MC: รายงานประจำปี 2555

Page 1








































































































ภาพรวม ในการประกอบธุรกิจ ความเป็นมาและพัฒนาการที่ส�าคัญ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด (มหำชน) (“บริษัทฯ ”) จดทะเบียนก่อตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 23 พฤษภำคม 2555 ในรูป บริษัทจ�ำกัด เพื่อประกอบธุรกิจเป็นผู้บริหำรกำรจัดจ�ำหน่ำยเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูป และเครื่องแต่งกำยที่เกี่ยวข้อง ภำยใต้ เครื่องหมำยกำรค้ำของกลุ่มบริษัทฯ และเครื่องหมำยกำรค้ำของบุคคลอื่น และเพื่อลงทุนในบริษัทอื่น ซึง่ ต่อมำได้ จดทะเบียนแปรสภำพเป็นบริษทั มหำชน เมื่อวันที่ 18 มีนำคม 2556 มีทนุ จดทะเบียนจ�ำนวน 400 ล้ำนบำท และทุนเรียก ช�ำระแล้วจ�ำนวน 300 ล้ำนบำท แบ่งเป็นหุ้นสำมัญจ�ำนวน 600 ล้ำนหุ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 0.50 บำท กลุ่มบริษัทฯ เริ่มด�ำเนินธุรกิจมำตั้งแต่ปี 2518 จำกกำรผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูปประเภทยีนส์ตำมค�ำสั่งซือ้ ของ ลูกค้ำ (OEM) ให้กับผู้จัดจ�ำหน่ำยในต่ำงประเทศเป็นหลัก ซึง่ ต่อมำ ได้ริเริ่มผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูปประเภทยีนส์ด้วย แบรนด์ของตนเอง ชื่อ “Mc” ภำยใต้คอนเซ็ป “If You Come To Jeans, We Are Mc” ภำยใต้วิสัยทัศน์และ กำรบริหำรจัดกำรของนำยพิชยั กัญจนำภรณ์ และนำงสำวสุณ ี เสรีภำณุ ท�ำให้แบรนด์ “Mc” เติบโตขึ้นอย่ำงรวดเร็ว จนในปี 2523 บจก. พี.เค.กำร์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบมจ. แม็คกรุ๊ป ได้ถูกก่อตั้งขึ้น อย่ำงเป็นทำงกำร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงรำกฐำนกำรเติบโตในกำรด�ำเนินธุรกิจผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูป และได้มี กำรพัฒนำสินค้ำและน�ำเสนอแบรนด์ใหม่ๆ อย่ำงต่อเนื่องเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของกลุ่มลูกค้ำที่หลำกหลำย ได้แก่ แบรนด์ “McLady” “Mc Pink” และ “Bison” เป็นต้น จำกนโยบำยกำรบริหำรงำนในเชิงรุกของบริษัทฯ ด้วยกำรมุ่งเน้นกำรบริหำรช่องทำงกำรจัดจ�ำหน่ำยเป็นตัว ขับเคลื่อนธุรกิจ และมีหน่วยผลิตที่แข็งแกร่งเป็นฐำนควำมมั่นคงในกำรด�ำเนินธุรกิจ กำรเปิดร้ำนค้ำปลีกของตนเอง โดยในปี 2555 กลุ่มผู้บริหำรของบริษัทฯ ได้ด�ำเนินกำรปรับโครงสร้ำงกลุ่มธุรกิจ และโครงสร้ำงกำรถือหุ้นภำยใน กลุ่มใหม่ เพื่อรองรับกำรขยำยตัวอย่ำงต่อเนื่อง โดย บมจ. แม็คกรุ๊ป เป็นผู้ออกแบบ จัดหำสินค้ำ และบริหำร กำรจัดจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์ของกลุ่มบริษัทฯ เริ่มประกอบธุรกิจตั้งแต่เดือนกันยำยน 2555 เป็นต้นมำ นอกจำกนี ้ บมจ. แม็คกรุ๊ป ยังเป็นผู้บริหำรคลังสินค้ำและศูนย์กำรกระจำยสินค้ำส�ำหรับกำรจัดจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของ กลุ่มบริษัทฯ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของ บมจ. แม็คกรุ๊ป

โครงสร้ำงกำรถือหุ้นของบมจ. แม็คกรุ๊ป และบริษัทย่อย ณ วันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2556 เป็นดังนี้ บมจ. แม็คกรุ๊ป

99.99% 99.97% บจก. พี.เค.กำร์เม้นท์ บจก. แม็ค ยีนส์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง ปอร์ต)

79.97% บจก. ว้ำว มี

99.97% บจก. วินเนอร์แมน

100% MC INTER LIMITED

(1) บจก. พี.เค.กำร์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ด�ำเนินธุรกิจผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูป และ เป็นเจ้ำของ เครื่องหมำยกำรค้ำทั้งหมดของกลุ่มบมจ. แม็คกรุ๊ป ในปัจจุบัน บจก. พี.เค.กำร์เม้นท์ (อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต) ผลิตสินค้ำเพื่อรองรับควำมต้องกำรของกลุ่มบมจ. แม็คกรุ๊ป แต่เพียงแห่งเดียว (2) บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง ซึ่งด�ำเนินธุรกิจผลิตเสื้อผ้ำส�ำเร็จรูป ให้แก่ บมจ. แม็คกรุ๊ป (3) บจก. ว้ำว มี ซึ่งด�ำเนินธุรกิจจัดจ�ำหน่ำยสินค้ำและบริกำรผ่ำนทำงอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ โดยจะจัด จ�ำหน่ำยสินค้ำภำยใต้เครื่องหมำยกำรค้ำทั่วไปทั้งในและต่ำงประเทศ โดยคำดว่ำจะเริ่มด�ำเนินธุรกิจ เชิงพำณิชย์ ได้ตั้งแต่เดือนมิถุนำยน 2556 เป็นต้นไป (4) บจก. วินเนอร์แมน ด�ำเนินธุรกิจเป็นผู้ให้บริกำรและบริหำรจัดกำรพนักงำนขำยและพนักงำนคลังสินค้ำ ให้กับ บมจ.แม็คกรุ๊ป (5) MC INTER LIMITED เป็นบริษัทที่จัดตั้งเพื่อรองรับกำรด�ำเนินธุรกิจ และกำรลงทุนในต่ำงประเทศ ในอนำคต โดย ณ วันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2556 MC INTER LIMITED ยังไม่ได้ประกอบธุรกิจใด

104


ลักษณะการด�าเนินธุรกิจ ในปี 2555 กลุ่มบริษัทฯ มีการจัดโครงสร้างการถือหุ้น โดยให้ความส�าคัญกับการบริหารการจัดจ�าหน่ายและ ก�าหนดให้ บมจ. แม็คกรุป๊ เป็นบริษทั แกนหลักที่ทา� หน้าที่ในการบริหารจัดการช่องทางการจัดจ�าหน่ายที่มอี ยูท่ ่วั ประเทศ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บมจ. แม็คกรุ๊ป จัดจ�าหน่ายสินค้าทั้งหมด ผ่านช่องทางการจัดจ�าหน่ายรวม 511 แห่ง ทั่วประเทศไทย เพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้อย่างทั่วถึง โดยมีรายละเอียดตามประเภทของช่องทางการจัดจ�าหน่ายดังนี้ 1. ร้านค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) ร้านค้าปลีกของบริษทั ฯ ซึ่งส่วนใหญ่ต้งั อยูใ่ นศูนย์การค้า และพลาซ่าในห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ประกอบด้วย - ร้านค้าปลีกที่ขายสินค้าเสื้อผ้าส�าเร็จรูปประเภทยีนส์เป็นหลัก ภายใต้แบรนด์ “Mc” และ/หรือ “McLady” และ/หรือ “Bison” - ร้านค้าปลีกที่ขายสินค้าแฟชั่นสตรี ภายใต้แบรนด์ “Mc Pink” ซึ่งเปิดร้านแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 ทั้งนี้ บริษัทฯ มีแผนธุรกิจที่จะเปิดร้านค้าปลีกของตนเองในรูปแบบเฉพาะเจาะจงเพิ่มเติมในอนาคต ได้แก่ - ร้านค้าปลีกภายใต้ช่อื “Blue Brothers” จัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทยีนส์ท่เี น้นกลุม่ ลูกค้าที่มกี า� ลังซื้อสูง (premium) ซึ่งเป็นสินค้าภายใต้แบรนด์ที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของ และสินค้าน�าเข้าภายใต้แบรนด์ที่บริษัทฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของ - ร้านค้าที่จัดจ�าหน่ายทุกผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ของบริษัทฯ โดยเน้นให้มีสินค้าในทุกรุ่นทุกแบบ เฉพาะ อย่างยิ่งสินค้ารุ่นปัจจุบัน ในราคาปกติ - ร้านค้าประเภทเอาท์เล็ท (outlet) จัดจ�าหน่ายทุกผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ของกลุ่มบริษัท โดยเน้นสินค้า รุ่นและแบบที่ผ่านมา ในราคาที่มีส่วนลดเป็นพิเศษ 2. ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) เป็นจุดขายหรือเคาน์เตอร์ในห้างสรรพสินค้าทั้งที่เป็นเครือข่ายและเป็นห้างสรรพสินค้าท้องถิ่นในต่างจังหวัด และซุปเปอร์สโตร์ที่มีสาขากระจายอยู่ทั่วประเทศ เช่น เซ็นทรัล โรบินสัน เดอะมอลล์ บิ๊กซี เทสโกโลตัส เป็นต้น 3. ช่องทางการขายอื่นๆ เช่น การเปิดบูธขายในงานแสดงสินค้าหรือเทศกาลต่างๆ การขายผ่านช่องทางรถเคลื่อนที่ (mobile unit) ของบริษัทฯ และการขายผ่านตัวแทนจ�าหน่าย ในต่างประเทศ เป็นต้น ตารางแสดงจ�านวนช่องทางการจัดจ�าหน่ายแบ่งตามประเภทของกลุ่มบริษัทฯ ในปี 2553 2554 และ 2555 แบ่งตามช่องทาง การจัดจ�าหน่าย ร้านค้าปลีกของตนเอง ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ รวม

ปี 2553 แห่ง ร้อยละ 53 13.1 352 86.9 405 100.0

ปี 2554 แห่ง ร้อยละ 74 16.6 372 83.4 446 100.0

ปี 2555 แห่ง ร้อยละ 117 22.9 394 77.1 511 100.0

ตารางแสดงจ�านวนช่องทางการจัดจ�าหน่ายแบ่งตามภูมิศาสตร์ ของกลุ่มบริษัทฯ ในปี 2553 2554 และ 2555 แบ่งตามช่องทาง การจัดจ�าหน่าย

ต่างจังหวัด - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่

ปี 2553 แห่ง ร้อยละ 281 69.4 41 10.1 240 59.3

ปี 2554 แห่ง ร้อยละ 316 70.9 58 13.0 258 57.8

ปี 2555 แห่ง ร้อยละ 365 71.4 90 17.6 275 53.8

105


แบ่งตามช่องทาง การจัดจ�าหน่าย กรุงเทพและปริมณฑล - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ รวม

ปี 2553 แห่ง ร้อยละ 124 30.6 12 3.0 112 27.7 405 100.0

ปี 2554 แห่ง ร้อยละ 130 29.1 16 3.6 114 25.6 446 100.0

ปี 2555 แห่ง ร้อยละ 146 28.6 27 5.3 119 23.3 511 100.0

ในปี 2555 กลุ่มบริษัทฯ เริ่มขยายช่องทางการจัดจ�าหน่ายไปสู่ต่างประเทศ ด้วยการแต่งตั้งตัวแทนการ จัดจ�าหน่ายซึง่ จะเป็นผู้ท�าการตลาด เพื่อกระจายและจัดจ�าหน่ายสินค้าของกลุ่มบริษัทฯ ในประเทศพม่า ในเดือน เมษายน 2555 และประเทศลาว ในเดือนธันวาคม 2555 และได้ตั้งเป้าหมายในการขยายการจัดจ�าหน่ายไปสู่ประเทศ ในเขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซีย เป็นต้น

ช่องทางการจัดจ�าหน่ายผ่านอินเตอร์เนต บริษัทฯ ได้ก�าหนดแผนธุรกิจโดยการเปิดช่องทางการจัดจ�าหน่ายผ่านทางอินเตอร์เนต ภายใต้ชื่อเว๊ปไซต์ www.WoWme.co.th ซึ่งคาดว่าจะเริ่มด�าเนินธุรกิจในเดือนมิถนุ ายน 2556 เพือ่ เข้าสูต่ ลาดการจัดจ�าหน่ายประเภท ออนไลน์ ซึ่งบริหารจัดการโดยบริษัทย่อยของ บมจ. แม็คกรุ๊ป ชื่อ บจก. ว้าว มี โดยมี บมจ. แม็คกรุ๊ป เป็นผู้ถือหุ้น ใหญ่ในสัดส่วนร้อยละ 79.97 การเปิดช่องทางการจัดจ�าหน่ายทางอินเตอร์เนตนี้จะท�าให้บริษัทฯ ขยายฐานสินค้า ไปสู่สินค้าอื่นที่มีความหลากหลายมากขึ้นได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่จ�ากัดเฉพาะกลุ่มผลิตภัณฑ์ภายใต้เครือข่ายของบ ริษัทฯ และเข้าสู่ฐานลูกค้ากลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป และเป็นช่องทางการจ�าหน่ายที่ มีศักยภาพการเติบโตอย่างรวดเร็ว

ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บมจ. แม็คกรุ๊ป บริหารการจัดจ�าหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้า (“แบรนด์”) ของกลุ่มบริษัทฯ เป็น หลัก แบรนด์สนิ ค้าของกลุม่ บริษทั ฯ มีจดุ เด่น และดีไซน์ท่แี ตกต่างกัน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แบรนด์ “Mc” แบรนด์ “Mc” เป็นสินค้าที่เน้นรูปทรงพื้นฐาน (เบสิก) และสามารถสวมใส่ได้ในทุกโอกาส ในราคาที่สามารถ เป็นเจ้าของได้ ผลิตภัณฑ์ “Mc” สามารถสวมใส่ได้ท้งั ผูช้ ายและผูห้ ญิง ภายใต้แนวคิด “Affordable Classic Jeans with Style” ตั้งแต่ปี 2523 กางเกงยีนส์ “Mc” เติบโตคู่กับสังคมไทยภายใต้กระแสนิยมยีนส์ตะวันตก ที่เข้ามาจัดจ�าหน่าย ในประเทศไทย ด้วยการคงไว้ซึ่งหลักการน�าเสนอสินค้าที่มีคุณภาพดี และการออกแบบให้เหมาะกับสรีระของคนไทย ส่งผลให้ปัจจุบัน แบรนด์ “Mc” เป็นแบรนด์ที่มียอดขายเป็นอันดับหนึ่งในผู้น�าในตลาดผลิตภัณฑ์ยีนส์ที่มีแบรนด์ใน ประเทศไทย (อ้างอิงรายงานการวิจัยธุรกิจยีนส์ในประเทศไทยของสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA)) ด้วยความนิยมและยอมรับของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง 2. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แบรนด์ “McLady” แบรนด์ “McLady” เป็นแบรนด์สินค้าสตรีที่มุ่งเน้นการออกแบบที่เหมาะสมเข้ากับสรีระของผู้หญิง ภายใต้ แนวคิด “Lively, Casual and Comfortable” โดยมีจดุ เด่นด้านการออกแบบให้เสื้อผ้ามีลกั ษณะเป็น Jeanswear และ Streetwear ส�าหรับผู้หญิงที่มีความเป็นตัวของตัวเอง ทันสมัย ตามแนวโน้มแฟชั่น และชอบท่องเที่ยว โดยมี ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้หญิงวัยรุ่น วัยนักศึกษา และวัยเริ่มท�างาน ที่มีอายุระหว่าง 18 ปี ถึง 25 ปี 3. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้อง ภายใต้แบรนด์ “Bison” แบรนด์ “Bison” เป็นแบรนด์ที่มุ่งเน้นการออกแบบและบริหารการตลาดภายใต้แนวคิด “Cool, Breaking Rules, Character” โดยมีจุดเด่นด้านการออกแบบให้สามารถสวมใส่ได้ในทุกโอกาส เช่นเดียวกับแบรนด์ “Mc” แต่ก�าหนดต�าแหน่งทางการตลาดด้วยการให้ความส�าคัญด้านราคาเป็นหลัก แต่ยังคงคุณภาพและความปราณีตใน การตัดเย็บ

106


4. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้องภายใต้แบรนด์ “Mc Pink” แบรนด์ “Mc Pink” เป็นสินค้าแฟชั่นสตรี ที่เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัทฯ ภายใต้แนวคิด “Stylish & Fashionable Everyday Wear” ซึ่งบริษัทฯ เริ่มจัดจ�าหน่ายตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นมา โดยกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายของแบรนด์ “Mc Pink” คือ ลูกค้านักศึกษา และวัยเริ่มท�างานผู้หญิง ที่มีอายุระหว่าง 18 ปี ถึง 25 ปี ซึง่ เป็นกลุ่มที่ชื่นชอบแฟชั่นและใส่ใจในการแต่งกายให้มีความโดดเด่นและทันสมัย ชอบเข้าสังคม และชอบจับจ่าย ซื้อของ ที่มีก�าลังซื้อและความถี่ในการเปลี่ยนเครื่องแต่งกายสูง 5. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้องภายใต้แบรนด์ “Mc Mini” แบรนด์ “Mc Mini” เป็นกลุ่มสินค้าใหม่ของบริษัทฯ ที่มุ่งเน้นลูกค้ากลุ่มเด็ก จากช่องว่างทางการตลาดที่มีอยู่ และเพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย ภายใต้แนวคิด “Fun and Joyful” บริษัทฯ วางแผนจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ “Mc Mini” ในกลางปี 2556 โดยมีจุดเด่นคือเป็นสินค้าที่มี คุณภาพเทียบเท่ากับสินค้าของผู้ใหญ่ และมีความสดใสของรูปแบบสินค้า โดยกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ แบรนด์ “Mc Mini” คือ กลุ่มเด็กผู้ชาย ที่มีอายุระหว่าง 6 ปี ถึง 12 ปี 6. ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้องภายใต้แบรนด์อื่นๆ กลุ่มบริษัทฯ วางแผนการจัดจ�าหน่ายสินค้าภายใต้แบรนด์อื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของ ได้แก่ สินค้า เสื้อผ้าส�าเร็จรูป เครื่องแต่งกาย รวมทั้งกางเกงยีนส์ของผู้ผลิตรายอื่นที่มีชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเพิ่ม ความหลากหลายของสินค้าและขยายช่องทางการขายของกลุ่มบริษัทให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้อย่างทัว่ ถึง ผ่านทั้ง ทางอินเตอร์เน็ต และร้านค้าเฉพาะของบริษัท 6.1 เว็บไซต์ www.WoWme.co.th เว็บไซต์ www.WoWme.co.th จะเป็นแหล่งที่รวบรวมแบรนด์ช้นั น�าทั้งไทยและต่างประเทศมาจัดจ�าหน่าย แบบออนไลน์ ซึ่งลูกค้าสามารถเลือกซื้อสินค้าหลากหลายในราคาสุดพิเศษได้ง่ายๆ เพียงปลายนิ้ว โดยรวมถึงการ อ�านวยความสะดวกในการช�าระค่าสินค้าที่ครอบคลุมทุกกลุ่มลูกค้า (คาดว่าจะเปิดด�าเนินการในปี 2556) 6.2 ร้านค้าปลีกในระดับพรีเมียม ภายใต้ชื่อ “Blue Brothers” ส�าหรับลูกค้ากลุ่มคนรักและสะสมยีนส์ Blue Brothers เป็นร้านค้าปลีกที่น�าสินค้าประเภท ยืนส์ มีความ เฉพาะตัวในทั้งรูปแบบ ดีไซน์ สไตล์ และการสวมใส่ โดยเน้นคุณภาพระดับพรีเมียม และเป็นที่นิยมจากต่างประเทศ เข้ามาจัดจ�าหน่าย และนอกจากนี้ทางบริษทั ฯ ยังมีแผนการออกผลิตภัณท์ในระดับพรีเมียมที่มคี ุณภาพเทียบเท่ากับ สินค้าจากต่างประเทศส�าหรับจัดจ�าหน่ายในร้าน Blue Brothers โดยเฉพาะ (คาดว่าจะเปิดด�าเนินการในปี 2556)

การจัดหาผลิตภัณฑ์ บมจ. แม็คกรุ๊ป มีแนวทางการจัดหาผลิตภัณฑ์เพื่อจัดจ�าหน่ายใน 2 ช่องทางหลัก คือ 1) การจัดหาผลิตภัณฑ์ จากโรงงานผลิตของบริษัทย่อยภายในกลุ่ม และ 2) การจัดหาผลิตภัณฑ์โดยจ้างจากผู้รับจ้างผลิตสินค้าภายนอก (outsource) ในปัจจุบัน กลุ่มบริษัทฯ มีนโยบายในการจัดหาผลิตภัณฑ์ประเภทกางเกงยีนส์ในรุ่นมาตรฐาน (เบสิก) ด้วยการผลิตจากโรงงานผลิตของบริษัทย่อย และมีนโยบายในการจัดจ้างผู้รับจ้างผลิตสินค้าภายนอกส�าหรับการ จัดหาสินค้าประเภทอื่น เช่น เสื้อยืด เสื้อเชิ๊ต เสื้อโปโล เสื้อผ้าแฟชั่นสตรี และสินค้าเกี่ยวเนื่องอาทิ กระเป๋า รองเท้า เข็มขัด เป็นต้น รวมทั้งการจัดจ้างผู้รับจ้างผลิตสินค้าภายนอกส�าหรับการผลิตกางเกงยีนส์ประเภทแฟชั่นที่มี รายละเอียดสูง หรือในกรณีที่ก�าลังผลิตของกลุ่มบริษัทมีก�าลังการผลิตไม่เพียงพอ กลุ่มบริษัทฯ จะจัดจ้างผู้รับจ้าง ผลิตภายนอกทั้งในรูปแบบของการจ้างผลิตเป็นตัว หรือจ้างผลิตในบางกระบวนการผลิตที่มกี า� ลังการผลิตไม่เพียงพอ เช่น การฟอก หรือการย้อม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ อยู่ระหว่างศึกษาทางเลือกในการจัดหาผลิตภัณฑ์ที่จะก่อ ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการต้นทุนสูงสุดต่อกลุ่มบริษัทฯ อาทิเช่น การจ้างผลิตในต่างประเทศที่มีต้นทุน ค่าแรงงานที่ต�่ากว่า เป็นต้น

107


การบริหารสินค้​้าคงคลัง บมจ. แม็คกรุป๊ ให้ความส�าคัญกับการบริหารจัดการห่วงโซ่อปุ ทานในทุกภาคส่วนของการประกอบธุรกิจตั้งแต่ การจัดหาวัตถุดิบ การบริหารสายการผลิต การบริหารสินค้าส�าเร็จรูป และการจัดส่งสินค้าสู่ร้านค้าทั่วประเทศ โดย น�าเทคโนโลยีการจัดการห่วงโซ่อุปทาน หรือ Supply chain management มาบริหารจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต และ พัฒนาประสิทธิภาพในการผลิต และลดระยะเวลาในการส่งสินค้าออกสู่ตลาด บริษัทฯ มีนโยบายบริหารสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการจ�าหน่ายส�าหรับร้านค้า แต่ละร้าน โดยบริษัทฯ อยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบสารสนเทศการบริหารข้อมูล (Management Information System) ซึง่ จะช่วยให้บริษัทฯ สามารถท�าการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เช่น จ�านวน ประเภท และมูลค่าสินค้าที่ผลิต และจ�าหน่าย รวมทั้งสินค้าคงคลังคงเหลือ ได้อย่างรวดเร็วและแม่นย�า และน�าข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ถึง ความต้องการสินค้าของกลุ่มลูกค้า ซึง่ ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถวางแผนในการผลิตหรือสั่งซือ้ ผลิตภัณฑ์ ควบคุม ปริมาณสินค้าคงคลัง และจัดส่งสินค้าไปให้ร้านค้าและเคาน์เตอร์จ�าหน่ายต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปัจจุบัน บริษัทฯ จัดเก็บสินค้าส�าเร็จรูปที่คลังสินค้า 2 แห่ง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีแผนที่จะก่อสร้างคลังสินค้าและ ศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการสินค้า และกระจายสินค้าสู่รา้ นค้าต่างๆ ทั่วประเทศ โดยจะรวมสินค้าไว้ท่คี ลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่เพียงแห่งเดียว และยังสามารถรองรับการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณการขายในอนาคต

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) และบจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง ให้ความส�าคัญ และมีการ ติดตามผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้นจากการผลิต เช่น น�า้ เสียจากการซักฟอก และฝุน่ ละอองจากการพ่นสีส เปรย์ โดยปฎิบตั ติ ามกฎระเบียบ และขั้นตอนการปฏิบตั งิ านอย่างเคร่งครัด และ มีการด�าเนินการเพื่อควบคุมและจัดการ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมดังนี้ 1) น�้าเสียจากการซักฟอก: น�้าเสียที่เกิดจากขั้นตอนการซักฟอกผลิตภัณฑ์ จะถูกกักเก็บไว้ในบ่อบ�าบัด น�้าเสีย เพื่อให้มีอุณหภูมิ มีสภาพเป็นกรด-ด่าง กลิ่นและสีที่เหมาะสมตามข้อบังคับของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ก่อนถูกปล่อยลงสู่แหล่งน�้าสาธารณะหรือสิ่งแวดล้อม 2) ฝุ่นละอองจากการพ่นสีสเปรย์: ฝุ่นละอองจากขั้นตอนการพ่นสีสเปรย์เพื่อตกแต่งผลิตภัณฑ์ โดยจะมี ระบบการดูดฝุ่นละอองจากการพ่นสีสเปรย์ดังกล่าวไม่ให้ฟุ้งกระจายออกไปภายนอกโรงงานในทันที นอกจากนี ้ พนักงานจะได้รับการป้​้องกันที่เหมาะสมเมื่อต้องเกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตที่อาจมีการ สัมผัสกับสารเคมีหรือฝุ่นละออง เช่น การสวมถุงมือยาง เสื้อคลุม ผผ้าปิดปาก รองเท้าบู๊ต เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทย่อยมีเศษวัตถุดิบที่เหลือจากการผลิต เช่น เศษผ้า เท่านั้น ซึ่งบริษัทย่อยได้จ�าหน่ายให้แก่ ผู้รับซื้อเศษวัตถุดิบต่อไป ทัง้ นี ้ ตั้งแต่เริ่มด�าเนินการผลิต โรงงานทั้งหมดของบริษทั ย่อย ไม่เคยมีขอ้ พิพาทหรือฟ้องร้องเกี่ยวกับการสร้าง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและไม่เคยได้รับการตักเตื่อนหรือปรับจากหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายที่บริษัทย่อยต้อง ปฎิบัติตามอันได้แก่ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 แต่อย่างใด

108


โครงสร้างรายได้ของ บมจ. แม็คกรุ๊ป โครงสร้างรายได้ของ บมจ. แม็คกรุ๊ปและบริษัทย่อย ตามงบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ในปี 2553 – 2555 มี รายละเอียดดังนี้ 1. โครงสร้างรายได้แยกตามผลิตภัณฑ์ ปี 2553 งบการเงินเสมือนรวม ล้านบาท ร้อยละ รายได้จากการขายเสื้อผ้าส�าเร็จรูป และเครื่องแต่งกายที่เกี่ยวข้อง 1. เครื่องหมายการค้า Mc 1,066.2 82.5 2. เครื่องหมายการค้า McLady 184.3 14.3 3. เครื่องหมายการค้า Bison 37.9 2.9 4. รายได้อื่น 1/ 3.3 0.3 รวมรายได้จากการขาย 1,291.6 100.0

ปี 2554 ล้านบาท ร้อยละ

ปี 2555 ล้านบาท ร้อยละ

1,432.0 323.7 39.8 9.0 1,804.5

1,998.6 467.6 86.1 3.3 2,555.6

79.4 17.9 2.2 0.5 100.0

78.2 18.3 3.4 0.1 100.0

หมายเหตุ : 1/ รายได้อื่นส่วนใหญ่ เป็นรายได้จากการขายวัตถุดิบประเภท accessories ให้แก่ผู้รับจ้างผลิต

2.

โครงสร้างรายได้แยกตามช่องทางการจัดจ�าหน่าย ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

งบการเงินเสมือนรวม 1. รายได้จากการขายผ่านห้าง ค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) 1,046.8 2. รายได้จากการขายผ่านร้าน ค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) 223.7 3. รายได้จากการขายผ่านช่องทางการขายอื่น 1/ 21.1 รวมรายได้จากการขาย 1,291.6

81.1 1,389.9

77.0 1,771.1

69.3

17.3 395.4 1.6 19.2 100.0 1,804.5

21.9 729.5 1.1 55.0 100.0 2,555.6

28.5 2.2 100.0

หมายเหตุ : 1/ รายได้จากการขายผ่านช่องทางการขายอื่น ได้แก่ การขายผ่านตัวแทนการจัดจ�าหน่าย หรือ การออกบูธ แสดงสินค้า เป็นต้น

เป้าหมายการด�าเนินธุรกิจ บมจ. แม็คกรุ๊ป มุ่งมั่นที่จะเป็นองค์กรธุรกิจชั้นน�าของเอเชียด้านเครื่องแต่งกายและไลฟ์สไตล์ ด้วยการบริหาร จัดการแบรนด์ที่หลากหลายให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชีวิตที่แตกต่าง โดยบริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจ สูงสุดต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Stakeholder) และลูกค้าของเรา ด้วยผลิตภัณฑ์คุณภาพที่ได้รบั การออกแบบอย่างสมสรีระ มากที่สุด ในราคาที่เป็นธรรมในทุกระดับของคนรุ่นใหม่ โดยช่องทางการจ�าหน่ายที่สะดวกสบายพร้อมการบริการที่ ทุ่มเทจากใจ บมจ. แม็คกรุ๊ป ได้จัดท�าแผนธุรกิจ โดยมีเป้าหมายทางการเงิน และเป้าหมายการเติบโตของรายได้ ที่อัตรา เติบโตเฉลี่ย ร้อยละ 20 ต่อปี ตั้งแต่ป ี 2555 - 2559 และเพิ่มขีดความสามารถในการท�าก�าไรสูงสุด โดย บมจ. แม็คกรุป๊ มีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวโดยใช้กลยุทธ์ดังต่อไปนี้ 1. เพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และพัฒนาแบรนด์สินค้าใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคทุกกลุ่มทุกวัย บมจ. แม็คกรุป๊ มุง่ มั่นที่จะตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ด้วยการออกแบบและน�าเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ ทั้งที่เป็นสินค้ารูปแบบมาตรฐาน (เบสิก) และสินค้าแฟชั่น ให้มคี วามหลากหลายของประเภทผลิตภัณฑ์ เพื่อครอบคลุม ความต้องการของลูกค้า เช่น น�าเสนอสินค้าแฟชั่นใหม่ๆ ในฤดูกาลต่างๆ โดยพิจารณาถึงกระแสการแต่งกายในแต่ละ ช่วงเวลานั้น เป็นต้น และมุ่งเน้นการสร้างการรับรู้ในตราสินค้าของบริษัทให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น

109


นอกจากนี ้ บมจ. แม็คกรุป๊ มีแผนการที่จะพัฒนาและออกแบรนด์สนิ ค้าใหม่ เพื่อขยายไปในตลาดใหม่ท่มี คี วาม ต้องการเฉพาะกลุ่มที่แตกต่างกันออกไป โดย บมจ. แม็คกรุ๊ป ได้เปิดตัวแบรนด์ใหม่ชื่อ Mc Pink ซึ่งมุ่งเน้นที่ตลาด เครื่องแต่งกายส�าหรับวัยรุ่นเพศหญิงที่มีรูปแบบการใช้ชีวิตในเมือง โดยมีแนวคิดเป็น “Stylish & Fashionable Everyday Wear” ในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และมีแผนการเปิดแบรนด์ Mc Mini ซึ่งมุ่งเน้นที่ตลาดเครื่องแต่งกาย ส�าหรับเด็ก ในกลางปี 2556 2. ขยายช่องทางการจัดจ�าหน่ายให้เข้าถึงลูกค้าได้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ บมจ. แม็คกรุ๊ป ตั้งเป้าหมายที่จะขยายช่องทางการจัดจ�าหน่ายให้ครอบคลุม ด้วยการเพิ่มร้านค้าปลีกของ ตนเอง (free standing shop) และจุดขายในห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) จากในสิ้นปี 2555 ที่มีจ�านวน 511 แห่ง เป็น 584 แห่งในปี 2556 เป็น 646 แห่งในปี 2557 เป็น 705 แห่งในปี 2558 และเป็น 751 แห่งภายในปี 2559 โดย บมจ. แม็คกรุ๊ป จะมุ่งเน้นการเปิดร้านค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) เนื่องจากเป็นการขายตรงให้ กับผู้บริโภคเป็นเงินสด ท�าให้ระยะเวลาการเก็บหนี้โดยรวมลดลง และสามารถบริหารจัดการสินค้าได้ด้วยตนเอง ซึ่ง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�าหนดแผนธุรกิจที่จะเปิดร้านค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) จากที่ มีจ�านวน 117 แห่งในปี 2555 เพิ่มเป็น 153 แห่งภายในปี 2556 เพิ่มเป็น 188 แห่งภายในปี 2557 เพิ่มเป็น 222 แห่ง ภายในปี 2558 และเพิ่มเป็น 253 แห่งภายในปี 2559 กลยุทธ์การเปิดร้านค้าแห่งใหม่ของ บมจ. แม็คกรุป๊ จะท�าให้บริษทั ฯ เข้าถึงกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายทุกวัยได้มากขึ้น และเพิ่มความสะดวกในการซื้อสินค้าแก่ลกู ค้า ทัง้ นี ้ ในการเปิดร้านค้าใหม่แต่ละแห่ง บมจ. แม็คกรุป๊ จะพิจารณาความ เป็นไปได้อย่างรอบคอบ โดยพิจารณาถึง ท�าเล จ�านวนประชากร กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และก�าลังซื้อ เป็นต้น 3. เพิ่มช่องทางการจัดจ�าหน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ บจก. ว้าว มี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ. แม็คกรุ๊ป มีแผนที่จะเปิดตัวช่องทางการจัดจ�าหน่ายทางอินเตอร์เน็ต หรือออนไลน์ขึ้น ภายใต้ชื่อเว็บไซต์ www.WoWme.co.th เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางการจัดจ�าหน่ายสู่ลูกค้า รายย่อยอีกทางหนึ่ง โดยเน้นสินค้าที่เป็นเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายทั้งที่เป็นแบรนด์ของกลุม่ บริษทั ฯ และแบรนด์อ่นื ๆ ที่กลุ่มบริษัทฯ ไม่ได้เป็นเจ้าของทั้งแบรนด์ในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังมีสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต ประจ�าวันของผู้บริโภคด้วย เช่น เครื่องส�าอางค์ และสินค้าด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร เป็นต้น โดยมีนโยบาย ในการขายภายในระยะเวลาจ�ากัด ในราคาที่จูงใจ โดย บจก. ว้าว มี มีแผนที่จะเปิดตัวตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2556 เป็นต้นไป 4. แสวงหาโอกาสในการเข้าซื้อกิจการ หรือเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจเพิ่มเติม บมจ. แม็คกรุ๊ป มีนโยบายในการแสวงหาโอกาสในการเข้าซื้อกิจการ หรือเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ เพิ่มเติม โดยมีเป้าหมายการลงทุนในธุรกิจที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (synergy) กับ บมจ. แม็คกรุ๊ป ทั้งภายในประเทศ และขยายไปสู่กลุ่มประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้ เงื่อนไขลงทุนและผลตอบแทนที่เหมาะสม 5. ขยายช่องทางการจัดจ�าหน่ายไปยังต่างประเทศ เพื่อให้คลอบคลุมกลุ่มประเทศในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (Asian Economic Community : AEC) บมจ. แม็คกรุป๊ มีเป้าหมายที่จะขยายฐานลูกค้าใหม่ไปยังต่างประเทศ จากปัจจุบนั ที่มกี ารแต่งตั้งผูแ้ ทนจ�าหน่ายใน สหภาพพม่าแล้ว ให้ครอบคลุมกลุม่ ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว และมาเลเซีย เป็นต้น โดยจะพิจารณาถึงรูปแบบการเข้าลงทุนที่เหมาะสม ทั้งการเข้าไปด�าเนินการโดยตรงด้วยกลุม่ บริษทั ฯ เอง หรือ ในรูปแบบของการร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ หรือการแต่งตั้งผู้จัดจ�าหน่าย เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการ ด�าเนินธุรกิจและความเสี่ยงในการลงทุนในประเทศนั้นๆ 6. มุ่งเน้นการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน (supply chain management) เพื่อให้เกิดความ สามารถในการท�าก�าไรสูงสุด บมจ. แม็คกรุ๊ป จะให้ความส�าคัญกับการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานในทุกภาคส่วนของการประกอบธุรกิจ ตั้งแต่ การจัดหาวัตถุดบิ การบริหารสายการผลิต การบริหารสินค้าส�าเร็จรูป และการจัดส่งสินค้าสูร่ า้ นค้าทั่วประเทศ โดยน�าเทคโนโลยีการจัดการห่วงโซ่อุปทาน หรือ supply chain management มาบริหารจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต และพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิต และลดระยะเวลาในการส่งสินค้าออกสู่ตลาด

