทางการเงินอื�นจากผูใ้ ห้สัมปทาน และรับรู้ สินทรั พย์ไม่มีตวั ตนหากกลุ่มกิจการสร้างโครงสร้างพื�นฐานและ ได้รับสิ ทธิ (ใบอนุ ญาต) ในการเรี ยกเก็บค่ าบริ การจากผูใ้ ช้บ ริ การสาธารณะ ซึ� งสิ ท ธิ ในการเรี ยกเก็บ ค่าบริ การจากผูใ้ ช้บริ การ สาธารณะไม่ใช่สิทธิ อนั ปรา�จากเงื�อนไขที�จะได้รับเงินสด เนื� องจากจํานวนเงินดังกล่าวขึ�นอยู่กบั จํานวนการใช้บริ การสาธารณะ ในกรณี ที�กลุ่มกิจการได้รับชําระค่าบริ การสําหรับการก่อสร้างบางส่ วนเป็ นสิ นทรัพย์ทางการเงินและบางส่ วนเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กลุ่มกิจการบันทึกแต่ละองค์ประกอบของสิ� งตอบแทนที�ได้รับแยกจากกัน สําหรับรายได้และต้นทุนที�เกี�ยวข้องกับการดําเนิ นการ ให้บริ การ จะรับรู้เป็ นรายได้และต้นทุนเมื�อได้ให้บริ การแล้วตามเงื�อนไขสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาในการบํารุ งรักษาหรื อปรั บปรุ งซ่ อมแซมโครงสร้างพื�นฐานที�ไม่ใช่เป็ นการปรั บปรุ งเพื�อยกระดับ จะรับรู้ และวัดมูลค่าด้วยจํานวนประมาณการที�ดีที�สุดของรายจ่ายที�ตอ้ งนําไปจ่ายชําระภาระผูกพันในปัจจุบนั ณ วันสิ� นงวดบัญชี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

125

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.13 สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน สิ ทธิในการให้ บริการจากข้ อตกลงสั มปทาน สิ ทธิ ในการให้บริ การจากข้อตกลงสัมปทานเป็ นสิ ทธิ ที�ได้มาจากข้อตกลงสัมปทานในการให้บริ การผลิตและขายนํ�าประปาจาก ภาครัฐ ตามนโยบายการบัญชีที�กล่าวไว้ในข้อ 2.12 สิ ทธิ ในการให้บริ การจากข้อตกลงสัมปทานตัดจําหน่ ายในกําไรขาดทุนตามวิธี เส้นตรงตามระยะเวลาของสัญญาสัมปทาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รายจ่ายเพื�อให้ได้มา�ึ�งสิ ทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้บนั ทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน โดยคํานวณจากต้นทุนในการได้มาและ ตัดจําหน่ายโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์ที�ประมาณการไว้ 10 ปี 2.14 การด้อยค่ าของสิ นทรัพย์ สิ นทรั พย์ที�มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ ชัด �ึ� งไม่มีการตัดจําหน่ ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็ นประจําทุกปี สิ นทรัพย์อื�น ที�มีการตัดจําหน่ ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื�อมีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์บ่งชี� ว่าราคาตามบัญชี อาจตํ�ากว่ามูลค่าที�คาดว่าจะ ได้รับคื น รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรั บรู้ เมื�อราคาตามบัญชี ของสิ นทรั พย์สู งกว่ามูลค่าสุ ทธิ ที�คาดว่าจะได้รับคื น �ึ� งหมายถึ ง จํานวนที�สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้ สิ นทรัพย์จะถูกจัดเป็ นหน่ วยที�เล็กที�สุดที�สามารถ แยกออกมาได้ เพื�อวัตถุป ระสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรั พย์ที�ไม่ใช่ สินทรั พย์ทางการเงินนอกเหนื อจากค่าความนิ ยม �ึ�งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็ นไปได้ที�จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที�สิ�นรอบ ระยะเวลารายงาน 2.15 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ในกําไร หรื อขาดทุน ยกเว้นส่ วนที�รับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรับรู้โดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของ ในกรณี น� ี ภาษีเงินได้ตอ้ งรับรู้ ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�น หรื อรับรู้โดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามก�หมายภาษีที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที�คาดได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะมีผลบังคับใช้ ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงานในประเท�ที�บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ดําเนินงานอยูแ่ ละเกิดรายได้เพื�อเสี ยภาษี ผูบ้ ริ หารจะประเมิน สถานะของการยืน� แบบแสดงรายการภาษีเป็ นงวด� ในกรณี ที�มสี ถานการณ์ที�การนําก�หมายภาษีไปปฏิบตั ิข� ึนอยู่กบั การตีความ จะ ตั�งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีที�เหมาะสมจากจํานวนที�คาดว่าจะต้องจ่ายชําระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ตามวิธีหนี� สิน เมื�อเกิดผลต่างชัว� คราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี� สิน และราคาตามบัญชี ที�แสดงอยูใ่ นงบการเงิน


รายงานประจ�ำปี 2561

126

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.15 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ) อย่างไรก็ตามกลุ่มกิจการจะไม่รับรู้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที�เกิดจากการรับรู้เริ� มแรกของรายการสิ นทรัพย์หรื อรายการหนี� สินที� เกิ ดจากรายการที�ไม่ใช่ การรวมธุ รกิ จ และ ณ วันที�เกิ ดรายการ รายการนั�นไม่มีผลกระทบต่อกําไรหรื อขาดทุนทั�งทางบัญชี หรื อ ทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคาํ นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที�มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที�คาดได้ค่อนข้างแน่ ว่า จะมีผลบังคับใช้ภายในสิ� นรอบระยะเวลาที�รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื�อสิ นทรั พย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที�เกี�ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มกิจการจะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอที�จะนําจํานวน ผลต่างชัว� คราวนั�นมาใช้ประโยชน์ กลุ่มกิจการได้ต� งั ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลต่างชัว� คราวของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้าเว้นแต่กลุ่มกิ จการสามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว� คราวและการกลับรายการ ผลต่างชัว� คราวมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะไม่เกิดขึ�นภายในระยะเวลาที�คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื�อกิจการมีสิทธิ ตามกฎหมายที� จะนําสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั มาหักกลบกับหนี� สินภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทั�งสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี� สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเกี�ยวข้องกับภาษีเงินได้ที�ประเมินโดยหน่ วยงานจัดเก็บภาษีหน่ วยงานเดียวกันโดยการเรี ยกเก็บ เป็ นหน่วยภาษีเดียวกันหรื อหน่วยภาษีต่างกัน�ึ�งตั�งใจจะจ่ายหนี�สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ 2.16 เงินกู้ยืม เงินกูย้ มื รับรู้เริ� มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ� งตอบแทนที�ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที�เกิดขึ�น ผลต่างระหว่างสิ� งตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที�เกิ ดขึ�น) เมื�อเทียบกับมูลค่าที�จ่ายคืนเพื�อชําระหนี� น� ันจะรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนตลอดช่ วงเวลา การกูย้ มื ดอกเบี�ยจ่ายรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้างตามวิธีอตั ราดอกเบี�ยที�แท้จริ ง เงินกูย้ ืมจัดประเภทเป็ นหนี� สินหมุนเวียนเมื�อกลุ่มกิจการไม่มีสิทธิ เลื�อนชําระหนี� ออกไปอีกเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจาก วันสิ� นรอบระยะเวลารายงาน (ก)

ต้ นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ยืมที�กู้มาทัว� ไปและที�กูม้ าโดยเฉพาะที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่ อสร้ าง หรื อการผลิต สิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขต้องนํามารวมเป็ นส่ วนหนึ� งของราคาทุนของสิ นทรัพย์น� นั โดยสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขคือสิ นทรัพย์ที� จําเป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรี ยมสิ นทรัพย์น� นั ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที�จะขาย การ รวมต้นทุนการกูย้ มื เป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิ� นสุ ดลงเมื�อการดําเนิ นการส่ วนใหญ่ ที�จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ นทรัพย์ที� เข้าเงื�อนไขให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที�จะขายได้เสร็ จสิ� นลง รายได้จากการลงทุนที�เกิ ดจากการนําเงินกูย้ ืมที�กูม้ าโดยเฉพาะ ที�ยงั ไม่ได้นาํ ไปเป็ นรายจ่ายของสิ นทรัพย์ที�เข้าเงื�อนไขไป ลงทุนเป็ นการชัว� คราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกูย้ มื ที�สามารถตั�งขึ�นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนการกูย้ มื อื�น� ต้องถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดขึ�น 29


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

127

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.17 สั ญญาเช่ าระยะยาว กร�ี�ี�กลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า สัญญาระยะยาวเพื�อเช่าสิ นทรัพย์�� ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญาเช่านั�น ถือเป็ นสัญญาเช่ าดําเนิ นงาน เงินที�ตอ้ งจ่ายภายใต้สัญญาเช่ าดังกล่าว (สุ ทธิ จากสิ� งตอบแทนจูงใจที�ได้รับจากผูใ้ ห้เช่ า) จะบันทึก ในกําไรขาดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั�น สัญญาเช่าที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์�� ึงผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี� ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั�งหมดถือเป็ นสัญญาเช่า การเงิน �ึ� งจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรั พย์ที�เช่ า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงินที�ตอ้ งจ่าย ตามสัญญาเช่า แล้วแต่มลู ค่าใดจะตํ�ากว่า จํานวนเงินที�ตอ้ งจ่ายดังกล่าวจะปันส่ วนระหว่างหนี� สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื�อให้ได้ อัตราดอกเบี�ยคงที�ต่อหนี� สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึก เป็ นหนี� สิ นระยะยาว ส่ วนดอกเบี�ยจ่ายจะบันทึกในกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่ าเพื�อ ทําให้อตั ราดอกเบี�ยแต่ละงวดเป็ น อัตราคงที�สําหรั บยอดคงเหลือของหนี� สินทรั พย์ที�เหลืออยู่ สิ นทรั พย์ที�ได้มาตามสัญญาเช่ าการเงินจะคิดค่าเสื� อมราคาตลอดอายุ การใช้งานของสิ นทรัพย์ที�เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า กร�ี�ี�กลุ่มกิจการเป็ นผู้ให้ เช่ า สิ น ทรั พย์ที� ให้เช่ าตามสั ญญาเช่ าดําเนิ น งานรวมแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิ น ในส่ วนอสั งหาริ มทรั พย์เพื�อการลงทุ น และ ตัดค่ าเสื� อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรั พย์ด้วยเกณ�์เดียวกันกับรายการที� ดิน อาคารและอุ ป กรณ์ ของกลุ่ มกิ จการ �ึ�งมีลกั �ณะคล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุ ทธิจากสิ� งตอบแทนจูงใจที�ได้จ่ายให้แก่ผเู้ ช่า) รับรู้ดว้ ยวิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า 2.18 ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์พนักงานของกลุ่มกิ จการประกอบด้วยผลประโยชน์หลังออกจากงานและผลประโยชน์ระยะยาวอื�น ผลประโยชน์ หลังออกจากงานประกอบด้วยโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ โครงการสมทบเงินเป็ นโครงการที�กลุ่มกิจการจ่ายเงินสมทบ ให้กับกิจการที�แยกต่างหาก กลุ่มกิ จการไม่มีภาระผูกพันตามก�หมาย หรื อภาระผูกพันจากการอนุ มานที�จะต้องจ่ายชําระเพิ�มเติม จากที�ได้สมทบไว้แล้วหากกองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที�จะจ่ายชําระภาระผูกพันจากการให้บริ การของพนักงานทั�งในงวดปั จจุบนั และงวดก่ อน โครงการผลประโยชน์เป็ นโครงการที�ไม่ใช่ โครงการสมทบเงิน โดยปกติโครงการผลประโยชน์จะกําหนดจํานวน ผลประโยชน์ที�พนักงานจะได้รับเมื�อเก�ียณอายุ �ึ� งจะขึ�นอยู่กบั ปั จจัยหนึ� งหรื อหลายปั จจัย เช่น อายุพนักงาน อายุการทํางาน และ ค่าตอบแทน เป็ นต้น ผลประโยชน์ระยะยาวอื�นเป็ นผลประโยชน์ที�กลุ่มกิจการจะให้พนักงานเมื�อมีอายุงานครบตามที�กาํ หนด

30


รายงานประจ�ำปี 2561

128

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.18.1 ผลประโยชน์ หลังออกจากงาน 

โครงการสมทบเงิน กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ กลุ่มกิจการได้จดั ตั�งกองทุนสํารองเลี�ยงชีพ โดยใช้แผนการกําหนดอัตราการจ่ายสมทบโดยที�สินทรัพย์ของกองทุน ได้แยกออกจากสิ นทรั พย์ของกลุ่มกิ จการและบริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุน กองทุนสํารองเลี�ยงชี พดังกล่าวได้รับเงิน เข้าสมทบกองทุนจากพนัก งานและกลุ่ มกิ จการ บริ ษ ัท จะจ่ ายสมทบให้กับ กองทุ นสํารองเลี� ยงชี พ �ึ� งบริ หารโดย ผูจ้ ัดการกองทุน ภายนอกตามเกณฑ์และข้อกําหนดของ พระราชบัญญัติกองทุ นสํารองเลี� ยงชี พ พ.ศ. 2530 และ กลุ่ ม กิ จการไม่มีภ าระผูก พัน ที� จ ะจ่ า ยเงิ น เพิ� มอี ก เมื�อ ได้จ่ ายเงิ น สมทบไปแล้ว เงิ น สมทบจะถู กรั บ รู้ เ ป็ นค่ าใช้จ่า ย ผลประโยชน์พนักงานเมื�อถึงกําหนดชําระ สําหรับเงินสมทบจ่ายล่วงหน้าจะถูกรับรู้เป็ นสิ นทรัพย์จนกว่าจะมีการได้รับ เงินคืนหรื อหักออกเมื�อครบกําหนดจ่าย

โครงการผลประโยชน์ ผลประโยชน์เมื�อเกษียณอายุ กลุ่มกิจการจัดให้มีโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานเพื�อจ่ายเงินให้แก่พนักงานเป็ นไปตามกฎหมายแรงงานไทย จํานวนเงิน ดังกล่ าวขึ� น อยู่กับฐานเงิ น เดื อ นและจํานวนปี ที�พนักงานทํางานให้บ ริ ษทั นับถึ งวัน ที� สิ� นสุ ดการทํา งาน ที�จะเกิดขึ�นในอนาคต หนี� สินสําหรั บโครงการผลประโยชน์จะรับรู้ ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของ ภาระผูกพัน ณ วันที�สิ�นรอบระยะเวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์โครงการ และ ปรับปรุ งด้วยต้นทุน บริ การในอดี ตที�ยงั ไม่รับ รู้ ภาระผูกพัน นี� คํานวณโดยนักคณิ ตศาสตร์ ป ระกัน ภัยอิ ส ระด้วยวิธีคิดลดแต่ ล ะหน่ วยที� ประมาณการไว้ �ึ� งมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์ดงั กล่าวกําหนดโดยการคิดลดกระแสเงินสด ที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตด้วยอัตราดอกเบี�ยพันธบัตรรัฐบาล�ึ� งเป็ นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที�จะต้องจ่าย ให้แ ก่ พนักงาน รวมทั�งมี เงื� อ นไขและวันครบกําหนดใกล้เคี ยงกับ เงื� อ นไขของภาระผูก พัน ของผลประโยชน์ หลัง ออกจากงานโดยประมาณ กําไรและขาดทุนจากการการวัดมูลค่าใหม่ที�เกิ ดขึ�นจากการปรั บปรุ งจากประสบการณ์หรื อการเปลี�ยนแปลงในข้อ สมมติฐานจะต้องรับรู้ในส่ วนของเจ้าของผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื�นในงวดที�เกิดขึ�น และได้รวมอยู่ในกําไรสะสม ในงบแสดงการเปลี�ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของ ต้นทุนบริ การในอดีตจะถูกรับรู้ทนั ทีในกําไรหรื อขาดทุน

2.18.2 ผลประโยชน์ ระยะยาวอ�น� กลุ่มกิจการจัดให้มีผลประโยชน์ระยะยาวอื�นแก่พนักงานเมื�อมีอายุงานครบตามที�กาํ หนดในนโยบายของบริ ษทั โดยจะรับรู้ หนี� สิ น สําหรั บ ผลประโยชน์ระยะยาวอื� นในงบแสดงฐานะการเงิน ด้วยมูล ค่ าปั จจุ บ ันของภาระผูกพัน ณ วัน ที�สิ� นรอบ ระยะเวลารายงาน ภาระผูกพันนี�คาํ นวณโดยนักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยอิสระด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที�ประมาณการไว้ กําไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของผลประโยชน์ระยะยาวอื�น และต้นทุนบริ การในอดีตจะถูกรับรู้ทนั ทีในกําไรหรื อขาดทุน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

129

บริ�ั� จัดการและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.19 ประมา�การหนี�สิน กลุ่ มกิ จการจะบัน ทึ ก ประมาณการหนี� สิ น อัน เป็ นภาระผูกพัน ในปั จจุ บนั ตามก�หมายหรื อ ตามข้อตกลงที� จัดทําไว้ อัน เป็ นผล สื บเนื�องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ�งการชําระภาระผูกพันนั�นมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะส่ งผลให้บริ ษทั ต้องสู ญเสี ยทรัพยากร ออกไป และตามประมาณการของจํานวนที�ตอ้ งจ่ายได้อย่างน่ าเชื�อถือ ในกรณี ที�กลุ่มกิจการคาดว่าประมาณการหนี� สินเป็ นรายจ่าย ที�จะได้รับคืน เช่ น ภายใต้สัญญาประกันภัย กลุ่มกิจการจะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่างหากเมื�อคาดว่าน่ าจะได้รับรายจ่ายนั�นคืน อย่างแน่นอน ประมาณการหนี�สินจะไม่รับรู้สาํ หรับขาดทุนจากการดําเนินงานในอนาคต ในกรณี ที�มีภาระผูกพันที�คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มกิจการกําหนดความน่าจะเป็ นที�กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื�อจ่ายชําระภาระ ผูกพันเหล่านั�น โดยพิจารณาจากความน่ าจะเป็ นโดยรวมของภาระผูกพันทั�งประเภท แม้ว่าความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที�กิจการจะ สู ญเสี ยทรัพยากรเพื�อชําระภาระผูกพันบางรายการที�จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ�า กลุ่มกิจการจะวัดมูลค่าของจํานวนประมาณการหนี� สิน โดยใช้มูลค่าปั จจุบนั ของรายจ่ายที�คาดว่าจะต้องนํามาจ่ายชําระภาระผูกพัน โดยใช้อตั ราก่ อนภาษีซ� ึ งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ตลาดในปั จจุบนั ของมูลค่าของเงินตามเวลาและความเสี� ยงเ�พาะของ หนี�สินที�กาํ ลังพิจารณาอยู่ การเพิ�มขึ�นของประมาณการหนี�สินเนื�องจากมูลค่าของเงินตามเวลา จะรับรู้เป็ นดอกเบี�ยจ่าย 2.20 การรับรู้ รายได้ รายได้ป ระกอบด้วยมูล ค่ายุติธรรมที� จะได้รับจากการขายสิ น ค้าและบริ การ โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุ่มกิ จการสําหรั บ งบการเงินรวม นโยบายในการรับรู้รายได้แต่ละประเภทของกลุ่มกิจการเป็ นดังต่อไปนี� ก)

