สารบัญ
05 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป 07 โครงสร้างรายได้ของบริษัท 09 สารจากประธานกิตติมศักดิ์ 11 สารจากประธานกรรมการ 13 ข้อมูลทั่วไปและบุคคลอ้างอิง 15 โครงสร้างองค์กร 17 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 21 ภาวะอุตสาหกรรมแนวโน้มปี 2554 25 โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ 33 การกำกับดูแลกิจการ 36 การควบคุมภายใน 37 รายการระหว่างกัน 41 คณะกรรมการบริษัท 45 คำอธิบายและวิเคราะห์งบการเงินและผลการดำเนินงาน 47 ปัจจัยความเสี่ยง 48 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 49 มาตรฐานและรางวัล 51 งบการเงิน
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป รายได้รวม รายได้จากการขาย กำไรขั้นต้น กำไร (ขาดทุน) สุทธิ กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น
ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท บาท บาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท
2554
3,726 3,660 1,089 228 3.3 7.8 2,264 1,717 547
2553
2,889 2,829 805 106 1.5 5.6 2,197 1,806 392
2552
3,146 3,083 735 131 1.9 4.7 2,152 1,825 327
อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ สภาพคล่องทางการเงิน
อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาชำระหนี้ วงจรเงินสด
อัตราส่วนในการทำกำไร อัตรากำไรขั้นต้น อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนผลตอบแทนของสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย์
อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย อัตราการจ่ายเงินปันผล
เท่า เท่า เท่า เท่า วัน เท่า วัน เท่า วัน วัน เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ เท่า เท่า เท่า เปอร์เซ็นต์
2554
2553
2552
2554
2553
2552
0.8 0.4 0.2 6.8 53.8 5.3 69.0 2.2 163.0 (40.2)
2554
2554
29.8 6.1 48.5 10.2 20.7 1.7 3.1 8.8 0.0
0.6 0.3 0.1 6.5 56.0 4.6 78.8 1.9 196.6 (61.9)
2553
2553
28.5 3.7 29.6 4.9 8.9 1.3 4.6 2.7 0.0
0.5 0.3 0.1 7.3 50.2 5.2 69.9 2.0 180.1 (60.0)
2552
2552
23.8 4.2 312.7 6.3 12.6 1.5 5.6 5.5 0.0
Goodness from the ground
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
โครงสร้างรายได้ 3 ปีล่าสุด
2554
มูลค่าการจำหน่ายในประเทศ มูลค่าการจำหน่ายต่างประเทศ รวม
ล้านบาท 2,925 751 3,676
% 79.57% 20.43% 100.00%
2553
ล้านบาท 2,267 574 2,842
% 79.79% 20.21% 100.00%
2552
ล้านบาท 2,417 689 3,106
% 77.82% 22.18% 100.00%
หมายเหตุ : ราคาสินค้าส่งออกเป็นราคา F.O.B. เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบได้ชัดเจน ส่วนยอดขายที่ปรากฏในงบการเงินจะ มีทั้ง F.O.B., C&F และ C.I.F. ตามยอดขายจริง
Goodness from the ground
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
สารจากประธานกิตติมศักดิ์ ผมขอแสดงความยินดีเป็นอย่างยิ่งกับบริษัทที่สามารถปรับปรุงผลการดำเนินงานให้ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านๆ มา แม้ว่าต้อง ตกอยู่ในวิกฤตปัญหา สถานการณ์เศรษฐกิจและการเมืองที่มีความผันผวนค่อนข้างมาก ซ้ำร้ายยังเผชิญมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ใน รอบหลายสิบปีโดยตรง แต่ผลประกอบการกลับปรากฏผลดีเยี่ยมเป็นที่น่าชื่นชมยินดี สิ่งนี้เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัททุกท่าน ได้เสียสละและทุ่มเทแรงกายแรงใจ ในการทำงานอย่างเต็มสติกำลัง จนเกิดผล อันเป็นที่น่าพึงพอใจสำหรับทุกฝ่าย ผมขอเป็นกำลังใจให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานทุกท่าน ให้ทุกท่านถึงพร้อมด้วยกำลังกาย กำลังใจ และกำลังสติปัญญา ในอันที่จะปฏิบัติบริหารงานได้บรรลุผลสำเร็จสมตามเป้าหมาย นำพาองค์กรอันเป็นที่รักยิ่งของพวกเรา ทุกคนให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปอย่างไม่หยุดยั้ง
นายวันชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)
Goodness from the ground
10
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
11
สารจากประธานกรรมการ หลายปีที่ผ่านมา ทุกประเทศทั่วโลกจำต้องเผชิญวิกฤตภาวะทางเศรษฐกิจโดยถ้วนหน้า แม้แต่มหาประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และนานาประเทศในยุโรป รวมทั้งประเทศไทย ผลกระทบนั้นเกิดขึ้นในหลายแง่มุม ทั้งด้านการบริโภคอย่าง ฝืดเคือง ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่สูงขึ้น รวมไปถึงอัตราแลกเปลี่ยนที่ผันผวน ธุรกิจภาคเอกชนจึงพยายามปรับตัวเพื่อต่อสู้กับ ปัญหาที่เกิดขึ้นจนอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเราอยู่ในอัตราที่ดีพอควร กระทั่งปลายพุทธศักราช ๒๕๕๔ ชาวไทยต้องเผชิญกับมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิบปี และไม่ว่าภัยนี้จะ เกิดจากเหตุธรรมชาติหรือเหตุบกพร่องในเชิงบริหารจัดการก็ตาม แต่ผลที่ปรากฏชัดคือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับพี่น้องชาวไทย เกือบทั้งประเทศ โดยเฉพาะศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นิคมอุตสาหกรรมหลาย แห่งต้องตกอยู่ในภาวะภัยพิบัติ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ทรัพย์สิน สภาพความเป็นอยู่ และเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศเป็นมูลค่านับแสนล้านบาท จริงอยู่ว่าบทเรียนครั้งนี้นำความทุกข์ใหญ่หลวงมาสู่พี่น้องชาวไทย แต่ในอีกมุมหนึ่ง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นเครื่องพิสูจน์ถึง “น้ำใจ” ที่คนไทยร่วมชาติมีต่อกันในยามทุกข์ โดยจะเห็นได้จากการร่วมกันบริจาคเงิน และสิ่งของ ตลอดจนการร่วมแรงร่วมใจกันเป็นอาสาสมัครด้วยจิตกรุณา ทั้งนี้ บริษัทและพนักงานของเราก็ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการบรรเทาทุกข์จากมหาอุทกภัยดังกล่าวด้วยเช่นกัน ทั้งด้วยการบริจาคสินค้า อาหาร น้ำดื่ม ทราย และทุนทรัพย์ รวมไป ถึงการจัดส่งแรงงานไปร่วมกิจกรรมจิตอาสาในพื้นที่ชุมชนรอบโรงงาน ผมจึงขอถือโอกาสนี้ส่งกำลังใจและความปรารถนาดีสู่ พี่น้องร่วมชาติในการร่วมกันฟื้นฟูบ้านเมืองของพวกเราให้กลับคืนสู่ความผาสุกและความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป ระหว่างวิกฤตภาวะที่เพิ่งพ้นผ่านไปนั้น บริษัทและพนักงานของเราเองก็ตกอยู่ในฐานะผู้ประสบภัย ทั้งอาคารสำนักงาน ใหญ่และบ้านพักอาศัยของพนักงานหลายร้อยชีวติ ถูกน้ำท่วมจนไม่สามารถเข้าอยูอ่ าศัยและเข้าทำงานได้เป็นเวลาร่วม ๒ เดือน แต่ทั้งผู้บริหารและพนักงานของเราก็ได้แสดงให้เห็นว่า แม้มีภยันตรายและปัญหาอุปสรรคต่างๆ มากมาย แต่ทุกคนยังมีความ รับผิดชอบและความร่วมมือร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวที่จะฟันฝ่า จนสามารถผลักดันให้ผลประกอบการในปีที่ผ่านมาสูงกว่า เป้าหมายทีว่ างไว้และได้ผลประกอบการดีท่สี ดุ ปีหนึง่ ในประวัตศิ าสตร์ของบริษัท ซึง่ ชีช้ ดั ว่าบริษัทมีรากฐานทางธุรกิจทีแ่ ข็งแกร่ง และมัน่ คง มีโครงสร้างทางธุรกิจทีย่ ดื หยุน่ ทีช่ ว่ ยลดความรุนแรงของผลทีม่ ากระทบต่อบริษทั ได้ และทีส่ ำคัญ บริษทั มีการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การดูแลของทีมผู้บริหารและพนักงานที่มีศักยภาพ บริษัทได้มุ่งมั่นปรับปรุงแนวคิดและนโยบายการบริหารงานในทุกด้านให้ทวีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนเชื่อมั่น ได้ว่าในพุทธศักราช ๒๕๕๕ นี้ บริษัทจะสามารถก้าวเดินต่อไปอย่างรุดหน้า เพื่อสรรค์สร้างผลการดำเนินงานให้ดีกว่าปีที่ผ่าน มาได้อย่างแน่นอน ในที่สุดนี้ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ขอร่วมผนึกพลังใจกับพี่น้องชาวไทย โดยเฉพาะผู้ประสบผลกระทบ จากมหาอุทกภัยทุกท่าน เพื่อย่างก้าวต่อไปในวันข้างหน้าที่เข้มแข็งและมั่นคง กับทั้งขอขอบพระคุณผู้ถือหุ้น ลูกค้า พันธมิตร ทางธุรกิจ สถาบันการเงิน หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้บริหาร คณะกรรมการ และพนักงานบริษัททุกท่านที่ได้ สนับสนุนและช่วยเหลือการดำเนินงานของบริษัทด้วยดีตลอดมา สรรพกำลังที่ทุกท่านทุกฝ่ายได้ทุ่มเทร่วมกันเป็นอันหนึ่ง อันเดียวนี้จะส่งผลให้บริษัทมีผลประกอบการที่ดี และพร้อมที่จะตอบแทนอุปการะคุณของทุกท่านต่อไปในอนาคต
นายฉัตรชัย บุญรัตน์ ประธานกรรมการ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) Goodness from the ground
12
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
13
ข้อมูลทั่วไปและบุคคลอ้างอิง
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) เลขทะเบียน 0107535000079
อาคารเอบิโก้ เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ 0-662 992 5800 (15 สาย) โทรสาร 0-662 992 5850 (สำนักงานกลาง), 0-662 992 5817-9 (ฝ่ายต่างประเทศ) เวปไซต์: http://www.malee.co.th ผู้ประสานงาน : ณหฤทัย เชื้อฉลาด โทร. 0-662 992-5800 ต่อ 4010 E-mail: naharuthai_chu@malee.co.th ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลไม้กระป๋อง, ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง, สับปะรดบรรจุกระป๋อง, น้ำสับปะรดเข้มข้น, น้ำผลไม้ยูเอชที และผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม จำนวนและชนิดหุ้นที่ออกจำหน่าย 70,000,000 หุ้น เป็นหุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
บริษัทย่อย
บริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด เลขทะเบียน 1105535109621
อาคารเอบิโก้ เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ 0-662 992 5821-32 , โทรสาร 0-662 992 5833 (สำนักงานกลาง), 0-662 992 5834-5 (ฝ่ายขาย) เวปไซต์: http://www.malee.co.th ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลไม้กระป๋อง, น้ำผลไม้ยูเอชที และ พาสเจอร์ไรส์, นมยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ และผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม จำนวนและชนิดหุ้นที่ออกจำหน่าย หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท จำนวนหุ้นที่บริษัทฯ ถือ 9,998,800 (99.99%)
บริษัท อะกริ ซอล จำกัด เลขทะเบียน 0135551007374
อาคารเอบิโก้ เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ 0-662 992 5800-14 โทรสาร 0-662 992 5819 http://www.malee.co.th โรงงานและสำนักงานสาขาเลขที่ 110 หมู่ที่ 9 ถนน ร.พ.ช. สายบ้านแพง-ท่าลาด ต.บ้านแพง อ.บ้านแพง จ.นครพนม 48140 โทรศัพท์ 0-662 551 9088, 0-6642 551 128 โทรสาร 0-662 551 9087 ต่อ 11 ธุรกิจด้านเกษตรอุตสาหกรรมแบบครบวงจรและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง จำนวนและชนิดหุ้นที่ออกจำหน่าย หุ้นสามัญ 14,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ถือหุ้น 14,499,994 หุ้น (99.99%)
บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด
อาคารเอบิโก้ ชั้น 3 เลขที่ 401/1 ถนนพหลโยธิน ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 จำนวนและชนิดหุ้นที่ออกจำหน่าย หุ้นสามัญ 175,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท จำนวนหุ้นที่บริษัทฯ ถือ 170,800 (97.6%) ปัจจุบันหยุดดำเนินกิจการ Goodness from the ground
14
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
บริษัท ไอคอน ฟู้ดส์ จำกัด
8070 La Jolla Shores Drive # 465 La Jolla, CA 92037 โทร. 1-858 456 3929, แฟกซ์. 1-858 777 3447 ผู้นำเข้าสับปะรดกระป๋อง ทุนชำระแล้ว 50,500 เหรียญสหรัฐอเมริกา จำนวนหุ้นที่ บริษัทฯ ถือ 99% ปัจจุบันหยุดดำเนินกิจการ
บุคคลอ้างอิง
นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800, 0-2654-5599
ผู้สอบบัญชี
นางเกษรี ณรงค์เดช ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 76 นางณัฐสรัคร์ สโรชนันท์จีน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4563 นายสุมิตร ขอไพบูลย ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4885 สำนักงาน เอ.เอ็ม.ที. แอสโซซิเอท 491/27 สีลมพลาซ่า ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2234-1676
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท สำนักงานกฎหมายบรรจงแอนด์วิทยา จำกัด เลขที่ 33/35, 33/39-40 อาคารวอลล์สตรีททาวเวอร์ ชั้น 9 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทร: +66(2)-236-2334 หรือ +66(2)-233-1666 ต่อ 3910-1 โทรสาร: +66(2)-236-3916 อีเมล: bcvidhya@bcvidhya.com
ผู้ประสานงาน
ณหฤทัย เชื้อฉลาด โทร. 0-662 992-5800 ต่อ 4010 E-mail: naharuthai_chu@malee.co.th
รายงานประจำปี 2554
15
โครงสร้างองค์กรปี 2554 คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ฝ่ายพัฒนาประสิทธิภาพ อุตสาหกรรม
ฝ่ายตรวจสอบภายใน
กลุ่มธุรกิจ ธุรกิจ ตราผลิตภัณฑ์
สายงานสนับสนุน ธุรกิจ รับจ้างผลิต ธุรกิจ ข้าวโพดหวาน
ธุรกิจ อุตสาหกรรมเกษตร ธุรกิจ สับปะรด/ผลไม้ฤดูกาล
ฝ่ายซัพพลายเชน ฝ่ายงบประมาณและบัญชี ฝ่ายบริหารการเงิน ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล และธุรการ ฝ่ายบริหารงานกลาง และเลขานุการบริษทั ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฝ่ายบริหารคุณภาพ Goodness from the ground
16
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
17
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปี 2554 บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ
โดยจำแนกธุรกิจหลักออกเป็น ธุรกิจแปรรูปผลไม้ เช่น ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง ข้าวโพดหวานบรรจุถุงปลอดเชื้อ สับปะรดกระป๋อง สับปะรด บรรจุถุงปลอดเชื้อ น้ำสับปะรดเข้มข้น ผลไม้รวมบรรจุกระป๋อง และผลไม้ฤดูกาลบรรจุกระป๋อง (เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย มะม่วง เป็นต้น) ภายใต้เครื่องหมายการค้าตรา “มาลี”, ตรา “เฟริสช้อยส์”, ตรา “ชาวสวน” และตรา “มาลี ฟูดส์ เซอร์วิส” ตลอดจนตราของผู้ว่าจ้างผลิต ธุรกิจเครื่องดื่ม เช่น น้ำผัก และน้ำผลไม้ บรรจุในรูปแบบยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ ภายใต้เครื่องหมายการค้าตรา “มาลี”, ตรา “มาลี เฮลติพลัส”, ตรา “มาลี เวจจีส์”, ตรา “มาลี จู๊ซ มิกส์”, ตรา “มาลี จู๊ซ มิกส์ คิดส์”, ตรา “มาลี เชลฟ์ พลัส”, ตรา “มาลี ทรอปิคอล” และ ตรา “มาลี ฟูดส์ เซอร์วิส” รวมถึงชา กาแฟและน้ำดื่มบรรจุใน รูปแบบกระป๋อง กล่องยูเอชที และขวดพลาสติก PET ภายใต้เครื่องหมายการค้าตรา “มาลี” ตราของผู้ว่าจ้างผลิต ตลอดจนนมโคสด บรรจุในรูปแบบยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ภายใต้เครื่องหมายการค้าตรา “ฟาร์มโชคชัย” และน้ำนมข้าวโพด ตรา “มาลี ไอคอร์น”
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัท อะกริซอล จำกัด ได้มีการพัฒนาและส่งเสริมวัตถุดิบ
หลักอย่างครบวงจร ตั้งแต่ การพัฒนา และให้ความรู้เรื่องเมล็ดพันธ์, ส่งเสริมการเพาะปลูก, การทำ Contract faming กับสมาชิกเกษตร เพื่อให้มั่นใจว่ามีวัตถุดิบ เพียงพอสำหรับการผลิตให้ได้ตามความต้องการของลูกค้ารวมถึงสามารถควบคุม คุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ของ GMP, HACCP, BRC, IFS, HALAN, Q-MARK จากสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และ SR-MARK จากกระทรวงพาณิชย์
บริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด เป็นบริษัทย่อย ผู้ดูแลด้านการตลาดและการจัดจำหน่ายภายในประเทศ ทั้งหมด
มีทั้งจัดจำหน่ายโดยพนักงานขายของบริษัทและจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศ สินค้าหลักที่ บริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด จัดจำหน่ายมีดังนี้ 1. ผลไม้กระป๋องตรา “มาลี” “เฟริสช้อยส์” “ชาวสวน” และ “มาลี ฟูดส์ เซอร์วิส” 2. น้ำผลไม้กระป๋อง ตรา “มาลี ทรอปิคอล” น้ำผัก และผลไม้ยูเอชที ตรา “มาลี”, ตรา “มาลี เฮลติพลัส”, ตรา “มาลี เวจจีส์”, ตรา “มาลี จู๊ซ มิกส์”, ตรา “มาลี จู๊ซ มิกส์ คิดส์”, ตรา “มาลี เชลฟ์ พลัส” และ ตรา “มาลี ฟูดส์ เซอร์วิส” และ น้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์ ตรา “มาลี” 3. เครื่องดื่มธัญพืชนํ้านมข้าวโพดยูเอชที ตรา “มาลีไอ-คอร์น” 4. นมยูเอชทีและนมพาสเจอร์ไรส์ ตรา “ฟาร์มโชคชัย” 5. น้ำดื่มตรา “มาลี”
Goodness from the ground
18
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
จากการทำการตลาดที่ตรงกลุ่มเป้าหมายและการพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่องของ บริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ตรา “มาลี” อยูใ่ นใจผูบ้ ริโภคมานานกว่า 30 ปี เป็นทีร่ จู้ กั อย่างแพร่หลาย มียอดขายและส่วนแบ่งการตลาด ในตลาดน้ำผลไม้กว่า 9% และเป็นผู้นำตลาดผลไม้กระป๋องระดับพรีเมี่ยมในประเทศไทยมาโดยตลอด มีภาพลักษณ์ที่ดี ทัง้ ในการคัดสรรผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ณ ุ ภาพสูงสูผ่ บู้ ริโภค จนได้รบั รางวัล Superbrands Thailand 2005 จากสถาบัน Superbrands UK ซึ่งเป็นการโหวตจากผู้เชียวชาญจากทั่วประเทศ และ รางวัล Trusted Brand แบรนด์ที่น่าเชื่อถือ (โกลด์) ประจำปี 2546-2554 ในหมวดผลิตภัณฑ์บรรจุกล่องพร้อมดื่ม จากนิตยสาร Reader’s Digest ซึ่งได้รับรางวัลถึง 9 ปี ติดต่อกัน เป็นรางวัลที่ได้ ทำการสำรวจจากผู้อ่านนิตยสาร Reader’s Digest เกี่ยวกับความนิยมในการบริโภคสินค้า บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) เป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ห่วงใยและตระหนักถึงความสำคัญ ของสิง่ แวดล้อมด้วยการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียให้มปี ระสิทธิภาพ จนได้รบั รางวัลโรงงานดีเด่นด้านสิง่ แวดล้อมประจำปี 2537, 2538 และ 2540 จากการประกวดโรงงานของอุตสาหกรรม จังหวัดนครปฐม, รางวัลโรงงานพิทกั ษ์สง่ิ แวดล้อมทางน้ำดีเด่น ประจำปี 2537 จากคณะกรรมการโครงการอุตสาหกรรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อม, ได้รับรางวัล Social Responsibility Mark ที่ กระทรวงพาณิชย์มอบให้แก่บริษทั ทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2552 และรางวัลยอดเยีย่ มประเภท อาหารจากพืช จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการเข้าร่วมโครงการทีเ่ พิม่ คุณค่าและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของเสียภายใน โรงงานอุตสาหกรรมอาหารจากพืช ประจำปี 2554 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2555 กว่า 30 ปีที่ผ่านมาบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ได้มุ่งมั่นคิดค้น พัฒนากระบวนการผลิตและเทคโนโลยีในด้านต่างๆให้ทันสมัยทัดเทียมนานาประเทศอย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ทางบริษัทยังมุ่งพัฒนาคุณภาพสินค้ามาตรฐานของกระบวนการผลิต และการบรรจุภัณฑ์ของตัวเองอย่าง ไม่หยุดยั้งเพื่อให้สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพตามหลักมาตรฐานสากล โดยการพัฒนาดังกล่าวคำนึงถึงหลักความปลอดภัย และสุขอนามัยของผู้บริโภคเป็นสำคัญ จนบริษัทได้รับการรับรองระบบมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งองค์กรภายใน ประเทศและองค์กรระดับนานาชาติมากมาย อาทิ HACCP, GMP, Kosher, Q Mark, IFS, BRC, Halal Certificate เป็นต้น
รายงานประจำปี 2554
19
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในปีที่ผ่านมา
ในปี 2554 ที่ผ่านมาบริษัทได้มีการวางแผนการตลาดอย่างมียุทธวิธี และมุ่งเน้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อให้ เข้าถึงผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย และสามารถขยายฐานตลาดหรือช่องการการจัดจำหน่ายออกไป ซึ่งโดยสรุปกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นมีดังนี้คือ น้ำผลไม้ 100% ตรามาลี ยูเอชที มีการออกสินค้าใหม่ “แอปเปิ้ลแกรนนี่สมิธผสมน้ำองุ่นขาว 100%” และ “น้ำองุ่น 100%” ซึ่งรสชาติเป็นที่ยอมรับ และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภค น้ำผลไม้ 100% ตรามาลี เฮลติพลัส น้ำผลไม้ที่ให้คุณค่ามากกว่าน้ำผลไม้โดยทั่วไป ช่วยดูแลสุขภาพของผู้บริโภค ให้ดียิ่งขึ้นโดยออกสินค้าใหม่ คือ น้ำเบอรี่มิกซ์ผสมคอลลาเจน ช่วยดูแลสุขภาพผิว และน้ำมังคุดผสมสารสกัดจาก เปลือกมังคุด ที่โดดเด่นด้านสารต้านอนุมูลอิสระ น้ำผักผสมน้ำผลไม้รวม 100% เวจจีส์ วี 9 ซึ่งเป็นน้ำผักผสมน้ำผลไม้รวมที่มีความโดดเด่น ด้วยจุดเด่นและคุณค่า จากผักผลไม้ รวม 9 ชนิด มีการปรับในเรื่องของรสชาติให้สด อร่อย และถูกปากผู้บริโภคมากขึ้น น้ำผลไม้มาลีพาสเจอร์ไรส์ 100% มีการปรับแบบและสีสนั ของรูปผลไม้ และสีของผลิตภัณฑ์ให้สดใส สวยงามมากขึน้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์โดดเด่น สะดุดตา บนชั้นวาง และออกแพคบรรจุใหม่ แพคคู่ เพื่อความคุ้มค่า คุ้มราคาในการซื้อ ผลไม้กระป๋องตรามาลี มีการพัฒนาแนะนำสินค้าใหม่ออกสู่ตลาดคือ สละในน้ำเชื่อม ซึ่งตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคได้ดี พร้อมช้อนพับที่เก็บในฝากระป๋อง สามารถรับประทานได้ทันที นอกจากนั้น ยังครองความเป็น ผู้จัดจำหน่ายเพียงรายเดียวในเซเว่น อีเลฟเว่น ยาวนานถึง 5 ปีซ้อน น้ำนมข้าวโพด มาลี ไอคอร์น ปรับปรุงรสชาติน้ำนมข้าวโพดมาลี ไอคอร์น ทุกรสชาติให้สด อร่อย หอม หวาน เหมือนคั้นสดจากฝัก นมยูเอชทีและนมพาสเจอร์ไรส์ ตราฟาร์มโชคชัย กระจายสินค้าเพิ่มขึ้นในช่องทางใหม่ๆ เช่น โรงเรียน หรือช่องทาง คอนวีเนี่ยนสโตร์ หรือเอเย่นต์สินค้าพาสเจอร์ไรส์ เพิม่ ช่องทางการจัดจำหน่ายและขยายฐานผูบ้ ริโภค ผ่านแอมเวย์ บริษทั ล็อกซ์เล่ บริษทั จอมธนา (ผูจ้ ดั จำหน่ายไอศกรีม ครีโม) ผ่านช่องทางโรงเรียน และผู้ประกอบการถทัวร์
Goodness from the ground
20
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
21
ภาวะอุตสาหกรรมและแนวโน้มปี 2554 ผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน
การส่งออกข้าวโพดหวานกระป๋องของประเทศไทยในปี 2554 มีปริมาณใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา แต่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น ประมาณ 4% เป็นยอดส่งออกทั้งสิ้น 5,343 ล้านบาท เนื่องจากต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ทำให้ต้องมีการปรับราคาขายให้สูงขึ้น ผู้ส่งออก หันมาขายสินค้าไปยังประเทศที่มีค่าเงินที่แข็ง เช่น ญี่ปุ่น เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาเป็นประเทศรัสเซีย ไต้หวัน เกาหลี ส่วนการส่งออกไปสหภาพยุโรปยังคงมีปญ ั หาจากมาตรการกีดกันทางการค้า (Anti Dumping) ทำให้ยอดการส่งออกไปสหภาพ ยุโรปลดลงเป็นนัยสำคัญ ในปี 2555 คาดว่าแนวโน้มปริมาณการส่งออกข้าวโพดหวานอาจใกล้เคียงหรือลดลงเล็กน้อยเนื่องจากสภาวะอากาศที่ แปรปรวนทำให้ฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานล่าช้า เมล็ดพันธุ์ขาดแคลนผลมาจากอุทกภัยน้ำท่วมปลายปี 2554 ผู้ผลิตส่งออก ควรมีกลยุทธ์แข่งขันขายสินค้าไปยังตลาดที่มีศักยภาพในการซื้อสินค้าที่มีราคาที่สูง
กลุ่มธุรกิจน้ำผักและน้ำผลไม้
