MALEE: รายงานประจำปี 2552

Page 1

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552



ÊÒúÑÞ ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹â´ÂÊÃØ» â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ¢Í§ºÃÔÉÑ· ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÔµµÔÁÈÑ¡´Ôì ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»áÅкؤ¤Å͌ҧÍÔ§ â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡Ã ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ ÀÒÇÐÍصÊÒË¡ÃÃÁá¹Ç⹌Á»‚ 2553 ¡ÒþѲ¹Ò¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹áÅСÒèѴ¡Òà ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà ¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹ ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ¤Ó͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐË §º¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ »˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ÁҵðҹáÅÐÃÒ§ÇÑÅ §º¡ÒÃà§Ô¹

2 4 5 6 8 12 14 18 22 24 32 36 38 42 46 50 52 54 58



¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹â´ÂÊÃØ» รายไดรวม รายไดจากการขาย กำไรขั้นตน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ กำไร (ขาดทุน) ตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน

ÍѵÃÒʋǹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹·ÕèÊÓ¤ÑÞ ÊÀÒ¾¤Å‹Í§·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ ระยะเวลาชำระหนี้ วงจรเงินสด

ÍѵÃÒʋǹ㹡Ò÷ӡÓäà อัตรากำไรขั้นตน อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

ÍѵÃÒʋǹ¼ÅµÍºá·¹¢Í§ÊÔ¹·ÃѾ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย

ÍѵÃÒʋǹ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒêÓÃÐ˹Õé อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถชำระดอกเบี้ย อัตราการจายเงินปนผล

ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท บาท บาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท

เทา เทา เทา เทา วัน เทา วัน เทา วัน วัน เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต เปอรเซ็นต เทา เทา เทา เปอรเซ็นต

2552

2551

2550

2552

2551

2550

2552

2551

2550

2552

2551

2550

2552

2551

2550

3,146 3,083 735 131 1.9 4.7 2,152 1,825 327

0.5 0.3 0.1 7.3 50.2 5.2 69.9 2.2 168.9 (48.8) 23.8 4.2 312.7 6.3 12.6 1.5 5.6 5.1 0.0

3,748 3,704 660 (295) (4.2) (3.5) 1,974 2,216 (243)

0.5 0.2 0.1 8.0 45.6 5.1 71.3 2.4 149.7 (32.8) 17.8 (7.9) N/A

(13.7) (31.7) 1.7 N/A 1.2 0.0

4,068 4,004 667 (93) (1.3) 0.7 2,343 2,292 52

0.6 0.3 0.1 8.2 43.8 5.3 67.8 2.9 125.2 (13.6)

16.6 (2.3) (94.4) (4.0) (9.0) 1.8 44.3 3.0 0.0

Malee The Green Fruit Expert

2



â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ 3 »‚ Å‹ÒÊØ´

มูลคาการจำหนายในประเทศ มูลคาการจำหนายตางประเทศ รวม

2552 ลานบาท % 2,417 77.82% 689 22.18% 3,106 100.00%

2551 ลานบาท 3,006 710 3,716

2550

% 80.89% 19.11% 100.00%

ลานบาท 2,652 1,344 3,996

% 66.37% 33.63% 100.00%

หมายเหตุ : ราคาสินคาสงออกเปนราคา F.O.B. เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบไดชัดเจนสวนยอดขายที่ปรากฏในงบการเงิน จะมีทั้ง F.O.B. , C&F และ C.I.F. ตามยอดขายจริง

Malee The Green Fruit Expert

4


ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÔµµÔÁÈÑ¡´Ôì ¼ÁµŒÍ§¢Í¡Å‹ÒǪÁàªÂ´ŒÇ¤ÇÒÁ¨ÃÔ§ã¨à»š¹Í‹ҧÂÔ觵‹Í¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¼ÙŒºÃÔËÒÃáÅо¹Ñ¡§Ò¹¢Í§ºÃÔÉÑ··Ø¡·‹Ò¹ ·Õäè ´ŒàÊÕÂÊÅÐ áÅзØÁ‹ ෷ѧé áç¡ÒÂáç㨠㹡ÒÃËÇÁÁ×ÍËÇÁ㨪‹Ç¡ѹ»ÃѺ»Ãا¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒâͧºÃÔÉ·Ñ ¨¹ÁռŠ·ÓãËŒºÃÔÉÑ·ÁռšÓäÃÀÒÂ㵌¤ÇÒÁ¼Ñ¹¼Ç¹¢Í§àÈÃÉ°¡Ô¨âÅ¡áÅÐàÈÃÉ°¡Ô¨ÀÒÂã¹»ÃÐà·È ã¹»‚ 2552 ã¹»‚ 2553 ¼ÁÁÕ¤ÇÒÁàª×èÍÁÑè¹Ç‹Ò ´ŒÇÂÈÑ¡ÂÀÒ¾¢Í§·ÃѾÂҡ÷ÕèÁÕÍÂÙ‹áÅСÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒ·ÕèÁդسÀÒ¾¢Í§ºÃÔÉÑ· ÃÇÁ¶Ö§¤ÇÒÁàª×èÍÁÑè¹áÅФÇÒÁäÇŒÇÒ§ã¨ã¹µÃÒ¼ÅÔµÀѳ± “ÁÒÅÕ” ¨Ðª‹ÇÂãËŒºÃÔÉÑ·ÊÒÁÒöÁռŻÃСͺ¡Ò÷Õè´Õ¢Öé¹ Í‹ҧµ‹Íà¹×èͧáÅеÅÍ´ä» ·ŒÒ¹Õé¼Á¢Í໚¹¡ÓÅѧ㨷‹Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¼ÙŒºÃÔËÒÃáÅо¹Ñ¡§Ò¹·Ø¡·‹Ò¹ ·Ø‹Áà·áç¡ÒÂáçã¨ÂÔ觢Öé¹áÅÐÁØ‹§ÁÑè¹ã¹ ¡Ò÷ӧҹãËŒºÃÃÅØ໇ÒËÁÒÂáÅзÓãËŒºÃÔÉÑ·Ï à¨ÃÔÞ¡ŒÒÇ˹ŒÒµ‹Íä» ¹ÒÂÇѹªÑ ¨ÔÃÒ¸ÔÇѲ¹ »Ãиҹ¡ÔµµÔÁÈÑ¡´Ôì ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

5

Annual 2009 Report


ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà ÇԡĵàÈÃÉ°¡Ô¨·ÕèàÃÔèÁµŒ¹¨Ò¡»ÃÐà·ÈÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Òã¹»‚ 2551 áÅÐÃØ¡ÅÒÁµ‹Íä»Âѧ¡ÅØ‹Á»ÃÐà·ÈÂØâûµÐÇѹµ¡ ·ÓãËŒÁռŠ¡Ãзº¡ÑºàÈÃÉ¡Ô¨¢Í§»ÃÐà·Èä·Â·ÕèÁÕ¡ÒþÖ觾ҡÒÃÊ‹§ÍÍ¡¶Ö§ 70% »ÃСͺ¡Ñº¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧÀÒÂã¹»ÃÐà·È áÅФÇÒÁäÁ‹Ê§ºµÅÍ´»‚ 2552 ÊÔè§àËÅ‹Ò¹ÕéŌǹʋ§¼Å¡Ãзºµ‹Í¤ÇÒÁàª×èÍÁÑ蹢ͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤·Ñé§ÀÒÂã¹áÅÐÀÒ¹͡»ÃÐà·È Í‹ҧäáçµÒÁ ¼Å¨Ò¡¡Ò÷؋Á෷ӧҹ͋ҧ˹ѡµÅÍ´»‚ 2551 µ‹Íà¹×èͧ¶Ö§»‚ 2552 㹡ÒûÃѺ»Ãاá¹Ç¤ÇÒÁ¤Ô´áÅÐ ¡ÒúÃÔËÒáÒüÅÔµµŒ¹·Ø¹¡ÒüÅÔµ áÅСÒúÃÔËÒáÒõÅÒ´ ÃÇÁ¶Ö§¤‹Ò㪌¨‹Ò¡ÒâÒÂáÅкÃÔËÒÃ䴌͋ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ «Öè§ä´ŒÊзŒÍ¹ãËŒàËç¹ã¹¼Å»ÃСͺ¡Ò÷Õè´Õ¢Ö鹢ͧºÃÔÉÑ·Í‹ҧÁÒ¡àÁ×èÍà·Õº¡Ñº»‚ 2550 áÅÐ 2551 ºÃÔÉÑ·¤Ò´Ç‹Ò»‚ 2553 ¨ÐÂѧÁռŴÓà¹Ô¹¡Ò÷Õè´ÕÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧáÅÐËØŒ¹¢Í§ºÃÔÉÑ·¹‹Ò¨ÐÊÒÁÒö¡ÅѺࢌÒÁÒ«×éÍ¢ÒÂã¹µÅÒ´ ËÅÑ¡·ÃѾ 䴌´Ñ§à´ÔÁ «Ö觼ÅÊÓàÃç¨ÁÒ¨Ò¡¡ÒûÃѺ»Ãا¡ÒúÃÔËÒÃáÅСÒèѴ¡ÒÃã¹»‚ 2552 áÅо×é¹°Ò¹·Õè´Õ¢Í§ºÃÔÉÑ· 㹡Ò÷Õè¨Ð»ÃѺ»ÃاáÅоѲ¹Òµ‹Íä»ã¹»‚ 2553 ºÃÔÉÑ·ÁÕ¤ÇÒÁÁØ‹§ÁÑè¹áÅÐÁÕ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨Ç‹Ò¼Å»ÃСͺ¡ÒÃã¹»‚ 2553 ¨ÐÊÒÁÒöºÃÃÅصÒÁ໇ÒËÁÒ·Õèä´Œ¨Ñ´·Ó¢Öé¹ ºÃÔÉÑ·ÂѧµÃÐ˹ѡ¶Ö§ÀÒÇÐâšÌ͹·Õèà¡Ô´¢Öé¹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹áÅзÕè¨Ðà¡Ô´¢Öé¹ã¹Í¹Ò¤µ â´Âʋǹ¡ÒüÅÔµ¢Í§âç§Ò¹ä´Œ¤Ô´¤Œ¹ â¤Ã§¡ÒþѲ¹ÒÃкº¡ Ò«ªÕÇÀÒ¾ Bio Gas Ẻ UASB (Pond Type) «Ö觼ÅÔµ¨Ò¡¡Ãкǹ¡ÒùéÓàÊÕÂáÅÐàÈɾת¼Å à¡ÉµÃ·Õè໚¹Çѵ¶Ø´Ôº¢Í§âç§Ò¹ ª‹Ç»ÃÐËÂÑ´¤‹Ò¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡ÒáÅФ‹Ò¾Åѧ§Ò¹¨Ò¡¹éÓÁѹàµÒä´Œã¹ÃдѺ·Õ蹋ҾÍã¨áÅкÃÔÉÑ· Âѧ¤§ÁÕ¡ÒþѲ¹Òµ‹Íä»Í‹ҧµ‹Íà¹×èͧ à¾×èÍãËŒºÃÔÉÑ·ÊÒÁÒö¹Ó¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍÒ´ÁÒ㪌Í‹ҧÊÁºÙó ·Ñé§âç§Ò¹ ÊØ´·ŒÒ¹Õé ã¹¹ÒÁ ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕ ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ¢Í¢Íº¾ÃФس¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹·Ø¡·‹Ò¹ ÅÙ¡¤ŒÒ ¾Ñ¹¸ÁԵ÷ҧ¸ØáԨ ʶҺѹ¡ÒÃà§Ô¹ ˹‹Ç§ҹÀÒ¤ÃÑ°·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ µÅÍ´¨¹¾¹Ñ¡§Ò¹ ¼ÙŒºÃÔËÒÃáÅФ³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ·Ø¡·‹Ò¹ ·Õè䴌ʹѺʹعáÅЪ‹ÇÂàËÅ×Í¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒâͧºÃÔÉÑ·´ŒÇ´յÅÍ´ÁÒ áÅÐËÇѧÍ‹ҧÂÔè§Ç‹ÒºÃÔÉÑ·¨Ðä´ŒÃѺ ¡ÒÃʹѺʹعµ‹Íä»à»š¹Í‹ҧ´Õ ¹Ò©ѵêÑ ºØÞÃѵ¹ »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

Malee The Green Fruit Expert

6



¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» áÅкؤ¤Å͌ҧÍÔ§ ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·ÐàºÕ¹ 0107535000079

เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท 0-662 992 5800 (15 สาย ) โทรสาร 0-662 992 5850 (สำนักงานกลาง), 0-662 992 5817-9 (ฝายตางประเทศ) เวปไซต: http://www.malee.co.th ผูประสานงาน : อนัญญา ฉัตรอุดมสกุล โทร. 0-662 992-5800 ตอ 4010, E-mail: ananya_cha@malee.co.th ผูผลิตและจำหนายผลิตภัณฑ ผลไมกระปอง, ขาวโพดหวานบรรจุกระปอง, สับปะรดกระปอง, น้ำสับปะรดเขมขน, น้ำผลไมยูเอชที และผลิตภัณฑเครื่องดื่ม จำนวนและชนิดหุนที่ออกจำหนาย 70,000,000 หุน เปนหุนสามัญ มูลคาหุนละ 10 บาท

ºÃÔÉѷ‹ÍÂ

ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕàÍç¹àµÍà ä¾ÃÊ ¨Ó¡Ñ´ àÅ¢·ÐàºÕ¹ 1105535109621

อาคารเอบิโก ชั้น 3 เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท 0-662 992 5821-32 , โทรสาร 0-662 992 5833 (สำนักงานกลาง), 0-662 992 5834-5 (ฝายขาย) เวปไซต: http://www.malee.co.th ผูจำหนายผลิตภัณฑ ผลไมกระปอง, น้ำผลไมยูเอชที และ พาสเจอรไรส, นมยูเอชทีและพาสเจอรไรส และผลิตภัณฑเครื่องดื่ม จำนวนและชนิดหุนที่ออกจำหนาย หุนสามัญ 10,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท จำนวนหุนที่บริษัทฯ ถือ 9,998,800 (99.99%)

ºÃÔÉÑ· ÍСÃÔ «ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ àÅ¢·ÐàºÕ¹ 0135551007374

สำนักงานเลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท 0-662 992 5800-14 โทรสาร 0-662 992 5819 http://www.malee.co.th โรงงานและสำนักงานสาขาเลขที่ 110 หมูที่ 9 ถนน ร.พ.ช. สายบานแพง-ทาลาด ต. บานแพง อ. บานแพง จ. นครพนม 48140 โทรศัพท 0-662 551 9088, 0-6642 551 128 โทรสาร 0-662 551 9087 ตอ 11 ธุรกิจดานเกษตรอุตสาหกรรมแบบครบวงจรและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เปนผูผลิตและจำหนายผลิตภัณฑขาวโพดหวานบรรจุกระปอง จำนวนและชนิดหุนที่ออกจำหนาย หุนสามัญ 14,500,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ถือหุน 14,499,994 หุน (99.99%)

Malee The Green Fruit Expert

8


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅիѾ¾ÅÒ ¨Ó¡Ñ´ àÅ¢·ÐàºÕ¹ 1105526039594

อาคารเอบิโก ชั้น 3 เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 จำนวนและชนิดหุนที่ออกจำหนาย หุนสามัญ 175,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท จำนวนหุนที่บริษัทฯ ถือ 170,800 (97.6%) ปจจุบันหยุดดำเนินกิจการ

ºÃÔÉÑ· äͤ͹ ¿Ù‡´Ê ¨Ó¡Ñ´

8070 La Jolla Shores Drive # 465 La Jolla, CA 92037 โทร. 1-858 456 3929 , แฟกซ. 1-858 777 3447 ผูนำเขาสับปะรดกระปอง ทุนชำระแลว 50,500 เหรียญสหรัฐอเมริกา จำนวนหุนที่ บริษัทฯ ถือ 99% ปจจุบันหยุดดำเนินกิจการ

ºØ¤¤Å͌ҧÍÔ§

¹Ò·ÐàºÕ¹ËÅÑ¡·ÃѾÂ

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ชั้น 4 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2229-2800, 0-2654-5599

9

Annual 2009 Report


¼ÙŒÊͺºÑÞªÕ

¹Ò¾ԪÑ ´Ñª³ÒÀÔÃÁ ¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒµàÅ¢·Õè 2421 ¹Ò¾¨¹ ÍÑÈÇÊѹµÔªÑ ¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒµàÅ¢·Õè 4891 ¹Ò§ÊÒǨѹ·ÃÒ Ç‹Í§ÈÃÕÍØ´Á¾Ã ¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒµàÅ¢·Õè 4996 บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จำกัด 267/1 ถนนประชาราษฎร สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท : 0-2587-8080

·Õè»ÃÖ¡ÉÒ¡®ËÁÒÂ

ALLEN & OVERY

พญาไทพลาซา ชั้น 19 128 ถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2216-5481-2

¼ÙŒ»ÃÐÊÒ¹§Ò¹

¹Ò§ÊÒÇ͹ÑÞÞÒ ©ÑµÃÍØ´ÁÊ¡ØÅ โทร. 0-662 992-5800 ตอ 4010 E-mail: ananya_cha@malee.co.th

Malee The Green Fruit Expert

10



â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡Ã »‚ 2552 ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃãËÞ‹ ½†Ò¾Ѳ¹Ò»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ

½†ÒµÃǨÊͺÀÒÂã¹

ÊÒ§ҹʹѺʹع

ÊÒ¸ØáԨ ¸ØáԨµÃÒ¼ÅÔµÀѳ±

¸ØáԨÃѺ¨‹ŒÒ§¼ÅÔµ

¸ØáԨÍصÊÒË¡ÃÃÁà¡ÉµÃ

¸ØáԨ¢ŒÒÇâ¾´ËÇÒ¹

¸ØáԨÊѺ»Ðô/ ¼ÅäÁŒÄ´Ù¡ÒÅ

½†Ò«Ѿ¾ÅÒÂૹ ½†Ò·ÃѾÂҡúؤ¤Å áÅиØáÒà ½†Ò§º»ÃÐÁÒ³ áÅкÑÞªÕ ½†Ò¡ÒÃà§Ô¹ ½†ÒºÃÔËÒçҹ¡ÅÒ§ áÅÐàŢҹءÒúÃÔÉÑ· ½†ÒºÃÔËÒäسÀÒ¾ ½†Ò¾Ѳ¹Ò¼ÅÔµÀѳ± ½†ÒÂà·¤â¹âÅÂÕ ÊÒÃʹà·È

Malee The Green Fruit Expert

12



ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ »‚ 2552 ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

เปนผูผลิตและจำหนายผลิตภัณฑทั้งภายในประเทศ และตางประเทศโดยจำแนกธุรกิจหลักออกเปน • ¸ØáԨá»ÃÃÙ»¼ÅäÁŒ เชน ขาวโพดหวานบรรจุกระปอง ขาวโพดหวานบรรจุถงุ ปลอดเชือ้ สับปะรดกระปอง สับปะรดบรรจุถงุ ปลอด เชือ้ น้ำสับปะรดเขมขน ผลไมรวมบรรจุกระปอง และผลไมฤดูกาลบรรจุกระปอง (เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย มะมวง เปนตน) • ¸ØáԨà¤Ã×èͧ´×èÁ เชน น้ำผัก และน้ำผลไม บรรจุในรูปแบบยูเอชทีและพาสเจอรไรส ภายใตเครื่องหมายการคาตรา “มาลี”, ตรา “มาลี เฮลติพลัส”, ตรา “มาลี เวจจีส”, ตรา “มาลี จูซ มิกส”, ตรา “มาลี จูซ มิกส คิดส”, ตรา “มาลี เชลฟ พลัส”, ตรา “มาลี ทรอปคอล” และ ตรา “มาลี ฟูดส เซอรวิส” รวมถึงชา กาแฟและน้ำดื่มบรรจุในรูปแบบกระปอง กลองยูเอชที และ ขวดพลาสติก PET ภายใตเครื่องหมายการคาตรา “มาลี” ตราของผูวาจางผลิต ตลอดจนนมโคสด บรรจุในรูปแบบยูเอชทีและ พาสเจอรไรสภายใตเครื่องหมายการคาตรา “ฟารมโชคชัย” และน้ำนมขาวโพด ตรา “มาลี ไอคอรน” • ¸ØáԨ¼ÅäÁŒ¡Ãл‰Í§ เชน ผลไมกระปอง บรรจุในรูปแบบกระปอง “เฟริสชอยส”, ตรา “ชาวสวน” และตรา “มาลี ฟูดส เซอรวิส”

ภายใตเครื่องหมายการคาตรา “มาลี”, ตรา

ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) บริษัทไดมีการพัฒนาและสงเสริมวัตถุดิบหลักอยางครบวงจรตั้งแตการพัฒนา และ

ใหความรูเรื่องเมล็ดพันธ, สงเสริมการเพาะปลูก, การทำ Contract faming กับสมาชิกเกษตร เพื่อใหมั่นใจวามีวัตถุดิบ เพียงพอสำหรับ การผลิตใหไดตามความตองการของลูกคารวมถึงสามารถควบคุมคุณภาพใหเปนไปตามมาตรฐานตามเกณฑของ GMP, HACCP, BRC, IFS , HALAN, Q-MARK จากสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ SR-MARK จากกระทรวงพาณิชย

ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕàÍç¹àµÍà ä¾ÃÊ ¨Ó¡Ñ´

เปนบริษัทยอย ผูดูแลดานการตลาดและการจัดจำหนายภายในประเทศทั้งหมด มีทั้ง จัดจำหนายโดยพนักงานขายของบริษัทและจำหนายผานตัวแทนจำหนายทั่วประเทศ สินคาหลักที่ บริษัท มาลีเอ็นเตอรไพรส จำกัด จัดจำหนายมีดังนี้ 1. ผลไมกระปองตรา “มาลี” “เฟริสชอยส” “ชาวสวน” และ “มาลี ฟูดส เซอรวิส” 2. น้ำผลไมกระปอง ตรา “มาลี ทรอปคอล” น้ำผัก และผลไมยูเอชที ตรา “มาลี”, ตรา “มาลี เฮลติพลัส”, ตรา “มาลี เวจจีส”, ตรา “มาลี จูซ มิกส”, ตรา “มาลี จูซ มิกส คิดส”, ตรา “มาลี เชลฟ พลัส” และ ตรา “มาลี ฟูดส เซอรวิส” และน้ำผลไม พาสเจอรไรส ตรา “มาลี” 3. เครื่องดื่มธัญพืชนํ้านมขาวโพดยูเอชที ตรา “มาลีไอ-คอรน” 4.นมยูเอชทีและนมพาสเจอรไรส ตรา “ฟารมโชคชัย” 5.น้ำดื่มตรา “มาลี”

Malee The Green Fruit Expert

14


จากการทำการตลาดที่ตรงกลุมเปาหมายและการพัฒนาสินคาอยางตอเนื่องของ บริษัท มาลีเอ็นเตอรไพรส จำกัด สงผลให ผลิตภัณฑตรา “ÁÒÅÕ” อยูในใจผูบริโภคมานานกวา 40 ป เปนที่รูจักอยางแพรหลาย มียอดขายและสวนแบงการตลาด ในตลาดน้ำผลไมเพิม่ มากขึน้ กวา 10% และเปนผูน ำตลาดผลไมกระปองระดับพรีเมีย่ มในประเทศไทยมาโดยตลอด มีภาพลักษณ ที่ดี ทั้งในการคัดสรรผลิตภัณฑที่มีคุณภาพสูงสูผูบริโภค จนไดรับรางวัล Superbrands Thailand 2009 จากสถาบัน Superbrands UK ซึ่งเปนการโหวตจากผูเชียวชาญจากทั่วประเทศ หรือ รางวัล Trusted Brand แบรนดที่นาเชื่อถือ (โกลด) ประจำป 2552 ในหมวดผลิตภัณฑบรรจุกลองพรอมดื่ม จากนิตยสาร Reader’s Digest ซึ่งไดรับรางวัลถึง 7 ป ติดตอกัน เปนรางวัลที่ไดทำการสำรวจจากผูอานนิตยสาร Reader’s Digest เกี่ยวกับความนิยมในการบริโภคสินคา และมาลียังไดรับ การจัดอันดับจากนิตยสาร Asia Top 1000 Brands ใหอยูในอันดับที่ 305 ใน Thailand Market ในหมวด Fruit Juice บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) เปนองคกรที่มีความรับผิดชอบตอสังคม หวงใยและตระหนักถึงความสำคัญของ สิง่ แวดลอมดวยการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียใหมปี ระสิทธิภาพ จนไดรบั รางวัลโรงงานดีเดนดานสิง่ แวดลอมประจำป 2537, 2538 และ 2540 จากการประกวดโรงงานของอุตสาหกรรม จังหวัดนครปฐม และรางวัลโรงงานพิทักษสิ่งแวดลอมทางน้ำ ดีเดนประจำป 2537 จากคณะกรรมการโครงการอุตสาหกรรมพิทักษสิ่งแวดลอม และไดรับรางวัล Social Responsibility Mark ที่กระทรวงพาณิชยมอบใหแกบริษัทที่รับผิดชอบตอสังคมและสงแวดลอม เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 กวา 40 ป ที่ผานมาบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ไดมุงมั่นคิดคน พัฒนากระบวนการผลิตและเทคโนโลยีในดานตางๆ ให ทันสมัยทัดเทียมนานาประเทศอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ทางบริษัทยังมุงพัฒนาคุณภาพสินคามาตรฐานของกระบวนการผลิต และการบรรจุภัณฑของตัวเองอยางไมหยุดยั้งเพื่อใหสินคาที่ผลิตออกมามีคุณภาพตามหลักมาตรฐานสากล โดยการพัฒนา ดังกลาวคำนึงถึงหลักความปลอดภัยและสุขอนามัยของผูบริโภคเปนสำคัญ จนบริษัทไดรบั การรับรองระบบมาตรฐานเปนที่ ยอมรับอยางกวางขวางทั้งองคกรภายในประเทศและองคกรระดับนานาชาติมากมาย อาทิ HACCP, GMP, Kosher, Q Mark, IFS เปนตน

15

Annual 2009 Report


ÊÃØ»¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·ÕèÊÓ¤ÑÞã¹»‚·Õ輋ҹÁÒ

ในป 2552 ที่ผานมาบริษัทไดมีการวางแผนการตลาดอยางมียุทธวิธี และมุงเนนในการพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อใหเขาถึงผูบริโภค ทุกเพศทุกวัย และสามารถขยายฐานตลาดหรือชองการการจัดจำหนายออกไป ซึ่งโดยสรุปกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นมีดังนี้คือ • ºÃèØÀѳ± “¡Å‹Í§¾ÃÔÊÁÒ” น้ำผลไม 100% ยูเอชที มีการปรับแบบและสีสันของรูปผลไม และสีของผลิตภัณฑใหสดใส สวยงามมากขึ้น เพื่อใหผลิตภัณฑโดดเดน สะดุดตา บนชั้นวาง • ¹éÓ¼ÅäÁŒ 100% µÃÒÁÒÅÕ àÎŵԾÅÑÊ สินคาใหมที่มีการเติมสารอาหารที่มีประโยชน ซึ่งใหคุณคามากกวาน้ำผลไมโดย ทั่วไป มีดวยกัน 3 รสชาติ คือ น้ำทับทิมและน้ำผลไมรวม 100% ผสมสารสกัดจากเมล็ดองุนและโฟเลต น้ำแบล็คเคอรแรนทและ น้ำผลไมรวม 100% ผสมโอเมกา 3 (จากน้ำมันปลาทะเล) และน้ำสม 100% ผสมโอเมกา 3 (จากน้ำมันปลาทะเล) โดดเดนดวย คุณประโยชนตอรางกายในเรื่องหลอดเลือดและความดันโลหิต • ¹éӼѡ¼ÊÁ¹éÓ¼ÅäÁŒÃÇÁ 100% เวจจีส วี 9 ซึ่งเปนน้ำผักผสมน้ำผลไมรวมที่มีความโดดเดน ดวยจุดเดนและคุณคาจากผัก ผลไม รวม 9 ชนิด มีการปรับในเรื่องของรสชาติใหสด อรอย และถูกปากผูบริโภคมากขึ้น • ¹éÓ¼ÅäÁŒÁÒÅÕ¾ÒÊà¨Íà äÃÊ 100% มีการปรับแบบและสีสันของรูปผลไม และสีของผลิตภัณฑใหสดใส สวยงามมากขึ้น เพื่อให ผลิตภัณฑโดดเดน สะดุดตา บนชั้นวาง และออกแพคบรรจุใหม แพคคู เพื่อความคุมคา คุมราคาในการซื้อ • ¼ÅäÁŒ¡Ãл‰Í§µÃÒÁÒÅÕ ÊÙµÃËÇÒ¹¹ŒÍ ขนาด 8.25 ออนซ เพื่อผูบริโภคที่รักสุขภาพมีดวยกัน 2 ชนิดคือ “เงาะในน้ำเชื่อม และ ลำไยในน้ำเชื่อม สูตรหวานนอย” ซึ่งมีจุดเดน คือ มีน้ำตาลนอยกวาสูตรปกติเกือบ 50 % แคลอรี่ต่ำ และปริมาณ คารโบไฮเดรตต่ำกวาสูตรปกติประมาณ 35% พรอมชอนพับที่เก็บในฝากระปอง สามารถรับประทานไดทันที และครองความเปน ผูจัดจำหนายเพียงรายเดียวในเซเวน อีเลฟเวน ยาวนานถึง 3 ปซอน • ¹éÓ¹Á¢ŒÒÇâ¾´ ÁÒÅÕ äͤÍà ¹ ปรับปรุงรสชาติน้ำนมขาวโพดมาลี ไอคอรน ทุกรสชาติใหสด อรอย หอม หวาน เหมือนคั้นสด จากฝก • ¹ÁÂÙàͪ·ÕáÅйÁ¾ÒÊà¨Íà äÃÊ µÃÒ¿Òà Á⪤ªÑ กระจายสินคาเพิม่ ขึน้ ในชองทางใหมๆ เชน โรงเรียนหรือชองทางคอนวีเนีย่ นสโตร หรือเอเยนตสินคาพาสเจอรไรส • à¾ÔèÁª‹Í§·Ò§¡ÒèѴ¨Ó˹‹ÒÂáÅТÂÒ°ҹ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ผานแอมเวย, บริษัท ล็อกซเล, บริษัท จอมธนา (ผูจัดจำหนายไอศกรีม ครีโม), ผานชองทางโรงเรียน และผูประกอบการถทัวร • ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ä´Œ´Óà¹Ô¹¡ÒèѴµÑ駺ÃÔÉѷ‹Íª×èÍ ºÃÔÉÑ· ÍСÃÔ«ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ จดทะเบียน บริษัทเมื่อวันที่ 31 กรกฏาคม 2551 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำหนายผลิตภัณฑผลไมกระปอง, ขาวโพดหวานบรรจุกระปอง, ขาวโพดหวานบรรจุถุงปลอดเชื้อ โดยมีทุนจดทะเบียน 145,000,000.00 บาท (หนึ่งรอยสี่สิบหาลานบาทถวน) โดยมีบริษัท มาลี สามพราน จำกัด (มหาชน) ถือหุน 14,499,994 หุน (99.99%) ปจจุบันยังไมไดดำเนินกิจการ