110


ภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน 1. ภาวะอุตสาหกรรมค้าปลีกในประเทศไทย อุตสาหกรรมค้าปลีกในประเทศไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2553 – 2555 พบว่า ดัชนีค้าปลีกของประเทศไทยเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 11.1 อันเป็นผลจากความต้องการสินค้าและบริการที่สูงขึ้นจากตาม ภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจและระดับรายได้ตอ่ ครัวเรือนที่สงู ขึ้น รวมทั้งการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของร้านค้าปลีก สมัยใหม่ (modern trade) ขนาดกลางและขนาดใหญ่เช่น ห้างสรรพสินค้า (department store) และร้านขาย สินค้าขนาดใหญ่ (superstore) ซึง่ พัฒนามาแทนที่ร้านค้าปลีกดั้งเดิม (traditional) โดยมีต้นทุนด�าเนินงานสูง กว่ารูปแบบเดิม บริหารงานเป็นระบบมากขึ้น ตั้งอยู่ในย่านที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ง่าย ใช้บุคลากรด�าเนินการ จ�านวนมาก มีสถานที่กว้างขวางและรวมสินค้าหรือร้านค้าที่ส�าคัญไว้ในที่เดียว ซึง่ สนองพฤติกรรมของผู้บริโภค ในปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบาย ความแปลกใหม่ ความหลากหลายของสินค้าและบริการได้เป็นอย่างดี บริษัทฯ จัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทางการจัดจ�าหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยบริษัทฯ จัด จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ในประเทศ ผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) และผ่านร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) อาทิ ห้างสรรพสินค้า (department store) เช่น เซ็นทรัล เดอะมอลล์ และโรบินสัน เป็นต้น และ ร้านขายสินค้าขนาดใหญ่ (superstore) เช่น บิ๊กซี และเทสโก้ โลตัส เป็นต้น เพื่อกระจายสินค้าให้กับผู้บริโภคให้ ครอบคลุมทั่วประเทศ แผนการขยายสาขาของห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (modern trade) จ�านวนสาขา จ�านวนสาขา (ณ 31 ธ.ค. (ณ 31 ธ.ค. 2551) 2555) แผนการขยายสาขา 1. ห้างสรรพสินค้า (department store) 1.1 ห้างเซนทรัล 11 20 23 สาขาภายในปี 2556 (เพิ่มขึ้น 3 สาขาใน ต่างจังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ อุบลราชธานี และ หาดใหญ่) 1/ 30 สาขาภายในปี 2558 (เพิ่มขึ้น 7 สาขา) 1/ 1.2 ห้างโรบินสัน 20 30 35 สาขาภายในปี 2556 (เพิ่มขึ้น 5 สาขาใน ต่างจังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี สกลนคร และ อุบลราชธานี ) 1/ 50 สาขาภายในปี 2559 โดยเพิ่มสาขา 5 สาขาในแต่ละปี 1/ 1.3 ห้างเดอะมอลล์ 8 8 เป้าหมายเพิ่มสาขาอีก 10 สาขา ในปี 2565 2/ 2. ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ (superstore) 2.1 บิ๊กซี 56 2.2 เทสโก้ โลตัส รวม อัตราเติบโตเฉลี่ย (CAGR)

79 174

112

11.7%

104 274

300 สาขาภายในปี 2559 (เพิ่มขึ้น 189 สาขา ในกรุงเทพ และ ในต่างจังหวัด) 3/ n/a 4/

ที่มาของข้อมูลจ�านวนสาขา : ข้อมูลจากรายงานประจ�าปี และข้อมูลเผยแพร่ใน Website แต่ละบริษัท ที่มาของแผนการขยายสาขา : 1/ อ้างอิงเอกสารข้อมูลบริษัท (Corporate Presentation) งวดไตรมาส 3 ปี 2555 2/ บทสัมภาษณ์ รองประธานกรรมการ บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ากัด โดยหนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2555 3/ บทสัมภาษณ์ ผู้อ�านวยการฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) โดยหนังสือพิมพ์ ASTV ผู้จัดการออนไลน์ ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2555 4/ ไม่มีข้อมูล

111


2. ภาวะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม เป็นอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่และมีความส�าคัญในฐานะอุตสาหกรรมขั้นปลายข องอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไทย จากข้อมูลของส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติอตุ สาหกรรมเครื่องนุง่ ห่มไทยมีมลู ค่าตลาดรวม 303,009 ล้านบาท ในปี 2554 อ้างอิงตามข้อมูลการใช้จา่ ยภาค เอกชน (Private Consumption Expenditure) หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หรือเทียบเท่าสัดส่วนร้อยละ 78.5 ของมูลค่าตลาดสิ่งทอและเครื่องนุง่ ห่มในปี 2554 อุตสาหกรรมเครื่องนุง่ ห่ม มีอตั ราการเติบโตเป็นไปในทิศทางเดียวกับอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในปี 2554 พบว่า มูลค่าตลาดอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม มีอัตราการเติบโตร้อยละ 5.2 ต่อปี ในขณะที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีอัตราการเติบโต ร้อยละ 4.3 ต่อปี มูลค่าเครื่องนุ่งห่มมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเสื้อผ้าและ เครื่องแต่งกายมีอัตราการทดแทนและซือ้ ใหม่ (Replacement and Repurchase Rate) ที่สูง จากพฤติกรรม ผู้บริโภคที่มีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงด้านรูปแบบ ค่านิยม และเทคโนโลยี อีกทั้งเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย ยังมีอายุการใช้งาน และความทนทานที่ต�่ากว่าสินค้าอุปโภคบางประเภท ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) และมูลค่าตลาดเครื่องนุ่งห่มไทย ตั้งแต่ปี 2553 ถึงปี 2555

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มูลค่าตลาดสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มูลค่าตลาดเครื่องนุ่งห่ม

มูลค่า (พันล้านบาท) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 2553 2554 2555 2554 2555 10,105 10,540 11,363 4.3 7.8 377 386 408 2.6 5.6 288 303 n/a 5.2 n/a

ที่มา : ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ทั้งนี้ ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ประมาณการแนวโน้มการเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศไทย ในปี 2556 ว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 4.5 - 5.5 เนื่องจาก อุปสงค์ภาคต่างประเทศมีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยมากขึ้น จากสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ที่เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นโดยเฉพาะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ จีนและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย การแข่งขันในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มในประเทศไทย ปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มมีการแข่งขันอย่างรุนแรง เนื่องจากปัญหาการตลาดด้านอุปทาน (Supply) ของอุตสาหกรรมเครื่องนุง่ ห่ม ที่พบว่า กว่าร้อยละ 90 เป็นการรับจ้างผลิต (Original Equipment Manufacturing-OEM) ให้แก่เจ้าของเครื่องหมายการค้าต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อการขายในประเทศและการส่งออก ส่งผลให้ขาดการตลาดเชิงรุก ท�าให้มีมูลค่าเพิ่มอยู่ในระดับต�่าเมื่อเปรียบเทียบกับการขายภายใต้เครื่องหมายการค้า ของตนเอง (Own Brand Manufacturing--OBM) ซึง่ ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่ามาก ดังนั้นการแข่งขันใน อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มของประเทศไทยส่วนใหญ่จึงเน้นการควบคุมต้นทุน โดยขาดความใส่ใจในการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยีการผลิต และเพิ่มมูลค่าสินค้า นอกจากนี้ปญ ั หาการตลาดด้านอุปสงค์ (Demand) ส่วนหนึ่งเกิดจากการที่ผบู้ ริโภคภายในประเทศไม่ให้ความ ส�าคัญกับการบริโภคสินค้าคุณภาพและสินค้าที่มีแบรนด์สินค้าในประเทศ ส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมแบรนด์สินค้าในประเทศ ท�าให้ต้องเผชิญกับภาวะการแข่งขันทั้งสองระดับ โดยตลาดระดับกลางต้อง เผชิญกับคู่แข่งซึ่งมีความได้เปรียบด้านชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์ การออกแบบและคุณภาพ เช่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ เป็นต้น ขณะที่ตลาดระดับล่างต้องเผชิญกับการแข่งขันจากจีนและเวียดนาม ซึง่ มีความได้เปรียบด้านต้นทุนค่า แรงงานต�่า และเป็นแหล่งวัตถุดิบที่ส�าคัญ เช่น ฝ้าย ไหมและเส้นใยประดิษฐ์ การแข่งขันและการเข้ามาของแบรนด์เสื้อผ้าจากต่างประเทศ อุตสาหกรรมเสื้อผ้า มีการแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการเข้ามาของแบรนด์เสื้อผ้าจากต่างประเทศ ทั้ง ในระดับบน และระดับกลาง เช่น “Zara” “UNIQLO” “GAP” และ “H&M” เป็นต้น เนื่องจากพฤติกรรมคนไทยใน ปัจจุบันหันมาดูแลตัวเองมากขึ้น มีความสนใจด้านการแต่งกายและแฟชั่น จากผลจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การสื่อสารที่เข้าถึงง่ายและแพร่หลาย ท�าให้คนไทยสามารถติดตามและรับรู้ถึงความนิยมของแบรนด์เสื้อผ้าต่างๆ จากต่างประเทศได้เป็นอย่างดี และให้การตอบรับที่ดีต่อแบรนด์เสื้อผ้าจากต่างประเทศ

112


ด้วยเหตุน้ ี ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมเสื้อผ้า จึงต้องเผชิญกับการแข่งขันทางการตลาดที่สงู ขึ้น เนื่องจากมี กลุ่มลูกค้าเป้าหมายและช่องทางการจัดจ�าหน่ายที่ตรงกัน คือ ห้างสรรพสินค้าชั้นน�า และการเปิดร้านขนาดใหญ่ตาม ศูนย์กลางแฟชั่นต่างๆ ด้วยเหตุนี้ ผู้ประกอบการในอุตสาหรรมเสื้อผ้า จึงต้องท�าการตลาดเพื่อสร้างแบรนด์ของตน ให้มีจุดเด่น และสามารถดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เพื่อให้สามารถแข่งขันได้กับแบรนด์เสื้อผ้าจากต่างประเทศ ที่เข้ามาใหม่ ซึง่ มีความได้เปรียบในด้านความสดใหม่ของแบรนด์สินค้า มีใช้เทคโนโลยีการออกแบบและตัดเย็บที่ ทันสมัย หรือมีเครือข่าย โรงงานตัดเย็บในต่างประเทศที่มีประสิทธิภาพและมีต้นทุนการผลิตที่ต�่ากว่า

3. ภาวะอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มและผลิตภัณฑ์ยีนส์ ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับภูมภิ าค (Regional EconomicCommunity) ของประเทศในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (ASEAN) ทัง้ 10 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศ สิงค์โปร์ ประเทศลาว ประเทศพม่า ประเทศกัมพูชา และประเทศบรูไน โดยมีส่วนเอื้อประโยชน์ส�าคัญในด้านความเสรี การเคลื่อนย้ายทรัพยากร แรงงาน และการค้าขายระหว่างกันในตลาดอาเซียน รวมทั้งเป็นการเพิ่มโอกาส อ�านาจการ ต่อรองทางการค้า ความร่วมมือและศักยภายในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆของโลก ก่อให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มใน ตลาดอาเซียนซึ่งมีแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ดีอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ย่อมมีส่วนท�าให้เกิดการขยายตลาดจากในประเทศ ออกไปสูต่ ลาดประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนภายใต้กฎระเบียบที่ผอ่ นคลายขึ้น รวมทั้งมาตรการส่งเสริมการตลาดและ การลงทุนระหว่างกัน ก่อให้เกิดตลาดผู้บริโภคที่ใหญ่ขึ้นและก�าลังซื้อที่มากขึ้น ในปี 2554 พบว่าประเทศในอาเซียนมี ประชากรรวมจ�านวน 607.7 ล้านคนและมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รวม 2,112.5 พันล้านเหรียญ สหรัฐฯ มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี (ปี 2542 – 2554) เท่ากับร้อยละ 7.6 ในขณะที่ประเทศไทยมีประชากรจ�านวน 64.3 ล้านคน และมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) จ�านวน 339 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ มีอัตราการ เติบโตเฉลี่ยต่อปี (ปี 2542 – 2554) เท่ากับร้อยละ 3.9

จ�านวนประชากรและมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ปี 2554 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)

ประเทศ 1 ประเทศอินโดนีเซีย 2 ประเทศไทย 3 ประเทศสิงค์โปร์ 4 ประเทศมาเลเซีย 5 ประเทศฟิลิปปินส์ 6 ประเทศเวียดนาม 7 ประเทศพม่า 8 ประเทศบรูไน 9 ประเทศกัมพูชา 10 ประเทศลาว รวม

ประชากร จ�านวน (ล้านคน) 240.5 64.3 5.3 28.7 95.8 89.3 62.4 0.4 14.4 6.6 607.7

มูลค่า (‘000 ล้าน เหรียญสหรัฐ) 834 339 267 248 216 122 50 16 13 8 2,113

อัตราการ เติบโตเฉลี่ย อัตราการ ต่อปี (ปี เติบโต ต่อประชากร 2542– 2554) (ร้อยละ) (เหรียญสหรัฐ) (ร้อยละ) 6.4 3,469 6.3 3.5 5,278 3.9 5.3 50,283 9.7 5.2 8,627 6.2 4.7 2,256 5.7 5.8 1,362 6.3 5.5 806 20.8 2.8 39,000 6.4 6.7 917 2.4 8.3 1,197 8.3 เฉลี่ย (รวมทั้งหมด) 7.6 เฉลี่ย (ไม่รวมประเทศไทย) 8.0

ที่มา : กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF)

113


ปัจจัย ความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยง ที่อาจจะมีผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการด�าเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของ บริษทั ฯ อย่างมีนัยส�าคัญ และแนวทางของบริษัทฯ ในการป้องกันความเสี่ยง สามารถสรุปได้ดังนี้

1. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินธุรกิจ 1.1 ความเสี่ยงจากแผนธุรกิจของบริษัทฯ ไม่เป็นไปตามที่วางแผนไว้ แผนธุรกิจและกลยุทธ์การเติบโตของผลประกอบการของบริษทั ฯ ประกอบด้วย การเพิ่มความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาแบรนด์สินค้าใหม่ การขยายช่องทางการจัดจ�าหน่าย การเข้าซื้อกิจการหรือเข้าร่วมลงทุนกับ พันธมิตรทางธุรกิจ การลดต้นทุนการผลิตและศึกษาการขยายฐานการจัดหาผลิตภัณฑ์ ไปยังแหล่งพื้นที่ที่มีต้นทุน ต�่ากว่า ซึ่งความส�าเร็จของแผนการเติบโตดังกล่าวมีความส�าคัญต่อธุรกิจโดยรวมของบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการและฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ให้ความส�าคัญในการด�าเนินการกลยุทธ์การเติบโตเหล่านี้ ให้เป็นรูปธรรม โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2556 บริษัทฯ ได้ออกแบรนด์สินค้าใหม่ได้แก่ Mc Pink ซึ่งเป็นการเพิ่ม ประเภทของสินค้าของกลุ่มบริษัทฯ ให้มีความหลากหลายและให้ครอบคลุมฐานลูกค้าได้กว้างขึ้น รวมถึงมีการขยาย ช่องทางการจัดจ�าหน่ายเพิ่มขึ้นให้ครอบคลุมทั่วประเทศและขยายไปยังต่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน 1.2 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่น้อยราย บริษัทฯ มีลูกค้ารายใหญ่ 10 รายแรก ส่วนใหญ่เป็นห้างค้าปลีกสมัยใหม่รายใหญ่ (modern trade) และ เป็นลูกค้าที่มีความสัมพันธ์อันยาวนานกับบริษัทฯ และมีการสั่งซือ้ สินค้าอย่างต่อเนื่องและสม�า่ เสมอ ทั้งนี้ บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ และอ�านาจต่อรองที่จ�ากัด ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีนโยบายลด ความเสี่ยงโดยการรักษาความสัมพันธ์ท่ดี กี บั ลูกค้ากลุม่ ดังกล่าว และมีนโยบายในการขายผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง (free standing shop) ให้มากขึ้น โดยมุง่ เน้นการเปิดร้านค้าปลีกที่ขายแบรนด์ของบริษทั เอง ซึง่ ท�าให้บริษทั ฯ สามารถ ลดระดับการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ได้ในอนาคต 1.3 ความเสี่ยงจากการต่อสัญญาเช่าร้านค้า เนื่องจากบริษัทฯ มีการจัดจ�าหน่ายสินค้าผ่านช่องทางการจัดจ�าหน่ายที่เป็นร้านค้าของตนเอง โดยร้านค้า ดังกล่าวเป็นสัญญาเช่า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาประมาณ 3 ปี ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงจากการไม่ได้รับการ ต่ออายุสัญญาเช่า หรือมีความเสี่ยงจากการที่อัตราค่าเช่าและค่าบริการปรับตัวสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม สัญญาเช่าบางสัญญาได้ให้สิทธิกับบริษัทฯ ในการต่ออายุสัญญาเมื่อครบก�าหนดอายุสัญญา และมีการปรับอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน โดยระยะเวลาที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าดังกล่าวอย่างเคร่งครัด และไม่เคยถูกยกเลิกสัญญาจากผูใ้ ห้เช่า รวมทั้งร้านค้าของบริษทั ฯ ยังช่วยดึงดูดให้ลกู ค้าเข้ามาใช้บริการศูนย์การค้า ซึง่ เป็นการเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการศูนย์การค้ากับบริษัทฯ จึงท�าให้บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าจะได้รับ สนับสนุนเป็นอย่างดีในการต่ออายุสัญญาจากผู้ให้เช่าต่อไปในอนาคต

2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูป 2.1 ความเสี่ยงจากธุรกิจการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปมีสภาวะการแข่งขันที่รุนแรง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการแข่งขันในธุรกิจการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูป ประกอบด้วย การเข้ามาใหม่ของ คู่แข่งทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ การสร้างแบรนด์สินค้าใหม่ การแข่งขันด้านราคา การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การเพิ่มขึ้นของช่องทางการจัดจ�าหน่ายเพื่อเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม บมจ. แม็คกรุ๊ป ด�าเนินธุรกิจจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปอย่างครบวงจรและจากประสบการณ์ การผลิตที่ยาวนานกว่า 38 ปี ท�าให้บริษทั ฯ เชี่ยวชาญในการควบคุมคุณภาพและต้นทุนการผลิต ไม่วา่ จะเป็นการผลิต ด้วยโรงงานของตนเอง และควบคุมการว่าจ้างผลิตโดยผู้ผลิตรายอื่น ทั้งนี้บริษัทฯ มีแผนที่จะหาแหล่งผลิตใหม่ๆ ใน ต่างประเทศเพื่อลดต้นทุนในการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ และมีนโยบายที่จะเพิ่มช่องทางการขายผ่านร้านค้าปลีก ของตนเอง และช่องทางการขายอื่นๆ เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ครอบคลุมมากขึ้น และเพิ่มความสะดวกใน การซื้อสินค้าแก่ลูกค้า และมุ่งเน้นการสร้างการรับรู้ในตราสินค้าของบริษัทให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น

114


2.2 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคตามสินค้าแฟชั่น สินค้าบางกลุ่มของบริษัทฯ ที่เป็นกลุ่มสินค้าแฟชั่น อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงรสนิยมในการ บริโภคเสื้อผ้าและรูปแบบการใช้ชีวิตของผู้บริโภค และการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลอยู่ตลอดเวลา ท�าให้สินค้าแฟชั่น ที่จัดจ�าหน่ายอาจไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค นอกจากนี้ สินค้าแฟชั่นใหม่ๆของบริษัทฯ อาจ ไม่ได้รบั ความนิยม หากบริษทั ฯ ไม่สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของผูบ้ ริโภคได้ทนั ท่วงที บริษัทฯ มีการท�างานร่วมกันระหว่างทีมขาย และทีมออกแบบ เพื่อส�ารวจความเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังศึกษาและติดตามแนวโน้มแฟชั่นทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างสม�่าเสมอมาโดยตลอด และน�าเสนอสินค้าแฟชั่นใหม่ๆ ในแต่ละฤดูกาลต่างๆ เพื่อให้ทันต่อความต้องการของผู้บริโภค

3. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินค้าเพื่อจัดจ�าหน่าย 3.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ ผ้ายีนส์ มีฝ้าย (cotton) เป็นส่วนประกอบหลักที่ส�าคัญ ถึงแม้โดยปกติ ราคาตลาดของผ้าจะค่อนข้างคงที่มี การเคลื่อนไหวของราคาต�่า แม้ว่าราคาฝ้ายในตลาดโลกจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ้างก็ตาม อย่างไรก็ตาม หากราคา ฝ้าย มีความผันผวนสูงมาก อาจมีผลกระทบต่อราคาราคาผ้ายีนส์ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ทั้งนี้ จากการที่บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้ใช้ผ้ายีนส์รายใหญ่และมากที่สุดในประเทศไทย ส่งผลให้กลุ่มบริษัทฯ มี อ�านาจในการต่อรองกับผู้จัดจ�าหน่ายวัตถุดิบได้มากขึ้น กอรปกับบริษัทฯ จัดซือ้ ผ้ายีนส์จากผู้จัดจ�าหน่ายวัตถุดิบ รายใหญ่ในประเทศไทยซึ่งเป็นผูท้ ่มี กี ารบริหารจัดการราคาวัตถุดบิ ตั้งต้นประเภทฝ้ายได้เป็นอย่างดี จึงส่งผลต่อเนื่อง ถึงราคาผ้าที่บริษัทฯ สั่งซื้ออีกทอดหนึ่ง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีระบบการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผน การสั่งซื้อที่เหมาะสม และคัดเลือกผูจ้ ดั จ�าหน่ายวัตถุดบิ ท�าให้บริษทั ฯ สามารถรักษาอัตราก�าไรขั้นต้นได้คอ่ นข้างคงที่ 3.2 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูจ้ ดั จ�าหน่ายรายใหญ่นอ้ ยราย บริษทั ฯ สั่งซื้อวัตถุดบิ และสินค้าส�าเร็จรูปจากผูจ้ ดั จ�าหน่ายรายใหญ่ 10 รายแรก มีสดั ส่วนมูลค่าการสั่งซื้อรวม คิดเป็นร้อยละ 61.3 ของยอดซื้อรวมโดยประมาณในปี 2555 ในกระบวนการจัดหาผู้จัดจ�าหน่ายบริษัทฯ จัดให้มีระบบ การตรวจสอบราคาจากผูจ้ ดั จ�าหน่ายวัตถุดบิ และสินค้าส�าเร็จรูปหลายราย และจัดให้มกี ารประกวดราคาส�าหรับกลุม่ สินค้าที่มีการสั่งซื้อปริมาณมาก เพื่อก่อให้เกิดความได้เปรียบด้านต้นทุนของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการ สรรหาผู้จัดจ�าหน่ายรายใหม่ๆอยู่เสมอ เพื่อกระจายปริมาณการสั่งซื้อให้แก่ผู้จัดจ�าหน่ายวัตถุดิบและสินค้าส�าเร็จรูป หลายราย โดยวัตถุดบิ และสินค้าส�าเร็จรูปส่วนใหญ่ สามารถจัดหาได้ท่วั ไปทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ ซึ่งจะท�าให้ ช่วยลดการพึ่งพิงผู้จัดจ�าหน่ายรายใหญ่ได้ 3.3 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการเช่าโรงงานและทรัพย์สินอื่นจากผู้ถือหุ้นใหญ่ กลุ่มบริษัทฯ เช่าโรงงานและทรัพย์สินอื่นจากผู้ถือหุ้นใหญ่ เพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ (ส�าหรับรายละเอียด เพิ่มเติมสามารถอ้างอิงได้จากส่วนรายการระหว่างกัน) อย่างไรก็ตาม การที่กลุ่มบริษัทฯ บริหารจัดการทรัพย์สิน ด้วยวิธีการเช่า ยังช่วยให้กลุ่มบริษัทฯ มีความคล่องตัวในการโยกย้ายก�าลังการผลิตในอนาคต โดยพิจารณา ทางเลือกในการขยายธุรกิจที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ให้กับกลุ่มบริษัทฯ สูงสุด เช่น การขยายฐานการจัดหาผลิตภัณฑ์ เพื่อจัดจ�าหน่าย โดยการจ้างบุคคลภายนอกในประเทศเป็นผูผ้ ลิต และการขยายฐานการจัดหาผลิตภัณฑ์ไปยังประเทศ ในเขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึง่ นอกจากจะมีผลดีต่อกับประสิทธิภาพในการจัดการด้านสินค้าคงเหลือ และ สภาพคล่องของบริษัท ยังอาจจะมีผลให้ต้นทุนสินค้าลดลงหากผู้ที่ได้รับการว่าจ้างมีต้นทุนการผลิตที่ต�่ากว่า

4. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายและระเบียบทางการค้า 4.1 ความเสี่ยงจากการเปิดเสรีทางการค้าภายในภูมิภาคอาเซียน (AEC) การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ส่งผลให้มกี ารเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายทรัพยากร เงินทุน แรงงาน และการค้าขายระหว่างกับในตลาดอาเซียน โดยท�าให้บริษัทฯ มีสินค้าจากประเทศในอาเซียนเข้ามา แข่งขันกับบริษัทฯ ได้ และอาจส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นทั้งตลาดในประเทศและในประเทศอาเซียน

115


อย่างไรก็ตาม แบรนด์แม็คยีนส์เป็นแบรนด์ยีนส์ของไทยเพียงรายเดียวที่สามารถแข่งขันกับแบรนด์ยีนส์ จากต่างประเทศได้ ด้วยคุณภาพที่ดี และราคาที่เหมาะสม รวมทั้งมีการออกแบบที่เหมาะกับสรีระของคนในภูมิภาค อาเซียนได้เป็นอย่างดี โดยบริษัทฯ มุ่งเน้นการสร้างการรับรู้ในแบรนด์สินค้าของบริษัทให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และแข็งแกร่งยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน กลุ่มบริษัทฯ มีนโยบายในการขยายตลาดการจัดจ�าหน่ายไปยังประเทศในเขต ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และอยู่ระหว่างการศึกษาแผนการขยายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีต้นทุนการผลิตที่ ต�่ากว่า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มบริษัทฯ ส�าหรับการเปิดเสรีทางการค้าภายในภูมิภาคอาเซียน 4.2 ความเสี่ยงจากการปรับค่าแรงขั้นต�่าตามนโยบายของรัฐบาล และการขาดแคลนแรงงานฝีมือ เนื่องจากอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มเป็นอุตสาหกรรมที่เน้นการใช้แรงงานสูง (labor intensive) จากการที่ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติปรับค่าจ้างขั้นต�่าใหม่สูงสุด 300 บาทต่อวัน ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากนโยบายค่าแรงขั้นต�่าดังกล่าว จึงมีการวางแผนในการสร้าง ความได้เปรียบด้านต้นทุน และพัฒนาประสิทธิภาพในการท�างาน และได้มีการน�าระบบการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing system) มาใช้ เพื่อปรับเปลี่ยนการผลิตใหม่ให้สามารถผลิตอย่างต่อเนื่องและลดการสูญเสีย ส่งผลให้ตน้ ทุนค่าแรงในการผลิตของบริษทั ฯ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นในอัตราที่ตา่� กว่าการปรับค่าแรงขั้นต�่าตามนโยบาย ของรัฐบาล

116


โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ หลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2556 บริษัทฯ ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจ�ากัด และเพิ่มทุนจดทะเบียน โดยมีรายละเอียดของโครงสร้างเงินทุนที่ส�าคัญ ดังนี้ หุ้นสามัญ

- ทุนจดทะเบียน - ทุนเรียกช�าระแล้ว - จ�านวนหุ้นสามัญ - มูลค่าหุ้นที่ตราไว้

400,000,000 300,000,000 600,000,000 0.50

บาท บาท หุน บาท ต่อหุ้น

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่ต�่ากว่าร้อยละ 50 ของก�าไรสุทธิที่เหลือหลังหักเงินส�ารองต่างๆ ทุก ประเภทที่กฎหมายและบริษัทก�าหนดไว้ โดยพิจารณาจากก�าไรสุทธิตามงบการเงินรวมของบริษัท อย่างไรก็ตามการ จ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยูก่ บั แผนการลงทุน ความจ�าเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต เมื่อคณะกรรมการ บริษัทมีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลประจ�าปีแล้วจะต้องน�าเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่าย เงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษัทมีอ�านาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลได้ แล้วให้รายงานแก่ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทราบในการประชุมคราวต่อไป ส�าหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย บริษัทย่อยจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากก�าไรสุทธิ หลังจากหักภาษีเงินได้ในแต่ละปีอย่างไรก็ตามการจ่ายเงินปันผลจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุนและความเหมาะสมอื่นๆ และอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นครั้งคราวได้

117


118

สาย Operational Excellence

สายการผลิต

ประธานเจ้าหน้าที่ สายศูนย์กลางปฎิบัติการการผลิต

คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัท

ฝ่ายวางแผนเครือข่าย การขาย

สายการออกแบบ ผลิตภัณฑ์และพัฒนา ธุรกิจใหม่

ผู้อ�านวยการบริหารอาวุโส สายการขาย

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

คณะกรรมการบริหาร

โครงสร้างองค์กรของบมจ. แม็คกรุ๊ป ณ วันที่ 20 มีนาคม 2556

สายแบรนด์และ การตลาด

สายวางแผนกลยุทธ์

รองประธานเจ้าหน้าที่ สายปฏิบัติการ

สายทรัพยากรบุคคล

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย เทคโนโลยีและสารสนเทศ

สายการเงินและบัญชี

ประธานเจ้าหน้าที่สายปฎิบัติการ

ฝ่ายตรวจสอบภายในและบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการตรวจสอบ

โครงสร้างการจัดการ


บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน) มีโครงสร้างการจัดการอันประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งท�า หน้าที่ก�ากับดูแลกิจการของบริษัทฯ และมีคณะกรรมการชุดย่อยดูแลเฉพาะเรื่องอีก 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยมีรายละเอียดของคณะกรรมการแต่ละคณะ ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่ด�าเนินการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของ บริษัทฯ ตลอดจนมติของผู้ถือหุ้น รวมทั้งการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยปฏิบตั หิ น้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ รวมถึงอยูใ่ นกรอบของจริยธรรมธุรกิจ และค�านึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย อีกทั้งจัดให้มีระบบบัญชี และรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ ที่ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�าปี 2556 ของบริษทั ฯ เมื่อวันที ่ 15 มีนาคม 2556 มีมติแต่งตั้งและก�าหนดขอบเขต อ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อ ต�าแหน่ง 1. นายพิชัย กัญจนาภรณ์ ประธานกรรมการ 2. นางปรารถนา มงคลกุล กรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร 3. นางสาวสุณี เสรีภาณุ กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 4. นายวิรัช เสรีภาณุ กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่สายปฏิบัติการ 5. นายสมชัย อภิวัฒนพร กรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ 6. นางจ�านรรค์ ศิริตัน กรรมการ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 7. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนุประพันธ์ กรรมการ / กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการที่อ�านาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ประกอบด้วย นายพิชัย กัญจนาภรณ์ หรือนางสาวสุณี เสรีภาณุ หรือนายวิรชั เสรีภาณุ หรือ นางปรารถนา มงคลกุล กรรมการสองในสี่คนลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�าคัญ ของบริษัทฯ ปัจจุบันบริษัทฯ มีกรรมการอิสระทั้งสิ้น 3 ท่าน ซึ่งมีจ�านวนตามเกณฑ์ที่นโยบายการก�ากับดูแลกิจการก�าหนด คือ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ (7 ท่าน) ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ มติคณะกรรมการบริษัทและมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต 2. พิจารณาก�าหนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบาย ทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการด�าเนินงาน และงบประมาณของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตามที่คณะ กรรมการบริหารและฝ่ายจัดการจัดท�า 3. ก�ากับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่าย จัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้รบั มอบหมายให้ทา� หน้าที่ดงั กล่าว เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการ บริษัทฯ ก�าหนด 4. ติดตามผลการด�าเนินงานของบริษทั ฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการด�าเนินงานและงบประมาณ ของบริษัทฯ 5. ด�าเนินการให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยน�าระบบงานบัญชีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาใช้ รวมทั้งจัดให้มี ระบบควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดให้มกี ารท�างบดุล และงบก�าไรขาดทุน ณ วันสิ้นสุดรอบปีบญ ั ชีของบริษทั ฯ และลงลายมือชือ่ เพื่อรับรอง งบการเงินดังกล่าว เพื่อน�าเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญประจ�าปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ

119


7. พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบการคั ด เลื อ กและเสนอแต่ ง ตั ้ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนที ่ เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบน�าเสนอ ก่อนน�าเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจ�าปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จัดให้มนี โยบายเกี่ยวกับการก�ากับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลที่เป็นลายลักษณ์อกั ษร และการปรับ ใช้นโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เชื่อมั่นได้วา่ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นเกี่ยวข้อง ทุกกลุ่มด้วยความเป็นธรรม 9. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั ้ง บุ ค คลที ่มี ค ุณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ค ุณ สมบั ติ ต ้ อ งห้ า มตามที ่ก� า หนดในพระราช บัญญัติบริษัทมหาชนจ�ากัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง เข้าด�ารงต�าแหน่ง ในกรณีท่ตี า� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอ่นื นอกจากออกตามวาระ และ พิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ และการก�าหนดค่าตอบแทน กรรมการตามที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนน�าเสนอเพื่อน�าเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 10. แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการก�ากับ ดูแลกิจการที่ด ี คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หรือ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือและ สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 11. พิจารณาก�าหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอ�านาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได้ 12. พิจารณาแต่งตั้งผูบ้ ริหารตามค�านิยามที่กา� หนดโดยคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน และเลขานุการบริษัทฯ รวมทั้ง พิจารณาก�าหนดค่าตอบแทนของผู้ บริหารดังกล่าว 13. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจ�าเป็นเพื่อประกอบการตัดสินใจที่เหมาะสม 14. ส่งเสริมให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริหารนั้น ทัง้ นี ้ การมอบหมายอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ นัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบ อ�านาจ หรือมอบอ�านาจช่วงที่ท�าให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้รับมอบอ�านาจจากคณะกรรมการบริษัทฯ สามารถ อนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศ คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใด ๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อ่นื ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ยกเว้นเป็นการอนุมตั ริ ายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลัก เกณฑ์ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติไว้ เลขานุการบริษัทฯ คณะกรรมการได้แต่งตั้ง นางทรงวิไล จิรโพธิ์ทอง ผู้อ�านวยการอาวุโส สายวางแผนกลยุทธ์ ให้ด�ารงต�าแหน่ง เลขานุการบริษัทฯ เพื่อท�าหน้าที่ดูแลและจัดการ การประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และ การจัดประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงการจัดเก็บเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนการด�าเนินการอื่นๆ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานการก�ากับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัทฯ 1. ให้ค�าแนะน�าเบื้องต้นแก่กรรมการในข้อกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของบริษัทฯ ที่คณะกรรมการ ต้องการทราบและติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามอย่างถูกต้องสม�่าเสมอ รวมถึงการรายงานการเปลี่ยนแปลง ในข้อก�าหนดกฎหมายที่มีนัยส�าคัญแก่คณะกรรมการ 2. จัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และประชุมคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษทั ฯ และข้อพึงปฏิบตั ิ ต่างๆ

120


3. บันทึกรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ และการประชุมของคณะกรรมการบริษทั ฯ รวมทั้งติดตามให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 4. จัดท�าและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ รายงานประจ�าปีบริษทั ฯ หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ หนังสือนัดประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการบริษัทฯ 5. เก็บรักษารายงานการมีสว่ นได้สว่ นเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบ้ ริหาร และจัดส่งส�าเนาให้แก่ประธาน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วันท�าการ นับจากวันที่รับรายงาน 6. ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่วนที่รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่ก�ากับบริษัทฯ ตาม ระเบียบและข้อก�าหนดของหน่วยงานทางการ 7. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทฯ และด�าเนินการเรื่องอื่นๆ ตามที่กฎหมายก�าหนด หรือตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ หรือตามที่คณะกรรมการก�ากับตลาดทุนประกาศก�าหนด คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�านวน 3 ท่าน และมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่กา� หนดโดยประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย ณ วันที ่ 15 มีนาคม 2556 คณะ กรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการที่มีรายชื่อดังนี้ ชื่อ ต�าแหน่ง 1. นายสมชัย อภิวัฒนพร ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นางจ�านรรค์ ศิริตัน กรรมการตรวจสอบ 3. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนุประพันธ์ กรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการล�าดับที่ 1 คือ นายสมชัย อภิวัฒนพร เป็นกรรมการตรวจสอบผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้าน การบัญชีเพียงพอที่จะสามารถท�าหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินของ บมจ. แม็คกรุ๊ป เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ได้แก่ นางทรงวิไล จิรโพธิ์ทอง คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�านวนหุน้ ที่มสี ทิ ธิออกเสียงทั้งหมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ได้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของ ข้าพเจ้าแล้ว 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�า หรือ ผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�าดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ หรือของผูม้ อี า� นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า สองปีก่อนวันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอ�านาจควบคุม ของ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของ ตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อยบริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะ ได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันที่ย่นื ค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต.

