ส า ร บั ญ
สาส์นจากคณะกรรมการบริษัท รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ข้อมูลสรุป ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ การวิจัยและพัฒนา ทรัพย์สินที่ ใช้ ในการประกอบธุรกิจ โครงการในอนาคต ข้อพิพาททางกฎหมาย โครงสร้างเงินทุน โครงสร้างการจัดการ การควบคุมภายใน รายการระหว่างกัน ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน การรับรองความถูกต้องของข้อมูล รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน
2 4 6 9 14 20 23 42 43 49 50 59 61 82 84 97 116 123 124 132 133 140
1
สาส์นจากคณะกรรมการบริษัท เรียนท่านผู้ถือหุ้น ในช่วงปี 2555 อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์โดยรวมอยู่ในภาวะเริ่มฟื้นตัวจากผลกระทบของอุทกภัยในปี 2554 ผู้ประกอบ การมีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาโครงการเพือ่ ป้องกันผลกระทบจากน้�ำ ท่วม ภาครัฐมีมาตรการช่วยเหลือผูต้ อ้ งการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยในด้านต่างๆ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม รวมถึงการสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องการบริหารจัดการน้ำ� เป็นต้น จึงเห็นได้ว่าเป็นปัจจัยที่สร้าง ความเชื่อมั่นต่อการซื้อที่อยู่อาศัยที่จะทำ�ให้ภาคอสังหาริมทรัพย์ให้กลับมาฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ปี 2555 ที่ผ่านมา บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ได้พิสูจน์ให้เห็นได้ว่ามีผลการดำ�เนินงานฟื้นตัวในทิศทางเดียวกับ อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ โดยสามารถสร้างการเติบโตของรายได้ปี 2555 คิดเป็นร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับปี 2554 เนื่องจาก โครงการของบริษัทแทบไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย อย่างไรก็ตาม บริษัทมีการเปิดตัวโครงการใหม่เพียง 2 โครงการ มูลค่า รวมประมาณ 550 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทมีโครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนาจำ�นวนมาก ในขณะที่บริษัทมีทีมงานก่อสร้างยังไม่ เพียงพอ สำ�หรับปี 2556 บริษัทยังมีแผนงานขยายธุรกิจและพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างต่อเนื่อง ด้วยการเปิดตัวโครงการใหม่ 7 โครงการ มูลค่ารวมประมาณ 6 พันล้านบาท ประกอบด้วยแนวราบ 6 โครงการ และ คอนโดมิเนียม 1 โครงการ ร่วมกับรายได้จากโครงการปัจจุบันมูลค่ากว่า 6.8 พันล้านบาท นอกจากนี้บริษัทจะมีการเริ่มงานพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 2 ปี ควบคู่ไปกับ การสร้างทีมงานก่อสร้างและพัฒนางานก่อสร้างที่บริษัทยังคงให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่อง บริษทั มีนโยบายการจัดการทีต่ อ้ งการความต่อเนือ่ งของรายได้ในระยะยาว และคำ�นึงถึงการลดความเสีย่ งในการดำ�เนินธุรกิจ จึงมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาวะตลาดและสภาวะเศรษฐกิจ รวมถึงมีการศึกษาความเป็นไปได้ในธุรกิจใหม่ๆ ที่จะ เสริมศักยภาพในการเติบโตให้กับบริษัทในระยะยาวในอนาคตด้วย ในนามของคณะกรรมการ ขอขอบคุณ ลูกค้า ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน คู่ค้า ผู้รับเหมา สถาบันการเงิน สื่อมวลชน และ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ที่ให้การสนับสนุนกิจการของบริษัทเป็นอย่างดีตลอดมา บริษัทขอยืนยันที่จะดำ�เนินธุรกิจ ด้วยพื้นฐานที่มั่นคง และมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป
ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม ประธานกรรมการ
2
นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย ประธานกรรมการบริหาร
นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ กรรมการผู้จัดการ
3
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี เรียนท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน โดยมี นางอัญชลี พิพัฒนเสริญ เป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายวิทยา ด่านธำ�รงกูล และนางสาวมนต์ผกา วงษา เป็นกรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านไม่ได้ เป็นพนักงานของบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดให้มีการประชุมรวม 5 ครั้ง โดยรายงานผลการประชุมต่อคณะกรรมการบริษัทเป็น ประจำ� สรุปสาระสำ�คัญดังนี้ • สอบทานรายงานทางการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ โดยการประสานงานกับผูส้ อบบัญชี และผูบ้ ริหาร ที่รับผิดชอบจัดทำ�รายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและประจำ�ปี คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ผู้สอบ บัญชี สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นว่าจำ�เป็น และเป็นเรื่องสำ�คัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชีของ บริษัท • สอบทานความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) โดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน • ปรึกษาหารือ และพิจารณาถึงขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชี ให้มีความสัมพันธ์และเกื้อกูลกันในส่วนที่เกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน (Financial Auditing) • สอบทานงบการเงินระหว่างปีร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายในก่อนที่จะนำ�ส่งให้หน่วยงานที่มีหน้าที่กำ�กับ ดูแล (Regulators) • พิจารณาเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2556 โดยเสนอนางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์ และหรือ นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์ และหรือ นายวิสุทธิ์ เพชรพาณิชกุล จากบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทปี 2556 พร้อมนี้ได้พิจารณาค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีเพื่อเสนอ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป • สอบทานการปฏิบัติของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • สอบทานกฎบัตรต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ทันสมัย และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัท • ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบเห็นด้วยกับผู้สอบบัญชีว่างบการเงินประจำ�ปี 2555 ได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป บริษัทมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ระบบการควบคุมภายในโดยรวมมีประสิทธิภาพ ไม่มีข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ มีการ ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ฝ่ายบริหารมีความมุ่งมั่นในการบริหารงานในกรอบจริยธรรมที่ดี มีการรายงานผลการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายในโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ พร้อมทั้งมีการติดตามแก้ไขตามข้อเสนอแนะเป็นระยะๆ อย่าง ต่อเนื่อง
(นาง อัญชลี พิพัฒนเสริญ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 26 กุมภาพันธ์ 2556
4
5
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงิน ที่ปรากฎในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่ เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งให้มีการเปิด เผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง ให้มีการดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผลเพื่อให้ข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องอย่างมีเหตุผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบ ถ้วนและเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ทำ�หน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทาน ระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ตลอดจนระบบการบริหารความเสี่ยง โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยว กับเรื่องนี้ปรากฎในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว งบการเงินของบริษัท ได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ซึง่ ในการตรวจสอบนัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพือ่ ให้ผสู้ อบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดง ความเห็นได้อย่างถี่ถ้วนตามมาตรฐานการสอบบัญชี ทั้งนี้ผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขปรากฎในรายงานของผู้ สอบบัญชี ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถสร้างความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินของ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับสิ้นสุด ณ 31 ธันวาคม 2555 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปและปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(ศ.ดร วรภัทร โตธนะเกษม) ประธานกรรมการ
6
(นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย) ประธานกรรมการบริหาร
ส่วนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ชื่อบริษัท : บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : 123 อาคารซันทาวเวอร์ส ชั้น 12 อาคารเอ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ทะเบียนเลขที่ : 0107574700320 โฮมเพจบริษัท : www.prinsiri.com โทรศัพท์ : 0-2617-6900-9 โทรสาร : 0-2617-6910-11
7
8
ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) สรุปภาพรวมของบริษัทและบริษัทย่อย บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543 ณ สิ้นปี 2555 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 1,276.04 ล้านบาท และมีทุนชำ�ระแล้ว 1,219.30 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,219.30 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท บริษัทประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร และประเภทอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งบริษัทจะเป็นผู้พัฒนา โครงการและเป็นเจ้าของโครงการ บริษัทได้รับรางวัลการออกแบบบ้านดีเด่น “Awards of Merit” ในปี 2544 และปี 2547 จากงาน PCBC (Pacific Coast Builders Conference) ประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังได้รับรางวัลชมเชย และรางวัลระดับดี “โครงการบ้าน จัดสรรอนุรักษ์พลังงาน ปี 2550 และปี 2551” ตามลำ�ดับ จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เน้นการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ภายใต้แนวความคิด “The Art of Family Living” ในปี 2555 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมูบ่ า้ นจัดสรร จำ�นวน 2,770.73 ล้านบาท ปัจจุบนั ถือได้วา่ บริษทั เป็นผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รบั การยอมรับ และความ ไว้วางใจจากผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ภายใต้แบรนด์ “ปริญสิริ” โดยบริษัทมีการถือหุ้นในบริษัทย่อย 3 แห่ง ได้แก่ (1) บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อย ละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (2) บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด “บริษัทย่อย” ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง ให้กับบริษัทและ ผู้รับเหมาก่อสร้างของบริษัทเป็นส่วนใหญ่ บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว (3) บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด “บริษัทย่อย” ประกอบธุรกิจค้าและให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ โดยส่วนใหญ่เป็น อสังหาริมทรัพย์ประเภทที่ดิน และจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2550 บริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.97 ของทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว ผลิตภัณฑ์ของบริษัท แบ่งออกได้อีกดังนี้ (1) ประเภทหมู่บ้านจัดสรร ซึ่งแบ่งออกเป็นแต่ละเฉพาะตัวผลิตภัณฑ์และกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม โดยจะใช้ชื่อโครงการที่ แตกต่างกันออกไป และสามารถแบ่งออกได้อีกดังนี้ (1.1) บ้านเดี่ยว (Single Detached Home) (1.1.1) บ้านเดี่ยวตลาดบนและระดับกลาง ใช้ชื่อโครงการสิรทิ าวารา และ บ้านปริญสิริ ระดับราคาประมาณ 7.00 ล้านบาทขึ้นไป โดยเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง-สูง (1.2) ทาวน์เฮ้าส์และทาวน์โฮม (Town House & Town Home) (1.2.1) ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชั้น ใช้ชื่อโครงการ Six Nature ระดับราคาประมาณ 1.50 – 4.00 ล้านบาท โดยเป็น กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง (1.2.2) ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น ใช้ชื่อโครงการ City Sense บ้านปริญ ระดับราคาประมาณ 1.00 – 2.50 ล้านบาท โดยเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง (2) ประเภทอาคารชุดพักอาศัย (Condominium) ซึ่งแบ่งออกเป็นแต่ละเฉพาะตัวผลิตภัณฑ์และกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุม่ โดย จะใช้ชื่อโครงการที่แตกต่างกันออกไป และสามารถแบ่งออกได้อีกดังนี้ (2.1) อาคารชุดพักอาศัยประเภทระดับความสูงของอาคารไม่เกิน 23 เมตร (Low Rise) (2.1.1) ใช้ชื่อโครงการบริดจ์, เดอะไพร์ด และสมาร์ท Z (Non BOI) ระดับราคาประมาณ 1.29 - 3.60 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง ถึงรายได้ค่อนข้างสูง (2.1.2) ใช้ชื่อโครงการสมาร์ทคอนโด ระดับราคาประมาณ 0.69 - 1.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง (2.2) อาคารชุดพักอาศัยประเภทระดับความสูงของอาคารเกิน 23 เมตร (High Rise) ใช้ชื่อโครงการเดอะคอมพลีท ระดับราคาประมาณ 1.79 - 12.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง ถึงรายได้ค่อนข้างสูง
9
เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท บริษัทมุ่งเน้นความเป็นหนึ่งในผู้นำ�ด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย รวมทั้ง การได้การยอมรับและความไว้วางใจจากผู้บริโภคภายใต้ตราสินค้า “ปริญสิริ” และมีเป้าหมายในการขยายโครงการในอนาคต ที่ยังคง เน้นการพัฒนาโครงการประเภทหมู่บ้านจัดสรร และโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย บริษัทตั้งเป้าหมายการจัดซื้อที่ดินและนำ� มาพัฒนาโครงการใหม่ๆ ประมาณปีละ 6 - 12 โครงการ ในด้านการตลาดบริษัทมีเป้าหมายที่จะสร้างการรับรู้ในตราสินค้า “ปริญสิริ” ให้มากขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการเปิดขายโครงการทั้งสิ้น 24 โครงการ มูลค่ารวม ประมาณ 17,268.46 ล้านบาท โดยในปี 2555 มีมูลค่าที่ขายแล้วรวมประมาณ 3,076.32 ล้านบาท และมียอดการรับรู้รายได้จาก การขายอสังหาริมทรัพย์ประมาณ 2,770.73 ล้านบาท ในปี 2554 มีโครงการที่ได้จัดซื้อที่ดินไปแล้วอยู่ระหว่างการก่อสร้างและเปิด ขายภายในปี 2555 จำ�นวน 2 โครงการ มูลค่ารวมประมาณ 551.75 ล้านบาท โดยทางบริษัทมีนโยบายซื้อที่ดินในปี 2556 ประมาณ 1,000 ล้านบาท สรุปฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน รายละเอียด รายได้รวม ต้นทุนขาย กำ�ไรสุทธิ สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อัตราส่วนกำ�ไรขั้นต้น (%) อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิ (%) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)
2553 4,468.15 3,177.65 572.50 5,567.52 2,185.99 3,381.52 28.56 12.67 3.05 0.53
2554 2,255.97 1,402.94 203.05 7,028.47 3,576.56 3,451.89 37.74 9.07 2.84 0.17
(หน่วย : ล้านบาท) 2555 2,820.04 1,795.40 354.24 7,193.21 3,437.79 3,755.41 36.00 12.56 3.08 0.29
ปี 2555 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 354.24 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ถึงร้อยละ 74.46 เปรียบเทียบปี 2554 โดย กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น เพิ่มขึ้นเป็น 0.29 บาท จากปี 2554 ที่กำ�ไรต่อหุ้น 0.17 บาท อัตราส่วน หนี้สินต่อทุนในปี 2555 ลดลงเป็น 0.92 เท่า โดยบริษัทคาดการณ์จะรักษาระดับ อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน ให้ไม่เกิน 1.2 เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาด้านหนี้สินที่บริษัทเคยประสบปัญหานี้มาในอดีตและเป็นการป้องกันความเสี่ยงทางด้านหนี้ สินของบริษัทอีกทางหนึ่ง สินทรัพย์รวมของบริษัทและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 5,567.52 ล้านบาท 7,028.47 ล้านบาท และ 7,193.21 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สินทรัพย์รวมของบริษัทและบริษัทย่อย ประกอบด้วยสินทรัพย์หมุนเวียนและสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเท่ากับ 5,723.13 ล้านบาท และ 1,470.09 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.56 และร้อยละ 20.44 ของสินทรัพย์รวม ตามลำ�ดับ โดยสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นสินค้าคงเหลือ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีสินค้าคงเหลือเท่ากับ 5,359.70ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 74.51 ของสินทรัพย์รวม
10
ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างและการขาดแคลนแรงงาน วัสดุก่อสร้างถือเป็นวัตถุดิบที่สำ�คัญในการพัฒนาโครงการ ทั้งนี้ราคาวัสดุก่อสร้างหลักหลายส่วนในปีที่ผ่านมาได้มีการปรับ ราคาเพิม่ ขึน้ เนือ่ งมาจากผลกระทบจากสถานการณ์อทุ กภัยปลายปี 2554 โรงงานผลิตวัสดุกอ่ สร้างได้รบั ความเสียหายหรือการผลิต วัสดุก่อสร้างหยุดชะงัก การขนส่งวัสดุก่อสร้างเป็นไปด้วยความยากลำ�บาก หรือวัสดุก่อสร้างบางรายการอาจขาดแคลน หรือมีราคา แพงขึ้นมาก ทั้งอิฐบล็อก หิน ปูน ทราย ประกอบกับความผันผวนของภาวะราคาน้ำ�มันที่ปรับตัวสูงขึ้น ราคาสินค้าโภคภัณฑ์หลัก ปรับราคาขึ้น ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนราคาวัสดุในการก่อสร้าง รวมทั้งวัสดุก่อสร้างอื่นๆ ที่ปรับตัวสูงขึ้นจากต้นทุนค่าขนส่ง ทั้งนี้บริษัทไม่ สามารถปรับราคาขายได้ในทันที หรือหากบริษทั สามารถปรับราคาขายได้ ก็อาจส่งผลกระทบต่อจำ�นวนการขายทีอ่ ยูอ่ าศัยของบริษทั นอกจากนี้ปัญหาขาดแคลนแรงงานยังเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ต้องคำ�นึงถึงด้วย เพราะหากแรงงานไม่เพียงพอจะทำ�ให้แผนก่อสร้างและ ส่งมอบบ้านไม่เป็นไปตามเป้าหมายได้ นอกจากนี้ บริษทั มีนโยบายป้องกันความเสีย่ งจากการขาดแคลนแรงงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การนำ�แรงงานไทยและต่างชาติทถี่ กู กฎหมายมาพัฒนาฝีมอื แรงงานเอง และการจ้างผูร้ บั เหมาทีม่ แี รงงานเพียงพอทีจ่ ะช่วยให้บริษทั สามารถดำ�เนินการก่อสร้างได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างอาจส่งผลให้ต้นทุนในการก่อสร้างโครงการ ของบริษทั เพิม่ ขึน้ และการขาดแคลนแรงงานจะทำ�ให้โครงการอาจเกิดความล่าช้าและทำ�ให้มตี น้ ทุนดำ�เนินงานเพิม่ ซึง่ ส่งผลต่อความ สามารถในการทำ�กำ�ไรของบริษัท อย่างไรก็ตามสำ�หรับวัสดุก่อสร้างที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเป็นผู้รับผิดชอบและจัดหานั้น จะถูกกำ�หนดราคาการรับเหมาก่อสร้าง พร้อมกับราคาวัสดุก่อสร้างไว้ในสัญญาว่าจ้างของบริษัทไว้แล้ว สำ�หรับวัสดุก่อสร้างที่บริษัทเป็นผู้จัดหานั้น เนื่องจากบริษัทมีอำ�นาจ ในการต่อรองกับผู้ค้าวัสดุก่อสร้างค่อนข้างสูง ทำ�ให้บริษัทยังสามารถควบคุมต้นทุนของวัสดุก่อสร้างอยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ โดย บริษทั จะวางแผนการก่อสร้างและทำ�การประเมินปริมาณการใช้วสั ดุแต่ละประเภทรวมทัง้ โครงการก่อน และจะสัง่ ซือ้ วัสดุดงั กล่าวตาม ปริมาณที่ได้ประเมินไว้โดยผ่านบริษัทที่ประกวดราคา และยืนราคาเป็นปี หรือเป็นโครงการจากบริษัทที่เป็นพันธมิตรทางการค้า 2. ความเสี่ยงจากนโยบายการจัดซื้อที่ดินเพื่อนำ�มาพัฒนาโครงการในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการจัดซื้อที่ดิน โดยมุ่งเน้นที่ดินที่มีศักยภาพและสามารถนำ�มาพัฒนาโครงการได้ทันที ดังนั้นบริษัทจึง ไม่มีนโยบายในการซื้อที่ดินสะสม (Land Bank) ไว้เป็นจำ�นวนมากๆ สำ�หรับการก่อสร้างโครงการต่างๆ ในอนาคต เนื่องจากบริษัท ไม่ต้องการแบกภาระต้นทุนทางการเงิน ประกอบกับการแข่งขันในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่สูงขึ้น ดังจะเห็นได้จากมีการเปิดตัวโครง การใหม่ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น ทำ�ให้มีการแข่งขันการซื้อที่ดินในทำ�เลที่ดีในระหว่างผู้ประกอบการ อาจทำ�ให้ บริษัทมีความเสี่ยงจากการ ที่ราคาที่ดินที่มีการปรับตัวสูงขึ้น หรือไม่สามารถซื้อที่ดินในทำ�เลที่ต้องการได้ ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนในการพัฒนาโครงการของบริษัทสูง ขึ้น หรือไม่มีที่ดินในทำ�เลที่มีศักยภาพในการพัฒนา อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการจัดทำ�แผนการจัดหาและจัดซือ้ ทีด่ นิ ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับการนำ�ไปพัฒนาโครงการของบริษทั ในแต่ละปี ดังนัน้ บริษทั จะยังคงมีเวลาเพียงพอทีจ่ ะจัดหาทีด่ นิ ทีม่ ศี กั ยภาพเพือ่ นำ�มาพัฒนาโครงการในอนาคตของบริษทั และสามารถ ควบคุมต้นทุนราคาที่ดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ อีกทั้ง บริษัทมีนายหน้าค้าที่ดินเป็นจำ�นวนมากที่ติดต่อกับบริษัทมาอย่างต่อ เนื่องและยาวนาน ทำ�ให้มีความสัมพันธ์ที่ดีกับนายหน้าค้าที่ดินดังกล่าว ซึ่งจะคอยคัดเลือกที่ดินในทำ�เลที่ดี และราคาที่เหมาะสมมา นำ�เสนอให้กับบริษัทเพื่อพิจารณาพัฒนาโครงการมาโดยตลอด 3. ความเสี่ยงจากนโยบายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ มาตรฐานการให้สินเชื่อโดยรวมของธนาคารพาณิชย์มีความเข้มงวดเพื่อป้องกันปัญหาหนี้เสียในระบบสถาบันการเงินและ ป้องกันปัญหาการเก็งกำ�ไรในอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะมาตรการอัตราสวนการใหสนิ เชือ่ ต่อมูลคาบานหรือทีอ่ ยูอ าศัย จากธนาคาร แห่งประเทศไทย ที่กำ�หนดให้ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดต้องวางเงินในอัตราร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่จะ ซื้อ เพื่อป้องกันปัญหาการเก็งกำ�ไร ซึ่งสะท้อนถึงความระมัดระวังในการดำ�เนินธุรกิจ ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจที่ได้ รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจากปัญหาหนี้สาธารณะในยุโรป ประกอบกับมีความกังวลต่อคุณภาพสินเชื่อจากผล กระทบของสถานการณ์ อุทกภัยและแนวโน้มภาวะอัตราดอกเบี้ยที่คาดว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในอนาคต หากลูกค้าของบริษัท
11
มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่ธนาคารกำ�หนดอาจทำ�ให้ลูกค้าไม่ได้รับการอนุมัติสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยจากธนาคารพาณิชย์เพื่อ มาชำ�ระค่าบ้านทีเ่ หลือในวันโอนกรรมสิทธิก์ บั บริษทั อาจส่งผลกระทบต่อยอดการโอน และการรับรูร้ ายได้ของบริษทั ยังคงเหลือเพียง มาตรการบ้านหลังแรกของรัฐบาลกับธนาคารอาคารสงเคราะห์ทจี่ ะขยายเวลาออกไปอีกจนถึง 30 มิถนุ ายน 2556 นอกจากนีธ้ นาคาร แห่งประเทศไทยจะประกาศการใช้เกณฑ์สัดส่วนมูลค่าสินเชื่อต่อราคาบ้าน (LTV) 95% สำ�หรับอสังหาประเภทแนวราบในวันที่ 1 มกราคม 2556 นี้ อาจทำ�ให้บริษทั มีการแข่งขันด้านอสังหาริมทรัพย์สูงขึ้น โดยทีป่ จั จัยดังกล่าวเป็นปัจจัยในการตัดสินใจของผูบ้ ริโภค ที่จะตัดสินใจซื้ออสังหาริมทรัพย์ในปี 2556 อย่างไรก็ตามบริษัท มีการติดตามภาวะเศรษฐกิจและติดตามนโยบายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิขย์ต่างๆ ที่จะมีผล ต่อการดำ�เนินงานของบริษทั และมีการปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว รวมทัง้ ได้ท�ำ การตรวจสอบข้อมูลลูกค้า ก่อนยื่นขอสินเชื่อกับธนาคารพาณิชย์ รวมถึงได้มีการเจรจาร่วมกับธนาคารพาณิชย์ในการอำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้าในการ ติดต่อขอสินเชื่อกับธนาคาร เพื่อความรวดเร็วในการขอและการอนุมัติสินเชื่อให้มีความราบรื่น 4. ความเสี่ยงจากผลกระทบจากอุทกภัย สถานการณ์อทุ กภัยปลายปี 2554 ทีร่ นุ แรง ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นอย่างมาก สะท้อนจากยอดโอนกรรมสิทธิ์ ที่อยู่อาศัยในเดือนตุลาคม 2554 ลดลงร้อยละ 50-60 จากค่าเฉลี่ย 9 เดือนแรกของปี 2554 ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้อและมี ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยมากขึน้ โดยเฉพาะด้านกายภาพ ทำ�เลทีต่ งั้ โครงการ ในพืน้ ทีท่ ี่ไม่ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัย หรือได้รับผลกระทบน้อย จะได้รับความสนใจจากผู้บริโภค รวมถึงระบบป้องกันอุทกภัย ที่จะสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคมากขึ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทคาดว่าปัญหานี้เป็นเพียงผลกระทบระยะสั้น ทั้งนี้ในปี 2555 สถานการณ์ ได้กลับเช้าสู่สภาวะปกติแล้ว แม้วา่ โครงการส่วนใหญ่ของบริษทั จะไม่ได้รบั ผลกระทบจากภาวะน้�ำ ท่วม แต่บริษทั ก็ได้ด�ำ เนินการปรับปรุงการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าของ บ้าน และการเพิ่มการป้องกันอุทกภัยของโครงการมากขึ้น เพื่อทำ�ให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการเลือกซื้อโครงการของบริษัท (ผู้ลงทุนควรอ่านรายละเอียดข้อมูลในส่วนที่ 2 ก่อนตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพย์)
12
13
1. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1.1 ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่สำ�คัญ 1.1.1 ประวัติความเป็นมา บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2543 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 5 ล้าน บาท เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร และประเภทอาคารชุดพักอาศัย บริษัทได้รับรางวัลแบบบ้าน ดีเด่น “Award of Merit” ในปี 2544 และปี 2547 จากงาน PCBC (Pacific Coast Builders Conference) ประเทศสหรัฐอเมริกา อีก ทั้งยังได้รับรางวัลชมเชย และรางวัลระดับดี “โครงการบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน ปี 2550 และปี 2551” ตามลำ�ดับ จากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 1,276.04 ล้านบาท และทุนเรียกชำ�ระแล้ว 1,219.03 ล้านบาท 1.1.2 พัฒนาการที่สำ�คัญ ปี 2547 • แปรสภาพจากบริษทั จำ�กัดเป็นบริษทั มหาชนจำ�กัด เพือ่ เตรียมเสนอขายหุน้ สามัญให้แก่ประชาชน และนำ�หุน้ ของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2548 • เข้าลงทุนในบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ซึ่งประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง โดยถือ หุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99 • บริษัทร่วมลงทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เพื่อดำ�เนินธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 51.00 • เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 155 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ต่อประชาชนทั่วไป ในราคา เสนอขายหุ้นละ 2.80 บาท ทำ�ให้บริษัทมีทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้วเพิ่มเป็น 670 ล้านบาท • บริษทั เข้าเป็นบริษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยหลักทรัพย์ของบริษัทเข้าซื้อขายวัน แรกในกระดานหลัก (Main Board) เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ปี 2549 • เปิดโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยโครงการแรก ชื่อโครงการเดอะพัลซ์ คอนโดมิเนียม ซอยลาดพร้าว 44 • บริษัทและบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) เพิ่มเงินลงทุนใน บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด อีก 2 ครั้ง เพื่อ นำ�ไปใช้ในการขยายธุรกิจ ทำ�ให้ บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด มีทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้วเป็น 76.25 ล้านบาท โดยบริษัทยังคงมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 51.00 • บริษัทให้เงินกู้กับ บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ตามสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมียอดเงินให้กู้แก่ บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด รวม 248.28 ล้านบาท ปี 2550 • บริษัทเปิดโครงการ ประเภทอาคารชุดพักอาศัยโดยสร้างตราสินค้าเพิ่มภายใต้ชื่อ “เดอะคอมพลีท” และ “สมาร์ทคอนโด” • บริษัทเปิดโครงการ ประเภทบ้านแฝดและทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น โดยสร้างตราสินค้าเพิ่มภายใต้ชื่อ “ปริญญดา ไลท์” และ “ปริญลักษณ์ ไลท์” • บริษัทเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อผู้ถือหุ้นเดิมจำ�นวน 335 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ในราคา เสนอขายหุ้นละ 1.50 บาท ในอัตราส่วน 2 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ ทำ�ให้บริษัทมีทุนชำ�ระแล้วเพิ่มเป็น 1,005 ล้านบาท • จัดตั้งบริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เพื่อดำ�เนินธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์ที่รอการพัฒนา โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99
14
ปี 2551 ปี 2552
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2555
• บริษัทให้เงินกู้เพิ่มเติมกับ ปริญเวนเจอร์ ตามสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ โดย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมียอดการให้เงินกู้รวม 255.00 ล้านบาท • บริษัทให้เงินกู้กับบริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เพื่อนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมียอดการให้เงินกู้รวม 56.00 ล้านบาท • บริษัทเปิดโครงการ ประเภทบ้านเดี่ยวและทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น โดยสร้างตราสินค้าเพิ่มภายใต้ชื่อ “บ้านปริญสิริ” และ “บ้านปริญ” • บริษัทเปิดโครงการ ประเภทอาคารชุดพักอาศัยโดยสร้างตราสินค้าเพิ่มภายใต้ชื่อ “เดอะไพรด์ พัทยาสาย 2” • บริษัททำ�การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ใหม่ (Rebranding) โดยได้มีการเปลี่ยนตราบริษัทใหม่ และ จัดกิจกรรม ครบรอบ 10 ปี ปริญสิริ ความสุขยกกำ�ลังสิบ และได้มีการเปลี่ยน สโลแกน เป็น “ The Art of Family Living” • บริษัทเปิดโครงการ ประเภททาวน์โฮม 3 ชั้น โดยสร้างตราสินค้าเพิ่มภายใต้ชื่อ Six Nature และประเภท ทาวน์โฮม 2 ชั้นภายใต้ชื่อ City Sense • แต่งตัง้ ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม เป็นประธานกรรมการแทน นายมงคล เปาอินทร์ ซึง่ ได้ลาออกจากตำ�แหน่ง • บริษัทได้ทำ�การเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,005.00 ล้านบาท เป็น 1,105.5 ล้านบาท โดยวิธีการออกหุ้นปันผล ในอัตราส่วน 10 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ • เปิดโครงการรวม 5 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 2,654.74 ล้านบาทโดยเป็นโครงการแนวราบ 4 โครงการ ภายใต้ชื่อ ตราสินค้า “Six Nature” จำ�นวน 2 โครงการ ได้แก่โครงการ “วิภาวดี 60“ และ “เพชรเกษม 69” และภายใต้ชอื่ ตราสินค้า “City Sense” จำ�นวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการ ” สรงประภา” “ประชาชืน่ ” โครงการ คอนโดมิเนียม (Low-rise) ภายใต้ตราสินค้า “Smart Condo” จำ�นวน 1 โครงการได้แก่ โครงการ “วัชรพล” • บริษัทได้มีมติทำ�การซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด จำ�นวน 4.9 ล้านหุ้น ส่งผลให้บริษัทมี สัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 100 ในบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด • เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,105.50 ล้านบาท เป็น 1,216.04 ล้านบาท โดยวิธีการออกหุ้นปันผลในอัตราส่วน 10 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ • แต่งตั้ง นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แทน นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย และดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการแทน นายวีระ ศรีชนะชัยโชค • เปิดโครงการรวม 6 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 4,712.93 ล้านบาท โดยเป็นโครงการแนวราบ ภายใต้ ชือ่ ตราสินค้า “Zerene” จำ�นวน 2 โครงการ ได้แก่โครงการ “เพชรเกษม พุทธมณฑล สาย3” และ “พระราม2ท่าข้าม” ภายใต้ชื่อ ตราสินค้า “Six Nature” จำ�นวน 1 โครงการ ได้แก่โครงการ “เอกชัย-บางบอน” และภาย ใต้ชื่อตราสินค้า “ City Sense” จำ�นวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการ ”วัชรพล” ”ประชาชื่น” และ” วิภาวดี 60” • เปิดโครงการ 2 โครงการ มูลค่าโครงการรวม 551.75 ล้านบาท โดยเป็นโครงการแนวราบ ภายใต้ชื่อ ตราสินค้า “ City Sense” คือโครงการ บางนา กม.10 โครงการคอนโดมิเนียม ภายใต้ชื่อ ตราสินค้า “Smart Z” คือ โครงการ อ่อนนุช • ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1 ให้จดั สรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิแก่พนักงานและผูบ้ ริหาร จำ�นวน 60 ล้านหน่วย ในการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ในราคาหุ้นละ 1.50 บาท/หน่วยใบสำ�คัญแสดงสิทธิ อายุ 2 ปี 7 เดือน • ดำ�เนินการจัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิให้แก่พนักงานและผู้บริหาร จำ�นวน 33,370,000 หน่วย คงเหลือใบ สำ�คัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้จัดสรร 26,630,000 หน่วย
15
• พนักงานและผูบ้ ริหารใช้สทิ ธิจองซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุน จากใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนของพนักงานและผูบ้ ริหาร ในอัตราส่วน 1 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ เท่ากับ 1 หุ้นสามัญ โดยมีการจองซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 3,261,800 หุ้น และดำ�เนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,216.04 ล้านบาท เป็น 1,219.30 ล้านบาท 1.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) “บริษัท” และบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด “บริษัทย่อย” ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร และประเภทอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งบริษัทจะเป็นผู้พัฒนาโครงการและเป็นเจ้าของโครงการ โดยเน้นการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ภายใต้แนวความคิด “The Art of Family Living” ในปี 2555 บริษัทมีสัดส่วนการขายอสังหาริมทรัพย์ประเภท หมู่บ้านจัดสรรร้อยละ 98.25 ของรายได้รวม ปัจจุบันถือได้ว่าบริษัทเป็นผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับการยอมรับ และความไว้ วางใจจากผูบ้ ริโภค ภายใต้แบรนด์ “ปริญสิร”ิ ไม่วา่ จะเป็น ด้านทำ�เลทีต่ งั้ โครงการทีเ่ หมาะสม ด้านผลิตภัณฑ์ทคี่ ณ ุ ภาพ ราคาทีเ่ หมาะ สม และด้านบริการหลังการขาย บริษทั ได้มกี ารพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ของบริษทั อย่างต่อเนือ่ งมาโดยตลอด เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์ ตรงกับความต้องการของลูกค้า เช่น การออกแบบรูปแบบโครงการ ผังโครงการ รูปแบบบ้าน ประโยชน์ใช้สอย ทำ�เลที่ตั้งโครงการ การคัดสรรวัสดุก่อสร้าง และอุปกรณ์ตกแต่งที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในแต่โครงการ การนำ�เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบ ใหม่ เช่น การสร้างบ้านแบบอุโมงค์ (Tunnel formwork) การนำ�ระบบ Pre-fabrication ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพในการก่อสร้าง โดย จะลดเวลาการสร้างที่อยู่อาศัยให้สั้นลง และควบคุมคุณภาพได้ดีขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น เป็นต้น โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียน 1,276.04 ล้านบาท ชำ�ระแล้ว 1,219.30 ล้านบาท “พัฒนาอสังหาริมทรัพย์” 100.00 % บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 100.00 ล้านบาท “พัฒนาอสังหาริมทรัพย์”
99.99 % บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 32.00 ล้านบาท “รับเหมาก่อสร้างและจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง”
99.97 % บริษัท ซี เอ็น เอส พี อาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว 2.00 ล้านบาท “ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์และซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์ที่รอการพัฒนา”
บริษทั ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทบ้านจัดสรรบริษทั ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100.00 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระแล้ว บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้างประเภท ปูนซีเมนต์ สี เหล็ก และ ไม้ เป็นต้น โดยให้บริการ และจำ�หน่ายสินค้าให้กับบริษัท และผู้รับเหมาก่อสร้างของบริษัทเป็นส่วนใหญ่ บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2550 เพื่อประกอบธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ที่รอการพัฒนา เช่น การซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์เพื่อการค้าและการลงทุน เพื่อแสวงหากำ�ไรจาก การเพิ่มค่าของอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงรายได้จากการให้บริการ หรือบริหารโรงแรมสถานบริการ
16
ที่พักตากอากาศและที่พักอาศัย เป็นต้น โดยจะเป็นบริษัทที่สร้างรายได้ที่ไม่ได้มาจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย เช่น ค่า เช่า ให้กับบริษัท 1.3 โครงสร้างรายได้ของบริษัท โครงสร้างรายได้ของบริษัท และบริษัทย่อย 2553 2554 2555 รายได้ ผู้ดำ�เนินการ งบการเงินรวม งบการเงินรวม งบการเงินรวม ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ บ้านเดี่ยวตลาดบน บริษัท 134.11 3.00 0.00 0.00 68.40 2.43 บ้านเดี่ยวตลาดกลาง/บ้าน แฝด บริษัท 769.86 17.23 378.45 16.78 297.08 10.53 ทาวน์เฮ้าส์/โฮมออฟฟิศ บริษัท 1,260.64 28.21 1,063.68 47.15 1,638.83 58.11 อาคารชุดพักอาศัย บริษัท 2,133.56 47.75 760.11 33.69 766.42 27.18 ที่ดินเปล่า บริษัท 97.67 2.18 0.00 0.00 0.00 0.00 รวมรายได้จากการขาย บริษัท/ 4,395.84 98.38 2,202.24 97.62 2,770.73 98.25 อสังหาริมทรัพย์ ปริญเวนเจอร์ รายได้จากการขายสินค้า โกรโยธา 53.65 1.20 31.98 1.42 25.69 0.91 รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง 0.00 0.00 0.00 0.00 6.38 0.23 รายได้อื่น บริษัท/บริษัทย่อย 18.66 0.42 21.75 0.96 17.24 0.61 รวมรายได้ทั้งสิ้น 4,468.15 100.00 2,255.97 100.00 2,820.04 100.00
หมายเหตุ :
บ้านเดี่ยวตลาดบน ราคาขายตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป บ้านเดี่ยวตลาดกลาง ราคาขายตั้งแต่ 3 - 10 ล้านบาท
บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้ส่วนใหญ่จากการขายอสังหาริมทรัพย์ โดยในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อย มีสัดส่วนรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์คิดเป็นร้อยละ 98.38 ร้อยละ 97.62 และร้อยละ 98.25 ของรายได้รวม ตามลำ�ดับ ในปี 2553 บริษัทมีรายได้จาการขายบ้านเดี่ยวและทาวน์โฮม เป็นสัดส่วนร้อยละ 20.23 และ 28.21 ในปี 2554 บริษัทมีรายได้จาการขาย ทาวน์โฮมและอาคารชุด เป็นสัดส่วนร้อยละ 47.15 และ 33.69 ในปี 2555 บริษัทมีรายได้จากการขายทาวน์โฮมและอาคารชุด เป็น สัดส่วนร้อยละ 58.11 และ 27.18 ของรายได้รวม ในปี 2553 เป็นอีกปีที่บริษัทมียอดรายได้จากอาคารชุดพักอาศัยสูงกว่า บ้านเดี่ยว และทาวน์โฮม เนื่องจาก บริษัทได้มียอด การโอนจากโครงการ 3 โครงการ ได้แก่ เดอะคอมพลีท นราธิวาส, บริดจ์ พหลโยธิน 37, และโครงการสมาร์ทคอนโด พระราม 2 โดยทั้งสามโครงการมีมูลค่ารวมกว่า 2,100 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47.77 ของรายได้รวม แต่สำ�หรับปี 2554 บริษัทมียอดรายได้ จากอาคารชุดพักอาศัยต่ำ�กว่าทาวน์โฮม เนื่องจากบริษัทมียอดโอนส่วนใหญ่เพียง 2 โครงการ ได้แก่ สมาร์ท คอนโด วัชรพล และ สมาร์ท คอนโด พระราม 2 คิดเป็นร้อยละ 33.69 ของรายได้รวม ในปี 2555 บริษัทมียอดรายได้จากทาวน์เฮ้าส์/โฮมออฟฟิศ สูงกว่า อาคารชุดและบ้านเดี่ยว เนื่องจากมีการโอนประมาณ 10 โครงการ ซึ่งมีมูลค่า 1,638.83 ล้านบาท บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายวัสดุก่อสร้างประเภท ปูนซีเมนต์ สี เหล็ก ไม้ และการก่อสร้างเป็นต้น โดยใน ปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 มีสัดส่วนการขายสินค้าร้อยละ 1.20 ร้อยละ 1.42 และ ร้อยละ 0.91 ของรายได้รวมตามลำ�ดับ ในปี 2554 และปี 2555 บริษัทไม่มีรายได้พิเศษจากการขายที่ดินที่บริษัทยังไม่มีแผนพัฒนาในระยะเวลาอันใกล้สำ�หรับ รายได้อื่น ส่วนใหญ่มาจากเงินค่าจองบ้านที่ลูกค้าที่ไม่มาทำ�สัญญาเมื่อถึงกำ�หนดเวลา ค่างวดผ่อนชำ�ระที่ลูกค้าชำ�ระมาระยะหนึ่ง แล้วหยุดชำ�ระโดยไม่มาติดต่อบริษัท
17
1.4 เป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท จากการมุ่งเน้นความเป็นหนึ่งในผู้นำ�ด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ไทย รวมทั้งการทำ�ให้ได้การยอมรับ และความไว้วางใจจาก ผู้บริโภคภายใต้ตราสินค้า “ปริญสิริ” บริษัทจึงมุ่งเน้นการคัดเลือกที่ดินในทำ�เลที่ดีมีความโดดเด่น การพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบ โครงการ แบบบ้าน และคุณภาพของงานก่อสร้าง รวมไปถึงการคัดสรรวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในงานก่อสร้างที่มีคุณภาพดีเหมาะสมใน แต่ละโครงการ อีกทั้งยังมุ่งเน้นการบริการหลังการขายที่ดีอีกด้วย บริษัทมีเป้าหมายในการขยายโครงการในอนาคต โดยยังคงเน้น การพัฒนาโครงการประเภทหมู่บ้านจัดสรร และโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงและครอบคลุมลูกค้ากลุ่ม เป้าหมายได้อย่างทั่วถึง ในด้านการตลาดบริษัทมีเป้าหมายที่จะสร้างการรับรู้ในตราสินค้า “ปริญสิริ” (Brand Awareness) ให้มากขึ้น โดยเน้นให้ ผู้บริโภครับรู้ถึง บ้านของปริญสิริที่เป็นคำ�ว่า “บ้าน” อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นศูนย์รวมของครอบครัวและความอบอุ่น ภายใต้แนวความคิด “The Art of Family Living” โดยผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ ป้ายโฆษณา แผ่นพับ เป็นต้น เพื่อเป็นการกระตุ้นและสร้างความ ต้องการของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์ของบริษัท
18
19
