สารบัญ
2 8 33 59
ขอมูลสำคัญ ทางการเงิน
ผลการดำเนินงาน และฐานะทางการเงิน
การบริหารและจัดการ ปจจัยความเสี่ยง
รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ
4 15 38 61
สารจาก ประธานกรรมการ
ลักษณะ การประกอบธุรกิจ
โครงสรางผูถือหุน และการจัดการ
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตอ รายงานทางการเงิน
5 19 52 62
สารจากประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูอำนวยการ
การพัฒนา อยางยั่งยืน
ประวัติคณะกรรมการบริษัท และผูบริหาร
งบการเงิน
6 30 58 115
ผังโครงสรางองคกร
ภาวะเศรษฐกิจและทิศทางธุรกิจ ประกันวินาศภัย
รายงานของคณะกรรมการกำหนด คาตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล
ขอมูลทั่วไป และขอมูลสำคัญอ�นๆ
วิสัยทัศน
ดำเนินธุรกิจเพื่อสรางเสถียรภาพตอสังคมอยางมีจริยธรรม และมีกำไรพอสมควร เปนบริษัทชั้นนำในธุรกิจประกันวินาศภัย ซึ่งเพียบพรอมดวยเครือขายบุคลากรที่มีคุณภาพ การบริการ และเทคโนโลยีที่เปนเลิศ ดำเนินการในดานการประกันวินาศภัย โดยใหความคุมครองที่มีคุณคาและคุณภาพ เพื่อประโยชนตอผูเอาประกันภัย พนักงาน ผูถือหุน และสังคมโดยทั่วไป
พันธกิจ
ใหการบริการที่ดีและมีคุณภาพแกผูเอาประกันภัย ดวยความสุจริตและเปนธรรม คิดคนและพัฒนาการประกันภัยแบบตางๆ เสนอเปนบริการใหมๆ เพื่อสนองความตองการ ของสังคมใหไดมากที่สุด พัฒนาระบบการบริหารงานในทุกๆ ดานของบริษัทใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเนนที่คุณภาพของการบริการ และประหยัดคาใชจายอยางสมเหตุสมผล เสริมสรางสภาพแวดลอมในการทำงานที่ดี เพื่อสรางบรรยากาศของการทำงานรวมกัน ฉันทพี่นองในหมูพนักงาน ตลอดจนการจัดผลประโยชนและสวัสดิการที่ดีและเหมาะสม แกสภาวะแวดลอมของสังคม สงเสริมและพัฒนาพนักงานใหมีคุณภาพ เปนทั้งผูมีความรู ความสามารถ และมีคณ ุ ธรรม เพือ่ เปนหลักพืน้ ฐานทีส่ ำคัญของบริษัทและสังคม พัฒนาและนำเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในระบบการทำงาน เพื่อเปนพื้นฐานสูความเปนเลิศ ในทุกๆ ดาน
ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุด ณ 31 ธันวาคม งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย หน่วย
2557
2556
2555
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม
ล้านบาท
5,130.25
6,509.10
20,326.22
หนี้สินรวม
ล้านบาท
2,880.89
4,347.43
18,296.72
ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท
ล้านบาท
2,249.36
2,161.67
2,124.45
เงินลงทุนในหลักทรัพย์
ล้านบาท
2,650.93
2,658.93
2,290.15
เงินปันผลต่อหุ้น
บาท
3.32
3.33
1.00
จำ�นวนหุ้นที่ชำ�ระแล้ว
หุ้น
31,000,000
30,000,000
30,000,000
จำ�นวนหุ้นที่จดทะเบียน
หุ้น
31,000,000
30,000,000
30,000,000
ผลประกอบการ เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น
ล้านบาท
2,685.88
2,532.10
2,560.14
เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ
ล้านบาท
2,175.30
2,050.59
1,766.96
เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้
ล้านบาท
2,017.56
1,977.24
1,641.92
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ
ล้านบาท
1,166.35
1,046.76
1,092.43
ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย
ล้านบาท
2,105.70
2,051.73
1,986.97
กำ�ไรจากการรับประกันภัย
ล้านบาท
76.78
58.20
-176.67
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการลงทุน
ล้านบาท
183.18
192.05
243.47
ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน
ล้านบาท
301.02
391.13
297.31
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ล้านบาท
53.16
37.60
28.69
กำ�ไรสุทธิ
ล้านบาท
235.46
247.81
37.81
อัตราส่วนสภาพคล่อง
2
อัตราส่วนสภาพคล่อง
เท่า
1.47
1.33
1.08
อัตราส่วนหมุนเวียนเบี้ยประกันภัยค้างรับ
วัน
43
48
48
รายงานประจำ�ปี 2557
งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย หน่วย
2557
2556
2555
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำ�ไร อัตราการรับเสี่ยงภัยไว้เอง
ร้อยละ
80.99
80.98
69.02
อัตราค่าสินไหมทดแทน
ร้อยละ
57.81
52.94
66.53
อัตรากำ�ไรขั้นต้น
ร้อยละ
3.81
2.94
-10.76
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย
ร้อยละ
39.11
44.81
45.07
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
ร้อยละ
7.15
7.22
10.63
เท่า
0.99
0.96
0.90
อัตรากำ�ไรสุทธิ
ร้อยละ
9.75
10.54
1.82
อัตราผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น
ร้อยละ
10.68
11.56
1.92
บาท
7.60
7.99
1.26
ร้อยละ
4.05
1.84
0.12
เท่า
0.42
0.17
0.07
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
1.28
2.01
8.61
อัตราหนี้สินจากการรับประกันภัยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
0.91
1.44
7.91
อัตราส่วนเงินสำ�รองเพื่อการเสี่ยงภัยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
0.61
0.55
0.61
อัตราส่วนเงินสำ�รองเพื่อการเสี่ยงภัยต่อสินทรัพย์รวม
ร้อยละ
26.68
18.11
6.36
อัตราการจ่ายเงินปันผล
ร้อยละ
43.74
40.35
79.35
อัตราเบี้ยประกันภัยรับสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน
บมจ. นวกิจประกันภัย
3
สารจากประธานกรรมการ ภาวะเศรษฐกิจไทยในปี 2557 ยังคงชะลอตัวลงจากปีก่อนหน้า โดยมีสาเหตุหลักมาจากเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวอย่างล่าช้า ประกอบกับ ความไม่สงบทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก แม้ว่าในช่วงไตรมาสสุดท้าย เศรษฐกิจไทยจะพลิกฟื้นขึ้นจากสถานการณ์ทางการเมืองที่คลี่คลายลง และการปรับโครงสร้างราคาน�้ำมันภายในประเทศ ซึ่งส่งผลให้การบริโภค ภายในประเทศและการลงทุนภาคเอกชนมีความเชื่อมั่นและขยายตัวดีขึ้น แต่ ธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย โดยรวมก็ ยั ง คงเติ บ โตได้ ไ ม่ ถึ ง ร้ อ ยละ 2 ซึ่งต�่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ในช่วงต้นปีว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 10 บริษัท นวกิจประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักดีถึงภาวะเศรษฐกิจและ การแข่งขันทีร่ นุ แรง ซึง่ ส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษทั อย่างไรก็ดี บริษทั ยังคงมีเป้าหมายหลักที่จะเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด มีผลประกอบการที่เป็นบวก และสร้างผลตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุ้นในระดับทีน่ ่าพอใจ ดังนัน้ เพือ่ ให้บริษัทมีฐานะ ทางการเงิ น ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ในปี 2557 บริ ษั ท จึ ง ได้ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจ�ำนวน 10,000,000 บาท เป็ น ทุ น จดทะเบี ย นทั้ ง สิ้ น 310,000,000 บาท โดยการ ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท เพื่อจ่ายเป็น หุ้นปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม
ทุจริตคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ และสนับสนุน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 บริษัทได้รับ ผลการประเมินจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทยจัดให้เป็นบรรษัทภิบาล ที่มีระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” โดย มีคะแนนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม
ในด้านของการบริหารจัดการ ฝ่ายบริหารได้ทบทวนนโยบายและกลยุทธ์การ ด�ำเนินกิจการของบริษัทในทุกด้าน อาทิ พิจารณาปรับนโยบายการรับประกันภัย โดยเพิ่มสัดส่วนการรับประกันภัยรถยนต์ ซึ่งเป็นตลาดหลักของธุรกิจประกันภัย พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารให้ ต อบสนองความต้ อ งการของผู ้ เ อาประกั น เพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายและพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้มากขึ้น ขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการในต่างจังหวัดโดยเปิดสาขาย่อยเพิม่ อีก 2 แห่ง คือ สาขาย่อย จันทบุรีและสาขาย่อยเชียงราย นอกจากนั้น ยังได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการท�ำงาน เพือ่ ลดขัน้ ตอนทีซ่ ำ�้ ซ้อน พัฒนาบุคลากรโดยการจัดอบรมสัมมนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ หม่ๆ ในทุกด้าน ในส่วนของระบบสารสนเทศ บริษทั ได้ปรับปรุงระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้มีความปลอดภัยขึ้น เพื่อลดโอกาสเครือข่ายล่มทั้งระบบ และป้องกันการบุกรุกข้อมูลจากภายนอก รวมทั้งได้ปรับปรุงศูนย์ข้อมูลของบริษัท ให้มีความพร้อมรองรับการท�ำงานหากเกิดเหตุการณ์วิกฤตขึ้น
ในนามของคณะกรรมการบริ ษั ท ขอขอบคุณลูกค้า ผูถ้ อื หุน้ หน่วยงานภาครัฐ และพันธมิตรทางธุรกิจทุกท่านทีใ่ ห้ความไว้ วางใจในศักยภาพของบริษัท และให้การ สนั บ สนุ น บริ ษั ท ด้ ว ยดี เ สมอมา รวมทั้ ง ขอขอบคุณผู้บริหารและพนักงานทุกท่านที่ มุ่งมั่นและร่วมแรงร่วมใจน�ำพากิจการของ บริษัทให้ประสบความส�ำเร็จ บริษัทขอให้ ทุกท่านเชือ่ มัน่ ว่าบริษทั มีความพร้อมทัง้ ด้าน กลยุทธ์และบุคลากรที่จะแข่งขันเพื่อขยาย กิจการของบริษัท และยึดมั่นที่จะด�ำเนิน ธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาลเพือ่ การเติบโต อย่างยั่งยืน
เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และ ผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทจึงมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินธุรกิจตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มี ก ารบริ ห ารงานที่ โ ปร่ ง ใส ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและ กฎระเบียบของหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลบริษัท รวมทั้งปลูกฝังเรื่องการต่อต้านการ
(สุจินต์ หวั่งหลี) ประธานกรรมการ
4
รายงานประจำ�ปี 2557
สารจากประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้อ�ำนวยการ ปี 2557 มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยใกล้เคียง กับปี 2556 โดยยังไม่เติบโตเท่าที่ควร เป็นผลมาจากเศรษฐกิจยุโรป จีน และญี่ปุ่น ท�ำให้การส่งออกฟื้นตัวอย่างช้าๆ ประกอบกับแรงกระตุ้น จากการใช้ จ ่ า ยภาครั ฐ ลดลง ท�ำ ให้ ร ายได้ ข องธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย ในประเทศไทยได้รับผลกระทบตามไปด้วย
แม้ ว ่ า สภาวะเศรษฐกิ จ โดยรวมจะมี ป ั จ จั ย ในด้ า นลบหลายประการ แต่ผลประกอบการของบริษัทในปี 2557 ยังสามารถเติบโตได้ในระดับที่น่าพอใจ โดยบริษัทมีเบี้ยประกันภัยรับรวมทั้งสิ้น 2,686 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 6 มีก�ำไร จากการรับประกันภัย 76 ล้านบาท สูงกว่าปี 2556 ซึ่งมีก�ำไร 58 ล้านบาท มีก�ำไร จากการลงทุน 190 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทมีก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ 260 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิ 207 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 คิดเป็นก�ำไรต่อหุ้น 6.70 บาท ลดลง จากปีก่อนที่เท่ากับ 6.80 บาท และด้วยความมั่นคงของฐานะทางการเงิน บริษัท มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน ณ เดือนกันยายน 2557 ร้อยละ 458 โดยสูงกว่าเกณฑ์ขั้นต�่ำที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัยก�ำหนดไว้ที่ร้อยละ 140 บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรให้ทันสมัยอยู่เสมอ โดยมีนโยบาย การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและปรับปรุงบริการด้านต่างๆ พร้อมกับออกแบบ แผนประกันภัยใหม่ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค เน้นบริการ ที่ ส ะดวกและรวดเร็ ว ลดขั้ น ตอนในการท�ำงาน อี ก ทั้ ง ยั ง มุ ่ ง เน้ น ในการสร้ า ง ความเชื่อมั่นและความพึงพอใจของลูกค้า เพื่อให้เกิดความไว้วางใจกับบริษัท มากที่สุด ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้าเดิมและกระตุ้นให้มีลูกค้าเข้ามาใช้ บริการมากยิ่งขึ้น ในปี 2557 บริษัทยังได้จัดท�ำแผนกลยุทธ์ ปี 2558-2562 พร้อมกับปรับ โครงสร้างการบริหารงานภายในบริษัท เพื่อรองรับการขยายงานในด้านต่างๆ โดยเป็นการวางแผนงานระยะกลางในการเพิม่ สัดส่วนทางการตลาดให้มกี ารเติบโต อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ บริษัทยังคงให้ความส�ำคัญด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่องโดยกลุ่มพนักงานของบริษัทในนาม “นวกิจจิตอาสา”
ผลประกอบการที่ดีในปีนี้ เกิดขึ้น จากความร่วมมือร่วมใจในการท�ำงานของ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคน รวมทัง้ ตัวแทน นายหน้า และโบรกเกอร์ทั่วประเทศ ที่ยังคง สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท มาโดยตลอด เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มได้รับความ พึงพอใจสูงสุด ผมขอขอบคุณทุกท่านที่เป็น ส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนบริษัทให้เจริญ ก้าวหน้า และในปี 2558 บริษัทจะยังคง มุ่งพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนื่องและมีธรรมา ภิ บ าล เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายการมี เ บี้ ย ประกั น ภั ย รั บ ตรงที่ สู ง ยิ่ ง ขึ้ น ตามแผน ยุทธศาสตร์ 5 ปีต่อไป
(ปิติพงศ์ พิศาลบุตร) ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้อำ�นวยการ
บมจ. นวกิจประกันภัย
5
ผังโครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการกำหนด คาตอบแทน-สรรหาและ ธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหาร
สำนักเลขานุการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการผูอำนวยการ
รองกรรมการ ผูอำนวยการ
ฝายรับประกัน
ผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการ
ฝายสนับสนุน สาขา
ฝายปฏิบัติงาน การตลาด
ฝายบริหาร การตลาด
ฝายพัฒนา ธุรกิจ
แผนกอัคคีภัย
แผนกสัญญา ประกันตอ
ภาคเหนือ
แผนกปฏิบัติงาน การตลาดกรุงเทพ+ ปริมณฑล 1
แผนกธุรกิจ ยานยนต
แผนกธุรกิจ นายหนา นิติบุคคล
แผนก ภัยทางทะเล
แผนกดำเนินงาน กรมธรรม
ภาคใต
แผนกปฏิบัติงาน การตลาดกรุงเทพ+ ปริมณฑล 2
แผนกธุรกิจ สถาบันการเงิน 1
แผนก ลูกคาพิเศษและ บริการงานตรง
แผนก ภัยยานยนต
แผนก คณิตศาสตร
ภาคอีสาน
การตลาด - ภาคเหนือ
แผนกปฏิบัติงาน
แผนกธุรกิจ สถาบันการเงิน 2
แผนกลูกคา รายยอย
แผนกประกัน สุขภาพและภัย เบ็ดเตล็ดบุคคล
แผนกทะเบียน ลูกคา
ภาคกลาง/ ตะวันออก
การตลาด - ภาคกลาง
แผนกปฏิบัติงาน
แผนกธุรกิจ นายหนาบุคคล
แผนกพัฒนา ผลิตภัณฑ
แผนกอำนวยงาน สาขา
การตลาด - ภาคใต
แผนกปฏิบัติงาน
แผนกตออายุ
แผนกปฏิบัติงาน
แผนกบริการ ฝกอบรม ตัวแทนนายหนา
แผนก ภัยเบ็ดเตล็ด ทรัพยสิน
การตลาด - ภาคอีสาน
6
แผนกสงเสริม งานการตลาด รายงานประจำ�ปี 2557
คณะกรรมการลงทุน คณะกรรมการตรวจสอบ
สำนักตรวจสอบภายใน สำนักกำกับการปฏิบัติงาน
ผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการ
ผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการ
รองกรรมการ ผูอำนวยการ
ฝายสินไหม ทดแทน
ฝาย ระบบขอมูล
ฝายบริหาร สินทรัพย
สำนักกรรมการ ผูอำนวยการ
ฝายพัฒนา องคกร
ฝายธุรการ
ฝายการเงิน
แผนกปฏิบัติการ สินไหมรถยนต
แผนก สนับสนุนธุรกิจ
แผนกพิจารณา การลงทุน
แผนก กฎหมาย
แผนกพัฒนา องคกร
แผนก สำนักงาน
แผนก การเงินจาย
แผนกปฏิบัติการ สินไหมทั่วไป
แผนก พัฒนาระบบ
แผนกบริหาร การลงทุน
แผนกผูถือหุน สัมพันธ
แผนกทรัพยากร บุคคล
แผนกจัดซื้อ
แผนก การเงินรับ
แผนกบริหาร สินไหมทดแทน
แผนก สนับสนุนระบบ
แผนกกำกับดูแล สินเชื่อ
แผนกบริหาร ความเสี่ยง
แผนก ฝกอบรม
แผนก ประชาสัมพันธ
แผนกบริหาร งานกลาง
แผนกสินไหม สุขภาพ
แผนกบริการ ระบบขอมูล
แผนก วางแผนกลยุทธ
แผนกบริหาร จัดเก็บและจัดสง
แผนกสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
แผนกบริหารภาษี และงบประมาณ
แผนกความมั่นคง ระบบขอมูล
แผนกบัญชีและ รายงานทางการเงิน
บมจ. นวกิจประกันภัย
7
ผลการด�ำเนินงานและฐานะทางการเงิน การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ สรุปผลการด�ำเนินงานปี 2557 ผลการด�ำเนินงานของบริษัทในปี 2557 มีก�ำไรสุทธิ 235.46 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนที่มีผลก�ำไรสุทธิ 247.81 ล้านบาท อัตรา ผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นร้อยละ 10.68 เปรียบเทียบกับปีก่อนที่ร้อยละ 11.56 มีก�ำไรสุทธิต่อหุ้น 7.60 บาท เปรียบเทียบกับปีก่อนที่จ�ำนวน 7.99 บาท มีเบีย้ ประกันภัยรับรวม 2,685.88 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 153.78 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.07 มีเบีย้ ประกันภัยทีถ่ อื เป็นรายได้ 2,017.56 ล้านบาทในปี 2557 และ 1,977.24 ล้านบาทในปี 2556 เพิ่มขึ้น 40.32 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.04 มีรายได้จากการลงทุนและส่วนแบ่งก�ำไร จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 218.31 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 17.59 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.46 ในปี 2557 มีผลการด�ำเนินงานจากการรับประกันภัยเป็นก�ำไรจากการรับประกันภัยก่อนรายได้จากการลงทุนจ�ำนวน 76.78 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีกอ่ นทีม่ ผี ลก�ำไร 58.21 ล้านบาท โดยคิดเป็นผลก�ำไรเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 18.58 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.91 มีคา่ สินไหมทดแทน และค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนจ�ำนวน 1,166.35 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 119.59 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.42 มีค่าจ้าง และค่าบ�ำเหน็จ 477.78 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 19.57 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.27 มีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานรวมทั้งสิ้น 301.02 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนที่จ�ำนวน 391.13 ล้านบาท ลดลง 90.12 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.04 อัตราก�ำไรขั้นต้นร้อยละ 18.73 ในปี 2557 และร้อยละ 22.73 ในปี 2556
ปัจจัยที่ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทในรอบปี 2557 มีดังต่อไปนี้ 1. ผลการด�ำเนินงานจากการรับประกันภัย บริษัทมีผลก�ำไร 76.78 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 18.58 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.91 1.1 รายได้จากการรับประกันภัย ในปี 2557 มีรายได้จากการรับประกันภัยจ�ำนวน 2,182.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 จ�ำนวน 72.55 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.44 จากผลการด�ำเนินงานดังนี้ เบีย้ ประกันภัยรับรวม 2,685.88 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีกอ่ นทีจ่ �ำนวน 2,532.10 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 153.78 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.07 มาจากการการเพิม่ ขึน้ ของเบีย้ ประกันภัยรับทัง้ ในส่วนของการรับประกันภัยตรงและรับประกันภัยต่อ ในขณะเดียวกันบริษทั มีเบีย้ ประกันภัย ต่อออกในปี 2557 จ�ำนวน 510.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 29.06 ล้านบาท มีเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ 2,175.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 124.72 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.08 ซึ่งคิดเป็นอัตราการรับความเสี่ยงภัยไว้เองร้อยละ 80.99 เท่ากับปี 2556 หนวย : ลานบาท 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000
การประกันภัยทุกประเภท 2,685 2,017
1,978 1,167
1,643 1,092
1,047 449
378
500 0
2,560
2,533
2557 เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได
2556
119 2555
คาสินไหมทดแทนและคาจัดการสุทธิ กำไร (ขาดทุน) จากการรับประกันภัย
ในปี 2557 มีเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิจ�ำนวน 2,017.56 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 40.32 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.04 การเพิ่มขึ้นของเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้สุทธิมาจากการที่บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากการบันทึกบัญชีเบี้ยประกันภัยรับ ส�ำหรับเบีย้ ประกันภัยส่วนทีค่ มุ้ ครองส่วนทีเ่ กินกว่า 1 ปี เป็นเบีย้ ประกันภัยรับล่วงหน้า มาบันทึกรับรูเ้ ป็นเงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัยทีย่ งั ไม่ถอื เป็น เบี้ยประกันภัยรับทั้งจ�ำนวน รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงวิธีการค�ำนวณเงินส�ำรองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้จากวิธีถัวเฉลี่ยตามอายุ กรมธรรม์ (วิธเี ศษหนึง่ ส่วนยีส่ บิ สี)่ เป็นวิธถี วั เฉลีย่ ตามอายุกรมธรรม์ (วิธเี ศษหนึง่ ส่วนสามร้อยหกสิบห้า) เพือ่ ให้การบันทึกเงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัย
8
รายงานประจำ�ปี 2557
ที่ยังไม่ถือเป็นรายได้สอดคล้องกับระยะเวลาคุ้มครองตามกรมธรรม์แต่ละฉบับ ซึ่งมีผลต่อรายได้จากการรับประกันภัยประเภทอัคคีภัยและ ประเภทภัยเบ็ดเตล็ด รายได้จากค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จ 164.93 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 32.24 ล้านบาท หรือร้อยละ 24.29 อัตราค่าจ้างและ ค่าบ�ำเหน็จคิดเป็นร้อยละ 32.30 ในปี 2557 และร้อยละ 27.56 ในปี 2556 1.2 ค่าใช้จ่ายจากการรับประกันภัย ในปี 2557 มีค่าใช้จ่ายการรับประกันภัยรวมทั้งสิ้น 2,105.70 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อน 2,051.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 53.98 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.63
ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยประกอบด้วย
(1) ค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนจ�ำนวนรวม 1,166.35 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 119.59 ล้านบาท จากปี 2556 ซึ่งมีจ�ำนวน 1,046.76 ล้านบาท คิดเป็นอัตราค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนต่อเบี้ยประกันภัย ที่ถือเป็นรายได้ร้อยละ 57.81 สูงกว่าปีก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 52.94 เป็นผลมาจากการการเพิ่มขึ้นในส่วนของการด�ำเนินงานปกติของปี 2557 จ�ำนวน 108 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 และปรับค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทนจากมหาอุทกภัยปี 2554 จ�ำนวน 11.6 ล้านบาท (2) ค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ในการรับประกันภัยจ�ำนวนรวม 628.30 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 24.75 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.10 มาจากการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จ 19.57 ล้านบาท และจากค่าใช้จ่ายอื่นในการรับประกันเพิ่มขึ้น 5.18 ล้านบาท ส�ำหรับค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เป็นค่าใช้จ่ายที่แปรผันตามเบี้ยประกันภัยรับตรงและประกันภัยรับต่อ ซึ่งในปี 2557 เบี้ยประกันภัยรับตรงมีจ�ำนวน 2,658.88 ล้านบาท เปรียบเทียบปี 2556 ซึ่งมีเบี้ยประกันภัยรับตรง 2,532.10 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเพิ่มร้อยละ 6.07 แต่หากพิจารณา อัตราค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จและค่าใช้จ่ายอื่นในการรับประกันภัยแล้ว ในปี 2557 จะต�่ำกว่าปี 2556 คิดเป็นร้อยละ 23.39 และร้อยละ 23.84 ตามล�ำดับ (3) เงินสมทบบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถจ�ำนวน 10.04 ล้านบาท ลดลง 0.25 ล้านบาทจากปี 2556 ซึ่งมีจ�ำนวน 10.29 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ยนีเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยทีแ่ ปรผันตามจ�ำนวนเบีย้ ประกันภัยรับจากการประกันภัยรถตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผูป้ ระสบภัย จากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งในปี 2557 เบี้ยประกันภัยประเภทนี้ลดลง (4) ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานจ�ำนวนรวม 301.02 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนมีจ�ำนวน 391.13 ล้านบาท ลดลง 90.12 ล้านบาท จากการที่บริษัทปรับลดหนี้สงสัยจะสูญจากค่าสินไหมรับคืนจากการประกันภัยต่อที่บริษัทได้รับรู้เป็นหนี้สงสัยจะสูญในปี 2556 จ�ำนวน 64 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทได้รับช�ำระหนี้แล้ว และได้ตัดหนี้สูญส�ำหรับบริษัทประกันภัยต่อที่ไม่สามารถเรียกเก็บเงินได้จ�ำนวนเงิน 4.65 ล้านบาท ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานลดลง 123.87 ล้านบาท นอกจากนี้ ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานที่ลดลงเป็นผลมาจากการ รับรูแ้ ละตัง้ ส�ำรองหนีส้ งสัยจะสูญลูกหนีจ้ ากค่าสินไหมรับคืนจากคูก่ รณีลดลง 4.8 ล้านบาท จากการทีบ่ ริษทั มีระบบการติดตามเรียกเก็บได้ดขี นึ้ จึงท�ำให้มยี อดลูกหนีค้ งค้างในปีกอ่ นน้อยลง การตัง้ ส�ำรองหนีส้ งสัยจะสูญจึงลดลง ในปี 2557 บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงานเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 26 ล้านบาท จากการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนพนักงานเพื่อรองรับกลยุทธ์ในการเติบโตของบริษัทตามนโยบาย 1.3 ก�ำไรจากการรับประกันภัยก่อนค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานตามประเภทภัย
การประกันอัคคีภัย
หนวย : ลานบาท 800 700 600 500 400 300 200 100 0 -100 -200
706
607
496 205
165
186
173
158
212
9 -32 2557 เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได
2556 คาสินไหมทดแทนและคาจัดการสุทธิ กำไร (ขาดทุน) จากการรับประกันภัย
