OFM: รายงานประจำปี 2553

Page 1





สารบัญ สารจากประธานกรรมการบริษัท

6

คณะกรรมการ และผูบริหารของบริษัท

8

สรุปขอมูลทางการเงิน

13

ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท และลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัท

15

ปจจัยความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง

23

โครงสรางการถือหุน และการจัดการ

25

การกำกับดูแลกิจการ

36

คำอธิบาย และการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงาน

45

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

50

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต

53

งบการเงิน

54


เรียน ทานผูถือหุน บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) ในป 2553 บริ ษั ท ออฟฟ ศ เมท จำกั ด (มหาชน) ได เ ข า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมีวัตถุ ประสงคเพื่อระดมทุนในการสรางศักยภาพของบริษัทใหแข็งแกรง รองรั บ การพั ฒ นาและการแข ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ในอนาคต เริ่มดำเนินการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนตามดุลย พินิจของ ผูจัดจำหนายหลักทรัพย จำนวน 20,000,000 หุน ในวันพุธที่ 28 กรกฎาคม 2553 และไดรับความไววางใจจาก นักลงทุนเปนอยางดี

การบริหารจัดการในชวงป 2553 ในป 2553 บริษัทฯ ไดรับผลกระทบจากสถานการณความ ไมสงบทางการเมืองที่มีการสั่งปดวันทำการเพิ่มขึ้นในชวงไตรมาส 2/2553 แตจากภาพรวมเศรษฐกิจที่มีการเติบโต ลูกคากลุมธุรกิจ มีความตองการอุปกรณและเครื่องใชสำนักงานเพิ่มขึ้นสงผลให บริษัทมีรายไดรวมเทากับ 1,090.65 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น176.49 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 19.31 จากการขยาย ฐานลูกคาตามแผนการขายและการสงเสริมการตลาดและจาก ขายโฆษณาผานแค็ตตาล็อกในป 2553 การเพิ่มขึ้นของรายได ดังกลาว สงผลใหบริษัทมีกำไรสุทธิ 34.84 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 8.21 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 30.81 นอกเหนือจากการปรับกลยุทธทางการขายและการตลาด แบบทันตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปหลังวิกฤติเศรษฐกิจป 2552 การวางแผนกลยุทธทางการตลาดที่ไดรวมมือกับคูคาการ ออกโปรโมชั่นแบบเขาถึงลูกคาอยางรวดเร็วและตรงความตองการ รวมถึงการพิจารณาเลือกใชกระบวนการสื่อสารชองทางตางๆ เพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมายและเกิดความคุมคาสูงสุดบริษัทฯยัง คงใหความสำคัญตอการบริหารจัดการภายในใหมีประสิทธิภาพ สูงสุด โดยมาตราการลดและควบคุมคาใชจาย โดยเฉพาะคา ขนสงใหมีศักยภาพ ทำใหเมื่อเทียบกับป 2552 คาใชจายในการ ขายและบริหารในป 2553 เทากับ 235.80 ลานบาท ซึ่งนอยกวา การเติบโตของรายไดจากการขาย

6

 Annual Report 2010


การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะดำเนินการใหบริษัทมีการกำกับดูแลกิจการที่ดีในป 2553 และไดใหความ สำคัญตอการดำเนินใหมีการปฎิบัติตามขอกำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของในการเปนบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ (mai) จึงไดมีการดำเนินการในเรื่องตอไปนี้ - การทบทวนและปรับปรุงคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี คูมือจริยธรรมทางธุรกิจ และคูมืออำนาจดำเนินการบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมการประกอบธุรกิจ - การติดตามและตรวจสอบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานภายในบริษัท เพื่อทบทวนคูมือบริหารความเสี่ยงของบริษัท - ในป 2553 ไดมีการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ โดยมีกรรมการใหม 1 ทาน ไดแกนางสาวนภสร คชสาร (ดำรง ตำแหนงกรรมการแทนนายอรรณพ บุญทวีพัฒน)

กิจกรรมเพื่อสังคม บริษัทฯ ไดกำหนดใหการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมเปนหนึ่งในพันธกิจหลักของบริษัทฯ “ใหความสำคัญกับสังคมและ สิ่งแวดลอม” ซึ่งมีการดำเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง และในป 2553 บริษัทฯ มีบทบาทในการใหการสนับสนุนและมีสวนรวม สงเสริมกิจกรรม เชน โครงการฝาวิกฤตดวยธุรกิจออนไลน เพื่อชวยเหลือผูประกอบการที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณจลาจล การรวมเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือผูประสบภัยในอุทกภัยในโครงการน้ำใจสูน้ำทวม การจัดกิจกรรมโครงการ OfficeMate Delivery ความรูสูนอง เปนปที่ 4 เพื่อพัฒนาหองสมุดใหกับโรงเรียนที่ขาดโอกาสในการพัฒนาแหลงความรู โดยการจัดหา หนังสือ อุปกรณการศึกษาและปรับปรุงอาคารสถานที่ใหเอื้อตอการศึกษาและคนควาแกเยาวชนไทย สุดทายนี้ คณะกรรมการขอแสดงความขอบคุณตอทานผูถือหุน คูคาและลูกคาในการสนับสนุนบริษัทดวยดีมาตลอด และขอขอบคุณผูบริหารและพนักงานของบริษัทในการทุมเทแรงกายและแรงใจเพื่อนำบริษัทกาวสูการเปนผูนำที่เปนเลิศดานการ จัดจำหนายสินคาและบริการผานระบบการคาทางไกล (Distance Trade) ดวยกระบวนการโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ยังคงตระหนักถึงความสำคัญในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม หยุดนิ่งในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีดังกลาวใหเกิดประโยชนสูงสุดในการประกอบธุรกิจและเพิ่มศักยภาพกระบวนการ ทำงานภายใน วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554 ในนามคณะกรรมการ

(นายสหัส ตรีทิพยบุตร) ประธานกรรมการ

(นายวรวุฒิ อุนใจ) กรรมการผูจัดการ 

Annual Report 2010

7


คณะกรรมการของบริษัท

1. นายสหัส ตรีทิพยบุตร ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

5

6

7

3

2. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 3. นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ กรรมการบริษัท / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

2

1 4

4. นายวรวุฒิ อุนใจ กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการบริหาร 5. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล กรรมการบริษัท / กรรมการบริหาร 6. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร กรรมการบริษัท / กรรมการบริหาร / เลขานุการบริษัท / เลขานุการคณะกรรมการ 7. นางสาวนภสร คชสาร กรรมการบริษัท / กรรมการบริหาร

8

 Annual Report 2010


คณะผูบริหารของบริษัท

1. นายวรวุฒิ อุนใจ กรรมการผูจัดการ

7

6

5

4 2

1

3

2. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร ผูอำนวยการสายงานบริหารการขายและลูกคาสัมพันธ 3. นางปทมา วรรณวิทยาภา ผูอำนวยการสายงานการตลาด 4. นางสาวสายบัว รังสิโยภาส ผูอำนวยการสายงานทรัพยากรบุคคลและบริหารงานทั่วไป 5. นายภาณุ กิจสินทวี ผูอำนวยการสายงานระบบสารสนเทศ 6. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล ผูอำนวยการสายงานการเงิน 7. นางสาวนภสร คชสาร ผูอำนวยการสายงานโลจิสติกส



Annual Report 2010

9


รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร และผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท ชื่อ-สกุล/ตำแหนง

10

อายุ

คุณวุฒิทางการศึกษา / หลักสูตร พิเศษ

สัดสวน ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปยอนหลัง การถือ หุนใน ชวงเวลา ตำแหนง ชื่อบริษัท/ประเภทธุรกิจ บริษัทฯ (พ.ศ.) (%) - 2551-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทยธุรกิจบริการ จำกัด 2551-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) 2547-2551 รองกรรมการผูจัดการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

นายสหัส ตรีทิพยบุตร ประธานกรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ

63 -MS (Computer and Information Sciences) Syracuse University -พาณิชยศาสตรบัณฑิต (สถิติ) คณะ พาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย -หลักสูตร Advanced Management Program For Overseas Bankers The Wharton School, University of Pennsylvania, USA -หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ.) รุน 12 วิทยาลัยการปองกันราชอาณาจักร -หลักสูตร Director Certification Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

รศ.ดร. อังครัตน เพรียบจริย วัฒน กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ

56 -Ph.D. (Accounting) New York University -ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร -ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร -หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตร Audit Committee Program สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย -หลักสูตร Director Certification Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตรผูบริหารระดับสูงรุน 4 สถาบันวิทยาการทุน

-

นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ

58 -ปริญญาโท พศ.ม. การตลาด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย -ปริญญาตรี พศ.บ. เกียรตินิยม การ ตลาด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย

-

 Annual Report 2010

2551-ปจจุบัน ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 2551-ปจจุบัน กรรมการบริษัท 2540-ปจจุบัน รองศาสตราจารย

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)

2551-ปจจุบัน กรรมการบริษัท 2551-ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ 2551-ปจจุบัน อาจารยระดับ 7

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) มหาวิทยาลัยเกษรศาสตร

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร


รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร และผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท ชื่อ-สกุล/ตำแหนง นายวรวุฒิ อุนใจ กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ

สัดสวน ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปยอนหลัง การถื อ กษา / หลักสูตร อายุ คุณวุฒิทางการศึ หุนใน ชวงเวลา พิเศษ ตำแหนง ชื่อบริษัท/ประเภทธุรกิจ บริษัทฯ (พ.ศ.) (%) 52.43% 2551-ปจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) 44 - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2551-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร -ปริญญาตรี การตลาด มหาวิทยาลัย 2537-ปจจุบัน กรรมการผูจดั การ เกษตรศาสตร -หลักสูตร Director Certification Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย 43 -ปริญญาโท การบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร -ปริญญาตรี การบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร - Certified SAP Consultant -หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย

0.53

2551-ปจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) 2551-ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2545-ปจจุบัน ผูอำนวยการสายการเงิน

นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียง 41 -ปริญญาโท บริหารธุรกิจ ไกร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรรมการบริษัท -ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ มหาวิทยา เลขานุการบริษัท ลัยอัสสัมชัญ กรรมการบริหาร -หลักสูตร Director Accreditation ผูอำนวยการสายงานบริหาร Program งานขายและลูกคาสัมพันธ สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตร Secretary Company Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -หลักสูตร Contact center Operation performance management standard Certification COPC® Corp Inc. -หลักสูตร Call center benchmarking สถาบันเพิ่มผลผลิต แหงประเทศไทย -หลักสูตร ISO 9000-2000 - Internal Auditor/Lead Assessor BVQI -Six sigma black belt project โดย 3M

0.53

2551-ปจจุบัน กรรมการบริษัท 2551-ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2544-ปจจุบัน ผูอำนวยการสายงาน บริหารการขายและลูก คาสัมพันธ

นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ผูอำนวยงานสายการเงิน

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)



Annual Report 2010

11


รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร และผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท ชื่อ-สกุล/ตำแหนง นางสาวนภสร คชสาร กรรมการบริหาร ผูอำนวยการสายงาน โลจิสติกส

นางปทมา วรรณวิทยาภา กรรมการบริหาร ผูอำนวยการสายงานการ ตลาด

นายภาณุ กิจสินทวี กรรมการบริหาร ผูอำนวยการฝายระบบ สารสนเทศ

นางสาวสายบัว รังสิโยภาส ผูอำนวยการสายงาน ทรัพยากรบุคคลฯ

12

อายุ

คุณวุฒิทางการศึกษา / หลักสูตร พิเศษ

45 -ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม -ปริญญาตรี การตลาด มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร -หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -The Manager - Advance Warehouse Management 43 -ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนานาชาติ แสตมฟอรด -Mini MBA มหาวิทยาลัยหอการคาไทย -ปริญญาตรี นิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ -หลักสูตร Director Accreditation Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -The Manager, Management and Psychology Institute The Chartered Institute of Purchasing & Supply

2551-ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2551-ปจจุบัน ผูอำนวยการสายงาน โลจิสติกส 2546-2551 ผูจัดการฝายปฏิบัติการ

0.53

2551-ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) 2551-ปจจุบัน ผูอำนวยการสายงานการ ตลาด 2546-2551 ผูจัดการฝายการตลาด

36 -ปริญญาโท วิทยาการคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ -หลักสูตร The manager

0.11

2554ปจจุบัน

กรรมการบริหาร ผูอำนวยการฝายระบบ สารสนเทศ

2544-2554

ผูจัดการฝายระบบ สารสนเทศ

46 -ปริญญาโท ทรัพยากรมนุษยและการ พัฒนาองคกร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร -ปริญญาตรี มนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

-

 Annual Report 2010

สัดสวน ประสบการณทำงานในระยะ 5 ปยอนหลัง การถือ หุนใน ชวงเวลา ตำแหนง ชื่อบริษัท/ประเภทธุรกิจ บริษัทฯ (พ.ศ.) (%) 0.53 2554-ปจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)

2552-ปจจุบัน ผูอำนวยการสายงาน ทรัพยากรบุคคลฯ 2552 ผูชวย

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)

2536 -2551

บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำกัด (เทสโก โลตัส)

ผูจัดการฝายทรัพยากร บุคคล

Executive Plus Co.,Ltd


สรุปขอมูลทางการเงิน

หมายเหตุ : คำนวณจากจำนวนหุนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 42,098,630 หุน วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 56,000,000 หุน และวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 68,065,753 หุน



Annual Report 2010

13


กิจกรรมเพื่อสังคม ในป 2553 บทบาทความรับผิดชอบตอสังคม ในป 2553 1. โครงการ OfficeMate Delivery ความรูสูนองครั้งที่ 4 เปนกิจกรรมที่บริษัทจัดขึ้นเพื่อปรับปรุงหองสมุดของโรงเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพยในการปรับปรุงหองสมุดใหแกนักเรียน โดยการจัดหา รับบริจาคหนังสือ จากลูกคาของบริษัทฯ และประชาชนทั่วไป ซึ่งบริษัทฯ จัดรถจัดสงสินคาไปรับหนังสือบริจาค ถึงที่ และการหาซื้อหนังสือใหม ดานวิชาการ และสรางเสริมประสบการณใหกับเด็กๆ โดยโครงการดังกลาวนี้ จัดทำขึ้นมา ติดตอกันเปนระยะเวลา 4 ป มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการอานหนังสือใหกับเด็กนักเรียนตั้งแตชั้นอนุบาล ไปจนถึงชั้นประถม ศึกษา รวมทั้งประชาชนที่อยูในชุมชมบริเวณรอบขางของโรงเรียน ซึ่งในป 2553 นี้ โรงเรียนคลองกันยา อำเภอบางบอ เปน โรงเรียนที่ไดรับการคัดเลือกเขาสูโครงการ OfficeMate Delivery ความรูสูนองครั้งที่ 4

2. บริษัทฯ รวมบริจาคสมทบทุนเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยจากอุทกภัยทั่วประเทศโดยไดมอบเงินสนับสนุนเปนจำนวน 100,000 บาท ผานครอบครัวขาว ทางไทยทีวีสี ชอง 3 ณ อาคารมาลีนนท เมื่อวันพุธที่ 27 ตุลาคม 2553

3. บริษัทฯ โดยแผนกเทเลมารเก็ตติ้ง จัดโครงการรวมกันแบงปนเพื่อนองๆ โดยไดนำสิ่งของและเงินบริจาคไปมอบให กับสถานคุมครองสวัสดิภาพเด็กภาคตะวันออก ในวันที่ 30 ตุลาคม 2553

14

 Annual Report 2010


ขอมูลทั่วไปของบริษัทจดทะเบียน ชื่อบริษัท ประกอบธุรกิจ ที่ตั้งสำนักงานใหญ ที่ตั้งคลังสินคา เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนที่ชำระแลว Home Page โทรศัพท โทรสาร

บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) จำหนายเครื่องเขียน และอุปกรณสำนักงาน ผานระบบแค็ตตาล็อก (Catalog) โดยรับคำสั่ง ซื้อผานระบบ Call Center ระบบออนไลนผานเว็บไซต (e-Commerce) และระบบสั่งซื้อที่ พัฒนาเฉพาะแตละองคกร (e-Procurement) 24 ซอยออนนุช 66/1 ถนนออนนุช แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร10250 70 หมู 2 ถนนรวมพัฒนา แขวงลำตอยติ่ง เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 0107551000134 80 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญทั้งหมดจำนวน 80 ลานหุน 80 ลานบาท www.officemate.co.th (66) 2-739-5555 (66) 2-721-1717

บุคคลอางอิงอื่นๆ 1. นายทะเบียนหุน บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0-2596-9310 2. ผูสอบบัญชี นายวิชัย รุจิตานนท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4054 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำกัด 100/2 อาคารวองวานิชคอมแพล็กซ บี พระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0-2645 0107 ถึง 9

 

Annual Rep An Report epor ortt 20 2010 010 1

15


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมา การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการที่สำคัญ บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2537 โดย ตระกูลอุนใจ ซึ่งมีประสบการณในธุรกิจจำหนายเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงานมากวา 40 ป ปจจุบันบริษัทมีทุน จดทะเบียน 80 ลานบาทและทุนชำระแลว 80 ลานบาท ในชวงเริ่มตนนั้น บริษัทไดประกอบธุรกิจจำหนายเครื่อง เขียนและอุปกรณสำนักงานผานระบบแค็ตตาล็อกโดยรับคำสั่งซื้อผานระบบ Call Center ตอมาบริษัทไดมีการ ขยายหมวดสินคาใหครอบคลุมไปถึงกลุมเฟอรนิเจอร และอุปกรณสำนักงานที่เกี่ยวของ พรอมกับพัฒนาระบบการ ขายที่เขาถึงไดงาย สะดวก ทันสมัยและครอบคลุมยิ่งขึ้นผานระบบ e-Commerce และระบบ e-Procurement เพื่อรองรับการจัดซื้อขององคกรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เนนประสิทธิภาพและความโปรงใสในการจัดซื้อ โดยลูกคา สามารถสั่งซื้อสินคาผานเว็บไซต (Website) ของบริษัทไดทันที พรอมบริการจัดสงภายในวันทำการถัดไปสำหรับลูก คาในกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกลเคียง และเพื่อรองรับกับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคต บริษัทไดมีการ ลงทุนในคลังสินคาขนาดใหญแหงใหม พรอมดวยระบบการจัดการคลังสินคาและลำเลียงสินคาดวยอุปกรณที่ทัน สมัย ซึ่งสามารถรองรับการสั่งซื้อจากลูกคาไดมากถึง 5,000 องคกรตอวัน นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ได ข ยายธุ ร กิ จ e-Commerce แนวใหม ที่ เ รี ย กว า ec-Commerce (Electronic Community Commerce) โดยมีเปาหมายเพื่อตอบสนองความตองการกลุมลูกคาบุคคล (Personal Use) ผาน เว็ปไซตเทรนดี้เดย (www.trendyday.com) โดยเพิ่มหมวดสินคาไลฟสไตลภายใตชื่อ Trendyday ซึ่งมุงเนนสินคา ที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวันและทันสมัย รวมถึงการปรับกลยุทธการตลาดในเชิงรุกโดยการจัดทำแค็ตตาล็อกรายเดือน เพื่อเปนชองทางในการนำเสนอรายการสงเสริมการขายและเปนเครื่องมือในการรักษาความสัมพันธกับลูกคาอยาง ตอเนื่อง ทั้งนี้พัฒนาการที่สำคัญของบริษัทสามารถสรุปรายละเอียดพอสังเขปดังนี้ ป พ.ศ. 2537 2542 2544 2545 2546 2548 2551