รายได้จากการขาย รายได้จากการขายรับรู้เป็ นรายได้เมื�อได้โอนความเสี� ยงและผลตอบแทนที�เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ �ือแล้ว โดยแสดงด้วยจํานวนเงินสุ ทธิจากภาษีขาย การรับคืน เงินคืนและส่ วนลด

ข)

รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้ค่าเช่ารับรู้เป็ นรายได้ดว้ ยวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า รายได้ค่ า บริ ก ารรั บ รู้ เ ป็ นรายได้เ มื� อ ได้ใ ห้บ ริ ก ารแล้ว โดยพิ จ ารณาตามขั�น ความสําเร็ จ ของงานด้วยมูล ค่ า ซึ� งไม่ ร วม ภาษีมลู ค่าเพิม�

ค)

รายได้ค่าก่อสร้างรับรู้เป็ นรายได้โดยพิจารณาตามขั�นความสําเร็ จของงาน

ง)

ดอกเบี�ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบี�ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณ�์คงค้าง เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมื�อสิ ทธิในการรับเงินปันผลเกิดขึ�น

จ)

รายได้อื�น รายได้อื�นรับรู้ตามเกณ�์คงค้าง


รายงานประจ�ำปี 2561

130

บริ�ั� จัดการและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.21 การจ่ ายเงินปันผล เงินปันผลที�จ่ายไปยังผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั บันทึกในงบการเงินของกลุ่มกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี�� ึ งที�ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปันผล หรื อโดยคณะกรรมการของบริ ษทั ในกรณี ประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 2.22 ข้ อมูลตามส่ วนงานดําเนินงาน ส่ วนงานดําเนิ นงานได้ถูกรายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในที� นาํ เสนอให้ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานหมายถึงบุคคลที�มีหน้าที�ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการป�ิบตั ิงานของ ส่ วนงานดําเนินงาน �ึ�งพิจารณาว่าคือ กรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ ที�ทาํ การตัดสิ นใจเชิงกลยุท�์ 3

การจัดการความเสี� ยง�างการเงิน

3.1

ปัจจัยความเสี� ยง�างการเงิน กิจกรรมของกลุ่มกิจการมีความเสี� ยงทางการเงินที�หลากหลาย�ึ� งได้แก่ ความเสี� ยงด้านการให้สินเชื�อ การเปลี�ยนแปลงของอัตรา ดอกเบี�ย แผนการจัดการความเสี� ยงโดยรวมของกลุ่ มกิ จการจึงมุ่งเน้น แสดงหาวิ�ีการลดผลกระทบที� ท าํ ให้เสี ยหายต่ อผลการ ดําเนินงานทางการเงินของกลุ่มกิจการให้เหลือน้อยที�สุดเท่าที�เป็ นไปได้ โดยมีนโยบายในการบริ หารความเสี� ยงดังนี� 3.1.1 ความเสี� ยงด้านการ�ห้ สินเช��อ กลุ่มกิ จการมีความเสี� ยงด้านการให้สินเชื� อที�เกี� ยวเนื� องกับลูกหนี� การค้า และลูกหนี� อื�น ฝ่ ายบริ หารควบคุมความเสี� ยงนี� โดย การกําหนดให้มีนโยบายและวิ�ีการในการควบคุมสิ นเชื�อที�เหมาะสม ดังนั�นกลุ่มกิจการจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสี ยหาย ที�เป็ นสาระสําคัญจากการให้สินเชื�อ ถึงแม้ว่ากลุ่มกิจการมีการกระจุกตัวที�กลุ่มลูกหนี� รายใหญ่จาํ นวนน้อยราย แต่เนื� องจาก ลูกหนี�กลุ่มดังกล่าวเป็ นภาครัฐ ฝ่ ายบริ หารเห็นว่าความเสี� ยงด้านดังกล่าวอยู่ในระดับตํ�า จํานวนเงินสู งสุ ดที�กลุ่มกิจการอาจ ต้องสู ญเสี ยจากการให้สินเชื�อ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี�การค้า ลูกหนี�อื�นที�แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน 3.1.2 ความเสี� ยงจากอัตราดอกเบีย� กลุ่ มกิ จการมี ค วามเสี� ย งจากอัต ราดอกเบี� ยที� สํ า คัญ อัน เกี� ย วเนื� อ งกับ เงิ น ฝากสถาบัน การเงิ น และเงิ น กู้ยื ม ระยะสั� น และระยะยาว ที�เกิ ดจากการเปลี�ยนแปลงในอนาคตของอัตราดอกเบี�ยในตลาด�ึ� งจะส่ งผลกระทบต่อการดําเนิ นงานและ กระแสเงินสดของกลุ่มกิจการ สิ นทรัพย์และหนี�สินทางการเงินส่ วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี�ยที�ปรับขึ�นลงตามอัตราตลาดหรื อมี อัตราดอกเบี�ยคงที��� ึ งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปั จจุบนั กลุ่ มกิ จการมิได้ใช้เครื� องมือทางการเงินที� เป็ นตราสารอนุ พนั �์ ในการจัดการความเสี� ยงที�เกิดจากการผันผวนของอัตราดอกเบี�ยดังกล่าว


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

131

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 3

การจั�การความเสี� ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.2

การประมาณมูลค่ ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมสามารถจําแนกตามวิธีประมาณมูลค่าความแตกต่างของระดับข้อมูลได้ดงั นี� - ข้อมูลระดับที� 1 ได้แก่ราคาเสนอซื�อขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลาดที�มีสภาพคล่องสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี�สินอย่างเดียวกัน - ข้อมูลระดับที� 2 ได้แก่ ขอ้ มูลอื�นนอกเหนื อจากราคาเสนอซื� อขายซึ� งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั�งที�สามารถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลราคา) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที�คาํ นวณมาจากราคา) สําหรับสิ นทรัพย์น� นั หรื อหนี�สินนั�น - ข้อมูลระดับที� 3 ได้แก่ขอ้ มูลสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี�สินซึ�งไม่ได้อา้ งอิงจากข้อมูลที�สามารถสังเกตได้จากตลาด กลุ่มกิจการได้เปิ ดเผยวิธีการประมาณมูลค่ายุติธรรมไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที�เกี�ยวข้อง

4

ประมาณการทางบั�ชีที�สําคั� �้ อสมมติ�านและการใช้ �ุลยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื� อง และอยู่บนพื�นฐานของประสบการณ์ ในอดีตและปั จจัยอื�น� ซึ� งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที�เชื�อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั�น การประมาณการ ทางบัญชีที�สาํ คัญ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจ ได้แก่

4.1

มูลค่ าจากการใช้ สินทรัพย์ มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ คือมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดที�กลุ่มกิจการคาดว่าจะได้รับจากการใช้สินทรัพย์และทําการปรับลด โดยอัตราคิดลด ประมาณการกระแสเงินสดตามประมาณการทางการเงินสําหรับระยะเวลาที�เหลือของการใช้ทรัพย์สินหรื อตามอายุ สัมปทานที�เหลืออยู่ที�ได้อนุ มตั ิแล้วโดยผูบ้ ริ หาร โดยคิดคํานวณขึ�นจากประมาณการอัตราการเติบโตทางธุ รกิจ ซึ� งจะไม่สูงไปกว่า กํา ลังการผลิต และความต้องการของผูใ้ ช้น� าํ สมมติ ฐานหลักที� ใช้ในการคํานวณหามูลค่ าจากการใช้คือ อัตราการเติ บโต อัตรา ค่าใช้จ่ายต่อรายได้และอัตรากําไรขั�นต้น ผูบ้ ริ หารกําหนดอัตราดังกล่าวจากผลการดําเนิ นงานในอดีต ความคาดหวังของการพัฒนา ตลาด และแผนทางธุรกิจ อัตราคิดลดที�ใช้เป� นอัตราก่อนหักภาษีและปรับสะท้อนความเสี� ยงเ�พาะของธุ รกิจโดยคํานึ งถึงระยะเวลา ที�เหลือในการใช้สินทรัพย์แล้ว โดยวิธีการดังกล่าวข้างต้นอาจเปลี�ยนแปลงได้เนื�องจากโครงสร้างรายได้ โครงสร้างต้นทุน อัตราคิด ลด ภาวะอุตสาหกรรมและภาวะเศรษฐกิจที�เปลี�ยนแปลงไป สําหรั บการพิจารณาการด้อยค่าของสิ ทธิ ในการให้บริ การจากข้อตกลงสัมปทาน กลุ่มกิ จการพิจารณาในระดับหน่ วยสิ นทรั พย์ ที�ก่อให้เกิดเงินสดซี� งเป� นสัมปทานการผลิตนํ�าประปาที�ได้รับในแต่ละพื�นที� โดยกําหนดมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนจากมูลค่าจาก การใช้ซ� ึงพิจารณาจากมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดสุ ทธิ ที�คาดว่าจะเกิดขึ�นตลอดอายุการได้รับสัมปทานที�เหลืออยู่ของแต่ละสัญญา โดยรายได้คาํ นวณจากปริ มาณการใช้น� าํ โดยประมาณอัตราการเติบโตตามความต้องการของผูใ้ ช้น� าํ ในแต่ละพื�นที�ซ� ึ งจะไม่สูงไป กว่ากําลังการผลิต และอัตราค่านํ�าตามที�กาํ หนดในสัญญา โดยกลุ่มกิ จการใช้อตั ราต้นทุนของเงินลงทุนถัวเ�ลี�ยถ่วงนํ�าหนักก่อน ภาษีร้อยละ 10.89 ต่อปี ในการคิดลดกระแสเงินสดสุ ทธิที�ได้รับดังกล่าว นอกจากนี� กลุ่มกิจการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิ ยมทุกปี โดยมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนของหน่ วยสิ นทรัพย์ที�ก่อให้เกิดเงินสด พิจารณาจากการคํานวณมูลค่าจากการใช้ การคํานวณดังกล่าวอาศัยการประมาณการตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15


รายงานประจ�ำปี 2561

132

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 4

ประมา�การ�างบั�ชี�ี�สําคั� �� อสมมติ�านและการ�ช� �ุลยพินิจ (ต่อ)

4.2

ผลประโยชน์ พนักงาน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ระยะยาวอื�นขึ�นอยูก่ บั หลายปัจจัยที�ใช้ในการคํานวณตาม หลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยโดยมีขอ้ สมมติฐานหลายตัว เช่น อัตราเงินเฟ้ อ อัตราการเพิม� ขึ�นของเงินเดือนพนักงาน อัตราการเพิ�มขึ�น ของราคาทอง รวมถึงข้อสมมติฐานเกี� ยวกับอัตราคิดลด การเปลี�ยนแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านี� จะส่ งผลกระทบต่อมูลค่าของ ภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ระยะยาวอื�น กลุ่มกิ จการได้พิจารณาอัตราคิดลดที�เหมาะสม �ึ� งได้แก่อตั รา ดอกเบี� ยที�ควรจะใช้ในการกําหนดมูล ค่ าปั จจุบ ัน ของประมาณการกระแสเงิ นสดที�คาดว่าจะต้องจ่ ายภาระผูกพัน โดยใช้อ ัตรา ดอกเบี�ยพัน�บัตรรั ฐบาล�ึ� งเป็ นสกุ ลเงิ นเดี ยวกับ สกุล เงิน ที�จะจ่ายภาระผูกพันให้แ ก่ พนักงาน และวัน ครบกําหนดใกล้เคี ยงกับ ระยะเวลาที�ตอ้ งชําระภาระผูกพัน ข้อสมมติฐานหลักสําหรับภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ และผลประโยชน์ระยะยาวอื�น�ึ� งอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบนั ในตลาด ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 24

4.3

ความ�ม� แน� นอน�ี�สําคั� กลุ่มกิจการมีความไม่แน่ นอนเกี�ยวกับอัตราผลตอบแทนในโครงการท่อส่ งนํ�า 2 โครงการตามที�ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 37 �ึ� ง�่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจในการบันทึกค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนโครงการในงบการเงินโดยใช้อตั ราค่าตอบแทนจาก ประมาณการที�ดีที�สุดจากข้อมูลที�มีอยูใ่ นปัจจุบนั

5

การจั�การความเสี� ยง�นส� วน�อง�ุน วัตถุป ระสงค์ของกลุ่มกิ จการในการบริ หารทุ นของบริ ษ ัทนั�นเพื�อดํารงไว้�� ึ งความสามารถในการดําเนิ น งานอย่างต่ อเนื� อ งของ กลุ่ มกิ จการเพื�อ สร้ างผลตอบแทนต่ อผูถ้ ือ หุ ้นและเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี�มีส่ วนได้เสี ยอื� น และเพื�อดํารงไว้�� ึ งโครงสร้ างของทุ น ที�เหมาะสมเพื�อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มกิจการอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผถู้ ือหุ ้น การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายทรัพย์สินเพื�อลดภาระหนี�สิน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

133

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 6

การปรับปรุ งตัวเลขเปรียบเทียบ การจัดสรรทุนสํ ารองสั มปทาน กลุ่มกิ จการมีการแสดงรายการทุนสํารองสัมปทานในงบการเงินรวมใหม่ โดยได้รวมทุนสํารองสัมปทานของบริ ษทั ย่อย �ึ� งเดิม แสดงรวมอยูใ่ นกําไรสะสมที�ยงั ไม่ได้จดั สรร ตัวเลขเปรี ยบเทียบได้มีการปรับปรุ งใหม่เพ��อให้สอดคล้องกับการนําเสนอในงวดปัจจุบนั ดังนี� (หน่ วย: บาท)

งบการเงินรวม รายการในงบแสดงฐานะการเงิน � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กําไรสะสมจัดสรรแล้ว - ทุนสํารองสัมปทาน กําไรสะสมยังไม่ได้จดั สรร - ส่ วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของ ของบริ ษทั ใหญ่ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 กําไรสะสมจัดสรรแล้ว - ทุนสํารองสัมปทาน กําไรสะสมยังไม่ได้จดั สรร - ส่ วนของผูเ้ ป็ นเจ้าของ ของบริ ษทั ใหญ่

ตามที�รายงาน�ว� เดิม

เพิม� ข�น� (ลดลง)

ตามที�รายงานใหม่

-

236,323,231

236,323,231

5,867,023,171

(236,323,231)

5,630,699,940

39,316,426

259,445,716

298,762,142

6,219,721,946

(259,445,716)

5,960,276,230

การปรับปรุ งดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อกําไรสุ ทธิ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม และส่ วนของเจ้าของรวมที�เคยนําเสนอ ผลกระทบต่อกําไรสะสมรวม � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 และวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ไม่มีสาระสําคัญต่อข้อมูลในงบแสดง ฐานะการเงินรวมของปี ที�นาํ มาแสดงเปรี ยบเทียบ ข้อมูล � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ได้แสดงไว้ในงบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของ เจ้าของ ดังนั�นกลุ่มกิจการจึงไม่ได้แสดงงบแสดงฐานะการเงิน � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 เพิ�มเติม


รายงานประจ�ำปี 2561

134

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 7

ข้ อมูลตามส่ วนงานดําเนินงาน กลุ่มกิ จการดําเนิ นธุ รกิ จหลัก คือ พัฒนาและดูแลจัดการระบบท่อส่ งนํ�าสายหลักในพื�นที�บริ เว�ชาย�ั�งทะเลภาคตะวันออกของ ประเทศไทย โดยมีส่ วนงานที� รายงานแบ่ งตามกิ จกรรมทางธุ รกิ จ �ึ� งประกอบด้วย การขายนํ�าดิ บ การผลิตและขายนํ�าประปา การบริ หารกิจการประปา และงานวิศวกรรมบริ การ สําหรับกิจกรรมทางธุ รกิจอื�น � เช่น การให้เช่าอาคารสํานักงาน จะแสดงรวม ในรายการอื�น � กลุ่มกิจการมีการดําเนินธุรกิจในส่ วนงานทางภูมิศาสตร์เดียวคือ ประเทศไทยจึงไม่มีการนําเสนอข้อมูลเกี�ยวกับเขตภูมิศาสตร์ กลุ่มกิจการบันทึกรายการขายและโอนระหว่างส่ วนงานเช่นเดียวกับการขายให้แก่ บุคคลภายนอก ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้าน การดําเนินงาน วัดผลการดําเนินงานของแต่ละส่ วนงานโดยใช้กาํ ไรจากการดําเนินงานของส่ วนงาน ข้อมูลตามส่ วนงานดําเนินงานสามารถสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี� (หน่ วย: บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 ส่ วนงานขาย

ส่ วนงานบริการ

ธุรกิจ การขาย นํ�าดิบ

ธุรกิจการ ผลิตและขาย นํ�าประปา

ธุรกิจ การบริหาร งานวิศวกรรม กิจการประปา บริการ

2,393,819,753 40,307,904

1,647,496,697 -

39,122,144 214,628,463

55,736,904 -

2,434,127,657

1,647,496,697

253,750,607

อ��น �

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

รวม

84,813,554 52,524,307

(307,460,674)

4,220,989,052 -

55,736,904 137,337,861

(307,460,674)

4,220,989,052

ต้ นทุนขายและบริการ

(973,079,878) (1,184,313,780) (214,214,806) (58,372,229) (96,789,746)

307,460,674

(2,219,309,765)

กําไรจากการดําเนิ นงานตามส่ วนงาน

1,461,047,779

-

2,001,679,287

รายได้ รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รวมรายได้

รายได้ (ค่ าใช้ จ่าย) ที�ไม่ ได้ ปันส่ วน รายได้อื�น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กําไรสุ ทธิ

463,182,917

39,535,801

(2,635,325)

40,548,115

34,335,133 (10,097,242) (477,743,902) (157,212,055) (261,187,123) 1,129,774,098


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

135

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 7

ข้ อมูลตามส่ วนงานดําเนินงาน (ต่อ)

(หน่ วย: บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 ส่ วนงานขาย

ส่ วนงานบริการ

ธุรกิจ การขาย นํ�าดิบ

ธุรกิจการ ผลิตและขาย นํ�าประปา

ธุรกิจ การบริหาร งานวิศวกรรม กิจการประปา บริการ

2,452,052,565 49,402,257

1,575,183,371 -

129,696,298 216,852,838

62,337,367 -

2,501,454,822

1,575,183,371

346,549,136

อ��น �

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

รวม

88,772,291 26,146,384

(292,401,479)

4,308,041,892 -

62,337,367 114,918,675

(292,401,479)

4,308,041,892

ต้ นทุนขายและบริการ

(964,190,281) (1,099,769,230) (313,396,504) (61,907,297) (77,686,416)