2555
-117
บมจ. นวกิจประกันภัย
9
การประกันอัคคีภัย ในปี 2557 มีก�ำไรจากการรับประกันภัยอัคคีภยั ก่อนค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน 164.77 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8.51 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.91 โดยมีเบี้ยประกันภัยรับรวม 607.21 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 111.03 ล้านบาท มีเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ 263.53 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีกอ่ น 52.98 ล้านบาท ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นการเพิม่ ขึน้ จากช่องทางการขายต่างๆ รวมกัน 45.7 ล้านบาท ส่วนใหญ่จะมาจากแหล่งงานทีเ่ ป็นตัวแทน นายหน้า นายหน้านิตบิ คุ คล และสถาบันการเงิน และจากการทีบ่ ริษทั ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีจากการบันทึกบัญชีเบีย้ ประกันภัยรับ ส�ำหรับเบี้ยประกันภัยส่วนที่คุ้มครองส่วนที่เกินกว่า 1 ปี เป็นเบี้ยประกันภัยรับล่วงหน้า มาบันทึกเป็นเบี้ยประกันภัยรับสุทธิในปี 2557 จ�ำนวน 52.25 ล้านบาท และบันทึกรับรูเ้ ป็นเงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัยทีย่ งั ไม่ถอื เป็นเบีย้ ประกันภัยในปี 2557 ตามวิธกี ารค�ำนวณเงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัย ที่ยังไม่ถือเป็นรายได้จากวิธีถัวเฉลี่ยตามอายุกรมธรรม์ (วิธีเศษหนึ่งส่วนสามร้อยหกสิบห้า) เบีย้ ประกันภัยทีถ่ อื เป็นรายได้สทุ ธิมจี �ำนวน 204.99 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 19.11 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.28 รายได้คา่ จ้าง และค่าบ�ำเหน็จมีจ�ำนวน 117.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 39.18 ล้านบาท จากการรับรู้ค่าจ้างค่าบ�ำเหน็จของเบี้ยประกันภัยระยะยาวที่ รับรู้เบี้ยเป็นประกันภัยรับในงวดนี้ จ�ำนวน 7.48 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรับประกันรวมมีจ�ำนวน 157.55 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 66.79 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของ ค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จา่ ยในการจัดการค่าสินไหมทดแทน ซึง่ เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 41.27 ล้านบาท ค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จเพิม่ ขึน้ จากปี 2556 จ�ำนวน 20.74 ล้านบาท จากการรับรูค้ า่ จ้างค่าบ�ำเหน็จของเบีย้ ประกันภัยระยะยาวทีร่ บั รูเ้ บีย้ เป็นประกันภัยรับในงวดนี้ จ�ำนวน 15.37 ล้านบาท อัตราก�ำไรขั้นต้นจากการรับประกันอัคคีภัยคิดเป็นร้อยละ 80.38 ต�่ำกว่าปีก่อนที่ร้อยละ 93.22
การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
หนวย : ลานบาท 150
143 114
120 90 60 30 0
76 40
35 5 2557 เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได
47
38
49
11
38 9
2556 2555 คาสินไหมทดแทนและคาจัดการสุทธิ กำไร (ขาดทุน) จากการรับประกันภัย
การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
ในปี 2557 บริษัทมีก�ำไรจากการรับประกันภัยทางทะเลและขนส่งก่อนค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน 34.72 ล้านบาท ลดลงจาก ปีก่อน 3.66 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.54 โดยมีเบี้ยประกันภัยรับรวม 75.91 ล้านบาท ลดลง 37.63 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.15 มีอัตราการรับ เสี่ยงภัยไว้เองร้อยละ 51.07 สูงกว่าปีก่อนร้อยละ 11.40 เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้จ�ำนวน 39.99 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 6.62 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.20 มีรายได้ค่าจ้างและ ค่าบ�ำเหน็จ 11.60 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 10.44 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยรวม 16.87 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 13.39 ล้านบาท หรือร้อยละ 44.25 อัตราก�ำไรขั้นต้นจากการ รับประกันภัยทางทะเลและขนส่งคิดเป็นร้อยละ 86.81 สูงกว่าปีก่อนที่ร้อยละ 82.34
10
รายงานประจำ�ปี 2557
หนวย : ลานบาท 2,000 1,793
การประกันภัยรถ 1,767 1,678
1,693
1,537
1,500
1,112
1,031
1,000 500
829 208
144
0
1,371
2557 เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได
178
2556 2555 คาสินไหมทดแทนและคาจัดการสุทธิ กำไร (ขาดทุน) จากการรับประกันภัย
การประกันภัยรถ
บริษัทมีผลก�ำไรจากการรับประกันภัยก่อนค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน 144.53 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 63.57 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 30.55 โดยมีเบี้ยประกันภัยรับ 1,793.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อยเพียง 26.66 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.51 แตกต่างจาก หลายปีที่ผ่านมา ซึ่งเบี้ยประกันภัยรถยนต์มักจะเติบโตในอัตราสูงกว่าการประกันภัยประเภทอื่นๆ สาเหตุเกิดจากการผลิตและการจ�ำหน่าย รถยนต์ใหม่ที่ลดลงถึงร้อยละ 30 รวมถึงการจัดเช่าซื้อรถยนต์ที่ลดลงตามไปด้วย เบีย้ ประกันภัยทีถ่ อื เป็นรายได้ 1 ,693.13 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 14.97 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.89 มีรายได้คา่ จ้างและค่าบ�ำเหน็จ 3.38 ล้านบาท ลดลง 2.97 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยจ�ำนวน 1,551.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 75.56 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.12 สาเหตุหลักมาจาก การเพิ่มขึ้นของค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่ายในการจัดการค่าสินไหมทดแทน ซึ่งมีอัตราต่อเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ร้อยละ 65.67 ในปี 2557 และร้อยละ 61.43 ในปี 2556 การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าอะไหล่และค่าซ่อมที่ปรับเพิ่มขึ้น อัตรา ก�ำไรขั้นต้นจากการรับประกันภัยรถคิดเป็นร้อยละ 8.54 ต�่ำกว่าปีก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 12.40 หนวย : ลานบาท 250 200
การรับประกันภัยเบ็ดเตล็ดอื่น 209
150 100
79 41
50 0
174
156 67 34
2557 เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น เบี้ยประกันภัยที่ถือเปนรายได
37
65 30
42
20
2556 2555 คาสินไหมทดแทนและคาจัดการสุทธิ กำไร (ขาดทุน) จากการรับประกันภัย
การประกันภัยเบ็ดเตล็ดอื่น
ในปี 2557 มีก�ำไรจากการรับประกันภัยก่อนค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน 33.78 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.20 มีเบี้ยประกันภัยรับ 209.36 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 53.73 ล้านบาท มีเบี้ยประกันภัยรับสุทธิ 97.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 40.06 ล้านบาท มาจากการที่บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีจากการบันทึกบัญชีเบี้ยประกันภัยรับส�ำหรับเบี้ยประกันภัยส่วนที่คุ้มครอง ส่วนที่เกินกว่า 1 ปี เป็นเบี้ยประกันภัยรับล่วงหน้า มาบันทึกเป็นเบี้ยประกันภัยรับสุทธิในปี 2557 จ�ำนวน 23.10 ล้านบาท และบันทึกรับรู้เป็น เงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัยทีย่ งั ไม่ถอื เป็นเบีย้ ประกันภัยตามวิธกี ารค�ำนวณเงินส�ำรองเบีย้ ประกันภัยทีย่ งั ไม่ถอื เป็นรายได้จากวิธถี วั เฉลีย่ ตามอายุ กรมธรรม์ (วิธีเศษหนึ่งส่วนสามร้อยหกสิบห้า) บมจ. นวกิจประกันภัย
11
เบีย้ ประกันภัยทีถ่ อื เป็นรายได้จ�ำนวน 79.45 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 12.86 ล้านบาท ซึง่ ในปี 2557 บริษทั มีการปรับอัตราการ รับเสี่ยงภัยไว้เองที่ร้อยละ 46.67 สูงกว่าปีก่อนร้อยละ 9.63 มีรายได้ค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จ จ�ำนวน 32.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 10.51 ล้านบาท หรือร้อยละ 48.72 จากการรับรูค้ า่ จ้างค่าบ�ำเหน็จของเบีย้ ประกันภัยระยะยาวทีร่ บั รูเ้ บีย้ เป็นประกันภัยรับในงวดนีจ้ �ำนวน 5.35 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยจ�ำนวน 78.29 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 15.13 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.96 สาเหตุหลักมาจาก การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างและค่าบ�ำเหน็จ จากการรับรู้ค่าจ้างค่าบ�ำเหน็จของเบี้ยประกันภัยระยะยาวที่รับรู้เบี้ยเป็นประกันภัยรับในงวดนี้จ�ำนวน 7.32 ล้านบาท อัตราก�ำไรขั้นต้นจากการรับประกันภัยเบ็ดเตล็ดอื่นคิดเป็นร้อยละ 42.51 ต�่ำกว่าปีก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 44.42 1.4 ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน ในปี 2557 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานจ�ำนวน 301.02 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 90.12 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.04 จากการที่บริษัทปรับลดหนี้สงสัยจะสูญจากค่าสินไหมรับคืนจากการประกันภัยต่อที่บริษัทได้รับรู้เป็นหนี้สงสัยจะสูญในปี 2556 จ�ำนวน 64 ล้านบาท เนือ่ งจากบริษทั ได้รบั ช�ำระหนีแ้ ล้ว และได้ตดั หนีส้ ญ ู ส�ำหรับบริษทั ประกันภัยต่อทีไ่ ม่สามารถเรียกเก็บเงินได้จ�ำนวนเงิน 4.65 ล้านบาท ส่งผลให้คา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานลดลง 123.87 ล้านบาท นอกจากนี้ ค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานทีล่ ดลงเป็นผลมาจากการรับรูแ้ ละตัง้ ส�ำรอง หนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้จากค่าสินไหมรับคืนจากคู่กรณีลดลง 4.8 ล้านบาท จากการที่บริษัทมีระบบการติดตามเรียกเก็บได้ดีขึ้น จึงท�ำให้มียอด ลูกหนี้คงค้างในปีก่อนน้อยลง การตั้งส�ำรองหนี้สงสัยจะสูญจึงลดลง บริษัทมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 26 ล้านบาท จากการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนพนักงานเพื่อรองรับกลยุทธ์ในการเติบโตของบริษัทตามนโยบาย เนือ่ งจากปัจจุบนั ปริมาณและความถีข่ องความเสียหายเพิม่ ขึน้ จากเดิม อันเป็นผลกระทบจากปัจจัยภายนอก เช่น สภาพภูมศิ าสตร์ ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ อุบัติภัย ภัยก่อการร้าย และโจรกรรม เป็นต้น บริษัทจึงมีนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านการประกันภัยโดยการวิเคราะห์ อัตราค่าเสียหาย เพือ่ เป็นข้อมูลในการพิจารณารับประกันภัยและจัดการค่าสินไหม พิจารณาคัดเลือกกุลม่ ลูกค้า ลักษณะกิจการ และความเสีย่ ง ของภัยที่จะรับประกันอย่างเข้มงวด จัดท�ำสัญญาประกันภัยต่อกับบริษัทประกันภัยต่อที่มีความมั่นคงทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้ง บริหารสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ เพื่อกระจายการรับเสี่ยงภัยทุกประเภทภัยในสัดส่วนที่เหมาะสมกับสภาพตลาดและสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ของบริษัท 2. ผลการด�ำเนินงานจากการลงทุนและรายได้อื่น ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการลงทุนและก�ำไรจากการลงทุน 183.18 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีกอ่ นซึง่ มีจ�ำนวน 192.05 ล้านบาท ลดลง 8.87 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.62 โดยที่รายได้จากดอกเบี้ยและเงินปันผลรับในปี 2557 มีจ�ำนวน 97.79 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 5.61 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.42 เป็นผลมาจากอัตราดอกเบี้ยที่ปรับลดลง โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยอายุ 1 ปี ถึง 10 ปี ปรับลดลง ร้อยละ 0.25 ถึง ร้อยละ 1.00 ประกอบกับเงินปันผลรับจากหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวลดลง เนื่องจากผลประกอบการของบริษัท จดทะเบียนในช่วงครึ่งหลังของปี 2556 และช่วงครึ่งแรกของปี 2557 ยังคงปรับลดลงจากภาวะเศรษฐกิจโลกและเหตุการณ์ทางการเมือง ภายในประเทศ ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนในปี 2557 มีจ�ำนวน 85.39 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 3.26 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.68 อัตรา ผลตอบแทนจากการลงทุนในปี 2557 ร้อยละ 7.15 และร้อยละ 7.22 ในปี 2556 มีส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 35.14 ล้านบาท ในปี 2557 ซึ่งลดลงจากปีก่อน 8.72 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.88 คณะกรรมการลงทุนของบริษัทก�ำหนดนโยบายการลงทุน โดยกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์หลายประเภทเพื่อลดความผันผวนของ มูลค่าเงินลงทุนโดยรวมของบริษทั มีการติดตามและวิเคราะห์ผลการลงทุนอย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ ทบทวนแผนการลงทุนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว ปัจจัยที่มีผลต่อการด�ำเนินงานในอนาคต 1. การแข่งขันและการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัย การเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีส่ ง่ ผลต่อการเปิดเสรีทางการค้าของธุรกิจประกันภัยในปี 2563 ท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจประกันภัย ในประเทศไทยมีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น บริษัทประกันภัยต่างประเทศและบริษัทประกันภัยในประเทศซึ่งมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง ต่างพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า และด้วยศักยภาพทางการเงินที่แข็งแกร่ง ท�ำให้ บริษทั เหล่านัน้ มีความสามารถในการรับประกันภัยได้สงู ขึน้ ตลอดจนมีอ�ำนาจในการแข่งขันทัง้ ด้านราคา กลยุทธ์ และคุณภาพในการให้บริการ ส่งผลให้บริษทั ประกันภัยต้องปรับตัวเพือ่ รองรับภาวะการแข่งขันอย่างรุนแรง บริษทั จึงได้จดั ท�ำแผนกลยุทธ์ 5 ปีขนึ้ ซึง่ ก�ำหนดทิศทางและสร้าง ความแข็งแกร่งให้บริษัท เพื่อให้มีความพร้อมในการแข่งขันในอนาคต
12
รายงานประจำ�ปี 2557
2. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจของประเทศและของโลกเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ในช่วงทีภ่ าวะเศรษฐกิจตกต�ำ่ อ�ำนาจการ ซื้อของประชาชนและผู้เอาประกันภัยก็ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ ผู้เอาประกันภัยของบริษัท ซึ่งประกอบด้วยลูกค้าบุคคลธรรมดาและลูกค้า นิตบิ คุ คล หรือหน่วยงานภาครัฐต่างๆ อาจลดจ�ำนวนเงินเอาประกันภัยหรือลดความคุม้ ครอง หรือยกเลิกความคุม้ ครอง หรือไม่ตอ่ อายุกรมธรรม์ ประกันภัย ดังนั้น บริษัทจึงได้แสวงหาช่องทางการจ�ำหน่ายใหม่ๆ และขยายกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้นจากเดิม เพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว 3. ภัยธรรมชาติและภัยพิบัติ สภาพทางภูมิศาสตร์ในปัจจุบันส่งผลให้ภัยธรรมชาติและภัยพิบัติมีความถี่ในการเกิดและความรุนแรงเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจส่งผลให้ ปริมาณความเสียหายทั้งต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินที่บริษัทรับประกันภัยไว้เพิ่มขึ้นด้วย ดังนั้น บริษัทจึงได้มีการพิจารณารับประกันภัย อย่างรอบคอบ และก�ำหนดพื้นที่และเขตในการรับประกันภัยเพื่อกระจายความเสี่ยงในการเกิดภัยดังกล่าว ฐานะทางการเงิน 1. ส่วนประกอบของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 5,130.25 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนซึ่งมีสินทรัพย์รวม 6,509.10 ล้านบาท ลดลง 1,378.85 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.18 มีหนี้สินรวมจ�ำนวน 2,880.89 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนที่ 4,374.43 ล้านบาท ลดลง 1,466.55 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.73 การลดลงในจ�ำนวนที่สูงทั้งสินทรัพย์และหนี้สินมีสาเหตุหลักมาจากการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ที่ค้างจ่ายและการเรียกคืนเงินจากการเอาประกันภัยต่อ 2. คุณภาพของสินทรัพย์ 2.1 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ณ 31 ธันวาคม 2557 มีจ�ำนวน 2,650.93 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 8 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.30 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดมีจ�ำนวน 594.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 43.37 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 7.86 2.2 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ในปี 2557 มูลค่าตามบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมมีจ�ำนวน 678.42 ล้านบาทและมีมูลค่าสุทธิ หลังหักค่าเสือ่ มราคาสะสมทีม่ อี ยู่ 415.99 ล้านบาท เป็นจ�ำนวนสุทธิ 262.43 ล้านบาท ในระหว่างปีมกี ารซือ้ เพิม่ และจ�ำหน่ายออก ท�ำให้มลู ค่า ตามบัญชีเพิ่มขึ้น 53.02 ล้านบาท เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นในส่วนของการปรับปรุงอาคารส�ำนักงานจ�ำนวน 23.23 ล้านบาท และการเพิ่มขึ้นใน ส่วนของการลงทุนระบบสารสนเทศจ�ำนวน 26.02 ล้านบาท มีการรับรู้ค่าเสื่อมราคาในปี 2557 ลดลง 3.84 ล้านบาท จากปี 2556
2.3 เบี้ยประกันค้างรับ
ในปี 2557 มีเบี้ยประกันภัยค้างรับสุทธิ 350.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 61.09 ล้านบาท โดยมีเบี้ยประกันภัยค้างรับจาก ผู้เอาประกันและจากตัวแทนนายหน้ารวม 349.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนซึ่งมีจ�ำนวน 277.07 ล้านบาท มีระยะเวลาการจัดเก็บ 43 วัน ต�่ำกว่าปีก่อนที่ 48 วัน มีการตั้งส�ำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจ�ำนวน 0.97 ล้านบาท ซึ่งพิจารณาจากเบี้ยค้างรับตัวแทนแต่ละรายอย่างสมเหตุ สมผล มีเบี้ยประกันภัยค้างรับจากการรับประกันภัยต่อ 1.43 ล้านบาทในปี 2557 และ 12.09 ล้านบาทในปี 2556 ลดลง 10.66 ล้านบาท
2.4 สินทรัพย์อื่น
ค่าสินไหมทดแทนค้างรับจากคู่กรณีในปี 2557 มีจ�ำนวน 155.70 ล้านบาท และ 140.74 ล้านบาทในปี 2556 มียอดค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ 85.07 ล้านบาทในปี 2557 และ 75.64 ล้านบาทในปี 2556 สัดส่วนของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเท่ากับร้อยละ 54.64 ในปี 2557 และร้อยละ 53.74 ในปี 2556 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของธุรกิจด้านการประกันภัยรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงและการก�ำหนดอัตราการตั้ง ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทีเ่ ป็นค่าใช้จา่ ยในปีแรกด้วยอัตราทีส่ งู จึงส่งผลให้คา่ เผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญทีเ่ ป็นค่าใช้จา่ ยในปี 2557 เพิม่ ขึน้ 9.43 ล้านบาท สินทรัพย์อื่นๆ มีจ�ำนวน 93.29 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 3.34 ล้านบาท มาจากภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี 2557 ที่จ่ายล่วงหน้าจ�ำนวน 10.52 ล้านบาท
บมจ. นวกิจประกันภัย
13
3. สภาพคล่อง ณ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีอัตราส่วนสภาพคล่อง 1.48 เท่า สูงกว่าปีก่อนที่ 1.33 เท่า มาจากประสิทธิภาพในการจัดเก็บหนี้ เบี้ยประกันภัยค้างรับและการเรียกคืนค่าสินไหมทดแทนจากประกันภัยต่อ บริษัทมีนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องโดยพิจารณาลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง มีความเสี่ยงด้านเครดิตต�่ำ โดยกระจายการลงทุนและก�ำหนดสัดส่วนและระยะเวลาการลงทุนให้เหมาะสมกับระยะเวลาการช�ำระหนี้สินและภาระผูกพันของบริษัท 4. แหล่งที่มาของเงินทุน เงินทุนเพื่อการด�ำเนินงานส่วนใหญ่มาจากส่วนของผู้ถือหุ้นและจากการประกอบธุรกิจ หนี้สินส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นเงินส�ำรอง เบี้ยประกันภัยและส�ำรองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่าย ซึ่งเกิดจากการด�ำเนินธุรกิจประกันภัยอันเป็นธุรกิจหลัก รายจ่ายลงทุน เพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ที่บริษัทได้วางแผนที่จะเพิ่มเบี้ยประกันภัย บริษัทจึงมีแผนที่จะพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้รองรับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น ทั้งด้านงานขายและด้านงานบริการสินไหม โดยในปี 2557 บริษัทได้ปรับปรุงศูนย์คอมพิวเตอร์หลักของบริษัท ให้มคี วามพร้อมในการท�ำงานกรณีทเี่ กิดเหตุการณ์ฉกุ เฉิน เช่น ไฟฟ้าดับ และได้ปรับเปลีย่ นระบบเครือข่ายให้มคี วามเสถียรยิง่ ขึน้ นอกจากนัน้ บริษัทยังได้ตกแต่งส�ำนักงานใหม่เพื่อจัดสรรพื้นที่ท�ำงานให้เหมาะสมกับจ�ำนวนพนักงาน สร้างสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ดีขึ้น และใช้ นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อประหยัดพลังงาน
5. ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2557 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ มีจ�ำนวน 2,249.36 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 87.69 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 4.06 การเปลีย่ นแปลง มาจากการเพิ่มขึ้นของทุนที่ออกและช�ำระแล้วจ�ำนวน 10 ล้านบาท จากการจ่ายหุ้นปันผลประจ�ำปี 2556 การเพิ่มขึ้นของก�ำไรสะสมที่ยังไม่ จัดสรร 135.47 ล้านบาท ซึ่งมาจากผลการด�ำเนินงานของปี 2557 และการลดลงขององค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ 57.79 ล้านบาท ซึ่งมาจากผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในบริษัทร่วมและเงินลงทุนในหลักทรัพย์ซึ่งแสดงอยู่ในรายการก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส�ำหรับปี-สุทธิจากภาษี 6. ภาระผูกพันด้านหนี้สินและการบริหารจัดการภาระนอกงบดุล ในปี 2557 มีคดีที่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจ�ำนวน 175.3 ล้านบาท โดยบริษัทมีภาระผูกพันไม่เกินทุนประกันสูงสุดของกรมธรรม์ คิดเป็นจ�ำนวนรวม 30.1 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้มกี ารตัง้ ส�ำรองค่าเสียหายไว้แล้วจ�ำนวน 29.3 ล้านบาท ซึง่ คดีทมี่ จี �ำนวนค่าเสียหาย สูงสุดจ�ำนวน 122.46 ล้านบาท และบริษัทมีภาระผูกพัน 1.5 ล้านบาท ยังอยู่ในระหว่างการฟ้องร้องคดีในศาลชั้นต้น ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ค่าตอบแทนการสอบบัญชีในรอบปีบัญชี 2557 จ�ำนวน 1,186,000 บาท 2. ค่าบริการอื่น ค่าตอบแทนงานบริการอืน่ ได้แก่ การตรวจสอบและสอบทานรายงานการด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความเสีย่ ง จ�ำนวน 534,000 บาท
14
รายงานประจำ�ปี 2557
ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสร้างรายได้ หน่วย : ล้านบาท โครงสร้างรายได้
2557 จำ�นวน
2556 ร้อยละ
จำ�นวน
2555 ร้อยละ
จำ�นวน
ร้อยละ
เบี้ยประกันภัยรับ* อัคคีภัย
607.21
20.80
496.18
17.89
705.68
24.98
75.91
2.60
113.54
4.09
143.44
5.08
ภัยรถยนต์
1,793.41
61.44
1,766.75
63.70
1,536.82
54.41
ภัยเบ็ดเตล็ด
209.36
7.17
155.63
5.61
174.20
6.17
2,685.89
92.01
2,532.10
91.29
2,560.14
90.64
189.70
6.50
192.05
6.92
243.47
8.62
8.11
0.28
5.72
0.21
7.47
0.26
2,883.70
98.79
2,729.87
98.42
2,811.08
99.52
35.14
1.20
43.85
1.58
13.68
0.48
2,918.84
100.00
2,773.72
100.00
2,824.76
100.00
ภัยทางทะเลและขนส่ง
เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น รายได้จากการลงทุน รายได้อื่น รวม ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม รายได้รวม
หมายเหตุ * เบี้ยประกันภัยรับ หมายถึง เบี้ยประกันภัยรับตรงและเบี้ยประกันภัยรับต่อแสดงตามงบการเงินรวม โดยไม่รวมเบี้ยประกันภัยของบริษัทร่วม
บริษัทเริ่มประกอบธุรกิจรับประกันวินาศภัยเมื่อปี 2476 โดยครอบครัวหวั่งหลี ภายใต้ชื่อ บริษัท หล่วงหลีประกันภัย จ�ำกัด โดยใน ยุคแรกของการก่อตั้ง จะเปิดรับประกันเฉพาะด้านอัคคีภัยและภัยทางทะเล ต่อมาในปี 2533 ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ด้วยทุนจดทะเบียน 40 ล้านบาท และในปี 2535 ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 80 ล้านบาท บริษัทได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2536 บริษัทมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 2 ครั้ง จากมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2539 และวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2545 ตามล�ำดับ โดยให้เพิ่มทุนจาก 80 ล้านบาท เป็น 210 ล้านบาท (มีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 200 ล้านบาท) และเพิ่มทุนจาก 200 ล้านบาท เป็น 300 ล้านบาท ซึ่งเป็นทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วทั้งจ�ำนวน ในปี 2557 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2557 มีมติอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทเพื่อรองรับการจ่าย หุ้นปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในอัตรา 30 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปันผล โดยเพิ่มทุนจาก 300 ล้านบาท เป็น 310 ล้านบาท ด้วยการออกหุ้นสามัญ ใหม่จ�ำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ซึ่งได้จดทะเบียนทุนช�ำระแล้วทั้งจ�ำนวนเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2557 ปัจจุบันบริษัทมีการด�ำเนินธุรกิจผ่านบริษัทร่วม 1 แห่ง ได้แก่ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) โดยเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2558 มีการปรับโครงสร้างการถือหุน้ ในบริษทั ร่วมเพือ่ ให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง การลงทุนประกอบธุรกิจอื่นของบริษัทประกันวินาศภัย พ.ศ. 2556 ซึ่งบริษัทได้จ�ำหน่ายหุ้นบริษัทร่วมจ�ำนวน 975,992 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 16.27 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว ภายหลังการจ�ำหน่าย บริษัทยังคงถือหุ้นในบริษัทร่วมจ�ำนวน 1,200,000 หุ้น หริอคิดเป็น ร้อยละ 20.00 ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วของบริษัทร่วม ธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทร่วม คือ การรับประกันวินาศภัยทุกประเภท ได้แก่ การประกันอัคคีภัย การประกันภัยทางทะเลและ ขนส่ง การประกันภัยรถยนต์ และการประกันภัยเบ็ดเตล็ด แบ่งเป็น
