บร�ษัท พ�เอ็ม โทร�เซน เอเช�ย โฮลดิ�งส จำกัด (มหาชน)
สารบัญ ภาพรวมทางการเงินทีส่ ำ� คัญ ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป................................. สารจากประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ... การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ ำ� คัญ............... คณะกรรมการและผูบ้ ริหาร................................... ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ....................................... นโยบายและความรับผิดชอบต่อสังคม.................. รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ..................... ปัจจัยความเสีย่ ง................................................... รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ.......................... การควบคุมภายในและการบริหารจัดการ ความเสีย่ ง............................................................ จุดเด่นทางการเงิน................................................ โครงสร้างรายได้................................................... ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ........... รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายการทางการเงิน......................................... งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษทั ................ รายการระหว่างกัน............................................... นโยบายการจ่ายเงินปันผล.................................... ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี................................. โครงสร้างการจัดการ............................................. โครงสร้างการถือหุน้ ............................................. การลงทุนในบริษทั ต่างๆ....................................... ข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั .............................................
1. 2.
ภาพรวม ่ �ำคัญ ทางการเงินทีส รายได้รวม
4.
3,311 ล้านบาท
6.
2558
14. 28.
40.
3,311
2557
3,137
0
30. 36.
ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย
42.
349 ล้านบาท
46.
2558
47.
2557
48. 52. 53. 112.
349 375
0
ก�ำไรสุทธิ
233 ล้านบาท
115.
2558
116.
2557
117.
233 283
0
130. 132. 133.
สัดส่วนรายได้ ค่าบริการให้เช่าพื้นที่โรงงานและ จากการด�ำเนินงานอื่น
ค่าบริการให้เช่าพื้นที่โรงงานและ จากการด�ำเนินงานอื่น 2%
2%
2558
2557 ยอดขาย 98%
ยอดขาย 98%
PMTA เข้าจดทะเบียนซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558
ภาพรวมทางการเงินที่ส�ำคัญ
1.
2558
3,259
2557
3,088
2,500
52 49
หน่วย : ล้านบาท
ข้อมูล ทางการเงินโดยสรุป
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป
2.
เปรียบเทียบปีปฏิทิน 2558 และ 2557 (สิน ้ สุด ณ เดือนธันวาคม)
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ :
รายได้จากการขาย รายได้ค่าบริการให้เช่าพื้นที่โรงงาน ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริการ
ก�ำไรสุทธิ
ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้ นฐาน (บาท)
งบแสดงฐานะการเงิน
ส�ำหรับปี (หน่วยล้านบาท)
การเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
2558
2557/1
3,258.5 49.1 2,748.6 25.0 154.2 94.1 233.0
3,088.0 32.1 2,505.6 17.6 178.7 88.4 283.0
5.52 52.96 9.70 42.05 (13.71) 6.45 (17.67)
2.36
3.04
(22.37)
297.2 724.7 642.6 1,961.6 93.3 423.1 1,012.0 1,538.5
259.8 504.1 521.0 1,612.9 219.3 448.5 931.0 1,164.4
14.40 43.76 23.34 21.62 (57.46) (5.66) 8.70 32.13
205.3 (166.5) (1.4)
314.2 (131.9) (123.0)
(34.66) (26.23) 98.86
17% 16% 7% 0.1 (0.1)
24% 23% 9% 0.2 (0.0)
(ณ วันสิ้นรอบบัญชี) :
เงินสดและรายการเที่ยบเท่าเงินสด สินค้าคงเหลือ อาคารและอุปกรณ์
รวมสินทรัพย์
เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
รวมหนี้สิน
ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
ข้อมูลทางการเงินอื่น :
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน อัตราส่วนทางการเงิน :
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%) อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) สัดส่วนหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ครั้ง) สัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ครั้ง) หมายเหตุ
/1
งบการเงินที่ไม่ได้ตรวจสอบ
รายงานประจ�ำปี 2558
1
3.
สารจากประธานกรรมการ และกรรมการผูจ ้ ด ั การ การสนับสนุนจาก ท่านผู้ถือหุ้นจะหลอม รวมกันเป็นพลังที่ ยิง ้ หมดนัน ้ ่ ใหญ่และทัง จะเป็นก�ำลังส�ำคัญที่ จะขับเคลื่อน PMTA และบาคองโคให้ เติบโตอย่างยัง ่ ยืน ตามเป้าหมายทีว่ างไว้ ได้อย่างแน่นอน
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
นายซิกมันต์ สตรอม
ประธานกรรมการ
“2558 ปีแห่งความภาคภูมิใจและ ความท้าทาย”
ปี 2558 นั บ เป็ น ปี ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ และ เป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของ บริษัท พี เ อ็ ม โทรี เซน เอเชี ย โฮลดิ้ ง ส์ จ� ำ กั ด (มหาชน) (“บริษทั ฯ” หรือ “PMTA”) ทีไ่ ด้เข้า จดทะเบียนและเริม่ ซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยอย่างเต็มภาคภูมิในกลุ่ม สินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจปิโตรเคมี และเคมีภณ ั ฑ์เมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ซึ่ง PMTA ถือเป็นหลักทรัพย์ล�ำดับที่สอง ของประเทศไทยที่ เข้ า จดทะเบี ย นในรู ป แบบ Holding Company ที่มีธุรกิจหลัก ในต่ า งประเทศ โดยมี บ ริ ษั ท บาคองโค จ�ำกัด เป็นบริษัทแกนที่ด�ำเนินธุรกิจหลัก ในการผลิตปุ๋ยเคมีและผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อ การเกษตรในประเทศเวียดนาม ถึงแม้ว่าในปี 2558 บริษัทฯ ต้องเผชิญ กั บ ความท้ า ทายทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ และสิ่ ง แวดล้ อ มมากกว่ า หลายปี ที่ ผ่านมา โดยเฉพาะปัจจัยลบและอุปสรรค นานับประการ ไม่วา่ จะเป็นภาวะเศรษฐกิจ 2
กรรมการผู้จัดการ
โลกที่ชะลอตัว และมีความผันผวนอย่าง หนัก ส่งผลให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ตกต�่ำ และสิ น ค้ า ทางการเกษตรปรั บ ตั ว ลดลง รวมทั้ ง ผลกระทบจากภาวะโลกร้ อ น (El Nino effects) ที่ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้ง ในหลายพืน้ ทีท่ วั่ โลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน ประเทศเวียดนามและประเทศในภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง เพาะปลูกส�ำคัญของโลก แต่บริษัทฯ ยัง สามารถรักษาผลการด�ำเนินงานทีแ่ ข็งแกร่ง ไว้ได้ โดยบริษทั ฯ มีรายได้รวมจ�ำนวน 3,311 ล้านบาท และ ก�ำไรสุทธิจำ� นวน 233 ล้านบาท พั ฒนาการที่ส�ำคัญตลอดระยะ เวลา 1 ปี
ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา แม้ว่าภาพรวมของ อุตสาหกรรมจะอยู่ในช่วงยากล�ำบาก แต่ บริษัทฯ ยังคงมีพัฒนาการทางธุรกิจอย่าง มีนัยส�ำคัญ โดยบาคองโคได้เพิ่มก�ำลัง การผลิตปุ๋ยรวมเป็น 450,000 เมตริกตัน ต่อปี พร้อมกับเปิดตัวเทคโนโลยีการผลิต ปุ๋ยปั๊มเม็ดรุ่นใหม่ ส่งผลให้ก�ำลังการผลิต เพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่า นอกจากนี้ บาคองโค
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ยังมีความได้เปรียบจากความสามารถใน การวางแผนการผลิตและจัดจ�ำหน่ายสินค้า ได้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการของ ลูกค้าทีม่ อี ปุ สงค์แตกต่างกันไปตามฤดูกาล ทั้งในประเทศเวียดนามและการส่งออกไป ยังประเทศต่างๆ โดยในปัจจุบัน PMTA มี อั ต ราการส่ ง ออกคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 40.1 ของปริมาณการขายทั้งหมด โดยปริมาณ การส่งออกได้เพิ่มขึ้นจากจ�ำนวน 28,627 เมตริกตัน ในปี 2554 เป็นจ�ำนวน 79,690 เมตริกตัน ในปี 2558 ทั้งนี้ ตลาดส่งออกที่ ส�ำคัญ ได้แก่ ทวีปแอฟริกาตะวันตก และ ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ นอกเหนื อ ไปจากนี้ สายการผลิ ต ใหม่ ยั ง ช่ ว ยให้ บ าคองโค ประสบความส� ำ เร็ จ ในการส่ ง ออกปุ ๋ ย NPK แบบปั๊มเม็ดอัดไอน�้ำไปยังประเทศ ฟิลิปปินส์เพิ่มขึ้นจาก 8,250 เมตริกตันใน ปี 2557 เป็น 36,100 เมตริกตัน ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นกว่า 4 เท่า และบาคองโคยังได้ คิดค้นสูตรปุ๋ยชนิดพิเศษเพื่อการส่งออก ไปยังประเทศฟิลิปปินส์โดยเฉพาะอีกด้วย
แนวโน้มและทิศทางธุรกิจปี 2559
ส� ำ หรั บ ในปี 2559 จากภาวะโลกร้ อ นที่ ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงหลายอย่างต่อ สภาพภูมิอากาศทั่วโลก โดยเฉพาะภาวะ ฝนทิง้ ช่วง และภัยแล้งในแถบภูมภิ าคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ซึ่ ง แน่ น อนว่ า การ เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ มีผลท�ำให้ ช่วงเวลาของการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว เปลี่ยนแปลงไปจากฤดูกาลปกติ และส่ง ผลกระทบไปถึงยอดจ�ำหน่ายปุ๋ยที่อาจจะ มีการชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี คาดว่า ความต้องการใช้ปุ๋ย ทั่วโลกจะกลับมากระเตื้องอีกครั้งภายใน ปี 2559 เนื่องจากราคาพืชผลและสินค้า ทางการเกษตรจะค่อนข้างเสถียร ประกอบ กับตลาดประเทศเกิดใหม่เติบโตมากขึ้น โดยจากการคาดการณ์ของ International
Fertilizer Industry Association (IFA) มองว่า ในปี นี้ ค วามต้ อ งการใช้ ปุ ๋ ย ทั่ ว โลกน่ า จะ ขยายตัวราวร้อยละ 1.9 โดยเพิ่มขึ้นมา อยู ่ ที่ 186.6 ล้ า นตั น บนพื้ น ฐานที่ ว ่ า ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงใดๆ ที่ จ ะกระทบ พื้นฐานภาคอุตสาหกรรมการเกษตรอย่าง มีนัยส�ำคัญ ทั้งนี้ ปุ๋ยเคมียังมีความจ�ำเป็น ต่ อ ภาคการเกษตร และสามารถใช้ ร ่ ว ม กับปุ๋ยอินทรีย์ได้ดี ซึ่งการใช้ปุ๋ยเคมีและ ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ ใ ห้ เ กิ ด ความสมดุ ล ถู ก ต้ อ ง และเหมาะสมกับสภาพดิน ก็เป็นอีกหนึ่ง มาตรการในการช่วยลดต้นทุนการผลิตให้ แก่เกษตรกร ปัจจัยสนับสนุนทีส่ ำ� คัญอีกประการส�ำหรับ ปี 2559 นี้ คือ การเดินหน้าเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่จะก่อให้เกิด พื้นที่เพาะปลูกมากขึ้น เนื่องจากประเทศ ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มศี กั ยภาพ ในการเพาะปลูกได้เกือบทุกประเทศ และ ยั ง เป็ น ภู มิ ภ าคที่ เ ป็ น แหล่ ง เกษตรกรรม อันดับต้นๆ ของโลก เพราะแต่ละประเทศ ต่างก็มีผลิตผลการเกษตรเพื่อการส่งออก ที่แตกต่างกัน จากแนวโน้มดังกล่าว บริษทั ฯ ยังคงเชือ่ มัน่ ในศักยภาพของการเติบโตในธุรกิจเคมีเพือ่ การเกษตรและธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงาน เพื่อเก็บสินค้า โดยยึดแนวทางการด�ำเนิน ธุรกิจภายใต้กลยุทธ์หลัก อันประกอบด้วย การขยายช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าให้ ครอบคลุม การน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และเทคโนโลยีใหม่ การหาพันธมิตรทาง ธุรกิจ ตลอดจนการรุกเปิดตลาดใหม่และ การขยายการส่งออก เป้าหมายคูข ่ นาน คือความรับผิดชอบ ต่อสังคม
ในขณะที่บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจอย่างมุ่งมั่น เพื่อสร้างการเติบโต ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญใน การสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งให้กับระบบ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ บริษัทฯ ก็ ไม่ละเลยเป้าหมายที่เดินหน้าคู่ขนานไป
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
ประธานกรรมการ
กับการเติบโตทางธุรกิจ นั่นคือ การแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยในปีทผี่ า่ นมา บาคองโค ได้รับประกาศนียบัตรรับรอง ความส�ำเร็จกับมาตรการประหยัดพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตาม กฎระเบียบข้อบังคับอย่างครบถ้วนจาก Ba Ria - Vung Tau Power Company ซึ่ง เป็นผลจากการที่บาคองโคได้น�ำมาตรการ ประหยัดพลังงานหลากหลายวิธีมาใช้ใน การบริหารจัดการพลังงานในโรงงานตลอด ระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ บาคองโค ยังได้ร่วมกับสมาคม ฟุตบอลแห่งประเทศนอร์เวย์ (Norwegian Football Association) ในประเทศเวียดนาม จัดกิจกรรมแข่งขันฟุตบอลและเลีย้ งอาหาร กลางวันแก่เยาวชนจ�ำนวนมากกว่า 2,000 คน ซึ่งมาจากศูนย์เด็กและเยาวชนจ�ำนวน 15 แห่ ง รวมถึ ง เยาวชนที่ ม าจากพื้ น ที่ ห่างไกลในอ�ำเภอฟู ลอค (Phu Log) จังหวัด เถื่อเทียน-เฮว้ (Thua Thien Hue) ประเทศ เวียดนาม ซึ่งบริษัทฯ มั่นใจว่า นอกจากจะ เป็นการตอบแทนสังคมโดยการให้โอกาส แก่ผู้ด้อยโอกาสแล้ว ยังเป็นการสร้างเสริม ก� ำ ลั ง ใจให้ กั บ พนั ก งานทุ ก คน อี ก ทั้ ง ยั ง เป็นการปลูกฝังให้พนักงานมีจิตส�ำนึกใน การแบ่งปันแก่ผู้อื่น ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญใน การพัฒนาบุคลากร ในนามของคณะกรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร และพนั ก งาน ขอขอบคุ ณ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และ นักลงทุนทุกท่าน ทีใ่ ห้การสนับสนุนบริษทั ฯ ด้วยดีตลอดมา เราจะมุ่งมั่นสร้างผลงาน และความก้าวหน้าเพื่อให้บริษัทฯ เติบโต ยิ่งขึ้น บริษัทฯ เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ด้วยวิสยั ทัศน์ของคณะกรรมการและผูบ้ ริหาร รวมทั้งความทุ่มเทของพนักงาน และการ สนับสนุนจากท่านผู้ถือหุ้น จะหลอมรวม กันเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ และทั้งหมดนั้นจะ เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ น PMTA และบาคองโคให้เติบโตอย่างยั่งยืนตาม เป้าหมายที่วางไว้ได้อย่างแน่นอน
นายซิกมันต์ สตรอม
กรรมการผู้จัดการ
รายงานประจ�ำปี 2558
3
สารจากประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
ที่ส�ำคัญยิ่งไปกว่านั้น คือ บาคองโค ยังได้ ร่วมเป็นพันธมิตรกับบริษัท โซลเวย์ แห่ง เบลเยี่ ย ม ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต สารเคมี ชั้ น น� ำ ของโลก และมี บ ทบาทส� ำ คั ญ ใน การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมสารเคมี ที่ ท รงประสิ ท ธิ ภ าพและไร้ ผ ลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม โดยบาคองโคได้รับสิทธิพิเศษ ในการเป็นผู้แทนจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปุ๋ย ยู เรี ย สู ต รใหม่ ที่ เ คลื อ บสาร N-Protect ซึ่ ง เป็ น นวั ต กรรมของบริ ษั ท โซลเวย์ แต่เพียงผูเ้ ดียว ข้อตกลงดังกล่าวมีระยะเวลา 3 ปี โดยบาคองโคจะเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย ปุ ๋ ย ยู เ รี ย สู ต ร N-Protect ในประเทศ เวียดนาม ลาว กัมพูชา และบางประเทศ ในกลุ ่ ม แอฟริ ก า ซึ่ ง เป็ น ตลาดหลั ก ของ บาคองโค ทั้ ง หมดนี้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพและการได้ รั บ ยอมรั บ อย่ า ง กว้างขวางของบาคองโคในระดับสากล ในขณะเดียวกัน ธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงาน เพื่ อ เก็ บ สิ น ค้ า ของบาคองโคก็ ไ ด้ เ ติ บ โต อย่างแข็งแกร่ง เนื่องจากความต้องการ ใช้บริการคลังสินค้าที่มีคุณภาพในระดับ มาตรฐานสากลยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดย พื้ น ที่ โรงงานเพื่ อ เก็ บ สิ น ค้ า ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร ทั้งหมดจ�ำนวน 42,300 ตารางเมตร ได้ ถูกเช่าเต็มพื้นที่ร้อยละ 100 นอกจากนี้ ในปีที่ผ่านมา บาคองโคยังได้เปิดตัวพื้นที่ อาคารเก็บสินค้าบาคองโค 5 เฟส 2 และ ยังอยูร่ ะหว่างการก่อสร้างอาคารเก็บสินค้า แห่งใหม่ ซึ่งมีอัตราการเช่าล่วงหน้าเต็ม พื้นที่แล้วเช่นกัน
4.
่ นแปลง การเปลีย ่ � ำคัญ และพัฒนาการทีส
เมษายน 2538
ธันวาคม 2549
มิถุนายน 2551
กรกฎาคม 2552
กุมภาพั นธ์ 2554
• บริษทั บาคองโค จ�ำกัด (“Baconco” หรือ “บาคองโค”) จดทะเบียนก่อตัง้ ขึน้ ตาม กฎหมายเวี ย ดนามใน รู ป แ บ บ ข อ ง บ ริ ษั ท ร่วมทุน (Joint Venture Company) ระหว่ า ง บริ ษั ท SCPA-SIVEX International (“SSI”) และ นักลงทุนเวียดนามอีก 2 ราย ตามใบรับรองการ ลงทุ น (Investment Certificate) ฉบับลงวันที่ 27 เมษายน 2538
• Baconco ได้ แ ปร สภาพเป็ น บริ ษั ท จ� ำ กั ด ความรั บ ผิ ด ที่ มี เจ้ า ของ เพี ย งรายเดี ย ว (Single Member Limited Liability Company) หลั ง จากที่ SSI ได้เข้าซื้อหุ้นส่วนที่ เหลื อ ประมาณร้ อ ยละ 3 . 9 8 จ า ก นั ก ล ง ทุ น เวียดนาม
• EMC Gestion S.A.S (“EMCG”) เข้าซือ้ หุน้ ของ Baconco ในสั ด ส่ ว น ร้ อ ยละ 100 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ อ อกและ ช�ำระแล้วจาก SSI
• บริ ษั ท โทรี เซนไทย เอเยนต์ซสี จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA”) เข้ า ลงทุ น ใน Baconco ผ่ า นบริ ษั ท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี (“Soleado”) ซึ่ง เป็นบริษทั ย่อยทีป่ ระกอบ ธุรกิจลงทุนโดยการถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ของ TTA ได้ เข้าซื้อและรับโอนหุ้นใน EMCG ทัง้ หมดในสัดส่วน ร้ อ ยละ 100 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ อ อกและ ช� ำ ระแล้ ว จาก EMC S.A.S (“EMC”)
• Soleado ตกลงเข้ า ซื้ อ และรั บ โอนหุ ้ น ใน Baconco ในสั ด ส่ ว น ร้ อ ยละ 100 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ อ อกและ ช� ำ ระแล้ ว จาก EMCG เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยน โครงสร้ า งการถื อ หุ ้ น ส่ ง ผลให้ Soleado มี สถานะเป็นผู้ถือหุ้นทาง ตรงเพี ย งรายเดี ย วของ Baconco
• ผู ้ บ ริ ห า ร ชุ ด ใ ห ม ่ เริม่ เข้าบริห าร Baconco โ ด ย ก า ร ป รั บ ป รุ ง พั ฒ นาการด�ำเนินธุรกิจ ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ค มี เ พื่ อ ก า ร เ ก ษ ต ร ข อ ง Baconco แ ล ะ ใช ้ ประโยชน์ จ ากพื้ น ที่ ใ น โรงงานให้เกิดประโยชน์ สูงสุด โดยการปล่อยเช่า พื้นที่ว่าง
4
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
การเปลี่ยนแปลงและพั ฒนาการที่ส�ำคัญ
มิถุนายน 2556
พฤศจิกายน 2556
• จั ด ตั้ ง PMTA โดย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ก า ร ลงทุนโดยการถือหุ้นใน บ ริ ษั ท อื่ น ( H o l d i n g Company) โ ด ย มี ทุ น จดทะเบี ย นช� ำ ระแล้ ว จ�ำนวน 1,000,000 บาท
• บริษทั ฯ ได้เข้าลงทุนใน บ ริ ษั ท แ อ ต แ ล น ติ ส ออฟชอร์ คอนสตรัคชั่น พีทีอี แอลทีดี และได้ เปลี่ยนชื่อมาเป็นบริษัท พี เ อ็ ม โทรี เซน เอเชี ย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี (“PMTS”)
• PMTA ตกลงเข้ า ซื้ อ และรั บ โอนหุ ้ น ใน Baconco ที่ Soleado ถื อ ครองไว้ ทั้ ง หมด อัน เป็ น ผลสื บ เนื่ อ งจาก แผนการน�ำ Baconco แยกออกมาเพื่ อ เสนอ ขายหุ ้ น ต่ อ ประชาชน และเข้ า จดทะเบี ย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (“ตลาด หลั ก ทรั พ ย์ ฯ ”) ผ ่ า น PMTA หรือกระบวนการ จั ด โ ค ร ง ส ร ้ า ง ใ น รู ป ข อ ง ก า ร ถื อ หุ ้ น ใ น บ ริ ษั ท อื่ น ( H o l d i n g Company)
กุมภาพั นธ์ 2557
• บริษัทได้จดทะเบียน แปรสภาพเป็ น บริ ษั ท มหาชนและมี ก ารเพิ่ ม ทุ น จ ด ท ะ เ บี ย น เ ป ็ น 1,012,000,000 บาท เพื่อรองรับการออกแบบ และเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่ ม ทุ น และด� ำ เนิ น การ ที่จ�ำเป็น เพื่อการเตรียม • บริ ษั ท ฯ เพิ่ ม ทุ น จด การน�ำบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียน ทะเบียนทีอ่ อกและช�ำระ ในตลาดหลักทรัพย์ แล้วจากเดิม 1,000,000 บาท เป็น 931,000,000 บาท โดยมีมูลค่าที่ตรา ไว้ หุ ้ น ละ 10 บาทต่ อ หุ ้ น โดยเป็ น การออก และเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นตาม สัดส่วน เพื่อรองรับการ เข้ า ท� ำ รายการซื้ อ และ รั บ โอนหุ ้ น ทั้ ง หมดใน Baconco จาก Soleado
กุมภาพั นธ์ 2558
พฤษภาคม 2558
• โครงการขยายก�ำลัง การผลิตปุ๋ยเคมีชนิดเม็ด (Granular) ก่อสร้างแล้ว เสร็จ ส่งผลให้ Baconco เพิม่ ก�ำลังการผลิตปุย๋ เคมี ชนิดเม็ด (Granular) อีก จ� ำ น ว น 1 0 0 , 0 0 0 เมตริกตันต่อปี ส่งผลให้ Baconco มี ก� ำ ลั ง การ ผ ลิ ต ร ว ม 4 5 0 , 0 0 0 เมตริกตันต่อปี ซึ่งได้เริ่ม ด� ำ เนิ น การปรั บ เที ย บ แ ล ะ ท ด ล อ ง ผ ลิ ต (Calibration and Trial Run Production) ในช่วง เดือนสิงหาคม 2557 และ น�ำเข้าสูก่ ระบวนการผลิต ในเชิ ง พาณิ ช ย์ เ ป็ น ครั้ ง แรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2558
• บริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า จด ทะเบียนซื้อขายในตลาด หลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2558
รายงานประจ�ำปี 2558
5
5.
คณะกรรมการ และผูบ ้ ริหาร
1. • ประธานกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
• ประธานกรรมการบริหาร
2 • กรรมการ
. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
• กรรมการบริหาร • กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
3 • กรรมการอิสระ
. นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ
• ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
6
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการและผู้บริหาร
4.• กรรมการอิสระ
รองศาสตราจารย์ ดร. สาธิต พะเนียงทอง
• กรรมการตรวจสอบ • ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
5 • กรรมการอิสระ
. นายอาริลด์ เฮาแกน
• กรรมการตรวจสอบ
6 • กรรมการ
. นายสมพร จิตเป็นธม
• กรรมการบริหาร • กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
7 • กรรมการ
. นายซิกมันต์ สตรอม
• กรรมการบริหาร • กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน • กรรมการผู้จัดการ
รายงานประจ�ำปี 2558
7
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ (อายุ 37 ปี)
ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 6 มกราคม 2557/1
คุณวุฒิการศึกษา
ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2547 ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยซัฟฟอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2544
ประวัติการอบรม
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: 7.87
หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 53/2548 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 30/2547 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 17 ปี 2556
ประสบการณ์การท�ำงาน
2555 – ปัจจุบัน :ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และรองประธานกรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 – ปัจจุบัน :รองประธานกรรมการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2557 :ประธานกรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2554 – ปัจจุบัน :รองประธานกรรมการ บริษัท โพสโค-ไทยน๊อคซ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2554 – ปัจจุบัน :รองประธานกรรมการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี่ จ�ำกัด (มหาชน) 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท พรีโม ชิปปิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) 2558 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท ไซโน แกรนด์เนส ฟู้ด อินดัสตรี กรุ๊ป จ�ำกัด (สิงคโปร์) 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท ชิดลม มารีน เซอร์วิสเซส แอนด์ ซัพพลายส์ จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. 2555 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท โซลีอาโด โฮลดิ้งส์ พีทีอี แอลทีดี 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เอเชีย ออฟชอร์ ดริลลิ่งค์ จ�ำกัด 2556 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เมอร์เมด ซับซี เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เดิมชื่อ บริษัท เมอร์เมด ออฟชอร์ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด) 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ มอริเชียส จ�ำกัด 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เอ็มทีอาร์-4 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี 2557 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เมอร์เมด เอ็มทีเอ็น พีทีอี แอลทีดี (เดิมชื่อ บริษัท เอ็มทีอาร์-5 (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี) 2555 – ปัจจุบัน :ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โฟร์ วัน วัน เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จ�ำกัด 2548 – ปัจจุบัน :ประธานกรรมการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด 2541 – ปัจจุบัน :กรรมการผู้จัดการ บริษัท เลควูด คันทรีคลับ จ�ำกัด 2541 – ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท เลควูด แลนด์ จ�ำกัด ปัจจุบัน :กรรมการ บริษัท ควอลิตี้ คอฟฟี่ โปรดักท์ จ�ำกัด ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี 8
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการและผู้บริหาร
นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ (อายุ 56 ปี)
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
คุณวุฒิการศึกษา
ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นโครงการร่วมกับ Kellogg Graduate School of Management of Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการอบรม
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 6 มกราคม 2557/1
ประสบการณ์การท�ำงาน
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: 1 หุ้น
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ (อายุ 70 ปี)
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 6 มกราคม 2557/1 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี
หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 165/2555
2556 - 2557 : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการการลงทุน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการ และ กรรมการบริหาร บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : กรรมการ และ กรรมการบริหาร บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน : ผู้อ�ำนวยการบริหารอาวุโส บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด 2548 - 2554 : ผู้อ�ำนวยการบริหารอาวุโส สายงานการเงิน บริษัท แอดวานซ์ ไฟแนนซ์ จ�ำกัด (มหาชน) ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา
B.S. Degree in Electrical Engineering มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนาสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา Professional Degree in Electrical Engineering มหาวิทยาลัยนอร์ทแคโรไลนาสเตต ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการอบรม
หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่น 96/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - 2557 : กรรมการบริษัท บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2545 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัทเงินทุน แอ็ดวานซ์ จ�ำกัด (มหาชน) 2546 - 2555 : ประธานกรรมการ บริษัท หมอมี จ�ำกัด 2549 - 2554 : รองประธานกรรมการ บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
รายงานประจ�ำปี 2558
9
รองศาสตราจารย์ ดร. สาธิต พะเนียงทอง (อายุ 62 ปี)
กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน/ กรรมการอิสระ
คุณวุฒิการศึ กษา
ดุษฎีบัณฑิต (Operations Management and Finance) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (Industrial and Systems Engineering) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (Industrial and Manufacturing Engineering) มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
ประวัติการอบรม
: 6 มกราคม 2557/1
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี
หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 128/2553 หลักสูตร Advanced Audit Committee Program (AACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 13/2556
ประสบการณ์การท�ำงาน
2556 - 2557 : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2544 - ปัจจุบัน : Associate Professor, Part Time Faculty - Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University - Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) 2545 - 2546 : Director of Management Project - Collaboration with Michael E. Porter: Creating the Foundations for Higher Productivity of Thailand - Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB) 2532 - 2543 : Executives, Booz Allen & Hamilton, AT Kearney, Leading consulting firms located in Washington DC, USA 2532 - 2540 : Adjunct Professor, George Washington University, Washington DC, USA 2528 - 2532 : Adjunct Professor, University of Texas, Austin, USA 2525 - 2532 : Executives, Baxter- multinational consumer manufacturer, American Airlines-transportation firm, located in Illinois and Texas ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
10
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการและผู้บริหาร
นายอาริลด์ เฮาแกน (อายุ 53 ปี)
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ
คุณวุฒิการศึกษา
Master of International Management, Thunderbird School of Global Management, ประเทศสหรัฐอเมริกา Bachelor of Business Administration, University of San Francisco ประเทศสหรัฐอเมริกา
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 6 มกราคม 2557/1
ประวัติการอบรม
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 182/2556
2556 - 2557 : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2553 – 2558 : กรรมการ Avilion Limited, Hong Kong 2544 – ปัจจุบัน : กงสุลกิตติมศักดิ์ สถานกงสุลกิตติมศักดิ์ นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม 2550 – 2553 : Commercial Director – Asia, Yara International ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
รายงานประจ�ำปี 2558
11
นายสมพร จิตเป็นธม (อายุ 54 ปี)
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 29 มกราคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา
Master in Public Policies มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา Bachelor of Science in Business Administration มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการอบรม
หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 178/2556 หลักสูตรนักบริหารการคลังรุ่นที่ 3 จากกระทรวงการคลังและสถาบันนโยบายเศรษฐกิจการคลัง หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนจากสถาบันพระปกเกล้า อบรม The Asia Pacific Bankers Congress อบรม Central Bank Policies and Operations in the Money and Foreign Exchange Markets
ประสบการณ์การท�ำงาน
2558 - ปัจจุบัน : เลขาธิการคณะกรรมการกองทุนการออมแห่งชาติ 2558 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ/กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - 2558 : รักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชีและการเงิน บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2558 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานกลยุทธ์ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2558 : กรรมการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (มหาชน) 2556 - 2558 : รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท พีเอ็ม กรุ๊ป จ�ำกัด 2552 - 2556 : รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารเพื่อการน�ำเข้าและ ส่งออกแห่งประเทศไทย ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
12
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ กรรมการผู้จัดการ วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก
: 6 มกราคม 2557/1 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา
Master in Computer Science Finance/Administration, EDB Hoeyskolen ประเทศนอร์เวย์
ประวัติการอบรม
หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 182/2556
ประสบการณ์การท�ำงาน
2558 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ – ชิปปิ้งและโลจิสติกส์ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง สิงคโปร์ พีทีอี แอลทีดี 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท เฟิร์นเล่ย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท กัลฟ เอเจนซี่ คัมปะนี (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท จีเอซี โทรีเซน โลจิสติคส์ จ�ำกัด 2558 - ปัจจุบัน : บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง แอนด์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน : บริษัท ชาร์จา พอร์ต เซอร์วิสเซส แอลแอลซี 2558 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท ปิโตรลิฟต์ จ�ำกัด 2556 - 2557 : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี 2556 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน ชิปปิ้ง เอฟแซดอี 2553 - ปัจจุบัน : กรรมการ Baria Joint Stock Company of Services for Import Export of Agro-Forestry Products and Fertilizers 2555 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซน-วินามา โลจิสติกส์ จ�ำกัด 2557 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซน-วินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด 2552 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ บริษัท บาคองโค จ�ำกัด 2546 - ปัจจุบัน : กรรมการ บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. 2543 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการ The NORDIC Chamber of Commerce กรุงโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นางสาวสาวรีย์ สวัสดีจันทร์ (อายุ 28 ปี)
คุณวุฒิการศึกษา
ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน
ประสบการณ์การท�ำงาน
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
: 10 มีนาคม 2557 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (ร้อยละ)
: ไม่มี หมายเหตุ
/1
คณะกรรมการและผู้บริหาร
นายซิกมันต์ สตรอม (อายุ 59 ปี)
ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2557 – ปัจจุบัน : ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) 2551 – 2557 : ผู้ตรวจสอบบัญชี – Senior Audit Assistant บริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด ความสัมพั นธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการนับจากวันที่ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2557 มีมติอนุมัติการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จ�ำกัด และอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการ
รายงานประจ�ำปี 2558
13
6.
