PTTAR: Annual Report 2010 TH

Page 1

002-003

(T)4c_Y N15.pdf

1

16/3/2011

0:30

จ�ดเดนการดำเนินงาน หน ว ย : ล า นบาท

ฐานะการเง�น สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน

2553

2552

2551

153,266 90,234 63,032

154,609 94,292 60,317

137,540 84,905 52,635 หน ว ย : ล า นบาท

ผลการดำเนินงาน รายไดจากการขายและบร�การ EBITDA EBITDA with LCM กำไรสุทธ� กำไรสุทธ�ตอหุน (บาทตอหุน)

2553 2553 2552 273,767 225,300 13,490 14,858 13,490 20,031 6,343 9,162 2.14 3.09

2552

2551

251,386 (3,833) (9,005) (8,465) (2.86) หน ว ย : ล า นบาท

อัตราสวนทางการเง�น อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนกำไรสุทธ� (รอยละ) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (รอยละ) อัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน (เทา)

2553 2553 1.34 2.29 10.28 1.43

2552

2552

1.44 3.98 16.22 1.56

2551

1.05 (3.35) (13.97) 1.61

หมายเหตุ: EBITDA คือ กำไรก อนหักดอกเบี้ย ภาษีเง�นได ค าเสื่อมราคาและค าตัดจำหน าย LCM คือ ค าเผื่อการลดมูลค าสินค าคงเหลือ

P.002


002-003

(T)4c_Y N15.pdf

2

16/3/2011

0:30

ธุรกิจโรงกลั่น

วัตถุดิบนำเขากลั่น

ธุรกิจอะโรเมติกส หน วย : พันบาร เรลต อวัน

174

165

116

113

131

58

2553

2552

2551

หน วย : เหร�ยญสหรัฐฯ ต อบาร เรล

กำไรขั้นตนรวมจากการผลิต 5.91

5.93

หมายเหตุ: - รวมผลกระทบจากการบร�หารความเสี่ยง ค าการกลั่นและวัตถุดิบ (Hedging) - รวมผลกระทบจากกำไร (ขาดทุน) จากสต็อกน�ำมัน - ไม รวม LCM

0.19

2553

2552

ค าใช จ ายดำเนินงาน

คาใชจายในการดำเนินงาน และคาใชจายทางการเง�น

2551

ดอกเบี้ยจ ายและค าใช จ ายทางการเง�น หน วย : เหร�ยญสหรัฐฯ ต อบาร เรล

2.49 1.52

0.97

2553

2.28 1.37

0.91

2.55 1.98

0.57

2552

P.003

2551


พัฒนาการที่สำาคัญของบริษัทฯ 2 ม.ค. 51: PTTAR เริม่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ 10 ม.ค. 52: โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริ่มเดินเครื่องผลิตเชิงพาณิชย์

ม.ค. ก.พ.

1 ก.พ. 52: PTTAR และ SPRC ยกเลิกสัญญา ร่วมปฏิบัติการกลั่นในรูปแบบพันธมิตร (Operating Alliance Agreement)

มี.ค.

27 มี.ค. 52: โครงการเชือ้ เพลิงสะอาดและปรับปรุง คุณภาพผลิตภัณฑ์ระยะที่ 1 หรือ โครงการก่อสร้างหน่วย Condensate Residue Splitter (CRS) แล้วเสร็จ

เม.ย. พ.ค. 20 มิ.ย. 51: PTTAR ลงนามสัญญา มูลค่า 31 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปรับปรุงหน่วยผลิตไฟฟ้ากังหันก๊าซ ร่วมกับบริษัท Dresser – Rand AS

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

31 ก.ค. 52: PTTAR ลงนามสัญญาออกแบบและ ก่อสร้างโครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุง คุณภาพผลิตภัณฑ์ระยะที่ 2 หรือโครงการก่อสร้าง หน่วย Deep Hydrodesulfurization (DHDS) เพื่อผลิตน้ำามันดีเซลตามมาตรฐานยูโร 4

ก.ย. 1 ต.ค. 51: นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ดำารงตำาแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

27 ธ.ค. 50: • จดทะเบียนจัดตั้ง PTTAR • นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ ดำารงตำาแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร • นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ดำารงตำาแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่

2550

2551

2552


20 ก.พ. 53: การประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อการ กำาหนดขอบเขตแนวทางการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพ (Public Scoping) ของ PTTAR*

20 ม.ค. 54: คณะกรรมการ PTTAR อนุมัติโครงการก่อสร้างหน่วย ดักจับไอระเหย (VRU: Vapor Recovery Unit) ทุกถังวัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์ของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) และโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) 25 ม.ค. 54: PTTAR รับมอบโล่และเกียรติบัตรปฏิบัติตามมาตรฐาน ของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) 2 พื้นที่ คือ โรงกลั่นน้ำามัน (AR1) และโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) 24 ก.พ. 54: คณะกรรมการ PTT, PTTAR และ PTTCH มีมติเห็นชอบแผนการ ควบบริษัท PTTAR และ PTTCH

24 และ 31 ก.ค. 53: การประชุมทบทวนร่าง รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ (Public Reviewing) ของ PTTAR*

1 ต.ค. 53: นายบวร วงศ์สินอุดม ดำารงตำาแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

2553

* โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ โครงการติดตั้งระบบควบคุมไอน ำมันเชื้อเพลิงและการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1

2554


สารจากประธานกรรมการ ปี 2553 เป็นปีที่ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (PTTAR) ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานด้านต่างๆ โดยมีกำ� ไรจาก ผลประกอบการทั งสิ้น 6,343 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายที่วางไว้ แม้ สถานการณ์ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นยังมีความผันผวนค่อนข้างสูง เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกายังไม่กลับมาฟื้นตัวเต็มที่ โดยบริษทั ฯ สามารถใช้วตั ถุดบิ น�ำเข้าผลิต 95.02 ล้านบาร์เรล เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2 เมือ่ เทียบกับปี 2552 ท�ำให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมได้ทง ั สิน้ 76.38 ล้านบาร์เรล เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.3 และผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ได้ทง ั สิน้ 1.95 ล้านตัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.4 จากปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้รบั ผลประโยชน์จากการผสานพลังร่วม (Synergy) ระหว่าง โรงกลั่นน�้ำมันกับโรงงานอะโรเมติกส์อย่างต่อเนื่อง มาตั งแต่ปีแรก ของการด�ำเนินธุรกิจ ส�ำหรับปี 2553 การผสานพลังร่วมของโรงกลัน่ น�ำ้ มัน และโรงงานอะโรเมติกส์ มีมูลค่ารวม 136 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเป็น เครือ่ งยืนยันถึงทิศทางการด�ำเนินธุรกิจทีถ่ กู ต้องของบริษทั ฯ ในด้านการเงิน บริษทั ฯ ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน โดย สามารถจัดหาเงินกู้ระยะยาว ในลักษณะ Revolving Basis เพิ่มเติม รวม 25,700 ล้านบาท เพือ่ รองรับการช�ำระคืนเงินกูเ้ ดิมทีจ่ ะครบก�ำหนดในปี 2554-2555 และ/หรือ เพือ่ ใช้เป็นวงเงินส�ำรองในการด�ำเนินธุรกิจในอนาคต ท�ำให้โครงสร้างอายุเงินกู้เฉลี่ยรวมยาวขึ้นและอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยลดลง สามารถเจรจาแก้ไขสัญญาเงินกูเ้ ดิมตามสัญญาเงินกูร้ ะยะยาวจ�ำนวนรวม 9,897.5 ล้านบาท และได้ซอื้ คืนหุน้ กูส้ กุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จากนักลงทุน ทัง ในประเทศและต่างประเทศได้เป็นจ�ำนวนรวมทัง้ สิน้ 59.15 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยทางการเงินในปี 2553 ลงได้ ณ สิ้นปี 2553 บริษัทฯ มีความก้าวหน้าในการก่อสร้างโครงการ เชือ้ เพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ระยะที่ 2 ร้อยละ 85.5 ซึง่ บริษัทฯ คาดว่า จะสามารถก่อสร้างโครงการดังกล่าวแล้วเสร็จตามแผน และสามารถผลิตน�ำ้ มันดีเซลก�ำมะถันต�ำ่ ตามมาตรฐานยูโร 4 ได้ตง ั แต่ปี 2555 เป็นต้นไป ขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ยังมีโครงการลงทุนด้านสิง่ แวดล้อม ที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จ อาทิ โครงการปรับปรุงการเผาไหม้ที่หน่วยผลิต ไฟฟ้ากังหันก๊าซและโครงการก่อสร้างระบบควบคุมไอน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ โรงกลัน่ น�ำ้ มัน โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อน และอุปกรณ์ภายในหอกลัน่ ของโรงงานอะโรเมติกส์ รวมทัง โครงการปรับปรุง

8 54-02-058_008-009-4c new17_Y.indd 8

17/3/2011 22:40


อุปกรณ์ต่างๆ ในโรงงาน เพื่อช่วยลดการใช้เชื้อเพลิงใน กระบวนการผลิต ซึง่ ถือเป็นความพยายามของบริษทั ฯ ทีจ่ ะช่วย ลดภาวะโลกร้อน พร้อมกันนี้ บริษทั ฯ ยังได้ดำ� เนินการประเมิน ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ (EIA/HIA) ของโครงการ ก่อสร้างของบริษทั ฯ ด้วยความสมัครใจ อันแสดงถึงเจตนารมณ์ ทีม่ งุ่ มัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคม ในด้านคุณภาพก็เป็นทีน่ า่ ยินดีทบี่ ริษทั ฯ ได้รบั การรับรอง มาตรฐานระบบการจั ด การแบบบู ร ณาการ (Integrated Management System) ซึ่งหมายถึงการได้รับการรับรอง มาตรฐานไอเอสโอ 5 ระบบในคราวเดียวกัน และบริษัทฯ ยังผ่านการรับรองการปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบ ของผูป้ ระกอบการโรงงานต่อสังคม (CSR-DIW) จากกระทรวง อุตสาหกรรม พร้อมกันนีย้ งั ได้รบั การจัดอันดับจากผูท้ รงคุณวุฒิ ของโครงการ CSR-DIW ให้เป็นบริษทั ฯ ทีม่ คี วามโดดเด่นทีส่ ดุ ด้านการก�ำกับองค์กร (Organizational Governance) จาก ผูเ้ ข้ารับการรับรองทัง้ หมด 111 บริษทั บริษัทฯ ได้พัฒนาและยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการสู่ ระดับสากล โดยการเข้าร่วมเป็นภาคีของ UN Global Compact หรือ “ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ” เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม 2553 พร้อมแสดงเจตจ�ำนงทีจ่ ะยึดมัน่ ในหลักสากล 10 ประการ ครอบคลุมประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิง่ แวดล้อม การต้านทุจริต และการเคารพในทรัพย์สนิ ทางปัญญา อีกทัง้ ได้ จัดระบบการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้บูรณาการกันระหว่าง การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสีย่ ง บริษทั ฯ ยังสร้างเสริมให้บคุ ลากรมีความเป็นเลิศ ทัง ในด้านวิชาการ ภาวะผูน้ ำ� มีความคิดสร้างสรรค์ เพือ่ การ พัฒนา มีจิตอาสา และให้ความส�ำคัญกับการดูแลชุมชนและ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม นอกจากการผลิตทีค่ รบวงจร และการยกระดับการบริหาร จัดการธุรกิจในทุกมิตสิ มู่ าตรฐานสากลแล้ว บริษทั ฯ ยังได้วาง รากฐานการบริหารความเสีย่ งพร้อมแสวงหาพลังร่วมต่างๆ ไว้

อย่างเข้มแข็ง ควบคูไ่ ปกับการศึกษาช่องทาง และโอกาสในการ ก้าวหน้าทางธุรกิจอย่างไม่หยุดยัง เพือ่ รองรับการขยายงาน และ การเจริญเติบโตทั้งในธุรกิจปัจจุบัน และธุรกิจใหม่ ได้อย่าง ยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต ความส� ำ เร็ จ ในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การ ด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ เป้าหมาย นโยบาย และ กลยุทธ์ ที่ชัดเจนและแม่นย�ำ ประกอบกับความทุ่มเทมุ่งมั่นในการ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับ ของบริษัทฯ บนพื้นฐานของความโปร่งใสตรวจสอบได้ และ ความรั บ ผิดชอบต่อสังคม ในนามคณะกรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผมขอขอบคุณ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า สถาบันการเงิน คูค่ า้ หน่วยงานของรัฐ รวมถึง มีอปุ การคุณทุกท่าน ทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ ด้วยดีตลอดมา ผมมีความมั่นใจว่า ก้าวต่อไปของ บริษทั ฯ จะเป็นก้าวทีย่ งิ่ ใหญ่ มัน่ คง และก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ของบริษทั ฯ อย่าง แน่นอน

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการ

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_008-009-4c new17_Y.indd 9

9 17/3/2011 22:40


รายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ที่ได้รับการพิจารณาสรรหาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ ด้านการตรวจสอบ การบริหารการเงิน บัญชี การบริหาร เศรษฐศาสตร์ รวมทัง้ ธุรกิจอุตสาหกรรมด้านปิโตรเลียมและ ปิโตรเคมี ได้แก่ นายโชคชัย อักษรนันท์ เป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี และนายนครินทร์ วีระเมธีกลุ เป็นกรรมการตรวจสอบ ระหว่างปี 2553 มีการเปลีย่ นแปลงกรรมการตรวจสอบ 2 ครัง้ ครัง้ ที่ 1 คือ ประธานกรรมการตรวจสอบ คือ นายโชคชัย อักษรนันท์ และกรรมการตรวจสอบ คือ นายนครินทร์ วีระเมธีกลุ ได้ครบวาระการเป็นกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 และที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ ได้มมี ติแต่งตัง นายโชคชัย อักษรนันท์ ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษทั ฯ อีกวาระหนึง่ ต่อจากนัน้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 4/2553 เมือ่ วันที่ 21 เมษายน 2553 ได้มี มติแต่งตั้ง นายโชคชัย อักษรนันท์ เป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ และแต่งตัง นางพรรณี สถาวโรดม เป็นกรรมการ ตรวจสอบ แทน นายนครินทร์ วีระเมธีกลุ การเปลี่ยนแปลงครัง้ ที่ 2 คือ กรรมการตรวจสอบของ บริษทั ฯ ทัง้ คณะจ�ำนวน 3 ท่าน ครบวาระการเป็นกรรมการ ตรวจสอบในวันที่ 27 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 11/2553 เมือ่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 และครัง ที่ 12/2553 เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2553 ได้มมี ติ แต่งตัง กรรมการตรวจสอบประกอบด้วย นายโชคชัย อักษรนันท์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี และ นางพรรณี สถาวโรดม เป็นกรรมการตรวจสอบต่ออีกวาระหนึง่ และแต่งตัง้ กรรมการตรวจสอบเพิม่ อีก 1 ท่าน คือ พลต�ำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 28 ธันวาคม 2553 ท�ำให้ปจั จุบนั บริษทั ฯ มีกรรมการตรวจสอบรวม 4 ท่าน คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ในภาพรวม ครอบคลุมตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบ ที่ได้

รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ และสอดคล้องตาม ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบมี ก ารประชุ ม รวม 9 ครั้ ง กรรมการตรวจสอบเข้าประชุมครบองค์ประชุมทุกครั้ง โดย ประชุมร่วมกับฝ่ายจัดการ หน่วยงานตรวจสอบภายในและผูส้ อบ บัญชีในวาระทีเ่ กีย่ วข้อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็น อิสระในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละได้รบั ความร่วมมืออย่างดีจากทุก หน่วยงาน คณะกรรมการตรวจสอบได้ชแี้ จงและรายงานสรุปผล การด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบส�ำหรับ ปี 2553 ให้ คณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบเมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ผลการปฏิ บั ติ ง านและการด� ำ เนิ น การของคณะกรรมการ ตรวจสอบมีสาระส�ำคัญ สรุปได้ดงั นี้ • การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาสอบทานรายงานทางการเงิ น รายไตรมาสและ งบการเงินปี 2553 ร่วมกับฝ่ายจัดการทีเ่ กีย่ วข้องและผูส้ อบบัญชี เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ได้จดั ท�ำขึน้ อย่าง ถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วนและเป็น ประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงิน มีการติดตามความคืบหน้า ในการ เตรียมความพร้อมในการน�ำระบบมาตรฐานบัญชีใหม่ IFRS มาใช้ในปี 2554 และประเมินผลกระทบต่องบการเงินของ บริษทั ฯ จากการน�ำมาตรฐานดังกล่าวมาใช้พบว่า ไม่มผี ลกระทบ อย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้จัด ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีเป็นการเฉพาะ เพือ่ หารือกับผู้สอบ บัญชีในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน • สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ ตาม นโยบายและแนวทางการบริหารความเสีย่ งของคณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง และมีความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ มีการประเมิน ความเสีย่ งครอบคลุมปัจจัยความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ มีระบบ แผนงาน บริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมหรือลด ผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ การบรรลุวตั ถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ ฝ่ายจัดการให้ความส�ำคัญ

10 54-02-058_010-013-4c_Y new15.indd 10

15/3/2011 19:23


กับการบริหารความเสีย่ ง และก�ำหนดนโยบายในการสร้างระบบ การควบคุมภายในทีเ่ ชือ่ มโยงและสอดคล้องตามความเสีย่ งของ องค์กร มีการติดตามความคืบหน้าของการจัดการความเสีย่ ง อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้การด�ำเนินงานบรรลุตามแผนงานทีว่ างไว้ • การสอบทานของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในร่วมกับผู้สอบ บัญชีและหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน และติดตามให้ บริษัทฯ มีการปรับปรุงแก้ไขการด�ำเนินงานตามข้อเสนอแนะ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษทั ฯ มีการควบคุม ภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ไม่พบประเด็นหรือข้อ บกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของ การมีระบบควบคุมภายในทีด่ ี และสามารถสร้างความมัน่ ใจได้ อย่างสมเหตุสมผลว่า การควบคุมภายในสามารถสนับสนุน ให้การด�ำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ บริษัทฯ รวมถึงมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและ จรรยาบรรณธุรกิจ • การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็น อิสระ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล พิจารณาอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบ ภายในประจ�ำปี และการทบทวนแผนงานให้สอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมขององค์กร พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนกลยุทธ์ การ ปรับโครงสร้างฯ รองรับบทบาทการเป็นหน่วยงานฝึกทักษะและ ให้ความรูด้ า้ นการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในแก่ พนักงาน รวมทัง้ ให้ขอ้ เสนอแนะอันเป็นประโยชน์ตอ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบภายใน • การสอบทานการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ติ ด ตามการรายงานผลการตรวจสอบของ หน่วยงานตรวจสอบภายในในการสอบทานว่า บริษทั ฯ ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ผลการตรวจสอบไม่ มี ป ระเด็ น ที่ เกี่ยวข้องกับการรายงานการปฏิบัติที่เข้าข่ายหลีกเลี่ยงหรือ ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย • การสอบทานรายการระหว่างกัน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานรายการระหว่างบุคคลหรือกิจการที่ เกีย่ วข้องกันของบริษทั ฯ ซึง่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ร่วมกับผูส้ อบบัญชีและหน่วยงานตรวจสอบภายใน และมีความ เห็นว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล เป็นรายการจริงทาง การค้ า อั น เป็ น ธุ ร กิ จ ปกติ ทั่ ว ไป มี ก ารเปิ ด เผยรายการที่ เกี่ ย วโยงกันเป็นไปตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่ง

ประเทศไทย และคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ขจัดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ มีเหตุผล และมีการ ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน • การประเมินตนเอง คณะกรรมการตรวจสอบได้ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง โดยเปรียบเทียบกับคูม่ อื แนวทางการปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งผลการประเมินสรุปว่าคณะกรรมการตรวจสอบมีผลการ ปฏิบตั งิ านครบถ้วนตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ และสอดคล้องตาม ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • การพิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่า ตอบแทนผูส้ อบบัญชีประจ�ำปี 2554 เพือ่ ให้ได้ผสู้ อบบัญชีทมี่ ี ความเป็นอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาเสนอแต่งตัง้ นายวินจิ ศิลามงคล ทะเบียนเลขที่ 3378 หรือ นายไวโรจน์ จิ น ดามณี พิ ทั ก ษ์ ทะเบี ย นเลขที่ 3565 หรื อ นายเจริ ญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ทะเบียนเลขที่ 4068 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผูส้ อบบัญชีสำ� หรับปี 2554 ซึง่ เป็น ผูท้ ไี่ ม่มคี วามสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ โดยไม่มกี ารถือหุน้ และไม่มกี าร ให้บริการอืน่ แก่บริษทั ฯ นอกเหนือจากงานสอบบัญชี และได้ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเหมาะสม เป็นไปตามมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพการสอบบัญชี รวมทัง้ มีความเข้าใจธุรกิจของ บริษทั ฯ ค่อนข้างดี ค่าตอบแทนมีความเหมาะสม โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วเห็นว่า บริษทั ฯ ถือนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นส�ำคัญ มีผลให้ ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ มีระบบบริหาร ความเสีย่ งอย่างเพียงพอและเหมาะสม งบการเงินรอบปีบญ ั ชี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไม่มเี หตุการณ์ทแี่ สดงถึงปัญหา หรือรายการทีม่ ผี ลกระทบต่อฐานะการเงิน การจัดท�ำงบการเงิน จัดท�ำขึน้ อย่างถูกต้องตามทีค่ วร มีการเปิดเผยข้อมูลเพียงพอ และเป็นไปตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป รวมทัง้ การปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายโชคชัย อักษรนันท์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_010-013-4c_Y new15.indd 11

11 15/3/2011 19:23


ระบบควบคุมภายใน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญต่อการควบคุมภายใน โดยคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ สอบทาน และประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ เพื่อมุ่งเน้นให้ บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การดู แ ลรั ก ษา ทรัพย์สนิ การป้องกันความเสียหาย ข้อผิดพลาด ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ หรือการทุจริต มีระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน ที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้ รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมายที่ เกีย่ วข้องและระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ฯ โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาและสอบทาน รายงานผลการตรวจสอบระบบควบคุมภายใน โดยมุง่ เน้นการ ตรวจสอบด้านกลยุทธ์ ด้านการเงิน และด้านปฏิบัติการให้ พัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้มีการติดตามและให้มีการด�ำเนินการแก้ไข โดย เฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นปัจจัยความเสี่ยงที่ส�ำคัญที่อาจมี ผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน รายการที่เกี่ยวโยงซึ่งอาจท�ำให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจ ว่าการปฏิบตั งิ านตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ได้ดำ� เนิน การอย่างเพียงพอแล้ว และมีการบริหารความเสี่ยงอย่าง เหมาะสม ซึง่ จะมีผลให้การบริหารจัดการเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ โดยรวมของบริษทั ฯ ผลการตรวจสอบเป็นไปตามทีก่ �ำหนดไว้ ไม่มีกรณีพฤติกรรมอันควรสงสัยว่าผู้บริหารของบริษัทฯ ได้ กระท�ำผิดตาม พรบ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และไม่ พบข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ การด�ำเนินงานสอดคล้องกับ นโยบายบริษทั ฯ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญต่อคุณภาพของระบบควบคุม ภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นต่อระบบการควบคุม ภายในเช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระส�ำคัญ ดังนี้

1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เป็ น องค์ ก รชั้ น น� ำ ในเอเชี ย ด้านการผลิต อะโรเมติกส์และการกลัน่ น ำมันทีม่ ธี รุ กิจต่อเนือ่ งไปสูป่ โิ ตรเคมี ขั้ น กลางถึ ง ขั้ น ปลายและพลั ง งานทดแทน มี ก ารก� ำ หนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมที่ชัดเจน เพื่อเป็นกรอบและทิศทาง ในการด�ำเนินงาน บริษทั ฯ มีโครงสร้างองค์กรทีม่ ลี กั ษณะของ การกระจายอ�ำนาจเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัว เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป มี การก�ำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจ และการ ขยายธุรกิจในระยะยาว 5 ปี และแผนงานประจ�ำปีที่ชัดเจน วัดผลได้ มีการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้พนักงานมีการปฏิบตั งิ านตามหลักธรรมาภิบาลและ จรรยาบรรณ โดยก�ำหนดคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ ค่ า นิ ย มองค์ ก รที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานทุ ก คนยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ประกอบด้วยหัวข้อหลัก ได้แก่ การปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์ การจัดการและปฏิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ดี ด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคลเน้นการพัฒนาทักษะและความ สามารถของพนักงานเพื่อให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความ จ�ำเป็นทางธุรกิจ และรองรับแผนการขยายงานในอนาคต และ ส่งเสริมกิจกรรมให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Management) และร่วมกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการเพิ่มผลผลิต เพื่อเป็นพลังผลักดันไปสู่ความส�ำเร็จในอนาคต

2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินการตามนโยบาย การบริหารความเสี่ยง รวมทั้งส่งเสริมให้พนักงานทุกคน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารความเสีย่ งทีจ่ ะกระทบ ต่อการบรรลุเป้าหมายของบริษัทฯ มีการเพิ่มประสิทธิภาพใน การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ด้ า นตลาดและความเคลื่ อ นไหวของ อุตสาหกรรมและราคาตลาด เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติงาน บริหารความเสี่ยงและการวางแผนธุรกิจระยะยาว และมีการ ติดตามภาพรวมของสภาวการณ์ตลาดวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ์ และ

12 54-02-058_010-013-4c_Y new15.indd 12

15/3/2011 19:23


ด้านการเงินเป็นประจ�ำทุกสัปดาห์ มีการชีบ้ ง่ ปัจจัยความเสีย่ ง ทัง้ จากภายในและภายนอก และประเมินผลกระทบทีอ่ าจมีตอ่ การบรรลุวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินธุรกิจ มีแผนงานและ กระบวนการบริหารความเสี่ยงควบคุมหรือลดผลกระทบที่ ครบถ้วน ชัดเจน และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและ แก้ไขได้อย่างถูกต้องและทันเวลา เพื่อให้ความเสี่ยงของ บริษัทฯ อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

3. การควบคุมการปฏิบัติงาน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เพื่อก�ำกับดูแลการ ด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ให้ ไ ด้ ม าตรฐานและเป็ น ไปตาม แนวทางที่ถูกต้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ มุ่งเน้นการบริหารจัดการระบบงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพและ ความเป็นเอกภาพในการท�ำงาน มีการก�ำหนดนโยบายและ ขัน้ ตอนการด�ำเนินงานทีช่ ดั เจน ให้เกิดความเชือ่ มโยงกับการ ควบคุมภายใน เพือ่ ให้กลไกการปฏิบตั เิ ป็นไปตามกระบวนการ ที่จะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด สนับสนุนให้การปฏิบัติเป็นไป ตามนโยบายของบริษทั ฯ เพือ่ การป้องกัน ค้นหา หรือลดความ เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น มีการสอบทานการปฏิบัติงานโดยผู้บริหาร และติดตามผลการด�ำเนินงานตามดัชนีวัดทั้งระดับองค์กร และระดับปฏิบตั งิ านเปรียบเทียบกับเป้าหมายอย่างสม�่ำเสมอ มีกระบวนการควบคุมการประมวลผลข้อมูลทีท่ นั สมัย โปร่งใส และเชื่อถือได้ สนับสนุนการบริหารงานให้มีความถูกต้องและ ทันเวลา ในปี 2553 บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการ จั ด การจากสถาบั น รั บ รองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ใน คราวเดียวกัน ประกอบด้วย ระบบการจัดการแบบบูรณาการ ตามมาตรฐาน IMS (R-100 Rev.1) ระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน มอก.9001-2552 (ISO9001:2008) ระบบการ จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มตามมาตรฐาน มอก.14001-2008 (ISO14001:2004) และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001-2542 และ BS OHSAS 18001:2007 และได้รบั การประเมินจากผูท้ รงคุณวุฒิ โครงการ CSR-DIW ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมให้เป็น บริ ษั ท โดดเด่ น ด้ า น “การก�ำกับองค์กร (Organizational Governance) โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ด้านภาพรวมของ การด�ำเนินงานการก�ำกับองค์กรที่ครบถ้วน ถูกต้อง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้

4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบสารสนเทศและการ สื่อสารข้อมูล โดยจัดให้มีระบบสารสนเทศและช่องทางการ สื่อสารทั้งภายในและภายนอก มีการน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใช้ในการประมวลผลและการบริหารข้อมูลสารสนเทศ เพื่อ ให้การประเมินการควบคุมภายในและการรายงานด้านบัญชี การเงิน และการปฏิบตั ติ ามนโยบายและระเบียบปฏิบตั ติ า่ งๆ มีประสิทธิภาพ มีการจัดการระบบข้อมูลในการบริหารจัดการ ที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงาน และสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายทราบ เข้าใจ และได้รับข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา และเพียงพอ เพื่อให้การตัดสินใจอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่มี ความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

5. ระบบการติดตามและประเมินผล บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2553 รวม 12 ครัง้ มีการประชุมผูบ้ ริหารอย่างสม�ำ่ เสมอ ทุ ก สั ป ดาห์ เพื่ อ พิ จ ารณาและติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งาน เปรียบเทียบกับดัชนีวัดทั้งระดับองค์กรและระดับปฏิบัติงาน เพือ่ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของบริษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวม 9 ครัง เพือ่ พิจารณาฐานะการเงินและผลการ ตรวจสอบระบบควบคุมภายในเป็นรายไตรมาส พร้อมทั งให้ ข้อเสนอแนะส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อองค์กรแก่ผู้บริหาร มีการ ติ ด ตามการแก้ ไ ขประเด็ น ที่ ส� ำ คั ญ และข้ อ บกพร่ อ งในการ ปฏิบตั ิงานอย่างเคร่งครัดเพือ่ ให้มนั่ ใจว่า มาตรการและระบบ ควบคุมภายใน มีประสิทธิผลและมีการปรับปรุงแก้ไขทันท่วงที สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงเพื่อให้การควบคุม ภายในของบริษัทฯ ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุม ภายในซึ่งประเมินโดยผู้บริหารและฝ่ายตรวจสอบภายใน ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่ง สอดคล้องกับความเห็นของผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ว่าระบบ การควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท ฯ มี ค วามเพี ย งพอและมี ประสิทธิผล

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_010-013-4c_Y new15.indd 13

13 15/3/2011 19:23


รายงาน การก�ำกับดูแลกิจการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในฐานะเครื่องมือการบริหาร จัดการเพื่อส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ ให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ อี ย่างเคร่งครัด รวมทั งส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดและแนวปฏิบัติที่ ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติในระดับสากล ในปี 2553 คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้ปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาทและความรับผิดชอบที่ก�ำหนดไว้ และยังมุ่งเน้นการส่งเสริมให้ บริษทั ฯ พัฒนาและยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ สูร่ ะดับสากล ส่งเสริมการเป็นคนดีของพนักงาน รวมทั งดูแลผู้ถือหุ้นและผู้มสี ่วนได้เสีย ทุกกลุ่มอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สรุปได้ดังนี้ 1. การพั ฒ นาและยกระดั บ ระบบการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของ บริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล ซึ่งสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย และเกณฑ์ ข องส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ รวมทั งเทียบเคียงกับหลักการขององค์การเพื่อความ ร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD Principles of Corporate Governance) โดยคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการได้สนับสนุนให้บริษทั ฯ เข้าร่วมเป็นภาคีของ UN Global Compact หรือ “ข้อตกลงโลกแห่ง สหประชาชาติ” เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2553 UN Global Compact เป็น หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติ ทีส่ ง่ เสริมด้านธรรมาภิบาล แรงงาน และสิ่งแวดล้อม และเชิญชวนให้บรรษัทพลเมืองร่วมท�ำข้อตกลงภายใต้ หลักสากล 10 ประการ ทั งนี้ บริษัทฯ ได้แสดงเจตจ�ำนงที่จะยึดมั่นใน หลักสากล 10 ประการ ที่ครอบคลุมประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน แรงงาน สิ่งแวดล้อม และการต้านทุจริต โดยการบูรณาการหลักสากลดังกล่าวเข้า เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ วัฒนธรรม และการปฏิบัติงานประจ�ำวัน อีกทั ง ได้จัดท�ำรายงานการปฏิบัติและการด�ำเนินงาน (Communication on Progress (COP)) ของบริษัทฯ ที่สอดคล้องกับหลักสากล 10 ประการ ทั งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และเผยแพร่รายงานดังกล่าวผ่านเว็บไซต์

14 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 14

15/3/2011 19:28


ของ UN Global Compact และเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อ สื่อความรายงานการปฏิบัตินี้ไปสู่ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ อย่างกว้างขวางและทั่วถึงยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั งก�ำหนดให้ มี ก ารรณรงค์ แ ละ สื่ อ ความหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การไปยั ง ผู ้ บ ริ ห ารและ พนักงาน ผ่านสื่อประเภทต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ ระบบข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ภายใน โปสเตอร์ การประชุมผู้บริหารและพนักงาน กิจกรรมพนักงาน เป็นต้น เพื่อกระตุ้นการปฏิบัติตามคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บริษัทฯ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่เป็นสากล และเพื่อ ยกระดั บ การสื่ อ ความเรื่ อ งการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง บริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น บริษัทฯ ได้ จัดท�ำ “กระบวนการสือ่ ความเพือ่ ส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ” ไว้ในระบบการจัดการ ตามมาตรฐาน ISO 9001 ซึ่งผ่านการตรวจประเมินจาก สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ในปี 2553 เรียบร้อย แล้ว อันถือเป็นการตรวจสอบและประเมินผลประสิทธิภาพของ การปฏิบตั ทิ ง ั จากบุคลากรภายในและภายนอก เพือ่ สร้างความ มั่นใจแก่ผู้มีส่วนได้เสียว่า บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการ ปฏิบัติอย่างโปร่งใสในทุกกระบวนการ 2. การก�ำกับดูแลให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการก�ำกับ ดูแลกิจการ เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยให้บริษัทฯ จัดท�ำแผน ปฏิบัติการก�ำกับดูแลกิจการประจ�ำปี ที่ครอบคลุมการปฏิบัติ งาน 3 ด้าน คือ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการ ด้านธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม และด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน ซึ่ง ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ และมี การติดตามและประเมินผลโดยตรงจากคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการ ทัง นี้ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการก�ำหนดให้มปี ระชุม กันอย่างน้อยทุก 2 เดือน เพือ่ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานอย่าง ใกล้ชิด รวมทั งให้ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพื่อพัฒนาการ ด�ำเนินงาน โดยในปี 2553 มีการประชุมรวม 6 ครัง และได้ รายงานผลการปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั กิ ารก�ำกับดูแลกิจการต่อ คณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกไตรมาส ซึง่ ถือเป็นการติดตามและ ประเมินผลการด�ำเนินงานจากคณะกรรมการบริษทั ฯ อีกชัน หนึง่ นอกจากนี้ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดงาน PTT Group CG Day เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2553 ตาม นโยบายร่วมกันจัดงานรณรงค์ส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ แี ก่พนักงานกลุม่ ปตท. เป็นประจ�ำทุกปี เริม่ ตัง แต่ปี 2550 โดยบริษทั ในกลุม่ ปตท. 7 บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

แห่งประเทศไทยสลับกันเป็นเจ้าภาพ และมีแนวคิดหลักใน การรณรงค์แตกต่างกันในแต่ละปี ส�ำหรับแนวคิดในปี 2553 คือ CG : The Code to Growth รหัสสูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืน เพื่อเสริมสร้างจิตส�ำนึกบุคลากรของกลุ่ม ปตท. ในการใช้ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ทั งในการปฏิบัติงานและชีวิต ประจ�ำวัน ในโอกาสนี้ บริษัทฯ ได้เชิญสื่อมวลชนและบุคคล ภายนอกร่วมงานด้วย เพื่อเผยแพร่แนวทางการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ และกลุ่ม ปตท. สู่สาธารณชน และได้ อ�ำนวยความสะดวกแก่สอื่ มวลชนทีเ่ ป็นผูพ้ กิ ารให้เข้าร่วมงาน และสัมภาษณ์ผบู้ ริหารอย่างเท่าเทียม อันแสดงถึงความเคารพ ต่อสิทธิมนุษยชนตามหลักสากลของบริษัทฯ

นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี “คณะกรรมการบริษัทฯ มีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้ บริษัทฯ เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ทั งในเรื่องการด�ำเนิน ธุรกิจ การก�ำกับดูแลกิจการ และการบริหารจัดการทีด่ เี ลิศ โดย มุง่ เน้นการสร้างประโยชน์สงู สุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ และค�ำนึงถึงผูม้ ี ส่วนได้เสีย รวมทั งด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและ เป็นธรรมต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีความโปร่งใส และ ตรวจสอบได้ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และความมัน่ ใจต่อผูถ้ อื หุน้ และผู้มีส่วนได้เสีย” หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ครอบคลุม หลักพื้นฐาน 6 ประการ ได้แก่ 1. การรับผิดชอบต่อการกระท�ำของตนเอง สามารถ อธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability) 2. การรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยขี ดความ สามารถและประสิทธิภาพทีเ่ พียงพอ (Responsibility) 3. การปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียรวมถึงการดูแลสิง่ แวดล้อม และการใช้ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม (Equitable Treatment) 4. มีความโปร่งใสในการด�ำเนินงานทีส่ ามารถตรวจสอบได้ (Transparency) 5. มีวสิ ยั ทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิม่ แก่กจิ การในระยะยาว (Creation of Long-term Value) 6. มีจริยธรรม จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ (Ethics) ในปี 2553 บริษัทฯ ยังคงรณรงค์และสื่อความหลักการ และแนวปฏิบัติของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้บริหารและพนักงานน�ำไปใช้ในการ ปฏิบัติงานและการด�ำรงชีวิต มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วน รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 15

15 15/3/2011 19:28


ได้เสียทุกกลุ่ม เคารพสิทธิมนุษยชน ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ มี จิตส�ำนึกในการดูแลสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน รวมทั งใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีการปฏิบัติที่ตรงตามมาตรฐาน สากล อันจะช่วยส่งเสริมให้บริษัทฯ มุง่ สู่การเป็นองค์กรชัน น�ำ ตามวิสัยทัศน์ที่ตั งไว้ โดยบริษัทฯ ได้ดำ� เนินการทบทวนและ แก้ไขปรับปรุง “คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี” ของบริษัทฯ ให้เป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับมาตรฐานการบริหารจัดการ ของบริษทั ฯ ซึง่ ยกระดับให้เข้มข้นขึน้ ทัดเทียมมาตรฐานสากล อย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ มีการปรับปรุงคู่มือฯ แล้ว 2 ครั ง ในเดือนมีนาคม 2553 และมกราคม 2554 ทั งนี้ บริษัทฯ ได้ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส� ำ หรั บ บริ ษั ท จดทะเบียนปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ครบถ้วนทุกประการ สรุปได้ดังนี้

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษทั ฯ ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับสิทธิของผูถ้ อื หุน้ จึงก�ำหนดแนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นใจว่าผู้ถือหุ้น ได้รับความสะดวกในการใช้สิทธิขั นพื้นฐานอย่างเต็มที่ ดังนี้ 1) การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 เมื่อ วันที่ 5 เมษายน 2553 บริษัทฯ ด�ำเนินการจัดประชุม โดยยึด หลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ควบคู่กับหลักปฏิบัติเพื่อการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ โดยค�ำนึง ถึงการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้นอย่างรอบด้าน บริษัทฯ ได้รับผล ประเมินการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ปี 2553 จาก ก.ล.ต. และ สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย 100 คะแนนเต็ม จัดอยู่ในระดับ ดีเยี่ยมเช่นเดียวกับปี 2552 ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2553 บริษทั ฯ ได้ประกาศให้ผถู้ อื หุน้ ทราบวัน Record Date ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน ซึง่ วัน Record Date ตรงกับวันที่ 5 มีนาคม 2553 และแจ้งวันปิด สมุดทะเบียน 1 วันในวันท�ำการถัดจากวัน Record Date เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทราบถึงสิทธิการเข้าร่วมประชุมและสิทธิรบั เงินปันผล บริษัทฯ เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบทั ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในเว็บไซต์ www.pttar.com ใน วันที่ 5 มีนาคม 2553 ล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุม และแจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านการรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูล ล่วงหน้าอย่างเพียงพอส�ำหรับการพิจารณาลงมติในแต่ละวาระ การประชุมก่อนได้รบั ข้อมูลในรูปเอกสาร ซึง่ ได้นำ� ส่งถึงผูถ้ อื หุน้ ตัง แต่วนั ที่ 15 มีนาคม 2553 ล่วงหน้า 21 วัน ก่อนวันประชุม

ทั งนี้ หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบต่างๆ ที่ เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นข้อมูลเดียวกับที่บริษัทฯ จัดส่งให้แก่ผถู้ อื หุน้ เพือ่ ใช้ในการร่วมประชุม โดยมีรายละเอียด ระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ อย่างเพียงพอ ครบถ้วน พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ บริษทั ฯ หนังสือมอบฉันทะ และรายชือ่ ของคณะกรรมการอิสระ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเลือกทีจ่ ะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทน ได้ โดยมีข้อมูลการมีส่วนได้เสียในเรื่องใดๆ ของกรรมการ อิสระแต่ละคนด้วย นอกจากนี้ หนังสือเชิญประชุมได้แจ้ง รายละเอียดของเอกสารทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้องน�ำมาแสดงในวันประชุม วิธีการในการเข้าร่วมประชุมเพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุม ข้อบังคับบริษัทเกี่ยวกับการเข้าประชุมผู้ถือหุ้น การออกเสียง ลงคะแนน และแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ในวันประชุม บริษทั ฯ จัดให้มกี ารอ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะที่เข้าร่วมประชุมทุกรายอย่าง เท่าเทียมกัน โดยจัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร และแยกจุด ลงทะเบียนด้วยระบบรหัสแถบ (Barcode) ตามประเภทของ ผูม้ าประชุม คือ ผูถ้ อื หุน้ บุคคลธรรมดา และผูถ้ อื หุน้ นิตบิ คุ คล พร้อมจัดท�ำใบลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระการประชุม และ เปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้า 2 ชั่วโมง ท�ำให้ การลงทะเบียนสะดวก รวดเร็ว ข้อมูลถูกต้อง แม่นย�ำ และ ภายหลังเปิดประชุมไปแล้ว ผู้ถือหุ้นยังสามารถลงทะเบียน เข้าร่วมประชุม เพื่อใช้สิทธิออกเสียงในวาระที่ยังไม่ลงมติได้ กรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะได้ เข้าร่วมประชุม รวมทั งผู้บริหารระดับสูง ผู้สอบบัญชี และ ที่ปรึกษากฎหมาย เพื่อตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น ประธาน กรรมการบริษัทฯ ซึ่งท�ำหน้าที่ประธานในที่ประชุม ได้แจ้งให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบและขอความเห็ น ชอบวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ใ นการ ออกเสียงลงคะแนน คือ 1 หุน้ เท่ากับ 1 เสียง ซึง่ การลงคะแนน และนับคะแนนเสียงเป็นไปอย่างเปิดเผย โดยใช้ระบบรหัสแถบ เพื่อความสะดวกรวดเร็วและแม่นย�ำ การลงคะแนนเสียงเป็น ไปตามที่ระบุในข้อบังคับของบริษัทและกฎหมาย ซึ่งจะแสดง ผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนในห้อง ประชุม และได้จดั ให้มอี าสาสมัครจากผูถ้ อื หุน้ มาเป็นพยานใน การนับคะแนนด้วย ประธานได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถาม และ แสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง เพื่อให้สามารถตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้องในเรื่องส�ำคัญของบริษัทฯ โดยกรรมการที่ เกีย่ วข้องได้ตอบทุกค�ำถามอย่างชัดเจนและเพียงพอ ทีป่ รึกษา กฎหมายของบริษัทฯ ได้ร่วมชี้แจงรายละเอียดในประเด็น ข้อกฎหมายให้ผู้ถือหุ ้นทราบ โดยที่ปรึกษากฎหมายและ อาสาสมัครผู้ถือหุ้นท�ำหน้าที่เป็นคนกลางตรวจสอบความ ถูกต้องในการลงคะแนนเสียงเพื่อความโปร่งใสตลอดการ

16 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 16

15/3/2011 19:28


ประชุม ซึ่งบริษัทฯ ได้เก็บใบลงคะแนนเสียงในวาระส�ำคัญ ทัง หมดตามแนวปฏิบตั ขิ องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเคารพสิทธิผู้ถือหุ้น โดยไม่มีการเพิ่มวาระการประชุม เปลี่ยนแปลงล�ำดับวาระการประชุม หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล ส�ำคัญในการประชุม ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุม อย่างเพียงพอ และด�ำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและ โปร่งใสตามล�ำดับระเบียบวาระทีแ่ จ้งในหนังสือเชิญประชุม ซึง่ บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิในการประชุมและ แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ บริษทั ฯ ได้จดั ส่งรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำ ปี 2553 ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 14 วันหลังการ ประชุม ในวันที่ 19 เมษายน 2553 และเผยแพร่รายงานการ ประชุมไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบ อย่างรวดเร็วและทัว่ ถึง และผูท้ สี่ นใจอืน่ ๆ ได้มโี อกาสรับทราบ และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ นอกจากนั น บริษัทฯ ยังจัด ส่งรายงานการประชุมถึงผู้ถือหุ้นที่ให้ข้อเสนอแนะในห้อง ประชุมได้ตรวจสอบ/แก้ไขบันทึกรายงานการประชุมให้ตรงและ ครบถ้วนตามที่ผู้ถือหุ้นเสนอไว้ อีกทั งยังได้สรุปข้อเสนอแนะ ของผู้ถือหุ้นจากแบบสอบถามในวันประชุมไว้ในจดหมายข่าว เพื่อให้ผทู้ ไี่ ม่ได้ไปร่วมประชุมได้รบั ทราบด้วย ทัง นี้ ในปี 2553 บริษทั ฯ ได้จา่ ยเงินปันผลให้ผถู้ อื หุน้ เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2553 2) บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเพิ่มวาระการ ประชุมและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง เป็น กรรมการบริษทั ฯ เป็นการล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดเป็น เวลา 60 วัน ระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 22 มกราคม 2553 รวมทัง ให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้าเกีย่ วกับ วาระการประชุมก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ โดยเผยแพร่ขา่ วผ่าน ช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ ของบริษทั ฯ ซึง่ บริษทั ฯ ได้รวบรวมค�ำถามจากผูถ้ อื หุน้ ทีส่ ง่ มา ล่วงหน้าไปตอบชี้แจงในวันประชุมผู้ถือหุ้น อีกทั งได้จัดให้ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยทีส่ นใจสอบถามข้อมูลเชิงลึกเกีย่ วกับธุรกิจของ บริษัทฯ พบปะและประชุมกับคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ และผู้บริหารระดับสูงก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นฯ ด้วย อนึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง ที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2554 ได้อนุมัติให้ปรับสัดส่วนการถือ หุ้นของผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเสนอเพิ่มวาระการประชุม และ/หรือ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ ของบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าได้ ซึ่งเดิมบริษัทฯ ก�ำหนดไว้ไม่ ต�่ำกว่าร้อยละ 5 เป็นไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 4 3) บริษัทฯ ดูแลผู้ถือหุ้นมากกว่าสิทธิตามกฎหมาย ได้แก่ การให้ขอ้ มูลส�ำคัญทีเ่ ป็นปัจจุบนั และการจัดท�ำรายงาน

และการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการน�ำเสนอทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ ผู้ถือหุ้นและผู้ถือหุ้นกู้ของบริษัทฯ ทุกรายสามารถ รับทราบข้อมูลข่าวสารและพัฒนาการของบริษัทฯ ผ่านทาง จดหมายข่าว (Shareholders' Newsletter) ที่จัดส่งให้ทาง ไปรษณีย์เป็นประจ�ำทุกไตรมาส และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น รายย่อยติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัท หรือ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ 4) บริษัทฯ จัดโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการของ บริษทั ฯ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจและให้ความรูแ้ ก่ผถู้ อื หุน้ เกีย่ วกับ ธุรกิจการกลั่นและอะโรเมติกส์ และการบริหารจัดการด้าน สิ่งแวดล้อม รวมทั งการดูแลชุมชนรอบโรงงานในวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2553 จ�ำนวน 500 คน ผลการประเมินความ พึงพอใจของผู้ถือหุ้นต่อการจัดโครงการเยี่ยมชมกิจการในปี 2553 เท่ากับร้อยละ 93.57 ขณะที่ปี 2552 เท่ากับร้อยละ 92

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญและดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยด�ำเนินการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1) บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิเสนอเพิม่ วาระ ประชุม และเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อเป็น กรรมการบริษทั ฯ เป็นการล่วงหน้าตามเกณฑ์ทคี่ ณะกรรมการ ก�ำหนด และเผยแพร่หลักเกณฑ์ไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ รวมทัง แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบผ่านการรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพือ่ แสดงให้เห็นถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกราย อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม โดยเรื่องหรือบุคคลที่ได้รับการ เสนอจะได้รับการพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ ก�ำหนด ไว้ ซึ่งจะเป็นการกลั่นกรองระเบียบวาระที่จะเป็นประโยชน์ อย่างแท้จริง และเป็นการคัดสรรบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ผ่านทางคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ก่อน เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณาอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ทั ง นี้ ประธานกรรมการได้แจ้งผลการพิจารณาพร้อมเหตุผลให้ผถู้ อื หุ้นทราบในที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วย 2) บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถามล่วงหน้าก่อน วันประชุมผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ ไปรษณีย์ โทรสาร หรือ เว็บไซต์ของบริษัทฯ 3) บริษทั ฯ ส่งใบมอบฉันทะ พร้อมแจ้งรายชือ่ กรรมการ อิสระของบริษัทฯ ที่ไม่ได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในวาระประชุมไว้ ในเอกสารเชิญประชุม ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้เข้า ประชุมและออกเสียงแทนหรือมอบให้ผู้อื่นมาประชุมแทนได้ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 17

17 15/3/2011 19:28


โดยในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2553 มีผู้มอบฉันทะให้ ผู้อื่นประชุมแทนจ�ำนวน 772 ราย จากจ�ำนวนผู้เข้าประชุม ทั งสิ้น 2,325 ราย 4) บริษทั ฯ มีการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามถูกต้องครบถ้วน โปร่งใสอย่างทั่วถึง ทั งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี รายงานข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทั่วไป ตลอดจนข้อมูล ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยได้ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางและสื่อการเผยแพร่ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เว็บไซต์ของบริษัทฯ และ การเสนอข่าวโดยผู้บริหารผ่านสื่อมวลชน บริษัทฯ จัดให้ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสารกับ นักลงทุนที่หมายเลขโทรศัพท์ 02-140-4000 ต่อ 4104 และ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : ir@pttar.com เพือ่ ให้ขอ้ มูลข่าวสาร รวมทั งตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ กับ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และนักวิเคราะห์ รวมทั งจัดตั งฝ่ายงาน ก�ำกับและสื่อสารองค์กร เพื่อให้ข่าวสารแก่สื่อมวลชนและ ประชาชนทั่วไป 5) บริษทั ฯ ก�ำหนดโครงสร้างองค์กร และก�ำหนดขอบเขต แห่งอ�ำนาจหน้าที่ในการด�ำเนินงานของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ งานไว้อย่างชัดเจน รวมทัง ก�ำหนดนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ วิธปี ฏิบตั ิ และคูม่ อื การปฏิบตั งิ านไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร เพือ่ ให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกัน โดยมีฝา่ ยตรวจสอบ ภายใน ซึ่งมีความเป็นอิสระและมีบทบาทหน้าที่ตามกฎบัตร ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการตรวจสอบเมื่ อ วั น ที่ 26 ตุลาคม 2552 ท�ำหน้าทีต่ รวจสอบการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่า การปฏิบตั งิ านได้ดำ� เนินการตามแนวทางทีก่ ำ� หนด เป็นไป ตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง และสามารถบรรลุ เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยฝ่ายตรวจสอบภายในต้อง รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบ เป็นประจ�ำอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง

6) บริษัทฯ ถือเป็นนโยบายส�ำคัญในการด�ำเนินการให้ เกิดความเสมอภาคและยุตธิ รรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย จึงก�ำหนด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายในไว้ในคู่มือการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี ทัง นีก้ รรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน รวมถึงผูท้ เี่ กีย่ วข้อง และผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ ทีไ่ ด้รบั ทราบข้อมูล หรื อ ข่ า วสารอั น มี ส าระส� ำ คั ญ ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงราคา หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ทีย่ งั ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ต้อง ไม่นำ� ข้อมูลดังกล่าวไปใช้เพือ่ แสวงหาก�ำไรหรือผลประโยชน์จาก การซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม 7) บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารด�ำเนินการต่างๆ เพือ่ ป้องกัน และตรวจสอบการท�ำรายการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์และการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ ทั งโดยการ ก�ำหนดนโยบาย แนวทางปฏิบัติ ตลอดจนการก�ำกับดูแลการ ปฏิบัติงาน ได้แก่ • การก�ำหนดระยะเวลาห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำงบการเงิน 30 วันก่อนการ ประกาศงบการเงินรายไตรมาส และ 45 วันก่อนการ ประกาศงบการเงินประจ�ำปี เพื่อความทัดเทียมกัน ในการเข้าถึงข้อมูล ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือจากกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด • คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติให้ สอดคล้องกับคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดย ก�ำหนดให้บคุ ลากรทุกระดับของบริษทั ฯ รายงานเรือ่ ง ที่สงสัยว่าอาจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ บริษัทฯ และเก็บรวบรวมไว้เป็นหลักฐานเพื่อเป็น เครื่องป้องกันไม่ให้เกิดเหตุที่อาจเป็นผลประโยชน์ ทับซ้อนหรือขัดแย้งโดยไม่ได้เจตนา โดยบริษทั ฯ เก็บ รวบรวมและรายงานสรุปเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ

18 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 18

15/3/2011 19:28


รวมทัง ประสานติดตามการเปลีย่ นแปลงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบนั อยูเ่ สมอ นอกจากนี้ ในการประชุมกรรมการ บริษทั ฯ หากมีวาระทีก่ รรมการอาจมีสว่ นได้เสีย หรือ มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ กรรมการทีเ่ ป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียจะต้องแจ้งต่อทีป่ ระชุม และไม่มีสิทธิออกเสียงในเรื่องนั น หรือไม่เข้าร่วม ประชุมในวาระดังกล่าว • การเปิดเผยการถือหลักทรัพย์ของกรรมการ ผูบ้ ริหาร ระดับสูง และผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่าในกลุ่มงาน การเงินและบัญชี ในรายงานประจ�ำปีอย่างครบถ้วน ตามทีส่ �ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กำ� หนด

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน โดย คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำกับดูแลให้มีระบบการบริหาร จัดการทีเ่ ชือ่ มัน่ ได้วา่ สามารถรับรูส้ ทิ ธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ทั งที่ได้ก�ำหนดไว้ในกฎหมาย และที่ได้กำ� หนดแนวทางไว้เป็น ลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจนในคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั ฯ รวมทัง รับผิดชอบดูแล ให้มั่นใจได้ว่า สิทธิดังกล่าวได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วย ความเสมอภาคอย่างเคร่งครัด ทั งผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ เจ้าหนี้ คูแ่ ข่ง ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม และผูม้ สี ว่ น ได้เสียอื่นๆ อีกทั งการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตั งอยู่บน พื้นฐานของการเคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียเสมอมา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังส่งเสริมเรื่องการมีส่วนร่วมของ พนักงานทุกคนในการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ การดูแล อ�ำนวยความสะดวก และให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และผู ้ ส นใจ ทั ง ทางโทรศั พ ท์ เอกสาร ประชาสัมพันธ์ หรือเมื่อพบปะในงานประชุม นิทรรศการ หรือ กิจกรรมต่างๆ สร้างระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี ององค์กร และสร้างความเชื่อมั่นว่า การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีสามารถ ส่งผลให้บริษทั ฯ มีความเจริญเติบโตและยิง่ ใหญ่ได้อย่างยัง่ ยืน ส่งผลให้พนักงานมีความเข้าใจในหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีมากขึ้น ท�ำให้ด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทาง กลับกันผูม้ สี ว่ นได้เสียก็มบี ทบาทในการสร้างความเจริญเติบโต อย่างยัง่ ยืนแก่บริษทั ฯ เช่นกัน ด้วยการให้ขอ้ เสนอแนะอันเป็น ประโยชน์ เช่น ข้อเสนอของผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ฯ หรือข้อสรุปจากการ ประชุมสัมมนาร่วมกับลูกค้าและคู่ค้า เป็นต้น

ในปี 2553 บริษัทฯ มีการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่ม หลักๆ ดังนี้ • ผู้ถือหุ้น: นอกจากสิทธิขั นพื้นฐาน สิทธิที่ก�ำหนดไว้ ในกฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีของบริษัทฯ เช่น สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออก เสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดงความเห็นอย่างอิสระใน ที่ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการขอตรวจสอบจ�ำนวนหุ้น รวมถึง สิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมแล้ว บริษัทฯ ยังให้ สิทธิผู้ถือหุ้นในการสอบถามและเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ กับประธานคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการได้โดยตรง โดยบริษัทฯ ได้แจ้งช่องทางการ ติดต่อกับประธานฯ ไว้ใน Shareholders' Newsletter ทุกฉบับ ซึ่งข้อคิดเห็นจะถูกรวบรวมเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไปด้วย ทั งนี้ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้เพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นการเฉพาะในจดหมายข่าว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เป็นธรรมและเท่าเทียม พร้อมมุ่งมั่นที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของ ผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใส โดยค�ำนึงถึงการเติบโต ของมูลค่าบริษัทฯ ในระยะยาว อาทิเช่น ฝ่ายจัดการได้ใส่ใจ ดูแลการบริหารจัดการของบริษัทฯ โดยสามารถเจรจาต่อรอง ลดราคาค่าเช่าถังคอนเดนเสทลง ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จา่ ยใน อนาคตได้ประมาณปีละ 150 ล้านบาท ถือเป็นความส�ำเร็จที่ ส่งผลถึงการดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นด้วย บริษัทฯ ได้จัดโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมโรงกลั่นและ โรงงานอะโรเมติกส์ที่จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 29 และ 30 พฤศจิกายน 2553 รวมจ�ำนวน 500 คน โดยส่งเอกสารเชิญ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายซึง่ มีรายชือ่ ณ วันปิดสมุดทะเบียนครัง ล่าสุด คือ วันที่ 8 มีนาคม 2553 และยังไม่เคยเข้าร่วมโครงการเยีย่ มชม กิจการของบริษทั ฯ มาก่อน อีกทัง แจ้งข่าวผ่านตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย พร้อมเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดย เปิดให้ผู้ถือหุ้นที่สนใจ สมัครเข้าร่วมโครงการทางไปรษณีย์ ตอบรับ บริษัทฯ ได้จับฉลากรายชื่อผู้สมัครอย่างโปร่งใส และ ประกาศรายชื่อผู้ได้รับสิทธิทางเว็บไซต์ พร้อมแจ้งยืนยันทาง โทรศัพท์ ทัง นี้ บริษทั ฯ ได้ให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ บุคคลธรรมดาทีม่ อี ายุ เกิน 65 ปี สามารถมอบหมายให้ผอู้ นื่ ไปแทนได้ ตามข้อเสนอแนะ ของผู้ถือหุ้น ในปี 2553 มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 3,789 ราย และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ถือหุ้น ทัง หมดทีร่ ว่ มโครงการ ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายย่อยทีถ่ อื หุน้ ตัง แต่ 1-100 หุน้ จนถึง 1 ล้านหุน้ สรุปผลความพึงพอใจอยูใ่ นเกณฑ์ ร้อยละ 93.57 โดยผู้ถือหุ้นได้ให้ข้อแนะน�ำที่เป็นประโยชน์ มากมาย เพื่อปรับปรุงโครงการให้ดียิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 19

19 15/3/2011 19:28


• พนักงาน: บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับพนักงาน ซึง่ เป็น ทรัพยากรที่มีค่าขององค์กร และได้สร้างความภาคภูมิใจและ เชือ่ มัน่ ในองค์กรให้พนักงานทุกคน บริษทั ฯ ได้จดั โครงการต่างๆ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการท�ำงานให้เกิดการสร้างสรรค์ สิง่ ใหม่ๆ ร่วมกัน เสริมศักยภาพของพนักงานให้พร้อมส�ำหรับ การปฏิบัติงาน และรับมือกับสภาพเศรษฐกิจที่ผันผวน อีกทั้ง บริษทั ฯ ถือเป็นนโยบายส�ำคัญในการพัฒนาความสามารถของ พนักงานให้สามารถท�ำงานในระดับมืออาชีพ บรรจุบุคคลให้ เหมาะกับงาน ปฏิบัติกับพนักงานอย่างเป็นธรรม จัดให้มี สวัสดิการ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ดีและปลอดภัย และให้ผลตอบแทนที่เทียบเคียงได้ในธุรกิจเดียวกัน รวมทั ง จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้พนักงานมีจิตส�ำนึกเรื่องการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี โดยให้มกี ารประเมินผลความเข้าใจและความ พึงพอใจเป็นระยะๆ เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังให้ความส�ำคัญกับการสือ่ ความข้อมูลต่างๆ เกีย่ วกับ การด�ำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างทัว่ ถึง และเปิดโอกาสให้พนักงาน มีชอ่ งทางในการเสนอข้อคิดเห็นต่อผูบ้ ริหารโดยตรง เช่น 1. Direct to Management (D2M) ในระบบ Intranet ภายในองค์กร เป็นการสื่อสารแบบสองทาง ระหว่าง พนักงานและผู้บริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้พนักงาน ซักถามข้อสงสัยในทุกเรือ่ ง และสร้างความเข้าใจทีด่ ี ต่อกันระหว่างผู้บริหารและพนักงาน 2. Safety Walk ผูบ้ ริหารเดินพบปะพนักงานในทุกพืน้ ที่ ของบริษทั ฯ เป็นประจ�ำทุกสัปดาห์ หมุนเวียนกันใน แต่ละพืน้ ที่ เพือ่ เปิดรับฟังความเห็น ปัญหา และตอบ ข้อซักถามของพนักงานอย่างใกล้ชดิ 3. “พี่พบน้อง” ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ชี้แจงผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

เป็นรายไตรมาส (Quarterly Presentation) และเปิด โอกาสให้ พ นั ก งานได้ ส อบถามและเสนอแนะใน ประเด็นต่างๆ 4. ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สื่อความกับพนักงานทุกคนเป็นรายเดือน 5. คณะกรรมการสวัสดิการ จัดตั งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน พนั ก งานร่ ว มหารื อ กั บ นายจ้ า งในการตรวจตรา ควบคุมดูแล และเสนอแนะการจัดสวัสดิการทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมแก่พนักงาน ทัง นี้ ผูบ้ ริหารมีนโยบายให้บริษทั ฯ เป็นองค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) ส่งเสริมให้พนักงานเป็นผูน้ ำ� ทีด่ ี ทัง ใน และนอกทีท่ ำ� งาน รักการเรียนรู้ และพัฒนาตลอดเวลา • ลูกค้า: บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะให้ลูกค้าได้รับ ประโยชน์สงู สุดจากผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ทัง ด้านคุณภาพและ ราคา ตลอดจนมุ่งพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพที่ยั่งยืน โดย จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบในการให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ ให้ค�ำปรึกษาวิธีการแก้ปัญหา และรับข้อร้องเรียน เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ความพึงพอใจอย่างสูงสุดในผลิตภัณฑ์และ บริการ รักษาค�ำมั่นสัญญาที่มีต่อลูกค้า จัดส่งผลิตภัณฑ์และ บริการที่มีคุณภาพ ตรงเวลา และด้วยราคาที่ยุติธรรม มีการ จัดพบปะ/เยี่ยมชมกิจการของลูกค้าร่วมกันของหน่วยงาน เทคนิค วางแผนจัดหา และพาณิชยกิจ ทุกไตรมาส เพือ่ รับฟัง ความคิ ด เห็ น และตอบข้ อ ซั ก ถามเกี่ ย วกั บ การผลิ ต และ ผลิตภัณฑ์ เพื่อประโยชน์สูงสุดร่วมกันของทุกฝ่าย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไม่มีพฤติกรรมประสานประโยชน์กับคู่แข่งซึ่งท�ำให้ ลูกค้าไม่ได้รับความยุติธรรม โดยด� ำเนินการตามสัญญา จรรยาบรรณทางธุรกิจ และหลักกฎหมายอย่างเคร่งครัด

20 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 20

15/3/2011 19:28


บริษัทฯ ยังจัดให้มีการประเมินผลความพึงพอใจของลูกค้า ทุกผลิตภัณฑ์ ปีละ 2 ครั ง ซึ่งในปี 2553 ผลการประเมินได้ ตามเป้าหมายร้อยละ 100 เช่นเดียวกับในปี 2552 บริษทั ฯ มีสมั พันธภาพทีด่ กี บั ลูกค้าทุกราย รวมทัง ส่งเสริม ให้ลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจมีความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น กรณีตัวอย่างที่บริษัทฯ น�ำเสนอในการประกวดรางวัล CSR Awards ประจ�ำปี 2553 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้รบั การชืน่ ชมจากคณะกรรมการฯ เรือ่ งกระบวนการผลิต ของลูกค้าทีเ่ กิดขัดข้องส่งผลกระทบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และบริษทั ฯ ก็ไม่นงิ่ นอนใจ ได้เข้าไปช่วยแก้ปญ ั หาทางเทคนิค จนลุล่วงด้วยดี เป็นต้น • คูค่ า้ : บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกรอบการแข่งขันทางการค้า เสรีทสี่ จุ ริต โดยยึดถือการปฏิบตั ติ ามสัญญา และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจต่อคูค่ า้ อย่างเคร่งครัด เสมอภาค และเป็นธรรม โดย เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและตามสัญญา บนพื้นฐานที่ คูค่ า้ ต่างๆ จะยึดหลักแนวทางด�ำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับบริษทั ฯ นอกจากนั นบริษัทฯ ยังมีการระบุเป็นหลักการ (Template) ไว้ในสัญญาว่าจ้างประเภทซื้อสินค้า การเช่า การซื้อบริการ เรื่องการขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of interest and audit) ซึง่ ให้ความส�ำคัญกับการตรวจสอบความโปร่งใสในการ จั ด หาผู ้ รั บ เหมา และการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Good Governance) ซึง่ ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการทีด่ โี ดย ไม่ให้ผู้บริหารหรือพนักงานเข้าไปมีอิทธิพลหรือสามารถชี้น�ำ ชักจูงใจ หรือให้-รับประโยชน์ตอบแทนที่ไม่ชอบด้วยหลัก ธรรมาภิบาล นอกจากนั น ยังก�ำหนดให้คู่ค้ายึดถือกฎความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม อย่างเคร่งครัด บริษทั ฯ ได้ออกข้อก�ำหนดใหม่ว่าด้วยการจัดหาพัสดุ พ.ศ. 2554 เมื่อ วันที่ 18 มกราคม 2554 โดยมีหลักเกณฑ์ในการจัดหาทีค่ ำ� นึง ถึงจรรยาบรรณด้านความยุติธรรม ความโปร่งใส ส�ำนึก รับผิดชอบ จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมของคู่ค้าไว้ด้วย และในปี 2553 บริษัทฯ ยังร่วม ท�ำการกุศลกับคู่ค้าในวาระส�ำคัญต่างๆ • เจ้าหนี:้ บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามพันธะสัญญาทีม่ ตี อ่ เจ้าหนี้ การค้าและสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด ท�ำหน้าที่อันพึงมี ต่อเจ้าหนี้ทุกรายตามเงื่อนไขข้อก�ำหนดของสัญญา ตลอดจน ไม่ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริง อันจะท�ำให้เจ้าหนี้เกิดความ เสียหาย และหากมีเหตุอันจะท�ำให้ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อ ผู ก พั น ในสั ญ ญา บริ ษั ท ฯ จะแจ้ ง เจ้ า หนี้ ล ่ ว งหน้ า เพื่ อ หา แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน นอกจากนัน บริษทั ฯ ยัง มีความสัมพันธ์ทดี่ ี และให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเพือ่ สังคม ของเจ้าหนี้ตามโอกาสที่เหมาะสมด้วย

