AW_Annual Report_GC 2011[TH] size 21 x29.5 cm.
*** ตำแหนงสีแดงในงานคือ UV Spot ปกหลัง
ปกหนา สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม
21.0 cm
21.0 cm
20.8 cm
64.0 cm
29.5 cm
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living
Center of Petrochemical Excellence
¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ”
Responsible-Excellent - Innovative
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม 20.8 cm
1
21.0 cm
21.0 cm
2
3
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
รองปกหลัง
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย
AW_Annual Report_GC 2011[TH] size 21 x29.5 cm.
*** ตำแหนงสีแดงในงานคือ UV Spot ปกหลัง
ปกหนา สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม
21.0 cm
21.0 cm
20.8 cm
64.0 cm
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living
29.5 cm
Innovating for BE ER living
Center of Petrochemical Excellence
¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ”
Responsible-Excellent - Innovative
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม 20.8 cm
1
21.0 cm
21.0 cm
2
3
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
รองปกหลัง
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย
AW_Annual Report_GC 2011[TH] size 21 x29.5 cm.
*** ตำแหนงสีแดงในงานคือ UV Spot ปกหลัง
ปกหนา สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม
21.0 cm
21.0 cm
20.8 cm
64.0 cm
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
29.5 cm
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living ¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ” ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย
Center of Petrochemical Excellence Responsible-Excellent - Innovative
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
Innovating for BE ER living
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living ¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ” ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย
Center of Petrochemical Excellence Responsible-Excellent - Innovative
สารบัญ จุดเด่นและการดำเนินงาน ในรอบปี 2554
โครงสร้างองค์กร และการจัดการ
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
รายงานทางการเงิน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ข้อมูลสำคัญทางการเงิน ประวัติความเป็นมา และเหตุการณ์ที่สำคัญ กิจกรรมสำคัญในปี 2554 สารจากประธานกรรมการ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ปี 2555-2559 โครงสร้างธุรกิจ แผนผังทางธุรกิจ กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ ธุรกิจการให้บริการและอื่นๆ ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ข้อมูลทั่วไป คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง การควบคุมภายใน โครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม โครงสร้างรายได้ รายการระหว่างกัน
6 7 11 13 16 20 22 24 26 30 34 38 41 44 47 50 54 62 66 82 92 96 98 100
โครงสร้างผู้ถือหุ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการ คณะผู้บริหาร โครงสร้างการจัดการ การบริหารองค์กรและบุคลากร
110 111 114 122 130 160
การกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี คำย่อและศัพท์เทคนิค
164 190 192 194 196 197 200 201 211 333 334
2
F r om Ups tr ea m
สร้างสรรค์...จากต้นน้ำ สู่พันธมิตร...ที่ปลายน้ำ ด้วยความมุ่งมั่นในการเป็นผู้สร้างนวัตกรรมเคมีภัณฑ์ ระดั บ โลก ด้ ว ยศั ก ยภาพและความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ มุ่งสู่การเป็นบริษัทชั้นนำในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก ดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ครบวงจร ด้วยกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม รวม 228,000 บาร์เรลต่อวัน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี สายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ รวม 8.2 ล้านตันต่อปี สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ต้นน้ำที่มีคุณภาพและเชื่อมโยง ถึ ง กั น อย่ า งครบวงจรในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ทั้ ง 7 กลุ่ ม พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์และบริการ
ทางเลือกที่เหนือกว่าจากผลิตภัณฑ์แห่งนวัตกรรม สู่ธุรกิจปลายน้ำที่เพิ่มมูลค่าและบริการที่ครอบคลุม ทุกความต้องการ เพื่อเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดแก่คู่ค้า ของเรา
t o Do w nst r eam
3
Rewardi ng Invest ment
การลงทุน...ที่คุ้มค่า เติมเต็ม...ความสุขที่ลงตัว ก้าวสู่การเป็นบริษัทผู้นำในการดำเนินธุรกิจปิโตรเคมี และการกลั่นครบวงจร ดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และเป็นธรรม มุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ ผู้ถือหุ้น โดยการสร้างมูลค่าเพิ่ม คำนึงถึงการเติบโต ของบริษัทฯ ในระยะยาว ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า รวมถึงการใช้นวัตกรรมที่ทันสมัยและการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ สร้างมูลค่าให้กบั สินค้าและบริการ ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
เรามอบศักยภาพในด้านธุรกิจที่ดีที่สุดให้กับผู้ถือหุ้น ตอบแทนทุ ก การลงทุ น ด้ ว ยความสุ ข ที่ มี มู ล ค่ า พร้อมก้าวไปสู่ความสำเร็จอย่างยั่งยืนร่วมกัน
fo r Yo ur H a ppi n es s
4
C reate Learning Socie t y
แบ่งปัน...ความรู้ ต่อยอด...ความคิด เพราะเราเชื่ อว่าบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ เป็ น กุ ญ แจสำคั ญ ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รให้ ก้ า วไป ข้ า งหน้ า เราจึ ง คิ ด ค้ น และนำนวั ต กรรมมาใช้ ในการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา ความสามารถของบุคลากรอยู่เสมอ สร้างการเรียนรู้ ในทุกกระบวนการ สร้างบรรยากาศในการทำงาน ที่มีความสุข ส่งเสริมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อเกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เพื่อก้าว ไปสู่ความเชี่ยวชาญแบบมืออาชีพร่วมกัน
นำไปสูก่ ารสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ โดยต่อยอดจากความคิด ของบุคลากรที่เต็มเปี่ยมด้วยศักยภาพ ถือเป็นอีกก้าว ที่ จ ะนำองค์ ก รไปสู่ ทิ ศ ทางของความ สำเร็ จ ได้ เ ร็ ว กว่าเดิม
a n d R e a dy t o be S har ed
5
I nno v ate the Gre e n Va lue
คิดค้น...อย่างรอบคอบ รับผิดชอบ...ต่อรอบข้าง “นวัตกรรม” เกิดขึ้นได้ด้วยกระบวนการคิด การเรียนรู้ และลงมือปฏิบัติ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้ บ ริ โ ภค พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล มี ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ ไบโอเทคโนโลยี โดยเลื อ กวั ต ถุ ดิ บ ที่ เ หลื อ จาก ภาคการเกษตรเข้ า มาใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต เพื่ อ พั ฒ นาพลาสติ ก ชี ว ภาพ สร้ า งสรรค์ คุ ณ ภาพชี วิ ต คนไทยให้ดีข้นึ ก้าวเข้าสู่เทคโนโลยีการผลิต Green Chemicals (เป็ น มิ ต รต่ อ คนและสิ่ ง แวดล้ อ ม) เพือ่ เป็นผูน้ ำธุรกิจเคมีภณั ฑ์จากธรรมชาติ (Bio-based Chemicals) ระดั บ โลก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ คมี ภั ณ ฑ์ จากธรรมชาติ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ ากไขมั น พื ช
และสัตว์ เช่น พลาสติกชีวภาพ แฟตตี้แอลกอฮอล์ ในอุตสาหกรรมยา เครือ่ งสำอาง และอนามัยส่วนบุคคล เมทิลเอสเตอร์ จากวัตถุดิบธรรมชาติสำหรับผสม ในไบโอดีเซล เพื่อใช้เป็นเคมีภัณฑ์ทดแทนผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ในอนาคต ในทุ ก นวั ต กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ต้ อ งมาพร้ อ มกั บ ความ รับผิดชอบ ใส่ใจต่อกระบวนการผลิตและเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างรอยยิ้มและเติมเต็มความสุข สู่สังคม
fo r S ust a i n a ble H a ppi n es s
6
วิสัยทัศน์ พันธกิจ
• เป็นผู้นำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต
• ส่งมอบผลตอบแทนที่เป็นธรรมและยั่งยืนให้แก่ผู้ถือหุ้น ด้วยการบริหารผลประกอบการที่เป็นเลิศอย่างน่าเชื่อถือ • ผสานความรับผิดชอบต่อสังคมและความใส่ ใ จสิ่งแวดล้อม ในการดำเนินธุรกิจ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน • เป็นทางเลือกที่ดีที่สุดแก่คู่ค้า ด้วยสินค้าและบริการเชิงนวัตกรรม • สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้วยบรรยากาศการทำงานที่เป็นสุข ควบคู่กับการพัฒนาบุคลากรให้ทุ่มเทและผูกพันต่อองค์กร เพื่อความเป็นเลิศอย่างมืออาชีพ
7
ข้อมูลสำคัญทางการเงิน
ปี 2554 *
ฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น
ผลการดำเนินงาน รายได้รวม EBITDA กำไรสุทธิ กำไรต่อหุ้น (บาท)
อัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วน EBITDA ต่อรายได้รวม (ร้อยละ) อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อรายได้รวม (ร้อยละ) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
หน่วย : ล้านบาท
372,967 164,513 208,454 504,599 54,422 30,033 6.66 1.75 10.79 5.95 8.05 14.41 0.79
หมายเหตุ : EBITDA คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย
*
เป็นข้อมูลทางการเงินรวมเสมือนว่าได้มีการควบบริษัทกันมาตลอดปี (งบการเงินเสมือนเปรียบเทียบ) สำหรับปี 2554 ซึ่งยังไม่ได้ ผ่ า นการตรวจสอบจากผู้ ส อบบั ญ ชี โดยบริ ษั ท ฯ จั ด ทำขึ้ น เพื่ อ ใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ผ ลการดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เกิดขึ้นจากการควบบริษัทระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กับบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) โดยได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ด้วยเหตุนี้ งบการเงินประจำปี 2554 ที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว จึงแสดงเฉพาะผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เท่านั้น
8
Global Winning Formula
9
10
Strategic Ways to Success
แกนนำธุรกิจเคมีภัณฑ์ของกลุ่ม ปตท. ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยกำลังการผลิต กว่า 8.2 ล้านตัน /ปี
เพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ลดความเสี่ยงจากความผันผวนของธุรกิจ ด้วยโครงสร้างธุรกิจที่ครบถ้วน ทั้งผลิตภัณฑ์สายโอเลฟินส์ อะโรเมติกส์ และเคมีภัณฑ์ต่อเนี่องต่างๆ
ส่งเสริมการดำเนินงานอย่างครบวงจร ดำเนินการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ระหว่างกันประมาณ 765,000 ตัน / ปีี
เพิ่มโอกาสในการขยายธุรกิจในอนาคต ใช้ประโยชน์จากจุดแข็งและผลิตภัณฑ์จากธุรกิจขั้นต้น เพื่อขยายไปสู่ธุรกิจขั้นปลายที่มีมูลค่าสูง
สร้างมูลค่าเพิ่มจากการผสานพลังร่วมระหว่างธุรกิจ โดยการบริหารจัดการสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้เต็มศักยภาพ และมีประสิทธิภาพสูงสุด
พัฒนาตำแหน่งทางการตลาด เป็นบริษัทชั้นนำในระดับภูมิภาคอาเซียน
11
ประวัติความเป็นมา
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTGC) เกิดจากการควบบริษัทระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) โดยได้จดทะเบียน จัดตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 เพื่อก้าวขึ้นเป็นแกนนำของธุรกิจเคมีภัณฑ์ (Chemical Flagship) ของกลุ่ม ปตท. ปัจจุบันบริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจำนวน 45,129,302,690 บาท โดยแบ่งเป็นหุ้นสามัญจำนวนทั้งสิ้น 4,512,930,269 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท และมีทุนชำระแล้วเป็นจำนวน 45,061,129,360 บาท
12
บริษัทฯ มีกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ รวม 8.2 ล้านตันต่อปี และกำลังการผลิต ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรวม 228,000 บาร์เรลต่อวัน โดยจัดแบ่งธุรกิจหลักเป็น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย ธุรกิจปิโตรเลียมและ สาธารณูปการ ธุรกิจอะโรเมติกส์ ธุรกิจโอเลฟินส์ ธุรกิจโพลิเมอร์ ธุรกิจเอทิลีนออกไซด์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมี เพื่อสิ่งแวดล้อม และธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ นอกจากนี้ ยังมีธุรกิจการให้บริการและอื่นๆ จึงนับเป็นบริษัทที่ ดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นครบวงจรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นบริษัทชั้นนำในระดับภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกทั้งขนาดและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
เหตุการณ์ที่สำคัญ
24 กุมภาพันธ์ 2554 : คณะกรรมการบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (PTT) บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) มีมติเห็นชอบแผนการควบบริษัท ระหว่าง PTTCH และ PTTAR เพื่อนำเสนอ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ PTTCH และ PTTAR ให้มีมติให้ควบบริษัทตามวิธีการ แห่ง พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 21 เมษายน 2554 : ที่ประชุมผู้ถือหุ้นบริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และที่ประชุม ผู้ถือหุ้นบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) มีมติอนุมัติ การควบบริษัท 18 ตุลาคม 2554 : การประชุมผู้ถือหุ้นร่วมระหว่างบริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) 19 ตุลาคม 2554 : จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กับกระทรวงพาณิชย์ และจัดให้มีพิธีส่งมอบกิจการ 21 ตุลาคม 2554 : หุ้นสามัญของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เข้าซื้อ-ขาย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยชื่อย่อหลักทรัพย์ PTTGC ในหมวดธุรกิจ ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
13
กิจกรรมสำคัญในปี 2554 5 มกราคม 2555 : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรบูธนิทรรศการ กลุ่ม ปตท. “พลังที่ยั่งยืน เพื่อไทย” ในงาน BOI Fair 2011 ณ เมืองทองธานี โดยนายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พีทีที โกลบอล เคมิคอล เฝ้ารับเสด็จฯ
30 มกราคม 2555 : PTTGC รับรางวัล CEO ยอดเยี่ยม, CFO ยอดเยี่ยม และ IR ยอดเยี่ยม จากสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Securities Analyst Association) ในงานมอบรางวั ล SAA Awards for Listed Companies 2011 ซึ่งจัดขึ้นติดต่อกันเป็นปีที่ 3 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2555 ณ โรงแรม แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพฯ ซึ่งในปีนี้ กลุ่ม ปตท. ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 6 รางวัล โดย PTTGC ได้รับรางวัลครบถ้วนทั้ง 3 สาขา ในหมวด ”สินค้าอุตสาหกรรม”
12 มกราคม 2555 : PTTGC รับรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ในงาน PTT Group KM Awards 2011 เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้กับผู้เชี่ยวชาญที่ถ่ายทอดความรู้ให้องค์กร และผู้ผลักดันการจัดการความรู้ กลุ่ม ปตท. รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการสร้าง สินทรัพย์ความรู้ และประยุกต์ความรู้เพื่อสร้างศักยภาพทางธุรกิจตามกลยุทธ์ ขององค์กร ณ Synergy Hall ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์
27 ธันวาคม 2554 : PTTGC ร่วมออกบูธแสดงนิทรรศการโครงการผลิตน้ำยาทำความสะอาด หลังน้ำลด และร่วมกับลูกค้า Plastic Converter ออกบูธจำหน่ายสินค้า ใน “โครงการสินค้าเบอร์ 5 เยียวยาผู้ประสบภัย” จัดโดยกระทรวงพลังงาน ณ ศูนย์แสดงสินค้า ไบเทค บางนา
14
22 ธันวาคม 2554 : PTTGC ลงนามสัญญาร่วมลงทุนต่อยอดธุรกิจ Isocyanates กับ Perstorp Holding AB เพื่อขยายฐานธุรกิจกลุ่มเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ (High Volume Specialties) กลุ่ม Isocyanates ตามการเติบโตของตลาดในภูมิภาคเอเชีย และตลาดโลก ณ เมือง Grenoble ประเทศฝรั่งเศส
18 ธันวาคม 2554 : PTTGC เปิดตัวน้ำยาทำความสะอาดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่คิดค้นจาก ความร่วมมือกับสถาบันนาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. เพื่อนำมาใช้ฟื้นฟู ทำความสะอาดพื้นที่ที่ประสบปัญหาน้ำท่วมขัง ณ ศูนย์พัฒนาการจัดการ สังคมผู้สูงอายุ คลอง 5 จังหวัดปทุมธานี
30 พฤศจิกายน 2554 : PTTGC ร่วมลงนามในข้อตกลงร่วม “การให้ความช่วยเหลือระหว่างกันในกรณี เหตุฉุกเฉิน กลุ่ม ปตท.” และรับมอบเกียรติบัตรในนาม PTT Group SEAL ณ Synergy Hall ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์
5 พฤศจิกายน 2554 : PTTGC เปิดศูนย์ “กลุ่ม ปตท. รวมพลังไทย ฟื้นฟูผู้ประสบภัยน้ำท่วม” จังหวัด นครสวรรค์ ร่วมกับผูบ้ ริหารและพนักงานจิตอาสากลุม่ ปตท. พร้อมร่วมพิธเี ปิด โครงการ “ฟื้นฟูอุทยานสวรรค์” และเยี่ยมชมศูนย์ “กลุ่ม ปตท. รวมพลังไทย ฟื้นฟูผู้ประสบภัยน้ำท่วม” ณ จังหวัดนครสวรรค์
2 พฤศจิกายน 2554 : PTTGC ร่วมกับกลุ่ม ปตท. สนับสนุนเงิน 20 ล้านบาท จัดตั้งกองทุน “ตลาดทุน ร่วมใจ ช่วยภัยน้ำท่วม” ให้กับสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เพื่อใช้ฟื้นฟู และกอบกู้ภาคประชาชนหลังน้ำท่วม ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
15
21 ตุลาคม 2554 : PTTGC เปิดการซื้อขายหลักทรัพย์เป็นวันแรก พร้อมก้าวสู่การเป็นแกนนำ ในธุ ร กิ จ เคมี ภั ณ ฑ์ ข องกลุ่ ม ปตท. ด้ ว ยศั ก ยภาพและความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ มุ่งสู่การเป็นบริษัทชั้นนำในเอเชียแปซิฟิก ณ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
19 ตุลาคม 2554 : PTTGC จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กับกระทรวงพาณิชย์ และจัดพิธีส่งมอบกิจการ
13 ตุลาคม 2554 : สนับสนุนเงินจำนวน 20 ล้านบาท ใน “โครงการบริการอาหาร” ของศูนย์ ปตท. รวมพลังไทย ช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม” โดยแจกจ่ายอาหารให้กับ ผู้ประสบอุทกภัย จำนวน 8 ศูนย์ฯ ประกอบด้วยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 3 ศูนย์ฯ และอีก 5 ศูนย์ฯ ภูมภิ าคในจังหวัดอยุธยา อ่างทอง สระบุรี นครสวรรค์ และพิษณุโลก
3 ตุลาคม 2554 : ร่วมกับกลุม่ ปตท. ปล่อยคาราวาน “กลุม่ ปตท. รวมพลังไทย ฟืน้ ฟูผปู้ ระสบภัย น้ำท่วม” เพื่อเดินทางไปจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูผู้ประสบภัยน้ำท่วมจังหวัดพิษณุโลก ณ ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ ถือเป็นการเปิดโครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ระยะที่ 3 ของกลุ่ม ปตท.
14 กันยายน 2554 : ร่วมกับกลุ่ม ปตท. มอบเงิน จำนวน 20 ล้านบาท ให้โครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม” จัดโดยสำนักนายกรัฐมนตรีร่วมกับภาคส่วน ต่างๆ เพือ่ เร่งระดมความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยอย่างบูรณาการโดยทุกภาคส่วน ผ่าน “กองทุนเงินช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย สำนักนายกรัฐมนตรี” ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
16
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
ปี 2554 นั บ ได้ ว่ า เป็ น ปี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ ข องวงการอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ของประเทศไทยอีกครั้ง จากการรวมตัวของบริษัทชั้นนำสองบริษัท คือ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) และบริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เกิดขึน้ เป็น บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เพือ่ เป็นแกนนำในธุรกิจเคมีภณั ฑ์ (Chemical Flagship) ของกลุม่ ปตท. ในการผลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี สายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์เป็นหลัก และธุรกิจทีค่ รบวงจรจากต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ด้วยกำลังการผลิตเคมีภณั ฑ์ รวม 8.2 ล้านตันต่อปี และกำลังการกลั่นปิโตรเลียมรวม 2.28 แสนบาร์เรลต่อวัน อันประกอบไปด้วย 7 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจปิโตรเลียมและสาธารณูปการ ธุรกิจอะโรเมติกส์ ธุรกิจโอเลฟินส์ ธุรกิจโพลิเมอร์ ธุรกิจเอทิลีนออกไซด์ ธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม และธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ จึงถือได้ว่า พีทีที โกลบอล เคมิคอล เป็นก้าวย่างที่ยิ่งใหญ่ และเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญ ในฐานะผู้สร้างนวัตกรรมเคมิคอล ชั้นนำให้แก่วงการธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ ซึ่งมีสายการผลิตที่บูรณาการอย่างครบวงจรของประเทศ
จากสถานการณ์เศรษฐกิจในภาพรวม ปี 2554 ยังคงเป็นปีที่ดีสำหรับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แม้ว่าในช่วง ครึ่งหลังของปี ความต้องการในผลิตภัณฑ์ขั้นต่อเนื่องจะลดลงบ้าง อันเป็นผลมาจากสถานการณ์ในยุโรปที่หลาย ประเทศเผชิญกับวิกฤติหนี้สาธารณะ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อ่อนกำลังลง ขณะที่จีนและอีกหลาย ประเทศในเอเชียเพิ่มความเข้มงวดในนโยบายการเงิน เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อ และจากการลดภาษีนำเข้า ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ประกอบกับวิกฤตการณ์มหาอุทกภัย ของประเทศไทยในช่วงปลายปี ส่งผลให้ระดับราคาและความต้องการผลิตภัณฑ์ของกลุ่มบริษัทฯ ชะลอลงบ้าง อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโดยรวมของซีกโลกตะวันออกยังคงเติบโตอยูใ่ นเกณฑ์ทดี่ ี ทัง้ จากภาคการผลิต การส่งออก และการบริโภคของประเทศต่างๆ ในแถบเอเชียที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้เหตุการณ์ต่างๆ นั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยรวม จากเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ประกอบกับบริษัทฯ เป็นผูผ้ ลิตปิโตรเคมีและโรงกลัน่ ทีค่ รบวงจร มีความยืดหยุน่ ในการเลือกใช้วตั ถุดบิ ในการผลิต รวมถึงมีฐานลูกค้า ที่เข้มแข็ง ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญในการลดความผันผวนด้านผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ผลประกอบการของบริษัทฯ ในปี 2554 ตามงบการเงินเสมือนเปรียบเทียบ บริษัทฯ มีรายได้จากการขาย รวม 500,305 ล้านบาท มีกำไรสุทธิ 30,033 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้น 6.66 บาท
17
สารจากประธานกรรมการ
18
ด้านการลงทุน บริษทั ฯ ได้กำหนดแผนกลยุทธ์หลักในการขยายกำลังการผลิตโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ ด้วยการ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ โดยลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง และอุตสาหกรรมเคมีทมี่ วี งจรราคา แตกต่างไปจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และสร้างเสถียรภาพ ของรายได้และผลกำไรของบริษัทฯ ในระยะยาว โดยได้มีการขยายกำลังการผลิตทั้งที่สำเร็จลงแล้วและเริ่ม เดินเครื่องในเชิงพาณิชย์ อาทิ โรงแครกเกอร์ โรงผลิต LDPE และ HDPE โรงผลิตน้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำ มาตรฐานยู โ ร 4 รวมถึ ง โครงการที่ จ ะขยายกำลั ง การผลิ ต โรงงานอะโรเมติ ก ส์ แ ห่ ง ที่ 2 ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า ง การศึกษาความเป็นไปได้ ตลอดจนการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ ได้แก่ การเข้าร่วมลงทุนกับบริษัท Perstorp Holding ประเทศฝรั่งเศส เพื่อขยายฐานเข้าไปสู่กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ (High Volume Specialties) เพื่อเป็นการต่อยอดธุรกิจกลุ่มเคมีภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ นอกจากนี้ ยังได้ให้ความใส่ใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นในการวิจัยพัฒนาพลาสติกชีวภาพและเคมีชีวภาพ เพิ่มมากขึ้นด้วยการเข้าซื้อหุ้นของบริษัท Myriant Corporation และบริษัท NatureWorks ซึ่งเป็นบริษัทชั้นนำ ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์ประเภท Green Technology ของประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อเพิ่มมูลค่า ให้กับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด การใช้พลังงานทดแทน และผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และรองรับการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น
ในด้านการดำเนินธุรกิจ ได้ให้ความสำคัญและยึดมั่นในหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งก่อนการควบรวม ทั้งสองบริษัทก็ได้ถือปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการปลูกฝังค่านิยมทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตให้แก่ พนักงานทุกระดับ ดำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส นำหลักสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดีมาใช้เป็นแนวทาง ในการดำเนิ น งาน และเคร่ ง ครั ด ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ กำหนดที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อีกทั้งมีกระบวนการส่งเสริมและวางแผนการพัฒนาบุคลากรด้วยองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ และเป็นทรัพยากรที่จะสามารถรองรับกับการเติบโตในระยะยาวของบริษัทฯ พร้อมไปกับการสร้างจิตสำนึกของการเป็นพลเมืองดี และมีความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งในยามปกติและ ในเวลาที่ประเทศชาติต้องการความช่วยเหลือ ดังจะเห็นได้จากเหตุการณ์อุทกภัยร้ายแรงในช่วงปลายปี ที่ผ่านมา นอกจากกลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล และพนักงานจะร่วมบริจาคทรัพย์สินและสิ่งของ เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อน ยังได้เข้าร่วมเป็นหนึง่ ในทีมกูภ้ ยั กับกลุม่ ปตท. ในการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้ความช่วยเหลือ และฟื้นฟูสภาพจิตใจพี่น้องประชาชนผู้ประสบภัยอีกด้วย
19
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ให้ความสำคัญต่อการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม โดยยึดถือหลักการดำเนินธุรกิจควบคู่ ไปกั บ การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น ระบบและเป็ น ไปตามมาตรฐานสากล ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นสำคั ญ ในการแสดงถึ ง ความรับผิดชอบของบริษัทฯ ที่มีต่อชุมชนและสังคมในทุกโครงการและทุกหน่วยผลิต ทั้งในปัจจุบันและที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต สอดคล้องกับแนวทางสากลที่มุ่งเน้นการสร้างความสมดุลในการดำเนินกิจการระหว่างอุตสาหกรรม สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ผมขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ให้การสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทฯ มาอย่างต่อเนื่อง และด้วยความพร้อมในด้านต่างๆ อันเกิดจากการควบบริษัท ทั้งจากการผสมผสานความรู้ ความชำนาญ ความแข็ ง แกร่ ง ในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และจิ ต สำนึ ก ในความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า พีทีที โกลบอล เคมิคอล จะเป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศ เปี่ ย มด้ ว ยศั ก ยภาพ ก้ า วไปสู่ ก ารเจริ ญ เติ บ โต และเป็ น ผู้ น ำในธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละเคมี ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งครบวงจร ในระดับสากล เพื่อสร้างมูลค่าและความมั่นคงให้แก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างยั่งยืนตลอดไป
(นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์)
ประธานกรรมการ
20
แนวโน้มเศรษฐกิจโลก และเศรษฐกิจไทย ปี 2555-2559 เศรษฐกิจโลกปี 2555 มีแนวโน้มจะขยายตัวร้อยละ 2.5 ชะลอลงจากปี 2554 ทีค่ าดว่าขยายตัวร้อยละ 2.8 ก่อนจะค่อยๆ ปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับเกินกว่าร้อยละ 3 ในปี 2556 และทีร่ อ้ ยละ 4.0 ภายหลังจากนัน้ ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัว เฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปานกลางที่ร้อยละ 3.5 ในช่วง 5 ปีข้างหน้า นับจากปัจจุบัน โดยอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ โลกจะมาจากกลุม่ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ นำโดย จีน อินเดีย และอาเซียน เป็นสำคัญ เศรษฐกิจจีน ทีแ่ ม้วา่ จะชะลอลงในปี 2555 แต่กค็ าดว่าจะยังคงขยายตัวอยูใ่ นเกณฑ์ดที ร่ี อ้ ยละ 8.2 ก่อนจะปรับตัวดีขน้ึ สู่ระดับเกือบร้อยละ 9 ในปี 2556 และที่ประมาณร้อยละ 9.5 ภายหลังจากนั้น ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจจีนจะขยายตัว เฉลีย่ อยูใ่ นเกณฑ์ดที ร่ี อ้ ยละ 9.1 ในช่วง 5 ปี นับจากปัจจุบนั อินเดีย เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจอยู่ในลำดับที่สองรองจากจีน โดยแม้คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว ในอัตราทีช่ ะลอลงในปี 2555 แต่ยงั คงอยูใ่ นเกณฑ์ดที ร่ี อ้ ยละ 6.3 ก่อนจะปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับสูงเกินกว่าร้อยละ 7 ในปี 2556 และที่ประมาณร้อยละ 8 ภายหลังจากนั้น ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจอินเดียจะขยายตัวเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีท่รี ้อยละ 7.6 ในช่วง 5 ปี นับจากปัจจุบนั เศรษฐกิจยุโรป โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่ใช้เงินสกุลยูโร หรือยูโรโซน ยังคงมีแนวโน้มซบเซาต่อไปจากวิกฤติหนี้ สาธารณะ โดยหลายประเทศทีข่ อรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ไปแล้ว ได้แก่ กรีซ ไอร์แลนด์ และโปรตุเกส ยังคงต้องเผชิญกับเศรษฐกิจทีม่ แี นวโน้มถดถอยต่อเนือ่ งในระยะสัน้ ซึง่ เป็นผลจากการใช้นโยบายการคลัง เข้มงวดอย่างมาก ขณะทีอ่ กี หลายประเทศซึง่ เผชิญวิกฤติหนีส้ าธารณะ เช่น อิตาลี และสเปน ยังคงต้องดิน้ รนเพือ่ ให้ตลาด การเงินยังคงระดับความเชือ่ มัน่ ในความสามารถในการชำระหนี้ เพือ่ ไม่ตอ้ งเผชิญกับต้นทุนเงินกูท้ อ่ี าจปรับสูงขึน้ เกินกว่า ระดับที่จะยอมรับได้ และเพื่อหลีกเลี่ยงการขอความช่วยเหลือจากสหภาพยุโรป และ IMF ซึ่งนั่นจะสะท้อนให้เห็น ถึงสถานการณ์ท่เี ลวร้ายยิ่งขึ้นกว่าปัจจุบัน และทำให้การแก้ปัญหาหนี้สาธารณะมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น องค์ประกอบ ดังกล่าวทำให้คาดว่าเศรษฐกิจยูโรโซนจะถดถอยในปี 2555 ที่ร้อยละ 0.7 ก่อนจะปรับตัวดีข้ึนจนกลับมาขยายตัว ได้เกือบร้อยละ 1 ในปี 2556 และทีร่ อ้ ยละ 1.7 ภายหลังจากนัน้ ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจยูโรโซนจะขยายตัวเฉลีย่ อยูใ่ น เกณฑ์ตำ่ มาก ทีร่ อ้ ยละ 1 ในช่วง 5 ปี นับจากปัจจุบนั ซึง่ นัน่ จะทำให้อตั ราการว่างงานในยูโรโซนยังคงอยูใ่ นระดับสูง ที่ระดับร้อยละ 10 ต่อไปอีกยาวนาน ทั้งนี้ แนวโน้มดังกล่าวยังคงอยู่ภายในสมมติฐานสำคัญ คือ วิกฤติหนี้สาธารณะ ในภูมภิ าคจะต้องคลีค่ ลายขึน้ เป็นลำดับด้วย เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา แม้ว่ายังคงเผชิญกับระดับหนี้สาธารณะและอัตราการว่างงานในระดับสูงคล้ายคลึงกับยุโรป แต่เนื่องจากการดำเนินนโยบายการเงินและการคลังมีประสิทธิภาพสูงกว่ายุโรป ทำให้เศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะฟื้นตัว แม้จะเป็นไปอย่างช้าๆ และมีความไม่แน่นอนในระยะสัน้ ก็ตาม โดยคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวได้รอ้ ยละ 2.0 ในปี 2555 ก่อนจะปรับตัวสูงขึน้ ไปสูใ่ นระดับร้อยละ 3 ในปี 2557 และทีร่ อ้ ยละ 3.4 ภายหลังจากนัน้ ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะขยายตัวเฉลีย่ อยูใ่ นเกณฑ์ปานกลางทีป่ ระมาณร้อยละ 3 ในช่วง 5 ปีขา้ งหน้า นับจากปัจจุบนั เศรษฐกิจญี่ป่นุ ที่แม้ว่าถดถอยในปี 2554 แต่กลับมีแนวโน้มดีข้นึ มากในปี 2555 โดยคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.6 ก่อนจะปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับร้อยละ 2 ในปี 2557 แต่อาจขยายตัวลดลงเล็กน้อยภายหลังจากนัน้ ทำให้คาดว่าเศรษฐกิจญีป่ นุ่ จะขยายตัวเฉลีย่ อยูใ่ นเกณฑ์ตำ่ ทีร่ อ้ ยละ 1.6 ในช่วง 5 ปีขา้ งหน้า นับจากปัจจุบนั
21
World and Selected Economies Growth % 11.0 9. 7. 5. 3. 1. -1.0 -3.0 -5.0 -7.0
2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 Note : ASEAN-5 includes Indonesia, Malaysia, The Philippines, Thailand and Vietnam: NIEs includes Hong Kong, Korea, Singapore and Taiwan Sources : IMF, BOT and market survey China Asean-5 NIEs US Eurozone India Thailand World UK Japan
เศรษฐกิจไทย ซึ่งได้รับผลกระทบรุนแรงจากมหาอุทกภัย ในปี 2554 คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวได้อย่างมีนัยสำคัญ ในปี 2555 โดยคาดว่าจะขยายตัวได้ร้อยละ 4.9 จากที่ ขยายตัวเพียงร้อยละ 1.0 ในปีก่อนหน้า ก่อนจะขยายตัว ดีข้ึนต่อไปที่ประมาณร้อยละ 5.6 ในปี 2556 คาดว่า เศรษฐกิ จ ไทยจะขยายตั ว เฉลี่ย อยู่ใ นเกณฑ์ ป านกลาง ทีร่ อ้ ยละ 5 ในช่วง 5 ปีขา้ งหน้า นับจากปัจจุบนั อย่างไรก็ดี แนวโน้มการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก ประเทศ และภูมภิ าคสำคัญๆ ในปี 2555 และในช่วง 5 ปี นับจาก ปัจจุบัน อาจดีข้นึ หรือแย่ลงจากแนวโน้มข้างต้นได้อย่างมี นัยสำคัญ ขึน้ กับหลายปัจจัยทีเ่ ป็นความเสีย่ งโดยเฉพาะได้แก่
1. พัฒนาการของวิกฤติหนีส้ าธารณะในยูโรโซน ทีอ่ าจปรับตัวดีขน้ึ เกินกว่าทีค่ าด หรืออาจเลวร้ายลงมากจนอาจถึงขัน้ ส่งผลต่อการคงอยูข่ องยูโรโซนหรือสกุลเงินยูโร 2. พัฒนาการของการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจและการจัดการหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ และญี่ป่นุ ที่อาจส่งผลให้ ตลาดการเงินมีความเชื่อมั่นมากขึ้น หรือปรับลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ 3. พัฒนาการของระดับการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย ที่อาจอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพและผลักดันให้เศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้นในระยะยาว หรืออาจชะลอตัวลงรุนแรง เกินกว่าคาดและบั่นทอนศักยภาพการเติบโตในระยะยาว 4. ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศ ที่อาจคลี่คลายลงรวดเร็ว หรือรุนแรงขึ้นจนกดดันให้ราคาน้ำมันดิบโลก ปรับตัวสูงขึ้นรุนแรง หรือเกิดภาวะขาดแคลนน้ำมัน พัฒนาการของความเสี่ยงดังกล่าว จะส่งผลให้เศรษฐกิจโลก ประเทศ และภูมิภาคต่างๆ ได้รับผลกระทบ ทำให้แนวโน้ม การขยายตัวทางเศรษฐกิจเปลี่ยนไปจากที่คาดการณ์ไว้ได้อย่างมีนัยสำคัญ ทั้งในช่วงปี 2555 และในช่วง 5 ปีข้างหน้า นับจากปัจจุบัน นอกเหนือจากความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจโลกทั้งสี่ประการข้างต้น เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจากอุทกภัยและภัยแล้ง ในปี 2555 หรือภายหลังจากนั้น ที่อาจบั่นทอนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะหากการวางแผน จัดการในเรื่องดังกล่าวในระดับมหภาคขาดประสิทธิภาพ ขณะที่การเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนที่จะเกิดขึ้นอย่างเต็มรูปแบบในปี 2558 จะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของเศรษฐกิจไทย ทั้งการซื้อขายสินค้า และการบริการ การเคลื่อนย้ายการลงทุน แรงงาน และเงินทุน ซึ่งจะส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วง 5 ปีข้างหน้า นับจากปัจจุบันได้อย่างมีนัยสำคัญ
22
โครงสร้างธุรกิจ
ส์ น ิ ฟ โอเล s in Olef
+ โอเลฟินส์(3) + ไพโรไลซิส แก๊สโซลีน + มิกซ์ซี 4
ปิโตรเลีย และสาธารณ ม ูป Refinery & S hared การ Fa
cilitie s
ics
อะโ Aro รเมต ma ิกส t
์
ธุรกิจการให้ บริการ และอื ่น ๆ
Services and Others
+ พาราไซลีน + เบนซีน + ไซโคลเฮกเซน + ออร์ โธไซลีน + มิกซ์ ไซลีนส์ + โทลูอีน(2)
+ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) + แนฟทาชนิดเบาและรีฟอร์เมท + น้ำมันอากาศยาน + น้ำมันดีเซล + น้ำมันเตา(1)
+ ท่าเทียบเรือ(17) + สาธารณูปการ(18) + ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม(19) + การบำรุงรักษาและการออกแบบทางวิศวกรรม(20) + บริการระบบการเดินท่อขนส่ง(21) + โพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC)(22) + การตลาดและซื้อขายผลิตภัณฑ์สุขภาพและโภชนาการ(23) + การวิจัยพัฒนาด้านพลาสติกชีวภาพและเคมีชีวภาพ(24) + บริการด้านสื่อสารและเทคโนโลยี(25) + บริการด้านการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการ(26)
23
โพลิเมอ
Polym er
s
ร์
เอ
ด์
EO- ทิล + โพลีเอทิลีน Bas ีนอ ความหนาแน่นสูง (HDPE)(4) ed อก Per ไ + โพลีเอทิลีน for ซ ความหนาแน่นต่ำ ma (LDPE)(5) + โพลีเอทิลีน + เอทิลีนออกไซด์/ ความหนาแน่นต่ำ เอทิลีนไกลคอล (EO/EG)(8) เชิงเส้น (LLDPE)(6) + เอทานอลเอมีน(9) + โพลีสไตรีน + อีทอกซีเลท(10) (PS)(7)
nc
e
G
เ์ คมี ณ ั ฑ อ้ ม ติ ภ ดล als ผล สงิ่ แวhemic เพrอื่ een C
ั ฑช์ นดิ พเิ ศ ภี ณ
+ ฟีนอลและ BPA(15) + โทลูอีนไดไอโซไซยาเนท (TDI)(16)
เคม Volume h g i H lties (HVS) Specia
+ เมทิลเอสเทอร์ แฟตตี้แอลกอฮอล์ กลีเซอรีน(11) + ผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมีพื้นฐานและ โอลีโอเคมีชนิดพิเศษ(12) + แคโรทีนอยด์(13) + ไบโอพลาสติก*(14)
ษ * โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
หมายเหตุ
: (1) PTTGC มีกำลังการกลั่นน้ำมันดิบ 145,000 บาร์เรลต่อวัน (2) PTTGC มีกำลังการผลิตอะโรเมติกส์รวม 2,259,000 ตันต่อปี และมีกำลังการกลั่น คอนเดนเสทรวม 135,000 บาร์เรลต่อวัน (3) PTTGC มีกำลังการผลิต 1,863,000 ตันต่อปี และ PTTPE มีกำลังการผลิต 1,025,000 ตันต่อปี (4) PTTGC มีกำลังการผลิต 300,000 ตันต่อปี และ BPE มีกำลังการผลิต 500,000 ตั น ต่ อ ปี (5) PTTPE มี ก ำลั ง การผลิ ต 300,000 ตั น ต่ อ ปี (6) PTTPE มีกำลังการผลิต 400,000 ตันต่อปี (7) TSCL มีกำลังการผลิต 90,000 ตั น ต่ อ ปี (8) TOCGC มี ก ำลั ง การผลิ ต 300,000 ตั น ต่ อ ปี และโครงการส่ ว นขยายที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการดำเนิ น การ มี ก ำลั ง การผลิ ต 95,000 ตั น ต่ อ ปี (9) EA มี ก ำลั ง การผลิ ต 50,000 ตั น ต่ อ ปี (10) TEX มีกำลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี
(11) TOL มีกำลังการผลิต 331,000 ตันต่อปี (12) EMERY มีกำลังการผลิต โอลี โ อเคมี พื้ น ฐานและโอลี โ อเคมี ช นิ ด พิ เ ศษ 962,000 ตั น ต่ อ ปี (รวมMPR ซึ่งเป็นโครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง) (13) Bio Spectrum (14) NatureWorks LLC (15) Phenol มี ก ำลั ง การผลิ ต สารฟี น อล 200,000 ตั น ต่ อ ปี และกำลั ง การผลิ ต สาร BisPhenol-A (BPA) 150,000 ตั น ต่ อ ปี ( 16) Perstorp Holding France SAS มี ก ำลั ง การผลิ ต 125,000 ตั น ต่ อ ปี (17) TTT (18) PTTUT (19) NPC S&E (20) PTTME และ PTTES (21) EFT (22) VNT มีกำลังการผลิตพลาสติกพีวีซี 280,000 ตันต่อปี (23) Bio Creation (24) Myriant Corporation (25) PTTICT (26) Business Service Alliance
24
แผนผังทางธุรกิจ วัตถุดิบ
ผลิตภัณฑ์ขั้นต้น โอเลฟินส์
ก๊าซธรรมชาติ
อีเทน, โพรเพน, เอ็นจีแอล
เอทิลีน
โพรพิลีน แนฟทาชนิดเบา, โพรเพน, บิวเทน
มิกซ์ ซี 4 ไพโรไลซิส แก๊สโซลีน
น้ำมันปาล์ม
รีฟอร์เมท
คอนเดนเสท
อะโรเมติกส์ เบนซีน โทลูอีน พาราไซลีน
คอนเดนเสท เรสิดิว
น้ำมันดิบ
ผลผลิตทางการเกษตร
ออร์โธไซลีน มิกซ์ไซลีนส์
25
ผลิตภัณฑ์ขั้นกลาง
ผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย
ลูกค้า
โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำเชิงเส้น โพลีสไตรีน
สไตรีน โมโนเมอร์ เอทิลีนออกไซด์
เอทิลีนไกลคอล อีทอกซีเลท เอทานอลเอมีน
โอลีโอเคมิคอล
เมทิลเอสเทอร์ แฟตตี้แอลกอฮอล์
คิวมีน ฟีนอล, อะซีโตน
บีพีเอ
ไซโคลเฮกเซน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว แนฟทาชนิดเบา รีฟอร์เมท น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา พลาสติกชีวภาพ ผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล REFINERY & SHARED FACILITIES
AROMATICS
OLEFINS
POLYMERS
EO-BASED PERFORMANCE
GREEN CHEMICALS
HIGH VOLUME SPECIALTIES (HVS)
26
กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ ภาพรวมธุรกิจ บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้กลั่นน้ำมันและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูปชั้นนำของประเทศ โดยเป็นเจ้าของ และผู้ดำเนินการโรงกลั่นน้ำมันแบบ Complex ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ด้วยกระบวนการกลั่นที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ในสัดส่วนที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า โดยมีกำลังการกลั่นน้ำมันดิบ 145,000 บาร์เรลต่อวัน และสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมคุณภาพสูงหลายประเภท จากโรงกลั่นน้ำมันแบบ Complex ซึ่งมีหน่วย Hydrocracker และ Visbraker ที่สามารถผลิตน้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตา รวมถึงเปลี่ยนน้ำมันเตาเป็นน้ำมันกึ่งสำเร็จรูปกึ่งหนักกึ่งเบา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ให้ความสำคัญกับธุรกิจและกิจกรรมที่สนับสนุนให้การดำเนินธุรกิจปิโตรเคมี มีความมั่นคง และครบวงจรยิ่งขึ้น โดยกลุ่มบริษัทฯ มีท่าเทียบเรือและคลังผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีเพื่อใช้เป็นระบบสนับสนุนให้เกิดความ มัน่ คงในการผลิต เช่น กรณีทรี่ ะบบการผลิตไม่สามารถผลิต หรือการปิดโรงงานเพือ่ ซ่อมบำรุง รวมถึงเป็นช่องทางในการ จัดเก็บสินค้านำเข้าและส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี รวมถึงการให้บริการแก่กลุ่มโรงงานปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่องอีกด้วย
การดำเนินงานของกลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ ในปี 2554 บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้รวมทั้งสิ้นประมาณ 57.6 ล้านบาร์เรล โดยใช้วัตถุดิบเข้ากลั่น ประมาณ 58.8 ล้านบาร์เรล ทั้งนี้ มีการหยุดซ่อมบำรุงตามแผนงานในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี เป็นเวลา 47 วัน และมีการดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของโรงกลั่นน้ำมันอย่างต่อเนื่องตามกลยุทธ์ทางธุรกิจที่ตั้งไว้ โดยสรุปได้ดังนี้ • เปลี่ยนชนิดตัวเร่งปฏิกิริยาในหน่วยผลิตรีฟอร์เมท ทำให้รีฟอร์เมทที่ผลิตได้มีสัดส่วนสารอะโรเมติกส์สูงขึ้น • เปลี่ยนชนิดตัวเร่งปฏิกิริยาในหน่วย Hydrocracker ทำให้ได้ปริมาณผลิตภัณฑ์น้ำมันดีเซลและน้ำมันอากาศยาน เพิ่มขึ้น อีกทัง้ ได้ดำเนินโครงการเพือ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการผลิตเพือ่ ให้มน่ั ใจ ว่าจะสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดังนี้ • ทำการติดตั้งระบบ Low NOx Emission ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซหน่วยที่ 3 ซึ่งเป็นตัวสุดท้ายแล้วเสร็จ ทำให้ลดการระบายออกไซด์ของไนโตรเจนลงได้ร้อยละ 20 ของที่เคยระบายก่อนเริ่มดำเนินการโครงการ • ดำเนินโครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ระยะที่ 2 (Upgrading Complex Phase 2) หรือโครงการก่อสร้างหน่วย Deep Hydro Desulfurization (DHDS) เพื่อผลิตน้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำ ตามมาตรฐานยูโร 4 ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จและสามารถเดินเครื่องผลิตได้ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2554
27
บริษัทฯ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันได้ปริมาณรวม 55 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่า ประมาณ 6,450 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์หลักคือน้ำมันดีเซลและน้ำมันอากาศยาน ซึ่งบริษัทฯ มียอดจำหน่าย ในประเทศประมาณร้อยละ 72 ของปริมาณน้ำมันดีเซลและน้ำมันอากาศยานที่ผลิตได้ ซึ่งคิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดเท่ากับ ร้ อ ยละ 19 ของยอดจำหน่ า ยในประเทศไทยทั้ ง หมด ทั้ ง นี้ ลู ก ค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย มหลั ก ของบริ ษั ท ฯ ได้ แ ก่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้หาลูกค้ารายใหม่เพิ่มเติมโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์น้ำมันเตา ทำให้บริษัทฯ มีความยืดหยุ่น ในการผลิตและจำหน่ายมากขึ้น ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่บริษัทฯ ส่งออกไปจำหน่ายในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ สิงคโปร์ และเวียดนาม มีจำนวนรวมกันประมาณร้อยละ 35 ของการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั้งหมด
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน • ราคาน้ำมันดิบ ในช่วงครึ่งปีแรก ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากจากปลายปี 2553 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากเหตุการณ์ ความไม่สงบในกลุ่มประเทศตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ส่งผลกระทบต่อการผลิตน้ำมันดิบทำให้อุปทานน้ำมันดิบ ของโลกลดลง กดดันให้ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงสุดอยู่ท่ี 118 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในเดือนเมษายน สูงสุด ในรอบ 2 ปี แต่เมื่อเริ่มเข้าสู่ครึ่งปีหลัง ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ (Commodities) รวมถึงน้ำมันดิบเริ่มปรับตัวลดลง โดยได้รับอิทธิพลจากปัญหาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ และการถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินของสหรัฐอเมริกา มาอยู่ที่ AA+ นอกจากนี้ จีนได้มีการเพิ่มความเข้มงวดของนโยบายการเงินเพื่อที่จะลดอัตราเงินเฟ้อ ทำให้การขยายตัว ทางเศรษฐกิจชะลอตัวในช่วงครึ่งปีหลัง รวมถึงปัญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยุโรปที่มีแนวโน้มลุกลามไปยังอิตาลี สเปน และฝรั่งเศส จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้เศรษฐกิจของโลกเติบโตน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ และมีผลกระทบ ทำให้ความต้องการใช้น้ำมันของโลกขยายตัวลดลง รวมถึงปัญหาความไม่สงบในลิเบียได้คลี่คลายลงในเดือนตุลาคม ส่งผลให้ลิเบียสามารถกลับมาส่งออกน้ำมันดิบเข้าสู่ตลาด จากปัจจัยเหล่านี้จึงส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลง ในช่วงไตรมาสที่ 3 มาอยู่ที่ระดับ 100 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสที่ 4 ปัญหาความไม่สงบในกลุ่มผู้ผลิตน้ำมันดิบ อาทิ อิรัก คาซัคสถาน และไนจีเรีย รวมถึง ความตึงเครียดในตะวันออกกลางที่เพิ่มสูงขึ้น จากการคว่ำบาตรของนานาชาติต่อการพัฒนาโครงการพลังงานนิวเคลียร์ ของอิหร่าน ประกอบกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่เริ่มมีสัญญาณการฟื้นตัว ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึ้นในช่วง ปลายปีมาอยู่ที่ระดับ 110 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีแนวโน้มที่จะทรงตัวต่อไปในระดับนี้ต่อเนื่องจนถึงต้นปี 2555
28
• ราคาน้ำมันสำเร็จรูป ในปี 2554 ราคาและส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่องจากปี 2553 เนื่องจากความต้องการ ใช้น้ำมันปิโตรเลียมสำเร็จรูปที่ยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะการเติบโตของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะในภูมิภาค เอเชีย แต่ในขณะทีป่ ริมาณการผลิตน้ำมันปิโตรเลียมสำเร็จรูปกลับตึงตัวอย่างมีนยั สำคัญ จากเหตุการณ์แผ่นดินไหว และคลื่นสึนามิที่ญี่ปุ่น โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ • ส่วนต่างราคาน้ำมันเบนซิน (Gasoline : ULG 95) กับน้ำมันดิบดูไบ ปรับอยู่ในระดับสูงตลอดทั้งปี และปรับตัว สูงมากในช่วงเดือนกันยายนที่ 18.1 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากการหยุดเดินเครื่องแบบฉุกเฉิน (Unplanned Shutdown) ของโรงกลัน่ น้ำมัน Formosa Petrochemical Corp. ที่ Mailiao ในไต้หวัน และโรงกลัน่ Dung Quat ในเวียดนาม แต่เมื่อเข้าสู่ไตรมาสสุดท้ายของปี ส่วนต่างราคาน้ำมันเบนซินกับน้ำมันดิบดูไบ ปรับตัวลดลงโดยเฉพาะในเดือนพฤศจิกายน ราคาน้ำมันเบนซินเฉลี่ยลดลงอยู่ที่ 3.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากโรงกลั่นต่างๆ ที่หยุดซ่อมบำรุงกลับมาดำเนินการตามปกติ และความต้องการใช้ลดลงจากปัญหา อุ ท กภั ย หลายประเทศในเอเชี ย แต่ โ ดยเฉลี่ ย ทั้ ง ปี ส่ ว นต่ า งราคาน้ ำ มั น เบนซิ น ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น มาอยู่ ที่ 13.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 31 จาก 10.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในปี 2553 • ส่วนต่างราคาน้ำมันอากาศยาน (Jet/Kerosene) กับน้ำมันดิบดูไบ เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากเมื่อเทียบกับปี 2553 เป็นผลมาจากความต้องการทีส่ งู ขึน้ จากอากาศหนาวเย็นทีย่ าวนานกว่าปกติของภูมภิ าคต่างๆ เช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย ประกอบกับการฟื้นตัวของภาคการผลิตและธุรกิจการบินทั้งด้านขนส่งสินค้าและการเดินทาง ระหว่างประเทศ รวมถึงผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิทญี่ ปี่ นุ่ ในช่วงไตรมาสที่ 1 ท่ที่ ำให้โรงกลัน่ ต้องหยุดการผลิตฉุกเฉินมากกว่า 1 ล้านบาร์เรล นอกจากนั้น การสำรองน้ำมันอากาศยานไว้ใช้ในช่วงฤดูหนาว ของญี่ปุ่น การปิดซ่อมบำรุงฉุกเฉินของโรงกลั่นที่ไต้หวันและโรงกลั่นของเชลล์ที่สิงคโปร์ในช่วงไตรมาสที่ 3 ทำให้ส่วนต่างราคาน้ำมันอากาศยานปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากจากที่ระดับ 12.1 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในปี 2553 มาอยู่ที่ระดับ 19.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในปี 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 • ส่วนต่างราคาน้ำมันดีเซล (Diesel) กับน้ำมันดิบดูไบ ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากเช่นกัน จากเหตุการณ์แผ่นดินไหว และสึนามิที่ญี่ปุ่นในช่วงไตรมาสที่ 1 และการที่จีนประกาศห้ามส่งออกน้ำมันดีเซลในไตรมาสที่ 2 และ 3 เพื่อสำรองไว้ใช้ในประเทศสำหรับผลิตไฟฟ้าในช่วงฤดูร้อน เนื่องจากทางตอนเหนือของประเทศประสบภาวะ แห้งแล้งและส่งผลให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำลดลง ส่งผลให้ส่วนต่างราคาน้ำมันดีเซลในปี 2554 ปรับตัว สูงขึ้นอยู่ที่ 18.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 61 จาก 11.4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในปี 2553
29
• ส่วนต่างราคาน้ำมันเตา (Fuel Oil) กับน้ำมันดิบดูไบ ปรับตัวลดลงจากปี 2553 จากราคาน้ำมันดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น อย่างมาก แต่ความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมการเดินเรือ (Bunker) ที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ใช้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ทดแทนโรงไฟฟ้ า นิ ว เคลี ย ร์ ที่ ป ระสบปั ญ หาจากแผ่ น ดิ น ไหวและคลื่ น สึ น ามิ ใ นญี่ ปุ่ น ส่ ง ผลให้ ส่ ว นต่ า งราคาน้ ำ มั น เตาในปี 2554 ปรั บ ลดลงเล็ ก น้ อ ยมาอยู่ ที่ -5.2 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล หรือลดลงร้อยละ 30 จาก -3.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในปี 2553 ภาวะการแข่งขันของอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันในปี 2554 ที่ผ่านมา สถานการณ์ไม่รุนแรงมากนักเนื่องจากภาวะ ตลาดค่อนข้างตึงตัว โดยเฉพาะในช่วงครึ่งปีแรก เนื่องจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่ญี่ปุ่น ส่งผลให้โรงกลั่น มากกว่า 1 ล้านบาร์เรลต้องหยุดดำเนินการผลิตฉุกเฉินในเดือนมีนาคม นอกจากนี้ โรงกลั่นน้ำมัน Formosa Petrochemical Corp. ที่ Mailiao ในไต้หวัน ซึ่งเป็นผู้ส่งออกน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซลรายใหญ่ เกิดปัญหาไฟไหม้ในช่วงปลายเดือน กรกฎาคม ส่งผลให้ปริมาณการผลิตน้ำมันประมาณ 540,000 บาร์เรลต่อวัน ต้องหยุดดำเนินการฉุกเฉินในเดือนสิงหาคม ต่อเนื่องจนถึงต้นเดือนกันยายน ในขณะที่อุปสงค์การใช้น้ำมันยังคงขยายตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย สำหรับประเทศไทย แม้ว่าอุตสาหกรรมโรงกลั่นจะได้รับผลกระทบจากปัญหาอุทกภัยในช่วงปลายปี ส่งผลให้ความต้องการ ใช้น้ำมันสำเร็จรูปลดลง แต่ผลกระทบดังกล่าวไม่รุนแรงมากนัก เนื่องจากในช่วงปลายปี โรงกลั่นน้ำมันของบริษัท IRPC ได้หยุดการผลิตตามแผนซ่อมบำรุงประจำปี ส่งผลให้อุปทานในประเทศลดลงในช่วงดังกล่าวด้วย
30
กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ภาพรวมธุรกิจ บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ขนั้ ต้น ได้แก่ เบนซีน พาราไซลีน ออร์โธไซลีน โทลูอนี มิกซ์ไซลีนส์ รวมถึงการผลิตสารไซโคลเฮกเซนซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง โดยผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ขั้นกลางและขั้นปลายต่อไป โรงงานอะโรเมติกส์ทั้ง 2 แห่งของบริษัทฯ ก่อสร้างโดยใช้เทคโนโลยีของบริษัท UOP ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างสม่ำเสมอจนได้รับการยอมรับในระดับโลก ประกอบกับโรงงาน ทั้ง 2 แห่ง ได้รับการออกแบบให้มีการแลกเปลีย่ นวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน เพือ่ ให้สามารถผลิตสารพาราไซลีน และเบนซีน ซึง่ มีมลู ค่าสูงได้มากทีส่ ดุ โดย : • ส่งมิกส์ไซลีนทีผ่ ลิตได้จากหน่วยผลิตที่ 1 ไปเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตพาราไซลีนในหน่วยผลิตที่ 2 • ส่งโทลูอนี ทีผ่ ลิตได้จากหน่วยผลิตที่ 2 ไปเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตพาราไซลีนและเบนซีนในหน่วยผลิตที่ 1 กำลังการผลิต (ตัน /ปี) ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน ออร์โธไซลีน มิกซ์ไซลีนส์ โทลูอีน รวม
อะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 540,000 307,000 200,000 66,000 76,000 - 1,189,000
อะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 655,000 355,000 - - - 60,000 1,070,000
รวม 1,195,000 662,000 200,000 66,000 76,000 60,000 2,259,000
ซึ่ ง มี ก ำลั ง การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ รวมทั้ ง สิ้ น 2,259,000 ตั น ต่ อ ปี และมี ก ำลั ง การกลั่ น คอนเดนเสท รวม 135,000 บาร์เรลต่อวัน
31
โดยผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์เหล่านี้จะใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขน้ั ต้น
ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขน้ั กลาง
ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขน้ั ปลาย
การนำไปใช้งาน
กล่องบรรจุผลิตภัณฑ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ของเล่น เฟอร์นเิ จอร์ หมึก และกาว ชิ้นส่วนรถยนต์ กระเป๋า ท่อ อะคริโลไนทริลและกล่องบรรจุชิ้นส่วนอุปกรณ์ บิวทาไดอีน-สไตรีน สไตรีน บิวทาดีน รับเบอร์ ยางรถยนต์ และสายยาง คาโปรแลคตัม ไนล่อน 6 กรดอะดิพิก ไนล่อน 6,6 เม็ดพลาสติกโพลิคาร์บอเนต บิสฟีนอล เอ เส้นใยสังเคราะห์ เส้นด้าย โพลิเอสเตอร์ ขวด PET และกล่องบรรจุอาหาร สารเคมีใช้เชื่อมท่อ PVC สารเคมีสำหรับ และยาฆ่าแมลง เสริมสภาพพลาสติก ใช้ในอุตสาหกรรมสี ยาฆ่าแมลง และกาว โพลีสไตรีน
สไตรีนโมโนเมอร์ เบนซีน ไซโคลเฮกเซน พาราไซลีน
คิวมีน / ฟีนอล กรดเทเรฟทาลิก บริสุทธิ์
ออร์โธไซลีน
กรดฟทาริก
มิกซ์ไซลีนส์
การดำเนินงานของกลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ด้านการผลิต บริษัทฯ มุ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์ โดยการปรับปรุงกระบวนการผลิต อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถใช้วัตถุดิบได้หลากหลาย ก่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการผลิตตามสถานการณ์ตลาดที่ผันผวน รวมทั้งการเพิ่มกำลังการผลิตของโรงงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ จะสามารถใช้ทรัพย์สินที่มีอยู่ได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้บริษัทฯ มีต้นทุนการผลิตต่อหน่วยที่ต่ำลงและสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ซึ่งสามารถสรุป ปัจจัยที่สนับสนุนศักยภาพของบริษัทฯ อาทิ • การเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาจากผู้ เ ชี่ ย วชาญชั้ น นำ และเป็ น ที่ ย อมรั บ ว่ า เป็ น เทคโนโลยี ทีม่ กี ารพัฒนา และสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตได้อย่างต่อเนือ่ ง • บริษัทฯ มีหน่วยรีฟอร์เมอร์ ซึ่งใช้ในการเตรียมวัตถุดิบป้อนเข้าหน่วยอะโรเมติกส์ โดยหน่วยรีฟอร์เมอร์ดังกล่าว มี ค วามยืดหยุ่นในการใช้ส่วนผสมของวัตถุดิบในการผลิต ให้สามารถรองรับได้ทั้งคอนเดนเสทจากหลุมก๊าซ ธรรมชาติ ใ นประเทศซึ่ ง มี ส ารอะโรเมติ ก ส์ เ ป็ น ส่ ว นผสมในอั ต ราส่ ว นที่ สู ง และคอนเดนเสทจากต่ า งประเทศ ที่มีปริมาณซัลเฟอร์สูงกว่าได้
32
• บริษัทฯ ตั้งอยู่ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งอยู่บริเวณเดียวกันกับลูกค้าสำคัญ และมีระบบขนส่ง ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่โดยใช้ท่อ จึงสะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี
ด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพและการบำรุงรักษา ในปี 2554 บริษทั ฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ได้รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 2.05 ล้านตัน โดยมีอตั ราการใช้กำลังการผลิต เฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ประมาณร้อยละ 88 ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังคงดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตอย่างต่อเนื่อง โดยโรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 ได้หยุดการผลิตเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพตามแผนงานเป็นเวลารวม 12 วัน ซึง่ สามารถ สรุปงานปรับปรุงประสิทธิภาพต่างๆ ที่สำคัญในปี 2554 ได้ดังนี้ • เปลีย่ นอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนของหอกลัน่ ในหน่วยผลิตสารพาราไซลีน (Parex unit) ของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 ทำให้สามารถผลิตสารพาราไซลีนได้เพิ่มขึ้น 25,000 ตันต่อปี • สร้างมูลค่าเพิม่ ให้ Process Offgas ของโรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 โดยติดตัง้ ระบบท่อขนส่ง เพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ ให้โรงงานโอเลฟินส์ แทนการใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงาน • สร้างมูลค่าเพิ่มให้แนฟทาส่วนเกิน (Sour Naphtha) ที่มากกว่ากำลังการผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 และ 2 โดยการติดตั้งระบบท่อส่งแนฟทาส่วนเกินไปยังโรงกลั่นน้ำมัน เพื่อนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์รีฟอร์เมตที่มี มูลค่าสูงขึ้น • ปรับปรุงกระบวนการผลิตหน่วยผลิตไซโคลเฮกเซน ให้สามารถเดินเครือ่ งจักรได้อย่างต่อเนือ่ งในช่วงทีโ่ รงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 หยุดเดินเครื่องเพื่อซ่อมบำรุง ลดการสูญเสียโอกาสในการผลิตจากการหยุดเดินเครื่องได้ 15 วัน
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน ปี 2554 สถานการณ์ตลาดปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์มีการปรับตัวดีขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่มีการขยายตัว ส่งผลให้ ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ขั้นปลายของพาราไซลีนและเบนซีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ชิน้ ส่วนรถยนต์ และผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และเรซิน เพิม่ สูงขึน้ อย่างมาก ประกอบกับมีผผู้ ลิตขัน้ ปลายรายใหม่ เริ่มเข้าสู่ตลาดมากขึ้นโดยเฉพาะในจีน ทำให้มีความต้องการพาราไซลีน และเบนซีนสูงขึ้น อีกทั้งราคาวัตถุดิบได้แก่ ราคาน้ำมันดิบ และแนฟทาที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นส่งผลให้ราคาพาราไซลีนเฉลี่ยทั้งปีปรับ ตัวสูงขึ้นมาอยู่ที่ 1,541 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 47 และราคาเบนซีนปรับตัวสูงขึ้นมาอยู่ที่ 1,091 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21 โดยที่ส่วนต่างราคาของพาราไซลีนและเบนซีนกับวัตถุดิบคอนเดนเสท มีการปรับตัวผันผวนขึ้นลงตามรายละเอียดดังนี้
33
• ส่วนต่างราคาของพาราไซลีนและเบนซีนกับคอนเดนเสทในไตรมาส 1 ปรับตัวสูงสุดในรอบปี อยู่ที่ 672 และ 256 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันตามลำดับ ซึ่งเป็นผลจากความต้องการผลิตภัณฑ์ขั้นปลายและขั้นกลางของพาราไซลีน และเบนซีนในภูมิภาคเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกาเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากผู้ผลิตขั้นปลาย รายใหม่ที่เริ่มดำเนินการผลิตในช่วงดังกล่าว โดยเฉพาะในสายของผลิตภัณฑ์พาราไซลีน ในขณะที่อุปทาน ตึงตัวอย่างมากจากโรงงานอะโรเมติกส์ในญี่ปุ่นที่ปิดฉุกเฉินจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ • ในไตรมาสที่ 2 ความต้องการผลิตภัณฑ์ขั้นปลายและขั้นกลางเริ่มชะลอตัวลง เนื่องมาจากต้นทุนวัตถุดิบและแนฟทา ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งมาก ส่ ง ผลให้ ส่ ว นต่ า งราคาของพาราไซลี น และเบนซี น กั บ คอนเดนเสทปรั บ ตั ว ลดลงจาก ไตรมาสแรก มาอยู่ที่ 624 และ 173 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามลำดับ • ในไตรมาสที่ 3 ส่วนต่างราคาของพาราไซลีนและเบนซีน กับคอนเดนเสทปรับตัวอยู่ที่ 598 และ 192 เหรียญสหรัฐ ต่อตัน ตามลำดับ ซึ่งแม้ว่าปัญหาการขาดแคลนไฟฟ้าเนื่องจากประสบภาวะแห้งแล้งในประเทศจีนเริ่มคลี่คลายลง ส่งผลต่อการผลิตของผู้ผลิตขั้นกลางและขั้นปลาย (PTA และ Polyester) ในประเทศจีนปรับอัตรากำลังการผลิตสูงขึ้น และต้นทุนวัตถุดิบและแนฟทาที่ปรับตัวลดง แต่อุปทานที่เพิ่มขั้นจากการที่โรงานอะโรเมติกส์แห่งใหม่ที่เกาหลีใต้ เริ่มดำเนินการผลิต ทำให้ส่วนต่างราคาของพาราไซลีนและเบนซีนกับคอนเดนเสททรงตัวอยู่ในระดับใกล้เคียง กับไตรมาสที่ 2 • สำหรั บ ไตรมาสสุ ด ท้ า ยของปี ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ ไ ด้ รั บ แรงกดดั น จากปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศยุโรป ส่งผลให้ความต้องการของผลิตภัณฑ์ขั้นปลายและขั้นกลางลดต่ำลง ประกอบกับมาตรการเข้มงวด ทางเศรษฐกิ จ ของจี น ส่ ง ผลให้ ผู้ ผ ลิ ต ขั้ น ปลายขาดสภาพคล่ อ งและต้ อ งลดกำลั ง การผลิ ต จึ ง ทำให้ ส่ ว นต่ า ง ราคาพาราไซลีน และเบนซีนกับคอนเดนเสทลดลงต่ำสุดในรอบปีมาอยู่ที่ 572 และ 84 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามลำดับ ภาพรวมภาวะการแข่งขันของตลาดผลิตภัณฑ์พาราไซลีนในปี 2554 อยู่ในสภาวะไม่รุนแรง เนื่องจากภาวะตึงตัวของ พาราไซลีนในภูมิภาคเอเซีย สำหรับตลาดในประเทศพบว่า บริษัทฯ ทำการจำหน่ายพาราไซลีนให้ลูกค้าในประเทศคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 82 ของปริมาณการผลิต ซึ่งเป็นตลาดที่บริษัทฯ มีความสามารถในการแข่งขันสูง เนื่องจากเป็นการจัดส่ง ผลิตภัณฑ์ทางท่อ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการจัดส่งผลิตภัณฑ์ต่ำกว่าคู่แข่ง สำหรับตลาดส่งออก บริษัทฯ ทำการส่งออก ผลิตภัณฑ์ไปยังประเทศจีน ซึ่งเป็นตลาดรับซื้อพาราไซลีนรายใหญ่ที่สุดของโลก โดยบริษัทฯ มีความได้เปรียบในด้าน ค่าขนส่งเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ผลิตรายอื่นในภูมิภาค ในส่วนของผลิตภัณฑ์เบนซีน บริษัทฯ ยังคงรักษาส่วนแบ่งการตลาดในประเทศในอัตราร้อยละ 50 ของปริมาณการผลิต โดยเป็นการจัดส่งผลิตภัณฑ์ทางท่อเป็นหลัก สำหรับตลาดส่งออก บริษัทฯ ได้ทำการกระจายการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ไปยังประเทศต่างๆ อาทิ สิงคโปร์ มาเลเซีย ซาอุดอิ าระเบีย และอินเดีย ซึง่ เป็นตลาดทีบ่ ริษทั ฯ ได้เปรียบในด้านค่าขนส่งเช่นกัน นอกจากนั้น ผลิตภัณฑ์เบนซีนของบริษัทฯ ยังได้รับการยอมรับในด้านคุณภาพจากตลาด จึงสามารถแข่งขันกับผู้ผลิต รายอื่นได้
34
กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ ภาพรวมธุรกิจ บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เอทิลนี และโพรพิลนี ซึง่ รวมเรียกว่า “โอเลฟินส์” โดยจำหน่ายให้แก่กลุม่ โรงงาน ปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่องในเขตนิคมอุตสาหกรรม อีกทั้งยังส่งให้กับโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE) และโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีน ความหนาแน่นต่ำเชิงเส้น (LLDPE) ของบริษทั ฯ เอง และโรงงานผลิตเอทิลนี ออกไซด์/เอทิลนี ไกลคอล (EO/EG ของบริษทั ทีโอซี ไกลคอล จำกัด หรือ TOCGC) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 100 ณ สิ้นปี 2554 บริษัทฯ มีกำลังการผลิตติดตั้ง (Nameplate Capacity) ของโอเลฟินส์รวม 2,888,000 ตันต่อปี ประกอบด้วย เอทิลีน 2,376,000 ตันต่อปี และ โพรพิลีน 512,000 ตันต่อปี นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์พลอยได้ที่ได้จากการผลิตโอเลฟินส์ ได้แก่ มิกซ์ซี 4, ไพโรไลซิสก๊าซโซลีน, เทลก๊าซ, แครกเกอร์บอททอม และไฮโดรเจน โดยขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ให้แก่ลูกค้าในประเทศ และเพือ่ เป็นการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ บริษทั ฯ ยังได้ดำเนินโครงการผลิต Butene-1 และ Butadiene จากผลิตภัณฑ์พลอยได้ มิกซ์ ซี 4 โดยมีกำลังการผลิต Butene-1 และ Butadiene รวมประมาณ 100,000 ตันต่อปี ซึง่ ปัจจุบนั ได้ทำการออกแบบ เบื้องต้น (Basic Engineering) แล้วเสร็จ และคาดว่าจะสามารถเริ่มดำเนินการผลิตได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2557 อีกทั้งยังให้ความสำคัญกับธุรกิจและกิจกรรมที่สนับสนุนการดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีให้มีความมั่นคงและครบวงจรยิ่งขึ้น โดยมีการผลิตและจำหน่ายสาธารณูปการที่สำคัญอันได้แก่ ไฟฟ้า ไอน้ำ และน้ำใช้ในอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบด้วย น้ำอุตสาหกรรม (Treated Water) น้ำประปา (Potable Water) และน้ำบริสุทธิ์ (Demineralized Water) เพื่อใช้ ภายในโรงโอเลฟินส์ของกลุ่มบริษัทฯ และจำหน่ายแก่กลุ่มโรงงานปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่องในเขตสัมปทานที่ได้รับอนุญาต และบริษัทอื่นในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โดย ณ สิ้นปี 2554 บริษัทฯ มีกำลังการผลิตไฟฟ้า 210 เมกะวัตต์ ไอน้ำ 620 ตันต่อชั่วโมง น้ำใช้ในอุตสาหกรรม 2,080 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และ Sea Water Reverse Osmosis (SWRO) 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง
การดำเนินงานของกลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ ในปี 2554 ธุรกิจโอเลฟินส์ของบริษทั ฯ ยังคงมีผลการดำเนินงานทีด่ ี ส่วนหนึง่ ได้รบั ประโยชน์จากการทีร่ าคา และส่วนต่าง ราคาผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในระดับที่สูงเมื่อเทียบกับทั้งปี 2553 ที่ผ่านมา โดยบริษัทฯ มีการดำเนินงานดังนี้ • สร้างความแข็งแกร่งในการเป็นผูผ้ ลิตโอเลฟินส์ทมี่ คี วามได้เปรียบในด้านวัตถุดบิ ด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สนิ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิตและอุปกรณ์สำคัญในโรงงานให้สามารถ เดินเครื่องผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
35
• พัฒนาศักยภาพทางการจำหน่ายและการตลาด ตลอดจนการพัฒนาระบบข้อมูลที่สำคัญเพื่อการวางแผนงาน เพื่อให้แข่งขันได้ทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ รวมถึงการเตรียมความพร้อมขององค์กร เพื่อรองรับ การเติบโตของบริษัทฯ ในอนาคต • นำเอาระบบซอฟต์แวร์ตา่ งๆ เช่น ระบบ SCM และ SAP เข้ามาช่วยในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานต่างๆ ให้ดีขึ้น
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน • ตลาดโอเลฟินส์ในประเทศไทย การผลิตเอทิลีนของไทยในปี 2554 มีปริมาณ 3.9 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณร้อยละ 341 เนื่องจาก โรงแครกเกอร์แห่งใหม่หลายโรง ได้แก่ โรงอีเทนแครกเกอร์ขนาด 1 ล้านตันต่อปีของบริษัท PTTPE ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ของบริษัทฯ และโรงแนฟทาแครกเกอร์ของบริษัท มาบตาพุดโอเลฟินส์ เคมิคอล จำกัด (MOC) ที่เริ่มทำการผลิตตั้งแต่ ในปี 2553 ที่ผ่านมานั้น ได้เดินเครื่องการผลิตเต็มที่มากขึ้น ถึงแม้ว่าในปีนี้จะมีผู้ผลิตหลายรายได้หยุดการผลิต เพื่อซ่อมบำรุงตามแผน และผู้ผลิตบางรายได้ลดกำลังการผลิตลงเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบและต้นทุน วัตถุดิบที่มีราคาสูงขึ้นด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมแล้วปริมาณการผลิตเอทิลีนของไทยก็ยังคงเพิ่มขึ้น จากปีก่อน ขณะที่ความต้องการเอทิลีนเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วประมาณร้อยละ 312 เนื่องจากโรงผลิตขั้นปลายแห่งใหม่ คือ โรง LDPE ขนาด 300 KTA ของบริษัท PTTPE นั้น เริ่มทำการผลิตในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปีนี้ ในขณะที่โรง LLDPE ขนาด 350 KTA ของบริษทั Siam Polyethylene ทีไ่ ด้เริม่ ทำการผลิตตัง้ แต่ปที แี่ ล้วนัน้ ก็ทำการผลิตเต็มทีม่ ากขึน้ แต่กย็ งั ไม่เพียงพอกับความต้องการ ทำให้ต้องมีการนำเข้าเอทิลีนมาให้กับโรงผลิตต่างๆ ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ยังคง มีการส่งออกเอทิลีนเพื่อการบริหารการผลิตและจำหน่ายในระหว่างปีด้วย โดยภาพรวมแล้วประเทศไทยยังเป็น ผู้นำเข้าเอทิลีนสุทธิอยู่ที่ประมาณ 31,000 ตัน3
สำหรับการผลิตโพรพิลีนของไทยในปี 2554 ลดลงประมาณร้อยละ 74 เนื่องจากหน่วยผลิตโพรพิลีนแบบ On-purpose แห่งใหม่ ได้แก่ หน่วยผลิต Metathesis ของบริษัท MOC และหน่วยผลิต PDH Unit ของบริษัท HMC Polymers ที่ได้เริ่มทำการผลิตตั้งแต่ปีที่แล้วนั้น ยังไม่สามารถผลิตได้เต็มที่มากนัก ในขณะเดียวกันหน่วยผลิต PDH Unit ขนาด 100 KTA ของบริษัทฯ ที่ได้หยุดการผลิตตามแผนเพื่อซ่อมบำรุงและเหตุผลทางด้านการตลาดในช่วงไตรมาส ที่ 1 และ 3 รวมทั้งสิ้น 79 วัน ประกอบกับความต้องการโพรพิลีนลดลงจากปี 2553 ประมาณร้อยละ 65 จึงทำให้ ต้องมีการส่งออกโพรพิลีนเพื่อการบริหารการผลิตแทน ทำให้ในภาพรวมประเทศไทยก็ยังคงเป็นผู้ส่งออกโพรพิลีน สุทธิอยู่ที่ประมาณ 130,000 ตัน6 อันเป็นผลมาจากปริมาณการผลิตที่ยังคงมีมากกว่าความต้องการภายในประเทศ
36
• ตลาดโอเลฟินส์ในเอเชีย ปี 2554 ยังคงเป็นปีที่ดีสำหรับผู้ผลิตโอเลฟินส์ของตลาดในภูมิภาคเอเชีย ในด้านของราคาผลิตภัณฑ์ ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมานั้นปรากฏว่าราคาเฉลี่ยยังคงอยู่ในระดับที่สูงกว่าอยู่พอสมควร โดยราคาเฉลี่ยเอทิลีน และโพรพิลีนอยู่ที่ระดับ 1,188 และ 1,387 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนประมาณร้อยละ 10 และประมาณร้อยละ 23 ตามลำดับ7
ปัจจัยที่ทำให้ราคาเอทิลีนในปี 2554 ยังคงเพิ่มสูงขึ้นจากปีก่อนเป็นเพราะในช่วงครึ่งแรกของปี ตลาดค่อนข้าง ตึงตัวเนื่องจากโรงแครกเกอร์ในภูมิภาคหลายโรงได้หยุดซ่อมบำรุงและลดกำลังการผลิตทั้งเป็นไปตามแผน และเนื่องจากปัญหาทางด้านการผลิต ยกตัวอย่างเช่น โรงแครกเกอร์ขนาด 800 KTA ของบริษัท Shell Chemicals ในสิงคโปร์ และ 400 KTA ของ Ethylene Malaysia ในมาเลเซีย เป็นต้น ทำให้ปริมาณเอทิลนี หายไป จากตลาดประมาณ 1.73 ล้านตัน8 ประกอบกับผู้ผลิตในตะวันออกกลางก็ยังคงส่งออกสินค้ามายังภูมิภาคเอเชีย น้ อ ยลงเนื่ อ งจากมี ก ารหยุ ด ซ่ อ มบำรุ ง และมี ก ารส่ ง ออกสิ น ค้ า ไปยั ง ตลาดยุ โ รปซึ่ ง มี ผ ลกำไรที่ ดี ก ว่ า แทน ทั้งยังได้รับแรงสนับสนุนจากราคาน้ำมันดิบและแนฟทาที่เพิ่มสูงขึ้น อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ในหลายๆ ประเทศของตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนืออีกด้วย ในขณะที่เหตุการณ์แผ่นดินไหวและการเกิด สึนามิขึ้นในประเทศญี่ปุ่นนั้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดเอทิลีนในภูมิภาคมากนัก เนื่องจากผู้ผลิตมีสินค้า เก็บสำรองไว้เพียงพอ
ในช่ ว งครึ่ ง หลั ง ของปี ร าคาเอทิ ลี น ในตลาดกลับ ปรั บ ตั ว ลดลงเนื่ อ งจากความต้ อ งการในตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้นต่อเนื่องนั้นค่อนข้างซบเซา อันเป็นผลมาจากมาตรการเข้มงวดทางด้านการเงินของทางรัฐบาลจีนเพื่อควบคุม อัตราเงินเฟ้อของประเทศ และจากความไม่แน่นอนของสภาพเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะในสหรัฐฯ และประเทศ ในกลุ่มยุโรปซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ขั้นต่อเนื่อง ทำให้ผู้ผลิตดังกล่าวชะลอการซื้อลง และซื้อสินค้าเก็บสต็อกไว้ใช้แค่เพียงทำการผลิตเท่านั้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวเป็นปัจจัยที่กดดันให้ราคาเอทิลีน ปรับตัวลดลงกว่าช่วงครึ่งแรกของปีถึงประมาณร้อยละ 12
จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นทำให้ในภาพรวมตลอดทั้งปี ผู้ผลิตเอทิลีนที่ใช้แนฟทาเป็นวัตถุดิบหลักนั้นมีความ สามารถในการทำกำไรที่ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน ดังจะเห็นได้จากส่วนต่างระหว่างราคาเอทิลีนและแนฟทา ในปี 2554 อยู่ที่ระดับ 266 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงจากปี 2553 ประมาณ 97 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน9
ด้านสถานการณ์ตลาดโพรพิลีนในภูมิภาคเอเชียปี 2554 ก็มีความคล้ายคลึงกับตลาดเอทิลีนแต่จะค่อนข้างตึงตัว มากกว่า เนื่องจากการที่หน่วยผลิตโพรพิลีนแบบ On Purpose ในเอเชียหลายโรงได้หยุดการเดินเครื่องเพื่อ ทำการซ่อมบำรุงตามแผนและเนื่องจากปัญหาทางด้านการผลิต ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ โรงปิโตรเคมีคอมเพล็กซ์ของบริษัท Formosa ในไต้หวันช่วงสิ้นเดือนกรกฎาคมที่ทำให้ต้องหยุดการผลิต ของหน่วยผลิต RFCC (Residual Fluid Catalytic Cracker) และหน่วยผลิต Olefins Conversion Unit (OCU) ที่มีกำลังการผลิตโพรพิลีนประมาณ 325,000 ตันต่อปี และ 250,000 ตันต่อปีอีกด้วย และเหตุการณ์ระเบิด
37
ที่เกิดขึ้นกับโรงกลั่นน้ำมันขนาด 500,000 บาร์เรลต่อวัน ของบริษัท Shell Chemicals ในสิงคโปร์ในช่วง สิ้นเดือนกันยายน ทำให้โรงแครกเกอร์ที่มีกำลังการผลิตเอทิลีน 800,000 ตันต่อปี และโพรพิลีน 450,000 ตัน ต่ อ ปี นั้ น ต้ อ งลดกำลั ง การผลิ ต ลงเนื่ อ งจากขาดแคลนวั ต ถุ ดิ บ ไปด้ ว ย ซึ่ ง เมื่ อ รวมกั บ ผลการหยุ ด เดิ น เครื่ อ ง และลดกำลั ง การผลิ ต ของโรงแครกเกอร์ อื่ น ๆ จึ ง ทำให้ มี ป ริ ม าณโพรพิ ลี น ลดลงไปจากตลาดประมาณ 1.05 ล้ า นตั น นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ผลจากราคาน้ ำ มั น และวั ต ถุ ดิ บ ที่ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ซึ่ ง สถานการณ์ ข องตลาดต่ า งๆ ข้ า งต้ น ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ท ำให้ ร าคาโพรพิ ลีน ในภู มิภ าคเอเชี ย ยั ง คงมี ร าคาสู ง กว่ า เอทิ ลี น โดยส่ ว นต่ า ง ระหว่างราคาโพรพิลีนและแนฟทาในปี 2554 อยู่ที่ระดับ 466 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ประมาณ 47 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน10
ภาวะการแข่งขันของตลาดโอเลฟินส์ในภูมิภาคเอเชียปี 2554 ในช่วงครึ่งแรกของปี สถานการณ์ไม่รุนแรงมากนัก เนื่องจากภาวะตลาดค่อนข้างตึงตัว แต่ในช่วงครึ่งหลังของปี จากปัจจัยด้านความต้องการที่ชะลอตัวลงเนื่องจาก ความไม่แน่นอนของสภาพเศรษฐกิจโลกทั้งในประเทศสหรัฐฯ และกลุ่มประเทศยุโรป รวมไปถึงทางรัฐบาลจีนที่ออก มาตรการเข้มงวดทางด้านการเงิน เพือ่ ควบคุมอัตราเงินเฟ้อของประเทศด้วยนัน้ ส่งผลให้ตลาดค่อนข้างทีจ่ ะอยูใ่ นภาวะ Oversupply ทำให้การแข่งขันในตลาดทางด้านราคาค่อนข้างที่จะรุนแรง แต่ทั้งนี้บริษัทฯ ไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะ ของตลาดที่เกิดขึ้นมากนัก เนื่องจากมีความมั่นคงในระบบการผลิตและการจัดจำหน่ายโอเลฟินส์ อีกทั้งบริษัทฯ ใช้เอทิลนี ส่วนใหญ่ในการผลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีตอ่ เนือ่ งในขัน้ กลางและขัน้ ปลาย ได้แก่ หน่วยผลิต MEG และ HDPE ของบริษัทฯ เอง นอกจากนี้วัตถุดิบในการผลิตโอเลฟินส์ของบริษัทฯ มากกว่าร้อยละ 80 มาจากก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้การผลิตของบริษัทฯ มีต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้กับคู่แข่งทั้งในระดับประเทศและระดับ สากล นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ มี ค วามมุ่ ง มั่ น ในการรั ก ษาผลตอบแทนทางธุ ร กิ จ ให้ ค งอยู่ ใ นระดั บ ที่ ดี โดยได้ จัดทำแผนงานต่างๆ เช่น การบริหารปริมาณสินค้าคงเหลือของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและการ ลดต้นทุนการผลิตในส่วนต่างๆ รวมถึงการบริหารจัดการกระแสเงินสด (Cash Flow Management) เป็นต้น เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ อีกด้วย
1-6 (ที่มา: ประมาณการโดยบริษัทฯ) 7-10 (ที่มา: ICIS)
38
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ ภาพรวมธุรกิจ ธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์มีความสำคัญในการเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นต่อเนื่องหลักของโอเลฟินส์ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับความ เป็นอยูแ่ ละการใช้งานในชีวติ ประจำวัน เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์จะถูกนำไปใช้แปรรูปเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคทัว่ ไป สินค้าจำเป็นทั้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ตลอดจนสินค้าที่เพิ่มความสะดวกสบายตามวิถีชีวิตของผู้บริโภค สมัยใหม่ ปัจจุบัน บริษัทฯ ผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง หรือ HDPE ด้วยกำลังการผลิต 300,000 ตันต่อปี และมีกำลังผลิตภายใต้บริษัทย่อย คือ บริษัท บางกอกโพลีเอททิลีน จำกัด (มหาชน) (BPE) 500.000 ตันต่อปี รวมเป็นกำลังการผลิต HDPE ทั้งสิ้น 800,000 ตัน ซึ่งทั้งหมดจำหน่ายภายใต้เครื่องหมายการค้า “InnoPlus” ทั้งนี้ ในช่วงปีที่ผ่านมาบริษัทฯ และ BPE ได้ดำเนินการขยายกำลังการผลิต HDPE เพิ่มขึ้นอีก 250,000 ตันต่อปี และ 50,000 ตันต่อปี โดยโรงงานทั้งสองแห่งนี้สามารถผลิต HDPE ได้หลายประเภท โดยใช้สำหรับงานเป่าฟิล์ม งานเป่าแบบ งานท่อ งานฉีดแบบ และงานเส้นใย ซึ่งสามารถปรับคุณสมบัติและลักษณะงานตามความต้องการของลูกค้า อาทิ ถุงบรรจุสินค้า ขวดน้ำดืม่ ขวดนม แกลลอนน้ำมันหล่อลืน่ ของใช้ในบ้าน ของเล่น ตลอดจนผลิตภัณฑ์ทางการก่อสร้างและอุตสาหกรรม การเกษตร เช่น เชือก อวน ตาข่าย ลัง แท่นรองสินค้า ท่อน้ำ และท่อร้อยสายไฟ เป็นต้น ทั้งนี้ กลุ่มบริษัทฯ ได้จำหน่าย HDPE ให้แก่กลุ่มโรงงานขึ้นรูปทั้งในและต่างประเทศ ผ่านทางบริษัท พีทีที โพลีเมอร์มาร์เก็ตติ้ง จำกัด (PTTPM) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างบริษัทฯ กับ ปตท. และ ไออาร์พีซี ในสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 25 : 50 : 25 ตามลำดับ เพื่อเป็นตัวแทนในการดำเนินการด้านการตลาดและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่มบริษัทในเครือ ปตท. ช่วยเพิ่ม ศักยภาพทางการตลาดทั้งในและต่างประเทศ ให้แก่กลุ่มบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัท พีทีที โพลิเอทิลีน จำกัด (PTTPE) ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัทฯ ร้อยละ 100 ได้เริ่มทำการผลิตเชิงพาณิชย์ ของโรงผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำเชิงเส้น (LLDPE) ขนาด 400,000 ตันต่อปี ตั้งแต่เดือน มกราคม 2553 และโรงเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE) ขนาด 300,000 ตันต่อปี ได้เริ่มผลิต เชิงพาณิชย์เดือนกุมภาพันธ์ 2554 ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโรงผลิตทั้งสองจะใช้ในการขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ประเภทต่างๆ รวมถึงบริษทั ไทยสไตรีนคิ ส์ จำกัด (TSCL) ซึง่ PTTPE ถือหุน้ ร้อยละ 100 สามารถผลิตผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกโพลีสไตรีน (PS) ด้วยกำลังการผลิตรวม 90,000 ตันต่อปี ส่งผลให้กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลีเมอร์ของบริษัทฯ มีความหลากหลาย มากยิ่งขึ้น
39
การดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ การผลิตเม็ดพลาสติกจัดเป็นอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลายซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูง และมีวงจรของระดับราคาค่อนข้าง ผันผวนตามภาวะราคาน้ำมันดิบ และภาวะอุปสงค์อุปทานของผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอื่นๆ ดังนั้น การควบคุมต้นทุนการผลิตและการมีฐานลูกค้าที่แน่นอนจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้บริษัทฯ อยู่รอดได้ในระยะยาว จากการที่ บ ริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ มี ป ระสบการณ์ ใ นการผลิ ต HDPE มายาวนาน ตลอดจนความสั ม พั น ธ์ อั น ดี แ ละได้ รั บ การ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ที่ มี ชื่ อ เสี ย งและเป็ น ที่ ย อมรั บ ด้ า นคุ ณ ภาพในระดั บ มาตรฐานสากลจากเจ้ า ของเทคโนโลยี และการพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง โดยเม็ดพลาสติกของบริษทั ฯ ได้ผา่ นการรับรองตามมาตรฐานต่างๆ หรืออยูร่ ะหว่าง การดำเนินการเพื่อให้ได้รับการรับรองสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ อันได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพ (ISO 9001) มาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาตรฐานระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก. 18000) และมาตรฐาน ห้องทดสอบ (ISO 17025 หรือ Guide 25) ทำให้บริษัทฯ มั่นใจว่าจะสามารถดำเนินการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการใช้ประโยชน์จากกำลังการผลิตสูงสุด ซึ่งเป็นผลให้มีต้นทุนต่อหน่วยที่ต่ำ บริษัทฯ มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบและเป็นมาตรฐานสากลที่ยอมรับ โดยมีการควบคุมลักษณะปัญหาต่างๆ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมการดำเนิ น การของบริ ษั ท ฯ พร้ อ มทั้ ง มี แ นวทางในการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Continual Improvement) ได้แก่ • มีการติดตั้งระบบ Reverse Osmosis (RO) เพื่อนำน้ำทิ้งที่ผ่านการบำบัดโดยระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงาน แล้วมาใช้ประโยชน์โดยการผลิตน้ำใส (Clarified Water) เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตในระบบน้ำหล่อเย็น ซึ่งเป็นการ ลดปริ ม าณน้ ำ ทิ้ ง และใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด โดยนำหลั ก แนวคิ ด ของประสิ ท ธิ ภ าพ นิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Efficiency) มาประยุกต์ใช้ • มีการติดตั้งอุปกรณ์อ่ืนๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมเพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบกำจัดฝุ่น (Bag Filter) ที่เกิดจากกระบวนการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ไปยังไซโล ติดตั้งอุปกรณ์ดัก/ลดเสียง (Silencer) ที่อุปกรณ์ การผลิต เป็นต้น • การติดตั้งป้ายแสดงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม (Display Board) ด้านหน้าโรงงาน โดยนำเสนอข้อมูลการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม แผนลดและขจัดมลพิษ และโครงการที่บริษัทฯ ดำเนินการเพื่อลดและขจัดมลพิษของโรงงาน ในกลุ่มบริษัทฯ เพื่อเป็นการแสดงความมุ่งมั่นและโปร่งใสในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ • สนับสนุนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในบริเวณพื้นที่ของบริษัทฯ ชุมชนและบริเวณใกล้เคียงเพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ตามแผนลดและขจัดมลพิษ โดยในปี 2554 กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ได้ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ที่ชุมชน ห้วยมะหาดและบริเวณเกาะกลางถนนในนิคมมาบตาพุด การสร้างฝายที่ชุมชนห้วยมะหาดและชากลูกหญ้า • บริษัทฯ ดำเนินการตามแผนงานเพื่อลดสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ที่ทุกอุปกรณ์การผลิตของทุกหน่วย การผลิตผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ • มีระบบบำบัดน้ำเสียสามารถรองรับน้ำเสียจากกระบวนการผลิตได้ทั้งหมด
40
• มีระบบจัดการกากของเสียที่เป็นของแข็งโดยการแยกประเภท นำไปจำหน่ายหรือกำจัดโดยบริษัทที่ได้รับ การขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม • มีระบบจัดการกากของเสียทีเ่ ป็นของเหลวโดยการนำไปจำหน่ายเป็นเชือ้ เพลิงกับบริษทั ทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2554 ความต้องการสินค้าพลาสติกภายในประเทศขยายตัวอย่างต่อเนื่องในไตรมาส 1 และ 2 จากการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงเลือกตั้ง และการประกาศนโยบายเศรษฐกิจที่ชัดเจนของรัฐบาลชุดใหม่ แต่ด้วยปัญหา อุทกภัยในช่วงปลายปี ทำให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมในไตรมาสที่ 3 และ 4 โดยโรงงานพลาสติกในภาคกลางประสบปัญหากว่าร้อยละ 64 และกว่าร้อยละ 30 ต้องหยุดการผลิตลง ซึ่งส่งผลต่อเนื่อง ต่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุตสาหกรรมในสายโซ่การผลิตต่างๆ เป็นผลให้คำสั่งซื้อลดลง อย่างไรก็ตาม ความต้องการของผลิตภัณฑ์บางประเภทเพิ่มสูงขึ้น เช่น ขวดน้ำดื่ม ถัง เรือ กระสอบทราย และอุปกรณ์เครื่องใช้จำเป็นในช่วงน้ำท่วมต่างๆ ด้วยเหตุดังกล่าว ทำให้ปริมาณการใช้เม็ดพลาสติก หลักภายในประเทศของปี 2554 ในภาพรวมยังคงเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 จากปีที่ผ่านมา ผู้ผลิตเม็ดพลาสติกรายสำคัญอื่นๆในประเทศไทย ได้แก่ • บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) (IRPC) ถือได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกรายแรกในไทย มีการผลิตอุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบวงจรทั้งขั้นต้นและขั้นปลาย หลากหลายผลิตภัณฑ์ ทั้ง HDPE, LDPE, LLDPE, PP, EVA, ABS และ PS เป็นต้น ปัจจุบัน IRPC เป็นบริษัทในกลุ่ม ปตท. เช่นเดียวกับบริษัทฯ ดังนั้น IRPC จึงเป็นพันธมิตรของบริษัทฯ ที่จะมีการประสานประโยชน์หรือความร่วมมือทางด้านการตลาดร่วมกันต่อไป • บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จำกัด (TPE) เป็นบริษัทในเครือของกลุ่มปูนซิเมนต์ไทย ที่มีการผลิตปิโตรเคมีครบวงจร TPE เริ่มผลิตเม็ดพลาสติก HDPE เป็นรายที่สองต่อจาก IRPC โดย TPE รับวัตถุดิบจากโรงโอเลฟินส์ในเครือกลุ่ม ปูนซิเมนต์ไทย คือ บริษทั ระยองโอเลฟินส์ จำกัด (ROC) และรับโอเลฟินส์บางส่วนจากบริษทั ฯ และมีเม็ดพลาสติก หลายชนิดซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์ LDPE และ LLDPE • บริษัท สยามโพลีสไตรีน จำกัด เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างกลุ่มปูนซิเมนต์ไทย และ บริษัท ดาวเคมิคอล (ประเทศไทย) จำกัด (ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์และโพลิเมอร์ชั้นนำของโลก) ดำเนินการผลิต PS โดยรับ SM จากบริษัทในกลุ่มปูนซิเมนต์ไทย คือ บริษัท สยามสไตรีนโมโนเมอร์ จำกัด
41
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ ภาพรวมธุรกิจ เพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์และตอบสนองความต้องการของกลุ่มอุตสาหกรรมและผู้บริโภค ได้ครอบคลุมยิ่งขึ้น กลุ่มบริษัทฯ เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงและยังไม่มีการผลิตในประเทศ ทำให้สามารถทดแทน การนำเข้าจากต่างประเทศ และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของไทย กลุ่มบริษัทฯ จึงได้ดำเนิน ธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์และผลิตภัณฑ์ขั้นต่อเนื่อง (EO-Based Performance Products) ได้แก่ • ผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์/เอทิลีนไกลคอล (EO/EG) บริษทั ทีโอซีไกลคอล จำกัด (TOCGC) ถือหุน้ โดยบริษทั ฯ ร้อยละ 100 ผลิตสารเอทิลนี ออกไซด์ (Ethylene Oxide : EO) และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องเอทิลีนไกลคอล (Ethylene Glycol : EG) โดยมีผลิตภัณฑ์หลักในรูปของโมโนเอทิลีนไกลคอล (Mono Ethylene Glycol : MEG) ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์สำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ และการผลิตขวดน้ำใส หรือขวดเพ็ท (PET) มีกำลังการผลิต MEG ปีละ 300,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ ในส่วนของโครงการขยายกำลังการผลิต MEG 95,000 ตันต่อปี อยู่ระหว่างการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และชะลอการผลิตไว้เป็นการชั่วคราว ตามคำสั่งศาลอันเนื่องมาจากกรณีคดีมาบตาพุด โดยบริษัทฯ คาดว่าจะได้รับอนุมัติให้สามารถดำเนินการได้ภายในปี 2555 • สารอีทอกซีเลท บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด (TEX) ถือหุ้นโดยบริษัทฯ ร้อยละ 50 เพื่อดำเนินโครงการ EO Derivatives โดยใช้ EO เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตสารอีทอกซีเลท อันเป็นวัตถุดิบในการผลิตแชมพู น้ำยาล้างจาน น้ำซักล้างต่างๆ และเป็น โรงงานผู้ผลิตสารอีทอกซีเลทแห่งแรกของประเทศไทย ด้วยกำลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี โดยได้เริ่มดำเนินการผลิต ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2549 • สารเอทานอลเอมีน บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด (EA) ผลิตสาร Ethanolamines ซึ่งใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตครีมนวดผม น้ำยาปรับผ้านุ่ม เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมยา มีกำลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี โดยเริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554
42
การดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ • TOCGC ได้ให้ความสำคัญกับเรือ่ งพลังงานโดยดำเนินธุรกิจในเชิงอนุรกั ษ์พลังงาน ด้วยการนำประโยชน์จากการ ออกแบบโรงงานมาควบคุมการเดินเครื่อง เช่น ตรวจสอบการแลกเปลี่ยนความร้อนที่เกิดขึ้นจากเครื่องปฏิกรณ์ เคมีให้มีการถ่ายเทความร้อนที่อัตราการผลิตสูงสุด ลดการพึ่งพาไอน้ำส่วนที่ต้องนำเข้ามาจากโรงงานผลิตไอน้ำ เพิ่มการหมุนเวียนสารร้อนที่มีค่าความร้อนแฝงมาใช้ถ่ายเทความร้อนในขั้นตอนการผลิต การสำรวจหาอุปกรณ์ การผลิตและลดใช้ไฟฟ้าที่เกินความจำเป็น การจัดเวลาเพื่อลด Peak ไฟฟ้าของการเดินเครื่องปั๊มน้ำขนาดใหญ่ เป็นต้น อีกทั้ง TOCGC ยังคงรักษาระดับการแข่งขันในตลาดได้เป็นอย่างดี • EA ให้ความสำคัญกับการดำเนินการจัดทำระบบ ISO 9000, ISO 14001 และ TIS/OHSAS 18001 ซึ่งได้รับ การรับรองจาก สรอ. เรียบร้อยแล้ว อีกทั้ง EA ได้คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยไม่มีของเสียทางอากาศ ออกสู่บรรยากาศ • TEX ยังคงรักษาระดับความสามารถในการแข่งขันไว้ได้เป็นอย่างดี โดยมียอดสั่งซื้อผลิตภัณฑ์จากลูกค้า อย่างต่อเนือ่ งตลอดทัง้ ปี และเดินเครือ่ งโรงงานได้อย่างเต็มศักยภาพ รวมทัง้ ได้รเิ ริม่ โครงการต่างๆ ทีช่ ว่ ยในเรือ่ ง การลดการใช้พลังงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เป็นต้น
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน เนื่องจาก MEG เป็นวัตถุดิบหลักของอุตสาหกรรมโพลีเอสเตอร์ ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักต่อเนื่องสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ และอุตสาหกรรมผลิตขวดพลาสติกใส สถานการณ์ทางการตลาดของ MEG จึงเป็นไปในทิศทางเดียวกับอุตสาหกรรม โพลีเอสเตอร์ โดยเฉพาะตลาดในประเทศจีนซึ่งเป็นประเทศที่มีความต้องการใช้ MEG และนำเข้า MEG มากที่สุดในโลก รวมถึงประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียที่ยังคงต้องนำเข้า MEG เพื่อสนองต่อความต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง อีกด้วย สำหรับตลาดผลิตภัณฑ์เอทานอลเอมีนในภาพรวมนัน้ ในปี 2554 เป็นช่วงขาลงของธุรกิจ ส่งผลให้เกิดการชะลอตัวของการ ดำเนินธุรกิจ และความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องลดลง เช่น อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ Personal Care อุตสาหกรรมผลิตยากำจัดวัชพืช อุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นต้น ทำให้ราคาผลิตภัณฑ์เอทานอลเอมีน ตกต่ำลง อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 คาดว่าแนวโน้มราคาผลิตภัณฑ์จะยังคงทรงตัว สำหรับผลิตภัณฑ์ Ethoxylate นั้นขึ้นตรงกับธุรกิจ Personal Care และ Home Care ในประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่ เ นื่ อ งจากผลกระทบจากอุ ท กภั ย ปลายปี 2554 ทำให้ ต ลาด Ethoxylate โดยภาพรวมสำหรั บ ปี 2554 มีการขยายตัวไม่มากนัก
43
ในการดำเนินงานด้านการตลาดและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในธุรกิจนี้ทั้งในและต่างประเทศ ผู้ผลิต MEG รายใหญ่ของโลก ได้แก่ SABIC, MEGlobal และ Shell ซึ่งมีฐานการผลิตหลักอยู่ที่ตะวันออกกลาง (Middle East) และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก โดยในแต่ละปีผู้ผลิตเหล่านี้ จะขยายกำลังการผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบทางด้าน Economy of Scale เพื่อสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ผลิตรายอื่นๆ ในธุรกิจ และตอบสนองต่อความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ MEG ในตลาดโลก ทั้งในรูปแบบของการจำหน่ายโดยตรง และการจำหน่ายโดยผ่านนายหน้าการค้า โดย Supplier ทุกรายยังคง พยายามที่จะรักษาส่วนแบ่งการตลาดในประเทศไทยบางส่วนโดยเฉพาะกับลูกค้ารายใหญ่ไว้ให้ได้มากที่สุด ในการดำเนินงานด้านการตลาดและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งในและต่างประเทศของ EA นั้น มีผู้ดำเนินการรายใหญ่ ได้แก่ OUCC, Optimal, Ineos และ Dow ซึ่งมีฐานการผลิตอยู่ในเอเชีย และในภูมิภาคอื่นๆ ซึ่งดำเนินธุรกิจนี้มาเป็นระยะเวลา ยาวนาน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า และตัวแทนจำหน่ายในทุกๆ ภูมิภาคทั่วโลก ในส่วนของ TEX นั้นมี Dow, Optimal, Shell, Huntsman, Clariant และ Sasol เป็นผู้ดำเนินงานด้านการตลาด และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งมีฐานการผลิตหลักอยู่ที่เอเชีย และมีความได้เปรียบทางด้านต้นทุน ค่าแรงงานและค่าวัตถุดิบ นอกจากนั้นยังมีฐานการผลิตตามประเทศต่างๆ ทั่วโลก
44
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม ภาพรวมธุรกิจ ผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม คือ ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติ อาทิ น้ำมันปาล์ม น้ำมันในเมล็ดปาล์ม น้ำมันพืช หรือไขมันสัตว์ เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต โดยผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ได้ สามารถนำไปผลิตผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่องต่างๆ ได้มากมาย และจากการที่ประเทศไทยมีพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสมในการปลูกพืชที่ให้น้ำมัน ประเภทต่างๆ ทีม่ ศี กั ยภาพสำหรับใช้แปรรูปจากน้ำมันธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์ทางเคมี (Oleochemicals) ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งในปัจจุบันความต้องการใช้พลังงานทดแทนและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มสูงขึ้น บริษัทฯ จึงเล็งเห็นโอกาสและความสำคัญในการพัฒนาสายธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมทุนต่างๆ ได้แก่ • บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด หรือ TOL ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัทฯ ร้อยละ 100 ดำเนินการผลิตสารเมทิลเอสเทอร์ 200,000 ตันต่อปี และผลิตสารกลีเซอรีน ด้วยกำลังการผลิต 31,000 ตันต่อปี • บริษทั ไทยแฟตตีแ้ อลกอฮอลส์ จำกัด หรือ TFA ซึง่ TOL ถือหุน้ ร้อยละ 100 ดำเนินการผลิตสารแฟตตีแ้ อลกอฮอล์ 100,000 ตันต่อปี • บริษัท ไบโอสเปคตรัม จำกัด (Bio Spectrum) โดยบริษัทฯ ร่วมลงทุนกับกลุ่มบริษัท Inventa Technology (S) Pte Ltd ประเทศสิงคโปร์ ในสัดส่วนร้อยละ 75:25 เพื่อผลิตสารแคโรทีนอยด์ (Carotenoid) ซึ่งเป็นสารสกัด ที่ได้จากสารเมทิลเอสเทอร์สำหรับใช้เป็นสีเติมแต่งอาหาร โดยปัจจุบันอยู่ในระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง หน่วยผลิต บริษัทร่วมทุนระหว่างบริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชั่นแนล ไพรเวท จำกัด (CH Inter) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ของบริษัทฯ กับพันธมิตรทางธุรกิจอีกจำนวน 3 บริษัท ได้แก่ • บริษทั Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. หรือ Emery ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนกับบริษทั ไซม์ดาร์บี้ แพลนเทชัน่ จำกัด (มาเลเซีย) โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นเท่ากันที่ร้อยละ 50 มีกำลังการผลิตของผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมี รวม 962,000 ตันต่อปี นอกจากนี้ Emery ได้ซื้อสินทรัพย์ของโครงการ Multi Purposed Reactor (MPR) จากบริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด (TFA) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ โดยโครงการ MPR มีกำลังการผลิต 14,000 ตันต่อปี และได้เริ่มดำเนินการผลิตแล้วในปี 2554 ที่ผ่านมา • Myriant Corperation ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนกับผูถ้ อื หุน้ เดิมของ Myriant โดยมีสดั ส่วนการถือหุน้ ทีร่ อ้ ยละ 46 • NatureWorks LLC ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนกับ Cargill Inc ประเทศสหรัฐอเมริกา ในสัดส่วนการถือหุ้นเท่ากัน ที่ร้อยละ 50 ซึ่ง Myriant Corporation และ NatureWorks LLC เป็นบริษัทชั้นนำทางด้านเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์ ประเภทเคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งเน้นในเรื่องการวิจัยพัฒนาในเรื่องพลาสติกชีวภาพและเคมีชีวภาพ
45
การดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม บริษัท TOL ยังคงได้รับการรับรองในระบบคุณภาพ ISO 9000 มาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000 หรื อ Environmental Management Systems (EMS) มาตรฐานอุ ต สาหกรรมไทย มอก.18000 (TIS 18000) และ Occupational Health and Safety Assessment System (OHSAS 18000) ว่าด้วยมาตรฐานอุตสาหกรรม ด้านการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระบบ GMP (Good Manufacturing Practice) ที่เป็นระบบพื้นฐานสำคัญ เพื่อประกันความปลอดภัยของอาหาร และ HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) ที่เป็นการใช้ ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม รวมถึงการรับรองจากสถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย แสดง ให้ เ ห็ น ถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ในเรื่ อ งคุ ณ ภาพ ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า และด้ า น สิ่งแวดล้อม รวมถึงชุมชนรอบข้าง และการดูแลด้านอาชีวอนามัยความปลอดภัยของสุขภาพผู้รับเหมาและพนักงาน ทุกคน อย่างเสมอต้นเสมอปลาย ด้านการตลาดและพาณิชย์ ในสภาวะตลาดที่มีการแข่งขันสูง TOL และ TFA ได้ทำการปรับปรุงคุณภาพการผลิต อย่างต่อเนือ่ ง โดยได้ดำเนินโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพและลดค่าใช้จา่ ยในการผลิต เช่น การประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิต โดยเฉพาะไฟฟ้าและไอน้ำ และมีการคิดค้นการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และเสริมสร้างความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ โดยการปรับปรุงคุณภาพและการบริการไปอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ลูกค้าเกิดความ พึงพอใจสูงสุด Emery มีการขยายการผลิตโดยการลงทุนในส่วนของ Plastic Additive โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง Emery และ PTTGC เพื่อย้ายโครงสร้างโรงงานดังกล่าวจาก PTTGC ที่ตั้งอยู่ ณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซีย และได้ทำการปรับปรุงให้มีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากกำลังการผลิตที่กำหนดไว้เดิม ซึ่งเป็นการสร้าง Synergy กับผู้ถือหุ้น และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน ปี 2554 สถานการณ์เมทิลเอสเทอร์ในประเทศมีความผันผวนเป็นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นปีที่มีปัญหาเรื่อง การขาดแคลนน้ำมันปาล์มดิบในประเทศ ส่งผลให้รัฐบาลได้มีการยกเลิกการสนับสนุนน้ำมันไบโอดีเซลบี 5 และปรับให้เหลือ การใช้ไบโอดีเซลบี 2 เกรดเดียวตั้งแต่เดือนมีนาคม และเมื่อปริมาณน้ำมันปาล์มดิบในประเทศเพิ่มสูงขึ้นในช่วงปลายปี จึงมีการปรับให้ใช้ไบโอดีเซลบี 4 ในช่วงปลายปี ส่งผลให้ปริมาณความต้องการเมทิลเอสเทอร์โดยรวมในปี 2554 ลดลง เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ในปี 2555 ได้มีการบังคับใช้ไบโอดีเซลบี 5 ตั้งแต่เดือนมกราคมทำให้คาดว่าสถานการณ์ตลาด เมทิลเอสเทอร์ในประเทศจะปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น สำหรับตลาดต่างประเทศ ความต้องการไบโอดีเซลมีน้อยกว่า กำลังการผลิตเช่นเดียวกับตลาดในประเทศ โดยสถานการณ์เมทิลเอสเทอร์ในตลาดโลกนั้นมีความผันผวนจากราคาที่เพิ่ม ขึ้ น อย่ า งมากของน้ ำ มั น ปาล์ ม และน้ ำ มั น ถั่ ว เหลื อ งที่ ใ ช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เนื่ อ งจากสภาวะอากาศที่ เ ปลี่ ย นไป ทำให้พืชผลทางการเกษตรมีปริมาณน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้ ทั้งนี้ การปรับตัวสูงขึ้นของราคาวัตถุดิบส่งผลให้ราคา
46
เมทิลเอสเทอร์ปรับตัวอยู่ในระดับสูงด้วย สำหรับ Emery Oleochemicals คาดว่าการแข่งขันจากผู้ประกอบการ ในทวีปยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกาที่ผลิตเมทิลเอสเทอร์จากไขมันสัตว์จะยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง สำหรับตลาดแฟตตี้แอลกอฮอล์ มีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2553 จากความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น โดยในช่วงต้นปี เนื่องจากผู้ผลิตหลายรายในภูมิภาคเอเชียหยุดการผลิตพร้อมๆ กันทำให้เกิดสภาวะขาดแคลนแฟตตี้ แอลอฮอล์ อย่างไรก็ดี ความต้องการแฟตตี้แอลอฮอล์ในบางเกรดยังอยู่ในสภาวะที่ทรงตัวส่งผลให้ความต้องการ ในภาพรวมในปี 2554 ปรับตัวสูงไม่มากนัก ในภาพรวมความต้องการแฟตตี้แอลกอฮอล์ทั่วโลกในปี 2554 อยู่ที่ 2.6 ล้านตันต่อปี ต่ำกว่ากำลังการผลิตรวมทั่วโลกซึ่งอยู่ที่ 3.8 ล้านตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 70 ปัจจัยที่มีนัยสำคัญต่อสถานการณ์ตลาดแฟตตี้แอลกอฮอล์คือปริมาณและราคาของวัตถุดิบ (น้ำมันในเมล็ดปาล์ม และน้ำมันมะพร้าว) โดยราคาของน้ำมันในเมล็ดปาล์มดิบ ได้ปรับตัวสูงขึ้น และจะคงตัวอยู่ในระดับสูงต่อไปในปี 2555 ซึ่งราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้นนั้นทำให้ผู้ผลิตบางรายต้องลดกำลังการผลิตลงหรือหยุดการผลิตชั่วคราวและมีการจัดการสินค้า คงคลัง อย่างไรก็ตาม เมื่อราคาวัตถุดิบสูงขึ้นก็จะส่งผลให้ราคาแฟตตี้แอลกอฮอล์สูงขึ้นตามไปด้วย ผู้ดำเนินธุรกิจในตลาดโลกของผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อมทางด้าน Value Added Oleochemicals ได้แก่ KLK, IOI, OLEON, และ WILMAR ซึ่งทุกบริษัทมีฐานการผลิตและช่องทางจัดจำหน่ายครอบคลุมทั่วโลก สำหรับตลาดในประเทศ ผู้ผลิตที่สำคัญสำหรับผลิตภัณฑ์เมทิลเอสเทอร์ ได้แก่ บริษัท น้ำมันพืชปทุม จำกัด และบริษัท เพียวไบโอดีเซล จำกัด นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายบริษัทที่ผลิตเมทิลเอสเทอร์ สำหรับใช้ในการผลิตไบโอดีเซลโดยเฉพาะ ในภาคใต้ของประเทศไทยที่เป็นฐานในการปลูกปาล์ม
47
กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ ภาพรวมธุรกิจ นอกเหนือจากกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ทั้ง 6 ที่กล่าวมาข้างต้น บริษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นซึ่งเป็นเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษหรือ ที่เรียกว่า Specialty Products โดยบริษัทฯ ได้จัดตั้งหน่วยธุรกิจใหม่ขึ้นมาภายใต้ชื่อ High Volume Specialties (HVS) เพื่อ เข้ า มาดู แ ลและดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระเภทนี้ โดยที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ได้ ท ำการลงทุ น เพื่ อ สร้ า งการเจริ ญ เติบโตของธุรกิจในส่วนนี้ไปบ้างแล้ว เช่น การร่วมทุนกับบริษัทภายในกลุ่ม ปตท. ภายใต้ชื่อบริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด (PPCL) เพื่อดำเนินโครงการผลิตผลิตภัณฑ์ฟีนอลด้วยกำลังการผลิต 200,000 ตันต่อปี โดยเริ่มผลิตในเชิงพาณิชย์ได้ตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2552 และผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง คือ Bis-Phenol-A (BPA) กำลังการผลิต 150,000 ตันต่อปี ที่สามารถ เดิ น เครื่ อ งผลิ ต ในเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นเมษายน 2554 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ล งนามในสั ญ ญาซื้ อ หุ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท Perstorp Holdings France SAS ผ่ า นทางบริ ษั ท PTTGC International (Netherlands) B.V. (บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชั่นแนล ไพรเวท จำกัด (CH Inter) ถือหุ้นร้อยละ 100) ในสัดส่วนร้อยละ 51 (โดยอยู่ระหว่างการดำเนินการเข้าซื้อหุ้น) ซึ่งมีกำลังการผลิต Toluene Di-Isocyanates (TDI) 125,000 ตันต่อปี ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ Polyurethane (PU) ซึ่งจะนำไปใช้มากในภาคอุตสาหกรรม รถยนต์ เป็นต้น ทัง้ นี้ ในอนาคตบริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะลงทุนในธุรกิจ Specialty Products อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ขยายการเจริญเติบโต ของธุรกิจให้แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
การดำเนินงานของกลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ • ปี 2554 PPCL มีกำลังการผลิตติดตั้งสำหรับสารฟีนอลปีละ 200,000 ตัน และสารอะซีโตนปีละ 124,000 ตันต่อปี และมีกำลังการผลิต BPA ประมาณ 150,000 ตัน โดยโรงงานฟีนอลและบีพีเอ ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม เหมราชตะวันออก จังหวัดระยอง • สำหรับบริษัทร่วมทุน Perstorp Holding France SAS มีโรงผลิต TDI, HDI and Derivatives ที่ดำเนินการผลิต ในเชิงพาณิชย์ จำนวน 3 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา โดยมีกำลังการผลิตและปริมาณ การผลิต ดังนี้
48
บริษทั
ผลิตภัณฑ์
Perstorp Holding TDI France SAS Perstorp Holding HDI and Derivatives France SAS Perstorp Holding Derivatives France SAS (US plant)
กำลังการผลิต (พันตัน/ปี)
ปริมาณการผลิตจริง (พันตัน)
การใช้กำลัง การผลิต (%)
125
100
80
24
24
100
11
11
100
ทั้งนี้ PPCL ยังคงรักษาระดับความสามารถในการแข่งขันไว้ได้เป็นอย่างดี โดยมียอดสั่งซื้อผลิตภัณฑ์จากลูกค้า อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี และเดินเครื่องโรงงานได้อย่างเต็มศักยภาพ รวมทั้งได้ริเริ่มโครงการต่างๆ ที่ช่วยในเรื่อง การลดการใช้พลังงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เป็นต้น
สถานการณ์ตลาดและภาวะการแข่งขัน ปี 2554 ตลาดสายฟีนอลโดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยในช่วงไตรมาส 1-3 มีปัจจัยบวกมาสนับสนุน จากการเติบโต ของสภาวะเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะจากทวีปเอเชีย อุปสงค์จากตลาดหลักเมืองจีนที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดีและอุปทานตึงตัว จากเหตุการณ์สึนามิที่ประเทศญี่ปุ่นในเดือนมีนาคม รวมทั้งมีการหยุดดำเนินการผลิตของโรงงานในภูมิภาค เพื่อซ่อม บำรุงประจำปี และโรงงานบางส่วนเกิดปัญหาในการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในทวีปเอเชีย อย่างไรก็ตาม ตัง้ แต่ปลายไตรมาส 3 เป็นต้นมา สภาวะตลาดสายฟีนอลเริ่มอ่อนตัวลงอีกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดบิสฟีนอล เอ สาเหตุหลักมาจาก นโยบายทางการเงินที่เข้มงวดของรัฐบาลจีน นอกจากนี้ ปัญหาหนี้สาธารณะในสหภาพยุโรป (EU) และสภาวะเศรษฐกิจ ที่อ่อนตัวของสหรัฐอเมริกาก็เป็นปัจจัยหลักที่กดดันให้ความต้องการสินค้าโดยรวมลดลง สำหรับธุรกิจ TDI นั้น มีตลาดทั่วโลกประมาณ 1.8 ล้านตัน โดยมีการอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 4.6 ต่อปี โดยปี 2553 เอเชียมีความต้องการ 822,000 ตันต่อปี ซึ่งเป็นตลาดขนาดใหญ่ที่สุดและเติบโตสูงสุด คือร้อยละ 6.4 ตลาดอันดับสอง และสามคือ ยุโรปและตะวันออกกลาง (584,000 ตันต่อปี เติบโตร้อยละ 3.8) และสหรัฐอเมริกา (441,000 ตันต่อปี เติบโต ร้อยละ 2.0) ตามลำดับ การใช้งานส่วนใหญ่ของ TDI อยู่ในกลุ่มของ PU Foam สำหรับอุตสาหกรรมรถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ และอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ
49
ในช่วงปี 2554 ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมมีการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากราคาวัตถุดิบตั้งต้นมีการปรับเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 55 จากปี 2552 โดยราคาเฉลี่ยน้ำมันดิบ WTI เฉลี่ยอยู่ที่ 79.52 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาโทลูอีนเอเชียเฉลี่ยอยู่ที่ 1,072 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จึงส่งผลทำให้ Margin ของผูผ้ ลิต TDI ลดลงจากปี 2552 ถึง 380 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยราคาผลิตภัณฑ์ TDI เฉลี่ยปี 2554 อยู่ที่ 2,364 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน (ที่มา : CMAI) เนื่องจากโรงงานฟีนอลของ PPCL เป็นโรงงานผลิตฟีนอลเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย คู่แข่งในการดำเนินงานด้าน การตลาดและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในธุรกิจนี้ของบริษัทฯ จึงมีเพียงผู้ผลิตจากต่างประเทศเท่านั้น โดยเฉพาะผู้ผลิต ในประเทศจีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และเกาหลีใต้ โดยผู้ผลิตฟีนอลและอะซีโตนรายใหญ่ของเอเชีย ได้แก่ กลุ่มบริษัท Mitsui Chemicals, กลุ่มบริษัท Sinopec, Kumho P&B, Formosa Chemicals & Fibre Corporation, LG Chem Co และ Chang Chun Petrochemical Co Ltd. ในส่วนของธุรกิจบิสฟีนอล เอ ถึงแม้ว่าในประเทศไทยจะมีโรงงานบิสฟีนอล เอ จำนวน 2 แห่ง คือ PPCL และบริษัท ไบเออร์ไทย จำกัด แต่เนื่องจากบริษัท ไบเออร์ไทย จำกัด จะเป็นการใช้ภายใน (Captive Use) คือ นำบิสฟีนอล เอ ที่ผลิต ได้ไปผลิตต่อเป็นโพลีคาร์บอเนตเกือบทั้งหมด PPCL จึงมีเพียงคู่แข่งจากผู้ผลิตต่างประเทศเท่านั้น ได้แก่ ผู้ผลิตในประเทศจีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และเกาหลีใต้ โดยผู้ผลิตบิสฟีนอล เอ รายใหญ่ของเอเชีย ได้แก่ กลุ่มบริษัท Mitsui Chemicals, Kumho P&B, Nan Ya Plastics Corp, Chang Chun Petrochemical Co Ltd., Mitsubishi Chemical Corp และ LG Chem Co. สำหรับ TDI และ HDI ยังไม่มีผู้ผลิตในประเทศไทย โดยผู้ผลิตที่สำคัญในยุโรปและเอเชีย ได้แก่ • BASF ดำเนินการผลิต TDI และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพลาสติก PU โดยที่มีโรงงานผลิตอยู่ทั่วโลก จึงจัดได้ว่าเป็นคู่แข่งรายสำคัญ เนื่องจากมีความได้เปรียบในด้านความใกล้ชิดกับลูกค้า • Bayer ดำเนินการผลิต TDI และ HDI และผลิตภัณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพลาสติก PU โดยที่มีโรงงานผลิต อยู่ทั่วโลก จึงจัดได้ว่าเป็นคู่แข่งรายสำคัญ เนื่องจากมีความได้เปรียบในด้านความใกล้ชิดกับลูกค้า และมีการวิจัย และพัฒนาเพื่อความได้เปรียบด้านเทคโนโลยีการผลิต
50
ธุรกิจการให้บริการและอื่นๆ ภาพรวมธุรกิจ กลุ่มบริษัทฯ ให้ความสำคัญกับธุรกิจและกิจกรรมที่สนับสนุนให้การดำเนินธุรกิจมีความมั่นคงและครบวงจรยิ่งขึ้น โดยมีบริการด้านต่างๆ สำหรับกลุ่มบริษัทฯ และลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่อง ดังนี้ 1. ธุรกิจท่าเทียบเรือและคลังเก็บเคมีภัณฑ์ ดำเนินการผ่าน บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด (TTT) โดยให้บริการ ท่าเทียบเรือขนถ่ายและคลังเก็บเคมีภัณฑ์เหลวแก่ลูกค้าอุตสาหกรรมทั่วไปในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตามที่ได้รับสัมปทาน 2. ธุรกิจการผลิตและจำหน่ายสาธารณูปโภค ดำเนินการผ่าน บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) เพื่อผลิต และจำหน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ และน้ำอุตสาหกรรม ให้กับกลุ่มบริษัทฯ และโรงงานอุตสาหกรรมข้างเคียง 3. ธุรกิจให้บริการบำรุงรักษาและการออกแบบวิศวกรรม ดำเนินการผ่าน บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด (PTTME) เพื่อดําเนินธุรกิจบริการงานบำรุงรักษา งานออกแบบและวิศวกรรม งานก่อสร้าง งานเดิ น ท่ อ งานจั ด หา งานวั ส ดุ แ ละงานบริ ห ารงานผลิ ต ให้ กั บ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี ภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ลงทุนใน บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำกัด (PTTES) เพื่อให้บริการที่ปรึกษาทางด้านเทคนิควิศวกรรม ในกลุ่ม ปตท. 4. ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม ดำเนิ น การอย่ า งครบวงจรผ่ า น บริษัท เอ็นพีซี เซ็ฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด (NPC S&E) เช่น การให้บริการฝึกอบรม ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมทุกประเภท และบริการออกแบบและวางระบบป้องกันอัคคีภยั รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาทางด้านการจัดทำระบบมาตรฐานการจัดการระบบคุณภาพ ระบบความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล เป็นต้น 5. ธุรกิจให้บริการโครงสร้างสำหรับท่อขนส่ง ดำเนินการผ่าน บริษัท อิสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด (EFT) ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโครงสร้างสำหรับท่อขนส่งกับผู้ประกอบการปิโตรเลียมและปิโตรเคมีในเขตนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง 6. ธุรกิจให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ดำเนินการผ่าน บริษัท พีทีที ไอซีที จำกัด (PTTICT) ซึ่งให้การบริการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้แก่บริษัทในกลุ่ม ปตท. 7. ธุรกิจให้บริการด้านการจัดหาแรงงาน ดำเนินการผ่าน บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด (BSA) โดยให้บริการด้านการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการแก่ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.
