วิสัยทัศน์
“ดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าที่เป็นเลิศในระดับสากล (Global Best Practice in Power Business)”
พันธกิจ
“เป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าของกลุม ่ ปตท. ในการพัฒนาลงทุนและดำ�เนินการด้านธุรกิจไฟฟ้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Being the Power Flagship of PTT Group to develop, invest and operate in power business domestically and internationally)”
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
จุดเด่นทางการเงิน ข้อมูลสำ�คัญทางการเงินโดยสรุปของบริษท ั
ภาพรวมทางการเงิน
หน่วย
2556
2557
ผลการดำ�เนินงาน รายได้จากการขาย
ล้านบาท
25,596
23,654
EBITDA
ล้านบาท
2,737
3,118
กำ�ไรสุทธิ
ล้านบาท
1,148
1,581
กำ�ไรต่อหุ้น
บาท/หุ้น
1.32
1.41
สินทรัพย์รวม
ล้านบาท
43,344
42,932
หนี้สินรวม
ล้านบาท
18,983
16,914
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
ล้านบาท
24,361
26,018
ฐานะการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย
เท่า
3.59
10.85
อัตราส่วนสภาพคล่อง
เท่า
1.80
1.57
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
0.78
0.65
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
ร้อยละ
4.69
6.26
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม
ร้อยละ
2.64
3.66
P- 04
จุดเด่นทางการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
ผลการดำเนินการ รายได้จากการขาย (ล้านบาท)
EBITDA (ล้านบาท)
กำไรสุทธิ (ล้านบาท)
กำไรต่อหุ้น (บาท/หุ้น)
25,596 23,654
3,118 2,737
1,581 1,148
2556
2557
2556
2557
1.41
1.32
2556
2557
2556
2557
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม (ล้านบาท)
หนี้สินรวม (ล้านบาท)
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ (ล้านบาท)
43,344 42,932
26,018 18,983
2556
2557
2556
24,361 16,914
2557
2556
2557
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย (เท่า)
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
10.85
3.59
2556
1.80
2557
2556
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)
1.57
2557
0.78
0.65
2556
2557
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (ร้อยละ)
6.26 4.69 2.64
2556
2557
2556
3.66
2557
จุดเด่นทางการเงิน
P- 05
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
P- 06
สารจากประธานกรรมการบริษัท
สารจากประธานกรรมการบริษัท เพื่อให้องค์กรพร้อมก้าวสู่การเป็นธุรกิจไฟฟ้าที่เป็นเลิศในระดับสากล และเป็นหนึ่งในผู้น�ำ ของ ภูมิภาคเอเชียอย่างมั่นคงในอนาคต บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) จึงได้เตรียม พร้อมในการนำ�บริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคาดว่าจะสามารถเสนอ ขายหลักทรัพย์ได้ในกลางไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 นี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าองค์กรจะเติบโตอย่าง แข็งแกร่ง และสามารถขยายการลงทุนได้อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยสร้างความมัน่ คงทาง พลังงานให้กับประเทศไทย นอกจากนี้ เรายังให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล คือ มุ่งมั่นการดำ�เนิน ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดพร้อมความโปร่งใสและเป็นธรรม เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย โดยมีการเปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญอย่างครบถ้วน ถูกต้อง แม่นยำ� ตามข้อเท็จจริง ซึ่งจะเป็นหนึ่งในกลไกตรวจสอบถึงความซื่อสัตย์สุจริตในการดำ�เนินงานขององค์กร ได้อย่างดี แนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ขององค์ ก รที่ มุ่ ง มั่ น สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ อ งค์ ก ร ผู้ ถื อ หุ้ น และ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ยั ง เคี ย งคู่ กั บ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยการ ช่วยเหลือสนับสนุนและสร้างประโยชน์แก่ชมุ ชนและสังคม ควบคูก่ บั การวางแผนจะขยายกำ�ลังการผลิต ไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ก๊าซชีวภาพ และชีวมวล เป็นต้น เพื่อก้าวเป็นหนึ่งในผู้นำ�ด้านการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในอนาคตด้วย การบริ ห ารจั ด การที่ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ ทั้ ง ด้ า นสั ง คม เศรษฐกิ จ และสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง เน้ น ความเชื่อมโยงถึงกันระหว่างทั้งผู้ถือหุ้น นักลงทุน และพนักงานจะนำ�ไปสู่การพัฒนาเติบโตขึ้นอย่าง บูรณาการขององค์กร ยิง่ เมือ่ ได้รบั การสนับสนุนจากผูถ้ อื หุน้ จะยิง่ เป็นแรงเสริมสำ�คัญให้บริษทั เดินหน้า และขยายตัวอย่างแข็งแกร่งต่อไป โดยเราเชือ่ มัน่ ว่าจากนีบ้ ริษทั จะก้าวสูค่ วามสำ�เร็จอย่างภาคภูมพิ ร้อม ความน่าเชื่อถือ และเป็นตัวอย่างของบริษัทที่พัฒนาบนหลักการบริหารที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
นายสุรงค์ บูลกุล ประธานกรรมการบริษัท
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ นับตั้งแต่การก่อตั้งบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) หรือ GPSC ในปี 2556 โดยการควบรวม บริษัทไฟฟ้าภายในกลุ่ม ปตท. และโอนบริษัทไฟฟ้าต่างๆ ที่ ปตท. ถือหุ้นมารวมกัน เพื่อให้ GPSC เป็นแกนนำ� (Flagship) ด้าน ธุรกิจไฟฟ้าของกลุม่ ปตท. ทีม่ กี ารดำ�เนินการเป็นเลิศในระดับสากล จากเจตนารมณ์ดงั กล่าว GPSC ได้ยดึ มัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจ และพัฒนาองค์กรให้เจริญเติบโตสร้างความสามารถในการแข่งขัน สร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กร ผู้ถือหุ้น พนักงาน และผู้มี ส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ควบคู่กับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้องค์กรเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน ในปี 2557 นับเป็นปีแห่งความท้าทายของภาคอุตสาหกรรมไทย จากการทีต่ อ้ งเผชิญกับสถานการณ์ภายนอกทีผ่ นั ผวนต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะทางเศรษฐกิจในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับมหภาคจนถึงการดำ�เนินธุรกิจของแทบทุกองค์กรรวมถึง GPSC แต่ด้วยข้อได้เปรียบทางธุรกิจของ GPSC ได้แก่ กลยุทธ์ในการเติบโตของบริษัทที่จะเติบโตพร้อมกับกลุ่ม ปตท. ความเชี่ยวชาญ ของพนักงาน ประสบการณ์ในอุตสาหกรรม และความหลากหลายของธุรกิจที่ครอบคลุมทั้งการผลิต การจำ�หน่ายไฟฟ้า สาธารณูปการต่างๆ ตลอดจนธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความพร้อมและความแข็งแกร่งของ GPSC ที่สามารถ ดำ�เนินงานภายใต้ภาวะวิกฤติได้อย่างต่อเนื่อง (Business Continuous Management) และสามารถรักษาระดับของผล การดำ�เนินงานให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีอีกด้วย อีกหนึ่งความท้าทายที่สำ�คัญของ GPSC ในปีที่ผ่านมา คือ การเตรียมความพร้อมในการนำ�บริษัทเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งสามารถดำ�เนินการได้ตามแผนงานที่วางไว้ และคาดว่าจะสามารถเสนอขายหลักทรัพย์ได้ ในกลางไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 การนำ� GPSC เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีวตั ถุประสงค์ในการระดมทุน เพื่อรองรับการขยายการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่ม ส่งเสริมการลงทุนแบบครบวงจรของกลุ่ม ปตท. และ เป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกภาคส่วนว่าองค์กรจะบริหารจัดการภายใต้หลักบรรษัทภิบาล มีความเป็นธรรม โปร่งใส สมดุล และตรวจสอบได้ นอกจากนี้ GPSC ตระหนักถึงความสำ�คัญของนวัตกรรม และการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถปรับตัวและ รองรับการเปลี่ยนแปลง โดยให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรหรือพนักงานควบคู่ไปกับการพัฒนาธุรกิจเพราะ “พนักงาน คือ กลไกสำ�คัญในการขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมาย” ในนามของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ผมใคร่ขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน และสังคม สำ�หรับความร่วมมือ ความสนับสนุน และความไว้วางใจทีม่ ใี ห้เสมอมา วันนี้ GPSC พร้อมแล้วทีจ่ ะเป็นส่วนหนึง่ ในการเสริมสร้าง ความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศไทยต่อไป
นายนพดล ปิ่นสุภา กรรมการผู้จัดการใหญ่
P- 08
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท
1. นายสุรงค์ บูลกุล
2. นายณอคุณ สิทธิพงศ์
3. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
ประธานกรรมการ
กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ
7. นายราฆพ ศรีศุภอรรถ
8. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์
9. นายอธิคม เติบศิริ
กรรมการอิสระ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน
รายงานประจำ�ปี 2557
4. นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์
5. พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์
6. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ* และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
10. นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
11. นายปฏิภาณ สุคนธมาน
12. นายนพดล ปิ่นสุภา
กรรมการ
กรรมการ
* นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2558
กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการบริษัท
P- 011
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 1. นายสุรงค์ บูลกุล ประธานกรรมการ อายุ : 59 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 10 มกราคม 2556 คุณวุฒิทางการศึกษา : • Master of Engineering in Operations Research, Cornell University, New York, U.S.A. • Master of Business Administration, Cornell University, New York, U.S.A. • Bachelor of Science in Industrial Engineering and Operations Research, Syracuse University, New York, U.S.A. ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 121/2009) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • Program for Management Development, Harvard University, Boston, U.S.A. • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. รุ่นที่ 8) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ. รุ่นที่ 4919) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 10) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ ้ ริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดับสูง (บ.ย.ส. รุน ่ ที่ 15) วิทยาลัยการยุติธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการ ฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม • หลักสูตร Thai Intelligent Investors (รุ่นที่ 1) สถาบันวิทยาการผู้ลงทุนไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุ่นที่ 2) สถาบันวิทยาการพลังงาน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน, บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน, บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานกรรมการ, Sakari Resources Ltd. (Singapore) • กรรมการ, Tiger Energy Trading Pte. Ltd. (Singapore) • กรรมการ, 24M Technologies, Inc. การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • กรรมการ และ กรรมการบริหาร, การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
P- 012
คณะกรรมการบริษัท
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ และ กรรมการบริหาร การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ Sakari Resources Ltd. (Singapore) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ Tiger Energy Trading Pte. Ltd. (Singapore) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ 24M Technologies, Inc. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการ Sakari Resources Ltd. (Singapore) 2555 - 2557 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2555 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
2. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ : 61 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 27 สิงหาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • Ph.D. (Mechanical Engineering), Oregon State University, U.S.A. • M.S. (Mechanical Engineering), Oregon State University, U.S.A. • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Role of the Chairman Program (RCP 21/2009) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 47) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 4) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุน ่ ที่ 2) สถาบันวิทยาการพลังงาน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ประธานคณะกรรมการองค์การซีเกรฝ่ายไทย (CIGRE) ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ องค์การซีเกรฝ่ายไทย (CIGRE) 2555 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2557 ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการอิสระ บริษทั ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2556 ปลัดกระทรวง กระทรวงพลังงาน 2553 - 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2554 ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2554 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2553 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2550 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2553 รองปลัดกระทรวง กระทรวงพลังงาน จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
3. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ : 64 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 27 สิงหาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยโยนก • ปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • Master of Comparative Law (MCL), University of Illinois, U.S.A. • นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบณ ั ฑิตไทย สำ�นักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา • ประกาศนียบัตร Harvard Business School, Harvard University, U.S.A. ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 35/2003) • Finance for Non- Finance Director (FN 7/2003) • Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS 1/2006) • Audit Committee Program (ACP 17/2007) • DCP Refresher Course (1/2008) • Financial Institutions Governance Program (FGP 4/2012) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 388) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร. รุ่นที่ 8) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 5) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุน ่ ที่ 1) สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและพาณิชย์ (TEPCoT รุ่นที่ 5) สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • หลักสูตรภูมิพลังแห่งแผ่นดิน รุ่นที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานกรรมการ, บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ, บริษัท ธนชาต ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ, บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท
P- 013
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
• กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ, บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ธนชาตประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำ�กัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2556 กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2556 อัยการสูงสุด สำ�นักอัยการสูงสุด 2548 - 2552 รองอัยการสูงสุด สำ�นักงานอัยการสูงสุด 2547 - 2553 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) 2547 - 2553 กรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2541 - 2553 กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหา บริษทั ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
4. นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ อายุ : 65 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 27 สิงหาคม 2557
P- 014
คณะกรรมการบริษัท
คุณวุฒิทางการศึกษา : • Master of Business Administration (Finance & Banking), North Texas State University, U.S.A. • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Accreditation Program (DAP 75/2008) • Director Certification Program (DCP 113/2009) • Financial Institutions Governance Program (FGP 2/2011) • Anti-Corruption for Executive (ACEP 8/2013) • Anti-Corruption Focus Group (C-FG 4/2013) • Director Certification Program Update (DCPU 2/2014) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 2) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Building, Leading & Sustaining Innovation Organization Sloan School of Management, Massachusetts Institute of Technology, U.S.A. • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Executive Program in International Management, Stanford-National University of Singapore, Singapore การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการกำ�กับดูแลกิจการ และ กรรมการอิสระ, บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการอิสระ, บริษัท เอเชีย ไบโอแมส จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง, กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท เอเชีย ไบโอแมส จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน อนุกรรมการบริหารความเสี่ยง กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ 2557 - ปัจจุบัน กรรมการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการตรวจสอบ ธนาคารทิสโก้ จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2556 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
2554 - 2556 2552 2551 - 2554 2551 - 2554 2551 - 2552 2551 - 2552 2551 - 2552 2551 - 2552 2551 - 2552 2551 - 2552 2551 - 2552 2548 - 2552 2544 - 2552
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารทิสโก้ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอล์ จำ�กัด กรรมการตรวจสอบ บริษัท ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ ธนาคารทิสโก้ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Ltd. กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำ�กัด กรรมการ PTT Chemical International Pte. Ltd. กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไทยโคลีนคลอไรด์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำ�กัด กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำ�กัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายการเงินและบัญชี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
5. พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ อายุ : 57 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 27 สิงหาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอากาศยาน โรงเรียนนายเรืออากาศ กองทัพอากาศ • รัฐศาสตรบัณฑิต แขนงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและ การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Accreditation Program (DAP 114/2015)
* นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2558
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • ประกาศนียบัตรหลักสูตรศิษย์การบิน กองทัพอากาศ • ประกาศนียบัตรหลักสูตรนิรภัยการบิน กองทัพอากาศ • ประกาศนียบัตรหลักสูตรเสนาธิการกิจ กองทัพอากาศ • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการทัพอากาศ กองทัพอากาศ • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 52) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • รองเสนาธิการทหารอากาศ, กองบัญชาการกองทัพอากาศ ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน รองเสนาธิการทหารอากาศ กองบัญชาการกองทัพอากาศ 2556 - 2557 ผู้ช่วยเสนาธิการทหารอากาศ ฝ่ายยุทธการ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม 2555 - 2556 เจ้ากรมยุทธการทหารอากาศ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม 2554 - 2555 ผู้บัญชาการ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม 2548 - 2549 ผู้อำ�นวยการกอง กองนโยบายและแผน กรมยุทธการทหารอากาศ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
6. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล กรรมการอิสระ* และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อายุ : 62 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 27 สิงหาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี • ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาองค์การ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา คณะกรรมการบริษัท
P- 015
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Certificate of Management Development Program, North Western University, U.S.A. ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Accreditation Program (DAP SCC/2004) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุน ่ ที่ 1) สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 1 ผู้บริหารระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป. รุ่นที่ 2) สำ�นักงานศาลปกครอง • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 11) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT รุ่นที่ 2) สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษัท สยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ประธานกรรมการ และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ, คณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหา และ กำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำ�กัด 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกัน ภัยพิบัติ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) 2557 - 2558 กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2555 - 2557 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 2555 - 2556 ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2557 ประธานคณะกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)
P- 016
คณะกรรมการบริษัท
2553 - 2557 ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ 2553 - 2557 กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2553 - 2554 กรรมการ บริษัท สามัคคี ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) 2550 - 2557 กรรมการ คณะกรรมการอำ�นวยการ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2549 - 2553 รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2540 - 2553 กรรมการรองผู้จัดการ บริษัท สยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำ�กัด 2518 - 2553 ผู้จัดการบริหารโครงการ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
7. นายราฆพ ศรีศุภอรรถ กรรมการอิสระ อายุ : 56 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 25 พฤศจิกายน 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • นิตศ ิ าตรบัณฑิต (เกียรตินยิ ม อันดับ 2) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DAP 114/2015) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม.) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ผู้ตรวจราชการ, กระทรวงการคลัง
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง 2557 กรรมการ บริษัท ไทยสมายล์แอเวย์ จำ�กัด 2556 - 2557 อธิบดีกรมศุลกากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2556 ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง 2555 - 2556 รองอธิบดีกรมศุลกากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2554 - 2555 ผู้อำ�นวยการสำ�นักสืบสวนและปราบปราม กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2553 - 2554 ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานศุลกากร ภาคที่ 3 กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2553 ผู้อำ�นวยการสำ�นักมาตรฐานพิธีการและราคา ศุลกากร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง 2548 - 2552 ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานศุลกากร ภาคที่ 4 กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
8. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ กรรมการ อายุ : 55 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 5 พฤศจิกายน 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Advance Management Program, INSEAD University, France ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 131/2010) • Role of Chairman Program (RCP 30/2013)
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปอ. รุ่นที่ 50 และ ปรอ. รุ่นที่ 20) สถาบันวิทยาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 12 สถาบันพระปกเกล้า สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ • หลักสูตร Oxford Energy Seminar 2013, England • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุ่นที่ 4) สถาบันวิทยาการพลังงาน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่, บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่, บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ, บริษัท วีนิไทย จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, PTT Chemical International Pte. Ltd. • กรรมการ, PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Ltd. • กรรมการ, บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • กรรมการอำ�นวยการ, สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และ ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ PTT Chemical International Pte. Ltd. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Ltd. 2557 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บริษัท วีนิไทย จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด 2554 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2557 กรรมการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 2556 - 2557 กรรมการ และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2557 กรรมการ Sakari Resources Ltd. (Singapore)
คณะกรรมการบริษัท
P- 017
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
2552 - 2554 รองกรรมการผู้จัดการด้านพัฒนาธุรกิจ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 2552 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
9. นายอธิคม เติบศิริ กรรมการ อายุ : 52 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 5 พฤศจิกายน 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงินและการค้าระหว่างประเทศ เกียรตินิยมระดับ High Distinction, Armstrong University, U.S.A. • บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี (บัญชีต้นทุนและการบริหาร การเงิน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 125/2009) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม. รุ่นที่ 5) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรวิทยาการตลาดทุน (วตท. รุ่นที่ 17) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส. รุ่นที่ 1) สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • Executive Education Program, Harvard Business School, Harvard University, U.S.A. การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และ เลขานุการคณะกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านบริหารศักยภาพองค์กร, บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยลู้บเบส จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยพาราไซลีน จำ�กัด
P- 018
คณะกรรมการบริษัท
• ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์มารีน จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี่ เซอร์วิส จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ท็อป เอสพีพี จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษัท ลาบิกซ์ จำ�กัด
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการบริหารความเสีย่ ง ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ และ เลขานุการคณะกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี่ เซอร์วิส จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ลาบิกซ์ จำ�กัด 2557 - ปัจจุบัน รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านบริหารศักยภาพองค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท สตาร์ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด 2554 - 2556 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2554 รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
2552 - 2554
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายแผนธุรกิจและองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
10. นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ กรรมการ อายุ : 58 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 10 มกราคม 2556 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Company Secretary Program (CSP 10/2005) • Finance for Non-Finance Director (FND 31/2006) • Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS 2/2006) • Director Accreditation Program (DAP 114/2015) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่นที่ 13) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง สถาบันพัฒนาข้าราชการ ฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม • หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร (พสบ. รุ่นที่ 4) สถาบันกรมกิจการพลเรือนทหารบก • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่นที่ 19) สถาบันวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารชั้นสูง, GE, U.S.A. การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ด้านกลยุทธ์องค์กร, บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด • กรรมการ, บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด • กรรมการ, บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จำ�กัด • กรรมการ, บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จำ�กัด
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2556 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ด้านกลยุทธ์องค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด (มหาชน) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ศักดิ์ไชยสิทธิ จำ�กัด 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอนเนอร์ยี เซอร์วิส จำ�กัด จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
11. นายปฏิภาณ สุคนธมาน กรรมการ อายุ : 53 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 29 มกราคม 2558 คุณวุฒิทางการศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการเงิน, The American University, U.S.A. • รัฐศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการบริหารการคลัง (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 73/2006) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • โครงการ Breakthrough Program for Senior Executives, IMD Executive Development Services, Switzerland • Leadership Development Program III (LDP III), สถาบันพัฒนาผู้นำ�และการเรียนรู้กลุ่ม ปตท. (PTT Leadership and Learning Institute) • โครงการ GE: PTT EXECUTIVE PROGRAM, GE, U.S.A. • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมาย มหาชน (ปรม. รุ่นที่ 8) สถาบันพระปกเกล้า • ประกาศนียบัตรหลักสูตรโครงการอบรมผู้บริหารระดับสูงใน ยุคโลกาภิวัตน์ ปี 2552 (Ex - PSM รุ่นที่ 5) มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.)
คณะกรรมการบริษัท
P- 019
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
• โครงการอบรมผู้บริหารการเงินภาครัฐวิสาหกิจ รุ่นที่ 3 สถาบันนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี, บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)
12. นายนพดล ปิ่นสุภา กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ อายุ : 50 ปี
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, PTT Chemical International Pte. Ltd. • กรรมการ, PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Ltd. • กรรมการ, บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำ�กัด • กรรมการ, บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำ�กัด • กรรมการ, บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด
วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 23 กันยายน 2557
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 142/2011) • Financial Statement for Director (FSD 12/2011)
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ PTT Chemical International Pte. Ltd. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Ltd. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด 2554 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำ�กัด 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำ�กัด 2552 - 2555 กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำ�กัด 2552 - 2555 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำ�กัด 2552 - 2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านบัญชีและการเงิน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
P- 020
คณะกรรมการบริษัท
คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • ปัจจุบน ั เข้าอบรมหลักสูตรผูบ ้ ริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดับสูง (บยส. รุน ่ ที่ 19) สถาบันข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุตธิ รรม • Leadership Development Program III (LDP III), สถาบันพัฒนาผูน ้ �ำ และการเรียนรูก ้ ลุม ่ ปตท. (PTT Leadership and Learning Institute) • โครงการ Breakthrough Program For Senior Executives, IMD Executive Development Service, Switzerland • หลักสูตร Assessor Training Program, สำ�นักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • หลักสูตร Financial Statements For Directors, บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) การดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการ/ผู้ บ ริ ห ารในกิ จ การที่ เ ป็ น บริ ษั ท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการ/ผู้ บ ริ ห ารในกิ จ การที่ ไ ม่ ใ ช่ บ ริ ษั ท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษท ั ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั ปตท. จำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบัน กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ปตท. จำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ จำ�กัด
2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด 2555 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด 2557 รองกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ (Senior Executive Vice President) บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2555 - 2557 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ ก๊าซธรรมชาติส�ำ หรับยานยนต์ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2555 ผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ ระบบท่อจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2550 - 2552 ผจู้ ด ั การฝ่าย ระบบท่อจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่
P- 021
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
คณะผู้บริหารบริษัท
6. นายยงยุทธ กลีบบัว ผู้จัดการฝ่ายโรงไฟฟ้าศรีราชา
1. นายนพดล ปิ่นสุภา กรรมการผู้จัดการใหญ่
2. นายโกวิท จึงเสถียรทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายแผนงานองค์กร และ
7. นายพยนต์ อัมพรอารีกุล ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการพิเศษและ
8. นายวิเศษ จูงวัฒนา ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1
ผู้แทนประเทศ สปป.ลาว
รักษาการฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน
รายงานประจำ�ปี 2557
3. นางวนิดา บุญภิรักษ์ ผู้จัดการฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี
4. นายกล้าหาญ โตชำ�นาญวิทย์ ผู้จัดการฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร
9. นายดรุณพร กมลภุส ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
10. นายองค์การ ศรีวิจิตร ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ
5. นายสมรชัย คุณรักษ์ ผู้จัดการฝ่ายสายงานการผลิตและ ซ่อมบำ�รุง
คณะผู้บริหารบริษัท
P- 023
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะผู้บริหารบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 1. นายนพดล ปิ่นสุภา กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ข้อมูลตามรายละเอียดประวัติคณะกรรมการบริษัท หน้า 20
2. นายโกวิท จึงเสถียรทรัพย์ ผู้จัดการฝ่ายแผนงานองค์กร และ รักษาการผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน อายุ : 57 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 181/2013) • Financial Statements for Director (FSD 21/2013) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • Manager Development Program (TOC-MDP), SRI Consultant Co., Ltd. • Senior Executive Program (SEP), Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานกรรมการ, บริษท ั ไออาร์พซี ี คลีน เพาเวอร์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ, บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายแผนงานองค์กร และ รักษาการฝ่ายปฎิบต ั กิ าร OEMS และบริหารความยัง่ ยืน บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบน ั ประธานกรรมการ บริษท ั ไออาร์พซี ี คลีน เพาเวอร์ จำ�กัด
P- 024
คณะผู้บริหารบริษัท
2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด 2556 - ปัจจุบน ั ประธานกรรมการ บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด 2556 - 2557 ผูแ้ ทนประเทศ สปป. ลาว บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 กรรมการผูจ้ ด ั การ บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด 2556 ผจู้ ด ั การฝ่ายบริหารโครงการ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2547 - 2556 ผจู้ ด ั การฝ่ายโครงการและก่อสร้าง บริษท ั พีทท ี ี ยูทลิ ต ิ ้ี จำ�กัด จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
3. นางวนิดา บุญภิรักษ์์ ผู้จัดการฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี อายุ : 49 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • Master of Business Administration (Finance), University of St.Thomas, U.S.A. • บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 195/2014) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • TLCA Executive Development Program (EDP รุน ่ ที่ 9) สมาคมบริษท ั จดทะเบียนไทย การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน)
2558 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด 2556 - 2558 กรรมการ PTT Regional Treasury Center Pte. (Singapore) 2555 - 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายบริหารการเงิน บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูจ้ ด ั การฝ่ายการเงินและบัญชี บริษท ั พีทท ี ี ฟีนอล จำ�กัด 2548 - 2553 ผูจ้ ด ั การส่วนแผนการเงินองค์กร ฝ่ายกลยุทธ์และนโยบายการเงิน บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
4. นายกล้าหาญ โตชำ�นาญวิทย์ ผู้จัดการฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร อายุ : 58 ปี
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบน ั ประธานกรรมการ บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด 2556 - 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายศักยภาพองค์กร บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2555 ทป ่ี รึกษาอาวุโส บริษท ั ไทยออยล์ เอนเนอร์ย่ี เซอร์วสิ จำ�กัด 2549 - 2555 ผูจ้ ด ั การฝ่ายพัฒนาและบริการทรัพยากรบุคคล บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2555 ผูจ้ ด ั การฝ่าย - กิจการพิเศษ บริษท ั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผูจ้ ด ั การฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษท ั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
5. นายสมรชัย คุณรักษ์ ผู้จัดการฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง
วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • ปริญญาโท Public Affairs, Personnel Administration, University of Oregon, U.S.A. • ปริญญาโท บริหารการตลาด มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาตรี บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 195/2014) • Role of the Chairman Program (RCP 35/2014) ประวัติการอบรมอื่นๆ : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ประธานกรรมการ, บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
อายุ : 54 วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 มกราคม 2558 คุณวุฒิทางการศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา MBA มหาวิทยาลัยขอนแก่น • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครือ่ งกล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ : • Natural Gas Engineering, Brussels, Belgium • Leadership Development Program • PTT- Harvard Business School รุน ่ ที่ 2, Shanghai, China การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษท ั ไทย โซล่าร์ รีนวิ เอเบิล จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำ�กัด
คณะผู้บริหารบริษัท
P- 025
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะผู้บริหารบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2558 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไทย โซล่าร์ รีนวิ เอเบิล จำ�กัด 2558 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำ�กัด 2556 - 2558 ผูจ้ ด ั การฝ่ายวิศวกรรมและบำ�รุงรักษาระบบท่อส่ง ก๊าซธรรมชาติ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2556 ผูจ้ ด ั การฝ่ายปฏิบต ั ก ิ ารระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ในทะเล บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผจู้ ด ั การฝ่ายโรงไฟฟ้าศรีราชา บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2556 - 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายบริหารโรงไฟฟ้าศรีราชา บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2552 - 2556 ผูจ้ ด ั การฝ่ายวิศวกรรมและซ่อมบำ�รุง บริษท ั ไทยลูบ ้ เบส จำ�กัด (มหาชน)
จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
6. นายยงยุทธ์ กลีบบัว ผู้จัดการฝ่ายโรงไฟฟ้าศรีราชา อายุ : 58 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครือ่ งกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 21/2015)
จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
7. นายพยนต์ อัมพรอารีกุล ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการพิเศษ และผู้แทนประเทศ สปป. ลาว อายุ : 57 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำ�ลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Diploma Engineering (Power Distribution System), the Technical University of Norway, Norway ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Financial Statements for Directors (FSD 21/2013) • Director Certification Program (DCP 181/2013)
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • Environmental Manager, มูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดล้อมไทย • Manufacturing Executive Program, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป ่ น ุ่ )
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • Manager Development Program (TOC-MDP), SRI Consultant Co., Ltd. • Senior Executive Program (SEP), Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการผูจ้ ด ั การ, บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด
P- 026
คณะผู้บริหารบริษัท
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
• กรรมการ, บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั นที ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผจู้ ด ั การฝ่ายปฏิบต ั ก ิ ารพิเศษ และผูแ้ ทนประเทศ สปป.ลาว บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบน ั กรรมการผูจ้ ด ั การ บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด 2555 - ปัจจุบน ั Vice President บริษท ั พีทท ี ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2556 – 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2556 ผูจ้ ด ั การฝ่ายเทคนิคและบำ�รุงรักษา บริษท ั พีทท ี ี ยูทลิ ต ิ ้ี จำ�กัด
การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี
จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
8. นายวิเศษ จูงวัฒนา ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1
ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั กาฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1 บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด 2556 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด 2554 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั นที ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด 2556 - 2557 ผจู้ ด ั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจไฟฟ้า บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2556 ผจู้ ด ั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจ - โครงการไฟฟ้า บริษท ั พีทท ี ี อินเตอร์เนชัน ่ แนล จำ�กัด 2552 - 2553 ผจู้ ด ั การส่วน - อินโดไชน่า บริษท ั พีทท ี ี อินเตอร์เนชัน ่ แนล จำ�กัด จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
อายุ : 47 ปี
9. นายดรุณพร กมลภุส ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557 คุณวุฒิทางการศึกษา : • วิทยาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (เครือ่ งกล), University of Missouri-Roll, U.S.A. • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครือ่ งกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อายุ : 49 ปี
วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557
ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 189/2014)
คุณวุฒิทางการศึกษา : • Master of Science (M.SC.) in Mechanical Engineering, University of Bridgeport, U.S.A. • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครือ่ งกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • หลักสูตรการพัฒนาและดำ�เนินธุรกิจปิโตรเลียม (Petroleum Development and Operations), Stavanger, Norway • หลักสูตรการบริหารกิจการพลังงานไฟฟ้า (Management of Electric Power Utilities), Stockholm, Sweden
ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • Director Certification Program (DCP 146/2011)
การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด
ประวัติการอบรมอื่นๆ : • PTT - Harvard Business School Leadership Development Program II รุน ่ ที่ 1 • Senior Executive Program (SEP) Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University
คณะผู้บริหารบริษัท
P- 027
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัติคณะผู้บริหารบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2558 การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ผูจ้ ด ั กาฝ่ายธุรกิจไฟฟ้าและพลังงานร่วม, บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • กรรมการ, บริษท ั ไทย โซล่าร์ รีนวิ เอเบิล จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำ�กัด • กรรมการ, บริษท ั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • ผูจ้ ด ั การทัว่ ไป, บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั กาฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2 บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไทย โซล่าร์ รีนวิ เอเบิล จำ�กัด 2557 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำ�กัด 2556 - ปัจจุบน ั กรรมการ บริษท ั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด 2555 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายธุรกิจไฟฟ้าและพลังงานร่วม บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การทัว่ ไป บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด 2556 – 2557 กรรมการ บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด 2556 - 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายพัฒนาพลังงานไฟฟ้าหมุนเวียน บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2554 - 2555 รองผูจ้ ด ั การใหญ่อาวุโส รักษาการผูจ้ ด ั การใหญ่ บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและน้�ำ เย็น จำ�กัด 2550 - 2554 ผูจ้ ด ั การฝ่ายจัดการธุรกิจ บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและน้�ำ เย็น จำ�กัด จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
10. นายองค์การ ศรีวิจิตร ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติงาน โครงการพิเศษ อายุ : 51 ปี วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง : 1 ตุลาคม 2557
P- 028
คณะผู้บริหารบริษัท
คุณวุฒิทางการศึกษา : • Master of Science (Electrical Engineering) University of Missouri, U.S.A. • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประวัติการอบรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : • ไม่มี ประวัติการอบรมอื่นๆ : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • ไม่มี การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : • รองกรรมการผูจ้ ด ั การ - ก่อสร้าง, บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่น/กิจกรรมพิเศษที่สำ�คัญ : • ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งาน 5 ปีย้อนหลัง : 2557 - ปัจจุบน ั ผูจ้ ด ั การฝ่ายปฏิบต ั งิ านโครงการพิเศษ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบน ั รองกรรมการผูจ้ ด ั การ - ก่อสร้าง บริษท ั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด 2556 - 2557 ผูจ้ ด ั การฝ่ายกิจการพิเศษ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) 2556 Vice President/ Business Development บริษท ั พีทท ี ี อินเตอร์เนชัน ่ แนล จำ�กัด 2554 - 2556 Project Manager บริษท ั พีทท ี ี อินเตอร์เนชัน ่ แนล จำ�กัด 2551 - 2554 Vice President - Foreign Investment บริษท ั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวนการถือหุ้นใน GPSC : • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ GPSC หรือบริษัทย่อย : • ไม่มี
นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) ("บริษทั " หรือ "GPSC") เกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 เพื่อเป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Power Flagship) โดย ณ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจำ�นวน 14,983,008,000 บาท และทุนชำ�ระแล้วจำ�นวน 11,237,256,000 บาท บริษัทประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และสาธารณูปโภคต่างๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีกำ�ลัง การผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 1,039 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�รวมประมาณ 1,340 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการ อุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง จากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) จำ�นวน 1 แห่ง ที่อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และจากโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneratin Power Plant) และหน่วยผลิตไอน้ำ� ภายใต้ชื่อโรงผลิตสาธารณูปการ (Central Utility Plant: CUP) จำ�นวน 3 แห่ง ในจังหวัดระยอง นอกจากนี้ บริษัทยังดำ�เนินธุรกิจ ในลักษณะการเข้าร่วมลงทุนในกิจการอื่นๆ ดังนี้ (1) บริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานประเภทต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ รวม 8 บริษัท ประกอบด้วย
• โรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ได้แก่ RPCL CHPP BIC NNEG และ IRPC-CP • โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ได้แก่ TSR ที่ถือหุ้นใน SSE1 • โรงไฟฟ้าพลังน้ำ� ได้แก่ NSC ที่ถือหุ้นใน XPCL และ NL1PC เมื่อโรงไฟฟ้าที่บริษัทเข้าไปลงทุนทั้งหมดเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ บริษัทจะมีกำ�ลังการผลิตรวมตามสัดส่วนการถือหุ้น จากการ ผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 1,851 เมกะวัตต์ ไอน้ำ�รวมประมาณ 1,512 ตันต่อชั่วโมง น้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความเย็น และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีกำ�ลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว จากการผลิต ไฟฟ้ารวมประมาณ 1,315 เมกะวัตต์ ไอน้ำ�รวมประมาณ 1,345 ตันต่อชั่วโมง น้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความเย็น และน้ำ� เพือ่ การอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชัว่ โมง ในขณะทีม่ กี ำ�ลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุน้ ของโรงไฟฟ้าทีอ่ ยู่ ระหว่างก่อสร้าง จากการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 536 เมกะวัตต์ และไอน้ำ�รวมประมาณ 167 ตันต่อชั่วโมง
ผลิตภัณฑ์
ที่ตั้ง
สถานะ
กำ�ลังการผลิต ตามสัดส่วนการถือหุ้น
ไฟฟ้า
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
1,315 เมกะวัตต์
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
189 เมกะวัตต์
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
-
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
347 เมกะวัตต์
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
1,345 ตัน/ชม.
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
167 ตัน/ชม.
ต่างประเทศ
ไอน้ำ�
ในประเทศ
น้ำ�เย็น
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
12,000 ตันความเย็น
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิขย์
2,080 ลบ.ม./ชม.
(2) บริษัทที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น การวิจัยและพัฒนาแบตเตอรี่ เพื่อเป็นระบบกักเก็บไฟฟ้า สำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรมและการเสริมสร้างความมัน่ คงในระบบจ่ายไฟฟ้าและระบบเชือ่ มโยง และการบริหารจัดการทรัพยากร บุคคล (Outsourcing) แบบครบวงจรของกลุ่มของกลุ่ม ปตท. เป็นต้น นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 031
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า ที่ เ ป็ น เลิ ศ ในระดั บ สากล (Global Best Practice in Power Business)
พันธกิจ เป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้ า ของกลุ่ม ปตท. ในการพัฒนาลงทุน และดำ � เนิ น การด้านธุรกิจไฟฟ้าทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ (Being the Power Flagship of PTT Group to develop, invest, and operate in power business domestically and internationally)
เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทมุ่งมั่นที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งในผู้นำ�ด้าน ธุรกิจไฟฟ้าในภูมิภาคเอเชีย ด้วยการขยายการ ลงทุนและพัฒนาโครงการทัง้ ในและต่างประเทศ โดย ปัจจุบนั บริษทั มีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัดส่วนการ ถือหุ้นของโรงไฟฟ้าที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว จำ�นวน 1,315 เมกะวัตต์ และเมือ่ โรงไฟฟ้าต่างๆ ที่ อยู่ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ ครบถ้ ว นในปี 2562 จะมีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัดส่วนการถือ หุน้ รวม 1,851 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ บริษทั ยังมี เป้าหมายระยะสั้นที่จะเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าติด ตั้งรวมตามสัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มจากปัจจุบันอีก 600 - 1,000 เมกะวัตต์ เป็น 2,451 - 2,851 เมกะวัตต์ ภายในปี 2562 หรือคิดเป็นอัตราเติบโต P- 032
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
เฉลี่ย (CAGR) ประมาณร้อยละ 17 ต่อปี โดยเน้นการ เข้าซื้อกิจการโรงไฟฟ้า และลงทุนพัฒนาโครงการโรง ไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) และโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ซึ่งจะทำ�ให้กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัดส่วน การถือหุ้นแยกตามประเภทเชื้อเพลิงเปลี่ยนแปลงไป จากก๊าซธรรมชาติที่ประมาณร้อยละ 79 พลังงาน หมุนเวียนประมาณร้อยละ 2 และพลังน้ำ�ประมาณ ร้อยละ 19 ในปัจจุบัน เป็นก๊าซธรรมชาติประมาณ ร้อยละ 64 พลังงานหมุนเวียนประมาณร้อยละ 11 พลั ง น้ำ � ประมาณร้ อ ยละ 12 และพลั ง งานถ่ า นหิ น ประมาณร้อยละ 12 ในปี 2562 เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจ ที่ตั้งไว้ บริษัทได้กำ�หนดกลยุทธ์ในการเติบโตทางธุรกิจ ออกเป็น 4 แนวทางหลัก ดังนี้ 1. การเติบโตไปพร้อมกับการขยายธุรกิจของบริษท ั ในกลุม ่ ปตท. (Growth along with PTT Group)
เนื่ อ งจากความมี เ สถี ย รภาพด้ า นไฟฟ้ า และ สาธารณูปโภคถือเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่งต่อกระบวนการผลิต ของบริษัทต่างๆ ในกลุ่ม ปตท. ดังนั้น บริษัทซึ่งมีความ เชีย่ วชาญในด้านนีจ้ งึ ได้รบั ความไว้วางใจและมีแผนทีจ่ ะ ขยายธุรกิจของบริษัทให้สอดคล้องกับความต้องการที่ เพิม่ มากขึน้ ตามแผนการขยายธุรกิจทัง้ ในและต่างประเทศ ของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. เช่ น การพั ฒ นาโรงผลิ ต สาธารณูปการ 4 (“CUP-4”) เพือ่ รองรับการเติบโตของ ธุรกิจปิโตรเคมีของกลุ่ม ปตท. เป็นต้น 2. การเติบโตอย่างรวดเร็วผ่านการพัฒนาโครงการ ระยะสัน ้ หรือการเข้าซือ้ กิจการ (Quick Win)
เพื่อให้บริษัทสามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าได้ใน ระยะสั้น บริษัทจึงมีแผนพัฒนาโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ เช่น การลงทุนต่อเนื่องใน BIC สำ�หรับการก่อสร้างโรง ไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) โครงการที่ 2 และร่ ว มลงทุ น ในโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน หมุนเวียน (Renewable Energy) อาทิ พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม ก๊าซชีวภาพ และชีวมวล ซึ่ง ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างค่อนข้างสั้น นอกจากนี้ บริษทั มีนโยบายทีจ่ ะเข้าซือ้ กิจการทัง้ หมดหรือบางส่วน (Merger&Acquisition: M&A) ในโครงการผลิตไฟฟ้า ทั้งในและต่างประเทศ ทั้งที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ แล้วหรืออยู่ระหว่างการก่อสร้าง
3. การเติบโตโดยการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า ข น า ด ใ ห ญ่ ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ภู มิ ภา ค ใ ก ล้ เ คี ย ง (Big Win)
เพื่อให้บริษัทสามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าได้ใน ระยะยาว บริษัทจึงมีแผนที่จะพัฒนาและร่วมลงทุนใน โรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ ในประเทศและภูมภิ าคใกล้เคียง เช่น เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา และสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย เป็นต้น โดยทีผ่ า่ นมาบริษทั ได้เข้าร่วมลงทุน ใน XPCL ผ่านการถือหุน้ ใน NSC และเข้าซือ้ หุน้ NL1PC 4. การลงทุนในธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (Adjacent and Support Opportunities)
นอกจากการลงทุนในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า บริษัทมีแผนขยายธุรกิจไปยังธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เช่น • ธุรกิจระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าและแบตเตอรี่ (Energy Storage System and Battery) โดยบริษัท ได้เข้าร่วมลงทุนใน 24M ซึ่งประกอบธุรกิจหลักในการ วิ จั ย และพั ฒ นาแบตเตอรี่ ป ระเภทลิ เ ที ย ม-ไอออน (Lithium-Ion) ที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่โดยจะ ลดระยะเวลาและต้นทุนในการผลิตแบตเตอรี่ เพือ่ นำ�มา พัฒนาประยุกต์ใช้เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับ ภาคอุตสาหกรรม และการเสริมสร้างความมั่นคงใน ระบบจ่ายไฟฟ้าและระบบเชือ่ มโยง ซึง่ จะมีสว่ นส่งเสริม กับธุรกิจหลักของบริษัทในอนาคต • ธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company: ESCO) เป็นธุรกิจทีใ่ ห้บริการแบบครบวงจร ด้านการอนุรกั ษ์พลังงานและเพิม่ ประสิทธิภาพของการใช้ พลังงาน • การลงทุ น พั ฒ นาโครงข่ า ยสายส่ ง ไฟฟ้ า โดย มุ่งเน้นตลาดในต่างประเทศที่ยังไม่มีโครงข่ายสายส่ง ไฟฟ้าทีค่ รอบคลุม เพือ่ ขยายความต้องการใช้ไฟฟ้าและ เพิ่มโอกาสในการลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าในพื้นที่ ดังกล่าว ตลอดจนแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เพื่อ ต่อยอดจากธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า • ธุรกิจการพัฒนาน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม โดย บริ ษั ท เข้ า ร่ ว มพั ฒ นาโครงการพั ฒ นาน้ำ � เพื่ อ การ อุตสาหกรรมกับบริษัทจัดการพัฒนาน้ำ� โดยนำ�น้ำ�เสีย มาบำ�บัดให้มีคุณภาพเป็นน้ำ�ใช้เพื่อการอุตสาหกรรม ซึ่ ง เป็ น การสร้ า งหลั ก ประกั น ความมั่ น คงในด้ า น สาธารณูปโภคเพื่อการผลิตของบริษัทและลูกค้า และ เป็นการนำ�ทรัพยากรมาหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ และ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำ� นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 033
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประวัตค ิ วามเป็นมา การเปลีย่ นแปลง และพัฒนาการทีส ่ �ำ คัญ บริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการระหว่าง 2 บริษัทในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท. คือ PTTUT และ IPT เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 เพื่อเป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Power Flagship) ในการพัฒนาลงทุนและดำ�เนินการด้านธุรกิจไฟฟ้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ
40%
60%
20%
24%
56%
โรงผลิตสาธารณูปการ ระยอง 339 MW 1,340 ton/hr 2,000 m3/hr
โรงไฟฟ้าศรีราชา 700 MW 80 m3/hr • โรงไฟฟาประเภทพลังความร้อนร่วม • IPP : ลูกค้า กฟผ. 100%
1,039 MW 1,340 ton/hr 2,080 m3/hr สินทรัพย์ดำเนินงานที่ระยองและชลบุรี
กำลังการผลิตไฟฟ้า กำลังการผลิตไอน้ำ กำลังการผลิตน้ำ เพื่ออุตสาหกรรม
รายงานประจำ�ปี 2557
PTTUT ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม 2547 โดย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างเสถียรภาพและรองรับ ความต้องการใช้ไฟฟ้าและสาธารณูปโภคให้แก่บริษทั ใน กลุ่ม ปตท. ก่อนการควบรวมกิจการมีผู้ถือหุ้นจำ�นวน 2 ราย คือ ปตท. และ PTTGC ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 และร้ อ ยละ 60 ตามลำ � ดั บ โดยมี โ รงผลิ ต สาธารณูปการที่ใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงจำ�นวน 3 แห่ง ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า รวมประมาณ 339 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�รวม ประมาณ 1,340 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,000 ลูกบาศก์ เมตรต่อชั่วโมง โดยทยอยเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ ตั้งแต่ปี 2549 เพื่อผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และ น้ำ � เพื่ อ การอุ ต สาหกรรมให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. ลูกค้าอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด และบริเวณใกล้เคียงในจังหวัดระยอง รวม ทั้ง กฟผ. โดยกำ�ลังการผลิตของโรงผลิตสาธารณูปการ แต่ละแห่ง สรุปได้ดังนี้ • โรงผลิตสาธารณูปการ 1 (“CUP-1”) ตั้งอยู่ใน นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จังหวัดระยอง เป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 226 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 890 ตัน ต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ประมาณ 720 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง • โรงผลิตสาธารณูปการ 2 (“CUP-2”) ตั้งอยู่ใน บริ เ วณใกล้ เ คี ย งกั บ นิ ค มอุ ต สาหกรรมอาร์ ไ อแอล (RIL Industrial Estate) จังหวัดระยอง เป็นโรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) มีก�ำ ลัง การผลิตไฟฟ้าประมาณ 113 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิต ไอน้ำ�ประมาณ 170 ตันต่อชั่วโมงและกำ�ลังการผลิตน้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรมประมาณ 510 ลูกบาศก์เมตรต่อ ชั่วโมง • โรงผลิตสาธารณูปการ 3 (“CUP-3”) ตั้งอยู่ใน นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จังหวัดระยอง มีกำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 280 ตัน ต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ประมาณ 770 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
IPT ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2539 เพื่อ ดำ�เนินธุรกิจผลิตและจัดจำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้โครงการ รับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ก่อน การควบรวมกิจการ มีผู้ถือหุ้น 3 ราย คือ ปตท. TOP และ TP ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 20 ร้อยละ 24 และ ร้อยละ 56 ตามลำ�ดับ โดยเป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ร่วม (Combined Cycle Power Plant) ที่ใช้ก๊าซ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ที่อำ�เภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวม 700 เมกะวัตต์ และ มีกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมประมาณ 80 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง เริ่มดำ �เนินการเชิงพาณิชย์ ตั้งแต่ปี 2543 เพื่อจำ�หน่ายไฟฟ้าทั้งหมดให้แก่ กฟผ. และจำ�หน่ายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมให้แก่ TP ภายหลังการควบรวมกิจการบริษทั มีกำ�ลังการผลิต ไฟฟ้ารวมประมาณ 1,039 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิต ไอน้ำ�รวมประมาณ 1,340 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการ ผลิ ต น้ำ� เพื่ อ การอุ ต สาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ต่อมาบริษัทได้ดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นธุรกิจผลิตและ จำ � หน่ า ยไฟฟ้ า จากบริ ษั ท ต่ า งๆ ภายในกลุ่ ม ปตท. จำ�นวน 8 บริษัทตามแผนธุรกิจ ดังนี้ • บริ ษั ท ที่ ดำ � เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว จำ � นวน 4 บริษัท ได้แก่ RPCL CHPP BIC และ TSR ซึ่งมีกำ�ลัง การผลิตรวมตามสัดส่วนการถือหุ้น จากการผลิตไฟฟ้า รวมประมาณ 276 เมกะวัตต์ ไอน้ำ�รวมประมาณ 5 ตัน ต่อชั่วโมง และน้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความ เย็น • บริษัทที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการก่อสร้างจำ�นวน 4 บริษัท ได้แก่ NNEG IRPC-CP NSC และ NL1PC นอกจากนี้ BIC อยู่ ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า โคเจนเนอเรชั่ น (Cogeneration Power Plant) โครงการที่ 2 ซึง่ เมือ่ โรงไฟฟ้าทัง้ หมดเริม่ ดำ�เนินการเชิง พาณิชย์ บริษัทจะมีกำ�ลังการผลิตรวมตามสัดส่วนการ ถือหุน้ จากการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 536 เมกะวัตต์ และไอน้ำ�รวมประมาณ 167 ตันต่อชั่วโมง ดั ง นั้ น เมื่ อ โรงไฟฟ้ า ทั้ ง หมดเริ่ ม ดำ � เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ บริ ษั ท จะมี กำ� ลั ง การผลิ ต รวมตามสั ด ส่ ว น การถือหุ้น จากการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 1,851 เมกะวัตต์ ไอน้ำ�รวมประมาณ 1,512 ตันต่อชั่วโมง น้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความเย็น และน้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์ เมตรต่อชั่วโมง
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 035
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สรุปลำ�ดับเหตุการณ์สำ�คัญของบริษัท
วัน เดือน ปี
เหตุการณ์สำ�คัญ
มกราคม 2556 10 มกราคม 2556
ก่อตั้งบริษัทจากการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มต้นจำ�นวน 8,630 ล้านบาท
กุมภาพันธ์ 2556 27 กุมภาพันธ์ 2556
บริษัทได้รับรางวัลธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ธงขาวดาวเขียว) ประจำ�ปี 2555 จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย โดยมีเกณฑ์การพิจารณา คือ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างดีเยี่ยม
มิถุนายน 2556 19 มิถุนายน 2556
บริษัทได้รับการรับรองโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green Industry) จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีเกณฑ์การพิจารณา คือ ต้องเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ มีการติดตาม ประเมินผล และทบทวนเพือ่ การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ บริษท ั ได้รบ ั การพิจารณาว่าเป็น องค์กรที่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่องและได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 ซึ่งเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล โดยมีระยะเวลาการรับรอง 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน 2556 ถึงวันที่ 18 มิถุนายน 2559
กันยายน 2556 17 กันยายน 2556
บริษท ั ได้รบ ั การรับรองโรงงานสีขาวต่อต้านยาเสพติดจากศูนย์ราชการฯ จังหวัดระยอง โดยมีระยะเวลาการรับรอง 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 16 กันยายน 2559
ตุลาคม 2556 7 ตุลาคม 2556
คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติในหลักการให้ดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากบริษัทต่างๆ ในกลุ่ม ปตท. จำ�นวน 7 บริษัท ได้แก่ RPCL CHPP TSR BIC NNEG NSC และ NL1PC
พฤศจิกายน 2556 11 พฤศจิกายน 2556
คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติในหลักการให้ดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นใน IRPC-CP
ธันวาคม 2556
P- 036
2 ธันวาคม 2556
ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อื หุน ้ ของบริษท ั มีมติอนุมต ั ก ิ ารเข้าซือ้ หุน ้ ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากบริษท ั ต่างๆ ในกลุม ่ ปตท. จำ�นวน 8 บริษัท ตามมติของคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 และ 11 พฤศจิกายน 2556
17 ธันวาคม 2556
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น IRPC-CP จาก IRPC ในสัดส่วนร้อยละ 51 ของหุ้นทั้งหมด โดย IRPC-CP อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โครงการโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ซึ่งใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงตั้งอยู่ในเขตนิคม อุตสาหกรรมไออาร์พีซี จังหวัดระยอง
19 ธันวาคม 2556
บริษัทได้ออกขายหุ้นเพิ่มทุนจำ�นวน 260.73 ล้านหุ้น ที่ราคาหุ้นละ 23.0127 บาท เป็นจำ�นวนเงินรวมประมาณ 6,000 ล้านบาท โดยเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นทุกรายของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น ทุนจดทะเบียนของบริษัท ภายหลังการขายหุ้นเพิ่มทุนเท่ากับ 11,237.26 ล้านบาท
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
วัน เดือน ปี
เหตุการณ์สำ�คัญ
ธันวาคม 2556 24 ธันวาคม 2556
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น CHPP BIC และ TSR จาก ปตท. ในสัดส่วนร้อยละ 100 ร้อยละ 25 และร้อยละ 40 ของหุ้นทั้งหมด ตาม ลำ�ดับ โดย CHPP เป็นบริษัทดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant) เพือ่ ผลิตไฟฟ้าและน้�ำ เย็นสำ�หรับศูนย์ราชการฯ BIC เป็นบริษท ั ดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชัน ่ (Cogeneration Power Plant) ซึง่ ใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ตัง้ อยูใ่ นเขตนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ TSR เป็นบริษท ั ลงทุนทีล่ งทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ซงึ่ ดำ�เนินการโดย SSE1 ตั้งอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรีและสุพรรณบุรี
25 ธันวาคม 2556
บริษท ั ได้เข้าซือ้ หุน ้ NSC จาก PTTER ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของหุน ้ ทัง้ หมด โดย NSC เป็นนิตบ ิ ค ุ คลทีจ่ ด ั ตัง้ ขึน ้ ในประเทศไทย ที่เข้าลงทุนร้อยละ 25 ใน XPCL ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นที่ สปป.ลาว เพื่อดำ�เนินกิจการโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ ไซยะบุรี
กุมภาพันธ์ 2557 7 กุมภาพันธ์ 2557
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น NNEG จาก ปตท. ในสัดส่วนร้อยละ 30 ของหุ้นทั้งหมด โดย NNEG เป็นบริษัทดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ซึ่งใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม นวนคร จังหวัดปทุมธานี
28 กุมภาพันธ์ 2557
บริษัทได้รับรางวัลธรรมาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม (ธงขาวดาวเขียว) ประจำ�ปี 2556 จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย
มิถุนายน 2557 25 มิถุนายน 2557
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น RPCL จาก ปตท. ในสัดส่วนร้อยละ 15 ของหุ้นทั้งหมด โดย RPCL เป็นบริษัทดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) ที่ใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ที่จังหวัดราชบุรี
กรกฎาคม 2557 25 กรกฎาคม 2557
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุนของ 24M ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 17 ของหุ้นทั้งหมด โดย 24M เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นใน ประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ การวิจยั และพัฒนาการผลิตและจำ�หน่ายแบตเตอรีป ่ ระเภทลิเทียม-ไอออน (Lithium-Ion) ทีใ่ ช้ เทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่โดยจะลดระยะเวลาและต้นทุนในการผลิตแบตเตอรี่ เพื่อนำ�มาพัฒนาประยุกต์ใช้เป็นระบบ กักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรมและการเสริมสร้างความมัน ่ คงในระบบจ่ายไฟฟ้าและระบบเชือ่ มโยง ซึง่ ถือเป็น ธุรกิจต่อเนื่องด้านพลังงานของบริษัท
พฤศจิกายน 2557 27 พฤศจิกายน 2557
บริษท ั จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษท ั มหาชนจำ�กัด และเปลีย่ นชือ่ เป็น บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน)
ธันวาคม 2557 5 ธันวาคม 2557
บริษท ั ได้เข้าซือ้ หุน ้ NL1PC จาก PTTIH ในสัดส่วนร้อยละ 40 ของหุน ้ ทัง้ หมด โดย NL1PC ซึง่ เป็นนิตบ ิ ค ุ คลทีจ่ ด ั ตัง้ ขึน ้ ใน สปป.ลาว และดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 037
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างการถือหุน ้ ของบริษท ั 11.88%
27.71%
30.31%
30.10%
รายงานประจำ�ปี 2557
แผนภาพแสดงโครงสร้างการถือหุ้นและสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม/โคเจนเนอเรชั่น
กำลังการผลิตติดตั้ง กำลังการผลิตไฟฟ้า
3. บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำกัด (NNEG)
กำลังการผลิตน้ำเพื่ออุตสาหกรรม
GPSC
GPSC IRPC
RATCHGEN NNCL
ยังไม่เริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์
5 MW
100% 12,000 RT
49%
300 ton/hr
SPP (Firm): กฟผ. (หลัก) IRPC (รอง)
4. บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชัน ่ จำกัด (BIC)
5. บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำกัด (RPCL)
CK Power
RAC PAI Inter
65%
25%
IEAT Others
8% 2%
20 ton/hr
117 MW
20 ton/hr
Ph1 Ph2
117 MW
SCOD:2561
VSPP: กฟผ. (ไฟฟ้า), ธพส. (น้ำเย็น)
GPSC
1,039 MW 1,340 ton/hr 2,080 m3/hr
240 MW
51%
SPP (Firm): กฟผ. (หลัก) อุตฯ บางประอิน (รอง)
GPSC
125 MW
40% 30%
30%
SCOD:2559
2. บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำกัด (IRPC-CP) SCOD:2560
กำลังการผลิตน้ำเย็น
1. บริษัท ผลิตไฟฟ้าและ พลังงานร่วม จำกัด (CHPP)
กำลังการผลิตไอน้ำ
30 ton/hr
SPP (Firm): กฟผ. (หลัก) อุตฯ นวนคร (รอง)
25% 25%
GPSC
15%
Chubu Electric Saha Union Toyota Tsusho
15% 10% 10%
1,400 MW IPP: ลูกค้า กฟผ. 100%
สินทรัพย์ดำเนินงานที่ระยองและชลบุรี
โรงผลิต สาธารณูปการระยอง 339 MW 1,340 ton/hr 2,000 m3/hr
โรงไฟฟ้าศรีราชา 700 MW 80 m3/hr - ประเภทพลังความร้อนร่วม - IPP: ลูกค้า กฟผ. 100%
ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 1. บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำกัด (TSR)
บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำกัด (SSE1)
TSE
TSR
GPSC
60%
40%
100%
80 MW VSPP: กฟภ. 100%
CUP-1 226 MW 890 ton/hr 720 m3/hr
- ประเภทโคเจนเนอเรชั่น - SPP (non-firm): อุตสาหกรรม (หลัก), กฟผ.(รอง)
- ประเภทโคเจนเนอเรชั่น
170 ton/hr
- SPP (non-firm): อุตสาหกรรม (หลัก), กฟผ.(รอง)
510 m /hr 3
บริษัท ไชยะบุรี พาวเวอร์ จำกัด (XPCL)
2. บริษัท ไฟฟ้า น้ำลิก1 จำกัด (NL1PC)
GPSC
CK
GPSC
100%
30%
NSC (GPSC) 25% EDL EGCO BECL PT
20% 12.5% 7.5% 5%
280 ton/hr
- ประเภทไฟฟ้าและไอน้ำ เชื่อมโยงกับ CUP-1
770 m3/hr
- ลูกค้าอุตสาหกรรม 100%
40%
40% 10% 10%
65 MW ลูกค้า: EDL 100%
1,285 MW ลูกค้า กฟผ 96%, EDL 4%
CUP-3
HEC POSCO EDL
ธุรกิจอื่นๆ 1. บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด (BSA)
GPSC PTT PTTGC PTT ICT
25% 25% 25% 25%
บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด (SSA)
2. 24M Technologies, Inc. (24M)
BSA
North Bridge Venture 19% Partners Charles River Ventures 19%
100%
GPSC Kyocera Others
17% 11% 34%
SCOD:2560
113 MW
1. บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำกัด (NSC)
SCOD:2562
CUP-2
ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน้ำ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดการถือหุ้นในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วม และเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทุนจดทะเบียน (บาท)(4)
ชื่อบริษัท
สัดส่วนการ ถือหุ้น (ทางตรง และทางอ้อม) (ร้อยละ)
เข้าซื้อหุ้น จาก
ธุรกิจหลัก
บริษัทย่อย 500,000,000
100
ปตท.
โรงไฟฟ้าพลังงานร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant)
NSC
4,200,000,000
100
PTTER
บริษัทลงทุนใน XPCL
XPCL
26,861,000,000
25
-
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�
3,362,300,000
51
IRPC
โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
583,333,400
40
ปตท.
บริษัทลงทุนใน SSE1
1,800,000,000
40
-
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
USD 37,200,000
40
PTTIH
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�
บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด
CHPP
บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด (1) (บริษัทร่วมทางอ้อม)
บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด
IRPC-CP
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด
TSR
บริษท ั สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ย่ี 1 จำ�กัด (2) SSE1 (กิจการที่ควบคุมร่วมกันทางอ้อม)
บริษัท ไฟฟ้า น้ำ�ลิก1 จำ�กัด
NL1PC
บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด
NNEG
1,002,000,000
30
ปตท.
โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
BIC
1,370,000,000
25
ปตท.
โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
บริษัทร่วม บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จำ�กัด
เงินลงทุน บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (3)
BSA
2,000,000
25
-
บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Outsourcing) แบบครบวงจรของ กลุ่ม ปตท.
บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด
SSA
5,000,000
25
-
บริหารกิจการฟุตบอลของกลุ่ม ปตท.
24M Technologies, Inc.
24M
USD 50,118,000
17
-
วิ จั ย และพั ฒ นาแบตเตอรี่ เ พื่ อ พั ฒ นา ประยุกต์ใช้เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รอง สำ�หรับภาคอุตสาหกรรม และการเสริม สร้างความมั่นคงในระบบจ่ายไฟฟ้าและ ระบบเชื่อมโยง
บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด
RPCL
7,325,000,000
15
ปตท.
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant)
หมายเหตุ : P- 040
XPCL เป็นบริษัทร่วมทางอ้อมที่จัดตั้งขึ้นใน สปป.ลาว ซึ่งบริษัทถือหุ้นร้อยละ 25 ผ่าน NSC SSE1 เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันทางอ้อม ซึ่งบริษัทถือหุ้นร้อยละ 40 ผ่าน TSR (3) บริษัทถือหุ้นบุริมสิทธิใน BSA โดยมีสิทธิออกเสียงเท่ากับ 4 หุ้น ต่อ 1 เสียง (4) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (1) (2)
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
บริษัทย่อย บริษท ั ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด (Combined Heat and Power Producing Company Limited: CHPP)
CHPP จดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 27 สิงหาคม 2550 เพือ่ ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และน้ำ�เย็นจากโรงไฟฟ้า พลังงานร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant) โดยใช้ก๊าชธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิง ตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการฯ กรุงเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 CHPP มีทุนจดทะเบียน 500,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 50,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และมีทุนชำ�ระแล้ว 316,220,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 50,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 6.3244 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก ปตท.) บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (Natee Synergy Company Limited: NSC)
NSC จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2553 เพื่อประกอบธุรกิจลงทุนใน XPCL ซึ่งพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า พลังน้ำ�ไซยะบุรี ที่ สปป.ลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 NSC มีทุนจดทะเบียน 4,200,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 42,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท และมีทุนชำ�ระแล้ว 2,442,375,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 2,822,500 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 100 บาท และหุ้นสามัญ 39,177,500 หุ้น มูลค่าหุ้นละประมาณ 55.14 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก PTTER) บริษัทร่วมทางอ้อม บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด (Xayaburi Power Company Limited: XPCL)
XPCL จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2553 เพื่อดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรีซึ่งตั้งอยู่บน ลำ�น้ำ�โขงห่างจากตัวเมืองหลวงพระบางประมาณ 100 กิโลเมตร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 XPCL มีทนุ จดทะเบียน 26,861,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 2,686,100,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และมีทุนชำ�ระแล้ว 9,324,500,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 675,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท และหุ้นสามัญ 950,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 2.71 บาท โดย NSC ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนชำ�ระแล้ว ประกอบด้วย หุ้นสามัญจำ�นวน 168,750,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท และหุ้นสามัญจำ�นวน 237,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 2.71 บาท โดยมีผู้ถือหุ้นหลักอื่น ได้แก่ บริษัท ช.การช่าง จำ�กัด (มหาชน)(CK) ถือหุ้น ร้อยละ 30 EDL ถือหุ้นร้อยละ 20 บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน)(EGCO) ถือหุ้นร้อยละ 12.5 บริษัท ทางด่วน กรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)(BECL) ถือหุน้ ร้อยละ 7.5 และบริษทั พี.ที. จำ�กัดผ้เู ดียว (PT) ถือหุน้ ร้อยละ 5 ของทุนชำ�ระแล้ว บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด (IRPC Clean Power Company Limited: IRPC-CP)
IRPC-CP จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้ำ�จาก โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) โดยใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 IRPC-CP มีทนุ จดทะเบียน 3,362,300,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 336,230,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และมีทุนชำ�ระแล้ว 1,515,575,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 90,000,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 10 บาท และหุ้นสามัญ 246,230,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 2.5 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 51 ของ ทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก IRPC) ประกอบด้วยหุ้นสามัญจำ�นวน 45,900,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท และหุ้นสามัญจำ�นวน 125,577,300 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 2.5 บาท และ IRPC ถือหุ้นร้อยละ 49 ของทุนชำ�ระแล้ว นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 041
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด (Thai Solar Renewable Company Limited: TSR)
TSR จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นทั้งหมด (Holding Company) ใน SSE1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 TSR มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว 583,333,400 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 58,333,340 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก ปตท.) และบริษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 60 ของทุนชำ�ระแล้ว กิจการที่ควบคุมร่วมทางอ้อม บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จำ�กัด (Siam Solar Energy 1 Company Limited: SSE1)
SSE1 จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2551 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยโครงการอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี 6 โครงการ และจังหวัดกาญจนบุรี 4 โครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 SSE1 มีทนุ จดทะเบียนและชำ�ระแล้ว 1,800,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 18,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยมี TSR เป็นผู้ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำ�ระแล้ว บริษัท ไฟฟ้า น้ำ�ลิก1 จำ�กัด (Nam Lik 1 Power Company Limited: NL1PC)
NL1PC จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ที่ สปป.ลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 NL1PC มีทุนจดทะเบียน 37,200,000 เหรียญสหรัฐ แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 3,720,000 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 เหรียญสหรัฐ และมีทุนชำ�ระแล้ว 8,850,000 เหรียญสหรัฐ โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก PTTIH) ผู้ถือหุ้นหลักอื่น ได้แก่ บริษัท ไฮโดรเอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด จากประเทศไทย ถือหุ้นร้อยละ 40 บริษัท พอสโก้ เอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำ�กัด จากประเทศเกาหลีใต้ ถือหุ้นร้อยละ 10 และ EDL ถือหุ้นร้อยละ 10 ของทุนชำ�ระแล้ว บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด (Nava Nakorn Electricity Generating Company Limited: NNEG)
NNEG จดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2553 เพือ่ ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และไอน้�ำ จากโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) โดยใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 NNEG มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว 1,002,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 100,200,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 30 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก ปตท.) ผู้ถือหุ้น หลักอื่น ได้แก่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จำ�กัด ถือหุ้นร้อยละ 40 และบริษัท นวนคร จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 30 ของทุนชำ�ระแล้ว
บริษัทร่วม บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จำ�กัด (Bangpa-In Cogeneration Company Limited: BIC)
BIC จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 2 มี น าคม 2552 เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต และจำ � หน่ า ยไฟฟ้ า และไอน้ำ � จากโรงไฟฟ้ า โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) โดยใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 BIC มีทนุ จดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว 1,370,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 137,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก ปตท.) ผู้ถือหุ้นหลัก อื่น ได้แก่ บริษัท ซีเค พาวเวอร์ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 65 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ถือหุ้นร้อยละ 8 และบุคคล ธรรมดาถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 2 ของทุนชำ�ระแล้ว P- 042
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
เงินลงทุน บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (Business Services Alliance Company Limited: BSA)
BSA จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2551 เพื่อประกอบธุรกิจบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Outsourcing) แบบ ครบวงจรของกลุ่ม ปตท. BSA เป็นบริษัทที่ถือหุ้นโดย PTTUT เดิม ดังนั้น ภายหลังการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT บริษัท จึงได้เข้าถือหุ้นใน BSA แทน PTTUT ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 BSA มีทนุ จดทะเบียนและชำ�ระแล้ว 2,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญ 50,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท หุน้ บุรมิ สิทธิ 150,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 10 โดยบริษทั ถือหุน้ บุรมิ สิทธิในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนชำ�ระแล้วผูถ้ อื หุน้ หลักอืน่ ได้แก่ ปตท. ถือหุน้ ร้อยละ 25 PTTGC ถือหุน้ ร้อยละ 25 และบริษทั พีทที ี ไอซีที โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด ถือหุน้ ร้อยละ 25 ของทุนชำ�ระแล้ว บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (Sport Services Alliance Company Limited: SSA)
SSA จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2553 เพื่อประกอบธุรกิจบริหารกิจการฟุตบอลของกลุ่ม ปตท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 SSA มีทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว 5,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดย BSA ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชำ�ระแล้ว 24M Technologies, Inc. (24M)
24M จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อค้นคว้าและพัฒนา แบตเตอรี่ด้วยนวัตกรรมใหม่เพื่อเป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรมและการเสริมสร้างความมั่นคงในระบบจ่ายไฟฟ้า และระบบเชื่อมโยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 24M มีทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว 50,118,000 เหรียญสหรัฐ โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 17 ผู้ถือหุ้นหลักอื่น ได้แก่ North Bridge Venture ถือหุ้นร้อยละ 19 Charles River Ventures ถือหุ้นร้อยละ 19 Kyocera ถือหุ้นร้อยละ 11 และผู้ถือหุ้นอื่นอีกร้อยละ 34 ของทุนชำ�ระแล้ว บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด (Ratchaburi Power Company Limited: RPCL)
RPCL จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 19 กรกฎาคม 2539 เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต และจำ� หน่ า ยไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) โดยใช้ก๊าชธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ในจังหวัดราชบุรี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 RPCL มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว 7,325,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 73,250,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 15 ของทุนชำ�ระแล้ว (ซึ่งได้มาจากการเข้าซื้อหุ้นจาก ปตท.) ผู้ถือ หุ้นหลักอื่น ได้แก่ บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จำ�กัด ถือหุ้นร้อยละ 25 PAI International Power (Mouritius) Ltd. จากประเทศ เมาริเชียส ถือหุ้นร้อยละ 25 Chubu Electric Power Company International B.V. จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ถือหุ้นร้อยละ 15 Toyota Tsusho Corporation จากประเทศญีป่ นุ่ ถือหุน้ ร้อยละ 10 และบริษทั สหยูเนีย่ น จำ�กัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 10 ของทุนชำ�ระแล้ว
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
P- 043
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ความสัมพันธ์กบ ั กลุม ่ ธุรกิจ ของผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่
ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ได้แก่ ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 30.10 PTTGC ถือหุ้นร้อยละ 30.31 TP ถือหุ้น ร้อยละ 27.71 และ TOP ถือหุ้นร้อยละ 11.88 ของทุนชำ�ระแล้ว ซึ่งผู้ถือหุ้นทั้งหมดเป็นบริษัทในกลุ่ม ปตท. ทัง้ นี้ ในปัจจุบนั บริษทั มีการดำ�เนินธุรกิจปกติกบั กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่อย่างต่อเนือ่ ง เช่น การขายไฟฟ้า และไอน้�ำ ให้กบั บริษทั ในกลุม่ ปตท. รวมถึงการซือ้ ก๊าซธรรมชาติจาก ปตท. เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั ยังมี การกำ�หนดกลยุทธ์ในการเติบโตไปพร้อมกับการขยายธุรกิจของบริษัทในกลุ่ม ปตท. (Growth along with PTT Group)
P- 044
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลักษณะการ ประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
โครงสร้างรายได้ของบริษท ั รายได้รวมจากการขายและการให้บริการของบริษัทแบ่งตามประเภทผลิตภัณฑ์ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 และ 2557 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (1)
ร้อยละ การ ถือหุ้น ของ บริษัท
งบการเงินเฉพาะกิจการ เพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสน ้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม
2556
2555
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม (1) 2556
2557
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ผลิตภัณฑ์ /บริการ
ดำ�เนิน การ โดย
ไฟฟ้า
บริษัท
17,936
71.93
19,370
73.05
15,828
66.43
19,370
73.05
15,828
66.25
ไอน้ำ�
บริษัท
5,596
22.44
5,806
21.90
6,644
27.89
5,806
21.90
6,644
27.81
น้ำ�เพื่อการ อุตสาหกรรม
บริษัท
276
1.11
270
1.02
280
1.18
270
1.02
280
1.17
น้ำ�เย็น
CHPP
-
-
-
-
-
-
1
0.00
173
0.72
สัญญาเช่าทาง การเงิน (2)
บริษัท
817
3.28
774
2.92
730
3.06
774
2.92
730
3.06
ไนโตรเจน
บริษัท
94
0.38
107
0.40
101
0.42
107
0.40
101
0.42
อื่นๆ (3)
กลุ่ม บริษัท
218
0.87
191
0.72
243
1.02
189
0.71
135
0.57
24,937
100.00
26,517
100.00
23,826
100.00
26,517
100.00
23,891
100.00
รวมรายได้
ที่มา: หมายเหตุ: (1) (2) (3)
100
ล้านบาท
ร้อยละ
ร้อยละ
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ร้อยละ
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
บริษัท ข้อมูลทางการเงินเสมือนจัดทำ�ขึ้นเพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท โดยเสมือนว่าบริษัทได้เกิดการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT ตัง้ แต่วน ั ที่ 1 มกราคม 2555 และเสมือนว่าเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนือ่ งจากกลุม ่ บริษท ั ก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยูภ ่ ายใต้การควบคุม ของ ปตท. ทั้งนี้ เสมือนว่าบริษัทได้รวมงบการเงินของ PTTUT และ IPT สำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2556 และงบการเงินของ บริษัทสำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อแสดงเป็นงบการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน เป็นรายได้ในส่วนของค่า APR1 ซึง่ เป็นค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษท ั สำ�หรับค่าก่อสร้างโรงงาน รวมถึงภาระเงินกูแ้ ละผลตอบแทน ของบริษัท (Capacity Cost) ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท IPP ของโรงไฟฟ้าศรีราชา จากเดิมซึ่งบันทึกอยู่ในรายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ เปลี่ยนเป็น รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งเป็นไปตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC4) ที่กำ�หนดให้ประเมินข้อตกลงซึ่งไม่ได้มีรูปแบบของ สัญญาเช่าทางกฎหมายแต่มีการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์ตามระยะเวลาที่กำ�หนดและมีการให้ผลตอบแทนในลักษณะของการจ่ายคืนครั้งเดียวหรือหลายครั้ง ซึ่ง โรงไฟฟ้าศรีราชามีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. ที่เข้าเงื่อนไขว่าเป็นข้อตกลงที่ประกอบไปด้วยสัญญาเช่าการเงิน รายได้จากธุรกิจอืน ่ ๆ ได้แก่ ดอกเบีย้ รับ รายได้คา่ เช่าโครงสร้างสำ�หรับวางท่อผลิตภัณฑ์ (Pipe Rack) รายได้จากการส่งพนักงานไปปฏิบต ั งิ านสมทบทีบ ่ ริษท ั ในเครือ (Secondment) และค่าใบรับรองคุณภาพน้ำ�
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 047
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัทประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และสาธารณูปโภคต่างๆ นอกจากนี้ บริษัท ยังดำ�เนินธุรกิจในลักษณะการเข้าถือหุน้ ในบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และสาธารณูปโภค ต่างๆ รวมถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่องทั้งในและต่างประเทศ เช่น การวิจัยและพัฒนาแบตเตอรี่เพื่อพัฒนาประยุกต์ใช้ เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรมและการเสริมสร้างความมั่นคงในระบบจ่ายไฟฟ้าและ ระบบเชื่อมโยง การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Outsourcing) แบบครบวงจรของกลุ่ม ปตท. เป็นต้น เมื่อโรงไฟฟ้าที่บริษัทเข้าไปลงทุนทั้งหมดเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ บริษัทจะมีกำ�ลังการผลิตตามสัดส่วน การถือหุ้นจากการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 1,851 เมกะวัตต์ (ประกอบด้วยกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าในประเทศ ประมาณ 1,504 เมกะวัตต์ หรือประมาณร้อยละ 81.2 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวม และกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ในต่างประเทศประมาณ 347 เมกะวัตต์ หรือประมาณร้อยละ 18.8 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวม) ไอน้ำ�รวม ประมาณ 1,512 ตันต่อชั่วโมง น้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความเย็น และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวม ประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีกำ�ลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นของโรงไฟฟ้าที่เริ่ม ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว จากการผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 1,315 เมกะวัตต์ ไอน้ำ�รวมประมาณ 1,345 ตัน ต่อชั่วโมง น้ำ�เย็นรวมประมาณ 12,000 ตันความเย็น และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชัว่ โมง ในขณะทีม่ กี ำ�ลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุน้ ของโรงไฟฟ้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้าง จาก การผลิตไฟฟ้ารวมประมาณ 536 เมกะวัตต์ และไอน้ำ�รวมประมาณ 167 ตันต่อชั่วโมง
ผลิตภัณฑ์
ที่ตั้ง
สถานะ
กำ�ลังการผลิต ตามสัดส่วนการถือหุ้น
ไฟฟ้า
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
1,315 เมกะวัตต์
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
189 เมกะวัตต์
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
-
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
347 เมกะวัตต์
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
1,345 ตัน/ชม.
อยู่ระหว่างก่อสร้าง
167 ตัน/ชม.
ต่างประเทศ
ไอน้ำ�
P- 048
ในประเทศ
น้ำ�เย็น
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
12,000 ตันความเย็น
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
ในประเทศ
ดำ�เนินการเชิงพาณิขย์
2,080 ลบ.ม./ชม.
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท
ประเทศไทย RPCL
NNEG
CHPP
IRPC-CP
ที่ตั้ง: ราชบุรี ประเภท: พลังความร้อนร่วม โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 1,400 MW (2x700) สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2551
ที่ตั้ง: นวนคร ปทุมธานี ประเภท: โคเจนเนอเรชั่น โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 125 MW ไอน้ำ: 30 ton/hr สถานะ: กำลังก่อสร้าง คาดว่า จะแล้วเสร็จปี 2559
ที่ตั้ง:
ศูนย์ราชการฯ กรุงเทพมหานคร ประเภท: พลังงานร่วมกับความ เย็น โดยใช้กา๊ ซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 5 MW น้ำเย็น: 12,000 RT สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2552
ที่ตั้ง: ระยอง ประเภท: โคเจนเนอเรชั่น โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 240 MW ไอน้ำ: 300 ton/hr สถานะ: กำลังก่อสร้าง คาดว่า จะแล้วเสร็จปี 2560
GPSC
IRPC
RAC PAI Inter
25% 25%
GPSC
15%
Chubu Electric Saha Union Toyota Tsusho
15% 10% 10%
RATCHGEN NNCL
GPSC
SSE1
ที่ตั้ง: บางประอิน อยุธยา ประเภท: โคเจนเนอเรชั่น โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 117 MW (Ph.1) และ 117 MW (Ph.2) ไอน้ำ: 20 ton/hr (Ph.1) และ 20 ton/hr (Ph.2) สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2556 (Ph.1) และ กำลังก่อสร้าง คาดว่า จะแล้วเสร็จปี 2560 (Ph.2)
ที่ตั้ง:
GPSC IEAT Other
100%
30%
GPSC
51% 49%
GPSC
BIC
CK Power
40% 30%
ที่ตั้ง: ระยอง ประเภท: โคเจนเนอเรชั่น โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 339 MW ไอน้ำ: 1,340 ton/hr น้ำเพื่ออุตสาหกรรม: 2,000 m3/hr สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2549
กาญจนบุรี/ สุพรรณบุรี ประเภท: พลังงานแสงอาทิตย์ ไฟฟ้า: 80 MW (8 MW x 10 โครงการ) สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2556 - ปี 2557
TSE
GPSC
GPSC
60%
40%
ที่ตั้ง: ศรีราชา ชลบุรี ประเภท: พลังความร้อนร่วม โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ไฟฟ้า: 700 MW (2x350) น้ำเพือ่ อุตสาหกรรม: 80 m3/hr สถานะ: ดำเนินการเชิงพานิชย์ ปี 2543
65%
25% 8% 2%
สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว)
XPCL
NL1PC
ที่ตั้ง:
สปป.ลาว (80 กม. จากหลวงพระบาง) ประเภท: พลังน้ำ ไฟฟ้า: 1,285 MW สถานะ: กำลังก่อสร้าง คาดว่า จะแล้วเสร็จปี 2562
ที่ตั้ง:
CK NSC (GPSC) EDL EGCO BECL P.T. Sole
GPSC Hydro Eng POSCO EDL
30%
25% 20% 12.5% 7.5% 5%
สปป.ลาว (90 กม. จากเวียงจันทน์) ประเภท: พลังน้ำ ไฟฟ้า: 65 MW สถานะ: กำลังก่อสร้าง คาดว่า จะแล้วเสร็จปี 2560
40% 40% 10% 10%
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1. กลุ่มโรงไฟฟ้าพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Conventional Energy) ในประเทศ
โรงไฟฟ้าทีด ่ �ำ เนินการเชิงพาณิชย์ (1) บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) (GPSC) บริษทั เป็นผูผ้ ลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กบั กฟผ. และผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม มี กำ � ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า รวมประมาณ 1,039 เมกะวั ต ต์ และให้ บ ริ ก ารด้ า น สาธารณูปโภคโดยผลิตและจำ�หน่ายไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมให้กบั ลูกค้า อุตสาหกรรมในบริเวณใกล้เคียง มีก�ำ ลังการผลิตไอน้�ำ รวมประมาณ 1,340 ตัน ต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 2,080 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ ชั่ ว โมง สามารถจำ� แนกรายละเอี ย ดโรงไฟฟ้ า และโรงผลิ ต สาธารณูปการของบริษัทได้ดังนี้
P- 050
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
โรงไฟฟ้าศรีราชา
โรงไฟฟ้าศรีราชาเป็นโรงไฟฟ้าตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) มีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้ารวม 700 เมกะวัตต์ และมีกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมประมาณ 80 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลทุ่งสุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัด ชลบุรี โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าทัง้ หมดทีผ่ ลิตได้ให้แก่ กฟผ. ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าอายุสญ ั ญา 25 ปี นับจากวันทีเ่ ริม่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2543 ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2568 โดยการผลิตไฟฟ้าเพื่อจำ�หน่ายเป็นไปตามเงื่อนไขและการสั่งเดินเครื่อง ของ กฟผ. กระบวนการผลิต
โรงไฟฟ้าศรีราชาเป็นโรงไฟฟ้าประเภทพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชือ้ เพลิงหลัก และมีน้ำ�มันดีเซลเป็นเชือ้ เพลิงสำ�รอง โดยกระบวนการผลิตไฟฟ้านัน้ จะเริม่ จากการดูดอากาศจากภายนอก เข้าเครื่องอัดอากาศ (Compressor) จนมีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้น ต่อมาอากาศที่ผ่านเครื่องอัดอากาศจะถูกส่งเข้าไป ยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) เพื่อสันดาปร่วมกับก๊าซธรรมชาติ ก๊าซที่ได้จากการเผาไหม้ซึ่งมีความร้อนและ แรงดันสูงจะไปขยายตัวผ่านกังหันก๊าซ (Gas Turbine: GT) เพื่อขับเครื่องกำ �เนิดไฟฟ้าของกังหันก๊าซ (Gas Turbine Generator: GTG) ขนาด 235 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุด โดยไอเสียจากกังหันก๊าซจะนำ�ไปถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ�เพื่อ ผลิตเป็นไอน้ำ�ความดันสูงด้วยเครื่องผลิตไอน้ำ�จากความร้อนทิ้ง (Heat Recovery Steam Generator: HRSG) จำ�นวน 2 ชุด และไอน้ำ�ที่ผลิตได้จะขยายตัวผ่านกังหันไอน้ำ� (Steam Turbine: ST) เพื่อขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันไอน้ำ� (Steam Turbine Generator: STG) ขนาด 240 เมกะวัตต์จำ�นวน 1 ชุด แผนผังอย่างง่าย แสดงการผลิตของโรงไฟฟ้าศรีราชา Thaioil Diesel Tank GAS METERING STATION
230 KV Switchyard
16 KV
PTT
Air Intake XF MR (KG3A) 230 KV Switchyard
EGAT Sub Station
GT12 GEN
16 KV Air Intake
230 KV
XF MR (KG2A)
230 KV Switchyard
20 KV
GT11 GEN Gas Turbine 11
ST10 GEN Aux. XFMR (Typical 1,2)
CRH HP HRH LP
HRSG 12 Duct Burners
XF MR (KG1A)
MEDIUM VOLTAGE 6.9 KV FOR PLANT EQUIPMENT
Gas Turbine 12
Steam Turbine & Condenser
HRSG 11
Boller Feed Water Pump (Typical for A,B)
Duct Burners Boller Feed Water Pump (Typical for A,B) Condensate Tank
EW
Thaioil Power Black Start 11 KV Raw Water Supply
Condensate Pump (Typical for A,B,C) Pretreatment System
Fire Pump
Carbon
Filtered Water Distribution Pump (Typical for A,B)
Mixbed
Demineralization Water Plant (Typical for Train A,B)
Filtered Water Tank
Anion
Clarified Water Pump (Typical for A,B)
Make up Pump
Circulating Water Pump (Typical for A,B,C)
Cation
Filtered Water Transfer Pump (Typical for A,B)
Cooling Tower (Typical for 10 cells)
ทัง้ นี้ บริษทั ได้ท�ำ สัญญาบริการซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาว (Long Term Maintenance Contract) กับ Siemens Ltd. (Thailand) สำ�หรับเครื่องกังหันก๊าซ (GT) ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2562 ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญากับ Siemens Ltd. (Thailand) ก่อนสิ้นสุดสัญญา ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 051
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษา
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของโรงไฟฟ้าศรีราชาสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) Combustion Inspection (CI) เป็นการตรวจซ่อมบำ�รุงรักษาและเปลีย่ นชิน้ ส่วนของห้องเผาไหม้ ใช้เวลาประมาณ 200 ชั่วโมง หรือ 8.33 วันต่อครั้ง โดยการซ่อมบำ�รุง CI จะทำ�ทุกๆ ปี หากปีใดมีการทำ�การซ่อมบำ�รุง Hot Gas Path Inspection (HGP) หรือ Major Overhaul (MO) ก็จะไม่มีการทำ�การซ่อมบำ�รุง CI เนื่องจากการซ่อมบำ�รุง HGP และ MO ได้ครอบคลุม การซ่อมบำ�รุง CI แล้ว (2) Hot Gas Path Inspection (HGP) เป็นการตรวจซ่อมบำ�รุงรักษาห้องเผาไหม้ไปจนถึงกังหันก๊าซและกังหันไอน้ำ�ซึ่งเป็น ส่วนของเครื่องจักรที่ได้รับความร้อนจากกระบวนการผลิต ใช้เวลาประมาณ 640 ชั่วโมง หรือ 26.67 วันต่อครั้ง โดยการซ่อม บำ�รุง HGP จะทำ�ทุกๆ 3 ปี หากปีใดมีการซ่อมบำ�รุง MO ก็จะไม่มกี ารซ่อมบำ�รุง HGP เนือ่ งจากการซ่อมบำ�รุง MO ได้ครอบคลุม การซ่อมบำ�รุง HGP แล้ว (3) Major Overhaul (MO) เป็นการตรวจซ่อมบำ�รุงรักษาทั้งโรงไฟฟ้า ใช้เวลาประมาณ 800 ชั่วโมง หรือ 33.33 วันต่อ ครั้ง โดยการซ่อมบำ�รุง MO จะทำ�ทุกๆ 6 ปี ทั้งนี้ แผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของอุปกรณ์ในส่วนอื่น เช่น กังหันไอน้�ำ จะวางแผนตามการซ่อมบำ�รุงรักษาของกังหันก๊าซ เป็นหลัก ทีผ่ า่ นมา บริษทั ได้ท�ำ การซ่อมบำ�รุง CI ในปี 2555 และปี 2556 ซ่อมบำ�รุง HGP ในปี 2557 และมีแผนทีจ่ ะซ่อมบำ�รุง MO ในปี 2560 การจัดหาวัตถุดิบ
โรงไฟฟ้าศรีราชาใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติกบั ปตท. เป็นระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568 ที่ราคาก๊าซสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP Gas Price) โดยบริษัทสามารถ ส่งผ่านค่าเชื้อเพลิงรวมอยู่ในค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ไปยัง กฟผ. ทั้งนี้ กรณีที่ ปตท. ไม่สามารถจัดส่งปริมาณ ก๊าซธรรมชาติได้ตามสัญญาดังกล่าวและ กฟผ. สั่งให้บริษัทเดินเครื่องด้วยเชื้อเพลิงสำ�รอง กฟผ. จะเป็นผู้ชดเชยค่าเชื้อเพลิง ส่วนที่เพิ่มขึ้นให้แก่บริษัท โดยโรงไฟฟ้าศรีราชาได้ทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันดีเซลกับ TOP เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�รองในกรณีที่ไม่ สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติได้ โดยสัญญามีระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568 รวมถึงได้เข้าทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบ (Raw Water Agreement) กับบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ�ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) (EW) เป็นระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568 นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าศรีราชาได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�รองกับ กฟผ. จำ�นวน 10 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นสัญญาปีต่อปี และได้ ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�รองกับ TP จำ�นวน 1 เมกะวัตต์โดยประมาณ โดยสัญญามีระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568 เพื่อ เป็นการสำ�รองไฟฟ้าสำ�หรับใช้ตอนซ่อมบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้าซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. ทั้งนี้ ใน กรณีที่มีการซ่อมบำ�รุงรักษาสายส่งไฟฟ้าที่ส่งให้กับ กฟผ. ไฟฟ้าสำ�รองจำ�นวน 1 เมกะวัตต์ จะถูกนำ�มาใช้ ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ สัญญาซื้อขายน้ำ�มันดีเซล สัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบและสัญญาซื้อ ขายไฟฟ้าสำ�รองกับคู่สัญญาก่อนสิ้นสุดสัญญา โดยการต่อสัญญาดังกล่าวจะขึ้นกับการที่ กฟผ. ตกลงต่ออายุสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้ากับบริษัท การจัดจำ�หน่าย
โรงไฟฟ้าศรีราชาผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าทัง้ หมดให้แก่ กฟผ. ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าแบบผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าวได้ให้สิทธิแก่ กฟผ. เป็นผู้กำ�หนดปริมาณการรับซื้อไฟฟ้าผ่านแผนการรับซื้อ ไฟฟ้าระยะยาวแบบรายปีและรายเดือน และแผนการรับซือ้ ไฟฟ้าระยะสัน้ แบบรายวัน โดยโรงไฟฟ้าศรีราชาต้องแจ้งความพร้อม จ่าย (Availability) ในการผลิตไฟฟ้าให้กับ กฟผ. ทั้งระยะยาวและระยะสั้นเช่นกัน ซึ่งค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment: AP) เป็นค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่โรงไฟฟ้าศรีราชาในการรักษาระดับความพร้อมในการผลิตไฟฟ้าโดยไม่คำ�นึง ถึงปริมาณไฟฟ้าที่ได้ขายให้แก่ กฟผ. โดยค่าความพร้อมจ่ายประกอบด้วย • APR1 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท สำ�หรับค่าก่อสร้างโรงงาน รวมถึงภาระเงินกู้และผลตอบแทนของบริษัท (Capacity Cost) • APR2 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท สำ�หรับค่าใช้จ่ายคงที่ในการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษา (Fixed O&M)
P- 052
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
ทัง้ นี้ โรงไฟฟ้าศรีราชาจะได้รบั รายได้คา่ จาก AP ตามความพร้อมจ่ายทีโ่ รงไฟฟ้าศรีราชาแจ้งและเป็นไปตามเงือ่ นไขในสัญญา ซื้อขายไฟฟ้า โดยมีรายละเอียดค่า AP ตามที่ระบุในสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. ดังนี้ จำ�นวนชั่วโมงขายไฟ ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Contracted Available Hours: CAH) (ชั่วโมงต่อปี)
อัตราค่าความพร้อมจ่าย (Available Payment Rate: APR) (APRn = APR1n + APR2n)
ปีในสัญญา ซื้อขายไฟฟ้า
ปี พ.ศ.
1
2543
5,462
1,200
92
2
2544
8,192
2,050
137
3
2545
8,272
2,250
137
4
2546
8,112
2,350
137
5
2547
8,262
2,450
137
6
2548
8,262
2,550
137
7
2549
8,052
2,450
137
8
2550
8,262
2,050
137
9
2551
8,262
1,800
137
10
2552
8,112
1,800
137
11
2553
7,516
1,800
137
12
2554
8,440
1,800
137
13
2555
8,352
1,800
137
14
2556
8,350
1,800
137
15
2557
7,692
1,700
137
16
2558
8,486
1,600
137
17
2559
8,510
1,600
137
18
2560
7,577
1,600
137
19
2561
8,510
1,600
137
20
2562
8,486
1,600
137
21
2563
7,889
1,600
137
22
2564
8,486
1,600
137
23
2565
8,486
1,600
137
24
2566
7,577
1,600
137
25
2567
8,510
1,600
137
26
2568
2,683
600
45
APR1n (บาทต่อกิโลวัตต์)
APR2n (บาทต่อกิโลวัตต์)
นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าศรีราชายังได้รับรายได้ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment: EP) จากการผลิตพลังงานไฟฟ้าตาม ปริมาณที่ผลิตจริงตามคำ�สั่งการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ทั้งนี้ กฟผ. มีสิทธิตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าในการสั่งการให้โรงไฟฟ้า ศรีราชาหยุดผลิตไฟฟ้าหรือผลิตไม่เต็มกำ�ลังการผลิต โดย กฟผ. ยังคงต้องจ่ายค่า AP ให้กับโรงไฟฟ้าศรีราชาตามความพร้อม จ่ายที่โรงไฟฟ้าศรีราชาเป็นผู้แจ้ง รวมทั้งโรงไฟฟ้าศรีราชาได้ทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวม 50 ลูกบาศก์เมตร ต่อชั่วโมง กับ TOP มีอายุสัญญา 16 ปี สิ้นสุดในปี 2568 ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญากับ TOP ก่อนสิ้นสุดสัญญา หาก TOP ประสงค์ที่รับซื้อน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมจากบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 053
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โรงผลิตสาธารณูปการระยอง
โรงผลิตสาธารณูปการระยองประกอบธุรกิจการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ�และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมให้กับกลุ่ม ปตท. และลูกค้า อุตสาหกรรมทั่วไป และมีการจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนเกินให้กับ กฟผ. เพื่อเป็นการรักษาสมดุลของการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� (Balance load) ใน กรณีทลี่ กู ค้าอุตสาหกรรมมีความต้องการใช้ไอน้�ำ สูง ส่งผลให้โรงผลิตสาธารณูปการระยองเพิม่ อัตราการผลิตไฟฟ้าให้สงู ขึน้ เพือ่ ให้ได้ปริมาณ ไอน้ำ�ที่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าอุตสาหกรรม โดยไฟฟ้าส่วนเกินดังกล่าวจะจัดจำ�หน่ายให้แก่ กฟผ. ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้า ของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Non-firm ทั้งนี้ การจำ�หน่ายไฟฟ้าบางส่วนให้กับ กฟผ. นอกจากจะเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นในการ ดำ�เนินธุรกิจแล้ว ยังเป็นการเพิม่ เสถียรภาพให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมอีกด้วย โดยปัจจุบนั โรงผลิตสาธารณูปการระยองประกอบด้วยโรงผลิต สาธารณูปการจำ�นวน 3 แห่ง ได้แก่
โรงผลิตสาธารณูปการ 1 (Central Utility Plant 1: CUP-1)
โรงผลิตสาธารณูปการ 1 มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 226 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 890 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมประมาณ 720 ลูกบาศก์เมตรต่อชัว่ โมง ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จังหวัดระยอง โดยจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมเป็นหลักและจำ�หน่าย ไฟฟ้าส่วนเกินให้กับ กฟผ. โดยเริ่มทยอยดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี 2549 กระบวนการผลิต
โรงผลิตสาธารณูปการ 1 เป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) ซึ่งใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิง โดยการผลิตไฟฟ้านั้นจะเริ่มจากการดูดอากาศจากภายนอกเข้าเครื่องอัดอากาศ (Compressor) จนมี ความดันและอุณหภูมิสูงขึ้น ต่อมาอากาศที่ผ่านเครื่องอัดอากาศจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) เพือ่ สันดาปร่วมกับก๊าซธรรมชาติ ก๊าซทีไ่ ด้จากการเผาไหม้ซงึ่ มีความร้อนและแรงดันสูงจะไปขยายตัว ผ่านกังหันก๊าซ (GT) เพื่อขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันก๊าซ (GTG) ขนาด 37.6 เมกะวัตต์ จำ�นวน 6 ชุด โดย ไอเสียจากกังหันก๊าซจะนำ�ไปถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ�เพื่อผลิตเป็นไอน้ำ�ความดันสูงด้วยเครื่องผลิตไอน้ำ�จาก ความร้อนทิ้ง (HRSG) ขนาด 70/140 ตันต่อชั่วโมง จำ�นวน 6 ชุดเพื่อจำ�หน่ายไอน้ำ�ให้กับลูกค้าอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการผลิตไอน้ำ�จากหม้อไอน้ำ�สำ�รอง (Auxiliary Boiler) จำ�นวน 1 หน่วย ขนาด 50 ตันต่อชั่วโมง อีกด้วย P- 054
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
แผนผังอย่างง่าย แสดงการผลิตของโรงผลิตสาธารณูปการ 1 Gas Metering Station
115 KV 11/115 KV
PTT 11/115 KV
115/22 KV 11/115 KV PEA Power Backup
ABCT PTTAC
11/115 KV
MIGP
PTTASAHI Import 11/115 KV Stream
11/6.9 KV
22 KV
PTTGC Stream Backup
11/115 KV
EGAT
TOCGC PTTGC (Lab) TOL PTTGC TEA
11
KV
TEX VESSEL DRUM
INTERNAL USAGE
AUXILIARY COOLING WATER SYSTEM
Auxillary Boiler
PTTGC Pure Biodiesel Other Customers
CUP3
PTTGC
CLARIFIED WATER TANK
DENIM WATER TANK
CONDENSATE TANK
EXISTING CLARIFIED WATER STORAGE TANK
(T
ER LS) OW EL G T 17 C N I OL OR CO AL F IC YP
HEMARAJ
ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�สัญญาบริการซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาว (Long Term Service Agreement) กับ GE Energy Parts Inc. และ General Electric International Operations Company Inc. สำ�หรับเครื่องกังหันก๊าซ (GT) ของโรงผลิตสาธารณูปการ 1 และ 2 ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2566 ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญา กับคู่สัญญาก่อนสิ้นสุดสัญญา แผนการซ่อมบำ�รุงรักษา
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของโรงผลิตสาธารณูปการ 1 สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Hot Gas Path Inspection (HGP) และ Major Overhaul (MO) ซึ่งบริษัทมีแผนในการซ่อมบำ�รุงรักษา HGP และ MO สลับกัน ทุกๆ 3 ปี โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 10 และ 18 วันต่อครั้ง ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ โรงผลิตสาธารณูปการ 1 ไม่มีการ ทำ� Combustion Inspection เช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าศรีราชาเนื่องจากจะมีการเปลี่ยนชิ้นส่วนเครื่องจักรทุกครั้งที่มี การทำ� HGP และ MO ดังนั้น จึงไม่ต้องทำ�การ Inspection ในส่วนดังกล่าว นอกจากนี้ โรงผลิตสาธารณูปการ 1 ได้กำ�หนดแผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของ Auxiliary Boiler และ HRSG ไว้เป็นประจำ�ทุกปี (Yearly Inspection) ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�การซ่อมบำ�รุง MO ของ GTG จำ�นวน 1 เครื่อง ในปี 2557
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 055
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การจัดหาวัตถุดิบ
โรงผลิตสาธารณูปการ 1 ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าโดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซ ธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2564 และมีสิทธิใช้น้ำ�ตามสัญญาซื้อขายที่ดินกับนิคม อุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) นอกจากนี้ ยังได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสำ�รองไฟฟ้ากับ กฟภ. จำ�นวน 93.5 เมกะวัตต์ มีระยะเวลา 1 ปีและต่ออายุโดยอัตโนมัติอีกครั้งละ 1 ปีหากไม่มีการยกเลิกสัญญา ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติและสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสำ�รองกับคู่สัญญาก่อนสิ้นสุด สัญญา และจะเจรจาสัญญาทั้งระยะเวลาและปริมาณวัตถุดิบให้สอดคล้องกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่บริษัทมีกับ ลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจำ�หน่าย
โรงผลิตสาธารณูปการ 1 ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรม ประกอบด้วย สัญญาซื้อขายไฟฟ้ารวมประมาณ 124 เมกะวัตต์ กับลูกค้าจำ�นวน 11 ราย อายุสัญญา 10 - 15 ปีและสามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี สัญญาซื้อขายไอน้ำ�รวมประมาณ 280 ตันต่อชั่วโมง กับลูกค้าจำ�นวน 7 ราย อายุสัญญา 10 - 15 ปี และสามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี และสัญญาซื้อขายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม รวมประมาณ 300 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง กับลูกค้าจำ�นวน 6 ราย อายุสัญญา 10 - 15 ปี และสามารถต่อ สัญญาได้ครั้งละ 5 ปี นอกจากนี้ ยังมีการทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. จำ�นวน 40 เมกะวัตต์ ภายใต้สัญญา ซื้อขายไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Non-firm โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 5 ปี และต่ออายุโดย อัตโนมัติอีกทุก 5 ปีนับตั้งแต่เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรม ก่อนสิ้นสุดสัญญา โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกันและต่ออายุสัญญาได้อีก 5 ปี และจะเจรจาสัญญา วัตถุดิบทั้งระยะเวลาและปริมาณให้สอดคล้องกับสัญญาที่บริษัททำ�กับลูกค้าอุตสาหกรรม
โรงผลิตสาธารณูปการ 2 (Central Utility Plant 2: CUP-2)
โรงผลิตสาธารณูปการ 2 ตัง้ อยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงกับนิคมอุตสาหกรรมอาร์ไอแอล (Rayong Industrial Land: RIL) จังหวัด ระยอง มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 113 เมกะวัตต์ กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 170 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรมประมาณ 510 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง โดยจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมให้กับลูกค้า อุตสาหกรรมเป็นหลัก และจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนเกินให้กับ กฟผ. ทั้งนี้ เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี 2551 กระบวนการผลิต
โรงผลิตสาธารณูปการ 2 เป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง โดยกระบวนการผลิตไฟฟ้านัน้ จะเริม่ จากการดูดอากาศจากภายนอกเข้าเครือ่ งอัดอากาศ (Compressor) จนมีความดันและอุณหภูมสิ งู ขึน้ ต่อมาอากาศทีผ่ า่ นเครือ่ งอัดอากาศจะถูก ส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) เพื่อสันดาปร่วมกับ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซทีไ่ ด้จากการเผาไหม้ซงึ่ มีความร้อนและแรงดันสูงจะไป ขยายตัวผ่านกังหันก๊าซ (GT) เพื่อขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันก๊าซ (GTG) ขนาด 37.6 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุด เพื่อหมุนเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า โดยไอเสียจากกังหันก๊าซจะนำ�ไปถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ�เพื่อผลิตเป็น ไอน้�ำ ด้วยเครือ่ งผลิตไอน้�ำ จากความร้อนทิง้ (HRSG) ขนาด 70/140 ตัน ต่ อ ชั่ ว โมง จำ � นวน 2 ชุ ด โดยไอน้ำ � ที่ ผ ลิ ต ได้ จำ � หน่ า ยให้ กั บ ลู ก ค้ า อุตสาหกรรม และไอน้ำ�ส่วนทีเ่ หลือจะนำ�ไปผ่านกังหันไอน้ำ� (ST) เพือ่ ขับ เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันไอน้ำ� (STG) ขนาด 38 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 ชุด นอกจากนี้ยังมีการผลิตไอน้ำ�จากหม้อไอน้ำ�สำ�รอง (Auxiliary Boiler) จำ�นวน 1 หน่วย ขนาด 50 ตันต่อชัว่ โมง อีกด้วย
P- 056
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
แผนผังอย่างง่าย แสดงการผลิตของโรงผลิตสาธารณูปการ 2 GAS METERING STATION
11/115 KV
PTT
11
5K
V EGAT
11/115 KV 11/6.9 KV EGAT Power Back up 11/115 KV
INTERNAL USAGE
ER S) OW ELL GT 3C N I OL FOR CO CAL PI Y T (
CONDENSATE TANK AUXILIARY BOILER
DENIM TANK
SERVICE WATER TANK
CLARIFIED WATER TANK
AUXILIARY COOLING WATER SYSTEM PTTGC
RIL
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษา
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของโรงผลิตสาธารณูปการ 2 สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Hot Gas Path Inspection (HGP) และ Major Overhaul (MO) เช่นเดียวกับโรงผลิตสาธารณูปการ 1 อย่างไรก็ตาม ในส่วนของแผนการซ่อมบำ �รุงรักษา ของกังหันไอน้ำ� บริษัทจะดำ�เนินการให้สอดคล้องกับแผนการซ่อมบำ�รุงรักษากังหันก๊าซ โดยจะทำ� MO ในช่วงเวลาเดียวกับ กังหันก๊าซและจะซ่อมบำ�รุงรักษาแบบ Minor Inspection (MI) ในช่วงที่กังหันก๊าซทำ�การซ่อมบำ�รุงรักษาแบบ HGP ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�การซ่อมบำ�รุง MO ของ GTG จำ�นวน 1 เครื่อง ในปี 2557 การจัดหาวัตถุดิบ
โรงผลิตสาธารณูปการ 2 ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าโดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดในปี 2565 และมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบ (Raw Water) จากนิคมอุตสาหกรรม อาร์ไอแอล เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2565 ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติและสัญญาซื้อ ขายน้�ำ ดิบกับคูส่ ญ ั ญาก่อนสิน้ สุดสัญญา และจะเจรจาสัญญาทัง้ ระยะเวลาและปริมาณวัตถุดบิ ให้สอดคล้องกับสัญญาซือ้ ขาย ไฟฟ้าที่บริษัทมีกับลูกค้าอุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทยังได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�รองกับ กฟผ. จำ�นวน 37.5 เมกะวัตต์ มีระยะเวลา 1 ปีและต่ออายุโดย อัตโนมัติอีกครั้งละ 1 ปี หากไม่มีการยกเลิกสัญญา การจัดจำ�หน่าย
โรงผลิตสาธารณูปการ 2 ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรมในนิคม อุตสาหกรรมอาร์ไอแอล ประกอบด้วยสัญญาซื้อขายไฟฟ้ารวม 42.75 เมกะวัตต์ สัญญาซื้อขายไอน้ำ�รวม 95 ตันต่อชั่วโมง และสัญญาซื้อขายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวม 178 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง กับลูกค้าจำ�นวน 1 ราย อายุสัญญา 15 ปีและ สามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี นอกจากนี้ ยังมีการทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. จำ�นวน 60 เมกะวัตต์ ภายใต้สัญญา ซื้อขายไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Non-firm อายุสัญญา 5 ปีและต่ออายุโดยอัตโนมัติอีกทุก 5 ปี นับตั้งแต่เริ่ม จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรมก่อนสิ้นสุด สัญญา และจะเจรจาสัญญาวัตถุดิบทั้งระยะเวลาและปริมาณให้สอดคล้องกับสัญญาที่บริษัททำ�กับลูกค้าอุตสาหกรรม ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 057
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โรงผลิตสาธารณูปการ 3 (Central Utility Plant 3: CUP-3)
โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จังหวัดระยอง มีกำ�ลังการผลิตไอน้ำ� ประมาณ 280 ตันต่อชั่วโมง และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมประมาณ 770 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง โดยมีอุปกรณ์ หลักประกอบด้วยหม้อไอน้ำ�สำ�รอง (Auxiliary Boiler) จำ�นวน 3 หน่วย และระบบผลิตน้ำ�ปราศจากแร่ธาตุ ทั้งนี้ เริ่มดำ�เนิน การเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี 2552
ทั้งนี้ โรงผลิตสาธารณูปการ 1 และ 3 ได้ถูกออกแบบระบบส่งไฟฟ้าและไอน้ำ �ให้เชื่อมโยงกัน (Power and Steam Distribution Tie-up) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� สร้างความสมดุลและสำ�รองระหว่างกันได้ ประกอบกับ โรงผลิตสาธารณูปการ 1 เป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ที่สามารถผลิตไฟฟ้าและไอน้�ำ ได้มี ประสิทธิภาพสูงกว่าการผลิตไอน้ำ�ของโรงผลิตสาธารณูปการ 3 ส่งผลให้มีการส่งไอน้ำ� รวมทั้งไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงผลิต สาธารณูปการ 1 ไปยังโรงผลิตสาธารณูปการ 3 เพื่อจ่ายให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมของโรงผลิตสาธารณูปการ 3
P- 058
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
แผนผังอย่างง่าย แสดงการผลิตของโรงผลิตสาธารณูปการ 3 A STE
M
115/22 KV PTTGC
CUP1
11
R WE
5K
Vessel Drum
V
22W
PO
HMC PPCL (BPA) PTTPL BIG
GAS METERING STATION AUXILIARY BOILER
) R WE LLS TO CE ING R 17 L O O CO AL F PIC (TY
22/6.9 GPSC KV Internal Usage AUXILIARY COOLING WATER SYSTEM
CLARIFIED WATER TANK
AUXILIARY BOILER
PTTGC
HEMARAJ
CONDENSATE TANK RO PERMIATE WATER TANK
Tall Gas Metering Station HMC
AUXILIARY BOILER
DENIM WATER TANK
แผนการซ่อมบำ�รุงรักษา
โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ได้กำ�หนดแผนการซ่อมบำ�รุงรักษาของ Auxiliary Boiler และ HRSG ไว้เป็นประจำ� ทุกปี (Yearly Inspection) การจัดหาวัตถุดิบ
โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไอน้ำ�โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขาย ก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2566 และเข้าทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม กับนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2566 ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติและสัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบกับคู่สัญญาก่อนสิ้นสุด สัญญา และจะเจรจาสัญญาทั้งระยะเวลาและปริมาณวัตถุดิบให้สอดคล้องกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่บริษัทมีกับ ลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจำ�หน่าย
โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ�และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรม ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) ดังนี้ สัญญาซื้อขายไฟฟ้ารวมประมาณ 56 เมกะวัตต์ กับ ลูกค้าจำ�นวน 4 ราย อายุสัญญา 15 ปี และสามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี สัญญาซื้อขายไอน้ำ�รวมประมาณ 223 ตันต่อชั่วโมง กับลูกค้าจำ�นวน 3 ราย อายุสัญญา 15 ปี และสามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี และสัญญา ซื้อขายน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมรวมประมาณ 62 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง กับลูกค้าจำ�นวน 3 ราย อายุสัญญา 15 ปี และสามารถต่อสัญญาได้ครั้งละ 5 ปี ทั้งนี้ บริษัทจะทำ�การเจรจาต่อสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมกับลูกค้าอุตสาหกรรม ก่อนสิ้นสุดสัญญา โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกันและต่ออายุสัญญาได้อีก 5 ปี และจะเจรจาสัญญา วัตถุดิบทั้งระยะเวลาและปริมาณให้สอดคล้องกับสัญญาที่บริษัททำ�กับลูกค้าอุตสาหกรรม ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 059
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(2) บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด (RPCL)
RPCL เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าหน่วยละ 700 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 หน่วยผลิต รวมเป็น 1,400 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่อำ�เภอดำ�เนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าทั้งหมดที่ผลิตได้ให้แก่ กฟผ. ตามสัญญาซื้อ ขายไฟฟ้าซึ่งมีอายุสัญญา 25 ปี นับจากวันที่เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. สำ�หรับหน่วยผลิตที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2551 และหน่วยผลิตที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2576 โดยการผลิตไฟฟ้าเพื่อจำ�หน่ายเป็นไป ตามเงื่อนไขและการสั่งเดินเครื่องของ กฟผ. กระบวนการผลิต
RPCL เป็นโรงไฟฟ้าประเภทพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิงหลัก และมีน้ำ�มันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงสำ�รองซึ่งมีกระบวนการผลิตไฟฟ้าเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าศรีราชา โดย RPCL มีเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (GTG) ขนาด 245 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุดต่อ 1 หน่วยผลิต เครื่อง ผลิตไอน้ำ�จากความร้อนทิ้ง (HRSG) และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากังหันไอน้ำ� (STG) ขนาด 275 เมกะวัตต์จำ�นวน 1 ชุด ต่อ 1 หน่วยผลิต แผนผังอย่างง่าย แสดงการผลิตของ RPCL
DOUBLE CIRCUIT 500 kV TRANSMISSION TO EGAT
GEN.