2552

2553

16

พัฒนาการที่สำคัญ - จัดตั้งบริษัทดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรกจำนวน 5 ลานบาท เพื่อจำหนายเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงาน ผานระบบแค็ตตาล็อกซึ่งพิมพครั้งแรกประมาณ 20,000 เลม และรับคำสั่งซื้อผานระบบ Call Center - เปดใหบริการเว็บไซต www.officemate.co.th เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มชองทางในการสั่งสินคาของ ลูกคาใหเขาถึงไดงายยิ่งขึ้น - ปรับเปลี่ยนระบบคลังสินคาเปนระบบแนวราบบนพื้นที่ 2,000 ตารางเมตรและบริหารคลังสินคาโดยระบบ การจัดการคลังสินคา ซึ่งชวยอำนวยความสะดวกในการบริหารคลังสินคา และการจัดสงสินคา - ติดตั้งระบบ Intelligent Call Center โดยนำระบบซอฟตแวรเขามาชวยในการบริหารจัดการ และการ ควบคุมระบบ Call Center ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น - พัฒนาระบบ e-Procurement ซึ่งเปนระบบ B2B เพื่อใหตรงกับความตองการของลูกคาองคกรเฉพาะแตละ องคกร - จัดทำนิตยสาร “at Office” เปนรายเดือน จำนวนพิมพครั้งแรกประมาณ 40,000 เลม - เริ่มดำเนินการ ณ คลังสินคาแหงใหม ที่ทันสมัย สามารถรองรับสินคาเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงาน กวา 10,000 รายการ บนพื้นที่จัดเก็บสินคากวา 7,200 ตารางเมตร - พิมพแค็ตตาล็อก 4 สีทั้งเลมกวา 600 หนา จำนวน 200,000 เลมที่สามารถนำเสนอรายละเอียดของสินคา กวา 8,000 รายการเพื่อตอบสนองฐานลูกคาที่ขยายตัว - แปรสภาพเปนบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2551 ดวยทุนจดทะเบียน 80 ลานบาท และทุนชำระ แลวจำนวน 56 ลานบาท - เปดใหบริการเว็บไซต www.trendyday.com เพือ่ ตอบสนองความตองการของกลุม ลูกคาบุคคล (Personnal Use) โดยเพิ่มหมวดสินคาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจำวันภายใตชื่อ Trendyday - ปรับกลยุทธการตลาดในเชิงรุกโดยการจัดทำแค็ตตาล็อกรายเดือน “Trendyday/OfficeMate Catalog” แทนการจัดทำนิตยสาร “At Office” โดยนำเสนอรายการสงเสริมการขายแกลกู คาโดยตรงและเปนเครื่องมือ ในการรักษาความสัมพันธกับลูกคาไดอยางตอเนื่อง - เริม่ บริการ Redeem Center เพือ่ เปนชองทางในการแลกรับของกำนัลทางออนไลน โดยเนนธุรกิจบัตรเครดิต ของธนาคารพาณิชยเปนกลุมลูกคาเปาหมายในชวงเริ่มตน - นำหุนของบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ (mai)

 Annual Report 2010


ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท บริษัทประกอบธุรกิจจำหนายเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงานผานระบบแค็ตตาล็อก ที่มีสินคาที่มีคุณภาพ และไดมาตรฐานกวา 10,000 รายการ ภายใตตราสินคาของผูผลิตชั้นนำและตราสินคาของบริษัท (House Brands) แบงเปน 11 หมวดสินคา ครอบคลุมถึง ผลิตภัณฑสำหรับคอมพิวเตอร อุปกรณการเขียนและลบคำผิด อุปกรณ สำนักงานเบ็ดเตล็ด กาว เทป และอุปกรณเพื่อการบรรจุ ผลิตภัณฑกระดาษ แฟมและอุปกรณจัดเก็บเอกสาร อุปกรณเพื่อการประชุมและนำเสนอ อุปกรณสำนักงานอิเล็กทรอนิกส อุปกรณสำหรับโรงงานและซอมบำรุงอาคาร เครื่องดื่ม เครื่องใชในแคนทีนและผลิตภัณฑทำความสะอาด และเฟอรนิเจอรสำนักงาน โดยรับคำสั่งซื้อผานทาง ระบบ Call Center “OfficeMate Contact Center” ระบบออนไลน www.officemate.co.th และระบบสั่งซื้อที่ พัฒนาเฉพาะแตละองคกร ที่เรียกวา OfficeMate-Procurement ปจจุบันบริษัทมีฐานลูกคากวา 80,000 องคกรชั้นนำของประเทศ อาทิ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารฮองกงเซี่ยงไฮ (ประเทศไทย) บริษัท เฟดเดอรัล เอ็กซเพรส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อายิโนะโมะโตะ (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัทในเครือน้ำตาลมิตรผล บมจ. ทาอากาศยานไทย และองคกรในภาครัฐ อาทิ กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สภากาชาดไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กระทรวงสาธารณสุข เปนตน ดวยระบบการขายผานแค็ตตาล็อก บริษัทสามารถขยายธุรกิจไดอยางคลองตัวและรวดเร็ว สามารถตอบสนองความ ตองการของลูกคาที่เพิ่มขึ้นไดอยางตอเนื่อง เนื่องจากไมตองอาศัยหนาราน ซึ่งใชเงินทุนสูงและระยะเวลาในการ เปดสาขา ในป 2552 บริษัทขยายธุรกิจสูกลุมลูกคาบุคคล (Personal Use) ผานเว็บไซต www.trendyday.com ซึ่ง เปนเว็บไซตแนวคิดใหมที่เรียกวา ec-Commerce (Electronic Community Commerce) ซึ่งผสมผสานแหลง พบปะพูดคุยของคนออนไลน (Online Community) และการจำหนายสินคาผานการสั่งซื้อออนไลน ซึ่งนอกจาก สินคาเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงานแลว Trendyday ไดเพิ่มสินคาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจำวันกวา 10,000 รายการ แบงเปน 15 หมวด ไดแก ความงาม สุขภาพ เกมสคอมพิวเตอร แฟชั่น หนังสือ กิ๊ฟชอปและเครื่องเขียน หนังและดีวีดี ตกแตงบาน เครื่องใชในบาน อุปกรณไฮเทค (Gadget) โทรศัพทมือถือ เครื่องครัว บันเทิง กลอง ของเลน และสินคาสำหรับสัตวเลี้ยง โดยบริษัทมุงเนนการจำหนายสินคาที่มีคุณภาพ และบริการจัดสงฟรีทั่ว ประเทศสำหรับยอดสั่งซื้อตั้งแต 499 บาท โดยสามารถจัดสงภายในวันทำการถัดไปกรณีในเขตกรุงเทพมหานคร และพื้นที่ใกลเคียง พรอมรับประกันความพึงพอใจของลูกคาทุกราย

โครงสรางรายได บริษัทมีรายไดหลักจากการจำหนายสินคาเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงาน ซึ่งเปนธุรกิจหลักของบริษัท ขณะที่แค็ตตาล็อกสามารถสรางรายไดคาโฆษณาใหแกบริษัท ดังโครงสรางรายไดตอไปนี้ รายได รายไดจากการจำหนายสินคา รายไดจากคาโฆษณา รายไดอื่นๆ รายไดรวม

2550 ลานบาท รอยละ 811.13 95.8% 26.09 3.1% 9.66 1.1% 846.88 100%

2551 ลานบาท รอยละ 925.74 95.9% 36.32 3.8% 3.37 0.3% 965.43 100%

2552 ลานบาท รอยละ 871.16 95.3 % 36.71 4.0 % 6.28 0.7 % 914.16 100%

2553 ลานบาท รอยละ 1045.23 95.84% 37.77 3.46% 7.65 0.70% 1090.65 100%



Annual Report 2010

17


เปาหมายในการประกอบธุรกิจ บริษทั มีเปาหมายหลักในการเปนผูน ำธุรกิจจำหนายเครือ่ งเขียนและอุปกรณสำนักงาน ผานระบบแค็ตตาล็อก และระบบออนไลนทั้งในรูปแบบเว็บไซต (Business to Customer: B2C) และระบบ e-Procurement (Business to Business: B2B) โดยมุงเนนในกลุมลูกคาองคกรที่มีศักยภาพ และมีความมั่นคง ทั้งนี้ในอนาคตบริษัทมีแผนที่จะเพิ่ม สวนแบงการตลาดในธุรกิจ e-Procurement ในองคกรที่เปนภาครัฐและเอกชน ภายใตมาตรฐานการใหบริการ พรอมการจัดสงภายในวันทำการถัดไป นอกจากนี้บริษัทมีเปาหมายในการเปนผูนำธุรกิจหางสรรพสินคาออนไลนในรูปแบบเว็บไซต โดยมุงเนน กลุมลูกคาบุคคล (Personal Use) ทั้งนี้บริษัทมีแผนที่จะเพิ่มความหลากหลายของสินคาที่ตอบสนองรูปแบบการ ดำเนินชีวิตที่ทันสมัยและมุงเนนการใหขอมูลเพื่อเปนประโยชนตอการตัดสินใจ ภายใตกระบวนการสั่งซื้อที่มีความ สะดวก ปลอดภัย พรอมบริการจัดสงที่รวดเร็วและครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาว บริษัทมีนโยบายในการพัฒนาและอบรมบุคลากรใหมีความรู ความ สามารถและความชำนาญในการใหการบริการแกกลุมลูกคาของบริษัท มุงเนนการรักษาคุณภาพและมาตรฐานการ ใหบริการ และการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีความทันสมัย สามารถตอบสนองความตองการของลูกคา ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ในปจจุบัน บริษัทมีฐานลูกคากวา 80,000 ราย ซึ่งสวนใหญเปนบริษัท หางราน และหนวยงานรัฐ ที่ตั้งใน เขตกรุงเทพมหานคร นิคมอุตสาหกรรม และจังหวัดที่ใกลเคียง เนื่องจากพื้นที่ดังลาวเปนพื้นที่ที่บริษัทมีความ สามารถในการจัดสงสินคาไดทั่วถึงภายในวันทำการถัดไป ตัวอยางลูกคาของบริษัท ณ ปจจุบัน เชน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารฮองกงเซี่ยงไฮ (ประเทศไทย) บริษัท เฟดเดอรัล เอ็กซเพรส (ประเทศ ไทย) จำกัด บริษัทอายิโนะโมะโตะ (ประเทศไทย) จำกัด กลุมบริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัทในเครือ น้ำตาลมิตรผล บมจ. ทาอากาศยานไทย และองคกรในภาครัฐ อาทิ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สภากาชาดไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กระทรวงสาธารณสุข เปนตน นอกจากนี้ บริษัทยังมีแผนที่จะเพิ่มฐานลูกคาองคกรใหมีความหลากหลาย ทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดใกลเคียง รวมถึง จังหวัดหัวเมืองสำคัญในภาคตาง ๆ โดยการทำการตลาดผานพนักงานขาย (Sales representatives) ที่มีกวา 40 คน และการทำโฆษณาประชาสัมพันธอยางตอเนื่องในป 2553 ลูกคาของบริษทั ครอบคลุมองคกร บริษัท และหาง รานในทุกประเภทธุรกิจ โดยมีสัดสวนยอดขายแบงตามประเภทธุรกิจไดดังนี้ อุตสาหกรรมและโรงงานคิดเปน รอยละ 49 ของยอดขาย และ ธุรกิจการคาทั่วไปคิดเปนรอยละ 24 ของยอดขาย นอกจากนี้กลุมลูกคาของบริษัทยัง มีการกระจายไปยังธุรกิจตางๆ ซึ่งครอบคลุมถึง ธุรกิจบริการและบริการเฉพาะดาน อสังหาริมทรัพย ราชการและ รัฐวิสาหกิจ โรงพยาบาลและสถาบันศึกษา และอื่นๆ ซึ่งแสดงใหเห็นวาบริษัทสามารถตอบสนองความตองการของ ลูกคาที่หลากหลายไดอยางครบวงจร ซึ่งเปนปจจัยสำคัญในการเติบโตทางธุรกิจ

18

 Annual Report 2010


กราฟแสดงยอดขายในป 2553 แบงตามประเภทธุรกิจของลูกคา

ทั้งนี้ลูกคาของบริษัทสวนใหญอยูในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล คิดเปนรอยละ 77 ของยอดขายในป 2553 รองลงมาคือลูกคาในพื้นที่ภาคตะวันออกรอยละ 9 ภาคกลางคิดเปนรอยละ 6 และ และภาคอื่นๆ รอยละ 8 ตามลำดับ ทั้งนี้ ดวยประสิทธิภาพในการบริการจัดสงครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ บริษัทจึงมีฐานลูกคากระจายอยูในทุก ภูมิภาคซึ่งสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดทั่วประเทศ ซึ่งรวมถึงองคกรขนาดใหญที่มีสาขากระจาย อยูทั่วประเทศ



Annual Report 2010

19


กราฟแสดงยอดขายในป 2553 แบงตามภูมิภาคของลูกคา

นอกจากนี้บริษัทมีเปาหมายขยายฐานลูกคาสูกลุมลูกคาบุคคล โดยในชวงแรกบริษัทมุงเนนกลุมพนักงาน บริษัท และกลุมผูที่มีประสบการณการสั่งซื้อสินคาออนไลน โดยบริษัทอาศัยความไดเปรียบทางดานการขนสงเพื่อ สรางความสะดวกสบายใหกับลูกคาทั้งในกรุงเทพมหานคร และตางจังหวัด ตลอดจนการใชกลยุทธการตลาด การ สงเสริมการขาย และการติดตอสื่อสารผานระบบ e-Communication เพื่อจูงใจและสรางความเชื่อมั่นของลูกคาตอ สินคาและบริการของบริษัท

การจัดจำหนาย และการจัดสงสินคา ชองทางในการจัดจำหนายของบริษัทสามารถแบงออกไดเปน 2 ชองทาง ดังนี้

1. การสั่งซื้อจากพนักงานบริษัทผานระบบโทรศัพท (Call Center) บริษทั จำหนายสินคาเครือ่ งเขียนและอุปกรณสำนักงานผานระบบแค็ตตาล็อกแบบ 4 สี ทัง้ เลม ซึง่ มีการจัด พิมพเปนประจำทุกปโดยในป 2553 จัดพิมพจำนวน 200,000 เลม เพือ่ นำเสนอรูปแบบสินคาทีห่ ลากหลายกวา 10,000 รายการ เปรียบเสมือนเปนหนารานในการวางสินคาของบริษัทที่มีความหลากหลายภายใตตราสินคาตางๆ ที่เปนที่ ยอมรับ เพือ่ ใหลกู คาสามารถทำการศึกษาเปรียบเทียบกอนการสัง่ ซือ้ ผานระบบ Call Center “OfficeMate Contact Center: 02-739-5555” ซึง่ มีพนักงานเทเลมารเก็ตติง้ รองรับคำสัง่ ซือ้ กวา 200 คูส าย โดยพนักงานดังกลาวไดรบั การฝก อบรมใหมีความเขาใจในผลิตภัณฑและการใหบริการอยางสม่ำเสมอ รวมถึงระบบโทรสารรองรับคำสั่งซื้อผาน OfficeMate Fax Ordering 02-763-5555 อีก 30 คูส าย รองรับลูกคาองคกรทีม่ กี ารสัง่ ซือ้ เปนประจำ

20

 Annual Report 2010


นอกจากนี้บริษัทมีการจัดพิมพแค็ตตาล็อกรายเดือน เพื่อเปนชองทางในการแนะนำสินคาใหมและสินคาที่ จัดรายการสงเสริมการขายในแตละเดือน อีกทั้งยังเปนสื่อในการรักษาความสัมพันธกับลูกคาไดอยางตอเนื่อง โดย ลูกคาบุคคลสามารถสั่งซื้อผานทั้งระบบโทรศัพท “Trendyday Contact Center: 02-730-7777” และระบบโทรสาร Trendyday Fax Ordering 02-763-5555