แนวโน้มการบริโภคเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากผักและผลไม้มีอัตราขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เพราะผู้บริโภคเล็งเห็นประโยชน์ที่มากล้นของคุณค่าทางอาหารที่มีอยู่ในผัก-ผลไม้จึงทำให้กระแสการบริโภคน้ำผัก-ผลไม้ได้รับ ความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในปี 2554 ตลาดน้ำผลไม้พร้อมดื่มมีมูลค่าประมาณ 1 หมื่นล้านบาท หรือประมาณ 284 ล้านลิตร โดยแยกเป็นตลาดน้ำผลไม้คุณภาพดี ราคาสูง (Premium Market) 3.80 พันล้านบาทหรือประมาณ 56 ล้านลิตร มีอัตราการเติบโตประมาณ 5% แบ่งเป็นตลาดยูเอชที 3.0 พันล้านบาท มีอัตราการเติบโต 6% มาลีครองส่วนแบ่งตลาด 22% และตลาดพาสเจอร์ไรส์ 0.80 พันล้านบาท มีอัตราการเติบโตประมาณ 8% ตลาดน้ำผลไม้ คุณภาพปานกลาง ราคามาตรฐาน (Medium Market) 0.58 พันล้านบาทหรือประมาณ 12 ล้านลิตร ตลาดน้ำผลไม้ราคาประหยัด (Economy Market) มีมลู ค่า 3 พันล้าน หรือประมาณ 117 ล้านลิตร และ ตลาดน้ำผลไม้ราคาถูก (Super Economy Market) 1.80 พันล้าน หรือประมาณ 63 ล้านลิตร ที่เหลือเป็นตลาดย่อยอื่นๆ มีมูลค่า 1.00 พันล้านบาท หรือประมาณ 28 ล้านลิตร และตลาดยังมีแนวโน้ม เติบโตต่อไปได้อีกในอนาคต เนื่องจากผู้บริโภคหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะลดการดื่มเครื่องดื่มชนิดอื่นลง เช่น น้ำอัดลม และหันมาดื่มน้ำผลไม้ทดแทนมากขึ้น ตลาดน้ำผลไม้พร้อมดื่มมีอัตราการเติบโตที่ดีอย่างต่อเนื่อง มาโดยตลอดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา โดยเฉลี่ยอัตราการเติบโต อยู่ที่ประมาณร้อยละ 11 (ที่มา:Nielsen, ธ.ค. 2554) อันเป็นผลมาจากปัจจัยหนุนหลากหลายปัจจัย กล่าวคือ กระแสความ ใส่ใจในเรื่องสุขภาพของผู้บริโภค โดยเฉพาะของคนกรุงเทพที่ใช้เวลาส่วนใหญ่กับการทำงาน และมีแนวโน้มที่ให้ความนิยม น้ำผลไม้ในบรรจุภัณฑ์ ประกอบกับการดำเนินชีวิตในปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบาย และใช้ชีวิตแบบเร่งรีบ ทำให้ ตลาดน้ำผัก-ผลไม้ยังคงเป็นธุรกิจที่ยังสามารถขยายตัวอยู่ได้ โดยที่บริษัทฯยังคงมุ่งเน้นรุกตลาดอย่างเต็มที่และต่อเนื่อง เพื่อ สร้างการเติบโตและส่วนแบ่งการตลาดให้เพิ่มมากขึ้น
Goodness from the ground Goodness from the ground
22
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
โดยในปี 2554 ทางบริษัทฯได้มีการวางแผนการตลาดและแนะนำสินค้าใหม่ในกลุ่มน้ำผลไม้พร้อมดื่ม ให้กับผู้บริโภค คือ น้ำแอปเปิล้ เขียวแกรนนีส่ มิธ และองุน่ ขาว ภายใต้แบรนด์ มาลี ซึง่ เริม่ วางจำหน่ายในเดือนสิงหาคม 2554 โดยเป็นการเพิม่ ทางเลือกและเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มองหาคุณค่าที่มากขึ้นของน้ำผลไม้ ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดีจาก ผู้บริโภค สามารถสร้างยอดขายและส่วนแบ่งตลาดได้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงและพัฒนารสชาติของน้ำผัก และน้ำผลไม้ต่างๆ ให้สด อร่อย ถูกปากผู้บริโภคคนไทยมากขึ้น รวมถึงมีการปรับแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ของน้ำผลไม้ยูเอชที และพาสเจอร์ไรส์ ให้สวยงาม โดดเด่นสะดุดตาบนชั้นวางมากขึ้น และออกขนาดบรรจุใหม่ เพื่อความคุ้มค่าในการบริโภคใน ราคาประหยัดขึน้ (value for money) เช่น น้ำผลไม้พาสเจอร์ไรส์แพคคู่ ซึง่ ได้รบั การตอบรับจากผูบ้ ริโภคเป็นอย่างดี มีการเพิม่ ช่องทางการจำหน่ายใหม่ๆ เช่น แอมเวย์ ล็อกซ์เล่ย์ หรือ ศูนย์จำหน่ายของไอศกรีมครีโม เพื่อเจาะตลาดเข้าสู่ ผู้บริโภคใหม่ๆ และกระจายสินค้าให้ครอบคลุมมากขึ้น
กลุ่มธุรกิจผลไม้กระป๋อง
ลักษณะเฉพาะตัวของอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง
ตลาดผลไม้กระป๋อง ปี 2554 มูลค่าตลาดประมาณ 800 ล้านบาท มีอัตราการเติบโตชะลอตัว อันเนื่องมาจากสภาวะ แวดล้อมโลกที่ผันผวน ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรลดต่ำลง ธุรกิจผลไม้กระป๋องมีการแข่งขันต่ำ มีคู่แข่งในตลาดเพียงไม่ กี่รายที่มีตราสินค้าเป็นที่ยอมรับ เช่น Malee UFC เป็นต้น อันเป็นผลจากธุรกิจการผลิตผลไม้กระป๋อง ต้องใช้การลงทุนที่ ค่อนข้างสูงในการก่อตั้งโรงงานผลิต ความเชี่ยวชาญในการเลือกซื้อวัตถุดิบในการผลิต แรงงานฝีมือในการคัดสรร ปอก คว้าน ผลไม้ ให้ได้คุณภาพ ซึ่งจะต้องใช้บุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและทักษะสูง จึงทำให้การเข้ามาแข่งขันในธุรกิจผลไม้กระป๋อง ค่อนข้างยาก
แนวโน้มอุตสาหกรรม
เนื่องจากธุรกิจผลไม้กระป๋อง เป็นธุรกิจที่ต้องเกี่ยวข้องกับผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งนั่นหมายถึงหากปีการผลิตใด ประสบปัญหาทางธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม แห้งแล้งส่งผลให้ผลผลิตผลไม้ไม่ตรงตามความต้องการของตลาด อีกทั้งเกษตรกร รุ่นใหม่ขาดการให้ความสำคัญในการปลูกผลไม้ฤดูกาล ทำให้พื้นที่ในการปลูกผลไม้น้อยลงไปทุกปี นอกจากนี้ธุรกิจผลไม้กระป๋อง ยังมีส่วนประกอบสำคัญอยู่ 2 ประการ คือ 1. กระป๋องที่ใช้บรรจุผลไม้ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการผลิต ผู้ประกอบการมีอำนาจในการต่อรองราคากระป๋องได้น้อยมาก เนื่องจากมีโรงงานผลิตกระป๋องเพียงไม่กี่รายในประเทศ อีกทั้งลักษณะธุรกิจผลไม้บรรจุกระป๋องต้องใช้กระป๋องเหล็กในการ บรรจุเท่านั้น เพื่อรักษาคุณภาพของผลไม้ให้คงคุณภาพตลอด 2 ปี ดังนั้นหากเหล็กมีการปรับราคาสูงขึ้น ก็จะส่งผลกระทบต่อ ธุรกิจโดยตรง 2. ผลผลิตของผลไม้ สืบเนื่องจากสภาวะสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมากในระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา ทำให้ ผลผลิตของผลไม้ที่จะนำมาเป็นวัตถุดิบมีน้อยกว่าที่ประมาณการไว้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจผลไม้กระป๋องโดยตรง ทำให้ ผู้ประกอบการหลายรายเลือกที่จะผลิตผลไม้กระป๋อง เพียงพอต่อตลาด โดยที่ไม่เน้นทำรายการส่งเสริมการขายเพื่อกระตุ้นยอด ขายมากนัก
รายงานประจำปี 2554
23
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ภาวะการแข่งขัน
ตลาดผลไม้กระป๋อง แบ่งเป็น 3 ตลาดใหญ่ๆ คือตลาด Premium, Medium และ Economy ตลาด Premium มี 2 คู่แข่งหลัก คือ Malee ภายใต้การผลิตของ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด(มหาชน) และ UFC ภายใต้การผลิตของ บริษทั อาหารสากล จำกัด (มหาชน) ซึง่ ในตลาดนีจ้ ะไม่เน้นการใช้ราคาเป็นหลัก แต่จะเน้นในเรือ่ งของ คุณภาพ และการส่งเสริมการขาย ตลาด Medium มีหลากหลายแบรนด์ทใ่ี ห้ความสนใจในตลาดนี้ เนือ่ งจากคุณภาพสินค้าปานกลาง ราคาต่ำกว่าสินค้า กลุ่ม Premium เช่น นกพิราบ, ไทยเอดี, เฟริสช้อยส์ และเฮ้าส์แบรนด์ ต่างๆ ตลาด Economy ซึง่ เป็นตลาดทีม่ หี ลายแบรนด์มาก อีกทัง้ ไม่เน้นคุณภาพ แต่จะเน้นทางด้านราคาเป็นหลัก เช่น รถถัง, ชาวสวน, ชาวดอย เป็นต้น โดยรวมแล้วตลาด Medium และ Economy จะเป็นการใช้สงครามราคาเป็นหลัก
ตำแหน่งของบริษัทในอุตสาหกรรม
ตลาดผลไม้กระป๋อง จะมี Malee เป็นผู้นำตลาด และเป็นผู้กระตุ้นตลาดให้เติบโต ภายใต้การทำโปรโมชั่นส่งเสริม การขายต่างๆ และการออกสินค้าใหม่เพื่อจับ trend ของตลาด ส่วนแบ่งทางการตลาด 1. Malee มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 43% Leader 2. UFC มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 35% 3. เฟริสช้อยส์ มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 9% 4. House brand มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 7% 5. อื่นๆ มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 6% (ที่มา: Nielsen, Sep 11)
กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่มธัญพืช
ในปี 2554 ตลาดกลุ่มเครื่องดื่มธัญพืชมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ประมาณ 2,000 ล้านบาท เมื่อเทียบกับขนาดของ เครือ่ งดืม่ ชนิดอืน่ ซึง่ มีมลู ค่ามากถึง 1 แสนล้านบาท แต่แนวโน้มการขยายตัวของตลาดดีขน้ึ เนือ่ งจากกระแสของการดูแล สุขภาพ ได้รบั การตอบรับค่อนข้างดีในกลุม่ ของผูบ้ ริโภคโดยทัว่ ไป และยังมีคแู่ ข่งทีอ่ ยูใ่ นตลาดของธัญพืชโดยตรงน้อยอยู่ เช่น โอวัลติน, ไมโล, มิว (Mew) ซึ่งในปี 2555 นี้ คาดว่าจะมีอีกหลายแบรนด์ที่ลงมาเล่นในตลาดนี้ เช่น Vita, EMO บริษัทฯ มีความเติบโต 3% เนื่องจากการยกเลิกการจำหน่ายในบางรสชาติรวมถึง ผู้บริโภคมีทางเลือกในเรื่องเครื่องดื่ม เพื่อสุขภาพที่หลากหลายขึ้น และคู่แข่งขันมีสินค้าใหม่ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับช่วงปลายปี ประสบปัญหาในเรื่อง ของวัตถุดบิ ขาดแคลน ทำให้ไม่สามารถจำหน่ายสินค้าได้อย่างเต็มความต้องการ บริษทั ฯ เล็งเห็นถึงความสำคัญของผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มนี้ และเห็นถึงกระแสความต้องการของผู้บริโภคที่สนใจในผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ จึงมุ่งเน้นที่จะสรรหาผลิตภัณฑ์ที่มี ประโยชน์ต่อสุขภาพมากขึ้น เพื่อตอบสนองกระแสคนรักสุขภาพในตลาดเครื่องดื่มธัญพืชนี้
Goodness from the ground
24
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
กลุ่มธุรกิจนมยูเอชที และนมพาสเจอร์ไรส์
ตลาดนมในไทยมีแนวโน้มเติบโตทีด่ ี เนือ่ งจากกระแสของคนรุน่ ใหม่ทห่ี นั มาใส่ใจสุขภาพมากขึน้ โดยในปี 2554 ทีผ่ า่ นมา มีมูลค่าตลาดรวม 14,000 ล้านบาท อัตราการบริโภคนมของคนไทยเฉลี่ยอยู่ที่ 10 ลิตรต่อคนต่อปี แม้จะเป็นปริมาณที่ไม่มาก เท่ากับประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่ก็เป็นอัตราที่มากขึ้นกว่าในอดีต และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีสาเหตุมาจากความ หลากหลายของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ รสชาติ การขยายตัวของช่องทางการจำหน่าย และแบรนด์ที่เข้ามาทำตลาดมากขึ้น ปัจจุบันคนไทยมีการใส่ใจ ให้ความสำคัญ กับการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองมากขึ้น รัฐบาลมีนโยบายในการรณรงค์ให้ประชาชนดื่มนมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีสุขภาพที่ สมบูรณ์ และแข็งแรงเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของประเทศ ตลาดเครื่องดื่มประเภทนมแบ่งออกได้หลากหลายประเภทตาม วัตถุดิบที่ใช้ผลิต และกระบวนการผลิต หลักๆ คือ • นมพร้อมดื่มยูเอชที เป็นตลาดที่ถูกควบคุมราคาโดยรัฐบาล มีสัดส่วนของตลาดประมาณ 70% ของตลาดรวม (ที่มา:Nielsen, พ.ค.2554) โดยรสจืดมีสัดส่วนการจำหน่ายสูงสุด และสามารถแบ่งตลาดออกได้เป็นนมยูเอชที สำหรับครอบครัว สำหรับผู้ใหญ่ และสำหรับเด็ก มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องที่ 7% • นมพาสเจอร์ไรส์ เป็นตลาดที่ถูกควบคุมราคาโดยรัฐบาล มีสัดส่วนของตลาดประมาณ 30% ของตลาดรวม (ที่มา:Nielsen, พ.ค. 2554) และเติบโตที่ 10% สภาพตลาดนมที่มีการแข่งขันเพิ่มมากขึ้นทั้งการโฆษณาและการจัดรายการส่งเสริมการขายลดราคา เพื่อรักษาความ เป็นผูน้ ำและส่วนแบ่งทางการตลาด จึงส่งผลกระทบกับบริษทั แต่อย่างไรก็ตามในปี 2554 บริษทั ได้มแี ผนในการขยายช่องทาง การจัดจำหน่ายของนมยูเอชทีให้เพิม่ มากขึน้ ในส่วนนมพาสเจอร์ไรส์มงุ่ เน้นเพิม่ การกระจายสินค้าจากโดยการเปิดเอเย่นต์ใหม่ๆ เพือ่ กระจายสินค้าให้เข้าถึงกลุม่ ผูบ้ ริโภคโดยตรง และกลยุทธ์การพัฒนาตลาดไปยังกลุม่ ธุรกิจทีใ่ ช้ผลิตภัณฑ์นมสดพาสเจอร์ไรส์ เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า โดยในปี 2554 ทางบริษัท ได้ตั้งเป้าหมายการเติบโตทั้งนมยูเอชทีและนมพาสเจอร์ไรส์ ตราฟาร์มโชคชัย ด้วยการขยายฐานผู้บริโภคออกไปในกลุ่มใหม่ๆ มากขึ้น เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่ๆ การปรับรูปลักษณ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์ให้ดูทันสมัยมากยิ่งขึ้น รวมถึงใช้กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมพาสเจอร์ไรส์ ชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งทำให้สามารถปรับราคาจำหน่ายได้อีกด้วย
รายงานประจำปี 2554
25
โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
ชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก บริษัท เอบิโก้โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) CREDIT SUISSE AG SINGAPORE BRANCH นายพิชัย จิราธิวัฒน์ นางสาว สิริลักษณ์ วิทยานุพงศ์ Thailand Securities Depository Co., Ltd., for Depositors นายศักดิ์ชัย จิราธิวัฒน์ บริษัท ซีดีไอ จำกัด รวม
จำนวนหุ้น 24,751,577 17,840,700 14,245,000 4,583,700 3,150,000 2,629,500 1,644,400 700,000 69,544,877
สัดส่วน 35.36% 25.49% 20.35% 6.59% 4.50% 3.76% 2.35% 1.00% 99.35%
การถือครองหุ้นโดยกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ชื่อ นายฉัตรชัย บุญรัตน์ นางจินตนา บุญรัตน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายกิตติ วิไลวรางกูร นายปัณฑิต มงคลกุล นายเขมทัต สุคนธสิงห์ นายมติ ตั้งพานิช นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต
คณะกรรมการบริษัท
ณ 31 ธ.ค. 2554 -
เปลี่ยนแปลง -
ณ 31 ธ.ค. 2553 -
นายฉัตรชัย บุญรัตน์ ประธานกรรมการ นางจินตนา บุญรัตน์ กรรมการ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ นายกิตติ วิไลวรางกูร กรรมการ นายปัณฑิต มงคลกุล กรรมการ นายเขมทัต สุคนธสิงห์ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ นายมติ ตั้งพานิช กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ นายรังสรรค์ คงเปี่ยม เลขานุการบริษัท Goodness from the ground
26
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของกรรมการบริษัทฯ
คณะกรรมการบริษทั ฯ มีคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นและไม่เป็นผูบ้ ริหาร โดยมีอำนาจและหน้าทีใ่ นการ จัดการและดำเนินกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในการ ปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้น คณะกรรมการอาจมอบหมายให้กรรมการคนใดคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นไปปฏิบัติอย่างใด อย่างหนึง่ แทนกรรมการก็ได้ ต้องจัดให้มกี ารประชุมของคณะกรรมการอย่างน้อยสามเดือน (3) ต่อครัง้ และกรรมการผูม้ อี ำนาจ ตามหนังสือรับรองมีอำนาจลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัทในเอกสาร ตราสาร หรือหนังสือสำคัญอื่นใดผูกพัน บริษัทได้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการอาจกำหนด และแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท พร้อมประทับตราสำคัญของบริษัทได้ บริษัทห้ามมิให้กรรมการ ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขัน กับกิจการของบริษัท หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญหรือเป็นหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดชอบในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือเป็นกรรมการของบริษัทเอกชนที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท เว้นแต่ จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง ให้กรรมการแจ้งให้บริษัทฯ ทราบโดยมิชักช้า เมื่อกรรมการมีส่วน ได้เสียในสัญญาใดๆ ที่บริษัทฯ ได้ทำขึ้น หรือถือหุ้น หรือหุ้นกู้ในบริษัทฯ และบริษัทในเครือในจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง โดยหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการจัดการที่สำคัญมีลักษณะเฉพาะดังนี้ สอบทานและให้แนวทางเกี่ยวกับกลยุทธ์ของบริษัท แผนการปฏิบัติงานที่สำคัญ นโยบายด้านความเสี่ยง งบประมาณ ประจำปี และแผนธุรกิจ กำหนดเป้าหมายของผลการปฏิบัติการ สังเกตการนำไปปฏิบัติ และดูแลรายจ่ายลงทุนที่ สำคัญ รวมทั้งการเข้าร่วมทุน และขายกิจการ คัดเลือก กำหนดค่าตอบแทน และประเมินผลงานของผู้บริหารสม่ำเสมอ (หรือถอดถอนหากจำเป็น) และทบทวน การวางแผนสืบทอดงานให้มีความต่อเนื่อง สอบทานค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร และดูให้แน่ใจว่าคณะกรรมการมีกระบวนการสรรหากรรมการอย่าง เป็นทางการและโปร่งใส ให้ความมัน่ ใจว่าระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีมคี วามน่าเชือ่ ถือ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ระบวนการ ในการประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการเงิน และการปฏิบัติ ตามกฎหมาย สอดส่องดูแลและจัดการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการและผู้ถือหุ้น รวมทั้ง การใช้สินทรัพย์ของบริษัทในทางมิชอบ และการกระทำที่ไม่ถูกต้องในรายการระหว่างบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เสนอแต่งตั้งผู้สมควรเป็นกรรมการ และให้ความมั่นใจว่าโครงสร้างและวิธีปฏิบัติต่างๆ ของคณะกรรมการที่เป็นอยู่ ได้ปูทางไว้สำหรับการกำกับดูแลกิจการที่เหมาะสม และ การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีจริยธรรมที่ดี กรรมการสามารถใช้ดุลยพินิจอย่างตรงไปตรงมาในธุรกิจการงานของบริษัทอย่างเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและกลุ่ม ทีม่ ผี ลประโยชน์อน่ื ใด กรรมการต้องอุทศิ เวลาให้อย่างเพียงพอ และเอาใจใส่ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามความรับผิดชอบ ของตน
คณะกรรมการตรวจสอบ นายเขมทัต สุคนธสิงห์ นายมติ ตั้งพานิช นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
รายงานประจำปี 2554
27
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ
สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำปี ร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ให้ตรงต่อความจริง ครบถ้วน เพียงพอและเชื่อถือ ได้ สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามข้อกำหนด และกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พิจารณาให้มีการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจจะเป็นข้อขัดแย้งทางผลประโยชน์ ดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี พิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจำปี การติดตามการดำเนินงานโครงการการลงทุนต่างๆ รับทราบรายงาน การตรวจสอบและแนวทางการปรับปรุงแก้ไขจากผู้ตรวจสอบภายในพร้อมทั้งเสนอแนะในบางประเด็น สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อลดความเสี่ยงนั้น
คณะกรรมการบริหาร
นายฉัตรชัย บุญรัตน์ นางจินตนา บุญรัตน์ นายปัณฑิต มงคลกุล นายกิตติ วิไลวรางกูร
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
1. ช่วยเหลือคณะกรรมการบริษัทฯ ในการบริหารจัดการ โดยจัดให้มีกลยุทธ์และนโยบายในการประกอบธุรกิจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 2. พิจารณางบประมาณประจำปีของบริษัทฯ ก่อนนำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. จัดเตรียมและนำเสนอกลยุทธ์ แผนธุรกิจและการดำเนินงานให้แก่คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณาการเริ่มดำเนินธุรกิจใหม่ๆ ของบริษัทฯ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ ก่อนนำเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 5. ทบทวนการดำเนินธุรกิจทั้งที่เป็นธุรกรรมปกติและที่มิใช่ธุรกรรมปกติของแต่ละสายงานธุรกิจเป็นระยะๆ 6. ทบทวนและให้ความเห็นต่อรายงานผลกำไรขาดทุนประจำเดือนที่รายงานโดยฝ่ายบริหาร 7. ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการบริหาร เห็นชอบด้วย
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน นายมติ ตั้งพานิช นายเขมทัต สุคนธสิงห์ นางจินตนา บุญรัตน์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
Goodness from the ground
28
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
พิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่คุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการบริษัท และเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษัทให้นำชื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่ง พิจารณาคัดเลือกและกลั่นกรองบุคคลที่คุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการผู้จัดการ และเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษัทให้อนุมัติ นำเสนอแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนสำหรับผู้บริหารระดับจัดการของบริษัท พิจารณากลั่นกรองอัตราค่าตอบแทนกรรมการ เพื่อเสนอแนะให้คณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้น พิจารณากลั่นกรองอัตราค่าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการเพื่อเสนอแนะให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ นำเสนอแนวทางออกใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นของกรรมการและพนักงาน เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริษัทและ ผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการ กลต. อนุมัติ พิจารณาจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นของกรรมการและพนักงานที่ได้รับอนุมัติตามข้อ 4 ให้แก่กรรมการและ พนักงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร
การแต่งตัง้ กรรมการของบริษทั ให้กระทำโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ บุคคลทีด่ ำรงตำแหน่งกรรมการบริษทั ฯ ต้องมีคณ ุ สมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามที่กฎหมายกำหนด โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวนไม่น้อยกว่าห้าคน (5 คน) เลือกตั้งโดยที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ในการเลือกกรรมการ อาจใช้วธิ อี อกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล คราวละคน หรือคราวละหลายๆ คน ตามแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการลงมติแต่ละครั้ง ผู้ถือหุ้นต้องออกเสียงด้วยคะแนนที่มีตามข้อ 1 ทั้งหมด จะแบ่งคะแนนเสียงแก่คนใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่ากับจำนวนทีพ่ งึ จะมี หรือ พึงจะเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบ่ี คุ คลซึง่ ได้รบั เลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่า เกินกว่าจำนวนกรรมการ ที่พึงจะมีหรือพึงจะเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ประธานที่ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งหนึ่งในสาม (1 ใน 3) เป็นอัตรา ถ้าจำนวน กรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการผู้ออกจากตำแหน่งตามข้อนี้อาจได้รับเลือกตั้งให้เข้ารับตำแหน่งอีกก็ได้ ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคล หนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัท มหาชน จำกัด เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุม คณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน (2 เดือน) บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทน ดังกล่าว จะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการนั้น ต้อง ประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3 ใน 4) ของจำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่
รายงานประจำปี 2554
29
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ
บุคคลต้องมีคุณสมบัติของกรรมการตรงตามที่กำหนดไว้ เป็นกรรมการที่สามารถปฏิบัติหน้าที่แสดงความคิดเห็น โดยใช้ดุลยพินิจของตนเองอย่างเป็นอิสระ และมีจริยธรรม โดยยึดถือประโยชน์ขององค์กรเป็นหลัก โดยไม่ได้คำนึงถึงเฉพาะประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ รายย่อย หรือตนเอง มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯกำหนด และเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ดี ดังต่อไปนี้ • ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ในบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วมหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง (นับรวมบุคคลที่เกี่ยวข้องมาตรา 258 ตามกฎหมายหลักทรัพย์) • ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานรวมทั้งไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำหรือผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งโดยต้องไม่มีผลประโยชน์หรือส่วน ได้เสียในลักษณะดังกล่าวมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี • ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมทั้งในด้านการเงินและ การบริหารงานของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่จะทำให้ขาด ความเป็นอิสระ • ไม่เป็นญาติสนิทกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง และไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ • เปิดเผยความสัมพันธ์ใดๆ ที่อาจทำให้ขาดความเป็นอิสระ แก่คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นายเขมทัต สุคนธสิงห์ นายมติ ตั้งพานิช นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต นายปัณฑิต มงคลกุล
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
• ช่วยเหลือคณะกรรมการบริษัทฯ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยจัดให้มีกลยุทธ์และมาตรการในการควบคุม ความเสี่ยง • ทบทวนความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ กำหนดขอบเขตความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และควบคุมความ เสี่ยงอย่างมีประสิทธิผล • ร่วมกับฝ่ายจัดการในการทบทวนกลยุทธ์ รูปแบบและขั้นตอนในการปฏิบัติงานที่จะนำไปสู่การลดความเสี่ยงที่สำคัญ ของบริษัทฯ • ทบทวนรายงานของฝ่ายจัดการในเรื่องขั้นตอนที่ได้ดำเนินการ เพื่อการกำกับดูแลและควบคุมความเสี่ยงต่างๆ ของบริษัทฯ • ปฏิบัติการอื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เห็นชอบด้วย Goodness from the ground
30
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
เลขานุการบริษัท
ด้วยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 บัญญัติให้คณะกรรมการ ต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัทรับผิดชอบดำเนินการของบริษัทในนามของบริษัทหรือคณะกรรมการ บริษัทได้แต่งตั้งบุคคลที่มี คุณวุฒแิ ละประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมทำหน้าทีเ่ ลขานุการบริษทั โดยกำหนดคุณวุฒิ และคุณสมบัติ ตลอดจนหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ดังนี้
คุณวุฒิ และคุณสมบัติ
ปริญญาตรี มีความรู้เรื่องหลักกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท และ ก.ล.ต. มีมนุษยสัมพันธ์และความสามารถสื่อสารดี มีความรู้เรื่องบรรษัทภิบาล
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. จัดทำและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้ • ทะเบียนกรรมการ • หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจำปีของบริษัท • หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 3. ดำเนินการอื่น ตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด 4. ดูแลเปิดเผยข้อมูล และการรายงานให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องและการกำกับดูแลกิจการที่ดี
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
ก) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการทุกท่านในปี 2554 จำนวน 8 ท่าน เท่ากับ 2,645,000 บาท มีรายละเอียดดังนี้ (ตามเอกสารแนบ file ค่าตอบแทนกรรมการ) ข) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหารและผู้บริหารในปี 2554 จำนวน 18 ท่าน เท่ากับ 33,471,863 บาท (ณ. 31 ธันวาคม 2554 มีผู้บริหารอยู่ 10 ท่าน และรวมกรรมการ 8 ท่าน)
ค่าตอบแทนอื่นๆ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของผู้บริหารรวม 8 ท่านในปี 2554 เท่ากับ 203,639.76 บาท
1 นายฉัตรชัย บุญรัตน์ - ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการบริหาร 2 นางจินตนา บุญรัตน์ - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน 3 นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ - กรรมการ 4 นายเขมทัต สุคนธสิงห์ - กรรมการ - ประธานกรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 5 นายมติ ตั้งพานิช - กรรมการ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ - ประธานสรรหาและพิจารณาผลตอบแทน - กรรมการบริหารความเสี่ยง 6 นายกิตติ วิไลวรางกูร - กรรมการ - กรรมการบริหาร 7 นายปัณฑิต มงคลกุล - กรรมการ - กรรมการบริหาร - กรรมการบริหารความเสี่ยง 8 นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต - กรรมการ - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการอิสระ รวม
รายชื่อ / ตำแหน่ง กรรมการ
4/4 4/4
4/4
4/4 4/4
2555 - 2557
2553 - 2556
2554 - 2556
2555 - 2557
2553 - 2555
Goodness from the ground 4/4
-
-
4/4
4/4
-
-
-
ตรวจสอบ
-
10/10
10/10
-
-
-
10/10
10/10
บริหาร
2/4
4/4
-
4/4
4/4
-
-
ความเสี่ยง -
-
-
-
1/1
1/1
-
1/1
พิจารณา -
80,000
720,000
300,000
80,000
80,000
80,000
80,000
80,000
80,000
160,000
กรรมการ บริษัท
100,000
-
-
100,000
100,000
-
-
-
รายปี
ค่าตอบแทน
320,000
80,000
-
-
80,000
160,000
-
-
-
กรรมการ ตรวจสอบ
-
1,080,000
-
280,000
200,000
-
-
200,000
400,000
กรรมการ บริหาร
ค่าเบี้ยประชุม
185,000
25,000
40,000
-
40,000
80,000
-
-
กรรมการ บริหาร ความเสี่ยง -
40,000
-
-
-
20,000
10,000
-
10,000
กรรมการ สรรหา/ พิจารณา -
หมายเหตุ : วาระการดำรงตำแหน่ง ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งหนึ่งในสามเป็นอัตรา ถ้าจำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม
4/4
4/4
2552 - 2555
2552 - 2555
4/4
2553 - 2556
บริษัท
คณะกรรมการเข้าร่วมประชุม(ครั้ง) วาระการดำรง กรรมการ กรรมการ ตำแหน่ง พ.ศ. กรรมการ กรรมการ กรรมการ บริหาร สรรหา/
คณะกรรมการต่างๆ ของบริษัท จำนวนครั้งเข้าประชุม และค่าตอบแทนของคณะกรรมการรอบปี 2554
2,645,000
285,000
400,000
280,000
320,000
430,000
80,000
290,000
560,000
รวม
รายงานประจำปี 2554
31
32
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
33
การกำกับดูแลกิจการ นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ได้ถือเป็นนโยบายที่จะส่งเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดี (GOOD CORPORATE GOVERNANCE) โดยมีหลักการและวิธีปฏิบัติที่ดี ดังนี้ 1. ปฏิบตั งิ านโดยคำนึงถึงสิทธิและความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย และผูม้ สี ว่ นได้เสีย (ได้แก่ ลูกจ้าง คูค่ า้ ชุมชน เจ้าหนี้) ด้วยการ 1.1 ดูแลผลประโยชน์และมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นโดยปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และละเว้น การกระทำใดๆ ทีเ่ ป็นการจำกัดโอกาสการศึกษาสารสนเทศของบริษทั และการเข้าประชุมของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2554 เมือ่ วันจันทร์ท่ี 25 เมษายน 2554 เวลา 10.00 น. ณ อาคารเอบิโก้ เลขที่ 401/1 ชัน้ 6 ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจำปีมีกรรมการเข้าร่วมประชุม ซึ่งรวมถึงประธานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยบริษัทฯได้กำหนด ให้มีขั้นตอนในการประชุมอย่างถูกต้องตามกฎหมายตั้งแต่การเรียกประชุม รวมทั้งเสนอทางเลือกให้ผู้ถือหุ้น ที่ไม่สามารถเข้าประชุมสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระเข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน หนังสือ มอบฉันทะและรายละเอียดวิธีการมอบฉันทะให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม 14 วัน และในการ ลงคะแนนเสียงประธานในที่ประชุมได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงวิธีการออกเสียงลงคะแนนโดยใช้บัตรลงคะแนน ก่อนการประชุม ในการนับคะแนนยังกำหนดให้มีตัวแทนจากกรรมการอิสระและผู้สอบบัญชีภายนอกร่วมกัน เป็นพยานในการนับคะแนนร่วมกับพนักงานของบริษทั ฯ นอกจากนีย้ งั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเท่าเทียมกัน ในการตรวจสอบการดำเนินงานของบริษัท สอบถามและแสดงความคิดเห็น 1.2 ให้ความมั่นใจว่าสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียตามที่กฎหมายกำหนดได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดี 1.3 จัดทำรายงานที่เป็นลายลักษณ์อักษรในการแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบของบริษัทต่อผู้มีส่วนได้เสีย 1.4 นำเสนอสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันที่มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญที่เข้าใจง่าย และสม่ำเสมอต่อผู้มีส่วนได้เสีย
Goodness from the ground
Goodness from the ground
34
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
2. โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และความเป็นอิสระของคณะกรรมการบริษัท มีดังนี้ 2.1 มีคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการที่เป็นและไม่เป็นผู้บริหาร โดยจะพิจารณามอบหมายให้กรรมการที่ไม่ เป็นผู้บริหารจำนวนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่ให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับงานที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ได้แก่ การรายงานทางการเงินโดยคณะกรรมการตรวจสอบ (AUDIT COMMITTEE) การสรรหา บุคคลเข้าดำรงตำแหน่งโดยคณะกรรมการสรรหา (NOMINATING COMMITTEE) และการพิจารณาค่า ตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารโดยคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน (REMUNERATION COMMITTEE) 2.2 ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) 2.3 หน้าที่ความรับผิดชอบด้านการจัดการที่สำคัญและมีลักษณะเฉพาะ คือ • สอบทานและให้แนวทางเกี่ยวกับกลยุทธ์ของบริษัท แผนการปฏิบัติงานที่สำคัญ นโยบายด้านความเสี่ยง งบประมาณประจำปี และแผนธุรกิจ กำหนดเป้าหมายของผลการปฏิบัติงาน สังเกตการนำไปปฏิบัติ ติดตามผลการดำเนินงานของบริษทั และดูแลรายจ่ายลงทุนทีส่ ำคัญ รวมทัง้ การเข้าร่วมทุนและขายกิจการ • คัดเลือก กำหนดค่าตอบแทนและประเมินผลงานของผู้บริหารอย่างสม่ำเสมอ (หรือถอดถอนหากจำเป็น) และทบทวนการวางแผนสืบทอดงานให้มีความต่อเนื่อง • สอบทานค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร และดูให้แน่ใจว่าคณะกรรมการมีกระบวนการสรรหา กรรมการอย่างเป็นทางการและโปร่งใส • ให้ความมั่นใจว่าระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีมีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มี กระบวนการในการประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการเงิน และการปฏิบัติตามกฎหมาย • สอดส่องดูแลและจัดการแก้ปญ ั หาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และผูถ้ อื หุน้ รวมทั้งการใช้สินทรัพย์ของบริษัทในทางมิชอบ และการกระทำที่ไม่ถูกต้องในรายการระหว่างบุคคลที่เกี่ยว โยงกัน • เสนอแต่งตั้งผู้สมควรเป็นกรรมการ และให้ความมั่นใจว่าโครงสร้างและวิธีปฏิบัติต่างๆ ของคณะกรรมการ ที่เป็นอยู่ได้ปูทางไว้สำหรับการกำกับดูแลที่เหมาะสมและการปฏิบัติเป็นไปอย่างมีจริยธรรมที่ดี • กรรมการสามารถใช้ดุลยพินิจอย่างตรงไปตรงมาในธุรกิจการงานของบริษัทอย่างเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ และกลุ่มที่มีผลประโยชน์อื่นใด กรรมการต้องอุทิศเวลาให้อย่างเพียงพอ และเอาใจใส่ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามความรับผิดชอบของตน 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทได้เปิดเผยสารสนเทศที่สำคัญของบริษัทอย่างถูกต้อง ทันเวลา และโปร่งใส โดยจัดให้มีหน่วยงาน หรือผู้รับผิดชอบงานเกี่ยวกับ “ผู้ลงทุนสัมพันธ์” (INVESTOR RELATIONS) เพื่อ เป็นตัวแทนในการสื่อสารกับผู้ลงทุนที่เป็นสถาบัน ผู้ถือหุ้นรวมทั้งนักวิเคราะห์ทั่วไปและภาครัฐที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการ ควรจัดหาทรัพยากรอย่างเพียงพอ เพื่อช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่ในการนำเสนอสารสนเทศและการติดต่อ สื่อสาร
รายงานประจำปี 2554
35
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
4. การควบคุมและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในการระบุปัญหาความเสี่ยงทางธุรกิจที่อาจ เกิดขึ้น และให้ความมั่นใจว่าบริษัทมีกระบวนการต่างๆ จัดไว้พร้อมที่จะจัดการกับความเสี่ยง 4.1 จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล มาตรการควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ าน และการจัดการความเสีย่ ง รวมทั้งให้ความสำคัญกับสัญญาณการเตือนภัยล่วงหน้า 4.2 จัดให้มีการสื่อสารที่มีประสิทธิผล ระหว่างผู้สอบบัญชีอิสระ ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบเป็นกลไกติดต่อสื่อสาร 4.3 สำนักตรวจสอบภายในมีบทบาทสำคัญในระบบการบริหารงานและรายงานทางการเงิน บริษัทต้องจัดให้มี หน่วยงานนี้แยกเป็นหน่วยงานหนึ่งของบริษัท 5. จริยธรรมธุรกิจ บริษทั จัดให้มขี อ้ พึงปฏิบตั เิ กีย่ วกับจริยธรรมเพือ่ ให้กรรมการบริษทั ฝ่ายจัดการ และพนักงานได้ทราบ ถึงมาตรฐานการปฏิบัติงานที่บริษัทและบุคคลต่างๆ คาดหวังเช่น ผู้ถือหุ้น คู่ค้า เจ้าหนี้ และชุมชน เป็นต้น โดยกรรมการ และฝ่ายจัดการต้องให้การสนับสนุนข้อพึงปฏิบัติดังกล่าวอย่างเต็มที่ และเผยแพร่ไปยังพนักงานทุกคน
จรรยาบรรณกลุ่มบริษัทมาลี
กลุม่ บริษทั มาลี มีวตั ถุประสงค์ในการดำเนินธุรกิจผลิตสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงจำหน่ายในราคาทีเ่ หมาะสม สร้างสัมพันธภาพ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ และความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อม ชุมชน และสังคม จึงกำหนดข้อพึงปฏิบตั ไิ ว้ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทยึดถือเพื่อเป็นหลักการและคุณธรรมประจำใจในการปฏิบัติงาน
การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
บริษัทฯ ได้มีการให้กรรมการและผู้บริหารรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อป้องกันการนำข้อมูลภายในของบริษัทฯ ไป ใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนในการซื้อขายหลักทรัพย์ พร้อมทั้งได้แจ้งให้ทราบถึงความรับผิดส่วนบุคคล และมาตรการลงโทษ ให้ทราบ
บุคลากร
จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าตอบแทนของพนักงานปี 2554
1,340 คน 320,777,630 บาท
Goodness from the ground
Goodness from the ground
36
รายงานประจำปี 2554
ระบบการควบคุมภายใน 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในร่วมกับผู้สอบบัญชรับอนุญาตและสำนักตรวจสอบภายใน ของบริษทั ทุกไตรมาส บริษทั มีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอในการดำเนินธุรกิจ ซึง่ รวมถึงการดูแลทรัพย์สนิ การป้องกัน ความผิดพลาดเสียหาย การทุจริต และความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน ฝ่ายบริหารและสำนักตรวจสอบภายในมีความเห็นว่า การควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและมีประสิทธิผล และไม่พบข้อบกพร่องเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่เป็นสาระสำคัญ
รายงานประจำปี 2554
37
รายการระหว่างกัน โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ข้อ 6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทแต่ละรายการ บริษัทฯ คำนึงถึงเนื้อหา ของความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย บริษัทฯ มีรายการบัญชีกับบุคคล บริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด บริษัท ไอคอน ฟู้ดส์ จำกัด
ลักษณะธุรกิจ ผู้จัดจำหน่าย ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย ผูจ้ ดั จำหน่าย (ปัจจุบนั ไม่ดำเนินกิจการ) ผูจ้ ดั จำหน่าย (ปัจจุบนั ไม่ดำเนินกิจการ)
ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน
บริษัทโฮลดิ้ง (การลงทุน)
เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท/ กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน บริษัทในเครือ/กรรมการร่วมกัน เกี่ยวข้องกับ บมจ. เอบิโก้ โฮลดิ้ง กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)
ลักษณะความสัมพันธ์
บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด พัฒนาที่ดิน/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด รับจ้างผลิตนมและน้ำผลไม้สำเร็จรูป บริษัท นมโชคชัย จำกัด เจ้าของลิขสิทธิ์นมตราโชคชัย บริษัท พีพีโอ ฟาร์ม จำกัด ฟาร์มโคนมและจำหน่ายน้ำนมดิบ บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด ห้างสรรพสินค้า บริษทั ไอร่า แฟคตอริง่ จำกัด (มหาชน) (ก) แฟคตอริ่ง บริษัท ซีจี โบรกเกอร์ จำกัด ประกันภัย (ก) ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม 2554 บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ “บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน)”) ไม่ได้เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในระหว่างปี บริษัทฯ มีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขทางการค้า และเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทและบริษัทเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกำหนดราคา 2554 2553 2554 2553 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ได้ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม - 1,141,016,108 1,205,969,822 ซื้อสินค้า ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม 44,823,483 50,677,669 ซื้อวัตถุดิบและอื่นๆ ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม 30,576,061 -
Goodness from the ground
38
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
งบการเงินรวม 2554 2553 -
นโยบายการกำหนดราคา รายได้อื่น ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม รายได้จากการค้ำประกัน อัตราร้อยละ 0.25 ของจำนวนเงินค้ำประกัน ค่าธรรมเนียมในการค้ำประกัน อัตราร้อยละ 0.25 ของจำนวนเงินค้ำประกัน ค่าเช่าและค่าบริการทีด่ นิ และโรงงาน ตามสัญญา
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 9,877,274 82,591,639
-
-
737,500
737,500
-
-
700,000 1,692,990
700,000 -
-
1,997,662
-
112,262,417 6,289,103 11,016,960 50,045,118 12,690,511 1,573,587
6,525,360 60,120,227 -
6,609,360 50,045,118 -
ซื้อที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงาน ราคาทุน รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 96,838,151 ซื้อสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 9,840,622 ค่าเช่าอาคาร ตามสัญญา 11,016,960 ค่าบริการผลิตสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 60,120,227 ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ตามสัญญา 20,904,187 ดอกเบี้ยแฟคตอริ่ง ตามอัตราตลาด 383,977 ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังนี้
ลูกหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด รวม ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทย่อย ไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
บาท
งบการเงินรวม 2554 2553
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
-
-
623,331,386 1,617,165 624,948,551
578,994,808 4,536,172 583,530,980
1,088,540 16,633,908 17,722,448
1,088,540 17,226,513 18,315,053
1,088,540 1,088,540
1,088,540 1,088,540
(1,088,540)
(1,088,540)
(1,088,540)
(1,088,540)
-
-
(244,395,435)
(334,031,767)
รายงานประจำปี 2554
39
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ลูกหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม เงินมัดจำ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม เจ้าหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด เจ้าหนี้แฟคตอริ่ง กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) เจ้าหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด รวม
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
-
-
5,418,204 210,000 5,628,204
4,965,428 4,965,428
111,168 111,168
138,924 3,488 142,412
111,168 111,168
138,924 138,924
2,973,000 83,436 3,056,436
2,973,000 4,503,488 7,476,488
-
-
-
-
536,492 25,584,053 26,120,545
53,725,106 53,725,106
6,153,107
6,976,117
6,135,570
6,963,512
-
28,862,498
-
-
-
-
5,510,000 5,510,000
498,655 5,759,921 6,258,576
63,455 17,537 16,649,958 16,730,950
99,711 12,630 12,004,475 12,116,816
39,753 39,753
67,487 67,487
Goodness from the ground
40
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
41
คณะกรรมการบริษัท 1) นายฉัตรชัย บุญรัตน์ 2) นางจินตนา บุญรัตน์ 3) นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ 4) นายกิตติ วิไลวรางกูร 5) นายปัณฑิต มงคลกุล 6) นายเขมทัต สุคนธสิงห์ 7) นายมติ ตั้งพานิช 8) นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต 9) นายรังสรรค์ คงเปี่ยม
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ เลขานุการบริษัท
ประวัติคณะกรรมการบริษัท ชื่อ นายฉัตรชัย บุญรัตน์ ตำแหน่ง ประธานกรรมการ
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท ด้านวิศวกรรมการผลิต จากมหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ผ่านการอบรมหลักสูตร Chairman 2000 จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และหลักสูตรสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท) รุ่นที่ 11 ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และประธานกรรมการบริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)
ชื่อ นางจินตนา บุญรัตน์ ตำแหน่ง กรรมการ
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีธุรกิจ จากวิทยาลัยเมนโล ประเทศสหรัฐอเมริกา และผ่านการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP 5/2000 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปัจจุบัน นอกจากดำรงตำแหน่ง กรรมการบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ยังดำรงตำแหน่งกรรมการบริหาร Central Marketing Group Co.,Ltd. กรรมการบริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกัด กรรมการบริษัท ไทเกอร์ อาย เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) กรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
Goodness from the ground
42
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ชื่อ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ ตำแหน่ง กรรมการ