บมจ. นวกิจประกันภัย
15
การรับประกันภัยโดยตรง ซึ่งบริษัทจะรับประกันภัยผ่านตัวแทน นายหน้า นายหน้านิติบุคคล และสาขาต่างๆ ของบริษัท สัดส่วน การรับประกันภัยโดยตรงเกินกว่าร้อยละ 90 ของเบี้ยประกันภัยรับรวมทั้งสิ้น ส�ำหรับ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) จะเป็นการขายประกันรายย่อยซึ่งประกอบด้วยธนประกันภัยและขายตรง และประกันภัยเชิงพาณิชย์ผ่านบริษัทนายหน้า การรับประกันต่อและจ่ายต่อระหว่างบริษัทประกันวินาศภัยอื่นๆ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงในการรับประกันภัย นอกเหนือจากการด�ำเนินธุรกิจประกันภัยแล้ว บริษัทมีการบริหารจัดการเงินส่วนที่เหลือจากการด�ำเนินธุรกิจประกันภัยอันเป็นธุรกิจ ปรกติไปลงทุน โดยประเภทการลงทุนและมูลค่าเงินลงทุนเป็นไปตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ว่าด้วยเรื่องการลงทุนของธุรกิจประกันวินาศภัย โดยบริษัทมีการกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์ หลากหลายประเภท เช่น การฝากเงินกับสถาบันการเงิน การซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ การลงทุนในหุ้นและหน่วยลงทุน เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทมีเป้าหมายระยะยาวในการเพิ่มสัดส่วนการรับประกันภัยกลุ่มลูกค้าบุคคลและกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม อีกทั้ง ยังมีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มฐานลูกค้ากลุ่มดังกล่าวโดยการสร้างช่องทางการตลาดใหม่ๆ และนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าและ ทันสมัย ตรงต่อความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ในปี 2557 คณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติแผนธุรกิจของบริษัทส�ำหรับ 5 ปีข้างหน้า เพื่อเป็นแนวทางในการขยายงาน หลังจากที่ บริษัทประสบภาวะสินไหมน�้ำท่วมตั้งแต่ปี 2554 ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทมีทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจนและเพิ่มสัดส่วนทางการตลาด ให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญในรอบปี 2557 ปรับโครงสร้างองค์กร เพื่อความเหมาะสมในการบริหารจัดการ โดยมีผลวันที่ 1 มกราคม 2558 ได้รับรางวัลผู้ใช้ระบบสินไหมอัตโนมัติดีเด่นประจ�ำปี 2557 ซึ่ง คปภ. และ บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จ�ำกัด จัดขึ้น เพือ่ ส่งเสริมการให้บริการสินไหมรวดเร็วและมีประสิทธิภาพแก่ประชาชน
ได้รับรางวัล IEP AWARD (Insurance Evaluation Program) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จากบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด เพื่อ ประกาศเกียรติคณ ุ บริษทั ประกันวินาศภัยทีเ่ ข้าร่วมโครงการ “ประกันภัย ชั้นหนึง่ โตโยต้า แคร์” ที่มีผลการด�ำเนินงาน ฐานะทางการเงิน และการ ให้บริการที่ดีเยี่ยม จากผลส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้าและตัวแทน จ�ำหน่ายรถยนต์โตโยต้าทั่วประเทศ
16
รายงานประจำ�ปี 2557
กิจกรรมเพ�อสังคม
บมจ. นวกิจประกันภัย
17
18
รายงานประจำ�ปี 2557
การพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทได้จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมตามแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ตลท.) ซึ่งบริษัทยังยึดปณิธานในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อสร้างเสถียรภาพต่อสังคมอย่างมีจริยธรรม ด้วยการมุ่งเน้นเรื่อง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและการบริหารที่มีประสิทธิภาพ
1. การก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทด�ำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีมาอย่างต่อเนื่อง และมีการสื่อสารให้ความรู้ความเข้าใจแก่พนักงาน ทั่วทั้งองค์กรเพื่อให้ยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คณะกรรมการบริษัทมีการทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อ ปรับปรุงแนวปฏิบตั ใิ ห้ทนั สมัยและสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard โดยในปี 2557 คณะกรรมการ บริษัทได้มีการทบทวนนโยบายดังกล่าว และมอบหมายให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการตามข้อเสนอแนะของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) เพื่อการพัฒนาการปฏิบัติการด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่สูงขึ้น ในปี 2557 บริษัทได้ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องดังต่อไปนี้ สิทธิของผู้ถือหุ้น สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ รวมถึงนักลงทุนสถาบันได้ใช้สทิ ธิของตนผ่านการประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทุกกลุม่ มีสว่ นร่วมในการ ตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของตน จัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2557 ณ ห้องแกรนด์ฮอล บางกอกคลับ ชัน้ 28 สาธรซิตที้ าวเวอร์ ซึ่งสะดวกต่อการเดินทางของผู้ถือหุ้นและสามารถรองรับผู้ถือหุ้นได้เพียงพอโดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุม 10 คน จากจ�ำนวนกรรมการ ทัง้ หมด 13 คน โดยประธานกรรมการตรวจสอบไม่ได้เข้าร่วมประชุม เนือ่ งจากติดภารกิจส�ำคัญในวันดังกล่าว และได้มกี ารท�ำหนังสือแจ้ง ประธานกรรมการทราบล่วงหน้าแล้ว เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทก�ำหนดและ เผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมใช้หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ซึ่งเป็นแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทาง การออกเสียงลงคะแนนได้ โดยได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ของ บริษัทด้วย จัดให้มกี ารลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยใช้ระบบบาร์โค้ด เพือ่ ให้ขนั้ ตอนในการลงทะเบียนสามารถด�ำเนินไปได้อย่าง รวดเร็วและถูกต้อง มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงให้ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมใช้ในการออกเสียงลงคะแนน ส�ำหรับวาระที่ต้องพิจารณา อนุมตั แิ ละรับรอง นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมภายหลังจากเปิดประชุมไปแล้ว โดยสามารถออกเสียงลงคะแนน ในวาระที่ยังไม่ได้ลงมติ ประธานกรรมการได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ แสดงความคิดเห็นและตัง้ ค�ำถามในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั และวาระการประชุม ได้อย่างเต็มที่ โดยมีการบันทึกค�ำถามค�ำตอบในแต่ละวาระไว้ในรายงานการประชุม แจ้งมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ภายในวันเดียวกัน ภายหลังจากการประชุมผู้ถือหุ้นเสร็จสิ้น โดยระบุผลการ ออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระ แยกเป็นคะแนนที่ “เห็นด้วย” “ไม่เห็นด้วย” และ “งดออกเสียง” จัดท�ำรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ส่งให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) พร้อมกับเผยแพร่ไว้ ในเว็บไซต์ของบริษัทภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบ แสดงความคิดเห็น และตรวจสอบได้
บมจ. นวกิจประกันภัย
19
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน จัดท�ำหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 พร้อมค�ำชี้แจงและเหตุผลประกอบในแต่ละวาระทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ และเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทมากกว่า 30 วันก่อนวันนัดประชุมผู้ถือหุ้น เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเป็นวาระการประชุมและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการเลือกตัง้ เป็นกรรมการ ล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยบริษัทได้เผยแพร่ รายละเอียดหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการด�ำเนินการเรือ่ งดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั และแจ้งผ่านระบบข่าวของ ตลท. อย่างไรก็ตาม ไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการแต่อย่างใด ประธานกรรมการด�ำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและไม่ได้เพิม่ วาระการประชุมหรือเปลีย่ นแปลงข้อมูลส�ำคัญ นอกเหนือไปจากที่ก�ำหนดไว้ในหนังสือเชิญประชุมที่ได้ส่งไปให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ผู้ถือหุ้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนตามจ�ำนวนหุ้นที่ถือ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิออกคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งเสียง ในวาระการเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล บริษทั มีนโยบายการรักษาความลับและการใช้ขอ้ มูลภายในประกาศแจ้งให้ทกุ คนในองค์กรถือปฏิบตั ิ เพือ่ ป้องกันการน�ำข้อมูล ภายในของบริษัทซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน บริษัทก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีหน้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ต้องรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทให้ส�ำนักเลขานุการบริษัททราบทุกครั้ง โดยเรื่องดังกล่าวจะถูกบรรจุเป็นวาระการประชุมในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง บริษทั มีการส่งหนังสือแจ้งเตือนกรรมการและผูบ้ ริหารให้หลีกเลีย่ งการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ล่วงหน้า มากกว่า 1 เดือน ก่อนที่บริษัทจะเปิดเผยผลประกอบการต่อสาธารณชน คณะกรรมการก�ำหนดให้กรรมการรายงานการมีส่วนได้เสียต่อที่ประชุมก่อนพิจารณาวาระ และงดออกเสียงและหรือไม่ได้ อยู่ในห้องประชุมในวาระนั้นๆ บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทก�ำหนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้ ผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มและมุ่งมั่นเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินงาน โดยรักษาผลประโยชน์ของ ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ สร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผถู้ อื หุน้ ด้วยผลตอบแทนทีด่ ี และมีการเปิดเผยข้อมูลต่อผูล้ งทุนอย่างถูกต้อง ครบถ้วน มีมาตรฐาน โปร่งใส และเชื่อถือได้ พนักงาน บริษทั ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเป็นธรรม ให้ความส�ำคัญกับพนักงานและมุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้พนักงานทุกคนมีความเชือ่ มัน่ ในองค์กร จ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม จัดให้มีสวัสดิการที่มีมาตรฐานสูงกว่าที่กฎหมายก�ำหนด เช่น การจัดตั้งกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพ การจัดท�ำแผนประกันสุขภาพและอุบัติเหตุ การตรวจสุขภาพประจ�ำปี การดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้มีความ ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะอนามัย การส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ให้กับพนักงาน การส่งเสริมกิจกรรมให้พนักงานผ่อนคลาย ตลอดจน ส่งเสริมให้พนักงานมีการพัฒนาและเติบโตในสายอาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยให้ทุนการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศแก่พนักงาน และมีการจัดท�ำแผนอบรมหลักสูตรต่างๆ ส�ำหรับพนักงานแต่ละระดับล่วงหน้าตลอดทั้งปี
20
รายงานประจำ�ปี 2557
บริษัทค�ำนึงถึงความปลอดภัยและการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้ถูกสุขลักษณะอนามัย ด้วยการให้ความรู้ และฝึกอบรมพนักงานผ่านการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ในปี 2557 บริษัทไม่มีพนักงานที่ประสบอุบัติเหตุจากการท�ำงานแต่อย่างใด ลูกค้า บริษทั ให้ความส�ำคัญในการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า เพือ่ สร้างและรักษาฐานของลูกค้าให้ใช้สนิ ค้าและบริการของ บริษัทในระยะยาว โดยการเสนอขายผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ให้ความคุ้มครองที่เหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของ ลูกค้าในราคาที่ยุติธรรม รวมทั้งมีการชดใช้ค่าเสียหายที่เป็นธรรม บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญในการให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้แก่ ลูกค้าอย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยงานที่รับข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากลูกค้าโดยเฉพาะ คู่ค้า บริษัทก�ำหนดหลักเกณฑ์และคัดเลือกคู่ค้าของบริษัทด้วยความโปร่งใส โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง และ เปิดโอกาสให้คู่ค้าได้แสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจร่วมกัน อีกทั้งยังให้ความเสมอภาคแก่คู่ค้าในเรื่อง ของการให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ทัดเทียมกัน และจะไม่น�ำข้อมูลความลับทางการค้าของคู่ค้าไปเปิดเผยต่อบุคคลอื่น คู่แข่งทางการค้า บริษทั มุง่ แข่งขันทางการค้าตามกติกาและมารยาททางธุรกิจ ภายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเป็นธรรม ไม่ทำ� ลายชือ่ เสียงของ คู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต และไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ โดยบริษัทจะมุ่งเน้นการแข่งขันทางด้านคุณภาพ และประสิทธิภาพของการให้บริการเพื่อประโยชน์สูงสุดของลูกค้า เจ้าหนี้ บริษัทมีนโยบายในการบริหารกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ และคงความสามารถในการช�ำระหนี้ให้ดีที่สุด เพื่อด�ำรงชื่อเสียง และความน่าเชื่อถือของบริษัท โดยมีแนวปฏิบัติที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย ไม่ละเมิดสิทธิของเจ้าหนี้ และปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ อย่างเคร่งครัด รวมถึงการหาแนวทางในการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ได้ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จึงปลูกจิตส�ำนึกให้พนักงานช่วยเหลือสังคม และมี นโยบายในการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์แก่สงั คม ตลอดจนส่งเสริมให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั มีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมให้เติบโตอย่างยั่งยืน เช่น การสนับสนุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ การ สนับสนุนเงินทุนเพือ่ บูรณะสถานศึกษา รวมทัง้ การฝึกอบรมให้ความรูใ้ นเรือ่ งสิง่ แวดล้อม และจัดกิจกรรมต่างๆ ให้ผบู้ ริหารและพนักงาน ได้มีส่วนร่วม และตระหนักถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติตนให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งบริษัทได้มีการด�ำเนินกิจกรรมอย่างสม�่ำเสมอ และต่อเนื่องจนเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม สิทธิมนุษยชน บริษัทมีนโยบายในการสนับสนุนที่จะไม่ให้องค์กรตลอดจนพนักงานเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยตั้งมั่นอยู่บนหลักของเสรีภาพ เสมอภาพ และสันติภาพ และมีการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่พนักงาน เพื่อสามารถน�ำหลัก สิทธิมนุษยชนไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ บริษัทก�ำหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติเพื่อป้องกันการกระท�ำผิดกฎหมายลิขสิทธิ์ และพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์สอื่ สาร ให้ทกุ คนในองค์กรได้รบั ทราบ มีการห้ามเปิดเผยข้อมูลความลับทางธุรกิจและข้อมูลลับอืน่ ๆ ของ บริษัทโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยมีกระบวนการควบคุมการปฏิบัติตามระเบียบที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งบริษัทจะรับผิดชอบต่อความเสียหาย อย่างเป็นธรรมและเหมาะสมกรณีที่บริษัทละเมิดสิทธิตามกฎหมาย โดยสาเหตุจากความประมาทหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และจะด�ำเนิน การตามระเบียบและกระบวนการภายในกับผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไป บมจ. นวกิจประกันภัย
21
การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษทั มีนโยบายในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้ยดึ หลัก 5 ประการได้แก่ ไม่เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตน มุง่ ผลสัมฤทธิ์ ส�ำนึกใน ความรับผิดชอบ โปร่งใส และซื่อสัตย์ ห้ามการใช้อ�ำนาจหน้าที่ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือ ผูอ้ นื่ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีการรณรงค์กระตุน้ ให้พนักงานมีจติ ส�ำนึกในเรือ่ งของจริยธรรมผ่านการปฐมนิเทศพนักงานใหม่และมีการ ประกาศเตือนเป็นระยะๆ การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทจัดให้มีกระบวนการและช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถแจ้งข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และแจ้งเบาะแสการ กระท�ำผิดกฎหมายถึงบริษทั ผ่าน 3 ช่องทาง ได้แก่ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหาร และเลขานุการบริษทั โดยเผยแพร่อยู่ในเว็บไซต์บริษัท เพื่อให้ผู้ร้องเรียนสามารถเลือกใช้ช่องทางตามความเหมาะสม โดยข้อมูลการร้องเรียนจะได้รับการเก็บ รักษาไว้เป็นความลับ การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศและข่าวสารต่างๆ เนื่องจากเป็นข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสีย โดยมีนโยบายในการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ ทันต่อเวลาและเหตุการณ์ ตาม กฎเกณฑ์ของ ตลท. ก.ล.ต. และหน่วยงานก�ำกับที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ข้อมูลที่เปิดเผยเป็นทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่น งบการเงิน ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ค่าตอบแทนคณะกรรมการและผู้บริหาร ค่าสอบบัญชีและค่าบริการอื่น การสรรหากรรมการ และรายงานการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นต้น โดยบริษัทมีช่องทางหลากหลายในการสื่อสาร ข้อมูลไปยังผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก เช่น แบบ 56-1 รายงานประจ�ำปี เว็บไซต์ของ ตลท. และในเว็บไซต์ของบริษัท หัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุน” ซึ่งมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ การพบปะและการสัมภาษณ์ รวมทั้ง การแถลงข่าวต่อสือ่ มวลชนส�ำหรับเหตุการณ์สำ� คัญต่างๆ และผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ของบริษทั เพือ่ ให้สาธารณชนได้รบั ทราบข้อมูลอย่างทัว่ ถึง บริษทั มีแผนกผูถ้ อื หุน้ สัมพันธ์เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป โดยสามารถติดต่อได้ทางโทรศัพท์ทหี่ มายเลข 0 2664 7777 ต่อ 1905, 1906 และ 7719 อีเมล์ office_president@navakij.co.th และเว็บไซต์ของบริษัทที่ www.navakij.co.th ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการที่มีทักษะหลากหลายด้าน โดยกรรมการที่ไม่ได้เป็นกรรมการบริหารอย่างน้อยหนึ่งคน เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการประกันวินาศภัย และอย่างน้อยหนึ่งคนมีประสบการณ์ด้านบัญชีการเงิน คณะกรรมการประกอบด้วยบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจ ปัจจุบัน มีจ�ำนวน 12 คน ประกอบด้วย กรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 11 คน และกรรมการที่มาจากฝ่ายบริหารจ�ำนวน 1 คน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ มีกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 5 คน ได้แก่ ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี นายประมนต์ สุธีวงศ์ นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ นายพรพงษ์ พรประภา และนายชาน ซู ลี ซึ่งมีสัดส่วน ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด และไม่ต�่ำกว่า 3 คน กรรมการบริษทั ด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี เมือ่ ครบก�ำหนดพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั เลือกตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งอีกได้ คณะกรรมการก�ำหนดให้ประธานกรรมการเป็นบุคคลคนละคนกับประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อ ตรวจสอบถ่วงดุลการท�ำงานของฝ่ายบริหารได้อย่างอิสระ โดยแบ่งแยกหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบออกจากกัน รายละเอียดขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการสามารถดูได้จากหัวข้อ “โครงสร้างผู้ถือหุ้นและการจัดการ”
22
รายงานประจำ�ปี 2557
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น บริษทั มีนโยบายให้กรรมการบริษทั สามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนได้ไม่เกิน 5 บริษทั และจ�ำกัดจ�ำนวนบริษทั ทีก่ รรมการผูอ้ ำ� นวยการสามารถไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผูบ้ ริหารได้ไม่เกิน 5 บริษทั โดยต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษัทก่อน การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการก�ำหนดให้มกี ารประชุมอย่างน้อย 7 ครัง้ ต่อปี โดยเป็นการประชุมกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร 1 ครัง้ มีการก�ำหนด วันประชุมไว้ลว่ งหน้าทัง้ ปี และอาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิม่ เติมตามความจ�ำเป็น ทัง้ นี้ ในเดือนทีไ่ ม่ได้มกี ารประชุม บริษทั จะส่งรายงาน ผลการด�ำเนินงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ การประชุมแต่ละครั้งมีการก�ำหนดวาระการประชุมที่ชัดเจน โดยประธานกรรมการและผู้บริหารสูงสุดของฝ่ายบริหารจะ ร่วมกันก�ำหนดวาระการประชุม โดยเปิดโอกาสให้กรรมการและผู้บริหารสามารถเสนอเรื่องต่างๆ เพื่อเข้ารับการพิจารณาบรรจุเป็นวาระ การประชุมได้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้จัดท�ำหนังสือเชิญประชุมที่มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วน เพียงพอ และจัดส่งให้กับ คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เว้นแต่ในกรณีจ�ำเป็นเร่งด่วน ในการประชุมแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง โดยกรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดงความเห็นได้อย่างเปิดเผย ประธานกรรมการจะเป็นผู้ประมวลความเห็นและข้อสรุปที่ได้จากที่ประชุม คณะกรรมการสนับสนุนให้ผบู้ ริหารทีจ่ ะวางตัวสืบทอดต�ำแหน่ง ได้มโี อกาสพบปะหรือน�ำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อที่จะได้ท�ำความรู้จักและชี้แนะในประเด็นที่จะพัฒนาผู้บริหารท่านนั้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คณะกรรมการสามารถเข้าถึงสารสนเทศทีจ่ ำ� เป็นเพิม่ เติมได้จากกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ เลขานุการบริษทั หรือผูบ้ ริหารอืน่ ทีไ่ ด้ รับมอบหมาย เลขานุการบริษัทเป็นผู้จัดท�ำรายงานการประชุมเสนอประธานกรรมการพิจารณา ก่อนเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท รับรองในการประชุมครั้งถัดไป รายงานการประชุมที่ได้รับการรับรองจากที่ประชุมและลงลายมือชื่อโดยประธานกรรมการแล้ว จะถูก จัดเก็บอย่างเป็นระบบในรูปแบบของเอกสารชั้นความลับของแผนกผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการ และจัดเก็บในรูปแบบ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสะดวกในการสืบค้นและตรวจสอบได้ ในปี 2557 กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุมระหว่างกันเอง 1 ครั้งในเรื่องทิศทางการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรและ การบริหารจัดการของฝ่ายบริหาร การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านเป็นประจ�ำทุกปี โดยมีการประเมินแบบทัง้ คณะและแบบรายบุคคล เพือ่ ให้กรรมการ ได้แสดงความคิดเห็นต่อผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะโดยรวม และทบทวนผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในปี ที่ผ่านมา โดยในการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะ แบ่งหัวข้อการประเมินออกเป็น 6 หมวด ได้แก่ โครงสร้างและ คุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การปฏิบัติหน้าที่ของ กรรมการ ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร ส�ำหรับการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน แบบรายบุคคล แบ่งหัวข้อการประเมินออกเป็น 5 หมวดได้แก่ ความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าที่ในฐานะกรรมการ ความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกับองค์กร การประชุมคณะกรรมการ ความสัมพันธ์กบั ฝ่ายบริหาร และผลการปฏิบตั งิ านในฐานะกรรมการ ซึง่ กรรมการแต่ละคนจะ ประเมินโดยการให้คะแนนในแต่ละหัวข้อ แล้วน�ำคะแนนของแต่ละหัวข้อของกรรมการทุกคนมารวมกัน หารด้วยจ�ำนวนกรรมการทีท่ ำ� การ ประเมินทัง้ หมด ในปี 2557 ผลประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการทัง้ คณะเท่ากับร้อยละ 90.87 และผลประเมินการปฏิบตั งิ านของ ตนเองเท่ากับร้อยละ 91.43 บมจ. นวกิจประกันภัย
23
การประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อย ซึ่งเริ่มด�ำเนินการส�ำหรับผลการปฏิบัติงาน ปี 2557 เป็นปีแรก เพือ่ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การประเมินการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ตี ามมาตรฐาน ASEAN CG Scorecard และเพือ่ พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อย การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร กรรมการเข้าใหม่จะได้รบั คูม่ อื กรรมการ ซึง่ ได้รวบรวมข้อมูลทีส่ ำ� คัญประกอบด้วย คูม่ อื กรรมการบริษทั จดทะเบียน หลักการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนและส�ำหรับบริษัทประกันวินาศภัย พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับกรรมการบริษัท รวมทั้งข้อมูล ทัว่ ไปของบริษทั เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจในธุรกิจและการด�ำเนินการด้านต่างๆ ของบริษทั เพือ่ เตรียมความพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าที่ ของกรรมการ บริษัทส่งเสริมการพัฒนากรรมการและผู้บริหารอย่างสม�่ำเสมอ โดยสนับสนุนให้เข้ารับการอบรมสัมมนาเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในหลักสูตรต่างๆ ที่จัดขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลท. หรือ ก.ล.ต. อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 นายเขต หวั่งหลี กรรมการของบริษัท ได้เข้าอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 110/2014) และนางสาวจารุวรรณ จับจ�ำรูญ เลขานุการบริษัท ได้เข้าอบรมหลักสูตร Company Secretary Program (CSP 56/2014) คณะกรรมการจัดให้มีโครงการส�ำหรับพัฒนาผู้บริหาร โดยกรรมการผู้อ�ำนวยการมีการรายงานแผนการพัฒนาและสืบทอดงาน ซึ่งมีการเตรียมพร้อมเป็นแผนที่ต่อเนื่องถึงผู้สืบทอดงานในกรณีที่ตนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทร่วม การเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งบุคคลเข้าไปเป็นกรรมการในบริษัทร่วมด�ำเนินการโดยฝ่ายบริหาร และด�ำเนินการขอสัตยาบันจาก คณะกรรมการบริษทั โดยบุคคลทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการในบริษทั ร่วม มีหน้าทีด่ ำ� เนินการเพือ่ ประโยชน์ทดี่ ที สี่ ดุ ของบริษทั ร่วม และ กรณีที่มีเรื่องส�ำคัญในระดับเดียวกับที่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ หากเป็นการด�ำเนินการโดยบริษัทเอง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งนั้น จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่จะไปลงมติหรือใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดมาตรการในการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในโดยมิชอบของคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร รวมทัง้ พนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ดังนี้ 1. ส่งหนังสือแจ้งเตือนคณะกรรมการและผู้บริหารให้หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทภายใน 1 เดือนก่อนมีการ เปิดเผยงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี และมีข้อก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารจัดท�ำรายงานส่งให้ส�ำนักเลขานุการ บริษัท เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบการท�ำธุรกรรมกับบริษัท รวมถึงการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน ดังนี้ - จัดท�ำรายงานการมีสว่ นได้เสีย 1) เมือ่ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการหรือผูบ้ ริหารครัง้ แรก 2) ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงข้อมูล 3) ทบทวนข้อมูลเป็นประจ�ำทุกปี โดยเลขานุการบริษัทจะส่งส�ำเนารายงานการมีส่วนได้เสียดังกล่าวให้ประธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบทราบ - จัดท�ำรายงานการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-1) และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ส่งให้ ก.ล.ต. และส่งส�ำเนาให้แก่เลขานุการบริษัทในวันเดียวกัน - บริษัทได้ก�ำหนดเป็นวาระเพื่อทราบเกี่ยวกับการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผู้บริหาร ในการประชุม คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง 2. ก�ำหนดเรือ่ งการรักษาข้อมูลอันเป็นความลับของบริษทั ไว้ในประกาศของบริษทั เรือ่ งจริยธรรมทางธุรกิจ ตลอดจนให้พนักงาน ลงนามในสัญญาปฏิบตั ติ ามนโยบายรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพือ่ ป้องกันพนักงานน�ำข้อมูลของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน หรือน�ำข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัท โดยผู้ที่ละเมิดข้อบังคับดังกล่าวจะถือเป็นความผิดอย่างร้ายแรง ซึ่งได้ระบุบทลงโทษ ทางวินัยไว้ในเอกสารคู่มือพนักงานอย่างชัดเจน โดยก�ำหนดโทษทางวินัยสูงสุดคือการไล่ออกโดยไม่จ่ายเงินชดเชย
24
รายงานประจำ�ปี 2557
การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ ตลท. และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย โดยมีข้อขัดข้อง ที่ไม่สามารถปฏิบัติได้บางเรื่อง ดังนี้ 1. ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ เนื่องจากธุรกิจประกันวินาศภัยจ�ำเป็นต้องอาศัยบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์ในธุรกิจประกันภัยซึ่งเป็นธุรกิจหลัก เพื่อน�ำพาบริษัทให้บรรลุผลส�ำเร็จได้ตามเป้าหมายและเติบโตอย่างมั่นคง ทั้งนี้ ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการบริหาร โดยบริษัทมีประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการท�ำหน้าที่รับผิดชอบ การก�ำกับดูแลนโยบายโดยรวม และบริหารจัดการงานด้านปฏิบัติการ ตามล�ำดับ 2. คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระร้อยละ 41.67 ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ คณะ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการ มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน ท�ำให้มีการถ่วงดุลและมีการบริหารงานที่โปร่งใส เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกคน ทั้งนี้ บริษัทจะน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีไปปฏิบัติให้มากที่สุด โดยปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ของบริษัท 3. คณะกรรมการก�ำหนดให้กรรมการอิสระมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่องได้ไม่เกิน 3 วาระ หรือไม่เกิน 9 ปี แต่หากเพื่อ ประโยชน์ของบริษัท ให้คณะกรรมการบริษัทสามารถพิจารณาขยายวาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระออกไปได้ ทั้งนี้ กรรมการ อิสระ 4 คนจากจ�ำนวนกรรมการอิสระทั้งหมดของบริษัทจ�ำนวน 5 คน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่องเกิน 9 ปี ด้วยกรรมการอิสระ ดังกล่าว มีคุณสมบัติที่เหมาะสมและมีความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์กับบริษัท ประกอบกับการสรรหากรรมการรายใหม่ที่มี ความเป็นอิสระและมีประสบการณ์ในธุรกิจที่บริษัทด�ำเนินการอยู่ค่อนข้างยาก อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่จะแต่งตั้งกรรมการอิสระให้ ด�ำรงต�ำแหน่งต่อไป คณะกรรมการได้น�ำเสนอความสมเหตุสมผลถึงความจ�ำเป็นดังกล่าวต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณา 4. ประธานกรรมการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียนรวม 7 แห่ง ซึง่ ขัดกับนโยบายของบริษทั ทีก่ ำ� หนดให้กรรมการ สามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนได้ไม่เกิน 5 แห่ง อย่างไรก็ตาม เลขานุการบริษัทได้มีการบรรจุวาระเพื่อเสนอต่อ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณาให้ความเห็นชอบและมีการทบทวนอย่างสม�ำ่ เสมอ เนือ่ งจากเกรงว่าจะท�ำให้บริษทั สูญเสียบุคลากร ที่มีคุณภาพมาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัท 5. บริษัทไม่ได้มีการจัดแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเกี่ยวกับการน�ำเสนอฐานะทางการเงินของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ เปิดโอกาสให้นกั ข่าวจากสือ่ ต่างๆ นักวิเคราะห์จากจากหลักทรัพย์ตา่ งๆ เข้ามาพบปะและสัมภาษณ์เกีย่ วกับผลการด�ำเนินงาน เหตุการณ์ ส�ำคัญ และผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ของบริษัท
2. การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม บริษัทมีอุดมการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม และตระหนักถึงความส�ำคัญและสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งสามารถ น�ำไปสู่ความส�ำเร็จและเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและผู้ถือหุ้นอย่างยั่งยืน ดังนี้ 1) เสนอขายกรมธรรม์ที่มีคุณภาพในราคาที่ยุติธรรม และแนะน�ำความคุ้มครองที่เหมาะสมต่อความต้องการของลูกค้า 2) มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกคู่ค้าที่โปร่งใสและมีการสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตนหรือพวกพ้อง 3) ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานของบริษทั อย่างเป็นธรรม ทัง้ ในเรือ่ งค่าตอบแทน สวัสดิการ และการพัฒนาพนักงาน เพือ่ ให้สามารถเทียบเคียง กับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีการเติบโตในสายอาชีพอย่างต่อเนื่อง 4) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้กับเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด และจ่ายช�ำระหนี้ตรงเวลาอย่างสม�่ำเสมอ 5) บริษัทมีนโยบายก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน หลีกเลี่ยงการประกอบธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัท และการท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกันกับตนเอง บุคคลหรือนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท
บมจ. นวกิจประกันภัย
25
6) บริษัทมีนโยบายในการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ โดยจัดให้มีการดูแลและตรวจสอบรายการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งในส่วนของเครื่องแม่ข่ายและเครื่องลูกข่ายอย่างเป็นประจ�ำและต่อเนื่อง 7) บริษัทจะรับผิดชอบต่อความเสียหายอย่างเป็นธรรมและเหมาะสม กรณีที่บริษัทละเมิดสิทธิตามกฎหมาย โดยสาเหตุจากความ ประมาทหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และจะด�ำเนินการตามระเบียบและกระบวนการภายในกับผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไป
3. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะไม่เกี่ยวข้องกับการติดสินบนทุกรูปแบบ โดยคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติผ่านคู่มือ จริยธรรมทางธุรกิจและนโยบายต่อต้านการทุจริตและห้ามจ่ายสินบน และมีการสื่อสารผ่านการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ รวมทั้งมีการ ประกาศเตือนเป็นระยะๆ คณะกรรมการบริษทั อนุมตั นิ โยบายด้านการป้องกันและการปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การ ก่อการร้ายตั้งแต่ปี 2555 และก�ำกับดูแลให้มีกระบวนการติดตามและตรวจสอบว่าบุคลากรในองค์กรมีการปฏิบัติตามนโยบายที่บริษัท ก�ำหนดและตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กฏหมายที่เกี่ยวข้อง และแนวทางที่ส�ำนักงานป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) ก�ำหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้า คู่ค้า หรือ บุคคลภายนอกที่ติดต่อกับบริษัท รับทราบนโยบาย ทั้งนี้ บริษัทได้สื่อสารนโยบายดังกล่าวให้กับพนักงานของบริษัทโดยการออกประกาศและบรรจุเป็นหัวข้ออบรมทุกครั้ง ที่มีการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ตั้งแต่ปี 2556 บริษัทได้เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition) ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ บริษัทมีการประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับการทุจริตอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งหน่วยงานต่างๆ ในองค์กรจะเป็นผู้ประเมินความเสี่ยงพร้อมระบุ แผนการบริหารความเสี่ยงในเบื้องต้น และแผนกบริหารความเสี่ยงจะรับผิดชอบในการวิเคราะห์กระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านการ ปฏิบัติการการทุจริต ฉ้อฉล โดยประเมิน วิเคราะห์ ติดตาม ควบคุม และรวบรวมฐานะความเสี่ยงในภาพรวมให้อยู่ภายใต้ความเสี่ยงที่ ยอมรับได้
4. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทมีนโยบายในการสนับสนุนและเคารพในเรื่องที่จะไม่ให้องค์กร ตลอดจนพนักงานเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิ มนุษยชน โดยตั้งมั่นอยู่บนหลักของเสรีภาพ เสมอภาพ และสันติภาพ ซึ่งมีแนวปฏิบัติดังนี้ 1) มีนโยบายคัดเลือกบุคคลเข้าปฏิบัติงานกับบริษัท โดยไม่จ�ำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเพศ 2) ให้ความเท่าเทียมกัน และไม่ให้มีการกดขี่ ตลอดจนการล่วงละเมิดทางเพศ 3) มีนโยบายไม่จ�ำกัดสิทธิเสรีภาพในทางความคิดและการเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง แต่ต้องไม่กระทบหรือน�ำความเสียหาย มาสู่องค์กร 4) มีการก�ำหนดขั้นตอนการร้องทุกข์ในคู่มือพนักงาน เพื่อให้พนักงานที่ประสบปัญหาในเรื่องต่างๆได้ใช้สิทธิในการร้องเรียน ทั้งนี้ รวมถึงช่องทางร้องเรียนส�ำหรับบุคคลภายนอกที่มีส่วนได้เสีย 5) จัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในการท�ำหน้าที่ดูแลพนักงานให้ได้รับสิทธิตามกฎหมายที่เท่าเทียมกัน
5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ผลตอบแทนและสวัสดิการ 1) จัดให้มีรูปแบบโครงสร้างค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เหมาะสมกับต�ำแหน่งหน้าที่และความรับผิดชอบ 2) พิจารณาการปรับเงินเดือนประจ�ำปีให้แก่พนักงานอย่างเป็นธรรมโดยสอดคล้องกับผลประกอบการของบริษัท อัตราค่าครองชีพ ระดับความสามารถและผลการปฏิบัติงานของพนักงานเป็นหลัก
26
รายงานประจำ�ปี 2557
3) จัดให้มสี วัสดิการตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดและด้านอืน่ ๆตามความเหมาะสม เพือ่ ช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการของพนักงาน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น จัดให้มีค่ารักษาพยาบาล ประกันอุบัติเหตุและประกันสุขภาพ เงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ สวัสดิการเงินกู้ยืม พนักงาน ฯลฯ 4) จัดให้มคี ณะกรรมการสวัสดิการ ประกอบด้วยตัวแทนฝ่ายลูกจ้างและนายจ้าง พิจารณาการเสนอปรับปรุงสวัสดิการต่างๆ รวมถึง หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้อย่างถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลากร บริษทั มีนโยบายส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน ให้มคี วามรู้ ความสามารถทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และสมรรถนะ หลักทีเ่ ป็นค่านิยมองค์กร เพือ่ ความก้าวหน้าในหน้าทีข่ องพนักงาน และสามารถรองรับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ทีเ่ ติบโตขึน้ โดยก�ำหนด แนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1) จัดให้มีแผนฝึกอบรมประจ�ำปีในหลักสูตรด้านสมรรถนะตามสายอาชีพและสมรรถนะด้านการบริหารแก่พนักงานในแต่ละระดับ 2) จัดให้มีแผนการสืบทอดต�ำแหน่งงานและการจัดการคนเก่ง เพื่อสร้างและรักษากลุ่มบุคลากรที่มีศักยภาพสูงและมีผลการ ปฏิบตั งิ านดี โดยจัดให้มแี ผนพัฒนาทักษะและความสามารถเป็นรายบุคคลผ่านกระบวนการฝึกอบรม การสัมมนา และการดูงานภายใน ประเทศและต่างประเทศ 3) จัดเก็บข้อมูลความรู้ด้านต่างๆ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้พนักงานสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 4) เปิดโอกาสให้พนักงานมีการแลกเปลี่ยนความรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์การท�ำงาน และร่วมกันแก้ไขปัญหา เพื่อให้กระบวนการ ท�ำงานเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นโยบายการดูแลความปลอดภัยและสุขอนามัยของพนักงานในที่ท�ำงาน 1) ส่งเสริมและธ�ำรงไว้ซึ่งสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมถึงความเป็นอยู่ที่ดีในสถานที่ท�ำงาน 2) ป้องกันไม่ให้พนักงานมีสุขภาพอนามัยเสื่อมโทรม หรือผิดปกติจากการท�ำงาน 3) ปกป้องคุ้มครองพนักงานไม่ให้ท�ำงานในสภาพที่เสี่ยงอันตราย เป็นสาเหตุให้เจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ 4) จัดให้พนักงานท�ำงานในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 5) จัดหรือปรับปรุงสภาพงานให้เหมาะสมกับลักษณะของงานและผู้ปฏิบัติงาน
6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค บริษัทให้ความส�ำคัญและมีนโยบายที่จะตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า ซึ่งเป็นปัจจัยที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จของธุรกิจบริษัท และ มีเจตจ�ำนงทีจ่ ะแสวงหาวิธกี ารทีจ่ ะสนองความต้องการของลูกค้าให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เน้นการให้บริการลูกค้าทีร่ วดเร็ว โดยก�ำหนด เวลาให้บริการออกส�ำรวจและตรวจสอบความเสียหายภายใน 30 นาที และด�ำเนินการชดใช้คา่ สินไหมภายใน 15 วัน เสนอขายกรมธรรม์ ที่มีคุณภาพ ให้ค�ำแนะน�ำความคุ้มครองที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าแต่ละรายในราคาที่ยุติธรรม รวมทั้งจัดให้มี ศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์ เพือ่ ให้ขอ้ มูลและค�ำแนะน�ำด้านการประกันวินาศภัย เพิม่ ความสะดวกให้กบั ผูเ้ อาประกันภัยในการแจ้งอุบตั เิ หตุ ได้อย่างรวดเร็วตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ 1748 และมีกระบวนการที่ให้ลูกค้าสามารถแนะน�ำหรือร้องเรียนเกี่ยวกับ การบริการ ตลอดจนจัดท�ำแบบสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าที่ได้รับบริการด้านสินไหมรถยนต์ เพื่อใช้ประเมินผลและปรับปรุงการให้ บริการของบริษัท ในรอบปี 2557 ไม่มีข้อร้องเรียนที่เป็นสาระส�ำคัญอันเกิดจากการใช้บริการของบริษัท อีกทั้งบริษัทยังได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็น ประโยชน์ต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เช่น ข่าวสารประกันภัย ข่าวประชาสัมพันธ์ด้านการตลาดและกิจกรรมเพื่อสังคม รวมทั้งค�ำถาม ยอดนิยมและค�ำตอบเกี่ยวกับประกันภัยประเภทต่างๆ
บมจ. นวกิจประกันภัย
27
7. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ธุรกิจของบริษัทเป็นการให้บริการ ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง โดยบริษัทมีนโยบายในการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) ด�ำเนินธุรกิจที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม 2) ปฏิบัติตามกฎหมายและให้ความร่วมมือกับรัฐในโครงการต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม 3) ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ประสบภัยธรรมชาติ 4) ปลูกจิตส�ำนึกให้พนักงานมีความรับผิดชอบ ช่วยเหลือสังคม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บริษัทปลูกจิตส�ำนึกให้พนักงานร่วมกันปฏิบัติตามนโยบายประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกร้อนของบริษัท เช่น - ให้น�ำกระดาษที่ใช้งานหน้าเดียวมาใช้ซ�้ำ - ปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาพักเที่ยง และก่อนเลิกงาน 15 นาที - ดับไฟฟ้าช่วงพักเที่ยง และปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่ใช้งาน - จัดท�ำบัตรเติมน�้ำมันเฉพาะน�้ำมันแก๊สโซฮอลให้กับรถยนต์ของบริษัท
8. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษัทให้ความส�ำคัญกับการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมเพื่อสังคมผ่าน “กลุ่มนวกิจจิตอาสา” ในปี 2557 จัดขึน้ เพือ่ ส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้คนไทยมีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ บนความเชือ่ ทีว่ า ่ “ความรูจ้ ะท�ำให้คนไทยตระหนักถึง ความส�ำคัญของการวางแผนความเสี่ยงทุกด้านๆ ด้วยการมีประกันภัย” ด้านการสนับสนุนการศึกษา 1) จัดกิจกรรม “จิตอาสาผลิตหนังสือเบรลล์ ครัง้ ที่ 3” เพือ่ ร่วมจัดท�ำหนังสือเบรลล์ และมอบแผ่นซีดเี พือ่ ใช้ทำ� หนังสือเสียง ณ ศูนย์เทคโนโลยี การศึกษาเพื่อคนตาบอด ศูนย์กลางการผลิตสื่อการเรียนรู้หนังสือเบรลล์และหนังสือเสียงส�ำหรับผู้พิการทางสายตาทั่วประเทศ 2) จัดโครงการ “อบรมความรู้ประกันภัยตัวแทนและนายหน้าประกันภัย” เพื่อสร้างบุคคลากรที่มีความรู้ และจรรยาบรรณในการ ประกอบวิชาชีพ โดยมีผู้ผ่านการอบรมจากบริษัท จ�ำนวน 2,364 คน 3) จัดโครงการ “อบรมประกันภัยเบือ้ งต้น” ให้กบั พันธมิตรธุรกิจ เพือ่ เสริมความรูแ้ ละทักษะในการให้บริการข้อมูลประกันภัยทีถ่ กู ต้อง ให้แก่ผู้เอาประกันภัย 4) โครงการ “อบรมเครือข่ายบริการสินไหมทดแทน” ให้กับคู่ค้าทั่วประเทศ เช่น อู่คู่สัญญา เจ้าหน้าที่ส�ำรวจภัย ตัวแทน นายหน้า ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการให้บริการด้านสินไหมทดแทน เพื่อน�ำไปปรับปรุงการให้บริการให้สอดคล้องและได้มาตรฐานตามที่ บริษัทก�ำหนด 5) จัดโครงการ “อบรมเพิ่มความรู้และทักษะพนักงาน” ด้านการบริการสินไหมทดแทนและการรับประกันภัย ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี เพื่อเสริมความรู้รายละเอียดความคุ้มครองและข้อกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป โดยจัดให้มีการทดสอบความเข้าใจทุกไตรมาส 6) ร่วมกิจกรรม “ประกันภัยให้ความรูส้ ปู่ ระชาชน” กับ กรมการขนส่งทางบก เพือ่ จัดอบรมการประกันภัยตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครอง ผู้ประสบภัยจากรถและประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจให้กับผู้เข้าสอบใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ทั่วประเทศ 7) ร่วมกิจกรรมคิดดี ท�ำได้ “TOYOTA LEASING HERO RIDE ปัน่ เพือ่ น้อง” จัดโดย บริษทั โตโยต้า ลีสซิง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพือ่ น�ำ รายได้สมทบทุนสร้างอาคารเรียนโรงเรียนพระดาบสจังหวัดชายแดนภาคใต้ อ. เมือง จ. ยะลา 8) สนับสนุนและเข้าร่วมกิจกรรม “พี่เพื่อน้อง จากผองเพื่อนชาวประกันและมวลมิตรธุรกิจเพื่อสังคม ครั้งที่ 11” ซึ่งจัดโดย “นิตยสาร ไทยแลนด์ อินชัวรันส์” มอบเงินสมทบกองทุนโครงการอาหารกลางวัน สือ่ การเรียนรู้ และปรับปรุงอาคารเรียนให้กบั โรงเรียนบ้านหนองห้าง จ.สุพรรณบุรี และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7 แห่งในพื้นที่ใกล้เคียง
28
รายงานประจำ�ปี 2557
ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1) จัดท�ำโครงการบริจาคโลหิต ประจ�ำปี 2557 ร่วมกับ ศูนย์บริจาคโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย รับบริจาคโลหิต ณ อาคารสาธร ธานี คอมเพล็กซ์ จ�ำนวน 4 ครั้ง ได้รับโลหิตบริจาคจ�ำนวนทั้งสิ้น 900 ยูนิต (360,000 ซีซี) 2) สนับสนุนโครงการ “บรรเทาภัยหนาวเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวามหาราชครั้งที่ 13” ภาคีเครือข่าย ส�ำนักงานบรรเทาทุกข์และ ประชานามัยพิทักษ์ สภากาชาดไทย เพื่อมอบเครื่องกันหนาวจ�ำนวน 4,550 ชุด อุปกรณ์กีฬา เวชภัณฑ์ ตลอดจนให้บริการตรวจรักษา โรคทั่วไป และโรคทางทันตกรรมให้กับประชาชนในพื้นที่ อ. แม่สรวย อ. เมือง และ อ. เวียงป่าเป้า จ. เชียงราย 3) สนับสนุนโครงการ “วิ่งเพื่อการกุศล แคนเซอร์ แคร์ ครั้งที่ 7” จัดโดย สภากาชาดไทย เพื่อระดมทุนหารายได้มอบให้แก่ศูนย์วิจัย โรคโลหิตวิทยา และศูนย์พันธุศาสตร์และโรคของมนุษย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 4) สมทบทุนโครงการ “ดูแลผู้ป่วยกลุ่มเด็กพิเศษ” มูลนิธิโรงพยาบาลเลิดสิน เพื่อช่วยเหลือเด็กทารกแรกเกิดที่มีภาวะผิดปกติหรือ พิการทางอวัยวะให้สามารถใช้ชีวิตเหมือนเด็กวัยเดียวกันได้อย่างปกติ 5) สมทบทุนสร้างศูนย์โรคหัวใจโรงพยาบาลนครปฐม ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยในจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง 6) มอบอุปกรณ์กฬี า ร่วมกับ บริษทั เอเซียเสริมกิจลีสซิง่ จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ น�ำไปบริจาคให้นกั เรียนโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านเรดาร์ อ. สังขละบุรี จ. กาญจนบุรี 7) สนับสนุนงานวิ่งมินิมาราธอนเพื่อการเรียนรู้ ร่วมกับ บริษัท กระบี่ฮอนด้าออโตโมบิล จ�ำกัด เพื่อหารายได้สนับสนุนกิจกรรมการ เรียนการสอนโรงเรียนเทศบาล จ. กระบี่ 8) ช่วยน้องมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ ร่วมกับ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) บริจาคเงินและเครื่องอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็น ส�ำหรับเด็ก กิจกรรมปลูกส�ำนึกจิตอาสาและความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 1) ร่วมแสดงพลังต้านโกง “HAND IN HAND ปฏิรูปการต่อสู้เพื่อชัยชนะอย่างยั่งยืน” เนื่องในวันต่อต้านคอร์รัปชัน 2557 กิจกรรม ดังกล่าวเป็นความร่วมมือของทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชน แสดงพลังให้สังคมไทยลุกขึ้นมาร่วมกันปฏิรูปและเดินหน้าประเทศไทยไปสู่ อนาคตที่ยั่งยืน 2) ลงนามบันทึกความร่วมมือ “สร้างวัฒนธรรมขับขีป่ ลอดภัยภายในองค์กรกับภาคอุตสาหกรรมประกันภัย” เพือ่ รณรงค์ ให้บคุ ลากร ในองค์กรมีจติ ส�ำนึกด้านความปลอดภัยทางถนน ส่งเสริมให้ผขู้ บั ขีแ่ ละผูโ้ ดยสารรถจักรยานยนต์สวมหมวกนิรภัย และรถยนต์คาดเข็มขัด นิรภัย 3) โครงการ “รณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2558” ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย สมาคมประกันวินาศภัยไทย สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมสหมิตรการซ่อมรถยนต์แห่งประเทศไทย
9. การมีนวัตกรรมและเผยแพร่นวัตกรรมซึ่งได้จากการด�ำเนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และผู้ม ี ส่วนได้เสีย บริษัทน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยเน้นการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการ ของผู้บริโภคและภาวะเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างสม�่ำเสมอ โดยจะมีทั้งผลิตภัณฑ์ในกลุ่มรถยนต์และที่ไม่ใช่รถยนต์ ซึ่งจะเป็นนโยบายในการขยายงานด้านประกันภัยรถยนต์ควบคู่ไปกับการขยายงานประกันภัยประเภทอื่นๆ โดยในปี 2557 บริษทั ได้รบั การรับรองมาตรฐานระบบจัดการองค์กรทีม่ คี ณ ุ ภาพคูจ่ ริยธรรม (Q-MARK) ส�ำหรับองค์กรภาคการค้าและ บริการ โดยคณะกรรมการร่วม 3 สถาบัน ได้แก่ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย
บมจ. นวกิจประกันภัย
29
ภาวะเศรษฐกิจและทิศทางธุรกิจประกันวินาศภัย เศรษฐกิจไทยปี 2557 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2557 ขยายตัวได้ร้อยละ 1.4 โดยครึ่งหลังของปี 2557 ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 2.9 จากสถานการณ์ทางการเมือง ที่มีทิศทางชัดเจนขึ้น ประกอบกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงปลายปีที่สนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยในช่วงไตรมาสสุดท้ายกลับมา ขยายตัวดีขึ้นได้ โดยการบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 1.4 ขยายตัวในอัตราเร่งขึ้นจากปีก่อนหน้าตามความเชื่อมั่นที่ ฟืน้ ตัวภายหลังสถานการณ์ทางการเมืองมีความชัดเจนมากขึน้ นอกจากนี้ ยังได้รบั แรงสนับสนุนจากนโยบายภาครัฐทีเ่ อือ้ ต่อการจับจ่าย ใช้สอยของประชาชน อาทิ การเร่งช�ำระหนี้ให้กับชาวนาในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อย และมาตรการ แก้ไขปัญหายางพารา ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะหดตัวต่อเนื่องจากปีก่อนหน้าที่ร้อยละ -3.0 ส่วนหนึ่งมาจากการที่ ภาคเอกชนยังคงรอดูการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจให้ชัดเจนก่อน ประกอบกับการลงทุนเพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตในอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก บางส่วนอาจชะลอออกไปบ้างในช่วงที่การส่งออกสินค้ายังอยู่ในระดับต�่ำ ขณะที่การบริโภคภาครัฐยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะสนับสนุน เศรษฐกิจไทยให้ขยายตัวอย่างต่อเนื่องในปีนี้ ตามการใช้จ่ายในงบประมาณของรัฐบาลส่วนกลางที่ยังเบิกจ่ายได้อย่างต่อเนื่อง โดยคาด ว่าการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 4.5 และการลงทุนภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 1.0 อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับอุปสงค์ภายนอกประเทศ นั้น ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะหดตัวร้อยละ -0.1 เนื่องจากการส่งออกสินค้าและการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวช้ากว่าที่ ประเมินไว้ ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการทีป่ ระเทศคูค่ า้ โดยเฉพาะเศรษฐกิจของภูมภิ าคยุโรปมีการฟืน้ ตัวอย่างเปราะบาง ประกอบกับราคา สินค้าส่งออกที่อยู่ในระดับต�่ำตามการลดลงของสินค้าเกษตร ขณะที่ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะหดตัวร้อยละ -2.9 ตามอุปสงค์ภายในประเทศที่ชะลอตัวลงจากปีก่อน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศยังคงแข็งแกร่ง โดยอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปในปี 2557 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.1 ตามราคาน�ำ้ มันและสินค้า โภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้มลดลง เป็นผลมาจากอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่ชะลอลงและการขยายตัวของอุปทานน�้ำมันใน ตลาดโลก ประกอบกับผลจากแนวทางการดูแลราคาพลังงานของภาครัฐ ในส่วนของอัตราการว่างงาน คาดว่าจะยังอยู่ในระดับต�่ำที ่ ร้อยละ 0.9 ของก�ำลังแรงงานรวม ขณะที่เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศคาดว่า ดุลการค้าจะเกินดุลเพิ่มขึ้นจากปีท่ีแล้วมาอยู่ที่ 19.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ จากการหดตัวของมูลค่าการน�ำเข้าสินค้าที่ร้อยละ -5.7 ขณะที่มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวเล็กน้อยเพียง ร้อยละ 0.1 ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 9.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.2 ของ GDP
เศรษฐกิจไทยปี 2558 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวได้ร้อยละ 3.6-4.6 โดยมีแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์ภาครัฐที่คาดว่าจะขยายตัว โดยเฉพาะจากโครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ดา้ นการคมนาคมขนส่ง และอุปสงค์จากต่างประเทศทีค่ าดว่าจะขยายตัวดีขนึ้ ตามจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ ภายหลังสถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศคลีค่ ลายลง นอกจากนี้ อุปสงค์ภาคเอกชน ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะปรับตัวดีขึ้นเช่นกัน ทั้งนี้ การบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวในอัตราเร่งขึ้นมา อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ตามแนวโน้มการจ้างงานและรายได้นอกภาคเกษตรที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภาพรวม โดยเฉพาะการผลิตภาคอุตสาหกรรมและภาคการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้นจะยังคงเอื้อต่อ การจับจ่ายใช้สอยของภาคเอกชน อย่างไรก็ตาม รายได้เกษตรกรที่อยู่ในระดับต�่ำตามราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกยังคงเป็นข้อจ�ำกัด ต่อการฟืน้ ตัวของการบริโภคภาคเอกชนให้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป เช่นเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะกลับมาฟืน้ ตัวได้ชดั เจน ขึน้ โดยจะขยายตัวร้อยละ 8.0 จากปัจจัยสนับสนุนส�ำคัญ อาทิเช่น แนวโน้มการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจภาพรวมและแนวโน้มการฟืน้ ตัวของ การส่งออกสินค้า รวมทั้งความจ�ำเป็นในการลงทุนปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อรองรับปัญหาการขาดแคลนแรงงาน เป็นต้น ส�ำหรับการ
30
รายงานประจำ�ปี 2557
ใช้จ่ายภาครัฐคาดว่าจะยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่าการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 3.6 และการลงทุนภาครัฐจะขยายตัวสูงถึงร้อยละ 10.7 จากการประกาศใช้งบประมาณประจ�ำปี 2558 ทีส่ ามารถท�ำได้ตามปกติ และมาตรการ เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐทั้งรายจ่ายประจ�ำและรายจ่ายลงทุน นอกจากนี้ การใช้จ่ายภาครัฐมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นใน ปีงบประมาณ 2558 โดยเฉพาะเม็ดเงินจากโครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการขนส่งทีค่ าดว่าจะเริม่ เบิกจ่ายได้ตงั้ แต่ปี 2558 เป็นต้น ไป รวมทั้งเม็ดเงินจากงบกลางที่กันไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปีและงบไทยเข้มแข็ง ส�ำหรับอุปสงค์ภายนอกประเทศคาดว่าปริมาณการส่งออก สินค้าและบริการจะเติบโตในอัตราเร่งขึ้นจากปีก่อนมาขยายตัวร้อยละ 6.5 ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อนหน้า เนื่องจากคาดว่าอุปสงค์ใน ตลาดโลกจะฟื้นตัวขึ้นตามการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าของไทย โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐที่ฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่ง นอกจากนี้ การส่งออกบริการมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ตามรายรับจากการท่องเทีย่ วทีฟ่ น้ื ตัวขึน้ โดยคาดว่านักท่องเทีย่ วจะมีความเชือ่ มัน่ เพิม่ ขึน้ ภายหลังสถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศคลี่คลายลง สะท้อนจากการยกเลิกประกาศเตือนส�ำหรับการเข้ามาท่องเที่ยวใน ประเทศไทยของบางประเทศ ส่วนปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นมาอยู่ ที่ร้อยละ 9.6 สอดคล้อง กับแนวโน้มการใช้จา่ ยภาคเอกชนทีค่ าดว่าจะเร่งขึน้ และการฟืน้ ตัวของภาคการส่งออก นอกจากนี้ จะยังได้รบั แรงสนับสนุนจากโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐอีกด้วย ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศคาดว่าอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปในปี 2558 จะอยูท่ รี่ อ้ ยละ 1.7-2.7 ตามราคาน�ำ้ มันดิบในตลาดโลก ที่มีทิศทางทรงตัว ประกอบกับแรงกดดันระดับราคาจากทางด้านอุปสงค์ยังอยู่ในระดับต�่ำ เนื่องจากการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจยังเป็นไป อย่างค่อยเป็นค่อยไป ในส่วนของอัตราการว่างงานคาดว่าจะยังคงอยู่ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 0.8 ของก�ำลังแรงงานรวม ส�ำหรับเสถียรภาพ ภายนอกประเทศคาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุล 0.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP เนื่องจากดุลการค้าที่ คาดว่าจะเกินดุลลดลงมาอยู่ที่ 7.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ตามมูลค่าสินค้าน�ำเข้าที่คาดว่าจะขยายตัวในอัตราเร่งกว่ามูลค่าสินค้าส่งออก
ธุรกิจประกันวินาศภัยปี 2557 และแนวโน้มปี 2558 ต้นปี 2557 มีความคาดหวังว่าธุรกิจประกันวินาศภัยจะโตประมาณร้อยละ 10-12 แต่วิกฤตการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ ชะลอตัวส่งผลให้ไม่มีโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ชัดเจน โครงการก่อสร้างใหญ่หยุดชะงัก นอกจากนั้น การสิ้นสุดของโครงการรถคันแรก ส่งผลกระทบอย่างหนักต่ออุตสาหกรรมรถยนต์ ปริมาณการขายรถใหม่ในปี 2557 ลดลงถึงร้อยละ 40 ส่งผลให้การประกันภัยรถยนต์ที่ เคยเป็นธุรกิจหลักของการประกันภัย มียอดขายลดลง ในขณะทีต่ ลาดประกันภัยทีไ่ ม่ใช่รถยนต์โดยเฉพาะอย่างยิง่ การประกันภัยในหมวด ทรัพย์สนิ ทัง้ รายใหญ่และรายย่อยมีการแข่งขันด้านราคาสูงขึน้ เพือ่ ช่วงชิงส่วนแบ่งทางการตลาด ดังนัน้ สิน้ ปี 2557 ธุรกิจประกันวินาศภัย ไทยจึงเติบโตรวมกันเฉลี่ยต�่ำกว่าร้อยละ 2 ด้วยมูลค่าเบี้ยประกันภัยรับรวมประมาณ 2.1 แสนล้านบาท ซึ่งต�่ำสุดเป็นประวัติการณ์ของ ธุรกิจในรอบ 5 ปี แนวโน้มธุรกิจประกันวินาศภัยในปี 2558 คาดการณ์ว่าจะเติบโตประมาณร้อยละ 7-8 หรือคิดเป็น 2 เท่าของ GDP ซึ่งขยายตัวดี ขึน้ จากปีกอ่ นหน้า เนือ่ งจากในปัจจุบนั ธุรกิจประกันภัยโดยรวมมีความแข็งแกร่งขึน้ ดังจะเห็นได้จากการทีต่ อ้ งเผชิญเหตุการณ์มหาอุทกภัย ในปี 2554 ซึ่งต้องจ่ายค่าสินไหมทดแทนรวมทั้งสิ้นกว่า 3 แสนล้านบาท แต่บริษัทต่างๆ ก็ยังบริหารจัดการให้ด�ำเนินธุรกิจต่อไปได้ และ เหตุการณ์มหาอุทกภัยนัน้ กลายเป็นแรงกระตุน้ ให้ประชาชนสนใจท�ำประกันภัยมากขึ้น ประกอบกับเศรษฐกิจไทยในปี 2558 ทีค่ าดว่าจะ ฟื้นตัวร้อยละ 3.9 โดยมีแรงขับเคลื่อนหลักจากการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐในส่วนของงบลงทุนที่จะเริ่มมีการลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่ภาครัฐที่ท�ำให้ประกันภัยได้รับอานิสงส์ในช่วงครึ่งหลังของปี 2558 ประกอบกับการลงทุนภาคเอกชนที่ คาดว่าจะกลับมาขยายตัวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการ Eco Car ระยะที่ 2 ซึ่งจะส่งผลให้เบี้ยประกันภัยรถยนต์ยังคงเป็นรายได้ หลักของตลาด ทั้งนี้บริษัทต่างๆ นอกจากจะพุ่งเป้าไปที่ยอดขายรถยนต์ใหม่ป้ายแดงแล้ว ยังต้องรักษาฐานการต่ออายุกรมธรรม์ของรถ ในปีถดั ไปด้วย ในส่วนของการประกันสุขภาพปีทผี่ า่ นมาพบว่ามีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เกิดจากประชาชนเห็นความส�ำคัญด้านสุขภาพ มากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากปัจจัยภายในประเทศที่กล่าวมาแล้ว เงินทุนจากต่างประเทศยังจะมาเพิ่มศักยภาพในการต่อหรือขยายสัญญา ประกันภัยต่ออีกด้วย บมจ. นวกิจประกันภัย
31
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ยังคงให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับการ ลงทุนในภูมิภาคอาเซียนตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจประกันภัยไทยได้มีโอกาสขยายฐานธุรกิจ สู่ภูมิภาคอาเซียน ซึ่งจะเป็นตลาดใหญ่และมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ มีการคาดการณ์ว่าการส่งเสริมการขยายตลาด โลจิสติกส์จะส่งผลให้การประกันภัยทางทะเลและขนส่งมีแนวโน้มเติบโตขึน้ แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงคือกฎหมายประกันภัยซึง่ ในแต่ละประเทศ มีความแตกต่างกันและอาจส่งผลให้เกิดปัญหาในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้น รวมถึงการประกันภัยข้ามแดนที่กฎหมายในแต่ละประเทศ คุ้มครองต่างกัน
ส่วนแบ่งการตลาดของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2557 เบี้ยประกันภัยรับตรง (พันบาท) ประเภทการรับประกันภัย 2557 อัคคีภัย
2556
ส่วนแบ่ง ผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ)
อัตราการ ขยายตัว (ร้อยละ)
ส่วนแบ่ง การตลาด (ร้อยละ)
341,160
270,236
12.86
26.25
3.09
71,054
110,317
2.68
-35.59
1.34
ภัยรถยนต์
1,793,410
1,766,754
67.61
1.51
1.52
ภัยเบ็ดเตล็ด
446,822
359,867
16.85
24.16
0.63
2,652,447
2,507,174
100.00
5.79
1.29
ภัยทางทะเลและขนส่ง
รวมทุกประเภทภัย
ที่มา: ข้อมูลจาก คปภ. ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558
32
รายงานประจำ�ปี 2557
การบริหารและจัดการปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงหลักของบริษัท ได้แก่ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 1.1 ความเสี่ยงจากการแข่งขันและการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัย การเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยส่งผลให้การด�ำเนินธุรกิจประกันภัยในประเทศไทยมีการเแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น จากการที่บริษัท ประกันภัยต่างประเทศซึ่งมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาร่วมทุนกับบริษัทประกันภัย ของคนไทยมากขึ้น ท�ำให้บริษัทเหล่านี้มีความสามารถในการรับประกันภัยได้สูงขึ้น ตลอดจนมีอ�ำนาจในการแข่งขัน ทั้งด้านราคา เชิงกลยุทธ์ และคุณภาพในการให้บริการ ส่งผลให้บริษทั ประกันภัยขนาดกลางและขนาดเล็กของไทยต้องอยูใ่ นภาวะแข่งขันอย่างรุนแรง
บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดย
1. ปรับกลยุทธ์ทางการแข่งขัน โดยการหาช่องทางการตลาดใหม่ทมี่ ศี กั ยภาพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทใหม่ ให้สอดคล้องกับ ภาวะเศรษฐกิจ สังคม และความต้องการของลูกค้า ให้สามารถตอบรับกับสภาพตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป 2. พิจารณาเรื่องแผนการควบรวมกิจการกับบริษัทประกันภัยขนาดกลางและขนาดเล็กของคนไทย เพื่อขยายฐานลูกค้าและ เพิ่มขนาดเงินกองทุนให้สามารถรับเสี่ยงภัยได้มากขึ้น และบริหารค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้ต้นทุน การด�ำเนินงานอยู่ในระดับที่ต�่ำและสามารถแข่งขันได้ 1.2 ความเสี่ยงจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจ ในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำท�ำให้อ�ำนาจซื้อลดลง ผู้เอาประกันภัยของ บริษทั ซึง่ ประกอบด้วย ลูกค้าบุคคลธรรมดา และลูกค้านิตบิ คุ คล หรือหน่วยงานภาครัฐต่างๆ อาจลดความคุม้ ครอง ยกเลิกความคุม้ ครอง หรือไม่ต่ออายุกรมธรรม์ ทั้งจากสาเหตุการลดอัตราการผลิต ลดการส่งออก หรือลดค่าใช้จ่าย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงาน ของบริษัท บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดยวิเคราะห์สาเหตุในการแสดงเจตจ�ำนงของผู้เอาประกันภัย ชี้แจงให้ทราบและเข้าใจถึงผลเสีย ในการไม่ท�ำประกันภัยคุ้มครองทรัพย์สิน รวมทั้งเสนอให้ปรับทุนประกันภัย หรือเปลี่ยนประเภทความคุ้มครอง ตามความเหมาะสมของ ช่วงเวลาและความต้องการของผู้เอาประกันภัย
2. ความเสี่ยงด้านการประกันภัย 2.1 ความเสี่ยงจากจ�ำนวนและความถี่ของความเสียหายที่เพิ่มสูงขึ้น เป็นผลกระทบจากปัจจัยภายนอก ทั้งจากสภาพทาง ภูมิศาสตร์ ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ อุบัติภัย ภัยก่อการร้าย หรือโจรกรรม ที่อาจน�ำมาซึ่งความเสียหายรุนแรงต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน ที่บริษัทรับประกันภัยไว้ 2.2 ความเสีย่ งจากความไม่สมดุลของสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ประกันภัยประเภทต่างๆ โดยเน้นเจาะตลาดเฉพาะภัยบางประเภท ซึง่ อาจท�ำให้รายได้ของบริษทั ต้องผูกติดกับผลิตภัณฑ์นนั้ เนือ่ งจากมีตน้ ทุนหรือค่าเสียหายโดยเฉลีย่ อยูใ่ นระดับสูง เช่นการประกันรถยนต์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้หรือก�ำไรของบริษัท 2.3 ความเสี่ยงทางจริยธรรมหรือศีลธรรม ความเสี่ยงที่เกิดจากการกระท�ำอันไม่สุจริตของผู้เอาประกันภัย ที่มุ่งหวังผลประโยชน์ จากการท�ำประกันภัย ส่งผลให้บริษัทต้องเสี่ยงต่อการจ่ายค่าสินไหมทดแทนจ�ำนวนสูงเกินความเป็นจริง
บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดย
1. วิเคราะห์อัตราค่าเสียหาย และอัตราค่าเสียหายรวมกับค่าใช้จ่าย
2. พิจารณาคัดเลือกกลุ่มลูกค้า ลักษณะกิจการ และความเสี่ยงของภัยที่จะรับประกันภัยอย่างเข้มงวด
บมจ. นวกิจประกันภัย
33
3. กระจายความเสี่ยงภัยโดยการท�ำประกันภัยต่อแบบสัญญาล่วงหน้าและแบบเฉพาะรายไว้กับบริษัทประกันภัยที่มั่นคงทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งการซื้อประกันภัยต่อแบบความเสียหายส่วนเกิน ซึ่งจะช่วยควบคุมความเสี่ยงภัยที่บริษัทรับไว้เอง เพือ่ ป้องกันไม่ให้ผลการด�ำเนินงานและฐานะทางการเงินของบริษทั เกิดความผันผวนและได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรงกรณีเกิดมหันตภัย 4. บริหารสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ ให้กระจายการรับเสี่ยงภัยไปในทุกประเภทภัย ด้วยสัดส่วนที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ ตลาด โดยใช้หลักวิชาการ ข้อมูลทางสถิติที่ทันสมัย และสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อมุ่งเน้นเจาะตลาดในผลิตภัณฑ์ ที่สามารถสร้างผลก�ำไรและมีแนวโน้มการเติบโตดี
3. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสีย่ งอันเกิดจากการมีเงินลงทุนและสินทรัพย์ทไี่ ม่สามารถท�ำการซือ้ ขายในจ�ำนวน ราคา และเวลาทีต่ อ้ งการได้ อาจท�ำให้บริษทั ประสบกับสภาพขาดเงินสดที่จะน�ำมาช�ำระหนี้สินและภาระผูกพันให้ได้ตามจ�ำนวนหรือตรงตามเวลา ผลเสียหายที่เกิดขึ้นมีทั้งความ เสียหายในรูปตัวเงินและความเสียหายที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่นของลูกค้า คู่ค้า ประชาชน และ อุตสาหกรรม บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดย 1. พิจารณาลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง เช่น ตราสารหนี้ภาครัฐหรือตราสารหนี้ภาคเอกชน ที่มีความเสี่ยงด้านเครดิตต�่ำ การลงทุนแบบกระจายการลงทุนและก�ำหนดสัดส่วนและระยะเวลาการลงทุนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับระยะเวลาการช�ำระหนี้สิน และภาระผูกพันของบริษัท การบริหารลูกหนี้ เจ้าหนี้ การบริหารจัดการระยะเวลาคงเหลือ และการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินทรัพย์ โดยค�ำนึงถึงโครงสร้างอายุคงเหลือของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ให้อยูใ่ นระดับของปริมาณและระยะเวลาทีส่ อดคล้องกับสถานการณ์ทงั้ ภายใน และภายนอกบริษัท 2. ด�ำรงเงินกองทุนที่มาจากส่วนของผู้ถือหุ้น ให้ครอบคลุมภาระหนี้สิน และให้มีสัดส่วนที่เพียงพอต่อความเสี่ยงทางธุรกิจและ จากการด�ำเนินงาน รวมทั้งจัดให้มีแหล่งส�ำรองสภาพคล่องจากสถาบันการเงินไว้เป็นแผนส�ำรองกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน 3. ก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและล�ำดับชั้นการรายงาน ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารสภาพคล่องอย่างชัดเจน และก�ำหนด ให้มรี ะบบการรายงานข้อมูลทีส่ ามารถเตือนภัยให้ผบู้ ริหารทราบ หากมีกจิ กรรมใดทีฝ่ า่ ฝืนนโยบาย หรือตัวชีค้ า่ ใดมีระดับเข้าใกล้ขดี จ�ำกัด ซึ่งได้ก�ำหนดไว้โดยกระชับ ชัดเจน รวดเร็ว ทันกาล และถูกต้องแม่นย�ำ
4. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ 4.1 ความเสีย่ งด้านบุคลากร เนือ่ งจากจ�ำนวนบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถด้านธุรกิจประกันภัยมีจำ� นวนค่อนข้างจ�ำกัด บริษทั จึงบริหารความเสี่ยงโดยสนับสนุนให้มีการจัดอบรมในองค์กรและให้ทุนพนักงานไปอบรมและศึกษาต่อในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น เพื่อรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถให้ท�ำงานกับบริษัทในระยะยาว 4.2 ความเสี่ยงจากกระบวนการปฏิบัติงาน เกิดจากความไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสมของระบบการควบคุมภายในที่อาจมีการ แบ่งแยกหน้าที่การท�ำงานไม่เหมาะสม รวมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากกระบวนการที่ไม่สามารถตรวจสอบผู้ละเมิดพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงินและพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ท�ำให้ผบู้ ริหารบริษทั มีความเสีย่ งทีจ่ ะถูกโทษปรับ และบริษัทมีความเสี่ยงที่ชื่อเสียงจะเสียหาย ซึ่งบริษัทบริหารความเสี่ยงโดย
1) สนับสนุนและสร้างค่านิยมต่อการท�ำงานที่ค�ำนึงถึงหลักธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่อง
2) ก�ำหนดคู่มือวิธีปฏิบัติงาน อ�ำนาจด�ำเนินการและความรับผิดชอบอย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรและมีการปรับปรุงอย่าง สม�่ำเสมอ 3) เสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมต่อการบริหารความเสี่ยงในองค์กรและต่อการปฏิบัติงานอย่างซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ค�ำนึง ความถูกต้อง ความรอบคอบ
34
รายงานประจำ�ปี 2557
4.3 ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี เนื่องจากข้อมูลสถิติต่างๆ และข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าของบริษัท อาจมีการสูญหาย หรือ รั่วไหลไปสู่บุคคลภายนอกหรือคู่แข่งขัน ซึ่งส่งผลกระทบทางลบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท รวมถึงความเสี่ยงจากการหยุดด�ำเนินการ อันเนื่องมาจากการเกิดพิบัติภัยกับศูนย์คอมพิวเตอร์หลักของบริษัท ท�ำให้ไม่สามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการด�ำเนินธุรกิจได้ หรือ ข้อมูลสูญหายบางส่วนหรือทั้งหมด บริษทั มีการบริหารความเสีย่ งโดยการสร้างระบบป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล จัดให้มรี ะบบส�ำรองข้อมูล และมาตรการรองรับ ความเสี่ยงของศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินอันอาจจะเกิดขึ้น บริษัทได้ก�ำหนดแนวทางปฎิบัติกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ทีอ่ าจกระทบต่อการด�ำเนินงาน โดยได้จดั ท�ำแผนส�ำรองเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ทุกหน่วยงานต้องทบทวนและทดสอบแผน ดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปี นอกจากนี้ บริษทั มีขอ้ ก�ำหนดระเบียบวิธปี ฏิบตั อิ ย่างชัดเจน ในเรือ่ งนโยบายการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและระบบข้อมูล เพื่อป้องกันการสูญหาย หรือรั่วไหลของข้อมูล โดยครอบคลุมด้านต่างๆ ได้แก่ 1) ซอฟท์แวร์ ระบบความปลอดภัย และการรักษาข้อมูล โดยได้จัดให้มีระบบตรวจสอบระบบการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ไฟร์วอลล์ และการติดตั้งแพทช์ของผู้ผลิตโปรแกรมเพื่อปิดจุดอ่อนหรือช่องโหว่ในระบบ และจัดให้มีระบบส�ำรองข้อมูลเป็นประจ�ำ
2) ฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่าย ซึ่งได้จัดให้มีการใช้บริการศูนย์คอมพิวเตอร์ส�ำรองของบริษัทกรณีเกิดภัยพิบัติ
3) กายภาพของศูนย์คอมพิวเตอร์ โดยได้จัดให้มีระบบส�ำรองไฟไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินระยะสั้น รวมทั้งระบบส�ำรองไฟจาก เครือ่ งผลิตไฟฟ้า ในกรณีทไี่ ฟฟ้าจากสถานีจา่ ยไฟดับเป็นระยะเวลานาน มีระบบป้องกันไฟไหม้และอุปกรณ์ดบั เพลิงทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบกับ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) ระบบบริหารบุคคล เช่น การก�ำหนดสิทธิผ์ ใู้ ช้งาน การจ�ำกัดขนาดของเมล์ทสี่ ามารถส่งออกนอกบริษทั และรายงานการส่งเมล์ ออกนอกบริษัท เป็นต้น 5) การตรวจสอบระบบสารสนเทศ ซึ่งจัดให้มีการตรวจสอบระบบสารสนเทศโดยผู้ตรวจสอบจากภายนอกเป็นครั้งคราว เพื่อ การปรับปรุงกระบวนการและขั้นตอนการท�ำงานให้ได้มาตรฐานตามหลักสากลอย่างต่อเนื่อง
5. ความเสี่ยงด้านตลาด คือความเสี่ยงที่เกิดจากการลดลงของมูลค่าของสินทรัพย์ที่ลงทุน จากความผันผวนด้านอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และราคา หลักทรัพย์ จากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกต่างๆ เช่น ภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดยการกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์หลายประเภท และกระจายการลงทุนหลายประเภทธุรกิจ เพื่อ ลดความผันผวนของมูลค่าเงินลงทุนโดยรวมของบริษทั โดยมีการติดตามและวิเคราะห์ความผันผวนของราคาตราสารทีล่ งทุน เพือ่ ประกอบ การตัดสินใจลงทุนให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ และมีนโยบายหลีกเลี่ยงการลงทุนในประเภทหลักทรัพย์เก็งก�ำไร ที่มีความเสี่ยงของ ความผันผวนของราคาสูง โดยให้นำ�้ หนักการลงทุนในสินทรัพย์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ และมีผลตอบแทนทีแ่ น่นอน ทัง้ นี้ บริษทั มีคณะกรรมการลงทุน ทีจ่ ะพิจารณาและก�ำหนดนโยบายการลงทุน ซึง่ เพิม่ เติมจากข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) เพื่อลดผลกระทบของความเสี่ยงที่บริษัทจะสูญเสียเงินลงทุน และมีการพิจารณาทบทวนสัดส่วนการลงทุนอย่าง สม�่ำเสมอ
6. ความเสี่ยงด้านเครดิต คือความเสี่ยงที่เกิดจากคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติตามภาระที่ตกลงไว้กับบริษัท และมีโอกาสที่จะถูกปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือ 6.1 ความเสี่ยงจากการลงทุน บริษทั มีสนิ ทรัพย์อยูใ่ นรูปเงินลงทุนในหลักทรัพย์เกินกว่าร้อยละ 50 ของสินทรัพย์ทงั้ หมดของบริษทั ดังนัน้ ความเสีย่ งอาจเกิดขึน้ จากผู้ออกตราสารที่บริษัทลงทุนไว้ไม่สามารถช�ำระหนี้ได้ตามก�ำหนด
บมจ. นวกิจประกันภัย
35
บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดยพิจารณาลงทุนกับผู้ออกตราสารที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือโดยสถาบันภายนอกที่มี มาตรฐาน เช่น TRIS และ FITCH และก�ำหนดนโยบายที่จะลงทุนเฉพาะตราสารที่มีอันดับความน่าเชื่อถือระดับ Investment Grade ที่บริษัทก�ำหนดเท่านั้น พร้อมกับมีการติดตามข่าวสารการปรับอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารที่บริษัทลงทุน เพื่อพิจารณาแนวโน้ม ธุรกิจของบริษัทที่ออกตราสาร และก�ำหนดให้มีการติดตามทบทวนวงเงินลงทุนรวมในแต่ละรายที่เหมาะสม ภายใต้นโยบายการลงทุน ของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ 6.2 ความเสี่ยงจากบริษัทรับประกันภัยต่อ หากบริษัทรับประกันภัยต่อไม่สามารถช�ำระค่าสินไหมทดแทนให้บริษัทได้ตามเวลาก�ำหนด และ/หรือตามจ�ำนวนที่ระบุไว้ใน สัญญาประกันภัยต่อ จะส่งผลต่อความเสี่ยงด้านสภาพคล่องแก่บริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัทจะพิจารณาคัดเลือกบริษัทประกันภัยต่อที่มี อันดับความน่าเชื่อถือที่ไม่ต�่ำกว่า A- ทั้งนี้ ภายหลังจากการท�ำสัญญาประกันภัยต่อ จะมีการติดตามการปรับอันดับความน่าเชื่อถือของ บริษัทประกันภัยต่อเป็นประจ�ำทุกเดือน
7. ความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว หมายถึง ความเสีย่ งทีม่ ลู ค่าสินทรัพย์กระจุกตัวในแต่ละประเภท การลงทุนในตราสารทุนทีก่ ระจุกตัว รวมถึงการกระจุกตัวในส่วนของ ผู้รับประกันภัยต่อทั้งในประเทศและนอกประเทศ 7.1 ความเสี่ยงจากการลงทุน เนือ่ งจากบริษทั มีนโยบายการลงทุนในตราสารทุน เพือ่ ให้ได้รบั ผลตอบแทนจากการลงทุนตามทีไ่ ด้ตงั้ เป้าหมายไว้ ดังนัน้ ถ้าบริษทั ลงทุนแบบกระจุกตัวเฉพาะในตราสารทุนหนึ่งๆ ที่ให้ผลตอบแทนที่ดี อาจส่งผลให้บริษัทเกิดเสียความเสียหายอย่างมาก เมื่อมูลค่าของ ตราสารทุนนั้นๆ ลดลง หรือบริษัทขาดทุนจากการลงทุนในตราสารทุนดังกล่าว บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดยกระจายการลงทุนในการบริหารสินทรัพย์ และจ�ำกัดสัดส่วนที่จะลงทุนแยกตามประเภท ความเสี่ยงของหลักทรัพย์ ซึ่งบริษัทให้ความส�ำคัญกับความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว เพราะจะส่งผลกระทบในภาพรวมของบริษัท และ ท�ำให้บริษัทมีความเสี่ยงด้านอื่นๆ เช่น ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านการประกันภัยต่อ รวมถึงความเพียงพอของการด�ำรง เงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงของบริษัท 7.2 ความเสี่ยงจากบริษัทรับประกันภัยต่อ การโอนความเสี่ยงไปให้บริษัทรับประกันภัยต่อเพียงบริษัทเดียวหรือเพียงกลุ่มเดียว เกินร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเงินเอาประกันภัยต่อทั้งหมด อาจส่งผลให้ไม่ได้รับช�ำระค่าสินไหมทดแทนเป็นจ�ำนวนมาก ในกรณีที่บริษัท รับประกันภัยต่อล้มละลาย หรือไม่สามารถช�ำระหนี้ให้กับบริษัทได้ บริษัทมีนโยบายในการก�ำหนดและคัดเลือกบริษัทรับประกันภัยต่อทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยก�ำหนดให้จ�ำนวนเงิน เอาประกันภัยต่อของบริษัทประกันภัยต่อบริษัทหนึ่งๆ มีสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเงินเอาประกันภัยต่อทั้งหมดของบริษัท
8. ความเสี่ยงด้านผลกระทบต่อชื่อเสียง หมายถึงการเสื่อมถอยของชื่อเสียงและภาพลักษณ์องค์กร ซึ่งส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความมั่นคงของบริษัท ทั้งยังเกี่ยวข้องกับ การรับรู้ของสาธารณชน ความเสี่ยงด้านผลกระทบต่อชื่อเสียงนี้ยากต่อการระบุหรือประเมินได้อย่างชัดเจน เพราะอาจได้รับอิทธิพลหรือ เกี่ยวพันกับประเด็นทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในขณะใดขณะหนึ่ง รวมถึงเกี่ยวข้องกับความคาดหวังที่มีต่อบริษัทเป็นการ เฉพาะด้วย บริษัทค�ำนึงถึงเป้าหมายเชิงกลยุทธ์และชื่อเสียงของบริษัทเป็นส�ำคัญ โดยได้รับการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากคณะกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้ได้รับข้อมูลจากหลากหลายแง่มุมและประสบการณ์ อีกทั้งยังจัดให้มีระบบรับเรื่องร้องเรียน ซึ่งนอกจาก จะเป็นข้อมูลเพื่อการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของบริษัทแล้ว ยังเป็นประโยชน์ต่อการประเมินความเสี่ยงด้านชื่อเสียงของบริษัท อีกด้วย
36
รายงานประจำ�ปี 2557
9. ความเสี่ยงด้านกฎหมาย หมายถึง การที่บริษัทไม่ปฏิบัติตาม ละเมิด หรือละเลย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมาย หรือประกาศของหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล ได้ระบุไว้ ซึ่งบริษัทมีการบริหารความเสี่ยงโดย
1. ส่งเสริมให้พนักงานตระหนักว่าการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์เป็นภาระความรับผิดชอบของพนักงานทุกคน ทุกระดับ
2. สื่อสารและท�ำความเข้าใจกฎเกณฑ์ที่มีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานให้พนักงานทุกส่วนรับทราบ
3. จัดเก็บและติดตามข้อมูลเกี่ยวกับกฎ ข้อบังคับ ให้ทันเหตุการณ์และสะดวกต่อการใช้งาน
10. ความเสี่ยงภายในกลุ่มบริษัท หมายถึง ภาระผูกพัน ความรับผิด และความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ต่อสมาชิกของกลุม่ บริษทั ทีอ่ ยูใ่ นเครือเดียวกัน ทีส่ ง่ ผลต่อความมัน่ คง ทางการเงินของบริษัท ซึ่งในปัจจุบันบริษัทมิได้มีกลุ่มบริษัทที่อยู่ในเครือเดียวกัน จึงมิได้มีนโยบายบริหารความเสี่ยงดังกล่าว
11. ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ หมายถึง ความสูญเสียจากความเสี่ยงที่ยังไม่ปรากฏขึ้นในปัจจุบัน แต่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต เนื่องจากสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ มีโอกาสในการเกิดความเสี่ยงต�่ำ แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรง ความเสี่ยงประเภทนี้มักจะถูกระบุขึ้นมาจากการคาดการณ์ บนพื้นฐานของการศึกษาจากหลักฐานที่ปรากฏอยู่ เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมีความผันผวนสูง จึงท�ำให้บริษัท ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งมีแนวทางการบริหารความเสี่ยงโดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมกับ ต้นทุนความเสียหาย หรือ คัดเลือกภัยของลูกค้าให้รัดกุมมากขึ้น
บมจ. นวกิจประกันภัย
37
โครงสร้างผู้ถือหุ้นและการจัดการ โครงสร้างผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น 10 รายแรก ณ วันที่ 13 มีนาคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้น
รายชื่อผู้ถือหุ้น
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด
1. กลุ่มนายสุจินต์ หวั่งหลี
4,354,984
14.05
2. บริษัท สหพิทักษ์สิน จำ�กัด
2,180,399
7.03
3. นายณฐพล ศรีจอมขวัญ
1,460,496
4.71
4. บริษัท ธนสารสมบัติ (ไทย) จำ�กัด
1,400,880
4.52
5. บริษัท สยามกลการ จำ�กัด
1,252,400
4.04
6. กลุ่มนางสายจิตต์ หวั่งหลี
1,160,055
3.74
7. บริษัท หวั่งหลี จำ�กัด
843,564
2.72
8. บริษัท พูลผล จำ�กัด
826,666
2.67
9. นายประดิษฐ รอดลอยทุกข์
826,021
2.66
690,627
2.23
10. Mr. Chan Chi Keung
หมายเหตุ: กลุ่มนายสุจินต์ หวั่งหลี ประกอบด้วย (1) นายสุจินต์ หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน 3,116,819 หุ้น (2) นางรุจิราภรณ์ หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน
1,085,000 หุ้น (3) ดร.ศรัณฐ์ หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน 153,165 หุ้น กลุ่มนางสายจิตต์ หวั่งหลี ประกอบด้วย (1) นางสายจิตต์ หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน 620,438 หุ้น (2) น.ส. จิตตินันท์ หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน 211,409 หุ้น (3) นายณัฐชัย หวั่งหลี ถือหุ้นจ�ำนวน 121,073 หุ้น (4) บริษัท จิตติพัฒน์ จ�ำกัด ถือหุ้นจ�ำนวน 207,135 หุ้น
นโยบายการจ่ายเงินปันผล ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะบริษัทต้องไม่มีผลประกอบการขาดทุนสะสม และเป็นไป ตามมติที่ของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น
โครงสร้างการจัดการ 1. คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย
38
1. นายสุจินต์ 2. นายปิติพงศ์ 3. ศาสตราจารย์หิรัญ 4. นายประมนต์ 5. นายเกียรติ 6. นายชาน 7. นายพรพงษ์ 8. นายนิพล 9. นายท�ำนุ 10. นายวุฒิชัย
รายงานประจำ�ปี 2557
หวั่งหลี พิศาลบุตร รดีศรี สุธีวงศ์ ศรีจอมขวัญ ซู ลี พรประภา ตั้งจีรวงษ์ หวั่งหลี หวั่งหลี
ประธานกรรมการ/ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนสรรหาและธรรมาภิบาล กรรมการอิสระ กรรมการอิสระและกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
11. นางสาวจิตตินันท์ 12. นายเขต
หวั่งหลี หวั่งหลี
กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
หมายเหตุ: * นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล ลาออกจากการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัทตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2557 ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ก�ำกับดูแลกิจการให้มีการบริหารจัดการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ภายใต้เงื่อนไขและ ข้อก�ำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ และก�ำกับดูแลให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ หรือทิศทางที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ด�ำเนินการให้บริษัทมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมทางธุรกิจ รวมทั้งมีการทบทวนและประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 4. พิจารณาอนุมัติการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการด�ำเนินการใดๆ ตามที่กฎหมายและหน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนด เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ฯลฯ เพื่อป้องกันการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการได้มาและการจ�ำหน่ายไปของสินทรัพย์ และการด�ำเนินการใดๆ ตามทีก่ ฎหมายและหน่วยงาน ก�ำกับดูแลก�ำหนด เช่น คปภ. ก.ล.ต. ฯลฯ เพื่อป้องกันการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6. พิจารณาอนุมัติในเรื่องที่มีสาระส�ำคัญที่เสนอโดยฝ่ายบริหาร เช่น แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงการขนาดใหญ่ที่มีมูลค่า เกินอ�ำนาจของฝ่ายบริหาร 7. จัดให้มีระบบการด�ำเนินงานรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎระเบียบ การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน รวมถึงให้มีหน่วยงานหรือบุคลากรที่มีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ ท�ำหน้าที่ในการตรวจสอบการปฏิบัติงานข้างต้น เพื่อให้มั่นใจ ว่ามีประสิทธิภาพเพียงพอและมีความโปร่งใส 8. ดูแลให้มีการสรรหากรรมการและจัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่งงานของผู้บริหารระดับสูงอย่างมีประสิทธิผล 9. จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อยให้มีความเพียงพอและเหมาะสมส�ำหรับการปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงแต่งตั้ง มอบหมายบุคคลอื่นใด ให้ด�ำเนินกิจการของบริษัทภายใต้การควบคุมและภายในเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร 10. ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยเป็นประจ�ำทุกปี 11. อนุมัติหลักเกณฑ์การจ่ายโบนัสพิเศษประจ�ำปีให้แก่พนักงาน 12. แต่งตั้งเลขานุการบริษัท
2. คณะกรรมการชุดย่อย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี และอยู่ในต�ำแหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระ โดยเริ่มนับ วาระแรกตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2552 1. ศาสตราจารย์หิรัญ 2. นายประมนต์ 3. นายเกียรติ
รดีศรี สุธีวงศ์ ศรีจอมขวัญ
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ บมจ. นวกิจประกันภัย
39
โดยกรรมการตรวจสอบล�ำดับที่ 1 เป็นบุคคลที่มีความรู้ด้านบัญชีและการเงินและมีประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน ของบริษัท ทั้งนี้ นางวิภาดา ศรีธิมาสถาพร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณา ความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ตลท.) และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชี และเสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี ของบริษัท รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อก�ำหนด ของตลท. ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. สอบทานให้บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ 7. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัทอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 8. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 8.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 8.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 8.3 ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลท. หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 8.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 8.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 8.6 จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบเป็นรายบุคคล 8.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร 8.8 รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 9. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 10. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมี ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร
40
รายงานประจำ�ปี 2557
10.1 รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 10.2 การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน 10.3 การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลท. หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท หากคณะกรรมการของบริษัทหรือผู้บริหารไม่ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบรายใด รายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระท�ำตามวรรคหนึ่งต่อ ก.ล.ต. หรือ ตลท. 11. ในกรณีทผี่ สู้ อบบัญชีพบพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือบุคคลซึง่ รับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษทั ได้กระท�ำความผิดตามทีก่ ฎหมายระบุ และได้แจ้งข้อเท็จจริงเกีย่ วกับพฤติการณ์ดงั กล่าวให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ทราบ และ เพือ่ ด�ำเนินการตรวจสอบต่อไปโดยไม่ชกั ช้า และให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบเบือ้ งต้นให้แก่สำ� นักงานและผูส้ อบ บัญชีทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี พฤติการณ์อันควรสงสัยที่ต้องแจ้งดังกล่าวและวิธีการเพื่อให้ได้มา ซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์นั้น ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ก�ำหนดไว้อย่างน้อย 6 ครั้งต่อปี 2) คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 3 คน โดยประธานและสมาชิกอย่างน้อยจ�ำนวน 2 ใน 3 จะต้องเป็นกรรมการอิสระ มีวาระ การด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี 1. นายประมนต์ 2. นายเกียรติ 3. นายพรพงษ์
สุธีวงศ์ ศรีจอมขวัญ พรประภา
ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาฯ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาฯ กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาฯ
หน้าที่และความรับผิดชอบด้านการก�ำหนดค่าตอบแทน 1. เสนอโครงสร้างและวิธีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ แล้วแต่กรณี 2. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปีให้แก่คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อขออนุมัติในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนประจ�ำปีให้แก่ผู้บริหารระดับสูง เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. พิจารณาทบทวนอ�ำนาจและหน้าทีเ่ กีย่ วกับการก�ำหนดค่าตอบแทนเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการในการปรับปรุงให้เหมาะสม สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบหรือค�ำสั่งของหน่วยงานราชการ เช่น คปภ. ตลท. และ ก.ล.ต. ฯลฯ หน้าที่และความรับผิดชอบด้านการสรรหา 1. ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหากรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหาร ระดับสูง เมื่อครบวาระหรือมีต�ำแหน่งว่างลง เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งแล้วแต่กรณี 3. ดูแลโครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษทั ให้เหมาะสมกับองค์กรและหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ ผูถ้ อื หุน้ 4. พิจารณาทบทวนอ�ำนาจและหน้าทีเ่ กีย่ วกับการสรรหาเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการในการปรับปรุงให้เหมาะสม สอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ หรือค�ำสั่งของหน่วยงานราชการ เช่น คปภ. ตลท. และ ก.ล.ต. ฯลฯ บมจ. นวกิจประกันภัย
41
หน้าที่และความรับผิดชอบด้านธรรมาภิบาล 1. พิจารณาทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ิ เกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจให้มคี วามเหมาะสมและ เพียงพอ โดยน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษทั และ ทุกคนในองค์กรเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. พิจารณาแต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อท�ำหน้าที่สนับสนุนการก�ำกับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจได้ตามความเหมาะสม การประชุมคณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล ก�ำหนดไว้อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี 3) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการหรือผูบ้ ริหารของบริษทั โดยจ�ำนวนสมาชิกต้องไม่นอ้ ยกว่า 5 คน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี
1. นายนิพล 2. นายปิติพงศ์ 3. นางสาวอนุกูล 4. นางนลินา 5. นายอนรรฆ
ตั้งจีรวงษ์ พิศาลบุตร ฐิติกุลรัตน์ โพธารามิก หวั่งหลี
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง
ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. ก�ำหนดนโยบายบริหารความเสีย่ ง ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้และระดับความเสีย่ งสูงสุดทีย่ อมรับ และน�ำเสนอนโยบาย บริหารความเสี่ยงให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ 2. ก�ำกับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3. สอบทานรายงานการบริหารความเสี่ยงเพื่อติดตามความเสี่ยงที่ส�ำคัญ และด�ำเนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่า องค์กรมีการ จัดการความเสี่ยงอย่างเพียงพอและเหมาะสม 4. น�ำเสนอความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัท รวมถึงความเพียงพอของระบบควบคุมภายในเพื่อการจัดการความเสี่ยงต่างๆ ที่ส�ำคัญให้กับคณะกรรมการบริษัท 5. ให้ค�ำแนะน�ำกับฝ่ายต่างๆ ที่เป็นหน่วยงานบริหารความเสี่ยง และพิจารณาแก้ไขข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบ การบริหารความเสี่ยง การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ก�ำหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี 4) คณะกรรมการลงทุน ประกอบด้วยผู้บริหารที่ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์ และผู้บริหารอื่นซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท วาระการด�ำรงต�ำแหน่งจะสิ้นสุดตามสถานภาพต�ำแหน่งของผู้บริหาร 1. นายปิติพงศ์ 2. นายนิพล 3. นายอนรรฆ
พิศาลบุตร ตั้งจีรวงษ์ หวั่งหลี
ประธานกรรมการลงทุน กรรมการลงทุน กรรมการลงทุน
โดยนายสุจินต์ หวั่งหลี ด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาคณะกรรมการลงทุน
42
รายงานประจำ�ปี 2557
ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการลงทุน 1. จัดท�ำกรอบนโยบายการลงทุนเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2. พิจารณาแผนการลงทุนให้สอดคล้องกับกรอบนโยบายการลงทุนที่อนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัท และ นโยบายบริหาร ความเสี่ยงโดยรวม และอยู่ภายใต้ข้อก�ำหนดของ คปภ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3. พิจารณาก�ำหนดแนวทางปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงด้านการลงทุน 4. พิจารณาจัดท�ำระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนของบริษัท 5. ก�ำกับดูแลการลงทุนของบริษทั ให้เป็นไปตามกรอบนโยบายการลงทุน แผนการลงทุนระเบียบวิธปี ฎิบตั เิ กีย่ วกับการลงทุน และนโยบายบริหารความเสี่ยงที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 6. สอบทานและปรับเปลี่ยนกรอบนโยบายการลงทุนและแผนการลงทุนให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและ น�ำเสนอกรอบนโยบายการลงทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในหลักทรัพย์ 8. พิจารณาอนุมัติการให้กู้ยืมทั่วไป 9. พิจารณาอนุมัติการขายทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ การประชุมคณะกรรมการลงทุน ก�ำหนดไว้อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี 5) คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย สมาชิกทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั วาระการด�ำรงต�ำแหน่งจะสิน้ สุดตามสถานภาพ ต�ำแหน่งของผู้บริหาร 1. นายปิติพงศ์ 2. นางสาวอนุกูล 3. นางนลินา
พิศาลบุตร ฐิติกุลรัตน์ โพธารามิก
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ
โดยนายสุจินต์ หวั่งหลี ด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการของบริษัทและบริษัทย่อยให้ด�ำเนินไปตามนโยบายและ แผนงานหลักที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. รับผิดชอบในการจัดท�ำนโยบาย งบประมาณ แนวทาง และแผนงานหลักในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 3. รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล ให้บริษัทและบริษัทย่อยปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อก�ำหนดหรือประกาศที่ออกตาม กฎหมายดังกล่าว อาทิ ข้อก�ำหนด ตลท. ประกาศของ ก.ล.ต. 4. รับผิดชอบในการดูแลให้บริษทั และบริษทั ย่อยปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป ให้มกี ารจัดท�ำงบการเงิน ที่แสดงถึงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยที่เป็นจริงอย่างรอบคอบและสมเหตุสมผล
บมจ. นวกิจประกันภัย
43
5. รับผิดชอบในการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย และก�ำหนดมาตรการ ที่เหมาะสมเพื่อบริหารความเสี่ยง เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 6. รับผิดชอบในการปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย อ�ำนาจในการด�ำเนินงาน 1. มีอ�ำนาจในการจัดการตามนโยบาย งบประมาณ และแผนงาน ของบริษัทและบริษัทย่อย 2. มีอ�ำนาจในการกระจายอ�ำนาจในการบริหารให้แก่ผู้รับผิดชอบงานบริหารของบริษัทและบริษัทย่อยในระดับถัดลงไป 3. มีอำ� นาจในการจัดการและด�ำเนินการต่างๆ ในเรือ่ งการรับประกันภัย การจัดการสินไหมทดแทน การลงทุนและการจัดการ ธุรกิจโดยปกติ 4. มีอ�ำนาจในการจัดซื้อ จัดจ้าง จ�ำหน่ายจ่ายโอน และอนุมัติค่าใช้จ่าย ภายในวงเงิน 50 ล้านบาท 5. มีอ�ำนาจอนุมัติค่าใช้จ่ายที่เกินงบประมาณได้ ภายในวงเงินไม่เกินร้อยละ 20 ของจ�ำนวนเงินงบประมาณ 6. การที่คณะกรรมการบริษัทมอบอ�ำนาจให้คณะกรรมการบริหาร หรือการที่คณะกรรมการบริหารมอบอ�ำนาจให้กรรมการ ผู้อ�ำนวยการ และ/หรือเจ้าหน้าที่อื่นตามความเหมาะสมให้ด�ำเนินการแทนบริษัทหรือบริษัทย่อย การมอบอ�ำนาจในแต่ละล�ำดับ ไม่รวมถึงอ�ำนาจในการอนุมัติรายการที่ผู้รับมอบอ�ำนาจหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องอาจมีส่วน ได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย การประชุมคณะกรรมการบริหาร ก�ำหนดไว้อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง อ�ำนาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริหาร 1. ก�ำกับดูแลและให้คำ� ปรึกษาแก่กรรมการผูอ้ ำ� นวยการและฝ่ายบริหาร ให้บริหารจัดการองค์กรไปสูค่ วามส�ำเร็จตามวิสยั ทัศน์ และเป้าหมายรวมตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดไว้ โดยให้คนในองค์กรมีส่วนร่วมในการบริหารงานในแต่ละระดับให้บรรลุผล ตามเป้าหมายที่รับผิดชอบ 2. ส่งเสริมและ/หรือก�ำกับ ให้เกิดการประสานความร่วมมือของบุคลากรในองค์กรอย่างมีทิศทางและเป้าหมายร่วมกัน 3. ประสานความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของฝ่ายบริหารจัดการกับคณะกรรมการบริษัทให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน 4. ให้ค�ำแนะน�ำ ทบทวนโครงการ ก�ำกับแนวทางบริหาร และกลยุทธ์ทางธุรกิจรวมถึงการด�ำเนินการธุรกิจปรกติของบริษัท แก่ฝ่ายบริหารจัดการ ก่อนที่จะเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 5. ดูแลสนับสนุนให้มีความเพียงพอของแผนกลยุทธ์ งบประมาณประจ�ำปี และแผนงานการบริหารจัดการ ให้เป็นไปตาม แนวนโยบายที่ได้รับจากคณะกรรมการบริษัท 6. ดูแลให้มีการพัฒนา เสริมสร้างวัฒนธรรม และบรรยากาศในการท�ำงานที่ดี โดยค�ำนึงถึงเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ของผู้ร่วมงาน รวมถึงปฏิบัติต่อพนักงานอย่างมีคุณธรรมและเท่าเทียมกัน 7. พิจารณาและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ โดยรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือคณะกรรมการ ชุดย่อยที่ได้รับมอบหมาย 8. พิจารณาและประเมินผลงานของผู้บริหารในระดับรองลงมาร่วมกับกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม 3. ผู้บริหาร ประกอบด้วย 1. นายปิติพงศ์ 2. นางสาวอนุกูล
44
รายงานประจำ�ปี 2557
พิศาลบุตร ฐิติกุลรัตน์
กรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - การเงิน
3. 4. 5. 6.