292,401,479

(2,224,548,250)

กําไรจากการดําเนิ นงานตามส่ วนงาน

1,537,264,541

-

2,083,493,642

รายได้ รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รวมรายได้

475,414,141

33,152,632

430,070

37,232,259

รายได้ (ค่ าใช้ จ่าย) ที�ไม่ ได้ ปันส่ วน รายได้อื�น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

48,592,895 (18,987,845) (438,581,118) (140,848,473) (301,653,750)

ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กําไรสุ ทธิ

1,232,015,351

ข้ อมูลเกีย� วกับลูกค้ ารายใหญ่ กลุ่มกิจการมีรายได้ส่วนใหญ่จากหน่วยงานที�อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล เช่น การประปาส่ วนภูมิภาค การนิ คมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ���งเกิดจากส่ วนงาน การขายนํ�าดิบ การขายนํ�าประปา และงานวิศวกรรมบริ การ โดยมีรายได้สําหรับปี สิ� นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 จํานวน 2,773.3 ล้านบาท (พ.ศ. 2560 : 2,929.6 ล้านบาท) 8

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร - ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทออมทรัพย์ - ประเภทฝากประจํา

804,000 1,017,660 47,131,893 529,259,609 578,213,162

534,036 591,162 36,331,693 21,090 37,477,981

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 275,000 986,548 10,443,132 529,241,220 540,945,900

10,036 560,050 4,047,734 2,855 4,620,675

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์มีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.38 - 1.20 ต่อปี (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 0.40 - 2.40 ต่อปี ) เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํามีอายุไม่เกิน 3 เดือน มีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.80 - 1.75 ต่อปี (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 0.75 - 1.60 ต่อปี )


รายงานประจ�ำปี 2561

136

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 9

เงินลงทุนระยะสั� น งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 เงินฝากประจํากับสถาบันการเงิน เงินฝากประจําตามข้อกําหนดสัญญาสัมปทาน รวม

46,226,632 358,050,182 404,276,814

94,277,065

298,762,142 393,039,207

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 55,053,467 55,053,467

39,316,426 39,316,426

� วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เงินฝากประจํามีอายุระหว่าง 6 - 12 เดือน และมีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.75 - 1.60 ต่อปี (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 0.90 - 2.40 ต่อปี ) เงินฝากตามข้อกําหนดสัญญาสัมปทาน เป� นเงินฝากที�จดั สรรไว้เป� นทุนสํารองตามข้อกําหนดของสัญญาสัมปทานประกอบกิจการ ประปา (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 27) การเปลี�ยนแปลงของเงินลงทุนระยะสั�นระหว่างปี มีดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี ลงทุนเพิ�มระหว่างปี ไถ่ถอนระหว่างปี ราคาตามบัญชีปลายปี 10

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

393,039,207 736,498,606 1,067,580,045 1,154,426,026 (1,056,342,438) (1,497,885,425) 393,039,207 404,276,814

39,316,426 160,737,041 (145,000,000) 55,053,467

366,752,447 432,227,972 (759,663,993) 39,316,426

ลูกหนี�การค� าและลูกหนี�อน� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ลูกหนี�การค้า ลูกหนี�อื�น - บุคคลภายนอก - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื�น �

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

420,604,028

386,475,779

271,768,181

244,043,329

833,269 16,274 22,705,337 78,417 444,237,325

464,617 15,325 20,111,592 357,065 407,424,378

708,321 9,419,406 17,605,316 78,418 299,579,642

462,259 11,526,097 17,453,123 357,065 273,841,873


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

137

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 10

ลูกหนี�การค้ าและลูกหนี�อนื� (ต่อ) ลูกหนี�การค้ามีรายละเอียดดังต่อไปนี�

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

ลูกหนี�การค้าส่ วน�ี�เรี ยกเก็บแล้ว - บุคคลภายนอก - กิจการ�ี�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) รวมลูกหนี�การค้าส่ วน�ี�เรี ยกเก็บแล้ว

119,656,014 165,071,354 284,727,368

113,746,444 168,301,793 282,048,237

113,161,932 156,154,696 269,316,628

111,901,410 131,693,606 243,595,016

ลูกหนี�การค้าส่ วน�ี�ยงั ไม่เรี ยกเก็บ - บุคคลภายนอก - กิจการ�ี�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) รวมลูกหนี�การค้าส่ วน�ี�ยงั ไม่เรี ยกเก็บ

908,734 134,967,926 135,876,660

869,774 103,557,768 104,427,542

2,451,553 2,451,553

448,313 448,313

420,604,028

386,475,779

271,768,181

244,043,329

ลูกหนี�การค้าส่ วน�ี�เรี ยกเก็บแล้วสามารถวิเคราะห์ตามอายุลูกหนี��ี�คา้ งชําระได้ดงั นี� งบการเงินรวม

11

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดไม่เกิน 3 เดือน เกินกําหนด 3 - 6 เดือน เกินกําหนด 6 - 12 เดือน เกินกําหนดมากกว่า 12 เดือน

259,756,298 20,700,397 2,531,467 902,131 1,452,228

280,697,336 508,401 837,160 5,340 615,153

249,410,366 16,800,642 1,372,018 896,527 1,452,228

242,438,468 319,473 837,075 615,153

หัก ค่าเ�ือ� หนี�สงสัยจะสู ญ

285,342,521 (615,153)

282,663,390 (615,153)

269,931,781 (615,153)

244,210,169 (615,153)

284,727,368

282,048,237

269,316,628

243,595,016

สิ นค้ าคงเหลือ

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม อะไหล่และวัสดุสิ�นเปลือง

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

13,343,706 13,343,706

13,068,626 13,068,626

-

-


12

รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

ช��อบริษัท

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย

จัดตั�ง��น� ในประเทศ ไทย

ประเภท ธุรกิจ

ผลิตและขาย นํ�าประปา

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

510

พ.ศ. 2561 ล้านบาท 510

พ.ศ. 2560 ล้านบาท

ทุนชําระแล้ว

100

พ.ศ. 2561 ร้ อยละ 100

พ.ศ. 2560 ร้ อยละ

สั ดส่ วนการลงทุน

510,000,000 510,000,000

พ.ศ. 2561 บาท 510,000,000 510,000,000

พ.ศ. 2560 บาท

มูลค่ าเงินลงทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

126,581,983 126,581,983

พ.ศ. 2561 บาท

41

105,569,986 105,569,986

พ.ศ. 2560 บาท

เงินปันผลรับ

รายงานประจ�ำปี 2561

138


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

139

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 13

อสั งหาริมทรัพย� เพ�อ� การลงทุน - สุ ทธิ (หน่ วย: บาท)

ที��นิ

งบการเงินรวม อาคารและส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

45,859,440 45,859,440

225,133,006 (77,069,682) 148,063,324

270,992,446 (77,069,682) 193,922,764

สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ตัดจําหน่าย ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

45,859,440 45,859,440

148,063,324 1,264,948 (36,281) (9,221,757) 140,070,234

193,922,764 1,264,948 (36,281) (9,221,757) 185,929,674

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

45,859,440 45,859,440

225,942,404 (85,872,170) 140,070,234

271,801,844 (85,872,170) 185,929,674

สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ตัดจําหน่าย ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

45,859,440 45,859,440

140,070,234 218,387 (470,388) (8,044,292) 131,773,941

185,929,674 218,387 (470,388) (8,044,292) 177,633,381

45,859,440 45,859,440 109,140,872

225,253,014 (93,479,073) 131,773,941 176,619,638

271,112,454 (93,479,073) 177,633,381 285,760,510

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ มูลค่ ายุติธรรม

ค่าเสื� อมราคาจํานวน 8.0 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 9.2 ล้านบาท) ได้รวมอยูใ่ นต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ

รวม


รายงานประจ�ำปี 2561

140

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 13

อสั งหาริมทรัพย� เพ�อ� การลงทุน - สุ ทธิ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ

� วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ �อนไปที�ดิน อาคาร และอุปกร�์ ตัดจําหน่าย ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ตัดจําหน่าย ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ มูลค่ ายุติธรรม

(หน่ วย: บาท)

ที��นิ

อาคารและส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

รวม

50,121,522 50,121,522

260,857,086 (89,288,841) 171,568,245

310,978,608 (89,288,841) 221,689,767

50,121,522 (2,096,974) 48,024,548

171,568,245 1,465,502 (10,941,266) (41,846) (10,683,838) 151,366,797

221,689,767 1,465,502 (13,038,240) (41,846) (10,683,838) 199,391,345

48,024,548 48,024,548

244,513,893 (93,147,096) 151,366,797

292,538,441 (93,147,096) 199,391,345

48,024,548 48,024,548

151,366,797 235,976 (508,273) (8,692,185) 142,402,315

199,391,345 235,976 (508,273) (8,692,185) 190,426,863

48,024,548 48,024,548

243,768,978 (101,366,663) 142,402,315

291,793,526 (101,366,663) 190,426,863

116,368,664

190,844,706

307,213,370

ค่าเสื� อมราคาจํานวน 8.7 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 10.7 ล้านบาท) ได้รวมอยูใ่ นต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

141

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 13

อสั งหาริมทรัพย� เพ�อ� การลงทุน - สุ ทธิ (ต่อ) มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรั�ย�เ�ื�อการลงทุนมีการประเมินโดยผูป้ ระเมินราคา ที�ดินประเมินโดยใช้วิธีเปรี ยบเทียบราคาตลาด โดยนํา ราคาขายของที� ดิ น ที� เ ปรี ยบเที ย บกัน ได้ใ นบริ เวณใกล้เ คี ย งกัน มาปรั บ ปรุ ง ��� งเป็ นมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมอยู่ใ นระดับ 3 ของลําดับชั�นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.2) ส่ วนอาคารและส่ วนปรับปรุ งอาคารประเมินโดยใช้วธิ ีรายได้ ��� ง เป็ นมูลค่ายุติธรรมอยู่ในระดับ 3 ของลําดับชั�นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.2) เนื� องจากใช้ขอ้ สมมติ�านที� สําคั�จากข้อมูลที�ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ค่าเช่าต่อตารางเมตร และประมาณการกําไรในอนาคต เป็ นต้น จํานวนเงินที�เกี�ยวข้องกับอสังหาริ มทรั�ย�เ�ื�อการลงทุน ที�ได้รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน ได้แก่ (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม รายได้ค่าเช่าอาคารและบริ การ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานโดยตรงที�เกิดจาก อสังหาริ มทรั�ย�เ�ื�อการลงทุน���งก่อให้เกิดรายได้ ค่าเช่าสําหรับงวด

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

67,569,948

71,707,004

73,131,602

79,520,325

(52,859,197) 14,710,751

(58,049,584) 13,657,420

(52,859,197) 20,272,405

(58,049,584) 21,470,741


14

498,102,267 1,602,569,582 539,728,053 300,100,041 - (378,673,522) (250,795,396) (219,688,195) 498,102,267 1,223,896,060 288,932,657 80,411,846

93,722,626 2,964,817 9,158,676 (481,450) (24,952,823) 80,411,846

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

306,660,578 1,486,115 175,353 (161) (19,389,228) 288,932,657

512,147,267 1,197,963,075 190,000 84,171,739 (14,045,000) (4,681,954) - (53,746,800) 498,102,267 1,223,896,060

อาคาร

สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ โอนสิ นทรัพย์ จัดประเภทรายการใหม่ จําหน่าย/ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

โรงสู บนํา�

512,147,267 1,525,191,550 538,084,085 290,762,093 - (327,228,475) (231,423,507) (197,039,467) 512,147,267 1,197,963,075 306,660,578 93,722,626

ที��นิ

ส่ วนปรับปรุ ง อาคารและ อาคารเช่ า

ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ที��นิ อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

อุปกรณ์ สํานักงาน

47,991,178 12,000,532 6,325,550 (868,535) (15,765,254) 49,683,471

9,952,991,337 364,016,561 (2,894,059,952) (314,333,090) 7,058,931,385 49,683,471

6,763,660,924 49,520,384 518,573,443 (2,532,207) (270,291,159) 7,058,931,385

9,397,317,034 360,230,345 (2,633,656,110) (312,239,167) 6,763,660,924 47,991,178

เคร��องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินรวม

3,164,102 (1,216,755) 1,947,347

203,743 1,899,065 97,000 (252,461) 1,947,347

1,168,037 (964,294) 203,743

ยานพาหนะ

5,026,486,513 5,026,486,513

5,139,861,969 502,559,469 (615,634,925) (300,000) 5,026,486,513

5,139,861,969 5,139,861,969

งานระหว่าง ก่อสร้ าง

45

18,287,158,456 (4,058,766,910) 14,228,391,546

14,062,211,360 570,620,382 2,866,836 (14,045,000) (8,864,307) (384,397,725) 14,228,391,546

17,764,762,380 (3,702,551,020) 14,062,211,360

รวม

(หน่ วย: บาท)

รายงานประจ�ำปี 2561

142


14

49,683,471 19,259,872 5,096,586 908,258 (20,029) (18,285,879) 56,642,279

อุปกรณ์ สํานักงาน

13,234,816,824 358,495,628 (3,193,462,572) (301,853,349) 10,041,354,252 56,642,279

7,058,931,385 28,265,786 3,263,510,897 499,040 (7,667,106) (302,185,750) 10,041,354,252

เคร��องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินรวม

7,984,101 (3,238,940) 4,745,161

1,947,347 4,820,000 (2,022,186) 4,745,161

ยานพาหนะ

ค่าเสื� อมราคา��กบันท�กอย�ใ่ นต้นทุนขายจํานวน 397.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 357.9 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวน 26.9 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 26.5 ล้านบาท)

80,411,846 4,094,120 43,275,250 (908,258) (952,227) (23,532,177) 102,388,554

498,102,267 1,978,271,884 555,079,915 344,812,781 - (436,084,085) (271,156,660) (242,424,227) 498,102,267 1,542,187,799 283,923,255 102,388,554

288,932,657 67,500 15,623,579 (161,610) (20,538,871) 283,923,255

อาคาร

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

โรงสู บนํา�

498,102,267 1,223,896,060 1,760,000 - 373,942,302 - (57,410,563) 498,102,267 1,542,187,799

ที��นิ

ส่ วนปรับปรุง อาคารและ อาคารเช่ า

สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ โอนสิ นทรัพย์ จัดประเภทรายการใหม่ จําหน่าย/ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื� อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

ที��นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

14,228,391,546 593,650,960 (916,960) (14,923,272) (423,975,426) 14,382,226,848

รวม

46

1,852,883,281 18,830,446,681 - (4,448,219,833) 1,852,883,281 14,382,226,848

5,026,486,513 535,383,682 (3,701,448,614) (1,416,000) (6,122,300) 1,852,883,281

งานระหว่าง ก่อสร้ าง

(หน่ วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

143


14

1,605,429,905 (379,179,039) 1,226,250,866

392,858,127 2,096,974 394,955,101 394,955,101 394,955,101

สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ โอนสิ นทรัพย์ โอนมาจากอสั�หาริ มทรัพย์�พื�อการล�ทุน จําหน่าย/ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่า�สื� อมราคา

ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่า�สื� อมราคาส�สม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,226,250,866

277,517,299

513,213,140 (235,695,841)

277,517,299

284,551,871 1,486,115 175,353 10,693,349 (161) (19,389,228)

284,551,871

1,200,317,882

392,858,127

1,200,317,882 190,000 84,171,739 (4,681,954) (53,746,801)

500,875,823 (216,323,952)

1,528,051,874 (327,733,992)

392,858,127 -

ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่า�สื� อมราคาส�สม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

อาคาร

โรงสู บนํา�

ที��นิ

ที��นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

60,903,304

268,002,438 (207,099,134)

60,903,304

77,526,954 1,480,426 4,006,635 247,917 (100,995) (22,257,633)

77,526,954

263,553,253 (186,026,299)

ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร

6,984,217,500

9,777,797,043 (2,793,579,543)

6,984,217,500

6,699,832,151 27,825,913 514,859,316 (2,494,004) (255,805,876)

6,699,832,151

9,246,303,183 (2,546,471,032)

เคร��องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ

31,791,338

316,417,769 (284,626,431)

31,791,338

32,345,200 8,892,392 783,242 (3,514) (10,225,982)

32,345,200

317,081,209 (284,736,009)

อุปกรณ์ สํ านักงาน

86,338

1,090,095 (1,003,757)

86,338

190,338 (104,000)

190,338

1,090,095 (899,757)

ยานพาหนะ

4,994,500,267

4,994,500,267 -

4,994,500,267

5,135,128,475 463,368,077 (603,996,285) -

5,135,128,475

5,135,128,475 -

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง

47

13,970,222,013

17,871,405,758 (3,901,183,745)

13,970,222,013

13,822,750,998 503,242,923 13,038,240 (7,280,628) (361,529,520)

13,822,750,998

17,384,942,039 (3,562,191,041)

รวม

(หน่ วย: บาท)

รายงานประจ�ำปี 2561

144


14

1,981,132,207 (436,589,602) 1,544,542,605

394,955,101 394,955,101

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าเสื� อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ 273,094,819

528,580,045 (255,485,226)

273,094,819

277,517,299 67,500 15,623,579 (154,158) (19,959,401)

อาคาร

70,988,669

298,420,163 (227,431,494)

70,988,669

60,903,304 3,076,927 28,768,257 (778,148) (20,981,671)

ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร

9,935,559,953

13,010,032,998 (3,074,473,045)

9,935,559,953

6,984,217,500 17,874,900 3,222,022,986 (7,661,931) (280,893,502)

เคร��องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ

40,432,904

310,152,270 (269,719,366)

40,432,904

31,791,338 18,307,345 2,421,490 (10,545) (12,076,724)

อุปกรณ์ สํานักงาน

3,288,170

5,910,095 (2,621,925)

3,288,170

86,338 4,820,000 (1,618,168)

ยานพาหนะ

1,843,433,244

1,843,433,244 -

1,843,433,244

4,994,500,267 497,833,891 (3,642,778,614) (6,122,300) -

งานระหว่าง ก่อสร้ าง

14,106,295,465

18,372,616,123 (4,266,320,658)

14,106,295,465

13,970,222,013 543,740,563 (14,727,082) (392,940,029)

รวม

(หน่ วย: บาท)

48

ต้นทุนการกูย้ มื จํานวน 67.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 92.4 ล้านบาท) เกิดจากเงินกูย้ มื ที�ยมื มาเ�พาะสําหรับโครงการวางท่อ และการก่อสร้างระบบผลิตนํ�าประปา ได้บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์รวมอยู่ในการซื� อสิ นทรัพย์ กลุ่มกิจการใช้อตั ราการตั�งขึ�นเป็ นทุนตามอัตราดอกเบี�ยเงินกูย้ มื ที�เกิดขึ�นจริ งร้อยละ 2.62 - 4.18 ต่อปี (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 2.33 - 4.18 ต่อปี )

ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั มีสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินซึ� งเป็ นอุปกรณ์สํานักงาน ราคาทุนและราคาตามบัญชีจาํ นวน 5.7 ล้านบาท และ 3.7 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2560: 5.9 ล้านบาท และ 4.7 ล้านบาท ตามลําดับ)