2. ปัจจัยความเสี่ยง 2.1 ความเสี่ยงเกี่ยวกับบริษัทและธุรกิจของบริษัท 2.1.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างและการขาดแคลนแรงงาน วัสดุก่อสร้างถือเป็นวัตถุดิบที่สำ�คัญในการพัฒนาโครงการ ทั้งนี้ราคาวัสดุก่อสร้างหลักหลายส่วนในปีที่ผ่านมาได้มีการปรับ ราคาเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยปลายปี 2554 โรงงานผลิตวัสดุก่อสร้างได้รับความเสียหายหรือการผลิต วัสดุก่อสร้างหยุดชะงัก การขนส่งวัสดุก่อสร้างเป็นไปด้วยความยากลำ�บาก หรือวัสดุก่อสร้างบางรายการอาจขาดแคลน หรือมีราคา แพงขึ้นมาก ทั้งอิฐบล็อก หิน ปูน ทราย ประกอบกับความผันผวนของภาวะราคาน้ำ�มันที่ปรับตัวสูงขึ้น ราคาสินค้าโภคภัณฑ์หลัก ปรับราคาขึ้น ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนราคาวัสดุในการก่อสร้าง รวมทั้งวัสดุก่อสร้างอื่นๆ ที่ปรับตัวสูงขึ้นจากต้นทุนค่าขนส่ง ทั้งนี้บริษัทไม่ สามารถปรับราคาขายได้ในทันที หรือหากบริษทั สามารถปรับราคาขายได้ ก็อาจส่งผลกระทบต่อจำ�นวนการขายทีอ่ ยูอ่ าศัยของบริษทั นอกจากนี้ปัญหาขาดแคลนแรงงานยังเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ต้องคำ�นึงถึงด้วย เพราะหากแรงงานไม่เพียงพอจะทำ�ให้แผนก่อสร้างและ ส่งมอบบ้านไม่เป็นไปตามเป้าหมายได้ นอกจากนี้ บริษทั มีนโยบายป้องกันความเสีย่ งจากการขาดแคลนแรงงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การนำ�แรงงานไทยและต่างชาติทถี่ กู กฎหมายมาพัฒนาฝีมอื แรงงานเอง และการจ้างผูร้ บั เหมาทีม่ แี รงงานเพียงพอทีจ่ ะช่วยให้บริษทั สามารถดำ�เนินการก่อสร้างได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างอาจส่งผลให้ต้นทุนในการก่อสร้างโครงการ ของบริษทั เพิม่ ขึน้ และการขาดแคลนแรงงานจะทำ�ให้โครงการอาจเกิดความล่าช้าและทำ�ให้มตี น้ ทุนดำ�เนินงานเพิม่ ซึง่ ส่งผลต่อความ สามารถในการทำ�กำ�ไรของบริษัท อย่างไรก็ตามสำ�หรับวัสดุก่อสร้างที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเป็นผู้รับผิดชอบและจัดหานั้น จะถูกกำ�หนดราคาการรับเหมาก่อสร้าง พร้อมกับราคาวัสดุก่อสร้างไว้ในสัญญาว่าจ้างของบริษัทไว้แล้ว สำ�หรับวัสดุก่อสร้างที่บริษัทเป็นผู้จัดหานั้น เนื่องจากบริษัทมีอำ�นาจ ในการต่อรองกับผู้ค้าวัสดุก่อสร้างค่อนข้างสูง ทำ�ให้บริษัทยังสามารถควบคุมต้นทุนของวัสดุก่อสร้างอยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ โดย บริษทั จะวางแผนการก่อสร้างและทำ�การประเมินปริมาณการใช้วสั ดุแต่ละประเภทรวมทัง้ โครงการก่อน และจะสัง่ ซือ้ วัสดุดงั กล่าวตาม ปริมาณที่ได้ประเมินไว้โดยผ่านบริษัทที่ประกวดราคา และยืนราคาเป็นปี หรือเป็นโครงการจากบริษัทที่เป็นพันธมิตรทางการค้า 2.1.2 ความเสี่ยงจากนโยบายการจัดซื้อที่ดินเพื่อนำ�มาพัฒนาโครงการในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการจัดซื้อที่ดิน โดยมุ่งเน้นที่ดินที่มีศักยภาพและสามารถนำ�มาพัฒนาโครงการได้ทันที ดังนั้นบริษัทจึง ไม่มีนโยบายในการซื้อที่ดินสะสม (Land Bank) ไว้เป็นจำ�นวนมากๆ สำ�หรับการก่อสร้างโครงการต่างๆ ในอนาคต เนื่องจากบริษัท ไม่ต้องการแบกภาระต้นทุนทางการเงิน ประกอบกับการแข่งขันในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่สูงขึ้น ดังจะเห็นได้จากมีการเปิดตัวโครง การใหม่ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น ทำ�ให้มีการแข่งขันการซื้อที่ดินในทำ�เลที่ดีในระหว่างผู้ประกอบการ อาจทำ�ให้ บริษัทมีความเสี่ยงจากการ ที่ราคาที่ดินที่มีการปรับตัวสูงขึ้น หรือไม่สามารถซื้อที่ดินในทำ�เลที่ต้องการได้ ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนในการพัฒนาโครงการของบริษัทสูง ขึ้น หรือไม่มีที่ดินในทำ�เลที่มีศักยภาพในการพัฒนา อย่างไรก็ตาม บริษัทมีการจัดทำ�แผนการจัดหาและจัดซื้อที่ดินล่วงหน้าให้สอดคล้องกับการนำ�ไปพัฒนาโครงการของบริษัท ในแต่ละปี ดังนัน้ บริษทั จะยังคงมีเวลาเพียงพอทีจ่ ะจัดหาทีด่ นิ ทีม่ ศี กั ยภาพเพือ่ นำ�มาพัฒนาโครงการในอนาคตของบริษทั และสามารถ ควบคุมต้นทุนราคาที่ดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมได้ อีกทั้ง บริษัทมีนายหน้าค้าที่ดินเป็นจำ�นวนมากที่ติดต่อกับบริษัทมาอย่างต่อ เนื่องและยาวนาน ทำ�ให้มีความสัมพันธ์ที่ดีกับนายหน้าค้าที่ดินดังกล่าว ซึ่งจะคอยคัดเลือกที่ดินในทำ�เลที่ดี และราคาที่เหมาะสมมา นำ�เสนอให้กับบริษัทเพื่อพิจารณาพัฒนาโครงการมาโดยตลอด
20
21
2.1.3 ความเสี่ยงจากนโยบายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ มาตรฐานการให้สินเชื่อโดยรวมของธนาคารพาณิชย์มีความเข้มงวดเพื่อป้องกันปัญหาหนี้เสียในระบบสถาบันการเงินและ ป้องกันปัญหาการเก็งกำ�ไรในอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะมาตรการอัตราสวนการใหสนิ เชือ่ ต่อมูลคาบานหรือทีอ่ ยูอ าศัย จากธนาคาร แห่งประเทศไทย ที่กำ�หนดให้ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดต้องวางเงินในอัตราร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่จะ ซื้อ เพื่อป้องกันปัญหาการเก็งกำ�ไร ซึ่งสะท้อนถึงความระมัดระวังในการดำ�เนินธุรกิจ ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจที่ได้ รับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกจากปัญหาหนี้สาธารณะในยุโรป ประกอบกับมีความกังวลต่อคุณภาพสินเชื่อจากผล กระทบของสถานการณ์ อุทกภัยและแนวโน้มภาวะอัตราดอกเบี้ยที่คาดว่าจะมีการปรับตัวสูงขึ้นในปี 2555 ดังนั้นลูกค้าของบริษัทจึง มีโอกาสที่จะไม่ได้รับการอนุมัติสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยจากธนาคารพาณิชย์เพื่อมาชำ�ระค่าบ้านที่เหลือในวันโอนกรรมสิทธิ์กับบริษัท อาจส่งผลกระทบต่อยอดการโอน รวมทั้งความสามารถในการทำ�กำ�ไรของบริษัท ยังคงเหลือเพียงมาตรการบ้านหลังแรกของรัฐบาล กับธนาคารอาคารสงเคราะห์ทจี่ ะขยายเวลาออกไปอีกจนถึง 30 มิถนุ ายน 2556 เท่านัน้ นอกจากนีธ้ นาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศ การใช้เกณฑ์สัดส่วนมูลค่าสินเชื่อต่อราคาบ้าน (LTV) 95% สำ�หรับอสังหาประเภทแนวราบในวันที่ 1 มกราคม 2556 นี้ จะทำ�ให้ บริษัทจะประสบปัญหาทางด้านการแข่งขันด้านอสังหาริมทรัพย์ จากปัจจัยดังกล่าวจะยังคงเป็นปัจจัยต่อเนื่อง และส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจของประเทศและยังคงเป็นปัจจัยในการตัดสินใจของผู้บริโภคที่จะตัดสินใจซื้ออสังหาริมทรัพย์ในปี 2555 ในการนี้บริษัท มีการติดตามภาวะเศรษฐกิจและติดตามนโยบายการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิขย์ต่างๆ ที่จะมีผลต่อการ ดำ�เนินงานของบริษัท และมีการปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว รวมทั้งได้ทำ�การตรวจสอบข้อมูลลูกค้าก่อน ยื่นขอสินเชื่อกับธนาคารพาณิชย์ในเบื้องต้น รวมถึงได้มีการเจรจาร่วมกับธนาคารพาณิชย์ในการอำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้าใน การติดต่อขอสินเชื่อกับธนาคาร เพื่อความรวดเร็วในการขอสินเชื่อ 2.2 ปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ความเสี่ยงจากผลกระทบจากอุทกภัย สถานการณ์อทุ กภัยปลายปี 2554 ทีร่ นุ แรง ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นอย่างมาก สะท้อนจากยอดโอนกรรมสิทธิ์ ที่อยู่อาศัยในเดือนตุลาคม 2554 ลดลงร้อยละ 50-60 จากค่าเฉลี่ย 9 เดือนแรกของปี 2554 ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้อและมี ปัจจัยในการพิจารณาเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยมากขึน้ โดยเฉพาะด้านกายภาพ ทำ�เลทีต่ งั้ โครงการ ในพืน้ ทีท่ ี่ไม่ได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัย หรือได้รับผลกระทบน้อย จะได้รับความสนใจจากผู้บริโภค รวมถึงระบบป้องกันอุทกภัย ที่จะสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคมากขึ้น อย่างไรก็ตาม บริษัทคาดว่าปัญหานี้เป็นเพียงผลกระทบระยะสั้น ทั้งนี้ในปี 2555 สถานการณ์ ได้กลับเข้าสู่สภาวะปกติแล้ว แม้วา่ โครงการส่วนใหญ่ของบริษทั จะไม่ได้รบั ผลกระทบจากภาวะน้�ำ ท่วม แต่บริษทั ก็ได้ด�ำ เนินการปรับปรุงการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าของ บ้าน และการเพิ่มการป้องกันอุทกภัยของโครงการมากขึ้น เพื่อทำ�ให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการเลือกซื้อโครงการของบริษัท
22
3. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัท”) บริษัทประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร แบบบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย และประเภทอาคารชุดพัก อาศัย เพื่อจำ�หน่าย โดยบริษัทจะเป็นผู้พัฒนาและเป็นเจ้าของโครงการ สำ�หรับทำ�เลที่ตั้งโครงการที่เลือกนำ�มาพัฒนานั้น ส่วนใหญ่ จะเป็นบริเวณเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งอยู่ใกล้แหล่งชุมชนที่มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการต่างๆ ไว้รองรับ การพัฒนาอย่างครบครัน ทัง้ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การสือ่ สาร การคมนาคมขนส่งทีส่ ะดวก ผลิตภัณฑ์ทุกประเภททีบ่ ริษัททำ�การ พัฒนาจะใช้ตราสินค้า “ปริญสิริ” ภายใต้แนวความคิด “The Art of Family Living” รูปตราสินค้าของบริษัท
บริษัทให้ความสำ�คัญกับคุณภาพสินค้าเป็นอย่างมาก โดยผสานทุกรายละเอียด ทุกความประณีต ด้วยวัสดุคุณภาพที่คัดสรร ด้วยความตั้งใจในทุกองค์ประกอบของบ้าน อีกทั้งยังมีการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในทุกๆ ขั้นตอน รวมทั้งมีการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ตรงกับความต้องการของลูกค้า ปัจจุบันการขายผลิตภัณฑ์ของบริษัท จะให้ชำ�ระเงินจอง เงินดาวน์ และเงินทำ�สัญญา จากลูกค้ารวมทั้งสิ้นประมาณร้อยละ 10 ของราคาขาย สำ�หรับระยะเวลาการผ่อนชำ�ระเงินดาวน์ประมาณ 3 - 12 เดือน ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการก่อสร้างและการตกลงกัน ระหว่างลูกค้ากับบริษัท การส่งมอบบ้านและการโอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้าจะกำ�หนดในวันจองและจะระบุไว้ในสัญญาจะซื้อจะขาย ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับความพร้อมของลูกค้าแต่ละรายด้วย รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ในแต่ละประเภทมีดังนี้ 3.1.1 ประเภทหมู่บ้านจัดสรร การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทหมูบ่ ้านจัดสรรเพือ่ จำ�หน่ายของบริษัทนัน้ เป็นการพัฒนาโครงการในลักษณะแนวราบ ซึง่ ตัวผลิตภัณฑ์จะมีลักษณะเป็นบ้านหรืออาคารที่สูงไม่เกิน 4 ชั้น โดยรูปแบบบ้านหรืออาคาร และรูปแบบโครงการ ในแต่ละโครงการ จะแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของสถานทีต่ งั้ ของโครงการและความต้องการของลูกค้า ซึง่ ในแต่ละโครงการทีบ่ ริษทั พัฒนา นัน้ จะมีสาธารณูปโภคโครงการอย่างครบครัน โดยมีสงิ่ อำ�นวยความสะดวกและการรักษาความปลอดภัย เช่น สโมสร สระว่ายน้�ำ สวน สาธารณะ ระบบรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ทัง้ นี้โครงการประเภทหมูบ่ า้ นจัดสรรของบริษทั ยังสามารถแบ่งย่อยตามลักษณะเฉพาะ ตัวผลิตภัณฑ์และกลุ่มลูกค้าเป้าหมายแต่ละกลุ่ม โดยจะใช้ชื่อโครงการที่ต่างกันออกไป ดังนี้ (1) บ้านเดี่ยว (Single Detached House) (1.1) บ้านเดี่ยวตลาดบน ตราสัญลักษณ์โครงการ : ชื่อโครงการ : ระดับราคา : กลุ่มลูกค้า :
สิริทาวารา 15.0 ล้านบาทขึ้นไป กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้สูง
23
(1.2) บ้านเดี่ยวตลาดกลางถึงตลาดบน
ตราสัญลักษณ์โครงการ :
ชื่อโครงการ : บ้านปริญสิริ และ Zerene ระดับราคา : 5.00 - 10.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้า : กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลางถึงค่อนข้างสูง (2) ทาวน์เฮ้าส์และโฮมออฟฟิศ (Town House & Home Office) (2.1) ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชั้น
ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
(2.2)
ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
: : : :
Six Nature 2.00 - 5.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง
: : : :
City Sense 1.50 - 3.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง
3.1.2 ประเภทอาคารชุดพักอาศัย (Condominium) การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดพักอาศัยเพื่อจำ�หน่ายของบริษัทนั้น เป็นการพัฒนาโครงการในลักษณะแนวสูง ซึ่งตัวผลิตภัณฑ์จะมีลักษณะเป็นอาคารชุดพักอาศัยที่สูง 8 ชั้นขึ้นไป โดยรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย และรูปแบบโครงการ ในแต่ละ โครงการจะแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของที่ตั้งของโครงการ และความต้องการของลูกค้า ซึ่งในแต่ละโครงการที่บริษัท พัฒนานั้นจะมีสาธารณูปโภคโครงการอย่างครบครัน โดยมีสิ่งอำ�นวยความสะดวกและการรักษาความปลอดภัย เช่น สระว่ายน้ำ�ล้อม ด้วยสวน ลิฟท์ ระบบจานดาวเทียม ระบบรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทได้แบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์ออกเป็น 3 ตรา สินค้า เพื่อให้ชัดเจนในการวางตำ�แหน่งของผลิตภัณฑ์และง่ายต่อการจดจำ� โดยชื่อโครงการ Bridge สมาร์ทคอนโด และ The Pride จะเป็นโครงการอาคารชุดพักอาศัยประเภท Low Rise Condominium (ระดับความสูงของอาคารไม่เกิน 23 เมตร) และ ชื่อโครงการ เดอะคอมพลีท The COMPLETE สำ�หรับโครงการอาคารชุดพักอาศัยประเภท High Rise Condominium (ระดับความสูงของอาคาร เกิน 23 เมตร)
24
อาคารชุดพักอาศัยประเภทระดับความสูงของอาคารไม่เกิน 23 เมตร (Low Rise) ตราสัญลักษณ์โครงการ : ชื่อโครงการ : บริดจ์
( Non BOI )
ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
: : สมาร์ท Z : เริ่มที่ 1.80 ล้านบาท : กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง ถึงรายได้ค่อนข้างสูง
ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
: : สมาร์ทคอนโด : 0.69 - 1.00 ล้านบาท : กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง
ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
: : : :
( BOI )
เดอะ ไพรด์พัทยาสาย 2 2.00 - 5.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลางถึงสูง
อาคารชุดพักอาศัยประเภทระดับความสูงของอาคารเกิน 23 เมตร (High Rise)
ตราสัญลักษณ์โครงการ ชื่อโครงการ ระดับราคา กลุ่มลูกค้า
: : : :
เดอะคอมพลีท 1.79 - 12.00 ล้านบาท กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ปานกลาง ถึงรายได้ค่อนข้างสูง
25
ปริญญดา แจ่มจันทร์ (ราคา 4.30-9.90 ล้านบาท) ปริญญดา เทพารักษ์ เฟส 1 (ราคา 3.50-7.00 ล้านบาท) ซีรนี เพชรเกษม พุทธมณฑล สาย 3 (ราคา 4.79 - 8.59 ล้านบาท) ซีรีน พระราม 2 ท่าข้าม (ราคา 4.20-6.00 ล้านบาท) รวมบ้านเดี่ยว
บ้านเดี่ยว ปริญสิริ นวมินทร์ (ราคา 4.30-17.80 ล้านบาท) สิริทาวารา ออเรนทอล (ราคา 13.00-17.20 ล้านบาท)
โครงการ / ราคาขายต่อยูนิต
บ้านเดีย่ ว 413-84.10ไร่
บ้านเดี่ยว 9-1-66 ไร่ บ้านเดี่ยว 22-1-16 ไร่ บ้านเดีย่ ว 201-67.1 ไร่
บ้านเดี่ยว 35-0-88.30 ไร่ บ้านเดี่ยว 30-2-44 ไร่
ลักษณะ โครงการ/ พื้นที่ โครงการ (ไร่)
ถนนนวมินทร์ 88 722.42 87 เขตบึงกุ่ม ถนนประดิษฐ์มนูธรรม 63 1,129.68 58 (เลียบทางด่วนเอกมัยรามอินทรา) ซอยแจ่มจันทร์ 27 174.67 24 เขตบึงกุ่ม ถนนบางตำ�หรุ 82 355.27 81 บางพลี ถนนเลียบคลอง 147 901.36 58 ทวีวัฒนา (ถนน ทวีวัฒนา) ถนนท่าข้าม (ถนน 292 1,525.43 53 พุทธบูชา) 699 4,808.83 361
รวม
ขายแล้ว
โอนแล้ว
17
347.85 38.59
1
5.13
70.21 100.00 1.44 383.84 383.84 100.00
70.21
6.38 485.39 485.39 100.00
1.81 306.67 306.67 100.00
26.03 14.90
72.02
13.10
26 125.32
8.22 266 1,400.11 91.78 596.78 231.56 38.80
26
2,874.26 59.77 293 2,485.44 51.68 406 2,323.39 48.32 2,121.34 1,700.26 80.15
260.65 17.09
81 350.14 98.56
350.14 98.56
3
5
1
*มูลค่าเงิน ลงทุนใน โครงการ (ล้านบาท)
ความคืบหน้าในการ ก่อสร้าง เงินที่ ร้อยละ ลงทุน ไปแล้ว ของงาน (ล้านบาท) ที่เสร็จ
หน่วย: ล้านบาท (ยกเว้นจำ�นวนยูนิต)
94.36 10.47 130 807.00 89.53 278.45 222.59 79.94
24 148.64 85.10
58 1,057.66 93.62
1,057.66 93.62 148.64 85.10
87 709.32 98.19
709.32 98.19
ยอดสินค้ารอการขาย -รอการโอน ที่ตั้งโครงการ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มูลค่า ลค่า ของ ยูนิต มูลค่า ของ ยูนิต มูลค่า ของ ยูนิต โครงการ ยูนิต (ล้ามูนบาท) (ล้านบาท) มูลค่า (ล้านบาท) มูลค่า มูลค่า (ล้านบาท) โครงการ โครงการ โครงการ
ตารางรายละเอียดโครงการที่เปิดขายอยู่ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
ทาวน์เฮ้าส์ Six Nature กัลปพฤกษ์ (ราคา 2.89-6.29 ล้านบาท) Six Nature วัชรพล ทาวน์เฮาส์ (ราคา 2.99-3.35 ล้านบาท) City Sense สรงประภา (ราคา 2.14-3.15 ล้านบาท) Six Nature เพชรเกษม69 (ราคา 2.49-4.29 ล้านบาท) Six Nature วิภาวดี 60 (ราคา 3.39-4.09 ล้านบาท) City Sense รามอินทรา วัชรพล (ราคา 2.49-3.89 ล้านบาท) Six Nature เอกชัย บางบอน (ราคา 3.39-4.09 ล้านบาท) City Sense รัตนาธิเบศร์ (ราคา 3.39-4.09 ล้านบาท) City Sense บางนา-ตราด กม.10 รวมทาวน์เฮ้าส์
โครงการ / ราคาขายต่อยูนิต
ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ 15-1-88 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชัน้ 28-0-48.5 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชัน้
ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ 30-1-6.20 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ 6-2-27.0 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชัน้ 17-1-0 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ 15-3-5.0 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 3 ชัน้ 16-2-0 ไร่ ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชัน้ 16-1-60.3 ไร่
ลักษณะ โครงการ/ พื้นที่ โครงการ (ไร่)
74 263.86 42.51 259.28 259.28 100.00
ซอยเพชรเกษม 191 620.65 157 498.19 80.27 117 356.79 57.49 69 ซอยวิภาวดี 60 171 650.81 152 561.40 86.26 114 404.12 62.09 193 555.55 130 370.38 66.67
1.04 229.14 229.14 100.00
90 253.36 45.61 103 302.19 54.39 173.50 173.50 100.00
57 246.69 37.91 252.69 252.69 100.00
4.78
27
ซอยเอกชัย บางบอน 183 785.71 55 231.15 29.42 16 64.44 8.20 167 721.27 91.80 246.98 133.77 54.16 64/5 ถนนเลี่ยงเมืองนนท์ 278 858.49 143 439.21 51.16 45 136.22 15.87 233 722.27 84.13 311.18 165.75 53.26 (เรวดี) บางนา-ตราด กม.10 95 226.08 65 149.28 66.03 0 0.00 0.00 95 226.08 100.00 88.16 47.39 53.75 1,724 5,711.69 1,288 4,136.32 72.42 952 3,031.94 53.08 772 2,679.75 46.92 2,222.40 1,922.99 92.59
ถนนวัชรพล
2
2.49 129.60 129.60 100.00
ถนนสรงประภา 188 461.64 187 459.25 99.48 186 456.86 98.96
6.90
2
87 273.86 98.76
86 270.41 97.51
88 277.31
ถนนวัชรพล
*มูลค่าเงิน ลงทุนใน โครงการ (ล้านบาท)
ความคืบหน้าในการ ก่อสร้าง เงินที่ ร้อยละ ลงทุน ไปแล้ว ของงาน (ล้านบาท) ที่เสร็จ
39 185.71 14.56 531.87 531.87 100.00
โอนแล้ว
ถนนกัลปพฤกษ์ 337 1,275.45 312 1,153.60 90.45 298 1,089.74 85.44
ขายแล้ว
ยอดสินค้ารอการขาย -รอการโอน ที่ตั้งโครงการ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มูลค่า ลค่า ของ ยูนิต มูลค่า ของ ยูนิต มูลค่า ของ ยูนิต โครงการ ยูนิต (ล้ามูนบาท) (ล้านบาท) มูลค่า (ล้านบาท) มูลค่า มูลค่า (ล้านบาท) โครงการ โครงการ โครงการ รวม
หน่วย: ล้านบาท (ยกเว้นจำ�นวนยูนิต)
คอนโดมิเนียม เดอะพัลซ์ ลาดพร้าว 44 คอนโดมิเนียม (ราคา 1.29-3.80 ล้านบาท) 1-2-0 ไร่ เดอะคอมพลีท ราชปรารภ คอนโดมิเนียม (ราคา 1.79-12.08 ล้านบาท) 3-3-0 ไร่ เดอะคอมพลีท นราธิวาสฯ คอนโดมิเนียม (ราคา 2.38-6.97 ล้านบาท) 1-0-80 ไร่ คอนโดมิเนียม บริดจ์ พหลโยธิน 37 (ราคา 1.44-3.40 ล้านบาท) 3-3-0 ไร่ สมาร์ทคอนโด พระราม 2 คอนโดมิเนียม (ราคา 0.69- 0.99 ล้านบาท) 17-1-63.70 ไร่ คอนโดมิเนียม เดอะไพรด์ พัทยา (ราคา 1.80-5.0 ล้านบาท) 11-0-33.43 ไร่ คอนโดมิเนียม สมาร์คอนโด วัชรพล (ราคา 1.80-5.0 ล้านบาท) 7-3-10 ไร่ สมาร์ ค อนโด อ่ อ นนุ ช คอนโดมิเนียม (B,D,F,G,I,K) ปริญสิริ 5-0-18.40 ไร่ (ราคา 1.10-1.50 ล้านบาท) สมาร์ ค อนโด อ่ อ นนุ ช คอนโดมิเนียม (A,C,E,H,J) (ปริญเวนเจอร์) 5-0-18.40 ไร่ (ราคา 1.10-1.50 ล้านบาท) รวมคอนโด รวมทั้งสิ้น (ปริญสิริ+ปริญเวนเจอร์)
โครงการ / ราคาขายต่อยูนิต
ลักษณะ โครงการ/ พื้นที่ โครงการ (ไร่)
โอนแล้ว
3.79 47.31
1 4
2.84 1,099.24 1,099.24 100.00
1.17 163.74 163.74 100.00
ความคืบหน้าในการ ก่อสร้าง *มูลค่าเงิน ลงทุนใน เงินที่ โครงการ ลงทุน ร้อยละ (ล้านบาท) ไปแล้ว ของงาน (ล้านบาท) ที่เสร็จ
0
ถนนลาดกระบัง 120 145.76
0.00
0.00
33.10
0.00 120 145.76 100.00
92.51
93.00
39.69 42.90
41.71 44.85
4.45 430.41 430.41 100.00
99.62 36.01 130.41 130.41 100.00 0.00 144 179.91 100.00
25
21
28
4,335 6,747.95 3,810 5,954.81 88.25 3,600 5,689.88 84.32 735 1,058.07 15.68 3,972.22 3,868.11 97.38 6,758 17,268.47 5,459 12,965.39 75.08 4,845 11,207.26 64.90 1,913 6,061.21 35.10 8,315.96 7,491.36 91.69
87 103.78 71.20
0
ถนนลาดกระบัง 144 179.91 106 133.28 74.08
724 743.78 709 721.16 96.96 699 710.68 95.55
58 176.99 63.99
ถนนวัชรพล
58 176.99 63.99
79 276.61
ถนนพัทยาสาย 2
ถนนนราธิวาสราช 185 861.10 167 746.68 86.71 165 734.29 85.27 20 126.81 14.73 471.50 471.50 100.00 นครินทร์ ซอยพหลโยธิน 264 590.86 263 587.47 99.43 263 587.47 99.43 1 3.39 0.57 322.18 322.18 100.00 37 ถนนพหลโยธิน ถนนบางขุนเทียน 2,062 1,957.60 1,668 1,544.22 78.88 1,663 1,539.22 78.63 399 418.38 21.37 1,169.23 1,169.23 100.00
ซอยลาดพร้าว 44 202 324.64 201 320.85 98.83 201 320.85 98.83 ถนนลาดพร้าว ถนนราชปรารภ 555 1,667.69 551 1,620.38 97.16 551 1,620.38 97.16
ขายแล้ว
ยอดสินค้ารอการขาย -รอการโอน ที่ตั้งโครงการ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มูลค่า มู ล ค่ า ของ มู ล ค่ า ของ มู ล ค่ า ยูนิต โครงการ ยูนิต (ล้านบาท) มูลค่า ยูนิต (ล้านบาท) มูลค่า ยูนิต (ล้านบาท) มูของ ลค่า (ล้านบาท) โครงการ โครงการ โครงการ รวม
หน่วย: ล้านบาท (ยกเว้นจำ�นวนยูนิต)
3.2 การตลาดและภาวะการแข่งขัน 3.2.1 การตลาด กลยุทธ์การแข่งขัน จากกลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) ที่บริษัทใช้กลยุทธ์การมุ่งเน้นการสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ และบริการ (Differentiation-base Focus) ทั้งยังมุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมั่นในบริษัทและผลิตภัณฑ์กับผู้บริโภค ดังนั้น ในด้านการ ตลาดของบริษัทจึงมีกลยุทธ์การแข่งขัน โดยแบ่งออกได้ดังนี้ (1) ด้านผลิตภัณฑ์ บริษัทให้ความสำ�คัญอย่างมากในกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นการสร้างความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ ภายใต้สโลแกน “The Art of Family Living” เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่มีความต้องการที่แตกต่างกัน เช่น ทำ�เลที่ตั้งโครงการ รูปแบบโครงการ รูปแบบบ้าน ขนาดพื้นที่ใช้สอย เป็นต้น ซึ่งบริษัทได้แยกผลิตภัณฑ์ภายใต้ชื่อโครงการที่แตกต่างกัน เพื่อให้ลูกค้า สามารถเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยได้ตรงกับความต้องการ เพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจและรองรับความต้องการของลูกค้า จากการควบคุม การทำ�งานในทุกขัน้ ตอน ไม่วา่ จะเป็นการเลือกทำ�เลทีต่ งั้ ในการซือ้ ทีด่ นิ การออกแบบบ้าน การออกแบบโครงการและสภาพแวดล้อม การเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพสินค้า และการก่อสร้าง รวมไปถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทได้ รับการยอมรับและความเชื่อมั่นจากลูกค้าไม่ว่าจะเป็นแบบบ้านที่สวยงาม ความลงตัวของพื้นที่ใช้สอย รูปแบบโครงการและสภาพ แวดล้อมที่ร่มรื่น ความประณีตในการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุที่ดีได้มาตรฐาน (2) การกำ�หนดราคาผลิตภัณฑ์ บริษัทมีนโยบายในการกำ�หนดราคาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับราคาตลาด และสามารถแข่งขันได้ เปรียบเทียบ กับโครงการอื่นๆ บนทำ�เลเดียวกันหรือใกล้เคียงกันกับโครงการของบริษัท โดยคำ�นึงถึงคุณภาพสินค้า และต้นทุนโครงการ เช่น ค่าที่ดิน ค่าออกแบบ ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายทางการตลาด เป็นต้น อีกทั้งยังเน้นถึงความคุ้มค่าของผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่ให้มากกว่า เมื่อเทียบกับบริษัทอื่นๆ เช่น ซื้อบ้านพร้อมตกแต่งเข้าอยู่ได้ทันที เป็นต้น (3) การส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์ในการส่งเสริมการตลาด เป็นอีกกลยุทธ์หนึ่งที่บริษัทให้ความสำ�คัญ และนำ�มาใช้แข่งขันกับคู่แข่งขัน เพื่อสร้างการรับรู้ต่อตราสินค้าของบริษัท (Brand Awareness) โดยใช้เพื่อจูงใจให้เกิดความต้องการผลิตภัณฑ์ เพื่อเตือนการจดจำ� ในสินค้า อีกทั้งยังช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์ และภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัทอีกด้วย บริษัทได้นำ�เครื่องมือการส่งเสริม การตลาดที่สำ�คัญมาใช้ ได้แก่ การโฆษณา การขายโดยใช้พนักงานขาย การส่งเสริมการขาย การตลาดทางตรง และการตลาดทาง อ้อม บริษัททำ�การโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัท ซึ่งมีราย ละเอียด ดังนี้ กลยุทธ์ Above the line - โฆษณาผ่านนิตยสาร หนังสือพิมพ์ วิทยุ และ Direct mail - จัดส่ง SMS ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ของโครงการใหม่ รวมไปถึงรายการส่งเสริมการขายที่มีในขณะนั้น ไปยังโทรศัพท์มือถือของลูกค้า - โฆษณาผ่านสื่อเว็บไซต์ www.prinsiri.com - การโฆษณาประชาสัมสัมพันธ์ผ่านกลุ่ม Social Network เช่น Facebook, MSN, Twitter, เป็นต้น
29
กลยุทธ์ Below the line - โฆษณาผ่านสื่อป้ายโฆษณา (Cut Out) โดยเลือกขึ้นป้ายตามถนนสายสำ�คัญที่อยู่โดยรอบบริเวณโครงการ ของบริษัท เพื่อใช้ในการดึงลูกค้ากลุ่มเป้าหมายเข้าเยี่ยมชมโครงการของบริษัท - จัดกิจกรรมต่างๆ ให้กบั ลูกค้าทีอ่ ยูอ่ าศัยในโครงการของบริษทั และเชิญลูกค้าเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมด้วย เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท - จัดบู๊ธออกงาน ตามสถานที่ต่างๆ เช่น งานมหกรรมบ้านและคอนโด ห้างสรรพสินค้า และอาคารสำ�นักงาน เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ ของบริษัทให้กับลูกค้า ในปี 2552 และปี 2553 บริษัทได้สร้างตราสินค้าใหม่เพิ่มขึ้นและทำ�การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ง่าย ต่อการจดจำ�ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ภายใต้ชื่อ “Six Nature” ตราสินค้าประเภททาวน์เฮาส์ 3 ชั้น และ ภายใต้ชื่อ “City Sense” ตรา สินค้าประเภททาวน์เฮาส์ 2 ชั้น และในปี 2554 บริษัทได้สร้างตราสินค้าใหม่เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งตรา และทำ�การประชาสัมพันธ์อย่างต่อ เนื่อง เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ�ผลิตภัณฑ์ของบริษัท ภายใต้ชื่อ “Zerene” ได้แก่ตราสินค้าประเภทบ้านเดี่ยว (4) ต้นทุนผลิตภัณฑ์ บริษัทมีการบริหารต้นทุนผลิตภัณฑ์ ที่มุ่งเน้นในการควบคุมราคาต้นทุนในการพัฒนาโครงการให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม เพื่อรักษาอัตรากำ�ไรขั้นต้น และเพื่อให้ราคาผลิตภัณฑ์ของบริษัทอยู่ในระดับที่สามารถแข่งขันได้ โดยเริ่มตั้งแต่การ คัดเลือกที่ดินและจัดซื้อที่ดินให้อยู่ในระดับราคาที่เหมาะสม การวิจัยและพัฒนาในการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งที่มี คุณภาพดีและได้มาตรฐานโดยมีต้นทุนไม่เกินจากที่ได้กำ�หนดไว้ การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีในการก่อสร้างเพื่อควบคุมต้นทุน ในการก่อสร้าง ทั้งนี้ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้นอีกด้วย (5) การบริการหลังการขาย เพื่อให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์ของบริษัท และเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ บริษัทจึง มีการบริการหลังการขายสำ�หรับผู้ซื้อผลิตภัณฑ์ของบริษัทดังนี้ - รับประกันคุณภาพของบ้านเป็นระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่โอนกรรมสิทธิ์ให้กบั ลูกค้า สำ�หรับความบกพร่อง ที่เกิดจากการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่ง - ทำ�ประกันภัยสำ�หรับการโจรกรรมให้กับลูกค้าที่ซื้อบ้านของบริษัท โดยมีความคุ้มครองเป็นระยะเวลา 1 ปี นับจากวันที่โอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้า ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จากประเภทของผลิตภัณฑ์ของบริษทั ซึง่ ได้แก่ ประเภทหมูบ่ า้ นจัดสรร และประเภทอาคารชุดพักอาศัย ดังนัน้ ลักษณะ ลูกค้าของบริษัทจะเป็นลักษณะทีเ่ ป็นผูต้ ้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยแห่งใหม่ ลูกค้าในแต่ละรายจะมีความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทต่างๆ เช่น บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ โฮมออฟฟิศ และอาคารชุดพักอาศัย ที่แตกต่างกันออกไปตามเหตุผล เงื่อนไข และข้อจำ�กัด ทั้งนี้ ถือได้ว่าลูกค้าดังกล่าวนั้นเป็นผู้บริโภคขั้นสุดท้าย (End User) เพือ่ ให้ลกู ค้าสามารถเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยได้ตรงกับความต้องการ บริษทั จึงได้ผลิตทีอ่ ยูอ่ าศัยให้มคี วามหลากหลายเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจและรองรับความต้องการของลูกค้า โดยแบ่งกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทจึงสามารถแบ่งออกได้อีกตาม รายได้ของลูกค้า ดังนี้ (1) กลุ่มที่มีรายได้สูง สำ�หรับผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่มุ่งเน้นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายในกลุ่มนี้ จะเป็นผลิตภัณฑ์ ประเภทบ้านเดี่ยวตลาดบน ในชื่อโครงการ “สิริทาวารา” (2) กลุม่ ทีม่ รี ายได้คอ่ นข้างสูง สำ�หรับผลิตภัณฑ์ของบริษทั ทีม่ งุ่ เน้นกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายในกลุม่ นี้ จะเป็นผลิตภัณฑ์ ประเภทบ้านเดี่ยวตลาดกลาง ในชื่อโครงการ “บ้านปริญสิริ” และ “Zerene” ประเภทอาคารชุดพักอาศัย ใน ชื่อโครงการ “บริดจ์” “เดอะ ไพร์ด” “เดอะคอมพลีท” และ “สมาร์ท Z”
30
(3) กลุ่มที่มีรายได้ปานกลางลงไป สำ�หรับผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่มุ่งเน้นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายในกลุ่มนี้ จะเป็น ผลิตภัณฑ์ “ประเภททาวน์เฮ้าส์ ในชื่อโครงการ “Six Nature” และ “City Sense” ประเภทอาคารชุดพัก อาศัย ในชื่อโครงการ “สมาร์ท คอนโด” การจำ�หน่ายและช่องทางการจำ�หน่าย บริษัทจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์โดยผ่านช่องทางการจำ�หน่ายแบบช่องทางทางตรง และเป็นการขายโดยพนักงานขายของ บริษัทซึ่งประจำ�อยู่ที่สำ�นักงานขายตามโครงการต่างๆ นอกจากการขายที่ประจำ�อยู่ที่สำ�นักงานขายตามโครงการต่างๆ แล้ว บริษัท มีการขายผ่านพนักงานขายของบริษัทโดยการออกบู๊ธแสดงสินค้าตามสถานที่ต่างๆ ที่สำ�คัญเป็นครั้งคราวอีกด้วย 3.2.2 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 3.2.2.1 ภาวะอุตสาหกรรม ในช่วงปี 2555 ทีผ่ า่ นมา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ตอ้ งเผชิญกับปัจจัยหลากหลายทีม่ ผี ลต่อการเติบโต เช่น วิกฤตน้ำ�ท่วม ในปี 2554 ที่ผ่านมามีผลต่อเนื่องมาถึงการขายโครงการที่อยู่อาศัยในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตน้ำ�ท่วม ผู้บริโภคชะลอการ ตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัย เพื่อรอดูสถานการณ์น้ำ�ในปี 2555 ทางด้านผู้ประกอบการได้ชะลอการเปิดโครงการใหม่ในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อ น้�ำ ท่วม โดยผูป้ ระกอบการมีการปรับตัวในการพัฒนาโครงการเพือ่ ป้องกันผลกระทบจากน้�ำ ท่วม นอกจากนัน้ ยังมีปจั จัยแวดล้อมด้าน เศรษฐกิจที่ไม่เอือ้ ต่อการตัดสินในซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย แม้ภาครัฐจะมีมาตรการช่วยเหลือผูท้ ตี่ อ้ งการซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย เช่น มาตรการลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำ�หรับผู้ที่ซื้อที่อยู่อาศัยหลังแรก มาตรการสินเชื่อที่อยู่อาศัยสำ�หรับผู้มีรายได้น้อย และโครงการสินเชื่อ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม (Soft Loan) ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัย แต่เนื่องจากเศรษฐกิจเพิ่งเริ่มฟื้นตัวจากภาวะน้ำ�ท่วม และ วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อภาพรวมเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะการส่งออกที่ชะลอตัวลง ภาพรวมอสังหาริมทรัพย์ที่ ณ สิ้นปี 2555 พบว่ามีโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่เปิดใหม่ทั้งหมด 419 โครงการ ประกอบด้วย จำ�นวนหน่วยขายทั้งหมด 103,481 หน่วย แยกเป็นโครงการที่อยู่อาศัยประมาณ 99% แต่หากแยกตามมูลค่าโครงการที่อยู่อาศัย จะมีสัดส่วนประมาณ 98% ตารางที่ 1.2: โครงการอสังหาริมทรัพย์ที่เปิดตัว ม.ค.-ธ.ค. 2555 แยกตามระดับราคา Table 1.2: Real Estate Projects Launched in January - December 2012 by Prices จำ�นวนหน่วยทั้งหมด Total No. of Units ระดับราคา ( ลบ.) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ที่ดินจัดสรร RE ( อื่น ) รวม (ที่อยู่อาศัย) รวม Price Range ( mil.Baht) Detached Duplex Townhouse Shophouse Condominium Land Subdv Other R.E. Total Residential Total จำ�นวนโครงการ 98 31 129 44 158 2 11 408 419 <0.501 0.501-1.000 1,160 4,837 31 476 6,028 6,504 1.001-2.000 325 84 10,638 140 33,827 182 45,014 45,196 2.001-3.000 1,753 1,216 3,766 351 12,124 449 19,210 19,659 3.001-5.000 4,539 1,074 5,671 819 7,719 11 242 19,833 20,075 5.001-10.000 4,651 6 1,208 517 3,350 52 9,732 9,784 10.001-20.000 1,285 60 56 633 2,034 2,034 >20.000 167 4 58 229 229 Overall 12,720 2,380 22,503 1,887 62,548 42 1,401 102,080 103,481 proportion 12% 2% 22% 2% 60% 0% 1% 99% 100%
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
31
มูลค่าโครงการทั้งหมด (ล้านบาท) Development Value (mil.Baht) ระดับราคา ( ลบ.) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ที่ดินจัดสรร RE ( อื่น ) รวม (ที่อยู่อาศัย) รวม Price Range ( mil.Baht) Detached Duplex Townhouse Shophouse Condominium Land Subdv Other R.E. Total Residential Total <0.501 0.501-1.000 1,053 4,386 26 381 5,465 5,846 1.001-2.000 582 87 16,685 274 48,673 283 66,301 66,585 2.001-3.000 4,537 3,269 9,195 978 30,064 1,820 48,044 49,864 3.001-5.000 18,191 3,990 21,454 3,608 29,453 40 1,730 76,735 78,465 5.001-10.000 32,442 56 6,966 4,097 22,135 586 65,695 66,281 10.001-20.000 18,317 738 778 9,180 29,013 9,013 >20.000 6,139 105 2,330 8,574 8,574 Overall 80,208 7,402 56,092 9,840 146,221 66 4,800 299,829 304,629 Proportion 26% 2% 18% 3% 48% 0% 2% 98% 100%
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
Newly Launched Real Estate Projects (Jan-Dec 2012) แผนภูมิที่ 1.1 จำ�นวนหน่วยขายอสังหาริมทรัพย์ ที่เปิดตัวใหม่ ม.ค. - ธ.ค. 2555 รวม 103,481 หน่วย RE (อื่นๆ) 1% ที่ดินจัดสรร 0.04%
อาคารชุด 61 %
บานเดี่ยว 12 %
บานแฝด 2% ทาวนเฮาส 22 %
อาคารพาณิชย 2%
แผนภูมิที่ 1.2 จำ�นวนหน่วยขายอสังหาริมทรัพย์ทั้งหมด ที่เปิดตัวใหม่ ม.ค. - ธ.ค. 2555 รวม 304,629 หน่วย ที่ดินจัดสรร 0.02% อาคารชุด 49 %
RE (อื่นๆ) 2%
บานเดี่ยว 26 % บานแฝด 2%
อาคารพาณิชย 3%
ทาวนเฮาส 18 %
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
ในจำ�นวนหน่วยทั้งหมดที่เสนอขายนี้เป็นห้องชุด 60% หรือ 62,548 หน่วย รองลงมาคือทาวน์เฮ้าส์ 22,503 หน่วย หรือ ประมาณ 22% อันดับที่ 3 ได้แก่บ้านเดี่ยวจำ�นวน 12,720 หน่วย โดยมีสัดส่วน 12% นอกจากนั้นเป็นบ้านแฝดและอาคารพาณิชย์ เพียงประมาณอย่างละ 2% เท่านั้น
32 ที่ดินจัดสรร
ตารางที่ 2.2: โครงการที่อยู่อาศัยที่เปิดตัวตั้งแต่มกราคา-ธันวาคม 2555 แยกตามระดับราคา Table 2.2: Housing Projects Launched in January - December 2012 by Prices จำ�นวนหน่วยทั้งหมด Total No. of Units ระดับราคา ( ลบ.) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ที่ดินจัดสรร รวม (ที่อยู่อาศัย) สัดส่วน Price Range ( mil.Baht) Detached Duplex Townhouse Shophouse Condominium Land Subdv Total Residential preportion จำ�นวนโครงการ 98 31 129 44 158 2 408 <0.501 0.501-1.000 1,160 4,837 31 6,028 6% 1.001-2.000 325 84 10,638 140 33,827 45,014 44% 2.001-3.000 1,753 1,216 3,766 351 12,124 19,210 19% 3.001-5.000 4,539 1,074 5,671 819 7,719 11 19,833 19% 5.001-10.000 4,651 6 1,208 517 3,350 9,732 10% 10.001-20.000 1,285 60 56 633 2,034 2% >20.000 167 4 58 229 0% Overall 12,720 2,380 22,503 1,887 62,548 42 102,080 100% Proportion 12% 2% 22% 2% 61% 0% 100% มูลค่าโครงการทั้งหมด (ล้านบาท ) / Development Value ( mil.Baht) <0.500 0% 0.501-1.000 1,053 4,386 26 5,465 2% 1.001-2.000 582 87 16,685 274 48,673 66,301 22% 2.001-3.000 4,537 3,269 9,195 978 30,064 48,044 16% 3.001-5.000 18,191 3,990 21,454 3,608 29,453 40 76,735 26% 5.001-10.000 32,442 56 6,966 4,097 22,135 65,695 22% 10.001-20.000 18,317 738 778 9,180 29,013 10% >20.000 6,139 105 2,330 8,57 3% Overall 80,208 7,402 56,092 9,840 146,221 66 299,829 100% Proportion 27% 2% 19% 3% 49% 0% 100%
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
ในกรณีห้องชุดพบว่าระดับราคา 1-2 ล้านบาทมีมากที่สุดถึง 33,827 หน่วยหรือประมาณ 54% ของห้องชุดทั้งหมด และหาก เทียบกับที่อยู่อาศัยทั้งหมดที่เปิดตัวก็เป็นประมาณ 1ใน 3 ของที่อยู่อาศัยทั้งหมด ห้องชุดที่เปิดในอันดับรองลงมา ห้องชุดราคา 2-3 ล้านบาท ซึ่งมีประมาณ 12,124 หน่วย ถัดจากนั้นเป็นห้องชุดราคา 3-5 ล้านบาท จำ�นวน 7,719 หน่วย จะสังเกตได้ว่าห้องชุดราคา แพงระหว่าง 10-20 ล้านบาท มีเปิดตัวใหม่เพียง 633 หน่วย ห้องชุดที่มีราคาตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป มีเปิดใหม่เพียง 58 หน่วย เท่านั้น แสดงให้เห็นว่าตลาดมีความต้องการห้องชุดราคาปานกลางค่อนข้างถูกเพื่อการอยู่อาศัยและการลงทุนเก็งกำ�ไร สำ�หรับทาวน์เฮ้าส์ที่เปิดตัวในปี 2555 กลุ่มใหญ่ที่สุดเป็นระดับราคา 1-2 ล้านบาทเช่นกัน จำ�นวน 10,638 หน่วย อันดับ สองคือระดับราคา 3-5 ล้านบาท จำ�นวน 5,671 หน่วย ส่วนอันดับสาม คือทาวน์เฮ้าส์ราคา 2-3 ล้านบาท จำ�นวน 3,766 หน่วย สำ�หรับกรณีบ้านเดี่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดเปิดขายในราคา 5-10 ล้านบาท จำ�นวน 4,651 หน่วย รองลงมาคือระดับราคา 3-5 ล้านบาท จำ�นวน 4,539 หน่วย
33
มูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่เปิดใหม่ทั้งหมดปี พ.ศ.2555 มีจำ�นวน 304,629 ล้านบาท ทั้งนี้ประมาณ 48% หรือ 146,221 ล้าน บาท เป็นห้องชุด และที่เป็นบ้านเดี่ยวมี 80,208 ล้าน หรือ 26% ของทั้งหมด และอันดับสามคือทาวน์เฮ้าส์ จำ�นวน 56,092 ล้าน บาท หรือประมาณ 18% ของทั้งหมด อาจกล่าวได้ว่าการเปิดตัวโครงการในปี 2555 นี้มีเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งคงเป็นผลจากการ ฟื้นตัวหลังน้ำ�ท่วมในปลายปี พ.ศ.2554 Number of Unit for sale of Developer Plc. And Non-Plc.,Jan-Dec 2012 Actual Number Percentage Detail Overall Plc. Non-Plc. Plc. Non-Plc. Value of the development (mil.Baht) 299,829 59,951 139,878 53% 47% No. of Units 102,080 53,278 48,802 52% 48% Average value of a unit (mil.Baht) 2.937 3.002 2.866 Units still left for offered in the marke Amount of value (mil.Baht) 140,392 70,209 69,951 No. of Units 47,798 23,386 24,412 Compared to total amount of value 47% 44% 50% Average sold per month 14.87% 13.62% 18.10% Number Percentage Detail Overall Plc. Actual Sub-Plc. Non-Plc. Plc. Sub-Plc. Non-Plc. Value of the development (mil.Baht) 299,829 159,951 29,340 110,538 53% 10% 37% No. of Units 102,080 53,278 10,164 38,638 52% 10% 38% Average value of a unit (mil.Baht) 2.937 3.002 2.887 2.861 Units still left for offered in the marke Amount of value (mil.Baht) 140,392 70,209 12,531 57,420 No. of Units 47,798 23,386 4,341 20,071 Compared to total amount of value 47% 44% 43% 52% Average sold per month 14.87% 13.62% 21.30% 14.90%
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
Average Price per Unit offered of Developer By Plc. And Non-Plc.,Jan-Dec 2012 Actual Number House Type Plc. Non-Plc. Diff.of Ave.Price Detached house 6.957 4.828 44.1% Semi-detached 3.222 2.978 8.2% Townhouse 2.553 2.421 5.4% Shophouses 5.043 5.221 -3.4% Condominium 2.246 2.513 -10.6% Land subdivision 1.565 Total 2.984 2.861 4.3%
ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
สำ�หรับราคาเฉลี่ยของบ้านประเภทต่าง ๆ ในปี 2555 เฉลี่ยโดยรวมเป็นเงินหน่วยละ 2.937 ล้านบาท สำ�หรับบ้านเดี่ยวเฉลี่ย หน่วยละ 6.306 ล้านบาท บ้านแฝดหน่วยละ 3.110 ล้านบาท ทาวน์เฮ้าส์หน่วยละ 2.493 ล้านบาท อาคารพาณิชย์หน่วยละ 5.215 ล้านบาท ห้องชุดหน่วยละ 2.338 ล้านบาท
34
ตารางที่ 4.1 : จำ�นวนที่อยู่อาศัยสะสมที่ขายอยู่ทั้งหมด ณ สิ้นปี 2555 Table 4.1 Housing Projects Offered in the Market as of End 2012 ระดับราคา ( ลบ.) บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ที่ดินจัดสรร รวม สัดส่วน Price Range ( mil.Baht) Detached Duplex Townhouse Shophouse Condominium Land Subdv Total preportion จำ�นวนโครงการที่เหลือขาย/Units Remain in the Market <0.500 2 6,168 13 6,183 5% 0.501-1.000 220 38 4,082 3,505 202 8,047 6% 1.001-2.000 988 1,358 20,909 319 14,646 235 38,455 30% 2.001-3.000 6,665 3,173 5,466 319 7,578 597 23,798 18% RE (อื่นๆ) ินจัดสรร ่ยว (อื่นๆ)32,364 3.001-5.000 17,123 บา12นเดี 3,238 6,875 734ที่ด0.02% 4,282 112 RE2% 25% 1% % บ า นแฝด บ า นเดี ย ่ ว 5.001-10.000 11,274 130 1,237 76 3,161 72 15,950 12% ที่ดินจัดสรร อาคารชุด 2% 26 % 0.04% 49 26 % 10.001-20.000 1,806 0 46 1,259 29 3,166 2% ทาวน0เฮาส >20.000 702 0 3 254 12 971 1% 22 % นแฝด Overall 38,778 7,937 38,617 1,477 40,853 1,272 128,934 บา100% 2% proportion 30% 6% 30% 1% 32% 1% 100% ระยะเวลาขายหมด / Time to go <0.500 13 222 43 214ทาวนเฮาส อาคารชุ ด อาคารพาณิ ช ย 0.501-1.000 76 103 10 ชย 44 14 18 % อาคารพาณิ 61 % 2 %24 3 % 1.001-2.000 54 46 22 16 6 146 9 2.001-3.000 36 30 21 10 7 288 12 3.001-5.000 34 37 20 8 7 51 15 5.001-10.000 35 30 16 5 9 135 17 10.001-20.000 34 7 3 15 34 19 >20.000 48 28 14 30 28 Overall Ave. 35 35 21 8 7 94 12 ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