51
8. ธุ ร กิ จ การตลาดและซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพและโภชนาการ ดำเนิ น การโดย บริ ษั ท ไบโอครี เ อชั่ น จำกั ด (BIO Creation) บริษัทย่อยของบริษัทฯ ซึ่งดำเนินธุรกิจการให้บริการทางการค้า (Trading) ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ อนุพันธ์ของเมทิลเอมีน (Methylamines Derivatives) และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องในกลุ่มสุขภาพและโภชนาการ (Health & Nutrition) เช่น อุตสาหกรรมอาหารและอาหารเสริม (Food/Supplement) สารประกอบเพื่อสุขภาพ และความงาม (Personal Care) และผลิตภัณฑ์พลอยได้อื่นๆ 9. ธุรกิจการวิจยั พัฒนาด้านพลาสติกชีวภาพและเคมีชวี ภาพ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพการวิจยั และพัฒนา เพือ่ เตรียมความพร้อม ด้านผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพและเคมีชีวภาพ ได้มีการลงทุนโดยบริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (CH Inter) โดยดำเนินการเข้าซื้อหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 46.4 ในบริษัท Myriant Corporation (Myriant) และอยู่ระหว่าง การดำเนินการเข้าซื้อหุ้นของบริษัท NatureWorks LLC ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในสัดส่วนร้อยละ 50 อีกทั้ง ยังอยู่ระหว่างเตรียมการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อการร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีชวี ภาพอุตสาหกรรม (Industrial Biotechnology) สำหรับการผลิตพลาสติกและเคมีภณั ฑ์ชวี ภาพในภูมภิ าค 10. ธุรกิจปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่องอื่นๆ บริษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นที่อยู่นอกเหนือจากกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ทั้ง 7 กลุ่ม คือ ผงพลาสติกพีวีซี ซึ่งดำเนินการผลิตโดย บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) (VNT) ซึ่ง ณ สิ้นปี 2554 มีกำลังการผลิต PVC 280,000 ตันต่อปี
Shaping the Green Growth Society การเป็นผู้นำในการพัฒนาสังคมให้มีความสุขอย่างยั่งยืน
54
ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม การพัฒนาเพือ่ ความยัง่ ยืนของ กลุม่ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล หมายถึง ความยัง่ ยืนใน 3 ด้าน ได้แก่ ความก้าวหน้า ทางด้านเศรษฐกิจ พร้อมกับการมีส่วนร่วมพัฒนาสังคมและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป การแสดงออกถึง ความรับผิดชอบของ กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ภายใต้หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผ่านโครงการต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงถึงความมุ่งมั่นจริงใจในการทำงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
ด้านสังคม จิตสำนึกของการเป็นพลเมืองดีและมีความรับผิดชอบต่อสังคมไทย ในเวลาที่ประเทศชาติต้องการความช่วยเหลือ กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล เข้าร่วมฟื้นฟู เยียวยาผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วม เพื่อให้ประเทศไทยฟันฝ่าอุปสรรค ต่างๆ ไปได้ด้วยดี กลุ่มบริษัท ปตท. ได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการฉุกเฉินขึ้น ณ ตึก ปตท. สำนักงานใหญ่ วิภาวดี ซึ่งเป็นการร่วมมือกัน ระหว่างบริษทั ในกลุม่ ปตท. ได้แก่บริษทั ปตท. สผ, ไออาร์พซี ,ี ไทยออยล์, รวมถึง พีทที ี โกลบอล เคมิคอล เพือ่ ช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อนและฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กับพี่น้องประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยร้ายแรงนี้ โดยมี พนักงานทุกระดับสลับกันเข้ามารวมพลังให้ประเทศชาติกลับมาแข็งแรงและยั่งยืน ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 บรรเทาความเดือดร้อน กลุ่มบริษัท ปตท. มีความพยายามในการบรรเทาทุกข์ในเบื้องต้นโดยการมอบเงินบริจาคให้กับหลายภาคส่วน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทุกๆ พื้นที่ พร้อมกับมอบถุงยังชีพจำนวน 50,000 ชุด กระจายทั่วประเทศ
ระยะที่ 2 ป้องกันและช่วยเหลือ กลุ่ม ปตท. “รวมพลังไทย ช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม” มีนโยบายในการป้องกันและช่วยเหลือโดยจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือ ในพื้นที่ 5 จังหวัด ที่ได้รับผลกระทบรุนแรง ได้แก่ นครสวรรค์ พิษณุโลก อ่างทอง อยุธยา และสระบุรี โดยให้บริการ ความช่วยเหลือ อาทิเช่น บริการอาหารและน้ำดื่มตลอด 3 มื้อ จำนวน 15,000 คนต่อวัน บริการชาร์จแบตมือถือ บริการตรวจรักษาโรค จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ บริการสุขาเคลื่อนที่ บริการตัดผม เพื่อเข้าไปช่วยเหลือและฟื้นฟู จังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากข้างต้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมี Rescue Team ที่เสียสละทำหน้าที่ช่วยเหลือ พนักงาน ครอบครัวพนักงาน รวมถึงประชาชนคนไทย ซึ่งเป็นกำลังที่ช่วยเหลือรัฐบาลอีกทางหนึ่ง
ระยะที่ 3 การช่วยเหลือและฟื้นฟู กลุ่ม ปตท. ไม่ได้เพียงมุ่งเน้นแค่การช่วยเหลือ แต่เป็นการฟื้นฟูประเทศควบคู่กันไป การดำเนินแผนฟื้นฟูโดยมุ่งเน้น ความจำเป็นพื้นฐานเป็นสำคัญ โดยจำแนกออกเป็น 4 ปัจจัยหลักด้วยกันคือ ด้านสุขอนามัย ด้านสาธารณสุข ด้านที่อยู่อาศัย และด้านการฟื้นฟูอาชีพ ซึ่งภายใต้ทั้ง 4 ปัจจัยนี้ประกอบด้วยหลายโครงการด้วยกัน อาทิเช่น ทำความสะอาดบูรณะ วัด โรงเรียน สวนสาธารณะ บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ บริการซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า บริการตรวจเช็คสภาพรถ บริการซ่อมเครือ่ งยนต์การเกษตร สาธิตการทำและแจกจ่ายลูก EM Ball เพือ่ ปรับสภาพน้ำเสีย โครงการทั้งหมดจึงเป็นกำลังขับเคลื่อนจากกลุ่ม ปตท. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้กับประเทศ
55
ในฐานะองค์กรของคนไทย นี่คือความมุ่งมั่นตั้งใจของกลุ่ม ปตท. ในการที่จะเป็นส่วนหนึ่งของคนไทยร่วมฟันฝ่าอุทกภัยครั้งนี้ รวมถึงฟื้นฟูศักยภาพของประเทศเพื่อก้าวไปพร้อมๆ กันอย่างมั่นคงและยั่งยืนต่อไป
ด้านชุมชน • โครงการแด่น้องผู้มีความหวัง การร่วมมือระหว่าง กองทุนเพื่อเพื่อน และกลุ่มบริษัท โกลบอล เคมิคอล เพื่อสานต่อโครงการแด่น้องผู้มีความหวัง ต่อเนื่องเป็นปีที่ 21 เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสทางด้านจิตใจควบคู่ไปกับทางด้านร่างกาย พร้อมเติม แนวคิดให้เด็กๆ มีความมั่นใจในตนเอง และตระหนักถึงคุณค่าของความเป็นคน และมีแนวคิดที่จะอยู่ในสังคม อย่างมีความหวังที่ดีต่อไปในอนาคต • โครงการ OPEN HOUSE ร่วมกับ เพื่อนชุมชน จัดโครงการเปิดบ้าน “เพื่อนใกล้ชิด มิตรใกล้บ้าน โรงงานสีเขียว” เพื่อเปิดโอกาศให้ชาวชุมชน ในพื้นที่มาบตาพุดและบ้านฉาง จังหวัดระยอง เข้าเยี่ยมชมกิจการ พร้อมศึกษาการควบคุมภาวะฉุกเฉินของบริษัทฯ • โครงการไตรภาคี ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยองเขต 1 และเทศบาลเมืองมาบตาพุด โดยการส่งนิสิตฝึกสอนคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ มาลงพื้นที่ฝึกสอนในโรงเรียนต่างๆ ในเขตจังหวัดระยอง
ด้านสิ่งแวดล้อม • อาสาสร้างฝายชะลอน้ำไปกับ PTT Global Chemical Group และชุมชนชากลูกหญ้า กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ร่วมกับ ชาวชุมชากลูกหญ้า จังหวัดระยอง ร่วมดำเนินโครงการ ฟื้นป่า รักษ์น้ำ เขาห้วยมะหาด ถวายพ่อหลวง 84 พรรษา เพื่อร่วมกันศึกษาการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยมีพนักงานอาสาสมัครในกลุ่มบริษัทฯ พร้อมชาวชุมชนชากลูกหญ้า จังหวัดระยอง หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยาน และรักษาฝั่ง กองทัพเรือ ทีมงานจากสถานีเพาะชำกล้าไม้จังหวัดระยอง กรมป่าไม้เทศบาลเมืองมาบตาพุดจังหวัดระยอง ทีมงานคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชมรมคนรักษ์ป่าท้องถิ่น กว่า 200 ชีวิต ร่วมโครงการดังกล่าว • Protection strip บริ ษั ท ฯ ได้น ำที มพนั ก งานอาสาสมั ค รในกลุ่ มบริ ษั ทฯ ร่ ว มกิ จกรรมปลูก ต้ น ไม้ ในโครงการ Protection Strip ณ ชุมชนหนองแฟบ หน้าบริษัท PTTME เพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้แก่ชุมชนโดยรอบโรงงาน • โครงการร่วมฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อลดสภาวะโลกร้อนตามคำสอนของพ่อ เป็นกิจกรรมจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ และกลุม่ ปตท. โดยมีทงั้ ข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่ ผู้บริหาร ผู้นำชุมชน นักเรียน พนักงานในกลุ่ม ปตท. และประชาชนทั่วไป กว่า 1,000 คน ร่วมกัน ปลูกต้นไม้เพื่อลดโลกร้อน ในพื้นที่เขาจอมแห
56
• กิจกรรมปลูกต้นไม้ชุมชนมาบข่า กลุม่ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล พร้อมด้วยพนักงานจิตอาสา ร่วมกิจกรรมปลูกต้นไม้ในชุมชนมาบข่า เพือ่ เพิม่ พืน้ ที่ สีเขียว และรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน โดยได้รวมกันปลูกต้นไม้มากกว่า 3,400 ต้น • โครงการฟื้นป่ารักษ์น้ำ เขาห้วยมะหาด ร่วมกับชาวชุมชนชากลูกหญ้า จังหวัดระยอง จัดกิจกรรมสร้างฝายชะลอน้ำ เขาห้วยมะหาด เพื่อฟื้นฟูสายน้ำ รักษาความสมดุลให้พื้นที่เขาห้วยมะหาดมีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น • โครงการภูมิใจภักดิ์ฯ หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง ร่วมกับหน่วยงานกองทัพเรือในพื้นที่สัตหีบ พร้อมด้วยบริษัทฯ และพันธมิตรจากภาครัฐและเอกชน จัดโครงการอนุรักษ์ธรรมชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อมขนทัพจิตอาสา พนักงานในกลุ่มบริษัท ร่วมปล่อยเต่าทะเล และปล่อยพันธุ์ปลา คืนสู่ธรรมชาติ และปลูกป่าชายเลนคืนระบบนิเวศน์สู่ธรรมชาติ • ร่วมทำความสะอาดชายหาดเนื่องในวันอนุรักษ์ชายฝั่งสากล : ICC Day 2011 เนื่องในวันอนุรักษ์ชายฝั่งสากล (International Coastal Cleanup Day) พนักงานจิตอาสาจากกลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล 21 บริษัท และชาวระยองกว่า 2,500 คน ได้รวมตัวกันที่บริเวณริมหาดแม่รำพึง-ก้นอ่าว เพื่อรวมกันทำความสะอาดชายหาด เป็นระยะทางกว่า 6.5 กิโลเมตร โดยในปีนี้ จำนวนขยะที่เก็บได้และแยกขยะ ประเภทต่างๆ นับรวมได้เป็นจำนวนถึง 8,177 กิโลกรัม
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • สร้างบันไดลงคลองชุมชนมาบชลูด เป็นหนึ่งในกิจกรรม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและบริษัทฯ ซึ่ ง ดำเนิ น งานโดยที ม ESH Enhancement ร่ ว มกั บ ชาวชุ ม ชนมาบชะลู ด และจิ ต อาสาของกลุ่ ม บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล ช่ ว ยกั น สร้ า งบั น ไดลงคลองชากลาง เพื่ อ ใช้ ใ นประเพณี กิ จ กรรมลอยกระทง หรือสาธารณประโยชน์ทั่วไป • CARES Grand Day เพื่อเป็นการเน้นย้ำถึงนโยบายด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จึงได้จัด กิ จ กรรม CARES Grand Day โดยกิ จ กรรมไม่ เ พี ย งแต่ เ น้ น ย้ ำ และสนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานให้ ค วามสำคั ญ ด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยภายในสถานที่ทำงาน แต่รวมถึงการใช้ชีวิตประจำวันเช่นกัน
57
นโยบายด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทในกลุ่มฯ ดำเนินงานด้วยความใส่ใจภายใต้นโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐานสากลและบนพื้นฐานของหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี ยึดมั่นในการปฏิบัติตามมาตรฐาน ข้อกำหนด และกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด ด้วยการดำเนินงานที่ สอดคล้องกับข้อบังคับและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี จนได้รับการยกย่องและได้รับรางวัลเกียรติยศต่างๆ ซึ่งเป็น เครื่องยืนยันถึงความมุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศนับแต่อดีตมาจนปัจจุบัน
นโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มุ่งมั่นในการดำเนินธุรกิจเป็นผู้นำในอุตสาหกรรมเคมีเป็น องค์กรแห่งนวัตกรรมรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน (CSR) และมีพันธะสัญญาในการพัฒนาประสิทธิผลการ ดำเนินงานด้านคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (QSHE) อย่างต่อเนื่อง ดังนี้ 1. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ด้านความมัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิง่ แวดล้อม รวมถึงมาตรฐานและ ข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. บริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรด้วยเครื่องมือการบริหารคุณภาพ การจัดการความรู้ และการเพิ่มผลผลิต เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า และพัฒนานวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. บริหารความเสี่ยง เพื่อป้องกันอันตราย ความเจ็บป่วยจากการทำงาน ความสูญเสียจากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย B-CAREs เพือ่ ดูแลห่วงใย ความปลอดภัยของทุกคน 4. ตระหนักถึงภัยคุกคามด้านความมั่นคง เพื่อปกป้องชีวิต ทรัพย์สิน และข้อมูลขององค์กร 5. ดูแลในเรื่องอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี และส่งเสริมให้ทุกคนมีสุขภาพดี และมีความสุขในการทำงาน 6. ประเมินและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการปรับปรุงและป้องกันที่แหล่งกำเนิด รวมทั้ง ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารทุกระดับในบริษัทฯ จะรับผิดชอบและเป็นแบบอย่างในการพัฒนาและธำรงไว้ซึ่งระบบการจัดการ คุณภาพอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม โดยสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ เพื่อให้พนักงาน ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำนโยบายไปปฏิบัติ รวมถึงสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินการด้าน QSHE อย่างทั่วถึง
58
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ได้ให้ความสำคัญต่อการป้องกันการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ ตลอดจน การลดมลภาวะ เพื่อให้เกิดผลกระทบให้น้อยที่สุด โดยกำหนดให้มีการควบคุมและป้องกันตั้งแต่ช่วงก่อนเริ่มดำเนินการ อาทิ การจัดให้มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ บรรจุไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment) อย่างละเอียด พร้อมทั้งกำหนดมาตรการในการป้องกันและลดผลกระทบ รวมถึงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ทั้งยังนำระบบบริหารการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน ISO 14001 มาใช้ในพื้นที่ปฏิบัติงานของบริษัทอีกด้วย บริษัทฯ มีแผนกลยุทธ์การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่คุ้มค่าทางด้านเศรษฐศาสตร์ควบคู่ไปกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท ในระยะยาว โดยนำปรัชญาการบริหาร ที่เรียกว่า Eco-Efficiency มาเป็นดัชนีชี้วัดสมรรถภาพด้านสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง อันประกอบด้วยการใช้น้ำ (Water Consumption) การใช้พลังงาน (Energy Consumption) กิจกรรมที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน (Global Warming Contribution) สารที่ก่อให้เกิดการทำลายชั้นโอโซน (Ozone Depleting Substances) และปริมาณการเกิดน้ำเสีย (Wastewater Generation) โดยมุ่งเพื่อใช้ในการปรับปรุง การใช้ทรัพยากร และลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต เพื่อดำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลดีต่อการดำเนินธุรกิจ และคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ ด้วยการมุ่งเน้นให้กลุ่มบริษัทมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน นอกจากการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต และ กิจกรรมต่างๆ ภายในโรงงานตามที่กฎหมายกำหนดอย่างเคร่งครัดแล้วนั้น ยังมีการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน ภายในกลุ่มบริษัทในการดำเนินการลดปริมาณของเสียนำไปฝังกลบให้เป็นศูนย์ภายในปี 2558 โดยใช้แนวทาง 3R อันได้แก่ การจัดการลดของเสียที่แหล่งกำเนิด (Reduce) การนำของเสียกลับมาใช้ซ้ำทั้งภายในและภายนอกโรงงาน (Re-use) และการนำกลับไปใช้ใหม่ (Recycle) ร่วมกับแนวความคิดในการใช้ Innovation Technology ที่เหมาะสม ในปัจจุบัน พร้อมทั้งศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเสีย อันเป็นแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco-Industry) อีกทั้งเพิ่มมาตรการในการจัดการที่ดีกว่ากฎหมายกำหนด โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกผู้รับ จัดการของเสียอุตสาหกรรมอย่างเข้มงวด เช่น การเลือกวิธีการจัดการของเสียที่มีความเหมาะสมและมีความมั่นใจว่า สามารถจัดการได้จริง การกำหนดให้ผู้รับขนส่งของเสียอันตรายของกลุ่มบริษัทต้องติดตั้งระบบการติดตามเส้นทาง การเดินรถด้วยระบบดาวเทียม (GPS) บนรถทุกคัน เพื่อป้องกันการลักลอบทิ้งของเสียโดยผิดกฎหมาย และนำของเสียที่ ไม่สามารถนำกลับมาใช้ได้ในโรงงานไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับอุตสาหกรรมอื่นๆ กลุ่มบริษัทฯ ยังได้มีการเตรียมความ พร้อมเพื่อให้สนองต่อความต้องการของตลาดสากล ด้วยการศึกษารอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint) ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติ ก โพลี เ อทิ ลี น ชนิ ด ความหนาแน่ น สู ง (HDPE) ของหน่ ว ยงานปฏิ บั ติ ก ารผลิ ต HDPE I-1
59
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีน จำนวนทั้งสิ้น 11 ผลิตภัณฑ์ โดยได้มีรับการรับรองฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางของประเทศ ซึ่งโครงการนี้ถือเป็นโครงการนำร่องสำหรับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของกลุ่มบริษัทต่อไป แสดงถึง ความเป็นผู้นำในธุรกิจปิโตรเคมีและธุรกิจต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีมาตรการควบคุมมลพิษ (Pollution Prevention) ต่างๆ อาทิ การอนุรกั ษ์คณุ ภาพอากาศในมาบตาพุด ด้วยการควบคุมไอของสารอินทรีย์ระเหย (VOCs) จากถังเก็บผลิตภัณฑ์และการขนถ่ายทางรถยนต์ อีกทั้งจัดทำบัญชีปริมาณ การระบายสาร VOCs และดำเนินการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ให้มีการระเหยของสาร VOCs สู่บรรยากาศน้อยที่สุด การใช้เชื้อเพลิง สะอาดเพื่อลดการระบายก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) การปรับปรุงระบบการเผาไหม้ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ เพื่อ ลดการระบายก๊ า ซออกไซด์ ข องไนโตรเจน (NO x) ซึ่ ง เป็ น ที่ น่ า ยิ น ดี ว่ า โครงการผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง สะอาดของบริ ษั ท ฯ ได้แล้วเสร็จก่อนกำหนดทำให้สามารถจำหน่ายน้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำตามข้อกำหนดของยูโร 4 ได้ก่อนสิ้นปี 2554 ทำให้รถยนต์บางส่วนสามารถใช้น้ำมันเชื้อเพลิงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และลดการเกิดมลพิษในอากาศของประเทศไทย และนอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมให้มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยติดตั้งเครื่องตรวจวัด คุณภาพอากาศอย่างอัตโนมัติแบบต่อเนื่องที่ปลายปล่องของโรงงานทุกปล่อง และส่งข้อมูลไปที่ศูนย์เฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อม ของการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง บริษัทฯ ยังได้จัดทำบัญชีกิจกรรมการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในองค์กร ซึ่งจะเป็นการรวบรวมข้อมูลการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกของบริษัทฯ โดยกำหนดการเก็บข้อมูลแยกเป็น Scope 1 เป็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรม ของบริษัทโดยตรง Scope 2 เป็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยผู้ผลิตไฟฟ้าและความร้อนที่ทางบริษัทซื้อเข้ามา และ Scope 3 เป็นการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยกิจกรรมที่เป็นผลจากกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ ตามมาตรฐานสากล ISO 14064-1:2006 ซึ่งจะมีส่วนในการบริหารจัดการ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง สร้างทิศทางและนโยบายการลดความเสี่ยงของบริษัทฯ ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต บริ ษั ท ฯ ตระหนักถึงคุณค่าของแหล่งน้ำ จึงได้ดำเนินการติดตั้งระบบการนำน้ำในกระบวนการผลิตกลับมาใช้ใหม่ ให้ได้มากที่สุด และลดการระบายน้ำทิ้งออกจากโรงงานโดยนำน้ำที่บำบัดแล้วบางส่วนกลับมาใช้ใหม่ในกิจกรรมต่างๆ ของโรงงาน และมีระบบการพักน้ำเพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าน้ำทิ้งมีคุณภาพดีกว่าที่กฎหมายกำหนดก่อนจะระบายน้ำ ออกไปภายนอกโรงงาน
60
บริษัทฯ ยังมีนโยบายในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตต่างๆ เช่น โครงการอนุรักษ์พลังงาน ในระบบบำบัดน้ำเสีย โครงการอนุรักษ์พลังงานในระบบผลิตน้ำสะอาด และโครงการอนุรักษ์พลังงานในระบบน้ำ หล่อเย็น ซึ่งมีส่วนช่วยหาแนวทางและทางเลือกที่เหมาะสมในการอนุรักษ์พลังงานและลดการใช้สารเคมีในระบบ โดยเป็นแนวคิดที่จะนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นการพัฒนากระบวนการผลิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย บริษทั ฯ ให้ความสำคัญในเรือ่ งความปลอดภัยของทัง้ พนักงานและผูร้ บั เหมา โดยได้มกี ารสร้างความตระหนักให้พนักงาน และผูร้ บั เหมาดูแลความปลอดภัยของตนเองและเพือ่ นร่วมงาน ภายใต้วฒั นธรรมความปลอดภัยทีม่ งุ่ ไปสูก่ ารเป็นองค์กร ทีป่ ราศจากอุบตั เิ หตุ ควบคูไ่ ปกับการดำเนินงานระบบการจัดการอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม การจัดการ ความปลอดภัยกระบวนการผลิต และการจัดการความปลอดภัยผู้รับเหมา โดยโรงงานในกลุ่มบริษัทได้รับรางวัล สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับประเทศเป็นปีที่ 14 ติดต่อกัน (2541-2554) แสดงให้เห็นถึงการมุ่งเน้น และความสม่ำเสมอในการดำเนินงานด้านความปลอดภัยของ บริษัทฯ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมกับกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในมาบตาพุด จัดการซ้อมแผนฉุกเฉินระดับจังหวัดและมีการซ้อม อพยพจริงของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม RIL นอกจากนี้บริษัทฯ ได้มอบหมายให้พนักงานของบริษัทฯ ที่มี ความเชี่ยวชาญในการระงับและโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน ไปเข้าร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง ป้องกันภัยจังหวัดระยอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด และกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมในมาบตาพุด เพื่อช่วยชุมชนจัดทำแผนฉุกเฉินชุมชน และ ทำการซ้อมแผนฉุกเฉินชุมชนในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุในโรงงานแล้วส่งผลกระทบถึงชุมชน ความสามารถในการเก็บกู้คราบน้ำมันในทะเลก็เป็นสิ่งที่สำคัญ ซึ่งบริษัทฯ ได้เข้าร่วมการซ้อม Rayong Oil Spill Emergency Response ร่วมกับสมาคมอนุรักษ์สภาพแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมน้ำมัน (IESG) และหน่วยราชการ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น กรมเจ้าท่าและกองทัพเรือ เพือ่ ทดสอบความพร้อมของแผนฉุกเฉิน การดำเนินการในการขจัดคราบน้ำมัน และระบบการสื่อสารแผนการดำเนินการในการขจัดคราบน้ำมันของบริษัทฯ และกลุ่มคณะอนุกรรมการ งานป้องกัน และแก้ไขการรั่วไหลของน้ำมันในเขตพื้นที่ระยอง ให้กับชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงได้รับทราบ และบริษัทฯ ยังเป็น หนึง่ ในสมาชิกของกลุม่ ช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินของกลุม่ โรงงานอุตสาหกรรม (Emergency Mutual Aid Group: EMAG) ซึ่งมีส่วนร่วมในการร่างแผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินประจำจังหวัดระยอง และแผนปฏิบัติการฉุกเฉินกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยองด้วย
61
การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย บริษัทฯ มีความห่วงใยพนักงาน โดยเฉพาะกลุ่มที่เป็นผู้ปฏิบัติการในกระบวนการผลิต จึงมีการทบทวนโปรแกรมการตรวจ สุขภาพพนักงาน โดยเฉพาะพนักงานกลุ่มที่มีโอกาสได้รับและสัมผัสสารอันตราย เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสุขภาพพนักงาน เชิงรุก รวมทั้งมีมาตรการตรวจวัดทางสุขศาสตร์ของพื้นที่ปฏิบัติงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง และสารเคมี ตามแผน ที่กำหนด เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงสภาพการทำงานให้ปลอดภัย นอกจากสุขภาพของคนในบริษัทฯ แล้ว ยังได้จัด คาราวานสุขภาพ เพือ่ ตรวจสุขภาพเบือ้ งต้นและให้ความรูก้ ารดูแลสุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นกลุม่ เป้าหมายทีแ่ ม่และเด็ก และมีพนักงานที่มีจิตอาสามาช่วยงานทุกครั้งแม้จะเป็นวันหยุดงานก็ตาม
62
ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ชื่อย่อหลักทรัพย์ PTTGC เว็บไซต์ www.pttgcgroup.com เลขทะเบียนบริษัท 0107554000267 ทุนจดทะเบียน ณ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนเท่ากับ 45,129,302,690 บาท ประกอบด้วย หุ้นสามัญจำนวนทั้งสิ้น 4,512,930,269 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 10 บาท โดยทุนจดทะเบียน แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ 1. ทุ น ชำระแล้ ว จำนวน 45,061,129,360 บาทแบ่ ง ออกเป็ น หุ้ น สามั ญ ที่ จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด 4,506,112,936 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท 2. ทุนที่ยังมิได้ชำระจำนวน 68,173,330 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญที่ยัง มิได้ชำระทั้งหมดจำนวน 6,817,333 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท วันก่อตั้งบริษัท 19 ตุลาคม 2554 วันเริ่มซื้อ-ขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ 21 ตุลาคม 2554 ธุรกิจหลัก กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ ธุรกิจการให้บริการและอื่นๆ จำนวนพนักงานรวม 3,454 คน ติดต่อบริษัท สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ : 66 (0) 2265-8400 โทรสาร : 66 (0) 2265-8500 หน่วยงานกำกับองค์กร โทรศัพท์ : 66 (0) 2265-8632,8456, 8635 และเลขานุการบริษัท Email : cg@pttgcgroup.com หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ : 66 (0) 2265-8421, 8574, 66 (0) 2140-8712 Email : ir@pttgcgroup.com
63
ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ สำนักงานสาขา 1 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 2 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 3 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 4 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 5 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 6 ตั้งอยู่ที่
สาขาสำนักงานใหญ่ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร เอ ชั้น 14 - 18 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 66 (0) 2265-8400 โทรสาร : 66 (0) 2265-8500 เว็บไซต์ www.pttgcgroup.com สาขาสำนักงานระยอง เลขที่ 59 ถนนราษฎร์นิยม ตำบลเนินพระ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3899-4000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาโรงโอเลฟินส์ ไอ-หนึ่ง เลขที่ 14 ถนนไอ-หนึ่ง ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3899-4000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาโรงโอเลฟินส์ ไอ-สี่ เลขที่ 9 ถนนไอ-สี่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3899-4000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาโรงอะโรเมติกส์ 1 เลขที่ 4 ถนนไอ-สอง นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3897-1000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาโรงอะโรเมติกส์ 2 เลขที่ 98/9 ถนนทางหลวงระยอง - สาย 3191 นิคมอุตสาหกรรม อาร์ ไอ แอล ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3897-1000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาโรงกลั่นน้ำมัน เลขที่ 8 ถนนไอ-แปด นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3897-1000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111
64
สำนักงานสาขา 7 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 8 ตั้งอยู่ที่ สำนักงานสาขา 9 ตั้งอยู่ที่ ที่ตั้งบริษัทในกลุ่มฯ บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ - หุ้นสามัญ นายทะเบียนหุ้นกู้และผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ นายทะเบียนหุ้นกู้
สาขาท่าเทียบเรือและคลังผลิตภัณฑ์ เลขที่ 19 ถนนโรงปุ๋ย นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3899-4000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาคลังสำรองอะโรเมติกส์ เลขที่ 11 ถนนไอ-สี่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21550 โทรศัพท์ : 66 (0) 3897-1000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 สาขาแล็บเซอร์วิสเซ็นเตอร์ เลขที่ 24/9 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ : 66 (0) 3899-4000 โทรสาร : 66 (0) 3899-4111 เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร เอ ชั้น 15 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 66 (0) 2265-8400 โทรสาร : 66 (0) 2265-8500 บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2888 Call center : 0-2229-2888 โทรสาร : 0-2654-5427 เว็บไซต์ http://www.tsd.co.th ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) 393 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 66 (0) 2 230-5479, 5575, 5783, 6061 โทรสาร : 66 (0) 2 266-8150, 9779 เว็บไซต์ http://www.tmbbank.com ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ฝ่ายปฏิบตั กิ าร 1060 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-256-2323-8 โทรสาร : 0-2256-2406
65
นายทะเบียนหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐฯ ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย
ฝ่ายบริการหลักทรัพย์ 9 ชัน้ 16 โซนเอ ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ : 0-2544-4049 โทรสาร : 0-2937-7662 เว็บไซต์ http://www.scb.co.th Citibank, N.A. Citigroup Centre, Dublin Branch Citigroup Centre 1 North Wall Quay, Dublin 1 Ireland Citigroup Global Markets Deutschland AG & Co. KGaA Reuterweg 16 60323 Frankfurt am Main, Germany Fax : +49-69-1366-1429 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ชั้น 48 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2677-2000 โทรสาร : 0-2677-2222 เว็บไซต์ http://www.kpmg.co.th บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำกัด ชั้น 22-25 อาคารอับดุลราฮิมเพลส 990 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ : 0-2636-2000 โทรสาร : 0-2636-2111 เว็บไซต์ http://www.bakernet.com บริษัท สำนักกฎหมายสากล สยามพรีเมียร์ จำกัด ชั้น 26 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัล เวิลด์ 999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 0-2646-1888 โทรสาร : 0-2646-1919 เว็บไซต์ http://www.siamlaw.co.th บริษัท สำนักกฎหมาย ดำเนิน สมเกียรติ และบุญมา จำกัด 719 ถนนสี่พระยา แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ : 0-2639-1955 (26 คู่สาย) โทรสาร : 0-2639-1956 ถึง 57 (Trademark) 0-2639-1958 (Patent) เว็บไซต์ http://www.dsb.co.th
66
คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ผลการดำเนินงานประจำปี 2554 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (บริษัทฯ) เกิดจากการควบบริษัทระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) กับ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) โดยได้ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทใหม่ขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 จึงทำให้งบการเงินประจำปี 2554 ที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว แสดงผลการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เท่านั้น อย่างไรก็ตาม เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทฯ จึงได้จัดทำรายงานข้อมูล ทางการเงินรวมประหนึ่งได้มีการควบบริษัทกันมาตลอดที่ยังไม่ได้ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี (งบการเงินเสมือน เปรียบเทียบ) สำหรับปี 2554 และปี 2553 พร้อมทั้งจัดทำคำอธิบายและบทวิเคราะห์ผลการดำเนินงานไว้ด้วย 1.
บทสรุปผู้บริหาร สำหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีรายได้จาก การขายตามงบการเงินรวมจำนวน 104,433 ล้านบาท และกำไรสุทธิจำนวน 2,113 ล้านบาท โดยมี ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ สรุปได้ดังนี้
รายได้จากการขาย EBITDA กำไรสุทธิ กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)
19 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2554 (ล้านบาท) % 104,433 100 % 7,068 7% 2,113 2% 0.47
ในช่ ว งไตรมาสที่ 4/2554 เศรษฐกิ จ โลกยั ง คงได้ รั บ ผลกระทบจากปั ญ หาหนี้ ส าธารณะของกลุ่ ม ยุ โ รป และมาตรการทางการเงินของจีน ทำให้ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 3 ในขณะที่ความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมียังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากผู้ซื้อยังไม่มั่นใจต่อทิศทาง ของเศรษฐกิ จ โลก ดั ง นั้ น จึ ง จั ด ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เ พี ย งพอต่ อ อุ ป สงค์ เ ท่ า นั้ น ยั ง ไม่ ไ ด้ เ พิ่ ม ระดั บ สิ น ค้ า คงคลังเพื่อรองรับวันหยุดต่างๆ ในช่วง ปลายปี 2554 ทำให้ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ต่อวัตถุดิบ อาทิ ส่วนต่างราคาแก๊สโซลีนต่อราคาน้ำมันดิบดูไบ ส่วนต่างราคาพาราไซลีน และเบนซีนต่อราคาคอนเดนเสท ปรับตัวลดลง รวมถึงส่วนต่างราคา HDPE ต่อราคาแนฟทาทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนั้น ในช่วง ดังกล่าวมีเหตุการณ์น้ำท่วมในประเทศไทยทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดลง ส่งผลต่อการใช้กำลังการผลิต ของโรงแยกก๊าซ จึงทำให้บริษัทฯ ได้รับก๊าซอีเทนซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตผลิตภัณฑ์สายโอเลฟินส์ ลดลงตามไปด้วย จากเหตุผลข้างต้นได้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ ในระดับหนึ่ง
67
สำหรั บ ผลประกอบการในปี 2554 ของบริ ษั ท ฯ ตามงบการเงิ น เสมื อ นเปรี ย บเที ย บบริ ษั ท ฯ มี ก ำไรสุ ท ธิ 30,033 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 84 จากปี 2553 ที่มีผลกำไรสุทธิ 16,320 ล้านบาท โดยสรุปผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ เป็นดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2553 เพิ่มขึ้น/(ลดลดง) รายได้จากการขาย 500,305 375,304 33 % EBITDA 54,422 34,877 56 % กำไรสุทธิ 30,033 16,320 84 % กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) 6.66 3.65 82 % สาเหตุหลักที่ทำให้ผลประกอบการของบริษัทฯ ดีขึ้น มาจากกำลังการผลิตโอเลฟินส์ที่เพิ่มขึ้นจำนวน 1.0 ล้านตัน ต่อปี ทำให้กำลังการผลิตโอเลฟินส์รวมเพิ่มขึ้นจาก 1.88 ล้านตันต่อปี ในปี 2553 เป็น 2.88 ล้านตันต่อปี ในปี 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53 ประกอบกับสถานการณ์ราคาน้ำมันดิบดูไบที่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น 28 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
ในปี 2554 ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ย (Dubai) เท่ากับ 106 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ขณะที่ส่วนต่างราคาน้ำมันอากาศยานและน้ำมันดีเซลกับราคาน้ำมันดิบดูไบ ปรับ ตัวสูงขึ้นร้อยละ 58 และร้อยละ 64 ตามลำดับ นอกจากนี้ ราคาอะโรเมติกส์ก็ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาวัตถุดิบ และภาวะอุปสงค์ในตลาดโลกที่ยังทรงตัวในระดับสูงขณะที่อุปทานยังคงตึงตัว ส่งผลให้ส่วนต่างราคาพาราไซลีนกับ คอนเดนเสทปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 57 สำหรับสถานการณ์ตลาดโอเลฟินส์ ราคาแนฟทา (MOPS) ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 29 เป็น 922 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ทำให้ราคาเฉลี่ยเอทิลีน (SEA) และ HDPE (SEA) ปรับตัวสูงขึ้นตาม (Cost-Push Effect) โดยราคาเอทิลีน (SEA) ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 1,187 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันจากปีก่อน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 10 และ HDPE (SEA) ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 1,373 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันหรือเพิ่มขึ้นจาก ปี ก่ อ นร้ อ ยละ 12 อย่ า งไรก็ ดี อุ ป ทานส่ ว นเกิ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อเลฟิ น ส์ แ ละเม็ ด พลาสติ ก HDPE (SEA) ที่ยังคงมีอยู่ในระดับสูงทำให้ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ HDPE (SEA) กับแนฟทา (MOPS) ปรับตัวลดลงเป็น 451 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือลดลงร้อยละ 8
2.
ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ในช่วงวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 สภาพเศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากปัญหาหนี้ สาธารณะของกลุ่มยุโรปและมาตรการทางการเงินของจีนเป็นสาเหตุหลัก ซึ่งส่งผลให้เศรษฐกิจโดยรวมของโลก ลดต่ำลง ราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 106 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในไตรมาสที่ 4 ซึ่งลดลง มาจากไตรมาสที่ 3 ที่ 107 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่วนผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมปรับตัวลดลงค่อนข้างมากในไตรมาส ที่ 4 อาทิ ส่วนต่างราคาน้ำมันแก๊สโซลีนต่อราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงจาก 17 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
68
เป็น 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และส่วนต่างราคาน้ำมันดีเซลต่อราคาน้ำมันดิบดูไบ ปรับตัวลดลงจาก 19 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเป็น 18 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่วนในกลุ่มอะโรเมติกส์ส่วนต่างราคาพาราไซลีน และเบนซีนลดลงอย่างมีนัยสำคัญจากไตรมาสที่ 3 ที่ 638 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และ 165 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามลำดับเป็น 531 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และ 49 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ตามลำดับ ในไตรมาสที่ 4 เช่นเดียวกับ ผลิตภัณฑ์ในสายโอเลฟินส์ซึ่งมีส่วนต่างราคาเอทิลีนต่อราคาแนฟทาลดลงจาก 223 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 191 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ HDPE ต่อราคาแนฟทาลดลงจาก 463 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 459 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เนื่องจากลูกค้ายังมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจโลก ดังนั้น จึงซื้อ ผลิตภัณฑ์ไว้เท่าที่จำเป็นเท่านั้น โดยยังคงรักษาปริมาณสินค้าคงคลังอยู่ในระดับต่ำ
นอกจากนั้น ในช่วงดังกล่าวมีเหตุการณ์น้ำท่วมพื้นที่ภาคกลางและกรุงเทพมหานครฯ เหตุการณ์ดังกล่าว ไม่ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อบริษัทฯ กล่าวคือโรงงานทั้งหมดของบริษัทฯ และบริษัทในเครือซึ่งตั้งอยู่ใน พื้นที่จังหวัดระยองมิได้ถูกน้ำท่วมแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้รับผลกระทบทางอ้อมเนื่องจาก บริษัทผลิตกระแสไฟฟ้ามีความจำเป็นที่จะต้องลดกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าลงเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้ ไฟฟ้าที่ลดลงในช่วงเหตุการณ์น้ำท่วม ทำให้โรงแยกก๊าซของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ต้องปรับปรุงสมดุล (Balance) ของการผลิตและจำหน่ายก๊าซ ซึ่งมีผลทำให้การส่งก๊าซอีเทนซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต ผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ให้แก่บริษัทฯ มีปริมาณที่น้อยลง
จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ มีรายได้จากการดำเนินงาน 104,433 ล้านบาท มีกำไรขั้นต้นจากการ ดำเนินงานร้อยละ 13 ต่อรายได้ ส่งผลให้ EBITDA margin เป็นร้อยละ 7 ทั้งนี้ บริษัทฯ มีรายได้อื่นประมาณ 1,461 ล้ า นบาท สาเหตุ ห ลั ก เกิ ด จากรายได้ จ ากการเปลี่ ย นสั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ใน PPCL และ PTTUT ณ วันควบรวม
3. ผลการดำเนินงานระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 3.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม สถานการณ์ตลาดปิโตรเลียมในปี 2554 โดยรวมในปี 2554 ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยอยู่ที่ 106 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่ปี 2553 ราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยอยู่ที่ 78 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 28 เหรียญสหรัฐฯ ต่ อ บาร์ เ รล หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 36 ซึ่ ง มี ส าเหตุ ห ลั ก จากความไม่ ส งบของตะวั น ออกกลางและ แอฟริกาเหนือ โดยเฉพาะในครึ่งแรกของปี 2554 เหตุการณ์ไม่สงบในประเทศตูนีเซีย และประเทศอียิปต์ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ อุ ป ทานของน้ ำ มั น ดิ บ ในตลาดโลกลดลงประมาณ 1 ล้ า นบาร์ เ รลต่ อ วั น ทำให้ ร าคา น้ำมันดิบดูไบปรับตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยในเดือนเมษายน 2554 เฉลี่ยอยู่ที่ 118 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ขณะที่ในครึ่งหลังของปี ปัญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยุโรปได้ลุกลาม ทำให้สภาวะเศรษฐกิจโลกเติบโตน้อยกว่าที่คาดไว้ รวมถึงบริษัทจัดระดับความน่าเชื่อถือ S&P ได้ลด อันดับความน่าเชื่อถือทางการเงินของประเทศสหรัฐอเมริกาลงจาก AAA เป็น AA+ นอกจากนี้
69
ประเทศจีนได้มีการเพิ่มความเข้มงวดด้านนโยบายการเงินเพื่อที่จะลดอัตราเงินเฟ้อในประเทศ ซึ่งส่งผลให้ เศรษฐกิ จ โดยรวมของโลกลดต่ ำ ลงและทำให้ ค วามต้ อ งการใช้ น้ ำ มั น ของโลกขยายตั ว ในอั ต ราที่ ล ดลง ส่งผลต่อราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 106 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในไตรมาสที่ 4
สถานการณ์ตลาดอะโรเมติกส์ในปี 2554 สายอะโรเมติกส์มีการปรับตัวขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ของ ผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ที่เป็นธุรกิจปลายน้ำของผลิตภัณฑ์พาราไซลีน และอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นผลิตภัณฑ์ ปลายน้ำของเบนซีน บวกกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่ญี่ปุ่นทำให้โรงงานอะโรเมติกส์ในญี่ปุ่น ต้องปิดฉุกเฉิน ส่งผลกระทบให้อุปทานของผลิตภัณฑ์พาราไซลีนลดลง ทำให้ส่วนต่างของราคาผลิตภัณฑ์ พาราไซลีนและเบนซีนเมื่อเทียบกับราคาวัตถุดิบคอนเดนเสทในไตรมาส 1 ปรับตัวสูงขึ้นมาก แต่ต่อมา ความต้องการในสินค้าปลายน้ำของสายอะโรเมติกส์เริ่มลดลง และผลจากราคาที่เริ่มสูงขึ้นของต้นทุนวัตถุดิบ และแนฟทา ส่ ง ผลให้ ส่ ว นต่ า งราคาพาราไซลี น และเบนซี น เมื่ อ เที ย บกั บ คอนเดนเสทปรั บ ตั ว ลดลง โดยเฉพาะในไตรมาส 4 ของปี 2554 เมื่อโรงงานอะโรเมติกส์แห่งใหม่ที่เกาหลีใต้เริ่มดำเนินการผลิต โดยเฉลี่ยปี 2554 ส่วนต่างราคาพาราไซลีนเพิ่มขึ้น 220 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 396 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2553 เป็น 616 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 56 และ เบนซีนลดลง 93 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จาก 253 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2553 เป็น 160 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันในปี 2554 หรือลดลงร้อยละ 37
สถานการณ์ตลาดโอเลฟินส์ในปี 2554 ราคาเฉลี่ยเอทิลีนในปี 2554 อยู่ที่ 1,187 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และในปี 2553 อยู่ที่ 1,076 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน หรือปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 10 ในขณะที่ราคาเฉลี่ยของโพรพิลีนในปี 2554 อยู่ที่ 1,386 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และในปี 2553 อยู่ที่ 1,132 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 23
โดยในช่วงครึ่งแรกของปีนั้น ตลาดเอทิลีนค่อนข้างที่จะตึงตัว เนื่องจากโรง Cracker ในภูมิภาคหลาย โรงงานได้หยุดซ่อมบำรุงและลดกำลังการผลิต ทำให้ปริมาณเอทิลีนหายไปจากตลาดประมาณ 1.73 ล้านตัน ประกอบกับผู้ผลิตในตะวันออกกลางยังคงส่งออกสินค้ามายังภูมิภาคเอเชียน้อยลง เนื่องจากมีการส่ง ออกสินค้าไปยังยุโรปซึ่งมีผลกำไรที่ดีกว่าแทน แต่อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปีราคาเอทิลีนในตลาด กลับปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง สาเหตุจากความต้องการในตลาดผลิตภัณฑ์ขั้นต่อเนื่องนั้นค่อนข้างที่ จะซบเซา อันเป็นผลมาจากมาตรการทางการเงินของจีนเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อของประเทศ และจาก ความไม่ แ น่ น อนของสภาพเศรษฐกิ จ ในกลุ่ ม ยุ โ รป ซึ่ ง ปั จ จั ย ดั ง กล่ า วเป็ น ปั จ จั ย ที่ ก ดดั น ให้ ร าคาเอทิ ลี น ปรับตัวลดลงกว่าช่วงครึ่งแรกของปีถึงประมาณร้อยละ 12 โดยตลอดทั้งปี ส่วนต่างระหว่างราคาเอทิลีน และแนฟทาในปี 2554 อยู่ที่ 266 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงจากปี 2553 ประมาณ 98 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือลดลงร้อยละ 27
70
ด้านตลาดโพรพิลีนในภูมิภาคเอเชียปี 2554 นั้น จะค่อนข้างตึงตัวมากกว่า เนื่องจากการที่หน่วย ผลิตโพรพิลีนในเอเชียหลายโรงงานได้หยุดการเดินเครื่องเพื่อทำการซ่อมบำรุงตามแผน และเนื่องจาก ปัญหาทางด้านการผลิต ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ขึ้นในโรงงานโอเลฟินส์ในไต้หวัน ในช่ ว งสิ้ น เดื อ นกรกฎาคม อี ก ทั้ ง เหตุ ก ารณ์ ร ะเบิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ โรงกลั่ น น้ ำ มั น ขนาด 500,000 บาร์เรลต่อวัน ของบริษัทแห่งหนึ่งในสิงคโปร์ในช่วงสิ้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา ทำให้มีปริมาณ โพรพิลีนลดลงไปจากตลาดประมาณ 1.05 ล้านตัน โดยส่วนต่างระหว่างราคาโพรพิลีนและแนฟทา ในปี 2554 อยู่ที่ระดับ 466 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ประมาณ 47 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11
สถานการณ์ตลาดเม็ดพลาสติกในปี 2554 ราคาเฉลี่ย HDPE ในปี 2554 อยู่ที่ 1,373 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และในปี 2553 อยู่ที่ 1,224 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 12 ราคาเฉลี่ย LLDPE ในปี 2554 อยู่ที่ 1,339 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯต่ อ ตั น และในปี 2553 อยู่ ที่ 1,290 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ ตั น หรื อ ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ร้ อ ยละ 3 ในขณะที่ ร าคาเฉลี่ ย ของ LDPE ในปี 2554 อยู่ ที่ 1,602 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ ตั น และในปี 2553 อยู่ที่ 1,453 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 13
สถานการณ์ตลาดโดยภาพรวม ราคาโพลีเมอร์เพิ่มขึ้นอย่างมากในไตรมาสแรกจากปัญหาความไม่สงบ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ปรับตัวสูงขึ้นมาก ประกอบกับหลายโรงงานในเอเชียหยุดซ่อมบำรุง อย่างไรก็ตาม ความวิตกกังวล ต่อสถานะปัญหาหนี้สาธารณะของยุโรปที่แผ่ขยายไปยังประเทศอื่นๆ รวมไปถึงมาตรการชะลอความ ร้อนแรงทางเศรษฐกิจของประเทศจีนเพื่อป้องกันภาวะเงินเฟ้อ เป็นผลให้ราคาตลาดปิโตรเคมีเอเชีย ลดลงอย่างมาก ก่อนที่อุปสงค์จากจีนจะปรับตัวสูงขึ้นจากความต้องการผลิตสินค้าที่เพิ่มขึ้นก่อน เข้าสู่ช่วงเทศกาลคริสมาสต์และปีใหม่ แต่จากความกังวลอย่างต่อเนื่องจากปัญหาหนี้สาธารณะใน ยุโรป และปัญหา Margin ของผู้ประกอบการที่ลดลงอย่างมากนั้น ส่งผลให้ผู้ผลิตบางรายต้องลด กำลังการผลิตลงและพยายามปรับราคาขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่เนื่องจากราคาสินค้าปลายทางไม่สามารถ ปรับขึ้นได้มากทำให้ราคายังคงปรับลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผลิตภัณฑ์ LLDPE ที่มีกำลัง ผลิตใหม่จากภูมิภาคตะวันออกกลางเพิ่มขึ้นจำนวนมาก
71
สำหรั บ ราคา MEG (SEA) ในปี 2554 ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ร้ อ ยละ 34 เป็ น 1,314 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ ตั น โดยมีสาเหตุหลักจากปริมาณความต้องการ MEG และ PTA ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต Polyester ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น บวกกับอุปทานของ MEG ที่หายไปจากตลาด จากเหตุการณ์ไฟไหม้โรงผลิตเอทีลีน ของ Formosa ทำให้ ก ำลั ง การผลิ ต รวม 1.9 ล้ า นตั น ต่ อ ปี ต้ อ งหยุ ด ดำเนิ น การผลิ ต ตามไปด้ ว ย ในปี 2554 ส่วนต่างระหว่างราคาของ MEG กับ 0.65 เท่าของราคา Ethylene ปรับตัวเพิ่มขึ้น 258 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 91
ราคาผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบอ้างอิงและส่วนต่างราคาน้ำมัน โอเลฟินส์ และอะโรเมติกส์ Year NAPHTHA ETHYLENE PROPYLENE HDPE LLDPE LDPE CFR MEG SEA Ethylene Propylene HDPE LLDPE LDPE MEG (S/MT) CFR SING. S.E.ASIA S.E.ASIA (FILM) (SEA) SE Asia MOPS MOPS MOPS MOPS MOPS 0.65 SEA CFR SEA Ethylene 2010 1Q-11 2Q-11 3Q-11 4Q-11 2011
Year (S/MT) 2010 1Q-11 2Q-11 3Q-11 4Q-11 2011
1,132 1,379 1,487 1,394 1,283 1,386
1,076 1,238 1,291 1,160 1,061 1,187
713 903 977 937 870 922
1,224 1,372 1,389 1,399 1,329 1,373
1,290 1,423 1,380 1,338 1,217 1,339
1,453 1,731 1,683 1,586 1,408 1,602
363 336 314 223 191 266
984 1,250 1,300 1,343 1,362 1,314
419 477 510 458 413 464
511 469 412 463 459 451
740 828 706 649 538 680
577 520 403 401 347 418
284 445 461 589 672 542
Dubai Condensate PX Spot BZ Spot PX BZ Gasoline Jet-Dubai Diesel Fuel Oil (S/BBL) Erawan Korea SEA Condensate Condensate Dubai Dubai Dubai Spot Spot 78 100 111 107 106 106
ที่มา: บริษัทฯ หน่วย: เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน
651 859 980 942 923 926
1,047 1,630 1,508 1,575 1,454 1,542
905 1,135 1,129 1,106 973 1,086
396 771 529 638 531 616
253 276 149 165 49 160
10 13 14 17 10 14
12 20 20 19 18 19
11 18 19 18 17 18
-6 -8 -8 -5 -2 -6
72
3.2 ผลการดำเนินงานปี 2554 ตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ 3.2.1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ ผลิตภัณฑ์ ปริมาณขายปี 2554 ปริมาณขาย ปี 2553 บาร์เรล % บาร์เรล %
ผลต่าง เพิ่มขึ้น (ลดลง) บาร์เรล
%
แนฟทาชนิดเบา รีฟอร์เมต น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา อื่นๆ
4,902,145 9% 3,209,171 6% 6,089,538 11% 28,416,616 52% 7,835,500 14% 4,635,375 8%
5,879,382 3,093,349 8,820,995 26,917,087 9,366,480 3,694,951
10% 5% 15% 47% 16% 6%
(977,237) 115,822 (2,731,457) 1,499,529 (1,530,979) 940,424
(17%) 4% (31%) 6% (16%) 25%
รวม
55,088,344
57,772,243 100%
(2,683,898)
(5%)
100%
แม้ว่าในไตรมาส 1 ปี 2554 โรงกลั่นน้ำมันมีการหยุดซ่อมบำรุงตามแผนเป็นเวลา 47 วันส่งผลให้วัตถุดิบนำเข้า กลั่นเป็น 58.75 ล้านบาร์เรล (หรือเท่ากับ 161 KBD) ลดลงจำนวน 4.59 ล้านบาร์เรล หรือคิดเป็นร้อยละ 7 โดยมีอัตรา CDU Utilization ที่ร้อยละ 90 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ สามารถขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั้งสิ้น 55.09 ล้านบาร์เรล ลดลงจากปี 2553 เพียงร้อยละ 5
โรงกลั่นน้ำมัน วัตถุดิบนำเข้ากลั่น (M.BBL) (KBD) CDU Utilization Rate
2554 58.75 161 90%
หมายเหตุ : กำลังการผลิตติดตั้งของหน่วย CDU เท่ากับ 145 KBD
ปี 2553 63.34 174 100%
% เพิ่ม/(ลด) (7%) (7%) (10%)
73
ในปี 2554 ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกับราคาน้ำมันดิบดูไบส่วนใหญ่ปรับตัวดีขึ้นจากปี 2553 โดยส่วนต่าง ราคาน้ำมันเบนซินกับราคาน้ำมันดิบดูไบในปี 2554 เท่ากับ 14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเทียบกับ 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในปี 2553 นอกจากนี้ ส่วนต่างราคาน้ำมันอากาศยานและน้ำมันดีเซลกับราคาน้ำมันดิบดูไบปรับตัวสูงขึ้นเป็น 19 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และ 18 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับปี 2553 ที่ 12 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และ 11 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามลำดับ จากการผลิต การจำหน่าย รวมถึงสถานการณ์ราคาตลาดข้างต้นทำให้บริษัทฯ มีกำไรขั้นต้นจากการผลิตดังนี้ โรงกลั่นน้ำมัน (เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) Market GRM Hedging Gain/(Loss) Stock Gain/(Loss) Net LCM Accounting GRM
2554 6.37 (0.80) 1.67 7.24
ปี %เพิ่ม/(ลด) 2553 5.14 24% 0.01 (10,139%) 0.31 430% 5.46
32%
กำไรขั้นต้นจากการผลิตในปี 2554 (Market GRM) เท่ากับ 6.37 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่ 5.14 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล มีผลขาดทุนจากการบริหารความเสี่ยง 0.80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีกำไรจากสต็อก (รวม LCM) 1.67 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล คิดเป็นกำไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี 7.24 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเทียบกับ 5.46 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรลในปี 2553
74
3.2.2 กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ผลิตภัณฑ์ ปริมาณขาย ปี 2554 ปริมาณขาย ปี 2553 ตัน % ตัน % เบนซีน 606,471 14% 577,795 14% พาราไซลีน 1,159,202 27% 1,138,660 28% ไซโคลเฮกเซน 184,521 4% 177,995 4% ผลิตภัณฑ์ BTX อื่นๆ 69,917 2% 74,563 2%
ผลต่าง เพิ่มขึ้น (ลดลง) ตัน % 28,676 5% 20,542 2% 6,526 4% (4,646) -6%
แนฟทาและแรฟฟิเนท 1,306,295 คอนเดนเสท เรสซิดิว 529,630 ผลิตภัณฑ์พลอยได้อ่นื ๆ 426,935
30% 12% 10%
1,197,576 503,283 375,851
30% 12% 9%
108,719 26,348 51,084
9% 5% 14%
รวม BTX Utilization Rate
100%
4,045,721
100%
237,250
6%
4,282,971
88%
85%
หมายเหตุ กำลังการผลิตติดตั้งของผลิตภัณฑ์ BTX เท่ากับ 2.2 ล้านตัน/ปี
จากสถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในปี 2554 ที่ดีขึ้นกว่าปี 2553 เอื้ออำนวยให้บริษัทฯ นำวัตถุดิบ เข้าผลิตเพิ่มขึ้นเต็มกำลังการผลิตโดยในปี 2554 โรงอะโรเมติกส์ทั้ง 2 หน่วย มี BTX Utilization Rate รวมที่ร้อยละ 88 เพิ่มขึ้นจากปี 2553 ที่ร้อยละ 85 แม้ว่าโรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 1 มีการหยุดเดินเครื่องตามแผนเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิต เป็นเวลา 12 วัน ระหว่างวันที่ 20 มิถุนายน ถึง 1 กรกฎาคม 2554 และโรงอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 มีการหยุดเดินเครื่องฉุกเฉินระหว่างวันที่ 15 - 17 สิงหาคม 2554 เนื่องจากปัญหาทางเทคนิคของผู้ให้บริการ ไฟฟ้าและไอน้ำของโรงงาน รวมถึงการหยุดเดินเครื่องบางส่วนในระหว่างวันที่ 12-27 ธันวาคม 2554 เนื่องจาก ปัญหาทางเทคนิค ทั้งนี้ ในปี 2554 บริษัทฯ มีปริมาณการขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ทั้งสิ้น 4,282,971 ตัน เพิ่มขึ้น จากปี 2553 ร้อยละ 6 จากการผลิ ต การจำหน่ า ย รวมถึ ง สถานการณ์ ร าคาตลาดข้ า งต้ น ทำให้ ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ อะโรเมติ ก ส์ ข องบริ ษั ท ฯ มี Product to Feed Margin 86 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นจาก 81 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ในปี 2553 มีกำไร จากการบริหารความเสี่ยงและมีกำไรจากสต็อก (รวม LCM) 15 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ปรับตัวสูงขึ้น 4 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน จากปี 2553
75
3.2.3 กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์และกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง กำลังการ สำหรับปี 2554 สำหรับปี 2553 ผลต่าง ผลิตติดตั้ง ปริมาณขาย อัตราการใช้ ปริมาณขาย อัตราการใช้ ปริมาณขาย อัตราการใช้ ณ 31 ธ.ค. 54 (ตัน) กำลังการผลิต (ตัน) กำลังการผลิต (ตัน) กำลังการผลิต (ตัน) โอเลฟินส์* 2,888,000 736,641 80% 661,526 71% 75,115 9% HDPE 800,000 758,391 95% 458,008 99% 300,383 (4%) LLDPE 400,000 336,842 89% 283,488 64% 53,354 25% LDPE 300,000 158,301 55% N/A N/A N/A N/A MEG 395,000 257,830 68% 310,869 79% -53,039 (11%) * ปริมาณขายผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์เป็นปริมาณขายให้กับบุคคลภายนอก
สัดส่วนการใช้วัตถุดิบ
2553 2554 3.2.3.1
แนฟทา (พันตัน) % 393 19% 414 13%
ก๊าซ (พันตัน) 1,706 2,812
% 81% 87%
รวม (พันตัน) 2,099 3,226
กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ ในปี 2554 ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อเลฟิ น ส์ มี ก ารอั ต ราการใช้ ก ำลั ง การผลิ ต รวมเพิ่ ม ขึ้ น จาก ร้อยละ 71 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 80 ในปี 2554 และมีปริมาณขายที่เพิ่มขึ้น 75,115 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 11 เนื่องจาก การเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ ของ Ethane Cracker Plant ของ PTTPE ในเดือนธันวาคม 2553 แม้ว่าบริษัทจะมีการหยุดดำเนินการผลิต เพื่อซ่อมบำรุงของ โรงงาน I-4/1 เป็นเวลา 18 วัน (7-24 ธันวาคม) รวมถึงการหยุดตรวจสอบตามรอบเวลา เดินเครื่อง 1 ปีแรกของหน่วย Ethane Cracker ของ PTTPE เป็นเวลา 42 วันก็ตาม ในขณะที่ ราคาเฉลี่ยผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์เพิ่มขึ้นจาก 1,104 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เป็น 1,287 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันในปี 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ซึ่งเป็นสาเหตุให้ Product to Feed Margin ต่อตัน เท่ากับ 383 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึ่งสูงกว่าปี 2553 ที่ 274 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน
76
3.2.3.2
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ Product to Feed Margin ของกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ พลิ เ มอร์ ส ำหรั บ ปี 2554 อยู่ ที่ 452 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึ่งสูงกว่าปี 2553 ที่ 257 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึ่งมีสาเหตุหลัก ดังต่อไปนี้
ปริมาณขาย HDPE ในปี 2554 เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 66 เนื่องจากซึ่งมีสาเหตุ หลักมาจากการเริ่มดำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ของส่วนขยายของโรง HDPE ของ I-1 ซึ่งมี กำลังการผลิต 50,000 ตันต่อปี และโรง HDPE ของ BPE 2 ซึ่งมีกำลังการผลิต 250,000 ตัน ต่อปี เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 ในขณะที่อัตราการใช้กำลังการผลิตรวมลดลงร้อยละ 4 เป็นร้อยละ 95 ในปี 2554 ทั้งนี้ เนื่องมาจากการหยุดดำเนินการผลิตของโรง HDPE I-1, BPE1 และ BPE2 จำนวน 32, 13 และ 84 วัน ตามลำดับ
ปริมาณขาย LLDPE ในปี 2554 เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 19 และอัตราการใช้กำลัง การผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 เนื่องจากในปี 2554 Cracker ของบริษัท PTTPE ได้ เดินเครื่องจักรได้เต็มกำลังการผลิตอย่างเต็มที่และสามารถส่งเอทิลีนให้โรงงาน LLDPE ได้อย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม ในปี 2554 โรง LLDPE หยุดดำเนินการผลิตรวมเป็นเวลา 36 วัน ส่วนหนึ่งเพื่อให้สอดคล้องกับการผลิตของโรง Cracker ของ PTTPE
โรง LDPE ของ PTTPE เริ่ ม ดำเนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ เ มื่ อ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2554 มีกำลังการผลิตรวม 3 แสนตันต่อปี ปริมาณขาย LDPE ในปี 2554 อยู่ที่ 158,301 ตัน อย่างไรก็ตาม มีการหยุดการผลิตตามแผนในไตรมาสที่ 3 จำนวน 93 วั น และหยุ ด การผลิ ต จากปั ญ หาทางเทคนิ ค 36 วั น ในไตรมาสที่ 4 ทำให้ อั ต รา การใช้กำลังการผลิตปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 55
3.2.3.3
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ Product to Feed Margin ของกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ อทิ ลี น ออกไซด์ ส ำหรั บ ปี 2554 อยู่ที่ 574 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ซึ่งสูงกว่าปี 2553 ที่ 366 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน โดยมีปริมาณขาย MEG ในปี 2554 ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 17 และอัตราการใช้ กำลังการผลิตลดลงร้อยละ 11 เป็นร้อยละ 68 เนื่องจากการหยุดผลิตตามแผนเป็น เวลา 43 วั น ในไตรมาสที่ 3 อนึ่ ง การคำนวณอั ต ราการใช้ ก ำลั ง การผลิ ต ได้ ร วม หน่วยผลิตในส่วนขยายกำลังการผลิต 95,000 ตัน ที่ไม่สามารถดำเนินการผลิตได้ เนื่องจากปัญหามาบตาพุดไว้ด้วย
77
3.3 ผลการดำเนินงานแยกกลุ่มธุรกิจ
หน่วย : ล้านบาท
ปิโตรเลียม โอเลฟินส์ โพลีเมอร์ เอทิลีนออกไซด์ และอะโรเมติกส์ รายได้จากการรวม EBITDA กำไรสุทธิ
351,576 16,809 7,492
66,654 13,347 6,776
55,617 9,981 8,147
14,526 5,403 4,748
อื่นๆ 57,114 8,045 6,619
รายการ ระหว่างกัน
รวม
(45,182) 500,305 838 54,423 (3,748) 30,033
3.4 งบกำไรขาดทุนเสมือนเปรียบเทียบ สำหรับปี 2554 สำหรับปี 2553 ผลต่าง ล้านบาท % ล้านบาท % ล้านบาท % รายได้จากการขาย 500,305 100 375,304 100 125,001 33 ต้นทุนวัตถุดิบ (419,053) (84) (319,344) (85) (99,709) (31) Product to Feed Margin 81,252 16 55,960 15 25,292 45 ค่าใช้จ่ายผันแปรอื่น (1) (7,784) (2) (5,411) (3) (2,373) (44) ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ (2) (12,940) (3) (10,778) (3) (2,162) (20) กำไร/(ขาดทุน) Hedging Commodity (3) (1,275) 0 9 0 (1,284) N/A รายได้อื่นๆ (4) 4,294 1 2,240 0 2,054 92 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (5) (9,125) (2) (7,143) (3) (1,982) (28) EBITDA 54,422 11 34,877 10 19,545 56 ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี (6) (13,608) (3) (11,903) (3) (1,705) (14) EBIT 40,814 8 22,974 6 17,840 78 ค่าใช้จ่ายด้านการเงินสุทธิ (5,575) (1) (5,496) (1) (79) (1) กำไร/(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน (7) (724) (0) 3,047 1 (3,771) (123) (265) (62) 426 0 ส่วนแบ่งกำไร/(ขาดทุน)จากเงินลงทุน (8) 161 0 ภาษีเงินได้ (9) (3,102) (1) (2,980) (0) (122) (4) กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ 31,574 6 17,971 5 13,603 76 ส่วนของกำไรที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท 30,033 6 16,320 5 13,713 84 ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม 1,541 0 1,651 0 (110) (7) 31,574 6 17,971 5 13,603 76 กำไรต่อหุ้น (บาท) 6.66 3.65 3.01 82
78
3.5 ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบปี 2554 และปี 2553 1. ค่าใช้จ่ายผันแปรอื่นเพิ่มขึ้นร้อยละ 44 หรือ 2,373 ล้านบาท เป็น 7,784 ล้านบาท มีสาเหตุหลัก เนื่องมาจากค่าใช้จ่ายผันแปรในการเริ่มผลิตในเชิงพาณิชย์ของ Cracker ของ PTTPE, HDPE Expansion, BPE2 และ LDPE ซึ่งมีกำลังการผลิตเพิ่มรวม 1.63 ล้านตันต่อปี 2. ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่เพิ่มขึ้น 2,162 ล้านบาท หรือร้อยละ 20 ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการเริ่ม ผลิตในเชิงพาณิชย์ของ Cracker ของ PTTPE, BPE2 และ LDPE ซึ่งทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เช่น ค่าคลังสินค้าและค่าบริการโลจิสติกส์ให้กับบริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำกัด รวม 420 ล้านบาท ค่าพนักงานในส่วนการผลิตที่เพิ่มขึ้น 112 ล้านบาท ค่าประกันโรงงาน 40 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ shutdown และ start up ของโรงผลิตต่างๆ รวม 325 ล้านบาท เงินชดเชยให้พนักงานเพื่อปรับเปลี่ยนนโยบายเนื่องจากการควบรวม 309 ล้านบาท นอกจากนั้น ยังมีค่าใช้จ่ายเนื่องมาจากการย้ายประเภทค่าใช้จ่ายผันแปรบางส่วนเป็นค่าใช้จ่าย ในการผลิตคงที่รวม 500 ล้านบาท จากบริษัท Emery 3. ในปี 2554 บริ ษั ท ฯ ขาดทุ น จากการทำ Hedging ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ำนวน 1,275 ล้ า นบาท สาเหตุหลักเกิดจากบริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงวัตถุดิบเพื่อป้องกันความผันผวนของราคา วัตถุดิบสิ้นงวดจำนวนรวม 4.6 ล้านบาร์เรล ทั้งนี้ เนื่องจากราคาน้ำมันได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก ปี 2553 ทำให้เกิดผลขาดทุนดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ธุรกิจโรงกลั่นและอะโรเมติกส์มีกำไร จากสต๊อกน้ำมันรวม 4,576 ล้านบาท 4. รายได้อื่นๆ ในปี 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 92 หรือ 2,054 ล้านบาท เป็น 4,294 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุ หลักมาจากกำไรจากการตีมูลค่ายุติธรรมและการปรับสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท PPCL และ PTTUT (Step Up Acquisition) อันเป็นผลมาจากการควบกิจการของ PTTCH และ PTTAR นอกจากนั้น ยังมีการปรับปรุงรายการสินค้าล้าสมัยของ PTTAR ณ วันควบบริษัท รวม 1,117 ล้ า นบาท รายได้ จ ากการให้ บ ริ ก ารที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของบริ ษั ท TTT, PTTME, NPC S&E รวม 270 ล้ า นบาท รายได้ จ ากการ Claim ประกั น HCU Unplanned Shutdown ตั้ ง แต่ ปี 2551 ซึ่งได้รับในปี 2554 รวม 400 ล้านบาท เป็นต้น 5. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 9,125 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 หรือ 1,982 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายพนักงาน 485 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการ เพิ่มจำนวนพนักงานและการปรับผลประโยชน์ของพนักงาน ณ วันควบบริษัท นอกจากนี้ ยังมี ค่าที่ปรึกษาของบริษัทฯ ในโครงการต่างๆ รวม 260 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเนื่องจากขาดทุน Actuarial Loss จากการประเมินผลประโยชน์พนักงานตามสมมติฐานสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ทำให้มีภาระหนี้สินและค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น 339 ล้านบาท
79
6. ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี 13,608 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 หรือ 1,705 ล้านบาท โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก จากการเพิ่ ม ขึ้ น ของค่ า เสื่ อ มราคาของ Plant PTTPE Ethane Cracker, LDPE, BPE2 and EA ที่ เ ริ่ ม ดำเนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ ใ นช่ ว งปลายปี 2553 และต้ น ปี 2554 ทำให้ ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น 1,600 ล้านบาท 7. ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 724 ล้านบาท มาจากภาระหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศของบริษัท PTTGC จำนวน 655 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ขณะที่ ใ นปี 2554 เงิ น บาทอ่ อ นค่ า ลง 1.53 บาท ต่ อ เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ทำให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ผ ลขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี่ ย นของเงิ น กู้ ยื ม ที่ เ ป็ น เงิ น ตรา ต่างประเทศประมาณ 900 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีกำไรจากการทำ Forward ประมาณ 200 ล้านบาท 8. ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนลดลง 265 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 62 มีสาเหตุสำคัญเนื่องมาจาก ผลขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมแห่งหนึ่งเป็นสำคัญ 9. ภาษีเงินได้อยู่ที่ 3,102 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 122 ล้านบาท เนื่องจากกำไรรวมที่เพิ่มขึ้น 13,671 ล้านบาท มีสาเหตุสำคัญเนื่องมาจากบริษัทเกือบทั้งหมดในกลุ่ม PTTGC ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีจากบัตร BOI จึงไม่จำเป็นต้องเสียภาษี นอกจากบริษัท PTTGC ซึ่งค่าใช้จ่ายภาษีส่วนใหญ่เกิดจากบริษัท PTTGC โดยในปี 2554 มี ก ารตั้ ง รายการสิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อตั ด บั ญ ชี จ ากขาดทุ น สะสมและ การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ซึ่งจะเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป เป็นสำคัญ 4. สถานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวมทัง้ สิน้ 372,967 ล้านบาท ซึง่ โดยส่วนใหญ่ประกอบด้วย - รายการเทียบเท่าเงินสด 18,973 ล้านบาท - ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ 41,482 ล้านบาท ประกอบด้วยลูกหนี้ของธุรกิจ Refinery 16,540 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 40) ธุรกิจ Aromatic 10,640 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 25) ธุรกิจ Olefin 5,986 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 14) ธุรกิจ Polymer 5,411 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 13) ธุรกิจ EO Based 1,643 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 4) (แสดงตัวเลขแยกธุรกิจที่ยังไม่ได้ตัดรายการระหว่างกัน) บริษัทฯ มีอัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้ การค้า 12 เท่า หรือคิดเป็นระยะเวลาเก็บหนี้ 30 วัน - สินค้าคงเหลือ 36,145 ล้านบาท ประกอบด้วยสินค้าคงเหลือของธุรกิจ Refinery 12,498 ล้านบาท (สัดส่วน ร้อยละ 35) ธุรกิจ Aromatic 8,493 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 23) ธุรกิจ Olefin 4,304 ล้านบาท (สัดส่วน ร้อยละ 12) ธุรกิจ Polymer 4,437 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 12) (แสดงตัวเลขแยกธุรกิจที่ยังไม่ได้ตัดรายการ ระหว่างกัน) บริษัทฯ มีอัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ 12 เท่า หรือคิดเป็นระยะเวลาขายสินค้า 31 วัน
80
- - -
ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน 2,250 ล้านบาท ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ 235,343 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ 20,414 ล้านบาท ประกอบด้วย ค่าความนิยม 10,742 ล้านบาท โดย 7,743 ล้ า นบาท เกิ ด ขึ้ น จากการควบรวม สิ ท ธิ ใ นการเช่ า ที่ ดิ น 1,168 ล้ า นบาท สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตน รวม 8,505 ล้านบาท รายการหลักประกอบด้วย ค่าลิขสิทธิ์กระบวนการผลิตประมาณ 3,660 ล้านบาท และค่าความสัมพันธ์ลูกค้าที่เกิดขึ้น ณ วันควบกิจการประมาณ 3,084 ล้านบาท
หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 164,512 ล้านบาท ซึ่งโดยส่วนใหญ่ประกอบด้วย - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 2,103 ล้านบาท จากเงินกู้ยืมระยะสั้นของบริษัทร่วมเป็นหลัก - เจ้าหนี้การค้า 27,269 ล้านบาท ประกอบด้วย เจ้าหนี้การค้าของธุรกิจ Refinery 9,503 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 35) ธุรกิจ Aromatic 9,614 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 35) ธุรกิจ Olefin 1,377 ล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 5) เป็นสำคัญ (แสดงตัวเลขแยกธุรกิจที่ยังไม่ได้ตัดรายการระหว่างกัน) อัตราหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า 15 เท่า หรือคิดเป็นระยะเวลาชำระหนี้ 24 วัน - เงินกู้ยืมระยะยาว หุ้นกู้ และเงินกู้ด้อยสิทธิที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี รวม 19,961 ล้านบาท - เงินกู้ยืมระยะยาว 98,102 ล้านบาท เป็นเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินหลายแห่งจำนวน 54,824 ล้านบาท และหุ้นกู้ทั้งสกุลบาทและสกุลเหรียญรวม 43,278 ล้านบาท
ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น 208,454 ล้านบาท ประกอบด้วย ทุนที่ออก และเรียกชำระแล้ว 45,061 ล้านบาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้นและส่วนเกินจากการรวมธุรกิจ 48,925 ล้านบาท กำไรสะสมที่จัดสรรแล้วรวม 17,765 ล้านบาท กำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร 86,290 ล้านบาท และส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำนาจควบคุม 9,950 ล้านบาท
81
อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ สัดส่วนทางการเงิน
ปี 2554
1.75 10.79 % 5.95 % 8.05 % 14.41 % 0.58 0.47 1.79
อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วน EBITDA อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อรายได้รวม อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อ EBITDA
หมายเหตุ :
อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียน หาร หนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วน EBITDA ต่อรายได้รวม = EBITDA หาร รายได้รวม อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อรายได้รวม = กำไรสุทธิ หาร รายได้รวม อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ = กำไรสุทธิ หาร สินทรัพย์รวม อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = กำไรสุทธิ หาร ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วน = หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หาร ส่วนของผู้ถือหุ้น ของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิ = หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และเงินลงทุนชั่วคราว หาร ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยสินสุทธิ = หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต่อ EBITDA และเงินลงทุนชั่วคราว หาร EBITDA
82
การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) บริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ตระหนักถึงความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจ จึงได้กำหนดนโยบายให้มีการบริหารความเสี่ยง ทั่วทั้งองค์กรอย่างเป็นระบบ ภายใต้การกำกับดูแลโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (RMC) ของบริษัทฯ โดยมีคณะจัดการ (MC) เป็นกลไกหลักในการจัดการบริหารความเสี่ยงองค์กร และมีคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ด้านความผันผวนของต้นทุนราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ และความเสี่ยงด้านการเงิน (CFRM) ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์ ระดับราคาและปริมาณในการบริหารความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์และความเสี่ยงด้านการเงิน เพื่อให้เป็นไป ตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้ดำเนินการให้มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทฯ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยมี การวิเคราะห์แบบจำลองทางการเงิน เพื่อประเมินความเสี่ยงแบบ Value at Risk (VaR) ซึ่งจะชี้ถึงผลกระทบทาง การเงินต่อบริษัทฯ จากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยสำคัญ ณ ระดับความเป็นไปได้ต่างๆ การวิเคราะห์ผลกระทบและโอกาส ของความเสี่ยง ที่อาจส่งผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ หรือเป้าหมายของโครงการ พร้อมทั้งให้มีการจัดทำ แผนจัดการความเสี่ยงตามแนวทางที่กำหนดไว้ และการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่อาจ ส่งผลต่อการผลิต การขาย และราคา ทั้งในส่วนของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ และที่สืบเนื่องมาจากตลาดการเงิน เศรษฐกิจและปัจจัยแวดล้อมอื่นทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดทอนโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงและ/หรือ บรรเทาผลกระทบกรณีเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงขึ้น และให้เจ้าหน้าที่ระดับบริหารและระดับปฏิบัติงานเข้าใจ การเปลีย่ นแปลงของข้อมูลทีถ่ กู ต้องและสอดคล้องกัน เพือ่ ให้สามารถเตรียมความพร้อมรับกับการเปลีย่ นแปลงในปัจจัย สำคัญๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factors) แม้บริษัทฯ จะได้ให้ความสำคัญในการจัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล แต่จาก ลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมที่กลุ่มบริษัทฯ ประกอบการอยู่ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการกลั่นน้ำมัน ปิโตรเคมี เม็ดพลาสติก และอื่นๆ ของกลุ่มบริษัทฯ ทำให้ไม่อาจหลีกเลี่ยงความเสี่ยงหลากหลายประการ ที่หากเกิดขึ้นแล้ว อาจส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายหรือการดำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ ความเสี่ยงดังกล่าวอาจแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ความเสี่ยงของอุตสาหกรรม และความเสี่ยงเฉพาะของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากปัจจัยความเสี่ยงที่ปรากฏในรายงานนี้ อาจมีความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯ ไม่อาจทราบได้ ในขณะที่จัดทำรายงานนี้ หรือเป็นความเสี่ยงที่บริษัทฯ พิจารณา ณ เวลาที่จัดทำรายงานนี้ว่าไม่เป็นสาระสำคัญ แต่อาจ เป็นปัจจัยความเสี่ยงที่มีความสำคัญ และหากเกิดขึ้นจริงก็อาจส่งผลต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่ม ได้อย่างมีนัยสำคัญ
83
ความเสี่ยงของอุตสาหกรรม (Industrial Risks) ความเสี่ยงด้านราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบ (Price Risks) การเปลี่ ย นแปลงของราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละวั ต ถุ ดิ บ ของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการดำเนิ น งานของกลุ่ ม บริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากราคาของผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทฯ เป็นราคาตลาดโลก หรือมีสูตรอ้างอิงราคาตลาดโลก ซึ่งจะได้รับผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ ซึ่งมัก ขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจโลก หรือเศรษฐกิจในประเทศที่เป็นตลาดหลักของผลิตภัณฑ์ และจากการเปลี่ยนแปลงระดับ กำลั ง การผลิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ วั ต ถุ ดิ บ นั้ น ๆ ในตลาดโลก อั น เป็ น ปั จ จั ย ที่ มั ก อยู่ น อกเหนื อ การควบคุ ม ของกลุ่ ม บริษัทฯ
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีนโยบายที่ให้มีการกำหนดสูตรราคาที่ชัดเจนในสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ และวัตถุดิบ ทั้งของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ที่สะท้อนราคาอ้างอิงตลาดซื้อขายหลักหลายแห่ง ในกรณีที่สามารถ ดำเนินการได้และมีความเหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดความผันผวนของราคาลงได้ระดับหนึ่ง ทั้งยังมีนโยบายที่จะให้สูตร ราคาในสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบของบริษัทฯ หรือระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทในกลุ่ม หรือระหว่างบริษัท ในกลุ่มด้วยกันเชื่อมโยงกับราคาต้นทุนของผลิตภัณฑ์ในกรณีที่มีความเหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบต่อบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มที่เป็นผู้ขายกรณีราคาตลาดของผลิตภัณฑ์บางประเภทลดต่ำลงกว่าต้นทุนผลิต ทำให้ราคาต้นทุน วัตถุดิบส่วนหนึ่งของกลุ่มบริษัทฯ มีความยืดหยุ่นในการสะท้อนราคาผลิตภัณฑ์ปลายทาง และสามารถลดผลกระทบ จากราคาที่เปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะในช่วงวัฏจักรขาลงของอุตสาหกรรมลงได้ในระดับหนึ่ง
บริษัทฯ ยังได้ดำเนินการบริหารความเสี่ยงด้านราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบ โดยเฉพาะราคาน้ำมันดิบ รวมถึงราคา วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อื่นกรณีที่สามารถดำเนินการได้และเหมาะสม โดยใช้ตราสารอนุพันธ์ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า และเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ ที่เหมาะสม ภายใต้นโยบายและกรอบการดำเนินการตามที่คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงได้กำหนดไว้ ทั้งนี้ เพื่อมุ่งเน้นที่จะลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ เป็นสำคัญ
นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้มีการประสานแผนการผลิตจากส่วนกลางระหว่างกลุ่มผลิตภัณฑ์กับกลุ่มธุรกิจต่างๆ ภายในกลุ่มบริษัทฯ ในกรณีที่มีความเกี่ยวเนื่องและเหมาะสม เพื่อให้การผลิตและขายมีประสิทธิภาพและได้ผล ตอบแทนสูงสุดภายใต้ข้อจำกัดที่มีอยู่ในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบจากความผันผวนหรือการเปลี่ยนแปลง ราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มบริษัทฯ ลงได้ในระดับหนึ่ง
กลุ่มบริษัทฯ ยังคงแสวงหาโอกาสทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องในทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์และกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ และสอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบในเชิงลบกรณีราคาผลิตภัณฑ์ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ตกต่ำลง และลดความผันผวนในรายได้และกำไรสุทธิของกลุ่มบริษัทฯ ลงได้ในระยะยาว ซึ่งก็จะเป็นปัจจัยสนับสนุน ให้กลุ่มบริษัทฯ มีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้นและสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน
84
ความเสี่ยงด้านการจัดหาวัตถุดิบของกลุ่มบริษัทฯ (Feedstock Risk) กลุม่ บริษทั ฯ มีความเสีย่ งในการจัดหาวัตถุดบิ ทัง้ นี้ อาจเนือ่ งมาจากผูจ้ ดั หาวัตถุดบิ หลักของบริษทั ฯ ซึง่ ได้แก่ บมจ. ปตท. ไม่สามารถจัดหาหรือนำส่งวัตถุดิบหลักให้แก่บริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มได้ตามสัญญา และที่อาจเนื่องมาจากปัจจัย ภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปจนส่งผลให้วัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ขาดแคลน ในส่วนของโรงกลั่นน้ำมัน ซึ่งต้องพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการกลั่นเกือบทั้งหมด จากประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลางและบางส่วนจากประเทศในภูมิภาคตะวันออกไกลและแอฟริกาตะวันตก ความสามารถในการจัดหาน้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ ดังกล่าว ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกหลายประการ ซึ่งรวมถึงความ ไม่สงบและเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศในภูมิภาค การขนถ่ายน้ำมันดิบ การเดินทางของเรือบรรทุกน้ำมันดิบ กฎเกณฑ์ของรัฐบาลที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมน้ำมันและพลังงาน สภาพภูมิอากาศและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในภูมิภาค ดังกล่าว เป็นต้น ในส่วนของโรงงานอะโรเมติกส์ ซึ่งต้องพึ่งพาการจัดหาคอนเดนเสท ผ่าน บมจ. ปตท. และโรงงานโอเลฟินส์ ซึ่งต้องพึ่งพาการจัดหาก๊าซอีเทนและแนฟทา จาก บมจ. ปตท. เช่นเดียวกัน อาจประสบปัญหาไม่ได้รับมอบวัตถุดิบ จากผู้จัดหาดังกล่าวได้ตามสัญญา ซึ่งอาจเนื่องมาจากสาเหตุหลากหลายประการ เช่น บมจ. ปตท. ไม่สามารถจัดหา วัตถุดิบได้ทันตามกำหนดเวลาหรือในปริมาณที่บริษัทฯ ต้องการ เรือขนส่งวัตถุดิบล่าช้า หรือโรงแยกก๊าซอีเทน ประสบปัญหาในการผลิต เป็นต้น ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงอาจส่งผลเชิงลบต่อการดำเนินงานของบริษัทฯ ได้อย่างมีนัยสำคัญ
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ได้มีการทำสัญญาซื้อน้ำมันดิบระยะยาวไว้บางส่วน และมีการเก็บสำรอง น้ำมันดิบและคอนเดนเสทสำหรับการผลิตไว้ส่วนหนึ่ง มีการเตรียมความพร้อมกรณีที่ต้องจัดหาวัตถุดิบ คอนเดนเสทจากแหล่งอื่นๆ ในต่างประเทศ หรือใช้แนฟทาเป็นวัตถุดิบทดแทน นอกจากนี้ ยังมีการติดตาม การจัดหาและการขนส่งวัตถุดิบอย่างใกล้ชิด รวมทั้งมีการเพิ่มช่องทางในการขนถ่ายและจัดเก็บคอนเดนเสท กรณีที่สามารถดำเนินการได้และมีความเหมาะสม
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีการติดตามความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยแวดล้อม วิเคราะห์ และประเมินแนวโน้มของปัจจัยที่อาจส่งผลต่อปริมาณวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ กำหนดนโยบายและการจัดการที่อาจช่วยบรรเทาผลกระทบกรณีเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงในการจัดหาวัตถุดิบ ของกลุ่มบริษัทฯ เกิดขึ้นจริง
ความเสี่ยงจากการที่สถานที่ตั้งโรงงานของกลุ่มบริษัทฯ ผู้จัดหาวัตถุดิบหลัก และลูกค้าหลักส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทฯ อยู่รวมกันในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง (Cluster-of-Plants Risk) โรงงานกลั่นน้ำมัน โรงปิโตรเคมีขนาดใหญ่ โรงผลิตเม็ดพลาสติกและโรงงานปลายน้ำที่รับผลิตภัณฑ์จากโรงงานต้นน้ำ ข้างต้นเป็นวัตถุดิบมักตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับโรงงานผลิตวัตถุดิบหรือลูกค้าหลัก เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่ง
85
วัตถุดิบหรือนำส่งผลิตภัณฑ์ (Logistics Cost) โรงงานของกลุ่มบริษัทฯ มีที่ตั้งในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน โดยส่วนใหญ่ ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง อีกทั้งผู้จัดหาวัตถุดิบหลักและลูกค้าหลักของกลุ่มบริษัทฯ ต่างก็ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดหรือบริเวณใกล้เคียง ดังนั้น หากเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรง ต่อโรงงาน สถานประกอบการ หรือระบบท่อส่งของกลุ่มบริษัทฯ ผู้จัดหาวัตถุดิบหลักหรือลูกค้าหลักของกลุ่มบริษัทฯ อาจส่งผลเสียหายร้ายแรงต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มได้
แนวทางการลดความเสี่ยง : ในปัจจุบัน ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมทั่วโลกมุ่งเน้นการรวมตัวในลักษณะ เป็ น กลุ่ ม อุ ต สาหกรรม (Cluster) ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม โครงการ เพื่ อ ลดความเสี่ ย งในเรื่ อ งการใช้ ท รั พ ยากรและทำให้ การใช้ ท รั พ ยากรเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด รวมทั้ ง ลดปริ ม าณของเสี ย ให้ น้ อ ยที่ สุ ด โดยการแลกเปลี่ ย น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลอยได้ ห รื อ ของเสี ย จากโรงงานหนึ่ ง ส่ ง ไปใช้ อี ก โรงงานหนึ่ ง ในลั ก ษณะของอุ ต สาหกรรมที่ ยั่ ง ยื น หรือ Green Industrial หรือ Eco-industrial Concept การรวมกลุ่มดังกล่าวนี้ทำให้มีความพร้อมในด้านการ บริหารจัดการในการประเมินความเสี่ยงในเชิงบูรณาการทั้งโครงการ ทำให้การออกแบบโรงงานเกิดการประสาน สอดคล้องกันทั้งกลุ่ม ลดปริมาณการกักเก็บสารเคมีระหว่างกระบวนการ หรือลดถังเก็บสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ที่ จะต้องเก็บไว้ในถังเก็บ ซึ่งการดำเนินการในลักษณะที่กล่าวมา การลดความเสี่ยงกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในโรงงาน ทั้ ง ยั ง มี ร ะบบสำรองและใช้ ร วมกั น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง กำหนดให้ มี ก ารรั ก ษาความปลอดภั ย ของ โรงงานตามมาตรฐานสากลร่ ว มกั น และมี น โยบายให้ มี ก ารประกั น ความเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด ที่ เ กิ ด จากการ ดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยที่ดำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว และการประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิดที่เกิด จากการก่อสร้างสำหรับโครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการตามมาตรฐานสากล เพื่อบรรเทาผลกระทบกรณีเกิด เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อกลุ่มบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม กลุ่มโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุดได้ออกแบบให้มีระยะห่างระหว่างโรงงาน (Safety Distance) ตามมาตรฐานสากล เพื่อลดผลกระทบ จากอุบัติเหตุในโรงงานหนึ่งแล้วแพร่ขยายไปสู่โรงงานข้างเคียง และมีการรวมกลุ่มเพื่อทำแผนการช่วยเหลือใน ภาวะฉุกเฉินซึ่งกันและกัน (Mutual Aid Agreement) ทำให้มีความพร้อมในการระงับเหตุฉุกเฉินได้ทันท่วงที เพื่อจำกัดความรุนแรงของความเสียหาย
ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Risk) จากลั ก ษณะการดำเนินการของอุตสาหกรรมและการดำเนินงานโครงการในอุตสาหกรรมการกลั่นน้ำมัน ปิโตรเคมี เม็ ด พลาสติ ก และอุ ต สาหกรรมปลายน้ ำ ที่ รั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากอุ ต สาหกรรมต้ น น้ ำ ข้ า งต้ น โดยทั่ ว ไปมั ก เกี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการผลิตจากปฏิกิริยาทางเคมีและกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ซึ่งหากเกิดอุบัติเหตุ เหตุสุดวิสัยหรือความผิดพลาดในการดำเนินงาน อาจส่งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ต่อแผนการลงทุนของกลุ่มบริษัทฯ และต่อผลการดำเนินงาน รวมถึงภาพลักษณ์ของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ทั้งในระยะสั้นและในระยะยาวได้อย่าง มีนัยสำคัญ
86
แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ กำหนดนโยบายด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม เป็นกรอบ ภารกิจตัง้ แต่เริม่ ต้นในการวางแผนการลงทุนโครงการ การเลือกเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต การออกแบบติดตัง้ การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย การดำเนินกิจกรรมการประเมินความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อม การป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปฏิบัติตามกฎหมาย และมาตรฐานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด การปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในเชิงรุก และการ ปรั บ ปรุ ง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานเชิ ง เศรษฐนิ เ วศ (Eco-Efficiency) หรื อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การใช้พลังงาน โดยการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าเพื่อให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนทั้งองค์กรและสังคม ตลอดถึง การดำเนินการตามมาตรฐานระบบจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 การจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม กำหนดให้มีมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม เสนอต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง และการสือ่ สารให้ผเู้ กีย่ วข้อง ทราบอย่างทั่วถึง โดยกลุ่มบริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะทำงานที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยตัวแทนชุมชน รอบโรงงานและหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้เข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมภายใน โรงงาน เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในลักษณะของความเสีย่ งทีไ่ ด้มกี ารบริหารจัดการ รวมถึงมาตรการป้องกัน เพื่อควบคุมด้านกระบวนการผลิตต่างๆ ที่กลุ่มบริษัทฯ ดำเนินการอยู่
ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risks)
(ก) ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (FX Risk) ตามโครงสร้างราคาขายผลิตภัณฑ์และราคาซื้อวัตถุดิบของกลุ่มบริษัทฯ ส่วนหนึ่งที่อ้างอิงกับเงินเหรียญสหรัฐฯ (USD Linked) ได้ช่วยในการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนได้บางส่วน เนื่องจากรายได้จากการขาย ผลิตภัณฑ์และต้นทุนวัตถุดิบจะปรับเปลี่ยนไปตามอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไป (Natural Hedge) อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษัทฯ ยังคงมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากส่วนต่างระหว่างรายได้จากการขาย ผลิตภัณฑ์และต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐฯ (USD Product-to-Feed Margin) โดยหากเงินบาท แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐฯ ความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ ในสกุลเงินบาทจะลดลง ดั งนั้น ความผันผวนและการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐฯ จึงอาจส่งผล กระทบต่อกลุ่มบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ
นอกจากนี้ โครงสร้างการลงทุนของบริษัทฯ ทำให้ต้องมีการรับรู้รายได้ กำไร หรือส่วนแบ่งกำไร ตลอดจนตัวเลข ทางบัญชีอื่นใดตามที่มาตรฐานการบัญชีของไทย (Thai GAAP) กำหนดไว้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของ ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินสกุลต่างประเทศที่บริษัทในเครือใช้อ้างอิง อาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อบริษัทฯ ในทางบัญชีหรือทางการเงินอื่นใด ได้อย่างมีนัยสำคัญ
87
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน โดยการพยายามทำให้ ภาระหนี้ต่างประเทศสอดคล้องกับรายได้รับสุทธิที่เป็นส่วนต่างระหว่างรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์กับต้นทุนวัตถุดิบ (Product-to-Feed Margin) ของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมที่สุด และใช้เครื่องมือทางการเงิน อาทิ การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward) เพื่อป้องกันความเสี่ยงของรายรับและรายจ่ายที่เป็นเงินสกุล ต่างประเทศ
(ข) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) จากการที่บริษัทฯ มีแผนขยายธุรกิจเพื่อการเติบโตระยะยาว ขณะที่ตลาดการเงินอาจมีความผันผวนตามปกติวิสัย ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงในการเผชิญความเสี่ยงที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินจะผันผวนหรือปรับตัว สูงขึ้นในช่วงระยะเวลาที่กลุ่มบริษัทฯ ประสงค์จะกู้เงินจากตลาดการเงิน ซึ่งอาจส่งผลให้บริษัทฯ หรือบริษัท ในกลุ่มไม่อาจกู้เงินได้ครบตามจำนวนที่ต้องการ หรือมีต้นทุนทางการเงินสูงขึ้น
แนวทางการลดความเสี่ยง : เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินที่อาจเกิดขึ้น และจากอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินที่อาจปรับตัวสูงขึ้นในช่วงระยะเวลาที่บริษัทฯ ประสงค์จะกู้ยืมเงิน 1. บริ ษั ท ฯ มี ก ารจั ด เตรี ย มวงเงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ น ไว้ กั บ สถาบั น การเงิ น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง เงิ น ทุ น ในระยะสั้ น กรณีมีความจำเป็น 2. บริษัทฯ มีการทบทวนโครงสร้างหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่และหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อย่างสม่ำเสมอ โดยพิ จ ารณาปรั บ เปลี่ ย นสั ด ส่ ว นหนี้ ใ นทั้ ง สองส่ ว นดั ง กล่ า วให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสมและสอดคล้ อ ง กับสภาวะความต้องการใช้เงินทุนของบริษัทฯ สภาวะและแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยในแต่ละช่วงเวลา ความเสี่ยงด้านนโยบายภาครัฐ (Government Policy Risk) อุตสาหกรรมที่กลุ่มบริษัทฯ ประกอบกิจการอยู่ ส่วนใหญ่มีการกำกับดูแลอย่างเข้มงวดจากหน่วยงานภาครัฐ และจะได้รับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายภาครัฐ ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะหากเป็นไปอย่างฉับพลันหรือ ในช่วงเวลากระชั้น หรือไม่เป็นไปตามสมมติฐานกรณีปกติตามที่บริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มได้คาดไว้หรือรับทราบจาก ภาครัฐก่อนหน้า เช่น นโยบายราคาก๊าซหุงต้ม นโยบายพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก นโยบายอุตสาหกรรม น้ำมันปาล์ม นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และนโยบายส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ที่กำหนดให้เป็นเขตอุตสาหกรรม เป็นต้น อาจส่งผลในเชิงลบต่อผลการดำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ ได้อย่างมีนัยสำคัญ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
แนวทางการลดความเสี่ยง : กลุ่มบริษัทฯ มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายสำคัญๆ ของภาครัฐที่อาจส่งผล ต่ อ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ และมี ก ารประสานงานกั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ หรื อ เอกชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการให้ขอ้ มูลและความเห็นทัง้ โดยตรงและโดยอ้อมต่อการดำเนินนโยบายภาครัฐ หรือการเปลีย่ นแปลงในนโยบายใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมที่กลุ่มบริษัทฯ ดำเนินการอยู่ในช่วงจังหวะเวลาและกรณีที่เหมาะสม
88
ความเสี่ยงเฉพาะของบริษัท (Company-specific Risks) ความเสี่ยงจากความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น (Conflict-of-Interests Risk) จากการที่ บมจ. ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่สุดของบริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 48.92 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ของบริษัทฯ เป็นผู้จัดหาวัตถุดิบหลักส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทฯ ทั้งในส่วนของโรงกลั่นน้ำมัน โรงงานอะโรเมติกส์ และโรงงานโอเลฟินส์ และเป็นผู้รับซื้อผลิตภัณฑ์หลักในส่วนของโรงกลั่นน้ำมันและโรงงานอะโรเมติกส์ จึงอาจทำให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ดังกล่าว ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการบริหาร จัดการเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีเจตนารมณ์ในการดำเนินธุรกิจตามหลักกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยกำหนด ให้มีการเผยแพร่ความสำคัญและหลักการปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจในการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อันเป็นมาตรฐาน ซึ่งบริษัทฯ คาดหวังจากบุคลากรทุกระดับ อันได้แก่ คณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ปฏิบัติงานสมทบและพนักงานของผู้รับจ้าง ให้ได้รับทราบและถือปฏิบัติในการดำเนินงาน ซึ่ ง รวมถึ ง แนวทางการทำธุ ร กรรมกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น บริ ษั ท ย่ อ ยหรื อ บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ของผู้ ถื อ หุ้ น กรรมการ หรือเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทฯ อย่างรัดกุม และข้อปฏิบัติในการทำรายการเกี่ยวโยงกัน ซึ่งกำหนด ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย งดออกเสี ย งในวาระดั ง กล่ า วในการประชุ ม คณะกรรมการและการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ในฐานะที่เป็นบริษัทจดทะเบียนได้ให้ ความสำคัญอย่างมากต่อการปฏิบัติตาม พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 โดยได้แต่งตั้งกรรมการอิสระและคณะกรรมการตรวจสอบเข้ามาดูแลผลประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้น รายย่อย และความเป็นธรรมให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน
ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผู้จัดหาวัตถุดิบรายใหญ่ (Supplier Risk) จากการที่กลุ่มบริษัทฯ พึ่งพาวัตถุดิบหลักส่วนใหญ่จาก บมจ. ปตท. ดังนั้น หาก บมจ. ปตท. ไม่สามารถจัดหา หรือไม่ปฏิบัติตามข้อสัญญาในการจัดหาวัตถุดิบที่มีกับบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม การดำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญ
แนวทางการลดความเสีย่ ง : จากการที่ บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ลำดับทีห่ นึง่ ของบริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม่ บางแห่ง กอปรกับการจัดหาวัตถุดิบจากผู้จัดหาวัตถุดิบหลักดังกล่าว ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้สัญญาซื้อขายระยะยาว อีกทั้งลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มีข้อจำกัดในการแสวงหาลูกค้า (ในฝั่งผู้จัดหาวัตถุดิบของ บริษัทฯ) ดังนั้น โอกาสที่ผู้จัดหาวัตถุดิบหลักของกลุ่มบริษัทฯ ข้างต้น จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายหรือ เปลี่ ย นแปลงปริ ม าณซื้ อ ขายที่ ผิ ด ไปจากข้ อ ตกลงภายในระยะเวลาอั น สั้ น จึ ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ ำ ซึ่ ง หมายถึ ง ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผู้จัดหาวัตถุดิบรายใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่มบางแห่งอยู่ในระดับที่จำกัด ด้วยเช่นกัน ขณะที่ในการจัดหาน้ำมันดิบของ บริษัทฯ ผ่าน บมจ. ปตท. อาจพิจาณาได้ว่ามีความเสี่ยง
89
อยู่ในระดับที่จำกัด เนื่องจากเป็นการดำเนินธุรกิจตามปกติของ บมจ. ปตท. ซึ่งต้องดำเนินการจัดหาน้ำมันดิบ ให้บริษัทฯ ตามข้อสัญญา ความเสี่ยงในการปฏิบัติการโรงงาน (Plant Operation Risks) ในการเดิ น เครื่ อ งจั ก รโรงงานของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ ย่ อ มมี ค วามเป็ น ไปได้ ที่ จ ะเกิ ด เหตุ ขั ด ข้ อ งหรื อ ภาวะชะงั ก งั น จาก หลากหลายสาเหตุ ทั้งจากภายในกลุ่มบริษัทฯ และจากภายนอกกลุ่มบริษัทฯ โดยไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ เหตุดังกล่าวอาจได้แก่ ความผิดพลาดของบุคลากร อุบัติเหตุ สาธารณูปการ (ไฟฟ้า น้ำ ไอน้ำ ฯลฯ) ไม่เพียงพอ หรือขัดข้องในการนำจ่าย อุปกรณ์เครื่องจักรขัดข้อง ระบบการขนส่งทางท่อขัดข้อง โรงงานของผู้จัดหาวัตถุดิบขัดข้อง ส่งผล ให้ต้องลดปริมาณจัดส่งวัตถุดิบให้แก่กลุ่มบริษัทฯ และโรงงานของลูกค้าขัดข้อง ส่งผลให้ไม่สามารถรับผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม บริ ษั ท ฯ ได้ ต ามที่ ต กลงไว้ เป็ น ต้ น เหตุ ก ารณ์ ที่ เ ป็ น ความเสี่ ย งข้ า งต้ น อาจส่ ง ผลให้ ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม บริษัทฯ ชะงักงันหรือคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่วางไว้ และอาจส่งผลลบต่อรายได้และผลกำไรของบริษัทฯ หรือกลุ่มบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ
แนวทางการลดความเสี่ ย ง : บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย งในการเดิ น เครื่ อ งจั ก รโรงงานของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ จึงได้กำหนดให้มีแผนรองรับภาวะชะงักงันในการดำเนินธุรกิจ เพื่อใช้ระงับเหตุฉุกเฉินหรือควบคุมเหตุขัดข้อง ลดความเสียหายต่อทรัพย์สิน ป้องกันอันตรายต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อมและให้โรงงานกลับคืนสู่สภาวะปกติ ได้ เ ร็ ว ที่ สุ ด อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ก ำหนดให้ มี แ ผนบำรุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น และเชิ ง พยากรณ์ (Preventive/Predictive Maintenance) เพื่อลดความเสี่ยงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์เครื่องจักรลงให้อยู่ในระดับต่ำสุด กำหนดให้ มีคู่มือขั้นตอนการดำเนินงานในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเครื่องจักรโรงงานและการซ่อมบำรุงรักษา รวมทั้ ง มี ก ารฝึ ก อบรมเพื่ อ ทบทวนคู่ มื อ ขั้ น ตอนต่ า งๆ เป็ น ประจำสม่ ำ เสมอ เพื่ อ ลดโอกาสที่ จ ะเกิ ด ความ ผิ ด พลาด อุ บั ติ เ หตุ ห รื อ เหตุ ขั ด ข้ อ งลงให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ต่ ำ สุ ด และมี น โยบายให้ บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ที่ มี การผลิตเชิงพาณิชย์แล้วมีการประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิดที่เกิดจากการดำเนินงาน (All Risks Insurance) ประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption Insurance) และประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายต่อ บุคคลภายนอก (Third Party Liability Insurance) ตามมาตรฐานสากล เพื่อลดความเสียหายต่อกลุ่มบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับต่ำสุด กรณีเกิดความเสี่ยงดังกล่าวขึ้น
ความเสี่ยงโครงการ (Project Risks) ความเสี่ ย งโครงการของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ อาจแบ่ ง ออกได้ ใ นสองรู ป แบบ ได้ แ ก่ ความเสี่ ย งโครงการที่ มี ก ารก่ อ สร้ า ง (Construction-Typed Project) และความเสีย่ งโครงการทีเ่ ป็นการควบรวมกิจการหรือร่วมลงทุน (M&A-Typed Project) โดยโครงการที่มีการก่อสร้างมักมีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของการรับส่งวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ระหว่างโครงการ ที่กำลังดำเนินการกับหน่วยผลิตเดิม หรือในการรับส่งกระแสไฟฟ้าและไอน้ำระหว่างสายการผลิตกับระบบสาธารณูปการ โดยทั้งโครงการที่มีการก่อสร้างและโครงการที่เป็นการควบรวมหรือร่วมลงทุน มักกำหนดสมมุติฐานทางเศรษฐศาสตร์
90
ตลอดจนสมมุติฐานอื่นๆ ที่สำคัญของโครงการ ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปจาก ณ เวลาที่บริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มมีการ ตัดสินใจดำเนินการโครงการได้อย่างมีนัยสำคัญ เช่น สมมุติฐานด้านต้นทุนค่าก่อสร้าง (กรณีโครงการที่มีการก่อสร้าง) สมมุติฐานด้านราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบ สมมุติฐานด้านต้นทุนการผลิต สมมุติฐานด้านกฎหมายและกฎระเบียบ ของหน่วยงานที่กำกับดูแลโครงการ หรือที่โครงการจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยทั้งโดยทางตรงและโดยทางอ้อมในช่วง ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ สมมุติฐานด้านเทคโนโลยีและสมมุติฐานด้านบุคลากรสำคัญ เป็นต้น ดังนั้น กลุ่มบริษัทฯ จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่มีอยู่ในหลากหลายประเภทและรูปแบบได้ โดยหากความเสี่ยงเหล่านี้ เกิดขึ้นจริงก็อาจส่งผลกระทบต่อโครงการในหลายลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ ผลกระทบต่อระยะเวลาดำเนินโครงการ ที่อาจต้องล่าช้าจากแผนที่กำหนดไว้ (Project Delay) ผลกระทบต่อต้นทุนโครงการที่อาจเพิ่มขึ้นเกินกว่างบลงทุน ที่กำหนดไว้ (Cost Overrun) และผลกระทบต่อความคุ้มค่าของโครงการลงทุน ซึ่งความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ที่ ส ำคั ญ ข้างต้น ได้แก่ ความเสี่ยงด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัย ความเสี่ยง ในการออกแบบโครงการ ความเสี่ ย งในการได้ รั บ ใบอนุ ญ าตดำเนิ น โครงการภายในกำหนดเวลาที่ ว างแผนไว้ ความเสี่ยงในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์และเครื่องจักร ความเสี่ยงจากงานก่อสร้าง ความเสี่ยงในการเดินเครื่องจักร ระยะแรก (Execution Risk) ความเสี่ยงด้านการจัดหาวัตถุดิบ ความเสี่ยงด้านการตลาด และความเสี่ยงด้านการนำส่ง วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ (Logistics Risk) เป็นต้น ซึ่งหากความเสี่ยงเหล่านี้หรืออื่นใดเกิดขึ้นจริง อาจส่งผลกระทบ ต่อโครงการอย่างรุนแรง และอาจส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่ม ในระยะสั้น หรือระยะยาวได้อย่างมีนยั สำคัญ
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงโครงการของกลุ่มบริษัทฯ ที่มีอยู่ จึงกำหนดให้ หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการมีการบริหารความเสี่ยงโครงการตามนโยบายและกรอบการดำเนินงานบริหาร ความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้กำหนดไว้ โดยดำเนินการตามขั้นตอน และในรูปแบบที่กำหนด ซึ่งรวมถึงการระบุความเสี่ยงของโครงการ ประเมินผลกระทบและโอกาสที่จะเกิด ความเสี่ ย ง จั ด ทำและดำเนิ น การตามแผนจั ด การความเสี่ ย ง รายงานและทบทวนรายงานความเสี่ ย ง อย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากสามารถดำเนินการได้ตามที่กำหนด คาดว่าจะช่วยลดโอกาสที่ความเสี่ยงโครงการแต่ละ ความเสี่ยงจะเกิดขึ้น หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการรับมือกับผลกระทบกรณีเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงขึ้น ซึ่งหมายถึงค่าเสียโอกาสทางธุรกิจหรือความเสียหายที่อาจน้อยกว่ากรณีที่ไม่มีการบริหารความเสี่ยงเลย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีนโยบายให้มีการประกันความเสี่ยงภัยโครงการที่มีการก่อสร้างตามมาตรฐานสากล เพื่อลดความเสียหายต่อกลุ่มบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับต่ำสุดกรณีเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงของโครงการ ที่มีการก่อสร้างขึ้นจริง
91
ความเสี่ยงด้านบุคลากร (Human Resources Risk) จากการที่กลุ่มบริษัทฯ ยังคงมีแผนขยายธุรกิจไปยังปิโตรเคมีขั้นปลาย ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ประเภท High Volume Specialty (HVS) หรืออื่นใดทั้งภายในและต่างประเทศ ซึ่งมีเทคโนโลยีการผลิต การเดินเครื่องจักรโรงงาน หรือการวางแผนและบริหารการผลิตและขายผลิตภัณฑ์ที่อาจแตกต่างไปจากธุรกิจปัจจุบัน ของกลุ่มบริษัทฯ อย่างมาก หรือมีการวิจัยและพัฒนาความรู้ เทคโนโลยีหรือกระบวนการผลิตขั้นสูง ซึ่งบุคลากรที่มีอยู่ภายใน กลุ่ ม บริ ษั ท ฯ อาจขาดความเชี่ ย วชาญหรื อ ประสบการณ์ ใ นการดำเนิ น งานดั ง กล่ า วในระดั บ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้มาตรฐานหรือเพียงพอต่อการแข่งขันในระดับสากล หรือกลุ่มบริษัทฯ อาจไม่สามารถสรรหาบุคลากรจากภายนอกที่มีความ เชีย่ วชาญและประสบการณ์ได้ตามความต้องการ หรืออาจไม่สามารถรักษาไว้ซงึ่ บุคลากรปัจจุบนั ของกลุม่ บริษทั ฯ หรือของบริษทั ฯ ที่บริษัทฯ เข้าควบรวมหรือร่วมลงทุน ซึ่งหากความเสี่ยงด้านบุคลากรดังกล่าวเกิดขึ้นจริงในระดับรุนแรง อาจส่งผลในเชิงลบ ต่อการดำเนินการของกลุ่มบริษัทฯ ได้อย่างมีนัยสำคัญ
แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงด้านบุคลากรดังกล่าวนับตั้งแต่ช่วงการพิจารณา ความเป็นไปได้ของการดำเนินงานตามแผนธุรกิจหรือโครงการ และเตรียมการด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ตามความต้องการของแต่ละแผนงานหรือโครงการตั้งแต่ช่วงเริ่มต้น โดยบริษัทฯ ได้กำหนดกลยุทธ์ และแผนดำเนินงานด้านการบริหารและพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายอื่นของ กลุ่มบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถลดความเสี่ยงด้านบุคลากรของกลุ่มบริษัทฯ ลงได้ ในระดับหนึ่ง
92
การควบคุมภายใน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ให้ความสำคัญต่อการมีระบบควบคุมภายในที่ดี ซึ่งจะทำให้ระบบ การทำงานของบริษัทฯ มีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสามารถลดหรือป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ จากกรรมการอิสระ 3 ท่าน และได้มอบหมายให้สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ความมัน่ ใจว่าระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพ มีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ อีกทั้งสำหรับปี พ.ศ. 2554 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีการประชุมรวม 4 ครัง้ เพือ่ มอบหมายนโยบาย การกำกับดูแล การดำเนินงานของบริษทั ฯ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมด้วยทุกครั้ง เพื่อให้ความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอ ผลการประเมินการควบคุมภายในของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นต่อระบบการควบคุมภายใน เช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) บริษัทฯ มุ่งเป็นองค์กรผู้นำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต โดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ที่ชัดเจน เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการดำเนินงาน และบริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายด้านการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนนำหลักสำคัญในการกำกับดูแลกิจการที่ดีมาใช้เป็น แนวทางการดำเนินงาน ได้แก่ Creation of Long Term Value, Responsibilities, Equitable Treatment, Accountabilities, Transparency และ Ethics เพื่อนำพาองค์กรสู่การเติบโตก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณของกลุ่มบริษัทฯ พร้อมทั้งส่งเสริมวัฒนธรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี และรับผิดชอบ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย
บริษัทฯ ได้จัดโครงสร้างขององค์กรและสายงานบังคับบัญชาที่เหมาะสม มีการมอบอำนาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบ มีการจัดทำแผนกลยุทธ์และกำหนดทิศทางองค์กร วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และดัชนีวัดผล การดำเนินการที่ชัดเจน โดยมีการทบทวนปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง มีการจัดทำนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ในธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ เป็นต้น
93
2. การบริหารความเสี่ยง (Risk Assessment) บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อทำหน้าที่กำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางในการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญ ที่เกี่ยวกับ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งบริษัทฯ ได้กำหนดให้มีหน่วยงานบริหาร ความเสี่ยงองค์กร เพื่อรับผิดชอบตรวจสอบและดูแลการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานต่างๆ มีการประเมิน ความเสี่ ย งที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ และการบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ชิ ง กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ ตามเกณฑ์ ที่ ก ำหนดในคู่ มื อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง และกำหนดแผนปฏิ บั ติ ก าร (Mitigation Plan) เพื่ อ ป้ อ งกั น หรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ รวมทั้งฝ่ายจัดการมีการติดตามการดำเนินการตามแผน การบริหารความเสี่ยงหรือแผนปฏิบัติการเป็นประจำทุกเดือน
นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงซึ่งประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับสูงเพื่อติดตาม ดู แ ลความเสี่ ย งที่ ส ำคั ญ โดยทำหน้ า ที่ ก ำหนดกลยุ ท ธ์ ใ นการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการเงิ น ให้ ส อดคล้ อ ง กับนโยบายที่ได้รับจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เช่น ด้านการตลาดและการขาย และความเสี่ยงด้านการเงิน เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด จากความผั น ผวนของต้ น ทุ น ราคาวั ต ถุ ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ และความเสี่ยงด้านการเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนธุรกิจ
3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย 4 คณะ ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง และคณะกรรมการสรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน เพื่อกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ ให้ได้มาตรฐานสากล และเป็นไปตามแนวทางที่ถูกต้อง ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ได้กำหนดโครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการทำหน้าที่สอดส่องดูแลและติดตามการดำเนินงานของฝ่ายจัดการ ให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายและเป้ า หมายที่ ก ำหนด มี ก ารรายงานทางการเงิ น ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ และเปิ ด เผยรายการ ที่เกี่ยวโยงกันอย่างเหมาะสม มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่มีความเป็นอิสระและรายงานตรงต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ทำหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้มีการควบคุมภายใน ที่เพียงพอและมีประสิทธิผล
94
บริษัทฯ มุ่งเน้นการบริหารจัดการระบบงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพในการทำงาน มีการ กำหนดนโยบายและขั้นตอนการดำเนินงานด้านบัญชีและเงิน การจัดซื้อ การควบคุมและบริหารทรัพย์สิน และคลั ง วั ส ดุ อุ ป กรณ์ การจั ด การคุ ณ ภาพความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล้ อ มและระเบี ย บปฏิ บั ติ ง านอื่ น ๆ ให้สอดคล้องต่อการเติบโตทางธุรกิจ มีการกำหนดระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับอำนาจอนุมัติและการดำเนินการ อย่ า งเหมาะสม มี ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ที่ อ าจเอื้ อ ให้ เ กิ ด การกระทำที่ ทุ จ ริ ต ออกจากกั น มี ก ารสอบทาน การปฏิบัติงานโดยผู้บริหาร และติดตามผลการดำเนินงานตามดัชนีวัดทั้งระดับองค์กร และระดับปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมายอย่างสม่ำเสมอ มีกระบวนการควบคุมการประมวลผลข้อมูลที่ทันสมัย โปร่งใส และเชื่อถือได้ สนับสนุนการบริหารงานให้มีความถูกต้องและทันเวลา
4. ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร โดยบริษัทฯ จัดให้มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงาน การรายงานทางการเงินและการดำเนินงาน นโยบายและระเบียบปฏิบัติต่างๆ ทีใ่ ช้ในการควบคุมและดำเนินกิจกรรมของบริษทั ฯ รวมทัง้ ข้อมูลสารสนเทศทีไ่ ด้จากภายนอกบริษทั ฯ และมีระบบ การตรวจสอบประสิทธิภาพของการควบคุมด้านระบบข้อมูลสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ มีการสื่อสารสารสนเทศ ที่ ส ำคั ญ ไปยั ง ผู้ บ ริ ห ารและผู้ ใ ช้ ภ ายในบริ ษั ท ฯ ในรู ป แบบที่ ช่ ว ยให้ ผู้ รั บ ข้ อ มู ล สารสนเทศปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ตามความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ บริษัทฯ มีแผนงานในการรวมระบบงาน เทคโนโลยีสารสนเทศของทั้ง 2 บริษัท ได้แก่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัท บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ให้เป็นระบบเดียว เพื่อบริหารจัดการข้อมูลที่สำคัญของบริษัทฯ และให้การควบคุมภายในของระบบงานต่างๆ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น 5. การติดตาม (Monitoring) บริษัทฯ มีกระบวนการติดตามประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่เพียงพอ ที่ช่วยสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมาย การดำเนินธุรกิจโดยผู้บริหารระดับสูงทั้งที่เป็นการติดตามระหว่างดำเนินการ (Ongoing Monitoring Activities) เช่น การติดตามการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์เป็นรายเดือนในการประชุม Balanced Scorecard การประชุม ประจำสัปดาห์ของผู้บริหารระดับสูง การตรวจติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงานภายใน และการติดตาม การดำเนินงานของบริษทั ย่อย เป็นต้น และการประเมินรายครัง้ (Separate Evaluations) เช่น การตรวจสอบภายใน การรับการตรวจประเมินระบบคุณภาพและระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม และผู้สอบบัญชี เป็นต้น และรายงานผลการดำเนินงานในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบเป็นระยะๆ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามเป้าหมาย
95
จากการตรวจสอบการดำเนินงานตามแผนงานตรวจสอบในปี 2554 ไม่พบรายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำคัญในระบบการควบคุมภายใน และการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทฯ
96
โครงสร้างการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม PTTGC 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 75% 60% 60% 60% 51% 50%
PTTPE BPE TOCGC EA TOL Bio Creation NPC S&E CH Inter Bio Spectrum PPCL PTTUT PTTME TTT TEX
100%
100%
TFA
100%
PTTGC (Netherlands)
100%
PTTGC (USA) AP ROH EMERY
100% 50%
BSA PTTICT PTTPM VNT EFT PTTES
TSCL
50% 40% 25% 24.98% 22.65% 20%
Perstorp Holding France 50% NatureWorks 51%
46.4%
MYRIANT API
15.34%
9.2%
MHPC
หมายเหตุ : 1) เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2554 CH Inter ได้ลงนามในสัญญาซื้อหุ้นสามัญของบริษัท Myriant Corporation ประเทศสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นโดย CH Inter ร้อยละ 46.4 2) เมือ่ วันที่ 6 กันยายน 2554 ได้มกี ารจดทะเบียนก่อตัง้ บริษทั PTTGC International (USA) Inc. ซึง่ ถือหุน้ โดย CH Inter ในสัดส่วนร้อยละ 100 3) เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2554 CH Inter ได้ลงนามในสัญญาซื้อหุ้นสามัญของบริษัท NatureWorks LLC. ประเทศสหรัฐอเมริกา คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นโดย CH Inter ร้อยละ 50 4) ในวันที่ 19 ตุลาคม 2554 บริษัทฯ ได้ปรับสัดส่วนการลงทุนใน PPCL จากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 60 หลังจากการควบรวมระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 5) ในวันที่ 19 ตุลาคม 2554 บริษัทฯ ได้ปรับสัดส่วนการลงทุนใน PTTUT จากร้อยละ 40 เป็นร้อยละ 60 หลังจากการควบรวมระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 6) เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2554 ได้มีการจดทะเบียนก่อตั้งบริษัท PTTGC International (Netherlands) B.V. ซึ่งถือหุ้นโดย CH Inter ในสัดส่วนร้อยละ 100 7) เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2554 PTTGC (Netherlands)ได้ลงนามในสัญญาซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั Perstorp Holding France SAS ประเทศฝรัง่ เศส คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นโดย PTTGC (Netherlands) ร้อยละ 51 8) BSA - บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงโดยเป็นหุ้นบุริมสิทธิ ร้อยละ 25 และถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัทย่อยและบริษัทร่วม โดยเป็นหุ้นบุริมสิทธิ ร้อยละ 15 และ ร้อยละ 10 ตามลำดับ 9) EFT - บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง ร้อยละ 15 และถือหุ้นโดยอ้อมผ่านบริษัทย่อย ร้อยละ 7.65
97
บริษัทย่อย PTTPE BPE TSCL TOCGC EA TOL TFA Bio Creation NPC S&E CH Inter PTTGC (USA) PTTGC (Netherlands) AP ROH Bio Spectrum PPCL PTTUT PTTME TTT TEX EMERY บริษัทร่วม BSA MYRIANT PTTICT PTTPM VNT EFT PTTES บริษัทอื่น API MHPC บริษัทที่อยู่ระหว่างการดำเนินการเข้าซื้อหุ้น Perstorp NatureWorks
บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด PTT Chemical International Private Limited PTTGC International (USA) Inc. PTTGC International (Netherlands) B.V. PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited บริษัท ไบโอ สเปกตรัม จำกัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด Myriant Corporation บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำกัด Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited Mehr Petrochemical Company Limited Perstorp Holding France SAS NatureWorks LLC
98
โครงสร้างรายได้ ผลิตภัณฑ์ / บริการ 1. กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ (1) รายได้จากการขายแนฟทาชนิดเบา (2) รายได้จากการขายรีฟอร์เมต (3) รายได้จากการขายน้ำมันอากาศยาน (4) รายได้จากการขายน้ำมันดีเซล (5) รายได้จากการขายน้ำมันเตา (6) อื่นๆ รวม 2. กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ (1) รายได้จากการขายเบนซีน (2) รายได้จากการขายพาราไซลีน (3) รายได้จากการขายไซโคลเฮกเซน (4) รายได้จากการขายแนฟทาชนิดเบาและชนิดหนัก (5) รายได้จากการขายคอนเดนเสท เรซิดิว (6) อื่นๆ รวม 3. กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ (1) รายได้จากการขายเอทิลีน (2) รายได้จากการขายโพรพิลีน (3) รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์พลอยได้ (4) อื่นๆ รวม 4. กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ (1) รายได้จากการขายเม็ดพลาสติก (2) รายได้จากการขายโพลีสไตรีน รวม