FILTER HOUSE
GEN.
FILTER HOUSE
BYPASS STACK FEED WATER TANK
BYPASS STACK
HRSG GT#1 (245MW)
GT#2 (245MW)
BOLLER FEED WATER PUMP ST (275MW)
HRSG BOLLER FEED WATER PUMP
WATER SOURCE
หมายเหตุ: แสดงการผลิตไฟฟ้า กำ�ลังการผลิต 700 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 หน่วยผลิต
COOLING TOWER
CONDENSER
GEN.
CONDENSATE PUMP
TRANSFORMER TRANSMISSION TOWER
ทั้งนี้ RPCL ได้ทำ�สัญญาดำ�เนินงานและบำ�รุงรักษา (Operation and Maintenance Agreement) กับ Chubu Ratchaburi Electric Services (CRESCO) สำ�หรับเดินเครื่องและบำ�รุงรักษาเครื่องจักรในส่วนอื่นนอกเหนือจาก เครื่องกังหันก๊าซ (GT) ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2565 และ CRESCO ได้ทำ�สัญญาบริการซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาว (Long Term Service Agreement) กับ Mitsubishi Hitachi Power System สำ�หรับเครื่องกังหันก๊าซ (GT) ซึ่ง สัญญาจะสิ้นสุดในปี 2563 การจัดหาวัตถุดิบ
RPCL ใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติกบั ปตท. เป็น ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2576 ที่ราคาก๊าซสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP Gas Price) โดย RPCL สามารถส่งผ่านค่าเชื้อเพลิงรวมอยู่ในค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ไปยัง กฟผ. ทั้งนี้ กรณีที่ ปตท. ไม่ สามารถจัดส่งปริมาณก๊าซธรรมชาติได้ตามสัญญาดังกล่าวและ กฟผ. สั่งให้ RPCL เดินเครื่องด้วยเชื้อเพลิงสำ�รอง กฟผ. จะเป็นผู้ชดเชยค่าเชื้อเพลิงส่วนที่เพิ่มขึ้นให้แก่ RPCL โดย RPCL ได้เข้าทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว กับ ปตท. เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�รองในกรณีที่ไม่สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติได้ โดยสัญญามีระยะเวลา 6 ปี สิ้นสุด ในปี 2559 P- 060
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การจัดจำ�หน่าย
RPCL ผลิ ต และจำ � หน่ า ยไฟฟ้ า ทั้ ง หมดให้ แ ก่ กฟผ. ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า แบบผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เอกชน รายใหญ่ (IPP) ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าวได้ให้สิทธิแก่ กฟผ. เป็นผู้กำ�หนดปริมาณการ รับซื้อไฟฟ้าผ่านแผนการรับซื้อไฟฟ้าระยะยาวแบบรายปีและรายเดือน และแผนการรับซื้อไฟฟ้าระยะสั้นแบบราย วัน โดย RPCL ต้องแจ้งความพร้อมจ่ายในการผลิตไฟฟ้าให้กับ กฟผ. ทั้งระยะยาวและระยะสั้นเช่นกัน ซึ่งค่า AP เป็นค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่ RPCL ในการรักษาระดับความพร้อมในการผลิตไฟฟ้าโดยไม่คำ�นึงถึงปริมาณ ไฟฟ้าที่ได้ขายให้แก่ กฟผ. ทั้งนี้ RPCL จะได้รับรายได้ค่า AP ตามความพร้อมจ่ายที่ RPCL แจ้งและเป็นไปตาม เงือ่ นไขสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า นอกจากนี้ RPCL ยังได้รบั รายได้คา่ EP จากการผลิตพลังงานไฟฟ้าตามปริมาณทีผ่ ลิต จริงตามคำ�สั่งการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ทั้งนี้ กฟผ. มีสิทธิตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าในการสั่งการให้ RPCL หยุด ผลิตไฟฟ้าหรือผลิตไม่เต็มกำ�ลังการผลิต โดย กฟผ. ยังคงต้องจ่ายค่า AP ให้กับ RPCL ตามความพร้อมจ่ายที่ RPCL เป็นผู้แจ้ง (3) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด (CHPP) CHPP เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 5 เมกะวัตต์ และกำ�ลังการผลิตน้ำ�เย็น ประมาณ 12,000 ตันความเย็น ตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการฯ โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าในรูปแบบ Non-firm จำ�นวน 6.4 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟน. และจำ�หน่ายพลังงานความเย็นสำ�หรับระบบปรับอากาศให้อาคารศูนย์ราชการฯ CHPP เป็นโรงไฟฟ้าประเภทผลิตไฟฟ้าร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant) ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง โดยกระบวนการผลิตไฟฟ้าจะคล้ายกับระบบผลิตไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration) เริ่มต้นจากการดูดอากาศจากภายนอกเข้าเครื่องอัดอากาศ (Compressor) จนมีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้น ต่อมาอากาศที่ ผ่านเครื่องอัดอากาศจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) เพื่อสันดาปร่วมกับก๊าซธรรมชาติ ก๊าซที่ได้จาก การเผาไหม้ซึ่งมีความร้อนและแรงดันสูงจะไปขยายตัวผ่านกังหันก๊าซ (GT) เพื่อขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันก๊าซ (GTG) โดยไอเสียจากกังหันก๊าซจะนำ�ไปผ่านเครื่องทำ�ความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) เพื่อผลิตน้�ำ เย็น ทั้งนี้ CHPP มี กระบวนการผลิตน้ำ�เย็นแบ่งเป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบผลิตน้ำ�เย็นด้วยความร้อนที่ได้จากการผลิตไฟฟ้า มีเครื่องทำ�ความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) ขนาด 3,000 ตันความเย็น จำ�นวน 2 หน่วย ซึ่งยังไม่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์เนื่องจากอยู่ระหว่างการปรับปรุงเครื่องจักร คาดว่า จะเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในปี 2559 2. ระบบผลิตน้ำ�เย็นด้วยไฟฟ้ามีเครื่องผลิตน้ำ�เย็นโดยใช้ไฟฟ้า (Electric Chiller) ขนาด 2,000 ตันความเย็น จำ�นวน 2 หน่วย และขนาด 1,000 ตันความเย็น จำ�นวน 2 หน่วย เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ปี 2552 ทีผ่ า่ นมา CHPP ได้ท�ำ การจำ�หน่ายไฟฟ้าตามกำ�หนดวันเริม่ ต้นซือ้ ขายไฟฟ้าทีร่ ะบุในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าในรูปแบบ Non-firm ให้กับ กฟน. แล้ว อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน CHPP ได้หยุดการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กับ กฟน. และหยุดการผลิตน้ำ�เย็นด้วยเครื่อง ทำ�ความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) คงเหลือแต่การผลิตน้ำ�เย็นด้วยเครื่องผลิตน้ำ�เย็นโดยใช้ไฟฟ้า (Electric Chiller) สำ�หรับระบบปรับอากาศในอาคารศูนย์ราชการฯ เพียงอย่างเดียว และอยูร่ ะหว่างทำ�การปรับปรุง Absorption Chiller ทั้งนี้ CHPP ได้ทำ�สัญญาดำ�เนินงาน (Operation Agreement) กับบริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด สำ�หรับ การเดินเครื่องจักรซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2559 และทำ�สัญญาบำ�รุงรักษาเครื่องจักรหลัก (Electric Chiller) กับบริษัท แอร์โค จำ�กัด ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2559 การจัดหาวัตถุดิบ
CHPP ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 10 ปี สิ้นสุดปี 2563 การจัดจำ�หน่าย
CHPP จำ�หน่ายไฟฟ้าให้กับ กฟน. โดยทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าในรูปแบบ Non-firm เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2552 มีอายุสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 5 ปี และต่อสัญญาอัตโนมัติทุกๆ 5 ปี จนกว่าจะมีการยกเลิกสัญญา สำ�หรับ ไฟฟ้าส่วนที่เหลือจะถูกนำ�ไปใช้ในการผลิตพลังงานความเย็นเพื่อจำ�หน่ายให้อาคารศูนย์ราชการฯ สำ�หรับระบบ ปรับอากาศ โดยทำ�สัญญาซื้อขายพลังงานความเย็นกับบริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำ�กัด มีอายุสัญญา 30 ปี สิ้นสุดในปี 2581 ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 061
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(4) บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จำ�กัด (BIC) BIC เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ประมาณ 117 เมกะวัตต์ และมีกำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 20 ตันต่อ ชั่วโมง ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อำ�เภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�หรับ ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. และจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือ และไอน้ำ�ให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมในนิคม อุตสาหกรรมบางปะอิน
กระบวนการผลิต
BIC เป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ กระบวนการ ผลิตไฟฟ้าจะเริ่มจากการดูดอากาศจากภายนอกเข้าเครื่องอัดอากาศ (Compressor) จนมีความดันและอุณหภูมิ สูงขึ้น ต่อมาอากาศที่ผ่านเครื่องอัดอากาศจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) เพื่อสันดาปร่วม กับก๊าซธรรมชาติ ก๊าซที่ได้จากการเผาไหม้ซ่งึ มีความร้อนและแรงดันสูงจะไปขยายตัวผ่านกังหันก๊าซ (GT) เพื่อ ขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันก๊าซ (GTG) ขนาด 47.3 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุด เพื่อหมุนเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า โดย ไอเสียจากกังหันก๊าซจะนำ�ไปถ่ายเทความร้อนให้กับน้ำ�เพื่อผลิตเป็นไอน้ำ�ด้วยเครื่องผลิตไอน้ำ�จากความร้อนทิ้ง (HRSG) จำ�นวน 2 ชุด ไปผ่านกังหันไอน้�ำ (ST) เพือ่ ขับเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าของกังหันไอน้�ำ (STG) ขนาด 22.9 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 ชุดและไอน้ำ�ที่เหลือทั้งหมดจำ�หน่ายให้กับลูกค้าอุตสาหกรรม ทั้งนี้ BIC ได้ทำ�สัญญาบริการซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาว (Long Term Service Agreement) จำ�นวน 2 สัญญา กับ General Electric International Operations Company Inc. และ GE Packaged Power Inc. สำ�หรับเครื่อง กังหันก๊าซ (GT) ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดในปี 2570 การจัดหาวัตถุดิบ
BIC ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็น ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2581 และทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบจาก บริษัท ทีทีดับบลิว จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นการ ต่อสัญญาแบบปีต่อปี การจัดจำ�หน่าย
BIC จำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าซึ่งมีอายุสัญญา 25 ปี นับจากวันที่เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้า ระบบของ กฟผ. (COD) ตั้งแต่ปี 2556 และสัญญาจะสิ้นสุดปี 2581 และจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือให้กับลูกค้า อุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ในลักษณะสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว อายุสัญญาประมาณ 15 ปี และมีการทำ�สัญญาซือ้ ขายไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ทั้งนี้ BIC ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm สำ�หรับโครงการที่ 2 กับ กฟผ. จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ โดยสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ดังกล่าวมีกำ�หนดวันเริ่มต้นซื้อขายไฟฟ้า (SCOD) ในวันที่ 1 มิถุนายน 2560 โรงไฟฟ้าโครงการที่ 2 เป็นโรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneraton Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งจะตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับ โรงไฟฟ้าโครงการที่ 1 และมีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 117 เมกะวัตต์ และไอน้�ำ ประมาณ 20 ตันต่อชั่วโมง เช่นเดียวกับโครงการที่ 1 โดยไฟฟ้าส่วนที่เหลือและไอน้ำ�ทั้งหมดจะจำ�หน่ายให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่อยู่ ในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ซึ่งได้เริ่มทำ�การก่อสร้างโรงไฟฟ้าโครงการที่ 2 แล้วในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 โดย ผู้รับเหมาอยู่ระหว่างการจัดทำ�แผนงานและรายละเอียดการดำ�เนินการก่อสร้างโครงการ และจัดเตรียมสำ�นักงาน ชั่วคราวของโครงการ และคาดว่าจะใช้เวลาในการก่อสร้าง 30 เดือน บริษัทมีภาระผูกพันที่จะใส่เงินเพิ่มทุนตาม สัดส่วนการถือหุน้ ในวงเงินรวมประมาณ 333 ล้านบาท ทัง้ นี้ ในกรณีทเ่ี งินทุนในการดำ�เนินการตามโครงการไม่เพียงพอ (Cost Overrun) บริษัทมีภาระผูกพันภายใต้สัญญา Undertaking ที่จะต้องใส่เงินเพิ่มเติมในรูปของการเพิ่มทุนหรือ การให้เงินกู้จากผู้ถือหุ้นในวงเงินไม่เกินประมาณ 25 ล้านบาท P- 062
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
โรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการก่อสร้าง (1) บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด (IRPC-CP) IRPC-CP เป็นผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) มีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าหน่วยผลิตละประมาณ 120 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 หน่วยผลิต รวมเป็น 240 เมกะวัตต์ และมีก�ำ ลังการผลิตไอน้�ำ 2 หน่วยผลิต รวมประมาณ 300 ตันต่อชั่วโมง ตั้งอยู่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พซี ี จังหวัดระยอง โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าสำ�หรับผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm จำ�นวน 2 สัญญา สัญญา ละ 90 เมกะวัตต์ รวมเป็น 180 เมกะวัตต์ให้กับ กฟผ. ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าซึ่งมีอายุสัญญา 25 ปี และจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือและ ไอน้ำ�ให้กับ IRPC กระบวนการผลิต
IRPC-CP เป็นโรงไฟฟ้าประเภทโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งมีกระบวนการผลิตไฟฟ้าเช่นเดียวกับ BIC โดย IRPC-CP มีเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (GTG) ขนาดประมาณ 45 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุด ต่อ 1 หน่วยผลิต เครื่องผลิตไอน้ำ�จากความร้อนทิ้ง (HRSG) ขนาดประมาณ 70 ตัน ต่อชั่วโมง จำ�นวน 2 ชุด ต่อ 1 หน่วยผลิต และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากังหันไอน้ำ� (STG) ขนาดประมาณ 30 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 ชุด ต่อ 1 หน่วยผลิต ปัจจุบัน โรงไฟฟ้าดังกล่าวอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยทำ�การว่าจ้างผู้รับเหมาเป็นสัญญาการจ้างเหมาแบบ เบ็ดเสร็จ (Lump Sum Turnkey Contract) กับกิจการค้าร่วม (Consortium) ซึ่งประกอบด้วยบริษัทที่มีความ ชำ�นาญจำ�นวน 3 ราย คือ Mitsubishi Corporation Toyo-Thai Corporation และ Toyo Thai Malaysia SDN BHD และอยู่ระหว่างเจรจาสัญญาให้บริการบำ�รุงรักษา (Maintenanmce Agreement) กับ IRPC คาดว่าจะใช้ระยะเวลา ก่อสร้างรวม 48 เดือน ตั้งแต่เดือกรกฎาคม 2556 – มิถุนายน 2560 โดยสามารถแบ่งได้เป็น 2 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะที่ 1 - ระยะเวลาการก่อสร้างประมาณ 19 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2556 – มกราคม 2558 เพื่อ ขายไฟฟ้าและไอน้ำ�ให้แก่โครงการส่วนขยาย Upstream Project for Hygiene and Value Added Products (UHV) ของ IRPC โดย ณ เดือนธันวาคม 2557 การก่อสร้างระยะที่ 1 มีความคืบหน้าไปแล้วประมาณร้อยละ 92 ซึ่งมี แผนจะเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ในเดือนพฤษภาคม 2558 โดยจะมีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า 45 เมกะวัตต์ และ ไอน้ำ�รวม 180 ตันชั่วโมง 2. ระยะที่ 2 - ระยะเวลาการก่อสร้างประมาณ 29 เดือน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 – มิถุนายน 2560 ทัง้ นี้ บริษทั มีภาระผูกพันคงเหลือทีจ่ ะใส่เงินเพิม่ ทุนอีกประมาณ 942 ล้านบาท และในกรณีทเี่ งินทุนในการดำ�เนิน การตามโครงการไม่เพียงพอ (Cost Overrun) บริษัทมีภาระผูกพันภายใต้สัญญา Sponsor Support ที่จะต้องใส่ เงินเพิ่มเติมในรูปของการเพิ่มทุนหรือการให้เงินกู้ในวงเงินไม่เกินประมาณ 347 ล้านบาท การจัดหาวัตถุดิบ
IRPC-CP ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าโดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 27 ปี นับตัง้ แต่วนั ทีเ่ ริม่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของระยะที่ 1 และมีการเข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายน้�ำ ดิบ (Raw Water) กับ IRPC เป็นระยะเวลา 27 ปีนับตั้งแต่วันที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของระยะที่ 1 การจัดจำ�หน่าย
IRPC-CP ได้ท�ำ สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าสำ�หรับผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm กับ กฟผ. ฉบับลงวันที่ 6 มกราคม 2555 จำ�นวน 2 สัญญา สัญญาละ 90 เมกะวัตต์ รวมเป็น 180 เมกะวัตต์ มีระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่เริ่มจ่าย ไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. นอกจากนี้ IRPC-CP ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าส่วนที่เหลือจำ�นวน 60 เมกะวัตต์ และทำ� สัญญาซื้อขายไอน้ำ�ปริมาณรวมประมาณ 180 - 300 ตันต่อชั่วโมงกับ IRPC เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2556 สิ้นสุด ปี 2585 หรือสิ้นสุดสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. แล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดขึ้นภายหลัง
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 063
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(2) บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด (NNEG) NNEG เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) มีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 125 เมกะวัตต์ และมีก�ำ ลังการผลิตไอน้ำ�ประมาณ 30 ตันต่อชั่วโมง ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�หรับผู้ผลิต ไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. และจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือ และไอน้ำ�ให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมในเขต ส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร กระบวนการผลิต
NNEG เป็นโรงไฟฟ้าประเภทโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งมีกระบวนการผลิตไฟฟ้าเช่นเดียวกับ BIC โดย NNEG มีเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ (GTG) ขนาดประมาณ 40 - 46.5 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 ชุด เครื่องผลิตไอน้ำ�จากความร้อนทิ้ง (HRSG) จำ�นวน 2 ชุด และเครื่องกำ�เนิด ไฟฟ้ากังหันไอน้ำ� (STG) ขนาด 38 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 ชุด ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าดังกล่าวอยูร่ ะหว่างก่อสร้าง โดยทำ�การว่าจ้างผูร้ บั เหมาเป็นสัญญาการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ กับกิจการค้าร่วม (Consortium) ประกอบด้วยบริษทั ทีม่ คี วามชำ�นาญจำ�นวน 2 ราย คือ Jurong Engineering Ltd. และ Thai Jurong Engineering Ltd. ซึ่งบริษัทมีภาระผูกพันคงเหลือที่จะใส่เงินเพิ่มทุนอีกประมาณ 176 ล้านบาท โดย ณ เดือนธันวาคม 2557 การก่อสร้างมีความคืบหน้าไปแล้วประมาณร้อยละ 30 และคาดว่าจะเริ่มดำ�เนินการ เชิงพาณิชย์ได้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2559 การจัดหาวัตถุดิบ
NNEG ใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าโดยมีการเข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติกบั ปตท. เป็น ระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2584 และอยู่ระหว่างการเจรจาสัญญาซื้อขายน้ำ�ดิบ (Raw Water) กับเขตส่งเสริม อุตสาหกรรมนวนคร การจัดจำ�หน่าย
NNEG ได้ทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Firm กับ กฟผ. จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 โดยสัญญามีระยะเวลา 25 ปี นับตัง้ แต่เริม่ จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. และจำ�หน่าย ไฟฟ้าส่วนที่เหลือรวมถึงไอน้ำ�ให้แก่กลุ่มลูกค้าในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร
2. กลุ่มโรงไฟฟ้าประเภทพลังงานหมุนเวียนในประเทศ โรงไฟฟ้าที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ (1) บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด (TSR) TSR ประกอบธุรกิจลงทุน โดยได้ลงทุนร้อยละ 100 ใน SSE1 เพื่อพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ SSE1 เป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) ที่ใช้กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบโฟโต้ โวลตาอิกหรือโซลาร์เซลล์ซง่ึ ตัง้ อยูบ่ ริเวณพืน้ ดิน (โรงไฟฟ้า PV ประเภท Solar Farm) มีก�ำ ลังการผลิตติดตัง้ ประมาณ 8 เมกะวัตต์ จำ�นวน 10 โครงการ กำ�ลังการผลิตตามสัญญารวม 80 เมกะวัตต์ และจำ�หน่ายไฟฟ้าทั้งหมดเข้าระบบของ กฟภ. P- 064
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
ที่ตั้งโครงการ กำ�ลังการผลิต เสนอขาย
ค่าความเข้ม รังสีแสงอาทิตย์
เริ่มดำ�เนินการ เชิงพาณิชย์
โครงการ
อำ�เภอ
จังหวัด
SSE1-PV01
บ่อพลอย
กาญจนบุรี
8.0
17.63
วันที่ 4 กันยายน 2556
SSE1-PV02
ดอนเจดีย์
สุพรรณบุรี
8.0
18.24
วันที่ 17 กรกฎาคม 2556
SSE1-PV03
หนองหญ้าไซ
สุพรรณบุรี
8.0
18.25
วันที่ 28 ตุลาคม 2556
SSE1-PV04
เดิมบางนางบวช
สุพรรณบุรี
8.0
18.19
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2556
SSE1-PV05
เดิมบางนางบวช
สุพรรณบุรี
8.0
18.19
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2556
SSE1-PV06
ด่านมะขามเตี้ย
กาญจนบุรี
8.0
17.61
วันที่ 6 มิถุนายน 2557
SSE1-PV07
ท่าม่วง
กาญจนบุรี
8.0
17.77
วันที่ 20 มีนาคม 2557
SSE1-PV08
พนมทวน
กาญจนบุรี
8.0
18.24
วันที่ 6 มิถุนายน 2557
SSE1-PV09
อู่ทอง
สุพรรณบุรี
8.0
18.37
วันที่ 4 เมษายน 2557
SSE1-PV10
สามชุก
สุพรรณบุรี
8.0
17.16
วันที่ 30 พฤษภาคม 2557
(เมกะวัตต์)
(เมกะจูล/ตารางเมตร-วัน)
SSE1 ทำ�การว่าจ้างผู้รับเหมาเป็นสัญญาการจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ 2 รายคือ Conergy และ SunEdison ในการดำ�เนินการ ออกแบบและก่อสร้าง จัดหา ทดสอบและรับประกันเพื่อก่อสร้างและพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยผู้รับเหมาแบบ เบ็ดเสร็จได้มีการรับประกันปริมาณพลังงานไฟฟ้าขั้นต่ำ�ที่ผลิตได้ในแต่ละปี (Output Performance Guarantee) ให้กับโครงการ เป็นระยะเวลา 10 ปี นับจากวันที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ โดยจะชดเชยรายได้ส่วนที่ SSE1 สูญเสียไป หากผลิตไม่ได้ตาม จำ�นวนหน่วยไฟฟ้าที่รับประกันตามเงื่อนไขที่กำ�หนดในสัญญา นอกจากนี้ SSE1 ได้เข้าทำ�สัญญาบริหารจัดการและบำ�รุงรักษา (Operation and Maintenance Agreement) กับบริษัท คอนเนอร์ยี (ไทยแลนด์) จำ�กัด และบริษัท ซันเอดิสัน โอเปอร์เรชั่นส์ แอนด์ แมนเทนแนนซ์ จำ�กัด เพื่อบริหารจัดการและบำ�รุง รักษาโรงไฟฟ้า อายุสัญญา 10 ปี นับจากวันที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ การจัดหาวัตถุดิบ
วัตถุดิบที่สำ�คัญที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ คือ แสงอาทิตย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานที่ตั้ง สภาพภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศเป็นสำ�คัญ โดยบริษทั ได้ท�ำ การศึกษาความเข้มของแสงก่อนการตัดสินใจเลือกทำ�เล เพือ่ เป็นทีต่ งั้ ของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ทัง้ นี้ ความเข้มของแสงอาทิตย์ในบริเวณทีต่ ง้ั ของโรงไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์ของ SSE1 ปรากฏตามตารางข้างต้น
การจัดจำ�หน่าย
SSE1 จำ�หน่ายไฟฟ้าทั้งหมดเข้าระบบของ กฟภ. ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าแบบ VSPP ทั้งหมด 10 ฉบับลง วันที่ 11 เมษายน 2555 สำ�หรับโครงการ SSE1-PV01 ถึง SSE1-PV05 และวันที่ 25 กรกฎาคม 2555 สำ�หรับ โครงการ SSE1-PV06 ถึง SSE1-PV10 โดยมีปริมาณรับซื้อไฟฟ้าสัญญาละ 8 เมกะวัตต์ อายุสัญญา 5 ปีและต่อ อายุได้อีกครั้งละ 5 ปีแบบอัตโนมัติ ทั้งนี้ สัญญาดังกล่าวเป็นการซื้อขายไฟฟ้าด้วยระบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าแบบส่วน เพิ่มราคารับซื้อ ซึ่งรายได้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นรายได้ตามอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าที่ขายส่งให้กับ กฟภ. ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามการเปลี่ยนแปลงของค่าเชื้อเพลิง และปริมาณไฟฟ้ารับซื้อสูงสุดไม่เกินที่กำ �หนดใน สัญญาซื้อขายไฟฟ้า และส่วนที่ 2 เป็นส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) ซึ่งโครงการ SSE1-PV01 ถึง SSE1PV10 ได้รับ Adder ที่อัตรา 6.5 บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง โดยได้รับการสนับสนุนเป็นระยะเวลา 10 ปี นับจากวันที่ เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 065
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
3. กลุ่มโรงไฟฟ้าในต่างประเทศ โรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการก่อสร้าง (1) บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (NSC) NSC ประกอบธุรกิจลงทุน โดยลงทุนร้อยละ 25 ใน XPCL ซึ่งพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ� XPCL เป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งใน สปป.ลาว มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ ไซยะบุรี ซึ่งเป็นโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชนิดฝายน้ำ�ล้น (run-of-river) ขนาดประมาณ 1,285 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่บนลำ�น้ำ�โขงห่างจากตัวเมืองหลวงพระบางทางตอนใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร โครงการดังกล่าวใช้ เทคโนโลยีกังหันน้ำ�แบบคัปลาน (Kaplan Turbine) ทำ�งานร่วมกับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าขนาด 175 เมกะวัตต์ จำ�นวน 7 เครื่อง และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าขนาด 60 เมกะวัตต์ จำ�นวน 1 เครื่อง XPCL ได้ลงนามสัญญาสัมปทาน (Concession Agreement) กับรัฐบาลของ สปป.ลาว เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2553 ในรูปแบบสัญญาประเภทการโอนกรรมสิทธิ์ในระบบผลิตและระบบจ่ายให้แก่รัฐบาลของ สปป.ลาว เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง (Build-Own-Operate and Transfer: BOOT) โดยสัญญาสัมปทานจะสิ้นสุด พร้อมกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ซึ่งมีอายุ 29 ปี นับจากวันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ บริษัทมีภาระผูกพัน คงเหลือที่จะใส่เงินเพิ่มทุนอีกประมาณ 4,563 ล้านบาท และในกรณีที่เงินทุนในการดำ�เนินการตามโครงการ ไม่เพียงพอ (Cost Overrun) บริษัทมีภาระผูกพันภายใต้สัญญา Sponsor Support ที่จะต้องให้การสนับสนุน ทางการเงินเพิ่มเติมในรูปแบบสัญญากู้ยืมเงินโดยผู้ถือหุ้น (Shareholder Loan Agreement) ในวงเงินไม่เกิน ประมาณ 2,463 ล้านบาท ที่ผ่านมา XPCL ได้ลงนามในสัญญาจ้างเหมาออกแบบและก่อสร้างกับบริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำ�กัด เมื่อ วันที่ 14 ตุลาคม 2554 เริม่ ก่อสร้างเมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2555 มีระยะเวลาก่อสร้างและดำ�เนินการประมาณ 8 ปี โดย ณ เดือนธันวาคม 2557 การก่อสร้างมีความคืบหน้าไปแล้วประมาณร้อยละ 40.79 ทั้งนี้ มีกำ�หนด จำ�หน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ในปี 2562 โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรีมีการส่งเสริมการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพโดยมีทางปลา ผ่าน (Fish Passing Facilities) และระบบระบายตะกอนแม่น้ำ� (Sediment Flushing System) รวมถึงสภาพ แวดล้อมด้านการคมนาคมโดยมีทางเรือผ่าน (Navigation Lock) การจัดหาวัตถุดิบ
วั ต ถุ ดิ บ ที่ สำ � คั ญ ในการผลิ ต ไฟฟ้ า ของโรงไฟฟ้ า พลังน้�ำ คือ น้�ำ ทีไ่ หลในแม่น�้ำ ตามธรรมชาติและก่อสร้าง ฝายกั้นน้ำ� (Weir) เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าแทนการก่อสร้าง อ่างเก็บน้ำ� แม้ว่าน้ำ�จะได้มาจากธรรมชาติและไม่มี ต้นทุนค่าใช้จา่ ย แต่ปริมาณน้�ำ ในแต่ละช่วงเวลามีความ ไม่แน่นอนและไม่สามารถคาดการณ์ได้ โดยขึ้นอยู่กับ สภาพอากาศและฤดูกาลในแต่ละช่วงเวลา บริษัทจึงได้ มี ก ารศึ ก ษาความเพี ย งพอของปริ ม าณน้ำ � ก่ อ นการ ออกแบบโรงไฟฟ้า การจัดจำ�หน่าย
XPCL จะจำ�หน่ายไฟฟ้าจำ�นวน 1,220 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาวเป็น ระยะเวลา 29 ปี นับแต่วันที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ และจำ�หน่ายไฟฟ้าจำ�นวน 60 เมกะวัตต์ ให้กับ EDL ภายใต้ สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า ระยะยาวเป็ น ระยะเวลา 29 ปี นับแต่วันที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ P- 066
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
(2) บริษัท ไฟฟ้า น้ำ�ลิก1 จำ�กัด (NL1PC) NL1PC เป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งใน สปป.ลาว มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าน้ำ�ลิก 1 ซึ่งเป็นโครงการ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ชนิดฝายน้ำ�ล้น (Run-of-River) ขนาดประมาณ 65 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของนครหลวงเวียงจันทน์ ประมาณ 90 กิโลเมตร เป็นเขื่อนคอนกรีตกว้าง 160 เมตร กั้นแม่น�้ำ ลิกซึ่งเป็นแม่น้ำ�สาขาของแม่น้ำ�งึมใน สปป.ลาว มีหัวเขื่อน (Head) สูงประมาณ 21.5 เมตร โดยใช้เทคโนโลยีกังหันน้ำ�แบบบัลบ์ (Bulb Turbine) ขนาด 32.5 เมกะวัตต์ จำ�นวน 2 เครื่อง NL1PC ได้ลงนามในสัญญาสัมปทาน (Concession Agreement) กับรัฐบาลของ สปป.ลาว เมือ่ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556 ในรูปแบบสัญญาประเภทการสร้าง ดำ�เนินงาน และโอนให้กับรัฐบาลของ สปป.ลาว เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง (Build-Operate and Transfer: BOT) โดยมีอายุสัญญาสัมปทาน 30 ปี นับจากวันที่รัฐบาลของ สปป.ลาว ปฏิบัติตามเงื่อนไขบังคับก่อนตาม สัญญาสัมปทานครบถ้วน และมีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ EDL ไปจนสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน เป็นระยะเวลาประมาณ 27 ปี ทั้งนี้ บริษทั มีภาระผูกพันคงเหลือทีจ่ ะใส่เงินเพิม่ ทุนอีกประมาณ 365 ล้านบาท และในกรณีทเี่ งินทุนในการดำ �เนินการตามโครงการ ไม่เพียงพอ (Cost Overrun) บริษัทมีภาระผูกพันภายใต้ Letter of Sponsor Support ที่จะต้องใส่เงินเพิ่มเติมในรูปของการ เพิ่มทุนหรือการให้เงินกู้ในวงเงินไม่เกินประมาณ 3.12 ล้านเหรียญสหรัฐ ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า NL1PC ได้ลงนามในสัญญาจ้างเหมาออกแบบและก่อสร้างกับ บริษัท พอสโก้ เอ็นจิเนี่ยริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำ�กัด เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 เริ่มก่อสร้างในช่วงไตรมาสที่สองของปี 2557 โดยมีระยะเวลาก่อสร้างและ ดำ�เนินการประมาณ 39 เดือน ณ เดือนธันวาคม 2557 การก่อสร้างมีความคืบหน้าไปแล้วประมาณร้อยละ 14.7 คาดว่าจะ ดำ�เนินการก่อสร้างแล้วเสร็จและมีกำ�หนดจำ�หน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ในปี 2560 หากดำ�เนินการผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ได้ตามเป้าหมายโครงการดังกล่าวจะสามารถช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนไฟฟ้า ในอาณาเขตนครหลวงเวียงจันทน์ได้ จึงเป็นโอกาสสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั สปป.ลาว และส่งเสริมโอกาสในการลงทุนโครงการ ลักษณะดังกล่าวในอนาคต นอกจากนี้ ยังเป็นการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือก ซึง่ สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าสู่ชั้นบรรยากาศได้ประมาณ 120,000 ตันต่อปี ด้วยเหตุนี้ โครงการดังกล่าวจึงได้รับการเสนอชื่อเป็นโครงการตามกลไก การพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ของ United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCC อีกด้วย การจัดหาวัตถุดิบ
วัตถุดิบที่สำ�คัญในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ� คือ น้ำ�ที่ไหลในแม่น้ำ�ตามธรรมชาติและก่อสร้าง ฝายกั้นน้ำ� (Weir) เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าแทนการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำ� แม้ว่าน้ำ�จะได้มาจากธรรมชาติและไม่มีต้นทุน ค่าใช้จา่ ย แต่ปริมาณน้�ำ ในแต่ละช่วงเวลามีความไม่แน่นอนและไม่สามารถคาดการณ์ได้ โดยขึน้ อยูก่ บั สภาพอากาศ และฤดูกาลในแต่ละช่วงเวลา บริษัทจึงได้มีการศึกษาความเพียงพอของปริมาณน้ำ�ก่อนการออกแบบโรงไฟฟ้า การจัดจำ�หน่าย
NL1PC จะจำ�หน่ายไฟฟ้าทัง้ หมดให้กบั EDL ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาวไปจนสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน เป็นระยะเวลาประมาณ 27 ปี
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 067
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
4. ธุรกิจอื่น
(1) 24M Technologies, Inc. (24M) 24M เป็นบริษทั จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา เริม่ ดำ�เนินการตัง้ แต่ปี 2553 ประกอบธุรกิจหลักในการ วิ จั ย และพั ฒ นาการผลิ ต แบตเตอรี่ ป ระเภทลิ เ ที ย มไอออน (Lithium-Ion) เพือ่ นำ�มาพัฒนาประยุกต์ใช้เป็น ระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรม และ การเสริมสร้างความมั่นคงในระบบจ่ายไฟฟ้าและระบบ เชือ่ มโยง เช่น การเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับกระบวนการ ผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดการต่อเนื่อง ของกระบวนการผลิตในกรณีทกี่ ารจ่ายกระแสไฟฟ้าเกิด หยุดชะงัก หรือใช้กักเก็บไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์เพือ่ ใช้จา่ ยไฟฟ้าในช่วงทีไ่ ม่มแี สงอาทิตย์ ซึง่ แบตเตอรีช่ นิดนีจ้ ะใช้วตั ถุดบิ และเวลาในการผลิตลดลง ทำ�ให้ตน้ ทุนในการผลิตต่�ำ กว่าแบตเตอรีล่ เิ ทียม-ไอออน ทั่วไป และโอกาสที่จะเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรลดลง ทำ�ให้มคี วามปลอดภัยมากขึน้ ซึง่ การทดสอบผลิตภัณฑ์ ในระดับห้องปฏิบัติการ (Lab Scale) และการทดสอบ การผลิตในระดับ Pilot Plant ให้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ ทัง้ นี้ คาดว่ า จะเริ่ ม ต้ น การผลิ ต และจำ� หน่ า ยสิ น ค้ า ในเชิ ง พาณิชย์ได้ในปี 2561
(2) บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (BSA) BSA เป็นบริษัทร่วมทุนของบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคล (Outsourcing) แบบครบวงจรของกลุม่ ปตท. โดยธุรกิจของ BSA แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. จัดส่งพนักงานปฏิบัติงานในสถานีน้ำ�มันของ ปตท. และ ให้ความรู้และวิธีปฏิบัติงานเพื่อปฏิบัติงานได้ถูกต้องและเป็นไป ตามระบบงานคุณภาพ ISO 9001 ISO 14001 และ มอก. 18001 ตลอดจนจัดให้มีคณะทำ�งานเพื่อศึกษาและแก้ปัญหา Oil Loss อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายที่ ปตท. กำ�หนด และมีคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อมในสถานีน้ำ�มัน 2. จัดส่งพนักงานให้มาปฏิบตั งิ านในร้านกาแฟ Café Amazon ของ ปตท. โดยจัดให้มีการอบรมหลักสูตรการบริหารร้านก่อน เข้าปฏิบัติงานตลอดจนทำ�การจัดหาวัตถุดิบ เครื่องมือ และช่าง ฝีมือดีเพื่อประกอบการดำ�เนินงานของร้านกาแฟ 3. จัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถตามที่ 7-Eleven กำ�หนด เพื่อเข้าปฏิบัติงานภายใน 7-Eleven ที่ตั้งอยู่ในสถานี บริการน้ำ�มันของ ปตท. โดยบุคลากรดังกล่าวจะต้องเข้ารับการ ฝึกอบรมการบริหารงานร้านค้า นอกจากนี้ ยังทำ�การสั่งสินค้าที่ จะนำ� มาขายในร้ า นค้ า ตามชนิ ด ปริ ม าณและคุ ณ ภาพตามที่ 7-Eleven กำ�หนด 4. จั ด หาบุ ค ลากรเพื่ อ ประจำ � สำ � นั ก งานใหญ่ สำ � นั ก งาน พระโขนง และสำ�นักงานระยอง นอกจากนี้ BSA ยังเข้าลงทุนในบริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (SSA) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ซึ่งประกอบ ธุรกิจบริหารกิจการฟุตบอลของกลุ่ม ปตท.
P- 068
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การตลาดและการแข่งขัน การจัดจำ�หน่ายและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย การจัดจำ�หน่าย บริษัทจัดส่งกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากเครื่องกำ�เนิด ไฟฟ้าทีท่ �ำ การยกระดับแรงดันไฟฟ้าตามลักษณะการใช้งาน ของลูกค้าด้วยหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) ไปยังระบบ การจ่ายกระแสไฟฟ้าร่วมที่สถานีไฟฟ้าย่อย (Substation) หลังจากนั้นกระแสไฟฟ้าจะถูกส่งต่อไปตามสายส่งไฟฟ้า เพื่อจำ�หน่ายเข้าสู่ระบบกระแสไฟฟ้าของ กฟผ. กฟภ. กฟน. และลูกค้าอุตสาหกรรมต่อไป นอกจากนี้ บริษัทจะทำ�การจำ�หน่ายไอน้ำ� น้ำ�เย็น และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ ใกล้เคียงกับที่ตั้งของโรงไฟฟ้าแต่ละแห่ง ผ่านระบบขนส่ง ทางท่อส่งผลิตภัณฑ์นั้นๆ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย กลุม ่ ลูกค้าของบริษท ั แบ่งออกเป็น 2 กลุม ่ หลัก ดังนี้
(1) กฟผ. กฟภ. และ กฟน.
ตามลักษณะโครงสร้างระบบไฟฟ้าของประเทศไทย กฟผ. กฟภ. และ กฟน.จะเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ ในการจัดหาไฟฟ้าให้กบั ภาคอุตสาหกรรมและประชาชน ทัว่ ไป ทำ�ให้มคี วามจำ�เป็นทีห่ น่วยงานทัง้ 3 แห่งจะต้อง จัดหาไฟฟ้าให้เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้น หน่วย งานดังกล่าวจึงรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าภาคเอกชน ผ่านการทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้า 3 ประเภทหลัก คือ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็ก (SPP) และผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (VSPP) ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทมีการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กับ กฟผ. กฟภ. และ กฟน. ผ่ า นการทำ � สั ญ ญาทั้ ง 3 ประเภท โดยสัดส่วนรายได้ของการจำ� หน่ า ยไฟฟ้ า (รวม รายได้จากสัญญาเช่าทางการเงิน) ให้กับหน่วยงานทั้ง 3 แห่ง รวมเป็นสัดส่วนร้อยละ 55 และร้อยละ 46 ของรายได้รวมของบริษัทในปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ
P- 070
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
(2) ลูกค้าอุตสาหกรรม
นอกจากการจำ�หน่ายให้กบั กฟผ. กฟภ. และ กฟน. บริษัทยังมีการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กับลูกค้าอุตสาหกรรม โดยบริษทั มียอดจำ�หน่ายไฟฟ้าให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรม ของบริษัทคิดเป็นร้อยละ 21 และร้อยละ 24 ของ รายได้รวมของบริษทั สำ�หรับปี 2556 และปี 2557 ตาม ลำ�ดับ ในฐานะผู้ผลิตสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ไอน้ำ� น้ำ�เย็น และน้ำ�เพื่ออุตสาหกรรม บริษัทให้ความสำ�คัญ กับความมั่นคงและต่อเนื่องในการจัดจำ�หน่าย รวมถึง การกำ�หนดราคาที่มีมาตรฐานเทียบเคียงได้กับผู้ผลิต รายอื่ น ในตลาด โดยลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมของบริ ษั ท ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี โดยมียอดจำ�หน่าย คิดเป็นร้อยละ 23 และร้อยละ 30 ของรายได้รวมของ บริษัทสำ�หรับปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ บริษัทยังมีการจำ�หน่ายไนโตรเจนให้กับ บริษัทในกลุ่ม ปตท. โดยมียอดจำ�หน่ายคิดเป็นร้อยละ 0.4 และร้อยละ 0.4 ของรายได้รวมของบริษัทสำ�หรับ ปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ
รายงานประจำ�ปี 2557
การกำ�หนดราคา การกำ�หนดราคาค่าไฟฟ้า คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติได้มกี ารกำ�หนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยให้สะท้อนถึงต้นทุนค่าไฟฟ้า ที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาในแต่ละวัน โดยอัตราการรับซื้อไฟฟ้าเป็นไปตามโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าซึ่งจำ�แนกตามประเภทของ ผู้ผลิตไฟฟ้าดังต่อไปนี้ (1) การกำ�หนดราคาของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (Independent Power Producer: IPP)
สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าของผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ โดยทั่วไปจะมีการกำ�หนดโครงสร้างราคาหลักเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment) ซึ่งเป็นค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่ โรงไฟฟ้าเป็นรายเดือนในการรักษาระดับความพร้อม จ่ายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าทีไ่ ม่ค�ำ นึงถึงจำ�นวนหน่วยไฟฟ้า ที่ กฟผ. ซื้อขายตามจริงจากโรงไฟฟ้า ทั้งนี้ ค่า AP ประกอบด้วย
สำ�หรับค่าใช้จ่ายคงที่ในการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษา (Fixed O&M)
ส่วนที่สอง คือ ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ทีผ่ ผู้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่จะกำ�หนดราคาโดย คำ�นึงถึงต้นทุนการผลิตผันแปร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทจำ�หน่าย ไฟฟ้าภายใต้สญ ั ญาผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ จำ�นวน 2 สัญญา ได้แก่ โรงไฟฟ้าศรีราชา และ RPCL โดยมี • APR1 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท ปริมาณการจำ�หน่ายไฟฟ้าภายใต้สัญญาเท่ากับ 700 สำ�หรับค่าก่อสร้างโรงงาน รวมถึงภาระเงินกู้และผล และ 1,400 เมกะวัตต์ ตามลำ�ดับ ซึง่ สัญญาแต่ละฉบับ มีอายุสัญญา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้า ตอบแทนของบริษัท (Capacity Cost) • APR2 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท ระบบของ กฟผ.
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 071
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(2) การกำ�หนดราคาของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็ก (Small Power Producer: SPP)
การกำ�หนดราคาไฟฟ้าสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็กขึ้นอยู่กับประเภทของเชื้อเพลิง และประเภท ของสัญญา ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทจำ�หน่าย ไฟฟ้าภายใต้สัญญาผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กแบบ สัญญา Non-firm จำ�นวน 2 สัญญา ได้แก่ CUP-1 จำ�นวน 40 เมกะวัตต์ และ CUP-2 จำ�นวน 60 เมกะวัตต์ ซึ่งสัญญาแต่ละฉบับมีอายุสัญญา 5 ปีและต่ออัตโนมัติ ทุก 5 ปี
(2.1) การกำ�หนดราคาของสัญญา Firm
สัญญา Firm คือ สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าทีม่ กี ารกำ�หนด ปริมาณพลังไฟฟ้าที่จะจ่ายให้ กฟผ. ตลอดอายุสัญญา ซึ่งสัญญาจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป โดยการ กำ�หนดราคาของสัญญาประเภทนี้ ประกอบด้วย ค่าพลัง ไฟฟ้า (Capacity Payment: CP) ซึ่งพิจารณาจาก ค่าลงทุนของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ใน อนาคต (Long Run Avoided Capacity Cost) จากการ ทีร่ บั ซือ้ พลังไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment: EP) ซึ่งกำ�หนดจากค่าเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงาน ไฟฟ้า ที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในอนาคต (Long Run Avoided Energy Cost) และค่าประหยัดการใช้ เชื้อเพลิง (Fuel Saving) ซึ่งจะได้รับรายได้ส่วนนี้ เมือ่ สามารถใช้เชือ้ เพลิงได้นอ้ ยกว่าค่ามาตรฐานที่ กฟผ. กำ�หนด นอกจากนี้ กฟผ. จะรับซื้อไฟฟ้าตามปริมาณที่ กำ�หนดไว้ในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า และมีคา่ ปรับหาก SPP ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามปริมาณที่กำ�หนดไว้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทจำ�หน่าย ไฟฟ้าภายใต้สัญญาผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กแบบ สัญญา Firm จำ�นวน 4 สัญญา ได้แก่ BIC โครงการที่ 1 จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ BIC โครงการที่ 2 จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ NNEG จำ�นวน 90 เมกะวัตต์ และ IRPC-CP จำ�นวน 180 เมกะวัตต์ ซึ่งสัญญาแต่ละฉบับมีอายุ สัญญา 25 ปี นับตัง้ แต่วนั ทีเ่ ริม่ จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟผ. (2.2) การกำ�หนดราคาของสัญญา Non-firm
สัญญา Non-firm คือ สัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่มีการ กำ�หนดพลังไฟฟ้าที่จะจ่ายให้ กฟผ. ตลอดอายุสัญญา ที่มีระยะเวลาสัญญาไม่เกิน 5 ปี โดยสัญญาประเภทนี้ จะไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น ค่ า พลั ง ไฟฟ้ า (CP) ได้ รั บ เพี ย งแต่ ค่าพลังงานไฟฟ้า (EP) ซึ่งกำ�หนดจากค่าเชื้อเพลิงใน การผลิตพลังงานไฟฟ้า ค่าดำ�เนินการ และค่าบำ�รุงรักษา ของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในระยะสั้น (Short Run Avoided Energy Cost) จากการรับซื้อ ไฟฟ้าจากผู้ผลิตรายเล็กทำ�ให้ราคาซื้อขายไฟฟ้าเฉลี่ย ของสัญญา Non-firm ต่ำ�กว่าสัญญา Firm ทั้งนี้ หาก เป็ น การรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ า ระบบพลั ง งาน หมุนเวียนจะมีสว่ นเพิม่ ราคารับซือ้ ไฟฟ้า (Adder) หรือ รับซื้อไฟฟ้าในอัตราพิเศษ (Feed in Tariff)
P- 072
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
(3) การกำ�หนดราคาของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนราย เล็กมาก (Very Small Power Producer: VSPP)
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก คือ ผู้ผลิตไฟฟ้าที่มี การจำ�หน่ายให้ กฟภ. หรือ กฟน. ไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ ต่อสัญญา โดยอัตราการรับซือ้ ไฟฟ้าเท่ากับค่าไฟฟ้าตาม โครงสร้างค่าไฟฟ้าขายส่ง ณ ระดับแรงดันที่ VSPP ทํา การเชื่อมโยงกับระบบไฟฟ้ารวมกับค่าไฟฟ้าตามสูตร ค่าเอฟทีขายส่งเฉลีย่ ทัง้ นี้ หากเป็นการรับซือ้ ไฟฟ้าจาก โรงไฟฟ้าระบบพลังงานหมุนเวียนจะมีสว่ นเพิม่ ราคารับ ซือ้ ไฟฟ้า (Adder) หรือรับซือ้ ไฟฟ้าในอัตราพิเศษ (Feed in Tariff) เป็นไปตามประกาศของ กฟภ. หรือ กฟน. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทจำ�หน่ายไฟฟ้า ภายใต้สัญญาผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก จำ�นวน 11 สัญญา ได้แก่ CHPP จำ�นวน 6.4 เมกะวัตต์ และ SSE1 มี 10 สัญญา จำ�นวนรวม 80 เมกะวัตต์ ซึ่ง สัญญาแต่ละฉบับมีอายุสญ ั ญา 5 ปีและต่ออัตโนมัตทิ กุ 5 ปี อัตราการรับซื้อไฟฟ้าของลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรม
ลู ก ค้ า อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น โ ร ง ง า น อุตสาหกรรมในกลุม่ ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ดา้ นปิโตรเคมี โดย บริษัทมีการตกลงซื้อขายไฟฟ้ากับลูกค้าแต่ละรายที่ อ้างอิงกับอัตราค่าไฟฟ้าของ กฟภ. ซึ่งจะมีการปรับ เปลี่ยนค่าเอฟทีตามต้นทุนเชื้อเพลิง การกำ�หนดราคาค่าไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม
ราคาขายไอน้ำ�และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมให้กับ ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมกำ � หนดจากต้ น ทุ น การผลิ ต ของ บริษัท และมีการบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม (Cost Plus) และ ปรับราคาได้ตามต้นทุนการผลิตทีเ่ กิดขึน้ จริงโดยใช้สตู ร ราคา ซึ่งรวมถึงการลงทุน ต้นทุนผันแปรและค่าใช้จ่าย ในการเดินเครื่องและการซ่อมบำ�รุง การลงทุนในระบบ จำ�หน่าย (Distribution System) ที่จัดเตรียมให้ลูกค้า แต่ละรายเป็นการเฉพาะ (Dedicated) พลังงานสูญเสีย ในระบบจำ�หน่าย (Energy Loss) และอื่นๆ
รายงานประจำ�ปี 2557
การแข่งขัน บริษัทไม่เผชิญกับการแข่งขันสำ�หรับการจำ�หน่าย ไฟฟ้าให้กับหน่วยงานไฟฟ้าภาครัฐ (กฟผ. กฟภ. และ กฟน.) เนื่องจากสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเป็นสัญญาระยะ ยาวอายุสญ ั ญา 5 - 25 ปี แต่บริษทั อาจประสบกับภาวะ การแข่งขันค่อนข้างสูงในการประมูลหรือยืน่ ขออนุญาต ขายไฟฟ้ า ให้ กั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ สำ � หรั บ โครงการ โรงไฟฟ้าแห่งใหม่ อย่างไรก็ตาม บริษัทเชื่อว่าด้วย ผลการดำ�เนินงานโรงไฟฟ้าในอดีตของบริษัท ความ เชีย่ วชาญและประสบการณ์ทางธุรกิจ จะส่งผลให้บริษทั สามารถแข่งขันกับผูป้ ระกอบการด้านกิจการพลังงานได้ นอกจากนี้ บริษัทเผชิญกับภาวะการแข่งขันในการ จำ�หน่ายไฟฟ้าหรือไอน้�ำ ค่อนข้างต่�ำ สำ�หรับลูกค้าในกลุม่ ปตท. และโครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากการขยาย การลงทุนของกลุ่ม ปตท. รวมทั้งลูกค้าอุตสาหกรรม ต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมหรือบริเวณใกล้เคียงกับ ที่บริษัทมีโรงไฟฟ้าเปิดดำ�เนินการอยู่ เนื่องจากบริษัทมี ความได้เปรียบจากการเป็นบริษทั แกนนำ�ธุรกิจพลังงาน ไฟฟ้าของกลุม่ ปตท. (PTT Group’s Power Flagship) ประกอบกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและไอน้ำ�ดังกล่าวเป็น สัญญาระยะยาวและมีการรับประกันความมัน่ คงในการ จ่ า ยกระแสไฟฟ้ า และไอน้ำ� และบริ ษั ท ได้ ล งทุ น วาง สายส่ ง ไฟฟ้ า และท่ อส่งไอน้ำ� ไปยังโรงงานของลูกค้า แต่ละรายโดยตรง ดังนั้น หากลูกค้าเปลี่ยนผู้จำ�หน่าย ไฟฟ้าหรือไอน้ำ�จะต้องมีต้นทุนที่สูงในการเปลี่ยนแปลง และติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ จากการทีร่ ฐั บาลได้วางนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจซึง่ ส่ ง ผลให้ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะมี ก ารรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า เพิ่ ม ขึ้ น ใน อนาคต โดยในแผนพั ฒ นากำ � ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ของ ประเทศไทย ปี 2553 - ปี 2573 ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 3
(“แผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 3”) ได้มีการ สนับสนุนให้เพิ่มการรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงาน หมุนเวียนส่งผลให้บริษัทในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้ามี การกระจายการพัฒนาโรงไฟฟ้าไปใช้พลังงานหมุนเวียน เพิ่มมากขึ้น ซึ่งบริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการปรับปรุง แผนพัฒนากำ�ลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศฉบับใหม่ และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 10 ปี (ปี 2555 - ปี 2564) เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การวางแผนการดำ�เนินการและลงทุนธุรกิจไฟฟ้าที่มี ความหลากหลาย จึงอาจส่งผลให้บริษัทมีคู่แข่งขันที่ เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ บริษัทได้คำ�นึงถึงปัจจัยสำ�คัญอื่นที่อาจส่งผล ต่อการแข่งขันในการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษทั เพือ่ ประเมิ น ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของบริ ษั ท ใน อนาคต เช่น การปรับปรุงแผนพัฒนากำ�ลังการผลิต ไฟฟ้ า ของประเทศฉบั บ ใหม่ (New PDP) การ เปลี่ยนแปลงนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐ แผน พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (New AEDP) และแผนอนุรักษ์พลังงาน (New EEDP) รวมทั้ง การเปิดประชาคมอาเซียนในปี 2558 เป็นต้น นอกจากนี้ เนื่องจากธุรกิจผลิตไฟฟ้าในประเทศมี การแข่งขันสูงขึ้น ประกอบกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ภายในประเทศมี ข้ อ จำ � กั ด เพิ่ ม ขึ้ น ทำ � ให้ บ ริ ษั ท ต้ อ ง แสวงหาโอกาสการขยายธุรกิจโดยการลงทุนในต่าง ประเทศ ซึง่ บริษทั มีแผนร่วมมือกับผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายใหญ่ อื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศที่มีทั้งความพร้อมในด้าน ประสบการณ์ และฐานะทางการเงินที่ต้องการขยาย ธุรกิจในลักษณะนี้เช่นกัน
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 073
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ (1) การเติบโตไปพร้อมกับการขยายธุรกิจของบริษัทในกลุ่ม ระหว่างเตรียมยื่นขอทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าในเดือนเมษายน 2558 ปตท. (Growth along with PTT Group) ในระบบ Feed in Tariff (FIT) รวมทั้งบริษัทได้ลงนามในบันทึกความ
เนื่องจากความมีเสถียรภาพด้านไฟฟ้าและสาธารณูปโภคถือ เป็นสิง่ สำ�คัญยิง่ ต่อกระบวนการผลิตของบริษทั ต่างๆ ในกลุม่ ปตท. ดังนั้น บริษัทซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้จึงได้รับความไว้วางใจ และมีแผนทีจ่ ะขยายธุรกิจของบริษทั ให้สอดคล้องกับความต้องการ ที่เพิ่มมากขึ้นตามแผนการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศของ บริษัทในกลุ่ม ปตท. เช่น การพัฒนาโรงผลิตสาธารณูปการ 4 (“CUP-4”) เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจปิโตรเคมีของกลุ่ม ปตท. เป็นต้น (2) การเติบโตอย่างรวดเร็วผ่านการพัฒนาโครงการระยะสัน ้ หรือการเข้าซื้อกิจการ (Quick Win)
เพื่อให้บริษัทสามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าได้ในระยะสั้น บริษัทจึงมีแผนพัฒนาโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ เช่น การลงทุนต่อ เนือ่ งใน BIC สำ�หรับการก่อสร้างโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) โครงการที่ 2 และร่วมลงทุนในโรงไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) อาทิ พลังงานแสง อาทิตย์ พลังงานลม ก๊าซชีวภาพ และชีวมวล ซึ่งใช้ระยะเวลาใน การก่อสร้างค่อนข้างสั้น นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายที่จะเข้าซื้อ กิจการทัง้ หมดหรือบางส่วน (Merger & Acquisition: M&A) ใน โครงการผลิตไฟฟ้าทั้งในและต่างประเทศ ทั้งที่เริ่มดำ�เนินการเชิง พาณิชย์แล้วหรืออยู่ระหว่างการก่อสร้าง บริษทั มีโครงการทีจ่ ะดำ�เนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เพิม่ เติม และมีการเตรียมความพร้อมทีจ่ ะดำ�เนินโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ รองรับกับแผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3 ที่ให้ความสำ�คัญในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ต่างๆ ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุม กพช. เมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม 2557 ได้พจิ ารณา ขยายกรอบการรับซือ้ ไฟฟ้าจากโซล่าร์ฟาร์มของภาคเอกชนเพิม่ เติม จากเดิม 576 เมกะวัตต์ เพื่อให้ครบ 2,000 เมกะวัตต์ เป็นรับเพิ่ม 800 เมกะวัตต์ ซึง่ จะทำ�ให้มโี ซล่าฟาร์มมากกว่า 2,200 เมกะวัตต์ หากทางหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเปิดรับคำ�ขอจำ�หน่ายไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ใหม่ ทั้งในรูปแบบของโซล่าฟาร์มและโซล่า รูฟท็อป (Solar Rooftop) บริษัทหรือบริษัทในกลุ่มจะดำ�เนินการ ยื่นคำ�ขอและพร้อมที่จะดำ�เนินการ ปัจจุบนั บริษทั ได้ทำ�การศึกษาข้อมูลและพิจารณาถึงความเป็น ไปได้ในการร่วมลงทุนหรือก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาดกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าประมาณ 90 เมกะวัตต์คาดว่าจะใช้เวลา ก่อสร้างประมาณ 1 ปี หลังจากลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. หรือ กฟภ. นอกจากนี้ บริษัทยังได้ร่วมกับผู้ร่วมทุนรายหนึ่ง เพื่อสำ�รวจและประเมินศักยภาพโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์บนที่ดินของผู้ร่วมทุนรายดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อ ศึกษาโครงการโรงไฟฟ้า โดยใช้ทลายปาล์มเป็นเชื้อเพลิง มีขนาด กำ�ลังการผลิตประมาณ 7 - 10 เมกะวัตต์ ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยโครงการดังกล่าวมีระบบเชื่อมโยงสายส่งรองรับได้และอยู่
P- 074
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
เข้าใจ (MOU) เพื่อร่วมพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเบื้องต้นบริษัทได้ร่วมศึกษาโครงการโรง ไฟฟ้าโดยใช้เศษไม้ยางพาราเป็นเชือ้ เพลิง ขนาดกำ�ลังการผลิตประมาณ 6 - 9 เมกะวัตต์ (3) การเติบโตโดยการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ใน ประเทศและภูมิภาคใกล้เคียง (Big Win)
เพือ่ ให้บริษทั สามารถเพิม่ กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าได้ในระยะยาว บริษทั จึ ง มี แ ผนที่ จ ะพั ฒ นาและร่ ว มลงทุ น ในโรงไฟฟ้ า ประเภทต่ า งๆ ใน ประเทศและภูมิภาคใกล้เคียง เช่น เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา และ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นต้น โดยบริษัทได้เข้าร่วมลงทุนใน XPCL ผ่านการถือหุ้นใน NSC และเข้าซื้อหุ้น NL1PC ทัง้ นี้ บริษทั อยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าในต่างประเทศ หลายโครงการ เช่น โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อ เพลิงในตอนกลางของเมียนมาร์ขนาดประมาณ 500 เมกะวัตต์ โดย จะเป็นการร่วมทุนกับบริษัทอื่นซึ่งบริษัทมีแผนที่จะถือหุ้นประมาณ ร้อยละ 25 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ตลอดจนเจรจาเงื่อนไขโครงการกับรัฐบาลเมียนมาร์และสถาบันการ เงินที่สนับสนุนโครงการ และโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินในทาง ตอนใต้ของเมียนมาร์โดยมีขนาดในเบือ้ งต้นประมาณ 1,800 เมกะวัตต์ ซึ่งมีแนวทางที่จะผลิตไฟฟ้าเพื่อจำ�หน่ายให้แก่ Myanmar Electric Power Enterprise: MEPE และ กฟผ. โดยจะเป็นการร่วมทุนกับบริษทั อื่นซึ่งบริษัทมีแผนที่จะถือหุ้นประมาณร้อยละ 45 ปัจจุบัน ได้ลงนาม ในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับกระทรวงไฟฟ้าของรัฐบาลเมียนมาร์ เพื่อเข้าศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (4) การลงทุนในธุรกิจเกี่ยวเนื่อง (Adjacent and Support Opportunities)
นอกจากการลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้า บริษัทมีแผนขยายธุรกิจไป ยังธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เช่น 4.1 ธุรกิจระบบโครงข่ายสายส่งไฟฟ้า (Transmission and Distribution)
บริษัทเล็งเห็นว่าการเข้าถึงไฟฟ้าเป็นปัจจัยสำ �คัญในการพัฒนา สังคมและประเทศ โดยบริษทั มีความสนใจทีจ่ ะลงทุนพัฒนาและให้เช่า โครงข่ายสายส่งไฟฟ้าที่จะมุ่งเน้นตลาดในประเทศเพื่อนบ้านที่ยังมี ระบบโครงข่ายสายส่งที่ยังไม่เพียงพอและทั่วถึง ได้แก่ สปป. ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา เป็นต้น เพือ่ ให้ประชาชนและภาคอุตสาหกรรม สามารถเข้าถึงการใช้ไฟฟ้าได้อย่างครอบคลุมและเพียงพอ ซึง่ โครงการ ดังกล่าวจะช่วยสนับสนุนการลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าของบริษทั ในประเทศ นั้นๆ และจะช่วยสร้างผลตอบแทนระยะยาวให้กับบริษัท รวมทั้ง เป็นการช่วยพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในการพัฒนาประเทศนัน้ ๆ ต่อไป ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทอยู่ระหว่างการเจรจากับรัฐบาลเมียนมาร์เรื่อง โครงการสายส่งไฟฟ้าในบางพื้นที่ของประเทศ
รายงานประจำ�ปี 2557
จุดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจ 4.2 ธุรกิจบริษท ั จัดการพลังงาน (Energy Service Company: ESCO)
บริษัทมีแผนที่จะขยายไปยังธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน ซึ่งให้ บริการในด้านการอนุรักษ์พลังงาน และ/หรือ พลังงานทดแทนที่ให้ บริการครบวงจร โดยการบริการจะครอบคลุมถึงการให้ค�ำ ปรึกษา การ เสนอโครงการ การบริหารโครงการ การออกแบบทางวิศวกรรม วิเคราะห์การใช้พลังงาน ติดตัง้ อุปกรณ์ และดำ�เนินงานสำ�หรับโครงการ อนุรักษ์พลังงาน และ/หรือ พลังงานทดแทน การจัดหาแหล่งเงินทุน สำ�หรับโครงการด้านพลังงาน ตลอดจนการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการพลังงาน 4.3 ธุรกิจระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าและแบตเตอรี่ (Energy Storage System and Battery)
การขยายสู่ธุรกิจระบบกักเก็บพลังงานไม่เพียงแต่เพิ่มสายธุรกิจ ของบริษทั แต่ยงั ช่วยส่งเสริมธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าซึง่ เป็นธุรกิจ หลักของบริษัทอีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทยังมีโอกาสในการขยายสู่ ตลาดแบตเตอรี่สำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้าตามการเติบโตของตลาดยาน ยนต์ไฟฟ้าที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทได้เข้าร่วม ทุนกับ 24M ที่ตั้งอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ทำ �การวิจัยและ พัฒนาการผลิตและจำ�หน่ายแบตเตอรี่ประเภทลิเทียม-ไอออน (Lithium-Ion) เพื่อนำ�มาพัฒนาประยุกต์ใช้เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รอง สำ�หรับภาคอุตสาหรรมและการเสริมสร้างความมั่นคงในระบบจ่าย ไฟฟ้าและระบบเชื่อมโยง ด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่ที่ลดการใช้ วัตถุดิบและระยะเวลาในการผลิต ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตแบตเตอรี่ ประเภทลิเทียม-ไอออน (Lithium-Ion) ลดลงอย่างมีนัยสำ�คัญ โดยมี ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการใช้แบตเตอรีส่ งู ขึน้ คาดว่าจะ เริ่มทำ�การจำ�หน่ายแบตเตอรี่ในเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2561 นอกจากนี้ บริษัทยังมีแผนที่จะให้บริการติดตั้งและบริหารจัดการ สถานีจ่ายประจุไฟฟ้าเพื่อส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในบริเวณลาน จอดรถของห้างสรรพสินค้า อาคารสำ�นักงาน และโรงแรม เป็นต้น 4.4 โครงการพัฒนาน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
(1) เป็นแกนนำ�ในการขับเคลือ่ นธุรกิจด้านพลังงาน ไฟฟ้ า ของกลุ่ ม ปตท. (PTT Group’s Power Flagship)
จากวิ สั ย ทั ศ น์ ข องกลุ่ ม ปตท. ที่ จ ะเป็ น บริ ษั ท พลังงานไทยข้ามชาติระดับแนวหน้า กลุ่ม ปตท. จึงมี การดำ�เนินกลยุทธ์ทางธุรกิจที่หลากหลาย โดยธุรกิจ ผลิตไฟฟ้าเป็นหนึ่งในธุรกิจหลักที่กลุ่ม ปตท. ให้ความ สำ�คัญนอกเหนือจากธุรกิจน้ำ�มัน ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ และธุรกิจปิโตรเคมี ด้วยเหตุนี้ บริษัทในฐานะผู้ดำ�เนิน ธุรกิจผลิตไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท. จึงมุ่งเน้นการพัฒนา ธุรกิจให้เติบโตอย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน ควบคูไ่ ปกับการ ขยายธุรกิจไปสู่ตลาดต่างประเทศเพื่อเป็นส่วนหนึ่งใน การสนับสนุนเจตนารมณ์อันมุ่งมั่นดังกล่าวของกลุ่ม ปตท. ด้วยเจตนารมณ์ดงั กล่าว บริษทั จึงได้ถกู ก่อตัง้ ขึน้ มา เพือ่ เป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจไฟฟ้าของกลุม่ ปตท. (PTT Group’s Power Flagship) ในการพัฒนา ลงทุน และดำ�เนินการด้านธุรกิจไฟฟ้าทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบนั บริษทั มีการดำ�เนินการในการขยายธุรกิจไฟฟ้า ที่หลากหลาย ทั้งการพัฒนาโครงการใหม่ด้วยตนเอง และการขยายธุรกิจรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่ม ขึ้นของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ทั้งในและต่างประเทศ อาทิ โครงการ CUP-4 และโครงการลงทุนต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต นอกจากนี้ บริษัทจะประสานความร่วมมือในการ ต่อยอดจากความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ และ คูค่ า้ ในประเทศต่างๆ ของกลุม่ ปตท. เพือ่ สนับสนุนการ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ รวมทั้งสร้างความร่วมมือ ระหว่างบริษัทกับหน่วยงานของรัฐ และ/หรือ บริษัท อื่ น ๆ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ เพื่ อ เข้ า ร่ ว มลงทุ น ใน โครงการโรงไฟฟ้าและธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องอีกด้วย
บริษัทได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับบริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือของบริษทั จัดการและพัฒนา น้ำ�ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) เพื่อศึกษาโครงการพัฒนาน้ำ� โดย นำ�น้ำ�เสียมาบำ�บัดให้มีคุณภาพเป็นน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม เพื่อลด การใช้น้ำ�จากแหล่งน้ำ�ธรรมชาติและสนับสนุนให้การบริหารจัดการน้ำ� ในชุมชนต่างๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโครงการพัฒนาน้�ำ นี้ นอกจากจะเป็นการสร้างหลักประกันความมัน่ คงในด้านสาธารณูปโภค เพื่อการผลิตของบริษัทและลูกค้าแล้ว ยังเป็นการนำ�ทรัพยากรมา หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่อีกด้วย หากโครงการดังกล่าวสามารถเริ่ม ดำ�เนินการได้ จะเป็นโครงการต้นแบบในการพัฒนาในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ต่อไป โดยปัจจุบนั บริษทั มีแผนทีจ่ ะทำ�การศึกษาโครงการลักษณะดังกล่าวที่ พัทยา
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 075
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(2) การได้ เ ปรี ย บเชิ ง กลยุ ท ธ์ จ ากทำ � เลที่ ตั้ ง กลุ่ ม ลู ก ค้ า และชนิ ด ของเชื้ อ เพลิ ง ที่ ห ลากหลาย รวมถึงความสมดุลของสถานะการดำ�เนินการของ โรงไฟฟ้าในเครือของบริษัท
ปัจจุบันโรงไฟฟ้าของบริษัทมีการกระจายตัวในมิติ ต่างๆ ทั้งในด้านทำ�เลที่ตั้ง กลุ่มลูกค้า และชนิดของเชื้อ เพลิงซึ่งเป็นกระจายความเสี่ยงโดยธรรมชาติ ดังนี้ ในส่วนของทำ �เลที่ตั้งทั้งโรงไฟฟ้าของบริษัทและ บริษัทในเครือ มีการกระจายตัวในหลายจังหวัดของ ประเทศไทย และบางส่วนตั้งอยู่ในต่างประเทศ ซึ่งจะ ช่วยลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาการเติบโตของความ ต้องการการใช้ไฟฟ้าในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึง่ หรือในประเทศ ใดประเทศหนึ่ง ในส่วนของกลุ่มลูกค้า บริษัทและบริษัทในเครือได้ จำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ กฟผ. กฟภ. กฟน. และลูกค้าอุตสาหกรรม และจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ พลอยได้จากการผลิตไฟฟ้าให้แก่ลูกค้าอุตสาหกรรมใน บริเวณใกล้เคียง ซึง่ จะไม่เป็นการพึง่ พิงลูกค้ารายใดราย หนึ่งเพียงรายเดียว ในส่วนของชนิดของเชื้อเพลิง บริษัทมีโรงไฟฟ้าของ บริษทั และบริษทั ในเครือซึง่ เป็นทัง้ โรงไฟฟ้าพลังงานเชือ้ เพลิงฟอสซิล (Conventional Energy) โรงไฟฟ้าพลัง น้ำ� (Hydro Energy) และโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ทำ�ให้บริษัทมีรูปแบบทางธุรกิจ ทีก่ ระจายความเสีย่ งจากการพึง่ พิงเชือ้ เพลิงในการผลิต ไฟฟ้าประเภทใดประเภทหนึ่ง นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาในด้านสถานะการดำ�เนิน การของโรงไฟฟ้าในเครือของบริษัท บริษัทมีโรงไฟฟ้า ที่ เ ปิ ด ดำ � เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว จำ � นวนหนึ่ ง ที่ เ ป็ น โรงไฟฟ้าที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่บริษัทได้ทันที และ ยังมีโรงไฟฟ้าบางส่วนที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างซึ่งจะ เป็นส่วนที่เสริมสร้างการเติบโตของรายได้ให้แก่บริษัท ต่อไปในอนาคต P- 076
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
(3) โอกาสในการต่อยอดทางธุรกิจ
นอกเหนื อ จากการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต ไฟฟ้ า และ สาธารณู ป โภคซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท แล้ ว นั้ น บริษทั ยังมีนโยบายในการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เพื่อต่อยอดจากธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าอย่างต่อ เนื่ อ ง เช่ น ธุ ร กิ จ ระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า และ แบตเตอรี่ (Energy Storage System and Battery) และธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company) เป็นต้น โดยบริ ษั ท ได้ เ ข้ า ลงทุ น ใน 24M ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ที่ ดำ�เนินธุรกิจประเภทระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าและ แบตเตอรี่ ทั้งนี้ ปัจจุบัน 24M อยู่ระหว่างการวิจัยและ พั ฒ นาการผลิ ต แบตเตอรี่ ป ระเภทลิ เ ที ย ม-ไอออน (Lithium – Ion) เพื่อนำ�มาพัฒนาประยุกต์ใช้เป็นระบบ กักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรม และการ เสริ ม สร้ า งความมั่ น คงในระบบจ่ า ยไฟฟ้ า และระบบ เชื่อมโยงที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ ซึ่งจะช่วยให้แบตเตอรี่มี ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ ต่ำ � ลง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และความ ปลอดภัยมากขึน้ โดยคาดว่าจะเริม่ ต้นการผลิตและขาย สินค้าในเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2561 สำ�หรับธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน ถือเป็นการ ต่อยอดโอกาสทางธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของ บริษทั โดยบริษทั มีแผนในการให้ค�ำ ปรึกษาการออกแบบ ทางวิศวกรรม วิเคราะห์การใช้พลังงาน ติดตั้งอุปกรณ์ การจัดหาแหล่งเงินทุนสำ�หรับโครงการด้านพลังงาน และวางแผนจัดการการประหยัดพลังงานให้แก่ระบบ ต่างๆ เช่น ระบบการบริหารจัดการอาคารเพื่อการ ประหยัดพลังงาน ตลอดจนการบริการติดตัง้ และบริหาร จัดการสถานีจา่ ยประจุไฟฟ้า เพือ่ ส่งเสริมการใช้รถยนต์ ไฟฟ้าในบริเวณลานจอดรถของห้างสรรพสินค้า อาคาร สำ�นักงานและโรงแรม เป็นต้น
รายงานประจำ�ปี 2557
ผลิตภัณฑ์และการผลิต ผลิตภัณฑ์ ธุรกิจหลักของกลุม ่ บริษท ั คือ การผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. กฟภ. กฟน. และลูกค้าอุตสาหกรรม รวมถึงการผลิตและจำ�หน่ายไอน้ำ� น้ำ�เย็น และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรมซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จาก กระบวนการผลิตไฟฟ้าให้แก่ลูกค้าอุตสาหกรรม ตลอดจนจำ�หน่ายไนโตรเจนให้แก่บริษัทในกลุ่ม ปตท. โดยมีรายละเอียดแต่ละผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้ ไฟฟ้า
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
ไอน้ำ�
ไนโตรเจน
กลุม่ บริษทั ได้เข้าทำ�สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟผ. กฟภ. และ กฟน. โดยเงื่อนไขและข้อกำ�หนด รวมทั้งเงื่อนไข ด้านราคาซื้อขายไฟฟ้าในสัญญาของแต่ละโรงไฟฟ้ามี ความแตกต่างกันตามขนาดและประเภทของโรงไฟฟ้า ในกรณีจ�ำ หน่ายไฟฟ้าให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรม บริษทั ที่ ดำ�เนินกิจการโรงไฟฟ้าแต่ละแห่งจะเข้าทำ�สัญญาซื้อ ขายไฟฟ้ากับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมทีอ่ ยูใ่ นบริเวณ ใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้านัน้ ๆ โดยตรง และจัดจำ�หน่ายผ่าน ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรงสำ�หรับลูกค้าแต่ละราย
ไอน้ำ �เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการผลิตไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneratin Power Plant) ซึ่ ง จะขายให้ กั บ ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมในเขตนิ ค ม อุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ใกล้กับโรงไฟฟ้านั้นๆ อันเนื่องจาก การจัดส่งให้กบั ลูกค้ามีขอ้ จำ�กัดเรือ่ งระยะทาง โดยไอน้�ำ ที่จำ�หน่ายมีทั้งระดับแรงดันต่ำ� ปานกลาง และสูง เพื่อ ใช้ในกิจการอุตสาหกรรมด้านต่างๆ น้ำ�เย็น
น้ำ�เย็นหรือพลังงานความเย็นเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ จากระบบการผลิตไฟฟ้าร่วมกับน้ำ�เย็น หรือที่เรียกว่า ระบบ Absorption Chiller ปัจจุบัน CHPP เป็น โรงไฟฟ้ า โรงเดี ย วในกลุ่ ม บริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต และจำ � หน่ า ย น้�ำ เย็นให้กบั บริษทั ธนารักษ์พฒ ั นาทรัพย์สนิ จำ�กัด เพือ่ ใช้ในระบบให้ความเย็นของศูนย์ราชการฯ
ในการผลิ ต ไฟฟ้ า จะต้ อ งมี ก ารผลิ ต น้ำ � เพื่ อ การ อุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำ� (Clarified Water) น้ำ�ป้อน หม้อไอน้ำ� (Boiler Feed Water) และน้ำ�ปราศจาก แร่ธาตุ (Demineralized Water) เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่ง ของการผลิตไฟฟ้า น้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมทีเ่ หลือจาก การผลิตสำ�หรับใช้ในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมและ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ จะจำ�หน่ายให้กบั ลูกค้าในนิคม อุตสาหกรรม และบริเวณใกล้เคียง
ไนโตรเจนมิใช่ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการผลิตไฟฟ้า แต่ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของกลุ่ม ปตท. โดยบริ ษั ท ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนในการซื้ อ ไนโตรเจนจากบริษัท บางกอกอินดัสเตรียลแก๊ส จำ�กัด และจำ�หน่ายต่อให้กับบริษัทในกลุ่ม ปตท.
P- 078
ที่ตั้ง
กำ�ลัง การผลิต ติดตั้ง สูงสุด (2)
กำ�ลัง การผลิต ตามสัดส่วน การถือหุ้น
226
113
-
210
5
226
113
-
1,400
5
CUP-1 นิคมอุตสาหกรรม เหมราชตะวันออก (มาบตาพุด)
CUP-2 อยู่ใกล้ นิคมอุตสาหกรรม อาร์ไอแอล
CUP-3 นิคมอุตสาหกรรม เหมราชตะวันออก (มาบตาพุด)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
29
29
117
117
ราชบุรี
ศูนย์ราชการฯ กรุงเทพมหานคร
นิคมอุตสาหกรรม บางประอิน โครงการที่ 1
นิคมอุตสาหกรรม บางประอิน โครงการที่ 2
RPCL
CHPP
BIC
บริษัท
700
อ.ศรีราชา ชลบุรี
บริษัท
700
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม / โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น
บริษัท/ โครงการ
ไฟฟ้า (เมกะวัตต์)
-
20
20
-
5
5
-
-
280
280
-
170
890
-
กำ�ลัง การผลิต ตามสัดส่วน การถือหุ้น
170
890
กำ�ลัง การผลิต สูงสุด
ไอน้ำ� (3) (ตัน/ชม.)
-
-
-
-
-
-
-
12,000
กำ�ลัง การผลิต สูงสุด
-
-
12,000
-
-
-
-
-
กำ�ลัง การผลิต ตามสัดส่วน การถือหุ้น
น้ำ�เย็น (ตันความเย็น)
กำ�ลังการผลิต
-
-
-
-
770
510
720
80
กำ�ลัง การผลิต สูงสุด
(Firm)
- SPP
(Firm)
- SPP
- VSPP
-
(Non-firm)
SPP
(Non-firm)
SPP
IPP
ประเภท โรงไฟฟ้า
- IPP
770
510
720
80
กำ�ลัง การผลิต ตามสัดส่วน การถือหุ้น
น้ำ�เพื่ออุตสาหกรรม (ลบ.ม./ชม.)
-GT : GE -HRSG และ ST : อยู่ระหว่างการ คัดเลือก
-GT : GE -HRSG : VOGT -ST : Shin Nippon
-GT : Turbomach -AC : Board -EC : Trane
-GT : MHI -HRSG : MHI -STG : MHI
-AB : Macchi, Getabec
-GT : GE -HRSG : NEM -ST : Shin Nippon -AB : Getabec
-GT : GE -HRSG : Deltak -AB : Cheng Chen
-GT : Siemens -HRSG : Vogt-Nem -ST : Westinghouse
เครื่องจักร
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2585
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2581
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 10 ปี สิ้นสุดปี 2563
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2576
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 15 ปี สิ้นสุดปี 2566
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 15 ปี สิ้นสุดปี 2565
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 15 ปี สิ้นสุดปี 2564
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2568
เชื้อเพลิง
กฟผ. 90 MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2585
อุตสาหกรรมสัญญา 15 ปี สิ้นสุดปี 2568-2572
กฟผ. 90 MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2581
กฟผ. 6.4 MW สัญญา 5 ปี ต่ออัตโนมัติ ทุก 5 ปี สิ้นสุดรอบแรกปี 2558
กฟผ. 1,400 MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2576
อุตสาหกรรม 56 MW สัญญา 15 ปี สิ้นสุดรอบ แรกปี 2567-2570 และต่ออายุได้อีก 5 ปี
อุตสาหกรรม 43 MW สัญญา 15 ปี สิ้นสุดรอบแรก ปี 2569 และต่ออายุได้อก ี 5 ปี
กฟผ. 60MW สัญญา 5 ปี และต่ออายุได้อีก 5 ปี สิ้นสุดรอบแรกปี 2558
อุตสาหกรรม 124 MW สัญญา 10-15 ปี สิน้ สุดรอบแรกปี 2560-2569 และต่ออายุได้อีก 5 ปี
กฟผ. 40 MW สัญญา 5 ปี และต่ออายุได้อีก 5 ปี สิ้นสุดรอบแรกปี 2558
กฟผ. 700MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2568
สัญญาซื้อ ขายไฟฟ้า
กำ�ลังก่อสร้าง โดยเริม่ ก่อสร้าง ก.พ. 58 และ คาดว่าจะแล้ว เสร็จปี 2560
ปี 2556
ปี 2552
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2551
ปี 2549
ปี 2543
เริ่มดำ�เนิน การเชิง พานิชย์ (1)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โรงไฟฟ้า กำ�ลังการผลิตติดตั้ง/กำ�ลังการผลิตสูงสุด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทในเครือมีก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าและสาธารณูปโภคอื่น แยกตามประเภทพลังงาน ที่ใช้ในการผลิตทั้งที่ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์และอยู่ระหว่างดำ�เนินการก่อสร้าง ดังนี้
ระยอง
IRPC-CP
กาญจนบุรี/ สุพรรณบุรี
-
1,710
26
347
1,851
65
1,350
4,473
รวม
รวมทั้งหมด
1,512
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
12,000 12,000
-
-
-
-
12,000 12,000
-
153
1,512
-
9
2,080
-
-
-
-
2,080
-
-
2,080
-
-
-
-
2,080
VSPP
(Firm)
(Firm)
SPP
- SPP
-
-
-
-
-Turbine : Andriz
-Turbine : Andriz
-PV Panel : Hanhwa, JV Solar, Chint, Jinko -Inverter : SMA -Transformer : Tirathai
-GT : Siemens -HRSG : VOGT -ST : MES
-GT : Siemens -HRSG : VOGT -ST : Siemens
น้ำ�
น้ำ�
แสงอาทิตย์
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 27 ปี สิ้นสุดปี 2585
ก๊าซธรรมชาติ สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2584
EDL 65MW สัญญา 30 ปี สิ้นสุดปี 2586
กฟผ. 1,220MW EDL 60MW สัญญา 29 ปี สิ้นสุดปี 2592
กฟภ. 80MW สัญญา 5 ปี ต่ออัตโนมัติทุก 5 ปีสิ้นสุด รอบแรกปี 2561-2562
อุตสาหกรรม 60 MW สัญญา 27 ปี สิ้นสุดปี 2585
กฟผ. 180 MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2585
อุตสาหกรรมสัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2584
กฟผ. 90MW สัญญา 25 ปี สิ้นสุดปี 2584
ที่มา: บริษัท หมายเหตุ: (1) เป็นวันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของโรงไฟฟ้า ซึ่งวันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการผลิตไฟฟ้าอาจจะไม่ตรงกับวันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของโรงไฟฟ้า (2) สำ�หรับโรงไฟฟ้าที่มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. กฟภ. หรือ กฟน. เพียงรายเดียว จะแสดงกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตามที่ระบุไว้ในสัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าว (3) กำ�ลังการผลิตสูงสุดของไอน้ำ�เป็นกำ�ลังการผลิตที่รวมกำ�ลังการผลิตสำ�รองที่เตรียมไว้รองรับกรณีที่ลูกค้ามีความต้องการใช้ไอน้ำ�ในปริมาณสูงสุดแตกต่างจากปริมาณการใช้ปกติ (4) อัตราความคืบหน้าการก่อสร้าง ณ เดือนธันวาคม 2557
สปป.ลาว
NL1PC
-
สปป.ลาว
XPCL
321
-
1,710
1,472
3,043
32
300
122
240
80
30
38
125
1,285
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�
SSE1
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
รวม
เขตส่งเสริม อุตหกรรมนวนคร
NNEG
กำ�ลังก่อสร้าง คืบหน้าร้อยละ 15(4) และ คาดว่าจะแล้ว เสร็จปี 2560
กำ�ลังก่อสร้าง คืบหน้าร้อยละ 41(4) และ คาดว่าจะแล้ว เสร็จปี 2562
ปี 25562557
กำ�ลังก่อสร้าง เฟส 1 คืบหน้า ร้อยละ 92(4) และคาดว่าจะ แล้วเสร็จปี 2560
กำ�ลังก่อสร้าง คืบหน้าร้อยละ 30(4) และคาด ว่าจะแล้วเสร็จ ปี 2559
รายงานประจำ�ปี 2557
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 079
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กำ�ลังการผลิตฐาน
กำ�ลังการผลิตฐาน เป็นกำ�ลังการผลิตของโรงไฟฟ้าทีไ่ ม่รวมกำ�ลังการผลิตสำ�รอง ใช้ส�ำ หรับการคำ�นวณอัตราการใช้กำ�ลังการผลิต (Capacity Factor) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าและสาธารณูปโภคอื่นตามกำ�ลังการผลิตฐาน ดังนี้ กำ�ลังการผลิตฐาน ไฟฟ้า (เมกะวัตต์)
โรงไฟฟ้า
ไอน้ำ�(2) (ตัน/ชม.)
น้ำ�เพื่ออุตสาหกรรม(3) (ลบ.ม./ชม.)
โรงไฟฟ้าศรีราชา
700
-
80
CUP-1
226
420
540
CUP-2
101(1)
140
459
CUP-3
-
84
450
ที่มา: บริษัท หมายเหตุ: (1) กำ � ลั ง การผลิ ต ฐานของไฟฟ้ า ของ CUP-2 ในส่ ว นของ STG ที่ ติ ด ตั้ ง จำ � นวน 38 เมกะวั ต ต์ เป็ น การติ ด ตั้ ง เพื่ อ รองรั บ GTG/HRSG 3 ชุ ด ปั จ จุ บั น มี ก ารติ ด ตั้ ง GTG/HRSG เพี ย ง 2 ชุ ด ดั ง นั้ น กำ � ลั ง การผลิ ต ของ STG จำ � นวน 38 เมกะวั ต ต์ นี้ จึ ง เป็ น การติ ด ตั้ ง สำ � รองสำ � หรั บ การขยายการผลิ ต ในอนาคต กำ � ลั ง การผลิ ต ฐานของ STG จึงคิดเพียง 2 ใน 3 ของกำ�ลังผลิตติดตั้ง (2) กำ � ลั ง การผลิ ต ฐานของไอน้ำ � คื อ กำ � ลั ง การผลิ ต ที่ ไ ม่ ร วมกำ � ลั ง การผลิ ต สำ � รอง สำ � หรั บ กรณี ที่ ห ยุ ด ซ่ อ มบำ � รุ ง เครื่ อ งจั ก รและใช้ กำ � ลั ง การผลิ ต สำ � รองนี้ ท ดแทน หรื อ ในกรณี ที่ ลู ก ค้ า มี ค วามต้ อ งการใช้ ป ริ ม าณไอน้ำ � สู ง สุ ด แตกต่ า งจากปริ ม าณการใช้ ป กติ กำ � ลั ง การผลิ ต สำ � รองส่ ว นนี้ จ ะได้ รั บ ค่ า ชดเชยการสำ � รองกำ � ลั ง การผลิตตามสัญญาที่ตกลงกัน (3) กำ�ลังการผลิตฐานของน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ไม่รวมช่วงเวลาที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้ำ�ตามกระบวนการผลิต
การใช้กำ�ลังการผลิต
บริษทั มีการใช้ก�ำ ลังการผลิตไฟฟ้าและสาธารณูปโภคอืน่ โดยวัดจากค่าดัชนีก�ำ ลังการผลิต (Capactiy Factor) ซึง่ เป็นอัตราส่วน ปริมาณการผลิตจริงต่อปริมาณการผลิตฐาน ดังนี้
โรงไฟฟ้า
ผลิตภัณฑ์
โรงไฟฟ้าศรีราชา
ไฟฟ้า
78.8%
84.6%
53.1%(3)
CUP-1
ไฟฟ้า
81.8%
81.7%
84.1%
ไอน้ำ�(1)
108.2%
100.5%
118.3%
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
92.7%
81.3%
108.5%
CUP-2
ไฟฟ้า
75.7%
75.2%
78.2%
ไอน้ำ�(2)
101.0%
102.1%
104.8%
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
80.7%
73.9%
83.4%
CUP-3
ไอน้ำ�
68.6%
63.4%
58.1%
น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม
76.4%
79.7%
90.5%
ปี 2555
ปี 2556
ปี 2557
ที่มา: บริษัท หมายเหตุ: (1) CUP-1 มีดชั นีกำ�ลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 100 เนือ่ งจาก CUP-1 และ CUP-3 มีการเชือ่ มระบบส่งไอน้ำ�เข้าด้วยกัน ทำ�ให้สามารถใช้ไอน้ำ�ของ CUP-1 ไปจำ�หน่ายให้กบ ั ลูกค้า ของ CUP-3 ได้ ประกอบกับต้นทุนการผลิตไอน้ำ�ของ CUP-1 ต่ำ�กว่า CUP-3 (เนื่องจากมีการผลิตไฟฟ้า/ไอน้ำ�ด้วยระบบโคเจนเนอเรชั่น) ดังนั้น จึงดำ�เนินการผลิตไอน้ำ�จาก CUP-1 ให้ถึงจุดที่คุ้มค่าที่สุดก่อนที่จะผลิตที่ CUP-3 โดยใช้กำ�ลังการผลิตสำ�รอง ทำ�ให้การใช้กำ�ลังการผลิตไอน้ำ�ของ CUP-1 สูงกว่าร้อยละ 100 และ CUP-3 มีดัชนี กำ�ลังการผลิตที่ต่ำ�ลง (2) CUP-2 มีดัชนีกำ�ลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 100 เนื่องจากมีความต้องการไอน้ำ�สูง จึงมีการเดินเครื่องผลิตไอน้ำ�ที่กำ�ลังการผลิตสูงกว่ากำ�ลังการผลิตฐาน โดยใช้กำ�ลัง การผลิตสำ�รองส่วนหนึ่ง (3) ดัชนีกำ�ลังการผลิตของโรงไฟฟ้าศรีราชาปี 2557 ลดลง โดยมีสาเหตุหลักจากการที่ กฟผ. สั่งให้จ่ายไฟฟ้าในปริมาณที่ต่ำ�กว่าปริมาณตามสัญญาหรือสั่งให้หยุดผลิตไฟฟ้า เป็นบางช่วง เช่น เดือนเมษายนและเดือนกันยายน นอกจากนี้ บริษัทมีการซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักรตามกำ�หนดการที่แจ้งกับ กฟผ. ในเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ์ และซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักรที่เกิดความเสียหายในเดือนธันวาคม P- 080
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
กระบวนการผลิต 1. โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
ในการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงมีหลักการ คือ การแปลงพลังงานความร้อนจากก๊าซธรรมชาติไปเป็น พลังงานกลเพือ่ ขับเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้า โดยมีอปุ กรณ์หลักทีส่ �ำ คัญ คือ เครือ่ งอัดอากาศ (Compressor) เครือ่ งกังหันก๊าซ (Gas Turbine) และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า (Generator) ขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าประเภทนี้จะเริ่มจากการดูดอากาศจากภายนอกเข้าเครื่องอัดอากาศ (Compressor) จนมีความดันและอุณหภูมสิ งู ขึน้ โดยจะถูกส่งต่อไปยังห้องเผาไหม้ (Combustion Chamber) ซึง่ มีหวั ฉีดเชือ้ เพลิงก๊าซธรรมชาติ เพือ่ ให้เกิดการสันดาป ทำ�ให้เกิดก๊าซร้อนทีม่ คี วามดันและอุณหภูมสิ งู โดยก๊าซดังกล่าวจะขยายตัวผ่านกังหันก๊าซ (Gas Turbine) ทำ�ให้กังหันก๊าซหมุน เนื่องจากเครื่องกังหันก๊าซต่อบนเพลาเดียวกันกับเครื่องอัดอากาศ การหมุนของเครื่องกังหันก๊าซส่งผล ให้เครื่องอัดอากาศทำ�งาน และขณะเดียวกันจะขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าหลังจากผ่านเครื่องกังหันก๊าซก๊าซร้อนหรือไอเสียจะมี อุณหภูมลิ ดลงเหลือประมาณ 500 - 600 องศาเซลเซียสซึง่ สามารถนำ�ไปใช้ตม้ น้�ำ เพือ่ ผลิตเป็นไอน้�ำ สำ�หรับจำ�หน่ายให้ลกู ค้า อุตสาหกรรม หรือนำ�ไอน้ำ�บางส่วนไปผลิตไฟฟ้าผ่านกังหันไอน้ำ� (Steam Turbine) แผนผังอย่างง่าย แสดงตัวอย่างกระบวนการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ�ของโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น
EXHAUST WITH FIRE SUPPLEMENTARY
GENERATOR
FUEL AIR INLET
COMBUSTION CHAMBER
COMPRESSOR
BOILER FEED WATER STEAM
ELECTRICAL LOAD
TURBINE
WATER HEAT BOLLER OR HRSG (HEAT RECOVERY STEAM GENERATOR)
โรงผลิตสาธารณูปการระยองของบริษัทรับน้ำ�ที่เป็นวัตถุดิบจากนิคมอุตสาหกรรมที่โรงงานนั้นๆ ตั้งอยู่ ทั้งในรูปแบบของ น้ำ�สะอาด (Clarified Water) และน้ำ�ดิบ (Raw Water) ซึ่งน้ำ�ดิบจะต้องผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ โดยการกรอง และลดสารแขวนลอยเสียก่อนเพื่อให้เป็นน้�ำ สะอาด โดยน้ำ�สะอาดจะถูกผ่านกระบวนการเพื่อแปรสภาพให้เป็นน้�ำ ปราศจาก แร่ธาตุ (Demineralized Water) โดยสามารถทำ�ได้ด้วยทั้งกระบวนการ Reverse Osmosis ผ่านไส้กรองคุณภาพสูง หรือ กระบวนการ Ion Exchange ผ่านถังบรรจุเรซิน จากนั้นน้ำ�ที่ได้จะถูกส่งเข้าถังแลกเปลี่ยนประจุชนิดประจุบวกและประจุลบ ผสมกัน (Mixed Bed Polisher) เป็นการขจัดแร่ธาตุโลหะละลายน้�ำ ที่มีประจุไฟฟ้าที่หลงเหลืออยู่ออกจากน้ำ� ทั้งนี้ เพื่อ ประโยชน์ในการป้องกันตะกรันในกระบวนการผลิตไอน้ำ� น้�ำ ปราศจากแร่ธาตุสว่ นหนึง่ สามารถจำ�หน่ายให้กบั ลูกค้าโดยตรงเพือ่ ใช้ในกระบวนการผลิต หรือใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ และน้ำ�ปราศจากแร่ธาตุส่วนที่เหลือจะถูกนำ�ไปเพิ่มอุณหภูมิ และ แรงดัน กำ�จัดออกซิเจน และเติมสารเคมีบางชนิด เพื่อใช้เป็นน้ำ�ร้อนสำ�หรับผลิตไอน้ำ� (Boiler Feed Water) โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) 2 แห่ง คือ โรงผลิต สาธารณูปการ 1 และโรงผลิตสาธารณูปการ 2 และลงทุนในบริษทั ทีม่ โี รงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) 3 แห่ง ได้แก่ IRPC-CP BIC และ NNEG
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 081
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
2. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant)
การผลิตไฟฟ้าแบบระบบพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) มีขนั้ ตอนการผลิตคล้ายคลึงกับโรงไฟฟ้าระบบ โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) โดยก๊าซธรรมชาติจะถูกนำ�ไปเผาไหม้เพื่อขับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า และนำ�ไอเสียไป ผลิตเป็นไอน้ำ� แต่แทนที่จะจำ�หน่ายไอน้ำ�ให้โรงงานอุตสาหกรรมอื่นๆ จะนำ�ไอน้ำ�ที่ได้ไปผ่านกังหันไอน้ำ� (Steam Turbine) เพื่อ ไปหมุนเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าต่อไป โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) 1 แห่ง คือ โรงไฟฟ้าศรีราชา และลงทุนในบริษัทที่มีโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant) 1 แห่ง คือ RPCL แผนผังอย่างง่าย แสดงตัวอย่างกระบวนการผลิตไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม STEAM TURBINE CLUTCH GENERATOR STEAM EXHAUST
FUEL EXHAUST GAS AIR INLET
COMBUSTION CHAMBER
COOLING WATER CONDENSER
HEAT RECOVERY STEAM GENERA TOR
GAS TURBINE
3. โรงไฟฟ้าระบบผลิตไฟฟ้าร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant) การผลิตไฟฟ้าระบบผลิตไฟฟ้าร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling) มีกระบวนการทีค่ ล้าย
กับระบบพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle) แต่จะเปลี่ยนจากการนำ�ไอเสียไปแลกเปลี่ยนความร้อนให้กับน้ำ�เพื่อผลิตไอน้ำ� เป็นการผลิตน้ำ�เย็นโดยตรงแทน โดยผ่านกระบวนการ Absorption Chiller
แผนผังอย่างง่าย แสดงตัวอย่างกระบวนการผลิตไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้าระบบผลิตไฟฟ้าร่วมกับความเย็น GENERATOR
FUEL AIR INLET
COMBUSTION CHAMBER
COMPRESSOR ELECTRICAL LOAD
TURBINE
ABSORPTION CHILLER PROCESS
P- 082
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การทำ�งานของ Absorption Chiller เป็นหลักการของคุณสมบัติการกลายเป็นไอของน้ำ�ที่อุณหภูมิต่ำ�ลง ณ สภาพความดัน อากาศทีต่ �่ำ ลง เมือ่ มีการพ่นละอองน้�ำ ในถังควบคุมความดัน (Pressure Vessel) ทีป่ รับความดันให้ต�่ำ กว่าความดันบรรยากาศ (Vacuum Pressure) จะทำ�ให้น้ำ�ระเหยกลายเป็นไอที่อุณหภูมิประมาณ 4 - 5 องศาเซลเซียส จากนั้นจึงใช้ท่อน้ำ�ไปรับ ความเย็นจากการระเหยของละอองน้ำ�โดยกระบวนการทั้งหมดที่กล่าวถึงเกิดขึ้นในอุปกรณ์ที่เรียกว่า Absorption Chiller ซึ่ง น้ำ�เย็นเมื่อไหลผ่าน Absorption Chiller แล้วจะมีอุณหภูมิลดลงจากประมาณ 12 องศาเซลเซียส เหลือประมาณ 7 องศา เซลเซียส หลังจากนั้นบริษัทจะจำ�หน่ายน้ำ�เย็นที่ได้ให้กับผู้ซื้อเพื่อใช้กับอุปกรณ์ทำ�ความเย็นของอาคารขนาดใหญ่ต่อไป ในส่วน ของไอน้ำ�ที่ระเหยจะถูกดักจับด้วยสารละลายดูดความชื้น (Lithium Bromide) ความเข้มข้นสูง หลังจากดูดความชื้นจะทำ�ให้ ความเข้มข้นลดลงจากความชื้นที่ถูกดูดเข้าไป และเมื่อสารละลายดูดความชื้นจะคืนสู่สภาพเดิมที่ความเข้มข้นสูงโดยใช้ความ ร้อนจากไอเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตไฟฟ้ามาแยกออกโดยการระเหยกลายเป็นไอ และไอน้�ำ ที่ระเหยออกไปนั้นจะถูกลด อุณหภูมิและควบแน่นกลายเป็นน้ำ� และนำ�กลับมาใช้ในกระบวนการผลิตน้ำ�เย็นต่อไป แผนผังอย่างง่าย แสดงตัวอย่างกระบวนการผลิตน้ำ�เย็นโดยระบบ Absorption Chiller
REFRIGERANT VAPOR
CONCENTRATED LiBr SOLUTION WATER (REFRIGERANT)
DRIVING HEAT SOURCE
CHILLED WATER
DILUTE SOLUTION
ADSORBENT PUMP
โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทลงทุนในบริษัทที่ผลิตไฟฟ้าด้วยระบบผลิตไฟฟ้าร่วมกับความเย็น (Combined Heat and Power with District Cooling) 1 แห่ง คือ CHPP
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 083
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
4. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell Power Plant)
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทั้ง 10 โครงการของ SSE1 เป็นโครงการที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าประเภทเซลล์ แสงอาทิตย์ (Photovoltaic) โดยแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ประเภท Polycrystalline ซึง่ ทำ �มาจากสารกึง่ ตัวนำ� ทำ�หน้าทีเ่ ปลีย่ น พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรง การตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จะนำ�แผงเซลล์แสงอาทิตย์ต่อกัน เป็นแถวหรือเป็นชุด (Solar Array) เพือ่ ให้ได้ปริมาณพลังงานไฟฟ้าตามทีต่ อ้ งการ ต่อจากนัน้ กระแสไฟฟ้าจะถูกส่งผ่านสาย ไฟไปยัง String Combiner Box ที่ทำ�หน้าที่ในการรวมกระแสไฟฟ้าก่อนส่งไปยังเครื่องแปลงไฟฟ้า (Inverter) ซึ่งแปลง พลังงานไฟฟ้ากระแสตรงเป็นกระแสสลับเพื่อให้สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป และต้องทำ�การเพิ่มแรงดันไฟฟ้าโดยใช้ หม้อแปลงไฟฟ้าเพิ่มระดับแรงดันเป็นที่ระดับ 22 กิโลโวลต์ เพื่อให้สามารถส่งจ่ายไฟฟ้าไปในระยะทางไกลและเชื่อมต่อกับ ระบบสายจำ�หน่ายของ กฟภ. ได้ แผนผังอย่างง่าย แสดงตัวอย่างกระบวนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
ลานไกไฟฟ้า (SWITCHYARD)
เครื่องแปลงไฟฟ้า (INVERTER)
เซลล์แสงอาทิตย์ (SOLAR CELL)
5. โรงไฟฟ้าพลังน้ำ� (Hydro Power Plant)
โครงการ XPCL และ NL1PC เป็นโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ลักษณะแบบฝายน้ำ� ล้น (Run-of-river) กล่าวคือ ไม่มอี า่ งเก็บน้ำ�เป็นองค์ประกอบ แต่จะทำ�งาน โดยอาศัยปริมาณน้ำ�ที่ไหลในแม่น้ำ�ตามธรรมชาติ โดยก่อสร้างฝายกั้นน้ำ� (Weir) เพื่อให้ความสูงของระดับน้ำ�เหนือฝายและท้ายฝายต่างกัน จากนั้น จะผันน้ำ�เข้าสู่กังหันน้ำ�ที่ต่ออยู่กับแกนเพลาของเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า เมื่อน้ำ� ไหลเข้าสู่กังหันน้ำ�จะเกิดแรงดันหมุนกังหันน้ำ�และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าทำ�ให้ เกิดเป็นพลังงานไฟฟ้าส่งต่อไปยังหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) เพื่อเพิ่ม แรงดันก่อนที่จะส่งเข้าระบบส่งไฟฟ้าต่อไป
P- 084
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การจัดหาผลิตภัณฑ์ การจัดหาวัตถุดิบ วัตถุดิบหรือเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าจะแตกต่างกันไปตามประเภทของโรงไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนร่วมจะใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก และใช้น้ำ�มันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงสำ�รองในการผลิต ไฟฟ้า นอกจากนี้ ยังมีวัตถุดิบอื่นๆ เช่น น้ำ� และสารเคมีอื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ� ซึ่ง มีส่วนสำ�คัญในกระบวนการผลิตด้วยเช่นกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักของโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนร่วมและโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) โดยบริษทั และบริษทั ในกลุม่ ได้ทำ�สัญญา ซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติกบั ปตท. ซึง่ จะจัดหาก๊าซธรรมชาติ ตามปริมาณ คุณภาพ และราคาที่กำ�หนดไว้ในสัญญา ทั้งนี้ เงื่อนไขด้านราคาซื้อขายในสัญญาจะแตกต่างกัน ตามขนาดของผูผ้ ลิตไฟฟ้า กล่าวคือ ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน รายใหญ่จะมีราคาต่ำ �สุด โดยที่ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โรงไฟฟ้าโคเจนเนอ-เรชั่น (Cogeneration Power Plant) และลูกค้าอุตสาหกรรม (Industrial) จะมีราคา สูงขึ้นตามลำ�ดับ โดยอัตราค่าก๊าซธรรมชาติที่จำ�หน่าย ให้กบั ผูผ้ ลิตไฟฟ้าจะเป็นไปตามโครงสร้างราคาจำ�หน่าย ก๊าซธรรมชาติซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ราคา เนื้อก๊าซธรรมชาติและอัตราค่าผ่านท่อ โดยอัตราค่า
ก๊าซธรรมชาติดังกล่าวอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของ กพช. และ สพช. ที่ผ่านมากลุ่มบริษัทไม่เคยประสบ ปัญหาเกีย่ วกับการจัดส่งก๊าซธรรมชาติของ ปตท. อย่าง มีนัยสำ�คัญ ทั้งนี้ บริษัทมีค่าใช้จ่ายการจัดซื้อก๊าซธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 97.56 และ 95.76 ของต้นทุนวัตถุดิบ ทั้งหมดของบริษัทสำ�หรับปี 2556 และปี 2557 ตาม ลำ�ดับ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
2. น้ำ�มันดีเซลและไอน้ำ�
4. สารเคมี
น้�ำ มันดีเซลเป็นเชือ้ เพลิงสำ�หรับเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้า กังหันก๊าซในการผลิตไฟฟ้า แม้ว่าโรงไฟฟ้าตามสัญญา โครงการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ของบริษัทจะถูกออกแบบมาให้สามารถใช้น้ำ�มัน ดีเซลได้แต่น้ำ�มันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาสูงมากจึง ถูกใช้ให้เป็นเชือ้ เพลิงสำ�รอง โดยน้�ำ มันดีเซลจะถูกใช้เป็น เชือ้ เพลิงในการทดสอบความพร้อมของการใช้เชือ้ เพลิง สำ�รองนี้ในการเดินเครื่องโรงไฟฟ้า และใช้เป็นเชื้อเพลิง ในกรณี ที่ ป ริ ม าณเชื้ อ เพลิ ง หลั ก ไม่ เ พี ย งพอ โดยที่ ผ่านมากลุ่มบริษัทไม่เคยประสบปัญหาการขาดแคลน ก๊าซธรรมชาติอย่างรุนแรง จึงใช้น้ำ �มันดีเซลในการ ทดสอบความพร้อมในการเดินเครื่องเท่านั้น สำ�หรับไอน้ำ� ในบางกรณีที่เหมาะสมในการบริหาร จัดการต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� บริษัทจะซื้อ ไอน้�ำ จากลูกค้าอุตสาหกรรมบางรายทีม่ ไี อน้�ำ เหลือจาก กระบวนการผลิตเพือ่ จำ�หน่ายให้แก่ลกู ค้าอุตสาหกรรม รายอื่นที่มีความต้องการไอน้ำ� ทั้งนี้ บริษัทมีค่าใช้จ่ายการจัดซื้อน้ำ�มันดีเซลและ ไอน้ำ� คิดเป็นร้อยละ 0.61 และ 1.95 ของต้นทุน วัตถุดบิ ทัง้ หมดของบริษทั สำ�หรับปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ
โรงไฟฟ้าจำ�เป็นต้องใช้สารเคมีในการปรับคุณภาพ น้ำ�ปรับสภาพน้ำ �เสียควบคุมค่าความเป็นกรด–ด่าง กำ � จั ด ออกซิ เ จนและกรองแร่ ธ าตุ อ อกจากน้ำ � เพื่ อ ป้องกันการกัดกร่อนของอุปกรณ์และคงประสิทธิภาพ การทำ�งานของระบบผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� โดยสารเคมีที่ ใช้ในกระบวนการดังกล่าว เช่น กรดไฮโดรคลอริก (HCl) กรดซัลฟูลริก (H2SO4) โซเดียมไฮดร็อกไซด์ (NaOH) และโพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ (PAC) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังใช้แอมโมเนียมไฮดร็อกไซด์ (NH4OH) ในการกำ�จัด ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ที่อยู่ในไอเสียจากการ เผาไหม้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อเป็นการลดมลสารที่ปลาย ปล่องไอเสีย ซึ่งสารเคมีดังกล่าวข้างต้นสามารถซื้อได้ จากผู้ผลิตภายในประเทศ โดยที่ผ่านมากลุ่มบริษัทไม่ เคยประสบปัญหาเกีย่ วกับการจัดหาสารเคมีอย่างมีนยั สำ�คัญ ทั้งนี้ บริษัทมีค่าใช้จ่ายการจัดซื้อสารเคมีคิดเป็น ร้อยละ 0.26 และ 0.29 ของต้นทุนวัตถุดบิ ทัง้ หมดของ บริษัทสำ�หรับปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ
3. น้ำ�ดิบและสาธารณูปโภคอื่นๆ
การจัดหาน้�ำ ดิบและสาธารณูปโภคจะเป็นการเข้าทำ� สัญญาระหว่างโรงไฟฟ้าแต่ละแห่งกับนิคมอุตสาหกรรม ที่โรงไฟฟ้านั้นๆ ตั้งอยู่ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทและบริษัทใน กลุ่มไม่เคยประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดหาน้ำ�ดิบและ สาธารณูปโภคของนิคมอุตสาหกรรมแต่ละแห่งอย่าง มีนัยสำ�คัญ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท มี ค่ า ใช้ จ่ า ยการจั ด ซื้ อ น้ำ � ดิ บ และ สาธารณูปโภคคิดเป็นร้อยละ 0.82 และ 0.90 ของ ต้นทุนวัตถุดิบทั้งหมดของบริษัทสำ�หรับปี 2556 และ ปี 2557 ตามลำ�ดับ
P- 086
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
5. แสงอาทิตย์
6. น้ำ�
แหล่งพลังงานที่สำ �คัญที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ คือ แสงอาทิตย์ ซึ่งไม่มี ต้นทุนค่าใช้จ่าย แต่เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่ได้มาตาม ธรรมชาติจงึ มีขอ้ จำ�กัดในการนำ�มาใช้ เพราะแสงอาทิตย์ มีเฉพาะเวลากลางวัน และความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่ แน่นอนขึ้นอยู่กับเวลา ฤดูกาล สภาพทางภูมิศาสตร์ และสภาพภูมิอากาศ ดังนั้น การเลือกทำ�เลที่ตั้งของ โรงไฟฟ้าจึงส่งผลให้กำ�ลังการผลิตแตกต่างกันไปตาม ความเข้มของแสงที่ต่างกัน
ปัจจุบัน มีโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรีที่อยู่ ระหว่างการก่อสร้างโดยแหล่งพลังงานสำ�คัญในการ ผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังน้ำ� คือ น้ำ�ที่ไหลในแม่น้ำ� ตามธรรมชาติแม้ว่าน้ำ�ที่ใช้สำ�หรับการผลิตไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�จะได้มาจากธรรมชาติและไม่มีต้นทุน ค่ า ใช้ จ่ า ย แต่ ป ริ ม าณน้ำ � ในแต่ ล ะช่ ว งเวลามี ค วาม ไม่แน่นอนและไม่สามารถคาดการณ์ได้ โดยขึ้นอยู่กับ สภาพอากาศและฤดูกาลในแต่ละช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม บริ ษั ท ได้ มี ก ารศึ ก ษาความเพี ย งพอของปริ ม าณน้ำ � ก่อนการออกแบบก่อสร้างเขื่อนของโรงไฟฟ้าดังกล่าว
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ต้นทุนวัตถุดิบของกลุ่มบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2556 และ 2557 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม(1)
ต้นทุนขายสินค้า และต้นทุนการให้บริการ
2555 ล้านบาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2556 %
ล้านบาท
2557 %
ล้านบาท
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม(1)
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2556 %
ล้านบาท
2557 %
ล้านบาท
%
ต้นทุนวัตถุดิบ
20,514
90.48%
21,837
90.11%
18,853
87.88%
21,838
90.11%
18,924
87.73%
ก๊าซธรรมชาติ
20,048
88.43%
21,305
87.91%
18,121
84.46%
21,305
87.90%
18,122
84.01%
26
0.11%
133
0.55%
369
1.72%
133
0.55%
369
1.71%
171
0.75%
179
0.74%
171
0.79%
179
0.74%
171
0.79%
52
0.23%
56
0.23%
54
0.25%
56
0.23%
54
0.25%
อื่นๆ
218
0.96%
164
0.68%
139
0.65%
165
0.68%
209
0.97%
ค่าบำ�รุงรักษา
666
2.94%
770
3.18%
1,022
4.76%
770
3.18%
1,024
4.75%
ค่าเสื่อมราคา
972
4.29%
1,034
4.27%
1,004
4.68%
1,035
4.27%
1,025
4.75%
อื่นๆ(2)
520
2.29%
593
2.45%
576
2.68%
593
2.45%
597
2.77%
น้ำ�มันดีเซลและไอน้ำ� น้ำ�
สารเคมี
รวม ที่มา: หมายเหตุ: (1) (2)
P- 088
22,672 100.00%
24,234 100.00%
21,454 100.00%
24,236 100.00%
21,571 100.00%
บริษัท ข้อมูลทางการเงินเสมือนจัดทำ�ขึ้นเพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท โดยเสมือนว่าบริษัทได้เกิดการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 และเสมือนว่าเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มบริษัทก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยู่ภายใต้ การควบคุมของ ปตท. ทั้งนี้ เสมือนว่าบริษัทได้รวมงบการเงินของ PTTUT และ IPT สำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2556 และงบการเงินของบริษัทสำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อแสดงเป็นงบการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อื่นๆ ได้แก่ เงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ค่าไฟฟ้ารับซื้อจาก กฟภ. และค่าไฟฟ้าสำ�รอง
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2557
การบริหารจัดการโครงการไฟฟ้า บริษัทได้มีการบริหารจัดการโครงการโรงไฟฟ้าต่างๆ ให้มี ประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มความมั่นคง (Reliability) ของระบบโดยมีกลยุทธ์หลักต่างๆ ดังนี้ 1. การก่อสร้างโรงไฟฟ้า
บริษัทมีทีมผู้บริหารที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค และประสบการณ์ในอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า โดยให้ความสำ�คัญ ตั้งแต่การออกแบบและก่อสร้าง กระบวนการผลิตและจำ�หน่าย ไฟฟ้าและไอน้ำ� เพื่อเตรียมการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า รวมทั้ง มีทีมที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคในการให้คำ�ปรึกษา ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า การคั ด เลื อ กผู้ รั บ เหมาในการก่ อ สร้ า ง บริ ษั ท จะทำ � ผ่ า น กระบวนการจัดจ้างที่รัดกุม โดยมีข้อกำ�หนดและขอบเขตงาน (Term of Reference: TOR) เพื่อจัดจ้างผู้รับเหมาเป็นสัญญา การจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จที่มีความน่าเชื่อถือ มีประสบการณ์ มี ความชำ�นาญ มีผลงานในอดีตทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ และมีฐานะทางการ เงินมั่นคง รวมทั้งมีเงื่อนไขให้ผู้รับเหมามีการวางหลักประกัน การก่อสร้าง เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแต่ละแห่งจะเสร็จ ตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามเป้าหมาย โดยมี ที ม ที่ ป รึ ก ษาทางเทคนิ ค ทำ � การตรวจสอบและประเมิ น โครงการในระหว่างก่อสร้าง เพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับเหมาได้ก่อสร้าง ส่งมอบงานและดำ�เนินการได้ตามเงื่อนไขสัญญาการก่อสร้าง สำ �หรั บ การจั ดหาอุปกรณ์ในการผลิตไฟฟ้า บริ ษั ท จั ด ให้ มี การเลือกใช้อปุ กรณ์และเทคโนโลยีจากผูผ้ ลิตทีเ่ ป็นผูน้ �ำ ในอุปกรณ์ นั้นๆ ทั้งด้านเทคโนโลยี คุณภาพ และอายุการใช้งาน นอกจากนี้ ยังพิจารณาคุณสมบัติของผู้จัดจำ�หน่าย เช่น สถานะทางการเงิน การดูแลและรับประกันคุณภาพสินค้าอีกด้วย 2. การบริหารจัดการการดำ�เนินงานโรงไฟฟ้า
บริษัทให้ความสำ�คัญกับความมั่นคง (Reliability) ของระบบ การผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้�ำ ให้กบั ลูกค้า รวมทัง้ มีแผนการ ซ่อมแซมบำ�รุงรักษาและจัดทำ�สัญญาซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักร หลั ก จากผู้ ผ ลิ ต โดยตรง ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มี ค วามพร้ อ มจ่ า ย (Availability) เพิ่มขึ้น และระยะเวลาการหยุดเพื่อซ่อมแซม (Down Time) ลดลงเพื่อตอบสนองความต้องการไฟฟ้าและไอน้ำ� ของลูกค้าได้ตามเป้าหมาย นอกจากนี้ การเพิ่มประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นแนวทาง หนึ่ ง ที่ สำ � คั ญ ในการบริ ห ารดำ � เนิ น งานโรงไฟฟ้ า ซึ่ ง บริ ษั ท มี การวางแผนการเดินเครื่องจักรแต่ละชุดให้เหมาะสม และตรวจ สอบการทำ�งานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้มีการใช้ เชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน การผลิต และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท
3. การริเริ่มโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ๆ
ตามที่บริษัทมีเป้าหมายในการเป็นผู้นำ�ในธุรกิจไฟฟ้าด้วยการ ขยายการลงทุนและพัฒนาโครงการทั้งในและต่างประเทศนั้น บริษัทได้จัดให้มีการศึกษาเพื่อพัฒนาโรงไฟฟ้าหรือเข้าร่วมลงทุน กับผู้ประกอบการรายอื่นอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทมีการกำ�หนด มาตรการในการคัดเลือกโครงการลงทุนและผู้ร่วมลงทุนอย่าง รอบคอบ ทั้งการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น นโยบายด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมของประเทศทีจ่ ะร่วมลงทุน และนำ�สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนเครือ่ งจักรอุปกรณ์ และต้นทุนการก่อสร้าง รวมถึงกฎหมาย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาวิ เ คราะห์ ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการลงทุ น และ ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุนนั้นๆ นอกจากนี้ ยังมี การวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย แวดล้ อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป (Sensitivity Analysis) ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับโครงการดังกล่าว เพื่อเตรียม หาแนวทางป้องกันความเสี่ยงไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่บริษัทจะมีการเข้าร่วมทุนในโครงการใหม่ๆ บริษัทให้ ความระมัดระวังในการพิจารณาการคัดเลือกผู้ร่วมลงทุน โดย พิจารณาจากชื่อเสียง ความรู้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ ความมัน่ คงและฐานะทางการเงิน รวมทัง้ ผลการดำ�เนินงานทีผ่ า่ น มาในอดีต เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถดำ�เนินธุรกิจร่วมกันอย่าง มีประสิทธิภาพในระยะยาว ลักษณะการประกอบธุรกิจ
P- 089
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้า ในประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2557
ภาวะอุตสาหกรรม ความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด จากการศึกษาของ International Energy Agency พบว่าความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าระหว่างปี 2533 – ปี 2554 ได้เพิ่มขึ้นกว่า 5 เท่าเป็นกว่า 700 พันล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ซึ่งประเทศที่ยังไม่พัฒนามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหัวค่อนข้างต่ำ�เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ในภูมิภาคเอเชียที่มีความก้าวหน้าทางภาวะเศรษฐกิจมากกว่า โดยในปี 2554 สปป.ลาว และเมียนมาร์มีการใช้ไฟฟ้าต่อหัว ต่ำ�กว่า 2 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ในขณะที่ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้มีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหัวมากกว่า 8 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง และไทยและมาเลเซียมีการใช้ไฟฟ้าต่อหัวอยู่ที่ 2.2 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง และ 4.5 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ มีการคาดการณ์ว่าความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าในภูมิภาคจะเติบโตขึ้นอีกจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นของภาคอุตสาหกรรม และการเติบโตของประชากร รวมทั้งการรวมกันของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 โดย Asian Development Bank คาดว่าความต้องการไฟฟ้าในภูมิภาคใกล้เคียงจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ร้อยละประมาณ 5 ต่อปี ระหว่างปี 2553 - ปี 2578 ภาพแสดงความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวม ต่อหัวของประเทศในเอเชียในปี 2555 เมกะวัตต์
60,000 50,000 40,000 30,000
Japan Korea
20,000 10,000
China
2,000
Myanmar Philippines
Vietnam Thailand Cambodia
ASEAN Average OECD
Malaysia
Brunei Darussalam
Singapore Indonesia
ที่มา: International Energy Agency
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
kWh/Capita
จากการศึกษาของ International Energy Agency พบว่า ในปี 2555 ไทยเป็นประเทศที่มีอุปสงค์การใช้ ไฟฟ้าเป็นอันดับสองในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีการพึ่งพิงการนำ�เข้าพลังงานไฟฟ้าค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน นอกจากนี้ ความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้ามีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ โดย ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจะแปรผันตามอัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ ไทย จากการศึ ก ษาของสภาพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) พบว่า เศรษฐกิจ ไทยมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปัจจัยหนุนจาก การปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ของเศรษฐกิ จ โลก การที่ รั ฐ บาลมี แผนขยายการลงทุนในด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึงโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศ โดยคาดว่าความต้องการใช้ไฟฟ้า ของไทยภายหลังการเปิดประชาคมอาเซียนจะเติบโต เฉลีย่ ร้อยละ 5 จนถึงปี 2563 ซึง่ แรงขับเคลือ่ นหลักจะ มาจากพื้นที่เขตอุตสาหกรรมใหม่ที่จะเกิดขึ้น ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
P- 091
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าของไทย ความต้องการพลังงานไฟฟ้าของไทยเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของจำ�นวนประชากรและการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจเป็นหลักโดย กฟผ. จะต้องจัดให้มีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมสูงกว่าจำ�นวนความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดเสมอ โดยความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด คือ ปริมาณไฟฟ้าที่ผู้บริโภคใช้รวมกันทั้งระบบสูงสุด ณ วันใดวันหนึ่งของแต่ละปีเพื่อรักษา เสถียรภาพของระบบไฟฟ้าในประเทศให้มีความมั่นคง ซึ่งความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดเป็นปัจจัยที่มีผลต่อนโยบายการผลิต และรับซื้อไฟฟ้าเพิ่มของประเทศ ทัง้ นี้ จากสถิตยิ อ้ นหลังพบว่า ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในประเทศไทยเพิม่ ขึ้นจาก 16,681 เมกะวัตต์ ในปี 2545 เป็น 26,942 เมกะวัตต์ ในปี 2557 คิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ร้อยละ 4.1 ต่อปี ขณะที่กำ�ลังการผลิตติดตั้งเพิ่มขึ้นจาก 23,755 เมกะวัตต์ ในปี 2545 เป็น 35,668 เมกะวัตต์ ในปี 2557 คิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ร้อยละ 3.4 ต่อปี ภาพแสดงสถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด และกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าติดตั้งรวมทั้งระบบ ปี 2541 – ปี 2557
ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด กำลังผลิตติดตั้งระบบ
เมกะวัตต์ (MW)
40,000
30,000
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
20,000
10,000
2557
2556
2555
2554
2553
2552
2551
2550
2549
2548
2547
2546
2545
2544
2543
2542
2541
0
รายงานประจำ�ปี 2557
ภาพแสดงความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 จนถึงเดือนธันวาคม 2557 เมกะวัตต์
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
28,000 26,942 เมกะวัตต์ 26,598 เมกะวัตต์ 26,000 2557 24,000
2555 2556
22,000 2554 20,000
ที่ผ่านมา กฟผ. ได้ทำ�การจัดหาพลังงานไฟฟ้าจากกำ�ลังการผลิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดย ณ เดือนมกราคม 2558 กฟผ. เป็นผู้ดำ�เนินการด้านการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนประมาณร้อยละ 45 ของกำ�ลัง การผลิตรวมทัง้ ระบบ ส่วนกำ�ลังการผลิตอีกประมาณร้อยละ 55 เป็นการผลิตโดยภาคเอกชนและการนำ�เข้า
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ภาพแสดงสัดส่วนกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าแยกตามประเภทผู้ผลิต ณ เดือนมกราคม 2558
7%
นำเข้า
10%
SPP
38%
IPP
45%
กฟผ.