สัดส่วนอุปทานคงเหลือสะสม ณ สิ้นปี 55 จำ�นวน 128,934 หน่วย แผนภูมิที่ 2.3 จำ�นวนที่อยู่อาศัยรอการขายทั้งหมด ณ สิ้นปี 2555 รวม 128,934 หน่วย ที่ดินจัดสรร 1% อาคารชุด 32 %
บานเดี่ยว 30 % บานแฝด 6%
อาคารพาณิชย 1%
ทาวนเฮาส 30 % ที่มา : บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำ�กัด (AREA)
35
ณ สิ้นปี พ.ศ.2555 ยังมีหน่วยขายเหลืออยู่ 128,934 หน่วย แยกเป็นห้องชุด 32% หรือ 40,853 หน่วย รองลงมาเป็นบ้าน เดี่ยวประมาณ 30% จำ�นวน 38,778 หน่วย และทาวน์เฮ้าส์ 38,617 หน่วย หรือ 30 % นอกจากนั้นยังมีบ้านแฝดที่ยังเหลือขาย 7,937 หน่วย ทิศทางอสังหาริมทรัพย์ปี 2556 นัน้ ยังคงจะขยายตัวตามทิศทางเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตขึน้ โดยทัง้ สินเชือ่ และโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย ใหม่ยังเติบโต โดยยังไม่พบสัญญาณความไม่สมดุลด้านราคาและปริมาณที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะคอนโดมิเนียมตามแนวรถไฟฟ้ายัง สอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริงและต้นทุนที่สูงขึ้นสะท้อนกำ�ลังซื้อที่เกิดจากความต้องการที่แท้จริงมากกว่าการเก็งกำ�ไร ขณะที่ ผู้กู้เองมีความสามารถในการชำ�ระหนี้และธนาคารพาณิชย์ยังคงให้ความสำ�คัญต่อคุณภาพสินเชื่อ นอกจากนี้ความกังวลต่อการเก็ง กำ�ไรในภาคอสังหาริมทรัพย์จากผลกระทบของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณระยะที่ 3 (QE 3) ของสหรัฐฯนั้น แม้จะเห็นผลไม่ชัด แต่ความแตกต่างจากฮ่องกงและสิงคโปร์ และการวิเคราะห์ข้อมูลในอดีตพบว่า การเคลื่อนไหวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ไม่มีความ สัมพันธ์กับการไหลเข้าออกของเงินลงทุนจากต่างประเทศมากนัก ในปี 2556 นั้นมีทั้งปัจจัยบวกและปัจจัยลบจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจโลก ส่วนของปัจจัยภายใน ได้แก่ หลักเกณฑ์การให้สนิ เชือ่ ต่อมูลค่าหลักประกัน (Loan to value Ratio : LTV) ทีจ่ ะเริม่ ใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2556 จากมาตรการดังกล่าวทำ�ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคต้องมีการปรับตัว อีกทั้งผังเมืองใหม่กรุงเทพมหานครที่จะประกาศใช้ ในเดือน พฤษภาคม 2556 จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยทั้งแนวราบและแนวสูงของกรุงเทพมหานคร อาทิ เรื่องการกำ�หนด ขนาดถนนขั้นต่ำ�ไว้ที่ 12 เมตร นั้นก็จะทำ�ให้ถนนอารีย์ สุขุมวิท ลาดพร้าว ฯลฯ จะไม่สามารถสร้างได้ทำ�ให้ที่อยู่อาศัยต้องขยายสู่ ปริมณฑลตามแนวรถไฟฟ้ามากขึ้น ปัญหาขาดแคลนแรงงานก็เป็นปัญหาหนึ่งเนื่องจากแรงงานไทยส่วนใหญ่ย้ายกลับภูมิลำ�เนา สาเหตุจากความเจริญที่ขยายสู่ภูมิภาคมากขึ้น ในขณะที่แรงงานต่างด้าวซึ่งเป็นแรงงานหลักในภาคอสังหาริมทรัพย์มีการย้ายกลับ ถิ่นฐาน รวมถึงปัญหาต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นจากหลายๆ ปัจจัย อาทิ การปรับค่าจ้างแรงงานและเงินเดือน, ราคาน้ำ�มัน และค่าขนส่ง ฯลฯ ในการขยายเส้นทางรถไฟฟ้านั้นทำ�ให้ราคาที่ดินแนวเส้นทางรถไฟฟ้าสูงขึ้น อาจทำ�ให้ราคาบ้านมีการปรับราคาตัวขึ้น ต้นทุนการดำ�เนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยงั อยู่ในช่วงขาขึน้ ซึง่ จะมีผลต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในการทีจ่ ะคงระดับราคา ขายที่อยู่อาศัย หรือให้ราคาที่อยู่อาศัยปรับขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากมีปัจจัยที่ไม่เอื้ออำ�นวยต่อการเติบโต โดยเฉพาะด้านผู้บริโภคที่จะ ต้องเผชิญกับรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัย สำ�หรับต้นทุนของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ การปรับขึ้นราคาค่า จ้างขั้นต่ำ� เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2555 ที่ผ่านมานั้น ทำ�ให้ต้นทุนแรงงานเพิ่มขึ้นและผู้ประกอบการยังต้องเผชิญกับต้นทุนอื่นที่ เพิ่มขึ้นอีก • ราคาวัสดุก่อสร้างปรับขึ้นตามความต้องการใช้ในประเทศและต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่ต้นปี 2555 ที่ผ่านมานั้น ราคาวัสดุก่อสร้างหลายประเภทปรับตัวสูงขึ้นจากรายงานของกระทรวงพาณิชย์ โดยวัสดุก่อสร้างที่ปรับขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ เช่น ผลิตภัณฑ์คอนกรีต กลุ่มวัสดุก่อสร้าง เช่น ยางมะตอย ทราย และอิฐ • ราคาที่ดินปี 2555 ยังคงปรับตัวสูงขึ้น ผลจากความต้องการและการใช้ราคาประเมินที่ดินฉบับใหม่ ปัจจุบันราคาที่ดินมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในหลายๆ พื้นที่ โดยเฉพาะย่านธุรกิจที่สำ�คัญในกรุงเทพฯ ราคาที่ดินนั้นปรับตัวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยปัจจัยที่มีผลต่อการขยับขึ้นของราคาที่ดินในปี 2555 นั้น ได้แก่ การพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ เช่น ทำ�เลตามแนวรถไฟฟ้าในกรุงเทพฯและปริมณฑล เป็นต้น ราคาที่ดินในปี 2555 นั้น ยังมีปัจจัยการใช้ราคาประเมินที่ดินฉบับใหม่ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2555 ที่ทางกรม ธนารักษ์จะใช้บัญชีราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินฉบับปี 2555 - 2558 โดยในพื้นที่ที่มีศักยภาพทางธุรกิจราคาประเมินจะปรับตัวสูงขึ้น กว่าร้อยละ 100 ของราคาประเมินเดิม การเปิดโครงการที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในโครงการแนวราบชะลอตัวลง เนื่องจากวิกฤตน้ำ�ท่วมเมื่อปี 2554 แต่การพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครชัน้ ใน ชัน้ กลางและตามแนวรถไฟฟ้ายังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เพราะ
36
ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทคอนโดมิเนียมในบางทำ�เลยังคงมีอยูส่ งู และอาจได้รบั อานิสงส์มาจากวิกฤตน้�ำ ท่วมปี 2554 ซึง่ ทำ�ให้ ผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยหันมาให้ความสนใจในการเลือกซื้อที่อยู่ประเภทคอนโดมิเนียม และยังเป็นทางเลือกในการซื้อบ้านหลังที่ 2 สำ�หรับผู้บริโภคที่มีความพร้อมทางการเงิน การพัฒนาที่อยู่อาศัยประเภทคอนโดมิเนียมมีปัจจัยเฉพาะ คือ ต้นทุนการก่อสร้าง อาทิ ราคาที่ดินที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ราคาวัสดุก่อสร้าง ซึ่งปัจจัยทางด้านต้นทุนที่เพิ่มขึ้นมีผลทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขอทำ�เล ที่ตั้งของโครงการตามชานเมืองรอบกรุงเทพฯ หรือตามแหล่งชุมชนที่มีการคมนาคมสะดวก และตั้งอยู่ในแนวรถไฟฟ้า ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวในทุกภูมิภาค ธุรกิจขนาดใหญ่ยังมีการขยายการลงทุนไปยังจังหวัดหลักๆ ในภูมิภาค จังหวัด เศรษฐกิจมากขึ้นตามแนวโน้มของตลาดที่ขยายตัว ในไตรมาส 4 /2555 นั้นมีแนวโน้มขยายตัวจากความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ดีขึ้น และ ยังมีปจั จัยบวกจากการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีช่ ว่ ยกระตุน้ ความต้องการอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะในพืน้ ทีเ่ ส้นทางเศรษฐกิจ หลัก ด้านผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์นั้นก็มีการเปิดโครงการใหม่และในบางรายก็มีการขยายการลงทุนที่หลากหลายขึ้น เช่น โครงการ Community mall เพื่อเป็นการตอบสนองการใช้ชีวิตของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป 3.2.2.3 ศักยภาพในการแข่งขัน จากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ และความชำ�นาญ ของบริษัทในอุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภท ทีอ่ ยูอ่ าศัยมาอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั ทำ�ให้บริษทั ถือได้วา่ เป็นผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ประเภททีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั ของผูบ้ ริโภค จาก การมุ่งเน้นความเป็นเลิศของผลิตภัณฑ์และบริการ ภายใต้สโลแกน “The Art of Family Living” ด้วยผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีคุณภาพ สูง มีความประณีต คัดสรรวัสดุคุณภาพด้วยความตั้งใจในทุกองค์ประกอบของบ้าน จนได้รับการยอมรับและความเชื่อมั่นจากลูกค้า ทำ�ให้บริษัทมีศักยภาพสูงในการแข่งขัน และยังมีปัจจัยที่ส่งผลให้บริษัทมีความสามารถในการแข่งขันได้ ดังนี้ (1) บริษัทมีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง โดยการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์และควบคุม คุณภาพผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพสูง เน้นรูปแบบที่ตอบสนองประโยชน์การใช้สอย ความทันสมัย ให้สามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค (2) บริษัทได้รับรางวัลการออกแบบบ้านดีเด่น “Awards of Merit” ในปี 2544 และปี 2547 จากงาน PCBC (Pacific Coast Builders Conference) ประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังได้รับรางวัลชมเชย “บ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงาน ปี 2550” จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงาน โดยบริษัทฯ เล็งเห็นความสำ�คัญด้านพลังงานและมีความมุ่ง มั่นในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยได้พัฒนาประสิทธิภาพ การดำ�เนินการด้านสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กับความพยายามที่จะลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในทุกกระบวนการทำ�งาน ครอบคลุมตั้งแต่การผลิต ไปจนกระทั่งผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ เพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีของพนักงาน ผู้รับเหมา ประชาชนในชุมชนรอบข้างโครงการ เป็นต้น (3) บริษัทมีนโยบายที่เน้นการสร้างความแตกต่าง (Differentiate) ในสินค้าและบริการ เพื่อสร้างความได้เปรียบ ด้านการแข่งขัน (4) บริษัทมีการบริหารควบคุมต้นทุนในการก่อสร้าง โดยการบริหารการจัดซื้อ จัดจ้างได้ทันต่อความต้องการ การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีการก่อสร้าง การมีบริษัทย่อย (บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด) ดำ�เนินธุรกิจจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้างเพื่อ จัดหาวัสดุก่อสร้างให้กับบริษัทและผู้รับเหมาของบริษัท เป็นต้น (5) บริษัทมีการส่งเสริมการตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างการรับรู้ต่อตราสินค้าของบริษัท (Brand Awareness) โดยใช้เพื่อจูงใจให้เกิดความต้องการผลิตภัณฑ์ เพื่อเตือนความทรงจำ�ในสินค้า อีกทั้งยังช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์ และ ภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท (6) บริษัทมีการเน้นบริการหลังการขาย เพื่อให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์ของบริษัท และถือเป็นส่วน หนึ่งในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ของลูกค้า
37
3.2.2.4 แนวโน้มอุตสาหกรรมและการแข่งขันในอนาคต จากภาวะการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการ รวมถึงการควบคุมการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดของสถาบันการเงินเพื่อ ป้องกันภาวะฟองสบู่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ทีเ่ กิดจากการให้สนิ เชือ่ ในวงเงินทีส่ งู เกินจริง และผูก้ ไู้ ม่สามารถผ่อนต่อได้ รวมถึงภาวะ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ และปัญหาน้ำ�ท่วมในปลายปี 2554 ที่อาจส่งผลต่อการชะลอการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยออกไป นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศขยายใช้เกณฑ์ LTV ร้อยละ 95 จากเดิม 1 มกราคม 2555 เป็น 1 มกราคม 2556 นั้น ทำ�ให้ บริษทั จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆทีส่ ง่ ผลประทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และปรับกลยุทธ์ในการทำ�ธุรกิจเพือ่ รองรับปัจจัยดังกล่าว ดังนี้ (1) มาตรการวางเงินมัดจำ� ร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อขาย ซึ่งเป็นการป้องกันปัญหาการเก็ง กำ�ไรในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ทางธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศใช้ โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 โดยจะเริ่มในส่วน ของอาคารชุดคอนโดมิเนียมก่อน และในปี 2556 จะประกาศในส่วนของบ้านเดี่ยวและทาวน์โฮมโดยวางเงินมัดจำ� ร้อยละ 5 ของ มูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อขาย (2) การลงทุนในโครงการเม็กกะโปรเจ็กต์ โดยเฉพาะรถไฟฟ้าสายต่างๆ เป็นปัจจัยบวกสำ�คัญในภาพรวม ซึ่ง ส่งผลต่อการขยายตัวของชุมชนเมือง และการขยายตัวของที่อยู่อาศัยต่างๆ โดยบริษัทมีนโยบายซื้อที่ดินในทำ�เลที่เหมาะสมเพื่อ พัฒนาโครงการ ทั้งแนวราบและแนวสูง รองรับการขยายตัวของสถานีรถไฟฟ้า และเพื่อตอบสนองความต้องการที่อยู่อาศัยของผู้อยู่ อาศัยในอนาคต โดยพิจารณาจากโครงการรถไฟฟ้า ดังต่อไปนี้ี ผลคืบหน้าโครงการรถไฟฟ้า 10 สายรัฐบาลเพื่อไทย ระยะทาง โครงการ ช่วง สถานะ (กม.) 1. สีแดงอ่อน บางซื่อ-ตลิ่งชัน 15 สร้างเสร็จ 100% ทดลองวิ่ง ธ.ค. '55 เต็มรูปแบบปี '58 ตลิ่งชัน-ศาลายา 14 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '55 ศิริราช-ตลิ่งชัน 6 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '55 2. สายสีม่วง บางซื่อ-บางใหญ่ 23 อยู่ระหว่างก่อสร้าง คืบหน้า 48.72% เปิดปี '58 บางซื่อ-ราษฎร์บูรณะ 19.8 ทบทวนแบบเปิดประมูลปี '57 3. สีน้ำ�เงิน บางซื่อ-ท่าพระและหัวลำ�โพง-บางแค 27 อยู่ระหว่างก่อสร้าง คืบหน้า 22.33% เปิดปี '60 4. สีแดงเข้ม บางซื่อ-รังสิต 26 อยู่ระหว่างประมูล เปิดประมูลปี '58 รังสิต-ม.ธรรมศาสตร์ 10 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '56 5. สีเขียวเข้ม แบริ่ง-สมุทรปราการ 12.8 สร้าง มี.ค.55 คืบหน้า 0.8% เปิดปี '60 สมุทรปราการ-บางปู 7 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '59 6. สีเขียวอ่อน หมอชิต-สะพานใหม่ 11.4 รอออก พ.ร.ฏ.เวนคืน ประมูล พ.ย 55 เสร็จ พ.ย. '59 สะพานใหม่-คูคต 7 เปิดประมูล พ.ย. 55 เสร็จปี '59 7. สีชมพู แคราย-ปากเกร็ด-มีนบุรี 36 ต.ค.เสนอ ครม. อนุมัติเปิดประมูลปี 56 และสร้างเสร็จปี '60 8. สีส้ม ศูนย์วัฒนธรรมฯ-บางกะปิ-มีนบุรี 20 ทบทวนแบบ เปิดประมูลปี '56 จรัญสนิทวงศ์ ศูนย์วัฒนธรรมฯ เปิดประมูลปี '56 9. ต่อขยายแอร์พอร์ตลิงก์ ดอนเมือง-บางซื่อ-พญาไท 21.8 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '56 10. สีเหลือง พัฒนาการ-สำ�โรง 17.8 รอผลอีไอเอ เปิดประมูลปี '57
ที่มา : อ้างอิงจาก ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ ( www.prachachat.net) วันที่ 1 ตุลาคม 2555
38
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น พบว่า ณ สิ้นเดือนกันยายน 2555 โครงการรถไฟฟ้า 10 สาย กำ�ลังก่อสร้าง 3 สาย พร้อมประมูลปี 2555 จำ�นวน 2 สาย รอคิวปี 2556 จำ�นวน 6 สาย และปี 2557 จำ�นวน 4 สาย ปี 2556 มี “สายสีชมพู” ช่วง แคราย-มีนบุรี 54,000 ล้านบาท “สายสีส้ม” ช่วงศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี 73,070 ล้านบาท สายอื่น เช่น ต่อขยายแอร์พอร์ตลิงก์มา ดอนเมืองจะทยอยตามมาจะเร่งเซ็นสัญญาให้เสร็จทั้ง 10 สาย ในปี 2557 มูลค่ากว่า 3 แสนล้านบาท จึงเห็นได้ว่า ทำ�เลที่ดินที่อยู่ ในแนวรถไฟฟ้าจะมีศักยภาพในการพัฒนาที่อยู่อาศัยมากขึ้นและมีอยู่หลายแห่งที่บริษัทสามารถพิจารณาทำ�เลที่เหมาะสมได้ (3) แนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ในปี 2556 คาดว่ายังอยู่ในระดับต่ำ� ขณะที่ราคาที่อยู่อาศัยมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก เป็นปัจจัยเสี่ยงสำ�หรับผู้ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัย รวมถึงต้นทุนราคาที่ดิน ต้นทุนการก่อสร้างของผู้ ประกอบการมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่ม ตามอัตราเงินเฟ้อที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาน้ำ�มัน ราคาวัสดุก่อสร้าง อัตราค่าแรงงาน และการขาดแคลนแรงงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเช่นกัน (4) ปริมาณอุปทานคงค้างของที่อยู่อาศัยมีการปรับตัวสูงขึ้นจากปลายปี 2554 สืบเนื่องจากภาวะน้ำ�ท่วม ผูบ้ ริโภคจะมีปจั จัยในการพิจารณาเลือกซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยมากขึน้ คิดนานขึน้ เนือ่ งจากกังวลกับภัยธรรมชาติทอี่ าจเกิดซ้�ำ ทำ�ให้ผปู้ ระกอบ การในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ต้องระมัดระวังมากขึ้น โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยประเภทแนวราบ ที่ผู้ประกอบการจำ�เป็นที่ต้อง พิจารณาในเรื่องทำ�เลที่ตั้งโครงการรวมถึงระบบป้องกันน้ำ�ท่วม ที่จะสร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค (5) ที่อยู่อาศัยประเภทคอนโดมีเนียม ทาวน์เฮาส์กลางเมือง และบ้านเดี่ยวราคาปานกลางถึงค่อนข้างสูง ทำ�เล ยังเป็นในเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร และตามแนวรถไฟฟ้าสายต่างๆ และ คอนโดมิเนียมที่ได้รับมาตรการ ทางภาษีจากบีโอไอ จะมีการแข่งขันที่สูงขึ้น 3.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ การก่อสร้างโครงการของบริษทั ในทุกๆ โครงการ บริษทั จะเป็นผูพ้ ฒ ั นาและเป็นเจ้าของโครงการ โดยเริม่ ตัง้ แต่การจัดซือ้ ทีด่ นิ การออกแบบบ้านและโครงการ การยื่นขออนุญาตจัดสรร การยื่นขออนุญาตก่อสร้าง การดำ�เนินการก่อสร้าง การควบคุมคุณภาพ และการตรวจสอบคุณภาพ การขาย ตลอดจนการให้บริการหลังการขาย การดำ�เนินการก่อสร้างในแต่ละโครงการจะใช้ระยะเวลาทีแ่ ตกต่างกันออกไป ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ประเภท ขนาด รูปแบบของโครงการ ระยะเวลาในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยประเภทต่างๆ มีระยะเวลาในการก่อสร้างดังนี้ การก่อสร้างบ้านแต่ละหลังจะใช้เวลาประมาณ 4 - 6 เดือน การก่อสร้างทาวน์เฮ้าส์แต่ละแถวจะใช้เวลาประมาณ 4 - 8 เดือน การก่อสร้างอาคารชุดพักอาศัยจะใช้เวลาประมาณ 8 - 18 เดือน นโยบายการผลิต บริษัทมีนโยบายการผลิตในการเพิ่มหรือลดกำ�ลังการผลิตตามความสอดคล้องกับความต้องการที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคใน แต่ละโครงการ ทั้งนี้ในการดำ�เนินการก่อสร้างบริษัทจะว่าจ้างผู้รับเหมาเป็นผู้ดำ�เนินการ ดังนั้นหากในขณะที่มีความต้องการที่อยู่ อาศัยในแต่ละโครงการเพิ่มขึ้น บริษัทสามารถเพิ่มกำ�ลังการผลิตโดยการจ้างผู้รับเหมาเพิ่มขึ้นเพื่อให้สัมพันธ์กับความต้องการของ ลูกค้าได้ และเพือ่ เป็นการควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างให้มคี ณ ุ ภาพทีด่ ีในระดับมาตรฐานเดียวกัน บริษทั จึงมีนโยบายในการควบคุม คุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้ (1) กำ�หนดมาตรฐานการก่อสร้างและวัสดุก่อสร้าง ให้กับผู้รับเหมา (2) จัดการประชุมแผนการก่อสร้างกับผู้รับเหมาก่อนเริ่มงาน (3) จัดให้มีวิศวกรโครงการ และหัวหน้าผู้ควบคุมงานประจำ�แต่ละโครงการ เพื่อควบคุมแผนการก่อสร้างและ ตรวจรับงานของผู้รับเหมา (4) จัดให้มีฝ่ายควบคุณภาพ โดยจะเข้าทำ�การตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร้างทั้งหมด ให้ตรงตามมาตรฐานที่ ได้กำ�หนดไว้
39
การจัดซื้อที่ดิน ที่ดินนับเป็นปัจจัยสำ�คัญอย่างยิ่งในการนำ�มาพัฒนาและก่อสร้างโครงการ โดยต้นทุนที่ดินคิดเป็นประมาณร้อยละ 20 - 30 ของต้นทุนรวมผลิตภัณฑ์ บริษทั จึงมีนโยบายในการจัดซือ้ ทีด่ นิ โดยมุง่ เน้นทีด่ นิ ทีม่ ศี กั ยภาพและสามารถนำ�มาพัฒนาได้ทนั ที โดยมีปจั จัยในการพิจารณา เลือกซื้อที่ดิน เช่น ศักยภาพในทำ�เลที่ตั้งของที่ดิน ราคาที่ดิน ผังเมือง ข้อจำ�กัดทางกฎหมาย ทิศทางการเติบโตของแหล่งที่อยู่อาศัย เส้นทางการพัฒนาและการขยายตัวของเขตเมือง คู่แข่ง เป็นต้น สำ�หรับที่ดินที่บริษัทจัดซื้อนั้นมาจากช่องทางต่างๆ คือ นายหน้า ค้าที่ดิน เจ้าของที่ดิน และพนักงานของบริษัท เพือ่ ให้การจัดซือ้ ทีด่ นิ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนการซือ้ ทีด่ นิ ทุกครัง้ บริษทั จะทำ�การศึกษาถึงความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) โดยจัดทำ�เป็นรายงานเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาของคณะกรรมการบริหาร ในการอนุมัติจัดซื้อที่ดิน ดังกล่าว การคัดเลือกและว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้าง การดำ�เนินการงานก่อสร้าง บริษัทจะว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างเป็นผู้ดำ�เนินการ โดยบริษัทจะจัดผู้จัดการโครงการ วิศวกร โครงการและหัวหน้าผู้ควบคุมงานซึ่งเป็นพนักงานของบริษัทเข้าประจำ�ตามโครงการต่างๆ เพื่อคอยดูแลและควบคุมงานของผู้รับ เหมาก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนและมาตรฐานที่บริษัทกำ�หนดไว้ การคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหม่ บริษัทจะพิจารณาจากประสบการณ์ ผลงานและคุณภาพงานที่ผ่านมา ฐานะทางการ เงิน เป็นต้น สำ�หรับผู้รับเหมาก่อสร้างที่เคยรับเหมาก่อสร้างกับบริษัทแล้ว บริษัทจะจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ของผู้รับเหมาไว้เป็นฐาน ข้อมูล เช่น ข้อมูลการทำ�งาน ข้อมูลการประเมินผลงาน เป็นต้น เพื่อใช้ในการประกอบการพิจารณาว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโครง การใหม่ๆ ต่อไป ปัจจุบันบริษัทมีผู้รับเหมาก่อสร้างทั้งหมดประมาณ 80 ราย ทำ�ให้บริษัทมีความมั่นใจว่าผู้รับเหมาก่อสร้างมีมาก พอสำ�หรับการดำ�เนินการงานก่อสร้างของบริษัท รวมทั้งยังสามารถรองรับงานก่อสร้างที่มีมากขึ้นของบริษัทในอนาคตได้อีกด้วย ตารางสัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างของผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ต่อยอดมูลค่างานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวม รายการ 2553 2554 2555 สัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างของผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ (ร้อยละ) 27.37 32.34 7.05 จำ�นวนผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ (ราย) 1 1 1 หมายเหตุ : ผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ หมายถึง ผู้รับเหมาก่อสร้างที่มีสัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างเกินร้อยละ10 ของยอดมูลค่างานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวม
ในปี 2553 บริษัทมีสัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวมของผู้รับเหมารายใดรายหนึ่งเกินร้อยละ 10 ของยอดมูลค่า งานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวม จำ�นวน 1 ราย ได้แก่ บริษัท อิตาเลียน ไทย ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้รับเหมาหลัก ในโครงการ สมาร์ท คอนโด พระราม 2 ซึ่งมีมูลค่าโครงการประมาณ 1,800 ล้านบาท ในปี 2554 บริษัทมีสัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวมของผู้รับเหมารายใดรายหนึ่งเกินร้อยละ 10 ของยอดมูลค่า งานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวม จำ�นวน 1 ราย ได้แก่ บริษัท เพาเวอร์ ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้รับเหมาหลักใน โครงการ สมาร์ท คอนโด วัชรพล ซึ่งมีมูลค่าโครงการประมาณ 746 ล้านบาท ในปี 2555 บริษัทมีสัดส่วนมูลค่างานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวมของผู้รับเหมารายใดรายหนึ่งเกินร้อยละ 10 ของยอดมูลค่า งานก่อสร้างและซื้อสินค้ารวม จำ�นวน 1 ราย ได้แก่ บริษัท แม๊กไมล์ส ดีเวลลอปเมนต์ จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้รับเหมาหลักในโครงการ สมาร์ท Z อ่อนนุช, ซิตี้เซนส์ วัชรพล, ปริญ ราชพฤกษ์์, ไอโคเนเจอร์ รามอินทรา 109 ซึ่งมีมูลค่าโครงการประมาณ 746 ล้านบาท การจัดซื้อวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่ง บริษทั ให้ความสำ�คัญเกีย่ วกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นอย่างมาก ดังนัน้ การคัดสรรวัสดุกอ่ สร้างและอุปกรณ์ตกแต่งให้เหมาะ สมสอดคล้อง มีคุณภาพดีและได้มาตรฐาน จึงเป็นปัจจัยที่สำ�คัญในการพิจารณาสั่งซื้อ ส่วนราคาจะเป็นปัจจัยที่บริษัทใช้พิจารณา ประกอบ ทั้งนี้วัสดุก่อสร้างที่สำ�คัญ ได้แก่ เสาเข็มตอก คอนกรีต เหล็ก Wire mesh โครงหลังคา กระเบื้องมุงหลังคา วัสดุปูพื้นและ ผนัง สุขภัณฑ์ เป็นต้น
40
สำ�หรับการจัดซื้อวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งจะแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้ดังนี้ (1) วัสดุก่อสร้างที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเป็นผู้รับผิดชอบและจัดหา เนือ่ งจากบริษทั ว่าจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้างเป็นผูด้ �ำ เนินการก่อสร้าง ดังนัน้ วัสดุกอ่ สร้างบางรายการในแต่ละประเภท ของงานทีร่ ับดำ�เนินการในการรับเหมาก่อสร้าง ผู้รับเหมาก่อสร้างจะเป็นผู้จัดหาและจัดซื้อเอง ซึง่ รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับรายการ วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ จะต้องได้คุณภาพและตรงกับที่สัญญาว่าจ้างของบริษัทที่ได้กำ�หนดไว้ (2) วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งที่บริษัทเป็นผู้จัดหา วัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งที่บริษัทเป็นผู้จัดหาเอง ส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุและอุปกรณ์ตกแต่งที่ต้องใช้เป็น จำ�นวนมาก หรือต้องสั่งซื้อกับผู้จัดจำ�หน่ายเฉพาะรายซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลาในการสั่งซื้อ ทั้งนี้การดำ�เนินการดังกล่าวยังทำ�ให้บริษัท สามารถควบคุมต้นทุนการก่อสร้างอยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมอีกทัง้ เพือ่ เป็นการลดภาระของผูร้ บั เหมาก่อสร้างในการจัดหาและจัดซือ้ เอง ปัจจุบันบริษัทมีการสั่งซื้อจากผู้จัดจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งในประเทศทั้งหมดประมาณ 200 ราย สำ�หรับการสัง่ ซือ้ วัสดุและอุปกรณ์ตกแต่งในแต่ละประเภท บริษทั จะทำ�การประเมินปริมาณการใช้รวมทัง้ โครงการ ก่อน และจะสั่งซื้อวัสดุและอุปกรณ์ดังกล่าวตามปริมาณที่ได้ประเมินไว้ แต่ทั้งนี้บริษัทจะให้ผู้จัดจำ�หน่ายทยอยจัดส่งสินค้าและเรียก เก็บเงินตามความต้องการที่ใช้จริง ในปี 2553 และ 2554 มีผู้จำ�หน่ายรายใหญ่ 1 รายที่มีสัดส่วนการซื้อวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งเกินกว่า ร้อยละ 10 ของมูลค่างานระหว่างก่อสร้างรวมของบริษัท ได้แก่ บริษัท โมเดริ์น ฟอร์ม กรุ๊ป จำ�กัด(มหาชน) ซึ่งเป็น บริษัทที่รับ ติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์ในโครงการ สมาร์ทคอนโด พระราม 2 ซึ่งมีมูลค่าโครงการกว่า 1,800 ล้านบาท และโครงการ สมาร์ทคอนโด วัชรพล ซึ่งมีมูลค่าโครงการกว่า 746 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ในปี 2555 มีผู้จำ�หน่ายรายใหญ่ 1 ราย ที่มีสัดส่วนการซื้อวัสดุก่อสร้างเกินกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่างานระหว่าง ก่อสร้างรวมของบริษัท ได้แก่ บริษัท โฟร์ซัมมิท จำ�กัดและอุปกรณ์ตกแต่ง ได้แก่ บริษัท เอสบี เฟอร์นิเจอร์ จำ�กัด ซึ่งเป็น บริษัท ที่รับติดตั้งงานเฟอร์นิเจอร์์ 3.4 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาโครงการประเภทหมู่บ้านจัดสรรของบริษัทที่ผ่านมาในแต่ละโครงการ จะมีขนาดพื้นที่ไม่เกิน 100 ไร่ จึงไม่อยู่ภาย ใต้ข้อบังคับของกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทจึงจัดให้มีถังบำ�บัดน้ำ�เสีย ในบ้านแต่ละหลัง และในสโมสรส่วนกลางทุกๆ โครงการของบริษัท เพื่อให้น้ำ�เสียได้รับการบำ�บัดก่อนที่จะระบายลงทางน้ำ�สาธารณะ สำ�หรับการพัฒนาโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัยในรูปแบบอาคารสูง และอาคารขนาดกลาง ที่มีจำ�นวนยูนิตตั้งแต่ 80 ยูนติ ขึน้ ไป จะอยูภ่ ายใต้ขอ้ บังคับของกฎหมายเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั จะยืน่ ขออนุญาตปลูกสร้างอาคารต่อสำ�นักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ส.ผ.) ซึ่งจะต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอต่อ ส.ผ. ด้วย ทั้งนี้หาก ส.ผ. พิจารณาแล้วว่าโครงการที่ยื่นขออนุญาตไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ก็จะอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารต่อไปที่ ผ่านมาบริษัทไม่มีข้อพิพาทในเรื่องสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด 3.5 งานที่ยังไม่ ได้ส่งมอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายละเอียดการจองซื้อบ้านและยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ดังนี้ ตารางรายละเอียดจำ�นวนยูนิตและมูลค่าที่จองซื้อแล้วแต่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ ประเภทของผลิตภัณฑ์ จำ�นวนโครงการ (โครงการ) จำ�นวนยูนิต (หน่วย) มูลค่า (ล้านบาท) ประเภทหมู่บ้านจัดสรร 11 404 1,493.20 ประเภทอาคารชุดพักอาศัย 4 210 264.93 รวมทั้งสิ้น 15 614 1,758.13
41
ทั้งนี้ ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีมูลค่างานที่ยังไม่ได้ส่งมอบรวมทั้งโครงการของยอดรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ทั้งสิ้น 15 โครงการ ดังนี้ (1) โครงการประเภทหมู่บ้านจัดสรร จำ�นวน 11 โครงการ โดยมีจำ�นวน 404 ยูนิต และมีมูลค่ารวม 1,493.20 ล้านบาท เนื่องจากปัจจุบัน บริษัทใช้นโยบาย สร้างบ้านแบบ Semi-Pre built โดยสร้างบ้านกับทำ�การขายไปพร้อมกัน (2) โครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย จำ�นวน 4 โครงการ โดยมีจำ�นวน 210 ยูนิต และมีมูลค่ารวม 264.93 ล้านบาท
4. การวิจัยและพัฒนา
ปัจจุบันภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์มีมากขึ้น ประกอบกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป งานวิจัยและ พัฒนาเข้ามามีบทบาทในการทำ�การตลาดเป็นอย่างมาก บริษัทจึงให้ความสำ�คัญกับงานวิจัยและพัฒนามากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถ ผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบโจทย์ ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด อาทิ การออกแบบรูปแบบโครงการ ผังโครงการ รูปแบบบ้าน ประโยชน์ใช้สอย ทำ�เลที่ตั้งโครงการ การคัดสรรวัสดุก่อสร้าง และอุปกรณ์ตกแต่งที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ในแต่ละโครงการ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีดังนี้ 1. การพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์และควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยเน้นรูปแบบที่ตอบสนองประโยชน์การใช้สอย ความทันสมัย คุณภาพ และมาตรฐาน ซึ่งสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเพื่อการอยู่ อาศัยที่ดีขึ้น 2. การคัดสรรวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่ง ทั้งทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ซึ่งเน้นความทันสมัย มีความเหมาะสม สอดคล้อง มีคณุ ภาพดีและได้มาตรฐาน ทัง้ นีบ้ ริษทั ยังให้ความร่วมมือกับผูผ้ ลิตวัสดุกอ่ สร้างในการพัฒนาวัสดุกอ่ สร้างที่ใช้กบั โครงการ ของบริษัทด้วย 3. การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีการก่อสร้าง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการก่อสร้าง และปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น รวมทั้งเพื่อควบคุมต้นทุนในการก่อสร้าง โดยในปี 2552 บริษัทได้นำ�เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบ Tunnel formwork มาใช้สำ�หรับการ สร้างทาวน์โฮม โครงการ บ้านปริญวัชรพล Six Nature กัลปพฤกษ์ ซึ่งจะเป็นระบบการก่อสร้างหลักในทุกโครงการทาวน์โฮมที่จะ เปิดขาย และระบบPre-fabrication สำ�หรับโครงการสมาร์ทคอนโด และในปี 2553 บริษัทได้ทำ�การศึกษาเทคโนโลยีการก่อสร้าง ระบบ Prefabrication สำ�หรับการก่อสร้างบ้านเดี่ยวระดับกลาง โดยบริษัทเริ่มนำ�มาใช้สำ�หรับการก่อสร้างบ้านเดี่ยวในปี 2554 ร่วม กับระบบก่อสร้างแบบก่ออิฐฉาบปูน นอกจากนี้ บริษัทยังทำ�การศึกษาวิจัยความต้องการของลูกค้า เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ การ คัดสรรวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ตกแต่ง โดยการออกแบบรูปแบบการวิจัยให้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม อาทิ แบบสอบถาม โฟกัส กรุ๊ป (Focus Group) และยังศึกษาติดตามภาวะการตลาด รวมทั้งความเคลื่อนไหวของผู้ประกอบการรายอื่น อย่างต่อเนื่องอีกด้วย บริษัทมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าในรูปแบบต่างๆ ผนวกกับข้อมูลวิจัยที่ได้จากบริษัทภายนอก ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในแต่ละโครงการมีการปรับรูปแบบโครงการแต่งต่างกัน ตามความเหมาะสมของสถานที่ตั้งโครงการ ขนาดของพื้นที่โครงการ และความต้องการของลูกค้า ทัง้ นี้ บริษทั มีคา่ ใช้จา่ ยเกีย่ วกับการวิจยั และพัฒนา โดยเป็นในรูปเงินเดือนของพนักงานในฝ่ายงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั และ พัฒนา เช่น ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ และฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยในอนาคตบริษัทมีแผนงานปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีความทันสมัย และรองรับการเติบโตของบริษัทในอนาคต โดยจะเริ่มมีการเตรียมการในปี 2556 และเริ่มใช้ในปี 2557
42
43
5.1 ทรัพย์สินของบริษัท 5.1.1 สินค้าคงเหลือ ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่สร้างไว้เพื่อขายในโครงการต่างๆ บริษัทได้ว่าจ้างบริษัทประเมินซึ่งเป็นบริษัทที่ได้รับความเห็นชอบจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การ ประเมินราคาใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาดสำ�หรับการประเมินราคาที่ดิน และใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาดและวิธีต้นทุนทดแทนสำ�หรับการประเมินราคาที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โครงการที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการของบริษัท มีรายละเอียดดังนี้ ราคาประเมิน (ล้านบาท) ปรับปรุง วงเงินคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2555 มูลค่าตามบัญชีสูง มูลค่าตามบัญชี ำ�) จากปรับปรุ(2) ง ราคา วงเงิ น คง ประเภททรัพย์สิน โครงการ ณ 31 ธ.ค. 2555 ที่ดิน สิ่งปลูก รวม ประเมิน(1) กรรมสิทธิ์ ติดจำ�นอง วงเงินรวม เหลือ วันที่ประเมิน (ต่ราคาประเมิ น (ล้านบาท) สร้าง (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) 1 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ปริญสิริ นวมินทร์ 10.19 7.69 21.31 29.00 29.00 ปริญสิริ 26 ต.ค. 49 -18.81 เนื้อที่ 30-1-86.72 ไร่ ต.คลองกุ่ม อ.บึงกุ่ม กทม. 2 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ปริญญดา แจ่มจันทร์ 16.42 5.90 16.30 22.20 22.20 ปริญสิริ 26 ต.ค. 49 -5.78 เนื้อที่ 8-1-0.28 ไร่ ต.คลองกุ่ม อ.บึงกุ่ม กทม. 3 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สิรทิ าวารา ออเรนทอล 70.44 192.70 103.88 296.58 67.47 ปริญสิริ 17 มี.ค. 51 2.97 เนื้อที่ 5-2-67.1 ไร่ ต.ลาดพร้าว อ.ลาดพร้าว กทม. 4 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ปริญญดา เทพารักษ์ 0.24 201.95 29.81 231.76 2.14 ปริญสิริ 26 ก.พ. 47 -1.90 เนื้อที่ 40-2-66 ไร่ ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 5 ที่ดิน เดอะพัลซ์ ลาดพร้าว 44 2.71 2.32 ปริญสิริ ไม่ประเมิน 0.39 เนื้อที่ 1-2-0 ไร่ ซ.ลาดพร้าว 44 ถ.ลาดพร้าว กทม. 6 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง เดอะคอมพลีท นราธิวาสราชนครินทร์ 66.63 215.70 215.70 69.99 ปริญสิริ 25 ต.ค. 54 -3.36 เนื้อที่ 1-0-80 ไร่ ถ.นราธิวาสราชนครินทร์ ต.ช่องนนทรี อ.ยานนาวา กทม. 7 ที่ดิน สมาร์ ท คอนโด พระราม 2 234.46 227.20 227.20 248.15 ปริญสิริ KTB 147.00 101.03 25 ต.ค. 54 -13.69 เนื้อที่ 21-0-47.80 ไร่ ถ.บางขุนเทียน อ.บางขุนเทียน กทม.
5. ทรัพย์สินที่ ใช้ ในการประกอบธุรกิจ
ลำ�ดับ
ประเภททรัพย์สิน
15 ที่ดิน เนื้อที่ 9-3-3.2 ไร่ 16 ที่ดิน เนื้อที่ 30-1-.06 ไร่ 17 ที่ดิน เนื้อที่ 15-2-63 ไร่ 18 ที่ดิน เนื้อที่ 17-1-10.10 ไร่
8 ที่ดิน เนื้อที่ 1-0-71 ไร่ 9 ที่ดิน เนื้อที่ 11-0-50.90 ไร่ 10 ที่ดิน เนื้อที่ 68-2-61.5 ไร่ 11 ที่ดิน เนื้อที่ 7-2-56 ไร่ 12 ที่ดิน เนื้อที่ 16-1-60.30 ไร่ 13 ที่ดิน เนื้อที่ 18-3-82 ไร่ 14 ที่ดิน เนื้อที่ 6-2-27 ไร่
ลำ�ดับ
ราคาประเมิน (ล้านบาท) ปรับปรุง มูลค่าตามบัญชี ราคา (1) กรรมสิทธิ์ โครงการ ณ 31 ธ.ค. 2555 ที่ดิน สิ่งปลูก รวม ประเมิ น (ล้านบาท) สร้าง (ล้านบาท) เดอะไพร์ด พัทยา-สาย 2 (อาคาร B) 53.61 42.75 ปริญสิริ ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี สมาร์ทคอนโด รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ 223.8 186.60 186.60 285.19 ปริญสิริ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี ซีรีน ท่าข้าม (ท่าข้าม1) 396.72 259.30 259.30 410.69 ปริญสิริ แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม. สมาร์ทคอนโด วัชรพล (โซน B) ถ.วัชรพล 32.17 79.13 353.73 432.86 32.62 ปริญสิริ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. ซิตี้เซนส์ วัชรพล (โซน E) ถ.วัชรพล 136.06 123.94 165.98 289.92 138.97 ปริญสิริ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. วัชรพล (รอพัฒนา) โซน A ถ.วัชรพล 212.33 196.31 196.31 222.37 ปริญสิริ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. ซิกเนเจอร์ รามอินทรา-วัชรพล 1.90 44.37 44.37 1.83 ปริญสิริ (โซน C) ถ.วัชรพล แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. ซิตี้เซนส์ บางนา-ตราด กม.10 78.14 39.00 39.00 81.56 ปริญสิริ ต.บางพลีใหญ่ จ.สมุทรปราการ ซิกเนเจอร์ กัลปพฤกษ์ 99.54 339.80 339.80 108.58 ปริญสิริ แขวงแสมดำ� เขตบางแค กทม. ซิกเนเจอร์ เพชรเกษม69 แขวง 125.18 108.30 108.30 159.80 ปริญสิริ หนองค้างพลู เขตหนองแขม กทม. ซิตเี้ ซนส์ สรงประภา ถ.ประชาอุทศิ 4.90 89.83 159.98 249.63 4.22 ปริญสิริ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม. 542.40 269.00 -
KBANK -
141.25
KTB
KTB
282.12
KTB
90.00
246.97
KTB
CIMB
0.00
350.22
KTB
28 ก.พ. 51
28 ก.พ. 51
28 ก.พ. 51
-
0.01
0.00
28 ต.ค. 52
26 ต.ค. 52
30 ต.ค. 51
19.00 16 มี.ค. 55
0.00
0.00
0.00
153.91 2 เม.ย. 53
KBANK 646.00
28 ก.พ. 51
130.47 19 ต.ค. 53
584.81
KTB
44
0.68
-34.81
-9.04
-3.42
0.07
-10.04
-2.91
-0.45
-13.97
-61.38
วงเงินคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2555 มูลค่าตามบัญชีสูง �ำ ) จากปรับปรุ(2) ง วงเงิ น คง วงเงินรวม เหลือ วันที่ประเมิน (ต่ราคาประเมิ น ติดจำ�นอง (ล้ านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) ไม่ประเมิน 10.86
ประเภททรัพย์สิน
27 ที่ดิน เนื้อที่ 38-0-3 ไร่
26 ที่ดิน เนื้อที่ 41-2-28 ไร่
25 ที่ดิน เนื้อที่ 26-3-77 ไร่
24 ที่ดิน เนื้อที่ 62-2-52.8 ไร่
23 ที่ดิน เนื้อที่ 28-0-47.2 ไร่
22 ที่ดิน เนื้อที่ 15-1-88 ไร่
21 ที่ดิน เนื้อที่ 54-3-78.7 ไร่
20 ที่ดิน เนื้อที่ 30-01-68 ไร่
19 ที่ดิน เนื้อที่ 14-3-94 ไร่
ลำ�ดับ
ซิกเนเจอร์ วิภาวดี 60 ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตบางเขน กทม. ซีรีน พุทธมณฑล สาย 3 ถ.เลียบคลองทวีวฒ ั นา แขวงหลัก สอง เขตภาษีเจริญ กทม. PRINN สาทร-ราชพฤกษ์ ถ.ราชพฤกษ์ บางจากฝั่งเหนือ เขตหนองแขม กทม. ซิกเนเจอร์ เอกชัย-บางบอน ซ.เอกชัย64/5 แขวงบางบอน เขต บางขุนเทียน กทม. ซิตี้เซนส์ รัตนาธิเบศร์ (เรวดี) ซ.เลี่ยงเมืองนนทบุรี13 (เรวดี) จ.นนทบุรี Ico-Nature เทียนทะเล 19 ซ.เทียน ทะเล19 เขตบางขุนเทียน กทม. เพชรเกษม69 เลียบคลองภาษีเจริญ ถ.เลียบคลองภาษีเจริญฝัง่ ใต้ แขวง/ เขตหนองแขม กทม. Ico-Nature รามอิ น ทรา (พระยาสุเรนทร์ 109) ซ.รามอินทรา 109 แขวงบางชัน เขตมีนบุรี สรงประภา 22 ถ.ประชาอุทิศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.
โครงการ
99.4
327.77 235.00
114.98 123.30
167.66 181.60
339.61 266.60
275.95 185.60
677.54 439.57
413.24 279.85
SCB
SCB
SCB
99.48 ปริญสิริ
235.00 304.94 ปริญสิริ
123.30 125.20 ปริญสิริ
181.60 193.75 ปริญสิริ
-
SCB
-
SCB
266.60 336.93 ปริญสิริ KBANK
185.60 278.56 ปริญสิริ
439.57 602.81 ปริญสิริ
279.85 425.73 ปริญสิริ
-
448.00
-
474.00
412.00
317.95
828.00
382.70
2 พ.ย. 54
-
ไม่มีประเมิน
160.39 9 มิ.ย. 54
-
109.00 14 ก.ย. 54
82.43 4 พ.ค. 54
57.83 6 ก.ย. 54
308.40 19 ก.ย. 54
209.25 4 มิ.ย. 53
45
0.00
22.83
-10.22
-26.09
2.68
-2.61
74.73
-12.49
ราคาประเมิน (ล้านบาท) ปรับปรุง วงเงินคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2555 มูลค่าตามบัญชีสูง มูลค่าตามบัญชี �ำ ) จากปรับปรุ(2) ง ราคา วงเงิ น คง ณ 31 ธ.ค. 2555 ที่ดิน สิ่งปลูก รวม ประเมิน(1) กรรมสิทธิ์ ติดจำ�นอง วงเงินรวม เหลือ วันที่ประเมิน (ต่ราคาประเมิ น (ล้านบาท) สร้าง (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 99.36 102.88 102.88 102.31 ปริญสิริ KBANK 261.00 0.02 27 พ.ย. 52 -2.95
46
ราคาประเมิน (ล้านบาท) ปรับปรุง วงเงินคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2555 มูลค่าตามบัญชีสูง มูลค่าตามบัญชี �ำ ) จากปรับปรุ(2) ง ราคา วงเงิ น คง ประเภททรัพย์สิน โครงการ ณ 31 ธ.ค. 2555 ที่ดิน สิ่งปลูก รวม ประเมิน(1) กรรมสิทธิ์ ติดจำ�นอง วงเงินรวม เหลือ วันที่ประเมิน (ต่ราคาประเมิ น (ล้านบาท) สร้าง (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 28 ที่ดิน เนื้อที่ 1-0-92.9 ไร่ ท่าพระ บริเวณท่าพระ กทม. 46.62 46.62 ปริญสิริ - ไม่มี 0.00 ประเมิน 29 ที่ดิน ราชพฤกษ์-ปากเกร็ด ต.แหลม 216.27 216.27 ปริญสิริ SCB 500.00 126.00 ไม่มี 0.00 เนื้อที่ 35-0-45.04 ไร่ ใหญ่ฝงั่ ใต้ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี (Bridging ประเมิน loan) 30 ที่ดิน ซีรีน กัลปพฤกษ์ (กัลปพฤกษ์ 2) 217.65 155.90 155.90 218.55 ปริญสิริ KBANK 187.00 93.00 8 ส.ค. 54 -0.90 เนื้อที่ 16-0-97 ไร่ แยกจากถ.กัลปพฤกษ์ แขวงบางแค เขตบางแค กทม. 31 ที่ดิน ซิกเนเจอร์ รามอินทรา (พระยาสุ 102.58 57.60 57.60 76.16 ปริญสิริ KBANK 149.00 36.00 29 ส.ค. 54 26.42 เนื้อที่ 12-0-0 ไร่ เรนนทร์ 24) ซ.พระยาสุเรนทร์24(ซ. 1) แขวงบางชัน เขตคลองสามวา 32 ที่ดิน สมาร์ท Z อ่อนนุช ถ.ลาดกระบัง 63.12 44.25 44.25 87.60 ปริญสิริ (PRIN) 70.00 11.00 6 ก.พ. 55 -24.48 เนื้อที่ 2-2-14.1 ไร่ แขวง/เขต ลาดกระบัง กทม. SCB (PV) 60.00 10.75 SCB 33 ที่ดิน ซิกเนเจอร์ ประชาชื่น (คลอง 218.77 217.00 217.00 229.83 ปริญสิริ KTB 333.60 0.00 23 มี.ค.55 -11.06 เนื้อที่ 14-2-83.9 ไร่ ประปา) ต.บางตลาด อ.ตลาด ขวัญ จ.นนทบุรี 34 ที่ดิน บริดจ์ นราธิวาส 2 ถ.นราธิวาส 142.61 115.30 182.50 182.59 ปริญสิริ KTB 145.30 0.00 7 ก.พ. 55 -39.98 เนื้อที่ 0-3-60.3 ไร่ ราชนคริ น ทร์ ต.ช่ อ งนนทรี อ.ยานนาวา กทม.