• คูแ่ ข่ง: บริษทั ฯ ยึดหลักการด�ำเนินธุรกิจอย่างเสรีและ ส่งเสริมการค้าเสรี ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี อย่างยุติธรรม มีจรรยาบรรณ และอยู่ในกรอบกฎหมาย และ จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัทฯ ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็น ความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต โดย ก�ำหนดให้บุคลากรละเว้นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอันอาจก่อ ให้เกิดความเสียหายต่อคู่แข่งทางการค้า โดยในระยะเวลาที่ ผ่านมา บริษัทฯ ไม่เคยมีข้อพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ คู่แข่งทางการค้า • ชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม: บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม และมุ่งสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวติ และเสริมสร้างประโยชน์สขุ ของชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อมที่บริษัทฯ เข้าไปด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอด มา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของ เยาวชน ชุมชน ในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา กีฬา และการสร้างรายได้ด้วยอาชีพเสริม เป็นต้น ทั งนี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นหนึ่งในค่านิยมขององค์กร “SPEED” (S = Social Responsibility) และให้ พ นั ก งานร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบและ ไม่สร้างผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนให้ พนักงานเคารพสิทธิมนุษยชน ค�ำนึงถึงหลักการใช้แรงงาน อย่างเป็นธรรม และเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนรอบโรงงานและ ภายในจังหวัดระยอง โดยพิจารณาการเข้าร่วมกิจกรรมของ พนักงาน เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงาน อีกทั งสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนสร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ เพือ่ สังคม เช่น ในช่วงทีเ่ กิดภัยธรรมชาติ บริษทั ฯ ก็สนับสนุนให้ พนักงานจิตอาสาไปช่วยเหลือและบริจาคสิง่ ของแก่ผปู้ ระสบภัย น ำท่วมในหลายจังหวัดที่ได้รับความเดือดร้อน โดยบริษัทฯ มีกลุ่มพนักงานจิตอาสาหลายกลุ่มที่มีอุดมการณ์เพื่อสังคม โดยท�ำกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ งสม�ำ่ เสมอในรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน บริษัทฯ เล็งเห็นประโยชน์ของการสร้างเครือข่ายของ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ บูรณาการความรูแ้ ละประสบการณ์ของกลุม่ ต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น “โครงการผูถ้ อื หุน้ เยี่ยมชมกิจการของ บริษัทฯ” ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมโครงการ ท�ำกิจกรรมด้าน ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมร่ ว มกั บ นั ก เรี ย น ซึ่ ง เป็ น ยุ ว ทู ต สิ่งแวดล้อม และสื่อมวลชนในเขตพื้นที่จังหวัดระยอง โดย ร่วมกันปล่อยปลาคืนสู่ธรรมชาติ “โครงการท�ำความสะอาด ชายหาด” เนื่องในวันท�ำความสะอาดชายหาดสากล จัดให้ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และครอบครัวร่วมกิจกรรมกับโรงงานอืน่ ๆ ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และโครงการ “โรงเรียนในฝัน รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 21

21 15/3/2011 19:28


มาบตาพุดพันโมเดล” จัดให้สอื่ มวลชน พนักงานบริษัทฯ และ ผู้ประกอบการอื่นร่วมท�ำกิจกรรมด้านการศึกษาแก่เยาวชน จังหวัดระยอง เป็นต้น การด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ฯ ยึดแนวทางซึง่ สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของกรมโรงงาน อุตสาหกรรมว่าด้วยการแสดงความรับผิดชอบของโรงงาน อุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) ซึ่งประกอบด้วยประเด็น หลัก 7 ประเด็น ได้แก่ การก�ำกับดูแลองค์กร สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การด�ำเนินงานอย่าง เป็นธรรม ผูบ้ ริโภค และการมีสว่ นร่วมและการพัฒนาชุมชน ทัง นี้ ในปี 2553 บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบ การอุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคมของกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เพื่อขอรับการรับรองการปฏิบัติต ามเกณฑ์ มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (CSR-DIW) ซึ่ง บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองตามเกณฑ์ อีกทัง คณะผูต้ รวจประเมิน ยังลงมติให้เป็นบริษัทที่มีความโดดเด่นด้านการก�ำกับดูแล องค์กร (Organizational Governance) ประจ�ำปี 2553 จาก บริษทั ทีร่ บั การตรวจประเมินทัง้ หมด 111 บริษทั พิจารณาจาก หลักเกณฑ์ดา้ นภาพรวมของการด�ำเนินงานการก�ำกับองค์กรที่ ครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเอกสารหลักฐานต่างๆ ทีโ่ ปร่งใส ตรวจ สอบได้ และสามารถยืนยันหลักฐานได้ทนั ที ซึง่ ถือเป็นแนวปฏิบตั ิ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ทีบ่ ริษทั ฯ ยึดถือมาโดยตลอด นอกจากนี้ ในฐานะสมาชิกของสังคมระยอง บริษัทฯ ตระหนั ก ถึ งการมีส่วนร่วมในการพัฒนาจังหวั ดระยองให้ ก้าวหน้าและเติบโตอย่างมีสมดุล จึงถือเป็นแนวปฏิบตั สิ �ำคัญ ในการจ่ายภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีสรรพสามิต ภาษีบ�ำรุง ท้องที่ และภาษีป้าย ที่จังหวัดระยอง รวมทั้งเปลี่ยนการจด ทะเบียนรถยนต์สว่ นกลางของบริษทั ฯ มาเป็นทะเบียนจังหวัด ระยอง และรณรงค์ขอความร่วมมือจากพนักงานให้น�ำรถยนต์ ส่วนบุคคลมาจดทะเบียนและเสียภาษีในจังหวัดระยอง ท�ำให้ บริษัทฯ ได้รับมอบตราแห่งเกียรติยศจากองค์การบริหารส่วน จังหวัดระยอง ในฐานะผูป้ ระกอบการดีเด่นทีเ่ สียภาษีให้ทอ้ งถิน่ อันเป็นการเพิม่ รายได้ให้แก่หน่วยงานและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ เพือ่ น�ำไปใช้เป็นงบประมาณในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชาวระยอง บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และสุขภาพ (EIA/HIA) ตามข้อก�ำหนดของรัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรคสอง ในส่วนของโครงการเชือ้ เพลิงสะอาดและปรับปรุง คุณภาพผลิตภัณฑ์ โครงการติดตั้งระบบควบคุมไอน ำมัน เชือ้ เพลิงและการเพิม่ ประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล และโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 ซึ่ง

เป็นการด�ำเนินการโดยสมัครใจ ทัง ๆ ทีไ่ ม่เข้าข่าย 11 ประเภท โครงการรุนแรงในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โดยท�ำการ ส�ำรวจ และทบทวนข้อคิดเห็นของชุมชนต่างๆ โดยรอบ โรงงาน พร้อมทั งเผยแพร่ผลการประเมินทางเว็บไซต์ของ บริษัทฯ เมื่อเดือนกันยายน 2553 • ประเทศไทย: การที่บริษัทฯ อบรม ส่งเสริม และ ตอกย ำให้บคุ ลากรทุกระดับให้ความส�ำคัญกับการดูแลผูม้ สี ว่ น ได้เสียและการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และน�ำไปปฏิบัติในการ ท�ำงาน ในครอบครัว และสังคมภายนอก จนเป็นวัฒนธรรม ขององค์กร และตัวเอง อีกทั งมีการรณรงค์เผยแพร่ข่าวสาร และหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ ออกไปสู ่ สาธารณชนในทุกช่องทางสื่อสารของบริษัทฯ และหน่วยงาน ภายนอก เช่น ใน Disclosure Focus ฉบับเดือนกรกฎาคม 2553 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีส่วนช่วยให้ สังคมไทยเพิม่ พลเมืองดีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส และมีความ รับผิดชอบ อันน�ำมาซึ่งประโยชน์สุขของประเทศชาติ คณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญ กับการร่วมกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนความเห็นกับผู้มีส่วนได้ เสียกลุ่มต่างๆ อาทิ ประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ ร่วมทอดกฐินประจ�ำปีของบริษัทฯ คณะกรรมการก�ำกับดูแล กิจการและผูบ้ ริหารพบปะกับผูถ้ อื หุน้ รายย่อยทีใ่ ห้ความสนใจ สอบถามเกี่ยวกับสถานการณ์ทางธุรกิจและปัญหาอันอาจส่ง ผลกระทบต่อบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ติดตามข่าวสาร เพื่อรับทราบข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นในโอกาส ต่างๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อให้บริษัทฯ น�ำไปพิจารณาด�ำเนิน การตามความเหมาะสม และเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกัน ตลอดจนติดตามประเด็นและแนวทางการแก้ปญ ั หา สิ่งแวดล้อมที่มาบตาพุดอย่างต่อเนื่อง อนึ่ง บริษัทฯ ได้มีการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานบัญชีไทยไปสู่มาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards: IFRS) ซึง่ จะมีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการศึกษาผลกระทบที่ จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนี้ ทั้งต่องบการเงิน ความรู้และ ทักษะของบุคลากร ระบบการท�ำงาน ระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนวางแผนบริ ห ารจั ด การการเปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อท�ำให้ข้อมูลงบการเงินของบริษัทฯ มีความ ชัดเจน โปร่งใส ช่วยให้ผใู้ ช้งบการเงินและหน่วยงานก�ำกับดูแล สามารถวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน ประเมิน และเปรียบเทียบ ฐานะการเงินกับบริษัทอื่นๆ ในอุตสาหกรรมหรือคู่แข่งขันใน อุตสาหกรรมเดียวกันได้ทั่วโลกบนมาตรฐานสากล อีกทั้งยัง

22 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 22

15/3/2011 19:28


ท�ำให้บริษัทฯ มีโอกาสและสามารถระดมทุนข้ามประเทศ (Cross – border listing and fund raising) ได้ง่ายขึ้น

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศเป็นหนึ่งในหลักการที่มี ความส�ำคัญต่อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ให้ความ ส�ำคัญกับข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของ ผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสีย จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องมีการ ควบคุม และก�ำหนดมาตรการในการเปิดเผยสารสนเทศ ทัง ที่ เป็นสารสนเทศทางการเงินและที่ไม่ใช่ทางการเงินให้ถูกต้อง ตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยมีสาระส�ำคัญครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา ทั งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่าน ช่องทางต่างๆ ทีส่ ะดวกต่อการค้นหา เช่น ผ่านระบบของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www. pttar.com) บริษทั ฯ ยึดถือและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่างๆ ที่ก�ำหนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และหน่วยงานอื่นของรัฐ อย่างเคร่งครัด รวมทั ง ติดตามและตรวจสอบการแก้ไขการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า กฎหมาย กฎเกณฑ์ และ ข้อบังคับที่บริษัทฯ ถือปฏิบัตินั นมีความถูกต้อง และเป็นหลัก ประกันให้ผถู้ อื หุน้ เชือ่ มัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ปร่งใส ถูกต้อง ตรงไปตรงมา โดยมีส่วนนักลงทุนสัมพันธ์และฝ่ายงานก�ำกับ และสื่อสารองค์กร ท�ำหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลของบริษัทฯ ในปี 2553 ผู้บริหารระดับสูง รวมถึงส่วนนักลงทุน สัมพันธ์ ได้ให้ข้อมูลนักลงทุนในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การจัด พบปะนักลงทุนในต่างประเทศ 3 ครั ง จัดประชุมนักวิเคราะห์ ทางการเงิน 4 ครั ง การเข้าพบที่บริษัทฯ 75 ครั ง การประชุม ทางโทรศัพท์ 500 ครั ง การจัดประชุมนักลงทุนในประเทศ 3 ครั ง การเปิดเผยข้อมูลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษทั ฯ 45 ครัง ส่งจดหมาย ข่าวถึงผู้ถือหุ้นทุกราย 4 ฉบับ และจัดนิทรรศการในงาน SET in the City และ Money Expo นอกจากนั น บริษัทฯ ได้เผยแพร่ข่าวสารแก่ผู้ถือหุ้นและ ประชาชนทั่วไปผ่านสื่อมวลชน (Mass Media) และสื่อสังคม ออนไลน์ (Social Networking) แขนงต่างๆ ทัง้ ส่วนกลางและ ท้องถิ่น เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และประชาชนทั่วไปได้ รับทราบความเคลือ่ นไหวต่างๆ ของบริษทั ฯ ตลอดเวลา รวมทัง ในช่วงที่บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่เนื่องจากครบเกษียณอายุการ ท�ำงาน เพื่อสร้างความเข้าใจและความเชื่อมั่นในการด�ำเนิน

ธุรกิจของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเชิงบูรณาการร่วมกับสื่อมวลชนส่วนกลางและ ท้องถิ่น 4 ครั้ง จัดกิจกรรมสื่อมวลชนเยี่ยมชมโรงงาน 2 ครั้ง เชิญสื่อมวลชนเข้าร่วมท�ำข่าวกิจกรรมของบริษัทฯ 4 ครั้ง จัดกิจกรรมแถลงผลประกอบการประจ�ำไตรมาส (CEO Meets the Press) จ�ำนวน 4 ครัง้ เชิญสือ่ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ รายวัน นิตยสาร และเว็บไซต์ เข้าสัมภาษณ์ CEO และผูบ้ ริหาร ระดับสูง 50 ครั้ง ส่งภาพข่าว (Photo Release) ข่าวแจก (Press Release) สกูป๊ ข่าว (Scoop) และปฏิทนิ ข่าว (Calendar News) ให้แก่สอื่ มวลชนส่วนกลางและท้องถิน่ เพือ่ เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน 100 ครัง้ เผยแพร่ขา่ วสารกิจกรรมทางสังคมและ CSR ของบริษทั ฯ ใน Facebook ของบริษทั ฯ ภายใต้ชอื่ Cozy PTTAR จ�ำนวน 32 ครั้ง เผยแพร่เรื่องราวของบริษัทฯ ใน วิกพิ เี ดีย 4 ครัง้ และเผยแพร่ขา่ วประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่เข้ารับรางวัล #2 Fastest - Growing in Asia หรือ บริษัทในภูมิภาคเอเชียที่มีการเติบโตเร็วที่สุด เป็นอันดับที่ 2 จากการจัดอันดับของ Platts ณ ประเทศ สิงคโปร์ บริษัทฯ ได้เพิ่มช่องทาง social network สื่อสารทาง อินเตอร์เน็ตกับผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ให้หลากหลายขึ้น และน�ำเสนอความเป็นอยูข่ องประชาชนในพืน้ ทีม่ าบตาพุด โดย เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มร่วมให้ข้อคิดเห็น หรือ แบ่งปันข้อมูลเรือ่ งราวต่างๆ ใน วิกพิ เี ดีย PTTAR, Blog Map Ta Phut with a View : http://pttarsocial.blogspot.com และ facebook : Cozy PTTAR เป็นต้น

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีช่องทางสื่อสาร 2 ทางที่สะดวก รวดเร็ว ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเผยแพร่ไว้บน เว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใต้หัวข้อ “การก�ำกับดูแลกิจการ” รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 23

23 15/3/2011 19:28


ผู ้ ถื อ หุ ้ น นั ก ลงทุ น และประชาชนทั่ ว ไปสามารถแจ้ ง ข้ อ ร้องเรียนหรือข่าวสารถึงกรรมการบริษทั ฯ หรือติดต่อสอบถาม เกี่ยวกับบริษัทฯ ได้ โดยติดต่อประธานคณะกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการโดยตรง หรือเลขานุการบริษัทและเลขานุการ คณะกรรมการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ e-mail address: corp-governance@pttar.com และภายใต้หวั ข้อ “ข้อมูลนัก ลงทุน” ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ที่ ir@pttar.com ทัง้ นี้ ผูถ้ อื หุน้ ได้ใช้ช่องทางดังกล่าวในการติดต่อเป็นจ�ำนวนมาก โดยในปี 2553 มีการตอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 1,500 ครัง้ ส�ำหรับการเปิดเผยรายงานทางการเงินมีรายละเอียดอยู่ ใน “รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน” อนึ่ง บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบส�ำรองความปลอดภัยของ ข้อมูลสารสนเทศของบริษทั ฯ กรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน เพือ่ ป้องกัน ความเสีย่ งเรือ่ งการสูญหายของข้อมูล และบริษทั ฯ ได้ประกาศ ใช้มาตรฐานซอฟต์แวร์ PTTAR 2553 เพื่อป้องกันการน�ำ ซอฟต์แวร์ที่ไม่ถูกกฎหมายลิขสิทธิ์มาใช้ บริษัทฯ ยังก�ำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับช่องทางการแจ้ง เบาะแสทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายแก่บริษทั ฯ และการคุม้ ครอง สิทธิของผูแ้ จ้งเบาะแสไว้ในคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดย ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถแจ้งเบาะแสในกรณี ที่มีการกระท�ำผิดกฎหมายของบุคคลหรือเหตุการณ์ที่อาจก่อ ให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ผ่ า นคณะกรรมการตรวจสอบหรื อ กรรมการอิ ส ระได้ ท าง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือจดหมาย ทั้งนี้ บริษัทฯ จะรักษา ข้อมูลดังกล่าวไว้เป็นความลับ เพื่อไม่ให้ผู้แจ้งเบาะแสได้รับ ความเดือดร้อน การใช้ขอ้ มูลภายในและการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ : บริษัทฯ ถือเป็นนโยบายส�ำคัญในการด�ำเนินการให้เกิดความ เสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน จึงก�ำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายในส� ำหรับ กรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร พนักงานทุกระดับ รวมถึงผู้ที่ เกีย่ วข้องและผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ทกุ คนทีไ่ ด้รบั ทราบข้อมูลหรือ ข่าวสารอันมีสาระส�ำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ ของบริษัทฯ ที่ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ต้องไม่น�ำข้อมูล ดังกล่าวไปใช้เพื่อแสวงหาก�ำไรหรือผลประโยชน์จากการซื้อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ไม่ ว ่ า ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม นอกจากนี้ กรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารตามทีค่ ณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ก�ำหนด มีหน้าที่ ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตนให้เป็นไปตาม กฎระเบียบของ ก.ล.ต. อย่างเคร่งครัดอีกด้วย นอกจากนี้

คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังก�ำหนดเป็นนโยบายให้มกี ารรายงาน การซือ้ -ขายและถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ้ ริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็น วาระการประชุมประจ�ำทุกเดือน

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษทั ฯ มีขอ้ ก�ำหนดเกีย่ วกับองค์ประกอบและคุณสมบัติ ของกรรมการเป็นลายลักษณ์อักษรในข้อบังคับ และคู่มือการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ ซึง่ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของ บริษัทฯ โดยกรรมการบริษัทฯ จะต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งไม่เกิน 3 วาระ ติดต่อกัน มีกรรมการอิสระจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของ กรรมการทั้งคณะและต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และก�ำหนด คุณสมบัติเรื่องการถือหุ้นในบริษัทของกรรมการอิสระที่เข้ม กว่าเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ คือไม่เกินร้อยละ 0.5 ประธานกรรมการบริ ษั ท ฯ ไม่ ไ ด้ เ ป็ น บุ ค คลเดี ย วกั บ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงเป็น อิสระจากกัน แต่ก็ถ่วงดุลซึ่งกันและกัน และมีการจัดแบ่ง บทบาทหน้าที่ระหว่างประธานกรรมการ กรรมการ คณะ กรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการ ออกจากกันอย่างชัดเจน ตามคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ กรรมการ บริษัทฯ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ประกอบด้วยผู้ที่มี ความรู้ด้านปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมีอย่างน้อย 3 คน ด้าน กฎหมายอย่างน้อย 1 คน และด้านบัญชีและการเงินอย่างน้อย 1 คน การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ ต้องมีความโปร่งใส โดย ผ่ า นกระบวนการพิ จ ารณาของคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนและคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่พิจารณาด้วยความ รอบคอบในการเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสม พร้อมประวัตอิ ย่าง เพียงพอส�ำหรับการตัดสินใจ เพื่อให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็น ผู ้ แ ต่ ง ตั้ ง ตามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ ต่ อ ไป โดยพิ จ ารณา รายชือ่ บุคคลทีผ่ ถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอด้วย ส�ำหรับการเเต่งตัง กรรมการบริษทั ฯ เเทนกรรมการทีอ่ อกก่อนครบวาระ ทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้เเต่งตั ง ณ สิน้ ปี 2553 คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยผูท้ รง คุณวุฒทิ งั้ หมด 15 คน เป็นผูท้ รงคุณวุฒสิ าขาปิโตรเลียมหรือ ปิโตรเคมี 6 คน ด้านกฎหมายและบริหาร 5 คน ด้านบัญชี และการเงิน 2 คน ด้านความมั่นคง 2 คน และด้านเศรษฐกิจ 1 คน ประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระเกินกว่ากึ่งหนึ่งคือ 8 คน ประธานกรรมการไม่เป็นสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อย

24 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 24

15/3/2011 19:28


มีประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ซึ่งเป็น ฝ่ายจัดการอยู่ในคณะกรรมการบริษัทฯ เพียงคนเดียว โดย โครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทฯ ท�ำให้สามารถปฏิบัติ หน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีรายละเอียดใน “โครงสร้าง การจัดการ”

บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น มี ความส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายและทิศทางในการด�ำเนิน ธุรกิจ ตลอดจนก�ำกับดูแลและก�ำหนดจรรยาบรรณของบริษทั ฯ เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ อัน จะท�ำให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นทุกราย บริษัทฯ จึงก�ำหนดบทบาทหน้าที่และหลักปฏิบัติของคณะ กรรมการบริษัทฯ เพิ่มเติมจากที่กฎหมายก�ำหนด เพื่อเป็น แบบอย่างให้พนักงานทุกระดับยึดมั่นเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานและสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ทั่วไป โดยสรุปดังนี้ 1) ด้านการก�ำหนดนโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องก�ำหนดนโยบายที่ส�ำคัญ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้แก่ วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงาน และ งบประมาณ ตลอดจนก�ำกับดูแลการปฏิบัติของฝ่ายจัดการ ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) ด้านการก�ำกับดูแลเพื่อสร้างมูลค่ากิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องก�ำหนดนโยบายด้านการ บริหารความเสี่ยง ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร และก�ำกับดูแลให้ มีระบบหรือกระบวนการในการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่มให้บริษัทฯ อย่างเหมาะสม โดยมีมาตรการ รองรับและวิธีควบคุมเพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจ รวมทั งให้ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์กับธุรกิจของบริษัทฯ 3) ด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษทั ฯ ต้องปฏิบตั หิ น้าที่ ตลอดจนก�ำกับ ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อย่างเคร่งครัด ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณของ บริษทั ฯ ดูแลให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีด่ แี ละเป็น อิสระ ดูแลให้บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ ดูแลรักษาผลประโยชน์และสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน ดูแลรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ (รายละเอียดปรากฏในหัวข้อ “รายการทีเ่ กีย่ วโยง กัน”) ให้มคี วามเป็นธรรมเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้

โดยรวม รวมทัง สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรให้มคี วามเข้าใจ มีจิตส�ำนึก ปฏิบัติตามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บริษทั ฯ และส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในระบบการ ควบคุมและก�ำกับดูแลกิจการ 4) ด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม โดยพยายามลดมลพิษจากอุตสาหกรรม ควบคู่ ไปกับการส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืนของสังคม ไทย ซึ่งเริ่มต้นที่การยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในชุมชนรอบโรงงานให้ดีขึ้น และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และลดผลกระทบทีช่ มุ ชนได้รบั อย่างจริงจัง เคารพในหลักสิทธิ มนุษยชน และมีการใช้แรงงานอย่างยุตธิ รรม เพือ่ ให้ชมุ ชนและ โรงงานสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน

คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้การก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัทฯ บรรลุเป้าหมายสูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้แต่งตั ง รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 25

25 15/3/2011 19:28


คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่อง ศึกษา รายละเอียด กลั่นกรอง และก�ำหนดกรอบมาตรฐานงาน ตลอดจนก�ำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารใน แต่ละด้าน เพื่อให้เกิดการตรวจสอบ ถ่วงดุล อันจะน�ำมาซึ่ง ประสิทธิภาพในการบริหารงานและเกิดประโยชน์สูงสุด และ เสนอเรื่องที่รับผิดชอบให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา หรือรับทราบ บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดย่อยทั้งหมด 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง โดยคัดเลือกผ่านกระบวนการ พิจารณาของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ซึง่ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนมีหน้าทีพ่ จิ ารณา ด้วยความรอบคอบในการเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสม เพื่อให้ คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั งต่อไป ข้อมูลรายละเอียดเรื่องการท�ำหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อยทัง 4 คณะ รวมทัง ค่าตอบแทน กรรมการ มีรายละเอียดอยูใ่ นหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”

กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหารหมายถึงกรรมการที่มีส่วนร่วม ในการบริหารงาน ตามประกาศของคณะกรรมการก� ำกับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 ซึ่งหมายความว่ากรรมการด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นผู้บริหาร กรรมการที่ท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการ ด�ำเนินการใดๆ เยี่ยงผู้บริหาร และให้หมายความรวมถึง กรรมการทีม่ อี ำ� นาจลงนามผูกพัน เว้นแต่จะแสดงไว้วา่ เป็นการ ลงนามผูกพันตามรายการที่คณะกรรมการมีมติอนุมัติไว้แล้ว และเป็นการลงนามร่วมกับกรรมการรายอื่น ในปี 2553 บริษัทฯ มีกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 ราย คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และ กรรมการที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันอีก 2 ราย รายละเอียดใน หัวข้อ “คณะกรรมการ”

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ นัดพิเศษ 1 เมือ่ วันที่ 29 กันยายน 2553 และนัดพิเศษ 2 เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ทีป่ ระชุมได้มมี ติแต่งตัง้ นายบวร วงศ์สนิ อุดม เป็นกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และ เลขานุการคณะกรรมการบริษทั ฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป แทน นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ที่ครบเกษียณอายุ

เลขานุการบริษัท ในการประชุมครัง ที่ 8/2553 เมือ่ วันที่ 19 สิงหาคม 2553 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติแต่งตัง นางสาวมนวิภา จูภบิ าล ผูจ้ ดั การฝ่ายงานก�ำกับและสือ่ สารองค์กร เป็นเลขานุการบริษทั แทน นางพวงเชาว์ นาคะนาท ซึ่งเกษียณอายุตั งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 การแต่งตั งเลขานุการบริษัท เป็นไปตาม มาตรา 89/15 ของ พรบ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พรบ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551

การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ก� ำหนดให้ มี ก ารประชุมคณะ กรรมการเดือนละ 1 ครัง โดยก�ำหนดปฏิทนิ การประชุมล่วงหน้า ตลอดทัง ปี ซึง่ มากกว่าทีก่ ำ� หนดไว้ในข้อบังคับของบริษทั ฯ คือ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ และจะมีการประชุมนัดพิเศษเพิม่ ตามความจ�ำเป็น ในปี 2553 บริษทั ฯ มีการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ 12 ครัง การประชุมเฉพาะกรรมการอิสระ 1 ครัง และ การประชุมเฉพาะกรรมการ โดยไม่มผี บู้ ริหารและฝ่ายจัดการ 1 ครัง้ การประชุมทุกครัง มีการก�ำหนดวาระการประชุมอย่าง ชัดเจน โดยไม่มีการเสนอวาระจร หรือถอนวาระ และมีการ รายงานผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ เป็นประจ�ำ กรรมการ ต้องเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อรับทราบและร่วมตัดสินใจในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญ ประชุม พร้อมระเบียบวาระและเอกสารประกอบการประชุม ล่วงหน้า เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มเี วลาในการพิจารณา ศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนการประชุม ประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่ บริห ารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ร่วมกันพิจารณาเรื่องและจัดเป็นวาระการประชุมตามความ ส�ำคัญและจ�ำเป็น ส่วนกรรมการท่านอื่นก็สามารถเสนอเรื่อง เข้ า เป็ น วาระการประชุ ม ได้ เ ช่ น กั น ในการประชุ ม ทุ ก ครั ง ประธานจะเปิดโอกาสให้กรรมการทุกท่าน มีอสิ ระทีจ่ ะอภิปราย แสดงความคิดเห็น น�ำเสนอเรือ่ ง หรือซักถามในทีป่ ระชุม และ ฝ่ายจัดการซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมในวาระที่ เกี่ยวข้องทุกครั้ง เพื่อชี้แจงตอบข้อซักถามอย่างเต็มที่ ในการ ประชุม หากกรรมการท่านใดมีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ ขัดแย้งในวาระใด ต้องงดออกเสียงหรือไม่เข้าร่วมประชุมใน วาระนั น หลังจากการประชุมทุกครั ง บริษัทฯ จัดท�ำรายงาน การประชุมเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยรายงานการประชุมมีการ รับรองในการประชุมครั งต่อไป และจัดเก็บพร้อมเอกสารการ ประชุมไว้อย่างครบถ้วนในระบบจัดเก็บเอกสารส�ำคัญของ

26 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 26

15/3/2011 19:28


บริษัทฯ เพื่อพร้อมส�ำหรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อนึ่ง กรรมการอิสระได้ให้ข้อแนะน�ำที่เป็นประโยชน์กับ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น อาทิ การเตรียมการในการน�ำระบบ มาตรฐานบัญชีใหม่มาใช้ ความรูเ้ กีย่ วกับข้อกฎหมาย แนวทาง ปฏิบัติและช่องทางสื่อสารต่อผู้ถือหุ้นรายย่อย เป็นต้น รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการอยู่ใน หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”

การประเมินผลงานคณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดไว้ในคูม่ อื การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั ฯ ให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ บริษัทฯ ทั งคณะและรายบุคคล ตามแบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงานประจ�ำปีหลังสิ้นสุดการด�ำเนินงาน ในปี 2553 ได้ท�ำการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการจ�ำนวน 1 ครัง้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้กรรมการ พิจารณาประเมินผลงาน ปัญหาอุปสรรค รวมทัง ให้ขอ้ เสนอแนะ แก่บริษัทฯ น�ำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการ ด�ำเนินงานของกรรมการให้ดียิ่งขึ้น โดยเป็นการประเมินผล การปฏิบตั งิ านคณะกรรมการทัง้ คณะและรายบุคคล (ประเมิน ตนเอง) จ�ำนวน 15 ราย ก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผล ดังนี้ 4 (ร้อยละ 80) = ดี 5 (ร้อยละ 100) = ดีมาก 3 (ร้อยละ 60) = มาตรฐาน 2 (ร้อยละ 40) = พอใช้ และ 1 (ร้อยละ 20) = ควรปรับปรุง สรุปผลประเมินการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี 2553 ของคณะ กรรมการทั้งคณะในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 96.71 ประกอบด้วยการประเมิน 4 หัวข้อใหญ่ 38 ข้อย่อย ดังนี้ หัวข้อ

คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ)

1. นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy)

97.60

2. โครงสร้างและคุณสมบัติของ คณะกรรมการ (Board Structure)

96.67

3. การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ (Board Performance)

97.23

4. การจัดเตรียมและดำ�เนินการประชุม (Board Meeting)

95.33

สรุปผลประเมินการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี 2553 ของคณะ กรรมการรายบุคคลในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 96.85 ประกอบด้วยการประเมิน 6 หัวข้อใหญ่ 22 ข้อย่อย ดังนี้ หัวข้อ

คะแนนเฉลี่ย (ร้อยละ)

1. ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและ การกระทำ�ของตนเอง สามารถอธิบาย การตัดสินใจได้ (Accountability)

98.67

2. ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วย ขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่ เพียงพอ (Responsibility)

96.67

3. การปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม และสามารถอธิบายได้ (Equitable Treatment)

96.44

4. มีความโปร่งใสในการดำ�เนินงานที่สามารถ ตรวจสอบได้ (Transparency)

96.67

5. การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ กิจการ ในระยะยาว (Creation of Long-term Value)

92.67

6. การมีจริยธรรม/จรรยาบรรณในการ ปฏิบัติงาน (Ethics)

100

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนให้กรรมการ ทุกท่านเข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) และสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบัน วิทยาการตลาดทุน รวมทัง เข้าร่วมสัมมนาในหัวข้อต่างๆ เพือ่ เป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของกรรมการ ในกรณีกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง ใหม่ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่จะชีแ้ จงเกีย่ วกับการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ผลการด�ำเนินงาน โครงการขยายงาน โครงการร่วมทุน สรุปผลการประชุมคณะกรรมการที่ผ่านมา และแนวทางการปฏิบตั งิ านตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ให้กรรมการใหม่มคี วามเข้าใจในธุรกิจและสามารถปฏิบตั ิ หน้าทีต่ อ่ เนือ่ งได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new16.indd 27

27 16/3/2011 19:29


กรรมการบริษัทฯ เพื่อให้กรรมการที่เข้ารับต�ำแหน่งสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเร็วที่สุด โดยมีเลขานุการบริษัทเป็น ผู้ประสานงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1) รวบรวมข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นเกีย่ วกับกรรมการเพือ่ ประโยชน์ ในการตรวจสอบดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายในเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับกรรมการ และจัดส่งข้อมูลที่ส�ำคัญในการปฏิบัติ หน้าทีเ่ กีย่ วกับกรรมการบริษทั ฯ เช่น หนังสือรับรอง ข้อบังคับ บริษัท คู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ประวัติ กรรมการ สรุปผลการด�ำเนินงาน และรายงานประจ�ำปี เป็นต้น 2) จัดให้มกี ารพบปะหารือกับประธานกรรมการ กรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูง และผูจ้ ดั การฝ่ายต่างๆ เพือ่ รับทราบ และ สอบถามข้อมูลเชิงลึกเกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ 3) สนับสนุนให้กรรมการ และผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วม สัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั ง พบปะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริษทั ฯ และ ผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรต่างๆ อยูเ่ สมอ ทัง หลักสูตรทีจ่ ดั โดยหน่วยงานทีด่ แู ลการฝึกอบรมของบริษทั ฯ และหลักสูตรที่ จัดโดยหน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ หรือองค์กรอิสระ เช่น หลักสูตรกรรมการบริษทั ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ก�ำหนดให้กรรมการของบริษัทจดทะเบียน ต้องผ่านการอบรมอย่างน้อย 1 หลักสูตร รวมทั งเข้าร่วม สัมมนาในหัวข้อต่างๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ของกรรมการ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการให้กรรมการบริษัทฯ เป็นสมาชิกของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสาร และแจ้งให้กรรมการพิจารณา สมัครเข้ารับการอบรมหลักสูตรต่างๆ อย่างต่อเนื่องตลอดปี ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2553 มีกรรมการที่ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 7 คน หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 9 คน หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 2 คน หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) / Finance for Non-Finance Directors (FN) 2 คน หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 3 คน หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) 1 คน และหลักสูตรของ สถาบันวิทยาการตลาดทุน 12 คน ส�ำหรับการวางแผนการพัฒนาและสืบทอดงาน ได้วาง กรอบโครงสร้างการพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบ ด้วยการ พัฒนาผู้บริหารตามกรอบแนวทางการพัฒนา Leadership Competency ของบริษัทฯ ที่มุ่งเน้นให้ผู้บริหารมีทักษะทั้งใน

ด้านธุรกิจและการบริหารคน ที่ส�ำคัญ บริษัทฯ ได้วางกรอบ แนวทางและการด� ำ เนิ น งานเรื่ อ งการวางแผนทดแทน ต�ำแหน่งงาน (Succession Plan) โดยผู้บริหารระดับสูงให้ ความส� ำ คั ญ กั บ การก� ำ หนดผู ้ มี ศั ก ยภาพในกลุ ่ ม พนั ก งาน ระดับต่างๆ เพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมในการด�ำรงต�ำแหน่ง ที่ส�ำคัญ (Key Positions) ทั งหมดของบริษัทฯ จัดท�ำแผนการ ทดแทนต�ำแหน่งส�ำหรับต�ำแหน่งงานบริหาร และด�ำเนินการ โยกย้ายภายในให้เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ พร้อมรายงาน ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ รายละเอียดการพัฒนาผูบ้ ริหาร ปรากฏในหัวข้อ “รายงานผลการด�ำเนินงาน”

รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่รับผิดชอบต่องบการเงิน ของบริษัทฯ โดยได้แต่งตั งคณะกรรมการตรวจสอบให้ท�ำ หน้าที่สอบทานรายงานทางการเงินและดูแลให้มีการจัดท�ำ ุ ภาพและถูกต้องตามมาตรฐาน รายงานทางการเงินอย่างมีคณ ทางบัญชีทเี่ ป็นทีย่ อมรับทัว่ ไป มีการเปิดเผยข้อมูลทีส่ ำ� คัญของ บริษทั ฯ อย่างโปร่งใสและเพียงพอ น�ำเสนอรายงานทางการเงิน ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัทฯ รวมทั ง สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงิน ดังกล่าวตรวจสอบโดยบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต การเปิ ด เผยข้ อ มู ล สารสนเทศที่ส�ำคัญ ทั งข้อมูลทางการเงิน และที่ไม่ใช่ทาง การเงิน ด�ำเนินการบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วน สม�่ำเสมอ

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดนโยบายค่ า ตอบแทนกรรมการและ กรรมการชุ ด ย่ อ ยไว้ อ ย่ า งชั ด เจนและโปร่ ง ใส โดยมี ค ณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนท�ำหน้าที่พิจารณา ทบทวน โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับการจ่ายค่าตอบแทน กรรมการของบริษัทในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน และบริษัทชั นน�ำใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม และสอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน ผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ แนวปฏิบัติของบริษัทจดทะเบียนในอุตสาหกรรม เดียวกันที่มีขนาดใกล้เคียงกัน รวมทั งขอบเขตหน้าที่ความ รับผิดชอบ และสภาวการณ์เศรษฐกิจโดยรวม และได้รบั อนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2553 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทนคณะกรรมการและคณะกรรมการ ชุดย่อยปี 2553 ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหารได้เปิดเผยข้อมูลไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการ”

28 54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 28

15/3/2011 19:28


ตามรายงานการส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการล่าสุด ปี 2553 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ซึ่ง IOD ส�ำรวจจากอัตราค่าตอบแทนกรรมการของแต่ละ บริษัทที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ บริษัทฯ จัดอยู่ในกลุ่มทรัพยากร โดย สามารถเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ กับค่า มาตรฐาน (Median) ของกลุ่มฯ ดังนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ : ค่าตอบแทนประธานกรรมการ น้อยกว่าร้อยละ 0.13 ของค่ามาตรฐานของกลุ่ม ค่าตอบแทน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร น้อยกว่าร้อยละ 0.03 ค่าตอบแทน กรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหาร เท่ากับค่ามาตรฐานของกลุม่ โบนัส ประธานกรรมการ สูงกว่าร้อยละ 0.53 โบนัสกรรมการที่เป็น ผู้บริหาร สูงกว่าร้อยละ 1.22 และโบนัสกรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหาร สูงกว่าร้อยละ 0.65 คณะกรรมการชุดย่อย : ค่าตอบแทนประธานกรรมการ ตรวจสอบ สูงกว่าร้อยละ 0.31 ของค่ามาตรฐานของกลุ่ม ค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ สูงกว่าร้อยละ 0.24 ค่าตอบแทน ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน สูงกว่าร้อยละ 1.41 ค่าตอบแทนกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนที่ ไม่เป็นผู้บริหาร สูงกว่าร้อยละ 1.92 ค่าตอบแทนประธาน กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ สูงกว่าร้อยละ 1.07 ค่าตอบแทน กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ไม่เป็นผู้บริหาร สูงกว่าร้อยละ 1.65 ค่าตอบแทนประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง สูงกว่า ร้อยละ 1.67 ค่าตอบแทนกรรมการบริหารความเสี่ยงที่เป็น ผูบ้ ริหาร สูงกว่าร้อยละ 1.87 และค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ความเสี่ยงที่ไม่เป็นผู้บริหาร สูงกว่าร้อยละ 1.50 ส� ำ หรั บ การส� ำ รวจค่ า ตอบแทนกรรมการของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ล่าสุดคือ ปี 2552 วิเคราะห์ จากค่าตอบแทนทัง หมดทีก่ รรมการได้รบั ในแต่ละปี และเปิดเผย ต่อ ตลท. บริษัทฯ จัดอยู่ในหมวดพลังงานและสาธารณูปโภค ค่าตอบแทนประธานกรรมการบริษทั ฯ สูงกว่าร้อยละ 1.40 ของ ค่าเฉลีย่ ของกลุม่ ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ สูงกว่าร้อยละ 0.64 ค่าตอบแทนประธานกรรมการตรวจสอบ สูงกว่าร้อยละ 0.42 และค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ สูงกว่าร้อยละ 0.10 คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้ประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อน�ำไปใช้ในการ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม และ น�ำเสนอผลประเมินดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา ให้ความเห็นชอบ

ในปี 2553 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ได้ประเมินระดับ การก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies–CGR) ประจ�ำปี โดยบริษัทฯ ได้รับการประเมินอยู่ในกลุ่มดีเลิศ ซึ่ง แสดงผลด้วยตราสัญลักษณ์ 5 ดวง ของคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลแห่งชาติ นอกจากนั้น คณะท�ำงานพิจารณา รางวัล CSR Awards ประจ�ำปี 2553 ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย มีความเห็นว่า บริษัทฯ มีการด�ำเนินงาน อย่างน่าชืน่ ชมในหลายประเด็น โดยเฉพาะด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ที่ค�ำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย การให้ความส�ำคัญต่อการสร้างความ โปร่งใสทั งภายในและภายนอกองค์กร ตั งแต่ระดับกรรมการ ผู้บริหาร ไปจนถึงพนักงาน และการที่บริษัทฯ ส่งเสริมให้คู่ค้า ทางธุรกิจมีความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการยังมีความมุ่งมั่นที่จะ พัฒนาระบบการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิง่ ขึน้ เพือ่ ให้การก�ำกับดูแลกิจการเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยมี เป้าหมายในการยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ ให้เทียบเคียงมาตรฐานสากลในมิตทิ กี่ ว้างและหลากหลายขึน้ และสามารถบูรณาการให้เกิดประโยชน์กับระบบการบริหาร จัดการอืน่ ๆ ของบริษทั ฯ เช่น การบริหารความเสีย่ งและการ ควบคุมภายในได้อย่างเป็นรูปธรรม

พลเอก (สมเจตน์ บุญถนอม) ประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_014-029-4c_Y new15.indd 29

29 15/3/2011 19:28


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูด้ ำ� เนินกิจการโรงกลัน่ น ำมันและปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์ อย่างครบวงจร มีโครงสร้างแบ่งตามประเภทธุรกิจได้ ดังนี้

1. ธุรกิจกลั่นน�้ำมันและจัดหาผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูป บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้กลั่นน ำมันและจัดหาผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูปชั้นน�ำของประเทศ โดยเป็นเจ้าของและ เป็นผูด้ ำ� เนินการโรงกลัน่ น ำมันแบบ Complex ทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ พ ลั ง งานสู ง ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เนื่องจากสามารถเพิ่มความยืดหยุ่น ของกระบวนการกลั่น และสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ในสัดส่วน หน่วยกลั่น

หน่วยกลั่นน�้ำมันดิบ

กำ�ลังการกลั่น (บาร์เรล/วัน)

145,000

การผลิตทีส่ อดคล้องกับความต้องการของลูกค้า โดยมีตน้ ทุน การผลิตต�ำ่ โรงกลัน่ น ำมันของบริษทั ฯ ตัง้ อยูท่ นี่ คิ มอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง มีก�ำลังการกลั่นน ำมันดิบและ คอนเดนเสทรวม 280,000 บาร์เรลต่อวัน โดยสามารถผลิต ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมคุณภาพสูงได้หลายประเภท ได้แก่ • น ำมันส�ำเร็จรูปชนิดเบา ประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียม เหลว แนฟทาชนิดเบา และรีฟอร์เมท • น ำมันส�ำเร็จรูปกึ่งหนักกึ่งเบา ประกอบด้วย น ำมัน อากาศยาน และน ำมันดีเซล • น ำมันส�ำเร็จรูปชนิดหนัก ประกอบด้วย น ำมันเตา ปัจจุบัน บริษัทฯ มีหน่วยกลั่นจ�ำนวน 3 หน่วย ดังนี้ รายละเอียด

โรงกลั่นน�้ำมันแบบ Complex มีหน่วย Hydrocracker และ Visbreaker ซึ่งสามารถ เปลี่ยนน�้ำมันเตาเป็นน�้ำมันส�ำเร็จรูปชนิดกึ่งหนักกึ่งเบา ท�ำการกลั่นน�้ำมันดิบเพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูปเป็นหลัก ซึ่งอาจรวมถึงการผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่ หน่วยผลิตอะโรเมติกส์

หน่วยกลั่นแยก คอนเดนเสท หน่วยที่ 1

70,000

ผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ และมีผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ ได้แก่ แนฟทาชนิดเบา ก๊าซปิโตรเลียมเหลว คอนเดนเสท เรซิดิว และแนฟทาชนิดหนัก โดย แนฟทาชนิดหนักจะถูกส่งต่อไปยังหน่วยรีฟอร์เมอร์ เพื่อผลิตรีฟอร์เมท และส่งให้ หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ต่อไป

หน่วยกลั่นแยก คอนเดนเสท หน่วยที่ 2

65,000

ผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ และมีผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ ได้แก่ แนฟทาชนิดเบา ก๊าซปิโตรเลียมเหลว คอนเดนเสท เรซิดิว และแนฟทาชนิดหนัก โดย แนฟทาชนิดหนักจะถูกส่งต่อไปยังหน่วยรีฟอร์เมอร์ เพื่อผลิตรีฟอร์เมท และส่งให้ หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ต่อไป

32 54-02-058_032-035-4c_Y new15.indd 32

15/3/2011 19:30


2. ธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ได้ แ ก่ พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน ออร์ โ ธไซลี น มิกซ์ไซลีนส์ และโทลูอนี ส่วนผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ทีไ่ ด้จากกระบวน การผลิต ได้แก่ แรฟฟิเนท และสารอะโรเมติกส์หนัก เป็นต้น

ปัจจุบัน บริษัทฯ มีหน่วยผลิตอะโรเมติกส์ จ�ำนวน 2 หน่วย โดยมีกำ� ลังการผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ดังนี้

หน่วย: ตันต่อปี

ผลิตภัณฑ์

หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2

พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน ออร์โธไซลีน มิกซ์ไซลีนส์ โทลูอีน รวม

รวม

540,000 307,000 200,000 66,000 76,000 -

655,000 355,000 60,000

1,195,000 662,000 200,000 66,000 76,000 60,000

1,189,000

1,070,000

2,259,000

หมายเหตุ: บริษัทฯ มีกระบวนการผลิตที่สามารถปรับเปลี่ยน เพื่อให้ได้ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของตลาด

3. กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม บริษทั ฯ ได้แสวงหาโอกาสในการขยายธุรกิจ โดยการร่วม ทุนกับบริษัทอื่นในการด�ำเนินโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุน การด�ำเนินงานของบริษัทฯ สร้างผลก�ำไรและการเติบโตที่ ยั่งยืนในอนาคต บริษัทร่วมทุน

ทั งนี้ โครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทร่วมทุนและกิจการ ร่วมค้าของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สามารถสรุป ได้ดังนี้

ลักษณะธุรกิจ

ยน สัดส่วนการถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนชำจดทะเบี � ระแล้ ว ของบริษัทฯ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (เงินลงทุนของบริษัทฯ)

บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด

ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายสารฟีนอล

9,252

8,350

บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด

ผูผ้ ลิตและจ�ำหน่ายไอน�ำ้ /ไฟฟ้า

6,859

6,859

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด

ผู้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารแก่ บริษัทผู้ถือหุ้น ผู้บริการด้านการจัดหาแรงงาน และจ้างเหมาบริการแก่ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

150

150

2

2

บริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด

ร้อยละ 30 (2,505 ล้านบาท) ร้อยละ 20 (1,372 ล้านบาท) ร้อยละ 20 (30 ล้านบาท) ร้อยละ 25 (5 แสนบาท)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_032-035-4c_Y new15.indd 33

33 15/3/2011 19:30


ธุรกิจของบริษัทฯ ขั้นต้น

ขั้นกลาง

เอทิลีน อีเทน

วีซีเอ็ม

โพรเพน โรงแยกก๊าซ ธรรมชาติ ปตท.

แอลพีจี

โพรพิลีน

บมจ. ปตท. เคมิคอล

มิกซ์ C4

เอ็นจีแอล แนฟทา

สไตรีน ไพก๊าซ

แนฟทา ชนิดเบา เบนซีน

ปตท./นำ�เข้า

น้ำ�มันดิบ คอนเดนเสท ฟูลเรนจ์ แนฟทา

ไซโคลเฮกเซน โรงกลั่นน�้ำมัน และหน่วยกลัน่ แยก คอนเดนเสท

โรงอะโรเมติกส์ แอลเอบี พาราไซลีน

โรงกลั่น ในประเทศ

คิวมีน/ฟีนอล

พีทีเอ

รีฟอร์เมท ออร์โธไซลีน สารอะโรเมติกส์หนัก แอลพีจี (โพรเพน/บิวเทน) น้ำ�มันอากาศยาน น้ำ�มันดีเซล น้ำ�มันเตา

พีเอ

34 54-02-058_032-035-4c_Y new15.indd 34

15/3/2011 19:30


ขั้นปลาย บิวทีน-1

ไอโซ-บิวทีน บิวตะไดอีน

พีอี

ถุงบรรจุอาหาร ดอกไม้พลาสติก

พีวีซี

ท่อ หนังเทียม แผ่นยาง ขวด วงกบหน้าต่างประตู

พีพี

ถุงสาน ของเล่นเด็ก เส้นใยทำ�พรม หม้อแบตเตอรี่

เอ็มทีบีอี

สารเพิ่มค่าออกเทนในน�้ำมันเบนซิน

เอบีเอส

ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์

เอสเอเอ็น

ใบพัดพัดลม

เอสบีอาร์

ยางรถยนต์ ท่อยาง

จีพีพีเอส

ของเล่นเด็ก กล่องคอมแพ็คดิสก์ บรรจุภัณฑ์

เอชไอพีเอส อีพีเอส ฟีโนลิคเรซิน บิสฟีนอล-เอ

ตัวอย่างการใช้งาน

ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ กล่องโฟมบรรจุอาหาร ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า แผงวงจรไฟฟ้า ฉนวนความร้อน

โพลีคาร์บอเนต

คอมแพ็คดิสก์ กระจกนิรภัย ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์

อีพอกซีเรซิน

ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แผ่นพลาสติกในอุตสาหกรรมก่อสร้าง

คาโปรแลคตัม

ไนลอน 6

เส้นใย ถุงน่อง พรม

กรดอะดิปิก

ไนลอน 6.6

ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์

แอลเอเอส

ผงซักฟอก

โพลีเอสเตอร์

พลาสติกไซเซอร์

ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ฟิล์ม ภาชนะบรรจุอาหาร ขวดเพท

สารเชื่อมท่อพีวีซี สารฟอกย้อม ตัวทำ�ละลาย เชื้อเพลิง วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_032-035-4c_Y new15.indd 35

35 15/3/2011 19:30


รายงานผลการด�ำเนินงาน ปี 2553 เป็นอีกปีหนึ่งที่ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน ด้านต่างๆ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้

1. การจัดโครงสร้างและพัฒนาองค์กร 1.1 การจัดโครงสร้างองค์กร ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการปรับโครงสร้างองค์กรให้ เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของธุรกิจ พร้อมแต่งตั งและ โยกย้ายผูบ้ ริหารให้สอดคล้องกับโครงสร้างใหม่ (รายละเอียด ในโครงสร้างองค์กร)

1.2 ด้านการพัฒนาพนักงาน บริษทั ฯ ได้วางกรอบโครงสร้างการพัฒนาพนักงานอย่าง เป็นระบบ และมุ่งเน้นการพัฒนาพนักงานทุกระดับให้เป็น ทั้งคนเก่งและคนดี • วางกรอบแนวทางและการดำ�เนิ น งานเรื่ อ งการ วางแผนทดแทนตำ�แหน่งงาน (Succession Plan) โดยผู้บริหารระดับสูงให้ความสำ�คัญกับการกำ�หนด ผูม้ ศี กั ยภาพในกลุม่ พนักงานระดับต่างๆ เพือ่ พัฒนา ให้มีความพร้อมในการดำ�รงตำ�แหน่งที่สำ�คัญ (Key Positions) ทั้งหมดของบริษัทฯ • พั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารตามกรอบแนวทางการพั ฒ นา Leadership Competency ของบริษัทฯ ที่มุ่งเน้น ให้ ผู้ บ ริ ห ารมี ทั ก ษะทั้ ง ในด้ า นธุ ร กิ จ และการ บริหารคน โดยมีบทบาทเป็นเสมือน Coach และ เป็น HR Manager ด้วย • ดำ�เนินการพัฒนาพนักงานทุกระดับตาม Individual Development Plan (IDP) ทั้งในด้านทักษะทั่วไป (Core Competency) และทักษะในการปฏิบัติงาน (Functional Competency) ตลอดจนการพัฒนา ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ซึง่ ถือเป็นนโยบายหนึง่ ใน การเตรียมความพร้อมพนักงานทุกระดับให้สามารถ

ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี และสร้างโอกาสความก้าวหน้า ของตนเองพร้ อ มกั บ รองรั บ การเจริ ญ เติ บ โตของ บริษัทฯ ในอนาคตได้ • นอกเหนือจากการพัฒนาให้พนักงานเป็นคนเก่งแล้ว บริษัทฯ ยังส่งเสริมให้พนักงานเป็นคนดี มีจิตอาสา และเสี ย สละโดยสนั บ สนุ น ให้ เ ข้ า ร่ ว มทำ�กิ จ กรรม เพื่อสังคมต่างๆ ทั้งที่จัดโดยบริษัทฯ และโดยชมรม จิตอาสา ซึง่ บริษทั ฯ ให้ทนุ สนับสนุนด้วย

1.3 การสร้างทีมงานให้เป็นหนึ่งเดียว ภายใต้ค่านิยม “SPEED” • บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเสริมสร้างทีมงาน และความสามัคคีระหว่างพนักงานทุกระดับ ทั้งใน หน่ ว ยงานเดี ย วกั น และต่ า งหน่ ว ยงาน โดยที ม ผู้ บ ริ ห ารร่ ว มกั น เป็ น แกนนำ�ในการผลั ก ดั น ให้ พนักงานทุกคนเข้าร่วมทำ�กิจกรรมด้วยกัน เพือ่ ผสาน วัฒนธรรมให้เป็นหนึ่งเดียวภายใต้ค่านิยม SPEED นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ครอบครัวของพนักงานเข้าร่วมด้วย อันเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์อันดีภายในครอบครัว • จัดให้มีการสำ�รวจความพึงพอใจของพนักงาน โดย บริษัทฯ ได้นำ�ประเด็นที่พนักงานแสดงความคิดเห็น มาระดมความคิดและจัดทำ�เป็นแผนการปรับปรุง ระบบงานต่างๆ ให้ผู้บริหารทุกคนร่วมกันผลักดัน และดำ�เนินการเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบให้ ดียิ่งขึ้นต่อไป

2. การผลิต และการบำ�รุงรักษาโรงงาน 2.1 การผลิต ในปี 2553 บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ได้ทั งสิ้น 76,381,000 บาร์เรล และผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ได้ทั งสิ้น 1,947,000 ตัน

36 54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 36

15/3/2011 19:31


โรงกลั่นน ำมัน (AR1) ไม่มีแผนการหยุดซ่อมบ�ำรุงใน ปี 2553 แต่มีการลดก�ำลังการผลิตเล็กน้อยในไตรมาส 1 เพื่อท�ำความสะอาดเตาเผา (Decoking) ของหน่วยแตกตัว น ำมันหนักด้วยความร้อน (VBU) และล้างท�ำความสะอาด Heat Exchanger เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในระยะยาว โรงงานอะโรเมติ ก ส์ หน่วยที่ 1 (AR2) มี ก ารหยุ ด การผลิต เพื่อซ่อมบ�ำรุงครั งใหญ่ ซึ่งเลื่อนจากแผนธุรกิจ เดิมในเดือนมีนาคมเป็นเดือนมิถุนายน เนื่องจากในเดือน มีนาคม ค่าการกลั่นยังคงมีค่าสูงอยู่ จากการที่ตลาดยัง มี ค วามต้ อ งการ การเลื่ อ นการซ่ อ มบ� ำ รุ ง ดั ง กล่ า วท� ำ ให้

ได้ผลตอบแทนที่สูงขึ้นประมาณ 90 ล้านบาท อีกทั้งการซ่อม บ�ำรุง ยังท�ำให้ประสิทธิภาพของหน่วย TAC9 ดีขึ้นกว่าเดิม คิดเป็นผลประโยชน์ประมาณ 13 ล้านบาทต่อเดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสามารถด�ำเนินการแลกเปลี่ยน วัตถุดิบกับบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (SPRC) ได้แก่ สาร Heavy Vacuum Gas Oil (HVGO) และ Hydro Wax (HW) ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม ซึง่ คิดเป็นมูลค่า Synergy รวมทั งสิ้นประมาณ 200 ล้านบาท สามารถสรุปรายละเอียด ผลการด�ำเนินงานด้านปฏิบัติการผลิตปี 2553 ได้ดังนี้

หน่วย: พันบาร์เรลต่อวัน

โรงกลั่นน้ำ�มัน AR1

โรงงาน AR2

โรงงาน AR3

รวม

วัตถุดิบหลัก

145

46

54

246

น้ำ�มันดิบ

145

145

46

54

101

ผลิตภัณฑ์

168.5

53.3

58.5

280.3

กำ�มะถัน

0.3

0.3

ก๊าซแอลพีจี

3.0

6.0

5.7

14.7

แนฟทา

19.5

15.6

17.2

52.3

รีฟอร์เมท

17.7

0.1

0.2

18.0

น้�ำ มันอากาศยาน

24.1

24.1

น้�ำ มันดีเซล

72.8

72.8

น้�ำ มันเตา

31.1

31.1

พาราไซลีน

9.2

13.5

22.7

เบนซีน

4.6

6.7

11.3

ไซโคลเฮกเซน

3.7

3.7

สารอะโรเมติกส์อื่นๆ

3.1

0.7

3.8

ก๊าซไฮโดรเจน

2.9

2.9

คอนเดนเสท เรซิดิว

11.0

11.6

22.6

คอนเดนเสท

หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ยังไม่มีการตัดรายการระหว่างกัน รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 37

37 15/3/2011 19:31


ในปี 2553 บริษัทฯ สร้างประโยชน์จากการ Synergy ระหว่างหน่วยผลิตทัง 3 แห่ง คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 136 การ Synergy โรงงานทั้ง 3 แห่ง

ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมากกว่าปี 2552 ที่มีมูลค่า 123 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ประกอบด้วย ผลประโยชน์ (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

1. การน�ำแนฟทาจาก AR1 ไปผลิตอะโรเมติกส์แทนการขายในประเทศ

3.7

2. การใช้ท่าเทียบเรือและถังเก็บวัตถุดิบที่ AR1

2.8

3. การใช้ N2 Blanket ที่ถังรีฟอร์เมทเพื่อเพิ่มผลผลิตของอะโรเมติกส์

4.5

4. การใช้สารอะโรเมติกส์หนักผสมในน�้ำมันเตาแทนน�้ำมันดีเซล

9.8

5. การน�ำรีฟอร์เมทไปผลิตอะโรเมติกส์แทนการส่งออก

49

6. การน�ำคอนเดนเสท เรซิดิวไปกลั่นที่หน่วย CRS แทนการส่งออก

60

7. การส่งก๊าซไฮโดรเจนที่เหลือใช้จาก AR2/AR3 มาใช้ที่ AR1

6.2

รวม

2.2 ด้านการบำ�รุงรักษา ในปี 2553 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินงานบ�ำรุงรักษาในด้าน ต่างๆ ซึ่งสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ดังต่อไปนี้ 2.1 การบริ ห ารงานบ� ำ รุ ง รั ก ษาช่ ว งเดิ น เครื่ อ งปกติ (Routine Maintenance) ในปี 2553 บริษัทฯ ยังคงให้ ความส�ำคัญของงานบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) อย่างต่อเนือ่ ง โดยสามารถด�ำเนินงาน บ� ำ รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น ได้ ต ามแผนงานท� ำ ให้ มี ค ่ า PM Compliance ของโรงงานโดยรวมสูงเท่ากับร้อยละ 100 ส่วน งานซ่อมบ�ำรุงเชิงแก้ไข (Corrective Maintenance: CM) ก็สามารถท�ำได้สูงเช่นกันโดยมีค่า CM Compliance ของ โรงงานโดยรวมสูงกว่าร้อยละ 85 ส่งผลให้บริษัทฯ มีความ พร้อมของอุปกรณ์เครือ่ งจักร (Mechanical Availability) ของ ทั้ง 3 โรงงาน สูงถึงร้อยละ 96.6 ท�ำให้โรงงานสามารถเดิน เครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง 2.2 บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญในการบริหารงานซ่อม บ�ำรุงใหญ่ (Turnaround Management) โดยจัดเป็นแผนงาน รวมระยะยาว (Long Term Shutdown Plan) พร้อมทั้ง มีการด�ำเนินงานแบบ Integrated Turnaround Team ส่ ง ผลให้ ง านซ่ อ มบ� ำ รุ ง ใหญ่ ข องบริ ษั ท ฯ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

136

และยืดหยุน่ ต่อสถานการณ์ธรุ กิจทีม่ คี วามผันผวน โดยในเดือน มิ ถุ น ายน 2553 บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น การซ่ อ มบ� ำ รุ ง ใหญ่ (Turnaround) โรงงานอะโรเมติ ก ส์ หน่ ว ยที่ 1 (AR2) ประสบความส� ำ เร็ จ ตามเป้ า หมายและในขณะเดี ย วกั น ได้ เตรียมงานซ่อมบ�ำรุงใหญ่ โรงกลั่นน ำมัน (AR1) ที่จะต้อง ด�ำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 2.3 การพั ฒ นางานบ� ำ รุ ง รั ก ษา (Maintenance Development) บริษัทฯ ได้มุ่งเน้นที่จะพัฒนางานบ�ำรุงรักษา ให้ก้าวหน้าสู่มาตรฐานระดับสากล พร้อมกับพัฒนาความ เชีย่ วชาญ ความรูแ้ ละความสามารถของพนักงานควบคูก่ นั ไป บริษทั ฯ โดยได้จดั ท�ำระบบการพัฒนาบุคลากรฝ่ายบ�ำรุงรักษา (Technical Progression Scheme) ขึ้น ซึ่งระบบนี้จะช่วยให้ พนักงานมีโอกาสพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและเติบโตในสายอาชีพ ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังด�ำเนินนโยบายบ�ำรุงรักษา เชิงรุก โดยเริ่มโครงการ Maintenance Excellence เพื่อ ผลั ก ดั น ให้ ง านบ� ำ รุ ง รั ก ษาของบริ ษั ท ฯ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสิทธิผลสูงสุด และเป็นการเสริมกลยุทธ์หลักของ กลุ่ม ปตท.ในเรื่อง “Zero Unplanned Shutdown” และ “Operation Excellence” ให้ ป ระสบผลส�ำ เร็ จ และเกิ ด ประโยชน์สูงสุด

38 54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 38

15/3/2011 19:31


โครงสร้างการผลิต REF

รีฟอร์เมท

PSA

น้ำ�มันอากาศยาน

AR1 CDU

HDS

DHDS

ก๊าซไฮโดรเจน

น้ำ�มันดิบ

HVU

ดีเซล 50 ppm

ดีเซล

HCU MEROX

VBU

CRS

น้ำ�มันเตา

AR2

ไพก๊าซ

ARO1

REF

AR3

PSA

PSA

CHX

อะโรเมติกส์หนัก

ก๊าซไฮโดรเจน

ก๊าซไฮโดรเจน

มิกซ์ไซลีนส์

คอนเดนเสท เรซิดิว

โทลูอีน

CS

รีฟอร์เมท

คอนเดนเสท

ไพก๊าซ

คอนเดนเสท

CS

REF

ออร์โธไซลีน พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน

พาราไซลีน เบนซีน

ARO2

คอนเดนเสท เรซิดิว

• สัดส่วนวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์

วัตถุดิบนำ�เข้ากลั่น/ผลิต 280,000 บาร์เรลต่อวัน AR1 น้ำ�มันดิบ 145,000 บาร์เรลต่อวัน

AR1 = โรงกลั่นน้ำ�มัน AR2 = โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 AR3 = โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2

HVU = High Vacuum Unit HDS = Hydrodesulfurization Unit DHDS = Deep Hydrodesulfurization Unit CRS = Condensate Residue Splitter

AR2 คอนเดนเสท 70,000 บาร์เรลต่อวัน AR3 คอนเดนเสท 65,000 บาร์เรลต่อวัน CDU HCU VBU CS

= Crude Distillation Unit = Hydro Cracking Unit = Visbreaker Unit = Condensate Splitter

ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 228,000 บาร์เรลต่อวัน

ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ 2.259 ล้านตันต่อปี

แอลพีจี ร้อยละ 9 รีฟอร์เมท ร้อยละ 5 แนฟทาเบา ร้อยละ 23

ผลิตภัณฑ์อื่น ร้อยละ 9 ไซโคลเฮกเซน ร้อยละ 9

น้ำ�มันอากาศยาน, ดีเซล ร้อยละ 53

เบนซีน ร้อยละ 29

พาราไซลีน ร้อยละ 53

น้�ำ มันเตา ร้อยละ 10 REF ARO PSA CHX

= Reformer = Aromatics Complex = Pressure Swing Adsorption Unit = Cyclohexane Unit รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 39

39 15/3/2011 19:31


3. การจัดหาวัตถุดิบ และการจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ 3.1 การจัดหาวัตถุดิบ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด หาน ำ มั น ดิ บ และคอนเดนเสท ผ่ า น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ในราคาตลาด เป็นปริมาณ รวมทั้งสิ้น 91.7 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 7,235 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปริมาณ (ล้านบาร์เรล)

ราคาเฉลี่ย (เหรียญ สหรัฐฯ/ บาร์เรล)

มูลค่า (ล้านเหรียญ สหรัฐฯ)

น�้ำมันดิบ

53.6

79.6

4,266

คอนเดนเสท

38.1

77.8

2,969

รวมทั้งสิ้น

91.7

78.9

7,235

ในปี 2553 บริษัทฯ ได้น�ำน ำมันดิบและคอนเดนเสท ที่ให้ผลก�ำไรดีกว่าแผนธุรกิจเข้ามากลั่น โดยน ำมันดิบ ได้แก่ Labuan, Bunga Kekwa, Dar Blend, Songkhla, Pyreness, Belanak, Penglai, ESPO, Pattani, Benchamas, Umm Shaif, Qatar Marine และคอนเดนเสท ได้แก่ North Arthit, Geragai, Muda, Bintulu, Benjaia ซึ่งส่งผลให้มีกำ� ไรเพิ่ม ขึ้นจากแผนธุรกิจประมาณ 20 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นอกจากนี้ ยังมีการ Synergy กับโรงกลัน่ อืน่ โดยการร่วมขนส่งน ำมันดิบ กับ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) ท�ำให้ลดค่าใช้จ่ายลงประมาณ 10.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สามารถสรุปผลประโยชน์ที่ได้รับในปี 2553 ได้ดังนี้ ผลประโยชน์ (ล้านเหรียญสหรัฐฯ)

1. น�้ำมันดิบใช้ที่ AR1

13.6

2. คอนเดนเสทใช้ที่ AR2/AR3

6.2

3. การร่วมขนส่งน�้ำมันดิบ

10.4

รวมผลประโยชน์

30.2

3.2 การจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ในปี 2553 บริ ษั ท ฯ สามารถจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย มจากธุ ร กิ จ โรงกลั่ น ได้ ป ริ ม าณรวม 57.8 ล้ า น

บาร์เรล คิดเป็นมูลค่า 4,884 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์หลักคือน�้ำมันดีเซลและน�้ำมันอากาศยาน บริษัทฯ มียอดจ�ำหน่ายในประเทศคิดเป็นร้อยละ 72 ของก�ำลังการ ผลิตของโรงกลั่น ซึ่งคิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดเท่ากับร้อย ละ 19 ของยอดจ�ำหน่ายในประเทศไทยทั้งหมดทั้งนี้ลูกค้า ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหลักของบริษัทฯ ได้แก่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ มีสญ ั ญาซือ้ ผลิตภัณฑ์รอ้ ยละ 70 ของก�ำลัง การผลิตเดิมจากโรงกลั่น และจากก�ำลังการผลิตเพิ่มจาก CRS อย่างน้อยร้อยละ 50 เพือ่ จ�ำหน่ายในประเทศ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ห าลู ก ค้ า รายใหม่ ๆ เพิ่ ม เติ ม โดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์น ำมันเตา ท�ำให้บริษัทฯ มีความยืดหยุ่นในการ ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยมากขึ้ น ทั ง นี้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเลี ย มที่ บริษทั ฯ ส่งออกไปจ�ำหน่ายในภูมภิ าคเอเชีย ได้แก่ จีน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีจำ� นวนรวมกันประมาณร้อยละ 35 ของการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั งหมด ส�ำหรับธุรกิจอะโรเมติกส์ บริษัทฯ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ได้รวมทั งสิ้น 4.04 ล้านตัน โดยส่วนใหญ่เป็นการจ�ำหน่าย ในประเทศผ่าน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 79 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มียอดจ�ำหน่ายทีม่ สี ว่ นแบ่งการตลาดในประเทศ สูงที่สุด คือ เบนซีนคิดเป็นร้อยละ 47 และ พาราไซลีน คิดเป็นร้อยละ 54 ส่วนที่เหลือบริษัทฯ ส่งไปจ�ำหน่ายยัง ภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ สิงคโปร์ ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน อินเดีย และเกาหลี รวมทัง ภูมภิ าคอืน่ ๆ เช่น ซาอุดอิ าระเบีย สหรัฐอเมริกา เป็นต้น ผลิตภัณฑ์

ธุรกิจ โรงกลั่น

ปริมาณ ราคาเฉลี่ย

มูลค่า

(ล้านบาร์เรล) (เหรียญสหรัฐฯ (ล้านเหรียญ ต่อบาร์เรล) สหรัฐฯ)

สัดส่วน ตามมูลค่า (ร้อยละ)

ในประเทศ

37.2

85.1

3,161

65

ส่งออก

20.6

83.6

1,723

35

รวมทั้งสิ้น

57.8

84.5

4,884

100

ธุรกิจ อะโรเมติกส์

(ล้านตัน)

ในประเทศ

3.24

823

2,679

79

ส่งออก

0.80

878

701

21

รวมทั้งสิ้น

4.04

834

3,380

100

(เหรียญสหรัฐฯ (ล้านเหรียญ ต่อตัน) สหรัฐฯ)

(ร้อยละ)

40 54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 40

15/3/2011 19:31


ตลาดภายในประเทศ ปตท.