นางนลินา นายอดุล นายอนรรฆ นายอนิญช์
โพธารามิก พัฒนะภูมิ หวั่งหลี หวั่งหลี
รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - รับประกัน/สนับสนุนสาขา ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ - ปฏิบัติงาน/บริหารการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ - บริหารสินทรัพย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สินไหมทดแทน
อ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการผู้อ�ำนวยการ 1. จัดท�ำนโยบาย แนวทางยุทธศาสตร์การด�ำเนินธุรกิจ เป้าหมาย แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัท เสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณา และด�ำเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายและแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ 2. รายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือนและรายไตรมาสของบริษทั เทียบกับแผนงานและงบประมาณ ให้คณะกรรมการบริษทั ทราบพร้อมข้อเสนอแนะ 3. อนุมัติค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 1 ล้านบาท กรณีที่เกิน 1 ล้านบาทต้องรายงานให้ประธานกรรมการบริหารทราบ 4. เรื่องอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 4. เลขานุการบริษัท นางสาวจารุวรรณ จับจ�ำรูญ ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 แทน นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 โดยมีส�ำนักเลขานุการบริษัทสนับสนุนการท�ำงาน ที่เกี่ยวข้องให้ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดการประชุมผู้ถือหุ้นและประชุมคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัท และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ 2. บันทึกและจัดเก็บรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท 3. ดูแลให้บริษทั และคณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดของตลท.ว่าด้วยการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงข้อก�ำหนด ของ ก.ล.ต. 4. ให้คำ� แนะน�ำเบือ้ งต้นแก่กรรมการเกีย่ วกับข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษทั และ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ าม อย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ 5. ติดต่อและสื่อสารกับผู้ถือหุ้นให้ได้รับทราบสิทธิต่างๆ ของผู้ถือหุ้นและข่าวสารของบริษัท 5. การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล เป็นผู้ทำ� หน้าทีส่ รรหากรรมการทดแทนกรรมการทีค่ รบวาระ ลาออก หรือทดแทนต�ำแหน่งที่ว่างลงด้วยเหตุอื่น ดังนี้ 1) การสรรหากรรมการอิสระ บริษัทก�ำหนดค�ำนิยามของกรรมการอิสระเท่ากับเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท โดยให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือเป็นผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
บมจ. นวกิจประกันภัย
45
3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัท โดยพิจารณาจากรายการที่มีมูลค่าตั้งแต่ 20 ล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท แล้วแต่ จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่ เว้นแต่ได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น หุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้น เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัย กับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท ความสัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษทั อนุมตั หิ ลักเกณฑ์การผ่อนผันข้อห้ามความสัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระ โดยก�ำหนดขนาดมูลค่า รายการระดับที่มีนัยให้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของมูลค่า NTA ของบริษัท และความสัมพันธ์ทางธุรกิจนั้นต้องเป็นรายการธุรกิจปกติและ รายการสนับสนุนธุรกิจปกติที่เป็นเงื่อนไขการค้าทั่วไปในลักษณะเดียวกับที่บริษัทพึงจะกระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน และไม่เอื้อประโยชน์แก่กรรมการอิสระจนกระทบกับการแสดงความเห็นที่เป็นอิสระ โดยได้ก�ำหนดขั้นตอนการก�ำกับดูแล ดังนี้ - ให้ฝ่ายบริหารตรวจสอบและรายงานความสัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระที่มีขนาดรายการเกินร้อยละ 3 ของ NTA ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาทบทวนความเป็นอิสระ - ให้มกี ารแสดงข้อมูลความสัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระในวาระเสนอแต่งตัง้ กรรมการอิสระต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น - ให้เปิดเผยข้อมูลความสัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระในแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจ�ำปี หรือตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. ประกาศก�ำหนด
46
รายงานประจำ�ปี 2557
2) การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ จะเป็นผู้คัดเลือกและ เสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหาร ตั้งแต่ระดับกรรมการผู้อ�ำนวยการขึ้นไป และเสนอ ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ การแต่งตัง้ กรรมการ จะต้องได้รบั มติเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนเสียงทัง้ หมด ของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง โดยมีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็นรายบุคคล และกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะต้องงด ออกเสียงในวาระนี้ คุณสมบัติของบุคคลที่จะเป็นกรรมการ 1. มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ ก ฎหมายก� ำ หนด (เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย) 2. มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจ มีความตั้งใจและมีจริยธรรมในการด�ำเนิน ธุรกิจ 3. สามารถใช้ดุลยพินิจอย่างตรงไปตรงมาอย่างเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและกลุ่มที่มีผลประโยชน์อื่นใด 4. สามารถอุทศิ เวลาให้บริษทั ทีต่ นเป็นกรรมการได้อย่างเพียงพอ และเอาใจใส่ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามความรับผิดชอบของตน 6. การถือหลักทรัพย์ NKI ของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร
ชื่อ
ณ 31 ธ.ค. 2557 ของตนเอง คู่สมรส/บุตร
1. นายสุจินต์ หวั่งหลี 2. นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ 3. นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร 4. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี 5. นายประมนต์ สุธีวงศ์ 6. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ 7. นายชาน ซูลี 8. นายพรพงษ์ พรประภา 9. นายทำ�นุ หวั่งหลี 10. นายวุฒิชัย หวั่งหลี 11. นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี 12. นายเขต หวั่งหลี 13. นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์ 14. นางนลินา โพธารามิก
3,116,819 1,085,000 51,263 62,126 118,726 160,166 37,017 302,986 250 380,584 14,968 540,436 12,503 211,409 62,516 -
จำ�นวนหุ้นสามัญ (หุ้น) เพิ่ม (ลด) หุ้นปันผล ณ 16 พ.ค. 2557 ณ 31 ธ.ค. 2556 ระหว่าง รอบปีบัญชี ของตนเอง คู่สมรส/บุตร ของตนเอง คู่สมรส/บุตร 699,100 99,248 35,000 2,418,471 950,000 (2,000) 1,653 2,068 49,610 62,058 25,000 3,829 89,897 51,666 3,500 105,000 1,194 35,823 90,000 6,870 206,116 8 242 12,276 482 368,308 14,486 17,433 403 523,003 12,100 6,819 204,590 2,016 60,500 -
บมจ. นวกิจประกันภัย
47
ชื่อ
จำ�นวนหุ้นสามัญ (หุ้น) เพิ่ม (ลด) หุ้นปันผล ณ 29 พ.ค. 2557 ณ 31 ธ.ค. 2556 ระหว่าง รอบปีบัญชี ของตนเอง คู่สมรส/บุตร ของตนเอง คู่สมรส/บุตร 1,305 39,172 2,278 68,361 -
ณ 31 ธ.ค. 2557 ของตนเอง คู่สมรส/บุตร
15. นายอดุล พัฒนะภูมิ 16. นายอนรรฆ หวั่งหลี 17. นายอนิญช์ หวั่งหลี
40,477 70,639
-
หมายเหตุ 1. นายอนรรฆ หวั่งหลี ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ (ผู้บริหาร) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 2. นายอนิญช์ หวั่งหลี ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ (ผู้บริหาร) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558
7. การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยปี 2557
รายชื่อกรรมการ 1. นายสุจินต์ หวั่งหลี 2. นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ 3. นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร 4. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี 5. นายประมนต์ สุธีวงศ์ 6. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ 7. นายชาน ซูลี 8. นายพรพงษ์ พรประภา 9. นายทำ�นุ หวั่งหลี 10. นายวุฒิชัย หวั่งหลี 11. นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี 12. นายเขต หวั่งหลี 13. นางสาวสุกญ ั ญา ปัณฑพรรธน์กลุ
คณะกรรมการ คณะ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท / กรรมการ กำ�หนดค่า บริหาร ลงทุน บริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ ตอบแทนความเสี่ยง สรรหาและ บริษัทที่ไม่เป็น ผู้บริหาร ธรรมาภิบาล 6/6 5/6 6/6 5/6 5/6 6/6 5/6 6/6 6/6 5/6 6/6 5/6 2/6
1/1 1/1 1/1 0/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 0/1 0/1
12/12 11/12 12/12 -
2/2 2/2 2/2 -
4/4 3/4 1/4
5/5 3/5 5/5 -
-
4/4 1/4 3/4 -
5/5 2/5
15/49 45/49 -
ผู้บริหารที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย 14. นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์ 15. นางนลินา โพธารามิก 16. นางสาวชุติธร หวั่งหลี 17. นายอนรรฆ หวั่งหลี
48
รายงานประจำ�ปี 2557
- - - -
-
-
48/49 47/49 -
หมายเหตุ 1. คณะกรรมการบริษัทประชุมทั้งปี 6 ครั้ง กรรมการอิสระจ�ำนวน 5 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 4, 5, 6, 7 และ 8 2. คณะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารประชุมทั้งปี 1 ครั้ง กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 11 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 1-2 และ 4-12 (ล�ำดับที่ 13 ลาออกจาก ต�ำแหน่งกรรมการวันที่ 30 เมษายน 2557) 3. คณะกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 4, 5 และ 6 ประชุมทั้งปี 12 ครั้ง 4. คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาลจ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 5, 6 และ 8 ประชุมทั้งปี 2 ครั้ง 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ ล�ำดับที่ 2, 3 และ 13-17 ประชุมทั้งปี 4 ครั้ง - ล�ำดับที่ 13 ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 30 เมษายน 2557 - ล�ำดับที่ 15 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 - ล�ำดับที่ 16 ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 31 ธันวาคม 2557 - ล�ำดับที่ 17 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 6. คณะกรรมการลงทุน ได้แก่ ล�ำดับที่ 2, 3, 16 และ 17 (ล�ำดับที่ 1 เป็นที่ปรึกษา) ประชุมทั้งปี 5 ครั้ง - ล�ำดับที่ 2 พ้นจากต�ำแหน่งประธานกรรมการลงทุน เมื่อ 30 เมษายน 2557 เนื่องจากลาออกจากต�ำแหน่งประธานกรรมการบริหาร และได้รับ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการลงทุน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 - ล�ำดับที่ 16 ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการลงทุน โดยต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์ ตัง้ แต่ปี 2552 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2557 และได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการลงทุนอีกครั้ง เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 และลาออกวันที่ 31 ธันวาคม 2557 - ล�ำดับที่ 17 เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการลงทุน โดยต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์ วันที่ 1 เมษายน 2557 7. คณะกรรมการบริหาร ได้แก่ ล�ำดับที่ 3, 14 และ 15 (ล�ำดับที่ 1 เป็นที่ปรึกษา) ประชุมทั้งปี 49 ครั้ง (ล�ำดับที่ 2 ลาออกจากคณะกรรมการบริหารวันที่ 30 เมษายน 2557)
8. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารปี 2557 1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาลเป็นผู้พิจารณาก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการและ ผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทและ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติตามล�ำดับ ค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการโดยพิจารณาถึงภารกิจ ความรับผิดชอบ และการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ โดยเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่มีขนาดและลักษณะของธุรกิจที่ใกล้เคียงกัน รวมทั้งน�ำเงินปันผลที่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นเป็นองค์ประกอบ ในการพิจารณาด้วย ค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นตัวเงินแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ เบี้ยประชุม: จ่ายให้กรรมการต่อครั้งที่เข้าประชุม โดยประธานกรรมการได้รับจ�ำนวน 30,000 บาท และกรรมการอื่นคนละ 20,000 บาท บ�ำเหน็จ: จ่ายส�ำหรับกรรมการทั้งคณะ คิดเป็นร้อยละ 5 ของเงินปันผล โดยประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร ได้รับในอัตรา 2.0 เท่าของจ�ำนวนที่จ่ายให้กรรมการ ค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อย จ่ายให้กรรมการต่อครั้งที่เข้าประชุม ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ: จ่ายให้ประธานจ�ำนวน 30,000 บาท และกรรมการคนละ 20,000 บาท คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาลและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง: จ่ายให้ประธานจ�ำนวน 20,000 บาท และกรรมการคนละ 10,000 บาท
บมจ. นวกิจประกันภัย
49
ค่าเบี้ยประชุมปี 2557 และบ�ำเหน็จกรรมการส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2556 ที่ได้รับในปี 2557 สรุปเป็นรายบุคคลได้ดังนี้
รายชื่อกรรมการ
ค่าตอบแทน (บาท) กรรมการ กรรมการบริษัท/ กรรมการ กรรมการ บริหาร กรรมการบริษัท ตรวจสอบ กำ�หนด ที่ไม่เป็นผู้บริหาร ค่าตอบแทน- ความเสี่ยง สรรหาและ ธรรมาภิบาล
180,000 30,000 1. นายสุจินต์ หวั่งหลี 1 100,000 20,000 2. นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ 0 120,000 3. นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร 100,000 20,000 4. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี 2 0 100,000 5. นายประมนต์ สุธีวงศ์ 3 120,000 20,000 6. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ 100,000 20,000 7. นายชาน ซูลี 120,000 20,000 8. นายพรพงษ์ พรประภา 120,000 20,000 9. นายทำ�นุ หวั่งหลี 100,000 20,000 10. นายวุฒิชัย หวั่งหลี 120,000 20,000 11. นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี 0 100,000 12. นายเขต หวั่งหลี 13. นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์ 14. นางนลินา โพธารามิก 6 1,380,000 190,000 รวม
80,000 30,000 360,000 220,000 240,000
40,000 20,000 20,000
820,000
80,000
40,000 10,000 160,000
บำ�เหน็จ กรรมการ รวม
666,666.67 666,666.67 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33 333,333.33
4,666,667
876,666.67 4 866,666.67 5 483,333.33 813,333.33 693,333.33 733,333.33 453,333.33 493,333.33 473,333.33 453,333.33 473,333.33 433,333.33 40,000 10,000 7,296,667
หมายเหตุ: 1. ประธานกรรมการบริษัท 2. ประธานกรรมการตรวจสอบ 3. ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล 4. ยังไม่รวมค่าตอบแทนส�ำหรับต�ำแหน่งทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริหาร ซึง่ ได้รบั ในรูปของเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ รวมเป็น ค่าตอบแทนทั้งปีจ�ำนวน 9,022,000 บาท 5. ยังไม่รวมค่าตอบแทนส�ำหรับต�ำแหน่งที่ปรึกษาประธานกรรมการ ซึ่งได้รับในรูปของเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ รวมเป็น ค่าตอบแทนทั้งปีจ�ำนวน 3,478,000 บาท 6. นางนลินา โพธารามิก ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 7. นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล ลาออกจากการเป็นกรรมการและกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 30 เมษายน 2557 ได้รับค่าตอบแทนรวม 383,333 บาท 8. นางสาวชุติธร หวั่งหลี ลาออกจากการเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ได้รับค่าตอบแทนรวม 20,000 บาท
50
รายงานประจำ�ปี 2557
ค่าตอบแทนผู้บริหาร คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาลจะเป็นผูพ้ จิ ารณาทบทวนค่าตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้อ�ำนวยการเพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ซึ่งค่าตอบแทนดังกล่าว มีการก�ำหนดอย่างเหมาะสมตาม โครงสร้างค่าตอบแทนของบริษัท โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและสอดคล้องกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการจะเป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมในการก�ำหนดค่าตอบแทนและการปรับ ค่าจ้างประจ�ำปีของผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการ โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและผลการด�ำเนินงานของบริษัท ในปี 2557 บริษทั จ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริหารระดับสูงรวม 6 คน ในรูปของเงินเดือนและโบนัส รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 24,538,860 บาท 2) ค่าตอบแทนอื่น บริษัทไม่มีค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ค่าตอบแทนอื่นของผู้บริหาร บริษัทได้จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยบริษัทได้สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 5 ของเงินเดือน โดยในปี 2557 บริษัทได้จ่าย เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับผู้บริหารจ�ำนวน 6 คน เป็นเงินรวม 918,660 บาท 9. รายการระหว่างกัน 1) ลักษณะของรายการระหว่างกัน การท�ำธุรกรรมระหว่างกันของบริษัท บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เป็นการถือหุ้น การมีกรรมการร่วมกัน หรือรายการ ธุรกิจตามเงื่อนไขทางการค้าซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจและเป็นไปตามราคาตลาด โดยได้เปิดเผยรายการสรุปอยู่ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 6 รายการดังกล่าวช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั และเป็นประโยชน์ในการกระจายความเสีย่ งภัย ซึง่ บริษทั ได้ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและข้อก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับที่เกี่ยวข้อง โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นส�ำคัญ 2) ขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริษัทอนุมัติหลักการในการท�ำรายการระหว่างกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดของบริษัท โดยมอบอ�ำนาจให้ ฝ่ายบริหารและหรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบอ�ำนาจจากฝ่ายบริหาร เป็นผูม้ อี ำ� นาจในการตกลงเข้าท�ำรายการระหว่างกันทีเ่ ป็นรายการธุรกรรมปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติทมี่ เี งือ่ นไขการค้าทัว่ ไป เช่น รายการด้านการประกันภัย หรือด้านการลงทุน โดยบริษทั ก�ำหนดให้กรรมการ และผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายทุกคนต้องจัดท�ำรายงานการมีส่วนได้เสียเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อเป็นข้อมูลใช้ส�ำหรับตรวจสอบ การท�ำรายการระหว่างกัน ส�ำหรับรายการอื่นที่ต้องขออนุมัติตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนของกฎหมาย ฝ่ายบริหารจะน�ำเรื่องดังกล่าว เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ติ ามล�ำดับ และดูแลให้มกี ารเปิดเผยรายการ ให้ครบถ้วน โดยกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่มีส่วนได้เสีย จะไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณาและหรือลงมติในรายการแต่อย่างใด 3) นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต ตามนโยบายของหน่วยราชการทีต่ อ้ งการให้บริษทั ประกันภัยท�ำประกันภัยต่อกับบริษทั ประกันภัยและบริษทั ประกันภัยต่อของ ไทย และสนับสนุนให้บริษัทประกันภัยรวมตัวกันท�ำประกันภัยต่อและรับประกันภัยช่วงต่อ-คืนกับ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) นอกจากส่วนหนึ่งเป็นการท�ำตามข้อตกลงกันระหว่างบริษัทประกันภัยที่จะท�ำประกันภัยต่อกับ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อประโยชน์ในการเก็บสถิติและข้อมูลของธุรกิจประกันภัยในประเทศไทย ท�ำให้แนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกัน ยังคงมีอยู่ในอนาคต
บมจ. นวกิจประกันภัย
51
ประวัติคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร นายสุจินต์ หวั่งหลี อายุ 78 ปี ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ/ ที่ปรึกษาคณะกรรมการลงทุน/ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2536 (21 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า Northrop Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 4,201,819 หุ้น (ร้อยละ 13.55) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2556 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปี 2544 Role of the Chairman Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2544-ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น 2556-ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. เสริมสุข 2555-ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน บมจ. เสริมสุข 2554-ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ บมจ. เสริมสุข 2553-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บมจ. บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ 2553-2554 กรรมการอิสระ บมจ. เสริมสุข
2553-ปัจจุบัน 2532-2553 2542-ปัจจุบัน 2537-ปัจจุบัน 2521-ปัจจุบัน 2512-2556 บริษัทอื่น 2557-ปัจจุบัน 2550-2557 2550-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2534-ปัจจุบัน 2533-ปัจจุบัน 2531-ปัจจุบัน 2525-ปัจจุบัน 2511-ปัจจุบัน 2531-2553 องค์กรอื่น 2550-2552 2514-2553
รองประธานกรรมการ/ประธานกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทนและสรรหา บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย กรรมการ บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย ประธานกรรมการ บมจ. ไทยรีประกันชีวิต กรรมการอิสระ บมจ. วโรปกรณ์ ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ กรรมการอิสระ บมจ. ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ ที่ปรึกษา บมจ. ฟอลคอนประกันภัย ประธานกรรมการ บมจ. ฟอลคอนประกันภัย กรรมการ บจ. อาควา อินฟินิท กรรมการ บจ. หวั่งหลีพัฒนา กรรมการ บมจ. โรงแรมราชด�ำริ ประธานกรรมการ บจ. รังสิตพลาซ่า กรรมการ บจ. นุชพล กรรมการ บจ. เดอะ เพ็ท ประธานกรรมการ บจ. สาธรธานี กรรมการ บจ. หวั่งหลี กรรมการ บจ. ไทยเพชรบูรณ์ นายกสมาคม สมาคมประกันวินาศภัย กรรมการ สมาคมประกันวินาศภัย
นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ อายุ 63 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ/ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง/กรรมการลงทุน/ ที่ปรึกษาประธานกรรมการบริษัท ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2535 (22 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี สถิติศาสตร์/Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้น 113,389 หุ้น (ร้อยละ 0.37) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ Director Certification Refresher Program ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
52
รายงานประจำ�ปี 2557
ปี 2545 Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2535-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีบริษัทอื่น 2549-2557 ที่ปรึกษา บมจ. ฟอลคอนประกันภัย
นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร อายุ 50 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ/กรรมการผู้อ�ำนวยการ/ ประธานกรรมการบริหาร/ ประธานกรรมการลงทุน/กรรมการ บริหารความเสี่ยง ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 25 เมษายน 2545 (12 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Hartford ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 118,726 หุ้น (ร้อยละ 0.38) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2552 Successful Formulation & Execution of Strategy สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
ปี 2546 Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2545-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีบริษัทอื่น 2550-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ธนพิศาล 2540-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ประไพและบุตร 2536-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. รังสิตร่วมพัฒนา 2533-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ธนสารสมบัติ (ไทย) 2530-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ธ�ำรงทรัพย์ องค์กรอื่น 2553-ปัจจุบัน กรรมการ สมาคมประกันวินาศภัยไทย
ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี อายุ 85 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 24 สิงหาคม 2542 (15 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้น -ไม่มีการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2543 Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2542-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. นวกิจประกันภัย
บริษัทจดทะเบียนอื่น 2544-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน 2548-2555 บริษัทอื่น 2542-ปัจจุบัน องค์กรอื่น 2552-ปัจจุบัน 2545-ปัจจุบัน
ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทยคม ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ดุสิตธานี ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. อีซี่บาย กรรมการ บจ. เอื้อรดี ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประธานอนุกรรมการ ศูนย์ส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บมจ. นวกิจประกันภัย
53
นายประมนต์ สุธีวงศ์ อายุ 75 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน สรรหาและธรรมาภิบาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2537 (20 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท วิศวกรรมเครื่องกล University of Kansas ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 160,166 หุ้น (ร้อยละ 0.52) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2556 Audit Committee Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปี 2552 Role of the Compensation Committee สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปี 2546 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ปี 2544 Role of the Chairman Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2555-ปัจจุบัน ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน สรรหาและธรรมาภิบาล บมจ. นวกิจประกันภัย
2537-ปัจจุบัน 2553-2555 2550-2553 บริษัทจดทะเบียนอื่น 2554-ปัจจุบัน 2552-ปัจจุบัน บริษัทอื่น 2542-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน องค์กรอื่น 2552-ปัจจุบัน 2550-ปัจจุบัน 2550-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน
กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ บมจ. นวกิจประกันภัย ประธานกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน และสรรหา บมจ. นวกิจประกันภัย ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. นวกิจประกันภัย กรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซีเมนต์ไทย กรรมการ/กรรมการพิจารณาผลตอบแทน บมจ. ปูนซีเมนต์ไทย ประธานกรรมการ บจ. สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม ประธานกรรมการ บจ. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย ประธานกิตติมศักดิ์ หอการค้าไทยและ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กรรมการ ส�ำนักงานข้าราชการพลเรือน ทีป่ รึกษา อนุกรรมการสรรหาบริษทั จดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการ มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย
นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ ปี 2546 Finance for Non-Finance Director/ อายุ 77 ปี Director Accreditation Program ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหา ปี 2545 Director Certification Program และธรรมาภิบาล สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 23 พฤศจิกายน 2542 (15 ปี) ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ 2555-ปัจจุบัน กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและ Western New Mexico University ธรรมาภิบาล บมจ. นวกิจประกันภัย ประเทศสหรัฐอเมริกา 2542-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ สัดส่วนการถือหุ้น 37,017 หุ้น (ร้อยละ 0.12) บมจ. นวกิจประกันภัย การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ 2553-2555 กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนและสรรหา ปี 2555 Role of the Chairman Program/ บมจ. นวกิจประกันภัย Role of the Nomination and 2550-2553 ประธานกรรมการสรรหา Governance Committee บมจ. นวกิจประกันภัย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีปี 2553 Monitoring the System of Internal บริษัทอื่น Control and Risk Management/ ประธานกรรมการ บจ. อลีนกิจสยาม Monitoring Fraud Risk Management/ 2546-ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. โตโยต้าเพชรบูรณ์ Monitoring the Internal Audit Function 2545-ปัจจุบัน ผู้จ�ำหน่ายโตโยต้า สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2538-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เป็นสุข ปี 2552 Monitoring the Quality of Financial 2533-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. สวนเพชรบูรณ์ Reporting กรรมการ บจ. ดินประสิทธิ์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2531-ปัจจุบัน 2531-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ไทยเพชรบูรณ์ ปี 2549 Improving the Quality of Financial 2530-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ซิลเวอร์ บีช รีสอร์ท Reporting ประธานกรรมการ บจ. เบญจะรุ่งเรือง สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2520-ปัจจุบัน ปี 2547 Audit Committee Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
54
รายงานประจำ�ปี 2557
นายชาน ซู ลี อายุ 54 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2546 (11 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ National University of Singapore ประเทศสิงคโปร์ สัดส่วนการถือหุ้น 302,986 หุ้น (ร้อยละ 0.98) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2556 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2546-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. นวกิจประกันภัย 2550-2553 กรรมการสรรหา บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีบริษัทอื่น 2555-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ Alpharia Pte. Ltd. 2547-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ TGL Development Pte. Ltd. 2538-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. หวั่งหลี กรรมการผูจ้ ดั การ Tan Guan Lee Co., Ltd. 2536-ปัจจุบัน 2549-2553 กรรมการ Splott Pte. Ltd.