ลำ�ดับ
ราคาประเมิน (ล้านบาท) ปรับปรุง วงเงินคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2555 มูลค่าตามบัญชีสูง มูลค่าตามบัญชี �ำ ) จากปรับปรุ(2) ง ราคา วงเงิ น คง ประเภททรัพย์สิน โครงการ ณ 31 ธ.ค. 2555 ที่ดิน สิ่งปลูก รวม ประเมิน(1) กรรมสิทธิ์ ติดจำ�นอง วงเงินรวม เหลือ วันที่ประเมิน (ต่ราคาประเมิ น (ล้านบาท) สร้าง (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) 35 ที่ดิน กรุงเทพ-นนทบุรี ต.บางเขนฝัง่ ใต้ 47.20 47.20 ปริญสิริ ไม่มีประเมิน 0.00 เนื้อที่0-3-56.40 อ.บางซื่อ กทม. 36 ที่ดิน เนื้อที่ 0-3-70.6 อินทปัจ 9 ต.หลักสอง อ.บางแค 125.68 125.68 ปริญสิริ ไม่มีประเมิน 0.00 กทม. รวม บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) 5,461.54 4,722.17 850.81 5,640.18 5,630.26 7,867.82 1,680.49 -168.72 รวม บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด 21.38 บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด 3.49 รวมมูลค่าบริษัทย่อย 24.87 24.87 กำ�ไรแฝง 23.42 รวมทั้งสิ้น 5,509.83 4,722.17 850.81 5,640.18 5,655.13 7,867.82 1,680.49 0.00 -168.72
47
ราคาประเมินปรับปรุงเป็นผลจากการนำ�ราคาประเมินบวกด้วยสิ่งก่อสร้างเพิ่มเติมหลังวันที่ประเมินและหักด้วยต้นทุนของทรัพย์สินที่ได้ขายไปภายหลังวันที่ประเมินเพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่ใกล้เคียง เพียงพอที่จะนำ�มาเปรียบเทียบกับมูลค่าตามบัญชีได้ เนื่องจากวันที่ประเมินของแต่ละทรัพย์สินแตกต่างจากวันปิดบัญชี (2) ส่วนแตกต่างระหว่างราคาประเมินกับมูลค่าตามบัญชีไม่มีผลกระทบต่อกำ�ไรขาดทุนของบริษัท เนื่องจากผลกำ�ไรขาดทุนของบริษัทขึ้นอยู่กับส่วนต่างของมูลค่าตามบัญชีกับมูลค่าโครงการที่จะรับรู้ ของบริษัท
(1)
ลำ�ดับ
5.1.2 ที่ดินและอุปกรณ์ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หลัก ประเภทที่ดินและอุปกรณ์ของบริษัทและบริษัทย่อย ณ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) รายการ สถานที่ตั้ง กรรมสิทธิ์ ยูนิตโดยประมาณ ที่ดิน ซอยแจ่มจันทร์ บริษัท 3.28 อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ตามโครงการต่างๆ บริษัท 2.20 เครื่องจักรและอุปกรณ์ ตามโครงการต่างๆ บริษัท, โกร โยธา 12.28 คอมพิวเตอร์ สำ�นักงาน/ตามโครงการต่างๆ บริษทั , โกร โยธา, ปริญเวนเจอร์ 39.44 เครื่องตกแต่งสำ�นักงาน สำ�นักงาน บริษัท, โกร โยธา 8.13 เครื่องใช้สำ�นักงาน สำ�นักงาน บริษทั , โกร โยธา, ปริญเวนเจอร์ 21.25 ยานพาหนะ สำ�นักงาน บริษัท, โกร โยธา 18.84 งานระหว่างก่อสร้าง บริษัท 0.00 รวม 106.05 ค่าเสื่อมราคาสะสม 75.56 ที่ดินและอุปกรณ์สุทธิ 30.49 ที่ดินบริเวณซอยแจ่มจันทร์ พื้นที่ 247 ตารางวา ซึ่งเป็นที่ดินบริเวณใกล้เคียงกับโครงการปริญญดา แจ่มจันทร์ โดยแต่เดิม เป็นที่ดินผืนเดียวกัน แต่ต่อมามีถนนตัดผ่านทำ�ให้ที่ดินถูกแยกออกจากกัน ปัจจุบันใช้เป็นศูนย์บัญชาการบริการหลังการขาย มูลค่า ตามบัญชีเท่ากับ 3.28 ล้านบาท โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2547 เท่ากับ 8.65 ล้านบาท 5.1.3 ที่ดินรอการพัฒนา ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั และบริษทั ย่อยมีทดี่ นิ และค่าพัฒนาทีด่ นิ ตามมูลค่าบัญชีเท่ากับ 1,229.13 ล้านบาท บริษทั มีที่ดินว่างเปล่ารอการพัฒนา จำ�นวน 7 แปลง ได้แก่ 1. บริเวณถนนเลียบชายหาด อ. ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ 18-3-03 ไร่ มูลค่าตามบัญชีเท่ากับ 74.10 ล้าน บาท โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2551 เท่ากับ 163.25 ล้านบาท 2. บริเวณติดคลองบางซื่อ ถนนกำ�แพงเพชร พื้นที่ 3-2-21.2 ไร่ มูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 67.29 ล้านบาท โดยมีราคา ประเมินเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2553 เท่ากับ 68.22 ล้านบาท 3. บริเวณท่าข้าม2 แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน พื้นที่ 61-3-0.5 ไร่ มูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 174.36 ล้านบาท โดย มีราคาประเมินเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 เท่ากับ 175.70 ล้านบาท 4. บริเวณพัทยา-บ้านอำ�เภอ พื้นที่ 26-1-26.6 ไร่ มูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 340.78 ล้านบาท โดยมีราคาประเมินเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2552 เท่ากับ 338.00 ล้านบาท 5. บริเวณตลิ่งชัน พื้นที่ 47-0-30 ไร่ มูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 345.76 ล้านบาท โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2554 เท่ากับ 343.00 ล้านบาท 6. บริเวณ พัทยา-สาย 2 ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ที่ดินเนื้อที่ 1-0-31 ไร่ มูลค่าทางบัญชีเท่ากับ 84.23 ล้านบาท ยังไม่มีการประเมิน 7. บริเวณ รังสิต ปทุมธานี ถนนพหลโยธิน ต.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ที่ดินเนื้อที่ เนื้อที่ 7-1-54.4 ไร่ มูลค่าทาง บัญชีเท่ากับ 94.84 ล้านบาท โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2554 เท่ากับ 105.73 ล้านบาท 5.1.4 ที่ดินเพื่อการลงทุน ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเพื่อการลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 1 แปลง คือ บริเวณซอยวัชรพล แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน พื้นที่ 18-3-58.0 ไร่ โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556 เท่ากับ 362.78 ล้านบาท
48
5.2 สรุปสาระสำ�คัญของสัญญา (1) สัญญาเช่าพื้นที่อาคารสำ�นักงาน สัญญาให้บริการ และสัญญาให้บริการเครื่องอำ�นวยความสะดวกและอุปกรณ์เสริมทั่วไป ผู้ให้บริการ : บริษัท ซันทาวเวอร์ส จำ�กัด ผู้รับบริการ : บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) พื้นที่เช่า : ชั้น 12 อาคารซันทาวเวอร์ส อาคาร เอ เลขที่ 123 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ระยะเวลา : สัญญาที่ 1: วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 - วันที่ 30 มิถุนายน 2557 สัญญาที่ 2: วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 - วันที่ 30 มิถุนายน 2557 พื้นที่ : สัญญาที่ 1: 1,227 ตารางเมตร สัญญาที่ 2: 553 ตารางเมตร 5.3 นโยบายการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทย่อย 3 บริษัท คือ บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด โดยประกอบธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างและจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง มูลค่าเงินลงทุนรวม 32.00 ล้านบาท บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด โดยประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มูลค่าเงินลงทุนรวม 90.20 ล้านบาท และบริษัท ซี เอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มูลค่าเงินลงทุนรวม 2.00 ล้านบาท รวมจำ�นวนเงินลงทุนในบริษัทย่อยทั้งสิ้น 124.20 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทย่อยทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 1.76 ของสินทรัพย์รวมของบริษัท ในส่วนของนโยบายการบริหารงาน บริษัทจะส่งผู้แทนของบริษัทเข้าไปในฐานะกรรมการและ/หรือผู้บริหาร ในบริษัทที่เข้าไป ลงทุน โดยมีจำ�นวนกรรมการมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนคณะกรรมการทั้งหมด
6. โครงการในอนาคต
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย่อย เปิดขายโครงการแล้วทั้งสิ้น 24 โครงการมูลค่ารวมประมาณ 17,268.46 ล้านบาท โดยมีมูลค่ารวมที่ขายแล้ว 15,681.25 ล้านบาท เหลือเป็นสินค้าเพื่อจำ�หน่าย รวมประมาณ 4,303.10 ล้านบาท ทั้งนี้ ใน ปี 2555 บริษัทเปิดโครงการใหม่รวม 2 โครงการมูลค่ารวมประมาณ 551.75 ล้านบาท และจะมีโครงการเปิดใหม่ในปี 2556 จำ�นวน 7 โครงการ มูลค่ารวมประมาณ 6,080 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ี 6.1 โครงการในส่วนของบริษัท โครงการ บริดจ์ นราธิวาส ซิตี้เซนส์ สรงประภา 22 ซิตี้เซนส์ เพชรเกษม 69 (อินทราปัจ) ไอโคเนเจอร์ รามอินทรา 109 ซีรีน กัลปพฤกษ์ Prinn ราชพฤกษ์ ซิกเนเจอร์ พระยาสุเรนทร์ 24 * โดยประมาณ
รูปแบบโครงการ
91 430 366
มูลค่าโครงการ* (ล้านบาท) 320 840 800
กำ�หนด การเปิดขาย* ไตรมาส 1/2556 ไตรมาส 4/2556 ไตรมาส 4/2556
209
941
ไตรมาส 2/2556
62 178 152
550 1,700 760
ไตรมาส 2/2556 ไตรมาส 2/2556 ไตรมาส 4/2556
1,488
6,080
สถานที่ตั้ง
ยูนิต*
บ้านเดี่ยว
ถ.นราธิวาสราชนครินทร์ สรงประภา - ดอนเมือง ถ.เพชรเกษม 69 (อินทราปัจ) ถ.รามอินทรา
บ้านเดี่ยว บ้านเดี่ยว ทาวน์โฮม
ถ.กัลปพฤกษ์ ถ.ราชพฤกษ์ ซ.พระยาสุเรนทร์ 24
คอนโดมิเนียม ทาวน์โฮม ทาวน์โฮม
รวม*
49
โดยในปี 2556 บริษัทมีแผนการจัดซื้อที่ดิน มูลค่ารวมประมาณ 1,000 ล้านบาท เพื่อนำ�มาพัฒนาโครงการในส่วนของบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮม และคอนโดมิเนียม ที่ดินเพื่อการลงทุน ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีที่ดินและค่าพัฒนาที่ดินเพื่อการลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 1 แปลง คือ บริเวณซอยวัชรพล แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน พื้นที่ 18-3-58.0 ไร่ โดยมีราคาประเมินเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556 เท่ากับ 362.78 ล้านบาท
7. ข้อพิพาททางกฎหมาย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาคดี สรุปได้ดังนี้
7.1 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ 1149/2550 และคดีหมายเลขแดงที่ 1605/2551 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี
ศาลปกครองกลาง ดำ�ที่ 1149/2550 แดงที่ 1605/2551 7 มิถุนายน 2550 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) กรุงเทพมหานคร ผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 1, ผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 2, คณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ในเขตกรุงเทพมหานครและในเขตองค์การบริหารส่วน จังหวัด ตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 มูลคดี : ผู้ฟ้องคดียื่นฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ถึง 3 ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2550 ว่าผู้ถูกฟ้อง คดีที่ 1 และผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ดำ�เนินการออกใบรับแจ้งความประสงค์ แบบ กทม.6 ตามมาตรา 39 ทวิ ของพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แก่ผู้ฟ้องคดีล่าช้า โดยผู้ฟ้องคดียื่นขอใบรับแจ้งความ ประสงค์ ดังกล่าวในวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 แต่ได้รับใบรับแจ้งความประสงค์ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 ทำ�ให้การขออนุญาตก่อสร้างห้องชุดของผู้ฟ้องคดี ตกอยู่ภายใต้บังคับตามกฎหมายผังเมืองรวม ฉบับใหม่ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 โดยผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ได้มีคำ�สั่ง ให้แก้ไขใบรับแจ้งความประสงค์ของผูฟ้ อ้ งคดีให้ตรงตามกฎหมายผังเมืองฉบับใหม่ ซึง่ ผูฟ้ อ้ งคดีได้อทุ ธรณ์ ต่อผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 และผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ก็มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ให้ผู้ฟ้องคดีแก้ไขและปฏิบัติตามกฎหมาย ผังเมืองรวมดังกล่าว ผู้ฟ้องคดีจึงฟ้องคดีต่อศาลปกครองเพื่อให้มีคำ�พิพากษาให้ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และผู้ ถูกฟ้องคดีที่ 2 ดำ�เนินการออกใบรับแจ้งให้แก่ผู้ฟ้องคดีโดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2549 รวม ทั้งให้เพิกถอนคำ�สั่งของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ความคื บ หน้ า : ศาลปกครองได้มีคำ�พิพากษาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 ว่าหนังสือแจ้งข้อทักท้วงของผู้ถูกฟ้องคดี ของคดี ที่ 2 และคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 เป็นการกระทำ�ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และให้เพิกถอน การแจ้งข้อทักท้วงของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และคำ�วินิจฉัยของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ดังกล่าว โดยให้มีผลย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่มีหนังสือแจ้งข้อทักท้วงและวันที่มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์แล้วแต่กรณี ซึ่งคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ได้อุทธรณ์คดีนี้ต่อศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2551 ศาลสั่งรับ อุทธรณ์แล้ว คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด ความเห็นของ : คดีนี้ ฝ่ายจัดการมีความเห็นว่า ในประเด็นแห่งคดีที่ศาลปกครองได้วินิจฉัยไว้รวมทั้งข้อเท็จจริงในคดี ฝ่ายจัดการ ชัดเจนว่าบริษัทได้เข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินก่อนกฎกระทรวงเรื่องผังเมืองรวมฉบับใหม่มีผลใช้บังคับ จึง ควรอยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวงเรื่องผังเมืองรวมฉบับเก่า ดังนั้นแม้คดีจะขึ้นสู่ศาลสูง ก็น่าจะชนะ คดีด้วยเหตุผลทางกฎหมายเช่นเดียวกันในศาลชั้นต้น
50
: : : : :
7.2 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ 862/2551 และคดีหมายเลขแดงที่ 1091/2555 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี
: : : : :
ศาลปกครองกลาง ดำ�ที่ 862/2551 แดงที่ 1091/2555 2 มิถุนายน 2551 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ 1, คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ในเขตกรุงเทพ มหานครและในเขต องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาม พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ที่ 2 มูลคดี : ผู้ฟ้องคดียื่นฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ถึง 2 ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2551 ว่าผู้ถูกฟ้อง คดีที่ 1 ในฐานะเจ้าพนักงานท้องถิ่น มีอำ�นาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ได้ ดำ�เนินการออกใบรับแจ้งความประสงค์ แบบกทม.6 ตามมาตรา 39 ทวิ ของพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ตามที่ผู้ฟ้องคดียื่นขอใบรับแจ้งความประสงค์ดังกล่าวในวันที่ 10 พฤษภาคม 2549 ก่อน กฎหมายผังเมืองรวมฉบับใหม่ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 ใช้บังคับ แต่ตอ่ มาเจ้าหน้าทีข่ องผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 1 ได้มคี �ำ สัง่ แจ้งข้อทักท้วง ให้ผฟู้ อ้ งคดีแก้ไขใบรับแจ้งความประสงค์ ของผูฟ้ อ้ งคดีให้ตรงตามกฎหมายผังเมืองรวมฉบับใหม่ ซึง่ ผูฟ้ อ้ งคดีได้อทุ ธรณ์ค�ำ สัง่ ดังกล่าวต่อผูถ้ กู ฟ้อง คดีที่ 2 และผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ก็มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ให้ผู้ฟ้องคดีแก้ไขและปฏิบัติตามกฎหมายผังเมืองรวม ดังกล่าวเช่นกัน ผู้ฟ้องคดีจึงฟ้องคดีต่อศาลปกครองเพื่อให้มีคำ�พิพากษาให้เพิกถอนคำ�สั่งของผู้ถูกฟ้อง คดีที่ 1และคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ความคื บ หน้ า : ศาลปกครองรับคำ�ฟ้องเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2551 และได้มีคำ�พิพากษาเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2555 โดย ของคดี พิพากษาให้เพิกถอนหนังสือแจ้งข้อทักท้วงของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกฟ้องคดี ที่ 2 ทั้งนี้ให้มีผลย้อนหลังตั้งแต่วันที่มีหนังสือแจ้งข้อทักท้วงและวันที่มีคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์แล้วแต่กรณี ซึ่ง ผู้ถูกฟ้องคดีทั้ง 2 ได้อุทธรณ์คดีนี้ต่อศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ศาลมีคำ�สั่งรับ อุทธรณ์แล้ว คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง ความเห็นของ : คดีนี้ เนื่องจากข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายนั้นเหมือนกับคดีของโครงการนราธิวาสราชนครินทร์ (คดี ฝ่ายจัดการ หมายเลขดำ�ที่ 1149/2550 และคดีหมายเลขแดงที่ 1605/2551 ) ซึ่งบริษัทได้ชนะคดีมาแล้วในศาลปกครอง ฝ่ายจัดการมีความเห็นว่า คดีนี้บริษัทน่าจะชนะคดีได้เช่น เดียวกัน ตามหลักกฎหมายว่าด้วย กรณีบัญญัติเป็นโทษ ไม่ควรมีผลบังคับย้อนหลัง บริษัทจึงได้ฟ้องเป็น คดีนี้ต่อศาลปกครองและคดีนี้ไม่น่าจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อการบริหารงานของบริษัท ดังนั้น แม้คดีจะขึ้นสู่ศาลสูง ก็น่าจะชนะคดีด้วยเหตุผลทางกฎหมายเช่นเดียวกันในศาลชั้นต้น 7.3 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ ส.697/2551 แดงที่ พ.366/2554 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี โจทย์ จำ�เลย
: : : : :
ศาลจังหวัดนนทบุรี ดำ�ที่ พ.697/2551 แดงที่ พ.366/2554 29 พฤษภาคม 2551 พอ. (พ) นพ.เสวก ธาราณัติ ที่ 1 กับพวกรวม 21 คน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) จำ�เลยที่ 1
51
มูลคดี
: โจทก์ยื่นฟ้องจำ�เลยต่อศาลจังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2551 ฐานละเมิด ,เรียกค่าสินไหม ทดแทน โดยโจทก์ที่ 1 และพวก ซึ่งอยู่อาศัยในหมู่บ้านประชานิเวศน์ 2 กล่าวหาว่าจำ�เลยที่ 1 ได้ทำ�การ รื้อถอนกำ�แพงบริเวณซอยสามัคคี 58/10 ของโจทก์ ซึ่งปลูกสร้างเป็นรั้วของหมู่บ้านประชานิเวศน์ 2 โดย ปราศจากอำ�นาจ ทั้งที่กำ�แพงดังกล่าวปลูกสร้างอยู่บนที่ดินสาธารณะและได้มีคำ�สั่งรื้อถอนจากเทศบาล นนทบุรีแล้ว และโจทก์ที่ 1 และพวก ได้เรียกให้จำ�เลยดำ�เนินการก่อสร้างกำ�แพงคืนโจทก์ในสภาพเดิม , ห้ามจำ�เลยดำ�เนินการหรือจัดให้มีการรื้อถอน ทุบ ทำ�ลาย หรือทำ�ให้เสียหายโดยประการใดๆ กับกำ�แพง ถนน และสาธารณูปโภคภายในหมู่บ้านประชานิเวศน์ 2 , ห้ามจำ�เลยที่ 1 ดำ�เนินการ หรือจัดให้มีการ ดำ�เนินการเชื่อมต่อถนน หรือสาธารณูปโภคอื่นๆ ของจำ�เลยที่ 1 กับถนน หรือสาธารณูปโภคภายใน หมู่บ้านประชานิเวศน์ 2 และให้จำ�เลยชำ�ระค่าเสียหายแก่โจทก์เป็นเงิน 403,000.- บาท และค่าเสียหาย รายวันๆ ละ 1,000 บาท ต่อคน นับแต่วันถัดจากวันฟ้องจนกว่าจะดำ�เนินการก่อสร้างกำ�แพงคืนให้โจทก์ ในสภาพเดิมจนเสร็จสิ้น รวมทั้งให้จำ�เลยชำ�ระค่าฤชาธรรมเนียมศาลและค่าทนายความแทนโจทก์ด้วย ความคื บ หน้ า โจทก์และจำ�เลยได้เจรจาไกล่เกลี่ยกัน ปรากฎว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และจำ�เลยที่ 1 ยื่นคำ�ร้องขอรวม ของคดี การพิจารณาคดีนี้เข้ากับคดีแพ่ง หมายเลขดำ�ที่ ส.1277/2551 ของศาลจังหวัดนนทบุรี เนื่องจากคู่ความ ทั้งสองคดีเป็นคู่ความรายเดียวกัน มีประเด็นพิพาทเกี่ยวเนื่องกัน และพยานหลักฐานชุดเดียวกัน ศาล พิเคราะห์แล้วเห็นว่า ทั้งสองคดีเป็นคดีเดียวกันและคู่ความแทบทุกฝ่ายเป็นบุคคลเดียวกัน การรวม พิจารณาเป็นการสะดวก จึงอนุญาตให้รวมการพิจารณาคดีเข้ากับคดีแพ่งหมายเลขดำ�ที่ ส.1277/2551 ของศาลนี้ คดีนี้ สืบพยานโจทก์และจำ�เลย เสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2554 และ ศาลได้มีคำ� พิพากษาในวันที่ 17 มีนาคม 2554 ให้โจทก์ที่ 1, 2 , 4 และ 7 (พ.อ.เสวก ธาราณัติ ที่ 1, นางนงลักษณ์ สาตรา ที่ 2,นายพลเทพ พะลัง ที่ 4และ นางสุดาพร จันทร์เลิศฟ้า ที่7) รื้อถอนแผงเหล็กออกจากถนน สาธารณะซอยสามัคคี 58/10 และห้ามกระทำ�การใด ๆ อันเป็นการขัดขวางหรือรบกวนจำ�เลยที่ 1 (บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ) หรือตัวแทนของจำ�เลยที่ 1 ในการใช้ประโยชน์บนถนนสาธารณะซอยสามัคคี 58/10 และให้โจทก์ที่ 1, 2, 4 และ 7 ร่วมกันชำ�ระค่าเสียหาย แก่จำ�เลยที่ 1 เป็นเงินจำ�นวน 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ของต้นเงินจำ�นวนดังกล่าวจนกว่าชำ�ระเสร็จสิ้น คำ�ขออื่นนอกจากนี้ให้ยกเสีย และให้ยกฟ้อง โจทก์ทั้ง 21 ค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็นพับกันไป ต่อมาโจทก์ทั้งยี่สิบเอ็ดได้ยื่นอุทธรณ์คำ� พิพากษา พร้อมขอทุเลาการบังคับคดี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554 และจำ�เลยได้ยื่นแก้อุทธรณ์และ คัดค้าน การขอทุเลาการบังคับคดีในวันที่ 14 กันยายน 2554 ซึ่งศาลอุทธรณ์นัดฟังคำ�พิพากษา ในวันที่ 9 สิงหาคม 2555 โดยพิพากษายืนตามคำ�พิพากษาของศาลชั้นต้น ค่าฤชาธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์เป็นพับ ปัจจุบัน โจทก์ได้ยื่นฏีกาและคำ�ร้องขอทุเลาการบังคับคดี เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2555 บริษัทฯอยู่ระหว่าง จัดทำ�แก้ฏีกา และคำ�ร้องคัดค้านการขอทุเลาการบังคับคดี ความเห็นของ : คดีนี้ ข้อเท็จจริงที่โจทก์นำ�มาฟ้องคดีจำ�เลยที่ 1 นั้น เห็นได้ชัดว่าเป็นการฟ้องคดีโดยปราศจากสิทธิใดๆ ฝ่ายจัดการ อันจะกล่าวอ้างได้ตามกฎหมาย เนื่องจากสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่โจทก์เรียกร้องให้จำ�เลยที่ 1 ก่อสร้างกลับ คืนสูส่ ภาพเดิม และให้ช�ำ ระค่าเสียหายนัน้ เป็นสิง่ ปลูกสร้างทีต่ งั้ อยูบ่ นทีด่ นิ สาธารณประโยชน์ และเทศบาล นนทบุรี ได้มีคำ�สั่งให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวแล้ว ฝ่ายจัดการมีความเห็นว่า คดีนี้ไม่มีมูลที่โจทก์จะ นำ�มาฟ้องคดี และไม่มีเหตุให้ชนะคดีได้ คดีนี้ย่อมไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของบริษัทแต่ อย่างใด
52
7.4 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ ส.1277/2551 คดีหมายเลขแดงที่ พ.366/2554 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี โจทย์ จำ�เลย
: : : : :
ศาลจังหวัดนนทบุรี ดำ�ที่ พ.1277/2551 แดงที่ พ.366/2554 23 กันยายน 2551 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) พอ.(พ) นพ.เสวก ธาราณัติ , นางนงลักษณ์ สาตรา ,นายพลเทพ พะลัง , นางสุดาพร จันทร์เลิศฟ้า จำ�เลย ที่ 1 - 4 มูลคดี : โจทก์ยื่นฟ้องจำ�เลยทั้ง 4 ต่อศาลจังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2551 ฐานละเมิด , ห้ามขัดขวาง การปักเสาพาดสายไฟฟ้าและวางท่อประปาในถนนซอยสามัคคี 58/10 เข้าสู่โครงการของโจทก์ และเรียก ค่าเสียหาย โดยจำ�เลยทัง้ 4 ได้ท�ำ การก่อสร้างกำ�แพง และสิง่ กีดขวางบนถนนสาธารณะซอยสามัคคี 58/10 โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขัดขวางการปักเสาพาดสายไฟฟ้าและวางท่อประปาในถนนซอยสามัคคี 58/10 เป็นการกระทำ�ละเมิดต่อโจทก์ ทำ�ให้โจทก์ ไม่สามารถใช้ประโยชน์บนถนนสาธารณะซอยสามัคคี 58/10 และไม่สามารถดำ�เนินการปักเสาพาดสายไฟฟ้า วางระบบท่อประปา เข้าสู่โครงการหมู่บ้านจัดสรรของ โจทก์ ทำ�ให้ลูกค้าผู้จะซื้อบ้านพักอาศัยในโครงการดังกล่าวไม่สามารถเข้าอยู่อาศัยได้ ลูกค้าผู้จะซื้อจึงไม่ ยินยอมจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ จนกว่าโจทก์จะได้ด�ำ เนินการดังกล่าวเสร็จสิน้ ทำ�ให้โจทก์ได้รบั ความ เสียหาย ความคื บ หน้ า : โจทก์ได้ขอคุ้มครองชั่วคราวฉุกเฉินห้ามจำ�เลยทั้งสี่ ขัดขวางการปักเสาพาดสายไฟฟ้าและวางท่อประปา ของคดี ซึง่ ศาลได้มคี �ำ สัง่ ห้ามตามคำ�ขอของโจทก์แล้ว ต่อมาศาลได้มคี �ำ สัง่ อนุญาตให้รวมการพิจารณาคดีเข้ากับ คดีแพ่งหมายเลขดำ�ที่ พ.697/2551 ของศาลนี้คดีนี้ สืบพยานโจทก์และจำ�เลย เสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2554 และ ศาลได้มีคำ�พิพากษาในวันที่ 17 มีนาคม 2554 ให้โจทก์ที่ 1, 2 , 4 และ 7 (พ.อ.เสวก ธาราณัติ ที่ 1, นางนงลักษณ์ สาตรา ที่ 2,นายพลเทพ พะลัง ที่ 4และ นางสุดาพร จันทร์เลิศฟ้า ที่7) รื้อ ถอนแผงเหล็กออกจากถนนสาธารณะซอยสามัคคี 58/10 และห้ามกระทำ�การใด ๆ อันเป็นการขัดขวาง หรือรบกวนจำ�เลยที่ 1 (บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ) หรือตัวแทนของจำ�เลยที่ 1 ในการใช้ประโยชน์ บนถนนสาธารณะซอยสามัคคี 58/10 และให้โจทก์ที่ 1, 2, 4 และ 7ร่วมกันชำ�ระค่าเสียหาย แก่จำ�เลยที่ 1 เป็นเงินจำ�นวน 500,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ของต้นเงินจำ�นวนดังกล่าวจนกว่าชำ�ระเสร็จ สิ้น คำ�ขออื่นนอกจากนี้ให้ยกเสีย และให้ยกฟ้อง โจทก์ทั้ง 21 ค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็นพับ ต่อมาโจทก์ ทั้งยี่สิบเอ็ดได้ยื่นอุทธรณ์คำ�พิพากษา พร้อมขอทุเลาการบังคับคดี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554 และ จำ�เลยได้ยื่นแก้อุทธรณ์และคัดค้าน การขอทุเลาการบังคับคดีในวันที่ 14 กันยายน 2554 ซึ่งศาลอุทธรณ์ นัดฟังคำ�พิพากษา ในวันที่ 9 สิงหาคม 2555 โดยพิพากษายืนตามคำ�พิพากษาของศาลชั้นต้น ค่าฤชา ธรรมเนียมชั้นอุทธรณ์เป็นพับ ปัจจุบัน จำ�เลยกับพวก ได้ยื่นฏีกาและคำ�ร้องขอทุเลาการบังคับคดี เมื่อ วันที่ 6 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ อยู่ระหว่างจัดทำ�แก้ฏีกา และคำ�ร้องคัดค้านการขอทุเลาการบังคับคดี ความเห็นของ : คดีนี้ ตามข้อเท็จจริงที่จำ�เลยได้กระทำ�ละเมิดต่อโจทก์ โดยปราศจากสิทธิใดๆอันจะกล่าวอ้างได้ตาม กฏ ฝ่ายจัดการ หมาย ซึ่งการทำ�ละเมิดดังกล่าวของจำ�เลยทำ�ให้โจทก์ ได้รับความเสียหาย และจากการที่ศาลมีคำ�สั่งให้ รวมการพิจารณาเข้ากับคดีแพ่ง หมายเลขดำ�ที่ พ.697/2551 ของศาลนี้ โดยเมื่อพิเคราะห์จากแนวทาง การพิจารณาของศาลในคดีดังกล่าว ฝ่ายจัดการมีความเห็นว่า คดีนี้ไม่มีมูลที่โจทก์จะนำ�มาฟ้องคดี และ ไม่มีเหตุให้ชนะคดีได้ และไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของบริษัทแต่อย่างใด
53
7.5 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ 218/2552 คดีหมายเลขแดงที่ 5171/2553 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี โจทย์ จำ�เลย มูลคดี
: : : : : :
ศาลแพ่ง ดำ�ที่ 218/2552 แดงที่ 5171/2553 28 มกราคม 2552 บริษัท หนึ่งแปด ดีไซน์ จำ�กัด บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) โจทก์ยื่นฟ้องจำ�เลย ต่อศาลแพ่ง ตามสัญญาจ้างทำ�ของ และเรียกค่าเสียหาย เป็นเงิน 9,161,589.37 บาท พร้อมดอกเบี้ย โดยคดีนี้ จำ�เลยได้จ้างโจทก์ออกแบบสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และแบบภูมิ สถาปัตยกรรมให้แก่จำ�เลย รวม 5 โครงการ และโจทก์ ได้อ้างว่าจำ�เลยชำ�ระค่าบริการวิชาชีพตามสัญญา ไม่ครบถ้วนตามงวดงานที่โจทก์ได้ทำ�และส่งมอบแก่จำ�เลยแล้ว แต่จำ�เลยไม่ได้ชำ�ระ ค่าบริการวิชาชีพแก่ โจทก์ตามที่โจทก์ได้นำ�ส่งใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินมาโจทก์จึงฟ้องจำ�เลยเป็นคดีนี้ เพื่อเรียกให้จำ�เลยชำ�ระ เงินตามงวดงานที่ค้างชำ�ระ พร้อมค่าเสียหายดังกล่าวข้างต้น ความคื บ หน้ า : ศาลกำ�หนดสืบพยานโจทก์ วันที่ 21 - 22 กันยายน 2553 และสืบพยานจำ�เลยวันที่ 23 - 24 กันยายน ของคดี 2553 และศาลมีค�ำ พิพากษาในวันที่ 9 ธันวาคม 2553 โดยพิพากษาให้จ�ำ เลยชำ�ระเงินจำ�นวน 7,281,778.92 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงิน 7,091,082.60 บาท นับแต่วันฟ้อง (22 มกราคม 2552) จนกว่าจะชำ�ระเสร็จ ให้จำ�เลยชำ�ระค่าธรรมเนียมแทนโจทก์ กำ�หนดค่าทนายความ 10,000 บาท เฉพาะค่าขึ้นศาลให้ใช้แทนเท่าจำ�นวนทุนทรัพย์ที่โจทก์ชนะคดี คำ�ขออื่นให้ยก ยกฟ้องแย้งจำ�เลย ค่าธรรมเนียมให้เป็นพับ ทั้งนี้บริษัทยื่นอุทธรณ์คำ�พิพากษาศาลชั้นต้นและยื่นคำ�ร้องของดการบังคับคดี ต่อศาลในวันที่ 6 พฤษภาคม 2554 และโจทกได้ยนื่ คำ�แก้อทุ ธรณ์ และภายหลังบริษทั ได้ยนื่ คำ�ร้องขอทุเลา การบังคับคดีต่อศาลอีกครั้ง โดยศาลอุทธรณ์นัดฟังคำ�สั่งคำ�ร้องขอทุเลาการบังคับคดีในวันที่ 4 ตุลาคม 2555 โดยศาลมีค�ำ สัง่ ให้ยกคำ�ร้อง เนือ่ งจาก ศาลชัน้ ต้นมีค�ำ สัง่ ให้งดการบังคับคดีตามทีบ่ ริษทั ร้องขอแล้ว มีผลทำ�ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องงดการบังคับคดีไว้ ไม่จำ�เป็นต้องยื่นคำ�ร้องขอทุเลาการบังคับคดีอีก คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ความเห็นของ : คดีนี้ โจทก์และจำ�เลยมีการว่าจ้างและทำ�งานให้กันจริง และจำ�เลยก็ได้ชำ�ระค่าบริการวิชาชีพแก่โจทก์ ฝ่ายจัดการ เรื่อยมา แต่ค่าบริการวิชาชีพที่โจทก์กล่าวอ้างว่าจำ�เลยค้างชำ�ระนั้น ตามข้อเท็จจริงปรากฎว่า โจทก์มิได้ ทำ�งานที่จ้างได้ครบถ้วน ถูกต้องตามงวดงาน แบบต่างๆ ที่ส่งมอบมาเพื่อเบิกเงินในงวดท้ายก็ไม่ถูกต้อง ผิดจากข้อกำ�หนด และข้อบัญญัติของกฎหมาย ซึ่งจำ�เลยไม่สามารถนำ�ไปใช้ในงานก่อสร้างของจำ�เลยได้ จริง เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงทั้งหมดประกอบกับประเด็นข้อกล่าวอ้างของโจทก์แล้ว เห็นว่าหากพิสูจน์ใน เรื่องงานที่โจทก์ได้ดำ�เนินการและส่งมอบแก่จำ�เลยอย่างครบถ้วนถูกต้องแล้ว จำ�เลยยังคงค้างค่าบริการ วิชาชีพแก่โจทก์เท่าใด จำ�เลยย่อมชำ�ระตามนัน้ ซึง่ น่าจะมีมลู ค่าไม่สงู นักเนือ่ งจากส่วนใหญ่จ�ำ เลยได้ช�ำ ระ อย่างต่อเนื่องตามงานที่ได้รับมอบแล้ว 7.6 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ ผบ.1172/2552 คดีหมายเลขแดงที่ ผบ.2482/2554 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี โจทย์
54
: : : :
ศาลแพ่ง ดำ�ที่ ผบ.1172/2552 แดงที่ ผบ.2482/2554 13 กุมภาพันธ์ 2552 บริษัท ธัญสิริ จำ�กัด
จำ�เลย
: บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน), นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย และนายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล จำ�เลยที่ 1-3 มูลคดี : โจทก์ยื่นฟ้องจำ�เลยที่ 1 - 3 ต่อศาลแพ่ง เป็นคดีผู้บริโภค ฐานผิดสัญญา และเรียกค่าเสียหาย เป็นเงิน 128,532,500 บาท พร้อมดอกเบี้ย โดยคดีนี้ โจทก์และจำ�เลยที่ 1 ได้ทำ�สัญญาซื้อขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูก สร้าง โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติมให้จำ�เลยที่ 1 ปลูกสร้างต่อเติมตามแบบที่โจทก์ ได้เป็นผู้กำ�หนด แต่โจทก์ ได้ อ้างว่าจำ�เลยที่ 1 ได้ขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง และตกลงทำ�การต่อเติมโดยมีเงื่อนไขว่าจะดำ�เนินการ แก้ไขผังโครงการและวิธีการจัดสรร ให้พื้นที่ถนนภารจำ�ยอมซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนกลางของโครงการจัดสรร ปริญสิริ ไพรเวซี่ ซึ่งเป็นถนนบริเวณทางเข้าสิ่งปลูกสร้างที่โจทก์ตกลงซื้อจากจำ�เลยที่ 1 ให้รวมเป็นส่วน หนึ่งของพื้นที่ที่ขายแก่โจทก์ด้วย แต่ปรากฎว่าจำ�เลยที่ 1 ไม่ได้ดำ�เนินการแก้ไขผังโครงการและวิธีการ จัดสรร และโอนกรรมสิทธิ์ถนนภารจำ�ยอมดังกล่าวแก่โจทก์ โจทก์ จึงมาฟ้องจำ�เลยที่1 เป็นคดีนี้ ส่วน จำ�เลยที่ 2 และ 3 กระทำ�การในฐานะกรรมการ และโจทก์อ้างว่าจำ�เลยทั้งสองโดยส่วนตัวรับทราบข้อเท็จ จริงดังกล่าวอยู่แล้วจึงต้องร่วมรับผิดกับจำ�เลยที่ 1 ความคื บ หน้ า : ศาลนัดไกล่เกลี่ย ครั้งแรกวันที่ 26 พฤษภาคม 2552 โจทก์ประสงค์ให้กรรมการของจำ�เลยหรือจำ�เลยที่ ของคดี 2 หรือจำ�เลยที่ 3 มาไกล่เกลี่ยเอง ซึ่งในวันนัดไกล่เกลี่ย วันที่ 7 ตุลาคม 2552 คู่ความไม่สามารถเจรจา ไกล่เกลี่ยกันได้ จึงให้นัดพิจารณาคดีต่อเนื่อง โดยในวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ได้สืบพยานโจทก์ ไป 1 ปาก ทั้งนี้ ศาลได้มีคำ�พิพากษาในวันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ให้ยกฟ้องโจทก์ ซึ่งโจทก์ ได้อุทธรณ์ และจำ�เลย ได้ยื่นคำ�แก้อุทธรณ์ของโจทก์แล้ว และศาลอุทธรณ์นัดไกล่เกลี่ยคู่ความทั้งสองฝ่าย อีกครั้งในวันที่ 5 กันยายน 2555 และวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 ซึ่งคู่ความไม่สามารถเจรจาตกลงกันได้ บริษัทมีความ ประสงค์ให้ศาลดำ�เนินการไปตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไป แต่โจทก์ยื่นข้อเสนอขอเจรจากับกรรมการ บริษัท เกี่ยวกับข้อพิพาทดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ศาลจึงเลื่อนการไกล่เกลี่ยออกไปเป็น วันที่ 22 มกราคม 2556 ความเห็นของ : คดีนี้ จำ�เลยที่ 1 ได้ปฏิบัติตามสัญญาจะซื้อจะขายครบถ้วนแล้วทุกประการ ทั้งเรื่องการโอนกรรมสิทธิ์ ฝ่ายจัดการ ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้าง การปลูกสร้างต่อเติมตามแบบของโจทก์ มีเพียงในส่วนเรือ่ งการแก้ไขผังโครงการ และวิธีการจัดสรร และโอนกรรมสิทธิ์ถนนภารจำ�ยอมดังกล่าวแก่โจทก์ ซึ่งจำ�เลยที่ 1 ทราบดีอยู่แล้วว่าไม่ สามารถทำ�ได้ตามกฎหมายและไม่เคยบอกกล่าวหรือตกลงกับโจทก์ ไม่ว่าจะด้วยวาจาหรือลายลักษณ์ อักษร ว่าจะดำ�เนินการดังกล่าวให้แก่โจทก์ ข้อกล่าวอ้างของโจทก์เป็นเพียงการกล่าวอ้างลอย ๆ โดยไม่มี หลักฐานใด ๆ มาสนับสนุน ดังนั้นหากนำ�คดีขึ้นสู่ศาลสูง ก็ไม่มีเหตุให้โจทก์ชนะคดี ด้วยเหตุผลทั้งจาก ข้อเท็จจริง และข้อกฎหมายเช่นเดียวกันในศาลชั้นต้น 7.7 ข้อพิพาทคดีหมายเลขดำ�ที่ 1905/2552 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี ผู้ฟ้องคดี
: : : :
ศาลปกครองกลาง ดำ�ที่ 1905/2552 24 พฤศจิกายน 2552 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน)
55
ผู้ถูกฟ้องคดี มูลคดี
: กรุงเทพมหานคร ที่ 1 และกระทรวงการคลัง ที่ 2 : ผู้ฟอ้ งคดีได้ยื่นฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ต่อศาลปกครองกลาง เป็นคดีหมายเลขดำ�ที่ 1149/2550 เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2550 เพื่อขอเพิกถอนคำ�สั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งศาลปกครองได้มีคำ� พิพากษาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 เป็นคดีหมายเลขแดงที่ 1605/2551 ว่าหนังสือแจ้งข้อทักท้วง ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และคำ�วินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ในคดีนั้นๆ เป็นการกระทำ�ที่ไม่ชอบด้วย กฎหมาย และให้เพิกถอนการแจ้งข้อทักท้วงของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และคำ�วินิจฉัยของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 ใน ดังกล่าว โดยให้มผี ลย้อนหลังตัง้ แต่วนั ทีม่ หี นังสือแจ้งข้อทักท้วงและวันทีม่ คี �ำ วินจิ ฉัยอุทธรณ์แล้วแต่กรณี โจทก์จงึ ได้น�ำ ผลของคำ�พิพากษาในคดีปกครองดังกล่าว มาฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 1 และ 2 ในมูลละเมิดเป็นคดีนี้ โดยเรียกค่าเสียหายเป็นเงินรวมทั้งสิ้น 238,557,169.04 บาท ความคื บ หน้ า : ขณะนี้ศาลปกครองได้รับคำ�ฟ้องไว้แล้ว เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 ซึ่งต่อมา ศาลปกครองชั้นต้นมี ของคดี คำ�สัง่ ไม่รบั คำ�ฟ้อง ซึง่ บริษทั ได้อทุ ธรณ์ค�ำ สัง่ ไม่รบั ฟ้องแล้ว และในวันที่ 24 พฤษภาคม 2554 ศาลปกครอง สูงสุดมีคำ�สั่งชี้ขาด คำ�ร้องอุทธรณ์คำ�สั่งไม่รับคำ�ฟ้อง โดยยืนตามคำ�สั่งของศาลปกครองชั้นต้น ความเห็นของ : คดีนี้ เป็นการฟ้องคดีละเมิดตามผลของคำ�พิพากษาในคดีปกครอง ซึ่งบริษัทชนะคดีมาแล้ว และผลของ ฝ่ายจัดการ คำ�สัง่ ทางปกครองทีผ่ ถู้ กู ฟ้องคดี ได้สงั่ ให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามก่อให้เกิดความเสียหายทีส่ ามารถพิสจู น์ตวั เงิน ได้จริง ไม่วา่ จะเป็นค่าทีด่ นิ ทีบ่ ริษทั ซือ้ เพิม่ เพือ่ ให้สามารถดำ�เนินโครงการต่อไปได้ , ค่าปรับล่าช้าทีบ่ ริษทั ต้องชำ�ระแก่ลูกค้าที่รอรับโอนกรรมสิทธิ์ตามสัญญา และดอกเบี้ยของธนาคารที่บริษัทรับภาระเพิ่มขึ้น ไม่ว่าศาลปกครองจะมีคำ�สั่งในคดีนี้อย่างไร ย่อมไม่กระทบกับบริษัทในทางลบแต่อย่างใด 7.8 คดีข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 1787/2554 คดีหมายเลขแดงที่ 3642/2555 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี มูลคดี
ศาลแพ่ง ดำ�ที่ 1787/2554 แดงที่ 3642/2555 19 พฤษภาคม 2554 นายหุ้ย ภู่ภิรมย์ กับพวกรวม 3 คน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) โจทก์ยื่นฟ้องบริษัทต่อศาลแพ่ง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 ในฐานความผิดเรื่อง ผิดสัญญา,ซื้อขาย จำ�นวนทุนทรัพย์รวมประมาณ 102,000,000 บาทพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยฟ้องเรียกเงิน ตาม บันทึกข้อตกลงเรื่องซื้อขายที่ดินตลิ่งชัน ที่โจทก์อ้างว่าจำ�เลยได้รับโอนที่ดินตามบันทึกข้อตกลงแล้ว แต่ โจทก์ยงั ไม่ได้รบั ชำ�ระค่าส่วนต่างในค่าทีด่ นิ ตามบันทึกข้อตกลง ทัง้ ยังไม่ไปรับโอนทีต่ ามที่โจทก์นดั หมาย เป็นเหตุให้เจ้าของที่ดินริบเงินมัดจำ�ของโจทก์ และทำ�ให้โจทก์ ได้รับความเสียหาย ความคื บ หน้ า : จำ�เลยได้ยื่นคำ�ให้การและฟ้องแย้งแล้ว เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2554 ซึ่งศาลสั่งรับคำ�ให้การและฟ้องแย้ง ของคดี แล้ว ต่อมาในวันนัด คู่ความแถลงว่าประสงค์จะไกล่เกลี่ย ศาลกำ�หนดนัดไกล่เกลี่ย วันที่ 21 ธันวาคม 2554 เวลา 13.30 น. ซึ่งต่อมาศาลได้เลื่อนการไกล่เกลี่ยออกไปอีก เป็นวันที่ 2 เมษายน 2555 แต่ เนือ่ งจากคูค่ วามทัง้ สองฝ่ายไม่สามารถเจรจาตกลงกันได้ ศาลจึงนัดชีส้ องสถานในวันที่ 30 เมษายน 2555 โดยกำ�หนดนัดสืบพยานวันที่ 11,12,18,19,20,25,26 กันยายน 2555 ต่อมาในวันที่ 12 กันยายน 2555 คูค่ วามทัง้ สองฝ่ายสามารถ เจรจาตกลงกันได้ จึงได้ท�ำ สัญญาประนีประนอมยอมความต่อศาล โดยจำ�เลย ตกลงชำ�ระเงินแก่โจทก์ทงั้ สามเป็นเงินจำ�นวน 30,000,000.-บาท ( สามสิบล้านบาทถ้วน ) โดยชำ�ระภายใน วันที่ 27 กันยายน 2555 และจำ�เลยตกลงจดทะเบียนโอนที่ดินโฉนดเลขที่ 79839,12044,1645 ตำ�บล ตลิ่งชัน อำ�เภอตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ให้แก่โจทก์ที่ 3
56
: : : : : :
ความเห็นของ : คดีนี้ ฝ่ายจัดการได้ศึกษาข้อเท็จจริงและร่วมประชุมปรึกษากับที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ แล้วพบว่า ฝ่ายจัดการ นายหุ้ย ภู่ภิรมย์ โจทก์ ยังไม่ได้ปฎิบัติหน้าที่ตามที่ทำ�บันทึกข้อตกลงไว้กับบริษัทฯ ให้ครบถ้วน รวมทั้ง โจทก์ยังไม่ดำ�เนินการทำ�ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ท่อระบายน้ำ� สะพาน ตลอดจนการดำ�เนินการให้ถนน ที่รับไปดำ�เนินการดังกล่าวเป็นถนนสาธารณะ รวมทั้งยังไม่สามารถจัดให้บริษัทฯ เข้าทำ�บันทึกการโอน สิทธิต์ ามสัญญาจะซือ้ จะขายกับเจ้าของทีด่ นิ และโจทก์ได้เปลีย่ นทางเข้า-ออกของทีด่ นิ ทีบ่ ริษทั ฯ ต้องการ ทำ�สัญญาจะซือ้ จะขายให้มมี ลู ค่าลดลงไปอันเป็นสาระสำ�คัญอีกประการหนึง่ ในระหว่างนี้ บริษทั ฯได้ท�ำ การ เจรจากับโจทก์มาโดยตลอด เพื่อให้คดีสามารถยุติลงได้ด้วยการเจรจาประนีประนอมต่อกัน ทำ�ให้คดีนี้ ไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของบริษัทแต่อย่างใด 7.9 คดีข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ ผบ.1167-1176/2554 คดีของศาล คดีหมายเลข วันที่เริ่มคดี ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี มูลคดี
: : : : : :
ศาลแพ่งธนบุรี ผบ.1167-1176/2554 11 กรกฎาคม 2554 นายสมบูรณ์ มีทรัพย์ประเสริฐ กับพวกรวม 10 คน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) โจทก์ยื่นฟ้องบริษัทต่อศาลแพ่ง เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2554 ในข้อหาฐานความผิด เรื่อง ผิดสัญญาจะ ซื้อจะขาย และสัญญาซื้อขาย จำ�นวนทุนทรัพย์รวมประมาณ 19,490,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยโจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าเสียหาย เป็นค่าน้ำ�มันรถ ค่าเสียหายเพื่อการลงโทษ ค่าเสียหายใน การประกอบอาชีพ และ เรียกค่าเสียหายจากมูลค่าที่ดินที่ลดลง โดยอ้างว่า จำ�เลยได้โฆษณาขายว่า โครงการ ที่มีข้อพิพาท มีสองทางเข้าออกสองทาง แต่ไม่ได้ปฎิบัติตามสัญญา ทำ�ให้โจทก์เสียหาย ความคื บ หน้ า : จำ�เลยได้ยื่นคำ�ให้การและฟ้องแย้งแล้ว ซึ่งศาลสั่งรับคำ�ให้การ แต่ไม่รับฟ้องแย้ง โดยให้เหตุผลว่าฟ้อง ของคดี แย้งไม่เกี่ยวกับฟ้องเดิม และในวันที่ 27 กันยายน 2554 บริษัทได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งไม่รับฟ้องแย้ง คดีนี้ ศาลประสงค์ให้คคู่ วามทัง้ สองฝ่ายตกลงเจรจาไกล่เกลีย่ กันมาโดยตลอด แต่ทงั้ สองฝ่ายยังไม่สามารถเจรจา ตกลงกันได้ศาลจึงให้นำ�คดีสู่การพิจารณาของศาล แต่เนื่องจากจำ�เลยได้ยื่นอุทธรณ์คำ�สั่งศาลชั้นต้นที่ไม่ รับฟ้องแย้งของจำ�เลย โดยบางสำ�นวนศาลอุทธรณ์ยังไม่มีคำ�สั่งเกี่ยวกับการฟ้องแย้ง แต่บางสำ�นวนได้มี คำ�สั่งเรื่องฟ้องแย้งแล้ว ศาลจึงมีคำ�สั่งให้เลื่อนนัดพิจารณาออกไป เพื่อรอฟังผลคำ�พิพากษาศาลอุทธรณ์ และต่อมาศาลอุทธรณ์มีคำ�สั่งไม่รับฟ้องแย้ง โดยศาลได้มีคำ�สั่งทั้ง 10 สำ�นวนไม่พร้อมกัน โดยมีราย ละเอียดดังนี้ 1. คดีหมายเลขดำ�ที่ ผบ.1167/2554, 1170/2554, 1171/2554, 1172/2554, 1174/2554, 1176/2554 เนื่องจากทั้ง 6 สำ�นวนนี้ ศาลอุทธรณ์ ได้มีคำ�สั่งไม่รับฟ้องแย้งของจำ�เลยก่อน จำ�เลยจึงได้ยื่นคำ�ร้องขอ ขยายระยะเวลาฎีกาคัดค้านคำ�สั่งศาลอุทธรณ์ที่ไม่รับฟ้องแย้งไว้ และศาลอนุญาตให้ถึงวันที่ 10 กันยายน 2555 จึงไม่สามารถรวมพิจารณาคดี และกำ�หนดประเด็นข้อพิพาทได้ จึงให้เลื่อนคดีออกไป 2. คดีหมายเลขดำ�ที่ ผบ.1168/2554, 1169/2554, 1173/2554, 1175/2554 ศาลอุทธรณ์ ได้มีคำ�สั่ง ไม่รับฟ้องแย้งจำ�เลยลงมาในภายหลัง และเนื่องจากคดีในส่วนอื่นที่จะขอรวมการพิจารณา ยังอยู่ระหว่าง ระยะเวลายื่นฎีกา จึงไม่สามารถรวมคดีและกำ�หนดประเด็นข้อพิพาทได้ จึงให้เลื่อนนัดพร้อมในวันที่ 8 ตุลาคม 2555
57
วันที่ 8 กันยายน 2555 โจทก์ ในคดี 1172/2554, 1176/2554 ยื่นคำ�ร้องขอถอนฟ้องเนื่องด้วยได้รับการ เยียวยาจากจำ�เลย และในวันดังกล่าวจำ�เลยได้ยนื่ คำ�ร้องขอถอนฎีกาคัดค้านคำ�สัง่ ศาลอุทธรณ์ที่ไม่รบั ฟ้อง แย้งจำ�เลย ในคดี 1172/2554, 1176/2554 โดยศาลชั้นต้นรอคำ�สั่งจากศาลฎีกา เพื่อพิจารณาการถอน ฟ้องของโจทก์ทั้งสองไปพร้อมฎีกาคัดค้านคำ�สั่งศาลอุทธรณ์ที่ไม่รับฟ้องแย้งจำ�เลย โดยในวันนัดนี้ ศาล ได้ให้โอกาสคู่ความเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทกัน โดยศาลเห็นว่า มีแนวทางที่จะสามารถตกลงกันได้ ศาล ได้เลื่อนวันนัดพร้อมเป็นวันที่ 7 ธันวาคม 2555 เวลา 9.00 น. แต่ในวันนัดดังกล่าว ศาลชั้นต้นเห็นว่า ศาลฎีกายังไม่มคี �ำ สัง่ ในกรณีทจี่ �ำ เลยฎีกาคัดค้านคำ�สัง่ ศาลอุทธรณ์ที่ไม่รบั ฟ้องแย้งของจำ�เลย จึงให้เลือ่ น เป็นนัดพร้อมวันที่ 4 มีนาคม 2556 เวลา 9.00 เนื่องจากศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่าคู่ความทั้งสองฝ่ายจะ สามารถเจรจาตกลงเพื่อหาข้อยุติกันได้ ความเห็นของ : คดีนี้ ฝ่ายจัดการได้ศึกษาข้อเท็จจริงและร่วมประชุมปรึกษากับที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ แล้วพบว่า ฝ่ายจัดการ คดีดังกล่าวค่าเสียหาย ในส่วนค่าน้ำ�มันรถ ค่าเสียหายจากมูลค่าที่ดินที่ลดลง เป็นจำ�นวนต่ำ�กว่าที่โจทก์ ฟ้องเรียกร้อง ทั้งนี้ค่าเสียหายเพื่อการลงโทษ และค่าเสียหายในการประกอบอาชีพ ที่โจทก์บางรายเรียก ร้องมานั้น ไม่มีกฏหมายกำ�หนดให้ไว้โดยเฉพาะเจาะจง จึงไม่ควรนำ�มาคำ�นวณเป็นค่าเสียหาย หรือหาก ลูกบ้านมีความประสงค์จะเรียกร้องค่าเสียหายดังกล่าว ก็ถอื เป็นหน้าทีข่ องลูกบ้านทีต่ อ้ งนำ�สืบให้ศาลเห็น อย่างชัดแจ้ง ถึงค่าความเสียหายดังกล่าวที่แท้จริง ซึ่งพิเคราะห์แล้วเห็นว่า ประเด็นที่ลูกบ้านฟ้องร้องต่อ ศาล ไม่เกีย่ วกับประเด็นการประกอบอาชีพของลูกบ้านแต่ประการใด ซึง่ ในระหว่างกระบวนการดำ�เนินคดี ทางศาลนี้ บริษัทได้ทำ�การเจรจากับโจทก์มาโดยตลอด เพื่อให้สามารถยุติข้อพิพาทลงได้ด้วยการเจรจา ประนีประนอมยอมความ ทำ�ให้คดีนี้ไม่น่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานของบริษัทแต่อย่างใด
58
8. โครงสร้างเงินทุน 8.1 หลักทรัพย์ของบริษัท - หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจำ�นวน 1,276,041,855 บาท เป็นทุนซึ่งออกและชำ�ระแล้ว แบ่งเป็นหุ้น สามัญจำ�นวน 1,216,041,855 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท และใบสำ�คัญแสดงสิทธิสำ�หรับพนักงานและผู้บริหาร จำ�นวน 60,000,000 หน่วย ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2550 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2550 ได้มีมติอนุมัติการออกและเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น จำ�นวน 335,000,000 หุ้น (สามร้อยสามสิบ ห้าล้านหุ้น) และการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท เพื่อเสนอขายให้แก่ประชาชนจำ�นวน 335,000,000 หุ้น (สาม ร้อยสามสิบห้าล้านหุ้น) อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ได้มีมติอนุมัติให้ยกเลิก การขายหุน้ เพิม่ ทุนเพือ่ จำ�หน่ายให้แก่ประชาชนทัว่ ไป โดยการออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมแทนโดยไม่คดิ มูลค่า จำ�นวน 335,000,000 หน่วย และมีมติให้ลดทุนจดทะเบียนจาก 1,340 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 1,005 ล้านบาท ในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทอีกจำ�นวน 100,500,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 100,500,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจำ�นวน 1,005,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่ 1,105,500,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,105,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท โดยใช้ วิธีการเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นปันผลใน อัตรา 10 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2554 ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียน 1,105,500,000 หุ้น เป็น 1,105,499,456 หุ้น หุ้นละ 1 บาท และมีมติอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียน 1,105,499,456 หุ้น เป็น 1,216,049,401 หุ้น หุ้น ละ 1 บาท อีกจำ�นวน 1,216,049,401 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,216,049,401 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยใช้ วิธีการเพิ่มทุนโดยการออกหุ้นปันผลใน อัตรา 10 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นปันผล ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมได้มีมติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อรองรับการใช้สิทธิ์ของใบสำ�คัญแสดงสิทธิ์ที่จะซื้อหุ้นของบริษัทจำ�นวน 60 ล้านบาท มูลค่าหุ้นละ 1 บาท มีผลทำ�ให้ทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้นจากจำ�นวน 1,216,049,401 หุ้น เป็น 1,276,049,401 หุ้น ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2555 มีมติให้ออกและเสนอขายใบสำ�คัญ แสดงสิทธิสำ�หรับพนักงานและผู้บริหาร อายุ 2 ปี 7 เดือน จำ�นวน 60,000,000 หน่วย อัตราใช้สิทธิ 1:1 ราคาใช้สิทธิ 1.50 บาท ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2555 บริษัทได้จัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าว จำ�นวน 33,370,000 หน่วย คงเหลือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ยัง ไม่ได้จัดสรร 26,630,000 หน่วย - หุ้นกู้ บริษัทมีหุ้นกู้ซึ่งยังไม่ได้ไถ่ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายละเอียดดังนี้ • หุ้นกู้ของบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2554 ครบกำ�หนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556 (PRIN135A) วันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 ประเภทหุ้นกู้ หุ้นกู้ไม่มีประกัน ระบุชื่อผู้ถือ ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีผู้แทนถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ จำ�นวนหุ้นกู้ที่เสนอขาย 400,000 หน่วย (หน่วยละ 1,000 บาท) หุ้นกู้ที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน 400 ล้านบาท อายุ 2 ปี อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ คงที่ร้อยละ 6.10 ต่อปี การชำ�ระดอกเบี้ย ทุก 6 เดือน ในวันที่ 30 พฤศจิกายน และ 30 พฤษภาคม วันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้ วันที่ 31 พฤษภาคม 2556
59
• หุ้นกู้ชนิดทยอยชำ�ระคืนเงินต้นของบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2555 ครบกำ�หนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557 (PRIN147A) วันที่ออกหุ้นกู้ วันที่ 30 มกราคม 2555 ประเภทหุ้นกู้ หุ้นกู้ไม่มีประกัน ระบุชื่อผู้ถือ ไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีผู้แทนถือหุ้นกู้ เสนอขายต่อ ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ จำ�นวนหุ้นกู้ที่เสนอขาย 360,000 หน่วย (หน่วยละ 1,000 บาท) หุ้นกู้ที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน 360 ล้านบาท อายุ 2.5 ปี อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ คงที่ร้อยละ 5.75 ต่อปี การชำ�ระดอกเบี้ย ทุก 3 เดือน ในวันที่ 30 มีนาคม, 30 มิถุนายน, 30 กันยายน และ 30 ธันวาคม วันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้ วันที่ 30 กรกฎาคม 2557 - ตั๋วแลกเงิน บริษัทฯมียอดหนี้ของตั๋วแลกเงิน อายุไม่เกิน 270 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คงค้างมูลค่า 417.2 ล้านบาท 8.2 ผู้ถือหุ้นของบริษัท รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรกที่ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 12 มีนาคม 2555 ลำ�ดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ผู้ถือหุ้น คุณสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย คุณพัชรี โกวิทจินดาชัย MORGAN STANLEY & CO. INTERNATIONAL PLC คุณปริญญา โกวิทจินดาชัย คุณสมทรง ลาภานันต์รัตน์ คุณนิภา อภิรัตนรุ่งเรือง คุณสิริพันธ์ นนทสูติ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด คุณวินัย เตียวสมบูรณ์กิจ คุณกิมลั้ง โกวิทจินดาชัย
8.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล
อหุ้น จำ�นวนหุน้ ทีถ่ อื (หุน้ ) สัดส่ว(ร้นการถื อยละ) 282,646,556 23.24 84,700,000 6.97 70,000,000 5.76 50,395,000 4.14 45,198,200 3.72 44,172,500 3.63 31,774,315 2.61 27,887,146 2.29 23,000,000 1.89 22,078,749 1.82
บริษัทมีนโยบายที่จะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่เกินร้อยละ 40 ของกำ�ไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงิน ได้นติ บิ คุ คล ทัง้ นีอ้ ตั ราการจ่ายปันผลในแต่ละปีอาจเปลีย่ นแปลงได้ ขึน้ อยูก่ บั ผลประกอบการ แผนการขยายธุรกิจ สภาพคล่อง ความ จำ�เป็นและความเหมาะสมอืน่ ๆ โดยให้อ�ำ นาจคณะกรรมการของบริษทั พิจารณา และการดำ�เนินการดังกล่าวจะต้องก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น สำ�หรับบริษัทย่อยของบริษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเช่นเดียวกับบริษัท และเป็นไปตามการ พิจารณาของคณะกรรมการของบริษัทย่อยนั้น
60
รูปแผนผังโครงสร้างการจัดการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
9. โครงสร้างการจัดการ ผังโครงสร้างองค์กร (Organization Chart)
61
9.1 โครงสร้างคณะกรรมการ