ค่าเสื� อมราคา�ูกบันทึกอยูใ่ นต้นทุนขายจํานวน 369.4 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 340.0 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวน 23.6 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 21.5 ล้านบาท)

1,544,542,605

394,955,101

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

1,226,250,866 1,760,000 373,942,302 (57,410,563)

โรงสู บนํา�

394,955,101 -

ที��นิ

สําหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ โอนสิ นทรัพย์ จําหน่าย/ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื� อมราคา

ที��นิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

145


รายงานประจ�ำปี 2561

146

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 15

ค่ าความนิยม ค่าความนิ ยมที� แสดงอยู่ในงบการเงิน รวม จํานวน 103.3 ล้านบาท ได้มาจากการซื� อ ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั เอ็ก คอม ธารา จํากัด เมื�อวันที� 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มกิจการมีการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม โดยมูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสิ นทรัพย�ที�ก่อให้เกิดเงินสดพิจารณา จากการคํานวณมูลค่าจากการใช้ การคํานวณดังกล่าวใช้ประมาณการกระแสเงินสดซึ�งอ้างอิงจากงบประมาณทางการเงินครอบคลุม ระยะเวลาตลอดอายุของสัมปทานที�เหลืออยูข่ องการผลิตนํ�าประปาที�ได้รับจากการซื� อธุ รกิจ โดยมีขอ้ สมมติ�านที�สําคัญคือปริ มาณ การซื� อ ขายนํ�าประปาขั�นตํ�าคงที�และอัตราค่านํ�าที� มีอตั ราการเพิ�มขึ�นคงที�ร้อยละ 1.5 ต่ อปี ซึ� งคิดจากค่าเ�ลี�ยดัชนี ราคาผูบ้ ริ โภค ย้อนหลัง 10 ปี กลุ่มกิจการใช้อตั ราคิดลดโดยใช้อตั ราต้นทุนของเงินลงทุน�ัวเ�ลี�ย�่วงนํ�าหนักก่อนภาษีร้อยละ 10.89 ต่อปี ในการ คิดลดกระแสเงินสดสุ ทธิที�ได้รับดังกล่าว มูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืนของหน่ วยสิ นทรัพย�ที�ก่อให้เกิดเงินสดมีจาํ นวนมากกว่ามูลค่าตามบัญชีอยู่ 79.5 ล้านบาท หากมีการเพิ�ม อัตราคิดลดเป็ นร้อยละ 11.71 ต่อปี หรื อลดอัตราการเพิ�มขึ�นของค่านํ�าเป็ นร้ อยละ 0.78 ต่อปี จะทําให้มูลค่าที�คาดว่าจะได้รับคืน เท่ากับราคาตามบัญชี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

147

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 16

สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ

� วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม หัก ค่าเ��อ� การด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ�มขึ�น ค่าตัดจําหน่าย โอนสิ นทรัพย์ จัดประเภทรายการใหม่ ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม หัก ค่าเ��อ� การด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ�มขึ�น ค่าตัดจําหน่าย จัดประเภทรายการใหม่ ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม หัก ค่าเ��อ� การด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินรวม สิ ทธิในการให้ บริการจาก โปรแกรม ข้ อตกลงสั มปทาน คอมพิวเตอร์

(หน่ วย: บาท) รวม

4,827,288,227 (1,160,967,428) (12,180,000) 3,654,140,799

64,135,680 (25,551,093) 38,584,587

4,891,423,907 (1,186,518,521) (12,180,000) 3,692,725,386

3,654,140,799 264,474,165 (275,250,409) (2,866,836) 14,045,000 (1,960,000) 3,652,582,719

38,584,587 18,903,605 (7,337,322) 50,150,870

3,692,725,386 283,377,770 (282,587,731) (2,866,836) 14,045,000 (1,960,000) 3,702,733,589

5,102,940,556 (1,436,217,837) (14,140,000) 3,652,582,719

83,039,285 (32,888,415) 50,150,870

5,185,979,841 (1,469,106,252) (14,140,000) 3,702,733,589

3,652,582,719 232,570,908 (295,420,907) 916,960 (860,000) 3,589,789,680

50,150,870 12,720,077 (8,686,839) 54,184,108

3,702,733,589 245,290,985 (304,107,746) 916,960 (860,000) 3,643,973,788

5,336,428,424 (1,731,638,744) (15,000,000) 3,589,789,680

95,759,362 (41,575,254) 54,184,108

5,432,187,786 (1,773,213,998) (15,000,000) 3,643,973,788


รายงานประจ�ำปี 2561

148

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 16

สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ (ต่อ) ค่าตัดจําหน่ ายถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจํานวน 296.4 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 276.4 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวน 7.7 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 6.2 ล้านบาท) � วัน ที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2561 ค่ า เ�ื�อ การด้อ ยค่ า สะสมของสิ น ทรั พย์ไม่มี ตัวตน จํานวน 15.0 ล้านบาท เกิ ด จากสิ ท ธิ ในการ ให้บ ริ การจากข้อ ตกลงสั มปทานประกอบกิ จการประปาเกาะล้าน ซึ� งมีรายได้จากการขายนํ�าประปาลดลงจากแ�นที�วางเอาไว้ เนื�องจากมีแหล่งนํ�าธรรมชาติอื�นมาทดแทนการใช้น� าํ ประปา (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื�อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

64,135,680 (25,551,093) 38,584,587 38,584,587 18,903,605 (7,337,322) 50,150,870 83,039,285 (32,888,415) 50,150,870 50,150,870 12,720,077 (8,686,839) 54,184,108 95,759,362 (41,575,254) 54,184,108

ค่าตัดจําหน่ ายถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจํานวน 1.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 1.1 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริ หารจํานวน 7.6 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 6.2 ล้านบาท) 51


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

149

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 17

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี�

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที��ะใช้ ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที��ะใช้ ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที��ะ�่ายชําระ ภายใน 12 เดือน หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที��ะ�่ายชําระ เกินกว่า 12 เดือน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

2,219,318

622,075

1,978,516

-

48,081,335 50,300,653

42,784,670 43,406,745

21,997,516 23,976,032

19,842,419 19,842,419

25,619,362

25,619,362

-

-

367,356,661 392,976,023

380,763,366 406,382,728

68,981,114 68,981,114

60,895,471 60,895,471

21,935,597

22,233,644

-

-

364,610,967

385,209,627

45,005,082

41,053,052

แสดงในงบแสดงฐานะการเงินได้ดงั นี� สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

ความเคลื�อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี มีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินรวม ประมาณการ หนีส� ิ นระยะ ยาว สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี � วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 รายการที�บนั ท�กในกําไรขาดทุน รายการที�บนั ท�กในกําไรขาดทุน เบ�ดเสร� �อื�น � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 รายการที�บนั ท�กในกําไรขาดทุน � วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ค่ าเผ�อ� หนีส� งสั ย การด้ อยค่ า จะสู ญ ของสิ นทรัพย์

ผลประโยชน์ พนักงาน

ขาดทุน ทางภาษี รายการอ�น�

รวม

4,048,321 2,511,483

6,925,008 -

2,436,000 392,000

25,817,457 1,869,302

-

34,800 39,261,586 46,735 4,819,520

6,559,804 (2,472,705)

6,925,008 -

2,828,000 172,000

(674,361) 27,012,398 3,131,061

4,048,768

- (674,361) 81,535 43,406,745 2,014,784 6,893,908

4,087,099

6,925,008

3,000,000

30,143,459

4,048,768

2,096,319 50,300,653

52


รายงานประจ�ำปี 2561

150

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 17

ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน���ด��ร� �อ��น ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

367,011,898 (21,524,641) 345,487,257 (21,492,348) 323,994,909

งบการเงินรวม การปรับมูลค่ ายุตธิ รรม อาคารและอุปกรณ์ ของเงินลงทุนเผ�อ� ขาย 54,013,762 6,881,709 60,895,471 8,085,643 68,981,114

132,798 (132,798) -

ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

421,158,458 (14,642,932) (132,798) 406,382,728 (13,406,705) 392,976,023

ค่ าเผ�อ� หนีส� งสั ย จะสู ญ

ผลประโยชน์ พนักงาน

รายการอ�น�

รวม

364,571 364,571 364,571

15,340,963 2,508,523 1,546,827 19,396,313 2,118,829 21,515,142

34,800 46,735 81,535 2,014,784 2,096,319

15,740,334 2,555,258 1,546,827 19,842,419 4,133,613 23,976,032

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หนีส� ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันท�� 1 มกราคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน���ด��ร� �อ��น ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน

รวม

(หน่ วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน���ด��ร� �อ��น ณ วันท�� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 รา�การท���นั ท�กในกําไรขาดทุน

(หน่ วย: บาท)

(หน่ วย: บาท)

อาคารและอุปกรณ์

การปรับมูลค่ ายุตธิ รรม ของเงินลงทุนเผ�อ� ขาย

รวม

54,013,762 6,881,709 60,895,471 8,085,643 68,981,114

132,798 (132,798) -

54,146,560 6,881,709 (132,798) 60,895,471 8,085,643 68,981,114


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

151

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 18

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอืน� งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินค่ามัดจําและเงินประกัน ลูกหนี�อื�น ค่าเผือ� หนี�สงสัยจะสู ญ - ลูกหนี�อื�น ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที�จ่ายรอขอคืน อื�น �

277,822,805 28,450,167 2,356,611 32,802,184 (32,802,184) 26,965,178 6,976,974 342,571,735

309,216,839 34,011,928 2,086,195 32,802,184 (32,802,184) 5,592,369 350,907,331

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 277,822,805 5,116,458 6,122,935 289,062,198

309,216,839 6,532,350 4,896,635 320,645,824

ลูกหนี�อื�นจํานวน 32.8 ล้านบาท เป็ นลูกหนี�ระหว่างบริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) ซึ�งเป็ นบริ ษทั ย่อยกับบริ ษทั เอกชน แห่ งหนึ� ง เกี�ยวกับการเรี ยกเก็บค่าปรับจากการส่ งมอบนํ�าประปาไม่ถึงปริ มาณขั�นตํ�า เมื�อวันที� 26 ตุลาคม พ.ศ. 2558 คณะกรรมการ ของบริ ษทั ย่อย มีมติ อนุ มตั ิให้บ ันทึกค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสู ญสําหรั บหนี� ของบริ ษทั เอกชนที�คา้ งอยู่ท� งั หมดจํานวน 32.8 ล้านบาท เนื� องจากมีการยกเลิกสัญญาการซื� อนํ�าดิบกับบริ ษทั เอกชนรายดังกล่าวในปี พ.ศ. 2558 และมีแนวโน้มว่าอาจจะไม่ได้รับชําระหนี� ต่อมาเมื�อวันที� 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 บริ ษทั ย่อยฟ้ องบริ ษทั เอกชนรายดังกล่าวเกี�ยวกับการผิดสัญญาและเรี ยกค่าเสี ยหายเป็ น จํานวนเงิน 37.5 ล้านบาท พร้อมดอกเบี�ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี และเมื�อวันที� 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ศาลแพ่งได้มีคาํ พิพากษาให้ จําเลยชําระหนี� ให้แก่ บริ ษทั ย่อยเป็ นจํานวนเงิน 37.5 ล้านบาท พร้อมดอกเบี�ยอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี นับถัดจากวันฟ้ อง ปั จจุบนั บริ ษ ัทย่อ ยได้ยื�น คําขอออกหมายตั�งเจ้าพนักงานบังคับ คดี ต่อศาล เนื� องจากบริ ษ ัทเอกชนดังกล่ าวไม่ได้ยื�น อุ ท ธรณ์ ต่อ ศาลตาม กําหนดเวลา 19

เงินกู้ยืม

รายการหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั�นจากสถาบันการเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบัน การเงินที�ถึงกําหนดชําระภายในหนึ�งปี รวมเงินกูย้ มื ส่ วนที�หมุนเวียน รายการไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ รวมเงินกูย้ มื ส่ วนที�ไม่หมุนเวียน รวมเงินกูย้ มื

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

19.1

814,000,000

83,000,000

580,000,000

10,000,000

19.2

826,200,000 1,640,200,000

808,200,000 891,200,000

634,000,000 1,214,000,000

616,000,000 626,000,000

19.2 19.3

3,166,200,000 2,397,954,566 5,564,154,566

3,992,400,000 2,397,562,352 6,389,962,352

2,974,000,000 2,008,000,000 2,397,954,566 2,397,562,352 5,371,954,566 4,405,562,352

7,204,354,566

7,281,162,352

6,585,954,566 5,031,562,352


รายงานประจ�ำปี 2561

152

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 19

เงินกู้ยืม (ต่อ)

19.1 เงินกู้ยืมระยะสั� นจากสถาบันการเงิน (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ตัว� สัญญาใช้เงิน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

814,000,000 814,000,000

83,000,000 83,000,000

580,000,000 580,000,000

10,000,000 10,000,000

ตัว� สัญญาใช้เงินมีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี และมีกาํ หนดชําระคืนเมื�อทวงถาม การเปลี�ยนแปลง�องเงินกูย้ มื ระยะสั�นจากสถาบันการเงินมีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

83,000,000 1,600,000,000 10,000,000 4,409,000,000 1,178,000,000 3,560,000,000 (3,678,000,000) (2,695,000,000) (2,990,000,000) 814,000,000 83,000,000 580,000,000

903,000,000 (893,000,000) 10,000,000

พ.ศ. 2561 � วันที� 1 มกราคม กูย้ มื ระหว่างปี จ่ายชําระคืนระหว่างปี � วันที� 31 ธันวาคม 19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หัก ส่ วนที�ถ�งกําหนดชําระ�ายในหน��งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - สุ ทธิ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

3,992,400,000 (826,200,000) 3,166,200,000

4,800,600,000 (808,200,000) 3,992,400,000

3,608,000,000 (634,000,000) 2,974,000,000

2,624,000,000 (616,000,000) 2,008,000,000


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

153

บริน�ออก ัท จั�จํการและพั �นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวั ากั� (มหาชน) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 19

19

เงินกู้ยืม (ต่อ)

เงินกู้ยืม (ต่อ)

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน19.2 (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ) การเปลี �ยนแปลงของเงิ นกูมีย้ รมื ายละเอี ระยะยาวจากสถาบั การเปลี�ยนแปลงของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบั นการเงิ นในระหว่างปี ยดดังนี� นการเงินในระหว่างปี มีรายละเอียดดังนี�

งบการเงินรวม � วันที� 1 มกราคม กูย้ มื ระหว่างปี จ่ายชําระคืนระหว่างปี � วันที� 31 ธันวาคม

(หน่ วย: บาท) งบการเงิจนการ รวม งบการเงินเฉพาะกิ

งบ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561

พ.

� วันที� 1 มกราคม 4,800,600,000 กูย้ มื ระหว่างปี 1,600,000,000 (2,408,200,000) จ่ายชําระคืนระหว่ างปี 3,992,400,000 � วันที� 31 ธันวาคม

4,008,800,000 1,600,000,000 (808,200,000) 4,800,600,000

4,800,600,0003,240,000,000 4,008,800,000 2,624,000,000 1,600,000,000 1,600,000,000 1,600,000,000 (2,408,200,000)(616,000,000) (808,200,000) (616,000,000) 4,800,600,000 3,992,400,0002,624,000,000 3,608,000,000

2,624, 1,600, (616,0 3,608,

นที� 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2561นจํบริานวน ษทั ได้1,600.0 กเู้ งินยืล้มาระยะยาวจากสถาบั เมื�อวันที� 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ได้กเู้ งินเมืยื�มอวัระยะยาวจากสถาบั นการเงิ นบาท เพื�อนํามาให้นบการเงิ ริ ษทั นยูจํนาิ เนวน วอร์ แ1,600.0 ซล ล้านบาท เพื�อ ีส์ จํากัด (มหาชน) กู้ยืมไปชํ าระคืนเงินกูย้ ืมจากสถาบั ระยะยาวจํนาการเงิ นวน 1,600.0 ล้านบาท ยูทิลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) กู้ยืมไปชําระคืนเงินยูทกูยิ้ลืมิต�ระยะยาวจํ านวน 1,600.0 ล้านบาท นมีระยะเวลา 6 ปี เงินกูย้ ืมจากสถา ่อปี โดยจ่ ายชํ าระคืนปี ละ 400.0 านบาท ซ��งจะเริ� มจ่ายคืนงวดแรกในปี พ.ศ. 2 อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี โดยจ่ายชําระคือันตปีราดอกเบี ละ 400.0� ยร้ล้อายละคงที นบาท ซ��ตงจะเริ นงวดแรกในปี พ.ศ. ล้2564 � มจ่ายคื

วงเงิน ล้ านบาท ส่วนของบริ ษทั ก) ข) ค)

ง) ส่วนของบริ ษทั ย่อย ก) ข) ค) รวม หัก ส่วนที�ถ�งกําหนดชําระ�ายในหน��งปี

วงเงินกู้ที�ยงั มิ��้ เบิก�ช้ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ล้ านบาท ล้ านบาท

วงเงินกู้ที�ยงั มิ��้งบการเงิ เบิก�ช้ นเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินรวม 2560 2561 พ.ศ. 2560 วงเงิ พ.ศ. 2561 พ.ศ.น2561 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ล้านบาท ล้ าล้นบาท ล้ านบาท านบาท ล้ านบาท ล้านบาท

800.0 2,000.0 1,000.0 1,600.0

ส่วนของบริ ษทั ก) ข) ค) ง) -

-

800.0 320.0 2,000.0 800.0 1,000.0 888.0 1,600.0 1,600

480.01,200.0944.0-

320.0800.0888.01,600.0-

320.0 480.0 800.0 1,200.0 888.0 944.0 1,600-

480.0 1,200.0 944.0 -

317.0 644.0 1,600.0 7,961.0

ส่วนของบริ ษทั ย่อย ก) ข) ค) รวม

-

317.0 126.8 644.0 257.6 1,600.07,961.0 3,992.4

190.2386.41,600.04,800.6-

3,608.0-

126.8257.6-

190.2 386.4 1,600.0

3,992.4 2,624.0 (826.2) (616.0) 3,166.2 2,008.0

4,800.6 (808.2) 3,992.4

(808.2) (634.0) หัก ส่วนที�ถ�งกําหนดชําระ�ายในหน��งปี (826.2) 3,992.4 ย้ ืมระยะยาวจากสถาบั จากส่วนที�ถ�งกําหนดชํ าระ�ายในหน�2,974.0 � งปี เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุ ทธิ จากส่วนที�ถเงิ�งนกํากูหนดชํ าระ�ายในหน��งปีนการเงินสุ ทธิ 3,166.2


19 19 19.2 19.2

วงเงินกู้ นกู้ (ล้วงเงิ านบาท) (ล้ านบาท) 800.0 800.0

2,000.0 2,000.0

1,000.0 1,000.0

1,600.0 1,600.0

ก) ก)

ข) ข)

ค) ค)

ง) ง)