ข้อมูลและ แนวโน้มธุรกิจ
ความเป็นมาของบริษัท
บริ ษั ท พี เ อ็ ม โทรี เซน เอเชี ย โฮลดิ้ ง ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “PMTA”) จดทะเบี ย นก่ อ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 7 มิ ถุ น ายน 2556 และต่อมาได้แปรสภาพเป็นบริษัท มหาชน จ�ำกัดเมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557 เพื่ อ รองรั บ แผนการเข้ า จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาด หลั ก ทรั พ ย์ ฯ ”) และบริ ษั ท ฯ ได้ เข้ า จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นครัง้ แรก เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2558
บริษทั ฯ มีสถานะเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA”) และบริษัทฯ ประกอบธุรกิจการ ลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่นและไม่มี การประกอบธุรกิจอย่างมีนัยส�ำคัญเป็น ของตนเอง (Holding Company) ซึง่ บริษทั ฯ มีนโยบายการลงทุนในธุรกิจอุตสาหกรรม เคมีเพื่อการเกษตรและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ในประเทศเวียดนามและในต่างประเทศ ธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงานเพื่อเก็บสินค้าใน ประเทศเวียดนาม และธุรกิจอืน่ ทีพ่ จิ ารณา ว่าเหมาะสม เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการสร้าง กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ หลั ก ที่ เ ข้ ม แข็ ง ในภาพรวม
ในปัจจุบันบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 ใน บริษัท บาคองโค จ�ำกัด (“Baconco” หรือ บาคองโค) โดย Baconco ประกอบธุรกิจ ในอุ ต สาหกรรมเคมี เ พื่ อ การเกษตรและ ธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงานเพื่อเก็บสินค้าใน ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ลงทุนโดยการถือหุน้ ร้อยละ 100 ในบริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทอี ี แอลทีดี (“PMTS”) โดย PMTS ได้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อ ด� ำ เนิ น การสนั บ สนุ น ธุ ร กรรมการจั ด ซื้ อ วัตถุดิบที่ใช้ส�ำหรับธุรกิจในอุตสาหกรรม เคมีเพือ่ การเกษตรของ Baconco เป็นหลัก
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) PMTA
ถือหุ้นร้อยละ 100
Baconco
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
ถือหุ้นร้อยละ 100
PMTS
เครื่องหมายการค้า “STORK” ที่ Baconco จดทะเบียนไว้เป็นของตนเองตั้งแต่ปี 2548 Baconco ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรม เครื่องหมายการค้า STORK ของ Baconco เป็นที่ยอมรับและได้รับความเชื่อถือด้าน เคมีเพื่อการเกษตร (Agrochemicals) เป็น คุณภาพอันเป็นผลจากการที่ Baconco วางกลยุทธ์ที่จะเป็นผู้ผลิตปุ๋ยเคมีคุณภาพสูงที่มี หลั ก โดยมี ส� ำ นั ก งานใหญ่ ตั้ ง อยู ่ ใ นนิ ค ม ส่วนผสมของสารอาหารหลัก อันได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต(P2O5) และโพแทส (K2O) อุ ต สาหกรรม Phu My I ซึ่ ง อยู ่ ใ นเขต พื้นที่ Ba Ria Vung Tau ทางตอนใต้ของ ประเทศเวียดนาม Baconco มีการพัฒนา ผลิต ด�ำเนินกิจกรรมทางการตลาด ขาย และจั ด จ� ำ หน่ า ยปุ ๋ ย เคมี เชิ ง ผสมปุ ๋ ย เคมี เชิงเดี่ยวและปุ๋ยเคมีเชิงประกอบ โดยมี เครื่องหมายการค้า STORK ซึ่ง Baconco ก�ำลังการผลิตปุ๋ยเคมีประมาณ 450,000 มี ก ารจดทะเบี ย นเครื่องหมายการค้าในประเทศเวียดนามตั้งแต่ปี 2548 เมตริกตันต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2556 ใน จ�ำนวน 100,000 เมตริกตันต่อปี เนือ่ งจาก เพือ่ เป็นการขยายฐานลูกค้า เพิม่ ช่องทางการขายและจัดจ�ำหน่ายในต่างประเทศ Baconco โครงการขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต ปุ ๋ ย เคมี ยังด�ำเนินการผลิตตามค�ำสัง่ ซือ้ หรือรับจ้างผลิตสินค้าปุย๋ เคมีให้แก่ลกู ค้าภายนอก ปัจจุบนั ชนิดเม็ด (Granular) เพื่อรองรับปริมาณ Baconco มีการส่งออกผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีไปยัง 30 ประเทศทั่วโลกโดยมีกลุ่มลูกค้าหลัก ความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ เป็นประเทศในแถบแอฟริกา ตะวันออกกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต โดยได้เริ่ม Baconco มีการจัดจ�ำหน่ายสารเคมีปอ้ งกันก�ำจัดศัตรูพชื และสารก�ำจัดแมลงในประเทศ ผลิตในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในเดือน เวียดนาม และปุย๋ ทางใบในประเทศเวียดนามและต่างประเทศ โดยกระบวนการผลิตและ กุมภาพันธ์ 2558 และมีก�ำลังการบรรจุห่อ บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับส�ำหรับสารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชเป็นการว่าจ้างบุคคลภายนอก ประมาณ 550,000 เมตริกตันต่อปี ทั้งนี้ (Outsource) ให้ด�ำเนินการผลิตและบรรจุภัณฑ์สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชตามสูตร ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีทั้งหมดของ Baconco ที่ และมาตรฐานที่ Baconco ก�ำหนด Baconco เป็นผู้ด�ำเนินกิจกรรมทางการตลาด ขาย จัดจ�ำหน่ายในประเทศเวียดนาม ประเทศ และจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยทางใบภายใต้ ลาว และประเทศกัมพูชาเป็นการด�ำเนิน เครื่องหมายการค้าที่มีการจดทะเบียนไว้เป็นของตนเองในประเทศเวียดนาม และต่าง กิจกรรมทางการตลาดและการขายภายใต้ ประเทศ อาทิเช่น ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา 14
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
นอกจากนี้ Baconco ยังเล็งเห็นโอกาสใน การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้เหนือ กว่าคู่แข่งและใช้ประโยชน์จากโรงงานผลิต ที่ตั้งอยู่ใกล้กับท่าเรือในนิคมอุตสาหกรรม Phu My I ด้ ว ยการให้ บ ริ ก ารเช่ า พื้ น ที่ โรงงานเพื่อเก็บสินค้าโดยการจัดสรรพื้นที่ ว่างซึ่งยังไม่ได้ใช้เพื่อสร้างรายได้ค่าเช่า ซึ่งเป็นแหล่งรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) รวมถึ ง เป็ น การกระจายความ เสี่ยงจากการลงทุนในกลุ่มธุรกิจอื่น นอก เหนือไปจากธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อ การเกษตร ทั้ ง นี้ Baconco มี อ าคาร 3 แห่งในนิคมอุตสาหกรรม Phu My I เพื่อ ให้บริการโดยมีการจัดสรรพื้นที่ไว้เพื่อให้ เช่าจัดเก็บสินค้าทัง้ สิน้ 42,300 ตารางเมตร ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ 1. ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี
สารอาหารหลักในปุย๋ เคมีคอื ไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต (P2O5) ซึ่งให้ฟอสฟอรัส (P) แก่ พืช และ โพแทส (K2O) ซึ่งให้โพแทสเซียม (K) แก่พืช นอกจากนี้ ยังประกอบไปด้วย สารอาหารเสริมอีกหลากหลายชนิด โดย ทั้ ง สารอาหารหลั ก และสารอาหารเสริ ม จะท�ำหน้าที่ฟื้นฟูและเพิ่มสารอาหารใน ดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเพาะปลู ก และผลผลิตทางการเกษตร ไนโตรเจนมี ประโยชน์ในการเร่งการเจริญเติบโตของ ใบซึ่งช่วยในการสังเคราะห์แสง อีกทั้งยัง ช่วยในการผลิตเมล็ดพันธุ์ ฟอสฟอรัสมี ประโยชน์ในการพัฒนาและเจริญเติบโต ของล�ำต้นและช่วยให้ระบบรากแข็งแรงและ แพร่กระจายอย่างกว้างขวาง โพแทสเซียม มีประโยชน์ในการสร้างและเคลื่อนย้าย สารอาหารจ�ำพวกแป้งและน�้ำตาลไปเลี้ยง ในส่วนที่ก�ำลังเจริญเติบโตหรือที่หัวและ ล�ำต้นเพื่อเป็นเสบียง และเพื่อลดโอกาส การติดโรคอีกด้วย โดยรวม บริ ษั ท ฯ เชื่ อ ว่ า หนึ่ ง ในจุ ด แข็ ง ด้านการแข่งขันของ Baconco คือความ หลากหลาย คุณภาพและภาพลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อการเกษตรซึ่งสามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้หลาก หลายประเภททั้ ง ในประเทศเวี ย ดนาม และต่ า งประเทศ นอกจากนี้ การจั ด จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ Baconco ภายใต้ เครือ่ งหมายการค้าของตนเองยังช่วยสร้าง ความโดดเด่นให้แก่ผลิตภัณฑ์ของบริษัท
และเป็นผลิตภัณฑ์ “Top-of-Mind” ส�ำหรับ ผู้บริโภค 1.1 ปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK ปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK คือ ปุย๋ เคมีซงึ่ ประกอบ ไปด้วยสารอาหารหลักทั้งสามอย่าง กล่าว คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต (P2O5) ซึ่งให้ ฟอสฟอรัส (P) แก่พืชและโพแทส (K2O) ซึ่งให้โพแทสเซียม (K) แก่พืช โดยปุ๋ยเคมี เชิงผสม NPK แต่ละสูตรจะมีสว่ นผสมของ N P และ K ทีแ่ ตกต่างกันไปแล้วแต่วตั ถุประสงค์ และความต้ อ งการทางชี ว ภาพของพื ช แต่ละชนิด โดย Baconco จ�ำหน่ายปุ๋ยเคมี เชิงผสม NPK ในประเทศเวียดนามและ ต่างประเทศ ปุย๋ เคมีชนิดดังกล่าวคือสินค้า หลักของ Baconco ทัง้ นี้ ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2558 Baconco มีรายได้จากการขายปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK คิดเป็นร้อยละ 94.5 และ 94.4 ของราย ได้การขายตามล�ำดับ ทั้งนี้ Baconco ผลิต ปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK ส�ำหรับการเพาะปลูก กาแฟ ข้าว ยาง ผัก และพืชอีกหลากหลาย ชนิดรวมกว่า 95 สูตร 1.2 ปุ๋ยเคมีอื่น สินค้าในกลุม่ ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมีอนื่ ประกอบ ไปด้ ว ยปุ ๋ ย เคมี เชิ ง เดี่ ย วหรื อ แม่ ปุ ๋ ย ที่ มี ธาตุอาหารหลักธาตุเดียว และปุ๋ยเคมีเชิง ประกอบที่ได้จากกรรมวิธีทางเคมีและมี ธาตุอาหารหลักตั้งแต่ 2 ธาตุขึ้นไปปุ๋ยเคมี ชนิ ด ดั ง กล่ า วนิ ย มใช้ กั น เนื่ อ งจากความ ยืดหยุ่นในการผสมสูตรตามความต้องการ ของผู้ใช้แต่ละคนหรือพืชแต่ละชนิด ทั้งนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2558 Baconco มีรายได้จากการขาย ปุย๋ เคมีอนื่ คิดเป็นร้อยละ 1.1 และ 1.3 ของ รายได้การขายตามล�ำดับ
เคมีเพื่อการเกษตรอื่น คิดเป็นร้อยละ 4.4 และ 4.3 ของรายได้การขายตามล�ำดับ 2.1 สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชและ สารก�ำจัดแมลง สารเคมี ป ้ อ งกั น ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช และสาร ก�ำจัดแมลงคือสารเคมีชวี ภาพหรือสารเคมี สังเคราะห์เพือ่ การป้องกัน ท�ำลาย ไล่ หรือ ลดปัญหาของศัตรูพืชและแมลง ศัตรูพืชที่ พบเห็นส่วนใหญ่ ได้แก่ โรคของพืช วัชพืช และสัตว์ประเภทต่างๆ ซึง่ เป็นพาหะน�ำโรค และก่อให้เกิดความเสียหายต่อการเกษตร กรรมและส่งผลให้ผลผลิตลดลงผลิตภัณฑ์ สารเคมีปอ้ งกันก�ำจัดศัตรูพชื ของ Baconco จ� ำ หน่ า ยภายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า STORK ในประเทศเวียดนามเท่านั้น 2.2 ปุ๋ยทางใบ ปุ๋ยทางใบ คือปุ๋ยสารละลายที่ใช้ในการ ฉีดพ่นทางใบโดยมีสารอาหารคล้ายคลึง กับปุ๋ยเคมีเชิงผสมแต่ใช้ช่องทางการดูดซึม ทางใบ ซึ่งมีอัตราการดูดซึมที่เร็วกว่าทาง ราก ดังนั้น ปุ๋ยทางใบจึงนิยมใช้กันกับการ ปลู ก ผั ก และผลไม้ โ ดยจะให้ ผ ลผลิ ต ที่ มากกว่าและดีกว่า
2. ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่ อการเกษตรอื่น
สินค้าในกลุม่ ผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ การเกษตร อื่นประกอบไปด้วยสารเคมีป้องกันก�ำจัด ศัตรูพืชและสารก�ำจัดแมลงซึ่ง Baconco เป็นผู้รับซื้อจากผู้จัดจ�ำหน่ายและส่งให้ แก่ บุ ค คลภายนอก (Outsource) เพื่ อ ท� ำ การบรรจุ ภั ณ ฑ์ โ ดยจ� ำ หน่ า ยภายใต้ เครื่องหมายการค้าของ Baconco และ ปุ๋ยชนิดน�้ำหรือปุ๋ยทางใบ ทั้งนี้ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2558 Baconco มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ รายงานประจ�ำปี 2558
15
3. บริการให้เช่าพื้ นที่โรงงาน
PHU MY Industrial Park, Vung Tau •Baria Serece Port •Baconco
นิคมอุตสาหกรรม Phu My I ตั้งอยู่ทาง
Baconco ซึ่งตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม
ตอนใต้ของประเทศเวียดนาม
Phu My I ตั้งติดอยู่กับท่าเรือในนิคมอุตสาหกรรม Phu My I บนแม่นำ�้ Thi Vai
Baconco ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม Phu My I ในเขตพื้นที่ Ba Ria Vung Tau ทาง ตอนใต้ของเวียดนาม ซึ่งอยู่ห่างจาก Ho Chi Minh City ประมาณ 70 กิโลเมตร นิคม อุตสาหกรรม Phu My I มีความโดดเด่นใน การดึงดูดผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม ด้วยท�ำเลทีต่ ดิ กับแม่นำ�้ นิคมอุตสาหกรรม Phu My I จึ ง ถื อ เป็ น หนึ่ ง ในศู น ย์ ก ลาง การส่งออกของทางตอนใต้ของประเทศ เวียดนาม และได้รับประโยชน์จากความ ต้องการบริการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งบริการ ด้านโลจิสติกส์ มีความจ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่ เพื่ อ เก็ บ สิ น ค้ า หรื อ วั ต ถุ ดิ บ ก่ อ นการ ส่งออกไปยังท่าเรือหรือสถานทีต่ า่ งๆ และ เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ ในอุ ต สาหกรรมเคมี เ พื่ อ การเกษตรทั้ ง ในประเทศเวี ย ดนามและ ต่างประเทศมีลกั ษณะเป็นวัฏจักรขึน้ อยูก่ บั กิจกรรมภาคการเกษตรในแต่ละช่วงเวลา จึงท�ำให้ Baconco มีพื้นที่ว่างที่ไม่ได้น�ำ มาใช้ประโยชน์ในช่วงเวลาต่างๆ Baconco จึงเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจในการประกอบ ธุรกิจให้เช่าพืน้ ทีโ่ รงงานเพือ่ เก็บสินค้าเพือ่ ใช้พื้นที่ว่างให้เป็นประโยชน์ในการรองรับ ความต้องการเช่าพื้นที่เพื่อเก็บสินค้าสร้าง แหล่งรายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) และช่วยให้ Baconco เติบโตอย่างยั่งยืน จากการกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของ ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและลูกค้า รายอื่ น ๆ ในการเก็ บ พั ก สิ น ค้ า ก่ อ นการ ขนถ่ายไปยังท่าเรือได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว Baconco จึงเล็งเห็นโอกาสการให้เช่าพืน้ ที่ โรงงานที่ได้มาตรฐานสากลทั้งหมด 3 แห่ง ที่ตั้งกระจายอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม Phu My I ของ Baconco นอกจากนี้ ในปัจจุบัน 16
Baconco ก�ำลังอยู่ในช่วงการด�ำเนินงาน ลงทุนพัฒนาพื้นที่เพื่อให้เช่าจัดเก็บสินค้า เพิ่มโดยมีพื้นที่จัดสรรเพื่อให้เช่าจัดเก็บ สินค้ารวมประมาณ 8,200 ตารางเมตร คาดว่าจะแล้วเสร็จในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2559 อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยข้อจ�ำกัด การถือครองหุ้นของผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติ (Foreign Limit) ในบริษัทที่ประกอบธุรกิจ โลจิสติกส์ของกฎหมายประเทศเวียดนาม ดังนั้น Baconco ซึ่งเป็นบริษัทจ�ำกัดความ รับผิดที่มีเจ้าของเพียงรายเดียว (Single Member Limited Liability Company) และ มีผู้ถือหุ้นต่างชาติถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 จึงสามารถให้เช่าพื้นที่ได้แต่ไม่สามารถให้ บริการเสริมด้านอื่นซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการ บริหารจัดการคลังสินค้าให้แก่ผู้เช่า อาทิ การรับ บรรจุภัณฑ์และหีบห่อ และการ จัดส่งสินค้า เป็นต้น ประกอบกับความ ต้องการใช้บริการด้านโลจิสติกส์แบบครบ วงจรของลูกค้าในพื้นที่ดังกล่าว Baconco จึงเข้าท�ำสัญญาให้เช่าพื้นที่แก่ Thoresen Vinama Agencies Co., Ltd. (“TVA”) ซึ่ง เป็นบริษัทที่มีใบรับรองการลงทุนในการ ประกอบธุ ร กิ จ การให้ บ ริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส์ ภายใต้กฎหมายประเทศเวียดนาม ทั้งนี้ กลุ่มลูกค้าของอาคารแต่ละแห่งจะ แตกต่างกันตามจุดประสงค์การใช้งานและ ขนาดพื้น ที่ใ ห้เช่าจัดเก็บสินค้ากล่าวคือ อาคาร Baconco 1 (“BCC I”) และ Baconco 3 (“BCC III”) จะถูกใช้ส� ำหรับเก็บวัตถุดิบ สินค้าส�ำเร็จรูป อะไหล่และอื่นๆ ที่จ�ำเป็น ต่อการประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมี เพื่อการเกษตรของ Baconco เป็นหลัก อย่างไรก็ตาม อาจมีการให้ลูกค้าภายนอก เช่าพื้นที่ว่างเป็นระยะสั้น ในขณะที่อาคาร
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
Baconco 5 (“BCC V”) นั้นถูกสร้างขึ้นเพื่อ รองรับการขยายสายการบรรจุหอ่ ปุย๋ ทางใบ อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากมีพนื้ ทีว่ า่ งคงเหลือ Baconco จึ ง จั ด สรรพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วไว้ เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ให้ เช่ า พื้ น ที่ โรงงาน เพื่อเก็บสินค้า ทั้งนี้ อาคารของ Baconco สามารถแบ่ ง ย่ อ ยได้ ต ามความต้ อ งการ ของลูกค้า อีกทั้งยังมีอุปกรณ์และระบบ สาธารณูปโภคครบวงจร อาทิเช่น ที่จอด รถบรรทุก จุดถ่ายสินค้า บริการรักษาความ ปลอดภัย และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ เช่น ไฟฟ้า น�้ำประปาและระบบระบาย อากาศ เป็นต้น การตลาดและการแข่งขัน
B a c on c o เริ่ ม จ� ำ ห น ่ าย ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ใ นประเทศเวี ย ดนามภายใต้ เครื่ อ งหมายการค้ า STORK ตั้ ง แต่ ป ี 2538 และต่อมาในปี 2548 ได้จดทะเบียน เครื่องหมายการค้าอย่างเป็นทางการ โดย วางกลยุทธ์ทางการตลาดเพือ่ จับตลาดกลุม่ ลูกค้าค้าส่ง และด้วย ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ และภาพลั ก ษณ์ เ ครื่ อ งหมายการค้ า ที่ ดี ท� ำ ให้ Baconco สามารถก้ า วขึ้ น เป็ น หนึ่งในผู้น�ำธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อ การเกษตรในประเทศเวี ย ดนาม แม้ ว ่ า ตลาดปุ๋ยเคมีของประเทศเวียดนามจะมี รัฐวิสาหกิจทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาล เป็นผูป้ ระกอบการรายใหญ่และอาจมีภาวะ เก็ ง ก� ำ ไรตามธรรมชาติ ข องตลาดสิ น ค้ า โภคภัณฑ์ก็ตาม นอกจากนี้ Baconco ยัง เป็นผู้น�ำตลาดในด้านการผลิตปุ๋ยเคมี โดย มี ส ่ ว นแบ่ ง การตลาดคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 25 ของปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK คุณภาพสูงและ ร้อยละ 9 ของปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK โดยรวม ภายหลังจากที่กลุ่มบริษัท TTA เข้าลงทุน ใน Baconco ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมาผู้ บริหารได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้ Baconco มี ก ารส่ ง ออกไปต่ า งประเทศมากขึ้ น โดยได้ ข ยายตลาดไปยั ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้และทวีปแอฟริกาจากการ สร้างฐานลูกค้าใหม่จากเครือข่ายพันธมิตร และลูกค้าเดิม อย่างไรก็ดผี ลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมี ที่ Baconco ส่งออกไปยังประเทศอื่นๆ ยกเว้นประเทศลาวและประเทศกัมพูชา เป็นการผลิตตามค�ำสั่งซื้อหรือรับจ้างผลิต ให้แก่ลูกค้า โดยในปัจจุบัน ฐานลูกค้ากลุ่ม นี้คือบริษัทที่ประกอบธุรกิจซื้อมาขายไป รายใหญ่ (Trader) ซึ่งจะจ�ำหน่ายภายใต้
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
เครือ่ งหมายการค้าของบริษทั นัน้ ๆ ในขณะ 2. กลุ่มลูกค้าเป้าหมายและกลยุทธ์ ที่การส่งออกไปยังประเทศกัมพูชา และ การตลาด ประเทศลาวยั ง คงเป็ น การจั ด จ� ำ หน่ า ย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ภายใต้เครื่องหมายการค้า STORK กลุ ่ ม สิ น ค้ า หลั ก ของ Baconco ได้ แ ก่ 1. กลยุทธ์การแข่งขัน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ซึ่ ง มี ก ารจ� ำ หน่ า ย เนื่องจากประเทศเวียดนามเป็นประเทศ ทั้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ เ วี ย ด น า ม ภ า ย ใ ต ้ ที่ขับเคลื่อนด้วยอุตสาหกรรมการเกษตร เครือ่ งหมายการค้า STORK และต่างประเทศ อีกทั้ง ปุ๋ยเคมีเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ดังนั้น แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ เ ค มี เ พื่ อ ก า ร เ ก ษ ต ร ธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร อืน่ เนือ่ งจากการด�ำเนินธุรกิจของ Baconco จึงมีการแข่งขันสูง อย่างไรก็ตาม Baconco ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ในประเทศเวี ย ดนามและ สามารถด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น หนึ่ ง ในผู ้ น� ำ ต่างประเทศที่แตกต่างกัน Baconco จึงมี ของตลาดของธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมี กลุ่มลูกค้าเป้าหมายแตกต่างกันในแต่ละ เพื่ อ การเกษตรในประเทศเวี ย ดนามได้ ตลาด เนื่องจากคุณภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ตรงหลั ก ของ Baconco ใน ของ Baconco กลยุ ท ธ์ ก ารแข่ ง ขั น หลั ก ประเทศเวียดนาม ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ปุ๋ย ของ Baconco คือ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ เคมีเชิงผสม NPK ปุ๋ยเคมีเชิงเดี่ยว ปุ๋ย คุณภาพผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีของ Baconco เคมีเชิงประกอบ ปุ๋ยทางใบ และสารเคมี ซึ่ ง จ� ำ หน่ า ยภายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า ป้องกันก�ำจัดศัตรูพชื ได้แก่ บริษทั ค้าส่ง ซึง่ STORK เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายใน จะด�ำเนินการกระจายสินค้าไปยังผูค้ า้ ปลีก ประเทศเวียดนาม โดย Baconco มีกลยุทธ์ และกลุ ่ ม ผู ้ ใช้ สิ น ค้ า (End Users) อี ก ที ดังต่อไปนี้ หนึง่ และกลุม่ ลูกค้าตรงหลักของ Baconco 1. การใช้ วั ต ถุ ดิ บ น� ำ เข้ า ที่ มี คุ ณ ภาพ ในต่างประเทศ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี สูงกว่าวัตถุดบิ ในประเทศเวียดนามใน เชิงผสม NPK ปุ๋ยเคมีเชิงเดี่ยว ปุ๋ยเคมี เชิงประกอบ และปุ๋ยทางใบ ได้แก่ บริษัท กระบวนการผลิต ที่ประกอบธุรกิจซื้อมาขายไป (Trader) ซึ่ง 2. การคิดค้นและผลิตสารเคมีแต่งเติม ในตลาดดังกล่าว Baconco ด�ำเนินการ ซึ่งเป็นสูตรและความสามารถเฉพาะ รั บ จ้ า งผลิ ต และจั ด หาตามสู ต รการผลิ ต ของ Baconco กล่าวคือสาร Urea ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง กล่ า วจึ ง ไม่ ไ ด้ ข ายภายใต้ Super Phosphate (USP) และยั ง เครื่องหมายการค้า STORK สามารถเคลื อ บผิ ว ปุ ๋ ย เคมี ด ้ ว ยสาร เคลือบผิว Bio Stimulant โดยที่สาร กลยุทธ์การตลาด Urea Super Phosphate (USP) จะเพิม่ เพือ่ ให้สอดคล้องกับลักษณะของฐานลูกค้า ประสิทธิภาพและอายุการใช้งานของ Baconco จึงใช้การตลาดทางตรง (Direct ปุ๋ยเคมีโดยการชะลอการท�ำปฏิกิริยา Marketing) เพือ่ เข้าถึงลูกค้าภายในประเทศ ของสารไนโตรเจน (N) ในปุ๋ยเคมีซึ่ง เวียดนาม ซึ่ง Baconco ให้ความส�ำคัญกับ เป็ น การควบคุ ม ปริ ม าณของสาร การท�ำการตลาดภายในประเทศเวียดนาม ดังกล่าวให้พอดีกบั ความต้องการของ อย่างต่อเนื่อง โดยกิจกรรมทางการตลาด พืช ขณะทีส่ ารเคลือบผิว Bio Stimulant ในประเทศเวียดนาม ประกอบด้วย การ จะเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพโดยการชะลอ พบปะแบบกลุ่มย่อย การจัดสัมมนาและ การท� ำ ปฏิ กิ ริ ย าของปุ ๋ ย เคมี แ ละ การตลาดเชิงกิจกรรม (Events) ซึ่งรูปแบบ ควบคุ ม ปริ ม าณสารอาหารให้ พ อดี ของกิ จ กรรมดั ง กล่ า วจะแตกต่ า งกั น ไป กับความต้องการของพืช ตามกลุ ่ ม ลู ก ค้ า และจุ ด ประสงค์ ข องการ จัดงานกล่าวคือ การพบปะกับเกษตรกรมี เป้ า หมายให้ Baconco สามารถเข้ า ถึ ง และให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ ปุย๋ เคมีทเี่ หมาะสมแก่กลุม่ เกษตรกรผูใ้ ช้สนิ ค้า (End Users) ได้โดยตรง และยังเป็นการ ให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และแนะน�ำ
ผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ของ Baconco อีกด้วย ในปี 2558 Baconco ได้จดั งานลักษณะนีก้ ว่า 1,100 ครั้งทั่วประเทศเวียดนาม และมีเกษตรกร เข้าร่วมงานกว่า 78,000 ราย นอกเหนือ จากการเพิ่ ม ยอดขายจากการพบปะกั บ กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้สินค้าแล้ว Baconco เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของช่องทางการจัด จ�ำหน่ายผ่านผู้ค้าปลีกภายในประเทศอีก ด้วย ดังนัน้ Baconco จึงจัดสัมมนาส�ำหรับ ผู้ค้าปลีกขึ้นทั่วประเทศ โดยมีจุดประสงค์ เพื่ อ แนะน� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละให้ ค วามรู ้ เกีย่ วกับผลิตภัณฑ์แก่ผค้ ู า้ ปลีก เพือ่ ให้ผค้ ู า้ ปลีก มีความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และสามารถขาย ผลิตภัณฑ์ของ Baconco ได้ดียิ่งขึ้น ในปี 2558 Baconco ได้จัดงานสัมมนาเพื่อผู้ค้า ปลีกประมาณ 20 ครัง้ นอกจากนี้ Baconco ยังจัดงานสัมมนาส�ำหรับผูค้ า้ ส่งในประเทศ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ ค ้ า ส่ ง ซึ่งเป็นลูกค้าโดยตรงของ Baconco โดย จัดขึ้น 2 ครั้งในปี 2558 ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ สร้างแรงจูงใจ ทุกๆ 2 ปี Baconco จะมอบ รางวั ล เป็ น การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วไปยั ง ต่างประเทศให้แก่ลูกค้าที่มียอดขายสูงสุด 20 อันดับแรก ส�ำหรับธุรกิจส่งออกนั้น Baconcoไม่ได้ มุ ่ ง เน้ น การตลาดเชิ ง รุ ก ดั ง เช่ น ตลาดใน ประเทศ เนือ่ งจากลูกค้าต่างประเทศส่วนมาก มาจากการสร้างเครือข่ายธุรกิจจากฐาน ลูกค้าเดิม และการบอกต่อของลูกค้า ทั้งนี้ Baconco ได้เข้าร่วมงานสัมมนาทีเ่ กีย่ วข้อง กับผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีต่างๆ เช่น สัมมนา ประจ�ำปีที่จัดโดย International Fertilizer Industry Association (“IFA”) และงาน สั ม มนาเกี่ ย วกั บ ตลาดปุ ๋ ย เคมี ใ นทวี ป แอฟริ ก าที่ จั ด โดย Argus FMB ซึ่ ง เป็ น หน่วยงานวิจัยและรายงานสภาวะตลาด ปุ๋ยเคมีนานาชาติ
รายงานประจ�ำปี 2558
17
Baconco จ�ำหน่ายสินค้าโดยตรงให้แก่ บริ ษั ท ค้ า ส่ ง ในประเทศเวี ย ดนาม ซึ่ ง จะ จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ดั ง กล่ า วให้ แ ก่ ผู ้ ค ้ า ปลี ก ส�ำหรับตลาดในประเทศเวียดนาม Baconco มีบุคลากรการขาย (Sales Team) จ�ำนวน ทั้ ง หมด 61 คน โดยจะจ� ำ แนกออก ตามเขตที่ ข ายซึ่ ง จะมี พื ช แตกต่ า งชนิ ด กั น เนื่ อ งจากภู มิ อ ากาศของเวี ย ดนาม ตอนใต้ ที่ เ หมาะสมกั บ การเพาะปลู ก มากกว่ า เวี ย ดนามตอนเหนื อ อี ก ทั้ ง ยั ง มี พ ฤติ ก รรมการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี โ ดยการค� ำ นึง ถึง คุณภาพปุ๋ย เคมี เป็นหลัก ดังนั้น Baconco จึงมีบุคลากร การขายส� ำ หรั บ ซึ่ ง ครอบคลุ ม เวี ย ดนาม ตอนใต้ ม ากกว่ า เวี ย ดนามตอนเหนื อ โดย Baconco มี บุ ค ลากรการขายที่ ครอบคลุ ม เวี ย ดนามตอนใต้ จ� ำ นวน 44 คน ขณะที่มีบุคลากรการขายที่ครอบคลุม เวียดนามตอนเหนือจ�ำนวน 7 คน ในขณะที่ กลุม่ ลูกค้าของ Baconco ในต่างประเทศคือ บริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจซือ้ มาขายไป (Trader) โดยส�ำหรับกลุ่มลูกค้าดังกล่าว Baconco เป็นเพียงผูด้ ำ� เนินการรับจ้างผลิตและจัดหา ตามสูตรการผลิต ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจึง ไม่ได้ขายภายใต้เครื่องหมายการค้าของ Baconco หรือ STORK ซึ่งระบบขนส่ง ทางบกจะเป็นช่องทางหลักส�ำหรับลูกค้า ในประเทศเวียดนามและลูกค้าในประเทศ ในลุ่มแม่น�้ำโขง ในขณะที่ระบบขนส่งทาง ทะเลจะเป็นช่องทางหลักส�ำหรับลูกค้าต่าง ประเทศ ทัง้ นี้ Baconco มีเครือข่ายผูค้ า้ ปลีก มากกว่า 5,000 ราย นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมี Baconco ยังมีผลิตภัณฑ์สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรู พืชอีกด้วยโดยมีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่ (1) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ารเคมี ป้อ งกัน ก� ำ จัด ศัต รูพืช ตามสู ต รของ Baconco โดยจ้ า งบุ ค คล ภายนอกให้ ด� ำ เนิ น การผลิ ต หี บ ห่ อ และ บรรจุภัณฑ์ทุกขั้นตอน (Outsource) และ (2) ผลิตภัณฑ์สารเคมีปอ้ งกันก�ำจัดศัตรูพชื และสารก�ำจัดแมลงซึง่ Baconco เป็นเพียง ผู้จัดจ�ำหน่าย โดยมีช่องทางการส่งออกไป ยังลูกค้าผ่านทางระบบขนส่งทางบก หรือ ทางน�้ ำ ผ่ า นท่ า เรื อ ในนิ ค มอุ ต สาหกรรม Phu My I Baconco มีเครือข่ายลูกค้าประเภทค้าส่ง ทั้งในประเทศและต่างประเทศกว่า 300 ราย โดยผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีของ Baconco 18
3. ช่องทางการจ�ำหน่ายและการกระจายสินค้า
ธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร ภายใน Baconco
กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี
ลูกค้าตรงของ Baconco
การจัดเก็บ สินค้าส�ำเร็จรูป ในอาคาร BCC I และ / หรือ BCC III
จ้างบุคคลภายนอกให้ ด�ำเนินการผลิต หีบห่อ และบรรจุผลิตภัณฑ์ (Outsource) สารเคมี ป้องกันก�ำจัดศัตรูพืช
เครือข่ายผูค้ า้ ปลีก
ผู้ใช้และการเกษตร
ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าปลีก
ผู้ค้าส่งใน ประเทศ
ผู้ค้าปลีก
ส�ำหรับข้าว และกาแฟเป็น หลัก
ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าปลีก
ผู้ค้าลงใน ต่างประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นบริษทั ซือ้ มาขายไป (Trader)
ผู้ค้าปลีก ผู้ค้าปลีก
ส�ำหรับพืช ทุกชนิด
ผู้ค้าปลีก
ซึง่ จ�ำหน่ายภายใต้เครือ่ งหมายการค้า STORK ได้วางจ�ำหน่ายในประเทศเวียดนามตัง้ แต่ปี 2538 และได้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าอย่างเป็นทางการในปี 2548 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความผันผวนในอุตสาหกรรมและตลาดปุ๋ย Baconco จึงได้ปรับโครงสร้าง การขายเพือ่ เพิม่ ปริมาณการส่งออกและลดการพึง่ พิงตลาดเวียดนาม ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงท�ำให้ มูลค่าการส่งออกเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 1,057.8 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 1,097.2 ล้านบาท ในปี 2558 โดยมูลค่าการส่งออกที่เพิ่มขึ้นยังเป็นการช่วยบริหาร ความเสีย่ งแบบธรรมชาติ (Natural Hedging Strategy) จากอัตราแลกเปลีย่ นเงินเวียดนาม ดองเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเกิดขึ้นจากการน�ำเข้าวัตถุดิบเพื่อการผลิตปุ๋ย เคมี ตารางต่อไปนี้แสดงรายได้จากการขายของธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตรแบ่ง ตามตลาดในประเทศและต่างประเทศ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
รายได้ขายในประเทศเวียดนาม รายได้ขายต่างประเทศ รวมรายได้จากการขาย
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
ล้านบาท
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
2,161.3 1,097.2 3,258.5
66.3 33.7 100.0
2,030.2 1,057.8 3,088.0
65.7 34.3 100.0
ตลาดในประเทศเวียดนาม ถึงแม้ว่าตามกลยุทธ์ทางธุรกิจหลักของ Baconco ในการขยายฐานลูกค้าและเพิ่มช่อง ทางการขายในต่างประเทศ Baconco แต่รายได้จากตลาดเวียดนามยังเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องจาก 2,030.2 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 2,161.3 ล้านบาท ในปี 2558 หรือ คิดเป็นประมาณร้อยละ 65.7 และ 66.3 ของรายได้จากการขายรวมตามล�ำดับ ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมีเชิงผสม NPK สูตร 20-20-15 เป็นสินค้าขายดีทสี่ ดุ ในประเทศเวียดนาม ของ Baconco โดยจ�ำหน่ายได้ 61,759 เมตริกตันหรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 31.5 ของ ปริมาณการขายทั้งหมดส�ำหรับปีบัญชี 2558 ตลาดต่างประเทศ ส�ำหรับรอบปีบัญชี 2557 และ 2558 Baconco มีรายได้จากการขายต่างประเทศเท่ากับ 1,057.8 ล้านบาท และ1,097.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับตลาดต่างประเทศที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด 7 อันดับแรกส�ำหรับรอบปีบัญชี 2558 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ประเทศ
ปริมาณ (เมตริกตัน)
รายได้ (ล้านบาท)
ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศแองโกลา ประเทศแซมเบีย ประเทศมาดากัสการ์ ประเทศแคเมอรูน ประเทศกัมพูชา ประเทศเลบานอน อื่นๆ รวม
36,100 11,400 10,000 6,545 5,107 2,729 2,150 5,659 79,690
448.5 161.7 123.6 97.9 84.5 43.6 29.9 107.5 1,097.2
หมายเหตุ:
ร้อยละของรายได้จากการขายรวม
1
ร้อยละ/1
13.8 5.0 3.8 3.0 2.6 1.3 0.9 3.2 33.7
ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมีเชิงผสม NPK สูตร 14-14-14 เป็นสินค้าขายดีทสี่ ดุ ในต่างประเทศของ Baconco โดยจ�ำหน่ายได้ 36,000 เมตริกตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.4 ของปริมาณการขายทั้งหมดส�ำหรับปีบัญชี 2558 กล่าวโดยสรุปปี 2558 Baconco สามารถจ�ำหน่ายสินค้าไป ยังต่างประเทศได้ 79,690 ตัน ซึง่ ใกล้เคียงกับปริมาณขายในปีทผี่ า่ นมา นอกจากนี้ Baconco ได้สง่ ออกปุย๋ ทางใบไปยังประเทศกัมพูชา ประเทศแคเมอรูน ประเทศกานา และในช่วงสิ้นปี 2558 ได้มีการส่งออกมายังประเทศไทย ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (ล้านล้านดอง)
แผนภู มิ ต ่ อ ไปนี้ แ สดงจ� ำ นวนและการเติ บ โตของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมแบ่ ง ตามภาค Baconco ตัง้ และด�ำเนินธุรกิจอยูใ่ นประเทศ อุตสาหกรรม เวี ย ดนาม ดั ง นั้ น ฐานะทางการเงิ น และ ภาคบริการ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร ผลประกอบการจึงมีความสัมพันธ์กบั สภาวะ 4,000.00 เศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรมการเกษตร 3,500.00 ของประเทศเวียดนาม จากข้อมูลส�ำหรับ รอบระยะเวลาปี 2553 จนถึงปี 2557 ของ 3,000.00 1,537 ส�ำนักงานสถิติทั่วไปแห่งชาติของประเทศ 2,500.00 43.42% เวียดนาม ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 2,000.00 เวียดนาม (Gross Domestic Product หรือ 1,500.00 1,307 GDP) ขยายตัวต่อเนื่อง โดยมีอัตราการ 36.92% 1,000.00 เติบโตอยู่ที่ร้อยละ 4.9 หากจ�ำแนกตาม กลุ่มอุตสาหกรรม เศรษฐกิจของประเทศ 500.00 696 19.66% เวียดนามสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุม่ หลัก 0.00 ประกอบไปด้วยภาคการเกษตรซึ่งรวมถึง 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 กิจกรรมทางการเกษตร ป่าไม้และประมง (Agriculture, Forestry and Fishery) ภาค ที่มา: General Statistics Office of Vietnam อุตสาหกรรมและการก่อสร้าง (Industrial แม้ภาคอุตสาหกรรมจะมีรายได้สงู ขึน้ อย่างมากจากการเปิดเสรีประเทศ ทว่าอุตสาหกรรม and Construction) และภาคการบริการ การเกษตรและธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตรยังคงเป็นอุตสาหกรรมส�ำคัญที่ (Service) ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์ ขับเคลือ่ นประเทศเวียดนาม เนือ่ งจากการทีป่ ระชากรเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วในขณะทีพ่ นื้ ที่ มวลรวมในประเทศเวียดนามในปี 2557 เพาะปลูกมีอยู่อย่างจ�ำกัด จากข้อมูล World Bank ส�ำหรับปี 2557 ประเทศเวียดนามมี อยูท่ ปี่ ระมาณร้อยละ 19.66 ร้อยละ 36.92 ประชากรประมาณ 90.73 ล้านคน โดยส�ำนักงานสถิตทิ วั่ ไปแห่งชาติของประเทศเวียดนาม และร้อยละ 43.42 ตามล�ำดับ (General Statistics Office of Vietnam) ได้คาดการณ์ว่าประเทศเวียดนามจะมีประชากร มากกว่า 100 ล้านคนภายในปี 2568 ทั้งนี้ จากข้อมูลของส�ำนักงานสถิติทั่วไปแห่งชาติ ของประเทศเวียดนาม (General Statistics Office of Vietnam) เผยว่าพื้นที่เพาะปลูกใน ประเทศไม่ได้เพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ดังนัน้ ปุย๋ เคมีทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงจึงเป็นทีต่ อ้ งการมากขึน้ รายงานประจ�ำปี 2558
19
ตลาดโลกโดยรวม
จากข้อมูลของสภาวะตลาดปุ๋ยเคมีโลก โดย Food and Agriculture Organization of the United Nations อุปทานการใช้ปุ๋ยรวมอยู่ ที่ประมาณ 183.2 ล้านเมตริกตัน ในปี 2556 และคาดว่าจะถึง 200.5 ล้านตัน ในช่วงท้ายปี 2561 ซึ่งตลาดเอเชียเป็นตลาดซึ่งมีการ อุปโภคปุ๋ยเคมีมากที่สุด นับเป็นส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 58.5 และการบริโภคโดยส่วนมากมาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดอุปทานและอุปสงค์ปุ๋ยเคมีโลก แบ่งตามสารอาหารหลักในแต่ละเขตพื้นที่ส�ำหรับ ปี 2559 สภาวะอุปทานและอุปสงค์ ธุรกิจปุ๋ยเคมีโลก
ไนโตรเจน
สารอาหารหลัก (พั นเมตริกตัน) ฟอสเฟต
เอเชีย เกินดุล / -ขาดดุล /1 -2,866 -977 อุปทาน 91,388 25,181 อุปสงค์ 94,254 26,158 อเมริกา เกินดุล / -ขาดดุล /1 -3,484 -2,671 อุปทาน 26,188 10,471 อุปสงค์ 29,672 13,142 ยุโรป เกินดุล / -ขาดดุล /1 14,069 1,313 อุปทาน 37,727 4,652 อุปสงค์ 23,658 3,339 แอฟริกา เกินดุล / -ขาดดุล /1 4,116 6,785 อุปทาน 8,713 8,703 อุปสงค์ 4,597 1,918 โอเชียเนีย (ประเทศออสเตรเลีย ประเทศนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก) เกินดุล / -ขาดดุล /1 -1,091 -330 อุปทาน 1,768 480 อุปสงค์ 2,859 810 /2 รวม เกินดุล / -ขาดดุล /1 10,744 4,120 อุปทาน 165,784 49,487 อุปสงค์ 155,040 45,367
โพแทส
-8,302 9,125 17,427 6,678 19,719 13,041 13,044 18,130 5,086 -758 0 758 -369 0 369 10,293 46,974 36,681
หมายเหตุ:
/1
คิดจากส่วนต่างระหว่างอุปทานกับอุปสงค์ สภาวะเกินดุล (ตัวเลขเป็นบวก) ต่อเมื่ออุปทานมากกว่าอุปสงค์ สภาวะขาดดุล (ตัวเลขเป็นลบ) ต่อเมื่ออุปทานน้อยกว่าอุปสงค์
/2
คิดจากผลรวมของแต่ละเขตพื้นที่
ที่มา: World Fertilizer Trends and Outlook to 2018, Food and Agriculture Organization of the United Nations
20
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
ตลาดเวียดนาม
แม้ว่าจะมีความท้าทายในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมปุ๋ย แต่ตลาดในประเทศเวียดนามยังคงมีประสิทธิภาพสูง เนือ่ งจากถูกขับเคลือ่ นโดยความต้องการปุย๋ อย่างคงที่ เนือ่ งจากกว่าร้อยละ 60 ของของประชากรท�ำงานในภาคเกษตร ทีด่ นิ ท�ำกินเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1 ทุกปี และความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้นมากกว่าการเพิ่มขึ้นของประชากร และเนื่องจากความส�ำคัญของอุตสาหกรรม การเกษตรต่อเศรษฐกิจประเทศเวียดนาม รัฐบาลเวียดนามจึงจ�ำเป็นที่จะต้องเข้ามาแทรกแซงกลไกตลาดธุรกิจปุ๋ยเคมี โดยการบริหาร งานผ่านเครือ Vietnam National Chemical Group (“Vinachem”) และ Vietnam Oil and Gas Group (“PetroVietnam”หรือ “PVN”) ซึ่ง เป็นรัฐวิสาหกิจที่มีบริษัทประกอบธุรกิจปุ๋ยเคมีในเครือ ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดประเภทผลิตภัณฑ์ และก�ำลังการผลิตของบริษัทผลิตปุ๋ยเคมีหลักในประเทศเวียดนาม เครือ
Vinachem
บริษัท
NinhBinh Phosphate Fertilizer JSC Southern Fertilizer Company (“SFC”) Lam Thao Fertilizer and Chemical (“Lam Thao”)
Van Dien Fused Magnesium Phosphate Fertilizer Company
PVN อื่นๆ
Binh Dien Fertilizer Company (“Binh Dien”) Can Tho Fertilizer & Chemical JSC Ha Bac Urea Company Ltd Ninh Binh Urea Company DAP 1 Company PetroVietnam Fertilizer and Chemical JSC Ca Mau Fertilizer Plant Five Star International Group
Baconco General Materials Biochemistry Fertilizer JSC Japan Vietnam Fertilizer Company (“JVF”)
กำ�ลังการผลิต
ประเภทผลิตภัณฑ์
(เมตริกตันต่อปี)
FMP NPK Superphosphate NPK Superphosphate FMP NPK FMP NPK NPK NPK Urea Urea DAP Urea Urea NPK Fertilizer Complex Specialized Fertilizer NPK NPK NPK
300,000 150,000 200,000 300,000 750,000 140,000 700,000 270,000 150,000 500,000 มากกว่า 200,000 190,000 560,000 330,000 800,000 800,000 300,000 n/a n/a 350,000 360,000 350,000
ที่มา: Baconco
รายงานประจ�ำปี 2558
21
จุดเด่นของ Baconco
เป็นหนึ่งในผู้น�ำตลาดปุ๋ย ผลิตภัณฑ์ของ Baconco มีคุณภาพและ เป็นที่ยอมรับ จึงท�ำให้ Baconco เป็นผู้น�ำ ด้านการผลิตและจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ปุ ๋ ย เคมี โ ดยมี ส ่ ว นแบ่ ง การตลาดคิ ด เป็ น ร้อยละ 9 ของของปุย๋ เคมีเชิงผสม NPK รวม และร้อยละ 25 ของปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK คุณภาพสูง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ที่ มี สู ต รเฉพาะที่ มี ประสิทธิภาพสูง เนือ่ งจากทรัพยากรทีด่ นิ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด ในขณะทีค่ วามต้องการพืชผลการเกษตรยัง คงมีปริมาณสูง ดังนัน้ ความสามารถในการ ผลิ ตพื ช ผลการเกษตรที่มีผลิตผลสูง จึง มี ส่วนส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อก�ำไรและความยัง่ ยืน ของเกษตรกร เกษตรกรจึงมีความต้องการ ปุย๋ เคมีทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการเพิม่ ผลิตผล การที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ข อง Baconco มี ส ่ ว นประกอบของสารเคมี แ ต่ ง เติ ม ที่ ส ามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการ ดังกล่าวได้เป็นอย่างดีจึงท�ำให้ผลิตภัณฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ภ ายใต้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า ของ Baconco เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพ และประสิทธิภาพและสามารถสร้างความ แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งในตลาด โดยนอกจากปุ๋ยเคมีเชิงผสม NPK ปุ๋ยเคมี เชิ ง เดี่ ย ว และปุ ๋ ย ทางใบแล้ ว Baconco ยั ง ผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยปุ ๋ ย เคมี ที่ มี ส ่ ว น ประกอบของ Urea Super Phospate (“USP”) และ สารเคลือบผิว Bio Stimulant ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นประกอบพิ เ ศษเฉพาะตั ว เนื่ อ งจากมี เ พี ย ง Baconco เท่ า นั้ น ที่ สามารถผลิต USP ได้ และได้รับอนุญาต ในการใช้สารเคลือบผิว Bio Stimulant จาก ประเทศฝรั่งเศสเพื่อเคลือบผิวปุ๋ยชนิดเม็ด ในประเทศเวียดนาม ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อการเกษตรครบวงจร Baconco เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการ ดูแลรักษาพืชผลทางการเกษตรอย่างครบ วงจร (Crop Care Solutions) โดยมีทั้ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี เ พื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต และ สารเคมี ป ้ อ งกั น ก� ำ จั ด ศั ต รู พื ช และสาร ก�ำจัดแมลงเพือ่ ป้องกันพืชจากศัตรูพชื และ แมลงนอกจากนี้ ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี Baconco เป็นผู้ผลิตปุ๋ยเคมีที่ครบวงจรอีก เช่นกัน กล่าวคือ Baconco สามารถผลิต 22
ปุย๋ เคมีได้ 4 ชนิดได้แก่ ชนิดเม็ด (Granular) ชนิดเม็ดแบบคอมแพ็ค (Compacted) ชนิด คลุกเคล้า (Bulk Blended) และปุ๋ยทางใบ (Foliar) โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ปุ ๋ ย เคมี ที่ หลากหลายท�ำให้ Baconco จะสามารถ รองรับความต้องการของลูกค้าทีห่ ลากหลาย และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสามารถในการออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่สตู่ ลาดอย่างรวดเร็วและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง หนึ่ ง ในปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการเติ บ โตของ Baconco คื อ ความคล่ อ งตั ว ในการ รองรับและสนองต่อความต้องการตลาด ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ดั ง นั้ น Baconco จึ ง มีหน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Development Team) โดยเฉพาะเพือ่ คิดค้น และทดลองสู ต รปุ ๋ ย เคมี ใ หม่ ๆ เพื่ อ เพิ่ ม คุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการทดลองประสิทธิภาพของสูตรปุย๋ ใหม่เพือ่ รองรับความต้องการของตลาดทัง้ ในประเทศเวียดนามและต่างประเทศ ทัง้ นี้ หน่วยงานดังกล่าวคือ หน่วยงานส�ำคัญใน การขยายตลาดและเพิ่มจ�ำนวนผลิตภัณฑ์ ของ Baconco อีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญในการเติบโตธุรกิจคือ ความรวดเร็วในการสนองตอบต่อความ ต้องการใหม่ของตลาด และความรวดเร็วใน การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ตามความต้องการ ดังกล่าว Baconco มีก�ำลังการผลิตกว่า 450,000 เมตริกตันต่อปี และก�ำลังการ บรรจุห่อกว่า 550,000 เมตริกตันต่อปีซึ่ง พร้ อ มผลิ ต ตลอด 24 ชั่ ว โมง Baconco จึงสามารถผลิตสูตรปุ๋ยเคมีใหม่เพื่อขาย ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อความต้องการ ตลาด เครือข่ายการจัดจ�ำหน่ายแข็งแกร่งจาก การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ธุ ร กิ จ ปุ ๋ ย เคมี ใ นประเทศเวี ย ดนามมี ก าร แข่ ง ขั น สู ง เนื่ อ งจากมี ก ารแทรกแซงจาก รั ฐ บาลโดยการจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส าร เคมีเพื่อการเกษตรผ่านรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจะ จ�ำหน่ายโดยการให้ Credit แก่ลกู ค้า ดังนัน้ ความสัมพันธ์ทดี่ รี ะหว่างลูกค้ากับ Baconco จึงมีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จด้านธุรกิจ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีอุปสรรคดังกล่าว Baconco ยังสามารถด�ำรงต�ำแหน่งเป็น
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
หนึ่งในผู้น�ำตลาดด้านผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี คุณภาพสูงได้จากความสัมพันธ์อันดีและ เครือข่ายลูกค้าที่กว้างขวางที่มีมาอย่าง ยาวนาน ทั้งนี้ เครือข่ายลูกค้าที่แข็งแกร่ง เป็นผลมาจากประสบการณ์ของผู้บริหาร หน่วยงานการตลาดที่มีประสิทธิภาพ และ กลยุทธ์การตลาด ท�ำเลที่ตั้งที่ดีมีศักยภาพอยู่ใกล้กับ จุดยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ของเวียดนาม โรงงานของ Baconco คือ BCC I ตั้งอยู่ ติ ด กั บ ท่ า เรื อ Baria ซึ่ ง เป็ น ท่ า เรื อ หลั ก ของเขต Phu My Baconco จึ ง มี ค วาม ได้เปรียบในการแข่งขัน ทั้งในด้านการคุม ต้นทุน และการให้บริการ เนื่องจากท�ำเล ทีต่ งั้ อยูต่ ดิ กับท่าเรือ Baria ดังนัน้ Baconco สามารถลดต้นทุนการขนส่งและโลจิสติกส์ ได้ อ ย่ า งง่ า ย นอกจากนี้ ยั ง สามารถส่ ง ผลิตภัณฑ์ได้ตรงต่อเวลาซึ่งถือเป็นปัจจัย ส�ำคัญ เนื่องจาก Baconco จ�ำหน่ายปุ๋ย ทั้งในประเทศเวียดนามและต่างประเทศ นอกเหนื อ จากการแข่ ง ขั น ในด้ า นราคา และคุณภาพแล้วการบริการเป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยส�ำคัญในการรักษาลูกค้าเดิมและหา ลูกค้าใหม่ การร่วมมือทางธุรกิจกับบริษัท โลจิสติกส์ชั้นน�ำ Baconco มีการร่วมมือทางธุรกิจกับบริษัท โลจิสติกส์ชั้นน�ำ ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ทั้ง ธุรกิจปุย๋ เคมีและธุรกิจพืน้ ทีโ่ รงงานเพือ่ เก็บ สินค้า จากผลการร่วมมือดังกล่าวท�ำให้ Baconco มีการให้บริการแก่ลูกค้าในด้าน การขนส่งตรงเวลาและการกระจายสินค้า ดีเยี่ยมซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยส�ำคัญในการ เติบโตธุรกิจอย่างต่อเนื่อง โดย Baconco เป็นหนึง่ ในผูป้ ระกอบธุรกิจปุย๋ เคมีไม่กรี่ าย ซึ่งมีกระบวนการผลิตครบวงจร กล่าวคือ มี ก ระบวนการผลิ ต ปุ ๋ ย พื้ น ที่ โ รงงาน เพื่อเก็บสินค้าเพื่อใช้ในการจัดเก็บวัตถุดิบ และสินค้าส�ำเร็จรูป และความสามารถใน การขนส่ง ความแข็งแกร่งในตลาดโลก ผลิตภัณฑ์ปยุ๋ เคมีสง่ ออกของ Baconco ได้ ส่งออกไปอย่างแพร่หลายในประเทศก�ำลัง พัฒนาทัว่ โลก โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกา ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 33.7 ของมูลค่ารายได้จากการขาย รวมในรอบปีบญ ั ชี 2558 รายได้ในประเทศ
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
ดังกล่าวมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ความ ส� ำ เร็ จ นี้ เ ป็ น ข้ อ ยื น ยั น ถึ ง ความสามารถ ในการท� ำ ตลาดไม่ เ พี ย งแต่ ใ นประเทศ เวียดนามแต่ในประเทศอื่นๆ ด้วย การด�ำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วย นโยบายสินค้าคงคลังต�่ำ ด้วยประสบการณ์อนั ยาวนานของผูบ้ ริหาร ซึ่งเล็งเห็นความเสี่ยงทางการเงินจากการ เก็ บ ส� ำรองสิ น ค้ า คงคลั ง เนื่ อ งจากความ ผั น ผวนของราคาและอุ ป สงค์ Baconco จึ ง น� ำ นโยบายสิ น ค้ า คงคลั ง ต�่ ำ มาใช้ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลก เปลีย่ นเงินเวียดนามดองเทียบกับสกุลเงิน อื่ น และความผั น ผวนของราคาวั ต ถุ ดิ บ และสินค้าส�ำเร็จรูป เนื่องจากลักษณะของ ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีซึ่งเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity Good) และมีความผันผวน อย่างมากจากสภาวะตลาดโลก นโยบาย ของ Baconco คื อ การคงสิ น ค้ า คงคลั ง น้อยที่สุด ซึ่งช่วยให้ Baconco มีความ คล่องตัวในการด�ำเนินธุรกิจรวมถึงการปรับ ต้นทุนการผลิตและราคาสินค้าส�ำเร็จรูป จึ ง สามารถควบคุ ม อั ต ราก� ำ ไรอย่ า งมี ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยการ ขยายตลาดและการด�ำเนินธุรกิจ ธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร ในประเทศเวียดนามเป็นอุตสาหกรรมที่มี ความผันผวน โดยสภาวะตลาดและอุปสงค์ จะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย อาทิเช่น ปริมาณ ฝน ปริมาณความชืน้ อุณหภูมิ เป็นต้น ดังนัน้ ภายหลั ง จากที่ ก ลุ ่ ม TTA ได้ เข้ า ลงทุ น ใน Baconco ในปี 2552 และได้แต่งตั้ง กลุ่มผู้บริหารชุดใหม่ Baconco จึงได้ปรับ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ ใ ห้ มี ค วามเหมาะสมเพื่ อ บริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งมากขึ้ น โดย มุ ่ ง เน้ น ส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปุ ๋ ย เคมี ไ ปยั ง ต่างประเทศมากขึน้ กลยุทธ์ดงั กล่าวช่วยลด ความเสี่ ย งจากการกระจุ ก ตั ว ของแหล่ ง ที่มาของรายได้ (Concentration Risk) ใน ประเทศเวี ย ดนาม และเป็ น การบริ ห าร ความเสีย่ งแบบธรรมชาติ (Natural Hedging Strategy) จากอั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น เวียดนามดองเทียบกับสกุลเงินดอลล่าร์ สหรัฐฯ ซึ่งเกิดขึ้นจากการน�ำเข้าวัตถุดิบ เพื่อการผลิตปุ๋ยเคมีเนื่องจากการส่งออก ของ Baconco ด�ำเนินการผ่านสกุลเงิน