2.การสั่งซื้อผานระบบออนไลน (Online) บริษัทฯ ไดพัฒนาระบบการสั่งซื้อสินคาผานเว็บไซตบริษัทฯ ( www.officemate.co.th) ซึ่งเนนใหบริการ กลุมลูกคาองคกร บริษัท หางราน (Business to Business: B2B) เพื่อสั่งซื้อสินคาอุปกรณสำนักงาน ซึ่งลูกคาสามารถ ลงทะเบียนและสั่งซื้อสินคาทุกหมวดเชนเดียวกับระบบแค็ตตาล็อก และมีการพัฒนาปรับปรุงใหเขากับแผนการ ตลาด และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอ และเว็บไซตเทรนดี้เดย (www.trendyday.com) ซึ่งเนน ใหบริการกลุมลูกคาบุคคล (Business to Customer: B2C) ซึ่งนอกจากผูใชบริการเว็บไซตจะสามารถสั่งซื้อสินคาที่ เกี่ยวของกับชีวิตประจำวันแลวยังสามารถสื่อสาร และรับความบันเทิงผานสังคมออนไลนในรูปแบบพิเศษที่หลาก หลายเพื่อตอบสนองกลุมผูใชบริการที่ทันสมัย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังไดพัฒนาระบบ e-Procurement ใหตรงกับความตองการของลูกคาเฉพาะองคกรดวย การเชื่อมตอระบบการจัดซื้อของลูกคาเขากับระบบการสั่งซื้อสินคาของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ มีนโยบายในการรุก ธุรกิจผานระบบ e-Procurement เนื่องจากเปนระบบที่ชวยลูกคาลดเวลา และขั้นตอนในการดำเนินการสั่งซื้อ ชวย ลดคาใชจายแฝงที่เกิดจากการจัดซื้อนอกระบบ และลูกคาสามารถควบคุม และตรวจสอบการสั่งซื้อได ซึ่งนอกจาก จะเปนการสรางมูลคาเพิ่มแกลูกคายังเปนการสรางความแตกตางแกบริษัทเมื่อเทียบกับผูประกอบการรายอื่น สำหรับการจัดสงสินคา บริษัทฯ มีบริการจัดสงสินคาฟรีใหลูกคาภายในวันทำการถัดไปสำหรับลูกคาในเขต กรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียง 11 จังหวัด ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี และบางพื้นที่ของจังหวัด นครปฐม ชลบุรี อยุธยา ระยอง ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร ปราจีนบุรี สระบุรี ดวยยอดสั่งซื้อขั้นต่ำ 499 บาท โดยใชรถใหบริการจัดสงสินคาจำนวนกวา 60 คัน สำหรับลูกคาตางจังหวัดที่อยูนอกเขตระบบการขนสงของ บริษัท บริษัทจัดสงสินคาผานบริษัท ไปรษณียไทย จำกัด และบริษัทขนสงที่นาเชื่อถือใหดำเนินการจัดสงสินคา ภายใน 3 - 7 วันทำการ

ภาวะการแขงขันธุรกิจจำหนายเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงาน ธุรกิจจำหนายเครือ่ งเขียน และอุปกรณสำนักงาน เปนตลาดทีม่ กี ารแขงขันในดานราคาสูง เนือ่ งจากสินคามี ลักษณะไมแตกตาง และมีคูแขงมากราย ทั้งนี้สามารถแบงผูประกอบการในธุรกิจประเภทนี้ออกเปน 4 กลุมไดแก (1) กลุมโมเดอรนเทรด อาทิ เทสโก โลตัส บิ๊กซี คารฟู ซึ่งมีแผนกหรือโซนเครื่องเขียนใหบริการลูกคา โดยเนนสินคาราคาถูก แตความหลากหลายของสินคามีจำกัด (2) กลุมธุรกิจที่เสนอขายเฉพาะเครื่องเขียนและอุปกรณสำนักงาน (Category Killer) ซึ่งสามารถแบงชอง ทางในการจำหนายสินคาออกเปน 2 ประเภท คือ - จำหนายสินคาผานหนารานของตนเอง เนนกลุมลูกคาที่เขามาซื้อสินคาในราน (cash and carry) เปนหลัก - เดิมมีผปู ระกอบการหลักในกลุม ธุรกิจนี้ 2 รายคือ ออฟฟศ ดีโป และออฟฟศ เซ็นเตอร แตปจ จุบนั ถือ เปนกลุม เดียวกันภายหลังจากทีอ่ อฟฟศ ดีโป ประเทศไทย ซือ้ กิจการจากออฟฟศ เซ็นเตอร เมือ่ เดือน พฤษภาคม 2551 - จำหนายสินคาแบบไมมีหนาราน อาทิ ผานระบบ call center และการสั่งซื้อ online ผานเว็บไซต อาทิ เชน บริษัท ลีเรคโก (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) เปนตน 

Annual Report 2010

21


(3) รานเครื่องเขียน และอุปกรณสำนักงานทั่วไป ซึ่งมีจำนวนมาก และตั้งอยูตามชุมชนทั่วไป (4) กลุม ธุรกิจทีข่ ายสินคาเฉพาะโดยตรงใหกบั ลูกคา อาทิ เชน ดับเบิล้ เอ และ เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชั่น เปนตน

กลยุทธทางการตลาด เพื่อใหสามารถแขงขันกับผูประกอบการรายอื่นใด บริษัทฯ ดำเนินกลยุทธทางการตลาด ดังนี้ 1. การเปนศูนยรวมของอุปกรณเครื่องเขียน และอุปกรณสำนักงาน (One Stop Service) ที่มีความหลาก หลายของสินคาผานระบบการขายที่มีพนักงานขาย และระบบสนับสนุนการขายที่สามารถใหขอมูล และคำแนะนำแกลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งชวยลดตนทุนการจัดหาสินคา (Procurement cost) ของลูกคาได 2. การใหบริการจัดจำหนายสินคาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจำวันผานชองทางออนไลน เพื่อตอบสนองความ ตองการของลูกคาบุคคล ตลอดจนการนำเสนอ Online Community เพื่อเปนแหลงพบปะพูดคุย 3. การสรางมาตรฐานในการนำเสนอสินคาผานแค็ตตาล็อก ดวยสินคาที่มีคุณภาพ และเปนที่ยอมรับของ ทั้งลูกคา ผูผลิตสินคาหรือแมแตผูประกอบธุรกิจเชนเดียวกับบริษัทฯ และเปนสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธสินคา และองคกร ทั้งของบริษัท และผูผลิตสินคาหรือตัวแทนจำหนายสินคา (Supplier) - ระบบโครงสรางราคาสินคาแบบราคาเดียว (One Price Policy) ที่ไดรับการตรวจสอบและไววางใจ จากฝายจัดซื้อขององคกรชั้นนำทั่วประเทศกวา 80,000 องคกรที่เลือกใชบริการอยางตอเนื่อง ลูกคา จึงสามารถมั่นใจไดวาราคาสินคาจากบริษัทเปนราคามาตรฐาน เปรียบเทียบได ดวยคุณภาพสินคา ที่ผานการคัดเลือกและตรวจสอบโดยฝายจัดซื้อของบริษัทฯ - การจัดสงสินคาฟรีทั่วประเทศ หากลูกคาสั่งซื้อไมต่ำกวา 499 บาท ซึ่งเปนกลยุทธในการสราง ความสามารถในการแขงขันกับคูแขงที่เปนรานคา เนื่องจากลูกคาไมตองใชเวลาในการเลือกซื้อ สินคา - การจัดทำรายการสงเสริมการขายอยางตอเนื่อง ซึ่งลูกคาสามารถเขาถึงได ผานแค็ตตาล็อกราย เดือน ซึ่งแจกฟรีใหกับบริษัท และองคกรตางๆ และอีกทางหนึ่งก็คือทางเว็บไซตของบริษัทฯ โดย ตัวอยางสิทธิพิเศษที่ทางบริษัทฯ ไดมอบใหแกลูกคาไดแก Officemate Member Rewards ที่ทุกๆ ยอด 100 บาทของการสั่งซื้อสามารถเปลี่ยนเปนคะแนนสะสมไดทันที 5 คะแนนเพื่อใชแลกรับของ รางวัลไดที่เว็บไซตเทรนดี้เดย (www.trendyday.com) ตลอดจนการทำโครงการ e-Coupon ซึ่งเปนโปรแกรมการสงเสริมการขายสินคาของเว็บไซตเทรนดี้เดย (www.trendyday.com) เพื่อสงเสริมใหลูกคาซื้อสินคาผานเว็บไซตอยางสม่ำเสมอ โดยลูกคาสามารถลงทะเบียนเพื่อรับ e-Coupon ผานเว็บไซต เปนตน - บริการการขาย และการรักษาความสัมพันธกับลูกคา บริษัทตระหนักถึงความสำคัญตอความพึง พอใจของลูกคาซึ่งถือเปนปจจัยสำคัญตอความสำเร็จของธุรกิจจำหนายสินคาผานระบบแค็ตตาล็อก โดยไดพฒั นา ระบบอำนวยความสะดวกแกลูกคา อาทิ เชน ระบบ OfficeMate Contact Center ที่มีพนักงานบริการ ขอมูล และตอบขอซักถาม ระบบ OfficeMate Live Chat ซึ่งเปนบริการใหขอมูลการสั่งซื้อ และคำแนะนำผานการ สนทนากับพนักงานบนเว็บไซตของบริษัทฯ ดวยเหตุนี้ลูกคาจึงสามารถเขาถึงขอมูล และบริการของบริษัทฯ ได หลากหลายชองทางภายในวัน และเวลาทำการ นอกจากนี้เพื่อสรางความเชื่อมั่นในสินคาและบริการหลังการขาย บริษัทฯ ยังรับประกันความพึงพอใจในสินคา และบริการโดยยินดีรับเปลี่ยนหรือคืนสินคาภายใน 7 วัน

22

 Annual Report 2010


ปจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง

ปจจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของบริษัท สามารถสรุปสาระสำคัญไดดังนี้ ความเสี่ยงของความไมแนนอนในสภาพเศรษฐกิจ โดยที่สภาพเศรษฐกิจที่มีความไมแนนอนอาจทำใหลูกคาของบริษัทฯ ซึ่งสวนใหญเปนบริษัท หางราน มีการ ควบคุมงบประมาณการใชจายที่รัดกุมขึ้น และสงผลใหยอดการสั่งซื้อสินคาเกี่ยวกับเครื่องเขียน และอุปกรณ สำนักงานลดลงหรือมีการชะลอการสั่งซื้อออกไป อันจะสงผลตอยอดขายของบริษัทฯ เพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว บริษัทฯ มีแผนที่จะเพิ่มหมวดสินคาใหหลากหลายครอบคลุม และตอบสนองความตองการของลูกคาไดมากยิ่งขึ้น ภายใตตราสินคาของคูคาและตราสินคาของบริษัทฯ (House Brand) ซึ่งเปนชองทางในการเพิ่มยอดการสั่งซื้อสินคา ของลูกคาบริษัทฯ ได นอกจากนี้บริษัทฯ มีแผนที่จะเพิ่มฐานลูกคาองคกรใหมีความหลากหลาย และขยายฐานลูก คาไปสูกลุมบุคคลทั่วไปมากขึ้น โดยในป 2552 เปนตนมา บริษัทฯ เพิ่มสินคาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจำวัน อาทิ สินคาความงาม และสุขภาพ เกมสคอมพิวเตอร หนังสือ เครื่องใชในบาน ของเลน เปนตน เพื่อตอบสนองความ ตองการของกลุมลูกคาบุคคล (Personal Use)

ความเสี่ยงจากการแขงขันในอุตสาหกรรม ธุรกิจจำหนายเครื่องเขียน และอุปกรณสำนักงาน ตลอดจนธุรกิจการจัดจำหนายสินคาที่เกี่ยวของกับชีวิต ประจำวัน ถือเปนธุรกิจที่มีคูแขงมากราย และใชเงินลงทุนไมสูงจึงเปนโอกาสที่คูแขงรายใหมจะเขามาแขงขันไดงาย ซึ่งลักษณะของผูประกอบธุรกิจที่มีความแตกตางกัน อาทิ รานคาปลีก โมเดอรนเทรด การขายตรง การขายสินคา ผานแค็ตตาล็อก เปนตน สงผลตอรูปแบบการแขงขันที่แตกตางกัน ทั้งนี้บริษัทฯ มุงมั่นที่จะรักษาตำแหนงผูนำ ธุรกิจจำหนายเครื่องเขียน และอุปกรณผานระบบแค็ตตาล็อกและระบบ e-Commerce ตลอดจนมุงมั่นที่จะขยาย ธุรกิจเพื่อตอบสนองลูกคาบุคคลไดอยางทั่วถึง โดยการใหความสำคัญกับคุณภาพสินคาในระดับราคาที่สามารถ แขงขันได การนำระบบการบริหารการจัดการที่ทันสมัยเพื่อปรับปรุง และพัฒนาระบบการขายผาน Call Center และการสั่งซื้อสินคาผานเว็บไซต พรอมทั้งใหบริการจัดสงสินคาฟรี และบริการหลังการขาย เพื่อสรางความแตกตาง ในบริการของบริษัท และนำมาซึ่งความสามารถในการแขงขัน และรักษาสวนแบงการตลาดที่ยั่งยืนได

ความเสีย่ งจากกลุม ผูถ อื หุน รายใหญทมี่ อี ทิ ธิพลตอการกำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการของบริษทั ภายหลังการเสนอขายหุนตอประชาชนทั่วไป กลุมครอบครัวอุนใจ ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ และเปนผูบริหาร ของบริษัทฯ จะถือหุนในสัดสวนรวมกันรอยละ 71.49 ของทุนชำระแลว ซึ่งทำใหสามารถควบคุมมติที่ประชุม ผูถือหุนในเรื่องตางๆ ได ยกเวนในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมายหรือขอบังคับของบริษัทที่กำหนดใหตองไดรับเสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผูถือหุน ซึ่งทำใหผูถือหุนรายอื่นๆ อาจไมสามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบ และถวงดุล กับกลุมผูถือหุนรายใหญได ยกเวนเรื่องที่กลุมนายวรวุฒิ อุนใจ มีสวนไดเสียตามนิยามของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย อยางไรก็ตามกลุมผูถือหุนรายใหญ มีเจตนารมณที่จะทำใหบริษัทฯ มีการดำเนินธุรกิจที่ชัดเจน



Annual Report 2010

23


เปนอิสระ มีความโปรงใส และมีความยั่งยืน ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งผูถือหุนสามารถตรวจสอบได ดังจะเห็นไดจากโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการ 3 ชุด ไดแก คณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร ซึ่งประกอบดวยบุคคลที่มีความรูความสามารถ และมี การกำหนดขอบเขตหนาที่อยางชัดเจน

ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหาร ในชวงเริ่มตนธุรกิจ บริษัทฯ มีการพึ่งพิงกลุมผูบริหารที่มีบทบาทในการกำหนดเปาหมาย กลยุทธในการ ดำเนินธุรกิจ และการบริหารจัดการเพื่อผลักดันใหธุรกิจของบริษัทฯ มีการเติบโตอยางมีศักยภาพ ดวยกระบวนการ ทำงานที่เปนระบบ อาทิ ระบบ Call center ระบบการบริหารจัดการคลังสินคา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทัน สมัย ทำใหบริษทั ฯ สามารถดำเนินธุรกิจ ณ ปจจุบนั ภายใตความเสีย่ งในการพึง่ พิงกลุม ผูบ ริหารดังกลาวในระดับต่ำ อยางไรก็ตามบริษัทฯ ยังคงพึ่งพิงกลุมผูบริหารหลักในการกำหนดกลยุทธทิศทางการดำเนินธุรกิจ การวางแผน ธุรกิจ รวมถึงการตัดสินใจในโครงการในอนาคต

การบริหารความเสี่ยง บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญในดานการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององคกร โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมี คณะทำงานบริหารความเสี่ยง เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบ และดูแลการบริหารความเสี่ยงโดยตรง เชน ความเสี่ยง ทางการเงิน ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงในธุรกิจ เปนตน โดยคณะทำงานบริหารความเสี่ยงจะรายงาน ตอคณะกรรมการตรวจสอบเปนรายไตรมาส หรือเมื่อมีเหตุอันสมควร เพื่อพิจารณากลั่นกรองกอนนำเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทตอไป โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

24

 Annual Report 2010


โครงสรางการถือหุนและการจัดการ รายชื่อผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 29 ตุลาคม 2553 ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

ชื่อ-สกุล ตระกูลอุนใจ* นางปยะรัตน บุญแสวง นายวิชญ เมฆาอภิรักษ นางสาวธนพร ปรีชาธนโชติ นายมนตชัย ลีศิริกุล นายอนุชิต กิจธารทอง นายพีรณัฎฐ ตันติพจน นายอรรณพ บุญทวีพัฒน นางกนิษฐา วิริยะผล นางสาวนภสร คชสาร นางปทมา วรรณวิทยาภา นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร นายณภัทร ปญจคุณาธร

จำนวนหุน

สัดสวน / รอยละ

57,191,000 2,598,200 850,000 750,000 700,000 700,000 642,300 481,000 450,000 421,000 421,000 421,000 421,000 420,000

71.49 3.25 1.06 0.94 0.88 0.88 0.80 0.60 0.56 0.53 0.53 0.53 0.53 0.52

หมายเหตุ : * ตระกูลอุนใจ ประกอบดวย โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการจำนวน 3 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษัท 1.

นายวรวุฒิ อุนใจ

ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

41,941,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

52.43% ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

2.

นางมาลินี อุนใจ

ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

4,000,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

5.00%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

3.

นางปราณี อุนใจ

ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

3,250,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

4.06%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

4.

นางสาวจุติมา อุนใจ

ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

2,000,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

2.50%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

5.

นางสาวจุติพร อุนใจ

ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

2,000,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

2.50%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

6.

เด็กหญิงพลอย อุนใจ ถือหุนบริษัทฯ

จำนวน

2,000,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

2.50%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

7.