Malee The Green Fruit Expert

16



ÀÒÇÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ áÅÐá¹Ç⹌Á»‚ 2553 ÊѺ»Ðô

มูลคาการสงออกสับปะรดกระปองในป 2552 มีมลู คา 13,905ลาน บาท ลดลงจากป 2551 รอยละ 18.5 เนือ่ งจากความตองการตลาดลดลง ในตลาดหลัก เชน เยอรมัน และญีป่ นุ อีกทัง้ เริม่ มีสนิ คาจากประเทศคูแ ขง อาทิ จากจีน และเวียดนาม สงออกมากขึน้ สวนแนวโนมภาวะอุตสาหกรรมสับปะรดกระปองในป 2553 คาดวานาจะปรับตัวดีขึ้นอยางชาๆ โดยยังมีปจจัยลบจากการขึ้นราคาของ บรรจุภัณฑกระปอง กลอง ราคาน้ำมัน และคาเงินบาทที่แข็งตัว มูลคาการสงออกน้ำสับปะรดเขมขนในป 2552 คิดเปนมูลคา 6,315 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 20 เนื่องจากความตองการ น้ำสับปะรดเขมขนในตลาดโลกยังมีสูง และคาดวาจะเติบโตตออยางเนื่องในป 2553 โดยมีปจจัยบวกจากกลุมประเทศยุโรปประกาศยกเวน การเก็บภาษีการนำเขาน้ำสับปะรดเขมขน

¼ÅÔµÀѳ± ¢ŒÒÇâ¾´ËÇÒ¹

การสงออกขาวโพดหวานกระปองของประเทศไทยในป 2552 เพิ่มขึ้นกวาปที่ผานมาเล็กนอย โดยมีมูลคา 5,105 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 5.4 อุตสาหกรรมขาวโพดหวานไทยมีการเติบโตอยางตอเนื่อง อันเนื่องจากปจจัยดานภูมิประเทศและอากาศที่เหมาะสมตอ การเพาะปลูก ตลอดจนดานปจจัยการผลิตที่เอื้ออำนวย อีกทั้งผลิตภัณฑขาวโพดหวานของประเทศไทยมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของ ลูกคาในตลาดโลกเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม การสงออกขาวโพดหวานของไทยยังคงไดรับผลกระทบจากการถูกกีดกันทางการคา (Anti Dumping) จากสหภาพยุโรป จึง สงผลใหผูประกอบการตองการตลาดอื่นทดแทน และที่ควรจับตามองอีกประเทศหนึ่งคือ ประเทศจีน ซึ่งราคาสงออกคอนขางต่ำ ประกอบ กับไดรับการพัฒนาคุณภาพของสินคาใหเทียบกับคูแขงขันรายอื่นๆ ในป 2553 คาดวาแนวโนมการสงออกขาวโพดหวานจะไมเพิ่มมากนัก เนื่องจากภาวะตนทุนปจจัยการผลิตที่เพิ่มขึ้น เชน ราคาน้ำมัน บรรจุภัณฑ หรือแมแตความผันผวนของคาเงินบาท เปนอุปสรรคตออุตสาหกรรมขาวโพดหวานในการสงออก ดวยเหตุนี้ ทางบริษัท จึงมีนโยบายมุงเนนในการสงออกไปยังประเทศใหมๆ ที่มีความตองการสินคาและมีอำนาจในการซื้อมากยิ่งขึ้น

¡ÅØ‹Á¸ØáԨ¹éӼѡáÅйéÓ¼ÅäÁŒ

แนวโนมการบริโภคเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากผักและผลไมมีอัตราขยายตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องในชวงหลายปที่ผานมา เพราะผูบริโภค เล็งเห็นประโยชนที่มากลนของคุณคาทางอาหารที่มีอยูในผัก-ผลไมจึงทำใหกระแสการบริโภคน้ำผัก-ผลไมไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในป 2552 คาดวาตลาดน้ำผลไมพรอมดื่มมียอดขาย 8.50 พันลานบาทหรือประมาณ 250 ลานลิตร โดยแยกเปนตลาดน้ำผลไมคุณภาพ ดี ราคาสูง (Premium Market) 2.70 พันลานบาทหรือประมาณ 41 ลานลิตร มีอัตราการถดถอยประมาณ 5% แบงเปนตลาดยูเอชที 2.3 พันลานบาท มีอัตราการเติบโต 3% มาลีครองสวนแบงตลาด 22% และตลาดพาสเจอรไรส 0.40 พันลานบาท มีอัตราการถดถอย 24% ตลาดน้ำผลไมคุณภาพปานกลาง ราคามาตรฐาน (Medium Market) 0.58 พันลานบาทหรือประมาณ 12 ลานลิตร ตลาดน้ำผลไมราคา ประหยัด (Economy Market) มีมลู คา 2.66 พันลานหรือประมาณ 120 ลานลิตร และตลาดน้ำผลไมราคาถูก (Super Economy Market) 1.80 พันลานหรือประมาณ 57 ลานลิตร ที่เหลือเปนตลาดยอยอื่นๆ มีมูลคา 0.76 พันลานบาท หรือประมาณ 20 ลานลิตร น้ำผลไม 25-60% เติบโตเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 5-20 จากป 2551 และตลาดยังมีแนวโนมเติบโตตอไปไดอีกในอนาคต เนื่องจากประชาชนมี แนวโนมที่จะลดการดื่มเครื่องดื่มชนิดอื่นลง เชน น้ำอัดลม และหันมาดื่มน้ำผลไมทดแทนมากขึ้น ตลาดน้ำผลไมพรอมดื่มมีอัตราการเติบโตที่ดีมาโดยตลอดในชวง 3 ปที่ผานมา โดยเฉลี่ยอัตราการเติบโต อยูที่ประมาณรอยละ 10-20 (ที่มา: AcNielsen, พค. 2552) อันเปนผลมาจากปจจัยหนุนหลากหลายปจจัย กลาวคือ กระแสความใสใจ ในเรื่องสุขภาพของผูบริโภค โดยเฉพาะของคนกรุงเทพที่ใชเวลาสวนใหญกับการทำงาน และมีแนวโนม ที่ใหความนิยมน้ำผลไมในบรรจุภณั ฑ ประกอบกับการดำเนินชีวติ ในปจจุบนั ทีต่ อ งการความสะดวกสบาย และใชชีวิตแบบเรงรีบ ทำใหตลาดน้ำผัก-ผลไมยังคงเปนธุรกิจที่ยังสามารถขยายตัวอยูได Malee The Green Fruit Expert 18


แตระยะหลังการเติบโตของตลาดเริ่มลดลง สาเหตุหนึ่งเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่กดดันผูบริโภค ทำใหผูบริโภคชะลอการ ใชจาย และประหยัดมากขึ้น และอุปสรรคดานราคา ซึ่งราคาจำหนายตั้งแต 50 บาทตอลิตรนั้น ถือวาคอนขางสูงเมื่อเทียบ กับเครื่องดื่มประเภทอื่น นอกจากนี้ เครื่องดื่มสำหรับผูใสใจในสุขภาพ โดยเฉพาะฟงชั่นนอลดริ้งคที่เขามาตีตลาด ก็ได สงผลกระทบตอตลาดน้ำผลไมพรอมดื่มเชนเดียวกัน ทำใหสภาวะการแขงขันในตลาดรุนแรงมากขึ้นไปดวยจากการเขามา ของคูแขงขันในตลาดรายใหมๆอีกหลายราย โดยที่บริษัทฯยังคงมุงเนนรุกตลาดอยางเต็มที่และตอเนื่องเพื่อสรางการเติบโต และสวนแบงการตลาดใหเพิ่มมากขึ้น โดยในป 2552 ทางบริษัทฯไดมีการวางแผนการตลาดแนะนำกลุมสินคาใหมในกลุมน้ำผลไมพรอมดื่มที่ใหคุณคามากกวาน้ำ ผลไมโดยทั่วไป ภายใต เครื่องหมายการคา มาลี เฮลติพลัส โดยมีการเติมสารอาหารที่มีประโยชนเพิ่ม เชน โฟเลต โอเมกา 3 หรือสารสกัดจากเมล็ดองุน มีดวยกัน 3 รสชาติ คือ น้ำทับทิมและน้ำผลไมรวม 100% ผสมสารสกัดจากเมล็ดองุนและ โฟเลต น้ำแบล็คเคอรแรนทและน้ำผลไมรวม 100% ผสมโอเมกา 3 (จากน้ำมันปลาทะเล) และน้ำสม 100% ผสมโอเมกา 3 (จากน้ำมันปลาทะเล) เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่มองหาคุณคาที่มากขึ้นของน้ำผลไม ซึ่งสามารถสรางยอด ขายและสวนแบงตลาดไดเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงรสชาติน้ำผัก และน้ำผลไมตางๆ ใหสด อรอย ถูกปาก ผูบริโภคคนไทยมากขึ้น รวมถึงมีการปรับแบบบรรจุภัณฑใหมของน้ำผลไมยูเอชที และพาสเจอรไรส ใหสวยงาม โดดเดน สะดุดตาบนชั้นวางมากขึ้น และออกขนาดบรรจุใหม เพื่อความคุมคาในการบริโภคในราคาประหยัดขึ้น (value for money) เชน น้ำพาสเจอรไรสแพคคู ซึ่งไดรับการตอบรับจากผูบริโภคเปนอยางดี มีการเพิ่มชองทางการจำหนายใหมๆ เชน แอมเวย ล็อกซเล หรือ ศูนยจำหนายของไอศกรีมครีโม เพื่อเจาะตลาดเขาสูกลุมผูบริโภคใหมๆ และกระจายสินคาใหครอบคลุมมากขึ้น

¡ÅØ‹Á¸ØáԨ¼ÅäÁŒ¡Ãл‰Í§

การบริโภคผลไมกระปองสวนใหญจะเปนไปตามเทศกาลตางๆ เชน ตรุษจีน สารทจีน ปใหม เปนตน โดยการบริโภคสวนใหญ จะเปนการบริโภคในครัวเรือน ตลาดผลไมกระปอง สามารถแบงไดตามคุณภาพหรือขนาดของลูก ดังนี้ • ตลาดพรี่เมี่ยม มีสัดสวนมูลคาตลาดอยูที่ประมาณ 60% โดยมีแบรนดมาลีเปนเจาตลาด มีการเติบโตที่คอนขางชา ในป 2552 ที่ประมาณ 5% • ตลาด Economy มีสัดสวนตลาดอยูที่ประมาณ 25% โดยมีทั้งที่เปน House Brand และแบรนดจากผูผลิต มีการ เติบโตที่ประมาณ 7% • ตลาดลาง มีสัดสวนตลาดอยูที่ประมาณ 15% มีทั้งแบรนดผูผลิต ที่มาจากภายในประเทศ และประเทศจีน โดย ผูผลิตสวนใหญจะกระจายอยูในตางจังหวัด มีการเติบโตที่ประมาณ 10% (ที่มา: AcNielsen, พค. 2552)

19

ดวยภาวะการถดถอยทางเศรษฐกิจทำใหผูบริโภคหันมาบริโภคผลไมกระปองในกลุม Economy มากขึ้น สาเหตุเพราะราคาที่ ถูกกวา และคุณภาพที่ยงั พอจะรับได (Value for money) ซึ่งทำใหตลาดพรี่เมี่ยมมีการเติบโตที่ชาลง ซึ่งเปนตลาดที่มาลีเปน เจาตลาดอยู สงผลให ในปที่ 2552 บริษัทมีการเติบโตในกลุมผลไมกระปองเพียงประมาณ 3% เมื่อเทียบกับป 2551 แต ก็ยังคงสามารถรักษาการเติบโตไวได โดยมาจากปจจัยหลายดานดวยกัน คือ ผูบริโภคตระหนักวาผลไมกระปองตรามาลี มีคุณภาพที่ดีที่สุดในตลาดและยังคงมีความภักดีตอตรายี่หออยู การจัดกิจกรรมทางการตลาดอยางตอเนื่องและเพิ่มความถี่ รายการสงเสริมการขายในกลุมสินคาระดับปานกลาง ภายใตตรา “เฟรสชอย” และ “ชาวสวน” ก็ชวยรักษาฐานตลาดระดับ กลาง-ลางไวได นอกจากนั้นแลวมาลียังคงรักษาความเปนผูจัดจำหนายแตผูเดียวในเซเวน อีเลฟเวนไดนานติดตอกันถึง 3 ป ก็ชวยในภาพลักษณความเปนผูนำตลาดของมาลีในชองทางคอนวีเนี่ยนสโตร อีกทั้งในป 2552 มาลีไดแนะนำสินคาใหม ภายใตคอนเซ็ปเพื่อสุขภาพ คือ ผลไมกระปองสูตรหวานนอย ซึ่งไมมีคูแขงรายใดเคยมีมากอน จึงแสดงใหเห็นถึงความเปน ผูนำตลาดอยางแทจริงของมาลี โดยมาลีตั้งเปาหมายการเติบโตในกลุมธุรกิจผลไมกระปองในป 2553 อยางตอเนื่องอยาง นอย 5% และบริษัทฯยังคงตอกย้ำความเปนผูนำในตลาด โดยการแนะนำสินคาใหมๆ ที่ตรงตามความตองการของผูบริโภค และเสริมดวยแผนการประชาสัมพันธแบบใหมๆ ที่กระตุนตลาดและการบริโภคใหเติบโตขึ้น Annual 2009 Report


¡ÅØ‹Á¸ØáԨà¤Ã×èͧ´×èÁ¸Ñ޾ת áÅСÅØ‹Á¸ØáԨ¹Á ¡ÅØ‹Á¸ØáԨà¤Ã×èͧ´×èÁ¸Ñ޾ת

ในป 2552 ตลาดกลุมเครื่องดื่มธัญพืชมีทิศทางการเติบโตที่เพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับปที่แลวอยูที่ 60% เนื่องจากการเปดตัวของผลิตภัณฑ ใหมๆ ซึ่งกระตุนการบริโภคใหสูงขึ้น ทั้งผูบริโภคกลุมใหมๆ หรือจากผูบริโภคเครื่องดื่มแบบอื่นๆ ที่หันมาดื่มเครื่องดื่มธัญพืชดวย ในขณะ ที่บริษัทฯ มีความเติบโตลดลง 26% เนื่องจากการยกเลิกการจำหนายในบางรสชาติ กลุมผูบริโภคมีทางเลือกในเรื่องเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพที่หลากหลายขึ้น และคูแขงขันมีสินคาใหมออกสูตลาดอยางตอเนื่อง ทำใหความสามารถในการแขงขันของมาลีลดลง แต อยางไรก็ตาม บริษัทไดมีการปรับปรุงในเรื่องรสชาติของน้ำนมขาวโพดใหหอม หวาน อรอย เหมือนคั้นสดจากฝกมากขึ้น ประกอบกับ แนวโนมที่สดใสของตลาดเครื่องดื่มธัญพืช เพราะผูบริโภคยังคงมองหาผลิตภัณฑที่ใหคุณประโยชนตอสุขภาพมากขึ้น ทำใหตลาดในกลุม เครื่องดื่มธัญพืชไดรับความนิยมและในป 2553 บริษัทจะยังคงมีการพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองกระแสคนรักสุขภาพ ในตลาดเครื่องดื่มธัญพืชนี้ และเสนอรสชาติใหมๆ เพิ่มเติมในชองทางแอมเวยที่เจาะขาตรงกับกลุมผูบริโภคที่รักสุขภาพ ซึ่งคาดวาบริษัท จะคงรักษาการเติบโตใหเปนบวกอยางแนนอน

¡ÅØ‹Á¸ØáԨ¹ÁÂÙàͪ·Õ áÅйÁ¾ÒÊà¨Íà äÃÊ

เมื่อเปรียบเทียบการบริโภคนมตอประชากรแลว ประเทศไทยมีสถิติการบริโภคนมอยูในระดับต่ำมาก กลาวคือมีการบริโภคนมเพียง 14.19 ลิตร ตอคนตอป เมื่อเทียบกับการบริโภคนมของคนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยกัน ที่มีการบริโภคเฉลี่ย 60 ลิตรตอคนตอป และ ของทั่วโลกอยูที่ 103.9 ลิตร ตอคนตอป โดยรัฐบาลเองก็ไดมีโครงการตางๆ เพื่อรณรงคใหคนไทยบริโภคนมใหมากขึ้น ในป 2552 รัฐบาลจึงมีประกาศลดราคาตนทุนน้ำนมดิบลงในเดือนพค. เหลือกิโลกรัมละ 16.50 บาท เพื่อใหผูผลิตลงราคาจำหนายลง เพื่อบรรเทา ปญหาเรื่องคาครองชีพของคนไทย ตลาดเครื่องดื่มประเภทนม แบงออกไดหลากหลายประเภทตามวัตถุดิบที่ใชผลิต และกระบวนการผลิต แตหลักๆ คือ • นมพรอมดื่มยูเอชที เปนตลาดที่ควบคุมราคาโดยรัฐบาล มีสัดสวนของตลาดประมาณ 23% ของตลาดรวม (ที่มา: AcNielsen, พค. 2552) โดยมีสัดสวนการจำหนายสูงสุดอยูที่รสจืด และสามารถแบงตลาดออกไดเปน นมยูเอชทีสำหรับครอบครัว สำหรับ ผูใหญ และสำหรับเด็ก มีการเติบโตอยางตอเนื่องถึงแมจะชาลง ที่ 5% • นมพาสเจอรไรส เปนตลาดที่ควบคุมราคาโดยรัฐบาล มีสัดสวนของตลาดประมาณ 9% ของตลาดรวม (ที่มา: AcNielsen, พค. 2552) และเติบโตที่ 9% ผลิตภัณฑนมยูเอชที ของบริษัท ฯ มีสัดสวน 13% ของกลุมธุรกิจนมของบริษัท มีการเติบโตที่ลดลง 23% ในขณะที่นมพาสเจอรไรส มีสัดสวน 87% แตเติบโตที่ 17% จึงทำใหภาพรวมของกลุมธุรกิจยังมีการเติบโตอยู 8% สาเหตุการถดถอยของตลาดนมยูเอชทีเนื่อง มาจากสภาพตลาดที่เติบโตชาลงและบริษทั มีชองทางการขายที่คอนขางจำกัด เมื่อเปรียบเทียบกับตลาดนมพาสเจอรไรสที่เติบโตสูงกวา และมีการกระจายสินคาทีเ่ พิม่ มากขึน้ อยางตอเนือ่ งจากการเปดเอเยนตเพิม่ ขึน้ หรือกลยุทธการเจาะตลาดสำหรับผูท บี่ ริโภคนมพาสเจอรไรส อยูแลวโดยการใชหนวยงานทำการเสนอขายเชิงรุกตามพื้นที่ ทำการขายตรงแกกลุมเปาหมาย และกลยุทธการพัฒนาตลาดไปปยังกลุม ธุรกิจที่ใชผลิตภัณฑนมสดพาสเจอรไรสเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคา โดยในป 2553 ทางบริษัท ไดตั้งเปาหมายการเติบโตทั้งนมยูเอชที และนมพาสเจอรไรส ตราฟารมโชคชัย ดวยการขยายฐานผูบริโภคออกไปในกลุมใหมๆ มากขึ้น เพิ่มชองทางการจัดจำหนายใหมๆ และ ใชกลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑนมพาสเจอรไรสชนิดใหมที่มีคุณสมบัติที่ตอบสนองความตองการของผูบริโภคทำใหสามารถเพิ่มราคา จำหนายไดดวย

Malee The Green Fruit Expert

20



¡ÒþѲ¹Ò¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ Ãкº¡ Ò«ªÕÇÀÒ¾ (UASB Pond Type)

ระบบกาซชีวภาพซึง่ พัฒนาขึน้ จากระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานทำใหสามารถผลิตและนำกาซชีวภาพไปใชเปนเชือ้ เพลิงกับหมอไอน้ำ (Boiler) ทดแทนน้ำมันเตา และลดการใชนำ้ มันเตาลงไดประมาณปละ 275,000 ลิตร ขบวนการผลิตกาซชีวภาพทำใหการยอยสลายน้ำเสียและเศษพืชผลเกษตร เปนไปอยางมีประสิทธิภาพสงผลใหสามารถลดเครือ่ งเติมอากาศ ในระบบบำบัดน้ำเสีย และลดการใชไฟฟาในสวนนีล้ งไดประมาณปละ 2 ลานบาท

Malee The Green Fruit Expert

22



â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹áÅСÒèѴ¡Òà ¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ÃÒÂãËÞ‹ ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 ÅӴѺ·Õè 1. 2. 3. 4. 5.

ª×èͼٌ¶×ÍËØŒ¹

¨Ó¹Ç¹ËØŒ¹

ÊѴʋǹ

25,895,591 21,764,000 17,840,700 3,150,000 700,000

36.99% 31.09% 25.49% 4.50% 1.00%

69,350,291

99.07%

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผูฝาก Thailand Securities Depository Co., Ltd. for Depositors บริษัท เอบิโกโฮลดิ้งส จำกัด (มหาชน) นางสาว สิริลักษณ วิทยานุพงศ บริษัท ซีดีไอ จำกัด

ÃÇÁ

¡Òö×ͤÃͧËØŒ¹â´Â¡ÃÃÁ¡Òà ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 ª×èÍ นายฉัตรชัย นางจินตนา นายปริญญ นายกิตติ นายปณฑิต นายเขมทัต นายมติ นายสุพัฒน

บุญรัตน บุญรัตน จิราธิวัฒน วิไลวรางกูร มงคลกุล สุคนธสิงห ตั้งพานิช อุปนิกขิต

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·

นายฉัตรชัย นางจินตนา นายปริญญ นายกิตติ นายปณฑิต นายเขมทัต นายมติ นายสุพัฒน นายรังสรรค

บุญรัตน บุญรัตน จิราธิวัฒน วิไลวรางกูร มงคลกุล สุคนธสิงห ตั้งพานิช อุปนิกขิต คงเปยม

³ 31 ¸.¤. 2552

à»ÅÕè¹á»Å§

-

-

³ 31 ¸.¤. 2551 -

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ เลขานุการบริษัท

Malee The Green Fruit Expert

24


¢Íºà¢µÍӹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·Ï

คณะกรรมการบริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดเดียวประกอบดวยกรรมการที่เปนและไมเปนผูบริหาร โดยมีอำนาจและหนาที่ ในการจัดการและดำเนินกิจการของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติของที่ประชุมผูถือหุน ในการปฏิบัติงานตามหนาที่นั้น คณะกรรมการอาจมอบหมายใหกรรมการคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นไปปฏิบัติ อยางใดอยางหนึ่งแทนกรรมการก็ได ตองประชุมของคณะกรรมการนั้นอยางนอยสามเดือน (3) ตอครั้ง และกรรมการ ผูมีอำนาจตามหนังสือรับรองมีอำนาจลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทในเอกสาร ตราสาร หรือหนังสือสำคัญอื่น ใดผูกพันบริษัทได ที่ประชุมผูถือหุนหรือคณะกรรมการอาจกำหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท พรอมประทับตราสำคัญของบริษัทได บริษัทหามมิใหกรรมการ ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และ เปนการแขงขันกับกิจการของบริษัท หรือเขาเปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญ หรือเปนหุนสวนไมจำกัดความรับผิดชอบใน หางหุนสวนจำกัด หรือเปนกรรมการของบริษัทเอกชนที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับ กิจการของบริษัท เวนแตจะไดแจงใหที่ประชุมผูถือหุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้ง ใหกรรมการแจงใหบริษัทฯ ทราบโดย มิชักชา เมื่อกรรมการมีสวนไดเสียในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ไดทำขึ้น หรือถือหุน หรือหุนกูในบริษัทฯ และบริษัทในเครือใน จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง โดยหนาที่ความรับผิดชอบดานการจัดการที่สำคัญมีลักษณะเฉพาะดังนี้ o สอบทานและใหแนวทางเกี่ยวกับกลยุทธของบริษัท แผนการปฏิบัติงานที่สำคัญ นโยบายดานความเสี่ยง งบประมาณ ประจำป และแผนธุรกิจ กำหนดเปาหมายของผลการปฏิบัติการ สังเกตการนำไปปฏิบัติ และดูแลรายจายลงทุนที่สำคัญ รวมทั้งการเขารวมทุน และขายกิจการ o คัดเลือก กำหนดคาตอบแทน และประเมินผลงานของผูบริหารสม่ำเสมอ (หรือถอดถอนหากจำเปน) และทบทวนการ วางแผนสืบทอดงานใหมีความตอเนื่อง o สอบทานคาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารและดู ใหแน ใจวาคณะกรรมการมีกระบวนการสรรหากรรมการอยาง เปนทางการและโปรงใส o ใหความมั่นใจวาระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีมีความนาเชื่อถือ รวมทั้งดูแลใหมีกระบวนการใน การประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการเงิน และการปฏิบัติตาม กฎหมาย o สอดสองดูแลและจัดการแกปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนของฝายจัดการ คณะกรรมการและผูถือหุน รวมทั้ง การใชสินทรัพยของบริษัทในทางมิชอบ และการกระทำที่ไมถูกตองในรายการระหวางบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน o เสนอแตงตั้งผูสมควรเปนกรรมการ และใหความมั่นใจวาโครงสรางและวิธีปฏิบัติตางๆ ของคณะกรรมการที่เปนอยู ไดปูทางไวสำหรับการกำกับดูแลกิจการที่เหมาะสม และ การปฏิบัติเปนไปอยางมีจริยธรรมที่ดี o กรรมการสามารถใชดุลยพินิจอยางตรงไปตรงมาในธุรกิจการงานของบริษัทอยางเปนอิสระจากฝายจัดการและกลุมที่มี ผลประโยชนอื่นใด กรรมการตองอุทิศเวลาใหอยางเพียงพอและเอาใจใสในการปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบของตน

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ นายเขมทัต สุคนธสิงห นายมติ ตัง้ พานิช นายสุพัฒน อุปนิกขิต

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

¢Íºà¢µÍӹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ o o

สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำป รวมกับผูสอบบัญชีและผูบริหารที่เกี่ยวของ เพื่อนำเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ใหตรงตอความจริงครบถวนเพียงพอและเชื่อถือได สอบทานใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามขอกำหนด และกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกำหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย

25 Annual 2009 Report


o o o o o

พิจารณาใหมีการเปดเผยขอมูล รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจจะเปนขอขัดแยงทางผลประโยชน ดูแลใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ พิจารณาคัดเลือก และเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี พิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจำป การติดตามการดำเนินงานโครงการการลงทุนตางๆ รับทราบรายงานการ ตรวจสอบและ แนวทางการปรับปรุงแกไขจากผูตรวจสอบภายในพรอมทั้งเสนอแนะในบางประเด็น สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง และใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนเพื่อลดความเสี่ยงนั้น

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ

นายฉัตรชัย นางจินตนา นายกิตติ นายปณฑิต

บุญรัตน บุญรัตน วิไลวรางกูร มงคลกุล

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

¢Íºà¢µÍӹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ

1. ชวยเหลือคณะกรรมการบริษัทฯ ในการบริหารจัดการ โดยจัดใหมีกลยุทธและนโยบายในการประกอบธุรกิจ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตามที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 2 .พิจารณางบประมาณประจำปของบริษัทฯ กอนนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. จัดเตรียมและนำเสนอกลยุทธ แผนธุรกิจและการดำเนินงานใหแกคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณาการเริ่มดำเนินธุรกิจใหมๆ ของบริษัทฯ เพื่อใหเปนไปตามนโยบายของบริษัทฯ กอนนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 5. ทบทวนการดำเนินธุรกิจทั้งที่เปนธุรกรรมปกติและที่มิใชธุรกรรมปกติของแตละสายงานธุรกิจเปนระยะๆ 6. ทบทวนและใหความเห็นตอรายงานผลกำไรขาดทุนประจำเดือนที่รายงานโดยฝายบริหาร 7. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการบริหาร เห็นชอบดวย

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒáÅоԨÒóҤ‹ÒµÍºá·¹ นายมติ ตั้งพานิช นายเขมทัต สุคนธสิงห นางจินตนา บุญรัตน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

¢Íºà¢µÍӹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒáÅоԨÒóҤ‹ÒµÍºá·¹ o o o o o o o

พิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่คุณสมบัติเหมาะสมเปนกรรมการบริษัท และเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัทใหนำชื่อเสนอ ตอที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งใหดำรงตำแหนง พิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่คุณสมบัติเหมาะสมเปนกรรมการผูจัดการและเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัทใหอนุมัติ นำเสนอแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑการพิจารณาคาตอบแทนสำหรับผูบริหารระดับจัดการของบริษัท พิจารณากลั่นกรองอัตราคาตอบแทนกรรมการ เพื่อเสนอแนะใหคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติตอที่ประชุม ผูถือหุน พิจารณากลั่นกรองอัตราคาตอบแทนของกรรมการผูจัดการเพื่อเสนอแนะใหคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ นำเสนอแนวทางออกใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุนของกรรมการและพนักงานเพื่อนำเสนอคณะกรรมการ บริษัทและผูถือหุน และคณะกรรมการ กลต. อนุมัติ พิจารณาจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุนของกรรมการและพนักงานที่ไดรับอนุมัติตามขอ 4 ใหแกกรรมการและพนักงานใหเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ Malee The Green Fruit Expert

26


¡ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒÃ

การแตงตั้งกรรมการของบริษัทใหกระทำโดยที่ประชุมผูถือหุน ซึ่งบุคคลที่ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัทฯ ตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามที่กฎหมายกำหนด โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวนไมนอยกวาหาคน (5 คน) เลือกตั้งโดยที่ ประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 1. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2. ในการเลือกกรรมการ อาจใชวิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเปนรายบุคคล คราวละคน หรือคราวละหลายๆ คน ตามแตที่ประชุมผูถือหุนจะเห็นสมควร แตในการลงมติแตละครั้งผูถือหุนตองออกเสียงดวยคะแนนที่มีตามขอ 1 ทั้งหมด จะแบงคะแนนเสียงแกคนใดมากนอยเพียงใดไมได 3. บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทากับจำนวนที่พึงจะมี หรือพึง จะเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทา เกินกวาจำนวนกรรมการที่พึง จะมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตำแหนงหนึ่งในสาม (1 ใน 3) เปนอัตรา ถาจำนวน กรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการผูออกจากตำแหนงตามขอนี้อาจไดรับเลือกตั้งใหเขารับตำแหนงอีกก็ได ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่ง มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัท มหาชน จำกัด เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะ กรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน (2 เดือน) บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาว จะอยูในตำแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการนั้น ตองประกอบดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ (3 ใน 4) ของจำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู

27

Annual 2009 Report


ËÅѡࡳ± ¡ÒäѴàÅ×Í¡¡ÃÃÁ¡ÒÃÍÔÊÃÐ o o o

บุคคลตองมีคุณสมบัติของกรรมการตรงตามที่กำหนดไว เปนกรรมการที่สามารถปฏิบัติหนาที่แสดงความคิดเห็น โดยใชดุลยพินิจของตนเองอยางเปนอิสระ และมีจริยธรรมโดยยึดถือ ประโยชนขององคกรเปนหลัก โดยไมไดคำนึงถึงเฉพาะประโยชนของผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนรายยอยหรือตนเอง มีคุณสมบัติครบถวนตามที่ตลาดหลักทรัพยฯกำหนด และเปนไปตามแนวปฏิบัติที่ดี ดังตอไปนี้ - ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวมหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง (นับรวมบุคคลที่เกี่ยวของมาตรา 258 ตามกฎหมายหลักทรัพย) - ไมมีสวนรวมในการบริหารงานรวมทั้งไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจำหรือผูมีอำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงโดยตองไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียในลักษณะดังกลาว มาแลวเปนเวลาไมนอยกวา 1 ป - ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจ ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งในดานการเงินและการบริหารงานของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงในลักษณะที่จะทำใหขาดความเปนอิสระ - ไมเปนญาติสนิทกับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และ ไมไดรับการแตงตั้งใหเปนตัวแทน เพื่อรักษาผลประโยชนของกรรมการ ผูถือหุนรายใหญ - เปดเผยความสัมพันธใดๆ ที่อาจทำใหขาดความเปนอิสระ แกคณะกรรมการบริษัท

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ นายเขมทัต นายมติ นายสุพัฒน นายปณฑิต

สุคนธสิงห ตั้งพานิช อุปนิกขิต มงคลกุล

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

¢Íºà¢µÍӹҨ˹ŒÒ·Õè¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ o o o o o

ชวยเหลือคณะกรรมการบริษัทฯ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยจัดใหมีกลยุทธและมาตรการในการควบคุมความเสี่ยง ทบทวนความเสี่ยงตางๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ กำหนดขอบเขตความเสี่ยงที่ยอมรับได และควบคุมความเสี่ยงอยางมี ประสิทธิผล รวมกับฝายจัดการในการทบทวนกลยุทธ รูปแบบและขั้นตอนในการปฏิบัติงานที่จะนำไปสูการลดความเสี่ยงที่สำคัญของบริษัทฯ ทบทวนรายงานของฝายจัดการในเรื่องขั้นตอนที่ไดดำเนินการ เพื่อการกำกับดูแลและควบคุมความเสี่ยงตางๆ ของบริษัทฯ ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เห็นชอบดวย

Malee The Green Fruit Expert

28


àŢҹءÒúÃÔÉÑ·

ดวยพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 บัญญัติใหคณะกรรมการตองจัดใหมี เลขานุการบริษัทรับผิดชอบดำเนินการของบริษัทในนามของบริษัทหรือคณะกรรมการ บริษัทไดแตงตั้งบุคคลที่มีคุณวุฒิและ ประสบการณที่เหมาะสมทำหนาที่เลขานุการบริษัทโดยกำหนดคุณวุฒิ และคุณสมบัติ ตลอดจนหนาที่ความรับผิดชอบดังนี้

¤Ø³ÇØ²Ô áÅФسÊÁºÑµÔ o o o o

ปริญญาตรี มีความรูเรื่องหลักกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับบริษัท และ ก.ล.ต. มีมนุษยสัมพันธและความสามารถสื่อสารดี มีความรูเรื่องบรรษัทภิบาล

˹ŒÒ·Õè¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº

1. จัดทำและเก็บรักษาเอกสารดังตอไปนี้ - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจำปของบริษัท - หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผูถือหุน 2. เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหาร 3. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด 4. ดูแลเปดเผยขอมูล และการรายงานใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ และการกำกับดูแลกิจการที่ดี

¤‹ÒµÍºá·¹¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒÃ

ก) คาตอบแทนรวมของกรรมการทุกทานในป 2552 จำนวน 8 ทาน เทากับ 2,860,000.- บาท มีรายละเอียดดังนี้ (ตามเอกสารแนบ file คาตอบแทนกรรมการ) ข) คาตอบแทนรวมของกรรมการบริหารและผูบริหารในป 2552 จำนวน 12 ทาน เทากับ 17,470,975.33 บาท (ณ. 31 ธันวาคม 2552 มีผูบริหารอยู 8 ทาน และรวมกรรมการบริหาร 4 ทาน)

¤‹ÒµÍºá·¹Í×è¹ æ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของผูบริหารรวม 8 ทานในป 2552 เทากับ 201,251.74 บาท

29

Annual 2009 Report


Malee The Green Fruit Expert

30

2552 - 2555

-

5/5

3/5

2/4

4/4

4/5

12/12

12/12

-

12/12

3/4

4/4

-

4/4

4/4

-

-

-

1/1

1/1

1/1

100,000 -

80,000

300,000 840,000

-

240,000

240,000

240,000

290,000 1,200,000

50,000

100,000 -

100,000 -

100,000 60,000

-

-

100,000 90,000

100,000 100,000 90,000 160,000

-

190,000

30,000

40,000

40,000

80,000

40,000

-

-

20,000

10,000

10,000

หมายเหตุ : วาระการดำรงตำแหนง ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจำปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตำแหนงหนึ่งในสามเปนอัตรา ถาจำนวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม…

ÃÇÁ

8 นายสุพัฒน อุปนิกขิต กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

4/4

5/5 4/5

5/5

-

5/5

2,860,000

240,000

380,000

340,000

330,000

100,000 440,000

350,000

วาระการดำรง คณะกรรมการเขารวมประชุม(ครั้ง) คาตอบแทน คาเบี้ยประชุม รวม ตำแหนง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รายป กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ พ.ศ. บริษัท ตรวจสอบ บริหาร บริหารความเสี่ยง สรรหา/พิจารณา บริษัท ตรวจสอบ บริหาร บริหารความเสี่ยง สรรหา/พิจารณา 2550 - 2553 5/5 - 12/12 200,000 480,000 680,000

1 นายฉัตรชัย บุญรัตน ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร 2 นางจินตนา บุญรัตน - กรรมการ 2550 - 2553 - กรรมการบริหาร - กรรมการสรรหาและพิจารณา ผลตอบแทน 3 นายปริญญ จิราธิวัฒน - กรรมการ 2550 - 2553 4 นายเขมทัต สุคนธสิงห - กรรมการ 2551 - 2554 - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาและพิจารณา ผลตอบแทน - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 5 นายมติ ตั้งพานิช - กรรมการ 2552 - 2555 - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - ประธานสรรหาและพิจารณา ผลตอบแทน - กรรมการบริหารความเสี่ยง 6 นายกิตติ วิไลวรางกูร - กรรมการ 2551 - 2554 - กรรมการบริหาร 7 นายปณฑิต มงคลกุล - กรรมการ 2551 - 2554 - กรรมการบริหาร

รายชื่อ / ตำแหนง กรรมการ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òõ‹Ò§æ ¢Í§ºÃÔÉÑ· ¨Ó¹Ç¹¤ÃÑé§à¢ŒÒ»ÃЪØÁ áÅФ‹ÒµÍºá·¹¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÃͺ»‚ 2552



¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà ¹âºÒÂà¡ÕèÂǡѺ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ไดถือเปนนโยบายที่จะสงเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดี (GOOD CORPORATE

GOVERNANCE) โดยมีหลักการและวิธีปฏิบัติที่ดี ดังนี้

1. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุนทุกราย และผูมีสวนไดเสีย (ไดแก ลูกจาง คูคา ชุมชน เจาหนี้) ดวยการ 1.1 ดูแลผลประโยชนและมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนโดยปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน และละเวนการกระทำ ใดๆ ที่เปนการจำกัดโอกาสการศึกษาสารสนเทศของบริษัท และการเขาประชุมของผูถือหุน บริษัทฯ จัดใหมีการประชุม สามัญผูถือหุนประจำป 2552 เมื่อวันศุกรที่ 24 เมษายน 2552 เวลา 10.00 น. ณ อาคารเอบิโก เลขที่ 401/1 ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจำปมีกรรมการ เขารวมประชุม ซึ่งรวมถึงประธานคณะกรรมการตรวจสอบโดยบริษัทฯไดกำหนดใหมีขั้นตอนในการประชุมอยางถูกตอง ตามกฎหมายตั้งแตการเรียกประชุม รวมทั้งเสนอทางเลือกใหผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมสามารถมอบฉันทะให กรรมการอิสระเขาประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน หนังสือมอบฉันทะและรายละเอียดวิธีการมอบฉันทะใหผูถือหุน ทราบลวงหนากอนวันประชุม 14 วัน พรอมทั้งเปดเผยเอกสารประกอบการประชุมดังกลาวไวใน Website ของบริษัทฯ และในการลงคะแนนเสียง ประธานในที่ประชุมไดแจงใหผูถือหุนทราบถึงวิธีการออกเสียงลงคะแนนโดยใชบัตรลงคะแนน กอนการประชุม ในการนับคะแนนยังกำหนดใหมีตัวแทนจากกรรมการอิสระและผูสอบบัญชีภายนอกรวมกันเปนพยาน ในการนับคะแนนรวมกับพนักงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเทาเทียมกันในการตรวจสอบ การดำเนินงานของบริษัท สอบถามและแสดงความคิดเห็น พรอมทั้งเปดเผยรายงานการประชุมดังกลาวไวใน Website ของบริษัทฯ 1.2 ใหความมั่นใจวาสิทธิของผูมีสวนไดเสียตามที่กฎหมายกำหนดไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี 1.3 จัดทำรายงานที่เปนลายลักษณอักษรในการแสดงใหเห็นถึงความรับผิดชอบของบริษัทตอผูมีสวนไดเสีย 1.4 นำเสนอสารสนเทศที่เปนปจจุบันที่มีผลกระทบอยางมีสาระสำคัญที่เขาใจงาย และสม่ำเสมอตอผูมีสวนไดเสีย

Malee The Green Fruit Expert

32


2. โครงสราง บทบาท หนาที่ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการบริษัท มีดังนี้ 2.1 มีคณะกรรมการชุดเดียวประกอบดวยกรรมการที่เปนและไมเปนผูบริหาร โดยจะพิจารณามอบหมายให กรรมการที่ไมเปนผูบริหารจำนวนหนึ่งปฏิบัติหนาที่ ใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับงานที่อาจกอให เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ไดแกการรายงานทางการเงินโดยคณะกรรมการตรวจสอบ (AUDIT COMMITTEE) การสรรหาบุคคลเขาดำรงตำแหนงโดยคณะกรรมการสรรหา (NOMINATING COMMITTEE) และการพิจารณาคาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหารโดยคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน (REMUNERATION COMMITTEE) 2.2 ปฏิบตั หิ นาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษทั มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) 2.3 หนาที่ความรับผิดชอบดานการจัดการที่สำคัญและมีลักษณะเฉพาะ คือ • สอบทานและใหแนวทางเกีย่ วกับกลยุทธของบริษทั แผนการปฏิบตั งิ านทีส่ ำคัญ นโยบายดานความเสีย่ ง งบประมาณประจำป และแผนธุรกิจ กำหนดเปาหมายของผลการปฏิบัติงาน สังเกตการนำไป ปฏิบัติ ติดตามผลการดำเนินงานของบริษัท และดูแลรายจายลงทุนที่สำคัญ รวมทั้งการเขารวมทุน และขายกิจการ • คัดเลือกกำหนดคาตอบแทนและประเมินผลงานของผูบริหารอยางสม่ำเสมอ (หรือถอดถอนหากจำเปน) และทบทวนการวางแผนสืบทอดงานใหมีความตอเนื่อง • สอบทานคาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร และดูใหแนใจวาคณะกรรมการมีกระบวนการสรรหา กรรมการอยางเปนทางการและโปรงใส • ใหความมั่นใจวาระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีมีความนาเชื่อถือ รวมทั้งดูแล ใหมกี ระบวนการในการประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การควบคุม การเงิน และการปฏิบัติตามกฎหมาย • สอดสองดูแลและจัดการแกปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนของฝายจัดการ คณะกรรมการและ ผูถือหุน รวมทั้งการใชสินทรัพยของบริษัทในทางมิชอบ และการกระทำที่ไมถูกตองในรายการ ระหวางบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน • เสนอแตงตัง้ ผูส มควรเปนกรรมการ และใหความมัน่ ใจวาโครงสรางและวิธปี ฏิบตั ติ า งๆ ของคณะกรรมการ ที่เปนอยูไดปูทางไวสำหรับการกำกับดูแลที่เหมาะสมและการปฏิบัติเปนไปอยางมีจริยธรรมที่ดี • กรรมการสามารถใชดลุ ยพินจิ อยางตรงไปตรงมาในธุรกิจการงานของบริษทั อยางเปนอิสระจากฝายจัดการ และกลุมที่มีผลประโยชนอื่นใด กรรมการตองอุทิศเวลาใหอยางเพียงพอ และเอาใจใสในการปฏิบัติ หนาที่ตามความรับผิดชอบของตน 3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทไดเปดเผยสารสนเทศที่สำคัญของบริษัทอยางถูกตอง ทันเวลา และโปรงใส โดยจัดใหมีหนวยงาน หรือผูรับผิดชอบงานเกี่ยวกับ “ผูลงทุนสัมพันธ” (INVESTOR RELATIONS) เพื่อเปนตัวแทนในการสื่อสารกับผูลงทุนที่เปนสถาบัน ผูถือหุนรวมทั้งนักวิเคราะหทั่วไปและภาครัฐที่เกี่ยวของคณะกรรมการ ควรจัดหาทรัพยากรอยางเพียงพอ เพื่อชวยพัฒนาความรูความสามารถของเจาหนาที่ในการนำเสนอสารสนเทศ และการ ติดตอสื่อสาร

33

Annual 2009 Report


4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบในการระบุปญหาความเสี่ยงทางธุรกิจที่อาจเกิดขึ้น และใหความมั่นใจวาบริษัทมีกระบวนการตางๆ จัดไวพรอมที่จะจัดการกับความเสี่ยง 4.1 จัดใหมรี ะบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล มาตรการควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ าน และการจัดการความเสีย่ ง รวมทัง้ ใหความสำคัญกับสัญญาณการเตือนภัยลวงหนา 4.2 จัดใหมีการสื่อสารที่มีประสิทธิผล ระหวางผูสอบบัญชีอิสระ ผูถือหุน คณะกรรมการ และฝายจัดการ โดยมีคณะ กรรมการตรวจสอบเปนกลไกติดตอสื่อสาร 4.3 สำนักตรวจสอบภายในมีบทบาทสำคัญในระบบการบริหารงานและรายงานทางการเงิน บริษัทตองจัดใหมีหนวยงานนี้ แยกเปนหนวยงานหนึ่งของบริษัท 5. จริยธรรมธุรกิจ บริษัทจัดใหมีขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจริยธรรมเพื่อใหกรรมการบริษัท ฝายจัดการ และพนักงานไดทราบถึง มาตรฐานการปฏิบัติงานที่บริษัทและบุคคลตางๆ คาดหวังเชน ผูถือหุน คูคา เจาหนี้ และชุมชน เปนตน โดยกรรมการและฝายจัดการ ตองใหการสนับสนุนขอพึงปฏิบัติดังกลาวอยางเต็มที่ และเผยแพรไปยังพนักงานทุกคน

¨ÃÃÂÒºÃó¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·ÁÒÅÕ

¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·ÁÒÅÕ มีวัตถุประสงคในการดำเนินธุรกิจผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูงจำหนายในราคาที่เหมาะสม สรางสัมพันธภาพตอผูมีสวน

ไดเสียตางๆ และความรับผิดชอบตอสภาพแวดลอม ชุมชน และสังคม จึงกำหนดขอพึงปฏิบัติไวให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน กลุมบริษัทยึดถือเพื่อเปนหลักการและคุณธรรมประจำใจในการปฏิบัติงาน

¡ÒôÙáÅàÃ×èͧ¡ÒÃ㪌¢ŒÍÁÙÅÀÒÂã¹

บริษัทฯ ไดมีการใหกรรมการและผูบริหารรายงานการซื้อขายหลักทรัพยเพื่อปองกันการนำขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชน สวนตนในการซื้อขายหลักทรัพย พรอมทั้งไดแจงใหทราบถึงความรับผิดสวนบุคคล และมาตรการลงโทษใหทราบ

ºØ¤ÅÒ¡Ã จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คาตอบแทนของพนักงานป 2552

1,379 คน 251,544,132 บาท

Malee The Green Fruit Expert

34



¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹ 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานระบบการควบคุมภายในรวมกับผูสอบบัญชีรับอนุญาตและสำนักตรวจสอบภายในของบริษัททุก ไตรมาส บริษัทมีระบบการควบคุมภายในอยางเพียงพอในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการดูแลทรัพยสินการปองกันความผิดพลาดเสียหาย การทุจริต และความเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน ฝายบริหารและสำนักตรวจสอบภายในมีความเห็นวา การควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและมีประสิทธิผล ขอบกพรองเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่เปนสาระสำคัญ

และไมพบ

Malee The Green Fruit Expert

36



ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ขอ 5. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน

ÃÒ¡ÒøØáԨ¡Ñº¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹

บริษัทมีรายการบัญชีกับบุคคล บริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายสวนหนึ่งของบริษัทเปน รายการที่เกิดขึ้นกับบริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน ดังนี้

ºÃÔÉÑ·/ºØ¤¤Å·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹

ÅѡɳиØáԨ

ÅѡɳФÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸

บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด บริษัท ไอคอน ฟูดส จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด

ผูจัดจำหนาย ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมดำเนินกิจการ) ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมดำเนินกิจการ) ผูผลิตและจัดจำหนาย

ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน

บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

บริษัทโฮลดิ้ง (การลงทุน)

บริษัท เอบิโก แลนด จำกัด บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท พีพีโอ ฟารม จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท หางสรรพสินคาโรบินสัน จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) บริษัท ธนมิตรแฟคตอริ่ง จำกัด ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท ซีจี โบรกเกอร จำกัด

พัฒนาที่ดิน/ใหเชาอสังหาริมทรัพย รับจางผลิตนมและน้ำผลไมสำเร็จรูป เจาของลิขสิทธิ์นมตราโชคชัย ฟารมโคนมและจำหนายน้ำนมดิบ หางสรรพสินคา หางสรรพสินคา หางสรรพสินคา แฟคตอริ่ง ธนาคารพาณิชย ประกันภัย

เปนผูถือหุนในบริษัท/ กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน บริษัทในเครือ/กรรมการรวมกัน เกี่ยวของกับ บมจ. เอบิโก กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน

Malee The Green Fruit Expert

38


ในระหวางป บริษัทมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไข ทางการคา และเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทและบริษัทเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ : งบการเงินรวม นโยบายราคา รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ไดตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา ตนทุนบวกกำไรสวนเพิ่ม คาธรรมเนียมในการค้ำประกัน อัตรารอยละ 0.25 ของ จำนวนเงินค้ำประกัน คาเชาที่ดินและโรงงาน ตามสัญญา ดอกเบี้ยจาย อัตรารอยละ MLR+0.15-0.25 รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ขายสินคา ตนทุนบวกกำไรสวนเพิ่ม คาเชาอาคาร ตามสัญญา คาบริการผลิตสินคา ตนทุนบวกกำไรสวนเพิ่ม คาใชจายสงเสริมการขาย ตามสัญญา คาประกันภัย ตามสัญญา ดอกเบี้ยแฟคตอริ่ง ตามอัตราตลาด ดอกเบี้ยจายเงินกูยืม ตามอัตราตลาด

39

Annual 2009 Report

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2551

2552

2551

-

-

-

-

750,000 5,800,000

750,000 -

-

-

2,381,869

-

157,226,503 10,986,906 54,328,141 14,702,330 1,457,989 2,408,567 374,414

1,012,295,903 1,108,121,358

235,965,430 11,375,844 6,582,661 6,971,599 59,585,856 54,328,141 59,585,856 29,190,279 1,937,150 1,397,139 1,888,012 2,402,882 2,095,019 374,414 2,095,019


ยอดคงคางระหวางบริษัทและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้ บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2551 2552 2552

Å١˹ÕéáÅеÑëÇà§Ô¹ÃѺ¡ÒäŒÒ

บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) รวม

Å١˹ÕéÍ×è¹

บริษัทยอย บริษัท อะกริ ซอล จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม

à§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÊÑ鹨ҡʶҺѹ¡ÒÃà§Ô¹

กิจการที่เกี่ยวของกัน ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย รวม

਌Ò˹Õé¡ÒäŒÒ

บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท นมโชคชัย จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวของกัน ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม

˹ÕéÊÔ¹ËÁعàÇÕ¹Í×è¹

บริษัทยอย บริษัท อะกริ ซอล จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แลนด จำกัด บริษัท ซีจี โบรกเกอร จำกัด ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) รวม

-

-

539,623,192 18,931,925 558,555,117

457,870,555 457,870,555

1,088,540 20,556,374 21,644,914

1,088,540 26,442,323 28,072,503 55,603,366

1,088,540 1,088,540

1,088,540 1,088,540

-

-

6,734,958

-

8,566,870 4,370 8,571,240

5,596,665 5,596,665

8,566,870 8,566,870

5,596,665 5,596,665

-

54,802,000 54,802,000

-

54,802,000 54,802,000

-

-

250,926

60,239

4,748,725 4,748,725

2,201,482 7,896 2,209,378

4,748,725 4,748,725

2,201,482 7,896 2,209,378

24,923,852 24,923,852

6,025,502 34,490,020 40,515,522

-

6,025,502 6,025,502

-

-

6,010,000

-

161,507 1,449,801 4,208,274 5,819,582

171,455 1,442,168 14,313 1,703,685 721,742 4,053,363

138,422 1,409,409 14,313 1,562,144 Malee The Green Fruit Expert 40 132,014 1,397,139 1,529,153



¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· 1). 2) 3). 4). 5). 6) 7). 8) 9)

นายฉัตรชัย นางจินตนา นายปริญญ นายกิตติ นายปณฑิต นายเขมทัต นายมติ นายสุพัฒน นายรังสรรค

บุญรัตน บุญรัตน จิราธิวัฒน วิไลวรางกูร มงคลกุล สุคนธสิงห ตั้งพานิช อุปนิกขิต คงเปยม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ เลขานุการบริษัท

»ÃÐÇѵԤ³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ª×èÍ µÓá˹‹§

¹Ò©ѵêÑ ºØÞÃѵ¹ »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเคมี จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และปริญญาโท ดานวิศวกรรมการผลิต จากมหาวิทยาลัย บอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา และผานการอบรมหลักสูตร Chairman 2000 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เคย ดำรงตำแหนงนายกสมาคมผูผลิตอาหารสำเร็จรูป ประธานกลุมอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และเลขาธิการหอการคา และอุตสาหกรรมแหงอาเซียน ปจจุบันนอกจากเปนประธานกรรมการของบริษัทฯ และในกลุมบริษัทฯ แลว ยังเปนรองประธานหอการคาไทย ประธานคณะกรรมการ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ประธานคณะกรรมการเศรษฐกิจของหอการคาไทย กรรมการสถาบันอาหาร กรรมการสำนักงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรรมการสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการ แขงขันทางการคา กรรมการผูทรงคุณวุฒิภาคเอกชน - สาขาวิทยาศาสตร คณะกรรมการสิทธิบัตร - กรมทรัพยสินทางปญญา กรรมการ กลางกำหนดราคาสินคา - กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย กรรมการจัดทำบันทึกขอตกลงและประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ - สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง กรรมการบริหาร - ศูนยศลิ ปาชีพระหวางประเทศ คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการวิจัยการเกษตร - สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร และคณะอนุกรรมการพิจารณาโครงการสงเสริมการลงทุน (BOI)