สำหรับงวด 19 ตุลาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2554 ร้อยละ รายได้ (ล้านบาท) 3,548 3,802 6,489 25,912 7,297 2,062 49,109
3.4 3.6 6.2 24.7 7.0 2.0 46.8
2,628 9,764 951 6,575 2,832 2,812 25,562
2.5 9.3 0.9 6.3 2.7 2.7 24.4
2,693 1,999 820 751 6,263
2.6 1.9 0.8 0.7 6.0
11,105 457 11,562
10.6 0.4 11.0
99
ผลิตภัณฑ์ / บริการ 5. กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ (1) รายได้จากการขาย EO/EG (2) รายได้จากการขาย EO Derivatives รวม 6. กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม (1) รายได้จากการขาย ME/FA (2) รายได้จากการขายจาก CH Inter, Emery รวม 7. กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ชนิดพิเศษ (1) รายได้จากการจำหน่ายฟีนอล (2) รายได้จากการจำหน่ายอะซิโตน (3) อื่นๆ รวม 8. ธุรกิจการให้บริการและอื่นๆ (1) รายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้า น้ำ และไอน้ำ (2) อื่นๆ รวม รวมทั้งสิ้น
สำหรับงวด 19 ตุลาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2554 ร้อยละ รายได้ (ล้านบาท) 2,797 638 3,435
2.7 0.6 3.3
2,520 3,029 5,548
2.4 2.9 5.3
527 426 1,056 2,009
0.5 0.4 1.0 1.9
945 397 1,342 104,830
0.9 0.4 1.3 100.0
100
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เนื่องจากในปี 2554 มีการควบบริษัทระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (“PTTCH”) และบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (“PTTAR”) โดยได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 จึงทำให้งบการเงินภายใต้ชื่อบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“บริษัทฯ”) แสดงฐานะการเงินสำหรับรอบปี 2554 ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เท่านั้น ดังนั้น บริษัทฯ จึงแสดงรายการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีความเกี่ยวข้องกับบริษัทต่างๆ ในกลุ่มบริษัทฯ โดยการมีผู้ถือหุ้นร่วมกันหรือกรรมการร่วมกัน รายการบัญชี ระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาดหรือเป็นไปตามเงื่อนไขและเกณฑ์ที่ตกลงกันตามสัญญา ระหว่างบริษัทฯ และบริษัทเหล่านั้นหากไม่มีตลาดรองรับ ความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
1. บริษัท ปตท. จำกัด - เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (มหาชน) (PTT) ถือหุ้นบริษัทฯ ร้อยละ 48.92 - มีกรรมการของบริษัทฯ ที่เป็นผู้บริหาร คือ 1. นายณัฐชาติ จารุจินดา 2. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 3. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล 4. นายบวร วงศ์สินอุดม - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น ดอกเบี้ยจ่าย รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
51,838 60,671 135 891 61 17,576 221 23,152 1,155
101
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
2. บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ - เป็นบริษัทร่วม มาร์เก็ตติ้ง จำกัด (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 25) (PTTPM) - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน PTTPM คือ นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
3. บริษัท วีนิไทย จำกัด - เป็นบริษัทร่วม (มหาชน) (VNT) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 24.98) - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล - มีผู้บริหารร่วมกัน คือ นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน VNT คือ 1. นายธเนศ เจริญทรัพย์ 2. นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
4. บริษัท พีทีที ไอซีที - เป็นบริษัทร่วม (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 40) โซลูชั่นส์ จำกัด - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ (PTTICT) ใน PTTICT คือ 1. นายปฏิภาณ สุคนธมาน 2. นายวริทธิ์ นามวงษ์ - มีการให้บริการระหว่างกัน
รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้อื่น
11,561 3
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ
5,411 2
1,187 7
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้ผู้รับเหมาก่อสร้าง-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
631 6 2 18 55 13 65 9
102
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
5. บริษัท สตาร์ - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) ปิโตรเลียมรีไฟน์นิ่ง เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 36 จำกัด (SPRC) - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
6. บริษัท ปตท. สผ. สยาม จำกัด (PTTEPS)
- เป็นบริษัทย่อยของ ปตท. สผ. (PTTEP) ซึ่งมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) ร่วมกัน - PTTEP เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 51 - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
1,936 3,074 5 4 327 9 464 22
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ
12
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
7. บริษัท ปตท. สำรวจ - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) และผลิตปิโตรเลียม เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำกัด (มหาชน) ร้อยละ 65.32 (PTTEP)
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
8. บริษัท พีทีที อาซาฮี - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เคมิคอล จำกัด เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTTAC) ร้อยละ 48.50 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
6 11 3 176 77 10
103
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
9. บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) (IRPC)
10. บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด (HMC)
11. บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (BCP)
12. บริษัท ปตท. ค้าสากล จำกัด (PTTT)
- ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 39.02 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
- ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ (PTT) เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ร้อยละ 41.44 - เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ร้อยละ 1.85 - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน HMC คือ นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
- ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ (PTT) เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ร้อยละ 27.22 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายณัฐชาติ จารุจินดา - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
- ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 100 - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ
1,358 212 1 2,147 1 13 13 1,264 61
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
550
เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
25
ซื้อสินค้าหรือบริการ
1
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
1 129 224 57
104
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
13. บริษัท ทิพยประกันภัย - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (DHIPAYA) ร้อยละ 13.33 - มีการให้บริการระหว่างกัน 14. บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำกัด (ENCO)
15. บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) (TOP)
- ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 50 - มีการให้บริการระหว่างกัน - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 49.10 - มีการขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
16. บริษัท บิซิเนส - เป็นบริษัทร่วม (บริษัทฯ ถือหุ้น เซอร์วิสเซส โดยตรง เป็นหุ้นบุริมสิทธิ อัลไลแอนซ์ จำกัด ร้อยละ 25 และถือหุ้นโดยอ้อม (BSA) ผ่านบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เป็นหุ้นบุริมสิทธิ ร้อยละ 15 และร้อยละ 10 ตามลำดับ) - มีการให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
17. บริษัท พีทีที - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำกัด (PTTPL) ร้อยละ 100 - มีการให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าหรือบริการ ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
42 31 77 1 37 3 2,552 1,183 45 56 8 7 8 94 50 5 26
105
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
18. บริษัท อีสเทิร์น - เป็นบริษัทร่วม ฟลูอิด ทรานสปอร์ต (บริษัทฯ และบริษัทย่อย จำกัด (EFT) ถือหุ้นร้อยละ 22.65) - มีผบู้ ริหารทีเ่ ป็นกรรมการใน EFT คือ นายวริทธิ์ นามวงษ์ - มีการให้บริการระหว่างกัน 19. บริษัท พีทีที - เป็นบริษัทร่วม เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20) จำกัด (PTTES) - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน PTTES คือ นายกัญจน์ ปทุมราช 20. บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด (PTTME)
- เป็นบริษัทย่อย (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 40 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน PTTME คือ นายกัญจน์ ปทุมราช - มีการให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น – กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้ผู้รับเหมาก่อสร้าง-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
2 2 9 7 1 1 128 51 6 82 80 66
106
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
21. บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ - เป็นบริษัทย่อย (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) จำกัด (PTTUT) - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 40 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายบวร วงศ์สินอุดม - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน PTTUT คือ 1. นายณรงค์ บัณฑิตกมล 2. นายสุวิทย์ ทินนโชติ 3. นางศรีวรรณ เอี่อมรุ่งโรจน์ 4. นายกัญจน์ ปทุมราช 5. นายวริทธิ์ นามวงษ์ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ ระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
22. บริษัท พีทีที ฟีนอล - เป็นบริษัทย่อย จำกัด (PPCL) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) - ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (PTT) เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 40 - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล - มีผู้บริหารที่เป็นกรรมการ ใน PPCL คือ 1. นายปฏิภาณ สุคนธมาน 2. นายธเนศ เจริญทรัพย์ 3. นายณรงค์ บัณฑิตกมล 4. นายสุวิทย์ ทินนโชติ 5. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ 6. นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
รายการจากงบกำไรขาดทุน
ซื้อสินค้าหรือบริการ รายได้อื่น
300 4
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้อื่น
3 114 1
1,224 2
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
258 3
107
ชื่อบริษัท
ลักษณะความสัมพันธ์
รายการที่เกี่ยวข้องกัน
สำหรับระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ล้านบาท
23. บริษัท พีทีที แทงค์ - มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (ปตท.) รายการจากงบกำไรขาดทุน เทอร์มินัล จำกัด เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร้อยละ 100 รายได้จากการขายสินค้าและบริการ (PTT TANK) - มีการให้บริการระหว่างกัน รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 24. Myriant Corporation - เป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ (CH Inter) ร้อยละ 46.4 - มีผู้บริหารเป็นกรรมการ คือ นายธเนศ เจริญทรัพย์
รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน
25. บริษัท ระยอง โอเลฟินส์ จำกัด (ROC)
รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินค้าหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
- ผู้ถือหุ้น (ปูนซิเมนต์ไทย) เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ร้อยละ 64 - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ และให้บริการระหว่างกัน
ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
1 1
3 4 4
ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของการเข้าทำรายการระหว่างกัน สำหรับการเข้าทำรายการขายสินค้าที่บริษัทฯ ผลิตให้แก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน นั้น โดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ บริษัทที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอยู่ในฐานะผู้ซื้อนำเอาผลิตภัณฑ์ที่ซื้อจากบริษัทฯ ไปแปรรูปเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ของตน ทั้งนี้ ราคา ที่ จ ำหน่ า ยเป็ น ไปตามสู ต รราคาที่ ก ำหนดไว้ ใ นสั ญ ญา หรื อ ราคาซื้ อ ขายในตลาดจรแล้ ว แต่ ก รณี ซึ่ ง เป็ น ราคา ที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายและอ้างอิงกับราคาตลาด โดยที่มิได้มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างกัน หรือมีรายการใดเป็นพิเศษแต่อย่างใด ส่วนการเข้าทำรายการให้บริการแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องของบริษัทฯ นั้น เป็นไปเพื่อ ประโยชน์ในการขนส่งหรือจัดเก็บผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมที่ได้จากการให้บริการนั้น เป็นไปตามสภาวะตลาด ซึ่งเป็นราคาที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายและอ้างอิงกับราคาตลาด โดยที่มิได้ มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างกันหรือมีรายการใดเป็นพิเศษแต่อย่างใด
108
สำหรับการเข้าทำรายการซื้อสินค้า วัตถุดิบ และ/หรือ รับบริการจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันนั้น เป็นการดำเนินธุรกิจปกติ โดยที่ ป ริ มาณสินค้าหรือวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อ หรือบริการที่บริษัทฯ ได้รับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องนั้นสอดคล้อง กั บ ความต้ อ งการและการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ ร าคาที่ รั บ ซื้ อ หรื อ รั บ บริ ก ารจากบริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มีลักษณะเป็นไปตามที่ตกลงกันในสัญญาซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทางการค้าแก่ทั้งบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้อง โดยที่มิได้มีวัตถุประสงค์ในการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างกัน หรือมีรายการใดๆ เป็นพิเศษ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีความจำเป็นที่จะต้องซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตจากบริษัทที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากบริษัทที่เกี่ยวข้องมีกำลังผลิต เพียงพอที่จะขายให้กับบริษัทฯ และวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัทที่เกี่ยวข้องก็มีคุณภาพตรงตามความต้องการของโรงงาน อีกทั้ง บริษัทฯ ยังได้รับประโยชน์จากการประหยัดค่าขนส่ง เนื่องจากสามารถขนส่งวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัทที่เกี่ยวข้อง ผ่านทางระบบท่อซึ่งมีความปลอดภัยสูง เพราะบริษัทที่เกี่ยวข้องบางส่วนมีโรงงานที่ผลิตวัตถุดิบซึ่งขายให้แก่บริษัทฯ ตั้งอยู่ในหรือบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง
มาตรการหรือขั้นตอนอนุมัติการเข้าทำรายการระหว่างกัน กรณีที่กรรมการของบริษัทฯ จะทำการซื้อทรัพย์สินของบริษัทฯ หรือขายทรัพย์สินให้แก่บริษัทฯ หรือกระทำธุรกิจ อย่างใดอย่างหนึง่ กับบริษทั ฯ ไม่วา่ จะกระทำในนามของตนเองหรือบุคคลอืน่ ข้อบังคับของบริษทั ฯ กำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า การทำรายการในลักษณะดังกล่าวจะต้องได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการของบริษัทฯ จึงจะทำให้รายการดังกล่าว มีผลผูกพันบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม กรรมการที่มีส่ วนไดเสียในการซื้อทรัพยสิน ขายทรัพยสิน หรือกระทําธุรกิจ อยางใดอยางหนึ่งกับบริษัทฯ จะไมมีสิทธิออกเสียงในเรื่องดังกลาวตามขอบังคับของบริษัทฯ นอกจากจะไดรับความยินยอมจากคณะกรรมการของบริษัทฯ แลว การที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยเขาทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันหรือกระทําการเพื่อใหไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยในลักษณะ ที่เปนไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไวในประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ใชบังคับกับการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน หรือการไดมาหรือจําหนายไปซึง่ สินทรัพยของบริษทั จดทะเบียนแลวแตกรณี บริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ยอยตองปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑและวิธีการตามที่ประกาศดังกลาวกําหนดไวในเรื่องนั้นๆ ดวย
ความเห็นของคณะกรรมการอิสระ ไม่มีความเห็นที่แตกต่างจากคณะกรรมการบริษัทฯ
109
นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต รายการระหวางกันของบริษัทฯ ในอนาคต จะเปนรายการที่ดําเนินการตามปกติของธุรกิจเชนเดิม ไมมีรายการใดเปนพิเศษ ไมมีการถ่ายเทผลประโยชนระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวของหรือบุคคลที่เกี่ยวของ สวนนโยบายการกําหนดราคา ระหวางบริษัทฯ กับบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันก็จะกําหนดจากราคาตามปกติของธุรกิจเชนเดียวกับที่กําหนดใหแกบริษัท หรือบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน ทั้งนี้ ราคาสินค้าหรือวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันก็จะเปนไปตามที่ตกลง กันไวใ นสัญญา หรือเป็นราคาทีอ่ งิ กับราคาตลาดสําหรับวัตถุดบิ ชนิดนัน้ ๆ นอกจากนี้ ในสวนของคาบริการทีจ่ ะจายใหแกบ ริษทั หรือบุคคลที่เกี่ยวของกันก็จะอิงกับอัตราคาบริการปกติที่อาจจายใหแกบริษัทหรือบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน สวนราคา ขายสินคาที่บริษัทฯ จะขายใหแกบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันนั้น จะเปนราคาที่อิงกับราคาตลาดซึ่งสวนใหญมักเปนราคา มาบตาพุด ในส่วนของการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ จะเปนไปตามกฎหมายและระเบียบที่สํานักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด อีกทั้งเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี เกี่ยวกับบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันของสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย
110
โครงสร้างผู้ถือหุ้น
รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น วันที่ 19 ตุลาคม 2554 มีดังนี้ ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) CHASE NOMINEES LIMITED 42 STATE STREET BANK EUROPE LIMITED NORTRUST NOMINEES LIMITED-NT0 SEC LENDING THAILAND STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY THE BANK OF NEW YORK MELLON-CGT TAXABLE
จำนวนหุ้น 2,204,318,909 206,803,072 147,407,566 83,427,636 82,164,775 75,474,306 71,017,132
ร้อยละ 48.92 4.59 3.27 1.85 1.82 1.68 1.58
60,310,434
1.34
53,624,104
1.19
50,270,230
1.12
หมายเหตุ (1) ผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท ปตท. ประกอบด้วย 1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2. บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด [ถือหุ้นโดยบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ร้อยละ 41.44] (2) ผู้ถือหุ้นบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด คือผู้ถือหุ้นซึ่งถือใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิง (Non-Voting Depository Receipt: NVDR) ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ยกเว้น กรณีการใช้สิทธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับ การเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) ผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย ประกอบด้วย 1. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) จำนวนหุ้นชำระแล้วที่ถือในบริษัทฯ: 82,164,775 หุ้น 2. บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส์ จำกัด (ถือหุ้นโดยบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) ร้อยละ 26) จำนวนหุ้นชำระแล้ว ที่ถือในบริษัทฯ: 43,420,625 หุ้น 3. บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) [ถือหุ้นโดยบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ถือหุ้นรวมกันร้อยละ 75.95] จำนวนหุ้นชำระแล้วที่ถือในบริษัทฯ: 8,541,081 หุ้น (4) กลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ที่ โ ดยพฤติ ก ารณ์ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การกำหนดนโยบายการจั ด การ หรื อ การดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่างมีนัยสำคัญมี กลุ่มบริษัท ปตท. ที่ถือหุ้นในบริษัทฯ รวมร้อยละ 49.69 (5) ผู้ถือหุ้นต่างด้าว ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 บริษัทฯ มีผู้ถือหุ้นต่างด้าวรวมกัน 300 ราย ถือหุ้นรวมกัน 971,484,372 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 21.56 ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว (6) บริษัทฯ มีข้อจำกัดเกี่ยวกับการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นต่างด้าวตามข้อบังคับของบริษัทฯ ข้อ 8 ว่า “หุ้นของบริษัทสามารถโอนได้ โดยไม่มีข้อจำกัด เว้นแต่การโอนหุ้นนั้นเป็นเหตุให้มีคนต่างด้าวถือหุ้นอยู่ในบริษัทเกินกว่าร้อยละสามสิบเจ็ด (37) ของจำนวน หุ้นที่จำหน่ายได้ทั้งหมด”
111
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้กำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผล ของบริษัทฯ ดังนี้ “กำหนดให้จ่ายได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีและทุนสำรองต่างๆ ทั้งหมดของบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไขว่าการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนลงทุน ความจำเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตด้วย”
นโยบายจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย คณะกรรมการของบริษัทย่อยจะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของแต่ละบริษัทพิจารณาอนุมัติ ในแต่ละปี โดยการจ่ายเงินปันผลจะพิจารณาจากแผนการลงทุนตามความจำเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ เช่น ความเพียงพอ ของกระแสเงินสดของบริษัทย่อย หลังจากหักสำรองเงินตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว
คณะกรรมการ และคณะผู้บริหาร
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)
114
คณะกรรมการ
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (M.B.A.) Utah State University, สหรัฐอเมริกา - ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี - ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 10 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 4010) - Certificate in Advanced Management Program, Harvard Business School สหรัฐอเมริกา - ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 3 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ 26/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) - กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) - ประธานคณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมไทย
ประสบการณ์การทำงาน
2546 - 2554 • ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ / กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ต.ค. 2551 - มี.ค. 2554 • ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2543 - 2554 • กรรมการ บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2548 - 2553 • รองประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ก.พ. - มิ.ย. 2553 • ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2550 - 2554 • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการ อายุ : 59 ปี
115
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 8 - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 24 - การบริหารงานตำรวจชั้นสูง วิทยาลัยการตำรวจ รุ่นที่ 8 - นักบริหารระดับสูงหลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 10 และหลักสูตรที่ 2 รุ่นที่ 15 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ รุ่นที่ 38 - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 60/2006 / หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่น 9/2009 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่นที่ 27/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ข้าราชการบำนาญ
ประสบการณ์การทำงาน 2552 - 2554 • กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน / กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2550 • สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ • รักษาการราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ อายุ : 63 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง รุ่นที่ 1 - เนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 27 สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - หลักสูตรอัยการจังหวัด รุ่นที่ 9/2530 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 76/2006 / หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 56/2006 และหลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) รุ่น 3/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- อธิบดีอัยการ สำนักงานคณะกรรมการอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ / กรรมการตรวจสอบ และประธานอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - กรรมการ / ประธานกรรมการการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละความรับผิดชอบต่อสังคม และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค - ประธานกรรมการ บริษัท กฎหมายกรุงไทย จำกัด
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2554 • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ / กรรมการกำหนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • อธิบดีอัยการ ฝ่ายคดีศาลสูงเขต 9 • อธิบดีอัยการ สำนักงานนโยบายยุทธศาสตร์และงบประมาณ • กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง • กรรมการ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 2549 - 2551 • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Bank) 2548 - 2551 • รองอธิบดีอยั การ ฝ่ายคดีทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ • รองอธิบดีอัยการ ฝ่ายคดีอาญากรุงเทพใต้ 2548 - 2550 • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ : 60 ปี
116
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - M.S. (Civil Engineering), Stanford University, U.S.A. - Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas at Austin, U.S.A. - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 15 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 7 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 14/2002 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน)
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2554 • ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำมัน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2547 - 2550 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2550 - 2554 • กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2549 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) 2548 - 2554 • กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2547 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ อายุ : 60 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - เนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) เนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2515 - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 40 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 94/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาด้านกฎหมายและเขตแดน กระทรวงการต่างประเทศ - กรรมการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - ประธานคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนร่วมไทย - มาเลเซีย (ฝ่ายไทย) - อุปนายกสมาคมมิตรภาพไทย - เกาหลีใต้ - กรรมการในคณะกรรมการพิเศษเพื่อพิจารณาอนุสัญญาต่างๆ ของกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ - รองประธานคณะกรรมการร่วมด้านเทคนิคไทย - กัมพูชา (ฝ่ายไทย) (เจรจาเขตแดนทางทะเล) - ประธานการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเขตแดนไทย - ลาว (ฝ่ายไทย) - ประธานคณะกรรมการเขตแดนร่วมไทย - พม่า (ฝ่ายไทย) - ที่ปรึกษา บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด
ประสบการณ์การทำงาน
2552 - 2554 • อาจารย์พิเศษผู้บรรยายกฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมืองและแผนกคดีบุคคล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 2551 - 2553 • ประธานคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย - กัมพูชา (ฝ่ายไทย) 2551 - 2552 • สมาชิกในคณะผู้ทรงคุณวุฒิอาเซียน - เกาหลีใต้ของอาเซียน • ประธานคณะผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายระดับสูงของอาเซียน เพื่อการปฏิบัติตามกฎบัตรอาเซียน 2548 - 2551 • เอกอัครราชทูต (เจ้าหน้าที่การทูต 10) ณ กรุงโซล ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายวศิน ธีรเวชญาณ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน อายุ : 63 ปี
117
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง - MBA (Accounting), Central Michigan University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 38 - หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส. 14) สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ รุ่นที่ 4 (TEPCoT 4) หอการค้าแห่งประเทศไทยร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 7 - หลักสูตรการตรวจเงินแผ่นดิน (The International Auditor’s Fellowship Program) สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน สหรัฐอเมริกา - หลักสูตร Audit of Computer Systems, Kingston Polytechnic ประเทศอังกฤษ - การตรวจสอบภายใน และการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ประเทศอังกฤษ - การตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ประเทศเกาหลี - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 94/2012 และหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 38/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
นางรวีพร คูหิรัญ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ อายุ : 67 ปี
- ที่ปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน สำนักงานคณะกรรมการกิจการ วิทยุกระจายเสียงกิจการวิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2553 • กรรมการคดีพิเศษ (กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ) คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (D.S.I.) 2543 - 2549 • คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยมดีเด่น) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ประกาศนียบัตรวิทยาลัยสืบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (FBI) - ปริญญาบัตรหลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 34 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 107/2008 และหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 73/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ข้าราชการบำนาญ
ประสบการณ์การทำงาน 2553 - 2554 2551 - 2552 2551
• ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) • ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ กระทรวงต่างประเทศ • กรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) • ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์
กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ อายุ : 64 ปี
118
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า (วทบ.ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ - ปริญญาโท วิศวกรรมไฟฟ้า (Aerospace Systems) Cranfield Institute of Technology สหราชอาณาจักร - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 46 - การบริหารท่าอากาศยานในยุคของการแข่งขัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 30 - โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ 32 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 - หลักสูตรการกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุ่นที่ 3 สถาบันพระปกเกล้า - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 47/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ตุลาการศาลทหาร - อุปนายกสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2554 • กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด 2548 - 2549 • กรรมการ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศเอก) 2549 - 2550 • หัวหน้านายทหาร ฝ่ายเสนาธิการ ประจำผู้บัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศโท) 2548 - 2549 • ผู้บัญชาการศูนย์วิทยาศาสตร์และพัฒนาระบบอาวุธ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศโท) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน อายุ : 60 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - Advanced Executive Program, Kellogg School of Management, Northwestern University, U.S.A. - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 51 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 80/2006 หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) รุ่น 11/2011 และหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 38/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ประธานกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) - ผู้ตรวจราชการ กระทรวงการคลัง - กรรมการ ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง - กรรมการ บริษัท อั่งเปา แอสเสท จำกัด (มหาชน)
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2552 • ที่ปรึกษาด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ กรมธนารักษ์ 2549 - 2551 • รองอธิบดี กรมธนารักษ์ 2547 - 2549 • ผู้อำนวยการสำนักบริหารที่ราชพัสดุกรุงเทพมหานคร กรมธนารักษ์ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายอำนวย ปรีมนวงศ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ อายุ : 53 ปี
119
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - Post-Graduate Diploma, Hydraulic Engineering, International Institute of Hydraulic Engineering, Delft ประเทศเนเธอร์แลนด์ - หลักสูตรนักบริหารพลังงานระดับสูง รุ่นที่ 1 กระทรวงพลังงาน - หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 43 สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง หลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 44 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน - ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 51
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
ประสบการณ์การทำงาน 2552 - 2554 2550 - 2552
• รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน • ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาพลังงานทดแทน (พพ.) กระทรวงพลังงาน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 56 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - The Executive Management Seminar 2002 for Paper and Packaging Business, The Wharton School, University of Pennsylvania - ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 2 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 110/2008 และหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 25/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - กรรมการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) - ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร บริษัท นิวไวเต็ก จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท เพรสทิจ ไดเรคท์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท เพรสทิจ กิฟท์ แอนด์ พรีเมี่ยม จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท มีเดีย เชคเกอร์ จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท บางกอก บายน์ดิ้ง จำกัด
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 2553 • กรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) 2549 - 2553 • ประธาน กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์กระดาษ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2549 - 2552 • กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง 2549 - 2551 • กรรมการบริหาร สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม 2548 - 2551 • กรรมการบริหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • ประธาน มูลนิธิสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายเกรียงไกร เธียรนุกุล กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ อายุ : 52 ปี
120
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พาณิชยศาสตรและการบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Program for Global Leadership (PGL) สถาบัน Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตร Oxford Energy Seminar ประเทศอังกฤษ - หลักสูตร Break Through Program for Senior Executives (BPSE) สถาบัน IMD ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 129/2010 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย สังกัดประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ประสบการณ์การทำงาน
ม.ค. - ก.ย. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2552 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2548 - 2552 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ สำหรับยานยนต์ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เม.ย. - ต.ค. 2554 • กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ กรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน อายุ : 56 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 2) - หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP3) ปี 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 132/2010 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 38/2012 และหลักสูตร Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR) รุ่น 12/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เอทานอล จำกัด - กรรมการ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด
ประสบการณ์การทำงาน
2552 - 2553 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนและบริหารบริษัทในเครือ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เม.ย. - ต.ค. 2554 • กรรมการ และกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) • กรรมการ และกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 • ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการด้านวางแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • ผู้ช่วยกรรมการอำนวยการด้านธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
กรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 53 ปี
121
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 17 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 76/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ปลาย บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วสิ จำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บริษัท พีทีที โพลีเอทีลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด
ประสบการณ์การทำงาน
2553 - 18 ต.ค. 2554 • กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการบริษัท บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 • รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโสปฏิบตั กิ าร และรักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด 2551 - 2552 • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ร่วม) บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ : 57 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรม) Texas A&I University, U.S.A. - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 2 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 11 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 82/2006 และหลักสูตร Finance for Non-Finance Directors Program (FND) รุ่น 30/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - รองประธานกรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ PTT Chemical International Private Limited - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - ประธานกรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd - ประธานกรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด - รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก - กรรมการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย - กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหา สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
ประสบการณ์การทำงาน
2551 - 18 ต.ค. 2554 • กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2549 - 2552 • ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ก.พ. - ต.ค. 2551 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานธุรกิจการค้า บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ อายุ : 57 ปี
122
คณะผู้บริหาร นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล 01 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร วงศ์สินอุดม 02 นายบวร กรรมการผู้จัดการใหญ่
นายธเนศ เจริญทรัพย์
03รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานนวัตกรรม บริหารการขยายธุรกิจ และความยั่งยืน
นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข
04รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
นายวริทธิ์ นามวงษ์
06 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
สายงานบริหารศักยภาพองค์กร
นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล
07 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร
สายงานกลยุทธ์องค์กร
นายปฏิภาณ สุคนธมาน
05รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี
01
02
03
06 04
05
07
123
นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์
นายณรงค์ บัณฑิตกมล
11 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
08 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ
กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์
นายกัญจน์ ปทุมราช
นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย
14 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีน ออกไซด์
นายพรเทพ บุตรนิพันธ์
12 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
09 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
สายงานวิศวกรรมและบำรุงรักษา
นายสุวิทย์ ทินนโชติ
10 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
นายวันชัย ธาดาดลทิพย์
15 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และสาธารณูปการ
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมี เพื่อสิ่งแวดล้อม และกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ HVS
นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ
13 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่
กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์
11 10
09 08
12
13
14
15
124
ประวัติคณะผู้บริหาร นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
01
• อายุ 57 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรม) Texas A&I University, U.S.A. - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 2 - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 11 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 82/2006 และหลักสูตร Finance for Non-Finance Directors Program (FND) รุ่น 30/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - รองประธานกรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ PTT Chemical International Private Limited - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - ประธานกรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd - ประธานกรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด
นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการผู้จัดการใหญ่
- รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - กรรมการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย - กรรมการ และประธานคณะกรรมการสรรหา สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
ประสบการณ์ทำงาน
2551 - 18 ต.ค. 2554 • กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2549 - 2552 • ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ก.พ. - ต.ค. 2551 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานธุรกิจการค้า บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
02
• อายุ 57 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาบัตร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ.) รุ่นที่ 17 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 76/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
- กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน
2553 - 18 ต.ค. 2554 • กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการบริษัท บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน และรักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - ประธานกรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วสิ จำกัด 2551 - 2552 • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ร่วม) - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บริษัท พีทีที โพลีเอทีลีน จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายธเนศ เจริญทรัพย์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานนวัตกรรม บริหารการขยายธุรกิจและความยั่งยืน
• อายุ 57 ปีี
03
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
ประสบการณ์ทำงาน
- Ph.D. (Mechanical Engineering), Illinois Institute of Technology, U.S.A. - Master of Science (Mechanical Engineering), Texas A & I University, U.S.A. - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Advance Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 97/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)
2551 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด และพาณิชยกิจ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2549 • ผู้อำนวยการโครงการผลิตภัณฑ์ อีโอ / อีจี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2549 - 2550 • ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • รองผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร บริษทั ทีโอซี ไกลคอล จำกัด 2551 - 2554 • กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำกัด • กรรมการ บริษทั พีทที ี ยูทลิ ติ ้ี จำกัด • กรรมการ บริษทั ไทยสไตรีนคิ ส์ จำกัด 2551 - 10 ม.ค. 2555 • กรรมการAlliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte., Ltd. • กรรมการ Mehr Petrochemical Company (MHPC) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ประธานกรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด - ประธานกรรมการ Advanced Biochemical (Thailand) Company Limited - กรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท Myriant Corporation
125
นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์องค์กร
• อายุ 52 ปีี
04
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ประกาศนียบัตร The Advance Management Program (AMP), Harvard Business School, U.S.A - ประกาศนียบัตร Chief Finance Officer (CFO) รุน่ ที่ 1/2547 จากสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีแห่งประเทศไทย (สภาวิชาชีพบัญชี) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 67/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และสถาบันกรรมการบริษทั ออสเตรเลีย
- กรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd - กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ บริษัท เกลือพิมาย จำกัด - กรรมการ Advanced Biochemical (Thailand) Company Limited - กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2551 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์ และกิจการต่างประเทศ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผน และพัฒนาธุรกิจองค์กร บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำกัด 2551 - 2553 • กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด 2550 - 2553 • กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด 2550 - 2551 • กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ และ Executive Committee บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V. - กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited
นายปฏิภาณ สุคนธมาน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี
• อายุ 51 ปี
05
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการเงิน The American University, U.S.A. - ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ วิชาเอกการบริหารงานคลัง (เกียรตินิยมอันดับ 2), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรหลักสูตร การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุน่ ที่ 8 (ปรม. 8) สถาบันพระปกเกล้า - ประกาศนียบัตรโครงการอบรมผู้บริหารระดับสูงในยุคโลกาภิวัตน์ ปี 2552 รุ่นที่ 5 (Ex - PSM 5) มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 73/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด
นายวริทธิ์ นามวงษ์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารศักยภาพองค์กร
- กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด - กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2552 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2546 - 2552 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานด้านบัญชีและการเงิน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2552 - 5 ม.ค. 2555 • กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
• อายุ 48 ปี
06
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (International Program) มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ประกาศนียบัตร หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่น 91/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited - กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited
- กรรมการ บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2552 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
126
นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร
• อายุ 57 ปี
07
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท - เอก กฎหมายระหว่างประเทศ University D’Aix-Marseille, ฝรั่งเศส - รัฐศาสตรบัณฑิต (การระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ประกาศนียบัตร Business Program NIDA-Wharton สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ รุ่นที่ 2 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 92/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด
นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ
- กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2551 - 18 ต.ค. 2554 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2549 - 2550 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำนักกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
• อายุ 54 ปี
08
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร The Strategy Challenge (TSC) Program ปี 2010, IMD - INSEAD Advanced Management Program ปี 2010, INSEAD Executive Education, France - NIDA-Wharton Executive Leaders ปี 2005, Wharton School of Business, University of Pennsylvania, U.S.A. - หลักสูตร The Board’s role in mergers and acquisitions รุ่น 1/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
นายกัญจน์ ปทุมราช
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำรุงรักษา
- กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2552 - 2553 • ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แผนกลยุทธ์และบริหารการลงทุน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนและกลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่วางแผนหน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
• อายุ 55 ปี
09
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - B.Sc., Chemical Engineers, New Jersey Institute of Technology, U.S.A. - M.Eng., Chemical Engineers, Manhattan College, New York, U.S.A. - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Senior Executive Program (SEP), สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advance Management Program (AMP), Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 91/2011 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 27/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด
- กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2553 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 1 ม.ค. - 30 เม.ย. 2553 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่เทคนิคและวิศวกรรม บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2549 - 2554 • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
127
นายสุวิทย์ ทินนโชติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์
10
• อายุ 55 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
ประสบการณ์ทำงาน
- Master of Public and Private Management, National Institute of Development Administration (NIDA) - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าฯ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง - ประกาศนียบัตร Asean Executive Program (AEP), GE Crotonville - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ 92/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
2551 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 • รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ ธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลนี ออกไซด์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยปฏิบัติการโรงงาน I-4 บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2552 - 15 ม.ค. 2555 • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด 2551 - 5 ม.ค. 2555 • กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด 2552 - 2554 • กรรมการ บริษทั บางกอกโพลีเอททีลนี จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ประธานกรรมการ PTTGC International (USA) Inc. - กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด
นายณรงค์ บัณฑิตกมล
11
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์
• อายุ 57 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
ประสบการณ์ทำงาน
- พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตรบัณทิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 97/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
2550 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มกิจการผลิตโอเลฟินส์ และสาธารณูปการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 • กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด 2551 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด - กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
นายพรเทพ บุตรนิพันธ์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและสาธารณูปการ
• อายุ 56 ปี
12
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - M.S.E.C. (Process Technology), Department of Chemistry and Chemical Engineering, University of Detroit, Michigan, U.S.A.
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2552 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน)
1 ก.พ. - 1 ส.ค. 2552 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร และรักษาการผูจ้ ดั การฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
128
นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์
• อายุ 56 ปี
13
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
ประสบการณ์ทำงาน
- Master of Science (Mechanical), Manhattan College, New York, U.S.A. - Bachelor of Science (Mechanical), New York Institute of Technology, U.S.A. - Senior Executive Program 2007, Stanford University, U.S.A. - หลักสูตร “อบรมผู้บริหารเป็นนักบริหารมืออาชีพ” 2548 โดยสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจ กระทรวงการคลัง - หลักสูตร “การบริหารงานบุคคลสำหรับผูบ้ งั คับบัญชา” โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Senior Executive Program โดยสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Certificate Program (DCP) รุ่น 79/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
2548 - 18 ต.ค. 2554 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารศักยภาพองค์กร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 • รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ไทยอีทอกซีเลท จำกัด 2552 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด • กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด • กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด • กรรมการ บริษทั อีสเทิรน์ ฟลูอดิ ทรานสปอร์ต จำกัด 2551 - 2554 • กรรมการ PTT Chemical International Private Limited • กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited • กรรมการ บริษัท ทีโอซีไกลคอล จำกัด • กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด 2548 - 2553 • กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด 2548 - 2554 • กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด - กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด - กรรมการ Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited - กรรมการ Mehr Petrochemical Company Limited
นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์
• อายุ 56 ปี
คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน
- ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ การจัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์รัฐศาสตร์ - ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเฟียติ ประเทศฟิลิปปินส์ - ประกาศนียบัตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตธุรกิจศศินทร์ (SEP รุ่น 19) - ประกาศนียบัตร Business Program NIDA-Wharton สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ รุ่นที่ 3 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 117/2009 และหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่น 4/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
- ประธานกรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2552 - 18 ต.ค. 2554 • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ เอทิลีนออกไซด์ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2554 • กรรมการ บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง่ จำกัด 2552 - 2554 • กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด 2549 - 2551 • ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
นายวันชัย ธาดาดลทิพย์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม และกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ HVS • อายุ 54 ปี คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม
14
15
ประสบการณ์ทำงาน
2553 - 18 ต.ค. 54 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์ - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 90/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ การดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด 2552 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) - กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V. 2554 • กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด - กรรมการ PTTGC International (USA) Inc. ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั วระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี - กรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd
129
รายชื่อผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และที่ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารระดับสูงในบริษัทย่อย
นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ กิจการสัมพันธ์ นายสิริเดช คุ้มวงศ์ดี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยงานบริหาร Supply Chain สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ
นายคงกระพัน อินทรแจ้ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ Chief Executive Officer Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd
นายสมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ปฏิบตั หิ น้าที่ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด
นายทวีศักดิ์ ไทพิทักษ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการผู้จัดการ บริษทั ไทยโอลีโอเคมี จำกัด
นายประกอบ เพชรรัตน์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด
130
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หน่วยงานตรวจสอบภายใน
กรรมการผู้จัดการใหญ่
สายงาน การตลาด และพาณิชยกิจ
สายงาน วิศวกรรม และบำรุงรักษา
กิจการสัมพันธ์
กลุ่มผลิตภัณฑ์ โอเลฟินส์
สายงานนวัตกรรม บริหารการขยายธุรกิจ และความยั่งยืน
กลุ่มผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์
สายงาน กลยุทธ์องค์กร
131
โครงสร้างองค์กร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทซึ่งเกิดขึ้นจากการควบรวมบริษัท ตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ระหว่าง บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ซึ่งโครงสร้างองค์กรของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ได้รับอนุมัติ จากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 และตามคำสั่งบริษัทฯ ที่ 001/2554 เรื่องโครงสร้างการบริหาร กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 มีผังโครงสร้างองค์กร ดังนี้
กลุ่มผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม และสาธารณูปการ
สายงาน การเงินและบัญชี
กลุ่มธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ โพลิเมอร์
กลุ่มธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ เอทิลีนออกไซด์
สายงานบริหาร ศักยภาพองค์กร
กลุ่มธุรกิจ ผลิตภัณฑ์เคมี เพื่อสิ่งแวดล้อม
สายงาน กิจการองค์กร
กลุ่มธุรกิจเคมีภัณฑ์ ชนิดพิเศษ
132
รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ชื่อกรรมการ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส 3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์* 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ 6. นางรวีพร คูหิรัญ 7. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ 8. พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ 9. นายอำนวย ปรีมนวงศ์ 10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล 12. นายณัฐชาติ จารุจินดา 13. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 14. นายบวร วงศ์สินอุดม 15. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล
ตำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ
หมายเหตุ : * ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2554 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 ได้มีมติแต่งตั้ง นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ดำรงตำแหน่งกรรมการ แทน นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ ที่ลาออกเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2554
133
องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท ข้อบังคับบริษัทฯ กำหนดให้คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน ซึ่งเลือก ตัง้ และถอดถอนโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยประกอบด้วยกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่าหนึง่ ในสาม (1/3) ของจำนวนกรรมการทัง้ หมด แต่ตอ้ งมีไม่นอ้ ยกว่า 3 คน ทัง้ นี้ กรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ (1/2) ของจำนวนกรรมการทัง้ หมด ต้องมีถนิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจักร และกรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ จะต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ กรรมการ อิสระต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ หรือข้อกำหนดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกรรมการบริษัทฯ มีอายุไม่เกิน 70 ปี การเลือกตั้ง และการพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริษัท ข้อบังคับบริษัทฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการพ้นจากตำแหน่งกรรมการบริษัท สรุปได้ดังนี้ การเลือกตั้งกรรมการ • ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการบริษัท ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (2) กรณีที่บุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการมีจำนวนไม่เกินกว่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมีได้ในการเลือกตั้ง ครั้งนั้น ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการที่ได้รับการเสนอชื่อนั้น โดยกรรมการที่ผู้ถือหุ้นออกเสียงเลือกตั้ง จะได้รับคะแนนเสียงจากผู้ถือหุ้นตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นนั้นมีอยู่ทั้งหมดตาม (1) โดยจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) กรณีที่บุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการมีจำนวนเกินกว่าจำนวนกรรมการที่จะพึงมีได้ในการเลือกตั้ง ครั้งนั้น ให้ใช้วิธีการลงคะแนนเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ ในการออกเสียงลงคะแนนบุคคลแต่ละคนที่ผู้ถือหุ้นออกเสียง เลือกตั้งจะได้รับคะแนนเสียงจากผู้ถือหุ้นตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นนั้นมีอยู่ทั้งหมด ตาม (1) โดยผู้ถือหุ้นดังกล่าว จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมากหรือน้อยเพียงใดไม่ได้ โดยบุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุด ตามลำดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่ บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการ ที่พึงจะมีหรือจะพึงเลือก ตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด • ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนใดคนหนึง่ เป็นประธานกรรมการ และให้คณะกรรมการพิจารณาเลือก และแต่งตัง้ กรรมการ อีกคนหนึง่ เป็นรองประธานกรรมการ และให้ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนประธานกรรมการ ในกรณีทปี่ ระธานกรรมการไม่สามารถ ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้เป็นการชัว่ คราว หรือเมือ่ ตำแหน่งประธานกรรมการว่างลง การวินจิ ฉัยชีข้ าดของทีป่ ระชุมให้ถอื เสียงข้างมาก ของจำนวนกรรมการทีเ่ ข้าประชุม ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ เสียงเป็นเสียงชีข้ าด
134
• ในกรณีทตี่ ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลคนหนึง่ ซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการ คราวถัดไปก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสอง (2) เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทน ดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการ ในกรณีนี้ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ • กรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลงจนเหลือน้อยกว่าจำนวนที่จะเป็นองค์ประชุม ให้กรรมการที่เหลืออยู่กระทำการ ในนามของคณะกรรมการได้แต่เฉพาะการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่าง ทั้งหมดเท่านั้น โดยให้กระทำภายในหนึ่ง (1) เดือนนับแต่วันที่จำนวนกรรมการว่างลงเหลือน้อยกว่าจำนวนที่ จะเป็นองค์ประชุม และบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนอยู่ในตำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการ ซึ่งตนแทน การพ้นจากตำแหน่งกรรมการ • ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำแหน่งตามวาระหนึ่งในสาม (1/3) ถ้าจำนวน กรรมการที่จะแบ่งออกให้เป็นสาม (3) ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะ ต้องออกจากตำแหน่งในปีแรก และปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำแหน่ง กรรมการที่ออกตาม วาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาดำรงตำแหน่งใหม่ก็ได้ • นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากตำแหน่งเมือ่ ตาย หรือลาออก หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำหนด หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก หรือศาลมีคำสั่งให้ออก • กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัท การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บริษัท ทั้งนี้ กรรมการซึ่งลาออกจากตำแหน่งอาจแจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยก็ได้ • ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
135
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการมีหน้าที่ในการจัดการบริษัทฯ ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ บริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญของคณะกรรมการบริษัท สรุปได้ดังนี้ (1) ปฏิบัติหน้าที่ ตลอดจนกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด โดยยึดหลัก “ข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน” ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด (2) ทุ่มเทเวลา และให้ความสำคัญในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัทฯ โดยร่วมกัน แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ มีการแสวงหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดทิศทางของบริษัทฯ (3) ทบทวนและให้ความเห็นชอบกับกลยุทธ์และนโยบายที่สำคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์เป้าหมายทางการเงิน และแผนงานของบริษัทฯ พร้อมทั้งกำกับดูแลและติดตามให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบัติตามแผนงานที่กำหนด ไว้ตามทิศทางและกลยุทธ์องค์กรอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าฝ่ายบริหารจะสามารถนำวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ที่กำหนดขึ้น ไปปฏิบัติให้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ ที่ประกอบด้วยหลักการและแนวปฏิบัติที่ดี สำหรับกรรมการ ฝ่ายบริหาร พนักงาน รวมทั้งลูกจ้างทุกคนไว้อย่างเหมาะสม โดยมุ่งสร้างสำนึกความ รั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ สร้ า งความเข้ า ใจและให้ ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามโดยเคร่ ง ครั ด ควบคู่ ไ ปกั บ ข้อบังคับและระเบียบของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม (5) จั ด ให้ มี ร ะบบบั ญ ชี การรายงานทางการเงิ น และการสอบบั ญ ชี ที่ มี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ รวมทั้ ง ดู แ ลให้ มี กระบวนการในการประเมิ น ความเหมาะสมของการควบคุ ม ภายใน และการตรวจสอบภายในให้ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (6) พิ จ ารณาถึ ง ปั จ จั ย เสี่ ย งสำคั ญ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และกำหนดแนวทางการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย่ า ง ครบถ้วนและครอบคลุม ดูแลให้ผู้บริหารมีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ความเสีย่ ง รวมถึงการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากความเสีย่ งดังกล่าว ตลอดจนจัดให้มกี ารควบคุม ภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล (7) สอดส่ อ งดู แ ลและจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น รวมถึ ง รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน ให้ความสำคัญในการพิจารณาธุรกรรมหลักที่มีความสำคัญ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยรวม (8) จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่างเหมาะสม และกำกับดูแลการเปิดเผยข้อมูล เพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่ามีความถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือ และมีมาตรฐานสูงสุด (9) ประเมินผลงานและทบทวนการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และของประธานเจ้าหน้าที่บริหารอย่างสม่ำเสมอ (10) จัดให้มีระบบหรือกลไกการกำหนดค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับ ผลการดำเนินงาน เพื่อก่อให้เกิดแรงจูงใจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
136
(11) เป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติงานที่ดี มีจรรยาบรรณ สอดคล้องกับนโยบายการกำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ (12) จัดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณของบริษทั ฯ ไม่นอ้ ย กว่าปีละ 1 ครั้ง (13) จัดให้มีระบบการคัดสรรบุคลากรที่จะเข้ามารับผิดชอบในตำแหน่งบริหารที่สำคัญทุกระดับอย่างเหมาะสม และมีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส เป็นธรรม (14) ต้องรายงานให้บริษัทฯ ทราบถึงการมีส่วนได้เสียของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียเกี่ยวกับ การบริหารจัดการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (15) กรรมการบริษัทฯ ทุกคน มีหน้าที่ตอ้ งเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครั้ง หากมีภารกิจสำคัญที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ให้แจ้งต่อประธานกรรมการบริษัทฯ (16) กรรมการบริษัทฯ ต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืนของสังคมไทย โดยเริ่มต้นที่การยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในชุมชนรอบโรงงานให้ดีขึ้น เพื่อให้ชุมชนและโรงงานสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ การดำเนินการของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทีต่ อ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ก่อนดำเนินการในเรือ่ งต่างๆ ดังต่อไปนี้ • การเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำคัญของบริษัทฯ ตามที่กฎหมาย และคณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด • การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำคัญให้แก่บุคคลอื่น • การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเป็นของบริษัทฯ • การทำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกีย่ วกับการให้เช่ากิจการของบริษทั ฯ ทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำคัญ การมอบหมายให้ บุคคลอืน่ เข้าจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงค์จะแบ่งกำไรขาดทุนกัน • การเพิ่มเติม หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของบริษัทฯ • การเพิ่มทุน / ลดทุนจดทะเบียน • การออกหุ้นกู้เพื่อเสนอขายต่อประชาชน • การเลิกบริษัท / การควบเข้ากับบริษัทอื่น • การประกาศจ่ายเงินปันผลประจำปี • กิจการอื่นใดที่กฎหมายหรือข้อบังคับของบริษัทกำหนดให้ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนดำเนินการ
137
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท ตามที่ ร ะบุ ใ นข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท กรรมการซึ่ ง ลงนามผู ก พั น บริ ษั ท ได้ คื อ “ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารลงลายมื อ ชื่ อ และ ประทับตราสำคัญของบริษัท” หรือ “กรรมการ 2 คน ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการอาจกำหนดชื่อกรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทพร้อมประทับตราสำคัญของบริษัทได้” คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 2/2554 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 ได้มีมติกำหนดชื่อและจำนวน กรรมการ ซึ่งมีอำนาจลงนามผูกพันแทนบริษัท ดังนี้ “(1) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ลงลายมือชื่อและประทับตรา สำคัญของบริษัท หรือ (2) พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ นางรวีพร คูหิรัญ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล นายณัฐชาติ จารุจินดา นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายบวร วงศ์สนิ อุดม พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ นายวศิน ธีรเวชญาณ นายอำนวย ปรีมนวงศ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการสองในสิบสามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญของบริษัท”
คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 1/2554 เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทั้งสิ้น 4 คณะ โดยได้มอบหมายภาระหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองการดำเนินงาน ที่สำคัญเป็นการเฉพาะเรื่องด้วยความรอบคอบและมีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โครงสร้างของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังต่อไปนี้
คณะกรรมการตรวจสอบ
ประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ ที่เป็นกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยอย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชี/การเงิน และต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และขอบเขตการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน โดยทุกท่านเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ ทำหน้าที่ในการสอบทานให้บริษัทฯ มีการเปิดเผยร่างรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือได้ มีการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิผล มีการคัดเลือกผู้ตรวจสอบบัญชีที่มีความเป็นอิสระ และมีการพิจารณาการปฏิบัติ และการเปิดเผยรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างครบถ้วน
138
รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
ชื่อ นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ นางรวีพร คูหิรัญ นายอำนวย ปรีมนวงศ์
ตำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยมี นางสาวอารยา บุรัสการ ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่าย หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทำหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหน่งด้วยเหตุ การพ้นสภาพการเป็นกรรมการบริษัทฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบ ที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทอีกได้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้
รายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี
- - -
สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่ารายงานทางการเงินแสดงถึงฐานะทางการเงินอย่าง ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และเปิดเผยอย่างเพียงพอ และบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกฎหมายและ มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เพื่อให้ได้ผู้สอบบัญชีที่มีความ เป็นอิสระ ส่งเสริมความเป็นอิสระและให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี
การควบคุมภายใน
- สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล - สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบบริหารความเสี่ยงและมาตรการในการจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม - สอบทานกระบวนการภายในเกี่ยวกับการรับแจ้งเบาะแสและการรับข้อร้องเรียน
การตรวจสอบภายใน
- สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และกำกับให้หน่วยงานตรวจสอบ ภายในปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน - พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน
139
- - - - -
การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง
- -
พิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย และการพิจารณาความดีความชอบของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาอนุมัติกฎบัตรหน่วยงานตรวจสอบภายใน อนุ มั ติ แ ละประเมิ น แผนการตรวจสอบภายในประจำปี เพื่ อ ให้ แ ผนการตรวจสอบสอดคล้ อ งกั บ ประเภท และระดับความเสี่ยงของบริษัทฯ สอบทานและพิจารณาร่วมกับผู้ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับผลการตรวจสอบ ประสานความเข้าใจระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายจัดการ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และผู้สอบ บั ญ ชี ใ ห้ อ ยู่ ใ นแนวทางเดี ย วกั น รวมทั้ ง พิ จ ารณาขอบเขตการตรวจสอบกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ ให้มีความสัมพันธ์และเกื้อกูลกัน สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัทฯ
การรายงาน
- จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปีของบริษัทฯ โดยแสดงรายการ ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กำหนด และต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ - รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ - ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ ซึ่งอาจ มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ บริ ษั ท ฯ ดำเนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร ได้แก่ 1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำคัญในระบบการควบคุมภายใน 3) การฝ่ า ฝื น กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ - หากคณะกรรมการของบริษัทฯ หรือฝ่ายจัดการไม่ดำเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่สมควร กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่ ง อาจรายงานต่ อ สำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้
140
หน้าที่อื่นๆ
- คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอคำปรึกษาจากทีป่ รึกษาภายนอกทีเ่ ป็นอิสระได้ในกรณีจำเป็น โดยบริษทั ฯ เป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย - ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติ - ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
นอกจากนี้ กำหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มกี ารประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีของบริษทั โดยไม่มฝี า่ ยจัดการ เข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรงตามหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความรับผิดชอบในการดำเนินงาน ของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก
คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อยหนึ่ง (1) คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธาน คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนควรเป็นกรรมการอิสระ ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอ รายชือ่ เป็นกรรมการใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โดยให้มกี ารกำหนดวิธกี ารสรรหาอย่างมีหลักเกณฑ์ โปร่งใส และพิจารณาแนวทางการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร โดยให้มกี ารกำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล และเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา อนุมัติ
รายชื่อคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
ชื่อ นายวศิน ธีรเวชญาณ พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ นายณัฐชาติ จารุจินดา
ตำแหน่ง ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือสิ้นสุดวาระการดำรง ตำแหน่งด้วยเหตุการพ้นสภาพการเป็นกรรมการบริษัทฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทั้งนี้ กรรมการ สรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้
141
คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่ า ตอบแทน มี ข อบเขตอำนาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบตามกฎบั ต ร คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุม ครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ :
- - -
คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการรายใหม่ หรือสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยให้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการสรรหาและคัดเลือกอย่างมีหลักเกณฑ์และความโปร่งใส เพื่อเสนอ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ พิจารณาแนวทาง / กำหนดค่าตอบแทน ให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยให้มีการกำหนด หลักเกณฑ์หรือวิธีการกำหนดค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทนมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรงตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความรับผิดชอบ ในการดำเนินงานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อยหนึ่ง (1) คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ โดยประธาน กรรมการกำกับดูแลกิจการ ควรเป็นกรรมการอิสระ ทำหน้าที่พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะแนวนโยบายเกี่ยวกับ จรรยาบรรณ และจริยธรรมทางธุรกิจตามระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการ เพื่อกำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติ ขององค์กร ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติขององค์กรที่ได้มาตรฐาน และเป็นแนวทางที่ถูกต้อง
รายชื่อคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
ชื่อ พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล นายบวร วงศ์สินอุดม
ตำแหน่ง ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ) กรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ) กรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ) กรรมการกำกับดูแลกิจการ
โดยมี นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล ตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร ทำหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ
142
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหน่ง ด้วยเหตุการพ้นสภาพการเป็นกรรมการบริษทั ฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทัง้ นี้ กรรมการกำกับดูแลกิจการ ซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ดำรงตำแหน่งต่อไปอีกได้ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามกฎบัตรคณะกรรมการกำกับ ดูแลกิจการ ซึ่งได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ :
- - -
พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ ตามระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ เพื่อกำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติ ขององค์กร ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติขององค์กรที่ได้มาตรฐาน และเป็นแนวทางที่ถูกต้อง กำกับดูแล ให้คำปรึกษา ประเมินผล และทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อพัฒนาและยกระดับระบบการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง ตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความรับผิดชอบในการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อยหนึ่ง (1) คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ ทำหน้าที่กำหนด นโยบายและเสนอแนะแนวทางในการบริหารความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ กำกับดูแลให้มีระบบหรือกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจของ บริษัทฯ อย่างเหมาะสม รวมทั้งการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่า มีการจัดการความเสี่ยงเพียงพอและเหมาะสม
143
รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
ชื่อ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ นายบวร วงศ์สินอุดม
ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ) กรรมการบริหารความเสี่ยง
โดยมี นายอดิศร วิชัยขัทคะ ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่าย หน่วยงานบริหารความเสี่ยงองค์กรและระบบการควบคุมภายใน ทำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหน่ง ด้วยเหตุการพ้นสภาพการเป็นกรรมการบริษัทฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทั้งนี้ กรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่ ง พ้ น จากตำแหน่ ง ตามวาระ อาจได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ด ำรงตำแหน่ ง ต่ อ ไปอี ก ได้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย ง ซึ่ ง ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ในการประชุ ม ครั้ ง ที่ 4/2554 เมื่ อ วั น ที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้
ขอบเขตอำนาจหน้าที่ :
- - - -
กำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางให้การบริหารความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กำหนดแผนจัดการความเสี่ยงและกระบวนการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดก็ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้ และตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ
ความรับผิดชอบ : คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรงตามหน้าที่ และความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย และคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ยั ง คงต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก
144
กรรมการอิสระ ข้อบังคับของบริษัทฯ กำหนดให้คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องประกอบด้วย กรรมการอิสระจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งใน สาม (1/3) ของกรรมการทั้งคณะ แต่ต้องมีไม่น้อยกว่าสาม (3) คน ซึ่งเป็นกรรมการที่มีความรู้ความสามารถ และมีคุณสมบัติความเป็นอิสระ ตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน และตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด ให้เข้มกว่าข้อกำหนดของ ก.ล.ต. ในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 0.5 (ก.ล.ต. กำหนดร้อยละ 1) กรรมการอิสระ ต้องสามารถให้ความคิดเห็นในการประชุมได้อย่างเป็นอิสระ เข้าประชุมโดยสม่ำเสมอ และต้องเข้าถึงข้อมูล ทางการเงินและทางธุรกิจอื่นอย่างเพียงพอที่จะสามารถแสดงความเห็นได้อย่างเป็นอิสระ รักษาประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง และดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ กับผู้บริหาร กรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือบริษัทอื่น ซึ่งมีกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน และนอกจากนี้ กรรมการอิสระต้องรายงาน รับรองความเป็นอิสระของตนเมื่อได้รับการแต่งตั้ง และเป็นประจำทุกปี เพื่อเปิดเผยในรายงานประจำปี รวมทั้งแจ้งให้ บริษัทฯ ทราบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
นิยามคุณสมบัติ “กรรมการอิสระ”
(1) (2) (3) (4)
ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท โดยนับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระด้วย ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ หรือผู้มีอำนาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของ ผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท ทั้งในปัจจุบันและก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 2 ปี ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะทีเ่ ป็นบิดา มารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้มี อำนาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ รวมทั้งไม่เป็น ผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำนาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท ทั้งในปัจจุบันและก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 2 ปี
145
(5) (6) (7) (8) (9)
โดยความสัมพันธ์ทางธุรกิจดังกล่าว รวมถึงการทำรายการทางการค้าที่กระทำเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้ หรือรับความช่วยเหลือ ทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่น ทำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัท หรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี ตั ว ตนสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท หรื อ ตั้ ง แต่ 20 ล้ า นบาทขึ้ น ไปแล้ ว แต่ จ ำนวนใดจะต่ ำ กว่ า ตามวิธีการคำนวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน โดยให้ นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกันด้วย ไม่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุม ของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย (ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริ ษั ท โดยนั บ รวมผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ ว ย) ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม หรื อ หุ้ น ส่ ว นของสำนั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุม ของบริษัทสังกัดอยู่ ทั้งในปัจจุบันและก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 2 ปี ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำนาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพนั้นด้วย ทั้งในปัจจุบันและก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 2 ปี ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงานที่ปรึกษา ที่ได้รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท
ทั้งนี้ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระของบริษัทแล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท ให้ตัดสินใจในการดำเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับ เดี ย วกั น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม ของบริ ษั ท โดยมี ก ารตั ด สิ น ใจในรู ป แบบขององค์ ค ณะ (collective decision) ได้ โดยไม่ถือว่ากรรมการอิสระนั้นเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน
146
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กรรมการอิสระของบริษทั ฯ มีจำนวน 9 ท่าน ซึง่ มากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ คณะ ตามเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. กำหนด ประกอบด้วย
ชื่อกรรมการ 1. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส 2. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ 3. นายวศิน ธีรเวชญาณ 4. นางรวีพร คูหิรัญ 5. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ 6. พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ 7. นายอำนวย ปรีมนวงศ์ 8. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 9. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล
ตำแหน่ง กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ข้อบังคับบริษทั กำหนดให้คณะกรรมการเลือก และแต่งตัง้ กรรมการคนหนึง่ เป็นผูบ้ ริหารสูงสุด และเลขานุการคณะกรรมการ โดยให้เรียกว่า “ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร” ให้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารได้รับค่าตอบแทน และผลประโยชน์ในฐานะ เป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัทที่ปฏิบัติหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นอกเหนือจากที่ได้รับในฐานะเป็นกรรมการ ภายใต้วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติ และระเบียบของบริษัท ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอำนาจและหน้าที่บริหารกิจการ ของบริษัทตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ และเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด ของพนักงานและเจ้าหน้าที่ต่างๆ ของบริษัทฯ
147
คณะจัดการ เพื่อให้การบริหารจัดการของบริษัทฯ สามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะจัดการ อันประกอบ ไปด้วยผู้บริหารระดับสูง ได้แก่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยให้มีหน้าที่ในการกำหนดกลยุทธ์ พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะในเรื่องเกี่ยวกับนโยบาย และทิศทางการดำเนินงาน ของบริษัทฯ และการบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดไว้
เลขานุการบริษัท พ.ร.บ.หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ.2551 มาตรา 89/15 กำหนดให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้องจัดให้มีเลขานุการบริษัท เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายในการจัดทำและเก็บรักษาเอกสารสำคัญของบริษัท ได้แก่ ทะเบี ย นกรรมการ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม และรายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และผู้ ถื อ หุ้ น รายงานประจำปี และเก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร ดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ควรรั บ ทราบ เพื่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และผู้ บ ริ ห ารทำหน้ า ที่ อ ย่ า งเป็ น ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท ฯ และจั ด อบรม/ ให้ ข้ อ มู ล ที่ จ ำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่แก่กรรมการบริษัทที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ รวมทั้งดูแลและประสานงานให้บริษัทฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ข้ อ กำหนด และมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งครบถ้ ว นและถู ก ต้ อ ง โดยนางวลั ย พร บุ ษ ปะเวศ ผู้ จั ด การฝ่ า ย หน่ ว ยงานกำกั บ องค์ ก รและเลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ ท ำหน้ า ที่ เลขานุการบริษัท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554
การประชุมคณะกรรมการบริษัท และค่าตอบแทน การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2554 (ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2554) คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง มีการประชุมดังนี้ จำนวนครั้งการประชุม ณ สิ้นปี 2554 คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัทฯ ตรวจสอบ สรรหาและกำหนด บริหารความเสี่ยง กำกับดูแลกิจการ ค่าตอบแทน 4 ครั้ง 2 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง 1 ครั้ง
148
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้นร่วมระหว่างผู้ถือหุ้นของบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) กับผู้ถือหุ้นของบริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และค่าตอบแทน กรรมการเฉพาะเรื่อง ดังนี้ ค่าตอบแทน
อัตราค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท
ค่าตอบแทนรายเดือน • ประธานกรรมการ 60,000 บาท/เดือน • กรรมการ 50,000 บาท/เดือน ค่าเบี้ยประชุม • ไม่มี
2. ค่าตอบแทนกรรมการเฉพาะเรื่อง • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน • กรรมการกำกับดูแลกิจการ • กรรมการบริหารความเสี่ยง
ค่าเบี้ยประชุมรายครั้งเมื่อเข้าร่วมประชุม - ประธานกรรมการ 50,000 บาท/ครั้งการประชุม - กรรมการ 40,000 บาท/ครั้งการประชุม
149
การเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และค่าตอบแทนกรรมการเฉพาะเรื่องในปี 2554 (ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554) จำนวนครั้ง ค่าตอบแทนรายเดือน ที่เข้าร่วม กรรมการบริษัท / ตำแหน่ง ชื่อกรรมการ ประชุม เบี้ยประชุมกรรมการ เฉพาะเรื่อง (บาท) ประธานกรรมการ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 4/4 145,161.29 2. พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส กรรมการอิสระ 2/4 120,967.74 ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ 1/1 50,000.00 3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ กรรมการอิสระ 4/4 120,967.74 ประธานกรรมการตรวจสอบ 2/2 100,000.00 กรรมการ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์* 2/2 83,333.34 กรรมการอิสระ 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ 4/4 120,967.74 ประธานกรรมการสรรหาและกำหนด 1/1 50,000.00 ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 6. นางรวีพร คูหิรัญ 4/4 120,967.74 กรรมการตรวจสอบ 2/2 80,000.00 กรรมการอิสระ 7. พล.ต.อ. สมบัติ อมรวิวัฒน์ 4/4 120,967.74 กรรมการกำกับดูแลกิจการ 1/1 40,000.00 8. พล.อ.อ. สมชาย เธียรอนันท์ กรรมการอิสระ 4/4 120,967.74 กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 1/1 40,000.00 กรรมการอิสระ 9. นายอำนวย ปรีมนวงศ์ 4/4 120,967.74 กรรมการตรวจสอบ 2/2 80,000.00 กรรมการอิสระ 4/4 10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 120,967.74 กรรมการบริหารความเสี่ยง 1/1 40,000.00 กรรมการอิสระ 11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล 4/4 120,967.74 กรรมการกำกับดูแลกิจการ 1/1 40,000.00 กรรมการ 4/4 12. นายณัฐชาติ จารุจินดา 120,967.74 กรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 1/1 40,000.00 กรรมการ 4/4 13. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 120,967.74 ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 1/1 50,000.00 กรรมการ 4/4 14. นายบวร วงศ์สินอุดม** 120,967.74 กรรมการกำกับดูแลกิจการ 1/1 40,000.00 กรรมการบริหารความเสี่ยง 1/1 40,000.00 15. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล** กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ 4/4 120,967.74
รวม (บาท)
145,161.29 170,967.74 220,967.74 83,333.34 170,967.74 200,967.74 160,967.74 160,967.74 200,967.74 160,967.74 160,967.74 160,967.74 170,967.74 200,967.74
120,967.74
หมายเหตุ : * ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2554 ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการ แทน นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ ที่ลาออกเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2554 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 เป็นต้นไป ** แสดงค่าตอบแทนเฉพาะตำแหน่งกรรมการ ไม่รวมค่าตอบแทนในตำแหน่งผู้บริหาร
150
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท PTTAR และ PTTCH ในปี 2554 (1) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท PTTAR ที่ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 18 ตุลาคม 2554 รายชื่อกรรมการ ระยะเวลา ดำรงตำแหน่ง
เบี้ยประชุมกรรมการเฉพาะเรื่อง (บาท)
ค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ รายเดือน ตรวจสอบ บริหาร กรรมการ ความเสี่ยง บริษัทฯ (บาท)
กรรมการ กรรมการ โบนัสที่จ่าย สรรหาและ กำกับดูแล ในปี 2554 กำหนด กิจการ (บาท) ค่าตอบแทน
1. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี 1 ม.ค. - 11 ก.พ. 54 54,666.67 30,000.00 2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 1 ม.ค. - 29 มี.ค. 54 120,000.00 60,000.00 3. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช 1 ม.ค. - 29 มี.ค. 54 120,000.00 60,000.00 4. พลเอกสมเจตน์ บุญถนอม 1 ม.ค. - 12 เม.ย. 54 135,999.99 120,000.00 5. นางพรรณี สถาวโรดม 1 ม.ค. - 21 เม.ย. 54 147,999.99 60,000.00 90,000.00 6. นายวิชช์ จีระแพทย์ 1 ม.ค. - 21 เม.ย. 54 147,999.99 7. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ 1 ม.ค. - 19 พ.ค. 54 231,666.66 8. นายอำพน กิตติอำพน 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 200,000.00 9. นายโชคชัย อักษรนันท์ 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 240,000.00 10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 240,000.00 180,000.00 11. พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ์ 1 ม.ค.- 18 ต.ค. 54 384,000.00 180,000.00 150,000.00 เตมียาเวส 12. นายเพิ่มศักดิ์ 1 ม.ค.- 18 ต.ค. 54 384,000.00 ชีวาวัฒนานนท์ 13. นายนัที เปรมรัศมี 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 90,000.00 14. นายสมชาย พูลสวัสดิ์ 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 210,000.00 15. นายบวร วงศ์สินอุดม 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 384,000.00 180,000.00 16. นายทวารัฐ สูตะบุตร 20 ก.พ. - 18 ต.ค. 54 310,666.67 90,000.00 17. นายณัฐชาติ จารุจินดา 20 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 238,666.66 60,000.00 18. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 20 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 238,666.66 90,000.00 19. นายสมหมาย 21 เม.ย. - 4 ต.ค. 54 284,666.65 โค้วคชาภรณ์ 20. พลโท ยุวนัฎ 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 237,333.33 90,000.00 สุรยิ กุล ณ อยุธยา 21. นายทวีศักดิ์ ณ ตะกั่วทุ่ง 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 237,333.33 60,000.00
รวม
1,524,603.40 1,828,615.61 1,828,615.61 1,921,141.06 1,980,621.71 1,980,621.71 2,707,090.78 3,170,234.70 3,170,234.70 3,170,234.70 3,170,234.70
รวม (บาท)
1,609,270.07 2,008,615.61 2,008,615.61 2,177,141.05 2,278,621.70 2,128,621.70 2,938,757.44 3,754,234.70 3,794,234.70 3,974,234.70 3,884,234.70
3,170,234.70 3,554,234.70 2,847,380.70 2,596,653.70 2,232,583.70 1,559,714.80 1,196,221.94 1,196,221.94 1,318,487.73
3,321,380.70 3,190,653.70 2,796,583.70 1,960,381.47 1,494,888.60 1,524,888.60 1,603,154.38
1,189,612.98 1,516,946.31 1,189,612.98 1,489,946.31
5,577,666.60 570,000.00 750,000.00 470,000.00 690,000.00 44,948,973.85 53,006,640.45
151
(2) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท PTTCH ที่ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 18 ตุลาคม 2554 รายชื่อกรรมการ ระยะเวลา ดำรงตำแหน่ง
เบี้ยประชุมกรรมการเฉพาะเรื่อง (บาท)
ค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ โบนัสที่จ่าย รายเดือน ตรวจสอบ สรรหา กำหนด กำกับดูแล ในปี 2554 กรรมการ ค่าตอบแทน กิจการ (บาท) บริษัทฯ (บาท)
รวม (บาท)
1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 1 ม.ค. - 28 มี.ค. 54 116,129.03 1,281,759.80 1,397,888.83 2. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี 1 ม.ค. - 10 ก.พ. 54 54,285.72 604,047.72 658,333.44 3. นายไพบูลย์ ปัญญวุฒิ 1 ม.ค. - 21 เม.ย. 54 146,666.67 120,000.00 40,000.00 1,635,348.71 1,942,015.38 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 1 ม.ค. - 21 เม.ย. 54 146,666.67 30,000.00 40,000.00 1,635,348.71 1,852,015.38 5. นายพานิช พงศ์พิโรดม 1 ม.ค. - 30 เม.ย. 54 160,000.00 1,767,944.55 1,927,944.55 6. นางเบญจา หลุยเจริญ 11 มี.ค. - 5 ก.ย. 54 233,763.45 2,637,183.95 2,870,947.40 7. นายนนทิกร 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 479,032.26 5,359,081.92 5,838,114.18 กาญจนะจิตรา 8. พล.ต.อ.นพดล 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 210,000.00 80,000.00 4,287,265.52 4,960,491.33 สมบูรณ์ทรัพย์ 9. พล.อ. วินัย ภัททิยกุล 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 30,000.00 4,287,265.52 4,700,491.33 10. นายสมชาย 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 90,000.00 70,000.00 4,287,265.52 4,830,491.33 คูวิจิตรสุวรรณ 11. นายสมบัติ ศานติจารี 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 210,000.00 4,287,265.52 4,880,491.33 12. นายอาคม 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 236,559.14 90,000.00 2,666,649.69 2,993,208.83 เติมพิทยาไพสิฐ 13. นายสุรชัย ภู่ประเสริฐ 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 236,559.14 2,666,649.69 2,903,208.83 14. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 236,559.14 30,000.00 2,666,649.69 2,933,208.83 15. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 236,559.14 2,666,649.69 2,903,208.83 16. นายประกิตติ์ 21 เม.ย. - 18 ต.ค. 54 236,559.14 30,000.00 2,666,649.69 2,933,208.83 พิริยะเกียรติ 17. นายทรงภพ พลจันทร์ 24 ก.พ. - 18 ต.ค. 54 310,368.67 3,491,690.48 3,802,059.15 18. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 90,000.00 4,287,265.52 4,760,491.33 19. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล 1 ม.ค. - 18 ต.ค. 54 383,225.81 4,287,265.52 4,670,491.33
รวม
5,129,063.03 630,000.00 100,000.00 260,000.00 170,000.00 57,469,247.41 63,758,310.44
152
ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทย่อยที่สำคัญ การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษทั ย่อยของกรรมการบริษทั ฯ เป็นไปเพือ่ ดูแลธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ให้มกี าร ดำเนินงานที่สอดคล้องตามนโยบายธุรกิจของกลุ่ม โดยค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหน่งกรรมการ ในบริษัทย่อยที่สำคัญ ในปี 2554 เป็นดังนี้ • บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด (PTTPE) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (บาท) นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ประธานกรรมการ 240,000 • บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) (BPE) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (บาท) 1. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ รองประธานกรรมการ 480,000 2. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ 360,000 (ลาออกเมื่อ 20 เมษายน 2554) • บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด (NPC S&E) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (บาท) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ 180,000 (ลาออกเมื่อ 20 ธันวาคม 2554) • บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด (TOL) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานกรรมการ (ลาออกเมื่อ 20 ธันวาคม 2554)
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 330,000
• บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด (TFA) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานกรรมการ (ลาออกเมื่อ 20 ธันวาคม 2554)
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 330,000
• บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชั่นเนล ไพรเวท จำกัด (CH Inter) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (ดอลลาร์สิงคโปร์) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ 20,000
153
• บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) ชื่อ ตำแหน่ง นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ (ลาออกเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2554 และได้รับแต่งตั้งใหม่ เมื่อ 5 มกราคม 2555) • บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด (PPCL) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) ชื่อ ตำแหน่ง 1. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ประธานกรรมการ (ลาออกเมื่อ 1 เมษายน 2554) 2. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานกรรมการ (ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ แทน นายปรัชญา ภิญญาวัธน์) 3. นายบวร วงศ์สินอุดม รองประธานกรรมการ 4. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ (ลาออกเมื่อ 20 เมษายน 2554)
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 15,000
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 60,000 225,000 180,000 60,000
• บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด (PTTME) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 60) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (บาท) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ 180,000 (ลาออกเมื่อ 20 เมษายน 2554) • บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด (TTT) (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 51) ชื่อ ตำแหน่ง นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ (ลาออกเมื่อ 26 ธันวาคม 2554)
ค่าตอบแทนรวม (บาท) 240,000
• บริษัท เอเมอรี่ โอลีโอเคมิคอลส์ (Emery) (บริษัทย่อยของบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 50) ชื่อ ตำแหน่ง ค่าตอบแทนรวม (ริงกิตมาเลเซีย) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการ 75,000
154
การถือหุ้นของกรรมการบริษัทฯ
ชื่อกรรมการ 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการ 2. พล.ต.อ. เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการอิสระ 3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ กรรมการอิสระ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ กรรมการอิสระ 6. นางรวีพร คูหิรัญ กรรมการอิสระ 7. พล.ต.อ. สมบัติ อมรวิวัฒน์ กรรมการอิสระ 8. พล.อ.อ. สมชาย เธียรอนันท์ กรรมการอิสระ 9. นายอำนวย ปรีมนวงศ์ กรรมการอิสระ 10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ กรรมการอิสระ 11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล กรรมการอิสระ 12. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ 13. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ 14. นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ 15. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการ
ณ 21 ตุลาคม 2554 (วันเริ่มซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์ฯ) สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุ้น 0.006017% 271,142 -
ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนชำระแล้ว 45,061,129,360 บาท สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุ้น 0.006017% 271,142 0.006627% 0.006627% 298,647 * 298,645 (คู่สมรส 12,953 หุ้น) (คู่สมรส 12,953 หุ้น) 0.000001% 0.000001% 54 54 0.004968% 0.004968% 223,868 223,868 0.004351% 0.004351% 196,095 196,095 (คู่สมรส 3,509 หุ้น) (คู่สมรส 3,509 หุ้น)
หมายเหตุ : * ข้อมูล ณ วันที่ดำรงตำแหน่ง เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 ** เป็น ESOP Warrant PTTAR ที่ยังคงเหลืออยู่
เปลี่ยนแปลง ใบสำคัญแสดงสิทธิ เพิ่ม / (ลด) ESOP Warrant (หุ้น) (หน่วย) (2) -
89 ** -
155
การถือหุ้นของผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการถือหลักทรัพย์ ชื่อผู้บริหาร 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. นายธเนศ เจริญทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานนวัตกรรม บริหาร การขยายธุรกิจและความยั่งยืน 4. นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์องค์กร 5. นายปฏิภาณ สุคนธมาน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี 6. นายวริทธิ์ นามวงษ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารศักยภาพองค์กร 7. นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร 8. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ 9. นายกัญจน์ ปทุมราช รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำรุงรักษา 10. นายสุวิทย์ ทินนโชติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์ 11. นายณรงค์ บัณฑิตกมล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ 12. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และสาธารณูปการ
ณ 21 ตุลาคม 2554 (วันเริ่มซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์ฯ) สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุน้ 0.004351% 196,095 (คู่สมรส 3,509 หุ้น) 0.004968% 223,868 0.001951% 87,917
ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนชำระแล้ว 45,061,129,360 บาท สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุ้น 0.004351% 196,095 (คู่สมรส 3,509 หุ้น) 0.004968% 223,868 0.001951% 87,917
0.003515% 158,389 (คู่สมรส 25,065 หุ้น)
0.001523% 68,639
0.000002% 119
0.000172% 7,772
0.002543% 114,629 0.002132% 96,086 (คู่สมรส 24,313 หุ้น) 0.000689% 31,084 (คู่สมรส 31,084 หุ้น) 0.002543% 114,629
หมายเหตุ : ** เป็น ESOP Warrant PTTAR ที่ยังคงเหลืออยู่
เปลี่ยนแปลง ใบสำคัญแสดงสิทธิ ESOP Warrant เพิ่ม / (ลด) (หน่วย) (หุ้น)
-
-
-
89 **
-
-
0.003515% 158,389 (คู่สมรส 25,065 หุ้น) -
-
-
-
-
0.001523% 68,639 0.000002% 119 0.000172% 7,772 0.002543% 114,629 0.002132% 96,086 (คู่สมรส 24,313 หุ้น) 0.000689% 31,084 (คู่สมรส 31,084 หุ้น) 0.002543% 114,629
-
155,572 **
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
156
การถือหุ้นของผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการถือหลักทรัพย์ (ต่อ) ชื่อผู้บริหาร 13. นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ 14. นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ เอทิลีนออกไซด์ 15. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมี เพื่อสิ่งแวดล้อม และรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ HVS
ณ 21 ตุลาคม 2554 (วันเริ่มซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์ฯ) สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุ้น 0.000373% 16,831 (คู่สมรส 9,681 หุ้น) 0.000002% 97
ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนชำระแล้ว 45,061,129,360 บาท สัดส่วนการถือหุ้น / จำนวนหุ้น 0.000373% 16,831 (คู่สมรส 9,681 หุ้น) 0.000002% 97
0.001895% 85,401 (คู่สมรส 10,362 หุ้น)
0.002125% 95,763 (คู่สมรส – หุ้น)
เปลี่ยนแปลง ใบสำคัญแสดงสิทธิ เพิ่ม / (ลด) ESOP Warrant (หุ้น) (หน่วย)
-
-
-
-
10,362 (10,362)
279,694 **
หมายเหตุ : ** เป็น ESOP Warrant PTTAR ที่ยังคงเหลืออยู่
ผู้บริหารบริษัทฯ ผู้บริหารบริษัทฯ ตั้งแต่ระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป ถึงประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะได้รับการแต่งตั้งโดยใช้ มติ เ สี ย งข้ า งมากของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยผู้ บ ริ ห ารจำนวน 3 ท่ า น คื อ นายวี ร ศั ก ดิ์ โฆสิ ต ไพศาล นายบวร วงศ์สินอุดม และนางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ เป็นผู้บริหารระดับสูงที่ บมจ. ปตท. มอบหมายให้ มาปฏิบัติงานในบริษัทฯ
การเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร ในปี 2554 นายเจียมศักดิ์ นันทนาเนตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนการผลิต ได้เกษียณอายุการดำรงตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555
157
ค่าตอบแทนของผู้บริหาร สำหรับปี 2554 (1) ผู้บริหารของบริษัทฯ จำนวน 16 ท่าน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ในรูปเงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2554 เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 31,177,945.07 บาท (2) ผู้ บ ริ ห ารของ PTTAR และ PTTCH ได้ รั บ ผลประโยชน์ ต อบแทนจากการดำรงตำแหน่ ง ผู้ บ ริ ห าร ระหว่ า งวั น ที่ 1 มกราคม - 18 ตุลาคม 2554 เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 113,977,067.51 บาท รายชื่อผู้บริหารของ PTTAR ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 18 ตุลาคม 2554 1. นายบวร วงศ์สินอุดม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. นายกัญจน์ ปทุมราช รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม 3. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ 4. นายวริทธิ์ นามวงษ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร 5. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น 6. น.ส.ดวงกมล เศรษฐธนัง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร
รายชื่อผู้บริหารของ PTTCH ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 18 ตุลาคม 2554 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. นายเจียมศักดิ์ นันทนาเนตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเพิ่มประสิทธิภาพปฏิบัติการ 3. นายณรงค์ บัณฑิตกมล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มกิจการผลิตโอเลฟินส์และสาธารณูปการ 4. นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกลยุทธ์และกิจการต่างประเทศ 5. นายธเนศ เจริญทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ 6. นายปฏิภาณ สุคนธมาน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงินและบัญชี 7. นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารศักยภาพองค์กร 8. นายสุวิทย์ ทินนโชติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์
รายชื่อ
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายวศิน ธีรเวชญาณ นางรวีพร คูหิรัญ พล.ต.อ. สมบัติ อมรวิวัฒน์ พล.อ.อ. สมชาย เธียรอนันท์ นายอำนวย ปรีมนวงศ์ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล นายณัฐชาติ จารุจินดา นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายบวร วงศ์สินอุดม นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล
ลำดับ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.