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างของกิจการไฟฟ้าของไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแลกิจการไฟฟ้าของไทยประกอบด้วย กระทรวงพลังงานซึ่งเป็นผู้กำ�หนดนโยบายพลังงานต่างๆ ของประเทศ ขณะที่ สนพ. เป็นผู้บริหารจัดการนโยบายและแผน รวมทั้งมาตรการด้านพลังงานของประเทศ และ กกพ.ทำ�หน้าที่กำ�กับ ดูแลการประกอบกิจการพลังงานในประเทศ โครงสร้างกิจการไฟฟ้าของไทยแบ่งได้เป็น 3 ประเภทหลัก ดังนี้ ภาพแสดงระบบการผลิต ระบบสายส่ง และระบบจำ�หน่ายไฟฟ้าของไทย
ระบบผลิตไฟฟ้า
ระบบสายส่ง
ระบบจำหน่าย
กฟผ. นำเข้า
กฟน.
VSPP
กฟภ. SPP
ส่งออก ภาคครัวเรือน
กฟผ.
IPP
ผู้บริโภค
ภาค อุตสาหกรรม
กฟผ. ทำ�หน้าที่เป็นผู้ซื้อไฟฟ้าหลัก ผู้ดูแลระบบไฟฟ้าหลัก และผู้ขายไฟฟ้าแบบขายส่งหลักของประเทศ โดย กฟน. และ กฟภ. เป็น ผู้จำ�หน่ายไฟฟ้าแต่เพียงผู้เดียวในเขตนครหลวงและภูมิภาค ตามลำ�ดับ (ยกเว้นลูกค้าอุตสาหกรรมรายใหญ่บางรายที่ซื้อไฟฟ้าโดยตรง จาก กฟผ. ด้วยการเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. และซื้อโดยตรงจากผู้ผลิตเอกชน) (1) ระบบผลิตไฟฟ้า การจำ�หน่ายไฟฟ้าในไทยเป็นระบบผู้ซื้อรายเดียว (Enhanced Single Buyer Model: ESB) โดยมี กฟผ. เป็นผู้ซื้อไฟฟ้า รายเดียว (Sole Purchaser) และรับผิดชอบในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าในประเทศ ซึ่งโครงสร้างดังกล่าว มีจุดเด่นที่ กฟผ. เป็นหน่วยงานภาครัฐที่มิได้แสวงหาผลกำ�ไรและดูแลรักษาความมั่นคงของระบบไฟฟ้าของประเทศ
P- 094
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2557
ผู้ผลิตไฟฟ้าในไทยประกอบด้วย 4 กลุ่มใหญ่ ดังนี้ 1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
กฟผ. เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุดในประเทศ โดยมีกำ�ลังการผลิตติดตั้ง ณ เดือนมกราคม 2558 รวม 15,482.13 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 44.63 ของกำ�ลังการผลิตรวมทั้งระบบและจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 4,457.9 เมกะวัตต์ จากโครงการโรงไฟฟ้า ที่ก่อสร้างระหว่างปี 2557 – ปี 2562 ดังนี้ โครงการ
กำ�ลังการผลิต (เมกะวัตต์)
กำ�หนดแล้วเสร็จ
เชื้อเพลิง
โรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4
768.7
2557
ก๊าซธรรมชาติ
โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2
782.2
2557
ก๊าซธรรมชาติ
โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2
848.3
2559
ก๊าซธรรมชาติ
โรงไฟฟ้าทดแทนแม่เมาะเครื่องที่ 4-7
540.0
2561
ลิกไนต์
โรงไฟฟ้าถ่านหิน
800.0
2562
ถ่านหิน
โรงไฟฟ้าพลังงานทางเลือก
718.7
2557-2562
ลม แสงอาทิตย์ น้ำ� ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
2. ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่หรือ IPP (Independent Power Producer)
ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระจะเป็นผู้ผลิตเอกชนที่ใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ในการผลิตไฟฟ้า โดยมีกำ�ลังผลิตไฟฟ้าที่ขายเข้าระบบไม่ต่ำ� กว่า 90 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ จากการส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในธุรกิจไฟฟ้ามากขึ้น ภาครัฐจึงได้ริเริ่มโครงการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) โดยมี กฟผ. เป็นผู้รับซื้อไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้าของ IPP ทั้งหมด ภายใต้สัญญา ซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว 25 ปี ทั้งนี้ ณ เดือนมกราคม 2558 มีโรงไฟฟ้า IPP จำ�นวน 11 โครงการ มีกำ�ลังการผลิตรวม 16,166.7 เมกะวัตต์ ดังนี้ โรงไฟฟ้าที่ดำ�เนินการเชิงพานิชย์แล้ว บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำ�กัด
กำ�ลังการผลิต (เมกะวัตต์)
สัดส่วนต่อกำ�ลัง การผลิตทั้งระบบ (ร้อยละ)
เชื้อเพลิง
748.2
2.16
ก๊าซธรรมชาติ
3,481.0
10.03
ก๊าซธรรมชาติ
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน)
700.0
2.02
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท ไตรเอนเนอจี้ จำ�กัด
700.0
2.02
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท โกลว์ ไอพีพี จำ�กัด
713.0
2.06
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท อีสเทิร์น เพาเวอร์ แอนด์ อีเล็คทริค จำ�กัด
350.0
1.01
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จำ�กัด
1,346.5
3.88
ถ่านหิน
บริษัท กัลฟ์เพาเวอร์เจนเนอเรชั่น จำ�กัด
1,468.0
4.23
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จำ�กัด (ชุดที่ 1)
1,400.0
4.04
ก๊าซธรรมชาติ
660.0
1.90
ถ่านหิน
1,600.0
4.61
ก๊าซธรรมชาติ
13,166.7
37.96
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท เก็คโค่-วัน จำ�กัด บริษัท กัลฟ์ เจพี หนองแซง จำ�กัด ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP)
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
P- 095
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม มีโครงการ IPP จำ�นวน 5 โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง มีกำ�ลังการผลิตรวม 8,070 เมกะวัตต์ ดังนี้ โครงการ
กำ�ลังการผลิต (เมกะวัตต์)
กำ�หนดแล้วเสร็จ
เชื้อเพลิง
บริษัท กัลฟ์ เจพี ยูที จํากัด
1,600
2558
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จํากัด (มหาชน)
930
2559
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย จํากัด
540
2560
ถ่านหิน
บริษัท กัลฟ์ เอสอาร์ซี จํากัด
2,500
2565
ก๊าซธรรมชาติ
บริษัท กัลฟ์ พีดี จํากัด
2,500
2567
ก๊าซธรรมชาติ
กำ�ลังการผลิตรวม
8,070 ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
3. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กหรือ SPP (Small Power Producer)
จากการส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ภาครัฐจึงได้ริเริ่มโครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP เข้าระบบของ กฟผ. ณ จุดเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า ตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์แต่ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ต่อสัญญา โดยมีเงื่อนไขว่าต้อง ใช้ระบบโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration) หรือใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังลม พลังน้ำ�ขนาดเล็ก พลังงานจากกากหรือเศษวัสดุจากการเกษตร เป็นต้น โดยสัญญาซื้อขายไฟฟ้าที่ทำ�กับ กฟผ. จะมี 2 ลักษณะ คือ สัญญาซื้อ ขายประเภท Firm มีอายุสัญญา 5 ปีขึ้นไป โดย กฟผ. จ่ายค่า CP และ EP ในขณะที่สัญญาซื้อขายประเภท Non-firm มีอายุ สัญญาไม่เกิน 5 ปี โดยผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะค่า EP ทัง้ นี้ กฟผ. จะรับซือ้ พลังงานไฟฟ้าในปริมาณไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 80 ของความพร้อมของ SPP ในรอบหนึง่ ปี หากรับซือ้ ไม่ครบ ในปีดังกล่าว กฟผ. จะรับซื้อให้ครบในปีถัดไป โดยตามแผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ได้ก�ำ หนดว่า ในระหว่าง ปี 2557 – ปี 2562 จะมีการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP รวมทั้งสิ้น 5,258.1 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็นปริมาณรับซื้อไฟฟ้าแบบ สัญญา Firm ระบบโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration System) จำ�นวน 3,600 เมกะวัตต์ และปริมาณรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนจำ�นวน 1,658.1 เมกะวัตต์
4. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กมากหรือ VSPP (Very Small Power Producer)
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติได้ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือกและการผลิตไฟฟ้าด้วยระบบ โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration) โดยมีการใช้มาตรการจูงใจด้านราคาผ่านการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP โดยกำ�หนดส่วนเพิ่ม อัตราการรับซื้อไฟฟ้า (Adder) จากราคารับซื้อไฟฟ้าตามระเบียบ VSPP ตามประเภทเชื้อเพลิงและเทคโนโลยี โดย VSPP จะ จำ�หน่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟน. หรือ กฟภ. ไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ต่อสัญญา ณ จุดเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า โดยมีเงื่อนไขว่า ต้องใช้ระบบโคเจนเนอเรชั่นหรือใช้พลังงานหมุนเวียน
P- 096
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2557
นอกเหนือจากผู้ผลิตไฟฟ้าในประเทศ 4 กลุ่มข้างต้น ทาง กฟผ. มีการนำ�เข้าพลังงานไฟฟ้าจากต่างประเทศ ดังนี้ 1. สปป.ลาว
โรงไฟฟ้าใน สปป.ลาว ส่วนใหญ่ใช้พลังน้ำ�ในการผลิตไฟฟ้า ซึง่ พลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้รอ้ ยละ 80 จะถูกส่งออกไปยังประเทศ เพื่ อ นบ้ า นรวมถึ ง ไทย เนื่ อ งจากความต้ อ งการใช้ ไ ฟฟ้ า ของ สปป.ลาว ถูกจำ�กัดด้วยจำ�นวนประชากรในประเทศ ปัจจุบัน กฟผ. มีการรับซื้อไฟฟ้าจาก สปป.ลาว จํานวน 4 โครงการ มีกําลังผลิตตามสัญญารวม 2,105 เมกะวัตต์ และ ตามแผน PDP ระหว่างปี 2557 - ปี 2562 จะมีการรับซือ้ ไฟฟ้า จาก สปป.ลาว เพิ่มขึ้นอีก 3,316 เมกะวัตต์ ดังนี้
กำ�ลังการผลิต (เมกะวัตต์)
โครงการ
เชื้อเพลิง
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�เทิน-หินบุน
น้ำ�
434
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ห้วยเฮาะ
น้ำ�
126
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�น้ำ�เทิน 2
น้ำ�
948
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�น้ำ�งึม 2
น้ำ�
597
ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้ว
โครงการหงสาลิกไนต์
ถ่านหิน
โครงการเซเปียน-เซนํ้าน้อย
กำ�หนดแล้วเสร็จ
1,473
2559
น้ำ�
354
2562
โครงการนํ้าเงี้ยบ 1
น้ำ�
269
2562
โครงการไซยะบุรี
น้ำ�
1,220
2562 ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
2. มาเลเซีย
ปัจจุบัน กฟผ. มีการซื้อขายพลังงานไฟฟ้ากับการไฟฟ้ามาเลเซีย (Tenaga Nasional Berhad หรือ TNB) ผ่านจุด เชื่อมโยงโดยระบบสายส่งกระแสตรงความดันสูง 2 จุด คือ สถานีไฟฟ้าบูกิตเกตรี จำ�นวน 30 เมกะวัตต์ ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะ ทำ�สัญญาตกลงราคาขายไฟฟ้าล่วงหน้าเดือนต่อเดือน และสถานีไฟฟ้ากูรนุ ปริมาณไม่เกิน 300 เมกะวัตต์ โดยเป็นการซือ้ ขาย ไฟฟ้าแบบ SPP ในลักษณะ Non-firm โดยคิดราคาเป็นขั้นบันไดตามปริมาณซื้อขาย 3. อื่นๆ
ไทยได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจที่จะรับซื้อไฟฟ้าจากจีนจำ�นวน 3,000 เมกะวัตต์ ภายในปี 2560 และลงนามในบันทึก ความเข้าใจในการซื้อไฟฟ้าจากกัมพูชาซึ่งยังไม่ได้ระบุถึงปริมาณที่จะซื้อขายไฟฟ้าระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังมีการลงนามใน บันทึกความเข้าใจที่จะรับซื้อไฟฟ้าจากเมียนมาร์อีกด้วย ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
P- 097
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(2) ระบบสายส่ง ระบบส่งไฟฟ้าประกอบด้วยสายส่งไฟฟ้าแรงสูง (Transmission Lines) และสถานีไฟฟ้า (Substations) เป็นส่วนสำ �คัญ ในการส่งพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งผลิตมาสูผ่ ใู้ ช้ไฟ สายส่งไฟฟ้าเปรียบเสมือนเส้นทางลำ�เลียงพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งผลิต ไปยังอีกจุดหนึ่งที่อยู่ไกลออกไป โดยมีสถานีไฟฟ้าเป็นจุดที่เชื่อมโยงระหว่างสายส่งไฟฟ้าจากจุดต่างๆ ซึ่งเป็นจุดที่แปลง ระดับแรงดันไฟฟ้าจากแรงดันสูงทีส่ ง่ ไปในสายส่งลงเป็นแรงดันต่�ำ เพือ่ ส่งจ่ายไปยังผูใ้ ช้ไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้ามีความซับซ้อน มากเพราะว่ามีสายส่งไฟฟ้าหลายเส้น มีสถานีไฟฟ้าหลายแห่งเชื่อมโยงรับ-ส่งพลังงานไฟฟ้าทั่วถึงกันเป็นร่างแห เรียกว่า Network หรือ Grid ระบบส่งไฟฟ้าหลักที่เชื่อมโยงการจ่ายไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าต่างๆ รวมทั้งสายส่ง เชื่อมโยงระหว่างระบบไฟฟ้าในประเทศนี้ เรียกว่า Main Grid หรือ National Transmission Grid กฟผ. ดำ�เนินการจัดส่งไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. และที่รับซื้อจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายอื่นผ่านระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. ซึ่งมีโครงข่ายครอบคลุมทั่วประเทศ ที่ระดับแรงดัน 500 กิโลโวลต์ 230 กิโลโวลต์ 115 กิโลโวลต์ และ 69 กิโลโวลต์ เพื่อจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟน. กฟภ. และผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับซื้อโดยตรง นอกจากนี้ กฟผ. ยังจำ�หน่ายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าของ ประเทศเพื่อนบ้านด้วย ได้แก่ สปป.ลาว ด้วยระบบส่งไฟฟ้าแรงดัน 115 กิโลโวลต์ และ 22 กิโลโวลต์ และมาเลเซียด้วย ระบบไฟฟ้าแรงสูงกระแสตรง (HVDC) 300 กิโลโวลต์ (3) ระบบจำ�หน่าย กฟน. และ กฟภ. ทำ � หน้ า ที่ จำ � หน่ า ยไฟฟ้ า ให้ กั บ ผูบ้ ริโภคในประเทศ โดย กฟน. รับผิดชอบการจำ�หน่ายไฟฟ้า ให้แก่ผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตนครหลวง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ขณะที่ กฟภ. จะทำ�การ จำ � หน่ า ยไฟฟ้ า ให้ แ ก่ ผู้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า รายย่ อ ยและลู ก ค้ า อุตสาหกรรมในจังหวัดอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่เขตให้บริการของ กฟน. และไฟฟ้าบางส่วน กฟผ. ทำ�การจำ�หน่ายตรงให้กับผู้ใช้ ไฟฟ้ารายใหญ่บางราย นอกจากนี้ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน บางรายมีเครือข่ายไฟฟ้าของตนเองทีส่ ง่ ไฟฟ้าให้กบั ลูกค้า อุตสาหกรรมโดยตรง
ภาพแสดงสัดส่วนการจำ�หน่ายพลังงาน ไฟฟ้าแยกตามประเภทลูกค้า ณ สิน ้ เดือน ธันวาคม 2557
การไฟฟ้านครหลวง
29.2%
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อื่นๆ
0.0% การไฟฟ้ากัมพูชา
0.1%
การไฟฟ้าลาว
P- 098
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
0.5%
ลูกค้าตรง
1.2%
69.0%
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2557
แนวโน้มอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า สนพ. ได้จัดทำ�แผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ตามประมาณการความต้องการใช้ไฟฟ้าที่จะเพิ่มขึ้นจาก 26,942 เมกะวัตต์ ในปี 2557 เป็น 52,256 เมกะวัตต์ ในปี 2573 หรือคิดเป็นอัตราเติบโตเฉลี่ย (CAGR) ร้อยละ 4.2 ต่อปี ตามที่ คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมาณการอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ หรืออัตราการเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไว้ที่อัตราเฉลี่ยร้อยละ 4.3 ต่อปี ระหว่างปี 2557 – ปี 2573 ในขณะที่ประมาณการ กำ�ลังการผลิตติดตั้งจะเพิ่มขึ้นจาก 35,668 เมกะวัตต์ ในปี 2557 เป็น 70,686 เมกะวัตต์ ในปี 2573 หรือคิดเป็นอัตรา เติบโตเฉลี่ย 4.4 ต่อปี ภาพแสดงการคาดการณ์ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดและกำ�ลังการผลิตติดตั้งปี 2557 – ปี 2573
ประมาณการความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ประมาณการกำลังการผลิตติดตั้ง
เมกะวัตต์
80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000
2573E
2572E
2571E
2570E
2569E
2568E
2567E
2566E
2565E
2564E
2563E
2562E
2561E
2560E
2559E
2558E
2557
0
ที่มา: แผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3
นอกจากนี้ สนพ. ยังคำ�นึงถึงการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยในแผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 มีการปรับปรุงให้ สอดคล้องกับแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ปี 2555 – ปี 2564 (Alternative Energy Development Plan: AEDP) และแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ระหว่างปี 2554 – ปี 2573 (Energy Efficiency Development Plan: EEDP) โดย ณ เดือนกันยาย 2557 ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าสัดส่วนสูงถึง 67 ของเชื้อเพลิงทั้งหมดที่ใช้ ผลิตไฟฟ้าในประเทศ ซึ่งการกระจายสัดส่วนพลังงานอย่างสมดุลมีความสำ�คัญต่อการรักษาความมั่นคงในระบบไฟฟ้าของ ประเทศ และรักษาระดับราคาค่าไฟฟ้าที่เหมาะสม ดังนั้น สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงหลักและพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมล้วน อยู่ในแผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ซึ่งผลักดันให้มีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น โดยที่ผ่านมา กระทรวงพลังงานได้มีการออกนโยบายสนับสนุนการกระจายการผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานทางเลือกเพื่อ ทดแทนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล และลดการนำ�เข้าน้ำ�มันอย่างยั่งยืนในอนาคต ซึ่งจะส่งผลให้สัดส่วนของการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานทางเลือกเพือ่ ทดแทนการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหินลิกไนต์ ให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ การผลิตไฟฟ้าที่ใช้ในระบบ ภายใน 10 ปี ซึ่งจะทำ�ให้กำ�ลังผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนรวมสุทธิ ณ สิ้นแผน PDP 2010 ฉบับ ปรับปรุงครั้งที่ 3 ในปี 2573 เท่ากับ 20,546 เมกะวัตต์หรือคิดเป็นร้อยละ 29 ของกำ�ลังผลิตไฟฟ้าทั้งระบบ โดยแบ่งเป็น พลังงานหมุนเวียนในประเทศ 13,688 เมกะวัตต์ และพลังงานหมุนเวียนจากต่างประเทศ 6,858 เมกะวัตต์ ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
P- 099
ภาพแสดงสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง แต่ละประเภทของประเทศ ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2557
พลังงานทดแทน
ก๊าซธรรมชาติ
66.1%
2.2%
ลิกไนต์
20.1%
พลังงานน้ำ
10.4%
น้ำมันเตา
1.1%
ซื้อต่างประเทศ
น้ำมันดีเซล
0.1%
0.1%
ที่มา: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
P- 100
ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2557
ทั้งนี้ กพช. ได้มีมติเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ให้มีการปรับเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือกจาก เดิม 9,201 เมกะวัตต์ เป็น 13,927 เมกะวัตต์ ในปี 2564 เพื่อทดแทนการนำ�เข้าน้ำ�มันเชื้อเพลิงและพลังงานชนิดอื่น จากต่างประเทศ ดังนี้ กำ�ลังการผลิต เป้าหมายปี 2564 (เมกะวัตต์) พลังงานทางเลือก (1) พลังงานชีวมวล
เดิม
กำ�ลังการผลิตติดตั้ง ณ 31 ธันวาคม 2556
ใหม่ 3,630
4,800
2,230
600
3,600
263
(3) พลังงานแสงอาทิตย์
2,000
3,000
635
(4) พลังงานลม
1,200
1,800
223
160
400
47
1,608
324
105
3
3
0
9,201
13,927
3,503
(2) ก๊าซชีวภาพ
(5) พลังงานจากขยะ (6) พลังงานน้ำ� (7) พลังงานรูปแบบใหม่ รวม
ที่มา: คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ หมายเหตุ: (1) พลังงานชีวมวล - มีผู้ประกอบการเสนอขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐในการตั้งโรงไฟฟ้าชีวมวลชุมชน ขนาด 1 เมกะวัตต์ เป็นจำ�นวน มาก ซึง่ ใช้เชือ้ เพลิงจากเศษไม้ยางพารา โดยเฉพาะโรงงานน้�ำ ตาลทีส่ ามารถปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 1,000 เมกะวัตต์ (2) ก๊าซชีวภาพ - มีเชื้อเพลิงหลักจากของเสียอุตสาหกรรมและมูลสัตว์ และพืชพลังงาน ซึ่งในปี 2556 กระทรวงพลังงานได้ดำ�เนินโครงการ ศึกษาวิจยั ต้นแบบวิสาหกิจชุมชนพลังงานสีเขียวจากพืชพลังงาน (ก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน) ซึง่ มีเป้าหมายจัดตัง้ ต้นแบบโรงงานผลิต ไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ ขนาด 1 เมกะวัตต์ จำ�นวน 12 โรง กระจายตามภูมิภาคต่างๆ เพื่อเป็นต้นแบบในการขยายผลตามเป้าหมาย 3,000 เมกะวัตต์ (3) พลังงานแสงอาทิตย์ - กระทรวงพลังงานมีแผนงานส่งเสริมให้มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาอาคาร (Solar PV Rooftop) โดยมีเป้าหมาย 800 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ชุมชน โดยมีเป้าหมาย 800 เมกะวัตต์ (4) พลังงานลม - ผลการศึกษาพบว่าในจังหวัดเพชรบูรณ์ กาญจนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี พัทลุง สงขลา และยะลา มีศักยภาพสามารถ ติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 1,000 เมกะวัตต์ และมีข้อมูลจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) พบว่า มีผู้สนใจขอรับ การส่งเสริมการลงทุนพัฒนาพลังงานลมเพิ่มเติมอีกมากกว่า 900 เมกะวัตต์ (5) พลังงานจากขยะ - กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด โดยส่งเสริมให้องค์การบริหารส่วนท้องถิน ่ (อบท.) นำ�ขยะมาผลิตพลังงาน (6) พลังงานน้ำ� - เป้าหมายเดิม 1,608 เมกะวัตต์ (โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�แบบสูบกลับ 1,284 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ� ขนาดเล็กและขนาดเล็กมาก 324 เมกะวัตต์) เป้าหมายใหม่ลดลงเหลือ 324 เมกะวัตต์ เนื่องจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�แบบสูบกลับ (Pump storage) ไม่ก่อให้เกิดการผลิตพลังงานที่เป็นพลังงานทดแทนสุทธิ (7) พลังงานรูปแบบใหม่ - ได้แก่ พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานคลื่นหรือกระแสน้ำ� และไฮโดรเจน
นอกจากนี้ กพช. ได้มีมติเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2557 เห็นชอบกรอบแนวการจัดทำ�แผนพัฒนากำ�ลังการผลิตไฟฟ้าของไทย ปี 2558 – ปี 2579 (“Power Development Plan 2015: PDP 2015”) รวมทั้งให้มีการปรับปรุงแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (Alternative Energy Development Plan: AEDP) และแผนอนุรักษ์พลังงาน (Energy Efficiency Development Plan: EEDP) ให้มีกรอบระยะเวลาสิ้นสุดของแผนเช่นเดียวกับแผน PDP 2015 การจัดทำ�แผน PDP 2015 เพื่อให้การวางแผนพัฒนากำ�ลัง การผลิตไฟฟ้าของประเทศสอดคล้องกับความต้องการใช้ไฟฟ้าทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตและสอดคล้องกับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ โดย หลักการในการจัดทำ�แผน PDP 2015 จะคำ�นึงถึง ความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าของประเทศ สัดส่วนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ซึง่ ประกอบ ด้วยความยั่งยืนทางพลังงาน ต้นทุนการผลิตไฟฟ้า การกระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่ง และ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม สำ�หรับกรอบของแผน PDP 2015 มีการลดสัดส่วนพลังงานจากก๊าซธรรมชาติ และเพิม่ การใช้พลังงานประเภท อืน่ ทดแทน โดยพลังงานทีใ่ ช้ในการผลิตไฟฟ้าเมือ่ สิน้ สุดแผน PDP 2015 แบ่งได้ดงั นี้ ก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ 30 ถ่านหินสะอาด ร้อยละ 30 พลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 20 นิวเคลียร์ ร้อยละ 5 และนำ�เข้าไฟฟ้าจากต่างประเทศ ร้อยละ 15 สำ�หรับประโยชน์ของแผน PDP 2015 จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านราคา และเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน และช่วยลด การนำ�เข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศในอนาคต ภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศไทย
P- 101
ความรับผิดชอบ ต่อสังคม
รายงานประจำ�ปี 2557
1 นโยบายภาพรวม 1.1 นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR)
1.2 นโยบายต่อต้านคอร์รัปชั่น (Anti-Corruption Policy)
บริษทั มีนโยบายให้การดำ�เนินธุรกิจมีความยัง่ ยืน ด้วยการสร้าง ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ยึ ด แนวปฏิ บั ติ ง านที่ เ ป็ น เลิ ศ มีความโปร่งใสในการทำ�ธุรกิจ มีพัฒนาการในด้านต่างๆ อย่าง ต่อเนื่อง ดูแลและรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมีกรอบ การปฏิบัติให้เป็นไปตามแนวการบริหารจัดการความยั่งยืนของ บริษัทและตามมาตรฐานสากล บริษัทจึงกำ�หนดกรอบการบริหาร จัดการเพื่อความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคม ดังนี้
บริ ษั ท ยึ ด มั่ น ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จึงกำ�หนดนโยบายต่อต้านคอร์รัปชั่น เพื่อให้บุคลากรของบริษัท ยึดถือปฏิบัติและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ บริษัท ไม่ยอมรับการคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบทั้งทางตรงและทางอ้อม และ กำ�หนดให้บคุ ลากรของบริษทั ปฏิบตั ติ ามนโยบายต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ของบริษัทอย่างจริงจัง ดังนี้
(1) ในการทำ� ธุรกิจ บริษัทคำ �นึงถึงความรับผิ ด ชอบด้ า น เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ในการดำ�เนินงาน เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจ ด้วยการ บริหารงานที่มีความมุ่งมั่นที่ชัดเจนด้านภาวะผู้นำ� มีแนวทางการ กำ�กับดูแลที่ดี และมีระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง (2) ส่งเสริมให้มกี ารปฏิบตั แิ ละดำ�เนินธุรกิจ โดยคำ�นึงถึงหลัก สิทธิมนุษยชน และปกป้องสิทธิแรงงานของพนักงานและผู้ร่วม ธุรกิจอย่างเป็นธรรม (3) มุง่ มัน่ ทีจ่ ะลดผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการดำ�เนินธุรกิจต่อ สังคม สิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (4) ดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรมและสามารถ ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน (5) ให้ความเคารพต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนการ ดำ�เนินงานด้านสังคมและการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (6) ดำ�เนินการบริหารจัดการสายโซ่อปุ ทาน ให้สอดคล้องกับ กฎหมายและมาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนและแรงงาน รวมถึง การบริหารจัดการด้านข้อมูลและการเก็บอย่างมีประสิทธิผล (7) มีความมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินงานตามมาตรฐานด้านความ รับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ ไม่จ�ำ กัดเพียงการปฏิบตั ติ ามกฎหมายเท่านัน้ แต่รวมไปถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อความต้องการทั้ง ในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม รวมถึงผู้มีส่วนได้เสีย (8) เปิดเผยผลการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความมุ่งมั่นของ บริ ษั ท แนวทางบริหารจัดการ รวมถึงผลการดำ �เนิ น งานด้ า น เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม ทีต่ อ้ งเป็นข้อมูลทีถ่ กู ต้อง เชือ่ มโยง โปร่งใส และมีความสอดคล้องกับแนวทางการรายงานด้านการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของ Global Reporting Initiatives (GRI) (1) (9) ตระหนักถึงคุณค่าของการสือ่ สารกับผูม้ สี ว่ นได้เสียเป็นหลัก สำ�คัญของการบริหารจัดการความยัง่ ยืน ตลอดจนการปรับปรุงการ ออกแบบและบริหารการจัดการประเด็นด้านสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้เสีย (10) การบริหารจัดการความยัง่ ยืนทีม่ คี วามเชือ่ มโยงถึงกัน จะ ต้องนำ�ไปบูรณาการซึง่ กันและกัน เพือ่ สร้างให้องค์กรสามารถปฏิบตั ิ ได้อย่างยั่งยืน
(1) บุคลากรของบริษัทต้องไม่ดำ�เนินการหรือเข้าไปมีส่วน ร่วมในการคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม (2) บุคลากรของบริษัทต้องปฏิบัติด้วยความระมัดระวังใน เรื่องที่เกี่ยวกับการรับ การให้ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อื่นใด การให้หรือรับของขวัญและการเลี้ยงรับรองควรเป็นไปเพื่อ วัตถุประสงค์ทางธุรกิจเท่านั้น โดยมีมูลค่าที่เหมาะสม และไม่ส่ง ผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมีนัยสำ�คัญ (3) จัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการประเมินความ เสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อป้องกัน การคอร์รปั ชัน่ ทบทวนและประเมินความเสีย่ งจากการดำ�เนินงาน ที่อาจก่อให้เกิดการคอร์รัปชั่นอย่างน้อยปีละครั้ง (4) จัดให้มกี ลไกการรายงานทางการเงินทีโ่ ปร่งใสและถูกต้อง ภายใต้มาตรฐานการบัญชีที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล (5) มีกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลทีส่ ะท้อนถึงความ มุ่งมั่นต่อมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชั่น (6) จัดช่องทางการสื่อสารให้บุคลากรสามารถแจ้งเบาะแส ข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการคอร์รัปชั่น โดยมี มาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส (7) ดำ�เนินงานให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การต่อต้านคอร์รัปชั่นในทุกประเทศที่บริษัทดำ�เนินกิจการ (8) การกระทำ�ใดๆ ทีฝ่ า่ ฝืนหรือไม่เป็นไปตามนโยบายนี้ ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม จะได้รับการพิจารณาทางวินัยตามระเบียบ ที่บริษัทกำ�หนดไว้หรือมีโทษทางกฎหมาย
(1) Global Reporting Initiatives (GRI) คือ กรอบมาตรฐานการจัดทำ�รายงานประสิทธิภาพการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำ�หรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม โดยเชื่อมโยงมุมมองทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจเข้าด้วยกัน เพื่อเปิดเผยต่อสาธารณชน โดย GRI เป็นมาตรฐานที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย และได้รับ การสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากสหประชาชาติ
ความรับผิดชอบต่อสังคม
P- 103
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
2 การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของการประกอบธุรกิจโดยคำ�นึงถึงหลักการดำ�เนินธุรกิจภายใต้จรรยาบรรณ ทางธุรกิจ ควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคมและให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียในทุกระดับมาโดยตลอด โดยบริษัทได้มีการกำ�หนดความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้ 2.1 พนักงาน
2.4 คู่ค้า
บริษัทให้ความสำ�คัญกับการมุ่งพัฒนาบุคลากรในองค์กรอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยตระหนักดีว่าพนักงาน คือ ฟันเฟืองสำ�คัญในการ ขับเคลือ่ นองค์กรไปสูค่ วามสำ�เร็จ และการคงความยัง่ ยืนทัง้ ในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม บริษทั จึงให้ความสำ�คัญพนักงาน ทุกคนไม่ว่าจะทำ�งานอยู่ในส่วนใด ฝ่ายใด โดยปราศจากการเลือก ปฏิบตั ิ และบริษทั ได้จดั ให้มสี ภาพแวดล้อมในการทำ�งานทีด่ ี มีความ ปลอดภั ย มี ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมกั บ การทำ � งาน มี ส วั ส ดิ ก ารที่ เ หมาะสมกั บ ธุ ร กิ จ ให้ กั บ พนั ก งาน และจั ด หา นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ มาสนับสนุนการทำ�งาน เพื่อให้ พนักงานปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถเต็มกำ�ลัง นอกจากนี้ บริษัทเชื่อว่าการส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรและสังคม เป็นแนวทางหนึง่ ในการพัฒนาศักยภาพและ สร้างความตระหนักถึงคุณค่าในตนเองของพนักงานให้มีมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ บริษทั จึงส่งเสริมการจัดกิจกรรมทีก่ ระตุน้ การมีสว่ นร่วม ของพนั ก งานในองค์ ก ร อี ก ทั้ ง ในด้ า นการดู แ ลใส่ ใ จสั ง คมและ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการดำ�เนินกิจกรรมงานด้านที่สะท้อนความ รับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้กรอบการบริหารงานสูค่ วามยัง่ ยืนของ บริษัทซึ่งยึดมั่นดำ�เนินงานด้านธรรมาภิบาล ส่งเสริมแนวคิดการ เป็นคนดีและคนเก่งของสังคม และส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้เสียกับ องค์กรเข้าสู่กระบวนการการมีส่วนร่วมด้านต่างๆ รวมถึงการให้ ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม
บริษัทให้ความสำ�คัญกับคู่ค้า ในฐานะพันธมิตรทางธุรกิจที่มี ส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยเหตุนี้ จึงมีนโยบายที่ ชัดเจนในการปฏิบัติกับคู่ค้าอย่างเป็นธรรมและเสมอภาครวมทั้ง คำ�นึงถึงผลประโยชน์ร่วมกัน นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับ การปฏิบัติตนตามกรอบการแข่งขันที่ดีในเชิงธุรกิจ และไม่เอา เปรียบคู่แข่งด้วยวิธีที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
2.2 ผู้ถือหุ้น
บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง พั น ธกิ จ ที่ มี ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น จึ ง ได้ กำ � หนด จรรยาบรรณทางธุรกิจออกมาเป็นนโยบายที่ชัดเจนว่าจะสร้าง ความเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ รั บ ผลตอบแทนอย่างยัง่ ยืนจากผลประกอบการทีด่ ขี องบริษทั นอกจาก นี้ ยังให้ความสำ�คัญกับการเคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้นในการได้รับ ข้อมูลที่จำ�เป็น และการเปิดเผยผลประกอบการ พร้อมข้อมูล สนับสนุนที่ถูกต้องตามความเป็นจริงเสมอ 2.3 ลูกค้า
บริษัทมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะผู้ผลิตและ จำ�หน่ายกระแสไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ให้กับ ลูกค้าตามปริมาณและเงื่อนไขเวลาที่ลูกค้ากำ�หนด โดยยึดหลัก ความซื่อสัตย์ ความไว้วางใจ และการช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็น พื้นฐานในการส่งมอบสินค้าและการบริการที่มีคุณภาพภายใต้ เงื่อนไขของราคาที่เป็นธรรม และสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีต่อ กันมาโดยตลอด P- 104
ความรับผิดชอบต่อสังคม
2.5 ชุมชนและสังคม
บริษทั ยึดถือนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมซึง่ มีความ มุ่งหวังให้ชุมชนและองค์กรอุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างเกื้อกูลและยั่งยืน จึงได้กำ�หนดกลยุทธ์ด้านกิจกรรมเพื่อ สังคม 3 ด้าน ดังนี้ (1) ด้านการศึกษา บริษัทมีนโยบายในการสนับสนุนด้าน การศึ ก ษาอย่ า งยั่ ง ยื น การมอบทุ น การศึ ก ษาแบบต่ อ เนื่ อ ง การสนับสนุนกิจกรรม และการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ (2) ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน บริษัทมีนโยบาย ในการสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กบั ชุมชน รวมถึงการจัดกิจกรรม ชมรมผู้สูงอายุ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของกลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน กิจกรรมหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ และ กิจกรรมพัฒนาเยาวชน รวมถึงส่งเสริมการเล่นกีฬา (3) ด้านการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน การทำ�กิจกรรม สาธารณประโยชน์ และสนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม ทัง้ การ จัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนที่อยู่ใกล้เคียงเพื่อสร้าง ความเข้าใจต่อบริษัท และส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ชุมชน โดยจัด ให้มกี ารพบปะพูดคุย ปรึกษาหารือ และรับฟังความเห็นของชุมชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงการเปิดบ้านให้ชมุ ชนเข้ามาเยีย่ ม ชม เพื่อสร้างความมั่นใจในการดำ�เนินงานของบริษัท 2.6 ด้านสิ่งแวดล้อม
บริษัทตระหนักความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมโดย เฉพาะพื้นที่และชุมชนใกล้เคียงกับที่ตั้งโรงไฟฟ้า โดยบริษัทได้ เล็งเห็นถึงปัญหาการเพิ่มขึ้นของขยะในพื้นที่จังหวัดระยอง ซึ่งมี ปริมาณประมาณ 900 – 1,000 ตันต่อวัน และมีแนวโน้มที่จะ เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง บริษทั จึงได้รว่ มมือกับภาครัฐและภาคชุมชน ในการหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยบริษัทได้ด�ำ เนินการ ศึกษาโครงการบริหารจัดการขยะครบวงจรจังหวัดระยอง โดย การแปลงขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึง่ บริษทั คาดว่าโครงการดังกล่าว จะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 6 - 9 เมกะวัตต์ และ
รายงานประจำ�ปี 2557
กำ�จัดขยะมูลฝอยภายในพืน้ ทีไ่ ด้ถงึ 500 ตันต่อวัน โดยฝุน่ ละออง และก๊าซจากการเผาไหม้จะได้รับการจัดการตามมาตรฐานสากล และไม่เป็นผลเสียต่อชุมชนข้างเคียง โดยบริษัทคาดว่าโครงการนี้ จะเป็นโครงการต้นแบบของการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน ในรูปแบบของ Creating Shared Value (CSV) สำ�หรับพื้นที่ในจังหวัดอื่นๆ ต่อไป นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการจัดทำ�โครงการเพื่อลดการปล่อย มลภาวะที่ เ ป็ น พิ ษ สู่ สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง การปรั บ ปรุ ง เทคโนโลยี การผลิตของโรงงานให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ มีการตรวจวัด คุณภาพสิ่งแวดล้อมจากการผลิตอย่างสม่ำ�เสมอ และมีการสร้าง สถานีตรวจวัดอากาศในพื้นที่ชุมชน รวมถึงการปลูกต้นไม้เป็น แนวกันชนบริเวณพื้นที่โรงงาน เพื่อปิดกั้นการแพร่กระจายของ มลภาวะ
3 กิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจากการดำ�เนินธุรกิจทีใ่ ส่ใจดูแลและรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม บริษท ั ยังมีการดำ�เนินการ ในด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์โดยรวมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำ�เสมอ ตามแนวทางการบริหาร ความยั่งยืนของบริษัท โดยมีตัวอย่างการดำ�เนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ การปรับปรุงอาคารสำ�นักงานให้เป็นอาคารสีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
บริษัทให้ความสำ�คัญด้านการประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง โดยได้ออกแบบอาคารสำ�นักงานที่ใส่ใจทุกรายละเอียดที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานรูปแบบต่างๆ การเลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดสารระเหยที่เป็นพิษ การจัดการกับของเสีย รวมทั้งการใช้วัสดุที่มีส่วนผสมจากการ Recycle ในสัดส่วนที่ พอเหมาะ ตลอดจนการป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพและ ความปลอดภัย ให้เป็นสำ�นักงานสีเขียวและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้บริษทั ได้รบั การรับรองมาตรฐานอาคารประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประเภทการออกแบบพื้นที่ใช้สอยใน อาคารสำ�นักงาน (Commercial Interior) ในระดับ Platinum ซึง่ ถือเป็นระดับสูงสุดของ LEED-CI V.2009 และนับเป็นรายแรก ของไทยจากสภาอาคารเขียวสหรัฐอเมริกา (U.S. Green Building Council : USGBC) โดยสำ�นักงานกรุงเทพมหานครของบริษัท ได้รับการยอมรับว่าเป็นสถานที่ที่เหมาะต่อการทำ�งาน และส่งผล ต่อประสิทธิภาพการทำ�งานได้เป็นอย่างดี และสามารถลดผลกระทบ ที่มีต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน ของ LEED หรือ Leadership in Energy and Environmental Design ซึ่งส่งผลให้บริษัทสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการดูแล อาคารได้อย่างยั่งยืน
การบริหารจัดการสำ�นักงานอย่างมีประสิทธิภาพสู่การได้รับ การรับรองมาตรฐานอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมในระดับ LEED Platinum คือ บทพิสจู น์ของความใส่ใจ ในการดำ�เนินธุรกิจควบคูก่ ารดูแลสังคมและสิง่ แวดล้อมของบริษทั และเป็นต้นแบบขององค์กรประหยัดพลังงานที่พร้อมจะเติบโต อย่างยั่งยืน
มาตรฐานอาคารประหยัด พลั ง งานและเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มประเภทการ ออกแบบพื้ น ที่ พ าณิ ช ย์ (Commercial Interior) ในระดับ Platinum ซึ่ง ถื อ เป็ น ระดั บ สู ง สุ ด ของ LEED-CI V.2009
ความรับผิดชอบต่อสังคม
P- 105
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงการพัฒนาระบบนิเวศปากคลองชากหมาก
บริษทั ร่วมกับกลุม่ ปตท. ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง ได้ด�ำ เนินโครงการ พัฒนาป่าชายเลนคลองชากหมาก ตำ�บลมาบตาพุด อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง โดยทดลองนำ�ต้นโกงกางมาปลูกในบริเวณปากคลอง ชากหมาก เมื่อเดือนสิงหาคม 2550 โดยประโยชน์ของป่าชายเลน สามารถใช้เป็นด่านกันตะกอนจากธรรมชาติ ที่มักเป็นสาเหตุให้น้ำ� ที่ไหลลงสู่ทะเลมีสีขุ่นและดำ�ในช่วงฤดูฝน จากการทดลองดังกล่าว พบว่า ตะกอนที่หมักหมมอยู่บริเวณปากคลองชากหมากสามารถ เป็นอาหารหล่อเลี้ยงต้นโกงกางให้เจริญเติบโตได้ดี และส่งผลให้มี สัตว์ทะเลบางชนิด เช่น ปูกา้ มดาบ เข้ามาอาศัยอยูใ่ นบริเวณทีป่ ลูก ป่าชายเลน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นว่าระบบนิเวศทั้งพืช และสัตว์ สามารถอยูไ่ ด้ในพืน้ ทีป่ ากคลองชากหมากแห่งนี้ เพือ่ ให้สงั คม / ชุมชน ไว้วางใจ / ยอมรับด้วยการจัดการแบบมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มเหนื อ มาตรฐาน และมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นา คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องสังคมชุมชน บริษทั จึงได้จดั กิจกรรมพัฒนาพืน้ ที่ ปากคลองชากหมากอย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ปี 2550 เป็นต้นมา จนถึง ปัจจุบัน เพื่อมุ่งพัฒนาให้ระบบนิเวศบริเวณปากคลองชากหมากมี ความอุดมสมบูรณ์ และมีการดูแลอย่างต่อเนือ่ ง โดยการมีสว่ นร่วม ของชุมชน และเยาวชนในท้องถิ่น
โครงการด้านการศึกษา
บริษทั ร่วมกับกลุม่ ปตท. ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง โดยมีนโยบาย สนั บ สนุ น ด้ า นการศึ ก ษาแก่ นั ก เรี ย นและโรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ จังหวัดระยอง อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตพืน้ ทีเ่ ทศบาล เมืองมาบตาพุด เทศบาลเมืองบ้านฉาง เทศบาลตำ�บลบ้านฉาง และ เทศบาลตำ�บลมาบข่าพัฒนา สำ�หรับ “โครงการทุนเรียนดีระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย” กำ�หนดขึ้นเพื่อเป็นการสร้างขวัญและ กำ�ลังใจให้แก่เยาวชนผู้มีความวิริยะอุตสาหะในการเล่าเรียนจนมี ผลการเรียนเป็นอันดับ 1 ตลอดจนช่วยแบ่งเบาภาระของผูป้ กครอง รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของการร่วมพัฒนาการศึกษาของประเทศ P- 106
ความรับผิดชอบต่อสังคม
“โครงการทุนการศึกษาต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างโอกาสทางการศึกษา” กำ�หนดขึ้นเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้แก่เยาวชน และช่วย แบ่งเบาภาระของผูป้ กครอง รวมทัง้ เป็นส่วนหนึง่ ของการร่วมพัฒนา การศึกษาของประเทศ นอกจากนี้ บริษัทร่วมกับกลุ่ม ปตท. ยังได้จัด “ทุนสนับสนุน โครงการโรงเรียน” โดยเล็งเห็นว่าสภาพแวดล้อมในการเรียนที่ดี ตลอดจนความพร้อมของบุคลากรและสื่อการเรียนการสอน เป็น ปัจจัยสำ�คัญในการส่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้กบั นักเรียน จึงได้สนับสนุน งบประมาณให้กับโรงเรียนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลเมืองบ้านฉาง เทศบาลตำ�บลบ้านฉาง และเทศบาลตำ�บล มาบข่าพัฒนา สำ�หรับใช้ในการจัดหา ปรับปรุง และพัฒนาโรงเรียน เพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาในพื้นที่ต่อไป
โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต
โรงพยาบาลมาบตาพุดเป็นโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ตั้ ง อยู่ ใ นเขตนิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด มี พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ชอบ 38 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดซึ่งมีประชากรทั้งสิ้น 132,752 คน เป็นประชากรตามทะเบียนราษฎร์ จำ�นวน 54,712 คน คิดเป็น ร้อยละ 41.21 และเป็นประชากรแฝงจำ�นวน 78,040 คน คิดเป็นร้อยละ 58.79 ซึ่งประชากรในเขตรับผิดชอบมีสิทธิการ รักษาในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นอันดับหนึ่ง ร้อยละ 39.28 ซึ่งถือว่าทำ�ให้รายรับของโรงพยาบาลน้อยกว่าที่ ควรจะเป็นเมื่อเทียบกับจำ�นวนประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ บริษัทจึงร่วมกับกลุ่ม ปตท. ในพื้นที่จังหวัดระยอง สนับสนุน โรงพยาบาลมาบตาพุด เพือ่ พัฒนาและจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ และครุภณ ั ฑ์ เพือ่ ให้มมี าตรฐานและเพียงพอต่อการรับบริการของ ประชาชนในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ รวมทัง้ เพือ่ พัฒนาโรงพยาบาลมาบตาพุด ให้มีศักยภาพตามโรงพยาบาลขนาด 200 เตียง ทั้งกำ�ลังคนให้มี ปริมาณเพียงพอที่จะให้บริการกับประชาชน และศักยภาพของ บุคลากรทางการแพทย์ โดยมีระยะเวลาในการดำ�เนินการ 5 ปี ต่อเนื่อง ระหว่าง ปี 2557 – ปี 2561 โครงการเปิดบ้านต้อนรับชุมชนประจำ�ปี 2557
บริษทั ได้จดั กิจกรรมเปิดบ้านให้คณะกรรมการชุมชนเข้าเยีย่ มชม และรับทราบข้อมูลในการดำ�เนินงาน กระบวนการผลิต มาตรการ ด้านความปลอดภัย การตรวจติดตาม และประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจ และความเชื่ อ มั่ น ในโครงการต่ า งๆ ของบริษัท
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ปัจจัยความเสีย่ ง บริษัทมีนโยบายลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจพลังงานทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ โดยการลงทุนทางตรงหรือเข้าลงทุนทางอ้อมผ่านการถือหุ้น ในบริษัทต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทมีการกำ�หนดกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยการพัฒนาหรือ เข้าลงทุนในโครงการใหม่ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ รักษาระดับและเพิม ่ ผลประกอบการของบริษท ั และผลตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว อย่างไรก็ตาม ปัจจัยความเสี่ยงในการประกอบ ธุรกิจของบริษัทที่อาจจะมีผลกระทบต่อการลงทุนของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสำ �คัญ และ แนวทางในการป้องกันความเสี่ยง สรุปได้ดังนี้ ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้า ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผู้ขายเชื้อเพลิงหลักรายเดียว
โรงไฟฟ้าส่วนใหญ่ของบริษัทใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต ซึ่งมีกำ�ลังการผลิตประมาณ 1,472 เมกะวัตต์ หรือประมาณร้อยละ 80 ของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้ารวมตามสัดส่วนการถือหุน้ เมือ่ โครงการทัง้ หมด เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ บริษัทจึงมีความจำ�เป็นที่จะต้องพึ่งพิงผู้จัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติเพื่อนำ�มาใช้ใน กระบวนการผลิตไฟฟ้าและด้วยโครงสร้างการจัดหาก๊าซธรรมชาติภายในประเทศ ซึง่ มีผจู้ ดั จำ�หน่ายเพียงรายเดียว คือ ปตท. ดังนั้น หากการส่งก๊าซธรรมชาติจาก ปตท. มีความไม่ต่อเนื่องหรือมีเหตุให้ต้องหยุดชะงัก อาจจะทำ�ให้ โรงไฟฟ้าของบริษทั ทีเ่ ปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วต้องหยุดดำ�เนินการผลิตซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน ของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญ และในส่วนของโครงการโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงที่อยู่ในระหว่าง การพัฒนาโครงการ บริษทั อาจมีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความพร้อมในการเปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ หากเกิดความ ล่าช้าในการจัดหาและเชื่อมต่อระบบส่งก๊าซธรรมชาติมายังที่ตั้งของโครงการ อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติระยะยาวกับ ปตท. ซึ่งสัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา ประมาณ 15 - 25 ปี โดยการส่งก๊าซผ่านท่อทีต่ อ่ มายังโรงไฟฟ้าของบริษทั เพือ่ ทำ�การผลิตไฟฟ้า ซึง่ สัญญาซือ้ ขาย ก๊าซธรรมชาติจะมีการกำ�หนดปริมาณขั้นต่ำ� ค่าความร้อนของการเผาไหม้ (Gross Calorific Value) และ ความดันของก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นข้อผูกพันที่ ปตท. จะต้องจัดหาก๊าซธรรมชาติให้กับบริษัทตามที่กำ�หนดตลอด อายุสัญญา แม้ว่าสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติดังกล่าวมีเงื่อนไขบางประการที่ให้สิทธิแก่ ปตท. ทำ�การบอกเลิก สัญญาก่อนวันสิ้นสุดสัญญาได้ เช่น ผู้รับสัมปทานหรือผู้ผลิตไม่มีก๊าซเพียงพอที่จะส่งให้กับ ปตท. หรือเกิดการ เสียหายแก่ระบบท่อย่อยหรือระบบท่อของ ปตท. หรือโรงแยกก๊าซ หรือโรงไฟฟ้า หรือระบบท่อของโรงไฟฟ้านั้นๆ ทำ�ให้ไม่สามารถส่งมอบหรือรับก๊าซได้โดยสิ้นเชิงติดต่อกันเกินกว่า 12 เดือน เป็นต้น อย่างไรก็ดี ข้อกำ�หนดและ เงื่อนไขในการยกเลิกสัญญาดังกล่าวเป็นเงื่อนไขตามปกติของสัญญาทางการค้าโดยทั่วไป นอกจากนี้ ที่ผ่านมา บริษัทไม่เคยมีเหตุการณ์ที่โรงไฟฟ้าที่เปิดดำ�เนินการแล้ว ต้องหยุดดำ�เนินการชั่วคราว โดยมีสาเหตุจากการจัดส่ง ก๊าซธรรมชาติที่ไม่ต่อเนื่อง หรือจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของก๊าซธรรมชาติ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงในการพึ่งพิงการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต บริษัทจึง มีแผนทีจ่ ะเข้าร่วมทุนหรือพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานประเภทอืน่ เพือ่ ทีจ่ ะทำ�ให้สดั ส่วนของกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าตาม สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงในอนาคตลดลง ซึง่ จะทำ�ให้ความเสีย่ งจากการพึง่ พิง ผู้ขายเชื้อเพลิงหลักรายเดียวลดลงตามไปด้วย ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาก๊าซธรรมชาติ
ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าทีบ่ ริษทั ดำ�เนินการอยูส่ ว่ นใหญ่ใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ เป็นต้นทุนหลักในการดำ�เนิน งานของบริษทั คิดเป็นร้อยละ 88 และ 84 ของต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการของบริษทั ในปี 2556 และ ปี 2557 ตามลำ�ดับ ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงราคาก๊าซธรรมชาติจงึ มีผลกระทบต่อการทำ�กำ�ไรของบริษทั ซึง่ การที่ บริษทั จะสามารถส่งผ่านต้นทุนของราคาก๊าซธรรมชาติให้แก่ลกู ค้าผูซ้ อื้ ไฟฟ้าและไอน้�ำ ของบริษทั ได้เพียงใด ขึน้ อยู่ กับข้อตกลงในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าและไอน้�ำ แต่ละฉบับ ดังนัน้ บริษทั จึงอาจจะมีความเสีย่ งจากความผันผวนของราคา P- 108
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
ก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากบริษัทสามารถผลักภาระต้นทุนก๊าซธรรมชาติให้กับลูกค้าได้เพียงบางส่วน ซึ่งจะส่งผล โดยตรงต่อการลดลงของการทำ�กำ�ไรของบริษทั และอาจมีผลกระทบในทางลบต่อการประกอบธุรกิจ สถานะทางการ เงินและผลประกอบการของบริษัท อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาราคาก๊าซธรรมชาติไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงผันผวนอย่าง มีนัยสำ�คัญที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริษัท ความเสี่ยงจากความผันผวนของสภาพภูมิอากาศ
ความผันผวนของสภาพภูมิอากาศอาจจะส่งผลกระทบต่อพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ รายได้ และผลการดำ�เนิน ธุรกิจของโรงไฟฟ้าของบริษัท ในกรณีที่เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่ เปลีย่ นแปลงในแต่ละปีอาจทำ�ให้ความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่สม่ำ�เสมอเท่ากันทุกปี หรือระยะเวลาทีส่ ามารถผลิต ไฟฟ้าในแต่ละวันสั้นกว่าที่ประมาณการไว้ ซึ่งทำ�ให้ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้น้อยกว่าปริมาณที่คาดการณ์ไว้ และ จะส่งผลกระทบต่อรายได้จากการขายไฟฟ้าของโครงการ นอกจากนี้ ในกรณีทเี่ ป็นโรงไฟฟ้าพลังน้ำ� การขาดแคลน น้�ำ เพือ่ ใช้ในการผลิตไฟฟ้าทีเ่ ป็นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพของภูมอิ ากาศทำ�ให้ในบางปีอาจมีปริมาณน้ำ�ฝน น้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล และส่งผลให้การผลิตไฟฟ้าไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าวสำ�หรับการเข้าลงทุนหรือพัฒนา โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน เช่น เรื่องการประกันปริมาณพลังงานไฟฟ้าขั้นต่ำ�ที่ผลิตได้ในแต่ละปี (Output Performance Guarantee) ให้กับโครงการโดยผู้รับเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (EPC Contractor) และมีประกันอายุ การใช้งานของอุปกรณ์ทสี่ ำ�คัญต่างๆ ตามอายุการใช้งานทีเ่ หมาะสมสำ�หรับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ นอกจาก นี้ บริษัทได้มีการศึกษาข้อมูลและสถิติต่างๆ เช่น ข้อมูลปริมาณน้ำ�ไหลผ่านในอดีต ก่อนที่เข้าลงทุนในโครงการ โรงไฟฟ้าพลังน้� ำ อีกทัง้ บริษทั มีแผนทีจ่ ะกระจายการลงทุนในพลังงานหมุนเวียนประเภทอืน่ หรือกระจายทีต่ งั้ ของ โครงการ ซึ่งจะทำ�ให้ความเสี่ยงจากผลกระทบด้านสภาพภูมิอากาศลดลงได้ นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าที่จำ�เป็นต้องใช้น้ำ�ในกระบวนการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ � หากเกิดภาวะขาดแคลนน้ำ � อาจทำ�ให้บริษทั ต้องลดระดับการผลิตหรือหยุดดำ�เนินการผลิตได้ อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการติดตามเฝ้าระวังภาวะ ขาดแคลนน้ำ�อย่างใกล้ชดิ โดยมีตวั แทนของบริษทั อยูใ่ นคณะกรรมการจัดการน้ำ�ของกลุม่ ปตท. และมีนโยบายใน การจัดทำ�การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management) เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถ ตอบสนองแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ความเสี่ยงจากราคาจำ�หน่ายไฟฟ้า
การกำ�หนดราคาจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ลกู ค้าอุตสาหกรรมของบริษทั จะอ้างอิงจากราคาของ กฟภ. ทีก่ �ำ กับดูแลโดย กกพ. โดย กกพ. จะกำ�หนดอัตราค่าไฟฟ้าโดยพิจารณาจากต้นทุนการผลิตและจัดส่งไฟฟ้าของ กฟภ. และ การไฟฟ้าหน่วยอื่นๆ ทั้ง กฟน. และ กฟผ. และออกประกาศเป็นอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติหรือค่าเอฟที (Ft) แต่ เนื่องจากโครงสร้างต้นทุนของบริษัทมีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากโครงสร้างต้นทุนของ กฟภ. กล่าวคือ อัตรา ค่าไฟฟ้าที่ กฟภ. กำ�หนดขึน้ จะสะท้อนถึงความผันผวนของราคาเชือ้ เพลิง อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ผ่านสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติหรือค่าเอฟที (Ft) ขายส่งเฉลี่ย ในขณะที่ต้นทุนใน การผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าของบริษทั จะประกอบด้วยค่าก๊าซธรรมชาติเป็นสำ�คัญ ดังนัน้ อัตราค่าไฟฟ้าของ กฟภ. ซึ่งเป็นราคาที่บริษัทใช้อ้างอิงในการจำ�หน่ายไฟฟ้า จึงอาจไม่สะท้อนถึงต้นทุนที่แท้จริงในการผลิตและจำ�หน่าย ไฟฟ้าของบริษัท นอกจากนี้ ค่าเอฟที (Ft) ขายส่งเฉลี่ยก็อาจไม่ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ณ เวลานั้นเนื่องจากปัจจุบันมีการพิจารณาปรับค่าเอฟที (Ft) ขายส่งเฉลี่ยทุก 4 เดือน แต่ไม่ได้ปรับเท่ากับอัตรา การขึ้นลงของต้นทุนเชื้อเพลิงเสมอไป ดังนั้น ในช่วงเวลาที่ต้นทุนเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้นอาจไม่มีการปรับค่าเอฟที (Ft) หรือปรับเพียงบางส่วนเท่านั้น จึงอาจทำ�ให้ราคาจำ�หน่ายไฟฟ้าของบริษัทไม่สอดคล้องกับราคาเชื้อเพลิงที่ เพิ่มสูงขึ้นได้ ซึ่งอาจจะส่งผลให้บริษัทมีสัดส่วนอัตรากำ�ไรที่ลดลง ด้วยเหตุนี้การกำ�หนดราคาจำ�หน่ายไฟฟ้าโดย อ้างอิงกับอัตราค่าไฟฟ้าของ กฟภ. จึงอาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษัทได้
ปัจจัยความเสี่ยง
P- 109
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่
ลูกค้ารายใหญ่และสำ�คัญที่สุดของบริษัท คือ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ที่สุด ผู้ซื้อไฟฟ้าหลัก ผู้ดูแล ระบบไฟฟ้าหลัก และผูข้ ายไฟฟ้าแบบขายส่งหลักของประเทศ รวมทัง้ เป็นผูร้ บั ซือ้ ไฟฟ้าทีบ่ ริษทั ผลิตได้ตามสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าระยะยาวที่มีความสำ�คัญต่อธุรกิจของบริษัท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้ทำ�สัญญา ซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. รวมประมาณ 3,870 เมกะวัตต์ (แบ่งเป็นสัญญา IPP จำ�นวน 2,100 เมกะวัตต์ สัญญา SPP แบบ Firm ประมาณ 450 เมกะวัตต์ สัญญา SPP แบบ Non-firm ประมาณ 100 เมกะวัตต์ และสัญญาซือ้ ขาย ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าใน สปป.ลาว ประมาณ 1,220 เมกะวัตต์) หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 86.5 ของกำ�ลังการ ผลิตติดตั้งหากโรงไฟฟ้าเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ทั้งหมด โดยรายได้ที่ได้รับจาก กฟผ. มีมูลค่าคิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 55 และ 46 ของรายได้รวมของบริษัทในปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ ดังนั้น หาก กฟผ. ไม่ทำ�การต่อสัญญาซื้อขายไฟฟ้า IPP หรือ SPP แบบ Firm ภายหลังจากที่อายุสัญญาซื้อขายไฟฟ้าสิ้นสุดลง อาจ ส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีเป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจที่จะเพิ่มกำ�ลังการผลิตไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ด้วยการขยาย การลงทุนและพัฒนาโรงไฟฟ้าทัง้ ในและต่างประเทศ ผ่านกลยุทธ์การเติบโตทางธุรกิจ (โปรดพิจารณารายละเอียด เพิม่ เติมในหัวข้อ “ลักษณะการประกอบธุรกิจ (กลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ)”) ดังนัน้ จากการเพิ่มกำ�ลังการผลิตดัง กล่าว จะทำ�ให้บริษัทมีกำ�ลังผลิตมาทดแทนกำ�ลังการผลิตที่ครบอายุสัญญา ความเสี่ยงจากการที่ กฟผ. แจ้งไม่รับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าศรีราชา
จากการทีโ่ รงไฟฟ้าศรีราชาเป็นโรงไฟฟ้าตามโครงการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) มีก�ำ ลัง การผลิตไฟฟ้ารวม 700 เมกะวัตต์ โดยตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อขายไฟฟ้าตามโครงการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิต ไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ได้ให้สิทธิแก่ กฟผ. ในการเปลี่ยนแปลงปริมาณไฟฟ้าที่จะรับซื้อจากบริษัทได้ โดย กฟผ. จะต้องแจ้งบริษัทล่วงหน้า ทั้งนี้ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ทาง กฟผ. ได้มีหนังสือแจ้งมายังบริษัทว่าจะไม่ รับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าศรีราชา ในระหว่างเดือนธันวาคม 2557 ถึงเดือนธันวาคม 2561 อย่างไรก็ดี แม้ว่า กฟผ. จะมีหนังสือแจ้งไม่รบั ซือ้ ไฟฟ้าในช่วงเวลาดังกล่าวแล้ว แต่ทผี่ า่ นมา กฟผ. ยังคงมีค�ำ สัง่ ให้โรงไฟฟ้าศรีราชา ทำ�การจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบตั้งแต่เดือนธันวาคม 2557 จนถึงปัจจุบัน ดังนั้น บริษัทยังคงต้องเตรียมความพร้อม จ่ายไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้เมื่อ กฟผ. มีคำ�สั่งให้โรงไฟฟ้าศรีราชาทำ�การจ่ายไฟฟ้าเข้า ระบบ เพือ่ ยังคงได้รบั ค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment) จาก กฟผ. ตามเงือ่ นไขของสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า ดังกล่าว ดังนั้น ถึงแม้ว่า กฟผ. จะไม่รับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าศรีราชาตามระยะเวลาที่ได้รับแจ้ง แต่เงื่อนไขของสัญญา ซื้อขายไฟดังกล่าวกำ�หนดให้ กฟผ. จะยังคงต้องจ่ายค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment) เป็นรายเดือน ให้กบั โรงไฟฟ้าศรีราชา ซึง่ ค่าความพร้อมจ่ายดังกล่าวครอบคลุมถึงค่าใช้จา่ ยคงทีใ่ นการผลิตและบำ�รุงรักษา ค่าใช้ จ่ายในการบริหาร ค่าบำ�รุงรักษาหลัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินต่างๆ และผลตอบแทนของบริษัท โดยไม่คำ�นึงถึง จำ�นวนหน่วยไฟฟ้าที่ กฟผ. ซื้อขายตามจริงจากโรงไฟฟ้าศรีราชา แต่ กฟผ. ไม่ต้องจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ที่คำ�นึงถึงต้นทุนการผลิตผันแปร อย่างไรก็ดี บริษัทได้ประมาณการว่าการที่ กฟผ. ไม่รับซื้อ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าศรีราชาในช่วงระยะเวลาดังกล่าว จะไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัท ความเสี่ยงจากรายได้ของบริษัทขึ้นอยู่กับลูกค้าอุตสาหกรรมจำ �นวนน้อยรายซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัท ในกลุ่ม ปตท.
รายได้ของบริษัทขึ้นอยู่กับลูกค้าอุตสาหกรรมจำ�นวนน้อยราย โดยรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้ำ�ที่ บริษัทได้รับจากลูกค้าอุตสาหกรรมคิดเป็นร้อยละ 44 และ 53 ของรายได้รวมของบริษัทปี 2556 และปี 2557 ตามลำ�ดับ โดยลูกค้าอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของบริษทั ตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีห่ รือนิคมอุตสาหกรรมเดียวกัน ทำ�ให้บริษทั มีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงข้อกำ�หนดที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการในนิคมอุตสาหกรรม การเกิดอุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ หรือความล้มเหลวหรือการหยุดชะงักของระบบสาธารณูปโภคในเขตนิคมอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ลูกค้าอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของบริษัทประกอบธุรกิจด้านปิโตรเคมีหรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับปิโตรเคมี ซึ่ง เป็นอุตสาหกรรมทีม่ คี วามผันผวนตามวัฏจักรธุรกิจ (Business Cyclicality) ซึง่ ลูกค้าดังกล่าวจะทำ�การวางแผน การผลิตและซ่อมบำ�รุงรักษาเครือ่ งจักรให้สอดคล้องกัน ทำ�ให้บริษทั อาจได้รบั ความเสีย่ งโดยอ้อมจากแผนการผลิต และซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักรของลูกค้าดังกล่าว P- 110
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
นอกจากนี้ แม้ว่าบริษัทจะทำ�สัญญาซื้อขายไฟฟ้าหรือไอน้ำ�กับลูกค้าอุตสาหกรรมในระยะยาว หากสัญญาที่ ทำ�ไว้กับลูกค้าดังกล่าวสิ้นสุดลง บริษัทอาจไม่สามารถรักษาลูกค้าเหล่านี้ได้ทั้งหมด หรือไม่อาจแสวงหาลูกค้า รายใหม่มาทดแทนลูกค้าเหล่านีใ้ นเงือ่ นไขทางการค้าทีเ่ หมาะสมได้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ สถานะ ทางการเงินและผลประกอบการของบริษทั อย่างไรก็ตาม ลูกค้าอุตสาหกรรมของบริษทั ส่วนใหญ่เป็นบริษทั ในกลุม่ ปตท. ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบริษัท นอกจากนี้ บริษัทคาดว่าลูกค้าอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะทำ�การต่อสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าหรือไอน้ำ�กับบริษัทเมื่อสัญญาสิ้นสุดลง เนื่องจากหากลูกค้าเปลี่ยนผู้จำ�หน่ายไฟฟ้าหรือไอน้ำ�จะมี ต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงและติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ค่อนข้างสูง ความเสี่ยงเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความมั่นคงของโรงไฟฟ้า
ประสิทธิภาพ (Efficiency) ของกระบวนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้ามีผลต่อผลประกอบการของบริษัทอย่าง มีนยั สำ�คัญ กล่าวคือ หากโรงไฟฟ้าไม่สามารถรักษาประสิทธิภาพในการผลิตได้ เช่น มีค่าอัตราการใช้ความร้อน (Heat Rate) สูงกว่าทีก่ �ำ หนดไว้ในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า อาจส่งผลให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ สูงขึน้ หรือการทีโ่ รงไฟฟ้า ต้องหยุดการผลิตอย่างกะทันหันเนื่องจากขาดความมั่นคง (Reliability) ของระบบ ไม่ว่าจะมีสาเหตุจากปัจจัย ภายในของบริษัทเองหรือจากปัญหาของระบบสายส่งภายนอกที่เชื่อมต่ออยู่ก็ตาม บริษัทมีความจำ�เป็นต้องหยุด ซ่อมบำ�รุงนอกเหนือจากแผนการบำ�รุงรักษา (Unscheduled Shutdown) ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษทั อัตราการทำ�กำ�ไรและมีผลกระทบในทางลบต่อความน่าเชื่อถือ และผลประกอบการของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษทั มีนโยบายและจัดการให้โรงไฟฟ้าแต่ละแห่งมีการบำ�รุงรักษาอย่างสม่ำ�เสมอตามแผนการ บำ�รุงรักษา เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า รวมทั้งมีการนำ� ระบบบริหารคุณภาพ เช่น ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ISO 14001 และ OHSAS/TIS 18001 รวมถึง ระบบการบำ�รุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance: TPM) มาใช้ในพื้นที่ปฏิบัติการ เป็นต้น ตลอดจนมีระบบบริหารจัดการด้านความมั่นคงและความปลอดภัย รวมถึงการควบคุมเหตุฉุกเฉินให้เป็น ไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้ อ งตามมาตรฐานการบริ ห ารจั ด การด้ า นความปลอดภั ย ความมั่ น คง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (Safety, Security, Health and Environment Standard: SSHE Standard) ของกลุ่ม ปตท. เพื่อให้บริษัทสามารถรักษาประสิทธิภาพและความมั่นคงของการผลิตไว้ได้ในระดับที่ต้องการ นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้ง Reliability Improvement Team เพื่อปรับปรุงความมั่นคงของระบบผลิตและจำ�หน่าย ไฟฟ้าของบริษัทอย่างต่อเนื่อง และมีแผนที่จะยกระดับความมั่นคงของระบบเครือข่ายสายส่งไฟฟ้าที่บริษัทเชื่อม ต่ออยู่ให้สูงขึ้นโดยร่วมมือกับ กฟผ. และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม
กระบวนการผลิตไฟฟ้าอาจมีความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก ประสิทธิภาพของการผลิต และมาตรการจัดการทีไ่ ม่เพียงพอ ซึง่ อาจทำ�ให้เกิดความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงาน หรือชุมชนในบริเวณใกล้เคียง รวมถึงการที่บริษัทอาจถูกดำ�เนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อม ดังนั้น บริษัทจึงให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อความปลอดภัย สังคมและ สิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด และได้ใช้มาตรการเชิงรุกและการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งจากเครื่องจักร สถานีงาน หรือจากขั้นตอนการทำ�งานด้วยมาตรการต่างๆ ดังนี้ • กำ�หนดให้มีตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม โดยมีการติดตามตรวจสอบและรายงานผลต่อฝ่ายบริหารและคณะกรรมการเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง • จัดอบรมการจัดทำ�แผนงานโดยคำ�นึงถึงคุณภาพ ความมัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม เป็นประการแรก อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้แผนงานดังกล่าวตอบสนองต่อ ประสิทธิภาพและสภาพแวดล้อมในการทำ�งานอย่างแท้จริง • วิเคราะห์พฤติกรรมการทำ�งานที่ไม่ปลอดภัย การสำ�รวจจุดเสี่ยงต่อความมั่นคงและปลอดภัย การกำ�หนด พื้นที่อันตราย รวมถึงการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และวิธีการทำ�งานที่อาจส่งผลกระทบต่อ สุขภาพของพนักงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบและกำ�หนดมาตรการป้องกันหรือ แก้ปัญหาอย่างถูกต้องและเหมาะสม • พัฒนากระบวนการทำ � งานที่ เ น้ น การลดผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตลอดจนออกแบบ กระบวนการผลิตและการคัดเลือกอุปกรณ์โดยคำ�นึงถึงหลักการ QSHE ปัจจัยความเสี่ยง
P- 111
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
• พัฒนาคู่มือความปลอดภัยในการทำ�งาน การส่งเสริมความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมให้แก่พนักงาน คู่ค้าทางธุรกิจ และผู้มีส่วน ได้เสียกับองค์กร จากการปฏิบัติงานที่เข้มแข็งและต่อเนื่อง ทำ�ให้บริษัทไม่มีสถิติการเกิดอุบัติการณ์ด้าน QSHE ถึงขั้นสูญเสีย วันทำ�งานหรือสูญเสียโอกาสในการผลิต และยังคงรักษามาตรฐานการรับรองตามระบบสากล ได้แก่ ISO 9001 – 2008 ISO 14001 – 2004 QHSAS 18001 – 2007 และ TIS 18001 – 2011 ได้เป็นอย่างดี รวมถึง ได้รับรางวัลและการรับรองจากหน่วยงานราชการอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการดำ�เนินการติดตามและตรวจ วัดด้านสิ่งแวดล้อมตามหลัก EIA การจัดการของเสียในโรงงาน โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม การนำ�ของเสีย จากระบบการผลิตมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และการรักษาอุบัติเหตุให้เป็นศูนย์ เป็นต้น ความเสี่ยงจากการคุ้มครองของการประกันภัยที่ไม่เพียงพอต่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
ในการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท อาจมี ค วามเสี่ ย งจากการปฏิ บั ติ ง าน และอาจก่ อ ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ห รื อ ความเสียหายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้า ซึ่งบริษัทได้จัดให้มีการประกันภัยโรงไฟฟ้าที่ครอบคลุมในเรื่องการ ประกันความเสีย่ งทุกประเภท (All Risks) ซึง่ ให้ความคุม้ ครองความสูญเสียหรือเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของโรงไฟฟ้า การประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) ซึ่งคุ้มครองความสูญเสียในทางกำ�ไร และประกันภัย ความรับผิดชอบต่อบุคคลที่สาม (Third Party Liability) ที่รับผิดต่อบุคคลภายนอกจากความเสียหายที่เกิดจาก การบาดเจ็บทางร่างกายหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน โดยกรมธรรม์จะมีเงื่อนไขการให้ความคุ้มครอง และมี ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับความรับผิดส่วนแรก (Deductibles) ตามวงเงินเสียหายที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบ เอง โดยกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวมีขอ้ ยกเว้นการคุม้ ครองตามแบบกรมธรรม์มาตรฐานทัว่ ไป ส่งผลทำ�ให้บริษทั อาจไม่ได้รบั ความคุม้ ครองจากการประกันภัย หรือความสูญเสียมีมลู ค่าสูงเกินกว่าวงเงินเอาประกันภัย ซึง่ อาจส่ง ผลกระทบในทางลบต่อการประกอบธุรกิจ สถานะทางการเงิน และผลประกอบการของบริษัทได้ อย่างไรก็ดี บริษัทได้จัดให้มีมาตรการเฝ้าและติดตามสถานการณ์ ตลอดจนการเน้นย้ำ�กับผู้ปฏิบัติงานถึง ความไม่ประมาท และทำ�การบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ตา่ งๆ ตามระยะเวลาทีก่ �ำ หนด การกำ�หนดแผนการรักษาความปลอดภัย และการฝึกซ้อมเป็นประจำ� ทำ�ให้แนวโน้มของความเสี่ยงในเรื่องนี้ไม่มีนัยสำ�คัญนัก ความเสี่ยงจากการบริหารโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ปัจจุบนั โครงการโรงไฟฟ้าของบริษทั บางโครงการยังอยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง ซึง่ บริษทั อาจมีความเสีย่ งในการดำ�เนิน โครงการไม่เป็นไปตามแผนการ ทั้งที่เกิดจากความล่าช้าในการก่อสร้างและติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ของผู้รับ เหมาโครงการก่อสร้าง เงินทุนในการดำ�เนินการตามโครงการไม่เพียงพอ (Cost Overrun) ปัญหาเชิงเทคนิค วิศวกรรมปัญหาจากความขัดแย้งกับชุมชน หรือปัญหาจากภัยธรรมชาติ นอกจากนี้ ในการบริหารงานโครงการ ก่อสร้างบางแห่งในต่างประเทศอาจมีเงื่อนไขหรือข้อจำ�กัดต่างๆ ซึ่งจะมีผลกระทบทำ�ให้บริษัทไม่สามารถรับรู้ รายได้ตามแผนการ และไม่ได้รับผลตอบแทนตามที่คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้ ปัจจุบัน บริษัทมีโครงการที่อยู่ระหว่าง การก่อสร้างทั้งสิ้น 5 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ที่ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร ภายใต้การบริหารของ NNEG (2) โครงการ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน่ (Cogeneration Power Plant) ทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเขตประกอบ การอุตสาหกรรมไออาร์พีซี ภายใต้การบริหารของ IRPC-CP (3) โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรี ภายใต้ การบริหารของ XPCL (4) โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�น้ำ�ลิก 1 ภายใต้การบริหารของ NL1PC และ (5) โครงการ โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) โครงการที่ 2 ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ตั้งอยู่ใน เขตนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ภายใต้การบริหารของ BIC อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการคัดเลือกบริษัทรับเหมาก่อสร้างที่มีชื่อเสียงและความชำ�นาญ การทำ�สัญญารับเหมาก่อสร้างเบ็ดเสร็จ (Turn Key Contract) อย่างรัดกุม การจัดให้มีทีมที่ปรึกษาทางเทคนิค และบริหารงานโครงการในการควบคุม ตรวจสอบ และติดตามความคืบหน้าของโครงการอย่างสม่�ำ เสมอและต่อเนือ่ ง ตลอดจนมุง่ เน้นการสือ่ สารและทำ�ความเข้าใจกับชุมชนต่างๆ โดยรอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าจะแล้ว เสร็จตามระยะเวลาภายใต้เงินลงทุนโครงการที่กำ�หนด และมีคุณภาพตามที่คาดหวัง
P- 112
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
ความเสี่ยงจากการพัฒนา หรือลงทุนในโครงการใหม่ หรือการตัดสินใจเลือกโครงการ ลงทุนและผู้ร่วมทุน บริษทั มีแผนทีจ่ ะขยายการลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าทัง้ ในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ การคัดเลือก โครงการลงทุนและผู้ร่วมลงทุน รวมถึงการพัฒนาโครงการใหม่ๆ ย่อมมีความเสี่ยงที่จะไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง และไม่บรรลุตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีการกำ�หนดมาตรการในการคัดเลือกโครงการลงทุน และผูร้ ว่ มลงทุนอย่างรอบคอบ ทัง้ การวิเคราะห์ปจั จัยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องไม่วา่ จะเป็นนโยบายด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมของประเทศที่จะร่วมลงทุน และนำ�สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุน เครือ่ งจักรอุปกรณ์ และต้นทุนการก่อสร้าง รวมถึงมาตรการข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องมาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ใน การลงทุน และผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการลงทุนนั้นๆ นอกจากนี้ ยังมีการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงไป (Sensitivity Analysis) ซึ่งอาจส่งผลกระทบกับโครงการดังกล่าว เพื่อเตรียมหาแนวทางป้องกัน ความเสีย่ งไว้ลว่ งหน้า ในกรณีทบี่ ริษทั จะมีการเข้าร่วมทุนในโครงการใหม่ๆ บริษทั ให้ความระมัดระวังในการพิจารณา การคัดเลือกผู้ร่วมลงทุน โดยพิจารณาจากชื่อเสียง ความรู้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ ความมั่นคงและฐานะ ทางการเงิน รวมทั้งผลการดำ�เนินงานที่ผ่านมาในอดีต เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถดำ�เนินธุรกิจร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพในระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทได้เข้าลงทุนใน 24M ซึ่งเป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลักในการวิจัยและพัฒนาการผลิต แบตเตอรี่ประเภทลิเทียม-ไอออน (Lithium-Ion) เพื่อเป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรมซึ่ง ใช้วัตถุดิบและเวลาในการผลิตลดลง ทำ�ให้ต้นทุนในการผลิตต่ำ�กว่าแบตเตอรี่ลิเทียม-ไอออนทั่วไป และโอกาสที่ จะเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรลดลงทำ�ให้มคี วามปลอดภัยมากขึน้ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาแบตเตอรีด่ งั กล่าวยังอยู่ ระหว่างดำ�เนินการทดสอบการผลิตในปริมาณมากเพื่อการค้า (High Volume Manufacturing) ซึ่งมีความเสี่ยง ที่การทดสอบอาจไม่ประสบความสำ�เร็จและทำ�ให้ไม่สามารถผลิตแบตเตอรี่ลิเทียม-ไอออนเพื่อการค้าได้ หรือ ผลการผลิตอาจไม่เป็นที่พอใจ หรืออาจเกิดความผิดพลาดในระหว่างการผลิต ทำ�ให้ต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสถานะทางการเงิน และผลประกอบการของบริษัทในที่สุด อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน 24M ได้ทำ�การทดสอบผลิตภัณฑ์ในระดับห้องปฏิบัติการ (Lab Scale) และการทดสอบการผลิตในระดับ Pilot Plant ให้ผลเป็นที่น่าพอใจซึ่งทำ�ให้มีความมั่นใจได้ว่า 24M จะมีโอกาสประสบความสำ�เร็จในการผลิตแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนเพื่อการค้า (Commercial Scale) ค่อนข้างมาก ความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงการกำ�กับดูแล และการปฏิบต ั ต ิ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทีผ่ า่ นมาแนวทางการกำ�กับดูแลผูผ้ ลิตไฟฟ้าในประเทศมีการเปลีย่ นแปลงไปอย่างมีนยั สำ�คัญ อีกทัง้ มีการชะลอ ยกเลิก หรือเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ข้อเสนอต่างๆ เกี่ยวกับโครงสร้างอุตสาหกรรมไฟฟ้าหรือโครงสร้างกิจการ ไฟฟ้าตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ อุตสาหกรรมไฟฟ้าในประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ล้วนสามารถส่ง ผลกระทบอย่ า งมี นั ย สำ� คั ญ ต่ อ การประกอบธุ ร กิ จ สถานะทางการเงิ น และผลประกอบการของบริ ษั ท ได้ นอกจากนี้ ในปัจจุบนั กฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานธุรกิจไฟฟ้ามีความเข้มงวด มากขึ้น การฝ่าฝืนกฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายเหล่านีอ้ าจจะส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงานและชือ่ เสียงของ บริษทั ได้ อย่างไรก็ดี บริษัทได้ตระหนักและพยายามลดความเสี่ยงดังกล่าว โดยให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงาน และสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างครบถ้วน รวมถึง ให้ความสำ�คัญกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสุขภาพของพนักงาน เพื่อให้มั่นใจว่าโรงไฟฟ้าทุกแห่งมีการ ตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อมทั้งด้านอากาศ น้ำ� มลภาวะทางเสียง และความหลากหลายทางชีวภาพอย่าง จริงจังและต่อเนื่อง
ปัจจัยความเสี่ยง
P- 113
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ ความเสี่ยงจากการที่บริษัทไม่สามารถควบคุมสิทธิออกเสียง
ปัจจุบนั บริษทั ได้รว่ มลงทุนในบริษทั ทีพ่ ฒ ั นาโครงการโรงไฟฟ้าต่างๆ (โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในหัวข้อ “นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ”) และในอนาคตบริษัทอาจมีการร่วมลงทุนกับบริษัทอื่นๆ อีก ซึ่งบริษัท อาจมิได้ส่งตัวแทนเข้าเป็นกรรมการบริษัท หรือเป็นผู้ถือหุ้นในระดับที่มีนัยสำ�คัญ ดังนั้น หากมีวาระใดที่ต้องรับ อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงข้างมาก บริษัทอาจไม่สามารถ ควบคุมสิทธิออกเสียงในที่ประชุมกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้นๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดียว กับบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม หากเป็นการอนุมัติรายการที่ก่อให้เกิดประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทนั้นๆ บริษัทเชื่อ มั่นว่า จะได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนจากกรรมการหรือผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ ในการอนุมัติวาระดังกล่าวในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นในบริษัทนั้นๆ นอกจากนี้ บริษัทมีการกำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงาน ของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น การติดตามผลการดำ�เนินงาน พิจารณาทบทวนและปรับปรุง นโยบายและแผนงานที่สำ�คัญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผล การดำ�เนินงานและฐานะทางการเงินที่มีความถูกต้องและครบถ้วน ความเสีย่ งจากผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ในกลุม ่ และเงินปันผลจากบริษท ั ในกลุม ่ ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
เนือ่ งจากโครงการโรงไฟฟ้าบางโครงการทีบ่ ริษทั เข้าลงทุนมีลกั ษณะเป็นการร่วมทุนซึง่ อาจมีสดั ส่วนการถือหุน้ ที่ ไม่มนี ยั สำ�คัญ และบริษทั อาจมิได้มบี ทบาทอย่างเต็มทีใ่ นการดำ�เนินการในโครงการทีบ่ ริษทั เข้าลงทุนให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่บริษัทคาดไว้ ดังนั้น บริษัทจึงจัดให้มีระบบตรวจสอบติดตามและประเมินผลอย่างใกล้ชิด ได้แก่ การกำ�หนดเป้าหมายด้านความพร้อมจ่ายและประสิทธิภาพการผลิตของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ การใช้เชือ้ เพลิงอย่าง มีประสิทธิภาพ การกำ�หนดแผนการบำ�รุงรักษาและการจัดการสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในมาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนด รวมทั้งกำ�หนดให้มีการดูแลความเสี่ยงด้านการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษาโรงไฟฟ้าที่ดำ�เนินการผลิตเชิงพาณิชย์ เพื่อช่วยให้ผลการดำ�เนินงานของโครงการที่บริษัทเข้าลงทุนสามารถบรรลุตามเป้าหมายได้ ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร
บริษัทประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าจากพลังงานหลายรูปแบบ ซึ่งโรงไฟฟ้าแต่ละประเภทจะต้องพึ่งพิงบุคลากรที่มี ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของโรงไฟฟ้าเฉพาะด้านนั้นๆ ซึ่งบริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร ให้มคี ณ ุ ภาพ ทักษะและความสามารถ รวมทัง้ จัดให้มกี ารวางระบบ การจัดทำ�คูม่ อื และขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านอย่าง ชัดเจน เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รองรับการขยายตัวทางธุรกิจของบริษัทและสร้าง ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว โดยบริษัทมีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับตำ�แหน่งงาน และพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญตลอดจนส่งเสริมการสร้างความผูกพันต่อองค์กร การทำ�งานในลักษณะ ทีม และจัดให้มีระบบการบริหารจัดการและกระบวนการปฏิบัติงานให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง การให้ความสำ�คัญกับการจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสม เป็นธรรม และอยูใ่ นมาตรฐานอัตราการจ้าง งานของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกัน นอกจากนี้ บริษทั อยูร่ ะหว่างการพัฒนาระบบบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และวางโครงสร้างองค์กรทีเ่ ข้มแข็งโดยกำ�ลังพัฒนา “ระบบบริหารจัดการทีเ่ ป็นเลิศ” หรือ Operational Excellence Management System (OEMS) ร่วมกับกลุ่ม ปตท. เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทเป็นไปอย่างยั่งยืนด้วย มาตรฐานระดับสากล (Global Best Practice in Power Business) อีกด้วย ความเสี่ยงด้านภาพลักษณ์องค์กร
ความคาดหวังจากสาธารณชนทีต่ อ้ งการเห็นการดำ�เนินงานของโรงไฟฟ้าเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ทำ�ให้การก่อสร้าง และดำ�เนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าจำ�เป็นต้องทำ�ด้วยความรอบคอบ เพือ่ ลดผลกระทบทีจ่ ะมีตอ่ สิง่ แวดล้อมและชุมชนใน บริเวณใกล้เคียงให้มากที่สุด หากการก่อสร้าง กระบวนการผลิต หรือการบริหารจัดการโรงไฟฟ้าของบริษัทก่อให้ P- 114
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ก็อาจจะนำ�มาซึ่งการต่อต้านจากชุมชนต่อการดำ�เนินงานโรงไฟฟ้าของ บริษทั หรือทำ�ให้ความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั กับชุมชนตกต่�ำ ลง ซึง่ ปัจจัยเหล่านีอ้ าจส่งผลกระทบทางลบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อภาพลักษณ์และความน่าเชือ่ ถือของบริษทั และการยอมรับจากผูร้ ว่ มทุน ผูถ้ อื หุน้ และสังคมทุกภาคส่วน อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการเลือกใช้เทคโนโลยีการผลิตทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ พยายามสร้าง การยอมรับจากสาธารณชนโดยมีการสื่อสารการดำ�เนินงานที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (CSR) รวมถึง การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน เพื่อรักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ขององค์กร และสร้างความเชื่อถือ และการยอมรับของผู้ร่วมทุน ผู้ถือหุ้น และสังคม (โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ “ความรับผิดชอบ ต่อสังคม”) ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย
ตามลักษณะการประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าทีต่ อ้ งใช้เงินลงทุนจำ�นวนมาก เงินทุนทีผ่ ปู้ ระกอบการนำ�มาใช้สว่ นใหญ่ จะเป็นการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงิน โดยมีระยะเวลาการให้สนิ เชือ่ ทีย่ าวและอัตราดอกเบีย้ เป็นประเภทลอยตัว (Floating Interest Rate) ส่งผลให้บริษทั มีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ เช่นเดียวกับผูป้ ระกอบการ อื่นในอุตสาหกรรม จากงบแสดงฐานะทางการเงินรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีเงินกู้ยืมจากสถาบัน การเงินประมาณ 12,791 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมที่มีอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว ดังนั้น หากอัตรา ดอกเบี้ยของสถาบันการเงินมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำ�คัญก็จะส่งผลกระทบต่อต้นทุนทางการเงิน และ กำ�ไรสุทธิของบริษัทได้ ทั้งนี้ บริษัทมีเงินกู้บางส่วนที่ใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นอัตราอ้างอิง THBFIX ซึ่งเป็นอัตรา ดอกเบี้ยที่มีความผันผวนพอสมควรและมีเงินกู้บางส่วนที่ใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงิน ฝากระยะเวลา 6 เดือนของสถาบันการเงินผู้ให้กู้ ซึ่งมีความผันผวนไม่มากนัก ทั้งนี้ หากอัตราดอกเบี้ยมีความ ผันผวนมากขึน้ ในอนาคต บริษทั สามารถลดความเสีย่ งดังกล่าวได้โดยการเข้าทำ�สัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ จากอัตราลอยตัวเป็นอัตราคงที่ (Interest Rate Swap) ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ปัจจุบนั บริษทั มีรายได้จากการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าในประเทศในรูปของเงินสกุลบาททัง้ หมด ซึง่ ทีผ่ า่ นมาบริษทั มีการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าในต่างประเทศหลายโครงการ โดยเงินทุนที่จะนำ�มาใช้พัฒนาโครงการการจัดซื้อ เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ ของโรงไฟฟ้า ตลอดจนถึงต้นทุนในการดำ�เนินงานบางส่วนอยู่ในรูปของสกุลเงินต่าง ประเทศประกอบกับบริษัทมีแผนธุรกิจที่จะขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศมากขึ้น ในขณะที่ยังไม่มีรายได้ในรูป เงินสกุลต่างประเทศรองรับ หากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรามีความผันผวนสูง อาจมีผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อการประกอบธุรกิจ สถานะทางการเงิน และผลประกอบการของบริษัทได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีการป้องกันความเสี่ยงจากการผันผวนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา โดยติดตามวิเคราะห์ ความเคลื่อนไหวและปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา เพื่อใช้พิจารณาทางเลือกใน การจัดหาเงินทุนที่เหมาะสม รวมถึงการใช้เครื่องมือทางการเงินประเภทต่างๆ (Hedging Instruments) เพื่อลด ความเสี่ยงของความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราอีกด้วย นอกจากนี้ ในอนาคตบริษัทจะมีรายได้จาก โครงการโรงไฟฟ้าในต่างประเทศในรูปเงินสกุลเงินต่างประเทศ ซึง่ จะช่วยให้บริษทั สามารถบริหารจัดการอัตราแลก เปลี่ยนเงินตราได้ส่วนหนึ่ง ความเสี่ยงจากความสามารถในการชำ�ระหนี้
การขยายกิจการของบริษทั ในอนาคตต้องใช้เงินลงทุนจำ�นวนมาก โดยแหล่งเงินทุนส่วนใหญ่จะมาจากเงินกูย้ มื เป็นหลัก บริษัทจึงมีภาระที่ต้องชำ�ระดอกเบี้ยและคืนเงินกู้ยืมให้แก่สถาบันการเงินตามกำ�หนด และปฏิบัติตาม เงื่อนไขทางการเงินตามที่ได้ระบุในสัญญากู้ยืมเงิน หากบริษัทมีผลประกอบการไม่ดี หรือไม่สามารถปฏิบัติตาม เงื่อนไขทางการเงินดังกล่าวได้ บริษัทอาจมีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถชำ�ระหนี้ได้ตามที่กำ�หนด หรืออาจถูกเรียก ให้ชำ�ระหนี้คืนทั้งจำ�นวนทันที ปัจจัยความเสี่ยง
P- 115
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม ทีผ่ า่ นมาบริษทั มีการวางแผนทางการเงินระยะยาวและมีการติดตามผลอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้าง ความมั่นใจว่าบริษัทจะมีกระแสเงินสดเพียงพอที่จะขยายการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสามารถ ชำ�ระดอกเบี้ยและเงินกู้ยืม รวมทั้งปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินตามสัญญากู้ยืมเงินได้ตามที่กำ�หนด ความเสี่ยงจากการจัดหาเงินทุนตามภาระผูกพันการลงทุน
เนือ่ งจากโรงไฟฟ้าบางส่วนของบริษทั อยูร่ ะหว่างดำ�เนินการก่อสร้าง และบริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะต้องใส่เงินทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อีกประมาณ 6,379 ล้านบาท (โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมในหัวข้อ “ลักษณะ การประกอบธุรกิจ”) นอกจากนี้ หากเงินลงทุนที่เตรียมไว้ไม่เพียงพอเนื่องมาจากความล่าช้าในการก่อสร้างและ ติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ของผู้รับเหมาโครงการก่อสร้าง ปัญหาเชิงเทคนิควิศวกรรม หรือข้อจำ�กัดใดๆ อาจ ส่งผลให้บริษัทมีภาระผูกพันที่ต้องจัดหาเงินลงทุนเพิ่มเติมจากที่กำ�หนดไว้ (Cost Overrun) เพื่อนำ�มาพัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าให้แล้วเสร็จ บริษัทจึงมีภาระที่จะต้องจัดหาเงินทุนตามภาระผูกพันดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทมีเงินสดคงเหลือและวงเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินจำ�นวนประมาณ 8,000 ล้านบาท รวมทั้งบริษัทจะได้รับเงินจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ ทำ�ให้บริษัทมีเงินเพียงพอสำ�หรับ ภาระผูกพันดังกล่าว เพื่อที่จะทำ�ให้การดำ�เนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ความเสีย่ งจากการลดลงของราคาหุน ้ อันเนือ่ งมาจากการเสนอขายหุน ้ ให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานในราคาต่ำ�กว่าการเสนอขายหุ้นแก่ประชาชน ในการเสนอขายหุน้ เพิม่ ทุนครัง้ นี้ บริษทั ได้มกี ารเสนอขายหุน้ ให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั จำ�นวนไม่เกิน 9,310,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.62 ของทุนเรียกชำ�ระแล้วภายหลังการเพิ่มทุนในครั้งนี้ โดย มีราคาเสนอขายหุ้นให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานในราคา 18 บาทต่อหุ้นต่ำ�กว่าราคาเสนอขายหุ้นให้แก่ ประชาชน ดังนั้น ผู้ลงทุนทั่วไปที่จองซื้อหุ้นจึงอาจมีความเสี่ยงจากการลดลงของราคาหุ้นภายหลังหุ้นเข้าซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ ทัง้ นี้ บริษทั ได้ก�ำ หนดระยะเวลาห้ามขายหุน้ ทีไ่ ด้จดั สรรให้กรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ดังกล่าวภายในระยะเวลา 24 เดือน โดยกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานสามารถทยอยขายหุ้นที่ถูกสั่งห้ามขาย ได้คราวละไม่เกิน 1 ใน 3 ของจำ�นวนหุ้นที่ได้รับการจัดสรรเมื่อครบกำ�หนด 12 เดือน 18 เดือน และ 24 เดือน นับแต่วันที่หุ้นของบริษัทเริ่มทำ�การซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ดังนั้น ผู้ลงทุนทั่วไปที่จองซื้อหุ้นที่เสนอขายใน ครั้งนี้ยังคงมีความเสี่ยงจากการลดลงของราคาหุ้น หากกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทขายหุ้นภาย หลังระยะเวลาห้ามขายหุ้นดังกล่าว นอกจากนี้ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการจ่ายโดย ใช้หนุ้ เป็นเกณฑ์ บริษทั จะต้องบันทึกค่าใช้จา่ ยในงวดบัญชีทมี่ กี ารจ่ายชำ�ระเงินค่าหุน้ ทีข่ ายให้แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษัท เท่ากับส่วนต่างระหว่างราคาหุ้นที่ขายให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท กับราคาที่เสนอขายต่อประชาชนทั่วไป คูณด้วยจำ�นวนหุ้นที่ขายให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ดังนั้น ผู้ลงทุนจะมีความเสี่ยงจากการที่กำ�ไรต่อหุ้นของบริษัทจะลดลง เมื่อบริษัทมีการบันทึกค่าใช้จ่ายดังกล่าว ความเสี่ยงเกี่ยวกับการนำ�หุ้นสามัญของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษทั มีความประสงค์จะเสนอขายหุน้ ต่อประชาชนครัง้ นี้ ก่อนทีจ่ ะได้ทราบผลการพิจารณาของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทัง้ นี้ บริษทั ได้ยนื่ คำ�ขออนุญาตนำ�หลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 โดยบริษัทหลักทรัพย์ ฟินันซ่า จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์ เคที ซีมิโก้ จำ�กัด และบริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำ�กัด ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ได้พิจารณาคุณสมบัติของบริษัทในเบื้องต้นแล้วเห็นว่าบริษัทมีคุณสมบัติครบถ้วน ทีจ่ ะสามารถเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ ยกเว้นคุณสมบัตกิ ารกระจายหุน้ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ รายย่อยจำ�นวน ไม่ต่ำ�กว่า 1,000 ราย บริษัทจึงยังมีความไม่แน่นอนที่จะได้รับอนุญาตจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้เป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนดังนัน้ ผูล้ งทุนจึงอาจมีความเสีย่ งเกีย่ วกับสภาพคล่องในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในตลาดรอง และอาจไม่ได้รับผลตอบแทนจากการขายหุ้นได้ตามราคาที่คาดการณ์ไว้ หากหลักทรัพย์ของบริษัทไม่สามารถเข้า จดทะเบียนได้อย่างไรก็ตามที่ปรึกษาทางการเงินคาดว่าภายหลังการเสนอขายหุ้นให้กับประชาชนแล้วเสร็จ บริษัทจะมีคุณสมบัติเกี่ยวกับการกระจายการถือหุ้นตามเกณฑ์ที่กำ�หนดดังกล่าวข้างต้น
P- 116
ปัจจัยความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
การวิจยั และพัฒนา บริษท ั ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานของธุรกิจหลัก รวมถึงการ วิจัยและพัฒนาในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของบริษัท อันจะเป็นการเพิ่มผลตอบแทน และกระจายความเสี่ยงในการลงทุนของบริษัท โดยในปัจจุบันบริษัทได้เข้าร่วมลงทุนใน 24M ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ที่ ทำ � การวิ จั ย และพั ฒ นาการผลิ ต และจำ � หน่ า ยแบตเตอรี่ ( Lithium-Ion) ด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบใหม่ ทีใ่ ช้วต ั ถุดบ ิ และระยะเวลาในการผลิตลดลง แต่มป ี ระสิทธิภาพ และความปลอดภัยของการใช้แบตเตอรีส ่ งู ขึน ้ เมือ่ เทียบกับแบตเตอรีล ่ เิ ทียม-ไอออนทัว่ ไป โดย แบตเตอรีท ่ ผ ี่ ลิตได้จะนำ�มาใช้เพือ่ เป็นระบบกักเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับภาคอุตสาหกรรม เช่น การเก็บไฟฟ้าสำ�รองสำ�หรับกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดการต่อ เนื่องของกระบวนการผลิตในกรณีที่การจ่ายกระแสไฟฟ้าเกิดหยุดชะงัก หรือใช้กักเก็บไฟฟ้า จากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้จ่ายไฟฟ้าในช่วงที่ไม่มีแสงอาทิตย์ เป็นต้น ซึ่งการ ทดสอบผลิตภัณฑ์ในระดับห้องปฏิบัติการ (Lab Scale) และการทดสอบการผลิตในระดับ Pilot Plant ให้ผลเป็นทีน ่ า่ พอใจ และคาดว่าจะสามารถก่อสร้างโรงงานเพือ่ ผลิตและจำ�หน่าย แบตเตอรี่ในเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2561
การวิจัยและพัฒนา
P- 117
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสำ�คัญอืน ่ ข้อมูลของบริษัท บริษัท บริษัทที่ออกหลักทรัพย์
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ
บริษัทประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าไอน้ำ�และสาธารณูปโภคต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทยังดำ�เนินธุรกิจในลักษณะการเข้าถือหุ้นในบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิต และจำ�หน่ายไฟฟ้าไอน้ำ� และสาธารณูปโภคต่างๆ รวมถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่องทั้งในและต่าง ประเทศ
เลขทะเบียนธุรกิจ
0107557000411
หมวดธุรกิจ
พลังงานและสาธารณูปโภค
กลุ่มอุตสาหกรรม
ทรัพยากร
ทุนจดทะเบียน
14,983,008,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ทุนที่เรียกชำ�ระแล้ว
11,237,256,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
มูลค่าที่ตราไว้
10.00 บาท
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์
02-140-4600
โทรสาร
02-140-4601
เว็บไซต์
www.gpscgroup.com
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่สำ�คัญ
P- 119
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)(1)
ทุนชำ�ระแล้ว (ล้านบาท)(1)
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น (บาท)(1)
สัดส่วนการถือหุ้น (ทางตรงและทางอ้อม) (%)(1)
บริษัทย่อย บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด (CHPP) สำ�นักงาน 555 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
ผลิ ต และจำ � หน่ า ยไฟฟ้ า และน้ำ � เย็น จากโรงไฟฟ้าพลังงานร่วมกับความ เย็น (Combined Heat and Power with District Cooling Power Plant)
500,000,000
316.22
10
100%
บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (NSC) สำ�นักงาน 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 14 ถนน วิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขต จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
ลงทุนเข้าถือหุน ้ ในกิจการทีเ่ กีย่ วข้อง กับโครงการผลิตไฟฟ้า โดย NSC ถือ หุ้นใน XPCL ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว
4,200,000,000
2,442.38
100
100%
บริษทั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด (XPCL) สำ�นักงาน 215 ถนนล้านช้าง บ้านเซียงยืน เมืองจันทบุรี นครหลวงเวียงจันทร์ สปป.ลาว
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าที่ผลิตจาก โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�
26,861,000,000
10
25%
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และ ไอน้ำ�ที่ ผลิตจากโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
3,362,300,000
1,515.58
10
51%
บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด (TSR) สำ�นักงาน อาคารมาลีนนท์ ชั้น 16 ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
ลงทุนเข้าถือหุน้ ในกิจการทีเ่ กีย่ วข้อง กับโครงการผลิตไฟฟ้า โดย TSR ถือ หุ้นใน SSE1 ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว
583,333,400
583.33
10
40%
บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จำ�กัด (SSE1) สำ�นักงาน 3199 อาคารมาลีนนท์ ชั้น 16 ถนนพระรามที่ 4 แขวง คลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าที่ผลิตจาก โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
1,800,000,000
1,800.00
100
40%
บริษท ั ไฟฟ้า น้�ำ ลิก1 จำ�กัด (NL1PC) 402B of 4th Floor, VicngVang Tower, Boulichan Road, Unit 15, Dongpalan Thong Village, Sisttanak, Vientiane Capital, Lao PDR
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าที่ผลิตจาก โรงไฟฟ้าพลังน้ำ�
USD 37,200,000
USD MILLION 8.85
USD 10
40%
บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด (NNEG) สำ�นักงาน 999 หมู่ที่ 13 ถนนพหลโยธิน ตำ�บลคลองหนึ่ง อำ�เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และ ไอน้�ำ จาก โรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
1,002,000,000
1,002.00
10
30%
9,324.50
บริษัทร่วมทางอ้อม
บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด (IRPC-CP) สำ�นักงาน 299 หมู่ที่ 5 ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน
กิจการที่ควบคุมร่วมกันทางอ้อม
P- 120
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่สำ�คัญ
รายงานประจำ�ปี 2557
บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน (บาท)(1)
ทุนชำ�ระแล้ว (ล้านบาท)(1)
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น (บาท)(1)
สัดส่วนการถือหุ้น (ทางตรงและทางอ้อม) (%)(1)
บริษัทร่วม ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า และ ไอน้�ำ จาก โรงไฟฟ้า โคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant)
1,370,000,000
1,370.00
10
25%
บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (BSA) สำ�นักงาน 555 อาคารสำ�นักงาน ปตท. คลังน้ำ�มันพระโขนง ถนนอาจณรงค์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คล ของกลุ่ม ปตท.