ª×èÍ µÓá˹‹§

¹Ò§¨Ô¹µ¹Ò ºØÞÃѵ¹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

ª×èÍ µÓá˹‹§

¹Ò»ÃÔÞÞ ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีธุรกิจ จากวิทยาลัยเมนโล ประเทศสหรัฐอเมริกา และผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP 5/2000 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปจจุบัน นอกจากดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ยังดำรงตำแหนงกรรมการบริหาร Central Marketing Group Co.,Ltd. กรรมการบริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกัด กรรมการบริษัท ไทเกอร อาย เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท เอบิโก โฮลดิ้งส จำกัด (มหาชน) กรรมการสภาหอการคา แหงประเทศไทย

¨ÔÃÒ¸ÔÇѲ¹

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาบัญชี จาก Skidmore College ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ จากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร และ ผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP 2/2000 หลักสูตร Director Accreditation Program DAP 35/2005 หลักสูตร Audit Committee Program ACP 6/2005 หลักสูตร The Role of Chairman 11/2005 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร

Malee The Green Fruit Expert

42


CFO จาก Chief Financial Officer Certification Program 6/2006 หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำหรับ นักบริหารระดับสูงรุน ที่ 4 (สถาบันพระปกเกลา) และหลักสูตรผูบ ริหารระดับสูงจากสถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท) รุน 1 ป 2547 ปจจุบันดำรงตำแหนงกรรมการบริหาร-การเงิน บริษัทกลุมเซ็นทรัล จำกัด เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) และ บริษัท แฟบริคกา จำกัด กรรมการและกรรมการบริหารบริษทั เซ็นทรัลรีเทล คอรปอเรชัน่ จำกัด บริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาตลาดหลักทรัพย MAI ประธานคณะกรรมการตรวจสอบบริษัท หลักทรัพย บัวหลวง จำกัด (มหาชน) และคณะกรรมการสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ª×èÍ µÓá˹‹§

¹Ò¡ԵµÔ ÇÔäÅÇÃÒ§¡Ùà ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาการบัญชี จากมหาวิทยาลัยรามคำแหงและปริญญาโทดาน บริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เคยทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) และบริษัท น้ำตาลสิงหบุรี จำกัด ผานการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program DAP ป 2548 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD) ปจจุบันดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการบริษัท เอบิโก โฮลดิ้งส จำกัด (มหาชน) กรรมการบริษัท มาลีเอ็นเตอรไพรส จำกัด กรรมการบริษทั เอบิโก แดรีฟ่ ารม จำกัด, กรรมการของบริษทั มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และ กรรมการบริษทั เอบิโกแลนด จำกัด

ª×èÍ µÓá˹‹§

¹Ò»˜³±Ôµ ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

Á§¤Å¡ØÅ

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาบัญชี จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและปริญญาโทสาขาการเงิน จากสถาบันบัณฑิตบริหาร ธุรกิจศศินทร ผานการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP ป 2546 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทยและหลักสูตรผูบริหาระรดับสูง (วตท.) รุน 4 ป 2550 จากสถาบันวิทยาการตลาดทุน ปจจุบันดำรงตำแหนงรองกรรมการผูจัดการใหญ - ฝายธนกิจและวางแผน บริษัท หางเซ็นทรัลดีพาทเมนทสโตร จำกัด ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ธนมิตรแฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท เอิรธแคร จำกัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลมารเก็ตติ้งกรุป อินเตอรเทรด จำกัด กรรมการบริษัท หางสรรพสินคาโรบินสัน จำกัด (มหาชน) และกรรมการ บริษัทในเครือฯ กรรมการบริษัท ซีจี โบรกเกอร จำกัด กรรมการบริษัท อันดามันแคปปตอล จำกัด กรรมการบริษัท มาลี สามพราน จำกัด (มหาชน) กรรมการบริษัท ซีจีไลฟ โบรกเกอร จำกัด กรรมการบริษัท เซ็นทรัล รีเทล เทรนนิ่ง เซ็นเตอร จำกัด กรรมการบริษัท เซ็นทรัล สมุยโฮเต็ลแมนเนจเมนท กรรมการบริษัท ซีอาร อุบลราชธานี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร อุดรธานี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร เชียงใหม (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการ บริษัท ซีอาร นครศรีธรรมราช (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร จันทบุรี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร ราชบุรี (ประเทศไทย) จำกัด และกรรมการบริษัท ซีอาร หาดใหญ (ประเทศไทย) จำกัด

43

Annual 2009 Report


ª×èÍ ¹ÒÂà¢Á·Ñµ Êؤ¹¸ÊÔ§Ë µÓá˹‹§ ¡ÃÃÁ¡Òà / »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍÔÊÃÐ

สำเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ไฟฟาสื่อสาร) จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรหลักสูตร ปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน และอุตสาหกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนคร เหนือ อบรมDirector Certificate Program และ Auditing Committee Program ป 2549 ของสถาบันสงเสริมกรรมการบริษัทไทย เคย ดำรงตำแหนงกรรมการบริหาร บริษัทไทยคาวาซากิมอเตอร จำกัด ประธานบริษัท สิขร อี-บิสสิเนส จำกัด ประธานบริษัท โรบิทิคสอินฟอรเมชั่นเทคโนโลยี จำกัด และผูอำนวยการศูนยสงเสริม ศิลปาชีพระหวางประเทศ (องคการมหาชน) ปจจุบันดำรงตำแหนง ที่ปรึกษาดานเทคโนโลยี บริษัท ที่ปรึกษายูโรเอเชียบิสสิเนส จำกัด ประธานบริหารศูนยเทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแหงชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ คณะกรรมการประเมินผลรัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำกระทรวงวิทยาศาสตร และกรรมการอิสระบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)

ª×èÍ ¹ÒÂÁµÔ µÑ駾ҹԪ µÓá˹‹§ ¡ÃÃÁ¡Òà / ¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍÔÊÃÐ

สำเร็จการศึกษาสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และปริญญาโทดาน Master in Architecture จากสถาบัน (MIT) Massachusetts Institute of Technology, Cambridge ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 2 ไดรับเลือกตั้งติดตอกัน 3 สมัยระหวางป 2529 – 2535 เพื่อดำรงตำแหนงนายกสมาคมสถาปนิก สยามในพระบรมราชูปถัมภ เคยดำรงตำแหนงเปนประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝายพัฒนาเมือง ในป พ.ศ. 2539-2540 และประธาน สหพันธธุรกิจบริการออกแบบและกอสรางแหงประเทศไทย (FEDCON) ในป พ.ศ. 2543-2545 และดำรงตำแหนง นายกสภาสถาปนิก ในป พ.ศ. 2547 - 2550 ปจจุบนั นอกจากจะดำรงตำแหนงกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระของบริษทั มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) แลวยังเปน ประธานที่ปรึกษาวิชาการกิตติมศักดิ์ บริษัท ดีไซน + ดีเวลลอป จำกัด ซึ่งกอตั้งมาแลวกวา 30 ป

ª×èÍ ¹ÒÂÊؾѲ¹ ÍØ»¹Ô¡¢Ôµ µÓá˹‹§ ¡ÃÃÁ¡Òà / ¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍÔÊÃÐ

สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางดานพาณิชยศาสตรและการบัญชี, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และเนติบัณฑิตไทยจาก เนติบัณฑิตยสภา ผานการอบรมพิเศษ เชน การปฏิบัติการธนาคาร การวิเคราะหเครดิตและการเงิน การวิเคราะหโครงการ, กฎหมาย ภาคปฏิบัติเกี่ยวกับธุรกิจ, การปฏิบัติงานในตลาดหลักทรัพยและการพัฒนานักบริหาร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต จากสมาชิกสามัญ สภา วิชาชีพบัญชี และ ใบอนุญาตทนายความจากสมาชิกสภาทนายความ เคยดำรงตำแหนงเปนผูอำนวยการ - สำนักงานสอบบัญชี ดี.ไอ.เอ, กรรมการและผูจัดการทั่วไป - บงล. ไทยเงินทุนผูอำนวยการ ฝายบริหารบัญชี - บงล. สงเสริมเงินทุนไทย, สมุหบัญชี – บริษัทยิบอินซอยเงินทุน จำกัด, ประสบการณการทำงานในธนาคาร แหงประเทศไทย รวมทั้งสิ้น 13 ป ปจจุบันนอกจากจะดำรงตำแหนงกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) แลวยังเปน เจาของและ ผูอำนวยการสำนักงานสอบบัญชีสุพัฒน และวิทยากรทางบัญชีและภาษีอากร Malee The Green Fruit Expert

44



¤Ó͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐË §º¡ÒÃà§Ô¹ áÅмšÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ ÇÔà¤ÃÒÐË ¼Å¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹

สรุปผลการดำเนินงานรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯและบริษัทยอย มียอดขายรวม 3,082.8 ลานบาท ลดลง 621 ลานบาท หรือ 16.8% จากยอดขายสงออกเพิ่มขึ้น 7.5 ลานบาท สวนยอดขายของธุรกิจในประเทศลดลง 628.2 ลานบาท เนื่องจากธุรกิจรับจางผลิตเปนสวนใหญ กำไรขั้นตน734.7 ลานบาท สูงกวาปที่แลว75.2ลานบาท อัตรากำไรขั้นตนคิดเปน 23.8% ของยอดขาย สูงกวาปที่แลว 6.0% เกิดจาก สัดสวนการขายที่เพิ่มขึ้นของสินคาที่มีอัตรากำไรขั้นตนสูงอยางธุรกิจน้ำผลไมและเครื่องดื่มในประเทศ ในขณะที่ผลไมกระปองสงออก ซึ่งมีอัตรากำไรขั้นตนต่ำลดลง คาใชจายในการขายและบริหาร 705.5ลานบาท ต่ำกวาปที่แลว 164.0 ลานบาท หรือ 22.9 %ของยอดขาย เปนผลมาจากคาโฆษณาสงเสริมการขายในประเทศที่ลดลง ดอกเบี้ยจายทั้งสิ้น 35.8 ลานบาท ต่ำกวาปที่แลว 19.5 ลานบาท และมี การกลับรายการดอกเบี้ยคางจายในป 2551 จำนวน 74.1 ลานบาท เปนผลมาจากการเจรจาดอกเบี้ยจายของเจาหนี้การคารายหนึ่ง ทำใหผลการดำเนินงานมีกำไรสุทธิ 130.9 ลานบาท เทียบกับป 2551 ทีมีผลขาดทุนสุทธิ 294.7 ลานบาท

ÇÔà¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ รายละเอียดของสินทรัพย ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อื่นๆ สินทรัพยรวม

400.8 401.6 33.9 127.4 1,084.9 102.9 2,151.5

2552

18.6% 18.7% 1.6% 5.9% 50.4% 4.8% 100.0%

447.5 497.5 88.2 115.8 748.5 76.1 1,973.6

(หนวย : ลานบาท) 2551 22.7% 25.2% 4.5% 5.9% 37.9% 3.8% 100.0%

Malee The Green Fruit Expert

46


ลูกหนี้การคาลดลง 46.7 ลานบาท ลูกหนี้ที่ลดลงเนื่องจากยอดขายที่ลดลง สินคาคงเหลือลดลง 95.9 ลานบาท สินคา คงเหลือที่ลดลงสวนใหญเปนสินคาผลไมบรรจุกระปองและวัตถุดิบเพื่อการผลิต รวมถึงการบริหารจัดการสินคาคงคลังที่ดีขึ้น เงินลงทุนสวนใหญเปนเงินฝากประจำเพื่อค้ำประกันวงเงินสินเชื่อของบริษัทฯ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตและสวนที่ดิน อาคารและอุปกรณที่เพิ่มขึ้น 348.2 ลานบาท สาเหตุหลักเนื่องจากการตีราคาใหมจึงทำใหอาคารและเครื่องจักรแสดงราคาที่ เหมาะสม ใหม ภายใตหลักเกณฑที่ระบุไวในนโยบายบัญชีเกี่ยวกับการตีราคาใหม

¤Ø³ÀÒ¾¢Í§ÊÔ¹·ÃѾ Å١˹Õé

บริษัทฯ มียอดลูกหนี้สุทธิ 400.8 ลานบาท เปนยอดลูกหนี้คางชำระ 121.8 ลานบาท ซึ่งลดลง 14.8 ลานบาท หรือ10.8% เมื่อเปรียบเทียบกับยอดลูกหนี้คางชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 136.6 ลานบาท เนื่องจากการเก็บหนี้ในสวนที่ เกินกำหนดชำระดีขึ้น คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ไดบันทึกในบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ฝายบริหารของบริษัทฯ เชื่อวาเปนจำนวนที่เพียงพอใน สถานการณปจ จุบัน

ÊÀÒ¾¤Å‹Í§ บริษัทฯ มีกระแสเงินสดไดมาจากการดำเนินงานจำนวน 183.1 ลานบาท มากกวาป 2551 จำนวน 28.2 ลานบาท เนื่องจาก ผลการดำเนินงาน การบริหารการจัดเก็บหนี้และสินคาคงคลังที่ดีขึ้น บริษัทฯ มีอัตราสวนสภาพคลองเทากับ 0.5 เทา ใกลเคียงกับป 2551

47

Annual 2009 Report


ÃÒ¨‹ÒÂŧ·Ø¹ บริษัทฯ ไดลงทุนเครื่องจักรและอุปกรณเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ทั้งผลิตภัณฑเครื่องดื่มภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัทฯ และผลิตภัณฑภายใตเครื่องหมายการคาของลูกคา บริษัทฯ ยังไดใชเงินไปในกิจกรรมลงทุนสำหรับการปรับปรุงและบำรุงรักษาเครื่องจักร ใหอยูในสภาพดีเพื่อใหสามารถผลิตสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติตามมาตรฐานการผลิตที่ดี และรักษาระบบคุณภาพมาตรฐาน สากล

áËÅ‹§·ÕèÁÒ㪌仢ͧà§Ô¹·Ø¹ บริษัทฯไดใชกระแสเงินสดที่ไดมาจากการดำเนินงาน 183.1 ลานบาทรวมกับกระแสเงินสดที่ไดมาจากกิจกรรมการลงทุน 60.7 ลานบาท ชำระคืนเงินกูยืมและดอกเบี้ยจำนวนรวมสุทธิ 240.8 ลานบาท

¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ¢Í§â¤Ã§ÊÌҧà§Ô¹·Ø¹ บริษัทฯ อยูระหวางดำเนินการพิจารณาปรับปรุงโครงสรางธุรกิจ โครงสรางการดำเนินงานและโครงสรางทางการเงินใหม ตลอดจนพัฒนา กลยุทธทางการตลาดและการขายใหม และเชื่อวาจะแกปญหาไดในอนาคตอันใกลนี้

˹ÕéÊÔ¹ บริษัทฯมีภาระหนี้คอนขางสูงแตจากการปรับปรุงการดำเนินงานทำใหมีกระแสเงินสดจากดำเนินงานเปนบวกอยางตอเนื่องทั้งนี้หนี้สวน ใหญเปนหนี้ระยะสั้นที่ ใชเพื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานบริษัทฯยังไดเปลี่ยนแปลงหนี้ดังกลาวบางสวนเปนหนี้ระยะยาว บริษัทฯ พยายามปรับปรุงผลการดำเนินงานใหดีขึ้น ซึ่งผลกำไรสวนหนึ่งจะถูกนำไปชำระหนี้ตอไป

Malee The Green Fruit Expert

48



»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ 1. ¤ÇÒÁàÊÕ觨ҡ¡ÒâÒÂÊÔ¹¤ŒÒŋǧ˹ŒÒ

บริษัทฯ เปนผูผลิตและสงออกผลไมบรรจุกระปองและขาวโพดหวานบรรจุกระปอง ซึ่งจะมีความเสี่ยงจากการขายสินคาลวงหนา เนื่องจาก ลูกคาตางประเทศจะทำสัญญาซื้อสินคาตลอดทั้งป ความไมแนนอนของราคาวัตถุดิบ อาจสงผลตอตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นและทำใหกำไร ของบริษทั ฯ ลดลง จึงจำเปนตองบริหารระยะเวลาการขายลวงหนาใหเหมาะสมและปรับแผนการผลิตใหสอดคลองกับสถานการณวัตถุดิบ เพื่อลดความเสี่ยงจากปจจัยนี้

2. ¤ÇÒÁàÊÕè§àÃ×èͧÍѵÃÒáÅ¡à»ÅÕè¹

แนวโนมคาเงินบาทเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐแข็งคาขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหรายไดที่คิดเปนเงินบาทลดลง บริษัทฯ ไดทำการประกัน อัตราแลกเปลี่ยนตามระดับวงเงินสัญญาสินเชื่อที่มีกับสถาบันการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินเหรียญสหรัฐ และ บริษัทฯ ไดเจรจาเปลี่ยนการขายจากเงินเหรียญสหรัฐเปนเงินสกุลอื่น อาทิ เงินยูโร

3. ¤ÇÒÁàÊÕ觴ŒÒ¹Çѵ¶Ø´Ôº

ความเสี่ยงดานวัตถุดิบ ที่เกิดจากปริมาณวัตถุดิบไมเพียงพอและคุณภาพวัตถุดิบไมไดตามที่กำหนด ทำใหวัตถุดิบไมเพียงพอตอการผลิต และทำใหไมมีสินคาสงใหลูกคาตามสัญญาได ซึ่งบริษัทไดจัดการแกไขปญหาดังกลาว ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวอยางตอเนื่อง โดยการ รับสมัครเกษตรกรเขาเปนสมาชิกในการสงเสริมการปลูกพืชวัตถุดิบชนิดตางๆ ของบริษัทฯ โดยเกษตรกรสมาชิกจะไดรับการถายทอด เทคโนโลยีการผลิตพืชผลเพื่อใหไดผลผลิตสูง ตนทุนต่ำและคุณภาพดี ตลอดจนวิธีการปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว การขนสงจนถึงโรงงานอยาง ถูกวิธี และบริษัทฯ ยังไดปลูกขาวโพดหวานเพื่อปอนโรงงานเองดวย นอกจากนี้ยังมีการปรับแผนการผลิตใหอยูในชวงเวลาที่เหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณวัตถุดิบ เพื่อใหไดตนทุนสินคาต่ำสุด

Malee The Green Fruit Expert

50



ÃÒ§ҹ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ จำนวน 3 ทาน โดยนาย เขมทัต สุคนธสิงห เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นายมติ ตั้งพานิช และ นายสุพัฒน อุปนิกขิต เปนกรรมการตรวจสอบ ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชีรับอนุญาต สำนักตรวจสอบภายใน และผูบริหารของบริษัท จำนวน 4 ครั้ง ไดปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทและตามความรับผิดชอบ ซึ่งเปนไปตามระเบียบและขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยสรุปสาระสำคัญของผลการปฏิบัติงานไดดังตอไปนี้ 1. ไดสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป 2552 รวมกับผูสอบบัญชีรับอนุญาตและผูบริหารที่เกี่ยวของ เพื่อ นำเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ พบวางบการเงินของบริษัทไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและ เปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ ครบถวนและเชื่อถือได 2. ไดพิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจำป 2552 รวมทั้งไดสงเสริมและผลักดันใหการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเปนไปตาม มาตรฐานสากลพบวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอและไมพบขอบกพรองที่มีนัยสำคัญ ที่อาจกอใหเกิดผลกระทบที่มีสาระสำคัญ 3. ไดสอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง และไดใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนเพื่อลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได 4. ไดสอบทานการปฏิบัติตามขอกำหนดและกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ พบวาบริษัทไดปฏิบัติครบถวน ถูกตองตามขอกำหนดและตามกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางถูกตองและ 5. ไดพิจารณาใหมีการเปดเผยขอมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ครบถวน และเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย 6. ไดพิจารณาคัดเลือกและนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท ในการแตงตั้งผูสอบบัญชีและคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (นายเขมทัต สุคนธสิงห) ประธานกรรมการตรวจสอบ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2553

Malee The Green Fruit Expert

52



ÁҵðҹáÅÐÃÒ§ÇÑÅ 30 กวาปที่ผานมาบริษัท มาลีไดมุงมั่นคิดคน พัฒนากระบวนการผลิตและเทคโนโลยีในดานตางๆใหทันสมัย ทัดเทียมนานาประเทศ อยางตอเนื่อง และนอกจากนี้ทางบริษัท มาลียังมุงพัฒนาคุณภาพสินคา มาตรฐานของกระบวนการผลิตและการบรรจุภัณฑของตัวเอง อยางไมหยุดยั้ง เพื่อใหสินคาที่ผลิตออกมามีคุณภาพตามหลักมาตรฐานสากล โดยการพัฒนาดังกลาวคำนึงถึงหลักความปลอดภัยและ สุขอนามัยของผูบริโภคเปนสำคัญ จนบริษัทมาลีไดรับการรับรองระบบมาตรฐานเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางทั้งองคกรภายในประเทศ และองคกรระดับนานาชาติมากมาย อาทิ - BRC (Global Standard for Food Safety) issue 5 January 2008 : British Retail Consortium ไดรับการรับรองจากบริษัท NSF Cmi เมื่อวันที่ 15/12/2551 - IFS: International Food Standard Version 5 August 2007 ไดรับการรับรองจากบริษัท NSF Cmi เมื่อวันที่ 13/07/2552 - HACCP Codex Alimentarius Commission (FAO/WHO) : Hazard Analysis and Critical Control (HACCP) Guideline Annex to CAC/RCP-1 (1969) Version 4 (2003) การวิเคราะหอันตรายและจุดควบคุมวิกฤต ไดรับการรับรองจากบริษัท NSF Cmi เมื่อวันที่ 16/12/2551 - Halal Certificate: ไดรับการรับรองจาก The Central Islamic Committee of Thailand เมื่อวันที่ 9/06/2552 - Kosher Certificate: ไดรับการรับรองจาก Thai Kashrut Services Limited เมื่อวันที่ 17/09/2552 - TLS.8001-2003S Thai Labour Standard Certificate completion level initiative phase ไดรับการรับรองจาก The Department of Labour Protection and Welfare The Ministry of Labour เมื่อวันที่ 11/02/2552 - Good Laboratory Practice / Department of Industrial Works, GLP/DIW ไดรับการรับรองจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 12/02/2551

Malee The Green Fruit Expert

54


¹Í¡¨Ò¡¹Õé ºÃÔÉÑ·ÁÒÅÕ Âѧ䴌ÃѺÃÒ§ÇÑŵ‹Ò§æÁÒ¡ÁÒ - The Prime Minster’s Export Award 2536 เปนรางวัลเกี่ยวกับ Distinctive Development & Marketing of a Thai Owned Brand in Category of food product - รางวัลดีเดนดานสิ่งแวดลอมป พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2538 และป พ.ศ. 2540 รวมทั้งรางวัลโรงงานพิทักษสิ่งแวดลอม ทางน้ำดีเดนในเรื่องระบบบอบำบัดน้ำเสีย พ.ศ. 2537 - World Tech 95 Award และ The Best Product Award ในงาน ASEAN Food Conference ที่ประเทศสิงคโปร ในป 2540 - Thailand Best Innovation Award 2546 เปนรางวัลเกี่ยวกับการรักษาอายุของน้ำนมขาวโพดจากระยะเวลาสั้น สามารถรักษาไดนานถึง 9 เดือน - ป 2546 ไดรับรางวัลนวัตกรรมทางเทคโนโลยีจาก บริษัท แอคเซนเซอรและหนังสือพิมพเดอะเนชั่น ในการผลิต น้ำนมขาวโพด 100%มาลี-ไอคอรน ในรูปแบบกลองยูเอชทีเปนรายแรกของโลก - Superbrands Thailand 2546 – 2547 จากสถาบัน Superbrands UK ซึ่งเปนรางวัลที่ไดรับจากสถาบันที่ได ทำการวิจัยในดานผูเชี่ยวชาญทางดานผลไมประมาณ 5,000 ตัวอยางจากทั่วประเทศ - Trusted Brand 2546 – 2550 จากนิตยสาร Reader’s Digestซึ่งไดรับรางวัลถึง 5 ป ติดตอกัน เปนรางวัลที่ได ทำการสำรวจจากนิตยสาร Reader’s Digest เกี่ยวกับความนิยมในการบริโภคสินคา - รางวัลแบรนดที่อยูในใจผูบริโภคเมื่อเดือน สิงหาคม 2550 ที่ประเทศฮองกง โดยมาลีไดรับการรับเลือกใหเปน 1 ใน 20 แบรนดชั้นนำของประเทศไทยจากการสำรวจที่ Media Magazine, Asian Integrated Media Limited ที่ปรึกษา ดานแบรนดระดับภูมิภาครวมกับบริษัท ชิโนเวต ซึ่งเปนบริษัทวิจัยดานการตลาดชั้นนำของโลก - รางวัลชนะเลิศ Thailand Energy Awards 2008 จาก กระทรวงพลังงาน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียน ที่ไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off-Grid) ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังาน (พพ.) กระทรวงพลังาน จากโครงการการพัฒนาระบบกาซชีวภาพแบบ UASB (Pond Type) ซึ่งผลิตจากกระบวนการ น้ำเสียและเศษพืชผลเกษตร ชวยประหยัดคาพลังงานไฟฟา และคาพลังงานจากน้ำมันเตา โดยสามารถประหยัด ไดประมาณ 6 ลานบาทตอป โดยไดรับเกียรติจาก พลโทหญิงพูนภิรมย ลิมปตพัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังาน เปนประธานมอบรางวัล ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณในปเดียวกันบริษัทก็ไดรับรางวัลรองชนะเลิศ Asean Energy Awards 2008 อีก ความภาคภูมิใจจากมาตรฐานและรางวัลตางที่ไดรับเหลานี้ บริษัท มาลี ถือเปนแรงขับเคลื่อนที่ชวย กระตุนใหบุคลากร ในองคกรรักษามาตรฐานและมุงมั่นปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อกาวไปสูความสำเร็จที่สูงยิ่งกวาในอนาคต

55

Annual 2009 Report


Malee Ma M aleee TTh The he GGre Green een Fru Fruit uit Expert

56



§º¡ÒÃà§Ô¹ ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í ÃÒ§ҹáÅЧº¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁáÅЧº¡ÒÃà§Ô¹à©¾ÒСԨ¡Òà ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551

ÃÒ§ҹ¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒµ àÊ¹Í ¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹áÅФ³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน รวม และงบกระแสเงินสดรวม สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และไดตรวจสอบ งบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ดวย เชนกัน ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบ ในการรายงานตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อใหได ความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการ ใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้นตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของ การแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดง ความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานรวม การ เปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนรวม และกระแสเงินสดรวม สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และ บริษัทยอย และฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ การเปลี่ยนแปลงใน สวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