บริษัทย่อย
บริษัทร่วม / บริษัทที่เกี่ยวข้อง SRPC
PTTAC
BCP
IRPC
EMERY PTTGC (Netherlands) PTT
AP ROH
CH Inter
TTT
PTTME
PPCL
PTTUT
NPC S&E
PTTPE
BPE
PTTGC
/ หมายเหตุ : / = กรรมการ // = ผู้บริหาร x = ประธานกรรมการ
X X / / / / X X / / / / / / / / // / / // / /,// /,// X / X / // /,// X X X X / //
PTTPM
กรรมการที่ดำรงตำแหน่งในบริษัทย่อย / บริษัทร่วม / บริษัทที่เกี่ยวข้อง
VNT /
158
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.
บริษัทย่อย PTTPE = BPE = TSCL = TOCGC = EA = TOL = TFA = Bio Creation = NPC S&E = CH Inter = PTTGC = (Netherlands)
ลำดับ
HMC
Myriant Corporation
PTTGC (USA) = AP ROH = Bio Spectrum = PPCL = PTTUT = PTTME = TTT = TEX = EMERY =
PTTGC International (USA) Inc. บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชั่นแนล (สำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค) จำกัด บริษัท ไบโอ สเปกตรัม จำกัด บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd
บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด Myriant Corporation บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จำกัด บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำกัด Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited Mehr Petrochemical Company Limited
บริษัทร่วม BSA = MYRIANT = PTTICT = PTTPM = VNT = EFT = PTTES = บริษัทอื่น API = MHPC =
บริษัทที่อยู่ระหว่างการดำเนินการเข้าซื้อหุ้น NatureWorks = NatureWorks LLC Perstorp = Perstorp Holding France SAS
บริษัทที่เกี่ยวข้อง PTT = บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) BCP = บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) IRPC = บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) PTTAC = บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด HMC = บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด SPRC = บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟนิ่ง จำกัด
หมายเหตุ : / = กรรมการ // = ผู้บริหาร X = ประธานกรรมการ
/ , // x x x X / // / / / , // /,// x / x / // // x / / / / // / / / / / / / /,// // / / / / / / / // / / / / / / // / / / / // / / / / // / // / / / / X // / / / / x // / / / // / // / / x / / / // x x / // x x / / /
บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำกัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส์ จำกัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จำกัด PTT Chemical International Private Limited PTTGC International (Netherlands) B.V.
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล นายบวร วงศ์สินอุดม นายธเนศ เจริญทรัพย์ นางพันธ์ทิพ อึ๊งผาสุข นายปฏิภาณ สุคนธมาน นายวริทธิ์ นามวงษ์ นางทัศนาลักษณ์ สันติกุล นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ นายกัญจน์ ปทุมราช นายสุวิทย์ ทินนโชติ นายณรงค์ บัณฑิตกมล นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย นายวันชัย ธาดาดลทิพย์
รายชื่อ
บริษัทร่วม / บริษัทที่เกี่ยวข้อง
PTTGC TOCGC EA TEX TOL TFA BPE PTTPE TSCL Bio Creation NPC S&E PTTUT PPCL PTTME TTT CH Inter AP ROH EMERY PTTGC (USA) PTTGC (Netherlands) PTT PTTPM VNT PTTICT EFT PTTES MHPC API
บริษัทย่อย
ผู้บริหารที่ดำรงตำแหน่งในบริษัทย่อย / บริษัทร่วม / บริษัทที่เกี่ยวข้อง
159
160
การบริหารองค์กรและบุคลากร ในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ส ภาวะที่ มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง มี ค วามผั น ผวน และมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว นั้ น บริษัทฯ จำเป็นต้องวางแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจในเชิงรุกยิ่งขึ้นด้วยการเสริมสร้างฐานการผลิตเดิมให้มีความเข้มแข็ง เพิ่มสายผลิตภัณฑ์อย่างครบวงจรตั้งแต่ขั้นต้นน้ำจนถึงขั้นปลายน้ำ ตลอดจนขยายธุรกิจไปต่างประเทศโดยจัดตั้ง สำนักงานตัวแทนและเข้าถือหุ้นในกิจการของบริษัทในต่างประเทศ ด้วยแนวทางการสร้างความเติบโตทางธุรกิจข้างต้น บุคลากรและการบริหารจัดการภายในองค์กรที่ดีจึงเป็นสิ่งที่บริษัทฯ ให้ความสำคัญไม่น้อยไปกว่าการขับเคลื่อนทางธุรกิจ โดยมีการริเริ่มแนวทางและระบบใหม่ๆ ตลอดจนปรับปรุง สิ่งที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจได้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในช่วงปีที่ผ่านมา บริษัทฯ อยู่ในระหว่างการเตรียมความพร้อมและปรับองค์กรหลังการควบกิจการระหว่าง บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) และ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) โดยในด้านการบริหารองค์กรและบุคลากรนั้น บริษัทฯ ได้ออกแบบโครงสร้างองค์กรใหม่โดยพิจารณาจากกลยุทธ์ และทิศทางการดำเนินธุรกิจในอนาคต ลักษณะการประกอบธุรกิจ (Business Model) รูปแบบของ Supply Chain ตลอดจนแนวคิดในการกำกับดูแล การรวมและกระจายอำนาจ โครงสร้างองค์กรใหม่ประกอบด้วย 3 กลุ่มงานหลัก คือ กลุ่มหน่วยงานกลาง (Corporate Center) ซึ่งทำหน้าที่กำหนด นโยบาย วางระบบ กำกับดูแล และติดตามประเมินผล เพื่อให้การบริหารภายในองค์กรอยู่บนมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้ง ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรที่ทุกหน่วยงานใช้ร่วมกัน (Pooling Resources) ในลักษณะของ Shared Services ในด้านการดำเนินธุรกิจจะมีกลุ่มงาน Group Performance Center (GPC) ซึ่งทำหน้าที่ผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็น วัตถุดิบต้นทางสำหรับ Business Unit (BU) ต่างๆ ของบริษัทฯ ดังนั้น หัวใจสำคัญของ GPC จะอยู่ที่เสถียรภาพ การผลิต (Reliability) ในขณะที่ BU จะเน้นการบริหารและสร้างผลกำไรจากการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ จึงมีความ ใกล้ชิดกับลูกค้าและผู้บริโภค แนวทางการออกแบบองค์กรดังกล่าวข้างต้นมุ่งเน้นให้มีการกระจายอำนาจการบริหารและการตัดสินใจทั้งในเรื่องของ การกำหนดกลยุทธ์และแผนธุรกิจ การบริหารผลการดำเนินงานและผลกำไร และการดูแลและพัฒนาบุคลากร ตลอดจน ก่อให้เกิดความตระหนักถึงความรับผิดชอบในการสร้างมูลค่าให้กับองค์กร รวมทั้งสนับสนุนการขยายและการต่อยอด ทางธุรกิจ โดยอยู่ภายใต้ระบบการกำกับดูแลที่มีการตรวจสอบและการสร้างสมดุล (Check and Balance) เพื่อความ ถูกต้องโปร่งใส นอกจากโครงสร้างองค์กรแล้ว บริษัทฯ ยังได้ปรับค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์สำหรับพนักงานให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน (Benefit Harmonization) อยู่ในระดับที่เทียบเคียงได้กับบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน และสามารถแข่งขันได้ในตลาด โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของพนักงานและองค์กรเป็นสำคัญ
161
การปลู ก ฝั ง และหล่ อ หลอมวั ฒ นธรรมและค่ า นิ ย มองค์ ก รเป็ น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ บ ริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสำคั ญ อย่ า งยิ่ ง หลั ง การ ควบบริษัท ซึ่งถือเป็นช่วงเวลาที่องค์กรต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญและส่งผลกระทบต่อทุกส่วนขององค์กร จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรขององค์กรใหม่จะต้องมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุเป้าหมาย ที่ ตั้ ง ไว้ ไ ด้ โ ดยสำเร็จ ในการนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กรขึ้นเป็น GC SPIRIT โดยส่วนหนึ่ง เป็นการรับวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กรของ ปตท. มาใช้ และอีกส่วนหนึ่งสะท้อนถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการก้าวขึ้น เป็น “ผู้ประกอบธุรกิจระดับโลก” (Global Player) ในฐานะ Flagship ด้านปิโตรเคมีของ ปตท. โดยเน้นการพัฒนาและผลิต ผลิตภัณฑ์ที่เป็นความต้องการของตลาดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้สูงขึ้น
GC SPIRIT การดำเนินการต่างๆ ข้างต้นเป็นจุดเริ่มต้นในช่วงรอยต่อหลังควบกิจการ (Transition Period) ซึ่งจะนำไปสู่การต่อยอดต่อไป ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการพัฒนาองค์กร ที่ยังต้องเน้นการบริหารความเปลี่ยนแปลง และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความเข้าใจและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ หรือในด้านบุคลากร ซึ่งมีภารกิจหลักคือการเตรียมบุคลากร ให้พร้อมรองรับความต้องการทางธุรกิจ ด้วยการพัฒนาภาวะผู้นำ การพัฒนาศักยภาพและความสามารถของบุคลากร การจัดวางบุคลากรให้เหมาะกับงาน และ/หรืออาจรวมไปถึงการรับพนักงานใหม่เพื่อเติมเต็มจุดที่ยังขาดแคลน ตลอดจน การบริหารและพัฒนาบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพและความสามารถสูง การเสริมสร้างให้พนักงานมีความผูกพันกับองค์กร เพือ่ รักษา ให้พนักงานอยู่กับองค์กรเป็นเวลานาน เป็นต้น โดยทั้งหมดนี้จะต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบต่อไป
“ด้วยเจตนารมณ์ในการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากล มีการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ และดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบอย่างมีจรรยาบรรณ เป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพื่อมุ่งมั่นสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น และคำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย ที่เกี่ยวข้อง สร้างความเชื่อมั่นและการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน”
Corporate Governance
in compliance with International Standard กำกับดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากล
164
การกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) เกิดจากการควบบริษัทระหว่าง บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 โดยนับตั้งแต่เริ่มการจัดตั้งบริษัทฯ คณะกรรมการให้ความสำคัญกับการดำเนินงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี อย่างต่อเนื่อง โดยเล็งเห็นว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดี ไม่เพียงสร้างความเชื่อมั่นในการดำเนินกิจการของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน สถาบันการเงิน ลูกค้า คู่ค้า ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ แต่ยังเป็นหลักสำคัญที่จำเป็นต่อการ เติบโตทางธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยสร้างมูลค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว การพัฒนาสังคม ตลอดจนการดูแลและรับผิดชอบ ต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ เพื่อการก้าวขึ้นเป็นแกนนำของธุรกิจเคมีภัณฑ์ (Chemical Flagship) ของกลุ่ม ปตท. และเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นครบวงจร (Integrated Petrochemical and Refining) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นบริษัทชั้นนำในระดับภูมิภาคอาเซียนทั้งขนาดและความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ จากความมุง่ มัน่ ดังกล่าว คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ โดยมีกรรมการทีเ่ ป็นอิสระ เป็นประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะแนวนโยบาย แนวปฏิบัติ เกี่ ย วกั บ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และจริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ ตลอดจนกำกั บ ดู แ ล ให้ ค ำปรึ ก ษา ประเมิ น ผล ทบทวนนโยบายและการปฏิบัติต่างๆ เพื่อพัฒนาและยกระดับการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล โดยในระยะแรกจะเป็นการวางหลักเกณฑ์ / แนวปฏิบัติที่ดี ที่ทั้งสองบริษัทได้ถือปฏิบัติ จนได้รับรางวัลและการยอมรับ จากการประเมินการปฏิบัติโดยหน่วยงานกำกับดูแลต่างๆ ในระดับดีเลิศมาอย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้บริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ มีแนวทางในการปฏิบัติงานด้วยมาตรฐานขั้นสูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้กำหนด “นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี กลุ่มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล” เป็นลายลักษณ์อักษร ลงนามโดย ประธานกรรมการ และประกาศใช้ทวั่ ทัง้ องค์กร ซึง่ จะส่งเสริมให้บริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม่ ฯ เป็นองค์กรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทั้งในการดำเนินธุรกิจ มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ และดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ อย่างมีจรรยาบรรณ เป็นธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยมุ่งมั่นสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นและคำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน นอกจากนี้ ยังได้จัดให้มี “คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ” ของบริษัทฯ ซึ่งเป็นการประมวลหลักการและแนวปฏิบัติที่ดี ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ได้รับรู้และนำหลักสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี คือ Creation of long-term value, Responsibility, Equitable treatment, Accountability, Transparency และ Ethics (C R E A T E) มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน ตลอดจนเคร่งครัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องในทุกประเทศที่เข้าไปลงทุน และใช้เป็นสื่อในการเผยแพร่นโยบาย CG ให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนยึดถือเป็นแนวปฏิบัติทั่วกัน อีกทั้งเพื่อส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้เสีย มีความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มากยิ่งขึ้น ซึ่งคู่มือดังกล่าวได้ประกาศใช้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2555 โดยกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ได้ลงนามรับทราบและถือเป็นพันธสัญญาในการปฏิบัติ โดยได้เผยแพร่ ไว้ในอินทราเน็ตสำหรับพนักงาน และเผยแพร่สำหรับผู้สนใจในเว็บไซต์บริษัทฯ www.pttgcgroup.com
165
การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ในปี 2554 บริษัทฯ ยึดมั่นการปฏิบัติตามนโยบายและหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยได้ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในหลักการสำคัญทั้ง 5 หมวด มาอย่างต่อเนื่อง สรุปได้ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น (The Rights of Shareholders) บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงกำหนดแนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นใจว่า ผู้ถือหุ้น จะได้รับความสะดวกในการใช้สิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเต็มที่ ด้วยวิธีการและมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ และเชื่อถือได้ โดยมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ และหน่วยงานกำกับองค์กรและเลขานุการบริษัท ทำหน้าที่ประสานงานดูแล และ ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตนอย่างเท่าเทียมกัน 1.1 การจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี บริษัทฯ ได้ดำเนินการจัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยยึดหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ควบคู่กับหลักปฏิบัติเพื่อการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมถึงมาตรฐาน การกำกับดูแลกิจการที่ดีทั้งในเรื่องสิทธิของผู้ถือหุ้น และการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยในการ ประชุมผู้ถือหุ้นประจำปี บริษัทฯ ได้ดำเนินการ ดังนี้
ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้เตรียมการล่วงหน้า เพื่อรองรับการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2555 ซึ่งในปี 2555 จะเป็นครั้งแรก ของการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท ฯ นั บ แต่ ก ารควบบริ ษั ท โดยบริ ษั ท ฯ ได้ ยึ ด มั่ น ในแนวทางการปฏิ บั ติ ข อง ทั้ ง สองบริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม AGM Checklist ในระดั บ ดี เ ลิ ศ มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมุ่งมั่นพัฒนาการจัดประชุมให้ดียิ่งขึ้น โดยนำข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของผู้ถือหุ้นมาพิจารณา ซึ่งบริษัทฯ ได้บรรจุเรื่องการเตรียมการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นไว้ในแผนการประชุมของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประจำปี 2555 ด้วย
บริษัทฯ ได้เตรียมแผนดำเนินการที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ก่อนการประชุม อาทิ การแจ้งข่าวให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงมติ คณะกรรมการเรื่องการกำหนดวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี การจ่ายเงินปันผล วันกำหนดสิทธิผู้ถือหุ้น (Record date) ในการเข้าร่วมประชุมและ/หรือรับเงินปันผล วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น ตลอดจน การส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และเอกสารต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผ่ า นช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ก ำหนด และการเผยแพร่ ห นั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม แบบหนั ง สื อ มอบฉั น ทะ ตลอดจนเอกสารประกอบที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษไว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ใ ห้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบล่ ว งหน้ า 30 วันก่อนวันประชุม
166
การเตรียมการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุมที่มีรายละเอียดครบถ้วน ได้แก่ ระบุวัน เวลา สถานที่ประชุมอย่างชัดเจน กำหนดระเบียบวาระการประชุมพร้อมความเห็นของคณะกรรมการ รวมทั้งข้อมูลประกอบการพิจารณาในทุกระเบียบวาระ รายงานประจำปี หนังสือมอบฉันทะทุกแบบ (แบบ ก แบบ ข และแบบ ค) ตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์กำหนด เพือ่ ใช้ในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถมาร่วมประชุมด้วยตนเอง ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระ หรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมและลงมติแทนได้ การจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมได้กำหนดส่งทางไปรษณีย์ถึงผู้ถือหุ้นล่วงหน้า 21 วันก่อนการประชุม ซึ่งมากกว่าระยะเวลา ที่กฎหมายกำหนด (อย่างน้อย 14 วัน) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาศึกษาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างเพียงพอ
วันประชุมผู้ถือหุ้น ในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2555 บริษัทฯ ได้เตรียมความพร้อมในทุกด้าน เพื่ออำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะที่เข้าร่วมประชุม โดยจัดเตรียมสถานที่ที่มีขนาดเพียงพอสามารถรองรับ จำนวนผู้ถือหุ้น และจัดสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ อาทิ การจัดเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ จะได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าก่อนการประชุม เป็นเวลา 2 ชั่วโมง จัดระบบการตรวจสอบเอกสาร การลงทะเบียนด้วยระบบบาร์โค้ด (Barcode) จัดเตรียม อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยและเพียงพอ แยกตามประเภทของผู้มาประชุม เพื่อให้การลงทะเบียนรวดเร็ว สะดวก ข้อมูลถูกต้อง และภายหลังเปิดประชุมไปแล้ว ผู้ถือหุ้นยังสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม เพื่อใช้สิทธิ ออกเสียงในระเบียบวาระที่ยังไม่ลงมติได้ อีกทั้งจัดเตรียมแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในวันประชุม เพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นและเตรียมความพร้อมในการรักษาความปลอดภัยให้กับผู้ถือหุ้นทุกราย
คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะและทุกท่าน ให้ความสำคัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้น โดยถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องเข้าร่วมประชุม รวมถึงผู้บริหารระดับสูง ผู้สอบบัญชี และที่ปรึกษากฎหมาย เพื่อตอบ ข้อซักถามที่เกี่ยวข้องและร่วมชี้แจงประเด็นข้อกฎหมายต่างๆ ประธานกรรมการบริษัทฯ ซึ่งทำหน้าที่ประธาน ในที่ประชุมจะแจ้งหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมตามกฎหมายและข้อบังคับของบริษัทฯ อาทิเช่น การเปิดประชุม การออกเสียงลงคะแนน รวมทั้งวิธีการนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นในแต่ละระเบียบวาระ ประธานในที่ประชุมเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง ประธานกรรมการ เฉพาะเรื่องทำหน้าที่ตอบคำถามในระเบียบวาระที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจนและเพียงพอ ในการนับคะแนนได้จัด ให้มีที่ปรึกษากฎหมายและอาสาสมัครจากผู้ถือหุ้นร่วมเป็นสักขีพยาน และทำหน้าที่เป็นคนกลางตรวจสอบ ความถูกต้องในการลงคะแนนเสียงเพือ่ ความโปร่งใสในทุกระเบียบวาระการประชุม ในการจัดเก็บใบลงคะแนนเสียง จะได้ดำเนินการตามแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ขี อง ก.ล.ต. และเคารพสิทธิผถู้ อื หุน้ โดยไม่มกี ารเพิม่ ระเบียบวาระการประชุม เปลี่ยนแปลงลำดับระเบียบวาระการประชุม หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคัญในการประชุม ประธานจัดสรรเวลา การประชุมอย่างเพียงพอ และดำเนินการประชุมอย่างเหมาะสมและโปร่งใส ตามลำดับระเบียบวาระที่แจ้งใน หนังสือเชิญประชุม
167
ภายหลังวันประชุม บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะรักษาคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีไว้อย่างต่อเนื่อง โดยดำเนินการตาม หลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบผลการประชุม ที่ถูกต้องครบถ้วน และทันเวลา โดยการรายงานมติที่ประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายหลังการประชุมเสร็จสิ้นลง และจั ด ทำรายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น นำส่ ง ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ภายใน 14 วั น หลังการประชุม และเผยแพร่รายงานการประชุมไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบ และผูท้ สี่ นใจอืน่ ๆ ได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่สนใจ สามารถติดต่อขอรับวีดิทัศน์บันทึก การประชุม ทั้งนี้ ในปี 2554 PTTCH และ PTTAR ได้รับการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ถือหุ้นต่อการจัดประชุม สามัญผู้ถือหุ้น มากกว่าร้อยละ 90
1.2 การรับข้อมูลข่าวสาร บริษัทฯ ดูแลผู้ถือหุ้นมากกว่าสิทธิตามกฎหมาย ได้แก่ การให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นปัจจุบัน และการจัดทำรายงาน และการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ นำเสนอผ่านช่องทางที่หลากหลายและสามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น ระบบข่าว ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถรับทราบ ข้อมูลข่าวสารและพัฒนาการของบริษัทฯ โดยบางเรื่องแม้ว่าตามข้อกำหนดของกฎหมายจะไม่ได้บังคับให้ต้อง เปิดเผย แต่หากบริษัทฯ เห็นว่าเรื่องใดมีความจำเป็นที่ผู้ถือหุ้นควรได้รับทราบก็จะเปิดเผยข้อมูลนั้นผ่านทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ หรือผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วแต่กรณี และเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถติดต่อ ขอข้อมูล หรือสอบถามได้โดยตรง ผ่านช่องทางของหน่วยงานกำกับองค์กรและเลขานุการบริษทั cg@pttgcgroup.com หรือหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ir@pttgcgroup.com 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders) บริษัทฯ มุ่งมั่นสร้างความเท่าเทียมกันให้เกิดขึ้นกับผู้ถือหุ้นทุกรายทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องที่บริษัทฯ ให้ความสำคัญและได้กำหนดเครื่องมือที่สนับสนุนให้ เกิดความเท่าเทียมกัน ดังนี้ •
การกำหนดโครงสร้างการกำกับดูแลกิจการที่ดี และขอบเขตอำนาจหน้าที่ บริ ษั ท ฯ กำหนดโครงสร้ า งการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ ประกอบไปด้ ว ย องค์ ป ระกอบ คุ ณ สมบั ติ การแต่งตั้ง บทบาทหน้าที่ การดำรงตำแหน่ง และการดำเนินงานของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานไว้อย่าง ชัดเจน รวมทั้งกำหนดนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และคู่มือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนิน ธุรกิจไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกัน โดยมีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ตามกฎบัตรที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทำหน้าที่ตรวจสอบการดำเนินงาน เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ได้ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง และสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
168
•
การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระ เสนอชื่อบุคคล และส่งคำถามล่วงหน้า บริษทั ฯ ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ เสนอระเบียบวาระการประชุม เสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ รับการ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ และการส่งคำถามล่วงหน้าก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ กำหนด โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ คี ณุ สมบัตคิ รบถ้วนตามหลักเกณฑ์ สามารถแจ้งเรือ่ ง อย่างไม่เป็น ทางการได้ทางโทรสาร อีเมล์ หรือเว็บไซต์ของบริษัทฯ และจัดส่งต้นฉบับเอกสารพร้อมหลักฐานต่างๆ ทีล่ งนามครบถ้วนถูกต้องทางไปรษณีย์ ส่งถึงหน่วยงานกำกับองค์กรและเลขานุการบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่ หลักเกณฑ์ดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์บริษัทฯ รวมทั้งแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านทางระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม โดยเรื่องหรือบุคคลที่ผู้ถือหุ้นเสนอ จะได้รับการพิจารณาตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ กำหนดไว้ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ จะพิจารณากลั่นกรอง ระเบียบวาระที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ อย่างแท้จริง และคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน จะพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อ ก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอีกครั้ง โดยประธานกรรมการจะแจ้งผลการพิจารณาพร้อมเหตุผลให้ผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นด้วย
อนึ่ง คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ได้อนุมัติหลักเกณฑ์ และแนวทางกำหนดสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเสนอวาระการประชุม และเสนอชื่อบุคคล เพื่อรับการ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการของบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้า โดยกำหนดสัดส่วนการถือหุ้นขั้นต่ำไว้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 และจะต้องถือหุ้นของบริษัทฯ ต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ปี โดยต้องถือหุ้นถึงวันที่กำหนดปิดสมุดทะเบียน เพื่อสิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ให้ความสนใจในกิจการของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง
ในปี 2555 บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ระหว่างวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2555 เนื่องด้วยเหตุผลจากการควบบริษัทฯ ซึ่งดำเนินการเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 โดยในปีต่อไปบริษัทฯ จะเปิดโอกาสล่วงหน้าเป็นเวลา 3 เดือน ตามแนวปฏิบัติที่ดี และเฉพาะปี 2555 ได้ยกเว้นการกำหนดระยะเวลาการถือหุ้นต่อเนื่อง 1 ปี สำหรับผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเสนอวาระ เนื่องจากเหตุผลการควบบริษัทฯ เช่นเดียวกัน
•
การรับข้อเสนอแนะ หรือคำถามจากผู้ถือหุ้น ถึงประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ผูถ้ อื หุน้ สามารถเสนอแนะ และแสดงความคิดเห็น ไปยังประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ผ่านเว็บไซต์บริษทั ฯ ซึ่งเลขานุการบริษัท จะเป็นผู้รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ และคำถามของผู้ถือหุ้น นำเสนอต่อประธานกรรมการ กำกับดูแลกิจการพิจารณา หากเป็นเรื่องที่ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการพิจารณาแล้ว มีความเห็นว่า มีประโยชน์ต่อการดำเนินกิจการของบริษัทฯ หรือเป็นเรื่องสำคัญที่มีผลต่อผู้มีส่วนได้เสียโดยรวม หรือมีผล ต่อการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการจะเสนอเรื่องดังกล่าวต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ต่อไป
169
•
การเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ถือหุ้น ในแผนงานกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ได้มีแผนการจัดโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ เพื่อสร้าง ความมั่นใจและให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการ รวมทั้งการดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารและผู้ถือหุ้น ในการสมัครเข้าร่วมโครงการ บริษัทฯ จะแจ้งข่าวการจัดโครงการให้ผู้ถือหุ้นทุกรายรับทราบ พร้อมทั้งจะทำการประเมินความพึงพอใจของผู้ถือหุ้น ต่อการจัดโครงการเยี่ยมชมกิจการ และนำผลการประเมินการจัดโครงการมาปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
•
การดูแลการใช้ข้อมูลภายในของกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ก ำหนดให้ มี ก ารดำเนิ น การต่ า งๆ เพื่ อ เปิ ด เผยและป้ อ งกั น การใช้ ข้ อ มู ล ภายใน โดยมิ ช อบ (Insider Trading) หรือการทำรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบุคคล ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง หมายถึ ง กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานในหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ ไ ด้ ล่ ว งรู้ ข้ อ มู ล รวมทั้ ง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ทั้งโดยการกำหนดนโยบาย จรรยาบรรณกรรมการ พนักงาน และจรรยาบรรณธุรกิจ อย่างสอดคล้องกัน ดังนี้
1. กำหนดจรรยาบรรณของกรรมการบริษัท รวมถึงจรรยาบรรณของพนักงานที่ครอบคลุมเรื่องการใช้ข้อมูล ภายใน และการรักษาข้อมูลอันเป็นความลับ ไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และสื่อสารแก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อรับทราบและถือปฏิบัติ 2. กำหนดจรรยาบรรณธุรกิจ เรื่องห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ โดยใช้ข้อมูลภายใน เพื่อไม่ให้มีการ ใช้ประโยชน์ หรือเปิดเผยข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือผู้อื่น และเพื่อป้องกันการกระทำผิดของ พนักงาน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้คำนึงถึงการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทุกราย 3. กำหนดระยะเวลาห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ ข้อมูลทางการเงิน โดยกำหนดระยะเวลาห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทเป็นเวลา 45 วันก่อนมีการเปิดเผย งบการเงินรายไตรมาส และ 60 วันก่อนการเปิดเผยงบการเงินประจำปี และสิ้นสุดระยะเวลางดเว้นการซื้อ ขายหลักทรัพย์ หลังจากที่บริษัทฯ ได้เปิดเผยงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่ อ ความทั ด เที ย มกั น ในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โดยบริ ษั ท ฯ จะแจ้ ง เตื อ นให้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารรั บ ทราบ ล่วงหน้าก่อนถึงระยะเวลาดังกล่าว 4. กรรมการและผู้ บ ริ ห ารตามนิ ย าม ก.ล.ต. มี ห น้ า ที่ จั ด ทำและรายงานการซื้ อ -ขาย-โอน-รั บ โอน หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ภายใน 3 วันทำการ หลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงมายังบริษัทฯ โดยคณะกรรมการ ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัท ทำหน้าที่รวบรวมรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการ และผู้บริหารดังกล่าว เพื่อบรรจุเป็นระเบียบวาระเพื่อทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ ทุกครั้งที่มีการประชุม
170
• การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดนโยบาย จรรยาบรรณธุรกิจ และการดำเนินการต่างๆ ดังนี้ 1. บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศ ก.ล.ต. และประกาศคณะกรรมการกำกับ ตลาดทุน อย่างเคร่งครัด โดยกำหนดเป็นนโยบายให้กรรมการหรือผู้บริหารที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับ รายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสียในระเบียบวาระการประชุมใด จะไม่ เข้าร่วมประชุม หรือในกรณีที่ต้องเข้าประชุม เพื่อให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการพิจารณา จะต้องงดออกเสียง หรืองดให้ความเห็นในระเบียบวาระการประชุมนั้นๆ พร้อมกันนี้ เลขานุการบริษัท หรือเลขานุการ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องจะจดบันทึกความเกี่ยวข้องของกรรมการหรือผู้บริหาร เป็นลายลักษณ์อักษรไว้ใน รายงานการประชุมด้วย 2. คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดจรรยาบรรณธุรกิจ เรื่องการมีส่วนได้เสียและความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ อีกทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดีให้สอดคล้องกัน คือกำหนดให้บุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ และทุกคน มีหน้าทีต่ อ้ งรายงานเรือ่ งทีส่ งสัยว่าอาจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ในแบบรายงานการเปิดเผย รายการขัดแย้งทางผลประโยชน์ของตนเองต่อบริษัทฯ เพื่อแสดงถึงความโปร่งใส และเพื่อป้องกันเหตุที่อาจ เป็นผลประโยชน์ทับซ้อนหรือขัดแย้งโดยไม่ได้เจตนา 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (The Role of Stakeholders in Corporate Governance) บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม บนพื้นฐานของการเคารพสิทธิและ การสร้างความพึงพอใจของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ เสมอมา เพือ่ ประโยชน์รว่ มกันอย่างยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กำกับดูแลให้มีระบบการบริหารจัดการที่เชื่อมั่นได้ว่าผู้มีส่วนได้เสียจะได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วยความ เสมอภาคอย่างเคร่งครัด ทั้งผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ ภาครัฐ คู่แข่ง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายและการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ของบริษัทฯ ดังนี้ • ผู้ถือหุ้น นโยบาย : ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐานของตน และมุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น โดยคำนึ ง ถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตของบริ ษั ท ฯ อย่ า งยั่ ง ยื น สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม และให้ ผ ลตอบแทนที่ เ หมาะสม อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งดำเนินธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากสิทธิขั้นพื้นฐาน สิทธิที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ อาทิ สิทธิในการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดงความเห็นอย่างอิสระ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการขอตรวจสอบจำนวนหุ้น รวมถึงสิทธิที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็นธรรมแล้ว บริษัทฯ ยังให้สิทธิผู้ถือหุ้นในการสอบถามและเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ทำแผนงานการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ยกระดับ CG ของบริษทั ฯ สูม่ าตรฐานสากล
171
ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ความมุ่ ง มั่ น ต่ อ เป้ า หมายการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ในระดั บ ภู มิ ภ าคและระดั บ สากล ที่ ค ำนึ ง ถึ ง การสร้างความพึงพอใจ และการสร้างมูลค่าเพิ่มในธุรกิจที่มีผลโดยตรงต่อผู้ถือหุ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ลูกค้า นโยบาย : มุ่ ง มั่ น สร้ า งความพึ ง พอใจและความมั่ น ใจให้ กั บ ลู ก ค้ า และประชาชนที่ จ ะได้ รั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริการที่ดีมีคุณภาพในระดับราคาที่เหมาะสม และยกระดับมาตรฐานให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งรักษา สัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน
บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุดจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ทั้งด้านคุณภาพและราคา ตลอดจนมุ่ ง พั ฒ นาและรั ก ษาสั ม พั น ธภาพที่ ยั่ ง ยื น โดยจั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในการดู แ ลลู ก ค้ า ให้ ข้ อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ ค ำปรึ ก ษาวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หา และรั บ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ ความพึงพอใจและตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างสูงสุด ทั้งในด้านผลิตภัณฑ์และการบริการ มุ่งรักษา คำมั่นสัญญาที่มีต่อลูกค้าอย่างจริงจัง จัดส่งผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ ตรงเวลา และด้วยราคาที่ยุติธรรม มี ก ารจั ด พบปะ/เยี่ ย มเยี ย นกิ จ การของลู ก ค้ า เพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และตอบข้ อ ซั ก ถามเกี่ ย วกั บ ปั ญ หา อุปสรรคต่างๆ เพื่อประโยชน์สูงสุดร่วมกันของทุกฝ่าย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไม่มีพฤติกรรมประสานประโยชน์ กับคู่แข่งซึ่งทำให้ลูกค้าไม่ได้รับความยุติธรรม โดยดำเนินการตามสัญญา จรรยาบรรณทางธุรกิจ และหลักกฎหมาย อย่างเคร่งครัด อีกทั้งยังจัดให้มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าในทุกผลิตภัณฑ์และบริการไว้อย่างต่อเนื่อง ทุกปี เพื่อตรวจสอบความพึงพอใจ และนำมาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และการบริการต่อไป
ในปี 2554 บริษัทฯ ได้จัดงานพบลูกค้าประจำปี เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งเป็นการต้อนรับลูกค้า คู่ค้า และพันธมิตรทางธุรกิจ ในทุกกลุ่มธุรกิจและกิจการของบริษัทฯ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า คู่ค้า และพัฒนาไปสู่การเป็นพันธมิตรทางธุรกิจที่ยั่งยืน • คู่ค้า นโยบาย : คำนึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตย์ในการดำเนินธุรกิจ รักษาผลประโยชน์ร่วมกับคู่ค้า โดยการ ปฏิบัติตามกฎหมายและกติกาที่กำหนดร่วมกันอย่างเคร่งครัด และมีจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ
บริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบการแข่งขันทางการค้าเสรีที่สุจริต โดยยึดถือการปฏิบัติตามสัญญา และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด เสมอภาค และเป็นธรรม โดยเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและตามสัญญา บนพื้นฐานที่คู่ค้าต่างๆ จะยึดหลักแนวทางดำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับบริษัทฯ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีการ ระบุเป็นหลักการไว้ในสัญญาที่ทำกับคู่ค้าในเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งให้ความสำคัญกับการตรวจสอบ และความโปร่งใสในการจัดหาผู้รับเหมา รวมทั้งการไม่ให้ผู้บริหารหรือพนักงานเข้าไปมีอิทธิพลหรือสามารถ ชี้นำ ชักจูงใจ ให้ หรือรับประโยชน์ตอบแทนที่ไม่ชอบด้วยหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี
172
นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้ออกนโยบายและแนวปฏิบัติต่อคู่ค้าที่ชัดเจน มุ่งเน้นให้พนักงานปฏิบัติต่อคู่ค้า ด้วยความสุจริต ตามเงื่อนไขที่มีต่อกันอย่างเคร่งครัด เมื่อเกิดปัญหาต้องแจ้งให้คู่ค้าทราบล่วงหน้า และหาทาง แก้ไขร่วมกันด้วยความสมเหตุสมผล และได้กำหนดแนวปฏิบัติในการรับและการให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อื่ นใดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อป้องกันการกระทำใดๆ ของพนักงานที่ไม่สมควร อีกทั้งได้กำหนดให้คู่ค้ายึดถือ และตระหนักในเรื่องกฎความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการ ทำธุรกิจ เพื่อให้การติดต่อประสานงานเป็นไปด้วยความราบรื่น โดยคำนึงถึงคุณภาพชีวิตของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
• คู่แข่งทางการค้า นโยบาย : ปฏิ บั ติ ต่ อ คู่ แ ข่ ง ทางการค้ า ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก สากล ภายใต้ ก รอบแห่ ง กฎหมายเกี่ ย วกั บ หลักปฏิบัติการแข่งขันทางการค้า และยึดถือกติกาของการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
บริษัทฯ ยึดหลักการดำเนินธุรกิจอย่างเสรีและส่งเสริมการค้าเสรี ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี อย่างยุตธิ รรม มีจรรยาบรรณ และอยูใ่ นกรอบกฎหมายและจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั ฯ ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็น ความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต ไม่ทำลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหา หรือโจมตีคู่แข่งโดยปราศจากมูลความจริง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้บุคลากรละเว้นพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสมอันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อคู่แข่งทางการค้าอย่างจริงจังด้วย
• เจ้าหนี้ นโยบาย : ยึ ด ถื อ แนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ดี ตามเงื่ อ นไขและเป็ น ธรรมต่ อ เจ้ า หนี้ รวมถึ ง การชำระคื น ตามกำหนดเวลา
บริษัทฯ ปฏิบัติตามพันธสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้การค้า และเจ้าหนี้สถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด ทำหน้าที่อันพึงมี ต่อเจ้าหนี้ทุกรายตามเงื่อนไขข้อกำหนดของสัญญา ตลอดจนไม่ปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จจริง อันจะทำให้เจ้าหนี้ เกิดความเสียหาย และหากมีเหตุอนั จะทำให้ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามข้อผูกพันในสัญญา บริษทั ฯ จะแจ้งเจ้าหนีล้ ว่ งหน้า เพือ่ หาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังจัดให้มโี ครงการต่างๆ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับเจ้าหนี้ โดยให้ความร่วมมือกับการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมของเจ้าหนี้ตามโอกาสที่เหมาะสมด้วย
• ภาครัฐ นโยบาย : ให้ความสำคัญกับภาครัฐซึ่งถือเป็นหนึ่งในผู้มีส่วนได้เสีย โดยกำหนดแนวทางในการปฏิบัติ ต่อภาครัฐในประเทศต่างๆ ที่เข้าไปลงทุน เพื่อหลีกเลี่ยงการดำเนินการที่อาจส่งผลต่อการกระทำที่ไม่เหมาะสม บริษัทฯ ดำเนินงานตามกฎหมายภายใต้การกำกับดูแลของภาครัฐที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศไทย หรือประเทศ ต่างๆ ที่เข้าไปลงทุน เนื่องจากบริษัทฯ ถือว่าหน่วยงานของภาครัฐเป็นส่วนสำคัญที่สนับสนุนให้ธุรกิจ ของบริษัทฯ ดำเนินไปอย่างราบรื่น และเป็นไปตามแนวทางที่ถูกต้องตามนโยบาย กฎระเบียบ หรือข้อบังคับ
173
ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความชัดเจนในการประสานงาน และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี โดยอยู่ภายในขอบเขตที่เหมาะสม บนพื้นฐานของความโปร่งใส และเห็นถึงความ สำคัญของการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาวกับหน่วยงานของภาครัฐ จึงมีการร่วมจัดกิจกรรม และสนับสนุน โครงการต่างๆ ร่วมกับภาครัฐอย่างต่อเนื่อง อาทิ สนับสนุนและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในโครงการ “รวมพลังไทย ช่วยภัยน้ำท่วม” ของสำนักนายกรัฐมนตรี ฯลฯ
• พนักงาน นโยบาย : มุ่งมั่นพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เสริมสร้างวัฒนธรรม และบรรยากาศการทำงาน ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรม ดูแลความปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อมการทำงาน ให้ความสำคัญต่อการพัฒนา ถ่ายทอดความรู้และความสามารถของพนักงาน รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากพนั ก งานทุ ก ระดั บ อย่ า งเท่ า เที ย มและเสมอภาค กำหนดและต่ อ ยอดการปลู ก ฝั ง วั ฒ นธรรมองค์ ก ร ด้ ว ยตระหนั ก ว่ า พนั ก งานทุ ก คนเป็ น หนึ่ ง ปั จ จั ย สำคั ญ และมี คุ ณ ค่ า นำมาซึ่ ง ความสำเร็ จ ความก้ า วหน้ า และการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของกลุ่มบริษัทฯ
บริษัทฯ จัดสรร คัดเลือก และบรรจุพนักงาน โดยคำนึงถึงคุณวุฒิ ประสบการณ์ และความสามารถ เพื่อให้ ทำงานในตำแหน่งที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมให้พนักงาน มีโอกาสก้าวหน้า ผลักดันให้พนักงานแสดงความสามารถออกมาในเชิงผลการปฏิบัติงานที่มีต่องานในหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังเปิดโอกาสให้พนักงานสามารถปฏิบัติงาน ในตำแหน่งต่างๆ ในบริษัทฯ ได้อย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเพศ อายุ ศาสนา หรือการทุพพลภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ให้ความสำคัญในเรื่องการเคารพสิทธิมนุษยชนสากล การให้เกียรติซึ่งกันและกัน และไม่ให้เกิดกรณีการคุกคามต่างๆ ตามแนวทางจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ จั ด ให้ มี ค ณะกรรมการสวั ส ดิ ก ารในสถานประกอบกิ จ การ ประกอบด้ ว ยตั ว แทนฝ่ า ยบริ ห าร และตั ว แทน ฝ่ายพนักงาน ร่วมกันตรวจตรา ควบคุมดูแล และเสนอแนะการจัดสวัสดิการที่เพียงพอ และเหมาะสมแก่พนักงาน มุ่งมั่นให้มีสวัสดิการของบริษัทฯ อย่างเป็นธรรมและมั่นคงต่อการดำรงชีพของพนักงานและครอบครัว เสริมสร้าง ให้ พ นั ก งานอยู่ ภ ายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มในการทำงานที่ ดี มี ค วามปลอดภั ย จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ค วามรู้ และส่งเสริมความปลอดภัยให้กบั พนักงานและผูร้ บั เหมาทัง้ ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เพือ่ เตรียมความพร้อมรองรับ การเกิดสถานการณ์จริงเป็นประจำทุกปี ได้แก่ การจัดการซ้อมอพยพกรณีเกิดอัคคีภัยอาคารสูงในพื้นที่สำนักงาน กรุงเทพ และการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉินในพื้นที่โรงงาน เพื่อทดสอบและประเมินความพร้อมของการระงับเหตุฉุกเฉิน ประจำพื้นที่
174
บริษัทฯ ได้จัดทำแผนการสื่อความการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้บริหารและพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม รับรู้และนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจไปปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานและการดำรงชีวิต การดูแลรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เคารพสิทธิมนุษยชนมีจิตสำนึก ในการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมทั้งใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และมีการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล อีกทั้งได้นำ PTTGC Core Values “GC-SPIRIT” ที่ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของบริษัทฯ มาใช้เป็นเครื่องมือร่วม ในการขับเคลื่อนการกำกับดูแลกิจการที่ดีคือ I = Integrity & Ethics การสร้างพลังความดี แม้ว่าทั้งสองบริษัท จะรวมกันเป็นหนึง่ แต่บริษทั ฯ ยังคงส่งเสริมและตอกย้ำให้พนักงานตระหนักถึงความเก่ง ความดี แบบจับต้องได้ ด้วยการปฏิบัติจริง ดังนั้น เส้นทางของการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ จึงมุ่งมั่นและดำเนินต่อไป ด้วยพลังของพนักงานทุกคนร่วมกัน แรงขับเคลือ่ นทีม่ าจากความ “เก่ง” และ ”ดี” โดยการ ”ยึดถือ” และ ”ปฎิบตั ”ิ ตามคูม่ อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องพนักงานทุกคน เป็นเสมือนพลังทีผ่ ลักดันให้การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี (CG) ของบริษัทฯ ก้าวไปสู่ระดับสากลได้อย่างยั่งยืนและมั่นคง
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังให้ความสำคัญกับการสือ่ ความข้อมูลต่างๆ เกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั ฯ อย่างทัว่ ถึง และเปิดโอกาสให้พนักงานมีช่องทางในการเสนอข้อคิดเห็นต่อผู้บริหารโดยตรง เช่น “Management Site Visit” โครงการผู้บริหารพบปะพนักงาน เพื่อพูดคุย สอบถามปัญหาต่างๆ ตลอดจนให้คำปรึกษา และให้กำลังใจในการ ปฏิบัติงานแก่พนักงานในทุกสาขาของโรงงานและสำนักงาน รวมถึงการจัดให้มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ใน องค์กรระหว่างผู้บริหาร และพนักงานในหน่วยงานเดียวกัน โดยจัดกิจกรรมหลากหลายเพื่อสร้างความเข้าใจ และเป็นกันเอง เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย และเป็นกันเองในการทำงาน
• ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม นโยบาย : ดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมทั้งในด้านความปลอดภัย คุ ณ ภาพชี วิ ต และการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตของชุมชนและสังคม ทั้งพื้นที่โดยรอบโรงงานและในระดับประเทศ คืนผลกำไรส่วนหนึ่ง เพื่อกิจกรรมที่จะมีส่วนสร้างสรรค์ชุมชนและสังคม คำนึงถึงการดำเนินธุรกิจที่จะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การผลิตขั้นต้น จนถึงขั้นปลาย การเลือกเทคโนโลยีการผลิต และกระบวนการกำจัดของเสีย รวมถึงวิจัย และพัฒนานวัตกรรมที่จะส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม และมุ่งสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างประโยชน์สุขของชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่บริษัทฯ เข้าไปดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอดมา ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็น หนึ่งใน PTTGC Core Values “GC-SPIRIT” คือ R = Responsibility for Society การรับผิดชอบต่อสังคม โดยการจัดทำแผนดำเนินงานด้านกิจการเพื่อสังคมให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร การพัฒนาด้านสังคม การลงทุนที่เป็นประโยชน์อย่างยั่งยืนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบด้านความมั่นคง ความปลอดภัย สุขภาพ และการศึกษา กับชุมชนที่อยู่รอบข้าง กำหนดการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักสากล
175
ISO26000 UNGC GRI ติดตามผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และพัฒนาการดำเนินงานด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืนให้สอดคล้องกับการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมาย ส่งเสริมให้พนักงานและ ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีที่ทำประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคม สนับสนุนให้เข้าร่วม กิจกรรมกับสังคม และชุมชนรอบโรงงาน หรือกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ โดยกำหนด ให้การเข้าร่วมกิจกรรมของพนักงานและการมีจิตอาสาเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงาน แม้ในช่วง ที่เกิดภาวะวิกฤตของบ้านเมือง บริษัทฯ ก็ยังคงดำเนินกิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยทุ่มเทความรู้ ความสามารถ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการให้มีประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน และสังคม อาทิเช่น พนักงานจิตอาสาของบริษัทฯ ได้เข้าร่วมกับกลุ่ม ปตท. ในโครงการฟื้นฟูผู้ประสบอุทกภัย เปิดศูนย์อำนวยการฟื้นฟูในจังหวัดที่ได้รับความเดือดร้อน และชมรมโบราณคานแข็ง ซึ่งเป็นชมรมที่พนักงาน ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อบำเพ็ญประโยชน์และให้ความช่วยเหลือแก่ชุมชน และสังคม ที่ได้รับความเดือดร้อนและ ขาดแคลน ได้ร่วมกันบริจาคเงิน สิ่งของต่างๆ และทำกิจกรรม เพื่อฟื้นฟูสถานศึกษาหลังจากประสบภัยน้ำท่วม เป็นต้น
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูล คุณภาพของข้อมูล และการเปิดเผยข้อมูล อย่างเท่าเทียม โปร่งใส และเป็นธรรม ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและน่าเชื่อถือ โดยได้กำหนดนโยบาย และกำกับดูแลให้การจัดทำและการเปิดเผยข้อมูล ทั้งที่เป็นข้อมูลทางการเงิน และที่ไม่ใช่ทางการเงินอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา โดยข้อมูลที่เปิดเผยจะต้องจัดทำขึ้นอย่างรอบคอบ มีความชัดเจน ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และสม่ำเสมอ ทั้งด้านบวกและด้านลบ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ เกิดความมั่นใจและได้รับข้อมูล อย่างเท่าเทียมกัน ตามข้อกำหนดกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง 4.1 คุณภาพของข้อมูล บริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป อย่างรวดเร็ว ทันเวลา เชื่อถือได้ ครบถ้วน และถูกต้อง เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ทั้งนี้ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของบริษัทฯ ต่อสาธารณะ ทั้งที่เป็นข้อมูลทางการเงินและที่ไม่ใช่ทางการเงิน ดำเนินการดังนี้ 1. ข้อมูลทางการเงินและที่ไม่ใช่การเงินตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ บริษัทฯ ได้กำกับดูแล ให้มีการจัดทำรายงานทางการเงินที่มีข้อมูลถูกต้องครบถ้วน เป็นจริงตามมาตรฐานการบัญชี โดยผ่านการ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ และคณะกรรมการตรวจสอบ โดยได้ดำเนินการตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และเป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และตั้งแต่ การควบบริษัท เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 บริษัทฯ ไม่มีการดำเนินการใดๆ ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ อันเนื่องมาจากการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ
176
2. ข้อมูลของกรรมการและการเปิดเผยข้อมูล กรรมการ และผู้บริหาร ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษทั ย่อย ตามข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้จดั ทำรายงานต่างๆ ตามกฎหมาย ตลอดจนรายงาน อื่นที่เกี่ยวข้องด้วยความเต็มใจ อย่างครบถ้วน ระมัดระวัง และซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ (Fiduciary Duties) เพื่อให้ มั่นใจว่าไม่มีส่วนได้เสียใดๆ ในเรื่องที่ตัดสินใจ ได้แก่ รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง รายงานการถือหลักทรัพย์และการเปลี่ยนแปลงหลักทรัพย์ และการรับทราบ ภาระหน้าทีก่ ารรายงานการถือหลักทรัพย์ รายงานการตรวจสอบ การควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ ง กฎบัตรของคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง การรับรองความเป็นอิสระของกรรมการอิสระ รายงานของคณะกรรมการ เฉพาะเรื่อง และรายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี 3. รายงานการดำเนินงานของบริษทั บริษทั ฯ ได้เปิดเผยข้อมูลนอกเหนือจากสารสนเทศต่างๆ ตามข้อกำหนดของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อเปิดเผยให้ผู้ถือหุ้น และสาธารณชนทั่วไปได้รับทราบข่าวสารของบริษัทฯ ได้แก่ การลงทุนโครงการที่สำคัญ ข่าวสารการดำเนินงานของบริษัทฯ โครงการเพื่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ฯลฯ 4.2 ช่องทางการเปิดเผยข้อมูล บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดและมากกว่าข้อกำหนดผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ • เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางระบบ SET Community Portal ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และได้ปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ พร้อมกับ จัดให้มีช่องทางในการติดต่อกับหน่วยงานต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน • การสือ่ สารภายนอกองค์กร ได้แก่ การจัดงานเปิดตัวโครงการต่างๆ การให้สมั ภาษณ์โดยผูบ้ ริหาร ต่อสือ่ มวลชน เพื่อเผยแพร่วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย และผลการดำเนินงานของบริษัทฯ อย่างครบถ้วน และถูกต้อง ตามแนวปฏิบตั เิ รือ่ งการให้ขอ้ มูลข่าวสาร และการแสดงความเห็นแก่บคุ คลภายนอก ตามทีก่ ำหนดไว้ในคูม่ อื การกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ • การสื่อสารภายในองค์กร เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่บริษัทฯ ให้ความสำคัญ โดยได้จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูล ที่มีความสำคัญต่อพนักงานในบริษัทฯ ผ่านระบบสื่อสารภายในองค์กรรูปแบบต่างๆ ได้แก่ อีเมล์ อินทราเน็ต วารสารภายใน ป้ายประกาศ นิทรรศการ เพื่อรับทราบกลยุทธ์ ทิศทาง นโยบาย ข่าวสารภายในองค์กร และเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงาน ภายใต้แนวปฏิบัติของการใช้ข้อมูลภายใน และการรักษาข้อมูล อันเป็นความลับ ตามจรรยาบรรณธุรกิจ โดยหน่วยงานและพนักงานที่รับผิดชอบรับทราบถึงหน้าที่ ของผู้เปิดเผยข้อมูล และปฏิบัติตามด้วยความซื่อตรง 4.3 หน่วยงานรับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูล 1. หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) บริษัทฯ ได้จัดให้หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ มีหน้าที่ รับผิดชอบกำกับดูแลการเปิดเผยข้อมูลแก่นกั ลงทุนอย่างใกล้ชดิ โดยให้ขอ้ มูลและอำนวยความสะดวกในการ ติดต่อรับข้อมูลข่าวสารกับบริษัทฯ เพื่อให้นักลงทุนได้รับข่าวสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน และรวดเร็ว
177
ในปี 2554 หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ จัดกิจกรรมการเปิดเผยข้อมูลแก่นักลงทุนหลายรูปแบบ เพื่อแนะนำ และให้ข้อมูลบริษัทฯ แก่นักลงทุน เนื่องจากบริษัทฯ เพิ่งเกิดขึ้นจากการควบรวมกิจการ โดยการจัดให้ ผู้บริหารระดับสูง เปิดเผยข้อมูลแก่นักลงทุนในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การจัดพบนักลงทุนในต่างประเทศ การพบ นักลงทุนในประเทศ จัดประชุมนักวิเคราะห์ทางการเงิน การประชุมร่วมกับผูบ้ ริหารทางโทรศัพท์ การนัดพบทีบ่ ริษทั ฯ การเปิดเผยข้อมูลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ ตอบข้อซักถามทางโทรศัพท์ / อี เ มล์ ส่ ง จดหมายข่ า วถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ราย นอกจากนี้ เพื่ อ เป็ น การเปิ ด ช่ อ งทางในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารและ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่ผู้ถือหุ้น และนักลงทุน จึงได้เปิดช่องทางไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในหัวข้อ Investor Relations หรื อ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ประกอบไปด้ ว ยข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ฯ ข้ อ มู ล สำหรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น /นั ก ลงทุ น ข้ อ มู ล ทางการเงิ น เอกสารเผยแพร่ ต่ า งๆ เพื่ อ อำนวยความสะดวกในการติ ด ต่ อ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารกั บ หน่วยงาน อีกทั้งได้เปิดช่องทางในการติดต่อกับหน่วยงานทางอีเมล์ : ir@pttgcgroup.com เพื่อส่งคำถาม หรือข้อสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของบริษัทฯ
2. หน่ ว ยงานสื่ อ สารและภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร (Corporate Communication and Branding) ทำหน้ า ที่ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ความเคลื่อนไหว กิจกรรมทางธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ที่ทันต่อเหตุการณ์ ให้แก่สื่อมวลชนทุกแขนง และประชาชนทั่วไป โดยกิจกรรมที่จัดขึ้นหลังจากการควบบริษัท ได้แก่ • • •
จัดแถลงข่าว “การซื้อขายหลักทรัพย์ PTTGC วันแรกในตลาดหลักทรัพย์ฯ” เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2554 ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ให้ สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษต่ อ สื่ อ มวลชนกลุ่ ม ต่ า งๆ ได้ แ ก่ สื่ อ โทรทั ศ น์ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ และนิตยสาร เพื่อให้ข้อมูลโครงสร้าง/ทิศทางการดำเนินธุรกิจ และวิสัยทัศน์ขององค์กร ส่ ง ภาพข่ า ว (Photo Release) ข่ า วแจก (Press Release) สกู๊ ป ข่ า ว (Scoop) และปฏิ ทิ น ข่ า ว (Calendar News) ให้แก่สื่อมวลชนทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน
3. หน่ ว ยงานกิ จ การเพื่ อ สั ง คม (CSR) ได้ จั ด ทำรายงานการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (Sustainability Report) ประจำปี 2554 ตามมาตรฐานสากล Global Reporting Initiative (GRI) G3.1 เพื่อเผยแพร่ให้ผู้มีส่วน ได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ ใ นทุ ก ช่ อ งทางการสื่ อ สารของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ทราบถึ ง การดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบของบริษัทฯ กิจกรรมด้านการพัฒนาสังคม การเปิดบ้านพบชุมชน เพื่ อ ชี้ แ จงการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ ทำความรู้ จั ก และคุ้ น เคยกั บ คณะผู้ บ ริ ห าร ชี้ แ จงถึ ง นโยบาย ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ เสริ ม สร้ า งความเข้ า ใจ และความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า ง บริ ษั ท ฯ และชุ ม ชน รวมถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ในพื้ น ที่ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ช่ อ งทางในการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชน ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เพื่ อ จั ด ทำแผนปฏิ บั ติ ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขการดำเนิ น ธุ ร กิ จ องค์ ก ร ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารลงพื้ น ที่ เ พื่ อ พู ด คุ ย สอบถาม ชี้ แ จงให้ แ ก่ ชุ ม ชน ได้ รับทราบถึงโครงการ และการดำเนินงานต่างๆ ด้านการศึกษา และการสาธารณสุขของกลุ่มบริษัทฯ
178
รวมถึงการแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรมเพื่อให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม เช่น การมอบทุนพยาบาล โครงการติวเตอร์เข้ามหาลัย และโครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ฯลฯ
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีช่องทางการสื่อสารที่สะดวกรวดเร็ว ผ่านทางจดหมายหรืออีเมล ซึ่งเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใต้หัวข้อ “การกำกับดูแลกิจการที่ดี” โดยผู้ถือหุ้น นักลงทุน และประชาชนทั่วไป สามารถติดต่อถึงประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการได้โดยตรง หรือติดต่อเลขานุการบริษทั เพือ่ ติดต่อสอบถาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ที่ e-mail address : cg@pttgcgroup.com
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board) คณะกรรมการบริษทั ฯ ถือเป็นหัวใจสำคัญของการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี การบริหารจัดการบริษทั นัน้ กฎหมายกำหนด ให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทสำคัญในการกำกับดูแลกิจการ เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ การแสดงความรับผิดชอบต่อหน้าที่และผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ จึงเป็น หลักสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส รอบคอบระมัดระวัง และเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่อยู่บนพื้นฐานของกฎหมาย ข้อกำหนด กฎเกณฑ์ ข้อบังคับบริษัท มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ไม่กระทำการใดที่เป็นการขัดหรือแย้ง กับผลประโยชน์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนเกิดความมั่นใจ 5.1 โครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกอบไปด้ ว ย กรรมการบริ ษั ท กรรมการอิ ส ระ กรรมการเฉพาะเรื่ อ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ซึ่งมีความสมดุล และมีคุณสมบัติเหมาะสม แสดงให้เห็นถึง การตรวจสอบและถ่วงดุลระหว่างกัน ดังนี้ 5.1.1
กรรมการบริษัท ที่ประชุมผู้ถือหุ้นร่วมระหว่างบริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTTCH) และบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำกัด (มหาชน) (PTTAR) เมือ่ วันที่ 18 ตุลาคม 2554 ได้มมี ติแต่งตัง้ คณะกรรมการ บริษัทฯ จำนวน 15 คน ประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 คน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร, กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่) 2 คน และกรรมการอิสระ 9 คน ซึง่ กรรมการอิสระ มีจำนวนเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ กรรมการบริษัททุกท่าน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี พลังงาน บริหารจัดการ บัญชีและการเงิน กฎหมาย ความมั่นคง และการตรวจสอบ เพื่อนำความรู้ ความสามารถ คุณสมบัติ และประสบการณ์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ โครงสร้างของคณะกรรมการบริษัทฯ ทำให้สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้เปิดเผยชื่อ ประวัติ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ใ นบริ ษั ท ฯ ผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ ได้ แ ก่ รายงานประจำปี แบบ 56-1 และเว็บไซต์บริษทั ฯ อีกทัง้ ได้กำหนดองค์ประกอบ และคุณสมบัตขิ องกรรมการไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร
179
ในข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ เช่นกัน ประธานกรรมการไม่ เ ป็ น บุ ค คลคนเดี ย วกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยแบ่ ง แยกบทบาทหน้ า ที่ อ ย่ า งชั ด เจน ประธานกรรมการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความเป็ น อิ ส ระ สามารถแสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ การดำเนิ น งานภายใต้ น โยบายที่ ค ณะกรรมการได้ ก ำหนดร่ ว มกั น เพื่ อ ประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ ผู้ ถื อ หุ้ น และประเทศชาติ เ ป็ น สำคั ญ นอกจากนิ้ ประธานกรรมการ ไม่เป็นสมาชิกในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกชุด โดยโครงสร้างดังกล่าว ทำให้ประธานกรรมการ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ฯ และคู่ มื อ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ได้ ก ำหนดอำนาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ และคณะจัดการไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อประโยชน์ในการกำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล การปฏิบัติหน้าที่อย่างชัดเจน เพื่อบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจของบริษัทฯ ได้แก่ วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้ า หมายทางการเงิ น การบริ ห ารความเสี่ ย ง แผนงาน และงบประมาณ โดยผ่ า นการพิ จ ารณา กลั่นกรองขั้นต้นจากคณะจัดการ (Management Committee) ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูง ก่ อ นนำเสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณา โดยคณะกรรมการได้ ติ ด ตามดู แ ลให้ ค ณะจั ด การ ดำเนินงานและรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงานดังกล่าวอย่างสม่ำเสมอ
5.1.2
กรรมการอิสระ ในการพิจารณาคุณสมบัติความเป็นอิสระของกรรมการอิสระนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา ทั้ ง จากการดำรงตำแหน่ ง ที่ ผ่ า นมาในอดี ต และปั จ จุ บั น รวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท ฯ ตามหลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยกรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจำนวนทั้งหมด 9 คน ซึ่งมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และมีจำนวนมากกว่าเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด กรรมการอิสระได้ปฏิบัติหน้าที่โดยคำนึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม
บริ ษั ท ฯ กำหนดนิ ย ามของกรรมการอิ ส ระ ไว้ ใ นคู่ มื อ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้อกำหนดของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมทั้งได้พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์สัดส่วนการถือหุ้น ของกรรมการอิสระให้เข้มกว่า โดยกำหนดให้ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 (ก.ล.ต. กำหนดร้อยละ 1) ซึ่งกรรมการอิสระของบริษัทฯ ทุกท่าน มีคุณสมบัติความเป็นอิสระครบถ้วน นอกจากนี้ กรรมการอิสระ ได้ รั บ รองคุ ณ สมบั ติ ค วามเป็ น อิ ส ระของตนเอง ตามเกณฑ์ ที่ ก ำหนดข้ า งต้ น เป็ น ประจำทุ ก สิ้ น ปี โดย ณ สิ้นปี 2554 กรรมการอิสระทุกท่านได้รับรองความเป็นอิสระของตนเองครบถ้วนแล้ว
180
5.1.3
คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง เพื่อให้การกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัทฯ บรรลุเป้าหมายสูงสุด คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทั้งหมด 4 คณะ คือ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ทำหน้าทีศ่ กึ ษา กลัน่ กรอง ตลอดจนกำหนด หลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารเบื้องต้น ซึ่งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะได้รายงานผล การปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งรายงานการปฏิบัติหน้าที่ในรอบปี ที่ผ่านมาต่อผู้ถือหุ้นโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปี
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีกฎบัตรของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะเป็นลายลักษณ์อักษร ประกอบด้วย บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง และการประชุม โดยได้เปิดเผยไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเว็บไซต์ของบริษัทฯ
(1) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระจำนวน 3 ท่าน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยทุกท่าน เป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือ ของงบการเงิน มีขอบเขตอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้เชิญผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมด้วยทุกครั้ง โดยผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็น ต่อรายงานทางการเงินให้คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ บันทึกความเห็น รวมทั้งข้อสังเกต และให้ข้อเสนอแนะไว้ในรายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบด้วยทุกครั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการรายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ อย่างสม่ำเสมอ มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำปี เปิดเผยจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการตรวจสอบ เข้าร่วมประชุม รวมทั้งจัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปีที่ผ่านมาเสนอต่อ ผู้ถือหุ้นในรายงานประจำปี (2) คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย กรรมการบริษัทฯ จำนวน 3 ท่าน โดยกรรมการ 2 ท่านเป็นกรรมการอิสระ มีวาระ การดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เป็นกรรมการอิสระ ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายในการพิจารณาหลักเกณฑ์ และแนวทางการกำหนดค่าตอบแทน ให้แก่ กรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ หรือวิธีการ สรรหาคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาอย่างโปร่งใส และพิจารณาหลักเกณฑ์และรูปแบบ การจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้วยความโปร่งใส และสมเหตุสมผล เปรียบเทียบได้กับกลุ่มธุรกิจเดียวกัน
181
(3) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ จำนวน 4 ท่าน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี โดย คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ 3 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ และประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ เป็นกรรมการอิสระ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายในการพิจารณากำหนด แนวทาง เสนอแนะแนวนโยบาย/แนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณ และจริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ ตามระบบการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และคณะจั ด การ ตลอดจน กำกับดูแลให้คำปรึกษา ประเมินผล และทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแล กิ จ การที่ ดี เพื่ อ พั ฒ นาและยกระดั บ ระบบการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ สู่ ม าตรฐานสากล เพื่อพัฒนาแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสำนักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และองค์กรชั้นนำอย่างครบถ้วน และยกระดับระบบการกำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากลต่อไป (4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ จำนวน 3 ท่าน และอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ มีวาระ การดำรงตำแหน่ ง คราวละ 3 ปี ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ม อบหมาย เกี่ ย วกั บ การกำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางในการบริ ห ารความเสี่ ย งต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งเหมาะสม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ กำกั บ ดู แ ลให้ มี ร ะบบหรื อ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสม รวมทั้งการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีการจัดการความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม 5.1.4
เลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 89/15 ของ พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 แก้ไขโดย พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2551 คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้แต่งตั้งให้ นางวลัยพร บุษปะเวศ ตำแหน่งผู้จัดการฝ่าย หน่วยงาน กำกับองค์กรและเลขานุการบริษัท สังกัดสายงานกิจการองค์กร ดำรงตำแหน่งเลขานุการบริษัท
ในการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท นอกจากการปฎิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว เลขานุการ บริษัท มีหน้าที่กำกับดูแลให้บริษัทฯ และคณะกรรมการ มีการปฏิบัติให้สอดคล้อง (Compliance) และเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษัท ข้อกำหนดของหน่วยงานกำกับดูแล มติที่ประชุมคณะกรรมการ/ ผู้ ถื อ หุ้ น และหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นอกจากนั้ น ยั ง สนั บ สนุ น การจั ด ให้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร ได้รับความรู้และเข้าอบรมหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการรายงานให้กรรมการ ผู้บริหาร รับทราบการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ และทำหน้ า ที่ เ ก็ บ รั ก ษาเอกสารสำคั ญ ตามกฎหมาย เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ เ ข้ า รั บ การอบรม สั ม มนา
182
รับฟังการชี้แจง และร่วมให้ความคิดเห็นด้วยตนเองในเรื่องต่างๆ ที่จัดโดยหน่วยงานกำกับดูแลบริษัท จดทะเบียน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาและปรับปรุงงานเลขานุการบริษัท และงานการกำกับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป โดยผู้ถือหุ้นสามารถติดต่อกับเลขานุการบริษัท ได้ที่ email : cg@pttgcgroup.com
5.2 วาระการดำรงตำแหน่งกรรมการ คณะกรรมการกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ โดยกรรมการมีวาระ การดำรงตำแหน่งในแต่ละวาระ คราวละ 3 ปี สอดคล้องกับ พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักถึงประสิทธิภาพของการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัท จึงให้ความสำคัญกับจำนวนบริษัท ที่กรรมการไปดำรงตำแหน่งไม่ให้มากเกินไปโดยได้กำหนดนโยบายการดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัท จดทะเบียนอื่น และได้เปิดเผยไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยกรรมการบริษัทฯ ดำรงตำแหน่งกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนไม่เกิน 3 บริษัท กรณีที่มีกรรมการบริษัทฯ ดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน มากกว่า 3 บริษัท ให้พิจารณาการดำรงตำแหน่งให้เหมาะสมกับลักษณะ/สภาพธุรกิจของบริษัทและการดูแล ธุรกิจที่บริษัทฯ เข้าไปลงทุนเป็นสำคัญ โดยบริษัทฯ ได้เปิดเผยข้อมูลการดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ของกรรมการแต่ละรายไว้ในรายงานประจำปี และแบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในการไปดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นของประธานเจ้าหน้าที่บริหารนั้น ได้พิจารณาการดำรง ตำแหน่งให้เหมาะสมกับลักษณะและสภาพธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการดูแลธุรกิจที่เข้าไปลงทุนเป็นสำคัญ 5.3 บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น มีความสำคัญในการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ การดำเนินธุรกิจ และทิศทางในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนกำกับดูแลและติดตามการดำเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ที่จะมีผลต่อการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนความคาดหวังจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ อั น จะทำให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ บ ริ ษั ท ฯ และผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ราย บริ ษั ท ฯ จึ ง กำหนดบทบาทหน้ า ที่ แ ละ หลั ก ปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพิ่ ม เติ ม จากที่ ก ฎหมายกำหนด ซึ่ ง กรรมการได้ ป ฏิ บั ติ เพื่อเป็นแบบอย่างให้พนักงานทุกระดับยึดมั่นเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ด้านการกำหนดนโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบในเรื่องที่สำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ เช่น วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและงบประมาณ ตลอดจนกำกับดูแลการปฏิบัติ ของคณะจัดการตามแผนงานที่กำหนดไว้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
183
2) ด้านการกำกับดูแลเพื่อสร้างมูลค่ากิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายให้ครอบคลุมทั้งองค์กร และกำกับดูแลให้มีระบบหรือกระบวนการ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้บริษัทฯ อย่างเหมาะสม โดยมีมาตรการรองรับ และวิธี ควบคุมเพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์กับธุรกิจของบริษัทฯ 3) ด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ ตลอดจนกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ กำกั บ ดู แ ลให้ มี แ นวปฏิ บั ติ ใ นการควบคุ ม ภายในและการสอบทานที่ ดี และเป็ น อิ ส ระ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ฯ เปิ ด เผยข้ อ มู ล สำคั ญ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท ฯ และรั ก ษาผลประโยชน์ สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ดู แ ลรายการที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ให้มีความเป็นธรรม โปร่งใส เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม อีกทั้งสนับสนุนการพัฒนา บุคลากรให้มีความเข้าใจ มีจิตสำนึก ปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และส่งเสริม ให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในระบบการควบคุมภายใน การกำกับดูแลกิจการที่ดีในการดำเนินงานของทุกฝ่าย 4) ด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม โดยพยายามลดปัญหาที่เกิดจากอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น อย่างยั่งยืนของสังคมไทย ยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนรอบโรงงานให้ดีขึ้น และมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาและ ลดผลกระทบที่ชุมชนได้รับอย่างจริงจัง เคารพในหลักสิทธิมนุษยชน และการใช้แรงงาน อย่างยุติธรรม เพื่อให้ชุมชนและโรงงานสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน 5.4 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ เพื่อให้การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการบริษัท ดำเนินการอย่างมีหลักเกณฑ์และโปร่งใส เป็นไปตามหลักการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี และสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ทีเ่ สนอโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) คณะกรรมการ สรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ได้กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทดังนี้ การมีคุณสมบัติสอดคล้องตามกฎหมาย และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ เพื่อผสานความรู้ความสามารถที่เป็น ประโยชน์ และเพิ่มมูลค่าในการดำเนินงานให้แก่บริษัทฯ กรณีเสนอแต่งตั้งกรรมการรายเดิม จะพิจารณาผลการ ปฏิบตั งิ านทีผ่ า่ นมา และกรณีเสนอแต่งตัง้ กรรมการรายใหม่ จะพิจารณาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ ประสบการณ์/ คุณวุฒ/ิ การศึกษา/อบรม ทีเ่ ป็นประโยชน์กบั การปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการ การมีสว่ นได้เสีย/ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ที่อาจมีกับบริษัทฯ และกรณีเสนอแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ จะพิจารณาเพิ่มเติมในเรื่องคุณสมบัติความเป็นอิสระของ กรรมการ นอกจากนี้ ได้กำหนดให้ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการ ต้องให้การยินยอมในการเสนอชื่อเพื่อพิจารณา เป็นกรรมการด้วย
184
5.5 นโยบายการกำกับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้จดั ให้มนี โยบายการกำกับดูแลกิจการ คูม่ อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณธุรกิจ โดยในการจัดทำได้ประมวลเนื้อหา แนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดย คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ และหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ได้ร่วมพิจารณา ให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น เพื่อให้คู่มือดังกล่าว มีความครบถ้วนสมบูรณ์
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ได้ติดตามให้มีการปฏิบัติตามแผนงานกำกับดูแลกิจการที่ดี และประเมิน ประสิทธิผลการปฏิบัติของบริษัทฯ เป็นประจำ โดยผ่านการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ซึ่งกำหนด จัดการประชุมทุกไตรมาส พิจารณาการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปรียบเทียบกับ แนวปฏิบัติที่ดีตามหลักการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตามมาตรฐานสากล และรายงานการติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และเปิดเผย ต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจำปี ฯลฯ
ตามแผนงานกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ กำหนดให้มีการประเมิน และวัดผลการปฏิบัติงานของกรรมการ ประเมินผลการรับรู้และการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของพนักงาน และประเมินความพึงพอใจ ของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม ตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของหน่วยงานอื่นๆ อาทิ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ IOD และสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย เพื่อวัดประสิทธิภาพการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี และผลักดันให้ยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล
คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำกับดูแลให้มีการสื่อความนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ ให้ครอบคลุมทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อสื่อสารกับพนักงาน และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านกิจกรรม และสื่อต่างๆ ของบริษัท โดยการสื่อความเริ่มจากการประกาศใช้นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี ส่งมอบ คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ ให้แก่ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนของบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม รวมทั้งจัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการ และพนักงานเข้าใหม่ทุกราย เพื่อรับทราบและเข้าใจ ในหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และจัดกิจกรรมส่งเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดีภายในองค์กร เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจของพนักงานอย่างทั่วถึง และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง นอกจากนี้ ได้จัดให้มีการประเมินผลการรับรู้และการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของพนักงาน
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดทำ “จรรยาบรรณธุรกิจ” เพื่อส่งมอบให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ ลูกค้า เจ้าหนี้ บริ ษั ท ร่ ว มทุ น หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง รวมถึ ง “PTTGC Suppliers Code of Conduct” หรื อ “จริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของผู้ผลิต ผู้จัดหาสินค้า วัตถุดิบและบริการ” โดยส่งมอบให้กับคู่ค้า ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกิจ และเผยแพร่ให้กับผู้สนใจทั่วไปผ่านเว็บไซต์บริษัทฯ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการ ดำเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณของกลุ่มบริษัทฯ และมุ่งหวังให้ผู้ร่วมดำเนินธุรกิจต่างยึดมั่นในหลักการ เดียวกันด้วย
185
ในทุกปีบริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้ร่วมกันจัดงาน PTT Group CG Day โดยมีจุดประสงค์ในการ นำหลั กการกำกับดูแลกิจการที่ดีมาเผยแพร่แก่พนักงาน และปรับใช้ในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนร่วมกัน ซึ่ ง กิ จ กรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมที่บริษัทจดทะเบียนกลุ่มบริษัท ปตท. ได้จัดมาอย่างต่อเนื่องในช่วงปลายปี และได้ รั บ ความร่ ว มมื อ และความสนใจจากพนั ก งานเป็ น อย่ า งมาก โดยคณะกรรมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ได้เข้าร่วมงานดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ ในปี 2554 จากเหตุการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้น ทำให้บริษัทฯ และบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้เลื่อนการจัดงาน PTT Group CG Day ไปจัดในปี 2555 เนื่องจากสถานการณ์ไม่อยู่ในสภาวะ ที่เอื้ออำนวยต่อการจัดงาน อย่างไรก็ดี เพื่อแสดงออกถึงการดูแลรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียและสังคม กลุ่มบริษัท ปตท. ได้เข้าร่วมในโครงการจิตอาสาเพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประสบอุทกภัยภายหลังน้ำท่วม
5.6 การควบคุมและตรวจสอบภายใน 5.6.1
การควบคุมภายใน บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อการจัดให้มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล สอดคล้องกับ สภาพแวดล้ อ มและลั ก ษณะการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ส ภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม ที่ ดี โดยกำหนดโครงสร้างการบริหารจัดการ การมอบหมายงาน ความสามารถของพนักงานในแต่ละตำแหน่ง งานที่ชัดเจน ส่งเสริมด้านจริยธรรม การสร้างค่านิยมที่ดี รวมถึงการปฏิบัติที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทฯ มีการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ กระบวนการบริหารความเสี่ยง และติดตามวัดผล เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย กำหนดกิจกรรมควบคุม เช่น นโยบาย ระเบียบ และแนวทางปฏิบตั ิ เป็นต้น เพือ่ ใช้อา้ งอิงการปฏิบตั งิ าน มีการกำหนดช่องทางการสื่อสาร การรายงาน และการเข้าถึงสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน และ มีกระบวนการติดตามจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ และการตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบภายในที่มีความเป็น อิ ส ระอย่ า งสม่ ำ เสมอ เพื่ อ ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านตามแผนงาน การป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ ย งที่ อ าจให้ การดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และการปฏิบัติตามมาตรการ ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างเคร่งครัด
5.6.2
การตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ทำหน้าที่สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบ ควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจและมีประสิทธิผลในการดำเนินงาน และรายงาน ให้คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นทราบ และจัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน แยกเป็นหน่วยงาน หนึง่ ของบริษทั ฯ มีสายการบังคับบัญชาตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทำหน้าทีใ่ นการสอบทาน และประเมิน ความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ตามมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบ ภายใน เพือ่ ความเป็นอิสระ รวมถึงให้ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงเพือ่ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ ต่อบริษทั ฯ และสนับสนุน กระบวนการกำกับดูแลของบริษัทฯ ซึ่งผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ได้มีการรายงานและนำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกไตรมาส
186
5.7 การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขึ้น เพื่อกำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ และพิจารณาแผนจัดการความเสี่ยงระดับ องค์กร (Corporate Risks) ของฝ่ายจัดการ รวมทั้งติดตามสถานะความเสี่ยง ประเมินผลการปฏิบัติตาม แผนจัดการความเสี่ยงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และอย่างมีระบบ ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้สามารถ มั่นใจว่าบริษัทฯ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะรายงานการบริหารความเสี่ยงองค์กรต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำทุกไตรมาส หรือเมื่อมีประเด็น ความเสี่ยงที่สำคัญ หรือมีรายการที่ผิดปกติ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายและการปฏิบัติเรื่อง การบริหารความเสี่ยงไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ รายงานการดำเนินการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมอย่างสม่ำเสมอ และเปิดเผยต่อผู้ถือหุ้น ในรายงานประจำปี 5.8 การประชุมคณะกรรมการบริษัท ในปี 2554 ตั้งแต่การควบบริษัทเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ซึ่งเป็นครั้งแรกของการประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง เพื่อพิจารณาดำเนินการ ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ได้เปิดเผยจำนวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม ตามข้อกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต.
ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นผู้ร่วมกันกำหนดระเบียบวาระการประชุม และพิจารณา เรื่องเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่องต่างๆ เพื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเป็ น วาระการประชุ ม ได้ ในการประชุ ม แต่ ล ะครั้ ง จะมี ก ารกำหนดระเบี ย บวาระ การประชุมล่วงหน้าไว้ชัดเจน กรรมการทุกท่านได้รับหนังสือเชิญประชุม พร้อมเอกสารประกอบการประชุม ที่มีข้อมูลสำคัญครบถ้วนก่อนการประชุมล่วงหน้าประมาณ 7 วัน เพื่อให้กรรมการมีเวลาอย่างเพียงพอ ในการพิจารณาศึกษาวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดตาราง การประชุมไว้ล่วงหน้าเป็นรายปี และอาจมีการประชุมวาระพิเศษเพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความสำคัญเร่งด่วน แจ้งให้กรรมการทุกท่านทราบ เพื่อให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาเข้าร่วมประชุมได้ ในกรณีที่มีเหตุจำเป็น ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ กรรมการได้มีการแจ้งขอลาประชุมต่อประธานกรรมการเป็นลายลักษณ์อักษร
ประธานกรรมการ ทำหน้าที่ประธานในที่ประชุม และได้เปิดโอกาสให้กรรมการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการจัดสรรเวลาให้กรรมการอภิปรายประเด็นปัญหาอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ การลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทให้ถือมติเสียงข้างมากของจำนวนกรรมการที่เข้าประชุม หากคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด โดยให้กรรมการ คนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง และกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุม และ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียง
187
ลงคะแนนในเรื่องนั้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความสำคัญเรื่องความเกี่ยวโยงและความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีการดำเนินการอย่างโปร่งใส รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวอย่างครบถ้วน
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทแต่ละครั้ง ผู้บริหารระดับสูงที่เกี่ยวข้องได้เข้าร่วมประชุมด้วย เพื่อให้ข้อมูล ที่เป็นประโยชน์และรับทราบนโยบายโดยตรง และนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เว้นแต่ในบางคราวที่เป็น การประชุมเฉพาะกรรมการบริษัท หรือประชุมเฉพาะกรรมการอิสระ ที่กำหนดปีละ 2 ครั้ง หรือประชุมเฉพาะ กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร หรือการประชุมคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบร่วมกับผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระในการพิจารณาเรื่องต่างๆ เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทเป็นผู้ทำหน้าที่ บันทึกรายงานการประชุม เสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รับรองในการประชุมครั้งถัดไป และลงนาม รับรองความถูกต้องโดยประธานในที่ประชุม ทั้งนี้ กรรมการบริษัทสามารถแสดงความคิดเห็น หรือขอแก้ไข เพิ่มเติมรายงานการประชุมได้ก่อนการรับรอง รายงานการประชุมที่ได้รับการรับรองแล้วจะจัดเก็บอย่างเป็น ระบบในรู ป แบบของเอกสารชั้ น ความลั บ ของบริ ษั ท มี ร ะบบควบคุ ม ที่ ไ ม่ ส ามารถแก้ ไ ขโดยไม่ ผ่ า นที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสะดวกในการสืบค้นและอ้างอิง
5.9 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มอบหมายให้ ค ณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่ า ตอบแทน เป็ น ผู้ มี ห น้ า ที่ ก ำหนด ค่าตอบแทนกรรมการในระดับที่เหมาะสม ให้สอดคล้องกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ด้วยความชัดเจน เป็นธรรม และเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน กำหนดโครงสร้างและองค์ประกอบของค่าตอบแทน พิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ของบริษัทฯ ชั้นนำในตลาดหลักทรัพย์ฯ และในกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน หน้าที่และขอบเขตความรับผิดชอบ รวมถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากกรรมการ หลักการและนโยบายที่ได้รับจากผู้ถือหุ้น สถานการณ์และแนวโน้ม ทางเศรษฐกิจ ตลอดจนผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งปี กำหนดเป็นนโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน กรรมการบริษัท นำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเพื่อเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น สำหรับค่าตอบแทน คณะกรรมการเฉพาะเรื่องจะพิจารณาตามหน้าที่และความรับผิดชอบในการเป็นกรรมการเฉพาะเรื่อง โดยจะได้รับ ค่าตอบแทนเพิ่มจากการปฏิบัติหน้าที่นั้นอย่างเหมาะสม บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้าง/องค์ประกอบของค่าตอบแทน และจำนวนเงินค่าตอบแทน ทีก่ รรมการแต่ละท่านได้รบั รวมทัง้ ค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบั จากการเป็นกรรมการในบริษทั ย่อย ตามตำแหน่งหรือภาระหน้าที่ ไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”
188
5.10 ค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายในการพิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยจัดให้มีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหารประจำปี พิจารณาจากผลการดำเนินงานของบริษัทฯ กำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator) ตามกลยุทธ์และเป้าหมาย การบริหารจัดการ การบริหารศักยภาพขององค์กรและธุรกิจตลอดทั้งปี โดยคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เป็ น ผู้ ก ำหนดหลั ก เกณฑ์ ห รื อ วิ ธี ก ารกำหนดค่ า ตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรมและสมเหตุ ส มผล เพื่ อ นำเสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาต่อไป 5.11 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ได้นำเสนอแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีของคณะกรรมการ โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 3 ประเภท คือ การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะ การประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล และการประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการ แบบไขว้ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบแนวทางการประเมินผลดังกล่าว และให้กำหนดไว้เป็นแนวทาง ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี
อนึ่ง ในปี 2554 ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทฯ เริ่มในเดือนตุลาคม 2554 หลังจากการ ควบบริษัท ดังนั้น เพื่อให้คณะกรรมการมีระยะเวลาที่เหมาะสมและเพียงพอกับการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งของตนเองและกรรมการท่านอื่น จึงจะเริ่มการประเมินในปี 2555 ซึ่งในระหว่างปีจะเป็นการออกแบบ ประเมิน ข้อคำถาม และเกณฑ์ประเมินผลให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ ในการยกระดับการพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการในอนาคต
5.12 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษทั ฯ ให้ความสำคัญในเรือ่ งการพัฒนากรรมการอย่างต่อเนือ่ ง ถึงแม้กรรมการส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ จะผ่านการ อบรมแล้ว โดยบริษัทฯ ได้มีนโยบายในการส่งเสริมให้กรรมการบริษัทเข้ารับการอบรมหรือเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ทั้งในฐานะกรรมการ และกรรมการเฉพาะเรื่องชุดต่างๆ ทั้งที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยในปี 2555 บริษัทฯ ได้มีการแจ้งหลักสูตรการอบรมต่างๆ ให้กรรมการทราบล่วงหน้าเป็นรายไตรมาสเพื่อกรรมการจัดสรรเวลา เข้าอบรมได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งยังได้เผยแพร่เอกสารและคู่มือการปฏิบัติงานที่จำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ กรรมการ ได้แก่ ข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั หลักการกำกับดูแลกิจการ จรรยาบรรณธุรกิจกฎระเบียบแนวปฏิบตั ติ า่ งๆ ที่ได้รับจาก ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้กรรมการและผู้บริหารรับทราบอย่างสม่ำเสมอ
189
ในกรณี ที่ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการรายใหม่ บริ ษั ท ฯ ได้ ก ำหนดแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเตรี ย มความพร้ อ มในการ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการบริษัท เพื่อให้กรรมการที่เข้ารับตำแหน่ง สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเร็ว และสะดวกที่สุด โดยเลขานุการบริษัท เป็นผู้ประสานงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. รวบรวม และจัดส่งข้อกำหนด หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับกรรมการบริษัท ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวกับ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ก รรมการมี ข้ อ มู ล ที่ ศึ ก ษาได้ ใ นเบื้ อ งต้ น และเพื่ อ ประโยชน์ ใ นการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการบริษัท 2. จัดให้มีกิจกรรมการปฐมนิเทศกรรมการ (Board Orientation) เพื่อให้กรรมการได้รับทราบข้อมูลโครงสร้าง และลักษณะการดำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ รวมถึงพบปะกับทีมผู้บริหาร ตลอดจนจัดให้มี Plant Visit เพื่อเยี่ยมชมสถานที่ปฏิบัติงานแต่ละแห่งของกลุ่มบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการเข้าใหม่ ก่อนเริ่มการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งแรก เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ซึ่งเป็นวันแรกของการจัดตั้งบริษัทฯ 5.13 แผนการสืบทอดงาน บริ ษั ท ฯ มี แ ผนการเตรี ย มการสื บ ทอดตำแหน่ ง งานที่ ส ำคั ญ อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ ทดแทนผู้ เ กษี ย ณอายุ หรื อ บรรจุ ล งในตำแหน่ ง งานใหม่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการขยายกิ จ การหรื อ การเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งของบริ ษั ท ฯ หรือการสืบทอดตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงสุด เพื่อความต่อเนื่องในการบริหาร และเพื่อให้สามารถคัดเลือก บุคลากรที่มีศักยภาพ และพร้อมที่จะดำรงตำแหน่งงานสำคัญดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ปรับปรุงข้อกำหนด เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ และหลั ก เกณฑ์ ก ารวางตั ว ผู้ สื บ ทอดตำแหน่ ง งาน โดยใช้ หลั ก การพั ฒ นาทางสายอาชี พ (Career Management) และแผนการวางตั ว ผู้ สื บ ทอดตำแหน่ ง งาน (Talent Management & Succession Planning) ด้วยวิธีการคัดเลือกผู้ที่มีศักยภาพสูง โดยใช้แนวทาง ที่เหมาะสมกับบริษัทฯ และมีการสื่อสาร เพื่อให้ได้รับทราบและเข้าใจขอบเขตของการพัฒนา และสิ่งที่ควรปฏิบัติ ตลอดจนพัฒนาผู้บริหารให้มีความพร้อมในการสืบทอดตำแหน่งงานแทน เพื่อให้คณะกรรมการสรรหาและกำหนด ค่าตอบแทนได้พิจารณา คัดเลือกตามกระบวนการสรรหา ซึ่งจะพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการนำพาบริ ษั ท ฯ ให้ เ จริ ญ เติ บ โตตามแผนกลยุ ท ธ์ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ ก ำหนดไว้ และสามารถสร้างความเติบโตไปพร้อมกับองค์กร อันจะส่งผลให้บริษัทฯ และกลุ่มบริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมาย เชิงกลยุทธ์ในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
190
รายงานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น นับตั้งแต่การจัดตั้งบริษัทฯ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 เป็นต้นมา คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ อันประกอบด้วย พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส ประธานกรรมการ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล และนายบวร วงศ์สินอุดม กรรมการ ได้ปฏิบัติงานตามขอบเขต อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการขึน้ เพือ่ พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์ และแนวทาง รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน โดยยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และขอสรุปผล การปฏิบัติงานเสนอต่อท่านผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. จัดให้มีกฎบัตรของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วย องค์ประกอบ คุณสมบัติ ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้สอดคล้องกับข้อบังคับของบริษัทฯ และหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี และให้เปิดเผยไว้ในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ 2. พิจารณานโยบาย และคูม่ อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ ตลอดจนแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ตี า่ งๆ ที่สอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการของตลาดหลักทรัพย์ฯ และหลักการอันเป็นสากล เพื่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ประกาศใช้ทั่วทั้งองค์กร 3. พิจารณาแนวปฏิบตั ทิ ดี่ เี กีย่ วกับการส่งเสริมสิทธิและความเท่าเทียมของผูถ้ อื หุน้ ตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษัทจดทะเบียน โดยพิจารณาหลักเกณฑ์การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมและ เสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสมเพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ฯ เป็นการล่วงหน้าก่อนการประชุม ผู้ถือหุ้นประจำปี 2555 รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ส่งคำถามที่เกี่ยวข้องกับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นได้อีกด้วย 4. พิจารณากำหนดแนวทางการรายงานการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยให้มกี ารรายงานต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ในทุกครั้งการประชุม 5. พิจารณาแผนการดำเนินงานด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีปี 2555 ของบริษัทฯ เพื่อให้การดำเนินธุรกิจ เป็นไปโดยสอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเพื่อพัฒนาระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีให้ทัดเทียม กับมาตรฐานสากล สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการดูแลรับผิดชอบ ผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงการสร้างจิตสำนึกและส่งเสริมวัฒนธรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดีให้แก่พนักงานทุกระดับ 6. กำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการทุกไตรมาส และให้จัดทำแผนการประชุมล่วงหน้า ตลอดทั้งปี เพื่อให้กรรมการทุกท่านได้เข้าร่วมประชุมเพื่อรับทราบและพิจารณาระเบียบวาระการประชุมต่างๆ
191
โดยที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความสำคัญในเรื่องการกำกับดูแลกิจการและเห็นพ้องร่วมกันว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดี เป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น และเป็ น พื้ น ฐานที่ จ ะส่ ง เสริ ม การดำเนิ น งานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ต่อไป อีกทั้งได้ให้การสนับสนุนเพื่อให้การกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ได้มีการปฏิบัติจนเป็นที่ยอมรับและได้รับความเชื่อมั่น จากผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนหน่วยงานกำกับดูแลต่างๆ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ จะมุ่งมั่นทุ่มเท เพื่อยกระดับ และพัฒนาการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สู่มาตรฐานสากลต่อไป
ในนามคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ
(พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส) ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ
192
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ได้ให้ความสำคัญกับการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ซึ่งมีองค์ประกอบเป็นไปตามข้อบังคับบริษัทฯ ประกอบด้วย นายวศิน ธีรเวชญาณ ทำหน้าทีป่ ระธาน พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท์ และนายณัฐชาติ จารุจนิ ดา เป็นกรรมการ เพือ่ ทำหน้าทีต่ ามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ในการกำหนดวิธกี าร หลักเกณฑ์การสรรหาและพิจารณา คัดเลือกบุคคลทีส่ มควรได้รบั การเสนอรายชือ่ เป็นกรรมการบริษทั ฯ และสรรหาประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส รวมทัง้ พิจารณาแนวทางกำหนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร อย่างเป็นธรรมและสมเหตุผล โดยนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ่ ไป ในระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ได้มกี ารประชุม ร่วมกัน 1 ครัง้ โดยกรรมการทุกท่านได้เข้าร่วมประชุม เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างรอบคอบ ระมัดระวังและสมเหตุสมผล สรุปได้ดังนี้ • พิจารณากฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน ได้พิจารณาความเหมาะสมและความครบถ้วนของกฎบัตร คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เพื่อให้สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ ก่อนเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ และเสนอประธานกรรมการลงนาม ตลอดจนเผยแพร่ไว้ในคูม่ อื การกำกับดูแล กิจการทีด่ แี ละเว็บไซต์ของบริษทั ฯ • พิจารณาเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ แต่งตัง้ เป็นกรรมการแทนตำแหน่งทีว่ า่ งลง เนือ่ งจาก นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ ได้ลาออกจากตำแหน่งกรรมการก่อนครบวาระ คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน จึงได้พิจารณาผู้ท่มี ีคุณสมบัติ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตลอดจนประสบการณ์ และความเหมาะสม ทีจ่ ะเป็นประโยชน์สงู สุดแก่การดำเนินกิจการของบริษทั ฯ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตั้งเป็นกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง โดยได้พิจารณาเสนอให้แต่งตั้งนายปรัชญา ภิญญาวัธน์ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์เชี่ยวชาญในด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมีและการกลั่น รวมทั้งมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามกฎหมายและข้อกำหนดของบริษทั ฯ เพือ่ ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษทั ฯ แทนกรรมการทีไ่ ด้ลาออก
193
คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน จะมุง่ มัน่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ตลอดจนผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายเกิดความมัน่ ใจ ทัง้ ต่อกระบวนการสรรหา ทีค่ ำนึงถึงความเหมาะสมและมีการกลัน่ กรองคุณสมบัตริ ายบุคคลอย่างครบถ้วน ตลอดจนพิจารณา ความหลากหลายของกรรมการทัง้ คณะ และกระบวนการกำหนดค่าตอบแทนทีค่ ำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงาน ของบริษทั ฯ และภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความ โปร่งใส ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทก่ี ำหนด และเป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ประโยชน์สงู สุด อันจะส่งผลถึงการ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั บริษทั ฯ ในระยะยาวต่อไป
ในนามคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน
(นายวศิน ธีรเวชญาณ) ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน
194
รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัทฯ จำนวน 3 ท่าน เป็นกรรมการอิสระ 1 ท่าน ซึ่งทุกท่านเป็นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถด้านการบริหารความเสีย่ ง โดยมีนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ เป็นประธานกรรมการ บริหารความเสีย่ ง นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ และนายบวร วงศ์สินอุดม เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ กำหนดไว้ในกฎบัตร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยในปี 2554 ได้มีการประชุม 1 ครั้ง กรรมการบริหารความเสี่ยงทุกท่านได้เข้าร่วม ประชุม รวมทั้งได้เชิญผู้บริหารเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ สามารถสรุปสาระสำคัญของการปฏิบัติงาน ในปี 2554 ได้ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาอนุมตั ิ นโยบาย วัตถุประสงค์และกรอบการดำเนินงานบริหารความเสีย่ ง อันรวมถึงขอบข่ายการดำเนินการ โครงสร้างการบริหารความเสีย่ ง และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ซึง่ ครอบคลุมการดำเนินการบริหาร ความเสี่ยง ทั้งในด้านการบรรลุวัตถุประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว การลงทุน ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ และความเสี่ยงทางการเงิน 2. สอบทานการประเมินความเสี่ยง และแผนบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการลงทุนที่สำคัญของบริษัทฯ ก่อนที่บริษัทฯ จะนำเสนอขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 3. พิจารณาแต่งตั้งผู้จัดการฝ่าย หน่วยงานบริหารความเสี่ยงองค์กรและระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อสนับสนุนให้การปฏิบัติงานบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งรอบคอบ เต็ ม กำลั ง สติ ปั ญ ญา ความรู้ความสามารถ และให้ความเห็นต่างๆ อย่างเป็นอิสระ เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอื่น อย่างเหมาะสม
ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
(นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
Finance
Prosperity
Global
Financial Report รายงานทางการเงิน
196
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงินของบริษัท งบการเงินของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่ได้นำมาจัดทำงบการเงินรวม ได้จัดทำ ขึ้นตามข้อกำหนดในประกาศกรมทะเบียนการค้า ซึ่งออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะทางการเงิน รายได้และค่าใช้จ่าย และกระแสเงินสดรวมที่เป็นจริง และสมเหตุสมผล โดยได้จัดให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งการ ป้องกันทุจริตและการดำเนินการที่ผิดปกติ และในการจัดทำรายงานทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งได้มีการเปิดเผย ข้ อ มู ล สำคั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ซึ่ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ไ ด้ แ สดงความเห็ น ต่ อ งบการเงิ น ของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในรายงานของผู้สอบบัญชี
(นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์) ประธานกรรมการ
(นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
197
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ในการประชุมครั้งที่ 1/2554 วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ เช่น การบริหาร การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ และกฎหมาย เป็นต้น ประกอบด้วย นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายอำนวย ปรีมนวงศ์ และนางรวีพร คูหิรัญ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยมีองค์ประกอบ คุณสมบัติ ตามประกาศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดทำกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งลงนามอนุมัติจากประธานกรรมการบริษัทฯ โดยมี ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ จัดให้มีการประชุมจำนวนรวม 2 ครั้ง มีกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมครบจำนวน 1 ครั้ง และมีจำนวน 1 ครั้ง ที่กรรมการตรวจสอบ 1 ท่าน ขอลาประชุม เนื่องจากติดภารกิจจำเป็น และได้เชิญฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมตามวาระ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ และได้รับความร่วมมืออย่างดีจากฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานสรุปผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบสำหรั บ ปี 2554 ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ รั บ ทราบเมื่ อ วั น ที่ 17 กุ ม ภาพั น ธ์ 2555 ผลการปฏิ บั ติ ง าน และการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินประจำปี 2554 โดยมีฝ่ายจัดการที่เกี่ยวข้องและผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุม เพื่อตอบข้อซักถาม ของคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้สอบบัญชีได้รายงานผลการตรวจสอบงบการเงินประจำปี 2554 มีความเห็นว่า งบการเงินแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเช่นเดียวกับผู้สอบบัญชี รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูลที่ครบถ้วน พอเพียงและทันเวลา นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดประชุมร่วมกับสอบบัญชีโดยไม่มฝี ่ายจัดการร่วมด้วย เพือ่ สอบทานความเป็นอิสระและหารือเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงินประจำปี 2554 2. คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการได้ให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต และจัดทำแผนการจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันหรือลดผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นต่อการดำเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และมีการติดตามความก้าวหน้าของการจัดการความเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีรายงานการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบเป็นประจำ คณะกรรมการตรวจสอบมีความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ สามารถควบคุมและลดผลกระทบทีอ่ าจมีผลต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ของการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ
198
3. คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ตามรายงานของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน ในการตรวจสอบการควบคุมภายในของกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานสำคัญ ไม่พบประเด็น ที่เป็นสาระสำคัญ บริษัทฯ มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาประเมิน การควบคุมภายในของบริษัทฯ และมีความเห็นว่าบริษัทฯ เห็นความสำคัญของการควบคุมภายใน โดยภาพรวม ของระบบสามารถสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลได้ว่า มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล 4. คณะกรรมการตรวจสอบกำกับดูแลให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระโดยให้รายงานตรงต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ กำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นมาตรฐานสากล และมีระบบการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล โดยได้อนุมัติกฎบัตรหน่วยงานตรวจสอบภายใน อนุมัติ แผนการตรวจสอบประจำปี 2554 และปี 2555 ทั้งนี้ ขอบข่ายของงานตรวจสอบได้ครอบคลุมไปถึงหน่วยงาน ที่เป็นบริษัทย่อยด้วย และติดตามดำเนินการตามแผนการตรวจสอบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบภายใน 5. สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และ/หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ติดตาม การรายงานผลการตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งผลการตรวจสอบไม่มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับการรายงานการปฏิบัติงานที่เข้าข่ายหลีกเลี่ยง หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย 6. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ กำหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ดำเนินการตามนโยบายและเงื่อนไขของสัญญา และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนและเพียงพอ 7. ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบทั้งคณะและรายบุคคล ประจำปี 2554 เพื่อพิจารณา ทบทวนการปฏิบัติงานตามขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย และรายงานผลการประเมินฯ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับทราบ 8. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เพื่อให้ได้ผู้สอบบัญชีท่ีมี ความเป็นอิสระ โดยพิจารณาเสนอแต่งตั้งนายนิรันดร์ ลีลาเมธวัฒน์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2316 หรื อ นายวิ นิ จ ศิ ล ามงคล ผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตเลขที่ 3378 หรื อ นายไวโรจน์ จิ น ดามณี พิ ทั ก ษ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3565 นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำปี 2555 ซึ่งมีคุณสมบัติและค่าตอบแทน ที่เหมาะสมให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบนำเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ
199
โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบให้ความสำคัญกับการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้บริษัทฯ มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ มีการบริหารความเสี่ยง ทีม่ ปี ระสิทธิผล ระบบบัญชีและรายงานทางการเงินมีความถูกต้องเชือ่ ถือได้ รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ) ประธานกรรมการตรวจสอบ
200
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เฉพาะกิจการและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบ ต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ งบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงิน ที่เป็นสาระสำคัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอ ในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวม และกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
(ไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3565 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 17 กุมภาพันธ์ 2555
201
งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ลูกหนี้กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน ตราสารอนุพันธ์ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สิทธิการเช่าที่ดิน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ตราสารอนุพันธ์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
6 11 5, 7 5 8 5
18,973,235,320 3,632,406,455 41,482,265,978 544,243,646 36,145,301,273 -
9,155,276,500 2,000,000,000 33,462,976,680 445,737,901 24,729,966,486 3,944,680,433
5
442,270,386 2,249,869,493 54,052,594 1,713,017,071 105,236,662,216
6,545,000,000 442,270,386 1,627,014,496 11,837,570 953,355,567 83,318,116,019
9 9 10 11 5 12 14 13 15
6,177,580,837 327,022,741 235,343,015,627 10,741,678,397 1,167,902,994 8,505,126,747 346,719,945 364,107,061 4,756,840,715 267,729,995,064 372,966,657,280
59,111,587,259 210,000,000 3,398,891,913 290,738,392 16,886,000,000 135,255,213,114 7,009,726,812 1,064,602,733 4,246,373,891 346,719,945 3,424,188,265 231,244,042,324 314,562,158,343
16
(บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
202
งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน เจ้าหนี้ผู้รับเหมาก่อสร้าง เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ด้อยสิทธิที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ตราสารอนุพันธ์ หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ตราสารอนุพันธ์ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม (บาท)
17 5, 18 5, 19 5 5, 17 17 17 5, 17 17,20
17 17 16 21
2,102,809,184 27,268,919,047 3,061,644,530 247,529,230 2,046,845,613 -
22,932,326,825 2,503,627,789 8,636,176 1,394,822,644 1,200,769,349
5,273,873,805 9,698,832,960 4,988,172,818 833,825,099 77,024,696 4,467,980,932 60,067,457,914
3,441,745,905 9,698,832,960 4,988,172,818 667,143,891 8,613,711 2,178,466,576 49,023,158,644
54,824,188,156 43,277,518,114 3,420,013,592 2,101,758,491 229,275,362 592,273,898 104,445,027,613 164,512,485,527
31,658,061,703 43,277,518,114 2,972,681,338 1,057,100,210 144,375,727 309,985,852 79,419,722,944 128,442,881,588
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
203
งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแล้ว ทุนสำหรับการใช้สิทธิภายใต้โครงการ ออกหลักทรัพย์ให้แก่พนักงาน ที่อยู่ระหว่างการใช้สิทธิ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจ กำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำรองตามกฎหมาย สำรองสำหรับการชำระคืนเงินกู้ยืม สำรองสำหรับการขยายงาน ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัท ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม (บาท)
22 45,129,302,690 45,061,129,360
45,129,302,690 45,061,129,360
23 24 4
46,730,261 36,839,313,917 12,086,007,975
46,730,261 36,839,313,917 13,505,861,611
24
4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 86,290,201,235 413,146,889 198,504,256,596 9,949,915,157 208,454,171,753 372,966,657,280
4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 72,898,514,647 186,119,276,755 186,119,276,755 314,562,158,343
24
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
204
งบกำไรขาดทุน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการลงทุน กำไรจากตราสารอนุพันธ์ กำไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็นขั้น รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนจากตราสารอนุพันธ์ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รวมค่าใช้จ่าย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม กำไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไรสำหรับงวด ส่วนของกำไรที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม กำไรสำหรับงวด กำไรต่อหุ้น กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) กำไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม (บาท)
5, 33 5, 33 5, 26 4 5
5 5 27 28 31
10 32
104,433,308,577 396,713,403 170,812,043 710,485,495 857,395,956 206,758,933 106,775,474,407
88,751,326,380 73,111,263 1,484,235,144 560,268,924 230,247,781 91,099,189,492
98,584,450,781 145,049,343 383,862,956 2,395,738,102 1,213,191,204 1,060,696,632 745,919,736 104,528,908,754 (122,539,637) 2,124,026,016 240,777,523 1,883,248,493
86,147,665,337 42,668,539 90,720,188 1,666,853,091 944,648,633 897,824,462 641,138,406 90,431,518,656 667,670,836 61,006,780 606,664,056
2,113,439,517 (230,191,024) 1,883,248,493
606,664,056 606,664,056
0.47 0.47
0.13 0.13
34
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
205
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม (บาท) กำไรสำหรับงวด กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลง ค่าหน่วยงานต่างประเทศ กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับงวด - สุทธิจากภาษี กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวด ส่วนของกำไรเบ็ดเสร็จรวมที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวด
1,883,248,493
606,664,056
(8,501,276) (8,501,276) 1,874,747,217
606,664,056
2,114,013,530 (239,266,313) 1,874,747,217
606,664,056 606,664,056
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
24
45,061,129,360
-
-
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด กำไร กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด
โอนไปสำรองตามกฎหมาย
(1,862,328)
1,282,980
46,730,261
-
-
(1,862,328)
48,592,589
1,282,980
45,059,846,380
รายการกับผู้เป็นเจ้าของที่บันทึกโดยตรง เข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เพิ่มหุ้นสามัญ 22 รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554
กำไรสะสม
(บาท)
ยังไม่ได้ จัดสรร
ส่วนเกินทุน รวม ผลต่าง จากการลด องค์ประกอบอื่น รวมส่วนของ จากการแปลงค่า สัดส่วน ของ ผู้ถือหุ้น งบการเงิน การลงทุน ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น
งบการเงินรวม ส่วนของ ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำนาจ ควบคุม
รวมส่วน ของ ผู้ถือหุ้น
-
-
-
-
6,901,431
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
(6,901,431)
2,113,439,517 2,113,439,517
-
-
-
574,013 574,013
-
-
-
-
-
-
-
574,013 574,013
-
-
-
-
-
-
2,113,439,517 (230,191,024) 574,013 (9,075,289) 2,114,013,530 (239,266,313)
5,942,763
5,942,763
-
1,883,248,493 (8,501,276) 1,874,747,217
5,942,763
5,942,763
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
36,839,313,917 12,086,007,975 4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 86,290,201,235 402,148,251 10,998,638 413,146,889 198,504,256,596 9,949,915,157 208,454,171,753
-
-
6,522,111
6,522,111
36,832,791,806 12,086,007,975 4,506,028,838 807,802,564 12,446,994,126 84,183,663,149 401,574,238 10,998,638 412,572,876 196,384,300,303 10,189,181,470 206,573,481,773
ทุนสำหรับการใช้ สิทธิภายใต้โครงการ สำรองสำหรับ หมายเหตุ ทุนเรือนหุ้น ออกหลักทรัพย์ให้แก่ ส่ ว นเกิ น ทุ น ทุ น สำรอง การชำระคืน สำรอง ที่ออกและ พนักงานที่อยู่ระหว่าง ส่ ว นเกิ น มู ล ค่ า หุ น ้ จากการรวมธุ ร กิ จ ตามกฎหมาย เงิ น กู ย ้ ม ื การขยายงาน ชำระแล้ว การใช้สิทธิ
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
206
46,730,261
36,839,313,917
-
-
-
โอนไปสำรองตามกฎหมาย
45,061,129,360
-
-
-
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด กำไร กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำหรับงวด
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
6,522,111
(1,862,328)
1,282,980
24
6,522,111
36,832,791,806
(1,862,328)
45,059,846,380
13,505,861,611
-
-
-
-
13,505,861,611
-
6,901,431
807,802,564
-
-
-
-
807,802,564
-
4,512,930,269
12,446,994,126
-
-
-
72,898,514,647
(6,901,431)
606,664,056 606,664,056
-
-
72,298,752,022
12,446,994,126
-
ยังไม่ได้ จัดสรร
สำรอง การขยายงาน
186,119,276,755
-
606,664,056 606,664,056
5,942,763
5,942,763
185,506,669,936
รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กำไรสะสม สำรองสำหรับ การชำระคืน เงินกู้ยืม
-
ทุนสำรอง ตามกฎหมาย (บาท) 4,506,028,838
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้น จากการรวมธุรกิจ
1,282,980
22
48,592,589
ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชำระแล้ว
รายการกับผู้เป็นเจ้าของที่บันทึกโดยตรง เข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เพิ่มหุ้นสามัญ รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554
หมายเหตุ
ทุนสำหรับการใช้ สิทธิภายใต้โครงการ ออกหลักทรัพย์ให้แก่ พนักงานที่อยู่ระหว่าง การใช้สิทธิ
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
207
208
งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสำหรับงวด รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย รายได้จากการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน กำไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็นขั้น กำไรจากตราสารอนุพันธ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (กลับรายการ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายพัสดุคงเหลือ (กลับรายการ) ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ และสินค้าเสื่อมสภาพ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัย (กำไร) ขาดทุนจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รายได้ทร่ี บั รูค้ า่ ธรรมเนียมการใช้ฐานวางระบบท่อ และอุปกรณ์และรายได้อื่น ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (สุทธิจากภาษีเงินได้) กำไรจากการแปลงสภาพใบสำคัญแสดงสิทธิ เงินลงทุนในบริษัทร่วม ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้ภาษีมูลค่าเพิ่ม สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)
1,883,248,493
606,664,056
3,193,965,717 (170,812,043) 1,213,191,204 (857,395,956) (360,880,823) 663,585,850 (1,341,625) 358,708
1,838,915,497 (1,484,235,144) 944,648,633 (412,752,877) 596,408,091 2,002,200 358,708
45,702,785 39,725,504
(14,337,731) 29,900,169
331,107,415
159,985,861
1,848,435
(5,788,142)
(3,475,864)
(2,925,870)
122,539,637
-
(182,922) 240,777,523 6,341,962,038
61,006,780 2,319,850,231
6,143,978,456 (148,015,403) 5,326,220,768 (1,115,508,773) (14,634,442) (555,733,271) (6,609,106,412)
7,092,745,339 (264,871,950) 5,571,160,692 (1,159,151,821) 4,118,242 (433,426,029) (7,681,217,889)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
209
งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (ต่อ) เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผล ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุนระยะสั้นลดลง เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รับชำระคืนเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อการลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผล จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม
(บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
477,123,202 21,507,187 18,361,501 189,481,946 (143,667,932) 9,931,968,865 (38,999,073) 9,892,969,792
678,582,805 397,250 9,330,822 369,186,745 (156,659,961) 6,350,044,476 (6,594,468) 6,343,450,008
186,699,747 (837,244,653) 22,706,580 1,611,665,037 -
497,878,681 1,445,426,000 (169,111,379) 17,308,150 1,940,000,000 (1,502,822,545)
(287,523,192) (7,500,000) 688,803,519
1,673,000,000 (201,652,528) (7,500,000) 3,692,526,379
(1,420,310,966) (166,848,174) (38,193,676) 5,192,239,392
(1,105,993,572) (25,806,485) 4,850,000,000
-
1,100,742,361
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
210
งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) สำหรับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (ต่อ) เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นงวด
งบการเงินรวม
6
2,389,967,981 (11,276,933,354) (12,091,362,867) 5,942,763 (17,405,498,901)
2,000,000,000 (10,887,000,000) (11,604,453,789) 5,942,763 (15,666,568,722)
(6,823,725,590) 25,865,424,056
(5,630,592,335) 14,763,858,505
(68,463,146) 18,973,235,320
22,010,330 9,155,276,500
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
211
หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท พีทบริ ีที โกลบอล ษัท พีทีทเคมิ ี โกลบอล คอล จํเคมิ ากัดค(มหาชน) อล จํากัด และบริ (มหาชน) ษัทและบริ ยอย ษัทยอย หมายเหตุปหมายเหตุ ระกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรับระยะเวลาตั สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันที่ 19 ้งแตตุลวันาคม ที่ 192554 ตุลาคม (วันควบบริ 2554 (วัษนัทควบบริ ) ถึง 31ษธััทน) วาคม ถึง 312554 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ หมายเหตุ สารบัญ สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
ขอมูลทั่วไปขอมูลทั่วไป ดทํางบการเงิ การจัดทํนางบการเงิน 2 เกณฑการจัเกณฑ 3 นโยบายการบั นโยบายการบั ญชีที่สําคัญญชีที่สําคัญ 4 การรวมธุรการรวมธุ กิจ รกิจ 5 บุคคลหรือกิ บุจคการที คลหรื่เกีอ่ยกิวข จการที องกัน่เกี่ยวของกัน 6 เงินสดและรายการเที เงินสดและรายการเที ยบเทาเงินสด ยบเทาเงินสด 7 ลูกหนี้การคลูากและตั หนี้ก๋วารค เงินารัและตั บ ๋วเงินรับ สินอ คาคงเหลือ 8 สินคาคงเหลื 9 เงินลงทุนในบริ เงินลงทุ ษัทนยอในบริ ย และกิ ษัทจยการที อย และกิ ่ควบคุ จการที มรวมกั ่ควบคุ น มรวมกัน 10เงินลงทุนในบริ เงินลงทุ ษัทนรวในบริ ม ษัทรวม 11เงินลงทุนอืเงิ ่นนลงทุนอื่น 12ที่ดิน อาคารและอุ ที่ดิน อาคารและอุ ปกรณ ปกรณ 13สิทธิการเชสิ าทีท่ดธิินการเชาที่ดิน 14คาความนิยคมาความนิยม 15สินทรัพยไม สิมนีตทรััวตน พยไมมีตัวตน 16ภาษีเงินไดรภาษี อการตั เงินได ดบัรญอการตั ชี ดบัญชี 17หนี้สินที่มีภหนี าระดอกเบี ้สินที่มีภ้ยาระดอกเบี้ย 18เจาหนี้การคเจาาหนี้การคา 19เจาหนี้อื่น เจาหนี้อื่น 20หนี้สินหมุนหนี เวีย้สนอื ินหมุ ่น นเวียนอื่น 21ภาระผูกพันภาระผู ผลประโยชน กพันผลประโยชน พนักงาน พนักงาน 22ทุนเรือนหุนทุนเรือนหุน 23ใบสําคัญแสดงสิ ใบสําคัทญธิ แสดงสิทธิ 24สวนเกินทุนสและสํ วนเกินารอง ทุนและสํารอง 25รายงานทางการเงิ รายงานทางการเงิ นจําแนกตามส นจําวแนกตามส นงาน วนงาน 26รายไดจากการลงทุ รายไดจากการลงทุ น น 27คาใชจายในการขาย คาใชจายในการขาย 28คาใชจายในการบริ คาใชจายในการบริ หาร หาร 1
13
13
212
บริษัท พีทีทบริี โกลบอล ษัท พีทีทเคมิ ี โกลบอล คอล จําเคมิ กัดค(มหาชน) อล จํากัดและบริ (มหาชน) ษัทยและบริ อย ษัทยอย หมายเหตุปหมายเหตุ ระกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรับระยะเวลาตั สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันที่ 19้งแต ตุลวาคม ันที่ 19 2554 ตุล(วั าคม นควบบริ 2554 (วัษนัทควบบริ ) ถึง 31ษธััทน)วาคม ถึง 312554 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ หมายเหตุ สารบัญ สารบัญ 29
29คาใชจายผลประโยชน คาใชจายผลประโยชน ของพนักงานของพนักงาน
30
30คาใชจายตามลั คาใช กษณะ จายตามลักษณะ
31
31ตนทุนทางการเงิ ตนทุนทางการเงิน
32
32ภาษีเงินได ภาษีเงินได
33
33สิทธิประโยชน สิทธิจปากการส ระโยชน งเสริ จากการส มการลงทุ งเสรินมการลงทุน
34
34กําไรตอหุนกําไรตอหุน
35
35เครื่องมือทางการเงิ เครื่องมืนอทางการเงิน
36
36ภาระผูกพันภาระผู กับบุคคลหรื กพันกัอบกิบุจคการที คลหรื่ไมอเกิกีจ่ยการที วของกั ่ไมนเกี่ยวของกัน
37
37คดีฟองรองคดีฟองรอง
38
38เหตุการณภายหลั เหตุการณ งรอบระยะเวลารายงาน ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
39
39มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ยังไมไดนใชที่ยังไมไดใช
40
40อื่นๆ
อื่นๆ
14
14
213
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2555 1
ขอมูลทั่วไป บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “PTTGC” เกิดขึ้นจากการควบบริษัท (Amalgamation) ระหวาง บริ ษั ท ปตท.เคมิ คอล จํ ากั ด (มหาชน) “PTTCH” และบริษั ท ปตท.อะโรเมติก ส แ ละการกลั่น จํา กั ด (มหาชน) “PTTAR” โดยไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทขึ้นเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ภายใตพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ที่บริษัทไดกําหนดใหมีอัตราการแลกหุนของการควบบริษัทใหแกผูถือหุนของ PTTCH และ PTTAR ที่มี ชื่อปรากฏในสมุดทะเบียนผูถือหุนของแตละบริษัท โดยบริษัทไดมาซึ่งทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ หนาที่ และภาระ ผูกพันทั้งหมดของทั้งสองบริษัท ตลอดรวมสัญญาตาง ๆ ที่ PTTCH และ PTTAR ไดทําไวกอนหนาการควบรวม บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยูจด ทะเบียนดังนี้ สํานักงานใหญ
: เลขที่ 555/1 ศูนยเอนเนอรยี่คอมเพล็กซ อาคารเอ ชั้น 14-18 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
สาขาที่ 1 (สาขาสํานักงานระยอง)
: เลขที่ 59 ถนนราษฎนิยม ตําบลเนินพระ อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย
สาขาที่ 2 (สาขาโรงโอเลฟนส ไอ-หนึ่ง)
: เลขที่ 14 ถนนไอ-หนึ่ ง ตํ า บลมาบตาพุ ด อํ า เภอเมื อ งระยอง จั ง หวั ด ระยอง ประเทศไทย
สาขาที่ 3 (สาขาโรงโอเลฟนส ไอ-สี่)
: เลขที่ 9 ถนนไอ-สี่ ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศ ไทย
สาขาที่ 4 (สาขาโรงอะโรเมติกส 1)
: เลขที่ 4 ถนนไอ-สอง ตํ า บลมาบตาพุ ด อํ า เภอเมื อ งระยอง จั ง หวั ด ระยอง ประเทศไทย
15
214
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สาขาที่ 5 (สาขาโรงอะโรเมติกส 2)
: เลขที่ 98/9 ถนนทางหลวงระยอง-สาย 3191 ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย
สาขาที่ 6 (สาขาโรงกลั่นน้ํามัน)
: เลขที่ 8 ถนนไอ-แปด ตํ า บลมาบตาพุ ด อํ า เภอเมื อ งระยอง จั ง หวั ด ระยอง ประเทศไทย
สาขาที่ 7 (สาขาทาเทียบเรือและ คลังผลิตภัณฑ)
: เลขที่ 19 ถนนโรงปุย ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย
สาขาที่ 8 : เลขที่ 11 ถนนไอ-สี่ ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศ (สาขาคลังสํารองอะโรเมติกส) ไทย สาขาที่ 9 (สาขาแล็บเซอรวิสเซ็นเตอร)
: เลขที่ 24/9 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย
คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรับหลักทรัพยของบริษัท เปนหลักทรัพยจดทะเบียนตั้งแตวันที่นาย ทะเบียนรับจดทะเบียนการควบบริษัทเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 บริษัทเปนบริษัทในกลุมของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ่งเปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและ เปนผูถือหุนรายใหญของบริษัทซึ่งถือหุนรอยละ 48.92 ของทุนที่ออกและชําระแลว บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและจําหนายผลิตภัณฑเอทิลีน โพรพิลีน เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีน และ เคมีภัณฑชีวภาพ ผลิตภัณฑพลอยได ไดแก มิกซซีโฟว ไพโรไลซีสกาซโซลีน แครกเกอรบอททอม และเทลกาซ และการกลั่นน้ํามันและจัดหาผลิตภัณฑปโตรเลียมสําเร็จรูป การผลิตและจําหนายผลิตภัณฑอะโรเมติกส รวมถึง ผลิตภัณฑตอเนื่องจากสารอะโรเมติกส และมีธุรกิจรอง คือ การผลิตและจําหนายไฟฟา น้ํา ไอน้ํา และสาธารณูปการ อื่นๆ ตลอดจนใหบริการตอเนื่อง ไดแก การใหบริการทาเทียบเรือ และคลังเก็บเคมีภัณฑเหลว น้ํามัน และกาซ เปน ตน รายละเอียดของบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
16
215
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ชื่อกิจการ
ลักษณะธุรกิจ
บริษัทยอยทางตรง บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จํากัด
ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมีและ ผลิตภัณฑที่เกี่ยวของใน กลุมสุขภาพและโภชนาการ บริษัท ไบโอ สเปกตรัม จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑเคมีภัณฑชีวภาพ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑเคมีภัณฑชีวภาพ บริษัท ไทยแทงค เทอรมินัล จํากัด บริการจัดเก็บและ ขนถายเคมีภัณฑเหลว น้ํามัน และกาซ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด บริการบํารุงรักษาโรงงาน เอนจิเนียริง จํากัด และงานวิศวกรรม บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด บริการดานความปลอดภัย เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จํากัด และสิ่งแวดลอม PTT Chemical International Pte. Ltd. ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน กิจการตางประเทศ
17
ประเทศที่กิจการจัดตั้ง
บริษัทถือ หุนรอยละ
ไทย
100
ไทย
100
ไทย
75
ไทย
100
ไทย
100
ไทย
100
ไทย
51
ไทย
100
ไทย
60
ไทย
100
สิงคโปร
100
216
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ชื่อกิจการ
ประเทศที่กิจการจัดตั้ง
บริษัทถือ หุนรอยละ
ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑป โตรเคมี ผลิตและจําหนาย สาธารณูปการ
ไทย
60
ไทย
60
ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑเคมีภัณฑชีวภาพ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอรเนชั่นแนล ใหบริการแกวิสาหกิจ (สํา นั ก งานปฏิบัติ ก ารภู มิ ภ าค เอเชี ย ในกลุมบริษัท แปซิฟค) จํากัด PTTGC International (USA) Inc. ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน กิจการตางประเทศ PTTGC International (Netherlands) ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน กิจการตางประเทศ B.V. กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท ไทย อีทอกซีเลท จํากัด ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมี กิจการที่ควบคุมรวมกันทางออม Emery Oleochemical (M) Sdn.Bhd. ผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ เคมีภัณฑชีวภาพ
ไทย
100
ไทย
100
ไทย
100
สหรัฐอเมริกา
100
เนเธอรแลนด
100
ไทย
50
มาเลเซีย
50
บริษัทยอยทางตรง (ตอ) บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บริษัทยอยทางออม บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอล จํากัด
ลักษณะธุรกิจ
18
217
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 2
เกณฑการจัดทํางบการเงิน
(ก) เกณฑการถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพยที่เกี่ยวของ ระหวางป 2553 และ 2554 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งเกี่ยวของ กับการดําเนินงานของกลุมบริษัท/บริษัทและมีผลบังคับใชตั้งแตรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ดังตอไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552)
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และ ขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญากอสราง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนการกูยืม การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
19
218
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 17/2554
เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม สวนไดเสียในการรวมคา กําไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่ อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ การรวมธุรกิจ สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขาย และการดําเนินงานที่ ยกเลิก การปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงสําหรับผลประโยชนระยะยาวอื่น ของพนักงาน
นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมขางตน ระหวางป 2553 สภาวิชาชีพบัญชีไดออก และปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป และไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออก และปรับปรุงใหมดังกลาวไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 39
20
219
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 (ข) เกณฑการวัดมูลคา งบการเงินนี้จัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนรายการที่สําคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะ ทางการเงินดังตอไปนี้ - ตราสารอนุพันธ วัดมูลคาดวยราคายุติธรรม - เครื่องมือทางการเงินที่แสดงดวยมูลคายุติธรรมผานงบกําไรขาดทุนวัดมูลคาดวยราคายุติธรรม - สินทรัพยโครงการผลประโยชนรับรูจากผลรวมสุทธิของสินทรัพยโครงการหลังบวกตนทุนบริการในอดีต และผลขาดทุน จากการประมาณการตามหลั ก คณิต ศาสตร ประกั น ภัย ที่ ยั ง ไม ไ ดรั บรู หัก ผลกํา ไรจากการ ประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่ยังไมไดรับรู และมูลคาปจจุบันของภาระผูกผันตามโครงการ ผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว (ค) สกุลเงินที่นําเสนองบการเงิน งบการเงินนี้จัดทําและแสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท ขอมูลทางการเงินทั้งหมดมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบ งบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักลานบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น (ง) การประมาณการและใชวิจารณญาณ ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชวิจารณญาณ การประมาณ และขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่ เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ ขอมูลเกี่ยวกับการประมาณความไมแนนอนและขอสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชีมีผลกระทบ สําคัญตอการรับรูจํานวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบดวยหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้
21
220
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 11 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 14 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 15 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 16 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 21 หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 35 3
การรวมธุรกิจ เงินลงทุนอื่น คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การวัดมูลคาของภาระผูกพันของผลประโยชนพนักงานที่กําหนดไว การตีมูลคาของเครื่องมือทางการเงิน
นโยบายการบัญชีที่สําคัญ
(ก) เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม 12
งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท และบริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกัน (รวมกันเรียกวา “กลุม บริษัท”) และสวนไดเสียของกลุมบริษัทในบริษัทรวม การรวมธุรกิจ กลุมบริษัท/บริษัท บันทึกบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ ยกเวนในกรณีที่เปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุม เดียวกัน การควบคุม หมายถึงอํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการเพื่อใหไดมาซึ่ง ประโยชนจากกิจกรรมของกิจการนั้น ในการพิจารณาอํานาจในการควบคุม กิจการตองนําสิทธิในการออกเสียงที่ เกิดขึ้นมารวมในการพิจารณา วันที่ซื้อกิจการคือวันที่อํานาจในการควบคุมนั้นไดถูกโอนไปยังผูซื้อ การกําหนด วันที่ซื้อกิจการและการระบุเกี่ยวกับการโอนอํานาจควบคุมจากฝายหนึ่งไปยังอีกฝายหนึ่งตองใชดุลยพินิจเขามา เกี่ยวของ คาความนิยม ถูกวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนใหซึ่งรวมถึงการรับรูจํานวน สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อ หักดวยมูลคาสุทธิ (มูลคายุติธรรม) ของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและ หนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ
22
221
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สิ่งตอบแทนที่โอนให ตองวัดดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่โอนไป หนี้สินที่กลุมบริษัท/บริษัทกอขึ้นเพื่อจาย ชําระใหแกเจาของเดิม และสวนไดเสียในสวนของผูถือหุนที่ออกโดยกลุมบริษัท/บริษัท ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่โอนให ยัง รวมถึ งมู ล ค า ยุ ติ ธรรมของหนี้ สิ น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และมู ล ค าของโครงการจ า ยโดยใช หุ น เป น เกณฑที่อ อกแทน โครงการของผูถูกซื้อเมื่อรวมธุรกิจ หากการรวมธุรกิจมีผลใหสิ้นสุดความสัมพันธของโครงการเดิมระหวางกลุม บริษัท/บริษัทและผูถูกซื้อ ใหใชราคาที่ต่ํากวาระหวาง มูลคาจากการยกเลิกสัญญาตามที่ระบุในสัญญา และมูลคา องคประกอบนอกตลาด ไปหักจากสิ่งตอบแทนที่โอนให และรับรูเปนคาใชจายอื่น หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรูเปนหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปจจุบันซึ่ง เกิดขึ้นจากเหตุการณในอดีต และสามารถวัดมูลคายุติธรรมไดอยางนาเชื่อถือ กลุมบริษัท/บริษัทวัดมูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมตามอัตราสวนไดเสียในสินทรัพยสุทธิที่ไดมาจากผูถูก ซื้อ ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อของกลุมบริษัท/บริษัทที่เกิดขึ้นซึ่งเปนผลมาจากการรวมธุรกิจ เชน คาที่ปรึกษากฎหมาย คาธรรมเนียมวิชาชีพและคาที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชน จากกิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึง วันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมบริษัท ผล ขาดทุนในบริษัทยอยจะตองถูกปนสวนไปยังสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมแมวาการปนสวนดังกลาวจะทําให สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม
23
222
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 กิจการที่ควบคุมรวมกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน เปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวใน สัญญาและไดรับความเห็นชอบเปนเอกฉันทในการตัดสินใจเชิงกลยุทธทางการเงินและการดําเนินงาน งบการเงิน รวมไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย แตละรายการของกิจการที่ควบคุมรวมกันเฉพาะสวนของผูรวม คามารวมกับรายการที่คลายคลึงกันในงบการเงินของผูรวมคาโดยใชเกณฑรวมแตละบรรทัดของกิจการที่ควบคุม รวมกัน นับแตวันที่มีการรวมควบคุมจนถึงวันที่การรวมควบคุมสิ้นสุดลง การสูญเสียอํานาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอํานาจควบคุมกลุมบริษัทตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินในบริษัทยอย สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมและสวนประกอบอื่นในสวนของผูถือหุนที่เกี่ยวของกับบริษัทยอยนั้น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ สูญเสียอํานาจควบคุมในบริษัทยอยรับรูในกําไรหรือขาดทุน สวนไดเสียในบริษัทยอยเดิมที่ยังคงเหลืออยูใหวัด มูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอํานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเปนเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย หรือเปนสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยูกับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู บริษัทรวม บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายทางการเงินและการดําเนินงานแตไมถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกลาว การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ ถูกสันนิษฐานวามีอยูเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแตรอยละ 20 ถึง รอยละ 50 เงินลงทุนในบริษัทรวมบันทึกในงบการเงินรวมโดยใชวิธีสว นไดเสีย (เงินลงทุนตามวีธีสวนไดเสียของบริษัทที่ถูก ลงทุน) โดยรับรูรายการเริ่มแรกดวยราคาทุน รวมถึงตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อที่เกิดจากการทํารายการดังกลาว งบการเงินรวมไดรวมสวนแบงกําไรหรือขาดทุน และ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของกลุมบริษัทภายหลังจากการ ปรับปรุงนโยบายการบัญชีใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรือมี อํานาจในการควบคุมรวม จนถึงวันที่การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรืออํานาจในการควบคุมรวมนั้นสิ้นสุดลง เมื่อ ผลขาดทุนที่กลุมบริษัทไดรับปนสวนจากบริษัทรวมมีจํานวนเกินกวาสวนไดเสียในบริษัทรวม มูลคาตามบัญชีของ เงินลงทุนในบริษัทรวมตามวิธีสวนไดเสีย รวมถึงสวนไดเสียระยะยาวใดๆจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและหยุดรับรู
24
223
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สวนผลขาดทุน เวนแตกรณีที่กลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือตองจายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันแทนใน นามบริษัทรวม การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายได หรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมา จากรายการระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมา จากรายการกับบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมบริษัทมีสวนไดเสียใน กิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่ เมื่อไมมีหลักฐานการดอยคาเกิดขึ้น (ข) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาบันทึกในกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑราคา ทุนเดิม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ กิจการในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใช อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน
25
224
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 รายไดและคาใชจายของกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ใกลเคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตาง จากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป เมื่อมีการชําระหนี้รายการที่เปนตัวเงินจากลูกหนี้หรือเจาหนี้กับหนวยงานตางประเทศ ซึ่งรายการดังกลาวมิได คาดหมายวาจะมีแผนการชําระหนี้หรือไมมีความเปนไปไดวาจะชําระเงินในอนาคตอันใกล กําไรและขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนจากรายการทางการเงินดังกลาวจะถูกพิจารณาเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงาน ตางประเทศ และรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และแสดงเปนรายการผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนในสวนของผู ถือหุน จนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธไดถูกนํามาใชเพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ อัตราดอกเบี้ย ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน และกิจกรรมจัดหาเงิน เครื่องมือทาง การเงินที่เปนตราสารอนุพันธไมไดมีไวเพื่อคา อยางไรก็ตาม ตราสารอนุพันธที่ไมเขาเงื่อนไข การกําหนดใหเปน เครื่องมือปองกันความเสี่ยงถือเปนรายการเพื่อคา เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธจะถูกบันทึกบัญชีในขั้นแรกดวยมูลคายุติธรรม คาใชจายที่เกิดจากการ ทํารายการดังกลาวบันทึกในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น การวัดมูลคาใหมภายหลังการบันทึกครั้งแรกใชมูลคา ยุติธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลคาใหมใหเปนมูลคายุติธรรมบันทึกในกําไรหรือขาดทุนทันที มูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอางอิงของนายหนา ณ วันที่รายงาน ราคาอางอิง เหลานั้นสามารถทดสอบหาความสมเหตุสมผลได ดวยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต ขอกําหนดตางๆ และวันสิ้นสุดของแตละสัญญา และโดยการใชอัตราดอกเบี้ยในทองตลาดของเครื่องมือทาง การเงินที่คลายคลึงกัน ณ วันที่รายงาน หากมีร าคาตลาด มูล คายุติธ รรมของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหน าถือตามราคาตลาดของสัญญา ลวงหนา ณ วันที่ในรายงาน ในกรณีที่ไมมีราคาตลาด ใหประมาณมูลคายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลตางระหวาง
26
225
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ราคาลวงหนาตามสัญญา กับราคาลวงหนาของสัญญาปจจุบัน ณ วันที่รายงานที่ครบกําหนดในวันเดียวกัน โดยใช อัตราดอกเบี้ยประเภทที่ใชกับธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เชน พันธบัตรรัฐบาล (ง)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุน ระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรม จัดหาเงินในงบกระแสเงินสด
(จ) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญบันทึกตาม หลักเกณฑอายุหนี้ที่เกินกําหนดชําระ ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ฉ) สินคาคงเหลือ วัตถุดิบ สินคาระหวางผลิต และสินคาสําเร็จรูป สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนของสินคาคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนสินคาประกอบดวยตนทุนที่ซื้อ ตนทุนในการ ดัดแปลงหรือตนทุนอื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณีของสินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวาง ผลิตที่ผลิตเอง ตนทุนสินคาคํานวณโดยการปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลัง การผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการขาย
27
226
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 (ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชี โดยใชวิธีราคาทุน สวนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวมใชวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนในตราสารทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา การจําหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจํานวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชีจะถูกบันทึกในกําไรหรือ ขาดทุน ในกรณีที่กลุมบริษัท/บริษัทจําหนายบางสวนของเงินลงทุนที่ถืออยู การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหนาย ไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยูใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ซ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ การรับรูและการวัดมูลคา สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ราคาทุนรวมถึงตนทุนทางตรง ที่เกี่ยวของกับการไดมาของสินทรัพย ตนทุนของการกอสรางสินทรัพยที่กิจการ กอสรางเอง รวมถึงตนทุนของวัสดุ และแรงงานทางตรง และตนทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดหาสินทรัพย เพื่อใหสินทรัพยนั้นอยูในสภาพที่พรอมจะใชงานไดตามความประสงค ตนทุนในการรื้อถอน การขนยาย การบูรณะ
28
227
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สถานที่ตั้งของสินทรัพยและตนทุนการกูยืม สําหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธิ์ซอฟแวรซึ่งไมสามารถทํางานได โดยปราศจากลิขสิทธิ์ซอฟแวรนั้นใหถือวา ลิขสิทธิ์ซอฟแวรดังกลาวเปนสวนหนึ่งของเครื่องมือและถือเปนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สวนประกอบของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ แตละรายการที่มีอายุการใหประโยชนไมเทากัน ตองบันทึกแต ละสวนประกอบที่มีนัยสําคัญ แยกตางหากจากกัน กําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ คือผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการ จําหนายกับมูลคาตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ โดยรับรูสุทธิเปนรายไดอื่นในกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัท/บริษัทไดรับสวนใหญของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสินที่เชานั้นๆ ใหจัดประเภทเปนสัญญาเชาการเงิน สวนที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาการเงินบันทึกเปน สินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะ ต่ํากวา หักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทาง การเงินและสวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปนอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของ หนี้สิน คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกําไรขาดทุน ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวนประกอบจะรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและ อุปกรณ ถามีความเปนไปไดคอนขางแนที่กลุมบริษัท/บริษัทจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการ นั้น และสามารถวัดมูลคาตนทุนของรายการนั้นไดอยางนาเชื่อถือ ชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตาม มูลคาตามบัญชี ตนทุนที่เกิดขึ้นในการซอมบํารุงที่ดิน อาคารและอุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในกําไรหรือ ขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น
29
228
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาคํานวณจากมูลคาเสื่อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ ซึ่งประกอบดวยราคาทุนของสินทรัพย หรือตนทุนในการเปลี่ยนแทนอื่น หักดวยมูลคาคงเหลือของสินทรัพย คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชงานโดยประมาณ ของสวนประกอบของสินทรัพยแตละรายการ ประมาณการอายุการใชงานของสินทรัพยแสดงไดดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน โรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ และเครื่องมือ เครื่องใชโรงงาน อาคาร และสวนปรับปรุงทรัพยสินที่เชา เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
5-30 3-30 5-30 3-30 3-25
ป ป ป ป ป
กลุมบริษัท/บริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง วิธีการคิดคาเสื่อมราคา อายุการใหประโยชนของสินทรัพย และมูลคาคงเหลือ ถูกทบทวนอยางนอยที่สุดทุกสิ้นรอบ ปบัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม (ญ) สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทยอยรับรูในสินทรัพยไมมีตัวตน โดยคาความนิยม ถูกวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนใหซึ่งรวมถึงการรับรูจํานวนสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมในผูถูกซื้อ หักดวยมูลคาสุทธิ (มูลคายุติธรรม) ของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและหนี้สินที่รับมาซึ่งวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ ภายหลังจากการรับรูเริ่มแรก คาความนิยมจะถูกวัดมูลคาดวยวิธีราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา สําหรับตราสาร ทุน - การบัญชีดานผูลงทุนมูลคาตามบัญชีของคาความนิยมใหรวมอยูในมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน และ ผล
30
229
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ขาดทุนจากการดอยคาในเงินลงทุนตองไมถูกปนสวนใหสินทรัพยใด ๆ ที่เปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของเงิน ลงทุนรวมถึงคาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น ๆ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่กลุมบริษัท/บริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนาย สะสมและขาดทุนจากการดอยคาสะสม รายจายภายหลังการรับรูรายการ รายจายภายหลังการรับรูรายการจะรับรูเปนสินทรัพยเมื่อกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเปน สินทรัพยที่สามารถระบุไดที่เกี่ยวของนั้น คาใชจายอื่น รวมถึงคาความนิยมและตราผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นภายในรับรู ในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาตัดจําหนาย คาตัดจําหนายคํานวณโดยนําราคาทุนของสินทรัพยหรือจํานวนอื่นที่ใชแทนราคาทุนหักดวยมูลคาคงเหลือ ค า ตั ด จํ า หน า ยรั บ รู ใ นกํ า ไรหรื อ ขาดทุ น โดยวิ ธี เ ส น ตรงซึ่ ง โดยส ว นใหญ จ ะสะท อ นรู ป แบบที่ ค าดว า จะได รั บ ประโยชนในอนาคตจากสินทรัพยนั้นตามระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งไมรวม คาความนิยม โดยเริ่มตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนเมื่อสินทรัพยนั้นพรอมที่จะใหประโยชน ระยะเวลาที่คาดวา จะไดรับประโยชนสําหรับงวดปจจุบันแสดงไดดังนี้ สิทธิในการใชแนววางทอ สิทธิในการใชทาเรือ สิทธิในการใชอื่นๆ คาสิทธิสําหรับกระบวนการผลิต คอมพิวเตอรซอฟทแวร สัญญาที่ทํากับลูกคาและความสัมพันธกับลูกคาที่เกี่ยวของ เครื่องหมายการคา
31
3 – 20 16 15 10 – 30 3 – 20 12 10
ป ป ป ป ป ป ป
230
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชน และ มูลคาคงเหลือ จะไดรับการทบทวนทุกสิ้นรอบป บัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม (ฎ) การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัท/บริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคา หรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน สําหรับคาความนิยมและ สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนไมทราบแนนอน หรือ ยังไมพรอมใชงาน จะประมาณมูลคาที่คาดวา จะไดรับคืนทุกป ในชวงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิด เงินสดสูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในกําไรหรือขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลา ตอมา ในกรณีนี้ใหรับรูในสวนของผูถือหุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของ สินทรัพย ประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตจะคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึง ภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย สําหรับสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพยอื่น จะพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รวมกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่สินทรัพยนั้นเกี่ยวของดวย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงิน จะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นใน ภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรูในกําไรหรือขาดทุน
32
231
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจะไมมีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานวามีขอบงชี้เรื่องการ ดอยคาหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณ มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมเกิน กวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักคาเสื่อมราคาหรือคาตัดจําหนาย เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการ ดอยคามากอน (ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการ บันทึกหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอด หนี้เมื่อครบกําหนดไถถอนจะบันทึกในกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ฐ)
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
(ฑ)
ผลประโยชนของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเปนโครงการผลประโยชนพนักงานหลังออกจากงาน ซึ่งกิจการจายสมทบเปนจํานวนเงินที่ แนนอนไปอีกกิจการหนึ่งแยกตางหาก (กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ) และจะไมมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระ ผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเขาโครงการสมทบเงินจะถูกรับรูเปน คาใชจายพนักงานในกําไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานไดทํางานใหกับกิจการ การสมทบเงินลวงหนา จะถูกรับรูเปนสินทรัพยซึ่งจะไดรับคืนเปนเงินสดหรือหักจากการจายในอนาคตถามี กรณีที่การสมทบเงินเขา โครงการสมทบเงินนั้นมีระยะเวลาครบกําหนดมากกวา 12 เดือนภายหลังสิ้นสุดรอบระยะเวลาที่พนักงานไดทํางาน ไดมีการคิดลดกระแสเงินสด
33
232
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว โครงการผลประโยชนที่กําหนดไวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุมบริษัท/บริษัทจากโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวถูกคํานวณแยกตางหากเปนราย โครงการจากการประมาณผลประโยชนในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในปจจุบันและในงวดกอนๆ ผลประโยชนดังกลาวไดมีการคิดลดกระแสเงินลดเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบัน ทั้งนี้ไดสุทธิจากตนทุนบริการในอดีตที่ ยังไมรับรูและมูลคายุติธรรมของสินทรัพยโครงการ อัตราคิดลดเปนอัตรา ณ วันที่รายงานจากหุนกูภาคเอกชนที่ ไดรับการจัดอันดับอยูในระดับดี ซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดใกลเคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุมบริษัท/ บริษัท และมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชนที่คาดวาจะจาย การคํานวณนั้นจัดทําโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยที่ไดรับอนุญาตเปนประจําทุกป โดยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ ประมาณการไว เมื่อมีการคํานวณผลของผลประโยชนของพนักงานของกลุมบริษัท/บริษัท การรับรูเปนสินทรัพย จํากัดเพียงยอดรวมของตนทุนในอดีตที่ยังไมรับรูและมูลคาปจจุบันของประโยชนเชิงเศรษฐกิจที่มีในรูปของการ ไดรับคืนในอนาคตจากโครงการหรือการหักการสมทบเขาโครงการในอนาคต ในการคํานวณมูลคาปจจุบันของ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจ มีการพิจารณาถึงความตองการเงินทุนขั้นต่ําสําหรับโครงการตาง ๆ ของกลุมบริษัท/บริษัท ผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจมีใหกับกลุมบริษัท/บริษัท ถาถูกรับรูภายในระยะเวลาของโครงการ หรือ การจายชําระ ของหนี้สินของโครงการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชนในโครงการผลประโยชน สัดสวนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชนที่เกี่ยวของกับตนทุนบริการ ในอดีตของพนักงานรับรูในกําไรหรือขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ไดรับผลประโยชน นั้นเปนสิทธิขาด ผลประโยชนที่เปนสิทธิขาดจะรับรูเปนคาใชจายรับรูในกําไรหรือขาดทุนทันที กลุมบริษัท/บริษัทรับรูกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน กําไรหรือขาดทุน ผลประโยชนระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุมบริษัท/บริษัทที่เปนผลประโยชนระยะยาวของพนักงานนอกเหนือจากโครงการบํานาญ เปนผลประโยชนในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในปจจุบันและงวดกอน ซึ่งผลประโยชนนี้ไดคิดลด กระแสเงินสดเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบันและสุทธิจากมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เกี่ยวของ อัตราคิดลดเปนอัตรา ณ
34
233
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 วันที่รายงานจากหุนกูภาคเอกชนที่ไดรับการจัดอันดับอยูในระดับดี ซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดใกลเคียงกับ ระยะเวลาของภาระพูกพันของกลุมบริษัท/บริษัท โดยคํานวณตามวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว กําไร ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชนเมือ่ เลิกจาง ผลประโยชนเมื่อเลิกจางรับรูเปนคาใชจายเมื่อกลุมบริษัท/บริษัทแสดงเจตนาผูกพันอยางชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจาง และไมมีความเปนไปไดที่จะยกเลิก มีรายละเอียดอยางเปนทางการทั้งการเลิกจางกอนวันเกษียณตามปกติ หรือการ สนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชนเมื่อเลิกจางรับรูเปนคาใชจายเมื่อกลุมบริษัท/บริษัทเสนอใหมี การออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเปนไปไดที่จะไดรับการตอบรับขอเสนอนั้น และสามารถประมาณจํานวน ของการยอมรับขอเสนอไดอยางสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจายผลประโยชนเกินกวา 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชนระยะสั้นของพนักงานวัดมูลคาโดยมิไดคิดลดกระแสเงินสดและเปนคาใชจายเมื่อพนักงาน ทํางานให หนี้สินรับรูดวยมูลคาที่คาดวาจะจายชําระสําหรับการจายโบนัสเปนเงินสดระยะสั้นหรือการปนสวนกําไร หากกลุม บริษัท/บริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะตองจายอันเปนผลมาจากการที่พนักงานได ทํางานใหในอดีตและภาระผูกพันนี้สามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ โครงการใหสิทธิซื้อหุนแกพนักงานของกลุมบริษัทอนุญาตใหกรรมการและพนักงานมีสิทธิซื้อหุนของบริษัท ภายใตเงื่อนไขที่กําหนด จํานวนเงินที่ไดรับจากการใชสิทธิสุทธิจากคาใชจายเกี่ยวกับการใชสิทธิ จะถูกรับรูในทุน เรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุนเมื่อมีการใชสิทธิซื้อหุนแลว
35
234
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 (ฒ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อกลุมบริษัท/บริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือที่กอตัว ขึ้นอันเปนผลมาจากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูก จายไปเพื่อชําระภาระหนี้สินดังกลาว ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคต โดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน หนี้สิน ประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผานไป รับรูเปนตนทุนทางการเงิน (ณ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มและแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไป ใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความ ไมแนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคา ของจํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืน สินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ การลงทุน รายไดจากการลงทุนประกอบดวยเงินปนผลและดอกเบี้ยรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร เงินปนผลรับ เงินปนผลรับบันทึกในกําไรหรือขาดทุนในวันที่กลุมบริษัท/บริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล
36
235
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง (ด)
ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวยดอกเบี้ยจายของเงินกูยืมและประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผาน ไป และสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย ขาดทุนจากมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินที่รับรูในกําไรหรือ ขาดทุ นหรื อ ขาดทุนจากการด อยคา รับรู บนสิน ทรัพ ยทางการเงิน (นอกเหนือลูกหนี้การคา ) และ ขาดทุ น จาก เครื่องมือปองกันความเสี่ยง รับรูในกําไรหรือขาดทุน ตนทุนการกูยืมที่ไมไดเกี่ยวกับการไดมา การกอสรางหรือ การผลิตสินทรัพยที่เขาเงื่อนไข รับรูในกําไรหรือขาดทุน โดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง
(ต)
สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นตองนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเชา เมื่อไดรับ การยืนยันการปรับคาเชา การจําแนกประเภทสัญญาเชา ณ วันที่เริ่มตนขอตกลง กลุมบริษัท/บริษัทจะพิจารณาวาขอตกลงดังกลาวประกอบดวยสัญญาเชาหรือมีสัญญาเชา เปนสวนประกอบหรือไม โดยพิจารณาจากสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ถาการปฏิบัติตามขอตกลงนั้นขึ้นอยู กับการใชสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง และขอตกลงนั้นจะนําไปสูสิทธิในการใชสินทรัพย ถาทําใหกลุม บริษัท/บริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใชสินทรัพย
37
236
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่เริ่มตนขอตกลง หรือ มีการประเมินขอตกลงใหม กลุมบริษัท/บริษัทแยกคาตอบแทนสําหรับสัญญาเชา และ สวนที่เปนองคประกอบอื่นโดยใชมูลคายุติธรรมเปนเกณฑในการแยก หากกลุมบริษัท/บริษัทสรุปวาเปนสัญญาเชา การเงิน แตไมสามารถแบงแยกจํานวนดังกลาวไดอยางนาเชื่อถือ ใหรับรูสินทรัพยและหนี้สินในจํานวนที่เทากับ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงนั้น หลังจากนั้นจํานวนหนี้สินจะลดลงตามจํานวนที่จาย และ ตนทุนทางการเงินตามนัยจากหนี้สินจะรับรูโดยใชอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมสวนเพิ่มของกลุมบริษัท/บริษัท (ถ)
ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจจุบันและ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูในกําไรหรือขาดทุนเวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุนรับรู โดยตรงในสวนของผูถือหุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระหรือไดรับชําระโดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปที่ตอง เสียภาษีโดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใชในวันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่ เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้สินและจํานวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะไมถูกรับรูเมื่อเกิดจากผล แตกตางชั่วคราวตอไปนี้ การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการ ที่ไมใชการรวมธุรกิจและรายการนั้นไมมีผลกระทบตอกําไรขาดทุนทางบัญชีหรือทางภาษี และผลแตกตางที่ เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการรวมคาหากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดย ใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ในการกํ า หนดมู ล ค า ของภาษี เ งิ น ได ป จ จุ บั น และภาษี เ งิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี กลุ ม บริ ษั ท /บริ ษั ท ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบของสถานการณทางภาษีที่ไมแนนอนและอาจทําใหจํานวนภาษีที่ตองจายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ตอง ชําระ กลุมบริษัท/บริษัท เชื่อวาไดตั้งภาษีเงินไดคางจายเพียงพอสําหรับภาษีเงินไดที่จะจายในอนาคต ซึ่งเกิดจาก การประเมินผลกระทบจากหลายปจจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณในอดีต การ
38
237
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ประเมินนี้อยูบนพื้นฐานการประมาณการและขอสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ ในอนาคต ขอมูลใหมๆอาจจะทําใหกลุมบริษัท/บริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยูกับความเพียงพอของภาษีเงิน ได ค า งจ า ยที่ มี อ ยู การเปลี่ ย นแปลงในภาษี เ งิ น ได ค า งจ า ยจะกระทบต อ ค า ใช จ า ยภาษี เ งิ น ได ใ นงวดที่ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลง สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีสามารถหักกลบไดเมื่อกิจการมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงิน ไดนี้ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษีหนวยงานเดียวกันสําหรับหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกัน สําหรับ หนวยภาษีตางกันนั้นกิจการมีความตั้งใจจะจายชําระหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันดวยยอดสุทธิ หรือตั้งใจจะรับคืนสินทรัพยและจายชําระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีใน อนาคตจะมีจํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัด บัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ท)
กําไรตอหุน กลุมบริษัท / บริษัท แสดงกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสําหรับหุนสามัญ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน คํานวณโดยการหารกําไรหรือขาดทุนของผูถือหุนสามัญของกลุมบริษัท/บริษัท ดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักที่ออกจําหนายระหวางปปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ซื้อคืน กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหาร กํา ไรหรือ ขาดทุน ของผู ถือ หุ นสามั ญที่ ปรั บปรุ ง ด ว ยจํ า นวนหุ น สามัญถั ว เฉลี่ย ถ ว งน้ํา หนั ก ที่ อ อกจํ า หน า ยและ ปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญที่ซื้อคืน และผลกระทบของตราสารที่อาจเปลี่ยนเปนหุนสามัญปรับลดทั้งหมดและ สิทธิซื้อหุนของพนักงาน
4
การรวมธุรกิจ ตามที่ไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 1 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “PTTGC” เกิดขึ้นจากการควบบริษัท (Amalgamation) ระหวางบริษัท ปตท.เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “PTTCH” และบริษัท ปตท.อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) “PTTAR” โดย PTTGC ไดกําหนดใหมีอัตราการแลกหุนของการ ควบบริษัทใหแกผูถือหุนของ PTTCH และ PTTAR โดยมีอตั ราการแลกเปลี่ยนดังนี้
39
238
บริษัทบริ พีทษีทัที โกลบอล พีทีที โกลบอล เคมิคอล เคมิจํคากัอลด (มหาชน) จํากัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทยอยษัทยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรับสํระยะเวลาตั าหรับระยะเวลาตั ้งแตวัน้งทีแต่ 19วันตุทีล่ าคม 19 ตุล2554 าคม(วั2554 นควบบริ (วันควบบริ ษัท) ถึษง ัท31) ถึธังน31 วาคม ธัน2554 วาคม 2554 1 หุนของ 1 หุPTTCH นของ PTTCH สําหรับสํ1.980122323 าหรับ 1.980122323 หุนใหมหุในนใหม PTTGC ใน PTTGC 1 หุนของ 1 หุPTTAR นของ PTTAR สําหรับสํ0.501296791 าหรับ 0.501296791 หุนใหมหุในนใหม PTTGC ใน PTTGC การควบรวมบริ การควบรวมบริ ษัทเสร็ษจสมบู ัทเสร็รจณสมบู เมื่อรวัณนเทีมื่ ่อวั19นทีตุ่ ล19าคมตุล2554 าคม 2554 ภายใตมภายใต าตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบันบทีฉบั ่ 3บที่ 3 (ปรับปรุ(ปรั ง บ2552) ปรุง 2552) เรื่อง การรวมธุ เรื่อง การรวมธุ รกิจ โดยถื รกิจอโดยถื ปฏิบัตอิตปฏิ ามวิ บัตธิตีซามวิ ื้อธุรธกิีซจื้อธุทัร้งกินีจ้ PTTCH ทั้งนี้ PTTCH ไดถูกระบุ ไดถเปูกนระบุ ผูซเื้อปสํนาผูหรั ซื้อบสํการ าหรับการ รวมธุรรวมธุ กิจของกิ รกิจของกิ การเนืจ่อการเนื งจากมู่องจากมู ลคาตลาดของบริ ลคาตลาดของบริ ษัท PTTCH ษัท PTTCH ที่สูงกวทีา่สPTTAR ูงกวา PTTAR หลังการแลกหุ หลังการแลกหุ นใน PTTGC นใน PTTGC ภายใตภายใต วิธีซื้อกิวิจธการรั ีซื้อกิบจการรั รูตนทุบนรูตของการรวมธุ นทุนของการรวมธุ รกิจโดยใช รกิจโดยใช มูลคายุมตูลิธครรมและวั ายุติธรรมและวั ดมูลคาดสิมูนลทรั คาพสิยนททรั ี่ไดพมยาที ที่ไ่รดะบุ มาที ได่รแะบุ ละหนี ไดแ้สละหนี ินที่ ้สินที่ รับมา รวมถึ รับมางรวมถึ คาความนิ งคาความนิ ยมที่เกิยดมที ขึ้น่เจากการรวมธุ กิดขึ้นจากการรวมธุ รกิจในงบการเงิ รกิจในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ ผลกระทบจากการรวมธุ ผลกระทบจากการรวมธุ รกิจแสดงได รกิจแสดงได ดังนี้ ดังนี้
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ PTTCHPTTCH PTTARPTTAR รวม รวม PTTCHPTTCH PTTARPTTAR รวม รวม (ลานบาท (ลา)นบาท)
สวนของผู สวนของผู ถือหุน ถณือหุวัน ทีณ่ วันที่ 18 ตุลาคม 18 ตุ2554 ลาคม 2554 117,183117,183 67,06767,067184,250184,250106,305106,305 65,64765,647171,952171,952 งบการเงิ งบการเงิ นที่ไดรนับทีการตรวจสอบแล ่ไดรับการตรวจสอบแล ว ว รายการปรั รายการปรั บปรุงจากการควบรวม บปรุงจากการควบรวม กิจการกิจการ สวนเกิสนวทุนเกิ นจากการรวมธุ รกิจ รกิจ 12,08612,086 13,50613,506 นทุนจากการรวมธุ ทุนสําหรั ิทธิภายใต ทุนบสํการใช าหรับสการใช สิทธิภายใต โครงการออกหลั กทรัพยกใทรั หแพกยใหแก โครงการออกหลั พนักงานที ยูระหว่อยูารงการใช 49 49 49 49 พนัก่องานที ะหวางการใช สิทธิ สิทธิ สวนของผู ถือหุน ถยกมา สวนของผู ือหุน ณยกมา ณ วันที่ 19วันตุทีล่าคม 196,385196,385 185,507185,507 19 ตุ2554 ลาคม 2554 สวนเกิสนวทุนเกิ นจากการรวมธุ รกิจ สวรนใหญ กิดจากการเพิ ่มมูลคา่มของสิ ทรัพยนสทรั ุทธิพขยอง บริษัท บริ พีทษีทัที ฟพีนทอล นทุนจากการรวมธุ กิจ สวเนใหญ เกิดจากการเพิ มูลคานของสิ สุทPTTAR ธิของ PTTAR ีที ฟนอล จํากัด และบริ ษัท พีทษีทัที ยูพีททิลีทิตี้ จํยูทากัิลดิตี้ทีจํ่วาัดกัดคาทีและบั ทึกดวนยมู ยุตลิธครรม วันรวมกิ การ จการ จํากัด และบริ ่วัดคานและบั ทึกลดควายมู ายุตณิธรรม ณ วันจรวมกิ
40 40
239
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 รายการปรับปรุงจากการรวมธุรกิจที่มีผลกระทบตอมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินมีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม
สินทรัพย ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับเพิ่มขึ้น สินคาคงเหลือลดลง ตราสารอนุพันธเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มขึ้น ที่ดิน อาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น สิทธิการเชาที่ดินเพิ่มขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตนเพิ่มขึ้น คาความนิยมเพิ่มขึ้น สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น หนี้สิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งปเพิ่มขึ้น หุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปเพิ่มขึ้น ตราสารอนุพันธเพิ่มขึ้น เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น หุนกูเพิ่มขึ้น หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น สินทรัพยสุทธิเพิ่มขึ้น
งบการเงินเฉพาะ กิจการ (ลานบาท)
7 (245) 361 5,819 491 3,175 7,709 766
(408) 351 1,926 5,016 491 2,518 7,010 702
(26) (173) (1,078) (475) (499) (2,360) 13,472
(2) (173) (1,084) (171) (499) (2,122) 13,555
ขอมูลของสิ่งตอบแทนทั้งหมดที่โอนใหและมูลคาที่รับรู ณ วันที่ซื้อสําหรับสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมา แตละประเภทที่สําคัญของ PTTAR บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด และ บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด รวมถึงคาความนิยม มีดังนี้
240