ปตท.

คอนเดนเสท

บร�ษัท ไออารพีซ� จำกัด (มหาชน)

คอนเดนเสท เรซ�ดิว

บร�ษัท ระยอง เพียวร�ฟายเออร จำกัด (มหาชน)

แนฟทา

โทลูอีน เบนซ�น

บร�ษัท ไออารพีซ� จำกัด (มหาชน)

บร�ษัท เอสซ�จ� เคมิคอลส จำกัด

ผลิตภัณฑอะโรเมติกสสงออก

บร�ษัท ไทยแทงค เทอรมินัล จำกัด (มาบตาพุด)

ไซโคลเฮกเซน

บร�ษัท อูเบะเคมิคอลส (เอเช�ย) จำกัด (มหาชน)

กาซปโตรเลียมเหลว แนฟทาชนิดเบา

คอนเดนเสท

ไอน้ำ/ไฟฟา

สงออก

บร�ษัท โกลว พลังงาน จำกัด (มหาชน)

กำมะถัน

บร�ษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด

แนฟทาชนิดเบา กาชธรรมชาติ

โรงแยกกาชธรรมชาติ ปตท.

ไพกาซ

แอลพีจ�

คอนเดนเสท น้ำมันดิบ

บร�ษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน)

เบนซ�น

บร�ษัท พีทีที ฟนอล จำกัด

น้ำมันเตา

ปตท.

น้ำมันเตา เบนซ�น

บร�ษัท สยามสไตร�น โมโนเมอร จำกัด ดีเซล น้ำมันอากาศยาน ดีเซล น้ำมันอากาศยาน

ปตท.

บร�ษัท ศักดิ์ไชยสิทธ� จำกัด

บร�ษัท คอนทิเนนทอล ปโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำกัด

วัตถุดิบและพลังงาน

ขนสงทางทอ

พาราไซลีน

ดีเซล น้ำมันอากาศยาน

บร�ษัท สยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด

แนฟทาชนิดเบา พาราไซลีน

ออรโธไซลีน

บร�ษัท ทีพีที ปโตรเคมิคอล จำกัด (มหาชน)

พาราไซลีน

บร�ษัท อินโดรามา ปโตรเคม จำกัด

ขนสงทางรถบรรทุก

ขนสงทางเร�อ

รายงานประจำาปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำากัด (มหาชน)

41


Hydrodesulfurization : DHDS เพื่อผลิตน้ำ�มัน ดีเซลกำ�มะถันต่ำ�พิเศษ 50 ppm (มาตรฐานยูโร 4) รองรั บ นโยบายปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพน้ำ� มั น ที่ จ ะเริ่ ม บังคับใช้ในปี 2555 ณ สิ้นปี 2553 โครงการมีความ ก้าวหน้าโดยรวมร้อยละ 85.55

5. การดำ�เนินงานด้านการเงิน

4. การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และการบริหารโครงการขยายงาน 4.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • เปลี่ยนตัวเร่งปฎิกิริยาหน่วย TAC9 ให้สามารถนำ� สารอะโรเมติกส์หนัก (Heavy Aromatics) มาผลิต เป็นผลิตภัณฑ์เบนซีนและพาราไซลีนได้เพิ่มขึ้น • เปลีย่ นอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนหน่วยรีฟอร์เมอร์ ทำ�ให้กำ�ลังการผลิตของหน่วยรีฟอร์เมอร์เพิ่มขึ้น • เปลี่ยนอุปกรณ์หอกลั่นรีฟอร์เมทเป็นแบบ High Performance Tray ซึ่งช่วยทำ�ให้การใช้พลังงาน ของอุปกรณ์ลดลง • เปลีย่ นอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนของหน่วยกลัน่ แยกคอนเดนเสท (Condensate Splitter) ทำ�ให้ สามารถนำ�ความร้อนกลับมาใช้ใหม่ได้มากขึ้น • ทำ�ความสะอาดอุปกรณ์ในเตาปฎิกรณ์หน่วยผลิต ไซโคลเฮกเซน ทำ�ให้กำ�ลังการผลิตไซโคลเฮกเซน เพิ่มขึ้น • ปรับลดอัตราการใช้สารสกัดในหน่วย ED Sulfolane ทำ�ให้การใช้พลังงานลดลง • เพิ่มกำ�ลังการผลิตหน่วย Parex ร้อยละ 4 โดยไม่มี ค่าใช้จ่ายในการลงทุน

4.2 การบริหารโครงการขยายงาน • โครงการเชื้ อ เพลิ ง สะอาดและปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระยะที่ 2 (Upgrading Complex Phase 2) หรื อ โครงการก่ อ สร้ า งหน่ ว ย Deep

บริ ษั ท ฯ ประสบความส� ำ เร็ จ ในการบริ ห ารจั ด การ โครงสร้างเงินกู้รวม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการทางการเงิน ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยให้ต�่ำลง และเพิ่มความมั่นใจด้านสภาพคล่องทางการเงินของบริษัทฯ ให้เพียงพอรองรับการขยายงานในอนาคต ภายใต้สภาวะการ ฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงไม่มีความชัดเจน บริษทั ฯ ได้ ด�ำเนินการจัดการ ดังนี้ • จัดหาวงเงินกูร้ ะยะยาวเพิม่ เติมจากสถาบันการเงิน ทั้งในและต่างประเทศ คิ ด เป็ น วงเงิ น รวมทั้ ง สิ้ น 25,700 ล้านบาท เพื่อรองรับการช�ำระคืนเงินกู้เดิม ที่ จ ะครบก�ำหนด (Refinance) ในปี 2554-2555 และ/หรือ เพือ่ ใช้เป็นวงเงินส�ำรองในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ในอนาคต วงเงินกู้ที่บริษัทฯ จัดหา ส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ในลักษณะ Revolving Basis ซึ่ง มีความยืดหยุ่น และสอดคล้องกับโครงสร้างการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ การดำ�เนินการดังกล่าวทำ�ให้โครงสร้างอายุเงินกู้ เฉลี่ยรวมของบริษัทฯ ยาวขึ้น อีกทั้งยังทำ�ให้อัตรา ดอกเบีย้ เฉลีย่ ลดลงประมาณร้อยละ 0.50 ต่อปี หรือ คิดเป็นเงินที่สามารถประหยัดลงได้ประมาณ 300 ล้านบาทต่อปี • เจรจาแก้ ไ ขสั ญ ญาเงิ น กู้ เ ดิ ม ที่ มี กั บ กลุ่มธนาคาร ผู้ให้กู้ตามสัญญาเงินกู้ระยะยาว Tranche C และ Tranche G จำ�นวนเงินรวม 9,897.5 ล้านบาท โดย เงือ่ นไขหลักๆ ของสัญญาทีท่ ำ�การเปลีย่ นแปลงได้แก่ การขยายระยะเวลาสัญญาให้ยาวขึน้ การปรับเปลีย่ น อัตราดอกเบีย้ อ้างอิง รวมถึงได้ปรับวงเงินกูด้ งั กล่าว บางส่วนให้เป็นวงเงินกูใ้ นลักษณะ Revolving Basis การดำ�เนิ น การดั ง กล่ า วเป็ น ผลให้ อ ายุ เ งิ น กู้ เฉลีย่ รวมสูงขึน้ และอัตราดอกเบีย้ ปรับลดลงประมาณ ร้อยละ 0.80 ต่อปี หรือคิดเป็นดอกเบีย้ ทีป่ ระหยัดได้ ในปี 2553 ประมาณ 20 ล้านบาท

42 54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 42

15/3/2011 19:31


• ซื้อคืนหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ (USD Bond) จากนักลงทุนสถาบันทั้งในและต่างประเทศ ได้เป็น จำ�นวนรวมทั้งสิ้น 59.15 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายทางการเงิน เป็นผลให้บริษัทฯ สามารถประหยัดดอกเบี้ยจ่ายได้ร้อยละ 0.60 ต่อปี หรือคิดเป็นค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยที่สามารถประหยัดได้ ในปี 2553 ทั้งสิ้นประมาณ 5 ล้านบาท

6. ด้านการบริหารความเสี่ยง และโครงการร่วมทุน 6.1 การบริหารความเสี่ยง ถึ ง แม้ ว ่ า สถานการณ์ วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ โลกน่ า จะผ่ า น จุดต�่ำสุดไปแล้วในปี 2552 แต่ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ก็ ยั ง คงมี ค วามผั น ผวนอยู ่ สู ง มาก เนื่ อ งจากเศรษฐกิ จ ใน สหรัฐอเมริกายังไม่กลับมาฟื้นตัวเต็มที่ ขณะที่ประเทศใน สหภาพยุ โ รปหลายแห่ ง ก็ เ กิ ด ปั ญ หาหนี้ ส าธารณะ ท� ำ ให้ เศรษฐกิจชะลอการเติบโต นอกจากนี้ การเข้ามาซือ้ ขายน ำมันดิบ เพือ่ เก็งก�ำไรของนักลงทุนก็ทำ� ให้ราคามีความผันผวนสูงมาก จนอาจท�ำให้เกิดผลก�ำไรขาดทุนจากสต็อกน ำมันอย่างรุนแรงได้ ส่ ว นสถานการณ์ ภ าพรวมในประเทศปี 2553 ต้ อ ง เผชิญกับปัญหาความไม่สงบทางการเมือง การปฏิบัติตาม รัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรคสอง ในเรื่องโครงการรุนแรง ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยที่มี แนวโน้มสูงขึน้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง เพือ่ ช่วยก�ำหนดนโยบายและแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้งองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

ในปี 2553 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ท�ำหน้าที่ ติดตามก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานด้านบริหารความเสี่ยงใน ด้านต่างๆ ของฝ่ายจัดการอย่างใกล้ชิดเพื่อให้มั่นใจได้ว่าผล ประกอบการของบริษัทฯ จะเป็นไปตามเป้าหมาย และมีการ ทบทวนทะเบียนความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอ โดยสามารถสรุป ภาพรวมการบริหารความเสี่ยงในปี 2553 ได้ดังนี้ • ความเสี่ยงด้านความผันผวนของค่าการกลั่นและ ราคาน้ำ�มัน 1. เข้ า ท� ำ สั ญ ญาขายส่ ว นต่ า งราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิโตรเลียมล่วงหน้า (Crack Spread Hedging) เพือ่ ลดความเสีย่ งความผันผวนของค่าการกลัน่ รวมทั้งสิ้น 7.2 ล้านบาร์เรล คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 9 ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั้งหมด 2. เข้ า ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ น�้ ำ มั น ดิ บ ดู ไ บล่ ว งหน้ า เพื่ อ ก�ำหนดส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้ ได้ ต ามแผน รวมทั้ ง สิ้ น 1.4 ล้ า นบาร์ เ รล (ประมาณ 1.8 แสนตัน) คิดเป็นประมาณร้อยละ 10 ของผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ทั้งหมด 3. เข้ า ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ น�้ ำ มั น ดิ บ ดู ไ บล่ ว งหน้ า เพื่ อ บริ ห ารค่ า ต้ น ทุ น เชื้ อ เพลิ ง การสู ญ เสี ย และ ก๊ า ซหุงต้มที่ถูกควบคุมราคา จ�ำนวนร้อยละ 25 ของปริมาณทั้งหมด 4. ทำ�การแปลงต้นทุนราคาวัตถุดิบให้สอดคล้อง กับเดือนที่ผลิตจริง เพื่อลดความผันผวนของ ผลประกอบการในแต่ละเดือน

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 43

43 15/3/2011 19:31


5. มี น โยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นความ ผั น ผวนของราคาน ำ มั น ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ผลก� ำ ไร ขาดทุนจากการค�ำนวณต้นทุน (Stock Gain/ Loss) โดยให้ฝ่ายจัดการสามารถเข้าท�ำสัญญา ป้องกันความเสี่ยงได้ไม่เกิน 4.6 ล้านบาร์เรล ซึง่ ถือเป็นปริมาณทีอ่ าจท�ำให้มคี วามเสีย่ งต่อการ เกิด Stock Loss ท�ำให้มนั่ ใจว่าผลการด�ำเนินงาน ในรอบสิ้นปีจะไม่มีผลขาดทุนจาก Stock Loss • ความเสี่ยงด้านต้นทุนค่าขนส่งน้ำ�มันดิบทางเรือ บริษัทฯ ได้หาเครื่องมือการบริหารความเสี่ยง ใหม่ๆ มาใช้ประโยชน์ ซึ่งในปี 2553 บริษัทฯ ได้เริ่ม ทำ�การบริหารความเสี่ยงต้นทุนค่าขนส่งน้ำ�มันดิบ ทางเรือสำ�หรับปี 2554 เป็นบางส่วน เนือ่ งจากพบว่า ในช่วง 1 - 2 ปีที่ผ่านมา ค่าขนส่งน้ำ�มันดิบมีความ ผันผวนค่อนข้างสูง โดยเป็นบริษทั แรกในประเทศไทย ที่ได้ทำ�การบริหารความเสี่ยงในด้านนี้ • ความเสีย่ งด้านความผันผวนของอัตราดอกเบีย้ และ อัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ มีการบริหารจัดการความเสีย่ งด้านอัตรา ดอกเบี้ยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยการแปลง อัตราดอกเบี้ยลอยตัวบางส่วนเป็นอัตราดอกเบี้ย คงที่ เพื่อลดความเสี่ยงด้านค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยใน ช่วงดอกเบี้ยขาขึ้น ทำ�ให้ปัจจุบัน บริษัทฯ มีสัดส่วน หนีเ้ งินกูท้ เี่ ป็นอัตราดอกเบีย้ คงทีป่ ระมาณร้อยละ 42 ของหนีเ้ งินกูท้ งั้ หมด เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 38 เมือ่ ช่วง ต้นปี 2553 อย่างไรก็ตาม ในปี 2553 บริษัทฯ ยัง คงได้รับประโยชน์จากการใช้อตั ราดอกเบีย้ ลอยตัวที่ ยังอยู่ในระดับต่ำ� ส่วนด้านอัตราแลกเปลีย่ น คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งได้ ติ ด ตามและให้ แ นวทางการบริ ห าร จัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดย การทยอยเข้าซื้อเงินสกุลเหรียญสหรัฐฯ ล่วงหน้า ให้สอดคล้องกับภาระค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ และ การบริหารจัดการหนี้สกุลเหรียญสหรัฐฯ ให้มีความ สมดุลกับผลกำ�ไรของบริษัทฯ เพื่อลดผลกระทบจาก ความผันผวนของค่าเงินบาท • ความเสี่ยงด้านนโยบายรัฐในเรื่องการปฏิบัติตาม รัฐธรรมนูญมาตรา 67 บริษัทฯ ได้มีแนวทางบรรเทาความเสี่ยงจาก นโยบายรั ฐ โดยเฉพาะในเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ต าม

รัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรคสอง ในการอุทธรณ์คำ�สัง่ คุ้มครองชั่วคราวของศาลปกครองกลาง โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การสนับสนุนการเตรียมแผนรองรับหาก โรงไฟฟ้าของบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด ต้องหยุด เดินเครือ่ ง ทำ�ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ จะไม่ได้รบั ผลกระทบ รุนแรง ซึ่งในที่สุดศาลปกครองได้มีคำ�สั่งยกเลิก คำ�สั่งคุ้มครองชั่วคราวเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 • ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการปรับปรุงความ เชื่อถือได้ (Reliability) ของหน่วยการผลิต เช่น การติดตามการปรับปรุง Reliability ของโรงไฟฟ้า PTTUT CUP-2 การวางแผนจัดหาน้ำ�สำ�หรับใช้ ในกระบวนการผลิต ทำ�ให้ในปี 2553 บริษัทฯ มี Reliability ในการผลิตสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดย มี Operating Availability ร้อยละ 99.5 สูงกว่า แผนที่ตั้งไว้ที่ร้อยละ 98 นอกจากนี้ ยังกำ�หนดให้มี มาตรการป้องกันความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุเพลิง ไหม้รุนแรงในโรงงาน และเร่งดำ�เนินโครงการลด ปริมาณสารอินทรีย์ ร ะเหยเพื่อลดความเสี่ยงที่จะ เกิดมลภาวะต่อชุมชนข้างเคียง ซึ่งโครงการนี้จะเริ่ม ดำ�เนินการในต้นปี 2554

6.2 โครงการร่วมทุนที่สำ�คัญ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด (PPCL) • บริษทั ฯ ร่วมลงทุนใน PPCL ร้อยละ 30 เป็นจำ�นวนเงิน 2,505 ล้านบาท โดย PPCL รับซือ้ ผลิตภัณฑ์เบนซีน จากบริษัทฯ ไปผลิตเป็นสารฟีนอลและอะซิโตน โดย มีกำ�ลังการผลิต 200,000 และ 124,000 ตันต่อ ปีตามลำ�ดับ โรงงานฟีนอลก่อสร้างแล้วเสร็จ และ เริ่มดำ�เนินการผลิตเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2552 สำ�หรับโครงการผลิตสารบิสฟีนอล เอ (BPA) ซึ่งใช้สารฟีนอลและอะซิโตนเป็นวัตถุดิบเพื่อเพิ่ม มูลค่า คาดว่าจะสามารถเริม่ ผลิตเชิงพาณิชย์ในเดือน มีนาคม 2554 เป็นต้นไป บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด (PTTUT) • บริ ษั ท ฯ ร่ ว มลงทุ น ร้ อ ยละ 20 เป็ น จำ�นวนเงิ น 1,372 ล้ า นบาท โดย PTTUT เป็ น ผู้ ผ ลิ ต และ จำ�หน่ายสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�ใช้ อุตสาหกรรม ให้แก่บริษทั ในกลุม่ ปตท. และโรงงาน ในพื้นที่ใกล้เคียง

44 54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 44

15/3/2011 19:31


• PTTUT มี ห น่ ว ยผลิ ต สาธารณู ป การ (Central Utilities Project : CUP) 3 หน่วย ได้แก่ - CUP-1: การก่อสร้างโครงการ CUP1 ระยะที่ 6 แล้วเสร็จและเริ่มทดสอบการเดินเครื่องตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2553 - CUP-2: เริ่ ม ผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ ต้ั ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2552 และเป็นผูผ้ ลิตไฟฟ้าและไอน ำ� ให้แก่โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) - CUP-3: เริม่ จ่ายไอน�ำ้ ตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2552 และก่อสร้างหม้อไอน�ำ้ (Boiler) สถานีจ่ายไฟฟ้า (Power Substation) หน่วยผลิตน�้ำปราศจาก แร่ธาตุ (De-mineralized Water) และชุดอาคาร ควบคุมแล้วเสร็จตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2553 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด (PTTICT) • บริษัทฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 20 โดย PTTICT เป็น บริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารแก่บริษัทในกลุ่ม ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น ร่วมใน PTTICT • บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาจ้าง PTTICT มีก�ำหนดอายุ สัญญา 5 ปี ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2549 โดยเมื่อครบ ก�ำหนดอายุสัญญาแล้ว อาจต่อสัญญาออกไปอีก เป็นครั้งๆ ครั้งละ 5 ปี บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด (BSA) • บริษทั ฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 25 โดย BSA เป็นบริษทั ที่ ให้บริการด้านการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการ แก่ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

• ปรับปรุง เพิ่มเติม และขยายขอบเขตการใช้งาน โปรแกรมระบบงานต่างๆ ให้ครอบคลุมการใช้งาน ซึ่งช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ เช่น ระบบ SAP ระบบจัดทำ�งบประมาณประจำ�ปี ระบบบริหารจัดการการรับ-ส่งวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ ระบบการติดตามประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของ โรงงาน ระบบการติดตามผลการวัดคุณภาพน้ำ�และ อากาศจากโรงงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้งาน โปรแกรมสำ�เร็จรูปต่างๆ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้จดั ให้มกี ารซ้อมแผนเหตุภยั พิบตั ิ ระบบ SAP เพื่อทดสอบความพร้อมใช้งานระบบงานส�ำรอง SAP และสร้ า งความพร้ อ ม ความเข้ า ใจในกระบวนการ จัดการเหตุภัยพิบัติ รวมถึงบทบาทและหน้าที่เมื่อเกิดเหตุ ภัยพิบัติของผู้ใช้งาน

7. การดำ�เนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร เพือ่ รองรับและให้การสนับสนุนการปฎิบตั งิ าน และเพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานของบริษัทฯ ดังนี้ • ปรั บ ปรุ ง ระบบวิ ท ยุ สื่ อ สารแบบโมบายทรั ง ค์ ข อง บริษัทฯ ให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างโรงงาน ต่ า งๆ ได้ ซึ่ ง ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความคล่ อ งตั ว ในการ บริหารจัดการ • ปรับปรุงความเร็วและการป้องกันภัยทางคอมพิวเตอร์ ของระบบข้อมูลเครือข่ายของบริษัทฯ ให้สามารถ ทำ�งานรับส่งข้อมูลได้รวดเร็วและปลอดภัย รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_036-045-4c_Y new15.indd 45

45 15/3/2011 19:31


โครงสร้างรายได้ 1. รายได้จากโรงงานอะโรเมติกส์ ผลิตภัณฑ์

ยอดขาย ปี 2552

ยอดขาย ปี 2553

ปริมาณการผลิต ปี 2553

สัดส่วนการจำ�หน่าย ปี 2553 ในประเทศ

ในต่างประเทศ

ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ พันตัน/ปี ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ เบนซีน

11,897

5

16,382

6

573

14

7,106

3

9,276

12

พาราไซลีน

34,392

15

37,321

14

1,137

28

33,361

17

3,960

5

192

0.1

-

-

-

-

-

-

-

-

ออร์โธไซลีน

1,873

1

1,913

1

55

1

1,130

1

783

1

มิกซ์ไซลีนส์

17

-

130

-

4

0.1

-

-

130

0.2

ไซโคลเฮกเซน

4,225

2

5,725

2

178

5

3,099

2

2,626

3

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว

5,235

2

7,432

3

374

9

7,432

4

-

-

แนฟทาชนิดเบา

21,479

10

27,792

10

1,190

30

22,596

11

5,196

7

แนฟทาชนิดหนัก

837

0.4

-

-

-

-

-

-

-

-

สารอะโรเมติกส์หนัก

248

0.1

262

0.1

11

0.3

11

-

251

0.3

คอนเดนเสท เรซิดิว

8,774

4

10,383

4

502

13

10,383

5

-

-

89,169

40

107,340

39

4,024

100

85,118

43

22,222

29

โทลูอีน

รวม

สัดส่วนการจ�ำหน่ายภายในประเทศ ต่อ ต่างประเทศ ของธุรกิจอะโรเมติกส์ (ร้อยละ)

79

21

46 54-02-058_046-047-4c N15_Y.indd 46

15/3/2011 19:32


2. รายได้จากโรงกลั่นน้ำ�มัน ผลิตภัณฑ์

ยอดขาย ปี 2552

ยอดขาย ปี 2553

ปริมาณการผลิต ปี 2553

สัดส่วนการจำ�หน่าย ปี 2553 ในประเทศ

ในต่างประเทศ

น ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ บาร์พัเรล/ปี

โพรพิลีน

124

0.1

-

-

-

-

-

-

-

-

1,407

1

1,442

1

1,097

2

1,442

1

-

-

11,488

5

14,142

5

5,885

10

14,142

7

-

-

9,793

4

9,538

4

3,044

5

-

-

9,538

12

น�ำ้ มันอากาศยาน

17,738

8

25,417

9

8,794

15

20,970

10

4,447

6

น�ำ้ มันดีเซล

77,265

34

88,720

32

26,564

47

64,712

33

24,007

31

น�้ำมันเตา

17,177

8

25,747

9

11,360

20

9,138

5

16,609

22

ผลิตภัณฑ์พลอยได้

161

0.1

184

0.1

125

0.2

184

0.1

-

-

น�้ำมันดิบ

978

0.4

1,237

1

-

-

1,237

1

-

-

136,131

60

166,427

61

56,870

100

111,826

57

54,601

71

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว แนฟทาชนิดเบา รีฟอร์เมท*

รวม

สัดส่วนการจำ�หน่ายภายในประเทศ ต่อ ต่างประเทศ ของธุรกิจโรงกลัน่ (ร้อยละ)

รวมทั้งสิ้น

225,300

100

273,767

100

67

196,944

สัดส่วนการจำ�หน่ายภายในประเทศ ต่อ ต่างประเทศ ของธุรกิจบริษทั ฯ (ร้อยละ)

100 72

33

76,823

100 28

หมายเหตุ: * รวมน ำมันเบนซินจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2552 ซึ่งบริษัทฯ ได้ยกเลิกสัญญาการกลั่นร่วมกับ SPRC

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_046-047-4c N15_Y.indd 47

47 15/3/2011 19:32


ค�ำอธิบาย และการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ 1. สรุปผลการดำ�เนินงาน 1.1 งบกำ�ไรขาดทุน

หน่วย: ล้านบาท

ไตรมาส 3/2553

4/2553 วัตถุดิบรวม (ล้านบาร์เรล)

ปี

4/2552

2553

2552

24.70

25.28

24.00

95.02

92.78

74,982

68,910

67,425

273,767

225,300

(68,039)

(65,174)

(63,532)

(252,524)

(207,311)

(1,179)

(1,204)

(1,131)

(4,469)

(4,434)

5,764

2,532

2,762

16,774

13,555

(39)

62

(64)

9

3,248

2,226

171

2,759

1,111

7,342

7,951

2,765

5,457

17,894

24,145

(958)

(738)

(800)

(2,906)

(2,933)

-

31

(1)

(196)

(25)

(476)

(369)

(508)

(1,514)

(1,434)

(1,434)

(1,076)

(1,309)

(4,616)

(4,392)

รายได้อื่น

45

14

42

212

278

EBITDA

6,562

1,703

4,190

13,490

20,031

ต้นทุนทางการเงินสุทธิ

(715)

(680)

(720)

(2,930)

(2,906)

(1,306)

(1,345)

(1,319)

(5,154)

(5,035)

กำ�ไร/(ขาดทุน)จากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย

297

146

21

868

(99)

กำ�ไร/(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน3

139

989

(221)

1,689

575

ขายสุทธิ ต้นทุนวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค

กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) Hedging Gain/(Loss)1 Stock Gain/(Loss) net LCM2 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM)

ต้นทุนการผลิต (Processing Cost) ค่าใช้จ่ายในการปิดซ่อมบำ�รุง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร OPEX

ค่าเสื่อมราคา

48 54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 48

15/3/2011 19:33


หน่วย: ล้านบาท

4/2553 กำ�ไร/(ขาดทุน)สุทธิก่อนภาษีเงินได้

ไตรมาส 3/2553

ปี

4/2552

2553

2552

4,977

813

1,951

7,963

12,566

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

(1,170)

(118)

(453)

(1,620)

(3,404)

กำ�ไร/(ขาดทุน)สุทธิ

3,807

695

1,498

6,343

9,162

1.28

0.23

0.51

2.14

3.09

กำ�ไร/(ขาดทุน)ต่อหุ้น (EPS) (บาท)

หมายเหตุ: 1. ก�ำไรจากการสิ้นสุดสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นก่อนก�ำหนด และ ก�ำไร/(ขาดทุน) จากส่วนต่างจากสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นและ ส่วนต่างราคาน ำมันดิบสุทธิ 2. ก�ำไร/(ขาดทุน) จากผลกระทบจากสต็อกน ำมัน รวมค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ/กลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ 3. ไม่รวมก�ำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิที่เกิดจากการซื้อขายวัตถุดิบ เนื่องจากได้นำ� ไปรวมในต้นทุนวัตถุดิบแล้ว

2. วิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานปี 2553 เทียบปี 2552 2.1 ด้านการผลิตและจำ�หน่าย

2.1.1 วัตถุดบิ นำ�เข้าผลิต ไตรมาส

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ) QoQ YoY

ปี

2553

2552

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

4/2553

3/2553

4/2552

16.62

16.88

15.88

(2)

5

63.34

60.32

5

181

183

173

(2)

4

174

165

5

105

105

104

0

1

103

102

2

11.00

10.95

11.08

0

(1)

42.51

41.32

3

120

119

120

0

0

116

113

3

90

86

88

5

2

85

82

4

24.70

25.28

24.00

(2)

3

95.02

92.78

2

ธุรกิจโรงกลั่น วัตถุดิบนำ�เข้ากลั่น (M.BBL)

(KBD)

CDU Utilization Rate (ร้อยละ) ธุรกิจอะโรเมติกส์ วัตถุดิบนำ�เข้าผลิต (M.BBL)

(KBD)

BTX Utilization Rate (ร้อยละ) วัตถุดิบรวม (M.BBL)

บริษัทฯ มุ่งเน้นการบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีความพร้อมในการผลิต โดยในปีนี้มี Unplanned Shutdown เพียง 2 วัน ท�ำให้สามารถใช้วตั ถุดบิ ทัง้ สิน้ 95.02 ล้านบาร์เรล คิดเป็น 260,000 บาร์เรลต่อวัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2 จากปี 2552 โดยธุรกิจโรงกลั่น น�ำวัตถุดิบเข้ากลั่นจ�ำนวน 63.34 ล้านบาร์เรล คิดเป็น 174,000 บาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น

ร้อยละ 5 จากปี 2552 สาเหตุหลักมาจากบริษัทฯ ได้สร้างผล ประโยชน์ร่วมกับโรงกลั่น SPRC โดยการแลกเปลี่ยนน ำมัน กึง่ ส�ำเร็จรูประหว่างกัน เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ มากขึน้ โดยเริม่ ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม 2553 ส่งผลให้บริษทั ฯ มีก�ำไรเพิ่มขึ้นประมาณ 200 ล้านบาท และความร่วมมือนี้ยัง คงด�ำเนินต่อเนื่องต่อไปในปี 2554 ส�ำหรับธุรกิจอะโรเมติกส์ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 49

49 15/3/2011 19:33


ให้บริษัทฯ น�ำวัตถุดิบเข้าผลิตเพิ่มขึ้นทั งคอนเดนเสทและ รีฟอร์เมท แม้วา่ โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) จะมีการ หยุดซ่อมบ�ำรุงตามแผนเป็นเวลา 1 เดือนก็ตาม

น�ำวัตถุดบิ เข้าผลิตจ�ำนวน 42.51 ล้านบาร์เรล คิดเป็น 116,000 บาร์เรลต่อวัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3 จากปี 2552 ด้วยอัตรา BTX Utilization Rate ที่ร้อยละ 85 เนื่องจากสถานการณ์ราคา ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ในปี 2553 ดีขนึ้ กว่าปี 2552 เอือ้ อ�ำนวย

2.1.2 ปริมาณการผลิตและจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

น�้ำมันอากาศยาน

ปริมาณการผลิต ปี 2553

พัน บาร์เรล

ปี 2552

ร้อยละ

พัน บาร์เรล

ร้อยละ

มูลค่าการจำ�หน่าย

สัดส่วนการจำ�หน่าย

ปี 2553

ในประเทศ ส่งออก

ล้านบาท

ร้อยละ

ร้อยละ

ร้อยละ

8,794

12

7,274

10

25,417

9

83

17

น�้ำมันดีเซล

26,564

35

27,242

36

88,720

32

73

27

น�้ำมันเตา

11,360

15

8,808

12

25,747

9

35

65

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ

29,663

39

31,349

42

72,412

26

79

21

รวมผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

76,381

100

74,673

100

212,295

78

72

28

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์

พาราไซลีน

พันตัน

ร้อยละ

พันตัน

ร้อยละ

ร้อยละ

1,137

58

1,095

58

37,321

14

89

11

เบนซีน

573

29

548

29

16,382

6

43

57

ไซโคลเฮกเซน

178

9

149

8

5,725

2

54

46

ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์อื่นๆ

59

3

111

6

2,043

1

55

45

รวมผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์

1,947

100

1,902

100

61,472

22

73

27

273,767

100

72

28

รวมทั้งสิ้น

จากปริมาณวัตถุดิบที่น�ำเข้าผลิตได้เพิ่มขึ้นในปี 2553 ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ภัณฑ์ปิโตรเลียมได้ ทั้งสิ้น 76,381,000 บาร์เรล เพิ่มขึ้นจากปี 2552 จ�ำนวน 1,708,000 บาร์เรล และผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ได้ทั้งสิ้น 1,947,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า จ�ำนวน 45,000 ตัน และจากราคาผลิตภัณฑ์ที่ปรับตัวสูงขึ้นส่งผลให้ บริษัทฯ มี

ยอดขายรวม 273,767 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อย ละ 22 โดยบริษทั ฯ มุง่ เน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ รี าคาสูงได้แก่ น ำมันอากาศยาน น ำมันดีเซล พาราไซลีน และเบนซีน ทั้งนี้ สัดส่วนการจ�ำหน่ายภายในประเทศและส่งออกอยูท่ รี่ อ้ ยละ 72 และ 28 ตามล�ำดับ โดยตลาดส่งออกที่ส�ำคัญได้แก่ จีน สิงคโปร์ เวียดนาม เป็นต้น

50 54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 50

15/3/2011 19:33


2.2 สถานการณ์ราคาน้�ำ มันและผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์

2.2.1 สถานการณ์ราคาน้�ำ มัน

หน่วย: เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 4/2552 1/2553 2/2553 3/2553 4/2553

ปี 2553

ปี 2552

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

ราคาน�้ำมันดิบ Dubai

75

76

78

74

84

78

62

26

WTI

76

79

78

76

85

79

62

27

Dated Brent

75

76

78

77

86

79

62

27

น�้ำมันเบนซิน (95Ron)

80

88

87

83

95

88

70

26

น�ำ้ มันอากาศยาน/น�ำ้ มันก๊าด

83

85

90

87

99

90

70

29

น�ำ้ มันดีเซล (0.5%s)

82

85

89

86

97

89

69

29

น�ำ้ มันเตา

71

73

71

69

76

72

57

26

น�้ำมันเบนซิน (95Ron)

5.1

12.6

9.4

8.6

10.7

10.3

8.5

21

น�ำ้ มันอากาศยาน/น�ำ้ มันก๊าด

7.3

9.4

11.7

12.9

14.3

12.1

8.3

45

น�ำ้ มันดีเซล (0.5%s)

6.2

8.9

11.3

12.4

13.0

11.4

7.3

57

น�ำ้ มันเตา

(4.4)

(2.8)

(6.5)

(4.7)

(8.0)

(5.5)

(4.5)

(22)

ราคาน�ำ้ มันส�ำเร็จรูป

ส่วนต่างราคาน�้ำมันดิบ Dubai

ที่มา: บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น

1) ราคาน้ำ�มันดิบ ในปี 2553 ราคาน ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึน้ จากปี 2552 ร้อยละ 26 โดยเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาน ำมันดิบดูไบปรับสูงขึ้นต่อเนื่องจากปลายปี 2552 ซึ่ง เป็ น ผลจากความต้ อ งการใช้ น ำ มั น ที่ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น โดย ส�ำนักงานพลังงานสากล (International Energy Agency–IEA)

รายงานความต้องการใช้น ำมันโลกในปี 2553 เพิ่มขึ้นจาก ปี 2552 มาอยูท่ ปี่ ระมาณ 87.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.7 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความต้องการใช้น ำมันที่เพิ่มขึ้น ของกลุ ่ ม ประเทศตลาดเกิ ด ใหม่ (Emerging Markets) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชีย เช่น จีนและอินเดีย เป็นส�ำคัญ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_048-057-4c_Y new16.indd 51

51 16/3/2011 19:32


อย่างไรก็ตาม ราคาน ำมันดิบดูไบมีความผันผวนสูง ตลอดปี 2553 โดยได้ปรับตัวสูงขึ้นในช่วงต้นไตรมาส 2 อยู่ที่ ระดับราคาสูงกว่า 80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนือ่ งจากอุปสงค์ น ำมันในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกสูงขึ้น และแนวโน้มภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ ทุกตัวปรับตัวสูงขึ้นในไตรมาส 3 ข้อมูลภาวะหนี้สาธารณะที่ อยู่ในระดับสูงของกลุ่มประเทศยุโรป ได้แก่ ไอซ์แลนด์ กรีซ โปรตุเกส และสเปน ท�ำให้เกิดความกังวลว่าปัญหาดังกล่าว จะท� ำ ให้ ป ระเทศทางกลุ ่ ม ยุ โ รปประสบภาวะชะลอตั ว ทาง เศรษฐกิจและส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงสหรัฐอเมริกาและ เอเชีย ซึง่ อาจท�ำให้การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลกถดถอย ลงอีกครั้ง (Double Dip Recession) ความกังวลดังกล่าว ส่งผลให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) รวมถึงราคา น ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง จากจุดสูงสุดที่ 83.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในเดือนเมษายน มาอยูท่ รี่ ะดับ 72.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในเดือนกรกฎาคม แต่ดว้ ยมาตรการ ของธนาคารกลางยุโรป ซึ่งร่วมกับกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ (IMF) ได้จดั ตัง้ กองทุนกูย้ มื ฉุกเฉินให้กบั กลุม่ ประเทศ ที่ประสบปัญหาทางการเงินในวงเงินสูงถึง 1 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐฯ ท�ำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) ส่วนใหญ่ ปรับตัวดีขึ้น ราคาน ำมันดิบดูไบได้ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยใน ไตรมาส 3 มาอยู่ที่ 73.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในช่วงไตรมาส 4 อุปสงค์นำ มันดิบในภูมภิ าคต่างๆ ทัว่ โลก ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัว ดีขนึ้ รวมทัง้ ค่าเงินเหรียญสหรัฐฯ ทีอ่ อ่ นตัวจากการทีธ่ นาคาร กลางสหรัฐมีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจระลอกที่สองด้วยการ อัดฉีดเงินเข้าสูร่ ะบบเพิม่ เติม (Quantitative Easing 2) ใน ปริมาณสูงถึง 6 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้ราคาสินค้า โภคภัณฑ์ทงั้ หมดรวมถึงน ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึน้ ประกอบ กับสภาพอากาศทีห่ นาวเย็นอย่างมากในประเทศสหรัฐอเมริกา และยุโรป ส่งผลให้มคี วามต้องการใช้นำ มันเพือ่ ท�ำความร้อน มากขึน้ ราคาน ำมันดิบดูไบได้ปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งมาอยู่ ทีร่ ะดับ 90 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในปลายไตรมาส 4 ซึง่ มี แนวโน้มทีจ่ ะทรงตัวต่อไปในระดับสูงต่อเนือ่ งจนถึงต้นปี 2554 2) ราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูป ในปี 2553 ราคาและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม ปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องจากปลายปี 2552 เนื่องจากความ ต้องการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจโลก

ทัง้ นี้ หากพิจารณาส่วนต่างราคาน ำมันดิบกับราคาน ำมัน ส�ำเร็จรูป (Crack Spread) ในปี 2553 พบว่าปรับสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยเป็นผลจากปริมาณส�ำรองน ำมันส�ำเร็จรูปในทุก ภูมิภาคลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ขณะที่ความต้องการน ำมัน ส�ำเร็จรูปได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ • ส่วนต่างราคาน้ำ�มนั เบนซิน (Gasoline : ULG 95) กับ ราคาน้ำ�มันดิบดูไบ ปรับตัวสูงมากในช่วงไตรมาส 1 เนื่องจากอุปทานในเอเชียตึงตัว สาเหตุจากโรงกลั่น ในเวียดนามและอินโดนีเซียประสบปัญหาทางเทคนิค แต่ ใ นไตรมาส 2 และ 3 ส่วนต่างราคาปรับตัว ลดลงหลังจากโรงกลั่นดังกล่าวกลับมาเดินเครื่อง ปกติ อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างปรับตัวสูงขึน้ ในไตรมาส 4 จากการหยุดงานประท้วงของพนักงานโรงกลั่นใน ประเทศฝรั่งเศส ส่งผลให้อุปทานตึงตัวอีกครั้ง • ส่วนต่างราคาน้ำ�มนั อากาศยาน (Jet/Kerosene) และ น้ำ�มันดีเซล (Diesel) กับราคาน้ำ�มันดิบดูไบ เพิ่มสูง ขึน้ ต่อเนือ่ งตั้งแต่ต้นปี เป็นผลมาจากความต้องการ ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จากธุ ร กิ จ การบิ น ทั้งการขนส่งสินค้าและการเดินทางระหว่างประเทศ และการผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในภูมภิ าค เอเชีย เช่น จีน อินเดีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ส่งผลให้สว่ นต่างราคาน้ำ�มนั อากาศยานปรับตัวสูงขึน้ จากทีร่ ะดับ 9.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในไตรมาส 1 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ระดับ 14.3 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในไตรมาส 4 และส่วนต่างราคา น้ำ�มันดีเซลได้ปรับขึ้นจาก 8.94 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรลในไตรมาส 1 มาอยู่ที่ระดับ 13.03 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในไตรมาส 4 • ส่วนต่างราคาน้ำ�มนั เตา (Fuel Oil) กับราคาน้ำ�มนั ดูไบ ได้ปรับตัวลดลงในไตรมาส 4 มาอยู่ที่ -8.2 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรลจากทีร่ ะดับ -2.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรลในไตรมาส 1 เนื่องจากราคาน้ำ�มันดิบดูไบที่ ปรับตัวสูงขึน้ มาก ส่งผลให้ราคาน้ำ�มนั เตาสูงขึน้ ตาม ทำ�ให้ผใู้ ช้ คือ ผูผ้ ลิตกระแสไฟฟ้าและภาคอุตสาหกรรม หันไปใช้พลังงานทดแทน (ก๊าซธรรมชาติ) ซึ่งมีราคา ถูกกว่าส่งผลให้อุปสงค์ของน้ำ�มันเตาลดลง

52 54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 52

15/3/2011 19:33


2.2.2 สถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ หน่วย: เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน

ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 4/2552 1/2553 2/2553 3/2553 4/2553 พาราไซลีน

ปี 2553

ปี 2552

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

1,005

1,038

969

919

1,263

1,047

982

7

เบนซีน

860

958

889

821

950

905

676

34

ไซโคลเฮกเซน

952

1,085

1,021

951

1,077

1,034

776

33

แนฟทาชนิดเบา

680

717

710

666

803

724

553

31

คอนเดนเสท เรซิดิว

585

607

637

615

695

638

489

30

คอนเดนเสท

628

620

648

624

713

651

512

27

พาราไซลีน

377

418

321

295

550

396

468

(15)

เบนซีน

232

338

242

197

236

253

164

54

ส่วนต่างราคาคอนเดนเสท

ที่มา: บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น หมายเหตุ: ราคาพาราไซลีน คือ Spot FOB Korea และราคาเบนซีน คือ Spot CFR S/E Asia

ส�ำหรับปี 2553 สถานการณ์ตลาดปิโตรเคมีในสาย ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์มีการปรับตัวดีขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ โลกที่มีการขยายตัว ส่งผลให้ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ ขัน้ ปลายของพาราไซลีนและเบนซีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ชิน้ ส่วนคอมพิวเตอร์ ชิน้ ส่วนรถยนต์ ของเล่น เฟอร์นเิ จอร์ และ ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์และเรซิน เพิม่ สูงขึน้ อย่างมาก ท�ำให้ความต้องการสารอนุพนั ธ์ขนั้ กลาง ได้แก่ พาราไซลีนและ เบนซีน ปรับสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะความต้องการจาก ประเทศจีนและอินเดียที่มีการเติบโตอย่างสูง ท�ำให้ราคา ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์โดยเฉพาะราคาพาราไซลีนในไตรมาส 4/2553 ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 1,263 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันและ เฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 1,047 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันหรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7 เมื่อเทียบกับปี 2552 ขณะที่ราคาเบนซีนปรับตัว สูงขึ้นอยู่ที่ 950 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันในไตรมาส 4 และเฉลี่ย ทัง้ ปีที่ 905 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันหรือปรับตัวสูงขึน้ ร้อยละ 34 เมือ่ เทียบกับปี 2552 ส่วนต่างราคาของพาราไซลีน และเบนซีน กับคอนเดนเสทมีการปรับตัวผันผวนสูงในปี 2553 มีสาเหตุ ที่ส�ำคัญดังนี้

• ส่ ว นต่ า งราคาของพาราไซลี น และเบนซี น กั บ คอนเดนเสทในไตรมาส 1 อยูใ่ นระดับสูงที่ 418 และ 338 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามลำ�ดับ สาเหตุหลักมาจาก ปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจ ที่ ข ยายตั ว และการเพิ่ ม ปริ ม าณการเก็ บ สำ�รอง (Re-stocking) แต่ส่วนต่างราคาดังกล่าวได้ปรับตัว ลดลงอย่างต่อเนือ่ งมาอยูท่ ี่ 295 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และ 197 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันในไตรมาส 3/2553 ตามลำ�ดั บ เป็ น ผลมาจากมี อุป ทานที่เ พิ่ม ขึ้น จาก ผู้ผลิตรายใหม่ ได้แก่ คูเวต และโอมาน กำ�ลัง การผลิตรวมของพาราไซลีนและเบนซีนทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก ทั้ง 2 โรงงานจำ�นวน 1.64 ล้านตันต่อปีและ 0.61 ล้านตันต่อปี ตามลำ�ดับ • ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ปรับตัวสูงขึ้น ไตรมาส 4 โดยเฉพาะพาราไซลีน ได้ปรับตัวสูงขึน้ อยู่ ที่ 550 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ในขณะที่ส่วนต่าง ราคาเบนซีนปรับสูงขึ้นอยู่ที่ 236 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันเนื่องจากอุปทานพาราไซลีนในภูมิภาคเอเชีย

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 53

53 15/3/2011 19:33


อุ ป ทานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ จ ากอิ ห ร่ า นลดลง อย่างเป็นนัยสำ�คัญ (ปัจจุบันอิหร่านมีกำ�ลังการผลิต ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ประมาณ 1 ล้านตันต่อปี) นอกจากอุปทานที่ตึงตัวแล้ว ยังมีปัจจัยจากความ ต้องการทีส่ งู ขึน้ ในช่วงปลายปี ซึง่ เป็นไปตามฤดูกาล โดยผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์จะถูกเก็บสำ�รองเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าเพื่อจำ�หน่าย ในช่วงเทศกาลปลายปีและต่อเนือ่ งมาจนถึงไตรมาส 1 ของปีปัจจุบัน

ตึงตัวมากจากโรงงาน Urumqi PC ของประเทศ จีนได้เลื่อนการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์จากไตรมาส 3 ไปเป็นกลางปี 2554 และโรงงานคูเวตและโอมาน ได้ประสบปัญหาทางเทคนิคทำ�ให้ต้องหยุดการผลิต ฉุกเฉิน อีกทัง้ มาตรการคว่ำ�บาตรอิหร่านของสหรัฐฯ และประเทศทางยุ โ รป ทำ�ให้ อิ ห ร่ า นไม่ ส ามารถ นำ�เข้าน้ำ�มันเบนซินเพื่อใช้ในประเทศได้ ส่งผลให้ อิหร่านต้องนำ�วัตถุดิบสำ�หรับผลิตอะโรเมติกส์ คือ รีฟอร์เมท (Reformate) ไปใช้ผสมเป็นน้ำ�มันเบนซิน เพื่อใช้ภายในประเทศแทน จากผลดังกล่าวทำ�ให้

2.3 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิต จากการผลิต การจ�ำหน่าย รวมถึงสถานการณ์ราคาตลาด ข้างต้น ท�ำให้บริษัทฯ มีกำ� ไรขั้นต้นจากการผลิต ดังนี้ หน่วย: เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

ไตรมาส

4/2553 Market GIM Hedging Gain/(Loss) Stock Gain/(Loss) Net LCM Accounting GIM

3/2553 4/2552

QoQ

ปี

YoY

2553

2552

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

7.75

3.15

3.44

146

125

5.54

4.24

31

(0.05)

0.08

(0.08)

(165)

(35)

0.00

1.02

(100)

2.99

0.21

3.43

1,260

(13)

0.37

2.30

(84)

10.69

3.44

6.79

210

57

5.91

7.56

(22)

มูลค่า Market GIM ในปี 2553 มีจ�ำนวน 16,774 ล้าน บาท หรือ 5.54 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจาก ปี 2552 จ�ำนวน 3,219 ล้านบาท หรือ 1.30 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยเป็นผลจากปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น 327 ล้านบาท ผลจากส่วนต่างราคาตลาดและรับรู้ผลประโยชน์ จากการปรับปรุงการด�ำเนินงานด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น 4,257 ล้านบาท และมีผลจากเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นซึ่งท�ำให้ GIM ลดลง 1,370 ล้านบาท

ราคาน ำมันดิบและผลิตภัณฑ์ที่ปรับตัวสูงขึ้นจาก 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ณ สิ้นปี 2552 อยู่ที่ 89 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ณ สิ้นปี 2553 ท�ำให้บริษัทฯ มีก�ำไรจาก สต็อก (รวม LCM) จ�ำนวน 1,111 ล้านบาท ลดลง 6,231 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2552 ก�ำไรจากการป้องกันความเสีย่ งสุทธิทงั้ ปีมจี ำ� นวน 9 ล้าน บาท เทียบกับก�ำไรในปี 2552 ลดลง 3,239 ล้านบาท หรือ 1.02 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

54 54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 54

15/3/2011 19:33


2.4 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน (OPEX) บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน จ�ำนวน 4,616 ล้านบาท คิดเป็น 1.52 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล (48.6 บาท ต่อบาร์เรล) เพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่ 4,392 ล้านบาท หรือ 1.37 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล (47.34 บาทต่อบาร์เรล) เนือ่ งจากมี ค่าใช้จา่ ยในการปิดซ่อมบ�ำรุงตามแผนของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) เพิ่มขึ้น 171 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินจ�ำนวน 2,930 ล้านบาท คิดเป็น 0.97 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2552 ที่ 2,906 ล้านบาท คิดเป็น 0.91 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล (31.32 บาทต่อบาร์เรล)

2.5 กำ�ไรจากการลงทุนในบริษัทร่วมและ กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ รับรู้ก�ำไรจากบริษัทร่วมจ�ำนวน 868 ล้านบาท รายการหลักเป็นก�ำไรจาก บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด จ�ำนวน 802 ล้านบาท และค่าเงินบาทที่แข็งขึ้นท�ำให้บริษัทฯ มีกำ� ไร จากอัตราแลกเปลี่ยน 1,689 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,114 ล้าน บาท จากปี 2552 ประกอบด้วยก�ำไรที่เกิดขึ้นจริง 523 ล้าน บาท และก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้น 1,166 ล้านบาท

3. งบดุล หน่วย: ล้านบาท

31 ธ.ค. 2553

31 ธ.ค. 2552

เพิ่ม/(ลด)

48,916

49,529

(613)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

104,350

105,080

(730)

รวมสินทรัพย์

153,266

154,609

(1,343)

หนี้สินหมุนเวียน

36,449

34,349

2,100

หนี้สินไม่หมุนเวียน

53,785

59,943

(6,158)

รวมหนี้สิน

90,234

94,292

(4,058)

ทุนและส่วนเกินมูลค่าหุ้น

34,329

34,252

77

ก�ำไรสะสม

28,703

26,065

2,638

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

63,032

60,317

2,715

153,266

154,609

(1,343)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน

หนี้สิน

ส่วนของผู้ถือหุ้น

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวมทัง้ สิน้ 153,266 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จ�ำนวน 1,343 ล้านบาท เป็นผลมาจาก • สินทรัพย์หมุนเวียน ลดลง 613 ล้านบาท หรือร้อยละ 1 สาเหตุหลักมาจากได้รบั เงินภาษีคนื เนือ่ งจากการวาง

หนังสือค ำ�ประกันธนาคารสำ�หรับขอคืนภาษีมลู ค่าเพิม่ จำ�นวน 4,362 ล้านบาท และภาษีนิติบุคคล จำ�นวน 2,424 ล้านบาท • สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลดลง 730 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 1 รายการหลักเป็นการลดลงของสินทรัพย์ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 55

55 15/3/2011 19:33


ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลดลง 1,595 ล้านบาท ขณะที่มีเงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น จำ�นวน 978 ล้านบาท เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นจากการรับรู้กำ�ไร 868 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด จำ�นวน 110 ล้านบาท ส�ำหรับหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจ�ำนวน 90,234 ล้านบาท ลดลงจาก ณ สิ้นปี 2552 จ�ำนวน 4,058 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากยอดหนี้ที่มีดอกเบี้ยลดลง รวม 15,075 ล้ า นบาท จากการช� ำ ระคื น หนี้ ด ้ ว ยเงิ น สดจาก การด� ำ เนิ น งาน 6,676 ล้ า นบาท เงิ น สดที่ ไ ด้ รั บ คื น จาก กรมสรรพากร 6,786 ล้านบาท ประกอบกับค่าเงินบาทที่

แข็งขึน้ ท�ำให้หนีส้ กุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 1,613 ล้านบาท ในขณะที่เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น สาเหตุหลักมา จากราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น รวมทั้งสิ้น 63,032 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จ�ำนวน 2,715 ล้านบาท เนื่องจากมีการจ่ายเงินปันผล จากก�ำไรสะสมของปี 2552 ให้กับผู้ถือหุ้นจ�ำนวน 3,705 ล้าน บาท ขณะเดียวกันในปี 2553 มีก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 6,343 ล้าน บาท และได้ รั บ เงิน ค่าหุ ้น เพิ่มทุ น จากการใช้สิทธิ ESOP Warrant จ�ำนวน 77 ล้านบาท

4. งบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

ปี 2553

ปี 2552

ก�ำไรสุทธิ

6,343

9,162

รายการปรับปรุงที่ไม่ใช่เงินสด

7,219

10,819

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน

11,096

(16,554)

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

24,658

3,427

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(4,748)

(5,053)

(19,907)

1,966

1,362

1,011

15

11

1,380

1,362

เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดต้นงวด (1 ม.ค. 2553) ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ คงเหลือสิ้นงวด

บริ ษั ท ฯ มี เ งิ น สดสุ ท ธิ จ ากกิ จ กรรมการด� ำ เนิ น งาน จ�ำนวน 24,658 ล้านบาท กระแสเงินสดจ่ายสุทธิจากกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 4,748 ล้านบาท โดยมีรายการหลัก ได้แก่ รายจ่ายลงทุนส�ำหรับ โครงการเชื้อเพลิงสะอาดส่วนต่อขยายระยะที่ 2 (DHDS หรือ โครงการน ำมันยูโร 4) จ�ำนวน 3,617 ล้านบาท สารเร่ง ปฏิกิริยา (Catalyst) จ�ำนวน 380 ล้านบาท ระบบควบคุม ไอน ำมันเชื้อเพลิง (Vapor Recovery Unit หรือ VRU) ของ

โรงงานกลัน่ น ำมัน (AR1) จ�ำนวน 129 ล้านบาท และเงินลงทุน เพิ่มในบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด จ�ำนวน 110 ล้านบาท กิจกรรมจัดหาเงินเป็นกระแสเงินสดจ่ายสุทธิ จ�ำนวน 19,907 ล้านบาท ประกอบด้วย การช�ำระคืนเงินกู้สถาบัน การเงินและหุน้ กูส้ ุทธิ 13,206 ล้านบาท จ่ายปันผลให้ผถู้ อื หุน้ 3,705 ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่าย 3,073 ล้านบาท รับช�ำระค่าหุ้น จากการใช้สิทธิ ESOP Warrant จ�ำนวน 77 ล้านบาท คงเหลือเงินสดสิ้นงวดจ�ำนวน 1,380 ล้านบาท

56 54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 56

15/3/2011 19:33


5. อัตราส่วนทางการเงิน ปี 2553

ปี 2552

อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้นต่อรายได้จากการขาย (ร้อยละ)

3.3

5.4

อัตราส่วนก�ำไรสุทธิต่อรายได้จากการขาย (ร้อยละ)

2.3

4.1

อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย (เท่า)

4.9

6.9

ณ 31 ธ.ค. 2553

ณ 31 ธ.ค. 2552

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)

1.3

1.4

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)

0.7

0.7

อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

1.4

1.6

อัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

0.9

1.0

อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

1.0

1.2

ที่มาในการค�ำนวณ: อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้น อัตราส่วนก�ำไรสุทธิ อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย

= ก�ำไรขั้นต้น/รายได้จากการขาย = ก�ำไรสุทธิ/รายได้จากการขาย = EBITDA/ดอกเบี้ย

อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

= สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน = (เงินสดและรายการเทียบเท่า + เงินลงทุนระยะสั น + ลูกหนี้การค้า) /หนี้สินหมุนเวียน = หนี้สินรวม/ส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สินไม่หมุนเวียน/ส่วนของผู้ถือหุ้น = (หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - เงินลงทุน) /ส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_048-057-4c_Y new15.indd 57

57 15/3/2011 19:33


สถานการณ์ ปิโตรเลียมและอะโรเมติกส์ สถานการณ์ราคาน�ำ้ มันดิบ และน�ำ้ มันส�ำเร็จรูปปี 2553 ราคาน�้ำมันดิบ ในปี 2553 ราคาน ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึ้นจากปี 2552 ร้อยละ 26 โดยเฉลีย่ ทัง ปีอยูท่ ี่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาน ำมันดิบดูไบปรับ สูงขึ นต่อเนื่องจากปลายปี 2552 เป็นผลมาจากความต้องการใช้น ำมัน ที่ปรับตัวสูงขึ้นในปี 2553 โดยที่ส�ำนักงานพลังงานสากล (International Energy Agency, IEA) รายงานความต้องการใช้น ำมันโลกในปี 2553 เพิม่ ขึน้ จากปี 2552 มาอยูท่ ปี่ ระมาณ 87.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.7 ซึ่งมาจากความต้องการใช้น ำมันของกลุ่มประเทศตลาด เกิดใหม่ (Emerging Markets) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีนและอินเดีย เป็นส�ำคัญ อย่างไรก็ตามราคาน ำมันดิบดูไบมีความผันผวนอย่างมากตลอดปี 2553 โดยได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรุนแรงในช่วงต้นไตรมาส 2 มาอยู่ที่ระดับ ราคาสูงกว่า 80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากอุปสงค์น ำมันใน ภูมภิ าคต่างๆ ทัว่ โลกสูงขึน้ และแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจโลกทีป่ รับตัวดีขนึ้ ส่งผลให้ดัชนีชี วัดทางเศรษฐกิจทุกตัวปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก แต่ในเวลา ต่อมา ความเปราะบางของการฟืน้ ตัวเศรษฐกิจโลกเริม่ ปรากฏให้เห็นจาก ภาวะหนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูงของกลุ่มประเทศยุโรป ได้แก่ กรีซ โปรตุเกส และสเปน ท�ำให้เกิดความกังวลว่าปัญหาดังกล่าวจะท�ำให้ ประเทศทางกลุ ่ ม ยุ โ รปจะประสบภาวะชะลอตั ว ทางเศรษฐกิ จ และส่ ง ผลกระทบต่อเนือ่ งกับทางสหรัฐอเมริกาและเอเชีย ซึง่ อาจท�ำให้การเจริญ เติบโตของเศรษฐกิจโลกถดถอยลงอีกครั้ง (Double Dip Recession) จากเหตุการณ์ดงั กล่าวส่งผลให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) รวม ถึงในเดือนเมษายน ราคาน ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงอย่างรุนแรง จากจุด สูงสุดที่ 83.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล มาอยูท่ รี่ ะดับ 72.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในเดือนกรกฎาคม แต่หลังจากความกังวลจากเหตุการณ์ดงั กล่าว ได้ผอ่ นคลายลง จากมาตรการของธนาคารกลางยุโรป ประกอบกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF) จัดตัง กองทุนกูย้ มื ฉุกเฉินให้กบั กลุม่ ประเทศ ทีป่ ระสบปัญหาทางการเงินในวงเงินสูงถึง 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ท�ำให้ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ส่วนใหญ่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ราคา น ำมันดิบดูไบ ปรับตัวสูงขึน้ เล็กน้อยในไตรมาส 3 มาอยูท่ ี่ 73.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

58 54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 58

15/3/2011 19:36


ในช่วงไตรมาส 4 จากอุปสงค์นำ มันดิบในภูมภิ าคต่างๆ ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัว ดีขึ้น รวมทั้งค่าเงินเหรียญสหรัฐฯ อ่อนตัวจากการที่ธนาคาร กลางสหรั ฐ ฯ มี น โยบายกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ระลอกที่ 2 (Quantitative Easing 2) ด้วยการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบเพิ่ม เติ มอีก 6 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้ ร าคาสิ น ค้ า โภคภัณฑ์ทงั้ หมดรวมถึงน ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึน้ ประกอบ กับสภาพอากาศทีห่ นาวเย็นอย่างมากในประเทศสหรัฐอเมริกา และยุโรป ส่งผลให้มคี วามต้องการใช้นำ มันเพือ่ สร้างความร้อน มากขึน้ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นท�ำให้ราคาน ำมันดิบดูไบ ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก มาอยู่ที่ระดับ 90 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรลในปลายไตรมาส 4 ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทรงตัวต่อไปใน ระดับสูงต่อเนื่องจนถึงต้นปี 2554

ราคาน�้ำมันส�ำเร็จรูป ในปี 2553 ราคาและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม ปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องจากปลายปี 2552 เนื่องจากความ ต้องการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ หาก พิ จ ารณาส่วนต่างราคาน ำมันดิบกับราคาน ำ มั น ส� ำ เร็ จ รู ป (Crack Spread) ในปี 2553 พบว่าปรับสูงขึ้นต่อเนื่องโดย ตลอด โดยเป็นผลมาจากปัจจัยปริมาณน ำมันปิโตรเลียม ส�ำเร็จรูปในตลาดทุกภูมิภาคลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ขณะที่ ความต้องการน ำมันส�ำเร็จรูปได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ • ส่วนต่างราคาน ำมันเบนซิน (Gasoline : ULG 95) กับ น ำมันดิบดูไบ ปรับตัวสูงมากในช่วงไตรมาส 1 เนื่องจากอุปทานในเอเชียตึงตัวจากการที่โรงกลั่น อาทิ เวียดนามและอินโดนีเซีย ประสบปัญหาทาง เทคนิค ขณะที่ในไตรมาส 2 และ 3 ส่วนต่างราคา น ำมันเบนซินกับน ำมันดิบดูไบปรั บ ตั ว ลดลงจาก ไตรมาส 1 ที่ 12.63 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล มาอยู่ที่ 9.36 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และ 8.6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามล�ำดับ เนื่องจากการ กลับมาเดินเครื่องของโรงกลั่นในเวียดนาม และ อินโดนีเซียหลังจากการหยุดเดินเครื่องแบบฉุกเฉิน (Unplanned Shutdown) อย่างไรก็ตาม ผลจากการ หยุดงานประท้วงของพนักงานโรงกลั่นในฝรั่งเศส และปริมาณส�ำรองน ำมันเบนซินในแต่ละภูมิภาคอยู่ ในระดับต�่ำ ส่งผลให้อุปทานน ำมันเบนซินตึงตัว มากขึน้ ในไตรมาส 4 ท�ำให้สว่ นต่างราคาน ำมันเบนซิน กับน�ำ้ มันดิบดูไบ ปรับตัวสูงขึน้ มาอยูท่ ี่ 10.69 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