ดอลลาร์สหรัฐฯ เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ส�ำหรับ รอบปี 2557 ถึง 2558 Baconco มีรายได้ จากการขายต่างประเทศเท่ากับ 1,057.8 ล้านบาท และ 1,097.2 ล้านบาท หรือ คิดเป็นประมาณร้อยละ 34.3 และ 33.7 ของ รายได้ ร วมตามล� ำ ดั บ นอกจากนี้ กลุ ่ ม ผูบ้ ริหารชุดใหม่เล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจใน ธุรกิจให้เช่าพืน้ ทีโ่ รงงานเพือ่ เก็บสินค้าจาก พื้นที่ว่างในอาคารต่างๆ ซึ่งนอกจากจะ เพิ่มรายได้ให้ Baconco แล้ว ยังเป็นแหล่ง รายได้ต่อเนื่อง (Recurring Income) ซึ่งจะ ช่วยเพิ่มเสถียรภาพด้านผลประกอบการ ด้วย ทั้งนี้ รายได้จากธุรกิจกังกล่าวเติบโต ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในรอบปี 2557 และ 2558 Baconco มีรายได้จากธุรกิจดังกล่าว ประมาณ 32.2 ล้านบาท และ 49.1 ล้านบาท ตามล�ำดับ กรรมการและคณะผูบ้ ริหารทีม่ ศี กั ยภาพ กรรมการและคณะผู้บริหารของ Baconco แต่ละท่านมีประสบการณ์ยาวนาน ซึ่งเป็น ปัจจัยหลักในความส�ำเร็จของ Baconco กล่ า วคื อ นายซิ ก มั น ต์ สตรอม ซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น ประธานกรรมการ มี ประสบการณ์ท�ำงานในประเทศเวียดนาม มานานกว่า 20 ปี และยังด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ประธานกรรมการของ Nordic Chamber of Commerce จึงมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูค้ า้ ต่างๆ ในประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ Mr. Pierre Siquet ซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่ง General Director มีประสบการณ์ ท�ำงานกับ Baconco ตั้งแต่ปี 2554 โดย ก่อนหน้านี้ Mr. Pierre Siquet ท�ำงานใน ประเทศเวียดนามมานานว่า 15 ปี ส่งผลให้ เป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ ในประเทศเวียดนามเป็นอย่างดี นอกจาก นี้ Mr. Didier Pinguet ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง Deputy General Director และ Commercial Director มี ป ระสบการณ์ ท� ำงานในด้ าน ธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร มานานกว่า 26 ปี จึงส่งผลให้ เป็นผู้มี ความรูค้ วามเชีย่ วชาญในอุตสาหกรรมเคมี เพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี โลกเป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังมีเครือข่าย ลูกค้าที่กว้างขวางซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ ด� ำ เนิ น งานของ Baconco อี ก ด้ ว ย ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น Mr. Ho Ngoc Chau และ Mr. Nguyen Dang Cat ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง เป็ น Financial and Administration
Director และ Plant Director ตามล�ำดับ มี ประสบการณ์ท�ำงานกับ Baconco มานาน กว่า 10 ปี ซึ่งส่งผลให้แต่ละท่านมีความรู้ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร และอุ ต สาหกรรมปุ ๋ ย เคมี ข องประเทศ เวียดนามอย่างลึกซึ้ง การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ 1. การจัดหาวัตถุดิบ
ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี นโยบายการจัดหาวัตถุดบิ มุง่ เน้นทีจ่ ะสร้าง ความสมดุลระหว่างการแสวงหาก�ำไรและ ความยั่ ง ยื น ทางธุ ร กิ จ ดั ง นั้ น นอกเหนื อ จากการประมูลราคาวัตถุดบิ เพือ่ ราคาทีต่ ำ�่ ที่สุดแล้ว Baconco ยังค�ำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ในการตัดสินใจ กล่าวคือ คุณภาพวัตถุดิบ ความน่าเชื่อถือของบริษัท และข้อตกลง การค้าอื่นๆ การผลิตปุ๋ยเคมีจ�ำเป็นต้องมี ส่วนประกอบของสารอาหารหลักและสาร อาหารเสริ ม ธาตุ อ าหารหลั ก ประกอบ ไปด้วย แคลเซียม แม็กนีเซียม โพแทสเซียม และก� ำ มะถั น ขณะที่ ธ าตุ อ าหารเสริ ม ประกอบไปด้วย โบรอน ทองแดง เหล็ก แมงกานิส และสังกะสี ปัจจุบัน Baconco มีเครือข่ายผู้จ�ำหน่าย วั ต ถุ ดิ บ รวมกว่ า 20 รายทั้ ง ในประเทศ เวียดนามและต่างประเทศ เช่น ประเทศ แคนาดา ประเทศจีน ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศไต้ ห วั น และประเทศอี ยิ ป ต์ เป็ น ต้ น เพื่ อ บริ ห ารความเสี่ ย งจากการ หดตัวของอุปทานในภูมภิ าคใดภูมภิ าคหนึง่ นอกจากนี้ เพื่อลดความไม่แน่นอนด้าน วัตถุดิบ Baconco ยังมีสัญญาระยะยาว กับผู้จ�ำหน่ายหลักอีกด้วย อย่างไรก็ตาม เพื่อความสม�่ำเสมอของคุณภาพวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ Baconco จึงเลือกจัดซื้อ วัตถุดบิ จากผูจ้ ำ� หน่ายเดิมซึง่ มีความน่าเชือ่ ถือ ทั้งนี้ประมาณร้อยละ 70 ของวัตถุดิบ ทั้งหมดของรอบปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 จัดซื้อมาจากผู้จ�ำหน่ายใหญ่ที่สุด 10 รายแรก ขณะที่ Baconco คงความสัมพันธ์ กับผู้จ�ำหน่ายอื่นเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบใน กรณีฉุกเฉินและเพื่อติดตามสภาวะและ ต้นทุนตลาด
รายงานประจ�ำปี 2558
23
ทั้งนี้ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประมาณร้อยละ 65 ของมูลค่าวัตถุดิบทั้งหมดเป็นวัตถุดิบน�ำเข้า ขณะที่อีกประมาณ ร้อยละ 35 ของมูลค่าวัตถุดิบทั้งหมดเป็นวัตถุดิบที่จัดซื้อจากในประเทศเวียดนามตามล�ำดับ ทั้งนี้ Baconco มีความจ�ำเป็นต้องน�ำเข้า วัตถุดิบเนื่องจากคุณภาพของวัตถุดิบที่แตกต่างกัน ผลิตภัณฑ์สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชและสารก�ำจัดแมลง นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมี Baconco ยังมีผลิตภัณฑ์สารเคมีป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชและสารก�ำจัดแมลงอีกด้วย เนื่องจากข้อจ�ำกัด ด้านขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจ Baconco จ�ำเป็นที่จะต้องว่าจ้างบุคคลภายนอกให้ด�ำเนินการผลิต หีบห่อและบรรจุภัณฑ์ทุกขั้นตอน โดยผลิตตามสูตรและมาตรฐานที่ก�ำหนด 2. โรงงานผลิตและอาคารเก็บสินค้า
ปัจจุบัน Baconco มีโรงงานผลิตปุ๋ยเคมีจ�ำนวน 1 แห่ง และอาคารเก็บสินค้าจ�ำนวน 3 แห่ง ขณะที่โรงงานผลิตปุ๋ยทางใบตั้งอยู่ที่อาคาร เก็บ BCC III ทัง้ นี้ โรงงานและอาคารเก็บสินค้ามีทตี่ งั้ ท�ำเลทีด่ ี ใกล้กบั ระบบขนส่งทางน�ำ้ ระบบขนส่งทางบก ตลาด และผูจ้ ำ� หน่ายวัตถุดบิ รายละเอียดของโรงงานผลิตและอาคารเก็บสินค้ามีดังนี้ พื้นที่เก็บสินค้า
ชื่อ: เริ่มด�ำเนินการ:
บาคองโค 1
BCC I เมษายน 2553
บาคองโค 3
BCC III กุมภาพันธ์ 2555
พื้นที่โรงงาน: 2,000 ตรม. 6,000 ตรม. ประเภทสินค้าทีจ่ ดั เก็บ: ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยเคมีและวัตถุดิบ
บาคองโค 5
BCC 5A BCC 5B.1 BCC 5B.2 มีนาคม 2556 และ มีนาคม 2558 กุมภาพันธ์ 2559 มกราคม 2557 26,800 ตรม. 11,300 ตรม. 8,200 ตรม. สินค้าและผลิตภัณฑ์ของบริษัทอื่น
3. การผลิตปุ๋ยเคมี
ปัจจุบัน Baconco มีก�ำลังการผลิตปุ๋ยประมาณ 450,000 เมตริกตันต่อปี เพิ่มขึ้นจากประมาณ 350,000 เมตริกตันต่อปี ซึ่งเป็นผลมา จากโครงการขยายก�ำลังการผลิตปุ๋ยเคมีชนิดเม็ด (Granular) โดยได้เริ่มกระบวนการผลิตในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 นอกจากนี้ ยังมีก�ำลังการบรรจุห่อประมาณ 550,000 เมตริกตันต่อปี อย่างไรก็ดี ก�ำลังการผลิตรวมดังกล่าวถูกจ�ำกัดด้วยก�ำลัง การผลิตของกระบวนการผลิตหลัก กล่าวคือ การผลิตปุ๋ยเคมีชนิดเม็ด (Granular) และการปั๊มเม็ดแบบคอมแพ็ค (Compacted) จาก ผลการด�ำเนินงานย้อนหลังปี 2557 และ 2558 Baconco มีอตั ราการใช้กำ� ลังการผลิตอยูท่ ปี่ ระมาณร้อยละ 49 และร้อยละ 39 ตามล�ำดับ จะเห็นได้ว่าอัตราการใช้ก�ำลังการผลิตนั้นต�่ำกว่าก�ำลังการผลิตสูงสุด ซึ่งเป็นผลมาจากวัฏจักรอุตสาหกรรมปุ๋ยทั้งในประเทศเวียดนาม และประเทศอื่นๆทั่วโลก ดังนั้นช่วงที่ผ่านมา ผู้บริหารของ Baconco จึงเน้นการส่งออกมากขึ้น ท�ำให้มีการใช้ก�ำลังการผลิตในช่วง Off-peak มากขึ้น ส่งผลให้การผลิตตลอดปีมีประสิทธิภาพดีขึ้น
24
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
กระบวนการผลิตปุ๋ยเคมี มีรายละเอียดดังนี้ วัตถุดิบ ซึ่งคือ แม่ปุ๋ย อาทิเช่น DAP MOP ยูเรีย และ แอมโมเนียมซัลเฟตเป็นต้น ที่ประกอบไปด้วยสารอาหารไนโตรเจน (N) ฟอสเฟต (P2O5)
ยูเรีย ซูเปอร์ฟอสเฟต (USP)
กระบวนการผลิตปั๊มเม็ดด้วยไอน�้ำ (Steam Granulation)
กระบวนการบีบอัด (Compaction)
สารอินทรีย์กระตุ้นประสิทธิภาพ (Bio Stimulant) กระบวนการคลุกเคล้า (Bulk Blending)
ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป (ปุ๋ยเคมีชนิดเม็ด ปุ๋ยเคมีชนิดคอมแพ็ ค หรือ ปุ๋ยเคมีชนิดคลุกเคล้า)
Baconco ผลิตปุ๋ย 3 ชนิดได้แก่ ชนิดเม็ด (Granulated) ชนิดเม็ดแบบคอมแพ็ค (Compacted) และชนิดคลุกเคล้า (Bulk Blending) อีกทัง้ ยังสามารถผลิตสารเคมี Urea Super Phosphate (USP) และ Bio Stimulant ซึง่ ใช้เพิม่ ประสิทธิภาพของปุย๋ เพือ่ เป็นการเพิม่ มูลค่า (Value add) ให้แก่ผลิตภัณฑ์และความคุม้ ค่าแก่ลกู ค้าอีกด้วย กระบวนการผลิตปุย๋ จ�ำเป็นต้องใช้ความเชีย่ วชาญอย่างสูงควบคูก่ บั เครือ่ งมือ การผลิตที่ทันสมัย โดย Baconco จะผลิตปุ๋ยแต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 50,000 เมตริกตันต่อชุดการผลิต
รายงานประจ�ำปี 2558
25
เครื่องผสมปุ๋ยชนิดคลุกเคล้า
เครื่องปั๊มเม็ด
การบรรจุห่อ
เครื่องอบแห้งปุ๋ยชนิดเม็ด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียของ Baconco Baconco มีความจ�ำเป็นต้องบ�ำบัดน�้ำเสีย และข้อก�ำหนดของนิคมอุตสาหกรรม Phu My I ก่อนที่จะปล่อยลงไปยังระบบสาธารณะ ปริมาณเจือปน (ppm) ตามกฎหมาย โดย Baconco มีโรงบ�ำบัด ปริมาณเจือปน น�้ำเสีย 1 โรงซึ่งมีอัตราการบ�ำบัดสูงสุด สู งสุดตามนิคม ปริมาณเจือปน 450 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ วั น ซึ่ ง สามารถ อุ ตสาหกรรม เพื่อค่าธรรมเนียม ปริมาณเจือปนของ บ�ำบัดน�้ำเสียได้ดีกว่าที่กฎหมายก�ำหนด สารเจื อ ปน Phu My I ต่ำ�สุด Baconco/1 โดยน�้ำที่บ�ำบัดแล้วเสร็จจะถูกปล่อยเข้าสู่ ระบบสาธารณะ โดยกากตะกอน (Sludge) ไนโตรเจน 60 40 26 ซึ่ ง ได้ จ ากการบ� ำ บั ด จะถู ก น� ำ มาใช้ ใ หม่ 28 6 0.91 ในกระบวนการการผลิตเพื่อใช้ประโยชน์ ฟอสเฟต จากสารเคมี ที่ เ หลื อ อยู ่ ทั้ ง นี้ ขี ด ความ Chemical Oxygen Demand 1,200 150 46 สามารถของโรงงานบ�ำบัดน�้ำเสียดีกว่าที่ นิคมอุตสาหกรรม Phu My I และดีกว่า (ค่าชี้วัดสารอินทรีย์ที่เจือปนในน�้ำ) มาตรฐานตามกฎหมายของประเทศ หมายเหตุ: /1ค่าเฉลี่ย ณ เดือนธันวาคม 2558 เวียดนามในการบ�ำบัดสารเจือปน
26
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ข้อมูลและแนวโน้มธุรกิจ
นอกจากผลกระทบทีเ่ กีย่ วกับคุณภาพน�ำ้ แล้ว Baconco ยังต้องประกอบธุรกิจให้สอดคล้องกับกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณภาพอากาศ และระดับเสียงอีกด้วย ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระดับการปล่อยฝุ่นและก๊าซต่างๆ ของ Baconco ปริมาณเจือปน (มิลลิกรัม ต่อ ลูกบาศก์เมตร) สิ่งที่ปล่อยในอากาศ
ฝุ่น ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซด์
ปริมาณเจือปนสูงสุดตามกฎหมาย
ระดับที่ตรวจวัดของ Baconco/1
6 5 5 20
2.09 0.07 0.04 5.18
หมายเหตุ: /1ค่าเฉลี่ย ณ เดือนธันวาคม 2558
ตารางต่อไปนี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระดับเสียงในกระบวนการผลิตต่างๆ ของ Baconco ระดับเสียง (เดซิเบล) กระบวนการผลิต
กระบวนการปั๊มเม็ดด้วยไอน�้ำ กระบวนการบีบอัด กระบวนการคลุกเคล้า กระบวนการผลิต USP
ระดับควรระวังตามกฎหมาย โดยไม่มีเครื่องป้องกัน
ระดับที่ตรวจวัดของ Baconco/1
90 90 90 90
80.9 79.2 78.2 74.6
หมายเหตุ: /1ค่าเฉลี่ย ณ เดือนธันวาคม 2558
รายงานประจ�ำปี 2558
27
7.
นโยบาย และความรับผิดชอบต่อสังคม
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความมุ่งมั่นที่จะด�ำรงตนให้เป็นบริษัทฯ ที่เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม (Good Corporate Citizen) ในการ ด�ำเนินงานและการท�ำกิจกรรมในทุกด้าน บริษทั ฯ ด�ำเนินกิจการด้วยหลักจริยธรรมและหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี พือ่ ให้สอดคล้อง กับผลประโยชน์ของสังคมและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทฯ มีกฏระเบียบเรื่องความโปร่งใสโดยมีขั้นตอนเพื่อบันทึก ประเมินผลและปรับปรุงขัน้ ตอนการด�ำเนินงานอย่างชัดเจน บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าความรับผิดชอบต่อสังคมมิได้เกิดขึน้ จากการท�ำกิจกรรม เพือ่ สังคมแต่เพียงเท่านัน้ หากยังต้องสร้างจิตส�ำนึกการท�ำประโยชน์เพือ่ สังคมให้กลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมุง่ เน้น ที่จะเสริมสร้างให้ความรับผิดชอบต่อสังคมได้ผนวกเข้ากับการด�ำเนินงานในด้านต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร บริษัทฯ จะด�ำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายเชิงธุรกิจและเป้าหมายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) โดยจะมุ่งเน้นใน 4 ข้อหลักได้แก่
บริษัทฯ จะด�ำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายเชิงธุรกิจ และเป้าหมายด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) โดยจะ มุ่งเน้นใน 4 ข้อหลักได้แก่
การก�ำกับดูแลกิจการ
บริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ ามกฎและระเบียบอย่าง เคร่งครัดโดยให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนิน การด้วยความโปร่งใสและความรับผิดชอบ รวมถึ ง การให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ สิ ท ธิ ข อง ผูถ้ อื หุน้ การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผย ข้อมูลและความโปร่งใส และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ
การเคารพสิทธิมนุษยชนและการ ดูแลพนักงาน
บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารด�ำเนินงาน ส่งเสริมด้าน แรงงานสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง โดยการให้ โอกาสที่เท่าเทียมกัน ความหลากหลาย ทางเชื้อชาติ การสร้างสมดุลระหว่างชีวิต กับการทํางาน ความปลอดภัยในที่ท�ำงาน และการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยแรงงาน การตอบแทนสังคม
บริษัทฯ จะส่งเสริมให้พนักงานท�ำกิจกรรม หรือโครงการ ทั้งแบบเดี่ยวหรือกลุ่ม เพื่อ ตอบแทนสังคม โดยมุง่ เน้นการบริจาค การ อาสา และโครงการที่เกี่ยวกับการศึกษา ต่างๆ โดยกิจกรรมที่บริษัทฯ ได้จัดท�ำขึ้น ในปี 2558 มีดังนี้ 28
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
บริษัทฯ จะพัฒนาระบบการท�ำงานและ การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ลดผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อมโดยมุ่งที่จะลดปริมาณของเสีย และเพิ่มความรับผิดชอบต่อการก�ำจัดสิ่ง ปฏิกูลและมลพิษ ทัง้ นี้ ในปี 2558 บาคองโค ได้รบั ประกาศนียบัตร รับรองความส�ำเร็จกับมาตรการประหยัด พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตาม กฎระเบียบข้อบังคับอย่างครบถ้วนจาก Ba Ria - Vung Tau Power Company ซึ่งเป็นผลมาจากการที่คณะผู้บริหารของ บาคองโคได้ ริ เริ่ ม น� ำ มาตรการประหยั ด พลังงานหลากหลายวิธีมาใช้ในการบริหาร จัดการพลังงานในโรงงานตลอดระยะเวลา 5 ปีทผี่ า่ นมา ซึง่ มาตรการประหยัดพลังงาน ของบาคองโค ประกอบไปด้วย การติดตั้ง ระบบท�ำความร้อนด้วยแผงโซล่าร์เซลล์ พร้อมด้วยการติดตั้งอินเวอร์เตอร์ส�ำหรับ ปัม๊ และพัดลมในโรงงาน การเปลีย่ นหลอดไฟ เป็ น หลอดไฟคอมแพคและหลอดไฟ LED และการอุดรูรั่วคอมเพรสเซอร์ของ
เครื่องปรับอากาศ นอกจากนี้ ยังมีการ จัดล�ำดับการใช้อุปกรณ์ในการปฎิบัติงาน แต่ละขั้นตอนให้สอดคล้องกับช่วงเวลา ท� ำ งาน มี ก ารตรวจสอบปริ ม าณการใช้ พลังงาน รวมทั้งจัดวางระบบเพื่อจัดการ พลั ง งาน และจั ด ท� ำ รายงานเพื่ อ แสดง ประสิทธิผลของมาตรการประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ ประสิ ท ธิ ภ าพในการ บริหารจัดการสิ่ งแวดล้อมของบา คองโคนัน ้ อยูใ่ นระดับทีด ่ ก ี ว่าเกณฑ์ ข้ อ บั ง คั บ ของนิ ค มอุ ต สาหกรรม Phu My I เสียอีก
รายงานประจ�ำปี 2558
29
นโยบายและความรับผิดชอบต่อสังคม
บาคองโค ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ และสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศนอร์เวย์ (Norwegian Football Association) ได้ร่วม กันจัดกิจกรรมเตะฟุตบอล (Fun Football Festival) ให้แก่เยาวชนจ�ำนวน 2,000 คน ซึ่งมาจากศูนย์เด็กและเยาวชนจ�ำนวน 15 แห่ง ในจังหวัดเถื่อเทียน-เฮว้ (Thua Thien Hue) ประเทศเวียดนาม บริษัทฯ เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเกษตร เพื่ อ อาหารกลางวัน ส�ำหรับ เด็ก นัก เรีย น กับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ชีส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยการสนับสนุนเงินทุนให้แก่ โรงเรี ย นบ้ า นหนองใหญ่ พั ฒ นา ต� ำ บล สระตะเคี ย น จั ง หวั ด นครราชสี ม า เพื่ อ สร้างเสริมระบบการเรียนรูใ้ นการเพาะปลูก พืชผักสวนครัว เพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยง ปลาดุก เป็ดไข่ รวมถึงการบริหารจัดการ ระบบชลประทาน ซึ่ ง โรงเรี ย นสามารถ น�ำผลผลิตจากโครงการไปประกอบเป็น อาหารกลางวันให้แก่นักเรียน ส่วนผลผลิต ทีเ่ หลือสามารถน�ำไปจัดจ�ำหน่ายเพือ่ สร้าง รายได้เสริมหรือน�ำมาเป็นทุนหมุนเวียน เพื่อใช้ในการต่อยอดโครงการต่อไป
8.
รายงาน ว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ
บริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ได้ตระหนักถึงความ ส� ำ คั ญ ของการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ว ่ า เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพ และ มีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งจะน�ำไป สู่ประโยชน์สูงสุดต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ฝ่าย ตั้งแต่พนักงาน ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น และ ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ดังนั้น คณะกรรมการ บริษทั ฯ จึงได้เห็นควรให้มกี ารจัดท�ำนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการขึ้น โดยครอบคลุม เนื้ อ หาหลั ก การส� ำ คั ญ ตั้ ง แต่ โ ครงสร้ า ง บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ จนถึงหลักการในการบริหาร งานของผูบ้ ริหารอย่างโปร่งใส ชัดเจน และ สามารถตรวจสอบได้ เพื่อเป็นแนวทาง ในการบริ ห ารองค์ ก ร ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ เชื่อมั่นว่าการด�ำเนินงานใดๆ ของบริษัทฯ กระท�ำด้วยความเป็นธรรม และค�ำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย ทั้ ง นี้ คณะกรรมการและคณะผู ้ บ ริ ห าร ของบริษทั ฯ จะยึดมัน่ ในหลักการด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความมุ่งมั่นและซื่อสัตย์สุจริต โดยมี การก�ำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแนว ปฏิบตั ทิ กี่ รรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานยึดถือ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ เพื่ อ ให้ มี ก ารผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรม ในการก�ำกับดูแลขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ เป็ น รากฐานการเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น สร้ า ง มูลค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน เพื่อ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของคณะกรรมการ โดยบริษัทฯ ได้วางโครงสร้างองค์กรให้มี ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบการปฏิบตั ิ งานได้ อ ย่ า งชั ด เจน ซึ่ ง ครอบคลุ ม หลั ก เกณฑ์ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ภายใต้ ระเบียบปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย
30
หลักการและนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการ
คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อ การปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี โดยเล็งเห็นว่าเป็นกลไกที่ส�ำคัญใน การน�ำไปสูก่ ารบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และโปร่ ง ใส สามารถตรวจสอบได้ ซึ่ ง การบริหารงานภายใต้หลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีจะเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่าย ไม่จ�ำกัดเฉพาะผู้ถือหุ้นหรือ ผู้ลงทุน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ก� ำ หนด นโยบายสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยครอบคลุมหลัก การส�ำคัญทั้ง 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
ถึ ง ความสะดวกในการเดิ น ทางของ ผู้ถือหุ้นเป็นหลัก 1.3 บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมทั้งเอกสารหรือข้อมูลประกอบ การประชุ ม ตามวาระต่ า งๆ อย่ า ง เ พี ย ง พ อ เ พื่ อ ใ ห ้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใช ้ ประกอบการพิ จ ารณา โดยจะจั ด ส่งเป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามระยะเวลาที่ ก ฎหมาย ประกาศ หรื อ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ก�ำหนด เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ ศึกษาข้อมูลอย่างครบถ้วน รวมถึงจะ ด�ำเนินการเผยแพร่หนังสือเชิญประชุม และเอกสารประกอบการประชุ ม บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อน วั น ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยบริ ษั ท ฯ ได้ มอบหมายให้ บ ริ ษั ท ศู น ย์ รั บ ฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่ง เป็ น นายทะเบี ย นหลั ก ทรั พ ย์ ข อง บริษทั ฯ เป็นผูด้ ำ� เนินการจัดส่งหนังสือ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสารต่ า งๆแก่ ผู้ถือหุ้น 1.4 ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วม ประชุมด้วยตนเองได้ บริษัทฯ จะเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใด เข้า ร่วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้หนังสือ มอบฉันทะ ที่บริษัทฯ จัดส่งไปพร้อม กับหนังสือเชิญประชุม
บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญโดยไม่กระท�ำการ ใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือริดรอนสิทธิ พื้นฐานต่างๆ ของผู้ถือหุ้น เช่น สิทธิใน ก า ร ซื้ อ ข า ย ห รื อ โ อ น ห ลั ก ท รั พ ย ์ ที่ ต นถื อ อยู ่ สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ ส่ ว นแบ่ ง ผลก� ำ ไรจากบริ ษั ท ฯ สิ ท ธิ ใ นการได้ รั บ ข่ า วสารหรื อ ข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ฯ อย่ า ง เพียงพอ สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือ หุ้น ซึ่งบริษัทฯ ตระหนักดีว่าการประชุม ผู้ถือหุ้นเป็นช่องทางส�ำคัญส�ำหรับผู้ถือ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ที่ จ ะใช้ สิ ท ธิ ข องตนใน 2. การด�ำเนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น ฐานะผู้ถือหุ้นได้ บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนด แนวทางปฏิบัติในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น 2.1 การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น จะด� ำ เนิ น การ ประชุ ม ตามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการใช้สทิ ธิของ ของบริษัทฯ โดยจะพิจารณาและลง ผู้ถือหุ้น ดังนี้ คะแนนเรียงตามล�ำดับวาระที่ก�ำหนด 1. การประชุมผู้ถือหุ้น ไว้ ไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่เป็นสาระ ส�ำคัญ หรือเพิ่มวาระการประชุมโดย 1.1 บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารประชุมสามัญ ไม่จ�ำเป็น โดยเฉพาะวาระที่มีความ ประจ�ำปีภายใน 4 เดือนนับแต่วนั สิน้ สุด ส� ำ คั ญ ที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ต้ อ งใช้ เวลาในการ รอบปีบัญชีและการประชุมผู้ถือหุ้น ศึ ก ษาข้ อมู ล ก่ อนการตั ดสิ น ใจ และ คราวอืน่ ซึง่ เรียกว่าการประชุมวิสามัญ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเท่าเทียม บริษัทฯ จะเรียกประชุมเพิ่มเติมตาม กันในการสอบถาม แสดงความคิดเห็น ความจ�ำเป็นและความเหมาะสมเป็น และข้อเสนอแนะต่างๆ กรณีไป 1.2 บริ ษั ท ฯ จะอ� ำ นวยความสะดวกแก่ 2.2 ส่ ง เสริ ม ให้ ก รรมการทุ ก คนและผู ้ บริ ห ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันใน โดยพร้ อ มเพรี ย งกั น เพื่ อ ตอบ การเข้าร่วมประชุม โดยจะก�ำหนดวัน ข้อซักถามจากผู้ถือหุ้น เวลา สถานทีป่ ระชุมทีเ่ หมาะสม ค�ำนึง
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
3. การจัดท�ำรายงานการประชุม และ การเปิดเผยมติการประชุมผู้ถือหุ้น
3.1 บริ ษั ท ฯ จะจั ด ให้ มี ก ารจดบั น ทึ ก รายงานการประชุ ม อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน และบันทึกประเด็นซักถาม และข้อคิดเห็นที่ส�ำคัญไว้ในรายงาน การประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ตรวจสอบได้ โดยให้แล้วเสร็จภายใน 14 วั น นั บ แต่ วั น ที่ มี ก ารประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และจะน� ำ ส่ ง รายงานการ ประชุมดังกล่าวไปยังตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยหรื อ หน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องภายในเวลาที่ก�ำหนด รวม ถึงน�ำรายงานการประชุมเผยแพร่บน เว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้ พิจารณา 3.2 บริษัทฯ จะรายงานมติของที่ประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผ่ า นระบบสารสนเทศของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ภายในวันเดียวกันกับวันประชุม หรือ อย่างช้าภายใน 9.00 น. ของวันท�ำการ ถัดไป รวมถึงเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ด้วย
กฎหมาย ประกาศ หรื อ ระเบี ย บที่ อนึ่ง บริษัทฯ จะจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เกี่ยวข้องก�ำหนด เพื่อเปิดโอกาสให้ ประจ�ำปี 2559 ในวันที่ 25 เมษายน 2559 ผู้ถือหุ้นได้ศึกษาข้อมูลอย่างครบถ้วน ณ ห้องโลตัส ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น โดยในการจั ด การประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ้นประจ�ำปี 2559 นี้ บริษัทฯ จะจัดส่ง 2. เพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ แ ละอ� ำ นวยความ หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พร้ อ มทั้ ง สะดวกแก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า เอกสารหรื อ ข้ อ มู ล ประกอบการประชุ ม ร่วมประชุมได้ด้วยตนเอง บริษัทฯ จะ ตามวาระต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า จัดส่งหนังสือมอบฉันทะพร้อมหนังสือ ไม่ น ้ อ ยกว่ า 14 วั น ก่ อ นการประชุ ม เชิญประชุมซึง่ ระบุถงึ เอกสารและหลัก ผู ้ ถื อ หุ ้ น และจะด� ำ เนิ น การลงประกาศ ฐานที่ต้องใช้ประกอบการมอบฉันทะ พิมพ์หนังสือเชิญประชุมในหนังสือพิมพ์ อย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถ รายวันฉบับภาษาไทยอย่างน้อย 1 ฉบับ มอบฉั น ทะให้ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง และหนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาอังกฤษ หรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ เป็น อย่ า งน้ อ ย 1 ฉบั บ เป็ น เวลาติ ด ต่ อ กั น ผู้รับมอบฉันทะเข้าร่วมประชุม และ อย่างน้อย 3 วัน และไม่น้อยกว่า 3 วัน ลงมติแทนได้ โดยบริษัทฯ จะจัดให้มี ล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ท่านเป็น ประจ�ำปี ผู้รับมอบฉันทะเพื่อเข้าร่วมประชุม และลงมติ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะแจ้งรายชือ่ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ แจ้ ง ก� ำ หนดการ กรรมการอิสระดังกล่าวไว้ในหนังสือ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 ไป เชิญประชุมผู้ถือหุ้น ยังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อ วั น ที่ 16 มีนาคม 2559 และจะเผยแพร่ 3. เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ เข้าถึงข้อมูลของบริษทั ฯ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการประชุ ม สามั ญ ได้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น บริ ษั ท ฯ ได้ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 ทางเว็บไซต์ของ เพิ่มช่องทางในการรับทราบข่าวสาร บริษัทฯ คือ www.pmthoresenasia.com ของผู ้ ถื อ หุ ้ น ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข อง บริ ษั ท ฯ นอกเหนื อ ไปจากการแจ้ ง ในวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2559 ข้อมูลผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์ บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารอ�ำนวยความสะดวก แห่งประเทศไทย ในกรณีทเี่ ป็นหนังสือ ในการลงทะเบียนผูถ้ อื หุน้ โดยจะจัดช่องลง เชิญประชุมผู้ถือหุ้น จะเผยแพร่ก่อน ทะเบียนแยกระหว่างผูถ้ อื หุน้ และผูร้ บั มอบ วันประชุมล่วงหน้าด้วย ฉันทะ และจะน�ำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการ ลงทะเบียนส�ำหรับผู้เข้าร่วมประชุม และ 4. บริษัทฯ ได้จัดท�ำข้อมูลทั้งภาษาไทย ใช้ในการนับคะแนน พร้อมกันนี้บริษัทฯ และภาษาอังกฤษในการเปิดเผยข้อมูล ได้แนบซองจดหมายแบบตอบรับไว้ เพื่อ และสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ให้ผู้ถือหุ้นส่งหนังสือมอบฉันทะมาทาง สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียม ไปรษณีย์อีกด้วย กันทั้งผู้ถือหุ้นชาวไทยและต่างชาติ หมวดที่ 2. การปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ 5. ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จะเปิด อย่างเท่าเทียมกัน โอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกรายสามารถซัก ถาม แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอ บริษทั ฯ มีนโยบายในการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ แนะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ตามความ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม ทัง้ เหมาะสม ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารและไม่เป็นผู้บริหาร ผู ้ ถื อ หุ ้ น ชาวไทยหรื อ ต่ า งชาติ ผู ้ ถื อ หุ ้ น 6. บริษทั ฯ มีการก�ำหนดมาตรการป้องกัน รายใหญ่หรือรายย่อย โดยด�ำเนินการดังนี้ การใช้ขอ้ มูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของกรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร 1. บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุม พนั ก งาน และลู กจ้าง รวมตลอดถึงคู่ พร้อมทั้งเอกสารหรือข้อมูลประกอบ สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ การประชุมให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ของบุ ค คลดั ง กล่ า วที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ก่ อ นการประชุ ม ตามระยะเวลาที่ ข้ อ มู ล รวมถึ ง ได้ ก� ำ หนดบทลงโทษ รายงานประจ�ำปี 2558
31
รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ
2.3 บริษทั ฯ จัดให้มบี คุ ลากรอย่างเพียงพอ และน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ให้การด�ำเนินการประชุม สามารถด�ำเนินได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และตรวจสอบได้ 2.4 บริ ษั ท ฯ จะมี ก ารชี้ แจงเกี่ ย วกั บ กฎ เกณฑ์ที่ใช้ในการประชุม หลักเกณฑ์ และขั้ น ตอนในการออกเสี ย งลง คะแนนและวิธีนับคะแนนเสียง และ จัดสรรเวลาการประชุมให้เหมาะสม 2.5 บริษัทฯ จะใช้บัตรลงคะแนนส�ำหรับ การออกเสีย งลงคะแนนในแต่ว าระ เพื่อให้สามารถตรวจสอบและอ้างอิง ได้
เกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย หรื อ น� ำ ข้ อ มู ล ของ บริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ยไปใช้ เ พื่ อ ประโยชน์ส่วนตนไว้แล้ว 7. บริษัทฯ มีข้อก�ำหนดห้ามกรรมการ และผู ้ บ ริ ห ารทุ ก คนซื้ อ ขายหุ ้ น และ หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ในช่วง 3 สัปดาห์ ก่ อ นการเปิ ด เผยผลการด�ำเนินงาน ทางการเงิ น รายไตรมาสและรายปี ของบริ ษั ท ฯ ข้ อ ห้ า มนี้ ใช้ บั ง คั บ กั บ นิติบุคคลที่กรรมการของบริษัทฯ มี ส่วนได้เสียที่เป็นประโยชน์ นิติบุคคล ที่ว่าจ้างกรรมการของบริษัทฯ หรือ ที่กรรมการของบริษัทฯ ท�ำการเป็น ตัวแทน โดยเลขานุการบริษทั ฯ จะแจ้ง เตือนคณะกรรมการและผู้บริหารล่วง หน้าอย่างน้อย 1 สัปดาห์ก่อนถึงช่วง ระยะเวลาห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ 8. บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ ก รรมการ ผู ้ บ ริ ห าร จั ด ท� ำ และส่ ง รายงานการ ถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ต ลอดจนการ เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมถึงที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) 9. บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ ก รรมการและ ผูบ้ ริหารจัดส่งรายงานการมีสว่ นได้เสีย ของตนและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทุกครัง้ ที่ มีการเปลี่ยนแปลง โดยให้เลขานุการ บริษัทฯ เป็นผู้จัดเก็บและจัดส่งส�ำเนา แก่ ป ระธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบ 10. บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดนโยบายการท� ำ ธุรกรรมกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องของบุคคล ดังกล่าว เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการ ด� ำ เนิ น การใดๆ ในการท� ำ รายการ ระหว่างกันหรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริ ษั ท ฯ จะด� ำ เนิ น การให้ ก รรมการและ ผู้บริหารที่ด�ำเนินการใดๆ ซึ่งมีส่วนได้เสีย กับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ไม่ว่าทาง ตรงหรื อ ทางอ้ อ มจะต้ อ งแจ้ ง การมี ส ่ ว น ได้เสียนั้นๆ ให้เลขานุการบริษัทฯ ทราบ เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัทฯ 32
หมวดที่ 3. บทบาทของผู้มีส่วน ได้เสีย
บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ น ได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน และผูม้ สี ว่ น ได้เสียภายนอก ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ คู ่ แข่ ง ทางการค้ า สั ง คม รวมทั้ ง ชุ ม ชน ใกล้เคียงที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ ได้ก�ำหนดข้อ ก�ำหนดเกีย่ วกับจริยธรรมและจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ ซึง่ จะกล่าวถึงข้อพึงปฏิบตั ใิ นการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ข้อพึงปฏิบัติของ กรรมการบริษทั ฯ ข้อพึงปฏิบตั ขิ องผูบ้ ริหาร บริษัทฯ ข้อพึงปฏิบัติของพนักงานบริษัทฯ เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกคนในบริษัทฯ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ รับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริต หลีกเลี่ยงการกระท�ำใดๆ ที่จะเข้าข่ายมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1. การดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย
(ก) ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะด�ำเนินการเพื่อให้เกิด ผลประโยชน์ในระยะยาวสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น ด้วยการพิจารณาความเสี่ยงในการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างรอบคอบ บริษทั ฯ เปิดเผยข้อมูล ทั้งหมดอย่างยุติธรรมและโปร่งใสในเวลา อันสมควร และพยายามอย่างดีที่สุดที่จะ ปกป้องทรัพย์สินและชื่อเสียงของบริษัทฯ นอกจากสิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิที่ก�ำหนดไว้ ในกฎหมายและข้อบังคับบริษทั ฯ อาทิ สิทธิ ในการขอตรวจสอบจ�ำนวนหุน้ สิทธิในการ ได้รับใบหุ้น สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น และออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดง ความคิดเห็นอย่างอิสระในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ รวมถึงสิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่าง เป็นธรรมแล้ว บริษทั ฯ ยังได้ให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในฐานะเจ้า ของบริษัทฯ ผ่านกรรมการอิสระ โดยทุกๆ ข้อคิดเห็นจะได้รบั การรวบรวมเพือ่ เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา (ข) พนักงาน บริ ษั ท ฯ ถื อ ว่ า พนั ก งานเป็ น หนึ่ ง ใน ทรั พ ยากรที่ ส� ำ คั ญ ของบริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ว่ า จ้ า งพนั ก งานที่ มี ค วามสามารถและ ประสบการณ์ ต ามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผน ปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท ฯ และมุ ่ ง รั ก ษา พนักงานให้ท�ำงานในระยะยาว โดยสร้าง
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
สมดุลระหว่างชีวติ การท�ำงานและชีวติ ส่วน ตัวให้กับพนักงาน บริษัทฯ มีการจ่ายผล ตอบแทนให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับการจ่ายผลตอบแทนของ อุตสาหกรรมเดียวกัน บริษัทฯ มีนโยบาย ค่ า ตอบแทนพนั ก งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะ สัน้ และระยะยาว ซึง่ ระยะสัน้ ได้แก่ เงินเดือน เงิ น รางวั ล ประจ� ำ ปี โดยการพิ จ ารณา ค่าตอบแทนของพนักงานจะพิจารณาจาก ผลประเมินการปฏิบัติงานของพนักงาน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และ ในระยะยาวได้แก่ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ให้แก่พนักงานเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง ในการด�ำรงชีพ และเพือ่ เป็นหลักประกันแก่ พนักงานภายหลังสิ้นสุดการเป็นพนักงาน หรือเกษียณอายุการท�ำงาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดให้มีสวัสดิการต่างๆ ให้กับ พนักงานประจ�ำ ซึ่งรวมถึง ประกันชีวิต ประกันสุขภาพส่วนบุคคล วันหยุดลาคลอด และวันหยุดประจ�ำปี (ค) คู่แข่ง บริษัทฯ จะปฏิบัติต่อคู่แข่งโดยการด�ำเนิน ธุรกิจด้วยความซื่อตรงและเป็นมืออาชีพ โดยบริษทั ฯ จะไม่กระท�ำการใดๆ ทีเ่ ป็นการ ฝ่าฝืนหรือขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การแข่งขันทางการค้า (ง) เจ้าหนี้ บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะรักษาสัมพันธภาพ ที่ ยั่ ง ยื น ระหว่ า งบริ ษั ท ฯ และเจ้ า หนี้ อ ยู ่ เสมอ บริษัทฯ จะปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่าง เสมอภาคและเป็ น ธรรม โดยให้ ข ้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ ง โปร่ ง ใส และตรวจสอบได้ แ ก่ เจ้าหนี้ และยึดมั่นในการปฏิบัติตามข้อ กํ า หนดและเงื่ อ นไขของสั ญ ญาที่ มี ต ่ อ เจ้าหนีโ้ ดยเคร่งครัด ทัง้ ในเรือ่ งการชาํ ระคืน เงินต้น ดอกเบีย้ และค่าธรรมเนียม การดาํ รง อัตราส่วนทางการเงิน และเงื่อนไขอื่นๆ เป็นต้น และหากเกิดกรณีที่บริษัทฯ ไม่ สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อใดข้อหนึง่ ได้ บริษัทฯจะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบโดยเร็ว เพื่อ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข (จ) คู่ค้า บริษัทฯ มีหลักการคัดเลือกคู่ค้าหรือผู้ให้ บริ ก ารจากภายนอก โดยพิ จ ารณาจาก การวางกลยุทธ์ทางธุรกิจของผู้ให้บริการที่ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั ฯ
2. การด�ำเนินการในการต่อต้าน คอร์รัปชั่น
บริษัทฯ มุ่งเน้นที่จะด�ำเนินธุรกิจอย่างมี คุณธรรม โดยยึดมั่นในความรับผิดชอบ ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อให้เป็น แนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้าน คอร์รัปชั่น ทั้งนี้ บริษัทฯ อยู่ระหว่างการ พิจารณาที่จะน�ำแนวนโยบายการต่อต้าน การคอร์รัปชั่น (Anti-Corruption Policy) มาใช้เพื่อให้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานใน เรื่องการต่อต้านการทุจริต 3. การต่อต้านการทุจริตและการจ่าย สินบน
บริ ษั ท ฯ สนั บ สนุนให้พนัก งานประพฤติ และปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้องตามกฏหมาย โดย ได้ก�ำหนดเป็นแนวปฏิบัติข้อหนึ่งในคู่มือ จริยธรรมธุรกิจของกลุ่มบริษัทโทรีเซน ที่ พนักงานทุกคนจะต้องปฏิบัติในเรื่องเกี่ยว กับของขวัญ และการเลี้ยงรับรองต่าง ๆ พนักงานไม่ควรรับหรือให้ของขวัญ ความ ช่วยเหลือในการเลี้ยงรับรองต่าง ๆ หาก การรับหรือการให้นั้นผูกมัดหรือดูเหมือน
ว่าจะผูกมัดผู้รับ หรือหากการรับหรือการ ให้นั้น ถือว่าเป็นความพยายามที่จะให้มี อิทธิพลอยู่เหนือการตัดสินใจ กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน และ สมาชิ ก ครอบครั ว ของบุ ค คลเหล่ า นี้ ไม่ ควรจะยอมรั บ หรื อ รั บ ของขวั ญ หรื อ การเลี้ยงรับรองใดๆ ในกรณีดังต่อไปนี้ (ก) ไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติเชิงธุรกิจ ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา (ข) มีมูลค่าสูงมาก (ค) อาจตีความได้วา่ เป็นเงินทีม่ ภี าระผูกพัน เงินสินบน หรือการจ่ายเงินที่ละเมิดต่อ กฎหมาย (ง) ละเมิดต่อกฎหมายหรือเสื่อม เสียชื่อเสียงแก่บริษัทฯหากถูกเปิดเผย 4. การด�ำเนินการในกรณีมีผู้แจ้ง เบาะแสและการปกป้องผูแ ้ จ้งเบาะแส
บริษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการด�ำเนินการจัดท�ำ มาตรการคุ้มครองผู้รายงาน ผู้ร้องเรียน ผู้แจ้งเบาะแสในการกระท�ำผิด หรือผู้ที่ ให้ค วามร่วมมือในการรายงานดังกล่าว (Whistle Blowing Policy) โดยผู้รายงาน ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูแ้ จ้งเบาะแสสามารถเลือก ที่จะไม่เปิดเผยตนเองได้ หากเห็นว่าการ เปิดเผยนั้นจะท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัย หรือความเสียหาย และบริษัทฯ จะเก็บ ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องไว้เป็นความลับ และค�ำนึง ถึงความปลอดภัยของผูร้ ายงาน ผูร้ อ้ งเรียน หรือผู้แจ้งเบาะแส 5. ช่องทางในการติดต่อบริษัทส�ำหรับ ผู้มีส่วนได้เสีย
บริ ษั ท ฯ อยู ่ ใ นระหว่ า งการด� ำ เนิ น การ จั ด ให้ มี ช ่ อ งทางในการรายงานมายั ง คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแจ้ ง ผ ่ า น ท า ง เ ว็ บ ไ ซ ต ์ ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ที่ http://www.pmthoresenasia.com และ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นจะถู ก ส่ ง ให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ในการประชุมเป็นรายไตรมาส
หมวดที่ 4. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และความโปร่งใส
คณะกรรมการบริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะดูแลให้ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และ ระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการเปิดเผย ข้อมูล โดยบริษัทฯ จะให้ความส�ำคัญกับ การเปิดเผยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ โปร่งใสทัง้ ข้อมูลของบริษทั ฯ ข้อมูลทางการ เงิน และข้อมูลทั่วไปที่มิใช่ข้อมูลทางการ เงิน เพือ่ ให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ หมดรับข้อทราบ ข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน โดย บริษทั ฯ จะ เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ต่อ ผู้ถือหุ้น และสาธารณชนผ่านช่องทางและ สือ่ การเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษัทฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่อรายงานทางการเงิน เพื่อให้แสดงถึง สถานะทางการเงิน และผลการประกอบ การที่แท้จริงของบริษัทฯ โดยอยู่บนพื้น ฐานของข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ที่ ถู ก ต้ อ ง ครบ ถ้วน และเพียงพอตามมาตรฐานทางการ บัญชีซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยคณะ กรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อสอบทานรายงานทางการ เงินให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนและเชื่อ ถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส และทันเวลาตามประกาศ ที่เกี่ยวข้องก�ำหนด นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยว กับกรรมการแต่ละท่าน ตลอดจนบทบาท และหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ และ คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ รวมถึง จะเปิดเผยค่าตอบแทนของกรรมการ และ ผูบ้ ริหารระดับสูงในรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำ ปี (แบบ 56-1) ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลทั้งที่เป็นข้อมูล ทางการเงิน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัทฯ ในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ถูกเผยแพร่ให้กับผู้ถือหุ้น นั ก ลงทุ น และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผ่ า นทาง ระบบการสื่ อ สารของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย เว็ บ ไซต์ ข อง บริ ษั ท ฯ (http://www.pmthoresenasia.com) และข่ า วประชาสั ม พั น ธ์ ท างสื่ อ ต่ า งๆ (press release) รายงานประจ�ำปี 2558
33
รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ
เช่น ความสามารถในการแข่งขัน ความต่อ เนื่องทางธุรกิจ การป้องกันและดูแลลูกค้า และวิธีการบริหารความเสี่ยง (ฉ) ลูกค้า บริษัทฯ ตระหนักดีว่าลูกค้ามีความส�ำคัญ อย่างยิ่งยวดต่อความส�ำเร็จในการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ฯ จึ ง มุ ่ ง ที่ จ ะ สร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าด้วยการให้ บริการอย่างเป็นเลิศ โดยพัฒนาคุณภาพ ของสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่องและ สม�่ ำ เสมอเพื่ อ ตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังของลูกค้าอย่างยุตธิ รรม และมืออาชีพ (ช) ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการ ใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มน้ อ ย ที่สุด มีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้และมีการ พัฒนากระบวนการท�ำงานที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม พร้อมไปกับการปลูกฝังให้ พนักงานมีจติ ส�ำนึกในการค�ำนึงถึงผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการปฏิบัติงาน ในหน้าที่
หมวดที่ 5. ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ
การประเมินตนเองของคณะกรรมการ รายคณะและเป็นรายบุคคล
คณะกรรมการบริษัทฯ มีความรับผิดชอบ ต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษทั ฯ การก�ำกับดูแลกิจการให้เป็นไป ตามเป้าหมาย และแนวทางที่จะก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ ใ นการ ปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ และ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ ของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทัง้ ในระยะ สั้นและระยะยาว และเพื่อให้มั่นใจว่าการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปในทิศทาง ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริษัทฯ จะดูแลให้มีการจัดท�ำวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย นโยบาย ทิศทางการด�ำเนินงาน แผนกลยุทธ์ แผนงาน และงบประมาณ ประจ�ำปีของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการ บริษัทฯ จะแสดงความคิดเห็น เพื่อให้เกิด ความเข้าใจในภาพรวมของธุรกิจร่วมกัน ก่ อ นที่ จ ะพิ จ ารณาอนุ มั ติ และติ ด ตาม ให้ มี ก ารบริ ห ารงานเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตาม เป้าหมายที่วางไว้ โดยยึดถือแนวทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการ ประเมินผลการท�ำงานของคณะกรรมการ เป็นรายคณะ และการประเมินตนเองของ คณะกรรมการเป็นรายบุคคล โดยประธาน กรรมการเป็นผู้ด�ำเนินการส่งแบบประเมิน ผลงานของคณะกรรมการเป็นรายคณะ และแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ เป็ น รายบุ ค คลให้ แ ก่ ก รรมการแต่ ล ะคน โดยแบบฟอร์มที่ตอบกลับมาจะเก็บไว้ที่ เลขานุการบริษัทฯ เพื่อประมวลภาพรวม และสรุ ป ผลคะแนนโดยมี เ กณฑ์ ก ารให้ คะแนนดังนี้ 1. ร ะดั บ ดี เ ยี่ ย ม โดยมี ค ะแนนประเมิ น ระหว่างร้อยละ 90 - 100 2. ร ะดั บ ดี ม าก โดยมี ค ะแนนประเมิ น ระหว่างร้อยละ 80 - 89 3. ระดับดี โดยมีคะแนนประเมินระหว่าง ร้อยละ 70 - 79 4. ระดับพอใช้ โดยมีคะแนนประเมินต�ำ่ กว่า ร้อยละ 69 ทัง้ นี้ การประเมินตนเองของคณะกรรมการ เป็นรายคณะแบ่งเป็นเรื่องหลักๆ 6 หัวข้อ ดังนี้ 1. โ ครงสร้ า งและคุ ณ สมบั ติ ข องคณะ กรรมการ 2. บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ 3. การประชุมคณะกรรมการ 4. ผลงานของคณะกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร 6. การพัฒนาส่วนบุคคลของกรรมการ การประเมินตนเองของคณะกรรมการเป็น รายบุคคล แบ่งเป็นเรื่องหลักๆ 3 หัวข้อ ดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ
34
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โดยประธานกรรมการจะรายงานผลการ ประเมินต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ ในปี 2558 ผลประเมินการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการทั้งคณะ (as a whole) อยู่ ในเกณฑ์ “ดีมาก” โดยมีคะแนนเฉลี่ยที่ ร้อยละ 88.99 และผลประเมินรายบุคคล อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” โดยมีคะแนนเฉลี่ย ทีร่ อ้ ยละ 93.51 โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มีการหารือเกี่ยวกับผลการประเมินและ การปรั บ ปรุ ง และขอให้ ค ณะกรรมการ ชุดย่อยคณะต่างๆ เสนอวิธีการปรับปรุง ประสิทธิภาพของคณะกรรมการ การประเมินตนเองของ คณะกรรมการชุดย่อยรายคณะ และรายบุคคล
ในปี 2558 คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยของ บริษัทฯ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนด ค่ า ตอบแทน ได้ มี ก ารประเมิ น ผลการ ท� ำ งานของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยเป็ น รายคณะ และการประเมิ น ตนเองของ คณะกรรมการชุดย่อยเป็นรายบุคคล โดย ประธานกรรมการก�ำกับดูแลกิจการเป็น ผู้ด�ำเนินการส่งแบบประเมินผลงานของ คณะกรรมการชุดย่อยเป็นรายคณะและ แบบประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ยเป็ น รายบุ ค คลให้ แ ก่ ก รรมการ แต่ละคนโดยแบบฟอร์มที่ตอบกลับมาจะ เก็ บ ไว้ ที่ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท และประธาน กรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การจะรายงาน ผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริษัทฯ
การพั ฒนากรรมการและผู้บริหาร
บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มีการเสริมความรู้แก่กรรมการ และผู้บริหาร โดยให้กรรมการและผู้บริหารแต่ละ คนเข้าร่วมการอบรม ซึ่งจัดโดยบริษัทหรือหน่วยงานต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และมุมมองใหม่ๆ ให้แก่กรรมการและผู้บริหารทุกคน ให้ทันต่อสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ทุกครั้งที่มีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ บริษัทฯ จะจัดให้มีการ แนะน�ำลักษณะธุรกิจและแนวทางการด�ำเนินธุรกิจให้แก่กรรมการใหม่ดว้ ย โดยรายละเอียดการเข้ารับการอบรมและสัมมนาในหลักสูตร ที่ส�ำคัญเกี่ยวกับการส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนของกรรมการ มีดังนี้ ลำ�ดับที่
1.