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาบัญชี จาก Skidmore College ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาโทสาขา บริหารธุรกิจ จากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ และผ่านการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP 2/2000 หลักสูตร Director Accreditation Program DAP 35/2005 หลักสูตร Audit Committee Program ACP 6/2005 หลักสูตร The Role of Chairman 11/2005 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร CFO จาก Chief Financial Officer Certification Program 6/2006 หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำหรับ นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 4 (สถาบันพระปกเกล้า) และหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง จากสถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท) รุ่น 1 ปี 2547 หลักสูตรกระบวนการผู้บริหารความยุติธรรมระดับสูง (บยส) รุ่นที่ 13 ปีการศึกษา 2551 หลักสูตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ) ปีการศึกษา 2552 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการบริหาร-การเงิน บริษัทกลุ่มเซ็นทรัล จำกัด บริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) และ บริษทั แฟบริคก้า จำกัด กรรมการและกรรมการบริหารบริษทั เซ็นทรัลรีเทล คอร์ปอเรชัน่ จำกัด บริษทั โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน) กรรมการที่ปรึกษาตลาดหลักทรัพย์ MAI ประธานคณะกรรมการตรวจสอบบริษัท หลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) และคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ชื่อ นายกิตติ วิไลวรางกูร ตำแหน่ง กรรมการ
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาการบัญชี จากมหาวิทยาลัยรามคำแหงและปริญญาโท ด้านบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท น้ำตาลสิงห์บุรี จำกัด ผ่านการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program DAP ปี 2548, หลักสูตร Director Certification Program DAP 2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) กรรมการบริษัท มาลีเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด กรรมการบริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด, กรรมการของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และกรรมการบริษัท เอบิโก้แลนด์ จำกัด
ชื่อ นายปัณฑิต มงคลกุล ตำแหน่ง กรรมการ
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาบัญชี จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทสาขาการเงิน จากสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ ผ่านการอบรมหลักสูตร Directors Certification Program DCP ปี 2546 จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย และหลักสูตรผู้บริหาระรดับสูง (วตท.) รุ่น 4 ปี 2550 จากสถาบันวิทยาการตลาดทุน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - ฝ่ายธนกิจและวางแผน บริษัท ห้างเซ็นทรัลดีพาทเม้นท์สโตร์ จำกัด กรรมการ บริษัท เอิร์ธแคร์ จำกัด กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลมาร์เก็ตติ้งกรุ๊ป อินเตอร์เทรด จำกัด กรรมการ/ที่ปรึกษา คณะกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จำกัด (มหาชน) และกรรมการบริษัทย่อย กรรมการบริษัท ซีจี
รายงานประจำปี 2554
43
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
โบรกเกอร์ จำกัด กรรมการ/กรรมการบริหารความเสี่ยงบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) กรรมการบริษัท เซ็นทรัล ไลฟ์ โบรคเกอร์ จำกัด กรรมการบริษัท เซ็นทรัล รีเทล เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด กรรมการบริษัท เซ็นทรัล สมุยโฮเต็ลแมน เนจเม้นท์ กรรมการบริษทั ซีอาร์ อุบลราชธานี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษทั ซีอาร์ อุดรธานี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษทั ซีอาร์ เชียงใหม่ (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร์ นครศรีธรรมราช (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีอาร์ จันทบุรี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษทั ซีอาร์ ราชบุรี (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษทั ซีอาร์ หาดใหญ่ (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการบริษัท ซีจี เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด และกรรมการบริษัท เซ็นทรัล วัตสัน จำกัด
ชื่อ นายเขมทัต สุคนธสิงห์ ตำแหน่ง กรรมการ / ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
สำเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (ไฟฟ้าสื่อสาร) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรหลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน และอุตสาหกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อบรม Director Certificate Program และ Auditing Committee Program ปี 2549 ของสถาบันส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย เคยดำรงตำแหน่งกรรมการบริหาร บริษัทไทยคาวาซากิมอเตอร์ จำกัด ประธานบริษัท สิขร อี-บิสสิเนส จำกัด ประธานบริษัท โรบิทิคส์อินฟอร์เมชั่นเทคโนโลยี จำกัด และผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริม ศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่ง ทีป่ รึกษาด้านเทคโนโลยี บริษทั ทีป่ รึกษายูโรเอเชียบิสสิเนส จำกัด ประธานบริหารศูนย์เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ คณะกรรมการประเมินผลรัฐวิสาหกิจ คณะกรรม การตรวจสอบประจำกระทรวงวิทยาศาสตร์ และกรรมการอิสระบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)
ชื่อ นายมติ ตั้งพานิช ตำแหน่ง กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
สำเร็จการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทด้าน Master in Architecture จากสถาบัน (MIT) Massachusetts Institute of Technology, Cambridge ประเทศสหรัฐอเมริกา และ ปริญญาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน รุน่ ที่ 2 อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ติดต่อกัน 3 สมัยระหว่างปี 2529 – 2535 ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายพัฒนาเมือง ในปี พ.ศ. 2539-2540 ประธาน สหพันธ์ธุรกิจบริการออกแบบและก่อสร้างแห่งประเทศไทย (FEDCON) ในปี พ.ศ. 2543-2545 และนายกสภาสถาปนิก ในปี พ.ศ. 2547 - 2550 ปัจจุบันนอกจากจะดำรงตำแหน่งกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) แล้วยังเป็น ประธานที่ปรึกษาวิชาการกิตติมศักดิ์ บริษัท ดีไซน์ + ดีเวลลอป จำกัด ซึ่งก่อตั้งมาแล้วเกือบ 40 ปี
Goodness from the ground
44
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
ชื่อ นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต ตำแหน่ง กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านพาณิชย์ศาสตร์บัณฑิตและการบัญชีบัณฑิต, นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และเนติบัณฑิตไทยจากเนติบัณฑิตยสภา ผ่านการอบรมพิเศษ เช่น การปฏิบัติการธนาคาร การวิเคราะห์เครดิต และการเงิน การวิเคราะห์โครงการ, กฎหมายภาคปฏิบัติเกี่ยวกับธุรกิจ, การปฏิบัติงานในตลาดหลักทรัพย์และการพัฒนา นักบริหาร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จากสมาชิกสามัญ สภาวิชาชีพบัญชี, ใบอนุญาตทนายความจากสมาชิกสภาทนายความ, อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program Class 81/2009 จาก Thai Institute of Directors เคยดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการ - สำนักงานสอบบัญชี ดี.ไอ.เอ, กรรมการและผู้จัดการทั่วไป - บงล. ไทยเงินทุน ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารบัญชี - บงล. ส่งเสริมเงินทุนไทย, สมุห์บัญชี – บริษัทยิบอินซอยเงินทุน จำกัด, ประสบการณ์การ ทำงานในธนาคารแห่งประเทศไทยรวมทั้งสิ้น 13 ปี ปัจจุบันนอกจากจะดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) แล้วยังเป็น เจ้าของและผู้อำนวยการสำนักงานสอบบัญชีสุพัฒน์ และวิทยากรทางบัญชีและภาษีอากร
รายงานประจำปี 2554
45
คำอธิบายและการวิเคราะห์งบการเงิน และผลการดำเนินงาน วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
สรุปผลการดำเนินงานรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานรวมสำหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มียอดขายรวม 3,660.4 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 831.7 ล้านบาท หรือ 29.4% เป็นผลมาจากยอดขายในทุกช่องทางการขาย ในธุรกิจรับจ้างผลิต ธุรกิจตราผลิตภัณฑ์ และธุรกิจส่งออกที่เพิ่มขึ้น กำไรขั้นต้น 1,089.0 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้ว 283.7 ล้านบาท อัตรากำไรขั้นต้นคิดเป็น 29.8%ของยอดขาย สูงกว่า ปีที่แล้ว 1.3% เกิดจากสัดส่วนการขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าที่มีอัตรากำไรขั้นต้นสูงจากธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศ และสำหรับ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 893.4 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้ว 167.6 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 23.1% ซึ่งเป็นผลมาจาก ค่าใช้จ่ายการขายภายในประเทศที่เพิ่มขึ้นตามยอดขาย บริษัทมีผลกำไรสุทธิ 227.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 121.3 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2553 ทีมีผลกำไรสุทธิ 106.4 ล้านบาท วิเคราะห์ฐานะการเงิน รายละเอียดของสินทรัพย์ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อื่นๆ สินทรัพย์รวม
2554 611.6 500.2 5.1 28.5 1,004.4 114.3 2,264.1
27.0% 22.1% 0.2% 1.3% 44.4% 5.0% 100.0%
(หน่วย : ล้านบาท) 2553 466.7 21.2% 472.0 21.5% 5.0 0.2% 128.8 5.9% 1042.4 47.4% 82.3 3.8% 2197.2 100.0%
ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 144.9 ล้านบาท เป็นลูกหนี้ที่เพิ่มขึ้นตามยอดขายในประเทศที่มีเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับสินค้าคงเหลือ ที่เพิ่มขึ้น 28.2 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นสินค้าสำเร็จรูปที่รองรับการขายในประเทศที่เติบโตเพิ่มขึ้นและการบริหารสินค้าคงคลัง ที่ดีขึ้นทำให้สำรองสินค้าเสื่อมสภาพลดลง สำหรับที่ดินรอการพัฒนาที่ลดลงเนื่องจากในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 บริษัทได้ขายที่ดินที่ยังไม่ได้ใช้ดำเนินงานที่ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองจังหวัดราชบุรีมีราคาตามบัญชีซึ่งเป็นราคาประเมิน 98.7 ล้านบาท ให้แก่เจ้าหนี้การค้ารายหนึ่ง เพื่อชำระหนี้ ค่ากระป๋องบรรจุภัณฑ์บางส่วน มีกำไรจากการขายที่ดิน 13.1 ล้าน ส่วนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ลดลง 38.0 ล้านบาท เนื่องจากค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์อื่นๆ ส่วนใหญ่เป็นรายได้ค้างรับ เงินมัดจำและลูกหนี้อื่นๆ จากการดำเนินงาน
Goodness from the ground
46
รายงานประจำปี 2554
คุณภาพของสินทรัพย์ ลูกหนี้
บริษทั ฯ มียอดลูกหนีส้ ทุ ธิ 611.6 ล้านบาท เป็นยอดลูกหนีค้ า้ งชำระ 154.8 ล้านบาท ซึง่ เพิม่ ขึน้ 23.5ล้านบาท หรือ17.9% เมื่อเปรียบเทียบกับยอดลูกหนี้ค้างชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 131.2 ล้านบาท เนื่องจากผลกระทบจาก น้ำท่วมใหญ่ทำให้การชำระหนีใ้ นประเทศล่าช้า และมียอดลูกหนีบ้ างส่วนจากการขายต่างประเทศชำระหนีล้ า่ ช้า โดยฝ่ายบริหาร ของบริษทั ฯ ได้ทบทวน ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทีไ่ ด้บนั ทึกในบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แล้วเชือ่ ว่าเป็นจำนวนทีเ่ พียงพอ ในสถานการณ์ปัจจุบัน
สภาพคล่อง
บริษัทฯ มีกระแสเงินสดได้มาจากการดำเนินงานจำนวน 292.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2553 จำนวน 206.4 ล้านบาท จากผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น การบริหารการจัดเก็บหนี้และสินค้าคงคลังที่ดีขึ้น บริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.8 เท่า ดีขึ้นเทียบกับปี 2553
รายจ่ายลงทุน
บริษัทฯ ได้ลงทุนเครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและขยายกำลังการผลิต ทั้งผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่มภายใต้เครื่องหมายการค้าของบริษัทฯ และผลิตภัณฑ์ภายใต้เครื่องหมายการค้าของลูกค้า บริษัทฯ ยังได้ใช้เงินไปใน กิจกรรมลงทุนสำหรับการปรับปรุงและบำรุงรักษาเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพดีเพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติตามมาตรฐานการผลิตที่ดี และรักษาระบบคุณภาพมาตรฐานสากล
แหล่งที่มาใช้ไปของเงินทุน
บริษัทฯได้ใช้กระแสเงินสดที่ได้มาจากการดำเนินงาน 292.5 ล้านบาทไปในกิจกรรมการลงทุน 58.1 ล้านบาท และ ชำระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินและเจ้าหนี้อื่นๆ จำนวนรวมสุทธิ 222.7 ล้านบาท
ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน
บริษัทฯอยู่ระหว่างดำเนินการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างธุรกิจโครงสร้างการดำเนินงานและโครงสร้างทางการเงินใหม่ ตลอดจนพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดและการขายใหม่ และเชื่อว่าจะแก้ปัญหาได้ในอนาคตอันใกล้นี้
หนี้สิน
บริษัทฯ มีภาระหนี้ค่อนข้างสูงแต่จากการปรับปรุงการดำเนินงานทำให้มีกระแสเงินสดจากดำเนินงานเป็นบวกอย่าง ต่อเนื่องทั้งนี้หนี้ส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะสั้นที่ใช้เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานบริษัทฯยังได้เปลี่ยนแปลงหนี้ดังกล่าว บางส่วนเป็นหนี้ระยะยาว บริษัทฯ พยายามปรับปรุงผลการดำเนินงานให้ดีขึ้น ซึ่งผลกำไรส่วนหนึ่งจะถูกนำไปชำระหนี้ต่อไป
รายงานประจำปี 2554
47
ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ
ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยได้เผชิญกับความไม่แน่นอนของปริมาณวัตถุดิบอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 และ ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในช่วงไตรมาสที่ 3 ซึ่งนอกจากจะสร้างความเสียหายให้กับแหล่งวัตถุดิบแล้ว ผลกระทบ ทางอ้อมที่เกิดขึ้นได้แก่ เส้นทางที่ใช้ในการขนส่งทั้งวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปไม่สามารถใช้สัญจรไป-มาได้จนมีผลทำให้ระบบ ขนส่งในบางเส้นทางต้องหยุดชะงักลง โดยเฉพาะการขนส่งสินค้าไปท่าเรือ ซึ่งผลกระทบดังกล่าวถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ ต้นทุนการผลิตและระดับราคาสินค้าในท้องตลาดปรับเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น ทางบริษัทฯ ต้องบริหารการขายทั้งในด้านปริมาณและ ราคา สร้างฐานวัตถุดิบให้มีเพียงพอกับความต้องการ และได้มีการวางแผนบริหารความเสี่ยงในการขนส่งวัตถุดิบ และสินค้าที่ จะจัดส่งให้กับลูกค้าล่วงหน้า เพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าว
2. ความเสี่ยงเรื่องสภาพเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า
เนื่องจากประเทศคู่ค้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ประสบปัญหาเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศที่ชะลอตัวลง อันส่งผลให้ความเชื่อมั่นในการบริโภคของประชาชนลดลง และปริมาณความต้องการสินค้าจาก ต่างประเทศลดลงตามไปด้วย ทำให้ผู้ผลิตและส่งออกของไทยต้องปรับตัวโดยการแสวงหาตลาดเพื่อการส่งออกใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เพือ่ เป็นการกระจายความเสีย่ ง ทัง้ นี้ ทางบริษทั ฯ ได้เล็งเห็นสิทธิประโยชน์ภายใต้กรอบความตกลง AEC (ASEAN Economic Community) จึงได้ได้มุ่งเน้นการทำตลาดไปยังประเทศในกลุ่มอาเซียนมากขึ้น
3. ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
เนื่องจากการส่งออกขายเป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน บริษัทได้บริหารความเสี่ยงโดยไม่ขายล่วงหน้ามากเกินไป และซื้ออัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้า
Goodness from the ground
Goodness from the ground
48
รายงานประจำปี 2554
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็น ผู้มีคุณสมบัติและความเป็นอิสระ ตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี นายเขมทัต สุคนธสิงห์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายมติ ตั้งพานิช และ นายสุพัฒน์ อุปนิกขิต เป็นกรรมการตรวจสอบ ในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สำนักตรวจสอบภายใน และผู้บริหาร ของบริษัท จำนวน 4 ครั้ง ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายคณะกรรมการบริษัทและตามความรับผิดชอบ ซึ่งเป็นไปตามระเบียบ และข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยสรุปสาระสำคัญของผลการปฏิบัติงานได้ดังต่อไปนี้ 1. ได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2554 ร่วมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและผู้บริหารที่ เกี่ยวข้อง เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ พบว่างบการเงินของบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการ บัญชี ที่รับรองทั่วไปและเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเชื่อถือได้ 2. ได้พิจารณาแผนงานการตรวจสอบประจำปี 2554 รวมทั้งได้ส่งเสริมและผลักดันให้การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เป็นไปตามมาตรฐานสากล พบว่าบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอและไม่พบ ข้อบกพร่องที่มีนัยสำคัญ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบที่มีนัยสำคัญ 3. ได้สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง และได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ 4. ได้สอบทานการปฏิบัติตามข้อกำหนดและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่าบริษัทได้ปฏิบัติครบถ้วน ถูกต้องตามข้อกำหนดและตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. ได้พิจารณาให้มีการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่าง ถูกต้องและครบถ้วน เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ 6. ได้พิจารณาคัดเลือกและนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาแล้วเห็นว่า บริษัทถือนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นสำคัญ มีระบบการควบคุม ภายในที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่มีข้อบกพร่องที่เป็นนัยสำคัญ มีการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอเหมาะสม รายการที่เกี่ยวโยง กันที่อาจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์มีการเปิดเผยถูกต้องครบถ้วน บริษัทได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดและตามกฎหมาย ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง งบการเงินของบริษัทได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่ถูกต้องและมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน และเชื่อถือได้
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (นายเขมทัต สุคนธสิงห์) ประธานกรรมการตรวจสอบ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555
รายงานประจำปี 2554
49
มาตรฐานและรางวัล 30 กว่าปีที่ผ่านมาบริษัท มาลีได้มุ่งมั่นคิดค้น พัฒนากระบวนการผลิตและเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ให้ทันสมัย ทัดเทียม นานาประเทศอย่างต่อเนื่อง และนอกจากนี้ทางบริษัท มาลียังมุ่งพัฒนาคุณภาพสินค้า มาตรฐานของกระบวนการผลิตและการ บรรจุภัณฑ์ของตัวเองอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อให้สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพตามหลักมาตรฐานสากล โดยการพัฒนาดังกล่าว คำนึงถึงหลักความปลอดภัยและสุขอนามัยของผู้บริโภคเป็นสำคัญ จนบริษัทมาลีได้รับการรับรองระบบมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวางทั้งองค์กรภายในประเทศและองค์กรระดับนานาชาติมากมาย อาทิ BRC (Global Standard for Food Safety) issue 5 January 2008 : British Retail Consortium ได้รับการรับรองจากบริษัท BVQI เมื่อวันที่ 05/11/10 IFS: International Food Standard Version 5 August 2007 ได้รับการรับรองจากบริษัท BVQI เมื่อวันที่ 05/11/10 HACCP Codex Alimentarius Commission (FAO/WHO) : Hazard Analysis and Critical Control (HACCP) Guideline Annex to CAC/RCP-1 (1969) Version 4 (2003) การวิเคราะห์อันตรายและจุด ควบคุมวิกฤต ได้รับการรับรองจากบริษัท BVQI เมื่อวันที่ 27/01/10 Halal Certificate: ได้รับการรับรองจาก The Central Islamic Committee of Thailand เมื่อวันที่ 9/06/2552 Kosher Certificate: ได้รับการรับรองจาก Thai Kashrut Services Limited เมื่อวันที่ 17/09/2552 TLS.8001-2003S Thai Labour Standard Certificate completion level initiative phase ได้รับการรับรอง จาก The Department of Labour Protection and Welfare The Ministry of Labour เมื่อวันที่ 11/02/2552 Good Laboratory Practice / Department of Industrial Works, GLP/DIW ได้รับการรับรองจากกรม โรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 12/02/2551 GMP Codex Alimentarius Commission Recommended International Code of Practice General Principles of Food Hygiene,CAC/RCP 1 (1969) Version 4 (2003) ได้รับการรับรองจากบริษัท BVQI เมื่อวันที่ 27/01/10 นอกจากนี้ บริษัทมาลี ยังได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย The Prime Minster’s Export Award 2536 เป็นรางวัลเกี่ยวกับ Distinctive Development & Marketing of a Thai Owned Brand in Category of food product รางวัลดีเด่นด้านสิ่งแวดล้อมปี พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2538 และปี พ.ศ. 2540 รวมทั้งรางวัลโรงงานพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ทางน้ำดีเด่นในเรื่องระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย พ.ศ. 2537 World Tech 95 Award และ The Best Product Award ในงาน ASEAN Food Conference ที่ประเทศสิงคโปร์ในปี 2540 Thailand Best Innovation Award 2546 เป็นรางวัลเกี่ยวกับการรักษาอายุของน้ำนมข้าวโพดจากระยะเวลา สั้นสามารถรักษาได้นานถึง 9 เดือน ปี 2546 ได้รับรางวัลนวัตกรรมทางเทคโนโลยีจาก บริษัท แอคเซนเซ่อร์และหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น ในการผลิต น้ำนมข้าวโพด 100%มาลี-ไอคอร์น ในรูปแบบกล่องยูเอชทีเป็นรายแรกของโลก Goodness from the ground
50
รายงานประจำปี 2554
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .........................................................................................................................