นายพรพงษ์ พรประภา อายุ 64 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการอิสระ/กรรมการก�ำหนด ค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 26 เมษายน 2550 (7 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ California State University ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 250 หุ้น (ร้อยละ 0.0008) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2555-ปัจจุบัน กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหา และธรรมาภิบาล บมจ. นวกิจประกันภัย 2550-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. นวกิจประกันภัย 2553-2555 กรรมการก�ำหนดค่าตอบแทนและสรรหา บมจ. นวกิจประกันภัย 2550-2553 กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มี-
บริษัทอื่น 2548-ปัจจุบัน 2539-ปัจจุบัน 2539-ปัจจุบัน 2538-ปัจจุบัน 2538-ปัจจุบัน 2537-ปัจจุบัน 2536-ปัจจุบัน 2529-ปัจจุบัน 2527-ปัจจุบัน 2512-ปัจจุบัน
รองประธานกิตติมศักดิ์/กรรมการ บจ. สยามเอ็นจีเคสปาร์คปลั๊ก ประธานกิตติมศักดิ์/กรรมการ บจ. เควายบี (ประเทศไทย) ประธาน/กรรมการ บจ. สยามชิตะ ประธาน/กรรมการ บจ. สยามฮิตาชิ ออโตโมทีฟ โปรดักซ์ ประธานกิตติมศักดิ์/กรรมการ บจ. สยามคาลโซนิค ประธานกิตติมศักดิ์/กรรมการ บจ. เอ็กเซดี้ (ประเทศไทย) กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส/ กรรมการ บจ. สยามกลการ ประธาน/กรรมการ บจ. สยามอะไหล่ ประธาน/กรรมการ บจ. สยามริคเก้นอินดัสเตรี้ยล ประธาน/กรรมการ บจ. สยามอินเตอร์ เนชั่นแนล คอร์ปอร์เรชั่น
นายท�ำนุ หวั่งหลี อายุ 77 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2535 (22 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด อนุปริญญา E.M.I. Electronic College, London ประเทศอังกฤษ สัดส่วนการถือหุ้น 395,552 หุ้น (ร้อยละ 1.28) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2549 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2535-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีบริษัทอื่น ประธานกรรมการ บจ. ธนาทิพย์ กรรมการ บจ. พลาพัชร กรรมการ บจ. หวั่งหลี
บมจ. นวกิจประกันภัย
55
นายวุฒิชัย หวั่งหลี อายุ 73 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2535 (22 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 552,939 หุ้น (ร้อยละ 1.78) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2554 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2535-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย 2550-2553 กรรมการสรรหา บมจ. นวกิจประกันภัย
บริษัทจดทะเบียนอื่น บริษัทอื่น 2551-ปัจจุบัน
-ไม่มีกรรมการ บจ. เจ้าพระยารีสอร์ท
2531-ปัจจุบัน 2512-ปัจจุบัน
กรรมการผูจ้ ดั การ/กรรมการ บจ. ชัยทิพย์ กรรมการผูจ้ ดั การ/กรรมการ บจ. หวัง่ หลี กรรมการผู้จัดการ/กรรมการ บจ. บ้านสาธรเหนือ กรรมการผู้จัดการ/กรรมการ บจ. หวั่งหลีพัฒนา
นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี อายุ 42 ปี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ 2546-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 29 เมษายน 2546 (11 ปี) บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ บริษัทอื่น Babson College ประเทศสหรัฐอเมริกา 2554-ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ บจ. รังสิตพลาซ่า สัดส่วนการถือหุ้น 211,409 หุ้น (ร้อยละ 0.68) 2549-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. รังสิตพลาซ่า การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ 2553-ปัจจุบัน กรรมการ บจ.ช้อปปิง้ เซ็นเตอร์เซอร์วสิ เซส ปี 2550 Director Accreditation Program กรรมการ บจ. จิตติพัฒน์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
นายเขต หวั่งหลี อายุ 35 ปี ต�ำแหน่ง กรรมการ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ 10 พฤษภาคม 2555 (2 ปี) วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Science (Hospitality Management) New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น 62,516 หุ้น (ร้อยละ 0.20) การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่กรรมการ ปี 2557 Director Accreditation Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
56
รายงานประจำ�ปี 2557
ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี 2555-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. นวกิจประกันภัย บริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีบริษัทอื่น 2556-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. รังสิตร่วมพัฒนา 2556-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พิพัฒนสิน 2555-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. รังสิตพลาซ่า กรรมการ บจ. ช้อปปิง้ เซ็นเตอร์เซอร์วสิ เซส 2555-ปัจจุบัน ผู้จัดการ บจ. บ้านสวนหมาก 2549-2553 Asset Manager บมจ. ดิเอราวัณ กรุ๊ป
นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์ อายุ ต�ำแหน่ง วันที่เริ่มงาน
52 ปี กรรมการบริหารความเสี่ยง/ กรรมการบริหาร/ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ-การเงิน ปี 2545 (12 ปี)
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนการถือหุ้น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทอื่น -ไม่มี-
44 ปี กรรมการบริหารความเสี่ยง/ กรรมการบริหาร/ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ-รับประกัน/ สนับสนุนสาขา ปี 2552 (5 ปี)
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of West Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดส่วนการถือหุ้น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทอื่น -ไม่มี-
55 ปี ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ-ปฏิบัติงาน การตลาด/บริหารการตลาด ปี 2543 (14 ปี) ปริญญาโท บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สัดส่วนการถือหุ้น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทอื่น -ไม่มี-
นางนลินา โพธารามิก อายุ ต�ำแหน่ง วันที่เริ่มงาน
นายอดุล พัฒนะภูมิ อายุ ต�ำแหน่ง วันที่เริ่มงาน วุฒิการศึกษาสูงสุด
นายอนรรฆ หวั่งหลี อายุ ต�ำแหน่ง วันที่เริ่มงาน วุฒิการศึกษาสูงสุด
38 ปี สัดส่วนการถือหุ้น 40,477 หุ้น (ร้อยละ 0.13) กรรมการบริหารความเสี่ยง/ ประสบการณ์ท�ำงานบริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ-บริหาร ประสบการณ์ท�ำงานบริษัทอื่น สินทรัพย์ 2554-ปัจจุบัน กรรมการ/ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ ปี 2557 (1 ปี) บจ. มาโคเทคโนโลยี M.A. Economics, Boston University, 2551-2553 ผู้จัดการฝ่ายบริหารความเสี่ยง ประเทศสหรัฐอเมริกา บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม M.S. Information System, วรรณ จ�ำกัด Northeastern University, ประเทศสหรัฐอเมริกา
นายอนิญช์ หวั่งหลี อายุ ต�ำแหน่ง วันที่เริ่มงาน วุฒิการศึกษาสูงสุด
36 ปี ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการ-สินไหม ทดแทน ปี 2552 (6 ปี) M.B.A. Bently College, ประเทศสหรัฐอเมริกา
สัดส่วนการถือหุ้น 70,639 หุ้น (ร้อยละ 0.23) ประสบการณ์ท�ำงานบริษัทจดทะเบียนอื่น -ไม่มีประสบการณ์ท�ำงานบริษัทอื่น 2556-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. สหพิทักษ์สิน
บมจ. นวกิจประกันภัย
57
รายงานของคณะกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล คณะกรรมการก�ำหนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล (“คณะกรรมการ”) ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ นายประมนต์ สุธีวงศ์ นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ และนายพรพงษ์ พรประภา มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง คราวละ 3 ปี ในปี 2557 คณะกรรมการจัดให้มีการประชุมรวม 2 ครั้ง โดยกรรมการ ทัง้ 3 คนได้เข้าร่วมประชุมทุกครัง้ เพือ่ ติดตามและพิจารณาเรือ่ งส�ำคัญตามกฎบัตร ของคณะกรรมการ สรุปได้ดังนี้
ด้านการก�ำหนดค่าตอบแทน 1. พิจารณาค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยประจ�ำปี 2557 เสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 โดยจ่าย (1) บ�ำเหน็จกรรมการจ�ำนวนร้อยละ 5 ของเงินปันผล และ (2) เบี้ยประชุมส�ำหรับกรรมการที่เข้าประชุม เท่ากับปีที่ผ่านมา 2. พิจารณาเสนอปรับค่าตอบแทนประจ�ำปี 2557 ของกรรมการผู้อ�ำนวยการและที่ปรึกษาประธานกรรมการบริหาร ตามผลการประเมินการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา
ด้านการสรรหากรรมการ
1. พิจารณาเสนอเลือกตัง้ กรรมการทีค่ รบก�ำหนดออกตามวาระให้กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษทั ต่อไปอีก 1 วาระ ทั้งนี้เพราะไม่มีผู้ใดเสนอเป็นอย่างอื่น 2. พิจารณาเสนอแต่งตั้งประธานกรรมการบริหารทดแทนประธานฯเดิมที่ครบวาระตามสัญญาจ้างงาน 3. พิจารณาเสนอแต่งตั้งกรรมการลงทุนและกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดใหม่ที่ประกาศโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
ด้านธรรมาภิบาล 1. พิจารณาทบทวนภาระหน้าที่ที่บริษัทจะต้องด�ำเนินการ เพื่อด�ำเนินการให้เป็นผลส�ำเร็จในการที่จะได้รับประกาศนียบัตร รับรองฐานะสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 2. พิจารณาทบทวนกฎบัตรของคณะกรรมการลงทุนและคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดใหม่ ที่ประกาศโดย คปภ. 3. พิจารณาทบทวนแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจที่มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับ หลักเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard เพื่อลดความซ�้ำซ้อน และเพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติจริงมากขึ้น ซึ่งบริษัทได้ด�ำเนินการตาม หลักเกณฑ์ที่มีการปรับปรุงใหม่อยู่แล้ว
(ประมนต์ สุธีวงศ์) ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน-สรรหาและธรรมาภิบาล
58
รายงานประจำ�ปี 2557
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษัท 3 คน คือ ศาสตราจารย์ หิ รั ญ รดี ศ รี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบ นายประมนต์ สุธีวงศ์ และนายเกียรติ ศรีจอมขวัญ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ด้านบัญชีการเงินและการ บริหารองค์กร
ในระหว่างปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม 12 ครั้ง โดยมีรายละเอียดในการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ ตรวจสอบดังนี้ 1. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี 2. นายประมนต์ สุธวี งศ์ 3. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ
ประธาน กรรมการ กรรมการ
เข้าร่วมประชุม 12 ครั้ง เข้าร่วมประชุม 11 ครั้ง เข้าร่วมประชุม 12 ครัง้
คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตที่คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้ก�ำกับดูแลตามกฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยขอรายงานการปฏิบัติหน้าที่ในรอบปี 2557 ดังนี้
1. การสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และรายงานการเงินประจ�ำปี คณะกรรมการตรวจสอบได้เชิญผูบ้ ริหาร ได้แก่ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการเงิน ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักตรวจสอบภายใน และผูส้ อบ บัญชีมาร่วมประชุมชี้แจงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการจัดท�ำงบแสดงฐานะการเงินตามข้อก�ำหนดของกฎหมายและมาตรฐานการ รายงานทางการเงินทีใ่ ช้ในปัจจุบนั เพือ่ ให้มนั่ ใจว่างบแสดงฐานะการเงินทีผ่ สู้ อบบัญชีรายงาน แสดงความเห็นถูกต้องตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน และเชื่อถือได้ ข้อสังเกตต่างๆ ของผู้สอบบัญชีในการประชุม ทุกครั้งจะได้รับการพิจารณาและน�ำมาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์แก่บริษัทอย่างเหมาะสมเสมอ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมกับผู้สอบบัญชีเป็นการเฉพาะ 1 ครั้ง เพื่อให้ม่ันใจว่างบแสดงฐานะการเงินของบริษัทได้จัดท�ำขึ้นโดยไม่มีอุปสรรคและ ผู้สอบบัญชีมีความเป็นอิสระ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงินและผู้จัดการแผนกบัญชีให้การยืนยันว่าระบบบัญชีของบริษัทเป็นระบบที่มี ประสิทธิผล เชือ่ มัน่ ได้วา่ มีการรวบรวมและบันทึกรายการบัญชีครบถ้วนถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีใ่ ช้ในปัจจุบนั จากผลการสอบทานรายงานและค�ำชีแ้ จงของผูร้ บั ผิดชอบและผูส้ อบบัญชีภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่ารายงานงบแสดง ฐานะการเงินของบริษัทได้จัดท�ำขึ้นอย่างครบถ้วนถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบันและตามแบบที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ก�ำหนด
2. การสอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาจากรายงานของส�ำนักตรวจสอบ ภายในอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งรายงานไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ การควบคุมภายในมีความเพียงพอและเหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปีซึ่งได้จัดท�ำตามผลการประเมินความเสี่ยง และให้ความ เห็นชอบงบประมาณของส�ำนักตรวจสอบภายใน บริษัทปรับโครงสร้างองค์กรให้ส�ำนักตรวจสอบภายในขึ้นตรงต่อคณะกรรมการ
บมจ. นวกิจประกันภัย
59
ตรวจสอบ และคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูพ้ จิ ารณาความดีความชอบของผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชีภายนอกยังได้ท�ำการประเมินระบบการ ควบคุมภายใน โดยผูส้ อบบัญชีภายนอกมีความเห็นว่าบริษทั มีการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล ในปี 2557 ผูส้ อบบัญชีได้ตรวจสอบระบบสารสนเทศแล้ว ประเมินว่า ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีระบบการควบคุมอื่นมาช่วยเสริม เพื่อให้งบแสดงฐานะการเงินได้รับข้อมูลครบถ้วน บริษัทได้ปรับปรุงระบบการควบคุม ภายในตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญที่เข้าตรวจสอบตามแนวทาง COBIT (Control Objectives for Information and Related Technology) และจากผลการประเมินระบบ ควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าระบบควบคุม ภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม
3. การสอบทานการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันและการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับและประกาศของทางราชการและ หน่วยงานก�ำกับดูแล ในปี 2557 มีรายการที่เกี่ยวโยงกันเป็นไปตามธุรกิจปกติ 4. การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัท โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบท�ำหน้าที่สอบทานกับผู้บริหารเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทมีการจัดท�ำแผนการบริหารความเสี่ยงและมีการติดตามให้ได้ผล เพียงพอ และเสนอความเห็นให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาปรับปรุงเพื่อให้การบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปฏิบัต ิ ตามข้อก�ำหนดและแนวทางของ คปภ.
5. คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินการปฏิบัติงานตนเอง ผลการประเมินอยู่ในระดับดี 6. การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีในปีที่ผ่านมา ซึ่งผลเป็นที่พอใจ และได้พิจารณา ความเป็นอิสระและสอบทานคุณสมบัตขิ องผูส้ อบบัญชีแล้ว เห็นว่าถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทสี่ ำ� นักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์กำ� หนด คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ นางสาวสมใจ คุณปสุต ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที่ 4499 หรือ นางสาวรัตนา จาละ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทะเบียนเลขที่ 3734 หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิว์ าณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4951 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทส�ำหรับปี 2558 พร้อมทั้ง เสนอค่าตรวจสอบรายงานการเงินประจ�ำปีและรายไตรมาส และค่าตรวจสอบรายงานการด�ำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง รวมค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีจ�ำนวน 1.774 ล้านบาท เพื่อเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าบริษัทยึดถือนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นส�ำคัญ มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอและเหมาะสม มีการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิผล ระบบบัญชีและการรายงานทางการเงินมีความถูกต้องเชือ่ ถือได้ ปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ พร้อมทั้งมีการติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างสม�่ำเสมอ
(ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี) ประธานกรรมการตรวจสอบ
60
รายงานประจำ�ปี 2557
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญต่อความรับผิดชอบในการดูแลบริษัทให้เป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ก�ำกับดูแลงบการเงินและสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงินดังกล่าวได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ ใช้ดุลพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดี ที่สุดในการจัดท�ำ รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและ เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีและด�ำรงไว้ซึ่งระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมี เหตุผลว่าข้อมูลทางการบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ตลอดจนเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการ ทุจริตหรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของ รายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ ปรากฏในรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถสร้าง ความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของบริษัทประจ�ำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐาน การบัญชีรับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
สุจินต์ หวั่งหลี ประธานกรรมการ
ปิติพงศ์ พิศาลบุตร ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการ
บมจ. นวกิจประกันภัย
61
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
62
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงฐานะการเงิน
บมจ. นวกิจประกันภัย
63
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
64
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
บมจ. นวกิจประกันภัย
65
งบกำ�ไรขาดทุน
66
รายงานประจำ�ปี 2557
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บมจ. นวกิจประกันภัย
67
งบกระแสเงินสด
68
รายงานประจำ�ปี 2557
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
บมจ. นวกิจประกันภัย
69
70
รายงานประจำ�ปี 2557
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
บมจ. นวกิจประกันภัย
71
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
72
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
73
74
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
75
76
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
77
78
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
79
80
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
81
82
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
83
84
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
85
86
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
87
88
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
89
90
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
91
92
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
93
94
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
95
96
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
97
98
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
99
100
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
101
102
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
103
104
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
105
106
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
107
108
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
109
110
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
111
112
รายงานประจำ�ปี 2557
บมจ. นวกิจประกันภัย
113
114
รายงานประจำ�ปี 2557
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น ข้อมูลบริษัท
ชื่อย่อหลักทรัพย์ NKI ประเภทธุรกิจ ประกันวินาศภัย เลขทะเบียนบริษัท 0107536000862 วันที่ก่อตั้ง วันที่ 23 กันยายน 2476 วันแรกที่ซื้อขายหุ้นใน SET วันที่ 24 สิงหาคม 2533 ทุนจดทะเบียน 310,000,000 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญ 31,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ทุนช�ำระแล้ว 310,000,000 บาท ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขที่ 100/47-55 ชั้น 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ เลขที่ 90/3-6 ชั้น 1 อาคารสาธรธานี 1 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2664 7777 (ศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์: 1748) โทรสาร 0 2636 7999 เว็บไซต์ www.navakij.co.th ผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ office_president@navakij.co.th
นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป (ถือหุ้นทางตรง)
บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ ประกันวินาศภัย ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 10,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ทุนเรียกช�ำระ หุ้นสามัญ 6,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ที่ตั้งส�ำนักงาน 33/4 ชั้น 24-25 อาคารเอ เดอะไนน์ทาวเวอร์ ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0 2676 9888 โทรสาร 0 2676 9898 จ�ำนวนหุ้นที่บริษัทถือ 1,200,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 20
บุคคลอ้างอิงอื่นๆ
นายทะเบียนหลักทรัพย์
ผู้สอบบัญชี
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2800 โทรสาร 0 2229 2888 นางสาวสมใจ คุณปสุต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4499 หรือ นางสาวรัชดา ยงสวัสดิ์วาณิชย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4951 หรือ นางสาวรัตนา จาละ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3734 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2264 0789-90 บริษัท ส�ำนักงานทนายความสะพานเหลือง จ�ำกัด 222/10 ซอยศรีนคร ถนนนางลิ้นจี่ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2678 0001-5 โทรสาร 0 2678 0006-7 บมจ. นวกิจประกันภัย
115