Malee The Green Fruit Expert

58


โดยที่มิไดแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไขขาพเจาขอใหสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1.4 ดังปรากฏในงบการเงิน รวมของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีผลขาดทุนสะสมรวมจำนวน (1,338.64) ลานบาท และ (1,469.57) ลานบาท ตามลำดับ และมีขาดทุนเกินทุนรอบป 2551จำนวน (242.88) ลานบาท และมีหนี้สินหมุนเวียน รวมสูงกวาสินทรัพยหมุนเวียนรวมเปนจำนวน 747.32 ลานบาท และ 1,156.28 ลานบาท ตามลำดับ นอกจากนี้ ดังปรากฏ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 23.1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีเจาหนี้การคาที่คางชำระเปนเวลานาน อยางไรก็ตาม ปจจุบันฝายบริหารของบริษัทยังคงสามารถบริหารจัดการเจาหนี้การคาเหลานี้ไดตามปกติทางการคา ถึงแมวา ปจจัยดังกลาวเปนเหตุใหเกิดขอสงสัยอยางมากเกี่ยวกับความสามารถในการดำเนินงานตอเนื่องของบริษัทและบริษัทยอย อยางไรก็ตามบริษัทและบริษัทยอยยังคงมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเปนยอดบวกอยางตอเนื่องเปนจำนวน 183.12 ลานบาทในป 2552 และจำนวน 154.88 ลานบาทในป 2551 โดยฝายบริหารของบริษัทและบริษัทยอยกำลังอยูระหวางการ พิจารณาปรับปรุงโครงสรางธุรกิจและปรับโครงสรางการดำเนินงานและทางการเงินใหม ตลอดจนพัฒนากลยุทธทางการ ตลาดและการขายใหม และเชื่อวาจะแกปญหาไดในอนาคตอันใกลนี้ จากเหตุผลดังกลาว งบการเงินนี้จึงยังคงจัดทำขึ้น ภายใตขอสมมติฐานการดำเนินงานอยางตอเนื่องของกิจการ โดยไมรวมรายการปรับปรุงที่อาจมีขึ้นหากบริษัทและบริษัทยอย ไมสามารถดำเนินงานอยางตอเนื่องได และขอใหสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1.5 บริษัทไดรับแจงจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องการที่บริษัท เขาขายอาจถูกเพิกถอนจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียน อยางไรก็ตาม บริษัทไดแจงตลาดหลักทรัพยทราบถึงแนวทาง แกไขเหตุแหงการเพิกถอนจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยการจัดทำแผนฟนฟูกิจการ อันเปนแนวทางที่คณะกรรมการ เห็นวามีประโยชนดีที่สุดสำหรับบริษัทและผูถือหุนของบริษัท โดยกำหนดระยะเวลาดำเนินการใหแลวเสร็จภายในเดือน ธันวาคม 2552 ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากตลาดหลักทรัพยแลว และนอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพยจะขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) หามซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม 2552 เปนตนไป จนกวาบริษัทจะสามารถ ดำเนินการปรับปรุงแกไขฐานะการเงินและการดำเนินงานใหเปนไปตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย ในปจจุบันนี้ บริษัท กำลังอยูระหวางการดำเนินการตามแนวทางแกไขเหตุเพิกถอนตามที่แจงไวกับตลาดหลักทรัพยและกำลังอยูระหวางการราง รายละเอียดแผนการฟนฟูกิจการ และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2552 บริษัทไดแตงตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระเพื่อรวม จัดทำแผนการแกไขเหตุการเพิกถอนดังกลาวแลว ตอมา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2552 มีมติอนุมัติใหเลื่อนการจัดทำแผนฟนฟูกิจการใหแลวเสร็จเสนอแกผูถือหุนและตลาดหลักทรัพยภายในไตรมาสที่ 2/2553 ทั้งนี้บริษัทไดแจงขอเลื่อนกำหนดสงแผนฟนฟูกิจการตอตลาดหลักทรัพยตามหนังสือที่ CAO 28/2009 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 โดยที่ตลาดหลักทรัพยไดประกาศตอสาธารณชนแลวในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552

59

Annual 2009 Report


และขอใหสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 10 และ 11 ในป 2552 บริษัทและบริษัทยอยไดเลือกใชนโยบายบัญชีเกี่ยวกับการตีราคา ใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ในการแสดงมูลคาของอาคารและเครื่องจักร ซึ่งเพิ่มเติมจากเดิมที่เลือก ใชราคาประเมินสำหรับการ แสดงราคาที่ดินเพียงอยางเดียว โดยฝายบริหารของกิจการมีเหตุผลในการเลือกนโยบายบัญชี ดังกลาววา อาคารและเครื่องจักรของ บริษัทและบริษัทยอยไดใชงานมานานและสวนใหญไดตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังมีมูลคาการใชงานในปจจุบันเนื่องจากบริษัทและ บริษัทยอยมีการบำรุงรักษาปรับปรุงอาคารและเครื่องจักรอยางสม่ำเสมอ จึงทำใหราคาตามบัญชีของอาคารและเครื่องจักรมิไดสะทอน มูลคาการใชงานจริงในปจจุบัน ดังนั้น การตีราคาใหมจึงทำใหอาคารและเครื่องจักรแสดงราคาที่เหมาะสมในปจจุบันผลของการเลือกใช ราคาประเมินมาแสดงเปนราคาของที่ดิน อาคารและเครื่องจักรทั้งหมดดังกลาวของบริษัทและบริษัทยอย ทำใหงบการเงินรวมและงบการ เงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาที่ดิน อาคารและเครื่องจักร เพิ่มขึ้น 438.58 ลานบาทและ 363.99 ลานบาท ตามลำดับ โดยบันทึกในบัญชี สวนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพยภายใตสวนของผูถือหุน และมีการบันทึกคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 3.33 ลานบาทเฉพาะ ในงบการเงินรวม และไดบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุนรวมแลว ซึ่งโดยรวมแลวการตีราคาใหมสำหรับสินทรัพยดังกลาวสงผล ใหสวนของผูถือหุนในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมียอดกลับมาเปนบวก ซึ่งจากเดิมป 2551 มียอดติดลบ ดังปรากฏใน งบดุลป 2552

(นางสาวจันทรา วองศรีอุดมพร) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4996 บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จำกัด กรุงเทพมหานคร วันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 2010/062/8866

Malee The Green Fruit Expert

60


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º´ØÅ ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 ÊÔ¹·ÃѾÂ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 4 ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา บริษัทยอย 5 กิจการที่เกี่ยวของกัน 5 กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน หัก : คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา - สุทธิ 6 สินคาคงเหลือ - สุทธิ 7 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินชดเชยการสงออกคางรับ รายไดอ่นื คางรับและลูกหนี้อื่น 5 ภาษีซื้อรอรับคืน เงินทดรองจาย เงินมัดจำและเงินประกัน อื่น ๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน 8 เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน เงินลงทุนในบริษัทยอยโดยวิธีราคาทุน - สุทธิ 9 10 ที่ดินที่ไมใชในการดำเนินงาน - สุทธิ 11 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เงินมัดจำ อื่น ๆ รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2551

2552

2551

11,842,630

8,813,937

1,512,807

1,001,565

21,644,914 381,771,827 (2,597,674) 400,819,067 401,600,347

55,603,366 409,237,328 (17,358,493) 447,482,201 497,518,425

558,555,117 1,088,540 112,412,877 (2,597,674) 669,458,860 260,732,431

457,870,555 1,088,540 111,921,847 (1,254,867) 569,626,075 390,919,071

3,089,895 1,308,619 3,089,895 1,308,619 42,030,581 21,219,850 48,755,557 21,169,374 6,097,692 3,129,795 9,578,346 5,027,195 9,149,405 4,936,081 671,418 764,594 774,048 691,965 16,235,033 15,780,437 14,326,697 13,705,779 885,725,758 1,006,957,993 1,001,723,017 1,009,761,523 33,936,587 88,189,606 127,394,028 115,759,621 1,084,887,493 748,505,140

31,729,677 145,000,000 98,731,920 910,075,333

88,189,606 145,000,000 115,759,621 733,150,776

9,496,665 18,172,910 13,031,597 9,650,618 1,108,057 1,384,155 1,108,057 1,384,155 1,265,775,173 966,594,021 1,196,571,703 1,092,704,725 2,151,500,931 1,973,552,014 2,198,294,720 2,102,466,248 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

61

Annual 2009 Report


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º´ØÅ (µ‹Í) ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 ˹ÕéÊÔ¹áÅÐʋǹ¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ หมายเหตุ หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย บริษัทยอย กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่นคาสินคาสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เจาหนี้คาสินคารวมดอกเบี้ยคางจาย เจาหนี้และเงินกูยืมจากบริษัทยอย เจาหนี้จากการขายสิทธิเรียกรองลูกหนี้การคา สวนของเจาหนี้เชาซื้อที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนของหนี้สินจากภาระค้ำประกันที่ถึงกำหนด ชำระในหนึ่งป สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น คาใชจายและดอกเบี้ยคางจายและเจาหนี้อื่น เงินรับลวงหนาคาสินคา เจาหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา อื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้เชาซื้อ - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งป หนี้สินจากภาระค้ำประกัน - สุทธิจากสวนที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป เจาหนี้อื่นคาสินคาสุทธิจากสวนที่ถึงกำนดชำระ ภายในหนึ่งป ประมาณการหนี้สินที่มีตอบริษัทยอย รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

บาท

งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

12

355,229,505

479,828,912

326,205,505

479,828,912

5 5 22.4.2 22.4.2 13 6 14

4,748,725 895,265,671 24,000,000 100,492,016 46,409,902

2,201,482 970,416,850 276,928,609 145,781,625 19,399,787

250,926 4,748,725 885,905,880 24,000,000 16,438,473 46,409,902

60,239 2,201,482 944,258,317 276,928,609 19,699,687 19,399,787

22.4.1

2,900,000

2,541,600

2,900,000

2,541,600

15

26,754,810

50,486,161

26,754,810

50,486,161

167,358,028 191,190,792 66,792,289 222,422,186 6,580,829 14,838,703 6,370,829 14,838,703 85,416 6,733,721 18,948 6,733,721 3,215,989 2,891,354 71,708 112,329 1,633,040,891 2,163,239,596 1,406,867,995 2,039,511,733 14

11,573,093

29,895,378

11,573,093

29,895,378

22.4.1

5,488,260

8,284,400

5,488,260

8,284,400

15

7,512,534

15,012,534

7,512,534

15,012,534

22.4.2 24

167,257,330 - 167,257,330 - 303,642,300 239,717,456 191,831,217 53,192,312 495,473,517 292,909,768 1,824,872,108 2,216,431,908 1,902,341,512 2,332,421,501

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ Malee The Green Fruit Expert

62


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º´ØÅ (µ‹Í) ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 ˹ÕéÊÔ¹áÅÐʋǹ¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ (µ‹Í)

งบการเงินรวม หมายเหตุ สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 99,999,000 หุน มูลคาหุนละ 10.00 บาท ทุนออกจำหนายและชำระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 70,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10.00 บาท สวนเกินทุน สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย กำไรสะสม 16 จัดสรรแลว - สำรองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุน (ขาดทุนเกินทุน) รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

2552

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

999,990,000 999,990,000

999,990,000

999,990,000

700,000,000 700,000,000

700,000,000

700,000,000

347,500,000 347,500,000 609,591,181 171,009,035

347,500,000 535,004,371

347,500,000 171,009,035

8,180,000 8,180,000 8,180,000 8,180,000 (1,338,642,358) (1,469,568,929) (1,294,731,163) (1,456,644,288) 326,628,823 (242,879,894) 295,953,208 (229,955,253) 2,151,500,931 1,973,552,014 2,198,294,720 2,102,466,248 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

63

Annual 2009 Report


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÓäâҴ·Ø¹ ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 ˹ÕéÊÔ¹áÅÐʋǹ¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹

รายได

หมายเหตุ

รายไดจากการขาย รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร 24 ประมาณการหนี้สินที่มีตอบริษัทยอย คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย (กลับรายการ) รวมคาใชจาย กำไร (ขาดทุน) กอนคาใชจายทางการเงิน คาใชจายทางการเงิน กลับรายการประมาณการหนี้สินดอกเบี้ยจาย 22.4.2 กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับป การแบงกำไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

บาท

งบการเงินรวม 2552 2551

3,082,852,804 3,703,647,651 2,749,205,845 63,448,114 44,752,996 68,632,414 3,146,300,918 3,748,400,647 2,817,838,259

3,317,695,890 41,727,698 3,359,423,588

2,348,103,943 438,761,713 236,907,074 26,551,950 3,334,443 3,053,659,123 92,641,795 35,830,033 (74,114,809) 130,926,571

3,027,679,762 90,259,704 204,484,901 161,887,273 17,462,787 30,748,529 3,532,522,956 (173,099,368) 119,608,110 (292,707,478)

3,044,062,237 2,385,959,098 553,016,116 65,196,516 259,680,178 176,206,356 - 63,924,844 26,162,628 17,687,112 30,748,529 (5,998,418) 3,913,669,688 2,702,975,508 (165,269,041) 114,862,751 129,384,727 28,600,526 - (74,114,809) (294,653,768) 160,377,034

130,926,571 (294,653,768) 130,926,571 (294,653,768) 19

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

1.87 1.87

(4.21) (4.21)

160,377,034 160,377,034

(292,707,478) (292,707,478)

2.29 2.29

(4.18) (4.18)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

Malee The Green Fruit Expert

64


65

Annual 2009 Report

ยอดคงเหลือตนงวด ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับป ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

700,000,000 347,500,000 171,009,035 700,000,000 347,500,000 171,009,035

ทุนเรือนหุนที่ออก สวนเกิน และชำระแลว มูลคาหุน หมายเหตุ หุนสามัญ ยอดคงเหลือตนงวด ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 700,000,000 347,500,000 กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับป สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (โอนกลับ) ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 700,000,000 347,500,000 -

51,773,874 (294,653,768) (242,879,894)

(242,879,894) 130,926,571 438,582,146 326,628,823

รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

8,180,000 (1,174,915,161) 51,773,874 - (294,653,768) (294,653,768) 8,180,000 (1,469,568,929) (242,879,894)

งบการเงินรวม (บาท) สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุน สวนเกินทุน กำไรสะสม รวม สวนนอย จากการตีราคา จัดสรรแลว ขาดทุนสะสม สินทรัพย 171,009,035 8,180,000 (1,469,568,929) (242,879,894) - 130,926,571 130,926,571 - 438,582,146 438,582,146 609,591,181 8,180,000 (1,338,642,358) 326,628,823 -

ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551


Malee The Green Fruit Expert

66

ยอดคงเหลือตนงวด ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับป ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

700,000,000 347,500,000 171,009,035 700,000,000 347,500,000 171,009,035

ทุนเรือนหุนที่ออก สวนเกิน และชำระแลว มูลคาหุน หมายเหตุ หุนสามัญ ยอดคงเหลือตนงวด ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 700,000,000 347,500,000 กำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับป สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน (โอนกลับจากการขาย) สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย (โอนกลับ) ยอดคงเหลือปลายงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 700,000,000 347,500,000 62,752,225 (292,707,478) (229,955,253)

-

62,752,225 (292,707,478) (229,955,253)

(229,955,253) 160,377,034 365,531,427 295,953,208

รวม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

8,180,000 (1,163,936,810) - (292,707,478) 8,180,000 (1,456,644,288)

งบการเงินรวม (บาท) สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุน สวนเกินทุน กำไรสะสม รวม สวนนอย จากการตีราคา จัดสรรแลว ขาดทุนสะสม สินทรัพย 171,009,035 8,180,000 (1,456,644,288) (229,955,253) - 160,377,034 160,377,034 1,536,091 (1,536,091) - 365,531,427 365,531,427 535,004,371 8,180,000 (1,294,731,163) 295,953,208 -

ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 งบการเงินรวม หมายเหตุ

กระแสเงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ รายการปรับกระทบยอดกำไร (ขาดทุน) สุทธิเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดำเนินงาน : สำรองหนี้สินจากประมาณการผลขาดทุน คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) คาเสื่อมสภาพ (โอนกลับ) ขาดทุนจากสินคาเสื่อมคุณภาพ (กำไร) ขาดทุนจากปรับปรุงสินคาคงเหลือ คาเสื่อมราคา คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (กลับรายการ) ตัดจำหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ คาตัดจำหนายสินทรัพยอื่น (กำไร) ขาดทุนจากการจำหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ (กำไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง กลับรายการประมาณการหนี้สินดอกเบี้ยจาย 22.4.2 รายไดดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ยจาย คาใชจายภาษีเงินได กำไร (ขาดทุน) จากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยอื่น

2552

2551

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2551

130,926,571 (294,653,768) 160,377,034 (292,707,478) 1,342,807 1,922,266 26,197,667 916,535 92,084,103 (834,957) 2,510,230 (8,468,090) 90,966 (74,114,809) (577,840) 35,830,033 -

- 63,924,844 161,887,273 (223,228) 1,342,807 7,152,691 1,086,470 6,700,251 23,651,633 9,731,296 10,491,329 1,050,031 869,232 1,185,293 122,307,324 78,851,980 114,228,632 25,724,749 (10,167,818) 25,724,749 1,428,665 57,366 2,123,116 2,407,754 2,123,116 233,186 (16,878,536) (13,165) 713,491 142,379 713,491 - (74,114,809) (920,895) (571,651) (891,875) 128,922,394 28,600,526 119,608,110 -

207,825,482 17,509,389 245,601,508 149,107,092 45,151,083 31,658,148 (101,344,853) (76,978,824) 66,881,610 161,900,771 118,499,642 193,168,172 (17,100,884) 20,700,894 (20,535,651) 17,617,433 1,808,826 (6,381,158) 2,497,326 (1,393,798) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

67

Annual 2009 Report


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ (µ‹Í) ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 บาท หนีส้ นิ ดำเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจาหนีก้ ารคา เจาหนีอ้ นื่ คาสินคาระยะยาว เจาหนีค้ า สินคารวมดอกเบีย้ คางจาย หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เงินรับลวงหนาคาสินคา เงินสดรับ (จาย) จากการดำเนินงาน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารทีม่ ภี าระค้ำประกัน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง เงินสดจายซือ้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ เงินสดรับจากการจำหนาย ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากดอกเบีย้ รับ เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน

หมายเหตุ

กระแสเงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบัน การเงินลดลง เงินสดจากเจาหนีจ้ ากการขายสิทธิเรียกรองในลูกหนี้ การคาเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดรับจากเจาหนีแ้ ละเงินกูย มื จากบริษทั ยอย เงินสดจายคืนเจาหนีแ้ ละเงินกูย มื จากบริษทั ยอย เงินสดชำระคืนเจาหนีเ้ ชาซือ้ เงินสดชำระคืนหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาทางการเงิน เงินสดชำระคืนภาระค้ำประกัน เงินสดชำระคืนเงินกูย มื ระยะยาว เงินสดจายดอกเบีย้ จาย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

งบการเงินรวม 2551 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

(72,591,271) (11,556,470) (19,996,730) (8,257,874) 183,973,788 (851,498) 183,122,290

(32,946,051) (39,732,003) 1,660,192 (8,140,819) 155,107,847 (225,583) 154,882,264

(55,601,842) (11,556,470) (7,592,591) (8,467,874) 157,608,071 (798,078) 156,809,993

(59,183,653) (39,732,003) (28,954,017) (8,140,819) 148,712,207 (218,815) 148,493,392

54,253,019 (10,095,089) 15,965,034 577,840 60,700,804

(10,152,444) (40,023,879) 16,170,665 121,140 (33,884,518)

56,459,929 (9,096,234) 16,010,794 571,651 63,946,140

(10,152,444) (35,607,612) 15,673,384 92,120 (29,994,552)

(124,599,407)

(11,133,387)

(153,623,407)

(11,133,387)

(45,289,609) (2,437,740) (31,231,351) (37,236,294) (240,794,401)

(3,975,904) (17,158,426) (2,750,792) (2,541,600) (34,013,839) (54,320,263) (125,894,211)

(3,261,214) 39,023,423 (39,023,423) (2,437,740) (31,231,351) (29,691,179) (220,244,891)

(7,592,012) (17,158,426) (2,750,792) (2,541,600) (34,013,839) (44,455,562) (119,645,618)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ Malee The Green Fruit Expert

68


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ (µ‹Í) ÊÓËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 งบการเงินรวม หมายเหตุ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552

2551

2552

3,028,693 8,813,937 11,842,630

(4,896,465) 13,710,402 8,813,937

511,242 1,001,565 1,512,807

(1,146,778) 2,148,343 1,001,565

ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม :เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวยเงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคารและเงินลงทุนในตลาดเงิน และ รายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบขึ้นจากรายการในงบดุล ดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตามที่เสนอมากอน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดที่ปรับยอดใหม

2552 11,842,630 11,842,630 11,842,630

2551

เงินสด

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

8,813,937 8,813,937 8,813,937

1,512,807 1,512,807 1,512,807

1,001,565 1,001,565 1,001,565

ในงบการเงินเฉพาะกิจการ 1) เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 บริษัทมีการลงทุนในเงินลงทุนในบริษัท อะกริ ซอล จำกัด (ดูหมายเหตุขอ 10) จำนวนเงิน 145 ลานบาท โดยบริษัทยังคางชำระหนี้คาหุนสามัญอยูเต็มจำนวนในป 2551 เนื่องจากบริษัทยอยดังกลาวยังไมเริ่ม ดำเนินกิจการใดๆ 2) ในไตรมาสที่ 1/2552 ตามมติที่ประชุมกรรมการ ครั้งที่ 3/2551 วันที่ 21 กรกฎาคม 2551 ใหบริษัทนำจำนวนเงินจาก การขายที่ดิน โรงงานพรอมสิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานและสำนักงานใหแก บริษัท อะกริ ซอล จำกัด จำนวน 136.64 ลานบาท ไปหักกลบกับจำนวนเงินคาหุนสามัญที่บริษัทคางชำระตอบริษัทดังกลาวเปนจำนวนเงิน 145 ลานบาท บริษัทมีกำไรจากการขายสินทรัพยดังกลาว 8.43 ลานบาท หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

69

Annual 2009 Report


ºÃÔÉÑ· ÁÒÅÕÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í ËÁÒÂà˵ػÃСͺ§º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2552 áÅÐ 2551 1. ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»

1.1 ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇ仢ͧºÃÔÉÑ·

บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นเปนบริษัทมหาชน และมีภูมิลำเนาในประเทศไทย บริษัทดำเนินธุรกิจ หลักในการผลิตและจำหนายผลไมกระปองและน้ำผลไม โดยมีที่อยูตามที่จดทะเบียนคือเลขที่ 401/1 หมูที่ 8 ถนน พหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130

1.2 ¨Ó¹Ç¹áÅФ‹Ò㪌¨‹ÒÂà¡ÕèÂǡѺ¾¹Ñ¡§Ò¹

จำนวนพนักงาน ณ วันสิน้ ป (คน) คาใชจา ยเกีย่ วกับพนักงานสำหรับป (บาท)

หมายเหตุ

1.3 ¤‹Ò㪌¨‹ÒµÒÁÅѡɳÐ

คาเสือ่ มราคาและรายจายตัดบัญชี กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น

บาท งบการเงินรวม 2552 2551 1,379 1,491 251,544,132 284,566,984

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 1,115 1,257 183,948,009 214,974,106

บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2552 2551 92,084,103 122,307,324 3,138,366 2,402,518

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 78,851,980 114,228,632 3,067,609 2,402,518

1.4 ¢ŒÍÊÁÁµÔ°Ò¹·Ò§¡ÒúÑÞªÕ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทและบริษัทยอยมีผลขาดทุนสะสมรวมจำนวน (1,338.64) ลานบาท และ (1,469.57) ลานบาท ตามลำดับ และมีขาดทุนเกินทุนรอบป 2551 จำนวน (242.88) ลานบาท และมีหนี้สินหมุนเวียน รวมสูงกวาสินทรัพยหมุนเวียนรวมเปนจำนวน 747.32 ลานบาท และ 1,156.28 ลานบาท ตามลำดับ ถึงแมวาปจจัยดังกลาว เปนเหตุใหเกิดขอสงสัยอยางมากเกี่ยวกับความสามารถในการดำเนินงานตอเนื่องของบริษัทและบริษัทยอย อยางไรก็ตาม บริษัทและบริษัทยอยยังคงมีกระแสเงินสดจากการดำเนินงานเปนยอดบวกอยางตอเนื่อง จำนวน 183.12 ลานบาท ในป 2552 และจำนวน 154.88 ลานบาท ในป 2551 โดยฝายบริหารของบริษัทและบริษัทยอยกำลังอยูระหวางการพิจารณา ปรับปรุงโครงสรางธุรกิจและปรับโครงสรางการดำเนินงานและทางการเงินใหม ตลอดจนพัฒนากลยุทธทางการตลาดและ การขายใหม และเชื่อวาจะแกปญหาไดในอนาคตอันใกลนี้ จากเหตุผลดังกลาว งบการเงินนี้จึงยังคงจัดทำขึ้นภายใตขอสมมติฐานการดำเนินงาน อยางตอเนื่องของกิจการ โดยไมรวมรายการปรับปรุงที่อาจมีขึ้น หากบริษัทและบริษัทยอยไมสามารถดำเนินงานอยางตอเนื่องได Malee The Green Fruit Expert

70


1.5 ʶҹТͧºÃÔÉÑ·ã¹àÃ×èͧ¡ÒÃࢌҢ‹ÒÂÍÒ¨¶Ù¡à¾Ô¡¶Í¹¨Ò¡¡ÒÃ໚¹ËÅÑ¡·ÃѾ ¨´·ÐàºÕ¹

ดังปรากฏในงบการเงินประจำปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัทและบริษัทยอยที่ผานการตรวจสอบ จากผูสอบบัญชีแลว ซึ่งแสดงฐานะการเงินโดยมีสวนของผูถือหุนมีคานอยกวาศูนย กรณีดังกลาวเขาขายอาจ ถูกเพิกถอนจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียน ทั้งนี้เปนไปตามขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพยจดทะเบียน พ.ศ. 2542 มาตรา 170 วรรคสอง (1) แหงพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ขอ 9 (6) (ง) หลังจากที่บริษัทไดรับแจงตามหนังสือ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ บจ. 56/2552 เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2552 เรื่อง แจงการเขาขายอาจถูก เพิกถอนและการดำเนินการของตลาดหลักทรัพยนั้น ตอมา เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2552 บริษัทไดแจงแนวทาง การแกไขเหตุเพิกถอนแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเพื่อพิจารณา ตามรายงานประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2552 ในวันเดียวกัน ซึ่งคณะกรรมการไดมีมติใหแกไขเหตุแหงการเพิกถอนจากการเปนหลักทรัพย จดทะเบียนโดยการจัดทำแผนฟนฟูกิจการ อันเปนแนวทางที่คณะกรรมการเห็นวามีประโยชนดีที่สุดสำหรับ บริษัทและผูถือหุนของบริษัท โดยจะดำเนินการดังนี้ แตงตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ เพื่อรวมจัดทำแผน ฟนฟูกิจการเพื่อแกไขเหตุเพิกถอน และ รวมกับที่ปรึกษาทางการเงินอิสระจัดประชุมชี้แจงแผนฟนฟูกิจการ ตอนักวิเคราะหและขออนุมัติแผนฟนฟูกิจการตอที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท โดยกำหนดระยะเวลาดำเนินการ ใหแลวเสร็จภายในเดือน ธันวาคม 2552 ตอมา เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2552 ตลาดหลักทรัพยไดแจงผลการ พิจารณาแนวทางแกไขเหตุเพิกถอนแลวเห็นสมควรใหดำเนินการดังนี้

อนุญาตใหหลักทรัพยของบริษัท ซื้อและขายไดระหวางวันที่ 10 เมษายน 2552 ถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2552 ทั้งนี้ วันทำการซื้อขายวันสุดทายที่จะซื้อขายหลักทรัพยไดคือวันที่ 7 พฤษภาคม 2552 และตลาดหลักทรัพย จะขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) หามซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัท ตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม 2552 เปนตนไป จนกวาบริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแกไขฐานะการเงินและการดำเนินงานใหเปนไปตาม ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย โดยอาศัยอำนาจตามความในขอ 5 (5) แหงขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการเกี่ยวกับการหามซื้อขายหลักทรัพยเปนการชั่วคราวลงวันที่ 2 กุมภาพันธ 2538 ทั้งนี้ บริษัทมีหนาที่รายงานความคืบหนาของการดำเนินการใหตลาดหลักทรัพยทราบ ทุกไตรมาสโดยสงพรอมกับการนำสงงบการเงินจนกวาจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแกไขฐานะการเงินและ การดำเนินงานใหเปนไปตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย ในปจจุบันนี้ บริษัทกำลังอยูระหวางการดำเนินการตามแนวทางแกไขเหตุเพิกถอนตามที่แจงไวกับตลาดหลักทรัพย และกำลังอยูระหวางการรางรายละเอียดแผนการฟนฟูกิจการ ดังนี้ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2552 บริษัทไดแตงตั้ง บริษัท แคปปตอล แอดแวนเทจ จำกัด เปนที่ปรึกษา ทางการเงินอิสระ เพื่อรวมจัดทำแผนการแกไขเหตุการเพิกถอนดังกลาว เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2552 มีมติอนุมัติใหเลื่อนการจัดทำ แผนฟนฟูกิจการใหแลวเสร็จเสนอแกผูถือหุนและตลาดหลักทรัพยภายในไตรมาสที่ 2/2553 ทั้งนี้บริษัทไดแจง ขอเลื่อนกำหนดสงแผนฟนฟูกิจการตอตลาดหลักทรัพยตามหนังสือที่ CAO 28/2009 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 โดยที่ตลาดหลักทรัพยไดประกาศตอสาธารณชนแลวในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552