Superbrands Thailand 2546 – 2548 จากสถาบัน Superbrands UK ซึ่งเป็นรางวัลที่ได้รับจากสถาบันที่ได้ ทำการวิจัยในด้านผู้เชี่ยวชาญทางด้านผลไม้ประมาณ 5,000 ตัวอย่างจากทั่วประเทศ Trusted Brand 2546 – 2554 จากนิตยสาร Reader’s Digestซึ่งได้รับรางวัลถึง 5 ปี ติดต่อกัน เป็นรางวัลที่ได้ ทำการสำรวจจากนิตยสาร Reader’s Digest เกี่ยวกับความนิยมในการบริโภคสินค้า รางวัลแบรนด์ที่อยู่ในใจผู้บริโภคเมื่อเดือน สิงหาคม 2550 ที่ประเทศฮ่องกง โดยมาลีได้รับการรับเลือกให้เป็น 1 ใน 20 แบรนด์ชั้นนำของประเทศไทยจากการสำรวจที่ Media Magazine, Asian Integrated Media Limited ที่ปรึกษาด้านแบรนด์ระดับภูมิภาคร่วมกับบริษัท ชิโนเวต ซึ่งเป็นบริษัทวิจัยด้านการตลาดชั้นนำของโลก รางวัลชนะเลิศ Thailand Energy Awards 2008 จาก กระทรวงพลังงาน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังาน (พพ.) กระทรวง พลังาน จากโครงการการพัฒนาระบบก๊าซชีวภาพแบบ UASB (Pond Type) ซึ่งผลิตจากกระบวนการน้ำเสียและ เศษพืชผลเกษตร ช่วยประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้า และค่าพลังงานจากน้ำมันเตา โดยสามารถประหยัดได้ประมาณ 6 ล้านบาทต่อปี โดยได้รับเกียรติจาก พลโทหญิงพูนภิรมย์ ลิมปตพัลลภ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังาน เป็นประธานมอบรางวัล ณ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ในปีเดียวกันบริษัทก็ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ Asean Energy Awards 2008 อีก รางวัลยอดเยีย่ มประเภทอาหารจากพืช จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการเข้าร่วมโครงการทีเ่ พิม่ คุณค่าและพัฒนา เทคโนโลยีการจัดการของเสียภายในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารจากพืช ประจำปี 2554 เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2555 ในปี 2554 ได้รบั การสำรวจจัดอันดับจาก Media Magazine ให้อยูใ่ นอันดับที่ 342 จาก 1,000 แบรนด์ใน เอเซียแปซิฟกิ ซึง่ มาลีแบรนด์ได้ถกู จัดเป็นอันดับ 1 ในกลุม่ ของน้ำผลไม้ในประเทศศไทย ความภาคภูมิใจจากมาตรฐานและรางวัลต่างที่ได้รับเหล่านี้ บริษัท มาลี ถือเป็นแรงขับเคลื่อนที่ช่วยกระตุ้นให้บุคลากร ในองค์กรรักษามาตรฐานและมุ่งมั่นปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จที่สูงยิ่งกว่าในอนาคต
รายงานประจำปี 2554
51
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
Goodness from the ground
52
รายงานประจำปี 2554
รายงานประจำปี 2554
53
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการ บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) (1) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของ ผู้ถือหุ้นรวม งบกำไรขาดทุนรวม งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม และงบกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วน ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า (2) งบการเงินรวมของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และงบการเงินเฉพาะของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี อื่นตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป และเสนอรายงานไว้อย่างไม่มีเงื่อนไขแต่ให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่องตามรายงานลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2554 (3) ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจ สอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชี ที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็น ผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการ ตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า (4) ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลการดำเนินงานรวม และกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และงบการเงิน เฉพาะของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลการดำเนินงานและ กระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
Goodness from the ground
54
รายงานประจำปี 2554
(5) โดยมิได้เป็นเงื่อนไขในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว ข้าพเจ้าขอให้สังเกตเรื่องดังต่อไปนี้ (5.1) ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.3 ดังปรากฏในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีผลขาดทุนสะสมรวมจำนวน 1,027.03 ล้านบาท และ 1,230.77 ล้านบาท ตามลำดับ และมีหนี้สินหมุนเวียนรวมสูงกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนรวมเป็นจำนวน 370.11 ล้านบาท และ 654.72 ล้านบาท ตามลำดับ ถึงแม้ว่าปัจจัยดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยที่มีนัยเกี่ยวกับความสามารถในการดำเนินงาน ต่อเนื่องของบริษัทฯ และบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยยังคงมี กระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นยอดบวกอย่างต่อเนื่องเป็นจำนวน 292.48 ล้านบาท โดยฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยมีการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างธุรกิจและปรับโครงสร้างการดำเนินงานและการเงินใหม่ตลอดจนมีการพัฒนา กลยุทธ์ทางการตลาดและการขายอย่างสม่ำเสมอ และเชือ่ ว่าจะแก้ปญ ั หาได้ในอนาคตอันใกล้น้ี จากเหตุผลดังกล่าว งบการเงินนี้ จึงยังคงจัดทำขึ้นภายใต้ข้อสมมติฐานการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องของกิจการ โดยไม่รวมรายการปรับปรุงที่อาจมีขึ้นหาก บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่สามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้ และ (5.2) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1.4 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2554 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้หลักทรัพย์ของบริษัทฯ พ้นเหตุอาจถูกเพิกถอน และอนุญาตให้หลักทรัพย์ของบริษัทฯ กลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน 2554 เป็นต้นไป และ (5.3) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.2(ก) ว่าในปีปัจจุบัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ปฏิบัติ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่หลายฉบับซึ่งเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ทั้งนี้งบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ ได้มีการนำเสนอใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับงบการเงินสำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 แล้ว
(นางณัฐสรัคร์ สโรชนันท์จีน) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4563 สำนักงาน เอ.เอ็ม.ที. แอสโซซิเอท กรุงเทพมหานคร วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555
รายงานประจำปี 2554
55
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สินทรัพย์ หมายเหตุ
สินทรัพย์หมุนเวียน 5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า บริษัทย่อย 6 กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 6 กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6 : ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ 6 บริษทั ย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 7 ลูกหนี้อื่น 6 และ 8 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 9 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ 10 เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานตามโครงการสวัสดิการ 11 และ เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน 22 12, 17 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ และ 22 13 และ ที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงาน - สุทธิ 22 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 6 และ เงินมัดจำ 23.1 (ค) อื่นๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
25,872,015
14,172,125
7,321,223
1,721,145
17,722,448 599,553,575 (5,715,302)
18,315,053 453,617,525 (5,240,793)
624,948,551 1,088,540 164,614,068 (5,062,839)
583,530,980 1,088,540 99,507,119 (5,240,793)
-
-
(244,395,435)
(334,031,767)
611,560,721 40,197,931 500,183,628 14,785,652 1,192,599,947
466,691,785 39,359,351 472,036,521 8,389,336 1,000,649,118
541,192,885 34,393,387 392,837,569 12,901,935 988,646,999
344,854,079 36,146,183 331,570,550 5,428,941 719,720,898
7,298,541
-
145,000,000 5,060,650
145,000,000 -
5,143,412
5,060,961
-
-
1,004,459,376
1,042,401,693
855,722,131
878,011,371
28,450,928
128,833,378
-
98,731,920
22,208,450
18,259,157
12,344,214
10,096,396
3,895,143 1,071,455,850 2,264,055,797
2,028,995 1,196,584,184 2,197,233,302
3,895,143 1,022,022,138 2,010,669,137
2,029,612 1,133,869,299 1,853,590,197
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ Goodness from the ground
56
รายงานประจำปี 2554
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้แฟคตอริ่ง ส่วนของเจ้าหนี้การค้าภายใต้สัญญาประนีประนอม ยอมความที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
หมายเหตุ 14 และ 22 6 6 6 และ 15 6 และ 7 23.4.2
ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
16
ส่วนของหนี้สินจากภาระค้ำประกัน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
23.4.1
ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าภายใต้สัญญาประนีประนอมยอมความ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินจากภาระค้ำประกัน - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
17
23.4.2 16 23.4.1 17 4
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
250,714,579
314,875,797
229,839,012
283,092,108
6,153,107 943,874,366 233,925,020 47,621,078
6,976,117 913,673,697 191,917,414 153,515,825
26,120,545 6,135,570 873,652,999 96,345,472 9,107,671
53,725,106 6,963,512 837,228,275 56,138,562 9,409,413
27,636,667
29,000,000
27,636,667
29,000,000
3,409,048
12,346,097
3,013,103
11,980,234
2,738,259
3,000,000
2,738,259
3,000,000
-
7,512,534
-
7,512,534
27,863,769 18,771,439 1,562,707,332
13,274,975 9,281,104 1,655,373,560
27,835,011 8,642,322 1,311,066,631
11,775,926 3,030,409 1,312,856,079
112,185,633
139,822,300
112,185,633
139,822,300
7,515,492
7,873,013
6,855,157
6,819,733
-
2,488,260
-
2,488,260
34,980,869 154,681,994 1,717,389,326
150,183,573 1,805,557,133
28,733,873 147,774,663 1,458,841,294
149,130,293 1,461,986,372
รายงานประจำปี 2554
57
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 99,999,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10.00 บาท ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มมูลค่าแล้ว หุ้นสามัญ 70,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10.00 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
18
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
999,990,000 700,000,000
999,990,000 700,000,000
999,990,000 700,000,000
999,990,000 700,000,000
347,500,000
347,500,000
347,500,000
347,500,000
8,180,000 8,180,000 (1,027,028,681) (1,230,772,968) 518,015,152 566,769,137 546,666,471 391,676,169 546,666,471 391,676,169 2,264,055,797 2,197,233,302
8,180,000 8,180,000 (961,718,481) (1,163,183,411) 457,866,324 499,107,236 551,827,843 391,603,825 551,827,843 391,603,825 2,010,669,137 1,853,590,197
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
Goodness from the ground
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
ส่วนได้เสีย รวมส่วน ที่ไม่มี กำไร (ขาดทุน) สะสม กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ของผูถ้ อื หุน้ อำนาจ รวมส่วน จัดสรรแล้ว ขาดทุนสะสม ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ บริษัทใหญ่ ควบคุม ของผู้ถือหุ้น
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
งบการเงินรวม (บาท) ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 700,000,000 347,500,000 8,180,000 (1,230,772,968) 566,769,137 391,676,169 - 391,676,169 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 4 - (31,804,446) - (31,804,446) - (31,804,446) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ที่ปรับปรุงแล้ว 700,000,000 347,500,000 8,180,000 (1,262,577,414) 566,769,137 359,871,723 - 359,871,723 โอนไปขาดทุนสะสม 12 7,819,280 (7,819,280) กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี 227,729,453 (40,934,705) 186,794,748 - 186,794,748 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 700,000,000 347,500,000 8,180,000 (1,027,028,681) 518,015,152 546,666,471 - 546,666,471 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 700,000,000 347,500,000 8,180,000 (1,338,642,358) 609,591,181 326,628,823 - 326,628,823 โอนไปขาดทุนสะสม 12 1,505,760 (1,505,760) กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี 106,363,630 (41,316,284) 65,047,346 - 65,047,346 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 700,000,000 347,500,000 8,180,000 (1,230,772,968) 566,769,137 391,676,169 - 391,676,169 หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ทุนเรือนหุ้นที่ ออกและชำระ หมายเหตุ เต็มมูลค่าแล้ว
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
58 รายงานประจำปี 2554
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ที่ปรับปรุงแล้ว โอนไปขาดทุนสะสม กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 โอนไปขาดทุนสะสม กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
12
12
4
700,000,000 700,000,000 700,000,000 700,000,000 700,000,000
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและชำระ หมายเหตุ เต็มมูลค่าแล้ว 347,500,000 347,500,000 347,500,000 347,500,000 347,500,000
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น 8,180,000 8,180,000 8,180,000 8,180,000 8,180,000
(1,163,183,411) (26,559,708) (1,189,743,119) 7,253,672 220,770,966 (961,718,481) (1,294,731,163) 1,528,848 130,018,904 (1,163,183,411)
499,107,236 499,107,236 (7,253,672) (33,987,240) 457,866,324 535,004,371 (1,528,848) (34,368,287) 499,107,236
391,603,825 (26,559,708) 365,044,117 186,783,726 551,827,843 295,953,208 95,650,617 391,603,825
รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น กำไร (ขาดทุน) สะสม กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ส่วนเกินทุน จัดสรรแล้ว ขาดทุนสะสม จากการตีราคาสินทรัพย์
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
รายงานประจำปี 2554
59
Goodness from the ground
60
รายงานประจำปี 2554
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำไรขาดทุน
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
รายได้ รายได้จากการขาย รายได้อื่น - ปรับลดผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า - อื่นๆ
หมายเหตุ 6 7 1.2, 6 และ 13
รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น - ปรับเพิ่มผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ 7 บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า - อื่นๆ ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย 1.2 และ 6 กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 26 กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่
20
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
3,660,375,268
2,828,667,793
2,727,612,931
2,234,555,703
-
-
89,636,332
-
65,848,385 3,726,223,653
59,881,860 2,888,549,653
54,709,561 2,871,958,824
41,130,080 2,275,685,783
2,571,349,554 623,406,432 264,675,331
2,023,369,836 463,475,543 262,382,123
2,370,066,777 66,479,442 191,717,708
1,863,202,508 40,676,045 185,946,471
5,351,032 33,711,851 3,498,494,200 227,729,453 227,729,453
32,958,521 2,782,186,023 106,363,630 106,363,630
377,875 22,546,056 2,651,187,858 220,770,966 220,770,966
30,389,467 25,452,388 2,145,666,879 130,018,904 130,018,904
227,729,453 227,729,453
106,363,630 106,363,630
220,770,966 220,770,966
130,018,904 130,018,904
3.25
1.52
3.15
1.86
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำปี 2554
61
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ส่วนที่ตีเพิ่มขึ้น กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี การแบ่งปันกำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม
หมายเหตุ 12
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
227,729,453
106,363,630
220,770,966
130,018,904
(40,934,705) (40,934,705) 186,794,748
(41,316,284) (41,316,284) 65,047,346
(33,987,240) (33,987,240) 186,783,726
(34,368,287) (34,368,287) 95,650,617
186,794,748 186,794,748
65,047,346 65,047,346
186,783,726 186,783,726
95,650,617 95,650,617
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
Goodness from the ground
62
รายงานประจำปี 2554
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
กระแสเงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี รายการปรับกระทบยอดกำไร (ขาดทุน) เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน : ปรับเพิ่ม (ปรับลด) ผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ขาดทุนจากสินค้าเสื่อมสภาพ ค่าเผื่อการตีราคาสินค้าลดลง (กลับรายการ) ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจำหน่ายสินทรัพย์อื่น ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสมของสินทรัพย์ (กลับรายการ) ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายได้ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไร (ขาดทุน) จากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินให้กู้ยืมแก่พนักงานตามโครงการสวัสดิการ สินทรัพย์อื่น
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
227,729,453
106,363,630
220,770,966
130,018,904
584,211 25,381,820 (13,679,031) 48,790,846 1,261,835 6,367,410 (13,242,902) 4,590,878 3,869,073 (56,492) 33,711,851 -
2,079,881 22,973,547 3,852,563 44,814,418 960,617 (227,782) 5,271,346 (94,419) 656,077 (280,225) 32,958,521 -
(89,636,332) (242,480) 16,486,131 (13,805,673) 37,263,029 1,254,487 5,348,689 (13,095,501) 2,421,285 2,866,815 (8,384) 22,546,056 -
30,389,467 2,079,881 14,487,219 4,497,590 32,775,258 960,617 (526,498) 4,907,236 (71,331) 600,580 (252,544) 25,452,388 -
325,308,952
219,328,174
192,169,088
245,318,767
(145,517,673) (774,054) (39,849,896) (3,660,592) (7,298,541) (7,077,276)
(46,706,951) 5,153,696 (97,262,284) 3,936,140 (1,691,704)
(106,524,519) 1,750,047 (63,947,477) (5,837,972) (5,060,650) (5,367,837)
(12,481,723) 13,184,729 (89,822,928) 401,074 (2,051,852)
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจำปี 2554
63
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด(ต่อ)
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าภายใต้สัญญาประนีประนอมยอมความ หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดสุทธิจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รับดอกเบี้ย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้แฟคตอริ่งเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดจ่ายชำระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายชำระคืนภาระค้ำประกัน เงินสดจ่ายชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดจ่ายต้นทุนทางการเงิน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี
หมายเหตุ
5
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
146,163,658 37,914,024 (29,000,000) 19,702,250 (692,650) 295,218,202 (2,735,723) 292,482,479
20,559,911 2,381,818 (22,435,030) 5,125,618 88,389,388 (2,256,600) 86,132,788
124,829,143 35,959,777 (29,000,000) 19,412,791 (692,650) 157,689,741 (1,635,023) 156,054,718
6,948,459 (11,213,102) (22,435,030) 1,538,676 129,387,070 (2,023,798) 127,363,272
(82,451) (60,933,242) 2,844,264 56,492 (58,114,937)
28,875,626 (47,237,901) 420,651 280,225 (17,661,399)
(57,071,974) 1,025,992 8,384 (56,037,598)
31,729,677 (42,432,670) 4,669,174 252,544 (5,781,275)
(64,161,218) (105,894,747) (12,730,884) (2,750,000) (7,512,534) (29,618,269) (222,667,652) 11,699,890 14,172,125 25,872,015
(40,353,708) 53,023,809 (23,535,003) (2,900,000) (26,754,810) (25,622,182) (66,141,894) 2,329,495 11,842,630 14,172,125
(53,253,096) (301,742) (12,368,021) (2,750,000) (7,512,534) (18,231,649) (94,417,042) 5,600,078 1,721,145 7,321,223
(43,113,397) (7,029,060) (23,363,493) (2,900,000) (26,754,810) (18,212,899) (121,373,659) 208,338 1,512,807 1,721,145
หมายเหตุประกอบงบการเงินถือเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
Goodness from the ground
64
รายงานประจำปี 2554
การเปิดเผยเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด :
รายการที่ไม่กระทบเงินสด 1) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ในไตรมาสที่ 1 ปี 2553 บริษัทฯ มีการจ่ายชำระค่าเช่าซื้อเครื่องจักรบางส่วนจำนวน 18.62 ล้านบาท โดยตกลง กับเจ้าหนี้รายนี้ว่าให้นำไปสุทธิกับบัญชีลูกหนี้อื่นด้วยจำนวนเดียวกัน - ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง เนื่องจากรับรู้ค่าเสื่อมราคาส่วนที่ตีราคาเพิ่มของสินทรัพย์สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็นจำนวน 41.32 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำนวน 34.37 ล้านบาท) ตามที่ระบุในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 12 2) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 - ในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุงใหม่ซง่ึ มีผลทำให้ขาดทุนสะสมเพิม่ ขึน้ และภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานเพิม่ ขึน้ จำนวน 31.80 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำนวน 26.56 ล้านบาท) - ในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 บริษัทฯ ได้ขายที่ดินที่ไม่ใช้ในการดำเนินงานทั้งหมดของบริษัทให้แก่เจ้าหนี้การค้า รายหนึ่ง เพื่อจ่ายชำระหนี้ค่ากระป๋องบรรจุภัณฑ์บางส่วน จำนวน 117 ล้านบาท - ในไตรมาสที่ 2 ปี 2554 บริษัทฯ มีหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้นจำนวน 3.45 ล้านบาท จากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - ในไตรมาสที่ 1 และ 4 ปี 2554 บริษัทฯ ได้ขายและตัดจำหน่ายเครื่องจักรที่ตีราคาเพิ่มจึงได้โอนส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์ที่คงเหลืออยู่ไปลดขาดทุนสะสมจำนวน 7.82 ล้านบาท (เฉพาะกิจการจำนวน 7.25 ล้านบาท) ตามที่ระบุในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 12 - ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ลดลง เนื่องจากรับรู้ค่าเสื่อมราคาส่วนที่ตีราคาเพิ่มของสินทรัพย์สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็นจำนวน 40.93 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำนวน 33.99 ล้านบาท) ตามที่ระบุในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12
รายงานประจำปี 2554
65
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
1. ข้อมูลทั่วไป
1.1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชน และมีภูมิลำเนาในประเทศไทย บริษัทดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายผลไม้กระป๋องและน้ำผลไม้ โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนคือ เลขที่ 401/1 หมู่ที่ 8 ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130
1.2 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
ค่าใช้จ่ายสำคัญๆ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ที่จำแนกตามลักษณะได้ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสำเร็จรูปลดลง (เพิ่มขึ้น) ซื้อสินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ขาดทุนจากสินค้าเสื่อมสภาพและค่าเผื่อ การตีราคาสินค้าลดลง หนี้สูญและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) ผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทย่อย ไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า (กลับรายการ) ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(21,686,953) 209,897,754 2,107,993,977 320,777,630 33,471,863 50,052,681
(24,235,385) 190,556,361 1,584,120,258 267,349,820 27,189,438 45,775,035
(59,739,379) 252,749,133 1,930,353,738 220,922,363 24,475,534 38,517,516
(25,444,659) 229,617,228 1,474,906,178 179,881,932 19,737,305 33,735,875
6,367,410
5,271,346
5,348,689
4,907,236
11,702,789
26,826,110
2,680,458
18,984,809
584,211
4,739,340
(242,480)
4,739,340
93,661
1,599,028
(89,636,332) (377,875)
30,389,467 5,494,372
Goodness from the ground
66
รายงานประจำปี 2554
1.3 ข้อสมมติฐานทางการบัญชี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีผลขาดทุนสะสมรวมจำนวน 1,027.03ล้านบาท และ 1,230.77 ล้านบาท ตามลำดับ และมีหนี้สินหมุนเวียนรวมสูงกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนรวมเป็นจำนวน 370.11 ล้านบาท และ 654.72 ล้านบาท ตามลำดับ ถึงแม้ว่าปัจจัยดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยที่มีนัยเกี่ยวกับความสามารถในการดำเนินงาน ต่อเนื่องของบริษัทฯ และบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยยังคงมี กระแสเงินสดจากการดำเนินงานเป็นยอดบวกอย่างต่อเนือ่ งเป็นจำนวน 292.48 ล้านบาท โดยฝ่ายบริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการพิจารณาปรับปรุงโครงสร้างธุรกิจและปรับโครงสร้างการดำเนินงานและการเงินใหม่ ตลอดจนมีการพัฒนากลยุทธ์ ทางการตลาดและการขายอย่างสม่ำเสมอและเชื่อว่าจะแก้ปัญหาได้ในอนาคตอันใกล้นี้ จากเหตุผลดังกล่าว งบการเงินนี้ จึงยังคงจัดทำขึน้ ภายใต้ขอ้ สมมติฐานการดำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งของกิจการโดยไม่รวมรายการปรับปรุง ทีอ่ าจมีขน้ึ หากบริษทั ฯ และบริษัทย่อยไม่สามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้
1.4 สถานะของบริษัทในเรื่องการเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2552 บริษัทฯ ได้รับหนังสือแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) เรื่อง แจ้งการเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนและการดำเนินการของตลาดหลักทรัพย์ฯ และต่อมาเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2552 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ขึ้นเครื่องหมาย SP (Suspension) ห้ามซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา จนกว่า บริษัทจะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานะการเงินและการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษัทได้แก้ไข เหตุแห่งการเพิกถอนจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน โดยได้แต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ เพื่อร่วมจัดทำ แผนการแก้ไขเหตุแห่งการเพิกถอนดังกล่าว และแผนฟืน้ ฟูกจิ การดังกล่าวได้รบั การอนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2553 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2553 ต่อมาเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 บริษัทฯ ทำหนังสือขออนุญาตให้หุ้นสามัญของ บริษัทกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ อีกครั้ง เนื่องจากบริษัทพิจารณาแล้วว่าบริษัทมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด และเมื่อวันที่10 มิถุนายน 2554 ตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้หลักทรัพย์ของบริษัทพ้นเหตุอาจถูกเพิก ถอนและอนุญาตให้หลักทรัพย์ของบริษัทกลับเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน 2554 เป็นต้นไป
2. หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน
บัญชีฯ
งบการเงินนีไ้ ด้จดั ทำขึน้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชี ทีป่ ระกาศใช้โดยสภาวิชาชีพ
งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่ที่ได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจัดทำขึน้ จากงบการเงินทีเ่ ป็นภาษาไทย ในกรณีทม่ี เี นือ้ ความขัดแย้งกันหรือมีการตีความใน สองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นหลัก
2.2 การประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่
(ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ระหว่างปี 2553 และระหว่างไตรมาส 1 ปี 2554 สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทาง การเงินหลายฉบับ และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่งฉบับที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ มีดังต่อไปนี้
รายงานประจำปี 2554
67
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลง ประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง รายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง กำไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุรกิจ การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวข้างต้น ในปีปัจจุบันไม่มีผลกระทบต่องบการเงินที่มีนัยสำคัญ นอกจากที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.16, 3.17 และ 4 (ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน ระหว่างปี 2553 และระหว่างไตรมาส 1 ปี 2554 สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ
Goodness from the ground
68
รายงานประจำปี 2554
การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25
เรื่อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะ เจาะจงกับกิจกรรมดำเนินงาน เรื่อง ภาษีเงินได้ - การได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ที่ไม่ได้คิดค่าเสื่อม ราคาที่ตีราคาใหม่ เรื่อง ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือ ของผู้ถือหุ้น
บริษัทฯ จะเริ่มนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบัติในวันที่มีผลบังคับใช้ ฝ่ายบริหารพิจารณาแล้ว เห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552), ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) และการตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 จะไม่มีผลกระทบต่องบการเงิน สำหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12, การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 และฉบับที่ 25 ฝ่ายบริหารของบริษัทฯ อยู่ระหว่างการพิจารณาผลกระทบต่องบการเงินในปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการรายงานทาง การเงินดังกล่าว
2.3 เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม
2.3.1 งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท” และ “บริษัทฯ และบริษัทย่อย”) และได้จัดทำขึ้นโดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการจัดทำงบ การเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกลุ่มบริษัท ดังกล่าวในระหว่างปีปัจจุบัน ดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท
ลักษณะธุรกิจ
ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ผู้จัดจำหน่าย บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด ผูจ้ ัดจำหน่าย (ปัจจุบันไม่ได้ ดำเนินกิจการ) บริษัท ไอคอน ฟู้ดส์ จำกัด ผู้จัดจำหน่าย (ปัจจุบันไม่ได้ ดำเนินกิจการ) บริษัท อะกริ ซอล จำกัด ผู้ผลิตและ จัดจำหน่าย
อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
2554 99.99
2553 99.99
97.60
97.60
99.00
99.00 สหรัฐอเมริกา
100.00
100.00
ไทย ไทย
ไทย
ร้อยละของสินทรัพย์ ร้อยละของรายได้ ที่รวมอยู่ใน ที่รวมอยู่ในรายได้รวม สินทรัพย์รวม 2554 2553 2554 2553 25.66 24.28 50.83 56.63 -
-
-
-
-
-
-
-
11.29
13.87
6.90
8.64
2.3.2 งบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินสำหรับรายการสินทรัพย์และหนี้สิน และอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยราย เดือนในระหว่างปีสำหรับรายการที่เป็นรายได้และค่าใช้จ่าย ผลต่างซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้ แสดงไว้เป็นรายการ “ผลปรับปรุงจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ” ในองค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผู้ถือหุ้น
รายงานประจำปี 2554
69
2.3.3 ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการระหว่างกันทีม่ สี าระสำคัญ ยอดเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย ของบริษัทฯ และทุนเรือนหุ้นของบริษัทย่อยได้ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว
3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
3.1 การรับรู้รายได้และการบันทึกค่าใช้จ่าย
รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯ ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำคัญของความเป็นเจ้าของ สินค้าให้กับผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้า โดยไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับสินค้าที่ได้ ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้อื่นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง ค่าใช้จ่ายบันทึกตามเกณฑ์คงค้าง
3.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง กำหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนและไม่มีข้อจำกัดในการเบิกใช้
3.3 ลูกหนี้การค้า
ลูกหนี้การค้าแสดงตามมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจ เกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลูกหนี้
3.4 สินค้าคงเหลือ
สินค้าสำเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบห่อ อะไหล่และวัสดุโรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุน มาตรฐาน (ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนจริงตามวิธีถัวเฉลี่ย) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนดังกล่าว หมายถึงต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ้ยโรงงานด้วย วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบห่อ อะไหล่และวัสดุโรงงาน จะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ ค่าเผื่อสินค้าเสื่อมสภาพจะตั้งขึ้นสำหรับสินค้าเก่าล้าสมัย เคลื่อนไหวช้าหรือเสื่อมคุณภาพ
3.5 เงินลงทุน
เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงตามวิธีราคาทุน หักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน (ถ้ามี) บริษัทฯ จะรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน
3.6 เงินชดเชยค่าภาษีอากรสินค้าส่งออก
เงินชดเชยค่าภาษีอากรสินค้าส่งออกที่ได้รับในรูปบัตรภาษีจะถือเป็นรายได้เมื่อส่งออก โดยคำนวณจากการนำอัตรา ร้อยละที่กำหนดคูณกับมูลค่าสินค้าที่ส่งออก (F.O.B)
Goodness from the ground
70
รายงานประจำปี 2554
3.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา
การวัดมูลค่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงตามราคาทุนหรือราคาตีใหม่ อาคารและเครื่องจักรแสดงตามราคาทุนหรือราคาตีใหม่หลังหักด้วยค่าเสื่อม ราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) อุปกรณ์ไม่รวมอาคารและเครื่องจักรแสดงตามราคาทุนหลังหักด้วยค่าเสื่อมราคา สะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ราคาทีต่ ใี หม่จะเป็นราคาตลาดยุตธิ รรม (Fair market value) โดยผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระโดยใช้เกณฑ์ ราคาตลาด (Market approach) ในการตีราคาที่ดินและใช้เกณฑ์ราคาทุน (Cost approach) ในการตีราคาอาคารและเครื่องจักร บริษัทฯ มี นโยบายที่จะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระประเมินราคาสินทรัพย์ดังกล่าวทุกๆ 5 ปี เพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงินแตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสำคัญ ส่วนที่เพิ่มขึ้นของราคาที่ประเมินใหม่ของสินทรัพย์จะบันทึกเป็น “ส่วน เกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ภายใต้หัวข้อ “องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น” ในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการบันทึกบัญชีที่ดินในราคาตีใหม่ บริษัทฯ บันทึกมูลค่าเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ได้สินทรัพย์มา อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้นบริษัทได้จัดให้มี การประเมินราคาที่ดินโดยผู้ประเมินราคาอิสระและบันทึกที่ดินดังกล่าวในราคาตีใหม่ ทั้งนี้ บริษัทจะจัดให้มีการประเมินราคา ที่ดินทุกๆ 5 ปีเพื่อมิให้ราคาตามบัญชี ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินแตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสำคัญ บริษัทบันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคาที่ดินดังต่อไปนี้ - บริษัทบันทึกราคาตามบัญชีของที่ดินที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาใหม่ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” ใน องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไรก็ตาม หากที่ดินนั้นเคยมีการตีราคาลดลง และบริษัทได้รับรู้ราคาที่ลดลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนแล้ว ส่วนที่เพิ่มจากการตีราคาใหม่นี้จะถูกรับรู้เป็น รายได้ไม่เกินจำนวนที่เคยลดลง ซึ่งได้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนปีก่อนแล้ว - บริษัทรับรู้ราคาตามบัญชีของที่ดินที่ลดลงจากการตีราคาใหม่เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม หากที่ ดินนั้นเคยมีการตีราคาเพิ่มขึ้นและยังมียอดคงค้างของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” อยู่ในองค์ประกอบ อื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่ลดลงจากการตีราคาใหม่จะถูกนำไปหักออกจาก “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน” ไม่เกินจำนวนซึ่งเคยตีราคาเพิ่มขึ้นของที่ดินชนิดเดียวกัน และส่วนที่เกินจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินดังกล่าวไม่สามารถนำมาหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถจ่ายเป็นเงินปันผลได้ วิธีบันทึกบัญชีอาคารและเครื่องจักรในราคาตีใหม่ สำหรับอาคารและเครื่องจักรที่ตีราคาเพิ่มขึ้นบริษัทฯ มีการคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรง ตามอายุการใช้งานที่ เหลืออยู่โดยประมาณของสินทรัพย์และบันทึกปรับส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ด้วยจำนวนเดียวกัน
รายงานประจำปี 2554
71
บริษัทบันทึกส่วนต่างซึ่งเกิดจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักรดังต่อไปนี้ ในการประเมินมูลค่าอาคารและเครือ่ งจักรใหม่หากอาคารและเครือ่ งจักรมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ จะบันทึกมูลค่าส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็น ส่วนเกินทุนจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักร โดยสุทธิจากมูลค่าที่เคยประเมินลดลงและเคยรับรู้ในงบกำไรขาดทุนแล้วเสีย ก่อนและหากเป็นกรณีที่มูลค่าของอาคารและเครื่องจักรลดลงจากการประเมิน จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนสำหรับมูลค่าที่ลดลง เฉพาะจำนวนที่มากกว่าส่วนเกินทุน จากการตีราคาอาคารและเครื่องจักรที่เคยประเมินไว้ครั้งก่อน ส่วนเกินจากการตีราคา อาคารและเครื่องจักรจะถูกตัดบัญชีโอนไปในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นภายใต้ชื่อบัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคา อาคารและเครือ่ งจักรเท่ากับส่วนต่างระหว่างค่าเสือ่ มราคาทีค่ ดิ จากมูลค่าอาคารและเครือ่ งจักรภายหลังประเมินราคาเพิม่ ขึน้ กับ ค่าเสื่อมราคาที่คิดจากราคาทุนเดิมของอาคารและเครื่องจักร ในกรณีที่มีการจำหน่ายอาคารและเครื่องจักรที่เคยประเมินมูลค่า ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเฉพาะของอาคารและเครื่องจักรที่จำหน่ายจะโอนไปยังกำไรสะสมโดยตรงไม่ทำผ่านไปยังงบกำไร ขาดทุนเพื่อโอนปิดบัญชีส่วนเกินทุนของอาคารและเครื่องจักรที่จำหน่ายนั้นๆ การคำนวณค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของสินทรัพย์ แต่ละรายการ ประมาณอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้
สิ่งปรับปรุงที่ดิน ส่วนปรับปรุงอาคาร อาคารที่ได้มาก่อนปี 2533 อาคารที่ได้มาตั้งแต่ปี 2533 เครื่องจักรที่ได้มาก่อนปี 2533 เครื่องจักรที่ได้มาตั้งแต่ปี 2533 อุปกรณ์และเครื่องตกแต่งและติดตั้งที่ได้มาก่อนปี 2533 อุปกรณ์และเครือ่ งตกแต่งและติดตัง้ ทีไ่ ด้มาตัง้ แต่ปี 2533 ยานพาหนะ
ใหม่ เส้นตรง เส้นตรง เส้นตรง เส้นตรง เส้นตรง เส้นตรง ยอดลดลง เส้นตรง เส้นตรง
วิธี
เดิม เส้นตรง เส้นตรง ยอดลดลง เส้นตรง ยอดลดลง เส้นตรง ยอดลดลง เส้นตรง เส้นตรง
ใหม่ 5 25 40 40 15, 20 15, 20 5, 10 5, 10 5
ปี
เดิม 5 5 20 20 5, 10 5, 10 5, 10 5, 10 5
ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง
3.8 ต้นทุนการกู้ยืม
ต้นทุนการกู้ยืมซึ่งเกี่ยวเนื่องกับเงินกู้ยืมสำหรับการจัดหาสินทรัพย์ถาวรจะถูกบันทึกเป็นส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ถาวร จนกว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นพร้อมที่จะใช้งาน
3.9 ค่าตัดจำหน่าย
แผงไม้และภาชนะบรรจุรอตัดบัญชีแสดงตามราคาทุนหลังจากหักค่าตัดจำหน่ายสะสมแล้ว โดยตัดจำหน่ายตามวิธี เส้นตรงในระยะเวลา 1 ปี และ 3 ปี Goodness from the ground
72
รายงานประจำปี 2554
3.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดย บริษัทไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพล อย่างมีนัยสำคัญกับบริษัท ไม่ว่าจะเป็นโดยทางตรงหรือทางอ้อม ผู้บริหารสำคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุม การดำเนินงานของบริษัท
3.11 สัญญาเช่าการเงิน
สัญญาเช่าทรัพย์สินที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำนวน เงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำกว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็น หนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงิน จะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะต่ำกว่า
3.12 สัญญาเช่าดำเนินงาน
สัญญาเช่าทรัพย์สินที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนแก่เจ้าของทรัพย์สินยังเป็นของผู้ให้เช่า จะถูกจัดเป็นสัญญาเช่าดำเนิน งาน โดยบริษัทจะบันทึกการจ่ายชำระค่าเช่าภายใต้สัญญาเช่าดำเนินงานเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตลอดระยะเวลาของ อายุของการเช่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดำเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เบี้ยปรับที่ต้องจ่ายให้กับผู้ให้เช่าจะ บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น
3.13 ประมาณการหนี้สิน
บริษัทฯ รับรู้ประมาณการหนี้สินเมื่อมีภาระผูกพันในปัจจุบันซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีตและมีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่นอนที่บริษัทจะสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อจ่ายชำระภาระผูกพันดังกล่าวและสามารถประมาณมูลค่า ภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ
3.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์
ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน บริษัทฯ จะประเมินว่ามีข้อบ่งชี้ของสินทรัพย์ว่ามีการด้อยค่าหรือไม่ หากสินทรัพย์นั้น มีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า บริษัทจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ หากราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่า มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริษัทจะลดมูลค่าของสินทรัพย์นั้นลง ให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน และรับรู้ผลขาดทุนจาก การด้อยค่าของสินทรัพย์ในงบกำไรขาดทุน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์หมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการ ใช้ของสินทรัพย์นั้นแล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
รายงานประจำปี 2554
73
3.15 ผลประโยชน์ของพนักงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพและ ผลประโยชน์อื่นๆ เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ เงินชดเชยเมื่อออกจากงานของพนักงาน บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายตลอดอายุการทำงานของพนักงาน ภาระผูกพันของบริษัท เกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานจะประมาณ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯ และบริษัทย่อย รับรู้ภาระผูกพันดังกล่าวเมื่อเกิดรายการ
3.16 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน (ที่ไม่ได้เป็นกองทุนแยกต่างหาก จากสินทรัพย์ของบริษัทฯ) ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายของประเทศไทย ซึ่งประมาณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย อย่างไรก็ตามผลประโยชน์หลังออกจากงาน ที่เกิดขึ้นจริงนั้นอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเลือกที่จะบันทึกภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 31.80 ล้านบาทของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และจำนวน 26.56 ล้านบาทของบริษัทฯ โดยปรับปรุงกับขาดทุนสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธีปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ดังที่เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 4
3.17 ภาษีเงินได้
บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษี (ถ้ามี) ตามกฎหมายภาษีอากร ในอัตราร้อยละ 30
3.18 ตราสารอนุพันธ์
บริษัทฯ ได้เข้าทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อลดความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่เกิดจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับลูกหนี้บางส่วนของบริษัทที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ที่เข้าทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่าง ประเทศล่วงหน้า บริษทั จะบันทึกรายการภาระสินทรัพย์และหนีส้ นิ จากการทำสัญญาดังกล่าวในงบแสดงฐานะการเงิน และบันทึก ผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นในบัญชีส่วนเกินหรือส่วนต่ำจากการป้องกันความเสี่ยงจากกระแสเงินสดรอตัดบัญชี โดยจะตัด จ่ายตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้านั้น รายการตราสารอนุพันธ์ดังกล่าวที่ถูกนำไปป้องกัน ความเสี่ยงในระหว่างปีได้แปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการและจะรับรู้กำไรหรือขาดทุนที่เกิด ขึ้นจริงเมื่อมีการส่งมอบเงินตราระหว่างกันแล้วในผลการดำเนินงานในปีที่เกิดรายการ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าที่คงเหลืออยู่ ณ วันที่สิ้นงวด จะแสดงหักกลบกันไว้เป็นบัญชีลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า และกำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการแปลงค่ารายการ โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบแสดงฐานะ การเงินได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน
Goodness from the ground
74
รายงานประจำปี 2554
3.19 เงินตราต่างประเทศ
รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ สินทรัพย์และ หนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศคงเหลืออยู่ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำนวณผลการดำเนินงาน
3.20 การใช้ประมาณการทางบัญชี
ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารต้องใช้การประมาณและตั้งข้อ สมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อจำนวนเงินที่เกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์และหนี้สิน และการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้ การใช้ประมาณการทาง บัญชีที่สำคัญเพิ่มเติม มีดังนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารเป็นผู้กำหนดประมาณการอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ของบริษัท ฝ่ายบริหารต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อมีความแตกต่างไปจากประมาณการในงวดก่อน หรือมีการตัดจำหน่าย สินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพหรือไม่ได้ใช้งานโดยการขายหรือเลิกใช้
3.21 กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน) สำหรับปีด้วยจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออก อยู่ในระหว่างปี กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยหารกำไร (ขาดทุน) สำหรับปีด้วยผลรวมของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออก อยู่ในระหว่างปีกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทอาจต้องออก เพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้นให้ เป็นหุ้นสามัญ โดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นงวดหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า
3.22 เครื่องมือทางการเงิน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่มีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบแสดงฐานะการเงินที่เป็นตราสาร อนุพันธ์เพื่อการเก็งกำไร
รายงานประจำปี 2554
75
4. ผลกระทบจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินมาใช้เป็นครั้งแรก
ในปีปัจจุบันบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ตามที่ กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.2 (ก) ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงิน ดังนี้
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้นสุทธิ ขาดทุนสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงานเพิ่มขึ้นส่งผลให้ - ต้นทุนขายเพิ่มขึ้น - ค่าใช้จ่ายในการขายเพิ่มขึ้น - ค่าใช้จ่ายในการบริหารเพิ่มขึ้น - กำไรสุทธิลดลง - กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท) การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ผลประโยชน์ที่จ่ายแล้ว ต้นทุนบริการปัจจุบันและดอกเบี้ย ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในกำไรหรือขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย รวม
งบการเงินรวม
ล้านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ
34.98 31.80
28.73 26.56
1.64 0.52 1.71 3.87 0.06
1.50 0.16 1.20 2.86 0.04
31.80 (0.69) 3.87 34.98
26.56 (0.69) 2.86 28.73
2.53 1.34 3.87
1.79 1.07 2.86
ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน อัตรามรณะ
ร้อยละ
4.75 2.50 - 4.00 0 - 22.92* 75% of TMO97**
* ขึ้นอยู่กับอัตราถัวเฉลี่ยของกลุ่มอายุพนักงาน ** อ้างอิงตามตารางมรณะไทย 2540 ประเภทสามัญ (TMO97 : Thai Mortality Ordinary Tables of 1997) Goodness from the ground
76
รายงานประจำปี 2554
การนำเสนองบการเงิน
ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน กำหนดให้แสดง “การเปลี่ยนแปลงใน ส่วนของผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เกิดจากรายการกับผู้ถือหุ้นเฉพาะที่ไม่ได้รับรู้ในกำไรหรือขาดทุน” เป็น “รายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่น” โดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ข้อมูลเปรียบเทียบได้มีการนำเสนอใหม่เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ปรับปรุงใหม่แล้ว
5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย
เงินสดย่อย เงินฝากธนาคาร - บัญชีกระแสรายวัน - บัญชีออมทรัพย์ - บัญชีประจำ เช็คที่ถึงกำหนดชำระแต่ยังมิได้นำฝาก รวม
บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 236,478 231,000 12,439,918 3,987,312 10,409,846 5,572,420 2,823 2,786 2,782,950 4,378,607 25,872,015 14,172,125
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 80,000 80,000 7,155,521 1,533,338 85,702 107,807 7,321,223 1,721,145
6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทแต่ละรายการ บริษัทฯ คำนึงถึงเนื้อหา ของความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย บริษัทฯ มีรายการบัญชีกับบุคคล บริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด บริษัท ไอคอน ฟู้ดส์ จำกัด
ลักษณะธุรกิจ ผู้จัดจำหน่าย ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย ผู้จัดจำหน่าย (ปัจจุบันไม่ดำเนินกิจการ) ผู้จัดจำหน่าย (ปัจจุบันไม่ดำเนินกิจการ)
ลักษณะความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้น/กรรมการร่วมกัน
รายงานประจำปี 2554
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท พีพีโอ ฟาร์ม จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) (ก) บริษัท ซีจี โบรกเกอร์ จำกัด
ลักษณะธุรกิจ บริษัทโฮลดิ้ง (การลงทุน) พัฒนาที่ดิน/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รับจ้างผลิตนมและน้ำผลไม้สำเร็จรูป เจ้าของลิขสิทธิ์นมตราโชคชัย ฟาร์มโคนมและจำหน่ายน้ำนมดิบ ห้างสรรพสินค้า แฟคตอริ่ง ประกันภัย
77
ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท/กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน บริษัทในเครือ/กรรมการร่วมกัน เกี่ยวข้องกับ บมจ. เอบิโก้ โฮลดิ้ง กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน
(ก) ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม 2554 บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ “บริษัท ธนมิตร แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน)”)ไม่ได้เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในระหว่างปี บริษัทฯ มีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตาม เงือ่ นไขทางการค้า และเกณฑ์ตามทีต่ กลงกันระหว่างบริษทั และบริษทั เหล่านัน้ ซึง่ เป็นไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ บาท นโยบายการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ กำหนดราคา 2554 2553 2554 2553 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย (ได้ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม - 1,141,016,108 1,205,969,822 ซื้อสินค้า ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม 44,823,483 50,677,669 ซื้อวัตถุดิบและอื่นๆ ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม 30,576,061 รายได้อื่น ต้นทุนบวกกำไรส่วนเพิ่ม 9,877,274 82,591,639 รายได้จากการค้ำประกัน อัตราร้อยละ 0.25 ของ จำนวนเงินค้ำประกัน 737,500 737,500 ค่าธรรมเนียมในการค้ำประกัน อัตราร้อยละ 0.25 ของ จำนวนเงินค้ำประกัน 700,000 700,000 ค่าเช่าและค่าบริการที่ดินและโรงงาน ตามสัญญา 1,692,990 ซื้อที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงาน ราคาทุน 1,997,662 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 96,838,151 112,262,417 ซื้อสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 9,840,622 6,289,103 ค่าเช่าอาคาร ตามสัญญา 11,016,960 11,016,960 6,525,360 6,609,360 ค่าบริการผลิตสินค้า ราคาเทียบเคียงราคาตลาด 60,120,227 50,045,118 60,120,227 50,045,118 ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ตามสัญญา 20,904,187 12,690,511 ดอกเบี้ยแฟคตอริ่ง ตามอัตราตลาด 383,977 1,573,587 Goodness from the ground