121


5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�านาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�านักงานสอบ บัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจ ควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันที่ย่นื ค�าขอ อนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ รวมทั้งไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือ หุ้นส่วน ของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า สองปีก่อนวันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือ หุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของผู้ขออนุญาตหรือ บริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รบั เงินเดือนประจ�า หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึ่งของจ�านวนหุน้ ที่มสี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด ของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�าให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�าเนินงานของบริษัทฯ 10. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ตดั สินใจในการด�าเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�าดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี า� นาจควบคุมของ ผูข้ ออนุญาต และไม่เป็นกรรมการของบริษทั จดทะเบียนที่เป็นบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อย ล�าดับเดียวกัน 11. มีหน้าที่ในลักษณะเดียวกับที่ก�าหนดไว้ในประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยคุณสมบัตแิ ละ ขอบเขตการด�าเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 12. มีความรู้และประสบการณ์ที่เพียงพอที่จะสามารถท�าหน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือ หน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข ้ อ ก� า หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�าหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม ประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์ สูงสุดต่อบริษัทฯ

122


6. สอบทานถึงความมีประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ 7. ทบทวนและเสนอข้อแก้ไข ขอบเขต หน้าที ่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ 8. ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�านาจในการตรวจสอบ และพิจารณาด�าเนินการกับผู้ที่เกี่ยวข้องภายใต้ อ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ และมีอา� นาจในการว่าจ้างหรือน�าผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วย งานตรวจสอบและด�าเนินการดังกล่าว 9. จัดท�ารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�าปีของบริษทั ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ 3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของของ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จ�านวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (charter) 8) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 10. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�าดัง ต่อไปนี้ ซึง่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยส�าคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�าเนินงานของบริษัทฯ ให้คณะ กรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทฯ เพื่อด�าเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ส�าคัญในระบบควบคุมภายใน 3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการของบริษัทหรือผู้บริหารไม่ด�าเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาข้างต้น กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�าตามวรรคหนึ่งต่อส�านักงาน คณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์ 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ วาระการด�ารงต�าแหน่ง ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และให้กรรมการตรวจสอบมีวาระการ ด�ารงต�าแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วนั ที่ได้รบั การแต่งตั้ง ทัง้ นี ้ จะเลือกกรรมการตรวจสอบผูพ ้ น้ จากต�าแหน่ง เข้ารับต�าแหน่งอีกก็ได้

123


คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั ฯ จะแต่งตั้งกรรมการจ�านวนหนึ่งตามที่เห็นสมควรให้เป็นคณะกรรมการบริหาร มีอา� นาจ หน้าที่ควบคุมดูแลกิจการของบริษทั ฯ ตามที่คณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย และในจ�านวนนี้ให้แต่งตั้งเป็นกรรมการ บริหารคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการบริหาร ณ วันที่ 20 มีนาคม 2556 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ ต�าแหน่ง นางปรารถนา มงคลกุล ประธานกรรมการบริหาร นางสาวสุณี เสรีภาณุ กรรมการบริหาร นายวิรัช เสรีภาณุ กรรมการบริหาร ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. ก�าหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงานในการด�าเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ให้สอดคล้อง และเหมาะสมต่อสภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน เพื่อเสนอให้กรรมการบริษัทฯ เห็นชอบ 2. ก�าหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอ�านาจในการบริหารต่างๆ ของบริษัทฯ เพื่อเสนอให้กรรมการบริษัทฯ เห็นชอบ 3. ตรวจสอบและติดตามผลการด�าเนินงานของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนธุรกิจที่ได้รบั อนุมตั ไิ ว้ และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจารณาอนุมัติการเข้าท�าสัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับการด�าเนินธุรกิจปกติของบริษัทฯ (เช่น การซื้อขาย การลงทุน หรือร่วมลงทุนกับบุคคลอื่น เพื่อการท�าธุรกรรมตามปกติของบริษัทฯ และ เป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด�าเนินงานตามวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ) ภายในวงเงินไม่เกิน 50,000,000 (ห้าสิบล้าน) บาท หรือเทียบเท่าต่อธุรกรรม 5. พิจารณาอนุมัติการกู้ยืมเงิน และการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้กู้ยืม ตลอดจนการจ�าน�า จ�านอง หรือเข้าเป็นผู้ค�้าประกันของบริษัทและบริษัทย่อย ภายในวงเงินไม่เกิน 50,000,000 (ห้าสิบล้าน) บาท หรือเทียบเท่าต่อธุรกรรม 6. พิจารณาอนุมตั กิ ารด�าเนินการโครงการต่างๆของบริษทั ฯ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ถึงความ คืบหน้าของโครงการ 7. บริหารความเสี่ยงในภาพรวมของทั้งองค์กร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบโครงสร้างการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กร 8. มีอ�านาจในการมอบอ�านาจให้บุคคลอื่นใดหนึ่งคนหรือหลายคนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยอยู่ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการบริหาร หรืออาจมอบอ�านาจเพื่อให้บคุ คลดังกล่าวมีอา� นาจตามที่คณะ กรรมการบริหารเห็นสมควร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร ซึง่ คณะกรรมการ บริหารอาจยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขบุคคลที่ได้รับมอบหมายอ�านาจหรือการมอบอ�านาจ นั้นๆ ได้ตามสมควร 9. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารติ ด ต่ อ ด� า เนิ น การ และจดทะเบี ย นกั บ หน่ ว ยงานราชการในนามของบริ ษั ท ฯ เพื่อประโยชน์ในการด�าเนินงานตามวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ 10. พิจารณาอนุมตั กิ ารปรับเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัสประจ�าปี ส�าหรับพนักงาน เว้นแต่กรรมการบริหาร 11. ด�าเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย

124


ดังนี้

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 20 มีนาคม 2556 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�านวน 3 ท่าน

ชื่อ ต�าแหน่ง 1. นายสมชัย อภิวัฒนพร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. นางจ�านรรค์ ศิริตัน กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนุประพันธ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ นางทรงวิไล จิรโพธิ์ทอง ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. ก�าหนดนโยบายในเรื่องของการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมถึงความเสี่ยงต่างๆ ในการบริหารงาน 2. พิจารณาและอนุมัติแผนบริหารความเสี่ยง 3. จัดให้มคี ณะท�างานบริหารความเสี่ยงตามความจ�าเป็น โดยสนับสนุนคณะท�างานบริหารความเสี่ยงในด้าน บุคลากร งบประมาณ และ ทรัพยากรอื่นที่จ�าเป็น ให้สอดคล้องกับขอบเขตความรับผิดชอบ 3. ติดตามการด�าเนินการบริหาร ความเสี่ยงตั้งแต่เริ่มกระบวนการที่จะบ่งชี้ให้ทราบถึงความเสี่ยง รวมทั้ง วิเคราะห์ ประเมินผล จัดการติดตามและรายงานอย่างเป็นระบบ 4. ให้การสนับสนุนให้มกี ารแนะน�ากระบวนการบริหารความเสี่ยงแก่หน่วยงานภายในต่างๆ ตลอดจน ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 5. รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่าเสมอที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการจัดการกับความเสี่ยงที่ ส�าคัญ วาระการด�ารงต�าแหน่ง ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้นตรงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และให้กรรมการบริหารความ เสี่ยงมีวาระการด�ารงต�าแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมการบริหาร ความเสี่ยงผู้พ้นจากต�าแหน่งเข้ารับต�าแหน่งอีกก็ได้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที ่ 20 มีนาคม 2556 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ ต�าแหน่ง 1. นายสมชัย อภิวัฒนพร ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนุประพันธ์ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายวิรัช เสรีภาณุ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้แก่ นางทรงวิไล จิรโพธิ์ทอง ขอบเขตอ�านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. พิจารณาสรรหาคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเข้าด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. ตรวจสอบประวัติและข้อมูลต่างๆ ของบุคคลที่ได้รับการคัดเลือก โดยค�านึงถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญจากหลากหลายวิชาชีพ มีคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยเป็นไปตามข้อบังคับ ของบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

125


3. จัดท�ำควำมเห็นหรือข้อเสนอแนะต่ำงๆ เพื่อใช้ประกอบกำรพิจำรณำ 4. เสนอชื่อบุคคลที่ได้รับกำรคัดเลือกต่อคณะกรรมกำรบริษัทฯ เพื่อพิจำรณำ 5. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมกำรสรรหำ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมกำรบริษัทฯ เพื่อพิจำรณำ อนุมัติ 6. เสนอนโยบำยและหลักเกณฑ์กำรจ่ำยค่ำตอบแทนส�ำหรับกรรมกำรและผู้บริหำรระดับสูง 7. ประเมินผลกำรปฏิบัติงำนของคณะกรรมกำรบริษัทฯ ในแต่ละปี 8. พิจำรณำก�ำหนดวงเงินค่ำตอบแทนส�ำหรับคณะกรรมกำรบริษัทฯ (โดยค�ำนึงถึงผลประกอบกำรของบ ริษัทฯ และเปรียบเทียบกับอุตสำหกรรมเดียวกัน) วงเงินค่ำตอบแทนที่ได้รับอนุมัติจำกที่ประชุมผู้ถือหุ้น และจ�ำนวนเงินค่ำตอบแทนที่จ่ำยในปีที่ผ่ำนมำ เสนอต่อคณะกรรมกำรบริษัทฯ และที่ประชุมผู้ถือหุ้น 9. พิจำรณำจัดสรรค่ำตอบแทนแก่กรรมกำรบริษทั ฯ และกรรมกำรชุดย่อยต่ำงๆ เป็นรำยบุคคล โดยค�ำนึงถึง อ�ำนำจหน้ำที่ และปริมำณควำมรับผิดชอบภำยในวงเงินที่ผู้ถือหุ้นได้อนุมัติ 10. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมกำรพิจำรณำค่ำตอบแทน และน�ำเสนอต่อคณะกรรมกำรบริษัทฯ เพื่อพิจำรณำอนุมัติ 11. ปฏิบัติกำรอื่นใด ตำมที่คณะกรรมกำรบริษัทฯ มอบหมำย วาระการด�ารงต�าแหน่ง ทัง้ นี ้ ให้คณะกรรมกำรสรรหำและพิจำรณำค่ำตอบแทนขึ้นตรงต่อคณะกรรมกำรบริษทั ฯ และให้กรรมกำร สรรหำและพิจำรณำค่ำตอบแทนมีวำระกำรด�ำรงต�ำแหน่งครำวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง ทั้งนี้ จะเลือกกรรมกำรสรรหำและพิจำรณำค่ำตอบแทนผู้พ้นจำกต�ำแหน่งเข้ำรับต�ำแหน่งอีกก็ได้ ผู้บริหาร ณ วันที่ 20 มีนำคม 2556 ผู้บริหำรของบมจ. แม็คกรุ๊ป มีจ�ำนวน 7 ท่ำน ดังนี้

ชื่อ นำยพิชัย กัญจนำภรณ์ 1/ นำงสำวสุณี เสรีภำณุ นำยวิรัช เสรีภำณุ นำงสำวกำนติมำ เลอเลิศยุติธรรม นำงสำวยุพิน ลิ่วศิริ นำงสำวแสงแข หำญวนิชย์ นำงสำวปียนุช ปรีเปรมวัฒนำ หมำยเหตุ

ต�าแหน่ง

ประธำนกรรมกำร ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำร ประธำนเจ้ำหน้ำที่สำยศูนย์กลำงปฎิบัติกำรกำรผลิต (รักษำกำร) ประธำนเจ้ำหน้ำที่สำยปฎิบัติกำร รองประธำนเจ้ำหน้ำที่สำยปฏิบัติกำร ประธำนเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยเทคโนโลยีและสำรสนเทศ ผู้อ�ำนวยกำรบริหำรอำวุโส สำยกำรขำย ผู้อ�ำนวยกำรอำวุโส สำยกำรเงินและบัญชี

เนื่องจำกนำยพิชัย กัญจนำภรณ์ แม้จะมีต�ำแหน่งเป็นประธำนกรรมกำร แต่ท่ำนได้เข้ำมำบริหำรงำนเป็น ประจ�ำทุกวันในบริษัทฯ ดังเช่นผู้บริหำร และมีค่ำตอบแทนเป็นเงินเดือนประจ�ำ ดังนั้น บริษัทฯ จึงนับรวม นำยพิชัย กัญจนำภรณ์ เป็นผู้บริหำรของบริษัทฯ

1/

ขอบเขตอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ที่ประชุมคณะกรรมกำรบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 20 มีนำคม 2556 มีมติก�ำหนดขอบเขตอ�ำนำจหน้ำที่ และควำมรับผิดชอบของประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำร ไว้ดังนี้ 1. ดูแล บริหำร ด�ำเนินงำน และปฏิบัติงำนประจ�ำตำมปกติธุรกิจ เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ ให้เป็นไปตำม นโยบำย วิสัยทัศน์ เป้ำหมำย แผนกำรด�ำเนินธุรกิจ และงบประมำณที่ก�ำหนดโดยที่ประชุมคณะกรรมกำร บริษัทฯ และ/หรือตำมที่ได้รับมอบหมำยจำกคณะกรรมกำรบริหำร 2. บริหำรจัดกำรกำรด�ำเนินงำนของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตำมภำรกิจหลัก (Mission) ที่กำ� หนดโดยคณะกรรมกำร บริหำรเพื่อให้สอดคล้องกับแผนกำรด�ำเนินธุรกิจ และงบประมำณของบริษัทฯ และกลยุทธ์ในกำรด�ำเนิน ธุรกิจที่เกี่ยวข้องตำมที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมกำรบริษัทฯ และ/หรือคณะกรรมกำรบริหำร 126


3. ก�ากับดูแลการด�าเนินการด้านการเงิน การตลาด งานบริหารบุคคล และด้านการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยรวม เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและแผนการด�าเนินงานของบริษทั ฯ ทีก่ า� หนดไว้โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/ หรือคณะกรรมการบริหาร 4. มีอ�านาจจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง ก�าหนดอัตราค่าจ้างและค่าตอบแทนส�าหรับพนักงาน บริษัทฯ ในต�าแหน่งที่ต�่ากว่ากรรมการบริหาร โดยสามารถแต่งตั้งผู้รับมอบอ�านาจช่วงให้ด�าเนินการแทน ได้ 5. ก�าหนดบ�าเหน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน ต่าตอบแทน เงินโบนัสพิเศษ นอกเหนือจากเงินเดือนและโบนัส ปกติประจ�าของพนักงาน โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร 6. เจรจา และเข้าท�าสัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับการด�าเนินธุรกิจปกติของบริษทั ฯ (เช่น การลงทุน เปิดร้านใหม่ การลงทุนซือ้ เครื่องจักร และทรัพย์สินอื่นๆตามงบลงทุนหรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทฯ การซือ้ สินค้าเข้าคลังสินค้า และการขายสินค้า เป็นต้น) โดยวงเงินส�าหรับแต่ละ รายการให้เป็นไปตามที่ก�าหนดไว้ในอ�านาจด�าเนินการที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ แล้ว ทั้งนี้ ภายในวงเงินไม่เกิน 30,000,000 บาทต่อธุรกรรม 7. พิจารณาอนุมัติการกู้ยืมเงินระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อย 8. ออกค�าสั่ง ระเบียบ ประกาศ และบันทึกต่างๆ ภายในบริษัทเพื่อให้การด�าเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปตาม นโยบายและเพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ รวมถึงรักษาระเบียบวินัยภายในองค์กร 9. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งมี อ�านาจด�าเนินการใดๆ ที่จ�าเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ทัง้ นี ้ การก�าหนดอ�านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบ อ�านาจ หรือมอบอ�านาจช่วงที่ท�าให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ/หรือผู้รับมอบอ�านาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สามารถอนุมตั ริ ายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรือาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อ่นื ใด กับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย และ/หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารไม่มีอ�านาจอนุมัติในเรื่องดังกล่าว และจะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ (แล้วแต่กรณี) เพื่อพิจารณาอนุมตั ติ อ่ ไป เว้นแต่เป็นการพิจารณาอนุมัติรายการที่เป็นไปตามธุรกิจปกติและเงื่อนไขการค้าปกติ

การสรรหากรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ตามข้อบังคับบริษัทฯ ก�าหนดว่า ในหารประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�าแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�านวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจ�านวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยให้ กรรมการคนที่อยู่ในต�าแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�าแหน่ง และกรรมการที่ออกจากต�าแหน่งมีสิทธิได้รับเลือกตั้ง กลับมาด�ารงต�าแหน่งใหม่ได้ คณะกรรมการได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าที่รับผิดชอบในการ พิจารณาสรรหา คัดเลือก และกลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมตามข้อบังคับของบริษัทฯ โดยผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการน�าเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งผู้ที่จะมาด�ารงต�าแหน่งกรรม การบริษัทฯ การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ เป็นไปตามที่ระบุในข้อบังคับบริษัทฯ ดังนี้ - กรรมการบริษัทฯ จะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ หรือไม่ก็ได้ - ให้บริษัทมีคณะกรรมการของบริษัทฯ เพื่อด�าเนินกิจการของบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย ห้า (5) คนโดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจ�านวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ใน ประเทศไทย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้ก�าหนดโครงสร้างคณะกรรมการบริษัทฯ ตามนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ คือ คณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องประกอบด้วยคณะกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะด้วย

127


คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จะเป็นผู้ก�าหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อด�ารงต�าแหน่ง กรรมการ โดยจะพิจารณาคุณสมบัติของกรรมการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของบริษัทฯ ภายใต้ โครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการตามที่คณะกรรมการบริษทั ก�าหนดไว้ ทัง้ นี ้ บุคคลดังกล่าวจะต้องเป็นผูท้ ่ี มีคุณสมบัตเิ หมาะสมทั้งในด้าน ความรู ้ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ การอุทศิ เวลา รวมถึงมีคุณสมบัตคิ รบถ้วนในการ ด�ารงต�าแหน่งกรรมการบริษทั ฯ ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจ�ากัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มกี ารแก้ไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ได้มกี ารแก้ไขเพิ่มเติม) ประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ การแต่งตั้งกรรมการ ของบริษัทฯ จะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) คณะกรรมการตรวจสอบ ส�าหรับการสรรหาบุคคลเพื่อด�ารงต�าแหน่งกรรมการอิสระของบริษัทฯ บุคคลดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติตาม นิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ ซึ่งมีเกณฑ์เท่ากับข้อก�าหนดของส�านักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพย์ คุณสมบัติกรรมการอิสระ กรรมการอิสระจะต้องมีจา� นวนไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งในสามของจ�านวนกรรมการทั้งหมดของบริษทั ฯ และต้องไม่นอ้ ย กว่าสามคน และต้องมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�านวนหุน้ ที่มสี ทิ ธิออกเสียงทั้งหมดของ บริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วมผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของ กรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�า หรือ ผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�าดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือของผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่ น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึง กรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มีอ�านาจควบคุมของ บริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะ ได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันที่ย่นื ค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผูม้ อี า� นาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ที่มนี ยั ผูม้ อี า� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�านักงานสอบ บัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจ ควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�านาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�านาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า สองปีก่อนวันที่ยื่นค�าขออนุญาตต่อส�านักงาน ก.ล.ต.

128


7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัท ย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รบั เงินเดือนประจ�า หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึ่งของจ�านวนหุน้ ที่มสี ทิ ธิออกเสียงทั้งหมดของบริษทั อืน่ ซึ่งประกอบกิจการที่มสี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มนี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�าให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�าเนินงานของบริษัทฯ

129


130

นางจ�านรรค์ ศิริตัน

นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนุประพันธ์

6.

7.

รวม

ประธานกรรมการ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ/กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ ตรวจสอบ/ประธานกรรมการบริหารความ เสี่ยง/ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการ/กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจ สอบ/กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ/กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจ สอบ/กรรมการบริหารความเสี่ยง/กรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

ต�าแหน่ง

3/6

3/6

5/6 2/6

คณะกรรมการ บริษัท ประชุม 6 ครั้ง 6/6 6/6 6/6

1/1

1/1

x 1/1

คณะกรรมการ ตรวจสอบและ คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยง ประชุม 1 ครั้ง x x x

x

x

x x

คณะกรรมการ สรรหาและ พิจารณาค่า ตอบแทน ประชุม 0 ครั้ง x x x

การเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทนกรรมการ การเข้าร่วมประชุมในปี 2555

560,000

70,000

70,000

70,000 70,000

คณะ กรรมการ บริษัท 140,000 70,000 70,000

ค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทฯ ในปี 2555 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนให้กับผู้บริหารทั้งสิ้น 49.9 ล้านบาท โดยเป็นค่าตอบแทนในรูป เงินเดือน โบนัส และค่าเบี้ยเลี้ยงต่างๆ

นางปรารถนา มงคลกุล นายสมชัย อภิวัฒนพร

4. 5.

ล�าดับ รายชื่อกรรมการ 1. นายพิชัย กัญจนาภรณ์ 2. นางสาวสุณี เสรีภาณุ 3. นายวิรัช เสรีภาณุ

การเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทนกรรมการ

140,000

40,000

40,000

x 60,000

คณะกรรมการ ตรวจสอบและ คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยง x x x

x

x

x x

คณะ กรรมการ สรรหาและ พิจารณาค่า ตอบแทน x x x

700,000

110,000

110,000

70,000 130,000

รวม ค่าตอบแทน 140,000 70,000 70,000

ค่าตอบแทนกรรมการ

1,340,000

170,000

170,000

150,000 130,000

เบี้ยประชุม 320,000 200,000 200,000

2,040,000

280,000

280,000

220,000 260,000

รวมทั้งสิ้น 460,000 270,000 270,000


การปฎิบัติ ตามหลักการ การก�ากับกิจการที่ดี การก�ากับดูแลกิจการของบริษัทฯ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�าคัญในการปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาลในการด�าเนินธุรกิจ ดังนั้นบริษทั ฯจึงได้มี นโยบายปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีส�าหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน (Code of Best Practices for Directors of Listed Company) ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้การก�าหนดบทบัญญัติต่างๆ จะยึดถือแนวทางให้ ปฏิบตั ไิ ด้จริง นอกจากนี้ บริษทั ได้นา� หลักการก�ากับดูแลกิจการที่ดสี า� หรับบริษทั จดทะเบียนปี 2549 (The Principles of Good Corporate Governance For Listed Companies, 2006) ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�าหนด มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานโยบายที่ครอบคลุมถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โดยแบ่งเป็น 5 หมวดได้ ดังนี้

หมวดที่ 1: สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักและให้ความส�าคัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยจะไม่กระท�าการใดๆ ที่เป็นการละเมิดหรือลิดรอน สิทธิของผูถ้ อื หุน้ รวมทั้งจะส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิของตน โดยสิทธิข้นั พื้นฐานของผูถ้ อื หุน้ ได้แก่ การซื้อขายหรือ การโอนหุน้ การมีสว่ นแบ่งในก�าไรของบริษทั ฯ การได้รบั ข่าวสารข้อมูลบริษทั ฯ อย่างเพียงพอ การเข้าร่วมประชุมเพื่อ ใช้สทิ ธิออกเสียงในที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อถอดถอนกรรมการ แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และเรื่องที่มผี ลกระทบต่อบริษทั ฯ เช่น การจัดสรรเงินปันผล การก�าหนดหรือแก้ไขข้อบังคับและหนังสือบริคณห์สนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน และการอนุมตั ิ รายการพิเศษ เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ จะด�าเนินการในเรื่องต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมและอ�านวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ - บริษัทฯ จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน (หรือระยะเวลาอื่นใดตามที่กฎหมายก�าหนด) โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดระเบียบวาระการ ประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัท หนังสือมอบฉันทะ ตามที่กระทรวงพาณิชย์กา� หนด และรายชื่อของกรรมการอิสระเพื่อให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเลือกที่จะมอบฉันทะ ให้เข้าประชุมแทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม นอกจากที่กล่าวข้างต้น หนังสือเชิญประชุม จะแจ้งรายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะต้องน�ามาแสดงใน วันประชุมด้วย เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุมและการลงคะแนนเสียง รวมถึงเป็นไปตามข้อบังคับบริษัท ฯ เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของบริษัทฯ แต่ละครั้งได้ ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ [www.mcgroupnet.com] - กรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้ กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนได้ - ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ แต่ละครั้ง ประธานที่ประชุมจะชี้แจงเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ท่ใี ช้ในการประชุม รวมถึงขั้นตอน การออกเสียงลงมติ และจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเพียงพอ - ในระหว่างการประชุมประธานที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกคนมีสทิ ธิ์เท่าเทียมกัน ในการซักถาม แสดง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ โดยมีกรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ผูถ้ อื หุน้ เพื่อตอบค�าถามในที่ประชุมพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ของผูถ้ อื หุน้ เพื่อที่จะ น�าไปพิจารณา หรือด�าเนินการตามสมควรต่อไป และเมื่อการประชุมแล้วเสร็จ บริษทั ฯ จะจัดท�ารายงานการ ประชุมให้แล้วเสร็จอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม แล้วน�าส่งรายงานการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ดังกล่าวให้กบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในเวลาที่กา� หนดและเผยแพร่รายงานการประชุมทางเว็บไซต์ ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและบุคคลที่เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้

131


หมวดที่ 2: การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นที่ไม่เป็น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นต่างชาติ และผู้ถือหุ้นส่วนน้อย โดยมีหลักการดังนี้ - ด�าเนินการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามล�าดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่ม ระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าโดยไม่จ�าเป็น โดยเฉพาะวาระส�าคัญที่ผู้ถือหุ้น ต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ - เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคลเข้าด�ารงต�าแหน่งกรรมการได้ โดยส่งข้อมูลของ บุคคลที่เสนอชื่อและหนังสือยินยอม ให้แก่ประธานคณะกรรมการบริษัทล่วงหน้าในเวลาอันสมควร ภายใต้ หลักเกณฑ์ที่ก�าหนดโดยบริษัทฯ - ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ใช้บตั รลงคะแนนเสียงส�าหรับทุกระเบียบวาระ ซึง่ จะท�าการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวใน ห้องประชุม เพื่อน�าผลคะแนนมารวม ก่อนท�าการประกาศแจ้งมติของคะแนนเสียงในห้องประชุม และเพื่อ ความโปร่งใส บริษัทฯ จะจัดเก็บบัตรลงคะแนนที่มีการลงชื่อของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับฉันทะไว้ เพื่อการตรวจ สอบได้ในภายหลัง - บันทึกรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วันหลังการประชุมผู้ถือหุ้นเสร็จสิ้น และได้ท�าการเผยแพร่รายงานดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของ บริษัทฯ - ให้ความส�าคัญในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอื่นๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น โดยมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีสาระส�าคัญอย่างสม�่าเสมอ - บริษัทฯ มีนโยบายและวิธกี ารดูแลกรรมการและผู้บริหารในการน�าข้อมูลภายในของบริษัทฯ ซึง่ ยังไม่เปิด เผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. ให้ความรูแ้ ก่กรรมการและผูบ้ ริหาร เกี่ยวกับหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คูส่ มรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ตาม มาตรา 59 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมทั้งการรายงานการได้มาหรือจ�าหน่ายหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 246 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 298 แห่งพระราชบัญญัติหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) 2. ให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จัดท�าและเปิดเผย รายงานการถือครองหลักทรัพย์และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ต่อ ส�านักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มกี ารแก้ไขเพิ่มเติม) และจัดส่งส�าเนารายงานนี้ให้แก่บริษทั ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 3. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้างของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็น สาระส�าคัญซึง่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องใช้ความระมัดระวังในการซือ้ ขายหลัก ทรัพย์ของบริษัท ในช่วง 1 เดือนก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชนและ ในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมงภายหลังจากที่ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผู้ที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในต้องไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นให้ผู้อื่นทราบจนกว่าจะได้มีการแจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ ตลาดหลักทรัพย์ฯ มาตรการลงโทษหากมีการกระท�าการฝ่าฝืนระเบียบปฏิบตั ดิ งั กล่าวข้างต้น บริษทั ฯ ถือเป็นความผิดทางวินยั ตามข้อบังคับการท�างานของบริษทั ฯ โดยจะพิจารณาลงโทษตามควรแก่ก่ รณี ได้แก่​่ การตักเตือนด้​้วยวาจา การตักเตือนเป็​็นหนังสือ การภาคทัณฑ์​์ ตลอดจนการเลิกจ้างพ้​้นสภาพ การเป็นพนักงานด้​้วยเหตุไล่​่ออก ปลดออก หรือให้​้ออก แล้วแต่​่กรณี เป็นต้​้น

132


4. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้าง ของบริษทั ฯ ใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ ที่มหี รืออาจ มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึง่ ตนได้ล่วงรู้มาในต�าแหน่งหรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซื้อหรือขายหรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย หรือ ชักชวนให้บุคคลอื่นซือ้ หรือขาย หรือเสนอซือ้ หรือเสนอขายซึง่ หุ้นหรือหลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของ บริษัทฯไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่บริษัทฯ ไม่ว่าทั้งทางตรง หรือทางอ้อม และไม่วา่ การกระท�าดังกล่าวจะท�าเพื่อประโยชน์ตอ่ ตนเองหรือผูอ้ ่นื หรือน�าข้อเท็จจริงเช่น นั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระท�าดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

หมวดที่ 3: บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ให้ความส�าคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และมีนโยบายในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียแต่ละ กลุ่มที่ส�าคัญ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษทั ฯ มุง่ มั่นเป็นตัวแทนที่ดขี องผูถ้ อื หุน้ ในการด�าเนินธุรกิจเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ผูถ้ อื หุน้ โดย ค�านึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษทั ในระยะยาวด้วยผลตอบแทนที่ดแี ละต่อเนื่อง รวมทั้งการด�าเนินการเปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใสและเชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน พนักงานเป็นทรัพยากรอันมีค่าสูงสุดและเป็นปัจจัยส�าคัญสู่ความส�าเร็จของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงได้มุ่งพัฒนา เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการท�างานที่ดี รวมทั้งส่งเสริมการท�างานเป็นทีม ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความ สุภาพและให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชน การว่าจ้าง แต่งตั้งและโยกย้ายพนักงาน จะพิจารณาบนพื้นฐานของ คุณธรรม และการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ บริษทั ฯ มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการท�างานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงานอยู่เสมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด บริษัทฯ เคารพในความเป็นส่วนตัวของพนักงาน ไม่น�าข้อมูลส่วนตัว เช่น เงินเดือน ประวัติการรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิดเผยให้กับบุคคลภายนอกหรือผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกที่ เกี่ยวข้องตามบทบังคับของกฎหมาย ลูกค้า บริษทั ฯ มีความมุง่ มั่นในการสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กบั ลูกค้าที่จะได้รบั ผลิตภัณฑ์และบริการที่ดี มีคุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี จึงได้ก�าหนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้ - ผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุ่งมั่นที่จะยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและจริงจัง เปิดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง - กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม่เปิดเผยข้อมูลของลูกค้า โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากลูกค้าหรือ จากผูม้ อี �านาจของกลุ่มบริษทั ฯ ก่อน เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ตอ้ งเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กี่ยวข้องตามบท บังคับของกฎหมาย คู่ค้า และ/หรือเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ การด�าเนินธุรกิจกับคูค่ า้ ใดๆ ต้องไม่นา� มาซึ่งความเสื่อมเสียต่อชื่อเสียงของบริษทั ฯ หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มี การค�านึงถึงความเสมอภาคในการด�าเนินธุรกิจและผลประโยชน์รว่ มกันกับคูค่ า้ การคัดเลือกคูค่ า้ ต้องท�าอย่างยุตธิ รรม ทั้งนี้ บริษัทฯ ถือว่าคู่ค้าเป็นปัจจัยส�าคัญในการร่วมสร้างมูลค่าให้กับลูกค้า บริษทั ฯ ยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขที่มตี อ่ เจ้าหนี้เป็นส�าคัญ ในการช�าระคืนเงินต้น ดอกเบี้ย และ การดูแลหลักประกันต่างๆ

133


คู่แข่งทางการค้า บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม บริษัทฯ ไม่มีนโยบายใน การแข่งขันทางการค้าโดยใช้วิธีการใดๆ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลของคู่แข่งขันอย่าง ผิดกฎหมาย และขัดต่อจริยธรรม สังคมส่วนรวม บริษัทฯ ในฐานะเป็นบริษัทไทย ตระหนักและมีจิตส�านึกในบุญคุณของประเทศและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ซึ่ง ต้องรับผิดชอบช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นที่บริษัทฯ มีการด�าเนินธุรกิจ บริษัทฯ มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ส่งเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรกั ษ์พลังงาน และมีนโยบายที่จะคัดเลือกและส่งเสริม การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ผู้มีส่วนได้เสียสามารถสอบถามรายละเอียด แจ้งข้อร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแสการกระท�าผิดทาง กฎหมาย ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายในที่บกพร่อง หรือการผิดจรรยาบรรณธุรกิจของ บริษัทฯ ผ่านกรรมการอิสระ หรือกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ได้ ทั้งนี้ ข้อมูลร้องเรียนและแจ้งเบาะแสจะได้รับ การคุม้ ครองและเก็บไว้เป็นความลับ โดยกรรมการอิสระหรือกรรมการตรวจสอบจะด�าเนินการสั่งการตรวจสอบข้อมูล และหาแนวทางแก้ไข (ถ้ามี) และจะรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป

หมวดที่ 4: การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ ให้ความส�าคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ตรงเวลา และได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือส�านักงาน ก.ล.ต. ก�าหนด ทั้งรายงานทางการเงินและข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อ มูลอื่นๆ ทีส่ า� คัญที่มผี ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์และมีผลต่อการตัดสินใจของผูล้ งทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ เพื่อให้ผทู้ ่เี กี่ยวข้องกับบริษทั ฯ ทั้งหมดได้รบั ทราบข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน โดยบริษทั จะเผยแพร่ขอ้ มูลผ่านทางตลาด หลักทรัพย์ฯ และผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ [www.mcgroupnet.com] คณะกรรมการตระหนักถึงความรับผิดชอบในการจัดท� ารายงานทางการเงินรวมของบริษัทฯ ตลอดจน สารสนเทศที่เสนอต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจ�าปี ดูแลคุณภาพของรายงานทางการเงินรวมทั้งงบการเงินรวมของ บริษัทฯ ให้มีการจัดท�างบตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการตรวจสอบบัญชีโดยผู้สอบบัญชีที่เชื่อถือได้ และมีความอิสระดูแลให้บริษัทฯ เลือกใช้นโยบายบัญชีอย่างเหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่าเสมอ จัดการดูแลให้ รายงานทางการเงินรวมของบริษัทฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นจริง และมีการเปิดเผยข้อมูลส�าคัญเพียงพอครบ ถ้วนและเชื่อถือได้ นอกจากนี้คณะกรรมการได้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ท�าหน้าที่ในการสอบทานรายงานทางการเงิน ให้มี ความถูกต้อง ครบถ้วนและเชื่อถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใสและทันเวลาตามข้อก�าหนด ของการเป็นบริษทั จดทะเบียน สอบทานระบบควบคุมภายในเพื่อให้มรี ะบบการควบคุมภายในที่มปี ระสิทธิภาพ รวมถึง การพิจารณาปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบของบริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบก็ยังมีการสอบทาน พิจารณารายการเกี่ยวโยงหรือรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ถึงความเหมาะสมและสมเหตุสมผล ก่อนที่ จะน�าเสนอให้กับทางคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติต่อไป ในส่วนของงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์น้นั บริษทั ฯ ได้จดั ตั้งหน่วยงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อจัดการกับสาระ ส�าคัญของข้อมูลของบริษัทฯ ให้แก่ผู้ที่ต้องการ เช่น ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และผู้ลงทุนทั่วไป

หมวดที่ 5: ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการด�าเนินธุรกิจ ท�าหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบในเรื่องส�าคัญที่เกี่ยวกับการบริหารของบริษัทฯ อาทิ นโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมายภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนก�ากับดูแลให้คณะผู้บริหาร บริหารงานให้เป็นไป ตามนโยบายที่ก�าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และ มติท่ปี ระชุมผูถ้ อื หุน้ มติท่ปี ระชุมคณะกรรมการ ด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริตระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบตั ทิ ่ดี ี เพื่อ เพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่กิจการ และความมั่นคงสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น

134


คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�านวน 7 ท่าน และเป็นกรรมการอิสระจ�านวน 3 ท่าน โดย กรรมการอิสระเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน และประกาศตลาดหลัก ทรัพย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ กรรมการบริษัทฯ ไม่ควรด�ารงต�าแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกว่า 5 บริษัท ในกรณีที่กรรมการคนใดคนหนึ่งมีต�าแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกว่า 5 บริษัท คณะกรรมการ จะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการท่านดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทฯ มีวาระการด�ารงต�าแหน่งตามข้อบังคับของบริษัทฯ ที่ก�าหนดไว้ว่าในการประชุมผู้ถือ หุ้นสามัญประจ�าปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�าแหน่งจ�านวนหนึ่งในสาม (1/3) เป็นอัตรา ถ้าจ�านวนกรรมการจะ แบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�านวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม (1/3) 2 คณะกรรมการชุดย่อยและเลขานุการบริษัทฯ บริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดต่างๆ เพิ่มเติมตามที่พิจารณาว่าจ�าเป็น และเหมาะสมซึ่งแต่งตั้งโดยคณะ กรรมการบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลงานเฉพาะเรื่องที่ต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และกลั่นกรอง งานเหล่านั้นแทนอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งก�าหนดให้คณะกรรมการชุดย่อยต้องรายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ ภายในเวลาที่ก�าหนดไว้เป็นประจ�า นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ยังได้มีการแต่งตั้งเลขานุการ บริษัทฯ ตามที่ได้ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2551 ปัจจุบันบริษัทฯ มีคณะ กรรมการชุดย่อยที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ – โครงสร้างของคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�านวน ไม่น้อยกว่า 3 คน และอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ทางด้านบัญชีหรือการเงิน 2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน - โครงสร้างของคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการอิสระ อย่างน้อย 2 คน ทั้งนี้สัดส่วนของกรรมการอิสระต้องไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�านวนกรรมการทั้งคณะ และ มีกรรมการอิสระเป็นประธานคณะกรรมการ 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง - โครงสร้างของคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�านวน ไม่น้อยกว่า 3 คน และมีกรรมการอิสระเป็นประธานคณะกรรมการ 4. เลขานุการบริษัทฯ - ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ท�าหน้าที่รับผิดชอบดูแลงานด้านเลขา นุการบริษัทฯ ตามที่กฎหมายก�าหนดไว้ ประธานกรรมการบริษทั ฯ ไม่เป็นบุคคลเดียวกันกับ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและการ สอบทานการบริหารงาน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ก�าหนดขอบเขต อ�านาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ บริษัทฯ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร อย่างชัดเจน เพื่อเป็นการแบ่งแยกบทบาทอย่างชัดเจน บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งเลขานุการบริษัทฯ ให้มีขอบเขตและความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีหน้าที่กา� กับดูแลกิจการและภารกิจของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามที่ผถู้ อื หุน้ อนุมตั แิ ละตาม กฎหมายที่ใช้บังคับกับบริษัทฯ วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น มติคณะกรรมการ ทั้งนี้ คณะกรรมการ บริษัทฯ จะต้องใช้วิจารณญาณและความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ นโยบายการก�ากับดูแลกิจการ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มนี โยบายการก�ากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยคณะกรรมการจะได้จดั ให้ มีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวเป็นประจ�าทุกปี นอกจากนี ้ ภายหลังจากที่หุ้นสามัญขอ งบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว บริษัทฯ จะถือปฏิบัติตามกฎและข้อ บังคับต่างๆ ตามที่คณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ส�านักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศก�าหนด โดยจะ เปิดเผยรายงานการก�ากับดูแลกิจการไว้ในรายงานประจ�าปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�าปี (แบบ 56-1)

135


จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทฯ มีนโยบายการด�าเนินธุรกิจ โดยยึดมั่นในมาตรฐานจริยธรรมสูงสุด ได้แก่ การรักษาความลับของ บริษทั ฯ การปฏิบตั งิ านด้วยความซื่อสัตย์สจุ ริต ถูกต้องตามกฎหมาย การเคารพสิทธิซ่ึงกันและกัน การดูแลทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ และสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตลอดจนผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนได้ให้ความส�าคัญและมี หน้าที่ต้องถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กา� หนดนโยบายเกี่ยวกับการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่วา่ การ ตัดสินใจใดๆ ในการด�าเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้องท�าเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เท่านั้น และควรหลีกเลี่ยง การกระท�าที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยก�าหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียกับรายการ ที่พิจารณา ต้องแจ้งให้บริษัทฯ ทราบถึงความสัมพันธ์หรือการมีส่วนได้เสียของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่ เข้าร่วมการพิจารณาตัดสินใจ รวมถึงไม่มีอ�านาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ หากมีรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์เกิดขึ้นที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่ไม่เป็นเงื่อนไข การค้าโดยทั่วไป จะต้องน�าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ โดยให้คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบเพื่อน�าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ทัง้ นี ้ บริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ากับตลาดทุน ส�านักงาน ก.ล.ต. และ/ หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มรี ะบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้การปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ เป็นไปตามเป้าหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมถึงได้จัดให้มีกลไกการตรวจสอบ และถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพ อย่างเพียงพอ ในการปกป้อง รักษา และดูแลเงินทุนของผู้ถือหุ้น และสินทรัพย์ของบริษัทฯ ก�าหนดล�าดับชั้นของการ อนุมตั ิ และความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร และพนักงาน ก�าหนดระเบียบการปฏิบตั งิ านอย่างเป็นลายลักษณ์อกั ษรมีฝา่ ย ตรวจสอบภายในท�าหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานให้เป็นไปอย่างถูกต้อง รัดกุม และเป็นไปตามที่ ระเบียบก�าหนดไว้ รวมทั้ง คณะกรรมการตรวจสอบท�าหน้าที่ก�ากับดูแลการด�าเนินงาน และบริหารงานของ บริษัทฯ เพื่อให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ระบบรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือโดยฝ่ายตรวจสอบ ภายในซึ่งจะต้องรายงานผลการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูท้ �าหน้าที่ตรวจสอบ และทบทวนระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบจะท�าหน้าที่สอบทานรายงานทางการเงิน และน�าเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะกรรม การบริษัทฯ ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯ และสารสนเทศทาง การเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�าปี โดยการจัดท�างบการเงินดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปในประเทศไทย และตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต และมีการเลือกใช้นโยบายบัญชีท่เี หมาะสมและถือปฏิบตั ิ อย่างสม�่าเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 4. การประชุมคณะกรรมการ ข้อบังคับของบริษทั ฯ ก�าหนดให้คณะกรรมการต้องมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุม พิเศษเพิ่มเติมตามความจ�าเป็น และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการเพื่อพิจารณาก่อนการประชุม ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�าเป็นรีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ ซึ่งใน การประชุมทุกคราวจะมีการก�าหนดวาระการประชุมที่ชดั เจน มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจัด ส่งให้กบั คณะกรรมการล่วงหน้า เพื่อให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยใน การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย นอกจาก นี้ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ จะมีการเชิญผูบ้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อให้รายละเอียด เพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องโดยตรง

136


บริษทั ฯ มีความมุง่ มั่นให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้รบั ข้อมูลที่เพียงพอ ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลาก่อนการ ประชุมทุกครั้ง ทั้งนี้ กรรมการบริษัทฯ สามารถติดต่อเลขานุการบริษัทฯ ได้โดยตรงอย่างอิสระ เลขานุการบริษัทฯ มีหน้าที่ให้ค�าปรึกษาแก่คณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ 5. การพัฒนากรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ส่งเสริมและอ�านวยความสะดวกให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องในระบบ การก�ากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ เช่น กรรมการบริษทั ฯ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริหาร เป็นต้น เพื่อให้มกี ารปรับปรุง การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ เลขานุการบริษัทฯ จะจัดให้มีเอกสารข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการใหม่ รวมถึงจัดให้มีการแนะน�าลักษณะธุรกิจและแนวทางการด�าเนินธุรกิจให้แก่กรรมการ ใหม่

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผู้บริหารในการน�าข้อมูลภายในบริษัทฯ ซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหาร เกี่ยวกับหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ตาม มาตรา 59 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) รวมทั้งการ รายงานการได้มาหรือจ�าหน่ายหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อส�านักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 246 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 298 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) 2. ให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จัดท�าและเปิดเผย รายงานการถือครองหลักทรัพย์และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ต่อ ส�านักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทก�าหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และจัดส่งส�าเนารายงานนี้ให้แก่บริษัทฯ ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อส�านักงาน ก.ล.ต. 3. กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานและลูกจ้างของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ที่ได้รับทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระ ส�าคัญซึง่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องใช้ความระมัดระวังในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของ บริษทั ในช่วง 1 เดือนก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชนและในช่วงระยะเวลา 24 ชั่วโมงภายหลังจากที่ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผูท้ ่เี กี่ยวข้องกับข้อมูลภายใน ต้องไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นให้ผู้อื่นทราบจนกว่าจะได้มีการแจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ มาตรการ ลงโทษหากมีการกระท�าการฝ่าฝืนระเบียบปฏิบัติดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ถือเป็นความผิดทางวินัยตามข้อ บังคับการท�างานของบริษัทฯ โดยจะพิจารณาลงโทษตามควรแก่กรณี ได้แก่ การตักเตือนด้วยวาจา การ ตักเตือนเป็นหนังสือ การภาคทัณฑ์ ตลอดจนการเลิกจ้างพ้นสภาพการเป็น พนักงานด้วยเหตุไล่ออก ปลดออก หรือให้ออก แล้วแต่กรณี เป็นต้น 4. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทฯ ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่มีหรืออาจมี ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ของบริษัท ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งตนได้ ล่วงรู้มาในต�าแหน่งหรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซือ้ หรือขายหรือเสนอซือ้ หรือเสนอขาย หรือชักชวนให้ บุคคลอื่นซือ้ หรือขาย หรือเสนอซือ้ หรือเสนอขายซึง่ หุ้นหรือหลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของบริษัทฯ ไม่ว่าทั้ง ทางตรงหรือทางอ้อม ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่บริษัทฯ ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ ว่าการกระท�าดังกล่าวจะท�าเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือน�าข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ ผู้อื่นกระท�าดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

137


ระบบการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ง 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม เพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอ และเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน โดย อ้างอิงแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัทฯ สนับสนุนให้มีสภาพแวดล้อมการท�างานที่ดี มีการจัดโครงสร้างการ บริหารที่ดี เหมาะสมตามขนาดและการด�าเนินงานมีการปฏิบัติตามนโยบายการก�ากับดูแลที่ดีโดยจัดให้มี จริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct) ส�าหรับพนักงานและผู้บริหารทุกคนเป็นลายลักษณ์อักษร 2. การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ มีการจัดท�าการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง เพื่อก�าหนดมาตรการป้องกัน และจัดการความเสี่ยง จัดท�ากระบวนการติดตามการบริหารความเสี่ยง เพื่อท�าให้มั่นใจว่าการบริหารความ เสี่ยงมีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผลสูงสุด 3. การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร บริษทั ฯ ได้กา� หนดขอบเขตอ�านาจหน้าที่และวงเงินอ�านาจอนุมตั ิ ของฝ่ายจัดการในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อกั ษร มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบการ อนุมัติ การบันทึกรายการ และการรักษาสินทรัพย์แยกจากกัน 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ ให้ความส�าคัญในความถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเวลาของ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ รวมถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่องทั้งระบบข้อมูลด้านการเงิน การ ปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพื่อให้การตัดสินใจเป็นไปอย่างถูกต้องแม่นย�า 5. ระบบการติดตาม บริษัทฯ มีขั้นตอนการติดตามและการก�ากับดูแลการปฏิบัติงานในแต่ละระดับอย่าง ต่อเนื่อง เหมาะสม โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตั้งบริษทั แกรนท์ ธอนตัน สเปเชียลิสท์ แอ็ดไวซอรี่ เซอร์วสิ เซส จ�ากัด (“แกรนท์ ธอนตัน”) ท�าหน้าที่เป็นผูต้ รวจสอบภายในร่วมกับฝ่ายตรวจสอบภายในของ บริษทั ฯ ได้รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็นรายไตรมาสและคณะกรรมการ ตรวจสอบได้รายงานสรุปต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพื่อพิจารณาสั่งการให้มกี ารแก้ไขภายในเวลาที่เหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนระบบการควบคุมภายใน ซึง่ มุ่งเน้นการตรวจสอบเชิงปฏิบัติการอย่างมี ประสิทธิภาพให้พฒ ั นาอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิผล และรายงานผลการปฏิบตั งิ านให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ จึง มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม ผลการสอบทานเป็นไปตามขั้นตอน ที่ก�าหนดไว้ สอดคล้องกับข้อก�าหนดกฎหมาย และนโยบายการก�ากับดูแลกิจการ ในส่วนของผูส้ อบบัญชี บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ากัด ซึ่งเป็นผูส้ อบบัญชีได้ประเมินประสิทธิผลของ การควบคุมภายในของบริษัทฯ ตามที่เห็นว่าจ�าเป็น ซึ่งพบว่าไม่มีจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในที่มีสาระส�าคัญ แต่ประการใด

138


-บจก.แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง 99.97%

นายวิรัช เสรีภาณุ

บริษัทได้ซื้อทรัพย์สินจาก นางสาวสุณี เสรีภาณุ

-บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) 99.99%

นางสาวสุณี เสรีภาณุ

ความสัมพันธ์: เป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการ

บริษัทได้ซื้อหุ้นลงทุนจากผู้ถือหุ้นเดิมดังนี้

ลักษณะ รายการ

1. นายพิชัย กัญจนาภรณ์

บริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน

6.20

1.00

250.00

มูลค่ารายการ ปี 2555 (ล้านบาท)

เพื่อน�ามาใช้ในกิจการตามราคาตลาด ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและ สมเหตุสมผล

เพื่อท�าการปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ ให้ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) และ บจก. แม็คยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง เข้าเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ

เหตุผล ความจ�าเป็น

บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้มีการตกลงเข้าท�ารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไข การค้าทั่วไปเพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�าหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) 2551 มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการได้อนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ให้ฝ่ายจัดการมีอ�านาจเข้าท�ารายการระหว่างกันที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป โดยฝ่ายจัดการสามารถท�าธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรมเหล่านั้นมีข้อตกลงทางการค้าใน ลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระท�ากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�านาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ส�าหรับงวดบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายตามประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ เปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน โดยสรุปรายละเอียด ดังนี้ รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกัน

139


140

เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่และกรรมการ

นายพิชัย กัญจนาภรณ์, นางสาวสุณี เสรีภาณุ

ความสัมพันธ์:

4. บจก. มิลเลเนี่ยม (1975) (เดิมชื่อ บจก.แม็ค)

ความสัมพันธ์: คุณพิชัย กัญจนาภรณ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

3. บจก. พี.เค.แกรนด์

ความสัมพันธ์: เป็นผู้ถือหุ้นและกรรมการ

2. นายพิชัย กัญจนาภรณ์

บริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน

-เช่าที่ดินและอาคารส�านักงานสี่พระยา อุปกรณ์ส�านักงาน และค่า สาธารณูปโภค (ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกันยายน 2555)

บริษัทย่อย คือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ท�า รายการกับ บจก.มิลเลเนี่ยม (1975) ดังนี้

3.98

46.30

0.35

-ที่ดินเพื่อติดตั้งป้ายโฆษณาที่จังหวัดสิงห์บุรีและจังหวัดราชบุรี

-บริษัทย่อย คือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ ขายที่ดินและอาคารโรงงาน PK2 แก่ บจก.พี.เค.แกรนด์

0.24

มูลค่ารายการ ปี 2555 (ล้านบาท)

(ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม 2555)

-ที่ดินและอาคารโรงงาน PK บางปะกง

บริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต) ได้เช่าทรัพย์สินดังนี้

ลักษณะ รายการ

ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารับทราบรายการดังกล่าว และได้ให้มีการท�าราคาประเมินจาก ผู้ประเมินอิสระเพื่อใช้หลังปรับโครงสร้าง

ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมี ความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล เป็นการเช่าเพื่อเป็นส�านักงานฝ่ายขายและรถยนต์เพื่อใช้งานอันเป็น รายการปกติทางการค้าของบริษัทฯ อัตราค่าเช่าเป็นอัตราที่ตกลงกัน ก่อนท�าการปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ

เป็นการขายทรัพย์สินตามแผนการปรับโครงสร้าง ราคาขายอ้างอิง จากราคาประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ

หลังปรับโครงสร้างอัตราค่าเช่าอ้างอิงจากราคาประเมินโดยผู้ประเมิน อิสระ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล

เป็นการเช่าโรงงานเพื่อใช้ผลิตสินค้าและเช่าที่ดินเพื่อติดตั้งป้าย โฆษณาสินค้าของบริษัทฯ ตามปกติธุรกิจระหว่างเดือนมกราคมถึง เดือนสิงหาคม 2555 ก่อนท�าการปรับโครงสร้างตามราคาที่ตกลงกัน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารับทราบรายการก่อนการ ปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ

เหตุผล ความจ�าเป็น


141

ความสัมพันธ์: คุณพิชัย กัญจนาภรณ์ เป็นผู้ถือ หุ้นใหญ่

5. บจก. พี.เค.แอสเซท พลัส (เดิมชื่อ บจก.แม็ค แอสเซท พลัส)

-ได้จ่ายค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ซึ่งกู้ยืมกันในระหว่างปี (ช�าระคืนแล้ว ในระหว่างปี)

(ต่อ)

บริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้เช่าที่ดินและอาคารโรงงาน PK บางปะกง (ระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม 2555)

บริษัทย่อยชื่อ บจก.แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง ได้เช่าที่ดินและ อาคารโรงงาน PK3 (ระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม 2555)

ภายหลังปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ

บริษัทย่อย คือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ เช่าที่ดินและอาคารโรงงาน PK3 (ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือน สิงหาคม 2555)

บริษัทฯ ได้ซื้ออุปกรณ์ส�านักงานและรถยนต์ จาก บจก.มิลเลเนี่ ยม (1975)

ภายหลังปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ

-เช่ารถยนต์ (ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม 2555)

ลักษณะ รายการ

4. บจก. มิลเลเนี่ยม (1975) (เดิมชื่อ บจก.แม็ค)

บริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน

0.14

2.59

4.33

3.04

1.68

0.42

มูลค่ารายการ ปี 2555 (ล้านบาท)

ภายหลังจากปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ โดยอัตรา ค่าเช่าอ้างอิงจากราคาประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความ เป็นธรรมและสมเหตุสมผล

เป็นการเช่าโรงงานเพื่อใช้ผลิตสินค้าและเช่าที่ดินเพื่อติดตั้งป้าย โฆษณาสินค้าของบริษัทฯ ตามปกติธุรกิจระหว่างเดือนมกราคมถึง เดือนสิงหาคม 2555 ก่อนท�าการปรับโครงสร้างตามราคาที่ตกลงกัน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารับทราบรายการ ดังกล่าวและได้ให้มีการท�าราคาประเมินจากผู้ประเมินอิสระเพื่อใช้หลัง ปรับโครงสร้างแล้ว

เป็นการซื้อทรัพย์สินในราคาตลาดเพื่อใช้งานทดแทนการเช่า

เป็นการกู้ยืมระยะสั้น คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 5 ได้ท�าการจ่าย ช�าระคืนทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยแล้วในระหว่างปี 2555

ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารับทราบรายการดังกล่าว และได้ให้มีการท�าราคาประเมินจาก ผู้ประเมินอิสระเพื่อใช้หลังปรับโครงสร้างแล้ว

เหตุผล ความจ�าเป็น


142

ความสัมพันธ์: คุณปรารถนา มงคลกุลเป็นผู้ถือหุ้น กรรมการ

8. บจก. บูติค คอนซัลติ้ง กรุ๊ป

ความสัมพันธ์: ผู้ถือหุ้นและกรรมการเป็นพี่น้องคุณ พิชัย กัญจนาภรณ์

7. บจก.ซินไฉฮั้วอุตสาหกรรม

ความสัมพันธ์: ผู้ถือหุ้นและกรรมการเป็นพี่น้องคุณ พิชัย กัญจนาภรณ์

6. บจก. ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต

บริษัท ที่เกี่ยวข้องกัน

-บจก. บูติค คอนซัลติ้ง กรุ๊ป ได้ให้บริการที่ปรึกษาแก่ บริษัทฯ และ บริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต)

- บริษัทฯ และบริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ซื้อสินค้าส�าเร็จรูป จาก บจก. ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต -บริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) และ บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง ได้ใช้บริการซักและฟอกจาก บจก. ซินไฉฮั้วอุตสาหกรรม

- บริษัทย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ ซื้อวัตถุดิบ (ผ้า) จาก บจก. ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต

- บริษทั ย่อยคือ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ได้ ขายวัสดุประกอบการผลิต (Accessory) ให้แก่บจก. ยูนคิ การ์เม้นท์อมิ ปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต

ลักษณะ รายการ

6.00

12.92

44.77

2.41

0.16

มูลค่ารายการ ปี 2555 (ล้านบาท)

ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมี ความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและ สมเหตุสมผลเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เพื่อให้การปรับโครงสร้างกลุ่มบริษัทฯและจัดท�าแผนการปรับปรุง พัฒนาระบบงานภายในกลุ่มบริษัทฯในการรองรับการขยายตัวของ ธุรกิจและการขยายตัวสู่ตลาด AEC บริษัทฯ จึงใช้บริการที่ปรึกษา ซึ่งอัตราค่าบริการเป็นไปตามราคาตลาด ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจิ ารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและ สมเหตุสมผลเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ

บจก.ซินไฉฮั้วอุตสาหกรรมเป็นผู้ให้บริการซักและฟอกที่มีคุณภาพ และมีชื่อเสียงมานาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงใช้บริการซักและฟอก ในส่วนที่เกินก�าลังการผลิตของบริษัทฯ และบริษัทย่อย โดยราคาค่า บริการเป็นราคาตลาด

ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการ ที่เกิดขึ้นมีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพื่อประโยชน์สูงสุดขอ งบริษัทฯ

เนื่องจาก บจก. ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต เป็นผู้รับจ้าง ผลิตให้กับ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ในกรณีที่ก�าลังการผลิตไม่เพียงพอ จึงมีการ ซื้อขายวัตถุดิบ วัสดุประกอบการผลิต สินค้าส�าเร็จรูป ราคาที่ใช้ใน การซื้อขายเป็นราคาตลาด

เหตุผล ความจ�าเป็น


ความจ�าเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อยและบริษัทร่วม เป็นรายการที่ด�าเนินการทางธุรกิจตาม ปกติ และได้ผา่ นการพิจารณาอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือคณะกรรมการบริหารของบริษทั ฯ ซึ่งเป็นไปตาม ขั้นตอนการอนุมัติที่เหมาะสมตามระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ ทุกประการ นโยบายและแนวโน้มการท�ารายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ในอนาคตจะเป็นรายการที่ดา� เนินการทางธุรกิจปกติเช่นเดิม ไม่มรี ายการใดเป็น พิเศษ ไม่มกี ารถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่างบริษทั ฯ บริษทั ย่อย กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ส่วนนโยบายการก�าหนด ราคาระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ก็จะก�าหนดราคาตามปกติของธุรกิจเช่นเดียวกับที่ก�าหนด ให้แก่บริษทั ฯ หรือบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ทั้งนี้ราคาสินค้าหรือวัตถุดบิ ที่ซ้อื จากบริษทั ฯ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ก็จะเป็นไปตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญา หรือเป็นราคาที่องิ กับราคาตลาดส�าหรับวัตถุดบิ ชนิดนั้นๆ ทัง้ นี ้ คณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ หรือผู้เชี่ยวชาญอิสระจะท�าการพิจารณาตรวจสอบและให้ความเห็นถึงความ เหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการท�ารายการ พร้อมทั้งเปิดเผยประเภทและมูลค่าของรายการ ดังกล่าว พร้อมทั้งเหตุผลในการท�ารายงานต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นในรายงานประจ�าปี นอกจากนี้คณะกรรมการบริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�าสั่ง หรือข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตามข้อก�าหนด เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ารายการเกี่ยวโยง และการได้มาหรือจ�าหน่ายทรัพย์สินที่ส�าคัญของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อยตามาตรฐานการบัญชีที่ก�าหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ทัง้ นี ้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยว กับความจ�าเป็นและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณีท่คี ณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามช�านาญพิเศษในการ พิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึน้ จะให้ผเู้ ชี่ยวชาญอิสระหรือผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยว กับการท�ารายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�าไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผูถ้ อื หุน้ ตามแต่กรณี ทั้งนี้บริษัทฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี

143


ค�าอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน และผลการด�าเนินการ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2554 และ 2555 งบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ 1/ (หน่วย: ล้านบาท) สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงก�าหนด ช�าระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

144

ปี 2554

ปี 2555

งบการ เงินรวม ปี 2555

126.7 0.4 348.4 47.7 233.0 4.3 760.6

118.8 19.5 495.6 49.0 541.2 5.4 1,229.5

153.0 4.8 637.6 0.0 779.4 55.1 1,629.8

153.0 4.8 637.6 0.0 779.4 55.1 1,629.8

72.3 589.3 4.5 989.7 578.5 2,234.3

128.1 3.1 35.2 13.4 179.7 940.4

153.2 6.9 38.7 22.4 221.2 1,450.7

231.9 4.3 107.4 39.9 383.5 2,013.3

231.9 4.3 107.4 39.9 383.5 2,013.3

80.9 4.1 46.4 270.9 402.3 2,636.7

240.9 192.2 27.6

262.6 358.0 45.3

250.0 288.0 66.4

250.0 288.0 56.4

1,243.3 101.2

1.3 30.3 61.2 553.5

0.6 101.9 96.8 865.0

107.7 153.7 865.8

107.7 153.7 855.8

62.6 83.0 1,490.0

ปี 2553

งบการเงิน เฉพาะกิจการ ปี 2555


งบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ 1/ (หน่วย: ล้านบาท) หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

งบการ เงินรวม ปี 2555

งบการเงิน เฉพาะกิจการ ปี 2555

0.6 27.2 1.3 29.1 582.7

27.5 1.6 29.1 894.2

300.0 38.9 2.8 341.8 1,207.6

300.0 38.9 2.8 341.8 1,197.6

300.0 25.1 325.1 1,815.2

300.0

300.0

300.0

300.0

300.0

10.0 47.7 0.0 357.7 0.0 357.7 940.4

25.0 231.6 556.6 0.0 556.6 1,450.7

25.0 480.7 805.7 0.0 805.7 2,013.3

25.0 490.7

521.5 821.5 821.5 2,636.7

815.7 0.0 815.7 2,013.3

หมายเหตุ: 1/ จัดท�าขึ้นเสมือนว่ากลุ่มบริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

145


งบก�าไรขาดทุน ส�าหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2554 และ 2555 งบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ 1/ (หน่วย: ล้านบาท) รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น รวมรายได้ ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ก�าไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�าไรส�าหรับปี/งวด ผลก�าไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย ขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัยส�าหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบ ของก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�าไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�าหรับปี-สุทธิ จากภาษี ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี/งวด การแบ่งปันก�าไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม ก�าไรส�าหรับปี/งวด ก�าไรต่อหุ้นปรับลด (บาท) 3/

ปี 2553 1,291.6 0.5 13.2 1,305.3 775.7 222.4 144.1 13.0 1,155.2 150.1 45.2 104.9

ปี 2554 1,804.5 0.1 11.9 1,816.5 946.5 268.4 162.6 11.6 1,389.2 427.4 128.5 298.8

0.0

(0.0)

-

-

-

ปี 2555 2,555.6 0.1 8.5 2,564.3 1,126.3 431.9 280.3 18.8 1,857.3 707.0 107.7 599.3

งบการ งบการเงิน เงินรวม 2/ เฉพาะกิจการ 2/ ปี 2555 ปี 2555 1,427.0 900.4 0.1 501.3 10.8 7.5 1,437.9 1,409.2 636.5 564.2 251.8 172.4 160.3 129.5 11.9 5.4 1,060.5 871.5 377.4 537.7 59.1 16.2 318.3 521.5 -

-

(3.9)

-

-

-

0.7

-

-

0.0 104.9

(0.0) 298.8

(3.2) 596.2

318.3

521.5

104.9 0.0 104.9 0.13

298.8 0.0 298.8 0.37

599.3 0.0 599.3 0.75

318.3 0.0 318.3 0.40

521.5 521.5 0.65

หมายเหตุ : 1/ จัดท�าขึ้นเสมือนว่ากลุ่มบริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 2/ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันที่เริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 3/ ค�านวณจากจ�านวนหุ้นทั้งหมด 800,000,000 หุ้น ราคาที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท

146


งบกระแสเงินสด ส�าหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2554 และ 2555 งบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ 1/ ปี 2553 (หน่วย: ล้านบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�าเนินงาน ก�าไรส�าหรับปี/งวด 104.9 ค่าเสื่อมราคา 43.8 ค่าตัดจ�าหน่ายสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 0.8 ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ ที่ไม่มตี วั ตนอื่น รายได้จากการลงทุน (0.5) ต้นทุนทางการเงิน 14.6 ก�าไรจากการจ�าหน่ายเงินลงทุน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 0.1 ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า (กลับรายการ) (10.7) (ก�าไร) ขาดทุนสินค้าเสียหายจาก เหตุการณ์ ไฟไหม้ 1.1 ขาดทุนสินค้าขาด/ เกินจากการตรวจนับสินค้า ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย(กลับรายการ) 11.6 กลับรายการค่าเผื่อการส่งคืนสินค้า 10.7 (ก�าไร)ขาดทุนจากการปรับมูลค่าเงินลงทุน ระยะสั้นที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ก�าไรจากการจ�าหน่ายที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน (1.2) ภาษีเงินได้ 45.2 การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สนิ ด�าเนินงาน ลูกหนี้การค้า (38.1) ลูกหนี้อื่น (2.1) สินค้าคงเหลือ (25.8) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 3.1 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น (5.1) เจ้าหนี้การค้า (32.7) เงินปันผลค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น 27.6 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 28.0 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 6.0 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น (0.0) เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�าเนินงาน 181.4 จ่ายภาษีเงินได้ (33.7) เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไปใน)กิจกรรมด�าเนินงาน 147.7

ปี 2554

ปี 2555

งบการ งบการเงิน เงินรวม 2/ เฉพาะกิจการ 2/ ปี 2555 ปี 2555

298.8 41.4 1.0

599.3 52.5 2.1

318.3 27.8 1.0

521.5 5.5 0.5

(0.1) 11.6 (3.5) 2.9 1.6

4.7 (0.1) 18.8 (2.1) 2.2 -

4.7 (0.1) 11.9 (0.9) 5.2 (20.1)

4.7 (501.3) 5.4 (20.1)

(0.7)

(1.7)

0.4

-

4.9 (1.4) 0.8

34.3 (1.5)

47.0 35.6

42.0 35.6

(0.0)

0.0

-

-

(0.4) 128.5

(1.8) 107.7

(7.2) 59.1

0.0 16.2

(151.6) (1.4) (311.8) (1.1) (9.1) 165.8 17.6 35.5 0.3 0.3 230.0 (60.4) 169.6

(144.3) 49.1 (269.3) (49.7) (17.5) (69.9) 21.2 56.7 7.5 1.2 399.3 (169.8) 229.5

(207.0) (0.0) (39.8) (44.4) (15.3) (105.0) (347.0) 56.0 80.1 3.8 1.0 (134.8) (67.8) (202.7)

(601.2) (4.5) (1,011.7) (45.6) (18.9) 1,243.3 24.2 82.8 1.5 (220.1) (0.0) (220.1)

147


งบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ 1/ (หน่วย: ล้านบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล เงินลงทุนระยะสั้น(เพิ่มขึ้น)ลดลง จ่ายเงินปันผล ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อบริษัทย่อย เงินจ่ายค่าหุ้นในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้น แก่กิจการทีเกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบันการเงิน จ่ายช�าระเงินกู้ยืมระยะสั้น จ่ายช�าระหนี้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด 3/ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิด ้นงว

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

งบการ งบการเงิน เงินรวม 2/ เฉพาะกิจการ 2/ ปี 2555 ปี 2555

0.5 (0.4) (50.0) (46.9) (2.7)

0.1 0.0 (15.5) (100.0) (67.9) (4.8)

0.1 0.0 16.8 (347.0) (132.2) (4.1)

0.1 (3.2) (70.8) (4.0)

1.4 (86.6) (9.4)

44.3 (55.4)

1.7 (186.3)

2.8 (463.6)

46.5 (139.6) (171.1)

0.2 (32.9) (252.0) (379.4)

(14.6)

(11.6)

(18.5)

(13.0)

(5.3)