• ส่วนต่างราคาน ำมันอากาศยาน (Jet/Kerosene) กับ น ำมันดิบดูไบ เพิม่ สูงขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี เป็นผล มาจากอุปสงค์ที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก ธุรกิจการบิน ทั งการขนส่งสินค้า และการเดินทาง ระหว่ า งประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย ในประเทศจีน อินเดีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ส่งผลให้ส่วนต่าง ราคาน ำมันอากาศยานปรับตัวสูงขึ้นจากที่ระดับ 9.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในไตรมาส 1 มาอยูท่ รี่ ะดับ 14.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในไตรมาส 4 • ส่วนต่างราคาน ำมันดีเซล (Diesel) กับ น ำมันดิบดูไบ ปรับตัวสูงขึ้นตลอดทั งปี เป็นไปตามการขยายตัว ของการผลิ ต ในภาคอุ ต สาหกรรม (Industrial Production) ที่ปรับตัวดีขึ้น และการฟื นตัวของ การค้าระหว่างประเทศ ท�ำให้เกิดการขนส่งสินค้าเพิม่ สูงขึ้น ส่งผลให้ส่วนต่างราคาน ำมันดีเซลปรับตัวสูง ขึน้ มาอยูท่ ี่ 13.03 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในช่วง ไตรมาส 4 จาก 8.94 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ใน ช่วงไตรมาส 1 • ส่วนต่างราคาน ำมันเตา (Fuel Oil) กับ น ำมันดิบดูไบ ปรับตัวลดลงในไตรมาส 4 มาอยูท่ ี่ -8.2 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จาก -2.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลใน ไตรมาส 1 เป็นผลมาจากราคาน ำมันดิบดูไบมีราคาสูง ขึ้นอย่างมาก ส่งผลให้ราคาน ำมันเตาสูงขึ้นตาม ท�ำให้มกี ารหันไปใช้พลังงานทดแทน เช่น ก๊าซธรรมชาติ ที่ มี ร าคาถู ก กว่ า ในการผลิ ต ไฟฟ้ า และในภาค อุตสาหกรรม

สถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ในปี 2553 ปี 2553 สถานการณ์ตลาดปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์มีการ ปรับตัวดีขนึ้ ตามภาวะเศรษฐกิจโลกทีม่ กี ารขยายตัว ส่งผลให้ ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ขน ั ปลายของพาราไซลีนและเบนซีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ชิน ส่วนคอมพิวเตอร์ ชิน ส่วน รถยนต์ ของเล่น เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และเรซิน เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ท�ำให้ความต้องการ พาราไซลีน และเบนซีน ปรับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ จากจีนและอินเดียทีม่ กี ารเติบโตอย่างสูง ท�ำให้ราคาผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ปรับตัวสูงขึ้นในปี 2553 โดยราคาพาราไซลีน ปรับตัวสูงขึน้ มาอยูท่ ี่ 1,047 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7 ในขณะที่ราคาเบนซีนปรับตัวสูงขึ้น มาอยู่ที่ 905 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 34 อย่างไรก็ตาม รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 59

59 15/3/2011 19:36


ส่วนต่างราคาของพาราไซลีนและเบนซีน กับ คอนเดนเสท มีการปรับตัวผันผวนขึ้นลงในปี 2553 ตามรายละเอียดดังนี้ • ส่ ว นต่ า งราคาของพาราไซลี น และเบนซี น กั บ คอนเดนเสท ในไตรมาส 1 อยูใ่ นระดับสูงมากที่ 418 และ 338 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามล�ำดับ เป็นผล มาจากปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น จากภาวะ เศรษฐกิจที่ขยายตัว และการเพิ่มปริมาณการเก็บ ส�ำรอง (Re-stocking) แต่ส่วนต่างราคาของ พาราไซลีนและเบนซีน กับ คอนเดนเสท ปรับตัว ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในไตรมาส 3 มาอยู่ที่ 295 และ 197 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามล�ำดับ เป็นผล มาจากในช่วงเวลาดังกล่าว ผู้ผลิตพาราไซลีนและ เบนซีนรายใหม่จากคูเวต และโอมาน ซึง่ มีกำ� ลังการ ผลิตพาราไซลีน รวมประมาณ 1.64 ล้านตันต่อปี และเบนซีน รวมประมาณ 0.61 ล้านตันต่อปี สามารถ เดิ น เครื่ อ งได้ ต ามก� ำ ลั ง การผลิ ต ท� ำ ให้ อุ ป ทาน พาราไซลีนและเบนซีนในภูมิภาคเอเชียเพิ่มสูงขึ้น อย่างมาก • ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์กบั คอนเดนเสท ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ในไตรมาส 4 โดยส่ ว นต่ า งราคา พาราไซลีนกับคอนเดนเสทปรับตัวสูงขึน้ มาอยูท่ ี่ 550

เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และส่วนต่างราคาเบนซีนกั บ คอนเดนเสทปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น มาอยู ่ ที่ 236 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน เนือ่ งจากตลาดผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ในภูมภิ าคเอเชียได้กลับมาตึงตัวอย่างมาก หลังจาก โรงงาน Urumqi PC ของประเทศจีนได้เลือ่ นการเดิน เครื่องเชิงพาณิชย์จากไตรมาส 3 ไปเป็นกลางปี 2554 และโรงงานที่คูเวต และโอมาน ประสบปัญหา ทางเทคนิคท�ำให้ต้องหยุดการผลิตฉุกเฉิน อีกทั้ง มาตรการคว�ำ่ บาตรอิหร่านของสหรัฐฯ และประเทศ ทางยุโรป ท�ำให้อหิ ร่านไม่สามารถน�ำเข้าน ำมันเบนซิน เพื่ อ ใช้ ใ นประเทศได้ ส่ ง ผลให้ ต ้ อ งน� ำ รี ฟ อร์ เ มท (Reformate) วั ต ถุ ดิ บ ส� ำ หรั บ ผลิ ต อะโรเมติ ก ส์ มาผสมเป็ น น ำ มั น เบนซิ น ใช้ ใ นประเทศแทน จากสถานการณ์ดังกล่าว ท�ำให้อุปทานผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ของอิหร่านลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ โดย ปัจจุบนั อิหร่านมีกำ� ลังการผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ประมาณ 1 ล้านตันต่อปี นอกจากอุปทานที่ตึงตัว แล้ว ยังมีปจั จัยจากอุปสงค์ทสี่ งู ขึน้ ในช่วงปลายปีจาก ปริมาณวัตถุดิบส�ำรอง (Build Inventory) ส�ำหรับ การผลิตในช่วงเทศกาล ซึง่ เป็นเหตุการณ์ปกติประจ�ำ ทุกปี ช่วยสนับสนุนอีกด้วย

แนวโน้มสถานการณ์ราคาน�้ำมันดิบ และ น�้ำมันส�ำเร็จรูปปี 2554 ราคาน�ำ้ มันดิบ ทิศทางเศรษฐกิจโลกในปี 2554 มีแนวโน้มเติบโตแบบ ชะลอตัว ซึ่งกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) คาดว่าใน ปี 2554 เศรษฐกิจโลกจะเติบโตในอัตราร้อยละ 4.2 ซึ่งชะลอ ตัวลงจากอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจปี 2553 ที่เติบโต ประมาณร้อยละ 4.8 อย่างไรก็ดี แนวโน้มการเติบโตทาง เศรษฐกิจยังมีความเสี่ยงอีกมากจากปัญหาการจ้างงานของ สหรัฐฯ ที่จะท�ำให้อัตราการว่างงานที่น่าจะทรงตัวอยู่ในระดับ สูง ปัญหาหนีส้ าธารณะในระดับทีส่ งู ของกลุม่ ประเทศในยุโรป และปัญหาเงินเฟ้อและฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์ของ ประเทศจีน

60 54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 60

15/3/2011 19:36


Global GDP Growth Forecast 2010 (F) As of October 2010

2010 (A)

2011 (P)

2012 (P)

World

4.8

5

4.4

4.5

Advanced Economics

2.7

3

2.5

2.5

Emerging And Developing

7.1

7.1

6.5

6.5

USA

2.6

2.8

3

2.7

Euro area

1.7

1.8

1.5

1.7

Japan

2.8

4.3

1.6

1.8

UK

1.7

1.7

2

2.3

Middle East and North Africa

4.1

3.9

4.6

4.7

China

10.5

10.3

9.6

9.5

India

9.7

9.7

8.4

8

Brazil

7.5

7.5

4.5

4.1

Russia

4

3.7

4.5

4.4

ASEAN-5

6.6

6.7

5.5

5.7

IMF: As of January 2011

จากเศรษฐกิจโลกที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องในปี 2554 ท�ำให้คาดการณ์ว่าอุปสงค์น ำมันของโลกในปี 2554 จะ มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่เฉลี่ยประมาณ 1.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน มาอยู่ที่ 89.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดย ภูมิภาคเอเชียยังคงบทบาทส�ำคัญในการขับเคลื่อนอุปสงค์ น ำมันโลกที่เพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคเอเชีย 0.60 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยเป็นความต้องการใช้น ำมันของจีน 0.40 ล้านบาร์เรลต่อวัน และอินเดีย 0.10 ล้านบาร์เรลต่อวัน

ทัง นีเ้ นือ่ งจากในปี 2554 ทัง 2 ประเทศยังคงมีอัตราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจทีส่ งู ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีค่ าดการณ์ ว่า อุปสงค์น ำมันของประเทศในทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือ จะทรงตัวหรือลดลงในปี 2554 แม้จะมีการคาดการณ์ว่า เศรษฐกิจจะมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นก็ตาม ทั งนี้ เนื่องจาก ประสิทธิภาพในการใช้น ำมันที่สูงขึ้น และนโยบายสนับสนุน พลังงานทดแทนเพือ่ ลดการใช้นำ มัน ไปเป็นพลังงานทางเลือก อื่นๆ มีเพิ่มมากขึ้น รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 61

61 15/3/2011 19:36


Global Oil Demand Growth 2009/2010/2011 (Thousand Barrels/Day) FSU

278

Europe -90 -27

North America 618

123

-228

Asia

85 -888

Middle East 215

Latin America

-879

Africa

278 204 6

-1

1,444

45

267 238

728

619

105

Global Demand Growth (mbd) 2009 -1.16 -1.3% 2010 2.84 3.3% 2011 1.46 1.7%

ขณะเดียวกันคาดว่า ก�ำลังการผลิตของกลุ่ม OPEC จะ เพิ่มขึ้นจาก Natural Gas Liquid (NGL) ตามก�ำลังการผลิต ก๊าซธรรมชาติทสี่ งู ขึน้ ส่งผลให้ในปี 2554 ก�ำลังการผลิต NGL ของกลุ่ม OPEC เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 5.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน สูงขึ้นจากปี 2553 ประมาณ 0.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน ท�ำให้ โดยรวมแล้วอุปทานที่เพิ่มขึ้นต�่ำกว่าอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นในปี 2554 ประมาณ 0.3 ล้านบาร์เรล

อุปทานน ำมันดิบของโลกในปี 2554 จะเพิ่มขึ้นเพียง เล็กน้อย โดยมาจากกลุ่ม Non-OPEC ซึ่งคาดว่าจะมีก�ำลัง การผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 53.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น จากปี 2553 ประมาณ 0.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน ทั งนี้ปริมาณ การผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่วนใหญ่มาจากละตินอเมริกา อเมริกาเหนือ และแคนาดา รวมถึงกลุ่มประเทศสหภาพโซเวียตในอดีต

Global Oil Demand Growth (mbd) mbd

mbd

3.0

6.0

2.0

4.0

1.0

2.0

0.0

0.0

-1.0

-2.0

4.0

-2.0

8.0

2001

2002

2003

2004

2005

Effective OPEC Spare Capacity (RHS)

2006

2007

2008

2009

2010

World Demand Growth

2011

2012

2013

2014

2015

-4.0

World Supply Capacity Growth

62 54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 62

15/3/2011 19:36


ในปี 2553 การเคลือ่ นย้ายเงินทุนมีผลต่อราคาน ำมันดิบ เป็นอย่างมาก คาดว่าปัจจัยดังกล่าวจะมีผลอย่างสูงต่อไปใน ปี 2554 เนื่องจากคาดการณ์ว่า ธนาคารกลางของประเทศ พัฒนาแล้วทั่วโลก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และยุโรป จะยังคงนโยบายอัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำเป็นประวัติการณ์อย่าง ต่อเนื่องจนถึงปลายปี 2554 อีกทั งผลกระทบต่อนโยบาย ทางการเงินแบบผ่อนปรนของธนาคารกลางสหรัฐฯ ท�ำให้ ค่าเงินสกุลเหรียญสหรัฐฯ อ่อนค่าลง สร้างแรงจูงใจให้เกิด การเข้ามาลงทุนในสินค้าโภคภัณฑ์ รวมถึงน ำมันดิบอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการผลั ก ดั น ราคาน ำ มั น ดิ บ ให้ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น จากปั จ จั ย พื้ น ฐานด้ า น อุปสงค์และอุปทานน ำมันดิบ รวมถึงปัจจัยต่างๆ ทั งทาง ด้ า นการเคลื่ อ นย้ า ย เงิ น ทุ น และความไม่ แ น่ น อนของ การเมืองในตะวันออกกลาง และการเปลี่ยนแปลงของสภาพ แวดล้อมและภูมิอากาศ ท�ำให้คาดการณ์ว่า ราคาน ำมันดิบ ดูไบในปี 2554 จะปรับตัวสูงขึ้นไปอยู่ที่ระดับ 90 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

ราคาน�้ำมันส�ำเร็จรูป จากภาวะเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งใน ปี 2554 ส่งผลให้การผลิตในภาคอุตสาหกรรม และภาคขนส่ง ระหว่ า งประเทศปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ค วามต้ อ งการใช้ น ำ มั น ดี เ ซล และน ำมันอากาศยานปรับตัวสูงขึ้น ในปี 2554 ส่วนต่างราคาน ำมันดีเซล และน ำมันอากาศยาน เทียบกับ น ำมันดิบดูไบ จะปรับตัวสูงขึ้นจากระดับเดิมในปี 2553 ที่ ประมาณ 14-15 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีแนวโน้มจะ ปรับตัวสูงขึ้นตลอดทั งปี 2554 สืบเนื่องจากความต้องการใช้ น ำมันดีเซลและน ำมันอากาศยานที่สูงขึ้น ในขณะที่อุปทาน น ำมันส�ำเร็จรูปจากก�ำลังการผลิตใหม่มีเข้าน้อยลง ท�ำให้ คาดว่าส่วนต่างราคาน ำมันดีเซล และน ำมันอากาศยานเมื่อ เทียบกับน ำมันดิบดูไบจะทยอยปรับตัวสูงขึน้ คาดการณ์วา่ ในครึง่ ปีแรกของปี 2554 ส่วนต่างของราคา น ำมันเบนซินกับราคาน ำมันดิบดูไบ จะยังคงตัวในระดับสูงที่ 13-14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากผลกระทบต่อเนื่องของ การประท้วงหยุดงานของโรงกลั่นในฝรั่งเศส ท�ำให้ปริมาณ ส�ำรองน ำมันเบนซินลดลงอย่างมาก และปริมาณการใช้ที่ สูงขึ้ น ในไตรมาส 2 เนื่ อ งจากเป็ น ฤดู ก าลท่ อ งเที่ ย วของ สหรัฐฯ ทั งนี้คาดว่า ส่วนต่างของราคาน ำมันเบนซินกับ ราคาน ำมันดิบดูไบ จะปรับตัวลดลงในช่วงครึง่ ปีหลังของปี 2554 มาอยูท่ รี่ ะดับประมาณ 8-10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนือ่ งจาก ความต้ อ งการใช้ ที่ ล ดลงหลั ง จากหมดฤดู ก าลท่ อ งเที่ ย ว ของทางสหรัฐฯ และจากส่วนต่างราคาน ำมันส�ำเร็จรูปกับ

ราคาน ำมันดิบดูไบดังกล่าว คาดว่าค่าการกลั่น (Gross Refinery Margin) ของปี 2554 จะปรับตัวสูงขึ้น โดยคาด การณ์ว่าในปี 2554 ค่าการกลั่นของโรงกลั่นแบบ Complex ที่สิงค์โปร์ จะเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 5-6 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

แนวโน้มสถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ในปี 2554 ในปี 2554 ราคาผลิตภัณฑ์พาราไซลีน มีแนวโน้มปรับ ตัวสูงขึ้นอย่างมาก ต่อเนื่องจากปลายปี 2553 จากราคา พาราไซลีนที่ประมาณ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และ ส่วนต่างของราคาพาราไซลีนกับคอนเดนเสทที่ประมาณ 350 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยคาดว่า ราคาพาราไซลีนจะปรับตัว สู ง ขึ้ น มาอยู ่ ที่ 1,400 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ ตั น และ ส่วนต่างของราคาพาราไซลีนกับคอนเดนเสทจะอยู่ที่ 600 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ขณะที่ในต้นปี 2554 ราคาเบนซีน ปรับตัวสูงขึน้ จากระดับราคาประมาณ 800 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ ตัน และส่วนต่างของราคาเบนซีนกับคอนเดนเสทที่ประมาณ 150 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน มาอยู่ที่ราคาเบนซีนประมาณ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และส่วนต่างราคาเบนซีนกับ คอนเดนเสทที่ประมาณ 200 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดย เป็นผลมาจากความต้องการทีป่ รับตัวสูงขึน้ ตามฤดูกาลในช่วง ต้นปี เพื่อผลิตสินค้าส�ำหรับเทศกาลต่างๆ นอกจากนี้ การ หยุดซ่อมบ�ำรุงฉุกเฉินของโรงงานอะโรเมติกส์ในหลายประเทศ เช่น จีน มาเลเซีย และตะวันออกกลาง ได้แก่ โอมาน และ คูเวต ส่งผลให้ราคาพาราไซลีนและเบนซีนปรับตัวสูงขึ้น อย่างไรก็ตามคาดการณ์ว่า ในไตรมาส 2 ราคาและส่วน ต่างของผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ทั งพาราไซลีนและเบนซีน มี แนวโน้มอ่อนตัวลง เนือ่ งจากก�ำลังการผลิตใหม่ในประเทศจีน และเกาหลีใต้ ทีจ่ ะออกมาในปลายไตรมาส 1 ส่งผลให้อปุ ทาน ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในภูมภิ าคเอเชียเพิม่ สูงขึน้ แต่เนือ่ งจาก ภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งทางภูมิภาคเอเชีย ส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงคาดว่า ราคาพาราไซลีน และเบนซีนจะปรับตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 โดย คาดว่าราคาพาราไซลีนและส่วนต่างของพาราไซลีนกับคอน เดนเสทจะอยู่ที่ประมาณ 1,300 เหรียญสหรัฐฯ และ 500 เหรียญสหรัฐฯ ตามล�ำดับ ขณะทีร่ าคาเบนซีนและส่วนต่างของ ราคาเบนซีนกับคอนเดนเสทจะอยู่ที่ประมาณ 1,000 เหรียญ สหรัฐฯ และ 250 เหรียญสหรัฐฯ ตามล�ำดับ

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_058-063-4c N15_Y.indd 63

63 15/3/2011 19:36


การด�ำเนินงาน

ด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม

บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความ ส�ำคัญกับการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม รวมถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม อย่างเป็นธรรม โดยก�ำหนดเป็นนโยบาย ดังนี้ • มุ่งเน้นการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร เพื่อผลิตสินค้าและ บริการที่ได้มาตรฐานตรงตามข้อกำ�หนด เพื่อตอบสนองความ พึงพอใจและความคาดหวังของลูกค้า • ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย และข้อตกลงอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ รวมถึงการกำ�หนดเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อวัดผลการ ปรับปรุงนั้นๆ • กำ�หนดวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสร้างจิตสำ�นึกให้พนักงานทุกคน คำ�นึงถึงความปลอดภัยในการทำ�งาน ด้วยการดูแลห่วงใยความ ปลอดภัยซึ่งกันและกัน (CARES) ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม • พัฒนาผูเ้ ชีย่ วชาญทีส่ ามารถทำ�การตรวจสอบความปลอดภัยเชิง เทคนิคในสายการผลิตและงานด้านวิศวกรรมอย่างมีประสิทธิผล และกำ�หนดให้ผบู้ ริหารช่วยกันทำ�การตรวจสอบความปลอดภัยใน การทำ�งานอย่างสม่ำ�เสมอ (Safety Walk Around) เพื่อป้องกัน อุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำ�เนินงาน • บริหารองค์กรด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility “CSR”) และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายและให้ความ สำ�คัญอย่างต่อเนื่องในการควบคุมดูแลสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกัน ไม่ให้เกิดปัญหาต่อส่วนรวมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชน รวมถึงผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำ�องค์กรไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน • กำ�กั บ ดู แ ลให้ ก ารใช้ ท รั พ ยากรและพลั ง งานเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภาพและควบคุ ม การสู ญ เสี ย ในกระบวนการผลิตให้ น้อยที่สุด • ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับมีความเข้าใจและมีสว่ นร่วมในระบบ การจัดการด้านต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงการบริหารจัดการ

66 54-02-058_066-069-4c new15_Y.indd 66

15/3/2011 19:39


องค์ความรู้ (Knowledge Management) และ การดำ�เนิ น กิ จ กรรมเพิ่ ม ผลผลิ ต อาทิ กิ จ กรรม 5ส กิจกรรมการแบ่งปันประสบการณ์และความรู้ กิจกรรมการรับข้อเสนอแนะ เพือ่ ปรับปรุงการทำ�งาน กิจกรรม QC เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งานอย่าง ต่อเนื่อง สรุปผลการด�ำเนินงานด้านการบริหารคุณภาพ ความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ในปี 2553 ได้ดังนี้

1. การบริหารจัดการด้านคุณภาพ บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบจัดการจาก สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI) ทั งหมด 5 ระบบ ในคราวเดียวกัน ได้แก่ ระบบการจัดการแบบบูรณาการ ตามมาตรฐาน Integrated Management System ทีเ่ ชือ่ มโยง ระบบการบริหารงานคุณภาพ (ISO/มอก. 9001 : 2008) ระบบ การจัดการสิง่ แวดล้อม (ISO/มอก. 14001 : 2004) และระบบ การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก. BS OHSAS 18001 : 2007) ให้ทำ� งานสอดประสานกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทุกกระบวนการในองค์กร และจัดการฝึกอบรมเพือ่ ให้พนักงานและผูร้ บั เหมาเข้าใจในระบบใหม่ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้รบั เกียรติบตั ร การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานความรับผิดชอบ ของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) ปี 2553 และได้ รั บ เลื อ กจากกลุ ่ ม ผู ้ ต รวจประเมิ น ของกรมโรงงาน อุตสาหกรรมและสรอ. ให้เป็นโรงงานยอดเยีย่ มทีส่ ดุ ในมิตกิ าร ก�ำกับดูแลองค์กร บริษทั ฯ ส่งเสริมกิจกรรมเพิม่ ผลผลิตอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาตนเอง เรียนรู้ร่วมกัน และส่งเสริมการ ท�ำงานเป็นทีม โดยบริษัทฯ ได้ส่งกลุ่ม QC ดีเด่น Boiler005 เข้าร่วมแข่งขันในงานมหกรรมคิวซีแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 24 จัดโดยสมาคมส่งเสริมคุณภาพแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และได้รับการคัดเลือก เป็นกลุม่ คิวซีดเี ด่นจากประเทศไทย ไปน�ำเสนอผลงานในงาน มหกรรมคิวซีนานาชาติที่ประเทศอินเดีย และได้รับรางวัล Popular Vote กลับมาอีกด้วย บริษัทฯ จัดนิทรรศการ Knowledge Management (KM) and QSHE Day เพือ่ เปิดโอกาสให้ฝา่ ยต่างๆ ในบริษทั ฯ ถ่ายทอดองค์ความรู้ของตนให้กับเพื่อนพนักงาน นอกจากนี้ ยังได้นำ� กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ จ�ำนวน 500 คน เข้าเยี่ยมชมนิทรรศการ รวมทั งได้แบ่งปันความรู้สู่บริษัทฯ อื่นในรูปแบบ KM ด้วย เช่นกัน

2. การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการสร้างความตระหนักให้ พนักงานดูแลความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่วมงาน ภายใต้วัฒนธรรมความปลอดภัย “CARES” (Caring / Awareness in safety / Relationship / Everyone goes home safely everyday / Stop if unsafe) ทีบ่ ริษทั ฯ พัฒนาขึน้ เพื่อให้เป็นองค์กรที่ปราศจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ โดย โรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 (AR2) ได้รับรางวัลสถาน ประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ระดับประเทศเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน (2546-2553) แสดงให้เห็นถึงความสม�ำ่ เสมอในการด�ำเนินงาน ด้านความปลอดภัยของบริษัทฯ บริษัทฯ รับเป็นเจ้าภาพในการซ้อมแผนฉุกเฉินระดับ จังหวัด 2 ครั้ง ได้แก่ การซ้อมแผนฉุกเฉินระดับที่ 2 ของ จั ง หวั ด และมี ก ารซ้ อ มอพยพจริ ง ของชุ ม ชนรอบโรงงาน อะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 (AR3) โดยบริษทั ฯ ได้สง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญไป ช่วยชุมชนจัดท�ำแผนอพยพของตนด้วย บริษัทฯ เป็นเจ้าภาพ การซ้อม Rayong Oil Spill Emergency Response ร่วมกับ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_066-069-4c new15_Y.indd 67

67 15/3/2011 19:39


สมาคมอนุรักษ์สภาพแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมน ำมัน (IESG) และหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมเจ้าท่าและ กองทัพเรือ เพื่อทดสอบความพร้อมในการเก็บคราบน ำมัน

3. การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย บริษทั ฯ มีความห่วงใยพนักงาน โดยเฉพาะกลุม่ ทีเ่ ป็นผู้ ปฏิบตั กิ ารในกระบวนการผลิตทีเ่ ดินเครือ่ งใหม่ จึงมีการทบทวน โปรแกรมการตรวจสุขภาพพนักงาน โดยเฉพาะพนักงานกลุม่ ที่ มีโอกาสได้รบั และสัมผัสสารเคมี เพือ่ เป็นการเฝ้าระวังสุขภาพ พนักงานเชิงรุก นอกจากสุขภาพพนักงานแล้ว ยั งได้จัด คาราวานสุขภาพจ�ำนวน 3 ครัง้ เพือ่ ตรวจสุขภาพเบือ้ งต้น และ ให้ความรู้กับชุมชนในเรื่องการดูแลสุขภาพ โดยเน้นที่กลุ่ม เป้าหมาย แม่และเด็ก จากกรณีการฟ้องร้อง 76 โครงการในมาบตาพุด เพือ่ ให้ ปฏิบต้ ติ ามรัฐธรรมนูญปี 2550 มาตรา 67 วรรคสอง บริษทั ฯ ได้สมัครใจด�ำเนินการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ (EIA/HIA) ตามขั นตอนของโครงการที่เข้าข่ายส่ง ผลกระทบรุนแรง ทัง ๆ ทีไ่ ม่เข้าข่ายโครงการรุนแรง 3 โครงการ ได้แก่ โครงการเชือ้ เพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ของโรงกลั่นน ำมัน (AR1) โครงการติดตั งระบบควบคุ ม ไอน ำมันเชื้อเพลิง และการเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ์ไบโอดีเซล ของโรงกลัน่ น ำมัน (AR1) และโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการ ผลิตโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2)

4. การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การดูแลสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบๆ โรงงานเป็นหน้าที่ ของพนักงานและผู้บริหารทุกคน บริษัทให้ความส�ำคัญกับ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยิ่ ง โดยก� ำ หนดให้ ดั ช นี ชี้ วั ด ผลงานด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น หนึ่ ง ในดั ช นี วั ด ผลงานหลั ก ของบริ ษั ท ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้อาสาสมัครส่งตัวแทนท�ำการตรวจวัด กลิน่ โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและชุมชนใกล้เคียง เป็นประจ�ำทุกวันพฤหัสและวันเสาร์ เพือ่ เป็นการเฝ้าระวังกลิน่ ของโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั งจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อให้ ความรู้แก่พนักงานเป็นประจ�ำ การปฏิบัติตามกฎหมายและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม อย่างเคร่งครัด ถือเป็นภารกิจส�ำคัญ บริษัทฯ ได้ลงทุนติดตั้ง อุปกรณ์วัดคุณภาพอากาศและน ำที่ระบายออกจากโรงงาน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และส่ ง ค่ า ที่ อ ่ า นได้ ไ ปที่ ศู น ย์ เ ฝ้าระวังด้าน สิ่งแวดล้อมของส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เพื่อ ให้เป็นหลักฐานตรวจสอบได้ และด้วยความใส่ใจในการดูแล สิ่งแวดล้อม ท�ำให้บริษัทฯ ได้รับรางวัล EIA Monitoring Awards ในส่วนกิจการท่าเรือขนส่งผลิตภัณฑ์ จากส�ำนักนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากนั น การปฏิบัติตามมาตรการ EIA อย่างเคร่งครัดและด�ำเนิน โครงการต่างๆ ทีช่ ว่ ยลดการปล่อยมลพิษลง ยังท�ำให้บริษทั ฯ ได้รับรางวัลธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ธงขาว ดาวเขียว) จาก การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทั ง 3 พื้นที่ปฏิบัติการ ผลิต โดยได้รับผลการประเมินดีมากทุกครั้งจากผู้แทนชุมชน และหน่วยงานราชการ

68 54-02-058_066-069-4c new15_Y.indd 68

15/3/2011 19:39


อนึง่ ในกรณีการฟ้องร้อง 76 โครงการ รัฐบาลได้แต่งตัง คณะกรรมการ 4 ฝ่ า ย เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาการปฏิ บั ติ ต าม รัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสอง ทีม่ นี ายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน มีบุคลากรของบริษัทฯ ที่มี ความเชี่ยวชาญในด้านเทคนิคและกฎหมายสิ่งแวดล้อมได้มี ส่วนร่วมช่วยเหลืองานด้านสิง่ แวดล้อมของประเทศ โดยเข้าไป เป็นตัวแทนจากภาคอุตสาหกรรมในคณะกรรมการ 4 ฝ่าย และในคณะอนุกรรมการ อีก 2 คณะ โครงการที่เกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อมซึง่ บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการแล้วเสร็จในปี 2553 ได้แก่ • โครงการติดตั้ง Activated Carbon Absorber ที่ ถังเก็บผลิตภัณฑ์ของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 และ 2 (AR2 และ AR3) เพื่อดักจับไอระเหย ของสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOC) มิให้รั่วไหลออก สู่บรรยากาศ ซึ่งการตรวจวัดพบว่า การระเหยของ VOC ออกสู่บรรยากาศลดลงถึงร้อยละ 90 • โครงการก่อสร้างระบบควบคุมไอน้ำ�มันเชื้อเพลิง (Vapor Recovery Unit) และปรับปรุงระบบการ จ่ายน้ำ�มันเป็นแบบสูบถ่ายจากด้านล่าง (Bottom Loading) ที่หน่วยขนถ่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันทางรถ บรรทุกของโรงกลัน่ น้ำ�มนั (AR1) เพือ่ ป้องกันการแพร่ กระจายของไอน้ำ�มนั เชือ้ เพลิงไปสูบ่ รรยากาศ จากผล การตรวจวัดพบว่า ลดการแพร่กระจายของไอน้ำ�มัน ได้ถึงร้อยละ 95 • การจัดทำ�ฐานข้อมูลจุดรัว่ ซึมของสารอินทรียร์ ะเหยง่าย (VOC Inventory) ในกระบวนการผลิตและทำ�การ ขันแน่นหน้าแปลนหรือข้อต่อทันที (Leak Detect and Repair) ทีโ่ รงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) โดยเป็นการสมัครใจดำ�เนินการโดยที่กฎหมายยัง ไม่ได้ประกาศใช้ • โครงการปรับปรุงการเผาไหม้ท่ีหน่วยผลิตไฟฟ้า กังหันก๊าซ (Gas Turbine) ทีโ่ รงกลัน่ น้�ำ มัน (AR1) เป็นโครงการทีด่ ำ�เนินงานปรับปรุงระบบการเผาไหม้ เพื่อลดการระบายออกไซด์ของไนโตรเจน จากการ ใช้ก๊าซเชื้อเพลิง สามารถลดการระเหยออกไซด์ของ ไนโตรเจนได้หน่วยละร้อยละ 10 โดยหน่วยที่ 1 และ 2 แล้วเสร็จในปี 2552 และหน่วยที่ 3 แล้วเสร็จในปี 2553 • โครงการเชื้ อ เพลิ ง สะอาดและปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ผลิตภัณฑ์ระยะที่ 1 แล้วเสร็จในปี 2552 สามารถ ลดการปล่ อ ยมลสารซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ ล งได้ ถึง

ร้อยละ 30 ขณะนีก้ ำ�ลังดำ�เนินการก่อสร้างหน่วยกลัน่ Deep Hydrodesulfurization (DHDS) เพื่อลด ปริมาณกำ�มะถันในน้ำ�มันอากาศยานและดีเซล โดย มีกำ�หนดการเดินเครื่องหน่วยดังกล่าวในปี 2555 • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนและอุปกรณ์ภายในหอกลั่น (Distillation Tray) ที่โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) ทำ�ให้สามารถนำ�ความร้อนกลับมาใช้ในกระบวนการ ผลิตมากขึ้น ลดเชื้อเพลิงที่ใช้ในกระบวนการผลิต ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการเดินเครือ่ ง และช่วยลดภาวะ โลกร้อน

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_066-069-4c new15_Y.indd 69

69 15/3/2011 19:39


ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจด้วยจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคมไทย และให้ความ ส�ำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวติ การดูแลสังคม และใส่ใจต่อ สิ่งแวดล้อมโดยรอบโรงงาน ในฐานะที่เป็นบริษัทที่มีความ รับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มีการด�ำเนินงานทุกด้านภายใต้ หลักธรรมาภิบาล และปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับของทาง ราชการอย่างเคร่งครัด ตลอดจนมีระบบการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมเพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน รอบข้าง นอกจากนี้ ยังได้รเิ ริม่ ด�ำเนินโครงการและสนับสนุน กิจกรรมต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมให้ชมุ ชนและสังคมมีความเป็นอยู่ ที่ดี สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน รวมถึงการส่งเสริมให้ พนั ก งานตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมทั ง ในการ ปฏิบตั หิ น้าที่ และร่วมกันท�ำประโยชน์เพือ่ ชุมชนและสังคม โดย ก� ำ หนดเป็ น ค่ า นิ ย มข้ อ ที่ ห นึ่ ง ขององค์ ก ร คื อ Social Responsibility and Caring บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั งภาครัฐ และ เอกชน ในการด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน และส่งเสริมให้การพัฒนาสังคมเมืองระยองเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน ได้แก่

• การร่วมมือระหว่างบริษทั ในกลุม่ ปตท. จัดตัง้ “คณะ กรรมการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมและการสือ่ ความในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง” • การร่วมมือระหว่างผูป้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด ในนามกลุ่ม “เพื่อนชุมชน” • การร่ ว มมื อ กั บ กลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการในเขตนิ ค ม อุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมเหมราช ตะวันออก นิคมอุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรม เอเชีย นิคมอุตสาหกรรม อาร์ ไอ แอล และสำ�นักงาน ท่ า เรื อ อุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด ในนาม “ชมรม ประชาสั ม พั น ธ์ ก ลุ่ ม โรงงาน นิ ค มอุ ต สาหกรรม มาบตาพุด” เพือ่ ร่วมกันระดมความคิดและดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ กำ�หนดแผนงานการสื่อความ และพบปะพูดคุย กับชุมชนอย่างต่อเนือ่ งและโปร่งใส เพือ่ ให้ชมุ ชนมีความเชือ่ มัน่ และไว้วางใจ รวมทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน โดยมี การปฏิบัติงานอย่างชัดเจนดังนี้

70 54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 70

15/3/2011 19:43


• ลงพื้นที่พบปะและเยี่ยมเยียนชุมชนเป็นประจำ�ทุกวัน เพื่อ สร้างความสัมพันธ์อันดี และรับฟังความคิดเห็นของชุมชน • จัดให้ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายซ่อมบำ�รุง และฝ่ายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย ลงพื้นที่พบปะชุมชนทุก สัปดาห์ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับการดำ�เนินงานด้านการผลิต ด้านสิง่ แวดล้อม และความปลอดภัย • จัดกิจกรรมให้กรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารได้พบปะพูดคุย กับประธานและคณะกรรมการชุมชนต่างๆ เพือ่ สร้างความ คุน้ เคย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน • นำ�คณะกรรมการชุ ม ชนและสมาชิ ก ชุ ม ชนเยี่ ย มชมการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ เพื่อสร้างความเข้าใจ • จัดสัมมนาผู้นำ�ชุมชนประจำ�ปี เพื่อนำ�ความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะมาปรับแผนงานในปัจจุบัน และเพื่อใช้ในการ วางแผนงานในอนาคตให้เหมาะสมกับความต้องการของ ชุมชนและศักยภาพขององค์กร • แจ้งข้อมูลข่าวสารทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ชุมชน เพื่อ สือ่ ความกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั ฯ และสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี • แจ้งกำ�หนดการซ่อมบำ�รุงหรือกำ�หนดการซ้อมแผนฉุกเฉิน ให้ชุมชนได้ทราบล่วงหน้า • จัดให้มรี ะบบรับและตอบปัญหาสิง่ แวดล้อมจากชุมชนอย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ยังได้สนับสนุนให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการสร้างสรรค์ กิจกรรมเพื่อสังคม อาทิ “กลุ่มร่มไม้” ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใช้เวลาว่างใน การพัฒนาสังคมในพืน้ ทีห่ า่ งไกลทัว่ ประเทศ กลุม่ กิจกรรม “โครงการ วันละ 3 บาท” มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและปรับปรุงโรงเรียนที่ยากจน และขาดโอกาส ซึ่งอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศ และกลุ่ม กิจกรรม “One Fine Friday” ที่ร่วมกันจัดโครงการแบ่งปันให้แก่ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ซึ่งทั งหมดเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ของ พนักงานที่สอดคล้องกับนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทฯ และค่านิยมขององค์กร กิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในปี 2553 ในด้านต่างๆ มีดงั นี้

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 71

71 15/3/2011 19:43


สนับสนุนการศึกษา/พัฒนาเด็กและเยาวชน • ร่วมกับ กลุ่ม ปตท. จัดโครงการมอบทุนการศึกษาแก่ เยาวชน และทุนสนับสนุนการศึกษาแก่โรงเรียนในพื้นที่ เทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลตำ�บลมาบข่าพัฒนา และ เทศบาลบ้านฉาง • จัดโครงการ “พีทีทีเออาร์พาน้องเข้ามหาวิทยาลัย” โดย พนักงานอาสาสมัครของบริษัทฯ สอนวิชาเคมี ฟิสิกส์ และ คณิตศาสตร์ ให้แก่นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน มาบตาพุดพันพิทยาคาร ในช่วงหลังเลิกเรียนเป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา เพือ่ ทบทวนความรู้ และเตรียมความพร้อม ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย • จัดโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในรูปแบบของการ จัดกิจกรรม “ภาษาอังกฤษน่าสนุก” ให้แก่เด็กนักเรียนและ เยาวชนในชุมชนที่มีอายุระหว่าง 10-12 ปี โดยมีพนักงาน จิตอาสาพีทีทีเออาร์ร่วมเป็นพี่เลี้ยงในโครงการ • ร่วมกับ กลุ่ม ปตท. และสถาบันกวดวิชาที่มีช่อื เสียง จัด โครงการ “กลุม่ ปตท. พาน้องเข้ามหาวิทยาลัย” โดยทำ�การ สอนกวดวิชา ONET ให้แก่นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของ โรงเรียน 19 แห่ง ในจังหวัดระยอง เพื่อสร้างโอกาสในการ ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาให้กบั นักเรียนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ • ร่วมกับ กลุม่ ปตท. จัด “ค่ายปิโตรแคมป์ สูแ่ ชมป์ปโิ ตร” ให้ แก่นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียน 7 แห่ง ในจังหวัดระยอง และคัดเลือกนักเรียน 4 คน รับทุนการ ศึกษาเพื่อศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ภาควิชาเคมี คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปีละ 4 ทุน • ร่ ว มกั บ กลุ่ ม ปตท. จั ด นิ ท รรศการเพื่ อ เปิ ด โลกทั ศ น์ การเรียนรู้เรื่องปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ให้กับนักเรียนใน พื้นที่จังหวัดระยอง • ร่วมกับ กลุ่ม ปตท. จัดกิจกรรมตะลุยฝันวันเด็ก

72 54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 72

15/3/2011 19:43


การดูแลสิ่งแวดล้อม • นำ�พนักงานจิตอาสาจัดสร้างสถานที่บรรจุน้ำ�มันเครื่อง ใช้แล้วให้กับกลุ่มประมงเรือเล็กหาดสุชาดา เพื่อช่วยลด ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทิ้งน้ำ�มันเครื่องอย่าง ไม่เหมาะสม • นำ�พนักงานจิตอาสาปลูกต้นไม้ร่วมกับชุมชนเพื่อเพิ่มพื้นที่ สีเขียว และเพื่อเก็บพืชผลบริโภค • นำ�พนั ก งานจิ ต อาสาทำ�ความสะอาดชายหาด ร่ ว มกั บ ชุ ม ชน หน่ ว ยงานราชการ และกลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ�ทุกเดือน และใน วันทำ�ความสะอาดชายหาดสากล (The International Coastal Clean up หรือ ICC Day) • ร่วมกับ กลุม่ ปตท. สำ�นักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ชุมชนและกลุ่มประมง เรือเล็กตากวน-อ่าวประดู่ ดำ�เนินโครงการพัฒนาระบบนิเวศ ปากคลองชากหมาก โดยการจัดกิจกรรมปล่อยพันธุส์ ตั ว์น้ำ� ปลูกป่าชายเลน และปลูกต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว และ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ • ร่วมกับ กลุม่ ปตท. ดำ�เนินโครงการระยองเมืองสีเขียว โดย การปลูกต้นไม้ในพื้นที่ของวัดกรอกยายชา และวางแผน พัฒนาต่อเนื่องเป็นสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ

การดูแลด้านสุขภาพอนามัย • เปิด “คลินิกปันน้ำ�ใจ” ที่โรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 ให้ บริการรักษาพยาบาลแก่ชุมชนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย • จัดคาราวานสุขภาพ ตรวจรักษา รวมทั งให้ความรู้และให้ ค�ำแนะน�ำการดูแลสุขภาพแก่ชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มแม่และเด็กและผู้สูงอายุ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย • สนับสนุนอุปกรณ์ตรวจสุขภาพ อาทิ เครื่องวัดความดัน ให้แก่กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน (อสม.) และสถานี อนามัยภายในชุมชน • ร่วมกับกลุ่ม ปตท. ดำ�เนินการ “คลินิกปันน้ำ�ใจ” ที่โรงแยก ก๊าซธรรมชาติระยอง • ร่วมกับกลุม่ ปตท. จัดหน่วยแพทย์เคลือ่ นที่ ให้การรักษาแก่ ชุมชนโดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยเป็นประจำ�ทุกเดือน

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 73

73 15/3/2011 19:43


การส่งเสริมอาชีพชุมชน • ส่ ง เสริ ม การประกอบอาชี พ ของคนในชุ ม ชน จั ด อบรม ให้ ค วามรู้ และศึ ก ษาดู ง านเพื่ อ ขยายโอกาสในการ ประกอบอาชีพ รวมถึงเพิ่มศักยภาพและมาตรฐานการ ดำ�เนิ น งานในการประกอบอาชี พ เช่ น นำ�กลุ่ม ประมง ไปศึกษาดูงานด้านการเพาะเลี้ยงปลาในกระชัง นำ�กลุ่ม แม่บา้ นศึกษาดูงานการปลูกผักไร้ดนิ เป็นต้น • ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงานต่างๆ ภายในบริษทั ฯ ด�ำเนินการจัดซือ้ จัดจ้างและจัดหาสินค้าและ บริการที่เอื้ออ�ำนวยให้ชุมชนมีโอกาสท�ำธุรกิจกับบริษัทฯ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น อาหารและขนมจากชุมชน เพื่อใช้ ในงานหรือกิจกรรมต่างๆ งานจัดสวนและดูแลต้นไม้ งาน บริการรถตูร้ บั -ส่งพนักงาน น ำดืม่ ผ้าวน (ผ้าเช็ดเครือ่ งจักร) เป็นต้น • ส่งเสริมการรับบุตรหลานชุมชนเข้าทำ�งานกับบริษัทฯ และ มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่น ทั้งในรูปของพนักงาน และ ผู้รับเหมา

การสนับสนุนด้านกีฬา • ส่งเสริมการแข่งขันฟุตบอลต้านยาเสพติดของชุมชน และ ส่งทีมฟุตบอล PTTAR (จิตอาสา) ร่วมกิจกรรมการแข่งขัน ฟุตบอลชุมชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพนักงาน และชุมชนต่างๆ • ร่วมกับ กลุม่ ปตท. จัดกิจกรรมกีฬาเชือ่ มสัมพันธ์กบั ชุมชน รอบรั้วโรงงาน โดยมีผู้บริหาร กลุ่ม ปตท. และพนักงาน จิตอาสาเข้าร่วมกิจกรรม • ร่วมกับกลุ่ม ปตท. ชมรมนักวิ่ง PTTAR และโรงเรียน วัดตากวน จัดโครงการเดิน-วิง่ สมาธิ วิสาขพุทธบูชา โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นพุทธบูชารำ�ลึกถึงวันสำ�คัญทางศาสนา และเพือ่ รณรงค์ดา้ นสุขภาพกายและจิตทีด่ แี ก่ประชาชนทัว่ ไป โดยเป็นกิจกรรมที่หลายจังหวัดจัดพร้อมกันทั่วประเทศใน วันวิสาขบูชา • ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัดการแข่งขันระยองมาราธอน ประจำ� ปี 2553

74 54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 74

15/3/2011 19:44


การส่งเสริมศาสนา ประเพณี และจริยธรรม • จัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ประจำ�ปี 2553 ณ วัดหนองสนม ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง เพื่อส่งเสริม ให้เยาวชนใช้เวลาว่างในช่วงปิดภาคเรียนให้เกิดประโยชน์ ด้วยการศึกษาพระธรรมวินัยและฝึกปฏิบัติสมาธิ เพื่อให้ เติบโตเป็นคนเก่งและคนดีของสังคมต่อไป • ร่วมกับชุมชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด เทศบาลตำ�บล มาบข่าพัฒนา ผู้บริหาร และพนักงาน ทอดกฐินสามัคคี ประจำ�ปี 2553 ณ วัดมาบข่า อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง • สนับสนุนกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และส่งเสริมประเพณีต่างๆ ภายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง อาทิ ประเพณีทำ�บุญข้าวหลาม รดน้ำ�ผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ ทำ�บุญตักบาตรในวันออก พรรษา และลอยกระทง เป็นต้น

การจัดการด้านความปลอดภัย • ซ้อมแผนฉุกเฉินร่วมกับชุมชน เพือ่ สร้างความมัน่ ใจในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิน • ร่วมกับ กลุม่ ปตท. สนับสนุนกิจกรรมของตำ�รวจอาสา เพือ่ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_070-075-4c_Y new15.indd 75

75 15/3/2011 19:44


กิจกรรมส�ำคัญในปี 2553 16 มกราคม 2553: PTTAR ลงนามบันทึกความเข้าใจในความ ร่วมมือทางธุรกิจกับ บริษัท มาบตาพุดโอเลฟินส์ จ�ากัด (MOC) เพื่อ น�ากก๊าซที่เกิดจากกระบวนการผลิต (Process Offgas) ที่โรงงาน อะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 ใช้เป็นเชื้อเพลิง ไปใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงาน โอเลฟินส์ของ MOC เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี

16 มกราคม 2553

22 มกราคม 2553: PTTAR ร่วมลงนามสัญญาเงินกู้กับ บมจ. ธนาคารกรุงไทย เพือ่ น�าเงินไปใช้เป็นทุนส�ารองส�าหรับการขยายงาน ในอนาคต และ/หรือใช้เป็นเงินทุนส�ารองในการด�าเนินกิจการของ บริษัทฯ รวมถึงการน�าไปใช้ช�าระเงิน (Refinance) เงินกู้ปัจจุบัน บางส่วน

22 มกราคม 2553

20 กุมภาพันธ์ 2553: PTTAR จัดการประชุมรับฟังความคิดเห็น ต่อการก�าหนดขอบเขต และแนวทางการประเมินผลกระทบด้าน สุขภาพ (Public Scoping) โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุง คุณภาพผลิตภัณฑ์ โครงการติดตั งระบบควบคุมไอน ำมันเชื้อเพลิง และการเพิ่ ม ประเภทผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ บโอดี เ ซล และโครงการเพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิตโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1

20 กุมภาพันธ์ 2553

76


5 พฤษภาคม 2553: PTTAR เข้าร่วมโครงการ UN Global Compact (ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ) ด้วยการยืนยันการปฏิบตั ติ ามหลัก สากล 10 ประการครอบคลุม 4 ประเด็น คือ สิทธิมนุษยชน แรงงาน สิ่งแวดล้อม และการต้านทุจริต

5 พฤษภาคม 2553

6 พฤษภาคม 2553: PTTAR ร่วมงานมหกรรมการเงินครั งที่ 10 Money Expo 2010 ภายใต้แนวคิด The Road to Wealth : เส้นทาง สู่ความมั่งคั่ง ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

6 พฤษภาคม 2553

2 มิถุนายน 2553: PTTAR ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมและ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการความรับผิดชอบต่อสังคม โครงการ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR-DIW) เพือ่ น�ามาปฏิบตั ิ และน�าองค์กรเข้าสูเ่ กณฑ์มาตรฐานสากล (ISO26000: Social Responsibility) ณ โรงแรมเรดิสัน

2 มิถุนายน 2553

20 กรกฎาคม 2553: PTTAR ร่วมลงนามสัญญาความร่วมมือด้าน การวิจัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมีกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของหอกลั่น และเพิ่มมูลค่าให้แก่ ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากกระบวนการกลั่น อันท�าให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดด้านการผลิต การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า การประหยัด พลังงานและเป็นมิตรต่อชุมชน

20 กรกฎาคม 2553 รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

77


7 สิงหาคม 2553: PTTAR ร่วมมือกับสมาคมผู้สื่อข่าวเศรษฐกิจ จัดโครงการ โรงเรียนในฝันมาบตาพุดพันโมเดล เพื่อส่งเสริมการ เรียนรูด้ า้ นการสือ่ สาร การเรียนรูด้ า้ นศิลปะ และการใช้ภาษาอังกฤษ รวมถึ ง การสอดแทรกความรู ้ เ รื่ อ งการก� า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Corporate Governance) ให้กับเยาวชนมาบตาพุด ณ โรงเรียน มาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง

7 สิงหาคม 2553

26 สิงหาคม 2553: PTTAR ร่วมลงนามความร่วมมือในโครงการ The GISMO (Group Integrated Supply Chain Management & Optimization) ซึ่งเป็นความร่วมมือของกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม ขั นปลายของกลุ่ม ปตท. มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับกลุ่ม ปตท.

26 สิงหาคม 2553

13 กันยายน 2553: PTTAR ลงนามในสัญญาเงินกู้ระยะยาวกับ ธนาคารโตเกียว ธนาคารมิซโู ฮ ธนาคารโอซีบซี ี และธนาคารซูมโิ ตโม จ�านวนเงิน 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ระยะเวลา 5 ปี เพื่อน�าเงิน ไปใช้คืนเงินกู้เดิม (Refinance) และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการ ด�าเนินธุรกิจ

13 กันยายน 2553

13 กันยายน 2553: PTTAR ลงนามในสัญญาเงินกู้ระยะยาวกับ ธนาคารกสิกรไทย จ�ากัด (มหาชน) จ�านวนเงิน 2,000 ล้านบาท ระยะ เวลา 8 ปี เพื่อน�าเงินไปใช้คืนเงินกู้เดิม (Refinance) และใช้เป็น เงินทุนหมุนเวียนในการด�าเนินธุรกิจ

13 กันยายน 2553

78


14 กันยายน 2553: PTTAR ลงนามสัญญาเงินกู้ระยะยาว จ�านวน 7,000 ล้านบาท ระยะเวลา 10 ปี กับ ธนาคารกรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) เพือ่ น�าเเงินไปใช้คนื เงินกูเ้ ดิม (Refinance) และ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการด�าเนินธุรกิจ

14 กันยายน 2553

14 กันยายน 2553: PTTAR ลงนามสัญญาเงินกู้ระยะยาว จ�านวน 3,000 ล้านบาท ระยะเวลา 8 ปี กับ ธนาคารธนชาติ จ�ากัด (มหาชน) เพือ่ น�าเเงินไปใช้คนื เงินกูเ้ ดิม (Refinance) และ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการด�าเนินธุรกิจ

14 กันยายน 2553

20 กันยายน 2553: PTTAR ในฐานะเจ้าภาพ จัดกิจกรรม PTT Group CG Day 2010 ภายใต้แนวคิด CG: The Code to Growth ถอดรหัสสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน ด้วยการก�ากับ ดูแลกิจการที่ดี ซึ่งภายในงานมีการแสดงนิทรรศการทาง วิชาการเกี่ยวกับการก�ากับดูแลกิจการที่ดี (CG) รวมถึงมี การน�าเสนอผลงานที่สะท้อนแนวคิดด้าน CG ของพนักงาน ในกลุ่ม ปตท. ณ ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์

20 กันยายน 2553

22 กันยายน 2553: PTTAR ลงนามสัญญาเงินกู้ระยะยาว 10 ปี และเงินกู้ชนิด Revolving ที่สามารถเบิกถอนและช�าระคืน ได้ตลอดอายุสัญญา จ�านวน 9,898 ล้านบาท กับ ธนาคาร กรุงไทย จ�ากัด (มหาชน) ธนาคารทิสโก้ จ�ากัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) และ ธนาคาร ทหารไทย จ�ากัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�าไปช�าระ คืนเงินกู้เดิม (Refinance)

22 กันยายน 2553 รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

79


14 ตุลาคม 2553: PTTAR ร่วมงาน The PTT Group P&R Technology Day ครั งที่ 7 และได้น�าเสนอ 2 ผลงานวิจัย ที่แสดง พลังสร้างสรรค์นวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วน เกิดการพัฒนาร่วมกันใน 3 มิติ เพื่อความสมดุลด้านธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ณ Synergy Hall ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์

14 ตุลาคม 2553

27 ตุลาคม 2553: PTTAR ร่วมงาน PTT Group KM Award 2010 เพื่อร่วมผลักดันและส่งเสริมการสร้างสินทรัพย์ความรู้ และประยุกต์ ความรู้เพื่อสร้างศักยภาพในการท�าธุรกิจ รวมถึงการสร้างความ เป็นเลิศอย่างยั่งยืนตามกลยุทธ์ของกลุ่ม ปตท. ณ Synergy Hall ชั น 6 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์

27 ตุลาคม 2553

18 พฤศจิ ก ายน 2553: PTTAR ร่ ว มงานมหกรรมการลงทุ น ครบวงจรแห่งปี SET in the City 2010 ภายใต้แนวคิด “ความ ส�าเร็จทางการลงทุน คุณสร้างได้ – SET Your Future” ณ รอยัล พารากอนฮอลล์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน

18 พฤศจิกายน 2553

29-30 พฤศจิกายน 2553: PTTAR จัดกิจกรรมผู้ถือหุ้นเยี่ยมชม โรงกลั่นและโรงงานอะโรเมติกส์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นเห็นภาพการด�าเนิน กิจการของบริษทั ฯ และร่วมกิจกรรมปล่อยพันธุส์ ตั ว์นำ คืนสู่ธรรมชาติ ถวายเป็นพระราชกุศล ณ โรงแรม พี เอ็ม วาย บีช รีสอร์ท จังหวัด ระยอง

29-30 พฤศจิกายน 2553

80


รำงวัลแห่งควำมส�ำเร็จ 12 กุมภาพันธ์ 2553: PTTAR รับรางวัล “CEO with HR Orientation” จากการประชุมนานาชาติด้านทรัพยากรบุคคล World HRD Congress 2010 ณ เมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย เนื่องจากความส�าเร็จในการ ควบรวมสองบริษัทเข้าด้วยกันโดยไม่ต้องลดจ�านวนพนักงาน ซึ่งสะท้อน ถึงทักษะและกลยุทธ์ด้านการบริหารที่เป็นเลิศ รวมถึงการเป็นแบบอย่าง ของผู้บริหารองค์กรท่ามกลางสถานการณ์โลกที่มีความผันแปรสูง

12 กุมภาพันธ์ 2553 บร�ษัทไทยที่ติดอันดับ 2,000 บร�ษัทของฟอรบส อันดับป 53 196

ที่มา : ฟอร บส

อันดับเดิม 244

บร�ษัท ปตท.

หน วย: พันล านดอลลาร

ยอดขาย 47.58

กำไร 1.79

สินทรัพย 32.80

23 เมษายน 2553: PTTAR ติดอันดับที่ 1,555 จากรายงานการจัดอันดับ 2,000 บริษัททั่วโลกที่มีขนาดใหญ่ และทรงอิทธิพลประจ�าปี 2553 ของ นิตยสารฟอร์บส์ โดยมีบริษัทไทยติดอันดับ 14 บริษัท

23 เมษายน 2553

8 กรกฎาคม 2553: PTTAR รับรางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�างาน ระดับประเทศ ประจ�าปี 2552 ของโรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 (AR2) พื้นที่ I-17 และ I-20 ติดต่อกันเป็นปีที่ 8

8 กรกฎาคม 2553

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

81


12 กรกฎาคม 2553: PTTAR รับรางวัลธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ธงขาว ดาวเขียว ประจ�าปปี​ี 2552 จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ในฐานะโรงงานอุตสาหกรรมในพืน้ ทีม่ าบตาพุด หลังผ่านมาตรฐาน การประเมินการตรวจสอบด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและความ ปลอดภัยของ กนอ. จ�านวน 4 ครั้งต่อปี

12 กรกฎาคม 2553

5 สิงหาคม 2553: PTTAR ได้รับการประเมินผลคุณภาพการจัดประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปปี​ี 2553 จาก คณะกรรมการก�ากักับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย 100 คะแนนเต็ม

5 สิงหาคม 2553

18 สิงหาคม 2553: PTTAR รับรางวัล “EIA Monitoring Awards 2009” จากส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใน ฐานะผูป้ ระกอบการทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรการ ในรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น ประจ�าปปี​ี 2552 จาก โครงการท่าเทียบเรือของ PTTAR

18 สิงหาคม 2553

2 พฤศจิกายน 2553: PTTAR ได้รับรางวัล “# 2 Fastest - Growing Asia Energy Companies” หรือ บริษัทในภูมิภาคเอเชียที่มีการเติบโต เร็วอย่างก้าวกระโดดเป็นอันดับที่ 2 จาก Platts ซึง่ พิจารณาให้รางวัลจาก ความโดดเด่นของ PTTAR ในด้านสินทรัพย์ รายได้ ก�าไร และผลตอบแทน ของเงินลงทุน ในเวทีการมอบรางวัล “PLATTS TOP 250 GLOBAL ENERGY COMPANY RANKING AWARDS”

2 พฤศจิกายน 2553

82


10 พฤศจิกายน 2553: ผูท้ รงคุณวุฒแิ ละคณะท�างานโครงการ การส่งเสริม การแสดงความรับผิดชอบของโรงงานอุตสาหกรรมต่อสังคม (Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works: CSR-DIW) ผูเ้ ชีย่ วชาญกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทีมทีป่ รึกษา (Coach) และทีมผูท้ วน สอบโครงการ CSR-DIW ประจ�าปี 2553 โหวตให้ PTTAR เป็นบริษัทที่ มีความโดดเด่นด้าน “การก�ากับองค์กร (Organizational Governance)” ทั ง นี้ พิ จ ารณาจากหลั ก เกณฑ์ ด ้ า นภาพรวมของการด� า เนิ น งานการ ก�ากับองค์กรที่ครบถ้วน ถูกต้อง พร้อมเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ 10 พฤศจิกายน 2553

24 พฤศจิกายน 2553: PTTAR ได้รับการตรวจประเมินการก�ากับดูแล กิจการอยู่ในกลุ่มดีเลิศ ตามโครงการ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2010 (CGR) และได้รับตราสัญลักษณ์ของ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ 5 ดวง คือ ได้รับคะแนนประเมิน ร้อยละ 90 ขึน้ ไป ซึง่ เป็นระดับคะแนนสูงสุด จากการส�ารวจการก�ากับดูแล กิจการบริษทั จดทะเบียนประจ�าปปี​ี 2553 จัดท�าโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)

21 ธันวาคม 2553: PTTAR ได้รับการรับรองระบบบริหารจัดการคุณภาพ แบบบูรณาการ (Integrated Management System: IMS) ซึ่ ง ครอบคลุมทุกระบบขององค์กรได้แก่ ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 และระบบการจัดการ ด้ า นความปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย มอก. 18001-2542 และ BS OHSAS 18001 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.)