78
รายงานประจำปี 2554
ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้
ลูกหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด รวม ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท นมโชคชัย จำกัด ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทย่อย ไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ลูกหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม เงินมัดจำ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) รวม
งบการเงินรวม 2554 2553
บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
-
-
623,331,386 1,617,165 624,948,551
578,994,808 4,536,172 583,530,980
1,088,540 16,633,908 17,722,448
1,088,540 17,226,513 18,315,053
1,088,540 1,088,540
1,088,540 1,088,540
(1,088,540)
(1,088,540)
(1,088,540)
(1,088,540)
-
-
(244,395,435)
(334,031,767)
-
-
5,418,204 210,000 5,628,204
4,965,428 4,965,428
111,168 111,168
138,924 3,488 142,412
111,168 111,168
138,924 138,924
2,973,000 83,436 3,056,436
2,973,000 4,503,488 7,476,488
-
-
รายงานประจำปี 2554
งบการเงินรวม 2554 2553
เจ้าหนี้การค้า บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด 6,153,107 เจ้าหนี้แฟคตอริ่ง กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ไอร่า แฟคตอริ่ง จำกัด (มหาชน) เจ้าหนี้อื่น บริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด บริษัท อะกริ ซอล จำกัด รวม กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอบิโก้ แลนด์ จำกัด 63,455 บริษัท เอบิโก้ แดรี่ฟาร์ม จำกัด 17,537 บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด 16,649,958 รวม 16,730,950
บาท
79
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
-
536,492 25,584,053 26,120,545
53,725,106 53,725,106
6,976,117
6,135,570
6,963,512
28,862,498
-
-
-
5,510,000 5,510,000
498,655 5,759,921 6,258,576
99,711 12,630 12,004,475 12,116,816
39,753 39,753
67,487 67,487
ในปัจจุบนั บริษทั นมโชคชัย จำกัด ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ ทัง้ ด้านการถือหุน้ และ/หรือมีกรรมการบางส่วนร่วมกัน อย่างไรก็ตาม บริษัท นมโชคชัย จำกัด ได้มีความเกี่ยวข้องกันกับบริษัท เอบิโก้ โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัท บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ตรา “ฟาร์มโชคชัย” โดยบริษทั นมโชคชัย จำกัด เป็นผูถ้ อื สิทธิตราผลิตภัณฑ์ และไม่มีการกำหนดค่าตอบแทนในการใช้สิทธิตราผลิตภัณฑ์ดังกล่าวให้แก่บริษัท นมโชคชัย จำกัด ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทฯ ได้มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับบริษัท นมโชคชัย จำกัด จำนวน 35 ล้านบาท ต่อมาในปี 2550 ศาลล้มละลายกลางได้มีคำสั่งเห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการของ บริษัท นมโชคชัย จำกัด โดย ในแผนฟื้นฟูดังกล่าวนี้ระบุจำนวนหนี้ที่บริษัทจะได้รับชำระเป็นเงินรวม 1.09 ล้านบาท เป็นผลทำให้บริษัทได้มีการตัดหนี้ส่วน ที่เหลือเป็นหนี้สูญเป็นจำนวนเงิน 34 ล้านบาท ในปี 2550 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทพิจารณาตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญสำหรับลูกหนี้ส่วนที่เหลือดังกล่าวจำนวน 1.09 ล้านบาท ทั้งจำนวน
Goodness from the ground
80
รายงานประจำปี 2554
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารนี้เป็นผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่กรรมการและผู้บริหารของบริษัท ประกอบด้วย ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ได้แก่ เงินเดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงผลประโยชน์ตอบแทนในรูปอื่น ทั้งนี้กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทหมายถึงบุคคลที่กำหนดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ บาท
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
งบการเงินรวม 2554 2553 33,471,863 27,189,438
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 24,475,534 19,737,305
ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัทฯ มีภาระจากการค้ำประกันให้กับบริษัทย่อยตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23.3
7. ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระได้ดังนี้ บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 อายุหนี้ค้างชำระ ยังไม่ครบกำหนดชำระ 462,503,381 340,671,617 370,216,021 332,107,756 ค้างชำระ ไม่เกิน 3 เดือน 146,652,629 125,463,999 323,625,631 344,442,692 3 - 6 เดือน 2,256,913 1,072,832 90,051,792 3,097,240 6 - 9 เดือน 113,670 838,162 783,960 838,162 นานกว่า 9 เดือน 5,749,430 3,885,968 5,973,755 3,640,789 รวม 617,276,023 471,932,578 790,651,159 684,126,639 หัก : ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (5,715,302) (5,240,793) (5,062,839) (5,240,793) : ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า (244,395,435) (334,031,767) ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 611,560,721 466,691,785 541,192,885 344,854,079
รายงานประจำปี 2554
81
ยอดคงค้างของลูกหนี้การค้าของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ได้รวมลูกหนี้การค้า ในงบการเงินรวมจำนวนเงิน 52.11 ล้านบาท และ 185.13 ล้านบาท ตามลำดับ และในงบการเงินเฉพาะกิจการจำนวนเงิน 9.11 ล้านบาท และ 9.41 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งนำไปขายลดแก่สถาบันการเงิน โดยสถาบันการเงินดังกล่าวมีสิทธิไล่เบี้ย บริษัทฯ และบริษัทย่อย โดยมีลูกหนี้ขายลดแก่สถาบันการเงิน ในงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เป็นจำนวนเงิน 47.62 ล้านบาท และ 153.52 ล้านบาท ตามลำดับ และในงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 9.11 ล้านบาท และ 9.41 ล้านบาท ตามลำดับ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างปี ดังนี้ บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 (5,240,793) (2,597,674) (652,463) (2,643,119) 177,954 (5,715,302) (5,240,793)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (5,240,793) (2,597,674) (2,643,119) 177,954 (5,062,839) (5,240,793)
ยอดคงเหลือต้นปี ยอดที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี ได้รับชำระคืนในระหว่างปี ลดลงเนื่องจากตัดหนี้สูญ ยอดคงเหลือปลายปี ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างปีดังนี้
ยอดคงเหลือต้นปี กลับรายการ (เพิ่มขึ้น) ในระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินรวม 2554 2553 -
บาท -
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (334,031,767) (303,642,300) 89,636,332 (30,389,467) (244,395,435) (244,395,435)
8. ลูกหนี้อื่น
ลูกหนี้อื่นประกอบด้วย
รายได้อื่นค้างรับ เงินทดรองจ่าย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ภาษีสรรพสามิต รวม
บาท งบการเงินรวม 2554 2553 23,572,815 17,866,403 335,717 909,856 13,208,640 10,880,521 3,080,759 9,702,571 40,197,931 39,359,351
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 21,682,982 19,822,907 272,488 267,022 9,357,158 6,353,682 3,080,759 9,702,572 34,393,387 36,146,183 Goodness from the ground
82
รายงานประจำปี 2554
9. สินค้าคงเหลือ - สุทธิ บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 343,415,446 321,728,493 38,072,290 41,075,212 88,209,477 101,638,096 36,093,852 26,881,188 505,791,065 491,322,989 (5,607,437) (19,286,468) 500,183,628 472,036,521
สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบ ภาชนะบรรจุและหีบห่อ อะไหล่และวัสดุโรงงาน รวม หัก ค่าเผื่อสินค้าเสื่อมสภาพ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ค่าเผื่อสินค้าเสื่อมสภาพมีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างปี ดังนี้
บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 (19,286,468) (15,433,905) (5,607,437) (22,398,477) 19,286,468 18,545,914 (5,607,437) (19,286,468)
ยอดยกมาต้นปี ยอดที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี ยอดที่ลดลงระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 252,566,901 192,827,522 36,230,160 39,573,372 77,237,900 94,074,765 31,460,087 23,558,043 397,495,048 350,033,702 (4,657,479) (18,463,152) 392,837,569 331,570,550
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (18,463,152) (13,965,562) (4,657,479) (15,081,523) 18,463,152 10,583,933 (4,657,479) (18,463,152)
10. เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ
เงินลงทุนในบริษัทย่อยประกอบด้วยเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท
ทุนเรียกชำระแล้ว 2554 2553
เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัท มาลี เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด 100 ล้านบาท บริษัท มาลีซัพพลาย จำกัด 1.75 ล้านบาท บริษัท ไอคอน ฟูดส์ จำกัด 50,500 เหรียญสหรัฐฯ บริษัท อะกริ ซอล จำกัด 145 ล้านบาท หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ
100 ล้านบาท 1.75 ล้านบาท 50,500 เหรียญสหรัฐฯ 145 ล้านบาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) 2554 2553 99.99 97.60 99.00 100.00
99.99 97.60
วิธีราคาทุน (บาท) 2554 2553 99,988,000 1,708,000
99,988,000 1,708,000
99.00 1,291,000 100.00 145,000,000 247,987,000 (102,987,000) 145,000,000
1,291,000 145,000,000 247,987,000 (102,987,000) 145,000,000
รายงานประจำปี 2554
83
11. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน
ยอดคงเหลือนี้คือเงินฝากประจำซึ่งบริษัทได้นำไปค้ำประกันวงเงินสินเชื่อ
12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ งบการเงินรวม
อาคารโรงงาน และสิ่งปลูกสร้าง อาคาร
ที่ดิน ราคาทุน : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม จำหน่าย โอนเข้า (ออก) ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสม : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคา - จำหน่าย โอนเข้า (ออก) ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น ลดลงจากการจำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิตามบัญชี : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาที่ตีเพิ่ม : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตีราคาเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสมราคาที่ตีเพิ่ม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี จำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
บาท สิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน
เครื่องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
เครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และอุปกรณ์ สำนักงาน
ยานพาหนะ
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รายการ ระหว่างกัน
รวม
41,619,715 41,619,715
326,793,226 1,080,500 (22,439) 327,851,287
8,963,610 8,963,610
1,433,710,057 12,939,302 (18,145,943) 5,154,535 (44,080,592) 1,389,577,359
21,608,928 5,108,800 (3,326,511) 23,391,217
153,305,305 3,667,237 (1,204,181) 1,218,836 156,987,197
60,514,022 41,573,717 (6,373,371) (4,759,578) 90,954,790
(301,913) 2,046,212,950 64,369,556 - (22,676,635) - (48,862,609) (301,913) 2,039,043,262
-
229,505,874 4,809,053 (1,659) 234,313,268
8,489,838 255,611 8,745,449
1,132,711,123 35,546,668 (16,847,564) (36,892,713) 1,114,517,514
16,855,235 1,795,312 (3,313,473) 15,337,074
138,684,848 6,384,202 (1,183,888) 143,885,162
-
(153,083) 1,526,093,835 48,790,846 - (21,344,925) - (36,894,372) (153,083) 1,516,645,384
-
11,648,118 11,648,118
-
7,402,113 (3,867,298) 3,534,815
-
-
23,385,654 (4,665,607) 18,720,047
-
42,435,885 (8,532,905) 33,902,980
41,619,715 41,619,715
85,639,234 81,889,901
473,772 218,161
293,596,821 271,525,030
4,753,693 8,054,143
14,620,457 13,102,035
37,128,368 72,234,743
(148,830) (148,830)
477,683,230 488,494,898
156,825,622 156,825,622
75,295,223 75,295,223
-
373,759,418 (5,717,525) (3,663,853) 364,378,040
-
-
-
-
605,880,263 (5,717,525) (3,663,853) 596,498,885
-
3,800,338 3,849,089 7,649,427
-
37,361,462 37,085,616 (830,323) (731,775) 72,884,980
-
-
-
-
41,161,800 40,934,705 (830,323) (731,775) 80,534,407
Goodness from the ground
84
รายงานประจำปี 2554
บาท
อาคารโรงงาน และสิ่งปลูกสร้าง อาคาร
ที่ดิน ราคาทุน : ราคาที่ตีเพิ่มสุทธิ: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 156,825,622 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 156,825,622 สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาตีใหม่ - สุทธิ : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 198,445,337 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 198,445,337 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม : ปี 2553 ปี 2554
สิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน
71,494,885 67,645,796 157,134,119 149,535,697
เครื่องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
336,397,956 - 291,493,060 473,772 218,161
เครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และอุปกรณ์ สำนักงาน
ยานพาหนะ
629,994,777 563,018,090
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รายการ ระหว่างกัน
-
-
-
4,753,693 8,054,143
14,620,457 13,102,035
37,128,368 72,234,743
รวม
-
564,718,463 515,964,478
(148,830) 1,042,401,693 (148,830) 1,004,459,376 44,814,418 48,790,846
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อาคารโรงงาน และสิ่งปลูกสร้าง อาคาร
ที่ดิน ราคาทุน: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม จำหน่าย โอนเข้า (ออก) ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสะสม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ค่าเสื่อมราคา - จำหน่าย โอนเข้า (ออก) ค่าเสื่อมราคา - ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 พิ่มขึ้น ลดลงจากการจำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลค่าสุทธิตามบัญชี: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
บาท สิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน
เครื่องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
เครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และอุปกรณ์ สำนักงาน
ยานพาหนะ
งานระหว่าง ก่อสร้าง
รวม
31,417,556 31,417,556
223,825,818 1,064,500 224,890,318
8,227,267 8,227,267
1,231,497,133 11,886,206 (18,145,943) 5,154,535 (42,873,625) 1,187,518,306
18,532,595 5,087,500 (3,326,510) 20,293,585
99,175,315 896,365 (788,362) 1,218,836 100,502,154
60,514,022 41,573,717 (6,373,371) (4,759,578) 90,954,790
1,673,189,706 60,508,288 (22,260,815) (47,633,203) 1,663,803,976
-
175,219,911 2,449,919 177,669,830
7,916,108 255,611 8,171,719
972,844,989 30,257,458 (16,847,912) (36,693,543) 949,560,992
15,238,637 1,317,192 (3,313,473) 13,242,356
91,940,905 2,982,849 (788,062) 94,135,692
-
1,263,160,550 37,263,029 (20,949,447) (36,693,543) 1,242,780,589
-
2,431,603 2,431,603
-
5,307,764 (3,291,834) 2,015,930
-
-
23,385,654 (4,665,607) 18,720,047
31,125,021 (7,957,441) 23,167,580
31,417,556 31,417,556
46,174,304 44,788,885
311,159 55,548
253,344,380 235,941,384
3,293,958 7,051,229
7,234,410 6,366,462
37,128,368 72,234,743
378,904,135 397,855,807
รายงานประจำปี 2554
ที่ดิน ราคาทุน: ราคาที่ตีเพิ่ม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 153,769,444 ตีราคาเพิ่มขึ้น (ลดลง) จำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 153,769,444 ค่าเสื่อมราคาสะสมราคาที่ตีเพิ่ม: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี จำหน่าย ตัดจำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาที่ตีเพิ่มสุทธิ: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 153,769,444 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 153,769,444 สินทรัพย์ซึ่งแสดงตามราคาตีใหม่ - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 185,187,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 185,187,000 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม: ปี 2553 ปี 2554
อาคารโรงงาน และสิ่งปลูกสร้าง อาคาร
บาท สิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน
เครื่องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
เครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และอุปกรณ์ สำนักงาน
ยานพาหนะ
งานระหว่าง ก่อสร้าง
85
รวม
75,295,223 75,295,223
-
304,253,174 (5,717,525) (2,957,075) 295,578,574
-
-
-
533,317,841 (5,717,525) (2,957,075) 524,643,241
3,800,338 3,849,089 7,649,427
-
30,410,267 30,138,151 (830,323) (590,605) 59,127,490
-
-
-
34,210,605 33,987,240 (830,323) (590,605) 66,776,917
71,494,885 67,645,796
-
273,842,907 236,451,084
-
-
-
499,107,236 457,866,324
117,669,189 112,434,681
311,159 55,548
527,187,287 472,392,468
3,293,958 7,051,229
7,234,410 6,366,462
37,128,368 72,234,743
878,011,371 855,722,131 32,775,258 37,263,029
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมียานพาหนะและเครื่องจักรซึ่งได้มาภายใต้สัญญาเช่า การเงิน โดยมีมูลค่าสุทธิตามบัญชีเป็นจำนวน 9.09 ล้านบาท และ 61.68 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการเป็นจำนวน เงิน 8.08 ล้านบาท และ 60.24 ล้านบาท ตามลำดับ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอาคาร ยานพาหนะ และอุปกรณ์จำนวนหนึ่ง ซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ ราคาทุนของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำนวนเงิน 154 ล้านบาท และ156 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 106 ล้านบาท และ 112 ล้านบาท ตามลำดับ)
ส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาสินทรัพย์ถาวร
ในเดือนธันวาคม 2552 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ให้บริษัท 15 ที่ปรึกษาธุรกิจ จำกัด ซึ่งเป็นผู้ประเมินราคาอิสระ จากในประเทศทำการประเมินราคาที่ดิน อาคารและเครื่องจักรใหม่ ภายใต้หลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ในนโยบายบัญชี (ดูหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 3.7)
Goodness from the ground
86
รายงานประจำปี 2554
สำหรับการตีราคาที่ดิน อาคารและเครื่องจักร มีรายละเอียดดังนี้ กรณีการตีราคาที่ดิน ที่ดินของบริษัทฯ ตั้งอยู่ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวนรวมของพื้นที่ 39 ไร่ 0 งาน 65 ตารางวา และทีด่ นิ ของบริษทั ย่อยตัง้ อยูท่ อ่ี ำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม จำนวนรวมของพืน้ ที่ 118 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา มีมลู ค่าทีด่ นิ ตามราคาทุนดัง้ เดิมในงบการเงินรวมเป็นจำนวนเงิน 41.62 ล้านบาท (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 31.42 ล้านบาท) บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้เคยประเมินราคาที่ดินครั้งที่ 2 ในปี 2547 มีราคาประเมินเป็นจำนวนเงิน 212.63 ล้านบาท ต่อมา ได้ประเมินราคาที่ดินครั้งที่ 3 ในเดือนธันวาคม 2552 มีราคาประเมินใหม่ เป็นจำนวนเงิน 198.68 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ เป็นจำนวนเงิน 185.19 ล้านบาท) ส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาที่ดินสำหรับการประเมินราคาใหม่ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 เป็นจำนวนเงิน 171.01 ล้านบาท และ 156.83 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 171.01 ล้านบาท และ 153.77 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งแสดงในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของ ผู้ถือหุ้น กรณีการตีราคาอาคารและเครื่องจักรมีมูลค่าอาคารและเครื่องจักรตามราคาทุนสุทธิตามบัญชีเป็นจำนวนเงิน 431.06 ล้านบาท (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 329.27 ล้านบาท) บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ประเมินราคาอาคารและเครื่องจักรเป็น ครั้งแรกในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยฝ่ายบริหารของกิจการมีเหตุผลในการเลือกนโยบายบัญชีดังกล่าวว่า อาคารและเครื่อง จักรของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ใช้งานมานานและส่วนใหญ่ได้ตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังมีมูลค่าการใช้งานในปัจจุบัน เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการบำรุงรักษาปรับปรุงอาคารและเครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอ จึงทำให้ราคาตามบัญชีของ อาคารและเครื่องจักรมิได้สะท้อนมูลค่าการใช้งานจริงในปัจจุบัน ดังนั้น การตีราคาใหม่จึงทำให้อาคารและเครื่องจักรแสดง ราคาที่เหมาะสมในปัจจุบันโดยบริษัทมิได้ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงินที่นำมาเปรียบเทียบเนื่องจากไม่มีข้อมูล ผลจากการตี ราคาใหม่มีราคาประเมินใหม่จำนวนเงิน 868.86 ล้านบาท (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 708.60 ล้านบาท) และมีส่วนที่ เพิ่มขึ้นจากการตีราคาอาคารและเครื่องจักรเป็นจำนวนเงิน 450.71 ล้านบาท (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 381.23 ล้านบาท) ซึ่งได้แสดงไว้ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษทั ย่อยมีผลขาดทุนจากการด้อยค่าของอาคารและเครือ่ งจักรจากการตีราคาใหม่ดงั กล่าวเป็นจำนวนเงิน 12.92 ล้านบาท (เฉพาะกิจการเป็นจำนวนเงิน 1.91 ล้านบาท) บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้คำนวณตัดจ่ายค่าเสื่อมราคาของส่วนที่ตีราคาเพิ่มไปหักกับบัญชีส่วนเกินทุน จากการตีราคา สินทรัพย์ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ซึ่งถือปฏิบัติตามเกณฑ์ราคาทุนเดิมที่อนุญาตให้ปฏิบัติได้ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 25/2549 และฉบับที่ 18/2554 ถ้าหากบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ใช้วิธีตัดค่าเสื่อมราคาโดยรับรู้ในกำไรหรือขาดทุน ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กำไรสำหรับปีและกำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ของบริษัทใหญ่สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 จะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 กำไรสำหรับปีลดลง (ล้านบาท) 40.93 41.32 33.99 34.37 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานของบริษัทใหญ่ลดลง (บาทต่อหุ้น) 0.58 0.59 0.49 0.49 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะไม่มีการตัดจ่ายค่าเสื่อมราคาของส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการตีราคาที่ดิน บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้โอนส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ที่แสดงอยู่ในส่วนของเจ้าของไปยังกำไร (ขาดทุน) สะสมในปี 2554 และ 2553 จำนวน 7.82 ล้านบาท และ 1.51 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการเป็นจำนวน 7.25 ล้านบาท และ 1.53 ล้านบาท ตามลำดับ) เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้มีการตัดรายการสินทรัพย์ดังกล่าว
รายงานประจำปี 2554
87
13. ที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงาน - สุทธิ บาท
มูลค่าที่ดิน (ราคาทุนเริ่มแรก) ปรับด้วยผลต่างของราคาประเมิน สุทธิ บวก ซื้อเพิ่มระหว่างปี หัก ขายระหว่างปี ที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงาน - สุทธิ
งบการเงินรวม 2554 2553 185,535,831 185,535,831 (56,702,453) (56,702,453) 128,833,378 128,833,378 (100,382,450) 28,450,928 128,833,378
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 157,485,047 157,485,047 (58,753,127) (58,753,127) 98,731,920 98,731,920 1,718,493 (100,450,413) 98,731,920
ที่ดินที่ยังไม่ใช้ในการดำเนินงานประกอบด้วยที่ดินดังต่อไปนี้ 1. ที่ดินตั้งอยู่ที่อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร จำนวนรวมของพื้นที่ 1,258 ไร่ 1 งาน 12 ตารางวา ซึ่งได้มาตั้งแต่ปี 2546 มีมูลค่าที่ดินจำนวนเงิน 26.61 ล้านบาท และมีมูลค่าตามราคาประเมินครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน 2547 จำนวนเงิน 24.93 ล้านบาท ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2552 บริษัทมีการขายที่ดินแปลงนี้ให้กับบริษัท อะกริ ซอล จำกัด (บริษัทย่อย) ในมูลค่าตามบัญชี 24.93 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาที่สูงกว่าราคาประเมินครั้งล่าสุดก่อนการขาย เมือ่ วันที่ 17 กรกฎาคม 2550 (ทีด่ นิ อาคารพร้อมสิง่ ปลูกสร้าง) และวันที่ 2 สิงหาคม 2550 (เครือ่ งจักรและอุปกรณ์) โดยฝ่ายบริหารได้เลือกซือ้ ขายกันในราคาตามบัญชี ตามมติทป่ี ระชุมกรรมการครัง้ ที่ 3/2551 เมือ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2551 บริษัทจึงไม่มีกำไรหรือขาดทุนจากการขายที่ดินดังกล่าว ณ ปัจจุบัน โฉนดบางส่วนซึ่งติดค้ำประกันที่ศาล เพื่อค้ำประกันให้บริษัทฯ ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์มาให้บริษัทย่อย ต่อมาบริษัท อะกริ ซอล จำกัด ได้ประเมินราคาที่ดินดังกล่าวในเดือนธันวาคม 2552 และมีมูลค่าตามราคา ประเมินจำนวนเงิน 28.66 ล้านบาท ในงบการเงินรวมราคาประเมินครั้งล่าสุดนี้สูงกว่าราคาทุนดั้งเดิมเป็นจำนวน เงิน 2.05 ล้านบาท ซึ่งได้แสดงไว้ในบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของ ผู้ถือหุ้น ดังนั้นค่าเผื่อการด้อยค่าที่เคยบันทึกไว้จากการประเมินราคาครั้งที่ 2 จึงถูกกลับรายการจำนวนเงิน 1.68 ล้านบาท ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ปัจจุบันที่ดินดังกล่าวยังไม่ได้ใช้ดำเนินการ ใดๆ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 บริษัท อะกริ ซอล จำกัด ได้ซื้อที่ดินส่วนที่ติดกับที่ดินแปลงเดิม ซึ่งตั้งอยู่ที่ อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ดังกล่าวข้างต้น จำนวน 3 แปลง จำนวนรวมของพื้นที่ 85 ไร่ 1 งาน 47 ตารางวา มีมลู ค่าทีด่ นิ จำนวนเงิน 1.44 ล้านบาท การซือ้ ทีด่ นิ ดังกล่าวเป็นไปตามมติทป่ี ระชุมกรรมการครัง้ ที่ 1/2553 เมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2553 ต่อมาในเดือนเมษายน 2554 บริษัท อะกริ ซอล จำกัด ได้ขายที่ดินบางส่วนที่เคยซื้อมาจากบริษัทให้แก่บริษัทใน ราคา 1.72 ล้านบาท และบริษัทได้ขายให้แก่บุคคลภายนอกในราคาเดียวกัน Goodness from the ground
88
รายงานประจำปี 2554