เด็กชายภูมิ อุนใจ

จำนวน

2,000,000

หุน

หรือคิดเปนรอยละ

2.50%

ของทุนจดทะเบียนชำระแลว

ถือหุนบริษัทฯ



Annual Report 2010

25


โครงสรางองคกรของบริษัทฯ ณ ปจจุบัน เปนดังนี้ 26

 Annual Report 2010


โครงสรางการจัดการของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริหาร และคณะผูบริหาร 1 ชุด โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีจำนวน 7 ทาน ซึง่ ไดผา นหลักสูตรการอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย เปนทีเ่ รียบรอยแลว ประกอบดวย - กรรมการอิสระที่ไมเปนผูบริหารจำนวน 3 ทาน ซึ่งเกินกวา 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ - กรรมการทีเ่ ปนผูบริหาร 4 ทาน

รายชื่อ

ตำแหนง

ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 1. นายสหัส ตรีทิพยบุตร 2. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน กรรมการอิสระ 3. นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ กรรมการอิสระ 4. นายวรวุฒิ อุนใจ กรรมการ 5. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล กรรมการ 6. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร กรรมการ 7. นางสาวนภสร คชสาร กรรมการ โดยมี นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร เปนเลขานุการคณะกรรมการบริษัท

กรรมการผูมีอำนาจผูกพันตามหนังสือรับรองบริษัท นายวรวุฒิ อุนใจ ลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัท หรือ นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล นางสาว วิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร นางสาวนภสร คชสาร กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับ ตราสำคัญของบริษัท

ขอบเขตและอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติของที่ประชุมผูถือหุน ดวย ความซื่อสัตย รับผิดชอบ ระมัดระวังและรักษาผลประโยชนของบริษัทบนพื้นฐานของหลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี 2. ทบทวนและพิจารณาใหความเห็นชอบเรื่องที่มีสาระสำคัญ อาทิ นโยบาย กลยุทธการดำเนินธุรกิจ แผนธุรกิจ งบประมาณโครงการลงทุนขนาดใหญ อำนาจการบริหาร และรายการอื่นใดที่กฎหมาย กำหนด รวมทั้งกำกับ และดูแลการจัดการของฝายบริหารใหเปนไปตามนโยบายที่ไดรับมอบหมาย อยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. จัดใหมีระบบการบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่มีความนาเชื่อถือได รวมทั้งดูแล ใหมีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล 

Annual Report 2010

27


4. จัดทำรายงานคณะกรรมการบริษัทประจำป และรับผิดชอบตอการจัดทำ และการเปดเผยงบการเงิน เพื่อแสดงถึงฐานะการเงิน และผลการดำเนินงานในรอบปที่ผานมา เพื่อนำเสนอตอผูถือหุนของบริษัท 5. คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง หรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการ อยางหนึ่งอยางใดแทนคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การมอบอำนาจดังกลาวจะไมรวมถึงการมอบอำนาจ หรือการมอบชวงอำนาจที่ทำใหกรรมการหรือผูรับมอบอำนาจจากกรรมการสามารถอนุมัติรายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือมีผลประโยชนอื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทยอย ยกเวนการอนุมัติรายการที่เปนรายการธุรกิจปกติ และเปนไปตามเงื่อนไขการคาโดยทั่วไปตามที่คณะ กรรมการบริษัทไดกำหนดอำนาจ และ/หรือวงเงินไว โดยอยูภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ ตามที่กำหนดเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งทรัพยสินที่สำคัญของ บริษั ท จดทะเบีย นตามหลัก เกณฑข องตลาดหลั ก ทรัพ ย แ ห ง ประเทศไทย หรื อ ตามประกาศของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ทัง้ นีข้ อบเขตอำนาจของคณะกรรมการบริษทั ตองอยูภ ายใตหลักเกณฑของกฎหมาย และกฎระเบียบขอบังคับ ของบริษัทฯ และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ไดแก สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกำหนดใหกรรมการ หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดเสีย หรืออาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอืน่ ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอยไมมสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้

2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการทีเ่ ปนอิสระทัง้ หมด 3 ทานไดแก

รายชื่อ

ตำแหนง

1. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน 2. นายสหัส ตรีทิพยบุตร 3. นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

โดยมีนางสาววัลดี สีบุญเรือง บริษัท สอบบัญชี ไอ วีแอล จำกัด เปนผูตรวจสอบภายในอิสระ และเปน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ : 1. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน นายสหัส ตรีทิพยบุตร และนางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ เปนกรรมการ ตรวจสอบทีม่ คี วามรู และประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษทั 2. กรรมการอิสระของบริษัททั้ง 3 ทาน ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทาง วิชาชีพกับบริษทั ฯ

ขอบเขตอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบ ในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับ ผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

28

 Annual Report 2010


3. สอบทานให บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ข อ กำหนดของ ตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัท และ เสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวม ประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิ จ ารณารายการที่เ กี่ย วโยงกัน หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใ ห เ ป น ไปตาม กฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุ สมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจำปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอกำหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน (ฉ) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แตละทาน (ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบไดรบั จากการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามกฎบัตร (ซ) รายการอืน่ ทีเ่ ห็นวาผูถ อื หุน และผูล งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการปฏิบัติหนาที่ตามขางตน คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบตอ คณะกรรมการของ บริษัทโดยตรง และคณะกรรมการของบริษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทตอ บุคคลภายนอก

3. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัทประกอบดวยกรรมการทั้งหมด 6 ทาน ไดแก

รายชื่อ

ตำแหนง

1. นายวรวุฒิ อุนใจ 2. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล 3. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร 4. นางสาวนภสร คชสาร 5. นางปทมา วรรณวิทยาภา 6. นายภาณุ กิจสินทวี

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร



Annual Report 2010

29


ขอบเขตและอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กำหนดนโยบายทางธุรกิจ เปาหมาย แผนการดำเนินงาน กลยุทธทางธุรกิจ และจัดทำงบประมาณ ประจำปเสนอตอคณะกรรมการของบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. บริหารจัดการบริษัทฯ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคทางธุรกิจ เปาหมาย แผนการดำเนินงาน กลยุทธ ทางธุรกิจ และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัท 3. กำหนดโครงสรางองคกรและอำนาจการบริหารจัดการภายใน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4. พิจารณาอนุมัติการใชจายเงินเพื่อการลงทุนหรือการดำเนินงานตางๆ การกูยืมหรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน เพื่อการทำธุรกรรมตามปกติของบริษัทฯ ภายในวงเงินสำหรับแตละรายการหรือ หลายๆ รายการที่เกี่ยวเนื่องกันรวมแลวไมเกินกวา 50 ลานบาทหรือเทียบเทา หรือเปนไปตามที่คณะ กรรมการบริษัทมอบหมาย 5. ปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การมอบอำนาจใหคณะกรรมการบริหารดังกลาวขางตน ตองอยูภายใตหลักเกณฑของกฎหมายและ ระเบียบขอบังคับของบริษัท และจะไมรวมถึงการมอบอำนาจที่ทำใหคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทยอย ซึ่งการเขาทำรายการที่เกี่ยวโยงหรือการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งทรัพยสินที่สำคัญของบริษัท หรือ บริษัทยอย ตามความหมายที่กำหนดตามประกาศสำนักงานกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยใหปฎิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการตามที่ประกาศเรื่องดังกลาว

คณะผูบริหาร บริษัทมีคณะผูบริหารตามคำนิยามของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย จำนวน 7 ทาน ประกอบดวยรายชื่อดังตอไปนี้

30

รายชื่อ

ตำแหนง

1. นายวรวุฒิ อุนใจ 2. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล 3. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร 4. นางสาวนภสร คชสาร 5. นางปทมา วรรณวิทยาภา 6. นางสาวสายบัว รังสิโยภาส 7. นายภาณุ กิจสินทวี

กรรมการผูจัดการ ผูอำนวยการสายงานการเงิน ผูอำนวยการสายงานบริหารการขายและลูกคาสัมพันธ ผูอำนวยการสายงานโลจิสติกส ผูอำนวยการสายงานการตลาด ผูอำนวยการสายงานทรัพยากรบุคคลและบริหารงานทั่วไป ผูอำนวยการสายงานระบบสารสนเทศ

 Annual Report 2010


ขอบเขตอำนาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการ 1. กำหนดโครงสรางองคกร วิธีการบริหาร โดยใหกลาวครอบคลุมถึงรายละเอียดในการคัดเลือก การฝก อบรม การวาจาง และการเลิกจางพนักงานของบริษัท 2. มีอำนาจในการแตงตั้งและถอดถอนเจาหนาที่ของบริษัทในตำแหนงที่ไมสูงกวาตำแหนงกรรมการ ผูจัดการ 3. จัดทำแผนธุรกิจและกำหนดอำนาจการบริหารงาน ตลอดจนจัดทำงบประมาณที่ใชในการประกอบ ธุรกิจ และงบประมาณรายจายประจำป 4. ดำเนินธุรกิจตามแผนการและกลยุทธทางธุรกิจใหสอดคลองกับนโยบายและแนวทางที่ไดเสนอตอคณะ กรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัท 5. มีอำนาจอนุมัติ และมอบอำนาจชวงอนุมัติการเบิกจายเพื่อการจัดซื้อจัดจางซึ่งทรัพยสิน บริการ และ การทำรายการอื่น เพื่อประโยชนของบริษัท ซึ่งอำนาจการอนุมัติดังกลาวจะเปนการอนุมัติรายการปกติ ทั่วไปทางการคา โดยมีวงเงินในแตละรายการไมเกิน 5 ลานบาท หรือเทียบเทา 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ อำนาจหนาที่ขางตนตองอยูภายใตหลักเกณฑของกฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัทฯ อยางไรก็ตามการมอบอำนาจดังกลาวจะไมรวมถึงการมอบอำนาจที่ทำใหกรรมการผูจัดการสามารถอนุมัติรายการ ที่กรรมการผูจัดการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใน ลักษณะอื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทยอย ยกเวนการอนุมัติรายการที่เปนรายการธุรกิจปกติ และเปนไปตามเงื่อนไข การคาโดยทั่วไปตามที่คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดอำนาจ และ/หรือวงเงินไว โดยอยูภายใตหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการตามที่กำหนดเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการไดมาหรือจำหนายไปซึ่งทรัพยสินที่สำคัญของ บริษัทจดทะเบียนตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามประกาศของสำนักงานคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

การสรรหากรรมการและผูบริหาร ปจจุบันบริษัทฯ ยังไมไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อคัดเลือกบุคคลที่จะเขาดำรงตำแหนงเปน กรรมการ แตเมื่อตำแหนงกรรมการบริษัท หรือกรรมการอิสระวางลง คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูทำหนาที่สรรหา และคัดเลือกกรรมการเพื่อนำเสนอรายชื่อตอผูถือหุน โดยพิจารณาจากปจจัยหลักตางๆ อันไดแก ความรู ความ สามารถ ประสบการณที่เกี่ยวของกับธุรกิจ และตองเปนผูมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามพระราช บัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ กฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ ในการเลือก และแตงตัง้ กรรมการของบริษทั ฯ จะกระทำโดยใชเสียงขางมากในการประชุม ผูถือหุนตามหลักเกณฑ และวิธีการดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง (2) ผูถือหุนแตละคนจะตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลาย คนเปนกรรมการก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทา จำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งใน ลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาดเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง



Annual Report 2010

31


ทั้งนี้ กรรมการของบริษัทฯ มีวาระการดำรงตำแหนง 3 ป โดยในการประชุมสามัญประจำป กรรมการตอง ออกจากตำแหนงอยางนอยในอัตราหนึ่งในสาม ถาจำนวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ให กรรมการออกจำนวนใกลที่สุดกับอัตราหนึ่งในสาม กรรมการที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรก และปที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นใหใชวิธีจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนในปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนที่อยูตำแหนง นานทีส่ ดุ เปนผูอ อกจากตำแหนง ทัง้ นีก้ รรมการทีอ่ อกตามวาระนัน้ อาจไดรบั เลือกเขามาดำรงตำแหนงใหมไดอกี

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน 1. กรรมการ ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 ไดอนุมัติกำหนดคา ตอบแทนใหแกคณะกรรมการในรูปของ เบี้ยประชุม บำเหน็จ โบนัส หรือผลตอบแทนในลักษณะอื่น สำหรับป 2553 จำนวนเงินรวมไมเกิน 1.0 ลานบาทตอป โดยกำหนดการจายคาเบี้ยประชุมแกกรรมการที่ไมไดเปนกรรมการ บริหาร ดังนี้ ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

ครั้งละ ครั้งละ ครั้งละ ครั้งละ

18,000 12,000 18,000 12,000

บาท บาท บาท บาท

ซึ่งในป 2553 บริษัทมีการจายคาตอบแทนใหแกกรรมการดังนี้

รายชื่อ 1. นายสหัส ตรีทิพยบุตร 2. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน 3. นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ 4. นายวรวุฒิ อุนใจ 5. นายวิชิต กิจสวัสดิ์ไพศาล 6. นางสาววิลาวรรณ ฤกษเกรียงไกร 7. นางสาวนภสร คชสาร

ตำแหนง ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

คาเบี้ยประชุม (บาท) 2553 90,000 72,000 60,000 -

โบนัส (บาท) 72,000 72,000 48,000 -

จำนวนครั้งที่เขา ประชุม 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 1/5

หมายเหตุ : นางสาวนภสร คชสาร เขาเปนกรรมการแทน นายอรรณพ บุญทวีพัฒน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2553

32

 Annual Report 2010


การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบในป 2553 รายชื่อ

ตำแหนง

1. นางอังครัตน เพรียบจริยวัฒน 2. นายสหัส ตรีทิพยบุตร 3. นางสาวชุลีพร เปยมสมบูรณ

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

คาเบี้ยประชุม จำนวนครั้งที่เขา (บาท) ประชุม 2553 72,000 48,000 48,000

4/4 4/4 4/4

2. ผูบริหาร ในป 2553 บริษัทจายคาตอบแทนใหผูบริหาร ดังนี้

คาตอบแทน เงินเดือนและโบนัส คาตอบแทนอื่นๆ เชน คาคอมมิสชั่น เงินเพิ่มพิเศษ เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เปนตน รวม

2553 จำนวนราย

ลานบาท

7

12.14

7 7

1.15 13.29

3. คาตอบแทนอื่น ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2551 ไดมีมติใหออกและเสนอขายหุน สามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ และพนักงาน จำนวน 4,000,000 หุน เพื่อเปนการตอบแทนการทำงาน และจูงใจใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 ไดมีมติใหออก และเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาว โดยบริษัทฯ ไดเสนอขายหุนใหแก ผูบริหาร และพนักงานเมื่อวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2553 ที่ราคาหุนละ 1.85 บาท ทั้งนี้ภายใตเงื่อนไขที่บริษัทฯ กำหนด หุนที่เสนอขายตอผูบริหาร และพนักงานดังกลาวจะถูกหามขายทั้งจำนวนเปนระยะเวลา 1 ป 6 เดือน นับ ตั้งแตวันที่หุนของบริษัทเริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยภายหลังจากวันที่หุนของบริษัท เริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพยครบกำหนดระยะเวลาทุกๆ 6 เดือน จะสามารถทยอยขายไดจำนวนรอยละ 25 ของ จำนวนหุนทั้งหมดที่ถูกหามขาย



Annual Report 2010

33


คาตอบแทนของผูสอบบัญชี ในป 2553 บริษัทจายคาตอบแทนของผูสอบบัญชี ใหกับบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำกัด สำหรับการสอบ ทานงบการเงินของบริษัทจำนวน 500,000 บาทตอป

นโยบาย และการจายเงินปนผลของบริษัท บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราไมนอยกวารอยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี และสำรอง ตามกฎหมาย ทั้งนี้การจายเงินปนผลดังกลาวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได โดยจะขึ้นอยูกับผลประกอบการ แผนขยาย ธุรกิจ สภาพคลอง ความจำเปน และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ทั้งนี้การพิจารณาจายเงินปนผลประจำปของ บริษัทฯ จะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุน เวนแตเปนการจายเงินปนผลระหวางกาล ซึ่งคณะ กรรมการบริษัทมีอำนาจอนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลได แลวใหรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการ ประชุมคราวตอไป

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน เพื่อใหเกิดความโปรงใส และปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตนจากการใชขอมูลภายในของบริษัทฯ ที่ ยังไมไดเปดเผยตอสาธารณชน รวมทั้งเพื่อหลีกเลี่ยงขอครหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของการซื้อขายหลักทรัพยของ บุคคลภายในบริษัทฯจึงไดออกระเบียบปฏิบัติ เพื่อให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทถือปฏิบัติ ดังนี้ - กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ตองรักษาความลับ และ/หรือขอมูลภายในของ บริษัทฯ ไมนำไปเปดเผยหรือแสวงหาประโยชนแกตัวเอง หรือเพื่อประโยชนแกผูอื่นไมวาทาง ตรงหรือทางออม รวมทั้งตองไมทำการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพยของบริษัทฯ โดยใช ความลับ และ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ และ/หรือเขาทำนิติกรรมอันใดโดยใชความลับ และ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัทฯ ไมวาทางตรง หรือทางออม - กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในหนวยงานที่ไดรับขอมูลภายในของบริษัทฯ ตองไมใชขอมูล ดังกลาวกอนเปดเผยสูสาธารณชน และจะตองไมทำการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพย ของบริษัทฯ ในชวงเวลา 1 เดือน กอนที่งบการเงินในรายไตรมาส และงบการเงินประจำปจะ เปดเผยสูประชาชน

การควบคุมภายใน บริษัทใหความสำคัญในการจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี โดยบริษัทมีการจัดทำคูมือระเบียบและวิธี ปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษร โดยกำหนดใหมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบ อำนาจการดำเนินการของ ผูปฏิบัติงานและผูบริหารในเรื่องตางๆ การดูแลทรัพยสิน การอนุมัติรายการ การบันทึกบัญชีและขอมูลทางการเงิน การแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบ ระหวางกันอยางเหมาะสม

34

 Annual Report 2010


ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2554 โดยมีกรรมการตรวจ สอบทุกทานเขารวมประชุม ไดรวมประชุมพิจารณาและประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯใน 5 สวน คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร สารสนเทศและการ สื่อสาร และระบบการติดตาม คณะกรรมการรับทราบความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที่เห็นดวยกับผูสอบ บัญชี และผูตรวจสอบภายในของบริษัทฯ วาระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ และเหมาะสมตอ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยที่ผานมาผูสอบบัญชี และผูตรวจสอบภายในไมพบขอบกพรองที่สำคัญของระบบ การควบคุมภายในที่จะมีผลกระทบอยางมีสาระสำคัญตอฐานะทางการเงินของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทรับทราบความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที่เห็นดวยกับผูสอบบัญชีและผูตรวจ สอบภายในจากบริษัท ไอ วี แอล จำกัด วาระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ และเหมาะสมตอ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยจากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในดานตางๆ 5 สวน ซึ่ง สามารถสรุปไดดังนี้

1) องคกรและสภาพแวดลอม บริษัทฯ มีการจัดโครงสรางองคกร ที่กำหนดนโยบาย ขอบเขตหนาที่ผูรับผิดชอบ รวมถึงการใหผลตอบแทน ที่สอดคลองกับเปาหมายในการดำเนินธุรกิจ โดยมีการจัดทำแผนการดำเนินการและงบประมาณเพื่อชวยควบคุม การดำเนินงาน

2) การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีการพิจารณาประเมินปจจัยความเสี่ยงทั้งที่มาจากภายนอกและภายในอยางสม่ำเสมอ พรอม กำหนดแนวทางในการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะกอใหเกิดความเสียหายในอนาคต ทั้งนี้บริษัทฯ ไดจัดใหมี คณะทำงานดานการบริหารความเสี่ยงที่มีขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในการจัดทำ และติดตามแผนการบริหาร ความเสี่ยงเพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริหารพิจารณากอนนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท

3) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ มีการกำหนดขอบเขตหนาที่ และวงเงินอนุมัติของฝายบริหารที่ชัดเจน โดยจัดทำคูมืออำนาจ ดำเนินการและคูมือจริยธรรมเปนลายลักษณอักษร เพื่อเปนมาตรฐาน และกอใหเกิดความโปรงใสในการปฏิบัติงาน

4) ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ มีระบบการจัดการขอมูลที่เหมาะสม มีขอมูลเพียงพอตอการตัดสินใจของฝายบริหาร รวมทั้งระบบ การจัดเก็บขอมูลที่เปนระเบียบสามารถตรวจสอบได

5) ระบบการติดตาม ฝายบริหารของบริษัทฯ มีการประชุมเพื่อประเมินผลการดำเนินงาน ทบทวนเปาหมาย และนโยบายให สอดคลองกับสถานการณในปจจุบันอยางสม่ำเสมอ โดยพิจารณาถึงสาเหตุ และแนวทางการปรับปรุง และมีการ ตรวจสอบภายในโดยผูตรวจสอบภายในเพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทอยางนอย ไตรมาสละ 1 ครั้ง



Annual Report 2010

35


การกำกับดูแลกิจการ นโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ ตระหนักดีวา การกำกับดูแลกิจการที่ดีเปนสิ่งที่มีความสำคัญ และมีสวนชวยสงเสริมผลการ ดำเนินงานของบริษัท เพื่อใหมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง และเพิ่มความเชื่อมั่นใหแกผูถือหุน ผูลงทุน และ ผูเกี่ยวของทุกฝาย บริษัทฯ จึงยึดมั่นที่จะดำเนินธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี พรอมทั้งปฏิบัติตามขอกำหนดของ กฎหมาย ข อ กำหนดของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย (ก.ล.ต) และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยางเครงครัดและไดสงเสริมใหผูบริหารและพนักงานของบริษัทเห็นความสำคัญ ของการกำกับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง โดยใหความรูแกพนักงานเกี่ยวกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้ง หลักจรรยาบรรณของบริษัทเพื่อนำไปปฏิบัติไดอยางถูกตองและสอดคลองกับแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การกำกับดูแลกิจการที่ดี หมายถึง การจัดโครงสรางอยางมีระบบและมีการสรางกระบวนการความสัมพันธ ระหวางคณะกรรมการ ฝายจัดการและผูถือหุน เพื่อสรางความสามารถในการแขงขันอันจะนำไปสูความเจริญเติบโต และเพิ่มมูลคาใหกับผูถือหุนระยะยาว โดยคำนึงถึงประโยชนที่ดีที่สุดของผูถือหุน (Fiduciary Duty) และคำนึงถึงผูมี สวนไดเสียอื่น ซึ่งการจัดโครงสรางและกระบวนการบริหารจัดการดังกลาว มีหลักการปฎิบัติเพื่อบรรลุหนาที่สำคัญ ดังตอไปนี้ • การปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบระมัดระวัง (Duty of Care) • การปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริตเพื่อรักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุน (Duty of Loyalty) • การปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับและมติที่ประชุมผูถือหุน (Duty of Obedience) • การเปดเผยขอมูลอยางถูกตอง ครบถวนและโปรงใส (Duty of Disclosure)

สาระสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดีแบงเปน 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 : สิทธิของผูถือหุน หลักการ ผูถือหุนมีสิทธิในความเปนเจาของโดยควบคุมบริษัทผานการแตงตั้งคณะกรรมการใหทำหนาที่แทนตนและมี สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของบริษัท บริษัทจึงสงเสริมใหผูถือหุนไดใชสิทธิของตน แนวปฏิบัติของบริษัท บริษัทฯ ใหความสำคัญและตระหนักตอสิทธิของผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน เชน สิทธิในการซื้อ ขาย โอน หลักทรัพยที่ตนถืออยู สิทธิในการที่จะไดรับสวนแบงผลกำไรจากบริษัท สิทธิตางๆ ในการประชุมผูถือหุน สิทธิใน การแสดงความคิดเห็น สิทธิในการรวมตัดสินใจในเรื่องสำคัญของบริษัท เชน การจัดสรรเงินปนผล การเลือกตั้ง หรือถอดถอนกรรมการ การอนุมัติธุรกรรมที่สำคัญและมีผลตอทิศทางในการดำเนินธุรกิจของบริษัท การแกไข หนังสือบริคณฑสนธิ ขอบังคับของบริษัท เปนตน นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายในการดำเนินการในเรื่องตางๆ ที่เปน การสงเสริมและอำนวยความสะดวกในการใชสิทธิของผูถือหุน ดังนี้

36

 Annual Report 2010


1. คณะกรรมการบริษัท กำหนดใหมีการจัดสงหนังสือนัดประชุมผูถือหุนพรอมขอมูลประกอบการประชุม ตามวาระตางๆ สิทธิของผูถือหุนในการเขาประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผูถือหุนใหผูถือหุน ทราบลวงหนาตามกฎหมายที่เกี่ยวของ หรือตามที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด และเผยแพรขอมูลดังกลาวผาน เว็บไซตของบริษัทลวงหนากอนการจัดสงเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการ ประชุมลวงหนาอยางเพียงพอกอนไดรับขอมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษัท 2. ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทจะเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถมอบ ฉันทะใหกรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เขารวมประชุมแทนตนได โดยใชหนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่ง แบบใดที่บริษัทไดจัดสงไปพรอมหนังสือนัดประชุม 3. กอนการประชุม บริษัทจะเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถสงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ขอซักถามได ลวงหนากอนวันประชุม 4. ในการประชุม บริษทั จะจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและจะเปดโอกาสใหผถู อื หุน แสดงความคิดเห็น ขอเสนอ แนะ หรือตัง้ คำถามในวาระตางๆ อยางอิสระ กอนการลงมติในวาระใดๆ ทัง้ นีใ้ นการประชุมผูถ อื หุน จะมี กรรมการ ผูบริหาร และบุคคลที่เกี่ยวของเขารวมประชุมเพื่อตอบคำถามในที่ประชุม รวมทั้งจะมีการ บันทึกประเด็นซักถามและขอคิดเห็นทีส่ ำคัญไวในรายงานการประชุมเพือ่ ใหผถู อื หุน สามารถตรวจสอบได

หมวดที่ 2 : การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน หลักการ ผูถือหุนทุกราย ทั้งผูถือหุนที่เปนผูบริหารและผูถือหุนที่ไมเปนผูบริหาร รวมทั้งผูถือหุนตางชาติ ตองไดรับ การปฏิบัติที่เทาเทียมกันและเปนธรรม ผูถือหุนสวนนอยที่ถูกละเมิดสิทธิตองมีโอกาสไดรับการชดเชย แนวปฏิบัติของบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายการคุมครองสิทธิและปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน โดยเฉพาะ กับผูถือหุนสวนนอย ดังนี้ 1. เปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุมกอนวันประชุม 2. เปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขาดำรงตำแหนงกรรมการ 3. กำหนดใหกรรมการอิสระเปนผูมีหนาที่ดูแลผูถือหุนสวนนอย โดยผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอแนะ แสดงความคิ ด เห็ น เป น ข อ ร อ งเรี ย นไปยั ง กรรมการอิ ส ระ โดยกรรมการอิ ส ระจะเป น ผู พิ จ ารณา ดำเนินการใหเหมาะสมในแตละเรื่อง 4. ไมเพิ่มวาระการประชุมที่ไมแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนาโดยไมจำเปน โดยเฉพาะวาระที่มีความสำคัญ ที่ผูถือหุนตองใชเวลาในการศึกษาขอมูลกอนการตัดสินใจ สำหรับการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในนั้น บริษัทไดกำหนดมาตรการปองกันการใชขอมูลภายในโดย มิชอบ (Insider Trading) ของบุคคลที่เกี่ยวของซึ่งรวมถึงกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษัท (รวม ทั้งคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว) ที่เกี่ยวของกับขอมูลดังกลาว มิใหเปดเผยขอมูล ภายในแกบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ และไมแสวงหาผลประโยชนใหตนเองและผูที่เกี่ยวของ จากตำแหนงหนาที่และขอมูลอันเปนความลับของบริษัท ดังตอไปนี้



Annual Report 2010

37


1. หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร หรือหนวยงานที่ไดรับทราบขอมูลภายในเปดเผยขอมูลภายในแกบุคคล ภายนอกหรือบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ และซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวงหนึ่งเดือนกอนที่ งบการเงินของบริษัทจะเผยแพรตอสาธารณชน 2. กำหนดแนวทางในการเก็บรักษาและปองกันการใชขอมูลภายในเปนลายลักษณอักษร และแจงแนวทาง ดังกลาวใหทุกคนในองคกรถือปฏิบัติ 3. กำหนดให ก รรมการและผู บ ริ ห ารรายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลั ก ทรั พ ย ต อ สำนั ก งานคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ทั้งนี้ การซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยของบริษัท กรรมการและผูบริหารของบริษัทจะตองรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสำนักงานคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ( ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ภายใน 3 วันทำการ หลังจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน กรรมการและผูบริหารจะตองสงสำเนา รายงานดังกลาวจำนวน 1 ชุดใหแกบริษัท เพื่อเก็บไวเปนหลักฐาน

หมวดที่ 3 : บทบาทของผูมีสวนไดเสีย หลักการ ผูมีสวนไดเสียควรไดรับการดูแลจากบริษัทตามสิทธิที่มีตามกฎหมายที่เกี่ยวของ คณะกรรมการควร พิจารณาใหมีกระบวนการสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางบริษัทกับผูมีสวนไดเสียในการสรางความมั่งคั่ง ความ มั่นคงทางการเงินและความยั่งยืนของกิจการ แนวปฏิบัติของบริษัท คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงการสนับสนุนจากผูมีสวนไดเสียตางๆ ซึ่งจะสรางความสามารถในการ แขงขัน และสรางกำไรใหกบั บริษทั ซึง่ ถือวาเปนการสรางความสำเร็จในระยะยาวของบริษทั ได โดยใหความสำคัญตอ สิทธิของผูม สี ว นไดเสียทุกกลุม ไมวา จะเปนผูม สี ว นไดเสียภายใน ไดแก พนักงาน และผูบ ริหารของบริษทั หรือผูม สี ว น ไดเสียภายนอก ไดแก ลูกคา คูค า คูแ ขง เจาหนี้ ภาครัฐ ชุมชน และหนวยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ ดังตอไปนี้ ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดำเนินธุรกิจเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูถือ หุน โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาของบริษัทในระยะยาว ดวยผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่อง รวมทั้งการ ดำเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได บริษัทตระหนักถึงความเสี่ยงในการดำเนิน ธุรกิจ และทบทวน มาตรการบรรเทาความเสี่ยงเปนประจำ ลูกคา : บริษัทมีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจในระดับสูงแกลูกคา และสงเสริมความสัมพันธบน พื้นฐานของผลประโยชนรวมกัน โดยการเพิ่มคุณคาใหกับสินคาและบริการของบริษัท และพรอมจะดำเนินการกับ ขอรองเรียนของลูกคาทันทีทไี่ ดรบั แจง โดยกำหนดไวในจรรยาบรรณของบริษทั นอกจากนีบ้ ริษทั มีความรับผิดชอบตอ ลูกคาที่จะไดรับผลิตภัณฑและบริการที่ดีมีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม มีการเปดเผยขาวสารขอมูลเกี่ยวกับ สินคาและบริการอยางครบถวนถูกตอง รวมทั้งใหคำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการนำสินคามาใชอยางมีประสิทธิภาพ บริษัทยังไดรวมกับลูกคาหาวิธีการแกไขปญหาอยางเต็มความสามารถเพื่อลดผลกระทบตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับ ลูกคาใหมากที่สุด พรอมทั้งจัดทำการสำรวจความพึงพอใจของลูกคาอยางสม่ำเสมอเพื่อสนับสนุนความรวมมือกับ ลูกคาในการพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงทางธุรกิจที่ยั่งยืน

38

 Annual Report 2010


คูแขง : บริษัทฯ สนับสนุนและสงเสริมนโยบายการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรม ประพฤติตามกรอบ กติกา การแขงขันที่ดี มีจรรยาบรรณ และอยูในกรอบของกฎหมาย เจาหนี้ : บริษัทปฏิบัติตามเงื่อนไขขอกำหนดของสัญญาและพันธะทางการเงินตอเจาหนี้อยางเครงครัด ถูกตองและครบถวน พนักงาน : บริษัทฯ สงเสริมและพัฒนาความสามารถของพนักงานใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานสูงสุด เริ่มตั้งแตการจัดใหมีสภาพการจางงานที่ยุติธรรม และจัดใหมีสภาพแวดลอมของการทำงานที่ดีและปลอดภัย ภาครัฐ : บริษัทฯ ใหความสำคัญตอการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ อยางเครงครัด ชุมชน : บริษัทฯ ใหความสำคัญอยางยิ่งในเรื่องสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย และความรับผิดชอบตอ ชุมชน โดยจัดใหมีการดูแลดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพที่สุด พรอมทั้งสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชน และทองถิ่นที่บริษัทมีการดำเนินธุรกิจ นอกจากนี้บริษัทยังไดกำหนดนโยบายทางดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมโดยใหความสำคัญในการปองกันอุบัติเหตุที่เปนผลเนื่องจากกิจกรรม ผลิตภัณฑและ บริการของบริษัท และรวมถึงการจำกัดความรุนแรงและปองกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทวางแผนการจัดการ ภาวะเหตุการฉุกเฉินอยางมีประสิทธิภาพโดยรวมมือกับหนวยงานราชการและชุมชนทองถิ่น ซึ่งแผนการดังกลาว ไดรับการทบทวนและมีการฝกซอมอยางสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ในเว็บไซตของบริษัทไดระบุขอมูลผูรับผิดชอบและชองทางการติดตอสื่อสารกับบริษัทอยาง ครบถวน เพื่อเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสีย อาทิ ผูถือหุน ลูกคา และชุมชนสามารถติดตอบริษัทเพื่อเสนอขอคิดเห็น ขอซักถาม หรือขอเสนอแนะตางๆ

หมวดที่ 4 : การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส หลักการ คณะกรรมการควรดูแลใหบริษัทเปดเผยขอมูลสำคัญที่เกี่ยวของกับบริษัท ทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูลที่ มิใชขอมูลทางการเงินอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางที่เขาถึงขอมูลไดงาย มีความเทาเทียม กันและนาเชื่อถือ แนวปฏิบัติของบริษัท การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. มีนโยบายในเรื่องการเปดเผยสารสนเทศของบริษัทใหถูกตอง ครบถวน ตรงตอความเปนจริง เชื่อถือได สม่ำเสมอ และทันเวลา ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจำป และเว็บไซต (Website) ของบริษัท 2. คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหกรรมการผูจัดการ และเลขานุการบริษัท หรือบุคคลที่กรรมการ ผูจัดการไดมอบหมาย ทำหนาที่ติดตอสื่อสารกับบุคคลทั่วไปในสวนของงานดานนักลงทุนสัมพันธ อาทิ ผูถือหุน สถาบันทางการเงิน และนักวิเคราะหหลักทรัพยและมีหนวยงานประชาสัมพันธ/ การตลาด ทำหนาที่ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหกับนักลงทุน พนักงาน ผูที่เกี่ยวของและ สาธารณชนทั่วไป



Annual Report 2010

39


3. คณะกรรมการบริษัทกำหนดใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูสอบทานคุณภาพของรายงานทาง การเงินและระบบควบคุมภายใน รวมถึงการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงินและรายงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ 4. คณะกรรมการบริษัทจัดทำรายงานการประเมินฐานะและแนวโนมของบริษัท ซึ่งเปนการสรุปประเด็น สำคัญอยางกระชับและเขาใจงายไวในรายงานประจำป 5. คณะกรรมการและผูบริหารที่ตองมีการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของบริษัท ตอง ทำการรายงานตามกฎเกณฑของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยของบริษัทฯ ตามเกณฑของคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 6. คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการเปดเผยการทำหนาที่ของกรรมการและ/หรือกรรมการเฉพาะเรื่อง ใน รอบปที่ผานมา เชน จำนวนครั้งการประชุม จำนวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมและ ความเห็นจากการทำหนาที่ไวในรายงานประจำป 7. คณะกรรมการบริษัท จัดใหมีการเปดเผยนโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี และผลของการ ปฎิบัติตามนโยบาย 8. คณะกรรมการบริษทั จัดใหมกี ารเปดเผยนโยบายการจายคาตอบแทนแกกรรมการและ ผูบ ริหารระดับสูง ที่สะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของแตละคน รวมทั้งรูปแบบหรือลักษณะของคาตอบแทน ดวย ทั้งนี้ จำนวนเงินคาตอบแทนที่เปดเผย ควรรวมถึงคาตอบแทนที่กรรมการแตละทานไดรับจาก การเปนกรรมการของบริษัทยอยดวย

การบริหารความเสี่ยง 1. คณะกรรมการบริษัท กำหนดใหมีการจัดตั้งหนวยงานบริหารความเสี่ยงของบริษัท ในระดับจัดการ เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบและดูแลการบริหารความเสี่ยงในเบื้องตน เชน ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks) ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Operation Risks) ความเสี่ยงในธุรกิจ (Business Risks) หรือความเสี่ยงในเหตุการณ (Event Risks) เปนตน โดยคณะทำงานบริหารความเสี่ยงดังกลาว จะตอง รายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพื่อพิจารณากลั่นกรองกอนนำเสนอคณะกรรมการ บริษัทตอไป 2. คณะทำงานบริหารความเสี่ยงของบริษัท จะตองจัดทำการวิเคราะหประเมินความเสี่ยงภายในและภาย นอกที่อาจจะเกิดขึ้นและมีแนวโนมสงผลกระทบตอบริษัท และจะตองมีการจัดทำรายงานประเมิน ความเสี่ยง (Risk Management Report) เพื่อรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบ

40

 Annual Report 2010


หมวดที่ 5 : ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ หลักการ คณะกรรมการมีบทบาทสำคัญในการกำกับดูแลกิจการเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท คณะกรรมการมี ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาที่ตอผูถือหุนและเปนอิสระจากฝายจัดการแนวปฏิบัติของบริษัท

1. โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณที่สามารถเอื้อ ประโยชนใหกับบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบาย เปาหมาย แผนธุรกิจ และงบ ประมาณของบริษัท ตลอดจนกำกับดูแลใหฝายบริหารดำเนินการใหเปนไปตามนโยบายที่ไดรับมอบหมายอยางมี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูใหความเห็นชอบและอนุมัติแตงตั้งคณะกรรมการ 2. คณะกรรมการมีจำนวนไมนอยกวา 5 คน ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 คน ซึ่งเกิน 1 ใน 3 ของ จำนวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่งจะทำใหเกิดการถวงดุลในการออกเสียงในการพิจารณาเรื่องตางๆ อยาง เหมาะสม 3. ประธานกรรมการบริษัทมิไดเปนบุคคลเดียวกันกับประธานกรรมการบริหาร เพื่อเปนการแบงแยก หนาที่ในการกำหนดนโยบายภาพรวม และการกำกับดูแล จากการบริหารงานประจำ 4. บริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการ 2 ชุด คือ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร โดย ไดกำหนดขอบเขตและอำนาจในการดำเนินการของคณะอนุกรรมการดังกลาวไวอยางชัดเจน 5. ในการประชุมผูถือหุนสามัญประจำป กรรมการตองออกจากตำแหนงในอัตราสวนหนึ่งในสาม ถา จำนวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งใน สาม โดยกรรมการที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใช วิธีจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนในปตอๆ ไปใหกรรมการคนที่อยูในตำแหนงนานที่สุดเปนผูออกจาก ตำแหนง อยางไรก็ตามกรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจไดรับเลือกเขามาดำรงตำแหนงใหมได 6. บริษัทไดแตงตั้งเลขานุการคณะกรรมการ ซึ่งทำหนาที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมคณะ กรรมการบริษัท และการประชุมผูถือหุน และมีหนาที่ใหคำแนะนำเกี่ยวกับกฎเกณฑตางๆ ที่คณะ กรรมการบริษัทจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสาน งานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ 7. บริษัทไดแตงตั้งเลขานุการบริษัทโดยมีอำนาจหนาที่ในการดำเนินการในนามของบริษัทหรือคณะ กรรมการตามกฎหมาย ดังนี้ 1. จัดทำและเก็บรักษาเอกสาร ดังตอไปนี้ 1. ทะเบียนกรรมการ 2. หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำป ของบริษัท 3. หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผูถือหุน 2. เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหาร 3. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด



Annual Report 2010

41


2. บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีความรับผิดชอบตอผูถือหุนเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท กำหนดนโยบายและทิศทางการ ดำเนินงานของบริษัทรวมทั้งกำกับดูแลใหการบริหารจัดการเปนไปตามเปาหมายและแนวทางเพื่อประโยชนระยะยาว แกผูถือหุนภายใตกรอบขอกำหนดของกฎหมายและจริยธรรมทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็คำนึงถึงผลประโยชนของผูมี สวนไดเสียทุกฝาย โดยมีบทบาท หนาที่และความรับผิดชอบในเรื่องตางๆ ดังนี้ • นโยบายการกำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ จัดใหมีนโยบายการกำกับดูแลกิจการของบริษัทเปนลายลักษณอักษร เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัทไดใหความเห็นชอบนโยบายดังกลาว และไดขอใหมีการจัดทำคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อที่จะ เปนแนวทางแกกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว โดยคณะกรรมการบริษัทจะจัด ใหมีการทบทวนนโยบายดังกลาวเปนประจำทุกป • จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทฯ มีเจตนารมณในการดำเนินธุรกิจของบริษัทอยางโปรงใส มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบตอผูมีสวน ไดเสียตลอดจนสังคมและสิ่งแวดลอม โดยบริษัทไดกำหนดขอพึงปฏิบัติเปนลายลักษณอักษรเพื่อใหคณะกรรมการ บริษัท ผูบริหาร และพนักงาน ยึดถือเปนหลักในการปฏิบัติ ดังนี้ 1. จรรยาบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอผูถือหุน 2. จรรยาบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอลูกคา 3. จรรยาบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอคูคา คูแขงทางการคา และเจาหนี้ 4. จรรยาบบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอพนักงาน 5. จรรยาบรรณวาดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้บริษัทจะประกาศและแจงใหพนักงานทุกคนรับทราบและยึดปฏิบัติอยางเครงครัด • ความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทมีนโยบายในการพิจารณาขจัดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ ดวยความซื่อสัตย สุจริต มีเหตุผลและเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของบริษัทเปนสำคัญ โดยกำหนดใหผูที่มี สวนเกี่ยวของหรือเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณาตองเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียของตนและผูเกี่ยวของให บริษัททราบ และตองไมเขารวมการพิจารณา รวมถึงไมมีอำนาจอนุมัติในรายการดังกลาว บริษัทไดมีนโยบายในการทำรายการเกี่ยวโยง และรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหสอดคลอง กับกฎหมาย ตลอดจนขอบังคับของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้งจะเปดเผย รายการดังกลาวไวในรายงานประจำป และแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (แบบ 56-1) • การควบคุมภายใน บริษัทใหความสำคัญในการจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี โดยบริษัทมีการจัดทำคูมือระเบียบและวิธี ปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษร โดยกำหนดใหมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบ อำนาจการดำเนินการของผู ปฏิบัติงานและผูบริหารในเรื่องตางๆ การดูแลทรัพยสิน การอนุมัติรายการ การบันทึกบัญชีและขอมูลทางการเงิน การแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบ ระหวางกันอยางเหมาะสม

42

 Annual Report 2010


บริษัทไดแตงตั้งนางสาววัลดี สีบุญเรือง บริษัท สอบบัญชี ไอ วีแอล จำกัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบภายในอิสระ เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบภายใน เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมการดำเนิน ธุรกิจที่สำคัญของบริษัทไดดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้สัญญาดังกลาวมีระยะเวลาใน การใหบริการประมาณ 1 ป • การบริหารความเสี่ยง บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญในดานการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมขององคกร โดยบริษัทไดจัดใหมีคณะ ทำงานบริหารความเสี่ยง เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบและดูแลการบริหารความเสี่ยงโดยตรง เชน ความเสี่ยงทาง การเงิน ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงในธุรกิจ เปนตน โดยคณะทำงานบริหารความเสี่ยงจะรายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบเปนรายไตรมาส หรือเมื่อมีเหตุอันสมควร เพื่อพิจารณากลั่นกรองกอนนำเสนอตอคณะ กรรมการบริษัทตอไป

3. การประชุมคณะกรรมการ บริษัทจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการ ดังนี้ • จัดใหมีการประชุมโดยปกติรายไตรมาส และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจำเปน โดย มีการกำหนดวาระที่ชัดเจนลวงหนา และนำสงเอกสารกอนการประชุมลวงหนา 7 วัน เพื่อให คณะกรรมการไดมเี วลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนการประชุม เวนแตกรณีมเี หตุจำเปนเรงดวน • กรรมการมีหนาที่ตองเขาประชุมคณะกรรมการทุกครั้งเวนแตกรณีที่มีเหตุจำเปน โดยมีการ บันทึกรายงานการประชุมและจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับแลวเพื่อใชในการอางอิงและ ตรวจสอบได • ในการพิจารณาเรื่องตางๆ ประธานกรรมการบริษัท ซึ่งทำหนาที่ประธานในที่ประชุมจะเปด โอกาสใหกรรมการแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ โดยในบางวาระอาจมีผูบริหารระดับสูงที่ เกี่ยวของเขารวมประชุมเพื่อใหรายละเอียดขอมูลที่เปนประโยชนเพิ่มเติม รวมทั้งจะไดรับทราบ นโยบายโดยตรงเพื่อใหสามารถนำไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ สนับสนุนใหคณะกรรมการบริษัท และผูบริหารของบริษัทเขารวมสัมมนาหลักสูตรที่เปนประโยชน ตอการปฏิบัติงานและการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง และในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ หรือผูบริหาร บริษัทจะจัดใหมีเอกสารและขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการ หรือผูบริหารใหม รวมถึงการ เขารวมสัมมนาหลักสูตรที่เปนประโยชนแกกรรมการ หรือผูบริหารใหม



Annual Report 2010

43


รายการระหวางกันในชวงที่ผานมา รายการบุคคลที่เกี่ยวโยงค้ำประกันเงินกูใหแกบริษัท บริษัทหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง : ลักษณะความสัมพันธ : ลักษณะรายการ : ความจำเปน/หมายเหตุ

:

นายวรวุฒิ อุนใจ ผูถือหุนใหญ และกรรมการผูจัดการ ค้ำประกันวงเงินเงินกูของบริษัทกับธนาคารพาณิชยแหงหนึ่ง จำนวนรวม 50 ลานบาท โดยไมคดิ คาธรรมเนียมการค้ำประกัน จนกวาจะสิ้นสุดอายุสัญญากู เปนการสนับสนุนสภาพคลองและการดำเนินธุรกิจของบริษัท

ทั้งนี้ ปจจุบันบริษัทไมมีรายการระหวางกันดังกลาวขางตนแลว เนื่องจาก วันที่ 1 กันยายน 2553 บริษัทฯ ไดชำระเงินกูยืมกอนครบกำหนด และไดไถถอนจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสรางบางสวน ซึ่งที่ดินและอาคารสำนักงาน ของบริษัทฯ จำนองเปนหลักประกันวงเงิน 50 ลานบาท กับสถาบันการเงินแหงหนึ่งนั้น กรรมสิทธิ์เปนของ บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน)

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน ในกรณีที่บริษัทเขาทำรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการ ตรวจสอบจะเปนผูพิจารณาความสมเหตุสมผลในการทำรายการดังกลาว โดยยึดตามขอกำหนด ประกาศของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย และ/หรื อ ประกาศของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย และ/หรือตามมาตรฐานการบัญชีทกี่ ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี หลังจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบ จะนำเสนอการพิจารณาตอคณะกรรมการบริษัท และ/หรือผูถือหุนใหพิจารณาอนุมัติรายการตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ผูมีสวนไดเสียจะไมมีสวนรวมในการพิจารณาความสมเหตุสมผลและการพิจารณาอนุมัติรายการ

นโยบายหรือแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต บริษัทไมมีนโยบายในการทำรายการระหวางกันในอนาคต แตหากมีรายการดังกลาว บริษัทจะดำเนินการ ดวยความโปรงใสตามนโยบาย และขั้นตอนการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งรวมถึงการพิจารณาการเขาทำรายการ ระหวางกันอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหเกิดความมัน่ ใจวาบริษทั ไดปฏิบตั ติ ามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ/หรือสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ/หรือสภาวิชาชีพบัญชีเกี่ยวกับการทำ รายการระหวางกัน

44

 Annual Report 2010


คำอธิบายและการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงาน รายได รายไดรวมของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งในชวงป 2552 - 2553 อันเปนผลมาจากการขยายฐานลูกคาตาม แผนการตลาด และจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจ ถึงแมบริษทั ไดรบั ผลกระทบจากสถานการณความไมสงบทางการเมือง ทีม่ กี ารสัง่ ปดวันทำการเพิม่ ขึน้ ในชวงไตรมาส 2/2553 แตจากภาพรวมเศรษฐกิจทีม่ กี ารเติมโต ลูกคากลุม ธุรกิจมีความ ตองการอุปกรณและเครือ่ งใชสำนักงานเพิม่ ขึน้ ทำใหรายไดรวมของบริษทั ในชวงดังกลาวเทากับ 914.16 ลานบาท และ 1,090.65 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ 176.49 ลานบาท ซึง่ คิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 19.31 เมือ่ เทียบกับปกอ น รายไดจากการขายสินคาซึ่งเปนรายไดหลักของบริษัท มีสัดสวนประมาณรอยละ 95.84 ของรายไดรวม โดย ในป 2552 - 2553 รายไดจากการขายสินคาเทากับ 871.16 ลานบาท และ 1,045.23 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 174.07 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราการเติบโตรอยละ 19.98 เมื่อเทียบกับปกอน อันเปนผลมาจากนโยบายในการขยายสวน แบงการตลาดในเชิงรุก จึงทำใหลูกคารูจักและมั่นใจในระบบการสั่งซื้อสินคาผานระบบแค็ตตาล็อกมากขึ้น ประกอบกับบริษัท ยึดมั่นในการใหบริการลูกคาเปนอยางดีและดำรงความสัมพันธที่ดีกับลูกคาเสมอมา รายไดจากการขายสินคาของบริษัท มีลักษณะเปน ฤดูกาล (Seasonal) เนื่องจากรายไดจะขึ้นอยูกับ พฤติกรรมการสั่งซื้อของลูกคา ซึ่งปจจุบันเปนลูกคาองคกรเปนหลัก และจำนวนวันทำการของบริษัท ซึ่งจะอางอิง ตามวันทำการที่ธนาคารแหงประเทศไทยกำหนด หากเดือนใดมีวันทำการนอย จะสงผลตอยอดขายในเดือน ดังกลาว อาทิ เดือนเมษายน และเดือนธันวาคม เปนตน นอกจากนี้รายไดของบริษัท อาจไดรับผลกระทบจาก นโยบายการใชจายของลูกคาที่มีการกระตุนหรือลดการใชจายในบางชวงของป หากพิจารณารายไดจากการขายสินคาในแตละไตรมาส จะพบวารายไดจากการขายจะสูงในไตรมาส 1 และไตรมาส 3 ซึ่งมีวันทำการมาก เมื่อเทียบกับรายไดจากการขายในไตรมาส 2 และไตรมาส 4 ทั้งนี้หากพิจารณาโครงสรางรายไดจากการขายสินคานั้น รายไดจากการขายสวนใหญมาจากการขายสินคา ประเภทผลิตภัณฑคอมพิวเตอร ผลิตภัณฑกระดาษ ผลิตภัณฑแฟม และอุปกรณจัดเก็บ โดยคิดเปนอัตราสวน ประมาณรอยละ 49.07 ของรายไดจากการขายสินคาทั้งหมด เนื่องจากสินคาประเภทดังกลาวมีมูลคาคอนขางสูง เมื่อเทียบกับอุปกรณอื่นๆ และเปนที่ตองการของลูกคาองคกรอยูอยางสม่ำเสมอ ในป 2553 บริษทั ฯ เริม่ ขยายธุรกิจเพือ่ เนนกลุม ลูกคาบุคคล โดยรายไดจากการขายสินคาประเภททีเ่ กีย่ วของ กับชีวติ ประจำวันเพิม่ มากขึน้ คิดเปนอัตราสวนประมาณรอยละ 0.15 - 0.71 ของรายไดจาการขายทัง้ หมด

ตนทุน ตนทุนของบริษัท เพิ่มขึ้นตามรายไดจากการขาย โดยบริษัท มีตนทุนขายในป 2552 - 2553 เทากับ 668.89 ลานบาท และ 803.47 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 134.58 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราเติบโตรอยละ 20.00 เมื่อเทียบกับ ปกอน ทั้งนี้การเพิ่มขึ้นดังกลาวเปนอัตราเดียวกับการขยายตัวของรายไดจากการขาย โดยอัตราสวนตนทุนตอราย ไดจากการขาย ยังคงเทาเดิมคืออัตราสวนรอยละประมาณ 73.80 ของรายไดจากการขาย

คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายในการขายและบริหารในป 2552 - 2553 เทากับ 202.12 ลานบาท และ 235.80 ลานบาท หรือ เพิ่มขึ้น 33.68 ลานบาท เพิ่มขึ้นคิดเปนอัตรารอยละ 16.67 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งนอยกวาการเติบโตของรายได จากการขายสินคา เนื่องจากบริษัทสามารถบริหารการขายและควบคุมคาใชจาย โดยเฉพาะคาขนสงใหมีศักยภาพ 

Annual Report 2010

45


กำไรสุทธิ บริษัทมีกำไรสุทธิในป 2553 เทากับ 34.84 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 8.21 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราการเติบโต รอยละ 30.81 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเทากับ 26.64 ลานบาท

สภาพคลอง เนื่องจากลูกคาของบริษัทสวนใหญเปนลูกคาองคกรที่มีความมั่นคงทางการเงิน สามารถเก็บหนี้ไดคอนขาง เร็วตามกำหนดซึ่งเฉลี่ยมีระยะเวลาในการเรียกเก็บประมาณ 28 - 32 วัน ใกลเคียงกับระยะเวลาในการเก็บสินคาที่ ประมาณ 38 - 44 วัน เนื่องจากบริษัทมีระบบการเก็บสต็อกสินคาไวในระดับที่เหมาะสม ซึ่งจะสั่งซื้อสินคาเมื่อสิน คาในสต็อกต่ำกวาปริมาณที่ไดกำหนด จึงทำใหสินคาไมคางอยูที่คลังสินคานาน ขณะที่บริษัทมีอำนาจในการ ตอรองกับคูคาและมีระยะเวลาในการชำระเงินประมาณ 70 - 82 วันสงผลใหบริษัทมีเงินทุนหมุนเวียนเปนบวก (ซึ่งสะทอนในอัตราสวนทางการเงิน Cash Cycle ติดลบ)

ฐานะการเงิน สินทรัพยรวม สินทรัพยรวมของบริษัท ณ สิ้นป 2552 และ 2553 มีมูลคาเทากับ 356.46 ลานบาทและ 442.66 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 86.20 ลานบาท คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 24.18 ในขณะที่สินทรัพยที่ใชในการดำเนินงาน เชน ลูกหนี้การคาและสินคาคงเหลือเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตาม ขนาดธุรกิจที่มีการขยายตัว โดยลูกหนี้การคาสุทธิ 92.64 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 17.71 ลานบาท ซึ่งคิดเปน อัตราขยายตัวรอยละ 23.64 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเทากับ 74.93 ลานบาท ขณะที่สินคาคงเหลือสุทธิมีมูลคา 83.80 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 2.85 ลานบาท ซึ่งคิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 3.52 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเทากับ 80.95 ลานบาท จากลักษณะธุรกิจของบริษัทที่สามารถบริหารสภาพคลองโดยการเรียกเก็บเงินจากลูกคาในลักษณะเงินสด และการใหสวนลดเพื่อจูงใจใหลูกคาชำระเงินเร็วขึ้น และชองทางการรับชำระเงินที่สะดวกและงายขึ้น ขณะที่บริษัท มีระยะเวลาการชำระหนี้สินคาที่นานกวา อยางไรก็ตามจากความสามารถในการบริหารสภาพคลองภายหลังยาย คลังสินคาและการเสนอขายหุนสามัญใหแกประชาชนทั่วไป สงผลใหบริษัทมีเงินสดและเงินลงทุนระยะสั้นเพิ่มขึ้น เปน 100.42 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 67.77 ลานบาท เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเทากับ 32.65 ลานบาท