24 พฤศจิกายน 2553

25 มกราคม 2554: PTTAR รับมอบโล่และเกียรติบัตร การปฏิบัติตาม มาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSRDIW) ปี 2553 ของ 2 พื้นที่ คือ โรงกลั่นน ำมัน (AR1) และโรงงาน อะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 (AR2) ที่ตั งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง แสดงถึงการเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ เสีย ทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างรอบด้าน

21 ธันวาคม 2553

25 มกราคม 2554 รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

83


รายการที่เกี่ยวโยงกัน 1. บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และลักษณะความสัมพันธ์ ชื่อบริษัท

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

1. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

เป็นบริษัทที่ประกอบ กิจการและส่งเสริมธุรกิจ ปิโตรเลียม รวมถึงธุรกิจ ต่อเนื่องที่เกี่ยวกับธุรกิจ ปิโตรเลียม

• บมจ. ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดย ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 48.60 • มีกรรมการ/ผู้บริหาร 8 ท่าน เป็นกรรมการ/ผู้บริหาร ของบริษัทฯ ได้แก่ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอำ�พน กิตติอำ�พน นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ นายชายน้อย เผื่อนโกสุม* นายบวร วงศ์สินอุดม • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน • มีการร่วมใช้บริการกำ�จัดคราบน้ำ�มันในทะเล

2. บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ (มหาชน) เกี่ยวกับอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์

• เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ ร้อยละ 48.68 (บมจ. ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ ร้อยละ 48.60) • มีกรรมการ 4 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี** • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

84 54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 84

15/3/2011 19:48


ชื่อบริษัท

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

3. บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำ�กัด

เป็นบริษัทที่ให้บริการ เก็บและบริการขนถ่าย เคมีเหลว น้ำ�มัน และก๊าซ

• เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. เคมิคอล ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 51 (บมจ. ปตท. ถือหุ้นใน บมจ. ปตท. เคมิคอล และ บริษัทฯ ร้อยละ 48.68 และ 48.60 ตามลำ�ดับ) • เป็นผู้ให้บริการคลังเก็บวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ

4. บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ โรงกลั่นน้ำ�มันในประเทศ

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 28.29 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

5. บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด เป็นบริษัททำ�ธุรกิจ (มหาชน) รับประกันภัย

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 13.33 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีการทำ�สัญญาประกันภัย

6. บริษทั เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ เป็นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจ จำ�กัด เพือ่ ให้เช่าเชิงพาณิชย์

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 50 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • บริษัทฯ เป็นผู้เช่าพื้นที่สำ�นักงาน

7. บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)***

เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ เกี่ยวกับอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี และโรงกลั่น น้ำ�มันในประเทศ

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 39.02 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีกรรมการ 3 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

8. บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด****

เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ โรงกลั่นน้ำ�มัน

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 36 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีการทำ�สัญญาร่วมปฏิบตั กิ ารกลัน่ ในรูปแบบพันธมิตร • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 85

85 15/3/2011 19:48


ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

9. Chevron U.S.A. Inc. (Singapore) / Chevron Singapore Pte. Ltd.

เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ ซื้อขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูป

• เป็นบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นร่วมกับ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (SPRC) (บมจ. ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น ใหญ่ของบริษัทฯ ร้อยละ 48.60 ถือหุ้นใน SPRC ร้อยละ 36) • มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูประหว่างกัน

10. บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

เป็นบริษทั ทีป่ ระกอบ กิจการกลั่นน้ำ�มัน ปิโตรเลียมจำ�หน่ายใน ประเทศและส่งออก

• เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 49.10 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีกรรมการ 2 ท่าน เป็นกรรมการในบริษัท ได้แก่ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช • นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ และ นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ เป็นกรรมการ ของบริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด ซึ่งบริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 55 • มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูประหว่างกัน

11. บริษัท ปตท. ค้าสากล จำ�กัด

เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจ ซื้อขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูป

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีการจำ�หน่ายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปส่งออกจากบริษัทฯ

ชื่อบริษัท

12. บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ เป็นบริษัทที่ให้บริการ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด บำ�รุงรักษาโรงงานและ งานวิศวกรรม

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 40 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • มีการจ้างบำ�รุงรักษาอุปกรณ์โรงงาน

13. บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด

• เป็นบริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 30 • มีประธานกรรมการ/กรรมการ 5 ท่าน เป็นกรรมการ/ ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้แก่ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายกัญจน์ ปทุมราช นายชายน้อย เผื่อนโกสุม* นายบวร วงศ์สินอุดม***** นางนิธิมา เทพวนังกูร****** นายวันชัย ธาดาดลทิพย์******* • มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

เป็นบริษัทที่ผลิตและ จำ�หน่ายสารฟีนอล และสารอะซีโตน

86 54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 86

16/3/2011 19:38


ชื่อบริษัท

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์กับบริษัทฯ

14. บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด

เป็นบริษัทที่ผลิตและ จำ�หน่ายสาธารณูปโภค

• เป็นบริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20 • มีกรรมการ 2 ท่าน เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ ได้แก่ นายบวร วงศ์สินอุดม***** นายวริทธิ์ นามวงษ์ นายกัญจน์ ปทุมราช******** • เป็นผู้จำ�หน่ายสาธารณูปโภคเพื่อใช้ในกระบวนการ ผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 ให้บริษัทฯ

15. บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ เป็นบริษัทที่ให้บริการ จำ�กัด ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ

• เป็นบริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20 • มีประธานกรรมการ/กรรมการ 2 ท่าน เป็นกรรมการ/ ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้แก่ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง • เป็นผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารแก่บริษัทฯ

16. บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส เป็นบริษทั ทีใ่ ห้บริการงาน จัดหาแรงงานและ อัลไลแอนซ์ จำ�กัด จ้างเหมาบริการ

• เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 25 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.60) • บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 25 • เป็นผู้ให้บริการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการแก่ บริษทั ฯ

หมายเหตุ: * ** *** **** **** * ****** ******* ********

เป็นกรรมการบริษัทฯ ถึงวันที่ 30 กันยายน 2553 เป็นกรรมการบริษัทฯ ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้ด�ำเนินการจดทะเบียนต่อนายทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย์เพื่อเปลี่ยนแปลง ชื่อเป็น บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2549 บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญายกเลิกสัญญาการด�ำเนินงานร่วม กับ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ในส่วนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน ำมัน เมือ่ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2549 ซึง่ การยกเลิกดังกล่าวมีผลบังคับตัง แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 และมีผลให้ บริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด ยกเลิกกิจการ โดยได้ช�ำระบัญชีเสร็จสิ้นในระหว่างปี 2553 ด�ำรงต�ำแหน่งแทน นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ตั งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 และลาออกจากบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 เป็นกรรมการบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด ถึงวันที่ 31 มกราคม 2554 เป็นกรรมการบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด ตั งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 เป็นกรรมการบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด ตั งแต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 87

87 15/3/2011 19:48


2. ข้อมูลรายการระหว่างบริษัทฯ กับ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ รายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้อง มี รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 4 ในงบ การเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

2.1 ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ ระหว่างกัน 1. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ฯ มีสญ ั ญาซือ้ วัตถุดบิ และขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี ที่ผลิตได้ของบริษัทฯ ให้แก่ บมจ. ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของบริษัทฯ เนื่องจากบริษัทฯ ถูกจัดตั้งขึ้นภายใต้โครงการ พัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อน�ำทรัพยากรธรรมชาติใน อ่าวไทย ได้แก่ คอนเดนเสททีเ่ ป็นผลพลอยได้จากการขุดเจาะ ก๊าซธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย บมจ. ปตท. จะน�ำคอนเดนเสทที่ผลิตได้ส่งขายให้กับบริษัทฯ เพื่อเป็น วัตถุดิบหลักในการผลิตสารอะโรเมติกส์ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ท�ำ สัญญาซือ้ คอนเดนเสทระยะยาวกับ บมจ. ปตท. ครอบคลุมถึง พ.ศ. 2559 โดยในส่วนของราคาวัตถุดิบนั้น บริษัทฯ และ บมจ. ปตท. ก�ำหนดให้ราคาวัตถุดิบแปรผันตามราคาตลาด ซึง่ เป็นแนวทางปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปของธุรกิจทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี บริษัทฯ มีสัญญากับ บมจ. ปตท. ในการซื้อขายก๊าซ ธรรมชาติ เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตของบริษัทฯ รวมทั้ง สัญญาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม สัญญาจัดหาน ำมันดิบและ วัตถุอนื่ ๆ โดยก�ำหนดราคาขายตามธุรกิจปกติซงึ่ ก�ำหนดราคา ตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อ ขายเป็นตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ และ สัญญาร่วมใช้บริการก�ำจัดคราบน ำมันในทะเล ในฐานะบริษัท ในกลุ่ม ปตท. ซึ่ง บมจ. ปตท. มีสัญญาใช้บริการกับ Oil Spill Response Company Limited (OSR) โดยบริษัทฯ จ่ายค่า ธรรมเนียมรายปีให้ตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา

2. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์พลอยได้ระหว่างกัน โดยผลิตภัณฑ์พลอยได้ของบริษัทหนึ่งสามารถใช้เป็นวัตถุดบิ ของอีกบริษัทหนึ่งได้ โดยก�ำหนดราคาขายตามธุรกิจปกติ ซึง่ ก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและเงื่อนไข อื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและ

ธุรกิจปกติ ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์พลอยได้ของ ทั้งสองฝ่าย นอกจากนั้นการที่โรงงานของสองบริษัทฯ ตั งอยู่ ใกล้เคียงกัน และมีระบบท่อรับส่งผลิตภัณฑ์เชือ่ มต่อกัน ท�ำให้ สามารถลดต้นทุนในการจัดส่งผลิตภัณฑ์ระหว่างกันได้

3. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำ�กัด (TTT) TTT เป็นผู้ประกอบการด้านท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ ที่มีความเชี่ยวชาญ และมีมาตรฐานสากลในการด�ำเนินงาน รวมทัง้ มีสถานทีต่ งั้ อยูใ่ กล้เคียงกับโรงงานของบริษทั ฯ ดังนัน้ การใช้บริการท่าเทียบเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ของ TTT จึงเป็น การลดต้นทุนในการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ในด้านต้นทุนการ ก่อสร้าง และค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บวัตถุดิบที่น�ำเข้า และ ผลิตภัณฑ์ส่งออกของบริษัทฯ

4. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ระหว่างกันซึ่งผลิตภัณฑ์ของทั้ง สองฝ่ายเอือ้ ประโยชน์ให้กบั อีกฝ่ายหนึง่ จึงเป็นการเพิม่ มูลค่า ของผลิตภัณฑ์ของทั้งสองฝ่าย โดยก�ำหนดราคาซื้อขายตาม ธุรกิจปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนด และเงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการซือ้ ขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ขิ อง ตลาดและธุรกิจปกติ

5. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เพือ่ เป็นการประกันความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ กับธุรกิจของ บริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงได้จดั หากรมธรรม์ประกันภัย เพือ่ คุม้ ครอง ทรัพย์สนิ โรงงานและธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) โดยได้ท�ำประกันภัยเป็นกลุม่ (Package) เดียวกับ บมจ. ปตท. ซึ่งได้ซื้อประกันภัยกับบริษัท ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ส่งผลให้บริษัทฯ มีภาระเบี้ยประกันภัยที่ต�่ำลง

6. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำ�กัด บริษทั ฯ ได้เช่าพืน้ ทีช่ นั้ 14 ของศูนย์เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ จาก บริษัท เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ จ�ำกัด เพื่อใช้เป็นพื้นที่ ส�ำนักงานเนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่บริเวณเดียวกับอาคาร ปตท. ส�ำนักงานใหญ่ และเป็นที่ตั งส�ำนักงานใหญ่ของบริษัท ในกลุม่ ปตท. และกระทรวงพลังงาน ท�ำให้มคี วามสะดวกและ คล่องตัวในการติดต่อประสานงานทัง้ กับ ปตท. และหน่วยงาน ราชการ รวมถึงบริษัทลูกค้าต่างๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รองรับการขยายงานได้เป็นอย่างดี

88 54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 88

15/3/2011 19:48


7. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ มีสัญญาจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์แนฟทาชนิดเบาให้ กับบริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) ใช้เป็นวัตถุดิบ เพื่อเพิ่ม ความยืดหยุน่ ในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยก�ำหนดราคาขาย ตามธุรกิจปกติ ซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาดและมีข้อ ก�ำหนดและเงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการซือ้ ขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ิ ของตลาดและธุรกิจปกติ

8. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด บริษัทฯ และบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (SPRC) มีสัญญาร่วมปฏิบัติการกลั่นในรูปแบบพันธมิตร ตัง แต่ พ.ศ. 2542 ในการร่วมกันบริหารจัดการการด�ำเนินงาน ของโรงกลั่นน ำมันสตาร์และโรงกลั่นน ำมันระยอง โดยการ จัดตั้งบริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด (ARC) ขึ้นเป็น ผู้บริหารการด�ำเนินงานร่วมของโรงกลั่นทั้งสอง โดยบริษัทฯ และ SPRC ถือหุน้ ในสัดส่วนทีเ่ ท่ากันใน ARC ร้อยละ 50 และ ได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์ โดยช�ำระบัญชี เสร็จสิ้นแล้วในปี 2553 บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญายกเลิกการร่วมปฏิบัติการฯ กับ SPRC เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2549 โดยสัญญามีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นไป โดยบริษัทฯ จะ ยังคงใช้ทุ่นรับน ำมันดิบทางทะเล (SPM) ระบบท่อส่งน�้ำมัน ส�ำเร็จรูปไปยังระบบขนส่งน ำมันทางท่อ Thappline ท่าเรือส่ง LPG และ อุปกรณ์ผลิตก�ำมะถันเม็ด (Sulfur Palletizer) ร่วม กับ SPRC และมีบันทึกความเข้าใจร่วมกันเรื่องโครงสร้าง ส�ำหรับใช้วางท่อ (Pipe Racks) บนพื้นที่ของ SPRC ทัง้ นี้ มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์กงึ่ ส�ำเร็จรูป (Intermediate Product) ระหว่างกันซึง่ ผลิตภัณฑ์ของทัง้ สองฝ่ายเอือ้ ประโยชน์ ให้กับอีกฝ่ายหนึ่ง จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์กึ่ง ส�ำเร็จรูปของทั้งสองฝ่าย โดยก�ำหนดราคาซื้อขายตามธุรกิจ ปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและ เงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการซือ้ ขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ขิ องตลาด และธุรกิจปกติ ประกอบกับโรงงานของสองบริษัทตั้งอยู่ใกล้ เคียงกันและมีระบบท่อรับส่งผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อกัน ท�ำให้ สามารถลดต้นทุนในการจัดส่งผลิตภัณฑ์ระหว่างกันได้

9. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ กลุม่ บริษทั เชฟรอน บริ ษั ท ฯ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเลี ย มส� ำ เร็ จ รู ป ให้ แ ก่ กลุ่มบริษัท เชฟรอน ซึ่งถือหุ้นใน บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ร้อยละ 64 โดยก�ำหนดราคาขายตามธุรกิจ

ปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและ เงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของ ตลาดและธุรกิจปกติ

10. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน ซึ่งผลิตภัณฑ์ของทั้ง สองฝ่ายเอือ้ ประโยชน์ให้กบั อีกฝ่ายหนึง่ จึงเป็นการเพิม่ มูลค่า ของผลิตภัณฑ์ของทั้งสองฝ่าย โดยก�ำหนดราคาซื้อขายตาม ธุรกิจปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนด และเงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการซือ้ ขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ขิ อง ตลาดและธุรกิจปกติ

11. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ปตท. ค้าสากล จำ�กัด บริษัทฯ มีการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูป ส่งออกให้ บริษัท ปตท. ค้าสากล จ�ำกัด โดยก�ำหนดราคา ซื้อขายตามธุรกิจปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมี ข้อก�ำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการขายเป็นไปตามแนวทาง ปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ

12. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำ�กัด บริษทั ฯ มีสญ ั ญาว่าจ้างบริการเพือ่ ซ่อมบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ ในโรงงานกับบริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด โดยการว่าจ้างมีการตกลงอัตราค่าบริการตามธุรกิจ ปกติซึ่งก�ำหนดตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและเงื่อนไข อื่นๆ ในการตกลงราคาเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาด และธุรกิจปกติ

13. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั พีทที ี ฟีนอล จำ�กัด บริษัทฯ มีสัญญาจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เบนซีนเพื่อใช้เป็น วัตถุดิบให้บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด เพื่อใช้ในการผลิตสาร ฟีนอลและสารอะซีโตน โดยก�ำหนดราคาซื้อขายตามธุรกิจ ปกติซึ่งก�ำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อก�ำหนดและ เงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของ ตลาดและธุรกิจปกติ

14. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั พีทที ี ยูทลิ ติ ้ี จำ�กัด บริษัทฯ มีสัญญาซื้อสาธารณูปโภคจากบริษัท พีทีที ยู ทิ ลิ ตี้ จ� ำ กั ด เพื่ อ ใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต ของโรงงาน อะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 ของบริษัทฯ ซึ่งการใช้สาธารณูปโภค จาก บริษทั พีทที ี ยูทลิ ติ ี้ จ�ำกัด ดังกล่าวช่วยลดการลงทุนของ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_084-090-4c_Y new16.indd 89

89 16/3/2011 20:25


บริษัทฯ ในการก่อสร้างโรงงานผลิตสาธารณูปโภคเพื่อใช้ใน การผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

15. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด บริษทั ฯ ได้ท�ำสัญญาว่าจ้างบริษทั พีทที ี ไอซีที โซลูชนั่ ส์ จ�ำกัด เพือ่ ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร แก่บริษทั ฯ ซึง่ บริษทั พีทที ี ไอซีที โซลูชนั่ ส์ จ�ำกัด เป็นบริษทั ที่ ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ทัง้ หมด โดยบริษทั ฯ จะได้รบั ผลประโยชน์ดา้ นการบริหารจัดการ สินทรัพย์ การบริการ การสร้างศักยภาพ และเพิม่ ประสิทธิภาพ การลงทุนทางด้าน ICT รวมทัง้ การพัฒนาระบบการเชือ่ มโยง ข้อมูลของธุรกิจภายในกลุม่ ปตท. เพือ่ สร้างประสิทธิภาพและ สายโซ่อุปทาน อันน�ำไปสู่ความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขัน และเป็นพื้นฐานในการสนับสนุน Synergy ด้านอืน่ ๆ ร่วมกับบริษทั ในกลุม่ ปตท.

16. รายการระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด บริษทั ฯ ได้ท�ำสัญญาว่าจ้างบริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด จัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการ ซึง่ บริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด เป็นบริษทั ทีใ่ ห้บริการ จัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการแก่บริษทั ในกลุม่ ปตท. โดย การว่าจ้างมีการตกลงอัตราค่าบริการตามธุรกิจปกติซงึ่ ก�ำหนด ตามราคาตลาด และมีขอ้ ก�ำหนดและเงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการตกลง ราคาเป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ขิ องตลาดและธุรกิจปกติ

2.2 ขั้นตอนและนโยบายการอนุมัติการทำ�รายการ ระหว่างกัน บริษทั ฯ ยึดหลักการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต โปร่งใส และยุติธรรม ดังนั้น การท�ำข้อตกลงหรือข้อผูกพัน ใดๆ ทางธุรกิจกับบุคคลภายนอก หรือการเข้าท�ำรายการ ระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งกันและกัน บริษัทฯ จะปฏิบัติด้วยหลักเกณฑ์เดียวกัน ไม่มี การเลือกปฏิบตั ิ โดยบริษทั ฯ ได้ก�ำหนดขัน้ ตอนการด�ำเนินงาน ผู ้ มี อ�ำนาจอนุมัติและวงเงินการอนุมัติของผู ้ บ ริ ห ารแต่ ล ะ ระดับไว้อย่างชัดเจนใน Manual of Delegated Authorities (MODA) เฉพาะเรื่องตามแต่ละกรณี โดยธุรกรรมทั้งหมด สะท้อนสภาวการณ์ตลาดในช่วงเวลาทีป่ ระกอบธุรกรรม ซึง่ การ ก�ำหนดหลักเกณฑ์และขัน้ ตอนดังกล่าวนัน้ บริษทั ฯ กระท�ำอย่าง เปิดเผย โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นหลัก

และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติที่ใช้กันทั่วไปในธุรกิจการ กลั่นน ำมันและปิโตรเคมี ซึ่งสามารถตรวจสอบและชี้แจงได้ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีระบบการควบคุมและตรวจ สอบภายใน การรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือเพือ่ ทราบเป็นประจ�ำ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันกับบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดต่อ สาธารณชนตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกันของบริษัทจดทะเบียนตามประกาศตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ซึ่งบริษัทฯ ได้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ดังกล่าวอย่างเคร่งครัดมาโดยตลอด

2.3 นโยบายการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต ส�ำหรับนโยบายการท�ำรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ใน อนาคตจะเป็นรายการทีด่ �ำเนินการทางธุรกิจตามปกติเช่นเดิม ไม่มรี ายการใดเป็นพิเศษ ไม่มกี ารถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่าง บริษัทฯ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง และผู้ถือหุ้น ส่วน นโยบายการก�ำหนดราคาซือ้ ขายผลิตภัณฑ์ระหว่างบริษทั ฯ กับ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน จะก�ำหนดจากราคาเชิงพาณิชย์ตามปกติ ของธุรกิจ เช่นเดียวกับทีก่ �ำหนดให้กจิ การอืน่ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน ส�ำหรับราคาวัตถุดิบจะด�ำเนินการซื้อขายตามสัญญาที่ได้ ก�ำหนดให้ราคาวัตถุดบิ แปรผันไปตามราคาตลาดเช่นเดียวกับ ที่ผา่ นมา และบริษัทฯ จะเปิดเผยชนิดและมูลค่าของรายการ ระหว่างกันของบริษทั ฯ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ภายใต้ ประกาศของคณะกรรมการก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ใช้บังคับกับการท�ำรายการดังกล่าว ทั งนี้ การท�ำรายการระหว่างกันของบริษัทฯ จะพิจารณา ด�ำเนินการโดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ เป็น ส�ำคัญ

90 54-02-058_084-090-4c_Y new15.indd 90

15/3/2011 19:48


ข้อมูลบริษัท ชื่อ ทะเบียนเลขที ่ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

โรงกลั่นน�้ำมัน (AR1)

โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) คลังวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์

โฮมเพจ

ข้อมูลนักลงทุน ประเภทธุรกิจ

จ�ำนวน/มูลค่าหุ้น

นายทะเบียนหุ้น

นายทะเบียนหุ้นกู้

ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้

บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) 0107550000254 เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน 14 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2140-4000 โทรสาร 0-2140-4111-2 เลขที่ 8 ถนน ไอ-แปด นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ต�ำบลมาบตาพุด อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-1000 โทรสาร 0-3897-1099 เลขที่ 4 ถนน ไอ-สอง นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ต�ำบลมาบตาพุด อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-2000 โทรสาร 0-3897-2099 เลขที่ 98/9 ถนนทางหลวงระยองสาย 3191 นิคมอุตสาหกรรม อาร์ ไอ แอล ต�ำบลมาบตาพุด อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-3000 โทรสาร 0-3897-3099 เลขที่ 11 ถนน ไอ-สี่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ต�ำบลมาบตาพุด อ�ำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-2000 โทรสาร 0-3897-2099 www.pttar.com ir@pttar.com หรือ 0-2140-4000 ด�ำเนินธุรกิจกลัน่ น ำมันและจัดหาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมส�ำเร็จรูป ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ รวมถึงผลิตภัณฑ์ตอ่ เนือ่ งจากสารอะโรเมติกส์ และธุรกิจบริษทั ร่วมทุนต่างๆ ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนเท่ากับ 29,938,149,690 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวนทั งสิ้น 2,993,814,969 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยทุนจดทะเบียน แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. จ�ำนวนทุนช�ำระแล้ว คือ 29,791,061,610 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญทีจ่ �ำหน่าย ได้แล้วทัง หมด 2,979,106,161 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท 2. จ�ำนวนทุนที่ยังมิได้ชำ� ระ คือ 147,088,080 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญทีย่ งั มิได้ชำ� ระ ทัง้ หมด จ�ำนวน 14,708,808 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 บาท บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800, 02-229-2888 โทรสาร 0-2654-5427 ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2544-1000 ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2299-1111 รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_091-092-4c_Y new15.indd 91

91 15/3/2011 19:49


ผู้สอบบัญชีปี 2553

นายวินิจ ศิลามงคล ทะเบียนเลขที่ 3378 และ/หรือ นายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ทะเบียนเลขที่ 3565 และ/หรือ นายเจริญ ผูส้ มั ฤทธิเ์ ลิศ ทะเบียนเลขที่ 4068 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ชั น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีส�ำหรับปี 2553 ให้แก่ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบ บัญชีสังกัดในรอบบัญชีปี 2553 เป็นจ�ำนวนเงิน 2,677,000 บาท

ค่าตอบแทนการสอบบัญชี

ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 29 ตุลาคม 2553 ปรากฏดังนี้ ลำ�ดับ

ชื่อ

จำ�นวนหุ้น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) Chase Nominees Limited 42 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด State Street Bank and Trust Company HSBC (Singapore) Nominees Pte. Ltd. Norbax Inc., 13 Gerlach & Co-Dimensional Emerging Markets Value Fund Somers (U.K.) Limited กองทุน GPF EQ-TH กองทุนเปิด ดัชนีธุรกิจพลังงานและธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์

ร้อยละ 58 ร้อยละ 26 ร้อยละ 15 ร้อยละ 1

บุคลากร จ�ำนวนพนักงานทัง้ หมดของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,117 คน*

ผลตอบแทนพนักงาน รายการ

48.60 5.54 3.69 1.94 1.78 1.22 0.50 0.49 0.49 0.39

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

สัดส่วนการถือหุ้น นิติบุคคลในประเทศ บุคคลธรรมดาในประเทศ นิติบุคคลต่างประเทศ บุคคลธรรมดาต่างประเทศ

1,441,987,368 164,349,802 109,487,750 57,446,044 52,757,535 36,160,385 14,786,216 14,566,400 14,530,858 11,502,700

ร้อยละ

จำ�นวนเงิน (บาท)

เงินเดือน = 748,776,772/ปี เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ = 75,735,349/ปี

คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ จ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในแต่ละปี โดย ก�ำหนดให้จา่ ยตามผลการด�ำเนินงานในอัตราไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีและทุนส�ำรองต่างๆ ทั้งหมด ของบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไขว่า การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะ ขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจ�ำเป็น และความเหมาะสม อื่นๆ ในอนาคตด้วย ส�ำหรับปี 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติในการ ประชุ ม ครั้ ง ที่ 3/2554 เมื่ อ วั น ที่ 24 กุ ม ภาพั น ธ์ 2554 ให้เสนอทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2554 อนุมตั กิ ารจ่าย เงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 0.96 บาท คิดเป็นเงิน 2,859,941,915 บาท โดยจ่ายจากก�ำไรที่ได้รับยกเว้นภาษี จากสิทธิประโยชน์ BOI ในอัตราหุ้นละ 0.61 บาท และจ่าย จากก�ำไรที่เสียภาษีในอัตราร้อยละ 25 อัตราหุ้นละ 0.35 บาท

* รวมจ�ำนวนพนักงานบริษัทฯ Secondment และ Direct Hired

92 54-02-058_091-092-4c_Y new15.indd 92

15/3/2011 19:49


โครงสร้างองค์กร ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

ผู้จัดการฝ่ายงานกำ�กับ และสื่อสารองค์กร และเลขานุการบริษัท

ผู้จัดการฝ่าย ตรวจสอบภายใน

ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริหารอุตสาหกรรม และหน่วยงานอิสระ

ผู้จัดการฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ผู้จัดการฝ่ายแผน กลยุทธ์องค์กร

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส เทคนิคและวิศวกรรม

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส ปฏิบัติการ

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ การเงินและ บัญชีองค์กร

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และ พัฒนาธุรกิจ

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน

ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ วางแผนจัดหา และพัฒนาธุรกิจ

ผู้จัดการฝ่าย ทรัพยากรบุคคล

ผู้อำ�นวยการ โครงการ A

ผู้จัดการฝ่าย วิศวกรรม

ผู้จัดการฝ่าย อะโรเมติกส์ 1

ผู้จัดการฝ่าย ปฏิบัติการโรงกลั่น

ผู้จัดการฝ่าย กิจการเพื่อสังคม และรัฐกิจสัมพันธ์

ผู้อำ�นวยการ โครงการ B

ผู้จัดการฝ่าย บำ�รุงรักษา

ผู้จัดการฝ่าย อะโรเมติกส์ 2

ผู้จัดการฝ่าย บริหารคลัง และรับส่งวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์

ผู้จัดการฝ่าย บัญชีองค์กร

ผู้จัดการฝ่าย วางแผนการเงินและ ข้อมูลผู้บริหาร

54-02-058_093-4c_Y new15.indd 93

ผู้จัดการฝ่าย พาณิชยกิจ

ผู้จัดการฝ่าย จัดหา

รองกรรมการ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ ปฏิบัติการโรงกลั่น

ผู้จัดการฝ่าย เทคนิค ผู้อำ�นวยการโครงการ ซ่อมบำ�รุงและ ตรวจสอบโรงงาน

15/3/2011 19:50


คณะกรรมการบริษัท

02

03

04

05

06

07

01 01 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธานกรรมการ 02 พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม 03 นายอำาพน กิตติอำาพน กรรมการอิสระ และประธาน กรรมการ และประธาน คณะกรรมการกำากับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและ กำาหนดค่าตอบแทน 04 นายโชคชัย อักษรนันท์ กรรมการอิสระ และประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ

05

กรรมการ และกรรมการสรรหา และกำาหนดค่าตอบแทน (กรรมการผู้มีอำานาจลงนาม)

นางพรรณี สถาวโรดม

07

กรรมการ ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และกรรมการ กำากับดูแลกิจการ (กรรมการผู้มีอำานาจลงนาม)

06

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการบริหารความเสี่ยง

94

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

นายปรัชญา ภิญญาวัธน์


08 นายวิชช์ จีระแพทย์ กรรมการอิสระ 09

พล.ต.อ.เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำาหนด ค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ

10 นายเพิม ่ ศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ

08

09

10

11 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการ และ กรรมการบริหารความเสี่ยง 12 นายนัที เปรมรัศมี กรรมการอิสระ 13 นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ และ กรรมการกำากับดูแลกิจการ 14 นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

(ลาออกเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554)

11

12

13

15 นายทวารัฐ สูตะบุตร กรรมการอิสระ

(24 กุมภาพันธ์ 2554 - ปัจจุบัน)

16

14

15

นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท (กรรมการผู้มีอำานาจลงนาม)

16 รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

95


นายณอคุณ สิทธิพงศ์

พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ

อายุ : 57 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • วศ.บ. (เครื่องกล) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.S. (M.E.) Oregon State University, USA • Ph.D. (M.E.) Oregon State University, USA • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 47 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 4 • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 21/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • รองปลัดกระทรวงพลังงาน ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ปลัดกระทรวงพลังงาน • กรรมการ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์

อายุ : 62 ปี จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของกรรมการ : 194,966 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00654 จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การทหาร) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 62/2007 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 91/2007 และ หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) รุ่น 35/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 6 ประสบการณ์ท�ำงาน • นายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจ�ำผู้บัญชาการทหารสูงสุด • ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาพิเศษ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา • ผูบ้ ริหารงานโครงการต่างๆ เช่น โครงการขุดอ่างเก็บน ำขนาด 250 ไร่ (พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) • รองผู้บัญชาการ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กระทรวงกลาโหม • ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงบประมาณกลาโหม กระทรวงกลาโหม • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ • ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ข้าราชการบ�ำนาญ

96 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 96

15/3/2011 19:54


นายอ�ำพน กิตติอ�ำพน

นายโชคชัย อักษรนันท์

กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

อายุ : 55 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ Northeastern University, Boston, USA • ดุษฎีบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์ Clemson University, South Carolina, USA • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 45 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 80/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ • กรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ต�ำแหน่งปัจจุบัน • เลขาธิการคณะรัฐมนตรี • กรรมการนโยบายการเงิน • กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 7 • กรรมการ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ : 68 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : 83,844 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00281 จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (เกียรตินิยม) สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี University of New Brunswick, Canada • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี University of New Brunswick, Canada • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิทยาศาสตร์ University of New Brunswick, Canada • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 1 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 11/2005 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 50/2006 หลักสูตร Understanding the Financial Statement (UFS) รุ่น 3/2005 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 22/2008 และ หลักสูตร DCP Refresher Course รุ่น 1/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ประธานกรรมการ บริษัทบริหารสินทรัพย์กรุงเทพฯ พาณิชย์ จ�ำกัด • ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารนครหลวงไทย จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีนิไทย จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน (บบส.) ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ประธานกรรมการ บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท บางกอกอินดัสเตรียลแก๊ส จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จ�ำกัด • กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 97

97 15/3/2011 19:54


นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

นางพรรณี สถาวโรดม

กรรมการ และ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม)

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการบริหารความเสี่ยง

อายุ : 58 ปี จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของกรรมการ : 244,631 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00821 จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี

อายุ : 62 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : 92,678 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00311 จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ) : ไม่มี

การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) Utah State University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี • ปริญญาบัตร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุน่ ที่ 10 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 4010) • Certificate in Advanced Management Program, Harvard Business School สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุน่ ที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 26/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 3

การศึกษา/การอบรม • เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Certificate of Bond Market (1996): Fixed Interim Analysis, Economic Development Institute of The World Bank • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 44 • Certificate of Advance Executive Program, 2004, Kellogg School of Management, Northwestern University สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 42/2005 หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) รุ่น 22/2005 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 72/2006 และ หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 32/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5

ประสบการณ์ท�ำงาน • รองผูจ้ ดั การใหญ่ การตลาด ธุรกิจน ำมัน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้จัดการใหญ่ ปตท. น ำมัน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้จัดการใหญ่ ปตท. ก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งปัจจุบัน • กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน

ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านการคลังและภาษี ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง • รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง • กรรมการ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย • กรรมการ ธนาคารแห่งประเทศไทย • คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน • กรรมการ กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ • คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • คณะกรรมการนโยบายหนี้ของประเทศ • คณะกรรมการสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ข้าราชการบ�ำนาญ • คณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารการลงทุน สภากาชาดไทย • คณะกรรมการสถาบันวิจัยเศรษฐกิจการคลัง

98 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 98

15/3/2011 19:54


นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

นายวิชช์ จีระแพทย์

กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการ (กรรมการผูม้ อี �ำนาจลงนาม)

กรรมการอิสระ

อายุ : 59 ปี จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของกรรมการ : 298,904 หุน้ จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของผูเ้ กีย่ วข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : 25,838 หุ้น จ�ำนวนหุ้นรวม : 324,742 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.01090 การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.S. (Civil Engineering), Stanford University, USA • Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas at Austin, USA • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 15 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 14/2002 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 7 ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้จัดการใหญ่ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • รองผู้ว่าการแผนและพัฒนาองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • รองผู้ว่าการกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั นปลาย และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจน ำมัน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท เอ็ช เอ็ม ซี โปลีเมอส์ จ�ำกัด

อายุ : 59 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย พ.ศ. 2520 • นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีเยี่ยม สภาวิจัยแห่งชาติ ปี 2550 • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 35 • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุน่ ที่ 1 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง ส�ำนักงานศาลยุติธรรม รุ่นที่ 9 • หลักสูตรนักบริหารงานยุตธิ รรมระดับสูง ส�ำนักงานอัยการสูงสุด รุน่ ที่ 4 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 75/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 7 ประสบการณ์ท�ำงาน • อธิบดีอัยการฝ่ายคดีศาลสูงเขต 3 ส�ำนักงานคดีศาลสูงเขต 3 • อธิบดีอัยการฝ่ายคดีล้มละลาย ส�ำนักงานคดีล้มละลาย • อธิบดีอัยการฝ่ายช่วยเหลือทางกฎหมาย ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิ และช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ต�ำแหน่งปัจจุบัน • อธิบดีอัยการวิชาการ ส�ำนักงานวิชาการ • กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์ • กรรมการว่าด้วยสัญชาติ

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 99

99 15/3/2011 19:54


พลต�ำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส

นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการ

อายุ : 62 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 8 • โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ รุ่นที่ 24 • หลักสูตรสารวัตรและผู้บังคับกอง รุ่นที่ 13 • หลักสูตรการบริหารงานต�ำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 8 • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงหลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 10 และ หลักสูตรที่ 2 รุ่นที่ 15 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน • ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 38 • ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 9 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 60/2006 และ หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน่ ที่ 9/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้บังคับการกองปราบปราม • ผู้บัญชาการต�ำรวจสอบสวนกลาง • ผู้ช่วยอธิบดีกรมต�ำรวจ • ผู้ช่วยผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ • จเรต�ำรวจแห่งชาติ • ที่ปรึกษา (สบ. 10) • รักษาราชการแทนผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ • ผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ • สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

อายุ : 60 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : 76,221 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00255 จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของผูเ้ กีย่ วข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาเครื่องกล University of Santo Tomas Manila, The Philippines • ประกาศนียบัตร ASEAN Executive Program (AEP), GE Management Development Institute • ประกาศนียบัตร Senior Executive Program, Sasin Graduate Institute of Business Administration จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 52/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้จัดการฝ่ายโรงแยกก๊าซ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • รองผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงแยกก๊าซ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่แยกก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด

ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ข้าราชการบ�ำนาญ

100 54-02-058_094�121-4c N15_Y new16.indd 100

16/3/2011 19:46


นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

นายนัที เปรมรัศมี

กรรมการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ

อายุ : 52 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี

อายุ : 62 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี

การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี - เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมปิโตรเลียม University of Houston สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท วิศวกรรมเคมี Rice University สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุน่ ที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • ประกาศนียบัตรโครงการอบรมผู้น�ำสากล (Program for Global Leadership-PGL), Harvard Business School สหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตรโครงการอบรมผู้บริหารระดับสูง สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (S.E.P. รุ่น 7) • Director Certification Program (DCP) รุ่น 21/2002 และ Financial Statements for Directors (FSD) รุ่น 6/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่น 6 • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 45 • ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 36 ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • ประกาศนียบัตร หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 26 กระทรวงมหาดไทย • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 4 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับคณะกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุน่ ที่ 3 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 105/2008 และ หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 19/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประสบการณ์ท�ำงาน • รองผู้จัดการใหญ่อาวุโส – โครงการลงทุนภูมิภาค บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ พัฒนาธุรกิจองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานกรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA)

ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี • ที่ปรึกษาประจ�ำส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี • ผู้ตรวจราชการส�ำนักนายกรัฐมนตรี • รองปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี • ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ต�ำแหน่งปัจจุบัน • กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • รองประธานอนุกรรมการคัดเลือกและเผยแพร่ผลงานดีเด่นของชาติ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี • อนุกรรมการจริยธรรมสภาผู้แทนราษฎร ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร • อนุกรรมการวินิจฉัยเรื่องคัดค้านและมีปัญหาหรือข้อโต้แย้ง คณะที่ 12 ส�ำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 101

101 15/3/2011 19:54


นายสมชาย พูลสวัสดิ์

นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี

กรรมการอิสระ และกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ (ลาออกเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554)

อายุ : 54 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 19 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • The Customs International Executive Management Program (CIEMP) • การพัฒนาการจัดการ Mini MM • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 136/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจสอบอากร กรมศุลกากร • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานศุลกากรภาคที่ 3 กรมศุลกากร • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานศุลกากรตรวจสินค้า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรมศุลกากร • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสืบสวนและปราบปราม กรมศุลกากร • รองอธิบดีกรมศุลกากร ด้านปราบปราม • ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง ต�ำแหน่งปัจจุบัน • รองปลัดกระทรวงการคลัง • กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • ประธานกรรมการ ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล

อายุ : 56 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตร์ (การบริหารจัดการภาครัฐและ ภาคเอกชน) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 46 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 11 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 7 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 115/2009 และหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่น 4/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • รองอธิบดี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ • รองอธิบดี กรมโรงงานอุตสาหกรรม • ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น • ผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม • รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม • อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ • อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จ�ำกัด • ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

102 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 102

15/3/2011 19:54


นายทวารัฐ สูตะบุตร

นายบวร วงศ์สินอุดม

กรรมการอิสระ (24 กุมภาพันธ์ 2554 - ปัจจุบัน)

กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการบริษัท (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม)

อายุ : 42 ปี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของกรรมการ : ไม่มี จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย • ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยี แห่งมลรัฐแมสซาชูเซ็ตส์ สหรัฐอเมริกา • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 61 ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) • Infrastructure in a Market Economics, Harvard University, Cambridge, USA • Understanding Liberalized Gas Business, College for Petroleum Studies, Oxford​​, UK • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 115/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้อำ� นวยการส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงพลังงาน • ผู้อ�ำนวยการส่วนสื่อสารและการยอมรับสาธารณะ ส�ำนักพัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ กระทรวงพลังงาน • โฆษกกระทรวงพลังงาน ต�ำแหน่งปัจจุบัน • รองอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน

อายุ : 56 ปี จ�ำนวนหุน้ PTTAR ของกรรมการ : 165,361 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00555 จ�ำนวนหุ้น PTTAR ของผู้เกี่ยวข้อง (ภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) : ไม่มี การศึกษา/การอบรม • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาบัตร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 17 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 76/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์และคุณภาพ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ร่วม) บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ และ รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด ต�ำแหน่งปัจจุบัน • ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดกลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน ปลาย บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new16.indd 103

103 16/3/2011 19:47


กรรมการบริษัทฯ ที่ครบวาระและลาออกระหว่างปี 2553

01

02

01 นายนครินทร์ วีระเมธีกุล

02 นายอภัย จันทนจุลกะ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง (ครบวาระเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553)

03 นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

104

กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการ (กรรมการผู้มีอำานาจลงนาม) (ลาออกเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 เนื่องจากเกษียณอายุ)

03

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการกำากับดูแลกิจการ (ลาออกเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2553)


คณะผู้บริหาร

01 นายบวร วงศ์สินอุดม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่

01

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

รักษาการรองกรรมการ ผูจ้ ัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

02 นายกัญจน์ ปทุมราช รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม

(1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบัน)

03 นายวันชัย ธาดาดลทิพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ

02

106

03

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)


04 นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ รองกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ ปฏิบัติการโรงกลัน่ 05 นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการอะโรเมติกส์

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

06 นายวริทธิ์ นามวงษ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร

04

05

07 นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร (1 กุมภาพันธ์ 2554 - ปัจจุบัน)

06

07

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

107


01 นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ ผู้ช่วยกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ บริหารอุตสาหกรรมและหน่วยงานอิสระ

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

02 นายสิริเดช คุ้มวงศ์ดี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ วางแผนจัดหาและพัฒนาธุรกิจ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

01

02

03 นายดำารงค์ ปิ่นภูวดล ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

04 นายสาโรจน์ พุทธธรรมวงศ์ ผู้จัดการฝ่ายพาณิชยกิจ 05 นายคมสัน ปิยะวัฒนวิโรจน์ ผู้อำานวยการโครงการ A 06 นายมาณพ แสงเงิน ผู้อำานวยการโครงการ B

108

03

04

05

06


01 นายสุวัฒน์ สุรัตนชัยการ ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม 02 นายอนุทิน ช่วยเพ็ญ ผู้จัดการฝ่ายบำารุงรักษา 03 นายโสภณ ศิริรัชตพงษ์ ผู้อำานวยการโครงการซ่อมบำารุง และตรวจสอบโรงงาน 04 นายพรรคพงษ์ วังรัตนโสภณ ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค (1 มีนาคม 2554 - ปัจจุบัน)

01

02

03

05 นายศุภสิทธิ์ ทองศุภโชค ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 1 06 นายสวัสดิ์ ตรงดิลกรัตน์ ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 2 07 นายรัชดา สวัสดิรักษ์ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการโรงกลั่น 08 นายสุเทพ กลิ่นชั้น ผู้จัดการฝ่ายบริหารคลังและ รับส่งวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์

04

05

06

07

08

09

09

นายเสขสิริ ปิยะเวช ผู้จัดการฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

109


01 นางสาวอารยา บุรัสการ ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน 02 นายเผ่าพันธ์ ศรีรองเมือง ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล 03 นายสุรพงษ์ หาญอมร ผู้จัดการฝ่ายจัดหา 04 นางนัฎชลี ผดุงสิทธิ์ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน

01

02

03

05 นายสมบุญ เศรษฐ์สน ั ติพงศ์ ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน และข้อมูลผู้บริหาร 06 นางสิรลิ ก ั ษณ์ โพธิหน่อทอง ผู้จัดการฝ่ายบัญชีองค์กร 07 นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้จัดการฝ่ายงานกำากับ และสื่อสารองค์กร (1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบัน)

เลขานุการบริษัท

(1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

04

05

06

08 นางสาวบรินดา กลัสนิมิ ผู้จัดการฝ่ายกิจการเพื่อสังคม และรัฐกิจสัมพันธ์ (1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบัน)

07

110

08


นายบวร วงศ์สินอุดม

นายกัญจน์ ปทุมราช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และ รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโสปฏิบตั กิ าร และรักษาการ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม (1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่เทคนิคและวิศวกรรม (1 มกราคม 2553 - 30 เมษายน 2553)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาบัตร หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณฑ์และคุณภาพ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ร่วม) บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ และรักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด ปัจจุบัน • ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และรักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดกลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน ปลาย บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด

การศึกษา • B.Sc., Chemical Engineers, New Jersey Institute of Technology, USA • M.Eng., Chemical Engineers, Manhattan College, New York, USA • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Senior Executive Program (SEP), สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advance Management Program (AMP), Harvard Business School, USA ประวัติการท�ำงาน • ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการโครงการด้านเทคนิค บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการโรงงาน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่เทคนิคและวิศวกรรม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new16.indd 111

111 16/3/2011 20:27


นายวันชัย ธาดาดลทิพย์

นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารโครงการ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายโครงการ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด

นายพรเทพ บุตรนิพันธ์

ประวัติการท�ำงาน • ผู้อ�ำนวยการกองเดินเครื่อง การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้ช่วยผู้จัดการอาวุโสฝ่ายผลิตและวิศวกรรม บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายบ�ำรุงรักษา บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการโครงการ โครงการอะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารโครงการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ปฏิบตั กิ ารโรงกลัน่ การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • M.S.E.C. (Process Technology), Department of Chemistry and Chemical Engineering, University of Detroit, Michigan, USA ประวัติการท�ำงาน • อาจารย์ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • วิศวกรฝ่ายนโยบายและวางแผน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • วิศวกรอาวุโส บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผู้อำ� นวยการโครงการก่อสร้างโรงงานอะโรเมติกส์และรีฟอร์เมอร์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการโรงงาน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผูจ้ ดั การใหญ่ปฏิบตั กิ าร บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผูจ้ ดั การใหญ่บริหาร บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร และรักษาการผู้จัดการฝ่าย ประชาสัมพันธ์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายวริทธิ์ นามวงษ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารองค์กร การศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (International Program) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ประกาศนียบัตร หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการส่วนบริหารคลังพัสดุและโลจิสติกส์ บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนจัดหาและสัญญา บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด

ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

112 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 112

15/3/2011 19:56


นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง

นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร (1 กุมภาพันธ์ 2554 - ปัจจุบนั ) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร (1 ตุลาคม 2553 - 31 มกราคม 2554) ผูจ้ ดั การฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารอุตสาหกรรมและหน่วยงานอิสระ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (สถิติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกียรตินิยม อันดับ 1 • ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์และการบัญชี (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการท�ำงาน • ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านธุรกิจสัมพันธ์ บริษทั ปิโตรเคมีแห่งชาติ จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายสนับสนุนงานปฏิบตั กิ าร บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายกิจการพิเศษ บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • นักวิเคราะห์ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผูจ้ ดั การแผนกเศรษฐกิจการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การแผนกแผนจัดหาน ำมัน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนวัตถุดิบและวางแผนผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดหน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด

การศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ Bachelor of Business Administration, Abilene Christian University, Texas, USA

ปัจจุบัน • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารอุตสาหกรรมและหน่วยงานอิสระ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายสิริเดช คุ้มวงศ์ดี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่วางแผนจัดหา และพัฒนาธุรกิจ (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบนั ) ผูจ้ ดั การฝ่ายวางแผนจัดหาและการผลิต (1 มกราคม 2553 – 30 กันยายน 2553) การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยวอชิงตัน ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการแผนกเศรษฐศาสตร์ปิโตรเลียม บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนวางแผนการผลิต บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนวางแผนการผลิต บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนพัฒนาธุรกิจ บริษัท อัลลายแอนช์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจและการค้า บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายวางแผนจัดหาและการผลิต บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่วางแผนจัดหาและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 113

113 15/3/2011 19:56


นายด�ำรงค์ ปิ่นภูวดล

นายสาโรจน์ พุทธธรรมวงศ์

ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบัน) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ (1 มกราคม 2553 – 30 กันยายน 2553)

ผูจ้ ดั การฝ่ายพาณิชยกิจ

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการทั่วไป สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน • ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการกอง การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • วิศวกร บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนวางแผนและควบคุม บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบริหารโรงงาน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและบริหาร บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายแผนและธุรกิจ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์และการบัญชี (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน • วิศวกรกระบวนการผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนปฏิบัติการหน่วยอะโรเมติกส์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนวางแผนผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนธุรกิจ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนวัตถุดิบและวางแผนผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายแผนและธุรกิจ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายธุรกิจการค้า บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายวางแผนผลิตและพาณิชยกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายพาณิชยกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายคมสัน ปิยะวัฒนวิโรจน์ ผู้อ�ำนวยการโครงการ A การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการท�ำงาน • ผูจ้ ดั การส่วนวิศวกรรม บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายโครงการ บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผู้อ�ำนวยการโครงการด้านก่อสร้าง โครงการอะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้อ�ำนวยการโครงการ - Clean Fuel Project บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้อ�ำนวยการโครงการ A บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

114 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 114

15/3/2011 19:56


นายมาณพ แสงเงิน

นายอนุทิน ช่วยเพ็ญ

ผูอ้ �ำนวยการโครงการ B

ผูจ้ ดั การฝ่ายบ�ำรุงรักษา

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขาวิชาการงานจัดการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรม มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประวัติการท�ำงาน • วิศวกรระบบท่อ CTCI Co., Ltd. • วิศวกรฝึกหัด ส่วนบ�ำรุงรักษา Unocal Co., Ltd. • วิศวกรเครื่องกล ส่วนระบบท่อ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • วิศวกรระบบท่อ ส่วนเครือ่ งกล Seatec Engineering Co., Ltd. • วิศวกรระบบท่อ บริษัท อูเด้ห์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด • วิศวกรเครื่องกล บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนคลังส�ำรอง บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนโครงการ บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบริหารโครงการ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโครงการ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพและความปลอดภัย บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายคุณภาพและความปลอดภัย บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้อ�ำนวยการโครงการ B บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • วิศวกรกระบวนการผลิต บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จ�ำกัด (มหาชน) • วิศวกรกระบวนการผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนปฏิบัติการ (กะ) บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนรีฟอร์เมอร์ บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รองผูอ้ ำ� นวยการโครงการด้านสนับสนุนการก่อสร้าง โครงการอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิตอะโรเมติกส์ 2 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 2 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายบ�ำรุงรักษา บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายสุวัฒน์ สุรัตนชัยการ ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประวัติการท�ำงาน • ผูจ้ ดั การส่วนไฟฟ้าและเครือ่ งมือวัด บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนโครงการ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายบริหาร Asset บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 115

115 15/3/2011 19:56


นายโสภณ ศิริรัชตพงษ์

นายพรรคพงษ์ วังรัตนโสภณ

ผูอ้ �ำนวยการโครงการซ่อมบ�ำรุงและตรวจสอบโรงงาน

ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคนิค (1 มีนาคม 2554 – ปัจจุบัน)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาการจัดการส�ำหรับนักบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน • วิศวกร บริษัท ไทยไพพ์ฟิตติ้ง จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท นิธิพัฒนา จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท ไทยสเปเชียลสตีล จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท แมคเคมซัพพลาย จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท ยูโรเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนโรงซ่อมบ�ำรุง บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบ�ำรุงรักษาคลังส�ำรองและสาธารณูปโภค บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบ�ำรุงรักษา บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบ�ำรุงรักษา บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบ�ำรุงรักษา บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้อ�ำนวยการโครงการซ่อมบ�ำรุงและตรวจสอบโรงงาน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยมอันดับ 2 • ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการท�ำงาน • ผูจ้ ดั การส่วนเทคโนโลยีการผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนพัฒนากระบวนการผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนเทคนิคและทดลองเดินเครือ่ ง โครงการอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนเทคโนโลยีการผลิตอะโรเมติกส์ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายเทคนิค บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายศุภสิทธิ์ ทองศุภโชค ผูจ้ ดั การฝ่ายอะโรเมติกส์ 1 การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตเทเวศน์ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ประวัติการท�ำงาน • วิศวกรเครื่องมือวัด บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • วิศวกรอาวุโส บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบ�ำรุงรักษาเครื่องมือวัด บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนคลังส�ำรอง บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายคลังส�ำรอง บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายคลังอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 1 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

116 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 116

15/3/2011 19:56


นายสวัสดิ์ ตรงดิลกรัตน์

นายสุเทพ กลิ่นชั้น

ผูจ้ ดั การฝ่ายอะโรเมติกส์ 2

ผูจ้ ดั การฝ่ายบริหารคลังและรับส่งวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์

การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

ประวัติการท�ำงาน • ผูช้ ว่ ย Shift Supervisor บริษทั อุตสาหกรรมปิโตรเคมีคลั ไทย จ�ำกัด (มหาชน) • วิศวกรกระบวนการผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนปฏิบตั กิ าร (กะ) บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนอะโรเมติกส์ 1 บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายผลิต บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายผลิตอะโรเมติกส์ 1 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 1 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการกะ บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด • ผู้ประสานงานกะ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้ประสานงานฝ่ายผลิต บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการโครงการ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายคลังน ำมัน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายอะโรเมติกส์ 2 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายรัชดา สวัสดิรักษ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ ารโรงกลัน่ การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร • ปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการปฏิบัติการกะ บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด • ผูป้ ระสานงานด้านสายงานปฏิบตั กิ ารกะ บริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด • ผูช้ ำ� นาญเฉพาะด้านสายปฏิบตั กิ าร บริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการโรงกลั่น บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายบริหารคลังและรับส่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายเสขสิริ ปิยะเวช ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ (เกียรตินิยม) สาขาการจัดการส�ำหรับ ผู้บริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน • วิศวกรไฟฟ้า การไฟฟ้านครหลวง • วิศวกรแผนกจัดซื้อในประเทศ บริษัท กระเบื้องกระดาษไทย จ�ำกัด ในเครือซิเมนต์ไทย • วิศวกรไฟฟ้า บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด • พนักงานปฏิบัติการ ฝ่ายผลิต บริษัท ไทยโอเลฟินส์ จ�ำกัด • วิศวกรระบบควบคุมการผลิต บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • หัวหน้าวิศวกรระบบควบคุมการผลิต บริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนวิศวกรรมเครื่องมือวัดควบคุมและไฟฟ้า บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการการแยกกิจการ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 117

117 15/3/2011 19:56


นางสาวอารยา บุรัสการ

นายสุรพงษ์ หาญอมร

ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน

ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหา

การศึกษา • ปริญญาตรี มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาโท Public Administration, Tarleton State University, Texas, USA

การศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการส่วนบริหารส�ำนักงาน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนทรัพยากรบุคคล บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบริหารและจัดหา บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายบริหารและจัดหา บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหา บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นายเผ่าพันธ์ ศรีรองเมือง ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล การศึกษา • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

ประวัติการท�ำงาน • วิศวกร บริษัท VES. Group Engineering จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท TDCI จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท NK-TDCI จ�ำกัด • วิศวกร บริษัท ช. การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) • วิศวกร บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้ช่วยผู้จัดการส่วนวางแผนและควบคุม บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนฝึกอบรมและบุคคลโรงงาน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนประกันคุณภาพ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบริหารคุณภาพ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหา บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • ผู้จัดการฝ่ายระบบข้อมูลผู้บริหาร บริษัท นครอาหารทะเล จ�ำกัด (ยูนิคอร์ด กรุ๊ป) • ผู้จัดการส่วนระบบข้อมูลผู้บริหาร บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส�ำนักตรวจสอบภายในและบริหารความเสี่ยง บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส�ำนักตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

118 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 118

15/3/2011 19:56


นางนัฎชลี ผดุงสิทธิ์

นายสมบุญ เศรษฐ์สันติพงศ์

ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงิน

ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงินและข้อมูลผู้บริหาร

การศึกษา • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ สาขาการเงินและการคลังสาธารณะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การศึกษา • ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี สาขาการธนาคารและการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงาน • นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ธนชาต จ�ำกัด • เจ้าหน้าทีก่ ารตลาดหลักทรัพย์ บริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ คาเธ่ย์ ทรัสต์ จ�ำกัด • พนักงานวิเคราะห์และวางแผน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการแผนกวิเคราะห์และวางแผน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการแผนกวางแผนและบริหารการเงิน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนการเงิน บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • นักการเงิน บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • นักการเงินและระบบข้อมูลผู้บริหาร บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนการคลังและงบประมาณ บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายการเงิน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • ผู้ตรวจสอบภายใน บริษัท ยางสยาม จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนการเงิน บริษัท แปลนเอสเตท จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงิน บริษัท สยามสินธร จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายการเงินและวางแผน บริษัท หยุ่นศิลา เชียงใหม่ จ�ำกัด • Treasury Manager บริษัท ไทยอินดัสเทรียลแก๊ส จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การแผนกบริหารเงิน บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนการเงิน บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผูจ้ ดั การส่วนการบัญชี บริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • รักษาการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชีอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบัญชีต้นทุน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการเงินและข้อมูลผู้บริหาร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

นางสิริลักษณ์ โพธิหน่อทอง ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชีองค์กร การศึกษา • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการท�ำงาน • เจ้าหน้าที่บัญชีตรวจจ่าย บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จ�ำกัด • สมุห์บัญชี บริษัท โอเรียนตัลซิลิกา จ�ำกัด • เจ้าหน้าที่บัญชีนำ�้ มัน บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบัญชีนำ�้ มัน บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนบัญชีการเงิน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 119

119 15/3/2011 19:56


นางสาวมนวิภา จูภิบาล

นางสาวบรินดา กลัสนิมิ

ผูจ้ ดั การฝ่ายงานก�ำกับและสือ่ สารองค์กร (1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบนั ) เลขานุการบริษทั (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบนั )

ผูจ้ ดั การฝ่ายกิจการเพือ่ สังคมและรัฐกิจสัมพันธ์ (1 พฤษภาคม 2553 - ปัจจุบัน) ผูจ้ ดั การฝ่ายสือ่ สารองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์ (1 กุมภาพันธ์ 2552 - 30 เมษายน 2553)

การศึกษา • ปริญญาตรี ครุศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษและธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท อักษรศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท รัฐศาสตร์ สาขาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง • หลักสูตรประกาศนียบัตรส�ำหรับเลขานุการบริษัท สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

การศึกษา • ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ สาขากิจการระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการท�ำงาน • พนักงานส่วนติดตามและประเมินผล ฝ่ายก่อสร้าง การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • เลขานุการประธานกรรมการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • เลขานุการผู้ว่าการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • พนักงานวิเทศสัมพันธ์ ส�ำนักผู้ว่าการ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • ผู้จัดการส่วนประชาสัมพันธ์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • ผู้จัดการส่วนงานก�ำกับองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายงานก�ำกับและสื่อสารองค์กร และเลขานุการบริษัท บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติการท�ำงาน • บรรณาธิการข่าว สถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 สถานีวิทยุ และส�ำนักข่าวไทย อสมท. • เจ้าหน้าที่ผลิตรายการและกระจายเสียง ภาคบริการโลก บรรษัทกระจายเสียงอังกฤษ (BBC) • ผูป้ ระสานงานสือ่ มวลชน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษทั เชลล์ในประเทศไทย • ผู้จัดการแผนกสื่อสารองค์กรและประชาสัมพันธ์ บริษัท โรงกลั่นน ำมันระยอง จ�ำกัด • ผู้จัดการส่วนสื่อสารองค์กรและประชาสัมพันธ์ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายกิจการสัมพันธ์ บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด • ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน • ผู้จัดการฝ่ายกิจการเพื่อสังคมและรัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

120 54-02-058_094�121-4c N15_Y new15indd 120

15/3/2011 19:56


ผู้บริหารที่เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553

01

ผู้บริหารที่ย้ายไปด�ารงต�าแหน่งที่บริษัทในกลุ่ม ปตท.

02

03

01 นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

03 นางนิธิมา เทพวนังกูร

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน และบัญชีองค์กร (1 มกราคม 2553 - 31 มกราคม 2554)

(1 กุมภาพันธ์ 2554 - ปัจจุบัน) • รองกรรมการอ�านวยการ-ด้านการเงิน บริษัท ไทยออยล์ จ�ากัด (มหาชน)

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

02 นางพวงเชาว์ นาคะนาท

ผูจ้ ดั การส�านักประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และเลขานุการบริษทั (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

04

04 นางจีรานี พิมทะโนทัย

ผูจ้ ดั การฝ่ายเทคนิค (1 มกราคม 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2554)

(1 มีนาคม 2554 - ปัจจุบัน) ปฏิบัติงาน Secondment บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ในต�าแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายแผนและบริหารบริษัทในเครือ การกลั่น หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

121


โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อยเฉพาะเรือ่ ง 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง

1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน กรรมการบริษัทฯ มีอายุไม่เกิน 70 ปี และมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน มีกรรมการอิสระจ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการ ทั งคณะ และต้องไม่น้อยกว่า 3 คน และก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการ อิสระเข้มกว่าเกณฑ์ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนในเรือ่ งการถือหุน้ ของ บริษัทฯ ไม่เกินร้อยละ 0.5 คณะกรรมการบริษัทฯ มีอ�ำนาจและหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจ ตลอดจนก�ำกับดูแลและก�ำหนด จรรยาบรรณขององค์กร เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และมติของ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต รอบคอบและ ระมัดระวัง มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ รวมถึงการด�ำเนินธุรกิจด้วยความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างดีที่สุด ทั งนี้ เว้นแต่เรื่องดังต่อไปนี้ที่จะ ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนด�ำเนินการด้วย ได้แก่ 1.1 การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางส่วนที่ สำ�คัญให้แก่บุคคลอื่น 1.2 การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั มหาชนจำ�กัดอืน่ หรือบริษทั จำ�กัดมาเป็นของบริษัทฯ 1.3 การทำ� แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่ากิจการของ บริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญ 1.4 การมอบหมายให้บคุ คลอืน่ เข้าจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ หรือการ รวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ แบ่งกำ�ไรขาดทุนกัน 1.5 การแก้ไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของบริษทั ฯ

122 54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 122

15/3/2011 19:58


1.6 การเพิม่ ทุน การลดทุน การออกหุน้ กู้ การควบบริษทั และการเลิกบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและ มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจ�ำนวน 15 ท่าน ดังนี้ 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธานกรรมการ 2. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการ 3. นายอำ�พน กิตติอำ�พน กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน 4. นายโชคชัย อักษรนันท์ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 5. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 6. นางพรรณี สถาวโรดม กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ บริหารความเสีย่ ง 7. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ กรรมการอิสระ 9. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ 10. พลตำ�รวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส กรรมการอิ ส ระ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน และกรรมการตรวจสอบ 11. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ 12. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง 13. นายนัที เปรมรัศมี กรรมการอิสระ 14. นายสมชาย พูลสวัสดิ์ กรรมการอิสระ และกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ

15. นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท รายละเอี ย ดประวั ติ ก รรมการและประสบการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ปรากฏอยู ่ ใ นหั ว ข้ อ “คณะกรรมการ”

2. คุณสมบัติของกรรมการอิสระ บริษัทฯ ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไว้ ดังนี้ 1. ต้องถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มอี ำ� นาจควบคุมของบริษัท โดยให้นับ รวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน/ พนั ก งาน/ลู ก จ้ า ง/ที่ ป รึ ก ษา ที่ ไ ด้ รั บ เงิ น เดื อ นประจ� ำ / ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจ ควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ทัง นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวม ถึงกรณีทกี่ รรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือทีป่ รึกษาของ ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุม ของบริษัทฯ 3. ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดามารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อ เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวาง การใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั งไม่เป็นหรือเคย เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของผู้ที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี (ลักษณะความสัมพันธ์ทางธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามข้อ ก�ำหนดรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน) รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 123

123 15/3/2011 19:58


5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจ ควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือหุน้ ส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชี ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ� นาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ง รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ปรึ ก ษากฎหมายหรื อ ที่ ป รึ ก ษา ทางการเงินซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจาก บริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้น ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ย กว่า 2 ปี 8. ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น และ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่ มีสว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือน ประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออก เสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือ บริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างเป็นอิสระได้

3. คณะกรรมการชุดย่อย มีจำ�นวน 4 คณะ ดังนี้ 3.1 คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นกรรมการอิสระของบริษทั ฯ มีจำ� นวนอย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คนต้องมีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอที่ จะท�ำหน้าที่สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ ด�ำรง ต� ำ แหน่ ง ตามวาระการเป็ น กรรมการบริ ษั ท ฯ แต่ ไ ม่ เ กิ น คราวละ 3 ปี มีหน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่าง ถูกต้องและเพียงพอ

2. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ พิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้างานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง บุคคลซึง่ มีความเป็น อิสระ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่า ตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ รวมทั งเข้าร่วมประชุมกับ ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั ง 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ฯ ในกรณีทเี่ กิด รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง นี้ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการ ดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิด เผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าวต้อง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบ ด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 6.2 ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของบริษัทฯ 6.3 ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ กำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกีย่ วกับรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ที่เกี่ยวโยงกัน 6.6 จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการ เข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ

124 54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 124

15/3/2011 19:58


ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ล งทุ น ทั่ ว ไป ควรทราบภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ 7. สอบทานการบริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับการควบคุมภายใน 8. ทบทวน และเสนอข้อแก้ไข ขอบเขต หน้าที่ และความ รั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการตรวจสอบให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาวการณ์ 9. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ในการปฏิบัติดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบมีความ รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง 10. หากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามี รายการหรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมี นัยส�ำคัญต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร 10.1 รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 10.2 การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ สำ�คัญในระบบควบคุมภายใน 10.3 การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ฯ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ รายชื่อ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ ในการสอบทานงบการเงิน และการเป็นกรรมการตรวจสอบ โดย นายโชคชัย อักษรนันท์ มีประสบการณ์ในต�ำแหน่งประธาน กรรมการตรวจสอบของบริษทั อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) และกรรมการตรวจสอบของบรรษัทบริหารสินทรัพย์ สถาบันการเงิน (บบส.) ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจ สอบของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จ�ำกัด (มหาชน) พลต�ำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส มีประสบการณ์ ในต�ำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบของบริษทั ไออาร์พซี ี จ�ำกัด (มหาชน) นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี ได้ผา่ นการอบรมหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุน่ 4/2009 และ นางพรรณี สถาวโรดม เป็นผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นบัญชีการเงิน และ ผ่านการอบรมหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 32/2010 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทยเรียบร้อยแล้ว

3.2 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณา เสนอแนะแนวปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2. ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จรรยาบรรณ พนักงาน และจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจน พัฒนาและยกระดับระบบการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล รายชื่อ

1. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

ประธานคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการ

2. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

กรรมการ กำ�กับดูแลกิจการ

3. นายสมชาย พูลสวัสดิ์

กรรมการ กำ�กับดูแลกิจการ

ตำ�แหน่ง

1. นายโชคชัย อักษรนันท์

ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ

2. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี*

กรรมการตรวจสอบ

3. นางพรรณี สถาวโรดม

กรรมการตรวจสอบ

4. พลตำ�รวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการตรวจสอบ นางสาวอารยา บุรัสการ ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน ปฏิบัติ หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ * ลาออกตั้งแต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554

ตำ�แหน่ง

นางพวงเชาว์ นาคะนาท ผู ้ จั ด การส� ำ นั ก ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารและเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (1 มกราคม 2553 – 30 กันยายน 2553) นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้จัดการฝ่ายงานก�ำกับและสื่อสาร องค์กรและเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการ (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบัน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 125

125 15/3/2011 19:58


3.3 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

3.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารสรรหากรรมการ บริษทั ฯ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพื่อให้เกิดความโปร่งใส 2. สรรหาและพิจารณาคัดเลือกบุคคลทีส่ มควรได้รบั การ เสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. เสนอความเห็นเรื่องการคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้ รับการเสนอชือ่ เป็นกรรมการบริษทั ฯ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาน�ำเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ฯ 4. พิจารณาก�ำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการก�ำหนดค่า ตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผลให้แก่คณะกรรมการ บริษัทฯ กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป 5. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการ ชุดย่อย เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติ 6. พิ จ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและเสนอค่ า ตอบแทนผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไปต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ

มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. ก�ำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางในการบริหาร ความเสีย่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. สอบทานให้มีการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความ เสี่ยงทั่วทั งองค์กร 3. ให้ค�ำแนะน�ำในการบริหารความเสี่ยงที่ส�ำคัญ โดย เฉพาะความเสี่ยงทางการเงินและความผันผวนของราคา ผลิตภัณฑ์ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 4. สอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยง และ ติดตามความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการจัดการความ เสี่ยงเพียงพอและเหมาะสม รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

1. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

ประธาน คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

2. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการ บริหารความเสี่ยง

ตำ�แหน่ง

3. นางพรรณี สถาวโรดม

1. นายอำ�พน กิตติอ�ำ พน

ประธานคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน

กรรมการ บริหารความเสี่ยง

4. นายบวร วงศ์สินอุดม

กรรมการ บริหารความเสี่ยง

2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์​์

กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน

รายชื่อ

3. พลตำ�รวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน นางพวงเชาว์ นาคะนาท ผู้จัดการส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน (1 มกราคม 2553 – 30 กันยายน 2553) นางสาวมนวิภา จูภบิ าล ผูจ้ ดั การฝ่ายงานก�ำกับและสือ่ สารองค์กร และเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทน (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบัน)

นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน และบัญชีองค์กร ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ ปี 2553 ในปี 2553 คณะกรรมการ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) มีการประชุมตามวาระปกติ จ�ำนวน 12 ครั้ง การประชุมโดยไม่มีผู้บริหารและฝ่ายจัดการเข้าร่วม จ�ำนวน 1 ครั้ง และการประชุมเฉพาะกรรมการอิสระจ�ำนวน 1 ครั้ง โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และกรรมการชุดย่อยของกรรมการแต่ละราย ดังนี้

126 54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 126

15/3/2011 19:58


กรรมการบริษัทฯ

รายชื่อ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ สรรหาและ ประชุมโดยไม่มี ประชุมเฉพาะ กำ�กับดูแล บริหาร วาระปกติ ผู้บริหารหรือ กรรมการ ตรวจสอบ กิจการ กำ�หนดค่า ความเสี่ยง 9 ครั้ง ตอบแทน 12 ครั้ง ฝ่ายจัดการ อิสระ 6 ครั้ง 9 ครั้ง 7 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

12/12

1/1

2. นายอภัย จันทนจุลกะ**

4/4

3/3

3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

12/12

1/1

1/1

6/6

4. นายอำ�พน กิตติอำ�พน

12/12

1/1

7/7

5. นายโชคชัย อักษรนันท์

11/12

1/1

1/1

9/9

6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

12/12

1/1

6/7

7. นางพรรณี สถาวโรดม

12/12

1/1

1/1

6/6

7/7

8. นายวิชช์ จีระแพทย์

12/12

1/1

1/1

9. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล

3/3

3/3

2/2

10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

12/12

1/1

6/6

9/9

11. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี

11/12

1/1

1/1

4/9

12. พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส

12/12

1/1

1/1

7/7

13. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์

11/12

1/1

14. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

12/12

1/1

8/9

15. นายนัที เปรมรัศมี*

7/8

0/1

1/1

16. นายสมชาย พูลสวัสดิ์***

6/6

1/1

3/3

17. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม**

9/9

4/4

18. นายบวร วงศ์สินอุดม***

3/3

3/3

* กรรมการแต่งตั งใหม่ 1 ท่าน ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 คือ นายนัที เปรมรัศมี กรรมการ 1 ท่านที่ครบวาระ คือ นายนครินทร์ วีระเมธีกุล กรรมการ 4 ท่านที่ครบวาระและได้รับการแต่งตั้งใหม่คือ 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ 2. นายโชคชัย อักษรนันท์ 3. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ** กรรมการลาออกระหว่างปี 2553 มี 2 ท่าน คือ 1. นายอภัย จันทนจุลกะ ลาออก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2553 2. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ลาออก เนื่องจากเกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 *** กรรมการแต่งตั้งใหม่ในระหว่างปี 2553 มี 2 ท่าน คือ 1. นายสมชาย พูลสวัสดิ ์ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2553 แทนนายอภัย จันทนจุลกะ 2. นายบวร วงศ์สนิ อุดม แต่งตั้งเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2553 แทนนายชายน้อย เผื่อนโกสุม รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 127