(21.3)

21.7

(12.6)

-

-

-

-

77.0

(16.0) (2.5) (54.4) 37.9 88.8 126.7

(1.3) 8.8 (8.0) 126.7 118.8

300.0 (0.6) 268.3 34.2 118.8 153.0

300.0 (60.0) (0.2) 300.0 526.7 153.0 153.0

300.0 300.0 671.7 72.3 72.3

หมายเหตุ : 1/ จัดท�าขึ้นเสมือนว่ากลุ่มบริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 2/ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันที่เริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 3/ วันต้นงวดส�าหรับงบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะกิจการ คือวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ซึ่งเป็นวันที่ บมจ. แม็คกรุ๊ป เริ่มกิจการ

148


เดิมกลุ่มบริษัทฯ ด�าเนินธุรกิจเป็นผู้จัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูป และสินค้าที่เกี่ยวข้องทั้งหมด โดยมีการผลิต เสื้อผ้าส�าเร็จรูปภายใต้ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) ซึง่ ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาบริษัทฯ มีการ เติบโตอย่างรวดเร็ว และมีนโยบายมุ่งเน้นการขยายตัวของธุรกิจด้านการค้าปลีก และการเพิ่มความหลากหลายของ ประเภทผลิตภัณฑ์ ผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั ฯ จึงด�าเนินการปรับโครงสร้างกลุม่ ธุรกิจใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทาง การเติบโตและรองรับการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริษัทฯ ที่มุ่งเน้นในการขยายช่องทางการจัดจ�าหน่ายทั้งใน และต่างประเทศ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนและสินค้าคงเหลือ โดยการก่อตั้ง บมจ. แม็คกรุ๊ป เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 เพื่อประกอบธุรกิจเป็นผู้บริหารการจัดจ�าหน่าย จัดหาผลิตภัณฑ์ บริหารการตลาด บริหารคลังสินค้า และเข้าลงทุนในบริษัทอื่น ดังนั้น บมจ. แม็คกรุ๊ป จึงได้จัดท�างบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ เสมือนว่ากลุ่มบริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 เพื่อให้สะท้อนถึงผลประกอบการภายใต้การจัดโครงสร้างการถือหุ้นใหม่ และสามารถ เปรียบเทียบได้กับโครงสร้างธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในปี 2555

การวิเคราะห์ผลการด�าเนินงานตามงบการเงินประหนึ่งท�าใหม่ของ บมจ. แม็คกรุ๊ป ภาพรวมการด�าเนินงานที่ผ่านมา ในระหว่างปี 2553 ถึงปี 2555 กลุ่มบริษัทฯ มีรายได้จากการขายเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นอัตราการ เติบโตเฉลี่ยต่อปี (CAGR) ร้อยละ 40.7 และมีความสามารถในการท�าก�าไรของกลุม่ บริษทั ฯ เพิ่มสูงขึ้น จากอัตราก�าไร ขั้นต้นร้อยละ 39.9 เพิ่มเป็นร้อยละ 47.5 ในปี 2554 และเป็นร้อยละ 55.9 ในปี 2555 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเติบโต ของยอดขายตามการขยายตัวของช่องทางการจัดจ�าหน่ายที่ครอบคลุมทั่วประเทศในปัจจุบัน อีกทั้งความสามารถใน การบริหารและควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่าย ท�าให้กลุ่มบริษัทมีก�าไรสุทธิเพิ่มสูงขึ้นจาก 104.9 ล้านบาทในปี 2553 เป็น 298.8 ล้านบาท ในปี 2554 และ 599.3 ในปี2555 หรือคิดเป็นอัตราก�าไรสุทธิร้อยละ 8.0 ในปี 2553 ร้อยละ 16.5 ใน ปี 2554 และร้อยละ 23.4 ในปี2555 ตามล�าดับ

ผลการด�าเนินงาน รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการขายของ บมจ. แม็คกรุ๊ป เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญ จาก 1,291.6 ล้านบาท ในปี 2553 เป็น 1,804.5 ล้านบาท ในปี 2554 และเพิ่มเป็น 2,555.6 ซึง่ คิดเป็นอัตราการเติบโตสูงขึ้นร้อยละ 39.7 และ ร้อยละ 41.6 ในปี 2554 และปี 2555 ตามล�าดับ เนื่องจากกลุ่มบริษัทฯ มีความสามารถในการบริหารช่องทางการ จัดจ�าหน่าย โดยการขยายช่องทางการขายจาก 405 จุด ในปี 2553 เป็น 446 จุด ในปี 2554 และเพิ่มเป็น 511 จุด ในปี 2555 คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 10.1 ในปี 2554 และร้อยละ 14.6 ในปี 2555 และมีรายได้ในแต่ละช่องทาง การจัดจ�าหน่ายที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้แล้ว กลยุทธ์การขยายประเภทของสินค้าให้ครอบคลุมทุกกลุม่ สินค้าเครื่องแต่งกาย และมุง่ เน้นการ ออกแบบผลิตภัณฑ์กางเกงยีนส์ให้ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริโภคในแต่ละกลุม่ เป้าหมาย เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทา� ให้ รายได้ของบริษัทฯ เติบโตอย่างต่อเนื่อง ก�าไรขั้นต้น อัตราก�าไรขั้นต้นคิดเป็นร้อยละ 39.9 ในปี 2553 ร้อยละ 47.5 ในปี 2554 และร้อยละ 55.9 ในปี 2555 ของ รายได้จากการขาย อัตราก�าไรขั้นต้นที่เพิ่มขึ้นเกิดจากความสามารถในการควบคุมต้นทุน การประหยัดของขนาดใน การผลิต (Economy of Scale) เนื่องจากอัตราการใช้ก�าลังการผลิต (Utilization rate) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก ร้อยละ 72.2 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 83.3 ในปี 2554 และ ร้อยละ 95.7 ในปี 2555 และการปรับปรุงสายงานการผลิต ด้วย Lean System ในปี 2555นอกจากนี้บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงระบบการผลิตท�าให้ลดการสูญเสียเนื้อผ้าใน กระบวนการผลิต และลดต้นทุนได้มากขึ้น

149


ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการขายปี 2553 2554 และ 2555 มีจา� นวนเท่ากับ 222.4 ล้านบาท 268.4 ล้านบาท และ 431.9 ล้านบาท ตามล�าดับ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.2 ร้อยละ 14.9 และร้อยละ 16.9 ของรายได้จากการขาย โดยมีค่าใช้จ่ายในการ ขายหลักคือ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ได้แก่ พนักงานขายหน้าร้าน (PC Sales) ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากจ�านวนร้าน ค้าของตนเอง (Free Standing Shop) ที่เปิดเพิ่มมากขึ้น แต่ลดลงเมื่อคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้จากการขาย เนื่อง มาจากประสิทธิภาพของพนักงานขายที่เพิ่มมากขึ้น ส�าหรับค่าเช่าและค่าบริการประกอบด้วยค่าเช่าและบริการร้านค้า ปลีกของตนเอง (free standing shop) เป็นหลัก โดยค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นเนื่องมาจากการขยายจุดจ�าหน่ายทางช่อง ทางนี้เพิ่มมากขึ้นตามนโยบายการตลาดของบริษัทฯ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหารในปี 2553 2554 และ 2555 มีจ�านวนเท่ากับ 144.1 ล้านบาท 162.6 ล้านบาท และ 280.3 ล้านบาท ตามล�าดับ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.2 ร้อยละ 9.0 และร้อยละ 11.0 ของรายได้จากการขาย ตามล�าดับ โดย มีค่าใช้จ่ายหลักเป็น ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร โดยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรที่เพิ่มขึ้นในปี 2555 เนื่องจากการ ขยายทีมงานเพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายที่ส�าคัญอื่นได้แก่ ค่าโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ ค่าส�ารองสินค้าล้าสมัยและสูญหาย และค่าธรรมเนียมวิชาชีพ โดยค่าธรรมวิชาชีพที่สูงขึ้นในปี 2555 ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปรับโครงสร้างทางธุรกิจของกลุ่มบริษัทที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในปี 2555 ก�าไรสุทธิ บริษัทฯ มีก�าไรสุทธิส�าหรับปี 2553 - 2555 จ�านวนเท่ากับ 104.9 ล้านบาท 298.8 ล้านบาท และ 599.3 ล้าน บาท ตามล�าดับ คิดเป็นอัตราก�าไรสุทธิร้อยละ 8.0 ร้อยละ 16.5 และร้อยละ 23.4 ตามล�าดับ การเติบโตของก�าไรสุทธิ ของบริษัทฯ เป็นผลมาจาก อัตราก�าไรขั้นต้นในปี 2554 และ 2555 ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามล�าดับ และอัตราภาษีที่แท้จริง ที่ลดลงจากร้อยละ 30.1 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 15.2 ในปี 2555 เนื่องจากมีบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งที่ได้รบั การยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลส�าหรับก�าไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI)

ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2554 และ 2555 กลุ่มบริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมเป็นจ�านวน 940.4 ล้านบาท 1,450.7 ล้านบาท และ 2,013.3 ล้านบาท ตามล�าดับ คิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 54.3 และ 38.8 ในปี 2554 และ 2555 ตาม ล�าดับ เป็นผลจากการขยายตัวของกลุม่ ธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับรายได้จากการขายที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ลกู หนี้ การค้า และสินค้าคงเหลือเติบโตขึ้นตามล�าดับ ในขณะที่สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนมีการขยายตัวไม่มากนัก แม้วา่ ยอดขาย ของกลุม่ บริษทั ฯจะเติบโตสูงขึ้นอย่างเป็นนัยส�าคัญ ทั้งนี้เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษทั ฯจัดหาสินค้าเพื่อขายทั้งจาก การว่าจ้างบุคคลภายนอกผลิต และการเพิ่มก�าลังการผลิตของกลุม่ บริษทั ฯโดยการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภายใต้ พื้นที่อาคารโรงงานเดิม ซึ่งสะท้อนจากการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มของเครื่องจักรและ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงานจากมูลค่า 23.5 ล้านบาท ในปี 2553 เป็น 81.8 ล้านบาท ในปี 2555 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าของกลุ่มบริษัทฯ มีมูลค่า 348.4 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เท่ากับ 495.6 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และเท่ากับ 637.6 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยมีระยะเวลาในการเก็บหนี้เฉลี่ย 97.1 วัน 84.5 วัน และ 80.4 วันในปี 2553 ปี 2554 และ 2555 ตามล�าดับ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของบริษัทที่ก�าหนด ระยะเวลาช�าระหนี้ (Credit Term) ตั้งแต่ 30 วัน ถึง 120 วัน ทั้งนี้ สาเหตุหลักที่ท�าให้ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยของ บริษัทฯ ดีขึ้น เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนการจัดจ�าหน่ายสินค้าผ่านช่องทางร้านค้าปลีกของตนเอง (Free standing Shop) จากร้อยละ 17.3 ของรายได้จากการขายรวมในปี 2553 เพิ่มเป็นร้อยละ 28.5 ของรายได้จาก การขายรวมในปี 2555 การขายผ่านร้านค้าปลีกของตนเองเป็นการขายสินค้าโดยตรงต่อผู้บริโภคและได้รับช�าระเงิน เป็นเงินสด ท�าให้ระยะเวลาในการเก็บหนี้เฉลี่ยลดลงตามล�าดับในช่วงเวลา 3 ปีที่ผ่านมา

150


อัตราส่วนทางการเงินที่ส�าคัญ ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงินที่ส�าคัญจากงบการเงินประหนึ่งท�าใหม่ของ บมจ. แม็คกรุ๊ป

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราก�าไรขั้นต้น อัตราก�าไรจากการด�าเนินงาน 1/ อัตราก�าไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 2/ อัตราส่วนความสามารถช�าระดอกเบี้ย อัตราส่วนความสามารถในการช�าระหนี้ (Debt Service Coverage Ratio) 3/

เท่า เท่า ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ เท่า เท่า เท่า เท่า

รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 1.37 1.42 1.88 0.95 0.79 0.92 39.94 47.54 55.93 12.63 24.33 28.40 8.04 16.45 23.37 29.33 65.37 87.99 11.16 25.00 34.60 1.63 1.61 1.50 0.68 0.47 0.68 15.83 26.68 18.98 3.93 37.29 24.44

หมายเหตุ : 1/ ก�าไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้หารด้วยรายได้จากการขาย 2/ หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ประกอบด้วย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน และหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 3/ ค�านวณจาก ก�าไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�าหน่าย หารด้วยการจ่ายช�าระหนี้สิน รวมทั้งต้นทุนทางการเงิน.

153


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ แม็คกรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษัทฯ และงบการเงิน รวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�าปี งบการเงินดังกล่าวจัด ท�าขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทยและหลักการบัญชีท่รี บั รองทั่วไปของประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีท่เี หมาะ สมและถือปฏิบัติอย่างสม�่าเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดท�า รวมทั้งการ เปิดเผยข้อมูลส�าคัญเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้งบการเงินมีความน่าเชื่อถือ และเป็นประโยชน์ ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มแี ละด�ารงรักษาไว้ซ่ึงระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและประสิทธิผล เพื่อให้ เกิดความมั่นใจอย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ ที่จะด�ารงรักษาไว้ซ่งึ ทรัพย์สนิ ตลอดจนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือด�าเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�าคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระ เป็นผู้สอบทาน เกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน และรายงานการสอบทานดังกล่าวต่อคณะกรรม การบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษทั โดยรวมมีประสิทธิผลอยูใ่ นระดับที่นา่ พอใจ และสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ และงบการเงินรวมของ บริษัทย่อย ส�าหรับปีบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(นายพิชัย กัญจนาภรณ์) ประธานกรรมการบริษัท

154

(นางสาวสุณี เสรีภาณุ) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย และ ของเฉพาะบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด ตามล�าดับ ซึง่ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�าคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดsชอบในการจัดท�าและการน�าเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้อง ตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่า จ�าเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�าคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการ ตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึง่ ก�าหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติ ตามข้อก�าหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุ สมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญ หรือไม่ การตรวจสอบรวมถึ ง การใช้ วิ ธ ีก ารตรวจสอบเพื ่อ ให้ ไ ด้ ม าซึง่ หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี เ กี ่ย วกั บ จ� า นวนเงิ น และ การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ข้นึ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผูส้ อบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมิน ความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�าคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�า และการน�าเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทาง บัญชีที่จัดท�าขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�าเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า

155


ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ของบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด ตามล�าดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการด�าเนินงานรวมและผลการด�าเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะกิจการ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดย ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

(นายวิเชียร ธรรมตระกูล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3183 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ากัด กรุงเทพมหานคร 28 กุมภาพันธ์ 2556

156


งบแสดง ฐานะการเงิน บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินปันผลค้างรับ สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน

6 7 5 5 33 8 9

5,10 11 12 13 14

รวมสินทรัพย์

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

152,959,109 4,765,240 637,599,472 30,309 779,363,026 55,123,978 1,629,841,134

72,269,317 589,293,814 4,503,861 32,947,397 499,994,000 989,728,834 45,588,084 2,234,325,307

231,876,008 4,291,420 107,367,305 39,929,303 383,464,036

251,996,400 80,903,916 4,135,411 46,401,025 18,893,741 402,330,493

2,013,305,170

2,636,655,800

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

157


งบแสดง ฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม

15 16 5 17

250,000,000 288,033,826 56,430,888 107,672,712 153,703,073 855,840,499

1,243,281,002 77,000,000 24,214,294 62,570,205 82,951,534 1,490,017,035

299,997,000 38,948,410 2,806,000 341,751,410

299,997,000 25,145,641 325,142,641

1,197,591,909

1,815,159,676

300,000,000 300,000,000

300,000,000 300,000,000

25,000,000 490,698,698 815,698,698 14,563 815,713,261

521,496,124 821,496,124 821,496,124

2,013,305,170

2,636,655,800

18

15 19

รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

20

21

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

158

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)


งบก�าไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

รายได้ รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น รวมรำยได้

5 1,427,043,782 78,086 10,805,408 1,437,927,276

900,368,362 501,344,584 7,492,077 1,409,205,023

636,488,814 251,772,817 160,325,627 11,925,982 1,060,513,240

564,192,169 172,414,107 129,495,579 5,437,281 871,539,136

377,414,036 (59,136,295) 318,277,741 318,277,741

537,665,887 (16,169,763) 521,496,124 521,496,124

กำรแบ่งปันก�ำไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม ก�ำไรส�ำหรับงวด

318,260,778 16,963 318,277,741

521,496,124 521,496,124

กำรแบ่งปันก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับงวด

318,260,778 16,963 318,277,741

521,496,124 521,496,124

10.61

17.38

ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน รวมค่ำใช้จ่ำย ก�ำไรก่อนภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับงวด ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับงวด

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน

23 24

5 8 25 26 29

30

31

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

159


160

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

300,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

25,000,000

-

-

-

300,000,000 25,000,000 -

-

-

299,000,000

1,000,000

ทุนส�ำรอง ตำมกฎหมำย

-

4 33

20

หมายเหตุ

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ช�ำระแล้ว

การจัดโครงสร้างธุรกิจ เงินปันผล ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับงวด ก�าไร รวมก�ำไรขำดทุนแบบเบ็ดเสร็จส�ำหรับงวด

ส�ำหรับระยะเวลำตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 (วันเริ่มกิจกำร) ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 รำยกำรกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่วนของ ผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจำกผู้ถือหุ้นและกำรจัดสรรส่วนทุน ให้ผู้ถือหุ้น เพิ่มหุ้นสามัญ รวมเงินทุนที่ได้รับจำกผู้ถือหุ้นและกำรจัดสรร ส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น

บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

-

-

172,437,920 (172,437,920)

-

-

-

ก�ำไรสะสม ในบริษัทย่อย ก่อนกำรจัด โครงสร้ำงธุรกิจ

490,698,698

318,260,778 318,260,778

172,437,920

-

-

-

ยังไม่ได้จัดสรร (บาท)

งบกำรเงินรวม

815,698,698

318,260,778 318,260,778

197,437,920 -

300,000,000

299,000,000

1,000,000

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท

14,563

16,963 16,963

3,600 (6,000)

-

-

-

ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนำจควบคุม

815,713,261

318,277,741 318,277,741

197,441,520 (6,000)

300,000,000

299,000,000

1,000,000

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ก�ำไรสะสม ทุนเรือนหุ้นที่ออก หมายเหตุ และช�ำระแล้ว ส�ำหรับระยะเวลำตั้งแต่วนั ที่ 23 พฤษภำคม 2555 (วันเริ่มกิจกำร) ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้า ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เพิ่มหุ้นสามัญ รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น

ยังไม่ได้จัดสรร (บาท)

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท

1,000,000

-

1,000,000

299,000,000

-

299,000,000

300,000,000

-

300,000,000

ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับงวด ก�าไร รวมก�ำไรขำดทุนแบบเบ็ดเสร็จส�ำหรับงวด

-

521,496,124 521,496,124

521,496,124 521,496,124

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

300,000,000

521,496,124

821,496,124

20

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

161


งบกระแสเงินสด บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ส�ำหรับระยะเวลำตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 (วันเริ่มกิจกำร) ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2555 หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�าเนินงาน ก�ำไรส�ำหรับงวด รายการปรับปรุง ค่ำเสื่อมรำคำ ค่ำตัดจ�ำหน่ำยสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน รำยได้จำกกำรลงทุน ต้นทุนทำงกำรเงิน ก�ำไรจำกกำรจ�ำหน่ำยเงินลงทุน ค่ำเผื่อกำรรับคืนสินค้ำ ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขำดทุนจำกสินค้ำเสียหำยจำกเหตุกำรณ์ ไฟใหม้ ค่ำเผื่อสินค้ำล้ำสมัย (ก�ำไร) ขำดทุนจำกกำรจ�ำหน่ำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ภำษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สนิ ด�าเนินงาน ลูกหนี้กำรค้ำ ลูกหนี้อื่นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน สินค้ำคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินปันผลค้ำงจ่ำย เจ้ำหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน เงินสดที่ใช้ไปในกิจกรรมด�ำเนินงำน จ่ำยภำษีเงินได้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมด�าเนินงาน

33

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

162

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

318,277,741

521,496,124

27,777,862 969,740 4,701,849 (78,086) 11,925,982 (856,898) 35,562,915 5,231,788

5,526,010 525,168 4,701,849 (501,344,584) 5,437,280 35,562,915 -

383,461 46,965,519

42,039,023

(7,163,160) 59,136,295 502,835,008

913 16,169,763 130,114,461

(206,978,807) (30,309) (59,853,100) (44,442,409) (15,333,350) (104,960,045) (347,000,000) 55,984,538 80,141,930 1,015,000 3,814,031 (134,807,513) (67,847,799) (202,655,312)

(601,233,776) (4,503,861) (1,031,767,856) (45,588,085) (18,893,740) 1,243,281,002 24,214,294 82,770,716 1,522,687 (220,084,158) (584) (220,084,742)


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุนระยะสั้นลดลง เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินจ่ายสุทธิจากการซื้อบริษัทย่อย เงินจ่ายค่าหุ้นในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

4

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายช�าระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายช�าระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 23 พฤษภาคม เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

78,086 (70,843,137) (4,025,938) 46,452,016 (3,171,312) (139,612,811) (171,123,096)

1,350,584 (86,588,031) (9,362,428) 157,191 (32,947,397) (251,996,400) (379,386,481)

(13,027,908) (60,000,000) (232,175)

(5,256,460) -

-

77,000,000

299,997,000 300,000,600 526,737,517

299,997,000 300,000,000 671,740,540

152,959,109

72,269,317

-

-

152,959,109

72,269,317

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

163


หมายเหตุ ประกอบงบการเงิน บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย หมำยเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37

164

สำรบัญ ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�างบการเงิน นโยบายการบัญชีที่ส�าคัญ การจัดโครงสร้างธุรกิจ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส�ารอง รายงานทางการเงินจ�าแนกตามส่วนงาน รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�าไรต่อหุ้น สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556

1

ข้อมูลทั่วไป บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทขึ้น เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 448, 450 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร บริ ษั ท ด� า เนิ น ธุร กิ จ หลั ก เกี ่ย วกั บ การบริ ห ารการจั ด จ� า หน่ า ยเสื ้อ ผ้ า ส� า เร็ จ รู ป และเครื ่อ งแต่ ง กาย โดยมี บริษัทย่อยสนับสนุนการผลิตส่วนใหญ่ รายละเอียดของบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 และ 10 และมีรายละเอียด ดังนี้ ชื่อกิจกำร บริษัทย่อยทางตรง บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็ด กซ์ปอร์ต) จ�ากั บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ ด ่ง จ�ากั บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่กิจกำร จัดตั้ง

บริษัทถือหุ้นร้อยละ

(1) (1) (2)

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

99.99 99.97 99.97

ลักษณะธุรกิจ (1) ผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป (2) ให้บริการบุคลากรในกลุ่มบริษัท

2

เกณฑ์กำรจัดท�ำงบกำรเงิน

(ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดท�าขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ อื่น ๆ ซึง่ มีผลบังคับส�าหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการน�า มาใช้สา� หรับการจัดท�างบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดงั กล่าวได้เปิดเผย ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดท�าขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ค) สกุลเงินที่น�าเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดท�าและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดท�างบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริหารต้องใช้วจิ ารณญาณการประมาณ และข้อสมมติฐานหลายประการ ซึง่ มีผลกระทบต่อการก�าหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�านวนเงิน ที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้

165


ประมาณการและข้ อ สมมติ ฐ านที ่ใ ช้ ใ นการจั ด ท� า งบการเงิ น จะได้ รั บ การทบทวนอย่ า งต่ อ เนื ่อ ง การปรั บ ประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับ ผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่ส�าคัญในการก�าหนดนโยบายการบัญชี มี ผลกระทบส�าคัญต่อการรับรู้จ�านวนเงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 (ต) ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 19 การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงานที่ก�าหนดไว้

3

นโยบำยกำรบัญชีที่ส�ำคัญ

นโยบายการบัญชีที่น�าเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม�่าเสมอส�าหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน (ก) เกณฑ์ ในการจัดท�างบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�านาจ ควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อมในการก�าหนดนโยบายทางการเงินและการด�าเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มา ซึง่ ประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มี การควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจ�าเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท ผลขาดทุนในบริษัทย่อยจะถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุมแม้ว่าการปันส่วนดังกล่าวจะท�าให้ ส่วนได้เสียที่ไม่มีจ�านวนควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสูญเสียอ�านาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอ�านาจควบคุมกลุ่มบริษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�านาจควบคุมและส่วนประกอบอื่นในส่วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยนั้น ก�าไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้น จากการสูญเสียอ�านาจควบคุมในบริษทั ย่อยรับรูใ้ นก�าไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษทั ย่อยเดิมที่ยงั คงเหลือ อยู่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอ�านาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตามวิธี ส่วนได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่ การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผล มาจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดท�างบการเงินรวม (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ก�าไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในก�าไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึง่ เกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึง่ บันทึกตามเกณฑ์ ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

166


(ค) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึง่ จะต้องช�าระคืนเมื่อทวงถามถือเป็นส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ง) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�าระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�าระหนี้ ในอนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจ�าหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (จ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ากว่า ต้นทุนของสินค้าค�านวณโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�า้ หนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยราคาทุนที่ซอื้ ต้นทุนในการ ดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าส�าเร็จรูป ต้นทุนสินค้า รวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยค�านึงถึงระดับก�าลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการด�าเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็น โดยประมาณในการขาย กลุ่มบริษัทตั้งค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลงส�าหรับสินค้าที่เสื่อมคุณภาพ เสียหาย ล้าสมัยและค้างนาน (ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุนหักขาดทุนจาก การ ด้อยค่า การจ�าหน่ายเงินลงทุน ในกรณีที่บริษัทจ�าหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การค�านวณต้นทุนส�าหรับเงินลงทุนที่จ�าหน่ายไปและ เงินลงทุนที่ยังถืออยู่ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้าหนักปรับใช้กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ทั้งหมด (ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรง ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ท่กี จิ การ ก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม ส�าหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิซ์ อฟแวร์ ซึง่ ไม่ สามารถท�างานได้โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟแวร์นั้นถือว่า ลิขสิทธิ์ซอฟแวร์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์แต่ละรายการทีม่ อี ายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันจะบันทึกแต่ละ ส่วนประกอบที่มีนัยส�าคัญแยกต่างหากจากกัน ก�าไรหรือขาดทุนจากการจ�าหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จ�าหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในก�าไรหรือ ขาดทุน

167


ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรูส้ ว่ นหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ท่กี ลุม่ บริษทั จะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถ วัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถกู เปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�าหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบ�ารุงอาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจ�าจะรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�านวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้วยราคาทุนของ สินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�าไรขาดทุน ค�านวณโดยวิธเี ส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดย ประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและโรงงาน 20 และ 5 ปี ส่วนปรับปรุงสิทธิการเช่า 3 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน 5 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�านักงาน 3 และ 5 ปี ยานพาหนะ 5 ปี กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�าหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและติดตั้ง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์และมูลค่าคงเหลือถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุด ทุกสิ้นรอบปีบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ซ) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจ�ากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�าหน่ายสะสมและ ขาดทุนจากการด้อยค่า รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดย รวมเป็นสินทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกิดขึ้นรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�าหน่าย ค่าตัดจ�าหน่ายค�านวณโดยน�าราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�านวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�าหน่ายรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึง่ โดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้รับ ประโยชน์ในอนาคตจากสินทรัพย์นั้นตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน โดยเริ่ม ตัดจ�าหน่ายสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ส�าหรับปีปัจจุบันและปีเปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5 ปี วิธีการตัดจ�าหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือ จะได้รบั การทบทวนทุกสิ้นรอบปีบญ ั ชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฌ) สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงด้วยราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า สิทธิการเช่าถูกตัดจ�าหน่ายและบันทึกในก�าไรหรือ ขาดทุน โดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาของสัญญาเช่า

168


(ญ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริษทั ได้รบั การทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่า มีขอ้ บ่งชี้เรือ่ งการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีท่มี ขี อ้ บ่งชี้จะท�าการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ท่คี าดว่าจะได้รบั คืน ส�าหรับสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนที่มอี ายุการ ให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอนหรือยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รบั คืนทุกปีในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ ก่อให้เกิดเงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�าไรหรือขาดทุน การค�านวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจาก การใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิด ลดก่อนค�านึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยง ที่มีต่อสินทรัพย์ ส�าหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณา มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมี การเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�านวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับ รายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือค่า ตัดจ�าหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฎ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในราคาทุน (ฏ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฐ) ผลประโยชน์ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึง่ กิจการจ่ายสมทบเป็นจ�านวนเงิน ที่แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยกต่างหาก (กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือ ภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรูเ้ ป็น ค่าใช้จ่ายพนักงานในก�าไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�างานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบ เงินภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ถูกค�านวณแยกต่างหากเป็นราย โครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการท�างานของพนักงานในปัจจุบนั และในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินลดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ ได้สุทธิจากต้นทุนบริการ ในอดีตที่ยงั ไม่รบั รูแ้ ละมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันทีร่ ายงานจากพันธบัตร รัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบก�าหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุม่ บริษทั และมีสกุลเงินเดียวกับ สกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่าย การค�านวณนั้นจัดท�าโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาตเป็นประจ�าทุกปี โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วย ที่ประมาณการไว้

169


เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ท่เี กี่ยวข้องกับต้นทุนบริการ ในอดีตของพนักงานรับรูใ้ นก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์น้นั เป็น สิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในก�าไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้ก�าไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน รายการก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรู้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ในก�าไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย เมื่อพนักงานท�างานให้ หนี้สนิ รับรูด้ ว้ ยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�าระส�าหรับการจ่ายโบนัสเป็นเงินสดระยะสั้นหรือผลประโยชน์อ่นื หากกลุม่ บริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ ท�างานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล (ฑ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้น อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้อง ถูกจ่ายไป เพื่อช�าระภาระหนี้สินดังกล่าว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายใน อนาคตโดยใช้อัตราคิดลดในตลาดปัจจุบันก่อนค�านึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�านวนที่อาจประเมินได้ในตลาด ปัจจุบันซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่าน ไปรับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน (ฒ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า และส่วนลดพิเศษ การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�าคัญ ไปให้กับผู้ซอื้ แล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมี ความไม่แน่นอนที่มีนัยส�าคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจ วัดมูลค่าของจ�านวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้อง รับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยเงินปันผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในงบก�าไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบก�าไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ณ) ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมและประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลา ที่ผ่านไป และสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน (นอกเหนือ ลูกหนี้การค้า) ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�าไรหรือ ขาดทุน โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง

170


(ด) สัญญาเช่าด�าเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�าเนินงานบันทึกในก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ามารวมค�านวณจ�านวนเงินขั้นต�่าที่ตอ้ งจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่าเมื่อ ได้รับการยืนยันการปรับค่าเช่า การจ�าแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่า เป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบัติตามข้อตกลงนั้น ขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�าไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�าให้ กลุ่มบริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือมีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุม่ บริษทั แยกค่าตอบแทนส�าหรับสัญญาเช่า และส่วน ที่เป็นองค์ประกอบอื่นโดยใช้มลู ค่ายุตธิ รรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุม่ บริษทั สรุปว่าเป็นสัญญาเช่าการเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจ�านวนดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่อถือ จะรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจ�านวนที่เท่ากับมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจ�านวนหนี้สินจะลดลงตามจ�านวนที่จ่าย และ ต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรู้โดยใช้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนเพิ่มของกลุ่มบริษัท (ต) ภาษีเงินได้ ค่ า ใช้ จ ่ า ยภาษี เ งิ น ได้ ส� า หรั บ ปี ป ระกอบด้ ว ยภาษี เ งิ น ได้ ข องงวดปั จ จุ บั น และภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรบั รูใ้ นก�าไรหรือขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการ ที่เกี่ยวข้องในการรวมธุรกิจ หรือรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรือก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�าระหรือได้รับช�าระ โดยค�านวณจากก�าไรหรือขาดทุน ประจ�าปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการ ปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยค�านวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์และหนี้สินและจ�านวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้เมื่อ เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมในครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินในครั้งแรก ซึง่ เป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อก�าไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และ ผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยหากเป็นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีท่คี าดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการ โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก�าหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทจะต้องค�านึงถึง ผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีท่ไี ม่แน่นอนและอาจท�าให้จา� นวนภาษีท่ตี อ้ งจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตอ้ ง ช�าระ กลุ่มบริษัทเชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพียงพอส�าหรับภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึง่ เกิดจากการ ประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึงการตีความทางภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้ อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะท�าให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยน แปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมี สิทธิตามกฎหมายที่จะน�าสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และภาษีเงินได้นี้ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันส�าหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วย ภาษีตา่ งกัน ส�าหรับหน่วยภาษีตา่ งกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายช�าระหนี้สนิ และสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวด ปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายช�าระหนี้สินในเวลาเดียวกัน

171


สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าก� าไรเพื่อเสียภาษี ในอนาคตจะมีจ�านวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (ถ) ก�าไรต่อหุ้น กลุ่มบริษัท/บริษัทแสดงก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�าหรับหุ้นสามัญ ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�านวณโดยการหาร ก�าไรหรือขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริษัท ด้วยจ�านวนหุ้นสามัญถ่วงน�้าหนักที่ออกจ�าหน่ายระหว่างปี

4

กำรจัดโครงสร้ำงธุรกิจ บริษัทได้เริ่มด�าเนินกิจการเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อด�าเนินการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้า ส�าเร็จรูป เครื่องแต่งกาย และผลิตภัณท์อื่นของกลุ่มบริษัท เมือ่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2555 บริษทั ได้ซอื้ หุ้นในบริษทั พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด (“พี.เค. การ์เม้นท”) จากกลุ่มผู้ถือหุ้นหลัก จ�านวน 249,997 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท โดยได้จ่ายเงิน จ�านวน 249.99 ล้านบาท ณ วันที่ซ้อื หุน้ บริษัทย่อยดังกล่าวมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเป็นเงินจ�านวน 110.4 ล้านบาท ดังนั้นเงินสดจ่ายสุทธิจากการซื้อบริษัทจึงเป็นเงินจ�านวน 139.6 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 บริษัทได้ซอื้ ส่วนได้เสียร้อยละ 99.97 ในบริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด จากกลุ่ม ผู้ถือหุ้นหลักในราคาทุนเป็นเงินจ�านวน 1 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่าวได้เริ่มกิจการในเดือนมิถุนายน 2555 เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555 บริษัทได้จัดตั้งบริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัดโดยมีทุนจดทะเบียน เท่ากับ 1 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่าวได้เริ่มกิจการในเดือนสิงหาคม 2555

5

บุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดท�างบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริษัท หากกลุ่มบริษัทมีอ�านาจควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทั้งทางตรงและทางอ้อมหรือมีอิทธิพลอย่างมีสาระส�าคัญ ต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือในทางกลับกัน หรือกลุ่มบริษัทอยู่ภายใต้ การควบคุมเดียวกันหรืออยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมีสาระส�าคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวข้อง กันนี้ อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ ความสัมพันธ์ที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีดังนี้

172


ชื่อกิจกำร บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด บริษทั แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริด ่ง จ�ากั บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด บริษัท ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ต เอ็กซ์ปอร์ต จ�ากัด บริษัท มิลเลเนี่ยม (1975) จ�ากัด บริษัท ซินไฉฮั้ว อุตสาหกรรม ด จ�ากั บริษัท บูติค คอนซัลติ้งด กรุ๊ป จ�ากั บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด บริษัท พี.เค. แอสเซทด พลัส จ�ากั บริษัท เอสเอส ชาลเล้นจ์ จ�ากัด

ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชำติ ลักษณะควำมสัมพันธ์ ไทย เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 และมี กรรมการร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.97 และมี กรรมการร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.97 และมี กรรมการร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิทกับผู้ถือ หุน้ รายใหญ่ของบริษทั เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีกรรมการร่วมกัน กับบริษัท ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิทกับผู้ถือ หุน้ รายใหญ่ของบริษทั เป็นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู้ อื หุน้ และกรรมการ ร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร่วมกันกับบริษัท ไทย เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร่วมกันกับบริษัท

นโยบายการก�าหนดราคาส�าหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ ดังต่อไปนี้ รำยกำร ขายสินค้า การให้บริการ ซื้อสินค้า/วัตถุดิบ/บริการ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม

นโยบำยกำรก�ำหนดรำคำ ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ต้นทุนถัวเฉลี่ยของเงินกู้ยืม

รายการที่ส�าคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555

173


(วันเริ่มกิจการ) ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สรุปได้ดังนี้ งบกำรเงินรวม ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้ออุปกรณ์

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

170,000 6,200,000

6,200,000

บริษัทย่อย ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ค่าบริการบุคลากร ค่าใช้จ่ายอื่น ดอกเบี้ยจ่าย ขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ ซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และซอฟแวร์

-

1,495,998,390 7,180,800 499,994,000 1,292,194 67,562,561 4,726,028 467,194 155,622 47,378,268

กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้าหรือการให้บริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ และซอฟแวร์ ขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ์

55,746 25,773,448 10,914,237 2,781,000 46,300,000

10,480,148 2,973,533 2,781,000 -

ผู้บริหำรส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหารส�าคัญ เงินเดือนและค่าแรง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ อื่นๆ รวมค่ำตอบแทนผู้บริหำรส�ำคัญ

21,093,600 1,347,262 527,400 12,000 22,980,262

15,470,400 1,028,623 399,600 8,000 16,906,623

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้

174


ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด

-

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

-

26,359,843 3,586,854 2,157,853 32,104,550 32,104,550

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�าหรับงวด

-

-

งบกำรเงินรวม

ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต จ�ากัด หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�าหรับงวด เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด

อัตราดอกเบี้ย

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท) -

4,503,861

30,309 30,309 30,309

4,503,861 4,503,861

-

-

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

(ร้อยละต่อปี) 4.00

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน – สุทธิ

-

32,947,397 32,947,397 32,947,397

175


เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

อัตราดอกเบี้ย

งบกำรเงินรวม

สรุปเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้น

-

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมเงินให้กู้ยืมแก่กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน-สุทธิ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท) 32,947,397 32,947,397 32,947,397

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินรวม

เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

งบกำรเงินรวม

เงินปันผลค้างรับ บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด

กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พี.เค. แอสเซท พลัส จ�ากัด บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด รวม

176

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

-

499,994,000

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท) 251,996,400

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

เงินลงทุนในบริษัทย่อย สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

377,497,000 (344,549,603) 32,947,397

683,143 309,015 992,158

-


เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็ ด กซ์ปอร์ต จ�ากั บริษัท ซินไฉฮั้ว อุตสาหกรรม จ�ากัด รวม เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท) -

1,053,287,447 66,594,086 29,890,995

9,308,444 1,931,853 11,240,297

9,211,849 1,158,984,377

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน กรรมการบริษัท บริษัท บูติค คอนซัลติ้ง กรุ๊ป จ�ากัด รวม เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน อัตรำดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี) เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด 4.00 รวมเงินกู้ยืมจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน

117,000

117,000

-

289,373 500,314

85,500 520,000 722,500

85,500 520,000 1,512,187

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

-

77,000,000 77,000,000

177


รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท)

เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

-

77,000,000 77,000,000

สัญญาส�าคัญที่ท�ากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุ่มบริษัท/บริษัทมีสัญญาส�าคัญที่ท�ากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ดังนี้ สัญญาเช่าที่ดินโรงงานและส�านักงาน เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2555 บริษัทย่อยสองแห่งได้ท�าสัญญาเช่าที่ดินและอาคารกับกิจการที่เกี่ยวข้องสาม แห่งในอัตราค่าเช่ารวม 7.3 ล้านบาทต่อปี โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี และสามารถขยายสัญญาต่อไปอีกใน อัตราที่จะตกลงกันขณะท�าสัญญาฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 บริษัทได้ท�าสัญญาเช่าส�านักงานกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ในอัตรา ค่าเช่ารวม 1.8 ล้านบาทต่อปี โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี และสามารถขยายสัญญาต่อไปอีกในอัตราที่จะ ตกลงกันขณะท�าสัญญาฉบับใหม่ สัญญาบริการ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ท�าสัญญารับบริการระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอ�านวย ความสะดวกกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสองแห่งในอัตรารวม 4.7 ล้านบาทต่อปี โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี และ สามารถขยายสัญญาต่อไปอีกในอัตราที่จะตกลงกันขณะท�าสัญญาฉบับใหม่

6

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ รวม

6,637,367 144,945,498 1,376,244 152,959,109

6,507,367 65,761,950 72,269,317

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดทั้งหมดของกลุม่ บริษทั และบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสกุลเงินบาท

178


7

ลูกหนี้กำรค้ำ หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ หัก ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�าหรับ ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555

5

งบกำรเงินรวม 2555 678,394,175 678,394,175 (35,562,915) (5,231,788) 637,599,472

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 32,104,550 592,752,179 624,856,729 (35,562,915) 589,293,814

2,196,863

-

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้ามีดังนี้ งบกำรเงินรวม 2555 กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบก�าหนดช�าระ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) -

32,104,550 32,104,550 32,104,550

561,604,920

514,003,350

หัก ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

108,880,379 5,342,495 1,648,142 918,239 678,394,175 (35,562,915) (5,231,788) 637,599,472

78,747,834 995 592,752,179 (35,562,915) 557,189,264

รวม

637,599,472

589,293,814

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ กิจกำรอื่นๆ ยังไม่ครบก�าหนดช�าระ เกินก�าหนดช�าระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท/บริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 30 วันถึง 120 วัน ลูกหนี้การค้าทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสกุลเงินบาท

179


8

สินค้ำคงเหลือ งบกำรเงินรวม 2555 สินค้าส�าเร็จรูป งานระหว่างผลิต วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง หัก ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย สุทธิ

659,677,505 59,510,940 107,140,100 826,328,545 (46,965,519) 779,363,026

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 1,031,127,450 640,407 1,031,767,857 (42,039,023) 989,728,834

ต้นทุนของสินค้าคงเหลือที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีต้นทุนขายในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการส�าหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจ�านวน 636 ล้านบาท และ 564 ล้านบาท ตามล�าดับ

9

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น งบกำรเงินรวม 2555 ลูกหนี้กรมสรรพากร ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงก�าหนด เงินทดรองจ่ายเจ้าหนี้ เงินทดรองจ่ายพนักงาน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่น ๆ รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 39,491,045 37,795,684 1,792,901 807,618 1,077,311 898,811 3,910,089 2,371,833 4,654,295 3,592,383 4,198,337 121,755 55,123,978 45,588,084

10 เงินลงทุนในบริษัทย่อย งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท) บริษัทย่อย ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

180

251,996,400 251,996,400


181

บริษัทย่อย บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด ผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด ผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป บริษัท วินด เนอร์แมน จ�ากั ให้บริการบุคคลากร ในกลุ่มบริษัท รวม

ลักษณะธุรกิจ

250,000,000 1,000,000 1,000,000

99.97

ทุนช�ำระแล้ว 31 ธันวำคม 2555

99.99 99.97

สัดส่วน ควำมเป็นเจ้ำของ 31 ธันวำคม 2555 (ร้อยละ)

999,700 251,996,400

249,997,000 999,700

รำคำทุน 31 ธันวำคม 2555

-

-

กำรด้อยค่ำ 31 ธันวำคม 2555 (บาท)

999,700 251,996,400

249,997,000 999,700

รำคำทุน-สุทธิจำก กำรด้อยค่ำ 31 ธันวำคม 2555

เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และเงินปันผลรับจากเงินลงทุนส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้

499,994,000

499,994,000 -

เงินปันผลรับส�ำหรับ ส�ำหรับระยะเวลำตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภำคม ถึง วันที่ 31 ธันวำคม 2555


182

ราคาทุน ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ได้มาจากการจัดโครงสร้างธุรกิจ เพิ่มขึ้น โอน จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ได้มาจากการจัดโครงสร้างธุรกิจ ค่าเสื่อมราคาส�าหรับงวด จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

11 ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์

240,690,567 1,330,000 13,532,193 (34,570,646) 220,982,114 186,675,010 7,457,600 (15,044,255) 179,088,355 41,893,759

-

17,032,422

อำคำรโรงงำน และส่วนปรับปรุง

36,197,977 (19,165,555) 17,032,422

ที่ดินและส่วน ปรับปรุงที่ดิน

81,762,460

169,719,295 10,508,113 180,227,408

241,723,698 10,594,012 9,672,158 261,989,868

เครื่องจักรและ อุปกรณ์ โรงงำน

45,997,066

51,215,892 7,511,521 (203) 58,727,210

87,054,184 11,985,612 5,687,165 (2,685) 104,724,276

เครื่องตกแต่งติดตั้ง และเครื่องใช้ส�ำนักงำน (บาท)

งบกำรเงินรวม

38,040,576

24,394,767 2,300,628 (5,378) 26,690,017

39,314,095 13,002,739 12,413,759 64,730,593

ยำนพำหนะ

7,149,725

-

15,124,033 33,874,697 (41,305,275) (543,730) 7,149,725

สินทรัพย์ระหว่ำง กำรก่อสร้ำง และติดตั้ง

231,876,008

432,004,964 27,777,862 (15,049,836) 444,732,990

660,104,554 70,787,060 (54,282,616) 676,608,998

รวม


183

ราคาทุน ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 เพิ่มขึ้น จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ค่าเสื่อมราคาส�าหรับงวด จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 1,505,350 1,505,350 89,597 89,597 1,415,753

1,495,355 1,495,355

14,091,953

อำคำรโรงงำน และส่วนปรับปรุง

15,587,308 15,587,308

อำคำรและ ส่วนปรับปรุงอำคำร

25,750,454

2,205,620 (203) 2,205,417

27,958,557 (2,686) 27,955,871

38,197,145

1,735,438 (5,378) 1,730,060

40,088,205 (161,000) 39,927,205

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เครื่องตกแต่งติดตั้ง และเครื่องใช้ส�ำนักงำน ยำนพำหนะ (บาท)

1,448,611

-

1,448,611 1,448,611

สินทรัพย์ระหว่ำง กำรก่อสร้ำงและติดตั้ง

80,903,916

5,526,010 (5,581) 5,520,429

86,588,031 (163,686) 86,424,345

รวม


12 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน งบกำรเงินรวม โปรแกรม คอมพิวเตอร์

สิทธิกำรเช่ำ (บาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ได้มาจากการจัดโครงสร้างธุรกิจ เพิ่มขึ้น การด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

9,984,555 4,025,938 (4,701,849) 9,308,644

688,187 688,187

10,672,742 4,025,938 (4,701,849) 9,996,831

ค่าตัดจ�าหน่ายสะสม ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ได้มาจากการจัดโครงสร้างธุรกิจ ค่าตัดจ�าหน่ายส�าหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

(4,445,859) (931,221) (5,337,080)

(289,812) (38,519) (328,331)

(4,735,671) (969,740) (5,705,411)

3,931,564

359,856

4,291,420

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โปรแกรม คอมพิวเตอร์

สิทธิกำรเช่ำ (บาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 เพิ่มขึ้น การด้อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

8,977,032 (4,701,849) 4,275,183

385,396 385,396

9,362,428 (4,701,849) 4,660,579

ค่าตัดจ�าหน่ายสะสม ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ค่าตัดจ�าหน่ายส�าหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

(499,628) (499,628)

(25,540) (25,540)

(525,168) (525,168)

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

3,775,555

359,856

4,135,411

184


13 ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบกำรเงินรวม สินทรัพย์ 2555

หนี้สิน 2555 (บาท)

รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสุทธิ

107,367,305 107,367,305

-

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สินทรัพย์ หนี้สิน 2555 2555 (บาท) รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย์ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสุทธิ

46,401,025

-

-

-

46,401,025

-

185


186

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ การขายสินค้าฝากขาย ผลประโยชน์พนักงาน รวม

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ การขายสินค้าฝากขาย ผลประโยชน์พนักงาน อื่น ๆ รวม

10,318,980 1,380,892 43,864,927 8,080,907 (10,771,604) 52,874,102

ได้มำจำกกำรจัด โครงสร้ำงธุรกิจ

-

ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555

-

ณ วันที่ 23 พฤษภำคม 2555

ก�ำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (บาท) -

-

ส่วนของผู้ถือหุ้น

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร บันทึกเป็น(รำยได้)รำยจ่ำยใน ได้มำจำกกำรจัด โครงสร้ำงธุรกิจ ก�ำไรหรือขำดทุน ส่วนของผู้ถือหุ้น (บาท) 940,370 7,112,583 4,391,463 28,927,481 5,029,128 46,401,025

1,402,923 940,370 (2,160,040) 54,229,300 (14,148,246) (291,225) 14,520,121 54,493,203

ก�ำไรหรือขำดทุน

งบกำรเงินรวม บันทึกเป็น(รำยได้)รำยจ่ำยใน

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรวมที่เกิดขึ้นในระหว่างปีมีดังนี้

940,370 7,112,583 4,391,463 28,927,481 5,029,128 46,401,025

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

1,402,923 940,370 8,158,940 55,610,192 29,716,681 7,789,682 3,748,517 107,367,305

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555


14 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

เงินมัดจ�าค่าเช่า

32,146,924

12,904,423

ค่าสิทธิจองพื้นที่จ่ายล่วงหน้า

4,280,864

4,280,864

อื่น ๆ

3,501,515

1,708,454

รวม

39,929,303

18,893,741

15 หนี้สินที่มีภำระดอกเบี้ย งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยระยะสั้น

250,000,000 250,000,000

-

ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยไม่หมุนเวียน

299,997,000 299,997,000

299,997,000 299,997,000

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่งของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง จ�านวนทั้งสิ้น 250 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ลบด้วยอัตราร้อยละคงที่ต่อ ปี มีก�าหนดช�าระในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 จ�านวน 175 ล้านบาท และวันที่ 26 มีนาคม 2556 จ�านวน 75 ล้านบาทโดยมีการจดทะเบียนจ�านองที่ดินพร้อมโรงงานเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงิน เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2555 บริษทั ได้ทา� สัญญาเงินกูย้ มื ระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่งในวงเงิน 300 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ลบด้วยอัตรา ร้อยละคงที่ตามที่ระบุในสัญญา เงินกู้ยืมดังกล่าวมีก�าหนดการช�าระคืนภายในหนึ่งเดือนนับจากวันที่บริษัทได้ ท�าการเสนอขายหุ้นต่อสาธารณะ ในกรณีที่การขายหุ้นล่าช้ากว่า 12 เดือน บริษัทตกลงจะช�าระเงินคืนเป็นงวด รวม 9 งวดโดยช�าระ 1 เดือนต่องวด ทั้งนี้บริษทั จะเริ่มช�าระงวดแรกในวันท�าการสุดท้ายของเดือนมกราคม 2557 และเสร็จสิ้นภายในเดือนกันยายน 2557 โดย บริษัทจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อจ�ากัดต่างๆ ที่ก�าหนดไว้ใน สัญญากู้ยืมเงิน เช่น การรักษาอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และการให้ บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กปอร์ต) จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทเป็นผู้ค�้าประกัน บริษัทได้ขอรับเงินกู้แล้วเป็นจ�านวน เงินทั้งสิ้น 299.99 ล้านบาท หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสกุลเงินบาท

187


16 เจ้ำหนี้กำรค้ำ หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ รวม

5

11,240,297 276,793,529 288,033,826

1,158,984,377 84,296,625 1,243,281,002

17 เจ้ำหนี้อื่น หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ รวม

5

722,500 55,708,388 56,430,888

1,512,187 22,702,107 24,214,294

18 หนี้สินหมุนเวียนอื่น หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

โบนัสค้างจ่าย ค่าเช่าร้านค้าค้างจ่าย ค่าคอมมิชชั่นค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายส่วนลดจัดรายการค้างจ่าย อื่น ๆ รวม

188

5

59,692,893 12,045,280 13,344,050 37,885,671 30,735,179 153,703,073

9,377,526 11,809,909 13,317,506 35,241,278 13,205,315 82,951,534


19 ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

งบแสดงฐำนะกำรเงิน ภำระผูกพันในงบแสดงฐำนะกำรเงินส�ำหรับ ผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม งบก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (รับรู้ในก�ำไรหรือขำดทุน) ผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน

38,948,410

25,145,641

3,841,031

1,522,687

กลุ่มบริษัทจัดการโครงการบ�าเหน็จบ�านาญพนักงานตามข้อก�าหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบกำรเงินรวม 2555 ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ได้มาจากการรวมกิจการ รับโอนพนักงานจากบริษัทย่อย ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย ภำระผูกพันของโครงกำรผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) -

-

35,134,379 3,814,031

23,622,954 1,522,687

38,948,410

25,145,641

ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในก�าไรหรือขาดทุน งบกำรเงินรวม 2555 ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ต้นทุนบริการปัจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม

3,241,741 572,290 3,814,031

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 1,272,510 250,177 1,522,687

189


ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน�้าหนัก): งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 3.6414 3.6414 5.00 5.00

อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต

ข้อสมมุติฐานเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ทั่วไปและตารางมรณะ

20 ทุนเรือนหุ้น มูลค่ำหุ้น ต่อหุ้น (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 วันที่ 30 กรกฎาคม 2555 - เปลี่ยนมูลค่าหุ้นจาก 100 บาท เป็น 10 บาท - เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 หุ้นสำมัญ ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 วันที่ 30 กรกฎาคม 2555 - เปลี่ยนมูลค่าหุ้นจาก 100 บาท เป็น 10 บาท - เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 หุ้นสำมัญ

จ�ำนวนหุ้น จ�ำนวนเงิน (หุ้น /บาท)

100

10,000

1,000,000

10 10

100,000 29,900,000

1,000,000 299,000,000

30,000,000

300,000,000

100

10,000

1,000,000

10 10

100,000 29,900,000

1,000,000 299,000,000

30,000,000

300,000,000

ผู้ถือหุ้นสามัญจะได้รับสิทธิในการรับเงินปันผลจากการประกาศจ่ายเงินปันผลและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน หนึ่งเสียงต่อหนึ่งหุ้นในที่ประชุมของบริษัท ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการออกและจ�าหน่ายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแสดงหักจากส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

190


21 ส�ำรอง ส�ารองประกอบด้วย การจัดสรรก�าไร และ/หรือ ก�าไรสะสม ส�ารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัตแิ ห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษทั จะต้องจัดสรรทุนส�ารอง (“ส�ารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�าไรสุทธิ ทุกครั้งที่มีการจ่ายเงินปันผล จนกว่าส�ารองดังกล่าวมีจ�านวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินส�ารองนี้จะน�าไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้

22 รำยงำนทำงกำรเงินจ�ำแนกตำมส่วนงำน ส่วนงานธุรกิจ บริษทั ด�าเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการบริหารการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปและเครื่องแต่งกาย โดยมีบริษทั ย่อย สนับสนุนการผลิตส่วนใหญ่ ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทมีส่วนงานธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทด�าเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านั้น ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทมีส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์เพียงส่วนงานเดียว

23 รำยได้จำกกำรลงทุน หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

เงินปันผลรับ บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย กิจการอื่น รวม

5

-

499,994,000

5

78,086 78,086

1,292,194 58,390 501,344,584

ในปี 2555 บริษัทย่อยได้ประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจ�านวน 500 ล้านบาทซึ่งได้รวมก�าไรสะสมก่อนวัน จัดโครงสร้างธุรกิจจ�านวน 172.4 ล้านบาท

191


24 รำยได้อื่น งบกำรเงินรวม 2555 ก�าไรจากการจ�าหน่ายทรัพย์สิน รายได้ค่าเช่า ก�าไรจากการจ�าหน่ายเงินลงทุน รายได้ค่าบริการ อื่น ๆ รวม

7,163,160 1,549,000 856,898 1,236,350 10,805,408

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 660,800 6,520,000 311,277 7,492,077

25 ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย งบกำรเงินรวม 2555 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ค่าเช่าและบริการ อื่น ๆ รวม

126,534,311 16,174,936 68,288,182 40,775,388 251,772,817

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 84,159,985 13,186,798 48,573,846 26,493,478 172,414,107

26 ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร งบกำรเงินรวม 2555 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ส�ารองสินค้าล้าสมัยและสินค้าสูญหาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ อื่น ๆ รวม

192

77,280,685 11,261,889 19,102,330 52,680,723 160,325,627

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 50,768,459 32,519,442 11,253,966 34,953,712 129,495,579


27 ค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์ของพนักงำน งบกำรเงินรวม 2555 ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ อื่นๆ

พนักงานอื่นๆ เงินเดือนและค่าแรง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ อื่น ๆ

รวมค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์ตอบแทนพนักงำน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

21,093,600 1,347,262 527,400 12,000 22,980,262

15,470,400 1,028,623 399,600 8,000 16,906,623

238,542,572 2,466,769 1,079,618 78,182,082 320,271,041

32,201,002 494,065 539,166 17,072,856 50,307,089

343,251,303

67,213,712

โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ กลุม่ บริษทั ได้จดั ตั้งกองทุนส�ารองเลีย้ งชีพส�าหรับพนักงานของกลุม่ บริษทั บนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุม่ บริษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพนี้ได้ จดทะเบียนเป็น กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพตามข้อก�าหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับ อนุญาต

193


28 ค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะ งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์คา่ ใช้จา่ ยตามหน้าที่ ค่าใช้จา่ ยตามลักษณะได้เปิดเผยตามข้อก�าหนดในมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับต่างๆ ดังนี้ งบกำรเงินรวม 2555 การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�าเร็จรูป และงานระหว่างท�า วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ค่าบริการบุคคลากร ค่าจ้างบริการภายนอก ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ส�ารองสินค้าล้าสมัยและสินค้าสูญหาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ค่าเช่าและบริการ ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�าหน่าย การด้อยค่า รายจ่ายอื่น รวมต้นทุน ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและ ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

47,782,724 366,093,626 343,251,303 34,691,695 28,133,782 14,179,085 23,017,504 73,053,630 28,747,602 4,701,848 84,934,459

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท) 564,192,169 67,213,712 67,562,561 18,129,808 40,083,340 13,704,383 52,119,568 6,051,178 4,701,848 32,343,288

1,048,587,258

866,101,855

29 ต้นทุนทำงกำรเงิน หมายเหตุ

งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นๆ รวม

5

11,925,982 11,925,982

467,194 4,970,087 5,437,281

30 ภำษีเงินได้ จ�านวนภาษีเงินได้ในงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมน้อยกว่าจ�านวนภาษีเงินได้ที่ค�านวณโดยการใช้อัตราภาษีเงิน ได้คูณกับยอดก�าไรสุทธิตามบัญชีตามบัญชีส�าหรับปี เนื่องจาก (1) กลุ่มบริษัทมีก�าไรสุทธิในจ�านวนที่เป็นสาระส�าคัญ ซึง่ เกิดจากธุรกรรมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน โดย ก�าไรสุทธิจากธุรกรรมดังกล่าวไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ (2) ความแตกต่างระหว่างการรับรู้รายได้ทั้งทางบัญชีและทางภาษี (3) รายได้ทางภาษีของบริษัทได้รวมรายได้จากสินค้าที่ฝากขายเป็นส่วนหนึ่งของรายได้ของบริษัท

194


จ�านวนภาษีเงินได้ในงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการน้อยกว่าจ�านวนภาษีเงินได้ท่คี �านวณโดยการใช้อตั รา ภาษีเงินได้คูณกับยอดก�าไรสุทธิตามบัญชีสา� หรับปี เนื่องจากความแตกต่างระหว่างการรับรูร้ ายได้ท้งั ทางบัญชี และทางภาษีบางรายการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องเกี่ยวกับรายได้เงินปันผล อย่างไรก็ตามรายได้ทางภาษี ของบริษัทได้รวมรายได้จากสินค้าที่ฝากขายเป็นส่วนหนึ่งของรายได้ของบริษัท

31 ก�ำไรต่อหุ้น ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�าหรับงวดตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค�านวณ จากก�าไรส� าหรับงวดที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัท และจ� านวนหุ้นสามัญที่ออกจ� าหน่ายแล้ว ระหว่างงวด โดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้าหนักโดยแสดงการค�านวณดังนี้ งบกำรเงินรวม ส�าหรับงวดตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ก�าไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัท จ�านวนหุ้นสามัญที่ออกและจ�าหน่ายแล้ว ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บำท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (บาท/หุ้น)

318,260,778 30,000,000 10.61

521,496,124 30,000,000 17.38

32 สิทธิประโยชน์ตำมพระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรลงทุน

1.

2.

บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับสิทธิประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนส�าหรับกิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม จ�านวน 2 ฉบับ คือ ส�าหรับผลิตเครื่องนุ่งห่ม ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 2135(5)/2554 ลงวันที่ 16 กันยายน 2554 ภายใต้ เงื่อนไขที่กา� หนดบางประการ โดยสิทธิประโยชน์ท่มี สี าระส�าคัญได้แก่ การรับยกเว้นอากรขาเข้าส�าหรับเครื่องจักร เพื่อใช้ในการผลิต โดยต้องเป็นเครื่องจักรที่น�าเข้าภายในระยะเวลาที่ก�าหนดตามบัตรส่งเสริมการลงทุน และการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�าหรับก�าไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมก�าหนด เวลา 8 ปี นับตั้งแต่วันที่มีรายได้จากการประกอบกิจการประเภทที่ได้รับการส่งเสริม บริษัทย่อยดังกล่าว เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รบั การส่งเสริมตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2554 ส�าหรับผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1673(5)/2555 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ภายใต้เงื่อนไขที่ก�าหนดบางประการ โดยสิทธิประโยชน์ที่มีสาระส�าคัญได้แก่ การรับยกเว้นอากรขาเข้าส�าหรับ เครื่องจักรเพื่อใช้ในการผลิต โดยต้องเป็นเครื่องจักรที่น� าเข้าภายในระยะเวลาที่ก�าหนดตามบัตรส่งเสริม การลงทุน และการยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลส�าหรับก�าไรสุทธิท่ไี ด้จากการประกอบกิจการที่ได้รบั การส่งเสริม ก�าหนดเวลา 8 ปี นับตั้งแต่วนั ที่มรี ายได้จากการประกอบกิจการประเภทที่ได้รบั การส่งเสริม บริษทั ย่อยดังกล่าว เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554

195


ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายได้จากการขายจ�าแนกตาม กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนได้ดังนี้ งบกำรเงินรวม ส�ำหรับระยะเวลำ ตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภำคม 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวำคม 2555 (บาท) รายได้จากการขายสินค้า กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน รวม หัก ตัดรายการระหว่างกัน รวม

675,522,981 2,323,867,009 2,999,389,990 (1,572,346,208) 1,427,043,782

33 เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2555 ที่ประชุมมีมติอนุมตั กิ ารจัดสรร เงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1,388 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 347 ล้านบาท โดยบริษัทย่อย ดังกล่าวจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนกรกฏาคม 2555 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2555 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการ จัดสรรเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผถู้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 2,000 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 500 ล้านบาท โดยบริษทั ย่อยดังกล่าวจะจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นในปี 2556 เงินปันผลดังกล่าวได้รวมเงินปันผลที่จ่ายจาก ก�าไรสะสมก่อนวันจัดโครงสร้างธุรกิจจ�านวน 172.4 ล้านบาท

34 เครื่องมือทำงกำรเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุม่ บริษทั มีความเสี่ยงจากการด�าเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศและจากการไม่ปฏิบัติตามข้อก�าหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือ ออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็งก�าไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่ส�าคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความ สมดุลของระดับความเสี่ยงให้เป็นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของ การจัดการ ความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความ เชื่อมั่นของตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการก�ากับดูแลผลตอบแทน จากการลงทุน ซึ่งกลุม่ บริษทั พิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมด�าเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ รวม ซึ่งไม่รวม ส่วนได้เสียที่ไม่มอี า� นาจควบคุม อีกทั้งยังก�ากับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ สามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตรา ดอกเบี้ย ในตลาด ซึง่ ส่งผลกระทบต่อการด�าเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ผู้บริหารเชื่อว่ากลุ่ม บริษัทมีความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ยน้อย เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ได้รับเป็นอัตราตลาด

196


อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�าหนดช�าระหรือ ก�าหนดอัตราใหม่มีดังนี้

อัตรำดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) ปี 2555 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม

รวม

4.0

250,000,000

-

250,000,000

5.5

250,000,000

299,997,000 299,997,000

299,997,000 549,997,000

อัตรำดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี) ปี 2555 ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม

งบกำรเงินรวม หลังจำก 1 ปี ภำยใน 1 ปี แต่ภำยใน 5 ปี (บาท)

5.5

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หลังจำก 1 ปี ภำยใน 1 ปี แต่ภำยใน 5 ปี (บาท)

-

299,997,000 299,997,000

รวม

299,997,000 299,997,000

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�าระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตาม เงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบก�าหนด ฝ่ายบริหารได้ก�าหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวอย่างสม�่าเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามี ความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�าคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจ�านวนมาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระส�าคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการ เทียบเท่า เงินสดให้เพียงพอต่อการด�าเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อท�าให้ผลกระทบจากความผันผวนของ กระแสเงินสดลดลง การก�าหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุม่ บริษทั ก�าหนดให้มกี ารก�าหนดมูลค่ายุตธิ รรมทั้งสินทรัพย์และหนี้สนิ ทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จ�านวนเงินที่ผซู้ ้ือและผูข้ ายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ หรือช�าระหนี้สนิ กัน ในขณะที่ท้งั สองฝ่ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคา กันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรือการ

197


เปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรมถูกก�าหนดโดยวิธีตอ่ ไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการก�าหนดมูลค่ายุตธิ รรม ถูกเปิดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวมีจ�านวนใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม ส่วนราคาตาม บัญชีของรายการที่มีอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ มีจ�านวนไม่สาระส�าคัญ

35 ภำระผูกพันกับกิจกำรที่ไม่เกี่ยวข้องกัน งบกำรเงินรวม 2555

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2555 (บาท)

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�าเนินงานที่ ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี รวม ภาระผูกพันอื่นๆ หนังสือค�้าประกันจากธนาคาร รวม

125,866,261 191,898,950 317,765,211

125,866,261 191,898,950 317,765,211

11,511,500 11,511,500

-

36 เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำที่รำยงำน เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท MC INTER LIMITED ซึ่งจดทะเบียนในประเทศฮ่องกง โดยเข้าถือหุ้นร้อยละ 100 ซึง่ บริษัทดังกล่าวได้จดทะเบียนหุ้นจ�านวน 10,000 หุ้น หุ้นละ 1 เหรียญฮ่องกง และมีการเรียกช�าระค่าหุ้นแล้ว 1 หุ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรองรับการขยายธุรกิจในต่างประเทศ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ว้าว มี จ�ากัด โดยเข้าถือหุ้นร้อยละ 79.97 ซึง่ บริษัท ดังกล่าวได้จดทะเบียนหุ้นจ�านวน 10,000 หุ้น หุ้นละ 100 บาท โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประกอบกิจการค้า ทางอินเตอร์เนตส�าหรับอุปโภค บริโภค เช่น เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เป็นต้น บริษทั ได้ชา� ระค่าหุน้ จ�านวน 799,700 บาทแล้ว

37 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ยังไม่ได้ใช้ กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทดังต่อ ไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ก�าหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินส�าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8

198

เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ส่วนงานด�าเนินงาน

ปีที่มีผลบังคับใช้ 2556 2556


ผู ้ บ ริ ห ารคาดว่ า จะน� า มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม่ ต ามประกาศสภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ม าใช้ แ ละถื อ ปฏิบัติ โดยผู้บริหารพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการ รายงานทางการเงิ น ที ่อ อกและปรั บ ปรุ ง ใหม่ ดัง กล่ า วต่ อ งบการเงิ น รวมหรื อ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ซึ่งมีผลกระทบที่มีสาระส�าคัญต่อ งบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆ ที่ใช้ในการ รายงาน ซึ่งเป็นสกุลเงินที่พิจารณาว่าเป็นสกุลเงินในสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั้นประกอบกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ก�าหนดให้กิจการ ระบุสกุลเงินที่ใช้รายงานและแปลงค่ารายการที่เป็นสกุล ต่างประเทศให้เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�าเนินงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่าดังกล่าวตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 21 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ได้ให้ค�านิยามส�าหรับ เงินตราต่างประเทศ กล่าวคือ เงินตรา สกุลอื่น นอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ในการด�าเนินงานของกิจการ ผู้บริหารก�าหนดสกุลเงินที่ใช้รายงานของบริษัทเป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ส�าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้รับผลกระทบที่มีสาระส�าคัญ ต่อสินทรัพย์ หนี้สิน และ ก�าไรสะสมของบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานด�าเนินงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 น�าเสนอหลักการที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีหลักการเปิดเผย ส่วนงานด�าเนินงานจากข้อมูลภายในที่น�าเสนอให้ผู้มีอ�านาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�าเนินงาน การเปลี่ยน นโยบายการบัญชีดังกล่าวกระทบเพียงการเปิดเผยข้อมูลเท่านั้นไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัท

199


รายงานให้ความเชื่อมั่นของข้อมูลทางการเงิน ประหนึ่งท�าใหม่ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอคณะกรรมการ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านเพื่อรายงานงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมประหนึ่งท�าใหม่ และงบกระแสเงินสดรวม ประหนึ่งท�าใหม่สา� หรับปีส้นิ สุดวันเดียวกัน (“ข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่”) ของบริษทั แม็คกรุป๊ จ�ากัดและบริษทั ย่อย (“แม็คกรุป๊ ”หรือ “บริษทั ”) ทั้งนี้ขอ้ มูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่จดั ท�าโดยผูบ้ ริหารของบริษทั เพื่อวัตถุประสงค์ ในการแสดงข้อมูลหากการจัดโครงสร้างธุรกิจได้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 ทั้งนี้ในการจัดท�าข้อมูลทางการ เงินประหนึ่งท�าใหม่นี้ประกอบด้วย ข้อมูลจากงบการเงินที่จัดท�าขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และจัดท�า ตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3 แหล่งข้อมูลที่ส�าคัญในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบกระแสดงเงินสดรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม และ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วัน ที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของ แม็คกรุป๊ ที่ตรวจสอบแล้วโดยข้าพเจ้า โดยแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556  งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนผู้ถือหุ้น และ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของ บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด (“พี.เค.การ์เมนท์”) ที่ตรวจสอบแล้วโดยผู้สอบบัญชี อื่นในส�านักงานเดียวกันกับข้าพเจ้า โดยแสดงความเห็นอย่างไม่มเี งื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556  รายการปรับปรุงในหมายเหตุขอ ้ 4 เพื่อแสดง ฐานะทางการเงินรวม ผลการด�าเนินงานรวม และกระแสเงินสด รวมให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3  รายการปรับปรุงในหมายเหตุข้อ 4 เพื่อให้ข้อมูลทางการเงินสอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของแม็คกรุ๊ป ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินในหมายเหตุข้อ 5 

ความรับผิดชอบของผู้บริหารของบริษัท ผู้บริหารของบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�าและความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และจัดท�าตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุข้อ 3 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นว่าข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ซงึ่ จัดท�าโดยผู้บริหารของบริษัท เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และจัดท�าตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐาน ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3 หรือไม่ ข้าพเจ้าไม่ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม แก้ไขรายงานหรือความเห็นที่ข้าพเจ้าได้แสดงไว้ก่อนหน้านี้ต่อข้อมูลทางการเงินที่ใช้ ในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ และข้าพเจ้าไม่รับผิดชอบต่อรายงานหรือความเห็นดังกล่าวเกินกว่า รายงานหรือความเห็นของข้าพเจ้าที่ได้เคยรายงาน ณ วันที่ของรายงานเหล่านั้น