46

 Annual Report 2010


ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยของบริษัทที่สำคัญมีดังนี้

ลูกหนี้การคา อายุหนี้ ยังไมถึงกำหนดชำระ คางชำระ 1 – 30 วัน คางชำระ 31 – 60 วัน คางชำระ 61 – 90 วัน คางชำระ 91 – 120 วัน คางชำระมากกวา 120 วัน ลูกหนี้การคา

2551 56.91 9.78 0.31 0.05 0.04 0.06 67.15

2552 66.10 8.35 0.41 0.04 0.03 0.02 74.96

2553 79.06 12.33 1.03 0.20 0.03 0.10 92.74

บริษัทมีลูกหนี้การคาเพิ่มขึ้นตามยอดขาย โดยลูกหนี้การคาสวนใหญของบริษัทเปนลูกคาประเภทบริษัท หางราน องคกร หรือหนวยงานของรัฐบาลที่มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง ซึ่งสามารถชำระคาสินคาไดตรงตาม กำหนดชำระเงิน โดยลูกหนี้การคาที่ยังไมถึงกำหนดชำระคิดเปนสัดสวนรอยละ 84.75 - 88.20 ของลูกหนี้ ทั้งหมด อยางไรก็ดี บริษัทมีนโยบายการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากการเก็บเงินลูกหนี้ไมได โดยตั้งคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญรอยละ 50 ของลูกหนี้การคาคางชำระ 91 - 120 วัน และรอยละ 100 ของลูกหนี้การคาคางชำระ มากกวา 120 วัน ในป 2553 บริษัทมีลูกหนี้การคาสุทธิ 92.64 ลานบาท แบงเปนลูกหนี้การคาที่ยังไมถึงกำหนดชำระ 79.06 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 85.25 ของลูกหนี้ทั้งหมด และลูกหนี้การคาที่คางชำระ 13.68 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 14.75 ของลูกหนี้ทั้งหมด โดยสวนใหญเปนลูกหนี้การคาที่คางชำระไมเกิน 30 วัน ทั้งนี้บริษัทมีคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 0.10 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 0.11 ของลูกหนี้ทั้งหมด

สินคาคงเหลือ ในป 2553 บริษัทมีสินคาคงเหลือสุทธิเพิ่มขึ้นเทากับ 83.80 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 2.85 ลานบาท ซึ่งคิด เปนอัตราขยายตัวรอยละ 3.52 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเทากับ 80.95 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นสอดคลองกับยอดขาย สินคาที่มีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยบริษัทมีระยะเวลาการขายสินคาอยูที่ประมาณ 28 - 32 วัน บริษัทมียอดการ สั่งสินคาจากลูกคาอยางตอเนื่องโดยการใชระบบสั่งซื้อสินคาเมื่อจำนวนสินคาในสตอคต่ำกวาระดับที่กำหนดซึ่ง พัฒนาจากพฤติกรรมการสั่งซื้อสินคาของลูกคาในอดีต ทำใหบริษัทสตอคสินคาไวในปริมาณที่เหมาะสมและบริหาร สินคาคงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สินคาคงเหลือในชวงปลายปจะมีจำนวนมากกวาในชวงอื่นของป เพราะบริษัทจะทำการซื้อสินคาใน ชวงปลายป เพื่อเตรียมการสำหรับยอดสั่งซื้อจากลูกคาในชวงตนปซึ่งจะมียอดสั่งซื้อตามแค็ตตาล็อกสำหรับปถัดไป ที่คอนขางสูงตามพฤติกรรมการสั่งซื้อของลูกคา



Annual Report 2010

47


สินทรัพยหมุนเวียนอื่น บริษทั มีสนิ ทรัพยหมุนเวียนอืน่ เทากับ 7.61 ลานบาท และ 8.44 ลานบาทในป 2552 - 2553 สินทรัพยดงั กลาว ประกอบดวย รายไดคา งรับ คาใชจา ยจายลวงหนา เงินมัดจำ และอืน่ ๆ โดยในป 2553 สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีรายไดสง เสริมการขายซึง่ จะทยอยรับในปถดั ไป

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ในป 2553 รายการทีด่ นิ อาคารและอุปกรณของบริษทั ไดมกี ารซือ้ เพิม่ เทากับ 16.46 ลานบาท เนือ่ งจากบริษทั ไดมกี ารเปลีย่ นและเพิม่ เครือ่ งใชสำนักงานบางสวน (คอมพิวเตอร) ระบบ Call Center ทีล่ า สมัย และยานพาหนะ เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจ โดยที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิเทากับ 151.15 ลานบาท ณ สิ้นป 2552 และ146.11 ลานบาท ณ สิน้ ป 2553

หนี้สิน ในชวงที่ผานมาบริษัทมีแหลงเงินทุนมาจากหนี้สินเพื่อสนับสนุนธุรกิจเปนหลัก โดยหนี้สินรวมของบริษัทฯ เทากับ 254.52 ลานบาท ณ สิ้นป 2552 และ 221.33 ลานบาท ณ สิ้นป 2553 ซึ่งลดลง 33.19 ลานบาท เนื่องมา จากบริษัทฯไดชำระเงินกูยืมระยะยาวกอนครบกำหนดทั้งจำนวน และไดไถถอนจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสราง บางสวนทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงของหนี้สินของบริษัทที่สำคัญมีดังนี้

เจาหนี้การคา เจาหนี้การคามีสัดสวนประมาณรอยละ 62.93 - 79.11 ของหนี้สินทั้งหมด โดยเจาหนี้การคาเทากับ 160.18 ลานบาท ณ สิ้นป 2552 และ 175.10 ลานบาท ณ สิ้นป 2553 เติมโตขึ้นตามยอดขาย อยางไรก็ดีในชวง สิ้นปบริษัทจะมีการสั่งซื้อสินคาเพื่อรองรับสินคาตามแค็ตตาล็อกของปถัดไป สงผลใหบริษัทมีเจาหนี้การคาคอนขาง สูงในชวงดังกลาว

เงินกูยืมสถาบันการเงิน ในป 2553 บริษัทไดมีการชำระเงินกูยืมระยะยาวกอนครบกำหนดทั้งจำนวนพรอมทั้งไดไถถอนจำนอง ที่ดินและสิ่งปลูกสรางบางสวน

คาใชจายคางจาย บริษัทมีคาใชจายคางจายเทากับ 17.31 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 3.94 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 29.47 คาใชจายคางจายสูงขึ้นจากโบนัสคางจายป 2553 จำนวน 3.34 ลานบาท อยางไรก็ดีคาใชจายคางจายประกอบ ดวย คาสาธารณูปโภคคางจาย คาสงเสริมการขายคางจาย คาคอมมิชชั่นคางจาย โบนัสคางจาย เปนตน

หนี้สินหมุนเวียนอื่น บริษัทมีหนี้สินหมุนเวียนอื่นเทากับ 13.52 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 4.96 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 57.94 ซึ่งเปนรายการเจาหนี้อื่นๆ จากการซื้อระบบ Call Center ในชวงแรก เปนเงิน 2.77 ลานบาท

48

 Annual Report 2010


ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา จากการที่บริษัท ไดเขาทำสัญญาซื้อขายระบบ Call Center กับบริษัทแหงหนึ่งเปนจำนวนเงิน 6.22 ลานบาทและคาบริการหลังการ ขายปละ 0.86 ลานบาท และบริษัทไดทำสัญญาเชาที่ดิน พื้นที่อาคาร เครื่องใชสำนักงานและคาบริการกับบริษัท และบุคคลหลายแหง ซึ่งแตละสัญญาจะมีอายุตั้งแต 1 ป ถึง 5 ป เปนจำนวนเงิน 25.68 ลานบาท และภาระจาก การใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันเปนวงเงินจำนวน 3.48 ลานบาท

สวนของผูถือหุน จากผลประกอบการทีม่ กี ำไรอยางตอเนือ่ งสงผลใหสว นของผูถ อื หุน ของบริษทั ในชวงป 2551 - 2553 เทากับ 82.59 ลานบาท 101.94 ลานบาท และ 221.33 ลานบาท ตามลำดับ ทั้งนี้จากการที่บริษัทไดเสนอขายหุนสามัญ เพิ่มทุนแกผูบริหารและพนักงานของบริษัทจำนวน 4 ลานหุน ในราคาหุนละ 1.85 บาท และไดเสนอขายหุนใหแก ประชาชนทั่วไปจำนวน 20 ลานหุน มูลคาหุนละ 4.90 บาท และบริษัทไดบันทึกคาใชจายเกี่ยวกับการจำหนายหุน เพิ่มทุนดังกลาวจำนวน 3.82 ลานบาทเปนรายการหักในบัญชีสวนเกินมูลคาหุน



Annual Report 2010

49


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน ซึ่งมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ปจจุบันคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวย รองศาสตราจารย ดร. อังครัตน เพรียบจริยวัฒน เปนประธาน นายสหัส ตรีทิพยบุตร และนางสาวชุลีพร เปยมสมบรูณ เปนกรรมการ โดยมีนางสาววัลดี สีบุญเรือง เปนเลขานุการ ในป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจ สอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท โดยไดมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจำนวน 4 ครั้ง และเปน การรวมประชุมกับผูบริหาร ผูสอบบัญชี และผูตรวจสอบภายในตามความเหมาะสม ซึ่งสรุปผลไดดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป 2553 เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติ โดยไดสอบถามและรับฟงคำชี้แจงจากผูบริหารและผูสอบบัญชีในเรื่องความถูกตอง ครบถวนและความเพียงพอในการเปดเผยขอมูลของงบการเงินแลว คณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นสอดคลองกับผูสอบบัญชีวา งบการเงินดังกลาวมีความถูกตองตามควรในสาระสำคัญตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายใน โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายในของแตละไตรมาสตามแผนงานที่ได รับอนุมัติ ทั้งนี้ไมพบขอบกพรองที่เปนสาระสำคัญ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ มี ระบบการควบคุมภายในที่นาพอใจ มีระบบการติดตามควบคุมดูแลอยางเพียงพอ เหมาะสมและมี ประสิทธิผล สามารถจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได 3. สอบทานการตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยไดทำการ คัดเลือกบริษัทจากภายนอกใหทำหนาที่ผูตรวจสอบภายใน และรายงานผลการตรวจสอบตอคณะ กรรมการตรวจสอบอยางสม่ำเสมอทุกไตรมาส จากการพิจารณาขอบเขตการปฏิบัติงาน หนาที่ ความ เปนอิสระ รวมถึงรายงานตางๆ แลว คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ มีการตรวจสอบ ภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีการติดตามผลแบบตอเนื่อง 4. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามระเบียบและขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงขอผูกพันที่ บริษัทมีไวกับบุคคลภายนอก โดยพิจารณาจากรายงานของฝายบริหารและของผูตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามกฎหมาย ขอกำหนด และขอผูกพันที่ บริษัทฯ มีไวกับบุคคลภายนอกอยางครบถวนแลว 5. สอบทานระบบบริหารความเสี่ยง เพื่อจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได โดยพิจารณาจาก นโยบายการบริหารความเสี่ยง รวมถึงความคืบหนาของการบริหารความเสี่ยง ซึ่งบริษัทฯ อยูระหวาง การพัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ งใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึน้ คณะกรรมการตรวจสอบ รับทราบการดำเนินการดานการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ 6. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันและการเปดเผยขอมูลของรายการดังกลาว เพื่อใหมั่นใจถึงความ โปรงใสของการเขาทำรายการและการเปดเผยขอมูลดังกลาว โดยพิจารณาจากรายงานของผูสอบบัญชี และการแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน พบวาในป 2553 บริษัทฯ ไมมี รายการที่เกี่ยวโยงกัน

50

 Annual Report 2010


7. พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้ ง และค าตอบแทนผูสอบบั ญชี ประจำป 2553 เพื่ อนำเสนอต อ คณะกรรมการบริษทั ใหนำเสนอขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ประจำป 2553 โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ไดพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเปนอิสระ และความเหมาะสมของคาตอบแทนแลว เห็นควรเสนอ แตงตั้งนายวิชัย รุจิตานนท ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4054 หรือนายอธิพงษ อธิพงษสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3500 หรือ นายเสถียร วงศสนันท ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3495 แหงบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำกัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำป 2553 พรอมคาตอบแทนจำนวน 500,000 บาท โดยภาพรวม คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ครบถวนตามที่ไดระบุไวในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ และเปนไปตามหลักการกำกับดูแลที่ดีแลว

วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(รองศาสตราจารย ดร.อังครัตน เพรียบจริยวัฒน) ประธานกรรมการตรวจสอบ



Annual Report 2010

51


งบการเงินและรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

52

 Annual Report 2010


ANS Audit Co., Ltd.

100/72, 22nd Floor, Telephone: (662) 645 0109 100/2 Vongvanij Building B., Fax : (662) 645 0110 Rama 9 Rd., Huaykwang, http://www.ans.co.th Bangkok 10310, Thailand

An Associate of the Crowe Horwath Business Alliance

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนและคณะกรรมการ บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกำไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และงบกระแสเงินสด สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวาง แผนและปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระ สำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เปนจำนวนเงินและการ เปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับ รายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการ แสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยาง เหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้ แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการ ดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) โดย ถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(นายวิชัย รุจิตานนท) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4054 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำกัด กรุงเทพฯ 21 กุมภาพันธ 2554 

Annual Report 2010

53


54

 Annual Report 2010




Annual Report 2010

55


56

 Annual Report 2010




Annual Report 2010

57


58

 Annual Report 2010




Annual Report 2010

59


บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 1. ขอมูลทั่วไป บริษัท ออฟฟศเมท จำกัด (มหาชน) (บริษัทฯ)ไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2537 และไดแปรสภาพบริษัทฯ เปนบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2551 บริษัทไดจดทะเบียนเขาเปนบริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2553 โดยหลักทรัพยทำการซื้อขายในสวนของตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (MAI: Market for Alternative Investment) สำนักงานใหญ ตัง้ อยูเ ลขที่ 24 ซอยออนนุช 66/1 ถนนออนนุช แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวงกรุงเทพมหานคร คลังสินคาตั้งอยูเลขที่ 70 หมูที่ 2 ถนนรวมพัฒนา แขวงลำตอยติ่ง เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร บริษัทฯ ประกอบธุรกิจจัดจำหนายเครื่องเขียน และอุปกรณสำนักงานผานระบบแค็ตตาล็อกโดยรับคำ สั่งซื้อผานระบบ Call-Center และระบบออนไลนผานเว็บไซด (e-Commerce) 2. เกณฑการนำเสนองบการเงิน งบการเงินจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนว ปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชี กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของและจัดทำขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปของประเทศไทย การแสดงรายการในงบการเงินไดทำขึ้นเพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นเปนภาษาไทย ตามระเบียบขอบังคับของกฎหมายไทย ซึ่งแปลเปนภาษาอังกฤษ เพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงิน ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย การประมาณและขอสมมติฐานมาจากประสบการณในอดีตและปจจัย ตางๆ ที่ผูบริหารมีความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลภายใตสภาวการณแวดลอม ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริง จากการตั้งขอสมมติฐานตอมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินอาจแตกตางไปจากที่ประมาณ ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทำงบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางสม่ำเสมอ การปรับ ประมาณทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนหากการปรับประมาณ การกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับหรืองวดในอนาคตหากการปรับประมาณการ กระทบทั้งงวดปจจุบันและอนาคต

60

 Annual Report 2010


ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศการจัดเลขระบุมาตรฐานการบัญชีของไทยบางรายการ ดังนี้ เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีเดิม เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 103

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 42

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 106

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 48

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107

เรือ่ ง หนีส้ งสัยจะสูญและหนีส้ ญู การรับรูร ายไดสำหรับธุรกิจ อสังหาริมทรัพย การเปดเผยขอมูลในงบการเงินของ ธนาคารและสถาบันการเงินที่ คลายคลึงกัน การบัญชีสำหรับการปรับโครงสราง หนีท้ มี่ ปี ญ หา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545) การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสาร หนีแ้ ละตราสารทุน การบัญชีสำหรับกิจการทีด่ ำเนิน ธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน การแสดงรายการและการเปดเผย ขอมูลสำหรับเครือ่ งมือทางการเงิน

การประกาศใชมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ทีอ่ อกใหมและปรับปรุงใหม ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีใหใชแมบทการบัญชี มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหมและปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ ก) แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มีผลบังคับใชทันทีในปปจจุบัน ซึ่งฝายบริหารของบริษัทไดประเมินแลวเห็นวา แมบทการบัญชีดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับปปจจุบัน ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผล บังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 รวมจำนวน 28 ฉบับ มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน\ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552)

เรือ่ ง การนำเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญากอสราง 

Annual Report 2010

61


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ การตีความมาตรฐานการรายงานการทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15

เรือ่ ง ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนการกูย มื การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการที่ เกีย่ วของกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมือ่ ออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษทั รวม การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีเ่ งินเฟอ รุนแรง สวนไดเสียในการรวมคา กำไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนีส้ นิ หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ และ สินทรัพยทอี่ าจเกิดขึน้ สินทรัพยไมมตี วั ตน อสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุน การจายโดยใชหนุ เปนเกณฑ การรวมธุรกิจ สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขายและการ ดำเนินงานทีย่ กเลิก การสำรวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร สัญญาการกอสรางอสังหาริมทรัพย

ฝายบริหารของบริษัทฯ เชื่อวามาตรฐานการบัญชีขางตนจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงิน สำหรับปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาว ยกเวนมาตรฐานการบัญชีดังตอไปนี้ที่ฝายบริหารคาดวาจะมี ผลกระทบตองบการเงินในปที่นำมาตรฐานการบัญชีดังกลาวมาถือปฏิบัติ