127 15/3/2011 19:58


หมายเหตุ: นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ได้รับเลือกเป็นประธานกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นายโชคชัย อักษรนันท์ ได้รับแต่งตั งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นางพรรณี สถาวโรดม ได้รับแต่งตั งเป็นกรรมการตรวจสอบ/กรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ได้รับแต่งตั งเป็นประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ได้รับแต่งตั งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ได้รับแต่งตั งเป็นกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 นายสมชาย พูลสวัสดิ์ ได้รับแต่งตั งเป็นกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2553 นายบวร วงศ์สินอุดม ได้รับแต่งตั งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2553 และแต่งตั้งเป็นประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553

4. คณะผู้บริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ นัดพิเศษ 1 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2553 และในการประชุมนัดพิเศษ 2 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2553 ได้มีมติแต่งตั ง นายบวร วงศ์สินอุดม เป็นกรรมการบริษัทฯ และกรรมการบริหารความเสี่ยง แทน นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ที่ลาออกเนื่องจากครบเกษียณอายุ ที่ประชุมได้มีมติเลือกตั้งนายบวร วงศ์สินอุดม เป็นประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการ คณะกรรมการบริ ษั ท ตามการพิ จ ารณาเสนอแนะของ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็น ผูม้ อี ำ� นาจหน้าทีใ่ นการบริหารจัดการงานต่างๆ ให้เป็นไปตาม นโยบาย โดยมีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจการอนุมัติในเรื่อง ส�ำคัญๆ เป็นลายลักษณ์อักษรไว้อย่างชัดเจนในข้อบังคับ บริษัทฯ และระเบียบต่างๆ ของบริษัทฯ เช่น ระเบียบบริษัทว่า ด้วยการบริหารงานบุคคล การพัสดุ การเงิน การบัญชี และ งบประมาณ และการจัดหาและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เป็นต้น นอกจากนั น ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู ้ จั ด การใหญ่ ยั ง บริ ห ารจั ด การงานตามที่ ค ณะกรรมการ มอบหมายโดยการบริหารบริษทั ฯ ตามแผนงาน หรืองบประมาณ ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด ในปี 2553 เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ บริหารงานและรองรับการด�ำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ทาง ธุรกิจขององค์กร บริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างองค์กร แต่งตั ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และโยกย้ายรองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่และผูจ้ ดั การฝ่าย โดยมีผลตัง แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป นอกจากนั น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ เห็นชอบให้ผู้บริหารคือนายบวร วงศ์สินอุดม เป็นกรรมการ

ในบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมของบริษัทฯ ตั งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ด้วย รายละเอียดโครงสร้างองค์กรและประวัติคณะผู้บริหาร ของบริษทั ฯ ปรากฏใน “โครงสร้างองค์กร” และ “คณะผูบ้ ริหาร”

5. การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้น�ำระบบคณะกรรมการสรรหามาใช้ในการ สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และสมควรได้รับการ เสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยยึดหลักตามข้อบังคับบริษทั ฯ และคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ (เปิดเผยไว้ ในเว็บไซต์ www.pttar.com) เป็นอย่างน้อย นอกจากนั้น คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนยังได้พิจารณา กลั่ น กรองคุ ณ สมบั ติ ใ นการเป็ น ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด ้ า นต่ า งๆ ประกอบด้ ว ย เพื่ อ ให้ อ งค์ ป ระกอบของคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯมี สั ด ส่ ว นของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ห ลากหลาย และได้ พิจารณาตรวจสอบบุคคลท่านนั นว่ามีคุณสมบัติ และไม่มี ลักษณะต้องห้ามของกรรมการบริษัทฯ ตามข้อก�ำหนดของ พรบ. บริษัทมหาชนจ�ำกัด และประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน ทัง นี้ บริษทั ฯ ไม่มสี ญ ั ญาหรือข้อตกลงใดๆ ทีก่ ำ� หนด จ�ำนวนกรรมการที่มาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ไว้ชัดเจน แต่จะ พิจารณาตามสัดส่วนการถือหุ้น ความเหมาะสม และความ จ�ำเป็นต่อธุรกิจของบริษัทฯ เป็นหลัก รวมทั้งบริษัทฯ ไม่มี นโยบายปิดกัน ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้า รับการเลือกตั งเป็นกรรมการตามเกณฑ์และกระบวนการที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนด โดยในปี 2553 บริษทั ฯ ได้เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นร่วมเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้า ระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 ถึง 22 มกราคม 2553 ด้วย โดยการ แต่งตั งกรรมการแต่ละราย ต้องได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบ เกินกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมา ประชุมและมีสิทธิออกเสียง

128 54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 128

15/3/2011 19:58


หลักเกณฑ์และวิธกี ารเลือกตัง้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ ก�ำหนดไว้ชดั เจนในข้อบังคับของบริษทั ฯ ซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยแล้ว ดังต่อไปนี้ 1. ผูถ้ อื หุน้ รายหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับจ�ำนวนหุน้ ทีต่ นถือ 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั งหมด ตามข้อ 1. เลือกตัง้ บุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการ ก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการทีจ่ ะ พึงมีหรือจะพึงเลือกตัง ในครัง นัน ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การ เลือกตั งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั งในครั งนั น ให้ผู้เป็น ประธานในที่ประชุมนั นเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 4. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทกุ ครัง ให้กรรมการออก จากต�ำแหน่งตามวาระหนึง่ ในสาม (1/3) เป็นอัตรา ถ้าจ�ำนวน กรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรงเป็นสาม (3) ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออก โดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วนหนึง่ ในสาม (1/3) กรรมการซึง่ พ้น จากต�ำแหน่งตามนัยนี้ อาจได้รับเลือกให้กลับมารับต�ำแหน่ง อีกได้ กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีทสี่ อง ภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ด จะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่ง นานที่สุดนั นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง 5. กรรมการคนใดจะลาออกจากต�ำแหน่ง ให้ยื่นใบลา ออกต่อบริษัทฯ การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บริษัทฯ กรรมการซึ่งลาออกตามความในวรรคแรกอาจแจ้ง การลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยก็ได้ 6. ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเลือกบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าเป็นกรรมการแทนในต�ำแหน่งที่ ว่างก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสอง (2) เดื อ น บุ ค คลซึ่ ง เข้ า เป็ น กรรมการแทนดั ง กล่ า วจะอยู ่ ใ น ต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการ ที่ตนแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�ำนวนกรรมการ ที่ยังเหลืออยู่ 7. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจลงมติให้กรรมการคนใดคนหนึง่ ออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระก็ได้ โดยให้ถือ คะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจ�ำนวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่

มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมี สิทธิออกเสียง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ มี กรรมการรวม 15 ท่าน โดยเป็นกรรมการอิสระ 8 ท่าน มากกว่ากึง่ หนึง่ ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒทิ หี่ ลากหลาย อาทิ ด้านปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี 6 ท่าน ด้านกฎหมาย/บริหาร 5 ท่าน ด้านบัญชีและการเงิน 2 ท่าน ด้านความมั่นคง 2 ท่าน และด้านเศรษฐกิจ 1 ท่าน รายละเอียดประวัตกิ รรมการปรากฏ ในหัวข้อ “คณะกรรมการ” อนึ่ง บริษัทฯ มีกรรมการอิสระ 1 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการ อิสระของบริษทั จดทะเบียนทีเ่ กีย่ วข้อง กล่าวคือ มีบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกับบริษัทฯ คือ นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี เป็นกรรมการอิสระและกรรมการก�ำกับ ดูแลกิจการของบริษัท ปตท. เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) ทั งนี้ กรรมการอิสระทุกท่านของบริษัทฯ ไม่มีรายการที่เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพระหว่าง กรรมการกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งกับบริษัทฯ

6. ค่าตอบแทนผู้บริหาร 6.1 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน 6.1.1 คณะกรรมการบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหน้าที่ในปี 2553 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2553 โดยมีการประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯ รวม 12 ครั้ง และบริษัทฯ มีการจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ ตามภาระหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั ผิดชอบ ตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 ซึ่งเป็นอัตราคงเดิมเท่ากับ ค่าตอบแทนกรรมการ ประจ�ำปี 2551 ดังนี้ ค่าตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการ 50,000 บาท กรรมการ 40,000 บาท ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย (จ่ายเฉพาะกรรมการที่มาประชุม) ประธานกรรมการ 40,000 บาท กรรมการ 30,000 บาท

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 129

129 15/3/2011 19:58


การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการในรอบปี 2553 มีรายละเอียด ดังนี้ รายชื่อ

เบี้ย กรรมการ ปี 2553

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

2,106,164

600,000

2. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

1,817,376

480,000

3. นายอำ�พน กิตติอ�ำ พน

1,817,376

480,000

4. นายโชคชัย อักษรนันท์

1,817,376

480,000

5. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

1,817,376

480,000

6. นางพรรณี สถาวโรดม

1,817,376

480,000

7. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

1,817,376

480,000

8. นายวิชช์ จีระแพทย์

1,817,376

480,000

9. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี

1,817,376

480,000

10. พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส

1,339,381

480,000

11. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์

1,339,381

480,000

12. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

841,470

13. นายนัที เปรมรัศมี 14. นายสมชาย พูลสวัสดิ์ 15. นายบวร วงศ์สินอุดม

– – 280,000 – 180,000

– –

– 240,000

– –

2,537,376

– 360,000

2,577,376

2,657,376

– 180,000

– 180,000

– 210,000

2,477,376

360,000

2,837,376

2,687,376

2,297,376

2,417,376

2,029,381

480,000

353,333.33

– –

258,666.66 120,000

– –

– –

– 90,000

– 210,000

– 120,000

16. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล

1,817,376

126,666.67

90,000

17. นายอภัย จันทนจุลกะ

1,817,376

200,000

– 90,000

18. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

1,817,376

360,000

– 240,000 – – 90,000

1,819,381 1,561,470 353,333.33 348,666.66 210,000

60,000 2,094,042.67 – 120,000

2,107,376 2,297,376

19. นายพิชัย ชุณหวชิร

901,219

901,219

20. นายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์

482,974

482,974

21. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์

482,974

482,974

รวม

130

โบนัส กรรมการ ปี 2552

หน่วย: บาท

รวมค่า ตอบแทน กรรมการ ปี 2553 2,706,164

กรรมการ กรรมการ กรรมการ สรรหาและ กรรมการ บริหาร กำ�กับดูแล กำ�หนดค่า ตรวจสอบ กิจการ ความเสี่ยง ตอบแทน

27,484,699 7,298,666.66

670,000

750,000

600,000

1,080,000 37,883,365.66

หมายเหตุ: 1. กรรมการล�ำดับที่ 16 ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 2. กรรมการล�ำดับที่ 1, 4, 5 และ 7 ครบวาระและได้รับการแต่งตั้งใหม่ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 3. กรรมการล�ำดับที่ 13 ได้รับการแต่งตั้งใหม่ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 4. กรรมการล�ำดับที่ 14 และ 15 ได้รับการแต่งตั้งใหม่ระหว่างปี 2553 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2553 และ 29 กันยายน 2553 ตามล�ำดับ 5. กรรมการล�ำดับที่ 17 ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2553 6. กรรมการล�ำดับที่ 18 ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการ เนื่องจากเกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 7. กรรมการล�ำดับที่ 19 ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552 8. กรรมการล�ำดับที่ 20-21 ครบวาระเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 130

15/3/2011 19:58


6.1.2 ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จ�ำนวน 8 ราย ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในรอบปี 2553

ในรูปเงินเดือน โบนัส ค่าที่พัก และค่าประจ�ำโรงงาน เป็นเงิน รวมทั งสิ้น 56,739,754 บาท

รายชื่อ*

ตำ�แหน่ง**

1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม***

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553)

2. นายบวร วงศ์สินอุดม

รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ (1 มกราคม 2553 - ปัจจุบัน) และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ (1 ตุลาคม 2553 - ปัจจุบัน)

3. นายกัญจน์ ปทุมราช

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่เทคนิคและวิศวกรรม (1 มกราคม 2553 – 30 เมษายน 2553) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม (1 พฤษภาคม 2553 – ปัจจุบัน)

4. นางนิธิมา เทพวนังกูร****

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร (1 มกราคม 2553 – 31 มกราคม 2554)

5. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบัน)

6. นายวริทธิ์ นามวงษ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร

7. นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารโครงการ (1 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2553) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 ตุลาคม 2553 – ปัจจุบัน)

8. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น

หมายเหตุ: * ผู้บริหารตามข้อก�ำหนด ก.ล.ต. (ซึ่งต้องเปิดเผยค่าตอบแทน) ** การด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหารตามข้อก�ำหนด ก.ล.ต. ในปี 2553 *** เกษียณอายุเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 **** ปัจจุบนั : ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบตั งิ านในต�ำแหน่ง รองกรรมการอ�ำนวยการ - ด้านการเงิน บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 • นายอธิคม เติบศิริ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ปฏิบตั งิ านที่ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2552 ปัจจุบัน : ปฏิบัติงาน Secondment ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 131

131 15/3/2011 19:58


6.2 ค่าตอบแทนอื่น บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่ ผู้บริหารที่เป็นพนักงานของบริษัทฯ ในอัตราร้อยละ 10-15 ของเงินเดือน (ขึ้นอยู่กับอายุงาน) โดยมีเงื่อนไขว่าพนักงาน ดังกล่าวจะมีสทิ ธิได้รบั เงินสมทบข้างต้นเมือ่ พ้นสภาพการเป็น พนักงานและมีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป นอกจากนั้น บริษัทฯ มีใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น สามัญ (ESOP Warrants) ที่รับมาจากบริษัท โรงกลั่นน ำมัน ระยอง จ�ำกัด (มหาชน) (RRC) เพื่อจัดสรรให้แก่ กรรมการ

ผูบ้ ริหาร และพนักงานของ RRC เดิม และพนักงานของบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ทีม่ าปฏิบตั งิ านเต็มเวลา (Secondees) ซึ่งได้รับอนุมัติจาก ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2550 และ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ร่วม ATC-RRC เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2550 จ�ำนวน 57,999,996 หน่วย ปัจจุบัน (31 มกราคม 2554) มีกรรมการและพนักงาน ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตาม ESOP Warrants แล้วจ�ำนวน 15,477,639 หุ้น ท�ำให้ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วของบริษัทฯ เพิ่มจาก 29,670,721,480 บาท เป็น 29,791,061,610 บาท

การถือหุ้นของคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวนหุ้น สัดส่วน ณ วันที่ 31 การถือหุ้น ธันวาคม (ร้อยละ) 2552 (หุ้น)

ตำ�แหน่ง

ส่วนได้เสีย กับสัญญา ใดๆ

จำ�นวนหุน้ ในบริษทั ฯ (หุน้ )

จำ�นวน ESOP Warrant (หน่วย)

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

ประธาน กรรมการ

2. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

กรรมการ

194,966

69 (0.0001%)

0.00654

30,335

164,631

3. นายอำ�พน กิตติอำ�พน

กรรมการ

473,469 (0.82%)

4. นายโชคชัย อักษรนันท์

กรรมการ

83,844

0.00281

83,844

5. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

กรรมการ

244,631

69 (0.0001%)

0.00821

244,631

6. นางพรรณี สถาวโรดม

กรรมการ

92,678

274,769 (0.47%)

0.00311

92,678

7. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

กรรมการ

324,742

69 (0.0001%)

0.01090

80,111

244,631

8. นายวิชช์ จีระแพทย์

กรรมการ

9. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี

กรรมการ

10. พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส

กรรมการ

11. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์

กรรมการ

76,221

0.00255

76,221

12. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการ

13. นายนัที เปรมรัศมี

กรรมการ

14. นายสมชาย พูลสวัสดิ์

กรรมการ

15. นายบวร วงศ์สินอุดม

กรรมการ

165,361

0.00555

10,335

155,026

รายชื่อ

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (หุ้น)

รายละเอียดข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับกรรมการบริษัทฯ ปรากฏในหัวข้อ “คณะกรรมการ”

132 54-02-058_122�135-4c_Y new15.indd 132

15/3/2011 19:58


จ�ำนวนหุ้นของผู้บริหารบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนหุน้ ในบริษทั ฯ (หุน้ )

จำ�นวน หุ้น ณ จำ�นวน สัดส่วน วันที่ 31 ESOP การถือหุ้น ธันวาคม Warrant (ร้อยละ) 2552 (หน่วย) (หุ้น)

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (หุ้น)

1. นายบวร วงศ์สินอุดม*

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อาวุโสปฏิบตั กิ าร

***

486,889 (0.83%)

2. นายกัญจน์ ปทุมราช

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส เทคนิคและวิศวกรรม

228,664

0.00767

228,664

3. นางนิธิมา เทพวนังกูร**

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร

103,351

397,307 (0.68%)

0.00346

103,351

4. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ

118,685

419,694 (0.72%)

0.00398

46,340

72,345

5. นายวริทธิ์ นามวงษ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร

84,732

256,572 (0.44%)

0.00284

16,000

68,732

6. นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการอะโรเมติกส์

11,885

0.00039

11,885

7. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการโรงกลั่น

228,664

0.00767

228,664

รายละเอียดข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับผู้บริหารของบริษัทฯ ปรากฏในหัวข้อ “คณะผู้บริหาร” หมายเหตุ: * ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้รับแต่งตั งใหม่ ตั งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ** ปัจจุบัน : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดรองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบตั งิ าน Secondment ในต�ำแหน่ง รองกรรมการอ�ำนวยการ - ด้านการเงิน บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ตัง แต่วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 *** จ�ำนวนหุ้นในบริษัทฯ ระบุอยู่ในตารางการถือหุ้นของกรรมการบริษัทฯ • นายอธิคม เติบศิริ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ปฏิบตั งิ านที่ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2552 ปัจจุบัน : ปฏิบัติงาน Secondment ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new16.indd 133

133 16/3/2011 19:53


134

54-02-058_122�135-4c_Y new16.indd 134

16/3/2011 19:53

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

2. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม

3. นายอำ�พน กิตติอำ�พน

4. นายโชคชัย อักษรนันท์

5. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

6. นางพรรณี สถาวโรดม

7. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

8. นายวิชช์ จีระแพทย์

9. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี

10. พล.ต.อ.เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส

11. นายเพิม่ ศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์

12. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

13. นายนัที เปรมรัศมี

รายชื่อ

บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน)

รอง ประธาน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน

กรรมการ

กรรมการ

ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร กรรมการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม ขั้นปลาย และ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน

กรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

กรรมการ

กรรมการ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการ

ประธาน

กรรมการ

กรรมการ

บริษัท บริษัท ปตท. บริษัท ปตท. สำ�รวจ ไทย เคมิคอล และผลิต ออยล์ จำ�กัด ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) จำ�กัด (มหาชน) (มหาชน)

กรรมการ

ประธาน

บริษัท ไทย ออยล์ เพาเวอร์ จำ�กัด

กรรมการ

รอง ประธาน

ประธาน

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ประธาน

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด

ประธาน

บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด

7. กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ทีด่ �ำ รงตำ�แหน่ง กรรมการ/ผูบ้ ริหารของผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ บริษทั ร่วม และบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง

ประธาน

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด


รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_122�135-4c_Y new16.indd 135

135

16/3/2011 19:53

ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รองกรรมการ สังกัดหน่วยธุรกิจปิโตรเคมี ผู้จัดการใหญ่ และการกลั่น การเงินและบัญชีองค์กร รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร

17. นางนิธิมา เทพวนังกูร

18. นายวริทธิ์ นามวงษ์

19. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์

20. นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง

บริษัท ไทย ออยล์ เพาเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการ

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด

กรรมการ

กรรมการ

บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด

หมายเหตุ: 1. กรรมการล�ำดับที่ 1 ได้ลาออกจากต�ำแหน่งประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ตั งแต่วันที่ 24 ธันวาคม 2553 2. กรรมการและผู้บริหาร ล�ำดับที่ 15 ได้รับการแต่งตั งใหม่ระหว่างปี 2553 เป็นกรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2553 และ 1 ตุลาคม 2553 ตามล�ำดับ และได้ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จ�ำกัด เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 3. ผูบ้ ริหารล�ำดับที่ 16 ได้เปลีย่ นชือ่ สายงานตามการปรับโครงสร้างองค์กรและการโยกย้ายรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2553 และได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั พีทที ี ยูทลิ ติ ี้ จ�ำกัด แทนนายบวร วงศ์สนิ อุดม ตัง แต่วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 4. ผู้บริหารล�ำดับที่ 17 ปัจจุบันปฏิบัติงานในต�ำแหน่งรองกรรมการอ�ำนวยการ - ด้านการเงิน บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ตั งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 และได้ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 5. ผู้บริหารล�ำดับที่ 19 ได้รับการแต่งตั งเป็นกรรมการบริษัท พีทีที ฟีนอล จ�ำกัด แทนนางนิธิมา เทพวนังกูร ตั งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 6. ผู้บริหารล�ำดับที่ 20 ได้รับการแต่งตั งเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร ตั งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 และ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดหน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ตั งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2554

รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดหน่วย ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่อาวุโส เทคนิคและวิศวกรรม

รักษาการรองกรรมการ กรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดกลุม่ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ปลาย

กรรมการ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

16. นายกัญจน์ ปทุมราช

15. นายบวร วงศ์สินอุดม

14. นายสมชาย พูลสวัสดิ์

รายชื่อ

บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท บริษัท ปตท. บริษัท ปตท. สำ�รวจ ไทย เคมิคอล และผลิต ออยล์ จำ�กัด ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) จำ�กัด (มหาชน) (มหาชน)


รายงานความรับผิดชอบ

ของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน

งบการเงินของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ได้จัดท�ำขึ้นตาม ข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ซึ่งออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่ก�ำหนดโดย สภาวิชาชีพบัญชี และตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน รายได้ ค่าใช้จา่ ย และกระแสเงินสดรวมทีเ่ ป็นจริง สมเหตุสมผล โดยได้จดั ให้มกี ารบันทึกข้อมูลทาง บัญชีที่ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ ที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งการป้องกันทุจริต และ การด�ำเนินการที่ผิดปกติ รวมถึงการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือ ปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งได้มี การเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชี ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ในรายงานของผู้สอบบัญชี

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการ

(นายบวร วงศ์สนิ อุดม) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่

136 54-02-058_136-200 N15_Y.indd 136

15/3/2011 20:04


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และ งบการเงิน บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ กิจการร่วมค้า ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 137

15/3/2011 20:04


รายงานของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถ้ อื หุน้ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลทีแ่ สดงเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบก�ำไรขาดทุนของงบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตาม วิธสี ว่ นได้เสียและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของงบการเงินทีแ่ สดงเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดของงบการเงินทีแ่ สดงเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย และงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความ ถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดง ความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งก�ำหนด ให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงิน แสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการ ทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดท�ำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความ เหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำ� เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบ ดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(วินจิ ศิลามงคล) ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 24 กุมภาพันธ์ 2554

138 54-02-058_136-200 N15_Y.indd 138

15/3/2011 20:04


งบดุล ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์และการกลั กัด (มหาชน) บริษัทบริปตท. อะโรเมติ กสและการกลั ่น จําน่ กัดจ�ำ(มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

สินทรัพย

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ ลูกหนี้กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ลูกหนี้กรมสรรพากร สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

5 4, 6 4 7 8

1,379,733,016 23,515,233,749 59,332,656 22,448,194,152 44,238,211 1,147,830,129 321,182,210 48,915,744,123

1,362,220,367 21,357,485,747 94,748,047 19,879,601,652 32,533,677 3,934,286,848 2,424,487,427 444,151,556 49,529,515,321

1,379,733,016 23,515,233,749 59,332,656 22,448,194,152 44,238,211 1,147,830,129 321,182,210 48,915,744,123

1,362,220,367 21,357,485,747 94,748,047 19,879,601,652 32,533,677 3,934,286,848 2,424,487,427 444,151,556 49,529,515,321

4,328,694,087 96,300,599,147

3,350,886,976 96,264,805,521

3,907,160,000 96,300,599,147

3,797,375,000 96,264,805,521

855,454,167 786,705,976 1,758,206,575 321,048,286 104,350,708,238 153,266,452,361

883,098,760 740,345,907 3,353,626,113 486,863,170 105,079,626,447 154,609,141,768

855,454,167 786,705,976 1,758,206,575 321,048,286 103,929,174,151 152,844,918,274

883,098,760 740,345,907 3,353,626,113 485,241,697 105,524,492,998 155,054,008,319

4, 9

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทรวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สิทธิการเชาและคาการใชสินทรัพย จายลวงหนา สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

11 12

13 14 4, 15

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 139

2

139 15/3/2011 20:04


งบดุล ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์และการกลั กัด (มหาชน) บริษัทบริปตท. อะโรเมติ กสและการกลั ่น จําน่ กัดจ�ำ(มหาชน) งบดุลณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา หุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูดอยสิทธิที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้อื่น เจาหนี้คากอสราง ตนทุนทางการเงินคางจาย ภาษีสรรพสามิตคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

16 4, 17 16

1,855,600,000 23,875,114,772 -

13,576,491,816 13,291,596,206 307,692,160

1,855,600,000 23,875,114,772 -

13,576,491,816 13,291,596,206 307,692,160

16 16 4, 18

7,160,061,000 876,413,106 1,264,864,923 361,112,078 386,654,696 668,972,041 36,448,792,616

2,027,752,000 2,144,328,073 934,654,302 838,916,620 450,142,438 156,227,296 621,603,660 34,349,404,571

7,160,061,000 876,413,106 1,264,864,923 361,112,078 386,654,696 668,972,041 36,448,792,616

2,027,752,000 2,144,328,073 934,654,302 838,916,620 450,142,438 156,227,296 621,603,660 34,349,404,571

22,844,477,000 22,294,360,321 6,928,043,669 1,598,322,333 120,074,844 53,785,278,167 90,234,070,783

26,349,368,000 25,049,365,410 6,703,281,720 1,573,573,715 266,913,415 59,942,502,260 94,291,906,831

22,844,477,000 22,294,360,321 6,928,043,669 1,598,322,333 120,074,844 53,785,278,167 90,234,070,783

26,349,368,000 25,049,365,410 6,703,281,720 1,573,573,715 266,913,415 59,942,502,260 94,291,906,831

19

รวมหนี้สินหมุนเวียน

หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู เงินกูดอยสิทธิ หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

16 16 4, 16 14

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

140 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 140

3

15/3/2011 20:04


งบดุล ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์และการกลั กัด (มหาชน) บริษัทบริปตท. อะโรเมติ กสและการกลั ่น จําน่ กัดจ�ำ(มหาชน) งบดุลณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว สวนเกินทุน สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย สํารองเพื่อการขยายงาน ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

20 29,938,149,690 29,670,721,480

29,938,149,690 29,637,261,860

29,938,149,690 29,670,721,480

29,938,149,690 29,637,261,860

21

4,658,767,663

4,614,534,045

4,658,767,663

4,614,534,045

21

2,593,505,614 6,514,000,000 19,595,386,821 63,032,381,578 153,266,452,361

2,319,681,419 6,514,000,000 17,231,757,613 60,317,234,937 154,609,141,768

2,593,505,614 6,514,000,000 19,173,852,734 62,610,847,491 152,844,918,274

2,319,681,419 6,514,000,000 17,676,624,164 60,762,101,488 155,054,008,319

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 141

4

141 15/3/2011 20:04


งบก�ำไรขาดทุน ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์และการกลั กัด (มหาชน) บริษัท บริ ปตท. อะโรเมติ กสและการกลั ่น จําน่ กัดจ�ำ(มหาชน) ส�ำหรับแต่ งบกําไรขาดทุ น ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุ

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

รายได

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท)

รายไดจากการขาย ดอกเบี้ยรับ กําไรจากการสิ้นสุดสัญญาแลกเปลี่ยน คาการกลั่นกอนกําหนด สวนตางจากสัญญาแลกเปลี่ยนคาการกลั่น และสวนตางราคาน้ํามันดิบสุทธิ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น รวมรายได

4, 22, 30

4

273,767,276,791 600,207 -

225,299,541,983 3,598,192 1,573,416,329

273,767,276,791 600,207 -

225,299,541,983 3,598,192 1,573,416,329

4 23 4

9,321,309 2,454,705,167 211,883,818 276,443,787,292

1,675,248,268 1,368,457,181 278,189,639 230,198,451,592

9,321,309 2,454,705,167 213,505,291 276,445,408,765

1,675,248,268 1,368,457,181 278,189,639 230,198,451,592

4, 7 4, 24 4, 25 26 27

264,817,667,813 365,845,880 1,293,452,582 140,104,449 266,617,070,724

213,099,794,927 335,067,577 1,113,240,354 92,561,868 214,640,664,726

264,817,667,813 365,845,880 1,293,452,582 140,104,449 266,617,070,724

213,099,794,927 335,067,577 1,113,240,354 92,561,868 214,640,664,726

868,022,111

(99,391,903)

10,694,738,679 (2,731,685,972) 7,963,052,707 (1,620,168,156) 6,342,884,551

15,458,394,963 (2,892,364,756) 12,566,030,207 (3,404,465,765) 9,161,564,442

9,828,338,041 (2,731,685,972) 7,096,652,069 (1,620,168,156) 5,476,483,913

15,557,786,866 (2,892,364,756) 12,665,422,110 (3,404,465,765) 9,260,956,345

2.14 2.14

3.09 3.09

1.85 1.84

3.12 3.12

คาใชจาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร รวมคาใชจาย สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนใน บริษัทรวม (สุทธิจากภาษีเงินได) กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับป กําไรตอหุน ขั้นพื้นฐาน ปรับลด

4, 28 29

-

-

31

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

142 54-02-058_136-200 N15_Y.indd 142

15/3/2011 20:04


รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 143

143

15/3/2011 20:04

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

29,637,261,860

976,640

20

หุนทุนออกใหตามสิทธิ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

-

-

จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย

32

-

รวมสวนของรายไดที่รับรู

เงินปนผล

-

29,636,285,220

และชําระแลว

6

4,614,534,045

1,291,118

-

-

-

-

4,613,242,927

มูลคาหุน

สวนเกิน

ที่ออก

กําไรสําหรับป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

หมายเหตุ

สวนเกินทุน

ทุนเรือนหุน

(บาท)

2,319,681,419

-

-

463,047,816

-

-

1,856,633,603

กฎหมาย

ทุนสํารองตาม

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

การขยายงาน

สํารองเพื่อ

กําไรสะสม

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษทั ปตท.่ยนแปลงในส อะโรเมติกส์แวละการกลั งบแสดงการเปลี นของผูถน่ ือจ�หุำนกัด (มหาชน) ส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

17,231,757,613

-

(1,481,814,261)

(463,047,816)

9,161,564,442

9,161,564,442

10,015,055,248

จัดสรร

ยังไมได

60,317,234,937

2,267,758

(1,481,814,261)

-

9,161,564,442

9,161,564,442

52,635,216,998

ของผูถือหุน

รวมสวน


144

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 144

15/3/2011 20:04

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

20

หุนทุนออกใหตามสิทธิ 29,670,721,480

33,459,620

-

-

จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย

32

-

รวมสวนของรายไดที่รับรู

เงินปนผล

-

29,637,261,860

และชําระแลว

7

4,658,767,663

44,233,618

-

-

-

-

4,614,534,045

มูลคาหุน

สวนเกิน

ที่ออก

กําไรสําหรับป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

หมายเหตุ

สวนเกินทุน

ทุนเรือนหุน

(บาท)

2,593,505,614

-

-

273,824,195

-

-

2,319,681,419

กฎหมาย

ทุนสํารองตาม

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

การขยายงาน

สํารองเพื่อ

กําไรสะสม

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษทั ปตท.่ยอะโรเมติ กส์และการกลั งบแสดงการเปลี นแปลงในส วนของผูน่ ถือจ�หุำกันด (มหาชน) ส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

19,595,386,821

-

(3,705,431,148) -3,705,431,148

(273,824,195)

6,342,884,551

6,342,884,551

17,231,757,613

จัดสรร

ยังไมได

63,032,381,578

77,693,238

(3,705,431,148)

-

6,342,884,551

6,342,884,551

60,317,234,937

ของผูถือหุน

รวมสวน


รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 145

145

15/3/2011 20:04

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

29,637,261,860

976,640

20

หุนทุนออกใหตามสิทธิ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

-

-

จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย

32

-

รวมสวนของรายไดที่รับรู

เงินปนผล

-

29,636,285,220

และชําระแลว

8

4,614,534,045

1,291,118

-

-

-

-

4,613,242,927

มูลคาหุน

สวนเกิน

ที่ออก

กําไรสําหรับป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

หมายเหตุ

สวนเกินทุน

(บาท)

2,319,681,419

-

-

463,047,816

-

-

1,856,633,603

กฎหมาย

ทุนสํารองตาม

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

การขยายงาน

สํารองเพื่อ

กําไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

17,676,624,164

-

(1,481,814,261)

(463,047,816)

9,260,956,345

9,260,956,345

10,360,529,896

จัดสรร

ยังไมได

60,762,101,488

2,267,758

(1,481,814,261)

-

9,260,956,345

9,260,956,345

52,980,691,646

ของผูถือหุน

รวมสวน

4,658,767,663 2,593,505,614 6,514,000,000 ############ ############

ทุนเรือนหุน

############

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริษทั ปตท.่ยอะโรเมติ กส์แวละการกลั งบแสดงการเปลี นแปลงในส นของผูถน่ ือจ�หุำนกัด (มหาชน) ส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552


146

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 146

15/3/2011 20:04

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

20

หุนทุนออกใหตามสิทธิ 29,670,721,480

33,459,620

-

-

จัดสรรเปนทุนสํารองตามกฎหมาย

32

-

รวมสวนของรายไดที่รับรู

เงินปนผล

-

29,637,261,860

9

4,658,767,663

44,233,618

-

-

-

-

4,614,534,045

มูลคาหุน

สวนเกิน

ที่ออก และชําระแลว

สวนเกินทุน

ทุนเรือนหุน

กําไรสําหรับป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553

หมายเหตุ

บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์และการกลั น่ จ�ำกัดถือ(มหาชน) งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงในส วนของผู หุน ส�ำหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(บาท)

2,593,505,614

-

-

273,824,195

-

-

2,319,681,419

กฎหมาย

ทุนสํารองตาม

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

การขยายงาน

สํารองเพื่อ

กําไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

19,173,852,734

-

(3,705,431,148) -3,705,431,148

(273,824,195)

5,476,483,913

5,476,483,913

17,676,624,164

จัดสรร

ยังไมได

62,610,847,491

77,693,238

(3,705,431,148)

-

5,476,483,913

5,476,483,913

60,762,101,488

ของผูถือหุน

รวมสวน


งบกระแสเงินสด บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. ด (มหาชน) ส�ำหรัอะโรเมติ บแต่ละปีกสสนิ้ แสุละการกลั ดวันที่ 31่น ธัจํนากัวาคม 2553 และ 2552 งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุ

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับป

6,342,884,551

9,161,564,442

5,476,483,913

9,260,956,345

5,322,066,904 (600,207) 2,731,685,972 41,582,777 (1,628,522,599) 1,617,895 (558,995) (166,843)

5,320,822,739 (3,598,192) 2,892,364,756 82,994,017 (992,001,660) 3,322,610 11,008,878 -

5,322,066,904 (600,207) 2,731,685,972 41,582,777 (1,628,522,599) 1,617,895 (558,995) (1,788,316)

5,320,822,739 (3,598,192) 2,892,364,756 82,994,017 (992,001,660) 3,322,610 11,008,878 -

(868,022,111) 1,620,168,156 13,562,135,500

99,391,903 3,404,465,765 19,980,335,258

1,620,168,156 13,562,135,500

3,404,465,765 19,980,335,258

(2,172,974,947) 35,415,391 (2,610,175,277) (11,704,534) 2,786,456,719 2,424,487,427 2,556,596 5,718,734 10,582,662,065 (223,811,140) 230,427,400 48,136,675 (1,807,224) 24,657,523,385

(15,178,946,352) 153,733,449 (5,103,707,368) 248,109,859 (776,703,390) 284,831,495 21,742,748 4,681,841,071 (401,515,513) 106,769,566 76,029,628 (665,798,045) 3,426,722,406

(2,172,974,947) 35,415,391 (2,610,175,277) (11,704,534) 2,786,456,719 2,424,487,427 2,556,596 5,718,734 10,582,662,065 (223,811,140) 230,427,400 48,136,675 (1,807,224) 24,657,523,385

(15,178,946,352) 153,733,449 (5,103,707,368) 248,109,859 (776,703,390) 284,831,495 21,240,907 4,681,841,071 (401,515,513) 106,769,566 76,029,628 (665,798,045) 3,426,220,565

รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน คาเผื่อสินคาลาสมัย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สํารองเพื่อกองทุนผลประโยชนพนักงาน (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ กําไรจากการชําระบัญชีเงินลงทุนในกิจการรวมคา สวนแบง (กําไร) ขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิจากภาษีเงินได) ภาษีเงินได

28 7

29

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ ลูกหนี้กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ลูกหนี้กรมสรรพากร สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น ภาษีสรรพสามิตคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 147

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

147 15/3/2011 20:04


งบกระแสเงินสด บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทส�ปตท. อะโรเมติ จํากัด2553 (มหาชน) ำหรับแต่ ละปีสนิ้ กสุสดแวัละการกลั นที่ 31 ธัน่นวาคม และ 2552 งบกระแสเงินสด สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุ

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 638,347 (109,785,000) (4,400,382,674) 22,954,741 (15,175,559) (40,696,037) 4,913,316 (210,558,252) (4,748,091,118)

6,024,893 (327,975,000) (4,531,246,410) 329,444,584 (56,255,949) (23,186,860) (449,590,349) (5,052,785,091)

638,347 (109,785,000) (4,400,382,674) 22,954,741 (15,175,559) (40,696,037) 4,913,316 (210,558,252) (4,748,091,118)

6,024,893 6,024,893 (327,975,000) (4,531,246,410) 329,444,584 329,444,584 (56,255,949) (23,186,860) (449,590,349) (5,052,785,091)

จายดอกเบี้ยและคาใชจายทางการเงิน จายเงินปนผลใหผูถือหุนของบริษัท เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากหุนกู ชําระคืนหุนกู ชําระคืนเงินกูดอยสิทธิ เงินสดรับจากการออกหุนทุน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

(3,073,515,688) (3,705,518,816) 205,073,256,800 (216,838,000,000) 35,552,500,000 (33,087,752,000) (2,290,210,880) (1,615,472,982) 77,693,238 (19,907,020,328)

(2,333,475,262) (1,481,535,895) 172,838,411,921 (173,673,000,000) 6,000,000,000 (13,770,824,000) 15,000,000,000 (615,384,640) 2,267,758 1,966,459,882

(3,073,515,688) (3,705,518,816) 205,073,256,800 (216,838,000,000) 35,552,500,000 (33,087,752,000) (2,290,210,880) (1,615,472,982) 77,693,238 (19,907,020,328)

(2,333,475,262) (1,481,535,895) 172,838,411,921 (173,673,000,000) 6,000,000,000 (13,770,824,000) 15,000,000,000 (615,384,640) 2,267,758 1,966,459,882

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ตางประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด

2,411,939 1,362,220,367

340,397,197 1,010,538,505

2,411,939 1,362,220,367

339,895,356 1,011,040,346

15,100,710 1,379,733,016

11,284,665 1,362,220,367

15,100,710 1,379,733,016

11,284,665 1,362,220,367

รับดอกเบี้ย ซื้อเงินลงทุนในหุนทุนของบริษัทรวม ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน สิทธิการเชาและคาการใชสินทรัพยจายลวงหนา เงินสดรับจากการชําระบัญชีเงินลงทุนในกิจการรวมคา สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

5

รายการที่ไมใชเงินสด

808,236 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทไดซื้อเครื่องจักรและอุปกรณรวม 1,265 ลานบาท และ 839 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งยังไมไดจายชําระ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

148 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 148

15/3/2011 20:04


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จ�ากัด (มหาชน) ส�าหรับแต่ละปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39

ขอมูลทั​ัว่ ไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบญชีที่สําคัญ นโยบายการบั รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ลูกหนี้กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในกิ นในก นในกจการร วมคา เงินลงทุนในบริ นในบร ทรวม นในบรษั ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ปกรณ ปกรณ สินทรัพยไม ไม ตัวตน ไมมี ภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชี สินทรัพยไม ไม นเวียนอื่น ไมหมุ หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุน สวนเกินทุนและสํารอง ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน กําไรจากอั าไรจากอัตราแลกเปลี าไรจากอตราแลกเปลี ตราแลกเปล่ยนสุทธิ คาใช าใช ายในการขาย าใชจ คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร คาใช าใช ายผลประโยชน าใชจ ายผลประโยชน ายผลประโยชนตอบแทนพนั กงาน คาใช าใช ายตามลักษณะ าใชจ ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได นได นได สิทธิประโยชน ประโยชน ประโยชนจากการส งเสริมการลงทุน กําไรต าไรต น าไรตอหุ เงินป นป นปนผล สัญญาที่สําคัญ เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการทีไม ่ไม ่ยวของกัน ไมเกี คดีฟฟองร ฟ อ ง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงไม ังไมได งไมได  ใช ไดใช ใช ใช การจัดประเภทรายการใหม ดประเภทรายการใหม ดประเภทรายการใหม รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

149


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554

1

ขอมูลทั่วไป บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก สแ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน) “บริ ษัท ” เกิ ด ขึ้ นจากการควบบริ ษั ท (Amalgamation) ระหว า ง บริ ษัท อะโรเมติ ก ส (ประเทศไทย) จํา กัด (มหาชน) “ATC” และ บริษั ท โรงกลั่ น น้ํ ามั น ระยอง จํ า กัด (มหาชน) “RRC” ภายใตพ ระราชบั ญญั ติ บ ริษั ทมหาชนจํ า กั ด พ.ศ. 2535 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยูจดทะเบียนตัง้ อยูเลขที่ 555/1 ศูนยเอนเนอรยี่คอมเพล็กซ อาคาร เอ ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรับหลักทรัพยของบริษัทฯ เปนหลักทรัพยจดทะเบียนตั้งแตวันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียนการควบ บริษัทเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2550 ผูถือหุ นรายใหญ ของบริษั ทฯ ในระหว างป ไดแ ก บริษั ท ปตท. จํ า กัด (มหาชน) “ปตท.” (ถืถือ หุ นรร อยละ 48.60) ซึ่ งเปนนิติ บุค คลที่ จัด ตั้ง ขึ้นใน ประเทศไทย บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการกลั่นน้ํามันและจัดหาผลิตภัณฑปโตรเลียมสําเร็จรูป การผลิตและจําหนายผลิตภัณฑอะโรเมติกส รวมถึงผลิตภัณฑ ตอเนื่องจากสารอะโรเมติกส

2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศไทยและจัดทําเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความ สะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท และมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักลานบาท งบการเงินนี้ได จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ และจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไปของประเทศไทย ระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศการจัดเลขระบ เลขระบุฉบับที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยใหม ดังนี้ ฉบับเดิม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 48

ฉบับใหม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107

เรือ่ ง หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับ เครื่องมือทางการเงิน บริษัทฯ ไดใชแมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) เพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน ซึ่งออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีระหวางป 2553 และมีผลบังคับใชเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 การใชแมบทการบัญชีที่ปรับปรุงใหมนี้ ไมมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญกับงบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย หรืองบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งยังไมมีผลบังคับในปจจุบันและไมไดมีการ นํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ไดออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 38 ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเง ไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอ การกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว

150


ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใช ประมาณการและข ใชในการจั ใช ใชในการจ ในการจั างบการเงินจะได ในการจดทํ นจะได บการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรั นจะไดรั การปรบประมาณการทางบ ับประมาณการทางบั บประมาณการทางบั จะบันทึกในงวดบั บประมาณการทางบญชี กในงวดบั ที่ กในงวดบญชี ประมาณการดงกลาวได ประมาณการดั าวได บการทบทวนและในงวดอนาคตที าวไดรั ับการทบทวนและในงวดอนาคตทได บการทบทวนและในงวดอนาคตท่ ไี ด บผลกระทบ ไดรั ขอมูลเกี่ยวกั​ับการประมาณความไม บการประมาณความไม นอนและขอสมมติฐานที่สําคัญในการกํ บการประมาณความไมแน ญในการกําหนดนโยบายการบั ญในการกาหนดนโยบายการบั าหนดนโยบายการบญชี มีผลกระทบสําคัญตอการรับรูจํานวนเงินใน งบการเงินซึงประกอบด ่งประกอบด งประกอบดวยหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ อไปนี ประกอบงบการเงนต ประกอบงบการเงิ อไปนี อไปน้ หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ ขอ 14 ประกอบงบการเงน หมายเหตุประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ ขอ 36 ประกอบงบการเงน

3

นโยบายการบญชีที่สําคัญ นโยบายการบั

(ก)

เงินตราตางประเทศ

การใชประโยชน การใช ประโยชนของขาดทุนทางภาษี ประโยชน คดีฟฟองร ฟ อง

รายการบัญชีทเป ี่เป นตราตางประเทศ เปนเงิ รายการบัญชีทเป ี่เป นตราตางประเทศแปลงค เปนเงิ างประเทศแปลงคาเป างประเทศแปลงคาเป าเปนเงินบาท โดยใช โดยใชอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียน ณ วันที่เกิดรายการ ตราแลกเปล่ สินทรัพยและหนี้สินที่เป เป วเงินและเป เปนตั นและเป นตราตางประเทศ ณ วันที่รายงานแปลงค นและเปนเงิ รายงานแปลงคาเป รายงานแปลงคาเป าเปนเงินบาท โดยใช โดยใชอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียน ณ วันนั้น กําไรหรื ตราแลกเปล่ าไรหรื าไรหรอ ขาดทุนจากการแปลงค นจากการแปลงค นทึกในงบกํ นจากการแปลงคาบั กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ น สินทรัพยและหนี้สินที่ไม ไมเป ไมเป เปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป เป นตราตางประเทศ ซึ่งบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงค เปนเงิ แปลงคาเป าเปนเงินบาทโดยใช าเป นบาทโดยใช นบาทโดยใช อัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียน ณ วันที่เกิดรายการ ตราแลกเปล่

(ข)

เครื่องมือทางการเงินทีเป ่เป เปนตราสารอนุ พันธ เครื่องมือทางการเงินที่เป เป เปนตราสารอนุ พันธได ได กนํามาใช ไดถู ามาใช ่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี ามาใชเพื ดจากการเปลียนแปลงในอั ดจากการเปล่ ยนแปลงในอัตราแลกเปลี ยนแปลงในอตราแลกเปลี ตราแลกเปล่ยนเงินตราตางประเทศ อัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงของราคาสินคาโภคภั าโภคภั ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือทางการเงินที่ าโภคภณฑ เปนตราสารอนุพันธไม เป ไมได ไมได  ไว ไดมี ไว ่อการคา ไวเพื อนุพันธทางการเงิน ได ไดแก สัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศล ญญาแลกเปล่ างประเทศล างประเทศลวงหน า และสัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนคาการกลั่นและสวน ญญาแลกเปล่ ตางราคาน้ํามันดิบ เครื่องมือทางการเงินทีเป ่เป เปนตราสารอนุ พันธจะถูกบันทึกในขั กในขันแรกดวยราคาทุนและตอมา ณ วันที่ครบกําหนดจายชําระหรือรับชําระ กในข้ ตามสัญญาตราสารอนุ ญญาตราสารอนุ นธ บริษัทบันทึกกําไรหรื ญญาตราสารอนพั าไรหรื าไรหรอขาดทุ นในงบกํ นในงบกาไรขาดทุ นในงบกํ น

(ค)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบด นสดประกอบด ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื นสดประกอบดวย นฝากธนาคารประเภทเผือเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง นฝากธนาคารประเภทเผ่ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถาม ถือเป อเป วนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงิ อเปนส นในงบกระแสเงิ นในงบกระแสเงนสด

(ง)

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อนแสดงในราคาตามใบแจ ื่นแสดงในราคาตามใบแจ ้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ นแสดงในราคาตามใบแจงหนี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมิ ญประเมินโดยการวิ ญประเมนโดยการวิ นโดยการวเคราะหประวั ประวั การชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัด ประวติ จําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเป าเป ้สูญ าเปนหนี

(จ)

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิทจะได ี่จะได บแลวแตราคาใดจะตํ จะไดรั ราคาใดจะต่ํ า โดยว ราคาใดจะตากว โดยวธีดังตอไปนี โดยวิ อไปนี อไปน้ สินคาสําเร็จรูป ผลิตภัณฑพลอยได พลอยได สินคาระหวางผลิตและวัตถุดิบ พลอยได วัสดุ ของใช ของใชสินเปลื ้นเปลื และอื่น ๆ นเปลอง

วิธีราคาทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก วิธีราคาทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

151


ตนทุนสินคาประกอบด าประกอบด นทุนที่ซื้อ ตนทุนในการดั าประกอบดวยต นในการดัดแปลงหรื นในการดดแปลงหรื ดแปลงหรอตนทุนอื่นเพือให ่อให นคาอยูในสถานที อใหสิ ในสถานทีและสภาพป ในสถานท่ และสภาพป บัน ในกรณี และสภาพปจจุ ในกรณของสินคาสําเร็จรูปและ สินคาระหวางผลิตที่ผลิตเอง ตนทุนสินคารวมการป ารวมการป วนของคาโสห ารวมการปนส าโสหุ าโสหยการผลิ ตอยางเหมาะสม โดยคํ โดยคานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ ตตามปกติ ตตามปกต มูลคาสุทธิทจะได ี่จะได บเป จะไดรั ับเปนการประมาณราคาที บเปนการประมาณราคาที  นการประมาณราคาท่ จะขายได จะขายไดจากการดํ จะขายได าเนินธุรกิจปกติ จปกติ กดวยคาใช จปกตหั าใช ายที่จาเป าใชจ ําเป าเปนในการขาย บริษัทฯ ตั้งคาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สินคาลาสมัย สินคาเคลือนไหวช ่อนไหวช หรือเสื่อมคุณภาพ อนไหวชา

(ฉ)

เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ นในบร ทรวม นในบรษั เงินลงทุนในบริ นในบร ทรวมในงบการเงิ นในบรษั วมในงบการเงิ วมในงบการเงนเฉพาะกิ จการของบริษัทฯ บันทึกบัญชโดยใช ญชีโดยใช ญช โดยใช ธีิ ราคาทุน สวนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ โดยใชวิ โดยใช นในบร ทรวมในงบการเงิ นในบรษั วมในงบการเงิ ่ วมในงบการเงนที แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ย ใช วนไดเสี ใชวิ ธีิ สวนได ใช วนได ย วนไดเสี

การจําหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจํานวนเงินสุทธิทได ี่ได บและมูลคาตามบัญชีจะถูกบันทึกในงบกํ ไดรั กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ น ในกรณที่บริษัทฯ จําหนายเงินลงทุนบางสวนที่ถืออยู การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหนายไปและเงิ ในกรณี ายไปและเง ายไปและเงนลงทุ นที่ยังถืออยูใช ใช ธีถัวเฉลี่ยถวง ใชวิ น้ําหนัก

(ช)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ปกรณ ปกรณ สินทรัพยทเป ี่เป เปนกรรมสิ ทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณแสดงด วยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ตนทุนของสินทรัพยที่สรางขึ้นเพือใช ่อใช รวมตนทุนวัสดุ อใชเอง คาแรงงานทางตรง คาใช าใช ายในการรื าใชจ ายในการรือถอนทีประเมิ ายในการร้ ่ประเมินในเบื ประเมนในเบื นในเบ้องตน และจํานวนคาโสห าโสหุ าโสหยการผลิ ตทีได ่ได บการป ไดรั ับการป วนอยางเหมาะสม บการปนส ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณบางรายการมี ความแตกตางในอายุการใช การใช ซึ่งบริษัทฯ ได การใชงาน ไดบันทึกรายการดังกลาวแยกเป าวแยกเป ละรายการ าวแยกเปนแต

การบันทึกดอกเบียเป ้ยเป นทุนของสินทรัพย ยเปนต ตนทุนดอกเบี้ยบันทึกเป กเป าใช กเปนค าใช ายในงวดบั าใชจ ายในงวดบั ที่คาใช ายในงวดบญชี าใช ายนั้นเกิดขึ้น ตนทุนดอกเบี้ยที่เกี่ยวของโดยตรงกั าใชจ องโดยตรงกั​ับการได องโดยตรงกบการได บการได บการไดมาของสิ นทรัพย การกอสราง หรือ การสรางสินทรัพยที่เขาเงื่อนไข จะบันทึกรวมเป กรวมเป กรวมเปนราคาทุ นของสินทรัพยนั้น การบันทึกตนทุนดอกเบี้ยเป ยเป ยเปนราคาทุ นของสินทรัพยจะเริ่มตนเมื่อมี การดําเนินการเกี่ยวกับการเตรียมสินทรัพยและสินทรัพยนั้นอยูในระหว ในระหว ในระหวางการก อสรางหรือติดตั้ง และรายจายและตนทุนดอกเบียได ้ยได ดขึ้น และจะหยุด ยไดเกิ บันทึกเมื่อสินทรัพยนั้นอยูในสภาพพร ในสภาพพร จะใช ในสภาพพรอมที ่จะใชงานได จะใชงานได งานไดตามวัตถุประสงค ประสงค ประสงค

คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเป กเป าใช กเปนค าใช ายในงบกํ าใชจ ายในงบกํ ายในงบกาไรขาดทุ น คํานวณโดยวิ านวณโดยว เสนตรงตามเกณฑอายุการใช านวณโดยวธี การใชงานโดยประมาณของสิ การใชงานโดยประมาณของส งานโดยประมาณของสนทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใช การใช การใชงานของสิ นทรัพยแสดงได แสดงได งนี้ แสดงไดดั อาคารและสวนปรั วนปรั​ับปรุงสํานักงานที่เชา วนปรบปร โรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ ปกรณ (ยกเวน คะแทลลิส ซึ่งตัดจายเป ปกรณ ายเป าใช ายเปนค าใช าย าใชจ ตามอายุการใช การใช การใชงานระหว าง 2 - 10 ปป) เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณ ปกรณ านักงาน ปกรณสํ ยานพาหนะ

20 - 30

ปป

5 - 30 5-7 5 - 10

ปป ปป ปป

บริษัทฯ ไม ไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง

(ซ)

สินทรัพยไม ไม ตัวตน ไมมี สินทรัพยไม ไม ตวั ตนที่บริษัทฯ ซื้อมาและมีอายุการใช ไมมี การใช ากัด แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยไม การใชงานจํ ไม ตัวตน ไมมี อื่นถูกตัดจําหนายและบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นโดยว เสนตรงตามเกณฑระยะเวลาทีค่ าดวาจะได นโดยวธี นโดยวิ าจะได บประโยชน าจะไดรั ับประโยชน งเศรษฐกิจนับจากวันทีอ่ ยูในสภาพพร บประโยชนเชิ ในสภาพพร ในสภาพพรอม ใชงาน ระยะเวลาที่คาดวาจะได ใช าจะได บประโยชน าจะไดรั ับประโยชน งเศรษฐกิจแสดงได บประโยชนเชิ จแสดงได ดังนี้ จแสดงได

152


คาธรรมเนียมในการจั ยมในการจั ยมในการจดหาเงิ นกูรอตัดบัญชี คาลิขสิทธิเทคโนโลยี ์เทคโนโลยี เทคโนโลยกระบวนการผลิ ตรอตัดบัญชี ตนทุนการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร

(ฌ)

5 - 7 ปป 22 - 30 ปป 5 - 10 ปป

การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของบริษัทฯ ได ไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม อไม ในกรณี อไม ในกรณที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคา สินทรัพยที่คาดวาจะได าจะได บคืน าจะไดรั ขาดทุนจากการดอยคารับรู เมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอให อให ดเงินสด สูงกวามูลคาที่จะได อใหเกิ จะได บคืน ขาดทุน จะไดรั จากการดอยคาบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ น เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมิ ับรายการการประเมิ ลคาของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรในส บรายการการประเมนมู บรูในส บร ในส ในสวนของ ผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาต าในเวลาต ในกรณี าในเวลาตอมา ในกรณนี้จะรับรในส บรูในส บร ในส ในสวนของผู ถือหุน

การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะได าจะได บคืน าจะไดรั มูลคาที่คาดวาจะได าจะได บคืนของสินทรัพยที่ไม าจะไดรั ไมใช ไมใช ใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาจากการใช าจากการใช นทรัพยหรือมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุน าจากการใชของสิ ในการประเมนมูลคาจากการใช าจากการใช นทรัพย ประมาณการกระแสเงิ าจากการใชของสิ ประมาณการกระแสเงนสดที่จะได จะได ับในอนาคตจะคิ จะไดรั บในอนาคตจะคิดลดเป บในอนาคตจะคดลดเป ดลดเปนมูลคา ในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมิ ในการขายแล ปปจจุบันโดยใช นโดยใช ตราคิดลดกอนคํานึงถึงภาษีเงินได นโดยใชอั นได ่อให นไดเพื อให อนมูลคาที่อาจประเมิ อใหสะท อาจประเมินได อาจประเมนได นไดในตลาดป ในตลาดปจจุ ในตลาดป นตลาดป บัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี งแปรไปตามเวลาและความเสียงที่มีตอ งแปรไปตามเวลาและความเส่ สินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไม ไม อให ไมก อให ดกระแสเงินสดรั​ับโดยอิ อใหเกิ บโดยอิ บโดยอสระจากสิ นทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะได าจะได บคืนรวมกับหนวยสินทรัพยที่ าจะไดรั กอให อให ดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย อใหเกิ

การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะได าจะได บคืนเพิ่มขึนในภายหลั าจะไดรั ้นในภายหลั และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรง นในภายหลง กับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู สําหรับสินทรัพยทางการเงินที่บันทึกโดยวิ กโดยว ราคาทุนตัดจําหนายและตราสารหนี้ที่จดประเภทเป กโดยวธี ัดประเภทเป กทรัพยเผื่อขาย ดประเภทเปนหลั การกลับรายการจะถูกบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ น สวนสินทรัพยทางการเงินที่เป เป เปนตราสารทุ นที่จัดประเภทเป ดประเภทเป กทรัพยเผื่อขาย การกลับรายการจะถูก ดประเภทเปนหลั รับรูโดยตรงในส โดยตรงในส โดยตรงในสวนของผู ถือหุน ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทไม ี่ไมใช ไมใช ใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรในงวดก บรูในงวดก บร ในงวดก ในงวดกอนจะถู กประเมิ ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานวามีขอบงชี้เรื่องการ กประเมน กประเมิ ดอยคาหรือไม อไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี อไม การเปลียนแปลงประมาณการทใช การเปล่ ยนแปลงประมาณการทีใช ยนแปลงประมาณการท่ ยนแปลงประมาณการที ยนแปลงประมาณการท ใชในการคํ ใช ใชในการค ในการคํ ในการคานวณมู ลคาที่คาดวาจะได าจะได บคืน ขาดทุนจาก าจะไดรั การดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไม ไม นกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือน ไมเกิ หนึงไม ่งไม การบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน งไมเคยมี

(ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุตธิ รรมหักคาใช าใช ายที่เกีย่ วกับการเกิดหนีส้ ิน าใชจ

(ฎ)

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น แสดงในราคาทุน

(ฏ) ผลประโยชน ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงน โครงการสมทบเงิ โครงการสมทบเง ภาระหนี้สนตามโครงการสมทบเงิ ินตามโครงการสมทบเง นทึกเป นตามโครงการสมทบเงนจะบั กเป าใช กเปนค าใช ายในงบกํ าใชจ ายในงบกํ ายในงบกาไรขาดทุ นเมื่อเกิดขึ้น

สิทธิของพนักงานเลือกเขาถือหุน บริษัทไม ทไม นทึกคาใช ทไมบั าใช ายหรือหนี้สินเมื่อมีการออกสิทธิให าใชจ ให อกซื้อหุนภายใต ใหเลื นภายใตแผนการให นภายใตแผนการให แผนการใหประโยชน ประโยชนแกพนักงาน เมื่อพนักงานใช ประโยชน กงานใช ทธิการเลือกซื้อหุนสวน กงานใชสิ ของผูถือหุนจะเพิ่มขึ้นเทากับจํานวนเงินทีได ่ได บจากการใช ไดรั ับจากการใช ทธิของพนักงาน บจากการใชสิ

(ฐ)

ประมาณการหน้สิน ประมาณการหนี ประมาณการหน้สินจะรับรูก็ตอเมื่อบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในป ประมาณการหนี นในป บันหรือที่กอตัวขึ้นอั​ันเป นในปจจุ นเป นเปนผลมาจากเหตุ การณในอดี ในอดี และมีความ ในอดต เปนไปได เป นไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชน นไปได าประโยชน งเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื าประโยชนเชิ ายไปเพือชําระภาระหนี้สินดังกลาวและสามารถประมาณจํ ายไปเพ่ าวและสามารถประมาณจํ าวและสามารถประมาณจานวนภาระหนี ้สินได นได าง นไดอย นาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจํานวนทีเป ่เป เปนสาระสํ าคัญ ประมาณการหนี ประมาณการหน้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคต โดยใช โดยใชอัตราคิด ลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงถึงภาษีเงินได ลดในตลาดป ลดในตลาดป นได เพือให นได ่อให อนจํานวนทีอาจประเมิ อใหสะท ่อาจประเมินได อาจประเมนได นไดในตลาดป ในตลาดป ในตลาดปจจุ นตลาดป บันซึงแปรไปตามเวลาและความเสี ่งแปรไปตามเวลาและความเสียงที่มีตอหนี้สิน งแปรไปตามเวลาและความเส่

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

153


(ฑ)

รายได รายได รายไดที่รับรูไม รายได ไม ไมรวมภาษี มูลคาเพิ่ม หรือภาษขายอ อภาษีขายอื่น ๆ และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา อภาษ

การขายสินคา รายไดรับรในงบก รายได บรูในงบกํ บร ในงบกํ ในงบกาไรขาดทุ นเมื่อได อไดโอนความเสี อไดโอนความเสี โอนความเส่ยงและผลตอบแทนของความเป ยงและผลตอบแทนของความเป าของสินคาที่มีนัยสําคัญไปให ยงและผลตอบแทนของความเปนเจ ญไปให บผูซื้อแลว และจะไม ญไปใหกั และจะไมรับรูรายได รายได า รายไดถ ฝฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาทีขายไปแล ่ขายไปแล ้นหรือมีความไม ขายไปแลวนั ความไม นอนที่มีนัยสําคัญในการได ความไมแน ญในการได บประโยชน ญในการไดรั ับประโยชน งเศรษฐกิจจากการขายสินคานัน้ บประโยชนเชิ ไมอาจวัดมูลคาของจํานวนรายได ไม านวนรายได นทุนที่เกิดขึนได านวนรายไดและต ้นได างนาเชื่อถือ หรือมีความเป นไดอย ความเปนไปได ความเปนไปได นไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา

ดอกเบี้ยรับและเงินป นป บ นปนผลรั ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นตามเกณฑคงคาง เงินป นป นปนผลรั บบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นในวั ่บริษัทมีสิทธิได นในวนที นในวั ได บเงินป ไดรั นป นปนผล รายไดอื่นบันทึกตามเกณฑคงคาง รายได

(ฒ)

คาใช าใช าย าใชจ คาใช าใช ายบันทึกตามเกณฑคงคาง าใชจ

สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใต ายภายใต ญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกํ ายภายใตสั กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นโดยวิ เสนตรงตลอดอายุสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกํ นโดยวธี นโดยวิ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นในรอบ บัญชีที่มีรายการดังกลาว

ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใช าใช ายในทํ าใชจ ายในทํ ายในทานองเดี ยวกันบันทึกในงบกํ กในงบกํ กในงบกาไรขาดทุ นในงวดทีคาใช นในงวดท่ นในงวดที าใช ายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณี าใชจ นในกรณี ่มีการบันทึกเป นในกรณที กเป นทุนสวนหนึ่ง กเปนต ของสินทรัพย อันเป ันเปนผลมาจากการใช นเปนผลมาจากการใช  นผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจั เวลายาวนานในการจดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพยดังกลาว กอนที่จะนํามาใช เวลายาวนานในการจั ามาใช ามาใชเองหรื อเพื่อขาย

คาบํารุงรักษา รายจายในการบํ ายในการบํ งรักษาและซอมแซมบันทึกเป ายในการบารุ กเป าใช กเปนค าใช ายในงบกํ าใชจ ายในงบกํ ายในงบกาไรขาดทุ นเมื่อเกิดรายจายนั้นสวนรายจายที่มีลักษณะเป กษณะเป กษณะเปนรายจ ายฝ น ได ายฝายทุ ายฝ ไดบันทึก รวมไวในบ รวมไว ในบั อาคารและอุปกรณ ในบญชี ในบั ปกรณ ่เกี่ยวของ ปกรณที

(ณ)

ภาษีเงินได นได นได ภาษีเงินได นได าไรหรื นไดจากกํ าไรหรื าไรหรอขาดทุ นสําหรับป ับปประกอบด บปประกอบด  ประกอบดวยภาษี เงินได นไดปปจจุบันและภาษีเงินได นไดป นได นไดรอการตั ดบัญชีภาษีเงินได นได บรในงบก นไดรั บรูในงบกํ บร ในงบกํ ในงบกาไรขาดทุ น เวนแตในส ในส ในสวน ที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในส กในส กในสวนของผู ถือหุนรับรูโดยตรงในส โดยตรงในส โดยตรงในสวนของผู ถือหุน

ภาษีเงินได นไดปปจจุบนั นไดป ภาษีเงินได นไดปปจจุบนได นไดป ันได ภาษีที่คาดวาจะจายชําระโดยคํ นไดแก าระโดยคํ าระโดยคานวณจากกํ าไรประจําป าไรประจาป าไรประจํ าปที่ตองเสียภาษี โดยใช โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ประกาศใช อที่คาดวามีผลบังคั​ับใช ประกาศใชหรื บใช บใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรั ตลอดจนการปรบปร ับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในป ับรายการในป อนๆ บรายการในปก

ภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชี ภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชีบันทึกโดยคํ กโดยคํ กโดยคานวณจากผลแตกต างชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินและจํานวนที่ใช ใช ่อความ ใชเพื มุงหมายทางภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ยังไม งไมได งไมได ไดใช ใช ใช ภาษีเงินได ใช นได นไดรอการตั ดบัญชีจะไม จะไม กรับรูเมื่อเกิดจากผลแตกตางชั่วคราวตอไปนี จะไมถู อไปนี การรับรู คาความ อไปน้ นิยมในครั ยมในครังแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สนในครั ยมในคร้ ินในครังแรกซึงเป นในคร้ ่งเป งเปนรายการที ่ไมใช ไมใช ไม ใชการรวมธุรกิจและรายการนันไม ัน้ ไม ผลกระทบตอกําไรทางบั นไมมี าไรทางบั หรือกําไรทาง าไรทางบญชี ภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริ นในบร ทยอยและกิจการรวมคาหากเป นในบรษั าหากเปนไปได าหากเปนไปได นไปไดวาจะไม าจะไม การกลั​ับรายการในอนาคตอั าจะไมมี บรายการในอนาคตอันใกล บรายการในอนาคตอนใกล นใกล ภาษีเงินได นใกล นได นไดรอ การตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใช าโดยใช ตราภาษีที่คาดวาจะใช าโดยใชอั าจะใช บผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลั​ับรายการโดยองกั าจะใชกั บรายการโดยอิ รายการโดยอ บกฎหมายที่ประกาศใช ประกาศใช อที่คาดวามีผล ประกาศใชหรื บังคับใช ับใช ณ วันที่รายงาน บใช สินทรัพยภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเป ความเปนไปได ความเปนไปได นไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื าไรเพือเสียภาษในอนาคตจะม าไรเพ่ ยภาษีในอนาคตจะมี ยภาษ ในอนาคตจะมี านวนเพียงพอกั​ับการใช ในอนาคตจะมจํ บการใช บการใช ประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวและขาดทุนทางภาษีที่ยงไม ประโยชน ังไมได งไมได  ใช ไดใช ใช งกลาว สินทรัพยภาษีเงินได ใชดั นได นไดรอการตั ดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะ ถูกปรั กปรั กปรบลดลงเท าทีประโยชน ่ประโยชน ประโยชนทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช กใช ง กใชจริ