28 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 28 สิ งหาคม พ.ศ. 2561

5 มิถุนายน พ.ศ. 2558 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558

20 มีนาคม พ.ศ. 2558 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

วันทําสั ญญา วันทําสั ญญา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินกูย้ มื ระยะยาวของบริ ษทั เงินกูย้ มื ระยะยาวของบริ ษทั

เงินกู้ยืม (ต่อ)

57 57

วงเงินกู้ (ล้ านบาท)ระยะเวลา วันทําสั ญญา ระยะเวลา การชําระคืน วัตถุประสงค์ อัตรา�อกเบีย� วัตถุประสงค์ การชําระคืนเงิอันตต้รา�อกเบี นคงเหลืย� อ วัตถุประสงค์ ระยะเวลา อัตรา�อกเบีย� การชําระคืนเงินต้ นคงเหลือ พ.ศ. 2558 ลงทุน�ต่อในการก่ ตราดอกเบี �ต่อปี ชําระคืนเงินต้นทุกปี รวม 5 งวด โดยเริ� ม ก) อส่งนํ�า 800.0 5 ปี 20 มีน- อัาคม � ยร้อยละคงที ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่ ตราดอกเบี ปี อสร้างระบบท่อส่งนํ�า ชําระคืน5เงิปีนต้นทุกปี- อัรวม 5 งวด โดยเริ นที� 23 มีนาคม พ.ศ. 2559 � ยร้อยละคงที � มชําระงวด�รกในวั - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 5 งวดละ 160 ล้านบ ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งนํ�า 5 ปี - อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี ชํ- าระคื ทุกปี� 5รวม 5 งวด � มชําระงวด�รกในวันที� 23 มีนาคม พ.ศ. 2559 งวดทีน�เงิ1นถ�ต้งนงวดที งวดละ 160โดยเริ ล้านบาท - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 5 งวดละ 160 ล้านบาท 2,000.0 5 ปี 20 มีน- อัาคม พ.ศ. 2558 ชําระคื ตราดอกเบี �ต่อปี ชําระคืนเงินต้นทุกปี รวม 5 งวด โดยเริ� ม � ยร้อยละคงที ชําระคืนเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิข) ม ตราดอกเบี �ต่อนปีเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิม ชําระคืน5เงิปีนต้นทุกปี- อัรวม 5 งวด โดยเริ นที� 23 มีนาคม พ.ศ. 2559 � ยร้อยละคงที � มชําระงวด�รกในวั - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 5 งวดละ 400 ล้านบ ชําระคืนเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิม 5 ปี - อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี ชํ- าระคื น เงิ น ต้ น ทุ ก ปี รวม 5 งวด โดยเริ ม ชํ า ระงวด�รกในวั น ที � 23 มี น าคม พ.ศ. 2559 � งวดที� 1 ถ�งงวดที� 5 งวดละ 400 ล้านบาท - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 5 งวดละ 400 ล้านบาท พ.ศ. 2558 ลงทุน�ต่อในการก่ ตราดอกเบี �ต่อปี ชําระคืนเงินต้นทุกปี รวม 9 งวด โดยเริ� ม ค) อส่งนํ�า1,000.0 10 ปี 5 มิถุน- อัายน � ยร้อยละคงที ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่ ตราดอกเบี ปี อสร้างระบบท่อส่งนํ�า ชําระคืน10เงินปีต้นทุกปี- อัรวม 9 งวด โดยเริ นที� 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560 � ยร้อยละคงที � มชําระงวด�รกในวั - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 2 งวดละ 56 ล้านบา ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งนํ�า 10 ปี - อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี ชํ- าระคื ทุกปี� 2รวม 9 งวด � มชําระงวด�รกในวันที� 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560 งวดทีน�เงิ1นถ�ต้งนงวดที งวดละ 56 โดยเริ ล้านบาท - งวดที� 3 ถ�งงวดที� 4 งวดละ 74 ล้านบา - งวดที� 13 ถ�งงวดที� 24 งวดละ 56 ล้ า นบาท 74 - งวดที� 5 ถ�งงวดที� 6 งวดละ 148 ล้านบ - งวดที� 35 ถ�งงวดที� 46 งวดละ 74 148ล้ล้านบาท านบาท - งวดที� 7 เท่ากับ 166.5 ล้านบาท - งวดที� 57 ถ�เท่งางวดที � 6 งวดละ 148 ล้านบาท กับ 166.5 ล้านบาท - งวดที� 8 เท่ากับ 185 ล้านบาท - งวดที� 78 เท่ากับ 166.5 ล้ า นบาท 185 ล้านบาท - งวดที� 9 เท่ากับ 92.5 ล้านบาท - งวดที� 89 เท่ากับ 185 92.5ล้ล้าานบาท นบาท 1,600.0 6 ปี 28 สิ ง-หาคม พ.ศ. 2561 ให้บ�ตริ ษ่อปีทั ย่อยกูย้ มื เงิน ตล้ราดอกเบี �ต่อปี -ชําระคื งวดทีน6�เงิ9ปีนเท่ต้านกัทุบก92.5 า4นบาท � ยร้อยละคงที ให้บริ ษทั ย่อยกูย้ มื เงิน ง) อัตราดอกเบี ปี- อัรวม งวด โดยเริ นที� 27 สิ งหาคม พ.ศ. ชําระคืนเงินต้นทุกปี รวม 4 งวด โดยเริ� ม � ยร้อยละคงที � มชําระงวด�รกในวั ให้บริ ษทั ย่อยกูย้ มื เงิน 6 ปี - อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี ชํ2564 าระคืนเงินต้นทุกปี รวม 4 งวด โดยเริ� มชําระงวด�รกในวันที� 27 สิ งหาคม พ.ศ. 2564 - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 4 งวดละ 400 ล้าน 2564 - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 4 งวดละ 400 ล้านบาท - งวดที� 1 ถ�งงวดที� 4 งวดละ 400 ล้านบาท

เงินกูย้ มื ระยะยาวของบริ ษทั

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ)

19

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน)บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) บริ �ัท จั�ปการและพั �นาทรันพรวมและงบการเงิ ยากรนํ�า�าคตะวันนเฉพาะกิ ออก จํากัจ�การ (มหาชน)หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ หมายเหตุ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 สํ าหรับปี สิป�นระกอบงบการเงิ สุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 นเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

รายงานประจ�ำปี 2561

154


เงินกู้ยืม (ต่อ)

644.0

1,600.0

ข)

ค)

25 สิ งหาคม พ.ศ. 2560

8 มิถุนายน พ.ศ. 2558

12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วันทําสั ญญา

ชําระคืนเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิม

ชําระคืนเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิม

ชําระคืนเงินกูย้ ืมที�มีอยูเ่ ดิม

วัตถุประสงค์

2 ปี

5 ปี

5 ปี

ระยะเวลา

- อัตราดอกเบี�ย BIBOR+อัตราร้อยละคงที�ต่อปี

- อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี

- อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี

อัตรา�อกเบีย�

ชําระคืนเงินต้นเมื�อครบกําหนด 2 ปี ในวันที� 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2562*

ชําระคื นเงิ นต้นทุ กปี รวม 5 งวด โดยเริ� มชําระงวดแรกในวันที� 10 มิถุนายน พ.ศ. 2559 งวดละเท่า ๆ กัน

ชําระคืนเงิ นต้นทุกปี รวม 5 งวด โดยเริ� มชําระงวดแรกในวันที� 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559 งวดละเท่า ๆ กัน

การชําระคืนเงินต้ นคงเหลือ

อัตราดอกเบี�ยเงินกูย้ มื เ�ลี�ย ปี 2561 เท่ากับร้อยละ 2.70 (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 2.92)

58

เงินกูย้ ืมระยะยาวของกลุ่มกิจการเป็ นประเภทไม่มีหลักประกัน ซึ� งกลุ่มกิจการต้องป�ิบตั ิตามเงื�อนไขทางการเงินต่างๆ รวมถึงการดํารงอัตราส่ วนหนี� สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ไม่เกิน 2 เท่าและการดํารงอัตราส่ วน Debt Service Coverage Ratio ไม่ต�าํ กว่า 1.10 เท่า

* บริ ษทั ย่อยได้ชาํ ระคืนเงินกู้ 1,600 ล้านบาททั�งจํานวนแล้วในวันที� 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2561

317.0

ก)

วงเงินกู้ (ล้ านบาท)

เงินกูย้ มื ระยะยาวของบริ ษทั ย่อย - บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ)

19

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

155


รายงานประจ�ำปี 2561

156

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 19

เงินกู้ยืม (ต่อ)

19.3 หุ้นกู้ หุน้ กูป้ ระกอบด้วย: หุน้ กูช้ ุดที� 1 ���งเป� นหุน้ กูช้ นิดไม่ดอ้ ยสิ ทธิและไม่มีหลักประกันจํานวน 1,200 ล้านบาท อายุ 7 ปี ครบกําหนดในปี พ.ศ. 2565 มีอตั รา ดอกเบี�ยคงที�ร้อยละ 3.84 ต่อปี กําหนดจ่ายดอกเบี�ยทุก ๆ 6 เด�อน ค�อ วันที� 16 มิ�ุนายน และวันที� 16 ธันวาคม หุ ้นกูช้ ุดที� 2 ��� งเป� นหุ ้นกูช้ นิ ดไม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีหลักประกันจํานวน 1,200 ล้านบาท อายุ 10 ปี ครบกําหนดในปี พ.ศ. 2568 มีอตั ราดอกเบี�ยคงที�ร้อยละ 4.18 ต่อปี กําหนดจ่ายดอกเบี�ยทุก ๆ 6 เด�อน ค�อ วันที� 16 มิ�ุนายน และวันที� 16 ธันวาคม

งบการเงินรวม หุน้ กูช้ ุดที� 1 หุน้ กูช้ ุดที� 2 หัก ต้นทุนในการออกหุน้ กูร้ อตัดบัญชี หุน้ กู้ - สุ ทธิ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

1,200,000,000 1,200,000,000 (2,045,434) 2,397,954,566

1,200,000,000 1,200,000,000 (2,437,648) 2,397,562,352

การเปลี�ยนแปลงของหุน้ กูใ้ นระหว่างปี มีรายละเอียดดังต่อไปนี� งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ยอดยกมา � วันที� 1 มกราคม ตัดจําหน่ายต้นทุนในการออกหุน้ กู้ ยอดคงเหล�อ � วันที� 31 ธันวาคม

2,397,562,352 392,214 2,397,954,566

2,397,185,473 376,879 2,397,562,352

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 1,200,000,000 1,200,000,000 (2,045,434) 2,397,954,566

1,200,000,000 1,200,000,000 (2,437,648) 2,397,562,352

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 2,397,562,352 392,214 2,397,954,566

2,397,185,473 376,879 2,397,562,352


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิ เฉพาะกิ 20 เจ�นารวมและงบการเงิ หนี�การค� าและเจ� านหนี �อน� จการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 20

21

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560

เจ� าหนี�การค� าและเจ� าหนี�อน�

ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

งบการเงินรวม

74,437,38 21,599,96

2,181,347 74,437,381 101,460,062 21,599,969

1,246,07 97,283,42

พ.ศ. 2561

หักเกิค่นาใช้ ครบกําหนดภายในไม่ 1 ปีจ่ายทางการเงินในอนาคตของ ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่สัเกิญนญาเช่ 5 ปี าการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 2,932,626 1,968,260 พ.ศ. 2560 4,900,886 2,853,876 (994,822) 3,308,710 3,906,064 6,162,586

2,932,626 1,968,260 มูลค่าปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิ4,900,886 น หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของ สัญญาเช่าการเงิ มูลค่นาปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิ(994,822) นมีรายละเอียดดัง(1,925,885) นี� 3,906,064 4,236,701 มูลค่าปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบนั ของหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงินมีรายละเอียดดังนี�

ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี (ส่ วนหมุนเวียน) 2,120,878 งบการเงินรวม 1,785,186 ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี (ส่ วนไม่หมุนเวียน) พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 3,906,064 ครบกําหนดภายในไม่เกิน 1 ปี (ส่ วนหมุนเวียน) 2,120,878 1,600,100 2,636,601 1,785,186 ครบกําหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี (ส่ วนไม่หมุนเวียน) 3,906,064

(994,822) 3,906,064

4,236,701

พ.ศ. 256

1,246,075 97,283,425

(หน่ วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2561 (หน่ วย: บาท) 2,853,876 2,932,626 งบการเงินเฉพาะกิจการ 3,308,710 1,968,260 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 6,162,586 4,900,886 2,932,626 2,853,876 (1,925,885) (994,822) 1,968,260 3,308,710 4,236,701 3,906,064 4,900,886 6.162,586

พ.ศ. 256

2,853,87 3,308,71 6.162,58

(1,925,885 4,236,70

(1,925,885) 4,236,701

(หน่ วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561

(หน่ วย: บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2561 (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 101,672,901 78,437,849 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 3,546,816 20,840,866

เจ้าหนี�การค้า งบการเงินรวม - บุคคลภายนอก 107,474,767 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) 1,805,294 เจ้าหนี�อ�น เจ้าหนี�การค้า 37,925,412 34,508,433 - บุคคลภายนอก - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) 107,474,767 101,672,901 78,437,849 147,205,473 139,728,150 - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) 1,805,294 3,546,816 20,840,866 เจ้าหนี�อ�น - กิจการที (หมายเหตุ 37,925,412 34,508,433 2,181,347 21 �เกี�ยวข้ หนีอ�สงกัิ นนตามสั ��าเช่ 34.2) าการเงิน 147,205,473 139,728,150 101,460,062 จํานวนเงินขั�นตํ�าที�ตอ้ งจ่าย���งบันท�กเป� นหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดงั ต่อไปนี� หนี�สินตามสั ��าเช่ าการเงิน จํานวนเงินขั�นตํ�าที�ตอ้ งจ่าย���งบันท�กเป� นหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดงั ต่อไปนี�

157

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561 (หน่ วย: บาท) 1,600,100 2,120,878 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2,636,601 1,785,186 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 4,236,701 3,906,064 2,120,878 1,600,100 1,785,186 2,636,601 3,906,064

4,236,701

พ.ศ. 256

1,600,10 2,636,60

4,236,70


รายงานประจ�ำปี 2561

158

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 22

การกระทบยอดหนี�สินที�เกิดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

1 มกราคม พ.ศ. 2561

กระแสเงินสด รับ

จ่ าย

รายการ เปลีย� นแปลง ที��ม่ �ช่ เงินสด

(หน่ วย : บาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

งบการเงินรวม เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน

83,000,000 4,800,600,000 2,397,562,352 4,236,701

4,409,000,000 (3,678,000,000) 1,600,000,000 (2,408,200,000) (330,637)

392,214 -

814,000,000 3,992,400,000 2,397,954,566 3,906,064

10,000,000 2,624,000,000 2,397,562,352 4,236,701

3,560,000,000 (2,990,000,000) 1,600,000,000 (616,000,000) (330,637)

392,214 -

580,000,000 3,992,400,000 2,397,954,566 3,906,064

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน

1 มกราคม พ.ศ. 2560

กระแสเงินสด รับ

จ่ าย

รายการ เปลีย� นแปลง ที��ม่ �ช่ เงินสด

(หน่ วย : บาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

งบการเงินรวม เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน

1,600,000,000 4,008,800,000 2,397,185,473 1,842,222

1,178,000,000 (2,695,000,000) 1,600,000,000 (808,200,000) (1,837,899)

376,879 4,232,378

83,000,000 4,800,600,000 2,397,562,352 4,236,701

376,879 4,232,378

10,000,000 2,624,000,000 2,397,562,352 4,236,701

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินกูย้ ืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน

3,240,000,000 2,397,185,473 1,842,222

903,000,000 -

(893,000,000) (616,000,000) (1,837,899)


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

159

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 23

ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม โบนัสค้างจ่าย ค่าตอบแทนโครงการค้างจ่าย ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย อื�น�

24

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

56,479,130 50,055,214 14,157,612 42,495,396 163,187,352

69,941,979 48,908,775 16,330,939 40,831,587 176,013,280

36,710,020 50,055,214 26,642,737 113,407,971

44,987,165 48,908,775 21,599,872 115,495,812

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงิน โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื�น หนี�สินในงบแสดงฐานะการเงิน กําไรหรื อขาดทุน โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื�น

กําไรขาดทุนเบ�ดเสร� จอื�น การวัดมูลค่าใหม่สาํ หรับ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

146,883,620 3,577,319 150,460,939

131,578,876 3,483,117 135,061,993

105,622,569 1,953,148 107,575,717

95,076,377 1,905,193 96,981,570

17,459,392 726,293 18,185,685

16,223,992 349,166 16,573,158

12,233,551 448,280 12,681,831

9,963,089 72,212 10,035,301

-

(3,371,809) (3,371,809)

-

7,734,133 7,734,133


รายงานประจ�ำปี 2561

160

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 24

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ)

24.1 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน จํานวนที�รับรู้ในงบ�สดงฐานะการเงิน มีดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ หนี�สินที�รับรู้ในงบ�สดงฐานะการเงิน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

146,883,620 146,883,620

131,578,876 131,578,876

105,622,569 105,622,569

95,076,377 95,076,377

รายการเคลื�อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานระหว่างปี มีดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ณ วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย การวัดมูลค่าใหม่ ผลขาดทุนที�เกิดขึ�นจากการ เปลี�ยน�ปลงข้อสมมติทางการเงิน ผลกําไร�ละขาดทุนที�เกิดจากประสบการณ์ โอนพนักงานมาจาก (ไปยัง) บริ ษทั ย่อย ผลประโยชน์ที�จ่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

131,578,876 13,511,296 3,948,096

125,261,380 12,053,752 4,170,240

95,076,377 9,365,270 2,868,281

74,921,158 7,285,163 2,677,926

(2,154,648) 146,883,620

4,415,980 (7,787,789) (6,534,687) 131,578,876

(307,691) (1,379,668) 105,622,569

2,979,407 4,754,726 8,992,684 (6,534,687) 95,076,377

สมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสําหรับผลประโยชน์หลังออกจากงานมีดงั นี� (หน่ วย: ร้ อยละต่ อปี ) พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน

3.0 5.0-10.0

3.0 5.0-10.0


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

161

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 24

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ)

24.1 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน (ต่อ) ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงาน การเพิม� ข�น� /(ลดลง)ของภาระผูกพัน (บาท)

การเปลีย� นแปลง�นข� อสมมติ อัตราคิดลด อัตราการเพิ�มขึ�นของเงินเดือน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

เพิม� ขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1 เพิ�มขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1

เพิม� ขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1 เพิ�มขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1

(10,380,604) 12,195,759 11,670,644 (10,181,553)

(9,404,894) 11,049,436 10,573,678 (9,224,552)