รายชื่อกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
หลักสูตร
Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 53/2548
Directors Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 30/2547 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 17/2556 2.
นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
3.
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ
4.
รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง
5.
นายอาริลด์ เฮาแกน
6.
นายสมพร จิตเป็นธม
7.
นายซิกมันต์ สตรอม
Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 165/2555 Director Accreditation Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 96/2550 Director Accreditation Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 128/2553 Advanced Audit Committee Program (AACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 13/2556 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 182/2556 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 178/2556 Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 182/2556
รายงานประจ�ำปี 2558
35
รายงานว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ
ทั้งนี้ การประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยเป็นรายคณะและรายบุคคลแบ่งเป็นเรื่องหลักๆ 3 หัวข้อ ดังนี้ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทั้งนี้ ในปี 2558 ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นรายคณะ (as a whole) และรายบุคคลอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” และคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นรายคณะ (as a whole) และรายบุคคลอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม”
9.
ปัจจัย ความเสี่ยง
การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น กระบวนการ ส�ำคัญที่ส่งเสริมให้การด�ำเนินธุรกิจบรรลุ ตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ของบริ ษั ท ฯ การประเมิ น และการระบุ ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องจะช่วยลดผลกระทบ ของกลุ ่ ม และป้ อ งกั น ความเสี่ ย งที่ อ าจ เกิดขึ้น เพื่อให้กลุ่มบริษัทฯ ตรวจสอบและ จัดการความเสี่ยงในสายธุรกิจทั้งหมดตาม การบริหารความเสี่ยงของกลุ่ม นอกจาก นี้ แนวทางการบริหารความเสี่ยงได้รับการ พิจารณาจากทัง้ ปัจจัยภายในและภายนอก ดังนัน้ จึงเห็นว่ากลุม่ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการ บริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงทางธุรกิจให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ โครงสร้างและความรับผิดชอบใน การบริหารความเสี่ยง
ในเรื่องนี้ ผู้บริหารเป็นผู้ก�ำหนดทิศทาง นโยบาย เป้ า หมายและกลยุ ท ธ์ ใ นการ บริ ห ารความเสี่ ย งซึ่ ง มี ผ ลกระทบส� ำ คั ญ และเป็นวงกว้างต่อการด�ำเนินธุรกิจรวมถึง ติดตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการควบคุ ม ดู แ ลความเสี่ ย งเพื่ อ ให้ เกิ ด ความมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น การเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงอย่าง เป็นระบบทั้งในประเทศและต่างประเทศ คณะกรรมการตรวจสอบท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ในการ ประเมินระบบการบริหารความเสี่ยงเพื่อ ให้ มั่ น ใจว่ า กิ จ กรรมควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ได้ถูกด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลและสอดคล้องกับแนวทางที่ ก�ำหนด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ มี แผนที่จะจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความ เสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ ในการด� ำ เนิ น ความ รับผิดชอบหลักในเรื่องดังต่อไปนี้: ก�ำหนดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยง พิจารณาและอนุมัตินโยบาย กลยุทธ์ กรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งและ แผนงาน ทบทวนและติดตามความเสี่ยงของกลุ่ม รายงานความเสีย่ งและการบริหารความ เสี่ยงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 36
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
ขั้นตอนที่ 2: การประเมินความเสี่ยง
เพือ่ ให้การบริหารความเสีย่ งมีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่ อ ความเสี่ ย งทางธุ ร กิ จ อย่างเหมาะสมและทันเวลา คณะกรรมการ บริษัทฯ มีความรับผิดชอบในการก�ำหนด โครงสร้าง กลยุทธ์ และผู้รับผิดชอบในการ บริ ห ารความเสี่ ย ง ทบทวนและติ ด ตาม ผลเป็ น ไตรมาส ซึ่ ง ผู ้ บ ริ ห ารจะรายงาน ความเสี่ ย งโดยรวมและแผนบรรเทาผล กระทบซึ่ง อาจกระทบต่อเป้าหมายของ บริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่าง ต่ อ เนื่ อ ง บริ ษั ท ฯ มี ก รอบการบริ ห าร ความเสี่ยงของบริษัทฯ ซึ่งครอบคลุมการ ด�ำเนินงานทั้งหมดและพัฒนาระบบการ ควบคุมภายในที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้าง ประสิทธิภาพของการควบคุมภายในและ ระบบการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้อง กั บ กรอบโครงสร้ า งบู ร ณาการของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) กระบวนการบริหารความเสี่ยงประกอบ ด้ ว ย การระบุ ค วามเสี่ ย ง การประเมิ น ความเสี่ยง การจัดการ/บรรเทาความเสี่ยง และการติดตามความเสี่ยงในรายละเอียด ตามนี้:
กลุม่ บริษทั ฯ ประเมินสาเหตุของความเสีย่ ง ผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิดขึ้นในรูป ตัวเลขทางการเงิน ผู้บริหารซึ่งเป็นเจ้าของ ความเสี่ยงประเมินความเสี่ยงทั้งหมดที่ มีผลกระทบต่อความส�ำเร็จ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของบริษัทฯ การประเมิน ความเสี่ยงถูกเปรียบเทียบระหว่างระดับ ความเสี่ ย งที่ ไ ด้ จ ากการวิ เ คราะห์ ค วาม เสี่ยงเทียบกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับ ได้ ในกรณีที่ระดับของความเสี่ยงไม่อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ กลุ่มบริษัทฯ จะจัดการ ความเสี่ยงดังกล่าวทันที แผนภาพความ เสี่ ย งถู ก น� ำ มาช่ ว ยในการวิ เ คราะห์ แ ละ ประเมินความส�ำคัญของปัญหาความเสีย่ ง โดยจ� ำ แนกเป็ น ระดั บ ความเสี่ ย งสู ง ปานกลาง ต�่ำ
ขั้นตอนที่ 1: การระบุความเสี่ยง
ขั้นตอนที่ 3: การจัดการ/ การบรรเทา ความเสี่ยง
กลุ่มบริษัทฯ พิจารณาและน�ำเสนอแผน จัดการความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพื่อพิจารณาและขออนุมัติ แนวทางใน การจั ด การความเสี่ ย งจะค� ำ นึ ง ถึ ง ความ เสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้นทุนที่เกิดขึ้นเทียบกับ ประโยชน์ที่จะได้รับ รวมถึงข้อกฎหมาย และข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจาก นี้ บริษัทฯ มีมาตรการและแผนปฏิบัติงาน เพื่อจัดการความเสี่ยง โดยอาจพิจารณา หลีกเลี่ยง ร่วมรับ ลด หรือยอมรับความ เสี่ยงนั้นๆ
ความเสีย่ งถูกก�ำหนดจากกลยุทธ์ระยะยาว และกลยุทธ์ประจ�ำปีของกลุม่ รวมไปถึงการ พิจารณาถึงทุกปัจจัยเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ เช่น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านการด�ำเนิน งาน ด้านการเงิน ด้านการตลาด ด้านการ ขั้นตอนที่ 4: การติดตามความเสี่ยง ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และด้าน สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง การพิ จ ารณาปั จ จั ย กลุ่มบริษัทฯ ได้ติดตามความเสี่ยงเพื่อให้ ความเสี่ยงทั้งภายนอกและภายใน มั่นใจว่าเจ้าของความเสี่ยงมีการประเมิน สถานการณ์ วิเคราะห์ และบริหารความ เสี่ยงที่มีอยู่อย่างสม�่ำเสมอและเหมาะสม รวมถึงความเสี่ยงที่มีผลกระทบส�ำคัญได้ ถูกรายงานถึงความคืบหน้าต่อผู้บริหาร อย่างทันเวลา นอกจากนี้ ระบบการควบคุม ภายในมีความเพียงพอ และมีการน�ำมา ปฏิบตั ใิ ช้จริงเพือ่ ป้องกันหรือลดความเสีย่ ง ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น รวมทั้ ง ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขการ ควบคุมภายในอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้อง กับความเสี่ยงที่เปลี่ยนไป
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ปัจจัยความเสี่ยง
ความเสี่ ย งหลั ก และกลยุ ท ธ์ ก าร บรรเทาความเสี่ยง
ความเสี่ยงอย่างมีนัยส�ำคัญซึ่งเกี่ยวข้อง โดยตรงกับบริษัทฯ และบริษัทฯ พิจารณา ว่าอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของ กลุ่ม สรุปได้ดังต่อไปนี้ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
การพิ จ ารณาความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ ส่งผลกระทบต่อกลยุทธ์ของกลุม่ บริษทั ฯ และ ความเสี่ยงสามารถโยงไปถึงรูปแบบธุรกิจ ของบริษทั ฯ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน รวมถึงความไม่แน่นอนของประเทศทีเ่ ข้าไป ด� ำ เนิ น การ เหล่ า นี้ ร วมถึ ง การแข่ ง ขั น การตลาด การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและ กฎระเบี ย บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ เปลีย่ นไปและนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ดว้ ย แผนการลดผลกระทบคื อ บริ ษั ท ฯ ต้ อ ง พิ จ ารณาความเสี่ ย งส� ำ คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ การเมื อ งและพั ฒ นาการก� ำ กั บ ดู แ ลใน เรื่องเครือข่ายการส่งออก การประเมินผล กระทบจะถู ก ติ ด ตามตรวจสอบอย่ า ง ใกล้ ชิ ด ทั้ ง ในเรื่ อ งสถานการณ์ ต ลาดที่ เปลี่ยนไป เศรษฐกิจ การเมือง การก�ำกับ ดูแลและการแข่งขัน รวมถึงการตัดสินใจ และการแก้ปัญหาโดยทันที ความเสี่ยงด้านการด�ำเนินงาน
ราคาวัตถุดิบเป็นปัจจัยหลักของต้นทุนปุ๋ย ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงราคาวัตถุดิบอาจ ส่งผลกระทบส�ำคัญต่อการก�ำหนดราคา ปุ๋ยและความสามารถในการท�ำก�ำไรของ บริษัทฯ ราคาวัตถุดิบของปุ๋ยจะผันผวน ขึ้ น ลงตามราคาในตลาดโลกเนื่ อ งจาก เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ซึ่งราคาจะถูกก�ำหนด ด้วยหลายปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น สภาวะอากาศ ราคาพืชผล สภาวะ เศรษฐกิจ ราคาน�้ำมัน รวมถึงการเก็งก�ำไร จากการเปลีย่ นแปลงราคาในตลาดอนาคต ที่มีนัยส�ำคัญ ดังนั้นในขณะที่ราคาขายปุ๋ย ในเวียดนามมีการเปรียบเทียบราคาตาม อุปสงค์และอุปทานของตลาดในประเทศ และตลาดโลก แต่ทว่าต้นทุนของวัตถุดิบ จากภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการเกษตร โดยรวมก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ ด้วย
การเพิม่ ขึน้ ของราคาวัตถุดบิ โดยบริษทั ฯ ไม่ สามารถปรับราคาขายได้ทำ� ให้บริษทั ฯ อาจ ขายปุ๋ยในอัตราก�ำไรที่ต�่ำกว่ามาร์จิ้น ถึง แม้ว่าความเสี่ยงเหล่านี้อาจจะไม่สามารถ ถูกก�ำจัดไปได้ทั้งหมด แต่สามารถบรรเทา และลดลงได้ดว้ ยการใช้แนวทางการควบคุม ดังต่อไปนี้: ก) การรักษาสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับต�่ำ เพือ่ จ�ำกัดความเสีย่ งในภาวะตลาดตกต�ำ่ และ ข) การใช้นโยบายก�ำหนดราคาและส่วนลด ที่แน่นอน ควบคู่กับการบริหารจัดการ ลู ก ค้ า ด้ ว ยมาตรฐานของคุ ณ ภาพที่ เหนือกว่า ดังนั้น บาคองโคจึงสามารถ รักษาสัดส่วนก�ำไรไว้ได้ ถึงแม้วา่ จะมีการ ปรับขึ้นของราคาวัตถุดิบก็ตามและ ค) บาคองโคมีการก�ำหนดราคาขายสินค้า ด้วยวิธีต้นทุนบวกก�ำไร โดยสินค้าแต่ละ รายการ บาคองโคได้ มี ก ารก� ำ หนด ราคาขายให้ ส อดคล้ อ งกั บ อั ต ราก� ำ ไร ที่คาดหวังซึ่งจะขึ้นอยู่กับสภาพตลาด และภาวะการแข่งขัน ณ ขณะนั้น และ ผู ้ บ ริ ห ารจะมี ก ารทบทวนและปรั บ ราคาขายสินค้าเป็นรายสัปดาห์เพื่อให้ สอดคล้องกับสภาวะตลาดและทันต่อ เหตุการณ์ อย่างไรก็ตาม ผลของการปรับ ราคาขายสินค้าต่อรายได้และก�ำไรของ บริษทั ฯ นัน้ อาจไม่ปรากฏทันที เนือ่ งจาก บริษัทฯ อาจยังมีค�ำสั่งซื้อจากลูกค้าที่ ค้างอยู่ จึงจะต้องอาศัยเวลาอย่างน้อย ระยะหนึ่งในการปรับราคา บาคองโคจัดซื้อวัตถุดิบทั้งจากในประเทศ และต่างประเทศซึ่งร้อยละ 80 เป็นการน�ำ เข้ า จากต่ า งประเทศ ด้ ว ยนโยบายเชิ ง กลยุทธ์ของบาคองโคในการด�ำรงสินค้าคงคลัง ที่ ร ะดั บ ต�่ ำ และการจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ แบบ ทันเวลา (just-in-time) ส่งผลให้บาคองโค มีความเสี่ยงที่จะขาดแคลนวัตถุดิบในช่วง เวลาที่ วั ต ถุ ดิ บ ในตลาดมี ป ริ ม าณน้ อ ย นอกจากนี้ อาจส่งผลให้การส่งมอบสินค้า ให้ลูกค้าล่าช้าด้วย
เพื่ อ ลดความเสี่ ย ง บาคองโคได้ ส ร้ า ง ความสัมพันธ์อันดีกับผู้จัดหาสินค้าและ วัตถุดิบทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ใน ต่ า งประเทศมาเป็ น เวลานาน ไม่ เ พี ย ง แต่การวางแผนการใช้วัตถุดิบที่จ�ำเป็นไว้ ล่วงหน้าแต่บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาซื้อขาย วัตถุดิบทั้งระยะสั้นและระยะยาวระหว่าง ผูจ้ ำ� หน่ายรวมถึงจัดหาผูจ้ ำ� หน่ายรายอืน่ ๆ และเฉลี่ยการสั่งซื้อวัตถุดิบไปที่ผู้จ�ำหน่าย รายอื่นๆ ด้วย นอกจากนี้ บาคองโคมีการ บริ ห ารจั ด การโดยการใช้ ห ่ ว งโซ่ อุ ป ทาน (Supply chain) อย่างมีประสิทธิภาพ โดย จัดให้มีการสื่อสารและการประสานงาน ระหว่ า งฝ่ า ยขายและฝ่ า ยผลิ ต อย่ า งมี ประสิทธิภาพ โรงงานจะทราบถึงค�ำสั่งซื้อ ที่เข้ามาล่วงหน้าหลายสัปดาห์และรักษา ระดับต�่ำสุดของสินค้าคงเหลือส�ำหรับการ ผลิ ต ใน 1 สั ป ดาห์ บวกกั บ บาคองโคมี แผนการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์และเครือ่ งจักร เพื่อป้องกันความช�ำรุดบกพร่องและเพื่อ รั ก ษาก� ำ ลั ง การผลิ ต ไว้ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอ หลังจากนั้นผลิตภัณฑ์จะผ่านกระบวนการ บรรจุลงถุงแบบอัตโนมัติและถูกจัดส่งให้ กับลูกค้าโดยเร็วที่สุด การเพิ่ ม ขึ้ น ของการปลอมแปลงสิ น ค้ า เป็นภัยคุกคามของตลาดปุ๋ยซึ่งอาจท�ำให้ บาคองโคสูญเสียรายได้และชื่อเสียง ถึง แม้วา่ สินค้าปลอมจะพบในผูจ้ ำ� หน่ายรายย่อย ที่มีนัยส�ำคัญในอนาคต อย่างไรก็ตาม บาคองโคจัดการความเสี่ยง นี้ด้วยการปรับสีผลิตภัณฑ์ “DAP yellow” ให้เป็นสีเหลืองเข้มพิเศษ เพื่อช่วยให้ลูกค้า สามารถแยกความแตกต่างของสินค้าได้ และได้ ด� ำ เนิ น การจดทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ น ทางปัญญาส�ำหรับตราสินค้า (Brand) และ ตราสัญลักษณ์ (Logo) “Baconco” รวมไปถึง สร้างและขอความร่วมมือจากเครือข่าย ทางธุรกิจ ได้แก่ ผู้ค้าส่ง ผู้แทนจ�ำหน่าย กับฝ่ายขายในการแจ้งเบาะแสกับบาคองโค เมือ่ พบสินค้าปลอมแปลง ดังนัน้ บาคองโค เชื่ อ ว่ า บริ ษั ท สามารถด� ำ เนิ น การเพื่ อ ป้องกันความเสี่ยงนี้ได้
รายงานประจ�ำปี 2558
37
่ งด้านสิง่ แวดล้อมภายนอก ความเสีย
ความเสี่ยงด้านการเงิน
ความเสี่ยงด้านการตลาด
ภัยแล้ง แผ่นดินไหว น�้ำท่วม พายุ หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เป็นวิกฤต ภัยทางธรรมชาติที่อาจส่งผลให้เกิดการ สูญเสียทางการค้า หรือท�ำให้การด�ำเนินงาน หยุดชะงักได้ ด้วยเหตุนี้ ระบบชลประทาน ส่ ง ผลกระทบโดยตรงต่ อ การเติ บ โตของ ภาคเกษตรกรรม ภัยพิบัติทางธรรมชาติมี ผลต่อความต้องการซื้อปุ๋ยในตลาดอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้โดยเฉพาะภัยแล้ง ดังนั้น ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จะ ส่งผลให้บาคองโคสูญเสียทรัพย์สนิ ตลอดจน ผลประกอบการของบริษทั ฯ ไม่เป็นไปตาม ที่ตั้งเป้าไว้ บาคองโคได้มกี ารจัดเตรียมแผนการจัดการ ในภาวะวิกฤติและแผนการบริหารความ ต่อเนือ่ งทางธุรกิจ รวมถึงได้มกี ารสือ่ สารให้ ผูบ้ ริหารและพนักงานรับทราบ เพือ่ ปฏิบตั ิ ตามแผนงานในกรณีที่เกิดวิกฤติ ซึ่งแผน งานดั ง กล่ า วจะถู ก ทบทวนและทดสอบ อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้ มีแผนรองรับภาวะวิกฤติที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยลดโอกาสในการหยุดชะงักของการ ด�ำเนินงาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการ ท� ำ ประกั น ภั ย เพื่ อ รองรับผลกระทบจาก ความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าการท�ำประกันไม่อาจคุ้มครองทุก ความเสียหายได้ แต่ก็เป็นการช่วยลดผล กระทบและบรรเทาความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ บาคองโคบริหารสินค้าคงคลัง ในระดับที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงเวลาของ ตลาดที่ มี ค วามต้ อ งการปุ๋ย ต่า งกัน เพื่อ ป้องกันภาวะสินค้าคงคลังค้างอยู่มากเกิน ไปในช่วงภัยแล้งหรือขาดแคลนสินค้าเมื่อ ภัยแล้งผ่านพ้นไป
การเคลือ่ นไหวของมูลค่าเงินเวียดนามดอง เทียบกับสกุลเงินอืน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สกุล เงินดอลล่าร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นสกุลเงินหลักที่ บาคองโคใช้ในการช�ำระราคาวัตถุดิบน�ำ เข้าและการรับช�ำระราคาสินค้าส่งออกของ บริษทั ฯ โดยยอดรายได้จากการส่งออกและ ต้นทุนในการซื้อวัตถุดิบมีค่าใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ บาคองโคจ่ายเงินปันผลให้แก่บริษทั ฯ จากผลการด�ำเนินงานในประเทศเวียดนาม ซึ่งอยู่ในรูปของสกุลเงินเวียดนามดองเป็น ส่วนใหญ่ ในขณะที่ผลการด�ำเนินงานและ สถานะทางการเงินของในงบการเงินของ กลุ่มบริษัทฯ จะอยู่ในรูปของสกุลเงินบาท ดังนั้น ความผันผวนของค่าเงินดองเมื่อ เทียบกับสกุลเงินบาทและดอลล่าร์สหรัฐฯ จึงอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และกระแส เงินสดของบริษัทฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ ดังนั้น บาคองโคจึงได้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ให้มีความเหมาะสม เพื่อบริหารจัดการ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและผล กระทบทีเ่ กิดต่อธุรกิจ โดยปัจจุบนั บาคองโค พิจารณาทีจ่ ะด�ำเนินการบริหารความเสีย่ ง แบบธรรมชาติ โดยการปรับโครงสร้างรายได้ และต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ให้ เ กิ ด ความสมดุ ล อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทฯ มีการติดตาม ความเคลื่ อ นไหวของอั ต ราแลกเปลี่ ย น อย่างสม�่ำเสมอ รวมถึงปัจจัยต่างๆ ที่อาจ ส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลีย่ น นอกจาก นี้บริษัทฯ ยังอยู่ในระหว่างการศึกษาถึง ความเป็ น ไปได้ ข องการเข้ า ท� ำ สั ญ ญา ซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับ สถาบันทางการเงินเพือ่ บริหารจัดการความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
ประเทศเวียดนามเป็นตลาดทีม่ กี ารแข่งขัน สูงส�ำหรับปุย๋ และเคมีเกษตรกรรม ปัจจุบนั การผลิตปุ๋ย NPK (ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม) ในเวียดนาม (ทั้งแบบ ผสมและอัดเม็ด/อัดแน่น) อยู่ในระดับเกิน ขีดความสามารถของการผลิต ซึ่งขณะนี้ ก� ำ ลั ง มี ก ารวางแผนการด� ำ เนิ น งานอี ก หลายโครงการส�ำหรับปีต่อๆ ไป บาคองโคเลื อ กกลยุ ท ธ์ ก ารสร้ า งความ แตกต่ า งและมุ ่ ง เน้ น ที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ พิ เ ศษ เฉพาะทาง เพื่อจ�ำกัดความเสี่ยงในการ แข่งขัน บาคองโคมีสูตรปุ๋ยมากกว่า 95 สูตร ตั้ ง แต่ สู ต รที่ ใช้ ใ นตลาดทั่ ว ไปจนถึ ง สู ต รพิ เ ศษเฉพาะ ซึ่ ง ท� ำ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า บาคองโคยั ง คงเป็ น ผู ้ น� ำ ในการแข่ ง ขั น ซึ่งโดยทั่วๆ ไปแล้วจะมีผลิตภัณฑ์เพียง 10-15 ประเภทเท่านั้น เพื่ อ รั ก ษาความเป็ น ผู ้ น� ำ ในประเทศ เวียดนามและลดความเสี่ยง บาคองโคมี กระบวนการผลิตหลายระบบ และยังเพิ่ม มูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการ ผลิตพิเศษเฉพาะทาง เช่น การอัดแน่น (Compaction), USP และการเคลือบปุ๋ย ด้ ว ยสารชี ว ภาพ ด้ ว ยแนวทางนี้ ท� ำ ให้ บาคองโคสามารถรักษาชื่อเสียงและภาพ ลั ก ษณ์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นตลาดซึ่ ง เป็ น สินค้าที่มีคุณภาพสูง มีการให้บริการที่ดี และคิดค้นสิ่งใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งท�ำให้ บาคองโคสามารถรักษาสัดส่วนก�ำไรและ ส่วนแบ่งการตลาดไว้ได้
38
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ปัจจัยความเสี่ยง
ความเสี่ ย งด้ า นการปฏิ บั ติ ต าม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
รั ฐ บาลเวี ย ดนามได้ ก� ำ หนดมาตรฐานที่ เฉพาะเจาะจงส� ำ หรั บ สู ต รการผลิ ต ปุ ๋ ย เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และบทลงโทษมีผล บังคับใช้ถา้ สินค้าไม่ถกู ผลิตตามข้อก�ำหนด บาคองโคน�ำเข้าวัตถุดิบจากผู้จัดจ�ำหน่าย ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เชื่อถือได้ และผูผ้ ลิตทีม่ ชี อื่ เสียงในด้านการผลิต หาก ไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามไม่ครบถ้วน อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของบริษัทฯ การลงโทษและค่าปรับ หรือเสียโอกาสทาง ธุรกิจ ด้วยนวัตกรรมด้านสูตรการผลิตท�ำให้ ผลิตภัณฑ์ของบาคองโคเป็นไปตามหรือ สูงกว่ามาตรฐานที่รัฐบาลก�ำหนดเสมอ เพื่อที่จะลดความเสี่ยง กลุ่มบริษัทฯ ได้ ประเมินผลและทบทวนแบบสอบทานการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายทุกไตรมาส เพือ่ ติดตาม ว่ากระบวนการท�ำงานของบริษัทฯ เป็นไป ตามกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในเวียดนามและไทย
การพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง
การบริหารความเสี่ยงได้รับการประเมิน อย่างต่อเนือ่ งและติดตามปัจจัยความเสีย่ ง ทางธุรกิจ บริษทั ฯ สามารถให้ความเชือ่ มัน่ ได้วา่ บริษทั ฯ มีแผนงานบรรเทาความเสีย่ ง อย่างเพียงพอเมือ่ ต้องเผชิญกับความเสีย่ ง หรือภัยคุกคาม การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของ กลยุทธ์ โครงการและกระบวนการตัดสินใจ ด้านการด�ำเนินงานในทุกระดับชัน้ ของกลุม่ เจ้าของความเสีย่ งต้องติดตามดูแล สอบทาน ความเสี่ยงของตัวเองอย่างสม�่ำเสมอ และ รายงานความเสีย่ งทีต่ อ้ งรับผิดชอบ ผูบ้ ริหาร มีหน้าที่น�ำเสนอความเสี่ยงที่ส�ำคัญและ กลยุทธ์ทั่วไปในการจัดการความเสี่ยงไปที่ กลุ่มเป็นประจ�ำทุกปี ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กลุ่มบริษัทฯ มีกระบวนการบริหารความ เสี่ยงที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถลดความ เสี่ยงทางธุรกิจให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
รายงานประจ�ำปี 2558
39
10.
รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ
เรียนท่านผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ทุกท่านมี ความเป็นอิสระ ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วน ร่ ว มในการบริ ห ารงานของบริ ษั ท ฯ โดย มีนายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ เป็น ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รศ.ดร. สาธิต พะเนียงทอง และนายอาริลด์ เฮาแกน เป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ทุกท่านมีคุณสมบัติครบถ้วนและได้ปฏิบัติ หน้ า ที่ ภ ายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นไปตาม เกณฑ์และแนวทางปฏิบัติของส�ำนักงาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ในปี 2558 มีการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง และการเข้า ร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่านสรุปได้ตามตารางต่อไปนี้
ลำ�ดับ
1 2 3
กรรมการตรวจสอบ
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ รศ.ดร.สาธิต พะเนียงทอง กรรมการตรวจสอบ นายอาริลด์ เฮาแกน กรรมการตรวจสอบ
หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ของ คณะกรรมการตรวจสอบ คือการให้การ สนั บ สนุ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ใน การท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลในเรื่องที่เกี่ยวกับ รายงานทางการเงิน ความมีประสิทธิผล ของระบบการบริหารความเสี่ยง และการ ควบคุมภายใน การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง การติดตาม ดูแลคุณสมบัติ ความเชีย่ วชาญ ความเพียงพอ ของที ม งานและความเป็ น อิ ส ระของทั้ ง ผู้ตรวจสอบภายในและผู้ตรวจสอบบัญชี ของบริษทั ฯ รวมทัง้ การประเมินประสิทธิผล ของการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบ คณะ กรรมการตรวจสอบรายงานผลการ ปฏิ บั ติ ง านพร้ อ มทั้ ง ข้ อ เสนอแนะต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อย่ า งสม�่ ำ เสมอ เมื่ อ ใดก็ ต ามที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบ มีข้อสงสัย หรือมีความเห็นว่าควรมีการ ด� ำ เนิ น การแก้ ไขหรื อ ปรั บ ปรุ ง ในเรื่ อ งที่ เกีย่ วกับการบริหารความเสีย่ งและการควบคุม ภายใน รายงานทางการเงิน หรือในเรื่อง อืน่ ๆ ทีต่ รวจสอบพบ คณะกรรมการตรวจสอบ จะรายงานข้ อ สงสั ย หรื อ ข้ อ เสนอแนะ ในเรื่องต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างทันท่วงที การปฏิบัติหน้าที่ที่ส�ำคัญ ของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถสรุป ได้ดังนี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและ รับฟังค�ำชีแ้ จงจากผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริหาร ที่รับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการ เงิน ในเรื่องข้อมูลที่ส�ำคัญของงบการเงิน รวมทั้ ง งบการเงิ น รวมของบริ ษั ท พี เ อ็ ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตลอดจนการเปลี่ยนแปลง นโยบายบั ญ ชี ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ รายการ ระหว่างกันกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ทีม่ สี าระส�ำคัญ รายการได้มาหรือจ�ำหน่าย ไปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น ของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ส าระ
40
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ตำ�แหน่ง
จำ�นวนการเข้าร่วม ประชุม/จำ�นวนการ ประชุม
3/4 4/4 3/4
ส�ำคัญ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน รายการผิดปกติและประมาณการที่ มีสาระส�ำคัญ (ถ้ามี) เพื่อประโยชน์ของ นักลงทุนหรือผู้ใช้งบการเงิน ก่อนเสนอ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ อนุ มั ติ งบการเงินดังกล่าว ในการสอบทาน คณะ กรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานที่ ได้ รั บ จากทั้ ง ผู ้ บ ริ ห ารและผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยเฉพาะการรายงานในเรื่องความเสี่ยง หรือการประเมินต่างๆ ที่มีสาระส�ำคัญที่ เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ป ระชุ ม ร่ ว มกั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ่ายบริหาร เพือ่ ปรึกษาหารือกันอย่างอิสระ ถึงข้อมูลทีม่ สี าระส�ำคัญในการจัดท�ำงบการ เงิน และการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินและเป็น ประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงิน รวมทั้งปัญหา หรืออุปสรรคในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องผูส้ อบ บัญชี รวมทั้งพฤติการณ์อันควรสงสัยตาม มาตรา 89/25 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติ ม โดยพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งในปี 2558 ผู้สอบบัญชีไม่ได้มีข้อสังเกต ที่เป็นสาระส�ำคัญ และไม่พบพฤติการณ์ อันควรสงสัยดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบ จึงมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบรายงาน ทางการเงินที่เหมาะสม เพื่อการเปิดเผย ข้อมูลทางการเงินที่ปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดแย้งกับข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ ส�ำคัญ และมีการจัดท�ำตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน 2. ระบบการควบคุมภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาอนุมตั ิ แผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2558 รวมทั้ ง ได้ ส อบทานความเป็ น อิ ส ระและ ความเพียงพอของทรัพยากรต่างๆ ต่อการ ปฏิ บั ติ ง านของฝ่ า ยตรวจสอบภายใน
3.การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับ Compliance และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ของบริษัทฯ เพื่อสอบทานการปฏิบัติตาม กฏหมาย ข้ อ บั ง คั บ และระเบี ย บต่ า งๆ ผู ้ ต รวจสอบภายในได้ ท� ำ การสอบทาน รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้ มั่ น ใจว่ า รายการดั ง กล่ า วเป็ น ไปตาม ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และหน่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลอื่ น ๆ มี ค วาม สมเหตุ ส มผลเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของ บริษัทฯ ผลการสอบทานได้น�ำเสนอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริษัทฯ ตามล�ำดับ เพื่อให้มีความมั่นใจ ว่ารายการเกีย่ วโยงกันมีความโปร่งใส สมเหตุ สมผล เป็นธรรม ปราศจากความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในสาระส�ำคัญ และก่อ
ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีความเห็นว่า บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ และระเบียบที่ใช้บังคับกับการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ตามกฎหมายที่ส�ำคัญ 4. การรับแจ้งข้อมูลการกระท�ำผิด และการทุจริต (Whistleblowing)
ในกรณี ที่ มี ข ้ อ ร้ อ งเรี ย นเกิ ด ขึ้ น คณะ กรรมการตรวจสอบจะได้รับทราบรายการ สรุปข้อร้องเรียนการกระท�ำผิดและการทุจริต รวมถึ ง ผลการสอบสวนของผู ้ ต รวจสอบ ภายใน ตามนโยบายการให้ ข ้ อ มู ล การ กระท�ำผิดและการทุจริต ไม่มีข้อร้องเรียน ในเรื่ อ งการกระท� ำ ผิ ด หรื อ การทุ จ ริ ต ในรอบปีนี้ 5. การพิ จารณาเสนอแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี
การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมิน ผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ตรวจ สอบร่วมกันทั้งคณะ และรายบุคคล ตาม กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับ การอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นไปตาม เกณฑ์ ตามแบบประเมินจากคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์ ซึ่งผลของการประเมิน แสดงว่าคณะกรรมการตรวจสอบได้มีการ ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิผลดีเยี่ยม โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายโดยใช้ความรู้ ความสามารถ ด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ และมี ความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ ตลอดจน ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ เพื่อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย อย่ า งเท่ า เที ย มกั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง คณะ กรรมการตรวจสอบให้ความส�ำคัญกับการ มีระบบการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงที่ต่อเนื่อง ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ มีการก�ำกับดูแลทีด่ ี โดยมีระบบการควบคุม ภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับธุรกิจ ของบริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ระบบบั ญ ชี แ ละรายงาน ทางการเงินมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ และการปฏิบัติงามกฎหมายและข้อบังคับ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง การบริ ห ารงานที่ มี ประสิทธิภาพ ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมิน ความเหมาะสมของขอบเขตการปฏิบตั งิ าน ความโปร่งใสและความมีประสิทธิภาพใน การปฏิบตั งิ านของผูส้ อบบัญชี ตลอดจนความ เหมาะสมของค่าสอบบัญชี โดยจะพิจารณา ครอบคลุมในเรือ่ งต่างๆ เช่น คุณภาพของ การตรวจสอบทั้งหมด การใช้เวลาในการ ให้คำ� แนะน�ำในการแก้ปญ ั หา คุณภาพของ ทีมงานในเรื่องความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ในธุรกิจหลักของบริษทั ฯ และ การท�ำงานตามแผนงานที่วางไว้ จากการพิจารณาอย่างรอบคอบ คณะกรรมการ ตรวจสอบมี ม ติ เ สนอบริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัดเป็นผู้สอบบัญชี ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณา ก่ อ นเสนอขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น แต่ ง ตั้ ง นางศิ ริ เ พ็ ญ สุ ข เจริ ญ ยิ่ ง ยง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3636 และ/ หรือ นายบัณฑิต ตัง้ ภากรณ์ ผูส้ มั ฤทธิเ์ ลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 8509 และ/ หรือ นายวีระชัย รัตนจรัสกุล ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 4323 และ/หรือ นางสาว พรทิพย์ ริมดุสิต ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 5565 จากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ประธานกรรมการตรวจสอบ และอนุมัติค่าสอบบัญชีส�ำหรับงบการเงิน เฉพาะบริษัทฯ และส�ำหรับบริษัทในกลุ่ม บริษัทฯ เป็นจ�ำนวนเงิน 1.81 ล้านบาท และ 2.60 ล้านบาท ตามล�ำดับ
รายงานประจ�ำปี 2558
41
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
ตลอดจนประเมินผลการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ฝ่ายตรวจสอบภายใน นอกจาก ที่ ก ล่ า ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในด้านการ บริหาร ด้านการเงิน และด้านการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ตามแนวทางที่ก�ำหนดโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ได้แจ้งผลการตรวจสอบและประเด็นที่พบ แก่ผู้รับตรวจและผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง รวม ทั้งข้อแนะน�ำที่เหมาะสมและติดตามการ ด�ำเนินการแก้ไขหรือปรับปรุง และรายงาน ผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส นอกจากที่กล่าว ผู้สอบบัญชี ได้ให้ความเห็นที่สอดคล้องว่าไม่พบข้อ บกพร่องในการควบคุมภายในที่เป็นสาระ ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ งบการเงิ น ของ บริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบจึงมีความ เห็นว่าบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ เหมาะสมและเพียงพอรวมถึงการประเมิน สภาพแวดล้อมการควบคุมขององค์กร การ ประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารข้ อ มู ล และระบบการติดตามผลการด�ำเนินงาน ตามที่ ฝ ่ า ยบริ ห ารเห็ น ว่ า จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การประกอบกิจการของบริษัทฯ และไม่ พบข้อบกพร่องของการควบคุมภายในที่มี สาระส�ำคัญ
11.
การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง
PMTA ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งการควบคุ ม ภายในอย่ า ง ต่อเนื่อง ฝ่ายจัดการได้มอบหมายให้หน่วยงานตรวจสอบภายในท�ำการประเมิน ความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในเป็นประจ�ำทุกปี และคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบสอบทาน ผลการประเมินการควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ สามารถด�ำเนินงาน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การรายงานมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และ มีการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การควบคุมภายใน
บริษัทฯ ได้มีการออกแบบและปฏิบัติตาม ระบบการควบคุ ม ภายในอย่ า งเพี ย งพอ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง อาจมี ผ ล กระทบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงและแก้ไขระบบ การควบคุ ม ภายในอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้มีความเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ในปัจจุบันและอนาคต และ สอดคล้องกับกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัท
รับผิดชอบในการก�ำกับดูแลให้บริษัทฯ มี ระบบการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เพื่อปกป้อง เงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของ บริษัทฯ โดยพิจารณาเรื่องดังต่อไปนี้ ก� ำ หนดลั ก ษณะและขนาดของความ เสีย่ งทีม่ สี าระส�ำคัญทีส่ ามารถยอมรับได้ ในการที่จะท�ำให้บริษัทฯ สามารถบรรลุ เป้าหมายทางกลยุทธ์ (The Board’s Risk Appetite) และ ก�ำหนดให้ผู้บริหารจัดให้มีกระบวนการ ในการระบุ ประเมิน รวมทัง้ การลดระดับ ความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบ
ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในด้านการ สอบทานการมีประสิทธิภาพของระบบการ ควบคุมภายในของบริษทั ฯ ในการสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาข้อมูล จากแหล่งต่างๆ ซึง่ รวมถึงข้อมูลดังต่อไปนี้
42
การให้ความเชื่อมั่นจากการท�ำงานของ ผู ้ ต รวจสอบภายใน ผ่ า นขั้ น ตอนการ วางแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ซึง่ ได้รบั การอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในการวางแผนการตรวจสอบ จะเน้นใน เรื่องการพิจารณาประเมินความเสี่ยง และการควบคุมภายในที่ส�ำคัญ ที่ได้ถูก วางไว้เพื่อลดระดับหรือป้องกันความ เสี่ยงนั้น ได้รับการรายงานผลของการตรวจสอบ และการควบคุมภายใน การปฏิบัติตาม กฎระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยเฉพาะในเรื่องที่มีสาระส�ำคัญอย่าง สม�่ำเสมอ การให้ความเชื่อมั่นในเรื่องที่ตรวจสอบ โดยผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอก ฝ่ายตรวจสอบภายใน
เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระและ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานด้านการด�ำเนินงานต่อกรรมการ ผูจ้ ดั การ ฝ่ายตรวจสอบภายในท�ำหน้าทีใ่ น การสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทฯ โดย การท� ำ การประเมิ น ความเหมาะสมของ ระบบการควบคุมภายในที่ส�ำคัญ ฝ่ า ยตรวจสอบภายในได้ จั ด ท� ำ แผนการ ตรวจสอบประจ�ำปี โดยพิจารณาตามปัจจัย เสี่ยง (Risk Based Approach) ซึ่งจะเน้น ความเสี่ยงที่มีความส�ำคัญ มีผลกระทบ ต่อ วัตถุป ระสงค์ของบริษัทฯ และความ ถู ก ต้ อ งของรายงานทางการเงิ น คณะ กรรมการตรวจสอบพิจารณาสอบทานและ อนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจ�ำปีดงั กล่าว และติดตามผลการตรวจสอบและผลการ
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ปฏิบัติงานของฝ่ายตรวจสอบภายในเป็น รายไตรมาส ประเด็นที่ตรวจพบจะถูกน�ำมาพิจารณา ว่ามีผลกระทบในวงกว้างหรือไม่ ประเด็น จากการตรวจสอบที่ส�ำคัญจะถูกรายงาน ต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะ กรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบจะ ท�ำการติดตามการแก้ไขหรือปรับปรุงของ ผู ้ บ ริ ห ารจนกว่ า จะได้ ข ้ อ สรุ ป เป็ น ที่ น ่ า พอใจ นอกจากนี้ รายงานที่ส�ำคัญจะถูก น�ำเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ ทั้ง จากผู้บริหาร ฝ่ายตรวจสอบภายใน และ ฝ่ายก�ำกับดูแล โดยรายงานจะครอบคลุม ในเรื่ อ งทางธุ ร กิ จ การเงิ น การควบคุ ม ภายในในการด�ำเนินงานและการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง การควบคุมภายในของบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ าม กรอบโครงสร้ า งการควบคุ ม ภายใน ซึ่ ง อ้ า งอิ ง ตามมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งสรุปตามองค์ประกอบของการควบคุม แต่ละด้านดังนี้
สภาพแวดล้ อ มของการควบคุ ม ถื อ เป็ น รากฐานที่ส�ำคัญของการควบคุมภายใน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล อี ก ทั้ ง ยั ง ให้ ห ลั ก ปฏิ บั ติ และโครงสร้างแก่องค์ประกอบอื่นๆ ของ ระบบควบคุมภายใน ทัง้ นี้ องค์ประกอบหลัก ของสภาพแวดล้อมการควบคุมของบริษทั ฯ มีดังนี้ บริษัทฯ สนับสนุนให้มีสภาพแวดล้อม การท�ำงานทีด่ ี โดยมีการก�ำหนดนโยบาย การวางแผน การด�ำเนินการ การควบคุม และการก�ำกับดูแลทีช่ ดั เจน และเหมาะสม บริษัทฯ ยึดมั่นในปรัชญาและ จรรยา บรรณธุรกิจผ่านการกระท�ำและพฤติกรรม ซึ่ ง มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยระบบการ ควบคุมภายในสามารถท�ำหน้าทีไ่ ด้อย่าง เหมาะสม นอกจากนี้ ยังได้จัดท�ำคู่มือ พนักงาน (Codes of Conduct) เพือ่ ใช้เป็น แนวปฏิบัติให้แก่ กรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานทุกคน คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหาร ในทุกระดับชั้นได้แสดงให้เห็นถึงความ ส� ำ คั ญ ของคุ ณ ค่ า ความซื่ อ สั ต ย์ แ ละมี จริ ย ธรรม มี ก ารปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน โดยค�ำนึง ถึงความเป็นธรรมต่อทุกฝ่ายตามหลัก บรรษัทภิบาลที่ดี มี ก ารจั ด โครงสร้า งการบริหารองค์ก ร ให้เหมาะสมกับขนาดและการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ โดยระบุถงึ สายอ�ำนาจ การบังคับบัญชาและความรับผิดชอบที่ ชัดเจน บริษัทฯ ได้น�ำนโยบายการให้ข้อมูลการ กระท�ำผิดและการทุจริตมาใช้ เพื่อเป็น ช่องทางในการรายงานการทุจริต ความ ผิดพลาด และการบิดเบือนข้อเท็จจริง โดยฝ่ายบริหาร โดยคณะกรรมการ ตรวจ สอบจะสอบทานรายงานการรั บ แจ้ ง ข้อมูลการกระท�ำผิดและการทุจริตเป็น ประจ�ำทุกไตรมาส
2. การประเมินและบริหารความเสี่ยง (Risk Assessment and Management)
ผู้บริหารมีการก�ำหนดนโยบาย มาตรฐาน และข้อพึงปฏิบตั ิ เกีย่ วกับการบริหารความ เสี่ยง โดยเน้นเรื่องการบริหารความเสี่ยง ถื อ เป็ น หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน เพื่อให้มั่นใจในการบรรลุวัตถุประสงค์เชิง ธุรกิจของบริษัทฯ PMTA ตระหนักถึงความส�ำคัญของการ ประเมินความเสี่ยง ซึ่งเป็นเครื่องมือใน การส่ ง สั ญ ญาณถึ ง ความเสี ย หายที่ อ าจ จะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ นโยบาย แนวทาง และแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงได้ มีการทบทวนอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนได้ รั บ การ สนับสนุนให้มีความเข้าใจและตระหนักถึง ความส�ำคัญของการบริหารจัดการความ เสี่ยง เพื่อลดระดับผลกระทบหรือป้องกัน ไม่ให้เกิดขึ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้ มีการตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกัน ของพนักงานทุกคนต่อการบริหารจัดการ ความเสีย่ งส�ำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อเป้าหมาย เชิ ง กลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก ร โครงสร้ า งการ บริหารจัดการความเสี่ยงได้จัดวางอย่างมี แบบแผน มาตรการและแผนการบริหาร ความเสี่ยงได้ถูกก�ำหนดจากปัจจัย ความ เสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ธุ ร กิ จ เป้ า หมาย และการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งจาก ปั จ จั ย ภายในและปั จ จั ย ภายนอก การ ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นยังน�ำมา ถึงเป้าหมายของการควบคุมการบริหาร ความเสี่ยงโดยการใช้วิธีการควบคุมต่างๆ ที่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มี การก�ำหนดให้มีการรายงานความเสี่ยงที่ อาจเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งการควบคุม ติ ด ตามให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การความ เสี่ยงนั้นๆ อย่างเหมาะสมและทันท่วงที แผนการบริหารความเสี่ยงจะถูกติดตาม และทบทวนความเหมาะสมอย่างรอบคอบ ก่อนจะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้ ง นี้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดนโยบายในการ บริหารความเสี่ยงไว้ดังนี้ ก�ำหนดเป้าหมายธุรกิจทีช่ ดั เจนในระดับ องค์กร โดยเป้าหมายดังกล่าวจะมีการ ทบทวนเพื่อสอบทานความเหมาะสม เป็นประจ�ำทุกปี
ก�ำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระบุ ประเมิน และรวบรวมข้อมูลความ เสีย่ ง (Risk Profile) ขององค์กรและแต่ละ กลุม่ ธุรกิจ พัฒนาแผนการบริหารจัดการ ความเสี่ยง ติดตามความเสี่ยงหลักที่ได้ ระบุขึ้นเพื่อควบคุมและบริหาร ความ เสี่ยงต่อไป รวมทั้งทบทวนข้อมูลความ เสี่ยงเป็นประจ�ำทุกไตรมาส ระบุความเสี่ยงหลักตามขอบเขตความ รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มธุรกิจ เพื่อให้ มัน่ ใจได้วา่ มีการควบคุมการบริหารความ เสี่ยงดังกล่าว ติดตามผลการใช้งานและ ประสิทธิผลของการควบคุมดังกล่าวและ สอบทานอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้ ว่ามีความสอดคล้อง ความสมเหตุสมผล และประสิทธิภาพ พิ จ ารณาความสมดุ ล ระหว่ า งความ เสี่ยงและผลตอบแทน/โอกาสจากการ ตัดสินใจทางธุรกิจต่างๆ ด้วยความระมัด ระวังถีถ่ ว้ น (ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จำ� กัดเฉพาะ เรือ่ งการลงทุน/การเลิกกิจการ การได้มา และโครงการลงทุน) ท�ำให้มั่นใจได้ว่ามีการตระหนักถึงและ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงนโยบาย ต่างๆ ขององค์กรตามขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบ ทบทวนความเสี่ ย งหลั ก ที่ เ ป็ น ผลจาก การเปลี่ ย นแปลงของสภาพแวดล้ อ ม ทั้งภายในและภายนอก อาทิเช่น การ เพิ่ ม สายผลิ ต ภั ณ ฑ์ และ/หรื อ การ เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและการเมือง คาดการณ์ ล ่ ว งหน้ า และบริ ห ารความ เสี่ยง ซึ่งรวมถึงความเสียหายที่อาจเกิด ขึ้นโดยสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ ทนรับได้ (Risk Tolerance) ขององค์กร ระบุและประเมินสัญญาณเตือนล่วงหน้า ส� ำ หรั บ ปั จ จั ย เสี่ ย งหลั ก (Key Risk Indicators) และด�ำเนินการที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว น�ำการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติและ/ หรือรวมอยู่ในกระบวนการด�ำเนินธุรกิจ และสร้างวัฒนธรรมแห่งการตระหนักถึง ความเสี่ยงภายในองค์กร
รายงานประจ�ำปี 2558
43
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment)
3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
4. ข้อมูลและการติดต่อสื่อสาร (Information & Communication)
บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เหมาะสมกั บ ธุรกิจและการปฏิบัติงานของพนักงานใน แต่ละฝ่าย การควบคุมภายในถูกก�ำหนด ให้มีการปฏิบัติผ่านข้อก�ำหนด นโยบาย และวิธีการปฏิบัติงานของบริษัทฯ และได้ มีการสอบทานและพัฒนาอย่างสม�่ำเสมอ การท� ำ รายการธุ ร กรรมระหว่ า งบริ ษั ท ฯ และบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งข้อตกลง ต่างๆ ทางการค้าได้มกี ารควบคุมดูแลอย่าง ระมัดระวังและรอบคอบ และเป็นไปตาม ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการ ก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ หน่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง สนั บ สนุ น ให้ พนั ก งานให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ตามระบบการควบคุ ม ภายในที่ ว างไว้ รวมทัง้ กฎหมาย ข้อบังคับ และกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง เพื่อลดความเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งความเสี่ยงจากการ ทุจริตและการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมายต่างๆ
ระบบสารสนเทศได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่ อ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ ยัง ให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับความถูกต้อง เชือ่ ถือ ได้ และทันต่อเวลาของข้อมูลสารสนเทศ รวมถึงการสือ่ สารข้อมูล เพือ่ น�ำข้อมูลมาใช้ ประกอบการตัดสินใจได้ทนั เวลา ตลอดจน มีระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และการก� ำ หนดแผนส� ำ รองฉุ ก เฉิ น ที่ มี ประสิทธิภาพ ส�ำหรับป้องกันในเรื่องความ ปลอดภั ย ของระบบสารสนเทศขณะที่ มี อุบตั ภิ ยั ร้ายแรงจนระบบไม่สามารถปฏิบตั ิ งานได้ นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง มี ร ะบบ การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถตรวจสอบ ความถูกต้องย้อนหลังได้อย่างครบถ้วน โดยบริษัท ฯ ได้ด�ำเนินการตามพระราช บัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับ คอมพิวเตอร์ ในการจัดเก็บข้อมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร์ตามประกาศกระทรวง เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร บริษทั ฯ ได้ลงทุนเพือ่ สร้างระบบการสือ่ สาร ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทั้ ง จากภายในและ ภายนอกบริษทั ฯ จัดให้มกี ารสือ่ สารภายใน องค์กรผ่านช่องทางหลายช่องทาง เอกสาร ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลที่เพียงพอต่อการ ตัดสินใจส�ำหรับการประชุมผู้ถือหุ้นและ การประชุมคณะกรรมการได้ถูกจัดส่งแก่ ผูถ้ อื หุน้ และคณะกรรมการบริษทั ฯ ล่วงหน้า ก่อนการประชุมในระยะเวลาที่เหมาะสม
44
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
5. การติดตามผล (Monitoring)
จากระบบข้อมูลในปัจจุบันที่สามารถให้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้และทันต่อเวลา ท�ำให้ ฝ่ า ยบริ ห ารและคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ สามารถควบคุมและติดตามผลการด�ำเนิน งานผ่ า นรายงานทางการเงิ น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อช่วยสนับสนุนให้การ ด�ำเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่วางไว้ ในขณะ เดียวกันก็สามารถสอบทาน ประเมิน และ ให้ค�ำแนะน�ำเพื่อปรับปรุงแผนธุรกิจผ่าน กระบวนการก�ำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพ โดยฝ่ายตรวจสอบภายในท�ำการตรวจสอบ การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ จะท�ำการสอบทาน ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน เป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยใช้ แนวทางแบบประเมินความเพียงพอของ ระบบการควบคุ ม ภายในที่ ถู ก จั ดท� ำ โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2559 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 โดย มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม ด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ประเมิน ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ ใน 5 องค์ประกอบดังกล่าว ข้างต้น และมีข้อสรุปว่าบริษัทฯ ได้ก�ำหนด ให้มีระบบการควบคุมภายในที่พอเพียง และมีประสิทธิภาพ และไม่พบข้อบกพร่อง ในระบบการควบคุมภายในที่ส�ำคัญ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ได้ให้ ความ เห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงิน ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ว่ า ไม่ ต รวจพบข้ อ บกพร่ อ งในระบบการ ควบคุมภายในในด้านการบัญชีและการ เงินที่ส�ำคัญ
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
PMTA ตระหนักถึงความความส�ำคัญในเรือ ่ งการควบคุม ภายในอย่างต่อเนือ ่ ง ฝ่ายจัดการได้มอบหมายให้ หน่วยงานตรวจสอบภายในท�ำการประเมินความเพี ยงพอ และความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในเป็น ประจ�ำทุกปี
รายงานประจ�ำปี 2558
45
จุดเด่นทางการเงิน
12.
จุดเด่น ทางการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
สำ�หรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
(ล้านบาท) งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ:
รายได้จากการขาย
3,258.5
589.0
3,192.0
รายได้ค่าบริการให้เช่าพื้นที่โรงงาน ต้นทุนขาย
49.1 2,748.6
9.6 482.8
29.3 2,580.0
ต้นทุนการให้บริการ
25.0
4.5
16.8
ค่าใช้จ่ายในการขาย
154.2
31.7
173.3
94.1
21.1
75.7
233.0 2.36
55.3 0.59
302.4 3.85
เงินสดและรายการเที่ยบเท่าเงินสด
297.2
259.8
521.6
สินค้าคงเหลือ
724.7
504.1
360.4
อาคารและอุปกรณ์
642.6
521.0
489.1
1,961.6
1,612.9
1,564.8
93.3
219.3
-
423.1
448.5
203.5
1,012.0 1,538.5
931.0 1,164.4
931.0 1,361.3
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน
205.3
(128.9)
531.7
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(166.5) (1.4)
(9.2) (123.0)
(1,057.2) 930.0
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%)
17%
24%*
25%
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%)
16%
23%*
27%
อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) สัดส่วนหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ครั้ง) สัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ครั้ง)
7% 0.1 (0.1)
9% 0.2 (0.0)
9% (0.4)
ค่าใช้จ่ายในการบริการ ก�ำไรสุทธิ ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) งบแสดงฐานะการเงิน (ณ วันสิน ้ รอบบัญชี):
รวมสินทรัพย์ เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รวมหนี้สิน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว รวมส่วนของผู้ถือหุ้น ข้อมูลทางการเงินอื่น:
อัตราส่วนทางการเงิน:
หมายเหตุ * ปรับตัวเลขให้เต็มปีจากผลประกอบการ มกราคม – ธันวาคม 2557 46
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างรายได้
13.
โครงสร้าง รายได้ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
%
สำ�หรับงวดสามเดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
%
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2557
%
(ล้านบาท) กลุ่มธุรกิจ
ผลิตปุ๋ยและเคมีภัณฑ์ส�ำหรับพืช
3,258.5
98.4
589.0
96.4
3,192.0
98.9
การให้บริการเช่าพื้นที่โรงงาน
49.1
1.5
9.6
1.6
29.3
0.9
รายได้จากการด�ำเนินงานอื่น รวม
3.3 3,310.9
0.1 100.0
12.1 610.7
2.0 100.0
6.2 3,227.5
0.2 100.0
รายงานประจ�ำปี 2558
47
14.
ค�ำอธิบายและ การวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
เหตุการณ์ส�ำคัญในปี 2558
รายได้ จ ากการขายปุ ๋ ย เพิ่ ม ขึ้ น จ� ำ นวน 170.5 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ยอดขายปุ๋ยในเวียดนามยังคงแข็งแกร่ง แม้ ว ่ า ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ภาวะภั ย แล้ ง ใน ภูมิภาค เปิดสายการผลิตปุ๋ยปั๊มเม็ดใหม่ (กําลัง การผลิต 100,000 ตัน) เพื่อรองรับการ เติบโตของตลาดส่งออก ขยายพื้ น ที่ โรงงานส� ำ หรั บ ให้ เช่ า จาก 31,000 ตร.ม. โดยเพิม่ ขึน้ อีก 11,300 ตร.ม. รวมเป็ น 42,300 ตร.ม. และอี ก 8,200 ตร.ม. (บาคองโค 5B เฟส 2) อยู่ระหว่างการก่อสร้างและจะเปิดให้ บริการในต้นปี 2559 ซึ่งมีอัตราการเช่า ร้ อ ยละ 100 และอุ ป สงค์ จ ากลู ก ค้ า ปัจจุบันยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ ย นแปลงรอบระยะเวลา บัญชี
ภาพรวมธุรกิจ
ปี 2558 เป็นอีกปีหนึ่งที่ PMTA สามารถสร้างผลก�ำไร โดยมีก�ำไรสุทธิทั้งสิ้นจ�ำนวน 233 ล้านบาท อันเป็นผลเนือ่ งมาจากพัฒนาการทีส่ ำ� คัญหลายประการทีส่ ำ� เร็จลงได้ดว้ ยความ พยายามอย่างยิง่ ของบริษทั ฯ ประกอบด้วยการเพิม่ สายก�ำลังการผลิตปุย๋ ปัม๊ เม็ดใหม่เพือ่ รองรับการเติบโตในอนาคต โดยเฉพาะส�ำหรับตลาดส่งออก การขยายพืน้ ทีโ่ รงงานให้เช่า และการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ อย่างไรก็ตาม เมือ่ เทียบกับปี 2557 ผลการด�ำเนินงานโดย รวมของ PMTA ในปี 2558 เผชิญกับความท้าทายที่มาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมอิ ากาศโลก โดยประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประสบกับภาวะภัยแล้งอย่างหนัก จากปรากฎการณ์เอลนีโญที่ยาวนานซึ่งท�ำให้สถานการณ์ยากล�ำบากด้วยภาวะโลกร้อน และการขาดแคลนน�้ำส�ำหรับการเพาะปลูกซึ่งท�ำให้เกิดผลกระทบด้านลบต่ออุปสงค์ปุ๋ย ทั้งนี้ PMTA มีรายได้จากการขายที่เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 3,258.5 ล้านบาทในปี 2558 หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับ 3,088 ล้านบาทในปี 2557 โดยมีปัจจัยสนับสนุนคือ ความเข้มแข็งของตราสินค้า การมีสินค้าที่หลากหลาย และกิจกรรมทางการตลาดที่มี ประสิทธิภาพแม้จะเป็นปีที่ท้าทายก็ตามหนึ่งในปัจจัยส�ำคัญที่สนับสนุนยอดขายคือการ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ร่วมกับ Solvay ในเดือนกันยายนปี 2558 ซึ่งเป็นปัจจัยหนุนส�ำคัญ ในการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณการขายปุย๋ เชิงเดีย่ วอย่างไรก็ตามการเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนวัตถุดบิ ส่งผลให้กำ� ไรขัน้ ต้นลดลงมาที่ 786.2 ล้านบาทและด้วยเหตุนี้ PMTA จึงมีกำ� ไรสุทธิที่ 233 ล้านบาท (2.36 บาทต่อหุ้น) ในปี 2558 ลดลงร้อยละ 18 เทียบกับปี 2557 ที่มีก�ำไรสุทธิ ที่ 283 ล้านบาท (3.04 บาทต่อหุ้น) Performance Summary in Million Baht FY15 FY14 % YoY 3,258.5 3,088.0 6% Sales Revenue 786.2 817.2 -4% Gross Profit 24% 26% Gross Margin (%) 348.6 375.0 -7% EBITDA 11% 12% EBITDA Margin (%) 233.0 283.0 -18% Net Profit 7% 9% Net Profit Margin (%) Basic earnings 2.36 3.04 -22% per share (in Baht)
PMTA ได้เปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีจาก 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายนของปีถัดไป มาเป็นรอบปีบัญชีตั้งแต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคมของทุกปี ดังนั้น งบการเงิน ของรอบบั ญ ชี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2557 ได้ถูกจัดท�ำขึ้นตามรอบระยะเวลา บัญชีใหม่นแี้ ทนรอบบัญชีเดิม คือ 1 ตุลาคม 2557 ถึง 31 ธันวาคม 2557 อย่างไรก็ตาม เพื่อประโยชน์ของผู้ใช้ในการเปรียบเทียบ และวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ทางการเงิ น PMTA ได้ จั ด ท� ำ งบก� ำ ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวมที่ ไม่ได้ตรวจสอบส�ำหรับงวดสิบสองเดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 เปรียบเทียบกับ เหตุการณ์ส�ำคัญในปี 2558 ปี 2558 ซึง่ ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของ ฝ่ายจัดการได้จัดท�ำขึ้นเพื่อประกอบการ วันที่ 27 มีนาคม 2558 - พิธีเปิดสาย อธิบายดังกล่าว การผลิตปุ๋ยปั๊มเม็ดใหม่ (กําลังการผลิต 100,000 ตัน) และพื้นที่โรงงานส�ำหรับ ให้เช่าบาคองโค 5-B เฟสที่ 1 แห่งใหม่ (พื้นที่ 11,300 ตร.ม.) วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 - หุ้น PMTA เข้ า ซื้ อ ขายในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยเป็นครั้งแรก
48
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
4Q/15 3Q/15 4Q/14 % YoY % QoQ 904.8
802.3
589.0
54%
13%
232.7
185.7
163.9
42%
25%
26%
23%
28%
111.0
75.4
70.2
58%
47%
12%
9%
12%
75.6
49.1
55.3
37%
54%
8%
6%
9%
0.75
0.48
0.59
27%
57%
- สัดส่วน 37 หุ้น TTA ต่อ 1 หุ้น PMTA (เสนอให้ผถู้ อื หุน้ TTA ตามสัดส่วนการ ถือหุ้นเดิมทั้งหมดร้อยละ 100) - ราคาขายที่ 18 บาทต่อหุ้น - ผู้จัดการจําหน่ายและรับประกันการ จําหน่าย บริษทั หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย) จํากัด กันยายน 2558 – เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ ร่วมกับ Solvay
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ธุรกิจปุ๋ยและธุรกิจการให้เช่าพื้ นที่ โรงงาน
ท่ามกลางความยากล�ำบากในการเพาะปลูก Fertilizer Sales Volume ในเขตภาคกลางของเวียดนาม เนื่องจาก Unit: Tons FY15 FY14 % YoY 4Q/15 3Q/15 4Q/14 % YoY % QoQ ปรากฎการณ์เอลนีโญทีย่ าวนาน ภาคธุรกิจ การเกษตรต้องเผชิญกับอุปสรรคในการ Fertilizer NPK 193,075 191,743 1% 48,733 46,013 34,243 42% 6% ผลิตผลผลิตทางการเกษตร และเป็นผลให้ 3,224 2,642 22% 2,549 553 201 1170% 361% อุปสงค์ปยุ๋ ในตลาดลดลง บริษทั ฯ สามารถ Single fertilizer รั ก ษายอดขายไว้ ไ ด้ ที่ ร ะดั บ เดี ย วกั น กั บ 2,242 2,601 -14% 587 546 790 -26% 7% ปีก่อนหน้า โดยในปี 2558 ยอดขายปุ๋ย Pesticide เท่ากับ 198,541 ตัน โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ Total 198,541 196,986 1% 51,869 47,112 35,235 47% 10% 1 เมื่อเทียบกับปี 2557 ที่มียอดขายปุ๋ย จ�ำนวน 196,986 ตันโดยอุปสรรคของการ เติบโตของยอดขายมาจากโอกาสที่จ�ำกัด Sales Volume Breakdown ในการส่ ง ออกไปยัง ประเทศในแอฟริก า ตลอดจนภาวะภัยแล้งในหลายๆ ประเทศ Unit: Tons FY15 FY14 % YoY 4Q/15 3Q/15 4Q/14 % YoY % QoQ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Domestic 118,851 117,432 1% 32,673 26,620 23,453 39% 23% อุ ป สงค์ ก ารเช่ า พื้ น ที่ โรงงานยั ง คงอยู ่ ใ น 79,690 79,554 0% 19,196 20,492 11,781 63% -6% ระดับสูงด้วยอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นจากลูกค้า Export ปัจจุบัน เป็นผลให้อัตราการใช้ประโยชน์ Total 198,541 196,986 1% 51,869 47,112 35,235 47% 10% ของพื้นที่โรงงานให้เช่าของบริษัทฯ ในปี 2558 อยู่ในระดับร้อยละ 100 ด้วยเหตุนี้ รายได้จากการให้บริการจากธุรกิจให้เช่า พื้นที่โรงงานเพิ่มขึ้นจาก 32.1 ล้านบาท แผนภู มิ : อั ต ราการใช้ ป ระโยชน์ ข องพื้ นที่ โ รงงานให้ เ ช่ า ของบริ ษั ท มาที่ 49.1 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 53 ปี 2556-2558 เมือ่ เทียบกับปีทแี่ ล้ว นอกจากนี้ PMTA อยู่ ในระหว่างการสร้างบาคองโค 5B เฟส 2 100% 96% (พื้นที่ 8,200 ตร.ม.) เพื่อมารองรับอุปสงค์ 89% ทีเ่ พิม่ ขึน้ และคาดว่าจะแล้วเสร็จในไตรมาส ที่ 1 ปี 2559
2556
2557
2558
ที่มา: บาคองโค
รายงานประจ�ำปี 2558
49
สรุปผลการด�ำเนินงาน
in Million Baht FY15 FY14 % YoY Sales Revenue 3,258.5 3,088.0 6% Raw Material Costs (2,472.3) (2,270.8) 9% Gross Profit 786.2 817.2 -4% Service & Other Income 52.4 36.6 43% Operating Cost (236.0) (207.3) 14% Cost of providing services (10.5) (5.4) 95% SG&A (243.6) (266.1) -8% EBITDA 348.6 375.0 -7% Depreciation & Amortization (57.2) (40.8) 40% EBIT 291.4 334.2 -13% Financial Cost (6.3) (0.9) 593% Gain/(Loss) from Foreign Exchange (2.4) 13.3 -118% Profit before income tax 282.6 346.6 -18% Income Tax Expense (49.6) (63.6) -22% Net Profit 233.0 283.0 -18% ในปี 2015 รายได้จากการขายปุ๋ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดย เพิ่มขึ้นจาก 3,088 ล้านบาท มาที่ 3,258.5 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของ รายได้ จ ากการขายต่ อ ตั น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก 15,676 บาทต่อตันมาที่ 16,412 บาทต่อ ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2557 ใน ขณะที่ยอดขายปุ๋ยเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 1 จากปี 2557 คือเพิ่มขึ้นจาก 196,986 ตัน มาที่ 198,541 ตัน ในทางตรงกันข้ามต้นทุน วั ต ถุ ดิ บ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 9 จากปี 2557 โดยเพิ่ ม ขึ้ น จาก 2,270.8 ล้ า นบาท มา ที่ 2,472.3 ล้านบาทเป็นผลให้ต้นทุนค่า วัตถุดิบต่อตันเพิ่มขึ้นจาก 11,528 บาท ต่อตันมาที่ 12,452 บาทต่อตันหรือเพิ่ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 8 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก ่ อ นหน้ า ด้วยอัตราการเติบโตของต้นทุนวัตถุดิบที่ สูงกว่าอัตราการเติบโตของรายได้จากการ ขายปุ๋ย ท�ำให้อัตราก�ำไรขั้นต้นในปี 2558 ลดลงมาที่ร้อยละ 24 เทียบกับร้อยละ 26
50
4Q/15 904.8 (672.1) 232.7 13.4 (67.7) (4.0) (63.3) 111.0 (16.2) 94.8 (1.3) (1.1) 92.4 (16.9) 75.6
นอกเหนือไปจากนี้ ในวันที่ 8 ธันวาคม 2557 รัฐบาลเวียดนามมีค�ำสั่งยกเลิกภาษี มูลค่าเพิ่มร้อยละ 5 ส�ำหรับการขายปุ๋ยทุก ประเภทเพื่อเป็นการสนับสนุนเกษตรกร เวียดนามซึง่ ได้มผี ลตัง้ แต่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นมา รายได้จากการให้บริการและอืน่ ๆเพิม่ ขึน้ ถึง ร้อยละ 43 เมื่อเทียบกับปี 2557 โดยเพิ่ม ขึ้นมาที่ 52.4 ล้านบาทจาก 36.6 ล้านบาท ในปี 2557 โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากการ ให้บริการและอื่นๆ คือรายได้จากธุรกิจ การให้เช่าพื้นที่โรงงานด้วยอัตราการเช่า พื้ น ที่ โรงงานส� ำ หรั บ เช่ า ที่ มี ใ นปั จ จุ บั น ที่ ร้อยละ 100 และอุปสงค์การเช่าพืน้ ทีท่ เี่ พิม่ ขึน้ จึงได้มกี ารสร้างบาคองโค 5B เฟส 2 ซึง่ ขณะนี้อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 14 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าจาก 207.3 ล้านบาทในปี 2557 มาที่ 236 ล้านบาท ในปี 2558 เนื่องจากสายการผลิตใหม่ยัง
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
3Q/15 802.3 (616.6) 185.7 14.4 (63.7) (2.4) (58.6) 75.4 (15.2) 60.3 (1.0) 0.9 60.2 (11.1) 49.1
4Q/14 589.0 (425.0) 163.9 11.1 (50.7) (1.6) (52.6) 70.2 (10.2) 60.0 (0.6) 10.6 70.0 (14.6) 55.3
% YoY % QoQ 54% 13% 58% 9% 42% 25% 20% -7% 33% 6% 151% 66% 20% 8% 58% 47% 60% 7% 58% 57% 105% 23% -110% -216% 32% 54% 15% 52% 37% 54%
ไม่ได้เปิดใช้เต็มก�ำลังการผลิต ในขณะที่ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห ารลดลง เนื่องจากการควบคุมต้นทุนโดยลดลงจาก 266.1 ล้านบาทในปี 2557 มาที่ 243.6 ล้านบาทในปี 2558 หรือลดลงร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า กําไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจําหน่าย (EBITDA) ปี 2558 อยู่ ที่ 348.6 ล้านบาท ลดลงจาก 375 ล้านบาท ในปี 2557 หรือลดลงร้อยละ 7 เมือ่ เทียบกับ ปี ก ่ อ นหน้ า ดั ง นั้ น อั ต ราส่ ว นกํ า ไรก่ อ น หั ก ดอกเบี้ ย ภาษี ค่ า เสื่ อ มราคา และ ค่าตัดจําหน่าย (EBITDA margin) ลดลง จากร้อยละ 12 มาที่ร้อยละ 11 ในปี 2558 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าโดย เพิม่ ขึน้ จาก 40.8 ล้านบาทมาที่ 57.2 ล้านบาท ในปี 2558 เนือ่ งจากการติดตัง้ สายการผลิต ปุ๋ยปั๊มเม็ดใหม่
งบแสดงฐานะทางการเงิน
in Million Baht Asset Cash and Cash Equivalent Other Current Assets Plant and Equipment Other Non Current Assets Liabilities and Equity Interest Bearing Debt Other Liabilities Shareholder’s Equity ณ สิ้นปี 2558 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ทัง้ สิน้ 1,961.6 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 22 เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 การเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพย์รวมเป็นผลมาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน 228.2 ล้านบาท และ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 120.5 ล้านบาท ส� ำ หรั บ สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นเพิ่ ม ขึ้ น มา จากลูกหนี้การค้าและสินค้าคงเหลือและ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น มาจากส่วน ของอาคารและอุปกรณ์ โดยมาจากสาย การผลิตปุ๋ยปั๊มเม็ดใหม่และพื้นที่โรงงาน ให้เช่าที่มีการสร้างเพิ่มเติม หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อยูท่ ี่ 423.1 ล้านบาทโดยลดลง 25.4 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นปี 2557 เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน ลดลง 126 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 57 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าจากการช�ำระคืน เงินกู้ ขณะที่เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 78.8 ล้ า นบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 49 เมื่ อ เทียบกับปีก่อนหน้า PMTA รายงานส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อยู่ที่ 1,538.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 32 เมื่อเทียบกับ 1,164.4 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2557 เนื่องจากก�ำไร ระหว่างงวด
31 December 2015 1,961.6 297.2 1,020.9 642.6 0.9 1,961.6 93.3 329.9 1,538.5
31 December 2014 1,612.9 259.8 830.1 521.0 2.1 1,612.9 219.3 229.2 1,164.4
งบกระแสเงินสด
ส�ำหรับงบกระแสเงินสด ณ สิน้ ปี 2558 บริษทั ฯ มีเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 205.3 ล้านบาทเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุนเท่ากับ 166.6 ล้านบาท โดยส่วนมาก ถูกใช้ไปในการซื้ออาคารและอุปกรณ์ นอกจากนี้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เท่ากับ 1.4 ล้านบาท ดังนั้นเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิเท่ากับ 37.4 ล้านบาท รวมกับเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 และ ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริษัทฯ มีเงินสดและรายการ เทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 297.2 ล้านบาท อัตราส่วนทางการเงิน
Key Financial Ratio Current Ratio EBITDA to Sales Revenue (%) Net Profit to Sales Revenue (%) Return on Total Asset (%) Return on Equity (%) Interest Bearing Debt to Equity (Times) Net Interest Bearing Debt to Equity (Times) Net Interest Bearing Debt to EBITDA (Times)
2015 3.2 11% 7% 16% 17% 0.1 (0.1) (0.6)
2014 2.5 12% 9% 23% 24% 0.2 (0.0) (0.1)
รายงานประจ�ำปี 2558
51
ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ดังนั้น PMTA จึงรายงานงบการเงินรวมสําหรับปี 2558 ด้วยก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 233 ล้านบาท (2.36 บาทต่อหุ้น) โดยลดลงร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับ 283 ล้านบาท (3.04 บาทต่อหุ้น) ในปี 2557
รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้มีการจัดการที่ดี ให้เป็น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง รักษา ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไป โดยก�ำกับดูแลให้รายงานทางการเงินของบริษทั ฯ มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีทถี่ กู ต้อง ครบถ้วน สามารถสะท้อนฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานที่เป็นจริงของบริษัทฯ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อท�ำหน้าที่ สอบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ซึง่ ความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบได้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ ประจ�ำปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของ บริษัทฯ คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบ บัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษทั ฯ อยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ มีความเพียงพอและเหมาะสม ตลอดจนสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลได้วา่ งบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ส�ำหรับ ปีสนิ้ สุดวันที่ 31ธันวาคม 2558 มีความเชือ่ ถือได้โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
ประธานกรรมการ
52
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
นายซิกมันต์ สตรอม
กรรมการผู้จัดการ
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางเงิน
15.
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
16.