2,000,000
2.00
10
25%
บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (SSA) สำ�นักงาน 199/7 หมู่ที่ 1 ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000
บริหารกิจการของกลุ่ม ปตท.
5,000,000
5.00
10
25%
บริ ษั ท บางปะอิ น โคเจนเนอเรชั่ น จำ�กัด (BIC) สำ�นักงาน 587 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 เงินลงทุน
เงินลงทุนทางอ้อม
24M Technologies, Inc. (24M) สำ�นักงาน Cambridge, Massachusetts, U.S.A.
วิจัยและพัฒนาการผลิตแบตเตอรี่ ประเภทลิเทียม-ไอออน (LithiumIon) เพื่ อ พั ฒ นาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ป็ น ระบบกั ก เก็ บ ไฟฟ้ า สำ� รองสำ � หรั บ ภาคอุตสาหรรมและการเสริมสร้าง ความมั่นคงในระบบจ่ายไฟฟ้าและ ระบบเชื่อมโยง
USD 50,118,000
USD MILLION 50.12
USD 0.001
17%
บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด (RPCL) สำ�นักงาน 1828 ถนนสุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260
ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้า พลั ง ความร้ อ นร่ ว ม (Combine Cycle Power Plant)
7,325,000,000
7,325.00
100
15%
หมายเหตุ : (1) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่สำ�คัญ
P- 121
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บุคคลอื่นๆ 1. นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์
02-229-2800
โทรสาร
02-359-1259
2. ผู้สอบบัญชี บริษัท
บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 50-51 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์
02-677-2000
โทรสาร
02-677-2222
3. ที่ปรึกษากฎหมาย
P- 122
บริษัท
บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์
02-264-8000
โทรสาร
02-657-2222
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่สำ�คัญ
รายงานประจำ�ปี 2557
4. ที่ปรึกษาด้านการเงิน บริษัท
บริษัทหลักทรัพย์ เคที ซีมิโก้ จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
ชั้น 16 อาคารลิเบอร์ตี้สแควร์ 287 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์
02-695-5000
โทรสาร
02-631-1702
บริษัท
บริษัทหลักทรัพย์ ฟินันซ่า จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
48/45 อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้นที่ 20 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์
02-697-3800
โทรสาร
02-638-0301
บริษัท
บริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำ�กัด
ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่
48/8 อาคารทิสโก้ทาวเวอร์ ชั้น 4 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์
02-633-6505
โทรสาร
02-633-6500
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลที่สำ�คัญ
P- 123
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ ้ อื หุน ้ จำ�นวนทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว ก่อนการเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนโดยทัว่ ไป ในครัง้ นี้ บริษทั มีทนุ จดทะเบียน 11,237,256,000 บาท เรียกชำ�ระแล้วจำ�นวน 11,237,256,000 บาท แบ่ง ออกเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน 1,123,725,600 หุน้ มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ต่อมาที่ประชุมใหญ่วิสามัญ ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 2/2557 เมื่ อ วั น ที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ได้มมี ติเพิม่ ทุนจดทะเบียนจำ�นวน ไม่เกิน 3,745,752,000 บาท โดยออกหุ้นสามัญเพิ่ม
ทุนจำ�นวนไม่เกิน 374,575,200 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ประชาชนโดยทั่วไป เป็นครั้งแรก (Initial Public Offering) รวมทั้งเสนอ ขายให้แก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มี ทุ น จดทะเบี ย นทั้ ง สิ้ น ไม่ เ กิ น 14,983,008,000 บาท แบ่งออกเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน ไม่เกิน 1,498,300,800 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท
ผู้ถือหุ้น โครงสร้างการถือหุน้ ของบริษทั ก่อนการเสนอขายหุน้ กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท สรุปได้ดังนี้ สามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชน รวมทั้งเสนอขายให้แก่ โครงสร้างการถือหุ้นก่อนการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน รายชื่อผู้ถือหุ้น
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
จำ�นวนหุ้น
PTTGC
340,565,223
30.31
PTT
338,266,861
30.10
TP
311,425,457
27.71
TOP
133,468,059
11.88
ประชาชน
-
-
กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท
-
-
1,123,725,600
100.00
รวม
สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ได้แก่ ปตท. PTTGC TOP และ TP ได้ เข้าทำ�สัญญาระหว่างผูถ้ อื หุน้ (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 27 ธันวาคม 2555 เพื่อกำ�หนด สิทธิและหน้าทีร่ ะหว่างผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั และการบริหาร จัดการกิจการของบริษัท ทั้งนี้ ในกรณีที่คู่สัญญาตาม สัญญาฉบับนีโ้ อนหุน้ ให้แก่บคุ คลอืน่ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ผูร้ บั โอนหุน้ จะต้องทำ�หนังสือแสดงความยินยอมในการ
P- 124
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
รักษาและปฏิบัติตามความรับผิดชอบและภาระผูกพัน ทั้งหมดตามสัญญาของผู้โอนด้วย อนึ่ง สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นดังกล่าวจะสิ้นสุดลง ทันทีในวันที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ รับหุ้นสามัญของบริษัท เข้าเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (Listing Date)
รายงานประจำ�ปี 2557
นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท
บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลขัน้ ต่�ำ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกำ�ไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั หลังหักภาษี ทุนสำ�รองตาม ที่กฎหมายกำ�หนด และภาระผูกพันตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำ�เป็น ของการใช้เงินลงทุน และความเหมาะสมอืน่ ๆ ในอนาคต โดยเมือ่ คณะกรรมการบริษทั มีมติเห็นชอบให้จา่ ยเงินปันผลประจำ�ปีแล้ว จะต้องนำ�เสนอ เพือ่ ขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีอ�ำ นาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลได้และ ให้รายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป การจ่ายเงินปันผลย้อนหลังของบริษท ั ปี
2555
10 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2556
2557
อัตรากำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)
1.4377
1.32
1.2335
อัตรากำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)
0.0167
-
0.10
1.16
-
8.11
อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อกำ�ไร สุทธิ (ร้อยละ)
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ IRPC-CP
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ NSC
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ NSC จะเป็นไปตามมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ NSC และคณะกรรมการอาจจ่าย เงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้เป็นครัง้ คราวเมือ่ ปรากฏแก่คณะกรรมการว่า NSC มีก�ำ ไรพอสมควรทีจ่ ะ กระทำ�เช่นนั้นได้ ซึ่งหาก NSC ขาดทุนห้ามมิให้จ่าย เงินปันผลจนกว่าจะได้แก้ไขให้หายขาดทุนแล้ว (1) สามารถดำ�รงอัตราส่วน Debt Service Coverage Ratio (DSCR) ทัง้ นี้ คณะกรรมการอาจเสนอให้ทป่ี ระชุมใหญ่ผถู้ อื หุน้ ลงมติให้จัดสรรเงินทุนสำ�รองอื่นตามที่เห็นว่าจะเป็น ไม่ต่ำ�กว่าอัตรา 1.15:1 (2) ไม่มกี รณีผดิ สัญญาเกิดขึน้ และการจ่ายเงินปันผลจะไม่เป็นผลให้เกิดกรณี ประโยชน์ในการดำ�เนินกิจการของ NSC อีกด้วยก็ได้ ผิดสัญญา และไม่มเี หตุสดุ วิสยั (Force Majeure) เกิดขึน้ ในขณะทีม่ กี าร จ่ายปันผล นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ XPCL (3) ได้สำ�รองเงินไว้ในบัญชีสำ�รองเพื่อการชำ�ระหนี้ (Debt Service Reserve XPCL จะสามารถจ่ายเงินปันผลได้ก็ต่อเมื่อ XPCL Account) ครบถ้วนแล้ว (4) การจ่ายเงินปันผลจะต้อง (1) ไม่มีการจ่ายมากกว่าปีละ 2 ครั้ง หรือ สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของสัญญาเงินกู้ ได้ครบถ้วน (2) หากมีการจ่ายมากกว่าปีละ 2 ครั้ง ต้องได้รับการเห็นชอบจาก แล้วเช่น การดำ�รงอัตราส่วน Debt Service Coverage ตัวแทนสินเชื่อ ทั้งนี้ เมื่อมีการจ่ายเงินปันผลจะต้องมีการชำ�ระเงินกู้ Ratio (DSCR) การสำ�รองเงินไว้ในบัญชีสำ�รองเพื่อการ ก่อนกำ�หนดในอัตราร้อยละ 50 ของเงินปันผลทีม่ กี ารจ่ายในแต่ละคราว ชำ�ระหนี้ (Debt Service Reserve Account) ตามที่ กำ�หนดไว้ การจ่ายเงินปันผลจะไม่เป็นผลให้เกิดกรณีผดิ สัญญา และไม่มีเหตุสุดวิสัย (Force Majeure) เกิดขึ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ CHPP ในขณะที่มีการจ่ายปันผล เป็นต้น นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ IRPC-CP จะเท่ากับร้อยละ 100 ของกำ�ไรสุทธิภาย หลังการหักสำ�รองตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด ภาระผูกพันตามเงือ่ นไขของสัญญาเงินกู้ และเงินลงทุนตามแผนการลงทุนทีผ่ า่ นการอนุมตั โิ ดยคณะกรรมการ ทัง้ นี้ IRPC-CP จะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเมื่อได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขตามสัญญาสินเชื่อ ดังต่อไปนี้ครบถ้วนแล้ว
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ CHPP จะเท่ากับร้อยละ 20 ของกำ�ไรสุทธิภาย หลังการหักสำ�รองตามที่กฎหมายกำ�หนด
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
P- 125
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการชุดย่อยรวม 2 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน และฝ่ายจัดการ ตามโครงสร้างการบริหารงาน ดังนี้
Board of Directors คณะกรรมการบริษัท
Nomination and Remuneration Committee คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
President กรรมการผู้จัดการใหญ่
OEMS and Sustainability Management ฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน Special Assignment and Lao PDR Representative ฝ่ายปฏิบัติการพิเศษ และผู้แทนประเทศ สปป.ลาว Special Project ฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ
Business Development-1 ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1
P- 126
โครงสร้างการจัดการ
Business Development-2 ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
Corporate Planning ฝ่ายแผนงานองค์กร
รายงานประจำ�ปี 2557
Audit Committee คณะกรรมการตรวจสอบ
Office of the President and Company Secretary สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท Office of Corporate Legal สำ�นักกฎหมาย Office of Internal Audit สำ�นักตรวจสอบภายใน
Chief Financial Officer ฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี
Chief Asset Management Officer ฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง
Finance and Accounting ฝ่ายการเงินและบัญชี
Sriracha Power Plant ฝ่ายโรงไฟฟ้าศรีราชา
Organization Excellence ฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร
โครงสร้างการจัดการ
P- 127
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 12 มีนาคม 2558 คณะกรรมการบริษัทมีจำ�นวน 12 คน ประกอบด้วย ลำ�ดับ
รายชื่อ
การดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัท
การดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารในผู้ถือหุ้นใหญ่
1.
นายสุรงค์ บูลกุล
ประธานกรรมการ
ประธานเจ้าหน้าทีป ่ ฎิบต ั ก ิ ารกลุม่ ธุรกิจโครงสร้างพืน้ ฐาน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
2.
นายณอคุณ สิทธิพงศ์
กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ
-
3.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ / ประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
-
4.
นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
-
5.
พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
-
6.
นายราฆพ ศรีศุภอรรถ
กรรมการอิสระ
-
7.
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
กรรมการอิสระ / กรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
-
8.
นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ กรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) และ รองกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
9.
นายอธิคม เติบศิริ
กรรมการ
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)
10.
นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
กรรมการ
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านกลยุทธ์องค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)
11.
นายปฏิภาณ สุคนธมาน
กรรมการ
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)
12.
นายนพดล ปิ่นสุภา
กรรมการและเลขานุการคณะ กรรมการ / กรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน / กรรมการผู้จัดการใหญ่
-
โดยมี นายวีระวงศ์ จงเกษมวงศ์ ทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการบริษทั ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/2557 เมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท
กรรมการผู้ มี อำ � นาจกระทำ � การแทนบริ ษั ท คื อ หรือ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ หรือ นายปฏิภาณ “นายนพดล ปิน่ สุภา กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ลงลายมือ สุคนธมาน ลงลายมือชือ่ ร่วมกันเป็นสองคน และประทับ ชือ่ และประทับตราสำ�คัญของบริษทั หรือ นายสุรงค์ บูลกุล ตราสำ�คัญของบริษัท” หรือ นายสุพฒ ั นพงษ์ พันธ์มเี ชาว์ หรือ นายอธิคม เติบศิริ
P- 128
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทหน้าที่และความรับ ผิดชอบในการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษทั ให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด ตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี และข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับกรรมการบริษัท จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึง่ กรรมการทุกคนมี ความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั หิ น้าที่ เพือ่ ประโยชน์ ต่อบริษัท และผู้ถือหุ้น โดยอำ�นาจหน้าที่และความรับ ผิดชอบที่สำ�คัญของคณะกรรมการบริษัท สรุปได้ดังนี้ 1. ทุ่มเทเวลา และให้ความสำ�คัญในการกำ�หนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัท โดย ร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มทีแ่ ละมีการแสวงหา ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการกำ�หนดทิศทางของบริษัท 2. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกับกลยุทธ์และ นโยบายที่สำ�คัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ แผนงาน และ เป้าหมายทางการเงินของบริษัท พร้อมทั้งกำ�กับดูแล และติดตามให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบัติตามแผนงานที่ กำ�หนดไว้ตามทิศทางและกลยุทธ์องค์กรอย่างสม่�ำ เสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าฝ่ายบริหารจะสามารถนำ�วิสัยทัศน์ ทิ ศ ทาง และกลยุ ท ธ์ ที่ กำ � หนดขึ้ น ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า ง สัมฤทธิ์ผลและมีประสิทธิภาพ 3. กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ ที่ประกอบด้วยหลักการและแนว ปฏิบตั ทิ ดี่ สี �ำ หรับกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานไว้ อย่างเหมาะสม โดยมุ่งสร้างสำ�นึกความรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ สร้างความเข้าใจ และให้ยึดถือปฏิบัติ ตามโดยเคร่งครัด ควบคูไ่ ปกับข้อบังคับและระเบียบของ บริษัท เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสียทุก กลุ่ม 4. มีอ�ำ นาจพิจารณาอนุมตั กิ ารใช้จา่ ยเงินเพือ่ การ ลงทุน การดำ�เนินงานต่างๆ การกูย้ มื หรือการขอสินเชือ่ ใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้กู้ยืมเงิน ตลอดจนการเข้า เป็นผู้ค้ำ�ประกัน เพื่อการทำ�ธุรกิจตามปกติของบริษัท โดยไม่จำ�กัดวงเงิน ภายใต้ข้อบังคับ และระเบียบของ บริษัท รวมทั้งกฎระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และสำ�นักงาน ก.ล.ต. 5. พิจารณาถึงปัจจัยเสีย่ งสำ�คัญทีอ่ าจเกิดขึน้ และ กำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่าง ครอบคลุมและครบถ้วน และดูแลให้ผบู้ ริหารมีระบบและ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ รวมถึ ง ปั จ จั ย ความเสี่ ย งที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น จากการ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ 6. จั ด ให้ มี ก ารควบคุ ม ภายในที่ เ พี ย งพอและมี ประสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ก ระบวนการประเมิ น
ความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษทั อย่างสม่ำ�เสมอ 7. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ทอี่ าจจะเกิดขึน้ รวมถึงรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกัน โดยให้ความสำ�คัญในการพิจารณาธุรกรรมหลัก ทีม่ คี วามสำ�คัญทีม่ งุ่ เน้นให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผูถ้ อื หุน้ และผู้มีส่วนได้เสียโดยรวม 8. พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติไม่ ต้องห้ามตามที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) พระราช บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) และกฎหมายต่างๆ รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ในกรณีทตี่ �ำ แหน่งกรรมการ ว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกเหนือจากการออกตามวาระ ในกรณีการแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ และในกรณีการแต่งตัง้ กรรมการใหม่ รวมถึงการกำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการเพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติ 9. พิ จ ารณากำ � หนดและแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงชื่ อ กรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทได้ 10. แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ หรื อ คณะ กรรมการชุดย่อยอื่นใด และกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยดั ง กล่ า วเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ และ สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 11. จัดให้มีระบบการคัดสรรบุคลากรที่จะเข้ามา รับผิดชอบในตำ�แหน่งบริหารที่สำ�คัญทุกระดับอย่าง เหมาะสมและมีกระบวนการสรรหาทีโ่ ปร่งใสและเป็นธรรม 12. แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารตามคำ�นิยามทีก่ �ำ หนดโดยคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และเลขานุการบริษัท รวมทั้งพิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนของผู้บริหารและ เลขานุการบริษัทดังกล่าว 13. จัดให้มรี ะบบ หรือกลไกการกำ�หนดค่าตอบแทน ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทที่เหมาะสม สอดคล้องกับ ผลการดำ�เนินงานเพื่อก่อให้เกิดแรงจูงใจทั้งในระยะสั้น และระยะยาว 14. ประเมินผลงานและทบทวนการปฏิบัติหน้าที่ ของตนเอง และกรรมการผู้จัดการใหญ่อย่างสม่ำ�เสมอ 15. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มี กระบวนการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 16. จัดให้มีการทำ�งบการเงิน ณ วันสิ้นสุดรอบปี บัญชีของบริษัท และลงลายมือชื่อ เพื่อรับรองงบการ
โครงสร้างการจัดการ
P- 129
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เงินดังกล่าว เพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการ ประชุมสามัญประจำ�ปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 17. พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือกและ เสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี รวมทัง้ พิจารณาค่าตอบแทนที่ เหมาะสม ตามที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบนำ� เสนอ ก่อนนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจำ�ปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 18. ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ย ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริม ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืนของสังคมไทย 19. จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณของบริษทั ไม่ น้อยกว่าปีละ 1 ครั้ง 20. จัดให้มีช่องทางในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นแต่ละ กลุ่มอย่างเหมาะสม และกำ�กับดูแลการเปิดเผยข้อมูล เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ามีความถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชือ่ ถือ และมีมาตรฐานสูงสุด 21. ส่งเสริมให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัท เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการและผูบ้ ริหารนัน้ 22. จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ระหว่ า งกั น เองของคณะ กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารและกรรมการอิ ส ระตาม ความจำ � เป็ น หรื อ ตามที่ พิ จ ารณาเห็ น สมควรเพื่ อ อภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความ สนใจ โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมด้วยและแจ้งให้กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ทราบถึงผลการประชุม คณะกรรมการบริษทั สามารถมอบอำ�นาจ และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยการมอบอำ�นาจหรือการมอบอำ�นาจช่วงดังกล่าวให้ อยูภ่ ายในขอบเขตแห่งการมอบอำ�นาจตามหนังสือมอบ อำ � นาจที่ ใ ห้ ไ ว้ และ/หรื อ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ ข้อกำ�หนด หรือคำ�สั่งที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ บริษทั กำ�หนดไว้ ทัง้ นี้ การมอบหมายอำ�นาจหน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทนั้น จะไม่มี ลักษณะเป็นการมอบอำ�นาจหรือมอบอำ�นาจช่วงทีท่ �ำ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ ผู้ รั บ มอบอำ � นาจจาก คณะกรรมการบริษัท สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศ คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย อาจได้รับประโยชน์ใน ลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนื่ ใดกั บ บริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ยกเว้ น แต่ เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลัก เกณฑ์ ที่ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท พิจารณาอนุมัติไว้เท่านั้น
P- 130
โครงสร้างการจัดการ
องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอย่าง น้อย 5 คน แต่ไม่เกิน 12 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง (1/2) ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมี ถิน่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย โดยต้องมีกรรมการอิสระไม่นอ้ ย กว่าหนึ่งในสาม (1/3) ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด แต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ กรรมการต้องเป็นผู้มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตามกฎหมาย กำ�หนด ตลอดจนมีความหลากหลายทั้งด้านความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ทจี่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารงานบริษัท วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการบริษัท
ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำ�ปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการ ออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึง่ ในสาม (1/3) ของจำ�นวน กรรมการในขณะนั้น ถ้าจำ�นวนกรรมการจะแบ่งออกให้ ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับ ส่วนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการซึง่ พ้นจากตำ�แหน่ง อาจได้รบั เลือกให้กลับ เข้ามารับตำ�แหน่งอีกได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและ ปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นตำ�แหน่งนาน ที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง
รายงานประจำ�ปี 2557
การประชุมของคณะกรรมการ
สรุปการเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัทสำ�หรับปี 2556 (ตั้งแต่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) ปี 2557 และปี 2558 (1 มกราคม – 28 กุมภาพันธ์ 2558) จำ�นวนครัง้ ทีเ่ ข้าประชุม / จำ�นวนครัง้ การประชุม
ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1.
นายสุรงค์ บูลกุล
ประธานกรรมการ
2.
นายณอคุณ สิทธิพงศ์ (1)
3.
2556
2557
1 ม.ค. – 28 ก.พ. 2558
9/9
9/9
3/3
กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ
-
4/9
3/3
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ (1)
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
-
4/9
3/3
4.
นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์ (1)
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
-
3/9
3/3
5.
พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์ (1)
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
-
3/9
2/3
6.
นายราฆพ ศรีศภ ุ อรรถ(3)
กรรมการอิสระ
-
1/9
3/3
7.
นายพยุงศักดิ์ ชาติสท ุ ธิผล(1)
กรรมการอิสระ(6)/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
-
4/9
3/3
8.
นายสุพฒ ั นพงษ์ พันธ์มเี ชาว์ (2)
กรรมการ
-
3/9
3/3
9.
นายอธิคม เติบศิริ (2)
กรรมการ
-
3/9
3/3
10.
นายสมชัย วงศ์วฒ ั นศานต์
กรรมการ
8/9
8/9
3/3
11.
นายปฏิภาณ สุคนธมาน(4)
กรรมการ
-
-
2/3
12.
นายนพดล ปิน ่ สุภา(5)
กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน / กรรมการผู้จัดการใหญ่
-
7/9
3/3
หมายเหตุ :
(1)
กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2557 กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 (3) กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 (4) กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม 2558 (5) นายนพดล ปิ่นสุภา ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ 2 ช่วง คือ ระหว่าง 23 เมษายน - 27 สิงหาคม 2557 และตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2557 (6) นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2558 (2)
คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการตรวจสอบมี 4 คน ดังนี้ ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1.
นายณอคุณ สิทธิพงศ์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
2.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
กรรมการตรวจสอบ
3.
นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์
กรรมการตรวจสอบ
4.
พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์
กรรมการตรวจสอบ
โดยนางสาวปนัดดา กนกวัฒน์ เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ และมี นายไกรสร พัววิไล ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ โครงสร้างการจัดการ
P- 131
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทกำ�หนดให้คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ตามหลัก เกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ดังต่อไปนี้
1. รายงานทางการเงินและการสอบบัญชี - สอบทานกระบวนการและรายงานทางการเงินของบริษัท เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินแสดงถึง ฐานะทางการเงินอย่างถูกต้อง น่าเชื่อถือ และเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญโดยครบถ้วน รวมทั้งเป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชี กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง - พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท เพื่อให้ได้ผู้สอบบัญชีที่มี ความเป็นอิสระ รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง - ส่งเสริมความเป็นอิสระและให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชีี 2. การควบคุมภายใน - สอบทานให้บริษัทมีระบบการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน และระบบการบริหารความ เสีย่ งตามกรอบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทัง้ กำ�กับให้หน่วยตรวจสอบภายใน ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในอย่างเหมาะสม - ให้คำ�แนะนำ�แก่ฝ่ายจัดการในการปรับปรุงกระบวนการทำ�งาน หรือระบบงานเพื่อลดความเสี่ยงใน เรือ่ งต่างๆ และให้มรี ะบบการทำ�งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึงเพือ่ ให้ได้รายงานทางการเงินทีถ่ กู ต้องและใช้ ประโยชน์ได้ดี - ให้คำ�แนะนำ�ในการกำ�หนดนโยบายด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งติดตาม ประเมินและรายงาน การปฏิบัติตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สอบทานการดำ�เนินงาน และกระบวนการในการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท ให้มีการปฏิบัติงานตาม นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อกำ�หนด ข้อบังคับ วิธีการปฏิบัติงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำ�สั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัท - ดำ�เนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มีกระบวนการรับและกำ�กับดูแลการรับเรื่องร้องเรียน 3. การตรวจสอบภายใน - สอบทานให้บริษทั มีระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ และกำ�กับให้หน่วยตรวจ สอบภายในปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน ตลอดจนพิจารณาความเพียงพอของบุคลากร และความเป็นอิสระของหน่วยตรวจสอบภายใน - กำ�หนดขอบเขตในการตรวจสอบภายใน โดยการสอบทานและให้ความเห็นชอบ อนุมัติแผนงานตรวจ สอบภายในประจำ�ปี และการเปลีย่ นแปลงแผนงาน รวมทัง้ พิจารณาผลการตรวจสอบของผูต้ รวจสอบ ภายใน - ประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน - พิจารณาให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง โยกย้าย และถอดถอนหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน - พิจารณาอนุมัติและสอบทานกฎบัตรการตรวจสอบภายใน - ประสานความเข้าใจระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายจัดการ หน่วยตรวจสอบภายในและผู้สอบ บัญชีให้อยู่ในแนวทางเดียวกัน รวมทั้งพิจารณาขอบเขตการตรวจสอบกับผู้สอบบัญชีของบริษัท ให้มี ความสัมพันธ์และเกื้อกูลกัน 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง - สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดทุจริต ที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของบริษัท โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 5. การจัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องและครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท P- 132
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
- ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร - รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 6. ในกรณีที่การดำ�เนินงานตรวจสอบภายในเรื่องใดหรือการปฏิบัติงานอื่นใดของคณะกรรมการตรวจสอบ มีความจำ�เป็นต้องอาศัยความรู้ความสามารถจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องให้คณะกรรมการตรวจสอบเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้มีการเชิญหรือดำ�เนินการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องด้วยค่าใช้จ่ายของ บริษทั ได้ ทัง้ นี้ การดำ�เนินการว่าจ้างให้เป็นไปตามระเบียบข้อกำ�หนด และข้อบังคับของบริษทั รวมถึงมีอ�ำ นาจแต่งตัง้ คณะทำ�งานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 7. เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบได้รับรายงานผลการตรวจสอบภายในที่พบว่ามีการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน ประกาศ และคำ�สั่งที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัท ให้แจ้งต่อผู้บริหาร ระดับสูงเพื่อพิจารณาสั่งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของบริษัท ดำ�เนินการแก้ไขเพื่อให้เป็นไปตาม นโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อกำ�หนด ข้อบังคับ วิธีการปฏิบัติงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำ�สั่งที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินงานของบริษัท ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับรายงานผลการตรวจสอบภายในที่มีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือ การกระทำ�ทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลการดำ�เนินงานของบริษทั อย่างร้ายแรง การขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทุจริต หรือมีรายการผิดปกติหรือความบกพร่องทีส่ �ำ คัญในระบบการควบคุมภายในให้รายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั ทันที เพือ่ ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขโดยไม่ชกั ช้า หากคณะกรรมการของบริษทั หรือฝ่ายจัดการไม่ดำ�เนินการ ให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีส่ มควร ให้กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงานต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้้ 8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้นมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือตามที่กฎหมายกำ�หนด องค์ประกอบ และคุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการตรวจสอบไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน โดยกรรมการ ตรวจสอบจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด มีวาระการปฏิบัติงานตามวาระ ของการเป็นกรรมการบริษัท โดยกรรมการที่พ้นจากตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้ง ใหม่อีกได้ ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ ด้านการเงินและบัญชี ซึ่งสามารถสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ
สรุปการเข้าประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบสำ�หรับปี 2557 (ตัง้ แต่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2557) และปี 2558 (1 มกราคม - 28 กุมภาพันธ์ 2558) จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม / จำ�นวนครั้งการประชุม ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
2557
1.
นายณอคุณ สิทธิพงศ์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
4/4
2/2
2.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
กรรมการตรวจสอบ
4/4
2/2
3.
นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์
กรรมการตรวจสอบ
4/4
2/2
4.
พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์
กรรมการตรวจสอบ
4/4
0/2
โครงสร้างการจัดการ
2558
P- 133
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมี 3 คน ดังนี้ ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
2.
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
3.
นายนพดล ปิ่นสุภา
กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
โดยมี นายกล้าหาญ โตชำ�นาญวิทย์ ทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
บริษทั กำ�หนดให้คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบที่ สำ�คัญ ดังต่อไปนี้ 1. คัดเลือกบุคคลทีส่ มควรได้รบั การเสนอรายชือ่ เป็นกรรมการรายใหม่ รวมถึงการสรรหากรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ โดยให้มีการกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหากรรมการบริษัทหรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตลอด จนการคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. พิจารณาแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทน ให้แก่กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยให้มกี ารกำ�หนด หลักเกณฑ์หรือวิธกี ารกำ�หนดค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพือ่ เสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณาเสนอรายชือ่ กรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเป็นกรรมการเฉพาะเรือ่ งต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อแต่งตั้งตามความเหมาะสม 4. เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับโครงสร้างและองค์ประกอบค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการ เป็นประจำ�ทุกปี 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่เพื่อให้ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทใน การพิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนที่เหมาะสม 6. ทบทวนแผนการสืบทอดตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ พร้อมทั้งรายชื่อผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมที่จะ ได้รับการพิจารณาสืบทอดตำ�แหน่งเป็นประจำ�ทุกปี 7. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบ และจัดทำ�รายงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเพือ่ เปิดเผยไว้ ในรายงานประจำ�ปีของ บริษัท และลงนามโดยประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 8. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย องค์ประกอบ และคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีวาระการปฏิบัติงานตามวาระของ การเป็นกรรมการบริษัท โดยกรรมการที่พ้นจากตำ�แหน่งกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้
P- 134
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
การประชุมของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
สรุปการเข้าประชุมของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนสำ�หรับปี 2557 (ตั้งแต่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2557) และปี 2558 (1 มกราคม – 28 กุมภาพันธ์ 2558) จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม / จำ�นวนครั้งการประชุม ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
2557
2558
1.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์
ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
1/1
1/1
2.
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
1/1
1/1
3.
นายนพดล ปิ่นสุภา
กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
1/1
1/1
ผู้บริหาร
ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ผูบ้ ริหารของบริษทั มีจ�ำ นวน 10 คน ประกอบด้วย ลำ�ดับ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1.
นายนพดล ปิ่นสุภา
กรรมการผู้จัดการใหญ่
2.
นางวนิดา บุญภิรักษ์
ผู้จัดการฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี
3.
นายสมรชัย คุณรักษ์
ผูจ้ ด ั การฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง
4.
นายโกวิท จึงเสถียรทรัพย์
ผู้จัดการฝ่ายแผนงานองค์กร และ รักษาการผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน
5.
นายพยนต์ อัมพรอารีกุล
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการพิเศษและผู้แทนประเทศ สปป.ลาว
6.
นายองค์การ ศรีวิจิตร
ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ
7.
นายวิเศษ จูงวัฒนา
ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1
8.
นายดรุณพร กมลภุส
ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
9.
นายยงยุทธ์ กลีบบัว
ผู้จัดการฝ่ายโรงไฟฟ้าศรีราชา
10.
นายกล้าหาญ โตชำ�นาญวิทย์
ผู้จัดการฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร
โครงสร้างการจัดการ
P- 135
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
อำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการใหญ่
กรรมการผู้จัดการใหญ่มีอำ�นาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการกิจการงานต่างๆ ของบริษัท ตามที่ คณะกรรมการมอบหมาย และจะต้องบริหารบริษทั ตามแผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ อย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวัง รวมทั้งรักษาผลประโยชน์ของบริษัท และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด โดย อำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ให้รวมถึงเรื่องหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย 1. ดำ�เนินกิจการประจำ�วันของบริษัท 2. ดำ�เนินการตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 3. จัดทำ�รายงาน แผนงาน และงบการเงินของบริษัทเสนอต่อคณะกรรมการทุกไตรมาส 4. จัดทำ�นโยบายการค้าของบริษทั และเข้าทำ�หรือยกเลิกสัญญาหรือข้อผูกพันใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ ขาย วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ในนามบริษัท ทั้งในปัจจุบันและอนาคตซึ่งมีระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี และมีมูลค่าไม่เกิน 100 ล้านบาท 5. เข้าทำ�หรือยกเลิกสัญญาหรือข้อผูกพันใดๆ นอกเหนือไปจากตามทีร่ ะบุไว้ในข้อ 4. ข้างต้นซึง่ มีวงเงินไม่เกิน 300 ล้านบาท 6. ว่าจ้าง แต่งตัง้ ถอดถอน โยกย้าย เลือ่ น ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินยั หรือเลิกจ้างพนักงาน ในนามของบริษทั รวมถึงทำ�การแต่งตัง้ เจ้าหน้าทีอ่ นื่ ใดในคณะผูบ้ ริหาร ตลอดจนมอบอำ�นาจและหน้าทีท่ ตี่ นได้รบั มอบหมายให้แก่เจ้าหน้าที่ดังกล่าวตามที่ตนอาจพิจารณาเห็นสมควร นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทได้มอบอำ�นาจในการบริหารจัดการบริษัท ให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยมี หลักการและขอบเขตอำ�นาจ ดังต่อไปนี้ 1. เป็นผูม้ อี �ำ นาจในการบริหารกิจการของบริษทั ตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้อกำ�หนด คำ�สัง่ ตลอดจนมติที่ประชุมคณะกรรมการ และ/หรือ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัททุกประการ 2. เป็นผู้มีอำ�นาจในการบังคับบัญชา ติดต่อ สั่งการและดำ�เนินการ ตลอดจนเข้าลงนามในนิติกรรม สัญญา เอกสารคำ�สั่งหนังสือแจ้งหรือหนังสือใดๆ ที่จำ�เป็นและตามสมควร เพื่อให้การดำ�เนินการข้างต้นสำ�เร็จลุล่วง 3. ให้มีอำ�นาจในการมอบอำ�นาจช่วง และ/หรือ มอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดย การมอบอำ�นาจช่วง และ/หรือ การมอบหมายดังกล่าวให้อยูภ่ ายใต้ขอบเขตแห่งการมอบอำ�นาจตามหนังสือมอบอำ�นาจ ดังกล่าว และ/หรือ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ ข้อกำ�หนด หรอคำ�สั่งที่คณะกรรมการของบริษัท และ/หรือ บริษัทกำ�หนดไว้ ทัง้ นี้ การใช้อำ�นาจของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ดงั กล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทำ�ได้ หากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใดๆ กับบริษัท เลขานุการบริษัท
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2557 เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 ได้มีมติแต่งตั้ง นายวีระวงศ์ จงเกษมวงศ์ ทำ�หน้าที่เลขานุการบริษัท โดยเลขานุการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ P- 136
1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารของบริษัท ดังต่อไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ และรายงานการประชุมคณะกรรมการ (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น (ง) รายงานประจำ�ปี 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 3. ดำ�เนินการเกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น 4. ให้คำ�แนะนำ�เกี่ยวกับข้อกำ�หนดและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารควรรับทราบ 5. จัดอบรมและปฐมนิเทศ ตลอดจนให้ขอ้ มูลทีจ่ �ำ เป็นต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ก่กรรมการปัจจุบนั และกรรมการ ที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
6. ดูแล และประสานงานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำ�หนด และมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษทั และทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจได้อย่างครบถ้วน และถูกต้อง 7. ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ
1) ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน : ค่าตอบแทนทีจ่ า่ ยให้แก่กรรมการต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยทีป่ ระชุม ใหญ่วสิ ามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 2/2557 เมือ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการ ดังนี้ ตำ�แหน่ง
ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท / เดือน)
ค่าเบี้ยประชุม (บาท / ครั้ง)
คณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ กรรมการ
37,500 30,000
-
-
22,500 18,000
-
22,500 18,000
คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการ
โครงสร้างการจัดการ
P- 137
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุด ปี 2556 (ตั้งแต่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) และปี 2557 เป็นดังนี้ (หน่วย : บาท) ลำ�ดับ
รายชื่อ
1.
นายสุรงค์ บูลกุล
2.
2556
2557
ค่าตอบแทน กรรมการบริษัท
ค่าตอบแทน กรรมการบริษัท
ค่าตอบแทน กรรมการชุดย่อย
รวม
410,666.67
423,000.00
-
423,000.00
นายณอคุณ สิทธิพงศ์(1)
-
110,166.67
112,500.00
222,666.67
3.
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์(1)
-
110,166.67
112,500.00
222,666.67
4.
นางสาวปนัดดา กนกวัฒน์(1)
-
110,166.67
90,000.00
200,166.67
5.
พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์(1)
-
110,166.67
90,000.00
200,166.67
6.
นายราฆพ ศรีศุภอรรถ(3)
-
43,200.00
-
43,200.00
7.
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล(1)
-
110,166.67
18,000.00
128,166.67
8.
นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์(2)
-
52,533.33
-
52,533.33
9.
นายอธิคม เติบศิร(2) ิ
-
52,533.33
-
52,533.33
10.
นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์
293,333.33
306,000.00
-
306,000.00
11.
นายปฏิภาณ สุคนธมาน(11)
-
-
-
-
12.
นายนพดล ปิ่นสุภา(4)
-
192,083.34
18,000.00
210,083.34
กรรมการที่ลาออกระหว่างปีและได้รับค่าตอบแทนในงวดสิ้นปี 2556 และงวดสิ้นปี 2557 เป็นดังนี้ 1.
นางณิชชา จิรเมธธนกิจ(5)
293,333.33
93,333.33
-
93,333.33
2.
นายปรีชา แก้วพันธุ(5) ์
293,333.33
93,333.33
-
93,333.33
3.
นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์(6)
293,333.33
197,750.00
-
197,750.00
4.
นายไมตรี เรี่ยวเดชะ(6)
293,333.33
197,750.00
-
197,750.00
5.
นางอรวดี โพธิสาโร(6)
-
104,416.67
-
104,416.67
6.
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล(7)
293,333.33
203,333.33
-
203,333.33
7.
นายจักรชัย บาลี(8)
293,333.33
225,000.00
-
225,000.00
8.
นายบวร วงศ์สินอุดม(9)
293,333.33
250,000.00
-
250,000.00
9.
นายณรงค์ บัณฑิตกมล(10)
293,333.33
306,000.00
-
306,000.00
3,050,666.64
3,291,100.01
441,000.00
3,732,100.01
รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : (1)
กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2557 กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 (3) กรรมการที่เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 (4) นายนพดล ปิ่นสุภา ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ 2 ช่วง คือ ระหว่าง 23 เมษายน - 27 สิงหาคม 2557 และตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2557 (5) กรรมการที่ครบกำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 (6) กรรมการที่ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2557 (7) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2557 (2)
P- 138
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557 (8) (9) (10) (11)
นายจักรชัย บาลี ครบกำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2557 นายบวร วงศ์สินอุดม ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2557 นายณรงค์ บัณฑิตกมล ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2557 นายปฏิภาณ สุคนธมาน เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม 2558
2) ค่าตอบแทนอื่น : ไม่มี ค่าตอบแทนผู้บริหาร
1) ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน สำ�หรับผูบ้ ริหารทีไ่ ม่ใช่กรรมการ เป็นดังนี้ 2556 (10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 56) จำ�นวนราย
2557 11*
10
ค่าตอบแทน (บาท)
38,854,147.25
36,454,455.00
9 เดือน ปี 2557
2) ค่าตอบแทนอืน่ อาทิ เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ และเงินได้อน่ื ๆ เป็นดังนี้ 2556 (10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 56) จำ�นวนราย ค่าตอบแทน (บาท)
2557 10
11*
6,002,472.83
6,319,558.56
* ระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 บริษท ั มีการเปลีย่ นแปลงผูบ ้ ริหารดังต่อไปนี้ จึงส่งผลให้ จำ�นวนผู้บริหารในตารางนี้แตกต่างจาก จำ�นวนผู้บริหารของบริษัทในปัจจุบัน (1) ผู้บริหารจำ�นวน 2 ท่าน ได้ย้ายไปปฏิบัติงานที่ ปตท. เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2558 (2) นายสมรชัย คุณรักษ์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ผูจ้ ด ั การฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2558
บุคลากร จำ�นวนบุคลากร
จำ�นวนบุคลากรของบริษัท (ไม่รวมผู้บริหาร) แบ่งตามสายงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 มีรายละเอียด ดังนี้ จำ�นวนพนักงาน (คน) ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56
ณ วันที่ 28 ก.พ. 58
ลำ�ดับ
สายงาน
1.
หน่วยงานสังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่*
7
7
2.
ฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน**
-
-
3.
ฝ่ายปฏิบัติการพิเศษ และผู้แทนประเทศ สปป.ลาว
1
5
4.
ฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ**
-
-
5.
ฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี
15
25
6.
ฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง
148
146
7.
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ***
4
24
8.
ฝ่ายแผนงานองค์กร
6
12
9.
ฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร
22
24
203
243
รวม
* ตามโครงสร้างองค์กรใหม่ หน่วยงานสังกัดกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่ มี 3 หน่วยงาน ได้แก่ สำ�นักกรรมการผูจ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการบริษท ั สำ�นักตรวจสอบภายใน และสำ�นักกฎหมาย ** ฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน และฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ ไม่มีพนักงานที่ไม่ใช่ผู้บริหาร *** ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ประกอบด้วย ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1 และฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
โครงสร้างการจัดการ
P- 139
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ผลตอบแทนพนักงาน (ไม่รวมผู้บริหาร)
ผลตอบแทนซึง่ ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ และค่าโทรศัพท์ ในปี 2556 (ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) และ ปี 2557 เป็นดังนี้ ผลตอบแทน (บาท)
ลำ�ดับ
สายงาน
1.
หน่วยงานสังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่*
2.
ฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน**
3.
ฝ่ายปฏิบัติการพิเศษ และผู้แทนประเทศ สปป.ลาว
4.
ฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ**
5.
ฝ่ายสายงานการเงินและบัญชี
6.
ฝ่ายสายงานการผลิตและซ่อมบำ�รุง
7.
2556
2557
6,265,083.80
6,498,876.40
-
-
3,016,660.00
4,585,413.00
-
-
13,560,575.44
21,132,978.44
138,988,771.84
147,238,615.80
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ***
3,060,984.00
9,669,277.00
8.
ฝ่ายแผนงานองค์กร
8,623,696.40
9,673,135.60
9.
ฝ่ายบริหารศักยภาพองค์กร
16,240,561.32
22,275,322.00
189,756,332.80
221,073,618.24
รวม
* ตามโครงสร้างองค์กรใหม่ หน่วยงานสังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่ มี 3 หน่วยงาน ได้แก่ สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท สำ�นักตรวจสอบ ภายใน และสำ�นักกฎหมาย ** ฝ่ายปฏิบัติการ OEMS และบริหารความยั่งยืน และฝ่ายปฏิบัติงานโครงการพิเศษ ไม่มีพนักงานที่ไม่ใช่ผู้บริหาร *** ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ประกอบด้วย ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-1 และฝ่ายพัฒนาธุรกิจ-2
สวัสดิการพนักงาน
นอกเหนือจากค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือนและโบนัสแล้ว บริษัทได้จัดให้มีผลประโยชน์ตอบแทนให้กับ พนักงานในรูปแบบอื่นอีกหลายประการ ดังนี้ 1. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นหลักประกันที่มั่นคงของพนักงานและครอบครัว บริษัทได้จัดให้มีกองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพให้กับพนักงานประจำ�ของบริษัท โดยบริษัทจะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพให้กับ พนักงานที่สมัครใจเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ทั้งนี้ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 มีพนักงานสมัคร เข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ รวมจำ�นวน 206 คน 2. สวัสดิการเบิกค่ารักษาพยาบาลสำ�หรับพนักงาน และบุคคลในครอบครัว (บิดา มารดา คู่สมรส และบุตร) เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้ารับการรักษาพยาบาล นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมด้านการดูแลสุขภาพพนักงาน บริษัทยังได้จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจำ�ปีสำ�หรับพนักงานอีกด้วย 3. สวัสดิการด้านการประกันชีวิต เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับพนักงานและครอบครัว 4. สวัสดิการเบิกจ่ายค่าเช่าบ้านสำ�หรับพนักงานที่ปฏิบัติงานนอกพื้นที่ที่ตนบรรจุ ในอัตราร้อยละ 20 ของ เงินเดือน โดยสามารถเบิกได้ไม่น้อยกว่า 4,000 บาท แต่ไม่เกิน 20,000 บาทต่อเดือน 5. สวัสดิการเงินช่วยเหลือการศึกษาบุตรพนักงานตามระดับชั้นและประเภทของสถานศึกษา 6. สวัสดิการด้านเงินช่วยเหลืออืน่ ๆ เช่น การจ่ายเงินช่วยเหลือการทำ�ศพ และการจ่ายเงินช่วยเหลือค่าโทรศัพท์ เป็นต้น
P- 140
โครงสร้างการจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
นโยบายพัฒนาพนักงาน
บริษทั มุง่ มัน่ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เสริมสร้างวัฒนธรรม บรรยากาศทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ าน ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนา ถ่ายทอดความรู้ และเพิ่มความสามารถของพนักงาน ตลอดจนการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในทุกระดับอย่างเท่าเทียมกัน ด้วยตระหนักว่าพนักงานทุกคนเป็น หนึ่งปัจจัยสำ�คัญและมีคุณค่า ที่นำ�มาซึ่งความสำ�เร็จ ความก้าวหน้า และการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท โดยการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นเรื่องขององค์กร ผู้บังคับบัญชา และพนักงานทุกคน ดังนี้ 1. องค์กรจะคัดสรรและสร้างคนดี คนเก่ง ที่มีพฤติกรรมในการทำ�งานอย่างมืออาชีพและพัฒนาความรู้ ความสามารถให้มีประสิทธิภาพในหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่วางแผนติดตาม ประเมินผล ให้ข้อมูลป้อนกลับ และสนับสนุนการพัฒนาพนักงาน อย่างเสมอภาค 3. พนักงานมีโอกาสเท่าเทียมในการพัฒนาทักษะและความสามารถของตนเอง
โครงสร้างการจัดการ
P- 141
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การกำ�กับดูแลกิจการ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ บริษท ั ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยคณะกรรมการบริษท ั มีความมุง่ มัน ่ ที่จะปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และเป็นการ เสริมสร้างความโปร่งใสและประสิทธิภาพของฝ่ายจัดการ อันจะสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นแก่ผู้ถือหุ้น ผูล ้ งทุน และผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษท ั จึงได้มก ี ารกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี ตามหลักการที่กำ�หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งครอบคลุมหลักการและแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการ กำ�กับดูแลกิจการ 5 หมวด ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders)
ผูถ้ อื หุน้ ย่อมมีสทิ ธิในฐานะเจ้าของบริษทั มีสทิ ธิเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ กำ�หนดทิศทางการดำ�เนินการของ บริษัทผ่านคณะกรรมการบริษัทที่ผู้ถือหุ้นเลือกเข้ามาทำ�หน้าที่ หรือตัดสินใจเรื่องที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญ ต่อบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นจึงเป็นเวทีสำ�คัญสำ�หรับผู้ถือหุ้นในการแสดงความคิดเห็น ซักถาม และลงมติ ตัดสินใจดำ�เนินการหรือไม่ด�ำ เนินการ ดังนัน้ ผูถ้ อื หุน้ จึงมีสทิ ธิโดยชอบทีจ่ ะเข้าร่วมประชุม มีเวลาเพียงพอสำ�หรับ การพิจารณา และรับทราบผลการลงมติ โดยสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ได้แก่ 1. บริษทั ต้องไม่กระทำ�การใดๆ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นการจำ�กัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศของบริษทั อาทิ ผูถ้ อื หุน้ ต้องได้รบั ข้อมูล ขัน้ ตอน ระเบียบวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ และข้อมูลประกอบการพิจารณาอย่างครบถ้วนเพียงพอ ผู้ถือหุ้นต้องมีระยะเวลาพอสมควรในการพิจารณาก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นโดยได้รับล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่ น้อยกว่า 7 วัน บริษทั ต้องมีชอ่ งทางทีห่ ลากหลาย เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สอบถามรายละเอียดเกีย่ วกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ 2. คณะกรรมการบริษทั ต้องอำ�นวยความสะดวกในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สถานทีจ่ ดั การประชุมมีขนาดเพียงพอ รองรับจำ�นวนผู้ถือหุ้น อยู่ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใกล้เคียง และไม่ไกลเกินไปจนเป็นอุปสรรคต่อการเดิน ทาง มีสิ่งอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้พิการ มีการรักษาความปลอดภัยและพร้อมรับมือกับเหตุฉุกเฉิน 3. บริษัทต้องไม่กระทำ�การใดๆ ที่มีลักษณะเป็นการจำ�กัดสิทธิในการเข้าร่วมประชุมของผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้น ทุกคนย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นตลอดระยะเวลาการประชุม มีสิทธิซักถามข้อสงสัย เสนอความคิดเห็น ต่อที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ และออกเสียงลงมติในวาระการประชุม ซึ่งประธานที่ ประชุมควรจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม 4. ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนแยกสำ�หรับแต่ละระเบียบวาระทีเ่ สนอ การลงมติตอ้ งเลือกใช้วธิ กี ารและ อุปกรณ์ออกเสียงที่โปร่งใส สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงผลการลงมติได้รวดเร็ว และ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิทราบผลการลงมติอย่างทันท่วงที 5. กรรมการบริษทั ทุกคน รวมทัง้ คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง และเลขานุการบริษทั ต้องเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครั้ง หากไม่ติดภารกิจสำ�คัญ เพื่อตอบข้อซักถามและรับฟังความคิดเห็นของผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ผู้บริหารระดับสูง ทุกคนควรเข้าร่วมการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามเช่นกัน 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders)
บริษัทจะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่คำ�นึงถึงเพศ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความคิดเห็นทางการเมือง หรือความพิการ ถึงแม้ผถู้ อื หุน้ จะไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยเหตุไม่สะดวกประการใด ผู้ถือหุ้นย่อมมีสิทธิมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมแทนได้ โดยมีแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้
P- 142
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
1. คณะกรรมการบริษัทต้องรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้น และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ถือหุ้น ทุกรายย่อมมีสิทธิรับข้อมูลหรือเอกสารเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษสำ�หรับผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ โดยเอกสาร ที่ส่งให้กับผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ 2. ผู้ถือหุ้นย่อมมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุม และลงมติแทนผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับเอกสาร และคำ�แนะนำ�ในการมอบฉันทะ ทัง้ นี้ ผูร้ บั มอบฉันทะทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายและยืน่ หนังสือมอบฉันทะให้กรรมการ ในที่ประชุมแล้วย่อมมีสิทธิเข้าร่วมประชุมและลงมติเช่นเดียวกับผู้ถือหุ้นทุกประการ หรือผู้ถือหุ้นอาจมอบฉันทะ ให้กรรมการอิสระท่านใดท่านหนึ่งมาประชุมและลงมติแทนก็ได้ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้รับประวัติและข้อมูลการทำ�งาน ของกรรมการอิสระแต่ละท่านอย่างครบถ้วนและเหมาะสมในการพิจารณา 3. คณะกรรมการบริษัทต้องสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นข้างน้อยใช้สิทธิของตนเสนอวาระการประชุมเพิ่มเติม หรือ เสนอชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ ทั้งนี้ การขอเพิ่มวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อเป็นกรรมการ ต้องเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั โดยหน่วยงานสำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และเลขานุการบริษทั ต้องมีความพร้อมในการรับข้อเสนอ ให้ความช่วยเหลือ และให้คำ�แนะนำ�ได้ 3. บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Role of Stakeholders)
การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ย่อมเกีย่ วข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ตัง้ แต่ผถู้ อื หุน้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน เจ้าหนี้ ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง ไปจนถึงชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก แต่ละฝ่ายย่อมมีความต้องการและมีผลประโยชน์ ที่แตกต่างกัน ดังนั้น การปฏิบัติต่อแต่ละฝ่ายจึงต้องกำ�หนดเป็นนโยบายที่สอดคล้องกับความต้องการ โดยมีแนว ปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. บริษัทแบ่งผู้มีส่วนได้เสียออกเป็นกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย ผู้ถือหุ้นใหญ่และนักลงทุนสถาบัน เจ้าหนี้ ลูกค้า คู่ค้า บริษัทที่บริษัทถือหุ้น บุคลากรของบริษัท ชุมชนและสังคมในภาพรวม ทั้งนี้ บริษัทต้องจัดให้มีช่อง ทางในการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มอย่างพอเพียง 2. บริษัทมีพันธะสัญญาต่อผู้บริโภคในการพัฒนาสินค้าและบริการให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง และกำ�หนดราคา สินค้าให้เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยไม่กระทำ�การใดอันเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคภายใต้กฎหมายคุ้มครอง ผู้บริโภค และกฎหมายป้องกันการผูกขาดทางการค้า ในการปฏิบัติต่อคู่ค้าของบริษัทต้องดำ�เนินธุรกิจอย่างเป็น ธรรม และต้องไม่เอาเปรียบคู่ค้า โดยถือเอาประโยชน์ของบริษัทเป็นที่ตั้ง 3. บริษทั ต้องคำ�นึงถึงสวัสดิภาพของบุคลากร โดยไม่เอาเปรียบในการทำ�สัญญาจ้าง มีการกำ�หนดค่าตอบแทน ที่เหมาะสมกับศักยภาพเพื่อกระตุ้นให้บุคลากรบริษัทมีแรงจูงใจในการทำ�งาน มีการฝึกอบรม ให้การศึกษาเพิ่ม เติมเพื่อเพิ่มศักยภาพของบุคลากร มีสิ่งแวดล้อมในการทำ�งานที่ดี มีการกำ�หนดมาตรฐานความปลอดภัย สร้างวินัยในการทำ�งาน ได้รับการเอาใจใส่ดูแลอย่างทั่วถึง และมีแผนชดเชยที่ดี หากมีเหตุให้บุคลากรของบริษัท ต้องยุติการทำ�งานด้วยสาเหตุใดก็ตาม 4. บริษัทต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อสังคมเพื่อให้การช่วยเหลือ สนับสนุน สร้างประโยชน์แก่ชุมชน และ สังคมในภาพรวม โดยบริษทั มีแผนการในการรักษาสิง่ แวดล้อม และความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบ ทางสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดจากธุรกิจของบริษทั มีแผนชดเชยทีด่ หี ากมีอบุ ตั เิ หตุ และมีการวางแผนแก้ไขอย่างยัง่ ยืน 5. คณะกรรมการบริษัทควรดำ�เนินการประชาสัมพันธ์สื่อความถึงความตระหนัก และความเอาใจใส่ที่มีต่อผู้ มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)
บริษัทต้องเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างครบถ้วน ถูกต้อง แม่นยำ� และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ เสียใช้ประกอบการตัดสินใจ การเปิดเผยข้อมูลเป็นดัชนีชวี้ ดั ความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน ซึง่ เป็นปัจจัยสำ�คัญใน การสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนถึงความซื่อสัตย์สุจริตในการดำ�เนินงาน และเป็นกลไกในการตรวจสอบ การดำ�เนินงาน บริษัทจึงให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลเป็นอย่างมาก และพยายามเพิ่มช่องทางในการให้ ข้อมูลตลอดเวลา โดยมีแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีใ่ นการเปิดเผยสารสนเทศ ทัง้ ทีเ่ ป็นสารสนเทศทางการเงิน และทีไ่ ม่ใช่ทางการ เงินอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ได้รับสารสนเทศอย่างเท่า การกำ�กับดูแลกิจการ
P- 143
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เทียมกันตามทีก่ �ำ หนดโดยกฎหมายและหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ข้อบังคับของบริษทั บริษทั ควรจัดทำ� และปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ให้มีความครบถ้วนอย่างสม่ำ�เสมอ รวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์ เพื่อให้แน่ใจว่า ผูถ้ อื หุน้ สามารถหาข้อมูลประกอบการพิจารณาเพิม่ เติม และติดต่อกับหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบการให้ขอ้ มูลได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 2. จัดให้มีหน่วยงานสื่อสารองค์กร ทำ�หน้าที่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำ�เนินงาน และผลงานของ บริษทั ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน พนักงาน ผูท้ เี่ กีย่ วข้อง และสาธารณชนอย่างมีประสิทธิภาพ สม่�ำ เสมอ และขจัดความเข้าใจที่ผิด รวมทั้งมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ทำ�หน้าที่ประสานงานกับนักลงทุนสถาบัน เจ้าหนี้ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้นของบริษัท ในการให้ข้อมูลการดำ�เนินงานและการลงทุนของบริษัทด้วย ช่องทางการติดต่อที่สะดวก รวดเร็ว และเข้าถึงได้ง่าย 3. คณะกรรมการบริษัทต้องจัดให้มีการทำ�งบการเงิน และรายงานการตรวจสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี พร้อม ทั้งรายงานประจำ�ปีของคณะกรรมการเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจำ�ปีเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. ในรายงานประจำ�ปี คณะกรรมการบริษัทต้องจัดทำ�รายงานการประเมินฐานะ และแนวโน้มของบริษัทโดย สรุปทีเ่ ข้าใจได้งา่ ย รายงานอธิบายถึงความรับผิดชอบของตนในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชี รายงานทางการบริหารทีจ่ ำ�เป็น เพือ่ การวิเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ นอกเหนือจากรายงาน ทางการเงิน รายงานการตรวจสอบ และรายงานการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ และ/หรือ กรรมการเฉพาะเรือ่ ง โดยเปรียบเทียบกับจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ และ/หรือ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องในแต่ละปี 5. คณะกรรมการบริษัทต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทตามกฎเกณฑ์ของ คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกำ�หนดให้จดั ทำ�รายงานการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวให้ทป่ี ระชุม คณะกรรมการบริษัทรับทราบด้วย 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Board Responsibility) 5.1 ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ
กรรมการต้องวินิจฉัย แสดงความคิดเห็น และออกเสียงในกิจการที่คณะกรรมการมีอำ�นาจหน้าที่ตัดสินใจ หากการตัดสินใจของคณะกรรมการตกอยูภ่ ายใต้ภาวะกดดันจากหน้าทีก่ ารงานหรือครอบครัวหรือมีสว่ นได้เสียในเรือ่ ง นั้น ย่อมบิดเบือนการตัดสินใจให้ตัดสินเข้าข้างตนเอง คนใกล้ชิด หรือเพื่อประโยชน์ของตนเอง ความเป็นอิสระ ของกรรมการจึงเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งคำ�นึงถึงอย่างยิง่ เพือ่ ปกป้องผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และบริษทั ดังนัน้ กรรมการ ที่ขาดความเป็นอิสระไม่ควรทำ�หน้าที่ตัดสินใจ โดยมีแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทภายใต้การนำ�ของประธานกรรมการบริษัท มีภาวะผู้นำ�และสามารถควบคุม การดำ�เนินงานของผูบ้ ริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษทั จึงควรจัดให้มกี ารแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ ระหว่างประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ออกจากกันอย่างชัดเจน 2. กรรมการอิสระจะต้องเข้าถึงข้อมูลทางการเงิน และธุรกิจอย่างเพียงพอที่จะสามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็นอิสระ รักษาประโยชน์ของผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าประชุมโดยสม่ำ�เสมอ และมีการประชุมร่วมกันของกรรมการ อิสระอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งรายงานรับรองความเป็นอิสระของตนเมื่อได้รับการแต่งตั้ง และเป็นประจำ� ทุกปี เพื่อเปิดเผยในรายงานประจำ�ปีของบริษัท 3. กรรมการอิสระต้องมีความเป็นอิสระตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน คณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ เกี่ยวกับคุณสมบัติ และขอบเขตการดำ�เนินงานของ คณะกรรมการอิสระ สามารถดูแลผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทกับผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทอื่นซึ่งมีผู้บริหาร และ/หรือ ผู้ถือหุ้น รายใหญ่กลุ่มเดียวกัน นอกจากนี้ ยังต้องสามารถให้ความคิดเห็นในการประชุมได้อย่างเป็นอิสระ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีจำ�นวน 12 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการอิสระจำ�นวน 6 คน แต่เนื่องจาก ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ ซึง่ แตกต่างจากข้อแนะนำ�ในหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ที กี่ ำ�หนดโดย ตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่าในกรณีที่ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษัทควรประกอบด้วย กรรมการอิสระมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด อย่างไรก็ดี บริษัทเห็นว่าโครงสร้างคณะกรรมการที่ กรรมการอิสระมีจำ�นวนเป็นกึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดนั้นมีความโปร่งใสเพียงพอ และสามารถปกป้องผล ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและบริษัทได้
P- 144
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
5.2 การประชุมคณะกรรมการ และการได้รับเอกสารข้อมูล
กรรมการทุกคนควรเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยสำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเตรียมเอกสาร สถานที่ และประสานงานในการประชุม กรรมการแต่ละท่านต้อง ได้รับทราบวันประชุม ระเบียบวาระการประชุม และข้อมูลการประชุมเพื่อนำ�ไปศึกษาล่วงหน้าพอสมควร โดยมี แนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทควรอุทิศเวลา ทุ่มเท และให้ความสนใจกับการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างเต็มที่และ พร้อมทีจ่ ะเข้าร่วมประชุมอย่างสม่�ำ เสมออย่างน้อยเดือนละหนึง่ ครัง้ หรือตามความจำ�เป็น โดยมีเลขานุการบริษทั เป็นผู้ประสานงาน เตรียมความพร้อม เตรียมเอกสารที่ใช้ในการประชุม และเชิญประชุม ทั้งนี้ กรรมการต้องมา ประชุมอย่างน้อยกึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดจึงจะครบองค์ประชุม 2. การขาดการประชุมมากกว่า 3 ครั้งติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร ถือว่าไม่มีความประสงค์ที่จะเป็น กรรมการบริษัทอีกต่อไป ทั้งนี้ หากกรรมการมีความจำ�เป็นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ จะต้องแจ้งลาต่อ ประธานกรรมการเป็นลายลักษณ์อักษร 3. ประธานกรรมการบริษทั เป็นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในการจัดวาระการประชุม โดยการปรึกษาหารือกับกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่ควรพิจารณาคำ�ขอของกรรมการที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่สำ�คัญเป็นวาระ การพิจารณาในการประชุมครั้งต่อไป 4. ประธานกรรมการบริษัทต้องมั่นใจว่า คณะกรรมการบริษัทได้จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอให้แก่ผู้บริหารใน การนำ�เสนอข้อมูล และเพียงพอสำ�หรับคณะกรรมการบริษัทที่จะอภิปรายในประเด็นที่สำ�คัญ 5. ประธานกรรมการบริษัทควรมีมาตรการที่ชัดเจน เพื่อให้กรรมการได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องล่วงหน้า โดยมี เวลาเพียงพอทีจ่ ะศึกษา พิจารณา และตัดสินใจอย่างถูกต้องในเรือ่ งต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั แต่ละ ครั้งไม่น้อยกว่า 7 วัน เว้นแต่เป็นการเรียกประชุมเร่งด่วน 6. คณะกรรมการบริษัทสามารถขอเอกสารข้อมูล คำ�ปรึกษาและบริการต่างๆ เกี่ยวกับการดำ�เนินงานของ บริษัทจากผู้บริหารระดับสูง โดยมีเลขานุการบริษัทเป็นผู้ประสานงาน เพื่อประกอบการประชุมแต่ละครั้ง และ สามารถขอความเห็นที่เป็นอิสระจากที่ปรึกษาภายนอกได้หากเห็นว่าจำ �เป็น โดยบริษัทจะเป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 7. กรรมการที่อาจจะมีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียในวาระการประชุมใดจะต้องงดออกเสียง งดให้ความ เห็นในวาระนั้น หรือออกจากห้องประชุม 8. การจดบันทึกการประชุมคณะกรรมการบริษัทจะต้องมีความชัดเจนทั้งผลการประชุม และความเห็นของ คณะกรรมการบริษัทเพื่อใช้อ้างอิง 5.3 สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท เลขานุการบริษทั เป็นผูท้ �ำ หน้าทีด่ แู ลให้มกี ารประชุมคณะกรรมการ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นไปอย่างราบรืน่ และโปร่งใส เป็นไปตามระเบียบและกฎหมาย โดยมีแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ต้องแต่งตัง้ เลขานุการบริษทั ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เพือ่ ทำ�หน้าทีจ่ ดั เก็บเอกสารรายงานการประชุม จัดเก็บและส่งสำ�เนาการมีสว่ นได้เสียต่อประธานกรรมการ และประธาน กรรมการตรวจสอบภายใน 7 วัน รวมทัง้ การอืน่ ทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนกำ�หนดในนามของคณะกรรมการ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เมื่อมีการแต่งตั้งแล้ว ให้ประธานกรรมการแจ้งรายชื่อไปยัง สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนภายใน 14 วัน 2. สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท มีหน้าที่ดำ�เนินการประสานงานเกี่ยวกับการประชุม คณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถ้ อื หุน้ และให้ค�ำ แนะนำ�เกีย่ วกับกฎหมายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ควรรับทราบ รวมทั้งจัดอบรม และให้ข้อมูลแก่กรรมการ
การกำ�กับดูแลกิจการ
P- 145
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
5.4 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการบริษทั และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ไม่อาจกำ�หนดค่าตอบแทนให้ตนเองได้ เนือ่ งจากเป็นการขัดกัน ของผลประโยชน์ การกำ�หนดค่าตอบแทนต้องดำ�เนินการโดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทำ� หน้าที่เป็นผู้พิจารณากำ�หนดและเสนอให้คณะกรรมการเห็นชอบ จากนั้นจึงให้ผู้ถือหุ้นเห็นชอบตามผลงานที่ คณะกรรมการได้ทำ�ไว้ต่อไป โดยมีแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับ ค่าตอบแทนของกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ในการกำ�หนดโครงสร้าง/องค์ประกอบของค่าตอบแทนอย่าง เป็นธรรมเหมาะสมกับความรับผิดชอบ และสอดคล้องกับผลการดำ�เนินงาน อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถจูงใจและรักษา กรรมการที่มีคุณภาพไว้ได้ หรือเทียบเคียงได้ในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยโครงสร้าง/องค์ประกอบค่าตอบแทน ควรมีความชัดเจน โปร่งใส ง่ายต่อการเข้าใจ 2. ผู้ถือหุ้นมีสิทธิพิจารณาหลักเกณฑ์และนโยบายการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการทุกปี โดยคณะกรรมการ บริษทั ต้องนำ�เสนอค่าตอบแทนกรรมการให้ผถู้ อื หุน้ เป็นผูพ้ จิ ารณา โดยกำ�หนดเป็นวาระการประชุมในการประชุม สามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้น 3. คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง ต้องรายงานเกี่ยวกับนโยบายเรื่องค่าตอบแทนกรรมการ หลัก การและเหตุผล ไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท 5.5 แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง
คณะกรรมการบริษทั ต้องดำ�เนินการเพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั มีระบบการคัดสรรบุคลากรทีจ่ ะเข้ามารับผิดชอบ ในตำ�แหน่งงานบริหารที่สำ�คัญในทุกระดับอย่างเหมาะสม การสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่จะเป็นไปตาม กระบวนการสรรหาที่มีการพิจารณาบุคคลทั้งจากภายในและภายนอกบริษัท การสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงสุด 1. การสรรหากรรมการอิสระ
คณะกรรมการบริษทั จะร่วมกันพิจารณาในเบือ้ งต้นถึงคุณสมบัตขิ องบุคคลทีจ่ ะมาดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการ อิสระ โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีคุณสมบัติ และจะต้องไม่มีคุณสมบัติต้องห้าม ตามที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน รวมถึงกฎหมาย ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาคัดเลือกกรรมการอิสระ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ประสบการณ์การทำ�งาน และความเหมาะสมด้านอื่นๆ ประกอบกัน จากนั้นจะนำ�เสนอรายชื่อ บุคคลดังกล่าวต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งต่อไป ทั้งนี้ หากมีกรรมการอิสระคนหนึ่งคนใดพ้นจาก ตำ�แหน่งก่อนครบวาระ คณะกรรมการบริษทั อาจแต่งตัง้ กรรมการอิสระทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่ง แทน โดยกรรมการอิสระทีเ่ ข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งได้เพียงวาระเท่าทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการอิสระ ที่ตนแทน บริษทั ได้ก�ำ หนดให้โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อยหนึง่ ในสาม (1/3) ของจำ�นวนกรรมการทัง้ หมดของบริษทั และต้องไม่นอ้ ยกว่า 3 ท่าน โดยโครงสร้างคณะกรรมการดังกล่าวจะทำ�ให้ เกิดการถ่วงดุลในการออกเสียงเพื่อพิจารณาในเรื่องต่างๆ ทั้งนี้ กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึง่ ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั ทัง้ นี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ� หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวัน ที่ยื่นคำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็น ข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท
P- 146
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือ บริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่ เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันทีย่ น่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ความสัมพันธ์ทางธุรกิจข้างต้น รวมถึง การทำ�รายการทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยว กับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือคู่สัญญามี ภาระหนีท้ ต่ี อ้ งชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละสามของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต่ยส่ี บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคำ�นวณมูลค่าของรายการ ที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เ่ี กิดขึน้ ในระหว่างหนึง่ ปีกอ่ นวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของบริษทั และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชี ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั สังกัดอยู่ เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษา ทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่น คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ทีร่ บั เงินเดือนประจำ� หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบ กิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท 10. ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 1 ถึง 9 แล้ว กรรมการอิสระ อาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ตดั สินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบของ องค์คณะ (Collective Decision) ได้ นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน จะต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ และประสบการณ์ดา้ นการบัญชีหรือการเงินเพียงพอทีจ่ ะสามารถทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบ การเงินได้ ทั้งนี้ ที่ประชุมใหญ่วิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2558 ได้มีมติแต่งตั้ง นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล เป็นกรรมการอิสระของบริษัท ซึ่งนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล เคยดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการ บริหารของธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) และพ้นจากตำ�แหน่งดังกล่าวเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2557 โดย ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) ได้ให้วงเงินสินเชื่อแก่บริษัท มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การกำ�กับดูแลกิจการ
P- 147
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายการ
วงเงิน (ล้านบาท)
ยอดคงค้าง ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557 (ล้านบาท)
เงินกู้ยืมระยะยาวที่ 1
5,511
4,131
เงินกู้ยืมระยะยาวที่ 2
1,333
-
เงินกู้ยืมระยะสั้นที่ 1
400
-
เงินกู้ยืมระยะสั้นที่ 2
600
-
7,844
4,131
รวม
การพ้นจากตำ�แหน่งดังกล่าวของนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ยังไม่พ้นระยะเวลาสองปีก่อนวันที่ยื่นคำ�ขอ อนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ดังนั้น นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล จึงเข้าข่ายเคยเป็นผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่ มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ในช่วงเวลาสองปีกอ่ นวันทีย่ นื่ คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 3/2558 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 และที่ประชุมใหญ่วิสามัญผู้ถือหุ้น ของบริษทั ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2558 ได้พจิ ารณาตามหลักในมาตรา 89/7 ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม) แล้ว เห็นว่าการทีน่ ายพยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารของธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) นั้น มิได้รับผิดชอบงานบริหารโดยตรง ในลักษณะทีม่ อี �ำ นาจเบ็ดเสร็จอันจะเข้าข่ายเป็นผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของธนาคาร เนือ่ งจากในสายงานบริหารจะต้อง มีการนำ�เสนองานต่างๆ ต่อกรรมการผูจ้ ดั การของธนาคารเพือ่ พิจารณาต่อไป นอกจากนี้ นายพยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล มิได้มีสถานที่ทำ�งานประจำ�ในสำ�นักงานของธนาคารแต่อย่างใด ด้วยเหตุนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทและ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจึงเห็นพ้องกันว่า การแต่งตั้งนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล เป็นกรรมการอิสระจะไม่มี ผลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการให้ความเห็นทีเ่ ป็นอิสระแต่อย่างใด รวมถึงการแต่งตัง้ นายพยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล เป็นกรรมการอิสระจะทำ�ให้โครงสร้างคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการอิสระเท่ากับกึ่งหนึ่งของ จำ�นวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้การบริหารจัดการกิจการของบริษัทเป็นไปโดยโปร่งใสและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทและผู้ถือหุ้นของบริษัทในทุกๆ ด้าน นอกจากนี้ บริษัทได้ขอรับ การผ่อนผันข้อห้ามการมีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจดังกล่าวต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ที่ กำ�หนดไว้ในประกาศที่ ทจ. 28/2551 ข้อ 16 (2) ตอนท้าย 2. การสรรหากรรมการ
ในการแต่งตัง้ กรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 1 รายจากจำ�นวนคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทั้งหมดจำ�นวน 3 ราย มีหน้าที่รับผิดชอบใน การพิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ ปี ระสบการณ์ และมีความรูค้ วามสามารถทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั รวมถึงมีคุณสมบัติและไม่มีคุณสมบัติต้องห้ามตามที่ก�ำ หนดในพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไข เพิ่มเติม) ประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน รวมถึงกฎหมาย ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ กับการเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเป็นผูเ้ สนอ ชือ่ ผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ ให้ได้กรรมการมืออาชีพและมีความหลากหลาย โดยพิจารณาจากโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบของคณะกรรมการ เพือ่ นำ�เสนอรายชือ่ กรรมการดังกล่าวต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และ/ หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้เปิดโอกาสให้กรรมการและผูถ้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการเสนอ ชือ่ กรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม โดยให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สามารถเลือกตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดังต่อไปนี้
P- 148
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
1. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง 2. ให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล 3. ให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู่เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ ในกรณีที่ เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 4. บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผูไ้ ด้รบั เลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการที่ จะเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวน กรรมการที่พึงมี ให้ประธานที่ประชุมออกเสียงได้เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีทุกครั้งให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึ่งในสาม (1/3) ของ จำ�นวนกรรมการในขณะนัน้ ถ้าจำ�นวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท นั้น ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง ทั้งนี้ กรรมการซึ่งพ้นจากตำ�แหน่ง อาจได้รับเลือกให้กลับเข้ามารับตำ�แหน่งอีกได้ กรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอื่นนอกจากการครบวาระออกจากตำ �แหน่งกรรมการ ให้ คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ บุคคล ซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็นกรรมการ แทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตำ�แหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการ ซึ่งตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 3. การสรรหาผู้บริหารระดับสูงสุด
ในการสรรหาผู้มาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะเป็น ผูร้ บั ผิดชอบในการพิจารณาคัดเลือกและกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนเหมาะสม มีความรูค้ วามสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินงานของบริษัท เข้าใจในธุรกิจของบริษัทเป็นอย่างดี และ สามารถบริหารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีค่ ณะกรรมการบริษทั กำ�หนดไว้ได้ และเสนอความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง 1. แนวทางการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษัทมีการกำ�หนดแนวทางที่สำ�คัญสำ�หรับการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ บริษัทที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 1. บริษัทจะส่งบุคคลที่เป็นตัวแทนของบริษัทเข้าไปเป็นกรรมการในแต่ละบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ตามสัดส่วนการถือหุ้นในแต่ละบริษัท อย่างไรก็ดี การส่งตัวแทนของบริษัทเข้าไปเป็นกรรมการ ในแต่ละบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบโดยทีป่ ระชุมกรรมการ บริษัทโดยคำ�นึงถึงความเหมาะสมของแต่ละบริษัท 2. คณะกรรมการของบริษทั มีหน้าทีใ่ นการกำ�กับดูแลบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องแต่ละบริษทั ภายใต้ขอบเขตดังต่อไปนี้ 2.1 กำ�กับดูแลให้มกี ารคณะกรรมการของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องแต่ละบริษทั ปฏิบตั ิ หน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ ตลอดจนมติคณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทัง้ เป็นไปตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจ ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต (Duty of Loyalty) ความระมัดระวัง (Duty of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมีจริยธรรม (Ethics) 2.2 ดำ�เนินการติดตาม และให้คำ�แนะนำ�เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่ เกี่ยวข้องเป็นไปตามสัญญาและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 ติดตามผลการดำ�เนินงานด้านต่างๆ ของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง รวมถึงให้คำ�แนะนำ�เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำ�หนด และสามารถจัดการอุปสรรคปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันเวลาและเหมาะสม การกำ�กับดูแลกิจการ
P- 149
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
2.4 พิจารณา ติดตาม และให้ค�ำ แนะนำ�เพือ่ ให้บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมีระบบควบคุม ภายใน รวมถึงระบบการทำ�งานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินธุรกิจ 2.5 พิจารณา ติดตาม และดำ�เนินการในการจัดให้มกี ารทบทวนและปรับปรุงนโยบายและแผนงานทีส่ ำ�คัญ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นปัจจุบันและเหมาะ สมกับสภาพธุรกิจอย่างสม่ำ�เสมอ 2.6 คณะกรรมการของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะกรรมการก็ได้ ทั้งนี้ การมอบอำ�นาจดังกล่าว จะไม่รวมถึงการมอบอำ�นาจหรือการมอบอำ�นาจช่วงทีท่ ำ�ให้กรรมการหรือผูร้ บั มอบอำ�นาจจากกรรมการสามารถ อนุมตั ริ ายการทีต่ นเองหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรือมีผลประโยชน์ในลักษณะอืน่ ใดทีอ่ าจขัดแย้ง กับผลประโยชน์ของบริษัท และ/หรือ บริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง 3. บริษทั จะกำ�หนดแผนงานและดำ�เนินการเพือ่ ทำ�ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงิน รวมถึงข้อมูลต่างๆ ที่ต้องเปิดเผยแก่หน่วย งานกำ�กับดูแล หน่วยงานราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และนักลงทุนภายนอก รวมถึงสาธารณชน ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ 4. ในกรณีทบี่ ริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมีความจำ�เป็นต้องเข้าทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือ รายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทจะต้องติดตามให้บริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่ เกีย่ วข้องเข้าทำ�รายการด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม โดยบริษทั จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์วา่ ด้วยการทำ�รายการ ที่เกี่ยวโยงกันและรายการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ซึ่งกำ�หนดโดยหน่วยงานกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้องอย่าง เคร่งครัด 5. บริษทั จะดำ�เนินการทีจ่ �ำ เป็นและติดตามให้บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมีระบบในการเปิด เผยข้อมูลและระบบควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมในการดำ�เนินธุรกิจ 2. สรุปสาระสำ�คัญของสัญญาระหว่างบริษท ั กับผูถ ้ อื หุน ้ อืน ่ ในการบริหารจัดการบริษท ั ย่อย และบริษท ั ร่วม 2.1 สัญญาระหว่างผูถ ้ อื หุน ้ ระหว่าง NSC กับผูถ ้ อื หุน ้ รายอืน ่
NSC เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ซึง่ บริษทั ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ใน NSC โดย NSC ได้เข้าถือหุน้ ร้อยละ 25 ใน XPCL โดย XPCL ถือเป็นบริษัทร่วมทางอ้อมของบริษัท ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งใน สปป.ลาว เพื่อประกอบ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ขนาดประมาณ 1,285 เมกะวัตต์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำ�เนินการก่อสร้าง และคาด ว่าจะเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2562 ทั้งนี้ NSC มีการเข้าทำ�สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นกับผู้ถือหุ้นราย อื่นของ XPCL โดยมีสาระสำ�คัญของสัญญาต่างๆที่สำ�คัญ ดังนี้ 1. สัญญาสัมปทานโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรี ลงนามเมือ่ วันที่ 29 ตุลาคม 2553 คูส่ ญ ั ญา คือ รัฐบาล ของ สปป.ลาว มีระยะเวลาสัมปทาน 29 ปี นับจากวันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรี ขนาดกำ�ลังการผลิต 1,285 เมกะวัตต์ เพื่อผลิตและจำ�หน่ายกระแสไฟฟ้าที่ ผลิตได้ให้แก่ กฟผ. และ EDL โดยจะโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สนิ ทัง้ หมดของโครงการให้แก่รฐั บาลของ สปป.ลาว เมือ่ ระยะเวลาสัมปทานสิ้นสุดลง เว้นแต่จะมีการขยายอายุสัญญาสัมปทานออกไปอีกตามข้อกำ�หนดและเงื่อนไขที่ ตกลงกันระหว่างคู่สัญญา 2. สัญญารับเหมาก่อสร้าง (EPC Contract) โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ�ไซยะบุรี ลงนามเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2554 คู่สัญญา คือ บริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำ�กัด มีขอบเขตงานที่สำ�คัญ คือ บริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำ�กัด มีหน้าทีอ่ อกแบบจัดหาและก่อสร้างโรงไฟฟ้า รวมทัง้ ติดตัง้ เครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้า จำ�นวน 7 เครือ่ ง สำ�หรับผลิตไฟฟ้า ให้แก่ กฟผ. และเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า จำ�นวน 1 เครื่อง สำ�หรับผลิตไฟฟ้าให้แก่ EDL 3. สัญญาซื้อขายไฟฟ้า (กฟผ.) ลงนามเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2554 คู่สัญญา คือ กฟผ. มีวัตถุประสงค์เพื่อ ขายกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ที่อัตรากำ�ลังการผลิต 1,220 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. และมีระยะเวลาสัญญา 29 ปี นับ ตั้งแต่วันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์
P- 150
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
4. สัญญาซื้อขายไฟฟ้า (EDL) ลงนามเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2554 คู่สัญญา คือ EDL มีวัตถุประสงค์เพื่อ ขายกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ที่อัตรากำ�ลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ ให้กับ EDL และมีระยะเวลาสัญญา 29 ปี นับตั้งแต่ วันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยได้มีการกำ�หนดนโยบายและ วิธีการดูแลกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทในการนำ�ข้อมูลภายในของบริษัท ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อยเกี่ยวกับหน้าที่ในการรายงานการถือครอง รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครอง และการรายงานการได้มาหรือจำ�หน่ายหลักทรัพย์ของบริษัทโดยตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) 2. กำ�หนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั รวมถึงคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะจัดทำ�และเปิดเผย รายงานการถือครองหลักทรัพย์ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครอง และรายงานการได้มาหรือจำ�หน่าย หลักทรัพย์ของบริษทั ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ทก่ี �ำ หนดไว้ในพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และจัดส่งสำ�เนารายงานนี้ให้แก่บริษัทในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงาน ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 3. กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ด�ำ รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็น ระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงเวลาก่อนทีจ่ ะเผย แพร่งบการเงินหรือเผยแพร่เกี่ยวกับฐานะการเงินและสถานะของบริษัทจนกว่าบริษัทจะได้เปิดเผยข้อมูลต่อ สาธารณชนแล้ว โดยบริษัทจะแจ้งให้กรรมการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชี หรือการเงินทีเ่ ป็นระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า งดการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั อย่างเป็นลายลักษณ์ อักษรเป็นเวลาอย่างน้อย 30 วันล่วงหน้าก่อนการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน และควรรอคอยอย่างน้อย 24 ชัว่ โมง ภายหลังการเปิดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทัง้ ห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญนัน้ ต่อ บุคคลอื่น 4. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทใช้ข้อมูลภายในของบริษัทที่มีหรืออาจมีผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ของบริษัทที่ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งตนได้ล่วงรู้มาในตำ�แหน่ง หรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซื้อหรือขายหรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย หรือชักชวนให้บุคคลอื่นซื้อหรือขาย หรือ เสนอซื้อ หรือเสนอขายซึ่งหุ้นหรือหลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของบริษัทไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อมที่อาจจะเกิด ความเสียหายแก่บริษัทไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าการกระทำ�ดังกล่าวจะทำ�เพื่อประโยชน์ต่อตนเอง หรือผู้อื่น หรือนำ�ข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระทำ�ดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทน หรือไม่ก็ตาม 5. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทหรืออดีตกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ลาออก แล้ว เปิดเผยข้อมูลภายใน หรือความลับของบริษัทตลอดจนข้อมูลความลับของคู่ค้าของบริษัทที่ตนได้รับทราบ จากการปฏิบัติหน้าที่ให้บุคคลภายนอกรับทราบ แม้ว่าการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวจะไม่ท�ำ ให้เกิดผลเสียหายแก่ บริษัทและคู่ค้าของบริษัท 6. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทหรืออดีตกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานมีหน้าที่เก็บรักษา ความลับ และ/หรือ ข้อมูลภายในของบริษทั และมีหน้าทีใ่ นการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั เพือ่ ประโยชน์การดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทเท่านั้น ทั้งนี้ ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทนำ�ความลับ และ/หรือ ข้อมูล ภายในของบริษัทไปใช้ประโยชน์ให้แก่บริษัทอื่นที่ตนเองเป็นผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้าง 7. กำ�หนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝ่าฝืนนำ�ข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์ส่วนตน โดยเริ่มตั้งแต่ การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน ซึง่ การลงโทษจะพิจารณา จากเจตนาของการกระทำ�และความร้ายแรงของความผิดนั้นๆ
การกำ�กับดูแลกิจการ
P- 151
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้สอบบัญชี คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำ�กัด สำ�หรับการสอบบัญชีงบการเงิน (audit fee) เป็นจำ�นวนเงินรวม 1.28 ล้านบาท สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทย่อยได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้สอบ บัญชี คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด สำ�หรับการสอบบัญชีงบการเงินเป็นจำ�นวนเงินรวม 2.26 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นค่าสอบบัญชีของบริษัทจำ�นวน 1.81 ล้านบาท และค่าสอบบัญชีของบริษัทย่อยจำ�นวน 0.45 ล้านบาท
P- 152
การกำ�กับดูแลกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2557
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนประจำ�ปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการบริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 5 พฤศจิกายน 2557 มีหน้าที่รับผิดชอบในการคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการ รายใหม่ รวมถึงกรรมการชุดย่อยและการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ การพิจารณาแนวทางการกำ�หนด ค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการของบริษัท คณะกรรมการชุดย่อยและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อให้ โครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุด
คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ซึง่ เป็นกรรมการทีไ่ ม่เป็น ผูบ้ ริหารจำ�นวน 2 ท่าน และกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารอีก 1 ท่าน โดยประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายพยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายนพดล ปิน่ สุภา กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ในปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีการประชุมรวม 1 ครัง้ เนือ่ งจากบริษทั ได้แปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนและมีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2557 โดยได้ด�ำ เนินการสำ�คัญดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาให้ความเห็นและคำ�แนะนำ�เกีย่ วกับการกำ�หนดขอบเขต อำ�นาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเพือ่ ให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี 2. ให้ความเห็นชอบการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเพือ่ นำ�เสนอต่อทีป่ ระชุมใหญ่วสิ ามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ครัง้ ที่ 2/2557 ตามหลักการทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ได้อนุมตั ไิ ว้แล้ว ได้แก่ “ค่าตอบแทนของกรรมการควรจัดให้อยู่ ในลักษณะทีเ่ ปรียบเทียบได้กบั ระดับทีป่ ฏิบตั อิ ยูใ่ นอุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและ ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั จากกรรมการแต่ละคน กรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเพิม่ ขึน้ เช่น เป็นสมาชิกของคณะกรรมการชุดย่อย ควรได้รบั ค่าตอบแทนเพิม่ ทีเ่ หมาะสมด้วย” 3. พิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ทิ ว่ั ไปของธุรกิจ โดยพิจารณาจากประสบการณ์ และความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนประจำ�ปี 2557
P- 153
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) แต่งตัง้ ขึน้ ตามมติการประชุมใหญ่ วิสามัญผูถ ้ อื หุน ้ ของบริษท ั โดยพิจารณาแต่งตัง้ คณะกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษท ั จำ�นวน 4 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ ด้านธุรกิจพลังงาน กฎหมาย การเงิน เศรษฐศาสตร์ และการบริหารองค์กร โดยมี นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ดำ�รงตำ�แหน่งประธาน กรรมการตรวจสอบ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ พลอากาศโทสุทธิพงษ์ อินทรียงค์ และนางสาวปนัดดา กนกวัฒน์ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และตามกฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมีนโยบายเน้นการปฏิบตั ติ ามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี และปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 6 ครั้ง มีกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมการประชุมครบ ทุกครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ และได้รับความร่วมมืออย่างดีจาก ฝ่ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบได้สรุปผลการดำ�เนินงานในปี 2557 โดยสาระสำ�คัญในการปฏิบัติหน้าที่ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ�ปี
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลที่สำ�คัญของรายงานทางการเงิน ทั้งรายไตรมาสและงบการเงิน ประจำ�ปี 2557 ของบริษทั และงบการเงินรวมของบริษทั ย่อย ร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ายบริหารและสำ�นักตรวจสอบ ภายใน โดยได้เชิญผูส้ อบบัญชีเข้าร่วมประชุมทุกครัง้ ทีม่ กี ารพิจารณางบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ� ปี ในเรือ่ งความถูกต้องครบถ้วน เชือ่ ถือได้ การจัดทำ�เป็นไปตามข้อกำ�หนดของกฎหมายและมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน รวมทัง้ เปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่างเพียงพอและทันเวลา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและผู้ใช้ งบการเงิน ซึง่ ผูส้ อบบัญชีได้สอบทานและตรวจสอบ โดยเป็นรายงานความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไข นอกจากนี้ ขอบเขต การตรวจสอบ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอและความมีอิสระของผู้สอบบัญชีเพื่อให้ม่นั ใจว่า การจัดทำ�งบการเงินเป็นไปตามข้อกำ�หนดของกฎหมายและมาตรฐานบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการระหว่างกันที่เข้าข่ายรายการเกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะ กรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ เรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน พ.ศ. 2546 ซึง่ อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ผลการสอบทานรายการระหว่างกันทีบ่ ริษทั มีการดำ�เนินการ กับผู้ที่เกี่ยวข้อง พบว่า บริษัทได้ดำ�เนินการตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป มีความเป็นธรรม สมเหตุสมผล และไม่ก่อให้ เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ รวมทัง้ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้วนและเพียงพอ โดยยึดถือการปฏิบตั ิ ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ 3. สอบทานการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณานโยบายการบริหารความเสีย่ ง แผนงาน และแนวทางการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงตาม Corporate Risk Profile เพื่อมั่นใจว่าบริษัทได้มีกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะ สมและมีประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยงอันเนื่องจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ สภาวการณ์ ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อจัดการความเสี่ยงที่ส�ำ คัญครอบคลุมบริษัทในกลุ่ม เช่น การบริหารความเสี่ยง การเงินและการลงทุน โดยให้บริษัทและบริษัทร่วมทุน เข้มงวดเรื่องการลงทุนและบริหารความเสี่ยงทั้งด้านการ บริหารโครงการก่อสร้าง สภาพคล่อง ทรัพย์สินและหนี้สิน ให้มีความสมดุลและเหมาะสมการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนอัตราแลกเปลีย่ นและความผันผวนของราคาน้�ำ มัน เป็นต้น โดยมีการประชุมร่วมกับฝ่ายจัดการของบริษทั รวมทั้งพิจารณาและสอบทานประสิทธิภาพและความเหมาะสมของกระบวนการบริหารความเสี่ยง พร้อมทั้งให้ ข้อเสนอแนะเพื่อนำ�ไปปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
P- 154
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2557
รายงานประจำ�ปี 2557
4. สอบทานการประเมินการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและทบทวนระบบการควบคุมภายใน ร่วมกับผู้ตรวจสอบภายในอิสระ และหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน ถึงความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษัทและ บริษัทร่วมทุน โดยให้ผู้ตรวจสอบภายในอิสระทำ�การประเมินระบบการควบคุมภายในโดยใช้แบบประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามกรอบแนวทางปฏิบัติด้านการควบคุมภายในของ The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) ผลการประเมินพบว่า บริษัทมีระบบการ ควบคุมภายในทีด่ แี ละเหมาะสมเพียงพอกับการดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในของบริษทั และบริษัทย่อย โดยมีความเห็นว่า บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการควบคุมภายใน ซึ่งในภาพรวมของระบบสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและมี ประสิทธิผลซึง่ สอดคล้องกับความเห็นของผูส้ อบบัญชีทรี่ ายงานว่าการสอบทานไม่พบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท 5. สอบทานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานและกำ�กับให้บริษัทดำ�เนินกิจการต่างๆ อย่างถูกต้องตาม ระบบงานที่กำ�หนดไว้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท มีคุณธรรม บริษัทมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจนกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของ บริษทั อย่างเคร่งครัด เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั มีการดำ�เนินการตามเงือ่ นไขทางธุรกิจปกติอย่างถูกต้องและเหมาะสม 6. การกำ�กับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนการตรวจสอบประจำ�ปี การปฏิบัติตามแผน โดยจัดทำ�ขึ้นจากฐาน ความเสีย่ งของบริษทั ซึง่ สอดคล้องกับกลยุทธ์และทิศทางขององค์กร สอบทานผลการตรวจสอบโดยให้ขอ้ แนะนำ� และติดตามการดำ�เนินการแก้ไขตามรายงานผลการตรวจสอบในประเด็นทีม่ นี ยั สำ�คัญ เพือ่ ก่อให้เกิดการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี และมีการควบคุมภายในทีด่ ี รวมถึงกำ�กับดูแลให้หน่วยตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระโดยให้รายงาน ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ผ่านการพิจารณากฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรหน่วยงานตรวจ สอบภายใน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 7. พิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและการกำ�หนดค่าตอบแทน ซึ่งที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2557 มีมติอนุมัติแต่งตั้ง บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด เป็นผูส้ อบบัญชีประจำ�ปี 2557 และอนุมตั คิ า่ ตอบแทนผูส้ อบบัญชี โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ าน คุณสมบัติ ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทในปีที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความสำ�คัญกับการควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อ ให้บริษทั มีการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มีการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ มีการบริหารความเสีย่ ง ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ ระบบบัญชีและรายงานทางการเงินมีความถูกต้องเชือ่ ถือได้ รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2557
P- 155
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในของบริษัท บริษัทให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายในเสมอมา โดยคณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบทำ�การสอบทาน ประเมินระบบการควบคุมภายใน และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อกำ�หนดแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในด้านต่างๆ ให้มีความเพียง พอและเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ มีประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน การใช้ทรัพยากร การดูแลรักษา ทรัพย์สน ิ การป้องกันหรือลดความผิดพลาด การควบคุมความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน ้ และจัดให้มรี ายงาน ทางการเงินทีม ่ ค ี วามถูกต้องเชือ่ ถือได้ ตลอดจนการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท
ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/2557 เมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 ซึง่ มีคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ง 4 ท่านเข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายในทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ของบริษทั โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหาร และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ อ้างอิง รายงานการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในที่จัดทำ�โดยบริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จำ�กัด (“Deloitte”) ฉบับลงวันที่ 16 มิถุนายน 2557 และรายงานการติดตามผลการปรับปรุงที่จัดทำ� โดย Deloitte ฉบับลงวันที่ 5 กันยายน 2557 จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ 1. การควบคุมภายในองค์กร: บริษทั มีการกำ�หนดโครงสร้างองค์กร จริยธรรมองค์กร นโยบายและขัน้ ตอนใน การปฏิบัติงาน ความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีการกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีขั้นตอนใน การติดตามผลอย่างเพียงพอและเหมาะสม 2. การประเมินความเสี่ยง: บริษัทได้กำ�หนดให้มีการประเมินความเสี่ยงระดับองค์กร และมีการระบุปัจจัย ความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง รวมถึงวิธีการในการควบคุมเพื่อลดระดับความเสี่ยง นอกจากนี้ ยังมีการฝึก อบรมผู้เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจในการบริหารความเสี่ยงขององค์กรอย่างสม่ำ�เสมอ 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน: บริษัทมีการกำ�หนดระบบการควบคุมภายใน ในระดับกระบวนการ โดยได้มี การออกแบบการควบคุมภายในสำ�หรับกระบวนการต่างๆ ไว้ในระดับที่เพียงพอ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล: บริษัทมีการออกแบบการควบคุมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั่วไปอย่างเพียงพอและเหมาะสม และมีการกำ�หนดลำ�ดับขั้นและช่องทางในการรายงานผลตามลำ�ดับขั้นซึ่ง สอดคล้องตามลักษณะโครงสร้างองค์กร 5. ระบบการติดตาม: บริษทั มีการออกแบบการประเมินผลพนักงาน การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ตลอดจน มีการออกแบบการติดตามผลภายหลังจากการประเมิน คณะกรรมการมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริษัทได้ จัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดำ�เนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบควบคุมภายใน ใน เรื่องการติดตามควบคุมดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยให้สามารถป้องกันทรัพย์สินของบริษัทและบริษัทย่อย จากการที่กรรมการหรือผู้บริหารนำ�ไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มีอำ�นาจ รวมถึงการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งและบุคคลที่เกี่ยวโยงกันอย่างเพียงพอแล้ว สำ�หรับการควบคุมภายในในหัวข้ออื่น คณะกรรมการ เห็นว่าบริษัทมีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้วเช่นกัน
P- 156
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2557
ความเห็นของผู้ตรวจสอบภายในอิสระที่ว่าจ้างจากภายนอกเกี่ยวกับระบบควบคุม ภายในของบริษัท บริษัทได้ว่าจ้าง Deloitte เพื่อทำ�หน้าที่สอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของ กระบวนการปฏิบตั งิ านต่างๆ ทีค่ รอบคลุมกระบวนการทางธุรกิจทีส่ �ำ คัญของบริษทั และบริษทั ย่อยของบริษทั โดย ได้มีการดำ�เนินการตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 รวมถึงให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง และติดตามความคืบหน้า ในการปรับปรุงแก้ไขระบบการควบคุมภายในเพือ่ รายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดขอบเขต และขั้นตอนการสอบทานการควบคุมภายในดังนี้ 1. ประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของการออกแบบการควบคุมภายใน (Design Effectiveness Assessment – DEA) บนพื้นฐานของข้อมูลและเอกสารประกอบรายการ/การปฏิบัติงานที่ได้รับในระหว่าง การเข้าสอบทาน ทั้งนี้ การประเมินการออกแบบการควบคุมเป็นหลักการของการสอบทานความเพียงพอของ ระบบการควบคุมภายใน โดยใช้วธิ กี ารทดสอบทางเดินเอกสาร หรือ Walkthrough ซึง่ เป็นวิธกี ารทีจ่ ะทำ�ให้ผตู้ รวจ สอบภายในอิสระมั่นใจว่า การควบคุมภายในมีอยู่จริงและได้รับการติดตั้งอย่างเพียงพอและเหมาะสม 2. ประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน โดยดำ�เนินการสุม่ สอบทาน ในรายละเอียดถึงความสม่ำ �เสมอของการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ได้ออกแบบไว้ (Operating Effectiveness Assessment – OEA) ของบริษทั และบริษทั ย่อยเป็นจำ�นวนประมาณ 5 รายการต่อ 1 การควบคุม โดยเป็นการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายและไม่เฉพาะเจาะจง (Randomization) โดยมีรายละเอียดของกระบวนการปฏิบัติงานหลักของบริษัทและบริษัทย่อยที่ได้รับการสอบทาน ดังนี้ ชื่อบริษัท
กระบวนการที่ได้รับการสอบทาน
1. บริษัท
กระบวนการควบคุมระดับองค์กร กระบวนการทางด้านรายได้ กระบวนการทางด้านค่าใช้จ่าย กระบวนการผลิตและต้นทุนการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� กระบวนการซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาเครื่องจักร กระบวนการบริหารสินทรัพย์ถาวร กระบวนการด้านการเงินและบัญชี กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลและเงินเดือน กระบวนการควบคุมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยทั่วไป
2. CHPP
กระบวนการทางด้านรายได้ กระบวนการทางด้านค่าใช้จ่าย กระบวนการผลิตและต้นทุนการผลิตไฟฟ้าและน้ำ�เย็น กระบวนการด้านการเงินและบัญชี
3. NSC
กระบวนการควบคุมระดับองค์กร กระบวนการด้านการเงินและบัญชี
4. IRPC-CP
กระบวนการบริหารโครงการก่อสร้าง กระบวนการบริหารงานวิศวกรรมโครงการ กระบวนการด้านการเงินและบัญชี
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
P- 157
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เนื่องจากการสอบทานประสิทธิภาพของการปฏิบัติตามการควบคุมภายในที่ออกแบบไว้ (Operating Effectiveness Assessment) ดังระบุข้างต้น มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของ ระบบการควบคุมภายใน ไม่ใช่การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ดังนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครัง้ ที่ 5/2557 เมือ่ วันที่ 19 ธันวาคม 2557 จึงได้มกี ารพิจารณาอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2558 เพือ่ ให้มนั่ ใจถึงความเพียงพอของระบบบริหารจัดการความเสีย่ งและการควบคุมภายในในระดับกระบวนการปฏิบตั ิ งานต่างๆ ของบริษัท โดยแผนการตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2558 จะครอบคลุมถึงกระบวนการปฏิบัติงานที่ บริษัทพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความเสี่ยงที่มีความสำ�คัญสูงดังต่อไปนี้ 1. กระบวนการผลิตและต้นทุนการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� 2. กระบวนการซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาเครื่องจักร 3. กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลและเงินเดือน ทั้งนี้ Deloitte ได้ทำ�การตรวจสอบและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน พร้อมทั้งได้ตั้ง ข้อสังเกตและเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งบริษัทได้นำ�ผลการตรวจสอบและประเมินดังกล่าวมา ปรับปรุงและพัฒนาระบบควบคุมภายในของบริษัท สรุปได้ดังนี้ 1. บริษัท ข้อสังเกต
การดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขโดยบริษัท
กระบวนการทางด้านค่าใช้จา่ ย กระบวนการสั่ ง ซื้ อ โดยวิ ธี ก ารตกลงราคาไม่ สอดคล้องกับระเบียบการปฏิบต ั งิ าน - หน่วยงานผูใ้ ช้ได้ด�ำ เนินการจัดหาและติดต่อตกลง ราคากับผูค ้ า้ โดยตรงจากนัน ้ จึงทำ�ใบขอจัดหาพัสดุ พร้อมใบเสนอราคาให้กับส่วนจัดหาและคลังพัสดุ เพือ่ จัดทำ�ใบสัง่ ซือ้ ซึง่ ไม่สอดคล้องกับระเบียบการ ปฏิบต ั งิ าน - หน่วยงานผู้ใช้ทำ�การแบ่งใบขอจัดหาพัสดุชนิด เดียวกันเป็น 3 ฉบับ เนือ่ งจากข้อจำ�กัดของระบบ งานซึ่งกำ�หนดให้ต้องมีการขอพัสดุตามรายการ เครือ่ งจักรแต่ละรายการ อย่างไรก็ตาม ส่วนจัดหา และคลังพัสดุไม่ได้รวบรวมใบขอจัดหาพัสดุดงั กล่าว เพื่อทำ�เป็นใบสั่งซื้อโดยวิธีสอบราคาตามระเบียบ การปฏิบต ั งิ าน
P- 158
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว บริษท ั ได้ท�ำ การสือ่ สารถึงระเบียบวิธป ี ฏิบต ั งิ านเรือ่ งการจัดหาพัสดุดว้ ยวิธก ี ารตกลง ราคาให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรั บ ทราบเพื่ อ ป้ อ งกั น ความเข้ า ใจผิ ด ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ใน กระบวนการจั ด หาพั ส ดุ แ ละป้ อ งกั น การจั ด หาพั ส ดุ ที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ข อซื้ อ หรื อ ผูจ้ ด ั จำ�หน่าย โดยในปัจจุบน ั กระบวนการจัดหาพัสดุทงั้ หมดต้องดำ�เนินการโดยเจ้าหน้าที่ ส่วนจัดหาและคลังพัสดุ และสอบทานโดยผูจ้ ด ั การส่วนจัดหาและคลังพัสดุ ยกเว้น การจัดพัสดุ ในกรณีแบบเร่งด่วน (เช่น มีความจำ�เป็นต้องจัดหาพัสดุภายในระยะเวลาอันสั้น เช่น ไม่เกิน 1-2 วันหรือต้องจัดหาพัสดุทันที เป็นต้น) ซึ่งผู้ขอซื้อสามารถดำ�เนินการด้วย ตนเอง แต่ตอ้ งขออนุมต ั จิ ากหัวหน้าส่วนงานทีผ ่ ขู้ อซือ้ สังกัดและแจ้งให้ผจู้ ด ั การส่วนจัดหา และคลังพัสดุทราบ ทุกสิ้นเดือน เจ้าหน้าที่ส่วนจัดหาและคลังพัสดุจะรวบรวมรายการจัดหาพัสดุแบบ เร่งด่วนเพือ่ ให้ผจู้ ด ั การส่วนจัดหาและคลังพัสดุน�ำ ไปรายงานในการประชุมคณะกรรมการ จัดการ เพือ่ พิจารณาความเหมาะสมของการจัดหาพัสดุดงั กล่าว และแนวทางในการแก้ไข ปัญหาเพื่อลดการสั่งซื้อแบบเร่งด่วนในอนาคต นอกจากนี้ ผู้จัดการส่วนจัดหาและคลังพัสดุมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส่วนจัดหาและ คลังพัสดุสอบทานรายการจัดหาพัสดุโดยวิธก ี ารตกลงราคาทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น การจัดหา พัสดุชนิดเดียวกันและผู้ขายรายเดียวกันจำ�นวนหลายรายการ หรือ การเลือกวิธีการ จัดหาพัสดุที่ไม่เหมาะสมและอาจมีวิธีอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทมากกว่า เป็นต้น ทั้งนี้ เพือ่ รายงานให้ผจู้ ด ั การส่วนจัดหาและคลังพัสดุทราบ รวมถึงรายงานให้ผม ู้ อี �ำ นาจอนุมต ั ิ การจัดหาพัสดุพิจารณา
ไม่มก ี ระบวนการติดตามใบจัดหาพัสดุและใบสัง่ ซือ้ ที่คงค้างเป็นเวลานานในระบบอย่างเป็นประจำ� สม่�ำ เสมอ
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
การตรวจรับสินค้าและบริการล่าช้า เนือ่ งจากต้อง มี ก ารจั ด ส่ ง เอกสารไปยั ง สำ � นั ก งานต่ า งๆ ของ คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ซ่ึง อาจจะอยู่ต่า ง สถานที่ และในบางกรณีผ้ม ู ีอำ�นาจในการลงนาม ตรวจรับพัสดุเดินทางไปปฏิบต ั หิ น้าทีใ่ นต่างประเทศ ทำ�ให้ไม่สามารถลงนามตรวจรับพัสดุในเอกสารได้ ในทันที
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
บริษัทมีการจัดทำ�รายงานใบขอซื้อและใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างคงค้างจากระบบ SAP เพื่อ นำ�มาสอบทานและติดตามรายการสั่งซื้อและจัดส่งสินค้าเป็นประจำ�ทุกเดือน
บริษท ั มีการบันทึกสถานะของการรับส่งเอกสารการสัง่ ซือ้ และเอกสารการรับสินค้า ในระบบ Microsoft Access ซึ่งจะระบุวันที่ที่เกิดรายการขอจัดหาพัสดุ การสั่งซื้อพัสดุ และการรับพัสดุ รวมถึงสถานะของเอกสารทีร่ อการอนุมต ั จิ ากผูม ้ อี �ำ นาจ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูล ในการติดตามเอกสารที่คงค้างอยู่อย่างสม่ำ�เสมอ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อสังเกต
การดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขโดยบริษัท
กระบวนการทางด้านการเงินและบัญชี การสอบทานความครบถ้วนของใบสำ�คัญทั่วไป ยังไม่เพียงพอ บริ ษั ท กำ� หนดให้ เ จ้ า หน้ า ที่ บั ญ ชี สามารถบันทึก และผ่านรายการปรับปรุงในระบบบัญชีได้ โดย ต้องจัดทำ�ใบสำ�คัญทั่วไปและนำ�ส่งให้ผู้มีอำ�นาจ สอบทานและอนุ มั ติ ร ายการ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ไม่ ไ ด้ กำ�หนดให้มีการจัดทำ�รายงานสรุปใบสำ�คัญทั่วไป สำ�หรับงวด เพื่อนำ�มาสอบทานความครบถ้วน ระหว่างใบสำ�คัญทัว่ ไปในระบบบัญชีและใบสำ�คัญ ทั่วไปที่จัดพิมพ์และได้รับการสอบทานและอนุมัติ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการปรับปรุง ทุกรายการ ในระบบบัญชีได้รบ ั การสอบทานและอนุมต ั โิ ดยผูม ้ ี อำ�นาจอย่างถูกต้องและครบถ้วน ไม่มก ี ารกำ�หนดวิธป ี ฏิบต ั งิ านเกีย่ วกับการสุม ่ ตรวจ นับเงินสดย่อย รวมถึงไม่ได้มก ี ารกำ�หนดความถีใ่ น การตรวจนับเงินสดย่อยโดยบุคคลทีเ่ ป็นอิสระ (จาก การถือเงินสดย่อย) อย่างสม่�ำ เสมอ
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว บริษัทมีการจัดทำ�รายงานสรุปใบสำ�คัญทั่วไปประจำ�เดือนจากระบบ SAP และแนบ รายงานดังกล่าวไว้ในแฟ้มใบสำ�คัญทั่วไปที่มีการจัดพิมพ์ ซึ่งจะควบคุมความครบถ้วน โดยผู้จัดการส่วนบัญชีองค์กรจะสอบทานความครบถ้วนของการจัดทำ�ใบสำ�คัญทั่วไป โดยเปรียบเทียบจำ�นวนใบสำ�คัญทัว่ ไประหว่างรายงานจากระบบ SAP กับใบสำ�คัญทัว่ ไป ที่มีการจัดพิมพ์ และทำ�การวิเคราะห์ในภาพรวมของใบสำ�คัญที่เกิดขึ้น หากพบประเภท รายการปรับปรุงหรือจำ�นวนใบสำ�คัญทั่วไปที่ผิดปกติ จะมีการสอบถามพนักงานบัญชี ทัว่ ไปถึงสาเหตุของรายการใบสำ�คัญทัว่ ไปทีผ ่ ด ิ ปกติ และหาวิธป ี อ้ งกันปัญหาดังกล่าวใน อนาคต
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว สำ�หรับเงินสดย่อยทีอ่ ยู่ในความดูแลของโรงไฟฟ้าศรีราชา บริษัทดำ�เนินการกำ�หนด ให้ผู้เป็นอิสระ (จากการถือเงินสดย่อย) เป็นผู้สุ่มตรวจนับเงินสดย่อยโดยไม่ได้นัดหมาย ไว้ลว่ งหน้า (Surprise Check) ทุกไตรมาส ทัง้ นี้ ในปัจจุบน ั บริษท ั อยูร่ ะหว่างการดำ�เนิน การเปลี่ยนวิธีการจากการถือเงินสดเป็นการใช้บัตรเงินสด (Cash Card) ของบริษัท ซึ่งจะสามารถตรวจสอบความเคลื่อนไหวของรายการกับเอกสารประกอบการเบิกถอน เงินสดจากบัตรเงินสดได้ สำ � หรั บ เงิ น สดย่ อ ยที่ อ ยู่ ใ นความดู แ ลของสำ � นั ก งานกรุ ง เทพ และโรงผลิ ต สาธารณูปการระยอง บริษัทจัดเก็บไว้ในบัญชีธนาคารในชื่อของบริษัท ซึ่งจะสามารถ เบิกถอนได้โดยผู้มีอำ�นาจอนุมัติ และมีการรายงานการควบคุมวงเงินสดย่อย รวมถึง รายงานความเคลือ่ นไหวของบัญชีให้กบ ั ผูม ้ อี ำ�นาจตามสายงานรับทราบอย่างสม่ำ�เสมอ
กระบวนการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยทั่วไป ควรมีการบริหารจัดการสิทธิในการเข้าถึงฐาน ข้อมูลกลาง (Share Drive) อย่างเหมาะสมและมี การสอบทานสิ ท ธิ ใ นการเข้ า ถึ ง อย่ า งสม่ำ� เสมอ เนือ่ งจาก เจ้าหน้าทีข่ องบริษท ั ทุกฝ่ายงานสามารถ เข้าถึงแฟ้มงานและไฟล์เอกสารได้ทง้ั หมด รวมถึง สามารถนำ�ข้อมูลออกจาก Share Drive ได้โดยไม่มี การจำ�กัดสิทธิการเข้าถึงแต่อย่างใด ซึง่ ถือเป็นจุด อ่อนที่ทำ�ให้เกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัยของ ข้อมูลทีส่ �ำ คัญทีจ่ ด ั เก็บไว้ใน Share Drive
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว บริษัทได้กำ�หนดสิทธิของพนักงานทั้งหมดให้ได้รับสิทธิเพียงการอ่านข้อมูลทั่วไปใน Share Drive ของแผนกอื่นๆ เท่านั้น และจะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของแผนกอื่นๆ ใน Share Drive ได้ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ข้อมูลเป็นความลับ เจ้าของข้อมูล (User) จะแจ้งผูด ้ แู ลระบบของบริษท ั ให้ทำ�การจำ�กัดการเข้าถึงข้อมูล โดยบุคคลทีไ่ ด้รบ ั อนุญาต เท่านัน ้ จึงจะสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวใน Share Drive ได้ นอกจากนี้ บริษท ั ได้มก ี าร ปรับปรุงสิทธิของพนักงานใหม่หรือลาออกตามข้อมูลที่ได้รับจากฝ่ายทรัพยากรบุคคล และมีการยืนยันสิทธิของพนักงานในปัจจุบันกับหัวหน้าส่วนงานเป็นประจำ�ทุก 2 เดือน เพื่อนำ�ข้อมูลที่ได้รับไปปรับปรุงสิทธิของพนักงานในปัจจุบัน
2. CHPP ไม่มีข้อสังเกต
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
P- 159
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
3. NSC ข้อสังเกต
การดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขโดยบริษัท
กระบวนการควบคุมระดับองค์กร ไม่ มี ก ารกำ � หนดระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ และ/หรื อ นโยบายเกีย่ วกับการจัดเก็บเอกสารทีส่ �ำ คัญ รวม ทั้งเอกสารสำ�คัญของ NSC ยังคงมีการจัดเก็บไว้ ที่ PTTER
NSC ได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว NSC มอบหมายให้กรรมการบริษท ั หรือผูไ้ ด้รบ ั มอบหมายเป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในการดูแล และควบคุมเอกสารสำ�คัญ และได้ดำ�เนินการจัดทำ�ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดเก็บ เอกสารที่สำ�คัญอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผ่านการ สอบทานและอนุมัติโดยกรรมการ ของ NSC และมีการสื่อสารและประกาศใช้งานอย่างเหมาะสม
4. IRPC-CP ไม่มีข้อสังเกต
ความเห็นของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในของบริษัท บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำ�กัด ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ได้เสนอรายงานสรุปผลการสอบทานการควบคุมระบบโดยทั่วไปและการสอบทานเฉพาะระบบงานของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อผู้บริหารของบริษัท โดยรายงานดังกล่าวสรุปได้ดังนี้
P- 160
ข้อสังเกต
คำ�ชี้แจงของฝ่ายบริหาร
จากการสอบทานรายชือ่ บัญชีผใู้ ช้งานระบบ SAP ECC6 พบว่ามีบัญชีผู้ใช้งานซึ่งไม่เคยเข้าใช้งานใน ระบบเลย
บริษัทอยู่ระหว่างการดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข โดยหลังจากที่บริษท ั หมดสัญญากับ SAP แล้ว บริษัทจะทำ�การตรวจสอบว่ามีบัญชี ผูใ้ ช้งานใดบ้างทีไ่ ม่มก ี ารเข้าใช้งาน เพือ่ พิจารณาถึงความเหมาะสมในการใช้งาน หากไม่มี ความจำ�เป็นในการใช้งาน ทางบริษท ั จะดำ�เนินการลบบัญชีผใู้ ช้งานนัน ้ ๆ ซึง่ บริษท ั คาดว่า จะแก้ไขแล้วเสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2558
จากการสอบทานเกีย่ วกับแผนสำ�รองฉุกเฉินพบว่า บริษัทได้มีการประกาศนโยบายการบริหารความ ต่อเนือ่ งทางธุรกิจ ซึง่ บริษท ั อยูร่ ะหว่างการดำ�เนิน การจั ด ทำ � แผนสำ � รองฉุ ก เฉิ น ในรายละเอี ย ด ก่อนกำ�หนดการซ้อมแผนต่อไป
บริษัทอยู่ระหว่างการดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข
จากการสอบทานสิทธิความเหมาะสมของการคิด คำ�นวณค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ของบริษัท พบว่ า มี ก ารให้ สิ ท ธิ ใ นการสร้ า งข้ อ มู ล ของ สินทรัพย์แก่ผู้ใช้งานที่ไม่ได้รับผิดชอบหน้าที่นี้
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
โดยบริษัทได้เริ่มโครงการพัฒนาระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM) แล้วเมื่อเดือนธันวาคมปี 2557 โดยมีการจัดประชุม อบรมให้ความรู้ รวมถึงการจัดทำ� Workshop ซึ่งบริษัทคาดว่าจะดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม 2558
ปัจจุบนั บริษทั ได้ด�ำ เนินการลดสิทธิของผูใ้ ช้งานดังกล่าวแล้ว บริษทั ยังจัดให้มกี ารทบทวน สิทธิทก ุ ๆ 3 เดือน เพือ่ ป้องกันกรณีทม ่ี ก ี ารให้สท ิ ธิไม่ถก ู ต้อง หรือกรณีพนักงานย้ายแผนก หรือลาออก โดยผูด ้ แู ลระบบจะทำ�หน้าทีต ่ รวจสอบสิทธิการใช้งาน หากพบว่ามีการให้สท ิ ธิ ไม่ถก ู ต้อง หรือมีพนักงานย้ายแผนกหรือลาออก ผูด ้ แู ลระบบจะเป็นผูด ้ �ำ เนินการเปลีย่ นแปลง การให้สิทธิให้ถูกต้องต่อไป นอกจากนี้ บริษัทได้กำ�หนดแนวทางการควบคุมและป้องกัน โดยในกรณีทม ่ี ก ี ารเปลีย่ นแปลงการให้สท ิ ธิ รวมถึงการขอเพิม ่ สิทธิ ผูด ้ แู ลระบบจะส่งคำ�ขอ ดังกล่าวให้ผจู้ ด ั การระดับส่วนทีร่ บ ั ผิดชอบแต่ละส่วนงานพิจารณาความเหมาะสมของการ ให้สิทธิหรือเปลี่ยนแปลงสิทธิ ก่อนส่งให้ผู้จัดการระดับฝ่ายเป็นผู้ลงนามอนุมัติต่อไป
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อสังเกต
คำ�ชี้แจงของฝ่ายบริหาร
จากการสอบทานสิ ท ธิ ค วามเหมาะสมของการ บันทึกบัญชีของบริษัท พบว่ามีการให้สิทธิในการ บันทึกบัญชีแก่ผู้ใช้งานที่ไม่ได้รับผิดชอบหน้าที่นี้
บริษัทได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ปัจจุบน ั บริษท ั ได้ด�ำ เนินการลดสิทธิของผูใ้ ช้งานดังกล่าวแล้ว บริษท ั ยังจัดให้มก ี าร ทบทวนสิทธิทก ุ ๆ 3 เดือน เพือ่ ป้องกันกรณีทม ี่ ก ี ารให้สท ิ ธิไม่ถก ู ต้อง หรือกรณีพนักงาน ย้ายแผนกหรือลาออก โดยผูด ้ แู ลระบบจะทำ�หน้าทีต ่ รวจสอบสิทธิการใช้งาน หากพบว่า มีการให้สท ิ ธิไม่ถก ู ต้อง หรือมีพนักงานย้ายแผนกหรือลาออก ผูด ้ แู ลระบบจะเป็นผูด ้ �ำ เนิน การเปลี่ยนแปลงการให้สิทธิให้ถูกต้องต่อไป นอกจากนี้ บริษัทได้ก�ำ หนดแนวทางการ ควบคุมและป้องกัน โดยในกรณีทม ี่ ก ี ารเปลีย่ นแปลงการให้สท ิ ธิ รวมถึงการขอเพิม ่ สิทธิ ผู้ ดู แ ลระบบจะส่ ง คำ � ขอดั ง กล่ า วให้ ผู้ จั ด การระดั บ ส่ ว นที่ รั บ ผิ ด ชอบแต่ ล ะส่ ว นงาน พิจารณาความเหมาะสมของการให้สท ิ ธิหรือเปลีย่ นแปลงสิทธิ ก่อนส่งให้ผจู้ ด ั การระดับ ฝ่ายเป็นผู้ลงนามอนุมัติต่อไป
หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในของบริษัท บริษัทได้มอบหมายให้ นายไกรสร พัววิไล เป็นหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในของบริษัท โดยในการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2557 ได้ให้ความเห็นว่า นายไกรสร พัววิไล มีความเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ในตำ�แหน่งหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในของบริษัท ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในสำ�หรับธุรกิจ และอุตสาหกรรมที่มีลักษณะ เดียวกับบริษทั มาเป็นระยะเวลา 6 ปี และเคยเข้ารับการอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ านด้านตรวจ สอบภายใน ได้แก่
- - - - - - - -
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในหลักสูตร 1, สภาวิชาชีพบัญชี การบริหารความเสี่ยงตามแนว COSO-ERM, สภาวิชาชีพบัญชี Detecting & Preventing Corporate Fraud, The Asia Business Forum การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในหลักสูตร 2, สภาวิชาชีพบัญชี การเขียนรายงานการตรวจสอบภายใน, สภาวิชาชีพบัญชี การประเมินระบบการควบคุมภายในแบบ COSO-ERM ของแต่ละระบบงาน, สภาวิชาชีพบัญชี โครงการอบรมการตรวจสอบภายในเพื่อเตรียมตัวเป็นผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Tool and Techniques for the Audit Manager, สมาคมผู้ตรวจสอบฯ
โดย นายไกรสร พัววิไล มีความเข้าใจในกิจกรรมและการดำ�เนินงานของบริษทั จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมทีจ่ ะ ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ทัง้ นี้ การพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอน ผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในของบริษทั จะต้อง ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคุณสมบัตขิ องผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
P- 161
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง รายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ตัง้ แต่วน ั ที่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) และงวดปีบญ ั ชีสน ิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สามารถสรุปเป็นประเภทรายการ ที่สำ�คัญได้ดังนี้ 1. รายการธุรกิจปกติ เป็นรายการที่บริษัทและบริษัทย่อยมีการทำ�รายการตามการดำ�เนินธุรกิจปกติ และมีความจำ�เป็นต่อ การประกอบธุรกิจของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ดังนัน ้ บริษท ั และบริษท ั ย่อยจะยังคงมีการทำ�รายการลักษณะนีอ้ ย่างต่อเนือ่ งในอนาคต โดยมีรายการธุรกิจปกติที่สำ�คัญ ดังนี้
1.1 การซื้อเชื้อเพลิงและสารเคมีเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบหลักในกระบวนการผลิต โดยการเข้าทำ�รายการดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขการ ค้าทั่วไปที่บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งกระทำ�กับบุคคลอื่น และ/หรือ เงื่อนไขการค้าที่ไม่ทำ�ให้บริษัทและบริษัทย่อยเสียประโยชน์ ซึ่งรายการประเภทนี้ ประกอบด้วย
• การซื้อก๊าซธรรมชาติจาก ปตท. ซึ่งเป็นผู้ขายก๊าซธรรมชาติให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแต่เพียงรายเดียวในประเทศไทย • การซื้อน้ำ�มันดีเซลจาก TOP ซึ่งมีโรงงานอยู่ในบริเวณเดียวกันกับโรงไฟฟ้าศรีราชาของบริษัท เพื่อนำ�น้ำ�มันดีเซลมาใช้เป็น เชื้อเพลิงสำ�รอง • การซื้อไนโตรเจนจาก LINDE เพื่อใช้ในหน่วยงานส่วนปฏิบัติการผลิตของโรงผลิตสาธารณูปการระยอง
1.2 การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม และไนโตรเจน ให้แก่ลูกค้าของบริษัท ซึ่งบริษัทมีแนวทางเดียวกันใน การกำ�หนดราคาและเงื่อนไขทางการค้าสำ�หรับการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้าที่อาจมีความขัดแย้งและที่ไม่มีความขัดแย้งกับบริษัท 2. รายการสนับสนุนธุรกิจปกติ เป็นรายการที่บริษัทและบริษัทย่อยทำ�เพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจของบริษัท โดยมีเงื่อนไข การค้าทัว่ ไปทีบ ่ ค ุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งกระทำ�กับบุคคลอืน ่ และ/หรือ เงือ่ นไขการค้าทีไ่ ม่ท�ำ ให้บริษท ั และบริษท ั ย่อยเสียประโยชน์ และบริษัทคาดว่าจะมีการเข้าทำ�รายการลักษณะนี้อย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยมีรายการที่สำ�คัญ ดังนี้
2.1 รายการที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งวัตถุดิบในการผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ เช่น การเช่าท่อส่งน้ำ�ดิบเพื่อใช้ในกระบวนการผลิต ไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าศรีราชา การขอเช่าใช้และให้เช่าโครงสร้างหลักสำ �หรับรองรับท่อขนส่งผลิตภัณฑ์ (pipe-rack) ของโรงผลิต สาธารณูปการระยอง 2.2 รายการที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงาน เช่น ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ผู้ถือหุ้นส่งมาปฏิบัติงานสมทบเพื่อสนับสนุน การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และรายได้จากการส่งพนักงานของบริษัทไปปฏิบัติงานสมทบในบริษัทที่เข้าไปลงทุนเพื่อสนับสนุนการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทดังกล่าว 2.3 รายการทำ�ประกันภัยสำ�หรับโรงงาน และประกันภัยกรณีธุรกิจหยุดชะงักของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัด แย้ง ซึ่งเป็นบริษัทประกันภัยที่มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกันกับบริษัท โดยการเข้าทำ�ประกันภัยจะเป็นไปในลักษณะการทำ�ประกันภัยแบบ กลุ่มซึ่งเป็นประโยชน์ต่อบริษัท 2.4 รายการรับบริการด้านต่างๆ ที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น • การจ้างเหมาบริการจัดหาพนักงานกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งที่มีความชำ�นาญและประสบการณ์ในการจัดหาบุคลากร ประเภท Outsource มาปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ที่บริษัทกำ�หนด ตามอัตราค่าจ้างบริการตามเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกัน • บริการบำ�รุงรักษาและซ่อมแซมเครื่องจักรกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งซึ่งมีความเชี่ยวชาญในงานบำ�รุงรักษา และตั้งอยู่ ในบริเวณเดียวกันกับโรงผลิตสาธารณูปการระยองของบริษัท • บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ค่าใช้จา่ ยฝ่ายทุนสำ�หรับการพัฒนาโปรแกรมใหม่ • บริการบำ�รุงรักษาโครงสร้างสำ�หรับวางท่อกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่งเป็นผู้บริการบำ�รุงรักษาโครงสร้างการวางท่อ เพียงรายเดียวในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมที่โครงสร้างสำ�หรับวางท่อของบริษัทตั้งอยู่
P- 162
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
2.5 2.6
รายการรับบริการที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว เช่น ค่าใช้จ่ายการทำ�บัญชีในการเข้าซื้อกิจการ รายการเช่าพื้นที่สำ�นักงานและโรงงาน ซึ่งประกอบด้วย • การเช่าพื้นที่สำ�นักงานในอาคารสำ�นักงานศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ โดยมีอัตราค่าเช่าเป็นไปตามอัตราที่กำ�หนดในสัญญา ซึง่ สามารถเทียบเคียงได้กบั ผูเ้ ช่ารายอืน่ นอกจากนี้ บริษทั ยังได้รบั ประโยชน์ในการติดต่อประสานงานกับลูกค้าและคูค่ า้ ส่วนใหญ่ ซึ่งมีสำ�นักงานในอาคารสำ�นักงานศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ • การเช่าที่ดินสำ�หรับการดำ�เนินงานของโรงไฟฟ้าศรีราชากับ TOP ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นเดิมของโรงไฟฟ้าศรีราชา โดยรายการเช่า ดังกล่าวเป็นประโยชน์และสะดวกต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท
3. รายการซื้อเงินลงทุน เป็นรายการที่เกิดขึ้นตามแผนการลงทุนและขยายธุรกิจไฟฟ้าของบริษัทภายหลังการควบรวมบริษัท โดยบริษัทได้ดำ�เนินการเข้าซื้อเงินลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากบริษัทต่างๆ ภายในกลุ่ม ปตท. ได้แก่ ปตท. PTTER IRPC และ PTTIH โดยมูลค่าการเข้าซื้อดังกล่าวเป็นมูลค่ายุติธรรมที่ประเมินโดยที่ปรึกษาทางการเงินที่บริษัทได้ ว่าจ้างสำ�หรับการเข้าซื้อธุรกิจดังกล่าว
รายการระหว่างกันของบริษัทและบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) และงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีรายละเอียด ดังนี้ 1. รายการระหว่างกันของบริษัทกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 1.1 บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (“ปตท.”)
ปตท. ประกอบธุรกิจปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติครบวงจร โดย ปตท. เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งเนือ่ งจาก ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษทั โดยถือหุ้นร้อยละ 30.10 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของบริษัท และ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน PTTGC และ TOP ซึ่งเป็นผู้ถอื หุ้นรายใหญ่รายอื่นของบริษัท ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้ อื่ น จากเงิ น รางวั ล ที่ บริษัทได้รับจาก ปตท. - รายได้สำ�หรับงวด ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการซื้อก๊าซ ธรรมชาติ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
0.01
21,062.31 3,078.44
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.01
17,483.77 2,181.13
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
เงินรางวัลที่บริษัทได้รับจาก ปตท.จาก การทีต ่ วั แทนพนักงานของบริษท ั ส่งผลงาน เข้าประกวดภายใต้โครงการ PTT Group Operational Excellence
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
บริ ษั ท ซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ สำ � คั ญ ในการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่ อ จำ � หน่ า ย ซึ่ ง เป็ น รายการธุ ร กิ จ ปกติ ของบริ ษั ท ที่ มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดยทั่ ว ไป ทั้งนี้ ปตท. เป็นผู้ขายก๊าซธรรมชาติให้แก่ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแต่เพียงราย เดียวในประเทศ โดยมีราคาและเงื่อนไขการ รั บ ซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ก๊าซธรรมชาติระหว่างบริษัทและ ปตท.
รายการค่ า ใช้ จ่ า ยสำ � หรั บ การซื้ อ ก๊าซ ธรรมชาติ เ ป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามความ จำ�เป็นและเป็นไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติ ของบริษท ั โดยมีเงือ่ นไขและอัตราค่าก๊าซตาม สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติที่บริษัททำ�กับ ปตท. ซึง่ เป็นราคามาตรฐานที่ ปตท. เรียกเก็บ จากลูกค้าในแต่ละประเภท โดยราคาดังกล่าว มีการกำ�หนดสูตรการคำ�นวณค่าก๊าซไว้อย่าง ชัดเจน จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
รายการระหว่างกัน
P- 163
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
เงินจ่ายล่วงหน้าจากการซื้อ ก๊ า ซธรรมชาติ ต ามเงื่ อ นไข Minimum Take-or-Pay - ลูกหนี้คงค้าง
19.48
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
เงิ น จ่ า ยล่ ว งหน้ า จากการซื้ อ ก๊ า ซ ธรรมชาติตามเงื่อนไข Minimum Takeor-Pay คือส่วนต่างระหว่างมูลค่าของ ปริมาณก๊าซธรรมชาติขั้นต่ำ�ที่บริษัทที่จะ ซือ้ จาก ปตท. ตามปริมาณทีต ่ กลงกันล่วง หน้าภายใต้เงื่อนไขในสัญญาซื้อขายก๊าซ ธรรมชาติ กั บ มู ล ค่ า ของปริ ม าณก๊ า ซ ธรรมชาติที่บริษัทซื้อตามจริงภายในระยะ เวลาที่กำ�หนดตามสัญญาดังกล่าว โดย ปตท. จะมีการคำ�นวณมูลค่าส่วนต่างดัง กล่าวเป็นรายเดือน
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่ อ งกั บ รายการค่ า ใช้ จ่ า ยในการซื้ อ ก๊ า ซ ธรรมชาติ และเป็นไปตามการดำ�เนินธุรกิจ ปกติ ข องบริ ษั ท โดยเงื่ อ นไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็นเงื่อนไขทั่วไปที่ ปตท. ใช้กับลูกค้ารายอื่นๆ ทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ ไม่เกี่ยวข้องกัน จึงถือได้ว่ารายการเงินจ่าย ล่วงหน้าดังกล่าวมีความสมเหตุสมผลและ เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น
บริษัทรับรู้ส่วนต่างดังกล่าว เป็นค่าใช้ จ่ายจ่ายล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยบันทึกบัญชีเป็นลูกหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Takeor-Pay หากบริษท ั รับซือ้ ก๊าซธรรมชาติใน งวดถัดไปตามเงื่อนไขที่กำ�หนด บริษัทจะ สามารถนำ�ส่วนต่างดังกล่าวมาเครดิตหัก ออกจากค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน ้ ในงวดถัดไป โดย สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2557 บริษัทได้รับซื้อก๊าซธรรมชาติตาม ปริมาณที่กำ�หนดไว้ บริษัทจึงนำ�เงินจ่าย ล่ ว งหน้ า จากการซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ ต าม เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ในงวด ก่อนหน้าทัง้ จำ�นวน มาเครดิตออกจากเงิน ที่ต้องจ่ายในงวดดังกล่าว ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับการขอเช่าใช้ โ ค ร ง ส ร้ า ง ห ลั ก สำ � ห รั บ รองรั บ ท่ อ ขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
1.01 0.52
1.06 0.53
บริษัทได้ทำ�สัญญากับ ปตท. เพื่อขอ เช่าโครงสร้างหลักสำ�หรับรองรับท่อขนส่ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) ภายในพื้ น ที่ มาบตาพุ ด เพื่ อ วางท่ อ ขนส่ ง วั ต ถุ ดิ บ / ผลิตภัณฑ์ภายในพืน ้ ทีด ่ งั กล่าว โดยมีอต ั รา การเช่ า และเงื่ อ นไขตามที่ ต กลงร่ ว มกั น ระหว่างบริษัทและ ปตท. บริษัทได้ชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าวล่วง หน้าเป็นรายหกเดือนจึงรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย จ่ายล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นลูกหนีค้ งค้าง
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ ปตท. ส่งมาปฏิบต ั งิ านสมทบ ที่บริษัท - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
P- 164
44.17 8.99
รายการระหว่างกัน
31.55 11.74
ปตท. ในฐานะผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่ของบริษท ั มี การส่งพนักงานมาปฏิบต ั งิ านสมทบทีบ ่ ริษทั เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดย ปตท. เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในส่วนของเงิน เดื อ น โบนั ส และสวั ส ดิ ก ารต่ า งๆ ให้ แ ก่ พนักงานที่ ปตท. ส่งมาปฏิบต ั งิ านทีบ ่ ริษท ั ซึ่ง ปตท. จะมีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดัง กล่าวจากบริษท ั อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่า จ้างและสวัสดิการตามที่ ปตท. จ่ายจริงให้ แก่พนักงานทีส่ ง่ มาปฏิบต ั งิ านทีบ ่ ริษท ั
รายการดังกล่าวเป็นการสนับสนุนธุรกิจ ปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความจำ�เป็น ซึง่ อัตราค่าเช่าเป็นไปตามสูตรการคำ�นวณที่ มี ฐ านการคำ � นวณชั ด เจน โดย ปตท. ใช้ เงื่อนไขและอัตราค่าเช่าที่สามารถเทียบเคียง กันได้และเป็นมาตราฐานเดียวกันกับลูกค้า ทุกราย ดังนัน ้ จึงถือได้วา่ อัตราค่าเช่าดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีการจ่ายค่าบริการที่เหมาะสม ซึ่งเป็น อั ต ราค่ า จ้ า งตามจริ ง ที่ ปตท. จ่ า ยให้ แ ก่ พนักงานที่ ปตท. ส่งมา
รายงานประจำ�ปี 2557
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่ า ใช้ จ่ า ยซื้ อ ตั๋ ว เครื่ อ งบิ น สำ�หรับพนักงานที่ ปตท. ส่ง มาปฏิบัติงานสมทบที่บริษัท - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ค่ า ใช้ จ่ า ยในการใช้ บ ริ ก าร ศูนย์อ�ำ นวยความสะดวกของ ปตท. - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.35 -
0.27 0.27
0.53 -
0.19 0.00
-
1.50 1.64
การซื้อเงินลงทุนใน CHPP - เงินลงทุน
570.00
-
การซื้อเงินลงทุนใน TSR - เงินลงทุน
927.00
-
ค่าใช้จ่ายซื้อน้ำ�มันเครื่อง - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
พนั ก งานที่ ปตท. ส่ ง มาปฏิ บั ติ ง าน สมทบที่บริษัท สามารถใช้สิทธิจองซื้อตั๋ว เครือ่ งบินเพือ่ ใช้เดินทางสำ�หรับกิจการของ บริ ษั ท ผ่ า นทางช่ อ งทางการจองซื้ อ ตั๋ ว เครื่องบินของ ปตท. ได้ โดย ปตท. จะเป็น ผูร้ บ ั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยในส่วนนี้ และจะมีการ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายดังกล่าวจากบริษัทอีก ทอดหนึง่ ตามอัตราค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน ้ จริง
รายการดังกล่าวเป็นไปเพือ่ สนับสนุนการ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และมี ค วาม สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นการเรียกเก็บค่า ใช้จ่ายตามอัตราที่เกิดขึ้นจริง
ปตท. มีการจัดตั้งศูนย์อำ�นวยความ สะดวกต่ า งๆ ภายในอาคารสำ � นั ก งานที่ ศูนย์เอนเนอร์ย่ค ี อมเพล็กซ์ (Enco) เช่น ศูนย์พยาบาล ศูนย์ออกกำ�ลังกาย เป็นต้น และ ปตท. เปิดให้บริการแก่พนักงานและ บุคลากรภายในกลุม ่ ปตท. เป็นการทัว่ ไป ซึง่ รวมถึงพนักงานและบุคลากรของบริษัท โดยค่าใช้จ่ายในการใช้บริการศูนย์อำ�นวย ความสะดวก เป็นอัตราที่ ปตท. กำ�หนดและ เรียกเก็บจากบริษัทภายในกลุ่ม ปตท. ใน อัตราเดียวกัน
รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามจริง โดย ปตท. มีการกำ�หนดอัตราค่าใช้บริการที่ชัดเจนใน อัตราเดียวกันกับผู้ใช้บริการรายอื่น
บริ ษัท ซื้อ น้ำ� มั น เครื่อ งสำ � หรั บ เครื่อ ง จักรจาก ปตท. เพื่อใช้ในการบำ�รุงรักษา กั ง หั น ไอน้ำ � (Steam Turbine) ตาม แผนการบำ � รุ ง รั ก ษาระยะยาว (Major Overhaul) ซึง่ ต้องเปลีย่ นถ่ายน้�ำ มันเครือ่ ง ทุกครัง้ ทีม ่ ก ี ารทำ� Major Overhaul ทัง้ นี้ น้�ำ มันเครือ่ งทีซ่ อ้ื จาก ปตท. เป็นน้�ำ มันเครือ่ ง ชนิดเดิมทีบ ่ ริษท ั ใช้อยูใ่ นปัจจุบน ั
รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเกิ ด ขึ้ น ตามความจำ � เป็ น ซึ่ ง อั ต ราค่ า สินค้าเป็นราคาที่สามารถเทียบเคียงได้กับที่ ปตท. ขายให้ กั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น นอกจากนี้ ราคาขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง กล่ า วยั ง สามารถ เทียบเคียงได้กับผู้ขายผลิตภัณ์รายอื่นที่มี สินค้าประเภทเดียวกัน
บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 100 ของ CHPP จาก ปตท. ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2556 โดยชำ�ระเป็นเงินสดรวม 570 ล้าน บาท ซึง่ แบ่งออกเป็นค่าซือ้ เงินลงทุนในหุน ้ สามัญจำ�นวน 210 ล้านบาท และเป็นมูลค่า เงินกูย้ ม ื ที่ CHPP คงค้างอยูก ่ บ ั ปตท. เป็น จำ�นวน 360 ล้านบาท โดยมูลค่าการเข้าซือ้ ดั ง กล่ า วเป็ น มู ล ค่ า ยุ ติธ รรมของธุ ร กิ จ ที่ ประเมินโดยทีป ่ รึกษาทางการเงินทีบ ่ ริษท ั ได้ ว่าจ้างสำ�หรับการเข้าซือ้ ธุรกิจดังกล่าว ทัง้ นี้ การเข้ า ทำ � รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปตาม แผนการลงทุ น และแผนการขยายธุ ร กิ จ ไฟฟ้าของบริษท ั
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดย ที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษท ั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน ้ สามัญร้อยละ 40 ของ TSR จาก ปตท. ณ วั น ที่ 24 ธันวาคม 2556 โดยชำ�ระเป็นเงินสดรวม 927 ล้านบาท โดยมูลค่าการเข้าซือ้ ดังกล่าว เป็นมูลค่ายุตธิ รรมของธุรกิจทีป ่ ระเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงินทีบ ่ ริษท ั ได้วา่ จ้างสำ�หรับ การเข้าซื้อธุรกิจดังกล่าว ทั้งนี้ การเข้าทำ� รายการดังกล่าวเป็นไปตามแผนการลงทุน และแผนการขยายธุรกิจไฟฟ้าของบริษัท
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
รายการระหว่างกัน
P- 165
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
การซื้อเงินลงทุนใน BIC - เงินลงทุน
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
590.00
-
การซื้อเงินลงทุนใน NNEG - เงินลงทุน
-
144.00
การซื้อเงินลงทุนใน RPCL - เงินลงทุน
-
2,207.00 (เป็นมูลค่าเงินลงทุน สุทธิหลังหักเงินปันผล รับจำ�นวน 210 ล้าน บาท)
P- 166
รายการระหว่างกัน
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ทำ�การเข้าซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 25 ของ BIC จาก ปตท. ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2556 โดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 590 ล้าน บาท โดยมูลค่าการเข้าซือ้ ดังกล่าวเป็นมูลค่า ยุติธรรมของธุรกิจที่ประเมินโดยที่ปรึกษา ทางการเงินทีบ่ ริษทั ได้วา่ จ้างสำ�หรับการเข้าซือ้ ธุรกิจดังกล่าว ทั้งนี้ การเข้าทำ�รายการดัง กล่าวเป็นไปตามแผนการลงทุนและแผนการ ขยายธุรกิจไฟฟ้าของบริษทั
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
บริษทั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน้ สามัญร้อยละ 30 ของ NNEG จาก ปตท. ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 โดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 144 ล้านบาท โดยมูลค่าการเข้าซือ้ ดังกล่าวเป็น มูลค่ายุติธรรมของธุรกิจที่ประเมินโดยที่ ปรึ ก ษาทางการเงิ น ที่ บ ริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ า ง สำ�หรับการเข้าซือ้ ธุรกิจดังกล่าว ทัง้ นี้ การ เข้าทำ�รายการดังกล่าวเป็นไปตามแผนการ ลงทุนและแผนการขยายธุรกิจไฟฟ้าของ บริษัท
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดย ที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษทั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน้ สามัญร้อยละ 15 ของ RPCL จาก ปตท. ณ วันที่ 25 มิถน ุ ายน 2557 โดยชำ�ระเป็นเงินสดจำ�นวน 2,417 ล้านบาท โดยมูลค่าการเข้าซือ้ ดังกล่าวเป็น มูลค่ายุติธรรมของธุรกิจที่ประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงินทีบ ่ ริษท ั ได้วา่ จ้างสำ�หรับ การเข้าซื้อธุรกิจดังกล่าว ทั้งนี้ การเข้าทำ� รายการดังกล่าวเป็นไปตามแผนการลงทุน และแผนการขยายธุรกิจไฟฟ้าของบริษท ั
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.2 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (“PTTGC”)
PTTGC ประกอบธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ ครบวงจร โดย PTTGC เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก PTTGC เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ของบริษทั โดยถือหุน้ ร้อยละ 30.31 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของบริษทั และเป็นบริษทั ร่วมของ ปตท. ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ บริษัท และมีกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการของ PTTGC 1 ท่าน คือ นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่ทำ� รายการมีอดีตกรรมการของบริษัทดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของ PTTGC 1 ท่าน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
เงินรับล่วงหน้าจากการขาย ไอน้ำ�ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay - ลูกหนี้คงค้าง - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
4,077.48 852.48
361.18 337.55
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
4,838.60 438.43
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ตามสัญญาซื้อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท และ PTTGC เป็นรายการธุรกิจปกติของบริษัท ซึ่งมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยบริษัทได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายแต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ PTTGC ในแนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคา และเงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้อง กันและที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
เงินรับล่วงหน้าจากการขายไอน้ำ�ตาม เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay คือ ส่วน ต่างระหว่างมูลค่าการรับซื้อไอน้ำ�ขั้นต่ำ�ที่ PTTGC ตกลงจะซื้ อ ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ไอน้ำ�ระหว่างบริษัทและ PTTGC กับมูลค่าที่ PTTGC ได้รับซื้อไอน้ำ�ตามจริงภายในระยะ เวลาที่ กำ � หนดตามสั ญ ญาดั ง กล่ า ว โดย บริ ษั ท จะมี ก ารคำ � นวณมู ล ค่ า ส่ ว นต่ า ง ดังกล่าวเป็นรายปี
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่องกับรายการการขายผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น ไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็น เงือ่ นไขทัว่ ไปทีบ ่ ริษท ั ใช้กบ ั ลูกค้าทุกรายทัง้ ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน จึงถือได้วา่ รายการเงินจ่ายล่วงหน้าดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
บริษท ั รับรูส้ ว่ นต่างดังกล่าวเป็นเงินรับ ล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay หาก PTTGC รับซื้อไอน้ำ�ในงวดถัดไปตาม เงื่อนไขที่กำ�หนดตามสัญญา บริษัทจะคืน เงินรับล่วงหน้าดังกล่าวในงวดถัดไปตาม ปริมาณทีใ่ ช้เกิน นอกจากนี้ เนือ่ งจากเงินรับ ล่วงหน้าดังกล่าวเป็นรายการที่ยังไม่ได้มี การชำ�ระเงิน บริษท ั จึงบันทึกบัญชีเป็นลูกหนี้ คงค้าง โดยสำ � หรั บ งวดปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2557 PTTGC ได้รบ ั ซือ้ ไอน้�ำ ตาม มูลค่าที่กำ�หนดไว้ ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay บริษัทจึงได้คืนเงินรับล่วง หน้าทั้งจำ�นวนให้แก่ PTTGC ทัง้ นี้ เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay เป็นเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ซึง่ บริษท ั มีการ ตกลงเงื่ อ นไขดั ง กล่ า วในสั ญ ญาซื้ อ ขาย ผลิตภัณฑ์กับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้อง กันและที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท (1)
นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557
รายการระหว่างกัน
P- 167
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ PTTGC ส่ ง มาปฏิ บั ติ ง าน สมทบที่บริษัท - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
15.20 6.35
14.23 4.80
-
0.20 -
ค่าเช่าอุปกรณ์ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
PTTGC ในฐานะผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่ของบริษท ั มีการส่งพนักงานมาปฏิบต ั งิ านสมทบทีบ ่ ริษทั เพือ่ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั โดย PTTGC เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในส่วนของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้แก่พนักงานที่ PTTGC ส่งมาปฏิบต ั งิ านทีบ ่ ริษทั ซึง่ PTTGC จะมีการเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยดังกล่าวจากบริษทั อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่าจ้างและสวัสดิการ ตาม PTTTGC จ่ายจริงให้แก่พนักงานทีส่ ง่ มา ปฏิบต ั งิ านทีบ ่ ริษทั
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีการจ่ายค่าบริการที่เหมาะสม ซึ่งเป็น อัตราค่าจ้างตามจริงที่ PTTGC จ่ายให้แก่ พนักงานที่ PTTGC ส่งมา
บริษัทมีความจำ�เป็นเร่งด่วนที่จะต้อง ใช้เครื่องมือเฉพาะทาง (Special Tools) เพื่ อ สนั บ สนุ น งานซ่ อ มบำ � รุ ง เครื่ อ งจั ก ร กังหันก๊าซ ตามแผนงานซ่อมบำ�รุงรักษา ระยะยาว (Major Overhaul) ของบริษัท โดยมีการจ่ายค่าบริการตามราคาที่ตกลง กันระหว่างผูเ้ ช่าและผูใ้ ห้เช่า ทัง้ นี้ หากบริษท ั ไม่สามารถจัดหาเครื่องมือดังกล่าวมาใช้ สนับสนุนงานซ่อมบำ�รุงได้ทันเวลา อาจทำ� ให้บริษท ั ต้องหยุดเครือ่ งจักรเพือ่ ซ่อมบำ�รุง นานกว่ า แผนงานที่ กำ � หนดไว้ และจะส่ ง ผลกระทบต่อรายได้ของบริษัท
เนือ่ งจากรายการดังกล่าวมีความจำ�เป็น ที่ต้องดำ�เนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อไม่ให้เกิด ความเสียหายต่อบริษท ั จึงจำ�เป็นต้องขอเช่า เครื่องมือดังกล่าว ทั้งนี้ เนื่องจากเครื่องมือ ที่เช่าเป็นเครื่องมือที่มีลักษณะเฉพาะจึงไม่ สามารถเที ย บเคี ย งราคาค่ า เช่ า กั บ ราคา ตลาดของสิ น ค้ า ประเภทเดี ย วกั น ได้ คณะ กรรมการตรวจสอบพิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า ค่าเช่าดังกล่าวมีความคุ้มค่าและจำ�เป็นต่อ การดำ�เนินงานของบริษัท
1.3 บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) (“TOP”)
TOP ประกอบธุรกิจโรงกลัน่ น้�ำ มัน เพือ่ ผลิตและจำ�หน่ายน้�ำ มันปิโตรเลียมสำ�เร็จรูปเป็นธุรกิจหลัก และเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก TOP เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั โดยถือหุน้ บริษทั ในสัดส่วนร้อยละ 11.88 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของบริษทั และมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่ รายเดียวกัน ได้แก่ ปตท. นอกจากนี้ TOP และบริษทั มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ และนายอธิคม เติบศิริ นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่ทำ�รายการมีอดีตกรรมการของบริษัทดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของ TOP 1 ท่าน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้จากการจำ�หน่ายน้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด
(1)
0.00
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้การจำ�หน่ายน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมตามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระหว่างบริษัทและ TOP เป็นรายการธุรกิจ ปกติ ข องบริ ษั ท ซึ่ ง มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดย ทัว่ ไป โดยบริษท ั ได้ก�ำ หนดราคาและเงือ่ นไข ทางการค้าสำ�หรับการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ให้ แก่ TOP ในแนวทางเดียวกันกับการกำ�หนด ราคาและเงื่ อ นไขกั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เกีย่ วข้องกันและ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษท ั ระหว่าง 9 มกราคม 2557 - 4 กันยายน 2557
P- 168
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับการซือ้ น้�ำ มัน ดีเซล - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
24.42 1.52
25.08 1.46
ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับการเช่าทีด ่ น ิ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง - เงินมัดจำ�
6.24 4.44 2.83
6.40 4.44 2.83
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ค่าใช้จ่ายซื้อน้ำ�มันดีเซล ตามสัญญา ซื้ อ ขายและสำ � รองน้ำ � มั น ดี เ ซล (Diesel Fuel Sales and Back-up Fuel Stock Agreement) ระหว่างบริษท ั และ TOP เพือ่ นำ � น้ำ � มั น ดี เ ซลมาใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง สำ � รอง สำ�หรับโรงไฟฟ้าศรีราชาในกรณีที่การจัด ส่งก๊าซธรรมชาติซงึ่ เป็นเชือ้ เพลิงหลักของ โรงไฟฟ้าหยุดชะงัก หรือตามความต้องการ ใช้งานอื่น ทั้งนี้ การเข้าทำ�สัญญาดังกล่าว เป็นไปตามลักษณะปกติของการประกอบ ธุรกิจ
รายการค่าใช้จ่ายสำ�หรับการซื้อน้ำ�มัน ดีเซลเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น และเป็ น ไปตามการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข อง บริษัท โดยมีเงื่อนไขและอัตราค่าน้�ำ มันดีเซล ตามสัญญาซื้อขายและสำ �รองน้ำ�มันดีเซล ทีบ ่ ริษท ั ทำ�กับ TOP โดยราคาดังกล่าวอ้างอิง ราคา ณ โรงกลั่ น เฉลี่ ย และมี สู ต รการ คำ�นวณค่าน้�ำ มันดีเซลอย่างชัดเจน ดังนัน ้ จึง ถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์กับบริษัท
โรงไฟฟ้าศรีราชาตัง้ อยูบ ่ นทีด ่ นิ ราชพัสดุ ซึ่ ง TOP ได้ รั บ สิ ท ธิ ค รอบครองและ ใช้ ป ระโยชน์ บ นที่ ดิ น ดั ง กล่ า วภายใต้ สัญญาเช่าที่ราชพัสดุระหว่าง TOP และ กรมธนารักษ์ สังกัดกระทรวงการคลัง โดย TOP ได้ให้บริษัทเช่าช่วงที่ดินดังกล่าวภาย ใต้สัญญาเช่าช่วงที่ดินระหว่างบริษัทและ TOP ซึ่งการให้เช่าช่วงดังกล่าวได้รับการ ยินยอมอนุญาตให้มก ี ารเช่าช่วงได้จากกรม ธนารักษ์
รายการเช่าที่ดินดังกล่าวเป็นรายการ ธุ ร กรรมปกติ ข องบริ ษั ท และเกิ ด ขึ้ น ตาม ความจำ�เป็น ซึ่งการกำ�หนดอัตราค่าเช่าเป็น ไปในแนวทางเดียวกันกับที่ TOP ให้ผู้อื่นเช่า ดังนัน ้ จึงถือได้วา่ อัตราค่าเช่าและรายการดัง กล่าวมีความสมเหตุสมผล
การเช่าช่วงที่ดินดังกล่าวเป็นรายการ ธุรกรรมปกติ และเกิดขึ้นตามความจำ�เป็น โดยมีอัตราค่าเช่าช่วงเป็นไปตามอัตราที่ กำ � หนดภายใต้ สั ญ ญาเช่ า ช่ ว งระหว่ า ง บริษัทและ TOP โดยอัตราค่าเช่าเป็นไปใน แนวทางเดียวกับที่ TOP ให้ผอู้ น่ื เช่า โดยสำ�หรับปี 2557 ค่าเช่าที่ดินของ โรงไฟฟ้าศรีราชาขนาดพื้นที่รวมประมาณ 40 ไร่ เท่ากับ 6.40 ล้านบาท ต่อปี ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเช่ า ท่ อ ส่ ง น้ำ�ดิบ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
4.00 2.00
4.00 2.00
บริษท ั ได้ขอเช่าใช้ทอ่ ส่งน้�ำ ดิบของ TOP บริเวณโรงไฟฟ้าศรีราชา ซึง่ เชือ่ มต่อกับท่อ ส่งน้ำ�ของ EW เพื่อรับซื้อน้ำ�ดิบจาก EW โดยมีอัตราค่าเช่าท่อส่งน้ำ�ดิบเป็นไปตาม อัตราที่กำ�หนดภายใต้สัญญาเช่าระหว่าง บริษท ั และ TOP ซึง่ พิจารณาจากต้นทุนการ ดำ�เนินการก่อสร้าง และอายุการใช้งานท่อ ส่งน้ำ�ดิบ โดยไม่ได้คิดค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มเติม และพิจารณาแล้วว่าการเช่าท่อส่งน้ำ �ดิบ จาก TOP ในราคาดังกล่าวมีตน ้ ทุนทีถ ่ ก ู กว่า การทีบ ่ ริษทั ต้องลงทุนสร้างท่อส่งน้�ำ เอง
รายการเช่ า ท่ อ ส่ ง น้ำ � ดิ บ ดั ง กล่ า วเป็ น รายการสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจปกติของ บริ ษั ท และเกิ ด ขึ้ น ตามความจำ � เป็ น ทั้ ง นี้ เนื่องจากโรงไฟฟ้าศรีราชาของบริษัทตั้งอยู่ ในบริเวณที่ดินของ TOP ซึ่ง TOP ได้ทำ�การ สร้างท่อส่งน้ำ�เชื่อมต่อกับ EW อยู่แล้ว โดย ค่าเช่าดังกล่าวไม่สามารถเทียบเคียงราคาค่า เช่ากับราคาตลาดได้ แต่พจิ ารณาแล้วเห็นว่า ค่าเช่าดังกล่าวมีความคุ้มค่าต่อการดำ�เนิน งานของบริษัท โดยพิจารณาแล้วว่าการเช่า ท่ อ ส่ ง น้ำ � ดิ บ จาก TOP ในราคาดั ง กล่ า วมี ต้นทุนที่ถูกกว่าการที่บริษัทต้องลงทุนสร้าง ท่อส่งน้�ำ เอง และยังช่วยลดภาระการลงทุนที่ ซ้ำ � ซ้ อ นของบริ ษั ท ได้ ดั ง นั้ น จึ ง ถื อ ได้ ว่ า รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
รายการระหว่างกัน
P- 169
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยสำ � หรั บ การเช่ า สำ�นักงาน ค่าน้�ำ และค่าไฟฟ้า - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง - เงินมัดจำ�
2.54 0.21 0.11
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
2.37 0.20 0.11
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษทั ได้เช่าพืน้ ทีใ่ นส่วนทีเ่ ป็นสำ�นักงานใน บริเวณพื้นที่ของ TOP เพื่อใช้สำ�หรับการ บริหารจัดการ ดำ �เนินการเรื่องต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้าศรีราชา เนื่องจาก โรงไฟฟ้าศรีราชาตัง้ อยูต ่ ด ิ กับบริเวณพืน ้ ที่ ของ TOP
รายการเช่าพื้นที่สำ�นักงานดังกล่าวเป็น รายการธุรกรรมปกติ และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น เนือ่ งจากโรงไฟฟ้าศรีราชาของบริษท ั ตัง้ อยูบ ่ ริเวณทีด ่ น ิ ของ TOP บริษท ั จึงทำ�การ เช่าสำ�นักงานในบริเวณเดียวกันเพื่อความ สะดวกในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อยู่ ภายในบริเวณที่ดินของ TOP เท่านั้น จึงไม่ สามารถเทียบเคียงกับราคาตลาดได้อย่าง เฉพาะเจาะจงสำ�หรับพื้นที่ดังกล่าว แต่ราคา เช่ า พื้ น ที่ สำ � นั ก งานในเขตพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งมี ราคาค่าเช่าอยูใ่ นระดับเดียวกัน ดังนัน ้ จึงถือ ได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
การเช่าอาคารสำ�นักงานดังกล่าวเป็น รายการธุ ร กรรมปกติ และเกิ ด ขึ้ น ตาม ความจำ�เป็น โดยมีอัตราค่าเช่าเป็นไปตาม อัตราที่กำ�หนดภายใต้สัญญาเช่าระหว่าง บริษัทและ TOP โดยสำ�หรับปี 2557 อัตรา ค่ า เช่ า สำ � นั ก งานรายเดื อ นของโรงไฟฟ้ า ศรีราชาของบริษัทเท่ากับ 204 บาทต่อ ตารางเมตร ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับการใช้บริการ ด้านต่างๆ จาก TOP - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
0.35 0.09
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่ได้เกิดขึ้น เป็ น ประจำ � เช่ น ค่ า ใช้ จ่ า ย โครงการนักศึกษาฝึกงานที่ TOP และค่าที่พักของผู้สอบ บัญชี - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
0.33 -
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ TOP ส่งมาปฏิบัติงานสมทบ ที่บริษัท - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
P- 170
10.51 -
รายการระหว่างกัน
0.35 0.08
เนื่องจากโรงงานศรีราชาของบริษัท ตัง้ อยูใ่ นบริเวณโรงงานของ TOP บริษท ั จึง ใช้บริการตรวจสอบโรงงาน บริการการ แพทย์ ฉุ ก เฉิ น บริ ก ารศู น ย์ สุ ข ภาพ และ บริการหน่วยดับเพลิงจาก TOP เพื่อความ สะดวกด้านพื้นที่ในการเข้าถึงบริการ และ เป็นประโยชน์ในด้านความรวดเร็วในการให้ บริ ก าร โดยมี อั ต ราค่ า ใช้ จ่ า ยเป็ น ไปตาม อั ต ราที่ กำ � หนดภายใต้ สั ญ ญาให้ บ ริ ก าร ระหว่างบริษัทและ TOP
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ ธุ ร กรรมปกติ ข องบริ ษั ท และเกิ ด ขึ้ น ตาม ความจำ � เป็ น เนื่ อ งจากโรงไฟฟ้ า ศรี ร าชา ตัง้ อยูใ่ นบริเวณพืน ้ ทีป ่ ฏิบต ั งิ านของ TOP ซึง่ มีความชำ�นาญในการให้บริการดังกล่าวอยู่ แล้ว ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล
TOP ได้สำ�รองจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าว ไปก่อน โดยได้เรียกเก็บค่าใช้จ่ายกับบริษัท ตามอัตราที่เกิดขึ้นจริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเป็นอัตราที่เกิดขึ้นตามจริง
TOP ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท มี ก ารส่ ง พนั ก งานมาปฏิ บั ติ ง านสมทบที่ บริษัท เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ บริษท ั โดย TOP เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในส่วนของ เงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้แก่ พนักงานที่ TOP ส่งมาปฏิบัติงานที่บริษัท ซึ่ ง TOP จะมี ก ารเรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้ จ่ า ยดั ง กล่าวจากบริษท ั อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่า จ้างและสวัสดิการตาม TOP จ่ายจริงให้แก่ พนักงานทีส่ ง่ มาปฏิบต ั งิ านทีบ ่ ริษทั
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีการจ่ายค่าบริการที่เหมาะสม ซึ่งเป็น อั ต ราค่ า จ้ า งตามจริ ง ที่ TOP จ่ า ยให้ แ ก่ พนักงานที่ TOP ส่งมา
0.51 0.23
13.33 3.97
รายงานประจำ�ปี 2557
1.4 บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด (“TP”)
TP ประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้า โดยจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. และไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือและไอน้�ำ ทีผ่ ลิตได้จ�ำ หน่ายให้แก่ บริษัทในกลุ่ม TOP โดย TP ถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก TP เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท โดยถือหุ้นบริษัทในสัดส่วนร้อยละ 27.71 ของทุน จดทะเบียนและชำ�ระแล้วของบริษทั และมีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน ได้แก่ TOP และ ปตท. นอกจากนี้ บริษทั และ TP ยังมีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ นายสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ และนายอธิคม เติบศิริ และในช่วงเวลาที่ทำ�รายการมีกรรมการ และ/หรือ อดีตกรรมการของ บริษทั เป็นกรรมการใน TP จำ�นวน 4 ท่าน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล(1) นายไมตรี เรีย่ วเดชะ(2) นางอรวดี โพธิสาโร(3) และนายนพดล ปิน่ สุภา ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้ จ ากการจำ � หน่ า ยน้ำ � เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการซื้อพลัง งานไฟฟ้าสำ�รอง - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
47.48 5.09
0.62 0.06
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
48.14 4.74
3.48 1.74
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้การจำ�หน่ายน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมตามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระหว่างบริษทั และ TP เป็นรายการธุรกิจปกติ ของบริษท ั ซึง่ มีเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป โดย บริษัทได้กำ�หนดราคาและเงื่อนไขทางการ ค้าสำ�หรับการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ TP ในแนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคา และเงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกีย่ วข้อง กันและที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอื่น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริษัท ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล
ค่าใช้จา่ ยค่าพลังงานไฟฟ้าสำ�รอง (Back up power) ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าสำ�รอง ระหว่างบริษทั และ TP เพือ่ สำ�รองไฟฟ้าให้แก่ โรงไฟฟ้าศรีราชา ซึง่ ตัง้ อยูบ ่ ริเวณใกล้เคียง กันกับโรงไฟฟ้าของ TP เพือ่ นำ�มาใช้ในกรณี ทีก ่ ารผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าศรีราชาหยุด ชะงัก ทัง้ นี้ การเข้าทำ�สัญญาดังกล่าวเป็น รายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั โดย มีอัตราและเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันระหว่าง บริษทั และ TP
รายการค่าใช้จา่ ยสำ�หรับการซือ้ พลังงาน ไฟฟ้าสำ�รองเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามความ จำ�เป็นและเป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ของบริษัท เนื่องจากโรงไฟฟ้าศรีราชาของ บริษัทตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับโรงไฟฟ้า ของ TP โดยเงือ่ นไขและการคำ�นวณราคาซึง่ อ้ า งอิ ง ตามราคาค่ า ไฟฟ้ า ที่ ป ระกาศโดย กฟผ. จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
(1)
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 4 กันยายน 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ TP ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษจิกายน 2557 นายไมตรี เรี่ยวเดชะ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 27 สิงหาคม 2557 (3) นางอรวดี โพธิสาโร ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 23 เมษายน 2557 - 27 สิงหาคม 2557 (2)
รายการระหว่างกัน
P- 171
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.5 บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จำ�กัด (“PTTER”)1
PTTER เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจพลังงานในต่างประเทศของ ปตท. และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ PTTER มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTTER ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTER ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
การซื้อเงินลงทุนใน NSC - เงินลงทุน
(1)
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
1,726.00
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน ้ สามัญร้อยละ 100 ของ NSC จาก PTTER ณ วั น ที่ 25 ธันวาคม 2556 โดยชำ�ระเป็นเงินสด รวม 1,726 ล้านบาท โดยเงินจำ�นวนดัง กล่าวประกอบด้วย 1) ค่าซื้อเงินลงทุนใน หุน ้ สามัญของ NSC จำ�นวน 0.30 ล้านบาท และ 2) ค่าซื้อเงินลงทุนในหุ้นสามัญของ XPCL จำ�นวน 1,725.70 ล้านบาท ทั้งนี้ มูลค่าเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนใน XPCL เนือ่ งจาก NSC เป็นเพียงบริษท ั ทีถ ่ อื หุน ้ XPCL เท่านัน ้ ไม่มก ี ารประกอบธุรกิจอืน ่ โดยมู ล ค่ า การเข้ า ซื้ อ ดั ง กล่ า วเป็ น มู ล ค่ า ยุติธรรมของธุรกิจที่ประเมินโดยที่ปรึกษา ทางการเงิ น ที่ บ ริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ า งสำ � หรั บ การเข้าซื้อธุรกิจดังกล่าว ทั้งนี้การเข้าทำ� รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามแผนการ สนับสนุนความมั่นคงทางด้านไฟฟ้าของ ประเทศ แผนการลงทุนและแผนการขยาย ธุรกิจไฟฟ้าของบริษัท
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
PTTER เดิมชื่อบริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
1.6 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) (“IRPC”)
IRPC เป็นบริษัทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบวงจร โดยถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเนื่องจากบริษัทและ IRPC มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น IRPC ในสัดส่วนร้อยละ 38.51 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ IRPC นอกจากนี้ บริษทั และ IRPC ยังมีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุรงค์ บูลกุล ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
การซื้อเงินลงทุนใน IRPC-CP - เงินลงทุน
P- 172
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
709.00
รายการระหว่างกัน
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน ้ สามัญร้อยละ 51 ของ IRPC-CP จาก IRPC ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2556 โดยชำ�ระเป็นเงินสด จำ�นวน 709 ล้านบาท ซึ่งมูลค่าการเข้าซื้อ ดังกล่าวเป็นมูลค่ายุติธรรมของธุรกิจที่ ประเมินโดยทีป ่ รึกษาทางการเงินทีบ ่ ริษท ั ได้ ว่ า จ้ า งสำ � หรั บ การเข้ า ซื้ อ ธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว ทัง้ นี้ การเข้าทำ�รายการดังกล่าวเป็นไปตาม แผนการลงทุ น และแผนการขยายธุ ร กิ จ ไฟฟ้าของบริษัท
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ IRPC ส่งมาปฏิบต ั งิ านสมทบ ที่บริษัท - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
1.37 0.98
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
IRPC ในฐานะหุ้นส่วนทางธุรกิจของ บริษัท มีการส่งพนักงานผู้เชี่ยวชาญมา ปฏิบัติงานสมทบเพื่อสนับสนุนโครงการ พัฒนาโรงไฟฟ้าขยะตามที่บริษัทร้องขอ โดย IRPC เป็นผู้รับผิดชอบในส่วนของเงิน เดื อ น โบนั ส และสวั ส ดิ ก ารต่ า งๆ ให้ แ ก่ พนักงานที่ IRPC ส่งมาปฏิบัติงานที่บริษัท ซึ่ง IRPC จะมีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดัง กล่าวจากบริษท ั อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่า จ้างและสวัสดิการตามที่ IRPC จ่ายจริงให้ แก่ พ นั ก งานที่ ส่ ง มาปฏิ บั ติ ง านที่ บ ริ ษั ท อย่างไรก็ตาม ปัจจุบน ั พนักงานดังกล่าวได้ รับการบรรจุเป็นพนักงานของบริษัทแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีการจ่ายค่าบริการที่เหมาะสม ซึ่งเป็น อั ต ราค่ า จ้ า งตามจริ ง ที่ IRPC จ่ า ยให้ แ ก่ พนักงานที่ IRPC ส่งมา
1.7 บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด (“IRPC-CP”)
IRPC-CP ประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้า ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 51.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ IRPC-CP นอกจากนี้ ยังมีอดีตกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการใน IRPC-CP จำ�นวน 2 ท่าน คือ นายไมตรี เรี่ยวเดชะ(1) และ นายจักรชัย บาลี(2) และมีผู้บริหารของบริษัทเป็นกรรมการใน IRPC-CP จำ�นวน 1 ท่าน คือ นายดรุณพร กมลภุส ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จ่ายการทำ�บัญชีในการ เข้าซื้อกิจการ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
รายได้ จ ากการส่ ง พนั ก งาน ของบริ ษั ท ไปปฏิ บั ติ ง าน สมทบที่ IRPC-CP - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
(1) (2)
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
-
0.05 -
0.28 0.30
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
สัญญาซื้อขายหุ้น IRPC-CP (Share Purchase Agreement) ระหว่างบริษทั และ IRPC ได้ก�ำ หนดให้บริษท ั เป็นผูจ้ า่ ยค่าใช้จา่ ย ในการตรวจทานงบการเงินของ IRPC-CP รอบระยะเวลาตั้ ง แต่ วั น ที่ 20 มิ ถุ น ายน 2556 - 16 ธันวาคม 2556 เพือ่ ตรวจสอบ ความถูกต้องของยอดต้นงวดของตัวเลข ทางบัญชีในการเข้าซือ้ กิจการ โดย IRPC-CP จะเป็นผูช้ �ำ ระค่าใช้จา่ ยดังกล่าวให้แก่ผสู้ อบ บัญชี และได้เรียกเก็บค่าใช้จ่ายดังกล่าว จากบริษท ั อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่าใช้จา่ ย ที่เกิดขึ้นจริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเป็นอัตราที่เกิดขึ้นตามจริง
บริษทั ในฐานะผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ IRPC-CP ได้ ส่ ง พนั ก งานไปปฏิ บั ติ ง านสมทบ เพื่ อ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ IRPC-CP โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในส่วนของเงิน เดื อ น โบนั ส และสวั ส ดิ ก ารต่ า งๆ ให้ แ ก่ พนักงานทีบ ่ ริษทั ส่งไปปฏิบต ั งิ านที่ IRPC-CP ซึง่ บริษท ั จะเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยดังกล่าวจาก IRPC-CP อีกทอดหนึง่ โดยมีการเรียกเก็บ อัตราค่าบริการดังกล่าวตามจริง ซึง่ รายได้ ดังกล่าวได้สะท้อนถึงเงินเดือน สวัสดิการ และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งของพนั ก งานที่ บริษัทได้ส่งไปปฏิบัติงานสมทบแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และการบริหารงานของบริษัทที่เข้าลงทุน รวมถึงมีการเรียกเก็บค่าบริการที่เหมาะสม และไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์
นายไมตรี เรี่ยวเดชะ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 27 สิงหาคม 2557 นายจักรชัย บาลี ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 29 กันยายน 2557
รายการระหว่างกัน
P- 173
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.8 บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จำ�กัด (“SSE1”)
SSE1 ประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้าประเภทพลังงานหมุนเวียนจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดย SSE1 เป็นบริษทั ทีค่ วบคุมร่วมกันทางอ้อม ของบริษัท เนื่องจากบริษัทถือหุ้นในบริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด (“TSR”) ร้อยละ 40.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ TSR และ TSR ถือหุ้น SSE1 ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ SSE1 นอกจากนี้ ยังมีผู้บริหาร และ/หรือ อดีตผู้บริหารของบริษัท 2 ท่าน ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการใน SSE1 คือ นายดรุณพร กมลภุส และนายจักรกฤษณ์ เล็กท่าไม้ ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้ จ ากการส่ ง พนั ก งาน ของบริ ษั ท ไปปฏิ บั ติ ง าน สมทบที่ SSE1 - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
3.64 0.44
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริ ษั ท ในฐานะผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่ ท างอ้ อ ม ของ SSE1 ได้ส่งพนักงานไปปฏิบัติงาน สมทบ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ SSE1 โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในส่วน ของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้ แก่ พ นั ก งานที่ บ ริ ษั ท ส่ ง ไปปฏิ บั ติ ง านที่ SSE1 ซึ่งบริษัทจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดัง กล่าวจาก SSE1 อีกทอดหนึ่ง โดยมีการ เรี ย กเก็ บ อั ต ราค่ า บริ ก ารดั ง กล่ า วตาม เงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารระหว่างบริษัท และ SSE1 ซึ่งรายได้ดังกล่าวได้สะท้อนถึง เงิ น เดื อ น สวั ส ดิ ก าร และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เกี่ ย วข้ อ งของพนั ก งานที่ บ ริ ษั ท ได้ ส่ ง ไป ปฏิบัติงานสมทบแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และการบริหารงานของบริษัทที่เข้าลงทุน รวมถึงมีการเรียกเก็บค่าบริการที่เหมาะสม และไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์
1.9 บริษัท ไฟฟ้า น้ำ�ลิก1 จำ�กัด (“NL1PC”)
NL1PC เป็นบริษทั จดทะเบียนใน สปป.ลาว จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ น้�ำ ลิก 1 ใน สปป.ลาว ซึ่งเป็นบริษัทร่วมที่บริษัท ถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 40.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ NL1PC นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารของบริษทั จำ�นวน 3 ท่าน ดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการใน NL1PC คือ นายโกวิท จึงเสถียรทรัพย์ นายดรุณพร กมลภุส และนายวิเศษ จูงวัฒนา ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้ จ ากการส่ ง พนั ก งาน ข อ ง บ ริ ษั ท ไ ป ป ฏิ บั ติ ง า น สมทบที่ NL1PC - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
P- 174
2.73 2.73
รายการระหว่างกัน
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
5.33 8.63
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ในฐานะผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่ของ NL1PC ได้ ส่ ง พนั ก งานไปปฏิ บั ติ ง านสมทบ เพื่ อ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ NL1PC โดย บริษท ั เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในส่วนของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้แก่พนักงานที่ บริษัทส่งไปปฏิบัติงานที่ NL1PC ซึ่งบริษัท จะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดังกล่าวจาก NL1PC อีกทอดหนึ่ง โดยมีการเรียกเก็บอัตราค่า บริการ ดังกล่าวตามเงื่อนไขสัญญาจ้างบริหาร ระหว่ า งบริ ษั ท และ NL1PC ซึ่ ง รายได้ ดังกล่าวได้สะท้อนถึงเงินเดือน สวัสดิการ และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งของพนั ก งานที่ บริษัทได้ส่งไปปฏิบัติงานสมทบแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และการบริหารงานของบริษัทที่เข้าลงทุน รวมถึงมีการเรียกเก็บค่าบริการที่เหมาะสม และไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์
รายงานประจำ�ปี 2557
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จา่ ยซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินและ ค่าเดินทางของพนักงานที่ไป ปฏิบัติงานที่NL1PC - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.82
0.82
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
เงิ น สำ � รองจ่ า ยค่ า ซื้ อ ตั๋ ว เครื่ อ งบิ น และค่ า เดิ น ทางของพนั ก งานที่ บ ริ ษั ท ส่งไปปฏิบัติงานที่ NL1PC โดยบริษัทจะมี การเรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้ จ่ า ยดั ง กล่ า วจาก NL1PC อีกทอดหนึง่ ตามอัตราค่าใช้จา่ ยที่ เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ เงินสำ�รองจ่ายดังกล่าว อยู่ในระหว่างการรอเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดัง กล่าว บริษัทจึงรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วง หน้า โดยบันทึกเป็นลูกหนี้คงค้าง
รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปเพื่ อ สนั บ สนุ น การดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัทและมีความ สมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นการเรียกเก็บค่า ใช้จ่ายตามอัตราที่เกิดขึ้นจริง
1.10 บริษัท ไซยะบุรีเพาว์เวอร์ จำ�กัด (“XPCL”)
XPCL ประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังน้� ำ ใน สปป.ลาว ซึง่ อยูใ่ นระหว่างการก่อสร้างโครงการ โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จและเริม่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ ในปี 2562 โดย XPCL เป็นบริษทั ร่วมทางอ้อมของบริษทั เนือ่ งจาก บริษทั ถือหุน้ ใน NSC ร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ NSC และ NSC ถือหุน้ XPCL ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ XPCL นอกจากนี้ ผูบ้ ริหาร และ/หรือ อดีตผู้บริหารของบริษัท จำ�นวน 2 ท่าน ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการใน XPCL คือ นายวิเศษ จูงวัฒนา และนายจักรชัย บาลี(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
รายได้ จ ากการส่ ง พนั ก งาน ของบริ ษั ท ไปปฏิ บั ติ ง าน สมทบที่ XPCL - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
-
7.51 1.08
ค่าใช้จ่ายการทำ�บัญชี - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
-
0.12 0.04
(1)
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริ ษั ท ในฐานะผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่ ท างอ้ อ ม ของ XPCL ได้ส่งพนักงานไปปฏิบัติงาน สมทบ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ XPCL โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในส่วน ของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้ แก่ พ นั ก งานที่ บ ริ ษั ท ส่ ง ไปปฏิ บั ติ ง านที่ XPCL ซึ่ ง บริ ษั ท จะเรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้ จ่ า ย ดังกล่าวจาก XPCL อีกทอดหนึ่ง โดยมี การเรียกเก็บอัตราค่าบริการดังกล่าวตาม เงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารระหว่างบริษัท และ XPCL ซึ่งรายได้ดังกล่าวได้สะท้อนถึง เงิ น เดื อ น สวั ส ดิ ก าร และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เกี่ ย วข้ อ งของพนั ก งานที่ บ ริ ษั ท ได้ ส่ ง ไป ปฏิบัติงานสมทบแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และการบริหารงานของบริษัทที่เข้าลงทุน รวมถึงมีการเรียกเก็บค่าบริการที่เหมาะสม และไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์
ค่าใช้จ่ายในการทำ�บัญชีไตรมาส 1, 2 และ 3 ของปี 2557 ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก ผู้สอบบัญชีของบริษัท (KPMG) ต้องการ ให้ผู้สอบบัญชีของ XPCL (EY) ทำ� Audit Instruction เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน สอบบัญชี เรื่อง การใช้ผลงานของผู้สอบ บัญชีรายอืน ่ และเพือ่ ให้มน ั่ ใจว่าการปฏิบต ั ิ งานตรวจสอบของกลุ่มกิจการเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน โดย XPCL ได้เรียกเก็บ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวจากบริษท ั ตามอัตราค่าใช้ จ่ายที่เกิดขึ้นจริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเป็นอัตราที่เกิดขึ้นตามจริง
นายจักรชัย บาลี ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 29 กันยายน 2557
รายการระหว่างกัน
P- 175
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.11 บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (“BSA”)
BSA ประกอบธุรกิจบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลในลักษณะงานที่เป็นแบบ (Outsourcing) ของกลุ่ม ปตท. ซึ่งเป็นบริษัทร่วมที่ บริษัทถือหุ้นบุริมสิทธิอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BSA นอกจากนี้ บริษัทและ BSA ยังมีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่รายเดียวกัน ได้แก่ ปตท. ซึง่ ถือหุน้ สามัญทัง้ หมดของ BSA โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ BSA และ PTTGC ซึ่งถือหุ้นบุริมสิทธิ ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BSA ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยจ้ า งเหมาบริ ก าร จัดหาพนักงาน - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
27.32 4.74
13.99 3.64
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ว่าจ้าง BSA ในงานจ้างเหมา บริการจัดหาพนักงาน โดย BSA จะเป็น ผู้ รั บ จ้ า งจั ด หาพนั ก งาน Outsource มาปฏิบัติงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ บริษัทกำ�หนด ซึ่ง BSA จะคิดค่าจ้างเหมา บริการตามจำ�นวนบุคลากรที่ได้มาปฏิบัติ งานให้บริษัทจริง โดยมีการเรียกเก็บอัตรา ค่าจ้างบริการตามเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกัน ระหว่างบริษัทและ BSA
รายการจ้างเหมาบริการจัดหาพนักงาน เป็นรายการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษัท และเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น และมีเงือ่ นไขและค่าบริการทีเ่ ทียบเคียงได้กบ ั ลูกค้ารายอื่นของ BSA โดย BSA เป็นบริษัท ร่ ว มของบริ ษั ท ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า น การจัดหาและบริหารทรัพยากรบุคคล และ จั ด หาพนั ก งานได้ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง บริษัท ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั
1.12 บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด (“PPCL”)
PPCL ประกอบธุรกิจผลิตผลิตภัณฑ์ฟีนอลและบิสฟีนอล เอ โดยถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ PPCL มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น PPCL ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PPCL และ มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายปฏิภาณ สุคนธมาน นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่ทำ�รายการมีอดีตกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการ ของ PPCL 2 ท่าน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม(1) และนายณรงค์ บัณฑิตกมล(2) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม และ ก๊าซไนโตรเจน - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
1,957.01 376.75 -
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
1,956.78 216.16 0.01
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� น้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรม และก๊าซไนโตรเจน ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระหว่ า งบริ ษั ท และ PPCL เป็ น รายการ ธุรกิจปกติของบริษัทซึ่งมีเงื่อนไขการค้า โดยทั่วไป โดยบริษัทได้กำ�หนดราคาและ เงื่ อ นไขทางการค้ า สำ � หรั บ การจำ � หน่ า ย แต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ PPCL ในแนวทาง เดียวกันกับการกำ�หนดราคาและเงื่อนไข กับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอื่น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริษัท จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
โดยสำ � หรั บ งวดปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2557 PPCL ได้รับซื้อน้ำ�เพื่อ การอุตสาหกรรมจากบริษท ั และได้ช�ำ ระเงิน ล่วงหน้าเป็นเงินสด บริษัทจึงบันทึกรายได้ เป็นเจ้าหนี้คงค้าง
(1) (2)
นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557 นายณรงค์ บัณฑิตกมล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ PPCL ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2557
P- 176
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.13 บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำ�กัด (“PTTME”)
PTTME ประกอบธุรกิจให้บริการงานบำ�รุงรักษาและวิศวกรรม โดยถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ PTTME มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. และ PTTGC ซึ่งถือหุ้น PTTME ในสัดส่วนร้อยละ 40.00 และร้อยละ 60.00 ของทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วของ PTTME ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ในช่วงเวลาทีท่ �ำ รายการมีกรรมการ และ/หรือ อดีตกรรมการของบริษทั ดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการของ PTTME 2 ท่าน คือ นายปรีชา แก้วพันธ์(1) ุ และนายบวร วงศ์สินอุดม(2) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จ่ายในการบำ�รุงรักษา และซ่อมแซมเครื่องจักร - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ค่าใช้จ่ายจ้างที่ปรึกษา - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
46.23 8.97
50.22 13.85
-
3.96 0.58
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ได้เข้าทำ�สัญญาจ้างเหมาบริหาร และจัดการบำ�รุงรักษาโรงงานกับ PTTME ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านงานบำ�รุงรักษา และมีประสบการณ์ทั้งงานเครื่องกลไฟฟ้า เครือ่ งมือวัด ระบบ และอุปกรณ์ของบริษท ั เป็นอย่างดี ซึ่งช่วยให้ลดเวลาในการเข้า พื้ น ที่ แ ละเพิ่ ม ความคล่ อ งตั ว ในการให้ บริการแก่บริษท ั ทัง้ นีก ้ ารเข้าทำ�สัญญาดัง กล่ า วเป็ น การสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข อง บริษท ั โดยมีอต ั ราค่าจ้างบริการและเงือ่ นไข ตามที่ ต กลงร่ ว มกั น ระหว่ า งบริ ษั ท และ PTTME ทัง้ นี้ แม้วา่ จะไม่สามารถเทียบเคียง ราคาตลาดสำ � หรั บ บริ ก ารที่ เ หมื อ นกั น ทั้ ง หมดได้ แต่ เ มื่ อ เที ย บเคี ย งกั บ การให้ บริ ก ารที่ มี ลั ก ษณะใกล้ เ คี ย งกั น พบว่ า อัตราค่าบริการอยูใ่ นระดับเดียวกันกับผูใ้ ห้ บริการรายอืน ่ จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น ร า ย ก า ร ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต า ม ค ว า ม จำ � เ ป็ น โดย PTTME เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านการบำ�รุงรักษาและซ่อมแซมเครือ่ งจักร ที่ให้บริการแก่บริษัทมาอย่างยาวนานและมี ความเข้าใจในความต้องการของบริษัทเป็น อย่างดี ซึ่งทำ �ให้มั่นใจได้ว่า PTTME จะให้ บริ ก ารแก่ บ ริ ษั ท ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยพิจารณาแล้วเห็นว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวมี ความคุม ้ ค่าต่อการดำ�เนินงานของบริษท ั จึง ถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสม ผล และเป็นประโยชน์ต่อบริษัท
บริษัทได้ว่าจ้าง PTTME เป็นที่ปรึกษา โครงการสำ� หรั บ โครงการก่ อ สร้ า งศู น ย์ ผลิ ต สาธารณู ป การแห่ ง ที่ 4 (CUP-4) เนือ่ งจากความจำ�เป็นเร่งด่วนในการดำ�เนิน งาน โดย PTTME มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และมี ป ระสบการณ์ ทำ � งานด้ า นงาน โครงการก่อสร้าง และเคยทำ�งานร่วมกับ บริ ษั ท ในโครงการก่ อ สร้ า ง Interconnecting System ให้ แ ก่ CUP-1 และ CUP-3 จึ ง มี ค วามรู้ เ รื่ อ งขั้ น ตอนการ ปฏิบต ั งิ านและรายละเอียดต่างๆ ของบริษท ั และความเข้าใจในระบบการเชื่อมต่อของ บริษัทเป็นอย่างดี ส่งผลให้การดำ�เนินการ โครงการก่ อ สร้ า ง Interconnecting System มีความต่อเนือ่ งและเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาใน การศึกษาโครงการ อีกทัง้ ยังเกิดค่าใช้จา่ ย น้อยกว่าค่าจ้างพนักงานประจำ�และค่าฝึก อบรมพนั ก งานเพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจระบบการ ทำ � งานของบริ ษั ท และช่ ว ยให้ บ ริ ษั ท สามารถดำ�เนินการก่อสร้างได้เร็วขึ้น ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�การเปรียบเทียบราคากับผู้ให้ บริการรายอื่น และตรวจสอบราคาให้เป็น ไปตามวงเงิ น ที่ บ ริ ษั ท ประมาณการและ วางแผนไว้ ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดัง กล่าวมีความสมเหตุสมผล
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามความจำ � เป็ น ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจาก PTTME มี บุ ค ลากรที่ มี ค วาม เชีย่ วชาญในงานโครงการก่อสร้าง และเข้าใจ ในระบบการทำ � งานของบริ ษั ท เป็ น อย่ า งดี ทำ � ให้ เ ชื่ อ มั่ น ได้ ว่ า จะสามารถทำ � หน้ า ที่ ที่ ปรึกษาโครงการก่อสร้างดังกล่าวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยค่าจ้างที่ปรึกษาดังกล่าว เป็นราคาตลาด ซึ่งมีเงื่อนไขที่สามารถเทียบ เคียงกันได้กบ ั ผูใ้ ห้บริการรายอืน่ โดยพิจารณา แล้วเห็นว่าค่าจ้างที่ปรึกษาดังกล่าวมีความ คุ้มค่าต่อการดำ�เนินงานของบริษัท ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล และเป็นประโยชน์ต่อบริษัท
รายการระหว่างกัน
P- 177
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จา่ ยสมัครแข่งขันกอล์ฟ การกุศล - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
(1) (2)
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.03 -
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้สนับสนุนกิจกรรมกอล์ฟการ กุศล ซึง่ จัดโดย PTTME ร่วมกับกรมแพทย์ ทหารเรือ ซึง่ การเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ถื อ เป็ น การช่ ว ยเหลื อ กิ จ กรรมสาธารณ กุศล และยังเปิดโอกาสให้บริษท ั สร้างความ สั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ คู่ ค้ า และบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ต่อบริษัท
นายปรีชา แก้วพันธ์ุ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 23 เมษายน 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ PTTME ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษศจิกายน 2557 นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ PPCL ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2557
1.14 บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำ�กัด (“NPC S&E”)
NPC S&E ประกอบธุรกิจให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมแบบครบวงจร โดยถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ NPC S&E มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึง่ ถือหุน้ NPC S&E ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วของ NPC S&E นอกจากนี้ ในช่วงเวลาทีท่ �ำ รายการ มีกรรมการ และ/หรือ อดีตกรรมการของบริษทั ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของ NPC S&E 1 ท่าน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยในการจ้ า งบริ ก าร รั ก ษาความปลอดภั ย และ ดับเพลิง - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
(1)
10.61 2.72
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
13.06 2.66
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริ ษั ท ได้ เ ข้ า ทำ � สั ญ ญาจ้ า งบริ ก าร รักษาความปลอดภัยและดับเพลิงกับ NPC S&E ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสำ�หรับ การให้ บ ริ ก ารงานรั ก ษาความปลอดภั ย ควบคู่กับงานดับเพลิง นอกจากนี้ NPC S&E ยังมีศูนย์ติดตามข้อมูลข่าวสารด้าน การก่ อ วิ น าศกรรม และศู น ย์ ค วบคุ ม ภาวะฉุกเฉิน จึงสามารถให้การสนับสนุน และป้องกันได้ทันท่วงทีเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ทั้งนี้ การเข้าทำ�สัญญาดังกล่าวเป็นการ สนับสนุนธุรกิจปกติของบริษท ั โดยมีอต ั รา ค่าจ้างบริการและเงื่อนไขตามที่ตกลงร่วม กันระหว่างบริษัทและ NPC S&E
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น รายการที่เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น โดย NPC S&E เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านการ บริการรักษาความปลอดภัยและดับเพลิง และ อัตราค่าบริการนั้นสามารถเทียบเคียงได้กับ ผูใ้ ห้บริการรายอืน ่ ดังนัน ้ จึงถือได้วา่ รายการ ดั ง กล่ า วมี ค วามสมเหตุ ส มผล และเป็ น ประโยชน์ต่อบริษัท
นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ NPC S&E ตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม 2557
P- 178
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.15 บริษัท วีนิไทย จำ�กัด (มหาชน) (“VNT”)
VNT ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ผงพลาสติกพีวซี แี ละโซดาไฟ โดยถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ VNT มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น VNT ในสัดส่วนร้อยละ 24.98 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ VNT และมีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่ทำ�รายการ มีกรรมการ และ/หรือ อดีตกรรมการของบริษัทดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของ VNT 1 ท่าน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้จากการให้เช่าโครงสร้าง หลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ส่ ง ผลิตภัณฑ์ (pipe- rack) - รายได้สำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.15 -
0.16 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ทำ�สัญญากับ VNT เพื่อให้เช่า โครงสร้ า งหลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) ภายในพื้ น ที่ มาบตาพุด โดยบริษัทได้กำ�หนดอัตราค่า เช่ า และเงื่ อ นไข ในแนวทางเดี ย วกั น กั บ การกำ � หนดอั ต ราค่ า เช่ า และเงื่ อ นไขกั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเกิ ด ขึ้ น ตาม ความจำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงื่อนไขและ อัตราค่าเช่า ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้วา่ รายการดัง กล่าวมีความสมเหตุสมผล
บริษัทได้เรียกชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าว ล่ ว งหน้ า เป็ น รายปี จึ ง รั บ รู้ เ ป็ น รายได้ รั บ ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนีค ้ งค้าง (1)
นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ VNT ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษจิกายน 2557
1.16 บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด (“HMC”)
HMC ประกอบธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ โดยถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ HMC มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น HMC ในสัดส่วนร้อยละ 41.44 ของทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วของ HMC นอกจากนี้ มีอดีตกรรมการของบริษัท เป็นกรรมการของ HMC 2 ท่าน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล(1) และนายณรงค์ บัณฑิตกมล(2) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
1,652.92 342.41
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
1,747.44 135.45
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ตามสัญญาซื้อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท และ HMC เป็นรายการธุรกิจปกติของบริษัท ซึ่งมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยบริษัทได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายแต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ HMC ใน แนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคาและ เงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกัน และทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
รายการระหว่างกัน
P- 179
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
เงินรับล่วงหน้าจากการขาย ไฟฟ้าตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
100.82
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
55.15
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
เงินรับล่วงหน้าจากการขายไฟฟ้าตาม เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay คือ ส่วน ต่างระหว่างมูลค่าการรับซื้อไฟฟ้าขั้นต่ำ�ที่ HMC ตกลงจะซือ้ ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า ระหว่างบริษท ั และ HMC กับมูลค่าที่ HMC ได้ รั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ตามจริ ง ภายในระยะเวลาที่ กำ�หนดตามสัญญาดังกล่าว โดยบริษท ั จะมี การคำ�นวณมูลค่าส่วนต่างดังกล่าวเป็นรายปี
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่องกับรายการการขายผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น ไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็น เงือ่ นไขทัว่ ไปทีบ ่ ริษท ั ใช้กบ ั ลูกค้าทุกรายทัง้ ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน จึงถือได้วา่ รายการเงินจ่ายล่วงหน้าดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
บริษท ั รับรูส้ ว่ นต่างดังกล่าวเป็นเงินรับ ล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay หาก HMC รับซื้อไฟฟ้าในงวดถัดไปตาม เงื่อนไขที่กำ�หนดตามสัญญา บริษัทจะคืน เงินรับล่วงหน้าดังกล่าวในงวดถัดไปตาม ปริมาณที่ใช้เกิน โดยสำ � หรั บ งวดปี บั ญ ชี ส้ิ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2557 HMC ได้รบ ั ซือ้ ไฟฟ้าตาม มูลค่าที่กำ�หนดไว้ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay บริษัทจึงได้คืนเงินรับล่วง หน้าจากการขายไฟฟ้าบางส่วนให้แก่ HMC ทัง้ นี้ เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay เป็นเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ซึง่ บริษท ั มีการ ตกลงเงื่อ นไขดั ง กล่ า วในสั ญ ญาซื้อ ขาย ผลิตภัณฑ์กบ ั ลูกค้ารายอืน่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน และทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั (1) (2)
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 4 กันยายน 2557 นายณรงค์ บัณฑิตกมล ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2557
P- 180
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.17 บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด (“PTT Tank”)
PTT Tank ประกอบธุรกิจเกีย่ วกับปิโตรเลียมและการกลัน่ เป็นหลัก ซึง่ ถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ PTT Tank มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTT Tank ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTT Tank ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้จากการจำ�หน่ายก๊าซ ไนโตรเจน - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
รายได้จากการให้เช่าโครงสร้าง หลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ส่ ง ผลิตภัณฑ์ (pipe- rack) - รายได้สำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
4.86 1.04
7.61 1.54
0.12 -
0.13 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายก๊าซไนโตรเจน ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า ง บริษัทและ PTT Tank เป็นรายการธุรกิจ ปกติ ข องบริ ษั ท ซึ่ ง มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดย ทัว่ ไป โดยบริษท ั ได้ก�ำ หนดราคาและเงือ่ นไข ทางการค้าสำ�หรับการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ให้แก่ PTT Tank ในแนวทางเดียวกันกับ การกำ�หนดราคาและเงื่อนไขกับลูกค้าราย อื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่เกี่ยวข้องกัน กับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอื่น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริษัท จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
บริษท ั ได้ท�ำ สัญญากับ PTT Tank เพือ่ ให้ เ ช่ า โครงสร้ า งหลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ขนส่งผลิตภัณฑ์ (pipe-rack) ภายใน พืน ้ ทีม ่ าบตาพุด โดยบริษท ั ได้กำ�หนดอัตรา ค่าเช่าและเงื่อนไข ในแนวทางเดียวกันกับ การกำ � หนดอั ต ราค่ า เช่ า และเงื่ อ นไขกั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงือ่ นไขและอัตราค่า เช่า ทีเ่ ป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้าราย อืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับ บริษัท จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
บริษัทได้เรียกชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าว ล่ ว งหน้ า เป็ น รายปี จึ ง รั บ รู้ เ ป็ น รายได้ รั บ ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนีค ้ งค้าง
1.18 บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด (“PTTAC”)
PTTAC ประกอบธุรกิจประเภทปิโตรเคมีเป็นหลัก และถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ PTTAC มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่ รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTTAC ในสัดส่วนร้อยละ 48.50 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTAC ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม และก๊าซไนโตรเจน - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
630.24 140.95
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
491.80 77.03
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� น้ำ� เพื่อการอุตสาหกรรม และก๊าซไนโตรเจน ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระหว่างบริษัทและ PTTAC เป็นรายการ ธุรกิจปกติของบริษัทซึ่งมีเงื่อนไขการค้า โดยทั่วไป โดยบริษัทได้กำ�หนดราคาและ เงื่ อ นไขทางการค้ า สำ � หรั บ การจำ � หน่ า ย แต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ PTTAC ในแนวทาง เดียวกันกับการกำ�หนดราคาและเงื่อนไข กับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
รายการระหว่างกัน
P- 181
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้จากการให้เช่าโครงสร้าง หลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ส่ ง ผลิตภัณฑ์ (pipe- rack) - รายได้สำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
0.57 -
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.61 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ทำ�สัญญากับ PTTAC เพื่อให้ เช่าโครงสร้างหลักสำ�หรับรองรับท่อขนส่ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) ภายในพื้ น ที่ มาบตาพุด โดยบริษัทได้กำ�หนดอัตราค่า เช่าและเงื่อนไข ในแนวทางเดียวกันกับการ กำ�หนดอัตราค่าเช่าและเงื่อนไขกับลูกค้า รายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่เกี่ยวข้อง กันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงื่อนไขและอัตรา ค่าเช่า ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้า รายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน กั บ บริ ษั ท จึ ง ถื อ ได้ ว่ า รายการดั ง กล่ า วมี ความสมเหตุสมผล
บริษัทได้เรียกชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าว ล่ ว งหน้ า เป็ น รายปี จึ ง รั บ รู้ เ ป็ น รายได้ รั บ ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนีค ้ งค้าง ค่าใช้จ่ายในการซื้อไอน้ำ� - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
112.41 12.79
รายได้ ค้ า งรั บ ในการซ่ อ ม อุปกรณ์สำ�หรับท่อส่งไอน้ำ� - ลูกหนี้คงค้าง
P- 182
0.12
รายการระหว่างกัน
344.02 57.18
0.12
เนื่ อ งจากในกระบวนการผลิ ต ของ PTTAC จะมี ไ อน้ำ � เหลื อ บริ ษั ท จึ ง เข้ า ทำ � สัญญาซือ้ ไอน้�ำ ดังกล่าวกับ PTTAC ซึง่ ถือ เป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามลั ก ษณะการ ดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีราคา และเงื่อนไขการรับซื้อไอน้ำ�ตามสัญญาซื้อ ไอน้ำ � ระหว่ า งบริ ษั ท และ PTTAC ทั้ ง นี้ รายการซื้ อ ไอน้ำ � ดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น เพื่ อ บริหารจัดการต้นทุนของบริษัท กล่าวคือ ในกรณีที่ต้นทุนการผลิตไอน้ำ�ของบริษัท สูงกว่าไอน้ำ�ที่รับซื้อจาก PTTAC บริษัทจะ รับซื้อไอน้ำ�จาก PTTAC เพื่อขายต่อให้แก่ ลูกค้าอุตสาหกรรม
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ ป็ น ไป ตามการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท ซึ่ ง เป็นการบริหารจัดการต้นทุนการผลิตไอน้ำ� ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ บริษัท
ในระหว่างทีบ ่ ริษท ั ส่งไอน้�ำ ให้แก่ PTTAC บริเวณจุดเชื่อมต่อ ได้เกิดปัญหาไอน้ำ�รั่ว ไหล อั น เป็ น ผลจากการปฏิ บั ติ ง านของ PTTAC บริษท ั จึงประสานงานกับผูร้ บ ั เหมา ภายนอกเพื่ อ ดำ � เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่าวตามคำ�ขอของ PTTAC โดยผูร้ บ ั เหมา ภายนอกจะเรี ย กเก็ บ ค่ า บริ ก ารมาทาง บริษัท ซึ่งบริษัทจะไปเรียกเก็บค่าบริการ ตามจริงกับ PTTAC อีกทอดหนึ่ง
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติของบริษท ั ทีเ่ กิดขึน ้ ตาม ความจำ�เป็น และมีการเรียกเก็บค่าใช้จา่ ยตาม จริง ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล
รายงานประจำ�ปี 2557
1.19 บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด (“PTTPL”)
PTTPL ประกอบธุรกิจบริการด้านโลจิสติกส์แบบครบวงจรแก่บริษทั ผูผ้ ลิตเม็ดพลาสติกในกลุม่ ปตท. และถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษัทและ PTTPL มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTTPL ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและ ชำ�ระแล้วของ PTTPL ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
เงินรับล่วงหน้าจากการขาย ไฟฟ้าตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
36.55 7.47
26.29
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
41.47 3.73
15.11
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้ จ ากการจำ � หน่ า ยไฟฟ้ า ตาม สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ระหว่างบริษทั และ PTTPL เป็นรายการธุรกิจปกติของบริษัท ซึ่งมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยบริษัทได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ PTTPL ใน แนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคาและ เงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกัน และที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
เงินรับล่วงหน้าจากการขายไฟฟ้าตาม เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay คือ ส่ ว นต่ า งระหว่ า งมู ล ค่ า การรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ขั้นต่ำ�ที่ PTTPL ตกลงจะซื้อตามสัญญา ซือ้ ขายไฟฟ้าระหว่างบริษท ั และ PTTPL กับ มูลค่าที่ PTTPL ได้รับซื้อไฟฟ้าตามจริง ภายในระยะเวลาที่กำ�หนดตามสัญญาดัง กล่ า ว โดยบริ ษั ท จะมี ก ารคำ� นวณมู ล ค่ า ส่วนต่างดังกล่าวเป็นรายปี
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่องกับรายการการขายผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น ไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็น เงือ่ นไขทัว่ ไปทีบ ่ ริษท ั ใช้กบ ั ลูกค้าทุกรายทัง้ ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน จึงถือได้วา่ รายการเงินจ่ายล่วงหน้าดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
บริษท ั รับรูส้ ว่ นต่างดังกล่าวเป็นเงินรับ ล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay หาก PTTPL รับซื้อไฟฟ้าในงวดถัดไปตาม เงื่อนไขที่ก�ำ หนดตามสัญญา บริษัทจะคืน เงินรับล่วงหน้าดังกล่าวในงวดถัดไปตาม ปริมาณที่ใช้เกิน โดยสำ � หรั บ งวดปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2557 PTTPL ได้รบ ั ซือ้ ไฟฟ้าตาม มูลค่าที่กำ�หนดไว้ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay บริษัทจึงได้คืนเงินรับล่วง หน้าจากการขายไฟฟ้าบางส่วนให้แก่ PTTPL ทั้งนี้ เงื่อนไข Minimum Take-orPay เป็นเงือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ซึง่ บริษท ั มีการตกลงเงื่อนไขดังกล่าวในสัญญาซื้อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั
รายการระหว่างกัน
P- 183
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.20 บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำ�กัด (“EnCo”)
EnCo ประกอบธุรกิจบริหารโครงการศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ บริเวณถนนวิภาวดีรังสิต และถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ EnCo มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึง่ ถือหุน้ EnCo ในสัดส่วนร้อยละ 50.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ EnCo ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
ค่าเช่าพื้นที่สำ�นักงาน และค่า บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ค่าที่จอดรถ ค่าไฟฟ้า เป็นต้น - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง - เจ้าหนี้คงค้าง
8.67 0.68 0.77
9.15 0.68 1.13
เงินประกันค่าเช่าพืน้ ที่ สำ�นักงาน - ลูกหนี้คงค้าง
2.05
2.07
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั เช่าพืน ้ ทีส่ �ำ นักงานภายในอาคาร สำ�นักงานศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ โดย เข้าทำ�สัญญาเช่าและบริการระหว่างบริษท ั และ EnCo เนื่องจากลูกค้าและคู่ค้าส่วน มากของบริษัทมีสำ�นักงานใหญ่อยู่ภายใน อาคารสำ�นักงานศูนย์เอนเนอร์ยค ่ี อมเพล็กซ์ จึงช่วยให้บริษท ั มีความสะดวกในการติดต่อ ประสานงานกับลูกค้าและคูค ่ า้ ดังกล่าว
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ ธุรกรรมปกติของบริษัทและเป็นรายการที่ เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น เพื่ออำ�นวยความ สะดวกในการติดต่อกับลูกค้าและคู่ค้าของ บริษัท ซึ่งส่วนใหญ่มีสำ�นักงานตั้งอยู่ภายใน อาคารสำ�นักงานศูนย์เอนเนอร์ยค ี่ อมเพล็กซ์ โดย EnCo มี ก ารกำ � หนดอั ต ราค่ า เช่ า ที่ สามารถเทียบเคียงกันได้สำ �หรับลูกค้าทุก ราย ดังนั้น จึงถือได้ว่าอัตราค่าเช่าดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล
การเช่าพื้นที่สำ�นักงานดังกล่าวเป็นไป ตามลักษณะปกติของการประกอบธุรกิจ โดยมีอต ั ราค่าเช่าเป็นไปตามอัตราทีก ่ �ำ หนด ภายใต้สญ ั ญาเช่าและบริการระหว่างบริษท ั และ EnCo บริษัทได้ชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าวล่วง หน้าเป็นรายเดือนจึงรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยจ่าย ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นลูกหนีค ้ งค้าง บริษัทมีการบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คง ค้าง เนื่องจาก EnCo จะส่ง Invoice เรียก เก็บค่าเช่าล่วงหน้า ซึ่งบริษัทจะมีการชำ�ระ เงินจริงในทุกวันที่ 5 ของเดือนถัดไป โดยสำ�หรับปี 2557 อัตราค่าเช่าพื้นที่ สำ�นักงานขนาด 937.5 ตารางเมตร รวม ค่าบริการรายเดือนเท่ากับ 720 บาทต่อ ตารางเมตร และอัตราค่าเช่าพื้นที่ห้องเก็บ ของและค่าบริการรายเดือนรวม 440 บาท ต่อตารางเมตร
P- 184
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.21 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด (“PTTICT”)
PTTICT ประกอบธุรกิจให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารภายในกลุม่ ปตท. เป็นหลัก และถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ PTTICT มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน ได้แก่ PTTGC ปตท. และ TOP ซึ่งถือหุ้น PTTICT ในสัดส่วนร้อยละ 40.00 ร้อยละ 20.00 และร้อยละ 20.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTICT ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ มีกรรมการของบริษัทเป็น กรรมการของ PTTICT 1 ท่าน คือ นายปฏิภาณ สุคนธมาน ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้คา่ เช่าสายใยแก้วนำ�แสง (Fiber Optic) - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
ค่าใช้จ่ายด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
0.48 0.48
15.06 18.05
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.01 0.49
29.57 6.70
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้เข้าทำ�บันทึกข้อตกลงในการ เช่าใช้งาน Fiber Optic ซึ่งเกิดจากการที่ บริษัทและ PTTICT ต่างได้ลงทุนในระบบ Fiber Optic เพื่อใช้ในกิจการของตนเอง ซึ่ง Fiber Optic ดังกล่าวยังคงมีความจุ (Capacity) เหลืออยู่ จึงตกลงนำ�โครงข่าย Fiber Optic ดังกล่าวของแต่ละบริษัทมา พัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่ทงั้ 2 ฝ่าย ซึง่ การ แลกเปลีย่ นโครงข่ายนีจ้ ะช่วยลดการลงทุน ที่ซ้ำ�ซ้อนของบริษัท และเสริมสร้างความ ร่วมมือทางด้านเทคนิคกับบริษัทในเครือ
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น จากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรส่วนเกิน ของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการ กำ�หนดอัตราค่าใช้บริการในระดับที่เท่ากัน ระหว่างบริษัทและ PTTICT ดังนั้น จึงถือได้ ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และ เป็นประโยชน์ต่อบริษัท
บริษัทได้ว่าจ้าง PTTICT ซึ่งเป็นบริษัท ที่มีความชำ�นาญเป็นพิเศษ เพื่อให้บริการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของบริษท ั อาทิ บริการเครือข่ายเซิรฟ ์ เวอร์ อินเตอร์เน็ต จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ ศูนย์ข้อมูล เป็นต้น รวมถึงการจ้างบริการ เพื่ อ บำ � รุ ง รั ก ษาระบบ SAP ซึ่ ง รายการ ว่าจ้างดังกล่าวถือเป็นรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติ โดยรายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล เนื่องจากเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ ให้ บ ริ ก ารรายอื่ น ในตลาดแล้ ว การรั บ บริการดังกล่าวจาก PTTICT ครอบคลุม การบริการที่มากกว่าและมีประสิทธิภาพ มากกว่าการใช้บริการเจ้าอื่น อีกทั้งยังมี ราคาที่อยู่ในระดับเดียวกันกับผู้ให้บริการ รายอื่นในตลาด นอกจากนี้ การใช้บริการ ดังกล่าวยังเกิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าค่าจ้าง พนักงานประจำ�และค่าฝึกอบรมพนักงาน เพื่อดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น รายการทีเ่ กิดขึน้ ตามความจำ�เป็น โดย PTTICT เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งให้บริการแก่ บริษัทมาอย่างยาวนานและมีความเข้าใจใน ความต้องการของบริษัทเป็นอย่างดี ทำ�ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า จะให้ บ ริ ก ารแก่ บ ริ ษั ท ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยพิจารณาแล้วเห็นว่าค่าใช้ จ่ายดังกล่าวมีความคุม ้ ค่าต่อการดำ�เนินงาน ของบริษท ั ดังนัน้ จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล
รายการระหว่างกัน
P- 185
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท) งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จ่ายฝ่ายทุนสำ�หรับการ พัฒนาโปรแกรมใหม่ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
2.17 0.40
37.02 15.34
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษทั ได้ท�ำ การจัดซือ้ ระบบงาน SAP ECC 6.0 และบริการทีเ่ กีย่ วข้องภายใต้โครงการ SAP Roll-out for GPSC เพื่อปรับปรุง กระบวนการทางธุรกิจและระบบงานข้อมูล องค์กรให้มป ี ระสิทธิภาพและสอดคล้องกับ ระบบการทำ�งานของบริษัทในเครือ โดย บริ ษั ท ได้ ว่ า จ้ า ง PTTICT ซึ่ ง มี ค วาม เชี่ยวชาญและความเข้าใจในระบบงานของ บริ ษั ท และบริ ษั ท ในเครื อ เป็ น อย่ า งดี ให้ ดำ�เนินการออกแบบและ Roll-out ระบบ งานดังกล่าวให้แก่บริษท ั ซึง่ รายการว่าจ้าง ดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามลั ก ษณะการดำ � เนิ น ธุรกิจปกติของบริษัท โดยมีอัตราค่าจ้าง และเงื่ อ นไขตามที่ ต กลงร่ ว มกั น ระหว่ า ง บริษัทและ PTTICT ทั้งนี้ รายการดังกล่าว สามารถเปรียบเทียบราคากับผูใ้ ห้บริการใน ลักษณะคล้ายคลึงกันได้ โดยมีราคาทีอ่ ยูใ่ น ระดับเดียวกันกับผู้ให้บริการอื่นในตลาด นอกจากนี้ การจ้างบริการดังกล่าว จะเกิด ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าค่าจ้างพนักงานประจำ� เพือ่ พัฒนาระบบขึน ้ เอง รวมถึงการพัฒนา ระบบดังกล่าวโดย PTTICT จะช่วยให้ด�ำ เนิน การเสร็ จ สิ้ น ได้ เ ร็ ว กว่ า และมี เ สถี ย รภาพ มากกว่าการดำ�เนินการเองโดยบริษัท จึง ถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น รายการทีเ่ กิดขึน้ ตามความจำ�เป็น โดย PTTICT เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งให้บริการแก่ บริษัทมาอย่างยาวนานและมีความเข้าใจใน ความต้องการของบริษัทเป็นอย่างดี ทำ�ให้ มั่ น ใจได้ ว่ า จะให้ บ ริ ก ารแก่ บ ริ ษั ท ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยค่าใช้จา่ ยดังกล่าวสามารถ เทียบเคียงกับราคาตลาดได้ และพิจารณา แล้วเห็นว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวมีความคุ้มค่า ต่อการดำ�เนินงานของบริษท ั ดังนัน ้ จึงถือได้ ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
1.22 บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (“TIP”)
TIP ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย โดยถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ TIP มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น TIP ในสัดส่วนร้อยละ 13.33 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TIP ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่ า ใช้ จ่ า ยการทำ � ประกั น ภั ย สำ�หรับโรงงาน และประกันภัย กรณีธุรกิจหยุดชะงัก - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
246.97 183.29
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
211.77 82.65
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
การทำ�ประกันภัยของบริษัทเป็นไปใน ลักษณะการทำ�ประกันภัยแบบกลุ่ม โดย ปตท. ได้ว่าจ้าง TIP ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญใน ธุรกิจประกันภัย และมีความเชี่ยวชาญใน การเป็นตัวแทนจัดหาประกันภัยขนาดใหญ่ ที่มีความพร้อมทั้งด้านคุณสมบัติและเงิน ลงทุน สำ�หรับการทำ�ประกันภัยของกลุ่ม ปตท. และบริษัทในเครือ
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท และเป็ น รายการที่เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น โดยการที่ บริษท ั เข้าร่วมการทำ�ประกันภัยแบบกลุม ่ กับ ปตท. นั้น ช่วยให้บริษัทมีอำ�นาจในการต่อ รองกั บ บริ ษั ท ประกั น ภั ย มากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ต่อบริษัททั้งในด้านค่าเบี้ยประกัน ภัยและเงือ่ นไขอืน ่ ๆ ดังนัน ้ จึงถือได้วา่ รายการ ดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
ทัง้ นี้ การทีบ ่ ริษท ั เข้าร่วมการทำ�ประกัน ภัยแบบกลุ่มกับ ปตท. นั้น ช่วยให้บริษัท มีอ�ำ นาจในการต่อรองกับบริษท ั ประกันภัย มากขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อบริษัททั้งใน ด้านค่าเบี้ยประกันภัยและเงื่อนไขอื่นๆ บริษัทได้ชำ�ระเงินค่าเบี้ยประกันภัยดัง กล่าวล่วงหน้าเป็นรายปี จึงรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ย จ่ายล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นลูกหนี้ คงค้าง
P- 186
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.23 บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำ�กัด (“TOCGC”)
TOCGC ประกอบธุรกิจผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทเอทิลนี ออกไซด์เป็นหลัก และเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ TOCGC มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น TOCGC ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TOCGC ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
เงินรับล่วงหน้าจากการขาย ไอน้ำ�ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay - ลูกหนี้คงค้าง - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
747.23 124.43
205.59 192.14
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
1,193.46 107.16
188.46
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ตามสัญญาซื้อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท และ TOCGC เป็นรายการธุรกิจปกติของบริษท ั ซึ่งมีเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป โดยบริษัทได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายแต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ TOCGC ในแนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคาและ เงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกัน และทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย มี ก ารกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอื่น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริษัท จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
เงินรับล่วงหน้าจากการขายไอน้ำ�ตาม เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay คือ ส่วนต่างระหว่างมูลค่าการรับซื้อไอน้ำ�ขั้น ต่ำ�โดย TOCGC ตามสัญญาซื้อขายไอน้ำ� ระหว่ า งบริ ษั ท และ TOCGC กั บ มู ล ค่ า ที่ TOCGC รับซือ้ ไอน้�ำ ตามจริงภายในระยะเวลา ทีก ่ �ำ หนด ซึง่ เป็นไปตามเงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay ของสัญญาดังกล่าว โดย บริษัทจะมีการคำ�นวณมูลค่าส่วนต่างดัง กล่าวเป็นรายปี
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่องกับรายการการขายผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น ไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็น เงือ่ นไขทัว่ ไปทีบ ่ ริษท ั ใช้กบ ั ลูกค้าทุกรายทัง้ ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน จึงถือได้วา่ รายการเงินจ่ายล่วงหน้าดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
บริษท ั รับรูส้ ว่ นต่างดังกล่าวเป็นเงินรับ ล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay หาก TOCGC รับซื้อไอน้ำ�ในงวดถัดไปตาม เงื่อนไขที่ก�ำ หนดตามสัญญา บริษัทจะคืน เงินรับล่วงหน้าดังกล่าวในงวดถัดไปตาม ปริมาณที่ใช้เกิน นอกจากนี้ เนื่องจากเงิน รับล่วงหน้าจากการขายไอน้ำ�ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay เป็นรายการที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก ารชำ � ระเงิ น บริ ษั ท จึ ง บั น ทึ ก บัญชีเป็นลูกหนี้คงค้าง โดยสำ � หรั บ งวดปี บั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2557 TOCGC ได้รบ ั ซือ้ ไอน้�ำ ตาม มูลค่าที่กำ�หนดไว้ ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay บริษัทจึงได้คืนเงินรับล่วง หน้ า จากการขายไอน้ำ � บางส่ ว นให้ แ ก่ TOCGC ทัง้ นี้ เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay เป็นเงื่อนไขทางการค้าปกติกับลูกค้าราย อื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่เกี่ยวข้องกัน
รายการระหว่างกัน
P- 187
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้หนีส้ ญ ู ได้รบ ั คืน และค่า ปรับจากการผิดสัญญาชำ�ระ เงินล่าช้า - รายได้สำ�หรับงวด
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
13.34
-
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ภายใต้ สั ญ ญาซื้ อ ขายไอน้ำ � ระหว่ า ง บริษัทและ TOCGC นั้น มีเงื่อนไขที่ TOCGC จะต้องชำ�ระค่าความต้องการใช้ไอน้ำ� ซึ่ง เงือ่ นไขดังกล่าวได้ถก ู กำ�หนดขึน ้ ในแนวทาง เดียวกันกับการกำ�หนดเงื่อนไขกับลูกค้า รายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่เกี่ยวข้อง กันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษท ั ซึง่ เกิด ขึ้ น เป็ น ครั้ ง คราวตามความจำ � เป็ น ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วเห็น ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
อย่ า งไรก็ ต าม TOCGC ได้ ป ฏิ เ สธ การชำ�ระเงินค่าความต้องการใช้ไอน้ำ�ดัง กล่าวจำ�นวน 7.22 ล้านบาท เนื่องจากไม่ สามารถรับไอน้ำ�จากบริษัทไปใช้งานได้ ดัง นั้น บริษัทจึงได้บันทึกรายการเป็นค่าเผื่อ หนี้สูญทั้งจำ�นวน ในช่วงทีก ่ ารเจรจาตกลง ยังไม่สน ้ิ สุด ทัง้ นี้ ภายหลังการเจรจาระหว่างบริษท ั และ TOCGC ได้สิ้นสุดลง ได้มีข้อสรุปว่า กรณีดงั กล่าวเกิดจากความผิดพลาดของ TOCGC ดังนั้น TOCGC จึงได้ดำ�เนินการ ชำ�ระค่าความต้องการใช้ไอน้ำ�ดังกล่าวทั้ง จำ�นวนให้แก่บริษท ั และบริษท ั ได้รบ ั รูร้ ายได้ ดังกล่าว เป็นรายได้หนี้สูญได้รับคืนและ เนือ่ งจากการชำ�ระค่าความต้องการใช้ไอน้�ำ ดังกล่าวถือเป็นการผิดสัญญาตามเงือ่ นไข การชำ�ระเงินล่าช้า ทางบริษัทจึงได้คิดค่า ปรับจากการชำ�ระเงินล่าช้าจาก TOCGC จากวันถึงกำ�หนดชำ�ระ จนถึงวันที่มีการ ชำ�ระเงินจริงเป็นจำ�นวน 6.12 ล้านบาท
1.24 บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำ�กัด (“TOL”)
TOL ประกอบธุรกิจผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมี และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ TOL มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น TOL ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TOL นอกจากนี้ มีกรรมการของบริษัทเป็น กรรมการของ TOL 1 ท่าน คือ นายปฏิภาณ สุคนธมาน ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้สำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
P- 188
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
411.15 75.70
รายการระหว่างกัน
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
421.73 32.58
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมตามสัญญาซือ้ ขาย แต่ละผลิตภัณฑ์ระหว่างบริษท ั และ TOL เป็น รายการธุรกิจปกติของบริษัทซึ่งมีเงื่อนไข การค้าโดยทัว่ ไป โดยบริษท ั ได้กำ�หนดราคา และเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับการจำ�หน่าย แต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ แ ก่ TOL ในแนวทาง เดียวกันกับการกำ�หนดราคาและเงือ่ นไขกับ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
รายงานประจำ�ปี 2557
1.25 บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอล์ จำ�กัด (“TFA”)
TFA ประกอบธุรกิจผลิตแฟตตี้แอลกอฮอล์รายเดียวในประเทศไทย และถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ TFA มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น TFA ผ่าน TOL ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TFA นอกจากนี้ มีกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการของ PTTICT 1 ท่าน คือ นายปฏิภาณ สุคนธมาน ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม - รายได้ส�ำ หรับงวด - ลูกหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
162.37 35.93
170.25 13.17
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ตามสัญญาซื้อ ขายแต่ละผลิตภัณฑ์ระหว่างบริษท ั และ TFA เป็ น รายการธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท ซึ่ ง มี เงื่ อ นไขการค้ า โดยทั่ ว ไป โดยบริ ษั ท ได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายแต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ TFA ใน แนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคาและ เงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกัน และที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอื่น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริษัท จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล
1.26 บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำ�กัด (“BIO Creation”)
BIO Creation ประกอบธุรกิจการตลาดและซื้อขายผลิตภัณฑ์สุขภาพและโภชนาการ และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก บริษทั และ BIO Creation มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึง่ ถือหุน้ BIO Creation ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วของ BIO Creation ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้ ค่ า ก่ อ สร้ า งระบบส่ ง สาธารณูปการ - รายได้ส�ำ หรับงวด - ลูกหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
7.05
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
7.05
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ลู ก หนี้ ค งค้ า งค่ า ก่ อ สร้ า งระบบส่ ง สาธารณูปการเกิดจากการที่ BIO Creation ตกลงจะซือ้ ไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การ อุตสาหกรรมจากบริษท ั บริษท ั จึงได้ท�ำ การ ก่ อ สร้ า งระบบส่ ง สาธารณู ป การไปยั ง โรงงานของ BIO Creation อย่างไรก็ตาม ต่อมา BIO Creation ยกเลิกการรับซื้อ ผลิตภัณฑ์จากบริษท ั บริษท ั จึงเรียกเก็บค่า ก่อสร้างและบันทึกค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็น ลูกหนีค ้ งค้าง โดยราคาทีเ่ รียกเก็บจาก BIO Creation นั้ น พิ จ ารณาจากต้ น ทุ น ค่ า ก่อสร้างตามจริง และอายุการใช้งานของ ระบบสาธารณูปการของบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น เป็ น ครั้ ง คราวตามความจำ�เป็น ซึ่งราคาที่เรียกเก็บ จาก BIO Creation นัน ้ พิจารณาจากต้นทุน ค่าก่อสร้างตามจริง และอายุการใช้งานของ ระบบสาธารณูปการของบริษัท
ทัง้ นี้ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการ เจรจาภายในกลุ่ม PTTGC ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น ใหญ่ของ BIO Creation เพือ่ สรุปการชำ�ระ คืนค่าก่อสร้างดังกล่าว
รายการระหว่างกัน
P- 189
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.27 บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จำ�กัด (“TEX”)
TEX ประกอบธุรกิจผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทเอทิลีนออกไซด์เป็นหลัก และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ TEX มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึ่งถือหุ้น TEX ในสัดส่วนร้อยละ 50.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TEX ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้การจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม - รายได้ส�ำ หรับงวด - ลูกหนีค ้ งค้าง
29.28 2.40
เงินรับล่วงหน้าจากการขาย ไฟฟ้าตามเงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay - ลูกหนีค ้ งค้าง - เจ้าหนีค ้ งค้าง
0.98 4.60
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
27.70 2.84
1.15 5.67
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ และ น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม ตามสัญญาซื้อ ขายแต่ ล ะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท และ TEX เป็นรายการธุรกิจปกติของบริษท ั ซึง่ มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดยทั่ ว ไป โดยบริ ษั ท ได้ กำ�หนดราคาและเงือ่ นไขทางการค้าสำ�หรับ การจำ�หน่ายแต่ละผลิตภัณฑ์ให้แก่ TEX ใน แนวทางเดียวกันกับการกำ�หนดราคาและ เงื่อนไขกับลูกค้ารายอื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกัน และที่ไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการที่เกิดขึ้น ตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดยมี การกำ � หนดเงื่ อ นไขและราคาจำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ตามสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ที่ เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้ารายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันกับบริษท ั จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
เงินรับล่วงหน้าจากการขายไฟฟ้าตาม เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay คือ ส่วนต่างระหว่างมูลค่าการรับซื้อไฟฟ้าขั้น ต่ำ � โดย TEX ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า ระหว่างบริษัทและ TEX กับมูลค่าที่ TEX รั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ตามจริ ง ภายในระยะเวลาที่ กำ�หนด ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ของสัญญาดังกล่าว โดย บริษัทจะมีการคำ�นวณมูลค่าส่วนต่างดัง กล่าวเป็นรายปี
รายการดั ง กล่ า วเป็ น รายการที่ เ กี่ ย ว เนื่องกับรายการการขายผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น ไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย เงื่อนไข Minimum Take-or-Pay ถือเป็น เงือ่ นไขทัว่ ไปทีบ ่ ริษท ั ใช้กบ ั ลูกค้าทุกรายทัง้ ที่ เกีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน จึงถือได้วา่ รายการเงินจ่ายล่วงหน้าดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
บริษท ั รับรูส้ ว่ นต่างดังกล่าวเป็นเงินรับ ล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดย บันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนี้คงค้าง เนื่องจาก ตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay หาก TEX รั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ในงวดถั ด ไปตาม เงื่อนไขที่ก�ำ หนดตามสัญญา บริษัทจะคืน เงินรับล่วงหน้าดังกล่าวในงวดถัดไปตาม ปริมาณที่ใช้เกิน นอกจากนี้ เนื่องจากเงิน รับล่วงหน้าจากการขายไฟฟ้าตามเงื่อนไข Minimum Take-or-Pay เป็นรายการที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ก ารชำ � ระเงิ น บริ ษั ท จึ ง บั น ทึ ก บัญชีเป็นลูกหนี้คงค้าง ทัง้ นี้ เงือ่ นไข Minimum Take-or-Pay เป็นเงื่อนไขทางการค้าปกติกับลูกค้าราย อื่นทั้งที่เกี่ยวข้องกันและที่ไม่เกี่ยวข้องกัน
P- 190
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
1.28 บริษัท แอดวานซ์ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จำ�กัด (“ABT”)
ABT ประกอบธุรกิจผลิตและจัดจำ�หน่ายสารเคมีชื่อ อีพิคลอโรไฮดิน และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก ABT เป็นบริษัท ย่อยของ VNT ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ ABT ทั้งนี้ VNT มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึง่ ถือหุน้ VNT ในสัดส่วนร้อยละ 24.98 ของทุนจดทะเบียน และชำ�ระแล้วของ VNT นอกจากนี้ มีอดีตกรรมการของบริษทั เป็นกรรมการ ของ VNT 1 ท่าน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม(1) ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้จากการให้เช่าโครงสร้าง หลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ส่ ง ผลิตภัณฑ์ (pipe- rack) - รายได้ส�ำ หรับงวด - เจ้าหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.15 -
0.16 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ทำ�สัญญากับ ABT เพื่อให้เช่า โครงสร้ า งหลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) ภายในพื้ น ที่ มาบตาพุ ด โดยบริ ษั ท ได้ กำ � หนดอั ต รา ค่าเช่าและเงื่อนไข ในแนวทางเดียวกันกับ การกำ � หนดอั ต ราค่ า เช่ า และเงื่ อ นไขกั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงื่อนไขและอัตรา ค่าเช่า ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้า รายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน กั บ บริ ษั ท จึ ง ถื อ ได้ ว่ า รายการดั ง กล่ า วมี ความสมเหตุสมผล
บริษัทได้เรียกชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าว ล่ ว งหน้ า เป็ น รายปี จึ ง รั บ รู้ เ ป็ น รายได้ รั บ ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนีค ้ งค้าง (1)
นายบวร วงศ์สินอุดม ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท ระหว่าง 9 มกราคม 2556 - 31 ตุลาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการของ VNT ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษจิกายน 2557
1.29 บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) (“LINDE”)
LINDE ประกอบธุรกิจผลิตและจัดจำ�หน่ายก๊าซอุตสาหกรรมในประเทศไทย และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเนื่องจากบริษัทและ LINDE มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้จากการให้เช่าโครงสร้าง หลั ก สำ � หรั บ รองรั บ ท่ อ ส่ ง ผลิตภัณฑ์ (pipe- rack) - รายได้ส�ำ หรับงวด - เจ้าหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
1.96 -
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
2.11 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทได้ทำ�สัญญากับ LINDE เพื่อให้ เช่าโครงสร้างหลักสำ�หรับรองรับท่อขนส่ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (pipe-rack) ภายในพื้ น ที่ มาบตาพุ ด โดยบริ ษั ท ได้ กำ � หนดอั ต รา ค่าเช่าและเงื่อนไข ในแนวทางเดียวกันกับ การกำ � หนดอั ต ราค่ า เช่ า และเงื่ อ นไขกั บ ลู ก ค้ า รายอื่ น ทั้ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และที่ ไ ม่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท
รายการดังกล่าวเป็นรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงื่อนไขและอัตรา ค่าเช่า ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้า รายอืน ่ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องกันและทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน กั บ บริ ษั ท จึ ง ถื อ ได้ ว่ า รายการดั ง กล่ า วมี ความสมเหตุสมผล
บริษัทได้เรียกชำ�ระเงินค่าเช่าดังกล่าว ล่ ว งหน้ า เป็ น รายปี จึ ง รั บ รู้ เ ป็ น รายได้ รั บ ล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นเจ้าหนีค ้ งค้าง
รายการระหว่างกัน
P- 191
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จ่ายสารเคมี - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
0.22 0.02
0.20 0.05
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทซื้อไนโตรเจนเพื่อใช้ในหน่วยงาน ส่วนปฏิบัติการผลิตของโรงไฟฟ้าระยอง โดยบริษัทได้คัดเลือกผู้ค้าและผลิตภัณฑ์ ตามคุณสมบัตทิ บ ่ี ริษทั ต้องการตามกระบวน การจัดซื้อจัดจ้างร่วมกับกลุ่ม ปตท. เพื่อ ช่วยเพิม ่ อำ�นาจการต่อรองของบริษท ั ทัง้ นี้ รายการดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะปกติ ของการประกอบธุรกิจ โดยมีการกำ�หนด ราคาและเงื่อนไขทางการค้าเป็นไปตามที่ ตกลงร่วมกันระหว่างบริษัทและ LINDE
รายการดังกล่าวเป็นไปตามการดำ�เนิน ธุรกิจปกติของบริษัท และเกิดขึ้นตามความ จำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดเงื่อนไขและราคา ค่าผลิตภัณฑ์ทไ่ี ม่ท�ำ บริษทั เสียประโยชน์ ดังนัน้ จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
1.30 บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำ�กัด (“EFT”)
EFT ประกอบธุรกิจให้บริหารดูแลระบบท่อขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ EFT มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ PTTGC ซึง่ ถือหุน้ EFT ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 22.65 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ของ EFT ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายจ่ายค่าบำ�รุงรักษาโครง สร้างสำ�หรับวางท่อ - ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับงวด - เจ้าหนีค ้ า้ งจ่าย
P- 192
2.72 -
รายการระหว่างกัน
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
2.94 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทว่าจ้าง EFT ในการบำ�รุงรักษา โครงสร้างสำ�หรับวางท่อของบริษัทตาม สั ญ ญาให้ บ ริ ก ารบำ � รุ ง รั ก ษาโครงสร้ า ง สำ�หรับวางท่อและบริหารและจัดการระบบ เพือ่ การวางท่อ ซึง่ EFT เป็นผูบ ้ ริการบำ�รุง รักษาโครงสร้างการวางท่อเพียงรายเดียว ในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมที่โครงสร้าง สำ�หรับวางท่อของบริษัทตั้งอยู่ โดยการ จ้างบริการดังกล่าว จะเกิดค่าใช้จ่ายน้อย กว่าค่าจ้างพนักงานประจำ�และค่าฝึกอบรม พนักงานเพื่อบำ�รุงรักษาและจัดการระบบ สำ�หรับโครงสร้างสำ�หรับวางท่อดังกล่าว จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสมเหตุ สมผล
รายการค่าบำ�รุงรักษาโครงสร้างสำ�หรับ วางท่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข อง บริษท ั และเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น เนือ่ งจาก EFT เป็นผูใ้ ห้บริการเพียงรายเดียวในบริเวณ ดังกล่าว โดยค่าใช้จ่ายดังกล่าวไม่สามารถ เทียบเคียงกับราคาตลาดได้เนื่องจาก EFT เป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารเพี ย งรายเดี ย วในพื้ น ที่ ที่ โครงสร้างสำ�หรับวางท่อของบริษัทตั้งอยู่ แต่พิจารณาแล้วเห็นว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวมี ความจำ�เป็นและคุม ้ ค่าต่อการดำ�เนินงานของ บริษัท เนื่องจากการจ้างบริการดังกล่าว จะ เกิดค่าใช้จา่ ยน้อยกว่าค่าจ้างพนักงานประจำ� และค่าฝึกอบรมพนักงานเพือ่ บำ�รุงรักษาและ จัดการระบบสำ�หรับโครงสร้างสำ�หรับวาง ท่อดังกล่าว จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล
รายงานประจำ�ปี 2557
1.31 บริษัท ปตท. สผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (“PTTEPI”)
PTTEPI ประกอบธุรกิจสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก PTTEPI ถือหุ้นโดยบริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (“PTTEP”) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTEPI โดย บริษัทและ PTTEP มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTTEP ในสัดส่วนร้อยละ 65 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTEP ส่งผลให้ ปตท. เป็นผู้ถือหุ้น PTTEPI ทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 65 ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
รายได้คา่ เครือ่ งบินเช่าเหมาลำ� - รายได้ - ลูกหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
0.61 0.61
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษัทและบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้รับ เชิญให้เข้าร่วมงานประชุม ณ ประเทศเมียนมาร์ ซึ่งจัดโดย PTTEPI โดยบริษัทรับหน้าที่ใน การจัดหายานพาหนะ และบริษัทได้เรียก ชำ�ระค่าเช่าเครือ่ งบินดังกล่าวจาก PTTEPI ตามที่เกิดขึ้นจริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากเป็นการ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายตามอัตราที่เกิดขึ้นจริง
1.32 บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด (“NNEG”)
NNEG ประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้า ประเภทผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) และเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจาก NNEG เป็นบริษัทร่วมที่บริษัทถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 30.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ NNEG นอกจากนี้ ยังมีกรรมการและผู้ บริหารของบริษัท จำ�นวน 2 ท่าน ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการใน NNEG คือ นายนพดล ปิ่นสุภา และ นายโกวิท จึงเสถียรทรัพย์ ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
รายได้ จ ากการส่ ง พนั ก งาน ของบริษทั ไปปฏิบต ั งิ านสมทบ ที่ NNEG - รายได้ส�ำ หรับงวด - ลูกหนีค ้ งค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
0.48 0.51
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ในฐานะผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่ของ NNEG ได้ ส่ ง พนั ก งานไปปฏิ บั ติ ง านสมทบ เพื่ อ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ NNEG โดย บริษท ั เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบในส่วนของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้แก่พนักงานที่ บริษัทส่งไปปฏิบัติงานที่ NNEG ซึ่งบริษัท จะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายดังกล่าวจาก NNEG อีกทอดหนึ่ง โดยมีการเรียกเก็บอัตราค่า บริการดังกล่าวตามเงื่อนไขสัญญาจ้าง บริหารระหว่างบริษท ั และ NNEG ซึง่ รายได้ ดังกล่าวได้สะท้อนถึงเงินเดือน สวัสดิการ และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งของพนั ก งานที่ บริษัทได้ส่งไปปฏิบัติงานสมทบแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และการบริหารงานของบริษัทที่เข้าลงทุน รวมถึงมีการเรียกเก็บค่าบริการที่เหมาะสม และไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์
รายการระหว่างกัน
P- 193
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
1.33 บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จำ�กัด (“BIC”)
BIC ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ประเภทผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) และเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก BIC เป็นบริษัทร่วมที่บริษัทถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BIC ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่าใช้จ่ายในการสอบทานงบ การเงิน - ค่าใช้จา่ ยสำ�หรับงวด
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
0.10
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายการดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในการ สอบทานงบการเงินของ BIC รอบระยะเวลา ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2556 – 23 ธันวาคม 2556 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ ยอดต้นงวดของตัวเลขทางบัญชีในการ เข้าซือ้ กิจการ โดย BIC เป็นผูช้ �ำ ระค่าใช้จา่ ย ดังกล่าวให้แก่ผู้สอบบัญชี และได้เรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจากบริษัทอีกทอดหนึ่ง ตามอัตราค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเป็นอัตราที่เกิดขึ้นตามจริง
1.34 บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จำ�กัด (“PTTIH”)