บริษบริ ัท พีษทั ีทพีี โกลบอล ทีที โกลบอล เคมิคเคมิ อลคจํอล ากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอัทย ยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรัสํบาหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแตว้งันแตทีว่ 19 ันทีตุ่ 19 ลาคม ตุลาคม 25542554 (วันควบบริ (วันควบบริ ษัท) ษถึัทง )31ถึงธั31 นวาคม ธันวาคม 25542554 หมายเหตุ หมายเหตุ งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม งบการเงิ งบการเงิ น น เฉพาะกิ เฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท (ลานบาท ) ) สิ่งตอบแทนที สิ่งตอบแทนที ่โอนให ่โอนให หุนสามั หุนญสามั ของญPTTGC ของ PTTGC ที่ออกให ที่ออกให PTTAR PTTAR ณ วันณทีวั่ 19นทีตุ่ ล19าคม ตุลาคม 25542554 (1,485.02 (1,485.02 ลานหุลนานหุ หุนนละหุน53.30 ละ 53.30 บาท)บาท) ใบสําใบสํ คัญแสดงสิ าคัญแสดงสิ ทธิของ ทธิขPTTGC อง PTTGC ที่ออกให ที่ออกให PTTAR PTTAR ณ วันณทีวั่ 19นทีตุ่ ล19าคม ตุลาคม 25542554 (12.94(12.94 ลานหน ลานหน วย หน วยวหน ยละวยละ 3.76 3.76 บาท)บาท) ลูกหนีลูก้ หนี ิจการที ้กิจการที เ่ กี่ยวขเ่ กีอ่ยงกั วขนองกั สุทนธิสุจากเจ ทธิจาากเจ หนี้กาหนี ิจการที ้กิจการที ่เกี่ยวข่เกีอ่ยงกั วขนองกัน รวมสิรวมสิ ่งตอบแทนที ่งตอบแทนที ่โอนให ่โอนให ยุติธรรมของสิ ี่ไดมาของ มูลคามูยุลตคิธารรมของสิ นทรันพทรั ยสพทุ ธิยสททุี่ไดธิมทาของ PTTAR PTTAR 4 (ก)4 (ก) ี ฟนจํอล บริษัทบริพีษทัทีทพีี ฟทนีทอล ากัดจํากัด 4 (ก)4 (ก) บริษัทบริพีษทัทีทพีี ยูททีทิลี ิตยูที้ จํิลากัิตดี้ จํากัด 4 (ก)4 (ก) รวมมูรวมมู ลคายุลตคิธารรมของสิ ยุติธรรมของสิ นทรันพทรั ยสพุทธิยสทุที่ไดธิมทาี่ไดมา ณ วันณทีวั่ 18นทีตุ่ 18 ลาคม ตุลาคม 25542554 มูลคามูยุลตคิธารรมของส ยุติธรรมของส วนไดวเนได สียในบริ เสียในบริ ษัท พีษทัทีทพีี ฟทนีทอล ี ฟนจํอล ากัดจําและ กัด และ ซึ่ง PTTCH ก อนการรวมธุ บริษัทบริพีษทัทีทพีี ยูททีทิลี ิตยูที้ จํิลากัิตดี้ จําซึกั่งดPTTCH ถืออยูถืก อออยูนการรวมธุ รกิจ รกิจ 4 (ข)4 (ข) สวเนได มีอํานาจควบคุ สวนได สียทีเ่ไสีมยมทีีอ่ไํามนาจควบคุ ม ม คาความนิ คาความนิ ยม ยม 4 (ค)4 (ค)
79,153 79,153
79,153 79,153
49 49 219 219 79,421 79,421
49 49 254 254 79,456 79,456
66,764 66,764 13,814 13,814 7,1127,112
72,446 72,446 - - -
87,690 87,690
72,446 72,446
(7,559) (7,559) (8,419) (8,419) 7,7097,709 79,421 79,421
- - 7,0107,010 79,456 79,456
ลคาของสิ พยและหนี ้สินของ PTTAR ี ฟนจํอล กัด และบริ 4 (ก)4 (ก) มูลคามูของสิ นทรันพทรั ยและหนี ้สินของ PTTAR บริษับริ ท พีษทัทีทพีี ฟทนีทอล ากัดจําและบริ ษัท พีษทัทีทพีี ยูททีทิลี ิตยูที้ จํิลาิตกัี้ดจําบักันดทึบักนทึก ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการด ยุติธรรม ตุลาคม ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการด วยมูลวคยมูายุลตคิธารรม ณ วันณทีวั่ 18นทีตุ่ ล18าคม 25542554 ยุติธรรมของส มีอํานาจควบคุ มในบริ ี ฟนจํอล กัด และบริ 4 (ข)4 (ข) มูลคมูายุลตคิธารรมของส วนไดวนได เสียทีเสี่ไมยทีม่ีไอมํานาจควบคุ มในบริ ษัท พีษทั ีทพีี ฟทนีทอล ากัดจําและบริ ษัท พีษทั ีทพีี ยูททีทิลี ิยูตที้ ิลิตี้ เปนษบริ ไดจดทะเบี ยนในตลาดหลั ถูกประมาณจากมู ยุติธรรมของสิ จํากัดจําซึกั่งดเปซึน่งบริ ัททีษ่ไัทมไทีด่ไจมดทะเบี ยนในตลาดหลั กทรัพกยทรัถูพกยประมาณจากมู ลคายุลตคิธารรมของสิ นทรัพนยทรัสุพทธิยสณุทธิ ณ ตุลาคม วันที่วั18นทีตุ่ ล18าคม 25542554 คาความนิ ้นจํานวน ลานบาท ลานบาทใน งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะ 4 (ค)4 (ค) คาความนิ ยมที่เยกิมที ดขึ่เ้นกิดจําขึนวน 7,7097,709 ลานบาท และ และ 7,0107,010 ลานบาทใน งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะ กิจตามลํ การ ตามลํ ขึ้นจากการสร เพิ่มจากการรวมธุ กิจ (synergy) กิจการ าดับ าเกิดัดบขึเกิ้นดจากการสร างมูลาคงมูาเพิลค่มาจากการรวมธุ รกิจ ร(synergy)
บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด รวมมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมา ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2554 มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียในบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ซึ่ง PTTCH ถืออยูก อนการรวมธุรกิจ สียที่ไมมีอเคมิ ํานาจควบคุ บริษัทสพีวนได ทีที เโกลบอล คอล จํากัมด (มหาชน) และบริษัทยอย คาความนิ ยม หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น
4 (ก)
7,112
241
4 (ข) 4 (ค)
สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
87,690
72,446
(7,559) (8,419) 7,709 79,421
7,010 79,456
4 (ก) มูลคาของสินทรัพยและหนี้สินของ PTTAR บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บันทึก หมายเหตุ งบการเงินรวม งบการเงิน ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2554 เฉพาะกิจการ 4 (ข) มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และบริ(ลษาัทนบาท พีทีท) ี ยูทิลิตี้ สิ่งตอบแทนที จํากัด ซึ่งเป่โนอนให บริษัทที่ไมไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ถูกประมาณจากมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ ณ หุนวัสามั ที่ออกให PTTAR นทีญ ่ 18ของ ตุลPTTGC าคม 2554 บริบริษษัทัทพีพีททีทีที โกลบอล เคมิ คอลอลจํ2554 จํากัากัดด(1,485.02 (มหาชน) (มหาชน) และบริ ัทัทยย53.30 ออยย บาท) ณี โกลบอล วันที่ 19เคมิ ตุลคาคม ลาและบริ นหุ น หุษนษละ 79,153 79,153 4 (ค)ปใบสํ คาาความนิ ยมทีท่เกิธินนขดอง ขึ้นPTTGC จํานวน 7,709 ลาPTTAR นบาท และ 7,010 ลานบาทใน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ คัญแสดงสิ ที่ออกให กิณจวัการ ดัทีทีบ่ 19 เกิ2554 จากการสร เพิ่มวษยละ จากการรวมธุ กิวาคม จ (synergy) สํสําหรั าหรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั ้ง19แตวตุวันลาันาคม ่ 19 ตุดตุขึลล้นาคม าคม 2554 2554 (วัา(วังมู นนควบบริ ษัทัท) )ถึ3.76 ถึงง3131 ธัธันรนวาคม 2554 2554 นที้งตามลํ ่ แต (12.94 ลานหน วลควบบริ ยคาหน บาท) 49 49 ลูกหนี้กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน สุทธิจากเจาหนี้กิจการที 219 254 42 ่เกี่ยวของกัน รวมสิ่งตอบแทนที อนให 79,421 79,456 กํกําไรจากการรวมธุ าไรจากการรวมธุ รกิรกิจ่โจแบบเป แบบเปนนขัขั้น้น PTTGC PTTGCรับรับรูผรูผลกํลกําไรจํ าไรจํานวน านวน857 857ลลานบาทในงบกํ านบาทในงบกําไรขาดทุ าไรขาดทุนนรวมสํ รวมสําหรั าหรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้งแต ้งแตววันันทีที่ 19่ 19ตุตุลลาคม าคม2554 2554ถึถึง ง3131 มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสทุ ธิที่ไดมาของ ธัธันนวาคม วาคม2554 2554จากการวั จากการวัดดมูมูลลคคายุายุตติธิธรรมของส รรมของสววนได นไดเสีเสียยในเงิ ในเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัทพีพีททีทีที ฟี ฟนนอลอลจํจํากัากัดดและบริ และบริษษัทัทพีพีททีทีที ี PTTAR 4 (ก) 66,764 72,446 ยูทยูทิลิลติตี้ จํี้ จํากัากัดดซึซึ่ง่งPTTCH PTTCHและ และPTTAR PTTAR มีมีสสัดัดสสววนการถื นการถืออหุหุนนในบริ ในบริษษัทัทพีพีททีทีที ยูี ทยูทิลิลติตี้ จํี้ จํากัากัดดเทเทากัากับบรอรอยละ ยละ4040และ และรอรอยย บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด 4 (ก) 13,814 ละละ2020ตามลํ ตามลําดัาดับบและทั และทั้ง้งPTTCH PTTCHและ และ PTTAR PTTARมีมีสสัดัดสสววนการถื นการถืออหุหุนนในบริ ในบริษษัทัทพีพีททีทีที ฟี ฟนนอลอลจํจํากัากัดดเทเทากัากับบรรออยละ ยละ3030 บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด 4 (ก) 7,112 และ และรอรอยละ ยละ3030ตามลํ ตามลําดัาดับบกกออนการรวมธุ นการรวมธุรกิรกิจจ รวมมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ไดมา 87,690 72,446 ณอวัอกินกิจทีจการที ่ 18 ตุ่เกีล่เกี่ยาคม 55 บุบุคคคลหรื คลหรื การที ่ยวขวขอ2554 องกังกันน มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียในบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และ เพืเพื่อ่อวัวัตตถุบริ ถุปประสงค ใี นการจั าดงบการเงิ นนบุบุคคคลหรื จการเป การเปนนบุบุครคคลหรื การที่เกี่เกี่ย่วข ยวขอองกังกัน(7,559) นกักับบกลุกลุมมบริบริษษัทัท/บริ /บริษษัทัท ษระสงค ัท พีทใีทนการจั ยูทิลิตดี้ จํดทําทํากังบการเงิ ซึ่ง PTTCH ถืคลหรื ออยูอก อกิอกิจนการรวมธุ กิคลหรื จ ออกิกิจจการที หากกลุ หากกลุ มมบริบริเษสีษัทยัทที/บริ /บริ มีออํานาจควบคุ ํานาจควบคุ ควบคุมมรรววมกัมกันนทัทั้งทางตรงและทางอ ้งทางตรงและทางอ มหรืออมีมีออิทิทธิ(8,419) ธิพพลอย ลอยางมี างมีสสาระสํ าระสําคัาคัญญ 4 (ข) ออมหรื สวนได ่ไมษมษัทีอัทมีํานาจควบคุ ม มมหรืหรืออควบคุ ตตออบุคบุคาคคลหรื คลหรืออกิยกิมจจการในการตั การในการตัดดสิสินนใจทางการเงิ ใจทางการเงินนและการบริ และการบริหหารหรื ารหรืออในทางกลั ในทางกลั ษษัทัท/บริ /บริษษัทัทอยูอยูภภายใต ายใต ความนิ 4 (ค)บบกักันนหรืหรืออกลุกลุมมบริบริ 7,709 7,010 การควบคุ การควบคุมมเดีเดียวกั ยวกันนหรืหรือออยูอยูภภายใต ายใตออิทิทธิธิพพลอย ลอยางมี างมีสสาระสํ าระสําคัาคัญญเดีเดียวกั ยวกันนกักับบบุบุคคคลหรื คลหรืออกิกิจจการนั การนั้น้น79,421 การเกี การเกี่ย่วข ยวขอองกังกันนนีนี้อ้อาจ าจ 79,456 เปเปนนรายบุ รายบุคคคลหรื คลหรืออเปเปนนกิกิจจการ การ 4 (ก) มูลคาของสินทรัพยและหนี้สินของ PTTAR บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด บันทึก ความสั ความสัมมพัพันในงบการเงิ นธธทที่มี่มกีกับับบุบุคนคคลหรื คลหรืออกิกิจจการที การที่เกี่เนกี่ยเฉพาะกิ วข ่ยวขอองกังกันจนการด มีมีดดังนีังวนี้ ยมู ้ ลคายุติธรรม ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2554 รวมและงบการเงิ ชืชื่อ่อกิกิจจการ การ ประเทศที ประเทศที่จ่จัดัดตัตัง้ ง้ ลัลักกษณะความสั ษณะความสัมมพัพันนธธ 4 (ข) มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่ไ/สั ม/สัมญีอญชาติ ําชาติ นาจควบคุมในบริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด และบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัจํดจํากัาซึกัด่งด(มหาชน) เป(มหาชน) นบริษัทที่ไมไดจดทะเบียไทย นในตลาดหลั ประมาณจากมู าารร ยุวตมกั รรมของสิ พยสุทธิ ณ บริบริษษัทัทปตท. ปตท. ไทย เปเปกนทรั นผูผูถพถือยือหุหุถูนกนรายใหญ รายใหญมีมีผผูบูบริหริลหคารร วิธมกั นนกักับบบริบริษนษัททรั ัทและมี และมี วันที่ 18 ตุลาคม 2554 กรรมการของบริ กรรมการของบริษษัทัททีที่เป่เปนนผูผูบบริหริหาราร บริบริษษัทัทบางกอกโพลี บางกอกโพลีเอทที เอททีลลีนีนจํจํากัากัดด ไทย ไทย เปเปนนบริบริษษัทัทยอยอยยบริบริษษัทัทถืถืออหุหุนนรอรอยละ ยละ100 100มีมีกกรรมการ รรมการ 4 (ค) คาความนิยมที่เกิดขึ้นจํานวน 7,709 ลานบาท และ 7,010 ลานบาทใน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ (มหาชน) (มหาชน) รวรวมกัมกันนกักับบบริบริษษัทัทและมี และมีผผูบูบริหริหารของบริ ารของบริษษัทัททีที่เป่เปนน กิจการ ตามลําดับ เกิดขึ้นจากการสรางมูลคาเพิ่มจากการรวมธุรกิจ (synergy)
และ รอยละ 30 ตามลําดับ กอนการรวมธุรกิจ
242
5
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเปนบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับกลุมบริษัท/บริษัท หากกลุมบริษัท/บริษัทมีอํานาจควบคุมหรือควบคุมรวมกันทั้งทางตรงและทางออมหรือมีอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญ บริษัทตอพีบุทคีทคลหรื ี โกลบอล เคมิคอล จํดากัสิดนใจทางการเงิ (มหาชน) และบริ ษัทยอหย ารหรือในทางกลับกัน หรือกลุมบริษัท/บริษัทอยูภายใต อกิจการในการตั นและการบริ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ การควบคุ มเดียวกันหรือนอยูภายใตอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญเดียวกันกับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวของกันนี้อาจ รายบุคคลหรื อเปวนั กิทีจ่ 19 การตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรัเปบนระยะเวลาตั ้งแต
ความสั มพันธที่มีกับบุรกิคจคลหรื อกินจขัการที กําไรจากการรวมธุ แบบเป ้น ่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ ลักษณะความสัมพันธ ชื่อกิจการ ประเทศที่จัดตัง้ PTTGC รับรูผลกําไรจํานวน 857 ลานบาทในงบกํ าไรขาดทุนรวมสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 /สัญชาติ ดมูลคายุติธรรมของสไทย วนไดเสียในเงิ ในบริษัทมีผพีูบทริีทหี ฟารร นอล และบริ ษัท พีทีที บริธันษัทวาคม ปตท.2554 จํากัจากการวั ด (มหาชน) เปนนผูถลงทุ ือหุนนรายใหญ วมกัจํนากักับดบริ ษัท และมี ยูทิลิตี้ จํากัด ซึ่ง PTTCH และ PTTAR มีสัดสวนการถือหุนกรรมการของบริ ในบริษัท พีทีทษี ยูัทททีิล่เิตปี้ นจําผูกับดริหเทารากับรอยละ 40 และ รอย ตามลําดับ และทั อล จํ100 ากัดมีเทกรรมการ ากับรอยละ 30 บริละษัท20บางกอกโพลี เอททีล้ง ีนPTTCH จํากัด และ PTTAR ไทยมีสัดสวนการถื เปนบริอษหุัทนยอในบริ ย บริษษัทัทพีถือทหุีทนี ฟรนอยละ และ รอยละ 30 ตามลําดับ กอนการรวมธุรกิจ (มหาชน) รวมกันกับบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่เปน กรรมการ 5 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไบโอ ครีเคมิ เอชัค่นคอล จํากัจํจํดาากักัดด(มหาชน) ไทยษษัทัทยยออยย เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และมี บริ บริษษัทัทพีบริ พีททษีทีทัที โกลบอล ี โกลบอล เคมิ อล (มหาชน)และบริ และบริ วัตถุประสงคในการจั อกิจษการที วของกันกับกลุมบริษัท/บริษัท ารของบริ ัทที่เป่เกีน่ยกรรมการ หมายเหตุ หมายเหตุเพืปป่อระกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ นน ดทํางบการเงิน บุคคลหรือกิจการเปผูนบบุริคหคลหรื หากกลุ มบริ้ง้งสเปกตรั ษแต ัทว/บริ ัท่ 19 ควบคุ ้งบริ ทางตรงและทางอ อิทธิ75 พลอยางมีสาระสําคัญ บริ ษัท ไบโอ จํมีาตุอกัตุําลดลนาจควบคุ ไทยมษรษัทวัทมกั น31 ยอย 2554 บริ ษัทถืออมหรื หุนรออมียละ สํสําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แต วันันทีทีษ่ม19 าคม าคม2554 2554ม(วัหรื (วันนอควบบริ ควบบริ ))ถึถึนเป งงทั31 ธัธันษนัทวาคม วาคม 2554 บริตษอบุัทคทีคลหรื โอซี อไกลคอล จํากัด ดสินใจทางการเงิไทย บริษัทอยในทางกลั อย บริษัทบถืกัอนหุหรื นรออกลุ ยละมบริ 100ษัทและมี กิจการในการตั นและการบริเปหนารหรื /บริษัทอยูภายใต หารของบริ ษัทที่เอปกินจกรรมการ การควบคุมเดียวกันหรืออยูภายใตอิทธิพลอยางมีสาระสําคัญผูเดีบยริวกั นกับบุคคลหรื การนั้น การเกี่ยวของกันนี้อาจ บริเปษนัทรายบุ ไทยเอทานอลเอมี จํากัด ไทย่จ่จัดัดตัตัง้ ง้ เปนบริษัทยอย บริ ัทถือหุนรอยละ คคลหรื นกินจการ ชืชื่อ่อกิกิอจจเป การ การ ประเทศที ประเทศที ลัลักษกษณะความสั ษณะความสั มมพัพันน100 ธธ และมี ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ /สั/สัญญชาติ ชาติ มพันธโทโอเคมี ี่มีกับบุจํจําคากัคลหรื อไทย งกัน มีดังเปนีเป้นนบริ บริ บริความสั ษษัทัทไทยโอลี ไทยโอลี อเคมี กัดด อกิจการที่เกี่ยวขไทย บริษษัทัทยยออยย บริ บริษษัทัทถืถืออหุหุนนรรออยละ ยละ100 100 มีมีผผูบูบริริหหารของ ารของ ชื่อกิจการ ประเทศที่จัดตัง้ บริ ลักษณะความสัมพันธ บริษษัทัททีที่เป่เปนนกรรมการ กรรมการ 43 เปเปนนบริ บริ บริษษัทัทไทยแท ไทยแทงงคคเทอร เทอรมมินินัลัลจํจําากักัดด ไทย ไทย บริษษัทัทยยออยย บริ บริษษัทัทถืถืออหุหุนนรรออยละ ยละ5151มีมีกกรรมการ รรมการ /สั ญชาติ รเปรววมกั บริ ษษัทัทและมี และมี หารของบริ ารของบริ ัททีทีษ่เป่เัทปนนและมี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไทย นมกั ผูนถนือกักัหุบบนบริ รายใหญ มีผผูบผูบริูบริหริหารร วมกันกัษบษัทบริ กรรมการ กรรมการ กรรมการของบริษัทที่เปนผูบริหาร บริ บริบริ ษษัทัทษพีัทพีททบางกอกโพลี ีทีที โพลี ี โพลีเอทิ เอทิลลีนเอทที ีนจํจําากัลกัดีนด จํากัด ไทย ไทย บริ ษษัทัทษยยัทออยยยอบริ ษษัทัทษถืถืัทออถืหุหุอนนหุรรนออยละ 100 100100 มีมีกกมีรรมการและ รรมการและ ไทย เปเปนเปนบริ นบริ ยบริบริ รยละ อยละ กรรมการ ผูผูบบรริวริหหมกั ารร ารร นนกัษกับัทบบริ บริ ษษัทัทและมี ผูบูบริริหหารของบริ ารของบริ (มหาชน) นวกัวมกั บมกับริ และมี ผและมี ูบริหผารของบริ ษัทที่เปษษนัทัททีที่ ่ เปเปนกรรมการ นกรรมการ กรรมการ บริ บริบริ ษษัทัทษพีัทพีททไบโอ ีทีที เมนเทนแนนซ ี เมนเทนแนนซ ไทย ไทย บริ ษษัทัทษยยัทออยยยอบริ ษษัทัทษถืถืัทออถืหุหุอนนหุรรนออยละ 6060100 และมี และมี ผผูบูบริริหหาราร ครีเอชั่น จํากัแอนด ดแอนด ไทย เปเปนเปนบริ นบริ ยบริบริ รยละ อยละ และมี เอนจิ เอนจิเนีเนียยริริงงจํจําากักัดด ของ ของผูบบริ บริ ัทัททีที่เป่เปนนกรรมการ กรรมการ ริหษษารของบริ ษัทที่เปนกรรมการ บริ บริบริ ษษัทัทษัทเอ็เอ็ไบโอ นนพีพีซซี ี สเปกตรั เซฟตี เซฟตี้ ้ แอนด ไทย ไทย บริ ษษัทัทษยยัทออยยยอบริ ษษัทัทษถืถืัทออถืหุหุอนนหุรรนออยละ 100 10075มีมีผผูบูบริริหหารของ ารของ มแอนด จํากัดเอ็เอ็นนไวไว ไทย เปเปนเปนบริ นบริ ยบริบริ รยละ อยละ รอนเมนทอล รอนเมนทอล เซอรววิสิสจํจําจํากัากักัดดด บริ บริษนษัทบริ ัททีทีษ่เป่เัทปนยนกรรมการ บริ ษัท ทีโอซีเซอร ไกลคอล ไทย เป อกรรมการ ย บริษัทถือหุนรอยละ 100 และมี PTT PTT Chemical Chemical International International Private Private สิสิงงคโปร คโปร เปเปนนบริ บริ ออยยบริ บริษษัทัทษถืถืัทออทีหุหุ่เนปนรนรออกรรมการ ยละ ยละ100 100มีมีกกรรมการ รรมการ ผูบษษริัทัทหยยารของบริ Limited Limited รเป รววมกั นนกัษกับัทบบริ และมี ัททีที่เป่เปนน บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด ไทย นมกับริ ยบริ อษยษัทัทบริและมี ษัทถืผอผูบหุูบริรินหหรารของบริ อารของบริ ยละ 100ษษัทและมี กรรมการ กรรมการ ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ บริ บริษษัทัทพีพีททีทีที ฟี ฟนนอล อลจํจําากักัดด ไทย ไทย เปเปนนบริ บริษษัทัทยยออยย บริ บริษษัทัทถืถืออหุหุนนรรออยละ ยละ6060มีมีผผูถูถือือหุหุนนรรววมกั มกันน มีมีกกรรมการร รรมการรววมกั มกันนกักับบบริ บริษษัทัทและมี และมีผผูบูบริริหหารของบริ ารของบริษษัทัท
บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด
เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 มีผูบริหารของ 243 บริษัทที่เปนกรรมการ บริษัทไทยแทงคเทอรมินัล จํากัด ไทย เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 51 มีกรรมการ รวมกันกับบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่เปน กรรมการ บริษัทบริพีษทัทีที พีโกลบอล ทีที โพลีเคมิ เอทิคลอล ีน จําจํกัาดกัด (มหาชน) และบริ ไทยษัทยอยเปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 มีกรรมการและ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ผูบริหารรวมกันกับบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึงเป31นกรรมการ ธันวาคม 2554 บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด ไทย เปนบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 60 และมีผูบริหาร เอนจิเนียริง จํากัด ของ บริษัทที่เปนกรรมการ ่อกิจการ มพั100 นธ มีผูบริหารของ บริษัท เอ็นพีซี ชืเซฟตี ้ แอนด เอ็นไว ประเทศที ไทย ่จัดตัง้ เปนบริษัทยอย บริลัษกัทษณะความสั ถือหุนรอยละ /สัญชาติ รอนเมนทอล เซอรวิส จํากัด บริษัทที่เปนกรรมการ บริษัทChemical ไทยโอลีโInternational อเคมี จํากัด Private ไทย เปนนบริ บริษษัทัทยยออยย บริ บริษษัทัทถืถืออหุหุนนรรออยละ ยละ100 100มีมีกผรรมการ ูบริหารของ PTT สิงคโปร เป ษัทนทีกั่เบปบริ นกรรมการ Limited รบริ วมกั ษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่เปน บริษัทไทยแทงคเทอรมินัล จํากัด ไทย เปกรรมการ นบริษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 51 มีกรรมการ วมกัษนัทกัยอบยบริบริ ษัทษัทและมี ารของบริ บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด ไทย เปนรบริ ถือหุผนูบรริอหยละ 60 มีผษูถัทือหุทีน่เปรนวมกัน มีกรรมการ กรรมการรวมกันกับบริษัทและมีผูบริหารของบริษัท บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด ไทย เปทีน่เปบรินษกรรมการ ัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 มีกรรมการและ บริษหัทารร บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ไทย เปนผูบริ ยอวยมกับรินษกััทบถืบริ อหุษน ัทรและมี อยละ ผ60ูบริมีหผารของบริ ูถือหุนรวษมกััทนที่ เปนกรรมการ ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และมี บริปษษระกอบงบการเงิ พีทีที เมนเทนแนนซ ไทย บริษษัทัทยยออยของบริ ย บริษัทษถืัทอยหุอนยของบริ รอยละ ษ60ัท บริ และมี ริหาร บริ ัทัทไทยแฟตตี ้แอลกอฮอลส จํากัด ไทย เปเปนนบริ ษทั ผยูบอยของ หมายเหตุ น แอนด เอนจิเนียริง จํากัด ของษัทบริ ่เอปยละ นกรรมการ บริ อษหุัทนทีร2554 100 และมีผูบริหารของบริษัทที่ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันถืวาคม บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไว ไทย เปเปนนบริกรรมการ ษัทยอย บริษัทถือหุนรอยละ 100 มีผูบริหารของ กรรมการ บริรอนเมนทอล ษัท ไทยสไตรีเซอร นิคสวิสจําจํกัาดกัด ไทย เปนบริบริษษัทัททีย่เปอนยของบริ ษัทยอยของบริษัท บริษทั ยอยของ PTT Chemicalชื่อInternational Private ประเทศที สิงคโปร่จัดตัง้ เปบริ นบริ ษัทถื100 อหุนและมี รอมยละ มีกรรมการ ษัทษถืัทอยหุอนย รบริ ริธหารของบริ ษัทที่ กิจการ ลัอกยละ ษณะความสั พัผนูบ100 Limited รวนมกั นกับบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่เปน เป กรรมการ /สัญชาติ บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอรเนชั่นแนล ไทย เปนกรรมการ บริษัทยอยของบริษัทยอยของบริษัท บริษัทยอย บริาษนััทกงานปฎิ พีทีที ฟบนัตอล จํามกัิภดาค เอเชียแป ไทย เปของบริ นบริษัทษยัทอถืยอหุบริน ษรอัทยละ ถือหุ100 นรอมียละ 60 มีผูถวือมกั หุนนรกัวบมกัน (สํ ิการภู กรรมการร มีกษรรมการร กับบริษัทษและมี ริหารของบริษัท ซิฟค) จํากัด บริ ัทและมีผวูบมกัริหนารของบริ ทั ที่เปผนูบกรรมการ กรรมการ Emery Oleochemical (M) Sdn. Bhd. มาเลเซี44ย เปทีน่เปกิจนการที ่ควบคุมรวมกันของบริษัทยอยของ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จํากัด ไทย เปนบริบริษษัทัทยบริอยษัทบริยอษยของบริ ัทถือหุน ษรอัทยละ ูถือหุ50 นรวมีมกัน ถือหุ60นรมีอผยละ และมี ผูบริหวารของบริ ษัทษทีัท่เและมี ปนกรรมการ กรรมการร มกันกับบริ ผูบริหารของ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จํากัด ไทย เปนบริบริษษัทัททีย่เปอนยของบริ ษัทยอยของบริษัท บริษทั ยอยของ กรรมการ ษัทษถืัทอยหุอนยของบริ รอยละ ษ100 ผูบริษหัทารของบริ นบริ ัทยและมี อยของบริ บริษัทยษอยัทที่ PTTGC International (USA) Inc. สหรัฐอเมริกา เปบริ เปของบริ นกรรมการ ษัทถือหุน รอยละ 100 และมีผูบริหารของ ษัทยอยของบริษัท บริษทั ยอยของ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จํากัด ไทย เปนบริบริษษัทัททีย่เปอนยของบริ กรรมการ ษัทษถืัทอยหุอนยของบริ รอยละ ษ100 ผูบริษหัทารของบริ PTTGC International (Netherlands) B.V. เนเธอรแลนด เปบริ นบริ ัทยและมี อยของบริ บริษัทยษอยัทที่ เปของบริ นกรรมการ ษัทถือหุน รอยละ 100 มีกรรมการ
บริษัทไทยอีทอกซีเลท จํากัด
ไทย
ไทย
รวมกันกับบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่ เปนกรรมการ เปนกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทถือหุน รอยละ 50
244
ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตัง้ ลักษณะความสัมพันธ /สัญชาติ บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอรเนชั่นแนล ไทย เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยของบริษัท บริษัทยอย (สํานักงานปฎิบัติการภูมิภาค เอเชียแป ของบริษัทถือหุน รอยละ 100 มีกรรมการรวมกันกับ ซิฟค) จํากัด บริษัทและมีผูบริหารของบริษทั ที่เปนกรรมการ บริษัท Emery พีทีที โกลบอล เคมิค(M) อล จํSdn. ากัดBhd. (มหาชน) และบริ ษัทยยอย เปนกิจการที่ควบคุมรวมกันของบริษัทยอยของ Oleochemical มาเลเซี บริษัท บริษัทยอยของบริษัทถือหุนรอยละ 50 มี หมายเหตุประกอบงบการเงิน มกันกับบริษัทและมีผูบริหารของ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31กรรมการร ธันวาคมว2554 บริษัทที่เปนกรรมการ PTTGC International (USA) Inc. สหรัฐอเมริกา เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยของบริษัท บริษัทยอย ชื่อกิจการ ประเทศที่จัดตัง้ ของบริษัทถือลัหุกน ษณะความสั พันธ ผูบริหารของ รอยละ 100มและมี /สัญชาติ บริษัทที่เปนกรรมการ ไทยแลนด เปเปนนบริบริษษัทัทยอยอยของบริ บริษัท ปตท. เคมิคอล (Netherlands) อินเตอรเนชั่นแนล PTTGC International B.V. เนเธอร ยของบริษษัทัทยอยอยของบริ ยของบริษษัทัทบริบริษษัทัทยอยอยย (สํานักงานปฎิบัติการภูมิภาค เอเชียแป ของบริ ษัทษถืัทอถืหุอน หุรน อรยละ ของบริ อยละ100100มีกมีรรมการร กรรมการวมกันกับ ซิฟค) จํากัด บริรษวัทมกัและมี ูบริษหัทารของบริ ่เปนกรรมการ นกับผบริ และมีผูบษริทั หทีารของบริ ษัทที่ Emery Oleochemical (M) Sdn. Bhd. มาเลเซีย เปนเป กิจนการที ่ควบคุมรวมกันของบริษัทยอยของ กรรมการ บริ่คษวบคุ ัทยอมยของบริ ัทถืษอัทหุถืนอรหุอน ยละ 5050มี บริษัทไทยอีทอกซีเลท จํากัด ไทย เปบริ นกิษจัทการที รวมกัน ษบริ รอยละ กรรมการร มกันกับบริ ผูบริหารของ และมี ผูบริหวารของบริ ษัทษทีัท่เและมี ปนกรรมการ ่เปนกรรมการ บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) ไทย มีผบริ ูถือษหุัทนทีรายใหญ รวมกัน PTTGC สหรัไทย ฐอเมริกา มีเปผนูถบริ ยอยของบริ ษัทนยอยของบริษัท บริษัทยอย บริ ษัท ทInternational อสงปโตรเลีย(USA) มไทย จํInc. ากัด ือหุษนัทรายใหญ รวมกั ัทถือหุน รรวอมกัยละ บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) ไทย มีผของบริ ูถือหุนษรายใหญ น 100 และมีผูบริหารของ ่เปนกรรมการ บริษัท บางจาก ปโตรเลียม จํากัด ไทย มีผบริูถือษหุัทนทีรายใหญ รวมกัน และมีกรรมการรวมกัน PTTGC (มหาชน)International (Netherlands) B.V. เนเธอรแลนด เปกันบบริ บริษษัทัทยอยของบริษัทยอยของบริษัท บริษัทยอย บริษัทบริพีษทัทีที บิโกลบอล เคมิวคิสอล (มหาชน) และบริไทย ษัทยอย มีผูถของบริ น รอยละ ซิเนส เซอร เซสจําอักัลดไลแอนซ ือหุนรษวัทมกัถือนหุโดยบริ ษัท100 ถือหุมีนกบุรรมการ ริมสิทธิ หมายเหตุจํปากัระกอบงบการเงิ น วมกัน25กับริ บบริษัทษยัทอและมี ผูบษริหทั ารของบริ ด รอรยละ ยของบริ ถือหุนบุรษิมสิัทททีธิ่ นกรรมการ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 วาคม 2554ษัทรวมของบริษัทถือหุน รอเปธัยละ 15 และบริ บริษัทไทยอีทอกซีเลท จํากัด ไทย เปบุนรกิิมจสิการที ทธิร่คอวบคุ ยละม10รวมกัน บริษัทถือหุน รอยละ 50 ารของบริ ษัทที่เกี่เป่ยนวข ชื่อกิจการ ประเทศที ลักษณะความสั มกรรมการ พัอนงกัธนที่มีผถู ือหุน บริษัท ปตท. สผ. สยาม จํากัด ไทย ่จัดตัง้ เปและมี นบริษผัทูบยริอหยของกิ จการที บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) ูถือหุนรายใหญ รวมกันรวมกัน /สัไทย ญชาติ มีผรายใหญ บริ อสงปโาตรเลี ยมไทยตจํปาโกัตรเลี ด ยม ไทย มีมีผผูถูถือือหุหุนนรายใหญ บริษษัทัททปตท.สํ รวจและผลิ ไทย รายใหญรรววมกั มกันน บริจํษาัทกัดทิพ(มหาชน) ยประกันภัย จํากัด (มหาชน) ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน บริ ตรเลีรกิยมจคจําาปลี กัดก จํากัด ไทย มีเปผนูถือบริหุษนัทรายใหญ รวมกั น และมี กรรมการร บริษษัทัทบางจาก ปตท. บริปกโารธุ ไทย ยอยของกิ จการที ่เกี่ยวข องกันที่มวีผมกั ถู ือนหุน 45 (มหาชน) กัรายใหญ บบริษัทรวมกัน บริ ซิเนสสผ. เซอร ิสเซสเนชัอัลน่ ไลแอนซ ไทย มีเปผนูถบริ ือหุษนัทรยวอมกัยของกิ น โดยบริ ษัท่เกีถื่ยอวข หุนอบุงกัริมนสิทีท่มธิีผถู ือหุน บริษษัทัทบิปตท. อินวเตอร แนล ไทย จการที รรายใหญ อยละ 25รบริ จําจํกัาดกัด วมกัษนัทยอยของบริษทั ถือหุนบุริมสิทธิ และบริรษวมกั ัทรวนมของบริษัทถือหุน บริษัท ปตท. จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด ไทย มีรผอูถยละ ือหุน15รายใหญ บุริมสิทธิรอยละ 10 บริษษัทัทปตท. ปตท.สผ. กรีนสยาม เอ็นเนอร ไทย มกัน ่เกี่ยวของกันที่มีผถู ือหุน บริ จํากัยดี่ (ประเทศ ไทย เปมีนผูถบริือหุษนัทยรายใหญ อยของกิรจวการที ไทย) จํากัด รายใหญรวมกัน บริษัท พีทีที แทงคเทอรมินัล จํากัด ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน บริษัท พีทีที โพลีเมอร โลจิสติกส จํากัด ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน
สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตัง้ ลักษณะความสัมพันธ /สัญชาติ ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน
บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท ปตท. บริการธุรกิจคาปลีก จํากัด ไทย เปนบริษัทยอยของกิจการที่เกี่ยวของกันที่มีผถู ือหุน หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายใหญรวมกัน สําหรับบริ ระยะเวลาตั แตอิวันนเตอร ที่ 19เนชั ตุลน่ าคม 2554 จการที่เกี่ยวของกันที่มีผถู ือหุน ษัท ปตท. ้งสผ. แนล2554 (วันควบบริ ไทยษัท) ถึงเป31นธับรินษวาคม ัทยอยของกิ จํากัด รายใหญรวมกัน ชื่อากิยกจการ ลักษณะความสั บริษัท ปตท. จําหน าซธรรมชาติ จํากัด ประเทศที ไทย่จัดตัง้ มีผูถือหุนรายใหญ รวมกัน มพันธ /สัญชาติ บริษษัทัท ปตท.สํ ปตท. กรีารวจและผลิ นเอ็นเนอรตยี่ป(ประเทศ ไทย รายใหญรรววมกั มกันน บริ โตรเลียม ไทย มีมีผผูถูถือือหุหุนนรายใหญ จํากัด จําไทย) กัด (มหาชน) บริ พีทีที แทงค เทอร ไทย มีเปผนูถบริ ือหุษนัทรายใหญ รวจมกั น ่เกี่ยวของกันที่มีผถู ือหุน บริษษัทัท ปตท. บริการธุ รกิมจคินาัลปลีจํากกัจํดากัด ไทย ยอยของกิ การที บริษัท พีทีที โพลีเมอร โลจิสติกส จํากัด ไทย มีผรายใหญ ูถือหุนรายใหญ รวมกันรวมกัน บริษษัทัท ปตท. พีทีที โพลี มารเนชั เก็ตน่ ติแนล ้ง จํากัด ไทย เปนนบริ บริษษัทัทรยอวมยของกิ บริษจัทการที ถือหุน่เกีร่ยอวขยละ บริ สผ. เอิมอร นเตอร ไทย เป องกั25นทีมีผ่มูถีผือถู หุือหุนน รายใหญรรว วมกั จํากัด รายใหญ มกันน มีกรรมการรวมกันกับบริษัท และ ารของบริรวษมกั ัททีน่เปนกรรมการ บริษัท ปตท. จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด ไทย มีผมีูถผือูบหุรินหรายใหญ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน และมีกรรมการรวมกันกับ บริษัท ปตท. กรีนเอ็นเนอรยี่ (ประเทศ ไทย มีผบริ ูถือษหุัทนรายใหญรวมกัน ด ที โซลูชั่นส จํากัด บริษไทย) ัท พีทจํีทากัี ไอซี ไทย เปนบริษัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 40 บริษัท พีทีที แทงค เทอรยี่ มโซลู ินัลชจํนั่ าสกัดจํากัด ไทย มีเปผนูถบริ ือหุษนัทรายใหญ เอนเนอร รวม บริรวษมกั ัทถืนอหุนรอยละ 20 และมี บริษัท พีทีที โพลีเมอร โลจิสติกส จํากัด ไทย มีผผููถบือริหุหนารของบริ รายใหญษรวัทมกั ที่เปนนกรรมการ โพลีเมอร รวม บริรษวัทมกัถือนหุนรอยละ 25 มีผูถือหุน บริษัท พีทีที แอลเอ็ นจี มาร จํากัดเก็ตติ้ง จํากัด ไทย มีเปผนูถบริ ือหุษนัทรายใหญ มกันน มีกรรมการรวมกันกับบริษัท และ บริษัท ระยองโอเลฟนส จํากัด ไทย มีผรายใหญ ูถือหุนรรวว มกั ที่เปนนและมี กรรมการ บริษัท สตารปโตรเลียมรีไฟนนิ่ง จํากัด ไทย มีผมีูถผือูบหุริหนารของบริ รายใหญรษวัทมกั กรรมการรวมกัน บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด ไทย มีผกัูถบือบริ หุนษรายใหญ รวมกัน และมีกรรมการรวมกันกับ ัท ษัท สมาคมเพื่อนชุมชน ไทย มีกบริ รรมการของบริ ษัทที่เปนผูบริหาร และมีผูบริหาร บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด ไทย เปรนวบริ มกัษนัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 40 บริษษัทัท วีพีนทิไีททย ี เอนเนอร ยี่ โซลูชนั่ ส จํากัด ไทย เปนนบริ บริษษัทัทรรววมม บริ บริษษัทัทถืถืออหุหุนนรรออยละ ยละ2520 และมี บริ จํากัด (มหาชน) ไทย เป นกรรมการ ผูมีบกริรรมการและผู หารของบริษบัทริทีห่เปารร วมกันกับบริษัทและมี บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด ไทย มีผผููถบือริหุหนารของบริ รายใหญรษวัทมกั ที่เนปนกรรมการ บริษัท ระยองโอเลฟนส จํากัด ไทย มีผูถือหุนรวมกัน บริษัท สตารปโตรเลียมรีไฟนนิ่ง จํากัด ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน และมีกรรมการรวมกัน 46 กับบริษัท สมาคมเพื่อนชุมชน ไทย มีกรรมการของบริษัทที่เปนผูบริหาร และมีผูบริหาร รวมกัน บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) ไทย เปนบริษัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 25 มีกรรมการและผูบริหารรวมกันกับบริษัทและมี ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ
245
246
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ชื่อกิจการ
ประเทศที่จัดตัง้ ลักษณะความสัมพันธ /สัญชาติ บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จํากัด ไทย เปนบริษัทรวม บริษัทถือหุนรอยละ 15 บริษัทยอยของบริษัทถือหุน รอยละ 15 และมี ผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จํากัด ไทย เปนผูถือหุนของบริษัท และมีผูบริหารของบริษัทที่ เปนกรรมการ บริษัท เอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ จํากัด ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) ไทย มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน และมีกรรมการรวมกัน กับบริษัท บริษัท อมตะ จัดจําหนายกาซธรรมชาติ ไทย เปนกิจการรวมคาของกิจการที่เกี่ยวของกันที่มผี ูถือ จํากัด หุนรายใหญรวมกัน Alliance Petrochemical Investment สิงคโปร มีผูบริหารของบริษัทที่เปนกรรมการ (Singapore) Pte. Ltd. PTT International Trading Pte. Ltd. Myriant Technologies, Inc
Myriant Lake Providence, Inc
Myriant LP LLC
สิงคโปร
มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน
สหรัฐอเมริกา เปนบริษัทรวมของบริษัทยอยของบริษัท บริษัทยอย ถือหุนรอยละ 47.85 และมีผูบริหารของบริษัท ที่เปนกรรมการ สหรัฐอเมริกา เปนบริษัทยอยของบริษัทรวมของบริษัทยอยของ บริษัท บริษัทรวมของบริษัทยอยถือหุนรอยละ 100 สหรัฐอเมริกา เปนบริษัทยอยของบริษัทรวมของบริษัทยอยของ บริษัท บริษัทรวมของบริษัทยอยถือหุนรอยละ 100
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแตละประเภทอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ ขายสินคา การใหบริการ ซื้อสินคา / วัตถุดิบ/ บริการ ดอกเบี้ยเงินกูยืม
นโยบายการกําหนดราคา ราคาตามสัญญา / ราคาตลาดภูมิภาค / ราคาตลาดโลก ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา / ราคาตลาด ตนทุนถัวเฉลี่ยของเงินกูยืม
247
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 รายการที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) ผูถือหุนรายใหญ ขายสินคาหรือการใหบริการ 51,838 50,373 ซื้อสินคาหรือบริการ 60,671 57,422 รายไดอื่น 135 134 คาใชจายอื่น 891 879 ดอกเบี้ยจาย 61 61 บริษัทยอย ขายสินคาหรือการใหบริการ 5,316 ซื้อสินคาหรือบริการ 2,329 รายไดอื่น 136 คาใชจายอื่น 137 ดอกเบี้ยรับ 297 เงินปนผลรับ 1,079 ดอกเบี้ยจาย 9 กิจการที่ควบคุมรวมกัน รายไดอื่น 4 บริษัทรวม ขายสินคาหรือการใหบริการ 12,748 3,758 ซื้อสินคาหรือบริการ 19 12 รายไดอื่น 22 20 คาใชจายอื่น 56 50 เงินปนผลรับ 3 3
248
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ขายสินคาหรือการใหบริการ ขายสินคาหรือการใหบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายไดอื่น คาใชจายอื่น คาใชจายอื่น
ผูบริหารสําคัญ ผูบริหารสําคัญ คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนหลังออกจากงานและผลประโยชนระยะยาวอืน่ ผลประโยชนหลังออกจากงานและผลประโยชนระยะยาวอืน่ รวมคาตอบแทนผูบริหารสําคัญ รวมคาตอบแทนผูบริหารสําคัญ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) (ลานบาท) 7,447 7,447 4,951 4,951 6 6 129 129
6,622 6,622 4,484 4,484 6 6 74 74
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) (ลานบาท) 56 56 1 1 57 57
41 41 1 1 42 42
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลูกหนี้การคา-กิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงิ น รวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลูกหนี้การคา-กิจการที่เกี่ยวของกัน (ลานบาท) (ลานบาท) ผูถือหุนรายใหญ ผูถือหุนรายใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 17,576 17,046 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 17,576 17,046 บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) 1,580 บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) 1,580 12 บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด 12 บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด 511 บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด 511 บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด 13 บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด 13 บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จํากัด 5 บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จํากัด 5 บริษัท ไทยสไตรีนิคส จํากัด 3 บริษัท ไทยสไตรีนิคส จํากัด 3 บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด 258 บริษัท พีทีที ฟนอล จํากัด 258
249
บริบริ ษัทษพีัททพีีทที โกลบอล ีที โกลบอลเคมิเคมิ คอล คอลจําจํกัาดกั(มหาชน) ด (มหาชน)และบริ และบริ ษัทษยัทอยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน สําสํหรัาหรั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งแต วันวทีัน่ 19 ที่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554(วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัทษ)ัทถึ)งถึ31ง 31ธันธัวาคม นวาคม2554 2554 ลูกลูหนี กหนี ้การค ้การค า-กิาจ-กิการที จการที ่เกี่ย่เกีวข่ยวข องกัองกั น (ต น อ(ต) อ) บริบริ ษัทษรัทวรมวม บริบริ ษัทษพีัททพีีทที โพลี ีที โพลี เมอร เมอร มารมาร เก็ตเก็ติต้งติจํ้งากัจํดากัด บริบริ ษัทษวีัทนวีิไนทยิไทย จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) กิจกิการอื จการอื ่นที่น่เกีที่ย่เกีวข่ยวข องกัองกั นน บริบริ ษัทษพีัททพีีทที โพลี ีที โพลี เมอร เมอร โลจิโลจิ สติสกติสกจํสากัจํดากัด บริบริ ษัทษไทยออยล ัท ไทยออยล จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) บริบริ ษัทษสตาร ัท สตาร ปโปตรเลี โตรเลี ยมรียมรี ไฟน ไฟน นิ่งนจํิ่งากัจํดากัด บริบริ ษัทษปตท. ัท ปตท. สผ.สผ. สยาม สยาม จํากัจํดากัด บริบริ ษัทษปตท.สํ ัท ปตท.สํ ารวจและผลิ ารวจและผลิ ตปตโปตรเลี โตรเลี ยมยจํมากัจํดากัด (มหาชน) (มหาชน) บริบริ ษัทษพีัททพีีทที อาซาฮี ีที อาซาฮี เคมิเคมิ คอลคอล จํากัจํดากัด บริบริ ษัทษไออาร ัท ไออาร พีซพี จํีซาี กัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) บริบริ ษัทษเอ็ัทชเอ็เอ็ชมเอ็ซีมโปลี ซี โปลี เมอส เมอส จํากัจํดากัด หักหัคกาเผื ้สงสั้สงสั ยจะสู ญญ คา่อเผืหนี ่อหนี ยจะสู สุทสุธิทธิ หนีหนี ้สูญ้สและหนี ้สงสั้สงสั ยจะสู ญสํญาสํหรัาหรั บงวด ูญและหนี ยจะสู บงวด
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ (ลา(ลนบาท) านบาท) 5,411 5,411 631631
1,263 1,263 625625
55 45 45 327327 66 33
- - 326326 - - -
77 77 2,147 2,147 550550 26,778 26,778 - 26,778 26,778
11 2,147 2,147 398398 24,188 24,188 - 24,188 24,188
- -
- -
250
บริษบริัท ษพีัททพีีทีทโกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคอล จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ัน19ที่ ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 (วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัท)ษถึัทง) 31 ถึง ธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 ลูกหนี ลูก้อหนี ื่น-กิ้อื่นจ-กิ การที จการที ่เกี่ยวข ่เกี่ยอวข งกัอนงกัน ผูถือผูหุถนือรายใหญ หุนรายใหญ บริษบริ ัท ษปตท. ัท ปตท. จํากัจํดา(มหาชน) กัด (มหาชน) บริษบริ ัทยษอัทยยอย บริษบริ ัท ษบางกอกโพลี ัท บางกอกโพลี เอททีเอทที ลีน ลจําีนกัจํดา(มหาชน) กัด (มหาชน) บริษบริ ัท ษไบโอ ัท ไบโอ ครีเอชั ครี่นเอชัจํา่นกัจํดากัด บริษบริ ัท ษปตท. ัท ปตท. เคมิเคมิ คอลคอิอลนเตอร อินเตอร เนชัเ่นนชั นอล ่นนอล (สํานั(สํกางานปฎิ นักงานปฎิ บัติกบารภู ัติการภู มิภาค มิภแอเชี าค แอเชี ยแปซิ ยแปซิ ฟค)ฟจํคา)กัจํดากัด บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทโพลี ีที โพลี เอทิเลอทิ ีน ลจําีนกัจํดากัด บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทเมนเทนแนนซ ีที เมนเทนแนนซ แอนด แอนด เอนจิเอนจิ เนียริเนีงยริจํงากัจํดากัด บริษบริ ัท ษทีัทโอซี ทีโอซี ไกลคอล ไกลคอล จํากัจํดากัด บริษบริ ัท ษไทยแฟตตี ัท ไทยแฟตตี ้แอลกอฮอล ้แอลกอฮอล จํากัจํดากัด บริษบริ ัท ษไทยเอทานอลเอมี ัท ไทยเอทานอลเอมี น จํานกัจํดากัด บริษบริ ัท ษไทยโอลี ัท ไทยโอลี โอเคมี โอเคมี จํากัจํดากัด บริษบริ ัทไทยแท ษัทไทยแท งคเทอร งคเทอร มินัลมินจําัลกัจํดากัด บริษบริ ัท ษเอ็ัทนเอ็ พีซนี พีเซฟตี ซี เซฟตี ้ แอนด ้ แอนด เอ็นเอ็ ไวรอนเมนทอล นไวรอนเมนทอล เซอรเซอร วิส จํวาิสกัจํดากัด PTTPTT Chemical Chemical International International Pte.Pte. Ltd.Ltd. บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทยูที ิลี ยูิตที้ จํิลาิตกัี้ จํดากัด บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทฟีทนี อล ฟนจํอลากัจํดากัด กิจการที กิจการที ่ควบคุ ่ควบคุ มรวมมกั รวนมกัน บริษบริ ัทไทยอี ษัทไทยอี ทอกซี ทอกซี เลทเลท จํากัจํดากัด บริษบริ ัทรษวัทมรวม บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทโพลี ีที โพลี เมอรเมอร มารมาร เก็ตติเก็้งตจํติา้งกัจํดากัด บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทไอซี ีที ไอซี ที โซลู ที โซลู ชั่นสชั่นจําสกัจํดากัด บริษบริ ัท ษพีัท ีทพีี ทเอนเนอร ีที เอนเนอร ยี่ โซลู ยี่ โซลู ชั่นสชั่นจําสกัจํดากัด บริษบริ ัท ษอีัทสเทิอีสรนเทิฟลู รน อฟลู ิด ทรานสปอร อิด ทรานสปอร ต จําตกัจํดากัด
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท) (ลานบาท)
221221
220220
- - - -
5 5 1 1
-
-
19 39 82 7 1 7 5 3
-
-
6 3 3 3
- 2 13 1 2
2 13 1 2
19 39 82 7 1 7 5 3 6 3 3 3
3 3 2 12 1 2
2 12 1 2
251
บริบริ ษัทษัทพีทพีีที ทโกลบอล ี โกลบอลเคมิเคมิ คอล คอลจําจํกัาดกัด(มหาชน) (มหาชน)และบริ และบริ ษัทษยัทอยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน สําสํหรั าหรั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต ้งแต วันวทีัน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554(วั(วั นควบบริ นควบบริ ษัทษ)ัทถึ) งถึ31 ง 31ธันธัวาคม นวาคม2554 2554 งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
ลูกลูหนี กหนี ้อื่น้อ-กิื่น-กิ จการที จการที ่เกี่ยเกีวข ่ยวข องกั องกั น น(ต(ต อ)อ)
(ล(ล านบาท) านบาท)
บริบริ ษัทษรัทวรมทางอ วมทางอ อมอม Myriant MyriantTechnologies TechnologiesIncInc กิจกิการอื จการอื ่นที่น่เทีกี่ยเกีวข ่ยวข องกั องกั นน บริบริ ษัทษัทพีทพีีทที ีทแทงค ี แทงค เทอร เทอร มินมัลินจํัลาจํกัาดกัด บริบริ ษัทษัทพีทพีีทที ีทอาซาฮี ี อาซาฮีเคมิเคมิ คอล คอลจําจํกัาดกัด บริบริ ษัทษัทไออาร ไออาร พีซพี ีซจําี จํกัาดกั(มหาชน) ด (มหาชน) บริบริ ษัทษัทสตาร สตาร ปโปตรเลี โตรเลี ยมรี ยมรี ไฟน ไฟน นิ่งนจํิ่งาจํกัาดกัด หักหัคกาคเผืา่อเผืหนี ่อหนี ้สงสั ้สงสั ยจะสู ยจะสู ญญ สุทสุธิทธิ ูญและหนี ้สงสั ยจะสู าหรั บงวด หนีหนี ้สูญ้สและหนี ้สงสั ยจะสู ญสํญาสํหรั บงวด เงินเงิให นให กูยกืมูยแก ืมแก กจิ กการที จิ การที ่เกีย่เกีวข ย่ วข องกั องกั นน เงินเงิให นให กูยกืมูยระยะสั ืมระยะสั ้น ้น บริบริ ษัทษยัทอยยอย บริบริ ษัทษัทบางกอกโพลี บางกอกโพลี เอทที เอทที ลีนลีนจําจํกัาดกัด (มหาชน) (มหาชน) บริบริ ษัทษัทไบโอ ไบโอครีครี เอชัเอชั ่น ่นจําจํกัาดกัด บริบริ ษัทษัทพีทพีีทที ีทโพลี ี โพลี เอทิเอทิ ลีนลีนจําจํกัาดกัด บริบริ ษัทษไทยเอทานอลเอมี ัทไทยเอทานอลเอมี น นจําจํกัาดกัด บริบริ ษัทษัทเอ็นเอ็พีนซพีี ซเซฟตี ี เซฟตี ้ แอนด ้ แอนด เอ็นเอ็ไวรอนเมนทอล นไวรอนเมนทอลเซอร เซอร วิสวิสจําจํกัาดกัด
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ
อัตอัราดอกเบี ตราดอกเบี ้ย ้ย (รอ(รยละต อยละต อปอ)ป)
33
--
11 1010 11 99 263263 -263263
---99 433433 -433433
--
--
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ (ล(ล านบาท) านบาท)
5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30
-
-
980980 1313 1,000 1,000 1,707 1,707
5.30 5.30
-
-
245245 3,945 3,945 -3,945 3,945
หักหัคกาคเผืา่อเผืหนี ้สงสั ยจะสู ญญ ่อหนี ้สงสั ยจะสู เงินเงิให กูยกืมูยระยะสั ้นแก กิจกการที ่เกีย่เกีวข องกั น น– สุ–ทสุธิทธิ นให ืมระยะสั ้นแก ิจการที ย่ วข องกั
252
บริษบริ ัท พีษทัทีทพีี โกลบอล ทีที โกลบอล เคมิคเคมิ อล คจํอล ากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอยัทยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรัสํบาหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแตว้งันแตทีว่ 19 ันทีตุ่ 19 ลาคม ตุลาคม 25542554 (วันควบบริ (วันควบบริ ษัท) ษถึัทง )31ถึงธัน31วาคม ธันวาคม 25542554 เงินใหเงิกนูยให ืมแก กูยกืมจิ แก การที กจิ การที ่เกีย่ วข่เกีอย่ งกั วขนองกัน
อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ย ้ย งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (รอยละต (รอยละต อป) อป) (ลานบาท) (ลานบาท)
เงินใหเงิกนูยให ืมระยะยาว กูยืมระยะยาว บริษัทบริยอษยัทยอย บริษัทบริบางกอกโพลี ษัท บางกอกโพลี เอททีเลอทที ีน ลีน จํากัดจํ(มหาชน) ากัด (มหาชน) บริษัทบริพีษทัทีทพีี โพลี ทีที เโพลี อทิลเีนอทิจํลากัีนดจํากัด บริษัทบริไทยโอลี ษัท ไทยโอลี โอเคมีโอเคมี จํากัดจํากัด บริษัทบริไทยแฟตตี ษัท ไทยแฟตตี ้แอลกอฮอล ้แอลกอฮอล จํากัดจํากัด
5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30 5.30
-
-
3,8583,858 16,823 16,823 2,3152,315 435 435 23,431 23,431 (6,545) (6,545) - 16,886 16,886
หัก คหัาเผืก ่อคหนี าเผื่อ้สหนี งสัย้สจะสู งสัยญจะสูญ รวมเงิรวมเงิ นใหกนูยให ืมแก กูยกืมิจแก การที กิจการที ่เกี่ยวข่เกีอ่ยงกั วขนองกั – สุนท–ธิ สุทธิ
-
-
3,9453,945 6,5456,545 16,886 16,886 27,376 27,376 - 27,376 27,376
้สูญและหนี งสัยญจะสู ญสํบางวด หรับงวด หนี้สหนี ูญและหนี ้สงสัย้สจะสู สําหรั
-
-
-
หัก สหัวกนทีส่ถวึงนที กํา่ถหนดชํ าระภายในหนึ ่งป ่งป ึงกําหนดชํ าระภายในหนึ หัก คหัาเผืก ่อคหนี าเผื่อ้สหนี งสัย้สจะสู งสัยญจะสูญ เงินใหเงิกนูยให ืมระยะยาวแก กูยืมระยะยาวแก กิจการที กิจการที ่เกีย่ วข่เกีอย่ งกั วขนองกั – สุนท–ธิ สุทธิ สรุปเงิสรุนปใหเงิกนูยให ืมแก กูยกืมิจแก การที กิจการที ่เกี่ยวข่เกีอ่ยงกั วขนองกัน เงินใหเงิกนูยให ืมระยะสั กูยืมระยะสั ้น ้น เงินใหเงิกนูยให ืมระยะยาวส กูยืมระยะยาวส วนที่ถวึงนที กํา่ถหนดชํ ึงกําหนดชํ าระภายในหนึ าระภายในหนึ ่งป ่งป เงินใหเงิกนูยให ืมระยะยาว กูยืมระยะยาว
-
253
บริบริ ษัทษัทพีทพีีทที ีทโกลบอล ี โกลบอลเคมิเคมิ คอล คอลจําจํกัาดกัด(มหาชน) (มหาชน)และบริ และบริ ษัทษยัทอยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน สําสํหรั าหรั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต ้งแต วันวทีัน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554(วั(วั นควบบริ นควบบริ ษัทษ)ัทถึ)งถึ31 ง 31ธันธัวาคม นวาคม2554 2554 รายการเคลื รายการเคลื ่อนไหวของเงิ ่อนไหวของเงิ นให นให กูยกืมูยแก ืมแก กิจกการที ิจการที ่เกี่ยเกีวข ่ยวข องกั องกั นสํนาสํหรั าหรั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต ้งแต วันวทีัน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554ถึงถึ31 ง 31 ธันธัวาคม นวาคม2554 2554มีดมีังดนีัง้ นี้ เงินเงิให นให กูยกืมูยแก ืมแก กจิ กการที จิ การที ่เกีย่ เกีวข ย่ วข องกัองกั นน
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
เงินเงิให นให กูยกืมูยระยะสั ืมระยะสั ้น ้น บริบริ ษัทษยัทอยยอย ณ ณวันวัทีน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554 เพิเพิ ่มขึ่ม้นขึ้น ลดลง ลดลง ณ ณวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2554 2554 นให ืมแก จิ การที ย่ วข เงินเงิให กูยกืมูยแก กจิ กการที ่เกีย่ เกีวข องกัองกั นน
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ (ล(ล านบาท) านบาท)
งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม
เงินเงิให นให กูยกืมูยระยะยาว ืมระยะยาว บริบริ ษัทษยัทอยยอย ณ ณวันวัทีน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554 เพิเพิ ่มขึ่ม้นขึ้น ครบกํ ครบกํ าหนดชํ าหนดชํ าระในหนึ าระในหนึ ่งป่งป ลดลง ลดลง ณ ณวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2554 2554
2,442 2,442 1,503 1,503 -3,945 3,945
งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ (ล(ล านบาท) านบาท)
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
-
-
19,004 19,004 -(445) (445) (1,673) (1,673) 16,886 16,886
นลงทุ นในบริ ย (หมายเหตุ9) 9) เงินเงิลงทุ นในบริ ษัทษยัทอยยอ(หมายเหตุ
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ านบาท) (ล(ล านบาท) 59,112 -59,112
นลงทุ นในกิ จการที ่ควบคุ วมกั (หมายเหตุ9) 9) เงินเงิลงทุ นในกิ จการที ่ควบคุ มรมวรมกั น น(หมายเหตุ
--
210210
6,178 6,178
3,399 3,399
นลงทุ นในบริ (หมายเหตุ10)10) เงินเงิลงทุ นในบริ ษัทษรัทวรมวม(หมายเหตุ
254
บริษบริ ัท ษพีัททีทพีี ทโกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคจํอลากัจํดา(มหาชน) กัด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรั สําบหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ ัน19ทีตุ่ 19ลาคม ตุลาคม 25542554 (วัน(วั ควบบริ นควบบริ ษัท)ษถึัทง) 31 ถึงธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 เจาหนี เจา้กหนี ารค้กาารค -กิจาการที -กิจการที ่เกีย่ วข ่เกีย่ อวข งกัอนงกัน ผูถือผูหุถนือรายใหญ หุนรายใหญ บริษบริ ัท ปตท. ษัท ปตท. จํากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) บริษบริ ัทยษอัทยยอย บริษบริ ัท พีษัทีทพีี ทโพลี ีที โพลี เอทิลเอทิ ีน จํลาีนกัดจํากัด บริษบริ ัท พีษัทีทพีี ทยูที ิลี ยูิตที้ จํิลาิตกัี้ ดจํากัด บริษบริ ัท ไทยโอลี ษัท ไทยโอลี โอเคมี โอเคมี จํากัดจํากัด กิจการอื กิจการอื ่นที่เ่นกี่ยทีวข ่เกี่ยอวข งกัอนงกัน บริษบริ ัท ระยองโอเลฟ ษัท ระยองโอเลฟ นส นจําสกัดจํากัด บริษบริ ัท สตาร ษัท สตาร ปโตรเลี ปโตรเลี ยมรียไมรี ฟนไนฟน ิ่ง จํนาิ่งกัดจํากัด บริษบริ ัท ไออาร ษัท ไออาร พีซี พจําีซกัี ดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) บริษบริ ัท เอ็ ษัทชเอ็มชซีเอ็โปลี มซี โปลี เมอสเมอส จํากัดจํากัด บริษบริ ัท บางจาก ษัท บางจาก ปโตรเลี ปโตรเลี ยม จํยามกัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) PTTPTT International International Trading Trading Pte.Ltd. Pte.Ltd. รวมรวม เจาหนี เจา้อหนี ื่น-กิ้อื่นจการที -กิจการที ่เกี่ยวข ่เกี่ยอวข งกัอนงกัน
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท) (ลานบาท)
23,152 23,152
21,010 21,010
- - - -
933 933 114 114 22 22
4 4 464 464 13 13 25 25 1 1 57 57 23,716 23,716
4 4 464 464 - - - - 22,547 22,547
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท) (ลานบาท)
ผูถือผูหุถนือรายใหญ หุนรายใหญ บริษบริ ัท ปตท. ษัท ปตท. จํากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน)
1,1551,155
1,0601,060
บริษบริ ัท บางกอกโพลี ษัท บางกอกโพลี เอททีเอทที ลีน จํลาีนกัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน)
- -
26 26
บริษบริ ัท พีษัทีทพีี ทโพลี ีที โพลี เอทิลเอทิ ีน จํลาีนกัดจํากัด
- -
2 2
บริษบริ ัท พีษัทีทพีี ทเมนเทนแนนซ ีที เมนเทนแนนซ แอนด แอนด เอนจิเอนจิ เนียริเนีง ยจํริางกัดจํากัด
- -
80 80
บริษบริ ัท ทีษัทโอซี ทีโไกลคอล อซี ไกลคอล จํากัดจํากัด
- -
8 8
บริษบริ ัทยษอัทยยอย
255
บริษบริัทษพีัททพีีทที โกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคอล จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทษยอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแตันทีวัน่ 19ที่ ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 (วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัทษ) ถึัทง) ถึ31ง ธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 เจาหนี เจาหนี ้อื่น-กิ ้อื่นจ-กิ การที จการที ่เกี่ย่เวข กี่ยอวข งกัอนงกั(ตนอ(ต ) อ)
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท) (ลานบาท)
บริษบริัทษไทยเอทานอลเอมี ัท ไทยเอทานอลเอมี น จํนากัจํดากัด
- -
1 1
บริษบริัทษไทยโอลี ัท ไทยโอลี โอเคมี โอเคมี จํากัจํดากัด
- -
9 9
บริษบริัทไทยแท ษัทไทยแท งคเทอร งคเทอร มินัลมินจํัลากัจํดากัด
- -
2 2
บริษบริัทษเอ็ัทนเอ็พีนซีพีเซฟตี ซี เซฟตี ้ แอนด ้ แอนด
- -
16 16
- - -
1 1 2 2
6 6 65 65 9 9
3 3 60 60 9 9
26 26 77 77 13 13 3 3 22 22 7 7 22 22 1,405 1,405
3 3 56 56 10 10 3 3 22 22 - 22 22 1,395 1,395
เอ็นเอ็ไวรอนเมนทอล นไวรอนเมนทอล เซอรเซอร วิส วจํิสากัจํดากัด บริษบริัทษพีัททพีีทีทยูีที ิลยูิตที้ ิลจํิตากัี้ จํดากัด บริษบริัทษไทยสไตรี ัท ไทยสไตรี นิคสนิคจํสากัจํดากัด บริษบริัทรษวัทมรวม บริษบริัทษวีัทนิไวีทย นิไทย จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) บริษบริัทษพีัททพีีทีทไอซี ีที ไอซี ที โซลู ที โซลู ชั่นสชั่นจํสากัจํดากัด บริษบริัทษอีัทสเทิ อีสรเทิ น รฟลู น อฟลู ิด อทรานสปอร ิด ทรานสปอร ต จํตากัจํดากัด กิจการอื กิจการอื ่นที่นเกีที่ย่เวข กี่ยอวข งกัอนงกัน บริษบริัทษพีัททพีีทีทโพลี ีที โพลี เมอรเมอร โลจิโลจิ สติกสสติกจํสากัจํดากัด บริษบริัทษทิัทพทิยประกั พยประกั นภัยนภัจํายกัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) บริษบริัทษไออาร ัท ไออาร พีซีพจํีซากัี จํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) บริษบริัทษเอนเนอร ัท เอนเนอร ยี่ คอมเพล็ ยี่ คอมเพล็ กซ กจํซากัจํดากัด บริษบริัทษสตาร ัท สตาร ปโตรเลี ปโตรเลี ยมรียไมรี ฟนไฟน นิ่ง นจําิ่งกัจํดากัด บริษบริัทษบิัทซิเบินส ซิเนส เซอรเซอร วสิ เซส วสิ เซส อัลไลแอนซ อัลไลแอนซ จํากัจํดากัด อื่นๆอื่นๆ รวมรวม
256
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีปทระกอบงบการเงิ ีที โกลบอล เคมินคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหมายเหตุ หรับระยะเวลาตั ้งแตวันที่ 19น ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 เจาหนี้ผูรับเหมากอสราง-กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้ผูรับเหมากอสราง-กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริบริ ษัทษัทพียทอีทยี เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จํากัด บริบริ ษัทษรัทวมพีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จํากัด บริบริ ษัทษัทพีรทวีทมี ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด รวม รวม อัตราดอกเบี้ย เงินกูยมื จากกิจการที่เกีย่ วของกัน ราดอกเบี มื จากกิน้ จการที่เกีย่ วของกัน (รอัอตยละต อป) ้ย เงินเงิกูนยกูมื ยระยะสั (รอยละตอป) บริเงิษนัทกูยยอมื ยระยะสัน้ บริบริ ษัทษัททียโออซีย ไกลคอล จํากัด 3.00-3.45 บริษนัทกูทียมืโอซี ด องกัน 3.00-3.45 รวมเงิ จากกิไกลคอล จการที่เจํกีา่ยกัวข รวมเงินกูยมื จากกิจการที่เกี่ยวของกัน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) -
-
66 66
9 99 9
9 75 9 75
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) --
1,201 1,201 1,201 1,201
รายการเคลื่อนไหวของเงินกูย มื จากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง ่อนไหวของเงิ 31รายการเคลื ธันวาคม 2554 มีดังนี้ นกูย มื จากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ เงินกูยมื จากกิจการที่เกีย่ วของกัน เงินกูยมื จากกิจการที่เกีย่ วของกัน บริษัทยอย ยอตุยลาคม 2554 ณ บริ วันษทีัท่ 19 เพิณ่มขึวั้นนที่ 19 ตุลาคม 2554 เพิ่มขึ้น ลดลง ณ ลดลง วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม (ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) ----
100 1,101100 1,101 1,201 1,201
257
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 อัตราดอกเบี้ย เงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุนที่ถึง อัตราดอกเบี้ย เงินกํกูาหนดชํ ดอยสิทาระภายในหนึ ธิจากผูถือหุน่งทีป่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป (รอยละตอป) (รอยละตอป) ผูถือหุนรายใหญ ผูบริถษือหุัทนปตท. รายใหญ จํากัด (มหาชน) 6.25 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 6.25 เงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุนที่ถึงกําหนดชําระ เงินภายในหนึ กูดอยสิท่งธิปจากผูถือหุนที่ถึงกําหนดชําระ ่งป ผูถภายในหนึ ือหุนรายใหญ ผูณถวัือนหุทีน่ รายใหญ 19 ตุลาคม 2554 ณ ่มวัขึน้นที่ 19 ตุลาคม 2554 เพิ เพิ่มขึ้น ลดลง ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินรวม งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะ งบการเงิ นเฉพาะ กิจการ (ลานบาท) กิจการ (ลานบาท) 4,988 4,988 4,988 4,988 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม งบการเงิ นเฉพาะ กิจการ กิจการ 4,927 4,927 61 614,9884,988
4,927 4,927 61 614,9884,988
สัญญาสําคัญที่ทํากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน สัญญาสําคัญที่ทํากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีสัญญาสําคัญที่ทํากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีสัญญาสําคัญที่ทํากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ดังนี้ สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑโอเลฟนส สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑโอเลฟนส บริษัทมีสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑโอเลฟนสกับกลุมบริษัทปโตรเคมีขั้นตอเนื่อง 5 บริษัท ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของกัน 2 บริ ญาซื้อนขายผลิ ภัณตภัฑณโอเลฟ นสนกับสกลุ ษัทาปปริโตรเคมี ขั้นต่รอะบุ เนืไ่อวงใ5นสับริญษญาัท และกํ ซึ่งเปนาหนดราคาขายอ กิจการที่เกี่ยวขาองอิ งกังนจาก2 แหษง ัทซึมี่งรัสบัญประกั การซื้อตผลิ ฑโอเลฟ ไมมนบริ อยกว มาณตามที แห ง ซึ่งรัลบีนประกั นการซื้อผลิ ภัณฑระยะเวลา โอเลฟนส15ไมปนนัอยกว าปรินมทีาณตามที วในสั่รญะบุ ญาไและกํ งอิ้นงจาก ราคาเอทิ ในตลาดโลก สัญตญามี บจากวั ่ที่มีผลบั่รงะบุ คับไตามที วในสัาญหนดราคาขายอ ญา และจะมีผาลสิ สุด ราคาเอทิ ในตลาดโลก สัญญามี ป นับใหม จากวักนับทีกิ่ทจการที ี่มีผลบั่เกีง่ยคัวข บตามที ะบุงไหนึ วในสั ญ่อญาตอและจะมี ในเดื อนธัลนีนวาคม 2554 โดยบริ ษัทมีรกะยะเวลา ารทําสัญ15ญาฉบั องกัน่รแห ่ง เพื สัญญาทีผ่จลสิ ะสิ้นสุด ในเดือนธันวาคม 2554 ดัโดยบริ ัทมีการทํ าสัญญาฉบับาใหม กับกิจการที่เลกีีน่ยวข องกันแหงหนึ ตอสัญญาที สุด งกลาวษโดยกํ าหนดราคาขายอ งอิงจากราคาเอทิ ในตลาดโลก สัญ่งญามีเพืร่อะยะเวลา 10 ป่จะสิ นับ้นจาก กลไาววใโดยกํ หนดราคาขายอ างอิ้นงสุจากราคาเอทิ ในตลาดโลก ญญามี ระยะเวลา จากง วัในเดื นที่อทนธั ี่มีผนลบัวาคม งคับ2554 ตามทีดั่รงะบุ นสัญาญา และจะมีผลสิ ดในเดือนธันลีนวาคม 2564 สวสันกิ จการที ่เกี่ยวขอ10งกัปนอีนักบแห วันที่งอยู ่ที่มรีผะหว ลบัางงการเจรจาต คับตามที่ระบุ นสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2564 สวนกิจการที่เกี่ยวของกันอีกแหง หนึ อสัไญวใญา หนึ่งอยูระหวางการเจรจาตอสัญญา บริษัทมีสัญญาซื้อขายเอทิลีนรวมจํานวน 3 ฉบับกับผูถือหุนรายใหญและกิจการที่เกี่ยวของกันอีก 2 แหง โดยตามสัญญา บริ ัทมีสบัญกํญาซื ้อขายเอทิลีนรวมจํ นวน 3 ฉบับกับผูถือหุนอรายใหญ และกิจการที ่เกี่ยวขกอโพลี งกันเอีอทิ ก 2ลีนแหในตลาดโลก ง โดยตามสัญและ ญา แตษละฉบั าหนดราคาขายอ างอิงาจากราคาในตลาดโลก างอิงจากราคาเม็ ดพลาสติ แตละฉบับกําหนดราคาขายอางอิงจากราคาในตลาดโลก อางอิงจากราคาเม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนในตลาดโลก และ
258
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษษัทัท พีพีททีทีที ี โกลบอล โกลบอล เคมิ เคมิคคอล อล จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทยยออยย บริ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สํสําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แตววันันทีที่ ่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริษษัทัท)) ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 ้ง้งแต สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
อางอิงจากราคาอีเทน สัญญามีระยะเวลาตั้งแต 7 ป ถึง 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และ อาางอิ งอิงงจากราคาอี จากราคาอีเเทน ทน สัสัญญญามี ญามีรระยะเวลาตั ะยะเวลาตั้ง้งแต แต 77 ปป ถึถึงง 15 15 ปป นันับบจากวั จากวันนทีที่ท่ที่มี่มีผีผลบั ลบังงคัคับบตามที ตามที่ร่ระบุ ะบุไไววใในแต นแตลละสั ะสัญญญา ญา และ และ อจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื อ นกรกฎาคม 2555 เดื อ นสิ ง หาคม 2564 และเดื อ นพฤษภาคม 2565 อจะมี างอิผงลสิ จากราคาอี เทนอนกรกฎาคม สัญญามีระยะเวลาตั แตง7หาคม ป ถึง2564 15 ปและเดื นับจากวั นที่ที่มีผลบั2565 งคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และ ในเดื 2555 เดืเดืออ้งนสิ นสิ นพฤษภาคม จะมี ผลสิ้น้นสุสุดดในเดื อนกรกฎาคม 2555 งหาคม 2564 และเดืออนพฤษภาคม 2565 จะมีผลสิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2555 เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนพฤษภาคม 2565 บริษัทมีสัญญาซื้อขายโพรพิลีนรวมจํานวน 2 ฉบับ กับกิจการที่เกี่ยวของกัน 2 แหง โดยตามสัญญาแตละฉบับกําหนด บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาซื ญาซื้อ้อขายโพรพิ ขายโพรพิลลีนีนรวมจํ รวมจําานวน นวน 22 ฉบั ฉบับบ กักับบกิกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันน 22 แห แหงง โดยตามสั โดยตามสัญญญาแต ญาแตลละฉบั ะฉบับบกํกําาหนด หนด บริ ราคาขายอ า งอิ ง จากราคาเม็ ด พลาสติ ก โพลิ โ พรพิ ล ี น และราคาโพรพิ ล ี น ในตลาดโลก สั ญ ญามี ร ะยะเวลาตั ้ ง แต 12 ป ถึง บริ ษัทมีสัญางอิ ญาซื ้อขายโพรพิ ลีนรวมจํ านวน 2 ฉบั บและราคาโพรพิ กับกิจการที่เกี่ยลวขีนอในตลาดโลก งกัน 2 แหง สัโดยตามสั ญญาแตละฉบั บ12กําปหนด ราคาขายอ ง จากราคาเม็ ด พลาสติ ก โพลิ โ พรพิ ล ี น ญ ญามี ร ะยะเวลาตั ้ ง แต ราคาขายอ างอิ งจากราคาเม็ ดลบั พลาสติ กโพลิ่รโะบุ พรพิไวลใีนนแต และราคาโพรพิ ลีนในตลาดโลก สัญญามี รนะยะเวลาตั ้งแตและเดื 12 ป อถึถึนงง 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ง คั บ ตามที ล ะสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นธั วาคม 2559 ราคาขายอ งจากราคาเม็ พลาสติ กโพลิ่รโะบุ พรพิไวลใีนนแต และราคาโพรพิ ลีนในตลาดโลก สัญญามี ้งแตและเดื 12 ป อถึนง 15 ปป นันับบางอิ จากวั นทีที่ท่ที่มี่มีผีผดลบั ลบั งคัคับบตามที ตามที ละสั ะสัญญญา ญา และจะมี และจะมี ผลสิ ลสิ้น้นสุสุดดในเดื ในเดื อนธั นธัรนนะยะเวลาตั วาคม 2559 2559 15 จากวั น ง ่ ร ะบุ ไ ว ใ นแต ล ผ อ วาคม และเดื อน ธันวาคม 15 ป นับ2566 จากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2559 และเดือน ธัธันนวาคม วาคม 2566 2566 ธันวาคม 2566 สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑพลอยได ญาซื้อ้อขายผลิ ขายผลิตตภัภัณณฑฑพพลอยได ลอยได สัสัญญญาซื สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑพลอยได บริษัทมีสัญญาซื้อขายกาซไฮโดรเจนรวมจํานวน 2 ฉบับ กับกิจการที่เกี่ยวของกัน 2 แหง โดยตามสัญญาแตละฉบับ บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาซื ญาซื้อ้อขายก ขายกาาซไฮโดรเจนรวมจํ ซไฮโดรเจนรวมจําานวน นวน 22 ฉบั ฉบับบ กักับบกิกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันน 22 แห แหงง โดยตามสั โดยตามสัญญญาแต ญาแตลละฉบั ะฉบับบ บริ กํบริาหนดราคาขายที อ ่ า งอิ ง จากราคาก า ซธรรมชาติ ส า ํ หรั บ อุ ต สาหกรรม สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ม ่ ี ผ ี ลบั งคับบ ษัทมีสัญญาซื้อขายก านวนสํา2หรัฉบั บตสาหกรรม กับกิจการทีสัญ ่เกีญามี ่ยวขอรงกั น 2 แห งป โดยตามสั ญ ญาแต ลลบั ะฉบั กํกําาหนดราคาขายที หนดราคาขายที ่่ออาางอิ งอิงางซไฮโดรเจนรวมจํ จากราคาก า ซธรรมชาติ บ อุ ะยะเวลา 15 นั บ จากวั น ที ่ ท ม ่ ี ผ ี จากราคาก าซธรรมชาติ สในเดื ําหรัอบนมี อุตนสาหกรรม สัและเดื ญญามีอนธั ระยะเวลา 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังงคัคับบ ตามที ร ่ ะบุ ไ ว ใ นแต ล ะสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด าคม 2567 น วาคม 2568 กํตามที าหนดราคาขายที งอิงญจากราคาก าซธรรมชาติ สในเดื ําหรัอบนมี อุตสาหกรรม ญญามีอนธั ระยะเวลา ะบุไไววใในแต นแต่อลลาะสั ะสั ญา และจะมี และจะมี ลสิ้น้นสุสุดดในเดื าคม 2567 2567 สัและเดื และเดื วาคม 15 2568ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับ ตามที่ร่ระบุ ญญา ผผลสิ อนมีนนาคม อนธันนวาคม 2568 ตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2567 และเดือนธันวาคม 2568 บริษัทมีสัญญาซื้อขายเทลกาซกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งโดยตามสัญญากําหนดราคาขายที่อางอิงจากราคากาซ บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาซื ญาซื้อ้อขายเทลก ขายเทลกาาซกั ซกับบกิกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันนแห แหงงหนึ หนึ่ง่งโดยตามสั โดยตามสัญญญากํ ญากําาหนดราคาขายที หนดราคาขายที่อ่อาางอิ งอิงงจากราคาก จากราคากาาซซ บริ ธรรมชาติ ส า ํ หรั บ อุ ต สาหกรรม สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ผ ี ลบั ง คั บ ตามที ร ่ ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี บริ ษัทมีสัญสําญาซื ้ออุขายเทลก าซกับสักิญจญามี การทีระยะเวลา ่เกี่ยวของกั15นแห งนัหนึ ่งโดยตามสั ญีผญากํ าหนดราคาขายที ่อนสั างอิญงญา จากราคาก าซผผลล ธรรมชาติ หรั บ ต สาหกรรม ป บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ลบั ง คั บ ตามที ร ่ ะบุ ไ ว ใ และจะมี ธรรมชาติ สําอหรั บอุตสาหกรรม ญามีระยะเวลา 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในสัญญา และจะมีผล สิ้นสุดในเดื นกรกฎาคม 2565 สัสัญ ธรรมชาติ สําอหรั บอุตสาหกรรม ญญามีระยะเวลา 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในสัญญา และจะมีผล สิสิ้น้นสุสุดดในเดื ในเดื นกรกฎาคม 2565 อนกรกฎาคม 2565 สิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2565 สัญญาซื้อขายสาธารณูปการและบริการอื่นๆ ญาซื้อ้อขายสาธารณู ขายสาธารณูปปการและบริ การและบริกการอื ารอื่น่นๆๆ สัสัญญญาซื สัญญาซื้อขายสาธารณูปการและบริการอื่นๆ บริษัทมีสัญญาการจําหนายไฟฟาจํานวนรวม 2 ฉบับกับกิจการที่เกี่ยวของกัน 2 แหง โดยตามสัญญากําหนดราคาขาย บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาการจํ ญาการจําาหน หนาายไฟฟ ยไฟฟาาจํจําานวนรวม นวนรวม 22 ฉบั ฉบับบกักับบกิกิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันน 22 แห แหงง โดยตามสั โดยตามสัญญญากํ ญากําาหนดราคาขาย หนดราคาขาย บริ อบริางอิ ง จากราคาของการไฟฟ า ส ว นภู ม ภ ิ าค สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ผ ี ลบั ง คั บ ตามที ร ่ ะบุ ไวในแตละ ษัทงมีจากราคาของการไฟฟ สัญญาการจําหนายไฟฟ านภู จํานวนรวม 2ญญามี ฉบับรกัะยะเวลา บกิจการที15่เกี่ยปวขอนังกับจากวั น 2 นแหที่ทง ี่มโดยตามสั ญญากํ่ราะบุ หนดราคาขาย ออาางอิ งอิ า ส ว ม ภ ิ าค สั ผ ี ลบั ง คั บ ตามที นแตลละะ าสเดืวอนภู มนภิ ยายน าค 2557 สัญญามี ระยะเวลา 15 ป2559นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไไววใในแต สัอาญงอิญางงจากราคาของการไฟฟ และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ใน นกั และเดื อ นธั น วาคม สเดืวอนภู าค 2557 สัญญามี ระยะเวลา 15 ป2559นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละ ญาจากราคาของการไฟฟ และจะมีผผลสิ ลสิน้ น้ สุสุดดใน ในาเดื นกัมนนภิ ยายน ยายน และเดื นธันนวาคม วาคม สัสัญญญา และจะมี อนกั 2557 และเดื ออนธั 2559 สัญญา และจะมีผลสิน้ สุดใน เดือนกันยายน 2557 และเดือนธันวาคม 2559 บริษัทมีสัญญาการจําหนายสาธารณูปการจํานวนรวม 3 ฉบับ เพื่อจําหนายสาธารณูปการตางๆ เชน ไฟฟา ไอน้ํา และ บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาการจํ ญาการจําาหน หนาายสาธารณู ยสาธารณูปปการจํ การจําานวนรวม นวนรวม 33 ฉบั ฉบับบ เพื เพื่อ่อจํจําาหน หนาายสาธารณู ยสาธารณูปปการต การตาางๆ งๆ เช เชนน ไฟฟ ไฟฟาา ไอน้ ไอน้ําํา และ และ บริ น้ า ํ ปรั บ สภาพ กั บ กิ จ การที เ ่ กี ย ่ วข อ งกั น 2 แห ง สั ญ ญามี ร ะยะเวลาตั ง ้ แต 10 ป ถึ ง 15 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ผ ี ลบั ง คั บ ตามที บริ ษปรััทบมีสภาพ สัญญาการจํ าการที หนายสาธารณู ปนการจํ านวนรวม 3รฉบั บ เพื่อจํ้งาแต หน10 ายสาธารณู ปปการต างๆ เช น่ทไฟฟ า ไอน้ ําตามที และ ่่ น้ า ํ กั บ กิ จ เ ่ กี ย ่ วข อ งกั 2 แห ง สั ญ ญามี ะยะเวลาตั ป ถึ ง 15 นั บ จากวั น ที ม ่ ี ผ ี ลบั ง คั บ น้ระบุ ําปรัไบวใสภาพ การที ่เกี่ยวขผอลสิ งกั้นนสุ2ดแห ง สัอนธั ญญามี ระยะเวลาตั ป ถึง2564 15 ป และเดื นับจากวั นที่ที่มีผลบั2567 งคับตามที่ นแตลกักัะสับบกิกิญจจญา และจะมี ในเดื นวาคม 2559 เดื้ง้งอแต นธั10 นวาคม อนกรกฎาคม น้ระบุ ําปรัไบวใสภาพ การที ่เกี่ยวขผอลสิ งกั้นนสุ2ดแห ง สัอนธั ญญามี ระยะเวลาตั แต 10 ป ถึง2564 15 ป และเดื นับจากวั นที่ที่มีผลบั2567 งคับตามที่ นแต ล ะสั ญ ญา และจะมี ในเดื น วาคม 2559 เดื อ นธั น วาคม อ นกรกฎาคม ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2559 เดือนธันวาคม 2564 และเดือนกรกฎาคม 2567 ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2559 เดือนธันวาคม 2564 และเดือนกรกฎาคม 2567 กิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งมีสัญญาซื้อขายไฟฟา ไอน้ําและน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมจํานวนหลายฉบับกับบริษัท กิจจการที การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันแหงงหนึ หนึ่ง่งมีมีสสัญัญญาซื ญาซื้อ้อขายไฟฟ ขายไฟฟาา ไอน้ ไอน้ําําและน้ และน้ําําเพื เพื่อ่อการอุ การอุตตสาหกรรมจํ สาหกรรมจําานวนหลายฉบั นวนหลายฉบับบกักับบบริ บริษัทัท กิและกิ จการที ่เกีอ่ยงกั วขนนอแห งกันงหนึ หลายแห งญาซื สัญ้อญามี ระยะเวลา 15ําและน้ ป นับําเพื แต่อวการอุ ันที่ทตี่มสาหกรรมจํ ีผลบังคับตามที ่ระบุไวในแต ลบะสับริญษษญา กิและกิ จการที ่ เ กี ่ ย วข แห ่ ง มี ส ั ญ ขายไฟฟ า ไอน้ า นวนหลายฉบั บ กั ัท การที่เ่เกีกี่ย่ยวข วขอองกั งกันนหลายแห หลายแหงง สัสัญญญามี ญามีรระยะเวลา ะยะเวลา 15 15 ปป นันับบแต แตววันันทีที่ท่ที่มี่มีผีผลบั ลบังงคัคับบตามที ตามที่ร่ระบุ ะบุไไววใในแต นแตลละสั ะสัญญญา ญา และกิจจการที และกิจการที่เกี่ยวของกันหลายแหง สัญญามีระยะเวลา 15 ป นับแตวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา 59
259
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัทบพีระยะเวลาตั ทีที โกลบอล เคมิ คทีอล สํบริ าหรั ง ้ แต ว น ั 2554 (วัและบริ นควบบริ ธันวาคม 2554 หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น่ 19จํจํตุาาลกักัาคม ษษัทัทบพีพีระยะเวลาตั ททีทีทีี โกลบอล เคมิ คคทีอล ดด (มหาชน) ษษัทัทษษยยัทัทออ))ยยถึถึงง 31 บริ โกลบอล เคมิ อล (มหาชน) และบริ สํบริ า หรั ง ้ แต ว น ั ่ 19 ตุ ล าคม 2554 (วั น ควบบริ 31 ธันวาคม 2554 ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีนน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ปประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ สํหมายเหตุ าหรับและจะมี ระยะเวลาตั ันทีน่ ว19งเดืตุอลนกรกฎาคม าคม 2554 (วั2566 นควบบริ ) ถึนงยายน 31 ธัน2570 วาคม และสามารถต 2554 ผลสิ้ง้ง้นแต สุดววในช ถึง เดืษษอัทัทนกั อสัญญาไดอีก 5 ป โดย สํสําาหรั บ ระยะเวลาตั แต น ั ที ่ 19 ตุ ล าคม 2554 (วั น ควบบริ ) ถึ ง 31 ธั น วาคม 2554 และจะมี ผ ลสิ น สุ ด ในช ว งเดื อ นกรกฎาคม 2566 ถึ ง เดื อ นกั น ยายน 2570 และสามารถต อสัญญาไดอีก 5 ป โดย หรั บ ระยะเวลาตั ง ้ แต ว น ั ที ่ 19 ตุ ล าคม 2554 (วั น ควบบริ ษ ท ั ) ถึ ง 31 ธั น วาคม 2554 สําหรับคูระยะเวลาตั ้งแตาวยตกลงกั ันที่ 19 นตุในเงื ลาคม่อนไข 2554และรายละเอี (วันควบบริยษดของสั ัท) ถึงญ31ญาต ธันอวาคม สัญญาทั้งสองฝ ไป 2554
้นสุาดยตกลงกั ในชวงเดืนอในเงื นกรกฎาคม 2566 ถึง ยเดืดของสั อนกันญยายน 2570 และสามารถตอสัญญาไดอีก 5 ป โดย คูและจะมี และจะมี สัญญาทัผผ้งลสิ สองฝ อ ่ นไข และรายละเอี ญาต อ ไป ้นสุาดยตกลงกั ในชวงเดืนอในเงื นกรกฎาคม 2566 ถึง ยเดืดของสั อนกันญยายน อสัญญาไดอีก 5 ป โดย คูและจะมี สัญญาทัผ้งลสิ สองฝ ่อนไข และรายละเอี ญาตอ2570 ไป และสามารถต ลสิ ้ น สุ ด ในช ว งเดื อ นกรกฎาคม 2566 ถึ ง เดื อ นกั น ยายน 2570 และสามารถต อสัญญาได ออีีกก 55 ปป โดย ้้นนสุสุาดดบยตกลงกั ในช ววงเดื นกรกฎาคม ถึถึงง่เกียเดื ออนกั คูและจะมี สษัญัทญาทั สองฝ ่อตนไข ญาต อ2570 ไป่ง สัญและสามารถต และจะมี ลสิ ในช งเดืนออในเงื นกรกฎาคม 2566 เดื่ยดของสั นกั ยายน 2570 และสามารถต ญปญาได ญาได อีก 5นทีป่ที่มโดย โดย บริ มีสผผัญ้งลสิ ญาให ริการขนถ ายผลิ ภัณฑและรายละเอี กับ2566 กิจการที วข องกันนญนยายน แหงหนึ ญามีระยะเวลาออสัสั3ญ นับจากวั ีผล คูคูบริสสษัญ ญาทั ง ้ สองฝ า ยตกลงกั น ในเงื อ ่ นไข และรายละเอี ย ดของสั ญ ญาต อ ไป ท ั มี ส ญ ั ญาให บ ริ ก ารขนถ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ก บ ั กิ จ การที เ ่ กี ย ่ วข อ งกั น แห ง หนึ ง ่ สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 3 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ีผล ้ง้งสองฝ าาวยตกลงกั นนและจะมี ในเงื ่อ่อนไข และรายละเอี ยยดของสั ญ ญาต ออโดยสามารถขยายระยะเวลาได ไป คูบริ ัญบัทญาทั ญาทั สองฝ ยตกลงกั ในเงื นไข และรายละเอี ดของสั ญ ญาต ไป บัสงคัษัญ ตามที ร ่ ะบุ ไ ใ นสั ญ ญา ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื อ นธั น วาคม 2555 อ ก ี คราวละ 3 ป แต มีสัญญาให การขนถ ายผลิตภัผณลสิ ฑก้นับสุกิดจในเดื การทีอ่เนธั กี่ยวข องกัน2555 แหงหนึ ่ง สัญญามีระยะเวลา 3 ป อนัีกบคราวละ จากวันที3่ทปี่มแต ีผล บังคัษบัทตามที ่ระบุไวบบใริรินสั ญญา และจะมี นวาคม โดยสามารถขยายระยะเวลาได บริ มี ส ญ ั ญาให ก ารขนถ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ก บ ั กิ จ การที เ ่ กี ย ่ วข อ งกั น แห ง หนึ ง ่ สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 3 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ีผล ญารวมต เกิญนญา 15 และจะมี ป บัอายุ งคัษสสบัทัญ ตามที ่ระบุออไวงไม ใรินสั ผณลสิ ้นับสุกิดจในเดื อ่เนธั นวาคม 2555 โดยสามารถขยายระยะเวลาได อนัีกบคราวละ 3่ทปี่มแต บริ มี ส ญ ั ญาให บ ก ารขนถ า ยผลิ ต ภั ฑ ก การที กี ย ่ วข อ งกั น แห ง หนึ ง ่ สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 3 ป จากวั น ที ีผีผลล อายุ ญ ั ญารวมต งไม เ กิ น 15 ป บริ มีมีสสัญ ญาให บบใริรินสั กการขนถ าายผลิ ตตภัภัผณ ฑ กก้นับับสุกิกิดจจในเดื การที ่เ่เนธั กีกี่ย่ยวข อองกั นน2555 แห งงหนึ ่ง่ง สัสัญ ญามี รระยะเวลา 33 ปป อนันัีกบบคราวละ จากวั นนทีที3่ท่ทปี่มี่มแต บัอายุ งคัษษสบัทัทัญตามที ร ่ ะบุ ไ ว ญ ญา และจะมี ลสิ อ น วาคม โดยสามารถขยายระยะเวลาได บริ ญ ั ญาให ารขนถ ยผลิ ณ ฑ การที วข งกั แห หนึ ญ ญามี ะยะเวลา จากวั ีผล ญารวมต อไวงไม เกิญนญา 15 และจะมี ป บับังงคัคับบตามที ร ่ ะบุ ใ นสั ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื อ นธั น วาคม 2555 โดยสามารถขยายระยะเวลาได อ ก ี คราวละ 3 ป แต ่ร่ระบุ ใใดนสั ญ สบัญตามที ญารวมต 15าและจะมี ปซเชื้อเพลิผผงลสิ บัอายุ งคัญาซื ตามที ะบุตอไไถุววงไม นสั ญนญา ญา และจะมี ลสิ้น้นสุสุดดในเดื ในเดืออนธั นธันนวาคม วาคม 2555 2555 โดยสามารถขยายระยะเวลาได โดยสามารถขยายระยะเวลาไดออีกีกคราวละ คราวละ 33 ปป แต แต สัญ ้อขายวั ิบเกิและก อายุ สสัญ ญารวมต อ งไม เ กิ น 15 ป สัอายุ ญ ญาซื อ ้ ขายวั ต ถุ ด บ ิ และก า ซเชื อ ้ เพลิ ง องไมเเกิกินน 15 อายุ สัญ ัญญารวมต ญารวมต 15าปปซเชื้อเพลิง สัญญาซื ้อขายวัตอถุงไม ดิบและก สับริญษญาซื ดิบและก าซเชื้อจเพลิ ัทมีส้อัญขายวั ญาซืต้อถุขายก าซแอลพี ีกับผูงถือหุนรายใหญ โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอางอิงจากราคาเม็ดพลาสติก สับริ ญ ญาซื อ ้ ขายวั ต ถุ ด บ ิ และก า ซเชื อ ้ เพลิ ษญาซื ัทมีส้อ้อัญขายวั ญาซืตต้อถุถุขายก าซแอลพี ีกับผูงงงถือหุนรายใหญ โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอางอิงจากราคาเม็ดพลาสติก สัสัโพลิ ญ ดดิบิบและก าาซเชื ้อ้อจ15เพลิ ญ ญาซื ขายวั และก ซเชื เพลิ โ พรพิ ล ี น สั ญ ญามี ร ะยะเวลา นที่ทโดยตามสั ี่มีผลบังคับญตามที ะบุไวในสัญญาาและจะมี ผลสิ้นสุดดพลาสติ ในเดือนก บริ ษโัทพรพิ มีสัญลญาซื ้อขายก าะยะเวลา ซแอลพีจ15ีกับปปผูถือนันัหุบบนจากวั รายใหญ ญากํ่า่รรหนดราคาขายอ งอิงจากราคาเม็ โพลิ ี น สั ญ ญามี ร จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดือนก บริ ษโัทพรพิ มีสัญล2564 ญาซื ้อขายก าะยะเวลา ซแอลพีจ15ีกับปผูถือนัหุบนจากวั รายใหญ โดยตามสั ญตามที ญากํา่รหนดราคาขายอ าและจะมี งอิงจากราคาเม็ ดดพลาสติ พฤษภาคม โพลิ ี น สั ญ ญามี ร น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา ผ ลสิ ้ น สุ ในเดือนก บริ ษษััททมีมีสสััญ ญาซื ้้ออขายก าาซแอลพี จจีีกกัับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ าาหนดราคาขายอ าางอิ งงจากราคาเม็ ดดพลาสติ พฤษภาคม 2564 บริ ญ ญาซื ขายก ซแอลพี รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ หนดราคาขายอ งอิ จากราคาเม็ พลาสติ โพลิ ีน สัญ้อขายก ญามีราะยะเวลา นที่ทโดยตามสั ี่มีผลบังคับญตามที ะบุไวในสัญญาาและจะมี ผลสิ้นสุดดพลาสติ ในเดือนกก บริษโัทพรพิ มีสัญล2564 ญาซื ซแอลพีจ15ีกับปผูถือนัหุบนจากวั รายใหญ ญากํ่ารหนดราคาขายอ งอิงจากราคาเม็ พฤษภาคม โพลิ โ พรพิ ล ี น สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดืออนน โพลิ ีีนน สัสัญ ญามี 15 นนทีที่่ทที่ี่มมีีผผโดยตามสั ลบั ่่รระบุ ไไววใในสั ผผลสิ พฤษภาคม โพลิษโโัทพรพิ พรพิ ญ้อขายก ญามีรราะยะเวลา ะยะเวลา 15 กปปับผูถนันัือบบหุจากวั จากวั ลบังงคัคับบตามที ตามที ะบุ นสัญ ญญา ญา และจะมี และจะมี ลสิ้้นนสุสุดดในเดื ในเดื อน บริ มีสัญลล2564 ญาซื ซธรรมชาติ นรายใหญ ญญากํ าหนดราคาขายอ างอิงจากราคาน้ ํามันเตา พฤษภาคม 2564 บริ ษ ั ท มี ส ั ญ ญาซื ้ อ ขายก า ซธรรมชาติ ก ั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาขายอ า งอิ ง จากราคาน้ ํ า มั น เตา พฤษภาคม 2564 พฤษภาคม 2564 สัญษญามี ระยะเวลา 20 ป านัซธรรมชาติ บจากวันที่ทกี่มับีผผูลบั ่ระบุโดยตามสั ไวในสัญญา และจะมี ผลสิ้นสุดในเดื นวาคม 2561โดย บริ ั ท มี ส ั ญ ญาซื้อขายก ถืองงหุคัคันบบตามที รายใหญ ญญากํ าหนดราคาขายอ างอิออนธั งจากราคาน้ ํามันเตา สับริญษญามี ร ะยะเวลา 20 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ผ ี ลบั ตามที ร ่ ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื นธั น วาคม 2561โดย ัทมีสระยะเวลา ัญญาซือ้ออายุ ขายก รายใหญ โดยตามสั ญษณ ญากํ หนดราคาขายอ งอิอนธั งจากราคาน้ ําวมังหน นเตาา สัสัญ ญาสามารถต ปบนจากวั ระยะเวลา ปถือโดยบอกกล วเป อักาษรแจ งไปยั ฝายหนึ ่งนเปวาคม นเวลาล ญษญามี 20 ปไไดดาานัเเซธรรมชาติ นที่ทกกี่มัับบ44ีผผูผูลบั งหุหุคันนบตามที ่ราาะบุ ไวนนใลายลั นสัญกกญา และจะมี ผลสิ ้นสุงงอีอีดกกในเดื 2561โดย ั ท มี ส ั ญ ญาซื ้ อ ขายก ซธรรมชาติ ถ ื อ รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาขายอ า งอิ ง จากราคาน้ ํ า มั สับริ ญ ญาสามารถต อ อายุ ป น ระยะเวลา ป โดยบอกกล วเป ลายลั ษณ อ ั ก ษรแจ ง ไปยั ฝ ยหนึ ่ ง เป น เวลาล ว งหน า ััททมีมีสสระยะเวลา ััญ ญาซื ้้ออขายก าานัซธรรมชาติ กกี่มัับบีผผูผูลบั ถถืือองหุหุคันนบตามที รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ าาหนดราคาขายอ าางอิ งงจากราคาน้ ํําามัมันนนเตา เตา สัสัญ ญปษษญามี 20 ป บ จากวั น ที ท ่ ร ่ ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นธั น วาคม 2561โดย บริ ญ ญาซื ขายก ซธรรมชาติ รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ หนดราคาขายอ งอิ จากราคาน้ เตา 1บริ ญาสามารถต ออายุ ระยะเวลา ป โดยบอกกล วเปไวนใลายลั กญาษณและจะมี อักษรแจผลสิ งไปยั ฝายหนึ ่งนเปวาคม นเวลาล วงหนา ญ รระยะเวลา 20 ปปไดนันัเปบบนจากวั นนทีที่ท่ที่มี่ม4ีผีผลบั งงคัคับบตามที ่ร่ราะบุ นสั ญ ้้นนสุสุงอีดดกในเดื ออนธั 2561โดย 1สัสัสัญ ญปญามี ญามี ะยะเวลา 20 จากวั ลบั ตามที ะบุ ไไววนใใลายลั นสั ญ ญา และจะมี ผผลสิ ในเดื นธั นนเปวาคม 2561โดย ญาสามารถต อ อายุ ไ ด เ ป น ระยะเวลา 4 ป โดยบอกกล า วเป ก ษณ อ ั ก ษรแจ ง ไปยั ง อี ก ฝ า ยหนึ ่ ง น เวลาล า ญามี ร ะยะเวลา 20 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ม ่ ี ผ ี ลบั ง คั บ ตามที ร ่ ะบุ นสั ญ ญา และจะมี ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นธั วาคม 2561โดย 1สัญป ญาสามารถตออายุไดเปนระยะเวลา 4 ป โดยบอกกลาวเปนลายลักษณอักษรแจงไปยังอีกฝายหนึ่งเปนเวลาลววงหน งหน า สัสัญ ไไดดเเาปปซธรรมชาติ นนระยะเวลา ปป โดยบอกกล กกษณ ษรแจ อีอีกกฝฝาายหนึ นนเวลาล 1บริ ญปษญาสามารถต ญาสามารถต อายุ ระยะเวลาจ44ํานวน โดยบอกกล วเป ลายลั ษณออัักกโดยราคาซื ษรแจงงไปยั ไปยั้องงขายตามสั ยหนึญ่่งงเป เป เวลาล งหน ัททําสัญญาซือออายุ ้อขายก 2 ฉบับ กัาาบวเป ผูถนนือลายลั หุนรายใหญ ญาขึ ้นอยูกววับงหน ราคาาา 11 ปปษัททําสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติจํานวน 2 ฉบับ กับผูถือหุนรายใหญ โดยราคาซื้อขายตามสัญญาขึ้นอยูกับราคา บริ 1บริป้อษกัทาทํซตามเงื เนื ่อนไขที ่กําาหนดในสั ญญาและดั ราคาผู นคาสําเร็จญรูญาขึ ป (PPI) ญามี าสัญญาซื ้อขายก ซธรรมชาติ จํานวน 2ชชนีนีฉบั บ กับผผผูลิลิถตตือในประเทศไทยในหมวดสิ หุนรายใหญ โดยราคาซื้อขายตามสั ้นอยูสัสักับญ ราคา เนื ้ อ ก า ซตามเงื ่ อ นไขที ่ ก ํ า หนดในสั ญ ญาและดั ร าคาผู ในประเทศไทยในหมวดสิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป (PPI) ญ ญามี บริ ษ ั ท ทํ า สั ญ ญาซื ้ อ ขายก า ซธรรมชาติ จ ํ า นวน 2 ฉบั บ กั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยราคาซื ้ อ ขายตามสั ญ ญาขึ ้ น อยู ก ั บ ราคา ระยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นพฤษภาคม 2561 และ เนื ้อษกัทาทํซตามเงื ่อนไขที ่กําาหนดในสั ญญาและดั ระบุ าคาผู ลิถตือในประเทศไทยในหมวดสิ นคาอสํนพฤษภาคม าเร็จญรูญาขึ ป (PPI) สักับญราคา ญามี บริ าาสัสัญ ญาซื ้้ออบขายก ซธรรมชาติ จจงํําาคันวน 22ชนีฉบั บบไกักัวบบใผผูผูนสั หุหุญา นนรายใหญ โดยราคาซื ้้ออในเดื ขายตามสั ้้นนอยู ระยะเวลา 15 ป นั จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั บ ตามที ่ ร ญ และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด 2561 และ บริ ษ ั ท ทํ ญ ญาซื ขายก า ซธรรมชาติ นวน ฉบั ถ ื อ รายใหญ โดยราคาซื ขายตามสั ญ ญาขึ อยู ก ั บ ราคา เนื กัทาทํซตามเงื ่ อ นไขที ่ ก ํ า หนดในสั ญ ญาและดั ช นี ร าคาผู ผ ลิ ต ในประเทศไทยในหมวดสิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป (PPI) สั ญ ญามี บริน้อษวาคม าสั2561 ญ ญาซื ้ อ ขายก า ซธรรมชาติ จ ํ า นวน 2 ฉบั บ กั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยราคาซื ้ อ ขายตามสั ญ ญาขึ ้ น อยู ก ั บ ราคา ธัระยะเวลา 15 ป่อนไขที นับจากวั นที่ที่มีผลบั งคับตามที ไวใผนสั ญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดื 2561 และ เนื กกาาซตามเงื ่่กกํําาหนดในสั ญ ญาและดั ชชนีนี่รรระบุ าคาผู ลิลิตตในประเทศไทยในหมวดสิ นนคคาาอสํสํนพฤษภาคม าาเร็ จจรูรูปป (PPI) สัสัญ ญามี ธัระยะเวลา น้้้อออวาคม 2561 เนื ซตามเงื ่่ออนไขที หนดในสั ญ ญาและดั าคาผู ผผนสั ในประเทศไทยในหมวดสิ เร็ (PPI) ญ ญามี 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นพฤษภาคม 2561 และ เนื ก า ซตามเงื นไขที ่ ก ํ า หนดในสั ญ ญาและดั ช นี ร าคาผู ลิ ต ในประเทศไทยในหมวดสิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป (PPI) สั ญ ญามี ธัระยะเวลา นวาคม 2561 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ นสั ญ ญา และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นพฤษภาคม 2561 และ นันับบนจากวั นนทีที่่ททงได ี่ี่มมีีผผทลบั บบตามที ่่รระบุ ไไววใในสั ลสิ 2561 และ ธักิระยะเวลา นจการที วาคม่เกี2561 ระยะเวลา 15วขปปองกั จากวั ลบั ตามที ะบุาซธรรมชาติ นสัญ ญญา ญาจําและจะมี และจะมี ลสิบ้้นนสุสุกัดดบในเดื ในเดื นพฤษภาคม 2561 และ5 ่ย15 หลายแห ําสังงญคัคัญาซื ้อขายก นวน 6 ผผฉบั ผูถือหุออนนพฤษภาคม รายใหญ โดยสั ญญา ธักิธันนจการที วาคม 2561 ่เกี2561 ่ยวของกันหลายแหงไดทําสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติจํานวน 6 ฉบับ กับผูถือหุนรายใหญ โดยสัญญา 5 วาคม ธักิฉบันจการที วาคม 2561 บกําหนดราคาซื ขายผลิตงภัได ณฑทเําปสันญไปตามที ่ระบุาซธรรมชาติ ในสัญญา และอี กฉบั6บหนึ ้อขายขึ้นโดยสั อยูกญับดัญาชนี5 ่ เ กี ่ยวของกัน้้ออหลายแห ญาซื้อขายก จํานวน ฉบั่่งงบกํกํกัาาหนดราคาซื บผูถือหุนรายใหญ ฉบั บ กํ า หนดราคาซื ขายผลิ ต ภั ณ ฑ เ ป น ไปตามที ่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญา และอี ก ฉบั บ หนึ หนดราคาซื ้ อ ขายขึ ้ น อยูกญับดัญาชนี5 กิราคาผู จการที วของกัน้อหลายแห ําปสันญรไปตามที ญาซื้อขายก บกํกัางหนดราคาซื บคัผูบถตามที ือหุน่รรายใหญ โดยสั ผาหนดราคาซื ลิ่เกีต่ยในประเทศไทย ซึต่งงภัสัได ญฑทญามี ะยะเวลา 10ะบุาซธรรมชาติ ถึในสั ง 15ญญา ป และอี นัจบํานวน แตกวฉบั ันที6บ่ทหนึ ี่ฉบั มีผ่ลบั ะบุ ไวในแต ฉบั บ กํ ขายผลิ ณ เ ่ ร ง ้ อ ขายขึ ้ น อยูลลกะสั ับญ ดัญาชญา นี5 กิราคาผู จ การที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั น หลายแห ง ได ท ํ า สั ญ ญาซื ้ อ ขายก า ซธรรมชาติ จ ํ า นวน 6 ฉบั บ กั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยสั ญ ผ ลิ ต ในประเทศไทย ซึ ่ ง สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 10 ถึ ง 15 ป นั บ แต ว ั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ นแต ะสั ญ ญา กิกิฉบั จ การที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั น หลายแห ง ได ท ํ า สั ญ ญาซื ้ อ ขายก า ซธรรมชาติ จ ํ า นวน 6 ฉบั บ กั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยสั ญ ญา บ กํ า หนดราคาซื ้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ เ ป น ไปตามที ่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญา และอี ก ฉบั บ หนึ ่ ง กํ า หนดราคาซื ้ อ ขายขึ ้ น อยู ก ั บ ดั ช จการทีผลิผ่เกีตลสิ ่ยในประเทศไทย วข้นสุองกั นหลายแห งสัไดญทญามี ํากสัายน ญระยะเวลา ญาซื ้อขายก จบํานวน 6่ที่ฉบั บ กังบคัผูบถตามที ือหุน่รรายใหญ โดยสั ญญ ญาญานี55 และจะมี ดในช วงเดือซึนพฤศจิ 2562 ถึง10เดืาอซธรรมชาติ นพฤศจิ กายน 2566 ราคาผู ่ ง ถึ ง 15 ป นั แต ว ั น ที ม ี ผ ลบั ะบุ ไ ว ใ นแต ล ะสั ฉบั บ กํ า หนดราคาซื ้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ เ ป น ไปตามที ่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญา และอี ก ฉบั บ หนึ ่ ง กํ า หนดราคาซื ้ อ ขายขึ ้ น อยู ก ั บ ดั และจะมี ผตลสิในประเทศไทย ้นสุดในช วงเดือซึตนพฤศจิ 2562 ถึ่รง10ะบุ เดือถึในพฤศจิ กายน 2566 ฉบั บบกํกํผาาหนดราคาซื ้้ออขายผลิ ภัภัสัณ ฑ เเกปปายน นนรไปตามที นสั ญ ญา และอี กกวฉบั บบ่ทหนึ ่่ลบั งงกํกําางหนดราคาซื ้้ออขายขึ ้้นนอยู กกะสััับบญ ดัดัชชชญานีนีนี ราคาผู ลิ ่ ง ญ ญามี ะยะเวลา ง 15 ป นั บ แต ั น ที ่ ี ม ี ผ คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ นแต ล ฉบั หนดราคาซื ขายผลิ ต ณ ฑ ไปตามที ่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญา และอี ฉบั หนึ หนดราคาซื ขายขึ อยู และจะมีผลิผตลสิในประเทศไทย ้นสุดในชวงเดือซึนพฤศจิ กายน 2562 ถึง10เดือถึนพฤศจิ 2566 ราคาผู ่่งงสัสัญ ญามี รระยะเวลา งง 15 ปปกายน นันับบแต ววัันนทีที่่ทที่ี่มมีีผผลบั งงคัคับบตามที ่ระบุไไววใในแต ลละสั ญญา ราคาผู ผ ลิ ต ในประเทศไทย ซึ ญ ญามี ะยะเวลา 10 ถึ 15 แต และจะมี ลสิในประเทศไทย ้นสุด้อในช วงเดือซึนนพฤศจิ กายน เดือนถึนพฤศจิ 2566 ราคาผู ่งกัสับญกิญามี ระยะเวลา ง 15งหนึปก่งายน นัโดยตามสั บแต วันทีญ่ทญากํ ี่มีผลบั ลบั งคับตามที ตามที่่รระบุ ะบุไาวงอิในแต นแต ละสั ะสัญ ญญา ญา บริษัทมีผลิสผตัญ ญาซื ขายเบนซี จการที ่เ2562 กี่ยวขถึอง10 งกั แห าหนดราคาขายอ งจากราคาเบน และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ในช ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2562 ถึ ง เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2566 บริ ษ ั ท มี ส ั ญ ญาซื ้ อ ขายเบนซี น กั บ กิ จ การที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั น แห ง หนึ ่ ง โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาขายอ า งอิ ง จากราคาเบน และจะมี ผผลสิ ้น้นสุสุดดในช ววงเดื กกญายน ถึถึงงเดื กกญายน 2566 และจะมี ลสิญาซื ในช งเดืออนนพฤศจิ นพฤศจิ ายน 2562 เดืออนนพฤศจิ นพฤศจิ ายน 2566 ซีนษทีัท่ปมีระกาศในตลาดตามระบุ ในสั ญา ่เ2562 ซึ่ย่งวข ระยะเวลาของสั ญา 15 ป ญนัญากํ บจากวั นที่ที่มีผลบังคัาบงอิตามที ่ระบุไวใน บริ ส ั ญ ้ อ ขายเบนซี กั บ กิ จ การที กี อ งกั แห ง หนึ ่ ง โดยตามสั าหนดราคาขายอ งจากราคาเบน ซีบรินษทีัท่ปมีระกาศในตลาดตามระบุ ใ นสั ญ ญา ซึ ่ ง ระยะเวลาของสั ญ ญา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ระบุไวใน ส ั ญ ญาซื ้ อ ขายเบนซี น กั บ กิ จ การที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั น แห ง หนึ ่ ง โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาขายอ า งอิ ง จากราคาเบน สัซีญ ญา และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื อ นมี น าคม 2567 นษทีญา นสั ญาคม ญา ่เ2567 ซึ่งระยะเวลาของสั ญ่ง ญา 15 ป ญนัญากํ บจากวั นที่ที่มีผลบังคัาบงอิตามที ่ระบุไวใน ััทท่ปมีมีระกาศในตลาดตามระบุ สสััญ ญาซื ขายเบนซี นนกักัอบบในมี กิกิจจนการที อองกั นนแห งงหนึ โดยตามสั าาหนดราคาขายอ งงจากราคาเบน สับริ และจะมี ผ้้ออลสิ ้นสุดในเดื บริ ญ ญาซื ขายเบนซี การที ่่เเกีกีกีซึ่่่ยยย่งวข วข งกั แห หนึ ่่งง ญา โดยตามสั ญ ญากํ หนดราคาขายอ าาบงอิ จากราคาเบน ซีสัญ นญษษทีญา ใ นสั ญ ญา ระยะเวลาของสั ญ 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั ตามที ่ระบุไวใน บริ ัท่ปมีระกาศในตลาดตามระบุ ส ั ญ ญาซื ้ อ ขายเบนซี น กั บ กิ จ การที วข อ งกั น แห ง หนึ โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาขายอ งอิ ง จากราคาเบน และจะมีผลสิ้นสุดในเดือในมี นญาคม 2567 ซีซีนนทีที่่ปประกาศในตลาดตามระบุ นสั ญา ซึ ่ ง ระยะเวลาของสั ญ ญา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ระบุไไววใในน นสั ญา ซึซึ่่งงระยะเวลาของสั ญ สัซีญ และจะมีผลสิ้นสุดในเดือใในมี นทีญา่ประกาศในตลาดตามระบุ ระกาศในตลาดตามระบุ นสันญ ญาคม ญา 2567 ระยะเวลาของสั ญญา ญา 15 15 ปป นันับบจากวั จากวันนทีที่่ทที่ี่มมีีผผลบั ลบังงคัคับบตามที ตามที่่รระบุ ะบุไวใน 60 สัสัญ ญา และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื อ นมี น าคม 2567 60 สัญ ญญา ญา และจะมี และจะมีผผลสิ ลสิ้น้นสุสุดดในเดื ในเดืออนมี นมีนนาคม าคม 2567 2567 60 60
260
บริ บริษษัทัท พีพีททีทีทีี โกลบอล โกลบอล เคมิ เคมิคคอล อล จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทยยออยย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล และบริษัทยอย หมายเหตุ นน จํจําากักัดด (มหาชน) หมายเหตุ บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํสํหมายเหตุ าาหรั ้ง้งแต หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แตววันันทีทีน่่ 19 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ประกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