งบการเงินรวม และงบการเงินของบริษัท
รายงานของผู ้สอบบั ญชีญ รับชี อนุ ญอนุ าต ญาต รายงานของผู ส ้ อบบั รับ
เสนอ ผูถือหุนบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) และบริษัท ยอย (“กลุมบริษัท”) และของเฉพาะบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) ตามลําดับ ซึ่งประกอบดวย งบ แสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสด รวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริห ารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้โดยถูกตอ งตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม ภายในที่ผูบริห ารพิจารณาวาจําเปนเพื่อ ใหสามารถจัดทํางบ การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือ ขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาได ปฏิบั ติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญ ชี ซึ่งกําหนดใหขาพเจาปฏิ บัติต ามขอ กําหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึ ง วางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการปราศจาก การแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อ ใหไดม าซึ่งหลักฐานการสอบบัญ ชีเกี่ยวกับจํานวนเงินและการเปดเผยขอ มูล ในงบ การเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงินไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชี พิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน โดยถูกตองตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่ จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม
รายงานประจ�ำปี 2558
53
ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการของ กลุมบริษัทและบริษัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงิน สดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน เรื่องอื่นๆ ขาพเจาขอใหสังเกตเกี่ยวกับการที่กลุม บริษัทไดเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญ ชีจากสิ้น สุดวันที่ 30 กันยายน เปน สิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม สงผลใหขอมูลที่แสดงเปรียบเทียบซึ่งปนขอมูลสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ไมสามารถเปรียบเทียบกัน ไดกับขอมูลสําหรับระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 กลุมบริษัทจึงไดนําเสนอขอมูลเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 30 ซึ่งรวมถึงงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม (ไมไดตรวจสอบ) สําหรับระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งขาพเจาไมไดตรวจสอบและแสดงความเห็นตอขอมูลเพิ่มเติมดังกลาว
(บัณฑิต ตั้งภากรณ) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 8509 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 26 กุมภาพันธ 2559
54
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
2
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน บริษ ษัท ม มโทรี เซนเซน เอเชีเอเชี ย โฮลดิ ้งส์ จํากั และบริ ษัทนย่รวม อย บริ ัท พีพีเอ็เอ็ โทรี ย โฮลดิ จ�ำกัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย ้งดส์ (มหาชน) งบการเงิ งบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558
2557 งบการเงินรวม
สินทรัพยหมุนเวียน สิเงินนทรั พย สดและรายการเที ยบเทาเงินสด
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม (บาท)
31 ธันวาคม
หมายเหตุ 5
2558 297,215,112
4, 6
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม
2558 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558 18,626,842
254,417,861
2557 259,805,428 (บาท) 131,888,938
4 57 4,46
6,292 297,215,112 9,705,081 254,417,861 -
7,251,885 259,805,428 43,295,477 131,888,938 -
177,625,529 18,626,842 -
48 79
6,292 724,706,970 9,705,081 32,092,407
7,251,885 504,090,249 43,295,477 143,578,750
เงิรวมสิ นใหกนูรทรั ะยะสั พย้นหแก มุนบเวีริษยัทนยอย
4
สินคาคงเหลือ
8
1,318,143,723 724,706,970
1,089,910,727 504,090,249
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย
9
32,092,407
143,578,750
452,333
5,724,023
10
1,318,143,723 -
1,089,910,727 -
326,675,203 905,064,206
78,656,115 905,064,206
11
642,607,040
520,970,586
332,551
12 10 13
97,833
125,609
11
- 776,586 642,607,040 643,481,459
-1,930,801 520,970,586 523,026,996
สินทรัพยไมมีตัวตน
12
97,833
เงิรวมสิ นจายล วงหน นทรั พย าสําหรับสิทธิการใชที่ดิน รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
13
ลูกหนี้การคา สิลูนกหนี ทรัพ้อื่นยกิหจมุการที นเวีย่เนกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคา เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ ลูสิกนหนี ทรั้อพื่นยหมุนเวียนอื่น
อาคารและอุปกรณ สิสินนทรั เวียน ทรัพพยยไไมมมหีตมุัวนตน เงิเงินนลงทุ อยบสิทธิการใชที่ดิน จายลนในบริ วงหนษาสํัทายหรั อาคารและอุ รวมสินทรัพปยกรณ ไมหมุนเวียน
รวมสินทรัพย
-
2557 34,345,236 -
129,970,499 177,625,529 - 452,333 129,970,499 326,675,203 -
-
38,586,856 34,345,236 -38,586,856 -5,724,023 78,656,115 -
-
125,609
905,064,206 332,551 905,396,757 -
905,064,206 905,064,206 -
776,586 1,961,625,182 643,481,459
1,930,801 1,612,937,723 523,026,996
1,232,071,960 905,396,757
983,720,321 905,064,206
1,961,625,182
1,612,937,723
1,232,071,960
983,720,321
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3 รายงานประจ�ำปี 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
55
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบแสดงฐานะการเงิน บริษ ษัท พี เซนเซน เอเชีเอเชี ย โฮลดิ ้งส์ จํา้ง กัด และบริ ษนัทรวม ย่ อย ษัทย่อย บริ พีเอ็เอ็มมโทรี โทรี ย โฮลดิ ส์ (มหาชน) จ�ำกัด (มหาชน) และบริ งบการเงิ งบแสดงฐานะการเงิน
สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558
2557 งบการเงินรวม
สินทรัพยหมุนเวียน หนีน้สสดและรายการเที ินและสวนของผูยถบเท ือหุานเงินสด เงิ ลูกหนี้การคา ้สิน้อหมุ ยน ่เกี่ยวของกัน ลูหนี กหนี ื่นกินจเวี การที เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ลูกหนี้อื่น เจาหนี้การคา เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย เงินรับลวงหนาจากลูกคา สินคาคงเหลือ สิภาษี นทรัเงิพนยไดหคมุานงจเวีายยนอื่น หนี้สินนหมุ รวมสิ ทรันพเวียยหนอื มุน่นเวียน รวมหนี้สินหมุนเวียน
สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน อาคารและอุปกรณ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพยไมมีตัวตน รวมหนี้สิน เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
31 ธันวาคม 2558 297,215,112
(บาท)
4, 6
31 ธันวาคม
2558 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558 18,626,842
254,417,861
2557 259,805,428 (บาท) 131,888,938
4 15 7 16 4
6,292 93,281,440 9,705,081 238,577,846 -
7,251,885 219,328,715 43,295,477 159,728,442 -
177,625,529 --
38,586,856 --
8
1,189,176 724,706,970 16,852,399 32,092,407
1,274,541 504,090,249 18,807,770 143,578,750
13,209,083 129,970,499 --
12,144,595 --
62,966,156 1,318,143,723 412,867,017
39,590,631 1,089,910,727 438,730,099
- 452,333 1,801,201 326,675,203
4,540,398 5,724,023 10,126,257 78,656,115
15,010,284
26,811,250
10,278,590 642,607,040 10,278,590 97,833 423,145,607 776,586
9,773,445 520,970,586 9,773,445 125,609 448,503,544 1,930,801
905,064,206 316,470 332,551 316,470 15,326,754 -
905,064,206 170,865 170,865 26,982,115 -
643,481,459
523,026,996
905,396,757
905,064,206
1,961,625,182 1,012,000,000
1,612,937,723 1,012,000,000
1,232,071,960 1,012,000,000
983,720,321 1,012,000,000
1,012,000,000
931,000,000
1,012,000,000
931,000,000
9 17
10 11 12 13
รวมสิ นทรัถพือยหุไมนหมุนเวียน สวนของผู ทุนเรือนหุน
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
หมายเหตุ 5
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
2557 34,345,236
-
19
รวมสิทุนนทรั พย ยน จดทะเบี ทุนที่ออกและชําระแลว สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ
19
60,384,380
-
60,384,380
-
20
23,693,000
17,761,000
23,693,000
17,761,000
231,638,524
4,579,982
120,667,826
7,977,206
210,763,671
211,093,197
รวมสวนของผูถือหุน
1,538,479,575
1,164,434,179
1,216,745,206
956,738,206
รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน
1,961,625,182
1,612,937,723
1,232,071,960
983,720,321
กําไรสะสม จัดสรรแลว - ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3
56 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 4
-
-
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริ ษัทัทพีพีเอ็เมอ็ม ย ้งโฮลดิ จ�ำกัด (มหาชน) ษัทย่อย บริษ โทรีโทรี เซนเซน เอเชียเอเชี โฮลดิ ส์ จํากั้ง ดส์(มหาชน) และบริ ษัทย่ อและบริ ย งบการเงิ นรวม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558
2557 งบการเงินรวม
ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น รายได เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย รายไดจากการขาย สินคาคงเหลือ รายไดคาบริการใหเชาพื้นที่โรงงาน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมรายได รวมสินทรัพยหมุนเวียน
31 ธันวาคม (บาท)
31 ธันวาคม
2558 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับงวด
สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
งบการเงินเฉพาะกิจการ
5
สําหรับป297,215,112 สิ้นสุด
สามเดือ259,805,428 นสิ้นสุด
4, 6 หมายเหตุ 4
31 ธัน254,417,861 วาคม
31 ธัน131,888,938 วาคม
2558
6,292
25577,251,885 (บาท) 43,295,477
สําหรับงวด สําหรับป18,626,842 สิ้นสุด 31 ธันวาคม -
สามเดือ34,345,236 นสิ้นสุด 31 ธัน-วาคม
2558 177,625,529
7
9,705,081
4 21 8 21 9
3,258,512,680 724,706,970 49,113,120 32,092,407 3,307,625,800 1,318,143,723
588,964,714 504,090,249 9,614,220 143,578,750 598,578,934 1,089,910,727
129,970,499 452,333 326,675,203
5,724,023 78,656,115
482,778,125 4,475,827
905,064,206 -
905,064,206 -
- 332,551
ตนทุน พยไมหมุนเวียน ตสินนทุทรั นขาย
-
2557 38,586,856
-
นในบริ ัทยอย ตเงินนทุลงทุ นการให บริกษาร
10
2,748,652,604 24,982,537
อาคารและอุ รวมต นทุน ปกรณ
11 23
642,607,040 2,773,635,141
520,970,586 487,253,952
สินทรัพยไมมีตัวตน กํเงิานไรขั จา้นยลตวนงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
12
97,833 533,990,659 776,586
125,609 111,324,982 1,930,801
3,322,716 643,481,459 537,313,375
12,081,422 523,026,996 123,406,404
135,279,833 905,396,757 135,279,833
9,515,536 905,064,206 9,515,536
รายได รวมสิจนากการดํ ทรัพยไามเนิหนมุงานอื นเวีย่นน กําไรกอนคาใชจาย
13 22
--
-
-
--
--
รวมสินทรัพย คาใชจายในการขาย
23
1,961,625,182 154,227,593
1,612,937,723 31,702,998
1,232,071,960 -
983,720,321 -
คาใชจายในการบริหาร
23
94,148,260
21,107,937
16,657,213
3,069,586
248,375,853
52,810,935
16,657,213
3,069,586
และภาษีเงินได
288,937,522
70,595,469
118,622,620
6,445,950
ตนทุนทางการเงิน
6,345,614
623,880
282,591,908
69,971,589
49,601,366
14,634,638
232,990,542
55,336,951
รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงิน
กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได
24
กําไรสุทธิสําหรับป/งวด
118,622,620 118,622,620
6,445,950 1,258,976 5,186,974
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3 รายงานประจ�ำปี 2558
57
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริ ษัทัท พีพีเอ็เมอ็มโทรีโทรี เอเชี ย ้งโฮลดิ จ�ำกัด (มหาชน) ษัทย่อย บริษ เซนเซน เอเชีย โฮลดิ ส์ จํากั้ง ดส์(มหาชน) และบริ ษัทนย่รวม อและบริ ย งบการเงิ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558
2557 งบการเงินรวม
ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
31 ธันวาคม (บาท)
5
สําหรับ297,215,112 ปสิ้นสุด
สามเดือ259,805,428 นสิ้นสุด
4, 6 หมายเหตุ 4
31 ธัน254,417,861 วาคม
31 ธัน131,888,938 วาคม
ลูกหนี้อื่น
7
เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น สินคาคงเหลือ รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เขาไปไวในกําไรหรือขาดทุน รวมสินทรัพยหมุนเวียน ผลตางอัตราแลกเปลี่ยนจาก
4
2558
6,292
9,705,081 -
25577,251,885 (บาท) 43,295,477
-
31 ธันวาคม
2558 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับงวด
สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับงวด สําหรับ18,626,842 ปสิ้นสุด 31 ธัน-วาคม
สามเดือ34,345,236 นสิ้นสุด 31 ธัน-วาคม
2558 177,625,529
-
2557 38,586,856
-
129,970,499 -
-
8
724,706,970
504,090,249
-
9
32,092,407
143,578,750
452,333
5,724,023
1,318,143,723
1,089,910,727
326,675,203
78,656,115
(329,526)
76,441,928
(329,526) 232,661,016
76,441,928 131,778,879
การแปลงคางบการเงิน สิกํานไรทรั(ขาดทุ พยไมหน)มุเบ็ นเวีดเสร็ ยน จอื่นสําหรับป/งวด นในบริ ัทยดอเสร็ ย จรวมสําหรับป/งวด กํเงิานไรลงทุ (ขาดทุ น)ษเบ็
10
อาคารและอุปกรณ
11
642,607,040
520,970,586
กํสิานไรต ฐาน (บาท) ทรัพอหุยไนมขัม้นีตพืัว้นตน
12 26
97,833 2.36
125,609 0.59
-
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
13
776,586
1,930,801
-
643,481,459
523,026,996
905,396,757
905,064,206
1,961,625,182
1,612,937,723
1,232,071,960
983,720,321
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3
58
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
-
-
905,064,206 118,622,620
905,064,206 5,186,974
332,551
-
1.20
-
0.06
-
4, 6
4
7
ลูกหนี้การคา
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
ลูกหนี้อื่น
9,705,081
6,292
254,417,861
297,215,112
-
43,295,477
7,251,885
131,888,938
259,805,428
11
12
13
อาคารและอุปกรณ
สินทรัพยไมมีตัวตน
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
3
-
-
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับงวด
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับงวด
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1,612,937,723
931,000,000
-
-
กําไรสุทธิสําหรับงวด
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
523,026,996 931,000,000
รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุนของบริษัท
20
1,961,625,182
643,481,459
-
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับงวด
-
1,089,910,727
143,578,750
452,333
905,064,206
326,675,203 กําไรสะสม
-
129,970,499
-
177,625,529
-
18,626,842
7
17,761,000
261,000
-
-
-
-
-
278,147,031
4,579,982
(261,000)
55,336,951
-
55,336,951
(328,643,000)
(328,643,000)
1,232,071,960
17,500,000
905,396,757
332,551 642,607,040 ทุนที่ออก520,970,586 สํารอง 97,833 และชําระแลว 125,609 หมายเหตุ ตามกฎหมาย - ยังไมไดจัดสรร 776,586 1,930,801
-
1,318,143,723
32,092,407
เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท
การจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุนของบริษัท
รวมสิ นทรับพผูยถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน รายการกั
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557
รวมสิ พยไมหมุอนนสิ เวีย้นนสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สําหรันบทรั งวดสามเดื
10
9
เงินลงทุนในบริษัทยอย
สินทรัพยไมหมุนเวียน
รวมสินทรัพยหมุนเวียน
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
สินคษาคงเหลื 8 งส์ จ�ำกัด 724,706,970 504,090,249 บริ ัท พีอเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ (มหาชน) และบริ ษัทย่อย ้
เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย 4 ่ยนแปลงส่ งบแสดงการเปลี วนของผู ้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
5
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
(บาท)
359,606,167
-
-
-
-
-
-
983,720,321
359,606,167
905,064,206
-
905,064,206 ผลต างที่เกิดขึ้นจาก การรวมธุรกิจภายใต การควบคุ มเดียวกัน ของสวนของ
การแปลงคา
(148,512,970)
-
76,441,928
76,441,928
-
-
-
(224,954,898)
211,093,197
-
76,441,928
76,441,928
-
-
-
134,651,269
ผูถือหุน
ประกอบอื่น
แลกเปลี่ยนจาก งบการเงิน
รวมองค
ผลตางอัตรา
5,724,023 งบการเงินรวม 78,656,115 องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
-
-
-
38,586,856
-
34,345,236
1,164,434,179
-
131,778,879
76,441,928
55,336,951
(328,643,000)
(328,643,000)
1,361,298,300
ของผูถือหุน
รวมสวน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
59
60
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
4
7
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
ลูกหนี้อื่น
9,705,081
6,292
254,417,861
-
43,295,477
7,251,885
131,888,938
11
12
13
อาคารและอุปกรณ
สินทรัพยไมมีตัวตน
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
-
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับป
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
3
1,012,000,000
-
-
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
-
81,000,000
-
81,000,000
กําไรสุทธิสําหรับป
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับป
20
19
ตนทุนในการออกจําหนายหุนสามัญ
สวนเกิน
60,384,380
-
-
-
-
60,384,380
(4,415,620)
64,800,000
-
523,026,996
1,930,801
มูลคาหุนสามัญ
125,609
520,970,586
-
1,612,937,723
931,000,000
1,961,625,182
643,481,459
776,586
143,578,750
1,089,910,727
หมายเหตุ และชําระแลว
19
รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนของบริษัท
ทุนที่ออก
97,833
642,607,040
-
1,318,143,723
32,092,407
ออกหุนสามัญ
เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนของบริษัท
รวมสิ นทรับพผูยถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน รายการกั
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
10
9
เงินลงทุนในบริษัทยอย
สินทรัพยไมหมุนเวียน
รวมสินทรัพยหมุนเวียน
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
สินคษาคงเหลื 8 งส์ จ�ำกัด 724,706,970 504,090,249 บริ ัท พีอเอ็ม ่ยโทรี เซนวนของผู เอเชีย (มหาชน) และบริ ษัทย่อย ้ งบแสดงการเปลี นแปลงส่ ้ถือหุโฮลดิ ้น
เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย 4 ่ยนแปลงส่ งบแสดงการเปลี วนของผู ้ถือหุ้น บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
4, 6
ลูกหนี้การคา
452,333
8
23,693,000
5,932,000
-
-
-
-
-
-
17,761,000
1,232,071,960
905,396,757
-
ตามกฎหมาย
สํา-รอง
332,551
905,064,206
231,638,524
(5,932,000)
232,990,542
-
232,990,542
-
-
983,720,321
4,579,982
-
(บาท)
359,606,167
-
-
-
-
-
-
-
359,606,167
การควบคุมเดียวกัน
การรวมธุรกิจภายใต
(148,842,496)
-
(329,526)
(329,526)
-
-
-
-
(148,512,970)
งบการเงิน
การแปลงคา
แลกเปลี่ยนจาก
ผลตางอัตรา
รวมองค
210,763,671
-
(329,526)
(329,526)
-
-
-
-
211,093,197
ผูถือหุน
ของสวนของ
ประกอบอื่น
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
ผลตางที่เกิดขึ้นจาก
905,064,206
-
-
-
905,064,206
งบการเงินรวม
78,656,115
5,724,023
-
-
-
38,586,856
-
ยังไมไดจัดสรร
กําไรสะสม
326,675,203
-
129,970,499
-
177,625,529
-
1,538,479,575
-
232,661,016
(329,526)
232,990,542
141,384,380
(4,415,620)
145,800,000
1,164,434,179
ของผูถือหุน
รวมสวน
4, 6
4
7
ลูกหนี้การคา
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
ลูกหนี้อื่น
9,705,081
6,292
254,417,861
297,215,112
43,295,477
7,251,885
131,888,938
259,805,428
11
12
13
อาคารและอุปกรณ
สินทรัพยไมมีตัวตน
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
หมายเหตุ
หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นสว่งนหนึ ่งของงบการเงิ หมายเหตุ นเปนนสเปวนหนึ ของงบการเงิ นนี้ นนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับงวด
กําไรสุทธิสําหรับงวด
3
20
-
-
1,232,071,960
9
261,000 17,761,000
-
-
-
-
983,720,321
17,500,000 905,064,206
-
-
ตามกฎหมาย
905,064,206
สํารอง (บาท)
7,977,206
(261,000)
5,186,974
5,186,974
(328,643,000)
(328,643,000)
331,694,232
ยังไมไดจัดสรร
งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม
78,656,115
5,724,023
-
-
-
38,586,856
-
34,345,236
-
332,551
905,064,206
931,000,000
-
-
-
-
รวมการจัดสรรสวนทุนใหผูถือหุนของบริษัท
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับงวด
452,333 326,675,203
-
129,970,499
-
931,000,000 905,396,757
-
1,612,937,723
523,026,996
643,481,459
1,961,625,182
1,930,801
125,609
-
18,626,842 177,625,529
และชําระแลว
ทุนที่ออก
520,970,586
-
776,586
97,833
642,607,040
-
1,089,910,727
143,578,750
เงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท
รวมสินการจั ทรัพยดสรรสวนทุนใหผูถือหุนของบริษัท
32,092,407
1,318,143,723
รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
10
9
เงินลงทุนในบริษัทยอย
สินทรัพยไมหมุนเวียน
รวมสินทรัพยหมุนเวียน
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
สินงบแสดงการเปลี คษาคงเหลื 8้ถืองหุส์ 724,706,970 504,090,249 บริ ัท พีอเอ็ม โทรี เซน เอเชี ย โฮลดิ (มหาชน) และบริ ษัทย่อย ่ยนแปลงส่ วนของผู ้ ้น จ�ำกัด
เงิบริ นใหษ กูรัท ะยะสั แกมบริษโทรี ัทยอเยซน เอเชี 4 ้งส์ ว พี้นเอ็ ย โฮลดิ จํานของผู กัด (มหาชน) ่ยนแปลงส่ งบแสดงการเปลี ้ถือและบริ หุ้น ษัท- ย่อย
5
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
956,738,206
-
5,186,974
5,186,974
(328,643,000)
(328,643,000)
1,280,194,232
ของผูถือหุน
รวมสวน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
61
62
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
4
7
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
ลูกหนี้อื่น
9,705,081
6,292
254,417,861 43,295,477
7,251,885
131,888,938
-
643,481,459
เงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนของบริษัท
หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นสว่งนหนึ ่งของงบการเงิ หมายเหตุ นเปนนสเป วนหนึ ของงบการเงิ นนี้ นนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับป
กําไรสุทธิสําหรับป
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จสําหรับป
20
19
ตนทุนในการออกจําหนายหุนสามัญ
รวมเงินทุนที่ไดรับจากผูถือหุนของบริษัท
19
3
1,961,625,182
ออกหุนสามัญ
รวมสินทรัพย
776,586
97,833
642,607,040
รายการกับผูถือหุนที่บันทึกโดยตรงเขาสวนของผูถือหุน
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
13
12
สินทรัพยไมมีตัวตน
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
11
อาคารและอุปกรณ
1,012,000,000
-
-
-
81,000,000
-
81,000,000
1,612,937,723
523,026,996
1,930,801
931,000,000
125,609
520,970,586
- าระแลว และชํ
- หมายเหตุ
10
1,089,910,727
143,578,750
เงินลงทุนในบริษัทยอย
1,318,143,723
32,092,407
ทุนที่ออก
9
สินทรัพยไมหมุนเวียน
รวมสินทรัพยหมุนเวียน
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
สินคษาคงเหลื 8 งส์ จ�ำกัด 724,706,970 504,090,249 บริ ัท พีอเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ (มหาชน) และบริ ษัทย่อย ้
เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย 4 ่ยนแปลงส่ งบแสดงการเปลี วนของผู ้ถือหุ้น งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
4, 6
ลูกหนี้การคา
452,333
10
60,384,380
-
-
-
60,384,380
(4,415,620)
64,800,000
1,232,071,960
5,932,000
-
-
-
-
23,693,000
983,720,321
-
17,761,000
(บาท)
905,064,206
-
905,396,757
-
-
-
905,064,206 ตามกฎหมาย
สํารอง
กําไรสะสม
งบการเงิ นเฉพาะกิจการ 78,656,115
5,724,023
-
-
-
38,586,856
-
-
332,551
905,064,206 มูลคาหุนสามัญ
สวนเกิน
326,675,203
-
129,970,499
-
177,625,529
-
120,667,826
(5,932,000)
118,622,620
118,622,620
-
-
-
7,977,206
ยังไมไดจัดสรร
1,216,745,206
-
118,622,620
118,622,620
141,384,380
(4,415,620)
145,800,000
956,738,206
ของผูถือหุน
รวมสวน
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบกระแสเงินสด
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินรวม งบกระแสเงินสด 31 ธันวาคม สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
2558
2557 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2558 นเฉพาะกิจการ 2557 งบการเงิ
สําหรับงวด (บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ลูกหนี้อื่น กําไรสุทธิสําหรับป/งวด เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย รายการปรับปรุง สินคาคงเหลือ คาเสื่อมราคา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน รวมสินทรัพยหมุนเวียน คาตัดจําหนายเงินจายลวงหนา
สําหรับปสิ้นสุด 5 4, 6
31 ธันวาคม 297,215,112 หมายเหตุ 254,417,861 2558
สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 259,805,428 2557 131,888,938 7,251,885(บาท)
4
6,292
7
9,705,081 232,990,542
43,295,477 55,336,951 -
724,706,970 57,160,758 32,092,407 12 27,053 1,318,143,723
504,090,249 10,152,424 143,578,750 6,510 1,089,910,727
4 8 9
สําหรับสิทธิการใชที่ดิน สินทรัคพายเผืไ่อมห(กลั มุนบเวีรายการ) ยน มูลคาสินคาลดลง
-
11
13
1,124,157
270,519
8
1,782,589
(1,019,599)
- 49,601,366
-14,634,638
สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด
31 ธัน18,626,842 วาคม 31 ธันวาคม 34,345,236 2558 118,622,620 129,970,499 -
53,150 452,333
326,675,203 -
24
อาคารและอุ ปกรณ เงินปนผลรั บจากบริษัทยอย
11
4
สินทรัตพนยทุไมนมทางการเงิ ีตัวตน น
12
6,345,614 97,833
623,880 125,609
--
าไรสุ ทธิาจสํากการจํ ยอาคารและ เงินจากํยล วงหน าหรับสิาทหน ธิกาารใช ที่ดิน อุ ป กรณ แ ละสิ น ทรั พ ย ไ ม ม ต ี ัวตน รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
13
776,586 (387,490) 643,481,459
1,930,801 (269,598) 523,026,996
-
-
905,396,757 (1,952,996)
15,644,529 1,961,625,182 505,145
1,612,937,723 170,865
1,232,071,960 145,605
-
(1,868,120)
กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากเงินกู รวมสิขาดทุ นทรัพนยจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริงจากเงินกู ประมาณการภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน
ดอกเบี้ยรับ
(2,035,876)
(1,626,081)
332,551 (130,176,000)
(15,175,741)
38,586,856 5,186,974 -
-
5,724,023 78,656,115
-
905,064,206 -
10
520,970,586 -
2557 -
177,625,529
เงินลงทุ นในบริ ภาษี เงินไดษัทยอย
642,607,040 -
สามเดือนสิ้นสุด
905,064,206 1,258,976 - -
-
-
- 905,064,206 -
983,720,321 170,865
-
361,132,306
79,906,590
6,616,815
(122,414,625)
1,014,638
7,245,593
22,725,817
33,590,396
(27,882,472)
-
-
สินคาคงเหลือ
(222,399,310)
(110,822,035)
-
-
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
111,480,292
(81,118,710)
5,265,639
(116,209)
68,636,040
69,429,246
1,064,487
320,655
(85,366)
(9,189,951)
16,622,311
(69,450,697)
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น
เจาหนี้การคา เงินรับลวงหนาจากลูกคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น
(7,425,910)
(8,367,856)
(23,779,456)
(339,958)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 11
รายงานประจ�ำปี 2558
63
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบกระแสเงิ นสด บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษ ัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินรวม งบกระแสเงินสด 31 ธันวาคม สินทรัพย
หมายเหตุ
31 ธันวาคม
2558
งบการเงิน2557 รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม
2558 2557 งบการเงินเฉพาะกิจการ
(บาท) สําหรับงวด สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 297,215,112
5 4, 6
หมายเหตุ254,417,861 2558
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
4
6,292
ลูกหนี้อื่น างอั้นตแก ราแลกเปลี เงินใหผลต กูระยะสั บริษัทยอ่ยยนจาก
7
9,705,081
การแปลงค างบการเงิน สินคาคงเหลื อ เงินพสดได สินทรั ยหมุนมเวีาจาก ยนอื(ใช ่น ไปใน) รวมสินกิจทรักรรมดํ พยหมุาเนิ นเวีนงาน ยน จายตนทุนทางการเงิน
4
-
9,056,773 724,706,970
8 9
จายภาษีเงินได สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจกรรมดําเนินงาน อาคารและอุปกรณ
10
สามเดือนสิ้นสุด
สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด
31 ธันวาคม 259,805,428
3118,626,842 ธันวาคม
2557 131,888,938
-2558
7,251,885 (บาท) 43,295,477 -
17,762,061 504,090,249
32,092,407 143,578,750 262,864,410 (107,625,513) 1,318,143,723 1,089,910,727 (6,322,337) (519,201)
(51,211,966)
31 ธันวาคม
177,625,529
สามเดือนสิ้นสุด 31 ธัน34,345,236 วาคม 255738,586,856
-
-
129,970,499 - 452,333 (24,639,381) 326,675,203 -
-5,724,023 (17,298,153) 78,656,115 -
(20,743,127)
(4,491,546)
11
205,330,107 642,607,040
(128,887,841) 520,970,586
905,064,206 (29,130,927) 332,551
สินทรั พยไมมนีตัวสดจากกิ ตน จกรรมลงทุน กระแสเงิ
12
97,833
125,609
้ออาคารและอุ เงินจาซืยล วงหนาสําหรับปสิกรณ ทธิการใชที่ดิน
13
(168,572,053) 776,586
(9,436,185) 1,930,801
รวมสิเงิ นทรั พยบไมจากการจํ หมุนเวียานหนายอาคารและอุปกรณ นสดรั
643,481,459387,490
269,598 523,026,996
905,396,757
905,064,206
-
(128,017,503)
-
-
เงินสดจายใหเงินกูระยะสั้นแกบริษัทยอย
-
นปพนยผลรับจากบริษัทยอย รวมสิเงิ นทรั
-
1,961,625,182 1,612,937,723 1,626,081 -
ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน
(166,558,482)
(9,166,587)
905,064,206 (17,298,153) -
-
-
- (385,700)
1,232,071,960 431,356 (127,971,847)
--
321,745,428 983,720,321 321,745,428
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ
19
145,800,000
-
145,800,000
-
ตนทุนในการออกจําหนายหุนสามัญ
19
(4,415,620)
-
(4,415,620)
-
เงินสดรับจากเงินกูระยะสั้น จากสถาบันการเงิน
527,328,474
205,620,670
-
-
-
-
เงินสดจายคืนเงินกูระยะสั้น จากสถาบันการเงิน จายเงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน
(670,098,488) (1,385,634)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3
64
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 12
(328,643,000) (123,022,330)
141,384,380
(328,643,000) (328,643,000)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
งบกระแสเงินสด
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินรวม งบกระแสเงินสด 31 ธันวาคม สินทรัพย
หมายเหตุ
2558
ลูกหนี้การคา
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2557
2558
2557
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับงวด
สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุด
5 4, 6
หมายเหตุ
สามเดือนสิ้นสุด
สําหรับปสิ้นสุด
สามเดือนสิ้นสุด
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
297,215,112
259,805,428
254,417,861
131,888,938
6,292
7,251,885
9,705,081
43,295,477
31 ธันวาคม 2558
สําหรับงวด 18,626,842 -
2557
2558
34,345,236 -
2557
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
4
ลูกหนี้อื่น
7
เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย
4
สินคาคงเหลือ
8
724,706,970
504,090,249
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
9
32,092,407
143,578,750
452,333
1,318,143,723
1,089,910,727
326,675,203
78,656,115
(726,942) 905,064,206 -
905,064,206
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
เงินสดและรายการเทียบเทา
-
-
37,385,991
รวมสินทรัพยหมุนเวียน
เงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม / 1 ตุลาคม
(บาท)
259,805,428
177,625,529 -
-
129,970,499
(261,076,758) 521,609,128
-
38,586,856
(15,718,394) 34,345,236
-
(24,195,725) 5,724,023
58,540,961
ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา
สินทรัพยไมหมุนเวียน
ตางประเทศ
เงินลงทุนในบริษัทยอย
เงิอาคารและอุ นสดและรายการเที ยบเทาเงินสด ปกรณ
10 11
วันพทียไ่ ม31มีตธััวนตนวาคม สิณนทรั
12
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน
13
23,693
-
5
รายการที รวมสินทรั่ไมพใยชไเมงิหนมุสด นเวียน หนี้สินคางชําระจากการซื้ออาคารและอุปกรณ
-
642,607,040
520,970,586
776,586
1,930,801
643,481,459
523,026,996
297,215,112 97,833
5,825,587
รวมสิ พยางรับ เงินปนทรั ผลค
4 1,961,625,182-
ดอกเบี้ยคางรับ
4
-
259,805,428 125,609
1,612,937,723 -
-
332,551
-
-
- 18,626,842
-34,345,236
-
-
905,396,757
905,064,206
-
-
1,232,071,960 130,176,000
983,720,321 -
1,436,736
-
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3 รายงานประจ�ำปี 2558
65
หมายเหตุ ระกอบการเงิ บริษัท พี เอ็มปโทรี เซน เอเชีย โฮลดิน ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
น ย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริหมายเหตุ ษัท พี เอ็ปมระกอบงบการเงิ โทรีเซน เอเชี
หมายเหตุ
สารบัญ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ขอมูลทั่วไปและการจัดโครงสรางธุรกิจ เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอย อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ทุนเรือนหุน สํารอง สวนงานดําเนินงาน รายไดจากการดําเนินงานอื่น คาใชจายตามลักษณะ ภาษีเงินได เครื่องมือทางการเงิน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช ขอมูลเพิ่มเติม (ไมไดตรวจสอบ)
66
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2559 1
ข้อมูลทั่วไปและการจัดโครงสร้างธุรกิจ
(ก)
ขอมูลทั่วไป บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู จดทะเบียน ตั้งอยูเลขที่ 26/26-27 อาคารอรกานต ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2558 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2557 บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัดกับกระทรวงพาณิชยและไดเปลี่ยนชื่อบริษัทจาก “บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้ง จํากัด” เปน “บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)” บริษัทใหญและบริษัทใหญในลําดับสูงสุดในระหวางงวดไดแก บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนนิติบุคคลที่ จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย บริษัทประกอบธุรกิจหลักในดานการถือหุนเพื่อการลงทุน บริษัทและบริษัทยอย (“กลุมบริษัท”) ดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิต ปุยเคมี NPK และปุยเคมีธาตุอาหารรอง การจัดหาเมล็ดพันธุ และวัสดุการเกษตรอื่นๆ การผลิต การนําเขา และการสงออก ยากําจัดศัตรูพืช (เฉพาะประเภทที่ไดรับอนุญาตในประเทศเวียดนาม) และการใหเชาพื้นที่โรงงาน รายละเอียดของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 10
(ข)
การจัดโครงสรางธุรกิจ บริษัทไดถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2556 และไดเขาซื้อหุนทั้งหมดของ Baconco Co., Ltd. (“Baconco”) และ PM Thoresen Asia Singapore Pte. Limited (“PMTS”) (เดิ ม ชื่ อ Atlantis Offshore Construction Pte. Limited) จาก Soleado Holding Pte. Limited (“Soleado”) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 และวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 (“วันซื้อธุรกิจ”) ตามลําดับดวยเงินสดจายซื้อมูลคา 28.88 ลานเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ 904 ลานบาท) ซึ่งบริษัท Baconco PMTS และ Soleado ลวนอยูภายใตการควบคุมเดียวกันของผู ถือหุนในลําดับสูงสุด นั่นคือบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) (“TTA”) ทั้งกอนและหลังจากวันซื้อธุรกิจ จากการที่ Baconco และ PMTS อยูภายใตการควบคุมของผูถือหุนในลําดับสูงสุดเดียวกันทั้งกอนและหลังจากวันซื้อธุรกิจและการ ควบคุมนั้นไมเปนการควบคุมชั่วคราว ดังนั้นงบการเงินรวมของบริษัทจึงถูกจัดทําขึ้นภายใตเกณฑการรวมธุรกิจของกิจการที่อยู ภายใตการควบคุมเดียวกัน ดังนั้นการซื้อธุรกิจของ Baconco และ PMTS จึงถูกบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเปรียบเสมือนวาเปนวิธีการรวม สวนไดเสีย โดยสินทรัพยและหนี้สินจากการซื้อธุรกิจถูกนํามารวมดวยมูลคาตามบัญชี เชนเดียวกันกับผลตางอัตราแลกเปลี่ยนจาก การแปลงคางบการเงินซึ่งถูกรับรูเปนองคประกอบหนึ่งในสวนของผูถือหุนก็ถูกบันทึกดวยมูลคาตามบัญชีและจะไมถูกรับรูไปจนกวา สวนไดเสียของบริษัทใน Baconco และ PMTS จะถูกจําหนายออกไป ณ วันซื้อธุรกิจ มูลคาของสินทรัพยสุทธิรวมของ Baconco และ PMTS ไมรวมถึงผลตางอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน ที่ บริษั ทรับรูดวยมู ลคาทางบั ญชี จํานวน 1,264 ล านบาท ถู กบั นทึ กเป น “ผลต างที่ เกิ ดขึ้นจากการรวมธุรกิจภายใต การควบคุ ม 15
รายงานประจ�ำปี 2558
67
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
เดียวกัน” ซึ่งถูกรับรูในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมโดยแสดงแยกเปนองคประกอบหนึ่งในสวนของผูถือหุน เงินสด จายซื้อซึ่งจายใหแก Soleado จํานวน 28.88 ลานเหรียญสหรัฐฯ (เทียบเทากับ 904 ลานบาท) ถูกนํามาหักออกจากผลแตกตาง ณ วันที่เขาซื้อธุรกิจของ Baconco และ PMTS 2
เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน
(ก)
เกณฑการถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับซึ่งเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุมบริษัท/ บริษัท และมีผลบังคับใชตั้งแตรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ดังตอไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557)
เรื่อง งบการเงินรวม การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น การวัดมูลคายุติธรรม ผลประโยชนของพนักงาน
การเปลี่ยนแปลงนี้ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน นอกเหนือ จากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่อ อกและปรับปรุงใหมขางตน สภาวิชาชีพบัญ ชีไดปรับปรุงมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2559 เปน ตนไป และไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุงใหมที่เกี่ยวกับการ ดําเนินงานของกลุมบริษัท/บริษัทไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 29 (ข)
เกณฑการวัดมูลคา งบการเงินนี้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนรายการที่แสดงในนโยบายการบัญชี
(ค)
สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาทซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของบริษัทเนื่องจากเปนสกุลเงินที่ ไดรับจากกิจกรรมจัดหาเงินขอมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักพันบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น
(ง)
การประมาณการและการใชดุลยพินิจ ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชดุลยพินิจ การประมาณและขอสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการบัญชีและจํานวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายที่ ไดรายงานไวผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณการไว
68
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
16
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะ บันทึกโดยวิธีเปลี่ยนทันทีเปนตนไป ขอ มูล เกี่ยวกับการใชวิจารณญาณในการเลือ กนโยบายการบัญ ชีซึ่งมีผลกระทบที่มี นัยสําคัญ ที่สุดตอ จํานวนเงินที่ รับรูในงบ การเงินซึ่งประกอบดวยหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุขอ 14 หมายเหตุขอ 18
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การวัดมูลคาของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน
การวัดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยขอมูลของกลุมบริษัท/บริษัทหลายขอกําหนดใหมีการวัดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและหนี้สิน ทางการเงินและไมใชทางการเงิน กลุมบริษัท/บริษัทกําหนดกรอบแนวคิดของการควบคุมเกี่ยวกับการวัดมูลคายุติธรรม กรอบแนวคิดนี้รวมถึงกลุมผูประเมินมูลคา ซึ่งมีความรับผิดชอบโดยรวมตอการวัดมูลคายุติธรรมที่มีนัยสําคัญ รวมถึงการวัดมูลคายุติธรรมระดับ 3 และรายงานโดยตรงตอ ผูบริหารสูงสุดทางดานการเงิน กลุมผูประเมินมูลคามีการทบทวนขอมูลที่ไมสามารถสังเกตได และปรับปรุงการวัดมูลคาที่มีนัยสําคัญอยางสม่ําเสมอ หากมีการ ใชขอมูลจากบุคคลที่สามเพื่อวัดมูลคายุติธรรม เชน ราคาจากนายหนา หรือการตั้งราคา กลุมผูประเมินไดประเมินหลักฐานที่ ไดมาจากบุคคลที่สามที่สนับสนุนขอสรุปเกี่ยวกับการวัดมูลคารวมถึงการจัดระดับชั้นของมูลคายุติธรรมวาเปนไปตามที่กําหนดไว ในมาตรฐานการรายงานทางการเงินอยางเหมาะสม ประเด็นปญหาของการวัดมูลคาที่มีนัยสําคัญจะถูกรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบของกลุมบริษัท/บริษัท เมื่อวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สิน กลุมบริษัท/บริษัทไดใชขอมูลที่สามารถสังเกตไดใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดมูลคา ยุติธรรมเหลานี้ถูกจัดประเภทในแตละลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมตามขอมูลที่ใชในการประเมินมูลคา ดังนี้ • ขอมูลระดับ 1 เปนราคาเสนอซื้อขาย (ไมตองปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคลองสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินอยางเดียวกัน • ขอมูลระดับ 2 เปนขอมูลอื่นที่สังเกตไดโดยตรง (เชน ราคาขาย) หรือโดยออม (เชน ไดมาจากราคา) สําหรับสินทรัพยนั้นหรือ หนี้สินนั้นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยูในขอมูลระดับ 1 • ขอมูลระดับ 3 เปนขอมูลสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินที่ไมไดมาจากขอมูลที่สังเกตได (ขอมูลที่ไมสามารถสังเกตได) หากขอมูลที่นํามาใชในการวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินถูกจัดประเภทลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมที่แตกตางกัน การ วัดมูลคายุติธรรมโดยรวมจะถูกจัดประเภทในภาพรวมในระดับเดียวกันตามลําดับชั้นของมูลคายุติธรรมของขอมูลที่อยูในระดับ ต่ําสุดที่มีนัยสําคัญสําหรับการวัดมูลคายุติธรรมโดยรวม กลุมบริษัท/บริษัทรับรูการโอนระหวางลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่เกิดการโอนขึ้น ขอ มูล เพิ่ม เติม เกี่ยวกับขอ สมมติฐานที่ใชในการวัดมูล คายุติธรรม อยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 25เครื่อ งมือ ทาง การเงิน
17
รายงานประจ�ำปี 2558
69
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(จ)
การเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี ที่ประชุมวิสามัญประจําปผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลา บัญชีของบริษัทจากเดิมเริ่ม ตนวันที่ 1 ตุลาคม และสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน เปนเริ่ม ตนวันที่ 1 มกราคมและสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ซึ่งบริษัทไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญชีดังกลาวกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชยและ ไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรเสร็จสิ้นแลว ซึ่งสงผลใหรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เปลี่ยนแปลงของบริษัทเริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ครอบคลุมระยะเวลาสามเดือนเทานั้น ดังนั้นตัวเลขซึ่งแสดงเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จและงบกระแสเงินสดจึงไมสามารถเปรียบเทียบกันไดโดยตรง
3
นโยบายการบัญชีที่สําคัญ
นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังตอไปนี้ไดถือปฏิบัติโดยสม่ําเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน (ก)
เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท และบริษัทยอย การรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเสมือนวาเปนวิธีการรวมสวนไดเสีย และตามแนวปฏิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2552 การรวมธุรกิจซึ่งเกิดจากการโอนสว นไดเสียในกิจการภายใตการควบคุม ของผูถือ หุนซึ่งควบคุม กลุ ม บริษัท ถือ เป นการเขา ครอบครองเสมือนวาไดเกิดขึ้นตั้งแตวันตนงวดของปเปรียบเทียบกอนหนาสุดหรือ ณ วันที่มีการรวมธุรกิจภายใตการควบคุม เดียวกันแลวแตวันใดจะหลังกวา เพื่อปรับปรุงงบการเงินเปรียบเทียบ สินทรัพยและหนี้สินที่ไดมาจะถูกรับรูดวยมูลคาตามบัญชี กอนการจัดทํางบการเงินรวมภายใตการควบคุมของผูถือหุน ที่กลุมบริษัทมีสวนควบคุม สวนประกอบอื่นของสวนของเจาของที่ ไดมาจากการรวมธุรกิจถือเปนสวนหนึ่งของทุนของกลุมบริษัท เงินสดจายในการรวมธุรกิจรับรูโดยตรงในสวนของเจาของ บริษัทยอย บริ ษั ท ย อ ยเป น กิ จ การที่ อ ยู ภ ายใต ก ารควบคุ ม ของกลุ ม บริ ษั ท การควบคุ ม เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ กลุ ม บริ ษั ท เป ด รั บ หรื อ มี สิ ท ธิ ใ น ผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับกิจการนั้นและมีความสามารถในการใชอํานาจเหนือกิจการนั้นทําใหเกิดผลกระทบตอ จํานวนเงินผลตอบแทนของกลุมบริษัท งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึง วันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมบริษัท การสูญเสียอํานาจควบคุม เมื่อกลุมบริษัทสูญเสียการควบคุมในบริษัทยอย กลุมบริษัทตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินของบริษัทยอยนั้นออกรวมถึงสวนได เสียที่ไมมีอํานาจควบคุมและสวนประกอบอื่นในสวนของเจาของที่เกี่ยวของกับบริษัทยอยนั้น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจาก
70
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
18
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การสูญเสียการควบคุม ในบริษัทยอยรับรูในกําไรหรือ ขาดทุน สวนไดเสียในบริษัทยอ ยเดิมที่ยังคงเหลืออยูใหวัดมูลคาดว ย มูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียการควบคุม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายได หรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการ ระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการกับบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุม รวมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่เมื่อไมมีหลักฐานการดอยคาเกิดขึ้น (ข)
เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของแตละบริษัทในกลุมบริษัท โดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใช อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคา เปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ หนวยงานในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของหนวยงานในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายไดและคาใชจายของหนวยงานในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ใกลเคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิด รายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตางจากอัตรา แลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป รายการที่เปนตัวเงินที่เปนลูกหนี้หรือเจาหนี้กับหนวยงานในตางประเทศ ซึ่งรายการดังกลาวมิไดคาดหมายวาจะมีแผนการชําระ หนี้ห รือ ไมมีความเปนไปไดวาจะชําระเงินในอนาคตอันใกล กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจากรายการทางการเงิน ดังกลาวจะถูกพิจารณาเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศ และรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดง เปนรายการผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป
19
รายงานประจ�ำปี 2558
71
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ค)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงิน ลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง
(ง)
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ถามี) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้ จะถูกตัดจําหนายจากบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ
(จ)
สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนของสินคาคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนสินคาประกอบดวยราคาทุนที่ซื้อตนทุนแปลงสภาพหรือตนทุนอื่น เพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบันในกรณีของสินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตที่ผลิตเอง ตนทุนสินคาคํานวณ โดยการใชตนทุนมาตรฐานซึ่งไดรับการปรับปรุงใหใกลเคียงกับราคาทุนถัวเฉลี่ย รวมการปนสว นของคาโสหุยการผลิ ตอยาง เหมาะสมโดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนโดยประมาณในการ ขาย
(ฉ)
เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอย ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุน
(ช)
อาคารและอุปกรณ การรับรูและการวัดมูลคา อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ราคาทุนรวมถึงตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของกับการไดมาของสินทรัพยสําหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟแวรซึ่งไมสามารถ ทํางานไดโดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟแวรนั้นใหถือวา ลิขสิทธิ์ซอฟแวรดังกลาวเปนสวนหนึ่งของอุปกรณ สวนประกอบของรายการอาคารและอุปกรณแตละรายการที่มีอายุการใหประโยชนไมเทากันตองบันทึกแตละสวนประกอบที่มี นัยสําคัญแยกตางหากจากกัน
72
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
20
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายอาคาร และอุปกรณ คือผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนายกับมูลคาตาม บัญชีของอาคาร และอุปกรณ โดยรับรูสุทธิในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการขายสินทรัพยที่ตีราคาใหม จํานวนเงินที่บันทึกอยูใน สวนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพยจะถูกโอนไปยังกําไรสะสม ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวนประกอบจะรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการอาคารและอุปกรณถามีความเปนไป ไดคอนขางแนที่กลุมบริษัทจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลคาตนทุนของรายการนั้น ไดอยางนาเชื่อถือ ชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตามมูลคาตามบัญชี ตนทุนที่เกิดขึ้นในการซอมบํารุงอาคารและ อุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณจากมูลคาเสื่อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ ซึ่งประกอบดวยราคาทุนของสินทรัพยหรือตนทุนใน การเปลี่ยนแทนอื่นหักดวยมูลคาคงเหลือของสินทรัพย คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชงานโดยประมาณของ สวนประกอบของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยแสดงไดดังนี้ อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ ยานพาหนะ อุปกรณสํานักงาน
20 8 3-6 3-5
ป ป ป ป
กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง วิธีการคิดคาเสื่อมราคา อายุการใหประโยชนของสินทรัพย และมูลคาคงเหลือ ถูกทบทวนอยางนอยที่สุดทุกสิ้นรอบปบัญชี และ ปรับปรุงตามความเหมาะสม (ซ)
สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนที่กลุมบริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัดแสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุนจากการ ดอยคาสะสม (ถามี) รายจายภายหลังการรับรูรายการ รายจายภายหลังการรับรูรายการจะรับรูเปนสินทรัพยเมื่อกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเปนสินทรัพยที่ เกี่ยวของและสามารถระบุได คาใชจายอื่นทั้งหมดรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยหรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนอื่นที่ใชแทนราคาทุน 21
รายงานประจ�ำปี 2558
73
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
คาตัดจําหนายรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเสนตรงซึ่งโดยสวนใหญจะสะทอนรูปแบบที่คาดวาจะไดรับประโยชนใน อนาคตตามระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้น โดยเริ่ม ตัดจําหนายสินทรัพยไม มีตัวตนเมื่อสินทรัพยนั้น พรอมที่จะใหประโยชน ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนสําหรับปปจจุบันและปเปรียบเทียบแสดงไดดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร
5 ป
วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชน จะไดรับการทบทวนทุกสิ้นรอบปบัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฌ)
เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน เงินจายลวงหนาสําหรับสิทธิการใชที่ดิน แสดงดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมคาตัดจําหนายถูกรับรูในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน 20 ป ซึ่งเปนไปตามระยะเวลาที่ระบุในสัญญาสิทธิการใชที่ดิน
(ญ)
การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ วันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไมในกรณีที่มีขอบงชี้ กลุมบริษัทจะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน สําหรับสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุใชงานไมจํากัดหรือยังไม พรอมใชงานจะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืนทุกปในชวงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวามูล คาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึงมูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือมูลคายุติธรรม ของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพย ประมาณการกระแส เงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอ นคํานึงถึงภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอ นมูลคาที่อาจ ประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพยสําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับซึ่ง อิสระจากสินทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนรวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของ ดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุ นจากการดอ ยคาของสิน ทรัพ ยที่ ไมใชสิน ทรัพย ทางการเงิน อื่น ๆ ที่ เคยรับ รูในงวดกอ นจะถูกประเมิ น ณ วัน ที่ที่ อ อก รายงานวามีขอบงชี้วาการดอยคายังมีอยูหรือลดลงหรือไมขาดทุนจากการดอ ยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลง ประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตามบัญชี ของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจาก การดอยคามากอน
74
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
22
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ฎ)
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สินที่มี ภาระดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบกําหนดไถถอนจะ บันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง
(ฏ)
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
(ฐ)
ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันในการสมทบเขาโครงการสมทบเงินจะถูกรับรูเปนคาใชจายพนักงานในกําไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงาน ไดทํางานใหกับกิจการ ผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน ภาระผูกพันสุทธิของกลุมบริษัท/บริษัททีเ่ ปนผลประโยชนระยะยาวของพนักงานเปนผลประโยชนในอนาคตที่เกิดจากการทํางาน ของพนักงานในงวดปจจุบันและงวดกอนๆ ซึ่งผลประโยชนนี้ไดคิดลดกระแสเงินสดเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบัน การวัดมูลคาใหมจะ รับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ภาระผูกพันสุทธิของ Baconco เปนผลประโยชนในอนาคตที่พนักงานจะไดรับซึ่งเกี่ยวของกับการสํารองเงินชดเชยของประเทศ เวียดนาม เพื่อชดเชยกับการทํางานของพนักงานในปจจุบันและปกอน ซึ่งผลประโยชนนี้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อใหเปนมูลคา ปจจุบัน อัตราคิดลดเปนอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาลเวียดนาม ซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดใกลเคียงกับระยะเวลา ของภาระผูกพันของ Baconco โดยคํานวณตามวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว กําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงานรับรูเปนคาใชจายเมื่อพนักงานทํางานใหหนี้สินรับรูดวยมูลคาที่คาดวาจะจายชําระ หากกลุม บริษัท/บริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายอันเปนผลมาจากการที่พนักงานไดทํางานให ในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล
(ฑ)
ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือหนี้สินที่กอตัวขึ้นอันเปนผลมา จากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระหนี้สิน ดังกลาว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอน คํานึงถึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน 23
รายงานประจ�ำปี 2558
75
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
(ฒ)
ทุนเรือนหุน หุนสามัญ หุนสามัญจัดประเภทเปนทุน ตนทุนสวนเพิ่มที่เกี่ยวของโดยตรงกับการออกหุนสามัญและสิทธิซื้อหุน (สุทธิจากผลกระทบทาง ภาษี) รับรูเปนรายการหักจากสวนของทุน
(ณ)
รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มและแสดงสุทธิจากสวนลดการคาและสวนลดพิเศษ การขายสินคาและใหบริการ รายไดรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไปใหกับผู ซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสําคัญ ในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้นหรือมีความเปนไปไดคอนขางแนที่จะตองรับคืนสินคา หรือมีตนทุนที่เกี่ยวของเกิดขึ้น รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ เงินปนผลรับ เงินปนผลรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนในวันที่บริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตามเกณฑคงคาง
(ด)
ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวยดอกเบี้ยจายของเงินกูยืมรับรูในกําไรหรือขาดทุนตามเกณฑคงคาง
(ต)
ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน และภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูในกําไรหรือขาดทุนเวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวของในการรวมธุรกิจ หรือ รายการ ที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระหรือไดรับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปที่ตองเสีย ภาษีโดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงานตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการใน ปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สิน และจํานวนที่ใชเพื่อ ความมุงหมายทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะไมถูกรับรูเมื่อ เกิดจากผลแตกตางชั่ว คราวตอไปนี้
76
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
24
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจและรายการนั้นไมมี ผลกระทบตอกําไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการรวมคาหาก เปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล การวัดมูลคาของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตองสะทอนถึงผลกระทบทางภาษีที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุมบริษัทคาดวาจะ ไดรับผลประโยชนจากสินทรัพยหรือจะจายชําระหนี้สินตามมูลคาตามบัญชี ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใชอัตราภาษี ที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ในการกํ าหนดมูล คาของภาษี เงินได ของงวดป จจุบัน และภาษีเงินไดรอการตัดบั ญ ชี กลุม บริษั ทต อ งคํานึงถึงผลกระทบของ สถานการณทางภาษีที่ไมแนนอนและอาจทําใหจํานวนภาษีที่ตองจายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตองชําระ กลุมบริษัทเชื่อวาไดตั้ง ภาษีเงินไดคางจายเพียงพอสําหรับภาษีเงินไดที่จะจายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปจจัย รวมถึง การ ตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณในอดีต การประเมินนี้อยูบนพื้นฐานการประมาณการและขอสมมติฐาน และ อาจจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณในอนาคต ขอมูลใหมๆอาจจะทําใหกลุมบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู กับความเพียงพอของภาษีเงินไดคางจายที่มีอยู การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินไดคางจายจะกระทบตอคาใชจายภาษีเงินไดในงวด ที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถหักกลบไดเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมายที่จะ นําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดนี้ประเมินโดยหนวยงาน จัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันสําหรับหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกัน สําหรับหนวยภาษีตางกันนั้นกิจการมีความตั้งใจ จะจายชําระหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิหรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพยและจายชําระหนี้สินใน เวลาเดียวกัน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจํานวน เพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญ ชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่ รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ถ)
กําไรตอหุน กลุมบริษัทและบริษัทแสดงกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสําหรับหุนสามัญ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดย การหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือหุนสามัญของบริษัท ดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายระหวางงวด ปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ซื้อคืนกําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือหุนสามัญที่ปรับปรุงดวย จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายและปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ซื้อคืน และผลกระทบของตราสารที่อาจ เปลี่ยนเปนหุนสามัญปรับลดทั้งหมดและสิทธิซื้อหุนของพนักงาน
(ท)
รายงานทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ผลการดํ า เนิ น งานของส ว นงานที่ รายงานต อ ประธานเจ าหน า ที่ บ ริห ารของกลุ ม บริ ษั ท (ผู มี อํ า นาจตั ด สิ น ใจสู งสุ ด ด า นการ ดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากสวนงานดําเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ไดรับการปนสวนอยางสมเหตุสมผล รายการที่ไมสามารถปนสวนไดสวนใหญเปนรายการของบริษัทและ PM Thoresen Asia (Singapore) Pte.Ltd. 25
รายงานประจ�ำปี 2558
77
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 4
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเปนบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับกลุมบริษัท หากกลุมบริษัทมี อํานาจควบคุม หรือควบคุมรวมกันไมวาทางตรงหรือ ทางออม หรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญตอบุคคลหรือกิจการในการ ตัดสินใจทางการเงินและการบริห ารหรือในทางกลับกัน หรือ กลุม บริษัทอยูภายใตการควบคุม เดียวกันหรือ อยูภายใตอิทธิพล อยางมีสาระสําคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวของกันนี้อาจเปนบุคคลหรือเปนกิจการ ความสัมพันธที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ยกเวนบริษัทยอยไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 10 มีดังนี้ ประเทศที่ จัดตั้ง/สัญชาติ ไทย
ประเภทธุรกิจ
ลักษณะความสัมพันธ
เพื่อการลงทุน
สิงคโปร
เพื่อการลงทุน
บริษัทใหญและบริษัทใหญในลําดับ สูงสุด กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีผูถือหุนและ กรรมการรวมกันกับบริษัทบางทาน
ThoresenVinama Co., Limited (“ThoresenVinama”) Thoresen (Indochina) S.A.