บริษัทมีคณะกรรมการต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท และมีคณะกรรมการเฉพาะเรื่องอีกจำ�นวน 2 คณะ ในการช่วยกลั่น กรองงานที่มีความสำ�คัญ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการและ ผู้บริหารของบริษัทประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 และ ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กจ. 12/2543 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ ฉบับลงวันที่ 22 มีนาคม 2543 ทุกประการ โดยคณะกรรมการต่างๆ ของบริษัทมีดังต่อไปนี้ 9.1.1 คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการของบริษัทมีจำ�นวน 8 ท่าน ดังนี้ 1. ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ 2. รศ.อัญชลี พิพัฒนเสริญ ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ 3. ผศ.มนต์ผกา วงษา กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ 4. รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ 5. นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย ประธานกรรมการบริหาร/กรรมการ 6. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย กรรมการผู้จัดการ/กรรมการ 7. นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล กรรมการ 8. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการ ทั้งนี้มี นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท โดยมีดังนี้ 1. นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย / นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย / นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล /นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล กรรมการสองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัท 2. การขออนุญาตจัดสรร การขออนุญาตค้าที่ดิน การขออนุญาตปลูกสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างทุกประเภท การขออนุญาต ตรวจ รวม หรือแบ่งโฉนดที่ดิน การขออนุญาตแบ่งกรรมสิทธิ์รวม การจดทะเบียนจำ�นอง การปลอดจำ�นอง และการไถ่ถอนจำ�นองทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง การขออนุญาตให้มหี มายเลขประจำ�บ้าน การ ขออนุญาตใช้และโอนไฟฟ้าและน้ำ�ประปา การเช่าสิทธิ การใช้หมายเลขโทรศัพท์ การยื่นคำ�ร้องทั่วไปเกี่ยว กับโทรศัพท์ การขออนุญาตเชื่อมทางและท่อระบายน้ำ� การขออนุญาตตัดคันหิน การชี้ระวางและรับรอง แนวเขตที่ดิน การขอรังวัดแบ่งแยกที่ดิน การขอจดทะเบียนอาคารชุด การขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคาร ชุด การขอจดทะเบียนนิติบุคคลบ้านจัดสรร การขออนุญาตเปิดการใช้อาคาร การยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกอบการค้า การให้ถอ้ ยคำ�ตลอดจนยืน่ และรับเอกสารเกีย่ วข้องกับกรมสรรพากร การดำ�เนินการฟ้องคดี และยืน่ คำ�ให้การทัง้ ในคดีแพ่งและคดีอาญา การร้องทุกข์หรือกล่าวโทษต่อเจ้าพนักงานตำ�รวจหรือพนักงาน สอบสวนแทนการร้องทุกข์ ประนีประนอมยอมความ ให้ถ้อยคำ� ตลอดจนส่งและรับคืนเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับคดี และการขออนุญาตต่าง ๆ ต่อหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ การรับรองสำ�เนาเอกสารต่าง ๆ มอบ อำ�นาจให้ นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย หรือ นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล หรือนายชัยรัตน์ โกวิทจินดา ชัย ผู้รับมอบอำ�นาจสองในสามคนลงลายมือชื่อร่วมกันมีอำ�นาจกระทำ�การแทนได้
62
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. บริหารจัดการให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือ หุ้นที่ชอบด้วยกฎหมาย ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. กำ�หนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณบริษัท ควบคุมกำ�กับดูแลการบริหารและการ จัดการของคณะกรรมการจัดการและผูบ้ ริหาร ให้เป็นไปตามแนวนโยบายที่ได้รบั มอบหมายและตามข้อบังคับ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. คณะกรรมการอาจแต่งตั้งกรรมการ และ/หรือ ผู้บริหารจำ�นวนหนึ่งตามที่เห็นสมควร ให้เป็นคณะกรรมการ บริหารโดยให้มีอำ�นาจหน้าที่บริหารจัดการบริษัทตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทก็ได้ เว้นแต่อำ�นาจในการดำ�เนินการดังต่อไปนี้ จะกระทำ�ได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทั้งนี้ กำ�หนดให้รายการที่กรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท ให้กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้นไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น • เรื่องที่กฎหมายกำ�หนดให้ต้องได้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น • การทำ�รายการที่มีกรรมการมีส่วนได้เสียและอยู่ในข่ายที่กฎหมาย หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ระบุ ให้ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในปี 2554 และปี 2555 บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งสิ้น 5 ครั้ง และ 6 ครั้ง ตามลำ�ดับ กรรมการแต่ละท่านได้ เข้าร่วมการประชุม ดังนี้ ลำ�ดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ชื่อ-นามสกุล ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม รศ.อัญชลี พิพัฒนเสริญ ผศ.มนต์ผกา วงษา รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล นางสาวสิริลักษณ โกวิทจินดาชัย* นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย** นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล*** นายสกล เปาอินทร์**** นายวีระ ศรีชนะชัยโชค***** นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล
ปี 2554 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 3/5 2/5 2/5 5/5 3/5
ปี 2555 6/6 6/6 6/6 5/6 6/6 6/6 6/6 1/6 6/6
หมายเหตุ *นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย ลาออกจากตำ�แหน่งประธานเจ้าหน้าที่กรรมการบริหาร ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 **นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 เข้าเป็นกรรมการบริษัท ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2554 เข้าเป็นกรรมการบริหาร, กรรมการผู้จัดการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 ***นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการ ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2554 และเข้าเป็นกรรมการบริษัท ณ วันที่ 26 เมษายน 2555 ****นายสกล เปาอินทร์ ลาออกจากตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท และผู้อำ�นวยการอาวุโสสำ�นักเลขานุการและกฎหมาย ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 *****นายวีระ ศรีชนะชัยโชค ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 ทั้งนี้ กรรมการจะมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งท่านละ 3 ปี
63
9.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ี 1. รศ.อัญชลี พิพัฒนเสริญ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ผศ.มนต์ผกา วงษา กรรมการตรวจสอบ 3. รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล กรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ มีนายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ : คณะกรรมการทั้ง 3 ท่าน ได้รับการแต่งตั้ง ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2552
อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเปิดเผยอย่างเพียงพอ โดยการประสานงาน กับผูส้ อบบัญชี และผูบ้ ริหารทีร่ บั ผิดชอบจัดทำ�รายงานทางการเงินทัง้ รายไตรมาสและประจำ�ปี คณะกรรมการ ตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ผู้สอบบัญชี สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ที่เห็นว่าจำ�เป็น และเป็นเรื่อง สำ�คัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชีของบริษัทก็ได้ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล โดยสอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน 3. ปรึกษาหารือ และพิจารณาถึงขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายในและผู้ สอบบัญชีให้มีความสัมพันธ์และเกื้อกูลกันในส่วนที่เกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน (Financial Auditing) 4. สอบทานงบการเงินระหว่างปีร่วมกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายในก่อนที่จะนำ�ส่งให้หน่วยงานที่มี หน้าที่กำ�กับดูแล (Regulators) 5. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ต่อคณะกรรมการบริษทั รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทน ของผู้สอบบัญชี เพื่อขอรับการแต่งตั้งจากที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น 6. สอบทานการปฏิบตั ขิ องบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 7. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ในกรณีทเี่ กิดรายการเกีย่ วโยงหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 8. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9. สอบทานและเสนอแนะการแก้ไขกฎบัตรต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ทันสมัย และเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท 10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้วย ในปี 2554 บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้น 5 ครั้ง และในปี 2555 จัดประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบทั้งสิ้น 4 ครั้ง กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านได้เข้าร่วมการประชุม ดังนี้ ลำ�ดับที่ 1 รศ.อัญชลี พิพัฒนเสริญ 2 ผศ.มนต์ผกา วงษา 3 รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล
64
ชื่อ-นามสกุล
ปี 2554 5/5 5/5 5/5
ปี 2555 4/4 4/4 3/4
9.1.3 คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง ในปี 2552 บริษทั ได้มกี ารปรับโครงสร้างองค์กร โดยได้มกี ารตัง้ คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสีย่ ง แทนคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง โดยได้มีการประชุม 1 ครั้ง ในปี 2552 ประชุม 17 ครั้ง ในปี 2553 โดยคณะกรรมการได้เข้าร่วมประชุม ทุกท่าน ในปี 2554 บริษัทไม่ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง เนื่องจากคณะกรรมการกลยุทธ์ และบริหารความเสี่ยงของบริษัทได้ลาออกจากตำ�แหน่ง ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยงของบริษัทมีจำ�นวน 4 ท่าน ดังนี้ 1. ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม ประธานคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง 2. นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย กรรมการ 3. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการ 4. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย กรรมการ บริษัทพิจารณาแต่งตั้ง นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล และ นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการกลยุทธ์ฯ เมื่อ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 แทนกรรมการที่ได้ลาออก อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง 1. พิจารณานโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และการบริหารความเสี่ยงหลักในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ที่ได้กำ�หนด ให้สอดคล้องและสนับสนุนต่อสภาพเศรษฐกิจและการแข่งขันในธุรกิจ 2. ติดตามการพัฒนากลยุทธ์และกรอบการบริหารความเสี่ยง 3. ติดตามกระบวนการบ่งชี้และประเมินความเสี่ยง 4. ประเมินและอนุมัติแผนการจัดการความเสี่ยง 5. รายงานต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยง 6. สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่สำ�คัญ 9.1.4 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทมีจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายวิทยา ด่านธำ�รงกูล ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 2. น.ส.มนต์ผกา วงษา กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 3. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน หมายเหตุ : คณะกรรมการทั้ง 3 ท่าน ได้รับการแต่งตั้ง ณ วันที่ 20 มกราคม 2555
อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. พิจารณาคุณสมบัติของกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงของบริษัท 2. พิจารณาคัดสรรบุคคลทีส่ มควรได้รบั การเสนอชือ่ รับเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ทัง้ ในกรณีทมี่ ตี �ำ แหน่งว่าง หรือกรรมการบริษัทครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3. พิจารณาอนุมัติผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บริหารระดับสูง ตามที่บริษัทฯ ได้คัดสรรและเสนอพิจารณา ทั้ง ในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่างลงหรือเพิ่มตำ�แหน่งใหม่ 4. พิจารณาเสนอโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ได้แก่ เงินเดือน บำ�เหน็จ โบนัส สวัสดิการ ค่าเบี้ยประชุม และผลประโยชน์ตอบแทน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนและรายงานต่อคณะ กรรมการบริษัท 6. ปฏิบตั งิ านอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายอันเกีย่ วเนือ่ งกับการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง
65
ในปี 2555 บริษัทไม่ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง 9.1.5 คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริหารของบริษัทมีจำ�นวน 7 ท่าน ดังนี้ 1. นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย ประธานกรรมการบริหาร 2. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการบริหาร 3. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย กรรมการบริหาร 4. นายวิเศษศักดิ์ ประทุมรัตน์ กรรมการบริหาร* 5. นายจุฑา พรมชินวงศ์ กรรมการบริหาร* 6. นางสาวธีรนันท์ กรศรีทิพา กรรมการบริหาร** 7. นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย กรรมการบริหาร
หมายเหตุ : * นายจุฑา พรมชินวงศ์ และนายวิเศษศักดิ์ ประทุมรัตน์ ลาออกจากตำ�แหน่งเมื่อ 31 ธันวาคม 2555 ** นางสาวธีรนันท์ กรศรีทิพา ลาออกจากตำ�แหน่งเมื่อ 30 กันยายน 2555
อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. พิจารณานโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารจัดการ หลักในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ที่ได้กำ�หนดให้สอดคล้องและสนับสนุนต่อสภาพเศรษฐกิจและการแข่งขันตามที่ฝ่ายบริหารเสนอ ก่อนที่จะ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 2. เสนอแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำ�นาจการบริหารต่างๆ ของบริษัท ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ รวมทัง้ พิจารณาอนุมตั กิ ารจัดสรรงบประมาณประจำ�ปี การแก้ไข เปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ เติมงบประมาณประจำ� ปีในกรณีมีความจำ�เป็นเร่งด่วน และให้นำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบต่อไป 3. ตรวจสอบ ติดตามการดำ�เนินนโยบายและแนวทางการบริหารงานด้านต่างๆ ของบริษัท ที่กำ�หนดให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อสภาพการดำ�เนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่กำ�หนดให้เป็นไปตามแผนธุรกิจที่ได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการบริษัท 5. พิจารณาให้ความเห็นชอบโครงการลงทุนของบริษัทที่เป็นไปตามแผนธุรกิจ 6. มีอำ�นาจแต่งตั้ง ถอดถอน เจ้าหน้าที่ของบริษัทในตำ�แหน่งที่ต่ำ�กว่าตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ 7. ดำ�เนินการจัดทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปิดบัญชี กู้ยืม จำ�นำ� จำ�นอง ค้ำ�ประกันและ การอืน่ ๆ รวมถึงการซือ้ ขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ใดๆ ตามวัตถุประสงค์ เพือ่ ประโยชน์ในการดำ�เนิน กิจการของบริษัท ทั้งนี้ภายในวงเงินสำ�หรับแต่ละรายการไม่เกินกว่า 750 ล้านบาท หรือจำ�นวนเทียบเท่า หรือเป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 8. พิจารณาจัดสรรเงินบำ�เหน็จรางวัล โบนัส หรือค่าตอบแทนซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแล้วให้ แก่พนักงานหรือลูกจ้างของบริษัท หรือบุคคลใดๆ ที่กระทำ�กิจการให้แก่บริษัท 9. พิจารณาอนุมัติการซื้อขายอุปกรณ์เครื่องใช้สำ�นักงาน ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ตลอดจนก่อสร้าง หรือซ่อมแซม ปรับปรุงอาคารสำ�นักงาน ทั้งนี้ภายในวงเงินสำ�หรับแต่ละรายการไม่เกินกว่า 750 ล้านบาท หรือจำ�นวน เทียบเท่า หรือเป็นไปตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 10. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย การมอบอำ�นาจของคณะกรรมการบริษทั ให้แก่คณะกรรมการบริหารตามขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ บริหารที่กล่าวมาข้างต้น ไม่รวมถึงลักษณะการมอบอำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วงที่ทำ�ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบอำ�นาจ จากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อื่นใด (เป็นไปตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศกำ�หนด) ทำ�กับบริษัท หรือ
66
บริษัทย่อย เว้นแต่เป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติไว้แล้ว และเป็น รายการประกอบธุรกิจปกติและมีเงื่อนไขการค้าทั่วไป 9.1.6 คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คณะผู้บริหารของบริษัทมีจำ�นวน 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย กรรมการผู้จัดการ 2. นายวิเศษศักดิ์ ประทุมรัตน์* รองกรรมการผู้จัดการสายงานสนับสนุนธุรกิจ 3. นายจุฑา พรมชินวงศ์* รองกรรมการผู้จัดการสายงานปฏิบัติการ 4. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย รักษาการรองกรรมการผู้จัดการสายงานการตลาดและการขาย หมายเหตุ : * นายจุฑา พรมชินวงศ์ และนายวิเศษศักดิ์ ประทุมรัตน์ ลาออกจากตำ�แหน่งเมื่อ 31 ธันวาคม 2555
อำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ 1. ดำ�เนินการและบริหารจัดการการดำ�เนินธุรกิจตามปกติของบริษัท 2. ดำ�เนินการและบริหารจัดการการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ให้เป็นไปตามนโยบายธุรกิจ แผนธุรกิจ และกลยุทธ์ ทางธุรกิจที่คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติแล้ว 3. มอบอำ�นาจหรือมอบหมายให้บุคคลอื่นใด ที่กรรมการผู้จดั การเห็นสมควรทำ�หน้าที่ประธานในเรื่องที่จำ�เป็น และสมควร โดยให้อยู่ในดุลพินจิ ของประธานกรรมการ ซึง่ อยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย และกฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษัท 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทในแต่ละคราว 5. ดำ�เนินการและอนุมัติการเข้ารับว่าจ้าง รับทำ�งาน การตกลงผูกพันในการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษัท โดย มีวงเงินดังกล่าวให้เป็นไปตามระเบียบอำ�นาจอนุมตั แิ ละดำ�เนินการของบริษทั ซึง่ ผ่านการพิจารณาจากคณะ กรรมการบริษัทแล้ว ทั้งนี้วงเงินดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมโดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ ของคณะกรรมการบริษัท ทัง้ นีก้ ารมอบอำ�นาจดังกล่าวข้างต้น ให้แก่กรรมการผูจ้ ดั การนัน้ ต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมายและกฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษัท และในกรณีที่การดำ�เนินการใดที่มีหรืออาจมีผลประโยชน์หรือส่วนได้ส่วนเสียของกรรมการผู้จัดการ หรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง กรรมการผู้จัดการไม่มีอำ�นาจอนุมัติการดำ�เนินการดังกล่าว โดยกรรมการผู้จัดการจะต้องนำ�เสนอเรื่องดังกล่าว ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาต่อไป นอกจากนี้ ในกรณีที่การทำ�รายการใดเป็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการเกี่ยวกับการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่ง สินทรัพย์ของบริษัทหรือบริษัทย่อย แล้วแต่กรณี การทำ�รายการดังกล่าวต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ/หรือ การ ปฏิบัติอื่นใดตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ประกาศดังกล่าวกำ�หนดไว้ในเรื่องนั้นๆ ด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว 9.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหาร การคัดเลือกกรรมการของบริษัท ภายในปี 2554 บริษัทยังไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อคัดเลือกบุคคลที่จะดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาคัดสรรบุคคลผู้มีคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถ มี ประสบการณ์การทำ�งานที่เกี่ยวข้องและมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำ�หนด ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ต่อการดำ�เนินงานของ บริษัทให้มีประสิทธิภาพ
67
ทั้งนี้ บริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2555 จำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ 1. รศ. วิทยา ด่านธำ�รงกูล ประธานคณะกรรมการ 2. ผศ. มนต์ผกา วงษา กรรมการ 3. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการ อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 1. พิจารณาคุณสมบัติของกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงของบริษัท 2. พิจารณาคัดสรรบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อรับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท ทั้งในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่าง หรือกรรมการบริษัทครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3. พิจารณาอนุมัติผู้สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บริหารระดับสูง ตามที่บริษัทฯ ได้คัดสรรและเสนอพิจารณา ทั้งในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่างลงหรือเพิ่มตำ�แหน่งใหม่ 4. พิจารณาเสนอโครงสร้างค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ได้แก่ เงินเดือน บำ�เหน็จ โบนัส สวัสดิการ ค่าเบี้ยประชุม และผลประโยชน์ตอบแทนอื่นๆทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนและรายงานต่อคณะ กรรมการบริษัท 6. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง 9.2.1 คณะกรรมการบริษัท ในการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัทจะกระทำ�โดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม 1) ออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเป็นราย บุคคล คราวละคนหรือคราวละหลายคน รวมกันเป็นคณะ หรือ 2) ด้วยวิธีการอื่นใดก็ได้ตามแต่ที่ประชุมผู้ ถือหุ้นจะเห็นสมควร แต่ในการลงมติแต่ละครั้ง ผู้ถือหุ้นจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดหรือคณะใดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ 3. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ผู้เป็นประธานที่ ประชุมเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด บริษัทจัดให้มีคณะกรรมการบริษัทไม่น้อยกว่า 5 คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร กรรมการบริษัทจะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำ�กัดและกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรง เป็นสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลัง จดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้ใช้วธิ จี บั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนทีอ่ ยู่ในตำ�แหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจาก ตำ�แหน่ง กรรมการที่จะออกตามวาระนี้อาจถูกเลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้ ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการคราว ถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทน จะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการได้เพียง เท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการในการเลือกกรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งแทนต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่
68
ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใด ออกจากตำ�แหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ย กว่าสามในสี่ของจำ�นวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นสามัญรวมกันไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือ โดย ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 9.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ โดยพิจารณาคุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบตามเกณฑ์ที่ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำ หนด โดยเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูแ้ ต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจ สอบโดยให้มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี โดยกรรมการตรวจสอบซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจจะได้รับการแต่งตั้งใหม่อีกได้ 9.2.3 คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง โดยให้มีอำ�นาจหน้าที่ในการจัดทำ�กลยุทธ์ และบริหารความเสี่ยงของบริษัทตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 9.2.4 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยให้มีอำ�นาจหน้าที่ในการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 9.2.5 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริหาร โดยให้มีอำ�นาจหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการของบริษัทตามที่คณะ กรรมการบริษัทมอบหมาย 9.3 ค่าตอบแทนผู้บริหาร 9.3.1 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน 9.3.1.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนคณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วย ค่าเบี้ยประชุม ค่าตอบแทนกรรมการรายเดือน และค่าบำ�เหน็จ กรรมการ ในปี 2554 และปี 2555 บริษัทมีค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท 5,033,000 บาท และ 3,278,000 บาท ตามลำ�ดับ โดย มีรายละเอียดดังนี้ หน่วย: บาท ปี 2554 ปี 2555 รายชื่อ ค่าตอบแทน บำ�เหน็จกรรมการ ค่าเบี้ยประชุม ค่าตอบแทน บำ�เหน็จ ค่าเบี้ยประชุม กรรมการรายเดื อน กรรมการรายเดือน กรรมการ 1,728,000 530,000 1,728,000 1. ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม 2. รศ.อัญชลี พิพฒ ั นเสริญ 110,000 480,000 265,000 100,000 480,000 3. ผศ.มนต์ผกา วงษา 110,000 360,000 265,000 100,000 360,000 4. รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล 110,000 360,000 265,000 80,000 360,000 5. นายวีระ ศรีชนะชัยโชค* 20,000 120,000 10,000 60,000 6. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล** 30,000 280,000 รวม 380,000 3,328,000 1,325,000 290,000 2,988,000 หมายเหตุ * นายวีระ ศรีชนะชัยโชค ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 ** นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล เข้าเป็นกรรมการบริษัท ณ วันที่ 1 กันยายน 2554 คณะกรรมการที่เป็นผู้บริหารมีมติไม่รับเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนกรรมการรายเดือนในปี 2554
69
9.3.1.2 ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทน เงินเดือนและโบนัสรวม ค่าน้ำ�มัน ค่ารถประจำ�ตำ�แหน่ง รวม
หน่วย: บาท ปี 2554 ค่าตอบแทน (บาท) 40,784,669.67 1,198,022.81 3,943,806.00 45,926,498.48
ปี 2555 ค่าตอบแทน (บาท) 45,255,259.00 2,122,210.55 7,625,034.00 55,002,503.55
9.3.2 ค่าตอบแทนอื่น -ไม่มี9.4 การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทมีเจตนารมณ์ที่มุ่งมั่นในการดำ�เนินธุรกิจภายใต้การกำ�กับดูแลกิจการ หรือบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และระเบียบข้อบังคับของคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน นำ�ไปสู่ความเจริญเติบโต และเพิ่มมูลค่าให้ กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว โดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่น จากความสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งเป็นเครื่องมือเพื่อเพิ่มมูลค่า และส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท โดยแสดงให้เห็นถึงการมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นใจต่อ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย บริษัทจึงได้กำ�หนดเป็นนโยบาย และประกาศใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2547 อีกทั้งได้จัดทำ�เป็นเอกสารคู่มือหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเอกสารคู่มือจรรยาบรรณ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติของทุก คนในองค์กร นโยบายดังกล่าวแบ่งออกเป็น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สำ�หรับการดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท สามารถสรุปได้ดังนี้ 9.4.1 เป้าหมายของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งอีกจำ�นวน 2 คณะ ในการช่วยกลั่นกรองงานที่มีความสำ�คัญภายใต้หลักการการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการเฉพาะเรื่องในทุกคณะประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กจ. 12/2543 และมีการกำ�หนดบทบาทอำ�นาจหน้าที่ความรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจนในทุกคณะ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้มอบ หมายให้คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบในการดำ�เนินการเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีด้วย โดยมีขอบข่ายในการดำ�เนินงาน ดังนี้
70
1. เสนอแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริษัท ในเรื่องเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3. กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการของบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีของบริษัท 4. ทบทวนแนวทางหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ขิ องหลักสากล และ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดเป้าหมายของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ไว้ดงั นี้ “บริษทั มุง่ เน้นให้การ ดำ�เนินกิจการเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้อง มีความโปร่งใสและเป็นธรรม รวมทัง้ ให้ความสำ�คัญต่อ ระบบการตรวจสอบและควบคุมภายในการบริหารความเสี่ยง และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพออันจะส่งผลให้กิจการมีการเติบโต อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และเป็นการเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียภายใต้กรอบของกฎหมายและจริยธรรมทาง ธุรกิจ” นอกจากนี้ บริษัทได้มีการรณรงค์ส่งเสริมความสำ�คัญของการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่าง จริงจัง โดยมีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์นโยบายและความรู้เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ผ่านเอกสารคู่มือหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเอกสารคู่มือจรรยาบรรณ ทั้งนี้บริษัทยังทำ�การประชาสัมพันธ์ผ่าน Intranet และ Web Site ของบริษัท เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่พนักงานทุกคนในองค์กร และเป็นการเผยแพร่ให้กับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์หรือนำ�ไปใช้อ้างอิงได้ 9.4.2 สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทตระหนักและให้ความสำ�คัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยการดำ�เนินการและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตน อีก ทั้งยังคอยกำ�กับดูแลให้ผู้ถือหุ้นได้รับการปฏิบัติและปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกันด้วย การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทกำ�หนดให้มีการประชุมปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัท ในกรณีที่มีเรื่องสำ�คัญเร่งด่วน ที่ต้องได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทก็อาจจัดให้มีการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป ซึ่งในการจัดประชุมผู้ถือหุ้นนั้น บริษัทจะจัดส่งเอกสารเชิญประชุมที่มีราย ละเอียดวาระการประชุม พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น และ ทำ�การลงประกาศเชิญประชุมผู้ถือหุ้นในหนังสือพิมพ์รายวัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 วัน ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษา อังกฤษอย่างละ 1 ฉบับ ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือเชิญประชุมที่มีรายละเอียดวาระ การประชุม พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าก่อนที่จะจัดส่งเอกสาร เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษัท บริษัทจึงจัดให้มีการเผย แพร่ข้อมูลดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ (Web Site) ของบริษัทในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นยังสามารถเสนอวาระเข้าสู่ที่ประชุมผ่านช่องทางเว็บไซต์ Web Site ของบริษทั ได้ดว้ ย สำ�หรับในวันทีจ่ ดั การประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั จัดให้มกี ารอำ�นวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม กันทุกราย และมีการเปิดรับลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ชั่วโมง โดยคำ�นึงถึงสถานที่ และเวลา ที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้นที่มาร่วม ประชุมด้วย ในการดำ�เนินการประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั บริษทั จะคอยดูแลและให้โอกาสผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกันทุกราย โดยก่อน เริ่มการประชุม ประธานที่ประชุมจะชี้แจงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุม ขั้นตอนการออกเสียงลงมติ อย่างชัดเจน ในขณะที่มี การประชุมประธานที่ประชุมจะเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกรายแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ถามคำ�ถามในแต่ละวาระ โดย ให้เวลาในการอภิปรายอย่างเพียงพอและเหมาะสม ในการชีแ้ จงและการตอบคำ�ถาม ประธานที่ประชุมและผูบ้ ริหารจะให้ความสำ�คัญ ในทุกประเด็นโดยตอบข้อซักถามอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา สำ�หรับการลงมติโดยการนับคะแนนเสียงบริษัทจัดให้มีวิธีการตาม แนวทางสากลและเน้นความโปร่งใส มีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งได้ จัดเก็บรายงานการประชุมอย่างเป็นระเบียบเพื่อง่ายและสะดวกต่อการตรวจสอบ
71
นอกจากนี้บริษัทมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทำ�หน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ ผู้สื่อข่าว และประชาชนทั่วไปที่สนใจในหลักทรัพย์ของบริษัท อย่างถูกต้อง ครบถ้วน สม่ำ�เสมอ ทันเวลา โปร่งใส และเท่าเทียมกัน เพื่อเป็นการอำ�นวยความสะดวกสำ�หรับข้อมูลและสารสนเทศของบริษัท เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท งบการเงิน รายงานประจำ�ปี หนังสือเชิญประชุม สารสนเทศที่บริษัทแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกิจกรรมเกี่ยวกับหลักทรัพย์ เป็นต้น บริษัทจึงได้เผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ไว้ในเว็บไซต์ (Web Site) ของบริษัทในส่วนของนักลงทุน สัมพันธ์ (Investor Relations) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นยังสามารถติดต่อกับหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ได้โดยตรง หรือผ่านทางเว็บไซต์ (Web Site) ของบริษัทได้อีกด้วย 9.4.3 สิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริษัทจะให้ความสำ�คัญและเคารพต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ในการดำ�เนินกิจการ เช่น ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ และชุมชน เป็นต้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดเป็นนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณ ของบริษัทไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้ทุกคนในองค์กรยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติในการดำ�เนินงาน โดยสามารถสรุปความสำ�คัญต่อสิทธิ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องได้ดังนี้ • พนักงาน : บริษัทได้ปฏิบัติกับพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน และให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมและเหมาะสม • คู่ค้าและเจ้าหนี้ : บริษัทปฏิบัติต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้อย่างเป็นธรรม และเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า ตามสัญญาที่ตกลงทำ� ร่วมกัน • ลูกค้า : บริษทั เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยผลิตสินค้าทีม่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน และสามารถตอบสนองความ ต้องการลูกค้าได้เป็นอย่างดี โดยเน้นให้ความสำ�คัญถึงคุณภาพสินค้า การบริการ และราคาที่เหมาะสม • คู่แข่งขัน : บริษัทปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี เพื่อรักษาบรรทัดฐานของข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขัน • ชุมชน : บริษัทให้ความใส่ใจเป็นอย่างมากกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยรับผิดชอบและดูแลมิให้มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมของชุมชนและสังคม 9.4.4 การประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทในปี 2555 ที่ผ่านมา มีการจัดประชุมผู้ถือหุ้น 1 ครั้ง โดยเป็นการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2555 ประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ในการประชุมครั้งนี้บริษัท ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมที่มีรายละเอียด วาระการประชุม ความเห็นของคณะกรรมการ รายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา รายงานประจำ�ปี เอกสารประกอบการประชุม (เปิด เผยใน web site ก่อนการประชุม 30 วัน) เอกสารที่ต้องใช้ในการมอบฉันทะและระบุวิธีการไว้ชัดเจน โดยจัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วง หน้าก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นเกิน 7 วัน ซึ่งบริษัทได้จัดส่งให้กับผู้ถือหุ้นทุกรายที่มีรายชื่อปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันปิด สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นของบริษัท และทำ�การลงประกาศเชิญประชุมผู้ถือหุ้นในหนังสือพิมพ์รายวัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 วัน ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละ 1 ฉบับ ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน รวมทั้งได้แต่งตั้งกรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบ ฉันทะแทนผู้ถือหุ้นในกรณีที่ผู้ถือหุ้นประสงค์จะมอบฉันทะให้กรรมการอิสระเป็นผู้เข้าประชุมแทน ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกมอบ ฉันทะให้บุคคลอื่นใด หรือจะเป็นกรรมการอิสระตามที่ได้รับแต่งตั้งเข้าประชุมแทน สำ�หรับการประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2555 เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับและดูแลกิจการที่ดีในด้านการให้ความ สำ�คัญกับผู้ถือหุ้น( Corporate Governance) บริษัทได้ดำ�เนินการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือเชิญประชุมที่มีรายละเอียดวาระการ ประชุม พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าก่อนที่จะจัดส่งเอกสาร ผ่านทางเว็บไซต์ (Web Site) www.prinsiri.com ของบริษัทในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ล่วงหน้าไม่น้อย กว่า 30 วันก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น และดำ�เนินการให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุม และเสนอรายชื่อบุคคลเพื่อที่จะเป็น กรรมการผ่านทาง www.prinsiri.com หรือทาง อีเมล์ ir@prinsiri.com โดยในปี 2555 ไม่มีผู้ถือหุ้น เสนอวาระการประชุมและราย ชื่อบุคคลเพื่อที่จะเป็นกรรมการผ่านทาง www.prinsiri.com และทาง อีเมล์ ir@prinsiri.com
72
ในการประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2555 ที่ผ่านมา มีกรรมการเข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 8 ท่าน ประกอบด้วยคณะกรรมการ บริษัททั้งหมด โดยประธานกรรมการบริษัททำ�หน้าที่เป็นประธานที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งได้แจ้งรายละเอียดขององค์ประชุม อธิบายวิธี การ คะแนน การนับคะแนน การใช้บัตรลงคะแนน และเปิดเผยผลการนับคะแนนแต่ละวาระอย่างชัดเจน โปร่งใส รวมทั้งเปิดโอกาส ให้ผเู้ ข้าประชุมซักถาม แสดงความคิดเห็น โดยให้เวลาอย่างเหมาะสมและเพียงพอ สำ�หรับการตอบคำ�ถามของกรรมการและผูบ้ ริหาร มีความชัดเจนตรงประเด็น ทั้งนี้การดำ�เนินการประชุมเป็นไปอย่างครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎหมายกำ�หนด สำ�หรับการอำ�นวย ความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้น โดยมีการเปิดรับลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 2 ชั่วโมง และต่อเนื่องไปจนกว่าจะเสร็จสิ้นการประชุม มี การจัดอาหารให้กับผู้ถือหุ้น ใช้เวลาประชุมประมาณ 3.30 ชั่วโมง มีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อให้ผู้ถือหุ้น สามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งได้จัดเก็บรายงานการประชุมอย่างเป็นระเบียบเพื่อง่ายและสะดวกต่อการตรวจสอบ ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นสามารถเข้าดูรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นได้จากทางเว็บไซต์(Web Site) ของ บริษัทในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ภายใน 14 วัน 9.4.5 ภาวะผู้นำ�และวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัท ประกอบไปด้วยผู้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ในการดำ�เนินการของคณะ กรรมการบริษัทจะยึดหลักการตามกฏหมาย ข้อบังคับ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และตั้งอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริต ความมีจรรยาบรรณ และจริยธรรม คณะกรรมการของบริษัทมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนด วิสัยทัศน์ ภารกิจ และพิจารณาให้ความเห็นชอบ ทิศทางการ ดำ�เนินธุรกิจ นโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย เพื่อให้ฝ่ายบริหารนำ�ไปใช้เป็นกรอบในการจัดทำ�แผนธุรกิจ แผนงบประมาณประจำ�ปี และ กำ�กับดูแลให้การบริหารงานของฝ่ายจัดการเป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย แผนธุรกิจที่กำ�หนดไว้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับ องค์กรและผู้ถือหุ้น ในปีที่ผ่านมาคณะกรรมการบริหารได้นำ�เสนอแผนธุรกิจประจำ�ปี และงบประมาณประจำ�ปี ต่อคณะกรรมการ บริษัทโดยมีการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาให้ข้อคิดเห็นเพื่อการปรับปรุงและได้ พิจารณาอนุมัติแล้ว 9.4.6 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทให้ความสำ�คัญในนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางประโยชน์ โดยได้กำ�หนดนโยบายที่ห้ามมิให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัท ทั้งนี้บริษัทยังได้กำ�หนดเป็นส่วนหนึ่งใน จรรยาบรรณที่สำ�คัญให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด คณะกรรมการได้ดูแลเรื่องรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ รวมทั้งการดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายในของบริษัทเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ดังนี้ 1. รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการได้ทราบถึงรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในการทำ�รายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ คณะกรรมการจะพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบ โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทเป็นหลัก โดยหากบริษัท มีรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทจะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความเห็นรายการ ดังกล่าว และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการเพือ่ พิจารณาต่อไป ทัง้ นี้ บริษทั จะปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างเคร่งครัด 2. การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรของบริษัท ใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระสำ�คัญของบริษัท ซึ่ง ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อนื่ รวมถึงการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั โดยมีวธิ ีการป้องกันการนำ� ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผู้บริหารและบุคลากรของบริษัท ดังนี้ • ดำ�เนินการแจ้งให้กรรมการ และผูบ้ ริหาร ทีม่ หี น้าที่ในการรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษทั ตามมาตรา 59
73
เพื่อให้เป็นไปตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สจ.14/2540 เรื่องการจัดทำ�และเปิดเผย รายงานการถือหลักทรัพย์ และบทกำ�หนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 • ดำ�เนินการส่งหนังสือเวียนแจ้งให้ผู้บริหารทราบว่า ผู้บริหารของบริษัทที่ได้รับทราบข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญ ทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลก่อนทีจ่ ะเปิดเผยสูส่ าธารณชน โดย กำ�หนดให้ผู้บริหารห้ามทำ�การซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทเป็นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนที่งบการเงินหรือ ข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญจะเปิดเผยสู่สาธารณชน และห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญนั้นต่อบุคคล อื่น • บริษัทกำ�หนดให้มีการป้องกันการนำ�ข้อมูลของบริษัทไปใช้ โดยกำ�หนดห้ามหน่วยงานที่รู้ข้อมูลนำ�ไปเปิด เผยยังหน่วยงานหรือบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง เพื่อดำ�เนินการควบคุมดูแลและตรวจสอบการดำ�เนินการดังกล่าว บริษัทมีนโยบายให้กรรมการ และผู้บริหาร ที่ มีหน้าทีจ่ ดั ทำ�รายงานการถือครองและการเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แจ้งให้คณะกรรมการบริหารของบริษทั ทราบ ในวันเดียวกับที่ส่งรายงานถึงสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริษัทมิได้กำ�หนดบทลงโทษในกรณีที่ ผู้บริหารไม่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทได้แจ้งให้ผู้บริหารทราบถึงบทลงโทษตามมาตรา 59 แห่งพระ ราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กรณีที่ฝ่าฝืนหรือไม่นำ�ส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ บริษัทได้มีนโยบายห้ามมิให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัท นำ�ข้อมูลของบริษัทไปใช้ไม่ว่าทางตรงหรือโดย ทางอ้อมเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ประธานกรรมการจะแจ้งต่อที่ประชุมให้ปฏิบัติตามนโยบายเกี่ยวกับ เรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยในระเบียบวาระใดที่กรรมการเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย ขอให้กรรมการแจ้งต่อที่ประชุม เพื่องดออกเสียงหรือให้ความเห็นใดๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาความเหมาะสม ความสมเหตุสมผลของรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการที่มี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และหลักเกณฑ์ทตี่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างรอบคอบ ก่อนนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษทั อนุมัติ โดยกำ�หนดให้รายงานและเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในทุกๆ ไตรมาส รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบ แสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี ทั้งนี้บริษัทยังให้ความสำ�คัญเกี่ยวกับการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน โดยได้กำ�หนดเป็นส่วนหนึ่งของจรรยาบรรณ ที่สำ�คัญให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด 9.4.7 จริยธรรมธุรกิจ บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในการสร้างระบบคุณธรรม และจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน จึงได้จัดให้มีการจัด ทำ�จรรยาบรรณของบริษัทขึ้น ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2547 เพื่อใช้เป็นข้อพึงปฏิบัติสำ�หรับกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานในการปฏิบัติตนและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม ซึ่งเป็นการสร้างความเติบโตที่ยั่งยืนให้แก่องค์กร โดย จรรยาบรรณดังกล่าวนีก้ รรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนจะต้องยึดถือและปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด อีกทัง้ บริษทั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะส่งเสริม ให้ผู้จัดจำ�หน่ายวัตถุดิบ ผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษา และคู่ค้า เป็นต้น นำ�จรรยาบรรณเหล่านี้ไปใช้อย่างกว้างขวางเช่นกัน บริษัทได้นำ�จรรยาบรรณของบริษัทที่จัดทำ�ขึ้นเผยแพร่ให้กับ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน อย่างทั่วถึง ทั้งยังได้ เผยแพร่ผ่านระบบ Intranet และเว็บไซต์ (Web Site) ของบริษัทในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ด้วยโดย จรรยาบรรณทางธุรกิจที่บริษัท ได้กำ�หนดไว้ มีดังนี้ 9.4.7.1 ความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูล การบริหาร งานบันทึกบัญชี การจัดทำ�รายงานทางการเงิน มีการจัดการอย่างถูกต้องตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ อย่างสม่ำ�เสมอตามมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน เป็นปัจจุบัน เพื่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน ผู้ถือหุ้นและเจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้อง
74