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี� อา้ งอิงจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติใดข้อสมมติหนึ� ง ขณะ�ี�ให้ขอ้ สมมติอื�นคง�ี� ใน�าง ปฏิบตั ิสถานการณ์ดงั กล่าวยาก�ี�จะเกิ ดขึ�น และการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติบางเรื� องอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการ วิเคราะห์ความอ่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวอื�น�ี�มีต่อการเปลี�ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับการ คํานวณผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน�ี� รับ รู้ ในงบแสดง�านะการเงิน นั�นคื อวิธีคิดลดแต่ล ะหน่ วย�ี� ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) วิธีการและประเภ�ของข้อสมมติ�ี�ใช้ในการจัด�ําการวิเคราะห์ความอ่อนไหว ไม่ได้เปลี�ยนแปลงจากปี ก่อน ระยะเวลาถัวเ�ลี�ยถ่วงนํ�าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์คือ 37.5 ปี (พ.ศ. 2560: 38.5 ปี ) 24.2 ผลประโยชน์ ระยะยาวอ�น� จํานวน�ี�รับรู้ในงบแสดง�านะการเงิน มีดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ ระยะยาวอื�น หนี�สิน�ี�สุ�ธิรับรู้ในงบแสดง�านะการเงิน

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

3,577,319 3,577,319

3,483,117 3,483,117

1,953,148 1,953,148

1,905,193 1,905,193


รายงานประจ�ำปี 2561

162

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 24

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ)

24.2 ผลประโยชน์ ระยะยาวอ�น� (ต่อ) รายการเคล��อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวอ��นระหว่างปี มีดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ณ วันที� 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย การวัดมูลค่าใหม่ ผลขาดทุนที�เกิดขึ�นจากการ เปลี�ยน�ปลงข้อสมมติทางการเงิน ผลกําไรที�เกิดจากประสบการณ์ โอนพนักงานมาจาก (ไปยัง) บริ ษทั ย่อย ผลประโยชน์ที�จ่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

3,483,117 615,384 110,909

3,825,907 605,454 127,614

1,905,193 383,252 65,028

1,783,660 354,284 66,974

(632,091) 3,577,319

306,087 (689,989) (691,956) 3,483,117

(24,595) (375,730) 1,953,148

182,756 (531,802) 470,981 (421,660) 1,905,193

สมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสําหรับผลประโยชน์ระยะยาวอ��นมีดงั นี�

อัตราคิดลด

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

ร้อยละ 3.0

ร้อยละ 3.0

ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการ ผลประโยชน์ ระยะยาวอ�น� การเปลีย� นแปลง�นข� อสมมติ อัตราคิดลด

การเพิม� ข�น� /(ลดลง)ของภาระผูกพัน (บาท)

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

เพิม� ขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1

เพิม� ขึ�นร้อยละ 1 ลดลงร้อยละ 1

(140,344) 155,614

(132,967) 147,434


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

163

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 25

ประมา�การหนี�สินระยะยาว (หน่ วย: บาท) ภาระผูกพันตามสั ญญาข้ อตกลงสั มปทานบริการ งบการเงินรวม � วันที� 1 มกราคม เพิ�มขึ�น (กลับรายการ) ใช้ไประหว่างงวด � วันที� 31 ธันวาคม

26

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

33,188,538 (588,697) (11,813,761) 20,786,080

20,670,053 21,490,806 (8,972,321) 33,188,538

หนี�สิน�ม่ หมุนเวียนอ�น� งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 เงินประกันผลงาน เงินคํ�าประกันรับจากธนาคาร เงินประกันการเช่ารับจากบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุ 34.2)

27

125,261,843 17,128,973 142,390,816

231,914,544 381,814,119 613,728,663

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 86,476,882 17,128,973 58,000 103,663,855

192,501,141 381,814,119 58,000 574,373,260

ทุนสํ ารองตามกฎหมาย ทุนสํารองตามกฎหมายของบริ ษทั ประกอบไปด้วย 1)

ทุนสํารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 กําหนดให้บริ ษทั ต้องจัดสรรกําไรสุ ทธิ ประจําปี ส่ วนหนึ� งไว้เป็ นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ ประจําปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี�จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไปจ่าย เป็ นเงินปันผลได้

2)

ทุนสํารองสัมปทาน ทุนสํารองตามข้อกําหนดของสัญญาแก้ไขเพิ�มเติมสัมปทานประกอบกิ จการประปา ที�กาํ หนดให้บริ ษทั ต้องจัดสรรสํารอง ก่อนจ่ายเงินปั นผลเป็ นจํานวนร้ อยละ 10 ของกําไรสุ ทธิ ประจําปี ทุนสํารองนี� ให้กนั ไว้เป็ นเงินสดโดย�ากประจําไว้ที�ธนาคาร โดยไม่สามารถจ่ายเป็ นเงินปั นผลได้ ทั�งนี� กลุ่มกิจการมีนโยบายการตั�งทุนสํารองสัมปทานเป็ นรายไตรมาสจากกําไรสุ ทธิ ของแต่ละไตรมาส


รายงานประจ�ำปี 2561

164

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 28

องค์ ประกอบอ�น� ของส่ วนของเจ้ าของ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 � วันที� 1 มกราคม ทรัพย์สินที�ได้รับโอนจากลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผือ� ขาย โอนไปยังกําไรขาดทุน - สุ ทธิจากภาษี � วันที� 31 ธันวาคม

(หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

14,774,228 (3,386,254)

18,695,728 (3,390,304)

14,774,228 (3,386,254)

18,695,728 (3,390,304)

11,387,974

(531,196) 14,774,228

11,387,974

(531,196) 14,774,228

ทรัพย์สินที�ได้รับโอนจากลูกค้า เป็ นระบบท่อส่ งนํ�าและมาตรวัดนํ�า �ึ� งบริ ษทั ได้รับโอนตั�งแต่ปี พ.ศ. 2540 ตามสัญญาวางท่อส่ งนํ�าดิบ และติดตั�งเป็ นผูใ้ ช้น� าํ บริ ษทั บันทึกเป็ นสิ นทรั พย์ในองค์ประกอบอื�นของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นและทยอยรั บรู้ เป็ นรายได้ตลอดอายุ การให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ 29

เงินปันผลจ่ าย เงินปันผลที�ประกาศจ่ายในระหว่างปี มีดงั นี� อนุมตั โิ ดย ปี พ.ศ. 2561 เงินปันผลสําหรับปี พ.ศ. 2560 เงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการดําเนินงานสําหรับงวดหกเดือน สิ�นสุ ดวันที� 30 มิถุนายน พ.ศ. 2561

ที�ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจําปี เมื�อวันที� 23 เมษายน พ.ศ.2561 ที�ประชุมค�ะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 9 สิ งหาคม พ.ศ.2561

เงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการดําเนินงานสําหรับงวดหกเดือน สิ�นสุ ดวันที� 30 มิถุนายน พ.ศ. 2560

เงินปันผลต่ อหุ้น บาท

399.3

0.24

18 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

332.7

0.20

5 กันยายน พ.ศ. 2561

วันทีจ� ่ ายเงินปันผล

732.0

อนุมตั โิ ดย ปี พ.ศ. 2560 เงินปันผลสําหรับปี พ.ศ. 2559

เงินปันผล ล้ านบาท

ที�ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจําปี เมื�อวันที� 18 เมษายน พ.ศ.2560 ที�ประชุมค�ะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 31 สิ งหาคม พ.ศ.2560

เงินปันผล ล้ านบาท

เงินปันผลต่ อหุ้น บาท

449.2

0.27

16 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

382.6

0.23

26 กันยายน พ.ศ. 2560

831.8

วันทีจ� ่ ายเงินปันผล


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

165

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 30

ราย��้อน� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม รายได้ดอกเบี�ย รายได้เงินปันผล รายได้ค่าสิ นไหมทดแทน รายได้ค่าบริ การระบบคอมพิวเตอร์ กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนระยะยาว อื�น ๆ

31

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

6,989,137 12,943,267 127,780 14,274,949 34,335,133

6,938,348 12,550,037 1,862,672 27,241,838 48,592,895

16,301,893 126,581,983 9,442,845 4,973,000 127,780 9,855,496 167,282,997

1,154,879 105,569,986 3,968,819 5,297,000 1,862,672 20,969,909 138,823,265

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายตามลัก�ณะที�สาํ คั�ได้แก่

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื�นของพนักงาน ค่าเสื� อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าเช่าและค่าตอบแทนโครงการ วัสดุสิ�นเปลืองใช้ไป ค่าไฟฟ้ า ซื�อนํ�าดิบ ซื�อนํ�าประปา ค่าจ้างและบริ การ ค่าซ่อมบํารุ ง ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ค่าบริ หารกิจการ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิ� งแวดล้อม ต้นทุนทางการเงิน

341,712,888 736,127,464 101,967,132 33,733,940 454,431,098 237,286,526 256,684,273 187,593,092 860,000 13,315,793 157,212,055

305,678,381 696,839,469 100,555,891 28,119,836 510,440,747 206,485,887 231,417,629 151,792,487 1,960,000 22,039,787 140,848,473

(หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 241,931,769 410,319,054 81,964,616 301,185,981 154,641,414 54,284,909 69,244,399 89,108,385 160,343,554 13,315,793 117,185,312

203,855,006 379,550,679 78,689,576 351,937,816 130,406,310 53,861,053 49,550,305 89,091,101 162,991,785 22,039,787 87,875,737


รายงานประจ�ำปี 2561

166

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 32

ภาษีเงินได้ (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

ภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั : ภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั สําหรับกําไรทางภาษี สําหรับปี การปรับปรุ งจากงวดก่อน รวมภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน

282,142,668 (654,933) 281,487,735

330,139,992 (4,873,766) 325,266,226

224,262,203 (117,374) 224,144,829

248,400,783 33,254 248,434,037

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: รายการที�เกิดจากผลแตกต่างชัว� คราว รวมภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

(20,300,612) (20,300,612)

(23,612,476) (23,612,476)

3,952,030 3,952,030

4,326,451 4,326,451

รวมค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้

261,187,123

301,653,750

228,096,859

252,760,488

ภาษีเงินได้สําหรับกําไรก่ อนหักภาษีของกลุ่มกิจการมียอดจํานวนเงินที�แตกต่างจากการคํานวณกําไรทางทฤษฎีบญ ั ชีคูณกับภาษี ของประเทศที�บริ ษทั ใหญ่ต� งั อยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม กําไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้คาํ นวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 20 (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 20) ผลกระทบ: รายได้ที�ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายที�สามารถหักภาษีได้เพิ�ม ค่าใช้จ่ายที�ไม่สามารถหักภาษีได้ การปรับปรุ งจากงวดก่อน ภาษีเงินได้

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

1,390,961,221

1,533,669,101

1,272,816,717

1,355,256,564

278,192,244

306,733,820

254,563,343

271,051,313

(677,250) (20,991,272) 5,318,333 (654,932) 261,187,123

(678,061) (8,935,128) 9,406,885 (4,873,766) 301,653,750

(25,993,646) (3,163,576) 2,808,112 (117,374) 228,096,859

(21,792,058) (3,031,006) 6,498,985 33,254 252,760,488

อัตราภาษีเงินได้ที�แท้จริ งของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นร้อยละ 18.78 และร้อยละ 17.92 ตามลําดับ (พ.ศ. 2560: ร้อยละ 19.67 และ ร้อยละ 18.65 ตามลําดับ)


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

167

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 32

ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภา��เงินได้ท�เก��ยวข้องกับองค์ประกอบในกําไรขาดทุนเบ็ดเ�ร็ จอ��นม�ดงั น�� (หน่ วย: บาท) งบการเงินรวม พ.ศ. 2561 ก่อนภาษี ภาษี(ลด) / เพิม� การปรับมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผ��อขาย กําไรขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลัง ออกจากงาน กําไรขาดทุนเบ�ดเสร�จอ�น�

พ.ศ. 2560 หลังภาษี

ก่อนภาษี ภาษี(ลด) / เพิม�

หลังภาษี

-

-

-

(663,994)

132,798

(531,196)

-

-

-

(3,371,809)

674,361

(2,697,448)

-

-

-

(4,035,803)

807,159

(3,228,644) (หน่ วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังภาษี

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

-

-

(663,994)

132,798

(531,196)

-

-

-

7,734,133

(1,546,827)

6,187,306

-

-

-

7,070,139

(1,414,029)

5,656,110

บาท การปรับมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผ��อขาย กําไรขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลัง ออกจากงาน กําไรขาดทุนเบ�ดเสร�จอ�น�

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561 ก่อนภาษี ภาษี(ลด) / เพิม�

-

ก่อนภาษี ภาษี(ลด) / เพิม�

หลังภาษี


รายงานประจ�ำปี 2561

168

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 33

กําไรต่ อหุ้น กําไรต่อหุ ้นขั�นพื�นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุ ทธิ ที�เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นสามัญของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจํานวนหุ ้นสามัญถัวเ�ลี�ยถ่วงนํ�าหนัก ที�ถือโดยผูถ้ ือหุน้ ในระหว่างปี งบการเงินรวม กําไรสุ ทธิที�เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ (บาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเ�ลี�ยในระหว่างปี (หุน้ ) กําไรต่อหุน้ ขั�นพื�นฐาน (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

1,117,521,523 1,663,725,149 0.67

1,221,179,490 1,663,725,149 0.73

1,044,719,858 1,663,725,149 0.63

1,102,496,076 1,663,725,149 0.66

กลุ่มกิจการไม่มีการออกหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 ดังนั�นจึงไม่มีการนําเสนอกําไรต่อหุน้ ปรับลด 34

รายการกับบุคคลหร�อกิจการ�ี�เกีย� ว�้ องกัน กิจการและบุคคลที�มีความสัมพันธ์กบั บริ ษทั ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้อม โดยผ่านกิจการอื�นแห่ งหนึ� งหรื อมากกว่าหนึ� งแห่ ง โดยที� บุคคลหรื อกิจการนั�นมีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ที�ดาํ เนินธุรกิจการลงทุน บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ย่อยในเครื อเดียวกัน ถือเป็ นกิจการที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ร่ วมและบุคคลที�เป็ น เจ้าของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิออกเสี ยงของบริ ษทั �ึ� งมีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญเหนื อกิจการ ผูบ้ ริ หารสําคัญรวมทั�งกรรมการและ พนักงานของบริ ษทั ตลอดจนสมาชิกในครอบครั วที�ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั�น กิจการและบุคคลทั�งหมดถือเป็ นบุคคลหรื อกิ จการ ที�เกี�ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรื อกิ จการที�เกี�ยวข้องกันต้องคํานึ งถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่ารู ปแบบ ความสัมพันธ์ตามกฎหมาย บริ ษทั เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด โดยมีการประปาส่ วนภูมิภาคเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ลาํ ดับแรก �ึ�งถือร้อยละ 40.20 ของจํานวนหุ ้นของ บริ ษทั ที�ออกจําหน่าย และมีตวั แทนเป็ นคณะกรรมการของบริ ษทั การนิคมอุตสาหกรรมถือหุน้ ร้อยละ 4.57 ของจํานวนหุน้ ที�ออกจําหน่ายของบริ ษทั และมีตวั แทนเป็ นคณะกรรมการของบริ ษทั


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

169

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 34

รายการกับบุคคลหรือกิจการที�เกีย� ว�้ องกัน (ต่อ)

34.1 รายการที�เกิด��น� ระหว่ างปี (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

319,780,672 975,151,100

371,704,222 949,078,900

319,780,672 975,151,100

371,704,222 949,078,900

1,294,931,772

1,320,783,122

40,307,904 1,335,239,676

49,402,257 1,370,185,379

1,230,555,184

1,221,046,180

177,315,761

180,333,063

209,070,733

160,539,445

-

-

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

-

-

14,657,534

-

รายได้ค่าเช่ าและค่ าบริการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

28,989,696

27,421,925

-

-

28,989,696

27,421,925

52,524,306 52,524,306

26,145,384 26,145,384

รายได้จากการ�ายนํ�าดิบ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

รายได้จากการ�ายนํ�าประปา ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค รายได้ค่าก่อสร้ างภายใต้ สัญญาสั มปทาน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค ดอกเบีย� รับ บริษัทย่ อย


รายงานประจ�ำปี 2561

170

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 34

รายการกับบุคคลหรือกิจการที�เกีย� วข้ องกัน (ต่อ)

34.1 รายการที�เกิ�ข�น� ระหว่ างปี (ต่อ) (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

-

-

126,581,983

105,569,986

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

-

-

10,974,300

11,421,831

ต้ นทุนขายและต้ นทุนค่ าบริการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

20,766,245

22,351,662

8,286,461

9,034,818

20,766,245

22,351,662

214,628,463 222,914,924

216,852,838 225,887,656

326,361

13,736

-

-

326,361

13,736

159,577 159,577

-

เงินปันผลรับ บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) ราย��้อนื� บริษัทย่ อย

ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อยทางอ้อม บริ ษทั เอ็กคอมธารา จํากัด

รายได้จากการขายนํ�าดิบ รายได้จากการขายนํ�าประปา รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การและรายได้อ�นใช้ราคาที�ตกล�ร่ วมกันตามที�ระบุไว้ ในสัญญา ต้นทุนขายและต้นทุนค่าบริ การใช้ราคาที�ตกล�ร่ วมกันตามที�ระบุไว้ในสัญญา


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

171

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 34

รายการกับบุคคลหรือกิจการที�เกีย� ว�้ องกัน (ต่อ)

34.2 ยอดคงค้ าง ณ วันสิ�นปี (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ลูกหนี�การค้ าส่ วนที�เรียกเก�บแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

ลูกหนีก� ารค้ าส่ วนที�ยัง�ม่ �ด้เรียกเก�บ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

ลูกหนี�อนื� ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

76,473,303 88,598,051

80,935,437 87,366,356

62,933,313 88,598,052

41,750,348 87,366,356

165,071,354

168,301,793

4,623,331 156,154,696

2,576,902 131,693,606

134,967,926

103,557,768

1,297,003

-

-

-

1,154,550

134,967,926

103,557,768

2,451,553

448,313 448,313

16,274

15,325

-

-

16,274

15,325

9,419,406 9,419,406

11,526,097 11,526,097


รายงานประจ�ำปี 2561

172

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 34

รายการกับบุคคลหรือกิจการที�เกีย� ว�้ องกัน (ต่อ)

34.2 ยอ�คงค้ าง � วันสิ�นปี (ต่อ) (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม เจ้ าหนี�การค้ า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

เจ้ าหนีอ� นื� ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่ วนภูมิภาค เงินประกันการเช่ ารับ บริษัทย่ อย บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน)

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

1,805,294

3,546,816

685,137

2,309,494

1,805,294

3,546,816

20,155,729 20,840,866

19,290,475 21,599,969

37,925,412

34,508,433

2,128,347

1,246,075

-

-

58,000

58,000

34.3 ค่ าตอบแทนผู้บริหารสํ าคัญ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสามารถจําแนกได้ดงั นี� (หน่ วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ผลประโยชน์ระยะสั�น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอ��น �

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

109,237,268 5,916,718 40,665 115,194,651

100,588,008 5,265,292 47,776 105,901,076

83,562,128 4,576,386 21,176 88,159,690

74,221,141 3,468,440 21,405 77,710,986


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

173

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 34

รายการกับบุคคลหรือกิจการที�เกีย� ว�้ องกัน (ต่อ)