เวียดนาม
ตัวแทนเรือ
Thoresen-Vinama Logistics Company Limited BariaSerece
เวียดนาม
ชื่อกิจการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จํากัด (มหาชน) Soleado Holdings Pte. Limited (“Soleado”)
78
ปานามา
เวียดนาม
บริษัท โทรีเซน (กรุงเทพ) จํากัด
ไทย
บริษัท โทรีเซน ชิปปง แอนด โลจิสติกส จํากัด ผูบริหารสําคัญ
ไทย หลายสัญชาติ
26 บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีกรรมการ รวมกันกับบริษัท ตัวแทนเรือ กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีผูถือหุนและ กรรมการรวมกันกับบริษัทบางทาน ใหบริการขนสง กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีกรรมการ รวมกันกับบริษัท ใหบริการทาเรือเกี่ยวกับ กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีผูถือหุนและ การขนถายสินคา กรรมการรวมกันกับบริษัทบางทาน รับจัดการเรือเดิน กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีกรรมการ ทะเล รวมกันกับบริษัท ตัวแทนเรือ กิจการที่เกี่ยวของกันที่มีกรรมการ รวมกันกับบริษัท บุคคลที่มีอํานาจและความ รับผิดชอบในการวางแผน สั่งการ และควบคุมกิจกรรมตางๆ ของ กิจการไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการของกลุมบริษัท (ไมวาจะทําหนาที่ในระดับบริหาร หรือไม)
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับแตละประเภทรายการอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ การขายสินคาและการใหบริการ การซื้อวัตถุดิบ การรับบริการ คาใชจายในการบริหาร ซื้ออุปกรณ
นโยบายการกําหนดราคา ใกลเคียงกับราคาตลาด ราคาตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่มคงที่ ใกลเคียงกับราคาตลาด ตามตนทุนที่เกิดขึ้นจริง ราคาตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม
รายการที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับป/งวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปไดดังนี้ งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สําหรับงวด 31 ธันวาคม สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม สามเดือนสิ้นสุด 2558 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 2557 (พันบาท) บริษัทใหญ 918 194 918 194 คาใชจายในการบริหาร 328,643 328,643 เงินปนผลจาย 45 45 ซื้ออุปกรณ บริษัทยอย รายไดเงินปนผล รายไดดอกเบี้ยรับ
-
-
130,176 1,437
-
บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน รายไดอื่น ขายสินคาและการใหบริการ การรับบริการ คาใชจายในการบริหาร ซื้ออุปกรณ
5 49,113 156,816 6,214 418
-
5
-
ผูบริหารสําคัญ คาจางและเงินเดือน อื่นๆ รวมคาตอบแทนผูบริหารสําคัญ
34,960 15,735 50,695
9,614 29,416 1,590 -
76 -
7,926 3,691 11,617
3,799 -
935 -
3,799
935
คณะกรรมการของกลุมบริษัทมีความเห็นวารายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของดังกลาวขางตน มีเงื่อนไขไมแตกตางไปจาก รายการที่ตกลงกับบุคคลภายนอกและเปนไปตามเงื่อนไขปกติทางธุรกิจ
27 รายงานประจ�ำปี 2558
79
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และมีดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 ลูกหนี้การคา - บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยว ของกัน
5,105
ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน - บริษัทใหญ เงินปนผลคางรับ - บริษัทยอย ลูกหนี้อื่น - บริษัทยอย - บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยว ของกัน รวม เงินใหกูระยะสั้น - บริษัทยอย
6
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท)
4,644
-
-
-
6
-
-
-
130,176
-
-
-
47,444
38,587
177,626
38,587
129,970
-
-
7,252 7,252
6
-
-
ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการของ Baconco เมื่ อ วั น ที่ 30 ธั น วาคม 2558 คณะกรรมการมี ม ติ ให จั ด สรรเงิน ป น ผลเป น จํ า นวน 81,360,000,000 ดองเวียดนาม (เทียบเทา 130.2 ลานบาท) ใหแกบริษัท บริษัท เมื่ อ วันที่ 21 สิงหาคม 2558 บริษัท ได ทําสัญ ญาให กูยืม เงิน ระยะสั้น ประเภทไมมี ห ลักประกั นแกบ ริษั ท PM Thoresen Asia (Singapore) Pte. Ltd. (“PMTS”) ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่ง จํานวน 3.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสนับสนุนเปนเงินทุนหมุนเวียน ของบริษัทยอยดังกลาวโดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 3 ตอป และมีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งป
80
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
28
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอยในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีดังตอไปนี้ งบการเงิน เฉพาะกิจการ (พันบาท) เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
128,017 1,953 129,970 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
เจาหนี้การคา - บริษัทใหญ - บริษัทยอย - บุคคลหรือกิจการอื่นที่เกี่ยว ของกัน รวม หนี้สินหมุนเวียนอื่น ผลประโยชนพนักงานคางจาย - ผูบริหารสําคัญ 5
274
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท)
206 -
274 12,689
206 11,590
6,755 7,029
3,657 3,863
16 12,979
11,796
13,934
3,190
-
-
78
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร รวม
(พันบาท) 219 259,586 259,805
193 297,022 297,215
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 5 18,622 18,627
4 34,341 34,345
รายงานประจ�ำปี 2558
29
81
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 6
ลูกหนี้การค้า
หมายเหตุ 4
กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่นๆ รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท) 5,105 4,644 249,872 127,804 254,977 132,448 (559) (559) 254,418 131,889
การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคา มีดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ
31 ธันวาคม 2558
31 ธันวาคม 2557 (พันบาท)
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ
4
บุคคลหรือกิจการอื่นๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
5,105
4,644
209,659
118,260
40,213 249,872
9,544 127,804
(559) 249,313 254,418
(559) 127,245 131,889
โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต 10 วัน ถึง 90 วัน
82
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
30
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 7
ลูกหนี้อ่น ื
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) 6,530 1,463 1,712 9,705
เงินจายลวงหนาแกผูขาย เงินจายลวงหนาแกพนักงาน อื่นๆ รวม 8
31 ธันวาคม 2557 39,448 1,385 2,462 43,295
สินค้าคงเหลือ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) 134,750 44,781 458,995 52,434 35,966 726,926 (2,219) 724,707
สินคาสําเร็จรูป สินคาเพื่อขาย วัตถุดิบ วัสดุและอุปกรณ สินคาระหวางทาง รวม หัก คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สุทธิ
31 ธันวาคม 2557 146,117 40,087 262,479 43,934 11,909 504,526 (436) 504,090
รายงานประจ�ำปี 2558
31
83
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเปนคาใชจายและไดรวมในบัญชี ตนทุนขาย - ตนทุนขาย - การปรับลดมูลคาเปนมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ - กลับรายการการปรับลดมูลคา สุทธิ
2,560,016 1,783 2,561,799
451,729 (1,020) 450,709
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มูลคาตามบัญชีของสินคาคงเหลือจํานวน 204.6 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 327.4ลาน บาท (2557: 221.7 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 354.7 ลานบาท) ถูกใชเพื่อค้ําประกันวงเงินสินเชื่อจํานวน 270 พันลาน ดองเวียดนาม เทียบเทากับ 432 ลานบาท (2557: 270 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 432 ลานบาท) จากธนาคาร 9
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท)
เงินฝากระยะสั้น ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน คาใชจายจายลวงหนา อื่นๆ รวม
21,501 1,184 9,155 252 32,092
85,376 43,663 14,416 124 143,579
200 252 452
5,600 124 5,724
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คาใชจายจายลวงหนาในงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 5.6 ลานบาท เปนคาบริการทางวิชาชีพที่เกิดขึ้น เพื่อวัตถุประสงคในการเสนอขายหลักทรัพยของบริษัทเปนครั้งแรก คาบริการทางวิชาชีพดังกลาวถูกนํามาหักออกจากสวนเกิน มูลคาหุนสามัญ ภายหลังจากที่บริษัทสามารถนําหุนออกเสนอขายเปนครั้งแรกไดสําเร็จในระหวางป 2558
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินฝากระยะสั้นในงบการเงินรวมจํานวน 12.9 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 20.7 ลานบาท (2557: 53 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 84.8 ลานบาท) ถูกใชเพื่อค้ําประกันเลตเตอรออฟเครดิตจํานวน 42.4 พันลาน ดองเวียดนาม เทียบเทากับ 67.8 ลานบาท และวงเงินสินเชื่อ จํานวน 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 252.6 ลานบาท (2557: 107.9 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 172.6 ลานบาท และวงเงินสินเชื่อจํานวน 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทา กับ 230.3 ลานบาท) จากธนาคาร
32 84
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
PM Thoresen Asia (Singapore) Pte. Limited
บริษัทยอยทางตรง Baconco Co., Limited
บริษัทยอย
ผลิตปุยและใหบริการ เชาพื้นที่โรงงาน เพื่อการคาทั่วไป
ลักษณะธุรกิจ
สิงคโปร
เวียดนาม
ประเทศที่จัดตั้ง
100
100
37
100
100
31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
สัดสวนความเปนเจาของ (รอยละ)
1,015
958,402
ทุนที่ชําระ แลว
1,015
-
-
เงินปนผลรับ สําหรับป สําหรับงวด สิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท) 904,049 130,176 -
ราคาทุน/ มูลคาตามบัญชี (หมายเหตุขอ 1 (ข))
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท) 905,064 905,064
เงินลงทุนในบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนสําหรับป/งวดมีดังนี้
ยอดยกมาและยอดคงเหลือปลายป/งวด
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
สําหรับรายละเอียดการจัดโครงสรางธุรกิจดังแสดงอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1 (ข)
10
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
85
86
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
11
ราคาทุน ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เพิ่มขึ้น จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 เพิ่มขึ้น จําหนายและตัดจําหนาย โอน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
อาคารและอุปกรณ์
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
46,628 12,688 (2,881) 84 56,519
277,969 11,655 (4,746) 87,963 5,872 378,713
450,689 7,043 137,282 2,436 597,450
38
38,752 4,962 2,914
262,575 2,029 (4,008) 17,373
เครื่องจักรและ อุปกรณ
4,055
3,605 450
3,658 48 (326) 225
งบการเงินรวม อุปกรณ ยานพาหนะ สํานักงาน (พันบาท)
422,521 28,168
อาคาร
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
118,593 142,562
7,412
(225,245) (2,760) 33,150
-
108,784 2,397
สินทรัพยที่อยู ระหวางการกอสราง
897,484 174,398 (7,627) 5,632 1,069,887
836,290 9,436 (4,334) 56,092
รวม
314,746 435,411
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
39
26,549 32,447
(20,079) (6,791) 2,881 (83) (24,072)
(217,542) (24,604) 4,746 (517) (237,917)
(135,943) (25,469) (627) (162,039)
60,427 140,796
(17,403) (1,421) (1,255)
(204,571) (3,383) 4,008 (13,596)
(122,166) (5,281) (8,496)
อาคาร
เครื่องจักรและ อุปกรณ
656 803
(2,949) (297) (6) (3,252)
(3,024) (67) 326 (184)
งบการเงินรวม อุปกรณ ยานพาหนะ สํานักงาน (พันบาท)
คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2557 คาเสื่อมราคาสําหรับงวด จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 1 มกราคม 2558 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
118,593 33,150
-
-
สินทรัพยที่อยู ระหวางการกอสราง
520,971 642,607
(376,513) (57,161) 7,627 (1,233) (427,280)
(347,164) (10,152) 4,334 (23,531)
รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
87
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ราคาทรัพยสินของกลุมบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังคงใช งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 มีจํานวน 165.3 ลานบาท (2557: 159.2 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ราคาทุนของอาคารและอุปกรณ จํานวน 176.6 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 282.5 ลานบาท (2557: 154.3 พั นล านดองเวียดนาม เที ยบเทากับ 246.9 ลานบาท) ถูกใชเพื่อค้ําประกั นวงเงินสินเชื่อจํานวน 270 พั นลานดอง เวียดนามและ 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 684.6 ลานบาท (2557: 270 พันลานดองเวียดนามและ 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 662.3 ลานบาท) โดยวงเงินสินเชื่อดังกลาวไดรับจากธนาคารพาณิชยหลายแหง 12
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 โปรแกรมคอมพิวเตอร (พันบาท) ราคาทุน ยอดยกมาตนป/งวด จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือปลายป/งวด
2,884 2,884
คาตัดจําหนายสะสม ยอดยกมาตนป/งวด คาตัดจําหนาย จําหนายและตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือปลายป/งวด
(2,758) (27)
คาตัดจําหนายของโปรแกรมคอมพิวเตอรถูกรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร
88
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
(1) (2,786)
(2,768) (6) 188 (172) (2,758)
98
126
-
มูลคาสุทธิทางบัญชี ยอดคงเหลือปลายป/งวด
40
2,892 (188) 180 2,884
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 13
เงินจ่ายล่วงหน้าสําหรับสิทธิการใช้ที่ดิน
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 สิทธิการใชที่ดิน (พันบาท) ราคาทุน ยอดยกมาตนป/งวด ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือปลายป/งวด
20,470 20,470
19,191 1,279 20,470
คาตัดจําหนายสะสม ยอดยกมาตนป/งวด คาตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือปลายป/งวด
(18,539) (1,124) (30) (19,693)
(17,110) (271) (1,158) (18,539)
777
1,931
มูลคาสุทธิทางบัญชี ยอดคงเหลือปลายป/งวด คาตัดจําหนายสิทธิการใชที่ดินถูกรวมอยูในตนทุนขาย
41
รายงานประจ�ำปี 2558
89
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 14
ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่ไมไดรับรูในงบการเงินมีรายละเอียดดังนี้
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2558 ผลแตกตางชั่วคราว ยอดขาดทุนทางภาษียกไป รวม
(พันบาท) 2,101 2,196 4,297
6,841 7,209 14,050
งบการเงิน เฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 117 3,170 3,287
86 86
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากขาดทุนทางภาษีที่มิไดรับรูใ นงบการเงินเนื่องจากยังมีความไมแนนอนที่จะมีกําไรทางภาษี ในอนาคตที่จะสามารถนําผลขาดทุนดังกลาวมาใชได สวนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากผลแตกตางชั่วคราวที่มิไดรับรู ในงบการเงินเนื่องจากในมุมมองของผูบริหารรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับรายการดังกลาวไมมีผลกระทบ อยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน ขาดทุนทางภาษีและผลแตกตางชั่วคราวสําหรับบริษัทในประเทศสิงคโปรไมหมดอายุภายใต กฎหมายภาษีของประเทศสิงคโปรในปจจุบัน 15
เงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงินแหงหนึ่งจํานวน 2.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 93.3 ลาน บาท (2557: 6.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 219.3 ลานบาท) เปนเงินกูซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 2.65 ถึงรอยละ 3.50 ตอป (2557: รอยละ 2.65 ถึงรอยละ 3.75 ตอป) จากวงเงินสินเชื่อมูลคา 270 พันลานดองเวียดนามและ 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 684.6 ลานบาท (2557: 270 พันลานดองเวียดนามและ 7 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 662.3 ลานบาท) โดยมี กําหนดชําระคืนในระหวางเดือนมีนาคมและพฤษภาคม 2559 (2557: เดือนมีนาคมและพฤษภาคม 2558) ตามลําดับ ราคาทุน ของอาคารและอุปกรณจํานวน 176.6 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 282.5 ลานบาท (2557: 154.3 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 246.9 ลานบาท) สินคาคงเหลือมูล คา 204.6 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 327.4 ลานบาท (2557: 221.7 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 354.7 ลานบาท) และสินทรัพยหมุนเวียนอื่นมูลคา 8.7 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 13.9 ลานบาท (2557: 32.7 พันลานดองเวียดนาม เทียบเทากับ 52.3 ลานบาท) ถูกใชเพื่อค้ําประกันวงเงินสินเชื่อดังกลาว
90
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
42
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 16
เจ้าหนี้การค้า
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่นๆ รวม 17
7,029 231,549 238,578
(พันบาท) 3,863 155,865 159,728
12,979 230 13,209
11,796 349 12,145
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
สวนลดการคาคางจาย คาธรรมเนียมที่ปรึกษาคางจาย ผลประโยชนพนักงานคางจาย อื่นๆ รวม 18
4
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
งบการเงิน เฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2558 (พันบาท) 32,303 21,246 1,602 10,262 27,356 4,801 3,282 1,705 39,591 62,966
งบการเงิน เฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 1,104 270 427 1,801
9,796 258 72 10,126
ภาระผูกพั นผลประโยชน์พนักงาน
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานในงบการเงินรวมเปนภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานของบริษัทและบริษัทยอย Baconco บริษัทยอย - Baconco ภายใตกฎหมายแรงงานของประเทศเวียดนาม ในกรณีที่พนักงานที่ทํางานกับบริษัทมาเปนระยะเวลา 12 เดือนหรือมากกวา (“พนักงานผูมีคุณ สมบัติตามเกณฑ ”) สมัครใจที่จะสิ้นสุดสัญญาวาจาง นายจางถูกกําหนดใหตองจายเงินชดเชยการเลิกจาง ใหแกพนักงานผูมีคุณสมบัติตามเกณฑดังกลาว โดยคํานวณจากจํานวนปที่ทํางานและคาตอบแทน ณ วันที่สิ้นสุดสัญญาวาจาง ซึ่งประมาณการคาเผื่อเงินชดเชยการเลิกจางไดถูกบันทึกโดยอางอิงจากจํานวนปที่พนักงานเหลานั้นทํางานและระดับเงินเดือน ปจจุบันของพนักงานดังกลาว ภายใตกฎหมายประกันสังคม ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552 Baconco และพนักงานถูกกําหนดใหจายเงินสมทบ ใหกับกองทุนประกันการวางงานซึ่งบริหารโดยหนวยงานประกันสังคมของเวียดนาม เงินสมทบจายจากแตละฝายคํานวณจาก รอยละ 1 ของฐานเงินเดือนของพนักงาน หรือ 20 เทาของระดับเงินเดือนขั้นต่ําทั่วไปที่กําหนดโดยหนวยงานรัฐบาลในชวง ระยะเวลานั้นๆ แลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา
43
รายงานประจ�ำปี 2558
91
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
จากการปฏิบัติตามแผนการประกันการวางงานดังกลาว Baconco จึงไมถูกกําหนดใหตองบันทึกประมาณการคาเผื่อเงินชดเชย การเลิกจางสําหรับพนักงานหลังจากวันที่ 1 มกราคม 2552 อยางไรก็ตาม ประมาณการคาเผื่อเงินชดเชยการเลิกจาง ที่ตอง จายใหกั บพนั กงานผูมี คุณ สมบัติ ตามเกณฑ ที่ ยังปฏิบั ติงานอยู ณ วัน ที่ รายงาน คํ านวณจากอายุก ารทํ างานของพนั กงาน ดังกลาวจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และเงินเดือนถัวเฉลี่ยสําหรับระยะเวลาหกเดือนกอนวันสิ้นสุดการจาง บริษัท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท) ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบดวย ผลประโยชนหลังออกจากงาน คาชดเชยตามกฎหมาย ผลประโยชนระยะยาวอื่น รวม
219 97 316
101 70 171
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด สําหรับงวดสามเดือน 31 ธันวาคม 2558
สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 (พันบาท)
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรับรูในกําไรขาดทุน ผลประโยชนหลังออกจากงาน คาชดเชยตามกฎหมาย ผลประโยชนระยะยาวอื่น รวม ผลประโยชนหลังออกจากงาน
118
23
27 145
6 29
บริษัทจัดการโครงการบําเหน็จบํานาญพนักงานตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการใหผล ประโยชนเมื่อเกษียณแกพนักงานตามสิทธิและอายุงาน โครงการผลประโยชนที่กําหนดไวมีความเสี่ยงจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ไดแก ความเสี่ยงของชวง ชีวิต ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงจากตลาด (เงินลงทุน)
92
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
44
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (พันบาท) ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน ณ วันที่ 1 มกราคม/ 1 ตุลาคม
171
161
139 6 145
28 1 29
อื่น ๆ ผลประโยชนจาย
-
(19)
ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
316
171
รับรูในกําไรขาดทุน การรับรูภาระผูกพันในชวงเปลี่ยนแปลง ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน
ขอสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก) ไดแก งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (รอยละ) 3.64 3.64 6.00 6.00
อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต
ขอสมมติฐานเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามขอมูลทางสถิติที่เผยแพรทั่วไปและตารางมรณะ การวิเคราะหความออนไหว การเปลี่ยนแปลงในแตละขอ สมมติฐานที่เกี่ยวขอ งในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตรประกันภัยที่อ าจเปนไปไดอยาง สมเหตุสมผล ณ วันที่รายงาน โดยถือวาขอสมมติฐานอื่นๆ คงที่ จะมีผลกระทบตอภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวเปน จํานวนเงินดังตอไปนี้
45
รายงานประจ�ำปี 2558
93
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ (พันบาท) ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
เพิ่มขึ้น
อัตราคิดลด (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต (เปลี่ยนแปลงรอยละ 1) 19
(29)
32
21
(19)
ทุนเรือนหุ้น
มูลคาหุน ตอหุน (บาท)
94
ลดลง
ทุนจดทะเบียน ยอดยกมาตนป/งวด - หุนสามัญ ยอดคงเหลือปลายป/งวด - หุนสามัญ
10
ทุนที่ออกและชําระแลว ยอดยกมาตนป/งวด - หุนสามัญ ออกหุนใหม ยอดคงเหลือปลายป/งวด - หุนสามัญ
10 10
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 จํานวนหุน จํานวนเงิน จํานวนหุน จํานวนเงิน (พันหุน / พันบาท)
101,200
1,012,000
101,200
1,012,000
101,200
1,012,000
101,200
1,012,000
93,100 8,100
931,000 81,000
93,100
931,000 -
101,200
1,012,000
93,100
931,000
46
-
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การออกหุนสามัญและเรียกชําระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2558 บริษัทไดรับชําระคาหุนเปนจํานวน 145.8 ลานบาท สําหรับหุนสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหมจํานวน 8.1 ลานหุน โดยมีสวนเกินมูลคาหุนสามัญจํานวน 64.8 ลานบาท และไดจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชยในวันเดียวกัน โดยหุน สามัญเพิ่มทุนจํานวน 8.1 ลานหุน พรอมดวยหุนสามัญที่ออกและชําระแลวเดิมจํานวน 93.1 ลานหุน ไดถูกนําเขาจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในเดือนพฤษภาคม 2558 โดยมีตนทุนที่เกิดขึ้นโดยตรงจากการเขาจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยจํานวน 4.4 ลานบาท จากการออกหุนสามัญเพิ่มทุนที่ออกและชําระแลว ซึ่งตนทุนดังกลาวถูกนําไปสุทธิกับสวนเกิน มูลคาหุนสามัญ ทําให ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สวนเกินมูลคาหุนสามัญแสดงสุทธิดวยจํานวน 60.4 ลานบาท โดยสวนเกิน มูลคาหุนสามัญนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได 20
สํารอง
สํารองประกอบดวย การจัดสรรกําไร และ/หรือ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท) 17,500 17,761 5,932 261 17,761 23,693
ยอดยกมาตนป/งวด จัดสรรระหวางป/งวด ยอดคงเหลือสิ้นป/งวด
ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตาม กฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวนไม นอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได
47
รายงานประจ�ำปี 2558
95
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินแสดงในสวนของเจาของประกอบดวยผลตางการแปลงคาทั้งหมดจากงบการเงินของหนวยงาน ในตางประเทศ 21
ส่วนงานดําเนินงาน
กลุมบริษัทมี 2 สวนงาน ซึ่งเปนหนวยงานทางกลยุทธที่สําคัญตามรายละเอียดดานลาง หนวยงานทางกลยุทธที่สําคัญจะมีการ นําเสนอสินคาและบริการที่แตกตาง รวมถึงการบริหารจัดการแยกตางหากจากกันเนื่องจากมีความแตกตางในเรื่องของการใช เทคโนโลยีและกลยุทธทางการตลาด ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานจะสอบทานรายงานการจัดการภายในของแต ละหนวยงานทางกลยุทธที่สําคัญอยางนอยทุกไตรมาส การดําเนินงานของแตละสวนงานของกลุมบริษัทโดยสรุปมีดังนี้ •
สวนงาน 1 ผลิตปุยและเคมีภัณฑสําหรับพืช • สวนงาน 2 การใหบริการเชาพื้นที่โรงงาน ขอมูลผลการดําเนินงานของแตละสวนงานตามที่แสดงดานลาง เปนการวัดผลการดําเนินงานโดยใชกําไรกอนภาษีเงินไดของสวน งาน ซึ่งถูกนําเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของกลุมบริษัท ผูบริหารเชื่อวาการใชกําไรกอนภาษีเงินไดในการวัดผลการดําเนินงานนั้นเปนขอมูลที่เหมาะสมในการประเมินผลการดําเนินงาน ของสวนงานและสอดคลองกับกิจการอื่นที่ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน
96
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
48
สินทรัพยจําแนกตามสวนงาน ณ วันที่สิ้นป/งวด
กําไรกอนภาษีเงินไดจําแนกตามสวนงาน
รายไดจากลูกคาภายนอกและกิจการ ที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง
ขอมูลเกี่ยวกับสวนงานที่รายงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1,490,537
305,819
3,258,513
49
1,316,758
66,959
588,965
ผลิตปุยและเคมีภัณฑสําหรับพืช สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
307,406
24,130
49,113
198,357
5,138
9,614
งบการเงินรวม การใหบริการเชาพื้นที่โรงงาน สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท)
1,797,943
329,949
3,307,626
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558
รวม
1,515,115
72,097
598,579
สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
รายงานประจ�ำปี 2558
97
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การกระทบยอดกําไรหรือขาดทุน และสินทรัพย ของสวนงานที่รายงาน งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) กําไรหรือขาดทุน รวมกําไรของสวนงานที่รายงาน จํานวนที่ไมไดปนสวน กําไรรวมกอนภาษีเงินได
329,949 (47,357) 282,592
72,097 (2,125) 69,972
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2558
2557 (พันบาท)
สินทรัพย รวมสินทรัพยของสวนงานที่รายงาน จํานวนที่ไมไดปนสวน สินทรัพยรวม
1,797,943 163,682 1,961,625
1,515,115 97,823 1,612,938
ขอมูลทางภูมิศาสตร สวนงานการผลิตปุยและเคมีภัณฑสําหรับพืช มีการบริหารจัดการแบบครอบคลุมทั่วโลก แตการผลิตและสํานักงานขายยังอยูใน ประเทศเวีย ดนาม ในการนํ าเสนอการจําแนกขอ มูล ทางภู มิ ศาสตร รายได แยกตามที่ ตั้ งทางภูมิ ศ าสตรข องลู กคา โดยไม มี สินทรัพยที่เปนสาระสําคัญตั้งอยูในตางประเทศ งบการเงินรวม สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) รายไดจากการขาย ประเทศเวียดนาม ประเทศอื่นๆ รวม
98
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
2,161,276 1,097,237 3,258,513
50
417,032 171,933 588,965
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ลูกคารายใหญ รายไดจากลูกคารายหนึ่งจากสวนงานผลิตปุยและเคมีภัณฑสําหรับพืชของกลุมบริษัทเปนเงินประมาณ 84.8 ลานบาท (สําหรับงวด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557: 61.3 ลานบาท) จากรายไดรวมของกลุมบริษัท 22
รายได้จากการดําเนินงานอื่น
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 หมายเหตุ (พันบาท) รายไดเงินปนผล 4 130,176 1,221 1,868 131 ดอกเบี้ยรับ 1,626 10,591 3,231 9,385 กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่นๆ 1,697 269 5 12,081 135,280 9,516 รวม 3,323
51
รายงานประจ�ำปี 2558
99
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 23
ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จไดรวมการวิเคราะหคาใชจายตามหนาที่ คาใชจายตามลักษณะไดเปดเผยตามขอกําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับตาง ๆ ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2558 2557 2558 (พันบาท) คาใชจายซึ่งรวมอยูในตนทุน ขายและบริการ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป ตนทุนของสินคาเพื่อขาย คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาโสหุยการผลิต อื่นๆ รวม
2,472,281 87,735 94,503 54,811 64,305 2,773,635
425,020 26,709 17,406 9,905 9,234 (1,020) 487,254
-
-
คาใชจายซึ่งรวมอยูในคาใชจาย ในการขาย คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายการตลาด คาขนสงและคาเดินทาง อื่นๆ รวม
32,530 1,219 15,491 86,872 18,116 154,228
6,643 259 3,433 18,340 3,028 31,703
-
-
100 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
52
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวด สําหรับงวด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด สําหรับปสิ้นสุด สามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2558 2557 2558 (พันบาท) คาใชจายซึ่งรวมอยูในคาใชจาย ในการบริหาร คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาเชา คาใชจายในการเดินทาง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่นๆ รวม 24
15,521 266 969 1,901 647
63,274 2,282 3,687 7,643 5,008 2,447 9,808 94,149
-
7,750 53 2,476 1,555 1,575 -
1,804 21,108
3,248 16,657
2,037 684 133 38 178 3,070
ภาษีเงินได้
ภาษีเงินไดรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสาม สําหรับงวดสาม เดือนสิ้นสุด สําหรับปสิ้นสุด เดือนสิ้นสุด สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 2558 2557 (พันบาท) ภาษีเงินไดของปปจจุบัน สําหรับป/งวดปจจุบัน รวม
14,635 14,635
49,601 49,601
53
-
1,259 1,259
รายงานประจ�ำปี 2558
101
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง งบการเงินรวม
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินไดของไทย ผลกระทบจากความแตกตางของอัตราภาษี สําหรับกิจการในตางประเทศ คาใชจายตองหามทางภาษี ผลขาดทุนในปปจจุบันที่ไมรับรูเปน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกสูงไป อื่นๆ รวม
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินไดของไทย รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี ผลขาดทุนในปปจจุบันที่ไมรับรูเปน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีงวดกอนๆ ที่บันทึกสูงไป อื่นๆ รวม
102 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 อัตราภาษี (พันบาท) (รอยละ) 282,592 20 56,518
สําหรับงวดสามเดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท) 69,972 20 13,994
(13,977) 3,100
(1,653) 2,364
3,170 (94) 884 49,601
(70) 14,635
18
21
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับงวดสามเดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558 2557 อัตราภาษี อัตราภาษี (รอยละ) (พันบาท) (รอยละ) (พันบาท) 118,623 6,446 20 23,724 20 1,289 (26,035) 120 40 3,170 (94) (885) -
-
54
20
(70) 1,259
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 ใหลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีป 2558 ที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2559 ในการประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติไดมีมติอนุมัติใหปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรา รอยละ 30 เปนอัตรารอยละ 20 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป กลุมบริษัท/บริษัทใชอัตราภาษีเงินไดรอยละ 20 ในการวัดมูลคาสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ตามคําชี้แจงของสภาวิชาชีพบัญชีที่ออกในป 2555 25
เครื่องมือทางการเงิน
(ก)
การจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กิจกรรมของกลุม บริษัทมีความเสี่ยงดานการตลาด (รวมถึงความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยง ทางดานสินเชื่อ และความเสี่ยงจากสภาพคลอง) กลุมบริษัทมีกลยุทธการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวมเพื่อลดผลกระทบตอ ผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทในแงลบจากความเสี่ยงเหลานี้
(ข)
การบริหารจัดการสวนทุน
(ค)
นโยบายของคณะกรรมการคือการรักษาระดับเงินทุนใหมั่นคงเพื่อรักษาความเชื่อมั่นของนักลงทุน เจาหนี้และของตลาด รวมถึง การกอใหเกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้ คณะกรรมการยังไดมีการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน โดยกลุม บริษัทพิจารณาจากสัดสวนของผลตอบแทนจากกําไรกอนดอกเบี้ยและภาษีเงินไดตอจํานวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยและสวนของ เจาของ อีกทั้งยังกํากับดูแลระดับการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุน ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ รายการสินทรัพยและหนี้สินของกลุมบริษัทสวนใหญถูกรับรูรายการในสกุลดองเวียดนามซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของ Baconco รายการสินทรัพยและหนี้สินเหลานี้ถูกแปลงคาเปนสกุลเงินไทยบาทเพื่อวัตถุประสงคในการนําเสนองบการเงิน การ แปลงคาเปนสกุลเงินไทยบาทมิไดมีความหมายโดยนัยวาสินทรัพยและหนี้สินที่ถูกรับรูรายการในสกุลเงินดองเวียดนามจะสามารถ ชดใชหรือจายชําระหนี้ในอนาคตดวยอัตราแลกเปลี่ยนที่เหมือนกันกับอัตราแลกเปลี่ยนโดยทั่วไป ณ วันที่ปจจุบันที่รายงาน กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินคาในสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ เปนจํานวนที่ มีนัยสําคัญ กลุมบริษัทจัดการกับความเสี่ยงนี้โดยการรักษาสมดุลระหวางการนําเขาสินคาและการสงออกสินคาและการขยาย ตลาดการสงออกสินคาเพื่อจัดหาเงินตราตางประเทศเพิ่มขึ้น
55
รายงานประจ�ำปี 2558 103
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศที่เปนเงินเหรียญสหรัฐฯ ดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ
31 ธันวาคม 2557
31 ธันวาคม 2558 (พันบาท)
สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น อื่นๆ หนี้สินทางการเงิน เงินกูระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ สินทรัพยทางการเงิน ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูระยะสั้นแกบริษัทยอย
4 4
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้การคา
174,609 65,484 20,738 260,831
73,700 125,966 32,489 232,155
(93,281) (184,423) (14,079) (291,783) (30,952)
(219,329) (128,595) (3,346) (351,270) (119,115)
47,444 129,970 177,414
38,587
(12,689) (12,689) 164,725
ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ
38,587 (11,590) (11,590) 26,997
กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศที่เปนสกุลเงินเวียดนามดอง ดังนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557
31 ธันวาคม 2558 (พันบาท) สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้การคา ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ 104 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
56
103,979 188,934 292,913
151,756 13,029 164,785
(53,450) (53,450) 239,463
(33,642) (33,642) 131,143
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุ
สินทรัพยทางการเงิน ลูกหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน
4
130,176 130,176 130,176
ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ (ง)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2557 2558 (พันบาท) -
ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลงไวเมื่อครบ กําหนด กลุมบริษัทมีนโยบายที่จะทําธุรกรรมเพียงแคกับลูกคาที่มีประวัติสินเชื่อที่ดีและมีความมั่นคงที่เพียงพอเพื่อจัดการกับความเสี่ยง ทางดานสินเชื่อ สินทรัพยทางการเงินอื่นๆกลุมบริษัทมีนโยบายที่จะทําธุรกรรมกับสถาบันการเงินและคูสัญญาอื่นๆ ที่มีอันดับ ความนาเชื่อถือสูง ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อสําหรับลูกคาแตละรายจะถูกจํากัด โดยการจํากัดวงเงินสินเชื่อซึ่งไดรับการอนุมัติโดยผูอํานวยการฝาย ขาย กระบวนการเรียกเก็บเงินจากลูกคาและระดับของความเสี่ยงทางดานสินเชื่อถูกควบคุมอยางสม่ําเสมอโดยผูจัดทําบัญชีซึ่งมี หนาที่รับผิดชอบในการติดตามดูแลลูกหนี้และรายงานผลตอกรรมการผูจัดการทั่วไป(General Director)
(จ)
ความเสี่ยงดานสภาพคลอง กลุม บริษัท มี การควบคุ ม ความเสี่ ยงจากการขาดสภาพคล อ งโดยการรักษาระดับ ของเงิน สดและรายการเที ย บเท าเงินสดให เพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมบริษัท และเพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง
(ฉ)
มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญมีลักษณะเปนระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราตลาด ปจจุบันดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มูลคาตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินของกลุมบริษัท/บริษัทจึงไมมี ความแตกตางอยางมีสาระสําคัญจากมูลคายุติธรรมโดยรวม
57 รายงานประจ�ำปี 2558
105
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 26
กําไรต่อหุ้นขั้นพื้ นฐาน
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และสําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557คํานวณจาก กําไรสุทธิสําหรับป/งวดที่เปนสวนของผูถือ หุนสามัญของบริษัทและจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายแลว ระหวางป/งวด
งบการเงินรวม (พันบาท/พันหุน)
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 กําไรสุทธิสําหรับปที่เปนสวนของผูถือหุน ของบริษัท จํานวนหุนสามัญ ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุนที่ออกจําหนาย ณ วันที่ 24 เมษายน 2558 จํานวนหุนสามัญในระหวางปโดยวิธี ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)
งบการเงิน เฉพาะกิจการ
232,991
118,623
93,100
93,100
5,592
5,592
98,692
98,692
2.36
1.20
งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ (พันบาท/พันหุน)
สําหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 กําไรสุทธิสําหรับงวดที่เปนสวนของผูถือหุน ของบริษัท
55,337
5,187
จํานวนหุนสามัญในระหวางงวด
93,100
93,100
0.59
0.06
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)
106 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
58
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 27
ภาระผูกพั น
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2558 2557 (พันบาท)
28
ภาระผูกพันรายจายฝายทุน สัญญาที่ยังไมไดรับรู - การกอสรางโรงงาน รวม
8,352 8,352
76,404 76,404
ภาระผูกพันตามสัญญาเชา ดําเนินงานที่ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป หลังจากหาป รวม
15,082 46,568 188,394 250,044
11,272 39,560 171,328 222,160
ภาระผูกพันอื่นๆ เลตเตอรออฟเครดิตสําหรับ การดําเนินงานโดยปกติ ทางธุรกิจ
67,787
172,590
-
-
2,090 3,287 -
527 688 -
5,377
-
1,215
-
หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทยอ ยแหงหนึ่งของกลุม บริษัทไดค้ําประกันภาระผูกพั นของกลุม บริษั ทตอ ผูจําหน ายสินคา ภายนอกซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ เพื่อใชในการซื้อวัตถุดิบ ดวยวงเงินค้ําประกันจํานวน 19 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 685.7 ลานบาท (2557: 11 ลานเหรียญสหรัฐฯ เทียบเทากับ 362.6 ลานบาท)
59
รายงานประจ�ำปี 2558
107
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 29
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมหลายฉบับไดมีการประกาศและยังไมมีผลบังคับใชและไมไดนํามาใชใน การจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมเหลานี้อาจเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุม บริษัท และถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 กลุมบริษัทไมมีแผนที่จะ นํามาตรฐานการรายงานทางการเงินเหลานี้มาใชกอนวันถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2558) 108 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน
ปที่มีผลบังคับใช 2559
สินคาคงเหลือ
2559
งบกระแสเงินสด
2559
นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
2559
ภาษีเงินได
2559
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ
2559
สัญญาเชา
2559
รายได
2559
ผลประโยชนของพนักงาน
2559
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ตนทุนการกูยืม
2559
การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ
2559 2559
กําไรตอหุน
2559
งบการเงินระหวางกาล
2559
60
2559
2559
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย
ปที่มีผลบังคับใช 2559
ประมาณการหนี้สินหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน
2559 2559
สวนงานดําเนินงาน
2559
งบการเงินรวม
2559
การวัดมูลคายุติธรรม
2559
สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา
2559
งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา
2559
กลุมบริษัทไดประเมินในเบื้องตนถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตองบการเงินรวมจากการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ปรับปรุงใหมเหลานี้ ซึ่งคาดวาไมมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตองบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ
61
รายงานประจ�ำปี 2558 109
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 30
ข้อมูลเพิ่ มเติม (ไม่ได้ตรวจสอบ)
ตามที่อธิบายในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอที่ 2 (จ) เรื่องการเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชีของกลุมบริษัท งบการเงินรวมสําหรับ ระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ไดถูกจัดทําและนําเสนอเปนครั้งแรกสําหรับรอบระยะเวลาใหมตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ซึ่งเปนไปตามรูปแบบการนําเสนองบการเงินที่กําหนดเพื่อประโยชนตอผูใชงบการเงินใน การเปรียบเทียบและวิเคราะหขอมูลทางการเงิน บริษัทจึงไดจัดทําขอมูลเพิ่มเติม (ไมไดตรวจสอบ) ในรูปแบบงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมสําหรับระยะเวลาสิบสองเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 โดยมีรายละเอียดดังตอนี้ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม 2558 2557 (ไมไดตรวจสอบ) (พันบาท)
110
รายได รายไดจากการขาย รายไดคาบริการใหเชาพื้นที่โรงงาน รวมรายได
3,258,513 49,113 3,307,626
3,087,998 32,107 3,120,105
ตนทุน ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ รวมตนทุน
2,748,653 24,982 2,773,635
2,505,636 17,635 2,523,271
กําไรขั้นตน รายไดจากการดําเนินงานอื่น กําไรกอนคาใชจาย
533,991 3,323 537,314
596,834 17,781 614,615
คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร รวมคาใชจาย
154,228 94,148 248,376
178,656 88,426 267,082
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
62
งบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จํากัด(มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม 2558 2557 (ไมไดตรวจสอบ) (พันบาท) 288,938 347,533 6,346 916
กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได
282,592 49,601
346,617 63,631
กําไรสุทธิสําหรับป
232,991
282,986
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่อาจถูกจัดประเภทรายการใหม เขาไปไวในกําไรหรือขาดทุน ผลตางอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
(330) (330) 232,661
(1,953) (1,953) 281,033
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)
2.36
63
3.04
รายงานประจ�ำปี 2558
111
17.
รายการ ระหว่างกัน
ส�ำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2557 และส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2558
รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทย่อยหรือระหว่างกันภายในบริษัทย่อยได้แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของบ ริษัทฯ แล้ว ทั้งนี้ รายการระหว่างกันซึ่งมีสาระส�ำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อยหรือรายการระหว่างกันกับบริษัทฯ หรือบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง มีดังต่อไปนี้
บริษัทที่เกี่ยวข้อง 1. บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“TTA”)
ความสัมพันธ์ TTA เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ PMTA ซึ่งถือหุ้น ร้อยละ 67.20 (พ.ศ.2557: ถือหุ้นร้อยละ 100) ของทุน ที่ออกและช�ำระแล้วของ PMTA PMTA และ TTA มี กรรมการร่วมกัน 2 ท่าน คือ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ และ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ และ มีผู้บริหารร่วมกัน 1 ท่าน คือ นายซิกมันต์ สตรอม TI เป็นบริษัทร่วมทุน ซึ่งถือ 2. บริษัท โทรีเซน (อินโดไชน่า) เอส.เอ. หุ้นโดย TTA ร้อยละ 50.00 (พ.ศ. 2557: ถือหุ้นร้อยละ (“TI”) 50.00) และถือหุ้นโดย นายซิกมันต์ สตรอม ร้อยละ 10.00 (พ.ศ. 2557: ถือหุ้น ร้อยละ 10.00)
3. บริษัท โทรีเซนวินามา เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (“TVA”)
112
PMTA และ TI มีกรรมการ ร่วมกัน 2 ท่าน คือ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ และ นายซิกมันต์ สตรอม TVA ถือหุ้นโดย TI ร้อยละ 49.00 (พ.ศ. 2557: ถือหุ้น ร้อยละ 49.00) PMTA และ TVA มีกรรมการร่วมกัน คือ นายซิกมันต์ สตรอม
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
มูลค่ารายการ (พันบาท) สำ�หรับงวด สำ�หรับปี สามเดือนสิน้ สุด สิ้นสุด ลักษณะรายการ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 นโยบายราคา 918 194 ราคาและเงื่อนไข ค่าใช้จ่ายในการ เป็นไปตามราคา เช่าพื้นที่และ ตลาด สนับสนุนงาน บริหาร เจ้าหนี้การค้า ซื้ออุปกรณ์ ส�ำนักงาน
274 45
206 - บริษัทคิดค่าใช้จ่าย โดยใช้ราคาต้นทุน บวกก�ำไรส่วนเพิ่ม
ค่าบริการขนส่ง สินค้าทางเรือ ให้ บาคองโค
66,147
9,181 ราคาและเงื่อนไข การค้าที่ใกล้เคียง กันกับที่ TI ก�ำหนด ให้กับลูกค้ารายอื่น
ค่าบริการขนส่ง สินค้าแก่ บา คองโค
30,946
รายได้ค่าเช่า พื้นที่โรงงาน เพื่อให้บริการ คลังสินค้า /1 ลูกหนี้การค้า
49,113
8,019 ราคาและเงื่อนไข การค้าที่ใกล้เคียง กันที่ TVA ก�ำหนด ให้กับลูกค้ารายอื่น 9,614 อัตราค่าเช่าเป็น อัตราคงที่ต่อตา รางเมตร ก�ำหนด ช�ำระค่าเช่าเป็น 4,644 รายเดือน และคิด ค่าเช่าตามพื้นที่ การเช่าจริง อัตรา ค่าเช่าต่อตาราง เมตรเป็นอัตราที่ ใกล้เคียงกับราคา ตลาดในประเทศ เวียดนามใน ปัจจุบัน
5,105
รายการระหว่างกัน
มูลค่ารายการ (พันบาท) สำ�หรับงวด สำ�หรับปี สามเดือนสิน้ สุด สิ้นสุด บริษัทที่เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2557 นโยบายราคา 39,910 8,178 ราคาและเงื่อนไข ค่าบริการ TVL ถือหุ้นโดย TVA 4. บริษัท โทรีเซนการค้าที่ใกล้เคียง วีนามา โลจิสติกส์ ร้อยละ 100.00 (พ.ศ. 2557: ขนส่งสินค้าใน กันที่ TVL ก�ำหนด ประเทศแก่บา ถือหุ้นร้อยละ 100.00) จ�ำกัด (“TVL”) ให้กับลูกค้ารายอื่น คองโค PMTA และ TVL มีกรรมการร่วมกัน คือ เจ้าหนี้การค้า 5,086 3,287 นายซิกมันต์ สตรอม 19,813 4,038 ราคาและเงื่อนไข ค่าบริการที่ 5. บริษัท Baria Joint Baria ถือหุ้นโดย Soleado การค้าที่ใกล้เคียง ร้อยละ 20.00 (พ.ศ. 2557: เกี่ยวข้องกับ Stock Company กันที่ Baria ก�ำหนด of Services for Im- ถือหุ้นร้อยละ 20.00) PMTA ท่าเรือให้บา ให้กับลูกค้ารายอื่น คองโค และ Baria มีกรรมการร่วม port Export of กัน 2 ท่าน คือ นายเฉลิมชัย ค่าใช้จ่ายที่ออก Agro - Forestry 6,138 1,590 มหากิจศิริ Products and แทน Baria และนายซิกมันต์ สตรอม Fertilizer (“Baria”) เจ้าหนี้การค้า 1,485 207 76 - ราคาเป็นไปตามค่า TTA ถือหุ้นใน TCB ร้อยละ ค่าสาธารณูปโภค 6. บริษัท โทรีเซน ใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง 100.00 (กรุงเทพ) จ�ำกัด (พ.ศ. 2557: ถือหุ้นร้อยละ (“TCB”) 100.00) PMTA และ TCB มี เจ้าหนี้การค้า 16 กรรมการร่วมกัน 3 ท่าน คือ นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายซิกมันต์ สตรอม และ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ รายได้อื่น 5 - ราคาและเงื่อนไข TTA ถือหุ้นใน TSL 7. บริษัท โทรีเซน เป็นไปตามราคา ร้อยละ 49.00 (พ.ศ. 2557: ชิปปิ้ง แอนด์ ตลาด ถือหุ้นร้อยละ 49.00) PMTA โลจิสติกส์ จ�ำกัด และ TSL มีกรรมการ (“TSL”) ร่วมกัน 2 ท่าน คือ นายซิกมันต์ สตรอม และนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ หมายเหตุ:
/1
ธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงานเพื่อเก็บสินค้าไม่ใช่ธุรกิจหลักของบาคองโค แต่เป็นธุรกิจที่ช่วยส่งเสริมธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร ในด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจปกติอย่างต่อเนือ่ ง และในด้านการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต กล่าวคือ การมีพื้นที่ว่างรองรับจะช่วยสนับสนุนให้บาคองโค มีความยืดหยุ่นมาก ขึน้ ในด้านการจัดซือ้ จัดเก็บ การผลิตและควบคุมปริมาณสินค้าและวัตถุดบิ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยมีปริมาณสินค้าส่งมอบสอดคล้อง กับความต้องการของกลุม่ ลูกค้าในแต่ละช่วงเวลา หากมีพนื้ ทีเ่ หลือก็พจิ ารณาจัดหาผลประโยชน์จากการปล่อยให้เช่าเพือ่ สร้างรายได้และ ผลก�ำไรส่วนเพิ่มให้เกิดขึ้นแก่กิจการ
รายงานประจ�ำปี 2558
113
รายการระหว่างกัน
ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการระหว่างกัน
ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยเข้าท�ำ สัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการท�ำรายการ ระหว่างกันกับบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ/ หรือบุคคลภายนอก บริษัทฯ จะพิจารณา ถึ ง ความจ� ำ เป็ น และความเหมาะสมใน การเข้า ท�ำสัญญานั้นๆ โดยค�ำนึงถึงผล ประโยชน์ของบริษัทฯ เป็นหลัก มาตรการหรื อ ขั้ น ตอนการอนุ มั ติ การท�ำรายการระหว่างกัน
ในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทย่อยเข้าท�ำ สัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการท�ำรายการ ระหว่างกันกับบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง บุ ค คลภายนอก และ/หรื อ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เพื่อประโยชน์ ของบริ ษั ท ฯ คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ ต ้ อ งปฎิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย
114
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
และคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เรื่องการเปิดเผยข้อมูล และการปฎิบัติการของบริษัทจดทะเบียน ในรายการที่เกี่ยวโยงกัน และให้มีราคา และเงือ่ นไขเสมือนการท�ำรายการกับบุคคล ภายนอก และท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุด ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานที่มีส่วนได้เสียใน รายการนัน้ จะต้องไม่มสี ว่ นในการพิจารณา อนุมัติ นโยบายการท�ำรายการระหว่างกัน ในอนาคต
กรรมการตรวจสอบและบริษทั ฯ จะร่วมกัน ดูแลรายการระหว่างกันดังกล่าวที่อาจเกิด ขึ้นในอนาคต ว่าจะเป็นรายการที่มีความ จ�ำเป็นและให้เป็นไปในราคาที่ยุติธรรม
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
18.