154


4

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ได ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับบริษัทฯ โดยการเป โดยการเปนผูถือหุน หรือมีผูถือหุนรวมกัน หรือมี กรรมการรวมกัน รายการที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกั​ันได นได าหนดขึ้นโดยใช นไดกํ นโดยใช นโดยใชราคาตลาดหรื อในราคาทีตกลงกันตามสัญญาหากไม อในราคาท่ อในราคาที ญญาหากไม ราคา ญญาหากไมมี ตลาดรองรับ ความสัมพันธที่บริษัทฯ มีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมรวมกั​ันในบรษั นในบริ ในบร ทฯ หรือเป อเป จการที่บริษัทควบคุม หรือ อเปนกิ ควบคุมรวมกัน หรือเป อเป คคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับบริษัทฯ มีดังนี้ อเปนบุ ชื่อกิจการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประเทศท่จัดตัง้ ประเทศที /สัญชาติ ไทย

บริษัท ไทยออยล ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

ไทย

บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

ไทย

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลี โปลเมอส จํากัด

ไทย

บริษัท ไออาร ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

ไทย

บริษัท สตาร ปปโตรเลี โตรเลยม รไฟน โตรเลี รรีไฟน ไฟน ่ง จํากัด ไฟนนิ

ไทย

บริษัท บางจาก ปปโตรเลี โตรเลยม จํากัด (มหาชน) โตรเลี

ไทย

บริษัท ทิพยประกั พยประกั ย จํากัด (มหาชน) พยประกนภั

ไทย

บริษัท ปตท. คาสากล จํากัด บริษัท เอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ จํากัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท บิซิเนส เซอรวสเซส ิ อัลไลแอนซ ลไลแอนซ จํากัด ลไลแอนซ บริษัท พีทีที ฟฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซี ไอซที โซลูชั่นส จํากัด บริษัท ไทยแท ไทยแทงคเทอรมินัล จํากัด

สิงคโปร งคโปร งคโปร ไทย ไทย

Chevron U.S.A. Inc. (Singapore) Chevron Singapore Pte., Ltd. บริษัทอืนในกล ่นในกลุ ษัท เชฟรอน นในกลมบริ

สิงคโปร งคโปร งคโปร สิงคโปร งคโปร งคโปร สหรัฐอเมริกา

ลักษณะความสัมพันธ เปนผูถือหุนรายใหญ เป นรายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 48.60 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 49.10 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 48.68 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 41.44 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 39.02 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 36 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 28.29 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 13.33 และมีกรรมการรวมกัน เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 50 เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 40

ไทย

เปนบริษัทที่ผูถือหุนรายใหญ เป น รายใหญ นรายใหญของบริ ษัท ถือหุนรอยละ 25

ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 30 เป เปนบริษัทรวม บริษทถ เป ษัทถือหุนรอยละ 20 เปนบริษัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 20 เป เปนบริษัทที่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) เป ถือหุนอยูรอ ยละ 51 เปนบริษัทที่มีผูถือหุนรวมกัน เป เปนบริษัทที่มีผูถือหุนรวมกัน เป เปนบริษัทที่มีผูถือหุนรวมกัน เป

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

155


นโยบายการกาหนดราคาสําหรับรายการแตละประเภทอธิ นโยบายการกํ ละประเภทอธิบายได ละประเภทอธบายได บายไดดังตอไปนี อไปนี อไปน้ รายการ รายได รายไดจากการขายสิ นคา รายไดอื่น รายได ซื้อวัตถุดิบและสาธารณูปโภค ตนทุนขายสินคา คาใช าใช ายในการขายและบริ าใชจ ายในการขายและบร ายในการขายและบรหาร ตนทุนทางการเงิน คาตอบแทนกรรมการ

นโยบายการกาหนดราคา นโยบายการกํ

ราคาตลาด ราคาตามสัญญา ราคาตลาด ราคาตามสัญญา ราคาตลาด / ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ตามที่ระบุโดยคณะกรรมการบริ โดยคณะกรรมการบร ทและอนุมัตโดยผ โดยคณะกรรมการบรษั ิโดยผู อหุน โดยผถื

รายการที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับแตละป ละป ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได ละปสิ ปได งนี้ ปไดดั งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552 ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ รายไดจากการขายสินคา รายได ซื้อสินคา รายไดอื่น รายได คาใช าใช ายในการขาย าใชจ คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร กําไรจากการสิ าไรจากการสนสุดสัญญาแลกเปลี าไรจากการส้ ญญาแลกเปลียนคาการกลั่น ญญาแลกเปล่ กอนกําหนด สวนตางจากสัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนคาการกลั่น ญญาแลกเปล่ และสวนตางราคาน้ํามันดิบสุทธิ ตนทุนทางการเงิน

156

(ลานบาท) านบา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

175,749 239,713 54 11 50

168,770 195,097 51 68

175,749 239,713 54 11 50

168,770 195,097 51 68

-

1,573

-

1,573

9 225

1,675 287

9 225

1,675 287

7

-

7

กิจการรวมคา คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร

-

บริษัทรวม รายไดจากการขายสินคา รายได ซื้อสินคา รายไดอื่น รายได คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร

5,186 1,404 10 37

3,871 1,478 13 71

5,186 1,404 10 37

3,871 1,478 13 71

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน รายไดจากการขายสินคา รายได ซื้อสินคา รายไดอื่น รายได คาใช าใช ายในการขาย าใชจ คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร คาตอบแทนกรรมการ

14,573 8,105 75 287 182 38

10,327 6,925 30 291 177 10

14,569 8,102 77 287 182 38

10,327 6,925 30 291 177 10


การแกไขสั ไขสญญาแลกเปลี ไขสญญาแลกเปล ัญญาแลกเปลยี นคาการกลั่น ญญาแลกเปล่ เมื่อ วันที่ 26 มีนาคม 2552 บริษัทฯ และ บริษัท ปตท. จํา กัด (มหาชน) (ปตท.) ซึ่งเป งเป ถือหุนรายใหญ งเปนผู นรายใหญได นรายใหญได ไดตกลงแกไขระยะเวลาและเงื ไขระยะเวลาและเงือนไข ไขระยะเวลาและเง่ บางประการในสญญาแลกเปลี บางประการในสั ญญาแลกเปล่ยนคาการกลั่น ภายใต ญญาแลกเปลี ภายใตการแกไขสั ไขสั ไขสญญานี ้ สัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนคาการกลั่นน้ํามันจํานวน 3.2 ลานบารเรล ได ญญาแลกเปล่ ไดมีการยกเลิก กอนสัญญาสิ้นสุด เป เปนเหตุให ให สัญญาตองชําระราคาจากผลแหงการสิ้นสุดของสัญญาดังกลาวแกบริษัทฯ เป ใหคู เปนจํานวนเงินประมาณ 1,573 ลานบาท และบริษัทฯ ได ไดแสดงรายการดังกลาวในงบกํ าวในงบกํ าวในงบกาไรขาดทุ น ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทรวม บริษัท พีทีที ฟฟนอล จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท สตาร ปปโตรเลี โตรเลยม รีไฟน โตรเลี ไฟน ่ง จํากัด ไฟนนิ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ไออาร ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจากป บางจากปโตรเลี โตรเลยม จํากัด (มหาชน) โตรเลี รวม

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

12,196

14,690

12,196

14,690

578

477

578

477

1,825 979 122 97 7

168 537

1,825 979 122 97 15,797

168 537 72

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทรวม บริษัท พีทีที ไอซี ไอซที โซลูชั่นส จํากัด บริษัท พีทีที ฟฟนอล จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัทอืนในกล ่นในกลุ ษัท เชฟรอน นในกลมบริ บริษัท สตาร ปปโตรเลี โตรเลยม รีไฟน โตรเลี ไฟน ่ง จํากัด ไฟนนิ รวม

56

86

56

86

2 -

7 1

2 -

7 1

1 59

1 95

1 59

1 95

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

157


สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท ผูถือหุนรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) รวม

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

-

1

-

1

124 2 126

140 2 143

124 2 126

140 2 143

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

-

2

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552

-

2

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท ผูถือหุนรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทรวม บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จํากัด บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยแทงคเทอรมินอล จํากัด บริษัท ไออารพซี ี จํากัด (มหาชน) รวม

158

22,341

12,301

22,341

12,301

116

126

116

126

800 330 66 9 23,662

377 309 13,113

800 330 66 9 23,662

377 309 13,113


เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทรวม บริษัท พีทีที ไอซี ไอซที โซลูชั่นส จํากัด กิจการอื่นทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท บิซิเนส เซอรวสเซส ิ อัลไลแอนซ ลไลแอนซ จํากัด ลไลแอนซ บริษัท สตาร ปปโตรเลี โตรเลยม รไฟน โตรเลี รรีไฟน ไฟน ่ง จํากัด ไฟนนิ บริษัทอืนในกล ่นในกลุ ษัท เชฟรอน นในกลมบริ บริษัท ทิพยประกั พยประกั ย จํากัด (มหาชน) พยประกนภั รวม

เงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุน อัตราดอกเบี้ย 2553 2552

(รอยละตอป อป อป)

ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

4.45

4.02

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

167

93

167

93

8

30

8

30

13 10 8 5 211

1 169 1 294

13 10 8 5 211

1 169 1 294

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท)

6,928

6,703

6,928

6,703

รายการเคลือนไหวของเงิ ่อนไหวของเงิ ดอ ยสิทธิจากผูถอื หุน สําหรับแตละป อนไหวของเงนกู ละป ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ ละปสิ

เงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุน

ผูถือหุนรายใหญ นรายใหญ นรายใหญ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

6,703 225 6,928

6,500 203 6,703

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 6,703 225 6,928

6,500 203 6,703

เงินกูยืมดอยสิทธิสกุลเงินบาทที่ได ได บจากผูถือหุนหลักของบริษัทฯ ภายใต ไดรั ภายใตสัญญาสนับสนุนจากผูถือหุน เงินกูยืมดังกลาวจะมีอัตราดอกเบี้ยตามที่ บริษัทฯ และผูถือหุนตกลงรวมกันตามสัญญาสนับสนุนจากผูถือหุน โดยมี โดยมอัตราดอกเบี้ยอยูในอั ในอั เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 2 ตอป ในอตรา อป เงินตนและ อป ดอกเบี้ยนี้ จะไม จะไมถูกชําระคืนจนกวาจะเขาขอกําหนดและเงื่อนไขทั อนไขทั​ังหมดในการจ อนไขท้ งหมดในการจ าระคืนตามที่ระบุในข งหมดในการจายชํ ในข าหนดสิทธิและหนาที่ของผูออกหุนกูและ ในขอกํ ผูถือหุนกู เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 บริษัทฯ และผูถือหุนรายใหญ นรายใหญในสั นรายใหญในสั ในสญญาเงินกูจากผูถือหุนแตละรายได ละรายได ละรายไดตกลงที ่จะแกไขระยะเวลาและเงื ไขระยะเวลาและเงือนไข ไขระยะเวลาและเง่ ตางๆ ของสัญญาเงินกูจากผูถือหุน ภายใต ภายใตสัญญาที่แกไขนี ไขนี บริษัทฯ จะจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยคางจายก็ตอเมื่อบริษัทฯ สามารถปฏิ ไขน้ สามารถปฏบัติตามเงื่อนไข

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

159


ที่ระบุในสั ในสั ในสญญาที ่แกไข โดยเฉพาะอย โดยเฉพาะอยางยิงการปฏิ ่งการปฏิ ติตามเงือนไขภายใต งการปฏบั ่อนไขภายใต ญญาเงินกูตางๆ ในป อนไขภายใตสั ในปจจุบัน การแกไขสั ในป ไขสั ไขสญญายั งรวมถึงการเปลี งการเปลียนแปลงรอบ งการเปล่ การชําระเงินภายใน 30 ธันวาคม 2553 และเปลี และเปล่ยนอัตราดอกเบี้ยจากอัตรา เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 2 ตอป อป เป อป เปนอัตรา เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 1 ตอป อป โดยมี อป โดยมผลสําหรับงวดตั้งแต 30 มิถุนายน 2553 ถึง 30 ธันวาคม 2553 และได และไดเปลี เปล่ยนอัตราดอกเบี้ยในส เปลี ยในส ่เหลือจากอัตรา เอ็ม แอล อาร ลบ ยในสวนที รอยละ 1 ตอป อป เป อป เปนอัตรา เอ็ม แอล อาร ตอป อป ตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป อป เปนตนไป

สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวของกัน สัญญายกเลิกสัญญาการดําเนินงานรวม เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2549 บริษัทฯ ได ไดทําสัญญายกเลิกสัญญาการดําเนินงานรวมกับ SPRC ในส ในสวนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ํามัน ซึ่งการยกเลิก ดังกลาวมีผลบังคับตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2552 และมีผลให ผลให าเนินการยกเลิกกิจการ ARC ตามที่กลาวไว ผลใหดํ าวไวในหมายเหตุขอ 10 โดยบร าวไวในหมายเหต โดยบรษัทฯ จะ โดยบริ งคงใช นรับน้ํามันดิบทางทะเล (SPM) ระบบทอสงน้ํามันสําเร็จรูปไปยั งคงใชทุ ปไปยั ปไปยงระบบขนส งน้ํามันทางทอ Thappline ทาเรือสง LPG และ อุปกรณ ปกรณ ต ปกรณผลิ ยั​ังคงใช กํามะถันเม็ด (Sulfur Palletizer) รวมกับ SPRC อยู โดย SPRC เป เปนผูดําเนินการ

สัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติ บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติกับ ปตท. จํานวน 2 ฉบับ โดยผูกพั​ันในการซื นในการซือกาซธรรมชาติจาก ปตท. เป นในการซ้ เปนเวลา 10 ปป นับจากวันที่ 23 พฤษภาคม 2551 และวันที่ 1 มกราคม 2552 ราคาซื้อขายตามสัญญาขึ้นอยูกับราคาเนื้อกาซตามเงื่อนไขที อนไขทีกําหนดในสั อนไขท่ าหนดในสั าหนดในสญญาและดั ชนีราคาผูผลิต ในประเทศไทยในหมวดสนคาสําเร็จรูป (PPI) ในประเทศไทยในหมวดสิ ในประเทศไทยในหมวดส

สัญญารับซื้อผลิตภัณฑปปโตรเลี ปโตรเลี  โตรเลยม บริษัทฯ ทําสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑปปโตรเลี ปโตรเลี โตรเลยมกับ ปตท. และ บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด (SCOT) ตามสัญญานี้ บริษัทฯ ผูกพันที่จะขาย ผลิตภัณฑที่ได ได ไดจากการกลั ั่นป นปโตรเลี นปโตรเลี โตรเลยมสวนหนึ่งให งให ปตท. และ SCOT ในการขายในประเทศไทย ราคาของผลิตภัณฑจะเป งใหแก จะเป จะเปนไปตามราคาขาย จะเป จะเปนไปตามราคาตลาด โดยท่วไปของผลิ โดยทั ัวไปของผลิ ณฑที่มีคณภาพใกล วไปของผลตภั ุณภาพใกล ยงกับที่ขาย หรือนําเขามาในประเทศไทย สวนการขายสงออก ราคาของผลิตภัณฑจะเป ณภาพใกลเคี ขณะนั้น ซึ่งสัญญาดังกลาวจะสิ้นสุดภายในวั ดภายในวั ่ 9 กุมภาพันธ 2567 ดภายในวนที

สัญญารับซื้อผลิตภัณฑของโครงการขยายการลงทุน เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2549 บริษัทฯ ทําสัญญารับซื้อผลิตภัณฑของโครงการขยายการลงทุนกับ ปตท. โดย ปตท.จะรับซื้อผลิตภัณฑปปโตรเลี ปโตรเลี โตรเลยม สําเร็จรูปของบริ ปของบริ ทฯ รอยละ 100 ของปริ ปของบรษั ของปรมาณผลิตภัณฑปปโตรเลี ปโตรเลี โตรเลยมสําเร็จรูปที ปทีบริษัทฯ ผลิตได ปท่ ตได Reforming Complex และ Upgrading ตไดจาก Complex โดยมี โดยมเงื่อนไขการรั อนไขการรั ้อตามที่กําหนดไว อนไขการรบซื าหนดไวในสั าหนดไวในส ในสั ในสญญารั บซื้อผลิตภัณฑ ซึ่งกําหนดไว าหนดไว าปริ าหนดไวว าปริ าปรมาณอย างนอยรอยละ 50 จะขายดวยราคาตลาด ภายในประเทศ และสวนที่เหลือจะขายในราคาตลาดต อจะขายในราคาตลาดต อจะขายในราคาตลาดตางประเทศ หรือราคาอื่นที่ตกลงรวมกัน สัญญาแกไขเพิ ไขเพมิ เติมสัญญารับซื้อผลิตภัณฑของโครงการ ไขเพ่ ขยายการลงทุนได นได าขอตกลงในสั นไดนํ อตกลงในสั อตกลงในสญญารั บซื้อผลิตภัณฑกับ ปตท. เขามารวมเป ามารวมเป วนหนึ่งของสัญญาดวย ามารวมเปนส

สัญญาจัดหาน้ํามันดิบและวัตถุดิบอื่นระยะยาว บริษัทฯ ทําสัญญาจัดหาน้ํามันดิบและวัตถุดิบอื่นกับ ปตท. โดย ปตท. ตกลงจะจัดหาน้ํามันดิบและวัตถุดิบอื่นเพื่อใช อใชในการดํ อใช อใชในการด ในการดํ นงานโรงกลั ในการดาเนิ นงานโรงกลันของ นงานโรงกล่ บริษัทฯ ในราคาอ ในราคาองตามราคาตลาดของน้ํามันดิบและวัตถุดิบอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาการสั่งซื้อน้ํามันดิบสําหรั​ับป ในราคาอิ บป 2553 บป เปนสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ กับ ปตท. ภายใต เป ภายใตสัญญานี้ ปตท. ตกลงที่จะขายน้ํามันดิบให บให ษัทฯ ในจํ บใหบริ ในจานวนที่แตกตางกันในแต ันในแต อนตามที่ระบุไว นในแตละเดื ไวใน ไวใน สัญญารวมจํานวน 54 ลานบารเรล เป เปนเงินประมาณ 4,312 ลานเหรียญสหรัฐฯ (2552: 51.7 ลานบารเรล เป เปนเงินประมาณ 3,229 ลานเหรียญ

สหรัฐฯ)

สัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนคาการกลั่น ญญาแลกเปล่ บริษัทฯ มีสัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนคาการกลั่นกับ ปตท. จํานวนหลายสัญญา เพื่อป ญญาแลกเปล่ อป นความเสี่ยงคาการกลั่นดวยวิธีการแลกเปลี อปองกั การแลกเปลียนคาการกลั่นลอยตัว การแลกเปล่ (โดยคํ (โดยค โดยคานวณจากราคาผลิ ํ ตภัณฑปปโตรเลี ปโตรเลี โตรเลยมที่ตลาดสิงคโปร งคโปร คือ Diesel, Gasoil, Kerosene และ Fuel Oil กับราคาน้ํามันดิบดูไบ) กับคาการกลั่น งคโปร คงที่ที่ปริ ปริ ปรมาณคงที ่ตอเดือน ตามสัญญาดังกลาวบริษัทฯ จะตองรับหรือจายเงินสวนตางระหวางคาการกลั่นดังกลาวตามเงื่อนไขที อนไขทีระบุในสั อนไขท่ ในสั ในสญญากั บ ปตท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีน้ํามันคงเหลือภายใต อภายใต ญญาดังกลาวทั้งสิ้นจํานวน 4.8 ลานบารเรล อภายใตสั

สัญญาสวนตางราคาระหวางเวลาของน้ํามันดิบและวัตถุดิบ บริษัทฯ ได ไดทําสัญญาสวนตางราคาระหวางเวลาของน้ํามันดิบและวัตถุดิบทีใช ่ใชในการผลตหลายสั ใชในการผลิ ใชในการผล ในการผล ญญากับ ปตท. เพื่อป อป นความเสี่ยงดานราคา โดย อปองกั คํานวณจากสวนตางของราคาน้ํามันดิบและวัตถุดิบที่ใช ใชในการผลตถั ใชในการผลิ ใชในการผล ในการผล วเฉลี่ยระหวางเดือนป อนป บันกับราคาของเดือนถัดไป บริษัทฯ จะตองรับหรือ อนปจจุ

160


จายเงินสวนตางราคาดังกลาวตามเงื่อนไขที อนไขทีระบุในสั อนไขท่ ในสั ในสญญากั บ ปตท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีน้ํามันดิบและวัตถุดิบที่ใช ใชในการผลต ใชในการผลิ ใชในการผล ในการผล คงเหลือภายใต อภายใต ญญาดังกลาวทั้งสิ้นจํานวน 0.85 ลานบารเรล อภายใตสั

สัญญารวมใช วมใช การกําจัดคราบน้ํามันั ในทะเล วมใชบริ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2549 บริษัทฯ ทําสัญญารวมใช วมใช การกําจัดคราบน้ํามั​ันในทะเลกั วมใชบริ นในทะเลกั ปตท. โดยสั นในทะเลกบ โดยสญญาดังกลาวยินยอมให นยอมให ษัทฯ รวมใช นยอมใหบริ วมใช วมใช บริการดังกลาวในฐานะเป าวในฐานะเป ษทในเครื าวในฐานะเปนบริ ัทในเครื ปตท. โดยบร ทในเครอ โดยบรษัทฯ ตองจายคาธรรมเนียมรายป โดยบริ ยมรายปให ยมรายปให ใหแก ปตท. ตามอัตราที่กาหนดในสั ําหนดในสั าหนดในสญญา

บันทึกความเขาใจเรื าใจเรืองการกอสราง Pipe racks บนพื้นที่ของ SPRC าใจเร่ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ ได ไดลงนามบันทึกความเขาใจเรื าใจเรืองการสราง Pipe racks บนพื้นที่ของ SPRC เพื่อเชื่อมตอระหวางโรงกลั าใจเร่ างโรงกลัน างโรงกล่ น้ํามันของบริษัทฯ กั​ับโครงการ Upgrading Complex โดยบร โดยบรษัทฯ ตกลงทีจะเป โดยบริ ่จะเป ลงทุนสราง และมีสิทธิในการวางท จะเปนผู ในการวางท Pipe racks ในการวางทอบน

สัญญาซื้อวัตถุดิบและขายผลิตภัณฑอะโรเมติ อะโรเมติ อะโรเมตกส บริษัทฯ พรอมดวยบริษทในประเทศหลายแห ัทในประเทศหลายแห ทในประเทศหลายแหงรวมทั ้งบริษัทที่เกี่ยวของกัน ได ไดรวมลงนามในบั วมลงนามในบั กหัวขอสัญญาเกี่ยวกับหลักการของสัญญาซื้อขาย วมลงนามในบนทึ วัตถุดิบและผลิตภัณฑหลายฉบับ ราคาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑดังกลาวจะเป าวจะเปนไปตามข าวจะเปนไปตามข นไปตามขอตกลงในสั อตกลงในสญญา สัญญาดังกลาวจะมีผลใช อตกลงในสั ผลใช งคั​ับเป ผลใชบั บเป บเปน ระยะเวลาตั้งแต 2-15 ปป นับแตวันทีในสั ่ในสั ในสญญา

สัญญาสนับสนุนจากผูถือหุน บริษัทฯ ได ไดลงนามในสั ลงนามในสญญาสนับสนุนทางการเงินกับผูถือหุนหลักในวั ลงนามในสั กในวั ่ 30 มีนาคม 2544 โดยมี กในวนที โดยมขอตกลงรวมกั​ันหลายประการ อาทิเชน ก)

อในการแกปปญหาสภาพคลองของบริษัทฯ เพื่อให อในการแกป อให อให การใหความรวมมือในลั การให อในลั อในลกษณะที ่กอให อให ดความเชื่อมั่นตอบริษัทฯ วา ผูถือหุนจะชวยเหลือในการแก อใหเกิ บริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจตอไปได อไปได างตอเนื่อง อไปไดอย

ข)

ใหการสนับสนุนทางดานการเงินเมื่อได ให อได บการรองขอจากบริษัทฯ ในวงเง อไดรั ในวงเงนรวมทั้งสิ้น 210 ลานเหรียญสหรัฐฯ บริษัทฯ ได ในวงเงิ ไดรับเงินสนับสนุน ภายใตสัญญานี้เต็มจํานวนแลวในป ภายใต วในป 2544 วในป

ค)

ผูถือหุนหลักรายหนึ่งผูกพันที่จะตองจัดวงเงินสนับสนุนเพิ่มเติมอีกจํานวน 90 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในกรณี ในกรณที่เงินสนับสนุนจากผูถือหุนตามที่ กลาวไว าวไวในข าวไวในข ในข ข) ไม ในขอ ไมเพียงพอ

เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2547 บริษัทฯ และผูถือหุนหลักภายใต กภายใต ญญาสนับสนุนจากผูถือหุน ได กภายใตสั ไดมีการลงนามในสั การลงนามในสั การลงนามในสญญาเงิ นกูจากผูถือหุนเพื่อแกไข ขอกําหนดบางประการในสั าหนดบางประการในสั าหนดบางประการในสญญาสนั บสนุนจากผูถือหุน โดยเฉพาะอย โดยเฉพาะอยางยิ่งเงื่อนไขในการชํ อนไขในการชํ นเงินกูจากผูถือหุนหลักที่เกิดจากเงินสนับสนุน อนไขในการชาระคื ภายใตสัญญาสนับสนุนจากผูถือหุนขางตน ภายใต เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 บริษัทฯ และผูถือหุนเดิมในสั มในสั มในสญญาเงิ นกูจากผูถือหุนแตละรายได ละรายได ละรายไดตกลงที ่จะแกไขระยะเวลาและเงื ไขระยะเวลาและเงอนไขต ไขระยะเวลาและเง่ อื นไขต ของ อนไขตางๆ สัญญาเงินกูจากผูถือหุน ภายใต ภายใตสัญญาที่แกไขนี ไขนี บริษัทฯ จะจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยคางจายก็ตอเมื่อบริษัทฯ สามารถปฏิ ไขน้ สามารถปฏบัติตามเงื่อนไขที อนไขทีระบุ อนไขท่ ในสญญาที่แกไข โดยเฉพาะอย ในสั โดยเฉพาะอยางยิงการปฏิ ่งการปฏิ ติตามเงือนไขภายใต งการปฏบั ่อนไขภายใต ญญาเงินกูตางๆ อนไขภายใตสั เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ได ไดชําระคืนเงินกูผูถือหุนให นให ผูถือหุนเดิมบางราย โดยคงเหลื นใหแก โดยคงเหลอสัญญาเงินกูกับผูถือหุนหลักเพียงรายเดียว

สัญญาสนับสนุนแกบริษัทรวม บริษัทฯ และผูถือหุนหลักอีกสองรายและบริษัทรวมแหงหนึ่งได งได งไดเจรจากั บสถาบันการเงินแหงหนึ่งเพื่อจัดหาเงินกูให ให บริษัทรวมดังกลาวในวงเงิ ใหแก าวในวงเงิ าวในวงเงน 8,320 ลานบาท เป เปนเวลา 13 ปป โดยเงื โดยเง่อนไขของเงิ อนไขของเงิ ดังกลาวกําหนดให อนไขของเงนกู าหนดให ถือหุนตองจัดทําสัญญาสนับสนุนแกบริษัทรวม ซึ่งสัญญาดังกลาว าหนดใหผู ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแลวเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2549 ได เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2549 บริษัทฯ ในฐานะผู ในฐานะผถือหุนรายหนึ่ง ผูถือหุนหลักอีกสองราย และบริษัทรวมอีกแหงหนึ่ง ได ในฐานะผ ไดรวมลงนามในสั วมลงนามในสัญญาให วมลงนามในสญญาให ญญาให การสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทรวมแหงหนึ่งซึ่งเกี่ยวของกับการจัดการดานการเงิน การกอสราง และการดําเนินงานตามโครงการผลิ นงานตามโครงการผล นงานตามโครงการผลตสาร Phenol และ Acetone โดยมี โดยมขอตกลงรวมกั​ันบางประการ อาทิเชน ก)

ผูถือหุนแตละรายภายใต ละรายภายใต ญญานี้ตอ งดําเนินการจดทะเบียนและชําระเงินคาหุนเพือ่ ดํารงอัตราสวนหนี้สินระยะยาวตอสวนของผูถือหุนให ละรายภายใตสั นให นให เปนไปตามที เป นไปตามท่กาหนดไว นไปตามที าํ หนดไวในสั าหนดไวในส ในสั ในสญญา

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

161


ข)

ทุนจดทะเบียนของบริษัทรวมดังกลาวตองไมนอยกวา 4,000 ลานบาท ภายในวันสิ้นสุดโครงการ ผูถือหุนทุกรายภายใตสัญญานี้ตองคงสัดสวนการถือหุนรวมกันไมนอยกวารอยละ 51 ในบริษัทรวมจนกวาจะครบกําหนดอายุเงินกู หากบริษัทรวมนั้นประสบปญหาเงินทุนไมพอเพียงในชวงกอนการกอสรางเสร็จสมบูรณ ผูถือหุนแตละรายภายใตสัญญานี้จะตองใหการ สนับสนุนการกอสรางโครงการตามสัดสวนการถือหุนเพื่อใหโครงการแลวเสร็จและจัดการใหวันสิ้นสุดโครงการไมเกินกวาวันที่ 31 ธันวาคม 2551 อยางไรก็ตาม กลุมธนาคารผูรวมใหกูไดขยายระยะเวลาของวันสิ้นสุดโครงการออกไปเปนวันที่ 31 มีนาคม 2552 และในวันที่ 30 เมษายน 2552 บริษัทรวมไดรับหนังสือตอบรับจากสถาบันการเงินดังกลาววาวันสิ้นสุดโครงการกอสรางของบริษัทรวมเปนวันที่ 31 มีนาคม 2552

ในการนี้ ผูถือหุนทุกรายตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงตางๆ ที่กําหนดในสัญญา

สัญญาเชาอาคารสํานักงาน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2552 บริษัทฯ ทําสัญญาเชาอาคารสํานักงานกับกิจการท การที่เกี่ยวของกัน ภายใตเงื่อนไขตามสัญญาเชาดังกลาว บริษัทฯ ผูกพัน ที่จะตองจายคาเชาและคาบริการเปนรายเดือนและสัญญาดังกลาวสิ้นสุดลงในเดือนพฤศจิกายน 2555

5

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552 เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย

12 1,368

(ลลานบาท) นบา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

8 1,354

12 1,368 1,

8 1,354 62

ยอดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ รวม

6

247 1,133 1,380

(ลลานบาท) นบา

690 672 1,362

247 1,133 1,380

690 672 1,362

ลูกหนี้การคา งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย หมายเหตุ 2553 2552 กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม

4

15,797 7,718 23,515

บริษัทฯ ไมมีหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

162

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบา

15,872 5,485 21,357

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 15,797 7,718 23,515

15,872 5,485 21,357


การวิเคราะหอายุลูกหนี้การคา มีดงั นี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552 กิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ 3 - 6 เดือน สุทธิ กิจการอื่น ๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ สุทธิ รวม

(ลลานบาท) นบา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

15,797

15,720

15,797

15,720

15,797

152 15,872

15,797

152 15,872

7,718 7,718 23,515

5,485 5,485 21,357

7,718 7,718 23,515

5,485 5,485 21,357

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของบริษัทฯ มีระยะเวลาตั้งแต 19 วันถึง 30 วัน ยอดลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ

7

21,550 1,965 155

(ลลานบาท) นบา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 21,550 1,965 23

20,309 1,048 577

สินคาคงเหลือ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย 2553 2552 วัตถุดิบ ผลิตภัณฑปโตรเลียม ผลิตภัณฑปโตรเคมี ผลิตภัณฑพลอยได น้ํามันดิบระหวางทาง วัสดุอื่น

หัก คาเผือ่ สินคาลาสมัย สุทธิ

11,207 3,104 908 524 5,566 1,475 22,784 (336) 22,448

(ลลานบาท) นบา

10,357 3,870 1,026 603 2,941 1,377 20,174 (294) 19,880

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 11,207 3,104 908 524 5,566 1,475 22,784 (336) 22,448

10,357 3,870 1,026 603 2,941 1,377 20,174 (294) 19,880

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

163


ภายใตขอกําหนดของกระทรวงพลังงานกําหนดให ภายใต าหนดให ษัทจะตองสํารองน้ํามันดิบและกาซป าหนดใหบริ าซปโตรเลี าซปโตรเลี โตรเลยมเหลวไว ยมเหลวไวระดับหนึ่งตลอดเวลา ซึ่งจะขึ้นอยูกับ ยมเหลวไว ปรมาณตามแผนการผลิตสําหรั​ับป ปริ บป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินคาคงเหลือขางตนได บป นได นไดรวมน้ ํามันดิบและกาซป าซปโตรเลี าซปโตรเลี โตรเลยมเหลวที่บริษัทฯ จะตอง สํารองไว ารองไว ้นต่ําจํานวน 2,750 ลานบาท (2552: 2,604 ลานบาท) ารองไวขั งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเป กเป าใช กเปนค าใช าย าใชจ และไดรวมในบั และได รวมในบญชีตนทุนขาย รวมในบั - ตนทุนขาย - กลับรายการการปรั ับรายการการปรั บรายการการปรบลดมู ลคา สุทธิ

8

264,818 264,818

218,273 (5,173) 213,100

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

264,818 264,818

218,273 (5,173) 213,100

ลูกหนี้กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง เงินชดเชยภายใต นชดเชยภายใต นชดเชยภายใตแผนการควบคุ มราคา

งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

จากการจําหนายแกสโซฮอล สโซฮอล และไบโอดี สโซฮอล และไบโอดเซล จากการจําหนายกาซป าซปโตรเลี าซปโตรเลี โตรเลยมเหลว

44 44

(ลานบาท) านบาท 32 1 33

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 44 44

32 1 33

ภายใตแผนการควบคุมราคาของกระทรวงพลังงาน ซึ่งกําหนดให ภายใต าหนดให ษัทฯ จะตองขายกาซป าหนดใหบริ าซปโตรเลี าซปโตรเลี โตรเลยมเหลวดวยราคาควบคุม (“ราคาที่ควบคุมโดย รัฐบาล”) ซึ่งกําหนดโดยกระทรวงพลั าหนดโดยกระทรวงพลั าหนดโดยกระทรวงพลงงาน และกระทรวงพลังงานจะจายเงินชดเชยสําหรับสวนตางระหวางราคาขายสงซึ่งกําหนดโดยกระทรวง พลังงานเชนเดียวกันกับราคาควบคุมโดยรั มโดยรั​ัฐบาลให มโดยรฐบาลให ฐบาลให บบริษัทฯ ในทางกลั ฐบาลใหกั ในทางกลบกันถาราคาขายสงที่กําหนดโดยรั าหนดโดยรั าหนดโดยรฐบาลต่ ํากวาราคาที่ควบคุมโดยรั มโดยรั มโดยรฐบาล บริษัทฯ จะตองจายเงินสวนตางดังกลาวให าวให บกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง าวใหกั

9

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น หมายเหตุ คาเบียประกั ้ยประกั ายลวงหนา บริษัท ยประกนจ ทิพยประกั พยประกั ย จํากัด (มหาชน) พยประกนภั ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กรมสรรพากร คาใช าใช ายจายลวงหนา าใชจ อื่นๆ รวม

164

4

งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

124 18 13 138 28 321

140 31 196 49 28 444

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 124 18 13 138 28 321

140 31 196 49 28 444


10

เงินลงทุนในกิจการรวมคา บริษัทฯ เคยรวมลงทุนในกิจการรวมคาระหวางบริษัทในสวนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ํามันกับ บริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จํากัด “SPRC” บริหารโดย บริษัท อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จํากัด “ARC” ซึ่งประกอบกิจการในประเทศไทยตามสัญญายกเลิกสัญญาการดําเนินงานรวมกับ SPRC ที่มีผลบังคับตั้งแต วันที่ 1 กุมภาพันธ 2552 มีผลใหดําเนินการยกเลิกกิจการ ARC โดยเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2552 ARC ไดจดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย และไดชําระบัญชีเสร็จสิ้นในระหวางป 2553 บริษัทฯ จึงไดโอนเงินลงทุนดังกลาวไปยังบัญชีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และหยุด การจัดทํางบการเงินรวมสําหรับงวดสิ้นสุด 31 มีนาคม 2553 เปนตนไป ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการรวมคาโดยแสดงตามสัดสวนที่บริษัทฯ ไดนําไปจัดทํางบการเงินรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 สัดสวน ความเปน เจาของ

ป 2552 บริษัท อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จํากัด

11

สินทรัพย หมุนเวียน

(รอยละ) 49.99

หนี้สิน หมุนเว เวียน

รายได รวม

กําไรสุทธิ

(ลลานบาท) นบาท 10

5

-

-

เงินลงทุนในบริษัทรวม งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท ณ วันที่ 1 มกราคม สวนแบงกําไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

3,351

3,122

3,797

3,469

868 110 4,329

(99) 328 3,351

- 110 3,907

328 3,797

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

165


166 30 20 20

30 20 20

บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด รวม

บริษัทรวม

บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด รวม

บริษัทรวม

(รรอยละ) ยละ

สัดสวนความเปน เจาของ 2553 2552

150 14,994

7,985 6,859

30 20 20

(รรอยละ) ยละ 30 20 20

สัดสวนความเปนเจาของ 2553 2552

150 15,360

8,351 6,859

ทุนชําระแลว 2553 2552

เงินลงทุนในบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้

30 3,797

2,395 1,372

8,351 6,859 150 15,360

7,985 6,859 150 14,994

ทุนชําระแลว 2553 2552

30 3,907

2,505 1,372

วิธีราคาทุน 2553 2552

40 3,351

2,068 1,243

2,505 1,372 30 3,907

2,395 1,372 30 3,797

(ลลานบาท) นบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน 2553 2552

40 4,329

2,979 1,310

(ลลานบาท) นบาท

วิธีสวนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย

-

การดอยคา 2553 2552

-

-

การดอยคา 2553 2552

-

-

-

40 3,351

2,068 1,243

2,505 1,372 30 3,907

2,395 1,372 30 3,797

วิธีราคาทุน - สุทธิ 2553 2552

40 4,329

2,979 1,310

วิธีสวนไดเสีย - สุทธิ 2553 2552


ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวมซึ่งบริษัทฯ บันทึกเงินลงทุนในบริษัทดังกลาวตามวิธีสวนไดเสีย แตไมไดปรับปรุงใหแสดงขอมูลตามสัดสวนที่ ถือ หุนโดยบริษัทฯ สัดสวน ความเปน เจาของ

สินทรัพย รวม

(รอยละ)

หนี้สิน รวม

รายได รวม

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

(ลลานบาท) นบาท

ป 2553 บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชนั่ ส จํากัด รวม

30 20 20

20,046 23,593 1,322 44,961

10,115 17,046 1,124 28,285

13,420 8,845 1,181 23,446

2,674 331 (48) 2,957

30 20 20

19,039 20,995 882 40,916

12,147 14,778 682 27,607

7,297 6,149 854 14,300

(323) 22 (32) (333)

ป 2552 บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชนั่ ส จํากัด รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ ไดรวมโครงการกับบริษัทรวม 3 โครงการ ซึ่งประกอบดวย ก)

โครงการผลิตสารฟนอลโดยใชผลิตภัณฑของบริษัทฯ เปนวัตถุดิบ

ข)

โครงการระบบสาธารณูปโภคสวนกลางซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเพื่อผลิตและจําหนายกระแสไฟฟาและไอน้ําใหกับบริษัทฯ ผูถือหุนรายอื่นและ บริษัทอื่นๆ ในทําเลใกลเคียง

ค)

โครงการ ICT ซึ่งใหบริการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแกบริษัทฯ ผูถือหุนรายอื่นและกิจการที่เกี่ยวของกัน

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

167


168

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ราคาทุน

12

1,200 182 36 1,418 4 35 1,457

ที่ดินและ สวนปรั วนปรั​ับปรุง วนปรบปร

2,566 1,816 4,382 1 (24) 4,359

73,287 681 47,910 (365) 121,513 852 1,080 (23) 123,422

1,071 10 183 (85) 1,179 11 22 1,212

(ลานบาท) 85 85 2 (3) 84

49,203 4,054 (49,945) 3,312 4,360 (1,113) 6,559

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ยและงบการเงินเฉพาะกิจการ วนไดเสี เครื่องตกแตง อาคารและ โรงงาน ติดตั้ง และ สินทรัพย สวนปรั วนปรั​ับปรุง วนปรบปร เครื่องจักรและ อุปกรณ ปกรณ ปกรณ ระหวาง สํานักงานที่เชา อุปกรณ ปกรณ ปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ กอสราง

127,412 4,927 (450) 131,889 5,230 (26) 137,093

รวม


รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

169

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

มูลคาสุทธิทางบัญชี

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 คาเสื่อมสําหรับป ับป บป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 คาเสื่อมสําหรับป ับป บป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

คาเสื่อมราคา

1,197 1,413 1,447

3 2 5 5 10

ที่ดินและ สวนปรั วนปรั​ับปรุง วนปรบปร

1,820 3,487 3,316

746 149 895 148 1,043

44,179 87,674 84,665

29,108 4,782 (51) 33,839 4,918 38,757

(ลานบาท)

317 377 310

754 107 (59) 802 100 902

3 2 3

82 1 83 1 (3) 81

-

-

49,203 3,312 6,559

งบการเงินที นท่แสดงเงินลงทุนตามวิ นตามวธีสวนได วนได ยและงบการเงิ วนไดเสี ยและงบการเงนเฉพาะกิ นเฉพาะกจการ เครื่องตกแตง อาคารและ โรงงาน ติดตั้ง และ สินทรัพย สวนปรั วนปรั​ับปรุง วนปรบปร เครื่องจักรและ อุปกรณ ปกรณ ปกรณ ระหวาง สํานักงานที่เชา อุปกรณ ปกรณ ปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ กอสราง

96,719 96,265 96,300

30,693 5,041 (110) 35,624 5,172 (3) 40,793

รวม


คาเสื่อมราคาสําหรับป ับป ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แสดงรวมไว บปสิ แสดงรวมไวใน ใน งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552 ตนทุนขาย คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร รวม

(ลานบาท) านบา

5,103 69 5,172

4,967 74 5,041

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 5,103 69 5,172

4,967 74 5,041

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ วนหนึงได ปกรณส ่งได าไปจดจํ งไดนํ าไปจดจํ าไปจดจานองหรื อค้าประกั ําประกั ้สินของบริษัท (ดูหมายเหตุ 16) าประกนหนี

สินทรัพยระหวางกอสราง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทอยูในระหว ในระหว ในระหวางการดํ าเนินงานกอสรางโครงการ Deep Hydrodesulfurization (DHDS) โดยโครงการมี โดยโครงการมมูลคา ประมาณการเปนจํานวนเงิน 7,535 ลานบาท ตนทุนที่เกิดขึ้นจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวนเงินประมาณ 5,092 ลานบาท ประมาณการเป ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของกับการกอสรางสินทรัพยได ได นทึกเป ไดบั กเป วนหนึ่งของตนทุนสินทรัพยจํานวน 71 ลานบาท (2552: 77 ลานบาท กเปนส านบาท) มีอัตรา ดอกเบี้ยที่รับรูรอยละ 2.33 (2552: รอยละ 3.30-3.40) (ดูหมายเหตุ 28) ราคาทรัพยสินของบริษัทกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ ปกรณ ซึ่งได ปกรณ งได ดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลวแตยังคงใช งไดคิ งคงใช งคงใชงานจนถึ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวน 5,105 ลานบาท (2552: 4,579 ลานบาท)

13

สินทรัพยไมมี ไมม ตัวตน งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี และงบการเงินเฉพาะกิ นเฉพาะกจการ คาลิขสิทธิ คาธรรมเนียมใน เทคโนโลยี ตนทุนการ การจัดหาเงินกู กระบวนการผลิต กระบวนการผล พัฒนาระบบ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี คอมพิวเตอร

ราคาทุน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

คาตัดจําหนาย

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 คาตัดจําหนายสําหรับป ับป บป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 คาตัดจําหนายสําหรับป ับป บป จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

170

(ลานบาทท)

รวม

142 -

614 -

342 103 (6)

1,098 103 (6)

142 115 257

614 614

439 15 (3) 451

1,195 130 (3) 1,322

100 9 -

130 29 -

151 41 (6)

381 79 (6)

109 16 125

159 28 187

186 40 (3) 223

454 84 (3) 535


งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ คาลิขสิทธิ์ คาธรรมเนียมใน เทคโนโลยี ตนทุนการ การจัดหาเงินกู กระบวนการผลิต พัฒนาระบบ รอตัดบัญชี รอตัดบัญชี คอมพิวเตอร

มูลคาสุทธิทางบัญชี

ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

14

(ลลานบาท) นบาท)

รวม

42

484

191

717

33 132

455 427

253 228

741 787

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สนิ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนํามาหักกลบกันตามความเหมาะสม ไดแสดงในงบดุลโดยมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

1,758 (1,598) 160

(ลลานบาท) นบาท

3,354 (1,574) 1,780

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 1,758 (1,598) 160

3,354 (1,574) 1,780

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเปน(รายจาย) / รายไดใน ณ วันที่ 1 งบกําไรขาดทุน ณ วันที่ 31 มกราคม 2553 (หมายเหตุขอ 29) ธันวาคม 2553

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สินคาคงเหลือ (คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง) สินทรัพยอื่น (ทั่วไป) ยอดขาดทุนยกไป รวม

(ลานบาท)

88 15 3,251 3,354

12 (1) (1,607) (1,596)

100 14 1,644 1,758

รวม

(1,574) (1,574)

2 (26) (24)

(1,572) (26) (1,598)

สุทธิ

1,780

(1,620)

160

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (คาเสื่อมราคา) สินทรัพยอื่น (ทั่วไป)

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

171


งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี และงบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป กเป กเปน(รายจ าย)) / รายไดใน รายได ใน ณ วันที่ 1 งบกําไรขาดทุน ณ วันที่ 31 มกราคม 2552 (หมายเหตุขอ 29) ธันวาคม 2552

(ลานบาท) สินทรัพยภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชี สินคาคงเหลือ (คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง) สินทรัพยอื่น (ทั​ัว่ ไป)

63 15 6,859 6,937

25 (3,608) (3,583)

88 15 3,251 3,354

รวม

(1,505) (248) (1,753)

(69) 248 179

(1,574) (1,574)

สุทธิ

5,184

(3,404)

1,780

ยอดขาดทุนยกไป รวม

หนี้สินภาษีเงินได นได นไดรอการตั ดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ (คาเสื่อมราคา) ปกรณ สินคาคงเหลือ (คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง)

15

สินทรัพยไมหมุ ไมม นเวียนอื่น งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท เงินจายลวงหนาเพื่อซือ้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ อื่นๆ รวม

172

299 22 321

455 32 487

299 22 321

455 30 485


16

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หมายเหตุ

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท

สวนที่หมุนเวียน

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน ตั๋วแลกเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน หุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูดอ ยสิทธิจากกิจการอื่น สวนที่ไมมีหลักประกัน (รวมดอกเบีย้ คางจายจํานวน 529 ลานบาทในป 2552)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

1,856

8,383

1,856

8,383

1,856

5,193 13,576

1,856

5,193 13,576

-

308

-

308

7,160

2,028

7,160

2,028

9,016

2,144 18,056

9,016

2,144 18,056

22,844

26,349

22,844

26,349

22,294

25,050

22,294

25,050

6,928 52,066 61,082

6,703 58,102 76,158

6,928 52,066 61,082

6,703 58,102 76,158

สวนที่ไมหมุนเวียน

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน หุนกู สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูดอ ยสิทธิจากผูถือหุน สวนที่ไมมีหลักประกัน (รวมดอกเบี้ย คางจายจํานวน 1,878 ลานบาท ในป 2553 และ 1,653 ลานบาท ในป 2552) รวม

4

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ไดดังนี้ งบการเงินทีแสดงเงิ ่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552 ครบกําหนดภายในหนึ่งป ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป ครบกําหนดหลังจากหาป รวม

9,016 40,628 11,438 61,082

(ลลานบาท) นบาท

18,056 51,177 6,925 76,158

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 9,016 40,628 11,438 61,082

18,056 51,177 6,925 76,158

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

173


หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสวนที่มีหลักประกั กประกั ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกั กประกน กประกั งเป กประกนซึ ่งเป นทรัพย ดังนี้ งเปนสิ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

-

อาคารและสวนปรั วนปรับั ปรุง วนปรบปร โรงงาน เครือ่ งจักรและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

327 10,718 11,045

-

327 10,718 11,045

ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได ไดดังนี้ งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท 45,911 15,171 61,082

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ รวม

56,892 19,266 76,158

45,911 15,171 61,082

56,892 19,266 76,158

เงินกูร ะยะยาวของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท

1,818 6,059 9,897 17,774

2,732 6,485 4,960 5,700 19,877

1,818 6,059 9,897 17,774

2,732 6,485 4,960 5,700 19,877

12,230 30,004

8,500 28,377

12,230 30,004

8,500 28,377

กําหนดชําระภายในหนึ าระภายในหนงป าระภายในหน่ งป งป

(7,160) 22,844

(2,028) 26,349

(7,160) 22,844

(2,028) 26,349

หุนกูมีหลักประกั กประกั กประกน หุนกูไม ไม อยสิทธิและไม ไมด และไม หลักประกั และไมมี กประกั กประกน

22,294 22,294 22,294

308 25,050 25,358 (308) 25,050

22,294 22,294 22,294

308 25,050 25,358 (308) 25,050

Tranche C Tranche F และ G กลุมสถาบันการเงินในประเทศ

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในประเทศ หัก เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึง

หุนกู

หัก หุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ าระภายในหนึงป าระภายในหน่ งป งป

174


งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553

เงินกูดอยสิทธิจาก ผูถือหุน กิจการอื่น

หัก เงินกูด อยสิทธิที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ าระภายในหนงป าระภายในหน่ งป งป รวม

(ลานบาท)

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2552

6,928 6,928 6,928

6,703 2,144 8,847 (2,144) 6,703

6,928 6,928 6,928

6,703 2,144 8,847 (2,144) 6,703

52,066

58,102

52,066

58,102

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาหลายฉบับสําหรับวงเงินกูระยะสั​ั้นแบบไม นแบบไม หลักประกั นแบบไมมี กประกั บสถาบันการเงินหลายแหงและกับกลุมสถาบัน กประกนกั การเงิน (“ผูรวมให วมให ”) เป วมใหกู เปนเงินรวม 15,400 ลานบาท วงเงินกูระยะสั้นเหลานี้มีอัตราดอกเบี้ยที่แตกตางกันตามที่ระบุไว ไวในแต ไวในแต ในแต ญญา ทั้งนี้บริษัทฯ ในแตละสั มีวงเงินกูระยะสั้นคงเหลือที่ยังไม งไมได งไมได ไดเบิกใช กใช ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป กใช เปนเงิน 13,544 ลานบาท

ตั๋วแลกเงินระยะสั้น เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได ไดมีมติให ให ษัทฯ ออกตั๋วแลกเงินแบบหมุนเวียนในวงเงิ ใหบริ ยนในวงเง 10,000 ลานบาท ระยะเวลา ยนในวงเงน ไมเกิน 270 วัน ตอมาเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได ไม ไดมีมติให ให ษัทฯ ขยายวงเงินการออกตั๋วแลกเงินเพิ่มขึ้น ใหบริ จากวงเงินเดิม 10,000 ลานบาท เป เปน 20,000 ลานบาท โดยจะทยอยขายและเสนอขายให โดยจะทยอยขายและเสนอขายใหกับนักลงทุนตามความจําเป าเป าเปนและเหมาะสม การออกตั๋ว แลกเงินนีได ้ได บอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ไดรั

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

175


176

เหรียญสหรัฐฯ

เหรียญสหรัฐฯ

บาท

บาท

A

B

C

D

4,800

6,200

200

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํ นฝากประจํ 6 เดือน ถัวเฉลี่ย นฝากประจา ของผูรวมให วมให บวก margin วมใหกู

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํ นฝากประจํ 6 เดือน ถัวเฉลี่ย นฝากประจา ของผูรวมให วมให บวก margin ซึ่งเทากับอัตรา วมใหกู ดอกเบี้ยรอยละ 3.30 – 3.54 ตอป อป อป

อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวก margin ซึ่งเทากับ อัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.66 – 0.79 ตอป อป อป

อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวก margin ซึ่งเทากับ อัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.72 – 0.84 ตอป อป อป

(รอยละตอป อป อป)

(ลานบาท) 100

อัตราดอกเบี้ย

วงเงิน

26 ธันวาคม 2555

26 ธันวาคม 2555

20 มกราคม 2554

20 มกราคม 2556

วันสิ้นสุดสัญญา

สกุลเงิน

บาท

Tranche

G

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบ margin ซึ่งเทากับอัตรา ดอกเบี้ยรอยละ 4.61 – 4.75 ตอป อป อป

(รอยละตอป อป อป)

(ลานบาท) 7,000

อัตราดอกเบี้ย

วงเงิน

28 มีนาคม 2558

วันสิ้นสุดสัญญา

ไมมี ไม

หลักประกั ักประกั กประกน

11 งวดและทยอยชําระคืนทุก 6 เดือน โดยชํ โดยชาระคืน เงินกูงวดแรกเดือนที่ 36 นับจากวันลงนามสัญญาเงินกู (28 มีนาคม 2550)

ระยะเวลาชําระคืน

กําหนดชําระคืนเงินกูทั้งจํานวนเมื่อสิ้นป นป ่เจ็ดนับจาก นปที วันเบิกเงินกูครั้งแรก (26 ธันวาคม 2548)

12 งวดและทยอยชําระคืนทุก 6 เดือน โดยชํ โดยชาระคืนเงินกู งวดแรกเดือนที่ 18 นับจากวันเบิกเงินกูงวดแรก (26 ธันวาคม 2548)

ไมมี ไม

ไมมี ไม

สิ้ นป น ป ่ ห า นั บ จากวั น เบิ ก เงิ น กู ค รั้ ง แรก (20 มกราคม นปที 2549)

12 งวดและทยอยชําระคืนทุก 6 เดือน โดยชํ โดยชาระคืน เงินกูงวดแรกเดือนที่ 18 นับจากวันเบิกเงินกูงวดแรก (20 มกราคม 2549)

ระยะเวลาชําระคืน

ไมมี ไม

ไมมี ไม

หลักประกั ักประกั กประกน

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2550 บริษัทฯ ได ไดทําสัญญาเงินกูระยะยาวแบบมีระยะเวลาจากกลุมสถาบันการเงิน (“ผูรวมให วมให ”) เงินกูดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ วมใหกู

สกุลเงิน

Tranche

เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2548 บริษัทฯ ได ไดทําสัญญาเงินกูระยะยาวรวมแบบมีระยะเวลากับกลุมสถาบันการเงิน (“ผูรวมให วมให ”) เงินกูดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ วมใหกู

เงินกูยืมระยะยาวรวมกับกลุมสถาบันการเงิน

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน


รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

177

บาท

กลุมสถาบันการเงิน ในประเทศ

วันสิ้นสุดสัญญา

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํ นฝากประจํ 6 เดือน ถัวเฉลี่ย 30 กันยายน 2563 นฝากประจา ของผูรวมให วมให บวก margin ซึ่งเทากับอัตรา วมใหกู ดอกเบี้ยรอยละ 3.41 – 3.46 ตอป อป อป

(รอยละตอป อป อป)

(ลานบาท) 9,897

อัตราดอกเบี้ย

วงเงิน

ไมมี ไม

หลักประกั ักประกั กประกน

20 งวดและทยอยชําระคืนทุก 6 เดือน โดยชํ โดยชาระคืน เงินกูงวดแรกในวั งวดแรกในวั ่ 31 มีนาคม 2554 งวดแรกในวนที

ระยะเวลาชําระคืน

กลุมสถาบัน การเงิน ตางประเทศ

Tranche

เหรียญสหรัฐฯ

สกุลเงิน

200

(ลานบาท)

วงเงิน

อัตราดอกเบี้ย LIBOR บวก margin

(รอยละตอป อป อป)

อัตราดอกเบี้ย

13 กันยายน 2558

วันสิ้นสุดสัญญา

ไมมี ไม

หลักประกั ักประกั กประกน

ระยะเวลาชําระคืน

สินป ้นป ่หานับจากวันเบิกเงินกูครั้งแรก นปที

เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2553 บริษัทฯ ได ไดทําสัญญาเงินกูระยะยาวรวมแบบมีระยะเวลากับกลุมสถาบันการเงิน (“ผูรวมให วมให ”) เงินกูดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ วมใหกู

ภายใตสัญญาเงินกูดังกลาว บริษัทฯ ปรั ภายใต ปรบเปล ับเปลี บเปลียนเงื่อนไขสั บเปล่ อนไขสั อนไขสญญาเรื ่องอัตราดอกเบี้ยอางอิง รวมถึงขยายระยะเวลาสัญญาเงินกู การเปลี การเปล่ยนแปลงผ ยนแปลงผูให ยนแปลงผให ให รายหนึ่งของกลุมสถาบันการเงิน การเพิ่มวงเงินกู ใหกู ระยะยาวแบบมีระยะเวลาและแบบหมุนเวียนในลั ยนในลั ยนในลกษณะ Revolving basis จากวงเงินที่ดําเนินการชําระคืนเงินกูตามกําหนดในระหว าหนดในระหวางป าหนดในระหวางป างป 2554 ถึงป งป 2559 คิดเป งป ดเป านวนเงินรวม 3,959 ลานบาท ทั้งนี้ ดเปนจํ บริษัทฯ ตองปฏิ องปฏิ ติตามเงือนไขบางประการเกี องปฏบั ่อนไขบางประการเกียวกับการรักษาอัตราสวนทางการเงินตางๆ การดํารงสัดสวนการถือหุนใหญ อนไขบางประการเก่ นใหญ นใหญตามที ่ระบุไว ไวในสั ไวในส ในสั ในสญญา

สกุลเงิน

Tranche

อยางไรก็ างไรก็ างไรกตามเมื ่อวันที่ 22 กันยายน 2553 ได ไดมีการปรั การปรั อนไขของวงเงิ การปรบเงื ่อนไขของวงเง  Tranche C และ G ให อนไขของวงเงนกู ใหเป เปนไปตามวงเงิ เป นไปตามวงเงนกูระยะยาวแบบมีระยะเวลาและแบบหมุนเวียนในลั นไปตามวงเงิ ยนในลั ยนในลกษณะ Revolving basis รวมกับ กลุมสถาบันการเงินภายในประเทศ เงินกูดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้


เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาหลายฉบับสําหรับวงเงินกูระยะยาวแบบมีระยะเวลาและแบบหมุนเวียนกับสถาบันการเงินหลายแหงเป งเป งเปน เงินรวม 35,930 ลานบาท เพือใช ่อใช าหรั​ับโครงการการลงทุนขยายงานและเพิ่มประสิ อใชสํ มประสิ ภาพการผลิตรวมของธุรกิจโรงกลั มประสทธิ จโรงกลั​ันและอะโรเมติ จโรงกล่ นและอะโรเมติ และ/หรือ นและอะโรเมตกส ใชชําระคืนเงินกูเและ/หรือใช ใช อใช าระคืนหุนกูและ/หรือใช อใชชํ อใชในการดํ อใช อใชในการด ในการดํ นงานทั​ั่วไป สัญญาเงินกูระยะยาวเหลานี้มีอายุระหวาง 3 ปป ถึง 10 ปป โดยมี ในการดาเนิ โดยมอัตรา ดอกเบี้ยที่แตกตางกันตามที่ระบุไว ไวในแต ไวในแต ในแต ญญา ทั้งนี้วงเงินกูที่มีการเบิกใช ในแตละสั กใช ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป กใชแล เปนเงิน 12,230 ลานบาท มีอัตรา ดอกเบี้ยระหวางรอยละ 1.86 ถึง 4.50 ตอป อป เงินกูเหลานี้มีกําหนดชําระคืนเป อป นเปนงวดในจํ นเปนงวดในจํ นงวดในจานวนและเวลาแตกตางกันตามที่ระบุไว ไวในแต ไวในแต ในแต ญญา ในแตละสั ภายใตสัญญาดังกลาว บริษัทฯ ตองปฏิ ภายใต องปฏิ ติตามเงื่อนไขบางประการเกี องปฏบั อนไขบางประการเกียวกับการรักษาอัตราสวนทางการเงินตางๆ การดํารงสัดสวนการถือหุนของ อนไขบางประการเก่ ผูถือหุนใหญ นใหญ นใหญและเงื ่อนไขอืนตามที่ระบุไว อนไขอ่ อนไขอื ไวในสั ไวในส ในสั ในสญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีวงเงินกูระยะยาวคงเหลือที่ยงไม ังไมได งไมได  กใช ไดเบิ กใชเป กใชเป เปนจํานวน 23,700 ลานบาท

หุนกู หุนกูมีหลักประกั กประกั กประกน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2546 บริษัทฯ ได ไดออกจําหนายหุนกูมีหลักประกั กประกั ดทยอยชําระคืนเงินตนให กประกนชนิ นให ผูลงทุนประเภทสถาบั นใหแก นประเภทสถาบั ่อจายชําระคืนเงิน นประเภทสถาบนเพื ตนและดอกเบี้ยคางจายทั​ั้งหมดภายใต งหมดภายใต ญญาเงินกูยืมและวงเงินสินเชื่ออื่นและเงินกูยมภายใต งหมดภายใตสั ืมภายใต ญญาวงเงินเครดิตกอนระยะเวลาที่กําหนดในสั มภายใตสั าหนดในสั าหนดในสญญา โดยหุ มีกําหนดชําระคืนเงินตน (เป โดยหนกู โดยห เปนงวด งวดละเทาๆ กัน) และดอกเบี้ยป เป ยป ยปละสองครั ้ง ในวั ในวนที่ 24 มิถุนายนและวันที่ 24 ธันวาคมของทุกป กป กปตลอด อายุของหุนกูแตละชุด ดอกเบี้ยงวดแรกเริ่มชําระในวั าระในวั ่ 24 ธันวาคม 2546 และเงินตนงวดแรกเริ่มชําระในวั าระในวนที าระในวั ่ 24 มิถุนายน 2547 โดยห าระในวนที โดยหุ ชุดที่ 1 โดยหนกู มีอายุ 5 ปป ซึ่งครบกําหนดไถ าหนดไถถอนในวั าหนดไถถอนในวั ถอนในวนที่ 24 มิถุนายน 2551 มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.15 ตอป อป จํานวน 8,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไว อป ตราไว วยละ ตราไวหน เปนเงินรวม 8,000 ลานบาท และหุนกูชุดที่ 2 มีอายุ 7 ปป ซึ่งจะครบกําหนดไถ าหนดไถถอนในวั าหนดไถถอนในวั ถอนในวนที่ 24 มิถุนายน 2553 มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1,000 บาท เป 3.40 ตอป อป จํานวน 4,000,000 หนวย มูลคาทีตราไว อป ่ตราไว วยละ 1,000 บาท เป ตราไวหน เปนเงินรวม 4,000 ลานบาท ในหนั ในหนงสือขอสนเทศของหุนกูได ได าหนดเงื่อนไข ไดกํ บางประการเก่ยวกับการจําหนายจายโอนสิ บางประการเกี ายโอนส พย การรักษาอัตราสวนทางการเงิน และอัตราการถือหุนของผูถือหุนใหญ ายโอนสนทรั นใหญ เป นใหญ เปนตน เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2552 ที่ประชุมผูถือหุนกูได ได มติเห็นชอบให ไดมี นชอบให ไขเพ่ นชอบใหแก ไขเพิ ขเพมเติมขอกําหนดสิทธิของหุนกู โดยให โดยใหเปลี เปล่ยนแปลงการดํ เปลี ยนแปลงการดํ ตราสวนทาง ยนแปลงการดารงอั การเงินเพื่อให อให อใหสอดคล องกับลักษณะธุรกิจของบริษัทฯ หลังการควบรวม และเปลี และเปล่ยนแปลงอั ยนแปลงอั ยนแปลงอตราดอกเบี ้ยจากเดิมที่รอยละ 3.4 ตอป อป เป อป เปนรอยละ 4.0 ตอป อป ทั้งนีให อป ้ให ผลตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2551 เป ใหมี เปนตนไป หุนกูดังกลาวขางตนค้ําประกั าประกั​ันโดยการจดจํ าประกนโดยการจดจ นโดยการจดจํ นโดยการจดจานองเครื ่องจักรที่ติดตั​ั้งในโรงงาน อาคารโรงงานและการโอนส อาคารโรงงานและการโอนสทธิในสั อาคารโรงงานและการโอนสิ ในสั ในสญญาเช าที่ดินที่ทํากับการนิคม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย อยางไรก็ างไรก็ างไรกตาม เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ได ไดชําระคืนหุนกูดังกลาวงวดสุดทาย และได และไดดําเนินการปลด หลักประกั กประกั กประกนของหุ นกูเป เป ่เรียบรอยแลว เปนที

หุนกูไม ไม อยสิทธิและไม ไมด และไม หลักประกั และไมมี กประกั กประกน หุนกูสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2548 บริษัทฯ ได ไดออกและเสนอขายหุนกูไม ไม อยสิทธิและไม ไมด และไม หลักประกั และไมมี กประกั กประกนอายุ 7 ปป จํานวนเงิน 300 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมี โดยม อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.5 ตอป อป หุนกูดังกลาวออกจําหนายในราคาร อป ายในราคาร ายในราคารอยละ 99.845 ของราคาของหุนกูและมีกําหนดไถ าหนดไถถอนในวั าหนดไถถอนในวั ถอนในวนที่ 20 กรกฎาคม 2555 ดอกเบี้ยของหุนกูนี้มีกําหนดการจายชําระคืนทุกงวด 6 เดือน เริ่มจายดอกเบี้ยครังแรกในวั ัง้ แรกในวั ่ 20 มกราคม 2549 โดยในหนั งแรกในวนที โดยในหนงสือชี้ชวนของหุนกูได ได าหนด ไดกํ เงื่อนไขบางประการเกี อนไขบางประการเกียวกั​ับการไม อนไขบางประการเก่ บการไม าสินทรัพยหรือรายได บการไมนํ อรายได อรายไดของบริ ษัทฯ และบริษัทยอยที่สําคัญไปก ญไปกอให ญไปกอให อใหเกิดภาระผูกพั​ันโดยใช นโดยใชเป นโดยใชเป เปนหลักประกั กประกั อั​ันจะเป กประกน นจะเป นจะเปน ประโยชนตอผูถือหุนกูหรือนักลงทุนตางประเทศรายอื ประโยชน างประเทศรายอืนใด และการรักษาสัดสวนของเงินกูจากผูถือหุน เงินสดสุทธิที่ได างประเทศรายอ่ ได ไดจากการออกหุ นกู จะใช จะใชสําหรับจาย คากอสรางโรงงานอะโรเมติ างโรงงานอะโรเมต หนวยที่ 2 ตามที่ผูถือหุนได างโรงงานอะโรเมตกส นได นไดเคยอนุ มัติ โดยในระหว โดยในระหวางป างป 2553 บริษัทฯ ได างป ไดทยอยซื้อหุนกูดังกลาวรวมจํานวน 59.15 ลาน เหรียญสหรัฐฯ