9.4.7.2 การปฎิบัติต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างยุติธรรม มีความมุง่ มัน่ ในการปฎิบตั ติ อ่ ผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า เจ้าหนี้ พนักงานและสังคม โดยรวมอย่างยุตธิ รรม ให้ความเท่าเทียมและปฎิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกราย ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือรายย่อย อย่างเท่าเทียมกัน 9.4.7.3 การบริหารความเสี่ยง จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน และยึด มั่นปฎิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ระเบียบ คำ�สั่งต่างๆ อย่างสัมพันธ์กับกรอบการควบคุมภายในที่ดี โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงของ การดำ�เนินธุรกิจ กำ�หนดระดับความสำ�คัญของความเสี่ยง มาตรการควบคุม เพื่อลดอัตราเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด 9.4.7.4 ยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม ดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงหน้าที่และความรับผิดชอบให้สอดคล้องกับประโยชน์ส่วนรวม สิ่งแวดล้อมและมีส่วนร่วมใน การพัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของสังคมไทย 9.4.7.5 จัดให้มีคุณธรรมและจริยธรรมในทุกระดับขององค์กร คุณธรรมและจริยธรรมเป็นปัจจัยสำ�คัญของหลักบรรษัทภิบาลของบริษัท อันเป็นธรรมเนียมปฎิบัติในทุกระดับของ องค์กร ตั้งแต่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ เนื่องจากคณะกรรมการตระหนักดีว่าองค์กรที่ปราศจากคุณธรรม จริยธรรม ไม่สามารถดำ�รงอยู่ในธุรกิจได้ 9.4.8 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 9.4.8.1 โครงสร้างของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 8 ท่าน ซึ่งเป็นจำ�นวนที่เหมาะสมกับขนาดของกิจการ โดยมี องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย 1. กรรมการที่เป็นผู้บริหารและเป็นกรรมการที่มีส่วนได้ส่วนเสีย จำ�นวน 4 ท่าน 2. กรรมการอิสระ จำ�นวน 4 ท่าน ดังนั้น บริษัทฯมีกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารทั้งหมด 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 50 ของคณะกรรมการ บริษัทฯจึงมีการ ถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯได้ในระดับหนึ่ง สำ�หรับกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารทั้ง 4 ท่าน มีคุณสมบัติของ กรรมการตรวจสอบตามประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯว่าด้วยคุณสมบัติและขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 9.4.8.2 การกำ�หนดวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯประกอบด้วยกรรมการ 8 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ จำ�นวน 4 ท่าน ซึ่งสัดส่วนของกรรมการ อิสระมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมดตามมาตรฐานที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำ�หนดไว้ ในการประชุมสามัญ ประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจำ�นวน ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับสลาก กันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนทีอ่ ยู่ในตำ�แหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผูอ้ อกจากตำ�แหน่ง กรรมการทีจ่ ะออกตามวาระ นี้อาจถูกเลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้ ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการคราว ถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทน จะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการได้เพียง เท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนดำ�รงตำ�แหน่งแทน มติของคณะกรรมการในการเลือกกรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งแทนต้อง ประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใด ออกจากตำ�แหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ย กว่าสามในสี่ของจำ�นวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นสามัญรวมกันไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือ โดย ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
75
9.4.8.3 การกำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทฯกำ�หนดองค์ประกอบคณะกรรมการให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 หรือไม่น้อยกว่า 3 คน เสมอและได้ก�ำ หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระตามการกฎระเบียบของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯกำ�หนด ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละห้าของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 2. ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน และไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่ สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท 9.4.8.4 การแยกตำ�แหน่งประธานและกรรมการผู้จัดการ รวมทั้งการกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ บริษัทฯกำ�หนดให้ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการเป็นคนละบุคคลกันเสมอ โดยประธานกรรมการจะเลือกตั้ง มาจากกรรมการบริษัทฯ ในขณะที่กรรมการผู้จัดการจะมาจากการสรรหา ประธานกรรมการเป็นผู้นำ� และมีส่วนสำ�คัญในการตัดสิน ใจเรื่องนโยบายของบริษัทฯ ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ได้พิจารณาและกำ�หนดเป้าหมายทางธุรกิจร่วมกับ ฝ่ายจัดการ และเป็นผู้ควบคุมการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการสนับสนุนและผลักดันให้ กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการประชุม เช่น การตัง้ คำ�ถามทีส่ �ำ คัญต่างๆ พบปะหารือ ช่วยเหลือแนะนำ� สอดส่องดูแล และสนับสนุน การดำ�เนินธุรกิจของฝ่ายจัดการผ่านทางกรรมการผู้จัดการอยู่อย่างสม่ำ�เสมอ แต่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายในงานประจำ�หรือธุรกิจประจำ� วัน ที่ฝ่ายจัดการมีหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบดูแล โดยมีกรรมการผู้จัดการเป็นหัวหน้าของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการได้มอบอำ�นาจให้ กรรมการผู้จัดการ หรือผู้รักษาการแทนหรือผู้รับมอบอำ�นาจเท่านั้น เป็น ผู้ที่มีอำ�นาจลงนามผูกพันแทนบริษัทฯตามอำ�นาจที่มอบไว้ กรรมการผู้จัดการได้มอบอำ�นาจให้กับฝ่ายจัดการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพตามอำ�นาจหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้กำ�หนดไว้ อย่างชัดเจน ทั้งนี้ จะเห็นว่าอำ�นาจของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการได้มีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนไม่ซ้ำ�ซ้อนกัน 9.4.8.5 เลขานุการบริษัท บริษัทฯได้จัดให้มีเลขานุการบริษัท ได้แก่ นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย โดยกำ�หนดหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้ 1. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสาร - ทะเบียนกรรมการ - หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจำ�ปี - หนังสือนัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น - เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร 2. ติดต่อสื่อสารกับหน่วยงานกำ�กับดูแลที่เกี่ยวข้อง 9.4.9 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส โดยค่าตอบแทนอยู่ในระดับที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับอุตสาหกรรม รวมทั้งอยู่ในระดับที่เพียงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ต้องการได้ และ ต้องผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น
76
ค่าตอบแทนผู้บริหาร บริษัทจัดให้เป็นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผล การดำ�เนินงานของบริษทั และผลการดำ�เนินงานของผูบ้ ริหารแต่ละท่าน ปัจจุบนั บริษทั ยังไม่มกี ารแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกำ�หนดค่า ตอบแทน แต่มีกระบวนการพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสมโดยใช้ข้อมูลค่าตอบแทนของบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีขนาด ใกล้เคียงกัน รวมทั้งใช้ผลประกอบการของบริษัทมาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ ในปี 2554 บริษัทได้กำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทซึ่งผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยเป็นค่า เบี้ยประชุมและบำ�เหน็จกรรมการ รวมทั้งสิ้นเป็นจำ�นวนเงินไม่เกิน 5,033,000 บาท ในส่วนของกรรมการที่เป็นผู้บริหารมีมติไม่รับ เบี้ยประชุมและค่าตอบแทนกรรมการรายเดือน รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารโปรดดูในข้อ 9.3 เรื่องค่าตอบแทนผู้ บริหาร หมายเหตุ บริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 20 มกราคม 2555 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 9.4.10 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมกันอย่างสม่ำ�เสมอ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง โดยมีการกำ�หนดวาระอย่างชัดเจน และ มีวาระพิจารณาติดตามผลการดำ�เนินงานเป็นประจำ� บริษทั จะออกหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อน การประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ ก่อนเข้าร่วมประชุม ทั้งนี้ เว้นแต่ใน กรณีจำ�เป็นเร่งด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัท จะแจ้งการนัดประชุมโดยวิธีอื่นและกำ�หนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้น การประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาอย่างต่ำ�ประมาณ 2 ชั่วโมง โดยในการประชุมจะเปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนอภิปราย แสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผยและเสรี โดยมีประธานคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ประมวลความเห็นและข้อสรุปที่ได้จากที่ประชุม ใน กรณีทกี่ รรมการผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในเรือ่ งทีก่ �ำ ลังพิจารณาจะต้องออกจากทีป่ ระชุมในเรือ่ งนัน้ ๆ มีการจัดทำ�บันทึกการประชุมทุกครัง้ ภายหลังจากเสร็จสิ้นการประชุม และมีการจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองแล้วจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่าง เป็นระเบียบ เพื่อให้กรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกและง่ายต่อการตรวจสอบ ปี 2554 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมวาระปกติจำ�นวน 5 ครั้ง รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ แต่ละท่านโปรดดูในข้อ 9.1 เรื่องโครงสร้างการจัดการ 9.4.11 คณะอนุกรรมการ เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง อีกจำ�นวน 2 คณะ เพือ่ ช่วยกลัน่ กรองงานทีม่ คี วามสำ�คัญ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความ เสี่ยง โดยมีอำ�นาจหน้าที่ตามรายละเอียดในข้อ 9.1.2 เรื่องคณะกรรมการตรวจสอบ และในข้อ 9.1.3 เรื่องคณะกรรมการกลยุทธ์และ บริหารความเสี่ยง ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ดูแลในเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ด้วย โดยมีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1. เสนอแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริษัทในเรื่องเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3. กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการ และฝ่ายจัดการเพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 4. ทบทวนหลักการและแนวทางในการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบัติของสากล เพื่อ การพัฒนาและปรับปรุง โดยเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท 9.4.12 รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ� ปีของบริษทั ทั้งนีง้ บการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึน้ ตามหลักการบัญชีที่ได้รบั การรับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายทีเ่ หมาะ สมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน
77
คณะกรรมการบริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำ�หน้าที่สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษทั โดยรวมอยู่ในระดับทีน่ า่ พอใจ และสามารถสร้างความเชือ่ มั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินของบริษัท 9.4.13 ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน คณะกรรมการบริษัทตระหนักดีว่าข้อมูลของบริษัททั้งที่เกี่ยวกับการเงินและที่ไม่ใช่การเงิน ล้วนมีผลกระทบต่อ กระบวนการตัดสินใจของผูล้ งทุนและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียของบริษทั บริษทั จึงมีนโยบายให้ฝา่ ยบริหารดำ�เนินการในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการ เปิดเผยข้อมูลที่ครบถ้วน ตรงต่อความเป็นจริง เชื่อถือได้ สม่ำ�เสมอ ทันต่อเวลา และเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยว กับการเปิดเผยของมูลของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่ง ฝ่ายบริหารของบริษัทได้ให้ความสำ�คัญและจะยึดถือปฏิบัติ นอกเหนือจากการเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ขึ้น โดยเป็นศูนย์กลาง เพื่อดูแลเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทกับ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ ผู้สื่อข่าว และประชาชนทั่วไปที่สนใจในหลักทรัพย์ ของบริษัท โดยในปี 2555 บริษัทมีกิจกรรมในการนำ�เสนอข้อมูลของบริษัททั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ การนำ�เสนอข้อมูลแก่ นักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) จำ�นวน 3 ครัง้ จัดนำ�เสนอข้อมูลให้กบั นักลงทุน ในงานบริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (Opportunity Day) จำ�นวน 3 ครั้ง ให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามนักลงทุนและสื่อมวลชนที่ติดต่อทางจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และโทรศัพท์อย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้บริษัทมีบริการข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ผลการดำ�เนินงาน งบการเงิน ข่าวบริษัท ข้อมูลหลักทรัพย์ กิจกรรม หลักทรัพย์ รายงานประจำ�ปี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุม และข้อมูลต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ (Web Site) www.prinsiri.com ในส่วนของนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) โดยมีการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่ตลอด โดย นักลงทุนสามารถสอบถามข้อมูลโดยติดต่อกับทางฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ได้ที่ หมายเลข 02-617-6900 หรือทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ir@prinsiri.com ทั้งนี้ ในปี 2552 บริษัทได้รับรางวัลชมเชย IR Excellence Award ในกลุ่มของบริษัทที่มีมูลค่าตลาดต่ำ�กว่า 10,000 ล้านบาท ในปี 2553 และ 2554 บริษัทได้รับรางวัลชนะเลิศ IR Excellence Award สองปีติดต่อกัน ในกลุ่มของบริษัทที่มีมูลค่าตลาด ต่ำ�กว่า 10,000 ล้านบาท กลุ่มที่ 2 ทั้งนี้บริษัทจะยังคงพัฒนางานด้านนักลงทุนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นช่องทางให้นักลงทุน สามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆของบริษัท 9.5 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีนโยบายห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลากรของบริษัท ใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระสำ�คัญของบริษัท ซึ่งยังไม่ได้เปิด เผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น รวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท โดยมีวิธีการป้องกันการนำ�ข้อมูลไปใช้ ประโยชน์ของผู้บริหารและบุคลากรของบริษัท ดังนี้ • ดำ�เนินการแจ้งให้กรรมการ และผู้บริหาร ที่มีหน้าที่ในการรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษัทตามมาตรา 59 เพื่อให้เป็นไป ตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สจ.14/2540 เรื่องการจัดทำ�และเปิดเผยรายงานการถือหลักทรัพย์ และบทกำ�หนด โทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 • ดำ�เนินการส่งหนังสือเวียนแจ้งให้ผู้บริหารทราบว่า ผู้บริหารของบริษัทที่ได้รับทราบข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญ ที่มีผลต่อการ เปลีย่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ ต้องไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลก่อนทีจ่ ะเปิดเผยสูส่ าธารณชน โดยกำ�หนดให้ผบู้ ริหารห้ามทำ�การซือ้ ขาย หลักทรัพย์ของบริษัทเป็นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญจะเปิดเผยสู่สาธารณชน และห้ามมิให้เปิด เผยข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญนั้นต่อบุคคลอื่น
78
• บริษัทกำ�หนดให้มีการป้องกันการนำ�ข้อมูลของบริษัทไปใช้ โดยกำ�หนดห้ามหน่วยงานที่รู้ข้อมูลนำ�ไปเปิดเผยยังหน่วยงาน หรือบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง เพื่อดำ�เนินการควบคุมดูแลและตรวจสอบการดำ�เนินการดังกล่าว บริษัทมีนโยบายให้กรรมการ และผู้บริหาร ที่มีหน้าที่จัดทำ� รายงานการถือครองและการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แจ้งให้คณะกรรมการบริหารของบริษัททราบ ในวันเดียว กับที่ส่งรายงานถึงสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริษัทมิได้กำ�หนดบทลงโทษในกรณีที่ผู้บริหารไม่ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทได้แจ้งให้ผู้บริหารทราบถึงบทลงโทษตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 กรณีที่ฝ่าฝืนหรือไม่นำ�ส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ ทั้งนี้บริษัทยังให้ความสำ�คัญเกี่ยวกับการดูแลการใช้ข้อมูลภายใน โดยได้กำ�หนดเป็นส่วนหนึ่งของจรรยาบรรณที่สำ�คัญให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ยึดถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด 9.6 บุคลากร 9.6.1 จำ�นวนบุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีพนักงานทั้งสิ้น 351 คน ซึ่งไม่รวมกรรมการ และผู้บริหาร โดยสามารถแบ่งตาม สายงานต่างๆ ได้ดังนี้ สายงาน จำ�นวน (คน) สายงานบัญชีและการเงิน 19 สายงานปฎิบัติการ 126 สายงานขายและการตลาด 113 สายงานสนับสนุนปฎิบัติการ 35 สำ�นักกรรมการผู้จัดการ 58 รวม 351 ทั้งนี้ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานใดๆ 9.6.2 ค่าตอบแทนพนักงาน บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือน ค่าจ้าง โบนัสและกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพสำ�หรับพนักงานบริษัท รวม ถึงจัดให้มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่างๆในระดับที่สูงกว่ากฎหมายแรงงาน อาทิเช่น นโยบายการลาพักร้อน แบบขั้นบันไดตาม อายุงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งได้ปรับแก้ไขเพิ่มเติมในปี 2553 รวมถึง การจัดให้มีระบบประกันภัยแบบกลุ่มเพิ่มเติมนอกเหนือจาก ระบบ ประกันสังคม สำ�หรับพนักงานทั้งสิ้น 205 คน ในปี 2552 จำ�นวนประมาณ 98.70 ล้านบาท ในปี 2553 จำ�นวนพนักงาน 277 คน จำ�นวนประมาณ 116.64 ล้านบาท ในปี 2554 จำ�นวนพนักงาน 342 คน จำ�นวน 130.25 ล้านบาท และในปี 2555 จำ�นวนพนักงาน 351 คน จำ�นวน 163.54 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ค่าตอบแทนดังกล่าวรวมค่าตอบแทนสำ�หรับพนักงานที่เข้าออกระหว่างปีด้วย 9.6.3 นโยบายการพัฒนาบุคลากร ทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาองค์กร บริษัทมีนโยบายการพัฒนาบุคลากร โดยมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรในด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติ งาน และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทำ�งานกับบริษัทในระยะยาว โดยมีความก้าวหน้าในอาชีพ บริษัทได้จัดให้มีการจัด อบรมทั้งในและนอกสถานที่อย่างสม่ำ�เสมอ โดยได้มีการจัดทำ�แผนการฝึกอบรมขึ้นทุกปีโดยจะสำ�รวจความต้องการในการฝึกอบรม ของบุคลากรทุกระดับในแต่ละฝ่าย และจะคำ�นึงถึงการจัดการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับงานในแต่ละสายงาน โดยจะมีการฝึกอบรมใน หลักสูตรปกติและโครงการพิเศษสำ�หรับพนักงานทั่วไปและผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายและความมุ่งมั่นในการส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพของพนักงานในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพื่อความเจริญเติบโตโดยรวมของบริษัทและเสริมสร้างศักยภาพให้แก่บุคลากรเพื่อ ให้มีความรู้ความสามารถพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติที่เกิดขึ้นกับบริษัท
79
ในปี 2555 บริษัทมีแนวคิดหลักในการที่จะบริหารทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาองค์กร ให้สอดคล้องกับบริบทปัจจุบัน ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยที่มุ่งเน้นการบริหารคนที่มีอยู่ในปัจจุบันให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง (Change of Awareness) ด้วย การส่งเสริมการเรียนรู้ซึ่งเหมาะสมกับบุคลากรขององค์กร มีความหลากหลายในวิธีการ อาทิเช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Learning) พี่เลี้ยง (Mentoring) การพัฒนากระบวนการทำ�งานต่างๆ (Process Improvement) นอกจากนี้ยังมีแนวคิดในการปรับ เปลี่ยนแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตั้งแต่การสรรหาที่ให้ความสำ�คัญกับคนเก่ง และคนดี รวมทั้งต้องมีความสามารถใน การเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้ และบริษัทยังมีแผนที่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนระบบข้อมูล ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Information System : HRIS) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานระหว่างสำ�นักงานกับโครงการ ที่อยู่ห่างไกลอีกด้วย โดยปี 2556 บริษัทมีนโยบายจัดสรรงบประมาณเพื่อการอบรมและพัฒนาบุคลากร และได้กำ�หนดแนวทางการพัฒนา บุคลากรตามกรอบการพัฒนาศักยภาพ (Competency Framework) โดยแบ่งการฝึกอบรมออกเป็นความรู้พื้นฐาน ความรู้ระดับ ตำ�แหน่ง และความรู้เฉพาะทางตามสายอาชีพ เพื่อให้บุคลากรทุกระดับและทุกสายงานได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะความสามารถ ตลอดจนศักยภาพให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน และสามารถพัฒนาตนเองให้เติบโตไปพร้อมกับบริษัทต่อไป
80
81
10. การควบคุมภายใน
บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการควบคุมภายในเป็นอย่างมาก โดยคณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยมุง่ เน้นระบบการควบคุมภายในทีม่ คี วามเพียงพอและเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินงาน รวมทัง้ การใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สนิ การป้องกัน หรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง การทุจริต ระบบบัญชี และรายงานทางการเงินที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้ รวมทั้งการปฏิบัติ ตามกฏหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท บริษัทมีที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน โดยว่าจ้างนางสุมน ลิมพิเชษฐ์ ผู้ตรวจสอบภายในอิสระเป็นผู้ดำ�เนินการตรวจสอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าหน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระสามารถทำ�หน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ รวมทัง้ คณะกรรมการ ได้กำ�หนดให้ที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2555 ที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน ได้สอบทานการประเมินการควบคุมภายใน ซึ่งมีสาระสำ�คัญดังนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม ผูบ้ ริหารและบุคลากรมีทศั นคติทดี่ แี ละเอือ้ ต่อการควบคุมภายใน ผูบ้ ริหารให้ความสำ�คัญกับการมีศลี ธรรม จรรยา บรรณ และความซื่อสัตย์ มีการมอบอำ�นาจหน้าที่ความรับผิดชอบ และจำ�นวนผู้ปฏิบัติงานเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ นโยบายด้าน บุคลากรเหมาะสมในการจูงใจและสนับสนุนผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยภาพรวมองค์กรและสภาพแวดล้อมของบริษทั เหมาะสม และมีสว่ นทำ�ให้ การควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทได้กำ�หนดนโยบายและแนวทางในการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงอย่างมีระบบ โดยมี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่บริหารความเสี่ยงของบริษัทในภาพรวมทั่วทั้งองค์กร คลอบคลุมความเสี่ยงทางธุรกิจการ บริหาร การเงิน การปฏิบัติการ การบริหารและการจัดการความปลอดภัยชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงที่สำ�คัญอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ระบุความเสี่ยงในระดับองค์กรครอบคลุมทุกกิจกรรมที่ สำ�คัญ และได้จัดทำ�แผนการบริหารความเสี่ยงทั้งหมดในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ เพื่อกำ�กับดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยง และป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น หรือการเสียโอกาสทางธุรกิจ 3. การควบคุมปฏิบัติการ บริษัทมีการควบคุมการปฏิบัติการที่เหมาะสม เพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยกำ�หนดให้มีนโย บายระเบียบปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร ระบุการดำ�เนินงานในส่วนที่มีความเสี่ยงที่สำ�คัญ และกำ�หนดกลไกในการควบคุมเพื่อ ป้องกันและลดข้อผิดพลาด มีการสอบทานผลการดำ�เนินงานโดยฝ่ายบริหาร และมีดัชนีวัดผลการดำ�เนินงานกับพนักงานทั้งองค์กร การควบคุมภายในสำ�หรับกิจกรรมที่สำ�คัญ บริษัทมีการควบคุมที่เหมาะสมและเพียงพอ เช่น การบริหาร การ เงิน การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารทรัพยากรบุคคล 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร บริษัทมีระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงาน การรายงานทางการเงินและการ ดำ�เนินงาน การปฏิบัติตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติต่างๆ รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากภายนอกองค์กรมีการสื่อสารไปยังผู้ บริหาร และผู้ใช้ภายในองค์กรในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้รับข้อมูลสารสนเทศปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งระบบ สารสนเทศและการสื่อสารของบริษัทมีความเหมาะสมในการดำ�เนินธุรกิจ 5. การติดตามประเมินผล บริษัทมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน และประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยให้ทุก สายงานรายงานผลการดำ�เนินตามแผนการตรวจสอบ รวมทั้งวัดผลการดำ�เนินงานอย่างสม่ำ�เสมอซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ปฏิบัติงานตามปกติของฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงานและผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งมีการประเมินผลโดยที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน
82
ตามแผนการตรวจสอบประจำ�ไตรมาสและประจำ�ปี นอกจากนี้ได้มีคำ�แนะนำ�จากการตรวจสอบงบการเงินโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท กรณีพบข้อที่ควรปรับปรุง ได้มีกำ�หนดวิธีปฏิบัติและติดตามเพื่อให้ความมั่นใจว่าข้อตรวจสอบจากการตรวจสอบได้รับการแก้ไข คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน ซึ่งประเมินโดยที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน ไม่ พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ สอดคล้องกับความเห็นของผู้สอบบัญชีของบริษัท เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทมี ความเพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ที่ปรึกษางานตรวจสอบภายใน รวมทั้งบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบ งบการเงินประจำ�ปี 2555 ได้ให้ความเห็นว่า ไม่พบข้อบกพร่องทีม่ สี าระสำ�คัญเกีย่ วกับระบบการเก็บเอกสารสำ�คัญและระบบควบคุม ภายในของบริษทั แต่อย่างใด ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2555 คณะกรรมการบริษทั ได้ประเมินความเพียงพอของระบบควบคุม ภายใน (รายละเอียดปรากฏในเอกสารแนบ 3) คณะกรรมการมีมติเห็นชอบว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอในปัจจุบัน ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไม่พบข้อบกพร่องที่มีนัยสำ�คัญเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิภาพ และได้รับการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายในอิสระ เพื่อทำ�ให้เกิดประโยชน์ในการบริหารงาน ของบริษัท
83
บุคคล/นิติบุคคล ความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง 1. บริษทั โกร โยธา กรุป๊ เป็นบริษทั ย่อย ปัจจุบนั จำ�กัด บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระ ประกอบกิจการรับเหมา แล้ว ก่อสร้างและจำ�หน่าย วัสดุก่อสร้าง
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน (1.1) บริษัท - ซื้อ (วัสดุก่อสร้าง) - ซือ้ (รับเหมาก่อสร้าง) - ดอกเบี้ยรับ - ดอกเบี้ยค้างรับ - เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนีเ้ งินประกันผลงาน - เงินให้กู้ยืมระยะสั้น - ค่าเช่ารับ - ค่าใช้จ่ายดูแลส่วน กลาง 23.43 43.56 1.09 0.52 2.45
20.82 2.90 0.88 0.52 10.96
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
11.1 มูลค่าและยอดคงค้างของรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ดังนี้
11. รายการระหว่างกัน
0.27 2.69 7.56 15.00 7.27 7.01 8.00
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
84
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน บริษทั ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) เข้าถือหุน้ ในบริษทั โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะให้ บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด เป็นหน่วยธุรกิจหนึ่ง ของบริษัท ในการควบคุมต้นทุนค่าวัสดุก่อสร้าง สำ�หรับการพัฒนาโครงการของบริษัท และเพื่อ เสริมศักยภาพในการแข่งขัน ทั้งนี้บริษัทซื้อวัสดุ ก่อสร้างประเภท ปูน บานประตู ไม้บันใด เหล็ก แผ่นพื้น เป็นต้น และว่าจ้างงานรับเหมาก่อสร้าง กับบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด โดยราคาที่ซื้อ ขายและราคารับเหมาก่อสร้าง เป็นราคาที่ใกล้เคียง กับที่บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ขายให้ผู้รับ เหมารายอืน่ ๆ ของบริษทั ทัง้ นีส้ �ำ หรับวัสดุกอ่ สร้าง บางประเภทที่ขายให้กับบริษัท จะเป็นราคาที่ต่ำ� กว่าทีข่ ายให้กบั ผูร้ บั เหมารายอืน่ ๆ ของบริษทั เล็ก น้อย เนื่องจากบริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทย่อยของ บริษทั ในอนาคตคาดว่าจะยังคงมีการซือ้ สินค้าอยู่
หน่วย: ล้านบาท
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
85
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน เจ้าหนีก้ ารค้าดังกล่าวเกิดจากการซือ้ ตามรายการ ข้างต้น โดยบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ได้ให้ ระยะเวลาในการชำ�ระค่าสินค้าภายในประมาณ 30 - 60 วัน ซึง่ เป็นเงือ่ นไขการชำ�ระเงินค่าสินค้าตาม การค้าปกติ เจ้าหนี้เงินประกันผลงานดังกล่าวเกิดจากการว่า จ้างให้บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ดำ�เนินงาน ก่อสร้าง เช่น งานมุงกระเบื้องหลังคา เป็นต้น ซึ่ง เป็นเงินประกันทีบ่ ริษทั รับไว้ตามสัญญาว่าจ้างผูร้ บั เหมา และเป็นอัตราปกติทบี่ ริษทั รับไว้ตามสัญญา เหมือนกับผู้รับเหมารายอื่นๆ ทั่วไปของบริษัท เนือ่ งจากบริษทั ดังกล่าวเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ในอนาคตคาดว่าจงคงจะยังคงมีรายการดังกล่าว อยู่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการซือ้ เจ้าหนีก้ ารค้า และเจ้าหนีเ้ งินเงินประกัน ผลงาน ดังกล่าวเป็นการค้าปกติของบริษทั อีกทัง้ บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด เป็นบริษัทย่อยของ บริษัทอีกด้วย สำ�หรับการให้กู้ยืมเงินระยะสั้นของบริษัท เพื่อใช้ เป็นเงินทุนหมุนเวียน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมในอัตรา MLR ต่อปี เนื่องจากบริษัทดังกล่าว เป็นบริษัทย่อยของบริษัท
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
86
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน ดอกเบี้ยค้างรับ และดอกเบี้ยรับ เกิดจากให้กู้ยืม เงินระยะสั้นตามรายการข้างต้น โดยเป็นไปตาม เงื่อนไขการกู้ยืมเงินปกติ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น ดอกเบี้ยค้างรับ และ ดอกเบีย้ รับ เป็นการให้กยู้ มื ตามปกติ และเป็นการ กูย้ มื เพือ่ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ซึง่ เป็นการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทย่อยและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งหน่วยธุรกิจของบริษัท ประกอบกับ บริษัทคิดดอกเบี้ยตามราคาตลาด จึงเป็นรายการ ที่สมเหตุสมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กับบริษัท และบริษัทย่อย ค่าเช่ารับ เกิดจากการให้เช่าพืน้ ทีส่ �ำ นักงาน เงือ่ นไข เป็นไปตามสัญญาเช่าพื้นที่สำ�นักงานในอัตราค่า เช่าในปี 2554 เดือนละ 43,000 บาท และในปี 2555 เดือนละ 21,500 บาท ค่าใช้จ่ายดูแลส่วนกลาง เกิดจากการว่าจ้างดูแล พื้นที่ส่วนกลางของแต่ละโครงการ ซึ่งเป็นไปตาม เงื่อนไขของสัญญาว่าจ้างทั่วไป คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ราคาค่าเช่าและค่าใช้จ่ายในการดูแลส่วนกลางมี ความเหมาะสมเมื่อเทียบกับราคาตลาดและเป็น รายการเกี่ยวโยงกันที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป
ความสัมพันธ์
2. บริษัท ไทยจินดาผ้า คุณสันติ โกวิทจินดาชัย ม่าน จำ�กัด ซึง่ เป็นพีช่ ายของคุณสิริ ลักษณ์ และเป็นผูถ้ อื หุน้ ประกอบธุรกิจจำ�หน่าย ของบริษัท ปัจจุบันถือ ผ้าม่าน มูลี่ วอลเปเปอร์ หุ้นของบริษัท ร้อยละ ชุดเครือ่ งเรือน เฟอร์นเิ จอร์ 1.92 ของทุนจดทะเบียน ชำ�ระแล้ว ถือหุ้นของ บริษัท ไทยจินดา ผ้า ม่าน จำ�กัด ร้อยละ14.5 ของทุนจดทะเบียนชำ�ระ แล้ว และเป็นกรรมการ ผู้ มี อำ � นาจลงนามใน บริษัท ไทยจินดา ผ้า ม่าน จำ�กัด
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน (1.2) บริษัท ปริญเวน เจอร์ จำ�กัด - ซื้อ (วัสดุก่อสร้าง - ซื้อ (รับเหมาก่อสร้าง - ดอกเบี้ยรับ - ดอกเบี้ยค้างรับ - เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนีเ้ งินประกันผลงาน - ค่าใช้จ่ายดูแลส่วนกลาง (2.1) บริษัท - ซื้อ - เงินประกันผลงาน - เจ้าหนี้การค้า 8.12 -
0.10 0.42 3.17 -
1.40 0.72
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
0.25
0.06 0.41 0.00
0.03 0.20
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
87
บริษทั ซือ้ ผ้าม่าน มูลี่ วอลเปเปอร์ จากบริษทั ไทย จินดา ผ้าม่าน จำ�กัด โดยราคาที่ซื้อเป็นราคาใกล้ เคียงกับที่บริษัทซื้อจากผู้ขายรายอื่นทั่วไป และ เนือ่ งจากบริษทั ดังกล่าวมีการติดต่อซือ้ ขายกันมา นาน สินค้ามีคุณภาพดี โดยเฉพาะสินค้าผ้าม่าน จะมีความปราณีตในการตัดเย็บเป็นอย่างมาก มี การจัดส่งทีต่ รงเวลา ดังนัน้ ในอนาคตคาดว่าจะยัง คงมีการซื้อสินค้าอยู่ เจ้าหนีก้ ารค้าดังกล่าวเกิดจากการซือ้ ตามรายการ ข้างต้น โดยบริษัท ไทยจินดา ผ้าม่าน จำ�กัด ได้ ให้ระยะเวลาในการชำ�ระค่าสินค้าภายในประมาณ 30 - 60 วัน ซึ่งเป็นเงื่อนไขการชำ�ระเงินค่าสินค้า ตามการค้าปกติ
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน เหตุผลและการพิจารณาของคณะกรรมการตรวจ สอบ เหมือนกับในข้อ (1.1) ในส่วนของการซื้อ วัสดุก่อสร้าง ว่าจ้างรับเหมาก่อสร้าง ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้เงินประกัน ผลงานและค่าใช้จา่ ยดูแลส่วนกลาง ทัง้ นี้ เนือ่ งจาก บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด และบริษัท ปริญเวน เจอร์ จำ�กัด เป็นบริษัทย่อยของบริษัท ในอนาคต คาดว่าจะยังคงมีการซื้อสินค้าอยู่
ความสัมพันธ์
3. บริษทั ปริญเวนเจอร์ บริษัทถือหุ้นในสัดส่วน จำ�กัด ร้อยละ 100 ประกอบธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ประเภท หมู่ บ้ า นจั ด สรร และ ประเภทอาคารชุดพัก อาศัย
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
(3.1) บริษัท - ลูกหนี้การค้า - เงินให้กู้ยืมระยะสั้น - ดอกเบี้ยค้างรับ - ดอกเบี้ยรับ - รายได้ค่าบริหาร - รายได้อื่น
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
1.08 -
2.87 -
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
7.00 0.09 -
60.00 2.96 -
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
88
บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เป็นบริษัทย่อยของ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งมีสัดส่วนการ ถือหุ้นร้อยละ 100 สำ�หรับการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น ของบริษัทกับบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เพื่อ เพิ่มสภาพคล่องในการดำ�เนินกิจการให้กับบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ซึ่งไปตามเงื่อนไขในสัญญา
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน เงินประกันผลงานดังกล่าวเกิดจากการว่าจ้างให้ บริษัท ไทยจินดา ผ้าม่าน จำ�กัด ดำ�เนินงานผลิต และติดตัง้ ผ้าม่าน ซึง่ เป็นเงินประกันทีบ่ ริษทั รับไว้ ตามสัญญาว่าจ้างผู้รับเหมา และเป็นอัตราปกติที่ บริษัทรับไว้ตามสัญญา เหมือนกับผู้รับเหมารา ยอื่นๆ ทั่วไปของบริษัท เนื่องจากราคาที่ซื้อเป็น ราคาใกล้เคียงกับทีบ่ ริษทั ซือ้ จากผูข้ ายรายอืน่ ทัว่ ไป และบริษัทดังกล่าวมีการติดต่อซื้อขายกันมานาน สินค้ามีคุณภาพดี โดยเฉพาะสินค้าผ้าม่านจะมี ความปราณีตในการตัดเย็บเป็นอย่างมาก มีการ จัดส่งที่ตรงเวลา ดังนั้นในอนาคตคาดว่าจะยังคง มีการซื้อสินค้าอยู่ จึงทำ�มีรายการเงินประกันผล งานรับด้วย คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการซื้อ เจ้าหนี้การค้า และเงินประกันผลงาน รับ เป็นการค้าปกติของบริษัท
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ลักษณะของรายการ ความสัมพันธ์ ระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม - ค้ำ�ประกันวงเงินกู้ยืม 2553 บริษัทได้ซื้อหุ้น - ซื้อที่ดิน สามัญทั้งจำ�นวนจาก บมจ. ยูนเิ วนเจอร์ ทำ�ให้ การถือหุน้ ที่ ร้อยละ 100
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555 19.77 19.77
89
ยอดคงค้าง ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555 โดยบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด สามารถกู้ยืมเงิน จากผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้นในวงเงินกู้ยืม ไม่เกิน 500 ล้านบาท และคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมในอัตรา MLR ต่อปี ในปี 2553 บริษัทคืนเงิน กู้ยืมตามสัญญาร่วมลงทุนทั้งจำ�นวน และในปี 2553 บริษัทได้กู้ยืมเงินระยะสั้นจาก บมจ ปริญ สิริ จำ�นวน 15.00 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย MLR ต่อปี ดอกเบี้ยค้างรับ และดอกเบี้ยรับ เกิดจากให้กู้ยืม เงินระยะสั้นตามรายการข้างต้น โดยเป็นไปตาม เงื่อนไขในสัญญาร่วมทุน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น ดอกเบี้ยค้างรับ และ ดอกเบีย้ รับ เป็นการให้กยู้ มื ตามสัดส่วนการถือหุน้ ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของสัญญาร่วมทุน และ เป็นการเพิม่ สภาพคล่องให้กบั บริษทั ย่อย ประกอบ กับบริษทั คิดดอกเบีย้ ตามราคาตลาด จึงเป็นรายการ ที่สมเหตุสมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กับบริษัท และบริษัทย่อย
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
90
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน รายได้อนื่ ของบริษทั เป็นรายได้จากการรับจัดสวน ให้กับ บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด โดยเป็นราคา ปกติที่ใกล้เคียงกับผูร้ บั เหมาทัว่ ไป เนือ่ งจากความ รู้ความสามารถ และประสบการณ์ ที่มากของทีม งานในการจัดสวนของบริษัท ทำ�ให้จัดสวนได้ ประณีต และถูกต้องตรงตามรูปแบบโครงการที่ได้ วางไว้ ประกอบกับบริษัทดังกล่าว เป็นบริษัทย่อย ของบริษัท ในอนาคตคาดว่าจะคงยังมีรายการดัง กล่าวอยู่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายได้คา่ บริหาร เป็นไปตามเงือ่ นไขในสัญญาร่วม ทุน และรายได้อื่น เป็นการค้าปกติโดยเป็นราคา ที่ใกล้เคียงกับราคาตลาด จึงเป็นรายการทีส่ มเหตุ สมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กบั บริษทั และบริษทั ย่อย การค้ำ�ประกันวงเงินกู้ยืม เป็นรายการที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ปี 2548 โดยเป็นการค้ำ�ประกันวงเงินเบิก เกินบัญชีวงเงินหนังสือค้�ำ ประกัน เป็นการค้�ำ ประกัน ตามสัดส่วนการถือหุน้ ซึง่ เป็นไปตามเงือ่ นไขของ สัญญาร่วมทุน และเพื่อนำ�เงินไปใช้ในการพัฒนา โครงการของบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด บริษัท ดังกล่าวเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ในอนาคตคาด ว่ายังคงจะมีรายการดังกล่าวอยู่
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
91
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการค้ำ�ประกันวงเงินกู้ยืม เป็นการค้ำ�ประกัน ตามสัดส่วนการถือหุ้นซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขของ สัญญาร่วมทุน เพื่อนำ�เงินไปใช้ในการพัฒนา โครงการของบริษัทย่อย จึงเป็นรายการที่สมเหตุ สมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กบั บริษทั และบริษทั ย่อย การซื้อที่ดิน เกิดจากการซื้อที่ดินเปล่าเพื่อนำ�ไป พัฒนาเป็นโครงการอาคารชุดพักอาศัยในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า การซื้อที่ดิน เป็นการค้าปกติโดยเป็นราคาที่ใกล้ เคียงกับราคาตลาด จึงเป็นรายการทีส่ มเหตุสมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กับบริษัทและบริษัทย่อย
บุคคล/นิติบุคคล ความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง 4. บริษัท ซีเอ็น เอสพี บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 99.97 อาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ของทุนจดทะเบียนชำ�ระ แล้ว
ลักษณะของรายการ ระหว่างกัน (4.1) บริษัท - เงินกู้ยืมระยะสั้น - ดอกเบี้ยค้างรับ - ดอกเบี้ยรับ -
-
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555 -
-
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
92
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งบริษัท ซี เอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ด้วยวัตถุประสงค์ ที่จะให้บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ จำ�กัด เป็นหน่วย ธุรกิจหนึ่งของบริษัท ในการค้าอสังหาริมทรัพย์ และให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ อีกทัง้ เพือ่ เสริมศักยภาพ ในการแข่งขัน มีนโยบายการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น ของบริษทั กับบริษทั ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เพือ่ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนและสำ�หรับการ ซื้ออสังหาริมทรัพย์ของ บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด โดยคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมในอัตรา MLR ต่อปี เนื่องจากบริษัทดังกล่าว เป็นบริษัทย่อยของบริษัท ในอนาคตคาดว่าจะยัง คงมีรายการดังกล่าวอยู่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วเห็นว่า รายการให้กู้ยืมเงินระยะสั้น ดอกเบี้ยค้างรับ และ ดอกเบีย้ รับ เป็นการให้กยู้ มื ตามปกติ และเป็นการ กู้ยืมเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และสำ�หรับการ ซื้ออสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัทย่อยและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการจัด ตั้งหน่วยธุรกิจของบริษัท ประกอบกับบริษัทคิด ดอกเบี้ยตามราคาตลาด จึงเป็นรายการที่สมเหตุ สมผล และก่อให้เกิดประโยชน์กบั บริษทั และบริษทั ย่อย
บุคคล/นิติบุคคล ลักษณะของรายการ ความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง ระหว่างกัน 5. บริษัท เบล็ส แอส กรรมการ/ ผู้ถือหุ้นราย ซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ นำ�มาพัฒนา เสท กรุ๊ป จำ�กัด ใหญ่ของบริษัท เบล็ส โครงการ แอสเสท กรุ๊ป จำ�กัด เป็นบุคคลใกล้ชิดกับ กรรมการบริษัท 215.00
215.00
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555 -
-
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
93
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน เป็นการซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ นำ�มาพัฒนาโครงการในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาแล้วเห็นว่าราคาซือ้ ขายทีด่ นิ ใกล้เคียง กับราคาประเมินอิสระที่ได้รับอนุญาตจากสำ�นัก คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และทีด่ นิ อยู่ในทำ�เลทีต่ งั้ ทีด่ ี ราคาซือ้ ขายเป็นราคา ทีเ่ หมาะสม และราคาซือ้ ขายทีด่ นิ ดังกล่าวมีเงือ่ นไข และข้อตกลงทางราคาในลักษณะเดียวกับทีว่ ญิ ญูชน พึงกระทำ�
บุคคล/นิติบุคคล ลักษณะของรายการ ความสัมพันธ์ ที่อาจมีความขัดแย้ง ระหว่างกัน 6. บริษัท เบล็ส บิลด์ กรรมการ/ ผู้ถือหุ้นราย ซื้อ (รับเหมาก่อสร้าง) ใหญ่ของบริษทั เบล็ส บิ เจ้าหนีเ้ งินประกันผลงาน จำ�กัด ลด์ จำ�กัด เป็นบุคคล ใกล้ชดิ กับกรรมการบริษทั เป็นภรรยาโดยไม่จด ทะเบี ย นสมรมของ กรรมการผู้จัดการ
มูลค่ารายการระหว่างกัน 2554 2555 9.87 -
0.20
ยอดคงค้าง ณ 31 ธ.ค. 2554 ณ 31 ธ.ค. 2555
94
ความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน บริษัทซื้อวัสดุก่อสร้างประเภท ปูน บานประตู ไม้ บันใด เหล็ก แผ่นพื้น เป็นต้น และว่าจ้างงานรับ เหมาก่อสร้างกับบริษัท เบล็ส บิลด์ จำ�กัด โดย ราคาทีซ่ อื้ ขายและราคารับเหมาก่อสร้าง เป็นราคา ที่ใกล้เคียงกับที่บริษัท เบล็ส บิลด์ จำ�กัด ขายให้ ผู้รับเหมารายอื่นๆ ของบริษัท ทั้งนี้สำ�หรับวัสดุ ก่อสร้างบางประเภทที่ขายให้กับบริษัท จะเป็น ราคาทีต่ ่ำ�กว่าทีข่ ายให้กับผูร้ ับเหมารายอืน่ ๆ ของ บริษทั เล็กน้อย เนือ่ งจากบริษทั ดังกล่าวเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ในอนาคตคาดว่าจะยังคงมีการซือ้ สินค้าอยู่ เจ้าหนี้เงินประกันผลงานดังกล่าวเกิดจากการว่า จ้างให้บริษทั เบล็ส บิลด์ จำ�กัด ดำ�เนินงานก่อสร้าง เช่น งานมุงกระเบื้องหลังคา เป็นต้น ซึ่งเป็นเงิน ประกันที่บริษัทรับไว้ตามสัญญาว่าจ้างผู้รับเหมา และเป็นอัตราปกติทบี่ ริษทั รับไว้ตามสัญญา เหมือน กับผูร้ บั เหมารายอืน่ ๆ ทัว่ ไปของบริษทั เนือ่ งจาก บริษทั ดังกล่าวเป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ในอนาคต คาดว่าจงคงจะยังคงมีรายการดังกล่าวอยู่
11.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน สำ�หรับรายการระหว่างกันคณะกรรมการมีมติเห็นชอบให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้อนุมัติการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ การทำ�ธุรกรรมนั้นต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท โดยทำ�ธุรกรรมในราคาตลาด ซึ่งเป็นราคาที่สามารถเปรียบเทียบกับราคา ของบุคคลภายนอกได้ มีเงื่อนไขทางการค้าปกติ และเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรายอื่นเสนอราคาแข่งขันโดยเท่าเทียมกัน ทั้งนี้บริษัทจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยเกี่ยวกับเรื่องการเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทอย่างเคร่งครัด โดย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการทำ�รายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิออกเสียงในเรื่องนั้นๆ และให้รายงานต่อคณะกรรมการเพื่อทราบต่อไป 11.3 นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการเข้าทำ�รายการระหว่างกันในกรณีการค้าปกติ ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นตามปกติและต่อเนื่อง โดยจะมี การกำ�หนดเงือ่ นไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการดำ�เนินการค้าในราคาตลาด ซึง่ สามารถเปรียบเทียบได้กบั ราคาทีเ่ กิดขึน้ กับบุคคล ภายนอก และเป็นไปตามราคาที่ยุติธรรม สมเหตุสมผลและสามารถตรวจสอบได้ โดยนำ�เสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ พิจารณาหลักเกณฑ์และแนวทางในการปฏิบตั ดิ งั กล่าว ทัง้ นี้ บริษทั จะให้กรรมการตรวจสอบของบริษทั หรือผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระพิจารณา ตรวจสอบและให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทำ�รายการด้วย สำ�หรับรายการระหว่างกันในอนาคต เช่น การซื้อผ้าม่าน มูลี่ วอลเปเปอร์ กับบริษัท ไทยจินดา ผ้าม่าน จำ�กัด เป็นต้น ขึ้น อยู่กับเหตุผลและความจำ�เป็นของบริษัท ซึ่งการรับและการจ่ายค่าตอบแทนระหว่างกันจะเป็นไปตามราคาตลาดและยุติธรรม ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้ให้ความเห็นต่อรายการดังกล่าว โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะนำ�ราคาตลาดของผู้อื่นมาเปรียบ เทียบด้วย บริษัทไม่มีนโยบายให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นการให้กู้ตามสัดส่วนแก่บริษัทย่อย สำ�หรับนโยบายเงินกู้ยืมจากกรรมการ การค้ำ�ประกันโดยกรรมการ และนโยบายเงินทดรองจ่าย บริษัทไม่มีนโยบายดังกล่าว ในส่วนของเงินกูย้ ืมจากกรรมการและการค้ำ�ประกันโดยกรรมการทีม่ ีอยูน่ ั้น จะไม่มเี พิ่มเติมในอนาคต อย่างไรก็ดี หากมีความจำ�เป็น เร่งด่วน รายการเหล่านี้จะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารเป็นรายกรณีไป ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีส่วนได้เสีย บริษัทมีนโยบายให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับราคา อัตราค่าตอบแทน รวมทั้งความจำ�เป็นและความเหมาะสมต่อรายการนั้น โดยในการออกเสียงในที่ประชุมนั้นๆ กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน 11.4 มาตรการคุ้มครองผู้ลงทุน เพือ่ เป็นการคุม้ ครองผูล้ งทุน ในอนาคตถ้ามีรายการระหว่างกันของบริษทั เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษัทจะจัดให้ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการที่มีกรรมการตรวจ สอบเข้าร่วมประชุม เพือ่ ดูแลให้รายการระหว่างกันเป็นไปอย่างยุตธิ รรมและมีนโยบายการกำ�หนดราคาทีเ่ หมาะสม ในกรณีทกี่ รรมการ ตรวจสอบไม่มีความชำ�นาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัท เป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี โดยคณะกรรมการบริษัทจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทจะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท โดย บริษทั มีนโยบายเข้าทำ�รายการระหว่างกันเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของบริษัท ปัจจุบันบริษัทมีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบรายการระหว่างกันรวมถึงระบบควบคุมภายในของบริษัท เพื่อความโปร่งใสและเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับนัก ลงทุน ยิง่ ไปกว่านัน้ บริษทั ยังมีนโยบายการลดความเสีย่ งทางธุรกิจ โดยมีคณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสีย่ งเป็นผูพ้ จิ ารณา และปรับเปลี่ยนกลยุทธทางธุรกิจด้วย
95
96
12. ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1 สรุปรายงานการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (1) รายงานการสอบทานโดยผู้สอบบัญชีอนุญาต ต่องบการเงินงวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2555 ผู้สอบบัญชี ได้แก่ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2982 จากบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ได้แสดงความเห็นว่า ไม่พบสิ่งที่เป็นเหตุให้เชื่อว่างบการเงินระหว่างกาลดัง กล่าวไม่แสดงฐานะทางการเงินรวมผลการดำ�เนินงานรวม และกระแสเงินสดรวม โดยถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (2) รายงานการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอนุญาต ต่องบการเงินสำ�หรับ ปี 2554 และปี 2553 ผู้สอบบัญชี ได้แก่ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2982 จากบริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัดได้แสดงความเห็นว่า งบการเงินแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ2553 และผลการดำ�เนินงานของบริษทั และบริษทั ย่อยว่า ถูกต้องตามทีค่ วรในสาระทีส่ �ำ คัญตามหลักการ บัญชีรับรองทั่วไป
97