นโยบาย การจ่ายเงินปันผล
บริ ษั ท ฯ มี น โยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลในอั ต ราไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้อยละ 25 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงินได้ แต่ ไม่รวมก�ำไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โดย คณะกรรมการบริษทั ฯ อาจจะพิจารณาทบทวน และแก้ไขนโยบาย การจ่ายเงินปันผลเป็นครัง้ คราว เพือ่ ให้เป็นไปตามแผนการเติบโต ทางธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ความต้องการใช้เงินลงทุน และ ปัจจัยด้านอื่นๆ ที่เห็นสมควร ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าว จะไม่เกินก�ำไรสะสมที่ปรากฏอยู่ในงบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
อนึง่ เนือ่ งจากบริษทั ฯ ประกอบกิจการในรูปแบบของการลงทุนใน บริษัทอื่น (Holding Company) โดยมีสินทรัพย์หลักคือเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ดังนั้น ความสามารถในการจ่ายเงินปันผลของ บริษัทฯ ขึ้นอยู่กับผลการด�ำเนินงานและการจ่ายเงินปันผลของ บาคองโคเป็นหลัก และอยูภ่ ายใต้กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องของประเทศ เวียดนามและประเทศไทย
รายงานประจ�ำปี 2558
115
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
19.
ค่าตอบแทน ของผูส ้ อบบัญชี
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
หน่วย: บาท บริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อยอื่น รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามสังกัดผู้สอบบัญชี)
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัด KPMG
1,764,000 688,116 2,452,116
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัดอื่นๆ
รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามบริษัท)
137,443 137,443
1,764,000 825,559 2,589,559
ค่าบริการอื่นที่มิใช่การสอบบัญชี ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
หน่วย: บาท บริษัท
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อยอื่น รวมค่าบริการอื่น (แยกตามสังกัดผู้สอบบัญชี)
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัด KPMG
248,867 248,867
ผู้สอบบัญชีของ บริษัทสังกัดอื่นๆ
รวมค่าสอบบัญชี (แยกตามบริษัท)
-
248,867 248,867
หมายเหตุ : ค่าบริการอื่นที่ไม่ใช่การสอบบัญชีสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส่วนใหญ่เป็นการตรวจสอบบริษัทย่อยเพื่อการชำ�ระภาษีและให้ คำ�ปรึกษาทางด้านภาษี
116
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ
20.
โครงสร้าง การจัดการ
คณะกรรมการบริษัทของบริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิง ้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน) องค์ ป ระกอบของคณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ย กรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ท� ำ หน้าที่ก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย พันธกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณ ของบริษัทฯ ตลอดจนก�ำกับดูแลให้คณะ ผู ้ บ ริ ห าร มี ก ารบริ ห ารงานเป็ น ไปตาม นโยบายที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ และมติที่ประชุมคณะกรรมการ ด้วยความ รับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง ตามหลั ก การข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี เพื่ อ เพิ่ ม มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การ และ ความมั่นคงสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ย กรรมการจ� ำ นวน 7 คน ประกอบด้ ว ย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 3 คน และกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จ�ำนวน 4 คน ซึ่งในจ�ำนวนนี้ประกอบด้วยกรรมการ อิสระ จ�ำนวน 3 คน โดยกรรมการอิสระ เป็ น บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตาม ประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ ตลาดทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งก� ำ หนด และในจ� ำ นวนนี้ ก็เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง 3 คน ด้ ว ย กรรมการไม่ น ้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของ จ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ ในประเทศไทย นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษทั ฯ ยังได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย ต่างๆ เพื่อช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ กรรมการแต่ละคนสามารถปฏิบัติหน้าที่ และใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ อย่ า งเป็ น อิ ส ระในการ พิจารณาตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ โดยสามารถ ตั้งค�ำถาม แสดงความคิดเห็น หรือคัดค้าน ในกรณี ที่ มี ค วามเห็ น ขั ด แย้ ง ในเรื่ อ งที่ มี ผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ หรือ ผู้มีส่วนได้เสีย
อนึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีนโยบายให้ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การต้องไม่ เป็นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความชัดเจนในด้านความรับผิดชอบระหว่างการก�ำหนด นโยบายการก�ำกับดูแลและการบริหารงานประจ�ำ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้แบ่งแยกบทบาท หน้าทีค่ วามรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษทั ฯ กับผูบ้ ริหารอย่างชัดเจน และมีการ ถ่วงดุลอ�ำนาจการด�ำเนินงาน โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ท�ำหน้าทีใ่ นการก�ำหนดนโยบาย และก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของผู้บริหารในระดับนโยบาย ขณะที่ผู้บริหารท�ำหน้าที่ บริหารงานของบริษทั ฯ ในด้านต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ ำ� หนด ทัง้ นี้ คณะกรรมการ การบริษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 7 คน โดยมีนางสาวเปมิกา ช่วงฉ�่ำ ท�ำหน้าที่ เลขานุการบริษัทและ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
ตำ�แหน่ง
1. นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ 2. นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 3. นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 4. รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน 5. นายอาริลด์ เฮาแกน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 6. นายสมพร จิตเป็นธม /1 กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 7. นายซิกมันต์ สตรอม กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน / กรรมการผู้จัดการ หมายเหตุ /1 นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 20 มกราคม 2558 และนายสมพร จิตเป็นธม ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558 กรรมการผู้มีอ�ำนาจผูกพั นบริษัท
กรรมการซึ่ ง มี อ� ำ นาจลงลายมื อ ชื่ อ แทน บริษทั ฯ ตามหนังสือรับรองการจดทะเบียน นิตบิ คุ คล กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิ ช ย์ คื อ นายเฉลิ ม ชั ย มหากิ จ ศิ ริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ นายสมพร จิตเป็นธม และนายซิกมันต์ สตรอม สองในสี่คนนี้ลง ลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราบริษัทฯ การสรรหากรรมการ
บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีประวัติการ ท�ำงานที่ดี และมีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์กว้าง ไกล รวมทัง้ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ตลอดจน มีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร สามารถอุทิศเวลา ให้ได้อย่างเพียงพอ อันเป็นประโยชน์ต่อ การด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังจะค�ำนึงถึงคุณสมบัติที่เหมาะสม และ
สอดคล้องกับองค์ประกอบและโครงสร้าง ของกรรมการตามกลยุทธ์ทางธุรกิจของ บริษัทฯ อีกด้วย การสรรหากรรมการมี กระบวนการที่ โ ปร่ ง ใส และสร้ า งความ มั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณา คุณสมบัตขิ องผูท้ เี่ หมาะสมเพือ่ น�ำเสนอต่อ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการ และ/หรือทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นต่อไป ค่าตอบแทนกรรมการ
คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนซึ่ ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง โดยคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู ้ พิ จ ารณาเสนอ ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ ผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับแนวทางและหลักเกณฑ์ ในการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ โดย
รายงานประจ�ำปี 2558
117
มีนโยบายและหลักเกณฑ์ในการก�ำหนดค่า ตอบแทน ดังนี้ 1. ผลประกอบการของบริ ษั ท ฯ และ ขนาดธุรกิจ โดยพิจารณาเปรียบเทียบ กั บ ค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในประเภทและขนาดธุรกิจ ใกล้เคียงกัน 2. ประสบการณ์ บทบาท ภาระหน้าที่ และ ขอบเขตความรับผิดชอบของกรรมการ แต่ละคน 3. ประโยชน์ที่คาดว่าบริษัทฯ จะได้รับจาก กรรมการแต่ละคน 4. ค่าตอบแทนทีก่ ำ� หนดขึน้ จะต้องสามารถ จูงใจผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับความ จ�ำเป็น และสถานการณ์ของบริษัทฯ ให้ มาเป็นกรรมการหรือผู้บริหารได้ นโยบายค่าตอบแทนกรรมการ
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทน กรรมการ โดยประกอบด้วย ค่าตอบแทน รายเดื อ น ค่ า เบี้ ย ประชุ ม ค่ า เบี้ ย เดิ น ทาง (เฉพาะกรรมการต่ า งชาติ ที่ พ� ำ นั ก นอกประเทศไทย และเงินรางวัลประจ�ำ ปี (จ่ า ยเมื่ อ ผลประกอบการบรรลุ ต าม เป้าหมาย) โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม ภาระ หน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย และสามารถเทียบเคียงได้กับ บริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย ซึ่งอยู่ในอุตสาหกรรม และมีขนาดใกล้เคียงกัน และเหมาะสม เพี ย งพอที่ จ ะดู แ ลรั ก ษากรรมการ และ จูงใจให้กรรมการปฏิบัติงานกับบริษัทฯ ให้ บรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ ผ่าน กระบวนการที่โปร่งใส เป็นที่มั่นใจให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ในการก�ำหนดค่าตอบแทน บริษทั ฯ มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาและ น�ำเสนอจ�ำนวนค่าตอบแทนที่เหมาะสม ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ความ เห็นชอบ ก่อนน�ำเสนอให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณา อนุมัติต่อไป
118
นโยบายค่าตอบแทนกรรมการผูจ ้ ด ั การ
คุณสมบัติของกรรมการอิสระ
การจ่ายเงินค่าตอบแทนกรรมการผูจ้ ดั การ จะพิ จ ารณาจากคะแนนประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง านและผลประกอบการโดยรวม ของบริ ษั ท ฯ โดยกรรมการผู ้ จั ด การจะ ประเมินตนเองและน�ำเสนอผลการประเมิน ตนเองให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทนพิจารณา และคณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะพิจารณา ค่าตอบแทนเพื่อเสนอให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาอนุมัติต่อไป
คุณสมบัติของกรรมการอิสระเป็นไปตาม ค�ำนิยามของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึง่ (1) ของจ�ำนวน หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วน ร่ ว มบริ ห ารงาน ลู ก จ้ า ง พนั ก งาน ที่ ปรึ ก ษาที่ ไ ด้ เ งิ น เดื อ นประจ� ำ หรื อ ผู ้ มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอ�ำนาจ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ เว้ น แต่ จ ะได้ พ ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้อยกว่าสองปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ทั้ ง นี้ ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มดั ง กล่ า วไม่ รวมถึ ง กรณี ที่ ก รรมการอิ ส ระเคยเป็ น ข้ า ราชการ หรื อ ที่ ป รึ ก ษา ของส่ ว น ราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ 3.ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสาย โลหิ ต หรื อ โดยการจดทะเบี ย นตาม กฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู ่ ส มรส พี่ น ้ อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู ่ สมรสของบุ ต ร ของกรรมการรายอื่ น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอ ให้เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ กั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการ ขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ ของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือ หุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ ผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้น แต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนได้รับการ แต่งตั้ง
วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของ กรรมการบริษัท
ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีทุก ครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวน หนึ่งในสามเป็นอัตรา ถ้าจ�ำนวนกรรมการ ที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งใน สาม กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่ง ในปีแรก และปีทสี่ องภายหลังการแปรสภาพ นั้น ให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้ กรรมการคนที่ อ ยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง นานที่ สุ ด นั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการซึ่ง พ้ น จากต� ำ แหน่ ง อาจได้ รั บ เลื อ กตั้ ง ใหม่ อีกได้โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น และในกรณี ที่กรรมการพ้นจากต�ำแหน่งเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะ กรรมการบริษัทฯ พิจารณาเลือกบุคคลเข้า เป็นกรรมการแทนได้ โดยบุคคลดังกล่าวจะ อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เท่าวาระที่ยัง เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ
คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบของตนในการก�ำกับดูแล กิจการของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ รวมทั้งมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และค�ำนึง ถึงประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็น ส�ำคัญ ทั้ง นี้ คณะกรรมการบริษัทฯ จะ เป็นผู้ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมายในการ ด�ำเนินธุรกิจ แผนธุรกิจ นโยบายการบริหาร ความเสี่ยง ตลอดจนงบประมาณประจ�ำปี และก�ำกับดูแลให้ฝ่ายบริหารด�ำเนินการให้ เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ที่ ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ
5. ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข อง บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริ ษั ท ฯ และไม่ เ ป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี นั ย ผู ้ มี อ� ำ นาจควบคุ ม หรื อ หุ ้ น ส่ ว นของ ส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีขอ งบริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของ บริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่ จะได้พ้นจาก การมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า สองปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 6. ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทาง วิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็น ทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการ เงิ น ซึ่ ง ได้ รั บ ค่ า บริ ก ารเกิ น กว่ า สอง ล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้น ที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วน ของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้น แต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นได้ รั บ การแต่งตั้ง 7. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของ บริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า ง เดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ กิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือ ไม่ เ ป็ น หุ ้ น ส่ ว นที่ มี นั ย ในห้ า งหุ ้ น ส่ ว น หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจ�ำ หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด ของบริ ษั ท อื่ น ซึ่ ง ประกอบกิ จ การที่ มี สภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ
รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการใน บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
จำ�นวนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง นายอาริลด์ เฮาแกน นายสมพร จิตเป็นธม นายซิกมันต์ สตรอม
7,961,505 หุ้น/1 1 หุ้น -
หมายเหตุ
จำ�นวนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1 หุ้น 1 หุ้น -
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ ได้รับสิทธิการซื้อหุ้น Pre-emptive right ของ PMTA ตาม สัดส่วนการถือหุ้นใน TTA
/1
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบหลักในการสอบทาน ให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องเพียงพอ และสอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่านจะต้อง มีความรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นบัญชีเพียงพอ ทีจ่ ะสามารถท�ำหน้าทีใ่ นการสอบทานความ น่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 3 คน โดยมีนางสาวจุฬาพร รัตตะพงษ์ ท�ำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ประกอบ ด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้ ลำ�ดับที่
ชื่อ
1 2 3
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง นายอาริลด์ เฮาแกน
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
1. สอบทานความถูกต้อง ความเพียงพอ 2. ส อ บ ท า น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ความเชื่ อ ถื อ ได้ และความเที่ ย งตรง ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการควบคุ ม ของกระบวนการรายงานข้อมูลทางการ ภายในและหน้าที่ของการตรวจสอบ เงิ น โดยการประสานงานร่ ว มกั บ ภายในเพื่อให้มั่นใจในความเพียงพอ ผู้สอบบัญชีและผู้บริหารที่รับผิดชอบ ของระบบการควบคุมภายใน รวมถึง ในการจัดท�ำรายงานข้อมูลทางการเงิน หน้าที่ของการตรวจสอบภายใน โดย รายไตรมาส และรายปี รวมถึงการแก้ ประสานงานร่วมกับผู้สอบบัญชีและ ปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อพิจารณาใน และผู ้ ส อบบั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ การจั ด ท� ำ ประเด็นดังต่อไปนี้ รายงานทางการเงินหรือข้อจ�ำ กัดใน 2.1 สอบทานกิจกรรมการด�ำเนินงาน การด�ำเนินงาน และการจัดโครงสร้างองค์กรของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน เพื่อ ให้มนั่ ใจว่า ไม่มกี ารจ�ำกัดขอบเขต การปฏิบัติงาน รายงานประจ�ำปี 2558
119
4.1 สอบทานผลการปฏิบัติงานของผู้ 2.2 ประเมินความเป็นอิสระของหน่วย สอบบัญชี โดยพิจารณาถึงความ งานตรวจสอบภายใน เชื่ อ ถื อ ได้ ความเพี ย งพอของ 2.3 พิ จ ารณาและอนุ มั ติ ก ารแต่ ง ตั้ ง ทรัพยากร ขอบเขตการปฏิบตั งิ าน ถอดถอน โอนย้าย หรือเลิกจ้าง และประสบการณ์ของผูช้ ว่ ยผูส้ อบ ผู้ตรวจสอบภายใน บัญชีที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ 2.4 พิจารณารายงานการตรวจสอบ งานตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ และข้อเสนอแนะที่น�ำเสนอโดย 4.2 สอบทานขอบเขตและแนวทาง ฝ่ายตรวจสอบภายใน และก�ำกับ การตรวจสอบของผู ้ ส อบบั ญ ชี ดูแลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจในความเหมาะสม 2.5 สอบทานความเพี ย งพอในการ และมิได้มีการจ�ำกัดขอบเขตการ บริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งของ ตรวจสอบ บริ ษั ท ฯ อี ก ทั้ ง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า 4.3 ให้ ค� ำ แนะน� ำ แก่ ค ณะกรรมการ การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง บริษทั ฯ ในการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชี ดังกล่าวเป็นไปตามแนวปฏิบตั ขิ อง 4.4 พิจารณารายงานการตรวจสอบ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องและ และข้ อ เสนอแนะที่ เ สนอโดย สอดคล้องกับนโยบายภายในของ ผู้สอบบัญชี และก�ำกับดูแลการ บริษัทฯ ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะดังกล่าว 2.6 ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ ผูจ้ ดั การฝ่ายตรวจสอบภายในร่วม 5. ในระหว่ า งปี คณะกรรมการตรวจ สอบจะประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีและ กับประธานกรรมการบริหาร ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายในโดยไม่มี 2.7 อนุ มั ติ แ ผนการตรวจสอบ งบ ฝ่ายบริหารเข้าร่วมด้วย อย่างน้อยปี ประมาณประจ� ำ ปี แผนอั ต รา ละหนึ่งครั้ง ก�ำลัง และแผนพัฒนาความรู้และ ทักษะของบุคลากรของฝ่ายตรวจ 6. สอบทานการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง รายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อให้มั่นใจว่า สอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าการ ไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใน ตรวจสอบเป็นไปอย่างครอบคลุม การพิจารณาด�ำเนินรายการค้าระหว่าง ทั้ ง ด้ า นการเงิ น บั ญ ชี และการ บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ ปฏิบัติการ พร้อมทั้งติดตามผล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หรือ การปฏิบตั งิ านตามแผนงานต่างๆ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อให้ เหล่านั้น มั่น ใจในประสิทธิภาพของระบบการ 2.8 สอบทานและอนุมัติกฎบัตรคณะ ก�ำกับดูแลการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและ กรรมการตรวจสอบ คูม่ อื นโยบาย กฎระเบียบต่างๆ รวมถึงความสมเหตุ และขั้ น ตอนปฏิ บั ติ ง านรวมถึ ง สมผลของการด�ำเนินรายการเพื่อคงไว้ ประเมิ น ความเพี ย งพออย่ า ง ซึ่งผลประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ สม�่ำเสมอ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง 3. สอบทานการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ครบถ้วนและความเชื่อถือได้ของ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ รายงานทางการเงินของบริษัทฯ ดังกล่าวเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ ของระบบการควบคุมภายในของ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ บริษัทฯ กฎหมายอื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ 4. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตั้ง ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ บุ ค คลซึ่ ง มี ค วามเป็ น อิ ส ระเพื่ อ ท� ำ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาสอบทานค่าสอบบัญชี และด�ำเนินกิจกรรมหลักดังต่อไปนี้ 120 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
6.4 ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสม ของผูส้ อบบัญชี บริษทั ฯ มีนโยบาย ในการรักษาความเป็นอิสระของ ผู้สอบบัญชี โดยจ�ำกัดมิให้ผู้สอบ บัญชีให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องกับ งานสอบบัญชีและงานบริการด้าน ภาษี และทบทวนความเหมาะสม ของผู้สอบบัญชีทุกๆ 3-5 ปี 6.5 ความเห็นต่อรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6.6 จ� ำ นวนการประชุ ม ของคณะ กรรมการตรวจสอบและจ�ำนวน การเข้าร่วมประชุมของกรรมการ ตรวจสอบแต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวม ที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับ จากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและ ผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัทฯ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ 8. รายงานผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการตรวจสอบให้แก่คณะกรรมการ บริษัทฯ รับทราบเป็นรายไตรมาส 9. สอบทานข้ อ สรุ ป และหลั ก ฐานการ ฉ้อโกงของพนักงานหรือผู้บริหาร ซึ่ง ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย และน� ำ เสนอรายงานที่ ไ ด้ รั บ การ สอบทานโดยคณะกรรมการตรวจ สอบให้แก่คณะกรรมการบริหารเพื่อ พิจารณา 10. สอบทานผลการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการตรวจสอบประจ�ำปี 11. สอบทานและประเมินความเหมาะสม ของกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ อย่ า งสม�่ ำ เสมอ และน� ำ เสนอข้ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขให้ แ ก่ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่ออนุมัติ
โครงสร้างการจัดการ
คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีกรรมการอิสระท�ำหน้าทีเ่ ป็นประธาน โดย คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบใน การพิจารณาค่าตอบแทน และผลประโยชน์ของกรรมการบริษัทฯ เพื่อเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนและ ผลประโยชน์ดงั กล่าว และก�ำหนดค่าตอบแทน และผลประโยชน์รวมถึงพิจารณาและเสนอ ชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ แต่งตัง้ เป็น กรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนประกอบไปด้วยกรรมการ จ�ำนวน 5 คน โดยมีนางสาวเปมิกา ช่วงฉ�ำ่ ท�ำหน้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทน ประกอบไปด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้ ลำ�ดับที่
ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1
รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง
ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
2
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
3
นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
4
นายสมพร จิตเป็นธม
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
5
นายซิกมันต์ สตรอม
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
1. ก� ำ หนดกระบวนการและหลั ก เกณฑ์ ในการสรรหา และคุณสมบัติของผู้ที่ ได้รับการเสนอชื่อรับการคัดเลือกตาม โครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบของ คณะกรรมการบริษทั ฯ ตามทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ 2. ทบทวนและเสนอค�ำแนะน�ำต่อคณะ กรรมการบริษทั ฯ เกีย่ วกับผูท้ ไี่ ด้รบั การ เสนอชื่อเข้ารับคัดเลือก (ไม่ว่าจะโดย คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น หรือ อืน่ ๆ) เพือ่ การแต่งตัง้ เป็นคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยพิจารณาถึงประวัติ อายุ ความรู้ ประสบการณ์ ศักยภาพ จ�ำนวน ครั้ ง ที่ ไ ด้ เ คยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ในคณะ กรรมการ และปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ระบุและให้คำ� แนะน�ำต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ส�ำหรับกรรมการที่ออกตาม วาระ และที่ จ ะเสนอชื่ อ ส� ำ หรั บ การ เลือกตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระหนึ่ง ในแต่ละการประชุมสามัญประจ�ำปีของ บริษทั ฯ โดยมีการค�ำนึงถึงการมีสว่ นร่วม ของกรรมการและผลการด�ำเนินงาน (เช่ น การเข้ า ร่ ว มประชุ ม การเตรี ย ม ความพร้อมการมีส่วนร่วมและความ ตรงไปตรงมา) รวมทั้งกรรมการอิสระ
4. ประเมินความเป็นอิสระของกรรมการ หรื อ คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการอิ ส ระ รายใหม่ว่าเป็นไปตามกฎหมายหรือ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เป็นประจ�ำทุกปี 5. ท� ำ ให้ มั่ น ใจว่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ เ พี ย งพอต่ อ การตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ การพิจารณาการเลือกตั้งกรรมการให้ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งอีกวาระหนึ่งในการ ประชุมสามัญประจ�ำปีของบริษัทฯ 6. ระบุและคัดเลือกผู้ที่มีความเหมาะสม เพือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ หรื อ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา อนุมัติ 7. สอบทานผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับ คัดเลือกเป็นประธานกรรมการ หรือ กรรมการผู้จัดการ 8. เสนอแนะต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ นโยบายในการคั ด เลื อ ก กรรมการผู ้ จั ด การ พั ฒ นาแผนการ สืบทอดต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร (Succession plan) ตามนโยบายดังกล่าว และสอบทาน แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ส� ำ หรั บ กรรมการผู ้ จั ด การซึ่ ง เสนอโดยฝ่ า ย บริหาร
9. ทบทวน (และให้ ค� ำ แนะน� ำ ต่ อ คณะ กรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับ) โครงสร้าง ขนาดองค์ประกอบและความสามารถ หลัก (Core competencies) ของคณะ กรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อยหนึง่ ครัง้ ใน แต่ละปีบัญชี โดยค�ำนึงถึงความสมดุล ระหว่างกรรมการที่เป็นผู้บริหารและ กรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร และระหว่าง กรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็น อิ ส ระโดยค� ำ นึ ง ถึ ง หลั ก การของการ ก�ำกับดูแลกิจการ 10. จั ด ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี องค์ประกอบของกรรมการอิสระเป็น จ�ำนวนอย่างน้อย 1 ใน 3 หรือไม่น้อย กว่ า จ� ำ นวนขั้ น ต�่ ำ และหลั ก เกณฑ์ ซึ่ ง ก�ำหนดโดยกฎหมายหรือกฎเกณฑ์ที่ เกี่ยวข้อง 11. นำ� เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั เิ กีย่ วกับหลักเกณฑ์การวัดผล การด�ำเนินงาน (ทีส่ ามารถเปรียบเทียบ ได้กบั บริษทั อืน่ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน กับบริษัทฯ) ในการประเมินภาพรวม ประสิทธิผลของคณะกรรมการ 12. สนับสนุนให้มีช่องทางส�ำหรับผู้ถือหุ้น รายย่อยในการเสนอชื่อผู้สมควรเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการบริษัทฯ 13. ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ และน� ำ เสนอต่ อ คณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ กรอบการก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ซึ่ ง รวมถึงโบนัสประจ�ำปี/โบนัสพิเศษ ค่า ธรรมเนียม และค่าตอบแทนในรูปแบบ อื่น ส�ำหรับ: 13.1 คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 13.2 คณะกรรมการชุดย่อยซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ 14. ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ และน� ำ เสนอต่ อ คณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ กรอบการก�ำหนดค่าตอบแทน ซึ่งรวม ถึงโบนัสประจ�ำปี/โบนัสพิเศษ เงินเดือน และค่าตอบแทนในรูปแบบอื่น ส�ำหรับ 14.1 กรรมการผู้จัดการ 14.2 ผู้บริหารในระดับรองลงมาจาก กรรมการผู ้ จั ด การหนึ่ ง ระดั บ (ถ้ามี) รายงานประจ�ำปี 2558
121
15. ประเมินผลงานประจ�ำปีและรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัทฯเพื่อรับทราบ ส�ำหรับ 15.1 กรรมการผู้จัดการ 15.2 ผู้บริหารในระดับรองลงมาจาก กรรมการผูจ้ ดั การหนึง่ ระดับ (ถ้ามี) 16. พิ จ ารณางบประมาณค่ า ตอบแทน ประจ�ำปีของบริษทั ฯ และเสนอต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 17. ติ ด ตามและประเมิ น ค่ า ตอบแทน กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ปัจจัยดังต่อไปนี้ และแจ้งให้คณะกรรม การบริษัทฯ รับทราบถึงกิจกรรมของ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ต่อไป 17.1 ระดับค่าตอบแทนควรมีความ เหมาะสมที่จะดึงดูด รักษา และ สร้ า งแรงจู ง ใจให้ แ ก่ ก รรมการ และผู ้ บ ริ ห ารในการบริ ห าร กิจการให้ประสบความส�ำเร็จ 17.2 ค่ า ตอบแทนและเงื่ อ นไขการ ว่ า จ้ า งสามารถเที ย บเคี ย งได้ กั บ ในอุ ต สาหกรรมและบริ ษั ท เทียบเคียง คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริ ห ารจะเป็ น ผู ้ ก� ำ หนด แนวทางและกลยุทธ์ในการด� ำเนินธุรกิจ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดโดยคณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อให้การบริหารงาน เป็นไปอย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริ ห ารประกอบไปด้ ว ย กรรมการ จ�ำนวน 4 คน โดยมีนางสาว เปมิกา ช่วงฉ�่ำ ท�ำหน้าที่เลขานุการคณะ กรรมการบริหาร และณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริหาร ประกอบไป ด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้
122
ลำ�ดับที่
1. 2. 3. 4.
รายชื่อกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายซิกมันต์ สตรอม นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ นายสมพร จิตเป็นธม
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร
การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารในปี 2558
บริษัทฯ ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์การประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ดังนี้ 1. ก�ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ไว้ลว่ งหน้า และอาจมีการประชุมพิเศษ เพิ่มตามความจ�ำเป็น และเหมาะสม โดยจะแจ้งรายละเอียดล่วงหน้าอย่าง น้ อ ย 7 วั น เว้ น แต่ ใ นกรณี จ� ำ เป็ น เร่งด่วน เพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ ของบริ ษั ท โดยการประชุ ม ทุ ก ครั้ ง จะต้ อ งมี ก รรมการมาร่ ว มประชุ ม ไม่ น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมด จึงจะครบเป็นองค์ประชุม 2. มีก ารก�ำหนดวาระที่ชัดเจนก่อนการ ประชุ ม โดยประธานกรรมการจะ พิจารณาเรื่องที่จะบรรจุเข้าเป็นวาระ การประชุ ม โดยเลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ มีหน้าที่ดูแลให้กรรมการได้รับเอกสาร ประกอบการประชุมล่วงหน้าในระยะ เวลาที่เพียงพอส�ำหรับการศึกษา และ พิจารณาเรือ่ งเพือ่ การให้ความเห็น และ การออกเสียงลงคะแนน 3. จั ด สรรเวลาให้ อ ย่ า งเพี ย งพอที่ ฝ ่ า ย จั ด การจะเสนอข้ อ มู ล เพื่ อ อภิ ป ราย และเพียงพอส�ำหรับคณะกรรมการทีจ่ ะ อภิปรายในประเด็นส�ำคัญ เปิดโอกาส และสนั บ สนุ น ให้ ก รรมการแต่ ล ะคน แสดงความคิดเห็นก่อนสรุปความเห็น ที่ได้จากที่ประชุม 4. ในการพิ จ ารณาระเบี ย บวาระต่ า งๆ กรรมการซึ่ ง มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในเรื่ อ งที่ พิจารณา จะไม่มสี ทิ ธิออกเสียง และหาก เป็นการพิจารณารายการที่เกี่ยวโยง กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะต้องไม่อยูใ่ น ที่ประชุมในวาระดังกล่าว
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
5. บริษัทฯ ส่งเสริมให้กรรมการทุกคนจะ ต้องเข้าร่วมประชุมประชุมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของจ�ำนวนการประชุมคณะ กรรมการทั้งหมดที่จัดขึ้นในปีนั้นๆ 6. การประชุมทุกครั้ง ต้องมีการจดบันทึก การประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และ จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการ รับรองจากคณะกรรมการ พร้อมให้ คณะกรรมการและผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง สามารถตรวจสอบได้ รายละเอี ย ดการเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของ คณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุด ย่อย อันได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และคณะกรรมการบริ ห าร ส�ำหรับรอบปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2558) มี ดังต่อไปนี้
โครงสร้างการจัดการ
ลำ�ดับที่
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. หมายเหตุ
รายชื่อกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง นายอาริลด์ เฮาแกน นายสมพร จิตเป็นธม /1 นายซิกมันต์ สตรอม
กรรมการบริษัทฯ
กรรมการตรวจสอบ
กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน
กรรมการบริหาร
5/6 6/6 5/6 6/6 4/6 5/5 6/6
3/4 4/4 3/4 -
1/1 1/1 1/1 1/1
3/3 3/3 2/2 1/3
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และนายสมพร จิตเป็นธม ได้รับแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558
/1
การก�ำกับดูแลงานของบริษัทย่อย
คณะกรรมการบริษัทฯ พึงก�ำกับดูแลให้ บริ ษั ท ฯ มี ก ลไกในการก� ำ กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ย่อยที่ประกอบธุรกิจหลัก โดยมีการเสนอ ชื่อหรือแต่งตั้งบุคคลใดๆ ที่เห็นสมควร เข้าเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัท ย่อย อย่างน้อยตามสัดส่วนการถือหุ้นใน บริษัทย่อยนั้น และมีระเบียบปฏิบัติหรือ ข้อก�ำหนดที่ท�ำให้การส่งบุคคลดังกล่าวจะ ต้องได้รับมติเห็นชอบจากที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ กรณีที่การค�ำนวณ จ�ำนวนกรรมการหรือผู้บริหารตามสัดส่วน การถือหุ้นมีเศษทศนิยม ให้ปัดเศษทิ้ง เลขานุการบริษัท
ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ครั้ ง ที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2557 ได้มี มติแต่งตั้ง นางสาวเปมิกา ช่วงฉ�่ำ ให้เป็น เลขานุ ก ารบริ ษั ท เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ ง ที่เกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการและ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ งานที่ เกี่ ย วกั บ แนวป ฏิ บั ติ ด ้ า น กา ร ก� ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และเป็ น เลขานุ ก าร ของคณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนด ค่ า ตอบแทน ดู แ ลกิ จ กรรมของคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง ประสานงาน ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ ดังนี้
ให้ค�ำแนะน�ำแก่กรรมการเกี่ยวกับข้อ ก�ำหนด กฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริ ษั ท ฯ และติ ด ตามข้ อ ก� ำ หนด และกฎหมายใหม่ๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ และ แจ้ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ ส� ำ คั ญ ให้ คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ จั ด การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และประชุ ม กรรมการให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และข้อพึงปฏิบัติ ต่างๆ บันทึกรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ และ การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ รวม ทั้ ง ติ ด ตามให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นและมติที่ประชุมคณะ กรรมการ ดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลและรายงาน สารสนเทศ ในส่วนที่รับผิดชอบตาม ระเบี ย บและข้ อ ก� ำ หนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. ดู แ ลและประสานงานกิ จ กรรมของ คณะกรรมการ รวมถึงการปฐมนิเทศ กรรมการ ดูแลเอกสารส�ำคัญของบริษัทฯ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม คณะกรรมการ รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริษทั ฯ รายงานประจ�ำปี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น รายงาน การประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการมี ส่วนได้เสียของกรรมการหรือผู้บริหาร
รายงานประจ�ำปี 2558
123
รายละเอียดของเลขานุการบริษัท การถือครองหุ้นในบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อ
นางสาวเปมิกา ช่วงฉ�่ำ อายุ 30 ปี เลขานุการบริษัท (ตั้งแต่ 2556 – ปัจจุบัน)
-
ประสบการณ์ทำ�งาน คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม
ช่วงเวลา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 2557 – ปัจจุบนั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ หลักสูตร Company Secretary 2550 – 2556 Program (CSP) รุ่น 54/2556 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย ประกาศนียบัตรกฎหมาย ธุรกิจส�ำหรับบุคคลทั่วไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บริษัท
เลขานุการบริษทั บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) เจ้าหน้าที่ก�ำกับการ ปฏิบัติงานและหลัก ทรัพย์ บริษทั ผลิต ไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัทย่อยหลัก บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
1. 2. 3. หมายเหตุ
นายซิกมันต์ สตรอม นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วันฮัท โจเซฟ /1
ตำ�แหน่ง
การประชุมคณะกรรมการ (1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 58)
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
5/5 5/5 4/4
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และนายเชียวัน ฮัท โจเซฟ ได้รับการแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558
/1
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พี ทีอี แอลทีดี
ลำ�ดับที่
1. 2. 3.
124
รายชื่อกรรมการ
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายซิกมันต์ สตรอม นายลี เวย์ ชุง
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ตำ�แหน่ง
การประชุมคณะกรรมการ (1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 58)
กรรมการ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ กรรมการ
4/4 4/4 4/4
โครงสร้างการจัดการ
โครงสร้างการบริหารจัดการ บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
คณะกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริษัท
เลขานุการบริษัท
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการผู้จัดการ
ฝ่ายตรวจสอบภายใน
ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน
ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
ตำ�แหน่ง
1. 2.
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร
3.
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ
กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน
4.
รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน
5.
นายอาริลด์ เฮาแกน
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
6.
นายสมพร จิตเป็นธม /1
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
7.
นายซิกมันต์ สตรอม
8.
นางสาวสาวรีย์ สวัสดีจันทร์
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน / กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน
หมายเหตุ
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และนายสมพร จิตเป็นธม ได้รับแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558
/1
รายงานประจ�ำปี 2558
125
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 Board of Members
General Director
Commercial Deparment
Factory Department
Financial & Administration Department
Raw Material Procurement
Production
Accounting
Sales
TPM / ISO / HSE
Personnel
Marketing
Maintenance
IT
Hai Phong Branch
FIP
Import & Export
QC
Procurement Department
หมายเหตุ: TPM ย่อมาจาก Total Productivity Maintenance HSE ย่อมาจาก Health and Safety FIP ย่อมาจาก Finished Product ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. หมายเหตุ
126
นายซิกมันต์ สตรอม นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ /1 Mr. Pierre Siquet Mr. Didier Pinguet Mr. Ho Ngoc Chau Mr. Nguyen Dang Cat Mr. Ngo Xuan Giang
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ General Director Deputy General Director และ Commercial Director Financial and Administrative Director Plant Manager Hai Phong Office Manager
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการของบริษัทฯ และบาคองโค เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และนายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558
/1
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พี ทีอี แอลทีดี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ลำ�ดับที่
1. 2. 3. 4. 5.
รายชื่อกรรมการ
ตำ�แหน่ง
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายซิกมันต์ สตรอม นายลี เวย์ ชุง Mr. Pierre Siquet Mr. Didier Pinguet
กรรมการ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ กรรมการ Commercial Director Commercial Director
ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2/2558 เมือ่ วันที่ 13 มีนาคม 2558 ได้มมี ติกำ� หนดค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดต่างๆ ไว้ ดังนี้ 1) ต�ำแหน่งประธานกรรมการ
ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม
ประธานกรรมการสรรหาและ ประธานกรรมการบริหาร กำ�หนดค่าตอบแทน
ประธานกรรมการบริษัท
ประธานกรรมการตรวจสอบ
55,000 บาท 23,000 บาท ต่อการประชุม
30,000 บาท ต่อการประชุม
30,000 บาท ต่อการประชุม
18,000 บาท ต่อการประชุม
กรรมการบริษัท
กรรมการตรวจสอบ
กรรมการบริหาร
กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน
24,000 บาท 20,000 บาท ต่อการประชุม
25,000 บาท ต่อการประชุม
25,000 บาท ต่อการประชุม
15,000 บาท ต่อการประชุม
2) ต�ำแหน่งกรรมการ
ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม
3) เบี้ยเดินทางกรรมการชาวต่างชาติ - ส�ำหรับการเดินทางจากเอเชียมายังประเทศไทย 500 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน - ส�ำหรับการเดินทางจากยุโรป/สหรัฐอเมริกาและทวีปอื่นๆ มายังประเทศไทย 1,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน
รายงานประจ�ำปี 2558
127
ค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นตัวเงินในรูปของค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุม ลำ�ดับที่
รายชื่อกรรมการ
1. 2.
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ นายเชีย วัน ฮัท โจเซฟ
3.
นายสมบูรณ์เกียรติ เกษมสุวรรณ
4
รศ. ดร. สาธิต พะเนียงทอง
5. 6.
นายอาริลด์ เฮาแกน นายสมพร จิตเป็นธม /1
7.
นายซิกมันต์ สตรอม
8.
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ /2
หมายเหตุ
ตำ�แหน่ง
ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
795,000 476,000 476,000 504,000 426,000 416,000 51,429
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์ ลาออกจากเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 และนายสมพร จิตเป็นธม ได้รับแต่งตั้งให้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทนเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558
/1 /2
ค่าตอบแทนผู้บริหาร 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 58
1. เงินเดือนและโบนัส 2.ค่าตอบแทนอื่นๆ (กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ) รวม
128
ค่าตอบแทน (บาท) (1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 58)
จำ�นวนคน
ค่าตอบแทน (บาท)
2 2
1,396,680 55,768 1,452,448
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ
ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อยหลัก บริษัท บาคองโค จ�ำกัด ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ก) ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท บาคองโค จ�ำกัด ข) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารในรอบปีบัญชี 31 ธันวาคม 2558 (1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558) ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือน และโบนัส คิดเป็นเงินรวม 11.90 ล้านบาท บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ก) ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการของบริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี ข) ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหารในรอบปีบัญชี 31 ธันวาคม 2558 (1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558) ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือน และโบนัส คิดเป็นเงินรวม 34.99 ล้านบาท ค่าตอบแทนของพนักงานของบริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
นอกเหนือจากผู้บริหาร 2 คน คือ นายซิกมันต์ สตรอม กรรมการผู้จัดการ และ นางสาวสาวรีย์ สวัสดีจันทร์ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและ การเงิน บริษัทฯ ยังมีพนักงานอีก 3 คน ค่าตอบแทนพนักงาน (ไม่รวมกรรมการและผู้บริหาร) เป็นดังนี้ 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 58
1. เงินเดือนและโบนัส 2. ค่าตอบแทนอืน่ ๆ (กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ) รวม
จำ�นวนคน
ค่าตอบแทน (บาท)
3 3
2,299,400 147,224 2,446,624
รายงานประจ�ำปี 2558
129
21.
โครงสร้าง การถือหุน ้
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 20 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 5 กุมภาพั นธ์ 2559 ลำ�ดับที่
ผู้ถือหุ้น
1.
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จ�ำกัด (มหาชน)
2.
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
68,121,698
67.31
นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ
7,961,505
7.87
3.
นางสาวอุษณา มหากิจศิริ
1,532,231
1.51
4.
นายณัฐพงษ์ พันธ์รัตนมงคล
1,000,000
0.99
5.
นายวสรรณ์ อนุรักษ์วงศ์ศรี
886,700
0.88
6.
นายพิษณุรัตน์ ปิยะบุญสิทธิ
778,900
0.77
7.
นายธนน รุ่งธนเกียรติ
650,000
0.64
8.
นายธราธร วงศ์ประศาสตร์
650,000
0.64
9.
นางสาวขัณชรส งามศัพพศิลป์
650,000
0.64
10.
นายวุฒิพงษ์ วงศ์ภัทรกุล
650,000
0.64
11.
นางสาวอนงค์พร จิตรส�ำเริง
650,000
0.64
12.
นายชัยยศ เขมัษเฐียร
650,000
0.64
13
นางวรรณศิริ แดงประเสริฐ
650,000
0.64
14.
นายธีรเมศร์ พัชระสุรสิทธิ์
650,000
0.64
15.
นายสมชัย วสุพงศ์โสธร
650,000
0.64
16.
นายชาญชัย กฤษณีไพบูลย์
650,000
0.64
17.
นายชาตรี บุนนาค
650,000
0.64
18.
นายภัทร์กร วงศ์สวรรค์
650,000
0.64
19.
นางสุวิมล มหากิจศิริ
563,321
0.56
20.
นายส�ำเริง มนูญผล
460,000
0.45
รวมจ�ำนวนหุ้นของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 20 รายแรก
89,104,355
88.05
ผู้ถือหุ้นอื่นๆ
12,095,645
11.95
101,200,000
100.00
รวมจ�ำนวนหุ้นที่ออกและช�ำระแล้วทั้งหมด ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559
130 บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
โครงสร้างการถือหุ้น
การกระจายการถือหุ้น การกระจายการถือหุ้น ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 5 กุมภาพั นธ์ 2559
ผู้ถือหุ้นแบ่งตามสัญชาติ
ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว รวม
จำ�นวนผู้ถือหุ้น
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
3,372
101,168,427
99.97
12
31,573
0.03
3,384
101,200,000
100.00
รายงานประจ�ำปี 2558
131
การลงทุนในบริษัทต่างๆ
22.
การลงทุน ในบริษัทต่างๆ
การลงทุนของบริษัทฯ ในบริษัทอื่น ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังต่อไปนี้
ลำ�ดับที่
132
ชื่อบริษัท
1
บริษัท บาคองโค จ�ำกัด Petroland Tower (17th Floor) 12 Tan Trao Street, Tan Phu Ward District 7, Ho Chi Minh City
2
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทีอี แอลทีดี 3 ChurchStreet #22-06 Samsung Hub Singapore (049483)
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ชนิดของหุ้น
จำ�นวนหุ้น ที่ชำ�ระแล้ว
จำ�นวนหุ้นที่ถือ
ทุนช�ำระแล้ว 377,072,638,790 เวียดนามดอง หุ้นสามัญ
40,000
40,000
สัดส่วน การถือหุ้น
มูลค่าหุ้น ที่ตราไว้
ร้อยละ 100
-
ร้อยละ 100
1 ดอลลาร์ สิงคโปร์
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
23.
ข้อมูล ่ วกับบริษัท เกีย
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ชื่อบริษัท
:
บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
เลขทะเบียน
:
0107557000021
วันก่อตั้งบริษัท
:
7 มิถุนายน 2556
วันจดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด
:
4 กุมภาพันธ์ 2557
ประเภทของธุรกิจ
:
ประกอบธุรกิจการลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่นและไม่มีการ ประกอบธุรกิจอย่างมีนยั ส�ำคัญเป็นของตนเอง (Holding Company) ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ถือหุน้ ใน บริษทั บาคองโค จ�ำกัด (“Baconco”) ในสัดส่วน ร้อยละ 100 ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตรและ ธุรกิจให้เช่าพื้นที่โรงงานเพื่อเก็บสินค้าในประเทศเวียดนามและถือ หุน้ ร้อยละ 100 ในบริษทั พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย (สิงคโปร์) พีทอี ี แอลทีดี (“PMTS”) โดย PMTS ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อด�ำเนินการสนับสนุนธุรกรรม การซื้อวัตถุดิบที่ใช้ส�ำหรับธุรกิจในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อการเกษตร ของ Baconco เป็นหลัก
ที่ตั้งส�ำนักงาน
:
26/26-27 อาคารอรกานต์ ชั้น 8 ซอยชิดลม ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์ + 66 (0) 2250-0569 โทรสาร + 66 (0) 2657-1040 เว็บไซต์ : http://www.pmthoresenasia.com
ทุนจดทะเบียน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)
:
1,012,000,000 บาท
ทุนช�ำระแล้ว (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)
:
1,012,000,000 บาท
จ�ำนวนหุ้นที่ออกจ�ำหน่าย
:
101,200,000 หุ้น
มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ
:
10 บาท
รายงานประจ�ำปี 2558
133
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
บุคคลอ้างอิงอื่น
หน่วยงานก�ำกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์
:
หน่วยงานก�ำกับบริษัทจดทะเบียน
:
นายทะเบียนหุ้นสามัญ
:
ผู้สอบบัญชี
:
134
บริษัท พี เอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 333/3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66 (0) 2695-9999 โทรสาร : +66 (0) 2695-9660 อีเมล : info@sec.or.th เว็บไซต์ : http://www.sec.or.th ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : +66 (0) 2009-9000 โทรสาร : +66 (0) 2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : +66 (0) 2009-9999 อีเมล : SETContactCenter@set.or.th เว็บไซต์ : http://www.set.or.th บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : +66 (0) 2009-9000 โทรสาร : +66 (0) 2009-9991 ศูนย์บริการข้อมูล : +66 (0) 2009-9999 อีเมล : SETContactCenter@set.or.th เว็บไซต์ : http://www.set.or.th/tsd นายบัณฑิต ตั้งภากรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 8509 ส�ำนักงานบัญชี เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด 195 ถนนสาธรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาธร กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์ : +66 (0) 2677-2000 โทรสาร : +66 (0) 2677-2222
26/26-27 อาคารอรกานต ชั�นที่ 8 ซอยช�ดลม ถนนเพลินจ�ต แขวงลุมพ�นี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
www.pmthoresenasia.com