34.4 เงินให้ ก้ยู ืมระยะยาวแก่บริษัทย่ อย การเปลี�ยนแปลงของเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อยมีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่ วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดยกมา ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ให้กเู้ พิ�ม

1,600,000,000 1,600,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

เมื�อวันที� 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั ให้กูย้ ืมระยะยาวแก่ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทิลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) จํานวน 1,600.0 ล้านบาท มี ระยะเวลา 6 ปี อัตราดอกเบี�ยร้อยละคงที�ต่อปี โดยจ่ายชําระคืนปี ละ 400.0 ล้านบาท ซึ�งจะเริ� มจ่ายคืนงวดแรกในปี พ.ศ. 2564 35

ภาระผูกพันและหนี�สินที�อาจเกิ���น�

35.1 ภาระผูกพันเกีย� วกับรายจ่ าย�่ ายทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันเกี�ยวกับโครงการงานก่อสร้างและวางท่อส่ งนํ�าที�ยงั ไม่แล้วเสร็ จในงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นจํานวนเงิน 1,893.6 ล้านบาท และ 1,762.0 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2560: 525.4 ล้านบาท และ 418.5 ล้านบาท ตามลําดับ) 35.2 ภาระผูกพันเกีย� วกับสั ��าเช่ า�ําเนินงาน ยอดรวมของจํานวนเงินขั�นตํ�าที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดําเนิ นงานที�เกี�ยวข้องกับการเช่าที�ดิน ยานพาหนะ และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที�ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี� (หน่ วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2561

พ.ศ. 2560

18.7 17.5 4.1 40.3

21.7 25.1 4.1 50.9

9.6 5.7 15.3

11.0 11.0 22.0


รายงานประจ�ำปี 2561

174

บริ�ั� จั�การและพั�นา�รัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากั� (มหาชน) บริ �ั� จั�ปการและพั �นา�รันพรวมและงบการเงิ ยากรนํ�าภาคตะวันเฉพาะกิ ออก จํากัจ�การ (มหาชน) หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ นรวมและงบการเงิ สํ าหรับปี สิป�นระกอบงบการเงิ สุ �วัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 นเฉพาะกิจการ สํ35าหรับปีภาระผู สิ�นสุ �กวัพันน�ีและหนี � 31 ธันวาคม �สิน�ี�อพ.ศ. าจเกิ�2561 ��น� (ต่อ) 35

ภาระผูกพันและหนี�สิน�ี�อาจเกิ���น� (ต่อ)

35.3 ภาระผูกพันเกีย� วกับสั ��า���อนํ�า�ิบและนํ�าประปาและสั ��าบริการระยะยาว 35.3 ภาระผูกพันเกีย� วกับสั ��า���อนํ�า�ิบและนํ�าประปาและสั ��าบริการระยะยาว 35.3.1 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันตามสัญญาซื� อนํ�าดิบจากกรมชลประทานในอัตรา 35.3.1 ณ ที� 31 ธันวาคม พ.ศ. โดยไม่ 2561 และ พ.ศ.าหนดระยะเวลาสิ 2560 กลุ่มกิจการมี นตามสัญญาซื� อนํ�าดิบจากกรมชลประทานในอัตรา ที�กวัาํ นหนดในกฎกระทรวง มีการกํ ของสักญพัญา � นสุภดาระผู ที�กาํ หนดในกฎกระทรวง โดยไม่มีการกําหนดระยะเวลาสิ� นสุ ดของสัญญา 35.3.2 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันเกี�ยวกับสัญญาซื� อนํ�าดิบจากเอกชนที�จะต้องจ่ายขั�นตํ�าจํานวน ่มกิจการมีภาระผูกพันเกี�ยวกับสัญญาซื� อนํ�าดิบจากเอกชนที�จะต้องจ่ายขั�นตํ�าจํานวน 35.3.2 ณ วันทีล้� านบาท(พ.ศ. 31 ธันวาคม2560: พ.ศ.519.2 2561 ล้กลุานบาท) 483.2 483.2 ล้านบาท(พ.ศ. 2560: 519.2 ล้านบาท) 35.3.3 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 กลุ่มกิ จการมีภ าระผูกพันเกี� ยวกับสัญญาบริ การที�จะต้องจ่ ายในอนาคตจํานวนประมาณ 35.3.3 ณ วันทีล้�า31 ธันวาคม กิ จการมีภ าระผูกพันเกี� ยวกับสัญญาบริ การที�จะต้องจ่ ายในอนาคตจํานวนประมาณ 174.7 นบาท (พ.ศ. พ.ศ. 2560:2561 192.2กลุล้่ามนบาท) 174.7 ล้านบาท (พ.ศ. 2560: 192.2 ล้านบาท) 35.4 การคํา� ประกัน 35.4 การคํา� ประกัน 35.4.1 ณ วันที� 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2561 กลุ่ มกิ จการและบริ ษทั มีหนี� สิ นที� อาจเกิ ดขึ� นจากการที� ธนาคารในประเทศออกหนังสื อ 35.4.1 ณ วันที� น31เพืธั�อนการใช้ วาคมกพ.ศ. 2561 ากั กลุบ่ มการไฟฟ้ กิ จการและบริ นี� สิงนสืทีอ� อคําจเกิ ดขึ�นเกีจากการที � ธนาคารในประเทศออกหนั งสื อ �ยวกับการบริ คํ�าประกั ระแสไฟฟ้ าส่ วนภูษมทั ิภมีาคหหนั หารและดําเนิ นกิจการระบบ � าประกั �ยวกั คํท่� าอประกั เพื�อการใช้ กระแสไฟฟ้นากั บการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคงหนั บการบริบหตั ารและดํ เนิ นบกิการประปา จการระบบ ส่ งนํ�านสายหลั ก ในภาคตะวั ออกกั บ กระทรวงการคลั หนังสืงสืออคํ�คําประกั น เพื �อการปฏิ ิ ตามสั ญาญากั � าประกันเกี ท่ส่ วอนภู ส่ งมนํิภ� าาคและกั สายหลักบในภาคตะวั น ออกกั บ กระทรวงการคลั งสื อลคํโครงการของบริ บตั ิ ตามสั� ญ บ การประปา � าประกัน เพื�อการปฏิ กรมชลประทาน และหนั งสื อคํ�าประกันเพืง �อหนั ประมู ษทั จํานวนรวมทั งสิญากั ล้านบาท � น 243.0 ส่และ วนภู147.4 มิภาคและกั บกรมชลประทาน อคํ�าประกั �อประมูและ ลโครงการของบริ ทั จํานวนรวมทั ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ.และหนั 2560: จํงสืานวน 191.4นล้เพืานบาท 93.6 ล้านบาทษตามลํ าดับ) � งสิ� น 243.0 ล้านบาท และ 147.4 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2560: จํานวน 191.4 ล้านบาท และ 93.6 ล้านบาท ตามลําดับ) 35.4.2 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการมีหนี� สินที�อาจเกิ ดขึ�นจากการเป็ นผูค้ � าํ ประกันการปฏิบตั ิตาม 35.4.2 ณ นที� 31 ธัษนทัวาคม พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2560 กลุ่มกิงจสืการมี หนี� สินทีให้�อแาจเกิ นผูค้ น� าํ ประกั การปฏิสํบาตั หรั ิตามบ สัญวัญาของบริ ย่อย ในกรณี ธนาคารในประเทศออกหนั อคํ�าประกั ก่บริดษขึทั � นย่จากการเป็ อยภายในวงเงิ 200 ล้นานบาท สัการคํ ญญาของบริ ทั ย่ออแปลงไฟฟ้ ย ในกรณี ธานาคารในประเทศออกหนั งสื อ� าคํประปา ให้แก่นบสัริญษญาบั ทั ย่อนยภายในวงเงิ � าประกันประกั คํ�าประกันการผลิตและขายนํ ทึกข้อมูลผูใ้ นช้น200 � าประกันษหม้ � าํ ล้านบาท สําหรับ การคํ�าประกันหม้อแปลงไฟฟ้ า คํ�าประกันการผลิตและขายนํ�าประปา ประกันสัญญาบันทึกข้อมูลผูใ้ ช้น� าํ 35.4.3 ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั มีหนี� สินที�อาจเกิดขึ�นจากการจากการที�ธนาคารในประเทศออกหนังสื อคํ�าประกัน 35.4.3 ณ วันาทีระเงิ � 31 นธัค่นาวาคม 2561ษบริ นี� สินนทีการเงิ �อาจเกินดแห่ขึ�นงหนึ จากการจากการที คํ�าประกันบ างของบริ ทั ให้ษแทั ก่มีสหถาบั � ง เกี�ยวกับการดํ�ธานาคารในประเทศออกหนั เนิ นการก่อสร้างโครงการพังสืฒอนาสระเก็ การชํ ก่อสร้พ.ศ. การชํ ค่าก่อสร้างของบริ ทั ให้แก่ สถาบันการเงินแห่ งหนึ� ง เกี�ยวกับการดําเนิ นการก่อสร้างโครงการพัฒนาสระเก็บ นํ�าดิบาทัระเงิ บมานภายในวงเงิ น 200 ล้ษานบาท นํ�าดิบทับมา ภายในวงเงิน 200 ล้านบาท


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

175

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 36

คดีฟ้องร้ อง กลุ่มกิจการมีคดีฟ้องร้องที�มสี าระสําคัญ ดังต่อไปนี� บริษัท 1)

บริ ษทั ได้ว่าจ้างผูร้ ั บเหมารายหนึ� งเพื�อดําเนิ นการจัดหาที�ดินและก่อสร้ างโครงการพัฒนาสระเก็บนํ�าดิบทับมา มีระยะเวลา ดําเนิ น การระหว่างวัน ที� 31 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึ งวัน ที� 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 แต่ ก ารก่ อ สร้ างเกิ ดความล่ า ช้าและ ยังไม่แล้วเสร็ จ ต่อมาเมื�อวันที� 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ถูกฟ้ องเป็ นจําเลยในคดีแพ่งหมายเลขดําที� 1668/2559 เกี�ยวกับ การผิดสัญญาจ้างจากผูร้ ับเหมารายดังกล่าวและเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจํานวนทุนทรัพย์ท� งั สิ� น 480.9 ล้านบาท พร้อมดอกเบี�ยอัตรา ร้ อยละ 7.5 ต่ อ ปี โดยอ้างว่าความล่ าช้าเกิ ดจากความผิดของบริ ษ ัท บริ ษ ัท จึ งได้มีหนังสื อ โต้แ ย้งและเรี ยกร้ อ งค่ าปรั บ ค่ า เสี ย หาย และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ อื� น ใดที� บ ริ ษ ัท มีอ ยู่กับ ผูร้ ั บ เหมาอัน เกิ ดจากความล่ า ช้า ในการก่ อ สร้ า ง และเมื� อ วัน ที� 27 มกราคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้ยนื� คําให้การและฟ้ องแย้งต่อศาลจังหวัดระยองโดยเรี ยกร้องค่าเสี ยหายตามคําฟ้ องแย้งเป็ น จํานวนเงินทั�งสิ� น 1,746.8 ล้านบาท เมื�อ วัน ที� 22 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2561 บริ ษ ัทและผูร้ ั บเหมา ได้ท าํ สัญญาประนี ป ระนอมยอมความ ณ ศาลจังหวัดระยอง เรี ยบร้อยแล้ว ทําให้คดีเป็ นอันสิ� นสุ ด โดยผูร้ ับเหมาตกลงคืนค่าจ้างที�ได้รับไว้หลังหักหลักประกันให้แก่บริ ษทั เป็ นจํานวน 1,051.79 ล้านบาท แบ่งเป็ นการโอนที�ดินจํานวน 522.55 ล้านบาท และคืนเป็ นเงินจํานวน 529.24 ล้านบาท เพื�อเป็ นการ ประกันในการที�ผรู้ ับเหมาจะต้องดําเนินการก่อสร้างต่อ โดยดําเนินการก่อสร้างในส่ วนที�คา้ งอยูใ่ ห้แล้วเสร็ จภายใน 22 เดือน นับแต่วนั ที�ผรู้ ับเหมาได้รับแจ้งให้เริ� มงาน และบริ ษทั จะชําระค่าก่อสร้างหลังจากการก่อสร้างเสร็ จสิ� นทั�งหมด ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 บริ ษทั มีมูลค่างานระหว่างก่อสร้างและเจ้าหนี� ค่าก่อสร้างของโครงการนี� เป็ นจํานวนเงิน 1,605.5 ล้านบาท และ 862.2 ล้านบาท ตามลําดับ

2)

คดีหมายเลขดําที� พ808/2558 กรณี บริ ษทั และบริ ษทั เสม็ดยูทิลิต� ีส์ จํากัด �ึ� งอดีตเคยเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ถูกฟ้ องเป็ น จําเลยร่ วมกันเกี�ยวกับการผิดสัญญาเรี ยกค่าจ้างและค่าเสี ยหายเป็ นจํานวนเงิน 30.9 ล้านบาท เมื�อวันที� 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ศาลได้พพิ ากษาให้ บริ ษทั เสม็ดยูทิลิต� ีส์ จํากัด ชําระเงินแก่โจทก์ เป็ นจํานวนเงิน 20.5 ล้านบาท พร้อมดอกเบี�ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยยกฟ้ องในส่ วนของบริ ษทั ต่อมาเมื�อวันที� 17 มีนาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้ยนื� อุทธรณ์คาํ พิพากษาในส่ วนที�ให้บริ ษทั เสม็ดยูทิลิต� ีส์ จํากัด ชําระเงิน เมื�อวันที� 22 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายืนตามศาลชั�นต้นให้บริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต� ีส์ จํากัด ชําระเงินให้แก่บริ ษทั เอกชนเช่นเดิม ส่ วนของบริ ษทั ให้ยตุ ิไปตามศาลชั�นต้น เมื�อวันที� 20 เมษายน พ.ศ. 2560 บริ ษทั เสม็ดยูทีลิต� ีส์ จํากัด ได้ยนื� ฎีกา และในปัจจุบนั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาคดีของศาลฎีกา


รายงานประจ�ำปี 2561

176

บริษัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 36

คดีฟ้องร้ อง (ต่อ) บริษัทย่ อย 3)

37

เมื�อวันที� 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 บริ ษทั ถูกฟ้ องเป็ นจําเลยในคดีความหมายเลขดําที� 570/2559 เกี� ยวกับการรั บซื� อนํ�าดิบจาก บริ ษทั เอกชนรายหนึ�ง ซึ�งโจทก์อา้ งว่าบริ ษทั เอกชนรายนี� สูบนํ�าจากบ่อนํ�าที�ดินของโจทก์โดยโจทก์ได้ฟ้องต่อศาลจังหวัดชลบุรี ให้บริ ษทั คืนนํ�าดิบหรื อชดใช้ค่านํ�าดิบเป็ นเงินจํานวน 49.8 ล้านบาท ซึ� งในวันที� 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 ศาลได้มีคาํ พิพากษายกฟ้ อง ต่อมาโจทก์ได้ยื�นอุทธรณ์ต่อศาลเมื�อวันที� 19 มิถุนายน พ.ศ. 2561 บริ ษทั ย่อยได้ยื�นแก้อุทธรณ์ของฝ่ ายโจทก์ต่อศาล เมื�อวันที� 30 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 ต่อมาเมื�อวันที� 24 มกราคม พ.ศ. 2562 ศาลอุทธรณ์มีคาํ พิพากษายกฟ้ อง ปั จจุบนั บริ ษทั ย่อยอยู่ระหว่าง ติดตามการยืน� ฎีกาของฝ่ ายโจทก์

ค่ าตอบแทนโครงการ หน่ วยงานรัฐแห่ งหนึ� งอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริ ษทั เช่ า/บริ หาร และการปรับอัตราผลตอบแทนในโครงการท่อส่ งนํ�า 2 โครงการ (“โครงการฯ”) ตามหนังสื อที�ออกโดยหน่ วยงานของรัฐดังกล่าวซึ� งกําหนดให้บริ ษทั ต้องจ่ายค่าตอบแทนในโครงการฯ ให้กบั หน่วยงานของรัฐในเบื�องต้นเป็ นอัตราร้อยละของรายได้จากการขายนํ�าดิบในโครงการฯตั�งแต่ปีที�เริ� มเข้าดําเนิ นการ (ปี พ.ศ. 2541) และหากการพิจารณาได้ข้อยุติในอัตราที� มากกว่าอัตราที�บ ริ ษ ัทได้ชาํ ระค่ าตอบแทนไว้แล้ว บริ ษทั จะต้องยิน ยอมชําระเพิ�มเติ ม จนครบถ้วนในครั�งเดียว หรื อหากได้ขอ้ ยุติในอัตราที�ต�าํ กว่า หน่ วยงานรั ฐดังกล่าวยินยอมคืนส่ วนที�ชาํ ระไว้เกิ นโดยการหักกลบ ลบหนี�กบั ผลประโยชน์ตอบแทนในปี ต่อๆไป เมื�อวันที� 8 มกราคม พ.ศ. 2553 หน่ วยงานรั ฐดังกล่ าวได้มีหนังสื อ ถึงบริ ษทั แจ้งว่า การดําเนิ น การจัดให้บ ริ ษ ัท เช่ าหรื อ บริ หาร โครงการฯข้างต้น รวมทั�งการกําหนดผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่ าว ต้องดําเนิ นการตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการให้เอกชน เข้าร่ วมงานหรื อดําเนิ นการในกิจการของรั ฐ พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการตามมาตรา 13 มีอาํ นาจหน้าที�ในการพิจารณากําหนด อัตราค่าตอบแทนและเจรจาต่อรองผลประโยชน์ตอบแทนกับบริ ษทั และเมื�อวันที� 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 คณะกรรมการตามมาตรา 13 ได้มีมติเห็นชอบให้บริ ษทั เช่าท่อส่ งนํ�าโดยไม่ตอ้ งใช้วธิ ีประมูล ในปี พ.ศ. 2558 บริ ษทั และหน่ วยงานรัฐดังกล่าวได้มีการประชุมร่ วมกันเพื�อกําหนดอัตราค่าตอบแทน โดยเมื�อวันที� 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้มีหนังสื อแจ้งถึงหน่ วยงานรัฐว่าบริ ษทั ยินดีที�จะชําระผลประโยชน์ตอบแทนการเช่าหรื อบริ หาร เป็ นอัตราร้อยละ ของรายได้จากการขายนํ�าดิบในอัตราที�สูงขึ�นสําหรั บปี ปั จจุบนั และคงอัตราเดิมสําหรับปี ที�ผ่านมา ซึ� งหน่ วยงานรัฐดังกล่าวได้มี หนังสื อลงวันที� 14 ตุลาคม พ.ศ. 2558 แจ้งมายังบริ ษทั ว่าจะต้องนําข้อเสนอดังกล่าวเข้าสู่ กระบวนการพิจารณากําหนดผลประโยชน์ ตอบแทนตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่ วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 และนําเสนอคณะรั ฐมนตรี เพื�อพิจารณาอนุ มตั ิ ต่อไป โดยในระหว่างการรอผลการพิจารณา หน่วยงานรัฐดังกล่าวไม่ขดั ข้องที�บริ ษทั จะชําระค่าตอบแทนเป็ นการชัว� คราวในอัตรา ใหม่ต� งั แต่ปี 2558 เป็ นต้นไป บริ ษทั ได้บนั ทึกค่าตอบแทนโครงการดังกล่าวในงบการเงินโดยเปลี�ยนเป็ นใช้อตั ราค่าตอบแทนใหม่ต� งั แต่ปี พ.ศ. 2558 ซึ� งฝ่ ายบริ หาร พิจารณาว่าเป็ นประมาณการที�ดีที�สุดจากข้อมูลที�มีอยูใ่ นปัจจุบนั