PTTIH เป็นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจในรูปแบบการลงทุนในบริษทั อืน่ และเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก PTTIH เป็นบริษทั ย่อย ร้อยละ 100 ของ PTTER ส่งผลให้ PTTIH และบริษัทมีผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกันทางอ้อม คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น PTTER ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTER ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
การซื้อเงินลงทุนใน NL1PC - เงินลงทุน - เจ้าหนี้คงค้าง
P- 194
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
รายการระหว่างกัน
116.95 116.95
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษท ั ได้ท�ำ การเข้าซือ้ หุน ้ สามัญร้อยละ 40 ของ NL1PC จาก PTTIH ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2557 โดยชำ�ระเป็นเงินสด จำ�นวน 3.65 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 117 ล้านบาท ในปี 2558 มู ล ค่ า การเข้ า ซื้ อ ดั ง กล่ า วเป็ น มู ล ค่ า ยุติธรรมของธุรกิจที่ประเมินโดยที่ปรึกษา ทางการเงินที่บริษัทได้ว่าจ้างสำ�หรับการ เข้ า ซื้ อ ธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว ทั้ ง นี้ การเข้ า ทำ � รายการดังกล่าวเป็นไปตามแผนการลงทุน และแผนการขยายธุรกิจไฟฟ้าของบริษัท
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น ตามแผนการขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ มูลค่าการเข้าซื้อนั้นสมเหตุสมผลเนื่องจาก เป็นมูลค่ายุติธรรมที่ได้รับการประเมินโดยที่ ปรึกษาทางการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
2. รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
รายการระหว่างกันของบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำ�หรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556) และงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สามารถสรุปได้ดังนี้ 2.1 รายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ไออาร์ พี ซี คลี น พาวเวอร์ จำ� กั ด (“IRPC-CP”) กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง 2.1.1 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) (“IRPC”)
IRPC เป็นบริษัทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบวงจร โดยถือเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เนื่องจากบริษัทและ IRPC มีผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึ่งถือหุ้น IRPC ในสัดส่วนร้อยละ 38.51 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ IRPC นอกจาก นี้ บริษัทและ IRPC ยังมีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายสุรงค์ บูลกุล ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
IRPC-CP ทำ�สัญญากูย้ ม ื เงิน กั บ IRPC ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ที่ เกี่ยวข้องกันกับบริษัท โดยมี เงื่อนไขสำ�คัญดังนี้ • อายุสัญญา: 6 เดือน • ดอกเบี้ย: BIBOR + 0.50% • ระยะเวลาชำ�ระดอกเบี้ย: 3 เดือน - ยอดดอกเบี้ยจ่าย
0.39
-
ค่าใช้จ่ายค่าน้ำ�มันรถ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด
0.00
0.01
ค่ า ที่ ป รึ ก ษาในการก่ อ สร้ า ง โรงไฟฟ้า - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ค่ า ใช้ จ่ า ยในการพั ฒ นาโรง ไฟฟ้า - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
-
-
30.00 8.03
20.46 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
IRPC-CP ได้เข้าทำ�สัญญาเงินกูร้ ะยะสัน ้ แบบไม่ผูกพันผู้ให้กู้และไม่มีหลักประกันกับ IRPC เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นในการ บริหารงาน โดย IRPC-CP ได้ช�ำ ระคืนเงิน ต้นจำ�นวน 350 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ย ทัง้ หมดภายในปี 2556 จึงไม่มยี อดเงินกูย้ ม ื คงค้าง
รายการกู้ยืมเงินระยะสั้นดังกล่าวเป็นไป เพื่อสนับสนุนธุรกิจปกติของ IRPC-CP
IRPC-CP ได้น�ำ รถไปเติมน้�ำ มันจาก IRPC ดังนั้น IRPC จึงมีการเรียกเก็บค่าน้ำ�มันดัง กล่าวจาก IRPC-CP ตามอัตราทีเ่ กิดขึน ้ จริง
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีความสมเหตุสมผล เนื่องจากค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเป็นอัตราที่เกิดขึ้นตามจริง
ค่ า ใช้ จ่ า ยดั ง กล่ า วเป็ น ค่ า จ้ า งบริ ห าร โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ตามสัญญาจ้าง บริหารโครงการ ซึ่ง IRPC-CP ได้ทำ�กับ IRPC ตัง้ แต่กอ่ นจะมีการขายหุน ้ บางส่วนให้ แก่บริษท ั โดยมีการคิดอัตราค่าบริการเทียบ เคี ย งจากชั่ ว โมงการทำ � งานที่ ใ ช้ ใ นการ บริหารโครงการ นอกจากนี้ การจ้าง IRPC ซึ่งเป็นผู้เริ่มก่อสร้างโครงการมาตั้งแต่ต้น จะทำ�ให้ IRPC-CP เกิดค่าใช้จา่ ยน้อยกว่าค่า จ้ า งพนั ก งานประจำ � และค่ า ฝึ ก อบรม พนักงานเพื่อให้เข้าใจโครงการก่อสร้างโรง ไฟฟ้ า ดั ง กล่ า ว รวมถึ ง ช่ ว ยให้ IRPC-CP สามารถดำ�เนินการก่อสร้างได้ต่อเนื่องและ รวดเร็วขึ้น
รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปเพื่ อ สนั บ สนุ น ธุรกิจปกติของ IRPC-CP ซึง่ IRPC-CP ได้ท�ำ กับ IRPC ตัง้ แต่กอ่ นจะมีการขายหุน ้ บางส่วน ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท โดย IRPC ทำ � หน้ า ที่ บ ริ ห าร โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้ามาตั้งแต่ต้น และมี ความเข้าใจในตัวโครงการดังกล่าวเป็นอย่าง ดี ทำ�ให้มั่นใจได้ว่า IRPC จะสามารถบริหาร โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าได้มีประสิทธิภาพ มากทีส่ ด ุ ซึง่ พิจารณาแล้วเห็นว่าค่าใช้จา่ ยดัง กล่ า วมี ค วามคุ้ ม ค่ า ต่ อ การดำ � เนิ น งานของ IRPC-CP จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความ สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ต่อ IRPC-CP
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโรงไฟฟ้าเป็นค่า ใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน ้ ช่วงพัฒนาโครงการที่ IRPC ได้จา่ ยไปก่อนในช่วงทีย่ งั ไม่ได้กอ่ ตัง้ IRPC-CP ซึง่ IRPC ได้เรียกเก็บค่าใช้จา่ ยดังกล่าวตาม จริงจาก IRPC-CP อีกทอดหนึ่ง
รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปเพื่ อ สนั บ สนุ น ธุรกิจปกติของ IRPC-CP และมีการเรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายตามจริง โดยคณะกรรมการตรวจ สอบพิจารณาแล้วเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็น รายการที่สมเหตุสมผล
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุ สมผล เนือ่ งจากเดิม IRPC-CP เป็นบริษท ั ย่อย ของ IRPC จึงมีการกูย้ มื กันในอัตราเงินกูท้ ถ่ี กู กว่า ราคาตลาด ซึง่ ถือว่าเป็นประโยชน์กบ ั IRPC-CP นอกจากนี้ รายการดังกล่าวยังเสร็จสิ้นก่อน วันที่บริษัทเข้าซื้อเงินลงทุนใน IRPC-CP
รายการระหว่างกัน
P- 195
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด การและ บำ�รุงรักษาสถานที่ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
2.64 -
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ค่าใช้จา่ ยดังกล่าวเป็นค่าบริหารจัดการและ บำ�รุงรักษาสถานที่รายเดือน ตามสัญญา ซื้อขายที่ดินระหว่าง IRPC-CP และ IRPC โดยค่าใช้จ่ายดังกล่าวประมาณการจากค่า บริหารจัดการและบำ�รุงรักษาสถานที่ส่วน กลาง ค่าบำ�รุงรักษาสถานทีท ่ โี่ รงไฟฟ้าของ IRPC-CP ตั้ ง อยู่ และค่ า รั ก ษาความ ปลอดภัย ทั้งนี้ การคำ�นวณค่าใช้จ่ายดัง กล่าวจะอ้างอิงจากจำ�นวนพืน ้ ทีโ่ ครงการ ใน อัตรา 1,200 บาท ต่อไร่ ซึ่งเป็นอัตราที่ เท่ากับที่ IRPC เรียกเก็บกับผูใ้ ช้พน ื้ ทีร่ ายอืน ่
รายการดังกล่าวเป็นไปเพื่อสนับสนุนธุรกิจ ปกติของ IRPC-CP โดยคณะกรรมการตรวจ สอบพิจารณาแล้วเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็น รายการที่สมเหตุสมผล
2.1.2 บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (“TIP”)
TIP ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย โดยถือเป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ TIP มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน คือ ปตท. ซึง่ ถือหุน้ TIP ในสัดส่วนร้อยละ 13.33 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ TIP ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยการทำ � ประกั น ภั ย สำ�หรับโรงงาน และประกันภัย กรณีธุรกิจหยุดชะงัก - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - ลูกหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
34.54 18.32
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
IRPC-CP ได้มก ี ารทำ�ประกันภัยกับ TIP โดยการทำ � ประกั น ภั ย ดั ง กล่ า วเป็ น ไปใน ลั ก ษณะการทำ � ประกั น ภั ย แบบกลุ่ ม โดย ปตท. ได้ว่าจ้าง TIP ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญใน ธุรกิจประกันภัย และมีความเชี่ยวชาญใน การเป็นตัวแทนจัดหาประกันภัยขนาดใหญ่ ที่ มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ด้ า นคุ ณ สมบั ติ แ ละ เงินลงทุน สำ�หรับการทำ�ประกันภัยของกลุม ่ ปตท. และบริษัทในเครือ
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติของ IRPC-CP และเป็น รายการที่เกิดขึ้นตามความจำ�เป็น โดยการที่ IRPC-CP เข้าร่วมการทำ�ประกันภัยแบบกลุม ่ กับ ปตท. นั้น ช่วยให้ IRPC-CP มีอำ�นาจใน การต่อรองกับบริษัทประกันภัยมากขึ้น ซึ่ง เป็นประโยชน์ต่อ IRPC-CP ทั้งในด้านค่าเบี้ย ประกันภัยและเงื่อนไขอื่นๆ
ทั้งนี้ การที่ IRPC-CP เข้าร่วมการทำ� ประกันภัยแบบกลุ่มกับ ปตท. นั้น ช่วยให้ IRPC-CP มีอำ�นาจในการต่อรองกับบริษัท ประกั น ภั ย มากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ IRPC-CP ทั้งในด้านค่าเบี้ยประกันภัยและ เงื่อนไขอื่นๆ บริ ษั ท ได้ ชำ � ระเงิ น ค่ า เบี้ ย ประกั น ภั ย ดังกล่าวล่วงหน้าเป็นรายปี จึงรับรู้เป็นค่า ใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า โดยบันทึกบัญชีเป็นลูก หนี้คงค้าง
P- 196
รายการระหว่างกัน
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้ว เห็นว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ต่อ IRPC-CP
รายงานประจำ�ปี 2557
2.2 รายการระหว่างกันของบริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด (“CHPP”) กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 2.2.1 บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (“PTT”)
ปตท. ประกอบธุรกิจปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติครบวงจร โดย ปตท. เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เนือ่ งจาก ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั โดยถือหุน้ ร้อยละ 30.10 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของบริษทั และ ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ใน PTTGC และ TOP ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่รายอืน่ ของบริษทั ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการซื้อก๊าซ ธรรมชาติ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ค่าใช้จ่ายสำ�หรับพนักงานที่ ปตท. ส่งมาปฏิบต ั งิ านสมทบที่ CHPP - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
ค่ า วั ต ถุ ดิ บ ในการทดสอบ ระบบ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
-
-
1.06 -
3.53 0.91
0.13 0.04
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
CHPP ซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น วัตถุดบ ิ ทีส่ �ำ คัญในการผลิตไฟฟ้า จากระบบ การผลิตไฟฟ้าและพลังงานความร้อนร่วม กัน (Cogeneration) ของ CHPP ซึ่งถือ เป็นรายการธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการค้า โดยทั่ ว ไป ทั้ ง นี้ ปตท. เป็ น ผู้ ข ายก๊ า ซ ธรรมชาติให้แก่ผป ู้ ระกอบการอุตสาหกรรม แต่เพียงรายเดียวในประเทศ โดยมีราคาและ เงื่อนไขการซื้อก๊าซธรรมชาติตามสัญญา ซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติระหว่าง CHPP และ ปตท.
รายการค่ า ใช้ จ่ า ยสำ � หรั บ การซื้ อ ก๊ า ซ ธรรมชาติ เ ป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามความ จำ�เป็นและเป็นไปตามการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยมีเงื่อนไขและอัตราค่าก๊าซตามสัญญาซื้อ ขายก๊าซธรรมชาติที่ CHPP ทำ�กับ ปตท. ซึ่ง เป็นราคามาตรฐานที่ ปตท. เรียกเก็บจาก ลูกค้าในแต่ละประเภท โดยราคาดังกล่าวมีการ กำ � หนดสู ต รการคำ � นวณค่ า ก๊ า ซไว้ อ ย่ า ง ชัดเจน จึงถือได้วา่ รายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผล
ปตท. ในฐานะผูถ ้ อื หุน ้ ใหญ่ของบริษท ั มี การส่ ง พนั ก งานมาปฏิ บั ติ ง านสมทบที่ CHPP เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัท โดย ปตท. เป็นผู้รับผิดชอบในส่วน ของเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ ให้ แก่ พ นั ก งานที่ ปตท. ส่ ง มาปฏิ บั ติ ง านที่ CHPP ซึง่ ปตท. จะมีการเรียกเก็บค่าใช้จา่ ย ดังกล่าวจาก CHPP อีกทอดหนึง่ ตามอัตรา ค่าจ้างและสวัสดิการตามที่ ปตท. จ่ายจริง ให้แก่พนักงานที่ส่งมาปฏิบัติงานที่ CHPP
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และมีการจ่ายค่าบริการที่เหมาะสม ซึ่งเป็น อั ต ราค่ า จ้ า งตามจริ ง ที่ ปตท. จ่ า ยให้ แ ก่ พนักงานที่ ปตท. ส่งมา จึงถือได้ว่ารายการ ดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล
CHPP ได้ร่วมกับบริษัทภายนอกแห่ง หนึง่ ในการพัฒนาโครงการจัดการพลังงาน โดย (1) บริษัทผู้ร่วมพัฒนาเป็นฝ่ายจัดหา เครื่องจักร และ (2) CHPP เป็นผู้จัดหา วั ต ถุ ดิ บ /ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นโครงการ เช่ น ถ่านหิน และกะลาปาล์ม ดังนั้น CHPP จึง ต้ อ งจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ดั ง กล่ า วเพื่ อ ใช้ ใ นการ ดำ � เนิ น การทดสอบระบบ อย่ า งไรก็ ต าม CHPP คาดว่ า จะไม่ มี ร ายการนี้ เ กิ ด ขึ้ น ใน อนาคต เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น CHPP ได้ มี แผนการยกเลิกโครงการทดสอบระบบดัง กล่าวแล้ว
รายการดังกล่าวเกิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น และเป็นการสนับสนุนการดำ �เนินธุรกิจของ CHPP คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา แล้วเห็นว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุสม ผล และเป็นประโยชน์ต่อ CHPP ในการดำ�เนิน การทดสอบระบบตามแผนที่วางไว้ อย่างไร ก็ ต าม คณะกรรมการตรวจสอบได้ มี ก าร กำ�ชับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการทำ�รายการ ในลักษณะดังกล่าวกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัด แย้งแล้วว่าต้องมีการเปรียบเทียบราคาตลาด หรือเทียบเคียงราคาและเงือ่ นไขเพือ่ ให้มค ี วาม สมเหตุสมผลของการทำ�รายการ
รายการระหว่างกัน
P- 197
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
2.2.2 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด (“PTTICT”)
PTTICT ประกอบธุรกิจให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายในกลุ่ม ปตท. เป็นหลัก และถือเป็นบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง เนือ่ งจากบริษทั และ PTTICT มีผถู้ อื หุน้ ใหญ่รายเดียวกัน ได้แก่ PTTGC ปตท. และ TOP ซึง่ ถือหุน้ PTTICT ในสัดส่วนร้อยละ 40.00 ร้อยละ 20.00 และร้อยละ 20.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ PTTICT ตามลำ�ดับ ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
0.64 0.12
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
CHPP ได้ว่าจ้าง PTTICT ซึ่งเป็นบริษัท ที่มีความชำ�นาญเป็นพิเศษ เพื่อให้บริการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ บริการให้เช่า ใช้ จัดหา ติดตั้ง และบำ�รุงรักษาอุปกรณ์ สารสนเทศ ซึ่งรวมถึงการแก้ไขปัญหาด้าน Hardware และ Software เป็นต้น ซึ่ง รายการว่าจ้างดังกล่าวเป็นไปเพือ่ สนับสนุน ธุรกิจปกติของ CHPP โดยรายการดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล เนื่องจากเมื่อเปรียบ เทียบกับผูใ้ ห้บริการรายอืน ่ ในตลาดแล้ว การ รับบริการดังกล่าวจาก PTTICT มีราคาที่ อยูใ่ นระดับเดียวกันกับผูใ้ ห้บริการรายอืน ่ ใน ตลาด นอกจากนี้ การใช้บริการดังกล่าวยัง เกิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยน้ อ ยกว่ า ค่ า จ้ า งพนั ก งาน ประจำ� และค่าฝึกอบรมพนักงานเพื่อดูแล ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายการค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นรายการ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข อง CHPP และเป็ น รายการทีเ่ กิดขึน ้ ตามความจำ�เป็น โดย PTTICT เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งให้บริการแก่ CHPP มาอย่างยาวนานและมีความเข้าใจใน ความต้องการของ CHPP เป็นอย่างดี ทำ�ให้ มัน ่ ใจได้วา่ จะให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยค่าใช้จ่ายดังกล่าวไม่สามารถเทียบเคียง กับราคาตลาดได้ แต่พจิ ารณาแล้วเห็นว่าค่าใช้ จ่ายดังกล่าวมีความคุ้มค่าต่อการดำ�เนินงาน ของ CHPP ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดัง กล่าวมีความสมเหตุสมผล
2.2.3 บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด (“BSA”)
BSA ประกอบธุรกิจบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Outsourcing) แบบครบวงจร ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทีบ่ ริษทั ถือหุน้ บุรมิ สิทธิอยูใ่ นสัดส่วน ร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BSA นอกจากนี้ บริษทั และ BSA ยังมีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่รายเดียวกัน ได้แก่ ปตท. ซึง่ ถือหุ้นสามัญทั้งหมดของ BSA โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BSA และ PTTGC ซึ่งถือหุ้น บุรมิ สิทธิ ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วของ BSA ขนาดของรายการ (ล้านบาท)
ลักษณะรายการ
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2556
ค่ า ใช้ จ่ า ยจ้ า งเหมาบริ ก าร จัดหาพนักงาน - ค่าใช้จ่ายสำ�หรับงวด - เจ้าหนี้คงค้าง
P- 198
งวดปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2557
-
รายการระหว่างกัน
0.49 0.09
ความจำ�เป็นและ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
CHPP ได้ว่าจ้าง BSA ในงานจ้างเหมา บริการจัดหาพนักงาน โดย BSA จะเป็นผูร้ บ ั จ้างจัดหาพนักงาน Outsource มาปฏิบัติ งานให้ ต รงตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ CHPP กำ�หนด ซึ่ง BSA จะคิดค่าจ้างเหมาบริการ ตามจำ�นวนบุคลากรที่ได้มาปฏิบัติงานให้ CHPP จริง โดยมีการเรียกเก็บอัตราค่าจ้าง บริการตามเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันระหว่าง CHPP และ BSA
รายการจ้างเหมาบริการจัดหาพนักงาน เป็ น รายการสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ แ ละเป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามความจำ � เป็ น และมี เงือ่ นไขและค่าบริการทีเ่ ทียบเคียงได้กบ ั ลูกค้า รายอืน ่ ของ BSA โดย BSA เป็นบริษท ั ร่วมของ บริ ษั ท ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นทรั พ ยากร บุคคล ดังนั้น จึงถือได้ว่ารายการดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ตอ่ บริษท ั และ CHPP
รายงานประจำ�ปี 2557
มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน กรณีทม ี่ รี ายการระหว่างกันของบริษท ั และ/หรือบริษท ั ย่อย กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้เสีย หรืออาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย่ วกับความจำ�เป็นในการเข้าทำ�รายการ และความเหมาะสมทางด้านราคาของรายการนั้นๆ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำ�เนินธุรกิจปกติใน อุตสาหกรรม และ/หรือ มีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภายนอก และ/หรือ ราคาตลาด และ/หรือ มีราคาหรือเงื่อนไขของ การทำ�รายการดังกล่าวในระดับเดียวกันกับบุคคลภายนอก และ/หรือ สามารถแสดงให้เห็นได้วา่ การทำ�รายการดังกล่าวนัน ้ มีการ กำ�หนดราคาหรือเงือ่ นไขทีส ่ มเหตุสมผลหรือเป็นธรรม หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มค ี วามชำ�นาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัท เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่าง กันดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี โดยมีแนวทางในการพิจาณาถึงความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของการเข้าทำ�รายการระหว่างกันที่สำ�คัญ ดังนี้
1.
2.
3.
รายการขายผลิตภัณฑ์หรือให้บริการ: เป็นรายการธุรกิจปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ โดยการกำ�หนดราคาและเงื่อนไข ทางการค้าต่างๆ จะต้องมีหลักเกณฑ์ในการกำ�หนดราคาและเงื่อนไข ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับลูกค้าทุกรายทั้งที่เกี่ยวข้อง กันและไม่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท (Arm’s length basis) รายการซื้อผลิตภัณฑ์หรือรับบริการ: เป็นรายการธุรกิจปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ซึ่งการตกลงราคาและเงื่อนไข ทางการค้าต่างๆ ระหว่างบริษัทกับคู่ค้านั้นจะต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับที่คู่ค้านั้นได้มีการกำ�หนดให้กับบุคคลอื่นๆ ที่ไม่ใช่บริษัทรวมทั้งการเข้าทำ�รายการดังกล่าวจะต้องไม่ทำ�ให้บริษัทเสียประโยชน์ รายการเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์: เป็นรายการที่อาจจะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราวตามความจำ�เป็นและเหมาะสม เช่น การเข้า ซื้อธุรกิจต่างๆ เพื่อขยายกิจการตามแผนการลงทุนและแผนการขยายธุรกิจของบริษัท โดยการเข้าทำ�รายการดังกล่าวให้ฝ่าย จัดการ และ/หรือ ผู้เชี่ยวชาญอิสระ (ตามแต่ความจำ�เป็นและเหมาะสม) เป็นผู้ประเมินและให้ความเห็นถึงความสมเหตุสม ผลของราคาและเงื่อนไขสำ�หรับการเข้าทำ�รายการดังกล่าว
สำ�หรับการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกันนั้น ผู้ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีส่วนได้เสียในการทำ�รายการจะไม่มี สิทธิออกเสียงในการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกันดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าการเข้าทำ�รายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัท หรือผู้ถือหุ้นของบริษัท แต่เป็นการทำ�รายการที่บริษัทได้คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ทุกราย ทั้งนี้ บริษัทจะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทใน รายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปีของบริษัท (แบบ 56-1) ภายหลังจากการเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว บริษัทต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขั้นตอนของสำ�นักงาน ก.ล.ต. คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการทำ�รายการระหว่างกัน รายการที่เกี่ยวโยงกัน และ การได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งทรัพย์สินภายใต้กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องของบริษัทจดทะเบียนอย่างเคร่งครัด นโยบายในการทำ�รายการระหว่างกัน
1. 2. 3. 4. 5. 6.
กรรมการและผู้บริหารของบริษัทจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสียของตนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องและแจ้งให้บริษัททราบ เพื่อใช้ เป็นข้อมูลสำ�หรับการดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้องกับการทำ�รายการระหว่างกัน หลีกเลี่ยงการทำ�รายการระหว่างกันที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในกรณีที่จำ�เป็นต้องทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทจะปฏิบัติตามขั้นตอนและการดำ�เนินการให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงหลักเกณฑ์ที่สำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด กำ�หนดราคาและเงื่อนไขของรายการระหว่างกันเสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s length basis) ซึ่งต้องเป็นธรรม สมเหตุสมผล และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทและผู้ถือหุ้นทุกราย กรณีที่ไม่มีราคาดังกล่าว บริษัทจะเปรียบเทียบราคา สินค้าหรือบริการกับราคาภายนอก ภายใต้เงื่อนไขที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน ผู้มีส่วนได้เสียกับการทำ�รายการระหว่างกันจะไม่สามารถอนุมัติหรือออกเสียงเพื่อลงมติในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ ในการพิจารณาการทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทอาจแต่งตั้งผู้ประเมินอิสระเพื่อทำ�การประเมินและเปรียบเทียบราคาสำ�หรับ รายการระหว่างกันที่สำ�คัญ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ารายการระหว่างกันดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นไปเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นทุกราย
รายการระหว่างกัน
P- 199
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
แนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต ในอนาคต หากมีการเข้าทำ�รายการระหว่างกัน บริษทั จะปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน สำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ การเข้าทำ�รายการ ดังกล่าวจะต้องไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทหรือผู้ถือหุ้นของบริษัท แต่ต้องเป็นการทำ�รายการที่บริษัทได้ คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นทุกราย ในกรณีที่เป็นรายการที่เกิดขึ้นเป็นปกติ และคาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต บริษัทจะดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์และแนวทาง ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามลักษณะการค้าโดยทั่วไป โดยอ้างอิงกับราคาและเงื่อนไขที่เหมาะสมและยุติธรรม สมเหตุสมผล สามารถตรวจ สอบได้ และการเข้าทำ�รายการดังกล่าวจะเป็นไปตามหลักการเกี่ยวกับข้อตกลงที่มีเงื่อนไขทางการค้าทั่วไปตามที่มีการอนุมัติจากที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ในการนี้ ฝ่ายจัดการจะมีการจัดทำ�รายการสรุปการเข้าทำ�ธุรกรรมดังกล่าวเพื่อรายงานในการประชุมคณะ กรรมการตรวจสอบทุกปี ในส่วนของการเปิดเผยรายการระหว่างกันของบริษัทจะเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่สำ�นักงาน ก.ล.ต. รวมทั้งตลาดหลัก ทรัพย์ฯ กำ�หนด อีกทั้งเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกันของสภาวิชาชีพบัญชี
P- 200
รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2557
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ บริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 เพื่อเป็นแกนนำ�ในการดำ�เนินธุรกิจ ไฟฟ้าของกลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Power Flagship) โดยประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และ สาธารณูปโภคต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทยังดำ�เนินธุรกิจในลักษณะการเข้าถือหุ้นในบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และสาธารณูปโภคต่างๆ รวมถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ทั้งในและต่างประเทศ
ภายหลังจากควบรวมกิจการ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 เป็นต้นมา บริษัทได้ดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจาก บริษัทต่างๆ ภายในกลุ่ม ปตท. ตามแผนธุรกิจ ซึ่งโรงไฟฟ้าภายใต้บริษัทต่างๆ ดังกล่าวบางส่วนได้เปิดดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วและบาง ส่วนอยู่ระหว่างก่อสร้าง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัทต้องถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (TFRIC 4) ว่าด้วยการ ประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ โดยหากเป็นสัญญาเช่าต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญา เช่ากับส่วนประกอบที่เป็นสัญญาเช่าในการจัดประเภทรายการและการบันทึกบัญชี ซึ่งเมื่อได้ทบทวนข้อตกลงของบริษัท แล้วพบว่าสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าของบริษัทที่ อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี (“โรงไฟฟ้าศรีราชา”) ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าตามโครงการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) เข้าเงื่อนไขว่าเป็นข้อตกลงที่ประกอบด้วยสัญญาเช่าการเงิน จึงต้องมีการนำ� TFRIC 4 มาถือปฏิบัติ ทำ�ให้ มีผลกระทบต่อสินทรัพย์และกำ�ไรสะสมของบริษัท โดยภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท IPP นั้น บริษัทจะได้รับรายได้ค่าไฟฟ้าที่สำ�คัญจากการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ดังนี้ 1) ค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment : AP) ซึ่งประกอบด้วย - APR1 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท สำ�หรับค่าก่อสร้างโรงงาน รวมถึงภาระเงินกู้และผลตอบแทนของบริษัท (Capacity Cost) - APR2 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษัท สำ�หรับค่าใช้จ่ายคงที่ในการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษา (Fixed O&M) 2) ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้รับตามปริมาณไฟที่จำ�หน่าย (Energy Payment : EP) เมื่อมีการนำ� TFRIC 4 มาถือปฏิบัติ สินทรัพย์หลักของโรงไฟฟ้าศรีราชาซึ่งเดิมบันทึกเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จะถูกบันทึก เป็นลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน และรายได้ในส่วนของ APR1 ของโรงไฟฟ้าศรีราชาที่จะได้รับจากการมีความพร้อมจ่ายไฟฟ้าตามสัญญา ซือ้ ขายไฟฟ้ากับ กฟผ. จากเดิมบันทึกเป็นรายได้จากการขายสินค้าและให้บริการทัง้ จำ�นวน จะเปลีย่ นเป็นบางส่วนรับรูเ้ ป็นรายได้จากสัญญา เช่าการเงิน และบางส่วนนำ�ไปปรับลดยอดลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินดังกล่าว นอกจากนั้น นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป บริษัทได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่ ประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชีเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่จะมีผลบังคับสำ�หรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป มาถือปฏิบัติ ทั้งนี้ งบการเงินตามกฎหมาย (Statutory Account) ในปัจจุบันของบริษัท ซึ่งประกอบด้วยงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่ 10 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2556 และงบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เป็นงบการเงินที่เริ่มจัดทำ� ตั้งแต่วันควบบริษัทและได้นำ� TFRIC 4 มาถือปฏิบัติแล้ว แต่ยังไม่ได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับสำ�หรับงบการเงิน ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป มาถือปฏิบัติ เนือ่ งจากการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวส่งผลกระทบต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษทั อย่างมีนยั สำ�คัญ โดยจากการตีความตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 เรือ่ งงบการเงินรวม มีผลทำ�ให้บริษัทเป็นบริษทั ย่อย ทางอ้อมของ ปตท. ดังนั้น การควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 และการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัท ร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัท ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2556 จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน บริษัทจึงได้จัดทำ�งบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งประกอบไปด้วย • งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ และงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 • งบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับรอบระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 • งบกำ�ไรขาดทุนรวม งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 201
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โดยงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะดังกล่าวได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินจำ�นวน 5 ฉบับ (“Pack 5”) ดังต่อไปนี้ มาถือ ปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 และได้ทำ�การปรับปรุงงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ • มาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) เรื่องงบการเงินเฉพาะกิจการ • มาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่องเงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า • มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม • มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 เรื่องการร่วมการงาน • มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น นอกจากนี้ เนื่องจากบริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 เพื่อให้มีข้อมูลเพียงพอและครบถ้วนต่อการ ตัดสินใจของนักลงทุนสำ�หรับการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานย้อนหลัง บริษัทจึงได้จัดทำ�ข้อมูลทางการเงินเสมือน ซึ่งประกอบด้วย • งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการเสมือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2556 และงบแสดงฐานะการเงินรวมเสมือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 • งบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการเสมือน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการเสมือน งบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการเสมือนสำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2556 • งบกำ�ไรขาดทุนรวมเสมือน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมเสมือน งบกระแสเงินสดรวมเสมือน สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยสามารถสรุปสมมติฐานและรายการปรับปรุงที่สำ�คัญในการจัดทำ�ข้อมูลทางการเงินเสมือนได้ ดังนี้ • เสมือนว่าบริษทั ได้เกิดขึน้ จากการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555 และเสมือนว่าเป็นการ รวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มบริษัทก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยู่ภายใต้การควบคุมของ ปตท. • เสมือนว่าบริษัทได้รวมงบการเงินของ PTTUT และ IPT สำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2556 และงบการเงินของบริษัทสำ�หรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อแสดงเป็น ข้อมูลทางการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 • บริษัทบันทึกปรับปรุงผลกระทบเพื่อให้เป็นไปตาม TFRIC 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ และ บันทึกรายการปรับปรุงในแต่ละงวดเพื่อให้เป็นไปตาม Pack 5 ในงบการเงินย้อนหลังประหนึ่งได้เริ่มใช้นับแต่วันเริ่มแรก • บริษทั รวมฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษทั ทีเ่ ข้าไปลงทุนตัง้ แต่วนั ทีซ่ อื้ กิจการ เนือ่ งจากไม่มผี ลกระทบต่อฐานะ การเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างมีสาระสำ�คัญ ทั้งนี้ ในการวิเคราะห์และอธิบายของฝ่ายจัดการเกี่ยวกับผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงิน จะมีการวิเคราะห์ถึงฐานะทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดดังนี้ • ในการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน บริษัทจะใช้ข้อมูลจากงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการเสมือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปรียบเทียบกับ งบแสดงฐานะการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 31 ธันวาคม 2557 • ในการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน บริษัทจะใช้ข้อมูลจากงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการเสมือน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปรียบเทียบกับงบกำ�ไรขาดทุนรวมเสมือน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และงบกำ�ไรขาดทุนรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 • ในการวิเคราะห์กระแสเงินสด บริษัทจะใช้ข้อมูลจากงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการเสมือน สำ�หรับปี 2555 งบกระแสเงินสด รวมเสมือน สำ�หรับปี 2556 และงบกระแสเงินสดรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปี 2557
P- 202
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ผูล้ งทุนควรพิจารณาข้อมูลทางการเงินเสมือนและงบการเงินเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะของบริษทั ทีแ่ นบไว้ในรายงานประจำ�ปีฉบับนีป้ ระกอบ การอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษทั ผูล้ งทุนควรอ่านหมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินเสมือน และหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของบริษัท ซึ่งมีการอธิบายถึงความเป็นมาในการจัดทำ�และสมมติฐานที่สำ�คัญใน การจัดทำ�เอกสารดังกล่าว ซึ่งในบางกรณี ฝ่ายจัดการของบริษัทจะต้องใช้ดุลยพินิจและการตัดสินใจในการประมาณการข้อสมมติฐานของ รายการทางธุรกิจนั้นๆ เพื่อให้การทำ�เอกสารดังกล่าวถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ทั้งนี้ ข้อสมมติฐานและรายการ ดังกล่าวอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะทางการเงินและผลประกอบการของบริษัท สรุปรายงานการสอบบัญชี (1) สรุปรายงานการให้ความเชื่อมั่นของผู้สอบบัญชีต่อการรวบรวมข้อมูลทางการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2556
ผู้สอบบัญชีโดยนายวัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 6333 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีที่ได้รับอนุญาตจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้เข้าปฏิบัติ งานเพื่อรายงานการจัดทำ�ข้อมูลทางการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2556 ซึ่งผู้สอบบัญชีของ บริษทั มีความเห็นว่าข้อมูลทางการเงินเสมือนนีไ้ ด้รวบรวมตามหลักเกณฑ์ทไี่ ด้อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงิน เสมือนในสาระสำ�คัญ
(2) สรุปรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตสำ�หรับงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557
รายงานของผู้สอบบัญชีสำ�หรับงบการเงินเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งตรวจสอบโดย นายวัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 6333 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ซึ่งเป็น ผูต้ รวจสอบบัญชีทไี่ ด้รบั อนุญาตจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้เข้าตรวจสอบงบการเงิน ดังกล่าวแล้วและมีความเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ กิจการของกลุ่มบริษัทและบริษัทตามลำ�ดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะ กิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสนิ้ สุดเดียวกัน โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระสำ�คัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นแบบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปต่องบการเงินเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ ผูส้ อบบัญชีขอให้สงั เกตเรือ่ งดังต่อไปนี้
(ก) งบการเงินนีจ้ ดั ทำ�ขึน้ เพือ่ ประกอบการยืน่ ขอทำ�คำ�เสนอขายหุน้ สามัญของบริษทั ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ ส่งผลให้งบการเงินนีอ้ าจจะไม่เหมาะสมสำ�หรับใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น (ข) งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวทางปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดย สภาวิชาชีพบัญชี ที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยกเว้นการถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานการเงินที่จะกล่าวต่อไป (ค) ในการจัดทำ�งบการเงินนี้ กลุม่ บริษทั ได้น�ำ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ ทีป่ ระกาศโดยสภาวิชาชีพ บัญชีเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่จะมีผลบังคับสำ�หรับงบการเงิน ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้น ไปดังที่กล่าวแล้วข้างต้นบางฉบับมาถือปฏิบัติก่อนวันที่ถือปฏิบัติ โดยกลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 และได้ทำ�การปรับปรุงงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ โดยการปฏิบัติตามมาตรฐาน รายงานทางการเงินดังกล่าวมีผลทำ�ให้การควบรวมกิจการและการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุม ร่วมกันถือเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มบริษัทก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยู่ภายใต้ การควบคุมของบริษทั ใหญ่ลำ�ดับสูงสุดแห่งหนึ่ง (ง) บริษัทได้จัดทำ�งบการเงินฉบับสมบูรณ์แยกต่างหากสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ที่เป็นไปตามมาตรฐาน การจัดทำ�รายงานทางการเงิน ซึง่ ผูส้ อบบัญชีได้ออกรายงานของผูส้ อบบัญชีแยกต่างหาก เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 203
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะทางการเงิน
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
งบการเงินรวม (Stat)*
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ล้านบาท
%
ล้านบาท
ณ 31 ธ.ค. 2557 %
ล้านบาท
%
ล้านบาท
ณ 31 ธ.ค. 2557 %
ล้านบาท
%
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
4,019
11.16%
6,390
14.74%
3,421
7.97%
6,390
14.59%
3,421
7.77%
197
0.55%
81
0.19%
182
0.42%
81
0.18%
182
0.41%
เงินลงทุนชั่วคราว
1,734
4.82%
825
1.90%
-
-
825
1.88%
-
-
ลูกหนี้การค้า
3,542
9.84%
4,999
11.53%
3,013
7.02%
4,999
11.41%
3,013
6.85%
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี
486
1.35%
429
0.99%
460
1.07%
-
-
108
0.25%
ลูกหนี้อื่น
575
1.60%
1,074
2.48%
467
1.09%
1,074
2.45%
467
1.06%
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันส่วนถึงกำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปี
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
369
1.02%
389
0.90%
359
0.84%
389
0.89%
359
0.82%
ภาษีมูลค่าเพิ่มขอคืน
11
0.03%
72
0.17%
15
0.04%
72
0.16%
15
0.04%
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
68
0.19%
233
0.54%
228
0.53%
233
0.53%
228
0.52%
30.55% 14,493
33.44%
8,146
18.97% 14,064
32.10%
7,794
17.75%
เงินฝากธนาคารที่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้
สินค้าคงเหลือ
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
11,001
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทร่วม
-
-
1,735
4.00%
2,639
6.15%
2,315
5.28%
3,219
7.31%
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน
-
-
1,149
2.65%
2,016
4.70%
1,381
3.15%
2,348
5.34%
เงินลงทุนระยะยาวอื่น
1
0.00%
1
0.00%
2,687
6.26%
1
0.00%
2,687
6.11%
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
7,818
21.71%
7,390
17.05%
6,929
16.14%
6,586
15.03%
6,586
14.97%
41.58% 20,082
45.64%
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
16,896
ค่าความนิยม
46.92% 18,178
41.94% 20,048
46.70% 18,217
-
-
-
-
-
-
353
0.81%
326
0.74%
17
0.05%
27
0.06%
73
0.17%
522
1.19%
568
1.29%
-
-
138
0.32%
138
0.32%
138
0.31%
138
0.31%
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
280
0.78%
235
0.54%
257
0.60%
235
0.54%
257
0.58%
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
25,012
67.90% 36,210
82.29%
รวมสินทรัพย์
36,013 100.00% 43,344 100.00% 42,932 100.00% 43,811 100.00% 44,004 100.00%
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้ในการดำ�เนินงาน
69.45% 28,851
หมายเหตุ : * งบ Stat หมายถึง งบการเงินตามกฎหมายของบริษัท (Statutory Account)
P- 204
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
66.56% 34,786
81.03% 29,747
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงฐานะทางการเงิน
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
งบการเงินรวม (Stat)*
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ล้านบาท
%
ล้านบาท
ณ 31 ธ.ค. 2557 %
ล้านบาท
%
ล้านบาท
ณ 31 ธ.ค. 2557 %
ล้านบาท
%
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
-
-
360
0.83%
-
-
360
0.82%
-
-
1,938
5.38%
3,112
7.18%
2,276
5.30%
3,112
7.10%
2,276
5.17%
978
2.72%
1,165
2.69%
999
2.33%
1,165
2.66%
999
2.27%
ภาษีเงินได้ค้างจ่าย
31
0.09%
-
-
-
-
-
-
-
-
เจ้าหนี้งานก่อสร้างโครงการยูทิลิตี้
11
0.03%
464
1.07%
194
0.45%
464
1.06%
194
0.44%
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
33
0.09%
28
0.07%
14
0.03%
28
0.06%
14
0.03%
2,224
6.17%
2,254
5.20%
1,595
3.71%
2,260
5.16%
1,595
3.62%
45
0.13%
673
1.55%
127
0.29%
673
1.54%
127
0.29%
5,260
14.61%
8,056
18.59%
5,203
12.12%
8,062
18.40%
5,203
11.82%
23.70% 11,197
25.45%
เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
เงิ นกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
12,447
34.56% 10,384
23.96% 11,197
26.08% 10,384
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
440
1.22%
443
1.02%
406
0.95%
268
0.61%
339
0.77%
ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
18
0.05%
23
0.05%
27
0.06%
23
0.05%
27
0.06%
-
-
77
0.18%
80
0.19%
77
0.18%
80
0.18%
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน
12,905
35.83% 10,927
25.21% 11,711
27.28% 10,751
24.54% 11,643
26.46%
รวมหนี้สิน
18,165
50.44% 18,983
43.80% 16,914
39.40% 18,813
42.94% 16,846
38.28%
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน
8,630
ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว
8,630
ส่วนเกินกว่ามูลค่าหุ้นสามัญ
11,237 14,983 23.96% 11,237
25.93% 11,237
11,237 14,983 26.17% 11,237
25.65% 11,237
25.54%
-
-
3,393
7.83%
3,393
7.90%
3,393
7.74%
3,393
7.71%
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นจากการรวมธุรกิจ
-
-
-
-
-
-
4,899
11.18%
4,899
11.13%
ส่วนลดทุนจากการรวมธุรกิจ
-
-
-
-
-
- (5,920) (13.51%) (5,920) (13.45%)
ส่ วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน
-
- (1,086) (2.51%) (1,197) (2.79%)
-
-
-
-
197
0.45%
344
0.78%
24.08% 12,262
27.87%
กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม
196 9,022
0.54%
196
25.05% 10,187
-
-
434
0.45%
344
23.50% 11,508 1.00%
733
0.80%
26.80% 10,548 1.71%
645
1.47%
944
2.14%
57.06% 27,158
61.72%
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
17,848
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
36,013 100.00% 43,344 100.00% 42,932 100.00% 43,811 100.00% 44,004 100.00%
49.56% 24,361
56.20% 26,018
60.60% 24,998
หมายเหตุ : * งบ Stat หมายถึง งบการเงินตามกฎหมายของบริษัท (Statutory Account)
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 205
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 งบกำ�ไรขาดทุน
ล้านบาท
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556 % ล้านบาท
งบการเงิน เสมือนรวม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
% ล้านบาท
% ล้านบาท
งบการเงินรวม (Stat)(2) สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
% ล้านบาท
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
% ล้านบาท
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
% ล้านบาท
%
รายได้ จากการขายสินค้า รายได้ และการให้บริการ
23,808 95.47% 25,446 95.96% 25,447 95.97% 24,841 95.96% 22,924 95.95% 24,471 94.92% 22,536 94.94%
รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน
817
3.28%
774
2.92%
774
2.92%
755
2.91%
730
3.06%
1,019
3.95%
966
4.07%
รายได้จากการขายไนโตรเจน
94
0.38%
107
0.40%
107
0.40%
107
0.41%
101
0.42%
107
0.42%
101
0.42%
218
0.87%
191
0.72%
189
0.71%
185
0.71%
135
0.57%
185
0.72%
135
0.57%
รายได้อื่น รวมรายได้
24,937 100.00% 26,518 100.00% 26,517 100.00% 25,888 100.00% 23,891 100.00% 25,782 100.00% 23,738 100.00%
ต้นทุนขายสินค้า และต้นทุนการให้บริการ
22,672 90.92% 24,235 91.39% 24,236 91.40% 23,649 91.35% 21,571 90.29% 23,063 89.46% 20,886 87.99%
ต้นทุนค่าไนโตรเจน
80
0.32%
101
0.38%
101
0.38%
101
0.39%
94
0.39%
101
0.39%
94
0.40%
ค่าใช้จ่ายในการขาย
6
0.02%
5
0.02%
5
0.02%
5
0.02%
9
0.04%
5
0.02%
9
0.04%
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
320
1.28%
283
1.07%
284
1.07%
276
1.07%
401
1.68%
303
1.18%
430
1.81%
น (กำ�ไร) ขาดทุ จากอัตราแลกเปลีย่ นสุทธิ
(29) (0.12%)
12
0.05%
20
0.08%
23
0.09%
8
0.03%
23
0.09%
8
0.03%
90
0.34%
90
0.34%
90
0.35%
-
-
90
0.35%
-
-
ผลเสียหายจากคดีความ รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนส่วนแบ่งกำ�ไร จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ต้นทุนทางการเงิน และค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
-
-
23,048 92.43% 24,726 93.24% 24,737 93.28% 24,144 93.27% 22,083 92.43% 23,585 91.48% 21,427 90.26% 1,888
7.57%
1,792
6.76%
1,781
6.72%
1,744
6.73%
1,808
7.57%
2,197
8.52%
2,311
9.74%
-
-
-
-
2
0.01%
2
0.01%
268
1.12%
2
0.01%
259
1.09%
ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงิน ลงทุนในบริษัทร่วมและ กิจการที่ควบคุมร่วมกัน กำ�ไรก่อนต้นทุนทาง การเงิน ค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย
2,906 11.65%
2,806 10.58%
2,799 10.55%
2,737 10.57%
3,118 13.05%
3,193 12.38%
3,618 15.24%
กำ �ไรก่อนต้นทุนทางการ เงินและค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้
1,888
7.57%
1,792
6.76%
1,783
6.72%
1,746
6.74%
2,076
8.69%
2,199
8.53%
2,570 10.83%
746
2.99%
617
2.32%
618
2.33%
601
2.32%
470
1.97%
595
2.31%
465
1.96%
1,142
4.58%
1,175
4.43%
1,165
4.39%
1,145
4.42%
1,606
6.72%
1,604
6.22%
2,106
8.87%
(99) (0.40%)
4
0.02%
4
0.02%
1
0.01%
27
0.12%
98
0.38%
135
0.57%
4.98%
1,171
4.42%
1,161
4.38%
1,144
4.42%
1,578
6.61%
1,505
5.84%
1,971
8.30%
4.98%
1,171
4.42%
1,166
4.40%
1,149
4.44%
1,581
6.62%
1,510
5.86%
1,973
8.31%
ต้นทุนทางการเงิน กำ�ไรก่อนค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับงวด
1,241
ส่วนของกำ�ไรสำ�หรับงวดที่เป็นของ ส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี �ำ นาจ ควบคุม กำ�ไรสำ�หรับงวด
P- 206
1,241
- 1,241
4.98%
- 1,171
4.42%
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
(5) (0.02%) 1,161
4.38%
(5) (0.02%) 1,144
4.42%
(3) (0.01%) 1,578
6.61%
(5) (0.02%) 1,505
5.84%
(2) (0.01%) 1,971
8.30%
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
755
% ล้านบาท
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
23,808 25,446 25,447 24,841 22,924 24,471 22,536 774
% ล้านบาท
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
รายได้ จากการขายสินค้า และการให้บริการ
774
% ล้านบาท
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
817
% ล้านบาท
งบการเงินรวม (Stat)(2)
งบกำ�ไรขาดทุน
รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน
% ล้านบาท
งบการเงิน เสมือนรวม
730
% ล้านบาท
966
1,019
รวม
24,625 26,220 26,221 25,596 23,654 25,490 23,502
ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุน การให้บริการ
22,672 24,235 24,236 23,649 21,571 23,063 20,886
กำ�ไรขั้นต้น
1,953
1,985
1,985
1,947
2,083
%
2,427
2,616
หมายเหตุ : (1) บริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2556 ดังนั้นงบการเงินของปี 2556 จึงเป็นงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556 (2) งบ Stat หมายถึง งบการเงินตามกฎหมายของบริษัท (Statutory Account)
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ งบกระแสเงินสด (ล้านบาท)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
งบการเงิน เสมือนรวม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินรวม (Stat)(2) สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรสำ�หรับงวด
1,241
1,171
1,161
1,144
1,578
1,505
1,971
ค่าเสือ่ มราคาและ ค่าตัดจำ�หน่าย
1,018
1,014
1,016
991
1,043
994
1,048
ดอกเบี้ยรับ
(172)
(167)
(168)
(165)
(110)
(165)
110)
เงินปันผลรับ
-
-
-
(0)
(0)
(0)
(0)
(กำ �ไร) ขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ น ทีย่ งั ไม่เกิดขึน ้ จริง
7
10
18
21
0
21
0
ผลเสียหายจากคดีความ
-
90
90
90
-
90
-
(กลับรายการ) สำ�รอง หนีส้ ญ ู และหนีส้ งสัยจะสูญ
-
(7)
(7)
(7)
1
(7)
1
บรายการ) สำ�รอง (กลั ค่าเผือ่ จากการลดลง ของมูลค่าสินค้าคงเหลือ
-
-
-
0
(0)
0
(0)
นจากการจำ�หน่าย ขาดทุ ทีด ่ น ิ อาคาร และอุปกรณ์
38
-
-
0
13
0
5
สำ �รองผลประโยชน์ พนักงาน
4
5
5
5
5
5
465
ต้นทุนทางการเงิน
746
617
618
601
470
595
465
-
-
-
-
-
26
28
(99)
4
4
1
27
98
135
รายการปรับปรุง
นจากการ ขาดทุ ด้อยค่าของค่าความนิยม (ผลประโยชน์) ภาษีเงินได้
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 207
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ งบกระแสเงินสด (ล้านบาท)
ส่ วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุน ในบริษท ั ร่วมและกิจการที่ ควบคุมร่วมกัน
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
งบการเงิน เสมือนรวม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินรวม (Stat)(2) สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
-
-
(2)
(2)
(268)
(2)
(259)
2,783
2,737
2,735
2,678
2,759
3,160
3,297
(1,203)
(1,489)
(1,491)
(1,789)
1,985
(1,789)
1,985
358
486
486
481
430
(1)
(107)
(286)
(535)
(534)
(544)
630
(544)
630
สินค้าคงเหลือ
10
16
27
31
28
31
28
ภาษีมูลค่าเพิ่มขอคืน
95
(46)
(47)
(1)
57
(1)
57
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
38
(131)
(129)
(113)
47
(113)
47
3
(1)
(1)
(1)
(11)
(1)
(11)
(360)
1,173
1,173
584
(836)
584
(836)
163
213
183
185
(288)
185
(288)
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
24
125
114
44
(97)
44
(97)
กพันผลประโยชน์ ภาระผู พนักงาน (จ่ายจริง)
(6)
(1)
(1)
(1)
-
(1)
-
-
-
(4)
(4)
3
(4)
3
เงิ นสดได้มาจากกิจกรรม ดำ�เนินงาน
1,619
2,547
2,511
1,552
4,709
1,552
4,709
ขอคืน (จ่าย) ภาษีเงินได้
6
8
8
-
(106)
-
(106)
1,625
2,555
2,519
1,552
4,603
1,552
4,603
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน ลูกหนี้การค้า ลู กหนีต ้ ามสัญญา เช่าการเงิน ลูกหนี้อื่น
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
เงิ นสดสุทธิได้มาจาก กิจกรรมดำ�เนินงาน
หมายเหตุ : (1) บริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2556 ดังนั้นงบการเงินของปี 2556 จึงเป็นงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556 (2) งบ Stat หมายถึง งบการเงินตามกฎหมายของบริษัท (Statutory Account)
P- 208
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ งบกระแสเงินสด (ล้านบาท)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
งบการเงิน เสมือนรวม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินรวม (Stat)(2) สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย
175
176
176
175
118
175
118
-
-
-
0
0
0
0
ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
(2)
(1)
(2)
(2)
(49)
(2)
(49)
ซื้ออาคารและอุปกรณ์
(435)
(363)
(363)
(358)
(3,082)
(358)
(3,082)
801
116
116
611
(102)
611
(102)
เงิ นสดจ่ายจากการลงทุน ในบริษท ั ย่อย
-
(1,436)
(914)
(914)
-
(914)
-
เงิ นสดจ่ายจากการลงทุน ในบริษท ั ร่วม
-
(590)
(2,316)
(2,316)
(884)
(2,316)
(884)
เงิ นสดจ่ายจากการลงทุน ในกิจการทีค ่ วบคุมร่วมกัน
-
(927)
(927)
(927)
(1,094)
(927)
(1,094)
เงินลงทุนระยะยาวอื่น
-
-
-
-
(2,896)
-
(2,896)
รับเงินคืนจากการลงทุน
-
-
-
-
210
-
210
เงิ นจ่ายให้เงินกูย้ ม ื ระยะสัน ้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน
-
(1,569)
(174)
(174)
-
(174)
-
เงิ นรับจากเงินกูย้ ม ื ระยะสัน ้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน
-
-
-
-
-
-
-
เงิ นจ่ายให้เงินให้กยู้ ม ื ระยะยาวแก่กจิ การที่ เกีย่ วข้องกัน
-
-
-
-
-
-
-
เงิ นรับจากเงินให้กยู้ ม ื ระยะยาวแก่กจิ การที่ เกีย่ วข้องกัน
-
-
-
-
-
-
-
เงินลงทุนชั่วคราว
429
1,049
909
925
825
925
825
เงิ นสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน
968
(3,545)
(3,495)
(2,978)
(6,953)
(2,978)
(6,953)
จ่ายดอกเบี้ย
(748)
(608)
(606)
(593)
(517)
(593)
(517)
จ่ายเงินปันผล
(14)
-
-
-
(112)
-
(112)
-
6,000
6,000
6,000
-
6,000
-
(1)
(2)
(2)
(1)
(135)
(1)
(135)
เงิ นรับจากเงินกูย้ ม ื ระยะสัน ้ จากสถาบันการเงิน
-
-
360
360
1,640
360
1,640
ชำ �ระคืนเงินกูย้ ม ื ระยะสัน ้ จากสถาบันการเงิน
-
-
-
-
(2,000)
-
(2,000)
รับเงินปันผล
เงิ นฝากธนาคารทีม ่ ี ข้อจำ�กัดในการเบิกใช้ (เพิม ่ ขึน ้ ) ลดลง
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
รับเงินค่าหุ้นเพิ่มทุน ค่ าใช้จา่ ยในการกูย้ ม ื เงิน จากสถาบันการเงิน
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 209
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ งบกระแสเงินสด (ล้านบาท)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
งบการเงิน เสมือนรวม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2556
สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
งบการเงินรวม (Stat)(2) สำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556(1) (ปรับปรุงใหม่)
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
สำ�หรับปีสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557
เงิ นสดจ่ายเงินกูย้ ม ื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน
-
-
(350)
(350)
-
(350)
-
เงิ นรับจากเงินกูย้ ม ื ระยะ ยาวจากสถาบันการเงิน
-
-
-
-
2,470
-
2,470
ชำ �ระคืนเงินกูย้ ม ื ระยะยาว จากสถาบันการเงิน
(1,666)
(2,055)
(2,055)
(1,875)
(2,266)
(1,875)
(2,266)
เงิ นสดรับค่าหุน ้ จากส่วนที่ ไม่มอี �ำ นาจควบคุมของ บริษท ั ย่อย
-
-
-
-
302
-
302
(2,429)
3,335
3,347
3,540
(619)
3,540
(619)
เงิ นสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดเพิม ่ ขึน ้ (ลดลง) สุทธิ
164
2,345
2,371
2,113
(2,969)
2,113
(2,969)
เงิ นสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดต้นงวด
3,855
4,019
4,019
4,277
6,390
4,277
6,390
เงิ นสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดปลายงวด
4,019
6,364
6,390
6,390
3,421
6,390
3,421
เงิ นสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
หมายเหตุ : (1) บริษัทเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2556 ดังนั้นงบการเงินของปี 2556 จึงเป็นงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ 10 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2556 (2) งบ Stat หมายถึง งบการเงินตามกฎหมายของบริษัท (Statutory Account)
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
ปี 2555(1)
อัตราส่วนทางการเงิน
ปี 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่
งบการเงินเสมือน รวมสิ้นสุดวันที่
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่
10 ม.ค. 2556 – 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
31 ธ.ค. 2556(2)
10 ม.ค. 2556 – 31 ธ.ค. 2556(2) (ปรับปรุงใหม่)
31 ธ.ค. 2557
31 ธ.ค. 2557
อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
2.09
2.20
2.20
1.56
1.80
1.80
1.57
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)
1.80
1.68
1.68
1.25
1.53
1.53
1.27
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)
0.31
0.41
0.25
0.75
0.31
0.19
0.69
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)(3)
6.83
6.11
5.97
5.90
5.25
5.12
5.90
53
59
61
61
69
71
61
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า)(4)
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)(4)
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
11.70
9.60
9.37
7.96
7.79
7.60
8.01
ระยะเวลาชำ�ระหนี้ (วัน)
31
38
39
46
47
48
45
Cash Cycle (วัน)
22
21
22
15
22
23
16
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า)(5)
P- 210
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
อัตราส่วนทางการเงิน
ปี 2555(1)
ปี 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่
งบการเงินเสมือน รวมสิ้นสุดวันที่
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่
10 ม.ค. 2556 – 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
31 ธ.ค. 2556(2)
10 ม.ค. 2556 – 31 ธ.ค. 2556(2) (ปรับปรุงใหม่)
31 ธ.ค. 2557
31 ธ.ค. 2557
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำ�ไร (Profitability ratio) อัตรากำ�ไรขั้นต้น (%)
7.93%
7.57%
7.61%
8.63%
7.57%
7.61%
8.81%
อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงาน (%)(6)
6.67%
6.50%
6.53%
7.03%
6.49%
6.53%
7.10%
อัตรากำ�ไรอื่น (%)(7)
0.99%
0.33%
0.32%
0.98%
0.30%
0.28%
0.53%
อัตราส่วนเงินสดต่อการทำ�กำ�ไร (%)(8)
99.02%
150%
94.98%
278.52%
147.99%
92.82%
274.04%
EBITDA Margin (%)
11.80%
10.70%
10.72%
12.37%
10.67%
10.69%
13.18%
อัตรากำ�ไรสุทธิ (%)
4.98%
4.42%
4.45%
5.82%
4.38%
4.42%
6.61%
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)
6.95%
5.46%
5.38%
5.40%
4.77%
4.69%
6.26%
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)
3.45%
2.96%
2.92%
3.31%
2.68%
2.64%
3.66%
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%)
8.96%
8.88%
8.71%
10.16%
8.36%
8.20%
9.79%
0.69
0.67
0.65
0.57
0.61
0.60
0.55
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า)
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
1.02
0.72
0.72
0.54
0.78
0.78
0.65
อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า)
3.05
5.15
3.65
10.83
5.09
3.59
10.85
อั ตราส่วนความสามารถชำ�ระภาระผูกพัน Cash basis (เท่า)(9)
0.57
0.34
0.22
0.42
0.33
0.21
0.36
1.16%
-
-
8.11%
-
-
7.12%
อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)
หมายเหตุ (1) เนื่องจากบริษัทจัดทำ�ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการสำ�หรับปี 2555 ถึงปี 2556 ดังนั้น การคำ�นวณอัตราส่วนทางการเงินสำ�หรับปี 2555 จึงไม่มีการใช้ค่าเฉลี่ยในการคำ�นวณ (2) เนื่องจากบริษัทจัดทำ�ข้อมูลทางการเงินเสมือนรวม และงบการเงินรวมตั้งแต่ปี 2556 ดังนั้น การคำ�นวณอัตราส่วนทางการเงินสำ�หรับปี 2556 จึงไม่มีการใช้ค่าเฉลี่ยในการคำ�นวณ (3) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า คำ�นวณมาจาก (รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ + รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน)/ ลูกหนี้การค้าก่อนหนี้สงสัยจะสูญ (4) เนื่องจากรายการสินค้าคงเหลือตามงบแสดงฐานะทางการเงินของบริษัทนั้น ประกอบด้วยพัสดุคงคลังเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ และระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย จึงมิได้แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างแท้จริง (5) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ คำ�นวณมาจาก ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ/ เจ้าหนี้การค้าเฉลี่ย (6) อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงาน คำ�นวณมาจาก กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน/ (รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ + รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน) โดยที่กำ�ไรจากการดำ�เนินงานคำ�นวณ มาจาก (รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ + รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน + รายได้จากการขายไนโตรเจน) – (ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ + ต้นทุนค่าไนโตรเจน + ค่าใช้จ่ายในการขาย + ค่าใช้จ่ายในการบริหาร) (7) อัตรากำ�ไรอื่น คำ�นวณมาจาก (รายได้อื่น – กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ – ผลเสียหายจากคดีความ)/ รายได้รวม (8) อัตราส่วนเงินสดต่อการทำ�กำ�ไร คำ�นวณมาจาก เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน/ กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน (9) อัตราส่วนความสามารถชำ�ระภาระผูกพัน คำ�นวณมาจาก เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน/ (ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน + ซื้ออาคารและอุปกรณ์ + เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัท ย่อย + เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริษัทร่วม + เงินสดจ่ายจากการลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน +เงินลงทุนระยะยาวอื่น +เงินจ่ายให้เงินกู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน + เงินจ่าย ให้เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน + จ่ายดอกเบี้ย + จ่ายเงินปันผล + ชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน + เงินสดจ่ายเงินกู้ยืมกิจการที่เกี่ยวข้องกัน + ชำ�ระคืนเงิน กู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน)
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 211
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ แนวทางการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงิน
เนือ่ งจากบริษทั ได้เริม่ จัดทำ�งบการเงินเมือ่ วันที่ 10 มกราคม 2556 ซึง่ เป็นวันทีบ่ ริษทั เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และ IPT รวมทั้งเริ่มดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าจากบริษัทต่างๆ ภายในกลุ่ม ปตท. ในเดือนธันวาคม 2556 ทำ�ให้มี การเริ่มจัดทำ�งบการเงินรวมตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2556 และเริ่มใช้มาตรฐานบัญชีใหม่ได้แก่ 1) TFRIC 4 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2557 และ 2) Pack 5 เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2558 บริษทั จึงได้มกี ารจัดทำ�งบการเงินเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะสำ�หรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และข้อมูลทางการเงินเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2556 รวมทั้งปรับปรุงผลกระทบจาก TFRIC 4 และ Pack 5 ในข้อมูลทางการเงินดังกล่าวย้อนหลังประหนึ่งได้เริ่มใช้มาตรฐานดังกล่าว นับแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้าง ต้น เพื่อให้นักลงทุนเข้าใจถึงแนวโน้มการดำ�เนินธุรกิจ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงิน กับงบการเงินปี 2557 ได้ ทั้งนี้ บริษัทได้จัดทำ�การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงินดังนี้ • ในการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน บริษทั จะใช้ขอ้ มูลจากงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการเสมือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปรียบเทียบกับ งบแสดงฐานะการเงินรวม เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 31 ธันวาคม 2557 • ในการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน บริษทั จะใช้ขอ้ มูลจากงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการเสมือน สำ�หรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปรียบเทียบกับงบกำ�ไรขาดทุนรวมเสมือนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และงบกำ�ไรขาดทุนรวม เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 • ในการวิเคราะห์กระแสเงินสด บริษทั จะใช้ขอ้ มูลจากงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการเสมือนสำ�หรับปี 2555 งบกระแสเงินสดรวม เสมือนสำ�หรับปี 2556 และงบกระแสเงินสดรวม เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปี 2557 ภาพรวมผลการดำ�เนินงานที่ผ่านมา
ปัจจุบนั รายได้หลักของกลุม่ บริษทั มาจากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้� ำ และสาธารณูปโภคต่างๆ ให้แก่ลกู ค้าหลัก 2 กลุม่ คือ (1) กฟผ. กฟภ. และกฟน. ซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐ และ (2) ลูกค้าอุตสาหกรรม โดยรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. กฟภ. และ กฟน. นั้นจะ เป็นรายได้ที่ค่อนข้างมีความแน่นอน เนื่องจากเป็นการซื้อขายภายใต้สัญญาซื้อขายระยะยาวที่มีการกำ�หนดปริมาณและสูตรราคารับซื้อที่ แน่นอน อย่างไรก็ดี ในส่วนของรายได้จากการจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้� ำ และสาธารณูปโภค ให้แก่ลกู ค้าอุตสาหกรรม ถึงแม้วา่ จะมีการทำ�สัญญา ระยะยาวทีม่ กี ารกำ�หนดปริมาณรับซือ้ ขัน้ ต่ำ�และสูตรราคาทีแ่ น่นอน แต่รายได้จากลูกค้าอุตสาหกรรมบางส่วนอาจแปรผันไปตามการผลิต และการหยุดซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักรของลูกค้าอุตสาหกรรม นอกจากนี้ บริษัทมีการขยายธุรกิจโดยการเข้าลงทุนในธุรกิจผลิตและ จำ�หน่ายไฟฟ้าต่างๆ โดยในปี 2556 บริษทั ได้ด�ำ เนินการซือ้ หุน้ ในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าทัง้ ในและต่างประเทศจากบริษทั ต่างๆ ภายใน กลุ่ม ปตท. ซึ่งโรงไฟฟ้าภายใต้บริษัทต่างๆ ดังกล่าวบางส่วนได้เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์แล้วและบางส่วนอยู่ระหว่างก่อสร้าง ส่งผลให้ รายได้ของกลุม่ บริษทั ในอนาคตจะเติบโตขึน้ อย่างเป็นลำ�ดับตามการทยอยรับรูร้ ายได้จากบริษทั ต่างๆ ทีบ่ ริษทั ได้เข้าลงทุนอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2556 บริษัทมีรายได้รวมเท่ากับ 26,517 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.34 จาก 24,937 ล้านบาท ในปี 2555 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการขายไฟฟ้าเป็นสำ�คัญ ซึ่งส่งผลให้บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้นเท่ากับ 1,985 ล้านบาทเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 จาก 1,953 ล้านบาท ในปี 2555 อย่างไรก็ตามแม้ว่ากำ�ไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นและต้นทุนทางการเงินลดลงจากการชำ�ระคืนเงินกู้ แต่เนื่องจาก บริษัทมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนและผลเสียหายจากคดีความระหว่างบริษัทและ กฟผ. ที่เกิดจากการตีความตามสัญญาที่ไม่ตรง กัน ซึ่งอนุญาโตตุลาการได้มีคำ�ชี้ขาดแล้วในปี 2556 รวมทั้งมีค่าใช้จ่ายทางภาษีเพิ่มขึ้นส่งผลให้ปี 2556 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิเท่ากับ 1,166 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6.03 จาก 1,241 ล้านบาท ในปี 2555 ในปี 2557 บริษัทมีรายได้รวมเท่ากับ 23,891 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 9.92 จาก 26,517 ล้านบาท ในปี 2556 โดยสาเหตุหลักมา จากการลดลงของรายได้ค่าพลังงานไฟฟ้าตามสัญญา IPP เนื่องจาก กฟผ. สั่งให้โรงไฟฟ้าศรีราชาจ่ายไฟฟ้าในปริมาณที่ต่ำ�กว่าปริมาณ ตามสัญญาหรือสั่งให้หยุดผลิตไฟฟ้าเป็นบางช่วง อย่างไรก็ตาม จากการสั่งลดปริมาณการผลิตหรือสั่งหยุดผลิตไฟฟ้าดังกล่าว ส่งผลให้ ต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติที่ขึ้นอยู่กับปริมาณการผลิต และค่าซ่อมบำ�รุงรักษาเครื่องจักรตามสัญญาซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาวซึ่งจ่ายตาม ชั่วโมงการเดินเครื่อง ลดลงเช่นเดียวกัน ดังนั้นจึงไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อกำ�ไรของบริษัท ประกอบกับการที่โรงผลิตสาธารณูปการ ระยองมีสัดส่วนการขายไอน้ำ�เพิ่มขึ้น ส่งผลให้กำ�ไรขั้นต้นในปี 2557 เท่ากับ 2,083 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.96 เมื่อเทียบกับ 1,985 ล้านบาท ในปี 2556 ประกอบกับมีส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันเพิ่มขึ้น รวมทั้งต้นทุนทางการ เงินที่ลดลงจากการชำ�ระคืนเงินกู้ ส่งผลให้กำ�ไรสุทธิส่วนของบริษัทใหญ่ ในปี 2557 เท่ากับ 1,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.58 เมื่อ เทียบกับ 1,166 ล้านบาท ในปี 2556
P- 212
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
เมื่อพิจารณาฐานะทางการเงินของกลุ่มบริษัทพบว่า ณ สิ้นปี 2556 บริษัทมีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 43,344 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.36 จาก 36,013 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการรวมที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทย่อยเข้างบการเงิน รวมของบริษัท และการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนซึ่งเกิดจากการลงทุนตามแผนขยายธุรกิจของบริษัท ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของเงินสดคง เหลือจากการเพิม่ ทุน ซึง่ เตรียมไว้ส�ำ หรับการลงทุนในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า รวมทัง้ ธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งตามแผนขยายธุรกิจของบริษทั โดย ณ สิ้นปี 2557 บริษัทมีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 42,932 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับ 43,344 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 ณ สิ้นปี 2555 2556 และ 2557 บริษัทมีหนี้สินรวมจำ�นวน 18,165 ล้านบาท 18,983 ล้านบาท และ 16,914 ล้านบาท ตาม ลำ�ดับ โดยหนี้สินรวมของบริษัท ณ สิ้นปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.50 จาก ณ สิ้นปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเจ้า หนี้การค้าของบริษัท ในขณะที่ ณ สิ้นปี 2557 ลดลงร้อยละ 10.90 จาก ณ สิ้นปี 2556 สาเหตุหลักมาจากการชำ�ระคืนเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงิน และจากการลดลงของเจ้าหนี้การค้าของบริษัท ณ สิ้นปี 2555 2556 และ 2557 บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นจำ�นวน จำ�นวน 17,848 ล้านบาท 24,361 ล้านบาท และ 26,018 ล้าน บาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.50 จากสิ้นปี 2555 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.80 จากสิ้นปี 2556 โดยสาเหตุ ของการเพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของกำ�ไรสุทธิของกลุ่มบริษัทจากผลประกอบการที่ดีขึ้นในแต่ละปี ทั้งนี้ สำ�หรับปี 2556 มี การเพิ่มขึ้นมากเนื่องจากการเพิ่มทุนในเดือนธันวาคม 2556 ประมาณ 6,000 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วย ทุนชำ�ระแล้วประมาณ 2,607 ล้านบาท และส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญจำ�นวนประมาณ 3,393 ล้านบาท วิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน รายได้
กลุม่ บริษทั ประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้� ำ และสาธารณูปโภคต่างๆ โดยมีสนิ ทรัพย์หลักทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ คือโรงไฟฟ้าศรีราชา ซึ่งมีสัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท IPP กับ กฟผ. จำ�นวน 700 เมกะวัตต์ และโรงผลิตสาธารณูปการจำ�นวน 3 แห่ง ที่ อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง (“โรงผลิตสาธารณูปการระยอง”) ซึง่ ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้� ำ และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม ให้กบั ลูกค้า อุตสาหกรรม อีกทั้งมีการจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนเกินให้กับ กฟผ. ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กในรูปแบบ Non-Firm (จำ�นวน 2 ฉบับ รวม 100 เมกะวัตต์) เพื่อเป็นการสร้างรายได้ส่วนเพิ่มและรักษาสมดุลของการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ� (Balance Load) ในกรณีที่ลูกค้าอุตสาหกรรมมีความต้องการใช้ไอน้ำ�สูง ทั้งนี้ ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท IPP บริษัทจะได้รับรายได้ค่าไฟฟ้าที่สำ�คัญจากการจำ�หน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ดังนี้ 1) ค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment : AP) ซึ่งประกอบด้วย • APR1 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษทั สำ�หรับค่าก่อสร้างโรงงาน รวมถึงภาระเงินกูแ้ ละผลตอบแทนของบริษทั (Capacity Cost) ซึ่งบริษัทบันทึกเป็นรายได้จากสัญญาเช่าการเงิน • APR2 : ค่าตอบแทนที่ กฟผ. จ่ายให้แก่บริษทั สำ�หรับค่าใช้จา่ ยคงทีใ่ นการเดินเครือ่ งและบำ�รุงรักษา (Fixed O&M) ซึง่ บริษทั บันทึก เป็นรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ 2) ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้รับตามปริมาณไฟที่จำ�หน่าย (Energy Payment : EP) ซึ่งบริษัทบันทึกเป็นรายได้จากการขายสินค้าและการ ให้บริการ โดยทีภ่ ายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมจะมีรายได้คา่ ไฟฟ้าทีอ่ งิ กับสูตรราคาของ กฟภ. ในขณะทีส่ ญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า แบบ Non-Firm กับ กฟผ. จะมีเฉพาะรายได้ค่าพลังงานไฟฟ้าซึ่งเป็นไปตามอัตราที่ กฟผ. ประกาศ ดังนั้น รายได้หลักของกลุ่มบริษัทประกอบไปด้วย (1) รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ซึ่งได้แก่ (ก) รายได้ค่า APR2 และ EP (ข) รายได้คา่ ไฟฟ้าจากลูกค้าอุตสาหกรรม และ (ค) รายได้จากการขายไอน้� ำ น้�ำ เย็น และน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม ให้ลกู ค้าอุตสาหกรรม และ (2) รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน ซึง่ ได้แก่รายได้คา่ APR1 จากสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าประเภท IPP เนือ่ งมาจากการทีบ่ ริษทั ได้น� ำ TFRIC 4 มาถือปฏิบัติ ดังรายละเอียดที่กล่าวไว้แล้วข้างต้น ในปี 2556 บริษัทมีรายได้รวมเท่ากับ 26,517 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.34 จาก 24,937 ล้านบาท ในปี 2555 ในขณะที่ในปี 2557 บริษัทมีรายได้รวมเท่ากับ 23,891 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 9.92 จากปี 2556 สาเหตุหลักมาจากการเปลี่ยนแปลงของรายได้จาก การขายสินค้าและการให้บริการ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 213
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการถือเป็นรายได้หลักของบริษัท โดยในปี 2555 2556 และ 2557 มีมูลค่าเท่ากับ 23,808 ล้านบาท 25,447 ล้านบาท และ 22,924 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 95.47 ร้อยละ 95.97 และร้อยละ 95.95 ของรายได้ รวม ตามลำ�ดับ โดยรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการในปี 2556 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.89 จากปี 2555 จากการเพิ่มขึ้นของราย ได้จากการขายไฟฟ้าเป็นหลัก ในขณะที่ ในปี 2557ลดลงร้อยละ 9.92 จากปี 2556 จากการลดลงของรายได้คา่ พลังงานไฟฟ้าตามสัญญา IPP เนื่องจาก กฟผ. สั่งให้โรงไฟฟ้าศรีราชาจ่ายไฟฟ้าในปริมาณที่ต่ำ�กว่าปริมาณตามสัญญาหรือสั่งให้หยุดผลิตไฟฟ้าเป็นบางช่วง แต่มี รายได้จากโรงผลิตสาธารณูปการระยองเพิ่มขึ้น และมีการรับรู้รายได้จากการขายน้ำ�เย็นของ CHPP เข้างบการเงินรวมในฐานะบริษัทย่อย ตารางแสดงรายละเอียดรายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2555 ผลิตภัณฑ์/บริการ
2556
งบการเงินเฉพาะ กิจการเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวมเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2556
2557
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
17,936
75.34%
19,370
76.12%
15,828
69.57%
19,370
76.12%
15,828
69.04%
6,868
28.85%
7,374
28.98%
7,653
33.64%
7,374
28.98%
7,653
33.38%
11,068
46.49%
11,996
47.14%
8,175
35.93%
11,996
47.14%
8,175
35.66%
5,596
23.50%
5,806
22.82%
6,644
29.20%
5,806
22.82%
6,644
28.98%
276
1.16%
270
1.06%
280
1.23%
270
1.06%
280
1.22%
-
-
-
-
-
-
1
0.00%
173
0.76%
1. รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการรวม 1.1 รายได้จากไฟฟ้าแบ่งตามโรงไฟฟ้า:
โรงผลิตสาธารณูปการระยอง
โรงไฟฟ้าศรีราชา*
1.2 ไอน้ำ� 1.3 น้ำ�เพื่อการอุตสาหกรรม 1.4 น้ำ�เย็น
รวมรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการรวม 23,808 100.00%
25,446 100.00%
22,752 100.00%
25,447 100.00%
22,924 100.00%
ตารางแสดงรายละเอียดรายได้รวม 1. รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการรวม 2. รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน 3. รายได้จากไนโตรเจน 4. รายได้อื่น รายได้รวม
23,808
95.47%
25,446
95.96%
22,752
95.49%
25,447
95.97%
22,924
95.95%
817
3.28%
774
2.92%
730
3.07%
774
2.92%
730
3.06%
94
0.38%
107
0.40%
101
0.42%
107
0.40%
101
0.42%
218
0.87%
191
0.72%
243
1.02%
189
0.71%
135
0.57%
24,937 100.00%
5. ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน
-
26,518 100.00%
23,826 100.00%
26,517 100.00%
23,891 100.00%
-
-
-
-
-
2
0.01%
268
1.12%
หมายเหตุ : * ตารางแสดงรายละเอียดรายได้จากไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าศรีราชา
1. AP
325
2.94%
352
2.94%
318
3.89%
352
2.94%
318
3.89%
2. EP
10,695
96.63%
11,593
96.64%
7,825
95.72%
11,593
96.64%
7,825
95.72%
48
0.43%
51
0.42%
32
0.39%
51
0.42%
32
0.39%
3. เงินรับเพื่อนำ�ส่งกองทุนพัฒนาไฟฟ้า* 4. รวมรายได้จากไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าศรีราชา
P- 214
11,068 100.00%
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
11,996 100.00%
8,175 100.00%
11,996 100.00%
8,175 100.00%
รายงานประจำ�ปี 2557
รายได้จากการขายไฟฟ้า
รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2555 2556 และ 2557 มีจำ�นวน 17,936 ล้านบาท 19,370 ล้านบาท และ 15,828 ล้านบาท ตาม ลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 75.34 ร้อยละ 76.12 และร้อยละ 69.04 ของรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการรวมในแต่ละปี ตามลำ�ดับ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากค่าพลังงานไฟฟ้าจากการขายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. โดยรายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.00 จาก ปี 2555 ในขณะที่ในปี 2557 ลดลงร้อยละ 18.29 จากปี 2556 จากเหตุผลหลักดังนี้
ปี 2555 เทียบปี 2556 • ในปี 2556 โรงผลิตสาธารณูปการระยองมีรายได้จากการขายไฟฟ้าเท่ากับ 7,374 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.37 จาก 6,868 ล้านบาท ในปี 2555 เนื่องจากมีปริมาณการขายไฟฟ้าที่ 2,232 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.03 จาก 2,188 กิกะวัตต์-ชัว่ โมง (Gwh) ในปี 2555 โดยมีราคาค่าไฟฟ้าเฉลีย่ ในปี 2556 เท่ากับ 3.30 บาทต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.23 จาก 3.14 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง ในปี 2555 เนื่องจากลูกค้าของบริษัทมีการขยายการผลิตและรับซื้อไฟฟ้าจากบริษัท เพิม่ มากขึน้ และลูกค้าบางรายกลับมารับซือ้ ไฟฟ้าได้ตามปกติ ประกอบกับราคาค่า Ft เฉลีย่ ในปี 2556 ปรับสูงขึน้ กว่าปี 2555 • ในปี 2556 โรงไฟฟ้าศรีราชามีปริมาณการส่งไฟฟ้าให้ กฟผ. ที่ 5,133 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.14 จาก จำ�นวน 4,836 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) ในปี 2555 ส่งผลให้รายได้จากการขายไฟฟ้าในปี 2556 เท่ากับ 11,996 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.38 จาก 11,068 ล้านบาท ในปี 2555 เนือ่ งจากในปี 2555 โรงไฟฟ้าศรีราชามีการหยุดดำ�เนินการเครือ่ งจักร บางตัวเป็นระยะเวลาประมาณ 2 เดือนเพื่อซ่อมแซมและตรวจสอบความพร้อม และสามารถกลับมาดำ�เนินการได้ตามปกติ ภายหลังจากการหยุดซ่อมดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและได้ดำ�เนินการแก้ไขรวมทั้งป้องกันปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคตเรียบร้อยแล้ว
ปี 2556 เทียบปี 2557 • ในปี 2557 โรงผลิตสาธารณูปการระยองมีรายได้จากการขายไฟฟ้าเท่ากับ 7,653 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.78 จาก 7,374 ล้านบาท ในปี 2556 ตามที่มีปริมาณการขายไฟฟ้าที่ 2,242 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.46 จาก 2,232 กิกะวัตต์-ชัว่ โมง (Gwh) ในปี 2556 โดยมีสาเหตุหลักมาจากลูกค้ามีความต้องการไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ และมีการจำ�หน่ายไฟฟ้าส่วนเกินให้ กฟผ. เพิ่มขึ้นจากการผลิตไฟฟ้าเพื่อให้สมดุลกับความต้องการไอน้ำ�ที่เพิ่มขึ้นของลูกค้าบางราย รวมทั้งราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ยใน ปี 2557 เท่ากับ 3.41 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.30 จาก 3.30 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง ในปี 2556 เพราะ ค่า Ft และอัตราค่าไฟฟ้าที่ กฟผ. ประกาศปรับสูงขึ้น • ในปี 2557 โรงไฟฟ้าศรีราชามีรายได้จากการขายไฟฟ้าเท่ากับ 8,175 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 31.85 จาก 11,996 ล้านบาท ในปี 2556 จากการที่มีปริมาณการส่งไฟฟ้าให้ กฟผ. ในปี 2557 ที่ 3,168 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) ซึ่งลดลงถึงร้อยละ 38.28 จาก 5,133 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (Gwh) โดยมีสาเหตุหลักมาจากในปี 2557 มีช่วงระยะเวลาหยุดซ่อมเครื่องจักรตาม แผนบำ�รุงรักษา ซึ่งใช้ระยะเวลายาวกว่าระยะเวลาหยุดซ่อมเครื่องจักรตามแผนบำ�รุงรักษาในปี 2556 อีกทั้ง กฟผ. สั่งให้ โรงไฟฟ้าศรีราชาจ่ายไฟฟ้าในปริมาณครึ่งหนึ่งของปริมาณตามสัญญาหรือสั่งให้โรงไฟฟ้าศรีราชาหยุดผลิตไฟฟ้าเป็นบางช่วง
รายได้จากการขายไอน้ำ�
รายได้จากการขายไอน้� ำ (ซึง่ เป็นการขายไอน้�ำ ให้แก่ลกู ค้าอุตสาหกรรมของโรงผลิตสาธารณูปการระยองเท่านัน้ ) ในปี 2555 2556 และ 2557 มีมูลค่าเท่ากับ 5,596 ล้านบาท 5,806 ล้านบาท และ 6,644 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 23.50 ร้อยละ 22.82 และ ร้อยละ 28.98 ของรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการรวมในแต่ละปีตามลำ�ดับ โดยมีรายละเอียดและสาเหตุของการเปลีย่ นแปลง ดังนี้ ปี 2555 เทียบปี 2556 ในปี 2556 รายได้จากการขายไอน้�ำ เท่ากับ 5,806 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.75 จาก 5,596 ล้านบาท ในปี 2555 เนือ่ งจากราคาเฉลีย่ ในปี 2556 เท่ากับ 1,291 บาทต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.84จาก 1,256 บาทต่อตัน ในปี 2555 ตามกลไกราคาขายไอน้ำ�ที่อิงกับราคา ก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก ประกอบกับปริมาณการขายไอน้�ำ ในปี 2556 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.88 จาก 4,456 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 4,496 ล้าน ตัน ในปี 2556 ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากการทีล่ กู ค้าของบริษทั บางรายกลับมาซือ้ ไอน้�ำ ได้ตามปกติหลังจากการหยุดซ่อมแซม (Turnaround) ตาม แผนในปี 2555 แม้วา่ ลูกค้าบางรายจะลดปริมาณการซือ้ ไอน้�ำ ลงจากการปรับกระบวนการผลิตก็ตาม ปี 2556 เทียบปี 2557 ในปี 2557 รายได้จากการขายไอน้�ำ เท่ากับ 6,644 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 14.42 จาก 5,806 ล้านบาท ในปี 2556 เนือ่ งจากมีปริมาณ การขายไอน้�ำ เท่ากับ 4,981 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.80 จากปริมาณการขายไอน้� ำ 4,496 ล้านตัน ในปี 2556 เนือ่ งจากลูกค้าของบริษทั บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 215
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
มีการปรับแผนการผลิตและทำ�ให้ความต้องการไอน้�ำ จากบริษทั เพิม่ มากขึน้ และราคาเฉลีย่ ในปี 2557 เท่ากับ 1,334 บาทต่อตัน เพิม่ ขึน้ ร้อย ละ 3.27 จาก 1,291 บาทต่อตัน ในปี 2556 ตามกลไกราคาขายไอน้�ำ ทีอ่ งิ กับราคาก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก นอกจากรายได้จากการขายไฟฟ้าและไอน้�ำ ซึง่ เป็นส่วนประกอบหลักของรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ บริษทั ยังมีรายได้จากการ ขายน้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรมให้แก่ลกู ค้าอุตสาหกรรมของบริษทั และบริษทั ย่อยอีกด้วย รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน
เพือ่ ให้เป็นไปตาม TFRIC 4 บริษทั จึงทำ�การปรับวิธกี ารลงบัญชีส�ำ หรับค่า APR1 ของโรงไฟฟ้าศรีราชา ตามรายละเอียดทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น โดยในปี 2555 2556 และ 2557 บริษทั รับรูร้ ายได้จากสัญญาเช่าการเงินทีไ่ ด้รบั จากการคำ�นวณค่า APR1 เป็นจำ�นวน 817 ล้านบาท 774 ล้านบาท และ 730 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 3.28 ร้อยละ 2.92 และร้อยละ 3.06 ของรายได้รวมในแต่ละปี ตามลำ�ดับ โดยรายได้ จากสัญญาเช่าการเงินลดลงอย่างต่อเนือ่ งร้อยละ 5.30 และ ร้อยละ 5.59 ในปี 2556 และ ปี 2557 ตามลำ�ดับ ตามมูลค่าคงเหลือของลูกหนี้ ตามสัญญาเช่าการเงินทีล่ ดลงจากการจ่ายชำ�ระ นอกจากรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ และรายได้จากสัญญาเช่าการเงิน ซึง่ เป็นรายได้หลักแล้ว บริษทั ยังมีรายได้จากการขาย ไนโตรเจนให้ลกู ค้าอุตสาหกรรม และรายได้อน่ื ซึง่ ส่วนใหญ่มาจาก (1) รายได้ดอกเบีย้ รับ (2) รายได้ทเ่ี กิดจากการลงทุนในบริษทั ต่างๆ ได้แก่ รายได้เงินปันผลซึง่ เริม่ ทยอยรับรูเ้ พิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ตามแผนเริม่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ของโครงการต่างๆ และ (3) รายได้อน่ื ๆ เช่น รายได้คา่ เช่า โครงสร้างสำ�หรับวางท่อส่งผลิตภัณฑ์ (Pipe Rack) รายได้จากการส่งพนักงานไปประจำ�บริษทั ในเครือ (Secondment) และค่าใบรับรองคุณภาพน้� ำ ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ
ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการหลักของบริษทั ได้แก่ ต้นทุนวัตถุดบิ โดยในปี 2555 2556 และ 2557 มีตน้ ทุนขายสินค้าและต้นทุน การให้บริการเท่ากับ 22,672 ล้านบาท 24,236 ล้านบาท และ 21,571 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 92.07 ร้อยละ 92.43 และ ร้อยละ 91.19 ของรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการและรายได้จากสัญญาเช่าการเงินในแต่ละปี ตามลำ�ดับ (รายละเอียดตามตาราง ด้านล่าง) และเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.90 ในปี 2556 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการผลิตไฟฟ้าและราคาค่าก๊าซธรรมชาติซง่ึ เป็นต้นทุนวัตถุดบิ ในขณะทีล่ ดลงร้อยละ 11.00 ในปี 2557 จากการลดลงของการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าศรีราชาตามเหตุผลทีก่ ล่าวไว้ในส่วน รายได้จากการขายไฟฟ้า แม้วา่ ราคาค่าก๊าซธรรมชาติจะเพิม่ ขึน้ ก็ตาม อัตราต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ ต่อ รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการและรายได้จากสัญญาเช่าการเงิน
รายการ (ล้านบาท)
ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2555
2557
2556
2557
2556
รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ
23,808
25,446
22,752
25,447
22,924
817
774
730
774
730
รวม
24,625
26,220
23,482
26,221
23,654
ต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ
22,672
24,235
21,454
24,236
21,571
1,953
1,985
2,028
1,985
2,083
อัตราต้นทุนขาย
92.07%
92.43%
91.37%
92.43%
91.19%
อัตรากำ�ไรขั้นต้น
7.93%
7.57%
8.63%
7.57%
8.81%
รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน
กำ�ไรขั้นต้น
P- 216
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ตารางแสดงรายละเอียดต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2555
2556
งบการเงินเฉพาะ กิจการเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวมเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2556
2557
ต้นทุนขายสินค้า และต้นทุนการให้บริการ
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ต้นทุนวัตถุดิบ
20,514
90.48%
21,837
90.11%
18,853
87.88%
21,838
90.11%
18,924
87.73%
ก๊าซธรรมชาติ*
20,048
88.43%
21,305
87.91%
18,121
84.46%
21,305
87.90%
18,122
84.01%
น้ำ�มันดีเซลและไอน้ำ�
26
0.11%
133
0.55%
369
1.72%
133
0.55%
369
1.71%
น้ำ�
171
0.75%
179
0.74%
171
0.79%
179
0.74%
171
0.79%
สารเคมี
52
0.23%
56
0.23%
54
0.25%
56
0.23%
54
0.25%
อื่นๆ
218
0.96%
164
0.68%
139
0.65%
165
0.68%
209
0.97%
ค่าบำ�รุงรักษา
666
2.94%
770
3.18%
1,022
4.76%
770
3.18%
1,024
4.75%
ค่าเสื่อมราคา
972
4.29%
1,034
4.27%
1,004
4.68%
1,035
4.27%
1,025
4.75%
อื่นๆ
520
2.29%
593
2.45%
576
2.68%
593
2.45%
597
2.77%
รวม
22,672 100.00%
24,235 100.00%
21,454 100.00%
24,236 100.00%
21,571 100.00%
หมายเหตุ : * ตารางแสดงรายละเอียดต้นทุนก๊าซธรรมชาติแยกตามโรงไฟฟ้า
- โรงผลิตสาธารณูปการระยอง - โรงไฟฟ้าศรีราชา - บริษัทย่อย รวมต้นทุนก๊าซธรรมชาติ
9,693
48.35%
10,073
47.28%
10,470
57.78%
10,073
47.28%
10,470
57.78%
10,355
51.65%
11,232
52.72%
7,651
42.22%
11,232
52.72%
7,651
42.22%
-
-
-
-
-
-
0
0.00%
1
0.00%
20,048 100.00%
21,305 100.00%
18,121 100.00%
21,305 100.00%
18,122 100.00%
ต้นทุนวัตถุดิบ
ต้นทุนวัตถุดบิ ถือเป็นต้นทุนหลักของต้นทุนขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการของบริษทั โดยในปี 2555 2556 และ 2557 มีมลู ค่าเท่ากับ 20,514 ล้านบาท 21,838 ล้านบาท และ 18,924 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 90.48 ร้อยละ 90.11 และร้อยละ 87.73 ของต้นทุน ขายสินค้าและต้นทุนการให้บริการรวมในแต่ละปี ตามลำ�ดับ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติ โดยต้นทุนวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.45 ใน ปี 2556 ในขณะทีล่ ดลงร้อยละ 13.34 ในปี 2557 แม้วา่ ต้นทุนวัตถุดบิ ของโรงผลิตสาธารณูปการระยองจะเพิม่ ขึน้ แต่การลดลงของต้นทุน วัตถุดบิ ของโรงไฟฟ้าศรีราชามีสดั ส่วนทีส่ งู กว่า โดยมีสาเหตุหลักของการเปลีย่ นแปลง ดังนี้
ปี 2555 เทียบปี 2556 • ในปี 2556 โรงผลิตสาธารณูปการระยองมีตน้ ทุนวัตถุดบิ เท่ากับ 10,436 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.34 จาก 10,001 ล้านบาท ในปี 2555 โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติที่เป็นต้นทุนหลัก ซึ่งในปี 2556 อยู่ที่ 10,073 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.92 จาก 9,693 ล้านบาท ในปี 2555 จากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาค่าก๊าซธรรมชาติ • ในปี 2556 โรงไฟฟ้าศรีราชามีต้นทุนวัตถุดิบเท่ากับ 11,401 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.45 จาก 10,513 ล้านบาท ในปี 2555 โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติที่เป็นต้นทุนหลัก ซึ่งในปี 2556 อยู่ที่ 11,232 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.47 จาก 10,355 ล้านบาท ในปี 2555 จากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาค่าก๊าซธรรมชาติและปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ ที่เพิ่มขึ้นตามการผลิตดังกล่าวข้างต้น
ปี 2556 เทียบปี 2557 • ในปี 2557 โรงผลิตสาธารณูปการระยองมีตน้ ทุนวัตถุดบิ เท่ากับ 11,057 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.96 จาก 10,436 ล้านบาท ในปี 2556 ซึง่ สาเหตุหลักเป็นการเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติซงึ่ เป็นต้นทุนหลัก โดยต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติ ในปี 2557 เท่ากับ 10,470 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.95 จาก 10,073 ล้านบาท ในปี 2556 โดยการเพิ่มขึ้นดังกล่าวเกิดจากการปรับ ตัวเพิ่มขึ้นของราคาค่าก๊าซธรรมชาติ และปริมาณการขายไฟฟ้าและไอน้ำ�ที่เพิ่มขึ้นดังที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 217
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
•
ในปี 2557 โรงไฟฟ้าศรีราชามีต้นทุนวัตถุดิบเท่ากับ 7,796 ล้านบาท ลดลงถึงร้อยละ 31.62 จาก 11,401 ล้านบาท ในปี 2556 ซึง่ สาเหตุหลักเป็นการลดลงของต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติซง่ึ เป็นต้นทุนหลัก โดยมีตน้ ทุนค่าก๊าซธรรมชาติเท่ากับ 7,651 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 31.88 จาก 11,232 ล้านบาท ในปี 2556 ตามปริมาณการใช้กา๊ ซธรรมชาติทล่ี ดลง ซึง่ เกิดจากการที่ กฟผ. สัง่ ให้โรงไฟฟ้าศรีราชาหยุดผลิตไฟฟ้าหรือจ่ายไฟฟ้าในปริมาณครึง่ หนึง่ ของปริมาณตามสัญญาในบางช่วงเวลาดังทีก่ ล่าว มาแล้วข้างต้น
ต้นทุนอื่นๆ
นอกจากต้นทุนวัตถุดบิ ทีเ่ ป็นต้นทุนหลักแล้ว บริษทั ยังมีตน้ ทุนอืน่ ๆ ได้แก่ ค่าเสือ่ มราคา ค่าบำ�รุงรักษา ค่าพนักงาน ค่าจ้างทีป่ รึกษา และ ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ดทัว่ ไป กำ�ไรขั้นต้น
กำ�ไรขัน้ ต้น ในปี 2555 2556 และ 2557 เท่ากับ 1,953 ล้านบาท 1,985 ล้านบาท และ 2,083 ล้านบาทตามลำ�ดับ ทัง้ นี้ กำ�ไรขัน้ ต้นใน ปี 2556 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.64 จากปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการเพิม่ ขึน้ แม้วา่ รายได้จากสัญญา เช่าการเงินจะลดลง แต่เนือ่ งจากอัตราต้นทุนขายปี 2556 สูงกว่าในปี 2555 จากค่าเสือ่ มราคาและค่าบำ�รุงรักษา ซึง่ เป็นต้นทุนคงทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่ง ผลให้อตั รากำ�ไรขัน้ ต้นในปี 2556 ลดลงเป็นร้อยละ 7.57 จากร้อยละ 7.93 ในปี 2555 ในขณะทีก่ �ำ ไรขัน้ ต้นในปี 2557 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.96 และอัตรากำ�ไรขัน้ ต้นในปี 2557 เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 8.81 จากร้อยละ 7.57 ในปี 2556 โดยมีสาเหตุหลักมาจากค่าซ่อมบำ�รุงรักษาเครือ่ งจักร ตามสัญญาซ่อมบำ�รุงรักษาระยะยาวซึง่ จ่ายตามชัว่ โมงการเดินเครือ่ งลดลงจากการที่ กฟผ. สัง่ ให้โรงไฟฟ้าศรีราชาจ่ายไฟฟ้าในปริมาณทีต่ �ำ่ กว่า ปริมาณตามสัญญาหรือสัง่ ให้หยุดผลิตไฟฟ้าเป็นบางช่วง และลูกค้าอุตสาหกรรมมีความต้องการใช้ไอน้�ำ เพิม่ ขึน้ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในปี 2555 2556 และ 2557 เท่ากับ 326 ล้านบาท 289 ล้านบาท และ 410 ล้านบาทตามลำ�ดับ คิดเป็น ร้อยละ 1.31 ร้อยละ 1.09 และ ร้อยละ 1.72 ของรายได้รวมในแต่ละปีตามลำ�ดับ ทัง้ นี้ ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารลดลงร้อยละ 11.38 ในปี 2556 เนือ่ งจากบันทึกค่าเสือ่ มราคาเป็นต้นทุนขายตามปกติ จากที่ ในปี 2555 มีการปรับปรุงค่าเสือ่ มราคาของโรงไฟฟ้าศรีราชาจากต้นทุน ขายมาเป็นค่าใช้จา่ ยในการบริหารในช่วงทีห่ ยุดซ่อมแซม (ตามมาตรฐานบัญชี) ถึงแม้วา่ จะมีการเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จา่ ยพนักงานและค่าทีป่ รึกษา ในการควบรวมธุรกิจ ในขณะทีป่ ี 2557 เพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ 41.96 จากปี 2556 สาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของค่าทีป่ รึกษาในการซือ้ ธุรกิจ และค่าใช้จา่ ยพนักงานเป็นหลัก กำ�ไรสุทธิ
บริษทั มีก�ำ ไรสุทธิ ในปี 2555 2556 และ 2557 จำ�นวน 1,241 ล้านบาท 1,166 ล้านบาท และ 1,581 ล้านบาทตามลำ�ดับ คิดเป็น ร้อยละ 4.98 ร้อยละ 4.40 และร้อยละ 6.62 ของรายได้รวมในแต่ละปีตามลำ�ดับ โดยในปี 2556 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิลดลงร้อยละ 6.03 จากปี 2555 มีสาเหตุหลักจากบริษัทมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน และผลเสียหายจากคดีความระหว่างบริษัทและ กฟผ. ที่เกิดจาก การตีความตามสัญญาทีไ่ ม่ตรงกัน ซึง่ อนุญาโตตุลาการได้มคี �ำ ชีข้ าดแล้วในปี 2556 รวมทัง้ มีคา่ ใช้จา่ ยทางภาษีเพิม่ ขึน้ แม้วา่ จะมีก�ำ ไรขัน้ ต้น เพิ่มขึ้น และต้นทุนทางการเงินลดลงจากการชำ�ระคืนเงินกู้ก็ตาม ในขณะที่ ปี 2557 บริษทั มีก�ำ ไรสุทธิเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 35.58 จาก ปี 2556 โดยมีสาเหตุหลักมาจากกำ�ไรขัน้ ต้นทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการขายไอน้�ำ เพิม่ ขึน้ ค่า Ft ทีส่ งู ขึน้ รวมทัง้ ค่าซ่อมบำ�รุงรักษาเครือ่ งจักรทีล่ ดลง ดังทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ประกอบกับการมีสว่ นแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันเพิ่มขึ้น รวมทั้งต้นทุนทางการเงินที่ลดลงจากการชำ�ระคืนเงินกู้
P- 218
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์
บริษัทประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และสาธารณูปโภคต่างๆ นอกจากนี้ บริษัทยังดำ�เนินธุรกิจในลักษณะ การเข้าถือหุน้ ในบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้� ำ และสาธารณูปโภคต่างๆ รวมถึงธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง ทัง้ ในและต่างประเทศ ดังนั้นส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์ในงบการเงินเฉพาะกิจการคือ (1) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (2) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน และ (3) เงินลงทุนรวม ซึ่งได้แก่ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และเงินลงทุนระยะยาวอื่น โดยรายการส่วน ประกอบหลัก (1) ถึง (3) รวมแล้วคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 64 ถึง ร้อยละ 80 ของสินทรัพย์รวมในช่วงปี 2555 – ปี 2557 สำ�หรับงบการเงินรวม ส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์ ได้แก่ (1) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (2) ลูกหนี้ตามสัญญาการเงิน และ (3) เงินลงทุนรวม ซึ่งได้แก่ เงินลงทุนในบริษัทร่วม กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และเงินลงทุนระยะยาวอื่น โดยรายการส่วนประกอบหลัก (1) ถึง (3) รวมแล้วคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 67 ถึงร้อยละ 81 ของสินทรัพย์รวมในช่วงปี 2555 – ปี 2557 43,344
43,086 36,013
42,932
40,557
2,885 7,818
3,404 7,818 8,304 70%
30%
64%
16,896
16,180
36%
10,812
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2555
15,684
80%
20%
9,326 7,389 15,924
7,918
งบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
สินทรัพย์อื่น
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
67%
33%
18,178
14,463
7,342 7,389 81%
19%
20,048
8,153
งบการเงินรวม เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
ลูกหนี้ตาม สัญญาเช่า การเงิน
เงินลงทุนรวม
บริษัทมีสินทรัพย์รวมตามงบการเงินรวม ณ สิ้นปี 2556 จำ�นวน 43,344 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.36 จาก 36,013 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการรวมทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ของบริษทั ย่อยเข้างบการเงินรวมของบริษทั และการเพิม่ ขึน้ ของ เงินลงทุนซึ่งเกิดจากการลงทุนตามแผนขยายธุรกิจของบริษัท ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของเงินสดคงเหลือจากการเพิ่มทุน ซึ่งเตรียมไว้ สำ�หรับการลงทุนในธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า รวมทั้งธุรกิจเกี่ยวเนื่องตามแผนขยายธุรกิจของบริษัท และ ณ สิ้นปี 2557 บริษัทมี สินทรัพย์รวมจำ�นวน 42,932 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับ 43,344 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 ทั้งนี้ ส่วนประกอบหลักของสินทรัพย์รวมมีรายละเอียดและการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญสามารถสรุปได้ดังนี้
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 219
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลูกหนี้การค้า ตารางสรุปยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
รายการ
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
%
%
%
%
%
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ
1,726
48.72%
1,913
38.49%
962
32.24%
1,913
38.27%
962
31.92%
0.03
0.00%
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
64
1.82%
0.03
0.00%
0.03
0.00%
0.03
0.00%
0.03
0.00%
(64)
(1.82%)
-
-
-
-
-
-
-
-
1,726
48.72%
1,913
38.49%
962
32.25%
1,913
38.27%
962
31.92%
1,706
48.15%
3,057
61.51%
1,932
64.75%
3,086
61.73%
1,962
65.10%
3
0.07%
0.17
0.00%
89
3.00%
0.17
0.00%
89
2.97%
เกินกำ�หนดชำ�ระ:
น้อยกว่า 6 เดือน
6- 12 เดือน
มากกว่า 12 เดือน
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนดชำ�ระ เกินกำ�หนดชำ�ระ:
น้อยกว่า 6 เดือน
6- 12 เดือน
0.17
0.00%
-
-
-
-
-
-
-
-
มากกว่า 12 เดือน
108
3.05%
-
-
0.17
0.01%
-
-
0.17
0.01%
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
รวม
1,816
51.28%
3,057
61.51%
2,021
67.75%
3,086
61.73%
2,051
68.08%
รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ
3,542 100.00%
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
4,970 100.00%
2,984 100.00%
4,999 100.00%
3,013 100.00%
ลูกหนีก้ ารค้าของบริษทั ประกอบด้วยลูกหนีค้ า่ ไฟฟ้า ลูกหนีค้ า่ ไอน้� ำ และลูกหนีค้ า่ น้�ำ เพือ่ การอุตสาหกรรม โดยมีลกู หนีก้ ารค้ารายใหญ่ คือ กฟผ. (เกินกว่าร้อยละ 50 ของยอดลูกหนี้การค้ารวม) ซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐ ณ สิ้นปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าจำ�นวน 4,999 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.12 จาก 3,542 ล้านบาท ณ สิ้น ปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเติบโตของยอดขายของบริษทั และการเพิม่ ขึน้ ของลูกหนีก้ ารค้าทีเ่ กิดจากกำ�หนดชำ�ระหนีข้ องลูกค้า อยู่เลยวันหยุดยาวช่วงสิ้นปี ส่งผลให้ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัทเพิ่มขึ้นจาก 53 วันในปี 2555 เป็น 69 วัน ในปี 2556 สำ�หรับปี 2555 บริษัทมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 64 ล้านบาท เนื่องจากอยู่ระหว่างเจรจากับลูกค้าในเรื่องการคำ�นวณ ราคาผลิตภัณฑ์ที่ต่างกัน ทั้งนี้ การเจรจาได้สิ้นสุดลงในปี 2556 โดยบริษัทได้รับรู้รายได้ประมาณ 7 ล้านบาท และบริษัทได้ทำ�การตัด จำ�หน่ายยอดหนี้ดังกล่าวจำ�นวน 57 ล้านบาท นอกจากนี้ ในปี 2555 บริษัทมีลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันที่เกินกำ�หนดชำ�ระ มากกว่า 12 เดือน จำ�นวน 108 ล้านบาท ซึ่งเป็นลูกหนี้การค้า กฟผ. ที่เกิดจากการตีความตามสัญญาที่ไม่ตรงกัน ซึ่งอนุญาโตตุลาการ ได้มีคำ�ชี้ขาดแล้วในปี 2556 บริษัทจึงทำ�การปรับปรุงรายการลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของผลเสียหาย จากคดีความในงบกำ�ไรขาดทุน ณ สิ้นปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าจำ�นวน 3,013 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 39.72 จาก 4,999 ล้านบาท ณ สิ้น ปี 2556 เนื่องจากระหว่างปี 2557 บริษัทได้รับชำ�ระเงินจากลูกหนี้การค้าของบริษัทตามปกติ ส่งผลให้ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัท ลดลงจาก 69 วันในปี 2556 เป็น 61 วัน ในปี 2557 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาอายุของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2557 แล้วพบว่าลูกหนี้การค้าเกือบทั้งหมดของบริษัท (ร้อยละ 99.99) เป็นลูกหนี้การค้าที่ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ บริษัทจึงไม่มีการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ
P- 220
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
รายการ
ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งปี
%
%
%
486
5.85%
429
5.49%
460
6.23%
ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายในหนึ่งถึงห้าปี
1,859
22.39%
2,035
26.03%
2,275
30.79%
ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระเกินกว่าห้าปี
5,959
71.76%
5,354
68.48%
4,653
62.98%
รวม
8,304
100.00%
7,818
100.00%
7,389
100.00%
ณ สิ้นปี 2555 2556 และ 2557 บริษัทมียอดลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินสุทธิจำ�นวน 8,304 ล้านบาท 7,818 ล้านบาทและ 7,389 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 5.85 จากสิ้นปี 2555 และร้อยละ 5.49 จากสิ้นปี 2556 ตามลำ�ดับ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการทยอย ลดลงของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินจากการจ่ายชำ�ระค่า APR1 จาก กฟผ. เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ 31 ธ.ค. 2556 และ 31 ธ.ค. 2557)
ณ สิ้นปี 2556 บริษัทมีเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้นจำ�นวน 1,569 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทเข้าซื้อหุ้น สามัญใน CHPP และรับโอนเงินกู้ยืม (Shareholder Loan) ที่ CHPP คงค้างกับ ปตท. จำ�นวน 360 ล้านบาท รวมทั้งบริษัทเข้าซื้อหุ้น สามัญใน NSC และรับโอนเงินกู้ยืมที่ NSC คงค้างกับ PTTER จำ�นวน 1,209 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 บริษัทมีเงินให้กู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันจำ�นวน 250 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 84.07 จาก 1,569 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 ซึ่งเป็นยอดเงินกู้คงค้างของ CHPP เพียงบริษัทเดียว เนื่องจากบริษัทได้เข้าทำ�สัญญาเงินกู้ ฉบับใหม่กับ CHPP ซึ่งเป็นเงินกู้ยืมระยะยาวเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินธุรกิจของ CHPP และในระหว่างปี 2557 NSC ได้มีการ เพิ่มทุนและชำ�ระคืนเงินกู้ยืมและดอกเบี้ยให้แก่บริษัท เงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ (31 ธ.ค. 2556)
เนือ่ งจากบริษทั เกิดจากการควบกิจการ เมือ่ วันที่ 10 มกราคม 2556 ทำ�ให้ในปี 2555 ยังไม่เกิดรายการเงินลงทุนในงบการเงินของบริษทั โดยในปี 2556 บริษทั ได้เริม่ เข้าลงทุนในบริษทั ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าส่งผลให้มกี ารบันทึกเงินลงทุนในบริษทั ร่วม บริษทั ย่อย กิจการ ที่ควบคุมร่วมกัน และเงินลงทุนระยะยาวอื่น ณ สิ้นปี 2556 รวมทั้งสิ้นจำ�นวน 3,404 ล้านบาท โดยรายละเอียดของการลงทุนสามารถ สรุปได้ดังนี้ • เงินลงทุนในบริษัทร่วม เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้ทำ�การเข้าซื้อหุ้น BIC ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน และ ชำ�ระแล้วจาก ปตท. ส่งผลให้บริษัทมีการบันทึกเงินลงทุนด้วยวิธีราคาทุนโดยมีมูลค่าตามบัญชีเพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 เป็น 590 ล้านบาท • เงินลงทุนในบริษัทย่อย ช่วงปลายปี 2556 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นในธุรกิจผลิตไฟฟ้า โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายการ
บริษัท
ผู้ถือหุ้นเดิม
สัดส่วนการลงทุน
จำ�นวนเงินลงทุน (ล้านบาท)
17 ธันวาคม 2556
IRPC-CP
IRPC
51%
709
24 ธันวาคม 2556
CHPP
PTT
100%
210
25 ธันวาคม 2556
NSC
PTTER
100%
517
ส่งผลให้บริษัทมีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยด้วยวิธีราคาทุนโดยมีมูลค่าตามบัญชีจำ�นวน 1,436 ล้านบาท นอกจากนี้ การลงทุนใน NSC ยังส่งผลให้ XPCL มีสถานะเป็นบริษัทร่วมทางอ้อมของบริษัท บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 221
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
•
เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้นสามัญใน TSR คิดเป็นร้อยละ 40 ของ ทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วจาก ปตท. ส่งผลให้บริษทั มีการบันทึกเงินลงทุนในกิจการทีค่ วบคุมร่วมกันด้วยวิธรี าคาทุนมีมลู ค่า ตามบัญชีเท่ากับ 1,377 ล้านบาท โดยบริษัทได้มีการชำ�ระเงินค่าหุ้นแล้วบางส่วนจำ�นวน 927 ล้านบาท และค่าหุ้นคงค้าง จำ�นวน 450 ล้านบาท บันทึกเป็นหนี้สิน ทั้งนี้ การลงทุนดังกล่าวยังส่งผลให้ SSE1 มีสถานะเป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกันทาง อ้อมของบริษัท
งบการเงินเฉพาะกิจการ (31 ธ.ค. 2557)
• • •
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ชำ�ระค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนในบริษัท IRPC-CP และ NSC เพิ่มขึ้นจำ�นวน 315 ล้านบาท และ 2,160 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ส่งผลให้บริษัทมีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นจำ�นวน 2,475 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 172.28 จาก 1,436 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 เป็น 3,911 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ชำ�ระค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นใน TSR จำ�นวน 320 ล้านบาท และซือ้ หุน้ NNEG ในสัดส่วนร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วจาก ปตท. จำ�นวน 144 ล้านบาท และได้ช�ำ ระค่าหุน้ เพิม่ ทุนอีก 180 ล้านบาท รวมเป็นจำ�นวน 324 ล้านบาทนอกจากนี้ บริษัทยังมีการซื้อหุ้น NL1PC ในสัดส่วน ร้อยละ 40 จาก PTTIH จำ�นวน 117 ล้านบาท ส่งผลให้บริษทั บันทึกเงินลงทุนในกิจการทีค่ วบคุมร่วมกันเพิม่ ขึน้ 761 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 55.26 จาก 1,377 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 เป็น 2,138 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 เงินลงทุนระยะยาวอืน่ ในระหว่างปี 2557 บริษทั ได้เข้าซือ้ หุน้ ใน RPCL ร้อยละ 15 ของทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วจาก ปตท. มูลค่า 2,207 ล้านบาท และเข้าซื้อหุ้นบุริมสิทธิของ 24M ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา คิดเป็นมูลค่าเงิน ลงทุนประมาณ 15 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่าประมาณ 479 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทมีการบันทึกเงินลงทุนระยะยาว อื่นด้วยวิธีราคาทุนเพิ่มขึ้นเป็น 2,686 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557
งบการเงินรวม (31 ธ.ค. 2557)
• •
เงินลงทุนในบริษัทร่วม ในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ทยอยลงทุนเพิ่มตามสัดส่วนการถือหุ้นและรับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนใน XPCL รวมจำ�นวน 853 ล้านบาท และมีการเพิ่มขึ้นของส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียใน BIC จำ�นวน 51 ล้านบาท ส่งผลให้บริษทั บันทึกเงินลงทุนในบริษทั ร่วมซึง่ บันทึกด้วยวิธสี ว่ นได้เสียเพิม่ ขึน้ 904 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 52.12 จาก 1,735 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 เป็น 2,639 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ทยอยลงทุนและรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรใน TSR รวมจำ�นวน 550 ล้านบาท และทยอยลงทุนและรับรูส้ ว่ นแบ่งขาดทุนใน NNEG และ NL1PC รวมจำ�นวน 272 ล้านบาท และ 45 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ส่งผลให้บริษทั บันทึกเงินลงทุนในกิจการทีค่ วบคุมร่วมกันซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว่ นได้เสียเพิม่ ขึน้ 867 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 75.47 จาก 1,149 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2556 เป็น 2,016 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