บริ บริษษััททมีมีสสััญ ญญาซื ญาซื้้ออขายก ขายกาาซเอ็ ซเอ็นนจีจีแแอลกั อลกับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ รายใหญ โดยตามสั โดยตามสัญ ญญากํ ญากําาหนดราคาขายอ หนดราคาขายอาางอิ งอิงงจากราคาประกาศ จากราคาประกาศ บริ ษัทมีสัญญาซื้อขายกมาิภซเอ็ นสัจีญแญามี อลกัรบะยะเวลา ผูถือหุนรายใหญ โดยตามสั ญี่มญากํ างหนดราคาขายอ าใงอินสังจากราคาประกาศ กลางของแนฟทาในภู าค 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ี ผ ลบั คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ญ กลางของแนฟทาในภู าค นสัจีญแญามี 15 ป นับโดยตามสั จากวันที่ทญี่มญากํ ีผลบัางหนดราคาขายอ คับตามที่ระบุไวาใงอินสังจากราคาประกาศ ญญา ญา และจะมี และจะมีผผลล บริ ษัทมีสัญญาซื้อขายกมาิภซเอ็ อลกัรบะยะเวลา ผูถือหุนรายใหญ กลางของแนฟทาในภู มิภ2564 าค สัญ ญามีญรญาสามารถต ะยะเวลา 15อปอายุ นับไจากวั ที่ที่มีผลบั5งปคับตามข ตามทีอ่รตกลงของทั ะบุไวในสัญ้งสองฝ ญา และจะมี สิสิ้น้นสุสุดดในเดื โดยสั ดดเเปปนนนระยะเวลา าายย ผล ในเดืออนพฤษภาคม นพฤษภาคม โดยสั กลางของแนฟทาในภู มิภ2564 าค สัญ ญามีญรญาสามารถต ะยะเวลา 15อปอายุ นับไจากวั นระยะเวลา ที่ที่มีผลบั5งปคับตามข ตามทีอ่รตกลงของทั ะบุไวในสัญ้งสองฝ ญา และจะมี ผล สิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2564 โดยสัญญาสามารถตออายุไดเปนระยะเวลา 5 ป ตามขอตกลงของทั้งสองฝาย สิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2564 โดยสัญญาสามารถตออายุไดเปนระยะเวลา 5 ป ตามขอตกลงของทั้งสองฝาย บริ บริษษััททมีมีสสััญ ญญาซื ญาซื้้ออขาย ขาย อีอีเเทน ทน โพรเพน โพรเพน และแอลพี และแอลพีจจีี จํจําานวนรวม นวนรวม 22 ฉบั ฉบับบกักับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ รายใหญ โดยสั โดยสัญ ญญาฉบั ญาฉบับบหนึ หนึ่่งง บริ ษัทมีสัญญาซื้อาขาย อีเทน โพรเพน และแอลพี จี จําลนวนรวม 2 ฉบับกับกผูโพลิ ถือหุโพรพิ นรายใหญ โดยสั ญญาฉบั บหนึ ่ กํกําาหนดราคาขายอ งอิ ดดพลาสติ กกโพลี ีีนน และเม็ ลลีีนน และอี กกฉบั บบหนึ งอิ หนดราคาขายอ งอิงงอีจากราคาเม็ จากราคาเม็ พลาสติ โพลีจเเอทิ อทิ และเม็ดด2พลาสติ พลาสติ และอี ฉบั หนึ่่งงออบาาหนึ งอิ่งง บริ ษัทมีสัญญาซื้อาขาย เทน โพรเพน และแอลพี ี จําลนวนรวม ฉบับกับกผูโพลิ ถือหุโพรพิ นรายใหญ โดยสั ญญาฉบั กําหนดราคาขายอ างอิงเอทิ จากราคาเม็ ดพลาสติ กโพลีเ12 อทิปลีนและ และเม็ ดพลาสติ กโพลิ ลีน และอี กฉบั บหนึ อางอิละง ราคาเม็ ดดพลาสติ ลลีีนน สัสัญ รระยะเวลา 15 นันับบจากวั นนทีที่่ททโพรพิ ี่ี่มมีีผผลบั บบตามที ่่รระบุ ววใใ่งนแต ราคาเม็ พลาสติกกโพลี โพลี ญดญามี ญามี ะยะเวลา 15 ปปดพลาสติ จากวั ลบัลีนงงคัคัและอี ตามที ะบุบไไหนึ กําหนดราคาขายอ างอิงเอทิ จากราคาเม็ พลาสติ กโพลีเ12 อทิปลีนและ และเม็ กโพลิ โพรพิ กฉบั ่งนแต อางอิละง ดและจะมี พลาสติผกลสิ โพลี เอทิ ลีน อสันธั ญญามี ระยะเวลา 12 ป อและ 15 ป นับ2563 จากวัโดยสั นที่ที่มญีผญาทั ลบัง้งคัหมดสามารถต บตามที่ระบุไวอใอายุ นแตขลองะ สัสัราคาเม็ ญ ญา ้ น สุ ด ในเดื น วาคม 2559 และเดื นกรกฎาคม ญญา ดและจะมี ้นสุเอทิ ดในเดื นวาคม 2559 และเดื นกรกฎาคม ราคาเม็ พลาสติผกลสิ โพลี ลีน อสันธั ญญามี ระยะเวลา 12 ป อและ 15 ป นับ2563 จากวัโดยสั นที่ที่มญีผญาทั ลบัง้งคัหมดสามารถต บตามที่ระบุไวอใอายุ นแตขลองะ ญา และจะมี ผลสิ ้นสุตามความเห็ ดในเดือนธันนชอบของทั วาคม 2559้งสองฝ และเดืายอนกรกฎาคม 2563 โดยสัญญาทั้งหมดสามารถตออายุของ สัสัญ ญาได เ ป น เวลา 5 ป ญญาได เปนเวลา 5 ป้นสุตามความเห็ ญา และจะมี ผลสิ ดในเดือนธันนชอบของทั วาคม 2559้งสองฝ และเดืายอนกรกฎาคม 2563 โดยสัญญาทั้งหมดสามารถตออายุของ สัญญาไดเปนเวลา 5 ป ตามความเห็นชอบของทั้งสองฝาย สัญญาไดเปนเวลา 5 ป ตามความเห็นชอบของทั้งสองฝาย บริ บริษษััททมีมีสสััญ ญญาซื ญาซื้้ออขายก ขายกาาซแอลพี ซแอลพีจจีีจจํําานวน นวน 22 ฉบั ฉบับบกักับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ รายใหญ โดยกํ โดยกําาหนดราคาขายอ หนดราคาขายอาางอิ งอิงงจากราคาเม็ จากราคาเม็ดด บริ ษัทมีกสโพลิ ัญญาซื ้อขายก จีจํานวน 2 ่งฉบั บกับผผูลสิ ถือ้นหุสุนดรายใหญ โดยกําหนดราคาขายอ างอิงจากราคาเม็ ด พลาสติ โโพรพิ ลลีีนน าสัสัซแอลพี ญ ปป จะมี ในเดื 2555 กกายน พลาสติ พรพิ ญญามี ญามีรรจะยะเวลาหนึ ะยะเวลาหนึ จะมี ในเดืออนพฤษภาคม นพฤษภาคม 2555 และพฤศจิ และพฤศจิ ายน 2555 2555ด บริ ษัทมีกสโพลิ ัญญาซื ้อขายก าซแอลพี ีจํานวน 2 ่งฉบั บกับผผูลสิ ถือ้นหุสุนดรายใหญ โดยกําหนดราคาขายอ างอิงจากราคาเม็ พลาสติ กโพลิ โพรพิ ลีน สัอญอายุ ญามี ระยะเวลาหนึ ่งป จะมี ผลสิ่งฝ้นาสุยใด ดในเดื อนพฤษภาคม 2555 และพฤศจิกายน 2555 อย าม ญ โโดยอั ตตโนมั ฝฝาายหนึ จะแจ งงขอยกเลิ ญาก อยาางไรก็ งไรก็กตตโพลิ าม สัสัโพรพิ ญญาจะต ญาจะต ดยอั โนมัตติิ เว เวนน่งแต แต ยหนึ จะแจ ขอยกเลิกกสัสัญ ญ2555 ญากออนนและพฤศจิกายน 2555 พลาสติ ลีน สัอญอายุ ญามี ระยะเวลาหนึ ป จะมี ผลสิ่งฝ้นาสุยใด ดในเดื อนพฤษภาคม อยางไรก็ตาม สัญญาจะตออายุโดยอัตโนมัติ เวนแตฝายหนึ่งฝายใด จะแจงขอยกเลิกสัญญากอน อยางไรก็ตาม สัญญาจะตออายุโดยอัตโนมัติ เวนแตฝายหนึ่งฝายใด จะแจงขอยกเลิกสัญญากอน กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข วขอองกั งกันนแห แหงงหนึ หนึ่่งงมีมีสสััญ ญญาซื ญาซื้้อออีอีเเทนกั ทนกับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ รายใหญ โดยตามสั โดยตามสัญ ญญากํ ญากําาหนดโครงสร หนดโครงสราางราคาซื งราคาซื้้ออขาย ขาย กิจนการที ่เกี่ยางอิ วขงอตามราคาตลาดโลกของโพลี งกันแหงหนึ่งมีสัญญาซื้ออีเทนกั บีนผูความหนาแน ถือหุนรายใหญ โดยตามสั ญรญากํ าหนดโครงสร างราคาซื ้อี่มขาย เป ราคาอ เ อทิ ล น สู ง สั ญ ญามี ะยะเวลา 15 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ีีผผลล เป ราคาอ เอทิลบีนผูความหนาแน นสูโดยตามสั ง สัญญามีญรญากํ ะยะเวลา 15 ป นับจากวั นที่ท้อี่มขาย กิจนการที ่เกี่ยางอิ วขงอตามราคาตลาดโลกของโพลี งกันแหงหนึ่งมีสัญญาซื้ออีเทนกั ถือหุนรายใหญ าหนดโครงสร างราคาซื นราคาอ างอิ งตามราคาตลาดโลกของโพลี เอทิ ลีนความหนาแน นสูง โดยสามารถต สัญญามีระยะเวลา 15 ป นัญบญาได จากวัเปนนทีเวลา ่ที่มีผล5 บัเป บบตามที ่ร่ระบุ ไไววใในสั ดด ในเดื ออนมกราคม อออายุ บัเปงงนคัคัราคาอ ตามทีางอิ ะบุงตามราคาตลาดโลกของโพลี นสัญ ญญา ญา และจะมี และจะมีผผลสิ ลสิ้้นนสุสุเอทิ ในเดื นมกราคม 2568 2568 อายุขข15องสั องสั ลีนความหนาแน นสูง โดยสามารถต สัญญามีระยะเวลา ป นัญบญาได จากวัเปนนทีเวลา ่ที่มีผล5 บัปงตามความเห็ คับตามที่ระบุนชอบของทั ไวในสัญญา้งสองฝ และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในเดื อ นมกราคม 2568 โดยสามารถต อ อายุ ข องสั ญ ญาได เ ป น เวลา าายและบอกกล าาวเป ลายลั ักักษรแจ งงไปยั ่งเปนนเวลาล ววงหน า 11 ปป 5 ยและบอกกล วเปอนนนมกราคม ลายลักกษณ ษณออ2568 ษรแจ ไปยังงอีอีกกฝฝาาอยหนึ ยหนึ เวลาล งหน บัปงตามความเห็ คับตามที่ระบุนชอบของทั ไวในสัญญา้งสองฝ และจะมี ผลสิ้นสุด ในเดื โดยสามารถต อายุ่งขเปองสั ญญาได เปนา เวลา 5 ป ตามความเห็นชอบของทั้งสองฝายและบอกกลาวเปนลายลักษณอักษรแจงไปยังอีกฝายหนึ่งเปนเวลาลวงหนา 1 ป ป ตามความเห็นชอบของทั้งสองฝายและบอกกลาวเปนลายลักษณอักษรแจงไปยังอีกฝายหนึ่งเปนเวลาลวงหนา 1 ป กิกิจจการที การที่่เเกีกี่่ยยวข วขอองกั งกันนแห แหงงหนึ หนึ่่งงมีมีสสััญ ญญาซื ญาซื้้ออวัวัตตถุถุดดิิบบทีที่่มมีีออีีเเทนเป ทนเปนนสสววนประกอบในอั นประกอบในอัตตราสู ราสูงง (Ethane (Ethane Rich Rich Gas) Gas) กักับบ กิจการที่เกี่ยวขอองกั นแห หนึง่งหนึ มีส่งัญญาซื ้อวัตถุดญิบทีญากํ ่มีอีเาทนเป นสวนประกอบในอั ตราสูนง ราคาอ (EthaneางอิRich Gas) กับ งกั อีอีกกงแห โดยตามสั หนดโครงสร าางราคาซื งงตามราคาของ กิจการที่เกี่ยวขอองกั งกันนนแห โดยตามสั หนดโครงสร งราคาซื้้ออขายเป ขายเป ตามราคาของ งแห หนึง่งหนึ มีส่งัญญาซื ้อวัตถุดญิบทีญากํ ่มีอีเาทนเป นสวนประกอบในอั ตราสูนง ราคาอ (EthaneางอิRich Gas) กับ กิจการที ่เกีีน่ยและโพลี วของกันโอีพรพิ กแหลงีนหนึ ่ง มิภโดยตามสั ญรญากํ าหนดโครงสร างราคาซื อขายเป นอราคาอ างอิงตามราคาของ โพลี เ อทิ ล ในภู าค สั ญ ญามี ะยะเวลา 10 ป และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด ในเดื นมกราคม 2564 เอทิล่เกีีน่ยและโพลี ในภู าค สัญญามีญรญากํ ะยะเวลา 10 ป และจะมี ผลสิ้นอขายเป สุดในเดืนอราคาอ นมกราคม 2564 กิโพลี จการที วของกันโอีพรพิ กแหลงีนหนึ ่ง มิภโดยตามสั าหนดโครงสร างราคาซื างอิงตามราคาของ โพลีเอทิลีน และโพลีโพรพิลีนในภูมิภาค สัญญามีระยะเวลา 10 ป และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนมกราคม 2564 โพลีเอทิลีน และโพลีโพรพิลีนในภูมิภาค สัญญามีระยะเวลา 10 ป และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนมกราคม 2564 สัสัญ ญญารั ญารับบซืซื้อ้อผลิ ผลิตตภัภัณ ณฑ ฑปปโโตรเลี ตรเลียยมม สัญญารับซื้อผลิตภัณฑปโตรเลียม สับริญษญารั บซื้อญาซื ผลิตภัณฑปโตตรเลี ยม บริษััททมีมีสสััญ ญญาซื้้ออขายผลิ ขายผลิตภัภัณ ณฑ ฑปปโโตรเลี ตรเลียยมกั มกับบผูผูถถืืออหุหุนนรายใหญ รายใหญ และบริ และบริษษััททอือื่่นนอีอีกกแห แหงงหนึ หนึ่่งง โดยตามสั โดยตามสัญ ญญากํ ญากําาหนด หนด บริษัทมีสัญาญาซื ้อขายผลิตภัณฑปโ่วตรเลี ยมกับผูตถภัือณหุฑนทรายใหญ และบริเคีษยัทงกัอื่นบอีทีก่ขแห งหรื หนึอ่งนําโดยตามสั ญญากําหนด ราคาขายอ งอิ ง จากราคาขายโดยทั ไปของผลิ ่ ี ม ี ค ุ ณ ภาพใกล าย เข า มาในประเทศไทย ราคาขายอ งอิงจากราคาขายโดยทั ไปของผลิ ี่มีคุณภาพใกล าย งหรื เขามาในประเทศไทย บริษัทมีสัญาญาซื ้อขายผลิตภัณฑปโ่วตรเลี ยมกับผูตถภัือณหุฑนทรายใหญ และบริเคีษยัทงกัอื่นบอีทีก่ขแห หนึอ่งนําโดยตามสั ญญากําหนด างอิงจากราคาขายโดยทั ่วไปของผลิ ตภัณฑที่มีคุณตภาพใกล เคียงกับที่ขาย หรือ้นํนสําเขาหรั ามาในประเทศไทย สํสํราคาขายอ าาหรั บ การขายในประเทศไทย และกํ า หนดราคาขายของผลิ ภั ณ ฑ ต ามราคาตลาดขณะนั บ การขายส หรับการขายในประเทศไทย และกํ าหนดราคาขายของผลิ ภัณฑตามราคาตลาดขณะนั บการขายสงงออก ออก ราคาขายอ างอิงจากราคาขายโดยทั ่วไปของผลิ ตภัณฑที่มีคุณตภาพใกล เคียงกับที่ขาย หรือ้นํนสําเขาหรั ามาในประเทศไทย สํสัญ าหรั บการขายในประเทศไทย และกํ าี่มหนดราคาขายของผลิ ตใภันสั ณฑญตญาามราคาตลาดขณะนั ้นในเดื สําหรั บการขายส ง2567 ออก ญามี ร ะยะเวลา 18 ป นั บ จากวั น ที ท ่ ผ ี ลบั ง คั บ ตามที ร ่ ะบุ ไ ว และจะมี ผ ลสิ น ้ สุ ด อ นกุ ม ภาพั น ธ ญามี ระยะเวลา 18 ป นับจากวัและกํ นที่ทาี่มหนดราคาขายของผลิ ีผลบังคับตามที่ระบุไวตใภันสั และจะมีผลสิ้นสุด้นในเดื อนกุ มภาพันธง2567 สํสัญ าหรั บการขายในประเทศไทย ณฑญตญาามราคาตลาดขณะนั สําหรั บการขายส ออก สัและหลั ญญามีงรจากนั ะยะเวลา 18ญาจะมี ป นับจากวั นคัทีบ่ทตี่มอีผเนืลบั่องงโดยอั คับตามที ่ระบุตไิ ยกเว วในสันญจะมี ญา กและจะมี ผลสิ ้นญสุญาล ดในเดื อนกุาเป มภาพั นธ ก2567 ้ น สั ญ ผ ลบั ง ต โนมั ารบอกเลิ ก สั ว งหน น ลายลั ษณ ้นสัญ18ญาจะมี ผลบังนคัทีบ่ทตี่มอีผเนืลบั่องงโดยอั ตโนมั ารบอกเลิ กสั้นญสุญาล วงหน นลายลั ษณ สัและหลั ญญามีงรจากนั ะยะเวลา ป นับจากวั คับตามที ่ระบุตไิ ยกเว วในสันญจะมี ญา กและจะมี ผลสิ ดในเดื อนกุาเป มภาพั นธ ก2567 และหลั ง จากนั ้ น สั ญ ญาจะมี ผ ลบั ง คั บ ต อ เนื ่ อ งโดยอั ต โนมั ต ิ ยกเว น จะมี ก ารบอกเลิ ก สั ญ ญาล ว งหน า เป น ลายลั ก ษณ อัอักกษรโดยคู สสัญ ายใดฝ ่ง ษรโดยคู ัญ้นญาฝ ญาฝ ยใดฝาายหนึ ยหนึ และหลั งจากนั สัญาญาจะมี ผลบั่งงคับตอเนื่องโดยอัตโนมัติ ยกเวนจะมีการบอกเลิกสัญญาลวงหนาเปนลายลักษณ อักษรโดยคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่ง อักษรโดยคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่ง 61 61
261
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ปีทระกอบงบการเงิ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษ ท ั พี ท ี โกลบอล เคมิ ค อล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษษัทัทบพีพีระยะเวลาตั ททปปีทีทระกอบงบการเงิ ีระกอบงบการเงิ สํหมายเหตุ าหรั ้งแตเคมิ วันคคทีอล 2554 (วัและบริ นควบบริ บริ ี โกลบอล โกลบอล เคมิ อล จํตุาลกัาคม ด (มหาชน) ษัทษยัทอ)ยถึง 31 ธันวาคม 2554 น่่ 19 สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ง ้ แต ว น ั ที 19 ตุ ล าคม 2554 (วั น ควบบริ ษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ป ระกอบงบการเงิ น ประกอบงบการเงิ สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํสําาหรั ้ง้งแต ันันทีทีฑ่่ ข19 ตุตุลลาคม ญญารับซื้อผลิ น ษษัทัท)) ถึถึงง 31 หรับบสัระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แตตภัววณ 19องโครงการขยายการลงทุ าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริ 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554
สัญญารับซื้อผลิตภัณฑของโครงการขยายการลงทุน สัญษญารั ของโครงการขยายการลงทุ น บริ ัททํบาสัซืญ้อผลิ ญารัตภับณซืฑ ้อผลิ ตภัณฑของโครงการขยายการลงทุ นกับผูถือหุนรายใหญ โดยผูถือหุนรายใหญจะรับซื้อ สัสัญ ญารั บ ซื อ ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องโครงการขยายการลงทุ น บริ ษ ั ท ทํ า สั ญ ญารั บ ซื ้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องโครงการขยายการลงทุ กับผูตถภัือณ หุนฑรายใหญ ตภัยณมสํฑาขเร็องโครงการขยายการลงทุ น ของปริมนาณผลิ ผลิญตญารั ภัณบฑซืป้อโผลิ ตรเลี จรูปของบริษัทรอยละ 100 ปโตรเลียโดยผู มสําเร็ถจือรูหุปนทีรายใหญ ่บริษัทผลิจตะรัไดบจซืาก้อ บริ ญารับยมสํ ซื้อาผลิ ฑของโครงการขยายการลงทุ กับผูตถภัือณ หุนฑรายใหญ ถจือรูหุปนทีรายใหญ จตะรัไดบจซืาก้อ ผลิ ตษภััทณทํฑาสัปญComplex โตรเลี เร็จตUpgrading รูภัปณของบริ ษcomplex ัทรอยละโดยมี 100 ของปริ มนาณผลิ ปโ่กตรเลี ยโดยผู มสําใเร็นสั ่บริบษซืัท้อผลิผลิ Reforming และ เ งื ่ อ นไขการรั บ ซื ้ อ ตามที ํ า หนดไว ญ ญารั ตภับณซืฑ้อ บริ ษษภัััททณทํทํฑาาสัสัปญ ญารั บบยมสํ ซืซื้้ออาผลิ ตตรูภัภัปณ ฑ ขของโครงการขยายการลงทุ นนาณผลิ กักับบผูผูตถถภัืืออณ หุหุนนฑรายใหญ โดยผู ถถจืืออรูหุหุปนนทีรายใหญ จจตะรั ผลิ ต โ ตรเลี เร็ จ ของบริ ษ ั ท ร อ ยละ 100 ของปริ ม ป โ ตรเลี ย มสํ า เร็ ่ บ ริ ษ ั ท ผลิ จซืาก บริ ญ ญารั ผลิ ณ ฑ องโครงการขยายการลงทุ รายใหญ โดยผู รายใหญ ะรั Reforming Complex และ Upgrading complex โดยมีวเงืยราคาตลาดภายในประเทศ ่อนไขการรับซื้อตามที่กําหนดไว ใวนสั ญ่เหลื ญารัอบจะขายในราคา ซื้อผลิตไดภับณ ฑ้อ ซึผลิ่งกํตาภัหนดไว ว า ปริ ม าณอย า งน อ ยร อ ยละ 50 จะขายด และส นที ณ โโตรเลี ยยมสํ าาเร็ รูรูปปของบริ ษษcomplex ััททรรออยละ 100 มมาณผลิ ฑ ยยมสํ จจรูรูญปปญารั ทีที่่บบริริบษษซืััทท้อผลิ จจาก Reforming และ โดยมี เงืยราคาตลาดภายในประเทศ ่อนไขการรั ําหนดไว ฑ ผลิ ณฑ ฑปปComplex ตรเลี มสํ เร็จจUpgrading ของบริ ยละ 100 ของปริ ของปริ าณผลิบตตซืภัภั้อณ ณตามที ฑปปโโ่กตรเลี ตรเลี มสําาใเร็ เร็วนสั ผลิผลิตตตได ไดภัณ าก ซึตลาดต ่งกํตาภัหนดไว ว า ปริ ม าณอย า งน อ ยร อ ยละ 50 จะขายด ว และส นที ่ เ หลื อ จะขายในราคา า งประเทศ หรื อ ราคาอื ่ น ที ่ ต กลงร ว มกั น สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 18 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไ ว ใ น Reforming Complex และ Upgrading complex โดยมี เเงืงืยราคาตลาดภายในประเทศ ่่ออนไขการรั บบซืซื้้ออตามที ่่กกํําาหนดไว ใใวนสั ญ ญารั บบจะขายในราคา ซืซื้้ออผลิ ตตภัภัณ ฑ ่ตลาดต ซึReforming งกําหนดไว ว า ปริ ม าณอย า งน อ ยร อ ยละ 50 จะขายด ว และส นที ่ เ หลื อ Complex และ Upgrading complex โดยมี นไขการรั ตามที หนดไว นสั ญ ญารั ผลิ ณ ฑ าและจะมี งประเทศผลสิ หรื้นอราคาอื ่นทีอ่ตนกุ กลงร วมกันนธ สั2567 ญญามี ระยะเวลา 18้นสัปญนัญาจะมี บจากวัผนลบั ที่ทงี่มคัีผบลบั คับ่อตามที ่ระบุ ไวในติ สัซึ่งญกํญา สุดาในเดื มภาพั และหลั งจากนั ตอง่เหลื เนื งโดยอั ตโนมั า หนดไว ว า ปริ ม าณอย งน อ ยร อ ยละ 50 จะขายด ว ยราคาตลาดภายในประเทศ และส ว นที อ จะขายในราคา ตลาดต า งประเทศ หรื อ ราคาอื ่ น ที ่ ต กลงร ว มกั น สั ญ ญามี ร ะยะเวลา 18 ป นั บ จากวั น ที ่ ท ่ ี ม ี ผ ลบั ง คั บ ตามที ่ ร ะบุ ไวในติ าหนดไว วาปริ มาณอย าในเดื งนออยรนกุ อยละ 50นจะขายด วและหลั ยราคาตลาดภายในประเทศ จะขายในราคา สัซึ่งญกํญา และจะมี ผลสิ ้นสัสุญดญาล มเปภาพั ธ ก2567 งจากนั ้นสัาญยใดฝ ญาจะมี ผและส ลบั งคัวบนที ตอ่เหลื เนื่อองโดยอั ตโนมั ยกเว น จะมี ก ารบอกเลิ ก ว งหน า น ลายลั ษณ อ ก ั ษรโดยคู ส ญ ั ญาฝ า ยหนึ ง ่ าาและจะมี งประเทศ หรื ่่นนทีทีอ่่ตตนกุ กลงร วมกันนนธ สัสั2567 ญ รระยะเวลา 18้นสัปปญนันัญาจะมี บบจากวั ทีที่่ททงี่ี่มมคัีีผผบลบั คัคับบ่อตามที ่่รระบุ ไไววใในนติ สัตลาดต ญญา ผลสิ สุญดญาล ในเดื งจากนั ผนนลบั ตองงเนื งโดยอั ตโนมั ตลาดต งประเทศ หรืก้นออสัราคาอื ราคาอื กลงร ญญามี ญามี ะยะเวลา จากวั ตามที ะบุ ยกเว นจะมี การบอกเลิ วงหน ามเปภาพั นวมกั ลายลักษณ อและหลั ักษรโดยคู สัญ18ญาฝ ายใดฝ ายหนึ ่ง ลบั สัสัญ และจะมี ผผลสิ ในเดื นกุ นนธธ ก2567 งงจากนั ้้นนสัสัาญ ญาจะมี ผผลบั ยกเว นจะมี การบอกเลิ นลายลั ษณอและหลั ักษรโดยคู สัญญาฝ ายหนึ ่ง งงคัคับบตตออเนื ญญา ญา และจะมี ลสิก้้นนสัสุสุญดดญาล ในเดืวอองหน นกุามมเปภาพั ภาพั 2567 และหลั จากนั ญยใดฝ ญาจะมี ลบั เนื่่อองโดยอั งโดยอัตตโนมั โนมัตติิ สัยกเว ญญาจั ดหาน้ ํามันดิบกกและวั ตถุดววิบงหน อื่นระยะยาว นนจะมี กการบอกเลิ สัสัญ าาเป จะมี ารบอกเลิ ญญาล ญาล เปนนลายลั ลายลักกษณ ษณออักักษรโดยคู ษรโดยคูสสัญ ัญญาฝ ญาฝาายใดฝ ยใดฝาายหนึ ยหนึ่ง่ง สัยกเว ญญาจั ดหาน้ ํามันดิบและวั ตถุดิบงหน อื่นระยะยาว สัญญาจัดหาน้ํามันดิบและวัตถุดิบอื่นระยะยาว ษญาจั ัทมีสดัญหาน้ ญาจัํามัดนหาน้ ํามันดิตบถุและวั ดิบอื่นจํานวน 2 ฉบับกับผูถือหุนรายใหญ โดยตามสัญญากําหนดราคาอิงตาม สัสับริญ ดิดิบบและวั ดดิบิบอือื่น่นตถุระยะยาว ญ ญาจั ด หาน้ า ํ มั น และวั ต ถุ ระยะยาว บริ ษัทมีสัญญาจัดําหาน้ นดิบและวั จํานวน 2 ฉบับ15กับปผูและ ถือหุ20 นรายใหญ โดยตามสั ตาม ราคาตลาดของน้ มันดิําบมัและวั ตถุดิบตอืถุ่นดสัิบญอื่นญามี ระยะเวลา ป และจะมี ผลสิ้นสุญดญากํ ในธัานหนดราคาอิ วาคม 2559งและ บริ ษ ท ั มี ส ญ ั ญาจั ด หาน้ า ํ มั น ดิ บ และวั ต ถุ ด ิ บ อื ่ น จํ า นวน 2 ฉบั บ กั บ ผู ถ ื อ หุ น รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ า หนดราคาอิ ง ตาม ราคาตลาดของน้ ํา2567 มันดิบโดยหลั และวัตงถุจากนั ดิบอื่น้นสัสัญญญามี ระยะเวลา 15บตปอและ 20 ป และจะมี ผิ ยกเว ลสิ้นนสุจะมี ดในธัการบอกเลิ นวาคม 2559 และ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ ญาจะมี ผ ลบั ง คั เนื ่ อ งโดยอั ต โนมั ต ก สั ญ ญา บริ ษษัทัทมีมีสสัญ ญาจั ดดําหาน้ ําําบมัมัและวั นนดิดิบบและวั ตตอืถุถุ่นดดสัิิบบญอือื่่นนญามี จํจําานวน 22 ฉบั บบ15กักับบปผูผูและ ถถืืออหุหุ20 นนรายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ าานหนดราคาอิ งงและ ตาม ราคาตลาดของน้ มั น ดิ ต ถุ ด บ ิ ร ะยะเวลา ป และจะมี ผ ลสิ ้ น สุ ด ในธั วาคม 2559 บริ ญ ั ญาจั หาน้ และวั นวน ฉบั รายใหญ โดยตามสั ญ ญากํ หนดราคาอิ ตาม เดืวองหน นกุมาเป ภาพั นธ 2567 งจากนั สัญาญาจะมี ผลบั่งงคับตอเนื่องโดยอัตโนมัติ ยกเวนจะมีการบอกเลิกสัญญา ลราคาตลาดของน้ นลายลั กนษณ อโดยหลั ักษรโดยคู สอืัญ่น้นญาฝ ยใดฝระยะเวลา ายหนึ า ํ มั ดิ บ และวั ต ถุ ด บ ิ สั ญ ญามี 20 ลสิ ดดในธั นนวาคม กสัญและ ญา เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ 2567 โดยหลั ง จากนั ้ น สั ญ ญาจะมี ผลบั่งงคั15 เนื่องโดยอั ตโนมัตผผิ ยกเว ดิบอและวั ตถุดิบสอืัญ่นญาฝาญามี 15บตปปอและ และ 20 ปป และจะมี และจะมี ลสิ้้นนนสุสุจะมี ในธัการบอกเลิ วาคม 2559 2559 และ ลราคาตลาดของน้ วงหนาเปนลายลัํามักนษณ ักษรโดยคู ยใดฝระยะเวลา ายหนึ นกุ ภาพั นนธธ 2567 งงจากนั สัสัญ ผผลบั ลเดื นลายลั กษณอโดยหลั ักษรโดยคู สัญ้้นนญาฝ ยใดฝายหนึ ยกเวนนจะมี จะมีกการบอกเลิ ารบอกเลิกกสัสัญ ญญา ญา เดืวอองหน นกุมมาเป ภาพั 2567 โดยหลั จากนั ญาญาจะมี ญาจะมี ลบั่งงงคัคับบตตออเนื เนื่่อองโดยอั งโดยอัตตโนมั โนมัตติิ ยกเว สัลวญงหน ญาแลกเปลี ่ยนคกาษณ การกลั ่น า เป น ลายลั อ ก ั ษรโดยคู ส ญ ั ญาฝ า ยใดฝ า ยหนึ ง ่ าเปนลายลั อักษรโดยคู สัญญาฝายใดฝายหนึ่ง สัลวญงหน ญาแลกเปลี ่ยนคกาษณ การกลั ่น สัญญาแลกเปลี่ยนคาการกลั่น บริ ษัทมีสัญญาแลกเปลี ่ยนค่นาการกลั่นจํานวนหลายสัญญา กับผูถือหุนรายใหญ เพื่อปองกันความเสี่ยงคาการกลั่นดวย สัสัญ ่ย่ยนค ญษญาแลกเปลี ญาแลกเปลี นคาาการกลั การกลั บริ ท ั มี ส ญ ั ญาแลกเปลี ่ยนค่น่นาการกลั จํานวนหลายสั ญญา กับผูตถภัือณหุฑนรายใหญ องกันงความเสี าการกลัGasoil, ่นดวย วิธีการแลกเปลี่ยนคาการกลั ลอยตัว่น(โดยคํ านวณจากราคาผลิ ปโตรเลียเพื มที่อ่ตปลาดสิ คโปร คื่ยองคDiesel, ัทมีสัญญาแลกเปลี ่ยนค่นาการกลั จํานวนหลายสั ญญา กับผูตถภัือณหุฑนรายใหญ องกันงความเสี าการกลัGasoil, ่นดวย วิบริ ธีกษารแลกเปลี ่ยFuel นคาOil การกลั ลอยตัํามัว่นน(โดยคํ าบ) นวณจากราคาผลิ ปริโมตรเลี ยเพื มที่อ่ต่ตปอลาดสิ คโปรญคื่ยญาดั องคDiesel, Kerosene และ กั บ ราคาน้ ดิ บ ดู ไ กั บ ค า การกลั น ่ คงที ท ่ ป ่ ี าณคงที เดื อ น ตามสั ง กล า วบริ ษษารแลกเปลี ัทัทมีมีสสัญ ญาแลกเปลี ่ย่ยนค าาการกลั ่น่น(โดยคํ จํจําานวนหลายสั ญ ญา กักับบผูผูตถถภัือือณหุหุฑนนรายใหญ เพื อ่อ่ตปปลาดสิ อองกั นนงความเสี ่ย่ยองค าาการกลั ่น่นดดษววัทยย วิบริ ธ ก ี ย ่ นค า การกลั น ่ ลอยตั ว า นวณจากราคาผลิ ป โ ตรเลี ย มที คโปร คื Diesel, Gasoil, บริ ญ ั ญาแลกเปลี นค การกลั นวนหลายสั ญ ญา รายใหญ เพื งกั ความเสี งค การกลั Kerosene และอจFuel บราคาน้ ํามัานงคดิบาการกลั ดูไบ) กั่นบดัคงากล การกลั ่นคงที ่ที่ปริม่ราณคงที ่ตญอญา เดือน ตามสัญญาดังกลาวบริษัท จะต งรับหรื านค ยเงิาOil นการกลั สวกันต างระหว าวตามเงื ่อณนไขที ะบุใยนสั วิวิKerosene ธธีกีกอารแลกเปลี ย ่ น ่ ลอยตั ว (โดยคํ า นวณจากราคาผลิ ต ภั ฑ ป โ ตรเลี มที ่ ต ลาดสิ คโปร ออ Diesel, Gasoil, และ Fuel Oil กั บ ราคาน้ า ํ มั น ดิ บ ดู ไ บ) กั บ ค า การกลั น ่ คงที ท ่ ป ่ ี ริ ม าณคงที ่ ต อ เดือนงงตามสั งกลาวบริ ษัท ลอยตัวา(โดยคํ านวณจากราคาผลิ ตภั่อณนไขที ฑปโ่รตรเลี มทีญ่ตญา ลาดสิ คโปรญคืคืญาดั Diesel, Gasoil, จะตอารแลกเปลี งรับหรือจ่ยานค ยเงิานการกลั สวนต่นางระหว งคาการกลั ่นดังกลาวตามเงื ะบุใยนสั Kerosene และ บบราคาน้ ําํามัมัานนงคดิดิบบาการกลั ดูดูไไบ) การกลั ่น่นคงที ่ท่ที่ปี่ปริริมม่ราณคงที เดื จะตองรับหรื ายเงิOil นสวกักันต างระหว าวตามเงื ่อนไขที ะบุในสั่่ตตญออญา Kerosene และอจFuel Fuel Oil ราคาน้ บ) กักั่นบบดัคคงาากล การกลั คงที าณคงที เดืออนน ตามสั ตามสัญ ญญาดั ญาดังงกล กลาาวบริ วบริษษััทท สัญญาส างเวลาของน้ นดิบและวั ถุดาวตามเงื ิบ ่อ่อนไขที จะต อองรั หรื จจาายเงิ าางระหว ่น่นดัดังงตกล จะต งรับบววนต หรืออาางราคาระหว ยเงินนสสววนต นต งระหวาางค งคําําาามัมัการกลั การกลั นไขที่ร่ระบุ ะบุใในสั นสัญ ญญา ญา สัญญาส นต งราคาระหว างเวลาของน้ นดิบและวั ตกลถุดาวตามเงื ิบ สัญญาสวนตางราคาระหวางเวลาของน้ํามันดิบและวัตถุดิบ บริ ษญาส ัทไดวทนต ําสัาญงราคาระหว ญาสวนตาางราคาระหว าํางเวลาของน้ ําตมัถุนดดิิบบและวัตถุดิบที่ใชในการผลิตจํานวนหลายสัญญากับผูถือ สัสัญ งเวลาของน้ มัมันนดิดิบบและวั ญ ญาส ว นต า งราคาระหว า งเวลาของน้ า ํ และวั บริ ัทไดทําสัเพืญ่อญาส างราคาระหว างเวลาของน้ ําตมัถุนดดิิบบและวั ดิบที่ใชในการผลิ จํานวนหลายสั บผูถตือ หุนษรายใหญ ปองกัวนต นความเสี ่ยงดานราคา โดยคํานวณจากส วนตตาถุงของราคาน้ ํามันดิบตและวั ตถุดิบที่ใชญใญากั นการผลิ บริ ษ ั ท ได ท ํ า สั ญ ญาส ว นต า งราคาระหว า งเวลาของน้ ํ า มั น ดิ บ และวั ต ถุ ด ิ บ ที ่ ใ ช ใ นการผลิ ต จํ า นวนหลายสั ญ ญากั บผูถตือ หุถัวนเฉลี รายใหญ เพืา่องเดื ปอองกันป นความเสี ่ยบงดราคาของเดื านราคา โดยคํ านวณจากส วัทนต างของราคาน้ ําจมัานยเงิดิบนและวั ตาถุงราคาดั ดิบที่ใชใงนการผลิ ่ ย ระหว จ จุ บ ั น กั อ นถั ด ไป บริ ษ จะต อ งรั บ หรื อ ส ว นต กล า บริ ษษรายใหญ ััททได ททํําาสัสัเพืญ ญาส ววนต าางราคาระหว าางเวลาของน้ ํําามัมันนดิดิบบและวั ตตาถุถุงของราคาน้ ดดิิบบทีที่่ใใชชใในการผลิ ตตและวั จํจําานวนหลายสั ญ ญากั บบวตาม ผูผูถถตืืออ หุถัวนเฉลี อ ่ ป อ งกั น ความเสี ย ่ งด า นราคา โดยคํ า นวณจากส ว นต า ํ มั น ดิ บ ต ถุ ด บ ิ ที ่ ใ ช ใ นการผลิ บริ ได ญ ญาส นต งราคาระหว งเวลาของน้ และวั นการผลิ นวนหลายสั ญ ญากั ่ ย ระหว า งเดื อ นป จ จุ บ ั น กั บ ราคาของเดื อ นถั ด ไป บริ ษ ั ท จะต อ งรั บ หรื อ จ า ยเงิ น ส ว นต า งราคาดั ง กล า วตาม นไขที ่ระบุเพืใ่อนสั ญานความเสี่ยงดานราคา โดยคํานวณจากสวนตางของราคาน้ํามันดิบและวัตถุดิบที่ใชในการผลิต หุหุถัเงืวนน่อเฉลี รายใหญ ปปออญองกั ่ ย ระหว า งเดื นป จจุบันกั่ยบงดราคาของเดื อนถัานวณจากส ดไป บริษวัทนต จะต องรับหรือําจมัานยเงิดิบนและวั สวนตตาถุงราคาดั กลาวตามต รายใหญ เพื อ ่ งกั นความเสี านราคา โดยคํ างของราคาน้ ดิบที่ใชใงนการผลิ เงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ถัถัเงืวว่อเฉลี ่ ย ระหว า งเดื อ นป จ จุ บ ั น กั บ ราคาของเดื อ นถั ด ไป บริ ษ ั ท จะต อ งรั บ หรื อ จ า ยเงิ น ส ว นต า งราคาดั ง นไขที ่ระบุใานสั เฉลี ่ยระหว งเดืญอญา นปจจุบันกับราคาของเดือนถัดไป บริษัทจะตองรับหรือจายเงินสวนตางราคาดังกล กลาาวตาม วตาม เงืเงื่อ่อนไขที ร ่ ะบุ ใ นสั ญ ญา นไขที่ระบุในสัญญา 62 62 62
262
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑอะโรเมติกส บริษัท ผูถือหุนรายใหญ กิจการที่เกี่ยวของกัน และบริษัทอื่นหลายแหง ไดรวมลงนามในบันทึกหัวขอสัญญาเกี่ยวกับ หลักการของสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑหลายฉบับ ราคาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑดังกลาวจะเปนไป ตามขอตกลงในสัญญา สัญญาดังกลาวจะมีผลใชบังคับเปนระยะเวลาตั้งแต 1-15 ป นับแตวันที่ในสัญญา และจะมีผล สิ้นสุดในป 2555 ถึง 2566 และหลังจากนั้นสัญญาจะมีผลบังคับตอเนื่องโดยอัตโนมัติ ยกเวนจะมีการบอกเลิกสัญญา ลวงหนาเปนลายลักษณอักษรโดยคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งเปนเวลาลวงหนา 3 เดือนถึง 2 ป สัญญาซื้อขายเม็ดพลาสติก บริษัทและกิจการที่เกี่ยวของกันสองแหงมีสัญญาซื้อขายเม็ดพลาสติกกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง โดยบริษัทตอง จําหนายผลิตภัณฑเม็ดพลาสติกทั้งหมดแกกิจการที่เกี่ยวของกันนี้เพื่อนําไปจัดจําหนายตอใหแกลูกคาในตลาด โดยตาม สัญญากําหนดราคาขายอางอิงจากราคาขายผลิตภัณฑใหแกลูกคาปลายทาง ซึ่งเปนราคาตลาดเม็ดพลาสติกในแตละ ชวงเวลานั้นๆ หักลบดวยสวนตางทางการตลาดที่เหมาะสมและเปนธรรมกับคูสัญญาทั้งสองฝาย สัญญามีระยะเวลา 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2564 จํานวน 2 ฉบับ และ เดือนมกราคม 2565 หนึ่งฉบับ สัญญาเงินใหกูยืมและสัญญาเงินกูยืม บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งเปนวงเงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน 25,300 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนด ชําระคืนทุกรายไตรมาสเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2553 ภายในระยะเวลา 5 ป บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งเปนวงเงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน 4,605 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนด ชําระคืนทุกรายครึ่งปเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2554 ภายในระยะเวลา 5 ป บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งวงเงิน 4,015 ลานบาท โดยแบงเปน เงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน 2,315 ลานบาท และเงินใหกูยืมระยะสั้นจํานวน 1,700 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตรา ดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนดชําระคืนทุกรายครึ่งปเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2555 ภายในระยะเวลา 10 ป
ชวงเวลานั้นๆ หักลบดวยสวนตางทางการตลาดที่เหมาะสมและเปนธรรมกับคูสัญญาทั้งสองฝาย สัญญามีระยะเวลา 15 ป นับจากวันที่ที่มีผลบังคับตามที่ระบุไวในแตละสัญญา และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2564 จํานวน 2 ฉบับ และ 263 เดือนมกราคม 2565 หนึ่งฉบับ สัญญาเงินใหกูยืมและสัญญาเงินกูยืม
บริษัทบริ พีทษีทัที มีโกลบอล จํากัด (มหาชน) และบริ ยอย่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งเปนวงเงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน สัญญาเงิเคมิ นใหคกอล ูยืมโดยไม มีหลักประกั นแกกษิจัทการที หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น กูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนด 25,300 ลานบาท เงินให สําหรับชํระยะเวลาตั ้งแตวันที่ 19่มตุตัล้งแต าคมเดือ2554 นควบบริ ษัท) ถึง 31 ธันวาคม าระคืนทุกรายไตรมาสเริ นมิถ(วั ุนายน 2553 ภายในระยะเวลา 5 ป 2554 บริ ัทมีส้อัญขายผลิ ญาเงินตให โดยไมมกีสหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งเปนวงเงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน สัญษญาซื ภัณกฑูยือมะโรเมติ 4,605 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนด ษัท นผูทุถือกหุรายครึ นรายใหญ ่ยวขถุนอายน งกัน 2554 และบริ ษัทอื่นหลายแห5งปไดรวมลงนามในบันทึกหัวขอสัญญาเกี่ยวกับ ชํบริาระคื ่งปเริ่มกิตัจ้งการที แตเดือ่เกีนมิ ภายในระยะเวลา หลักการของสัญญาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑหลายฉบับ ราคาซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑดังกลาวจะเปนไป ตามข ญาดังกล ผลใช เปนระยะเวลาตั แตง1-15 นับนแต4,015 วันทีล่ใานสั ญญาโดยแบ และจะมี บริษัทอมีตกลงในสั สัญญาเงินญใหญากูยสัืมญโดยไม มีหาลัวจะมี กประกั นแกบังกคัิจบการที ่เกี่ยวของกัน้งแห หนึ่งปวงเงิ นบาท งเปผนล บริษัทสิเงิพี้นทสุใหีทดีกในป โกลบอล คานวน อล จํและหลั ากัด (มหาชน) ยงคับต้นอจํเนืานวน 2555เคมิ ถึง 2566 สัและบริ ญญาจะมี ่องโดยอั ตโนมั ติ ยกเวเงินจะมี กสัอญัตญา ูยืมระยะยาวจํ 2,315 ลงาจากนั นบาท้นและเงิ นใหษกัทผูยยลบั ืมอระยะสั 1,700 ลานบาท ใหกกูยารบอกเลิ ืมดังกลาวมี รา หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ลดอกเบี วงหน เปานกัลายลั ักษรโดยคู ัญญาฝาษยใดฝ วงหนาระคื า 3 นเดืทุอกนถึ ง 2 ป่งปเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน ้ยาเท บตนกทุษณ นถันวอเฉลี ่ยเงินทุนสของบริ ัท เงินายหนึ ใหก่งูยเป ืมนีน้มเวลาล ีกําหนดชํ รายครึ
สําหรับ2555 ระยะเวลาตั ้งแตวันที10 ่ 19ปตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ภายในระยะเวลา
สัญญาซื้อขายเม็ดพลาสติก บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจ63การที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งวงเงิน 485 ลานบาท โดยแบงเปน บริ ัทและกิ จการที่เกี่ยวข องกั435 นสองแห งมีสัญและเงิ ญาซืน้อขายเม็ กิจการที วของกัเงินนแห ษัทอตัตอราง เงินษให กูยืมระยะยาวจํ านวน ลานบาท ใหกูยืมดพลาสติ ระยะสั้นกกัจําบนวน 50 ล่เกีา่ยนบาท ใหงกหนึ ูยืม่งดัโดยบริ งกลาวมี จํดอกเบี าหนายผลิ กิจการที ่อนําไปจั ดจํานหน ยตอให่งแปกเริล่มูกตัค้งาแต ในตลาด ้ยเทาตกัภับณตฑนเทุม็นดพลาสติ ถัวเฉลี่ยกเงิทัน้งทุหมดแก นของบริ ษัท เงิ่เนกี่ยใหวขกอูยงกั ืมนีน้มนีีก้เพืําหนดชํ าระคื ทุการายครึ เดือนมิโดยตาม ถุนายน สั2555 ญญากํ าหนดราคาขายอ12างอิ ภายในระยะเวลา ป งจากราคาขายผลิตภัณฑใหแกลูกคาปลายทาง ซึ่งเปนราคาตลาดเม็ดพลาสติกในแตละ ชวงเวลานั้นๆ หักลบดวยสวนตางทางการตลาดที่เหมาะสมและเปนธรรมกับคูสัญญาทั้งสองฝาย สัญญามีระยะเวลา 15 งคับตามที ่ระบุไมวีหในแต ละสัญนแก ญากและจะมี ดในเดื นวาคม 2564 จํานวน ปบรินัษบัทจากวั ไดในหทีเงิ่ทนี่มกูีผยลบั ืมระยะสั ้นโดยไม ลักประกั ิจการที่เผกีลสิ ่ยวข้นอสุงจํ านวนอนธั 3 แห ง โดยมี ตั๋วใช เงินเป2นฉบั หลับกและ ฐาน เดืรวมเป อนมกราคม 2565้งสิหนึ ฉบับ ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท นจํานวนทั ้น ่ง1,965 โดยตั๋วสัญญาใชเงินดังกลาวมีอายุ 1 เดือน และสามารถตออายุตั๋วสัญญาใชเงินได สัญญาเงินใหกูยืมและสัญญาเงินกูยืม บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมระยะสั้น โดยการใชบริการโอนเงินระหวางบัญชีผานระบบ Liquidity Management System ่งไมมีหมลัีหกลัประกั นอายุ 3 ป่เกีแก ่เกี่ยงหนึ วขอ่งงกั 3 แหนงใหวงเงิ รวม 3,400านวน ลาน บริ ษัทมีส(“ระบบ ัญญาเงินLMS”) ใหกูยืมซึโดยไม กประกั นแกสกัญิจญา การที ่ยวขกอิจการที งกันแห เปนวงเงิ กูยืมนระยะยาวจํ บาท เงินลให กูยืมดังเงิกล าวมีกอูยืมัตดัราดอกเบี กับตนทุน้ยเท ถัวาเฉลี 25,300 านบาท นให งกลาวมี้ยอเทัตาราดอกเบี กับต่ยเงินนทุนทุนถัวของบริ เฉลี่ยเงิษนัททุนของบริษัท เงินใหกูยืมนี้มีกําหนด ชําระคืนทุกรายไตรมาสเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2553 ภายในระยะเวลา 5 ป บริษัทมีสัญญาเงินกูยืมระยะสั้นโดยการใชบริการโอนเงินระหวางบัญชีผานระบบ Liquidity Management System (“ระบบ ไมกมูยีหืมลัโดยไม กประกัมีหนลัอายุ สัญญานแก 3 กปิจจากกิ ่ยวข องกังนหนึ3่งเป แหนงวงเงิ วงเงินนให รวม ลานบาท บริ ษัทมีสLMS”) ัญญาเงิซึน่งให กประกั การทีจ่เกีการที ่ยวข่เอกีงกั นแห กูยืม11,000 ระยะยาวจํ านวน เงินกูยลืมาดันบาท งกลาวมี ้ยเทาาวมี กับออััตตราดอกเบี ราผลตอบแทนเฉลี ้น หัก ษ0.25% 4,605 เงินอัตใหราดอกเบี กูยืมดังกล ้ยเทากับตน่ยจากการลงทุ ทุนถัวเฉลี่ยเงินระยะสั นทุนของบริ ัท เงินตใหอปกูยืมนี้มีกําหนด ชําระคืนทุกรายครึ่งปเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2554 ภายในระยะเวลา 5 ป สัญญาบริการ บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งวงเงิน 4,015 ลานบาท โดยแบงเปน เงิบรินษใหัทกมีูยสืมัญระยะยาวจํ านวน 2,315 ลนานบาท นใหกูยืมระยะสั ้นจําแนวน 1,700 นบาท นให่เกกีูย่ ืมวขดัองกล รา ่ง ญาจางเหมางานประกั คุณภาพและเงิ งานตรวจสอบอุ ปกรณ ละเครื ่องจัลการกั บกิจเงิการที งกันาวมี แหองัตหนึ ดอกเบี เทากัรบะยะเวลา ตนทุนถัว3เฉลี ่ยเงินทุนผของบริ เงินอให ืมนี้มนีกธําหนดชํ โดยสัญ้ยญามี ป และจะมี ลสิ้นสุษดัทในเดื นกุกมูยภาพั 2557 าระคืนทุกรายครึ่งปเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2555 ภายในระยะเวลา 10 ป บริษัทมีสัญญาการใหบริการแกกิจการที่เกี่ยวของกันรวม 11 แหง เพื่อใหบริการดานตางๆ โดยอัตราคาบริการจะทํา
โดยตั๋วสัญญาใชเงินดังกลาวมีอายุ 1 เดือน และสามารถตออายุตั๋วสัญญาใชเงินได 264
บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมระยะสั้น โดยการใชบริการโอนเงินระหวางบัญชีผานระบบ Liquidity Management System (“ระบบ LMS”) ซึ่งไมมีหลักประกันอายุสัญญา 3 ป แกกิจการที่เกี่ยวของกัน 3 แหง วงเงินรวม 3,400 ลาน บาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตราดอกเบี้ยเทากับตนทุนถัวเฉลี่ยเงินทุนของบริษัท
บริษัทบริพีษทัทีทมีี สโกลบอล อล จํา้นกัโดยการใช ด (มหาชน)บริและบริ ษัทยนอระหว ย างบัญชีผานระบบ Liquidity Management System ัญญาเงินเคมิ กูยืมคระยะสั การโอนเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ (“ระบบ LMS”) ซึ่งไมมนีหลักประกันอายุสัญญา 3 ป จากกิจการที่เกี่ยวของกัน 3 แหง วงเงินรวม 11,000 ลานบาท สําหรัเงิบนระยะเวลาตั ้งแตอัตวันราดอกเบี ที่ 19 ตุ้ยลเทาคม (วันควบบริษัท)่ยถึจากการลงทุ ง 31 ธันวาคม 2554้น หัก 0.25% ตอป กูยืมดังกลาวมี ากับ2554 อัตราผลตอบแทนเฉลี นระยะสั ษัทมีสการ ัญญาเงินใหกูยืมโดยไมมีหลักประกันแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่งวงเงิน 485 ลานบาท โดยแบงเปน สับริ ญญาบริ เงินใหกูยืมระยะยาวจํานวน 435 ลานบาท และเงินใหกูยืมระยะสั้นจํานวน 50 ลานบาท เงินใหกูยืมดังกลาวมีอัตรา ากับาตงเหมางานประกั นทุนถัวเฉลี่ยเงินนทุคุนณของบริ ษัท เงินใหกูยืมนีป้มกรณ ีกําหนดชํ าระคื กรายครึ ่งปเริ่เมกีตั่ย้งวข แตอเงกั ดือนนมิ ายน่ง บริดอกเบี ษัทมีส้ยเท ัญญาจ ภาพ งานตรวจสอบอุ และเครื ่องจันกทุรกั บกิจการที แหถงุนหนึ 2555ญภายในระยะเวลา ป โดยสั ญามีระยะเวลา 3 12 ป และจะมี ผลสิ้นสุดในเดือนกุมภาพันธ 2557 หเงินกูยืมบระยะสั ้นโดยไม มีห่เกีลั่ยกวขประกั ่ยวข องจํ แหางงๆโดยมี ตั๋วตใช เงินาบริ เปนการจะทํ หลักฐาน บริบริษษัทัทมีสไดัญใญาการให ริการแก กิจการที องกันแก รวมกิจ11การที แหง่เกีเพื ่อให บริากนวน ารด3านต โดยอั ราค า รวมเปนจํวานวนทั ้งสิ้น 1,965 ลา4นบาท ืมดังผกล ตนทุนถัวญเฉลี เงินทุนญของบริ การตกลงร มกันภายในไตรมาส ของทุเงิกปนใหสัญกูยญามี ลบัาวมี งคับอัตใชราดอกเบี ตั้งแตวัน้ยทีเท่ทาี่กกัําบหนดในสั ญา่ยโดยสั ญาจะตษอัท โดยตั สัญญาใชตเโนมั งินดัตงกล อายุ 1 เดื้นอสุนดสัและสามารถต ออายุาวให ตั๋วสัอญีกญาใช เงิน่งได ในป ถัด๋วไปโดยอั ิ แตาสวมีามารถสิ ญญาโดยบอกกล ฝายหนึ ทราบเปนลายลักษณอักษรลวงหนา ไมนอยกวา 3 เดือน บริษัทมีสัญญาเงินใหกูยืมระยะสั้น โดยการใชบริการโอนเงินระหวางบัญชีผานระบบ Liquidity Management บริษัทบริพีSystem คอล ซึจํก่งาารรั กัดมก(มหาชน) ัทญายอ3อยปงกัแก LMS”) ไม ีหษาความปลอดภั ลักประกัและบริ นอายุสยษัญและป ่ยวขอ4งกั วงเงิน่เกีรวม ลานง ษทัทีทมีี โกลบอล ส(“ระบบ ัญญาจาเคมิ งเหมาบริ นอักคิจคีการที ภัยจํา่เกีนวน ฉบันบ3กัแห บกิงจการที ่ยวข3,400 องกันแห หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ บาท เงินให กูยืมดั่เกีง่ยกลวขนาอวมีงกัอนัตนีราดอกเบี ากับกษาความปลอดภั ตนทุนถัวเฉลี่ยเงิยนและป ทุนของบริ หนึ ่งปโดยกิ จการที ้จะใหบริ้ยกเทารรั องกันษอััทคคีภัยแกทรัพยสิน พนักงานและผูที่มา สําหรับติดระยะเวลาตั ้งแตเวณพื วันที้น่ ที19่ของบริ ตุลาคม ควบบริ ษัท) ถึ2งป31และจะมี ธันวาคม ตอที่อยูในบริ ษัท2554 โดยสั(วัญนญามี ระยะเวลา ผลสิ2554 ้นสุดในเดือนกันยายน 2555 บริษัทมีสัญญาเงินกูยืมระยะสั้นโดยการใชบริการโอนเงินระหวางบัญชีผานระบบ Liquidity Management System (“ระบบ ่งไมมีหลัหการงานคลั ประกันอายุ 3 ป จากกิ ง วงเงิ นรวมญญามี 11,000 ลานบาท บริ ษัทมีสLMS”) ัญญาจาซึงเหมาบริ งสิสนัญคาญาHDPE กับกิจจการที การที่เกี่เกี่ย่ยวขวขอองกังกันน3แหแห งหนึ ่ง โดยสั ระยะเวลา 3 ป 64 เงินกูยืมผดัลสิ งกล้นาสุวมีดในเดื อัตราดอกเบี ้ยเทากั2556 บอัตราผลตอบแทนเฉลี ่ยจากการลงทุนระยะสั้น หัก 0.25% ตอป และจะมี อนธันวาคม สัญษญาบริ บริ ัทไดทกําาร สัญญางานบริการดานเทคนิคกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง ภายใตสัญญานี้ บริษัทตกลงจางกิจการที่ เกี่ยวของใหบริการคําปรึกษาทางดานเทคนิค โดยมีจํานวนชั่วโมงพื้นฐานสําหรับการใหคําปรึกษาปละ 2,100 ชั่วโมง มีสัญงกล ญาจาวมี างเหมางานประกั คุณภาพ ปกรณ และเครื่อกงจั กรกับกิจญการที ่เกี่ยวขอบงกั หนึ่ง ซึบริ ่งสัษญัทญาดั ระยะเวลา 5 ป นและค าบริกงานตรวจสอบอุ ารในอัตราปแรกเป นไปตามที ําหนดในสั ญา และปรั เพิน่มแห ขึ้นงตาม ระยะเวลา 3สปิทและจะมี ผลสิ้นอสุีกด5ในเดื ดัโดยสั ชนีคาญจญามี างแรงงานโดยมี ธิตอสัญญาได ป อนกุมภาพันธ 2557 บริษษัทัทมีมีสสัญัญญาจ ญาการให บริกบารแก กิจการที่เกี่ยวขอวอย งกันางกั รวม แหง่เกีเพื่ย่อวขใหอบงกัรินการด นต่งางๆ โดยอั ตราคระยะเวลา าบริการจะทํ บริ างเหมาให ริการงานทดสอบตั บกิ11 จการที แหงาหนึ โดยสั ญญามี 1 ปา การตกลงร นภายในไตรมาส ของทุ ป สัาจะมี ญญามี ผลบังคับกใช แตวันทีส่ทัญ ี่กําญาฝ หนดในสั โดยสั ญญาจะตอ และให ตอสัวญมกั ญาในป ถัดไปโดยอัต4โนมั ติจกนกว การบอกเลิ สัญตั้งญาโดยคู ายหนึญ่งฝญา ายใด และสามารถ ตโนมัติาแต ้นสุ่งทราบเป ดสัญญาโดยบอกกล ายหนึ ่งทราบเป สิในป ้นสุดถสััดญไปโดยอั ญาโดยบอกกล วใหสามารถสิ อีกฝายหนึ นลายลักษณอาวให ักษรลอีกวฝงหน า ไม นอยกวาน1ลายลั เดือนกษณอักษรลวงหนา ไมนอยกวา 3 เดือน สัญญาเชาอาคารสํานักงาน บริษัทมีสัญญาจางเหมาบริการรักษาความปลอดภัยและปองกันอัคคีภัยจํานวน 4 ฉบับกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหง บริ มีสัญญาเช กิจการที่เกี่ยวขอยงกั นแหองงกั หนึน่งอัคโดยสั ญญามี ป และจะมี หนึษ่งัทโดยกิ จการทีาพื่เกี้น่ยทีวข่และบริ องกันกนีารสํ ้จะใหานับกริงานกั การรับกษาความปลอดภั และป คีภัยแก ทรัพรยะยะเวลา สิน พนัก3งานและผู ที่มา ผลสิ อนกั นยายน ญญาตอ2ไปอี กเปนคราว ัตราคาเชาและ ติดต้นอสุทีด่อในเดื ยูในบริ เวณพื ้นที่ข2555 องบริษและสามารถขยายสั ัท โดยสัญญามีระยะเวลา ป และจะมี ผลสิๆ้นสุคราวละ ดในเดือ3นกัปนโดยมี ยายนอ2555 คาบริการ และเงื่อนไขขอผูกพันเปนไปตามที่กําหนดสัญญา
บริษัทไดทําสัญญางานบริการดานเทคนิคกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง ภายใตสัญญานี้ บริษัทตกลงจางกิจการที่ 265 เกี่ยวของใหบริการคําปรึกษาทางดานเทคนิค โดยมีจํานวนชั่วโมงพื้นฐานสําหรับการใหคําปรึกษาปละ 2,100 ชั่วโมง ซึ่งสัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 5 ป และคาบริการในอัตราปแรกเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา และปรับเพิ่มขึ้นตาม ดัชนีคาจางแรงงานโดยมีสิทธิตอสัญญาไดอีก 5 ป
บริษัทบริ พีทษีทัที มีโกลบอล คอล จํบาริกักดารงานทดสอบตั (มหาชน) และบริ ัทยบอกิยจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง โดยสัญญามีระยะเวลา 1 ป สัญญาจาเคมิ งเหมาให วอยษางกั หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ และให ตอสัญญาในปถนัดไปโดยอัตโนมัติจนกวาจะมีการบอกเลิกสัญญาโดยคูสัญญาฝายหนึ่งฝายใด และสามารถ สําหรับสิระยะเวลาตั ้งแตวันที่ 19าวให ตุลาคม นควบบริ ษัท)กษณ ถึง 31 ธันวาคม ้นสุดสัญญาโดยบอกกล อีกฝา2554 ยหนึ่ง(วัทราบเป นลายลั อักษรล วงหน2554 า ไมนอยกวา 1 เดือน
6
ัทมีสาอาคารสํ ัญญาจางเหมาบริ สับริญษญาเช านักงาน หารงานคลังสินคา HDPE กับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ป และจะมีผลสิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2556 บริษัทมีสัญญาเชาพื้นที่และบริการสํานักงานกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ป และจะมี ผลสิ นกันยายนการด 2555านเทคนิ และสามารถขยายสั กเปงหนึ นคราว ๆ คราวละ ป โดยมี อัตราค าและ่ บริษ้นัทสุไดดทในเดื ําสัญอญางานบริ คกับกิจการที่เกีญ่ยญาต วขอองกัไปอี นแห ่ง ภายใต สัญญานี3 ้ บริ ษัทตกลงจ างกิาเชจการที คเกีา่ยบริ และเงื นไขข กพันเปนานเทคนิ ไปตามที ําหนดสั ญญา ่วโมงพื้นฐานสําหรับการใหคําปรึกษาปละ 2,100 ชั่วโมง วขกอารงให บริก่อารคํ าปรึอกผูษาทางด ค ่กโดยมี จํานวนชั ซึ่งสัญญาดังกลาวมีระยะเวลา 5 ป และคาบริการในอัตราปแรกเปนไปตามที่กําหนดในสัญญา และปรับเพิ่มขึ้นตาม เงิดัชนนีสดและรายการเที ยบเทสาิทเงิธินตอสดสัญญาไดอีก 5 ป คาจางแรงงานโดยมี งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ1 ป บริษัทมีสัญญาจางเหมาใหบริการงานทดสอบตัวอยางกับกิจการที ่เกี่ยนวขรวม องกันแหงหนึ่ง โดยสั ญญามี ระยะเวลา นบาท) และใหตอสัญญาในปถัดไปโดยอัตโนมัติจนกวาจะมีการบอกเลิกสัญญาโดยคูส(ลัญาญาฝ ายหนึ่งฝายใด และสามารถ อ สิเงิ้นนสุสดในมื ดสัญญาโดยบอกกล าวใหอีกฝายหนึ่งทราบเปนลายลักษณอักษรลวงหนา ไม5นอยกวา 1 เดือน เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน 1,091 51 สัเงิญนญาเช าอาคารสํานักงาน พย ฝากธนาคารประเภทออมทรั 3,600 891 เงินฝากธนาคารเงินตราตางประเทศ 384 113 บริ ัทมีสัญญาเชาพื้นที่และบริาการสํานักงานกับกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง39โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ป และจะมี เงินษฝากธนาคารประเภทประจํ ผลสิ ้นสุดนในเดื อนกั 2555องสูและสามารถขยายสั ญญาตอไปอีกเปนคราว ๆ คราวละ 3 ป โดยมีอัตราคาเช าและ เงินลงทุ ระยะสั ้นทีน่มยายน ีสภาพคล ง 13,854 8,100 ครวม าบริการ และเงื่อนไขขอผูกพันเปนไปตามที่กําหนดสัญญา 9,155 18,973
6
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 65 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินฝากธนาคารเงินตราตางประเทศ เงินฝากธนาคารประเภทประจํา เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง รวม
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 5 1,091 51 3,600 891 384 113 39 13,854 8,100 18,973 9,155
266
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ยอดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ (ลานบาท) 17,823 446 341 7 37 276 43 18,973
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเหรียญสิงคโปร สกุลเงินเยน สกุลเงินริงกิต อื่นๆ รวม 7
9,042 112 1 9,155
ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ
หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม
หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสําหรับงวด
5
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ลานบาท) 26,778 14,733 41,511 (29) 41,482
(1)
24,188 9,296 33,484 (21) 33,463
-
267
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคามีดังนี้ งบการเงินรวม กิจการที่เกีย่ วของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ กิจการอื่นๆ ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
26,775
24,188
3 26,778 26,778
24,188 24,188
14,228
9,249
460 25 15 5 14,733 (29) 14,704 41,482
28 4 13 2 9,296 (21) 9,275 33,463
โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท/บริษัทมีระยะเวลาตั้งแต 15 วันถึง 90 วัน
268
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ยอดลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน สกุลเงินริงกิตมาเลเซีย อื่นๆ รวม 8
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 34,773 30,027 5,789 3,436 644 138 106 32 41,482 33,463
สินคาคงเหลือ งบการเงินรวม สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงานและอะไหล สินคาระหวางทาง หัก คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 12,807 7,773 2,195 9,460 8,257 6,518 3,738 5,324 4,962 36,304 24,730 (159) 36,145 24,730
269
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษษัทัท พีพีททีทีทีี โกลบอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ โกลบอล เคมิ เคมิคคอล อล หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ นน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํสํหมายเหตุ าาหรั ้ง้งแต ประกอบงบการเงิ หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แตววันันทีทีน่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริษษัทัท)) ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
9 99 9
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ น รวม งบการเงิ งบการเงินรวม (ลานบาท) งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงินรวม (ล งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลาานบาท) นบาท) (ลานบาท)
ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเปน ตตนนทุทุนนของสิ นนคคาาคงเหลื ออทีที่บ่บันันทึทึกกเป น คงเหลื คาใชจของสิ ายและได รวมในบั ญชีตนทุเปนนขาย ายและได รรวมในบั ใช วมในบั ญ่บชีชีันตตทึนนกทุทุเปนนนขาย ขาย ตคคสํนาาาทุใช นจจของสิ อทีญ หรั บายและได งวดนคาคงเหลื หรั งวด หรัจบบายและได งวด รวมในบัญชีตนทุนขาย คสํสําาาใช - ตนทุนขาย -- ต น ทุ น ขาย นทุบนงวด ขาย สําตหรั - (กลับรายการ) การปรับลดมูลคา -- (กลั บ รายการ) การปรั บบลดมู ลลคคาา ต น ทุ น ขาย (กลั บ รายการ) การปรั ลดมู สุทธิ สุ-สุทท(กลั ธิธิ บรายการ) การปรับลดมูลคา สุเงิทนธิลงทุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษัทัทยยออยย และกิ และกิจจการที การที่ค่ควบคุ วบคุมมรรววมกั มกันน เงินลงทุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทยอย บริ ษัทยอย บริ ณ วัษนัททีย่ อ19ย ตุลาคม 2554 ณ วันที่่ อ19 บริ ณ 19ย นตุตุลลาคม าคม 2554 2554 ซื้อวัษเงินัทนทียลงทุ ซืณ ้ซือ้อวัเงิเงินนนทีลงทุ น ลงทุ ่ 19 นตุอลยคาคม คาเผื่อการด า 2554 คซืคาา้อเผื อ ่ การด อ ยค า เผืเงิ่อนาการด ลงทุ จําหน ย นอยคา ายย อยคา หน คจํจํณาาหน เผื วัน่อทีาการด ่ 31 ธันวาคม 2554 วัวันนทีทีาย่่ 31 จํณ ณาหน 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 กิจการที่ควบคุมรวมกัน กิกิจจวัการที ่ค่ควบคุ มมรรววมกั นน ณ นที่ 31 ธันวาคม 2554 วบคุ มกั ณ วัการที นที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ นที่่ 19 ตุลาคม 2554 19 2554 กิจ้อวัวัการที ่ควบคุ มรวมกั น ซืณ เงินนทีลงทุ นตุลาคม ซื้อวัเงิเงินนนทีลงทุ ลงทุ ่ 19 นนตุอลยคาคม คซืณา้อเผื ่อการด า 2554 คาเผื อยคา เผืเงิ่อ่อนาการด การด ลงทุ จํคซืาา้อหน ย นอยคา ายย อยคา หน คจํจําาหน เผื ณ วัน่อทีาการด ่ 31 ธันวาคม 2554 วัวันนทีทีาย่่ 31 จํณ ณาหน 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 รวม รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รวม ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที่่ 19 ณ 19 นตุตุลลาคม าคม 2554 2554 รวม ซื้อวัเงินนทีลงทุ ซื้อวัเงิเงินนนทีลงทุ ลงทุ ่ 19 นนตุอลยคาคม คซืณา้อเผื ่อการด า 2554 คาเผื อยคา เผืเงิ่อ่อนาการด การด ลงทุ จํซืคาา้อหน ย นอยคา ายย อยคา หน คจํจําาหน เผื ณ วัน่อทีาการด ่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วั น ที จํณาหน วันทีาย่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
98,538 98,538 98,538 46 46 98,538 46 98,584 98,584 46 98,584 98,584
69 69 69
86,162 86,162 86,162 (14) (14) 86,162 (14) 86,148 86,148 (14) 86,148 86,148 งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ งบการเงิ เฉพาะกิจจการ การ (ลนานบาท) (ล (ลนาานบาท) นบาท) งบการเงิ เฉพาะกิจการ (ลานบาท) 59,112 59,112 59,11259,112---59,11259,112 59,11259,112 210 210 210210---210210 210210 59,322 59,322 59,32259,322---59,32259,322 59,32259,322
บริษัทยอย บริษัท บางกอก โพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จํากัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริษัท พีทีทีโพลีเอทิลีน จํากัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิสจํากัด PTT Chemical International Pte. Ltd. บริษัท ไบโอ สเปกตรัม จํากัด บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริ่ง จํากัด 1,700 5,395 900 280 7,400 22,000 165 6,969 221 137
100 100 100 100 100 100
100
75 60
ทุนชําระแลว
100
(รอยละ)
สัดสวนความเปน เจาของ
146 82
6,969
5,395 900 280 7,400 22,600 165
3,664
วิธีราคาทุน
70
-
-
-
-
การดอยคา (ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
146 82
6,969
5,395 900 280 7,400 22,600 165
3,664
ราคาทุน-สุทธิ
-
-
-
-
ราคาตลาดสําหรับ หลักทรัพยจด ทะเบียนฯ
เงินลงทุนในบริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และเงินปนผลรับสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
-
-
1,079 -
-
เงินปนผลรับ สําหรับงวด
270
50 50 50
กิจการที กิจการที กิ่คจวบคุ การที ่ควบคุ ม่ครวบคุ วมมกั รวมนมกัรวนมกัน บริษบริัทษไทย บริ ัทไทย ษอีัททไทย อกซี อีทอกซี อีเลท ทอกซี เลท จํากัเจํลท ดากัดจํากัด
รวมรวมรวม
51 51 51 60 60 60 60 60 60
บริษบริัทษยบริ อัทยยษอ(ตัทยยอ(ต อ) ยอ)(ตอ) บริษบริัทษไทยแท บริ ัท ษไทยแท ัท ไทยแท งค งเทอร ค เทอร งมคินเทอร มัลินัลมินัล จํากัจํดากัดจํากัด บริษบริัทษพีบริ ัททษพีีทัที ยูีทพีี ิลทยูิตที ี้ ิลี จํยูิตทาี้ กัิลจํดิตากัี้ ดจํากัด บริษบริัทษพีบริ ัททษพีีทัที ฟีทพีนี ทฟอลีทนี อล จํฟานกัจํอล ดากัดจํากัด
(รอ(รยละ) อยละ) (รอยละ)
420420 420
900900 900 6,859 6,8596,859 8,351 8,3518,351
71 71 71
- - -
-
59,322 59,322 59,322
-
- - - - -
-
59,322 59,322 59,322
210210 210 210210 210
459459 459 4,500 4,5004,500 6,552 6,5526,552 59,112 59,112 59,112
ราคาทุ ราคาทุ นราคาทุ -สุนท-สุธินท-สุ ธิ ทธิ
(ลา(ล นบาท) านบาท) (ลานบาท)
การด การด อการด ยคอายคอายคา
งบการเงิ งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการจการ
210210 210 210210 210
459459 459 4,500 4,5004,500 6,552 6,5526,552 59,112 59,112 59,112
สัดสัสดวนความเป สสัวดนความเป สวนความเป นน น เจาของ เจาของ เจาของ ทุนทุชํนาระแล ชํทุานระแล ชํวาระแล ว ว วิธีรวิาคาทุ ธีรวิาคาทุ ธนีราคาทุ น น
บริบริ ษัทษบริ พีัททษพีีทั ที โกลบอล พีีทที โกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอล เคมิ คอล จํคาอล กัจํดากัจํ(มหาชน) ดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ และบริ ษัทษยัทอษยยอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน น สําหรั สําหรั บสํระยะเวลาตั าบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งแต วัน้งวแต ทีัน่ 19 ทีวัน่ 19 ตุทีล่ ตุ19 าคม ลาคม ตุล2554 าคม 2554 (วั2554 น(วัควบบริ น(วัควบบริ นควบบริ ษัทษ) ัทถึษ)งถึัท31ง) ถึ31 ธังนธั31 วาคม นวาคม ธันวาคม 2554 25542554
-
-
- - -
- - - - -
-
1,079 1,0791,079
- - - - -
- - - - - - 1,079 1,0791,079
ราคาตลาดสํ ราคาตลาดสํ ราคาตลาดสํ าหรัาหรั บ าบหรับ หลัหลั กทรักหลั พทรัยกจพทรั ดยจพดยจด เงินเงิปนปผลรั เงินผลรั ปบนผลรั บ บ ทะเบี ทะเบี ยนฯ ทะเบี ยนฯยนฯ สําหรั สําบหรั สํงวด าบหรั งวดบงวด
271
บริษัทไทย อีทอกซีเลท จํากัด
31 ธันวาคม 2554
50
สัดสวน ความเปน เจาของ (รอยละ)
700
สินทรัพย หมุนเวียน
224
สินทรัพยไม หมุนเวียน
924
สินทรัพย รวม
72
289
หนี้สิน หมุนเวียน
4
หนี้สินไม หมุนเวียน (ลานบาท)
293
หนี้สินรวม
329
รายได รวม
305
คาใชจาย รวม
กําไร
24
ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมรวมกันซึ่งกลุมบริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทดังกลาวตามวิธีรวมตามสัดสวนในงบการเงินรวม โดยแสดงตามสัดสวนของกลุมบริษัท
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
272
273
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 เงินปนผลจายของบริษัทยอย ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด เมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 คณะกรรมการมีมติ อนุมัติการจัดสรรเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 20 บาท จํานวนเงิน 1,079 ลานบาท เงินปนผล ดังกลาวไดจายใหแกผูถอื หุนในเดือนพฤศจิกายน 2554 10
เงินลงทุนในบริษัทรวม งบการเงินรวม ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 สวนแบงขาดทุนสุทธิจากเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย ซื้อเงินลงทุน รายไดเงินปนผล ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 6,301 3,391 (122) 8 (3) (6) 6,178
8 3,399
150 150 113 113
40 40 20 20
47.8547.85 12.5012.50
รวมทางอ บริษบริ ัทรษวัทมทางอ อม อม Myriant Technologies Myriant Technologies Inc. Inc. ErcaErca Moerdijk Moerdijk B.V.B.V.
รวมรวม
7,1117,111 10 10
25 25 23 23
0.070.07 63 63
40 40
25 25
บริษบริ ัทรษวัทมรวม บริษบริ ัท พีษทั ีทพีี โพลี ทีที โพลี เมอรเมอร มารเมาร ก็ตติเก็้งตจํติากั้ง ดจํากัด บริษบริ ัท วีษนัทิไวีทยนิไจํทย ากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) บริษบริ ัท อีษสัทเทิอีรสนเทิฟลู รนอฟลู ิด อิด ทรานสปอร ทรานสปอร ต จําตกัดจํากัด บริษบริ ัท พีษทั ีทพีี ไอซี ทีที ไอซี ที โซลู ที โซลู ชั่นสชั่นจําสกัดจํากัด บริษบริ ัท พีษทั ีทพีี เอนเนอร ทีที เอนเนอร ยี่ โซลู ยี่ โซลู ชั่นสชั่นจําสกัดจํากัด
สัดสสัวดนความเป สวนความเป น น เจาของ เจาของ ทุนชํทุานระแล ชําระแล ว ว (รอยละ) (รอยละ)
74 74
1,9191,919 80 80 1,9991,999 5,3985,398
60 60 31 31 3,3993,399
3,2973,297 1 1
10 10
วิธีราคาทุ วิธีราคาทุ น น
1,4831,483 80 80 1,5631,563 6,1786,178
150 150 32 32 4,6154,615
4,2954,295 17 17
121 121
-
-
- - - -
- - -
- -
วิธีสวิวธนได ีสวนได เสีย เสีย การดการด อยคาอยคา (ลานบาท) (ลานบาท)
งบการเงิ งบการเงิ นรวมนรวม
เงินลงทุ เงินลงทุ นในบริ นในบริ ษัทรษวัทมรณวมวัณนทีวั่ น31ทีธั่ 31นวาคม ธันวาคม 25542554 และเงิ และเงิ นปนผลรั ปนผลรั บสําบหรั สําบหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ ัน19ทีตุ่ 19ลาคม ตุลาคม 25542554 ถึง 31 ถึงธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 มีดังมีนีด้ ังนี้
บริษบริัท ษพีัททพีีที ทโกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคอล จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ัน19ที่ ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 (วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัท)ษถึัทง) 31 ถึง ธั31นวาคม ธันวาคม 25542554
1,4831,483 80 80 1,5631,563 6,1786,178
150 150 32 32 4,6154,615
4,2954,295 17 17
121 121
3
3
- - 3 3
- 3 3
- -
เงินปเงินนผลรั ปนบผลรับ สวนได สวนได เสีย-สุเสีทยธิ-สุทธิ สําหรัสํบาหรั งวดบงวด
274
บริษัทรวม บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จํากัด รวม 40 7,111 10 150 113
25 15
40
20
ทุนชําระแลว
25
สัดสวนความเปน เจาของ (รอยละ)
31
-
31 3,399
75
60
-
60
3,399
3,297 1
3,297 1
-
(ลานบาท)
ราคาทุน-สุทธิ
10
การดอยคา
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
10
วิธีราคาทุน
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
4,944
-
-
4,944 -
-
ราคาตลาด สําหรับหลักทรัพย จดทะเบียนฯ
เงินปนผลรับ สําหรับงวด
3
-
3
-
-
275
47.85
บริษัทรวมทางออม Myriant Technologies Inc.
รวม
25 25 23 40 20
31 ธันวาคม 2554 บริษัทรวม บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิดทรานสปอรต จํากัด บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จํากัด บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จํากัด
(รอยละ)
สัดสวนความเปนเจาของ
76
1,550 1,550 34,210
6,626 24,156 94 1,573 211 32,660
สินทรัพยรวม
254 254 14,515
6,141 6,848 23 1,196 53 14,261
(ลานบาท)
หนี้สินรวม
2 2 18,499
15,789 2,064 25 541 78 18,497
รายไดรวม
(928) (928) (923)
(9) (58) 8 55 7 5
กําไร (ขาดทุน) สําหรับงวด
ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวมซึ่งกลุมบริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทดังกลาวตามวิธีสวนไดเสีย แตไมไดปรับปรุงใหแสดงขอมูลตามสัดสวนที่ถือหุนโดยกลุมบริษัท
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
276
277
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 11
เงินลงทุนอื่น งบการเงินรวม เงินลงทุนระยะสั้น ตั๋วสัญญาใชเงินจากสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนอื่นที่ไมอยูในความตองการของตลาด Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. (บริษัทถือหุนรอยละ 16.67) Guangzhou Keylink Chemical Co., Ltd. ( บริษัทถือหุนรอยละ 15) บริษัท บิซิเนส เซอรวิสเซส อัลไลแอนซ จํากัด รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
3,632 3,632
2,000 2,000
290 36
290 -
1 327 3,959
1 291 2,291
ยอดเงินลงทุนระยะยาวอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม สกุลเงินเหรียญสิงคโปร สกุลเงินเหรียญฮองกง สกุลเงินบาท รวม
290 36 1 327
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 290 1 291
ทีที่ด่ดินิน อาคารและอุ อาคารและอุปปกรณ กรณ
คคาาเสื เสื่อ่อมราคาและขาดทุ มราคาและขาดทุนนจากการด จากการดออยค ยคาา ณ ณ วัวันนทีที่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 คคาาเสื อ ่ มราคาสํ า หรั บ เสื่อมราคาสําหรับงวด งวด จํจําาหน า ย หนาย ขาดทุ ขาดทุนนจากการด จากการดออยค ยคาา ผลต ผลตาางจากการแปลงอั งจากการแปลงอัตตราแลกเปลี ราแลกเปลี่ย่ยนน เงิเงินนตราต ตราตาางประเทศ งประเทศ ณ วั น ที ่ 31 ธั น ณ วันที่ 31 ธันวาคม วาคม 2554 2554
ราคาทุ ราคาทุนน ณ ณ วัวันนทีที่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 เพิ ม ่ ขึ น ้ เพิ่มขึ้น โอน โอน จํจําาหน หนาายย ผลต ผลตาางจากการแปลงอั งจากการแปลงอัตตราแลกเปลี ราแลกเปลี่ย่ยนน เงิเงินนตราต ตราตาางประเทศ งประเทศ ณ วั น ที ่ 31 ธั ณ วันที่ 31 ธันนวาคม วาคม 2554 2554
12 12
(83,202) (83,202) (2,414) (2,414) 218 218 (1) (1) (9) (9) (85,408) (85,408)
-(385) (385)
23 23 290,579 290,579
(1) (1) 7,032 7,032 (373) (373) (12) (12) ---
283,767 283,767 239 239 6,811 6,811 (261) (261)
6,985 6,985 38 38 10 10 --
ทีที่ด่ดินิน และส และสววนปรั นปรับบปรุ ปรุงง
โรงงาน โรงงาน เครื เครื่อ่องจั งจักกรร และอุ และอุปปกรณ กรณ เครื เครื่อ่องมื งมืออ เครื เครื่อ่องใช งใชโโรงงาน รงงาน
78 78
(2) (2) (3,522) (3,522)
(3,393) (3,393) (127) (127) ---
-13,915 13,915
13,766 13,766 22 22 127 127 --
อาคาร อาคาร และส และสววนน ปรั ปรับบปรุ ปรุงงอาคาร อาคาร
บริ บริษษัทัท พีพีททีทีทีี โกลบอล โกลบอล เคมิ เคมิคคอล อล จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทยยออยย หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน สํสําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้ง้งแต แตววันันทีที่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริษษัทัท)) ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554
(1) (1) (1,893) (1,893)
(1,796) (1,796) (133) (133) 37 37 --
11 3,149 3,149
3,200 3,200 32 32 (46) (46) (38) (38)
เครื เครื่อ่องตกแต งตกแตงง ติติดดตัตั้ง้งและอุ และอุปปกรณ กรณ (ล า นบาท) (ลานบาท)
งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม
-936 936
932 932 10 10 33 (9) (9)
-(518) (518)
(500) (500) (26) (26) 88 --
ยานพาหนะ ยานพาหนะ
---
-----
12 12 11,458 11,458
17,595 17,595 1,327 1,327 (7,476) (7,476) --
สิสินนทรั ทรัพพยย ระหว ระหวาางก งกออสร สราางง
(12) (12) (91,726) (91,726)
(89,264) (89,264) (2,712) (2,712) 263 263 (1) (1)
35 35 327,069 327,069
326,245 326,245 1,668 1,668 (571) (571) (308) (308)
รวม รวม
278
6,647 6,647
6,612 6,612
205,171 205,171
200,565 200,565
10,393 10,393
10,373 10,373
อาคาร และสวน ปรับปรุงอาคาร
1,150 106 1,256
1,297 107 1,404
เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณ (ลานบาท)
งบการเงินรวม
ยานพาหนะ
197 221 418
190 242 432
11,458 11,458
17,595 17,595
สินทรัพย ระหวางกอสราง
79
ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของกับการไดมาซึ่งที่ดินและกอสรางโรงงานใหมไดบนั ทึกเปนสวนหนึ่งของตนทุนสินทรัพยมีจํานวน 7 ลานบาท มีอัตราดอกเบี้ยที่รบั รูรอยละ 4 ตอป
ราคาทรัพยสินของกลุมบริษทั กอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ ซึ่งไดคิดคาเสื่อมราคาเต็มจํานวนแลว แตยังคงใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจํานวน 11,562 ลานบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน
ที่ดิน และสวนปรับปรุง
โรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชโรงงาน
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
235,016 327 235,343
236,632 349 236,981
รวม
279
3,859 38 8 3,905
(271) (5) (276)
ราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
คาเสื่อมราคาและขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 คาเสื่อมราคาสําหรับงวด จําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ที่ดิน และสวนปรับปรุง
(68,496) (1,345) 215 (69,626)
180,286 51 6,496 (227) 186,606
โรงงาน เครื่องจักร และอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชโรงงาน
80
(1,930) (53) (1,983)
6,607 1 118 6,726
(1,500) (56) 20 (1,536)
2,071 10 9 (20) 2,070
เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณ (ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อาคาร และสวน ปรับปรุงอาคาร
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
527 5 532
(339) (15) (354)
ยานพาหนะ
-
15,662 667 (7,138) 9,191
สินทรัพย ระหวางกอสราง
(72,536) (1,474) 235 (73,775)
209,012 772 (507) (247) 209,030
รวม
280
3,629 3,629 -3,629 3,629
3,588 3,588 -3,588 3,588
116,980 116,980 -116,980 116,980
111,790 111,790 -111,790 111,790
4,743 4,743 -4,743 4,743
4,677 4,677 -4,677 4,677
อาคาร อาคาร และส และส วนวน ปรัปรั บปรุ บปรุ งอาคาร งอาคาร
453453 8181 534534
487487 8484 571571
เครืเครื ่องตกแต ่องตกแต งง ติดติตัด้งตัและอุ ้งและอุ ปกรณ ปกรณ (ล(ล านบาท) านบาท)
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ
2525 153153 178178
2828 160160 188188
ยานพาหนะ ยานพาหนะ
9,191 9,191 -9,191 9,191
15,662 15,662 -15,662 15,662
สินสิทรั นทรั พยพย ระหว ระหว างกางก อสร อสร างาง
135,021 135,021 234234 135,255 135,255
136,232 136,232 244244 136,476 136,476
รวม รวม
8181
ราคาทรั ราคาทรัพพยสยสินินของบริ ของบริษษัทัทกอกนหั อนหักคกาคเสืาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุ ่อมราคาสะสมของอาคารและอุปปกรณ กรณซึซึ่งได ่งไดคิดคคิดาคเสืาเสื่อมราคาเต็ ่อมราคาเต็มจํมาจํนวนแล านวนแลวแต วแตยงั ยคงใช งั คงใชงานจนถึ งานจนถึง งณณวันวันทีที่ 31่ 31ธันธันวาคม วาคม2554 2554มีจมีําจนวน ํานวน3,277 3,277ลาลนบาท านบาท
นวาคม2554 2554 ณณวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม ภายใต ภายใต กรรมสิ กรรมสิ ทธิท์ขธิองกลุ ์ของกลุ มบริ มบริ ษัทษัท ภายใต ภายใต สัญสัญ ญาเช ญาเช าการเงิ าการเงิ นน
มูลมูคลาคสุาทสุธิททธิางบั ทางบั ญญ ชี ชี ณณวันวัทีน่ ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554 ภายใต ภายใต กรรมสิ กรรมสิ ทธิท์ขธิองกลุ ์ของกลุ มบริ มบริ ษัทษัท ภายใต ภายใต สัญสัญ ญาเช ญาเช าการเงิ าการเงิ นน
ที่ดทีิน่ดิน และส และส วนปรั วนปรั บปรุ บปรุ งง
โรงงาน โรงงานเครืเครื ่องจั ่องจั กรกร และอุ และอุ ปกรณ ปกรณเครืเครื ่องมื ่องมื ออ เครืเครื ่องใช ่องใช โรงงาน โรงงาน
บริบริษษัทัทพีพีทที ีทโกลบอล ี โกลบอลเคมิ เคมิคอล คอลจําจํกัาดกัด(มหาชน) (มหาชน)และบริ และบริษษัทัทยอยยอย หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน สํสําหรั าหรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้งแต ้งแตวันวันทีที่ 19่ 19ตุตุลาคม ลาคม2554 2554(วั(วันนควบบริ ควบบริษษัทัท) ถึ) งถึง3131ธันธันวาคม วาคม2554 2554
281
282
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 13
สิทธิการเชาที่ดิน งบการเงินรวม (ลานบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ผลตางจากการแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาตัดจําหนายและขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 คาตัดจําหนายสําหรับงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินเฉพาะ กิจการ
2,426
2,317
1 2,427
2,317
(1,242) (17) (1,259)
(1,235) (17) (1,252)
1,184 1,168
1,082 1,065
283
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 14
คาความนิยม คาความนิยม จากการรวมธุรกิจ ราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 สวนตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินรวม คาความนิยมจาก การซื้อธุรกิจ (ลานบาท)
รวม
7,709 7,709
3,029 4 3,033
10,738 4 10,742
ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
-
-
-
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
7,709 7,709
3,029 3,033
10,738 10,742
284
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ คาความนิยม คาความนิยมจาก จากการรวมธุรกิจ การซื้อธุรกิจ (ลานบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 สวนตางจากการแปลงคางบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
รวม
7,010 7,010
-
7,010 7,010
ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
-
-
-
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
7,010 7,010
-
7,010 7,010
(1) (1) (1) (759) (759) (759)
(1,077) (1,077)(1,077) 3,515 3,515 3,515 3,660 3,660 3,660
มูลคาสุทธิทางบัญชี มูลคาสุทมูธิลทคาางบั สุทญธิทชีางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 19วัตุนลทีาคม ่ 19 ตุ2554 ลาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 31วัธันนทีวาคม ่ 31 ธัน2554 วาคม 2554
673 673 673 860 860 860
(703) (703) (703) (55) (55) (55) -
1 1 1 1,619 1,619 1,619
4,737 4,737 4,737 (1,032) (1,032)(1,032) (45) (45) (45) -
1,376 1,376 1,376 152 152 152 90 90 90
4,547 4,547 4,547 169 169 169 21 21 21
คาลิขสิทธิ์ คาลิขสิทคาธิลิ์ ขสิทธิ์ คอมพิวเตอร สําหรับกระบวน เตอร วเตอร สําหรับสํกระบวน าหรับกระบวน คอมพิวคอมพิ ซอฟทแวร การผลิต ซอฟทแซอฟท วร แวร การผลิตการผลิต
คาตัดจําหนายและขาดทุนจากการดอยคา คาตัดจําคหน าตัดายและขาดทุ จําหนายและขาดทุ นจากการด นจากการด อยคา อยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 19วัตุนลทีาคม ่ 19 ตุ2554 ลาคม 2554 คาตัดจําหนายสําหรับงวด คาตัดจําคหน าตัดายสํ จําหน าหรัาบยสํงวด าหรับงวด โอน โอน โอน ผลตางจากการแปลงอัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา ผลตางจากการแปลงอั ผลตางจากการแปลงอั ตราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยน เงินตรา ่ยน เงินตรา ตางประเทศ ตางประเทศ ตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 วาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 31วัธันนทีวาคม ่ 31 ธัน2554
ราคาทุน ราคาทุนราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 19วัตุนลทีาคม ่ 19 ตุ2554 ลาคม 2554 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น โอน โอน โอน ผลตางจากการแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ผลตางจากการแปลงอั ผลตางจากการแปลงอั ตราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยนเงินตรา ่ยนเงินตรา ตางประเทศ ตางประเทศ ตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 วาคม 2554 ณ วันทีณ ่ 31วัธันนทีวาคม ่ 31 ธัน2554
15 สินทรัพยไมมีตัวตน 15 15สินทรัสิพนยทรั ไมพมยีตไัวมตน มีตัวตน งบการเงินรวม งบการเงิงบการเงิ นรวม นรวม
85 85 85
3,175 3,175 3,175 3,084 3,084 3,084
(91) (91) (91)
(91) (91) (91) -
3,175 3,175 3,175
3,175 3,175 3,175 -
305 305 305 251 251 251
(173) (173) (173)
(173) (173) (173) (5) (5) (5) 5 5 5
424 424 424
478 478 478 (54) (54) (54)
209 209 209 285 285 285
(327) (327) (327)
(314) (314) (314) (8) (8) (8) (5) (5) (5)
612 612 612
523 523 523 7 7 7 82 82 82
-
-
341 341 341 365 365 365
-
-
(1) (1) (1) 365 365 365
341 341 341 14 14 14 11 11 11
สัญญาที่ทํากับ สัญญาทีสั่ทญําญาที กับ ่ทํากับ สิทธิในการใชและ สินทรัพยไมมี ลูกคา สิทธิในการใช สิทธิในการใช และ และ สินทรัพสิยนไทรั มมพี ยไมมี ลูกคา ลูกคา สิทธิในการใช การดําเนินการ ตัวตนรอตัด ความสัมพันธกับ สิทธิในการใช การดําเนิการดํ นการาเนินการ ตัวตนรอตั ตัวตนรอตั ด ด ความสัมความสั พันธกมับพันธกับสิทธิในการใช แนววางทอ อื่น ๆ จําหนาย ลูกคาที่เกี่ยวของ แนววางท อ อ อื่น ๆ อื่น ๆ จําหนายจําหนาย ลูกคาที่เลูกีก่ยควขาทีอ่เงกี่ยวของ แนววางท (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)
ททีทีทีี โกลบอล าากักัดด (มหาชน) บริษัทบริ บริพีษษทัทัทีทีพีพีโกลบอล โกลบอล เคมิคเคมิ เคมิ อล จํคคาอล อล กัดจํจํ(มหาชน) (มหาชน) และบริและบริ และบริ ษัทยอษษยัทัทยยออยย หมายเหตุ ปประกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ น นน หรั ตุตุลล2554 าคม (วั )) ถึถึธังงน31 ธัธันนวาคม สําหรัสํสํบาาระยะเวลาตั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั ้งแตว้ง้งันแต แต ที่ วว19ันันทีทีตุ่่ล19 19าคม าคม 2554 2554 (วันควบบริ (วันนควบบริ ควบบริ ษัท) ถึษษงัทัท31 31วาคม วาคม 2554 2554 2554
8,218 8,218 8,218 8,505 8,505 8,505
(1) (1) (1) (2,427) (2,427)(2,427)
(2,222) (2,222)(2,222) (204) (204) (204) -
10,932 10,932 10,932
10,440 10,440 10,440 342 342 342 150 150 150
รวม รวม รวม
285
1,394 21 1,415
(728) (18) (746)
666 669
ราคาทุน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
คาตัดจําหนายและขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 คาตัดจําหนายสําหรับงวด โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
คาลิขสิทธิ์ สําหรับกระบวน การผลิต
603
492
(549) (24) (573)
1,041 16 119 1,176
คอมพิวเตอร ซอฟทแวร
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
86
2,458
2,518
(60) (60)
2,518 2,518
สัญญาที่ทํากับ ลูกคา ความสัมพันธกับ ลูกคาที่เกี่ยวของ
179
208
(131) (4) 4 (131)
339 (29) 310
สิทธิในการใช แนววางทอ (ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
91
45
(5) (4) (3) (12)
50 53 103
สิทธิในการใชและ การดําเนินการ อื่น ๆ
247
223
-
223 49 (25) 247
สินทรัพยไมมี ตัวตนรอตัด จําหนาย
4,247
4,152
(1,413) (110) 1 (1,522)
5,565 65 139 5,769
รวม
286
287
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 16
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้
สินทรัพย รวม การหักลบกลบกันของภาษี สินทรัพย (หนี้สิน) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสุทธิ
รวม การหักกลบรายการของภาษี สินทรัพย (หนี้สิน) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสุทธิ
งบการเงินรวม (ลานบาท)
1,475 (1,111) 364
หนี้สิน (4,531) 1,111 (3,420)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย หนี้สิน (ลานบาท) 852 (3,825) (852) 852 (2,973)
288
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรวมที่เกิดขึ้นในระหวางงวดมีดังนี้
ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินคาคงเหลือ (คาเผื่อการ ลดมูลคาของสินคา) 21 ยอดขาดทุนยกไป 53 คาใชจายผลประโยชนตอบ แทนพนักงาน 271 ผลปรับปรุงมูลคายุติธรรม 765 ณ วันรวมกิจการ อื่นๆ 315 รวม 1,425
งบการเงินรวม บันทึกเปน (รายจาย) / รายไดใน งบกําไร สวน การไดมา ขาดทุน ของ ซึ่ง (หมายเหตุ ผูถือหุน บริษัท 32) ยอย (ลานบาท)
ผลตาง จากอัตรา แลกเปลี่ยน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
6 292
-
-
-
27 345
26
-
-
-
297
-
322 484 1,475
(443) 169 50
-
-
289
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยภายใตสัญญาเชา ทางการเงิน กําไรสุทธิจากการปรับมูลคา ยุติธรรมของสัญญา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย
งบการเงินรวม บันทึกเปน (รายจาย) / รายไดใน กําไรหรือ สวน การไดมา ขาดทุน ของ ซึ่ง (หมายเหตุ 32) ผูถือหุน บริษัทยอย
ผลตาง จากอัตรา แลกเปลี่ยน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
(1,859)
(443)
-
-
-
(2,302)
(7)
(5)
-
-
-
(12)
(40)
24
-
-
-
(16)
ผลปรับปรุงมูลคายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ
(2,360)
174
-
-
-
(2,186)
อื่นๆ รวม สุทธิ
(20) (4,286) (2,861)
5 (245) (195)
-
-
-
(15) (4,531) (3,056)
290
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเปน (รายจาย) / รายไดใน สวน งบกําไร ณ วันที่ 19 ณ วันที่ 31 ของ ขาดทุน ธันวาคม ตุลาคม (หมายเหตุ31) ผูถือหุน 2554 2554 (ลานบาท) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาเผื่อการลดมูลคาของสินคา คาใชจายผลประโยชนตอบแทนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป ผลปรับปรุงมูลคายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยภายใตสัญญาเชาทางการเงิน กําไรสุทธิจากการปรับมูลคายุติธรรมของ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบีย้ ผลปรับปรุงมูลคายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ รวม สุทธิ
22 219 702 16 959
2 (6) 345 (443) (5) (107)
-
24 213 345 259 11 852
(1,702) (5)
(149) (5)
-
(1,851) (10)
(41) (2,123) (3,871) (2,912)
25 175 46 (61)
-
(16) (1,948) (3,825) (2,973)
291
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 17
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
หมายเหตุ สวนที่หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูยมื ระยะสัน้
5
เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสวนที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมมีหลักประกัน หุนกูสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูดอยสิทธิสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมมีหลักประกัน 5 เงินกูยมื ระยะยาวสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยระยะสัน้
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
2,103
-
2,103
1,201 1,201
5,274
3,442
9,699
9,699
4,988
4,988
19,961
18,129
184
114
22,248
19,444
292
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
สวนที่ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน หุนกู สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูยมื ระยะยาว
54,824
31,658
43,278 98,102
43,278 74,936
หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน รวมหนี้สินที่มีดอกเบี้ยไมหมุนเวียน
295 98,397
139 75,075
120,645
94,519
รวม
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจายชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไดดังนี้ งบการเงินรวม ครบกําหนดภายในหนึ่งป ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป ครบกําหนดหลังจากหาป รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 22,064 19,330 78,641 55,472 19,461 19,464 120,166 94,266
293
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทีที ีทโกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ บริษัท พีปทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคนอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรั บระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ น19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรั บระยะเวลาตั ควบบริษษัทัท) )ถึถึง ง3131ธันธัวาคม นวาคม2554 2554 สําหรั บระยะเวลาตั้งแต ้งแตววันันทีที่ 19 ่ 19ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั(วันนควบบริ หุนกู หุนหุกูน กู
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมียอดหุนกูไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกันสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา และ ธันวาคม วาคม 2554 ลบริ บริ อดหุ ททธิธิและไม หมลัีหกลัประกั นสกุ ลเงิลนบเงิเหรี ยงญสหรั กา และ นวัทีน่ ที31่ 31ธัานงรวม 2554 ษษัทมีย(มู อดหุ และไม กประกั นวนปรั สกุ นเหรี อเมริ กา และ เงิณนณวับาทคงค 52,977 านบาท ลคนนากูหุกูไนไมมกูดดเอดิอยสิ มยสิ52,392 ลมาีนบาท และส ปรุ มูยลญสหรั คาฐยุอเมริ ติธฐรรมของหุ นกู เงิ น บาทคงค า งรวม 52,977 ล า นบาท (มู ล ค า หุ น กู เ ดิ ม 52,392 ล า นบาท และส ว นปรั บ ปรุ ง มู ล ค า ยุ ต ิ ธ รรมของหุ น กู เงินบาทคงคาจงรวม 52,977 ลานบาท คาาหุนีน้มกูีอเายุ ดิมระหว 52,392 บปรุงมูล้ยและกํ คายุติธาหนดชํ รรมของหุ จากการรวมกิ การ 585 ลานบาท) หุนกูเหล าง 5 ลปาถึนบาท ง 10 ปและส โดยมีวนปรั อัตราดอกเบี าระคืนนกู จการ585 585ลลาานบาท) เเหล อัตอราดอกเบี ้ยและกํ าหนดชํ าระคืานระคืน จากการรวมกิ จการ หุหุนนญกูกูญา หลาานีนี้ม้มีอีอายุายุรระหว ะหวางาง5 5ปปถึงถึ10 ง 10ป โดยมี ป โดยมี ัตราดอกเบี ้ยและกํ าหนดชํ ที่แจากการรวมกิ ตกตางกันตามที ่ระบุ ไวในบาท) นแตละสั ่แตกต ตามที่ร่ระบุ ะบุไไววใในแต นแตลละสั ะสัญ ญญา ที่แทีตกต างกัางกันนตามที ญา รายละเอียดของหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทมีดังนี้ รายละเอี ยดของหุนนกูกู ณ ณวัวันนทีที่ ่31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 รายละเอี ยดของหุ 2554ของบริ ของบริษษัทัทมีมีดังดนีัง้นี้ วงเงิ น มูลคาที่ตราไว ดอกเบี้ย วงเงิน มูลคาที่ตราไว ดอกเบี้ย วงเงิ น มูลคหุานทีละ ่ตราไว ป อัตรา (รดอกเบี ้ย สกุ อยละ) (ลาาน) น) หุนละ ป อัตรา (รอยละ) ตอปตอป สกุลลเงิเงินน (ล สกุลเงิน (ลาน) หุนละ ป อัตรา (รอยละ) ตอป หุนหุกูนไมกูไดมอดยสิ ทธิทรธิาคาร อยสิ ราคารอยละ อยละ หุน99.46 กูไ99.46 มดของมู อยสิ ทลธิคลราคาคาร ยละ ทีา่ตทีราไว ของมู ่ตอราไว 99.46 ลคานทีน่ตราไว ไมมไมีหมของมู ลัีหกลัประกั กประกั ไมมีหลักประกั น อยสิ หุนหุกูนไมกูไดมอดยสิ ทธิทธิ หุนไมกูไมไมมีหดมลัอีหกยสิ ธิ น น ลัประกั กทประกั ไมมีหลักประกัน
เหรี เหรียยญญ 300 300 เหรี ยญฐฐ 300 สหรั สหรั สหรั อเมริ อเมริกฐกาา อเมริ กา บาท 2,100 บาท บาท 2,100
อยสิ หุนหุกูนไมกูไดมอดยสิ ทธิทธิ ลักทประกั หุนไมกูไมไมมีหดมลัอีหกยสิ ประกัธิ น น ไมมีหลักประกัน
บาท บาท บาท
หุนกูไมดอยสิทธิ ลักทประกั น หุนไมกูไมไมมีหดมลัอีหกยสิ ประกัธิ น ไมมีหลักประกัน
บาท บาท
หุนกูไไมมดมอีหยสิ ธิ น ลักทประกั หุนไมกูไมมีหดลัอกยสิ ทธิ น ประกั ไมมีหลักประกัน
บาท บาท
8,000 8,000
บาท
4,000
หุนกูไมดอยสิทธิ
หุนกูไมดอยสิทธิ
หุนกูไมดอยสิทธิ หุนกูไไมมดมอีหยสิ ธิ น ลักทประกั
หุนไมกูไมมีหดลัอกยสิ ทธิ น ประกั ไมมีหลักประกัน
บาท
บาท
บาท บาท
2,800 2,800 2,800
1010
5.55.5
ชําระดอกเบี ทุกงวดหกเดื อน และ ชําระดอกเบี ้ยทุก้ยงวดหกเดื อน และ ชําครบกํ ระดอกเบี ้ยถทุอนในเดื กงวดหกเดื าหนดไถ ถอนในเดื ครบกํ าหนดไถ อน ออนนและ าหนดไถ มิายน ถุนายน 2558 ถอนในเดือน มิถุนครบกํ 2558
1,000 1,000
55
4.584.58
1,000 1,000
1010
5.55.5
ชําระดอกเบี ้ยทุก้ยงวดหกเดื อน และ ชําระดอกเบี ทุกงวดหกเดื อน และ ชําครบกํ ระดอกเบี ้ยถทุอนในเดื กงวดหกเดื ครบกํ าหนดไถ อน ออนนและ าหนดไถ ถอนในเดื ครบกํ าหนดไถ ตุลาคม 2555 ตุลาคม 2555 ถอนในเดือน
10,000
1,000
1,000
10
5
10
5.5
4.58
5.5
1,000
7
8,000
1,000
1-3 4-51-3
5.3 6 5.3
1-3 4-51-3 6-71-3 4-5
5.3 6 5.3 6.455.3 6
4,000 4,000
ระยะเวลาชําระคืน
10,000 10,000
500
500 500
ระยะเวลาชํ ระยะเวลาชํ าระคืานระคืน
1,000 1,000
1,000 1,000
1,000
1,000 1,000
7 7
1-3 4-5 4-5
4-5 6-7 6-7
93
5.6
5.6 5.6
5.3 6 6
6 6.45 6.45
มิถุนายน 2558
ตุลาคม้ยทุ2555 ชําระดอกเบี ก้ยงวดหกเดื อน และ ชําระดอกเบี ทุกงวดหกเดื อน และ ครบกํ า หนดไถ ถ อนในเดื อ น ชําครบกํ ระดอกเบี ้ยทุกงวดหกเดื าหนดไถ ถอนในเดืออนนและ ตุลาคม 2560 ครบกํ าหนดไถถอนในเดือน
ตุลาคม 2560 ชําระดอกเบี กงวดหกเดือน และ ตุลาคม้ยทุ2560 ชําระดอกเบี้ยทุกงวดหกเดือน และ ครบกํ าหนดไถ้ยถทุอนในเดื อน อน และ ชําครบกํ ระดอกเบี กงวดหกเดื า หนดไถ ถ อนในเดื อน ตุลาคม 2558 ครบกํ ถอนในเดือน ตุลาคม้ยาหนดไถ ชําระดอกเบี ทุ2558 กงวดสามเดือน ลาคม 2558 ชําตุระดอกเบี ้ยทุกงวดสามเดื และครบกํ าหนดไถ ถอนในเดืออนน ชําและครบกํ ระดอกเบี้ยาทุหนดไถ กงวดสามเดื อน อน ถอนในเดื ธันวาคม 2556 และครบกํ าหนดไถถอนในเดือน ธันวาคม ชําระดอกเบี ้ยทุก2556 งวดสามเดือน ธันวาคม 2556 ชําระดอกเบี ้ยทุกงวดสามเดื และครบกํ าหนดไถ ถอนใน อน ระดอกเบี กงวดสามเดื อน เดืชํอานธั นวาคม้ย2558 และครบกํ าทุหนดไถ ถอนใน และครบกํ าหนดไถ เดือนธันวาคม 2558ถอนใน เดือนธันวาคม 2558
294
บริษบริัทษพีัททพีีทที โกลบอล และบริษษัทัทยยออยย ีที โกลบอลเคมิ เคมิคคอลอลจํจําากักัดด(มหาชน) (มหาชน) และบริ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงินน สําหรั บระยะเวลาตั ้งแต ควบบริษษัทัท))ถึถึงง3131ธันธันวาคม วาคม2554 2554 สําหรั บระยะเวลาตั ้งแตวันวันทีที่ 19 ่ 19ตุตุลลาคม าคม2554 2554 (วันควบบริ ดอกเบี ้ย ้ย วงเงินน มูลคาทีที่ต่ตราไว วงเงิ ราไว ดอกเบี น) หุหุนน ละ ปป อัตอัรา อยละ) ละ ตรา(ร(ร อยละ)ตอตปอป สกุสกุลลเงิเงินน (ล(ลาาน)
ระยะเวลาชํ าระคืานระคืน ระยะเวลาชํ
หุนกูหุไนมกูดไอมดยสิอยสิ ทธิทธิ กประกัน ไมมไมีหมลัีหกลัประกั น
บาท บาท
1,058 1,058
1,000 1,000
77
4.94.9
ชําระดอกเบี ้ยทุก้ยงวดหกเดื อน อน ชําระดอกเบี ทุกงวดหกเดื และครบกําหนดไถถอนในเดือน และครบกําหนดไถถอนในเดือน มิถุนายน 2559
หุนกูไมดอยสิทธิ หุนกูไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกัน
บาท
บาท
1,942
1,942
1,000
10
5.5
บาท
15,000
1,000
5
5.5
300
1,000
7
5.5
ชําระดอกเบี้ยทุกงวดหกเดือน ชําระดอกเบี้ยทุกงวดหกเดือน และครบกําหนดไถถอนในเดือน และครบกําหนดไถถอนในเดือน มิถุนายน 2562 มิถุนายน ชําระดอกเบี ้ยทุก2562 งวดสามเดือน และ ชําระดอกเบี กงวดสามเดื ครบกํ าหนดไถ้ยถทุอนในเดื อน อน และ ครบกํ2557 าหนดไถถอนในเดือน เมษายน เมษายน ชําระดอกเบี ้ยทุ2557 กงวดหกเดือน และ ชําระดอกเบี กงวดหกเดื ครบกํ าหนดไถ้ยถทุอนในเดื อน อน และ กรกฎาคม ครบกํา2555 หนดไถถอนในเดือน
1,000
10
5.5
ไมมีหลักประกัน
หุนกูไมดอยสิทธิ หุนกูไไม มดมอีหยสิ ธิ น ลักทประกั
ไมมีหลักประกัน
บาท
หุนกูไมดอยสิทธิราคารอยละ เหรียญ หุนกูไ99.845 มดอยสิของมู ทธิรลาคาร ยญฐ คาทีอ่ตยละ ราไว เหรี สหรั ไมมของมู ีหลักประกั อเมริฐกา 99.845 ลคาทีน่ตราไว สหรั
ไมมีหลักประกัน
15,000
300
1,000
1,000
อเมริกา
5
7
5.5
5.5
มิถุนายน 2559
กรกฎาคม 2555
94
295
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริบริ ษัทบริ ษัทพีษทพีัทีททพีี ีทโกลบอล ที โกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คเคมิ อล คอล คจํอล าจํกัาดจํกั(มหาชน) าดกั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ และบริ ษัทษยัทษอยยัทอยยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน น สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําสํหรั าสํหรั บาหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต ้งแต ว้งันแต วทีันว่ ที19ัน่ 19 ทีตุ่ ล19ตุาคม ลตุาคม ลาคม 2554 2554 2554 (วัน(วัควบบริ น(วัควบบริ นควบบริ ษัทษ)ัทษถึ)งัทถึ)31 งถึ31งธัน31ธัวาคม นธัวาคม นวาคม 2554 2554 2554 เงินกูยมื จากสถาบันการเงิน เงินเงิกูนเงิยกูมื นยจากสถาบั กูมื ยจากสถาบั มื จากสถาบั นการเงิ นการเงิ นการเงิ นน น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมบริษัทและบริษัทมียอดเงินกูระยะยาวแบบมีระยะเวลาและแบบหมุนเวียนกับ ณ ณวันณ วัทีน่ วัที31น่ 31 ที่ 31 ธันธัวาคม นธัวาคม นวาคม 2554 2554 2554 กลุกลุ มบริ กลุ มบริ ษมัทบริ ษและบริ ัทษและบริ ัทและบริ ษัทษมีัทษยมีอดเงิ ัทยมีอดเงิ ยอดเงิ นกูนรกูะยะยาวแบบมี นรกูะยะยาวแบบมี ระยะยาวแบบมี ระยะเวลาและแบบหมุ ระยะเวลาและแบบหมุ ระยะเวลาและแบบหมุ นเวีนยเวีนนกั ยเวีนกั บยนกั บบ สถาบันการเงินหลายแหงคงคางรวม 60,098 ลานบาท และ 35,100 ลานบาท ตามลําดับ (มูลคาเงินกูเดิม 59,608 สถาบั สถาบั สถาบั นการเงิ นการเงิ นการเงิ นหลายแห นหลายแห นหลายแห งคงค งคงค งาคงค งรวม างรวม างรวม 60,098 60,098 60,098 ลาลนบาท านบาท ลานบาท และ และและ 35,100 35,100 35,100 ลาลนบาท านบาท ลานบาท ตามลํ ตามลํ ตามลํ าดัาบดั(มู บาดั(มู ลบคล(มู าคเงิลานเงิคกูานเงิเดิกูนมเดิกู59,608 มเดิ59,608 ม 59,608 ลานบาท และ 34,930 ลานบาท และสวนปรับปรุงมูลคายุติธรรมของเงินกูจากการรวมกิจการ 490 ลานบาท และ ลาลนบาท านบาท ลานบาท และ และและ 34,930 34,930 34,930 ลาลนบาท านบาท ลานบาท และส และส และส วนปรั วนปรั วบนปรั ปรุ บปรุ งบมูปรุ งลมูคงลามูคยุลาตยุคิธตารรมของเงิ ยุิธตรรมของเงิ ิธรรมของเงิ นกูนจกูากการรวมกิ นจกูากการรวมกิ จากการรวมกิ จการ จการ จ490 การ 490ล490 าลนบาท านบาท ลานบาท และ และและ 170 ลานบาท ตามลําดับ) โดยมีอัตราดอกเบี้ยและกําหนดชําระคืนที่แตกตางกันตามที่ระบุไวในแตละสัญญา 170170170 ลาลนบาท าลนบาท านบาท ตามลํ ตามลํ ตามลํ าดัาบดั)าบดั)โดยมี บ)โดยมี โดยมี อัตอราดอกเบี ัตอราดอกเบี ัตราดอกเบี ้ยและกํ ้ยและกํ ้ยและกํ าหนดชํ าหนดชํ าหนดชํ าระคื าระคื านระคื ทีน่แทีตกต น่แทีตกต ่แาตกต งกัางกั นาตามที งกั นตามที นตามที ่ระบุ ่ระบุ ไ่รวะบุ ไใวนแต ไในแต วใลนแต ะสั ละสั ญละสั ญา ญญา ญญา ภายใตสัญญาดังกลาว บริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการเกี่ยวกับการรักษาอัตราสวนทางการเงินตางๆ การ ภายใต ภายใต ภายใต สัญสญาดั ัญสญาดั ัญงญาดั กลงกล างวกล าบริ ว าบริ ษว ัทบริ ษตัทอษตงปฏิ ัทอตงปฏิ อบงปฏิ ัตบิตัตามเงื บิตัตามเงื ิต่อามเงื นไขบางประการเกี ่อนไขบางประการเกี ่อนไขบางประการเกี ่ยวกั่ยวกั บ่ยการรั วกั บการรั บการรั กษาอั กษาอั กตษาอั ราส ตราส ตวราส นทางการเงิ วนทางการเงิ วนทางการเงิ นตนาตงๆ นางๆ ตการ างๆ การการ ดํารงสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนใหญและเงื่อนไขอื่นตามที่ระบุไวในสัญญา ดําดํรงสั ารงสั ดําดรงสั สดวสนการถื ดวสนการถื วนการถื อหุอนหุของผู อนหุของผู นของผู ถือถหุือนถหุใหญ ือนหุใหญ นแใหญ ละเงื และเงื แ่อละเงื นไขอื ่อนไขอื ่อนไขอื ่นตามที ่นตามที ่นตามที ่ระบุ ่ระบุ ไ่รวะบุ ไใวนสั ใไนสั วญในสั ญา ญญา ญญา กลุมบริษัทมีรายละเอียดของเงินกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ กลุกลุ มบริ กลุ มบริ ษมัทบริ ษมีัทรษมีายละเอี ัทรมีายละเอี รายละเอี ยดของเงิ ยดของเงิ ยดของเงิ นกูนยกูืมนยณ กูืมยณวัืมนวัณทีน่ วั31 ทีน่ 31 ทีธั่ น31 ธัวาคม นธัวาคม นวาคม 2554 2554 2554 ดังดันีง้ ดันีง้ นี้ วงเงิน ดอกเบี้ย วงเงิ วงเงิ นวงเงิ นน ดอกเบี ดอกเบี ดอกเบี ้ย ้ย ้ย สกุลเงิน (ลาน) อัตรา (รอยละ) ตอป ระยะเวลาชําระคืน สกุสกุ ลเงิสกุ ลนเงิลนเงิน (ลา(ลน)า(ลน)าน) อัตอัราตอัรา(รตรา อ(รยละ) อ(รยละ) อยละ) ตอตปอตปอป ระยะเวลาชํ ระยะเวลาชํ ระยะเวลาชํ าระคื าระคื านระคื นน บริษัท บริบริ ษัทบริ ษัทษัท บาท 3,000 เงินฝากประจํา 3 เดือน ถัว ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน จํานวน บาท บาทบาท 3,000 3,000 3,000 เงินเงิฝากประจํ นเงิฝากประจํ นฝากประจํ า 3าเดื3าอเดื3นอเดืนถัอวนถัวถัว ชําชํระคื าระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดหกเดื นกทุงวดหกเดื กงวดหกเดื อนอจํนอาจํนวน นานวน จํานวน (เบิกไดถึงเดือนธันวาคม 2549) เฉลี่ยของธนาคารออมสิน 11 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน (เบิ(เบิ กได (เบิ กได ถกึงได ถเดืึงอถเดืนธั ึงอเดืนธั นอวาคม นธั นวาคม นวาคม 2549) 2549) 2549) เฉลีเฉลี ่ยเฉลี ของธนาคารออมสิ ่ยของธนาคารออมสิ ่ยของธนาคารออมสิ น น น 1111งวด 11 งวดโดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื าระในเดื อนอนอน บวก อัตราสวนเพิ่ม กันยายน 2550 บวก บวกบวก อัตอัราส ตอัราส ตวราส นเพิ วนเพิ ว่มนเพิ ่ม ่ม กันกัยายน นกัยายน นยายน 2550 2550 2550 บาท 1,000 THBFIX 6 เดือน บวก ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน จํานวน 9 บาท บาทบาท 1,000 1,000 1,000 THBFIX THBFIX THBFIX 6 เดื6 อเดื6นอเดืบวก นอบวก น บวก ชําชํระคื าระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดหกเดื นกทุงวดหกเดื กงวดหกเดื อนอจํนอาจํนวน นานวน จํานวน 999 อัตราสวนเพิ่ม งวดโดยงวดแรกชําระในเดือนตุลาคม อัตอัราส ตอัราส ตวราส นเพิ วนเพิ ว่มนเพิ ่ม ่ม งวดโดยงวดแรกชํ งวดโดยงวดแรกชํ งวดโดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื าระในเดื อนตุ อนตุ ลอาคม นตุ ลาคม ลาคม 2554 2554 2554 2554 บาท 7,500 อัตราสูงสุดของ เงินฝากประจํา ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน จํานวน บาท บาทบาท 7,500 7,500 7,500 อัตอัราสู ตอัราสู ตงราสู สุงดสุของ งดสุของ ดเงิของ นเงิฝากประจํ นเงิฝากประจํ นฝากประจํ า ชําาชํระคื าาระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดหกเดื นกทุงวดหกเดื กงวดหกเดื อนอจํนอาจํนวน นานวน จํานวน 6 เดือน บวก อัตราสวนเพิ่ม 15 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน 6 เดื6 อเดื6นอเดืบวก นอบวก น บวก อัตอัราส ตอัราส ตวราส นเพิ วนเพิ ว่มนเพิ ่ม ่ม1515งวด 15 งวดโดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื าระในเดื อนอนอน สิงหาคม สิงสิหาคม งสิหาคม งหาคม 2554 2554 2554 2554 บาท 1,500 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน จํานวน บาท บาทบาท 1,500 1,500 1,500 อัตอัราดอกเบี ตอัราดอกเบี ตราดอกเบี ้ยคงที ้ยคงที ้ย่ คงที ่ ่ ชําชํระคื าระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดหกเดื นกทุงวดหกเดื กงวดหกเดื อนอจํนอาจํนวน นานวน จํานวน 9 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน 9 งวด 9 งวด 9 โดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื าระในเดื อนอนอน กันยายน 2554 กันกัยายน นกัยายน นยายน 2554 2554 2554 บาท 1,600 THBFIX 6 เดือน บวก ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน จํานวน 8 บาท บาทบาท 1,600 1,600 1,600 THBFIX THBFIX THBFIX 6 เดื6 อเดื6นอเดืบวก นอบวก น บวก ชําชํระคื าระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดหกเดื นกทุงวดหกเดื กงวดหกเดื อนอจํนอาจํนวน นานวน จํานวน 888 อัตราสวนเพิ่ม งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนมีนาคม อัตอัราส ตอัราส ตวราส นเพิ วนเพิ ว่มนเพิ ่ม ่ม งวดงวดโดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื าระในเดื อนมี อนมี นอนมี าคม นาคม นาคม 2556 2556 2556 2556 บาท 2,500 THBFIX 6 เดือน บวก ชําระคืนเงินตนทุกงวดสิบสองเดือน บาท บาทบาท 2,500 2,500 2,500 THBFIX THBFIX THBFIX 6 เดื6 อเดื6นอเดืบวก นอบวก น บวก ชําชํระคื าระคื ชํานระคื เงินนเงินตนเงินตทุนนกตทุงวดสิ นกทุงวดสิ กงวดสิ บสองเดื บสองเดื บสองเดื อนอนอน อัตราสวนเพิ่ม จํานวน 3 งวด โดยงวดแรกชําระใน อัตอัราส ตอัราส ตวราส นเพิ วนเพิ ว่มนเพิ ่ม ่ม จําจํนวน านวน จํานวน 3 งวด 3 งวด 3 โดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระใน าระใน าระใน เดือนกรกฎาคม 2559
บาทบาท
1,000 1,000
296
THBFIX THBFIX 6 เดื6อเดืนอบวก น บวก อัตราส อัตราส วนเพิ วนเพิ ่ม ่ม
ชําระคื ชําระคื นเงินเงิตนตทุนกงวดหกเดื ทุกงวดหกเดื อนอจํนานวน จํานวน 9 9 งวดโดยงวดแรกชํ งวดโดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนตุอนตุ ลาคม ลาคม 25542554
ชําระคื นเงินเงิตนตทุนกงวดหกเดื ทุกงวดหกเดื อนอจํนานวน จํานวน อัตราสู อัตราสู งสุดงของ สุดของ เงินเงิฝากประจํ นฝากประจํ า ชํา ระคื 6 เดื6อเดืนอบวก น บวก อัตราส อัตราส วนเพิ วนเพิ ่ม ่ม 15 งวด 15 งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนอน สิงหาคม สิงหาคม บริษัทบริพีษทัทีทพีี โกลบอล ทีที โกลบอล เคมิคเคมิ อล คจํอล ากัดจํ(มหาชน) ากัด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยอษยัทยอย 25542554 บาทบาท
7,500 7,500
หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น บาทบาท 1,500 1,500 อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ยคงที ้ยคงที ่ ่ ชําระคื ชําระคื นเงินเงิตนตทุนกงวดหกเดื ทุกงวดหกเดื อนอจํนานวน จํานวน สําหรัสํบาระยะเวลาตั หรับระยะเวลาตั ้งแตว้งันแตที่ ว19ันทีตุ่ ล19าคม ตุล2554 าคม 2554 (วันควบบริ (วันควบบริ ษัท) ถึษงัท31 ) ถึงธัน31วาคม ธันวาคม 25542554
9 งวด 9 งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนอน บริษัทบริพีษทัทีทพีี โกลบอล ทีที โกลบอล เคมิคเคมิ อล จํคาอล กัดจํ(มหาชน) ากัด (มหาชน) และบริและบริ ษัทยอษยัทยอย กันยายน กันยายน 25542554 วงเงิ น วงเงิ น ดอกเบี ดอกเบี ย ้ ย ้ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ปบาท ระกอบงบการเงิ น น1,600 บาท 1,600 THBFIX THBFIX 6 เดื6อเดืนอบวก น บวก ชําระคื ชําระคื นเงินเงิตนตทุนกงวดหกเดื ทุกงวดหกเดื อนอจํนานวน จํานวน 8 8 สกุลเงิสกุ น ลเงิน (ลาน)(ลาน) อั ต รา อั (ร ต อ รา ยละ) (ร อ ยละ) ต อ ป ต อ ป ระยะเวลาชํ ระยะเวลาชํ า ระคื น า ระคื น ตราส อัษตัทราส ว)นเพิ ่ม31 งวดงวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนมีอนมี นาคม นาคม สําหรัสํบาระยะเวลาตั หรับระยะเวลาตั ้งแตว้งันแต ที่ ว19ันทีตุ่ล19าคม ตุล2554 าคม 2554 (วันควบบริ (วันอัควบบริ ถึษวงัทนเพิ ) ถึ่มธังน31วาคม ธันวาคม 2554 2554 บริษัทบริษัท 25562556 บาทบาท บาท 2,000 2,000 อัTHBFIX ตราสู อัตงสุราสู ด6ของเงิ งเดืสุ6อดเดืนของเงิ นฝากประจํ นฝากประจํ า ชํชําาระคื ระคื สุดสิบสั้นสองเดื ญสุบญาเดื ดสองเดื สัญอนอญาเดื นอน อน บาท 2,500 THBFIX ชําชํระคื นนาระคื เงิเงินนเงินตตนนเงิตทุนณนกตงวดสิ ทุสินก้นณงวดสิ วงเงิ น2,500 วงเงิน ดอกเบี ดอกเบี ้ย อบวก ้ยน บวก 6อัเดืตราส อ6นเดืวบวกอั อนวนเพิ บวกอั ตวราส นเพิว่มนเพิ่ม พฤษภาคม 2560 2560 ่มต(รราส ่มอตยละ) จําพฤษภาคม นวน 3 ระยะเวลาชํ งวด 3 งวด โดยงวดแรกชํ โดยงวดแรกชํ าระใน านระใน สกุลเงิสกุ น ลเงิน (ลาน)(ลาน) อัอัตตราราส อั(รนเพิ ตอรายละ) อป ตอป จํานวน ระยะเวลาชํ าระคืนาระคื 3,0003,000 PrimePrime Rate อัRate ตราสอัตวราส นเพิว่มนเพิ่ม ชําเดืระคื นาอระคื เงินกรกฎาคม นนตนเงินณต2559 สิน้นณ2559 สุดสิสั้นญสุญาเดื ดสัญอญาเดื น อน อชํเดืนกรกฎาคม บริษัทบริษบาท ัท บาท นวาคม 2560 บาท บาท 2,0002,000 อัตราสูอังตสุราสู ดของเงิ งสุดของเงิ นฝากประจํ นฝากประจํ า ชําธัระคื ชํนาธัระคื เงินนวาคม ตนนเงินณ2560 ตสิน้นณสุดสิสั้นญสุญาเดื ดสัญอญาเดื น อน 95 95 บาท บาท 9,8989,898 อัต6ราดอกเบี นตฝากประจํ ้ยเงินวตฝากประจํ 6 า่มชํ6าพฤษภาคม ระคืชํนาพฤษภาคม ระคื เงินนต2560 นเงิทุนกตงวดหกเดื นทุกงวดหกเดื อน จําอนวน น จํานวน 20 20 เดือัอตน6ราดอกเบี เดืบวกอั อ้ยนเงิบวกอั ราส นเพิ ราส่มวา นเพิ 2560 เดือPrime นRate เดืบวก อนอัRate ตราส ตราส วราส นเพิ่มวนเพิ ว่มนเพิ่ม่มชํางวด นอนาคม นมีอนนาคม บาท บาท 3,0003,000 Prime ตอับวก ราส อัอัวตนเพิ ระคืชํนโดยงวดแรกชํ างวด ระคื เงินตโดยงวดแรกชํ นนเงินณตสิน้นาณสุระในเดื ดสิสั้นาญระในเดื สุญาเดื ดอสันมี ญอญาเดื 2554 ธั2554 นวาคม ธันวาคม 2560 2560 อั ต รา อั LIBOR ต รา LIBOR 1เดื อ น/3 1เดื อ เดื น/3 อ น/6 เดื อ น/6 ชําระคืชํนาระคื เงินนตนเงิทุนกตงวดหกเดื นทุกงวดหกเดื อน จําอนวน น จํานวน 12 12 เหรียญสหรั เหรียญสหรั ฐ ฐ 100 100 บาท บาท 9,8989,898 อัตเดืราดอกเบี อั ต ราดอกเบี ย ้ เงิ น ฝากประจํ ย ้ เงิ น ฝากประจํ า 6 า ชํ 6 า ระคื ชํ น า ระคื เงิ น ต น น เงิ ทุ น ก ต งวดหกเดื น ทุ ก งวดหกเดื อ น จํ า อ นวน น จํ า 20 นวน 20 อน เดืบวก อน อับวก ตราสอัวตนเพิ ราส่มวนเพิ่ม งวด โดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนกรกฎาคม อนกรกฎาคม อเมริกอเมริ า กา เดือน เดืบวก อน อับวก ตราสอัวตนเพิ ราส่มวนเพิ่ม งวด โดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนมีนอาคม นมีนาคม 2550 2550 2554 2554 อัตรา อัLIBOR ตรา LIBOR 1เดือน/3 1เดือเดืน/3 อน/6เดือน/6ชําระคืชํนาระคื เหรียญสหรั เหรียญสหรั ฐ ฐ 200 200 เงินนตนเงินณตสิน้นณสุดสิสั้นญสุญาเดื ดสัญอญาเดื น อน อัตเดืราออัLIBOR ต รา LIBOR 1เดื อ น/3 1เดื เดื อ น/3 อ น/6 เดื อ น/6 เหรียญสหรั เหรียญสหรั ฐ ฐ 100 100 ชํ า ระคื ชํ น า ระคื เงิ น ต น น เงิ ทุ น ก ต งวดหกเดื น ทุ ก งวดหกเดื อ น จํ า อ นวน น จํา12 นวน 12 น เดืบวก อน อับวก ตราสอัวตนเพิ ราส่มวนเพิ่ม กันยายน อเมริกอเมริ า กา กันยายน 2558 2558 เดือน บวก เดือนอับวก ตราสอัวตนเพิ ราส่มวนเพิ่ม งวด โดยงวดแรกชํ อเมริกอเมริ า กา งวด โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนกรกฎาคม อนกรกฎาคม บาท บาท 7,0007,000 FDR FDR 6 เดือ6นเดืบวก อน อับวก ตราสอัตวราส น วนชํา2550 ระคืชํนา2550 ระคื เงินนตนเงิทุนกตงวดหกเดื นทุกงวดหกเดื อน จําอนวน น จํานวน 15 15 นอนยายน นกัอนนยายน อัตเพิ รา่มอัLIBOR ตเพิรา่มLIBOR 1เดือน/3 1เดืเดื อน/3 อน/6เดือน/6ชํางวด เหรียญสหรั เหรียญสหรั ฐ ฐ 200 200 ระคืชํนโดยงวดแรกชํ างวด ระคื เงินตโดยงวดแรกชํ นนเงินณตสิน้นาณสุระในเดื ดสิสั้นาญระในเดื สุญาเดื ดอสันกั ญอญาเดื 2556 เดือน บวก เดือนอับวก ตราสอัวตนเพิ ราส่มวนเพิ่ม กั2556 อเมริกอเมริ า กา นยายน กันยายน 2558 2558 บาท บาท
7,0007,000
FDR 6FDR เดือน6 เดืบวก อน อับวก ตราสอัวตนราสวนชําระคืชํนาระคื เงินตนนเงิทุนกตงวดหกเดื นทุกงวดหกเดื อน จําอนวน น จํา15 นวน 15 เพิ่ม เพิ่ม งวด โดยงวดแรกชํ งวด โดยงวดแรกชํ าระในเดื าระในเดื อนกันอยายน นกันยายน 2556 2556
297
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
สกุลเงิน บริษัทยอย บาท
วงเงิน (ลาน) 170
บาท
140
บาท
1,000
บาท
950
บาท
135
บาท
16,011
บาท
9,970
เหรียญสหรัฐ อเมริกา
50
ดอกเบี้ย อัตรา (รอยละ) ตอป
ระยะเวลาชําระคืน
THBFIX 3 M บวก อัตราสวน เพิ่ม
ชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน จํานวน 12 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนมีนาคม 2555 THBFIX 3 M บวก อัตราสวน ชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน เพิ่ม จํานวน 12 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนกันยายน 2555 THBFIX 3 M บวก อัตราสวน ชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน เพิ่ม จํานวน 17 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนมิถุนายน 2551 อัตรา BIBOR 3 M บวก ชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน อัตราสวนเพิ่ม จํานวน 16 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือน กันยายน 2555 อัตราสูงสุดของ เงินฝากประจํา ชําระคืนเงินตนทุกงวดสามเดือน 3 เดือน บวก อัตราสวนเพิ่ม จํานวน 11 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนพฤศจิกายน 2552 THBFIX 6 M บวก อัตราสวน ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน เพิ่ม จํานวน 20 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนกุมภาพันธ 2552 THBFIX 6 M ถัวเฉลี่ย 5 ธนาคาร ชําระคืนเงินตนทุกงวดหกเดือน บวก อัตราสวนเพิ่ม จํานวน 20 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนกันยายน 2553 อัตรา LIBOR บวก อัตราสวนเพิ่ม ชําระคืนเงินตนทุกงวดหนึ่งป จํานวน 3 งวด โดยงวดแรก ชําระในเดือนมกราคม 2557
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิไดเบิกใชเปนจํานวนเงินรวม 68,768 ลาน บาท และ 59,273 ลานบาท ตามลําดับ
298