12.1.2 สรุปฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท ตารางสรุปรายการงบดุล งบกำ�ไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และอัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ ตารางสรุปงบแสดงฐานะการเงินของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2554 ณ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 116.43 2.09 102.68 1.46 153.21 2.13 เงินลงทุนชั่วคราว 222.44 4.00 8.82 0.13 49.73 0.69 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น 72.81 1.31 64.5 0.92 80.94 1.13 สินค้าคงเหลือ 3,992.34 71.71 5,513.11 78.44 5,359.70 74.51 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 242.77 4.36 7.91 0.11 79.55 1.11 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 4,646.78 83.46 5,697.02 81.06 5,723.13 79.56 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดินและอุปกรณ์ 42.91 0.77 33.36 0.47 30.49 0.42 ที่ดินรอการพัฒนา 812.13 14.59 1,252.89 17.83 1,176.80 16.36 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - 212.33 2.95 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน 2.71 0.04 เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน 49.22 0.88 32.77 0.47 31.45 0.44 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น 16.49 0.30 12.44 0.18 16.30 0.23 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 920.74 16.54 1,331.45 18.94 1,470.09 20.44 รวมสินทรัพย์ 5,567.52 100.00 7,028.47 100.00 7,193.21 100.00 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน 671.08 12.05 721.64 10.27 547.72 7.61 เงินกู้ยืมระยะสั้น - ตั๋วสัญญาใช้เงิน 110.00 1.98 105.00 1.49 40.00 0.56 เจ้าหนี้ค่าที่ดิน - ตั๋วสัญญาใช้เงิน 43.44 0.78 70.00 1.00 152.78 2.12 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นๆ 466.81 8.38 317.89 4.52 274.15 3.81 หนี้สิ้นระยะยาวที่ครบกำ�หนดในหนึ่งปี 1.16 0.02 0.89 0.01 787.25 10.94 ค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ 51.8 0.93 51.10 0.73 51.76 0.72 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 61.58 1.10 31.36 0.45 27.33 0.38 รวมหนี้สินหมุนเวียน 1,405.88 25.25 1,297.88 18.47 1,880.99 26.15 หนี้สินไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ 0 0 400.00 5.69 284.40 3.95 หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน 0.72 0.01 0.86 0.01 1.31 0.02 เงินกู้ยืมระยะยาว 740.99 13.31 1,849.79 26.32 1,244.18 17.30 ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน 0.00 0.00 2.71 0.04 5.02 0.07 เจ้าหนี้อื่น 38.39 0.69 25.32 0.36 21.88 0.30 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 780.11 14.01 2,278.68 32.42 1,556.79 21.64 รวมหนี้สิน 2,185.99 39.26 3,576.56 50.89 3,437.79 47.79
98
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน - หุ้นสามัญ 1,105,500,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน - หุ้นสามัญ 1,216,049,401 หุ้น มุลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน - หุ้นสามัญ 1,276,041,855 หุ้น มุลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว - หุ้นสามัญ 1,105,500,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท - หุ้นสามัญ 1,105,499,456 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท - หุ้นสามัญ 1,216,041,855 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท - หุ้นสามัญ 1,219,303,655 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2554 ณ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ 1,105.50
0
0
0
1,216.05
0
0
0
1,276.04
0.00 1,105.50
0.00 19.86 0.00 1,216.04
440.21
7.91 440.21
110.55 1.99 1,725.23 30.99 0.00 0.00 0.00 0.00 3,381.53 60.74 5,567.52 100.00
17.30
1,219.30 6.26 442.76 4.27
121.60 1.73 1,674.03 23.82 0.00 0.00 0.00 0.00 3,451.89 49.11 7,028.47 100.00
16.95 6.16 0.06
127.60 1.77 1,961.47 27.27 0.00 0.00 0.00 0.00 3,755.41 52.21 7,193.21 100.00
99
ตารางสรุปงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการขายที่ดินเปล่า รายได้จากการขายสินค้า รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนจากการขายที่ดินเปล่า ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้นิติบุคคล ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำ�ไรก่อนส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม กำ�ไรสุทธิ กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรต่อหุ้น – ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (หุ้น)
100
ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2554 ณ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ 4,298.16 97.67 53.65 18.66 4,468.15
96.20 2,202.24 97.62 2,770.73 98.25 2.19 0.00 0.00 0.00 0.00 1.20 31.98 1.42 25.69 0.91 0.42 21.75 0.96 23.62 0.84 100 2,255.97 100.00 2,820.04 100.00 62.64 68.72 1,371.19 60.78 1,766.42 62.64 1.28 0.00 0.00 0.00 0.00 1.12 31.75 1.41 28.98 1.03 12.29 544.73 24.14 573.18 20.33 0.07 4.93 0.22 3.28 0.12 83.41 1,947.67 86.33 2,368.58 83.99 16.59 308.30 13.67 257.02 9.11 0.59 28.86 1.28 17.12 0.61 3.38 76.39 3.39 80.10 2.84 12.81 203.05 9.00 354.24 12.56 -0.19 0.00 0.00 0.00 0.00 12.62 203.05 9.00 354.24 12.56
3,070.57 57.00 50.08 549.33 3.21 3,726.98 741.16 26.26 150.91 572.5 -8.52 563.98
0.47 1,216,041,855
0.17 1,216,041,855
0.29 1,216,412,051
-
0.17 1,219,562,489
0.29 1,219,589,298
ตารางสรุปงบกระแสเงินสดของบริษัท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล รายการปรับกระทบกำ�ไรสุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน รายได้ค่าปรับงานล่าช้า กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนชั่วคราว รายได้อื่นๆ กำ�ไรจากการขายทรัพย์สิน ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน หนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนตัดจ่าย ขาดทุนจากการเลิกใช้ทรัพย์สิน ผลประโยชน์พนักงาน รายจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ประมาณการค่าปรับจากงานเสร็จล่าช้า ค่าใช้จ่ายอื่น ขาดทุนจากการถูกฟ้องร้อง ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำ�ไร(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน สินทรัพย์จากการดำ�เนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดินรอการพัฒนา สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์จากการดำ�เนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง หนี้สินจากการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินจากการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดำ�เนินงาน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)ในกิจกรรมดำ�เนินงาน
2553
2554
2555
714,898,723.23
279,442,009.88
434,342,882.98
(3,379,064.74) (2,496,343.67) 319,670.10 11,441,814.26 346,872.55 0.00 548,521.67 0.00 0.00 (19,422,587.30) 0.00 0.00 26,261,307.44
(1,039,023.02) 0.00 (1,055,090.90) 11,186,702.18 1,425,814.38 0.00 336,902.00 2,706,684.64 0.00 0.00 1,458,087.69 8,580,152.00 28,858,545.01
(445,849.06) 0.00 (2,107,353.37) 8,845,166.84 1,333,494.41 271,455.98 524,710.04 2,316,840.59 5,185,862.99 0.00 (196,841.84) 0.00 17,118,754.05
728,518,913.54
331,900,783.86
467,189,123.61
12,585,593.01 (38,463,340.06) 371,859,352.54 1,771,237,000.90 (165,114,881.26) 280,199,433.69 57,000,000.00 0.00 (6,120,512.64) 3,463,923.66 270,209,551.65 1,526,036,983.61
(17,259,605.32) 340,185,067.06 (71,637,479.60) (88,521,183.64) (3,864,887.32) 158,901,911.18
(41,239,740.30) (66,611,936.00) 1,680,698.66 (106,170,977.64) 892,557,487.55 (93,045,586.12) (164,813,756.02) 634,698,145.41
(66,077,923.68) (36,835,060.48) (698,890.00) 661,057.05 (96,308,116.39) 2,283,910.39 (163,084,930.07) (33,890,093.04) (1,357,221,129.82) 592,200,941.75 (128,965,234,64) (174,405,482.63) (105,879,937.09) (86,410,629.07) (1,592,066,301.55) 331,384,830.05
101
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากประจำ�มีภาระผูกพัน(เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินสดรับจากการขายทรัพย์สิน เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์และเครื่องใช้สำ�นักงาน เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป) ในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง เงินกู้ยืมระยะสั้นเพิ่มขึ้น(ลดลง) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย จ่ายเงินปันผล เงินสดสุทธิได้มา(ใช้ไป)จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
102
2553
2554
2555
(1,767,390,603.15) (584,905,310.24) (390,714,838.29) 1,686,592,110.53 799,546,499.97 350,248,765.28 8,036,165.69 3,371,733.99 (1,928,108.21) (3,920,000.00) 0.00 0.00 864,054.89 1,972,624.60 2,066,447.97 (24,832,585.36) (18,640,657.86) (7,880,257.92) 0.00 0.00 (1,114,833.00) (100,650,857.40) 201,344,890.46 (49,322,824.17) 343,168,347.90 50,547,957.43 (80,915,564.07) (181,850,000.00) (5,000,000.00) (65,000,000.00) (2,822,249.73) (1,270,179.90) (1,417,024.14) (685,046,458.92) 1,065,352,382.67 (388,299,817.48) 0.00 400,000,000.00 360,000,000.00 0.00 0.00 4,892,700.00 (150,749,294.00) (132,651,003.32) (60,800,087.75) (677,299,654.75) 1,376,979,156.88 (231,539,793.44) (143,252,366.74)
(13,742,254.21)
50,522,212.44
259,678,516.87
116,426,150.13
102,683,895.92
116,426,150.13
102,683,895.92
153,206,108.36
ตารางสรุปอัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัท อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า-อสังหาริมทรัพย์ (เท่า) ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ย-อสังหาริมทรัพย์ (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาการขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) ระยะเวลาชำ�ระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราส่วนความสามารถในการทำ�กำ�ไร อัตรากำ�ไรขั้นต้น-อสังหาริมทรัพย์ (%) อัตรากำ�ไรขั้นต้น-วัสดุก่อสร้าง (%) อัตรากำ�ไรจากการดำ�เนินงาน (%) อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการทำ�งาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปันผล (%)
2553
2554
2555
3.30 0.46 114.92 3.13 0.76 473.68 8.60 41.86 434.95
4.39 0.14 32.07 11.23 0.29 1,241.37 3.49 103.15 1,149.45
3.04 0.19 34.23 10.52 0.53 684.21 6.55 54.97 639.75
28.56 6.66 16.59 12.62 17.65
37.74 11.72 13.78 9.07 5.94
36.25 11.08 16.11 12.56 9.43
10.06 55.10 0.80
3.22 18.03 0.35
4.92 24.10 0.39
0.65 28.25 23.52
1.04 12.34 29.94
0.77 26.37 34.42
103
12.2 คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน 12.2.1 การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน ภาพรวมของผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวม จำ�นวน 2,820.04 ล้านบาท มาจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 2,770.73 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.25 ของรายได้รวม ภาพรวมของผลการดำ�เนินงานที่ผ่านมา ในปี 2555 เศรษฐกิจภายในประเทศยังคงเติบโตต่อเนื่องจากปี 2554 ในช่วงปี 2555 ตลาดอสังหาริมทรัพย์ขยายตัว ต่อเนือ่ งจากอุปสงค์ทเี่ พิม่ ขึน้ ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยขยายตัวดีตอ่ เนือ่ ง โดยมีปจั จัยสนับสนุนจากนโยบายบ้านหลังแรกของทางการ และอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำ� อย่างไรก็ตามต้นทุนดำ�เนินงานโดยรวมเพิ่มขึ้นทั้งต้นทุนแรงงานและราคาวัสดุก่อสร้างเป็นปัจจัย หลักที่ส่งผลให้ต้องปรับราคาขายที่อยู่อาศัยใหม่ขึ้นแต่เนื่องจากการแข่งขันที่สูงทำ�ให้ไม่สามารถปรับราคาขายได้มากนัก ส่งผลให้ ธุรกิจต้องปรับตัวเพื่อลดต้นทุน อาทิ ควบคุมต้นทุนค่าก่อสร้าง การใช้เทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดระยะเวลาก่อสร้าง และการควบคุม ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด เป็นต้น ในปี 2553 บริษัทมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 4,298.16 โดยลดลงเล็กน้อยจากยอดขายอสังหาริมทรัพย์ปี 2552 เนื่องจากในปี 2553 บริษัท ลูกค้าบริษัทในโครงการสมาร์ท คอนโด พระราม 2 มียอดขอสินเชื่อไม่ผ่านเป็นสัดส่วนสูง รายได้ ในปี 2553 นั้น มีสัดส่วนจาก โครงการคอนโดมิเนียม ทาวน์โฮม และบ้านเดี่ยว ตามลำ�ดับ โดยในปี 2553 บริษัทได้มีการขายที่ดิน เปล่าที่ยังไม่มีแผนพัฒนาในระยะสั้นออกไป มูลค่า 97.67 ล้านบาท สำ�หรับปี 2554 บริษัทมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 2,202.24 ล้านบาท โดยลดลงจากยอดขายอสังหาริมทรัพย์ปี 2553 ร้อยละ 48.76 เนื่องจากในปี 2554 บริษัทไม่สามารถขายและ โอนกรรมสิทธิ์ได้ตามเป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้ ประกอบกับการเกิดอุทกภัยช่วงปลายปี 2554 จึงทำ�ให้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ลดลงเกือบร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปี 2553 สำ�หรับปี 2555 บริษัทมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 2,770.73 ล้านบาท โดยยอดรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมียอดสูงกว่ายอดที่รับรู้ทั้งปี 2554 ถึง 568.49 ล้านบาท ซึ่งสาเหตุหลักที่ทำ�ให้ ยอดรับรู้รายได้สูงขึ้นเกิดจากลูกค้าที่ชะลอการโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2554 มาโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2555 นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการ ก่อสร้างบ้านแล้วเสร็จและสามารถส่งมอบให้กับลูกค้าทันภายในเวลาที่กำ�หนด กำ�ไรขั้นต้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ โดยในปี 2553 ถึงปี 2555 บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้นเท่ากับ 1,227.59 ล้านบาท 831.05 ล้านบาท และ 1,004.31 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยอัตรากำ�ไรขั้นต้น ลดลงร้อยละ 32.30 เนื่องจากผลกระทบจาก ภาวะอุทกภัย และในปี 2555 เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.84 เนื่องจากการโอนกรรมสิทธิ์ในโครงการที่มีอัตรากำ�ไรขั้นต้นสูง เช่น โครงการ คอนโดมิเนียมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI และทาวน์โฮมบางโครงการ ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยเปิดขายโครงการใหม่ทั้งสิ้น 6 โครงการมีมูลค่าโครงการกว่า 4,712.93 ล้านบาท ทำ�ให้มีโครงการที่เปิดขายอยู่ทั้งสิ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวน 24 โครงการ โดยมีมูลค่าโครงการที่รวม จำ�นวน 18,408.99 ล้านโดยมียอดขายได้ในปี 2554 มูลค่า 2,110.83 ล้านบาท และยอดรับรู้รายได้อสังหาริมทรัพย์ มูลค่า 2,202.24 ล้านบาท ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยเปิดขายโครงการใหม่ทั้งสิ้น 2 โครงการ มีมูลค่าโครงการ 551.75 ล้านบาท ทำ�ให้มี โครงการที่เปิดขายทั้งสิ้น จำ�นวน 24 โครงการ โดยมีมูลค่าโครงการรวม จำ�นวน 17,268.46 ล้านบาท โดยมียอดขายในปี 2555 มูลค่า 3,076.32 ล้านบาท และยอดรับรู้รายได้อสังหาริมทรัพย์ มูลค่า 2,770.73 ล้านบาท สาเหตุที่บริษัทเปิดโครงการได้น้อย เนื่องจากบริษัทมีโครงการจำ�นวนมากในขณะที่มีทีมงานก่อสร้างไม่เพียงพอ ก. รายได้ รายได้หลักของบริษัทบริษัทและบริษัทย่อยมาจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหมู่บ้านจัดสรร และ ประเภทอาคารชุดพักอาศัย ปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เท่ากับ 4,298.16 ล้านบาท 2,202.24 ล้านบาท และ 2,770.73 ล้านบาทตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 48.76 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.81 สำ�หรับรายได้ที่ลด ลงเล็กน้อยในปี 2553 เนื่องจากว่า ลูกค้าสมาร์ทคอนโด พระราม 2 มียอดการขอสินเชื่อไม่ผ่านในสัดส่วนที่สูง และบริษัทได้มีการ เลื่อนเปิดโครงการบ้านเดี่ยวไปปี 2554 ทำ�ให้บริษัท มีสินค้าไม่หลากหลายต่อความต้องการของผู้บริโภค โดยในปี 2553 บริษัทมี
104
รายได้จากคอนโดมิเนียมในสัดส่วนทีส่ งู กว่า บ้านเดีย่ วและทาวน์โฮม เนือ่ งจาก บริษทั ได้มกี ารโอนโครงการ เดอะ คอมพลีท นราธิวาส บริดจ์ และ โครงการสมาร์ทคอนโด พระราม 2 ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 47.75 ของรายได้ทั้งหมด บริษัทและบริษัทย่อย มีนโยบาย การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เมื่อส่งมอบสินค้าแล้ว (เมื่อโอนกรรมสิทธิ์ให้กับลูกค้า) ซึ่งบริษัทจะได้รับเงินจากลูกค้า เมือ่ สร้างเสร็จ การดำ�เนินการก่อสร้างในแต่ละโครงการจะใช้ระยะเวลาที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งขึน้ อยู่กบั ประเภทของโครงการ ขนาด รูปแบบ เป็นต้น รายได้ที่ลดลงของปี 2554 บริษัทมีรายได้จากทางน์โฮมที่สูงกว่าคอนโดมิเนียมและบ้านเดี่ยว ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อย ละ 47.15 ของรายได้ทั้งหมด สำ�หรับปี 2555 บริษัทมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 2,770.73 ล้านบาท โดยยอดราย ได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมียอดสูงกว่ายอดที่รับรู้ทั้งปี 2554 ถึง 568.49 ล้านบาท ซึ่งสาเหตุหลักที่ทำ�ให้ยอดรับรู้ราย ได้สูงขึ้นเกิดจากลูกค้าที่ชะลอการโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2554 มาโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2555 นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการก่อสร้างบ้าน แล้วเสร็จและสามารถส่งมอบให้กับลูกค้าทันภายในเวลาที่กำ�หนด รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทและบริษัทย่อย จะมีรายได้มาจากสินค้า 3 ประเภท ได้แก่ 1.บ้านเดี่ยว บ้านแฝด 2. ทาวน์โฮม และ 3 อาคารชุดพักอาศัย โดยโครงสร้างรายได้ของการขายอสังหาริมทรัพย์แต่ละประเภทประจำ�ปี 2553 - ปี 2555 มีดังนี้ี 2553 2554 2555 งบการเงินรวม งบการเงินรวม งบการเงินรวม รายได้ ผู้ดำ�เนินการ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ บ้านเดี่ยวตลาดบน บริษัท 134.11 3.00 0.00 0.00 68.40 2.43 บ้านเดี่ยวตลาดกลาง/บ้านแฝด บริษัท 769.86 17.23 378.45 16.78 297.08 10.53 1,260.64 28.21 1,063.68 47.15 1,638.83 58.11 ทาวน์เฮ้าส์/โฮมออฟฟิศ บริษัท 2,133.56 47.75 760.11 33.69 766.42 27.18 อาคารชุดพักอาศัย บริษัท ที่ดินเปล่า บริษัท 97.67 2.18 0.00 0.00 0.00 0.00 บริษัท/ 4,395.84 98.38 2,202.24 97.62 2,770.73 98.25 รวมรายได้จากการ ปริญเวนเจอร์ ขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการขายสินค้า โกรโยธา 53.65 1.20 31.98 1.42 25.69 0.91 รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง 0.00 0.00 0.00 0.00 6.38 0.23 รายได้อื่น บริษัท/บริษัทย่อย 18.66 0.42 21.75 0.96 17.24 0.61 รวมรายได้ทั้งสิ้น 4,468.15 100.00 2,255.97 100.00 2,820.04 100.00 หมายเหตุ :
บ้านเดี่ยวตลาดบน ราคาขายตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป บ้านเดี่ยวตลาดกลาง ราคาขายตั้งแต่ 3 - 10 ล้านบาท
บริษัทมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยวตลาดบนใน ปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 เท่ากับ 134.11 ล้านบาท 0.00 บาท และ 68.40 ล้านบาทตามลำ�ดับ เนื่องจากบริษัทไม่มีรายได้จากการขายประเภทบ้านเดี่ยวตลาดบน ทำ�ให้บริษัทพัฒนาโครงการบ้านเดี่ยวตลาดบนคือ โครงการ สิริทาวารา ออเรนทอล เป็นโครงการบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ตั้งอยู่ที่ถนน ประดิษฐ์มนูธรรม (เลียบทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา) เป็นโครงการขนาด 30-2-44 ไร่ จำ�นวน 67 ยูนิต มูลค่าโครงการประมาณ 1,129.68 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีแปลงว่างรอจำ�หน่าย จำ�นวน 5 ยูนิต และมีมูลค่าคงเหลือประมาณ 72.02 ล้านบาท บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภทบ้านเดี่ยวตลาดกลาง ในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 เท่ากับ 769.86 ล้านบาท 378.45 ล้านบาท และ 297.08 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลง ร้อยละ 50.84 และลดลงร้อยละ 21.50 ยอดรายได้จากบ้านเดี่ยวลดลงในปี 2555 ด้านรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภททาวน์เฮ้าส์/โฮมออฟฟิศ ใน ปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 เท่ากับ 1,260.64 ล้านบาท 1,063.68 ล้านบาท และ 1,638.83 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 15.23 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 54.07 ตาม ลำ�ดับ สำ�หรับปี 2555 บริษัทฯ มีสัดส่วนรายได้ที่สูงขึ้น มีผลมากจากการเริ่มเปิดโอนโครงการคอนโนมิเนียมในปลายปี 2554 ถึงต้นปี 2555 โดยมีลูกค้าที่ชะลอการโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2554 มาโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2555 ด้วย
105
สำ�หรับในปี 2553 เป็นอีกปีที่บริษัทมีสัดส่วนยอดรับรู้รายได้จากอาคารชุดสูงกว่าบ้านเดี่ยวและทาวน์โฮม เนื่องจาก บริษัทได้มีการรับรู้รายได้จากโครงการ เดอะคอมพลีท นราธิวาสราชนครินทร์ บริดจ์ พหลโยธิน 37 และสมาร์ท คอนโด พระราม 2 ซึ่งมียอดรับรู้รายได้สูงถึง 2,133.55 ล้านบาท สำ�หรับปี 2554 บริษัทมีสัดส่วนยอดรับรู้รายได้จากทาวน์โฮมสูงกว่าบ้านเดี่ยวและ อาคารชุด เนื่องจากบริษัทได้มีการรับรู้รายได้จากโครงการที่เปิดปลายปี 2553 และต้นปี 2554 สูงถึง 1,053.48 ล้านบาท สำ�หรับปี 2555 บริษัทมีสัดส่วนยอดรับรู้รายได้จากทาวน์โฮมสูงกว่าบ้านเดี่ยวและอาคารชุด สูงถึง 1,638.83 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.15 ของรายได้อสังหาริมทรัพย์ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติของบริษัทที่อยู่ในระดับ 50-60% บริษัทมีรายได้จากการขายสินค้าประเภทวัสดุก่อสร้างและงานก่อสร้าง โดยผ่านบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของบริษัท โดยเป็นการขายให้กับบริษัทและผู้รับเหมาของบริษัทเป็นส่วนใหญ่ โดยในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษัท และบริษัทย่อยมีรายได้จากการขายสินค้าเท่ากับ 53.65 ล้านบาท 31.98 ล้านบาท และ 25.69 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 40.39 และ ลดลงร้อยละ 19.67 ตามลำ�ดับ ปี 2555 บริษัทมีรายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง โดยผ่านบริษัท โกรโยธา กรุ๊ป จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท สำ�หรับในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 ที่มีรายได้เพิ่มขึ้นเนื่องจากบริษัทได้ปรับแนวทางการจำ�หน่าย ใหม่ โดยเน้นที่การขายให้บุคคลภายนอกมากขึ้น ข. ต้นทุนขาย ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วย ที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และ ดอกเบี้ยจ่าย โดยในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์เท่ากับ 3,070.57 ล้านบาท 1,371.19 ล้านบาท และ 1,766.42 ล้านบาท ตามลำ�ดับ คิดเป็นร้อยละ 71.43 ร้อยละ 62.26 และร้อยละ 63.75 ของรายได้จากการ ขายอสังหาริมทรัพย์ ตามลำ�ดับ ในปี 2553 ต้นทุนขายของบริษัทลดลงเนื่องจากบริษัทได้นำ�เทคโนโลยีการก่อสร้างแบบใหม่เข้ามาใช้ในการก่อสร้าง เพิ่มเติมจากปี 2552 เช่น การนำ�การหล่อในที่มาใช้สำ�หรับการสร้างรั้วบ้าน การหล่อในที่สำ�หรับกำ�แพงบ้าน ซึ่งทำ�ให้งานเสร็จเร็ว ขึ้นและควบคุมคุณภาพได้ดีกว่าการก่อสร้างแบบก่ออิฐฉาบปูน สำ�หรับปี 2554 จนถึงปี 2555 ต้นทุนขายของบริษัทลดลงเนื่องจาก บริษัทรับรู้รายได้จากโครงการที่มีอัตรากำ�ไรขั้นต้นสูง เช่น โครงการคอนโนมิเนียมที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และโครงการ ทาวน์โฮมบางโครงการได้พัฒนาเทคโนโลยีการก่อสร้างแบบใหม่เพิ่มเติมจากปี 2553 อีกทั้งยังมีทีมก่อสร้างที่มีความชำ�นาญ ทำ�ให้ ต้นทุนขายของบริษัทลดลงอย่างต่อเนื่อง ต้นทุนขายหลักของบริษัทและบริษัทย่อยเป็นต้นทุนผันแปร ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนที่ดิน ต้นทุนก่อสร้าง ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับโครงการ และต้นทุนดอกเบี้ยโครงการ สาเหตุที่ทำ�ให้อัตราส่วนต้นทุนขายสูงขึ้นเนื่องจากราคาของวัสดุก่อสร้างส่วนใหญ่ที่ มีการปรับตัวสูงขึ้น ในขณะที่ราคาขายไม่สามารถปรับขึ้นได้มากนัก เนื่องจากภาวะการแข่งขันสูง ค. ค่าใช้จ่ายรวม ในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายรวมเท่ากับ 549.33 ล้านบาท 544.73 ล้านบาท และ 573.18 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 0.84 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.22 ตามลำ�ดับ สำ�หรับค่าใช้จ่ายรวมจะมีสาเหตุหลักจากค่าใช้ จ่ายหลัก คือค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขายเพิ่มขึ้น ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทมีการเปิดขายโครงการใหม่เพิ่ม มากขึน้ จึงต้องมีการโฆษณาประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับโครงการให้แก่ผบู้ ริโภคและกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายเพิม่ มากขึน้ ด้วย สำ�หรับการเพิม่ ขึ้นของค่าใช้จ่ายในปี 2553 เนื่องจาก บริษัทได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด การ Re-Branding กิจกรรม 10 ปี ปริญสิริ รวมถึงการ สิ้นสุดมาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้น สำ�หรับปี 2554 นอกจากการโฆษณาประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการขาย แล้ว บริษัทยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนการบริหารด้านต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายรวมของบริษัทในปีที่ผ่านมาสูงขึ้นตามเช่นกัน สำ�หรับปี 2555 บริษัทฯ มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายสูงขึ้น ซึ่งมีสาเหตุหลักเกิดจากค่าใช้จ่ายด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์ อย่างไร ก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนต่อรายได้รวมของปี 2554 และ ปี 2555 จะเท่ากับ 24.15 และ 20.33 ตามลำ�ดับ ปี 2555 โดยมี สัดส่วนลดลงเนื่องจากการควบคุมค่าใช้จ่ายได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
106
ง. กำ�ไร บริษัทมีกำ�ไรขั้นต้น ในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 เท่ากับ 1,227.58 ล้านบาท 831.05 ล้านบาท และ 1,004.31 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยอัตรากำ�ไรขั้นต้น 28.56, 37.74 และ 36.25 ตามลำ�ดับ สาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้อัตรากำ�ไรขั้นต้นเพิ่มในปี 2554 และในปี 2555 สูงขึ้น มาจากการปรับราคาขายเพิ่มขึ้น และการควบคุมต้นทุนขายให้เป็นไปตามประมาณการที่ตั้งไว้ ในปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรสุทธิเท่ากับ 563.98 ล้านบาท 203.05 ล้านบาท และ 354.24 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยมีอัตราส่วนกำ�ไรสุทธิ ร้อยละ 12.62 ร้อยละ 9.00 และร้อยละ 12.56 ตามลำ�ดับ การเพิ่มขึ้นของ อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิ มีสาเหตุตามข้างต้นที่ได้กล่าวไว้ในหัวข้อ ก. เรื่องรายได้, ข. เรื่องต้นทุนขาย และข้อ ค. เรื่องค่าใช้จ่ายในการ ขายและการบริหาร เป็นผลให้กำ�ไรสุทธิของบริษัทปรับตัวสูงขึ้น จ. อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับ ร้อยละ 17.65 ร้อยละ 5.94 และร้อยละ 9.43 ตามลำ�ดับ ปี 2553 บริษัทมีอัตราผลตอบแทนที่สูงขึ้นเนื่องจากบริษัทได้รับประโยชน์จากมาตรการกระตุ้น อสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาลทำ�ให้บริษัทได้รับประโยชน์ด้านภาษีที่ลดลงเป็นผลให้กำ�ไรสุทธิของบริษัทปรับตัวเพิ่มขึ้นและทำ�ให้อัตรา ผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น สำ�หรับปี2554 บริษัทมีกำ�ไรลดลง เนื่องจากการสิ้นสุดมาตรการกระตุ้นภาษีจากภาครัฐบาล ในปี 2555 อัตรากำ�ไรสุทธิของบริษทั เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากรายได้ทรี่ บั รูส้ งู ขึน้ การควบคุมต้นทุนขาย และมาตรการควบคุมค่าใช้จา่ ยขายและบริหาร ทำ�ให้อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นสูงขึ้นตามไปด้วย 12.2.2 การวิเคราะห์ฐานะการเงิน สินทรัพย์ สินทรัพย์รวมของบริษัทและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 มีมูลค่าเท่ากับ 5,567.52 ล้านบาท 7,028.47 ล้านบาท และ 7,193.21 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยในปี 2555 สินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย ประกอบด้วยสินทรัพย์ หมุนเวียนและสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเท่ากับ 5,723.13 ล้านบาท และ 1,470.09 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.56 และร้อยละ 20.44 ของสินทรัพย์รวม ตามลำ�ดับ โดยสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นสินค้าคงเหลือ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัท ย่อยมีสินค้าคงเหลือเท่ากับ 5,359.70 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 74.51 ของสินทรัพย์รวม เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราวทั้งหมดของบริษัทและบริษัทย่อย เป็นการลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ เนื่องจากในบางขณะ บริษัทมีสภาพคล่องมากจึงได้นำ�เงินไปลงทุนเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัท ย่อยมีเงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้เท่ากับ 222.44 ล้านบาท 8.82 ล้านบาท และ 49.73 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยบริษัทได้ นำ�ไปลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ เพื่อสะดวกในการรักษาสภาพคล่องของบริษัท ในปี 2555 เงินลงทุนชั่วคราวสูงขึ้น เนื่องจาก การรับรู้รายได้ที่เพิ่มขึ้น ลูกหนี้การค้า-สุทธิ ณ สิ้น ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้การค้าสุทธิเท่ากับ 14.43 ล้านบาท 5.72 และ 5.85 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยในปี 2554 ลูกหนี้การค้าที่ลดลง โดยส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้การค้าของบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด โดย มีรายละเอียดของลูกหนี้การค้า ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 ดังแสดงในตาราง
107
รายละเอียดลูกหนี้
ในกำ�หนด เกินกำ�หนดระหว่าง 1 - 90 วัน เกินกำ�หนดระหว่าง 91-180 วัน เกินกำ�หนดระหว่าง 181-360 วัน เกินกำ�หนดเกินกว่า 360 วัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การค้า-สุทธิ
ณ 31 ธันวาคม 2553 8,598,554.51 5,452,730.00 987,968.84 193,454.74 9,389,864.78 24,622,573.43 10,190,894.88 14,431,678.55
ณ 31 ธันวาคม 2554 1,282,457.28 2,218,269.60 388,224.08 3,740,720.63 9,709,017.78 17,338,689.37 11,616,709.26 5,721,980.11
(หน่วย : บาท) ณ 31 ธันวาคม 2555 2,442,214.15 2,002,399.27 1,553,337.55 166,568.62 12,640,755.31 18,805,274.90 12,950,203.67 5,855,071.23
บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยประเมินจากลูกหนี้ที่บริษัทและบริษัทย่อยคาดว่า จะเรียกเก็บเงินไม่ได้ ประกอบกับประวัติการจ่ายชำ�ระหนี้ที่ผ่านมาในอดีตมาร่วมในการพิจารณา ณ สิ้น ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญรวมเพิ่มขึ้นเท่ากับ 10.19 ล้านบาท 11.61 และ 12.95 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยที่ฝ่ายบริหารให้ความสำ�คัญในการติดตามลูกหนี้การค้าดังกล่าว ดังจะเห็นได้จากในปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทได้มี การปรับปรุงระบบการชำ�ระหนี้ค่าวัสดุก่อสร้างของบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด โดยในกรณีที่ลูกหนี้รายใดคาดว่าจะมีปัญหา บริษัท จะดำ�เนินการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพื่อให้งบการเงินแสดงมูลค่าที่แท้จริง ทั้งนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกล่าวถือว่าเป็นจำ�นวนที่ ไม่มากเมื่อเทียบกับรายได้รวมของบริษัท โดย ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 มีสัดส่วน ร้อยละ 0.22 ร้อยละ 0.51 และ 0.46 ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทย่อยมีลูกหนี้เกินกว่า 360 วัน ณ สิ้นงวดปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 เท่ากับ 9.38 ล้านบาท 9.70 และ 12.64 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยเป็นลูกหนี้ค้าวัสดุก่อสร้างของบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ซึ่งปัจจุบันฝ่ายบริหารได้ให้ ความสำ�คัญในการบริหารลูกหนี้ โดยมีการกำ�หนดนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการกำ�หนดวงเงิน อายุหนี้ และการดำ�เนินการฟ้องร้อง เพื่อให้ลูกหนี้กลุ่มดังกล่าวชำ�ระหนี้ รวมไปถึงการปรับปรุงเงื่อนไขการจ่ายเงินค่างวดงานในการก่อสร้างของผู้รับเหมา โดยบริษัท สามารถนำ�ค่าวัสดุก่อสร้างที่ บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด จำ�หน่ายให้กับผู้รับเหมาไปหักออกจากค่างวดงานในการก่อสร้างที่บริษัท ต้องจ่ายให้กับผู้รับเหมาได้ การชำ�ระเงินของโครงการที่ดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระจากลูกหนี้สะสมตามวิธีค่างวดที่ถึงกำ�หนดชำ�ระเท่ากับ 11,157.83 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 87.07 ของมูลค่าโครงการที่ขายแล้ว ในจำ�นวนนี้มียอดเงินที่ชำ�ระแล้วสะสมจำ�นวน 10,446.91 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 81.53 ของเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระสะสม โดยมียอดเงินที่ค้างชำ�ระสะสมจำ�นวน 1.60 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.01 ของเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระสะสม และมียอดคงเหลือที่ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระจำ�นวน 1,656.28 ล้านบาท คิดเป็น 12.93 ของมูลค่าโครงการที่ขายแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้
108
ตารางรายละเอียดการชำ�ระเงินของโครงการที่ดำ�เนินการอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินที่ถึงกำ�หนด เงินที่ชำ�ระแล้ว ยอดคงค้างสะสม คงเหลือจำ�นวนเงินที่ มูลค่าที่ ชำ�ระสะสม สะสม ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ขายแล้ว ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ชื่อโครงการ (ล้านบาท) ของ ของ ล้านบาท มูลค่าที่ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท มูลค่าที่ ล้านบาท มูลของ ค่าที่ ขายได้ ขายได้ ขายได้ ปริญสิริ-นวมินทร์ 709.32 709.32 100.00 709.32 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 ปริญญดา-แจ่มจันทร์ 148.64 148.64 100.00 148.64 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,057.66 1,057.66 100.00 1,057.66 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 สิริทาวารา ปริญญดา-เทพารักษ์ เฟส 1 350.14 350.14 100.00 350.14 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 คอนโด The Pulse ลาดพร้าว 44 320.85 320.85 100.00 320.85 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 The Complete ราชปรารภ 1,620.38 1,620.38 100.00 1,620.38 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 The Complete นราธิวาส 746.68 734.39 98.35 734.39 98.35 0.00 0.00 12.29 1.65 The Pulse พหลโยธิน 587.47 587.47 100.00 587.47 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,544.22 1,539.29 99.68 1,539.68 99.71 -0.39 -0.03 4.93 0.32 สมาร์ทคอนโด พระราม 2 คอนโด เดอะไพรด์ พัทยา ตึก B 176.99 176.99 100.00 176.99 100.00 0.00 0.00 0.00 0.00 ซิกเนเจอร์ กัลปพฤกษ์ 057 1,153.60 1,090.31 94.51 1,090.18 94.50 0.13 0.01 63.29 5.49 ซิกเนเจอร์ วัชรพล ทาวน์เฮ้าส์ 273.86 270.42 98.74 270.42 98.74 0.00 0.00 3.44 1.26 ซิตเี้ ซนส์์ สรงประภา ดอนเมือง 459.25 456.88 99.48 456.88 99.48 0.00 0.00 2.37 0.52 ซิกเนเจอร์ เพชรเกษม 69 498.19 359.31 72.12 359.22 72.11 0.09 0.02 138.88 27.88 ซิกเนเจอร์ วิภาวดี 60 561.40 409.86 73.01 409.72 72.98 0.14 0.02 151.54 26.99 สมาร์คอนโด วัชรพล 721.16 710.96 98.59 710.96 98.59 0.00 0.00 10.20 1.41 ซีรีน เพชรเกษม พุทธมณฑลสาย 3 347.85 108.23 31.11 107.78 30.98 0.45 0.13 239.62 68.89 ซิตี้เซนส์ วัชรพล E1ทาวน์เฮ้าส์ 370.38 153.81 41.53 153.35 41.40 0.46 0.12 216.57 58.47 ซิกเนเจอร์ เอกชัย-บางบอน 231.15 69.70 30.15 69.73 30.17 -0.03 -0.01 161.45 69.85 ซีรีน พระราม 2 - ท่าข้าม 260.65 130.99 50.26 130.95 50.24 0.04 0.02 129.66 49.74 ซิตี้เซนส์ รัตนาธิเบศร์ 437.21 145.92 33.38 145.47 33.27 0.45 0.10 291.29 66.62 สมาร์ท คอนโด อ่อนนุช B,D,F,G,I,K 133.28 3.13 2.35 3.13 2.35 0.00 0.00 130.15 97.65 สมาร์ท คอนโด อ่อนนุช A,C,E,H,J 103.78 3.18 3.06 2.92 2.81 0.26 0.25 100.60 96.94 12,814.11 11,157.83 87.07 10,446.91 81.53 1.60 0.01 1,656.28 12.93 รวม ตารางรายละเอียดเงินค้างชำ�ระสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ชื่อโครงการ ปริญญดา-แจ่มจันทร์ Six Nature กัลปพฤกษ์ Six Nature เพชรเกษม69
เงินค้างชำ�ระสะสม จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน 1 0.40 2 0.14 3 0.12
ค้างชำ�ระ ค้างชำ�ระ 1-30 วัน 31-60 วัน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน 0.00 0.00 0.05 0.03 0.04 0.02
(หน่วย : ล้านบาท) ค้างชำ�ระ ค้างชำ�ระ มากกว่ 61-90 วัน วันขึ้นาไป90 จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน 0.00 0.40 0.03 0.03 0.07 0.00
109
ค้างชำ�ระ ค้างชำ�ระ ค้างชำ�ระ ค้างชำ�ระ มากกว่ 1-30 วัน 31-60 วัน 61-90 วัน วันขึ้นาไป90 ชื่อโครงการ จำ�นวนราย จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน Six Nature วิภาวดี 60 4 0.16 0.04 0.03 0.00 0.09 City Sense วัชรพล (ทาวน์เฮ้าส์) 4 0.22 0.00 0.01 0.00 0.21 Zerene เพชรเกษม พุทธมณฑลสาย 3 8 0.48 0.09 0.03 0.03 0.32 Six Nature เอกชัย-บางบอน 3 0.13 0.07 0.02 0.02 0.02 Zerene พระราม2 – ท่าข้าม 2 0.08 0.02 0.03 0.03 0.00 City Sense รัตนาธิเบศร์ 19 0.60 0.24 0.10 0.08 0.19 City Sense บางนา-ตราด ก.ม.10 7 0.08 0.06 0.02 0.00 0.00 Smart อ่อนนุช B,D,F,G,I,K 6 0.05 0.03 0.01 0.00 0.00 Smart อ่อนนุช A,C,E,H,J 26 0.30 0.18 0.08 0.04 0.00 รวม 85 2.76 0.82 0.38 0.30 1.26 หมายเหตุ เก็บข้อมูลโดยวิธีเงินค่างวดที่ครบกำ�หนดชำ�ระ โดยบริษัทยังไม่โอนกรรมสิทธิ์บ้านให้กับลูกหนี้ โดยยอดเงินค้างชำ�ระที่ ปรากฏในตารางข้างต้นจะแตกต่างจากลูกหนี้ค้างชำ�ระในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เนื่องจากบันทึกโดยใช้วิธีรับรู้เมื่องานเสร็จ และโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อแล้ว การเก็บตัวเลขด้วยวิธีที่ต่างกันนี้ ทำ�ให้ยอดลูกหนี้ค้างชำ�ระในตารางข้างต้นมียอดสูงหรือต่ำ�กว่าเงิน ค้างชำ�ระในงบการเงิน สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีสินค้าคงเหลือเท่ากับ 3,992.34 ล้านบาท 5,513.11 ล้าน บาท และ 5,359.70 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.09 และ ลดลงร้อยละ 2.78 ตามลำ�ดับ ซึ่งการเพิ่มขึ้นตามโครงการของ บริษัทและบริษัทย่อยนั้น เกิดจากการที่บริษัทมีการเปิดโครงการใหม่ขนาดใหญ่ในปี 2554 ทำ�ให้สินค้าคงเหลือมีจำ�นวนเพิ่มขึ้น ส่วน ในปี 2555 สินค้าคงเหลือมีสัดส่วนที่ลดลง ส่วนใหญ่เกิดจากการโอนขายให้กับลูกบ้าน ซึ่งมีผลทำ�ให้ยอดรับรู้รายได้สูงขึ้นในปี 2555 โดยมีรายละเอียดของสินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2553 และ ปี 2554 และ ปี 2555 ดังแสดงในตาราง (หน่วย : บาท) รายละเอียด ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2554 ณ 31 ธันวาคม 2555 สินค้าสำ�เร็จรูป • อาคารชุด 803,546,459.99 547,001,611.08 392,147,507.23 • บ้านเพื่อขาย 59,381,248.36 49,520,221.63 33,666,790.43 • วัสดุก่อสร้าง 725,878.50 691,581.24 746,598.64 ที่ดินและค่าพัฒนาที่ดิน 2,386,939,372.17 3,671,341,505.11 3,695,887,197.23 งานระหว่างก่อสร้าง 611,576,616.72 1,018,827,826.17 851,347,550.33 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวข้องกับโครงการ 51,343,091.71 90,229,180.91 180,224,900.36 ดอกเบี้ยรอการตัดบัญชี 78,826,487.04 135,493,523.50 205,682,010.95 รวม 3,992,339,154.49 5,513,105,449.64 5,359,702,555.17 เงินค้างชำ�ระสะสม
110
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555, 2554 และ 2553 ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างแต่ละโครงการของบริษัทและบริษัทย่อยส่วน ใหญ่ จำ�นวน 4,744.98 ล้านบาท จำ�นวน 4,294.55 ล้านบาท และจำ�นวน 2,530.62 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 4,697.61 ล้านบาท จำ�นวน 4,259.80 ล้านบาท และจำ�นวน 2,423.86 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) ได้นำ�ไปจดจำ�นองเป็นหลักประกัน วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน วงเงินอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงิน และเงินกู้ยืมระยะยาว และวงเงินในการให้ ธนาคารออกหนังสือค้ำ�ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 , 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกดอกเบี้ยจ่ายเป็นต้นทุนโครงการ จำ�นวน 150.90 ล้านบาท จำ�นวน103.38 ล้านบาท และ จำ�นวน 65.01 ล้านบาท ตามลำ�ดับ บริษัทไม่มีความจำ�เป็นต้องตั้งสำ�รองการด้อยค่าของทรัพย์สิน เนื่องจากบริษัทได้ว่าจ้างผู้ประเมินราคาอิสระ ซึ่งเป็น บริษทั ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทำ�การประเมินราคาทีด่ นิ และสิง่ ปลูก สร้างที่มีไว้เพื่อขายของบริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งผลการประเมินราคาทรัพย์สินมีมูลค่าสูงกว่าราคาทุนเดิม ที่ดินและอุปกรณ์-สุทธิ ณ สิ้น ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีที่ดินและอุปกรณ์สุทธิ จำ�นวน 42.91 ล้านบาท 33.36 ล้านบาท และ 30.49 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22.26 และ ลดลงร้อยละ 8.60 ตามลำ�ดับ รายละเอียดของที่ดินและอุปกรณ์สุทธิ ณ วันสิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 ดังแสดงในตาราง (หน่วย : บาท) รายละเอียด ณ 31 ธันวาคม 2553 ณ 31 ธันวาคม 2554 ณ 31 ธันวาคม 2555 ที่ดิน 3,279,342.43 3,279,342.43 3,279,342.43 อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 2,196,710.00 2,196,710.00 2,196,710.00 เครื่องจักรและอุปกรณ์ 23,132,926.94 9,605,298.16 12,277,995.76 แคมป์คนงาน 292,046.06 628,267.96 628,267.96 เครื่องตกแต่งสำ�นักงาน 8,133,673.88 8,133,673.88 8,133,673.88 เครื่องใช้สำ�นักงาน 21,337,816.43 20,668,683.95 21,252,271.95 คอมพิวเตอร์ 35,064,122.70 36,631,965.53 39,441,589.07 ยานพาหนะ 25,909,247.34 26,894,057.67 18,836,169.52 งานระหว่างก่อสร้าง 723,778.00 1,861,800.00 0.00 รวม 120,069,663.78 109,899,799.58 106,046,020.57 ค่าเสื่อมราคาสะสม 77,160,856.73 76,544,425.87 75,558,955.13 ที่ดินและอุปกรณ์-สุทธิ 42,908,807.05 33,355,373.71 30,487,065.44 ที่ดินรอการพัฒนา ณ วันสิ้น ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีที่ดินรอการพัฒนาเท่ากับ 812.12 ล้านบาท 1,152.89 ล้านบาท และ 1,176.80 ตามลำ�ดับ สำ�หรับในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีที่ดินรอการพัฒนาเท่ากับ 1,252.89 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้นจาก ณ วันสิ้นปี 2553 ร้อยละ 54.27 และมีการขายที่ดินรอพัฒนา ในปี 2553 บริษัทได้ขายที่ดินรอการพัฒนา 1แปลง ได้แก่ ที่ดินบริเวณ พัทยานาเกลือ ในมูลค่า 97.67 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 , 2554 และ 2553 ที่ดินรอการพัฒนาของบริษัทและบริษัทย่อย จำ�นวน 94.84 ล้านบาท จำ�นวน 734.86 ล้านบาท และจำ�นวน 240.45 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จำ�นวน 640.04 ล้าน บาท และจำ�นวน 199.08 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) นำ�ไปจดจำ�นอง เป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน วงเงินตัวสัญญาใช้เงิน และวงเงินกู้ยืมระยะยาว
111
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีการจัดประเภทที่ดินโครงการที่หยุดชะงักการพัฒนา โครงการจำ�นวน 482.13 ล้านบาท และจำ�นวน 41.37 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เป็นที่ดินรอการพัฒนา (เฉพาะกิจการปี 2554 มีจำ�นวน 387.28 ล้านบาท) ณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่ดินรอการพัฒนามียอดลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 6.07 เกิดจากบริษัทฯ มีการ จัดประเภทที่ดินรอพัฒนาที่เริ่มมีการพัฒนาโครงการเป็นสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีการจัดประเภทที่ดินโครงการที่หยุดชะงักการพัฒนา โครงการจำ�นวน 482.13 ล้านบาท และจำ�นวน 41.37 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เป็นที่ดินรอการพัฒนา (เฉพาะกิจการปี 2554 มีจำ�นวน 387.28 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่ดินรอพัฒนามียอดลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 6.07 เกิดจากบริษัทฯ มีการจัดประเภท ที่ดินรอพัฒนาที่เริ่มมีการพัฒนาโครงการเป็นสินค้าคงเหลือ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์การใช้สินค้าคงเหลือ (ที่ดินบางส่วน) จำ�นวน 212.33 ล้าน บาท มาเป็นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนดังกล่าว บริษทั ได้น�ำ ไปจดจำ�นองเป็นหลักทรัพย์ค�้ำ ประกัน เงินกู้ยืมระยะยาว และวงเงินในการให้จำ�นองออกหนังสือค้ำ�ประกัน เงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพัน ณ วันสิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินฝากธนาคารที่มีภาระผูกพันเท่ากับ 49.21 ล้าน บาท 32.77 ล้านบาท และ 31.45 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 33.41 และร้อยละ 4.03 ตามลำ�ดับ การลดลงของเงินฝากมา จากการเรียกเก็บค่าสาธารณูปโภคส่วนกลางจากลูกค้าซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่ต้องโอนส่งมอบเงินดังกล่าวเมื่อได้มี การจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรแต่ละโครงการเรียบร้อย สภาพคล่อง กระแสเงินสดจากการดำ�เนินงาน ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานเท่ากับ 634.70 ล้านบาท ซึ่งกระแส เงินสดในการดำ�เนินงานลดลงเนื่องจากว่ามีการจัดซื้อที่ดินและวางเงินมัดจำ�ค่าที่ดินสูงขึ้น ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดใช้ไปจากกิจกรรมดำ�เนินงานเท่ากับ 1,592.07 ล้านบาท ซึ่งกระแส เงินสดในการดำ�เนินงานลดลงอย่างมีนัยยะ เนื่องจากว่ามีการจัดซื้อที่ดินและดำ�เนินการก่อสร้างบ้านเพื่อขายสูง แต่ไม่สามารถโอน กรรมสิทธิได้ตามเป้าหมาย ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานเท่ากับ 331.38 ล้านบาท ซึ่งกระแส เงินสดในการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากการรับรู้รายได้อสังหาริมทรัพย์ที่เพิ่มสูงขึ้น กระแสเงินสดจากการลงทุน ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดใช้ไปในการลงทุนสุทธิเท่ากับ 100.65 ล้านบาท โดยบริษัทนำ�ไปใช้ จ่ายสำ�หรับการซื้ออุปกรณ์และเครื่องใช้สำ�นักงาน ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดรับในการลงทุนสุทธิเท่ากับ 201.34 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินสด รับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดรับในการลงทุนเท่ากับ 49.32 ล้านบาท โดยหลักมาจากการจ่ายเงิน เพื่อซื้อเงินลงทุนชั่วคราว
112
กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดใช้ไปจากกิจการจัดหาเงินสุทธิเท่ากับ 677.29 ล้านบาท โดยเป็นการ จ่ายชำ�ระหนี้ระยะสั้นและหนี้ระยะยาว สุทธิจำ�นวน 866.90 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผล 150.75 ล้านบาท ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจการ จัดหาเงินสุทธิเท่ากับ 1,376.98 ล้านบาท โดยการ กู้เงินระยะยาว มีมูลค่าปรับ 1,065.35 ล้านบาท ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินสุทธิเท่ากับ 231.54 ล้านบาท สาเหตุหลัก เกิดจากการจ่ายคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลจากรายได้อสังหาริมทรัพย์ที่รับรู้ในงวดสูงขึ้น กระแสเงินสดสุทธิ โดยสรุป ณ สิ้นปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดสุทธิเท่ากับ 116.43 ล้านบาท 102.68 ล้านบาท และ 153.21 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ลดลงร้อยละ 11.81 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 49.20 ตามลำ�ดับ อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องสำ�หรับ ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 เท่ากับ 3.30 เท่า 4.39 เท่า และ 3.04 เท่า ตามลำ�ดับ และมีอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วในระยะเวลาดังกล่าวเท่ากับ 0.46 เท่า 0.14 เท่า และ 0.19 เท่า ตามลำ�ดับ ในปี 2554 จาก อัตราส่วนสภาพคล่องและอัตราสภาพคล่องหมุนเร็วที่ปรับตัวลดลง เนื่องจากหนี้สินหมุนเวียนบริษัทได้มีการปรับตัวลดลงอย่างเป็น สาระสำ�คัญ ปี 2555 อัตราส่วนสภาพคล่องปรับตัวลดลง เนื่องจากหนี้สินหมุนเวียนบริษัทได้มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีสาระสำ�คัญ เนื่องจากมีการจัดประเภทเงินกู้ยืมระยะยาวที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี รายจ่ายลงทุน ในปี 2548 และปี 2549 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายจ่ายลงทุนจำ�นวน 173.69 ล้านบาท และ 63.32 ล้านบาท โดยใน ปี 2548 บริษัทได้เข้าลงทุนในบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและจำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง ในสัดส่วน ร้อย ละ 99.99 ของทุนจดทะเบียน เพื่อเป็นหน่วยธุรกิจหนึ่งของบริษัท ในการควบคุมต้นทุนค่าวัสดุก่อสร้าง สำ�หรับการพัฒนาโครงการ ของบริษัท และเพื่อเสริมศักยภาพในการแข่งขัน จำ�นวน 32.00 ล้านบาท อีกทั้งลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ ซึ่งในขณะนั้นบริษัท มีสภาพคล่องมาก จึงได้นำ�เงินไปลงทุนเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ ทั้งนี้ในระหว่างปีมีการซื้อและขายสุทธิ 139.14 ล้านบาท และร่วม ทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) จัดตั้งบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เพื่อดำ�เนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในสัดส่วน ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน ในปีดังกล่าวลงทุนในบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ทั้งสิ้น 2.55 ล้านบาท ในปี 2549 บริษัทชำ�ระทุนจดทะเบียนในบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เพิ่มอีกจำ�นวน 36.34 ล้านบาท และมีเงินลงทุน ชั่วคราว โดยบริษัทและบริษัทย่อยได้นำ�เงินไปลงทุนในกองทุนเปิด-ตราสารหนี้ ซึ่งเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนของบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ในระหว่างปีมีการซื้อและขายสุทธิของเงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้เท่ากับ 26.98 ล้านบาท ในปี 2550 บริษัทชำ�ระทุนจดทะเบียนในบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ตามสัดส่วนการถือหุ้น เพิ่มอีกจำ�นวน 12.11 ล้านบาท ทำ�ให้บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด เรียกชำ�ระค่าหุ้นครบตามจำ�นวนทุนจดทะเบียนที่ระบุไว้จำ�นวน 100.00 ล้านบาท และ บริษัทได้จัดตั้ง บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เพื่อดำ�เนินธุรกิจค้าและให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งบริษัทมีสัดส่วนการ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 และมีทุนจดทะเบียนชำ�ระเต็มจำ�นวนค่าหุ้น 2 ล้านบาท และมีเงินลงทุนชั่วคราว โดยบริษัทและบริษัทย่อยได้ นำ�เงินไปลงทุนในกองทุนเปิด-ตราสารหนี้ ซึ่งเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุนของบริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด ในระหว่างปีมีการ ซื้อและขายสุทธิของเงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้เท่ากับ 16.07 ล้านบาท ในปี 2551 บริษัทและบริษัทย่อยมีการขายสุทธิของเงินลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้เท่ากับ 27.6 ล้านบาท ในปี2552 บริษัทและบริษัทย่อยมีการลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ เพื่อเป็นการรักษาสภาพคล่องบริษัท เท่ากับ 137.85 ล้านบาท ในปี 2553 บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ได้มีการลงทุนซื้อหุ้นในส่วนที่เหลือของบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด จาก บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) ทำ�ให้บริษัท ปริญสิริ ได้ถือหุ้นในบริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด ในสัดส่วนร้อยละ 100