สั ญญาที�สําคัญ

ช��อสัญญา

สัญญาให้สิทธิเช่าบริ หารและดําเนินกิจการระบบประปา สัตหี บ

สัญญาให้เอกชนผลิตนํ�าประปาเพื�อขายให้สาํ นักงาน ประปาของการประปาส่วนภูมิภาค ที�สาํ นักงานประปา นครสวรรค์ จ.นครสวรรค์

สัญญาให้เอกชนผลิตนํ�าประปาเพื�อขายให้สาํ นักงาน ประปาของการประปาส่วนภูมิภาค ที�สาํ นักงานประปา ฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา

สัญญาให้เอกชนผลิตนํ�าประปาเพื�อขายให้สาํ นักงานประปา ของการประปาส่ วนภูมิภาค ที�สาํ นักงานประปา บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

ลําดับ

1

2

3

4

9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543

9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543

7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543

28 กรกฎาคม พ.ศ. 2543

วันทําสั ญญา คู่สัญญา

ระยะเวลา

บริ ษทั ประปาบางปะกง จํากัด และการประปาส่ วนภูมิภาค

บริ ษทั ประปาฉะเชิ งเทรา จํากัด และการประปาส่วนภูมิภาค

บริ ษทั ประปานครสวรรค์ จํากัด และการประปาส่วนภูมิภาค

25 ปี นับตั�งแต่วนั ที�เริ� มซื�อขายนํ�าประปา (วันที� 1 เมษายน พ.ศ. 2546)

25 ปี นับตั�งแต่วนั ที�เริ� มซื�อขายนํ�าประปา (วันที� 1 เมษายน พ.ศ. 2546)

25 ปี นับตั�งแต่วนั ที�เริ� มซื�อขายนํ�าประปา (วันที� 1 มีนาคม พ.ศ. 2546)

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาค 30 ปี นับจากวันที� กปภ. ได้ส่งมอบระบบ ตะวันออก จํากัด (มหาชน) ประปาสัตหี บให้แก่บริ ษทั และ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) (วันที� 1 มีนาคม พ.ศ. 2544)

1) ข้อตกลงสัมปทานที�กลุ่มกิจการต้องส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้แก่ผใู้ ห้สัมปทานเมื�อสัญญาสิ� นสุ ดลง (BOOT)

กลุ่มกิจการมีขอ้ ตกลงสัมปทานที�สาํ คัญ ดังต่อไปนี�

38.1 ข้ อตกลงสั มปทาน

38

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

80

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

การจัดประเภทของ ข้ อตกลงสัมปทาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

177


สั ญญาที�สําคัญ (ต่อ)

สัญญาดําเนิ นกิจการระบบประปาพื�นที�บ่อวิน

สัญญาดําเนิ นกิจการประปาเกาะล้าน

สัญญาดําเนิ นกิจการระบบประปา อบต. หนองขาม

สัญญาซื�อขายนํ�าประปาในเขตเทศบาลตําบลหัวรอ อําเภอ เมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

6

7

8

ช��อสัญญา

5

ลําดับ

28 มีนาคม พ.ศ. 2557

29 ธันวาคม พ.ศ. 2553

17 กันยายน พ.ศ. 2547

30 มีนาคม พ.ศ. 2547/ 5 สิ งหาคม พ.ศ. 2548

วันทําสัญญา คู่สัญญา

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) กับ เทศบาลตําบลหัวรอ

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) และ อบต. หนองขาม

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาค ตะวันออก จํากัด (มหาชน) และ เมืองพัทยา

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาค ตะวันออก จํากัด (มหาชน) และ เทศบาลตําบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ� / อบต. บ่อวิน

1) ข้อตกลงสัมปทานที�กลุ่มกิจการต้องส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้แก่ผใู้ ห้สัมปทานเมื�อสัญญาสิ� นสุ ดลง (BOOT) (ต่อ)

38.1 ข้ อตกลงสั มปทาน (ต่อ)

38

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

30 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประปาตาม สัญญาตามที�ระบุไว้ในสัญญาหรื อนับจาก วันเริ� มต้นส่งมอบนํ�าประปา ที�ได้ตกลงกันใหม่

25 ปี นับแต่วนั เริ� มดําเนิ นการผลิต และขายนํ�า (วันที� 4 มกราคม พ.ศ. 2554)

15 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประปา (วันที� 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549)

25 ปี นับตั�งแต่วนั ที�เริ� มซื� อขายนํ�าประปา (วันที� 11 มีนาคม พ.ศ. 2548)

ระยะเวลา

81

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

การจัดประเภทของ ข้ อตกลงสั มปทาน

รายงานประจ�ำปี 2561

178


สั ญญาที�สําคัญ (ต่อ)

ช��อสัญญา

สัญญาแก้ไขเพิ�มเติมสัญญาให้เช่าและดําเนินกิจการระบบ ประปาสัตหี บ (สัตหี บ - พัทยา)

สัญญาให้เอกชนผลิตนํ�าประปาเพื�อขายให้แก่การประปา ส่วนภูมิภาค ที�สาํ นักงานประปาระยอง จ.ระยอง

ลําดับ

9

10

14 มีนาคม พ.ศ. 2549

18 ตุลาคม พ.ศ. 2547

วันทําสั ญญา

คู่สัญญา

ระยะเวลา

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) และการประปาส่วนภูมิภาค

25 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประปา (วันที� 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2549)

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาค 30 ปี นับจากวันที� กปภ. ได้ส่งมอบระบบ ตะวันออก จํากัด (มหาชน) ประปาสัตหี บให้แก่บริ ษทั และการประปาส่วนภูมิภาค (วันที� 1 มีนาคม พ.ศ. 2544)

2) ข้อตกลงสัมปทานที�กลุ่มกิจการต้องส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้แก่ผใู้ ห้สัมปทานเมื�อก่อสร้างแล้วเสร็ จ (BTO)

38.1 ข้ อตกลงสั มปทาน (ต่อ)

38

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

82

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

การจัดประเภทของ ข้ อตกลงสัมปทาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

179


สั ญญาที�สําคัญ (ต่อ)

สัญญาซื�อขายนํ�าประปา เพื�อสํานักงานประปาชลบุรี จ.ชลบุรี

สัญญาให้เอกชนผลิตนํ�าประปาเพื�อขายให้สาํ นักงานประปา ของการประปาส่ วนภูมิภาคในจังหวัดราชบุรี และจังหวัด สมุทรสงคราม

12

13

7 เมษายน พ.ศ. 2544

3 มิถุนายน พ.ศ. 2552

7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547

วันทําสั ญญา

บริ ษทั เอ็กคอมธารา จํากัด และการประปาส่วนภูมิภาค

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) กับ การประปาส่ วนภูมิภาค

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาค ตะวันออก จํากัด (มหาชน) และ การ ประปาส่วนภูมิภาค

คู่สัญญา

30 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประปา (วันที� 7 เมษายน พ.ศ.2544)

20 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประ (วันที� 12 เมษายน พ.ศ. 2553)

15 ปี นับจากวันเริ� มซื� อขายนํ�าประปา (วันที� 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2548)

ระยะเวลา

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

83

สัญญาลําดับที� 1-6 ลําดับที� 9 และลําดับที� 11 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาจ้างกับบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต� ีส์ จํากัด (มหาชน) เพื�อเป็ นผูด้ าํ เนิ นการในส่ วนของการผลิตนํ�าประปา และการก่อสร้างหรื อปรับปรุ ง โครงสร้างพื�นฐานเพิ�มเติมตามสัญญาสัมปทานทั�งหมด

ข้อกําหนดที�สําคัญในข้อตกลงสัมปทานที�กล่าวข้างต้น เช่ น ผูร้ ั บสัมปทานจะต้องดําเนิ นการก่ อสร้ าง บํารุ งรั กษาและบริ หารระบบผลิตนํ�าประปาให้มีปริ มา�และคุ�ภาพตามที�กาํ หนด และราคานํ�าประปา เป็ นราคาตามที�ตกลงกัน โดยบางสัญญาจะมีปรับขึ�นตามสู ตรการคํานว�ที�อา้ งอิงจากดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค

สัญญาซื�อขายนํ�าประปาเพื�อสํานักงานประปาเกาะ สมุย

ช��อสั ญญา

11

ลําดับ

การจัดประเภทของ ข้ อตกลงสัมปทาน

3) ข้อตกลงสัมปทานที�กลุ่มกิจการไม่ตอ้ งส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้แก่ผใู้ ห้สัมปทาน แต่ให้สิทธิผใู้ ห้สัมปทานในการซื�อสิ นทรัพย์เมื�อผูร้ ับสัมปทานดําเนินงานไปได้ก� ึงหนึ�งของอายุสัมปทาน

38.1 ข้ อตกลงสั มปทาน (ต่อ)

38

บริ�ัท จัดการและพั�นาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

รายงานประจ�ำปี 2561

180


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

181

บริษัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 38

สั ��าที�สําคั� (ต่อ)

38.2 สั ��าอ�น� บริษัท 1) เมื�อวันที� 26 ธันวาคม พ.ศ. 2536 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาการบริ หารและการดําเนิ นกิจการระบบท่อส่ งนํ�าสายหลักในภาคตะวันออก กับกระทรวงการคลัง เป็ นระยะเวลา 30 ปี นับตั�งแต่วนั ที� 1 มกราคม พ.ศ. 2537 ถึงวันที� 30 กันยายน พ.ศ. 2566 โดยบริ ษทั ตกลงจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขั�นตํ�าให้กระทรวงการคลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรื อในปี ใดเมื�อบริ ษทั มียอดขายนํ�าดิบ เกินกว่า 200 ล้านบาท บริ ษทั จะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ในอัตราร้อยละ 1 ของยอดขายนํ�าดิบจากอ่างเก็บนํ�าหนองค้อ และดอกกราย นอกเหนื อจากผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวแล้ว หากในปี ใดบริ ษทั มีผลตอบแทนต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Return on equity) ในอัตราเกินกว่าร้อยละ 20 บริ ษทั ฯจะจ่ายผลตอบแทนให้กบั กระทรวงการคลังเพิ�มอีกในอัตราร้อยละ 15 ของส่ วนที�เกินกว่าร้อยละ 20 ทั�งนี� อตั ราผลประโยชน์ตอบแทนรวมจะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที�แท้จริ งของสิ นทรัพย์ ที�บริ ษทั เช่าจากกระทรวงการคลังที�ได้มีการประเมินตามระยะเวลา 2) เมื�อวันที� 9 สิ งหาคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื� อขายนํ�าดิบกับ บริ ษทั เอกชนแห่ งหนึ� ง โดยมีกาํ หนดระยะเวลา 10 ปี เริ� มต้นนับตั�งแต่วนั ที� 1 พฤศจิกายน 2560 ทั�งนี� สามารถต่อสัญญาได้จาํ นวน 2 ครั�งครั�งละไม่เกิน 10 ปี (รวมอายุสัญญาสู งสุ ด 30 ปี ) บริ ษทั ตกลงซื� อนํ�าดิบในรอบการส่ งนํ�าในปี ที� 1-3 ไม่น้อยกว่า 8 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และในปี ที� 4 เป็ นต้นไปเพิ�ม ปริ มาณไม่นอ้ ยกว่า 12 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี 39

มูลค่ ายุติธรรมของเคร��องม�อทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเครื� องมือทางการเงินมี ดังนี�

งบการเงินรวม เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้

พ.ศ. 2561 3,881.6 2,729.4

พ.ศ. 2560 4,644.1 2,823.7

(หน่ วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 3,501.6 2,729.4

พ.ศ. 2560 2,487.9 2,823.7

มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวอยูใ่ นระดับ 3 ของลําดับชั�นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.2) ซึ� งใช้วิธีคิดลดกระแสเงิน สดสุ ทธิในอนาคตตลอดอายุของสัญญาเงินกู้ ด้วยอัตราดอกเบี�ยตลาด สิ นทรัพย์และหนี�สินทางการเงินอื�นส่ วนใหญ่ของกลุ่มกิจการเป็ นระยะสั�น มูลค่ายุติธรรมจึงมีมลู ค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี


รายงานประจ�ำปี 2561

182

บริ�ัท จั�การและพั�นาทรัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากั� (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ �วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 40

ผลกระทบจากร่ างพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ร่ างพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงานฉบับใหม่ตามที�ประกาศในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ได้อธิ บายเกี�ยวกับการเพิ�มอัตราค่าชดเชย กร�ี นายจ้างเลิกจ้าง สําหรับลูกจ้างที�ทาํ งานติดต่อกันครบ 20 ปี ขึ�นไป จากเดิมกําหนดไว้ค่าจ้างอัตราสุ ดท้าย 300 วันเป็ น 400 วัน ฝ่ ายบริ ห ารจะบัน ทึ ก ผลกระทบที� มี ต่ อ งบการเงิ น เมื� อ ร่ าง พรบ. ดัง กล่ า วได้ถู ก ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา ฝ่ ายบริ หาร ได้ประเมินผลกระทบเบื�องต้น โดยคาดว่าจะมีภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานเพิ�มขึ�นในงบการเงินรวมจํานวน 40.6 ล้านบาท และงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 29.8 ล้านบาท �ึ� งจะถูกรั บรู้ในกําไรขาดทุนทั�งจํานวนในงวดที� พรบ. ดังกล่าวมีการประกาศ บังคับใช้ในราชกิจจานุเบกษา

41

ข้ อมูลเกีย� วกับการใช้ และการขายนํ�า�ิบแยกตาม�ครงข่ าย หน่ วยงานรัฐแห่ งหนึ� งที�เป็ นเจ้าของท่อส่ งนํ�า กําหนดให้บริ ษทั มีการเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับการใช้และการขายนํ�าดิบแยกตามโครงข่าย เพื�อใช้เป็ นข้อมูลในการคํานว�ผลประโยชน์ตอบแทน มีรายละเอียดดังนี�

41.1 ปริมาณการใช้ และการขายนํ�า�ิบแยกตาม�ครงข่ ายท่ อส่ งนํ�า งบการเงินเฉพาะกิจการ

ปริมาณการใช้ นํ�า�ิบทั�งหม� โครงข่ายท่อส่ งนํ�าหนองปลาไหล - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่ งนํ�าดอกกราย - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่ งนํ�าฉะเชิงเทรา - ชลบุรี โครงข่ายท่อส่ งนํ�าหนองปลาไหล - หนองค้อ รวม หัก ปริมาณการใช้ นํ�า�ิบเพ�อ� นํา�ปผลิตนํ�าประปา โครงข่ายท่อส่ งนํ�าดอกกราย - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่ งนํ�าหนองปลาไหล - หนองค้อ รวมรายได้จากการขายนํ�าดิบ

พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 ปริมาณ จํานวนเงิน ปริมาณ จํานวนเงิน พันลูกบาศก์เมตร พันบาท พันลูกบาศก์เมตร พันบาท 98,532 75,976 46,466 28,772 249,746

1,073,083 827,519 456,027 305,656 2,662,285

94,063 80,010 55,765 26,291 256,129

1,028,280 867,787 555,669 279,778 2,731,514

(15,484) (7,562) 226,700

(153,289) (74,868) 2,434,128

(16,858) (6,381) 232,890

(166,890) (63,169) 2,501,455

รายได้จากการขายนํ�าดิบในโครงข่ายท่อส่ งนํ�าฉะเชิงเทรา - ชลบุรี ประกอบด้วย

โครงข่ายท่อส่ งนํ�าหนองค้อ - แหลมฉบัง 1 โครงข่ายท่อส่ งนํ�าหนองค้อ - แหลมฉบัง 2 โครงข่ายท่อส่ งนํ�าฉะเชิงเทรา รวม

(หน่ วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 247,958 121,086 86,983 456,027

332,702 128,260 4,707 555,669


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

183

บริ�ั� จัดการและพั�นา�รัพยากรนํ�า�าคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ�นสุ ดวัน�ี� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 41

ข้ อมูลเกีย� วกับการ�ช้ และการขายนํ�าดิบแยกตาม�ครงข่ าย (ต่อ)

41.2 สั ดส่ วนปริมาณการขายนํ�าดิบแก่�ู้�ช้ นํ�าแต่ ละประเ�� (หน่ วย: ร้ อยละ) งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 นิคมอุตสาหกรรม การประปา โรงงานทัว� ไป รวม 42

65 14 21 100

60 16 24 100

เหตุการณ� �ายหลังวัน�ี��นงบการเงิน เมื�อวันที� 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ที�ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอต่อที�ประชุมผูถ้ ือหุ ้น��� งจะจัดข��นในวันที� 23 เมษายน พ.ศ. 2562 เพื�อ พิจารณาการจ่ ายเงิน ปั น ผลให้แก่ ผูถ้ ือ หุ ้น จากกําไรสุ ท ธิ ของปี พ.ศ. 2561 ในอัตราหุ ้นละ 0.47 บาท รวมเป็ นเงิน 781.9 ล้านบาท ทั�งนี� บริ ษทั โดยมติคณะกรรมการบริ ษทั เมื�อวันที� 9 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 ได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาล ประจํางวดหกเดือนสิ� นสุ ดวันที� 30 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ไปแล้วในอัตราหุ ้นละ 0.20 บาท เป็ นเงิน 332.7 ล้านบาท ��� งจ่ายเมื�อวันที� 5 กันยายน พ.ศ. 2561 และเงินปั นผลที�เหลือในอัตราหุ ้นละ 0.27 บาท รวมเป็ นเงิน 449.2 ล้านบาท บริ ษทั จะจ่าย และบันท�กบั�ชีภายหลังจากได้รับอนุมตั ิจากที�ประชุมสามั�ผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั




SMART WATER SOLUTIONS

นํ้ า ดิ บ

นํ้ า อุ ต สาหกรรม

นํ้ า ประปา

นํ้ า ดื่ ม

การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย

นํ้ า รี ไ ซเคิ ล

บมจ. จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรนํ้ า ภาคตะวั น ออก อาคารอี ส ท ว อเตอร เลขที่ 1 ซอยวิ ภ าวดี รั ง สิ ต 5 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงจอมพล เขตจตุ จั ก ร กรุ ง เทพฯ 10900 โทรศั พ ท +66 2272 1600 โทรสาร +66 2272 1601-3 www.eastwater.com eastwater

รายงานประจํ า ป 2561


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.