71

Annual 2009 Report


2. ËÅѡࡳ± 㹡ÒèѴ·Ó§º¡ÒÃà§Ô¹ 2.1 ࡳ± 㹡ÒèѴ·Ó§º¡ÒÃà§Ô¹

2.1.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกำหนดตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการไดทำขึ้นตามแบบกำหนดรายการยอที่ตองมีในงบการเงิน พ.ศ.2552 สำหรับบริษัท มหาชนจำกัด ที่กำหนดโดยประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ออกตามความในพระราช บัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทใชเปนทางการตามกฎหมายงบการเงินฉบับภาษา อังกฤษแปลมาจากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกลาว งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.1.2 มาตรฐานการบัญชีใหมที่ประกาศใชในระหวางป 2.1.2.1 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 12/2552 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 กำหนดใหจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ 2.1.2.2 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 86/2551 และ 16/2552 ใหใชมาตรฐาน การบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีใหม ดังตอไปนี้ ก) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชี ซึ่งใหถือ ปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 การดอยคาของสินทรัพย (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการ ดำเนินงานที่ยกเลิก (ปรับปรุง 2550) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกบัญชีสิทธิการเชา แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีขา งตน ฝายบริหารของบริษัทไดประเมินแลวเห็นวาไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับ ปปจจุบัน ข) มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล (ใชบังคับวันที่ 1 มกราคม 2555) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ปรับปรุง 2550) (ใชบังคับวันที่ 1 มกราคม 2554) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน (ใชบังคับวันที่ 1 มกราคม 2554) ฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมิน ผลกระทบตองบการเงินสำหรับ ปที่เริ่มใชมาตรฐานการ บัญชีขางตน Malee The Green Fruit Expert

72


2.2 ࡳ± 㹡ÒèѴ·Ó§º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ

2.2.1 งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย (“กลุมบริษัท” และ “บริษัทและบริษัทยอย”) และไดจัดทำขึ้นโดยใช หลักเกณฑเดียวกับการจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของกลุมบริษัทดังกลาวในระหวางงวดปจจุบัน ดังตอไปนี้

ชื่อบริษัท

ถือหุนโดยบริษัทฯ บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด บริษัท ไอคอน ฟูดส จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด

ลักษณะธุรกิจ

ผูจัดจำหนาย ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมไดดำเนินกิจการ) ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมไดดำเนินกิจการ) ผูผลิตและจัดจำหนาย

อัตรารอยละ ของการถือหุน 2552 รอยละ 99.99 97.60

2551 รอยละ 99.99 97.60

จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ

รอยละของสินทรัพย ที่รวมอยูใน สินทรัพยรวม

รอยละของรายได ที่รวมอยูในรายไดรวม

ไทย ไทย

2552 รอยละ 19.98 -

2551 รอยละ 24.67 -

2552 รอยละ 42.80 -

2551 รอยละ 40.00 -

99.00

99.00 สหรัฐอเมริกา

-

-

-

-

100.00

100.00

12.66

7.35

0.37

0.00

ไทย

2.2.2 งบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบดุลสำหรับรายการสินทรัพยและหนี้สิน และอัตรา แลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนในระหวางปสำหรับรายการที่เปนรายไดและคาใชจาย ผลตาง ซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลปรับปรุงจากการแปลง คางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ” ในสวนของผูถือหุน 2.2.3 ยอดคงคางระหวางบริษัทกับบริษัทยอย รายการระหวางกันที่มีสาระสำคัญ ยอดเงิน ลงทุนในบริษัทยอยของบริษัทและทุนเรือนหุนของบริษัทยอยไดตัดออกจากงบการเงิน รวมแลว

73

Annual 2009 Report


3. ¹âºÒ¡ÒúÑÞªÕ·ÕèÊÓ¤ÑÞ

3.1 ¡ÒÃÃѺÃÙŒÃÒÂä´ŒáÅСÒúѹ·Ö¡¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ

รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อบริษัทไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสำคัญของความเปนเจาของสินคาให กับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกำกับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สำหรับสินคาที่ไดสงมอบ หลังจากหักสวนลดแลว รายไดอื่นรับรูตามเกณฑคงคาง คาใชจายบันทึกตามเกณฑคงคาง

3.2 à§Ô¹Ê´áÅÐÃÒ¡ÒÃà·Õº෋Òà§Ô¹Ê´

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึง กำหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา และไมมีขอจำกัดในการเบิกใช

3.3 Å١˹Õé¡ÒäŒÒ

ลูกหนี้การคาแสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิด ขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุลูกหนี้

3.4 ÊÔ¹¤ŒÒ¤§àËÅ×Í

สินคาสำเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบหอ อะไหลและวัสดุโรงงานแสดงมูลคาตามราคาทุน มาตรฐาน (ซึ่งใกลเคียงกับตนทุนจริงตามวิธีถัวเฉลี่ย) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา ราคาทุนดังกลาว หมายถึงตนทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งคาโสหุยโรงงานดวย วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบหอ อะไหลและวัสดุโรงงาน จะถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช คาเผื่อสินคาเสื่อมคุณภาพจะตั้งขึ้นสำหรับสินคาเกาลาสมัย เคลื่อนไหวชาหรือเสื่อมคุณภาพ

3.5 à§Ô¹Å§·Ø¹

เงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงตามวิธีราคาทุน หักดวยคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน (ถามี) บริษัทจะรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน

3.6 à§Ô¹ª´àªÂ¤‹ÒÀÒÉÕÍÒ¡ÃÊÔ¹¤ŒÒÊ‹§ÍÍ¡

เงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ไดรับในรูปบัตรภาษีจะถือเปนรายไดเมื่อสงออก โดยคำนวณจากการนำอัตรารอยละ ที่กำหนดคูณกับมูลคาสินคาที่สงออก (F.O.B)

Malee The Green Fruit Expert M

74


3.7 ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ áÅФ‹ÒàÊ×èÍÁÃÒ¤Ò

ที่ดินแสดงตามราคาทุนหรือราคาตีใหม อาคารและเครื่องจักรแสดงตามราคาทุนหรือราคาตีใหมหลังหักดวย คาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) อุปกรณแสดงตามราคาทุนหลังหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคา (ถามี)

ราคาที่ตีใหมจะเปนราคาตลาดยุติธรรม(Fair market value) โดยผูเชี่ยวชาญอิสระโดยใชเกณฑราคาตลาด (Market approach) ในการตีราคาที่ดินและใชเกณฑราคาทุน (Cost approach) ในการตีราคาอาคารและ เครื่องจักร บริษัทมีนโยบายที่จะใหผูเชี่ยวชาญอิสระประเมินราคาสินทรัพยดังกลาวทุกๆ 5 ป เพื่อมิใหราคา ตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสำคัญสวนที่เพิ่มขึ้นของราคาที่ประเมิน ใหมของสินทรัพยจะบันทึกเปน “สวนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย” ภายใตหัวขอ “สวนของผูถือหุน” ใน งบดุล บริษัทบันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ไดสินทรัพยมา อยางไรก็ตาม หลังจากนั้นบริษัทไดจัด ใหมีการประเมินราคาที่ดินโดยผูประเมินราคาอิสระและบันทึกที่ดิน ดังกลาวในราคาตีใหม ทั้งนี้บริษัทไดจัดให มีการประเมินราคาที่ดินเปนครั้งคราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบดุลแตกตางจากมูลคายุติธรรม อยางมีสาระสำคัญ บริษัทบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาที่ดินดังตอไปนี้:- บริษัทบันทึกราคาตามบัญชีของที่ดินที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคา ที่ดิน” ในสวนของผูถือหุนในงบดุล อยางไรก็ตาม หากที่ดินนั้นเคยมีการตีราคาลดลงและบริษัทไดรับรู ราคาที่ลดลงเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุนแลว สวนที่เพิ่มจากการตีราคาใหมนี้จะถูกรับรูเปนรายได ไมเกินจำนวนที่เคยลดลงซึ่งไดรับรูเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุนปกอนแลว - บริษัทรับรูราคาตามบัญชีของที่ดินที่ลดลงจากการตีราคาใหมเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน อยางไรก็ตาม หากที่ดินนั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงคางของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” อยู ในสวนของผูถือหุน สวนที่ลดลงจากการตีราคาใหมจะถูกนำไปหักออกจาก “สวนเกินทุนจากการตีราคา ที่ดิน” ไมเกินจำนวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้นของที่ดินชนิดเดียวกัน และสวนที่เกินจะรับรูเปนคาใชจายในงบ กำไรขาดทุน ส ว นเกิ น ทุ น จากการตี ร าคาที่ ดิ น ดั ง กล า วไม ส ามารถนำมาหั ก กั บ ขาดทุ น สะสมและไม ส ามารถจ า ยเป น เงินปนผลได สำหรับอาคารและเครื่องจักรที่ตีราคาเพิ่มขึ้นบริษัทมีการคำนวณคาเสื่อมราคาตามวิธีเสนตรงตามอายุการใช งานที่เหลืออยู โดยประมาณของสินทรัพยและบันทึกปรับสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยดวยจำนวน เดียวกัน

75

Annual 2009 Report


บริษัทบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักรดังตอไปนี้:ในการประเมินมูลคาอาคารและเครื่องจักรใหมหากอาคารและเครื่องจักรมีมูลคาเพิ่มขึ้นจะบันทึกมูลคาสวนที่เพิ่มขึ้นเปน สวนเกินทุนจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักร โดยสุทธิจากมูลคาที่เคยประเมินลดลงและเคยรับรูในงบกำไรขาดทุนแลว เสียกอนและหากเปนกรณีที่มูลคาของอาคารและเครื่องจักรลดลงจากการประเมิน จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนสำหรับมูลคา ที่ลดลงเฉพาะจำนวนที่มากกวาสวนเกินทุนจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักรที่เคยประเมินไวครั้งกอน สวนเกินจากการ ตีราคาอาคารและเครื่องจักรจะถูกตัดบัญชีโอนไปในสวนของผูถือหุนภายใตชื่อบัญชีสวนเกินทุนจากการตีราคาอาคารและ เครื่องจักรเทากับสวนตางระหวางคาเสื่อมราคาที่คิดจากมูลคาอาคารและเครื่องจักรภายหลังประเมินราคาเพิ่มขึ้นกับคา เสื่อมราคาที่คิดจากราคาทุนเดิมของอาคารและเครื่องจักร ในกรณีที่มีการจำหนายอาคารและเครื่องจักรที่เคยประเมิน มูลคา สวนเกินทุนจากการตีราคาเฉพาะของอาคารและเครื่องจักรที่จำหนายจะโอนไปยังงบกำไรสะสมโดยตรง ไมทำผาน ไปยังงบกำไรขาดทุนเพื่อโอนปดบัญชีสวนเกินทุนของอาคารและเครื่องจักรที่จำหนายนั้นๆ คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพยตามเกณฑดังตอไปนี้ :สิง่ ปรับปรุงทีด่ นิ และสิง่ ปรับปรุงอาคาร อาคารที่ไดมากอนป 2533 อาคารที่ไดมาตัง้ แตป 2533 เครือ่ งจักร อุปกรณและเครือ่ งตกแตงและติดตัง้ ที่ไดมากอนป 2533 เครือ่ งจักร อุปกรณและเครือ่ งตกแตงและติดตัง้ ที่ไดมาตัง้ แตป 2533 ยานพาหนะ

วิธี เสนตรง ยอดลดลง เสนตรง ยอดลดลง เสนตรง เสนตรง

อัตรารอยละตอป 20 5 5 10 และ 20 10 และ 20 20

ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและบานระหวางกอสราง

3.8 µŒ¹·Ø¹¡ÒáٌÂ×Á

ตนทุนการกูยืมซึ่งเกี่ยวเนื่องกับเงินกูยืมสำหรับการจัดหาสินทรัพยถาวรจะถูกบันทึกเปนสวนหนึ่งของสินทรัพยถาวร จนกวาสินทรัพยถาวรนั้นพรอมที่จะใชงาน

3.9 ÊÔ¹·ÃѾ äÁ‹ÁÕµÑǵ¹

สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจำหนาย โดยคำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงภายใน 3 ป

3.10 ¤‹ÒµÑ´¨Ó˹‹ÒÂ

แผงไมและภาชนะบรรจุรอตัดบัญชีแสดงตามราคาทุนหลังจากหักคาตัดจำหนายแลว ระยะเวลา 1 ป และ 3 ป

โดยตัดจำหนายตามวิธีเสนตรงใน

Malee The Green Fruit Expert

76


3.11 ÃÒ¡ÒøØáԨ¡ÑººØ¤¤ÅËÃ×Í¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัท หมายถึงบุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุม โดยบริษัทไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอยางมีนัยสำคัญ กับบริษัท ผูบริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนิน งานของบริษัท

3.12 ÊÑÞÞÒઋҫ×éÍ

บริ ษั ท บั น ทึ ก ทรั พ ย สิ น ตามสั ญ ญาเช า ซื้ อ เป น สิ น ทรั พ ย แ ละหนี้ สิ น ด ว ยจำนวนเท า กั บ ราคายุ ติ ธ รรมของ สินทรัพยที่เชาซื้อ ณ วันที่เริ่มตนของสัญญาเชาซื้อ หรือมูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจาย ตาม สัญญาเชาซื้อ แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ซึ่งใชอัตราดอกเบี้ยตามสัญญาเชาสำหรับการคิดลดเพื่อคำนวณ โดยดอกเบี้ยจายจะถูกบันทึกตามงวดตางๆ มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายตามสัญญาเชา ตลอดอายุสัญญาเชาซื้อ ตามยอดคงเหลือของเจาหนี้ตามสัญญาเชาซื้อในแตละงวด

3.13 ÊÑÞÞÒઋҡÒÃà§Ô¹

สัญญาเชาทรัพยสินที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปน สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชาหรือ มูลคาปจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ำกวา ภาระผูกพันตามสัญญา เชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอด อายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพย ที่เชา หรืออายุของสัญญาเชาแลวแตระยะเวลาใดจะต่ำกวา

3.14 ÊÑÞÞÒઋҴÓà¹Ô¹§Ò¹

สัญญาเชาทรัพยสินที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนแกเจาของทรัพยสินยังเปนของผูใหเชาจะถูกจัดเปนสัญญา เชาดำเนินงาน โดยบริษัทจะบันทึกการจายชำระคาเชาภายใตสัญญาเชาดำเนินงานเปนคาใชจายโดยวิธีเสน ตรงตลอดระยะเวลาของอายุของการเชา คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดำเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหกับ ผูใหเชา จะบันทึกเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น

3.15 »ÃÐÁÒ³¡ÒÃ˹ÕéÊÔ¹

บริษัทรับรูประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณในอดีตและมีความเปนไปได คอนขางแนนอนที่บริษัทฯจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจเพื่อจายชำระภาระผูกพันดังกลาว และสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ

77

Annual 2009 Report


3.16 ¡ÒôŒÍ¤‹Ò¢Í§ÊÔ¹·ÃѾÂ

ณ วันที่ในงบดุล บริษัทจะประเมินวามีขอบงชี้ของสินทรัพยวามีการดอยคาหรือไม หากสินทรัพยนั้นมีขอบงชี้ของการดอยคา บริษัทจะประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย หากราคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน บริษัทจะลดมูลคาของสินทรัพยนั้นลงใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน และรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพย ในงบกำไรขาดทุน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยหมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชของสินทรัพยนั้น แลวแตจำนวนใดจะสูงกวา

3.17 ¼Å»ÃÐ⪹ ¾¹Ñ¡§Ò¹

บริษัทบันทึกคาใชจายเกี่ยวกับเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเปน คาใชจายเมื่อเกิดรายการ

3.18 ÀÒÉÕà§Ô¹ä´Œ

บริษัทบันทึกภาษีเงินไดโดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษี (ถามี) ตามกฎหมายภาษีอากรในอัตรารอยละ 30

3.19 µÃÒÊÒÃ͹ؾѹ¸

บริษัทไดเขาทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อลดความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่เกิดจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยนสำหรับลูกหนี้บางสวนของบริษัทที่เปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ที่เขาทำสัญญาซื้อขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนา บริษัทจะบันทึกรายการภาระสินทรัพยและหนี้สินจากการทำสัญญาดังกลาวในงบดุล และบันทึกผล ตางอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นในบัญชีสวนเกินหรือสวนต่ำจากการปองกันความเสี่ยงจากกระแสเงินสดรอตัดบัญชี โดยจะ ตัดจายตามวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนานั้น รายการตราสารอนุพันธดังกลาวที่ถูกนำ ไปปองกันความเสี่ยงในระหวางงวดไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการและจะรับรู กำไร หรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจริงเมื่อมีการสงมอบเงินตราระหวางกันแลวในผลการดำเนินงานในงวดที่เกิดรายการ สัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนาที่คงเหลืออยู ณ วันที่สิ้นงวด จะแสดงหักกลบกันไวเปน บัญชีลูกหนี้หรือเจาหนี้ตามสัญญา ซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา และกำไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการแปลงคารายการ โดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล ไดบันทึกในสวนของผูถือหุน กรณีขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงดังกลาวเกิดจากการไมมี ประสิทธิผลไดรับรูเปนขาดทุนในงบกำไรขาดทุนสำหรับงวดที่เกิดรายการ

3.20 à§Ô¹µÃÒµ‹Ò§»ÃÐà·È

รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สิน ที่เปนเงินตราตางประเทศคงเหลืออยู ณ วันที่ในงบดุลไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยน ไดรวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน

Malee The Green Fruit Expert

78


3.21 ¡ÒÃ㪌»ÃÐÁÒ³¡Ò÷ҧºÑÞªÕ

ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ในบางสถานการณฝายบริหารอาจตองใช การประมาณและการตั้งสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางไปจากจำนวนที่ประมาณไว

3.22 ¡Óäõ‹ÍËØŒ¹

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปดวยจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญ ที่ออกอยูในระหวางป กำไรตอหุนปรับลดคำนวณโดยหารกำไรสุทธิสำหรับปดวยผลรวมของจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ ออกอยู ในระหวางปกับจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่บริษัทอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญ เทียบเทาปรับลดทั้งสิ้นใหเปนหุนสามัญ โดยสมมติวาไดมีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนงวดหรือ ณ วัน ออกหุนสามัญเทียบเทา

3.23 à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

บริษัทและบริษัทยอยไมมีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบดุลที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกำไร

4. à§Ô¹Ê´áÅÐÃÒ¡ÒÃà·Õº෋Òà§Ô¹Ê´ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ประกอบดวย

งบการเงินรวม เงินสดยอย เงินฝากธนาคาร - บัญชีกระแสรายวัน - บัญชีออมทรัพย - บัญชีประจำ เช็คที่ถึงกำหนดชำระแตยังมิไดนำฝาก รวมเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

79

Annual 2009 Report

2552 161,000 3,212,633 4,377,811 2,772 4,088,414 11,842,630

บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551 151,000 1,597,334 1,293,174 2,742 5,769,687 8,813,937

2552 110,000 1,180,530 222,277 1,512,807

2551 110,000 818,748 72,817 1,001,565


5. ÃÒ¡ÒøØáԨ¡Ñº¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹

ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทแตละรายการ มากกวารูปแบบทางกฎหมาย

บริษัทคำนึงถึงเนื้อหาของความสัมพันธ

บริษัทมีรายการบัญชีกับบุคคล บริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายสวนหนึ่งของบริษัทเปน รายการที่เกิดขึ้นกับบริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน ดังนี้ บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด บริษัท ไอคอน ฟูดส จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) บริษัท เอบิโก แลนด จำกัด บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท พีพีโอ ฟารม จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท หางสรรพสินคาโรบินสัน จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) บริษัท ธนมิตรแฟคตอริ่ง จำกัด ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท ซีจี โบรกเกอร จำกัด

ลักษณะธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ

ผูจัดจำหนาย ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมดำเนินกิจการ) ผูจัดจำหนาย (ปจจุบันไมดำเนินกิจการ) ผูผลิตและจัดจำหนาย

ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน ผูถือหุน/กรรมการรวมกัน

บริษัทโฮลดิ้ง (การลงทุน)

เปนผูถือหุนในบริษัท/ กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน บริษัทในเครือ/กรรมการรวมกัน เกี่ยวของกับ บมจ. เอบิโก กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน กรรมการรวมกัน

พัฒนาที่ดิน/ใหเชาอสังหาริมทรัพย รับจางผลิตนมและน้ำผลไมสำเร็จรูป เจาของลิขสิทธิ์นมตราโชคชัย ฟารมโคนมและจำหนายน้ำนมดิบ หางสรรพสินคา หางสรรพสินคา หางสรรพสินคา แฟคตอริ่ง ธนาคารพาณิชย ประกันภัย

Malee The Green Fruit Expert

80


ในระหวางป บริษัทมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบริษัทยอยและกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไข ทางการคา และเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางบริษัทและบริษัทเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้ : บาท งบการเงินรวม รายการธุรกิจกับบริษทั ยอย (ไดตดั ออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา คาธรรมเนียมในการค้ำประกัน คาเชาทีด่ นิ และโรงงาน ดอกเบีย้ จาย รายการธุรกิจกับบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน ขายสินคา คาเชาอาคาร คาบริการผลิตสินคา คาใชจา ยสงเสริมการขาย คาประกันภัย ดอกเบีย้ แฟคตอริง่ ดอกเบีย้ จายเงินกูย มื

นโยบายราคา ตนทุนบวกกำไรสวนเพิม่ อัตรารอยละ 0.25 ของ จำนวนเงินค้ำประกัน ตามสัญญา อัตรารอยละ MLR+0.15-0.25 ตนทุนบวกกำไรสวนเพิม่ ตามสัญญา ตนทุนบวกกำไรสวนเพิม่ ตามสัญญา ตามสัญญา ตามอัตราตลาด ตามอัตราตลาด

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551 -

157,226,503 10,986,906 54,328,141 14,702,330 1,457,989 2,408,567 374,414

2552

2551

- 1,012,295,903 750,000 5,800,000 2,381,869 235,965,430 11,375,844 6,582,661 59,585,856 54,328,141 29,190,279 1,937,150 1,397,139 2,402,882 2,095,019 374,414

1,108,121,358 750,000 6,971,599 59,585,856 1,888,012 2,095,019

ยอดคงคางระหวางบริษัทและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้ บาท งบการเงินรวม ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) รวม ลูกหนี้อื่น บริษัทยอย บริษัท อะกริ ซอล จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน กิจการที่เกี่ยวของกัน ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย รวม

81

Annual 2009 Report

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2551

2552

2551

2552

-

-

539,623,192 18,931,925 558,555,117

457,870,555 457,870,555

1,088,540 20,556,374 21,644,914

1,088,540 26,442,323 28,072,503 55,603,366

1,088,540 1,088,540

1,088,540 1,088,540

-

-

6,734,958

-

8,566,870 4,370 8,571,240

5,596,665 5,596,665

8,566,870 8,566,870

5,596,665 5,596,665

-

54,802,000 54,802,000

-

54,802,000 54,802,000


บาท เจาหนี้การคา บริษัทยอย บริษัท มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แดรี่ฟารม จำกัด บริษัท นมโชคชัย จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวของกัน ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม หนี้สินหมุนเวียนอื่น บริษัทยอย บริษัท อะกริ ซอล จำกัด กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอบิโก แลนด จำกัด บริษัท ซีจี โบรกเกอร จำกัด ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย บริษัท เซ็นทรัล ฟูด รีเทล จำกัด บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จำกัด (มหาชน) รวม

งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

-

-

250,926

60,239

4,748,725 4,748,725

2,201,482 7,896 2,209,378

4,748,725 4,748,725

2,201,482 7,896 2,209,378

24,923,852 24,923,852

6,025,502 34,490,020 40,515,522

-

6,025,502 6,025,502

-

-

6,010,000

-

161,507 1,449,801 4,208,274 5,819,582

171,455 1,442,168 14,313 1,703,685 721,742 4,053,363

132,014 1,397,139 1,529,153

138,422 1,409,409 14,313 1,562,144

ในปจจุบันบริษัท นมโชคชัย จำกัด ไมมีความสัมพันธกับบริษัททั้งดานการถือหุนและ/หรือมีกรรมการบางสวนรวมกัน อยางไรก็ตาม บริษัท นมโชคชัย จำกัด ไดมีความเกี่ยวของกันกับบริษัท เอบิโก โฮลดิ้งส จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท บริษัทเปนผูผลิตและจำหนายผลิตภัณฑตรา “ฟารมโชคชัย” โดยบริษัท นมโชคชัย จำกัด เปนผูถือสิทธิตราผลิตภัณฑ และไมมีการ กำหนดคาตอบแทนในการใชสิทธิตราผลิตภัณฑดังกลาวใหแกบริษัท นมโชคชัย จำกัด ตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทไดมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับบริษัท นมโชคชัย จำกัด จำนวน 35 ลานบาท ตอมาในป 2550 ศาลลมละลายกลางไดมีคำสั่งเห็นชอบดวยแผนฟนฟูกิจการของบริษัท นมโชคชัย จำกัด โดยในแผนฟนฟูดังกลาวนี้ระบุจำนวนหนี้ ที่บริษัทจะไดรับชำระเปนเงินรวม 1.09 ลานบาท เปนผลทำใหบริษัทไดมีการตัดหนี้สวนที่เหลือเปนหนี้สูญเปนจำนวนเงิน 34 ลานบาท ในป 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทพิจารณาตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับ ลูกหนี้สวนที่เหลือดังกลาวจำนวน 1.09 ลานบาท ทั้งจำนวน

Malee The Green Fruit Expert

82


คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คาตอบแทนผูบริหารนี้เปนผลประโยชนที่จายใหแกผูบริหารของบริษัท ประกอบดวย คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก เงินเดือนและผลประโยชนที่เกี่ยวของ รวมไปถึงผลประโยชนตอบแทนในรูปอื่น ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัทหมายถึงบุคคลที่ กำหนดตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จายคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารในงบการเงินรวมของบริษัทและ บริษัทยอย เปนจำนวนเงิน 26,551,950 บาท และ 26,162,278 บาท ตามลำดับ ในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 17,687,112 บาท และ 17,462,787 บาท ตามลำดับ ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีภาระจากการค้ำประกันใหกับบริษัทยอยตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

ขอ 22.3

6. Å١˹ÕéáÅеÑëÇà§Ô¹ÃѺ¡ÒäŒÒ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แยกตามอายุหนี้ที่คงคางนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระไดดังนี้:บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 2552 2551 อายุหนี้คางชำระ ยังไมครบกำหนดชำระ คางชำระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 9 เดือน นานกวา 9 เดือน รวม (หัก) : คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา - สุทธิ

281,577,844

328,237,214

317,717,715

327,078,505

114,021,369 2,342,974 3,322,599 2,151,955 403,416,741 (2,597,674) 400,819,067

108,390,082 7,494,097 1,842,969 18,876,332 464,840,694 (17,358,493) 447,482,201

322,089,189 28,019,597 2,062,579 2,167,454 672,056,534 (2,597,674) 669,458,860

233,036,384 6,872,117 1,183,839 2,710,097 570,880,942 (1,254,867) 569,626,075

ในป 2552 บริษัทและบริษัทยอยไดตัดบัญชีลูกหนี้การคาที่คาดวาเก็บเงินไมไดอยางแนนอนแลวจำนวน 19.54 ลานบาท ออกจากบัญชี ลูกหนี้เหลานี้ไดเคยตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มแลวในปกอนๆ โดยบริษัทและบริษัทยอยไดบัญชีกลับรายการ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและบัญชีลูกหนี้การคาดวยจำนวนดังกลาวเดียวกันในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ยอดคงคางของลูกหนี้การคาของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ไดรวมลูกหนี้การคาจำนวน เงินประมาณ 147.15 ลานบาท และ 176.79 ลานบาทตามลำดับ ซึ่งนำไปขายลดแกสถาบันการเงิน โดยสถาบันการเงิน ดังกลาวมีสิทธิไลเบี้ย บริษัทและบริษัทยอยมีลูกหนี้ขายลดแกสถาบันการเงินในงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย เปน จำนวนเงิน 100.49 ลานบาท และ 145.78 ลานบาท ตามลำดับ และในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 16.44 ลาน บาท และ 19.70 ลานบาท ตามลำดับ

83

Annual 2009 Report


7. ÊÔ¹¤ŒÒ¤§àËÅ×Í บาท สินคาสำเร็จรูป วัตถุดบิ ภาชนะบรรจุและหีบหอ อะไหลและวัสดุโรงงาน รวม (หัก) : คาเผือ่ สินคาเสือ่ มคุณภาพ สินคาคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินรวม 2552 2551

297,493,108 25,700,569 70,610,720 23,229,855 417,034,252 (15,433,905) 401,600,347

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

377,974,238 34,292,834 76,117,394 24,317,190 512,701,656 (15,183,231) 497,518,425

167,382,863 25,635,678 62,258,744 19,420,708 274,697,993 (13,965,562) 260,732,431

269,070,745 34,292,834 76,117,394 24,317,190 403,798,163 (12,879,092) 390,919,071

คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพมีการเปลี่ยนแปลงในระหวางป ดังนี้ บาท ยอดยกมาตนป ยอดทีเ่ พิม่ ขึน้ ระหวางป ยอดทีล่ ดลงระหวางป ยอดคงเหลือปลายป

งบการเงินรวม 2552 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

15,183,231 22,725,526 (22,474,852) 15,433,905

12,879,092 7,097,052 (6,010,582) 13,965,562

8,030,540 27,346,179 (20,193,488) 15,183,231

6,178,842 13,733,435 (7,033,185) 12,879,092

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดจำนำสินคาสำเร็จรูปมูลคาประมาณ 52.84 ลานบาท และ 83.94 ลานบาท ตามลำดับ เพื่อเปนหลักประกันเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลขาดทุนจากการทำลายสินคาเกิดจากการนำสินคาสำเร็จรูปที่ใชการไมไดแลวไปใช แปลงสภาพเปนวัตถุดิบสำหรับใชผลิตพลังงานชีวภาพเพื่อใชภายในโรงงานและจากการทำลายสินคาคงเหลือที่เสื่อมสภาพ หมดอายุ เลิก ใชงานแลว ในงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย เปนจำนวนเงิน 26.20 ลานบาท และ 23.65 ลานบาท ตามลำดับและในงบการ เงินเฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 9.73 ลานบาท และ 10.49 ลานบาท ตามลำดับ

8. à§Ô¹½Ò¡¸¹Ò¤Ò÷ÕèÁÕÀÒÃФéÓ»ÃСѹ

ยอดคงเหลือนี้คือเงินฝากประจำซึ่งบริษัทไดนำไปค้ำประกันวงเงินสินเชื่อ

Malee The Green Fruit Expert

84


9. à§Ô¹Å§·Ø¹«Ö觺ѹ·Ö¡â´ÂÇÔ¸ÕÃҤҷع

เงินลงทุนในบริษัทยอยประกอบดวยเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัทดังตอไปนี้ ทุนเรียกชำระแลว (บาท) 2552

2551

2552 รอยละ

100 ลานบาท 1.75 ลานบาท 50,500 เหรียญ สหรัฐฯ 145 ลานบาท

100 ลานบาท 1.75 ลานบาท 50,500 เหรียญ สหรัฐฯ 145 ลานบาท

99.99 97.60 99.00 100.00

ชือ่ บริษทั เงินลงทุนในบริษทั ยอย บริษทั มาลี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษทั มาลีซพั พลาย จำกัด บริษทั ไอคอน ฟูดส จำกัด บริษทั อะกริ ซอล จำกัด

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) วิธีราคาทุน (บาท) 2551 รอยละ

2552

99.99 99,988,000 1,708,000 97.60 1,291,000 99.00 100.00 145,000,000

2551 99,988,000 1,708,000 1,291,000 145,000,000

247,987,000 247,987,000 (102,987,000) (102,987,000) 145,000,000 145,000,000

(หัก) : คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุน เงินลงทุน-สุทธิ

ในป 2551 บริษัทไดลงทุนในหุนสามัญของบริษัท อะกริ ซอล จำกัด ในอัตรา รอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท ดังกลาว เปนจำนวนเงิน 145 ลานบาท จำนวน 14,500,000 หุน หุนละ 10 บาท ดังนั้นบริษัท อะกริ ซอล จำกัด จึงมีฐานะ เปนบริษัทยอยของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดนำงบการเงินของบริษัทดังกลาว ซึ่งจัดทำโดย ฝายบริหารของบริษัทมาแสดงรวมในงบการเงินรวมแลว (ดูเพิ่มเติมหมายเหตุ 2.2.1)

10. ·Õè´Ô¹·ÕèäÁ‹ãªŒã¹¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ บาท มูลคาที่ดิน (ราคาทุนเริ่มแรก) ปรับดวยผลตางของราคาประเมิน สุทธิ (หัก) : ขายระหวางป ที่ดินแสดงตามราคาประเมิน

85

Annual 2009 Report

งบการเงินรวม 2552 2551

184,096,481 (56,702,453) 127,394,028 127,394,028

184,096,481 (68,336,860) 115,759,621 115,759,621

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

184,096,481 (60,432,411) 123,664,070 (24,932,150) 98,731,920

184,096,481 (68,336,860) 115,759,621 115,759,621


·Õè´Ô¹·ÕèäÁ‹ãªŒã¹¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹»ÃСͺ´ŒÇ·Õè´Ô¹ ´Ñ§µ‹Í仹Õé

1. ที่ดินตั้งอยูที่อำเภอบานมวงจังหวัดสกลนคร จำนวนรวมของพื้นที่ 1,258 ไร 1 งาน 12 ตารางวา ซึ่งไดมาตั้งแตป 2546 มีมูลคา ที่ดินจำนวนเงิน 26.61 ลานบาท และมีมูลคาตามราคาประเมินครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน 2547 จำนวนเงิน 24.93 ลานบาท ปจจุบันที่ดินบางสวนของผืนดังกลาว บริษัทไดใชเปนพื้นที่สำหรับการปลูกขาวโพด เพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคาของบริษัท ตั้งแตไตรมาสที่ 1 ป 2552 บริษัทมีการขายที่ดินแปลงนี้ใหกับบริษัท อะกริ ซอล จำกัด (บริษัทยอย) ในมูลคาตามบัญชี 24.93 ลานบาท ซึ่งเปนราคาที่สูงกวาราคาประเมิน โดยฝายบริหารไดเลือกซื้อขายกันในราคาตามบัญชี ตามมติที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 3/2551 วันที่ 21 กรกฎาคม 2551 บริษัทจึงไมมีกำไรหรือขาดทุนจากการขายที่ดินดังกลาว ตอมาบริษัท อะกริ ซอล จำกัด ไดประเมินราคาที่ดินดังกลาวในเดือนธันวาคม 2552 และมีมูลคาตามราคาประเมินจำนวนเงิน 28.66 ลานบาท ในงบการเงินรวมราคาประเมินครั้งลาสุดนี้สูงกวาราคาทุนดั้งเดิมเปนจำนวนเงิน 2.05 บาท ซึ่งไดแสดงไวในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย” ในสวนของผูถือหุน ดังนั้นคาเผื่อการดอยคาที่เคยบันทึกไวจากการประเมินราคาครั้งที่ 2 จึง ถูกกลับรายการจำนวนเงิน 1.68 ลานบาท ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 2. ที่ดินตั้งอยูที่อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี จำนวนรวมของพื้นที่ 725 ไร 3 งาน 88 ตารางวา ซึ่งไดมาตั้งแตป 2535 มีมูลคาที่ดิน จำนวนเงิน 157.49 ลานบาท และมีมูลคาตามราคาประเมินครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน 2547 จำนวนเงิน 90.82 ลานบาท และครั้ง ลาสุดในเดือนธันวาคม 2552 จำนวนเงิน 98.73 ลานบาท บริษัทไดนำไปบันทึกเปนคาเผื่อการดอยคากลับรายการจำนวน 7.91 ลานบาท ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ปจจุบันเปนที่ดินวางเปลายังไมไดใชในการดำเนินการใดๆ

Malee The Green Fruit Expert

86


11. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ §º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ

บาท อาคารโรงงาน เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณ งานระหวาง และสิ่งปลูกสราง สิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและ อุปกรณโรงงาน ยานพาหนะ สำนักงาน กอสราง อาคาร ที่ดิน

ที่ดิน

ราคาทุน : ณ 31 ธันวาคม 2551 ซื้อเพิ่ม จำหนาย โอนเขา (ออก) ตัดจำหนาย ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเสื่อมราคาสะสม : ณ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคา-จำหนาย โอนเขา (ออก) คาเสื่อมราคา-ตัดจำหนาย ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเผื่อการดอยคา : ณ 31 ธันวาคม 2551 ลดลงจากการจำหนาย เพิ่มขึ้น (ลดลง) ณ 31 ธันวาคม 2552 มูลคาสุทธิตามบัญชี : ณ 31 ธันวาคม 2552 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาที่ตีใหม : ณ 31 ธันวาคม 2551 ตีราคาเพิ่มขึ้น ตีราคาลดลง ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเสื่อมราคาสะสมราคาที่ตีใหม : ณ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับป ณ 31 ธันวาคม 2552 ราคาที่ตีใหมสุทธิ : ณ 31 ธันวาคม 2552 ณ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาตีใหม: ณ 31 ธันวาคม 2552 ณ 31 ธันวาคม 2551

Annual 2009 Report

รวม

41,619,715 325,172,740 704,300 167,261 41,619,715 326,044,301

8,932,610 1,512,202,487 - 1,703,914 - (62,384,217) - 5,576,184 8,932,610 1,457,098,368

17,658,381 144,796,302 - 1,489,014 (673,880) (888,254) 16,770,127 145,611,436

37,286,373 6,197,860 (3,037,673) (5,743,445) 34,703,115

(301,913) 2,087,366,695 - 10,095,088 - (66,984,024) (301,913) 2,030,477,759

- 210,000,996 - 14,727,681 10,310 - 224,738,987

7,395,002 1,121,103,448 634,378 65,434,560 - (58,090,341) - 1,339,605 8,029,380 1,129,787,272

15,582,977 122,026,362 1,106,233 10,181,252 (670,726) (726,015) 14,279 550,191 16,513,386 131,551,167

-

(153,083) 1,475,955,702 - 92,084,104 - (59,487,082) 1,914,385 (153,083) 1,510,467,109

-

11,648,118 11,648,118

41,619,715 89,657,196 41,619,715 115,171,744

-

6,090,784 (1,169,400) 1,270,058 6,191,442

-

-

27,824,104 (3,000,000) 24,824,104

-

33,914,888 (4,169,400) 12,918,176 42,663,664

903,230 321,119,654 1,537,608 385,008,255

256,741 2,075,404

14,060,269 22,769,940

9,879,011 9,462,269

(148,830) (148,830)

477,346,986 577,496,105

- 375,419,662 - 375,419,662

-

-

-

-

171,009,035 454,153,472 (17,622,000) 607,540,507

-

-

-

-

-

-

-

-

607,540,507 171,009,035

171,009,035 3,438,587 (17,622,000) 156,825,622

75,295,223 75,295,223

-

-

156,825,622 171,009,035

75,295,223 -

- 375,419,662 -

-

-

-

198,445,337 164,952,419 212,628,750 115,171,744

903,230 696,539,316 1,537,608 385,008,255

256,741 2,075,404

14,060,269 22,769,940

9,879,011 9,462,269

คาเสื่อมราคาสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม : ป 2552 ป 2551

87

รายการ ระหวางกัน

(148,830) 1,084,887,493 (148,830) 748,505,140 บาท 92,084,104 122,307,324


§º¡ÒÃà§Ô¹à©¾ÒСԨ¡Òà บาท ที่ดิน

ราคาทุน : 41,619,715 ณ 31 ธันวาคม 2551 ซื้อเพิ่ม (10,202,159) จำหนาย โอนเขา (ออก) ตัดจำหนาย 31,417,556 ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเสื่อมราคาสะสม : ณ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคา-จำหนาย โอนเขา (ออก) คาเสื่อมราคาตัดจำหนาย ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเผื่อการดอยคา : ณ 31 ธันวาคม 2551 ลดลงจากการจำหนาย เพิ่มขึ้น (ลดลง) ณ 31 ธันวาคม 2552 มูลคาสุทธิตามบัญชี : 31,417,556 ณ 31 ธันวาคม 2552 41,619,715 ณ 31 ธันวาคม 2551 ราคาที่ตีใหม : 171,009,035 ณ 31 ธันวาคม 2551 1,918,500 ตีราคาเพิ่มขึ้น (17,622,000) ตีราคาลดลง (1,536,091) จำหนาย 153,769,444 ณ 31 ธันวาคม 2552 คาเสื่อมราคาสะสมราคาที่ตีใหม : ณ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับป ณ 31 ธันวาคม 2552 ราคาที่ตีใหมสุทธิ : 153,769,444 ณ 31 ธันวาคม 2552 171,009,035 ณ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาตีใหม: 185,187,000 ณ 31 ธันวาคม 2552 212,628,750 ณ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม : ป 2552 ป 2551

อาคารโรงงาน และสิ่งปลูกสราง อาคาร

สิ่งปลูกสราง ที่ดิน

เครื่องจักรและ อุปกรณโรงงาน

เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณ สำนักงาน

ยานพาหนะ

งานระหวาง กอสราง

รวม

313,670,832 671,800 (90,822,339) 167,261 223,687,554

8,932,610 (736,343) 8,196,267

1,512,202,487 1,703,914 (260,518,346) 5,576,184 1,258,964,239

17,061,095 (888,254) 16,172,841

96,298,563 522,659 (1,975,671) 94,845,551

36,922,273 6,197,860 (3,037,673) (5,743,445) 34,339,015

2,026,707,575 9,096,233 (368,180,785) 1,667,623,023

199,342,950 12,509,936 (39,021,035) 10,310 172,842,161

7,395,002 634,378 (573,730) 7,455,650

1,121,103,448 61,344,510 (208,454,113) 1,339,605 975,333,450

14,992,306 1,104,334 (726,015) 550,191 15,920,816

87,817,240 3,258,822 (1,741,876) 14,279 89,348,465

-

1,430,650,946 78,851,980 (250,516,769) 1,914,385 1,260,900,542

2,431,603 2,431,603

-

6,090,784 (1,169,400) (525,572) 4,395,812

-

-

27,824,104 (3,000,000) 24,824,104

33,914,888 (4,169,400) 1,906,031 31,651,519

48,413,790 114,327,882

740,617 1,537,608

279,234,977 385,008,255

252,025 2,068,789

5,497,086 8,481,323

9,514,911 9,098,169

375,070,962 562,141,741

75,295,223 75,295,223

-

305,939,704 305,939,704

-

-

-

171,009,035 383,153,427 (17,622,000) (1,536,091) 535,004,371

-

-

-

-

-

-

-

75,295,223 -

-

305,939,704 -

-

-

-

535,004,371 171,009,035

123,709,013 114,327,882

740,617 1,537,608

585,174,681 385,008,255

252,025 2,068,789

5,497,086 8,481,323

9,514,911 9,098,169

910,075,333 733,150,776 บาท 78,851,980 114,228,632

Malee The Green Fruit Expert

88


ในป 2551 ตามหนังสืออนุมัติการตั้งคาเผื่อดอยคาสินทรัพยถาวรลงวันที่ 30 กันยายน 2551 ฝายบริหารของบริษัทไดอนุมัติ ใหตั้งคาเผื่อการดอยคาของสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณเลิกใชงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2551 มีราคาทุน ไดมาจำนวน 31.48 ลานบาท และราคาตามบัญชีจำนวน 25.73 ลานบาท ซึ่งฝายบริหารไมมีแผนการจะนำสินทรัพยถาวร ดังกลาวไปใชในการดำเนินงานและไมสามารถจำหนายไดในอนาคตอันใกล และหากจะขายก็คาดวาจะสามารถขายไดใน สภาพของเศษซาก ซึ่งมีมูลคาคอนขางนอยมาก จึงเห็นควรวาใหตั้งคาเผื่อดอยคาของสินทรัพยดังกลาวทั้งจำนวน ในระหวางป 2551 บริษัทยอยมีการตัดจายสวนตกแตงติดตั้งออกจากบัญชีปรับปรุงสินทรัพยเชาในราคาทุน จำนวน 3.26 ลานบาท และมีราคาตามบัญชี ณ วันที่ตัดจาย 1.37 ลานบาท เนื่องจากมีการยกเลิกสัญญาเชาพื้นที่ขายสินคาจำนวนหนึ่ง ซึ่งอุปกรณตกแตงไมสามารถนำมาใชงานตอไปได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมียานพาหนะและเครื่องจักรซึ่งไดมาภายใตสัญญาเชาซื้อและสัญญาเชา ทางการเงิน โดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจำนวนประมาณ 53.66 ลานบาท และ 61.69 ลานบาท ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทและบริษัทยอยมีอาคาร และอุปกรณจำนวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมด แลวแตยังใชงานอยู ราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวมีจำนวนเงินประมาณ 882 ลานบาทและ 842 ลานบาท ตามลำดับ (ในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 845 ลานบาท และ 815 ลานบาท ตามลำดับ) ตั้งแตไตรมาสที่ 1 ป 2552 บริษัทไดขายที่ดิน โรงงานพรอมสิ่งปลูกสรางอื่น เครื่องจักรและอุปกรณโรงงานและสำนักงาน ที่ อำเภอบานแพง จังหวัดนครพนม ใหแกบริษัท อะกริ ซอล จำกัด (บริษัทยอย) ในราคาขายรวมทั้งสิ้น 120.14 ลานบาท ณ วันที่ขายมีมูลคาตามบัญชีรวมทั้งสิ้น 111.71 ลานบาท ดังนั้น บริษัทมีกำไรจากการขายทรัพยสินดังกลาว 8.43 ลานบาท ทั้งนี้เปนไปตามมติที่ประชุมกรรมการ ครั้งที่ 3/2551 วันที่ 21 กรกฎาคม 2551 ในระหวางป 2552 บริษัทไดขายสินทรัพยถาวรรวมถึงงานระหวางกอสรางที่เลิกใชงานและที่ชำรุดเสื่อมสภาพใหแกบุคคลอื่น มีราคาทุนรวม 66.63 ลานบาท และมีราคาตามบัญชีรวม 7.49 ลานบาท ในราคาขายรวม 15.94 ลานบาท มีกำไรจากการ ขายสินทรัพยถาวรรวม 8.45 ลานบาท

ʋǹ·Õèà¾ÔèÁ¢Ö鹨ҡ¡ÒõÕÃÒ¤ÒÊÔ¹·ÃѾ ¶ÒÇÃ

ในเดือนธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยไดใหบริษัท 15 ที่ปรึกษาธุรกิจ จำกัด ซึ่งเปนผูประเมินราคาอิสระจาก ในประเทศทำการประเมินราคาที่ดิน อาคารและเครื่องจักรใหม ภายใตหลักเกณฑที่ระบุไวในนโยบายบัญชีขอ 3.7

89

Annual 2009 Report


สำหรับการตีราคาที่ดิน อาคารและเครื่องจักร มีรายละเอียดดังนี้ กรณีการตีราคาที่ดิน ที่ดินของบริษัทตั้งอยูที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวนรวมของพื้นที่ 39 ไร 0 งาน 65 ตารางวา และ ที่ดินของบริษัทยอยตั้งอยูที่อำเภอบานแพง จังหวัดนครพนม จำนวนรวมของพื้นที่ 118 ไร 3 งาน 79 ตารางวา มีมูลคาที่ดินตามราคา ทุนดั้งเดิมในงบการเงินรวมเปนจำนวนเงิน 41.85 ลานบาท (เฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 31.42 ลานบาท) บริษัทและบริษัทยอยไดเคย ประเมินราคาที่ดิน ครั้งที่ 2 ในป 2547 มีราคาประเมินเปนจำนวนเงิน 212.63 ลานบาท ตอมาไดประเมินราคาที่ดิน ครั้งที่ 3 ในเดือน ธันวาคม 2552 มีราคาประเมินใหมเปนจำนวนเงิน 198.68 ลานบาท (เฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 185.19 ลานบาท) สวนที่เพิ่มขึ้นจาก การตีราคาที่ดินสำหรับการประเมินราคาใหมครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เปนจำนวนเงิน 171.01 ลานบาท และ 156.83 ลานบาท (เฉพาะกิจ การเปนจำนวนเงิน 171.01 ลานบาท และ 153.77 ลานบาท) ตามลำดับ ซึ่งแสดงในบัญชีสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยในสวนของ ผูถือหุน กรณีการตีราคาอาคารและเครื่องจักรมีมูลคาอาคารและเครื่องจักรตามราคาทุนสุทธิตามบัญชีเปนจำนวนเงิน 431.06 ลานบาท (เฉพาะกิจ การเปนจำนวนเงิน 329.27 ลานบาท) บริษัทและบริษัทยอยไดประเมินราคาอาคารและเครื่องจักรเปนครั้งแรกในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีราคาประเมินใหมจำนวนเงิน 868.86 ลานบาท (เฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 708.60 ลานบาท) และมีสวนที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคา อาคารและเครื่องจักรเปนจำนวนเงิน 450.71 ลานบาท (เฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 381.23 ลานบาท) ซึ่งไดแสดงไวในบัญชี “สวนเกิน ทุนจากการตีราคาสินทรัพย” ในสวนของผูถือหุน อยางไรก็ตามบริษัทและบริษัทยอยมีผลขาดทุนจากการดอยคาของอาคารและ เครื่องจักรจากการตีราคาใหมดังกลาวเปนจำนวนเงิน 12.92 ลานบาท (เฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 1.91 ลานบาท) สำหรับปสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยยังไมไดคำนวณตัดจายคาเสื่อมราคาของสวนที่ตีราคาเพิ่มไปหักกับบัญชีสวนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพยในสวนของผูถือหุนซึ่งถือปฏิบัติตามเกณฑราคาทุนเดิมที่อนุญาตใหเลือกได

12. à§Ô¹àºÔ¡à¡Ô¹ºÑÞªÕáÅÐà§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÊÑ鹨ҡʶҺѹ¡ÒÃà§Ô¹

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย: บาท เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย มื ระยะสัน้ รวม

อัตราดอกเบีย้ รอยละ (ตอป) MOR MLR, MRR+1.25%

งบการเงินรวม 2552 2551 18,072,485 40,085,046 337,157,020 439,743,866 355,229,505 479,828,912

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 18,072,485 40,085,046 308,133,020 439,743,866 326,205,505 479,828,912

Malee The Green Fruit Expert

90


13. ਌Ò˹ÕéáÅÐà§Ô¹¡ÙŒÂ×Á¨Ò¡ºÃÔÉѷ‹Í บาท งบการเงินรวม 2552 2551

เงินกูยืมจากบริษัท อะกริ ซอล จำกัด ยอดคงเหลือยกมาตนป เงินกูยืมเพิ่มระหวางป เงินกูยืมที่จายคืนระหวางป ยอดคงเหลือยกไปปลายป

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 -

39,023,423 (39,023,423) -

-

เจาหนี้และเงินกูยืมจากบริษัทยอยดังกลาวขางตนเปนเงินกูระยะสั้น กูเพื่อใชดำเนินงานของบริษัท ไมมีหลักทรัพยค้ำประกัน มีการคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ MLR+0.15-0.25 ตอป

14. ˹ÕéÊÔ¹ÀÒÂ㵌ÊÑÞÞÒઋҫ×éÍ

บาท งบการเงินรวม 2552 2551

หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ (หัก) :ดอกเบี้ยจายรอตัดบัญชี (หัก) :สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ - สุทธิจากสวนที่ ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551

64,347,600 (6,364,605) 57,982,995 (46,409,902)

55,659,769 (6,364,604) 49,295,165 (19,399,787)

64,347,600 (6,364,605) 57,982,995 (46,409,902)

55,659,769 (6,364,604) 49,295,165 (19,399,787)

11,573,093

29,895,378

11,573,093

29,895,378

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 เงินตน ถึงกำหนดการจายชำระหลังจาก หนึง่ ปแตไมเกินหาป ถึงกำหนดการจายชำระเกินหาป รวม

ดอกเบีย้ รอตัด

11,573,093 11,573,093

926,811 926,811

ยอดชำระ

เงินตน

ดอกเบีย้ รอตัด

12,499,904 12,499,904

28,196,864 1,698,514 29,895,378

2,215,752 64,286 2,280,038

ยอดชำระ 30,412,616 1,762,800 32,175,416

15. à§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÂÒÇ

ยอดคงเหลือของเงินกูยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้ เงินกู 1.

อัตราดอกเบี้ย (รอยละ)

ชำระคืนเงินตนเปนรายเดือน เดือนละไมต่ำกวา 1 ลาน บาท และครบกำหนดชำระเงินตนงวดสุดทายในเดือน พฤษภาคม 2554 2. 8.25 ชำระคืนเงินตนเปนรายเดือน เดือนละไมต่ำกวา 3.0 ลาน บาท และครบกำหนดชำระเงินตนงวดสุดทายในเดือน มีนาคม 2553 รวม (หัก) : สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ

91

MLR

การชำระคืน

Annual 2009 Report

บาท งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 25,512,534

44,512,534

8,754,810 34,267,344 (26,754,810) 7,512,534

20,986,161 65,498,695 (50,486,161) 15,012,534


à§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÂÒÇ 1 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2548 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินใหมกับธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งจำนวน 120 ลานบาท ซึ่ง ประกอบดวยเจาหนี้ทรัสตรีซีทสจำนวน 85.5 ลานบาทและเงินกูยืมระยะยาวจำนวน 34.5 ลานบาท สัญญากูยืมเงินดังกลาวมีกำหนดชำระ คืนเงินตนเปนรายเดือนจำนวน 36 งวดงวดละไมต่ำกวา 2 ลานบาทและตองจายชำระคืนเงินตนทั้งหมดภายในเดือนมกราคม ป 2552 โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนสิงหาคม 2549 ตอมาวันที่ 13 มีนาคม 2551 บริษัทไดรับอนุมัติใหขยายเวลาของวงเงินกูดังกลาวออกไปอีก 17 งวดจากเดิมวงเงินกูมีกำหนด 36 งวด เปลี่ยนเปน วงเงินกูมีกำหนด 53 งวด งวดละไมต่ำกวา 2 ลานบาท ในงวดที่ 25 – 36 และ ไมต่ำกวา 2.5 ลานบาท ในงวดที่ 37 – 52 และชำระสวนที่เหลือทั้งหมดในงวดสุดทายในเดือนมิถุนายน 2553 และชำระดอกเบี้ย ตางหากทุกเดือน โดยเริ่มชำระงวด แรกในเดือนกุมภาพันธ 2551

¡ÒâÂÒÂÃÐÂÐàÇÅҧǴ¡ÒêÓÃÐáÅÐÅ´¨Ó¹Ç¹à§Ô¹µŒ¹¼‹Í¹ªÓÃеÑé§áµ‹äµÃÁÒÊ·Õè 2/2552 ตอมาวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 บริษัทไดรับอนุมัติใหขยายเวลาของวงเงินกูดังกลาวออกไปอีก 11 งวด จากเดิม 53 งวด เปลี่ยนเปน วงเงินกูมีกำหนด 64 งวด งวดละไมต่ำ 1 ลานบาท (เดิมงวดละ 2.5 ลานบาท) ในงวดที่ 41 - 47 และไมต่ำกวา 1.5 ลานบาท (เดิมงวด ละ 2.5 ลานบาท) ในงวดที่ 48 - 63 และชำระสวนที่เหลือทั้งหมดในงวดสุดทายในเดือนพฤษภาคม 2554 และชำระดอกเบี้ยตางหากทุก เดือนโดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนมิถุนายน 2552 เงินกูยืมดังกลาวมีหลักประกันคือการจำนำเครื่องจักร

à§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÂÒÇ 2

เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2551 บริษัทไดเขาทำสัญญากูยืมเงินใหมกับธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งจำนวน 70 ลานบาท ซึ่ง ประกอบดวยเงินกูยืมระยะยาว จำนวน 30 ลานบาท เลตเตอรออฟเครดิตและเจาหนี้ทรัสตรีซีทส จำนวน 30 ลานบาท และเงินเบิกเกิน บัญชี 10 ลานบาท สัญญากูยืมดังกลาวมีกำหนดชำระคืนเงินตนเปนรายเดือนจำนวน 20 งวดงวดละ 3 ลานบาท งวดสุดทาย 13 ลาน บาท โดยเริ่มชำระงวด แรกในเดือนตุลาคม 2551 และครบกำหนดชำระคืนเงินตนงวดสุดทายในเดือนพฤษภาคม 2553

¡ÒâÂÒÂÃÐÂÐàÇÅҧǴ¡ÒêÓÃÐáÅÐÅ´¨Ó¹Ç¹à§Ô¹µŒ¹¼‹Í¹ªÓÃеÑé§áµ‹äµÃÁÒÊ·Õè 2/2552

ตอมาเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 บริษัทไดรับอนุมัติใหขยายเวลาของวงเงินกูดังกลาวออกไปอีก 3 งวด จากเดิมวงเงินกูมีกำหนด 20 งวด เปลี่ยนเปนวงเงินกูมีกำหนด 23 งวด งวดละ 1.5 ลานบาท (เดิมงวดละ 3 ลานบาท) ในงวด 8 - 13 และงวดละ 3 ลานบาท (เทาเดิม) ในงวด 14 - 22 และงวดสุดทาย 13 ลานบาท โดยเริ่มชำระในเดือนพฤษภาคม 2552 และครบกำหนดชำระคืนเงินตนงวดสุดทายในเดือน สิงหาคม 2553