200


เกณฑ์ ในการให้ความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000 เรื่องงานให้ความเชื่อมั่นนอกเหนือจากการตรวจ สอบ หรือการสอบทานข้อมูลทางการเงินในอดีต การปฏิบัติงานของข้าพเจ้าประกอบด้วย การเปรียบเทียบข้อมูล ทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่กับแหล่งข้อมูลที่ส�าคัญตามที่กล่าวในวรรค 2 การประเมินหลักฐานและการทดสอบการ ค�านวณข้อมูลตามสมมติฐานซึ่งใช้สนับสนุนรายการปรับปรุง และการหารือกับผู้บริหารของบริษัทถึงความเหมาะสม ของสมมติฐานที่ใช้ในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ รวมถึงการตรวจสอบรายการปรับปรุงดังที่กล่าวใน หมายเหตุข้อ 4 ข้าพเจ้าวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้มาซึง่ ข้อมูล ค�าอธิบายต่างๆ และหลักฐานที่เพียงพอในการให้ความเชื่อมั่น อย่างพอประมาณว่า ผู้บริหารของบริษัทจัดท�าข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่อย่างเหมาะสมตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และจัดท�าตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3 หรือไม่ ข้อมูลการเงินประหนึ่งท�าใหม่จัดท�าเพื่อวัตถุประสงค์ในการน�าเสนอข้อมูลเท่านั้น โดยจัดท�าตามดุลพินิจและข้อ สมมติฐานของผู้บริหารของบริษัท เพื่อแสดงถึงสถานการณ์สมมติตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และ สมมติฐานที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3 ดังนั้นข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ไม่ได้แสดงถึงเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต รวมถึงฐานะการเงิน หรือผลประกอบการของบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 หากการจัดโครงสร้างธุรกิจ เกิดขึ้นจริงในวันที่ดังกล่าว หรือ วันอื่นใดในอนาคต ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า ข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่ซงึ่ จัดท�าโดยผู้บริหารของบริษัท ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�าคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และตามเกณฑ์ที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 2 และตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุข้อ 3 เรื่องอื่น วัตถุประสงค์ของรายงานฉบับนี้จัดท�าขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในหนังสือชี้ชวนของคณะกรรมการของบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และไม่ได้จัดท�าเพื่อวัตถุประสงค์อื่น

(นายวิเชียร ธรรมตระกูล) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3183 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ากัด กรุงเทพมหานคร 20 มีนาคม 2556

201


งบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2555 หมายเหตุ

2555

2554 (บาท)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

7 8 6, 9 10 11

12 13 14 6, 15

152,959,109 4,765,240 637,599,472 30,309 779,363,026 55,123,978 1,629,841,134

118,759,761 19,457,933 495,592,678 49,036,884 541,231,204 5,416,467 1,229,494,927

231,876,008 4,291,420 107,367,305 39,929,303 383,464,036

153,160,138 6,933,280 38,713,943 22,416,663 221,224,024

2,013,305,170

1,450,718,951

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

202


งบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ (ต่อ) บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2555 หมายเหตุ

2555

2554 (บาท)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถงึ ก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

16 6,17 6,18 16

250,000,000 288,033,826 66,419,568 107,672,712 153,703,073 865,829,179

262,577,747 357,972,377 45,251,408 592,865 101,872,689 96,774,690 865,041,776

16 20

299,997,000 38,948,410 2,806,000 341,751,410 1,207,580,589

27,534,242 1,578,500 29,112,742 894,154,518

21

300,000,000 300,000,000

300,000,000 300,000,000

25,000,000 480,704,728 805,704,728 19,853 805,724,581

25,000,000 231,558,127 556,558,127 6,306 556,564,433

2,013,305,170

1,450,718,951

19

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

203


งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2555 หมายเหตุ

2555

2554 (บาท)

รายได้ รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น รวมรายได้

2,555,604,991 138,280 8,531,022 2,564,274,293

1,804,470,660 126,612 11,924,807 1,816,522,079

1,126,348,636 431,874,859 280,281,601 18,757,377 1,857,262,473 707,011,820 107,692,960 599,318,860

946,549,462 268,371,013 162,636,099 11,607,192 1,389,163,766 427,358,313 128,517,174 298,841,139

-

(1,373)

(3,899,581) 746,869 (3,152,712)

(1,373)

ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี

596,166,148

298,839,766

การแบ่งปันก�าไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม ก�าไรส�าหรับปี

599,299,275 19,585 599,318,860

298,838,638 2,501 298,841,139

การแบ่งปันก�าไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี

596,146,601 19,547 596,166,148

298,837,265 2,501 298,839,766

19.98

9.96

ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ก�าไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�าไรส�าหรับปี ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัยส�าหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�าไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นส�าหรับปี- สุทธิจากภาษี

ก�าไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บำท)

24 6, 25

6 26 27 30

31

32

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

204


205

- 15,000,000 300,000,000 25,000,000

โอนไปส�ำรองตำมกฎหมำย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

-

-

-

-

-

300,000,000 10,000,000

ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขำดทุนแบบเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

33

ก�ำไรสะสม

47,719,489

-

-

(15,000,000) 231,558,127

298,838,638 298,838,638

- (100,000,000)

357,720,862

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท

-

(1,373) (1,373)

556,558,127

298,838,638 (1,373) 298,837,265

- (100,000,000)

- (100,000,000)

1,373

องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่ำงจำกกำร เปลี่ยนแปลงใน มูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนเผื่อขำย

(บาท)

ยังไม่ได้จัดสรร

- (100,000,000)

-

ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนส�ำรอง ในบริษัทย่อยก่อน และช�ำระแล้ว ตำมกฎหมำย จัดโครงสร้ำงธุรกิจ

-

33

หมายเหตุ

กำรจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2554 รำยกำรกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่วนของผู้ถือหุ้น การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท

บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมประหนึ่งท�าใหม่ รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

6,306 556,564,433

2,501 298,841,139 (1,373) 2,501 298,839,766

- (100,000,000)

- (100,000,000)

3,805 357,724,667

ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนำจ ควบคุม


206

-

300,000,000 25,000,000

ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขำดทุนแบบเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

-

-

-

-

-

-

ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนส�ำรอง ในบริษัทย่อยก่อน และช�ำระแล้ว ตำมกฎหมำย จัดโครงสร้ำงธุรกิจ

300,000,000 25,000,000

หมายเหตุ

ก�ำไรสะสม

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2555 รำยกำรกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ำส่วนของผู้ถือหุ้น การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท 33 การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น

บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ำกัด และบริษัทย่อย

(บาท)

480,704,728

599,299,275 (3,152,674) 596,146,601

(347,000,000) (347,000,000)

231,558,127

ยังไม่ได้จัดสรร

556,558,127

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ของบริษัท

-

-

805,704,728

599,299,275 (3,152,674) 596,146,601

- (347,000,000) - (347,000,000)

-

องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่ำงจำกกำร เปลี่ยนแปลงใน มูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนเผื่อขำย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมประหนึ่งท�าใหม่ (ต่อ)

556,564,433

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

19,853

19,585 (38) 19,547

805,724,581

599,318,860 (3,152,712) 596,166,148

(6,000) (347,006,000) (6,000) (347,006,000)

6,306

ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ�ำนำจ ควบคุม


งบกระแสเงินสดรวมประหนึ่งท�าใหม่ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2555 2555

2554 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�าเนินงาน ก�าไรส�าหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�าหน่ายสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน รายได้จากการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน ก�าไรจากการจ�าหน่ายเงินลงทุน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า ก�าไรสินค้าเสียหายจากเหตุการณ์ ไฟไหม้ ขาดทุนสินค้าขาด/เกินจากการตรวจนับสินค้า ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย (กลับรายการ) กลับรายการ (ค่าเผื่อ) การส่งคืนสินค้า (ก�าไร) ขาดทุนจากการปรับมูลค่าเงินลงทุนระยะสั้น ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ก�าไรจากการจ�าหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�าเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�าเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�าเนินงาน

599,318,860

298,841,139

52,538,415 2,083,949 4,701,849 (138,280) 18,757,377 (2,116,132) 2,196,863 (1,694,644) 34,346,848 (1,500,083)

41,385,273 1,044,773 (126,612) 11,607,192 (3,471,640) 2,894,019 1,637,474 (690,864) 4,922,183 (1,430,391) 766,056

1,203

(46,467)

(1,849,188) 107,692,960 814,339,997

(442,365) 128,517,174 485,406,944

(144,294,456) 49,097,374 (269,283,943) (49,707,511) (17,512,639) (69,938,551) 21,168,160 56,693,472 7,514,587 1,227,500 399,303,990 (169,799,430) 229,504,560

(151,639,389) (1,388,282) (311,796,836) (1,083,150) (9,051,326) 165,811,948 17,632,623 35,534,332 293,195 279,000 229,999,059 (60,431,621) 169,567,438

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

207


งบกระแสเงินสดรวมประหนึ่งท�าใหม่ (ต่อ) บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2555 2555

2554 (บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล เงินลงทุนระยะสั้น (เพิ่มขึ้น) ลดลง จ่ายเงินปันผล ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซื้อสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

114,555 23,725 16,807,622 (347,006,000) (132,209,432) (4,143,938) 2,804,335 (463,609,133)

89,112 37,500 (15,498,667) (100,000,000) (67,914,372) (4,790,800) 1,747,664 (186,329,563)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากเงินกู้ยืม จ่ายช�าระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(18,522,466)

(11,587,160)

(12,577,747) 299,997,000 (592,866) 268,303,921

21,677,483 (1,302,176) 8,788,147

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

34,199,348 118,759,761 152,959,109

(7,973,978) 126,733,739 118,759,761

หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินประหนึ่งท�าใหม่นี้

208


หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงิน ประหนึ่งท�าใหม่ บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด และบริษัทย่อย หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38

สารบัญ ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ สมมติฐานที่ส�าคัญในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ สรุปรายการปรับปรุง นโยบายการบัญชีที่ส�าคัญ รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส�ารอง ข้อมูลทางการเงินจ�าแนกตามส่วนงาน รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้

209


หมายเหตุประกอบข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่เป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่น้ี ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารของบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด เมื่อ วันที่ 20 มีนาคม 2556

1

ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ได้จดั ท�าขึ้นเพื่อให้ขอ้ มูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องของบริษทั แม็คกรุป๊ จ�ากัด โดยถือเสมือนว่าการจัดโครงสร้างธุรกิจได้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด (“แม็คกรุ๊ป” หรือ “บริษัท”) เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและได้จดทะเบียน จัดตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 448, 450 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร บริษทั ด�าเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการบริหารการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปและเครื่องแต่งกาย โดยมีบริษทั ย่อย สนับสนุนการผลิตส่วนใหญ่ รายละเอียดของบริษัทย่อย มีรายละเอียด ดังนี้ ชื่อกิจการ บริษทั พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด (“พี.เค. การ์เม้นท์”) บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด (“แม็ค ยีนส์”) บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด (“วินเนอร์แมน”)

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุ้นร้อยละ

(1)

ประเทศไทย

99.99

(1) (2)

ประเทศไทย ประเทศไทย

99.97 99.97

ลักษณะธุรกิจ 1. ผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป 2. ให้บริการบุคคลากรในกลุ่มบริษัท

2

เกณฑ์การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่นี้จัดท�าขึ้นเพื่อให้ข้อมูลของงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือ หุน้ รวมประหนึ่งท�าใหม่และงบกระแสเงินสดรวมประหนึ่งท�าใหม่สา� หรับปีส้นิ สุดวันเดียวกัน โดยถือเสมือนว่าการ จัดโครงสร้างธุรกิจได้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 โดยสมมติว่า พี.เค. การ์เม้นท์ แม็ค ยีนส์ และวินเนอร์ แมน อยูภ่ ายใต้การควบคุมของ แม็คกรุป๊ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ทั้งนี้ในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินประหนึ่ง ท�าใหม่นี้ประกอบด้วย ข้อมูลจากงบการเงินที่จัดท�าขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ประกาศใช้โดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดท�าตามสมมติฐานที่กล่าวไว้ในหมายเหตุข้อ 3 ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้จัดท�าขึ้นตามข้อมูลดังต่อไปนี้  งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบกระแสดงเงินสดรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 (วันเริ่มกิจการ) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของ แม็คกรุ๊ปที่ตรวจสอบแล้วโดย ผู้สอบบัญชีโดยแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556

210


งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนผู้ถือหุ้น และ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ของ บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด (“พี.เค.การ์เมนท์”) ที่ตรวจสอบแล้วโดยผู้สอบบัญชี โดยแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ไม่ได้เป็นเครื่องชี้วัดผลการด�าเนินงานหรือฐานะการเงินซึง่ อาจเกิดขึ้นถ้า การจัดโครงสร้างธุรกิจเกิดขึน้ จริง ณ วันดังกล่าวเนื่องจากข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ได้จัดท�าขึ้น โดยใช้ข้อสมมติฐานบางประการ ดังนั้นผู้ใช้ข้อมูลควรระมัดระวังว่าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่อาจ ไม่เหมาะสมส�าหรับวัตถุประสงค์อื่น ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่น้จี ดั ท�าและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษในหมายเหตุ ประกอบข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่เพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินก่อนวันที่มีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ดังต่อไปนี้ 

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้นก่อนวันที่มผี ลบังคับใช้เพื่อลดผลกระทบอันอาจเกิดขึ้น จากความแตกต่างของมาตรฐานการรายงานทางการเงินเมื่อการจัดโครงสร้างธุรกิจเกิดขึ้นจริงภายหลังปี 2553 สมมติฐานที่ส�าคัญในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่สรุปในหมายเหตุข้อ 3

3 สมมติฐานที่ส�าคัญในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ สมมติฐานที่ส�าคัญในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่สรุปได้ดังนี้ (ก) แม็คกรุ๊ปได้เริ่มด�าเนินกิจการเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อด�าเนินการจัดจ�าหน่าย เสื้อผ้าส�าเร็จรูป เครื่องแต่งกาย และผลิตภัณท์อ่นื ของกลุม่ บริษทั ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่น้ไี ด้จดั ท�า โดยถือเสมือนว่าการจัดตั้งแม็คกรุ๊ปข้างต้นเกิดขึ้นวันที่ 1 มกราคม 2553 แม็คกรุ๊ปได้จดทะเบียนเพิ่มทุน จ�านวน 299 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 ข้อมูลทางการเงินรวม ประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้จัดท�าโดยถือเสมือนว่าการเพิ่มทุนได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 (ข) เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 แม็คกรุ๊ปได้ซื้อหุ้น ใน พี.เค. การ์เม้นท์ จากกลุ่มผู้ถือหุ้นหลัก จ�านวน 249,997 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท โดยได้จ่ายเงินจ�านวน 249.99 ล้านบาท ทั้งนี้การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่ง ท�าใหม่ถือเสมือนว่าการซื้อหุ้นใน พี.เค. การ์เม้นท์ ดังกล่าวข้างต้นมีขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 (ค) ในการประชุมสามัญประจ�าปีของผูถ้ อื หุน้ ของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมือ่ วันที ่ 14 ตุลาคม 2553 ผูถ้ อื หุน้ มีมติให้จดั สรร ก�าไรสะสมเป็นทุนส�ารองตามกฎหมาย จ�านวน 10 ล้านบาท และประกาศจ่ายเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 200 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 50 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ บริษัทจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2553 การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ถอื เสมือนว่าการจัดสรรก�าไรสะสมเป็นทุนส�ารอง ตามกฎหมายและการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จ่ายจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษัทใหญ่ และต่อมา บริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท

211


(ง) ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2554 ที่ประชุมมีมติให้จัดสรรก�าไรสะสม เป็นทุนส�ารองตามกฎหมาย จ�านวน 15 ล้านบาท และประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 280 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 70 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2554 การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ถือเสมือนว่าการจัดสรรก�าไรสะสม เป็นทุนส�ารองตามกฎหมายและการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จา่ ยจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษทั ใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท (จ) ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554 ที่ประชุมมีมติให้จดั สรรก�าไรสะสม และประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 120 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 30 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2554 การจัดท�าข้อมูล ทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ถือเสมือนว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จ่ายจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้ แก่บริษัทใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท (ฉ) ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการจัดสรร เงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1,388 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 347 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม 2555 การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวม ประหนึ่งท�าใหม่ถือเสมือนว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จ่ายจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษัทใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท (ช) เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 แม็คกรุ๊ปได้ซอื้ ส่วนได้เสียร้อยละ 99.97 ในบริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด จาก กลุ่มผู้ถือหุ้นหลัก เป็นเงินจ�านวน 1 ล้านบาท ซึ่งบริษัทดังกล่าวได้เริ่มกิจการในเดือนมิถุนายน 2555 ข้อมูลทาง การเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่น้ไี ด้จดั ท�าโดยถือเสมือนว่าการซื้อส่วนได้เสียข้างต้นเกิดขึ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 (ซ) เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555 แม็คกรุป๊ ได้จดั ตั้งบริษทั แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัดโดยมีทนุ จดทะเบียนเท่ากับ 1 ล้านบาท ซึง่ บริษัทดังกล่าวได้เริ่มกิจการในเดือนสิงหาคม 2555 ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้ จัดท�าโดยถือเสมือนว่าการจัดตั้งบริษัทข้างต้นเกิดขึ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 (ฌ) ในระหว่างปี 2555 พี.เค. การ์เม้นท์ ได้ขายที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ให้แก่ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้จัดท�าโดยถือเสมือนว่าการขายข้างต้น เกิดขึ้นก่อนวันที่ 1 มกราคม 2553 (ญ) ในระหว่างปี 2555 บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด ได้ท�าสัญญาเช่าที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคาร และส่วนปรับปรุงอาคารจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้จัดท�า โดยถือเสมือนว่าการท�าสัญญาเช่าข้างต้นเกิดขึ้น ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

4

สรุปรายการปรับปรุง

(1) ปรับปรุงรายการค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย และเคลื่อนไหวช้า ของพี.เค. การ์เม้นท์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบัญชี ของกลุ่มบริษัท (2) ปรับปรุงรายการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ของพี.เค. การ์เม้นท์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบัญชีของกลุ่มบริษัท (3) ปรับปรุงรายการค่าเผื่อรับคืนสินค้า ของพี.เค. การ์เม้นท์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบัญชีของกลุ่มบริษัท (4) ปรับปรุงรายการขายสินค้าฝากขาย ของพี.เค. การ์เม้นท์ ให้สอดคล้องกับนโยบายบัญชีของกลุ่มบริษัท (5) ปรับปรุงรายการขายที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร ให้แก่บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่ง หนึ่ง รวมถึงค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องโดยถือเสมือนว่าการขาย ข้างต้นเกิดขึ้น ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2553 (6) บันทึกรายการค่าเช่าด�าเนินงานส�าหรับที่ดินและส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร จาก บริษัทบริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัดที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยถือเสมือนว่าการเช่าข้างต้นเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

212


(7) บันทึกรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และภาษีเงินได้ จากการน�ามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 (8) ปรับปรุงรายการสินค้าขาด/เกินจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ซึง่ เกิดจากการตรวจนับสินค้าของ พี.เค. การ์เม้นท์ (9) บันทึกรายการเรียกช�าระค่าหุน้ ส�าหรับการจัดตั้งบริษทั แม็คกรุป๊ จ�ากัด บริษทั แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด และบริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด โดยถือเสมือนว่ารายการข้างต้นเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 (10) บันทึกรายการเงินลงทุนในบริษัทย่อย (11) ปรับปรุงตัดรายการบัญชีส�าหรับบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย (12) จัดประเภทรายการใหม่บางรายการในงบแสดงฐานะการเงินเพื่อให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินปัจจุบัน (13) จัดประเภทรายการใหม่บางรายการในงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเพื่อให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินปัจจุบนั สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 แม็คกรุ๊ป

รายการปรับปรุง เดบิต เครดิต (บาท)

ข้อมูลประหนึ่ง ท�าใหม่

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 152,959,109 เงินลงทุนระยะสั้น 4,765,240 ลูกหนี้การค้า 637,599,472 ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 30,309 สินค้าคงเหลือ 779,363,026 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 55,123,978 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,629,841,134

-

- 152,959,109 4,765,240 - 637,599,472 30,309 - 779,363,026 55,123,978 - 1,629,841,134

สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 231,876,008 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 4,291,420 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 107,367,305 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น 39,929,303 รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน 383,464,036

-

-

รวมสินทรัพย์

-

- 2,013,305,170

2,013,305,170

231,876,008 4,291,420 107,367,305 39,929,303 383,464,036

213


สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายการปรับปรุง แม็คกรุ๊ป

เดบิต

ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่

เครดิต (บาท)

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

250,000,000 288,033,826 56,430,888 107,672,712 153,703,073 855,840,499

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 299,997,000 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 38,948,410 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 2,806,000 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 341,751,410 รวมหนี้สิน 1,197,591,909 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

214

300,000,000 300,000,000

- 6 -

9,988,680 9,988,680

-

- 299,997,000 38,948,410 2,806,000 - 341,751,410 9,988,680 1,207,580,589

-

300,000,000 300,000,000

25,000,000 490,698,698 6 7,426,762 5 PL 8,472,385 11 815,698,698 15,899,147 14,563 PL 852 11 815,713,261 15,899,999 2,013,305,170

15,899,999

-

5,900,319 4,858 5,905,177 6,142 5,911,319

250,000,000 288,033,826 66,419,568 107,672,712 153,703,073 865,829,179

25,000,000 480,704,728 805,704,728 19,853 805,724,581

15,899,999 2,013,305,170


215

ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย

11,925,982 1,060,513,241

636,488,814 251,772,818 160,325,627

1,437,927,277

รวมรายได้

ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

1,427,043,782 78,086 10,805,409

14,720,772 2,041,111,601

1,607,388,145 261,991,303 157,011,381

3,043,819,245

3,016,798,373 27,020,872

(บาท)

รวม

(7,889,377) 18,757,377 (1,245,365,621) 1,856,259,221

(1,119,036,259) 1,124,840,700 (75,381,180) 438,382,941 (43,058,805) 274,278,203

(1,909,998,960) 2,571,747,562

(1,888,237,164) 2,555,604,991 78,086 (21,761,796) 16,064,485

แม็คกรุ๊ป พี.เค. การ์เม้นท์ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ พี.เค. การ์เม้นท์ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ส�าหรับปีสิ้นสุด วันที่ 4 กรกฎาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555

รายได้ รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น

ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่

11 13

6

5 13

2,561,918 14,285 5,989,113 8,565,316

6,954,300 579,163 7,533,463

เดบิต

5 13

13

รายการปรับปรุง ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่

1,053,982 1,126,348,636 6,508,082 431,874,859 280,281,601 18,757,377 7,562,064 1,857,262,473

- 2,555,604,991 60,194 138,280 8,531,022 60,194 2,564,274,293

เครดิต


216

ก�าไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�าไรส�าหรับปี ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยส�าหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของ ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�าหรับปีสุทธิจากภาษี ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี

ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

1,002,707,644 129,769,185 872,938,459

(3,899,581) 746,869 (3,152,712) 869,785,747

377,414,036 59,136,295 318,277,741

-

-

318,277,741

(583,424,104)

-

-

(664,633,339) (81,209,235) (583,424,104)

แม็คกรุ๊ป พี.เค. การ์เม้นท์ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ พี.เค. การ์เม้นท์ ส�าหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ส�าหรับปีสิ้นสุด วันที่ 4 กรกฎาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555

สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่

(3,152,712) 604,639,384

746,869

(3,899,581)

715,488,341 107,696,245 607,792,096

รวม

16,098,779

-

-

16,098,779 16,098,779

เดบิต

11

รายการปรับปรุง

7,625,543

-

-

7,622,258 3,285 7,625,543

เครดิต

(3,152,712) 596,166,148

746,869

(3,899,581)

707,011,820 107,692,960 599,318,860

ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่


สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

พี.เค. การ์เม้นท์

รายการปรับปรุง เดบิต

เครดิต

ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่

(บาท) สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชี สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

41,051,314 9 12 19,457,933 716,132,919 - 5 12 472,219,129 3 4 8 8,807,105 1,257,668,400

302,000,000 27,704,847 45,646,246 3,390,638 18,581,623 66,572,315 15,786,562 479,682,231

10 2 3 4 1 8 12

251,996,400 118,759,761 19,457,933 2,944,127 495,592,678 35,562,915 182,033,199 49,036,884 12,618,671 541,231,204 19,309,754 3,390,638 5,416,467 507,855,704 1,229,494,927

- 10 192,906,065 5 6,496,805 12 436,475

251,996,400 11 13,990,274 5 436,475 - 12

251,996,400 53,736,201 436,475

153,160,138 6,933,280 -

- 7 22,416,663 222,256,008

38,713,943 305,137,092

306,169,076

38,713,943 22,416,663 221,224,024

784,819,323

814,024,780 1,450,718,951

1,479,924,408

217


สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบแสดงฐานะการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

พี.เค. การ์เม้นท์

รายการปรับปรุง เดบิต

เครดิต

ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่

(บาท) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น

262,577,747 12 368,092,176 -

10,119,799 - 6 - 12

7,426,762 37,824,646

262,577,747 357,972,377 45,251,408

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ทีถ่ งึ ก�าหนดช�าระภายในหนึ่งปี 592,865 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 101,872,689 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 95,375,698 รวมหนี้สินหมุนเวียน 828,511,175

- 8 10,119,799

1,398,992 46,650,400

592,865 101,872,689 96,774,690 865,041,776

หนี้สินไม่หมุนเวียน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน 27,534,242 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 1,578,500 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 29,112,742 รวมหนี้สิน 857,623,917

10,119,799

46,650,400

27,534,242 1,578,500 29,112,742 894,154,518

300,000,000 300,000,000

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�าระแล้ว ก�าไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนส�ารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร

250,000,000 250,000,000 11

252,000,000 9

302,000,000

25,000,000 347,300,491 1 2 3 4 6 11 PL รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท 622,300,491 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�านาจควบคุม - PL รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 622,300,491

14,049,062 5 140,906 7 14,577,762 97,251,235 3,658,504 4,098 25,583,254 407,264,821 1,392 11 407,266,213

4,272,654 35,249,803 341,522,457 7,698 341,530,155

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 1,479,924,408

417,386,012

388,180,555 1,450,718,951

218

25,000,000 231,558,127

556,558,127 6,306 556,564,433


สรุปรายการปรับปรุงส�าหรับงบก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมประหนึ่งท�าใหม่ ส�าหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 พี.เค. การ์เม้นท์ รายได้ รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

รายการปรับปรุง เดบิต เครดิต (บาท)

ข้อมูล ประหนึ่งท�าใหม่

1,844,241,371 3 4 12,051,419 13 1,856,292,790

1,637,474 38,133,237 - 13 126,612 39,897,323

126,612 126,612

963,566,401 3 6 239,645,313 13 185,066,785 2 8 11,607,192 1,399,885,691 456,407,099 131,981,314 324,425,785

766,056 3,768,258 28,725,700 2,803,221 4,922,184 40,985,419 80,882,742 80,882,742

4 5

19,923,588 1,627,665 1,430,391 28,725,700 51,707,344 51,833,956 3,464,140 55,298,096

11,607,192 1,389,163,766 427,358,313 128,517,174 298,841,139

-

-

(1,373)

-

-

-

80,882,742

55,298,096

(1,373) 298,839,766

ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ก�าไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ก�าไรส�าหรับปี ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย (1,373) ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบ ของก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส�าหรับปี- สุทธิจากภาษี (1,373) ก�าไรเบ็ดเสร็จรวมส�าหรับปี 324,424,412

1 13

7

1,804,470,660 126,612 11,924,807 1,816,522,079

946,549,462 268,371,013 162,636,099

219


11 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 2555 ลูกหนี้กรมสรรพากร ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงก�าหนด เงินทดรองจ่ายเจ้าหนี้ เงินทดรองจ่ายพนักงาน ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่น ๆ รวม

230

(พันบาท) 39,491 1,793 1,077 3,910 4,654 4,199 55,124

2554 1,865 1,166 1,753 632 5,416


231

17,032 17,032 17,032

-

ค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�าหรับปี โอน จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และวันที่ 1 มกราคม 2555

ที่ดิน และส่วนปรับปรุง ที่ดิน

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และวันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ้น โอน จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

12 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

153,532 12,002 165,534

193,639 5,819 199,458 1,941 19,819 (235) 220,983

149,679 11,704 (189) 161,194

173,130 38,948 (189) 211,889 27,593 22,508 261,990

โรงงาน เครื่องจักรและ อาคารและ อุปกรณ์เครื่องมือ ส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องใช้โรงงาน

32,394 12,043 (37) (14) 44,386

61,834 17,106 (171) (48) 78,721 19,437 6,865 (299) 104,724

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ (พันบาท)

20,364 5,636 (3,150) 22,850

38,392 4,324 (4,421) 38,295 13,003 15,070 (1,638) 64,730

ยานพาหนะ

-

12 1,717 1,729 70,236 (64,262) (553) 7,150

สินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง และติดตั้ง

355,969 41,385 (37) (3,353) 393,964

484,039 67,914 (171) (4,658) 547,124 132,210 (2,725) 676,609

รวม


5

(ก)

(ข)

(ค)

(ง)

220

นโยบำยกำรบัญชีที่ส�ำคัญ นโยบายการบัญชีที่น�าเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติส�าหรับการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน เกณฑ์ ในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ประกอบด้วยงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่ม บริษัท”) บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�านาจ ควบคุมทั้งทางตรงหรือทางอ้อมในการก�าหนดนโยบายทางการเงินและการด�าเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มา ซึ่งประโยชน์จากกิจกรรมของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่ง ท�าใหม่ นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจ�าเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่ม บริษทั ผลขาดทุนในบริษทั ย่อยจะต้องถูกปันส่วนไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มอี า� นาจควบคุมแม้วา่ การปันส่วนดังกล่าว จะท�าให้ส่วนได้เสียที่ไม่มีจ�านวนควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสูญเสียอ�านาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอ�านาจควบคุมกลุ่มบริษัทตัดรายการสินทรัพย์และหนี้สินในบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มี อ�านาจควบคุมและส่วนประกอบอื่นในส่วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริษทั ย่อยนั้น ก�าไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจาก การสูญเสียอ�านาจควบคุมในบริษัทย่อยรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุน ส่วนได้เสียในบริษัทย่อยเดิมที่ยังคงเหลืออยู่ วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอ�านาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็นเงินลงทุนตามวิธีส่วน ได้เสียหรือเป็นสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยู่กับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู่ การตัดรายการในข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึง่ เป็น ผลมาจากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดท�างบการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ก�าไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในงบก�าไรขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สนิ ที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีท่เี ป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงิน ลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�าระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�าระหนี้ใน อนาคตของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจ�าหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ


(จ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ากว่า ต้นทุนของสินค้าค�านวณโดยใช้วธิ ีถวั เฉลี่ยถ่วงน�้าหนัก ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซ้อื หรือต้นทุนอื่นเพื่อ ให้สินค้าอยู่ในสถานที่และสภาพปัจจุบัน มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการด�าเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็นโดย ประมาณในการขาย กลุ่มบริษัทตั้งค่าเผื่อมูลค่าสินค้าที่ลดลง ส�าหรับสินค้าที่เสื่อมคุณภาพ เสียหาย ล้าสมัยและค้างนาน (ฉ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ท่กี จิ การ ก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์ เพื่อให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้นทุนการกู้ยืม ส�าหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิซ์ อฟแวร์ซงึ่ ไม่ สามารถท�างานได้โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟแวร์น้นั ถือว่า ลิขสิทธิ์ซอฟแวร์ดงั กล่าวเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์และ ถือเป็นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ ไม่เท่ากัน บันทึกแต่ละ ส่วนประกอบที่มีนัยส�าคัญแยกต่างหากจากกัน ก�าไรหรือขาดทุนจากการจ�าหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการ จ�าหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้อื่นในก�าไรหรือขาดทุน ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ ถ้ามีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริษัทจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และ สามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถกู เปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�าหน่ายตามมูลค่า ตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการซ่อมบ�ารุงอาคารและอุปกรณ์ท่เี กิดขึ้นเป็นประจ�าจะรับรูใ้ นก�าไรหรือขาดทุนเมื่อ เกิดขึ้น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาค�านวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้วยราคาทุนของ สินทรัพย์หรือต้นทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�าไรหรือขาดทุน ค�านวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งาน โดยประมาณของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดง ได้ดังนี้ อาคารและโรงงาน 20 และ 5 ส่วนปรับปรุงสิทธิการเช่า 3 เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน 5 เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�านักงาน 3 และ 5 ยานพาหนะ 5 กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�าหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

ปี ปี ปี ปี ปี

221


วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์และมูลค่าคงเหลือถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุด ทุกสิ้นรอบปีบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ช) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจ�ากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�าหน่ายสะสมและ ขาดทุนจากการด้อยค่า รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวม เป็นสินทรัพย์ที่สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่นที่เกิดขึ้นรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�าหน่าย ค่าตัดจ�าหน่ายค�านวณโดยน�าราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�านวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�าหน่ายรับรูใ้ นก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์ ในอนาคตจากสินทรัพย์น้นั ตามเกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจนับจากวันที่อยูใ่ นสภาพ พร้อมใช้งาน ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์แสดงได้ดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5 ปี วิธีการตัดจ�าหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปี บัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม (ซ) สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงด้วยราคาทุนหักค่าตัดจ�าหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า สิทธิการเช่าถูกตัดจ�าหน่าย และบันทึกในก�าไรหรือขาดทุน โดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาของสัญญาเช่า (ฌ) การด้อยค่า ยอดสิ น ทรั พ ย์ ต ามบั ญ ชี ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท ได้ รั บ การทบทวน ณ ทุ ก วั น ที ่ร ายงานว่ า มี ข ้ อ บ่ ง ชี ้เ รื ่อ งการ ด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อบ่งชี้จะท�าการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ส�าหรับสินทรัพย์ ไม่มี ตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ ไม่ทราบแน่นอน หรือยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ ก่อให้เกิด เงินสดสูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�าไรหรือขาดทุน การค�านวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ หรือมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการ ใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลด ก่อนค�านึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่ มีต่อสินทรัพย์ ส�าหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุก วันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการ เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการค�านวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับ รายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่อมราคาหรือ ค่าตัดจ�าหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน

222


(ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในราคาทุน (ฎ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฏ) ผลประโยชน์ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึง่ กิจการจ่ายสมทบเป็นจ�านวนเงินที่ แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยกต่างหาก(กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระ ผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็น ค่าใช้จ่ายพนักงานในก�าไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�างานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบ เงิ น ภาระผู ก พั น สุ ท ธิข องกลุ ่ ม บริ ษั ท จากโครงการผลประโยชน์ ที ่ก� า หนดไว้ ถู ก ค�า นวณแยกต่ า งหากเป็ น รายโครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการท�างานของพนักงานในปัจจุบันและในงวด ก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ได้สุทธิจากต้นทุน บริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงาน จากพันธบัตรรัฐบาล ซึง่ มีระยะเวลาครบก�าหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัท และ มีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่าย การค�านวณนั้นจัดท�าโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาตเป็นประจ�าทุกปี โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วย ที่ประมาณการไว้ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุน บริการในอดีตของพนักงานรับรูใ้ นก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์ นั้นเป็นสิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในก�าไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้ก�าไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในรายการก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และรับรู้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ในก�าไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย เมื่อพนักงานท�างานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�าระส�าหรับการจ่ายโบนัสเป็นเงินสดระยะสั้นหรือผลประโยชน์อื่น หาก กลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงาน ได้ท�างานให้ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล (ฐ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้น อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูก จ่ายไปเพื่อช�าระภาระหนี้สินดังกล่าว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจ่ายใน อนาคตโดยใช้อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อนค�านึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�านวนที่อาจประเมินได้ในตลาด ปัจจุบนั ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มตี อ่ หนี้สนิ ประมาณการหนี้สนิ ส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผา่ นไป รับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน

223


(ฑ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้าและส่วนลดพิเศษ การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�าคัญ ไปให้กับผู้ซอื้ แล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือ มีความไม่แน่นอนที่มีนัยส�าคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจ วัดมูลค่าของจ�านวนรายได้และต้นทุนที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ หรือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนที่จะต้อง รับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยเงินปันผลรับและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในงบก�าไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในก�าไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ฒ) ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วยดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมและประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลา ที่ผ่านไป และสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่าย ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน (นอกเหนือ ลูกหนี้การค้า) ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�าไรหรือ ขาดทุน โดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ณ) สัญญาเช่าด�าเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�าเนินงานบันทึกในก�าไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ามารวมค�านวณจ�านวนเงินขั้นต�่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับการยืนยันการปรับค่าเช่า การจ�าแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่า เป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบัติตามข้อตกลงนั้น ขึ้นอยู่กับการใช้สินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�าไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�าให้ กลุ่มบริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง หรือ มีการประเมินข้อตกลงใหม่ กลุ่มบริษัทแยกค่าตอบแทนส�าหรับสัญญาเช่า และ ส่วนที่เป็นองค์ประกอบอื่นโดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์ในการแยก หากกลุ่มบริษัทสรุปว่าเป็นสัญญาเช่า การเงิน แต่ไม่สามารถแบ่งแยกจ�านวนดังกล่าวได้อย่างน่าเชื่อถือ จะรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในจ�านวนที่เท่ากับ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจ�านวนหนี้สินจะลดลงตามจ�านวนที่จ่าย และต้นทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สนิ จะรับรูโ้ ดยใช้อตั ราดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ส่วนเพิ่มของกลุม่ บริษทั ภาษีเงินได้ (ด) ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�าหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้ในก�าไรหรือขาดทุนเว้นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้องในการรวม ธุรกิจ หรือรายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรือก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

224


ภาษีเงินได้ปัจจุบันได้แก่ภาษีทีค่ าดว่าจะจ่ายช�าระหรือได้รับช�าระ โดยค�านวณจากก�าไรหรือขาดทุนประจ�าปีที่ ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุง ทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบันทึกโดยค�านวณจากผลแตกต่างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี้สินและจ�านวนที่ใช้เพื่อความมุ่งหมายทางภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถูกรับรู้ เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวต่อไปนี้ การรับรู้ค่าความนิยมในครั้งแรก การรับรู้สินทรัพย์หรือหนี้สินใน ครั้งแรกซึ่งเป็นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและรายการนั้นไม่มผี ลกระทบต่อก�าไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและกิจการร่วมค้าหากเป็นไปได้วา่ จะไม่มกี ารกลับรายการ ในอนาคตอันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีท่คี าดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการ โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการก�าหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทต้องค�านึงถึงผลกระทบ ของสถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอนและอาจท�าให้จ�านวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�าระ กลุม่ บริษทั เชื่อว่าได้ต้งั ภาษีเงินได้คา้ งจ่ายเพียงพอส�าหรับภาษีเงินได้ท่จี ะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมิน ผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึงการตีความทางภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้น ฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะท�าให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความเพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่มี อยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้เมื่อกิจการมี สิทธิตามกฎหมายที่จะน�าสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และภาษีเงินได้น้ปี ระเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันส�าหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรือหน่วยภาษี ต่างกัน ส�าหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจ่ายช�าระหนี้สินและสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวด ปัจจุบันด้วยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพย์และจ่ายช�าระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าก� าไรเพื่อเสียภาษี ในอนาคตจะมีจา� นวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริง (ต) ก�าไรต่อหุ้น กลุ่มบริษัทแสดงก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�าหรับหุ้นสามัญ ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�านวณโดยการหารก�าไรหรือ ขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุ่มบริษัท ด้วยจ�านวนหุ้นสามัญถ่วงน�้าหนักที่ออกจ�าหน่ายระหว่างปี

6

รำยกำรกับบุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มบริษัท/บริษัท หากกลุ่มบริษัท/บริษัทมีอ�านาจควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทั้งทางตรงและ ทางอ้อมหรือมีอทิ ธิพลอย่างมีสาระส�าคัญต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริหารหรือ ในทางกลับกัน หรือกลุม่ บริษทั /บริษทั อยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันหรืออยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลอย่างมีสาระส�าคัญ เดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวข้องกันนี้อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ

225


ความสัมพันธ์ที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ ชื่อกิจกำร

ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชำติ

บริษัท พี.เค. การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) จ�ากัด บริษัท แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริด ่ง จ�ากั

ไทย

บริษัท วินเนอร์แมน จ�ากัด

ไทย

บริษทั ยูนคิ การ์เม้นท์อมิ ปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต จ�ากัด บริษัท ซินไฉฮั้ว อุตสาหกรรม ด จ�ากั

ไทย

บริษัท มิลเลเนี่ยม (1975) จ�ากัด บริษัท บูติค คอนซัลติด ้ง กรุ๊ป จ�ากั

ไทย ไทย

บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด

ไทย

บริษัท พี.เค. แอสเซท พลัส จ�ากัด

ไทย

บริษัท เอสเอส ชาลเล้นจ์ จ�ากัด

ไทย

ไทย

ไทย

ลักษณะควำมสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99 และมี กรรมการร่วมกันกับบริษัท เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.97 และมี กรรมการร่วมกันกับบริษัท เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 99.97 และ มีกรรมการร่วมกันกับบริษัท เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิทกับผู้ถือหุ้น รายใหญ่ของบริษัทเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้น เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีญาติสนิทกับผูถ้ อื หุน้ ราย ใหญ่ของบริษัทเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้น เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีกรรมการร่วมกันกับบริษทั เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผถู้ อื หุน้ และกรรมการร่วม กันกับบริษัท เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร่วมกัน กับบริษัท เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร่วมกัน กับบริษัท เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร่วมกัน กับบริษัท

นโยบายการก�าหนดราคาส�าหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รำยกำร ขายสินค้า การให้บริการ ซื้อสินค้า/วัตถุดิบ/บริการ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม

นโยบำยกำรก�ำหนดรำคำ ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ต้นทุนถัวเฉลี่ยของเงินกู้ยืม

รายการที่ส�าคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�าหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สรุปได้ดังนี้ 2555 ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ ค่าเช่าและบริการ ซื้ออุปกรณ์ กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้าหรือการให้บริการ

226

(พันบาท)

2554

590 6,200

795 -

158

3,075


2555 ขายอุปกรณ์ ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าเช่าและบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น ซื้ออุปกรณ์ ดอกเบี้ยจ่าย

(พันบาท) 654 60,179 15,970 6,262 2,781 1,685

ผู้บริหำรส�ำคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมค่ำตอบแทนผู้บริหำรส�ำคัญ

45,589 4,123 49,712

2554 61,344 15,751 2,438 19,666 1,330 20,996

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2555

2554 (พันบาท)

กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด บริษัท ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต จ�ากัด รวม สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

30 30

45,646 114 45,760

2555

2554 (พันบาท)

ผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด บริษัท พี.เค. แอสเซท พลัส จ�ากัด รวม เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

8

80

309 683 1,000

542 622

2555

2554 (พันบาท)

กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ยูนิคการ์เม้นท์อิมปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต จ�ากัด บริษัท ซินไฉฮั้ว อุตสาหกรรม จ�ากัด รวม

9,308 1,932 11,240

8,992 1,307 10,299

227


เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

2555 (พันบาท) 117

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กิจกำรอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท พี.เค. แกรนด์ จ�ากัด บริษัท บูติค คอนซัลติ้ง กรุ๊ป จ�ากัด กรรมการบริษัท รวม

7

2554 -

9,989 520 85 10,711

7,427 7,427

เงินลงทุนระยะสั้น 2555

2554 (พันบาท)

เงินลงทุนระยะสั้น ตราสารทุนถือไว้เพื่อค้า หน่วยลงทุนของกองทุนรวมถือไว้เพื่อค้า รวม

899 3,866 4,765

2555 ก�ำไร(ขำดทุน) รำคำทุน ที่ยังไม่เกิดขี้น ตราสารทุนถือไว้เพื่อค้า 912 หน่วยลงทุนของกองทุนรวม ถือไว้เพื่อค้า 3,854 รวม 4,766

8

(13) 12 (1)

636 18,822 19,458

2554 มูลค่ำ ก�ำไร(ขำดทุน) มูลค่ำ ยุติธรรม รำคำทุน ที่ยังไม่เกิดขี้น ยุติธรรม (พันบาท) 899 624 12 636 3,866 4,765

18,788 19,412

34 46

18,822 19,458

ลูกหนี้กำรค้ำ 2555

2554 (พันบาท)

บุคคลหรือกิจการอื่นๆ หัก ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�าหรับปี

228

678,394 (35,563) (5,232) 637,599

534,100 (35,563) (2,944) 495,593

2,288

3,117


การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้ามีดังนี้ 2555

2554 (พันบาท)

กิจกำรอื่นๆ ยังไม่ครบก�าหนดช�าระ เกินก�าหนดช�าระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ลูกหนี้ขายสินค้าฝากขาย หัก ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

561,644

412,115

108,841 5,343 1,648 918 678,394 678,394 (35,563) (5,232) 637,599

243,473 46,283 13,701 561 716,133 (182,033) 534,100 (35,563) (2,944) 495,593

โดยปกติการก�าหนดระยะเวลาการช�าระหนี้แก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท/บริษัทมีระยะเวลาตั้งแต่ 30 วันถึง 120 วัน ลูกหนี้การค้าทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เป็นสกุลเงินบาท

9

ลูกหนี้อื่น หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม

2555

2554 (พันบาท) 30 30

6

45,760 3,277 49,037

10 สินค้ำคงเหลือ 2555 สินค้าส�าเร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ และวัสดุสิ้นเปลือง หัก ค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย สุทธิ

(พันบาท) 659,678 59,511 107,140 826,329 (46,966) 779,363

2554 350,736 41,496 161,618 553,850 (12,619) 541,231

229


232

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 สินทรัพย์ภายใต้กรรมสิทธิ์กลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

ค่าเสื่อมราคาส�าหรับปี โอน จ�าหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 สินทรัพย์ภายใต้กรรมสิทธิ์กลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

41,894 41,894

33,924 33,924

17,032 17,032

17,032 17,032

13,667 (112) 179,089

81,763 81,763

50,695 50,695

19,033 180,227

โรงงำน เครื่องจักรและ อำคำรและ อุปกรณ์เครื่องมือ ส่วนปรับปรุงอำคำร เครื่องใช้โรงงำน

-

ที่ดิน และส่วนปรับปรุง ที่ดิน

45,997 45,997

34,335 34,335

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ (พันบาท) 14,596 (255) 58,727

38,040 38,040

12,727 2,718 15,445

5,243 (1,403) 26,690

ยำนพำหนะ

7,150 7,150

1,729 1,729

-

สินทรัพย์ ระหว่ำงก่อสร้ำง และติดตั้ง

231,876 231,876

150,442 2,718 153,160

52,539 (1,770) 444,733

รวม


13 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่ำลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์

สิทธิกำรเช่ำ (พันบาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 และวันที่ 1 มกรำคม 2555 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 ค่าตัดจ�าหน่ายและขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าตัดจ�าหน่ายส�าหรับปี ขาดทุนจากการด้อยค่า โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 และวันที่ 1 มกรำคม 2555 ค่าตัดจ�าหน่ายส�าหรับปี ขาดทุนจากการด้อยค่า โอน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

4,904 4,791 171 9,866 4,144 14,010

688 688 688

5,592 4,791 171 10,554 4,144 14,698

2,364 968 37 3,369 2,008 4,702 10,079

175 77 252 76 328

2,539 1,045 37 3,621 2,084 4,702 10,407

6,497 3,931

436 360

6,933 4,921

14 ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ สินทรัพย์ 2555 รวม การหักลบกลบกันของภาษี สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภำษีเงินได้รอ กำรตัดบัญชี

หนี้สิน

107,367 -

2554 2555 (พันบาท) 38,714 -

107,367

38,714

-

2554 -

233


รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระหว่างปีมีดังนี้ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2555 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า 681 สินค้าคงเหลือ 2,830 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน การขายสินค้าฝากขาย 25,063 ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า 3,809 ผลประโยชน์พนักงาน 6,331 รวม 38,714 ณ วันที่ 1 มกรำคม 2554 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้การค้า 32 สินค้าคงเหลือ 3,231 การขายสินค้าฝากขาย 22,368 ค่าเผื่อการรับคืนสินค้า 3,353 ผลประโยชน์พนักงาน 6,266 รวม 35,250

บันทึกเป็น (รำยจ่ำย) / รำยได้ใน ก�ำไรหรือ ก�ำไรขำดทุน ขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (พันบาท) 185 57,408 1,403 940 5,121 481 2,368 67,906

747 747

บันทึกเป็น (รำยจ่ำย) / รำยได้ใน ก�ำไรหรือ ก�ำไรขำดทุน ขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น (พันบาท) 649 (401) 2,695 456 65 3,464

-

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2555

866 60,238 1,403 940 30,184 4,290 9,446 107,367 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2554

681 2,830 25,063 3,809 6,331 38,714

15 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 2555 เงินมัดจ�าค่าเช่า ค่าสิทธิจองพื้นที่จ่ายล่วงหน้า อื่นๆ รวม

234

(พันบาท) 32,147 4,281 3,501 39,929

2554 14,766 5,286 2,365 22,417


16 หนี้สินที่มีภำระดอกเบี้ย 2555

2554 (พันบาท)

ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ส่วนที่มีหลักประกัน ทรัสต์รีซีท ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงก�าหนดช�าระ ภายในหนึ่งปี รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยระยะสั้น ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยไม่หมุนเวียน

250,000

260,000

250,000

2,578 262,578

250,000

593 263,171

299,997 299,997

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่ง จ�านวนทั้งสิ้น 250 ล้านบาท (2554: 260 ล้านบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ลบด้วยอัตราร้อยละคงที่ต่อปี มีก�าหนดช�าระคืนในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 จ�านวน 175 ล้านบาท และวันที่ 26 มีนาคม 2556 จ�านวน 75 ล้านบาทโดยมีการจดทะเบียนจ�านองที่ดินพร้อม โรงงานเป็นหลักประกันการกู้ยืมเงิน เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2555 บริษัทได้ท�าสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวกับสถาบันการเงินในประเทศแห่งหนึ่งใน วงเงิน 300 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ลบด้วย อัตราร้อยละคงที่ตามที่ระบุในสัญญา และก�าหนดการช�าระคืนภายในหนึ่งเดือนนับจากวันที่บริษัทได้ท�าการ เสนอขายหุ้นต่อสาธารณะ ในกรณีที่การขายหุ้นล่าช้ากว่า 12 เดือน บริษัทตกลงจะช�าระเงินคืนเป็นงวด รวม 9 งวดโดยช�าระ 1 เดือนต่องวด ทั้งนี้บริษทั จะเริ่มช�าระงวดแรกในวันท�าการสุดท้ายของเดือน มกราคม 2557 และเสร็จสิ้นภายในเดือน กันยายน 2557 โดย บริษัทจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อจ�ากัดต่างๆ ที่ก�าหนด ไว้ในสัญญากู้ยืมเงิน เช่น การรักษาอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และการให้ บริษัท พี.เค.การ์ เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กปอร์ต) จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทเป็นผู้ค�้าประกัน บริษัทได้ขอรับเงินกู้แล้วเป็น จ�านวนเงินทั้งสิ้น 299.99 ล้านบาท หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เป็นสกุลเงินบาท

235


หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ 2555 2554 มูลค่ำ มูลค่ำ มูลค่ำ มูลค่ำ อนำคตของ ปัจจุบันของ อนำคตของ ปัจจุบันของ จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน ขั้นต�่ำ ขัน้ ต�่ำ ขั้นต�่ำ ขัน้ ต�่ำ ที่ต้องจ่ำย ดอกเบี้ย ที่ต้องจ่ำย ที่ต้องจ่ำย ดอกเบี้ย ที่ต้องจ่ำย (พันบาท) ครบก�าหนดช�าระภายใน หนึ่งปี ครบก�าหนดช�าระหลังจาก หนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี รวม

-

-

-

607

14

593

-

-

-

607

14

593

17 เจ้ำหนี้กำรค้ำ หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม

6

2555 (พันบาท) 11,240 276,794 288,034

2554 10,299 347,673 357,972

18 เจ้ำหนี้อื่น หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม

6

2555 (พันบาท) 10,711 55,709 66,420

2554 7,427 37,824 45,251

19 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 2555 โบนัสค้างจ่าย ค่าเช่าร้านค้าค้างจ่าย ค่าคอมมิชชั่นค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายส่วนลดจัดรายการค้างจ่าย อื่น ๆ รวม

236

(พันบาท) 59,693 12,045 13,344 37,886 30,735 153,703

2554 31,142 6,529 11,006 27,605 20,493 96,775


20 ภำระผูกพันผลประโยชน์พนักงำน 2555

2554 (พันบาท)

งบแสดงฐำนะกำรเงิน ภำระผูกพันในงบแสดงฐำนะกำรเงินส�ำหรับ ผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน

38,948

27,534

ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ รับรู้ในก�าไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน

7,514

5,627

รับรู้ในก�ำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในระหว่างปี

3,900

-

กลุ่มบริษัทจัดการโครงการบ�าเหน็จบ�านาญพนักงานตามข้อก�าหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ 2555 ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่รับรู้ในก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภำระผูกพันของโครงกำรผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม

2554

(พันบาท) 27,534 7,514

27,241 (5,334) 5,627

3,900 38,948

27,534

ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในก�าไรหรือขาดทุน 2555

2554 (พันบาท)

ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ต้นทุนบริการปัจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม

6,370 1,144 7,514

4,662 965 5,627

237


ข้อสมมุตหิ ลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ย ถ่วงน�้าหนัก) 2555

2554 (ร้อยละ)

อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต

3.6414 5.00

3.7905 5.00

ข้อสมมุติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ทั่วไปและตารางมรณะ ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ในก�าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 2555

2554 (พันบาท)

รวมในก�ำไรสะสม ณ 1 มกราคม รับรู้ระหว่างปี ณ 31 ธันวาคม

3,900 3,900

-

21 ทุนเรือนหุ้น มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

10

10

2555 2554 จ�านวนหุ้น จ�านวนเงิน จ�านวนหุ้น จ�านวนเงิน (พันหุ้น / พันบาท) 30,000 -

300,000 -

30,000 -

300,000 -

30,000

300,000

30,000

300,000

30,000 -

300,000 -

30,000 -

300,000 -

30,000

300,000

30,000

300,000

แม็คกรุ๊ปได้จดทะเบียนเพิ่มทุน จ�านวน 299 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2555 ข้อมูลทางการเงินรวม ประหนึ่งท�าใหม่นี้ได้จัดท�าโดยถือเสมือนว่าการเพิ่มทุนได้เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

238


22 ส�ำรอง ส�ารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัตแิ ห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษทั จะต้องจัดสรรทุนส�ารอง (“ส�ารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�าไรสุทธิ ทุกครั้งที่มีการจ่ายเงินปันผล จนกว่าส�ารองดังกล่าวมีจ�านวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินส�ารองนี้จะน�าไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้

23 ข้อมูลทำงกำรเงินจ�ำแนกตำมส่วนงำน ส่วนงานธุรกิจ บริษทั ด�าเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการบริหารการจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปและเครื่องแต่งกาย โดยมีบริษทั ย่อย สนับสนุนการผลิตส่วนใหญ่ ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทมีส่วนงานธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริษัทด�าเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านั้น ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทมีส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์เพียงส่วนงานเดียว

24 รำยได้จำกกำรลงทุน 2555

2554 (พันบาท)

เงินปันผลรับ กิจการอื่นๆ ดอกเบี้ยรับ กิจการอื่นๆ รวม

24

38

114 138

89 127

25 รำยได้อื่น 2555

2554 (พันบาท)

รายได้ค่าเช่า ก�าไรจากการจ�าหน่ายเงินลงทุน รายได้ค่าจ้างเย็บ ก�าไรจากการจ�าหน่ายทรัพย์สิน อื่นๆ รวม

3,073 2,116 374 2,968 8,531

1,572 3,472 3,506 349 3,026 11,925

239


26 ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย 2555

2554 (พันบาท)

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ค่าเช่าและบริการ อื่นๆ รวม

223,592 116,959 91,324 431,875

155,620 63,483 49,268 268,371

2555

2554

(พันบาท) 135,975 19,350 24,604 29,228 71,125 280,282

88,372 20,221 3,492 2,809 47,742 162,636

2555

2554

27 ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคคลากร ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ส�ารองสินค้าล้าสมัยและสินค้าสูญหาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ อื่นๆ รวม

28 ค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์ของพนักงำน (พันบาท) ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าแรง โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ อื่นๆ พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าแรง โครงการผลประโยชน์ที่ก�าหนดไว้ โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ อื่น ๆ

รวมค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์ตอบแทนพนักงำน

240

44,722 4,123 849 18 49,712

19,666 1,330 20,996

409,365 3,391 1,895 139,423 554,074

241,150 4,297 98,595 344,042

603,786

365,038


โครงการสมทบเงินที่ก�าหนดไว้ กลุม่ บริษทั ได้จดั ตั้งกองทุนส�ารองเลีย้ งชีพส�าหรับพนักงานของกลุม่ บริษทั บนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่ม บริษทั จ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพนี้ได้ จดทะเบียนเป็น กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพตามข้อก�าหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้ รับอนุญาต

29 ค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะ 2555 การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�าเร็จรูปและงานระหว่างท�า วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร ค่าจ้างบริการภายนอก ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�าหน่ายและการด้อยค่า ค่าเช่าและบริการ ค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ค่าซ่อมแซมและบ�ารุงรักษา ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ส�ารองสินค้าล้าสมัยและสินค้าสูญหาย อื่นๆ รวมต้นทุนขำย ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำยและค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

(พันบาท) (325,457) 1,051,580 603,786 61,272 59,324 129,370 48,866 27,682 33,174 27,929 120,979 1,838,505

2554 (194,788) 902,895 365,038 25,087 42,430 79,968 27,572 29,340 3,038 3,492 93,485 1,377,557

241


30 ต้นทุนทำงกำรเงิน หมายเหตุ

2555

2554 (พันบาท)

ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น ๆ รวม

6

1,685 17,072 18,757

2,438 9,169 11,607

31 ภำษีเงินได้ 2555

2554 (พันบาท)

ภำษีเงินได้ปัจจุบัน ส�าหรับปีปัจจุบัน ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลต่างชั่วคราว รวม

175,599

131,981

(67,906) 107,693

(3,464) 128,517

32 ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน ก�าไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�าหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ค�านวณจากก�าไรส�าหรับปีที่เป็น ส่วนของผูถ้ อื หุน้ สามัญของบริษทั และจ�านวนหุน้ สามัญที่ออกจ�าหน่ายแล้วระหว่างปีโดยแสดงการค�านวณดังนี้ 2555

2554 (พันบาท/พันหุ้น)

ส�าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ก�าไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัท จ�านวนหุ้นสามัญที่ออกและจ�าหน่ายแล้ว ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐำน (บำท)

599,297 30,000 19.98

298,839 30,000 9.96

33 เงินปันผล ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2554 ที่ประชุมมีมติให้จัดสรรก�าไรสะสม เป็นทุนส�ารองตามกฎหมาย จ�านวน 15 ล้านบาท และประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 280 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 70 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2554 การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ถือเสมือนว่าการจัดสรรก�าไรสะสม เป็นทุนส�ารองตามกฎหมายและการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จา่ ยจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษทั ใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554 ที่ประชุมมีมติให้จัดสรร ก�าไรสะสมและประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ในอัตราหุ้นละ 120 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 30 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลดังกล่าวให้แก่ผถู้ อื หุน้ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2554 การจัดท�า ข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่งท�าใหม่ถอื เสมือนว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จา่ ยจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษัทใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท

242


ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการจัดสรร เงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1,388 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 347 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์ เม้นท์ จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม 2555 การจัดท�าข้อมูลทางการเงินรวมประหนึ่ง ท�าใหม่ถือเสมือนว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จ่ายจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษัทใหญ่ และต่อมา บริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการของ พี.เค. การ์เม้นท์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2555 ที่ประชุมมีมติอนุมัติการจัดสรร เงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 2,000 บาท รวมเป็นเงินจ�านวน 500 ล้านบาท โดย พี.เค. การ์เม้นท์ จะจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นในปี 2556 ข้ อ มู ล ทางการเงิ น รวมประหนึ ่ง ท� า ใหม่ นี ้ไ ด้ จั ด ท� า โดยถื อ เสมื อ นว่ า การจั ด สรรก� า ไรสะสมเป็ น ทุ น ส� า รอง ตามกฎหมาย จ�านวน 15 ล้านบาท ถือเสมือนว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นได้จ่ายจาก พี. เค. การ์เม้นท์ ให้แก่บริษัทใหญ่ และต่อมาบริษัทใหญ่จ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท

34 สิทธิประโยชน์ตำมพระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรลงทุน

1.

2.

บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับสิทธิประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนส�าหรับกิจการผลิตเครื่องนุ่งห่ม จ�านวน 2 ฉบับ คือ ส�าหรับผลิตเครื่องนุ่งห่ม ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 2135(5)/2554 ลงวันที่ 16 กันยายน 2554 ภายใต้ เงื่อนไขที่กา� หนดบางประการ โดยสิทธิประโยชน์ท่มี สี าระส�าคัญได้แก่ การรับยกเว้นอากรขาเข้าส�าหรับเครื่องจักร เพื่อใช้ในการผลิต โดยต้องเป็นเครื่องจักรที่น�าเข้าภายในระยะเวลาที่ก�าหนดตามบัตรส่งเสริมการลงทุน และ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�าหรับก�าไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมก�าหนดเวลา 8 ปี นับตั้งแต่วันที่มีรายได้จากการประกอบกิจการประเภทที่ได้รับการส่งเสริม บริษัทย่อยดังกล่าวเริ่มมีรายได้ จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2554 ส�าหรับผลิตเสื้อผ้าส�าเร็จรูป ตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1673(5)/2555 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ภายใต้เงื่อนไขที่ก�าหนดบางประการ โดยสิทธิประโยชน์ที่มีสาระส�าคัญได้แก่ การรับยกเว้นอากรขาเข้าส�าหรับ เครื่องจักรเพื่อใช้ในการผลิต โดยต้องเป็นเครื่องจักรที่น�าเข้าภายในระยะเวลาที่ก�าหนดตามบัตรส่งเสริมการ ลงทุน และการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�าหรับก�าไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริม ก�าหนดเวลา 8 ปี นับตั้งแต่วนั ที่มรี ายได้จากการประกอบกิจการประเภทที่ได้รบั การส่งเสริม บริษทั ย่อยดังกล่าว เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมตามบัตรส่งเสริมการลงทุนเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 ส�าหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 รายได้จากการขายจ� าแนกตามกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนได้ดังนี้ 2555

2554 (พันบาท)

รายได้จากการขายสินค้า กิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน กิจการที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน หัก ตัดรายการระหว่างกัน รวม

1,067,193 3,060,758 4,127,951 (1,572,346) 2,555,605

45,710 1,758,761 1,804,471 1,804,471

243


35 เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุม่ บริษทั มีความเสี่ยงจากการด�าเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตามข้อก�าหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือ ออกเครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็งก�าไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่ส�าคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความ สมดุลของระดับความเสี่ยงให้เป็นที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของ การจัดการ ความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความ เชื่อมั่นของตลาดและก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการก�ากับดูแลผลตอบแทน จากการลงทุน ซึ่งกลุม่ บริษทั พิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมด�าเนินงานต่อส่วนของเจ้าของ รวม ซึ่งไม่รวมส่วนได้เสียที่ไม่มอี า� นาจควบคุม อีกทั้งยังก�ากับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ สามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตรา ดอกเบี้ยในตลาด ซึง่ ส่ง ผลกระทบต่อการด� า เนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท ผู้บริหารเชื่อว่า กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงในอัตราดอกเบี้ยน้อย เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีเงินกู้ยืมน้อยมาก และอัตราดอกเบี้ยเงิน กู้ยืมที่ได้รับเป็นอัตราตลาด อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�าหนดช�าระหรือ ก�าหนดอัตราใหม่มีดังนี้ อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง

ภายใน 1 ปี

(ร้อยละต่อปี) ปี 2555 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวม

244

หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี

รวม

(พันบาท)

4.0 - 4.8

250,000

-

250,000

5.5 - 5.6

250,000

299,997 299,997

299,997 549,997


อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง

ภายใน 1 ปี

(ร้อยละต่อปี) ปี 2554 หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

3.1 - 4.8 4.7 - 6.7

หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี

รวม

(พันบาท)

262,578 593 263,171

-

262,578 593 263,171

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�าระหนี้แก่กลุ่มบริษัทตามเงื่อนไข ที่ตกลงไว้เมื่อครบก�าหนด ฝ่ายบริหารได้ก�าหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวอย่างสม�่าเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามี ความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�าคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจ�านวนมาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระส�าคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอต่อการด�าเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อท�าให้ผลกระทบจากความผันผวนของ กระแสเงินสดลดลง การก�าหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุม่ บริษทั ก�าหนดให้มกี ารก�าหนดมูลค่ายุตธิ รรมทั้งสินทรัพย์และหนี้สนิ ทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จ�านวนเงินที่ผซู้ ้ือและผูข้ ายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ หรือช�าระหนี้สนิ กัน ในขณะที่ท้งั สองฝ่ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคา กันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรือการ เปิดเผยมูลค่ายุตธิ รรมถูกก�าหนดโดยวิธีตอ่ ไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการก�าหนดมูลค่ายุตธิ รรม ถูกเปิดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้น ๆ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน เป็นมูลค่าที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี

245


36 ภำระผูกพันกับกิจกำรที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 2555

2554 (พันบาท)

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�าเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี รวม ภาระผูกพันอื่นๆ หนังสือค�้าประกันจากธนาคาร รวม

125,866 191,899 317,765

14,460 88,713 103,173

11,512 11,512

10,478 10,478

37 เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำที่รำยงำน เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท MC INTER LIMITED ซึ่งจดทะเบียนในประเทศฮ่องกง โดยเข้าถือหุ้นร้อยละ 100 ซึง่ บริษัทดังกล่าวได้จดทะเบียนหุ้นจ�านวน 10,000 หุ้น หุ้นละ 1 เหรียญฮ่องกง และมีการเรียกช�าระค่าหุ้นแล้ว 1 หุ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรองรับการขยายธุรกิจในต่างประเทศ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 บริษัทได้ลงทุนในบริษัท ว้าว มี จ�ากัด โดยเข้าถือหุ้นร้อยละ 79.97 ซึง่ บริษัท ดังกล่าวได้จดทะเบียนหุน้ จ�านวน 10,000 หุน้ หุน้ ละ 100 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อประกอบกิจการค้าทาง อินเตอร์เนตส�าหรับอุปโภค บริโภค เช่น เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เป็นต้น บริษัทได้ช�าระค่าหุ้นจ�านวน 799,700 บาทแล้ว ณ วันที่ 18 มีนาคม 2556 บริษัทได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์เพื่อเปลี่ยนสถานะเป็นบริษัทมหาชน จ�ากัด และเปลี่ยนชื่อบริษัทจากบริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด เป็นบริษัท แม็คกรุ๊ป มหาชน จ�ากัด ด้วยทุนจดทะเบียน จ�านวน 800 ล้านหุ้นรวมเป็นจ�านวนเงิน 400 ล้านบาท

38 มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ยังไม่ได้ใช้ กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทดังต่อ ไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ก�าหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินส�าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน เรื่อง ปีที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของหอัตราแลกเปลี่ยน 2556 ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ส่วนงานด�าเนินงาน 2556 ฉบับที่ 8 ผู ้ บ ริ ห ารคาดว่ า จะน� า มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม่ ต ามประกาศสภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ม าใช้ แ ละถื อ ปฏิบัติ โดยผู้บริหารพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวต่องบการเงินรวม ซึง่ มีผลกระทบที่มีสาระส�าคัญต่อ งบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชีดังกล่าวมีดังต่อไปนี้

246


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆ ที่ใช้ใน การรายงาน ซึง่ เป็นสกุลเงินที่พิจารณาว่าเป็นสกุลเงินในสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั้นประกอบ กิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 ก�าหนดให้กิจการ ระบุสกุลเงินที่ใช้รายงานและแปลงค่ารายการทีเ่ ป็น สกุลต่างประเทศให้เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�าเนินงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่าดังกล่าวตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ได้ให้ค�านิยามส�าหรับ เงินตราต่างประเทศ กล่าวคือ เงินตราสกุลอื่น นอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ในการด�าเนินงานของกิจการ ผู้บริหารก�าหนดสกุลเงินที่ใช้รายงานของบริษัทเป็นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ส�าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้รับผลกระทบที่มีสาระส�าคัญ ต่อสินทรัพย์ หนี้สิน และ ก�าไรสะสมของบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานด�าเนินงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 น�าเสนอหลักการที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีหลักการเปิดเผยส่วน งานด�าเนินงานจากข้อมูลภายในที่น�าเสนอให้ผู้มีอ�านาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�าเนินงาน การเปลี่ยนนโยบาย การบัญชีดังกล่าวกระทบเพียงการเปิดเผยข้อมูลเท่านั้นไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริษัท

247


ข้อมูลทั่วไป

ชื่อบริษัท เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ

-

ทุนจดทะเบียน ทุนช�าระแล้ว มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ ที่ตั้งส�านักงานใหญ่

-

ผู้สอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

-

248

บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน) 0107556000230 บริษัท แม็คกรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน) ด�าเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการบริหาร การจัดจ�าหน่ายเสื้อผ้าส�าเร็จรูปและเครื่องแต่งกาย 400,000,000 บาท 300,000,000 บาท (โดยแบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจ�านวน 600,000,000 หุ้น) 0.50 บาท 448,450 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ : +66 (0)2 329 1051-56 โทรสาร : +66 (0)2 727 7287 เว็บไซต์ : www.mcgroupnet.com บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ากัด ชั้น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : +66 (0)2 677 2000 โทรสาร : +66 (0)2 677 2222 โดยนายวิเชียร ธรรมตระกูล และ/หรือนางสาวบงกช อ�่าเสงี่ยม และ/หรือ นางสาวอรวรรณ ศิริรัตนวงศ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3183, 3684 และ 3757 ตามล�าดับ บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จ�ากัด ชั้น 22 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ เลขที่ 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : +66 (0)2 264 8000 โทรสาร : +66 (0)2 657 2222




Nipok MC=4c_J.pdf

2

4/30/13

3:26 PM

Peak 14 cm.

18.2 cm.

ระวัง ในปกหน้า เป็นรูปต่อ กับหน้า 3 ใข้โปรไฟล์ G Classic Artcard

san 19.5 mm

18.2 cm.

56-04-093_Nipok _san 19.5 mm._J_CS6_G Classic Artcard

Peak 14 cm.


Cover MC=4k_J.pdf

1

4/30/13

3:24 PM

Peak 14 cm.

18.2 cm.

san 19.5 mm

18.2 cm.

56-04-093_Cover Peak = 4k_san 19.5 mm._J_CS6_G Classic Artcard

Peak 14 cm.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.