2. ที่ดินตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี จำนวนรวมของพื้นที่ 725 ไร่ 3 งาน 88 ตารางวา ซึ่งได้มาตั้งแต่ปี 2535 มีมลู ค่าทีด่ นิ จำนวนเงิน 157.49 ล้านบาท และมีมลู ค่าตามราคาประเมินครัง้ ที่ 2 ในเดือนมิถนุ ายน 2547 จำนวนเงิน 90.82 ล้านบาท และครั้งล่าสุดในเดือนธันวาคม 2552 จำนวนเงิน 98.73 ล้านบาท บริษัทได้นำไปบันทึกเป็น ค่าเผื่อการด้อยค่ากลับรายการจำนวน 7.91 ล้านบาท ในงบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2553 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2553 อนุมัติให้บริษัทขายที่ดิน ที่ยังไม่ได้ใช้ดำเนินงานที่ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี จำนวนรวมของพื้นที่ 725 ไร่ 3 งาน 88 ตารางวา ให้แก่เจ้าหนี้การค้ารายหนึ่ง เพื่อชำระหนี้ค่ากระป๋องบรรจุภัณฑ์บางส่วน โดยได้มีการทำสัญญาซื้อขายที่ดินเมื่อ วันที่ 19 มกราคม 2554 ในราคาตามสัญญาจำนวน 117.00 ล้านบาท ณ วันที่ขายที่ดินมีราคาตามบัญชีซึ่งเป็น ราคาประเมิน 98.73 ล้านบาท บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายที่ดินที่จ่ายให้กรมที่ดินรวม 5.16 ล้านบาท มีกำไร จากการขายที่ดิน 13.11 ล้านบาท และมีเครดิตภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.17 ล้านบาท
14. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประกอบด้วย
เงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น
อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ(ต่อปี) MOR MLR, MRR - 1.25, MOR - 0.50
บาท งบการเงินรวม 2554 2553 4,638,866 12,709,980 246,075,713 250,714,579
302,165,817 314,875,797
รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 1,484,299 9,774,291 228,354,713 229,839,012
273,317,817 283,092,108
15. เจ้าหนี้อื่น
เจ้าหนี้อื่นประกอบด้วย บาท
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินทดรองรับ
รวม
งบการเงินรวม 2554 2553 232,872,280 191,182,415 1,052,740 734,999 233,925,020 191,917,414
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 95,292,731 55,403,563 1,052,741 734,999 96,345,472 56,138,562
รายงานประจำปี 2554
89
16. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 12,210,712 21,825,321 (1,203,432) (1,490,375) (82,740) (115,836)
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี ภาษีซื้อรอตัดบัญชี หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ จากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี
10,924,540
20,219,110
9,868,260
18,799,967
(3,409,048)
(12,346,097)
(3,013,103)
(11,980,234)
7,515,492
7,873,013
6,855,157
6,819,733
งบการเงินรวม (บาท)
เงินต้น ถึงกำหนดการจ่ายชำระ หลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ถึงกำหนดการจ่ายชำระ เกินห้าปี รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 10,945,972 20,054,686 (1,077,712) (1,254,719) -
2554 ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีซื้อ ยอดชำระ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี
เงินต้น
2553 ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีซื้อ ยอดชำระ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี
7,515,492
584,938
49,644
8,150,074 7,873,013
815,943
82,740
8,771,696
7,515,492
584,938
49,644
8,150,074 7,873,013
815,943
82,740
8,771,696
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)
เงินต้น ถึงกำหนดการจ่ายชำระ หลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี ถึงกำหนดการจ่ายชำระ เกินห้าปี รวม
2554 ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีซื้อ ยอดชำระ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี
เงินต้น
2553 ดอกเบีย้ จ่าย ภาษีซื้อ ยอดชำระ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี
6,855,157
536,073
- 7,391,230 6,819,733
689,925
- 7,509,658
6,855,157
536,073
- 7,391,230 6,819,733
689,925
- 7,509,658
Goodness from the ground
90
รายงานประจำปี 2554
17. เงินกู้ยืมระยะยาว
ยอดคงเหลือของเงินกู้ยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ บาท อัตราดอกเบี้ย เงินกู้ การชำระคืน งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ร้อยละ (ต่อปี) 2554 2553 1. ชำระคืนเงินต้นเป็นรายเดือน เดือนละไม่ต่ำกว่า MLR 1.5 ล้านบาท และครบกำหนดชำระเงินต้น งวดสุดท้ายในเดือนพฤษภาคม 2554 7,512,534 2. ชำระคืนเงินต้นเป็นรายเดือน เดือนละไม่ต่ำกว่า 8.25 3.0 ล้านบาท และครบกำหนดชำระเงินต้น งวดสุดท้ายในเดือนมีนาคม 2553 รวม 7,512,534 หัก : ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี (7,512,534) เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ -
เงินกู้ยืมระยะยาว 1
เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2548 บริษัทฯ ได้เข้าทำสัญญากู้ยืมเงินใหม่กับธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งจำนวน 120 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหนี้ทรัสต์รีซีทส์จำนวน 85.5 ล้านบาท และเงินกู้ยืมระยะยาวจำนวน 34.5 ล้านบาท สัญญา กู้ยืมเงินดังกล่าวมีกำหนดชำระคืนเงินต้นเป็นรายเดือนจำนวน 36 งวด งวดละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท และต้องจ่ายชำระคืน เงินต้นทั้งหมดภายในเดือนมกราคม ปี 2552 โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนสิงหาคม 2549 ต่อมาวันที่ 13 มีนาคม 2551 บริษัทฯ ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาของวงเงินกู้ดังกล่าวออกไปอีก 17 งวด จากเดิมวงเงินกู้มีกำหนด 36 งวด เปลี่ยนเป็นวงเงิน กู้มีกำหนด 53 งวด งวดละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท ในงวดที่ 25 - 36 และไม่ต่ำกว่า 2.5 ล้านบาท ในงวดที่ 37 - 52 และ ชำระส่วนที่เหลือทั้งหมดในงวดสุดท้ายในเดือนมิถุนายน 2553 และชำระดอกเบี้ยต่างหากทุกเดือน โดยเริ่มชำระงวดแรกใน เดือนกุมภาพันธ์ 2551
การขยายระยะเวลางวดการชำระและลดจำนวนเงินต้นผ่อนชำระตั้งแต่ไตรมาสที่ 2/2552
ต่อมาวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 บริษัทฯ ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาของวงเงินกู้ดังกล่าวออกไปอีก 11 งวด จากเดิม 53 งวด เปลี่ยนเป็นวงเงินกู้มีกำหนด 64 งวด งวดละไม่ต่ำกว่า 1 ล้านบาท (เดิมงวดละ 2.5 ล้านบาท) ในงวดที่ 41 - 47 และไม่ต่ำกว่า 1.5 ล้านบาท (เดิมงวดละ 2.5 ล้านบาท) ในงวดที่ 48 - 63 และชำระส่วนที่เหลือทั้งหมดในงวดสุดท้ายใน เดือนพฤษภาคม 2554 และชำระดอกเบี้ยต่างหากทุกเดือน โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนมิถุนายน 2552 เงินกู้ยืมดังกล่าวมี หลักประกันคือการจำนำเครื่องจักร
รายงานประจำปี 2554
91
18. สำรองตามกฎหมาย
ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด บริษัทฯ จะต้องจัดสรรเงินสำรองตามกฎหมายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ของ กำไรสุทธิประจำปีหกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนีจ้ ะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำรองตามกฎหมายนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้
19. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บริษัทฯ บริษัทย่อยสองแห่งและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3.0 ของเงินเดือนพนักงานและเงิน ที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราเดียวกัน และจะจ่ายให้แก่พนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วย กองทุนของบริษัทฯ และบริษัทย่อย กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด มีรายละเอียดดังนี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ สำหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ดังนี้ บาท
งบการเงินรวม 2554 2553 2,795,116 2,316,147
เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 1,990,391 1,694,234
20. กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน) สำหรับปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ด้วยจำนวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี
กำไร (ขาดทุน)
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่
2554 บาท
2553 บาท
งบการเงินรวม จำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2554 2553 หุ้น หุ้น
227,729,453 106,363,630 70,000,000 70,000,000
กำไรต่อหุ้น 2554 บาท 3.25
2553 บาท 1.52
Goodness from the ground
92
รายงานประจำปี 2554
กำไร (ขาดทุน) 2554 บาท
2553 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 2554 2553 หุ้น หุ้น
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 220,770,966 130,018,904 70,000,000 70,000,000
กำไรต่อหุ้น 2554 บาท 3.15
2553 บาท 1.86
21. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
บริษัทฯ และบริษัทย่อยประกอบกิจการเกี่ยวกับธุรกิจผลิตและจัดจำหน่ายผลไม้กระป๋อง น้ำผลไม้กระป๋องและ เครื่องดื่มบรรจุกระป๋อง โดยมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วน งานทางภูมิศาสตร์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เป็นดังนี้
ในประเทศ 2554 2553 2,899.51 2,249.19 988.04 762.89
ล้านบาท งบการเงินรวม ต่างประเทศ 2554 2553 760.87 579.48 100.99 42.41
รายได้จากการขาย กำไรขั้นต้น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น ต้นทุนทางการเงิน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 577.87 442.76 33.69 23.93 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์อื่นๆ รวมสินทรัพย์
รวม 2554 3,660.38 1,089.03 65.85 623.41 264.68 5.35 33.71 227.73 611.56 1,004.46 648.04 2,264.06
2553 2,828.67 805.30 59.88 463.48 262.38 32.96 106.36 466.69 1,042.40 688.14 2,197.23
รายงานประจำปี 2554
93
22. วงเงินสินเชื่อ
วงเงินสินเชื่อที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับจากสถาบันการเงินค้ำประกันโดยการวางประกันเงินฝากสถาบันการเงิน จำนอง/จำนำ ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ที่ดินที่ยังไม่ได้ใช้ในการดำเนินงานและเครื่องจักรบางส่วนของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย และค้ำประกันโดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกันและอดีตกรรมการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย นอกจากนี้วงเงินสินเชื่อของบริษัทย่อยที่ได้รับจากสถาบันการเงินทั้งหมดค้ำประกันโดยบริษัทฯ
23. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 23.1 ภาระผูกพัน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่อาจจะเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ ก) บริษัทฯ มีภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อวัตถุดิบเป็นจำนวนเงินประมาณ 0.51 และ 0.76 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ข) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าที่ดิน อาคารสำนักงานใหญ่ โกดังเก็บสินค้า เครื่องจักร อุปกรณ์สำนักงาน รถยนต์และค่าบริการต่างๆ โดยมีวันสิ้นสุดของสัญญาตั้งแต่ปี 2555 - 2558 ค่าเช่าและค่าบริการขั้นต่ำตามสัญญาที่ต้องจ่ายในอนาคตมีดังนี้
สัญญาเช่า
ช่วงระยะเวลา (ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ เกินหนึ่งปี เกินหนึ่งปี ไม่เกินหนึ่งปี ไม่เกินหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี แต่ไม่เกินห้าปี 0.05 0.05 3.58 1.63 6.87 1.99 1.98 0.51 1.37 0.51 0.48 0.73 0.39 0.72 4.17 1.40 2.70 1.10 7.49 6.55 -
ที่ดิน อาคารสำนักงานใหญ่ โกดังเก็บสินค้า เครื่องจักร อุปกรณ์สำนักงาน รถยนต์ บริการต่างๆ ค่าเช่าและค่าบริการตามสัญญาดังกล่าวข้างต้น สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้
ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 36.96 35.27 22.94 21.38
ค่าเช่าและค่าบริการ ค) ในไตรมาส 4 ปี 2554 บริษัทฯ ได้จ่ายเงินมัดจำเพื่อซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างจำนวน 4.12 ล้านบาท และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายอีกเป็นจำนวน 16.48 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 บริษัทฯ ได้จ่ายชำระเงินจำนวนดังกล่าวและรับโอนกรรมสิทธิ์มาเป็นของบริษัทฯ แล้ว Goodness from the ground
94
รายงานประจำปี 2554
23.2 หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีหนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเหลือ อยู่จำนวนประมาณ 7.08 ล้านบาท และ 37.08 ล้านบาท ตามลำดับ (เฉพาะกิจการจำนวน 6.43 ล้านบาท และ 36.43 ล้านบาท ตามลำดับ) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการ ตามปกติธุรกิจของบริษัท
23.3 การค้ำประกัน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ มีภาระค้ำประกันเงินกู้ยืมของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งแก่สถาบันการเงิน จำนวนเงิน 295 ล้านบาท และบริษัทย่อยมีภาระค้ำประกันเงินกู้ยืมของบริษัทฯ จำนวนเงิน 280 ล้านบาท การค้ำประกันนี้ มีผลผูกพันต่อบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยนานเท่าที่ภาระหนี้สินที่ยังไม่ได้ชำระโดยบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยดังกล่าว บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการคิดค่าธรรมเนียมในการค้ำประกันระหว่างกันเป็นอัตราร้อยละ 0.25 ของจำนวนเงิน ค้ำประกัน
23.4 คดีฟ้องร้อง
23.4.1 บริษัทฯ ถูกสถาบันการเงินแห่งหนึ่งฟ้องร้องในฐานะผู้ค้ำประกันเงินกู้ยืมให้แก่อดีตบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง เป็นจำนวนเงิน 24 ล้านบาท (รวมดอกเบี้ย 4 ล้านบาท) ซึ่งบริษัทฯ ได้บันทึกสำรองเผื่อหนี้สินดังกล่าวไว้ในบัญชีแล้วเป็น จำนวน 12 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2548 บริษัทและอดีตบริษัทย่อยได้เจรจาขอประนอมหนี้กับ สถาบันการเงินดังกล่าว ซึ่งตกลงชำระหนี้เป็นจำนวนเงิน 20 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ย โดยผ่อนชำระตามเงื่อนไขของสถาบัน การเงิน บริษัทฯ ได้บันทึกผลต่างที่เกิดขึ้นในงบกำไรขาดทุนในไตรมาสที่ 1 และ 2 ของปี 2548 จำนวนรวม 8 ล้านบาท และแสดงยอดคงค้างของหนี้สิน ดังกล่าวไว้ใน “หนี้สินจากภาระค้ำประกัน” ในงบแสดงฐานะการเงิน นอกจากนี้ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2548 อดีตบริษัทย่อยดังกล่าวได้เจรจาขอประนอมหนี้กับบริษัท โดยอดีตบริษัทย่อยตกลงจะชำระหนี้ให้แก่บริษัท เป็นจำนวนเงิน 16 ล้านบาท (เป็นมูลหนี้กับสถาบันการเงินสองแห่ง) โดยผ่อนชำระตามเงื่อนไขที่ตกลงร่วมกัน เพื่อความ รอบคอบบริษทั ฯ จะบันทึกรายการรับชำระจากอดีตบริษทั ย่อยดังกล่าวเป็นรายได้เมือ่ บริษทั ฯ ได้รบั ชำระเงินจากอดีตบริษทั ย่อย สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทได้รับชำระหนี้จากอดีตบริษัทย่อยเป็นจำนวนเงินปีละ 3 ล้านบาท 23.4.2 ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2551 บริษัทฯ ถูกบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเป็นเจ้าหนี้การค้าค่าสินค้าฟ้องให้ชำระ หนี้ค่าสินค้าในคดีผู้บริโภคในเรื่องผิดสัญญาซื้อขายรวมจำนวนเงิน 273.23 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าสินค้า 202.82 ล้านบาท และค่าดอกเบี้ย 70.41 ล้านบาท นอกจากนี้บริษัทจะต้องชำระดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.25 ต่อปี ของยอดเงินจำนวน 202.82 ล้านบาท โดยนับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2551 จนถึงวันทีช่ ำระเงินทัง้ หมดแก่บริษทั แห่งนัน้ รวมถึงจะต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียม และค่าทนายความแทนบริษัทแห่งนั้น อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ยื่นคำร้องให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัยและศาลดังกล่าวมีคำสั่ง ให้เป็นที่สุดว่า คดีดังกล่าวไม่เป็นคดีผู้บริโภค ต่อมาเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ศาลจังหวัดธัญบุรีได้อ่านคำวินิจฉัยของ ประธานศาลอุทธรณ์และมีคำวินจิ ฉัยว่าคดีดงั กล่าวไม่เป็นคดีผบู้ ริโภคเช่นเดียวกัน ดังนัน้ จึงจำหน่ายคดีออกจากสารบบคดีความ แต่จะไม่ตัดสิทธิเจ้าหนี้ที่จะฟ้องเป็นคดีแพ่งหรือคดีล้มละลายต่อไป ทำให้เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 เจ้าหนี้ได้มีหนังสือ ทวงถามมายังบริษัทอีกครั้งหนึ่งเพื่อรองรับการฟ้องคดีแพ่ง และ/หรือ คดีล้มละลายแล้ว อย่างไรก็ตาม ในขณะนั้นบริษัทอยู่ ระหว่างการเจรจาประนอมหนี้กับเจ้าหนี้ดังกล่าว ซึ่งผลของการประนีประนอมยังไม่สำเร็จ บริษัทจึงยังคงบันทึกภาระหนี้สิน รวมทั้งดอกเบี้ยไว้ทั้งจำนวน โดยบริษัทได้บันทึกภาระหนี้สินที่เป็นดอกเบี้ยทั้งจำนวนแล้วตั้งแต่ปี 2551 จนถึงงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2552 เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 81.40 ล้านบาท และบันทึกเจ้าหนี้ค่าสินค้าและดอกเบี้ยค้างจ่ายในงบ แสดงฐานะการเงินของบริษัท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 เป็นจำนวนเงิน 284.22 ล้านบาท ต่อมาในไตรมาสที่ 3 ปี 2552 บริษัทและเจ้าหนี้ดังกล่าวได้เจรจาและได้ตกลงยอมให้บริษัทชำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความแล้ว ข้อตกลงใน สาระสำคัญของสัญญามีดังนี้
รายงานประจำปี 2554
95
บริษัทฯ ต้องผ่อนชำระเงินต้นจำนวน 202.82 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในระหว่างผ่อนชำระในอัตราร้อยละ 7.25 ต่อปี จากยอดหนี้ที่คงเหลือตั้งแต่งวดที่ 31 เป็นต้นไป โดยผ่อนชำระภายในวันที่ 30 ของทุกๆ เดือนเป็นจำนวน 74 งวด เริ่มชำระงวดแรกในวันที่ 30 สิงหาคม 2552 โดยมีรายละเอียดการผ่อนชำระเงินต้นและดอกเบี้ยปรากฏตามเอกสารแนบท้าย สัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าว ดังนี้ งวดที ่ 1 - 24 25 - 30 31 - 48 49 - 73 งวดสุดท้าย 74
เงินงวด เงินต้น 2 ล้านบาท (ไม่มีดอกเบี้ย) เงินต้น 3 ล้านบาท (ไม่มีดอกเบี้ย) เงินต้นรวมดอกเบี้ย 3 ล้านบาท เงินต้นรวมดอกเบี้ย 4 ล้านบาท เงินต้นรวมดอกเบี้ย 3,576,407 บาท
ด้วยเหตุนี้ในไตรมาสที่ 3 ปี 2552 บริษัทฯ จึงได้กลับบัญชีภาระดอกเบี้ยค้างจ่ายที่ได้ตั้งไว้แล้วตั้งแต่ครั้งที่ถูกเจ้าหนี้ ฟ้องร้องดังรายละเอียดข้างต้นออกทั้งจำนวน 81.40 ล้านบาทโดยบันทึกกลับรายการประมาณการหนี้สินในดอกเบี้ยจ่ายใน งบกำไรขาดทุนสำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯได้มีการบันทึกดอกเบี้ยค้างจ่ายสำหรับเจ้าหนี้รายนี้จำนวน 12.04 ล้านบาท และจำนวน 7.44 ล้านบาท ตามลำดับ ทั้งนี้เป็นภาระดอกเบี้ยค้างจ่ายที่คำนวณตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของ อัตราดอกเบี้ยดังที่กำหนดในสัญญาตลอดอายุของสัญญาดังกล่าว ซึ่งจะเริ่มจ่ายดอกเบี้ยในงวดที่ 31 เดือนกุมภาพันธ์ 2555 เป็นต้นไป และจะถูกกลับรายการบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อมีการจ่ายชำระคืนเงินต้นได้ก่อนกำหนดในสัญญา เจ้าหนี้การค้าภายใต้สัญญาประนีประนอมยอมความมีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างปี ดังนี้ บาท
ยอดยกมาต้นปี ยอดที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี ยอดที่ลดลงระหว่างปี หัก ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้การค้าภายใต้สัญญาประนีประนอม ยอมความ - สุทธิ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2554 2553 168,822,300 191,257,330 168,822,300 191,257,330 (29,000,000) (22,435,030) (29,000,000) (22,435,030) 139,822,300 168,822,300 139,822,300 168,822,300 (27,636,667) (29,000,000) (27,636,667) (29,000,000) 112,185,633
139,822,300
112,185,633
139,822,300
Goodness from the ground
96
รายงานประจำปี 2554
24. เครื่องมือทางการเงิน
24.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง
ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 เรื่องการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯ มีเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินกู้ยืมระยะยาว บริษัทมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว และมี นโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดย การกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้น บริษัทจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็น สาระสำคัญจากการให้สนิ เชือ่ นอกจากนีก้ ารให้สนิ เชือ่ ของบริษทั ไม่มกี ารกระจุกตัวเนือ่ งจากบริษทั มีฐานของลูกค้าทีห่ ลากหลาย และมีอยู่จำนวนมากราย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษัทอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้าและ ลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ำคัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาวทีม่ ดี อกเบีย้ อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบีย้ ทีป่ รับขึน้ ลง ตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทจึงอยู่ ในระดับต่ำ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินค้าและการกู้ยืมเงินเป็นเงินตรา ต่างประเทศ บริษัทได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ มียอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศ ดังนี้ สกุลเงิน
สินทรัพย์ ทางการเงิน
งบการเงินรวม หนีส้ นิ ทางการเงิน
เหรียญสหรัฐฯ
553,391
1,248,764
เหรียญสหรัฐฯ
287,573
619,549
อัตราแลกเปลี่ยนสินทรัพย์/หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 31.45/31.83 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 29.91/30.30
รายงานประจำปี 2554
97
สกุลเงิน
สินทรัพย์ ทางการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ หนีส้ นิ ทางการเงิน
เหรียญสหรัฐฯ
540,006
1,214,346
เหรียญสหรัฐฯ
235,453
574,354
อัตราแลกเปลี่ยนสินทรัพย์/หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 31.45/31.83 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 29.91/30.30
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือ จำนวน 3.47 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 2.72 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ (เฉพาะกิจการ จำนวน 1.76 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 1.14 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ) ด้วยสกุลเงินบาท โดยจะครบกำหนดภายในระยะเวลา 6 เดือน
24.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ จัดอยู่ในประเภทระยะสั้น และเงินกู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ย ใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตาม บัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่าย มีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระ ในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนด มูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม จะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุดหรือกำหนดขึ้นโดย ใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม
25. การบริหารจัดการทุน
วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทคือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำรง ไว้ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ตามงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 3.15 : 1 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 4.61 : 1) และบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 2.65: 1 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 3.73 : 1)
26. ภาษีเงินได้
บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้คำนวณกำไร (ขาดทุน) สุทธิทางภาษีโดยการนำรายการที่มิให้ถือเป็นรายจ่ายทางภาษี และ รายการส่วนที่ได้รับการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีมาบวกหรือหักตามหลักเกณฑ์แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว บริษทั ฯ ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำหรับการลงทุนในโครงการผลิตพืชผักบรรจุภาชนะภายใต้บตั รส่งเสริม เลขที่ 1089/2542 ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ มีกำหนด 5 ปี นับจากวันที่ 6 สิงหาคม 2552 และตั้งแต่ปี 2553 บริษัท ไม่มีรายได้ที่ได้รับการส่งเสริม Goodness from the ground
งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ลูกหนี้การค้า กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - ค่าเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า - ลูกหนี้อื่น - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - เงินชดเชยการส่งออกค้างรับ - รายได้อื่นค้างรับและลูกหนี้อื่น - ภาษีซื้อรอรับคืน - เงินทดรองจ่าย - ภาษีสรรพสามิต - อื่นๆ 35,501,148 39,359,351 (526,491) (14,864,264) (1,261,691) (5,825,427) (9,702,571) (7,178,907)
418,116,377 526,491 14,864,264 1,261,691 5,825,427 9,702,571 15,568,243
ตามที่เคย รายงานไว้
งบการเงินรวม จัด ประเภทใหม่
8,389,336
39,359,351
453,617,525
หลังการจัด ประเภทใหม่
บาท
526,491 19,822,907 54,231 5,197,124 9,702,571 6,271,799
-
-
(526,491) (19,822,907) (54,231) (5,197,124) (9,702,571) (842,858)
(334,031,767) 36,146,183
-
-
5,428,941
(334,031,767) 36,146,183
งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที่เคย จัด หลังการจัด รายงานไว้ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่
บริษัทฯ ได้มีการจัดประเภทรายการบัญชีบางบัญชีในงบการเงินที่นำมาเปรียบเทียบใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชีของปีปัจจุบัน ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อ กำไรสุทธิหรือส่วนของผู้ถือหุ้นตามที่เคยรายงานไว้ การจัดประเภท รายการใหม่ที่สำคัญมีดังต่อไปนี้
27. การจัดประเภทบัญชีใหม่
98 รายงานประจำปี 2554
- เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - เจ้าหนี้อื่น - ส่วนของเจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี - ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี - หนี้สินหมุนเวียนอื่น - ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายและเจ้าหนี้อื่น - เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า - เจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า - อื่นๆ - หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น - เจ้าหนี้เช่าซื้อ - สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี - หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี - ประมาณการหนี้สินที่มีต่อบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - ปรับเพิ่มผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ บริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายชำระค่าสินค้า - ประมาณการหนี้สินที่มีต่อบริษัทย่อย - ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 4,806,617 2,786,332 -
(25,648,115)
5,086,681
162,012,322 11,775,926 341,683 4,855,019
25,648,115
(4,806,617)
4,401,571 916,235,638 11,357,790 1,268,371
25,648,115 -
(162,012,322) 1,499,049 (341,683) 4,426,085
ตามที่เคย รายงานไว้
236,734,008 -
2,574,546 (2,561,941) 191,917,414 (11,357,790) 11,077,726
-
งบการเงินรวม จัด ประเภทใหม่
-
262,382,123 -
-
7,873,013
-
13,274,975 9,281,104
6,976,117 913,673,697 191,917,414 12,346,097
หลังการจัด ประเภทใหม่
บาท
30,389,467 18,663,842
167,282,629 -
334,031,767
2,013,116
4,806,617
58,711,771 11,775,926 214,071 243,129
4,401,571 839,790,215 11,357,790 622,444
(30,389,467) (18,663,842)
18,663,842 30,389,467
(334,031,767)
4,806,617
(4,806,617)
(58,711,771) (214,071) 2,787,280
2,561,941 (2,561,940) 56,138,562 (11,357,790) 11,357,790
-
185,946,471 30,389,467
-
6,819,733
-
11,775,926 3,030,409
6,963,512 837,228,275 56,138,562 11,980,234
งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที่เคย จัด หลังการจัด รายงานไว้ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่
รายงานประจำปี 2554
99
Goodness from the ground
100
รายงานประจำปี 2554
28. การอนุมัติงบการเงิน
งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555