หุนกูสกุลเงินบาท เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 บริษัทฯ ออกจําหนายหุนกูสกุลเงินบาทชนิดระบุชื่อผูถือ ประเภทไม ประเภทไมดอยสิทธิ ไม ไมมีหลักประกั กประกั และมีผูแทนผูถือหุนกูอายุ กประกน 5 ปป วงเงิน 15,000 ลานบาท โดยมี โดยมอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.5 ตอป อป เงินทีได อป ่ได บจากการออกหุนกูมีวัตถุประสงค ไดรั ประสงค ่อใช ประสงคเพื อใชในการชํ อใช อใชในการช ในการชํ นเงินกูเดิม (Reในการชาระคื finance) และ/หรือใช อใชเป อใชเป เปนเงินทุนหมุนเวียน โดยเง โดยเงนตนมีกําหนดชําระคืนทั้งจํานวนในวั โดยเงิ านวนในวั ่ 30 เมษายน 2557 (วันครบกําหนดไถ านวนในวนที าหนดไถ าหนดไถถอน) และจาย ดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน ในหนั ในหนงสือขอสนเทศของหุนกูได ได าหนดเงือนไขเกี ไดกํ ่อนไขเกียวกับการรักษาอัตราการถือหุนของผูถือหุนใหญ อนไขเก่ นใหญ นใหญ

178


เงินกูดอยสิทธิจากกิจการอื่น เงินกูนี้เดิมเป มเป นกูยืมดอยสิทธิสกุลเงินบาททีได มเปนเงิ ่ได บจากผูถือหุนหลักของบริษัทฯ ภายใต ไดรั ภายใตสัญญาสนับสนุนจากผูถือหุน อยางไรก็ างไรก็ ผูถือหุนบางสวนที่ างไรกตาม อยูภายใต ภายใต ญญาดังกลาวได ภายใตสั าวได นของบริษัทฯ ออกไป เงินกูยืมดังกลาวจะมีอัตราดอกเบี้ยตามที่บริษัทฯ และกิจการดังกลาวตกลงรวมกันตามสัญญา าวไดขายหุ สนับสนุนจากผูถือหุน โดยมี โดยมอัตราดอกเบี้ยอยูในอั ในอั เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 2 ตอป ในอตรา อป เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 บริษัทฯ และผูถือหุนเดิมใน อป สัญญาเงินกูจากผูถือหุนแตละรายได ละรายได ละรายไดตกลงที ่จะแกไขระยะเวลาและเงื ไขระยะเวลาและเงอนไขต ไขระยะเวลาและเง่ อื นไขต ของสัญญาเงินกูจากผูถือหุน ภายใต อนไขตางๆ ภายใตสัญญาที่แกไขนี ไขนี บริษัทฯ จะจาย ไขน้ คืนเงินตนและดอกเบี้ยคางจายก็ตอเมื่อบริษัทฯ สามารถปฏิ สามารถปฏบัติตามเงื่อนไขที อนไขทีระบุในสั อนไขท่ ในสั ในสญญาที ่แกไข โดยเฉพาะอย โดยเฉพาะอยางยิ่งการปฏิ งการปฏิ ติตามเงื่อนไขภายใต งการปฏบั อนไขภายใต อนไขภายใต ไขสั ไขสญญายั งรวมถึงการเปลี งการเปลียนแปลงรอบการชํ งการเปล่ ยนแปลงรอบการชํ นภายใน 30 ธันวาคม 2553 และเปลี ยนแปลงรอบการชาระเงิ และเปล่ยนอัตราดอกเบี้ยจาก สัญญาเงินกูตางๆ ในป ในปจจุบนั การแกไขสั ในป อัตรา เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 2 ตอป อป เป อป เปนอัตรา เอ็ม แอล อาร ลบรอยละ 1 ตอป อป โดยมี อป โดยมผลสําหรับงวดตั้งแต 30 มิถุนายน 2553 ถึง 30 ธันวาคม 2553 เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ได ไดชําระคืนเงินกูดอยสิทธิให ให บผูถือหุนเดิมบางราย คงเหลือผูถือหุนหลักเพียงรายเดียว ใหกั

17 เจาหนี้การคา งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี

หมายเหตุ

2553

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

(ลานบาท) านบาท กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม

4

23,662 213 23,875

13,113 179 13,292

23,662 213 23,875

13,113 179 13,292

ยอดเจาหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได นตราได งนี้ นตราไดดั งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท 14,062 9,813 23,875

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ รวม

18

8,628 4,664 13,292

14,062 9,813 23,875

8,628 4,664 13,292

เจาหนี้อื่น งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี หมายเหตุ 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบาท กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น ๆ รวม

4

211 665 876

294 641 935

211 665 876

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

294 641 935

179


ยอดเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ สกุลอื่น รวม

19

360 486 30 876

333 589 13 935

360 486 30 876

333 589 13 935

หนี้สินหมุนเวียนอื่น งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท โบนัสคางจาย เจาหนี้กรมสรรพากร: - ภาษีหัก ณ ที่จาย - ภาษีมูลคาเพิม่ เจาหนี้คาที่ปรึกษา คาใชจายคางจาย อื่นๆ รวม

20

232

198

232

198

54 2 85 296 669

46 173 1 119 85 622

54 2 85 296 669

46 173 1 119 85 622

ทุนเรือนหุน 2553 จํานวนหุน

จํานวนเงิน

10

2,994

29,938

2,994

29,938

10

2,994

29,938

2,994

29,938

10

2,964 3

29,637 34

2,964 -

29,636 1

10

2,967

29,671

2,964

29,637

มูลคาหุนตอหุน

ทุนจดทะเบียน

ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

2552

(บาท)

จํานวนหุน

(ลานหุน/ลานบาท) นบาท

จํานวนเงิน

ทุนที่ออกและชําระแลว

ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ออกหุนใหม ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

180


เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2550 บริษัทฯ ได ไดจัดสรรและเสนอใบสํ ดสรรและเสนอใบส ญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ในส ดสรรและเสนอใบสาคั ในสวนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ํามัน (“โครงการ ESOP Warrants”) จํานวน 58 ลานหุน แกพนักงาน โดยได โดยไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยมรายละเอียดโดยสั โดยมี ยดโดยสังเขปของใบสาคั ยดโดยสงเขปของใบส ังเขปของใบสํ เขปของใบส ญแสดงสิทธิดังนี้ ประเภทใบส ญแสดงสิทธิ ประเภทใบสาคั ประเภทใบสํ จํานวน อายุใบสํ ใบส ญแสดงสิทธิ ใบสาคั การเสนอขาย ราคาเสนอขาย ราคาใชสิทธิ ราคาใช สิทธิในการซื ในการซือหุนสามัญตอหนวย ในการซ้ ระยะเวลาเริมใช ่มใช ทธิ มใชสิ

: : : : : : :

ใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญชนิดระบุชื่อผูถอและเปลี ใบสํ ใบส ือและเปลียนมือไม อและเปล่ อไมได อไมได ไดในส ในส ในสวนเฉพาะธุ ในส รกิจการกลั่นน้ํามัน 58 ลานหนวย 5 ปป เสนอขายใหแกกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ในส เสนอขายให ในสวนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ํามัน 0 บาท ตอหนวย 12 บาท ตอหุน ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญได ใบสํ ใบส ญได 1 หุน ญได เมื่อครบ 1 ปป นับจากวันทีได ่ได บอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดรั

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2551 บริษัทฯ ได ไดรับการอนุมัติการเปลี การเปลียนแปลงราคาการใช การเปล่ ยนแปลงราคาการใช ทธิและอัตราการใช ยนแปลงราคาการใชสิ ตราการใช ทธิที่เกิดจากการปรั ตราการใชสิ ดจากการปรั ทธิโดยสํ ดจากการปรบสิ โดยส กงาน โดยสานั คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้ ราคาใชสิทธิ ราคาใช : 23.22 บาท ตอหุน อัตราการใช ตราการใช ทธิใหม ตราการใชสิ ใหม ใหม : 1 สิทธิเดิมตอ 0.5167553 หุนทีออกใหม ่ออกใหม ออกใหมของบริ ษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผูถือใบสํ อใบส ญแสดงสิทธิได อใบสาคั ไดใช ไดใช ใช ทธิซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ เป ใชสิ เปนจํานวน 6.5 ลานหนวย (2552: 0.2 ลานหนวย) และ มียอดคงเหลือของใบสํ อของใบส ญแสดงสิทธิที่ยงไม อของใบสาคั ังไมได งไมได  ใช ไดใช ใช ทธิเป ใชสิ เป านวน 51.3 ลานหนวย (2552: 57.8 ลานหนวย) เปนจํ

21

สวนเกินทุนและสํารอง สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ในกรณที่บริษัทฯ เสนอขายหุนสูงกวามูลคาหุนที่จดทะเบียนไว ยนไว ยนไว บริษัทฯ ตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตงเป ัง้ เป นสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้จะนําไปจ งเปนทุ าไปจายเป าไปจายเป ายเปนเงินป นปนผลไม นปนผลไม นผลไมได ได ได

สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทฯ จะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจํ ประจําป ประจาป าปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวนไม านวนไม อยกวารอยละ 10 ของ านวนไมน ทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจ าไปจายเป าไปจายเป ายเปนเงินป นปนผลไม นปนผลไม นผลไมได ได ได

22

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน บริษัทฯ ได ไดนําเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานธุรกิจ รูปแบบหลั ปแบบหลักในการรายงานส ปแบบหลกในการรายงานส กในการรายงานสวนงานธุรกิจพิจารณาจากระบบการบริหารการจัดการ และโครงสรางการรายงานทางการเงินภายในของบริ และโครงสร นภายในของบร ทฯ เป นภายในของบรษั เปนเกณฑในการกํ ในการกํ ในการกาหนดส วนงาน ผลได (เสี ย) สิ นทรัพ ยและหนี้ สินตามส ว นงาน รวมรายการที่ เกี่ ย วข องโดยตรงกั ผลได อ งโดยตรงกั ว นงาน หรือ ที่สามารถป องโดยตรงกบส สามารถป วนให สามารถปนส วนให บ สวนงานได วนใหกั ว นงานได า ง วนงานไดอย สมเหตุสมผล รายการทีไม ่ไมสามารถป ไมสามารถป สามารถปนสวนได วนได วนใหญ วนไดส วนใหญประกอบด วนใหญประกอบด ประกอบดวย ดอกเบี้ยหรือเงินป นป นปนผลทั ้งสวนของสินทรัพยและรายได และรายได เงินให และรายได นให ยืมที่มีดอกเบี้ย นใหกู เงินกูยืมและคาใช าใช าย และสินทรัพยและคาใช าใชจ าใช ายของกิจการโดยรวม าใชจ

สวนงานธุรกิจ บริษัทฯ เสนอสวนงานธุรกิจที่สําคัญดังนี้ สวนงาน 1 ธุรกิจป จปโตรเคมี จปโตรเคมี โตรเคม สวนงาน 2 ธุรกิจการกลั่นน้ํามัน

สวนงานทางภูมิศาสตร บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท จเฉพาะในประเทศเท ้น ดังนันฝ จเฉพาะในประเทศเทานั ัน้ ฝ หารจึงพิจารณาวา บริษัทฯ มีสวนงานทางภูมิศาสตรเพียงสวนงานเดียว นฝายบริ รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

181


182

รายไดจากการขายสินคา ดอกเบี้ยรับ กําไรจากการสิ้นสุดสัญญาแลกเปลี่ยนคาการกลั่น กอนกําหนด สวนตางจากสัญญาแลกเปลี่ยนคาการกลั่น และสวนตางราคาน้ํามันดิบสุทธิ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น รวมรายได

ขอมูลเกี่ยวกับผลได (เสีย) ตามสวนงานธุรกิจ

101,132 2 95 624 202 102,055

122,052 (5) 1,139 76 123,262

ธุรกิจปโตรเคมี 2553 2552

14 1,316 136 182,191

-

180,724 1

1,581 744 76 152,182

1,573

-

(29,009) -

(24,039)

-

(24,039) -

ตัดรายการระหวางกัน 2553 2552

(29,009)

(ลลานบาท) นบาท 148,206 2

ธุรกิจการกลั่นน้าํ มัน 2553 2552

9 2,455 212 276,444

-

273,767 1

2553

รวม

1,676 1,368 278 230,198

1,573

225,299 4

2552


รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

183

95

คาตอบแทนผูบริหาร

(437) 2,146

กําไรสํ าไรส บป าไรสาหรั ับป บป

(2,025)

4,608

868

ภาษีเงินได นได นได

ตนทุนทางการเงิน

กําไรก าไรก นทุนทางการเงินและภาษีเงินได าไรกอนต นได นได

(สุทธิจากภาษีเงินได นได นได)

สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริ นในบร ทรวม นในบรษั

119,522

594

คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร

รวมคาใช าใช าย าใชจ

327

118,506

2553

2,665

(620)

(1,839)

5,124

(99)

96,832

42

598

335

95,857

2552

ธุรกิจป จปโตรเคมี จปโตรเคมี โตรเคม

คาใช าใช ายในการขาย าใชจ

ตนทุนขายสินคา

ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ

4,206

(1,183)

(707)

6,096

-

176,095

45

699

39

175,312

2553

6,588

(2,824)

(1,053)

10,465

-

141,717

51

515

-

-

-

(29,000)

2553

(9)

-

-

(9)

-

(91)

40

-

(131)

-

(23,908)

-

-

-

(23,908)

2552

ตัดรายการระหวางกัน

(29,000)

(ลานบาท) านบาท 141,151

2552

ธุรกิจการกลั่นน้าํ มัน

6,343

(1,620)

(2,732)

10,695

868

266,617

140

1,293

366

264,818

2553

รวม

9,162

(3,404)

(2,892)

15,458

(99)

214,641

93

1,113

335

213,100

2552


184 7,798 53,096 19,136 80,030 55,646 55,646 3,002 82 1

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ปกรณ ปกรณ

สินทรัพยอื่นๆ

รวมสินทรัพย

หนี้สินอื่นๆ

รวมหนี้สิน

คาเสื่อมราคา

คาตัดจําหนาย

กําไร (ขาดทุน) จากการจําหนายที่ดนิ อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ

2553

-

214

2,935

53,800

53,800

80,625

19,310

55,316

5,999

2552

ธุรกิจป จปโตรเคมี จปโตรเคมี โตรเคม

สินคาคงเหลือ

ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจ

-

68

2,170

34,588

34,588

73,338

15,382

43,204

14,752

2553

(ลานบาท) านบาท

(11)

66

2,106

40,492

40,492

74,010

19,088

40,949

13,973

2552

ธุรกิจการกลั่นน้าํ มัน

-

-

-

-

-

(102)

-

-

(102)

2553

-

-

-

-

-

(26)

67

-

(93)

2552

ตัดรายการระหวางกัน

1

150

5,172

90,234

90,234

153,266

34,518

96,300

22,448

2553

รวม

(11)

280

5,041

94,292

94,292

154,609

38,465

96,265

19,879

2552


23

กําไรจากอั าไรจากอัตราแลกเปลี าไรจากอตราแลกเปลี ตราแลกเปล่ยนสุทธิ งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552 จากการซือ้ ขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ อื่นๆ รวม

24

766 1,689 2,455

(ลานบาท) านบา

793 575 1,368

คาเชาถังเก็บผลิตภัณฑ คาขนสง ภาษีศุลกากรและคาใช าใช ายในการนํ าใชจ ายในการนํ า ายในการนาเข คาตรวจสอบผลิตภัณฑ อื่นๆ รวม

272 49 14 4 27 366

(ลานบาท) านบา

291 32 4 3 5 335

793 575 1,368

งบการเงินเฉพาะกิ นเฉพาะกจการ 2553 2552 272 49 14 4 27 366

291 32 4 3 5 335

คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร งบการเงนทีแสดงเงิ งบการเงิ ่แสดงเงนลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552 คาใช าใช ายผลประโยชน าใชจ ายผลประโยชน ายผลประโยชนตอบแทนพนั กงาน คาเชา คาทีปรึ ่ปรึ ปรกษา อื่นๆ รวม

26

766 1,689 2,455

คาใช าใช ายในการขาย าใชจ งบการเงนทีแสดงเงิ งบการเงิ ่แสดงเงนลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

25

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

429 103 53 708 1,293

(ลานบาท) านบา

398 134 27 554 1,113

งบการเงินเฉพาะกิ นเฉพาะกจการ 2553 2552 429 103 53 708 1,293

398 134 27 554 1,113

คาใช าใช ายผลประโยชน าใชจ ายผลประโยชน ายผลประโยชนตอบแทนพนั กงาน งบการเงนทีแสดงเงิ งบการเงิ ่แสดงเงนลงทุน ตามวิธสี วนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

ผูบริหาร เงินเดือน อื่น ๆ

(ลานบาท) านบา

งบการเงินเฉพาะกิ นเฉพาะกจการ 2553 2552

97 77 174

88 63 151

97 77 174

88 63 151

เงินเดือน อื่น ๆ

915 607 1,522

898 569 1,467

915 607

898 569 1,467

รวม

1,696

1,618

1,696

1,618

พนักงานอื่น

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

185


คาตอบแทนผูบริหารรวมอยูในงบกํ ในงบกํ ในงบกาไรขาดทุ น ดังนี้ งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552 ตนทุนขาย คาตอบแทนผูบริหาร รวม

34 140 174

(ลานบาท) านบา

58 93 151

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 34 140 174

58 93 151

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัทฯ ได ไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของบริษัทฯ บนพื้นฐานความสมัครใจของพนั ครใจของพนักงานในการเป ครใจของพนกงานในการเป กงานในการเปนสมาชิกของกองทุน โดยพนั โดยพนกงาน ในสวนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ํามันจะจายเงินสะสมเขากองทุนในอั ในส นในอั อยละ 3 ถึงรอยละ 15 ของเงินเดือนพนักงานประจํ นในอตราร กงานประจํ อน ขึ้นอยูกับอายุการ กงานประจาเดื ทํางานของพนักงาน และบริษัทฯ จายสมทบในอั ายสมทบในอั ายสมทบในอตราที ่เทากับพนักงาน สําหรับพนักงานในส กงานในส กงานในสวนเฉพาะธุ รกิจป จปโตรเคมี จปโตรเคมี โตรเคมจะจายเงินสะสมเขากองทุนใน อัตรารอยละ 5 หรืออัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริษัทฯ จายสมทบในอั ายสมทบในอั อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุน ายสมทบในอตราร สํารองเลี้ยงชีพนีได ้ได ไดจดทะเบี ยนเป ยนเปนกองทุ ยนเป นสํารองเลี้ยงชีพตามขอกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผ นโดยผู ดการกองทุนทีได นโดยผจั ่ได บอนุญาต ไดรั

27 คาใช าใช ายตามลักษณะ าใชจ หมายเหตุ การเปล่ยนแปลงในสิ การเปลี ยนแปลงในส าสําเร็จรูปและ ยนแปลงในสนค งานระหวางทํา วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลื นเปลื ใช นเปลองที ่ใชไป ใช ใชไป คาใช าใช ายผลประโยชน าใชจ ายผลประโยชน ายผลประโยชนตอบแทนพนั กงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย อื่น ๆ รวมตนทุนขาย คาใช าใช ายในการขายและ าใชจ คาใช าใช ายในการบริ าใชจ ายในการบร ายในการบรหาร

28

7 7 26

งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 2552

(ลานบาท) านบา

963 239,535 1,696 5,308 19,115

443 191,937 1,618 5,172 15,471

963 239,535 1,696 5,308 19,115

443 191,937 1,618 5,172 15,471

266,617

214,641

266,617

214,641

ตนทุนทางการเงิน งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี หมายเหตุ 2553 2552 ตนทุนทางการเงินและคางจายกับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน - สถาบันการเงิน - กิจการอื่น สวนที่บันทึกเป กเป นทุนของสินทรัพย กเปนต ระหวางกอสราง สุทธิ

186

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท) านบา

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

4

225 2,507 71

287 2,617 65 2

225 2,507 71 2,803

287 2,617 65

12

(71) 2,732

(77) 2,892

(71) 2,732

(77) 2,892


29

ภาษีเงินได งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย หมายเหตุ 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

(ลลานบาท) นบาท ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของผลตางชัว่ คราว ขาดทุนทางภาษีทสี่ ามารถใชได รวม

14 13 1,607 1,620

(204) 3,608 3,404

13 1,607 1,620

(204) 3,608 3,404

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552 อัตราภาษี อัตราภาษี

(รอยละ) กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได การลดภาษีเงินได (รายไดที่ไมตอ งเสียภาษี) คาใชจายตองหามทางภาษี รายจายที่มีสิทธิหกั ไดเพิ่ม รวม

(ลานบาท)

(รอยละ)

7,963 2,389 (373) (260) (136) 1,620

30 (5) (3) (2) 20

(ลานบาท) 12,566 3,770 (252) 30 (144) 3,404

30 (2) (1) 27

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

อัตราภาษี

(รอยละ) กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได การลดภาษีเงินได รายจายที่มีสิทธิหกั ไดเพิ่ม รวม

30 (5) (2) 23

อัตราภาษี

(ลานบาท) 7,097 2,129 (373) (136) 1,620

(รอยละ) 30 (2) (1) 27

(ลานบาท) 12,665 3,800 (252) (144) 3,404

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

187


30

สิทธิประโยชน ประโยชน ประโยชนจากการส งเสริมการลงทุน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนอนุมัติให ให ษัทฯ ได ใหบริ ไดรับสิทธิประโยชน ประโยชนหลายประการในฐานะผู ประโยชนหลายประการในฐานะผู หลายประการในฐานะผได หลายประการในฐานะผ ได ได บการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริม ไดรั การลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตและจําหนายสารอะโรเมติ ายสารอะโรเมติ และไซโคลเฮกเซน การผลิตและจําหนายผลิตภัณฑจาก Reformer and ายสารอะโรเมตกส Aromatics Complex II โครงการก โครงการกอสรางทอเชื่อมตอทอสงน้ํามั​ันแทปไลน นแทปไลน โครงการ Upgrading โครงการ Clean Fuel และโครงการ GT-Nox นแทปไลน Reduction ซึ่งพอสรุปสาระสํ ปสาระสํ ญได ปสาระสาคั ญได งนี้ ญไดดั (ก)

ใหได ให ได บยกเวนอากรขาเขาและภาษีสําหรับเครื่องจักรทีได ไดรั ได ่ได บอนุมัตโดยคณะกรรมการส ไดรั ิโดยคณะกรรมการส มการลงทุน โดยคณะกรรมการสงเสริ

(ข)

ใหได ให ได บยกเวนภาษีเงินได ไดรั ได นได ติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิทได นไดนิ ี่ไดจากการประกอบกิ ไดจากการประกอบกิ จากการประกอบกจการทีได ่ได บการสงเสริมมีกาหนดเวลาแปดป ไดรั ําหนดเวลาแปดป บแตวันที่เริ่มมีรายได าหนดเวลาแปดปนั รายได รายได จากการประกอบกจการนั้น จากการประกอบกิ

(ค)

ใหได ให ได บลดหยอนภาษีเงินได ไดรั ได นได ติบุคคลรอยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิทได นไดนิ ี่ไดจากการประกอบกิ ไดจากการประกอบกิ จากการประกอบกจการทีได ่ได บการสงเสริมมีกําหนดเวลาหาป ไดรั าป บแตวันที่ าปนั สิ้นสุดสิทธิประโยชน ประโยชน ประโยชนตามข อ (ข)

เนืองจากเป ่องจากเป จการทีได องจากเปนกิ ่ได บการสงเสริมการลงทุน บริษัทฯ จะตองปฏิ ไดรั องปฏิ ติตามเงือนไขและข องปฏบั ่อนไขและข าหนดตามที่ระบุไว อนไขและขอกํ ไวในบั ไวในบ ในบั งเสริมการลงทุน ในบตรส รายไดทีได รายได ่ได บการสงเสริมการลงทุนและทีไม ไดรั ่ไมได ไมได ไดรับการสงเสริมการลงทุน สรุปได ปได งนี้ ปไดดั งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553 กิจการที่ ไมได ไม ไดรับ ได การสงเสริม

กิจการที่ ไดรับการ ได สงเสริม

2552 กิจการที่ ไมได ไม ไดรับ ได การสงเสริม

กิจการที่ ไดรับการ ได สงเสริม

รวม

รวม

(ลานบาท) านบาท ขายตางประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหวางกัน รวมรายไดจากการ รวมรายได ขายสินคา

15,371 33,418

76,824 225,952 (29,009)

14,292 26,255

-

61,453 192,534 (29,009)

-

48,745 160,046 (24,039)

63,037 186,301 (24,039)

48,789

224,978

273,767

40,547

184,752

225,299

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 กิจการที่ ไมได ไม ไดรับ ได การสงเสริม

กิจการที่ ไดรับการ ได สงเสริม

2552 กิจการที่ ไมได ไม ไดรับ ได การสงเสริม

กิจการที่ ไดรับการ ได สงเสริม

รวม

รวม

(ลานบาท) านบาท ขายตางประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหวางกัน รวมรายไดจากการ รวมรายได ขายสินคา

188

76,824 225,952 (29,009)

14,292 26,255

-

61,453 192,534 (29,009)

48,789

224,978

273,767

15,371 33,418

-

48,745 160,046 (24,039)

63,037 186,301 (24,039)

40,547

184,752

225,299


31

กําไรต าไรต น าไรตอหุ กําไรต าไรต นขั้นพื้นฐาน าไรตอหุ กําไรต าไรต นขั้นพื้นฐานสําหรับแตละป าไรตอหุ ละป ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คํานวณจากกําไรสํ ละปสิ าไรส ับป าไรสาหรั บป ่เป บปที เป วนของผูถือหุนของบริษัทฯ และ เปนส จํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางป างปในแต างปในแต ในแตละป ละปโดยวิ ละป โดยวธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักแสดงการคํานวณดังนี้ โดยวิ งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

(ลานบาท//ลานหุน) กําไรที าไรทีเป าไรท่ เป วนของผูถือหุนของบริษัท เปนส (ขั้นพื้นฐาน)

6,343

9,162

5,476

9,261

จํานวนหุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุนที่ออกจําหนายวันที่ 30 เมษายน จํานวนหุนสามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน)

2,964 1 2,965

2,964 2,964

2,964 1 2,965

2,964 2,964

2.14

3.09

1.85

3.12

กําไรต าไรต น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท) าไรตอหุ

กําไรต าไรต นปรั าไรตอหุ นปรั นปรบลด กําไรต าไรต นปรั าไรตอหุ นปรั นปรบลดสํ าหรับแตละป ละป ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คํานวณจากกําไรสํ ละปสิ าไรส ับป าไรสาหรั บป ่เป บปที เป วนของผูถือหุนของบริษัทฯ และจํานวน เปนส หุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางป างปในแต างปในแต ในแตละป ละป โดยถั ละป โดยถวเฉลี่ยถวงน้ําหนักหลังจากทีได ่ไดปรั ไดปรั ปรบปร ับปรุงผลกระทบของหุนปรั นปรั ดังนี้ นปรบลด งบการเงนที่แสดงเงินลงทุน งบการเงิ ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี 2553

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลานบาท//ลานหุน) กําไรที าไรทีเป าไรท่ เป วนของผูถือหุนของบริษัท เปนส (ขั้นพืนฐานและปรั ้นฐานและปรั นฐานและปรบลด) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการใชสิทธิซื้อหุน ผลกระทบจากการใช จํานวนหุนสามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ปรั ปรบลด) ปรั กําไรต าไรต น (ปรั าไรตอหุ ปรบลด) (บาท) ปรั

6,343

9,162

5,476

9,261

2,965 5

2,964 -

2,965 5

2,964 -

2,970

2,964

2,970

2,964

2.14

3.09

1.84

3.12

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

189


32

เงินป นป นปนผล ในการประชุมสามัญประจํ ญประจําป ญประจาป าปของผูถือหุนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรเงินป นป นปนผลแก ผูถือหุนในอั นในอั นละ นในอตราหุ 1.25 บาท เป เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 3,705.4 ลานบาท โดยจ โดยจายจากกําไรสะสมที าไรสะสมทียงไม าไรสะสมท่ ังไมได งไมได  ดสรร และจัดสรรเป ไดจั ดสรรเป นสํารองตามกฎหมายเป ดสรรเปนทุ ารองตามกฎหมายเป านวนเงิน ารองตามกฎหมายเปนจํ 463 ลานบาท เงินป นป นปนผลดั งกลาวได าวได ายให าวไดจ ายให ผูถือหุนแลวเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 ายใหแก ในการประชุมสามัญประจํ ญประจําป ญประจาป าปของผูถ อื หุนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ผูถือหุน มีมติอนุมัติการจัดสรรเงินป นป นปนผลแก ผูถือหุนในอั นในอั นละ นในอตราหุ 0.5 บาท เป เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 1,481.8 ลานบาท โดยจ โดยจายจากกําไรสะสมที าไรสะสมทียงไม าไรสะสมท่ ังไมได งไมได  ดสรรเงินป ไดจั นป นปนผลดั งกลาวได าวได ายให าวไดจ ายให ผถู ือหุนแลวเมื่อวันที่ ายใหแก 24 เมษายน 2552

33

สัญญาที่สําคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาที่มีสาระสําคัญ สรุปได ปได งนี้ ปไดดั

33.1 สัญญาเชาที่ดิน บริษัทฯ ได ไดทําสัญญาเชาที่ดินกับการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) รวม 3 ฉบับ โดยแบ โดยแบงเป งเปนระยะเวลา 30 ปป 2 ฉบับ และ 27 ปป งเป 10 เดือน 1 ฉบับ ตามลําดับ ภายใต ภายใตเงือนไขตามสั ่อนไขตามสั อนไขตามสญญาดั งกลาว บริษัทฯ ผูกพันที่จะตองจายคาเชาเป าเปนรายป าเปนรายป นรายป

33.2 สัญญาจัดสรางและประกอบกิ างและประกอบกิจการโรงกลั างและประกอบกจการโรงกลั จการโรงกล่นป ันปโตรเลี นปโตรเลี  โตรเลยม เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2535 บริษัทฯ ได ไดรั​ับโอนสทธิ บโอนสิ โอนส และหนาที่ทุกอยางภายใต างภายใต ญญาจัดสรางและประกอบกิ างภายใตสั างและประกอบกิจการโรงกลั างและประกอบกจการโรงกลั จการโรงกล่ันป นปโตรเลี นปโตรเลี โตรเลยมจาก บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด (SCOT) เพือเป ่อเปนไปตามเงื อเปนไปตามเงื นไปตามเง่อนไขในสั อนไขในสั อนไขในสญญาที ่ทําระหวาง SCOT กับกระทรวงอุตสาหกรรม (MOI) ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2534 ตามขอตกลงในสั อตกลงในสั อตกลงในสญญาดั งกลาว บริษัทฯ มีภาระผูกพันที่จะตองปฏิ องปฏิ ติตามเงือนไขที องปฏบั ่อนไขทีระบุในสั อนไขท่ ในสั ในสญญา ไดแก ขอผูกพั​ันในการ ได จัดจําหนายหุนตอประชาชนในตลาดหลั อประชาชนในตลาดหลั พยแหงประเทศไทย (SET) เป อประชาชนในตลาดหลกทรั เปนตน

33.3 สัญญา Technical service เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2549 บริษัทฯ ได ไดทําสัญญา Technical service กับ Shell Global Solutions (Thailand) Limited (“SGS”) ภายใต ภายใต สัญญานี้ บริษัทฯ ตกลงจาง SGS ให ใหบริการคําปรึ าปรึ าปรกษาทางด านเทคนิค โดยมี โดยมการจํากัดจํานวนชัวโมงการให ัว่ โมงการให าปรึ วโมงการใหคํ าปรึกษาป าปรกษาป กษาปละ 1,040 ชั​ั่วโมง ซึ่ง สัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 5 ปป และคาบริการในอั การในอัตราป การในอตราป ตราปแรก จํานวน 2.53 ลานยูโร และปรั และปรบเพิ่มขึ้นตามดัชนีคาจางแรงงานโดยมี างแรงงานโดยมี ทธิตอ างแรงงานโดยมสิ สัญญาได ญญาได ก 5 ปป ญญาไดอี

33.4 หนวย Deep Hydrodesulfurization

เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 บริษัทฯ ได ไดลงนามสัญญากอสรางหนวย Deep Hydrodesulfurization (DHDS) เพื่อผลิตน้ํามันดีเซลตาม มาตรฐานยโร 4 กับ บริษัท เอส เค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น จํากัด จากประเทศเกาหลี มาตรฐานยู จากประเทศเกาหลใต ใต และบริษัท ไทย วู รี เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ใต บริ ษัท ฯ มีภ าระผู ก พั น ที่ จ ะต อ งจ า ยตามสั ญ ญาก อ สร า งนี้เป เ ป น ประมาณ 221 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ โครงการนี เปนเงิ โครงการน้ ได ไ ด บ การอนุ มั ติ จ าก ไดรั คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติแลวตั้งแตปป 2551 และจะใช และจะใชเวลากอสรางประมาณ 31 เดือน โดยจะแล โดยจะแลวเสร็จในปลายป จในปลายป 2554 จในปลายป

34

เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจดการความเสี่ยงทางดานการเงิน นโยบายการจั บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติ จตามปกติจากการเปลี จตามปกตจากการเปลี จากการเปล่ยนแปลงอั ยนแปลงอั ยนแปลงอตราดอกเบี ้ยและอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียนเงินตราตางประเทศ และจากการไม ตราแลกเปล่ และจากการไม ปฏบัติตามขอกําหนดตามสัญญาของคู ปฏิ ญญาของคูสัญญา บริษัทฯ ไม ญญาของค ไมมีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินทีเป ่เป เปนตราสารอนุ พันธเพื่อการเก็งกําไรหรื าไรหรื าไรหรอการค า การจัดการความเสี่ยงเป ยงเป วนที่สําคัญของธุ ยงเปนส ญของธุ จของบริษัทฯ บริษัทฯ มีระบบในการควบคุมให ญของธรกิ มให ความสมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรั​ับได มใหมี บได โดย บได พิจารณาระหวางตนทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและตนทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝฝายบริหารได หารได การควบคุมกระบวนการการจัดการความเสีย่ งของ หารไดมี บริษัทฯ อยางตอเนื่องเพือให ่อให นใจว อใหมั ัน่ ใจว ความสมดุลระหวางความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง นใจวามี

การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบร ทฯ คือการรักษาระดับเงินทุนให นโยบายของคณะกรรมการบรษั นโยบายของคณะกรรมการบริ นให ่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจาหนี้และความเชื่อมั่นของตลาดและกอให นใหมั อให ดการพัฒนา อใหเกิ ของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได คณะกรรมการไดมีการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งบริษัทฯ พิจารณาจากสัดสวนของผลตอบแทนจากกิจกรรม ดําเนินงานตอสวนของเจาของรวม ซึงไม ่งไม วนได งไมรวมส วนได ยทีไม วนไดเสี ่ไม อํานาจควบคุม อีกทั้งยังกํากับดูแลระดับการจายเงินป ไมมี นปนผลให นปนผลให นผลใหแกผูถือหุนสามัญ

190


ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี ดจากการเปลียนแปลงที ดจากการเปล่ ยนแปลงทีจะเกิดในอนาคตของอั ยนแปลงท่ ดในอนาคตของอั ดในอนาคตของอตราดอกเบี ้ยในตลาด ซึ่งสงผลกระทบตอ การดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทฯ บริษัทฯ มีความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกูยืมบางสวนที่เป เป ตราดอกเบี้ยลอยตัว ซึ่งอาจ เปนอั ปรบเพิ่มสูงขึนได ปรั ้นไดในอนาคต ซึ่งบริษัทฯ ได นไดในอนาคต ไดดําเนินการทําสัญญาป ญญาป นความเสี่ยงทางดานอัตราดอกเบี้ยดวยการเปลี ญญาปองกั วยการเปลียนอัตราดอกเบี้ยลอยตัวบางสวนให วยการเปล่ วนให วนให เปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ เป อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกําหนดชําระหรือกําหนดอัตราใหม ตราใหม มีดังนี้ ตราใหม งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี และงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง

ภายใน 1 ปป

(รอยละตอป อป อป)

หลังจาก 1 ปป แตภายใน 5 ปป

หลังจาก 5 ปป

รวม

(ลานบาท) านบาท

ปป 2553 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ าระภายในหนึงป าระภายในหน่ งป งป ไมหมุนเวียน ไม ไม เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู เงินกูดอ ยสิทธิ รวม

1.30 – 2.95

1,856

-

-

1,856

0.66 – 4.75

7,160

-

-

7,160

0.66 – 4.75 4.00 และ 5.50 3.85 – 5.13

9,016

11,406 22,294 6,928 40,628

11,438 11,438

22,844 22,294 6,928 61,082

1.30 - 4.30

13,576

-

-

13,576

0.72 - 4.38 4.00 และ 5.50 3.85 - 4.75

2,028 308 2,144

-

-

2,028 308 2,144

0.66 - 5.28 4.00 และ 5.50 3.85 - 4.75

18,056

19,424 25,050 6,703 51,177

6,925 6,925

26,349 25,050 6,703 76,158

ปป 2552 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ าระภายในหนึงป าระภายในหน่ งป งป หุนกู เงินกูดอ ยสิทธิ ไมหมุนเวียน ไม ไม เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู เงินกูดอ ยสิทธิ รวม

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

191


ความเสีย่ งจากเงินตราตางประเทศ บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียนเงินตราตางประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินคาและการขายสินคาที่เป ตราแลกเปล่ เป นตราตางประเทศ บริษัทฯ ได เปนเงิ ไดทํา สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศล างประเทศล างประเทศลวงหน าเพือป ่อป นความเสี่ยงของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินทีเป อปองกั ่เป นตราตางประเทศ เปนเงิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ตางประเทศดั างประเทศดั ้ างประเทศดงนี

บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี ตราแลกเปลียนเงินตราตางประเทศอั ตราแลกเปล่ างประเทศอั​ันเป างประเทศอนเป นเป นเปนผลมาจากการมี สินทรัพยและหนี้สินที่เป เป นตรา เปนเงิ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี หมายเหตุ 2553 2552

(ลานบาท) านบา

เงินเหรียญสหรัฐฯ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่นและหนี้สินอื่น เงินกูยืมระยะยาว

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553

2552

5 6 17 18 16

1,133 1,965 (9,813) (486) (15,171) (22,372)

672 1,048 (4,664) (589) (19,266) (22,799)

1,133 1,965 (9,813) (486) (15,171) (22,372)

672 1,048 (4,664) (589) (19,266) (22,799)

18

(30) (22,402) 5,961 (16,441)

(13) (22,812) 526 (22,286)

(30) (22,402) 5,961 (16,441)

(13) (22,812) 526 (22,286)

สกุลอื่น เจาหนี้อื่นและหนี้สินอื่น ยอดบัญชในงบด ญชีในงบดลุ ที่มีความเสีย่ ง ญช สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสีย่ งคงเหลือสุทธิ

ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสญญาไม ัญญาไม ญญาไมสามารถชํ าระหนี้แกบริษัทฯ ตามเงือนไขที ่อนไขทีตกลงไว อนไขท่ ตกลงไว ่อครบกําหนด ตกลงไวเมื ฝฝายบริหารได หารได าหนดนโยบายทางด หารไดกํ าหนดนโยบายทางด นเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางดานสินเชื่อดังกลาวโดยสมํ าหนดนโยบายทางดานสิ าวโดยสม่ํ าวโดยสมาเสมอ โดยการวเคราะหฐานะทางการเงินของ โดยการวิ โดยการว ลูกคาทุกรายที่ขอวงเงินสินเชือในระดั ่อในระดั ่งๆ ณ วันทีรายงานไม อในระดบหนึ ่รายงานไม ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป รายงานไมพบว เป เปนสาระสํ าคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางดานสินเชื่อแสดง ไวในราคาตามบ ไว ในราคาตามบั ของสินทรัพยทางการเงินแตละรายการในงบดุล ในราคาตามบญชี ในราคาตามบั

ความเสีย่ งจากสภาพคลอง บริษัทฯ มีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรั องโดยการรั องโดยการรกษาระดั บของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและอัตราสวนทางการเงินตาม สัญญาเงินกูให ให ยงพอตอการดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อทําให ใหเพี าให าใหผลกระทบจากความผั นผวนของกระแสเงินสดลดลง

การกําหนดมูลคายุติธรรม นโยบายการบญชีและการเป นโยบายการบั และการเป และการเปดเผยของบริ ษัทฯ กําหนดให าหนดให การกําหนดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินและไม าหนดใหมี นและไมใช นและไมใช ใชทางการเงิน มูลคา ในขณะท่ทั้งสองฝ งสองฝ ความรอบรูและเต็มใจในการ งสองฝายมี ยุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี ขายตกลงแลกเปลียนสินทรัพยหรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที ขายตกลงแลกเปล่ แลกเปล่ยนกัน และสามารถตอรองราคากั​ันได แลกเปลี นได างเป นไดอย างเป สระในลั างเปนอิ สระในลั สระในลกษณะของผู ที่ไม ไม ความเกี่ยวของกัน วัตถุประสงค ไมมี ประสงค ประสงคของการวั ดมูลคาและ/หรือการ เปดเผยมูลคายุติธรรมถูกกําหนดโดยวิ เป าหนดโดยว ตอไปนี าหนดโดยวธี อไปนี ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกํ อไปน้ ฐานในการกํ ฐานในการกาหนดมู ลคายุติธรรมถูกเป กเป กเปดเผยในหมายเหตุ ที่เกี่ยวของกับ สินทรัพยและหนี้สินนั้นๆ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั​ั้นในเงนฝากประจํ นในเงิ ในเงนฝากประจํ นฝากประจา มีราคาตามบัญชใกล ญชีใกล ญช ใกล ยงกับมูลคายุติธรรม เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหลานี้ ใกลเคี จะครบกําหนดในระยะเวลาอั าหนดในระยะเวลาอั ้น าหนดในระยะเวลาอนสั

192


มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น มีราคาตามบัญชีของหนี้สินทางการเงินใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมเนื่องจากเครื่องมือทางการเงินเหลานี้จะครบกําหนดใน ระยะเวลาอันสั้น หุนกูที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ มูลคายุติธรรมประมาณขึ้นโดยใชวิธีสวนลดกระแสเงินสด ซึ่งใชอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมเฉลี่ยสําหรับเงินกูยืมที่มีเงื่อนไข ใกลเคียงกัน ซึ่งไดแสดงไวดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย มูลคายุติธรรม มูลคาตามบัญชี

(ลลานบาท) นบาท

ป 2553 หุนกู - สกุลเงินบาท หุนกู - สกุลเหรียญสหรัฐฯ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลคายุติธรรม มูลคาตามบัญชี

15,235 7,868 23,103

15,000 7,294 22,294

15,235 7,868 23,103

15,000 7,294 22,294

15,452 10,952 26,404

15,308 10,050 25,358

15,452 10,952 26,404

15,308 10,050 25,358

ป 2552 หุนกู - สกุลเงินบาท หุนกู - สกุลเหรียญสหรัฐฯ รวม

35

ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรือกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

(ลลานบาท) นบาท ภาระผูกพันดานรายจายฝายทุน สัญญาที่ยังไมรับรู อาคารและสิ่งปลูกสรางอื่น เครื่องจักรและอุปกรณ รวม

1,244 1,244

2 4,824 4,826

1,244 1,244

2 4,824 4,826

17 42 55 114

40 78 66 184

17 42 55 114

40 78 66 184

ภาระผูกพันจากสัญญาเชาดําเนินงานทีย่ กเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป หลังจากหาป รวม

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

193


ภาระผูกพันอื่น ๆ หนังสือค้าประกั ําประกั าประกนจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีภาระผูกพันกั​ับธนาคารในประเทศหลายแห บธนาคารในประเทศหลายแห และสาขาของธนาคารตางประเทศแห บธนาคารในประเทศหลายแหง างประเทศแห ่งสําหรับหนังสือ างประเทศแหงหนึ ค้าประกั ําประกั ่อค้าประกั าประกนเพื ําประกั าประกนการขอคื นภาษีนิติบุคคลและภาษีมูลคาเพิ่ม การใช การใชที่ดิน และการใช และการใชไฟฟ และการใชไฟฟ ไฟฟาเป ไฟฟาเป าเปนจํานวนเงินรวม 6,855 ลานบาท (2552: 69

ลานบาท)

สัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบี้ย ญญาแลกเปล่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาแลกเปลี ญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบี้ยหลายฉบับกับสถาบันการเงินหลายแหงเพื่อที่จะลดความเสี่ยงจากความ ญญาแลกเปล่ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ยของเงินกูยืม ดังนี้ 1. สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จํานวน 45 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยมี โดยมกําหนดระยะเวลา 4.5 ปป ครบกําหนดทุกครึงป ่งป งเดือนมกราคม 2556 งปจนถึ 2. สกุลเงินบาทจํานวนทั้งสิ้น 11,400 ลานบาท แบงเป งเป ดังนี้ งเปน -

จํานวนเงิน 4,000 ลานบาท เป เปนเวลา 1.5 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื าหนดในเดอนมกราคม 2554 จํานวนเงิน 2,000 ลานบาท เป เปนเวลา 3 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2554 าหนดในเดอนธั จํานวนเงิน 1,500 ลานบาท เป เปนเวลา 5 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2556 าหนดในเดอนธั จํานวนเงิน 600 ลานบาท เป เปนเวลา 8 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2559 าหนดในเดอนธั เปนเวลา 7 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2560 าหนดในเดอนธั จํานวนเงิน 1,000 ลานบาท เป จํานวนเงิน 300 ลานบาท เป เปนเวลา 9 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2560 าหนดในเดอนธั จํานวนเงิน 1,000 ลานบาท เป เปนเวลา 8 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2561 าหนดในเดอนธั จํานวนเงิน 1,000 ลานบาท เป เปนเวลา 10 ปป ครบกําหนดในเดื าหนดในเดื นวาคม 2561 าหนดในเดอนธั

ตลอดอายุสัญญา บริษัทฯ ผูกพันทีจะได ่จะได บหรือชดเชยให จะไดรั อชดเชยให บคูสญญาในกรณี อชดเชยใหกั ัญญาในกรณี ่อัตราดอกเบี้ยแตกตางจากอัตราที่ตกลงกัน ทั้งนี้เป ญญาในกรณที เปนไปตามเงื เปนไปตามเงื นไปตามเง่อนไข และขอกําหนดที่ระบุไว ไวในสั ไวในส ในสั ในสญญา

สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศล างประเทศล างประเทศลวงหน าเป นเหรียญสหรัฐฯ หลายฉบับกับสถาบันการเงินในประเทศ าเปนเงิ าเป จํานวน 3 แหงและสาขาของสถาบันการเงินตางประเทศจํ างประเทศจํ างประเทศจานวน 2 แหงสําหรับวงเงินจํานวนรวม 196.771ลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อใช อใช าระเงิน อใชชํ ลงทุนโครงการและใช นโครงการและใช าระหนี้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ กําหนดชําระของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศล นโครงการและใชชํ างประเทศล างประเทศลวงหน าจะสิ้นสุดในเดื ดในเดื ่แตกตางกัน ดในเดอนที และสิ้นสุดภายในป ดภายในป 2555 ดภายในป

36

คดีฟฟองร ฟ อง เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2552 บริษัทจดทะเบียนแหงหนึ่งได งได ่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุ งไดยื ญาโตตุ ญาโตตลาการ เพื่อเรียกรองให องให ปตท. และบริษัทฯ ในฐานะ องให ผูผลิตให ตใหปฏิ ตใหปฏิ ปฏบัติตามสัญญาซื้อขายวัตถุดิบที่บริษัทดังกลาวมีอยูกับ ปตท. หรือรวมกันชดใช ันชดใช าเสียหายเป นชดใชค ยหายเป นประมาณ 13,805 ลานบาท อยางไร ยหายเปนเงิ ก็ตาม เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 อนุญาโตตุ ญาโตตุลาการได ญาโตตลาการได ลาการไดมีคําสังให ัง่ ให าหนายขอพิพาทในส งใหจํ พาทในส พาทในสวนของบริ ษัทฯ ออกจากสารบบความแลว เนื่องจากบริษัทฯ มิได ไดเป ไดเป เปนคูสญญาโดยตรงกั ัญญาโดยตรงกั ษัทดังกลาว ญญาโดยตรงกบบริ ตอมา เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 บริษัทจดทะเบียนดังกลาวได าวได นฟ าวไดยื ่นฟ นฟองคดี แพงเพื่อเรียกรองให องให ปตท. และบริษัทฯ ในฐานะผู องให ในฐานะผผลิตให ในฐานะผ ตใหปฏิ ตใหปฏิ ปฏบัติตาม สัญญาซื้อขายวัตถุดิบที่บริษัทดังกลาวมีอยูกับ ปตท. หรือรวมกั​ันชดใช นชดใช าเสียหายเป นชดใชค ยหายเป นจํานวน 9,380 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ได ยหายเปนเงิ ไดยื่นคําให าให าใหการ คัดคานคําฟ าฟ งกลาวตอศาลแพง เนื่องจากบริษัทฯ มิได าฟองดั ไดเป ไดเป เปนคูสัญญาโดยตรงกั ญญาโดยตรงกั ษัทดังกลาว และเชื่อวาผลการพิจารณาของศาลจะไม ญญาโดยตรงกบบริ จารณาของศาลจะไม ด จารณาของศาลจะไมเกิ งไมได งไมได ไดบันทึกคาเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากเรื่องดังกลาวไว าวไวในงบการเงน าวไวในงบการเง ในงบการเงิ นงบการเง ความเสียหายแกบริษัทฯ ดังนั้นบริษัทฯ จึงไม

194


37 เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เงินป นป นปนผล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 ได ไดมีมติเห็นชอบให นชอบให นชอบใหเสนอที ่ประชุมสามัญประจํ ญประจําป ญประจาป าปของบริษัทฯ เพื่ออนุมัติจายเงินป นป นปนผล สําหรับป ับป 2553 ในอั บป ในอตราหุนละ 0.96 บาท รวมเป รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 2,860 ล้านบาท

การควบรวมระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2554 ได ไดมีมติเห็นชอบให นชอบให าเนินการควบรวมบริษทั ฯ กับ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) นชอบใหดํ และใหเสนอเรื่องดังกลาวตอที่ประชุมสามัญประจํ และให ญประจําป ญประจาป าปของบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป

38 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงไมได ังไม ไมได ไดใช ใช ใช ใช บริษัทฯ ยั​ังไม งไมได งไมได ไดใช ใช ใช ใชมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ออกและปรั ออกและปรั​ับปรุงใหม ออกและปรบปร งใหม งตอไปนี งใหมดั อไปนี ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยั​ังไม อไปน้ งไม การบังคั​ับใช งไมมี บใช บใชมาตรฐานการ รายงานทางการเงินที่ออกและปรั ออกและปรั​ับปรุงใหม ออกและปรบปร งใหม งตอไปนี งใหมดั อไปนีกําหนดให อไปน้ าหนดให อปฏิ าหนดใหถื อปฏิ ติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรื อปฏบั มในหรื งวันที่ 1 มกราคม มในหรอหลั ในปดังตอไปนี ในป อไปนี อไปน้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8

(ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรั มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552)

ปปที่มีผล บังคับใช ับใช บใช

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบญชี การเปลี นโยบายการบั การเปล่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและขอผิดพลาด

2554 2554 2554 2554

เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ สัญญาเชา รายได รายได ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชน ผลกระทบจากการเปล่ยนแปลงของอั ผลกระทบจากการเปลี ยนแปลงของอัตราแลกเปลี ยนแปลงของอตราแลกเปลี ตราแลกเปล่ยน เงินตราตางประเทศ ตนทุนการกูยืม การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วของกัน การเป งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ นในบร ทรวม นในบรษั กําไรต าไรต น าไรตอหุ งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหน้สนิ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย ประมาณการหนี ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไม ไม ตัวตน ไมมี อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

2554 2554 2554 2554 2554 2556 2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554 2554

รายงานประจ�าปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ากัด (มหาชน)

195


ผูบริหารคาดวาจะถือปฏิ อปฏิ ติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรั อปฏบั ออกและปรั​ับปรุงใหม ออกและปรบปร งใหม งใหมตามที ่ประกาศโดยสภาวิ ประกาศโดยสภาว พบัญชีฯ และได ประกาศโดยสภาวชาชี และไดประเมิ ประเมนผลกระทบ ประเมิ เบื้องตนที่อาจเกิดขึ้นตองบการเงินที่แสดงตามวิธีสวนได วนได ยและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ ผูบริหารได วนไดเสี หารได จารณาถึงผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้น หารไดพิ ตองบการเงินของบริษัทฯ ที่เริ่มนํามาตรฐานรายงานทางเงินทีออกและปรั ่ออกและปรั​ับปรงใหม ออกและปรบปร ุงใหม านี้มาถือปฏิ งใหมเหล อปฏิ ตเป อปฏบั ิเป ้งแรก ดังตอไปนี เปนครั อไปนี อไปน้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ปกรณ ปกรณ การเปล่ยนแปลงที การเปลี ยนแปลงทีสําคัญจากการปรั ยนแปลงท่ ญจากการปรั​ับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 และมีผลกระทบตอบริษัทฯ ดังนี้ (ก) ตนทุนการรื้อถอน การขนยาย และการ ญจากการปรบปร บูรณะสภาพของสินทรัพย ตองถือเป อเป นทุนของสินทรัพยและอาจมีการคิดคาเสื่อมราคาประจํ อเปนต อมราคาประจําป อมราคาประจาป าป (ข) การกําหนดคาเสื่อมราคา ตองพิจารณาแตละสวน แยกตางหากจากกันเมื่อแตละสวนประกอบนั วนประกอบนันมีสาระสําคัญ (ค) มูลคาคงเหลือของที่ดิน อาคารและอุปกรณ วนประกอบน้ ปกรณ องมีการประมาณด ปกรณต การประมาณด ลคาที่กิจการคาดวา การประมาณดวยมู าจะได ับในปจจุ าจะไดรั บในป ในป บันเมื่อสิ้นสุดอายุการให การใหประโยชน การใหประโยชน ประโยชน นอกจากนี้ตองมีการสอบทานมูลคา จะไดรั​ับในปจจุ จะได บในป ในป บันจากสินทรัพยนั้น หากมีอายุและสภาพทีค่ าดวาจะได คงเหลือและอายุการให การใหประโยชน การใหประโยชน ประโยชนอยางนอยทุกสินป ้นป นป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรั ปรบปร ปรั ับปรุง 2552) อนุญาตให ญาตให จการเลือกปรั ญาตใหกิ อกปรั​ับไปข อกปรบไปข บไปข บไปขางหน าสําหรั​ับป บป ่เริ่มนํามาถือปฏิ บปที อปฏิ ติ บริษัทฯ เลือกที่จะใช อปฏบั จะใช จะใชทางเลื อก ดังกลาว ซึ่งผูบริหารพิจารณาแลววาไม าไม ผลกระทบทีเป าไมมี ่เป เปนสาระสํ าคัญตองบการเงินป นป 2553 หรือป นป อป อนหนานั้น อปก

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน ผลประโยชนของพนักงานให กงานให อปฏิ กงานใหถื อปฏิ ติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริมในหรื อปฏบั ่มในหรื งวันที่ 1 มกราคม 2554 มในหรอหลั บริษัทฯ จึงยังไม ังไมได งไมได  นทึกบัญชีผลประโยชน ไดบั ผลประโยชน งออกจากงานภายใต ผลประโยชนหลั ังออกจากงานภายใตโครงการผลประโยชน งออกจากงานภายใตโครงการผลประโยชน โครงการผลประโยชน ่กาหนดไว โครงการผลประโยชนที ําหนดไว ผลประโยชน าหนดไว ผลประโยชนระยะยาวอื่น และผลประโยชน และผลประโยชนเมื่อเลิกจาง จนกวาจะเกิดคาใช าใช ายขึ้น ซึ่งตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ กําหนดให าใชจ าหนดให องทยอยรับรูคาใช าหนดใหต าใช ายและประมาณการหนี าใชจ ายและประมาณการหนีสนผลประโยชน ายและประมาณการหน้ ินผลประโยชน กงานตามระยะเวลา นผลประโยชนพนั าหนดให ขอสมมติฐานในการคํ าหนดใหมี ฐานในการคํ ฐานในการคานวณตามหลั กการคณิตศาสตรประกั ประกั ยเพื่อประเมิ ประกนภั อประเมิ อประเมนภาระผู กพันและคาใช าใช าย าใชจ ตั้งแตวันที่พนักงานเริ่มให มให การ ซึ่งกําหนดให มใหบริ ของผลประโยชนระยะยาว รวมถึงกําหนดให ของผลประโยชน าหนดใหใช าหนดใหใช ใช ิธีการคิดลดผลประโยชน ใชวิ ใช ดลดผลประโยชน ่องจากกําหนดเวลาการจายชําระผลประโยชน ดลดผลประโยชนเนื าระผลประโยชน งกลาวจะเกิดขึ้นภายหลังจากที่ าระผลประโยชนดั พนักงานได กงานไดให กงานไดให ให การเป ใหบริ การเป การเปนเวลานาน สําหรับการปฏิ ับการปฏิ ตในช บการปฏบั ิในชวงเปลี ในชวงเปลี วงเปล่ยนแปลงมาตรฐานการบั ยนแปลงมาตรฐานการบั ฉบับที่ 19 อนุญาตให ยนแปลงมาตรฐานการบญชี ญาตให นทึกประมาณการหนี ญาตใหบั กประมาณการหนีสินที่คํานวณจาก กประมาณการหน้ ระยะเวลาที่พนักงานให กงานให การกอนวันที่มีผลบังคับใช กงานใหบริ ับใชได บใช บใชได   ่ทางเลือก โดยบร ไดสี โดยบรษัทฯ เลือกวิธปรั โดยบริ ีปรั อนหลัง ปรบย ผูบริหารได หารไดประเมิ หารไดประเมิ ประเมนประมาณการหนี นประมาณการหน้สนผลประโยชน นประมาณการหนี ินผลประโยชน กงานในช นผลประโยชนพนั กงานในชวงการเปลี กงานในชวงการเปลี วงการเปล่ยนแปลง ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่งหนี้สินดังกลาวจะมีผลทําให าให ้สิน าใหหนี ของบริษัทฯ เพิ่มขึนเป ้นเป นประมาณ 358 ลานบาท โดยกํ นเปนเงิ โดยกาไรสะสมของบร าไรสะสมของบรษัทฯ จะลดลงดวยจํานวนเดียวกัน าไรสะสมของบริ

39 การจัดประเภทรายการใหม ดประเภทรายการใหม ดประเภทรายการใหม รายการในงบการเงนของป รายการในงบการเงิ รายการในงบการเง นของป 2552 บางรายการได นของป บางรายการไดจัดประเภทใหม ดประเภทใหมให ดประเภทใหมให ใหสอดคลองกับรายการในงบการเงนของป ับรายการในงบการเงิ รายการในงบการเงนของป นของป 2553 ดังนี้ 2552 งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได วนได ย วนไดเสี กอนจัด หลังจัด ประเภท ประเภท จัดประเภท ใหม ใหม ใหม ใหม ใหม ใหม

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจัด กอนจัด ประเภทใหม ประเภทใหม ประเภทใหม จัดประเภทใหม ประเภทใหม ดประเภทใหม ดประเภทใหม

(ลานบาท) งบดุล ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

3,563 815

371 (371) -

3,934 444

3,563 815

การจัดประเภทรายการใหม ดประเภทรายการใหม ้จัดทําขึ้นเนื่องจากผูบริหารเห็นวามีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ มากกวา ดประเภทรายการใหมนี

196

371 (371) -

3,934 444


ค�ำย่อ และ ศัพท์เทคนิค

54-02-058_136-200 N15_Y.indd 197

15/3/2011 20:05


ค�ำย่อ และ ศัพท์เทคนิค คำ�ย่อ เบนซีน

Benzene : BZ

โทลูอีน

Toluene : TOL

พาราไซลีน

Paraxylene : PX

ออร์โธไซลีน

Orthoxylene : OX

มิกซ์ไซลีนส์

Mixed Xylenes : MX

เอบีเอส

อะคริโลไนทริล-บิวทาไดอีน-สไตรีน (Acrylonitrile-Butadiene-Styrene : ABS)

บีพีเอ

บิสฟีนอลเอ (Bisphenol A : BPA)

อีพีเอส

เอ็กซ์แพนดาเบิล โพลิสไตรีน (Expandable Polystyrene : EPS)

จีพีพีเอส

เจนเนอรัลเพอโพส โพลิสไตรีน (General Purpose Polystyrene : GPPS)

เอชไอพีเอส

โพลิสไตรีนทนแรงกระแทกสูง (High Impact Polystyrene : HIPS)

แอลเอเอส

ลิเนียร์อัลคิลเบนซีนซัลโฟเนต (Linear Alkyl Benzenesulfonate : LAS)

แอลเอบี

ลิเนียร์อัลคิลเบนซีน (Linear Alkyl Benzene : LAB)

แอลพีจี

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG)

เอ็มทีบีอี

เมธิลเทอร์เชียรีบิวทิลอีเทอร์ (Methyl Tertiary Butyl Ether : MTBE)

เอ็นจีแอล

ก๊าซธรรมชาติเหลว (Natural Gas Liquid : NGL)

พีซี

โพลีคาร์บอเนต (Polycarbonate : PC)

พีอีที

โพลี เอทิลีน เทเรฟทาเลต (Poly Ethylene Terephthalate : PET)

ไพก๊าซ

ไพโรไลซีสก๊าซโซลีน (Pyrolysis Gasoline : Py-gas)

พีพี

โพลีโพรพิลีน (Polypropylene : PP)

พีเอ

ฟาทาลิค แอนไฮไดรด์ (Phathalic Anhydride : PA)

พีวีซี

โพลีไวนิลคลอไรด์ (Poly Vinyl Chloride : PVC)

พีทีเอ

เพียวริไฟด์ เทเรฟทาลิก แอซิด (Purified Terephthalic Acid :PTA)

พีอี

โพลีเอทิลีน (Polyethylene : PE)

เอสบีอาร์

สไตรีนบิวทาไดอีนรับเบอร์ (Styrene-Butadiene Rubber : SBR)

เอสเอเอ็น

สไตรีน อะคริโลไนทริล (Styrene-Acrylonitrile : SAN)

เอสเอ็ม

สไตรีนโมโนเมอร์ (Styrene Monomer : SM)

วีซีเอ็ม

ไวนิลคลอไรด์โมโนเมอร์ (Vinyl Chloride Monomer : VCM)

198 54-02-058_136-200 N15_Y.indd 198

15/3/2011 20:05


ศัพท์เทคนิค Complex Refinery

โรงกลั่นน�้ำมันที่มีกระบวนการกลั่นซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงสภาพ หรือเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนที่มีมูลค่าต�่ำให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง เช่น น�้ำมันเบนซินและดีเซล ในสัดส่วนที่สูงกว่าโรงกลั่นน�้ำมันแบบ Hydro-Skimming

Hydro-Skimming

กระบวนการน�้ำมันดิบแบบขั้นตอนเดียว จึงกลั่นได้น�้ำมันส�ำเร็จรูปชนิดใส เช่น น�้ำมันเบนซิน และดีเซล ในสัดส่วนที่ต�่ำกว่ากระบวนการแบบ Complex

Condensate

ปิโตรเลียมเหลวที่มีคุณสมบัติเบากว่าน�้ำมันดิบ

High Vacuum Unit

หน่วยกลั่นน�้ำมันเตาจากหอกลั่นน�้ำมันดิบภายใต้หอกลั่นสูญญากาศ

Light Distillates

ผลิตภัณฑ์น�้ำมันส�ำเร็จรูปชนิดเบา เช่น น�้ำมันเบนซิน ก๊าซหุงต้ม

Middle Distillates

ผลิตภัณฑ์น�้ำมันส�ำเร็จรูปกึ่งหนักกึ่งเบา เช่น น�้ำมันดีเซล น�้ำมันอากาศยาน น�้ำมันก๊าด

Heavy Distillates

ผลิตภัณฑ์น�้ำมันส�ำเร็จรูปชนิดหนัก เช่น น�้ำมันเตา ยางมะตอย

Naphtha Hydrotreating Unit

หน่วยก�ำจัดก�ำมะถันออกจาก Naphtha หรือน�้ำมันเบนซินที่มาจากหอกลั่นน�้ำมันดิบ

Total Intake

ปริมาณวัตถุดิบรวมที่ใช้ในการผลิต

Utilization Rate

อัตราการผลิตเทียบกับก�ำลังการผลิต

Hydrocracking Unit (HCU)

หน่วยผลิตน�้ำมันดีเซล

Hydrodesulfurizer Unit

หน่วยก�ำจัดก�ำมะถัน

หน่วยวัดต่างๆ

KBD (Kilo Barrel per Day) : พันบาร์เรลต่อวัน KMT (Kilo Metric Tons) : พันเมตริกตัน M.BBL (Million Barrels) : ล้านบาร์เรล

GRM (Gross Refining Margin)

ก�ำไรขั้นต้นจากค่าการกลั่น

P2F (Product to Feed Margin)

ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์กับวัตถุดิบ

GIM (Gross Integrated Margin)

ก�ำไรขั้นต้นจากการผลิตรวมทั้งธุรกิจการกลั่นและธุรกิจอะโรเมติกส์

Stock Gain / (Loss)

ก�ำไร / (ขาดทุน) จากน�้ำมันและวัตถุดิบคงคลัง เป็นมูลค่าความแตกต่างของต้นทุนขายระหว่าง ราคาต้นทุนทางบัญชีกับราคาต้นทุนตลาด ซึ่งเกิดจากการเหลื่อมล�้ำของเวลาที่ขายผลิตภัณฑ์กับ เวลาที่สั่งซื้อน�้ำมันดิบจากประเทศ แถบตะวันออกกลางและน�ำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์พร้อมขาย

OPEX (Operating Expense)

ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน

EBITDA (Earning Before Interest, Tax, Depreciation and Amortization)

รายได้ก่อนหักภาษี ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเสื่อมราคา

Adjusted EBITDA

EBITDA ที่ไม่รวมก�ำไร / (ขาดทุน) จากน�้ำมันและวัตถุดิบคงคลัง และค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้า คงเหลือ

LCM (Lower of Cost or Market Inventory Method )

ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเปรียบเทียบมูลค่า ที่คาดว่าจะได้รับ กับราคาต้นทุนของสินค้าคงเหลือแล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า เพื่อให้งบดุลแสดงสถานะมูลค่าสินค้า คงคลัง ณ วันสิ้นงวดบัญชีได้อย่างสมเหตุสมผล

ROIC (Return on Invested Capital)

ผลตอบแทนของเงินลงทุน รายงานประจ�ำปี 2553 บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จ�ำกัด (มหาชน)

54-02-058_136-200 N15_Y new16.indd 199

199 16/3/2011 20:03


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.