รายการ
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
%
%
%
%
%
ที่ดิน
250
1.48%
250
1.55%
250
1.57%
1,118
6.15%
1,118
5.58%
อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร
519
3.07%
538
3.33%
539
3.38%
700
3.85%
694
3.46%
15,697
92.91%
14,666
90.64%
14,019
88.04%
14,825
81.55%
14,164
70.65%
เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และ เครื่องใช้สำ�นักงานอื่นๆ
2
0.01%
28
0.17%
40
0.25%
29
0.16%
41
0.20%
ยานพาหนะ
1
0.00%
0
0.00%
0
0.00%
0
0.00%
0
0.00%
427
2.53%
697
4.31%
1,075
6.75%
1,506
8.28%
4,031
20.11%
เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์โรงงาน
สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง รวม
P- 222
16,896 100.00%
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
16,180 100.00%
15,924 100.00%
18,178 100.00%
20,048 100.00%
รายงานประจำ�ปี 2557
รายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ตามข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการจะประกอบด้วยโรงผลิต สาธารณูปการระยองเป็นหลัก เนือ่ งจากสินทรัพย์หลักของโรงไฟฟ้าศรีราชาถูกบันทึกเป็นรายการลูกหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงินจากการถือ ปฏิบัติตาม TFRIC 4 ณ สิน้ ปี 2555 2556 และ 2557 บริษทั และบริษทั ย่อยมีทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ จำ�นวน 16,896 ล้านบาท 18,178 ล้านบาท และ 20,048 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.59 จากสิ้นปี 2555 และร้อยละ 10.29 จากสิ้นปี 2556 โดยการเพิ่มขึ้นของปี 2556 มีสาเหตุหลักมาจากการรวมรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ของบริษทั ย่อยเข้างบการเงินรวมของบริษทั และการเพิม่ ขึน้ ของทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ในปี 2557 มีสาเหตุมาจากงานระหว่างก่อสร้างที่เพิ่มขึ้นของ IRPC-CP เป็นหลัก ทัง้ นี้ ณ สิน้ ปี 2557 สินทรัพย์หลักของบริษทั และบริษทั ย่อยบางแห่งถูกจำ�นองแก่สถาบันการเงินเพือ่ เป็นหลักประกันเงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สิน
บริษทั มีหนีส้ นิ รวมตามงบการเงินรวม ณ สิน้ ปี 2556 จำ�นวน 18,983 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.50 จาก 18,165 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้าของบริษัท บริษัทมีหนี้สินรวมตามงบการเงินรวม ณ สิ้นปี 2557 จำ�นวน 16,914 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 10.90 จาก 18,983 ล้านบาท ณ สิน้ ปี 2556 สาเหตุหลักมาจากการชำ�ระคืนหนีเ้ งินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน และจากการลดลงของเจ้าหนีก้ ารค้าของบริษทั ทัง้ นี้ โครงสร้าง หลักของหนี้สินประกอบด้วยรายการสำ�คัญ คือ เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 68 ถึง 81 ของยอดหนี้สิน รวมในช่วงปี 2555 – ปี 2557
18,983
18,165
18,067
16,914
14,625
81%
14,671
19%
70%
73%
12,638
30% 3,494
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ สิ้นสุด วันที่ 31 ธ.ค. 2555
10,384
27% 5,429
68%
76%
12,998
32%
24%
4,122
5,985
3,881
งบการเงินเฉพาะกิจการ เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
หนี้สินอื่น
12,792
งบการเงินรวม เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ สิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค. 2556 31 ธ.ค. 2557
เงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงิน
เจ้าหนี้การค้า
รายการ
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
%
%
%
1,919
99.01%
3,091
99.35%
2,242
98.49%
19
0.99%
21
0.65%
34
1.51%
1,938
100.00%
3,112
100.00%
2,276
100.00%
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 223
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เจ้าหนีก้ ารค้าของบริษทั ประกอบด้วย เจ้าหนีก้ ารค้าค่าก๊าซธรรมชาติ ค่าน้�ำ มันดีเซล และค่าน้� ำ โดยบริษทั มีเจ้าหนีก้ ารค้า ณ สิน้ ปี 2556 จำ�นวน 3,112 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.59 จาก 1,938 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ณ สิ้นปี 2555 บริษัท มียอดเจ้าหนี้ค่าซื้อก๊าซธรรมชาติซึ่งยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 1 งวด ในขณะที่ปี 2556 มียอดเจ้าหนี้ค่าซื้อก๊าซธรรมชาติซึ่งยังไม่ถึงกำ�หนด ชำ�ระเท่ากับ 2 งวด ณ สิ้นปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีเจ้าหนี้การค้าจำ�นวน 2,276 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 26.86 จาก 3,112 ล้านบาท ณ สิ้น ปี 2556 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของเจ้าหนี้การค้าค่าก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ตามปริมาณการรับก๊าซธรรมชาติที่ลดลง เนื่องจาก กฟผ. สั่งให้โรงไฟฟ้าศรีราชาจ่ายไฟฟ้าในปริมาณที่ต่ำ�กว่าปริมาณตามสัญญาหรือสั่งให้หยุดผลิตไฟฟ้าเป็นบางช่วงในปี 2557 ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ตารางแสดงระยะเวลาครบกำ�หนดชำ�ระคืนเงินกู้ยืมของบริษัท ข้อมูลทางการเงิน เสมือนเฉพาะกิจการ
รายการ
งบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
งบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
ณ 31 ธ.ค. 2555
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ณ 31 ธ.ค. 2556 (ปรับปรุงใหม่)
ณ 31 ธ.ค. 2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
%
%
%
%
%
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
-
-
-
-
-
-
360
2.77%
-
-
เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
ครบกำ�หนดภายในหนึ่งปี
2,224
15.16%
2,254
17.84%
1,595
15.36%
2,254
17.34%
1,595
12.47%
ครบกำ�หนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี
6,674
45.49%
6,381
50.49%
6,032
58.09%
6,381
49.09%
8,032
62.79%
ครบกำ�หนดหลังจากห้าปี
5,773
39.35%
4,003
31.67%
2,757
26.55%
4,003
30.79%
3,165
24.74%
รวม
14,671 100.00%
12,638 100.00%
10,384 100.00%
12,998 100.00%
12,792 100.00%
บริษทั มีเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ณ สิน้ ปี 2555 2556 และ 2557 จำ�นวน 14,671 ล้านบาท 12,998 ล้านบาท และ 12,792 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.40 จากสิ้นปี 2555 และลดลงร้อยละ 1.59 จากสิ้นปี 2556 โดยเงินกู้ยืมของบริษัทและบริษัทย่อยมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่องจากการชำ�ระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินตามกำ�หนด แม้ว่าระหว่างปี 2556 และ 2557 บริษัทย่อยจะมีการเบิกเงินกู้ เพิ่มเติมเพื่อใช้ในการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าก็ตาม
P- 224
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีวงเงินกู้ยืมกับสถาบันการเงิน ดังนี้ วงเงินกู้ยืมกับสถาบันการเงิน
สถาบันการเงิน
วงเงิน
ยอดคงค้าง(1)
วันสิ้นสุดอายุเงินกู้
อัตราดอกเบี้ย
เงื่อนไขสำ�คัญ
อัตราดอกเบี้ยลอยตัว ที่ อ้ า ง อิ ง กั บ อั ต ร า ดอกเบีย้ เงินฝากประจำ� 6 เดือน หรือ THBFIX
: D/E <= 2.75:1, DSCR >= 1.05
เงินกู้ยืมระยะยาว – บริษัท วงเงินสินเชื่อที่ 1
GSB
3,500
1,400
ส.ค. 61
วงเงินสินเชื่อที่ 2
GSB
3,400
2,550
ก.พ. 65
วงเงินสินเชื่อที่ 3
GSB
3,600
2,340
มิ.ย. 64
วงเงินสินเชื่อที่ 4
KTB
5,511
4,131
ม.ค. 65
วงเงินสินเชื่อที่ 5.1
KTB, GSB และ TISCO
4,000
-
มี.ค. 69
นสินเชื่อที่ 5.2 วงเงิ
BAY และ MIZUHO
4,000
-
มี.ค. 65
10,000
2,470
มี.ค. 73
เงินกู้ยืมระยะยาว – บริษัท IRPC-CP KTB, GSB, BAY
และ LH
อั ต ราดอกเบี้ ย ลอยตั ว ที่ อ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ� 6 เดือน
: D/E < 3:1, DSCR >= 1.10 : จะจ่ายเงินปันผลได้ เมื่อได้ ป ฏิ บั ติ ต า ม เ งื่ อ น ไ ข ข อ ง สัญญาสินเชือ่ ทัง้ นี้ เมือ่ มีการ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลจะต้ อ งมี ก าร ชำ � ระเงิ น กู้ ก่ อ นกำ � หนดใน อัตราร้อยละ 50 ของเงินปันผล ที่มีการจ่ายในแต่ละคราว
เงินกู้ยืมระยะสั้น – บริษัท วงเงินสินเชื่อที่ 6
GSB
300
-
ก.พ. 65
วงเงินสินเชื่อที่ 7
KTB
400
-
ม.ค. 65
วงเงินสินเชื่อที่ 8
KTB และ BAY
600
-
มี.ค. 65
GSB และ BAY
2,400
-
มี.ค. 73
37,711
12,891
อัตราดอกเบี้ยระยะสั้น
: D/E <= 2.75:1, DSCR >= 1.05
เงินกู้ยืมระยะสั้น – บริษัทย่อย IRPC-CP
รวม หมายเหตุ :
(1)
อัตราดอกเบี้ยระยะสั้น
: D/E < 3:1, DSCR >= 1.10
ไม่รวมหนังสือค้ำ�ประกัน
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีสว่ นประกอบหลักได้แก่ (1) ทุนทีอ่ อกและชำ�ระแล้ว (2) ส่วนเกินกว่ามูลค่าหุน้ สามัญ ซึง่ เกิดจากผลต่าง ระหว่างราคาขายหุน้ เพิม่ ทุนทีส่ งู กว่ามูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ บริษทั (3) ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจภายใต้การควบคุม เดียวกัน ซึ่งเกิดจากส่วนต่างระหว่างมูลค่าสิ่งตอบแทนที่บริษัทจ่ายซื้อเงินลงทุนกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนดังกล่าวที่บันทึกไว้ใน งบการเงินของบริษัทผู้ขาย ซึ่งเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน (4) ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม และ (5) กำ�ไรสะสม บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี 2555 2556 และ 2557 จำ�นวน 17,848 ล้านบาท 24,361 ล้านบาท และ 26,018 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.50 จากสิ้นปี 2555 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.80 จากสิ้นปี 2556 โดยสาเหตุของ การเพิม่ ขึน้ ส่วนหนึง่ เกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของกำ�ไรสุทธิของบริษทั และบริษทั ย่อยจากผลประกอบการทีด่ ขี นึ้ ในแต่ละปี ทัง้ นี้ สำ�หรับปี 2556 มีการเพิม่ ขึน้ มากเนือ่ งจากการเพิ่มทุนในเดือนธันวาคม 2556 ประมาณ 6,000 ล้านบาท ซึง่ ประกอบด้วย ทุนชำ�ระแล้วประมาณ 2,607 ล้านบาท และส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญจำ�นวนประมาณ 3,393 ล้านบาท
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 225
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การออกหุ้นเพิ่มทุนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชำ�ระค่าเงินลงทุนในบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้าซึ่งซื้อมาจาก ปตท. PTTER PTTIH และ IRPC ซึ่งเป็นไปตามแผนขยายธุรกิจของบริษัทที่จะทำ�การเข้าซื้อหุ้นบริษัทผลิตไฟฟ้าจำ�นวน 8 บริษัท ได้แก่ RPCL CHPP BIC NNEG TSR NSC NL1PC และ IRPC-CP โดย ณ สิ้นปี 2556 บริษัทดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นเสร็จสิ้นแล้ว 5 บริษัท ได้แก่ CHPP BIC TSR NSC และ IRPC-CP สำ�หรับระหว่างปี 2557 บริษัทดำ�เนินการเข้าซื้อหุ้นแล้วเสร็จเพิ่ม 3 บริษัท ได้แก่ RPCL NNEG และ NL1PC สภาพคล่องและอัตราส่วนที่สำ�คัญ กระแสเงินสด
งบกระแสเงินสด
กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน
ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะ กิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2555
2556
2557
2556
2557
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
2,783
2,737
2,707
2,735
2,759
(1,158)
(182)
1,887
(216)
1,844
1,625
2,555
4,594
2,519
4,603
968
(3,545)
(4,731)
(3,495)
(6,953)
(2,429)
3,335
(2,891)
3,347
(619)
164
2,345
(3,028)
2,371
(2,969)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด
3,855
4,019
6,364
4,019
6,390
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด
4,019
6,364
3,336
6,390
3,421
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
• กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน
P- 226
สำ�หรับปี 2555 บริษทั มีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 2,783 ล้านบาท เนือ่ งจากมีก�ำ ไรจากการดำ�เนินงาน แต่มีกระแสเงินสดใช้ไปจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงานจำ�นวน 1,158 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ลูกหนีก้ ารค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ จากกำ�หนดชำ�ระหนีข้ องลูกค้าอยูเ่ ลยวันหยุดยาวช่วงสิน้ ปี ประกอบกับมีเจ้าหนีก้ ารค้าลดลง ส่งผลให้บริษทั มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 1,625 ล้านบาท สำ�หรับปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 2,735 ล้านบาท เนื่องจากมีกำ�ไร จากการดำ�เนินงาน แต่มีกระแสเงินสดใช้ไปจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงานจำ�นวน 216 ล้านบาท โดย มีสาเหตุหลักมาจากลูกหนีก้ ารค้าของบริษทั เพิม่ ขึน้ ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ส่งผลให้บริษทั มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนิน งานจำ�นวน 2,519 ล้านบาท สำ�หรับปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 2,759 ล้านบาท เนื่องจากมีกำ�ไร จากการดำ � เนิ น งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และมี ก ระแสเงิ น สดได้ ม าจากการเปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ดำ � เนิ น งาน จำ�นวน 1,844 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากบริษัทได้รับชำ�ระเงินจากลูกหนี้การค้าของบริษัทตามปกติตามที่กล่าวมา แล้วข้างต้น ส่งผลให้บริษัทมีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 4,603 ล้านบาท
• กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน สำ�หรับปี 2555 บริษทั มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 968 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของเงินฝาก ธนาคารที่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้และเงินลงทุนชั่วคราว ซึ่งลดลงไปจากการชำ�ระคืนหนี้เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน สำ�หรับปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 3,495 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจาก การลงทุนตามแผนธุรกิจที่กล่าวมาแล้วข้างต้น สำ�หรับปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 6,953 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมา จากการลงทุนตามแผนธุรกิจที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ประกอบกับ IRPC-CP ซึ่งเป็นบริษัทย่อย มีการทยอยชำ�ระค่าก่อสร้างตาม ความสำ�เร็จของงาน บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
• กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
สำ�หรับปี 2555 บริษทั มีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 2,429 ล้านบาท ซึง่ เกิดจากการชำ�ระคืนหนีเ้ งินกูย้ มื จาก สถาบันการเงินพร้อมดอกเบี้ยจ่ายตามกำ�หนดเป็นหลัก สำ�หรับปี 2556 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 3,347 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ หลักมาจากการเพิม่ ทุนจำ�นวน 6,000 ล้านบาท แม้วา่ จะมีการชำ�ระคืนหนีเ้ งินกูย้ มื จากสถาบันการเงินตามกำ�หนดจำ�นวน 2,055 ล้านบาทก็ตาม สำ�หรับปี 2557 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 619 ล้านบาท โดยสาเหตุหลัก มาจากการทีจ่ �ำ นวนเงินทีบ่ ริษทั และบริษทั ย่อยชำ�ระคืนเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ ให้สถาบันการเงิน มากกว่าจำ�นวนเงินทีบ่ ริษทั ย่อยมีการกูย้ มื จากสถาบันการเงิน
อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ
• อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
บริษทั มีอตั ราส่วนสภาพคล่อง ณ สิน้ ปี 2555 และ 2556 และ 2557 เท่ากับ 2.09 เท่า 1.80 เท่า และ 1.57 เท่า ตามลำ�ดับ โดยอัตราส่วนสภาพคล่อง ณ สิ้นปี 2556 ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นปี 2555 เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้าดังรายละเอียด ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น และ ณ สิ้นปี 2557 ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นปี 2556 เนื่องจากในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ทำ�การทยอยนำ� เงินสดคงเหลือจากสิ้นปี 2556 ไปลงทุนตามแผนธุรกิจ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะ กิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
รายการ
2555
2556
2557
2556
2557
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)
53
59
61
69
61
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)
N/A
N/A
N/A
N/A
N/A
ระยะเวลาชำ�ระหนี้เฉลี่ย (วัน)
31
38
46
47
45
Cash Cycle (วัน)
22
21
15
22
16
บริษทั มีระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย่ สำ�หรับปี 2555 2556 และ 2557 เท่ากับ 53 วัน 69 วัน และ 61 วัน ตามลำ�ดับ โดยระยะเวลา ในการเก็บหนี้เฉลี่ยเป็นไปตามนโยบายการให้เครดิตเทอมปกติซึ่งส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 30 วัน ทั้งนี้ ระยะเวลาในการเก็บหนี้ เฉลี่ยสูงกว่า 30 วัน เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของยอดลูกหนี้คงค้าง ณ สิ้นปีตามที่อธิบายไว้แล้วในส่วนของลูกหนี้การค้า บริษทั มีระยะเวลาชำ�ระหนีเ้ ฉลีย่ สำ�หรับปี 2555 2556 และ 2557 เท่ากับ 31 วัน 47 วัน และ 45 วัน ตามลำ�ดับ ทัง้ นี้ ระยะเวลา ในการชำ�ระหนี้เฉลี่ยโดยส่วนใหญ่จะเป็นไปตามเครดิตเทอมที่ได้รับตามปกติ ซึ่งอยู่ระหว่าง 20 – 45 วัน โดยภาพรวม สำ�หรับปี 2555 - ปี 2557 บริษทั และบริษทั ย่อยมีวงจรเงินสด (Cash Cycle) ทีม่ รี ะยะเวลาชำ�ระหนีใ้ ห้กบั เจ้าหนี้ การค้าสั้นกว่าการได้รับชำ�ระหนี้จากลูกหนี้การค้าประมาณ 22 วัน 22 วัน และ 16 วัน ตามลำ�ดับ ตามเหตุผลที่กล่าวแล้วในส่วน ของระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
P- 227
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ตารางแสดงอัตราส่วนที่สำ�คัญอื่นๆ ข้อมูลทางการเงินเสมือนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะ กิจการเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
ข้อมูลทางการเงิน เสมือนรวม สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวมเพื่อ วัตถุประสงค์เฉพาะ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม
2555
2557
2556
2557
2556
อัตรากำ�ไรขั้นต้น (%)
7.93%
7.57%
8.63%
7.57%
8.81%
อัตรากำ�ไรสุทธิ (%)
4.98%
4.42%
5.82%
4.38%
6.61%
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)
6.95%
5.46%
5.40%
4.77%
6.26%
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)
3.45%
2.96%
3.31%
2.68%
3.66%
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%)
8.96%
8.88%
10.16%
8.36%
9.79%
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า)
0.69
0.67
0.57
0.61
0.55
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
1.02
0.72
0.54
0.78
0.65
• อัตราส่วนความสามารถในการทำ�กำ�ไร
• อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น การชำ�ระคืนหนีส้ นิ ระยะยาวและการเพิม่ ทุนของบริษทั ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ส่งผลให้บริษทั มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้นลดลงอย่างต่อเนื่อง ณ สิ้นปี 2555 2556 และ 2557 ที่ 1.02 เท่า 0.78 เท่า และ 0.65 เท่า ตามลำ�ดับ
P- 228
สำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2555 2556 และ 2557 บริษัทมีอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น เท่ากับร้อยละ 6.95 ร้อยละ 4.77 และร้อยละ 6.26 ตามลำ�ดับ โดยอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นสำ�หรับปี 2556 ลดลง เนื่องจากการเพิ่มทุน เพื่อนำ�มาซื้อหุ้น ธุรกิจผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าในเดือนธันวาคม 2556 ในขณะที่ยังไม่มีการรับรู้รายได้จากการลงทุนดังกล่าว อย่างไรก็ตาม อัตรา ผลตอบแทนผู้ถือหุ้นสำ�หรับปี 2557 ปรับตัวดีขึ้น จากผลการดำ�เนินงานที่ดีขึ้นของบริษัท และเริ่มรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรจากธุรกิจที่ ไปลงทุน
บทวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ
รายงานประจำ�ปี 2557
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงิน ปี 2557 เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ คณะกรรมการบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) และของเฉพาะบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามลาดับ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิน รวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบกาไร ขาดทุนรวมและงบกาไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบ แสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแส เงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุซึ่งประกอบด้วยสรุปนโยบาย การบัญชีที่สาคัญและเรื่องอื่น ๆ งบการเงินดังกล่าวจัดทาโดยผู้บริหารของกิจการตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 2 ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู้บริหารเป็นผู้รั บผิดชอบในการจัดทางบการเงิ นเหล่านี้ตามที่อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 2 และ รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจาเป็นเพื่อให้สามารถจัดทางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบ ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกาหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกาหนดด้าน จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญหรือไม่
งบการเงิน
P- 231
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจานวนเงินและการเปิดเผย ข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ใน การประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาและการนาเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ใน การแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสม ของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทาขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้ง การประเมินการนาเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ ข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ของกลุ่มบริษัทและบริษัท ตามลาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน หลักการบัญชีและข้อจากัดในการเผยแพร่และการนาไปใช้ โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2 ซึ่งอธิบาย เกี่ยวกับหลักการบัญชี งบการเงินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบการยื่นขอทาคาเสนอขายหุ้นสามัญของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งส่งผลให้งบ การเงินนี้อาจจะไม่เหมาะสมสาหรับใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น
P- 232
งบการเงิน
2
รายงานประจำ�ปี 2557
เรื่องอื่น บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) ได้จัดทางบการเงินฉบับสมบูรณ์แยกต่างหากสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการจัดทารายงานทางการเงิน ข้าพเจ้าได้ออกรายงานของผู้สอบบัญชีแยกต่างหาก เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558
(วัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 6333 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด กรุงเทพมหานคร 26 กุมภาพันธ์ 2558
งบการเงิน
P- 233
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย บริษัท โกลบอล เนอร์ยี่ จำ�กัเพาเวอร์ ด (มหาชน)ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริ ษท (เดิมชื่อเพาเวอร์ บริษทั ซินโกลบอล ั ย่ อย) งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หมายเหตุ
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีขอ้ จากัดในการเบิกใช้ เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ลูกหนี้อื่น เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่วนถึงกาหนดชาระในหนึ่ งปี เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ ภาษีมูลค่าเพิ่มขอคืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้ในการดาเนิ นงาน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน
3,420,945,051 182,285,545 3,013,490,096
6,390,269,701 80,536,757 825,220,124 4,998,759,254
3,336,145,461 2,983,560,667
6,363,717,724 80,536,757 685,220,124 4,969,988,363
11 6, 12
460,331,437 466,757,928
428,922,872 1,074,112,725
460,331,437 454,886,587
428,922,872 1,074,398,910
6 6 13
359,029,246 15,491,000 227,948,760 8,146,279,063
389,261,913 72,181,157 233,296,844 14,492,561,347
40,000,000 359,029,246 218,126,564 7,852,079,962
1,568,513,535 389,261,913 57,410,439 232,515,028 15,850,485,665
15 14 15 9 6 11 16 17 35 6
2,639,060,760 2,015,785,472 2,686,877,411 6,928,636,069 20,047,742,289 73,298,313 137,845,050 256,711,836 34,785,957,200
1,734,884,696 1,148,793,081 500,000 7,389,507,772 18,177,717,111 26,773,544 137,845,050 235,150,440 28,851,171,694
590,000,000 3,910,554,715 2,137,949,210 2,686,877,411 210,000,000 6,928,636,069 15,924,074,954 70,962,614 245,736,851 32,704,791,824
590,000,000 1,436,486,465 1,377,000,000 500,000 7,389,507,772 16,180,266,462 26,334,586 235,146,440 27,235,241,725
42,932,236,263
43,343,733,041
40,556,871,786
43,085,727,390
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ งบการเงิน
2556 (ปรับปรุ งใหม่) (บาท)
7 8 9 6, 10
รวมสินทรัพย์
P- 234
2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556 (ปรับปรุ งใหม่)
4
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย (เดิมชื่อบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษทั ย่ อย) งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้งานก่อสร้างโครงการยูทิลิต้ ี ดอกเบี้ยค้างจ่าย เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนี้สินไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชาระแล้ว ส่วนเกินกว่ามูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสารองตามกฏหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้าง การดาเนิ นธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนของผูถ้ ือหุ้นที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม หมายเหตุ
2557
2556 (ปรับปรุ งใหม่) (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2557 2556 (ปรับปรุ งใหม่)
19 6, 20 6, 21 6
2,275,789,182 998,952,262 193,525,744 13,513,106
360,000,000 3,111,534,911 1,164,756,059 464,065,504 28,216,689
2,275,789,182 983,943,763 54,592,028 12,993,390
3,111,534,911 1,134,767,950 21,033,197 27,218,141
19
1,594,836,477 126,520,350 5,203,137,121
2,254,429,642 673,121,331 8,056,124,136
1,594,836,477 120,987,500 5,043,142,340
2,254,429,642 669,621,774 7,218,605,615
19 18 22 5.2.1
11,196,911,019 406,246,147 27,473,861 80,376,329 11,711,007,356 16,914,144,477
10,383,934,192 442,863,786 22,876,782 76,911,329 10,926,586,089 18,982,710,225
8,789,097,716 406,246,147 26,271,847 9,221,615,710 14,264,758,050
10,383,934,192 442,863,786 21,923,400 10,848,721,378 18,067,326,993
14,983,008,000 11,237,256,000 3,392,744,015
11,237,256,000 11,237,256,000 3,392,744,015
14,983,008,000 11,237,256,000 3,392,744,015
11,237,256,000 11,237,256,000 3,392,744,015
24
343,843,677 11,507,861,075
196,581,468 10,186,918,282
343,843,677 11,318,270,044
196,581,468 10,191,818,914
5.2 14
(1,196,681,314) 733,068,333 26,018,091,786
(1,086,448,750) 433,971,801 24,361,022,816
26,292,113,736
25,018,400,397
42,932,236,263
43,343,733,041
40,556,871,786
43,085,727,390
23
23
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
5 งบการเงิน
P- 235
บริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่ อย บริษัท โกลบอล นเนอร์ยี่ จำเพาเวอร์ �กัด (มหาชน) (เดิมชื่ อเพาเวอร์ บริ ษทั ซิโกลบอล ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริ ษทั ย่ อย) งบกาไรขาดทุน
งบกำ�ไรขาดทุน หมายเหตุ
รายได้จากการขายสิ นค้าและการให้บริ การ รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน ต้นทุนขายสิ นค้าและต้นทุนการให้บริ การ กาไรขั้นต้ น
6, 25, 31 6, 25 6
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (บาท) 22,924,014,633 24,841,397,592 22,751,557,348 24,840,140,385 730,408,226 754,520,357 730,408,226 754,520,357 (21,571,220,506) (23,649,292,792) (21,454,345,032) (23,647,584,184) 2,083,202,353 1,946,625,157 2,027,620,542 1,947,076,558
รายได้จากการขายไนโตรเจน 6 ต้นทุนค่าไนโตรเจน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น 6 ค่าใช้จ่ายในการขาย 6 ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 6, 26 ผลเสี ยหายจากคดีความ 10 ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน 15 กาไรก่อนต้ นทุนทางการเงินและค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน 29 กาไรก่อนค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 30 กาไรสาหรับปี /งวด
100,795,069 (94,133,073) (7,669,633) 135,354,618 (8,893,611) (401,299,935) -
107,157,654 (100,877,716) (22,697,617) 184,504,415 (5,188,030) (276,087,908) (90,165,883)
100,795,069 (94,133,073) (9,357,516) 243,394,734 (8,893,611) (375,764,772) -
107,157,654 (100,877,716) (14,427,951) 186,228,983 (5,188,030) (275,601,157) (90,165,883)
268,264,312 2,075,620,100 (470,100,260) 1,605,519,840 (27,477,496) 1,578,042,344
2,466,523 1,745,736,595 (600,512,796) 1,145,223,799 (1,574,821) 1,143,648,978
1,883,661,373 (470,097,978) 1,413,563,395 (27,477,496) 1,386,085,899
1,754,202,458 (599,437,099) 1,154,765,359 (1,574,821) 1,153,190,538
ส่ วนของกาไรสาหรับปี /งวดทีเ่ ป็ นของ ส่วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไรสาหรับปี /งวด
14
1,580,577,562 (2,535,218) 1,578,042,344
1,148,289,906 (4,640,928) 1,143,648,978
1,386,085,899 1,386,085,899
1,153,190,538 1,153,190,538
32
1.41
1.32
1.23
1.32
กาไรต่ อหุ้ นขั้นพืน้ ฐาน (บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ P- 236
งบการเงิน
6
บริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่ อย (เดิมชื่ อบริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริ ษทั ย่ อย) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หมายเหตุ
กาไรสาหรับปี /งวด กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่น กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี /งวด - สุ ทธิจากภาษี กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี /งวด ส่ วนของกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมทีเ่ ป็ นของ ส่วนของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม 14 กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี /งวด
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (บาท) 1,578,042,344 1,143,648,978 1,386,085,899 1,153,190,538 -
-
-
-
1,578,042,344
1,143,648,978
1,386,085,899
1,153,190,538
1,580,577,562 (2,535,218) 1,578,042,344
1,148,289,906 (4,640,928) 1,143,648,978
1,386,085,899 1,386,085,899
1,153,190,538 1,153,190,538
7 งบการเงิน
P- 237
P- 238
งบการเงิน
5.2.1
การเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่อย การได้มาซึ่งส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมจากการลงทุนในบริ ษทั ย่อย รวมการเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้เสียในบริษทั ย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่ )
กาไร (ขาดทุน )เบ็ดเสร็จสาหรับงวด กาไร (ขาดทุน) สาหรับงวด (ปรับปรุ งใหม่) กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่น รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับงวด
รวมรายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้น
5.2 23
3
เงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น การซื้อบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน เพิม่ หุน้ สามัญ รวมเงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น
รายการกับผู้ถอื หุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถอื หุ้น
สาหรับระยะเวลาตั้งแต่ วนั ที่ 10 มกราคม 2556 (วันควบบริษทั ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 (วันควบบริษทั ) ตามทีร่ ายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่
หมายเหตุ
บริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ย่ย ี่ จากั ด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย งบแสดงการเปลี นแปลงส่ วนของผู ้ถือหุ้น (เดิมชื่อบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษทั ย่อย) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
11,237,256,000
-
2,607,256,000
-
2,607,256,000 2,607,256,000
8,630,000,000 8,630,000,000
ทุนเรื อนหุน้ ที่ออก และชาระแล้ว
3,392,744,015
-
3,392,744,015
-
3,392,744,015 3,392,744,015
-
ส่ วนเกิน มูลค่าหุน้ สามัญ
-
-
-
-
-
4,898,691,055 (4,898,691,055) -
ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ จากการรวมธุรกิจ
8
-
-
-
-
-
(4,087,989,427) 4,087,989,427 -
ส่ วนลดทุน จากการรวมธุรกิจ
196,581,468
-
-
-
-
196,581,468 196,581,468
ทุนสารอง ตามกฎหมาย
10,186,918,282
1,148,289,906 1,148,289,906
-
-
-
7,206,170,368 1,832,458,008 9,038,628,376
ยังไม่ได้จดั สรร (บาท)
งบการเงินรวม กาไรสะสม
25,013,499,765
1,148,289,906 1,148,289,906
6,000,000,015
-
6,000,000,015 6,000,000,015
16,843,453,464 1,021,756,380 17,865,209,844
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั
(1,086,448,750)
-
(1,086,448,750)
-
(1,086,448,750) (1,086,448,750)
-
433,971,801
(4,640,928) (4,640,928)
438,612,729
438,612,729 438,612,729
-
-
ส่ วนลดทุนจากการ ส่วนของส่ วนได้เสี ย จัดโครงสร้างการดาเนิ นธุรกิจ ที่ไม่มีอานาจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน ควบคุม
24,361,022,816
1,143,648,978 1,143,648,978
5,352,163,994
438,612,729 438,612,729
(1,086,448,750) 6,000,000,015 4,913,551,265
16,843,453,464 1,021,756,380 17,865,209,844
รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุน้
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
11,237,256,000
-
โอนไปสารองตามกฎหมาย
24
-
กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่น รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับปี
-
-
11,237,256,000 11,237,256,000
-
14
5.2 36
3
รวมรายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น
การเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่ อย การเพิ่มขึ้นของส่ วนที่ไม่มีอานาจควบคุม จากการลงทุนในบริ ษทั ย่อย รวมการเปลี่ยนแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่ อย
เงินทุนทีไ่ ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น การซื้ อบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมและกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุ้นของบริ ษทั รวมเงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู ือหุ้น
รายการกับผู้ถอื หุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถอื หุ้น
สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามทีร่ ายงานในงวดก่ อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุงใหม่
หมายเหตุ
ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก และชาระแล้ว
บริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ย่ย ี่ จากันแปลงส่ ด (มหาชน) และบริ ทั ย่ อย งบแสดงการเปลี วษนของผู ้ถือหุ้น (เดิมชื่อบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษทั ย่ อย) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
3,392,744,015
-
-
-
-
-
3,392,744,015 3,392,744,015
ส่ วนเกิน มูลค่าหุ ้นสามัญ
-
-
-
-
-
-
4,898,691,055 (4,898,691,055) -
ส่วนเกินมูลค่าหุ ้น จากการรวมธุรกิจ
9
-
-
-
-
-
-
(4,087,989,427) 4,087,989,427 -
ส่ วนลดทุน จากการรวมธุรกิจ
343,843,677
147,262,209
-
-
-
-
196,581,468 196,581,468
ทุนสารอง ตามกฎหมาย
11,507,861,075
(147,262,209)
1,580,577,562 1,580,577,562
(112,372,560)
-
(112,372,560) (112,372,560)
8,355,008,535 1,831,909,747 10,186,918,282
ยังไม่ได้จดั สรร (บาท)
งบการเงินรวม กาไรสะสม
26,481,704,767
-
1,580,577,562 1,580,577,562
(112,372,560)
-
(112,372,560) (112,372,560)
23,992,291,646 1,021,208,119 25,013,499,765
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั
(1,196,681,314)
-
-
(110,232,564)
-
(110,232,564) (110,232,564)
(1,086,448,750) (1,086,448,750)
733,068,333
-
(2,535,218) (2,535,218)
301,631,750
301,631,750 301,631,750
-
644,744,139 (210,772,338) 433,971,801
ส่วนลดทุนจากการ ส่ วนของส่ วนได้เสี ย จัดโครงสร้างการดาเนิ นธุ รกิจ ที่ไม่มีอานาจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน ควบคุม
26,018,091,786
-
1,578,042,344 1,578,042,344
79,026,626
301,631,750 301,631,750
(110,232,564) (112,372,560) (222,605,124)
24,637,035,785 (276,012,969) 24,361,022,816
รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุ ้น
รายงานประจำ�ปี 2557
P- 239
P- 240
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรั บปรุ งใหม่)
กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรั บงวด กาไรสาหรับงวด (ปรับปรุ งใหม่) กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่ น รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จสาหรับงวด
รวมรายการกับผู้เป็ นเจ้ าของที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น
รายการกับผู้ถอื หุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น เพิ่มหุ้นสามัญ รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ูถอื หุ้น
สาหรั บระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 มกราคม 2556 (วันควบบริ ษทั ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 (วันควบบริ ษทั ) ตามที่รายงานในงวดก่ อน ผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรั บปรุ งใหม่
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (เดิมชื่ อบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษทั ย่อย) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้ น
23
3
หมายเหตุ
11,237,256,000
-
2,607,256,000
2,607,256,000 2,607,256,000
8,630,000,000 8,630,000,000
ทุนเรื อนหุ ้นที่ออก และชาระแล้ว
-
10
3,392,744,015
-
3,392,744,015
3,392,744,015 3,392,744,015
ส่ วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ
-
-
-
-
4,898,691,055 (4,898,691,055) -
ส่วนเกินมูลค่าหุ ้น จากการรวมธุรกิจ
-
-
-
-
(4,087,989,427) 4,087,989,427 -
ส่วนลดทุน จากการรวมธุรกิจ (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
196,581,468
-
-
-
196,581,468 196,581,468
10,191,818,914
1,153,190,538 1,153,190,538
-
-
7,206,170,368 1,832,458,008 9,038,628,376
กาไรสะสม ทุนสารอง ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร
25,018,400,397
1,153,190,538 1,153,190,538
6,000,000,015
6,000,000,015 6,000,000,015
16,843,453,464 1,021,756,380 17,865,209,844
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
11,237,256,000
-
โอนทุนสารองตามกฎหมาย
24
-
กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับปี กาไรสาหรับปี กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่น รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับปี
-
11,237,256,000 11,237,256,000
-
36
3
หมายเหตุ
ทุนเรื อนหุ้นที่ออก และชาระแล้ว
รวมรายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้ น
รายการกับผู้ถอื หุ้นทีบ่ ันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนทีไ่ ด้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั รวมเงินทุนทีไ่ ด้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู ือหุ้น
สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ตามทีร่ ายงานในงวดก่ อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ปรับปรุ งใหม่
บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย (เดิมชื่ อบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษทั ย่ อย) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
11
3,392,744,015
-
-
-
-
3,392,744,015 3,392,744,015
ส่ วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ
-
-
-
-
-
4,898,691,055 (4,898,691,055) -
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น จากการรวมธุรกิจ
-
-
-
-
-
(4,087,989,427) 4,087,989,427 -
ส่ วนลดทุน จากการรวมธุรกิจ (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
343,843,677
147,262,209
-
-
-
196,581,468 196,581,468
11,318,270,044
(147,262,209)
1,386,085,899 1,386,085,899
(112,372,560)
(112,372,560) (112,372,560)
8,359,950,794 1,831,868,120 10,191,818,914
กาไรสะสม ทุนสารอง ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร
26,292,113,736
-
1,386,085,899 1,386,085,899
(112,372,560)
(112,372,560) (112,372,560)
23,997,233,905 1,021,166,492 25,018,400,397
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น
รายงานประจำ�ปี 2557
P- 241
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริ ษัท โกลบอล ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยเพาเวอร์ ี่ จำ�กัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด
งบกระแสเงินสด หมายเหตุ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี /งวด รายการปรั บปรุง ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง ผลเสี ยหายจากคดีความ (กลับรายการ) สารองหนี้ สูญและหนี้ สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) สารองค่าเผื่อจากการลดลงของมูลค่า สิ นค้าคงเหลือ ขาดทุนจากการจาหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สารองผลประโยชน์พนักงาน ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ส่ วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรั พย์และหนี ส้ ิ นดาเนิ นงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ ภาษีมูลค่าเพิม่ ขอคืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้ การค้า เจ้าหนี้ อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนิ้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดาเนิ นงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ P- 242
งบการเงิน
28 6 6 10 10, 12 13 22 29 30 15
22
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (บาท) 1,578,042,344
1,143,648,978
1,386,085,899
1,153,190,538
1,042,734,822 (109,857,508) (11,250) 264,974 1,004,000
991,198,604 (164,882,154) (12,500) 20,731,190 90,165,883 (7,222,500)
1,021,163,880 (184,908,575) (31,511,252) 264,974 1,004,000
990,763,054 (164,781,514) (12,500) 12,461,525 90,165,883 (7,222,500)
(55,508) 13,454,315 4,597,079 470,100,260 27,477,496
46,411 42,333 4,980,627 600,512,796 1,574,822
(55,508) 13,454,315 4,348,447 470,097,978 27,477,496
46,411 42,333 4,978,096 599,437,099 1,574,822
(268,264,312) 2,759,486,712
(2,466,523) 2,678,317,967
2,707,421,654
2,680,643,247
1,985,269,158 430,003,404 629,828,410 28,223,454 56,690,157 47,294,386 (11,122,535) (835,745,729) (287,711,368) (96,600,981) 3,465,000 4,709,080,068 (106,041,437) 4,603,038,631
(1,788,691,984) 481,432,804 (543,788,310) 30,953,800 (659,227) (112,693,468) (700,395) 583,782,098 185,122,794 43,520,240 (1,257,458) (3,690,077) 1,551,648,784 1,551,648,784
1,986,427,696 430,003,404 641,940,235 28,223,454 57,410,439 56,227,987 (151,550) (835,745,729) (272,731,758) (98,634,273) 4,700,391,559 (105,934,657) 4,594,456,902
(1,787,346,772) 481,432,804 (544,324,077) 19,510,035 157,167 (114,255,308) (627,544) 583,782,098 215,611,298 55,243,613 (1,257,458) 1,588,569,103 1,588,569,103
12
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) งบกระแสเงินสด
งบกระแสเงินสด หมายเหตุ
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ วันที่ 10 มกราคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (บาท)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย 6 รับเงินปั นผล 6 ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ซื้ ออาคารและอุปกรณ์ เงินฝากธนาคารที่มีขอ้ จากัดในการเบิกใช้ (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริ ษทั ย่อย 5.2.1 เงินสดจ่ายจากการลงทุนในบริ ษทั ร่ วม 5.2.3 เงินสดจ่ายจากการลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน 5.2.2 เงินลงทุนระยะยาวอื่น รับคืนเงินจากการลงทุน 9 เงินจ่ายให้เงินกูย้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 ้ ิ ่ เงินรับจากเงินกูยมื ระยะสั้นแก่กจการที่เกียวข้องกัน 6 เงินจ่ายให้เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินรับจากเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 เงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน
117,879,897 11,250 (48,938,015) (3,081,758,150) (101,748,788) (883,687,500) (1,094,000,000) (2,896,377,411) 210,000,000 825,220,250 (6,953,398,467)
175,028,281 12,500 (1,905,099) (357,680,297) 610,956,064 (913,526,148) (2,315,698,437) (927,000,000) (174,023,827) 925,415,820 (2,978,421,143)
192,976,665 11,250 (46,748,015) (706,969,015) 80,536,757 (2,474,068,250) (1,094,000,000) (2,896,377,411) 210,000,000 (671,762,500) 2,240,276,035 (330,000,000) 80,000,000 685,220,250 (4,730,904,234)
174,653,562 12,500 (1,503,029) (357,680,297) 610,956,065 (1,436,486,465) (590,000,000) (927,000,000) (1,568,513,535) 1,065,415,820 (3,030,145,379)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย 29 จ่ายเงินปันผล 36 รับเงินค่าหุน้ เพิ่มทุน 23 ค่าใช้จ่ายในการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงิน 29 เงินรับจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายเงินกูย้ มื กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับค่าหุน้ จากส่วนที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(516,988,848) (112,372,560) (135,001,878) 1,640,000,000 (2,000,000,000) 2,470,000,000 (2,266,233,278) 301,631,750 (618,964,814)
(592,993,215) 6,000,000,015 (1,487,274) 360,000,000 (350,000,000) (1,875,437,644) 3,540,081,882
(448,458,613) (112,372,560) (64,060,480) (2,266,233,278) (2,891,124,931)
(594,741,274) 6,000,000,015 (1,487,274) (1,875,437,644) 3,528,333,823
(2,969,324,650)
2,113,309,523
(3,027,572,263)
2,086,757,547
6,390,269,701 3,420,945,051
4,276,960,177 6,390,269,700
6,363,717,724 3,336,145,461
4,276,960,177 6,363,717,724
193,525,744 117,220,728
464,065,504 450,000,000
54,592,028 117,220,728
21,033,197 450,000,000
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 และวันที่ 1 มกราคม 2557 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม รายการทีไ่ ม่ใช่ เงินสด เจ้าหนี้งานก่อสร้างโครงการยูทิลิต้ ี หนี้ สินตามสัญญาซื้ อขายกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
13 งบการเงิน
P- 243
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุ
สารบัญ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29
ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทางบการเงิน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สาคัญ การรวมธุรกิจและการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากธนาคารที่มีข้อจากัดในการเบิกใช้ เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น สารองตามกฎหมาย รายงานทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน 14
P- 244
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุ
สารบัญ
30 31 32 33 34 35 36 37
ภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เงินปันผล มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้
15 งบการเงิน
P- 245
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ คณะกรรมการได้อนุมัติให้ออกงบการเงินนี้เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 1
ข้อมูลทั่วไป บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด “GPSC” เกิดขึ้นจากการควบบริษัท (Amalgamation) ระหว่างบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จากัด “PTTUT” และบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จากัด “IPT” โดยได้จดทะเบียนจัดตั้ง บริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่บริษัทได้กาหนดให้มีอัตราการ แลกหุ้นของการควบบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นของ PTTUT และ IPT ที่มีชื่อปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของแต่ละ บริษัท โดยบริษัทได้มาซึ่งทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิ หน้าที่ และภาระผูกพันทั้งหมดของทั้งสองบริษัท ตลอดรวม สัญญาต่างๆ ที่ PTTUT และ IPT ได้ทาไว้ก่อนหน้าการควบรวม บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นและจดทะเบียนในประเทศ ไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนดังนี้: สานักงานใหญ่
: เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวง จตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
สาขาที่ 1
: เลขที่ 24 ถนนปกรณ์ส งเคราะห์ราษฎร์ ตาบลห้วยโป่ง อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
สาขาที่ 2
: เลขที่ 92/9 ถนนทางหลวงระยอง-สาย 3191 ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
สาขาที่ 3
: เลขที่ 5/11 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
สาขาที่ 4
: เลขที่ 42/3 หมู่ท1ี่ ถนนสุขุมวิท ตาบลทุ่งสุขลา อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
16
P- 246
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
รายงานประจำ�ปี 2557
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปีได้แก่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) (ถือหุ้นร้อยละ 30.31) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (ถือหุ้นร้อยละ 30.10) และกลุ่มบริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) (ถือหุ้นร้อยละ 39.59) ซึ่ง บริษัททั้งสามแห่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) เป็นบริษัทใหญ่ใน ลาดับสูงสุด ในการประชุมใหญ่วิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 2/2557 เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้มีมติให้แปร สภาพบริษัทเป็นบริษัท มหาชน จากัด และมีมติให้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น “บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน)” บริษัทได้จดทะเบียนการเปลี่ยนชื่อและการแปรสภาพบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 บริษัทดาเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า ไอน้า และน้าเพื่อการอุตสาหกรรม รายละเอียดของ บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ ชื่อกิจการ บริษัทย่อยทางตรง บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริ ษั ท ไทย โซล่ า ร์ รี นิ ว เอเบิ ล จากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด กิจการที่ควบคุมร่วมกันทางอ้อม บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จากัด
บริษัทถือหุ้นร้อยละ 2557 2556
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง
ผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า และน้าเย็น ธุรกิจลงทุน ผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า ไอน้ า และน้าเพื่อการอุตสาหกรรม
ไทย
100
100
ไทย ไทย
100 51
100 51
ธุรกิจลงทุน
ไทย
40
40
ผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า ผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า
ไทย ลาว
30 40
-
ผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า
ไทย
40
40
17 งบการเงิน
P- 247
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
2
เกณฑ์การจัดทางบการเงิน
(ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดทาขึ้นพื่อประกอบการยื่นขอทาคาเสนอขายหุ้นสามัญของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) ต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งส่งผลให้งบการเงินนี้อาจจะไม่ เหมาะสมสาหรับใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น งบการเงินนี้จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) ที่มีผลบังคับใช้สาหรับงบการเงินสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557ยกเว้น การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานการเงินที่จะกล่าวต่อไป ในการจัดทางบการเงินนี้ กลุ่มบริษัทได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่ประกาศโดย สภาวิชาชีพบัญชีเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่จะมีผลบังคับสาหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป ดังต่อไปนี้ มาถือปฏิบัติก่อนวันที่ ถือปฏิบัติ โดยกลุ่มบริษัทถือปฏิบัติมาตรฐานการรายงานทาง การเงินดังต่อไปนี้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12
เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น
การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมีผลทาให้การควบรวมกิจการและการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1 และ 5 ถือเป็นการรวมธุรกิจ ภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มบริษัทก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัท ใหญ่ในลาดับสูงสุดแห่งหนึ่ง
18 P- 248
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน ของกลุ่มบริษัท และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29
เรื่อง
การนาเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรวมธุรกิจ ส่วนงานดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ ข้อตกลงสัมปทานบริการ การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ
19 งบการเงิน
P- 249
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ในเบื้องต้นการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ข้างต้นนั้น มีผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัทในบางเรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับ ปรุงใหม่ ข้างต้น สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและ ปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการนามาใช้สาหรับการจัดทางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานของกลุ่มบริษัท ได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 37 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดทาขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ในนโยบายบัญชี (ค) สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานและนาเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทาและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท ซึ่งเป็น สกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของบริษัท ข้อมูล ทางการเงินทั้งหมดมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็น อย่างอื่น (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดทางบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจานวนเงินที่ เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทางบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่ างต่อเนื่อง การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ
20 P- 250
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สาคัญในการกาหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบ สาคัญต่อการรับรู้จานวนเงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 22 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33 3
การรวมธุรกิจและการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุม ร่วมกัน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เครื่องมือทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กลุ่มบริษัทได้ใช้นโยบายการบัญชีที่สาคัญและวิธีการคานวณในงบการเงินสาหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เช่นเดียวกับที่ใช้สาหรับการจัดทางบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยกเว้นเรื่องดังต่อไปนี้
ก)
ภาพรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 ผลจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ และ การนามาตรฐานการรายงานทางการเงินมาถือปฏิบัติก่อนวันที่ถือปฏิบัติดังที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 2 กลุ่มบริษัทได้เปลี่ยนนโยบายการบัญชีในส่วนที่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัทอย่างเป็นสาระสาคัญ ดังนี้
การบัญชีสาหรับการนาเสนองบการเงิน การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน การบัญชีเกี่ยวกับการจัดทางบการเงินรวม การบัญชีสาหรับข้อตกลงที่มีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ การบัญชีสาหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีใหม่ที่กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติได้รวมอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ข) ถึง 3 (ฉ) ดังต่อไปนี้ 21 งบการเงิน
P- 251
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ผลกระทบต่องบการเงินสาหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2556
สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556
(ล้านบาท)
หมายเหตุ งบแสดงฐานะการเงิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ตามที่รายงานในงวดก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการปรับ ย้อนหลัง การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่า หรือไม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 – ปรับปรุงใหม่ ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ตามที่รายงานในงวดก่อน การเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลจากการปรับ ย้อนหลัง การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่า หรือไม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 – ปรับปรุงใหม่
P- 252
งบการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556
16,843
16,843
3(จ)
-
-
3(ฉ)
1,022
1,022
17,865
17,865
24,637
23,997
3(จ)
361
361
3(ฉ)
(637)
660
24,361
25,018
22
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน หมายเหตุ
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม
สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556
2556 หมายเหตุ
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสาหรับระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ตามที่รายงาน ในงวดก่อน การเปลี่ยนแปลงก่อนภาษีเงินได้ที่เป็นผลจาก การปรับย้อนหลัง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลง ประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ – ปรับปรุงใหม่ ภาษีเงินได้ ตามที่รายงานในงวดก่อน การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ที่เป็นผลจากการ ปรับย้อนหลัง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลง ประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม ภาษีเงินได้ – ปรับปรุงใหม่ กาไร (ขาดทุน) – ปรับปรุงใหม่ กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท)
งบการเงินเฉพาะ กิจการ 2556 (ล้านบาท)
1,146
1,156
3(จ)
458
458
3(ฉ)
(459) 1,145
(459) 1,155
(2)
(2)
3(จ)
97
97
3(ฉ)
(97) (2) 1,143 0.00
(97) (2) 1,153 0.00
23
งบการเงิน
P- 253
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ข)
การนาเสนองบการเงิน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้เริ่มแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่รับรู้ในงวดในงบการเงินแยกเป็น สองงบ คือ งบกาไรขาดทุนและงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และแสดงงบกาไรขาดทุนแบบขั้นเดียวเป็นงบกาไร ขาดทุ นแบบหลายขั้ น เพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตามนโยบายการบั ญ ชี ข องกลุ่ มบริ ษั ทและกิ จการที่เ กี่ ย วข้ อ งกั น ข้ อ มู ล เปรียบเทียบได้มีการนาเสนอใหม่เพื่อให้เป็นไปตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การ เปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงการนาเสนองบการเงินเท่านั้น ไม่มีผลกระทบต่อกาไรหรือกาไรต่อหุ้น
ค)
การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน์พนักงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทจะรับรู้กาไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงานที่กาหนดไว้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นทันที และยกเลิกวิธีการ บันทึกในกาไรขาดทุนหรือขาดทุน อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนนโยบายการบัญชีนี้ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นนัยสาคั ญ ต่อกลุ่มบริษัท
ง)
การบัญชีเกี่ยวกับการจัดทางบการเงินรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้รวมส่วนแบ่งกาไรหรือขาดทุนของกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน ตามวิธีส่วน ได้ เสียในงบการเงินรวม และยกเลิกวิธีรวมตามสัดส่วน อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่มี ผลกระทบต่อกาไร หรือกาไรต่อหุ้น
24 P- 254
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลกระทบของการเปลี่ ย นแปลงนโยบายบั ญชี นี้ ไ ด้ ป รั บปรุ งย้ อ นหลั งในงบการเงิ น โดยผลกระทบที่เ กิ ด จาก งบการเงินของ บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด ซึ่งเป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ที่มีต่องบแสดงฐานะการเงิน รวมของกลุ่มบริษทั สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 (พันบาท) งบแสดงฐานะทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง เงินฝากธนาคารที่มีข้อจากัดในการเบิกใช้ลดลง ลูกหนี้การค้าลดลง ลูกหนี้อื่นลดลง ภาษีมูลค่าเพิ่มขอคืนลดลง สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลง เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกันเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง ค่าความนิยมลดลง สินทรัพย์ไม่มีตัวตนลดลง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นลดลง เจ้าหนี้อื่นลดลง เจ้าหนี้งานก่อสร้างโครงการยูทิลิตี้ลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกาหนด ชาระภายในหนึ่งปีลดลง หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีลดลง หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นลดลง กาไรสะสมเพิ่มขึ้น
(112) (9,514) (49,552) (91,021) (7,574) (16,476) 1,380,581 (2,298,727) (257,146) (961,320) (244) 44,287 304,356 327,500 6,230 1,607,100 19,248 2,384 -
25
งบการเงิน
P- 255
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
จ)
การบัญชีสาหรับข้อตกลงที่มีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (TFRIC 4) การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ TFRIC 4 กาหนดให้ประเมินข้อตกลงซึ่งไม่ได้มีรูปแบบของสัญญาเช่าตามกฎหมายแต่มีการให้สิทธิในการใช้ สินทรัพย์ตามระยะเวลาที่กาหนดและมีการให้ผลตอบแทนในลักษณะของการจ่ายคืนครั้งเดียวหรือหลายครั้ง โดย TFRIC 4 ให้แนวทางในการพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ ซึ่งหาก เป็นสัญญาเช่าก็ต้องถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า หากข้อตกลงดังกล่าวมีสัญญาเช่า เป็นส่วนประกอบ กรณีนี้ TFRIC 4 กาหนดให้นามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า มาถือปฏิบัติกับ ส่วนประกอบที่เป็นสัญญาเช่าในการจัดประเภทรายการและการบันทึกบัญชี ผู้บริหารได้ทบทวนข้อตกลงของบริษัทแล้ว และพิจารณาว่าการนา TFRIC 4 มาถือปฏิบัตินั้นมีผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน และกาไรสะสมของบริษัท เนื่องจากบริษัทมีสัญญาขายกระแสไฟฟ้ากับกิจการแห่งหนึ่งที่เข้า เงื่อนไขว่าเป็นข้อตกลงที่ประกอบไปด้วยสัญญาเช่าการเงิน ทั้งนี้บริษัทรับรู้รายได้จากสัญญาเช่าการเงินตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ขณะที่ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน แสดง มูลค่ายอดคงค้างสุทธิจากดอกเบี้ยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
26 P- 256
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีนี้ได้ปรับปรุงย้อนหลังในงบการเงิน โดยผลกระทบที่มีต่องบการเงิน รวมของกลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ กิจการ ณ วันที่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 (พันบาท)
งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น ค่าความนิยมลดลง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ส่วนลดทุนจากการรวมธุรกิจเพิ่มขึ้น กาไรสะสมเพิ่มขึ้น
6,586,379 (141,292) (5,958,618) (125,552) 1,832,458 2,193,375
6,586,379 (141,292) (5,958,618) (125,552) 1,832,458 2,193,375
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (พันบาท) งบกาไรขาดทุน รายได้จากการขายลดลง รายได้จากสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น ต้นทุนขายลดลง ค่าใช้จ่ายในการบริหารเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น กาไรสาหรับงวดเพิ่มขึ้น กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (บาท)
1,606,162 (1,018,715) (1,071,666) 26,457 96,844 (360,918) (0.41)
27 งบการเงิน
P- 257
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ฉ) การบัญชีสาหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่ประกาศ โดยสภาวิชาชีพบัญชีเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่จะมีผลบังคับสาหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป ดังต่อไปนี้ มาถือปฏิบัติก่อนวันที่ถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12
เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า งบการเงินรวม การร่วมการงาน การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น
การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็นนัยสาคัญต่อกลุ่มบริษัท ยกเว้น การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 งบการเงินรวม ที่มีผลทาให้การควบรวมกิจการและการ ได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันตามที่กล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1 และ 5 ถือเป็นการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มบริษัทก่อนและหลังการควบรวมกิจการอยู่ภายใต้การ ควบคุมของบริษัทใหญ่ในลาดับสูงสุดแห่งหนึ่ง
28 P- 258
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีนี้ได้ปรับปรุงย้อนหลังในงบการเงิน โดยผลกระทบที่มีต่องบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของกลุ่มบริษัท สรุปได้ดังนี้ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม (พันบาท) สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 รายได้จากการขายเพิ่มขึ้น ดอกเบี้ยรับตามสัญญาเช่าทางการเงินลดลง ต้นทุนขายเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลง ต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้น ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและ กิจการที่ควบคุมร่วมกันเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ลดลง กาไรลดลง กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นลดลง รวมกาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จลดลง กาไรต่อหุ้นลดลง
งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เฉพาะกิจการ
(370,209) 264,194 586,080 (27,092) 5,376
(370,209) 264,194 586,099 (27,092) 5,376
(22) (96,861) 361,466 361,466
(96,861) 361,507 361,507
0.41
0.41
29 งบการเงิน
P- 259
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะ การเงินรวม
งบแสดงฐานะ การเงิน เฉพาะกิจการ 1 มกราคม 1 มกราคม 2557 2557 (พันบาท) (579,678) (231,787) 1,232,051 1,232,051 (17,328) (39,363) (316,001) (353,400) (495,000) 5,590 5,590 (244,063) (175,343)
เงินลงทุนในบริษัทร่วมลดลง เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกันลดลง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง ค่าความนิยมลดลง สินทรัพย์ไม่มีตัวตนลดลง เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินลดลง หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นจากการรวมธุรกิจลดลง ส่วนลดทุนจากการรวมธุรกิจเพิ่มขึ้น ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดาเนินธุรกิจ ภายใต้การควบคุมเดียวกันลดลง ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมลดลง กาไรสะสมลดลง
P- 260
งบการเงิน
30
4,898,691 (5,920,447)
4,898,691 (5,920,447)
1,086,449 210,772 (361,465)
(361,507)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
4
นโยบายการบัญชีที่สาคัญ นโยบายการบัญชีที่นาเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม่าเสมอสาหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน ยกเว้นที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี
(ก) เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสีย ของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน การรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีส าหรั บการรวมธุร กิจตามวิธีซื้อ ยกเว้นในกรณี ที่เป็นการรวมธุร กิจภายใต้การควบคุ ม เดียวกัน การควบคุม หมายถึงอานาจในการกาหนดนโยบายทางการเงิ นและการด าเนินงานของกิจการเพื่อให้ได้ มาซึ่ ง ประโยชน์จากกิจกรรมของกิจการนั้น ในการพิจารณาอานาจในการควบคุม กลุ่มบริษัทต้องนาสิทธิในการออกเสียง ที่เกิดขึ้นมารวมในการพิจารณาด้วย วันที่ซื้อกิจการคือวันที่อานาจในการควบคุมนั้นได้ถูกโอนไปยังผู้ซื้อ การ กาหนดวันที่ซื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอานาจควบคุมจากผู้ถูกซื้อไปยังผู้ซื้อต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามา เกี่ยวข้อง ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ซึ่งรวมถึงการรับรู้จานวน ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ หักด้วยมูลค่าสุทธิ (มูลค่ายุติธรรม) ของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและ หนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่โอนไป หนี้สินที่กลุ่มบริษัทก่อขึ้นเพื่ อจ่ายชาระ ให้แก่เจ้าของเดิม และส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มบริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนให้ยังรวมถึง มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและมูลค่าของโครงการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ออกแทนโครงการของผู้ถูก ซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผ ลให้สิ้นสุดความสัมพันธ์ของโครงการเดิมระหว่าง กลุ่มบริษัทและผู้ถูกซื้อ ให้ใช้ราคาที่ต่ากว่าระหว่าง มูลค่าจากการยกเลิกสัญญาตามที่ระบุในสัญญา และมูลค่าองค์ประกอบนอกตลาด ไป หักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น 31 งบการเงิน
P- 261
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัท ที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรู้เป็นหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่ง เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ในอดีต และสามารถวัดมูลค่ายุติธรรมได้อย่างน่าเชื่อถือ กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมตามอัตราส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาจากผู้ถูกซื้อ ต้นทุนที่เ กี่ยวข้องกับการซื้อของกลุ่มบริ ษัทที่เกิด ขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากการรวมธุ รกิจ เช่น ค่าที่ปรึ กษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางอ้อมในการกาหนดนโยบายทางการเงินและการดาเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์ จากกิจกรรมของบริษัทย่อย ดังนั้นงบการเงินของบริษัทย่อยได้ถูกรวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่กลุ่มบริษัทมี การควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจาเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท ผล ขาดทุนในบริษัทย่อยจะต้องถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม แม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะทาให้ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสูญเสียอานาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอานาจควบคุม กลุ่มบริษัทจะตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจ ควบคุมและส่วนประกอบอื่นในส่วนของผู้ ถือหุ้นที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยนั้น กาไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ สูญเสียอานาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียที่ยังคงเหลืออยู่ให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่า ยุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่
32 P- 262
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญโดยมีอานาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายทางการเงินและการดาเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญ ถูกสันนิษฐานว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 กิจการที่ ควบคุมร่วมกันเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีส่วนร่วมในการควบคุมการดาเนินงานตามที่ตกลงไว้ในสัญญา และในการ ตัดสินใจทางการเงินและการปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ต้องได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ เงินลงทุนในบริษทั ร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันบันทึกในงบการเงินรวมโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย (เงินลงทุนตามวิธี ส่วนได้เสียของบริษัทที่ถูกลงทุน) โดยรับรู้รายการเริ่มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิด จากการทารายการดังกล่าว งบการเงินรวมได้รวมส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนและกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทร่วมที่ถูกลงทุน ภายหลังจาก การปรับปรุงนโยบายการบัญชีให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญ จนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญนั้นสิ้นสุดลง เมื่อส่วนแบ่งผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับมีจานวนเกินกว่า ส่วนได้เสียในบริษัทที่ไปลงทุนนั้น มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัท จะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และจะ ไม่รับรู้ส่วนแบ่งผลขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทผู้ลงทุนมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือต้องจ่ายเงิน เพื่อชาระภาระผูกพันแทนในนามของผู้ถูกลงทุน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจาก รายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทางบการเงินรวม กาไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจาก รายการกับบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการ ที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกาไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ 33 งบการเงิน
P- 263
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงินน หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ รายงาน แปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการ ดาเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิมแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการดาเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการแปลงค่ารับรู้เป็นกาไรหรือขาดทุนในงวดบัญชีนั้น หน่วยงานในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงานในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันทีเ่ กิดรายการ ค่าความนิยมและรายการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อหน่วยงานในต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดย ใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงค่า บันทึกในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเป็นรายการผลต่าง จากอัตราแลกเปลี่ยนในส่วนของผู้ถือหุ้น จนกว่ามีการจาหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ได้ถูกนามาใช้เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากกิจกรรมดาเนินงานและกิจกรรมจัดหาเงิน เพื่อลดความเสี่ยง จากการผั นผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ ย เครื่ องมื อทางการเงิ นที่ใช้ ส่ วนใหญ่ ประกอบด้วยสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ซึ่งไม่ได้มีการรับรู้ในงบ การเงิน ณ วันที่ทาสัญญา
34 P- 264
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนของ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่จะมีในอนาคต ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าตามสัญญา และอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง ณ วันที่ครบกาหนดสัญญาจะถูกบันทึกในกาไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดรายการ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเป็นการป้องกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในอนาคต ผลต่างที่ ได้รับหรือจ่ายตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย บันทึกปรับปรุงกับดอกเบี้ยจ่ายของภาระหนี้สินทางการเงินที่ได้รับ การป้องกันความเสี่ยงในกาไรหรือขาดทุน (ง)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทกระแส รายวันและออมทรัพย์ และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้องชาระคืนเมื่อทวง ถามถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด
(จ) ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น และลูกหนี้สัญญาเช่าการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้สุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชาระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชาระหนี้ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจาหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ
35 งบการเงิน
P- 265
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ากว่า ต้นทุนของสินค้าคานวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยราคาทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการแปลง สภาพหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้า สาเร็จรูปและสินค้าระหว่าง ผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้า รวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงระดับกาลังการผลิต ตามปกติ ชิ้นส่วนอะไหล่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบารุงจะจัดประเภทเป็นสินค้าคงเหลือและรับรู้ในกาไรขาดทุนเมื่อ นามาใช้ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ เป็ น การประมาณราคาที่ จ ะขายได้ จ ากการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ หั ก ด้ ว ยค่ า ใช้ จ่ า ยที่ จ าเป็ น โดยประมาณในการขาย (ช)
เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วม บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชี โดยใช้วิธีราคาทุน ส่วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันในงบการเงินรวมใช้วิธี ส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารทุนอื่น เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า
36 P- 266
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ชิ้นส่วนอะไหล่ที่สาคัญและอุปกรณ์ที่สารองไว้ใช้งานที่บริษัทคาดว่าจะใช้ประโยชน์ได้มากกว่าหนึ่งรอบระยะเวลา การรายงานและชิ้นส่วนอะไหล่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการซ่อมบารุงที่ต้องใช้ร่วมกับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จะจัดประเภทเป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และคิดค่าเสื่อมราคาเมื่อได้มาและพร้อมใช้งาน อะไหล่สารองหลักที่ถูก เปลี่ยนแทนจะถูกตัดออกจากบัญชีด้วยมูลค่าสุทธิตามบัญชีและบันทึกอะไหล่สารองหลักที่เปลี่ยนแทนด้วยราคา ตามบัญชี ณ วันที่มีการเปลี่ยนแทน ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ที่กิจการ ก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การ บูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม นอกจากนี้ต้นทุนอาจรวมถึงกาไรหรือขาดทุนจากการป้องกัน ความเสี่ยงกระแสเงินสดจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ซึ่งถูกโอนจากงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ซึ่งไม่สามารถทางานได้โดยปราศจากลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์นั้นให้ถือว่า ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์และถือเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละ ส่วนประกอบที่มีนัยสาคัญแยกต่างหากจากกัน กาไรหรือขาดทุนจากการจาหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้อื่นในกาไรหรือขาดทุน
37 งบการเงิน
P- 267
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจาหน่ายตามมูลค่า ตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบารุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจาจะรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน เมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาคานวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์ หรือต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในกาไรหรือขาดทุน คานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณ ของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร โรงผลิตกระแสไฟฟ้า เครื่องจักรและอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ ยานพาหนะ
5 ถึง 30 3 ถึง 30 3 ถึง 28 5 ถึง 10
ปี ปี ปี ปี
กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสาหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบ ปีบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฌ) ข้อตกลงสัมปทานบริการ กลุ่มบริษัทบันทึกข้อตกลงสัมปทานบริการเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน เมื่อมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขตามสัญญาที่จะ ได้รับเงินสดหรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่นจากผู้ให้สัมปทานหรือตามคาสั่งของผู้ให้สัมปทานสาหรับการให้บริการ ก่อสร้าง หรือ ยกระดับการให้บริการ สินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าวจะรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ภายหลัง จากนั้นสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย 38 P- 268
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
(ญ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การรับรู้มูลค่าเริ่มแรกของค่าความ นิยม ได้อธิบายในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 4(ก) ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยมจะถูกวัดมูลค่าด้วย วิธีราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม สาหรับตราสารทุน - การบัญชีด้านผู้ลงทุนมูลค่าตามบัญชีของค่า ความนิยมรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน และ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าในเงินลงทุนต้องไม่ถูกปันส่วนให้ สินทรัพย์ใด ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนรวมถึงค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ๆ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสม และค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ ค่าสิทธิและคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจากัดแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่าย สะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็น สินทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น
39 งบการเงิน
P- 269
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ค่าตัดจาหน่าย ค่าตัดจาหน่ายคานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจานวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่ า ตั ด จาหน่ า ยรั บรู้ ใ นกาไรหรื อขาดทุนโดยวิ ธีเ ส้ น ตรงซึ่ งโดยส่ ว นใหญ่จะสะท้อ นรู ปแบบที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากสินทรัพย์นั้นตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งไม่ รวมค่าความนิยม โดยเริ่มตัดจาหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาด ว่าจะได้รับประโยชน์สาหรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ สิทธิในสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
2 ถึง 10 10 ถึง 30
ปี ปี
วิธีการตัดจาหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปี บัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฎ) ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่าใช้จ่ายนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นไปตามอายุของสัญญาที่เกี่ยวข้อง (ฏ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ใน กรณีที่มีข้อบ่งชี้จะทาการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน สาหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ มีอายุการให้ประโยชน์ไ ม่ทราบแน่นอน หรือ ยังไม่พ ร้อมใช้ งาน จะประมาณมู ลค่า ที่คาดว่าจะได้รั บคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกาไรหรือขาดทุน
40 P- 270
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การคานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของ สินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนคานึง ภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สาหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่นจะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน รวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ในกาไรหรือขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการ ด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคานวณ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกิน กว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่าตัดจาหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการ ด้อยค่ามาก่อน (ฐ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการ บันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี้เริ่มแรกและยอด หนี้เมื่อครบกาหนดไถ่ถอนจะบันทึกในกาไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฑ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
41 งบการเงิน
P- 271
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ฒ) ผลประโยชน์ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็นจานวนเงินที่ แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยกต่างหาก (กองทุนสารองเลี้ยงชีพ ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระ ผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายพนักงานในกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานทางานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ถูกคานวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทางานของพนักงานในปัจจุบันและในงวดก่อน ๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ได้สุทธิจากต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ และ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบ กาหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัท และมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่ คาดว่าจะจ่าย การคานวณนั้นจัดทาโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาตเป็นประจาทุกปี โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ เมื่อมีการคานวณผลของผลประโยชน์ของพนักงานของกลุ่มบริษัท การรับรู้เป็นสินทรัพย์จากัด เพียงยอดรวมของต้นทุนในอดีตที่ยังไม่รับรู้และมูลค่าปัจจุบันของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มีในรูปของการได้รับคืน ในอนาคตจากโครงการหรือการหักการสมทบเข้าโครงการในอนาคต ในการคานวณมูลค่าปัจจุบันของประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจ มีการพิจารณาถึงความต้องการเงินทุนขั้นต่าสาหรับโครงการต่าง ๆ ของกลุ่มบริษัท ผลประโยชน์เชิง เศรษฐกิจมีให้กับกลุ่มบริษัท ถ้าถูกรับรู้ภายในระยะเวลาของโครงการ หรือ การจ่ายชาระของหนี้สินของโครงการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนบริการ ในอดีตของพนักงานรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์นั้นเป็น สิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในกาไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้กาไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และรับรู้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ในกาไรหรือขาดทุน 42 P- 272
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทที่เป็นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เป็นผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการ ทางานของพนักงานในปัจจุบันและงวดก่อน ซึ่งผลประโยชน์นี้ได้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบันและ สุทธิจากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมี ระยะเวลาครบกาหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัท การคานวณจัดทาโดยนักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ได้รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการ กาไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทแสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจ้าง และไม่ มีความเป็นไปได้ที่จะยกเลิก มี รายละเอีย ดอย่ างเป็นทางการทั้งการเลิกจ้างก่อนวันเกษี ย ณตามปกติ หรือการ สนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทเสนอให้มีการ ออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการตอบรับข้อเสนอนั้น และสามารถประมาณจานวน ของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผู กพั นผลประโยชน์ ร ะยะสั้ นของพนั กงานวัด มู ลค่ า โดยมิ ไ ด้ คิ ด ลดกระแสเงิ นสดและรั บรู้ เ ป็นค่ า ใช้ จ่า ย พนักงานในกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ทางานให้กับกิจการ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชาระสาหรับการจ่ายผลประโยชน์ระยะสั้นที่เป็นเงินสด หากกลุ่ มบริษัทมีภาระ ผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ทางานให้ในอดีต และภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล
43 งบการเงิน
P- 273
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ณ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอัน เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไป เพื่อชาระภาระหนี้สินดังกล่าว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนคานึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจานวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปร ไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไปรับรู้เป็นต้นทุ น ทางการเงิน (ด) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้า รายได้รับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยสาคัญไป ให้กับผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้น หรือมีความ ไม่แน่นอนที่มีนัยสาคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น หรือไม่อาจวัด มูลค่าของจานวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้องรับคืน สินค้า ข้อตกลงสัมปทานบริการ รายได้ที่เ กี่ย วข้ องกั บการก่อสร้า งหรือ การยกระดั บการบริ การภายใต้ข้อตกลงสั มปทานบริ การจะรั บรู้ตามขั้ น ความสาเร็จของงาน รายได้จากการดาเนินงานหรือให้บริการจะรับรู้ในงวดบัญชีที่กลุ่มบริษัทให้บริการเมื่อกลุ่ม บริษัทให้บริการตามข้อตกลงสัมปทานบริการมากกว่าหนึ่งบริการ สิ่งตอบแทนที่ได้รับจะถูกปันส่วนโดยอ้างอิงจาก มูลค่ายุติธรรมของบริการที่ส่งมอบ เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในกาไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่น ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่นบันทึกในกาไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง 44 P- 274
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ต) ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทานองเดียวกัน ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในกาไรหรือขาดทุน โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ถ) สัญญาเช่าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดาเนินงานบันทึกในกาไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับ ตามสัญญาเช่า จะรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญาตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องนามารวมคานวณจานวนเงินขั้นต่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า การจาแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็น ส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบัติตามข้อตกลงนั้นขึ้นอยู่กับ การใช้สินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะนาไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าทาให้กลุ่มบริษัทมี สิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริษัทแยกค่าตอบแทนสาหรับสัญญาเช่า และส่วนที่ เป็นองค์ประกอบอื่นโดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริษัทสรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่ สามารถแบ่งแยกจานวนดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่อถือ ให้รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจานวนที่เท่ากับมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจานวนหนี้สินจะลดลงตามจานวนที่จ่าย และต้น ทุนทางการ เงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของกลุ่มบริษัท
45 งบการเงิน
P- 275
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
(ท) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ของ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ในกาไรหรือขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้องใน การรวมธุรกิจ หรือ รายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรือกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษี เงิ นได้ ข องงวดปัจจุบันได้แก่ ภาษีที่คาดว่า จะจ่า ยชาระหรื อได้ รั บช าระ โดยค านวณจากกาไรหรื อขาดทุน ประจาปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการ ปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยคานวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิด ขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และหนี้สิ นและจานวนที่ใช้เ พื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงิ นได้ รอการตัดบัญชี จะไม่ถูกรับรู้ เมื่ อเกิ ดจากผล แตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมในครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเป็นรายการ ที่ไ ม่ใ ช่ การรวมธุร กิ จและรายการนั้ นไม่ มีผ ลกระทบต่อกาไรขาดทุนทางบัญชี หรือทางภาษี และผลแตกต่า งที่ เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและกิจการร่วมค้าหากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีต้องสะท้อนถึงผลกระทบทางภาษี ที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุ่ม บริ ษั ทคาดว่า จะได้ รั บผลประโยชน์ จากสิ นทรั พ ย์ หรื อจะจ่า ยช าระหนี้ สิ นตามมู ลค่ า ตามบัญชี ณ วันที่สิ้ นรอบ ระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวัดมูลค่าโดยใช้อัตราภาษีที่คาดว่าจะใช้กับผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก าหนดมู ลค่ า ของภาษีเ งิ นได้ ข องงวดปั จจุบันและภาษีเ งิ นได้ ร อการตั ด บัญชี กลุ่มบริ ษัทต้องค านึ งถึ ง ผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจทาให้จานวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้อง ชาระ กลุ่มบริษัทเชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงิ นได้ค้ างจ่ายเพี ยงพอสาหรั บภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมิน นี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติ ฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัด สินใจเกี่ยวกั บเหตุการณ์ใน อนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะทาให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่าย ที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
46 P- 276
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะนาสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงิน ได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันสาหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษีต่างกัน สาหรับ หน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายชาระหนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ หรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายชาระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ ภาษีเงินได้ร อการตัดบัญ ชีจะบันทึกต่อเมื่อมีค วามเป็นไปได้ค่อนข้า งแน่ นอนว่า กาไรเพื่ อเสี ยภาษีใน อนาคตจะมีจานวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัด บัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (ธ) กาไรต่อหุ้น กลุ่มบริษัทแสดงกาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสาหรับหุ้นสามัญ กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยการหารกาไรหรือ ขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริษัทด้วยจานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักที่ออกจาหน่ายระหว่างปี/งวด (น) รายงานทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน ผลการดาเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อ ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงาน จะแสดงถึงรายการที่ เกิดขึ้นจากส่วนงานดาเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ได้รับการปันส่วนอย่างสมเหตุสมผล 5
การรวมธุรกิจและการได้มาซึ่งบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน
5.1 การควบรวมกิจการ (Amalgamation) ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด “GPSC” เกิดขึ้น จากการควบบริษัท (Amalgamation) ภายใต้การควบคุมเดียวกัน (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ฉ)) เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ระหว่างบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จากัด “PTTUT” และบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จากัด “IPT” โดย GPSC ได้กาหนดให้มีอัตราการแลกหุ้นของการควบบริษัทให้แก่ผู้ถือหุ้นของ PTTUT และ IPT โดยมี อัตราการแลกเปลี่ยนดังนี้ 1 หุ้นของ PTTUT สาหรับ 0.635534 หุ้นใหม่ใน GPSC 1 หุ้นของ IPT สาหรับ 2.411560 หุ้นใหม่ใน GPSC 47 งบการเงิน
P- 277
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ทั้งนี้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2557 กลุ่มบริษัทได้นาการตีความตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ มาถือปฎิบัติ และได้ปรับปรุงผลกระทบย้อ นหลัง ตามที่ได้ เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3 (จ) ผลกระทบจากการควบรวมธุรกิ จหลังจากปรับปรุงผลกระทบจากการนาการตีค วามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 4 เรื่องการประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่มาถือปฏิบัติแสดงได้ดังนี้ PTTUT
ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 9 มกราคม 2556 งบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว
7,674,289
ส่วนของผู้ถือหุ้น ยกมา ณ วันที่ 10 มกราคม 2556
งบการเงิน
รวม (ปรับปรุงใหม่)
10,190,921
17,865,210 17,865,210
48 P- 278
IPT (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลของมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาแต่ละประเภทที่สาคัญของ IPT มีดังนี้ สินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา
มูลค่าตามบัญชี (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 1,829,287 8,299,863 497,104 1,691,091 189,418 173,106 2,372 147,428 2,040 297,356 (1,374,265) (50,514) (914,886) (463,332) (10,200) (124,947) 10,190,921
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืม หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินอื่น สินทรัพย์สุทธิที่ได้มา
49 งบการเงิน
P- 279
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
5.2 การซื้อธุรกิจ ในปี 2556 และ 2557 บริษัทได้เข้าซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกันหลายแห่งซึ่ง ล้วนเป็นบริษัทผลิตไฟฟ้า จากบริษัท ปตท จากัด (มหาชน) (“PTT”) บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จากัด (“PTTER”) (เดิมชื่อ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด (“PTTI”)) บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) (“IRPC”) และบริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จากัด (PTTIH)โดยวัตถุประสงค์หลักในการเข้าซื้อครั้งนี้เพื่อเป็นการ สนับสนุนความมั่นคงทางด้านไฟฟ้าของประเทศ และสนับสนุน Synergy ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. และมี รายละเอียดของมูลค่าสิ่งตอบแทนทั้งหมดสรุปดังต่อไปนี้ วันซื้อ
บริษัทย่อย (หมายเหตุข้อ 5.2.1) ก) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงาน ร่วม จากัด ข) บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด ค) บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี คลี น พาว เวอร์ จากัด
มูลค่าสิ่งตอบแทนทั้งหมด (พันบาท)
PTT 24 ธ.ค. 56 25 ธ.ค. 56 17 ธ.ค. 56
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (หมายเหตุข้อ 5.2.2) ง) บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด 7 ก.พ. 57 จ) บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล 24 ธ.ค. จากัด 56 5 ธ.ค. 57 ฉ) บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด บริษัทร่วม (หมายเหตุข้อ 5.2.3) ช) บริ ษั ท บางปะอิ น โคเจนเนอ เรชั่น จากัด ซ) บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด
สัดส่วนการ ถือหุ้น
24 ธ.ค. 56 25 ธ.ค. 56
PTTER
570,000
-
-
-
22,477
100%
-
301
-
-
-
51%
-
-
709,000
-
252,485
30% 40%
144,000 1,377,000
-
-
-
40,021 231,809
40%
-
-
-
116,949
70,212
25%
590,000
-
-
-
247,586
25%*
-
1,725,699
-
-
332,091
50 งบการเงิน
PTTIH
100%
* บริษัทร่วมทางอ้อมที่ถือโดย บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด
P- 280
IRPC
ส่วนลดทุนจากการจัด โครงสร้างการดาเนิน ธุรกิจภายใต้การ ควบคุมเดียวกัน (พันบาท)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
5.2.1 บริษัทย่อย (ก) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด (“CHPP”) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 100 ในบริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงาน ร่วม จากัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดรวมเป็นจานวน 570 ล้านบาท ซึ่ง แบ่งออกเป็นค่าซื้อเงินลงทุนในหุ้นสามัญเป็นจานวน 210 ล้านบาท และเป็นมูลค่าการซื้อเงินกู้ยืมที่ CHPP คงค้างอยู่กับ PTT เป็นจานวน 360 ล้านบาท (ข) บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด (“NSC”) เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 100 ใน NSC ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น ในประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดรวมเป็นจานวน 1,726 ล้านบาท โดยประกอบด้วย
- ค่าซื้อเงินลงทุนในหุ้นสามัญของ NSC - ค่าซื้อเงินลงทุนในหุ้นสามัญของ บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.2.3) รวม
(พันบาท) 301 1,725,699 1,726,000
มูลค่าสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้แก่ผู้ ขายโดยส่ วนใหญ่ถูกปันส่วนให้เป็นค่าซื้อเงินลงทุนใน บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด (“XPCL”) เนื่องจาก NSC ไม่ได้มีการดาเนินงานอื่นใดนอกเหนือไปจากเป็นผู้ถือหุ้นของ XPCL ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังน้าในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยถือเป็นเงินลงทุนในบริษัท ร่วม (ค) บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด (“IRPCCP”) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 51 ใน IRPCCP ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้ง ขึ้นในประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดจานวนรวมทั้งสิ้น 709 ล้านบาท
51 งบการเงิน
P- 281
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลของสิ่งตอบแทนที่โอนให้และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมาแต่ละประเภทที่ สาคัญจากกิจการทั้งสามแห่ง มีดังนี้ สินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินทีร่ ับมา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ เงินให้กู้ยืมระยะสั้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์อื่น เจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืม หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น หนี้สินอื่น สินทรัพย์สุทธิที่ได้มา ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม* สินทรัพย์สุทธิที่ได้มา – ส่วนของบริษัท ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดาเนิน ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน รวมสิ่งตอบแทนในการซือ้ มูลค่าการซื้อ - เงินกู้ยืม เงินสดที่ได้มา สิ่งตอบแทนในการซื้อสุทธิ – ชาระแล้ว
CHPP 563 28,604 185,976 459,544 429 1,517 (38,235) (76,911) (13,964) 547,523 547,523 22,477 570,000 (360,000) (563) 209,437
* ตามสัดส่วนในส่วนได้เสียในการรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในผู้ถกู ซื้อ
52 P- 282
งบการเงิน
NSC IRPCCP มูลค่าตามบัญชี (พันบาท) 895 4,317 5 1,378,548 1 14,783 (600) (145,318) (350,000) (7,202) 301 895,128 (438,613) 301 456,515 301 (895) (594)
252,485 709,000 (4,317) 704,683
รวม 5,775 28,609 185,976 1,838,092 429 16,301 (184,153) (350,000) (76,911) (21,166) 1,442,952 (438,613) 1,004,339 274,962 1,279,301 (360,000) (5,775) 913,526
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
5.2.2 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (ง)
บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด (“NNEG”) เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 30 ในบริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด ซึ่งเป็นบริษัทผลิตไฟฟ้าจากบริษัท ปตท จากัด (มหาชน) (“PTT”) และเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศ ไทย โดยชาระเป็นเงินสดจานวน 144 ล้านบาท วัตถุประสงค์หลักในการเข้าซื้อครั้งนี้เพื่อเป็นการสนับสนุน ความมั่นคงทางด้านไฟฟ้าของประเทศ และสนับสนุน Synergy ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. การซื้อธุรกิจนี้มี ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดาเนินธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นจานวน 40.02 ล้านบาท
(จ)
บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด (“TSR”) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 40 ใน TSR ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้น ในประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดจานวนเงินรวม 1,377 ล้านบาท โดยบริษัทได้จ่ายเงินจานวน 927 ล้านบาท ในวันที่ 24 ธันวาคม 2556 และทาการจ่ายจานวนที่เหลือจานวน 450 ล้านบาท พร้อมข้อผูกพันจาก การเพิ่มทุนในอนาคตอีกเป็นจานวนเงิน 320 ล้านบาทในปี 2557 การซื้อธุรกิจนี้มีส่วนลดทุนจากการจัด โครงสร้างการดาเนินธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นจานวน 231.81 ล้านบาท
(ฉ) บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด (“NL1PC”) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 40 ในบริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด ซึ่งเป็น บริษัทผลิตไฟฟ้าและเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จากบริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จากัด เป็นจานวนเงิน 4 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือ 117 ล้านบาท โดยบริษัท ได้จ่ายชาระเงินค่าหุ้นดังกล่าวในปี 2558 นอกจากนี้บริษัทยังมีข้อผูกพันในการชาระเงินเพิ่มเติมในอนาคต ตามบันทึกความเข้าใจลงวันที่ 15 สิงหาคม 2557 การซื้อธุรกิจนี้มีส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดาเนิน ธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นจานวน 70.21 ล้านบาท
53 งบการเงิน
P- 283
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
5.2.3 บริษัทร่วม (ช) บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จากัด (“BIC”) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 25 ในบริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จากัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดจานวน 590 ล้านบาท การซื้อธุรกิจนี้มี ส่วนลดทุนจากการจัดโครงสร้างการดาเนินธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นจานวน 247.59 ล้านบาท (ซ) บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด (“XPCL”) เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 25 ในบริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การซื้อธุรกิจนี้มีส่วนลดทุนจากการ จัดโครงสร้างการดาเนินธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันเป็นจานวน 332.09 ล้านบาท โดยรายละเอียดในการ ซื้อได้ถูกเปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.2.1 (ข) ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ ในปี 2557 กลุ่มบริษัทมีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน จานวน 0.3 ล้านบาท (2556 : 18.9 ล้านบาท) ที่เกี่ยวข้องกับค่าที่ปรึกษากฎหมายภายนอกและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ สถานะทางการเงิน ค่าที่ปรึกษากฎหมายและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสถานะทางการเงินได้ถูกรวมอยู่ในค่าใช้จ่าย ในการบริหารในงบกาไรขาดทุนรวมของกลุ่มบริษัท
54 P- 284
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ 6
รายงานประจำ�ปี 2557
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริษัท หาก กลุ่มบริษัทมีอานาจควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือมีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญต่อบุคคลหรือ กิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุ่มบริษัทอยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกัน หรืออยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวข้องกันนี้อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็น กิจการ ความสัมพันธ์กับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชาติ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) ไทย บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) ไทย บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) ไทย บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จากัด ไทย บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด ไทย บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด ไทย บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด ไทย บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด ไทย บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด ลาว บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด ไทย บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จากัด ไทย บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จากัด ไทย บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด ลาว บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) ไทย บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จากัด ไทย (เดิมชื่อ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด) บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จากัด ไทย บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จากัด ไทย บริษัท ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ไทย บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จากัด ไทย
ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 51 เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้นร้อยละ 40 เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้นร้อยละ 40 เป็นกิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทถือหุ้นร้อยละ 30 เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้นร้อยละ 25 เป็นบริษัทที่ควบคุมร่วมกันทางอ้อม เป็นบริษัทร่วมทางอ้อม เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้น
55 งบการเงิน
P- 285