16. ÊÓÃͧµÒÁ¡®ËÁÒÂ

ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งกำหนดใหบริษัทจัดสรรสำรองตามกฎหมายดวยจำนวนไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิทุกคราวที่มีการประกาศจายเงินปนผลจนกวาสำรองนี้จะมียอดเทากับรอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนสำรองดังกลาวจะนำไป จายเปนเงินปนผลไมได

Malee The Green Fruit Expert

92


17. ¡Í§·Ø¹ÊÓÃͧàÅÕ駪վ

บริษัทยอยแหงหนึ่งและพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3.0 ของเงินเดือนพนักงานและเงินที่บริษัทและ บริษัทยอยจายสมทบใหในอัตราเดียวกันและจะจายใหแกพนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของ บริษัทและบริษัทยอย กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จายเงินสมทบกองทุนในงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอยเปนจำนวน 2.13 ลาน บาท และ 2.43 ลานบาท ตามลำดับ และในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจำนวนเงิน 1.65 ลานบาท และ 1.93 ลานบาท ตาม ลำดับ

18. ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹

บริษัทไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสำหรับโครงการผลิตพืชผักบรรจุภาชนะภายใตบัตร สงเสริมเลขที่ 1089/2542 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2542 ภายใตเงื่อนไขตางๆ ที่กำหนดไวบางประการ สิทธิพิเศษดังกลาวรวม ถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลาแปดป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น (วันที่ 6 สิงหาคม 2544) และไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับ กิจการที่ไดรับการสงเสริมในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติ มีกำหนด 5 ปนับจากวันที่พนกำหนดไดรับยกเวนภาษี รายไดของบริษัทสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จำแนกตามกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไม ไดรับการสงเสริมการลงทุนสามารถสรุปไดดังตอไปนี้:บาท กิจการที่ไดรับการสงเสริม กิจการที่ไมไดรับการสงเสริม รวม 2552 2551 2552 2551 2552 2551 รายไดจากการขาย 208,527,584 289,484,867 2,540,678,261 3,028,211,023 2,749,205,845 3,317,695,890

93

Annual 2009 Report


19. ¡Óäõ‹ÍËØŒ¹

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปดวยจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางงวด ในกรณีของกำไรตอหุนปรับลดคำนวณโดยหารกำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับปดวยผลรวมของจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ออก อยูในระหวางงวดกับจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่บริษัทอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับลดทั้งสิ้นใหเปนหุน สามัญ โดยสมมติวาไดมีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนงวดหรือ ณ วันออกหุนสามัญเทียบเทา งบการเงินรวม จำนวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก

กำไรสุทธิ 2552 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

บาท

2551

บาท

130,926,751 (294,653,768) 130,926,751 (294,653,768)

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

บาท

2551

หุน

70,000,000 70,000,000

2551

หุน

บาท

160,377,034 (292,707,478) 160,377,034 (292,707,478)

2552

หุน

70,000,000 70,000,000

2552

70,000,000 70,000,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก

กำไรสุทธิ 2552

2552

กำไรตอหุน

2551

หุน

70,000,000 70,000,000

บาท

2551

1.87 1.87

บาท

(4.21) (4.21)

กำไรตอหุน 2552

บาท

2551

2.29 2.29

Malee The Green Fruit Expert

บาท

(4.18) (4.18)

94


20. ¡ÒÃàʹ͢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹¨ÓṡµÒÁʋǹ§Ò¹

บริษัทและบริษัทยอยดำเนินกิจการในสวนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจผลิตและจัดจำหนายผลไมกระปอง น้ำผลไมกระปอง และเครื่องดื่มบรรจุกระปองและดำเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตรเดียว คือในประเทศไทย ดังนั้นรายได กำไรและ สินทรัพยทั้งหมดที่แสดงใน งบการเงินจึงเกี่ยวของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมิศาสตรตามที่กลาวไว สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รายไดจากการขายและสินทรัพยถาวรจำแนกตามสวนงาน เปนดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) รายไดจากการขายสงออก รายไดจากการขายในประเทศ รวม 2552 2551 2552 2551 2552 2551 รายไดจากการขาย 691,666,334 684,275,350 2,391,186,470 3,019,372,301 3,082,852,804 3,703,647,651 สินทรัพยถาวร-สุทธิ 1,084,887,493 748,505,140 งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) รายไดจากการขายสงออก รายไดจากการขายในประเทศ รวม 2552 2551 2552 2552 2551 2551 รายไดจากการขาย 688,303,897 684,275,350 2,060,901,948 2,633,420,540 2,749,205,845 3,317,695,890 สินทรัพยถาวร-สุทธิ 910,075,333 733,150,776

21. ǧà§Ô¹ÊÔ¹àª×èÍ

วงเงินสินเชื่อที่บริษัทและบริษัทยอยไดรับจากธนาคารและสถาบันการเงินค้ำประกันโดยการวางประกันเงินฝากสถาบันการเงิน จำนอง/จำนำ ที่ดิน อาคาร เครื่องจักรและสินคาสำเร็จรูปของบริษัทและบริษัทยอย การค้ำประกันโดยบริษัทที่เกี่ยวของกัน และอดีตกรรมการของบริษัทและบริษัทยอย นอกจากนี้วงเงินสินเชื่อของบริษัทยอยที่ไดรับจากสถาบันการเงินทั้งหมดค้ำประกันโดยบริษัท

22. ÀÒÃм١¾Ñ¹áÅÐ˹ÕéÊÔ¹·ÕèÍÒ¨à¡Ô´¢Öé¹ 22.1 ÀÒÃм١¾Ñ¹

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นดัง ตอไปนี้:ก) บริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อวัตถุดิบเปนจำนวนเงินประมาณ 1.1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาและ 1.4 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ตามลำดับ ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชาที่ดิน อาคาร สำนักงานใหญ โกดังเก็บสินคา อุปกรณสำนักงาน รถยนต และคาบริการที่จะตองจายในอนาคตมีจำนวน ดังตอไปนี้

95

Annual 2009 Report


ลานบาท จายชำระภายใน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1 ป 2 ถึง 3 ป

30.78 19.40

17.93 12.14

ค) ภายใตภาระผูกพันที่ระบุไวใน ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันตามสัญญาเชาและบริการระยะยาวที่ สำคัญๆ ดังนี้ ค1) สัญญาเชาระยะยาวเพื่อเชารถโฟลคลิฟกับบริษัทในประเทศจำนวนสองแหง จำนวน 29 คัน (เฉพาะของบริษัทจำนวน 25 คัน) สัญญาเชามีอายุ 4 ป เริ่มตั้งแตเดือน เมษายน 2549 และสิ้นสุดเดือน มีนาคม 2553 บริษัทและบริษัทยอยจะตองจายชำระคาเชา เปนรายเดือนสำหรับการเชารถโฟลคลิฟจำนวนรวม 29 คันเปนระยะเวลาจำนวน 48 งวดงวดเดือนละ 536,000 บาท กับบริษัทในประเทศ สองแหง (เฉพาะของบริษัทเดือนละ 457,000 บาท) (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ค2) สัญญาเชาระยะยาวเพื่อเชารถยนตกับบริษัทในประเทศสองแหงจำนวน 10 คัน (เฉพาะของบริษัท จำนวน 6 คัน) สัญญา เชามีอายุ 5 ป เริ่มตั้งแตเดือนเมษายน 2549 สิ้นสุดเดือนมีนาคม 2554 และ กันยายน 2552 สิ้นสุดเดือนกันยายน 2557 บริษัทและ บริษทั ยอยจะตองจายชำระคาเชาเปนรายเดือนเปนระยะเวลา 60 งวด งวดเดือนละ 231,100 บาท (เฉพาะของบริษัทเดือนละ 163,600 บาท) (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) ค3) สัญญาเชาและบริการระยะยาวเพื่อเชาพื้นที่และบริการของอาคารสำนักงานกับบริษัทที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง สัญญาเชา มีอายุ 3 ป เริ่มตั้งแตเดือนเมษายน 2549 สิ้นสุดเดือนมีนาคม 2555 และ ธันวาคม 2552 สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัท ยอยจะตองจายชำระคาเชาและคาบริการเปนรายเดือน เดือนละ 911,080 บาท (เฉพาะของบริษัทเดือนละ 543,780 บาท) (ไมรวมภาษี มูลคาเพิ่ม)

22.2 ˹ѧÊ×ͤéÓ»ÃСѹ·ÕèÍÍ¡â´Â¸¹Ò¤ÒÃ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทเหลืออยูจำนวน ประมาณ 6.9 ลานบาท และ 6.8 ลานบาท ตามลำดับ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัท

22.3 ¡ÒäéÓ»ÃСѹ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีภาระค้ำประกันเงินกูยืมของบริษัทยอยแหงหนึ่งแกสถาบันการเงิน จำนวนเงิน 160 ลานบาทและ 125 ลานบาท ตามลำดับ และบริษัทยอยมีภาระค้ำประกันเงินกูยืมของบริษัทจำนวนเงิน 300 ลานบาท และ 300 ลานบาท ตามลำดับ การค้ำประกันนี้มีผลผูกพันตอบริษัทหรือบริษัทยอยนานเทาที่ภาระหนี้สินที่ยังไมไดชำระโดยบริษัทหรือ บริษัทยอยดังกลาว บริษัทและบริษัทยอยมีการคิดคาธรรมเนียมในการค้ำประกันระหวางกัน เปนอัตรารอยละ 0.25 ของจำนวนเงิน ค้ำประกัน

Malee The Green Fruit Expert

96


22.4 ¤´Õ¿‡Í§ÃŒÍ§

22.4.1 บริษัทถูกสถาบันการเงินแหงหนึ่งฟองรองในฐานะผูค้ำประกันเงินกูยืมใหแกอดีตบริษัทยอยแหงหนึ่ง เปนจำนวนเงิน 24 ลานบาท (รวมดอกเบี้ย 4 ลานบาท) ซึ่งบริษัทไดบันทึกสำรองเผื่อหนี้สินดัง กลาวไวในบัญชีแลวเปนจำนวน 12 ลานบาท อยางไรก็ตามในไตรมาสที่หนึ่งของป2548 บริษัท และอดีตบริษัทยอยไดเจรจาขอประนอมหนี้กับสถาบันการเงินดังกลาว ซึ่งตกลงชำระหนี้เปน จำนวนเงิน 20 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย โดยผอนชำระตามเงื่อนไขของสถาบันการเงิน บริษัทได บันทึกผลตางที่เกิดขึ้นในงบกำไรขาดทุนในไตรมาสที่หนึ่งและสองของป 2548 จำนวนรวม 8 ลานบาท และแสดงยอดคงคางของหนี้สนิ ดังกลาวไวใน “หนี้สินจากภาระค้ำประกัน” ในงบดุล นอกจากนี้ในไตรมาสที่สองของป 2548 อดีตบริษัทยอยดังกลาวไดเจรจาขอประนอมหนี้กับบริษัท โดยอดีตบริษัทยอยตกลงจะชำระหนี้ใหแกบริษัทเปนจำนวนเงิน 16 ลานบาท (เปนมูลหนี้กับ สถาบันการเงินสองแหง) โดยผอนชำระตามเงื่อนไขที่ตกลงรวมกัน เพื่อความรอบคอบ บริษัท จะบันทึกรายการรับชำระจากอดีตบริษัทยอยดังกลาวเปนรายไดเมื่อบริษัทไดรับชำระเงินจากอดีต บริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดรับชำระหนี้จากอดีต บริษัทยอยเปนจำนวนเงิน 2.75 ลานบาท และ 2.15 ลานบาท ตามลำดับ 22.4.2 ตั้งแตวันที่ 30 กันยายน 2551 บริษัทถูกบริษัทแหงหนึ่งซึ่งเปนเจาหนี้การคาคาสินคาฟองใหชำระ หนี้คาสินคาในคดีผูบริโภคในเรื่องผิดสัญญาซื้อขายรวมจำนวนเงิน 273.23 ลานบาท ประกอบดวย คาสินคา 202.82 ลานบาท และคาดอกเบี้ย 70.41 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทจะตองชำระ ดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.25 ตอป ของยอดเงินจำนวน 202.82 ลานบาท โดยนับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จนถึงวันที่ชำระเงินทั้งหมดแกบริษัทแหงนั้น รวมถึงจะตองชำระ คาฤชาธรรมเนียมและคาทนายความแทนบริษัทแหงนั้น อยางไรก็ตามบริษัทไดยื่นคำรองให ประธานศาลอุทธรณวินิจฉัยและศาลดังกลาวมีคำสั่งใหเปนที่สุดวาคดีดังกลาวไมเปนคดีผูบริโภค ตอมาเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ศาลจังหวัดธัญบุรีไดอานคำวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ และมีคำวินิจฉัยวาคดีดังกลาวไมเปนคดีผูบริโภคเชนเดียวกัน ดังนั้นจึงจำหนายคดีออกจากสารบบ คดีความ แตจะไมตัดสิทธิเจาหนี้ที่จะฟองเปนคดีแพงหรือคดีลมละลายตอไป ทำใหเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 เจาหนี้ไดมีหนังสือทวงถามมายังบริษัทอีกครั้งหนึ่งเพื่อรองรับการฟองคดี แพง และ/หรือ คดีลมละลายแลว อยางไรก็ตาม ในขณะนั้นบริษัทอยูระหวางการเจรจา ประนอมหนี้กับเจาหนี้ดังกลาว ซึ่งผลของการประนีประนอมยังไมสำเร็จ บริษัทจึงยังคงบันทึก ภาระหนี้สินรวมทั้งดอกเบี้ยไวทั้งจำนวน โดยบริษัทไดบันทึกภาระหนี้สินที่เปนดอกเบี้ยทั้งจำนวน แลวตั้งแตป 2551 จนถึงงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2552 เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 81.40 ลานบาท และบันทึกเจาหนี้คาสินคาและดอกเบี้ยคางจายในงบดุลของบริษัท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 และวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เปนจำนวนเงิน 284.22 ลานบาท และ 276.93 ลานบาท ตามลำดับ ตอมา ในไตรมาสที่ 3/2552 บริษัทและเจาหนี้ดังกลาวไดเจรจาและได ตกลงยอมใหบริษัทชำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความแลว ขอตกลงในสาระสำคัญของ สัญญามีดังนี้ บริษัทตองผอนชำระเงินตนที่เปนคาสินคาจำนวน 202.82 ลานบาท เปนงวดเดือน รวม 74 งวด ระยะเวลาประมาณ 6 ป เริ่มตั้งแตงวดที่ 1 วันที่ 30 สิงหาคม 2552 ถึงงวดที่ 74 วันที่ 30 กันยายน 2558 โดยมีรายละเอียดการผอนชำระคืนเงินตน และการคิดดอกเบี้ยดังนี้

97

Annual 2009 Report


งวดที่ 1 - 24 25 - 30 31 - 48 49 - 73 งวดสุดทาย 74

เงินงวด (บาท) เงินตน 2 ลานบาท เงินตน 2 ลานบาท เงินตนรวมดอกเบี้ย 3 ลานบาท เงินตนรวมดอกเบี้ย 4 ลานบาท เงินตนรวมดอกเบี้ย 3,576,407 บาท

หมายเหตุ ไมมีการคิดดอกเบี้ย ไมมีการคิดดอกเบี้ย (รวมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.25) (รวมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.25) (รวมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.25)

ดวยเหตุนี้ในไตรมาสที่ 3 ป 2552 บริษัทจึงไดกลับบัญชีภาระดอกเบี้ยคางจายที่ไดตั้งไวแลวตั้งแตครั้งที่ถูกเจาหนี้ฟองรองดังรายละเอียด ขางตนออกทั้งจำนวน 81.40 ลานบาท โดยบันทึกกลับรายการประมาณการหนี้สินในดอกเบี้ยจายในงบกำไรขาดทุนสำหรับงวดสามเดือน ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 และสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2552 เจาหนี้อื่นคาสินคารวมดอกเบี้ยคางจายมีการเปลี่ยนแปลงในระหวางป ดังนี้

ยอดยกมาตนป ยอดที่เพิ่มขึ้นระหวางป ยอดที่ลดลงระหวางป กลับรายการประมาณการหนี้สินในดอกเบี้ยจาย หัก สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เจาหนี้อื่นคาสินคา - สุทธิ

บาท

งบการเงินรวม 2552 2551

276,928,609 7,300,378 (11,564,970)

202,813,800 74,114,809 -

(81,406,687) 191,257,330 (24,000,000) 167,257,330

276,928,609 276,928,609

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552 2551 276,928,609 7,300,378 (11,564,970)

202,813,800 74,114,809 -

(81,406,687) 191,257,330 (24,000,000) 167,257,330

276,928,609 276,928,609

บริษัทมีการนำยอดดอกเบี้ยจายที่ประมาณการไวระหวางป 2552 จำนวน 7.30 ลานบาท ไปสุทธิกับรายการประมาณการหนี้สินใน ดอกเบี้ยจาย 81.40 ลานบาท ไดยอดสุทธิเพื่อนำไปกลับรายการประมาณการหนี้สินในดอกเบี้ยจาย 74.11 ลานบาท ในงบกำไรขาดทุน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้เพื่อใหยอดคาใชจายทางเงินประจำปแสดงยอดที่ควรเปน

23. à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

23.1 ¹âºÒ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§

ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 48 เรื่องการแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน บริษัทมีเครื่องมือ ทางการเงินที่สำคัญที่แสดงในงบดุลประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นและ เงินกูยืมระยะยาว บริษัทฯมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้

Malee The Green Fruit Expert

98


ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกำหนด ใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสำคัญจาก การใหสินเชื่อ นอกจากนี้การใหสินเชื่อของบริษัทไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทมีฐานของลูกคาที่หลากหลายและมีอยู จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือมูลคาตามบัญชีของลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ที่แสดงอยูในงบดุล ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นและ เงินกูยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตามเนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลง ตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทจึงอยู ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และ สำหรับสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่มอี ัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือ วันที่มีการกำหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไมมี ภายใน 1 ป มากกวา 1 ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย รวม อัตราดอกเบี้ย ถึง 5 ป (ลานบาท) (รอยละตอป)

สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา เงินฝากสถาบันการเงินทีม่ ภี าระผูกพัน หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะ สัน้ จากสถาบันการเงิน เจาหนีจ้ ากการขายสิทธิเรียกรอง ลูกหนีก้ ารคา เจาหนีก้ ารคา เจาหนีค้ า สินคา เจาหนีอ้ นื่ เจาหนีเ้ ชาซือ้ เงินกูย มื ระยะยาว

99

Annual 2009 Report

32 32

-

2 2

669 669

-

-

326

-

-

191 58 249

16 34 376

891 27 918

2 669 32 703

0.25 0.75 - 1.00

MOR, MLR, 326 MRR + 1.25 16 891 191 27 58 34 1,543

MLR MLR 6 MLR, 8.25


สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา เงินฝากสถาบันการเงินทีม่ ภี าระผูกพัน หนีส้ นิ ทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะ สัน้ จากสถาบันการเงิน เจาหนีจ้ ากการขายสิทธิเรียกรอง ลูกหนีก้ ารคา เจาหนีก้ ารคา เจาหนีค้ า สินคารวมดอกเบีย้ คางจาย เจาหนีอ้ นื่ เจาหนีเ้ ชาซือ้ เงินกูย มื ระยะยาว

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไมมี ภายใน 1 ป มากกวา 1 ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย รวม ถึง 5 ป (ลานบาท)

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

88

-

1 -

570 -

1 570 88

88

-

1

570

659

-

-

480

-

480

MOR, MLR MRR+1.25

-

277 49 326

20 65 565

947 36 983

20 947 277 36 49 65 1,874

MLR MLR 6 MLR

0.50 1.5 - 4.25

23.1.1 เจาหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีเจาหนี้การคาที่มียอดคางชำระเกินกำหนดเกินกวาหนึ่งปเปนจำนวนเงิน 67.83 ลานบาท อยางไรก็ตามปจจุบันฝายบริหารของบริษัทยังคงสามารถบริหารจัดการเจาหนี้การคาเหลานี้ไดตามปกติทางการคา ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินคา และการกูยืมเงินเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทได ตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ดังนี้ สกุลเงิน

งบการเงินรวม สินทรัพยทาง หนี้สินทาง การเงิน การเงิน (เหรียญ) (เหรียญ)

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

633,165 4,557

713,982 27,559

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

(เหรียญ) 314,601 14,095

(เหรียญ) 453,023 36,868

อัตราแลกเปลี่ยนสินทรัพย/หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ)

33.12/33.52 47.33/48.13 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 34.71/35.08 48.75/49.65

Malee The Green Fruit Expert

100


งบการเงินรวม สินทรัพยทาง การเงิน (เหรียญ)

สกุลเงิน

หนี้สินทาง การเงิน (เหรียญ)

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

563,805 4,557

713,982 713,849 27,559

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

(เหรียญ) 314,601 14,095

(เหรียญ) 453,023 36,868

อัตราแลกเปลี่ยนสินทรัพย/หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ)

33.12/33.52 33.12/33.52 47.33/48.13 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) 34.71/35.08 48.75/49.65

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายการคงเหลือของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา สรุปไดดังนี้ สกุลเงิน

ลูกหนี้การคา

เงินเหรียญสหรัฐ เงินเหรียญสหรัฐ

สกุลเงิน

ลูกหนี้การคา

เงินเหรียญสหรัฐ เงินเหรียญสหรัฐ

สกุลเงิน

ลูกหนี้การคา

เงินเหรียญสหรัฐ

สกุลเงิน

ลูกหนี้การคา

101

Annual 2009 Report

เงินเหรียญสหรัฐ เงินเหรียญสหรัฐ

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวนเงิน อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (บาท / เหรียญสหรัฐ)

วันครบกำหนดตามสัญญา นับจากวันที่ ในงบดุล

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวนเงิน อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (บาท / เหรียญสหรัฐ)

วันครบกำหนดตามสัญญา นับจากวันที่ ในงบดุล

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวนเงิน อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (บาท / เหรียญสหรัฐ)

วันครบกำหนดตามสัญญา นับจากวันที่ ในงบดุล

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวนเงิน อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา (บาท / เหรียญสหรัฐ)

วันครบกำหนดตามสัญญา นับจากวันที่ ในงบดุล

273,318.54 966,098.00 1,239,416.54

841,888.87 1,000,000.00 1,841,888.87

273,318.54 273,318.54

841,888.87 1,000,000.00 1,841,888.87

33.448 33.448

31.363 31.480

33.448

31.363 31.480

21/04/2553 21/04/2553

16/01/2552 28/01/2552

21/04/2553

16/01/2552 28/01/2552


23.2 ÁÙŤ‹ÒÂصԸÃÃÁ¢Í§à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญของบริษัทจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียง กับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทจึงประมาณมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทาง การเงินใกลเคียงกับมูลคาตาม บัญชีที่แสดงในงบดุล มูลคายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วิธีการ กำหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือ กำหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม

24. »ÃÐÁÒ³¡ÒÃ˹ÕéÊÔ¹

บริษัทไดประมาณการหนี้สินจากความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นหากบริษัทยอยแหงหนึ่งไมสามารถจายชำระหนี้สินที่มีตอบริษัทจำนวน 303.64 ลานบาท และ 239.72 ลานบาท (จากจำนวนหนี้ที่บริษัทยอยมีตอบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เปนจำนวนเงิน 558.56 ลานบาท และ 457.87 ลานบาท ตามลำดับ) ในงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ตามลำดับ และ ไดบันทึกผลขาดทุนและการโอนกลับรายการผลขาดทุนจากการประมาณการหนี้สินจำนวน 63.92 ลานบาท และ 161.89 ลานบาท ใน งบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ตามลำดับ

25. ÀÒÉÕà§Ô¹ä´Œ

บริษัทและบริษัทยอยไดคำนวณกำไร (ขาดทุน) สุทธิทางภาษีโดยการนำรายการบวกกลับสำหรับรายการที่มิใหถือเปนรายจายทางภาษี มาบวกหรือหักและนำรายการหักออกสำหรับสวนที่ไดรับการลดหรือยกเวนภาษีมาหักหรือบวกตามหลักเกณฑแหงประมวลรัษฎากรแลว สำหรับป 2552 และ 2551 บริษัทมีผลขาดทุนสุทธิตามภาษี ดังนั้นจึงไมมีภาษีเงินไดนิติบุคคลตองชำระ

26. ¼Å¡Ãзº¨Ò¡Çԡĵ¡Òó ·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§âÅ¡

สืบเนื่องจากวิกฤตการณทางการเงินของประเทศสหรัฐอเมริกาในกลางป 2551 ไดกอใหเกิดความผันผวนของตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาด ตราสารอนุพันธ และสภาวะทางเศรษฐกิจตกต่ำอยางรุนแรง และความไมมีเสถียรภาพทางการเงินและเศรษฐกิจดังกลาวไดกระจายไปใน ทุกภูมิภาคของโลกและสงผลกระทบตอสภาวะการเงินและเศรษฐกิจของประเทศไทยดวยเชนกัน วิกฤตการณดังกลาวไดสงผลกระทบ อยางเปนสาระสำคัญตอแผนการดำเนินธุรกิจและการเงิน รวมถึงมูลคาของสินทรัพยของผูประกอบการในประเทศไทยที่อาจลดต่ำลงอยางมาก เหตุการณความผันผวนของเศรษฐกิจโลกยังมีความไมแนนอนวาจะกลับสูสภาวะปกติเมื่อใด งบการเงินนี้จัดทำขึ้นบนพื้นฐานประมาณการ และขอสมมติฐานตางๆ ที่บริษัทพิจารณาแลววาเหมาะสมในสถานการณปจจุบัน

Malee The Green Fruit Expert

102


27. ÊÑÞÞÒ

เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2552 บริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดินและโรงงาน และสัญญาบริการกับบริษัท อะกริซอล จำกัด (บริษัทยอย) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนสถานประกอบการโรงงานผลิตขาวโพดหวานบรรจุกระปอง และหรือสินคาอื่นๆ โดยบริษัทมีภาระ ตองจายชำระคาเชาที่ดินและโรงงาน และสัญญาบริการใหกับบริษัทยอยดังกลาวในจำนวนเงินรวม 1.00 ลานบาทตอเดือน สัญญานี้มีอายุระยะเวลา 9 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2552 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตอมาเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยดังกลาวไดทำบันทึกขอตกลงเพื่อปรับลดราคาคาเชาและสัญญา บริการฉบับลงวันที่ 1 เมษายน 2552 ในชวงปดซอมบำรุงเครื่องจักรระหวางวันที่ 1 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2552 เพื่อใหบริษัทซึ่งเปนผูเชาปดซอมบำรุงเครื่องจักรอุปกรณประจำปสำหรับรองรับการผลิตในปตอไป โดยลดคาเชาและ บริการรวมเหลือเพียง 1 แสนบาทตอเดือน (จากเดิม 1 ลานบาทตอเดือน) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2552 บริษัทไดยกเลิกสัญญาเชาที่ดินและโรงงานและสัญญาบริการกับบริษัท อะกริซอล จำกัด (บริษัทยอย) แลว เนื่องจากบริษัทยอยไดประกอบการผลิตและจำหนายขาวโพดหวานบรรจุกระปองและหรือสินคาอื่นๆ โดยตรง

28. ¡ÒùÓàʹͧº¡ÒÃà§Ô¹ãËÁ‹

ป 2551 บริษัทไดนำมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสดมาปรับใชแลวสำหรับงบการเงินนี้ ดังนั้น จึงมีการปรับรูปแบบการนำเสนอ งบการเงินใหมใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว รายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไดมีการจัดประเภทใหมเพื่อใหสอดคลองกับ การจัดประเภทรายการบัญชีในปปจจุบัน ซึ่งไมมีผลกระทบตอกำไรสุทธิหรือสวนของผูถือหุน การจัดประเภทรายการใหม มีดังตอไปนี้

103

Annual 2009 Report


บาท รายการบัญชี คาใชจา ยในการขายและบริหาร คาใชจา ยในการขาย คาใชจา ยในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย (โอนกลับ)

งบการเงินรวม ตามทีจ่ ดั ตามทีเ่ คย ประเภทใหม รายงานไว - 864,002,451 553,016,116 259,680,178 26,162,628 5,605,000 30,748,529 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามทีจ่ ดั ตามทีเ่ คย ประเภทใหม รายงานไว 337,350,921 90,259,704 204,484,901 17,462,787 5,605,000 30,748,529 -

29. ¡ÒÃ͹ØÁѵԧº¡ÒÃà§Ô¹

งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553

Malee The Green Fruit Expert

104


The

Green

Fruit

Expert


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.