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 เงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุน เงินกูยืมดอยสิทธิสกุลเงินบาทที่ไดรับจากผูถือหุนรายใหญภายใตสัญญาสนับสนุนจากผูถือหุน เงินกูยืมดังกลาวมี อัตราดอกเบี้ยเอ็ม แอล อาร หักอัตราสวนลด โดยบริษัทจะตองจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยคางจายภายใตเงื่อนไขใน สัญญาเงินกู ซึ่งเงินกูดังกลาวมีกําหนดชําระคืนภายใน 30 วันหลังจากครบกําหนดไถถอนหุนกูไมดอยสิทธิจํานวน 300 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาในเดือนกรกฎาคม 2555 บริษัทมีรายละเอียดของเงินกูดอยสิทธิจากผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ วงเงิน ดอกเบี้ย สกุลเงิน (ลาน) อัตรา (รอยละ) ตอป บาท
210 เหรียญสหรัฐ อเมริกา
ระยะเวลาชําระคืน
MLR (KTB) หักอัตราสวนลด ชําระคืนเงินตนภายใน 30 วัน นับจาก วันที่ 20 กรกฎาคม 2555
ยอดหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินเยน สกุลเงินริงกิตมาเลเซีย อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 96,829 73,597 22,331 20,922 82 1,369 34 120,645 94,519
299
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 18
เจาหนี้การคา งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม
5
(ลานบาท) 23,716 3,553 27,269
22,547 385 22,932
ยอดเจาหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 20,832 17,503 5,543 5,429 331 32 506 25 27,269 22,932
สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน สกุลเงินริงกิตมาเลเซีย อื่นๆ รวม 19
เจาหนี้อื่น
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่น รวม
5
(ลานบาท) 1,405 1,656 3,061
1,395 1,109 2,504
300
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 20
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
ดอกเบี้ยคางจายและเงินคางจายอื่น ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายรอนําสง รายไดรับลวงหนา อื่นๆ รวม 21
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 2,633 1,706 435 262 536 3 864 207 4,468 2,178
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน งบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงินสําหรับ มูลคาปจจุบันของภาระผูกพันที่ไมไดจัดใหมี กองทุน มูลคาปจจุบันของภาระผูกพันที่จัดใหมี กองทุน ผลประโยชนระยะยาวอื่น รวม มูลคายุติธรรมของภาระผูกพันที่จัดใหมี กองทุน สุทธิ
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
1,604
807
713 281 2,598
250 1,057
(496) 2,102
1,057
301
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
งบกําไรขาดทุน รับรูในกําไรหรือขาดทุน ผลประโยชนพนักงานระยะยาว ผลประโยชนพนักงานระยะยาวอื่น ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการ คณิตศาสตรประกันภัย รวม
41 3
15 3
331 375
160 178
การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน งบการเงินรวม ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ผลประโยชนจา ยโดยโครงการ ตนทุนบริการปจจุบัน และดอกเบี้ย ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร ประกันภัยที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน อื่นๆ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 2,280 (25)
888 (9)
44
18
331 (29) (3)
160 -
2,598
1,057
302
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ประกอบงบการเงิ าใชจายที่รับ้งรูแต ในกํวันาไรหรื (หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ 29) 2554 สําหรับคระยะเวลาตั ที่ 19อตุขาดทุ ลาคมน 2554 (วันควบบริ ษัท) ถึง 31นขธัอนวาคม
คาใชจายที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 29) คาใชจายที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน (หมายเหตุประกอบงบการเงิ นขอ น29)รวม งบการเงิ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) งบการเงินรวม (ลานบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ ตนทุนบริการปจจุบัน 25 14 ตนทุนบริการปจจุบัน 25(ลานบาท) 14 ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน 20 4 ดอกเบี ้ยจากภาระผู 20 ตนทุนบริ การปจจุบกันพัน 25 144 ผลตอบแทนที่คาดหวังจากโครงการ ผลตอบแทนที ่คาดหวั 20 4ดอกเบี ้ยจากภาระผู พังนจากโครงการ (8) ผลประโยชน พนักกงาน ผลประโยชน่คพาดหวั นักงาน (8) ผลตอบแทนที งจากโครงการ ขาดทุนจากการประมาณตามหลั กการคณิตศาสตร ขาดทุ นจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร (8) ผลประโยชน ประกันภัย พนักงาน 331 160331 160 ประกั นภัย ขาดทุ นจากการประมาณตามหลั กการคณิตศาสตร 7 อื่นๆ อื่นๆประกันภัย 3317 160รวม 375 178 รวม 3757 178อื่นๆ รวม 375 178 คาใชจายที่รับรูในรายการตอไปนี้ในงบกําไรขาดทุน คาใชจายที่รับรูในรายการตอไปนี้ในงบกําไรขาดทุน คาใชจายที่รับรูในรายการตอไปนี้ในงบกําไรขาดทุน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) านบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม (ล ตนทุนขาย 22 11 22านบาท) 11 ตนทุนขาย (ล คาใชจายในการบริหาร 22 7 คตานใช ยในการบริหาร 22 ทุนจาขาย 117 ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร ขาดทุ กการคณิตศาสตร คาใชประกั จนาจากการประมาณตามหลั ยในการบริ 22 นภัย หาร 331 1607 ประกั นภัย 331 160 ขาดทุ นจากการประมาณตามหลั กการคณิตศาสตร รวม 375 178 รวมประกันภัย 375 178 331 160 178 ขรวม อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันที375 ่รายงานมีดังตอไปนี้ ขอสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันที่รายงานมีดังตอไปนี้ ขอสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรปงบการเงิ ระกันภัยนณรวม วันที่รายงานมีดังงบการเงิ ตอไปนีน้ เฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (รอยละ) งบการเงินรวม (รอยละ) งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 4.66-4.8% 4.8% อัตราคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 4.66-4.8%(รอยละ) 4.8% การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต 3.32-6% 6% การเพิ ม ่ ขึ น ้ ของเงิ น เดื อ นในอนาคต 3.32-6% 6% อัตราคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 4.66-4.8% 4.8% อัตราการลาออก 0-6% 0-6% อัตราการลาออก 0-6% 0-6% การเพิ ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต 3.32-6% 6% อายุเกษียณ 60 ป 60 ป เกษียณ 60 ป 60 ป อัอายุ ตราการลาออก 0-6% 0-6% อายุเกษียณ 60 ป 60 ป
303
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ขอสมมุติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามขอมูลทางสถิติที่เผยแพรทั่วไปและตารางมรณะ สําหรับโครงการที่ไดจัดเปนกองทุนมีสินทรัพยของกองทุนดังตอไปนี้ งบการเงินรวม ตราสารทุน พันธบัตรรัฐบาล และหุนกูบริษัทเอกชน อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 290 176 30 496 -
การเปลี่ยนแปลงในมูลคาของสินทรัพยของโครงการที่ไดจัดเปนกองทุนมีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม มูลคายุติธรรมของโครงการ ณ 19 ตุลาคม 2554 การจายเงินสมทบในโครงการ การจายผลประโยชนตอบแทนโดยโครงการ ผลประโยชนที่คาดการณจากโครงการ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน อื่นๆ มูลคายุติธรรมของโครงการ ณ 31 ธันวาคม 2554
(ลานบาท) 501 14 (10) 24 (39) 9 (3) 496
งบการเงินเฉพาะกิจการ -
304
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 22
ทุนเรือนหุน
ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 หุนสามัญ เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หุนสามัญ ทุนที่ออกและชําระแลว ณ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 หุนสามัญ เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หุนสามัญ
มูลคาหุน ตอหุน (บาท)
2554 จํานวนหุน จํานวนเงิน (ลานหุน / ลานบาท)
10 10
4,512.9 -
45,129.3 -
10
4,512.9
45,129.3
10 10
4,506.0 0.1
45,059.8 1.3
10
4,506.1
45,061.1
สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนภายใต โครงการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญใหพนักงานมีสวนรวมเปนเจาของบริษัทไดใชสิทธิในการซื้อ หุนสามัญจํานวน 495,300 หนวย แปลงเปนหุนสามัญ จํานวน 128,298 หุน ในราคาใชสิทธิหุนละ 46.32 บาท เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2554 บริษัทไดจดทะเบียนสําหรับคาหุนรับชําระจํานวน 1,282,980 บาท (แบงเปน 128,298 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) กับกระทรวงพาณิชยแลว ทําใหทุนที่ออกและเรียกชําระแลวเพิ่มขึ้นจากจํานวน 45,059,846,380 บาท (แบงเปน 4,505,984,638 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) เปน 45,061,129,360 บาท (แบงเปน 4,506,112,936 หุน มูลคา หุนละ 10 บาท) โดยไดออกในมูลคาหุนละ 46.32 บาท ซึ่งทําใหมีสวนเกินมูลคาหุนจํานวน 4,659,783 บาท
305
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 23
ใบสําคัญแสดงสิทธิ บริษัทมีใบสําคัญแสดงสิทธิที่จัดสรรใหกรรมการ ผูบริหารหรือพนักงาน โดยมีรายละเอียดโดยสังเขปของใบสําคัญ แสดงสิทธิดังนี้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ จํานวน อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ราคาใชสิทธิ สิทธิในการซื้อหุนสามัญตอหนวย ระยะเวลาใชสิทธิ
: : : : : :
ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญชนิดระบุชื่อผูถอื และเปลี่ยนมือไมได 12,939,342 หนวย 5 ป 46.32 บาท ตอหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญได 0.2590478 หุน ผูถือใบแสดงสิทธิสามารถใชสิทธิตามใบแสดงสิทธิดังกลาวไดในทุกๆ วันทําการสุดทาย ของเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคมของ แตละป และครั้งสุดทายในเดือนตุลาคม 2555
สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 495,300 หนวย ได ใชสิทธิซื้อหุนสามัญของบริษัท ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมียอดคงเหลือของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยัง ไมไดใชสิทธิเปนจํานวน 12,444,042 หนวย 24
สวนเกินทุนและสํารอง สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวา มูลคาหุนที่จดทะเบียนไว บริษัทตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุน นี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวา สํารองดังกลาวมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได
306
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 องคประกอบอืน่ ของสวนของผูถือหุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินแสดงในสวนของผูถือหุนประกอบดวยผลตางการแปลงคาทั้งหมดจากงบการเงิน ของหนวยงานในตางประเทศและการแปลงคาหนี้สินจากการปองกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิของบริษัท 25
รายงานทางการเงินจําแนกตามสวนงาน กลุ ม บริ ษั ท นํ า เสนอข อ มู ล ทางการเงิ น จํ า แนกตามส ว นงาน โดยแสดงส ว นงานธุ ร กิ จ เป น รู ป แบบหลั ก ในการรายงาน โดยพิจารณาจากการบริหารการจัดการและโครงสรางการบริหารและการรายงานทางการเงินภายใน ของกลุมบริษัทเปนเกณฑในการกําหนดสวนงาน ผลได (เสีย) สินทรัพยและหนี้สินตามสวนงาน รวมรายการที่เกี่ยวของโดยตรงกับสวนงาน หรือที่สามารถปนสวน ใหกับสวนงานไดอยางสมเหตุสมผล รายการที่ไมสามารถปนสวนไดสวนใหญประกอบดวย ดอกเบี้ยหรือเงินปนผล ทั้งสวนของสินทรัพยและรายได เงินใหกูยืมที่มีดอกเบี้ย เงินกูยืมและคาใชจาย และสินทรัพยและคาใชจายของ กิจการโดยรวม สวนงานธุรกิจ กลุมบริษัทเสนอสวนงานธุรกิจที่สําคัญ ดังนี้ สวนงาน 1 สวนงาน 2 สวนงาน 3 สวนงาน 4 สวนงาน 5 สวนงาน 6 สวนงาน 7 สวนงาน 8 สวนงาน 9
กลุมกิจการผลิตโอเลฟนส กลุมธุรกิจผลิตภัณฑอะโรเมติกสและรีไฟนเนอรรี กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโอลีโอเคมี กลุมธุรกิจผลิตภัณฑชนิดพิเศษ กลุมธุรกิจบริการและอื่นๆ กลุมธุรกิจในตางประเทศ รายไดเงินปนผลและอื่นๆ
รายได รายได รายไดจากการลงทุน รายได จากการลงทุ น นขั้น กํรายได าไรจากการซื ้อแบบเป จากการลงทุ น กํรายได าไรจากการซื อ ้ แบบเป อื่น ้อแบบเปนนขัขั้น้น กําไรจากการซื รายไดอื่น รายไดอื่น รวมรายได รวมรายได ตรวมรายได นทุนขายและการใหบริการ ตนทุนขายและการใหบริการ ตคนาใช ทุนจาขายและการให บริการหาร ยในการขายและบริ คขาดทุ าใชจนายในการขายและบริ (กําไร) จากอัตรา หหาร คาใชจายในการขายและบริ าร ขาดทุ น (กํา่ยไร) จากอัตรา แลกเปลี น ขาดทุน (กําไร) จากอัตรา แลกเปลี น จากตราสาร ขาดทุ น (กํา่ย่ยไร) แลกเปลี น ขาดทุ นพัน(กํธาไร) จากตราสาร อนุ ขาดทุน (กําไร) จากตราสาร อนุพันธ อนุาพใชันจธาย รวมค รวมค าใชงกํจาาไร ย สรวมค วนแบ าใชจาย (ขาดทุน) จากเงิน สลงทุ วนแบ งกําไรษ(ขาดทุ น นในบริ ัทรวม นน)) จากเงิ สวนแบ งกําไร (ขาดทุ จากเงิน ลงทุนในบริษัทรวม กํลงทุ าไร (ขาดทุ นในบรินษ) ัทกรอวนม กําตไรนทุ(ขาดทุ น) กอนน นทางการเงิ กําไร (ขาดทุ น) กอ ตและภาษี นทุนทางการเงิ เงินได นน ตนทุนทางการเงิ เงินไดน ตนและภาษี ทุนทางการเงิ และภาษี เงินได ตนทุนทางการเงิน ตนทุเงินนทางการเงิ ภาษี ได น ภาษีเงินได กํภาษี าไรเงิ(ขาดทุ นได น) กําสํไราหรั (ขาดทุ บงวดนน)) กําไร (ขาดทุ สําหรับงวด สําหรับงวด
75,507 75,50775,507 -45-45 45 75,552 75,552 75,552 74,615 74,615 74,615 494 494 494 351 351 351 89 89 89 75,549 75,549 75,549 3 47533 475 475 258 258 258 (730) (730) (730)
276 276 297 276 297 297 (207) (207) (207) 186 186 186
สวนงาน 2 สวนงาน 2 สวนงาน 2
10,741 10,741 98 10,741 9898 8-8 10,8478 10,847 10,847 9,086 9,086 9,086 990 990 990 286 286 286 209 209 209 10,571 10,571 10,571 -
สวนงาน 1 สวนงาน 1 สวนงาน 1
1,386 1,386 151 1,386 151 151 (8) (8) (8) 1,243 1,243 1,243
11,562 11,562 19 11,562 1919 120-120 120 11,701 11,701 11,701 9,973 9,973 9,973 255 255 255 34 34 34 39 39 39 10,301 10,301 10,301 (14) (14) (14)
สวนงาน 3 สวนงาน 3 สวนงาน 3
1,179 1,179 19 1,179 19 19 10 10 10 1,150 1,150 1,150
3,435 3,435 10 3,435 1010 13-13 13 3,458 3,458 3,458 2,187 2,187 2,187 110 110 110 (17) (17) (17) (1) (1) (1) 2,279 2,279 2,279 -
สวนงาน 4 สวนงาน 4 สวนงาน 4
สวนงาน 5 สวนงาน 5 สวนงาน 5
107 107
184 184 33 184 33 33 (1) (1) (1) 152 152 152 107
2,685 2,6853 2,685 33 42-42 42 2,730 2,730 2,730 2,450 2,450 2,450 100 100 100 (10) (10) (10) 6 6 2,5466 2,546 2,546 (656) (656) 89 (656) 89 89 (1) (1) (1) (744) (744) (744)
834 834 431 834 431 431 226 226 226 177 177 177
สวนงาน 6 สวนงาน 7 สวนงาน 6 สวนงาน 7 สวนงาน 6 สวนงาน 7 (ลานบาท) (ลานบาท) 3,598 2,009 (ลานบาท) 2,009 3,598 29 319 2,009 3,598 2931929 319 -2 226-2 226 226 2,0402 4,143 2,040 4,143 2,040 4,143 2,400 2,997 2,400 2,997 2,400 2,997 170 336 170 336 170 336 (9) (7) (9) (7) (9) (7) 135 3 135 3 135 2,696 3,3293 2,696 3,329 2,696 3,329 20 20 20
ขอมูลเกี่ยวกับผลได (เสีย) ตามสวนงานธุรกิจ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ขขออมูมูลลเกี เกี่ย่ยวกั วกับบผลได ผลได (เสี (เสียย)) ตามส ตามสววนงานธุ นงานธุรรกิกิจจ สํสําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้้งงแต แตววันันทีที่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษษัทัท พีพีททีทีทีี โกลบอล บริ โกลบอล เคมิ เคมิคคนอล อล จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทยยออยย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ปประกอบงบการเงิ น หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํสําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้ง้งแต แตววันันทีที่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริษษัทัท)) ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554
(493) (493) 28 (493) 28 28 (36) (36) (36) (485) (485) (485)
3,029 3,0293 3,029 33 3-3 3,0353 3,035 3,035 2,831 2,831 2,831 573 573 573 118 118 118 (130) (130) (130) 3,392 3,392 3,392 (136) (136) (136)
สวนงาน 8 สวนงาน 8 สวนงาน 8
1,980 1,9801,980 1,980 1,980 1,980
1,085-1,085 857 1,085 857 38 857 38 38 1,980 1,980 1,980-
สวนงาน 9 สวนงาน 9 สวนงาน 9
(1,356) (1,356) (310) (1,356) (310) (310)(1,046) (1,046) (1,046)
ตัดรายการ ตัดรายการ ระหว างกัน ตัดรายการ ระหวางกัน ระหวางกัน (7,736) (7,736) (1,395) (7,736) (1,395)(1,395) (290)-(290) (290) (9,421) (9,421) (9,421) (7,809) (7,809) (7,809) (248) (248) (248) (8,057)(8,057) (8,057) 8 8 8
3,337 3,337 1,213 3,337 1,213 1,213 241 241 241 1,883 1,883 1,883
104,830 104,830 171 104,830 171 857 171 857 207 857 207 207 106,065 106,065 106,065 98,730 98,730 98,730 2,780 2,780 2,780 746 746 746 350 350 350 102,606 102,606 102,606 (122) (122) (122)
รวม รวม รวม
307
ตราสารอนุพันธ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย
เงินสดและเงินฝาก นการเงินฝาก เงิสถาบั นสดและเงิ เงินสถาบั ลงทุนนระยะสั การเงิน้น ลูกเงิหนี ้การค าและตั๋ว้นเงินรับ นลงทุ นระยะสั ลูลูกกหนี อ ้ ่ ื น หนี้การคาและตั๋วเงินรับ สิลูนกคหนี าคงเหลื ้อื่น อ เงินใหกูยืมระยะสั้นแก สินคาคงเหลือ กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแก เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการ กิจการที่เกี่ยวของกัน ที่เกี่ยวของกันที่ถึงกําหนด เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการ ชําระภายในหนึ่งป ่เกี่ย้กวข ึงกํ้อาเพลิ หนดง ลูกทีหนี องทุองกั นน้นํามัทีน่ถเชื ชํ า ระภายในหนึ ง ่ ป ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ลูกหนี้กองทุ ตราสารอนุ พันนธน้ํามันเชื้อเพลิง ภาษี ม ล ู ค า สินทรัพยหมุเพิน่มเวีรอเรี ยนอืย่นกคืน พันษธัทยอย เงิตราสารอนุ นลงทุนในบริ สิ น ทรั พ ย ห มุนจการที เวียนอื่ควบคุ ่น ม เงิ ลงทุนในกิ เงินรวลงทุ มกันนในบริษัทยอย เงิเงินนลงทุ นในบริ รวม ่ควบคุม ลงทุ นในกิษจัทการที เงินลงทุ นระยะยาวอื ่น รวมกั น เงิเงินนใหลงทุ กูยืมนระยะยาวแก ในบริษัทรวม ่ยวของกัน ่น เงิกิจนการที ลงทุน่เกีระยะยาวอื ทีเงิ่ดนินให อาคาร และอุปกรณ กูยืมระยะยาวแก สินกิทรั พ ย ไ ม ม ัวตน จการที่เกี่ยีตวข องกัน สิทีน่ดทรั พ ย ภ าษี เ งิ นได ปกรณ ิน อาคาร และอุ รอการตัดบัญชี สินทรัพยไมมีตัวตน ตราสารอนุพันธ สินทรัพยภาษีเงินได สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รอการตัดบัญชี รวมสินทรัพย
-
515
- -
- -
322 518 79,620
322 518 78 79,620
57,630 78 848
57,630 848 -
- -
25 3,063 161,516
25 3,063 161,516
96,799 11,393
96,799 11,393 -
- -
435 - -
442 633 - 442 435 633 - -
838 12 560838 - 12
560 - -
-
515
20,991
303 10 303 27,180 10 242 27,180 20,991 242
6,545 1,461 6,545 5,986 1,461 3 5,986 4,304 3
4,304
สวนงาน 2
สวนงาน 2
สวนงาน 1
สวนงาน 1
ขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามสวนงานธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามสวนงานธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
-
95 43,092
95 173 43,092
26,915 173 2,421
26,915 2,421
-
407 - -
172 - 407 172 - -
-
4,437
-
2,508 5242,508 5,411 524 295,411 4,437 29
สวนงาน 3
สวนงาน 3
-
108
38 9,326
(ลานบาท)
-
-
6,545 97 526 -
3,945
-
6,545 97 526 -
3,945
3,610 1,637 1,609 245 319
-
11 8 26 -
-
991 2,267 247 2,547
สวนงาน 8
สวนงาน 7
147 22,964
2 1 58,897
2 58,897
54 1 14 10,675
22,520 14 942
22,520 3,909 942 16,886 614
- 16,886
106 33 10 -
-
1,889
14,551 1 1,345
-
106 33 10 -
147 21 22,964
38 9,326
สวนงาน 7
4,156 3,610 - 4,156 1,637 722 - 1,609 4 722 245 1,889 4 319
14,551 - 1,345
-
6,254 21 190
6,254 190
-
50 -
-
1,002
227 227 50 -
-
501 - 501 1,034 9 1,034 1,002 9
สวนงาน 6
สวนงาน 5(ลานบาท) สวนงาน 6
สวนงาน 5
23 -108 894 15,229
894 15,229
10,156 23 166
10,156 166
-
56 -
1,201
553
166 1 166 56 - 1
1,201
359 - 359 1,643 11 1,643 553 11
สวนงาน 4
สวนงาน 4
สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
-
1 10,675
54 66,286
3,909 614
-
6,447 - 327
26 - 210
- - 11 8 59,302
-
991 2,267 247 2,547
-
สวนงาน 9
สวนงาน 8
-
(269) -
6,178 (210) 327
66,286
(1) (94,639)
-
(1) (94,639)
347 4,757 372,966
(3,391) 2,496 364
(3,391) 235,343 2,496 (16,886)20,415
6,447 (16,886) 327
(269) 210 -
442 (6,545)2,250 - 54 -1,713 - -
(5,661)
103
18,973 -3,632 41,482 (4,370) 544 (246)36,145
ระหวางกัน
(357) 59,302(210) (59,302)
(6,545) - - -(357) (59,302)
-
(5,661)
- (4,370) -(246) - 103
สวนงาน 9
ตัดรายการ ระหวางกัน ตัดรายการรวม
364 347 4,757 372,966
235,343 20,415
6,178 327
442 2,250 54 1,713 -
-
18,973 3,632 41,482 544 36,145
รวม
308
รวมหนี้สิน
หนี้สินไมหมุนเวียนอืน่
รวมหนี ้สิน พนั ธ ตราสารอนุ
หนี้สินภาษีเงินได หุรอการตั นกู ดบัญชี หนี้สินกพัภาษี เงินได ภาระผู นผลประโยชน พนัรอการตั กงาน ดบัญชี ภาระผูกพัพนนั ผลประโยชน ตราสารอนุ ธ หนีพนั ้สินกไม หมุนเวียนอืน่ งาน
เงินกูยืมระยะยาวจาก หุนกู สถาบันการเงิน
ภาษีหนึ เงิน่งปไดนิติบุคคลคางจาย ตราสารอนุพนั ธ ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ตราสารอนุพนั ธ เงินกูยืมระยะยาวจาก หนี้สินหมุนเวียนอื่น สถาบันการเงิน
เงินกูยืมระยะสั้นจาก เงิสถาบั นกูยืมนระยะสั การเงิน้นจาก นการเงิ เจาสถาบั หนี้การค า น าหนี้อ้กนื่ ารคา เจเจาหนี เจ าหนี้เงิ้อนนื่ ประกันผลงาน เจาหนี าหนี้รับ้เงิเหมาก นประกัอสร นผลงาน เจเจาหนี าง เงิเจนากูหนี ยืม้รระยะสั ้น อสราง ับเหมาก เงิเงินนกูกูยยืมืมระยะยาวที ระยะสั้น่ถึงกําหนดชําระ ง่ ป เงิภายในหนึ นกูยืมระยะยาวที ่ถึงกําหนดชําระ หุนภายในหนึ กูที่ถึงกําหนดชํ า ระภายในหนึ ง่ ป ง่ ป เงิหุนนกูกูดทอ ยสิ ที่ถึงกําาหนดชํ าระภายใน ี่ถึงทกําธิหนดชํ ระภายในหนึ ง่ ป หนึ ง ่ ป เงินกูดอ ยสิทธิที่ถึงกําหนดชําระภายใน
4,988 24,988 9 2 436
603 603 1,769
1 77,710
3752,755 144 1 375 77,710 144
577200 121577 50,832 -
121 50,832
23,122 15,535 2,755
23,122 15,535
9 436
13,488 23,367 200
13,488 23,367
1,769
7,602
1,305 7,6021,305
4,259 2,097 4,259
2,097
19,117 19,117 1,757 11,757 558 1 3 558
3
สวนงาน 2
สวนงาน 2
1,377 1,377 394 9394 1,248 9 1,323 1,248
1,323
สวนงาน 1
สวนงาน 1
ขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามสวนงานธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามสวนงานธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
2,367
39 23,755
185 50 39 185 23,755 -
9,437 504,314
9,437 4,314
580
111 111 580
-
4,142 -4,142
1,996 3141,996 2 314 218 2 2,367 218
สวนงาน 3
สวนงาน 3
11 9 2,837
-
-
12 129
-
4 186
272 -
199 148 6 13 -
109
9 1 3,318
1 3,318
-
47 146
14,292 61
109 1,268
-
1,586 255
4 10,289
58 19 247 85 24,391
41
2,103
1,268
247 24,391
58 170 - 5,903
275 868
97
791 -
67 17 109 592
1,586 -
-
- 1,160 4,820 38 1,115 230 69 261
สวนงาน 7
สวนงาน 8
8,102 14,292 - 275 61 41
8,102 -
47 146
255 -
1,459 4,820 97 1,459 1,115 97 230 - 69 34 34 261
19 85 4 9 - 10,289
2
2,478 2
2,478 -
4 186
272 -
199 148 6 13 -
สวนงาน 7
สวนงาน 6
(ลานบาท)
สวนงาน 6
(ลานบาท)
สวนงาน 5
สวนงาน 5
11 9109 2,837
-
-
12 129
-
1,707
732 196 732 - 196 41 1,707 41
สวนงาน 4
สวนงาน 4
บริษษัทัท พีพีททีทีที โกลบอล และบริ ษัทยษอัทยยอย ี โกลบอลเคมิ เคมิคอล คอลจําจํกัาดกั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ หมายเหตุ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินน สํสําาหรั (วัน(วัควบบริ ษัท)ษถึัทง)31 นวาคม 25542554 หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั้งแต ้งแตวันวันที่ที19่ 19ตุลตุาคม ลาคม2554 2554 นควบบริ ถึงธั31 ธันวาคม
868 170 5,903
97
791 -
67 17 592
-
2,103 1,160 38 -
สวนงาน 8
-
(16,886) -
-
-
-
-
(70) (638)
-
-
- (34,522)
- -
- -
-
-
(6,545) - -
(3,591) (997) - (134) (5,661) -
สวนงาน 9
-
-
สวนงาน 9
ตัดรายการ ระหวางกัน
(34,522)
229 - 592 164,513 -
- 2,102
(16,886) - 3,420
54,824 43,277
(638)
4,988 - 834 77 (70) 4,468
-
5,274 9,699 (6,545)
2,103
-27,269 (3,591) 3,062 (997) 248 - 2,047 (134) (5,661)
ตัดรายการ รวม ระหวางกัน
2,102 229 592 164,513
3,420
54,824 43,277
4,988 834 77 4,468
5,274 9,699
2,103 27,269 3,062 248 2,047 -
รวม
309
310
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 26 รายไดจากการลงทุน
หมาย เหตุ
เงินปนผลรับ บริษัทยอย บริษัทรวม
ดอกเบี้ยรับ บริษัทยอย กิจการอื่น
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
5 5
-
1,079 3 1,082
5
171 171
297 105 402
171
1,484
รวม 27 คาใชจายในการขาย งบการเงินรวม คาใชจายในการจัดจําหนาย คาใชจายการสนับสนุนการขาย คาใชจายการตลาด คาใชจายเกี่ยวกับบุคลากร รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 274 85 58 6 4 48 384 91
311
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 28
คาใชจายในการบริหาร งบการเงินรวม คาใชจายเกี่ยวกับบุคลากร คาที่ปรึกษา คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาศึกษาความเปนไปไดของโครงการ คาบริการพนักงานปฏิบัติการ ขาดทุนจากการประมาณตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย คาใชจายบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยถาวร รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท) 871 601 59 57 56 56 98 98 65 331 717 221 43 2,396
160 443 163 24 1,667
312
บริ บริษษัทัท พีพีททีทีทีี โกลบอล โกลบอล เคมิ เคมิคคอล อล จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) และบริ และบริษษัทัทยยออยย บริ ษัท พีทปปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ นน จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ สํหมายเหตุ ้ง้งแต สําาหรั หรับบระยะเวลาตั ระยะเวลาตั แตววันันทีทีน่่ 19 19 ตุตุลลาคม าคม 2554 2554 (วั (วันนควบบริ ควบบริษษัทัท)) ถึถึงง 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2554 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 29 29 29
คคาาใช ใชจจาายผลประโยชน ยผลประโยชนขของพนั องพนักกงาน งาน คาใชจายผลประโยชนของพนักงาน ผูผูบบริริหหาร าร เงิเงิผูบนนริเดื อ เดืหอารนน โบนั โบนัสส คคาาแรงและสวั แรงและสวัสสดิดิกการอื ารอื่น่นๆๆ สมทบกองทุ าารองเลี เงิเงินนเดื อน โบนัส นนคสํสําแรงและสวั สมทบกองทุ รองเลี้ย้ยงชี งชีสพพดิการอื่นๆ พพนันันกกสํงานระยะยาว เงิผลประโยชน นสมทบกองทุ ารองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน งานระยะยาว ผลประโยชน งานระยะยาว ผลประโยชนพพนันักกงานระยะยาวอื งานระยะยาวอื่น่น ผลประโยชนพนักงานระยะยาวอื่น พนั พนักกงานอื งานอื่น่น เงิพนั ออนน โบนั กงานอื ่น สส คคาาแรงและสวั เงินนเดื เดื โบนั แรงและสวัสสดิดิกการอื ารอื่น่นๆๆ เงินเดือน โบนัส นคสําแรงและสวั สดิการอื่นๆ เงินสมทบกองทุ สมทบกองทุนสําารองเลี รองเลี้ย้ยงชี งชีพพ พพนันันกกสํงานระยะยาว เงิผลประโยชน นสมทบกองทุ ารองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน งานระยะยาว ผลประโยชน งานระยะยาว ผลประโยชนพพนันักกงานระยะยาวอื งานระยะยาวอื่น่น ผลประโยชนพนักงานระยะยาวอื่น
งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม งบการเงินรวม
งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ (ล า นบาท) งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ (ลานบาท) 54 39 54(ลานบาท) 39 5422 3922 121 121 1-1-57 42 574257 42 1,752 1,752 1,752 53 53 40 53 40 4033 1,848 1,8483 1,848 1,905 1,905 1,905
1,160 1,160 1,160 45 45 14 45 14 1433 1,222 1,2223 1,222 1,264 1,264 1,264
รวม รวม รวม โครงการผลประโยชน โครงการผลประโยชนทที่กี่กําําหนดไว หนดไว โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว รายละเอี รายละเอียยดของโครงการผลประโยชน ดของโครงการผลประโยชนทที่กี่กําําหนดเป หนดเปดดเผยในหมายเหตุ เผยในหมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนขขออ 21 21 รายละเอียดของโครงการผลประโยชนที่กําหนดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 21 โครงการสมทบเงิ โครงการสมทบเงินนทีที่ก่กําําหนดไว หนดไว โครงการสมทบเงินที่กําหนดไว กลุ กลุมมบริ บริษษััททได ไดจจััดดตัตั้้งงกองทุ กองทุนนสํสําารองเลี รองเลี้้ยยงชี งชีพพสํสําาหรั หรับบพนั พนักกงานของกลุ งานของกลุมมบริ บริษษััททบนพื บนพื้้นนฐานความสมั ฐานความสมัคครใจของพนั รใจของพนักกงาน งาน ในการเป โดยพนั กกงานจ าายเงิ สะสมในอั ตตราขั ่่กกฎหมายกํ าาหนดแต ไไมมเเกิกินนอัอัตตราร ออยย กลุ มบริษนนัทสมาชิ ไดจัดกกตัของกองทุ ้งกองทุนสํนนารองเลี ้ยงชี พสําหรั กงานของกลุ ัทบนพื ้นฐานความสมั ครใจของพนั กงาน ในการเป สมาชิ ของกองทุ โดยพนั งานจ ยเงิบนนพนั สะสมในอั ราขัม้้นนบริต่ต่ํําาษตามที ตามที ฎหมายกํ หนดแต ราร ละ นนเดื กกเดื มมบริ ษษัทัทจจาาายเงิ ยสมทบในอั ตตราขั ้้นนต่ต่้นํําาตามที ่่กกฎหมายกํ าาหนดแต ไไมมไเเกิกิมนนเกิอัอันตตอัราร ออยละ ในการเป นสมาชิ ของกองทุ โดยพนั กงานจ นสะสมในอั ตราขั ต่ําตามที ่กฎหมายกํ าหนดแต ตราร อย ละ 15 15 ของเงิ ของเงิ เดืออกนทุ นทุ เดืออนนนและกลุ และกลุ บริ ยสมทบในอั ราขั ตามที ฎหมายกํ หนดแต ราร ยละ 15 นนเดื นของพนั นนสํสําารองเลี ้้ยยงชี ดดจจดทะเบี ยยนเป กองทุ งชี ละ 15 ของเงิ อนทุกเดืกกองานในแต น และกลุลละเดื มบริออษนนัทจกองทุ ายสมทบในอั ตราขั ่กฎหมายกํ กินอัต้้ยยราร ยละ 15 ของเงิ ของเงิ เดืนออเดื นของพนั งานในแต ะเดื กองทุ รองเลี งชี้นพพต่นีนีํา้้ไไตามที ดทะเบี นเปนนาหนดแต กองทุนนไสํสํมาาเรองเลี รองเลี งชีพพอตาม ตาม ข15 าาหนดของกระทรวงการคลั งงและจั ดดการกองทุ จจัดัดการกองทุ ดดรรับับอนุ ญ นเดือนของพนักงานในแต ละเดื อน กองทุนนนโดยผู สํารองเลี ้ยงชีพนี้ไนนดทีทีจ่ไ่ไดทะเบี ขออกํกํของเงิ หนดของกระทรวงการคลั และจั การกองทุ โดยผู การกองทุ อนุยนเป ญาต าตนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตาม ขอกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจัดการกองทุนที่ไดรับอนุญาต
313
บริษบริ ัท ษพีัททีทพีี ทโกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคจํอลากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยษอัทยยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น น สําหรั สําบหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ ัน19ที่ ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 (วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัท)ษถึัทง) 31 ถึง ธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 30 30คาใชคจาใช ายตามลั จายตามลั กษณะ กษณะ งบการเงิ งบการเงิ นไดนรได วมการวิ รวมการวิ เคราะห เคราะห คาใชคาจใช ายตามหน จายตามหน าที่ คาทีาใช ่ คาจใช ายตามลั จายตามลั กษณะสํ กษณะสํ าหรัาบหรั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีว่ ัน19ที่ 19ตุลาคม ตุลาคม 25542554 ถึง 31 ถึงธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 ไดเปไดดเเผยตามข ปดเผยตามข อกําอหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิ กําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบันบฉบั ตาบงตๆางดังๆนีดั้ งนี้
รวมอยู รวมอยู ในตในนต ทุนขาย ทุนขาย การเปลี การเปลี ่ยนแปลงในสิ ่ยนแปลงในสิ นคานสํคาเร็ าสํจารูเร็ปจและงาน รูปและงาน ระหว ระหว างทํางทํา วัตถุวัดติบถุใช ดิบไใช ป ไป คาใชคจาใช ายเกี จา่ยยเกี วกั่ยบวกั บุคบลากร บุคลากร คาเสืค่อามราคาที เสื่อมราคาที ่ดิน ่ดอาคารและอุ ิน อาคารและอุ ปกรณ ปกรณ คาตัคดาจํตัาดหน จําาหน ยสิานยสิ ทรันพทรั ยไพมยมไีตมัวมตน ีตัวตน รวมอยู รวมอยู ในคใานค ใชจาใช ายในการขายและบริ จายในการขายและบริ หารหาร คาใชคจาใช ายเกี จา่ยยเกี วกั่ยบวกั บุคบลากร บุคลากร คาเสืค่อามราคาที เสื่อมราคาที ่ดิน ่ดอาคารและอุ ิน อาคารและอุ ปกรณ ปกรณ คาตัคดาจํตัาดหน จําาหน ยสิานยสิ ทรันพทรั ยไพมยมไีตมัวมตน ีตัวตน คาเชคาาขัเช้นาต่ขัํา้นทีต่่ตําอทีงจ่ตอายตามสั งจายตามสั ญญาเช ญญาเช าดําเนิ าดํนาเนิ งาน นงาน
งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ (ลานบาท) (ลานบาท) 8,1228,122 4,8334,833 55,319 55,319 986986 2,5392,539 92 92
39,110 39,110 663663 1,3951,395 47 47
919919 118118 103103 53 53
601601 83 83 80 80 37 37
314
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัทบพีระยะเวลาตั ทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล สําหรั ้งแตเคมิ วันคทีอล ่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ง ้ แต ว น ั ที ประกอบงบการเงิน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรัตบนระยะเวลาตั ้งแต 31 ทุนทางการเงิ น วันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 31 ตนทุนทางการเงิน 31 ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจาย ดอกเบี บริษัท้ยจยาอยย ดอกเบี าอยย นเบิกเกินบัญชีจาก เงิบรินษกูัท้ยแจยละเงิ เงิบรินษธนาคาร กูัทแยละเงิ อย นเบิกเกินบัญชีจาก เงินธนาคาร กูและเงิ้ยนจเบิายกเกินบัญชีจาก รวมดอกเบี ้ยจานยอื่น ตนรวมดอกเบี ทุนธนาคาร ทางการเงิ ทุ: จํนาทางการเงิ านยอื่นในตนทุนของ หัตนกรวมดอกเบี นวนที้ย่รจวมอยู นวนที ตหันกทุ: สิจํนนาทางการเงิ ทรัพย่รทวมอยู ี่เขนาอืเงื่น่อในต นไขนทุนของ นานวนที ทรั ี่เขนาเงืต่อในนต นไข ่บันพทึยก่รทวมอยู เป ทุนนของ หักส:วสิจํนที ทุนของ สวสินที ่บันพทึยกรทะหว เป นนไข ทุอนสรของ นทรั าง ี่เขนาเงืตา่องก าง ่บันพทึยกระหว เปนตางก นทุอนสรของ สุสทวสินที ธินทรั สุทสิธินทรัพยระหวางกอสราง สุทธิ 32 32
ภาษีเงินได ภาษีเงินได
32
ภาษีเงินได
งบการเงินรวม งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม (ลานบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ - (ลานบาท) 69 69
หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ
12 12 12
(7) (7) 1,213 1,213 (7) 1,213
945945945
งบการเงินรวม
ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษี หมายเหตุ สําหรัเงิบนปไดปปจจุจบจุบันัน สําหรัปเงิบกนปอไดนๆ ปปจจุจทีบจุ่บบันันันทึกต่ําไป/(สูงไป) ภาษี สํภาษี าหรัปบกปอนๆ ปจจุทีบ่บันันทึกต่ําไป/(สูงไป) ภาษีปกอนๆ ที่บันทึกต่ําไป/(สูงไป)
รวม
828 69 828 897 897 828 48 48 897 48
งบการเงินรวม งบการเงินรวม
หมายเหตุ หมายเหตุ
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงิน่ยไดนแปลงของผลต รอการตัดบัญชีางชั่วคราว การเปลี การเปลี ภาษีเงิน่ยไดนแปลงของผลต รอการตัดบัญชีางชั่วคราว การเปลี่ยนแปลงของผลตางชั่วคราว รวม รวม
1,1631,163 1,163 1,163 1,163 57 57 1,163 57
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)งบการเงินเฉพาะกิจการ
44 (ลานบาท) 442 2 44 46 462 46
16 16 16
114
----
195 195
61 61
195 241 241
61 61
241
61
315
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได ผลกระทบจากความแตกตางของอัตราภาษี สําหรับกิจการในตางประเทศ รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี อื่นๆ รวม
กําไรกอนภาษีเงินได จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได รายไดที่ไมตองเสียภาษี คาใชจายตองหามทางภาษี รวม
งบการเงินรวม สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 อัตราภาษี (รอยละ) (ลานบาท) 2,124 30 637 0.8 (25.3) 5.5 0.2 11.2
19 (539) 118 6 241
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 อัตราภาษี (รอยละ) (ลานบาท) 668 30 200 (30) (201) 9.2 62 9.2 61
316
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล – ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ตามที่คณะรัฐมนตรี ไดมีมติเรื่อง มาตรการภาษีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 โดยเห็นชอบใหปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 ลงเหลือรอยละ 23 ของกําไร สุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และรอยละ 20 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป เพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี รัฐบาลไดตราพระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลด อัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 530) พ.ศ. 2554 ซึ่งพระราชกฤษฎีกาดังกลาวกําหนดใหลดอัตราภาษีเงินไดนิติ บุคคลสําหรับกําไรสุทธิเปนระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีไดแกป 2555 2556 และ 2557 จากอัตรารอยละ 30 เหลืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และรอยละ 20 ของ กําไรสุทธิสําหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตามลําดับ ทั้งนี้เปนที่เชื่อไดวารัฐบาลจะดําเนินการแกไขกฎหมายเพื่อใหอัตราภาษีไมสูงไปกวารอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เปนตนไป เพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี ดังกลาว การประกาศลดอัตราภาษีดังกลาวจะมีผลกระทบตอการวัดมูลคาสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สิน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เนื่องจากมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได ยอหนาที่ 47 กําหนดใหกิจการ วั ด มู ล ค า สิ น ทรั พ ย แ ละหนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี ด ว ยอั ต ราภาษี สํ า หรั บ งวดที่ กิ จ การคาดว า จะได รั บ ประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีหรือในงวดที่กิจการคาดวาจะจายชําระหนี้สิน โดยใชอัตราภาษีที่ มีผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมีผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลารายงาน สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ ไดพิจารณาในเรื่องนี้แลว มีความเห็นวา อัตราภาษีที่คาดไดคอนขางแนที่ ควรนํ ามาใชใ นการวั ดมู ลค าของสิน ทรั พย แ ละหนี้ สิน ภาษีเ งิน ได ร อการตัด บัญชี ควรเป นอั ตราร อ ยละตามที่ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ กลาวคืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 และรอยละ 20 สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี 2556 เปนตนไป
317
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 33
สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนอนุมัติใหกลุมบริษัท/บริษัทไดรับสิทธิประโยชนหลายประการในฐานะผูไดรับการ สงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 การผลิตผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นตน ขั้นกลาง และขั้นปลาย กิจการผลิตสาธารณูปการ กิจการใหบริการทาเทียบเรือสําหรับขนถายสินคาเหลวและคลังเก็บสินคา เหลว กิจการบริการขนสงสินคาสําหรับเดินทะเล กิจการผลิตผลิตภัณฑเคมีจากปโตรเลียม กิจการวิจัยและพัฒนา เคมีภัณฑโพลีเมอรและสูตรเคมี กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร และกิจการโรงกลั่นน้ํามัน ซึ่งพอสรุป สาระสําคัญไดดังนี้ ก) ใหไดรับยกเวนอากรขาเขาและภาษีสําหรับเครื่องจักรที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ข) ใหไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมมี กําหนดเวลาแปดปและสามป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น โดยมีขอกําหนดเพิ่มเติม ใหไมเกินรอยละ 100 และรอยละ 70 ของเงินลงทุน ไมรวมคาที่ดินและทุนหมุนเวียน ค) ใหไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 50 สําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการ สงเสริมมีกําหนดเวลาหาป นับแตวันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชนตามขอ (ข) เนื่องจากเปนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทยอยจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอ กําหนดตามที่ระบุไวในบัตรสงเสริมการลงทุน
318
บริษบริัทษพีัททพีีทที โกลบอล ีที โกลบอล เคมิเคมิ คอลคอล จํากัจํดากั(มหาชน) ด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทษยัทอยยอย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นน หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแตันวทีัน่ 19ที่ 19 ตุลาคม ตุลาคม 2554 2554 (วัน(วัควบบริ นควบบริ ษัทษ) ัทถึง) ถึ31ง 31 ธันธัวาคม นวาคม 2554 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 รายได รายได ที่ไดทรี่ไับดการส รับการส งเสริงเสริ มการลงทุ มการลงทุ นและที นและที ่ไมไ่ไดมรไับดการส รับการส งเสริงเสริ มการลงทุ มการลงทุ นสรุนปสรุไดปดไดังนีด้ ังนี้ รายไดที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและที่ไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสรุปไดดังนี้ งบการเงิ งบการเงิ นรวม นรวม งบการเงินรวม สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีวัน่ ที่ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 19 ตุลาคม 2554 ถึง ถึ31ง ธั31นวาคม ธันวาคม 25542554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 กิจการที กิจการที ่ไดร่ไับดการ รับการ กิจการที กิจการที ่ไมไ่ไดมรไบั ดรบั กิจการที่ไดรับการ กิจการที่ไมไดรบั สงเสริ สงเสริ ม ม การส การส งเสริงเสริ ม ม สงเสริม การสงเสริม ขายต ขายต างประเทศ างประเทศ ขายตางประเทศ ขายในประเทศ ขายในประเทศ ขายในประเทศ รายได รายได จากการให จากการให บริกบารริการ รายไดจากการใหบริการ ตัดรายการระหว ตัดรายการระหว างกัานงกัน ตัดรายการระหวางกัน รวมรายได รวมรายได รวมรายได
20,997 20,997 20,997 50,070 50,070 50,070 129129 129 71,196 71,196 71,196
(ลา(ล นบาท) านบาท) (ลานบาท) 10,886 10,886 10,886 32,316 32,316 32,316 1,568 1,568 1,568 44,770 44,770 44,770
งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการ จการ งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรั สําบหรัระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแต้งวแต ันทีวัน่ ที่ สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุ19ลาคม ตุลาคม 25542554 19 ตุลาคม 2554 ธันวาคม 25542554 ถึง ถึ31ง ธั31นวาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 กิจการที กิจการที ่ไดร่ไับดการ รับการ กิจการที กิจการที ่ไมไ่ไดมรไบั ดรบั กิจการที่ไดรับการ กิจการที่ไมไดรบั สงเสริ สงเสริ ม ม การส การส งเสริงเสริ ม ม สงเสริม การสงเสริม ขายต ขายต างประเทศ างประเทศ ขายตางประเทศ ขายในประเทศ ขายในประเทศ ขายในประเทศ รายได รายได จากการให จากการให บริกบารริการ รายไดจากการใหบริการ รวมรายได รวมรายได รวมรายได
17,929 17,929 17,929 33,913 33,913 33,913 14 14 14 51,856 51,856 51,856
(ลา(ล นบาท) านบาท) (ลานบาท) 8,497 8,497 8,497 28,413 28,413 28,413 59 59 59 36,969 36,969 36,969
รวมรวม รวม 31,883 31,883 31,883 82,386 82,386 82,386 1,697 1,697 1,697 115,966 115,966 115,966 (11,136) (11,136) (11,136) 104,830 104,830 104,830
รวมรวม รวม 26,426 26,426 26,426 62,326 62,326 62,326 73 73 73 88,825 88,825 88,825
319
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 34
กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 คํานวณจากกําไรสําหรับ ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัทและจํานวนหุนสามัญ ที่ออกจําหนายแลวระหวางงวดโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก แสดงการคํานวณดังนี้
กําไรที่เปนสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จํานวนหุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 19 ตุลาคม ผลกระทบจากหุนที่ออกจําหนายระหวางงวด จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน) กําไรตอหุน (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท/ลานหุน) 2,113.44 606.66 4,505.98 0.11 4,506.09
4,505.98 0.11 4,506.09
0.47
0.13
320
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 กําไรตอหุนปรับลด กําไรตอหุนปรับลดสําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 คํานวณจากกําไรสําหรับ ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัทและจํานวนหุนสามัญ ที่ออกจําหนายแลวระหวางงวดโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก แสดงการคํานวณหลังจากที่ไดปรับปรุงผลกระทบของ หุนปรับลด ดังนี้
กําไรที่เปนสวนของผูถือหุนของบริษัท (ปรับลด) จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถวั เฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการออกสิทธิที่จะเลือกซื้อหุน จํานวนหุนสามัญโดยวิธีถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนัก (ปรับลด) กําไรตอหุน (ปรับลด) (บาท) 35
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท/ลานหุน) 2,113.44
606.66
4,506.09 0.89
4,506.09 0.89
4,506.98 0.47
4,506.98 0.13
เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ และจากการไมปฏิบัติตามขอกําหนดตามสัญญาของคูสัญญา กลุมบริษัท/บริษัทไมมีการถือหรือ ออกเครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกําไรหรือการคา การจัดการความเสี่ยงเปนสวนที่สําคัญของธุรกิจของกลุมบริษัท/บริษัท กลุมบริษัท/บริษัทมีระบบในการบริหาร จัดการความเสี่ยงอยางตอเนื่อง เพื่อการควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได
321
บริษัทบริพีษทัทีทพีี โกลบอล ทีที โกลบอล เคมิคเคมิ อล คจํอล ากัดจํ(มหาชน) ากัด (มหาชน) และบริ และบริ ษัทยอษยัทยอย บริ ษัทประกอบงบการเงิ พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิ หมายเหตุ หมายเหตุ น คอล น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ษัทบพีระยะเวลาตั ทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล จํตุาลกั2554 ด (มหาชน) หมายเหตุ น่ ล19าคม สําหรับริ สํบาระยะเวลาตั หรั ้งแตว้งันแตทีเคมิ ่ ว19ันคทีตุอล าคม 2554 (วันควบบริ (วัและบริ นควบบริ ษัทษ)ัทถึษยงัทอ31 )ยถึงธัน31วาคม ธันวาคม 25542554 ประกอบงบการเงิ สํหมายเหตุ าหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สํการบริ าหรับการบริ ระยะเวลาตั หารจัหดารจั การทุด้งการทุ นแตวันนที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
การบริหารจัดการทุน การบริ หารจัดการทุน ษัท คืษอัทการรั นโยบายของคณะกรรมการบริ นโยบายของคณะกรรมการบริ คือกการรั ษาระดั กษาระดั บเงินบทุเงินให นทุเนหมาะสมเพื ใหเหมาะสมเพื ่อสรา่องความเชื สรางความเชื ่อมั่นแก ่อมัน่นักแก ลงทุ นักนลงทุ เจานหนีเจ้ าหนี้ นโยบายของคณะกรรมการบริ คือการรั เงินทุนใหเหมาะสมเพื่อนสรและระดั านงความเชื ่อมับ่นการจ ลงทุ นปนเจ่ ผลที าหนี่้ คูคาและผู คูคาและผู มีสวนได มีสวเนได สียทุเกสีฝยาทุยกรวมถึ ฝายษัทรวมถึ งการกํ งการกํ ากักบษาระดั ดูาแกัลผลตอบแทนจากการลงทุ บดูบแลผลตอบแทนจากการลงทุ และระดั บการจ าแก ยเงินนักาปยเงิ นนผลที นโยบายของคณะกรรมการบริ กษาระดั เงินทุนใหเหมาะสมเพื่อสรานงความเชื ่อมับ่นการจ แกนักายเงิ ลงทุนนปนเจผลที าหนี้่ คูคาและผู มธีส่อุรวให ากับดูบแลผลตอบแทนจากการลงทุ และระดั เหมาะสม เหมาะสม เพื่อใหเพื กินได จธเติุรบกิเสีโตอย จยเติทุบกโตอย าฝงยัายษ่งยืัทารวมถึ นงยัคื่งอยืการรั นงการกํ คูคาและผูเพื มีส่อวใหนได ฝาย ารวมถึ เหมาะสม ธุรกิเสีจยเติทุบกโตอย งยั่งยืนงการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน และระดับการจายเงินปนผลที่ เหมาะสม ่อนอั ใหตธราดอกเบี ุรกิจ้ยเติบโตอย ความเสี ความเสี ่ยงดา่ยนอังดเพืตาราดอกเบี ้ย างยั่งยืน
ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี งด นอั ้ย้ย หมายถึ ความเสี ความเสี ่ยงดา่ย่ยนอั งดตาาราดอกเบี นอัตตราดอกเบี ราดอกเบี ้ย หมายถึ ง ความเสี ง ความเสี ่ยงที่เกิ่ยดงทีจากความผั ่เกิดจากความผั นผวนของอั นผวนของอั ตราดอกเบี ตราดอกเบี ้ยในตลาดในอนาคต ้ยในตลาดในอนาคต ซึ่ง ซึ่ง ความเสี ่ยงด านอัอการดํ ้ย หมายถึง นความเสี ่ยงทีม่เกิบริ ดจากความผั ราดอกเบี สงผลกระทบต สงผลกระทบต อการดํ าตเนิราดอกเบี นงานและกระแสเงิ าเนินงานและกระแสเงิ สดของกลุ นสดของกลุ ษมัทบริ/บริษัทษ/บริ ัท นเนืษผวนของอั ่อัทงจากกลุ เนื่องจากกลุ มตบริ ษมัทบริ/บริษ้ยัทษในตลาดในอนาคต /บริ ัทตอษงชํ ัทตาอระอั งชําตระอั รา ตซึรา่ง ตเพืราดอกเบี ่ยงที ่เกิด่แจากความผั นกลุ ราดอกเบี สดอกเบี ง้ยผลกระทบต การดํ นงานและกระแสเงิ สดของกลุ มบริวษกลุ ัท/บริ ษผวนของอั เนื/บริ ่อษงจากกลุ บริ ตการความ องชํ าระอัตซึรา่ง ดอกเบีความเสี เงินกู้ย่ยเงิยงด ืมนเพืกูานอั ย่ออืมใช ใ่อนการดํ ใชาเนิในการดํ า้ยเนิหมายถึ นางานทั เนินงงานทั ้งความเสี แบบคงที ้งนแบบคงที ่และลอยตั ละลอยตั มว บริ ษัทมัทบริ ัทษ/บริ ัทตได ษมัทมีกได ารบริ มษ้ียกัทในตลาดในอนาคต ารบริ ห/บริ ารจัษหัทดารจั ดการความ นวามเหมาะสมต สดของกลุ มนจบริ ษัทมบริ เนื่อษงจากกลุ บริมษีกัทารบริ /บริษหัทารจั ตองชํ าระอัตรา ดอกเบี ้ยกล เงิ่อนาให กูยแอืม่อนการดํ เพื ่อแใช าเนินงานทั ้งนแบบคงที ่รแกิละลอยตั ว กลุ ัท/บริษัทมได ดการความ เสี่ยงดัสเสี งงกล ่ยผลกระทบต งดัางวเพื วเพื ให ใจว นามีเนิ ใใจว คนการดํ างานและกระแสเงิ มีความเหมาะสมต อการดํ อการดํ าเนินธุาเนิ ธุรกิษจัท/บริ ดอกเบี เงินาวเพื กูยืม่อเพื นการดํ าเนินงานทั้งแบบคงที ่และลอยตั เสี่ยงดัง้ยกล ให่อแใช นใใจว ามีความเหมาะสมต อการดําเนิ นธุรกิจ ว กลุมบริษัท/บริษัทไดมีการบริหารจัดการความ งดัง้ยกล ในจวใหามีกนคูยให วามเหมาะสมต นธุร2554 กิและระยะที จ และระยะที อัตราดอกเบี อัเสีต่ยราดอกเบี ที่แาวเพื ท้ยจทีริ่อแงให ทของเงิ จแรินงของเงิ ืม ณ กูยวัืมนณที่ วั31นทีธัอ่ 31 นการดํ วาคม ธันาเนิ วาคม 2554 ่ครบกํ่คารบกํ หนดชํ าหนดชํ าระหรืาระหรื อกําหนดอั อกําหนดอั ตรา ตรา อัีดตังราดอกเบี ใหมมใหม นีม้ ีดังนี้ ้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และระยะที่ครบกําหนดชําระหรือกําหนดอัตรา อัตราดอกเบี ใหม มีดังนี้ ้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และระยะที่ครบกําหนดชําระหรือกําหนดอัตรา งบการเงิ งบการเงิ นเฉพาะกิ นเฉพาะกิ จการจการ ใหมมีดังนี้ เฉพาะกิ อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ย ้ยภายในภายใน 1 ป 1 ปหลังจาก หลัง1จาก ปงบการเงิ 1 ปหลังนจาก หลั ง5จาก ป จ5การ ป รวม รวม เฉพาะกิ หลัภงายใน 15ปป นหลั งจาก จ5การ ป รวม ที่แอัทตจทีราดอกเบี ริ่แงทจริง ้ย ภายใน 1 ปแตภายใน แต 5จาก ปงบการเงิ อั(รตอทีราดอกเบี หลัภ(ลงายใน จาก รวม ่แอทปจ) ริองป้ย) ภายใน 1 ป แต ป หลังจาก 5 ป (รอยละต ยละต านบาท) (ล15าปนบาท) ่แทจริองป) แตภายใน(ล5านบาท) ป (รอทียละต 31 ธัน31วาคม ธันวาคม 2554 2554 (ลานบาท) (รอยละตอป) 31 หมุนเวี หมุยธันนเวีวาคม ยน 2554 31 วาคม นกูยบืมุค2554 เงินหมุ ใหเงิธันกนนูยเวีให ืมยแก แก คลหรื บุคคลหรื อกิจการที อกิจการที ่ ่ ตนทุนตถันวทุนถัว หมุ นกวขูยนืมอแก นเวีเกี ให เกีเงิ่ยนวข อย่ยงกั งกับนุคคลหรือกิจการที่ เฉลี่ยเงิเฉลี นตนกู่ยยทุเงิืมนถักูวยืม 10,49010,490 - - - 10,49010,490 ให ตน่ยทุเงินถักูวยืม งกับนุคคลหรือกิจการที่ เฉลี 10,490 10,490 ไมหมุไมนเงิเวี หนมุยเกี น่ยเวีกวข ยูยนืมอแก งกั 10,490 10,490 นืม่ยเวี ยูยบนืมอุคแก เงินไม ใหเงิหกนมุูยเกี ให แก กวข คลหรื บนุคคลหรื อกิจการที อกิจการที ่ ่ ตนทุเฉลี นตถัน่ยวทุเงินนถักูวยืม ไม นอ่ยเวีงกั ยู นนืมอแก นมุเกี ให กวข เกีเงิ่ยหวข งกับนุคคลหรือกิจการที่ เฉลี่ยเงิเฉลี นตนกู่ยยทุเงิืมนถักูวยืม - - 15,49615,496 1,3901,390 16,88616,886 เงินเกี ให่ยกวขูยืมอแก ตน่ยทุเงินถักูวยืม 10,49010,490- 15,49615,496 งกับนุคคลหรือกิจการที่ เฉลี 15,496 รวม รวม 1,3901,390 1,390 27,37616,886 27,376 เฉลี่ยเงินกูยืม 1,390 รวม เกี่ยวของกัน 10,49015,496 1,390 16,886 27,376 รวม 15,496 ่ครบกํ่คารบกํ 1,390 อัตราดอกเบี อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ยจทีริ่แงทของหนี จริงของหนี ้สินทางการเงิ ้สินทางการเงิ นที่มีภนาระดอกเบี ที่มีภาระดอกเบี ้ย 31 ธั้ยน31วาคม ธั10,490 นวาคม 2554 2554 และระยะเวลาที และระยะเวลาที หนดชํ าหนดชํ าระ าระ27,376 อัาตหนดอั ราดอกเบี ้ยทีตราใหม ่แทไดจเริปงดไของหนี นที่ม17ีภาระดอกเบี ้ย 31 ธันวาคม 2554 และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระ หรือกํหรื อกําหนดอั ตราใหม ดเผยไว เปดเผยไว แ้สลินวทางการเงิ ในหมายเหตุ แลวในหมายเหตุ 17 อัตราดอกเบี ่แทจริงไของหนี ้สินทางการเงิ นที่มีภาระดอกเบี ้ย 31 ธันวาคม 2554 และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระ หรื อกําหนดอั้ยทีตราใหม ดเปดเผยไว แลวในหมายเหตุ 17 หรือกําหนดอัตราใหมไดเปดเผยไวแลวในหมายเหตุ 17 121 121
322
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ กลุมบริษัท/บริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินคาและการขายสินคาที่ เปนเงินตราตางประเทศ รวมทั้งเงินกูยืมที่เปนสกุลตางประเทศ กลุมบริษัท/บริษัทไดปองกันความเสี่ยงจากความผัน ผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินโดยการทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ในรายงานเปนรายการที่เกี่ยวของกับรายการซื้อและขายสินคา ที่เปนเงินตราตางประเทศในงวดถัดไป นอกจากการทําสัญญาซื้อและขายเงินตราตางประเทศลวงหนาแลว กลุมบริษัทไดใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อ ปองกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนไดแก การทําสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน และอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมบริษัทและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอันเปนผลมา จากการมีสินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศดังนี้ หมายเหตุ สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 6 ลูกหนี้การคา 7 เงินจายลวงหนา หนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย 17 เจาหนี้การคา 18 เจาหนี้เงินประกันผลงาน เจาหนี้คากอสราง เจาหนี้อื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ลานบาท) 446 5,789 5 (22,331) (5,543) (22) (508) (1,769) (23,933) 7,768 3,406 (12,759)
112 3,436 5 (20,922) (5,429) (21) (508) (1,279) (24,606) 5,111 (19,495)
323
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
สกุลเงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เงินจายลวงหนา เจาหนี้การคา เจาหนี้เงินประกันผลงาน เจาหนี้คากอสราง เจาหนี้อื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
หมายเหตุ 6 7 18
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ลานบาท) 341 644 128 (331) (3) (185) (41) 553 553
128 (3) (185) (33) (93) (93)
324
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สกุลเงินเหรียญสิงคโปร สกุ เงินเหรียญสิงคโปร เงินลสดและรายการเที ยบเทาเงินสด เงิเงินนสดและรายการเที ยบเทาเงินสด ลงทุนอื่น เงิยอดบั นลงทุญนชีใอืนงบแสดงฐานะการเงิ ่น นที่มีความเสีย่ ง ยอดบั ญชีในงบแสดงฐานะการเงิ นที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี ่ยนเงินตราตางประเทศ สัสัญ ญาแลกเปลี นตราต างประเทศ ญญาซื ้อขายเงิ่ยนนเงิ ตราต างประเทศ สัยอดความเสี ญญาซื้อขายเงิ นตราตอาสุงประเทศ ่ยงคงเหลื ทธิ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ สกุลเงินเยน สกุ เงินเยน เงินลสดและรายการเที ยบเทาเงินสด เงิลูกนหนี สดและรายการเที ยบเทาเงินสด ้การคา ลูหนี กหนี ารคา นที่มีภาระดอกเบี้ย ้สิน้กทางการเงิ หนี ้สิน้กทางการเงิ เจาหนี ารคา นที่มีภาระดอกเบี้ย เจ า นผลงาน เจาาหนี หนี้ก้เงิารค นประกั เจ เจาาหนี หนี้เ้คงิานกประกั อสรานง ผลงาน เจาาหนี หนี้อ้คื่นากอสราง เจ เจ าหนีญ้อื่นชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง ยอดบั ยอดบั ญชีในงบแสดงฐานะการเงิ นที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี ่ยนเงินตราตางประเทศ สัสัญ ญาแลกเปลี นตราต างประเทศ ญญาซื ้อขายเงิ่ยนนเงิ ตราต างประเทศ สัยอดความเสี ญญาซื้อขายเงิ นตราตอาสุงประเทศ ่ยงคงเหลื ทธิ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
หมายเหตุ หมายเหตุ 6 116 11
6 67 177 17 18 18
งบการเงินรวม งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ลานบาท) 7 (ลานบาท) 2907 290 297 297-297297
290290 290 290-290290
37 37 138 138 (82) (82) (32) (32) (9) (9) (38) (38) (73) (73) (59) (59)-(59)(59)
---(9)(9) (38) (38) (67) (67) (114) (114)-(114)(114)
325
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
หมายเหตุ
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
สกุลเงินริงกิตมาเลเซีย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา หนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ อื่นๆ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เงินลงทุนอื่น หนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา เจาหนี้คากอสราง เจาหนี้อื่น ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินที่มีความเสีย่ ง สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ
6 7 17 18
276 106 (1,369) (506) (1,493) (1,493)
-
6 7 11 17 18
43 32 36 (34) (25) (38) (8) 6 (27) (21)
1 (37) (1) (37) (37)
326
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริ ษัท พีทปีทระกอบงบการเงิ ี โกลบอล เคมิคอล หมายเหตุ น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สําหรับระยะเวลาตั ้งแตวันทีน่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลง ความเสี ่ยงทางด านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชําระหนี้แกกลุมบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลง ไวเมื่อครบกํ าหนด ไวเมื่อครบกําหนด ฝายบริหารไดกําหนดนโยบายการบริหารสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางดานสินเชื่อดังกลาวอยางสม่ําเสมอ โดย ฝการวิ ายบริเคราะห หารไดฐกานะทางการเงิ ําหนดนโยบายการบริ เชื่อเพื ่อควบคุ ่ยงทางด นเชืวัน่อดัทีง่ใกล าวอยางสม่พําบว เสมอ นของลูกหคารสิ าทุกนรายที ่ขอวงเงิ นสิมนความเสี เชื่อในระดั บหนึา่งนสิ ๆณ นรายงานไม ามีคโดย วาม การวิ เคราะห ฐานะทางการเงิ คาทุกรายที นสิานนสิ เชื่อนในระดั บหนึ่งๆในราคาตามบั ณ วันที่ในรายงานไม เสี่ยงจากสิ นเชื ่อที่เปนสาระสํนของลู าคัญ กความเสี ่ยงสู่ขงอวงเงิ สุดทางด เชื่อแสดงไว ญชีของสิพนบว ทรัาพมีคยทวาม าง เสี่ยงจากสิ เชื่อที่เปนณสาระสํ คัญ ความเสี งสูงสุตดามทางด นสินเชืกค่อาแสดงไว นทรัพยทาง การเงิ นแตลนะรายการ วันที่ใานรายงาน อยา่ยงไรก็ เนื่อางจากลู สวนใหญในราคาตามบั มีสัญญาผูกพัญนชีกัขนองสิ ในระยะยาวและ การเงิ แตลนะรายการ วันที่ใษนรายงาน ตามาเนื ่องจากลู วนใหญกมารมาโดยสม่ ีสัญญาผูกพันําเสมอ กันในระยะยาวและ บางสนวนเป ผูถือหุนณ ของบริ ัท บริษัทจึอย งไดางไรก็ รับการชํ ระเงิ นคาสิกนคคาาสและบริ สําหรับลูกคา บางสวนเปนผูถือ่ไหุมนมของบริ ษัทจึงไดรกลุ ับการชํ สินคนาความเสี และบริก่ยารมาโดยสม่ ําเสมอ สําอหรั ภายในประเทศที ีสัญญาผูษกัทพับริ นระยะยาว มบริษาัระเงิ ท ก็ไนดคปาระเมิ งโดยสม่ําเสมอและเลื กทํบาลูธุรกกิคจา ภายในประเทศที ีสัญญาผู มบริษัท ก็ไดากัปดระเมิ งโดยสม่ ําเสมอและเลื าธุรกิจ เฉพาะกับบริษัทที่ไ่มมีคมวามน าเชื่อกถืพัอนเทระยะยาว านั้น ทั้งนีกลุ ้ โดยพยายามจํ วงเงินนความเสี ความเสี่ย่ยงให อยูในขอบเขตที ่จําอกักทํ ดและอาจ เฉพาะกั บบริ ษัททีน่มีคในบางกรณี วามนาเชื่อถืสํอาเทหรัานับ้นการส ทั้งนีง้ ออก โดยพยายามจํ ากัดวงเงินความเสี งใหอคยูาใและอาจเลื นขอบเขตที ่จําธกัีกดารตกลง และอาจ ใหวางหลั กประกั จะพิจารณาความน าเชื่อถือ่ยของคู อกวิ ให วางหลั นในบางกรณี สําาหรั บการส จารณาความน คาหและอาจเลื กวิธาีกจะเกิ ารตกลง ชําระเงิ นเปกนประกั รายกรณี และมีการทํ ประกั นภัยงสิออก นเชืจะพิ ่อทางการค ารวมดวายเชืดั่องถืนัอ้นของคู ฝายบริ ารไมไดคอาดว ดผล ชํายระเงิ นเป รายกรณี และมีการทํ าประกั เสี หายที ่มีสนาระสํ าคัญจากการเก็ บหนี ้ไมไนดภัยสินเชื่อทางการคารวมดวย ดังนั้น ฝายบริหารไมไดคาดวาจะเกิดผล เสียหายที่มีสาระสําคัญจากการเก็บหนี้ไมได ความเสี่ยงจากสภาพคลอง ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมบริษัท/บริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการ กลุยมบเท บริษาเงิัทน/บริ ษัทมีเพีกยารควบคุ มความเสี งจากการขาดสภาพคล บของเงินสดและรายการ เที สดให งพอตอการดํ าเนิน่ยงานของกลุ มบริษัท/บริอษงโดยการรั ัท เพื่อทําใหกผษาระดั ลกระทบจากความผั นผวนของ เที ยบเทานเงิสดลดลง นสดใหเพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมบริษัท/บริษัท เพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของ กระแสเงิ กระแสเงินสดลดลง การกําหนดมูลคายุติธรรม การกําหนดมูลคายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปดเผยของกลุมบริษัท/บริษัทกําหนดใหมีการวัดมูลคายุติธรรมทั้งสินทรัพยและหนี้สิน นโยบายการบั ญชีแใละการเป ดเผยของกลุ ัท/บริหมายถึ ษัทกํางหนดให มีกนารวั คายุตขิธายตกลงแลกเปลี รรมทั้งสินทรัพย่ยแนสิ ละหนี ทางการเงินและไม ชทางการเงิ น มูลคามยุบริ ติธษรรม จํานวนเงิ ที่ผดูซมูื้อลและผู นทรั้สพินย ทางการเงิ นและไม ทางการเงิ่ทนั้งสองฝ มูลาคยมี ายุคตวามรอบรู ิธรรม หมายถึ ง จํมาใจในการแลกเปลี นวนเงินที่ผูซื้อและผู ่ยนสิ นทรัพย หรือชําระหนี ้สินกันใชในขณะที และเต็ ่ยนกัขนายตกลงแลกเปลี และสามารถต อรองราคา หรื ในขณะที ่ทั้งสองฝทาี่ไยมี ่ยนกันดมูลและสามารถต อรองราคา กันอไดชํอาระหนี ยางเป้สนินอิสกันระในลั กษณะของผู มมคีความรอบรู วามเกี่ยวขและเต็ องกันมใจในการแลกเปลี วัตถุประสงคของการวั คาและ/หรือการเป ดเผย กัมูนลคไดายุอตยิธางเป นอิกสกํระในลั กษณะของผู ที่ไ้ มขมอีคมูวามเกี องกั น บวัสมมติ ตถุประสงค ของการวั ดมูลคลาคและ/หรื อการเป เผย รรมถู าหนดโดยวิ ธีตอไปนี ลเพิ่ม่ยเติวขมเกี ่ยวกั ฐานในการกํ าหนดมู ายุติธรรมถู กเปดดเผย มูลคายุติธรรมถู ธีตพอยไปนี ้ ขอ้สมูินลนัเพิ้นๆ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลคายุติธรรมถูกเปดเผย ในหมายเหตุ ที่เกีก่ยกํวขาหนดโดยวิ องกับสินทรั และหนี ในหมายเหตุที่เกี่ยวของกับสินทรัพยและหนี้สินนั้นๆ มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี มูลคายุติธรรมของลูกหนี้การคาและลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เปนมูลคาที่ใกลเคียงกับราคาที่บันทึกในบัญชี
327
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพยที่เปนตราสารทุนที่จะถือไวจนครบกําหนด พิจารณาโดยอางอิงกับราคา เสนอซื้อ ณ วันที่ในรายงาน มูลคายุติธรรมของเงินลงทุนที่จะถือไวจนครบกําหนดถูกพิจารณาเพื่อความมุงหมาย ในการเปดเผยในงบการเงินเทานั้น มูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอางอิงของนายหนา ณ วันที่ในรายงาน ราคาอางอิง เหลานั้นสามารถทดสอบหาความสมเหตุสมผลได ดวยการคิดลดประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ภายใต ขอกําหนดตางๆ และวันสิ้นสุดของแตละสัญญา และโดยการใชอัตราดอกเบี้ยในทองตลาดของเครื่องมือทาง การเงินที่คลายคลึงกัน ณ วันที่วัดมูลคา มูลคายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาถือตามอัตราแลกเปลี่ยนของสัญญาซื้อขายลวงหนา สําหรับระยะเวลาคงเหลือของสัญญาเทียบกับอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่วัดมูลคา มูลคายุติธรรมของหนี้สินทางการเงินที่ไมใชตราสารอนุพันธุ ซึ่งพิจารณาเพื่อความมุงหมายในการเปดเผยในงบ การเงิน คํานวณจากมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตของเงินตนและดอกเบี้ย ซึ่งคิดลดโดยใชอัตรา ดอกเบี้ยในทองตลาด ณ วันที่รายงาน มูลคายุติธรรมของหุนกูพรอมทั้งมูลคาตามบัญชีตามที่ปรากฏ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลคา มูลคาตาม มูลคา มูลคาตาม ยุติธรรม บัญชี ยุติธรรม บัญชี (ลานบาท) 31 ธันวาคม 2554 หมุนเวียน หุนกู ไมหมุนเวียน หุนกู รวม
9,718
9,699
9,718
9,699
44,513 54,231
43,278 52,977
44,513 54,231
43,278 52,977
328
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 36
ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไมเกีย่ วของกัน งบการเงินรวม ภาระผูกพันรายจายฝายทุน สัญญาที่ยังไมไดรับรู ที่ดิน โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ อาคาร อื่นๆ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)
16 1,869 22 12 1,919
16 547 3 2 568
ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงานที่ ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป หลังจากหาป รวม
198 352 408 958
38 62 45 145
ภาระผูกพันอื่นๆ เลตเตอรออฟเครดิตที่ยังไมไดใช หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร สัญญาซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาอื่นๆ รวม
47 7,823 3,433 8,194 1,819 21,316
47 6,639 5,111 39 11,836
329
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 37 คดีฟองรอง 1) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลปกครองกลางมีคําสั่งในคดีคํารองที่ 586/2552 (คดีมาบตาพุด) ใหหนวยงานของ รัฐซึ่งเปนผูถ ูกฟองคดีสงั่ ระงับโครงการหรือกิจกรรมรวม 76 โครงการตามเอกสารหมายเลข 7 ทายคําฟอง ที่ ปฏิบัติยังไมตรงตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 67 วรรคสอง ตอมาในวันที่ 2 ธันวาคม 2552 ศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งในคดีคํารองที่ 592/2552 ยืนตามคําสั่งศาลปกครองกลาง ยกเวนโครงการจํานวน 11 โครงการ ซึง่ มีโครงการของบริษัทและบริษทั ในกลุมรวมทั้งสิ้น 8 โครงการ และเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2553 ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งในคดีหมายเลขดําที่ 908/ 2552 ใหโครงการตางๆ ที่ถูกสั่งระงับโครงการชั่วคราวจํานวน 65 โครงการ ไปประสานงานกับหนวยงานราชการที่เกี่ยวของเพื่อ พิจารณาวาโครงการมีเงื่อนไขตามขอยกเวนตามคําสั่งศาลหรือไม เพื่อการดําเนินการโครงการตอไป ในระหวางป 2553 บริษัทและบริษัทในกลุมไดดําเนินการประสานงานกับหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เพื่อทํา ความเขาใจในรายละเอียดของโครงการที่เขาขายตองระงับการดําเนินกิจกรรมเปนการชั่วคราวตามคําสั่งศาล และโครงการที่สามารถดําเนินการตอไปไดเนื่องจากเขาขายขอยกเวนตามคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของศาล และ ตอมาเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษาในคดีหมายเลขดําที่ 908/ 2552 ทําให โครงการของบริษัทและบริษัทในกลุมรวมจํานวน 7 โครงการไมถือเปนโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรงตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 และไดรับอนุญาตใหดําเนินการตอไปได อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทยังมีโครงการที่เหลืออยูอีกจํานวน 1 โครงการ ซึ่ง โครงการดั งกล าวไดดํ าเนิ นการตามมาตรา 67 ของกฎหมายรั ฐธรรมนูญเสร็ จ เรียบรอ ย แลว ขณะนี้โครงการดังกลาวอยูระหวางการขออนุญาตดําเนินการจากหนวยราชการที่เกี่ยวของ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินลงทุนสําหรับโครงการที่เหลืออยูจํานวน 1 โครงการไดจายเงินไปแลวเปนจํานวนเงิน 1,627 ลานบาท 2) เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2552 บริษัทแหงหนึ่งไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เพื่อเรียกรองใหปตท. และ บริษัทในฐานะผูผลิตใหปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายวัตถุดิบที่บริษัทดังกลาวมีอยูกับ ปตท. หรือรวมกันชดใช คาเสียหายเปนเงินประมาณ 13,805 ลานบาท อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 อนุญาโตตุลาการไดมีคําสั่งให จําหนายขอพิพาทในสวนของบริษัทออกจากสารบบความแลว เนื่องจากบริษัทมิไดเปนคูสัญญาโดยตรงกับบริษัท ดังกลาว ตอมา เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2553 บริษัทดังกลาวไดยื่นฟองคดีแพงเพื่อเรียกรองใหปตท. และบริษัทในฐานะ ผูผลิตใหปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายวัตถุดิบที่บริษัทดังกลาวมีกับปตท.หรือรวมกันชดใชคาเสียหายเปนเงิน จํานวน 9,380 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทไดยื่นคําใหการคัดคานคําฟองดังกลาวตอศาลแพง เนื่องจากบริษัทมิไดเปน
330
และโครงการที่สามารถดําเนินการตอไปไดเนื่องจากเขาขายขอยกเวนตามคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของศาล และ ตอมาเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษาในคดีหมายเลขดําที่ 908/ 2552 ทําให โครงการของบริษัทและบริษัทในกลุมรวมจํานวน 7 โครงการไมถือเปนโครงการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรงตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 และไดรับอนุญาตใหดําเนินการตอไปได อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทยังมีโครงการที่เหลืออยูอีกจํานวน 1 โครงการดั าวไดดํ าเนิและบริ นการตามมาตรา บริษัท พีทโครงการ ีที โกลบอลซึ่งเคมิ คอล จํากังดกล(มหาชน) ษัทยอย 67 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญเสร็จเรียบรอ ย ว ขณะนี้โครงการดั หมายเหตุปแลระกอบงบการเงิ น งกลาวอยูระหวางการขออนุญาตดําเนินการจากหนวยราชการที่เกี่ยวของ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินลงทุนสําหรับโครงการที่เหลืออยูจํานวน 1 โครงการไดจายเงินไปแลวเปนจํานวนเงิน 1,627 สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 ลานบาท มิถ่อุนวัายน เพื่อฟ2552 งผลการพิ ารณาคดี ษัทดัองพิกลพาาทต วและปตท. บริษลัทาการ เชื่อวเพืาผลการพิ ารณาของศาล 2) เมื นที่ 32555 ธันวาคม บริษัทจแห งหนึ่งรไดะหว ยื่นาคํงบริ าเสนอข ออนุญาโตตุ ่อเรียกรอจงให ปตท. และ จะไม กิดความเสีผยลิหายแก ดังนัญ้นญาซื บริษ้อัทขายวั จึงไมตไถุดดบิบันทีทึ่บกริคษาัทเผืดั่องผลเสี ยหายที ดขึ้นจากเรื าวไว บริ ษัทเในฐานะผู ตใหปฏิบบริัตษิตัทามสั กลาวมี อยูกับ่อาจเกิ ปตท. หรือร่อวงดัมกังกล นชดใช คในงบการเงิ าเสียหายเปนเงินประมาณ 13,805 ลานบาท อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 อนุญาโตตุลาการไดมีคําสั่งให จําหนายขอพิพาทในสวนของบริษัทออกจากสารบบความแลว เนื่องจากบริษัทมิไดเปนคูสัญญาโดยตรงกับบริษัท 38 เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ดังกลาว
บริษัท พีเมืท่อีทวัตนอี โกลบอล คอล าบริ กัดษ(มหาชน) ัทวได ยบอคยยาื่นหุฟนอรังคดี ที่ 31เมืมกราคม 2555 ัท2553 ไดจดทะเบี บชําแระจํ านวน บาทและบริ (แบงเปษนัทในฐานะ 531,053 มา ่อวันเคมิ ที่ 27 สิงจํหาคม บริษและบริ ัทดัยนสํ งกลาษาหรั พงเพื ่อเรีย5,310,530 กรองใหปตท. หมายเหตุ หุนปผูมูระกอบงบการเงิ หุนปละ กับ้อกระทรวงพาณิ ่ออกและเรี จากจํานนวน ผลลิคตาให ฏิบ10 ัติตนามสับาท) ญญาซื ขายวัตถุดิบที่บชริยษแัทลดัวงทํกลาให าวมีทุกนับทีปตท.หรื อรยวกชํ มกัานระแล ชดใชวเพิ คา่มเสีขึย้นหายเป เงิน นนี้ 4,506,112,936 หุนการคั น31 ละาฟธัอน10งดั 45,066,439,890 บาท สําหรับ45,061,129,360 ระยะเวลาตั ้งแตวบาท ่ (แบ 19 ตุงทัเป ล้งาคม ษมูลัทคด) าคถึหุางนคํ วาคม ลันาทีนบาท บริ2554 ษัทได(วัยนื่นควบบริ คําให งบาท) กลา2554 วตเปอนศาลแพ ง เนื่องจากบริ ษัท(แบ มิไดงเเปปน จํานวน 9,380 4,506,643,989 หุน มูลบคบริ าหุษนัทละดังกล 10 าวบาท) โดยได หุน้นละ บาท ซึ่งทํนัาดให วนเกิ นมูลนคทีา่หุ19น คูสัญญาโดยตรงกั ขณะนี ้คดีดอังอกในมู กลาวอยูลค ใานชั ศาล46.32 และศาลแพ พรมอีสมกั นในวั จํานวน มิถุน19,287,845 ายน 2555 เพืบาท ่อฟงผลการพิจารณาคดีระหวางบริษัทดังกลาวและปตท. บริษัทเชื่อวาผลการพิจารณาของศาล จะไมเกิดความเสียหายแกบริษัท ดังนั้นบริษัทจึงไม129 ไดบันทึกคาเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากเรื่องดังกลาวไว
38
เมื่อในงบการเงิ วันที่ 17 กุมนภาพันธ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติเห็นชอบใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่อ อนุมัติจายเงินปนผลสําหรับป 2554 ในอัตราหุนละ 1.30 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลจํานวนเงิน เหตุ การณภ5,858 ายหลังลรอบระยะเวลารายงาน ประมาณ านบาท ทั้งนี้การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 2 เมษายน 2555 เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2555 บริษัทไดจดทะเบียนสําหรับคาหุนรับชําระจํานวน 5,310,530 บาท (แบงเปน 531,053 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) กับกระทรวงพาณิชยแลว ทําใหทุนที่ออกและเรียกชําระแลวเพิ่มขึ้นจากจํานวน 45,061,129,360 บาท (แบงเปน 4,506,112,936 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) เปน 45,066,439,890 บาท (แบงเปน 4,506,643,989 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท) โดยไดออกในมูลคาหุนละ 46.32 บาท ซึ่งทําใหมีสวนเกินมูลคาหุน จํานวน 19,287,845 บาท เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติเห็นชอบใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่อ อนุมัติจายเงินปนผลสําหรับป 2554 ในอัตราหุนละ 1.30 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลจํานวนเงิน ประมาณ 5,858 ลานบาท ทั้งนี้การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 2 เมษายน 2555
331
บริษัทบริ บริ พีษทบริ ษัที ัทษี พีโกลบอล ัทพีททพีีทีทที โกลบอล ี ีทโกลบอล ี โกลบอล เคมิคอล เคมิ เคมิจํเคมิ คาคอล กัอล คดอล จํ(มหาชน) จําากัจํกัดาดกั(มหาชน) ด(มหาชน) (มหาชน) และบริและบริ และบริ ษัทและบริ ยอษยษัทัทษยยอัทอยยยอย ที โกลบอล เคมิหมายเหตุ คอล จํากัปดประกอบงบการเงิ (มหาชน) หมายเหตุ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ นและบริ นนษนัทยอย ประกอบงบการเงิ นสํหรั สําหรับสํสําระยะเวลาตั าหรั าบหรั บระยะเวลาตั ระยะเวลาตั บระยะเวลาตั ้งแตวัน้ง้งแต ทีแต ่้ง19 วแต วันันตุทีวทีลัน่ 19 าคม ่ ที19่ ตุ19ตุล2554 ลาคม ตุาคม ลาคม (วั 2554 2554 น2554 ควบบริ (วั(วัน(วั นควบบริ ควบบริ นษควบบริ ัท) ถึษงษัท31 ัทษ) )ัทถึธัถึง)นงถึ31 วาคม 31 ง ธั31ธันนธัวาคม 2554 วาคม นวาคม 2554 2554 2554 ยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554
39 39มาตรฐานการรายงานทางการเงิ 3939 มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ยังไม นนทีไทีน่ยด่ยังทีใังไม ช่ยไมังไไม ดไดใไชใดชใช รฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช กลุมบริกลุ กลุ ษมกลุ ัทมบริ /บริ บริ มษบริ ษัทัทษ/บริ /บริ ยััทง/บริ ไม ษษัทัทไษยัดยังัทใงไม ยัชไม งมไไม ไาตรฐานการรายงานทางการเงิ ดดใไใชดชมใมาตรฐานการรายงานทางการเงิ ชาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังตนอนไปนี ดัดันงงตดัตอ้ งณ อไปนี ตไปนี อวัไปนี น้ ทีณ้ ณ่ร้ วัายงาน ณวันนทีวัทีน่ร่รายงาน ทีายงาน เนื่รายงาน ่องจากยั เนืเนื่อเนื ่องจากยั งงจากยั ่อไมงจากยั มีกงงไม ารไม งมไม มีกีการ มาร ีการ งคับไดบัใชบัใงชงคับัมาตรฐานการรายงานทางการเงิ คัมบงบาตรฐานการรายงานทางการเงิ ใช คัใช บใช มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นนทีดั่องอกและปรั ทีน่อ่ออกและปรั ทีอกและปรั ่อ้ อกและปรั บ่รบปรุ ปรุ บดงปรุ งใหม ั ใหม ตงอใหม ดด่อังังงจากยั ตดตอ้กังอไปนี ํตาไปนี หนดให อไปนี ้กําํหนดให าม้กหนดให ือารปฎิถบถือัตือปฎิ ถิกปฎิ ือับปฎิ บงบการเงิ บัตัติกบิกับตับิงบการเงิ กงบการเงิ ับนงบการเงิ นน น มบริษัท/บริษัทยับังไม ตนนอทีไปนี ณบปรุ วันงทีใหม ายงาน เนืไปนี ง้กไม ีถกําหนดให สําหรับสํสํรอบระยะเวลาบั าหรั าสํหรั าบหรั บรอบระยะเวลาบั รอบระยะเวลาบั บรอบระยะเวลาบั ี่เริญ่มญชีในหรื ชีญทที่เชีริี่เทริ่มบ่มอีเในหรื ริในหรื หลั ่มในหรื วัอนอหลั หลั ทีอด่ งหลั 1ังวัมกราคมในป วัตนงนอทีวัทีไปนี น่ 1่ ที1มกราคมในป ่ มกราคมในป 1้กมกราคมในป ดังตอไปนี ดตอ้ ังอไปนี ตบไปนี อัตไปนี ้ บใช มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นญทีชี่อทอกและปรั ปรุ งใหม ําหนดให ถดดือังังตปฎิ ิก้ ับ้ งบการเงิ น รับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคมในปดังตอไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น นน น เรื่อง เรืเรื่อ่อเรืงง่อง ปที่มีผปลบั ปททปี่มงี่มคัีผทีผบลบั ี่มลบั ใช ีผงลบั งคัคับงบใช คัใช บใช มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง ปที่มีผลบังคับใช มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั ญชี ฉบัญญบชีทีชีญฉบั ่ ฉบั 20 ชี บฉบั บทีทีบ่ 20 ่ ที20่ 20 การบัญการบั การบั ชีสการบั ําญ หรั ญชีบชีญสสเงิําชีหรั ํานสหรั อุําบหรั ดบเงิหนุ เงิบนนเงิอุนอุดนจากรั ดหนุ อุหนุ ดหนุ นฐนจากรั บาล จากรั นจากรั ฐและการ ฐบาล บาล ฐบาล และการ และการ และการ 2556 2556 2556 2556 เปดนเผยข เปเปดอฐเป ดเผยข มูบาล เผยข ลดเกี เผยข อ่ยและการ อมูวกั มูลอลเกี บมูเกีความช ล่ย่ยเกี วกัวกั ่ยบวกั บความช วความช บยเหลื ความช วอวยเหลื จากรั ยเหลื วยเหลื อฐอจากรั บาล จากรั อจากรั ฐฐบาล บาล ฐบาล รฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุ จากรั 2556 มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั ญชี ฉบัญญบชีทีชีญฉบั ่ ฉบั 21 ชี บฉบั (ปรั บทีทีบ่ 21 ่ บที21ปรุ 21เผยข (ปรั ง(ปรั บ2552) บปรุ บมูงปรุ ง่ยผลกระทบจากการเปลี 2552) ผลกระทบจากการเปลี ผลกระทบจากการเปลี ผลกระทบจากการเปลี ่ยนแปลงของอั ่ย่ยนแปลงของอั นแปลงของอั ่ยนแปลงของอั ตราแลกเปลี ตตราแลกเปลี ราแลกเปลี ตราแลกเปลี ่ยน ่ย่ยนน่ยน2556 2556 2556 2556 เป ด่ (ปรั อปรุ ลง2552) เกี2552) วกับความช วยเหลือจากรั ฐบาล เงินตราต เงิเงินานเงิตราต งประเทศ ตราต นตตราต างประเทศ างประเทศ างประเทศ รฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอั ราแลกเปลี ่ยน 2556 เงินตราตางประเทศ มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ 20 ฉบัชีบับฉ-บทีบัเรืที่บ20 ่อที20ง่ -20 การบั -เรืเรื-่อ่อเรื งงญการบั ่อการบั ชีง สการบั ําญ หรั ญชีบชีญสสเงิําชีหรั ํานสหรั อุําบหรั ดบเงิหนุ เงิบนนเงิอุนอุดนจากรั ดหนุ อุหนุ ดหนุ นฐนจากรั บาลและการเป จากรั นจากรั ฐฐบาลและการเป บาลและการเป ฐบาลและการเป ดเผยขดอดเผยข มูเผยข ดลเผยข เกีอ่ยอมูวกั มูลอลเกี บมูเกีความ ล่ย่ยเกี วกัวกั ่ยบวกั บความ ความ บความ รฐานการบัญชีฉชบัวบยเหลื ที่ ช20ชวอวยเหลื -ชจากรั เรืวยเหลื ่อองฐอจากรั การบั ชีฐสบาล ําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความ ยเหลื บาล จากรั อจากรั ฐญฐบาล บาล เหลือจากรัฐบาล ผูบริหผูารเชื ผูบบริผูริหบ่อหารเชื วริารเชื หาการนํ ารเชื ่อ่อววา่อาการนํ มาตรฐานการบั วการนํ าการนํ ามาตรฐานการบั ามาตรฐานการบั ามาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ ฉ20 บัชีบัฉบบบัทีทีบ่ มาถื 20 ่ ที20่ 20 อปฏิ มาถื มาถื บมาถื อัตอปฏิ ิสปฏิ อําปฏิ หรั บบัตัตบิสิสรอบระยะเวลาบั ําัตํหรั าิสหรั ําบหรั บรอบระยะเวลาบั รอบระยะเวลาบั บรอบระยะเวลาบั ญชีที่เริญญ ่มชีตัชีญท้งที่เชีแต ริี่เทริ่ม่มีเวตัริันตั้ง่ม้งแต ทีตัแต ่ ้ง1วแต วันันทีวทีัน่ 1่ ที1 ่ 1 มกราคม มกราคม 2556 มกราคม 2556 จะไม 2556 จะไม ีผลกระทบที มลกระทบที ีผลกระทบที ่มมาถื ีสาระสํ ่มีสาีสาระสํ ่มคับาระสํ ีสญัตาระสํ งบการเงิ คัญาญบคัตตญอรอบระยะเวลาบั องบการเงิ ตงบการเงิ อนงบการเงิ ของกลุ นนของกลุ มของกลุ นบริ ของกลุ /บริ บริ ษ้ง/บริ ัทแต/บริ ษษวัทันทษทีัท่ 1 หารเชื่อวาการนํมกราคม ามาตรฐานการบั ญ2556 ชีมจะไม ฉีผจะไม บัลกระทบที บมทีมีผ่ 20 อ่มปฏิ ิตสอาํ คัาหรั ญษชีมัทมทบริ ี่เมริษบริ ่มษัทตััท/บริ าคม 2556 จะไม ม ีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตองบการเงินของกลุมบริษัท/บริษัท มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ 21 ฉบัชีบับฉบ–ทีบัที่บผลกระทบจากการเปลี 21 ่ ที21่ 21 ––ผลกระทบจากการเปลี ผลกระทบจากการเปลี – ผลกระทบจากการเปลี ย่ นแปลงของอั ย่ ย่ นแปลงของอั นแปลงของอั ย่ นแปลงของอั ตราแลกเปลี ตตราแลกเปลี ราแลกเปลี ตราแลกเปลี ย่ นเงินย่ ตราต ย่ นเงิ นเงิ ย่ นเงิ นานตราต งประเทศ ตราต นตราต างประเทศ างประเทศ างประเทศ รฐานการบัญชีฉบับที่ 21 – ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ การเปลีการเปลี การเปลี ่ยนแปลงหลั การเปลี ่ย่ยนแปลงหลั นแปลงหลั ่ยนแปลงหลั กการของมาตรฐานการบั กกการของมาตรฐานการบั การของมาตรฐานการบั กการของมาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ ฉ21 บัชีบับฉบบัทีเพืทีบ่ 21 ่อที21เสนอแนวคิ ่ 21เพืเพื่อเพื ่อเสนอแนวคิ เสนอแนวคิ ่อเสนอแนวคิ ดของสกุ ดดของสกุ ของสกุ ลดเงิของสกุ นตลาลเงิงๆที เงิลนนเงิต่ใตานชงๆที าตใงๆที นการรายงาน างๆที ่ใ่ใชชใ่ใในการรายงาน ชนการรายงาน ในการรายงาน เปนซึสกุ ซึ่ง่งเป ซึเป ล่งนเงิเป นสกุ นสกุ นทีลสกุ ่พลเงิิจเงิลนารณาว นเงิทีทีน่พ่พทีิญ จิจารณาว ่พชีาารณาว ิเป จฉารณาว าทีเป า่ เป ล21านเงิเป นสกุ นสกุ นในสภาวะแวดล ลสกุ เงิลนนเงิในสภาวะแวดล ในสภาวะแวดล นในสภาวะแวดล อมทางเศรษฐกิ อลอมทางเศรษฐกิ อนมทางเศรษฐกิ จที่ก่ใิจชการนั จใจทีนการรายงาน ที่กจ่กิจที้นิจการนั ่กการนั ประกอบกิ ิจการนั ้น้นประกอบกิ ประกอบกิ ้นประกอบกิ จการ จมาตรฐาน จการ การ จการ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน ปลี่ยนแปลงหลัซึก่งการของมาตรฐานการบั บันบสกุ เพื ่อลเงิเสนอแนวคิ ดของสกุ เงิมทางเศรษฐกิ ตางๆที ญการบั การบั ชีาเป ฉการบั บันญบญสกุ ชีทีชีญฉ่ ลฉ21 บัชีเงิบับฉนบบัทีกํทีในสภาวะแวดล บ่า21 ่หนดให ที21่ 21กํกําหนดให ากํหนดให กาหนดให ิจการกอกระบุ ิจมทางเศรษฐกิ ิจการ กการ ิจสการ กุระบุ ระบุ ลเงิระบุ สนสกุทีกุลสจ่ใลเงิกุชทีเงิลนร่กนายงานและแปลงค เงิทีิจทีการนั น่ใ่ใชทีชร่ใรายงานและแปลงค ชายงานและแปลงค ายงานและแปลงค ารายการที ารายการที า่เรายการที ปนสกุ่เป่ลเปนต่เนปสกุ าสกุ งประเทศให นลสกุ ลตตาลงประเทศให าตงประเทศให างประเทศให เปน เปเปนเนปน ปนสกุลเงินที่พิจการบั ารณาว ้นรประกอบกิ จการารายการที มาตรฐาน เงิสกุ นสกุทีลสกุ ่ใลเงิกชเงิลิจนในการ เงินการดํ ทีทีน่ใ่ใชทีระบุ ชใ่ใในการดํ ชนการดํ าใเนิ เนิ น่ใงาน นรงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค และรายงานผลกระทบจากการแปลงค และรายงานผลกระทบจากการแปลงค าาดัวตามมาตรฐานการบั ดังางกล ดักล งากล าวตามมาตรฐานการบั วตามมาตรฐานการบั าเวตามมาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ ฉบัชีบัฉบบบัทีทีบ่ ่ ที่ บัญชีฉบับที่ 21 สกุ กําลหนดให สนการดํ กุนลงาน เงิาาเนิ นเนิทีานและรายงานผลกระทบจากการแปลงค ชงาน ายงานและแปลงค ารายการที่เปนสกุาลดัตงากล งประเทศให ปน 21าเนิมาตรฐานการบั 21 21มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั มาตรฐานการบั ญชี ฉบัญญบชีชีญทีฉบั ่ ชีฉบั 21ฉบั บบทีทีบ่ 21 ่ ที21ได ่ 21ใหได คได ํ า นิใได ใหยาหามสํ คนิายํ าหรั ยาามสํ นิวตามมาตรฐานการบั ามสํ ยบามสํ าเงิาหรั หรั นาบหรั ตราต บเงิบเงินนเงิาตราต งประเทศ ตราต น ตราต าางประเทศ าชีงประเทศ อ ากล เงิาวคืวคื นาอตราสกุ วคื อเงิอเงินนเงิตราสกุ ตราสกุ ลนอืตราสกุ ่ น ลลอือื่ นล่ นอื่ น ลเงินที่ใชในการดํ น21งาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค ดัคใคหํงาํ านิกล ญงประเทศ ฉกลบับาวคื ทีกล ่ กล มาตรฐานการบันอกเหนื ญ ชี ฉบั ที่ 21ออจากสกุ ามสํ หรั บานเนิ นอกเหนื นอกเหนื อบนอกเหนื จากสกุ ลจากสกุ อเงิจากสกุ นได ทีล่ใลเงิใชเงิหในลนการดํ นคเงิทีทีํ าน่ในิ่ใชทีชยใ่ใในการดํ ชานการดํ เนิ ในการดํ นา งานของกิ าเนิ าเนิ นเงิงานของกิ งานของกิ นงานของกิ จตราต การ าจงประเทศ จการ การ จการ กล าวคื อ เงิ นตราสกุ ล อื่ น เหนือจากสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานของกิจการ ผูบริหผูารเชื ผูบบริผูริห่อบหวารเชื ริารเชื าหการนํ ารเชื ่อ่อววาา่อการนํ ามาตรฐานการบั วการนํ าการนํ ามาตรฐานการบั ามาตรฐานการบั ามาตรฐานการบั ญชีฉบัญบญชีทีชีญฉ่ ฉบัชีบับฉ21บบัทีทีบ่ ่ ทีมาถื 21 ่ 2121 อปฏิ มาถื มาถื บมาถื อัตอปฏิ ิสปฏิ อําหรั บปฏิ บัตบัติสบิสรอบระยะเวลาบั ําัตหรั ําิสหรั ําบหรั บรอบระยะเวลาบั รอบระยะเวลาบั บรอบระยะเวลาบั ญชีที่เริญ่มญชีตัชีญท้งที่เแต ชีริี่เทริ่มว่มีเตัริันตั้ง่มที้งแต ตัแต ่ ้งวแต วัน1ันทีวทีัน่ ่ ที1่ 1 1 มกราคม มกราคม 2556 มกราคม 2556 จะไม 2556 จะไม ลกระทบที มลกระทบที ีผลกระทบที ่มมาถื ีสาระสํ ่มีสาีสาระสํ ่มบคัาระสํ ีสญ คัางบการเงิ คัญาญ ตญอองบการเงิ ตงบการเงิ อนงบการเงิ ของกลุ นนของกลุ มของกลุ นบริ ของกลุ ม่ ษบริ /บริ ษ/บริ ัทว/บริ ษันษัททีัทษ่ ัท1 หารเชื่อวาการนํมกราคม ามาตรฐานการบั ญ2556 ชีฉมจะไม บัีผจะไม บลกระทบที ที่มมีผีผ21 อ่มปฏิ ัตาระสํ ิสตําอาหรั บคัตรอบระยะเวลาบั ญชีษมัทมบริ ี่เ/บริ ริบริ ตัษัท้งัทแต าคม 2556 จะไมมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตองบการเงินของกลุมบริษัท/บริษัท
332
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554 40
อื่นๆ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554 คณะกรรมการมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ลงทุนซื้อหุนในบริษัท Perstorp Holding France SAS (“Perstorp Holding France”) ผานบริษัทในเครือเพื่อเขาถือหุนเบื้องตนในอัตรารอยละ 51 ในวงเงิน ประมาณ 114.8 ลานยูโร (หรือประมาณ 4,830 ลานบาท) โดยบริษัท Perstorp Holding France เปนผูผลิตและเปน เจาของเทคโนโลยีในการผลิต Isocyanate ที่มีบทบาทสําคัญในยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะในกลุมของ Toluene Diisocyanate (TDI), Hexamethylene diisocyanate (HDI) และ Derivatives ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตพลาสติก Polyurethane (PU) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะในกลุมการใชงานจําพวกโฟมและสารเคลือบในอุตสาหกรรมยานยนตและ สิ่งกอสราง เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2554 บริษัท PTTGC international (USA) Inc. (“PTTGC USA”) ซึ่งบริษัทถือหุนอยูรอยละ 100 ผานทางบริษัท PTT Chemical International Private Limited ไดลงนามในสัญญารวมลงทุนในสัดสวนรอยละ 50 ของบริษัท NatureWorks LLC (“NatureWorks”) ดวยเงินลงทุนจํานวน 150 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเปน 4,572 ลานบาท โดยบริษัท NatureWorks เปนผูผลิตรายใหญในการดําเนินธุรกิจผลิตไบโอพลาสติกประเภท PLA (Poly Lactic Acid) ในเชิงพาณิชย ซึ่ง PLA เปนผลิตภัณฑที่สามารถยอยสลายเองไดตามธรรมชาติและลดการปลอย คารบอนไดออกไซดที่เปนสาเหตุที่กอใหเกิดกาซเรือนกระจก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งสองโครงการอยูระหวางการดําเนินการตามเงื่อนไขบังคับที่ระบุในสัญญา และการขอ อนุมัติตามกระบวนการทางกฎหมายจากหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ ทั้งนี้บริษัทฯ คาดวาจะสามารถดําเนินการ ตามเงื่อนไขดังกลาวใหแลวเสร็จภายในครึ่งปแรกของป 2555
333
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าสอบบัญชีให้กับบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ซึ่งเป็นสำนักงานสอบบัญชี ที่ผู้สอบบัญชีประจำปี 2554 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชี สั ง กั ด ในรอบปี บั ญ ชี ที่ ผ่ า นมา มี จ ำนวนเงิ น รวม 5.66 ล้ า นบาท โดยเป็ น ของบริ ษั ท ฯ จำนวน 1.90 ล้ า นบาท และบริษัทย่อยรวมกันจำนวน 3.76 ล้านบาท
ค่าบริการอื่นๆ - ไม่มี -
334
คำย่อและศัพท์เทคนิค คำย่อ ปิโตรเลียม - ปิโตรเคมี - เคมีภัณฑ์ ABS BPA BZ EG EO EPS EVA FA GPPS HDPE HIPS LAB LAS LDPE LLDPE LPG ME MEG MTBE MX NGL OX PA PC PE PET PP PS PTA PVC PX PYGAS SAN SBR SM TOL VCM
Acrylonitrile-Butadiene-Styrene Bisphenol A Benzene Ethylene Glycol Ethylene Oxide Expandable Polystyrene Ethylene Vinyl Acetate Fatty Alcohols General Purpose Polystyrene High Density Polyethylene High Impact Polystyrene Linear Alkyl Benzene Linear Alkyl Benzenesulfonate Low Density Polyethylene Linear Low Density Polyethylene Liquefied Petroleum Gas Methyl Ester Mono Ethylene Glycol Methyl Tertiary Butyl Ether Mixed Xylenes Natural Gas Liquids Orthoxylene Phthalic Anhydride Polycarbonate Polyethylene Poly Ethylene Terephthalate Polypropylene Polystyrene Purified Terephthalic Acid Polyvinyl Chloride Paraxylene Pyrolysis Gasoline Styrene-Acrylonitrile Styrene-Butadiene Rubber Styrene Monomer Toluene Vinyl Chloride Monomer
อะคริโลไนทริล-บิวทาไดอีน-สไตรีน บิสฟีนอล เอ เบนซีน เอทิลีนไกลคอล เอทิลีนออกไซด์ เอ็กซ์แพนดาเบิล โพลิสไตรีน เอทิลีนไวนิลอะซีเทต แฟตตี้แอลกอฮอล์ เจนเนอรัลเพอโพส โพลิสไตรีน โพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง โพลิสไตรีนทนแรงกระแทกสูง ลิเนียร์อัลคิลเบนซีน ลิเนียร์อัลคิลเบนซีนซัลโฟเนต โพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ โพลิเอทิลีนเชิงเส้นความหนาแน่นต่ำ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว เมทิลเอสเตอร์ โมโนเอทิลีนไกลคอล เมธิลเทอร์เชียรีบิวทิลอีเทอร์ มิกซ์ไซลีนส์ แก๊สโซลีนธรรมชาติ ออร์โธไซลีน ฟาทาลิค แอนไฮไดรด์ โพลิคาร์บอเนต โพลิเอทิลีน โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต โพลิโพรพิลีน โพลิสไตรีน กรดเทเรฟทาลิก โพลิไวนิลคลอไรด์ พาราไซลีน น้ำมันเบนซินจากการสลายตัว สไตรีน อะคริโลไนทริล สไตรีนบิวทาไดอีนรับเบอร์ สไตรีนโมโนเมอร์ โทลูอีน ไวนิลคลอไรด์โมโนเมอร์
335
คำย่ออื่นๆ CG CSR
Corporate Governance Corporate Social Responsibility
การกำกับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
ศัพท์เทคนิค Adjusted EBITDA Base Chemicals / Commodity Chemicals Complex Refinery Condensate EBITDA (Earnings Before Interest, Tax, Depreciation and Amortization) GIM (Gross Integrated Margin) GRM (Gross Refining Margin) Heavy Distillates High Vacuum Unit (HVU) Hydrocracking Unit (HCU) Hydrodesulfurizer Unit Hydro-Skimming
EBITDA ที่ไม่รวมกำไร / (ขาดทุน) จากน้ำมัน และวัตถุดิบคงคลัง และค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีพื้นฐาน มีการผลิตและจำหน่ายปริมาณมาก การแข่งขันทางราคาสูง คุณสมบัติและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ มีมาตรฐานเดียว ได้แก่ เอทิลีน โพรพีลีน เม็ดพลาสติก พีอี พีพี พีวีซี โรงกลั่ น น้ ำ มั น ที่ มี ก ระบวนการกลั่ น ซึ่ ง สามารถเปลี่ ย นแปลง สภาพหรื อ เพิ่ ม คุ ณ ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฮโดรคาร์ บ อนที่ มี มู ล ค่ า ต่ ำ ให้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า สู ง เช่ น น้ ำ มั น เบนซิ น และดี เ ซล ในสัดส่วนที่สูงกว่าโรงกลั่นน้ำมันแบบ Hydro-Skimming ปิโตรเลียมเหลวที่มีคุณสมบัติเบากว่าน้ำมันดิบ รายได้ก่อนหักภาษี ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเสื่อมราคา กำไรขั้ น ต้ น จากการผลิ ต รวมทั้ ง ธุ ร กิ จ การกลั่ น และธุ ร กิ จ อะโรเมติกส์ กำไรขั้นต้นจากค่าการกลั่น ผลิตภัณฑ์น้ำมันสำเร็จรูปชนิดหนัก เช่น น้ำมันเตายางมะตอย หน่วยกลัน่ น้ำมันเตาจากหอกลัน่ น้ำมันดิบภายใต้หอกลัน่ สูญญากาศ หน่วยผลิตน้ำมันดีเซล หน่วยกำจัดกำมะถัน กระบวนการกลั่นน้ำมันดิบแบบขั้นตอนเดียว จึงกลั่นได้น้ำมัน สำเร็จรูปชนิดใส เช่น น้ำมันเบนซิน และดีเซล ในสัดส่วนที่ต่ำกว่า กระบวนการแบบ Complex
336
LCM (Lower of Cost or Market Inventory Method) Light Distillates หน่วยวัดต่างๆ Middle Distillates Naphtha Hydrotreating Unit Oleochemicals OPEX (Operating Expense) P2F (Product to Feed Margin) Performance Chemicals / Specialty Chemicals Polymers ROIC (Return on Invested Capital) Stock Gain / (Loss) Total Intake Utilization Rate
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ เป็นค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากการเปรียบเทียบ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ กับราคาต้นทุนของสินค้าคงเหลือ แล้วแต่มูลค่า ใดจะต่ำกว่า เพื่อให้งบดุลแสดงสถานะมูลค่าสินค้าคงคลัง ณ วันสิ้นงวด บัญชีได้อย่างสมเหตุสมผล ผลิตภัณฑ์น้ำมันสำเร็จรูปชนิดเบา เช่น น้ำมันเบนซิน ก๊าซหุงต้ม KBD (Kilo Barrel per Day) : พันบาร์เรลต่อวัน KMT (Kilo Metric Tons) : พันเมตริกตัน M.BBL (Million Barrels) : ล้านบาร์เรล ผลิตภัณฑ์นำ้ มันสำเร็จรูปกึง่ หนักกึง่ เบา เช่น น้ำมันดีเซล น้ำมันอากาศยาน น้ำมันก๊าด หน่วยกำจัดกำมะถันออกจาก Naphtha หรือน้ำมันเบนซินที่มาจาก หอกลั่นน้ำมันดิบ เคมี ภั ณ ฑ์ จ ากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ คื อ ไขมั น พื ช และสั ต ว์ ได้ แ ก่ แฟตตี้แอลกอฮอล์ เมทิลเอสเตอร์ และกลีเซอรีน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์กับวัตถุดิบ เคมี ภั ณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ง านเฉพาะด้ า น มี ผู้ ผ ลิ ต น้อยราย และอาศัยเทคโนโลยีการผลิตขัน้ สูง ได้แก่ สารแฟตตีแ้ อลกอฮอล์ อีทอกซีเลท (Fatty Alcohol Ethoxylates) สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ของสาร ทีอ่ าจจะเหมือนกัน หรือต่างกันมาเชือ่ มต่อกัน ซึง่ สารทีเ่ กิดจากการสังเคราะห์ เรียกว่า พลาสติก ผลตอบแทนของเงินลงทุน กำไร / (ขาดทุน) จากน้ำมันและวัตถุดิบคงคลัง เป็นมูลค่าความแตกต่าง ของต้ น ทุ น ขายระหว่ า งราคาต้ น ทุ น ทางบั ญ ชี กั บ ราคาต้ น ทุ น ตลาด ซึ่ ง เกิ ด จากการเหลื่ อ มล้ ำ ของเวลาที่ ข ายผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ เวลาที่ สั่ ง ซื้ อ น้ำมันดิบจากประเทศแถบตะวันออกกลางและนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ พร้อมขาย ปริมาณวัตถุดิบรวมที่ใช้ในการผลิต อัตราการผลิตเทียบกับกำลังการผลิต
AW_Annual Report_GC 2011[TH] size 21 x29.5 cm.
*** ตำแหนงสีแดงในงานคือ UV Spot ปกหลัง
ปกหนา สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม
21.0 cm
21.0 cm
20.8 cm
64.0 cm
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
29.5 cm
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living ¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ” ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย
Center of Petrochemical Excellence Responsible-Excellent - Innovative
AW_Annual Report_GC 2011[TH] size 21 x29.5 cm.
*** ตำแหนงสีแดงในงานคือ UV Spot ปกหลัง
ปกหนา สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม
21.0 cm
21.0 cm
20.8 cm
64.0 cm
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
29.5 cm
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) àÅ¢·Õè 555/1 Èٹ à͹à¹Íà ÂÕè¤ÍÁà¾Åç¡« ÍÒ¤ÒÃàÍ ªÑé¹ 14-18 ¶¹¹ÇÔÀÒÇ´ÕÃѧÊÔµ á¢Ç§¨µØ¨Ñ¡Ã ࢵ¨µØ¨Ñ¡Ã ¡ÃØ§à·¾Ï 10900 â·ÃÈѾ· : 0-2265-8400 â·ÃÊÒÃ: 0-2265-8500 www.pttgcgroup.com
Innovating for BE ER living
Center of Petrochemical Excellence
¹Çѵ¡ÃÃÁà¤ÁÕÀѳ± ...à¾×èÍÊÌҧÊÃä ÊÔ觷Õè “´Õ¡Ç‹Ò ”
Responsible-Excellent - Innovative
ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2554 ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)
สันปกปรับขนาดตามความเหมาะสม 20.8 cm
1
21.0 cm
21.0 cm
2
3
Innovating for BE ER living
Lead Change
ã¹¢³Ð·ÕèâÅ¡¡ÓÅѧ¢Ñºà¤Å×è͹仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧµÑÇÁѹàͧ บางสิ่งเปลี่ยนแปลงไป บางสิ่งยอนกลับคืน หลายสิ่งสูญหาย หลายสิ่งเกิดขึ้นใหม แตมีสิ่งหนึ่ง ที่ยังคงพัฒนาและเดินหนาอยางรวดเร็วและใกลตัวเรามากขึ้นทุกที นั่นคือ “นวัตกรรม” ดังนั้น วิธีที่จะกาวใหทันคือ “เราตองเปนผูสรางนวัตกรรม” ใหเขาไปอยูในทุกขั้นตอน ทั้งการดำเนินงาน ที่มี ประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตที่มีศักยภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการเรียนรู และสรางสรรคสิ่งใหมๆ ที่จะทำใหชีวิตงายขึ้น และทั้งหมดคือ การคิดคนนวัตกรรมเคมีภัณฑ… เพื่อสรางสรรคสิ่งที่ “ดีกวา”
รองปกหลัง
Be Open Be a Coach
ºÃÔÉÑ· ¾Õ·Õ·Õ â¡ÅºÍÅ à¤ÁÔ¤ÍÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) เราสรางสรรคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน สรางพลังรวมอันยิ่งใหญจากนวัตกรรมเคมีภัณฑ สรางทางเลือกที่มากกวาใหแกคูคา เติมเต็มความสุขที่มากขึ้นจากการลงทุน ผนึกศักยภาพที่แข็งแกรง จากบุคลากร และสรางสรรคสิ่งที่ดีกวาระหวางธุรกิจที่เราดำเนินกับสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อขับเคลื่อน องคกร สังคม และประเทศไปสูความยั่งยืน
Build Trust
Build ONE Team
a n d e v e n BE ER
และเพื่อใหการสรางสรรคสิ่งที่ดีกวา…ไดดียิ่งขึ้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล พรอมที่จะเดินเคียงขาง และกาวไปสูความสำเร็จรวมกันกับผูมีสวนไดเสียทุกฝาย