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิน น หมายเหตุ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อกิจการ บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จากัด
ประเทศที่จัดตั้ง ลักษณะความสัมพันธ์ /สัญชาติ ไทย มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นและบริษัทถือหุ้น บุริมสิทธิ์ ร้อยละ 25 ฮ่องกง มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ไทย มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จากัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จากัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จากัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จากัด บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จากัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จากัด บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จากัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จากัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จากัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จากัด บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จากัด บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จากัด บริษัท แอดวานซ์ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จากัด บริษัท วีนิไทย จากัด (มหาชน) บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จากัด บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จากัด ผู้บริหารสาคัญ
ไทย ไทย
มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กิจการที่ควบคุมร่วมกันของผู้ถือหุ้นของบริษัท มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้น มีกรรมการร่วม มีผู้ถือหุ้นของบริษัทเป็นผู้ถือหุ้นและมีกรรมการร่วม มีกรรมการร่วมและบริษัทถือหุ้นร้อยละ 15 บุคคลที่มีอานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สั่ ง การและควบคุ ม กิ จ กรรมต่ า งๆ ของกิ จ การไม่ ว่ า ทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งนี้รวมถึงกรรมการของบริษัท (ไม่ว่าจะทาหน้าที่ในระดับบริหารหรือไม่)
56
P- 286
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
นโยบายการกาหนดราคาสาหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ ขายสินค้า การให้บริการ ซื้อสินค้า / วัตถุดิบ รับบริการ ค่าความช่วยเหลือทางเทคนิค ดอกเบี้ยรับ/ดอกเบี้ยจ่าย
นโยบายการกาหนดราคา ราคาตลาด / ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตลาด / ราคาตามสัญญา ราคาตลาด / ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา อัตราตามสัญญา
รายการที่สาคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 สรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี มกราคม 2556 สาหรับปี มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ 31 ถึงวันที่ 31 สิ้นสุดวันที่ 31 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) ผู้ถือหุ้น รายได้จากการขาย รายได้อื่น ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
4,886,734 10 17,540,096 52,942
3,114,780 10 21,113,360 59,298
4,886,734 10 17,537,146 51,159
3,114,780 10 21,113,315 59,259
-
-
80,899 1,639 50
1,825 -
57 งบการเงิน
P- 287
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน รายได้อื่น เงินปันผลรับ บริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการขาย รายได้จากการขายไนโตรเจน เงินปันผลรับ รายได้อื่น ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ดอกเบี้ยจ่าย ต้นทุนซื้อสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผู้บริหารสาคัญ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี มกราคม 2556 สาหรับปี มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ 31 ถึงวันที่ 31 สิ้นสุดวันที่ 31 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) 5,812 -
-
5,812 31,500
-
103
-
103
-
5,957,455 100,795 11 14,939 630,473 48,543 51,754
6,534,626 107,158 13 17,384 241,053 27,948 12,221
4,932
4,175
5,957,455 100,795 11 14,939 630,983 51,105 104,855 6,284
58 P- 288
งบการเงิน
6,534,626 107,158 13 17,384 241,067 27,969 385 12,221 4,175
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ผู้ถือหุ้น บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จากัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จากัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จากัด บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จากัด บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จากัด บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จากัด บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จากัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จากัด หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
438,432 4,741
852,476 5,086
438,432 4,741
852,476 5,086
107,155 32,582 190,660 2,842 13,171 135,453 33,306 3,733 962,075 962,075
124,432 75,698 359,952 2,395 35,932 342,413 107,089 7,465 1,912,938 1,912,938
107,155 32,582 190,660 2,842 13,171 135,453 33,306 3,733 962,075 962,075
124,432 75,698 359,952 2,395 35,932 342,413 107,089 7,465 1,912,938 1,912,938
-
(7,223)
-
(7,223)
กลับรายการหนี้สูญสาหรับปี 2557 และ สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556
59 งบการเงิน
P- 289
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ผู้ถือหุ้น บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จากัด บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จากัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จากัด บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จากัด บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จากัด บริษัท ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จากัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จากัด บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จากัด บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด บริษัท พีทที ี เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จากัด
534
20,002
534
20,002
1 6,444
361,179 6,444
1 6,444
361,179 6,444
-
-
684 770 300
463 1,362 -
9,447 511 31,500
3,548 -
9,447 511 31,500
3,548 -
7,050 1,542 25,502 495 43,848 684 82,648 1,153 435 1,081 615 213,490
7,050 1,041 16,797 479 33,976 684 183,287 975 205,590 841,052
7,050 1,542 25,502 495 43,848 684 82,648 1,153 435 1,081 615 215,244
7,050 1,041 16,797 479 33,976 684 183,287 975 205,590 842,877
60 P- 290
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม 2557 2556 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
213,490
หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสาหรับปี 2557 และสาหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2556
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(พันบาท) 841,052 215,244
-
-
842,877
-
61 งบการเงิน
P- 291
P- 292
งบการเงิน
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ
เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด - ส่วนที่ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี - ส่วนที่ถึงกาหนดชาระเกินกว่าหนึ่งปี รวม
บริษัทย่อย เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด รวม
เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ (เดิมชื่อบริ ษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยนี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
MLR – 1.25%
62
2556
-
MOR – 1.5% MOR – 1.5%
(ร้อยละต่อปี)
MOR – 1.5% MOR – 1.5%
2557
อัตราดอกเบี้ย
-
-
-
งบการเงินรวม 2557 2556
-
-
-
(พันบาท)
250,000
40,000 210,000 250,000
-
1 1,568,514
-
1,208,514 360,000 1,568,514
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เป็นสกุลเงินบาท วงเงินกู้ 350 ล้านบาท ตามสัญญาเงินกู้ยืมลงวันที่ 24 มิถุนายน 2557 เงินกู้มีระยะเวลา 9 ปี กาหนดชาระคืนเงินต้น ทุกหกเดือน งวดแรกชาระในเดือน ธันวาคม 2557 โดยชาระงวดละ 20 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอด คงเหลือของเงินกู้ตามวงเงินกู้นี้มีจานวน 250 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2556:ไม่มี) เงินกู้ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อ จ่ายเงินกู้ระยะสั้นและใช้ในการดาเนินงาน วงเงินกู้ 1,885 ล้านบาท ตามสัญญาเงินกู้ยืม มีระยะเวลา 6 เดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืม ตามวงเงินกู้นี้เป็นศูนย์ ซึ่งได้ชาระคืนทั้งจานวนเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557 (31 ธันวาคม 2556: 1,209 ล้านบาท) เงินกู้ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการบริหารงานและลงทุนในบริษัทร่วม วงเงินกู้ 360 ล้านบาท ตามสัญญาเงินกู้ยืมลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 เงินกู้มีระยะเวลา 6 เดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือของเงินกู้ตามวงเงินกู้นี้มีจานวน 360 ล้านบาท และได้ชาระคืนทั้งจานวนเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2557 เงินกู้ดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อจ่ายเงินกู้ระยะสั้นและใช้ในการดาเนินงาน รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ ณ วันที่ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
1,568,514 671,762 (2,240,276) -
1,568,514 1,568,514
63 งบการเงิน
P- 293
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ ณ วันที่ ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
330,000 (80,000) 250,000
-
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จากัด รวม
2,938
2,938
2,938
2,938
2,071 5,009
2,053 4,991
2,071 5,009
2,053 4,991
เจ้าหนี้การค้า – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556 ผู้ถือหุ้น บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จากัด
2,181,136 1,455 1,742 64
P- 294
งบการเงิน
(พันบาท)
3,078,442 -
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2,181,136 1,455 1,742
3,078,442 -
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม 2557 2556 กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จากัด รวม
57,179 2,241,512
(พันบาท)
12,786 3,091,228
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 57,179 2,241,512
12,786 3,091,228
เจ้าหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ผู้ถือหุ้น บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จากัด บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จากัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จากัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จากัด บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จากัด บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จากัด บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จากัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จากัด บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 4,804 14,599 4,479 -
343,903 9,945 1,817 56
4,804 13,651 4,479 -
343,903 8,987 1,817 56
5,673 22,164
4,595 18,550
5,673 22,039
4,595 18,445
4,828
3,740
4,741
3,636
2,657
2,721
2,657
2,721
14,423 55,149 981 15,105 1,132 188,462 40
8,972 100,818 2 26,289 772 192,140 -
14,423 55,149 981 15,105 1,132 188,462 40
8,972 100,818 26,289 772 192,140 -
65 งบการเงิน
P- 295
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จากัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จากัด รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 117,221
-
117,221
-
11 451,728
714,320
11 450,568
713,151
เจ้าหนี้งานก่อสร้างโครงการยูทิลิตี้ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2557 2556 กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
8,025
-
-
สัญญาสาคัญที่ทากับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีสัญญาสาคัญที่ทากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ สัญญาซื้อขายวัตถุดิบและก๊าซธรรมชาติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2548 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เพื่อใช้ในระบบ Cogeneration ขนาด 40 เมกะวัตต์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและไอน้าภายในโรงงานสาธารณูปการ 1 โดยมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2549 โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาโดยปริมาณการ ซื้อขายและราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่กาหนดในสัญญา
66 P- 296
งบการเงิน
-
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2550 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เพื่อใช้ในระบบ การผลิตไฟฟ้า (Cogeneration) ขนาด 110 เมกะวัตต์ และนาพลังงานความร้อนที่เหลือจากการผลิตไฟฟ้าไปใช้ใน กระบวนการผลิตทางความร้อน ภายในศูนย์สาธารณูปการ 2 โดยมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้ส่งมอบก๊าซและ บริษัทได้รับซื้อก๊าซ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2550 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เพื่อใช้กับ เครื่องจักรและหรืออุปกรณ์ในกระบวนการผลิตไอน้า ภายในศูนย์สาธารณูปการ 2 โดยมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่ วันที่ได้ส่งมอบก๊าซและบริษัทได้รับซื้อก๊าซ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2551 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง เพื่อใช้กับ เครื่องจักรและหรืออุปกรณ์ในกระบวนการผลิตไอน้า ภายในโรงงานสาธารณูปการ 3 โดยมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาโดยปริมาณการซื้อขาย และราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์จะเป็นไปตามที่กาหนดในสัญญา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2540 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าขนาด 700 เมกะวัตต์ ภายในโรงงานศรีราชา โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวจะจัดหาก๊าซธรรมชาติให้กับ บริษัทตามปริมาณและราคาที่กาหนดไว้ในสัญญา สัญญาฉบับนี้มีผลบังคับใช้เป็นเวลา 25 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดในระหว่างปี 2566 สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ เมื่ อวั นที่ 23 สิ งหาคม 2548 บริ ษั ทได้ ท าสั ญญารั บซื้ อและจ าหน่ ายไอน้ าให้ แ ก่ กิ จการที่ เ กี่ ย วข้ องกั นแห่ งหนึ่ ง สัญญาดังกล่าวไม่ได้กาหนดอายุของสัญญา ขึ้นอยู่กับทั้งสองฝ่ายตกลงกันเป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2549 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 3 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันเริ่มดาเนินการทางพาณิชยกิจ และสามารถต่อ สัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2549 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 3 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2551 และสามารถต่อสัญญาได้ อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป 67 งบการเงิน
P- 297
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2550 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 3 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 และสามารถต่อสัญญา ได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จานวน 2 แห่งจานวน 3 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 และสามารถต่อสัญญา ได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่ง หนึ่ง จานวน 2 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2552 และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไอน้าอีกสัญญาหนึ่ง สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2552 ทั้ง 3 สัญญาสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและไอน้ากับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งจานวน 2 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2552 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสอง ฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2552 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง จานวน 2 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2552 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดย คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2552 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้า น้าเพื่อการอุตสาหกรรม และไนโตรเจนกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งจานวน 5 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 และสามารถต่อ สัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป และวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไอน้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งนี้เพิ่มอีก 1 สัญญา โดยต่อสัญญาครั้งละ 1 ปี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 บริษัทได้ทาสัญญาขายน้าปราศจากแร่ธาตุกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งโดยบริษัทจัดหา น้าปราศจากแร่ธาตุให้ตามปริมาณและราคาที่กาหนดไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 16 ปี นับตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2552
68 P- 298
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
รายงานประจำ�ปี 2557
เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2552 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง จานวน 1 สัญญา สัญญา ดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2552 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตก ลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2553 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้า น้าเพื่อการอุตสาหกรรม และไนโตรเจนกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งจานวน 5 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 และสามารถ ต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไนโตรเจนกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งจานวน 1 สัญญา สั ญญาดั งกล่าวมี อายุ สั ญญา 20 ปี นั บตั้งแต่วันเริ่ มด าเนิ นการทางพาณิ ชยกิ จ และสามารถต่ อ สั ญญาได้ อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้า และน้าเพื่อการอุตสาหกรรม กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 4 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2554 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้าและน้าเพื่อการอุตสาหกรรมกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 3 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 และสามารถต่อสัญญาได้ อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป เมื่อวันที่30 กันยายน 2556 บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ไอน้า และน้าเพื่อการอุตสาหกรรม กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งจานวน 1 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2558 และสามารถต่อสัญญาได้ อีก 5 ปี โดยคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป สัญญาเช่าดาเนินงาน เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2550 บริษัทได้ทาสัญญาเช่าสิทธิทางท่อขนส่งผลิตภัณฑ์กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง จานวน 1 สัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548 และสามารถต่อสัญญาได้อีก โดยทาการแจ้งภายใน 12 เดือนก่อนหมดสัญญา ซึ่งคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของ สัญญาต่อไป
69
งบการเงิน
P- 299
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริ ษัทมี สัญญาให้เช่ า สิทธิ ทางท่อขนส่ งผลิตภั ณ ฑ์ จานวนหลายสั ญญา กั บกิ จการที่เ กี่ ยวข้ องกั น โดยสั ญญามี ระยะเวลา 15 ปี นับจากวันที่มีผลบังคับตามที่ระบุไว้ในแต่ละสัญญาและสามารถต่อสัญญาได้อีก ซึ่งคู่สัญญาทั้งสอง ฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาต่อไป สัญญาชดเชยต้นทุน บริษัทมีสัญญาชดเชยต้นทุนกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อชดเชยต้นทุนการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติและ เพื่ อมี สิ ทธิ ใ นการใช้ ท่อ ส่ งก๊ า ซดั ง กล่ า ว ท่ อส่ ง น้ า และการใช้ ประโยชน์ บ นที่ ดิ น ส าหรั บ การก่ อสร้ า งสายส่ ง กระแสไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโยงระบบของบริษัทกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ภายใต้เงื่อนไขของ สัญญาเหล่านั้น บริษัทตกลงที่จะชดเชยต้นทุนการลงทุนที่เกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ และเงื่ อ นไขที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญา สั ญ ญาเหล่ า นี้ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ เ ป็ น เวลา 25 ปี หรื อ สิ้ น สุ ด พร้ อ มกั บ สั ญ ญาซื้ อ กระแสไฟฟ้าที่บริษัททาไว้กับ กฟผ. แล้วแต่เวลาใดจะถึงก่อน สัญญาเช่าที่ดิน บริษัทมีสัญญาเช่าที่ดินกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่งเพื่อเช่า /เช่าช่วงที่ดินบางแปลง ซึ่งจะสิ้นสุดในเดือน กันยายน 2565 โดยมีค่าเช่ารวมสาหรับปี 2557 เป็นจานวน 5.9 ล้านบาท (สาหรับระยะเวลาตั้งแต่ 10 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2556 จานวนเงิน 5.9 ล้านบาท) และจะมีการปรับอัตราค่าเช่าทุก 5 ปี สัญญาเช่าพื้นที่และบริการสานักงาน เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2556 บริษัทได้ทาสัญญาเช่าพื้นที่และบริการสานักงานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง สัญญา ดังกล่าวมีอายุสัญญา 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2558 และสามารถต่อสัญญาได้อีกครั้งละ 3 ปี โดยทาการแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 120 วัน ก่อนหมดสัญญา ซึ่งคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายตกลงกันในเงื่อนไขและ รายละเอียดของสัญญาต่อไป สัญญาบริการและจัดหา บริษัทมีสัญญาบริการและจัดหากับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยกิจการที่เกี่ยวข้องกันจะให้บริการเกี่ยวกับการ จัดซื้อจัดจ้าง การให้บริการคาปรึกษาและบริการด้านอื่นๆ แก่บริษัท โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ปี นับจากวันที่ที่มีผล บังคับตามที่ระบุไว้ในสัญญา และงวดสุดท้ายจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 70 P- 300
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
สัญญาบริหารจัดการ บริษัทมีสัญญาให้บริหารจัดการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หลายแห่ง สัญญามีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ที่กาหนดใน สัญญา บริษัทจะเรียกเก็บค่าบริหารจัดการดังกล่าวตามที่ระบุไว้ในสัญญา และค่าบริการจัดการนี้จะปรับเพิ่มขึ้นปีละ ครั้งตามอัตราที่กาหนดไว้ในสัญญา สัญญาประกันภัย บริษัทและบริษัทย่อยหลายแห่งได้ทากรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกประเภทกับบริษัทรับประกันภัย ในประเทศแห่งหนึ่งซึ่งเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีทุนประกันตามสัญญา กรมธรรม์ดังกล่าวมีการต่ออายุทุกปี โดยบริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้ให้เจ้าหนี้เงินกู้เป็นผู้รับผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยภายใต้เงื่อนไข หลักประกันของสัญญาเงินกู้ สัญญาซื้อขายกิจการ บริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายกิจการกับผู้ถือหุ้นรายหนึ่งและกิจการที่เกี่ยวข้องกันสองแห่ง เพื่อเข้าซื้อเงินลงทุนใน บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันจานวน 8 แห่ง โดยมีมูลค่าการซื้อขายรวมทั้งสิ้น 8,005 ล้านบาท และมีเงื่อนไขเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้เข้าซื้อเงินลงทุนและรับโอนสินทรัพย์ของบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการที่ ควบคุมร่วมกันแล้วทั้งหมด
71 งบการเงิน
P- 301
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
7
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน และออมทรัพย์ เงินฝากธนาคารประเภทประจา (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลงทุน) ใบรับฝากเงินจากธนาคาร (ระยะสั้นกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลงทุน) รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 1,019 1,155 960 1,288 2,169,234
116,117
2,114,568
89,624
1,220,423
6,273,134
1,220,422
6,273,134
30,000 3,420,945
6,390,270
3,336,145
6,363,718
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
งบการเงินรวม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 3,420,945 6,390,252 18 3,420,945 6,390,270
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
3,336,145 3,336,145
6,363,700 18 6,363,718
8 เงินฝากธนาคารที่มีข้อจากัดในการเบิกใช้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีเงินฝากธนาคารเป็นจานวนเงินรวม 182 ล้านบาท ซึ่งมีเงื่อนไขการใช้จ่าย และขั้นตอนการเบิกถอนสาหรับวัตถุประสงค์เฉพาะตามเงื่อนไขในสัญญาเงินกู้ยืม (2556 :กลุ่มบริษัทและบริษัท 80.5 ล้านบาท และ 80.5 ล้านบาท ตามลาดับ)
72 P- 302
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
9 เงินลงทุนอื่น งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากธนาคารประเภทประจา เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการ ของตลาด รวม
-
825,220 825,220
-
685,220 685,220
2,686,877 2,686,877 2,686,877
500 500 825,720
2,686,877 2,686,877 2,686,877
500 500 685,720
ยอดเงินลงทุนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2557 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
2,207,500 479,377 2,686,877
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(พันบาท) 825,720 2,207,500 479,377 825,720 2,686,877
685,720 685,720
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทไม่มีเงินฝากประจาทีม่ ีเงื่อนไขการใช้จ่าย และขั้นตอนการเบิกถอน สาหรับวัตถุประสงค์เฉพาะตามเงื่อนไขในสัญญาเงินกู้ยืม (2556 : 186.5 ล้านบาท)
73 งบการเงิน
P- 303
P- 304
งบการเงิน
24M Technologies, Inc. (ทุนชาระแล้วหน่วยพัน เหรียญสหรัฐอเมริกา)
บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จากัด
หุ้นบุริมสิทธิ์
หุ้นสามัญ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จากัด
ตราสารอื่นที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด
ประเภท ของธุรกิจ
74
วิจัยและพัฒนาแบตเตอรี่
บริหารจัดการทรัพยากร บุคคล
ผลิตไฟฟ้า
เงินลงทุนระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ประกอบงบการเงิ (เดิมชื่อหมายเหตุ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยนี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
17
25
15
-
25
-
50,118
2,000
7,325,000
35,163
2,000
7,325,000
479,377 479,877 2,686,877
500
2,207,000 2,207,000
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนชาระแล้ว วิธีราคาทุน 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (พันบาท) (ร้อยละ)
500 500
500
-
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ในเดือนมิถุนายน 2557 บริษัทได้เข้าซื้อตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในสัดส่วนร้อยละ 15 ของหุ้น ทั้งหมดของบริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จากัด ซึ่งเป็นบริษัทผลิตไฟฟ้าและเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย จาก บริษัท ปตท จากัด (มหาชน) (“PTT”) โดยคิดเป็นมูลค่าเงินลงทุนจานวน 2,207 ล้านบาท เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2557 บริษัทได้เข้าซื้อตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดในสัดส่วนร้อยละ 17 ของหุ้นทั้งหมดของบริษัท 24M Technologies, Inc. ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเป็น การถือหุ้นจานวน 4,249,291 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 3.53 เหรียญสหรัฐอเมริกา รวมเป็นมูลค่าเงินลงทุนจานวน 15 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเทียบเท่า 479 ล้านบาท 10 ลูกหนี้การค้า
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 6 962,075 1,912,938 962,075 1,912,938 2,051,415 3,085,821 2,021,486 3,057,050 3,013,490 4,998,759 2,983,561 4,969,988 3,013,490 4,998,759 2,983,561 4,969,988
กลับรายการหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ สาหรับปี 2557 และสาหรับรอบเวลา ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556
-
(7,223)
-
(7,223)
75 งบการเงิน
P- 305
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี้ หมายเหตุ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินวันครบกาหนดชาระ : 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน 6 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กิจการอื่นๆ ยังไม่ครบกาหนดชาระ เกินวันครบกาหนดชาระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 962,041
1,912,904
962,041
1,912,904
34 962,075 962,075
34 1,912,938 1,912,938
34 962,075 962,075
34 1,912,938 1,912,938
1,961,856
3,085,652
1,931,927
3,056,881
89,390 169 2,051,415 2,051,415 3,013,490
169 3,085,821 3,085,821 4,998,759
89,390 169 2,021,486 2,021,486 2,983,561
169 3,057,050 3,057,050 4,969,988
โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัทมีระยะเวลา 30 วัน บริษัทมีคดีความฟ้องร้องกับรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”)) และได้รับผลคา ชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการเรียบร้อยแล้วในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 ซึ่งผู้บริหารตัดสินใจไม่นาผลชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการเข้าสู่กระบวนการศาลปกครอง จากผลกระทบของรายการดังกล่าว ทาให้ในระหว่างปี 2556 บริษัทบันทึกปรับปรุงรายการลูกหนี้การค้าลดลง 62 ล้านบาท ลูกหนี้อื่นลดลง 34 ล้านบาท หนี้สินหมุนเวียนอื่น ลดลง 6 ล้านบาท และ ค่าใช้จ่ายผลเสียหายจากคดีความเพิ่มขึ้น 90 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เป็นสกุลเงินบาท 76 P- 306
งบการเงิน
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ดอกเบี้ยที่ยังไม่ถือ เป็นรายได้
11 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน
สุทธิ
1,159,331 (730,408) 428,923 428,923
1,146,376 (686,044) 460,332 460,332
ส่วนที่ครบกาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ (เดิ มชื่อบริษัทปโกลบอล เพาเวอร์ ซินนเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
77
(2,253,921) 2,275,308 2,275,308
(2,458,421) 2,035,318 2,035,318
(1,321,071) 4,653,329 4,653,329
(1,802,075) 5,354,190 5,354,190
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนที่ครบกาหนดชาระ ส่วนที่ครบกาหนดชาระ หนึ่งถึงห้าปี เกินกว่าห้าปี 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 4,529,229 4,493,739 5,974,400 7,156,265
(4,261,036) 7,388,969 7,388,969
11,650,005
31 ธันวาคม 2557
รวม
(4,990,904) 7,818,431 7,818,431
12,809,335
31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงิน
P- 307
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เป็นสกุลเงิน บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 กลุ่มบริษัทและบริษัทไม่มีลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินที่เกินกาหนดชาระหนี้ 12 ลูกหนี้อื่น งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 213,490 841,052 215,244 842,877
หมายเหตุ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ลูกหนี้เงินทดรองพนักงาน ลูกหนี้กรมศุลกากร ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารค้างรับ อื่นๆ รวม
6
645 8,642 220,374 8,260 15,347 466,758
556 4,766 207,504 14,539 5,696 1,074,113
572 4,240 211,270 8,214 15,347 454,887
484 4,240 206,646 14,456 5,696 1,074,399
13 สินค้าคงเหลือ
2557
วัตถุดิบ สินค้าสาเร็จรูป พัสดุคงคลัง หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง สุทธิ
งบการเงินรวม
9,409 1,957 347,939 359,305 (276) 359,029
78 P- 308
งบการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)
2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 178 9,409 1,556 1,957 387,680 347,939 389,414 359,305 (152) (276) 389,262 359,029
178 1,556 387,680 389,414 (152) 389,262
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
2557
ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บนั ทึกเป็น ค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขาย - ต้นทุนขาย
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม
2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
21,571,220
23,649,293
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่)
21,454,345
23,647,584
14 เงินลงทุนในบริษัทย่อย
หมายเหตุ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และวันที่ 10 มกราคม 2556 ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) 1,436,486 2,474,069 1,436,486 3,910,555 1,436,486
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด ได้อนุมัติการเพิ่มทุนจด ทะเบียนจานวน 2,462 ล้านบาท โดยการออกหุ้นใหม่เป็นหุ้นสามัญจานวน 246 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท และ ในวันที่ 2 เมษายน 2557 ได้เรียกชาระค่าหุ้นครั้งที่หนึ่งในอัตราร้อยละ 25 ของมูลค่าที่ตราไว้ บริษัทและส่วนที่ไม่มี อานาจควบคุมได้ชาระค่าหุ้นดังกล่าวคิดเป็นจานวน 314 ล้านบาท และ 302 ล้านบาทตามลาดับ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2557 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัดได้อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียน จานวน 3,918 ล้านบาท โดยการออกหุ้นใหม่เป็นหุ้นสามัญจานวน 39 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท โดยผู้ถือ หุ้นส่วนที่ไม่มีอานาจควบคุมไม่ประสงค์จะจองซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่จึงมีการจัดสรรหุ้นทั้งหมดให้กับบริษัท ใน ระหว่างปี 2557 ได้มีการเรียกชาระค่าหุ้นจากหุ้นสามัญที่ออกใหม่แล้วเป็นจานวน 2,160 ล้านบาท
79 งบการเงิน
P- 309
P- 310
งบการเงิน
316,220 2,442,375 1,515,575
100 100 51
100 100
51
900,000
316,220 282,250
ทุนชาระแล้ว 2557 2556
1,022,944 3,910,555
210,000 2,677,611
2557
ราคาทุน
709,000 1,436,486
210,000 517,486
2556
-
-
การด้อยค่า 2557 2556 (พันบาท)
-
-
1,022,944 3,910,555
210,000 2,677,611
709,000 1,436,486
210,000 517,486
ราคาทุน – สุทธิ 2557 2556
* ราคาทุนเป็นมูลค่าสุทธิจากเงินกู้ยืมระหว่างกันก่อนการซื้อกิจการ
80
บริษัทย่อยทั้งหมดไม่ได้เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์จึงไม่มีราคาที่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณชน และไม่มีการจ่ายเงินปันผลแก่บริษัทในระหว่างปี/งวด
บริษัทย่อย บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จากัด * บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด* บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด รวม
สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ 2557 2556 (%)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
-
เงินปันผลรับ 2557 2556
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และเงินปันผลรับสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ (เดิหมายเหตุ มชื่อบริษัทปโกลบอล เพาเวอร์ ซินนเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
-
-
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทย่อยแต่ละรายซึ่งมีส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุมที่มีสาระสาคัญต่อกิจการที่เสนอรายงาน ดังต่อไปนี้ บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จากัด สาหรับรอบระยะเวลา สาหรับปี ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม สิ้นสุดวันที่ 2556 ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) 49 49
ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอานาจควบคุม (ร้อยละ) รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการ ขาดทุนสาหรับปี/งวด กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสาหรับปี/งวด ขาดทุนเบ็คเสร็จสาหรับปี/งวดที่เป็นของ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน สินทรัพย์สุทธิ สินทรัพย์สุทธิส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีอานาจควบคุม
5,174 5,174
9,471 9,471
2,535
4,641
219,545 3,830,273 (145,947) (2,407,813) 1,496,058 733,068
28,039 1,676,217 (818,599) 885,657 433,972
81 งบการเงิน
P- 311
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
15 เงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลา ระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 10 มกราคม สาหรับปี สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 2556 ถึงวันที่ สิ้นสุดวันที่ 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2556 2557 หมายเหตุ 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ วันที่ 10 มกราคม 2556 ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย เงินปันผลรับ ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
5.2
2,883,678
-
1,967,000
-
268,264 (31,500) 1,534,404 4,654,846
2,466 2,881,212 2,883,678
760,949 2,727,949
1,967,000 1,967,000
มีการซื้อเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังนี้ บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 40 ใน TSR ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นใน ประเทศไทย โดยชาระเป็นเงินสดจานวนเงินรวม 1,377 ล้านบาท โดยบริษัทได้จ่ายเงินจานวน 927 ล้านบาทแล้วใน วันที่ 24 ธันวาคม 2556 และทาการจ่ายจานวนที่เหลือจานวน 450 ล้านบาทในปี 2557 นอกจากนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทยังมีข้อผูกพันจากการเพิ่มทุนในอนาคตอีกเป็นจานวนเงิน 320 ล้านบาท
82 P- 312
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
เมื่อวันที่ 25 เมษายน และ 3 มิถุนายน 2557 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด ได้อนุมัติการ เพิ่มทุนจดทะเบียนจานวน 50 ล้านบาท โดยการออกหุ้นใหม่เป็นหุ้นสามัญ 5 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และเสนอขายในราคาหุ้นละ 10 บาทสาหรับหุ้นสามัญจานวน 3 ล้านหุ้น และ 385 บาท สาหรับหุ้นสามัญจานวน 2 ล้านหุ้น ตามลาดับ คิดเป็นมูลค่าจากราคาเสนอขายทั้งสิ้น 800 ล้านบาท และในวันที่ 29 เมษายน และ 23 มิถุนายน 2557 บริษัทได้ชาระเงินรวมเป็นจานวน 770 ล้านบาท (โดยถือเป็นการจ่ายสิ่งตอบแทนในการซื้อธุรกิจค้างจ่ายที่ บริษัทได้บันทึกไว้เป็นหนี้สินในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ซื้อกิจการในปี 2556 เป็นจานวน 450 ล้านบาท และเป็นการจ่ายค่าหุ้นเพิ่มทุนอีกเป็นจานวน 320 ล้านบาท) บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในประเทศ ไทย โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 30 ของทุนที่ออกและชาระแล้ว คิดเป็นมูลค่าเงินลงทุนจานวนทั้งสิ้น 144 ล้านบาท เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 และวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 200 ล้านบาท และ 100 ล้านบาท ตามลาดับ รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 702 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทได้ชาระค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเต็มจานวนตาม สัดส่วนถือหุ้น คิดเป็นจานวน 60 ล้านบาทและ 30 ล้านบาท ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 และ 21 มีนาคม 2557 ตามลาดับ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด ได้อนุมัติการเพิ่มทุนจด ทะเบียนจานวน 300 ล้านบาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 1,002 ล้านบาท โดยเป็นการออกหุ้นใหม่เป็นหุ้นสามัญ 30 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท และในวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 บริษัทได้ชาระค่าหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเต็มจานวน ตามสัดส่วนถือหุ้น คิดเป็นจานวน 90 ล้านบาท บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด ในปี 2557 บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของกิจการ ได้ชาระค่าหุ้นส่วนที่เหลือเพิ่มเติมตามสัดส่วน ถือหุ้น คิดเป็นมูลค่าเงินลงทุนจานวนทั้งสิ้น 884 ล้านบาท
83 งบการเงิน
P- 313
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บริษัทได้เข้าทาการซื้อหุ้นสามัญร้อยละ 40 ในบริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด ซึ่งเป็นบริษัท ผลิ ต ไฟฟ้ า และเป็ น นิ ติ บุ ค คลที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว จากบริ ษั ท พี ที ที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จากัด เป็นจานวนเงิน 4 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือ 117 ล้านบาท โดยบริษัทได้จ่าย ชาระเงินค่าหุ้นดังกล่าวในปี 2558
84
P- 314
งบการเงิน
2525
2525
บริบริ ษัทษร่ัทวร่มวม บริบริ ษัทษัทบางปะอิ บางปะอิ น นโคเจนเนอเรชั โคเจนเนอเรชั ่น ่นจากัจากั ดด
บริบริ ษัทษร่ัทวร่มทางอ้ วมทางอ้ อมอม บริบริ ษัทษัทไซยะบุ ไซยะบุ รี พาวเวอร์ รี พาวเวอร์จากัจากั ดด
รวม รวม
--
4040
2525
2525
4040 --
4040 3030
กิจกิการที ่ควบคุ มร่มวร่มกั นน จการที ่ควบคุ วมกั บริบริ ษัทษัทไทย าร์ารีร์นรีิวนเอเบิ ล จลากัจากั ดด ไทยโซล่ โซล่ ิวเอเบิ บริบริ ษัทษัทผลิผลิ ตไฟฟ้ ตไฟฟ้ า นวนคร า นวนครจากัจากั ดด บริบริ ษัทษไฟฟ้ ัท ไฟฟ้ า น้าาลิ น้าลิ ก 1กจ1ากัจากั ด (ทุ ด (ทุ นชนาระแล้ ชาระแล้ วว หน่หน่ วยพั นเหรี ยญสหรั ฐอเมริ กา)กา) วยพั นเหรี ยญสหรั ฐอเมริ
(ร้อ(ร้ยละ) อยละ)
สัดสัส่ดวส่นความเป็ นเจ้นาเจ้ของ วนความเป็ าของ 2557 2556 2557 2556
9,324,500 9,324,500
1,370,000 1,370,000
8,850 8,850
583,333 583,333 1,002,000 1,002,000
5,789,750 5,789,750
1,370,000 1,370,000
--
533,333 533,333 --
ทุนทุชนาระแล้ วว ชาระแล้ 2557 2556 2557 2556
งบการเงิน
590,000 590,000 590,000 590,000
116,949 116,949 2,137,949 2,137,949
2,609,387 2,609,387 2,609,387 2,609,387 5,337,336 5,337,336
8585
2556 2556
1,725,699 1,725,699 1,725,699 1,725,699 3,692,699 3,692,699
590,000 590,000 590,000 590,000
-1,377,000 1,377,000
1,377,000 1,377,000 --
(พั(พั นบาท) นบาท) 1,697,000 1,697,000 324,000 324,000
2557 2557
ราคาทุ นน ราคาทุ
งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม
2,245,889 2,245,889 2,245,889 2,245,889 4,654,846 4,654,846
393,172 393,172 393,172 393,172
45,259 45,259 2,015,785 2,015,785
1,699,030 1,699,030 271,496 271,496
1,393,278 1,393,278 1,393,278 1,393,278 2,883,678 2,883,678
341,607 341,607 341,607 341,607
-1,148,793 1,148,793
1,148,793 1,148,793 --
มูลมูค่ลาค่ตามวิ ธีสธ่วีสนได้ เสียเสีย าตามวิ ่วนได้ 2557 2556 2557 2556 (ปรั(ปรั บปรุ งใหม่ )) บปรุ งใหม่
----
---
---
---
เงินเงิปันนปัผลรั บบ นผลรั 2557 2556 2557 2556
เงินเงิลงทุ นลงทุ นในบริ นในบริ ษัทษร่ัทวร่มและกิ วมและกิ จการที จการที ่ควบคุ ่ควบคุ มร่มวร่มกั วมกั น นณณวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2557 2557และ และ2556 2556และเงิ และเงิ นปันนปัผลรั นผลรั บสบาหรั สาหรั บปีบสปีิ้นสสุิ้นดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2557 2557และส และส าหรั าหรั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต่ ้งแต่ วันวัทีน่ ที10่ 10มกราคม มกราคม2556 2556ถึงถึวังนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2556 2556มีดมีังดนีัง้ นี้
บริบริษัทษัทโกลบอล โกลบอลเพาเวอร์ เพาเวอร์ซินซิเนอร์ นเนอร์ยี่ ยจี่ ากั จากัด ด(มหาชน) (มหาชน)และบริ และบริษัทษย่ัทอย่ยอย (เดิ(เดิมชืม่อชืบริ ่อบริษัทษัทโกลบอล โกลบอลเพาเวอร์ เพาเวอร์ซินซิเนอร์ นเนอร์ยี่ ยจี่ ากั จากัด ดและบริ และบริษัทษย่ัทอย่ย)อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิน น
----
---
---
---
รายงานประจำ�ปี 2557
P- 315
P- 316
งบการเงิน
รวม
25
บริษัทร่วม บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอ เรชั่น จากัด 1,370,000
8,850
-
40
25
1,002,000
-
30
583,333
40
40
1,370,000
-
-
533,333
ทุนชาระแล้ว 2557 2556
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริ ษั ท ไทย โซล่ า ร์ รี นิ ว เอ เบิล จากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด บริ ษั ท ไฟฟ้ า น้ าลิ ก 1 จ ากั ด (ทุนชาระแล้วหน่วยพัน เหรียญสหรัฐอเมริกา)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2557 2556 (ร้อยละ)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมปชืระกอบงบการเงิ ่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ หมายเหตุ น ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
86
590,000 590,000 2,727,949
116,949 2,137,949
324,000
1,697,000
590,000 590,000 1,967,000
1,377,000
-
1,377,000
-
-
-
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน การด้อยค่า 2557 2556 2557 2556 (พันบาท)
-
-
-
-
590,000 590,000 2,727,949
116,949 2,137,949
324,000
1,697,000
590,000 590,000 1,967,000
1,377,000
-
1,377,000
ราคาทุน-สุทธิ 2557 2556
31,500
31,500
-
31,500
เงินปันผลรับ 2557 2556
-
-
-
-
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
บริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันทั้งหมดไม่ได้ เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์จึงไม่มีราคาที่ต้อง เปิดเผยต่อสาธารณชน ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งกลุ่มบริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสีย โดยแสดงเป็นยอดรวมไม่ได้ปรับปรุงตามส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัท
สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ (ร้อยละ)
สินทรัพย์ รวม
รายได้ หนี้สิน รวมสาหรับ รวม ปี (พันบาท)
บริษัท ไฟฟ้า น้าลิก 1 จากัด
40 30 40
6,718,906 1,390,988 938,285 9,048,179
4,692,410 486,053 831,475 6,009,938
1,429,586 7,181 1,038 1,437,805
851,005 (43,870) (22,513) 784,622
บริษัทร่วม บริษทั บางปะอิน โคเจนเนอเรชัน่ จากัด
25
5,852,899 5,852,899
4,284,467 4,284,467
2,804,372 2,804,372
192,593 192,593
บริษัทร่วมทางอ้อม บริษทั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด
25
37,929,526 37,929,526 52,830,604
29,085,329 29,085,329 39,379,734
1,416 1,416 4,243,593
(124,305) (124,305) 852,910
กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี
31 ธันวาคม 2557
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จากัด
รวม
87 งบการเงิน
P- 317
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สัดส่วนความ เป็นเจ้าของ (ร้อยละ)
สินทรัพย์ รวม
รายได้ รวมสาหรับ หนี้สิน รวม งวด (พันบาท)
40
6,183,613
5,729,644
348,153
121,948
6,183,613
5,729,644
348,153
121,948
กาไร(ขาดทุน) สาหรับงวด
31 ธันวาคม 2556
กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จากัด บริษัทร่วม บริษทั บางปะอิน โคเจนเนอเรชัน่ จากัด
25
5,973,547 5,973,547
4,613,847 4,613,847
53,780 53,780
(3,224) (3,224)
บริษัทร่วมทางอ้อม บริษทั ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด
25
23,955,975 23,955,975 36,113,135
18,326,181 18,326,181 28,669,672
273 273 402,206
(1,320) (1,320) 117,404
รวม
88 P- 318
งบการเงิน
ราคาทุน ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่ ซื้อบริษัทย่อยระหว่างงวด (หมายเหตุ 5.2) เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
16 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
1,117,737
-
250,197 250,197 867,540 1,117,737
ที่ดินและส่วน ปรับปรุง
909,763
6,438 21,889 (48)
655,972 (14,174) 641,798 195,252 4,294 40,839 (699) 881,484
อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
89
20,101,956
32,124 282,715 (22,814)
31,372,395 (11,872,426) 19,499,969 222,645 52,982 34,335 19,809,931
94,622
8,351 13,110 (373)
62,146 (1,465) 60,681 1,128 2,184 9,541 73,534
3,126
-
3,981 (855) 3,126 3,126
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิตกระแสไฟฟ้า เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร และ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยานพาหนะ (พันบาท)
4,030,635
2,842,672 (317,714) -
617,168 (21,421) 595,747 511,007 483,638 (84,715) 1,505,677
งานระหว่าง ก่อสร้าง
26,257,839
2,889,585 (23,235)
32,961,859 (11,910,341) 21,051,518 1,797,572 543,098 (699) 23,391,489
รวม
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงิน
P- 319
P- 320
งบการเงิน
ค่าเสื่อมราคาสาหรับงวด โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่ ซื้อบริษัทย่อยระหว่างงวด (หมายเหตุ 5.2) 27,618 304 (657) 181,203 34,344 (7) 215,540 521,011 700,281 694,223
250,197 1,117,737 1,117,737
120,787 33,151
-
120,787 -
อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร
-
ที่ดินและส่วน ปรับปรุง
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชืป่อบริ ษัท โกลบอล เพาเวอร์ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
90
4
15,486,944 14,824,736 14,163,934
908,806 (304) 4,985,195 962,203 (9,376) 5,938,022
4,013,025 63,668
9,461,347 (5,448,322)
23,289 28,904 40,926
6,731 44,630 9,271 (205) 53,696
37,392 507
37,392 -
685 382 287
303 2,744 95 2,839
2,441 -
2,441 -
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิตกระแสไฟฟ้า เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร และ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยานพาหนะ (พันบาท)
595,747 1,505,677 4,030,635
-
-
-
งานระหว่าง ก่อสร้าง
16,877,873 18,177,717 20,047,742
943,458 (657) 5,213,772 1,005,913 (9,588) 6,210,097
4,173,645 97,326
9,621,967 (5,448,322)
รวม
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจานวน แล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวน 29.9 ล้านบาท (2556 : 5.2 ล้านบาท) การค้าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทได้จานองที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมทั้งเครื่องจักรที่จะมีขึ้นต่อไปในภายหน้า ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิจานวน 15,302.9 ล้านบาท เพื่อเป็นหลักประกันเงินกู้ยืมระยะยาว (2556 : 15,497.7 ล้านบาท) (ดูหมายเหตุ 19) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งของกิจการได้รวมต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่งที่ดินและก่อสร้างโรงงานใหม่เป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนสินทรัพย์จานวน 76.8 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ร้อยละ 5 และ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา หกเดือนบวก 2.4%
91 งบการเงิน
P- 321
P- 322
ราคาทุน ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่ เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
งบการเงิน
250,197 250,197 250,197 250,197
ที่ดินและส่วน ปรับปรุง
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) (เดิมชื่อป บริระกอบงบการเงิ ษัท โกลบอล เพาเวอร์ หมายเหตุประกอบงบการเงิน
655,972 (14,174) 641,798 4,294 40,839 (699) 686,232 6,438 21,889 (48) 714,511
อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร
92
31,372,395 (11,872,426) 19,499,969 52,982 34,335 19,587,286 32,090 282,116 (22,814) 19,878,678
62,146 (1,465) 60,681 2,184 9,541 72,406 8,223 13,110 (373) 93,366
3,981 (855) 3,126 3,126 3,126
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต กระแสไฟฟ้า เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร และ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยานพาหนะ (พันบาท) 617,168 (21,421) 595,747 185,969 (84,715) 697,001 695,339 (317,115) 1,075,225
งานระหว่าง ก่อสร้าง
32,961,859 (11,910,341) 21,051,518 245,429 (699) 21,296,248 742,090 (23,235) 22,015,103
รวม
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 - ตามที่รายงานในงวดก่อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ปรับปรุงใหม่ ค่าเสื่อมราคาสาหรับงวด โอน จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 1 มกราคม 2557 ค่าเสื่อมราคาสาหรับปี จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -
ที่ดินและส่วน ปรับปรุง
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
120,788 120,788 27,471 304 (657) 147,906 27,626 (7) 175,525
อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร
93
9,461,347 (5,448,322) 4,013,025 908,492 (304) 4,921,213 947,800 (9,377) 5,859,636
37,392 37,392 6,727 44,119 9,114 (205) 53,028
2,441 2,441 303 2,744 95 2,839
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต กระแสไฟฟ้า เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร และ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยานพาหนะ (พันบาท) -
งานระหว่าง ก่อสร้าง
9,621,968 (5,448,322) 4,173,646 942,993 (657) 5,115,982 984,635 (9,589) 6,091,028
รวม
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงิน
P- 323
P- 324
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
งบการเงิน
250,197 250,197 250,197
ที่ดินและส่วน ปรับปรุง
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) (เดิมชื่อป บริระกอบงบการเงิ ษัท โกลบอล เพาเวอร์ หมายเหตุประกอบงบการเงิน
521,010 538,326 538,986
อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร
94
15,486,944 14,666,073 14,019,042
23,289 28,287 40,338
685 382 287
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม่) โรงผลิต กระแสไฟฟ้า เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร และ ติดตั้ง และ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ยานพาหนะ (พันบาท) 595,747 697,001 1,075,225
งานระหว่าง ก่อสร้าง
16,877,872 16,180,266 15,924,075
รวม
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ราคาทรัพย์สินของบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจานวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวน 29.9 ล้านบาท (2556 : 5.2 ล้านบาท) การค้าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทได้จานองที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมทั้งเครื่องจักร ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิจานวน 14,688.9 ล้านบาท เพื่อเป็นหลักประกันเงินกู้ยืมระยะยาว (2556 : 15,497.7 ล้านบาท) (ดูหมายเหตุ 20) 17 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ หมายเหตุ (พันบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ได้มาจากการซื้อบริษัทย่อย เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และวันที่ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
32,285 2,115 1,205 12,221
5.2
47,826 53,751 101,577
ค่าตัดจาหน่าย ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ได้มาจากการซื้อบริษัทย่อย ค่าตัดจาหน่ายสาหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และวันที่ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
15,311 1,686 4,056
5.2
21,053 7,226 28,279
95 งบการเงิน
P- 325
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินรวม (ปรับปรุงใหม่) ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ (พันบาท) มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
16,974 26,773 73,298 งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ (พันบาท)
P- 326
ราคาทุน ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และวันที่ 1 มกราคม 2557 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
32,285 1,205 12,221 45,711 51,561 97,272
ค่าตัดจาหน่าย ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และวันที่ 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
15,311 4,066 19,377 6,932 26,309
มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
16,974 26,334 70,963
งบการเงิน
96
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
18 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้
สินทรัพย์ 2557
รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีสุทธิ
1,071,656 (1,071,656)
-
สินทรัพย์
1,071,656 (1,071,656) -
97
หนี้สิน
2556 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 1,121,886 (1,477,902) (1,121,886) 1,071,656
-
2557
รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีสุทธิ
งบการเงินรวม
(1,564,750) 1,121,886
(406,246)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(442,864)
หนี้สิน
2556 2557 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 1,121,886 (1,477,902) (1,121,886) 1,071,656 -
2556 (ปรับปรุงใหม่)
(406,246)
งบการเงิน
2556 (ปรับปรุงใหม่) (1,564,750) 1,121,886 (442,864)
P- 327
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
รายการเคลื่อนไหวของสิ นทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ นภาษีเ งิ น ได้ ร อการตัด บัญชี ร วมที่เ กิ ด ขึ้ น ส าหรั บปีสิ้ นสุ ด วั นที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 2557 (ปรับปรุงใหม่) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินกู้ยืม ผลประโยชน์พนักงาน รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าตัดจาหน่ายระบบสายส่ง กระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ
งบการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
(พันบาท)
1,117,501 4,385 1,121,886
42,000 (93,100) 870 (50,230)
-
42,000 1,024,401 5,255 1,071,656
(1,563,686)
85,784
-
(1,477,902)
(1,064) (1,564,750) (442,864)
1,064 86,848 36,618
-
(1,477,902) (406,246)
98 P- 328
งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ใน กาไรหรือ ส่วนของ ขาดทุ ผูผู้ถ้ถือือหุหุ้น้น ขาดทุนน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม บันทึกเป็น (รายจ่าย)/ รายได้ใน ณ วันที่ 10 มกราคม 2556
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินกู้ยืม ผลประโยชน์พนักงาน รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าตัดจาหน่ายระบบสายส่ง กระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ
กาไรหรือ ส่วนของ ขาดทุน ผู้ถือหุ้น (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
1,219,706 3,641 1,223,347
(102,205) 744 (101,461)
-
1,117,501
-
4,385 1,121,886
(1,659,973)
96,287
-
(1,563,686)
(5,217) (1,665,190) (441,843)
4,153 100,440 (1,021)
-
(1,064) (1,564,750) (442,864)
99
งบการเงิน
P- 329
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 (ปรับปรุงใหม่) สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินกู้ยืม ผลประโยชน์พนักงาน รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าตัดจาหน่ายระบบสายส่ง กระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. รวม หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ
P- 330
งบการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ใน กาไรหรือ ส่วนของ ขาดทุน ผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
(พันบาท) 1,117,501 4,385 1,121,886
42,000 (93,100) 870 (50,230)
-
42,000 1,024,401 5,255 1,071,656
(1,563,686)
85,784
-
(1,477,902)
(1,064) (1,564,750) (442,864)
1,064 86,848 36,618
-
(1,477,902) (406,246)
100
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
ณ วันที่ 10 มกราคม 2556
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินกู้ยืม ผลประโยชน์พนักงาน รวม
1,219,706 3,641 1,223,347
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน (1,659,973) ค่าตัดจาหน่ายระบบสายส่ง กระแสไฟฟ้าที่โอนให้ กฟผ. (5,217) รวม (1,665,190) หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ (441,843)
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็น (รายจ่าย)/รายได้ใน กาไรหรือ ส่วนของ ขาดทุน ผู้ถือหุ้น (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
(102,205) 744 (101,461)
-
1,117,501 4,385 1,121,886
96,287
-
(1,563,686)
4,153 100,440 (1,021)
-
(1,064) (1,564,750) (442,864)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้เป็น จานวน 75.0 ล้านบาท ที่ไม่ได้บันทึก เป็นสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี (2556 : 59.6 ล้านบาท)
101
งบการเงิน
P- 331
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
19 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนที่มีหลักประกัน หัก ค่าธรรมเนียมการกู้เงินรอตัดจ่าย รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยหมุนเวียน ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน หัก ค่าธรรมเนียมการกู้เงินรอตัดจ่าย รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยไม่หมุนเวียน รวม
-
360,000
-
-
1,601,049 (6,213) 1,594,836
2,260,643 (6,213) 2,614,430
1,601,049 (6,213) 1,594,836
2,260,643 (6,213) 2,254,430
11,289,737 (92,826) 11,196,911 12,791,747
10,420,786 (36,852) 10,383,934 12,998,364
8,819,737 (30,639) 8,789,098 10,383,934
10,420,786 (36,852) 10,383,934 12,638,364
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงตามระยะเวลาครบกาหนดการจ่ายชาระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ได้ดังนี้
ครบกาหนดภายในหนึ่งปี ครบกาหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกาหนดหลังจากห้าปี รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 1,594,836 2,614,430 1,594,836 2,254,430 8,032,148 6,381,353 6,032,148 6,381,353 3,164,763 4,002,581 2,756,950 4,002,581 12,791,747 12,998,364 10,383,934 12,638,364 102
P- 332
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็น สินทรัพย์ดังนี้ งบการเงินรวม 2557 2556
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(ปรับปรุงใหม่)
(พันบาท)
เงินฝากธนาคารที่มีข้อจากัดในการเบิกใช้ และเงินลงทุนอืน่ ที่ดิน อาคารและโรงผลิตกระแสไฟฟ้า - ราคาตามบัญชี รวม
8, 9 16 16
182,286 864,247
266,937 250,197
250,197
266,937 250,197
14,438,665 15,485,198
15,247,479 15,764,613
14,438,665 14,688,862
15,247,479 15,764,613
รายละเอียดของเงินกู้ยืมของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
บริษัท 1) วงเงินกู้ยืมจานวน 40 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา มีอัตราดอกเบี้ย LIBOR บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดยมีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ มีนาคม 2543 2) วงเงินกู้ยืมจานวน 1,000 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกาหนด ชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่ มีนาคม 2543 3) วงเงินกู้ยืมจานวน 920 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย MLR หัก อัตราส่วนลด โดยมี กาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่ มีนาคม 2543
-
171,337
-
171,337
-
133,057
-
- 133,057
-
121,643
-
121,643
103 งบการเงิน
P- 333
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
บริษัท 4) วงเงินกู้ยืมจานวน 455 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกาหนด ชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่ มีนาคม 2543 5) วงเงินกู้ยืมจานวน 308.6 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย MLR หักอัตราส่วนลด โดยมีกาหนด ชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่มตั้งแต่ ธันวาคม 2542 6) วงเงินกู้ยืมจานวน 3,500 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดย มีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 2552 7) วงเงินกู้ยืมจานวน 3,600 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดย มีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ ธันวาคม 2554 8) วงเงินกู้ยืมจานวน 3,400 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดย มีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ กันยายน 2555 9) วงเงินกู้ยืมจานวน 5,510 ล้านบาท มีอัตรา ดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดย มีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ มิถุนายน 2555 บริษัทย่อย 1) วงเงินกู้ยืมระยะสั้นจานวน 360 ล้านบาท ไม่มี หลักประกัน อัตราดอกเบี้ยคงที่ กาหนดชาระ คืนภายในเดือนมิถุนายน 2557
-
48,174
-
48,174
-
5,382
-
5,382
1,400,000
1,750,000
1,400,000
1,750,000
2,340,000
2,880,000
2,340,000
2,880,000
2,550,000
2,890,000
2,550,000
2,890,000
4,130,786
4,681,836
4,130,786
4,681,836
-
360,000
-
104 P- 334
งบการเงิน
-
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
บริษัทย่อย 2) วงเงินกู้ยืมจานวน 10,000 ล้านบาท มีอัตรา 2,470,000 ดอกเบี้ย FDR 6 เดือน บวกอัตราส่วนเพิ่ม โดย มีกาหนดชาระคืนเป็นงวด ทุก 6 เดือน เริ่ม ตั้งแต่ ธันวาคม 2560 รวม 12,890,786 หัก ค่าธรรมเนียมการกู้เงินรอตัดจ่าย (99,039) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิ 12,791,747
-
13,041,429 (43,065) 12,998,364
-
-
10,420,786 12,681,429 (36,852) (43,065) 10,383,934 12,638,364
ภายใต้สัญญาเงินกู้ กลุ่มบริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น กาหนดเวลา การชาระเงินเพิ่มทุน การจ่ายเงินปันผล การลดทุนเรือนหุ้น การควบหรือรวมกิจการกับนิติบุคคลอื่น การดารง อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นและอัตราส่วนความสามารถในการชาระหนี้ให้เป็นไปตามสัญญา เป็นต้น เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2557 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ลงนามในสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวซึ่งมีวงเงินรวม 12,400 ล้านบาท กับธนาคารพาณิชย์ในประเทศ 4 แห่ง เพื่อใช้ในโครงการลงทุนของบริษัทย่อย บริษัทย่อยสามารถเบิกถอน วงเงินได้ตามความคืบหน้าของโครงการ โดยเงินกู้ยืมดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. วงเงินจานวน 10,000 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยฝากประจาหกเดือนบวก 2.4% ต่อปี โดยดอกเบี้ยจะมีการชาระทุกสิ้นเดือน ส่วนการชาระคืนเงินต้นแบ่งออกเป็น 25 งวด เริ่มชาระงวดแรกเดือน ธันวาคม 2560 และชาระคืนเงินต้นทุกครึ่งปี 2. วงเงินจานวน 2,400 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของเงินกู้ยืม ซึ่งมีอัตราอยู่ระหว่างร้อยละ 0.35 ถึงอัตราดอกเบี้ยลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีประเภทเงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมดังกล่าวมีที่ดินและที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อยเป็นหลักประกัน ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินกู้ยืมดังกล่าวมียอดคงเหลือสุทธิจากค่าธรรมเนียมการกู้เงินรอตัดจ่าย 2,408 ล้านบาท ในระหว่างปี 2557 บริษัทได้ลงนามในสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวซึ่งมีวงเงินรวม 8,600 ล้านบาท กับธนาคารพาณิชย์ หลายแห่ง เพื่อใช้ในโครงการลงทุนในอนาคตและเป็นเงินทุนหมุนเวียนในบริษัท เงินกู้ยืมดังกล่าวมีโรงไฟฟ้า ศรีราชาของบริษัทเป็นหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทยังไม่ได้มีการเบิกใช้เงินกู้ยืมดังกล่าว
105
งบการเงิน
P- 335
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อที่ยังไม่ได้เบิกใช้เป็นจานวนรวม 19,230 ล้านบาท และ 9,300 ล้านบาท ตามลาดับ (31 ธันวาคม 2556: 700 ล้านบาท และ 700 ล้านบาท ตามลาดับ) ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 12,791,747 12,827,027 10,383,934 12,512,027 171,337 171,337 12,791,747 12,998,364 10,383,934 12,683,364
20 เจ้าหนี้การค้า งบการเงินรวม 2557 2556
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น ๆ รวม
6
2,241,512 34,277 2,275,789
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556
(พันบาท) 3,091,228 2,241,512 20,307 34,277 3,111,535 2,275,789
ยอดเจ้าหนี้การค้าทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เป็นสกุลเงินบาท
106 P- 336
งบการเงิน
3,091,228 20,307 3,111,535
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
21 เจ้าหนี้อื่น
หมายเหตุ
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน อื่นๆ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่นพนักงาน เจ้าหนี้อื่น เงินรับล่วงหน้า เงินประกันสัญญา รวม
6
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 451,728 714,320 450,568 713,151
161,796 2,069 190,196 193,163 547,224 998,952
78,136 2,719 187,637 178,479 3,465 450,436 1,164,756
152,206 2,009 185,998 193,163 533,376 983,944
72,018 2,617 168,503 178,479 421,617 1,134,768
ประเภทสกุลเงินตราของเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคมมีดังนี้ งบการเงินรวม
2557
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม
881,731 117,221 998,952
107
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2556 2557 (ปรับปรุงใหม่) (ล้านบาท) 1,164,756 866,723 117,221 1,164,756 983,944
งบการเงิน
2556
1,134,768 1,134,768
P- 337
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
22 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ วันที่ 10 มกราคม 2556 ได้มาจากการซื้อเงินลงทุน ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
22,877 4,597 -
18,203 951 4,981 (1,258)
21,923 4,349 -
18,203 4,978 (1,258)
27,474
22,877
26,272
21,923
ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในรายการต่อไปนี้ในกาไรหรือขาดทุน
ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขาย รวม
P- 338
งบการเงิน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) 3,299 2,615 3,299 2,647 1,898 1,636 1,682 1,633 52 46 52 46 4,597 4,981 4,349 4,978
108
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน งบการเงินรวม 2557 2556
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (ร้อยละ)
3.6 - 4.2 3.6 - 4.2 2.0 – 10.0 2.0 - 10.0 60 จ 60 อ้างอิงตามตารางมรณะ ปี พ.ศ. 2551(TMO08)
อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต อายุเกษียณ อัตรามรณะ
4.2 4.2 2.0 – 10.0 2.0 - 10.0 60 จ 60 อ้างอิงตามตารางมรณะ ปี พ.ศ. 2551(TMO08)
23 ทุนเรือนหุ้น
มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ วันที่ 10 มกราคม 2556 - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ หุ้นที่ออกและชาระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 และ วันที่ 10 มกราคม 2556 - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ
งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 จานวนหุ้น จานวนเงิน จานวนหุ้น จานวนเงิน (พันหุ้น/พันบาท)
10 10
1,123,726 374,575
11,237,256 3,745,752
863,000 260,726
8,630,000 2,607,256
10
1,498,301
14,983,008
1,123,726
11,237,256
10 10
1,123,726 -
11,237,256 -
863,000 260,726
8,630,000 2,607,256
10
1,123,726
11,237,256
- 1,123,726
11,237,256
109 งบการเงิน
P- 339
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
การออกหุ้นสามัญ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทเป็นจานวนเงิน 3,746 ล้านบาท โดยเพิ่มทุนจาก 11,237 ล้านบาท เป็น 14,983 ล้านบาท ซึ่งบริษัทได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนต่อกระทรวง พาณิชย์เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 วันที่ 2 ธันวาคม 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติการออกหุ้นสามัญจานวน 260,726 พันหุ้น ที่ราคาการใช้สิทธิ 23.0127 บาทต่อหุ้น รวมเงินรับจากการเพิ่มทุนเป็นจานวน 6,000 ล้านบาท แบ่งเป็นมูลคาหุ้นที่ตราไว้เป็นจานวน 2,607.3 ล้านบาท และส่วนเกินมูลค่าหุ้นเป็นจานวน 3,392.7 ล้านบาท บริ ษัทได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนต่อ กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2556 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้น คือ ส่วนต่างของจานวนเงินที่บริษัทได้รับจากการออกจาหน่ายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน ไว้ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนาไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 24 สารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสารอง (“สารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า สารองดังกล่าวมีจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสารองนี้จะนาไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
110
P- 340
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
25 รายงานทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทมี 3 ส่วนงานที่รายงาน ดังรายละเอียดข้างล่าง ซึ่งเป็นหน่วยงานธุรกิจที่สาคัญของกลุ่มบริษัท หน่วยงาน ธุรกิจที่สาคัญนี้มีขนาดของกิจการที่แตกต่างกัน และมีการบริหารจัดการแยกต่างหาก เนื่องจากใช้เทคโนโลยีและ กลยุทธ์ทางการตลาดที่แตกต่างกัน ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงานสอบทานรายงานการจัดการภายใน ของแต่ละหน่วยงานธุรกิจที่สาคัญอย่างน้อยทุกไตรมาส การดาเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของกลุ่มบริษัท โดยสรุปมีดังนี้
ส่วนงาน 1 ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ ส่วนงาน 2 ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก ส่วนงาน 3 ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก
ข้อมูลผลการดาเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานได้รวมอยู่ดังข้างล่างนี้ ผลการดาเนินงานวัดโดยใช้กาไรก่อน ภาษีเงินได้ของส่วนงาน ซึ่งนาเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการ ดาเนินงานของกลุ่มบริษัท ผู้บริหารเชื่อว่าการใช้กาไรก่อนภาษีเงินได้ในการวัดผลการดาเนินงานนั้นเป็นข้อมูลที่ เหมาะสมในการประเมินผลการดาเนินงานของส่วนงานและสอดคล้องกับกิจการอื่นที่ดาเนินธุรกิจในอุตสาหกรรม เดียวกัน
111 งบการเงิน
P- 341
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556
ส่วนงานที่ 1 สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 รายได้จากการขายสินค้าและ ให้บริการ - รายได้จากลูกค้าภายนอก 8,222,895 รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน 730,408 ต้นทุนทางการเงิน (67,633) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย (45,582) ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จาก บริษัท ร่วมที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย (31,076) กาไรก่อนภาษีเงินได้ 62,179 (ค่าใช้จ่าย) ผลประโยชน์ภาษีเงินได้ (12,380) กาไรสาหรับปี 49,799
ส่วนงานที่ 2
ส่วนงานที่ 3 (พันบาท)
172,457 (18,859) (21,570)
80,899 -
22,924,015 730,408 (470,100) (1,042,738)
37,603 1,289,257 (15,097) 1,274,160
261,737 254,032 254,032
51 51
268,264 1,605,519 (27,477) 1,578,042
1,825 -
24,841,397 754,520 (600,513) (991,198)
(1,156) (1,156)
2,466 1,145,224 (1,575) 1,143,649
112 งบการเงิน
รวม
14,528,663 (464,507) (975,586)
สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) รายได้จากการขายสินค้าและ ให้บริการ - รายได้จากลูกค้าภายนอก 11,758,972 13,081,169 1,256 รายได้จากสัญญาเช่าการเงิน 754,520 ต้นทุนทางการเงิน (31,779) (570,095) (464) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย (55,570) (935,193) (435) ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากบริษัท ร่วมที่บันทึกตามวิธีส่วนได้เสีย (330) (806) 3,602 กาไรก่อนภาษีเงินได้ 467,244 676,628 2,508 (ค่าใช้จ่าย) ผลประโยชน์ภาษีเงินได้ (3,272) 1,697 กาไรสาหรับงวด 463,972 678,325 2,508
P- 342
ตัดรายการ ระหว่างกัน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
ตัดรายการ ระหว่างกัน
ส่วนงานที่ 1
ส่วนงานที่ 2
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ ควบคุมร่วมกัน ตามวิธี ส่วนได้เสีย 2,245,889
ส่วนงานที่ 3 (พันบาท)
594,456
1,814,501
-
4,654,846
13,705,299
32,329,944
781,040
(3,884,047)
42,932,236
2,298,265
14,521,171
346,512
(251,804)
16,914,144
10,939
2,925,798
6,600
-
2,943,337
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) เงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการที่ ควบคุมร่วมกัน ตามวิธี ส่วนได้เสีย 1,393,278
341,608
1,148,792
-
2,883,678
15,326,135
30,100,450
646,848
(2,729,700)
43,343,733
4,432,015
15,664,172
456,862
(1,570,339)
18,982,710
2,869
1,943,389
459,498
-
2,405,756
รวมสินทรัพย์ส่วนงาน รวมหนี้สินส่วนงาน การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน
รวมสินทรัพย์ส่วนงาน รวมหนี้สินส่วนงาน การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน
รวม
ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทดาเนินธุรกิจในประเทศโดยส่วนใหญ่ ไม่มีรายได้จากต่างประเทศหรือสินทรัพย์ในต่างประเทศที่มี สาระสาคัญ 113 งบการเงิน
P- 343
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ลูกค้ารายใหญ่ ในระหว่างปี กลุ่มบริษัทมีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนสองราย เป็นจานวนเงินประมาณ 10,903 ล้านบาท และ 4,839 ล้านบาท ซึ่งมาจากทุกส่วนงานของกลุ่มบริษัท (2556 : 15,908 ล้านบาท และ 4,077 ล้านบาท) 26 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าจ้างบุคคลภายนอก ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเช่าจ่าย อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 107,950 128,128 107,963 137,932 166,676 111,816 159,062 111,371 17,282 9,794 17,137 9,339 22,699 21,216 22,655 21,891 57,519 23,829 50,222 24,273 401,300 276,088 375,765 275,601
114 P- 344
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
27 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (พันบาท) ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ
พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ต้นทุนบาเหน็จบานาญ – โครงการ ผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ อื่น ๆ รวม
44,184 5,790 4,932 54,906
42,441 1,905 4,175 48,521
42,990 5,790 4,932 53,712
42,441 1,905 4,175 48,521
416,197 14,438
249,822 8,714
400,855 13,615
249,676 8,714
4,597 28,563 463,795 518,701
4,981 28,684 292,201 340,722
4,348 26,853 445,671 499,383
4,978 28,684 292,052 340,573
โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ รายละเอียดของโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23
115
งบการเงิน
P- 345
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงการสมทบเงินที่กาหนดไว้ กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุก เดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 ถึง อัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุน สารองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสารองเลี้ยงชีพตามข้อกาหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุน โดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต 28 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
ค่าวัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายพนักงานและค่าจ้าง บุคคลภายนอก ค่าซ่อมแซม
P- 346
งบการเงิน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) 21,283,358 18,754,813 21,132,073 18,825,825 368,744 304,851 367,129 308,926 991,199 1,021,164 990,763 1,042,738 598,071 724,543
116
489,043 705,845
563,120 721,713
464,608 705,915
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
29 ต้นทุนทางการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) ดอกเบี้ยจ่าย สถาบันการเงิน กิจการอื่น ๆ ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดขึ้นจริง ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมทางการเงิน ค่าตัดจาหน่ายของต้นทุนการทารายการ ส่วนที่บันทึกรวมกับเงินกู้ยืมและ ค่าธรรมเนียมอื่น รวม หัก จานวนที่รวมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ สุทธิ
507,875 507,875
591,327 385 591,712
439,824 439,824
590,636 590,636
32,502
1,487
24,060
1,487
6,527 546,904 (76,804) 470,100
7,314 600,513 600,513
6,214 470,098 470,098
7,314 599,437 599,437
117
งบการเงิน
P- 347
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
30 ภาษีเงินได้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลา ระยะเวลา ตั้งแต่วันที่ ตั้งแต่วันที่ 10 10 มกราคม มกราคม สาหรับปี สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 2556 ถึงวันที่ สิ้นสุดวันที่ 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2557 2556 หมายเหตุ 2557 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) ภาษีเงินได้ปัจจุบัน สาหรับปีปัจจุบัน ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกต่าไป ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม
P- 348
งบการเงิน
53,359 10,736 64,095
554 554
53,359 10,736 64,095
554 554
(36,618) 27,477
1,021 1,575
(36,618) 27,477
1,021 1,575
18
118
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น
รายงานประจำ�ปี 2557
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริง
กาไรก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบทางภาษีของ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษีหรือรายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษีและรายการอื่น ๆ ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกต่าไป ผลขาดทุนในปีปัจจุบันที่ไม่รับรู้เป็น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม
งบการเงินรวม สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) อัตราภาษี อัตราภาษี (ร้อยละ) (พันบาท) (ร้อยละ) (พันบาท) 1,605,520 1,145,224 20.00 321,104 20.00 229,045
119
(19.82) 0.01 0.67 0.85 1.71
(318,201) 107 10,737 13,730 27,477
(20.23) 0.11 0.05 0.21 0.14
งบการเงิน
(231,690) 1,272 554 2,394 1,575
P- 349
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
กาไรก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบทางภาษีของ รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษีหรือรายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษีและรายการอื่น ๆ ภาษีงวดก่อนๆ ที่บันทึกต่าไป รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ สาหรับปี วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) อัตราภาษี อัตราภาษี (ร้อยละ) (พันบาท) (ร้อยละ) (พันบาท) 1,413,563 1,154,765 20.00 282,713 20.00 230,953 (18.82) 0.01 0.75 1.94
(266,080) 107 10,737 27,477
(20.02) 0.11 0.05 0.14
(231,193) 1,261 554 1,575
การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลง วันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุทธิเป็นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชี ได้แก่ปี 2555 2556 และ 2557 จากอัตราร้อยละ 30 เหลืออัตราร้อยละ 23 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของกาไรสุทธิสาหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามลาดับ พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่า ด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษี เงินได้นิติบุคคลร้อยละ 20 สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2558 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 กลุ่มบริษัทใช้อัตราภาษีเงินได้ที่ลดลงเหลือร้อยละ 20 ในการวัดมูลค่าสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัด บัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ตามคาชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในปี 2555
120 P- 350
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
31 สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้ กลุ่มบริษัทได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สาหรับกิจการผลิตไฟฟ้า ไอน้า น้า และน้าเย็น ซึ่งพอสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ (ก) ได้ รั บ ยกเว้ นการเสี ย ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติบุ ค คลจากการประกอบกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ มเป็น เวลาแปดปี นับตั้งแต่วันที่มีนายได้จากการประกอบกิจการนั้น (ข) ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละห้าสิบของอัตราปกติ เป็นเวลาห้าปี นับจากวันที่พ้ น กาหนดระยะเวลาตามข้อ (ก) (ค)
ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่องจักรที่นาเข้าจากต่างประเทศตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อนุมัติ
เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มบริษัทจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกาหนดตามที่ระบุ ไว้ในบัตรส่งเสริมการลงทุน รายได้ของกลุ่มบริษัทและบริษัทในระหว่างปี/งวด จาแนกตามกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้
ขายในประเทศ
งบการเงินรวม สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) กิจการที่ กิจการที่ กิจการที่ กิจการที่ ได้รับการ ไม่ได้รับการ ได้รับการ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม ส่งเสริม รวม ส่งเสริม ส่งเสริม รวม (พันบาท) 22,131,874 792,141 22,924,015 24,439,235 402,163 24,841,398
121 งบการเงิน
P- 351
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ขายในประเทศ
32
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2556 ถึง สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) กิจการที่ กิจการที่ กิจการที่ กิจการที่ ได้รับการ ไม่ได้รับการ ได้รับการ ไม่ได้รับการ ส่งเสริม ส่งเสริม รวม ส่งเสริม ส่งเสริม รวม (พันบาท) 21,959,416 792,141 22,751,557 24,437,977 402,163 24,840,140
กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กาไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และสาหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่10 มกราคม 2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คานวณจากกาไรสาหรับ ปี/งวดที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและจานวนหุ้นสามัญที่ ออกจาหน่ายแล้วในระหว่างงวดตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก ซึ่งแสดงการคานวณได้ดังนี้
กาไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท จานวนหุ้นสามัญที่ออกจาหน่ายแล้ว กาไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับรอบ สาหรับรอบ ระยะเวลาตั้งแต่ ระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 10 วันที่ 10 สาหรับปี สาหรับปี มกราคม 2556 มกราคม 2556 สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 31 ธันวาคม ถึงวันที่ 31 2557 ธันวาคม 2556 2557 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท / พันหุ้น) 1,148,290 1,386,086 1,153,091 1,580,578 1,123,726 872,521 1,123,726 872,521 1.41 1.32 1.23 1.32
122 P- 352
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ 33
รายงานประจำ�ปี 2557
เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดาเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือ ทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็งกาไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนสาคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุล ของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิ ดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความ เสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าเกิด ความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความเชื่อมั่น ของตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดาเนินงานต่อส่วนของเจ้าของรวม ซึ่งไม่ รวมส่วน ได้เสียที่ไม่มีอานาจควบคุม อีกทั้งยังกากับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน ตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท อัตราดอกเบี้ยของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกันและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ได้เปิดเผยไว้แล้วในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 6 และ 19 ตามลาดับ ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริ ษั ทมี ค วามเสี่ ย งจากอัตราแลกเปลี่ย นเงิ นตราต่า งประเทศ ซึ่ งเกิ ด จากเงิ นกู้ ยื ม ระยะยาวที่เ ป็น สกุ ลเงิ น ต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทได้ทาสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าบางส่วน เพื่อป้องกันความ เสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนในระยะสั้นตามความเหมาะสม 123 งบการเงิน
P- 353
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็นผลมาจาก การมีสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศดังนี้ งบการเงินรวม 2557 2556
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 (พันบาท)
เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มี ความเสี่ยง
7 6, 21 19
117,221 -
(18) 171,337
117,221 -
(18) 171,337
117,221
171,319
117,221
171,319
ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อคือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชาระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลง ไว้เมื่อครบกาหนด เนื่องจากกลุ่มบริษัทดาเนินธุรกิจกับลูกค้าที่เป็นบริษัทขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและ ไฟฟ้า ทาให้กลุ่มบริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสาคัญด้านการให้สินเชื่อกับลูกค้า ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงิน สดให้เพียงพอต่อการดาเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทาให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การกาหนดมูลค่ายุติธรรม มูลค่ ายุ ติธรรมหมายถึง จานวนเงิ นที่ผู้ ซื้ อและผู้ ข ายตกลงแลกเปลี่ย นสิ นทรั พ ย์หรื อชาระหนี้ สินกั น ในขณะที่ ทั้ ง สองฝ่ า ยมี ค วามรอบรู้ แ ละเต็ ม ใจในการแลกเปลี่ ย นกั น และสามารถต่ อ รองราคากั น ได้ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระ ในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน กลุ่มบริษัทใช้วิธีการและสมมติฐานดังต่อไปนี้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
124
P- 354
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและอื่นๆ และเงินให้กู้ยืม ระยะสั้น เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกาหนดใน ระยะเวลาอันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเจ้าหนี้การค้าและอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับราคาที่บันทึกไว้ในบัญชี เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้จะครบกาหนดในระยะเวลา อันสั้น มูลค่ายุติธรรมของเงินให้กู้ยืมระยะยาวและเงินกู้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งเป็นอัตราท้องตลาดมีราคา ตามบัญชีใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม 34
ภาระผูกพันกับกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท) ภาระผูกพันด้านรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ จ้างออกแบบ ก่อสร้างและติดตั้งระบบ เครื่องจักรและอุปกรณ์ และก่อสร้าง อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่นสาหรับ โครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ
7,029,740
8,744,514
335,877
302,558
ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดาเนินงานที่ ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม
3,288 27,053 21,122 51,463
13,293 122,598 105,541 241,432
3,071 26,185 17,109 46,365
13,076 121,730 101,311 236,117
125
งบการเงิน
P- 355
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
สัญญาบริการซ่อมบารุงระยะยาว บริษัทมีสัญญาจัดหาและบริการซ่อมบารุงเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้ากับบริษัทในประเทศหลายแห่ง ("ผู้ให้บริการ") โดยผู้ให้บริการจะจัดหาและซ่อมแซมอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุงประจาปี และการซ่อมบารุงตามตารางที่กาหนด ในการนี้ บริษัทมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายชาระค่าอะไหล่และค่า บริการซ่อมบารุงให้กับผู้ให้บริการดังกล่าวตาม ราคาที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาเหล่านี้มีผลบังคับใช้นับจากวันที่ในสัญญาจนถึงเวลาของการซ่อมบารุงใหญ่ครั้งที่ 2 หรือการซ่อมบารุงประจาปีครั้งที่ 12 ในปี 2554 บริษัทได้ทาสัญญาบารุงรักษาเครื่องจักรกับบริษัทแห่งหนึ่ง โดยสัญญามีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน 2554 สั ญญาสิ้ นสุ ด ตามชั่ วโมงการเดิ น เครื่ องตามที่กาหนด ประมาณการไว้ที่ร ะยะเวลา 13 ปี อัตรา ค่าบริการและเงื่อนไขข้อผูกพันเป็นไปตามที่กาหนดในสัญญา ในปี 2554 บริษัทได้ทาสัญญาบารุงรักษาเครื่องจักรกับบริษัทแห่งหนึ่งโดยสัญ ญามีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554 รวมระยะเวลา 10 ปี อัตราค่าบริการและเงื่อนไขข้อผูกพันเป็นไปตามที่กาหนดในสัญญา สัญญาซื้อกระแสไฟฟ้า บริษัทมี สัญญาซื้ อกระแสไฟฟ้ ากับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) เป็นเวลา 25 ปี โดยบริษัทจะ จาหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. ในปริมาณและราคาที่ตกลงกัน ในฐานะที่เป็นคู่สัญญากับ กฟผ. บริษัทจะต้อง ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกาหนดต่างๆ ตามที่กาหนดไว้ในสัญญา ในเดือนธั นวาคม 2557 กฟผ. ได้ แจ้งมายังบริ ษัทว่า จะไม่ รับซื้อไฟฟ้า จากโรงไฟฟ้ าศรีร าชาในปี 2558 - 2562 อย่างไรก็ดี กฟผ.ยังคงต้องจ่ายค่าความพร้อมเป็นรายเดือนให้บริษัท ทั้งนี้ผู้บริหารคาดว่าเรื่องดังกล่าวเป็นประโยชน์ ต่อผลการดาเนินงานของบริษัทโดยรวม สัญญาร่วมทุน ตามสัญญา Equity Contribution Agreement ระหว่างบริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด (XPCL) ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) (ในฐานะ Intercreditor Agent) และผู้ถือหุ้นใน XPCL ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2554 ข้อ 3.2 บริษัทย่อย แห่งหนึ่ง (บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จากัด ) ในฐานะผู้ถือหุ้นของ XPCL มีภาระผูกพันที่ต้องจ่ายเงินลงทุนให้ XPCL เมื่อ XPCL จะทาการเบิกใช้เงินกู้กับผู้ให้กู้เพื่อรักษาสัดส่วนหนี้สินต่อทุนให้เทียบเท่า 3:1 เสมอ โดยบริษัทย่อย จะทาการลงเงินทุนในสัดส่วนร้อยละ 25 ที่มีอยู่ใน XPCL เพื่อนาไปใช้ในการก่อสร้างต่อไป
126 P- 356
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
สัญญาเงินกู้ ภายใต้สัญญาเงินกู้ยืมของกลุ่มบริษัทกับสถาบันการเงินหลายแห่ง บริษัทในฐานะผู้ถือหุ้นมีภาระผูกพันบางประการ ตามที่ระบุในสัญญา เช่น การดารงสัดส่วนการถือหุ้น การสนับสนุนทางการเงินตามสัดส่วนการถือหุ้น และการ ลงทุนพิ่มเติมพื่อรักษาสัดส่วนหนี้สินต่อทุน เป็นต้น หนังสือค้าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งและสถาบันการเงินต่างประเทศที่มีสาขาในประเทศไทยแห่ง หนึ่งได้ออกหนังสือค้าประกันบริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่งให้กับหน่วยงานรัฐบาลบางแห่งและบริษัทเอกชน หลายแห่งสาหรับการใช้ไฟซื้อเครื่องจักร และสัญญาเช่า เป็นจานวนรวมประมาณ 70.8 ล้านบาท และ 1,031.6 ล้าน บาทตามลาดับ (2556 : 262.1 ล้านบาท และ 7 ล้านบาทตามลาดับ) 35
หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
ก.
บริษัทมีคดีความจากการถูกประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลของกรมสรรพากรเกี่ยวกับการบันทึกรายได้สาหรับปี 2542 และ 2543 ที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ของผลขาดทุนสะสมยกมาทางภาษีในปีถัดมา (ศาลภาษีอากรกลางได้ มี ค าพิ พ ากษาให้บริ ษั ทชนะคดี แ ล้ว ) ต่ อมากรมสรรพากรได้ ส่ งหนั งสื อมายั งบริ ษัทเพื่ อแจ้งประเมิ นภาษีเ งิ นได้ นิ ติ บุ ค คลส าหรั บ ปี 2546 และ 2548 พร้ อ มเบี้ ย ปรั บ และเงิ น เพิ่ ม รวมเป็ น จ านวนเงิ น 121 ล้ า นบาท และแจ้ ง เปลี่ยนแปลงผลขาดทุนสะสมส าหรั บปี 2547 ซึ่ งบริ ษัทได้ ดาเนิ นการยื่นอุทธรณ์ พร้ อมทั้งวางหลักประกันเต็ม จานวนแล้ว ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คดีความดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา
ข.
บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีข้อพิพาทกับบริษั ทผู้รับเหมาแห่งหนึ่งเกี่ยวกับการทดสอบการใช้งานของเครื่องจักรตาม สัญญาก่อสร้าง ทาให้ในปี 2555 บริษัทย่อยถูกยื่นฟ้ องร้องและเรี ยกให้ชาระค่า งานงวดสุดท้า ยของการติดตั้ง เครื่องจักรโครงการผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วมสาหรับศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร ต่อมาเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 ศาลชั้นต้นพิพากษาให้บริษัทย่อยชาระค่างานงวดสุดท้ายตามสัญญาจานวน 69 ล้านบาท รวมทั้งค่าประกัน ผลงานพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปีของเงินต้นดังกล่าวนับแต่วันถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าจะแล้วเสร็จให้ บริษัทผู้รับเหมาโครงการ ปัจจุบันบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการยื่นอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทรับรู้ประมาณการหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากคดีความดังกล่าวเป็นจานวน 77 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2556: 77 ล้านบาท) ประมาณการหนี้สินแสดงอยู่ภายใต้หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น สาหรับสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับคดีความดังกล่าว กลุ่มบริษัทได้แสดงไว้เป็นสินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้งานซึ่งมีมูลค่าตาม บัญชี 138 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (31ธันวาคม 2556: 138 ล้านบาท) 127
งบการเงิน
P- 357
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
36
เงินปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการ จัดสรรกาไรเป็นเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 112 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่าย ให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 16 พฤษภาคม 2557
37
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับได้มีการประกาศและยังไม่มีผลบังคับใช้และ ไม่ได้นามาใช้ในการจัดทางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่กาหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ การนาเสนองบการเงิน 2558 สินค้าคงเหลือ 2558 งบกระแสเงินสด 2558 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณ 2558 การทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 2558 สัญญาก่อสร้าง 2558 ภาษีเงินได้ 2558 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 2558 สัญญาเช่า 2558 รายได้ 2558 ผลประโยชน์ของพนักงาน 2558 การบัญชีสาหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ 2558 การเปิด เผยข้ อ มู ลเกี่ ย วกั บ ความช่ วยเหลื อ จากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ย นแปลงของอัต รา 2558 แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม 2558 128
P- 358
งบการเงิน
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ 2558 ที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) กา ร บั ญ ชี แ ล ะ กา ร ร า ย งา น โ ค ร งก า ร 2558 ผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ 2558 เงินเฟ้อรุนแรง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) กาไรต่อหุ้น 2558 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินระหว่างกาล 2558 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) การด้อยค่าของสินทรัพย์ 2558 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) ประมาณการหนี้ สิ น หนี้ สิ น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น 2558 และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 2558 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 2558 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 3 การรวมธุรกิจ 2558 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 4 สัญญาประกันภัย 2559 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ 2558 (ปรับปรุง 2557) การดาเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 6 การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากร 2558 (ปรับปรุง 2557) แร่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 8 ส่วนงานดาเนินงาน 2558 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การวัดมูลค่ายุติธรรม 2558 การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 10 ความช่วยเหลือจากรัฐบาล-กรณีที่ไม่มีความ 2558 (ปรับปรุง 2557) เกี่ ย วข้ อ งอย่ า งเฉพาะเจาะจงกั บ กิ จ กรรม ดาเนินงาน การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 15 สัญญาเช่าดาเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า 2558 (ปรับปรุง 2557) 129
งบการเงิน
P- 359
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น น หมายเหตุปป ระกอบงบการเงิ
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 25 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 31 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 32 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ ภาษีเงินได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทาง 2558 ภาษีของกิจการหรือของผู้ถือหุ้น การประเมิ นเนื้ อหาสั ญญาเช่ า ที่ทาขึ้ นตาม 2558 รูปแบบกฎหมาย การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของข้ อ ตกลงสั ม ปทาน 2558 บริการ รายได้-รายการแลกเปลี่ย นเกี่ย วกั บบริการ 2558 โฆษณา สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-ต้นทุนเว็บไซต์ 2558 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญา เช่าหรือไม่ สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนรื้อถอน การ บูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง การ รายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงิน เฟ้อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า
การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ข้อตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557)
P- 360
งบการเงิน
130
2558
2558 2558 2558
2558 2558 2558
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื่อบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จากัด และบริษัทย่อย) หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ
รายงานประจำ�ปี 2557
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ข้ อ จ า กั ด สิ น ท รั พ ย์ ต า ม โ ค ร ง ก า ร 2558 ฉบับที่ 14 ผลประโยชน์ ข้อกาหนดเงินทุนขั้นต่าและ ปฏิ สั ม พั น ธ์ ข องรายการเหล่ า นี้ ส าหรั บ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรั บปรุ ง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น สัญญาสาหรับการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ 2558 ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ 2558 ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) การตี ค วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ต้ น ทุ น การเปิ ด หน้ า ดิ น ในช่ ว งการผลิ ต ฉบับที่ 20 สาหรับเหมืองผิวดิน
2558 2558
กลุ่มบริษัทได้ประเมินในเบื้องต้นถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการจากการถือ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ ซึ่งคาดว่าไม่มีผลกระทบที่มีสาระสาคัญ ต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ
131 งบการเงิน
P- 361
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลทางการเงินเสมือน ปี 2556 และปี 2555 สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และรายงานการให้ความเชื่อมั่นของผู้สอบบัญชี
P- 362
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงิน
P- 363
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
P- 364
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงฐานะการเงินเสมือน
งบการเงิน
P- 365
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะการเงินเสมือน
P- 366
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงฐานะการเงินเสมือน
งบการเงิน
P- 367
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบกำ�ไรขาดทุนเสมือน
P- 368
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
งบกำ�ไรขาดทุนเสมือน
งบการเงิน
P- 369
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสดเสมือน
P- 370
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
งบกระแสเงินสดเสมือน
งบการเงิน
P- 371
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินเสมือน
P- 372
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินเสมือน
งบการเงิน
P- 373
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินเสมือน
P- 374
งบการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2557
หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินเสมือน
งบการเงิน
P- 375
บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)
โครงการในอนาคต บริษท ั มุง่ มัน ่ ทีจ่ ะก้าวขึน ้ เป็นหนึง่ ในผูน ้ �ำ ด้านธุรกิจไฟฟ้าด้วยการขยายการลงทุนและพัฒนาโครงการทัง้ ในและต่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็น ้ ระกอบการรายอืน ่ รวมทัง้ การขยายการลงทุน การเพิม ่ กำ�ลังการผลิตจากการพัฒนาโครงการด้วยตนเอง หรือเข้าร่วมลงทุนกับผูป ด้านพลังงานหมุนเวียน และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งอืน ่ ๆ ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทอยู่ระหว่างศึกษาเพื่อพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าต่างๆ ดังนี้
1. โครงการบริหารจัดการขยะครบวงจร จังหวัดระยอง
บริษทั ได้ท�ำ การศึกษาข้อมูลและความเป็นไปได้ของโครงการบริหารจัดการขยะครบวงจร เพือ่ ผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะร่วมกับองค์การ บริหารส่วนจังหวัดระยอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบการจัดการขยะมูลฝอยที่มุ่งไปสู่เทคโนโลยีการแปลงขยะมูลฝอยเป็น พลังงาน (Waste to Energy) ซึ่งจะมีกำ�ลังผลิตไฟฟ้าประมาณ 6 – 9 เมกะวัตต์ และจะจำ�หน่ายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟภ. คาดว่าจะเริ่ม ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2560 และจะได้รบั การสนับสนุนค่าไฟฟ้าทีส่ งู กว่าค่าไฟฟ้าปกติในปัจจุบนั โครงการดังกล่าวมีมลู ค่าการลงทุน ประมาณ 1,285 ล้านบาท ประกอบไปด้วยส่วนของโรงกำ�จัดขยะประมาณ 325 ล้านบาท และส่วนของโรงไฟฟ้าประมาณ 960 ล้านบาท ทั้งนี้ หากโครงการดังกล่าวสามารถดำ�เนินการได้ จะเป็นต้นแบบในการขยายการลงทุนของบริษัทในโครงการบริหารจัดการขยะในพื้นที่อื่น ต่อไป ปัจจุบัน บริษัทอยู่ระหว่างการจัดทำ�สัญญารับจ้างกำ�จัดขยะและสัญญาเช่าที่ดินและอาคารเพื่อเป็นที่ตั้งของโครงการ 2. โรงผลิตสาธารณูปการ 4 (Central Utility Plant 4: CUP-4) บริษัทมีแผนที่จะพัฒนาโครงการโรงผลิตสาธารณูปการ 4 ในนิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จังหวัดระยอง โดยเป็นโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชั่น (Cogeneration Power Plant) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง มีกำ�ลังผลิตไฟฟ้าประมาณ 40 เมกะวัตต์ และกำ�ลังผลิตไอน้ำ�ประมาณ 70 ตันต่อชั่วโมง โดยมีแผนที่จะจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้ำ�ให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมเอเซียและบริเวณใกล้เคียง โครงการ ดังกล่าวมีมูลค่าการลงทุนประมาณ 3,670 ล้านบาท ประกอบด้วยส่วนผลิตไฟฟ้าและไอน้ำ�ประมาณ 2,500 ล้านบาท และส่วนกลาง (Common Facilities) เพือ่ รองรับการขยายกำ�ลังการผลิตในอนาคต ประมาณ 1,170 ล้านบาท ปัจจุบนั บริษทั ได้ท�ำ การยืน่ รายงานวิเคราะห์ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมของโครงการโรงผลิตสาธารณูปการ 4 ต่อสำ�นักงานนโยบายแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) โดยคาดว่า จะเริ่มดำ�เนินการก่อสร้างโครงการระยะที่ 1 ในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 และเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในปี 2560 3. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ประเทศญี่ปุ่น บริษทั ได้เข้าลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญีป่ นุ่ ผ่านการเข้าถือหุน้ ในบริษทั Ichinoseki Solar Power – 1 GK ในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 99 ซึ่งจะมีกำ�ลังผลิตไฟฟ้าประมาณ 18 เมกะวัตต์ ตามที่ได้รับการอนุมัติจาก Ministry of Economy, Trade and Industry (METI) ของประเทศญีป่ นุ่ อย่างไรก็ดี บริษทั มีแผนทีจ่ ะยืน่ ขออนุญาตขยายกำ�ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 20 เมกะวัตต์ โครงการ ดังกล่าวมีมูลค่าการลงทุนรวมประมาณ 85.5 ล้านเหรียญสหรัฐ แบ่งเป็นส่วนของเงินทุน 17.1 ล้านเหรียญสหรัฐ (ปัจจุบันชำ�ระส่วนของ เงินทุนดังกล่าวแล้วประมาณ 8.9 ล้านเหรียญสหรัฐ) และส่วนของเงินกู้ยืม 68.4 ล้านเหรียญสหรัฐ (ซึ่งอยู่ระหว่างการเจรจาจัดหาวงเงิน กู้ยืม) ทั้งนี้ โครงการได้รับใบอนุญาตในการพัฒนาโครงการและใบอนุญาตเชื่อมโยงเข้ากับระบบจำ�หน่ายแล้ว ปัจจุบันบริษัทอยู่ในระหว่าง การจัดเตรียมสัญญาจ้างเหมาก่อสร้าง และสัญญาระยะยาวสำ�หรับการปฏิบัติการเดินเครื่องและการบำ�รุงรักษา ซึ่งภายหลังจากที่บริษัท ลงนามสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างแล้ว บริษทั จะทำ�การลงนามในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ากับ Tohoku Electric Power Company ต่อไป โดยคาดว่า จะเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2560
P- 376
โครงการในอนาคต
รายงานประจำ�ปี 2557
คำ�ศัพท์และคำ�ย่อทีส ่ �ำ คัญ นอกจากจะกำ�หนดไว้เป็นอย่างอื่นในเอกสารฉบับนี้ ให้คำ�ต่อไปนี้มีความหมายดังนี้ 24M BIC BSA CHPP COD Deloitte EDL EIA EW IPP IPT IRPC IRPC-CP NL1PC NNEG NSC P.T. Sole PTTGC PTTER PTTICT QSHE PTTIH PTTUT RPCL SCOD SPP SSE1 TOP TP TSR VSPP XPCL กกพ. กพช. กฟผ. หรือ EGAT กฟภ. หรือ PEA กฟน. หรือ MEA ก.ล.ต. หรือ สำ�นักงาน ก.ล.ต. กัมพูชา ค่าเอฟที หรือ Ft ตลาดหลักทรัพย์ฯ ธพส. บริษัท หรือ GPSC ปตท. เมียนมาร์ ศูนย์ราชการฯ สนพ. สปป.ลาว สพช. สัญญา Sponsor Support
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
24M Technologies, Inc บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่น จำ�กัด บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด บริษัท ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม จำ�กัด วันเริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ หรือ Commercial Operation Date บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จำ�กัด Electricite du Laos หรือ รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาว Environmental Impact Assessment บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ�ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ หรือ Independent Power Producer บริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไฟฟ้า น้ำ�ลิก1 จำ�กัด หรือ Nam Lik1 Power Company Limited บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จำ�กัด บริษัท นที ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด บริษัท พี.ที. จำ�กัดผู้เดียว บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอสเซส จำ�กัด เดิมชื่อ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด Quality, Safety, Health and Environment บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด วันเริ่มต้นซื้อขายไฟฟ้าตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า หรือ Scheduled Commercial Operation Date ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก หรือ Small Power Producer บริษัท สยาม โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ 1 จำ�กัด บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล จำ�กัด ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก หรือ Very Small Power Producer บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จำ�กัด หรือ Xayaburi Power Company Limited คณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้านครหลวง สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ราชอาณาจักรกัมพูชา อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำ�กัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 สำ�นักงานนโยบายและแผนพลังงาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ สัญญาสนับสนุนทางการเงินโดยผู้ถือหุ้น
P- 377