113
ในปี 2554 บริษทั และบริษทั ย่อยได้มกี ารถอนเงินลงทุนชัว่ คราวคงเหลือเพียง 8.82 ล้านบาท โดยลดลงถึงร้อยละ 96.03 ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการซื้อเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น ทำ�ให้มียอดเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน ณ วันสิ้นงวด จำ�นวน 49.73 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 463.83 จากปี 2554 แหล่งที่มาของเงินทุน หนี้สิน ณ วันสิ้น ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนี้สินมูลค่า 2,185.99 ล้านบาท 3,576.56 ล้านบาท และ 3,437.79 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เพิ่มขึ้นร้อยละ 63.61 และลดลงร้อยละ 3.88 ตามลำ�ดับ หนีส้ นิ รวมในปี 2553 ลดลงจากปี 2552 ส่วนใหญ่เกิดจากการลดลงของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ หนีส้ นิ ระยะยาวทีค่ รบกำ�หนด ใน 1 ปี และค่างวดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ โดยทำ�ให้หนี้สินหมุนเวียนลดลง 586.73 ล้านบาท ในส่วนของหนี้สินไม่หมุนเวียนลดลง มูลค่ากว่า 37.72 ล้านบาท การเพิ่มขึ้นของหนี้สินรวมในปี 2554 สาเหตุส่วนใหญ่ มาจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะยาวและการออกหุ้นกู้ โดยทำ�ให้หนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น มูลค่ากว่า 1,069.68 ล้านบาท การลดลงของหนี้สิ้นรวมในปี 2555 สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการลดลงของเงินกู้ยืมจากธนาคาร เนื่องจากการจ่ายคืน เงินกู้ยืมที่สูงขึ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ในปี 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2551 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำ�ปี 2551 วันที่ 22 เมษายน 2551 ตามลำ�ดับ ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น สำ�หรับผลการดำ�เนินงานปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.03 บาท รวมเป็นเงิน 30.15 ล้านบาท กำ�หนดจ่ายให้ผู้ถือหุ้นในวันที่ 22 พฤษภาคม 2551 อีกทั้งบริษัทและบริษัทย่อยมีกำ�ไรเพิ่มขึ้น 331.59 ล้านบาท ในปี 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2552 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำ�ปี 2552 เมื่อ วันที่ 22 เมษายน 2552 ได้มีมติงดจ่ายเงินปันผล ในปี 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2553 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำ�ปี 2553 เมื่อ วันที่ 23 เมษายน 2553 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผล ในรูปของเงินสดและหุ้นปันผล โดยจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสด ในอัตราหุ้นละ 0.15 บาท และจ่ายเป็นหุ้นปันผลในสัดส่วน 10 หุ้นเดิม : 1 หุ้นปันผล คิดรวมเป็นมูลค่า 0.25 บาทต่อหุ้น ในปี 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำ�ปี 2554 เมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2554 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผล ในรูปของเงินสดและหุ้นปันผล โดยจ่ายเงินปันผลเป็นเงินสด ในอัตราหุ้นละ 0.12 บาท และจ่ายเป็นหุ้นปันผลในสัดส่วน 10 หุ้นเดิม : 1 หุ้นปันผล คิดรวมเป็นมูลค่า 0.22 บาทต่อหุ้น ในปี 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทครั้งที่ 1/2555 มีมติให้จ่ายเงินปันผลสำ�หรับผลการดำ�เนินงานปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.05 บาท/หุ้น เป็นจำ�นวนเงิน 60.80 ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขจ่ายเป็นเงินสด ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน ณ วันสิ้น ปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่อง เท่ากับ 0.65 เท่า 1.04 เท่า และ 0.77 เท่า ตามลำ�ดับ โดยยอดหนี้สินต่อทุนที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจากการที่บริษัท ได้ทำ�การโอน คอนโดมิเนียมในทุกโครงการที่บริษัทได้ทำ�การพัฒนามาเมื่อหลายปีก่อนซึ่งส่งผลให้ ในปี 2552 และปี 2553 หนี้สิน ต่อทุนลดลงอย่างมีนัยยะ สำ�หรับปี 2554 ยอดหนี้สินต่อทุนเพิ่มขึ้นเนื่องจากมาจากหนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น มูลค่ากว่า 1,390.57 ล้านบาท ส่งผลทำ�ให้อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น ปี 2555 ยอดหนี้สิ้นต่อทุนมียอดลดลงจากปี 2554 เพียงเล็กน้อย สำ�หรับอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นโดยทั่วไปของบริษัทในอุตสาหกรรมประมาณ 1 เท่า โดยปัจจุบันบริษัท มีนโยบายรักษาอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่ให้เกิน 1.2 เท่าเพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงของบริษัทและผู้ลงทุน
114
12.2.3 ปัจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลต่อการดำ�เนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ความต้องการของผู้บริโภคต่อที่อยู่อาศัยเปลี่ยนแปลงไป จากเหตุการณ์ตา่ งๆ ไม่วา่ จะเป็น ภาวะทางการเมือง การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ปัญหาราคาน้�ำ มัน อัตราดอกเบีย้ ปรับตัวสูงขึ้น ความไม่เชื่อมั่นของผู้บริโภค การเกิดอุทกภัย เป็นต้น ล้วนเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อความต้องการที่อยู่อาศัย และการตัดสิน ใจเลือกซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภค ดังนั้นหากมีปัจจัยต่างๆ เข้ามากระทบต่อผู้บริโภคอาจทำ�ให้ความต้องการของผู้บริโภคต่อที่อยู่ อาศัยนั้นเปลี่ยนแปลงไป อาจทำ�ให้บริษัทขายสินค้าได้ช้าลง ซึ่งจะส่งผลให้บริษัทมีภาระต้นทุนสินค้าคงเหลือในปริมาณที่สูง และส่ง ผลกระทบต่อสภาพคล่อง รวมทั้งความสามารถในการทำ�กำ�ไรของบริษัท อย่างไรก็ตามจากการมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์และบริการ ภายใต้สโลแกน “The Art Of Family Living” เพื่อให้ได้รับการ ยอมรับและความเชือ่ มัน่ จากลูกค้าภายใต้ตราสินค้า “ปริญสิร”ิ โดยบริษทั มีการลดผลกระทบดังกล่าวข้างต้นด้วยการทำ�วิจยั และศึกษา พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคก่อนการพัฒนาโครงการ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าผลิตภัณฑ์ของบริษทั ตรงกับความต้องการของลูกค้ามากทีส่ ดุ ประกอบ กับการวางแผนการก่อสร้างให้สอดคล้องกับประมาณการขาย โดยหากเป็นโครงการใหญ่จะมีการแบ่งการพัฒนาโครงการออกเป็น ระยะ (เฟส) ซึ่งหากบริษทั ขายสินค้าได้ชา้ ลง บริษทั ก็สามารถชะลอหรือหยุดงานก่อสร้างไว้ชวั่ คราวได้ อีกทัง้ บริษัทยังทำ�การส่งเสริม การตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างการรับรู้ต่อตราสินค้าของบริษัท เพื่อจูงใจให้เกิดความต้องการผลิตภัณฑ์ และเพื่อเตือนความ ทรงจำ�ในสินค้า ซึ่งยังช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตัวผลิตภัณฑ์ และภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท ในปี 2556 ตลาดอสังหาริมทรัพย์มแี นวโน้มขยายตัวต่อเนือ่ ง ผูป้ ระกอบการคาดว่าความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยในภูมภิ าค จะขยายตัวดีตอ่ เนือ่ ง จากรายได้ทอี่ ยู่ในเกณฑ์ดแี ละความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคทีด่ ขี นึ้ อีกทัง้ ปัจจัยบวกจากการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนทีช่ ว่ ยกระตุน้ ความต้องการอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะในพืน้ ทีบ่ ริเวณแนวเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจหลัก (Economic corridors) โดยผู้ประกอบการมีการปรับรูปแบบโครงการเพื่อป้องกันน้ำ�ท่วม อย่างไรก็ดี บริษัทแทบไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย แต่ก็มี การปรับรูปแบบโครงการป้องกันน้ำ�ท่วมเพิ่มเติมด้วย โดยมีแผนเปิดตัวโครงการใหม่ต่อเนื่องมีการวางแผนลดความเสี่ยงทางธุรกิจ และลดความผันผวนของรายได้ นอกจากนีย้ งั มีแผนขยายการลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์ทหี่ ลากหลายมากขึน้ เพือ่ ตอบสนอง พฤติกรรมการใช้ชีวิตของประชาชนที่เปลี่ยนไป 12.3 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนให้ผู้สอบบัญชีในรอบบัญชีปี 2553 ปี 2554 และ ปี 2555 จำ�นวน 1.85 ล้านบาท 2.03 ล้านบาท และ 2.09 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยบริษัทและบริษัทย่อยไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนอื่นที่ไม่ใช่ค่าสอบบัญชีี
115
ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหาร ของบริษัท หรือผู้ดำ�รงตำ�แหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็นเท็จ ไม่ ทำ�ให้ผู้อื่นสำ�คัญผิด หรือไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสำ�คัญ นอกจากนี้ข้าพเจ้าขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้องครบ ถ้วนในสาระสำ�คัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทย่อยแล้ว (2) ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการเปิดเผยข้อมูลทีด่ ี เพือ่ ให้แน่ใจว่าบริษทั ได้เปิดเผยข้อมูลใน ส่วนที่เป็นสาระสำ�คัญทั้งของบริษัท และบริษัทย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกล่าว (3) ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อการจัดให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีด่ ี และควบคุมดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามระบบ ดังกล่าว และข้าพเจ้าได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ต่อผู้สอบบัญชี และกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทแล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้อบกพร่องและการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทำ� ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ในการนี้ เพื่อเป็นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็นเอกสารชุดเดียวกันกับที่ข้าพเจ้าได้รับรองความถูกต้องแล้ว ข้าพเจ้าได้ มอบหมายให้ นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย เป็นผู้ลงลายมือชื่อกำ�กับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นาย ชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย กำ�กับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น
ชื่อ นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย
ตำ�แหน่ง กรรมการ /ประธานกรรมการบริหาร
นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย
กรรมการ/กรรมการผู้จัดการ
นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล
กรรมการ/กรรมการบริหาร
ผู้รับมอบอำ�นาจ นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย
116
ผู้อำ�นวยการอาวุโสสำ�นักกรรมการผู้จัดการ
ลายมือชื่อ
ข้าพเจ้าได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว และด้วยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ข้าพเจ้าไม่มีเหตุอันควรสงสัยว่าข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นเท็จ ทำ�ให้ผู้อื่นสำ�คัญผิด หรือขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสำ�คัญ ในการนี้ เพือ่ เป็นหลักฐานว่าเอกสารทัง้ หมดเป็นเอกสารชุดเดียวกันกับทีข่ า้ พเจ้าได้สอบทานแล้ว และไม่มเี หตุอนั ควรสงสัย ว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็นเท็จ ทำ�ให้ผู้อื่นสำ�คัญผิด หรือขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสำ�คัญ ข้าพเจ้าได้มอบ หมายให้ นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย เป็นผู้ลงลายมือชื่อกำ�กับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายชัย รัตน์ โกวิทจินดาชัย กำ�กับไว้ ข้าพเจ้าจะถือว่าไม่ใช่ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้สอบทานแล้วดังกล่าวข้างต้น ชื่อ
ตำ�แหน่ง
ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ
รศ. อัญชลี พิพัฒนเสริญ
ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
ผศ. มนต์ผกา วงษา
กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล
กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
ลายมือชื่อ
ผู้รับมอบอำ�นาจ นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย
ผู้อำ�นวยการอาวุโสสำ�นักกรรมการผู้จัดการ
117
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารและผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สัดส่วน ความสัมพันธ์ทาง ลำ�ดับ ชื่อ-สกุล อายุ วุฒิการศึกษา การถือหุ้น ครอบครัวระหว่าง (ร้อยละ) ผู้บริหาร 1. ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม 63 ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ไม่มี ไม่มี ประธานกรรมการบริษัท/ University of Illinois Urbana-Champaign USA. กรรมการอิสระ ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ University of Illinois Urbana-Champaign USA. ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Kellogg School Of Management Northwestern, University Evanston Illinois USA. ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์(เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2. รองศาตราจารย์ 60 ปริญญาโทด้านการบัญชี ไม่มี ไม่มี อัญชลี พิพัฒนเสริญ MS (Accounting) ประธานกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ /กรรมการอิสระ บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ2) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ DCP ประจำ�ปี 2552 ACP ประจำ�ปี 2553 ตำ�แหน่ง
บริษัท
2552-ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจ สอบและกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2551-2552 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 2550-ปัจจุบัน หัวหน้าภาควิชาการบัญชี 2547-2550 รองอธิการบดี ฝ่ายการคลัง 2538-ปัจจุบัน กรรมการโครงการธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ 2546-2547 หัวหน้าภาควิชาการบัญชี
118
บริษัท ธรรมนิติ แอนด์ ทรูธ จำ�กัด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บริษัท หลักทรัพย์ ไอร่า จำ�กัด
บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน)
2552-ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) 2545-2552 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยเรทติ้งแอนด์ อินฟอร์เมชั่นเซอร์วิส จำ�กัด (ทริส) 2541-2545 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด 2517-2538 ตำ�แหน่งสุดท้าย ธนาคารกสิกรไทย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
ช่วงเวลา
ประสบการณ์ทำ�งานย้อนหลัง
50 ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต Oregon State University USA. เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม อันดับ 1) สาขาการเงินการคลัง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้าอบรมหลักสูตร DCP ปี 2550
วุฒิการศึกษา
4. รองศาสตราจารย์ วิทยา ด่านธำ�รงกูล กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ
อายุ
54 ปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง มหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร DCP รุ่น 128
ชื่อ-สกุล
3. ผู้ช่วยศาตราจารย์ มนต์ผกา วงษา กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
ลำ�ดับ
ไม่มี
ไม่มี
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการจรรยาบรรณ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารงานก่อสร้าง ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา อาจารย์ประจำ� อาจารย์พิเศษ สถาปนิกโครงการ สถาปนิก
ตำ�แหน่ง
บริษัท
119
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม(ISMED)
บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ บริษัท เอส เจ เอ ทรีดี จำ�กัด บริษัท สถาปนิกสุเมธ ชุมสาย จำ�กัด
บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) สภาสถาปนิก มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ประสบการณ์ทำ�งานย้อนหลัง
2552-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ�สาขาการ บริหารทรัพยากรมนุษย์ และองค์การ 2549-2550 ผู้อำ�นวยการโครงการ วารสารบริหารธุรกิจ 2543-2544 ผู้อำ�นวยการฝ่ายอบรม
2542-2551 2540-2542 2539-2540 2535-2540 2532-2535
สัดส่วน ความสัมพันธ์ทาง การถือหุ้น ครอบครัวระหว่าง ช่วงเวลา (ร้อยละ) ผู้บริหาร ไม่มี ไม่มี 2552-ปัจจุบัน 2555-ปัจจุบัน 2551-2554
ชื่อ-สกุล
6. นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย 45 ปริญญาโท สาขาบริหาร กรรมการบริษัท มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง กรรมการบริหาร ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ กรรมการผู้จัดการ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง เข้ารับการอบรมหลักสูตร DAP รุ่นที่ 20 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2547
5. นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการบริหาร
ลำ�ดับ ประธานคณะกรรมการ บริหาร กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการ บริหาร/กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
บริษัท บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน)
ประสบการณ์ทำ�งานย้อนหลัง
120
บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 2538 - 2547 ประธานกรรมการและ บริษัท จินดาพงษ์ พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการผู้จัดการ จำ�กัด 2536 - 2545 ประธานกรรมการและ บริษัท ไทยจินดา พร็อพเพอร์ตี้ กรรมการผู้จัดการ จำ�กัด 0.09 เป็นหลานของ 2554 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด นางสาวสิริลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ (มหาชน) โกวิทจินดาชัย กรรมการบริษัท และ 2548 - 2551 รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด นายขวัญชาย กรรมการบริษัท (มหาชน) บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ มงคลกิจทวีผล 2550 - ปัจจุบัน กรรมการบริษัท (ประเทศไทย) จำ�กัด / เป็นสามีของ นางสาวนิภา 2543 - 2548 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด สายงานบริหารโครงการ (มหาชน) อภิรัตนรุ่งเรือง กรรมการบริษัท 2539 - 2542 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท จินดาพงษ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด สายงานก่อสร้าง 2536 - 2538 ผู้อำ�นวยการฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ไทยจินดา พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด
สัดส่วน ความสัมพันธ์ทาง อายุ วุฒิการศึกษา การถือหุ้น ครอบครัวระหว่าง ช่วงเวลา (ร้อยละ) ผู้บริหาร 65 ประสบการณ์ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 20 ปี 24.57 เป็นพี่สาวของ ปัจจุบัน เข้ารับการอบรมหลักสูตร DAP รุ่นที่ 20 นายขวัญชาย เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2547 มงคลกิจทวีผล 2543 - 2551 / เป็นน้าของ นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย 2550 - 2554 2550 - ปัจจุบัน
ชื่อ-สกุล
2536 - 2538
2543 - 2548
บริษัทน้ำ�ตาลวังขยาย จำ�กัด บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุนนครหลวงไทย จำ�กัด
บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โกลด์ ไฟน์ แมนูแฟคเจอรริ่ง จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารนครหลวงไทย จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท
บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท จินดาพงษ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด สายงานการตลาด บริษัท จินดาพงษ์ ผู้อำ�นวยการ พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด ฝ่ายการตลาด
กรรมการบริษัท และกรรมการผู้บริหาร ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบและกรรมการ อิสระ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่อาวุโส สายงานธุรกิจขนาดใหญ่ (ตำ�แหน่งสุดท้าย) 2551 - 2552 ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการบริษัท 2551 - 2553 กรรมการบริษัท 0.44 อาของนายชัยวัฒน์ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ โกวิทจินดาชัย 2551 - 2554 ผู้อำ�นวยการอาวุโส 2548 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายงานลูกค้าสัมพันธ์ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ
ตำ�แหน่ง
ประสบการณ์ทำ�งานย้อนหลัง
121
หมายเหตุ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทได้แก่ ลำ�ดับที่ 5, 6, 7 และ 8 โดยมี นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย, นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย, นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล และ นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล กรรมการสองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัท
8. นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล 52 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ กรรมการบริษัท วิทยาลัยช่างกลเทคนิคสยาม ประสบการณ์ด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ กว่า 20 ปี เข้ารับการอบรมหลักสูตร DAP รุ่น 20 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2547
7. นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร
ลำ�ดับ
สัดส่วน ความสัมพันธ์ทาง การถือหุ้น ครอบครัวระหว่าง อายุ วุฒิการศึกษา ช่วงเวลา (ร้อยละ) ผู้บริหาร 58 ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (Executive MBA) ไม่มี ไม่มี 2554 - ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ 2547 - ปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย DCP ประจำ�ปี 2547 Audit Program 2527 - 2553 (ตลาดหลักทรัพย์ ปี 2548)
บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โกร โยธา กรุ๊ป จำ�กัด
บริษัทย่อย บริษัท ปริญเวนเจอร์ จำ�กัด
ศ.ดร.วรภัทร โตธนะเกษม /,X,@ รศ.อัญชลี พิพัฒนเสริญ /,$,@ ผศ.มนต์ผกา วงษา /,$,@ รศ.วิทยา ด่านธำ�รงกูล /,$,@ นางสาวสิริลักษณ์ โกวิทจินดาชัย / , // นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย / , // , 0 นายอุเทน คงสุนทรกิจกุล / , // นายชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย // , 0 / , // / , // นายชาไว โกวิทจินดาชัย 0 / , // นายชัยวุฒิ โกวิทจินดาชัย 0,/,$,@ / , // นายขวัญชาย มงคลกิจทวีผล /,0 / , // หมายเหตุ : / = กรรมการ , X = ประธานกรรมการ , // = กรรมการบริหาร , 0 = ผู้บริหาร , $ = กรรมการตรวจสอบ , @ = กรรมการอิสระ
รายชื่อ
รายละเอียดเกี่ยวกับการดำ�รงตำ�แหน่งของผู้บริหารและผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
/ , //
/ , // / , //
122
บริษัท ซีเอ็น เอสพีอาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ
รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน
เรียน ประธานคณะกรรมการบริษัท จากการที่บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ได้จัดระบบการควบคุมภายในเพื่อสร้างความมั่นใจอย่าง สมเหตุสมผล เกี่ยวกับ ความเชือ่ ถือได้ของการจัดทำ�รายงานทางการเงินทีเ่ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ความมีประสิทธิภาพ ของระบบการควบคุมภายใน ประกอบ ด้วย • การจัดโครงสร้างขององค์กร • การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน • ความรู้ความสามารถของบุคลากร • นโยบายการบริหารงานและการบัญชี • การรายงานและติดตามผลการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่ตรวจพบ บริษัทขอชี้แจงว่า ระบบการควบคุมภายในที่จัดวางไว้จะดีเพียงใด ก็อาจมีข้อจำ�กัดบางอย่างที่แฝงอยู่ ซึ่งรวมถึงโอกาสของ การละเว้นหรือหลีกเลี่ยงการควบคุมที่มี ดังนั้นระบบการควบคุมภายในของบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) จึงให้ความมั่นใจที่น่า เชื่อมั่นได้เกี่ยวกับการจัดทำ�งบการเงินเท่านั้น นอกจากนี้ประสิทธิผลของการควบคุมภายใน อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา เงื่อนไข และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป บริษัท ได้จัดทำ�แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ตามเกณฑ์ที่กำ�หนดในแต่ละวิชาชีพของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 จากการประเมินดังกล่าวบริษัทเชื่อว่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมี ประสิทธิผลเพียงพอตามเกณฑ์ดังกล่าว
( นายชัยวัฒน์ โกวิทจินดาชัย ) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน)
123
แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) วันที่ 31 ธันวาคม 2555
124
แบบประเมินนี้จัดทำ�โดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเป็นความเห็นของคณะกรรมการเกี่ยวกับ ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ส่วนที่ 1 องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment Measure) องค์กรและสภาพแวดล้อม หมายถึง การมีโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมที่ดี ซึ่งเป็นรากฐานที่สำ�คัญของระบบการ ควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้น จึงมีความจำ�เป็นต้องสร้างสภาวะหรือปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งเอื้อให้ระบบการควบคุมภายในดำ�เนินไป ตามทีบ่ ริษทั มุง่ หวัง เป็นการสร้างบรรยากาศการควบคุมเพือ่ ส่งเสริมให้ทกุ คนในบริษทั ตระหนักถึงความจำ�เป็นของระบบการควบคุม ภายใน เช่น การทีฝ่ า่ ยบริหารให้ความสำ�คัญต่อความซือ่ สัตย์สจุ ริตและจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ การจัดการโครงสร้างขององค์กร อย่างเหมาะสม การกำ�หนดหน้าที่อย่างชัดเจน การมีนโยบาย และระเบียบปฎิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร เป็นต้น 1.1 คณะกรรมการได้ดูแลให้มีการกำ�หนดเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจที่ชัดเจนและวัดผลได้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของ พนักงาน ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทได้กำ�หนดนโยบาย แผนธุรกิจและแผนการปฏิบัติงาน เพื่อกำ�หนดเป้าหมายของยอดรายได้จากการขาย การลดต้นทุนการ ก่อสร้าง การลดต้นทุนทางการเงิน ฯลฯ ทั้งนั้นยังคงรักษาคุณภาพของงานก่อสร้างให้ได้ตามมาตรฐานวิชาชีพและมาตรฐานของ บริษัท 1.2 คณะกรรมการบริษัท ได้ทบทวนปฏิบัติงานแล้วว่า การตั้งเป้าหมายได้ดำ�เนินธุรกิจอย่างรอบคอบ และได้พิจารณาถึงความเป็น ไปได้ของเป้าหมายที่กำ�หนด ตลอดจนได้มีการวิเคราะห์ถึงการให้สิ่งจูงใจหรือผลตอบแทน แก่พนักงานว่าเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล โดยไม่มีการจูงใจหรือให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่เกินสมควร แก่พนักงานในลักษณะที่อาจนำ�ไปสู่การทำ�ทุจริต หรือประพฤติมิชอบ (เช่นตั้งเป้าหมายยอดขายของบริษัทไว้สูงเกินความเป็นจริง ทำ�ให้เกิดแรงจูงใจในการตกแต่งตัวเลขยอดขาย เป็นต้น ) ใช่ ไม่ใช่ บริษัทมีการทบทวนเป้าหมายการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างกรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหารสายงานและผูอ้ ำ�นวยการฝ่ายอย่างสม่ำ�เสมอ ทุกๆ 3 เดือน 1.3 บริษัทได้มีการจัดโครงสร้างองค์กรที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารสามารถดำ�เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทจัดผังโครงสร้างองค์กร โดยแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานออกเป็น 4 สายงาน และ 1 สำ�นักกรรมการผู้ จัดการ คือ สายงานสนับสนุนธุรกิจ , สายงานบัญชี และการเงิน, สายงานการตลาดและการขาย , สายงานปฏิบัติการ และสำ�นัก กรรมการผู้จัดการ 1.4 บริษัทมีข้อกำ�หนดเกี่ยวกับจริยธรรม ( Code of conduct ) และข้อกำ�หนดห้ามฝ่ายบริหารและพนักงานปฏิบัติตน ในลักษณะที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งบทลงโทษ หากมีการฝ่าฝืน หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษทั มี ข้อกำ�หนดเกีย่ วกับจริยธรรมและจรรยาบรรณ ซึง่ ได้จดั ทำ�เป็นลายลักษณ์อกั ษร และได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2547
125
1.5 ในการกำ�หนดนโยบายและแผนการปฏิบัติงาน บริษัทได้คำ�นึงถึงความเป็นธรรมต่อคู่ค้า เพื่อประโยชน์ของบริษัทในระยะยาว ใช่ หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทยึดถือความซื่อสัตย์และสุจริตในการดำ�เนินธุรกิจ ไม่เอารัดเอาเปรียบคู่ค้า ให้ความสำ�คัญกับคุณภาพของสินค้า กำ�หนดราคา ที่ยุติธรรม และให้บริการหลังการขายด้วยความเอาใจใส่ ส่วนที่ 2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) การประกอบธุรกิจของบริษทั ย่อมดำ�เนินการอยูท่ า่ มกลางความเสีย่ งด้านธุรกิจตลอดเวลา โดยสาเหตุของความเสีย่ งอาจมา จากปัจจัยภายใน เช่น ผูบ้ ริหารขาดความซือ่ สัตย์และจริยธรรม บริษทั ขยายงานอย่างรวดเร็วเกินไป ทำ�ให้ระบบงานไม่สามารถรองรับ ได้ หรือกำ�กับดูแลไม่ทั่วถึง เป็นต้น และปัจจัยภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือ พฤติกรรมการบริโภคสินค้า ทำ�ให้ มีผลกระทบต่อส่วนแบ่งการตลาด เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ การที่จะนำ�พาให้บริษทั รอดพ้นจากอันตรายที่เกิดจากความเสีย่ งดังกล่าวได้นั้น ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องดำ�เนินการต่อไปนี้อย่างสม่ำ�เสมอ 1. พิจารณาหรือไตร่ตรองถึงลักษณะความเสี่ยงที่บริษัทประสบอยู่ หรือคาดว่าจะประสบ (Identification of risk) 2. วิเคราะห์ผลกระทบของความเสี่ยงนั้น ๆ ต่อบริษัท และโอกาสที่ความเสี่ยงนั้น ๆ จะเกิดขึ้น (Analysis of risk) 3. กำ�หนดมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม (Management of risk) 2.1 บริษัทมีการประเมินอย่างเหมาะสมหรือไม่ การประกอบธุรกิจของบริษัทมีปัจจัยใดบ้าง ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงทั้งที่มาจากภายนอก และภายใน ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญ มี ไม่มี บริษัทได้มีการประเมินความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างสม่ำ�เสมอ ซึ่งมีปัจจัยความเสี่ยงที่มาจากภายนอก อาทิ เช่น ต้นทุนค่าก่อสร้างที่สูงขึ้น กฎหมาย และมาตรการใหม่ ๆ ที่มีผลบังคับใช้ ภาวะการณ์แข่งขัน ความเข้มงวดของสถาบันการเงิน เป็นต้น และมีปัจจัยความเสี่ยงที่มาจากภายใน อาทิเช่น ความต้องการของลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้า การพัฒนาความสามารถ ทางเทคโนโลยีและระบบ IT ความสามารถในการบริหารจัดการ 2.2 บริษัทได้มีการวิเคราะห์หรือไม่ว่า เหตุการณ์ใดที่เป็นความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น มี ไม่มี บริษทั ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสีย่ งเข้ามาทำ�งานร่วมกับผูต้ รวจสอบภายใน ในการวิเคราะห์ปจั จัยเสีย่ ง ที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อนำ�เสนอต่อฝ่ายบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ 2.3 บริษทั กำ�หนดให้มมี าตรการในการติดตามเหตุการณ์ทเี่ ป็นสาเหตุของปัจจัยความเสีย่ งรวมทัง้ มาตรการในการลดความเสีย่ งเหล่า นั้น ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทได้มีการทบทวนมาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ และมีการ ติดตามการประเมินผลอย่างสม่ำ�เสมอ 2.4 บริษัทได้แจ้งให้พนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้องรับทราบและปฎิบัติตามมาตรการการบริหารความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ คณะกรรมการกลยุทธ์และบริหารความเสี่ยงได้ร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน ได้จัดอบรมพนักงานเพื่อให้มีความรู้ในการประเมินความ เสี่ยงของแต่ละฝ่าย และกลยุทธ์ที่จะนำ�มาใช้ในการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ควบคุมได้
126
2.5 บริษัทมีการติดตามว่าหน่วยงานต่าง ๆ ได้ปฎิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ผู้บริหารแต่ละสายงาน ได้จัดให้มีการทำ�รายงานแบบประเมินการบริหารความเสี่ยงตามแผน ที่แต่ละฝ่ายได้กำ�หนดไว้ พร้อมทั้งเร่ง เข้าดำ�เนินการในกรณีที่ตรวจสอบพบข้อผิดพลาด เพื่อควบคุมให้ได้ตามแผนงานบริหารความเสี่ยงที่ตั้งไว้ ส่วนที่ 3 การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร (Management Control Activities) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารเป็นกิจกรรมที่มีความสำ�คัญ เพื่อให้บริษัทมั่นใจว่า แนวทางที่ฝ่ายบริหารกำ�หนด ไว้ได้รับการตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัท ซึ่งแนวทางดังกล่าวได้แก่ 1. การกำ�หนดอำ�นาจและระดับการอนุมัติรายการเป็นไปอย่างเหมาะสม 2. มีการแบ่งแยกหน้าที่ที่อาจเอื้อให้เกิดการกระทำ�ที่ทุจริตออกจากกัน 3. มีการกำ�หนดขั้นตอน และวิธีการทำ�ธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว อย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันการถ่ายเทผลประโยชน์ 4. กำ�หนดวิธีการเพื่อให้แน่ใจว่าบริษัทได้ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 3.1 บริษทั มีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละวงเงินอำ�นาจอนุมตั ขิ องฝ่ายบริหารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์ อักษร ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทมีข้อกำ�หนดเรื่อง อำ�นาจการอนุมัติภายใน ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เกิดความชัดเจนและป้องกันการทุจริต รวมทั้ง ควบคุมมิให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอำ�นาจโดยไม่มีขอบเขต 3.2 บริษัทมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้านต่อไปนี้ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็นการตรวจสอบซึ่งกันและกัน ใช่หรือไม่ 1. หน้าที่อนุมัติ 2. หน้าที่บันทึกรายการบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และ 3. หน้าที่การดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน ใช่ ไม่ใช่ ฝ่ายบริหารได้กำ�หนดการควบคุมการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการนำ�ระบบซอฟ์ทแวร์มาใช้ควบคุมการบันทึกรายการ บัญชีเพื่อนำ�เสนอขออนุมัติรายจ่าย การตรวจสอบเทียบงบประมาณที่กำ�หนดไว้และการอนุมัติจ่าย โดยทำ�ควบคู่กับระบบเดิมที่ใช้ อยู่เป็นระยะเวลา 1 ปี และร่วมกันประเมินประสิทธิภาพของซอฟ์ทแวร์ที่นำ�มาใช้ว่าได้ผลเป็นที่พอใจ 3.3 ในกรณีที่บริษัทมีการทำ�ธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการบริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวบริษัทมีมาตรการที่ รัดกุมเพื่อติดตามให้การทำ�ธุรกรรมนั้นต้องผ่านขั้นตอนการอนุมัติที่กำ�หนดใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระจะเป็นผู้อนุมัติการทำ�ธุรกรรมดังกล่าว โดยบริษัทได้กำ�หนดนโยบายและระเบียบใน การทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องดังกล่าวไว้แล้ว ทั้งนี้ การทำ�ธุรกรรมนั้นต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับบริษัท การทำ�ธุรกรรม ในราคาตลาด มีเงื่อนไขทางการค้าปกติ และเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการรายอื่นเสนอราคาแข่งขันโดยเท่าเทียมกัน
127
3.4 ในกรณีที่มีการทำ�ธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมนั้นได้กระทำ�โดยผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสียในธุรกรรมนั้น ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 3.5 ในกรณีทมี่ กี ารทำ�ธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมตั ธิ รุ กรรมนัน้ ได้ค�ำ นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั เป็นสำ�คัญและพิจารณา โดยถือเสมือนเป็นรายการที่กระทำ�กับบุคคลภายนอก ( on arms length basis ) ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว นอกจากปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนในการขออนุมัติแล้ว บริษัทยังได้ให้ผู้ประเมินราคาอิสระ ซึ่งได้รับอนุญาตจากสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นผู้ประเมินทรัพย์สิน เพื่อเสนอให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการ อิสระประกอบการพิจารณาด้วย 3.6 กรณีที่ได้มกี ารอนุมตั ธิ รุ กรรมกับผูท้ เี่ กีย่ วข้องในลักษณะทีม่ ผี ลผูกพันบริษทั ระยะยาวไปแล้ว (เช่น การทำ�สัญญาซือ้ ขายทีด่ นิ การ ให้กยู้ มื การค้�ำ ประกัน เป็นต้น) ได้มกี ารติดตามให้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทีต่ กลงกันไว้ตลอดเวลาทีม่ ผี ลผูกพันบริษทั หรือไม่ (เช่น ติดตาม การชำ�ระคืนหนี้ตามกำ�หนด การทบทวนความเหมาะสมของสัญญา เป็นต้น) ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 3.7 กรณีที่บริษัทมีมาตรการเกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรมตาม 3.3 มาตรกรรมดังกล่าวครอบคลุมไปถึงกรณีที่ผู้ที่เกี่ยวข้องดังกล่าวนำ� โอกาสหรือประโยชน์ของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนด้วย ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 3.8 ในกรณีที่บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม บริษัทมีการติดตามดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม อย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการกำ�หนดทิศทางให้บุคคลที่แต่งตั้งให้เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทดังกล่าวถือปฏิบัติ หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว
128
3.9 บริษัทมีมาตรการที่จะติดตามให้การดำ�เนินงานของบริษัทเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือไม่ ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงใน การประกอบธุรกิจและรักษาชื่อเสียงของบริษัท มี ไม่มี บริษทั มีการติดตามการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้เป็นไปตามกฎหมาย รวมทัง้ จัดทำ�ประกาศหรือหนังสือเวียนแจ้งให้พนักงานทราบกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำ�เสมอ 3.10 ในกรณีที่บริษัทเคยมีการกระทำ�ที่ฝ่าฝืนกฎหมาย บริษัทมีมาตรการแก้ไขและป้องกันมิให้เกิด มี ไม่มี ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ส่วนที่ 4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล ( Information and Communication Measure ) หลักการประการหนึ่งของการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังไม่ว่าจะเป็นสำ�หรับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง ก็คือ การตัดสินใจบนพื้นฐานที่มีข้อมูลที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการตัดสินใจ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางการเงินหรือข้อมูล อื่น ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลดังกล่าวไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่ง และเป็นสิ่งที่จะช่วยให้เกิดความมีประสิทธิภาพของ ระบบการควบคุมภายใน ข้อมูลที่มีคุณภาพควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1. มีเนื้อหาที่จำ�เป็นเพียงพอต่อการตัดสินใจ 2. มีความถูกต้องสมบูรณ์ 3. มีความเป็นปัจจุบัน 4. มีรูปแบบที่เข้าใจง่าย 5. มีการจัดเก็บที่ดี 4.1 ในการเสนอเรือ่ งให้คณะกรรมการพิจารณา บริษทั ได้จดั ให้มขี อ้ มูลทีส่ �ำ คัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เพือ่ ให้คณะกรรมการใช้ประกอบ การตัดสินใจ ใช่หรือไม่ ( ข้อมูลที่สำ�คัญต่าง ๆ ได้แก่ รายละเอียดของเรื่องที่เสนอให้พิจารณา เหตุผล ผลกระทบต่อบริษัท ทางเลือก ต่าง ๆ เป็นต้น ) ใช่ ไม่ใช่ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 4.2 กรรมการบริษัทได้รับหนังสือนัดประชุมหรือเอกสารประกอบการประชุมที่ระบุข้อมูลที่จำ�เป็นและเพียงพอต่อการพิจารณาก่อน การประชุม อย่างน้อยภายในระยะเวลาขั้นต่ำ�ตามกฎหมายกำ�หนด ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กรรมการบริษัทได้รับก่อนวันประชุมโดยเฉลี่ย 7 วัน
129
4.3 รายงานการประชุมกรรมการ มีรายละเอียดตามควรที่ทำ�ให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบความเหมาะสม ในการปฏิบัติหน้าที่ของ กรรมการได้หรือไม่ เช่น ได้มีการบันทึกข้อซักถามของกรรมการ ความเห็นหรือข้อสังเกตของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา ความเห็น ของกรรมการรายที่ไม่เห็นด้วยกับเรื่องที่เสนอพร้อมเหตุผล เป็นต้น ใช่ ไม่ใช่ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 4.4 บริษัทจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกและบัญชีต่าง ๆ ไว้ครบถ้วนเป็นหมวดหมู่ และไม่เคยได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีว่ามีข้อ บกพร่องในเรื่องนี้ หรือเคยได้รับแจ้งแต่ได้แก้ไขข้อบกพร่องนั้นอย่างครบถ้วนแล้ว ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 4.5 คณะกรรมการได้พิจารณาแล้วใช่หรือไม่ว่า ฝ่ายบริหารได้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักบัญชีที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะ ธุรกิจของบริษัท โดยไม่เลือกใช้นโยบายที่ทำ�ให้บริษัทแสดงผลประกอบการที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ใช่ ไม่ใช่ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ส่วนที่ 5 ระบบการติดตาม ( Monitoring ) การที่บริษัทจะดำ�เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทควรต้องติดตามอย่างสม่ำ�เสมอว่ามีการปฏิบัติตาม เป้าหมายที่วางไว้ ระบบการควบคุมภายในยังคงดำ�เนินอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปรวมทั้งข้อบกพร่องต่าง ๆ ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที 5.1 กรณีที่บริษัทมีการกำ�หนดเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการได้เปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหารว่าเป็นไป ตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว บริษัทมีการติดตามประเมินผลการดำ�เนินธุรกิจและเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ได้กำ�หนดไว้อย่างสม่ำ�เสมอ 5.2 กรณีทผี่ ลการดำ�เนินธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ มีความแตกต่างจากเป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้ บริษทั ได้ด�ำ เนินการแก้ไขภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะ สม ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... บริษัทได้กำ�หนดให้ฝ่ายบริหารจะต้องดำ�เนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งปีที่ผ่านมาผลการดำ�เนินธุรกิจจะใกล้เคียงกับเป้าหมายที่ กำ�หนดไว้ อย่างไรก็ตามบริษทั ได้ใช้กลยุทธ์ตา่ ง ๆ อาทิ ด้านการเงิน ด้านการตลาด เพือ่ ช่วยเพิม่ ผลกำ�ไร รักษายอดขาย และควบคุม ค่าใช้จ่ายให้ได้ตามงบประมาณที่กำ�หนดไว้อย่างสม่ำ�เสมอ
130
5.3 บริษัทจัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไว้อยางสม่ำ�เสมอ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 5.4 กรณีที่บริษัทมีการตรวจสอบภายใน บริษัทได้กำ�หนดให้การรายงานผลการตรวจสอบต้องรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจ สอบ เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานได้อย่างอิสระและเสนอรายงานการตรวจสอบได้อย่างอิสระและเสนอรายงานผล การตรวจสอบได้อย่างตรงไปตรงมา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 5.5 เมื่อมีการตรวจพบข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญได้มีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณา สั่งการแก้ไขภายในระยะเวลาอันควร ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. บริษัทให้ความสำ�คัญต่อรายงานข้อบกพร่อง ถ้าเกิดขึ้นจะดำ�เนินการแก้ไขโดยเร่งด่วน 5.6 บริษัทต้องรายงานความคืบหน้าในการปรับปรุงข้อบกพร่องต่อคณะกรรมการบริษัท / คณะกรรมการตรวจสอบ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ บริษัทจัดให้มีวาระประชุมเรื่องติดตามความคืบหน้าจากการประชุมครั้งก่อน เพื่อติดตามเรื่องที่ปรับปรุงต่อไป 5.7 บริษทั มีนโยบายให้ฝา่ ยบริหารต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั โดยพลัน ในกรณีทเี่ กิดเหตุการณ์ทจุ ริต หรือสงสัยว่ามีเหตุการณ์ ทุจริต มีการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และมีการกระทำ�ที่ผิดปกติอื่น ซึ่งอาจกระทบต่อชื่อเสียงและฐานะการเงินของบริษัทอย่างมีนัย สำ�คัญ หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มีกรณีดังกล่าว บริษัทให้ความสำ�คัญต่อเหตุการณ์ทุจริต หรือการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนกฎหมาย รวมถึงการกระทำ�ใดๆ ที่อาจกระทบต่อชื่อเสียงและฐานะ ทางการเงินของบริษัท ซึ่งได้กำ�หนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในแบบกำ�หนดหน้าที่การทำ�งาน ของกรรมการผู้จัดการ และได้ออกเป็น ประกาศเกี่ยวกับการรายงานกรณีเกิดการทุจริตไว้แล้ว
131
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะของบริ ษั ท ปริ ญ สิ ริ จำ � กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ยและ ของเฉพาะบริ ษั ท ปริ ญ สิ ริ จำ � กั ด (มหาชน) ตามลำ � ดั บ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย งบแสดงฐานะการเงิ น รวมและงบแสดงฐานะการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2555 งบกำ � ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวมและงบกำ � ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ เฉพาะบริ ษั ท งบแสดงการ เปลี่ ย นแปลงส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น รวมและงบแสดงการเปลี่ ย นแปลงรวมของผู้ ถื อ หุ้ น เฉพาะบริ ษั ท และงบกระแสเงิ น สดรวมและ งบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำ�หรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำ�คัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้ บ ริ ห ารเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ทำ � และการนำ � เสนองบการเงิ น เหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในที่ ผู้ บ ริ ห ารพิ จ ารณาว่ า จำ � เป็ น เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ทำ � งบการเงิ น ที่ ป ราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจ สอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการ เงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอัน เป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดในการประเมินความเสี่ยง ดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อ ออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุ สมผลของประมาณการทางบัญชี ที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีทข่ี า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และผลการดำ�เนินงานรวม และผลการดำ�เนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด
(นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556
132 รายงานประจำ�ปี 2555
งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
133
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
134 รายงานประจำ�ปี 2555
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
135
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
136 รายงานประจำ�ปี 2555
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
137
งบกระแสเงินสด บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
138 รายงานประจำ�ปี 2555
งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
139
หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
140 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
141
142 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
143
144 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
145
146 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
147
148 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
149
150 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
151
152 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
153
154 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
155
156 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
157
158 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
159
160 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
161
162 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
163
164 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
165
166 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
167
168 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
169
170 รายงานประจำ�ปี 2555
รายงานประจำ�ปี 2555
171