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ไดรวมขอกำหนดในการรับรูและวัดมูลคาตนทุนผลประโยชนพนักงานหลังออกจาก งานภายใตโครงการผลประโยชนที่กำหนดไว ผลประโยชนระยะยาวอื่น และผลประโยชนเมื่อเลิกจางในระหวางงวด ซึ่งไดมีการใหบริการและกำหนดใหมีขอสมมติตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยเพื่อประเมินภาระผูกพันและ คาใชจาย นอกจากนี้ภาระผูกพันไดถูกประเมินโดยการคิดลดกระแสเงินสดแตละหนวยที่ประมาณการไวเนื่องจาก อาจมีการจายชำระในหลายๆ ปภายหลังจากที่พนักงานไดทำงานให ฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว

62

 Annual Report 2010


ค) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและเปดเผยขอมูล เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีฉบับดังกลาว

3. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ 3.1 การรับรูรายไดและคาใชจาย รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อบริษัทฯ ไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสำคัญของความ เปนเจาของสินคาใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกำกับสินคาโดยไมรวม ภาษีมูลคาเพิ่ม สำหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว รายไดคาบริการ รับรูรายไดเมื่อไดใหบริการแกลูกคาแลว รายได ค า โฆษณาในสิ่ ง พิ ม พ แ ค็ ต ตาล็ อ ก (รายป ) รั บ รู เ ป น รายได โ ดยเฉลี่ ย ในแต ล ะงวดตามปริ ม าณ แค็ตตาล็อกที่แจกภายใน 1 ป และคาใชจายที่เกี่ยวของรับรูเปนคาใชจายดวยอัตราเดียวกัน 3.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดหมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกำหนดจายคืนภายในระยะ เวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา และไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 3.3 เงินลงทุน เงินลงทุนในกองทุนเปด ซึ่งจัดประเภทเปนหลักทรัพยเพื่อคาแสดงในงบดุลดวยมูลคายุติธรรม คำนวณ โดยใชมูลคาทรัพยสินสุทธิของกองทุน ณ วันที่ในงบดุล บริษัทบันทึกกำไรขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรมในงบกำไรขาดทุน 3.4 ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคาแสดงตามมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัทฯตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับผลขาดทุนโดย ประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและ การวิเคราะหอายุหนี้ 3.5 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ย) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา



Annual Report 2010

63


3.6 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณและคาเสื่อมราคา ที่ดิน อาคาร และอุปกรณแสดงตามราคาทุนหลังหักคาเสื่อมราคาสะสม และขาดทุนจากการดอยคา ของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคำนวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใช งานโดยประมาณดังตอไปนี้ : จำนวนป คลังสินคา 20 อาคารสำนักงาน 20 เครื่องตกแตงสำนักงาน 5 เครื่องใชสำนักงาน 3, 5, 7 ยานพาหนะ 5 ลานจอดรถ 5 ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน คาเสื่อมราคารวมอยูในการคำนวณผลการดำเนินงาน 3.7 ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมที่เกิดจากเงินกูยืมที่นำไปใชในการจัดหาหรือกอสรางสินทรัพยที่ตองใชระยะเวลานานใน การแปลงสภาพใหพรอมที่จะใชหรือขาย ไดนำไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะ อยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตามประสงค ตนทุนการกูยืมอื่นๆถือเปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบี้ยและตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมของกิจการ 3.8 สินทรัพยไมมีตัวตน บริษัทฯ ตัดจำหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจำกัดอยางมีระบบตลอดอายุการให ประโยชนของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพย นั้นเกิดการดอยคา บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหนายและวิธีการตัดจำหนายของสินทรัพย ไมมีตัวตนดังกลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอย คาตัดจำหนายรับรูเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใชประโยชนจำกัดมีอายุการใชประโยชนดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร 10 ป 3.9 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอน ไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคา ยุติธรรมของสินทรัพยที่เชาหรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมลู คา ใดจะต่ำกวา ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวน ดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชา การเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา การเชาสินทรัพยซึ่งความเสี่ยง และกรรมสิทธิ์ของสินทรัพยที่เชาเปนของผูใหเชาไดจัดประเภทเปนการ เชาดำเนินงาน คาเชาที่จายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานไดบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเชา

64

 Annual Report 2010


3.10 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลก เปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการ คำนวณผลการดำเนินงาน 3.11 ผลประโยชนพนักงาน บริษัทฯ รับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ 3.12 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ จะบันทึกประมาณการหนี้สินไวในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิด ขึ้นแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้อง ภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯ สามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 3.13 ภาษีเงินได ภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับป คำนวณจากกำไรสุทธิสำหรับปหลังจากปรับปรุงดวยคาใชจายตางๆ ที่ ไมอนุญาตใหถือเปนรายจายหรือรายไดที่ไดรับการยกเวนในการคำนวณภาษีคูณดวยอัตราภาษีเงินได ที่ประกาศตามประมวลรัษฎากร 3.14 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กำไรต อ หุ น ขั้ น พื้ น ฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุ ท ธิ ส ำหรั บ ป ด ว ยจำนวนหุ น สามั ญ ถั ว เฉลี่ ย ถ ว ง น้ำหนักที่ออกจำหนายและชำระแลวในระหวางป 3.15 เครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯ ไมมีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบดุลที่เปนตราสารอนุพันธเพื่อ การเก็งกำไรหรือเพื่อการคา

4. การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารจำเปนตองใชดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอการใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอ จำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจ แตกตางไปจากจำนวนทีป่ ระมาณการไว การใชดลุ ยพินจิ และการประมาณการทีส่ ำคัญมีดงั นี้ 4.1 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจำเปนตองใชดุลยพินิจในการประมาณการ ผลขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตละราย โดยคำนึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของ หนี้ที่คงคางและสภาวะเศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น เปนตน



Annual Report 2010

65


4.2 คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ ในการประมาณคาเผือ่ การลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือฝายบริหารไดใชดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผล ขาดทุนทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากสินคาคงเหลือนัน้ โดยคาเผือ่ การลดลงของมูลคาสุทธิทจี่ ะไดรบั พิจารณาจาก ราคาทีค่ าดวาจะขายไดตามปกติของธุรกิจหักดวยคาใชจา ยในการขายสินคานัน้ และคาเผือ่ สำหรับสินคา เกาลาสมัย เคลือ่ นไหวชาหรือเสือ่ มคุณภาพพิจารณาจากอายุโดยประมาณของสินคาแตละชนิด 4.3 สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดำเนินงานหรือสัญญาเชาทางการเงิน ฝายบริหาร ไดใชดลุ ยพินจิ ในการประเมินเงือ่ นไขและรายละเอียดของสัญญาเพือ่ พิจารณาวาบริษทั ฯ ไดโอนหรือรับโอน ความเสีย่ งและผลประโยชนในสินทรัพยทเี่ ชาดังกลาวแลวหรือไม 4.4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคำนวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจำเปนตองทำการประมาณอายุการ ใชงานและมูลคาซากเมื่อเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใชงาน และ มูลคาซากใหมหากมีการเปลีย่ นแปลงเชนนัน้ เกิดขึน้ นอกจากนี้ฝายบริหารจำเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ำกวามูลคาตามบัญชีของ สินทรัพยนนั้ ในการนีฝ้ า ยบริหารจำเปนตองใชดลุ ยพินจิ ทีเ่ กีย่ วของกับการคาดการณรายไดและคาใชจา ยใน อนาคตซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับสินทรัพยนนั้ 4.5 คาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยมและสินทรัพยไมมตี วั ตน ณ วันทีไ่ ดมา ตลอดจนการทดสอบ การดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจำเปนตองประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจาก สินทรัพย หรือ หนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการ คำนวณหามูลคาปจจุบนั ของกระแสเงินสดนัน้ ๆ

66

 Annual Report 2010


5. ลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนีก้ ารคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย:

6. สินคาคงเหลือ - สุทธิ สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย:

7. สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย:



Annual Report 2010

67


8. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบดวย:

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทีด่ นิ และอาคารสำนักงานของบริษทั ฯ จำนองเปนหลักประกันวงเงินสินเชือ่ ตางๆ ทีม่ กี ับ สถาบันการเงินแหงหนึ่ง มูลคาจำนองจำนวน 50 ลานบาท (หมายเหตุขอ 18) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่ดิน คลังสินคาและอาคารสำนักงานของบริษัทฯ จำนองเปนหลักประกันวงเงินสินเชื่อ ตางๆ ที่มีกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง มูลคาจำนองจำนวน 200 ลานบาท (หมายเหตุขอ 18) คาเสื่อมราคาสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จำนวน 20.44 ลานบาท และ 20.51 ลานบาท ตามลำดับ ไดบันทึกไวในงบกำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั ฯ มีอปุ กรณ และยานพาหนะ ซึง่ หักคาเสือ่ มราคาทัง้ จำนวนแลวแตยงั คง ใชงานอยู จำนวน 30.68 ลานบาท และ 21.70 ลานบาท ตามลำดับ

68

 Annual Report 2010


9. สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบดวย:

10. หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน - สุทธิ หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย:



Annual Report 2010

69


11. เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย:

เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2550 บริษัทฯ ไดทำสัญญากูยืมเงินระยะยาวจำนวน 90 ลานบาทเพื่อใชในการซื้อที่ดิน และสรางสิ่งปลูกสรางจากสถาบันการเงินแหงหนึ่ง เงินกูยืมระยะยาวนี้มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR - 1.5% ตอ ปในสองปแรก ตั้งแตปที่ 3 เปนตนไปมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR ตอป โดยมีกำหนดการชำระคืนเงินตนและ ดอกเบี้ยทุกเดือน เดือนละ 1.63 ลานบาท โดยเริ่มจายชำระเฉพาะดอกเบี้ยตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2550 และ เริ่มจายเงินตนและดอกเบี้ยตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2551 เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2550 บริษัทฯ ไดทำสัญญากูยืมเงินระยะยาวจำนวน 10 ลานบาทเพื่อใชหมุนเวียนใน กิจการจากสถาบันการเงินแหงหนึ่ง เงินกูยืมนี้มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR - 1% ตอปในสองปแรก ตั้งแตปท่ี 3 เปนตนไปมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR ตอป โดยมีกำหนดการชำระคืนเงินตนและดอกเบี้ยทุกเดือน เดือนละ 0.32 ลานบาท โดยเริ่มจายชำระตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินกูยมื ระยะยาวดังกลาวค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสรางของ บริษัทฯ (หมายเหตุขอ 8) และค้ำประกันโดยกรรมการของบริษัทฯ ทานหนึ่งและบริษัทฯตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ที่สำคัญบางประการที่กำหนดไว ตลอดอายุสัญญาเงินกู เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2553 บริษัทฯ ไดชำระเงินกูยืม ระยะยาวกอนครบกำหนดทั้งจำนวนแลวและไดไถถอนจำนองที่ดินและสิ่งปลูกสรางบางสวน

12. ทุนเรือนหุน การเสนอขายหุนสามัญใหแกประชาชนทั่วไป เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2553 บริษัทไดเสนอขายหุนใหแกประชาชนทั่วไป จำนวน 20 ลานหุน มูลคาหุนละ 4.90 บาท และบริษัทไดบันทึกคาใชจายเกี่ยวกับการจำหนายหุนเพิ่มทุนดังกลาวจำนวนประมาณ 3.82 ลานบาทเปนรายการหักในบัญชีสวนเกินมูลคาหุน โดยบริษัทไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนที่ชำระกับกระทรวง พาณิชยแลวเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 การเสนอขายหุนสามัญใหแกผูบริหารและพนักงาน (ESOP) ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 ไดมีมติอนุมัติจัดสรรหุนสามัญ เพิ่มทุนเพื่อเสนอขายใหแกผูบริหารและพนักงานของบริษัทฯ จำนวน 4 ลานหุนในราคาหุนละ 1.85 บาท เปน จำนวนเงิน 7.4 ลานบาทเพื่อเปนการตอบแทนการทำงาน โดยใชราคาในการเสนอขายไมต่ำกวามูลคาหุนตาม บัญชี (Book Value) ตามงบการเงินกอนตรวจสอบหรือสอบทานโดยผูสอบบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553

70

 Annual Report 2010


13. ทุนสำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ จะตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปสวนหนึ่งไวเปน ทุนสำรองไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสำรอง นี้จะมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน

14. การจายเงินปนผล ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2553 ไดอนุมัติใหบริษัทฯ จาย เงินปนผลระหวางกาลจากผลการดำเนินงานงวด 6 เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2553 เปนจำนวนเงิน 6.40 ลานบาท จัดสรรใหจำนวน 80,000,000 หุน อัตราหุนละ 0.08 บาทโดยจายเงินปนผลดังกลาวใหแกผูถือหุนใน วันที่ 9 กันยายน 2553 แลว ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 ไดอนุมัติใหบริษัทฯ จายเงินปนผล จากผลการดำเนินงานประจำป 2552 เปนจำนวนเงิน 10.64 ลานบาท จัดสรรใหจำนวน 56,000,000 หุน อัตรา หุนละ 0.19 บาทโดยจายเงินปนผลดังกลาวใหแกผูถือหุนในวันที่ 23 มีนาคม 2553 แลว ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2552 ไดอนุมัติใหบริษัทฯ จายเงินปนผล จากผลการดำเนินงานประจำป 2551 เปนจำนวนเงิน 7.28 ลานบาท จัดสรรใหจำนวน 56,000,000 หุน อัตรา หุนละ 0.13 บาท และจัดสรรทุนสำรองตามกฎหมายเปนจำนวนเงิน 0.87 ลานบาท โดยจายเงินปนผลดังกลาว ใหแกผูถือหุนในวันที่ 21 เมษายน 2552 แลว

15. คาใชจายตามลักษณะ บริษัทฯ มีคาใชจายตามลักษณะที่มีสาระสำคัญสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ดังนี้



Annual Report 2010

71


16. การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงดานสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา บริษัทฯ มีนโยบายปองกันความเสี่ยงดานสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา โดยบริษัทฯ มีนโยบายการให สินเชื่อที่ระมัดระวังและการกำหนดวิธีการชำระเงินจากการขายสินคา ดังนั้น บริษัทฯ จึงคาดวาจะไมไดรับ ความเสียหายจากการเรียกชำระหนี้จากลูกหนี้เหลานั้นเกินกวาจำนวนที่ไดตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแลว ราคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯ ใชวิธีการและขอสมมุติดังตอไปนี้ ในการประมาณราคายุติธรรมของตราสารทางการเงินเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา มีราคาตามบัญชีซึ่งเทากับราคายุติธรรมโดยประมาณเงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูยืมจากสถาบันการเงินซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยที่ผันแปรได และเจาหนี้การคามีราคาตามบัญชีซึ่งเทากับ ราคายุติธรรมโดยประมาณ ทั้งนี้ฝายบริหารของบริษัทฯ เชื่อวา มูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินดังกลาว จะไมแตกตางอยางเปนสาระสำคัญ กับราคาตามบัญชี ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ นีเ้ กิดขึน้ จากความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ในตลาดในอนาคต ซึ่งจะสงผลกระทบ ตอผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัท บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย เนือ่ งจากมีเงินฝาก เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น บริษัทฯ จึงไมมีความเสี่ยงจาก อัตราดอกเบี้ยที่เปนสาระสำคัญ

17. การเสนอขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน บริษัทฯ ดำเนินกิจการในสวนงานทางธุรกิจเดียวคือการประกอบธุรกิจจัดจำหนายเครื่องเขียน และอุปกรณ สำนักงานผานระบบแค็ตตาล็อกโดยรับคำสั่งซื้อผานระบบ Call-Center และระบบออนไลนผานเว็บไซด (e-Commerce) โดยเปนการขายในประเทศไทย ดังนัน้ รายได กำไร และสินทรัพยทงั้ หมดทีแ่ สดงในงบการเงิน จึงเกีย่ วของกับสวนงานธุรกิจและสวนงานทางภูมศิ าสตรตามทีก่ ลาวไว

18. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา สัญญาตางๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ไดเขาทำสัญญาซื้อขายระบบ Call Center กับบริษัทแหงหนึ่ง โดยมีภาระ ผูกพันในการชำระเงินคาอุปกรณและคาติดตั้งระบบตามเงื่อนไขในสัญญาเปนจำนวนเงินคงเหลือ 6.22 ลาน บาทและคาบริการหลังการขายตลอดระยะเวลาสัญญา 5 ปในอัตราปละ 0.86 ลานบาท

72

 Annual Report 2010


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ ไดทำสัญญาเชาหลายฉบับเพื่อเชาที่ดิน พื้นที่อาคาร เครื่องใช สำนักงาน และคาบริการกับบริษัทหลายแหง ซึ่งแตละสัญญามีระยะเวลา 1 ป ถึง 5 ป โดยมีภาระผูกพันที่จะ ตองจายคาเชาและคาบริการดังนี้ หนังสือค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มีภาระผูกพันจากการใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันเปน จำนวนเงิน 3.48 ลานบาทและ 3.90 ลานบาท ซึ่งค้ำประกันโดยใชเงินฝากสถาบันการเงิน วงเงินสินเชื่อกับสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อตางๆกับสถาบันการเงินสองแหง จำนวนเงินรวม 59.29 ลานบาท บริษัทฯ ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการที่กำหนดไวตลอดอายุสัญญา วงเงินสินเชื่อดังกลาวค้ำ ประกันโดยเงินฝากและการจดจำนองที่ดินและอาคารสำนักงานของบริษัทฯ (หมายเหตุ 8) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีวงเงินสินเชื่อตางๆกับสถาบันการเงินสองแหง จำนวนเงินรวม 178.90 ลานบาท บริษัทฯ ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการที่กำหนดไวตลอดอายุสัญญา วงเงินสินเชื่อดังกลาวค้ำ ประกันโดยเงินฝากและการจดจำนองที่ดิน คลังสินคาและอาคารสำนักงานของบริษัทฯและค้ำประกันโดย กรรมการของบริษัททานหนึ่ง (หมายเหตุ 8 และ 11)

19. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษทั ฯ และพนักงานไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสำรองเลีย้ งชีพตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ และพนักงานจะจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3 และรอยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน ทิสโกจำกัด และจะจายใหกับพนักงานใน กรณีที่ออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั ฯ ไดจา ยเงินสมทบเขากองทุนเปนจำนวนเงินประมาณ 3.28 ลานบาท และ 2.93 ลานบาท ตามลำดับ

20. การอนุมัติงบการเงิน คณะกรรมการของบริษทั ฯ ไดอนุมตั ใิ หออกงบการเงินนีเ้ มือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554



Annual Report 2010

73





Annual Report 2010

75


76

 Annual Report 2010


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.