PTTAR: Annual Report 2009 TH

Page 1

BEYOND SUCCESS THE POWER OF SYNERGY รายงานประจํ า ปี 2552

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)


วิ สั ย ทั ศ น์ :

เป็ น บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต อะโรเมติ ก ส์ แ ละน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป

ชั้ น นำของเอเชี ย ที่ มี ธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งไปสู่ ปิ โ ตรเคมี

ขั้ น กลางถึ ง ขั้ น ปลายและพลั ง งานทดแทน

พั น ธกิ จ :

1. บริ ห ารจั ด การอย่ า งโปร่ ง ใส เป็ น ธรรม โดยใช้ ระบบบริ ห ารจั ด การแบบสากลที่ เ หมาะสมกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท

2. ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยอย่ า ง เท่ า เที ย มกั น

3. ให้ ค วามสำคั ญ ในการบริ ห ารจั ด การและพั ฒ นา บุ ค ลากรอย่ า งเหมาะสมเพื่ อ ให้ เ ป็ น องค์ ก รแห่ ง ความภาคภู มิ ใ จของพนั ก งาน

4. ร่ ว มมื อ กั บ ปตท. และบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ประโยชน์ เ พิ่ ม เติ ม จากการร่ ว มมื อ ทางธุ ร กิ จ โดยไม่ ขั ด ต่ อ ธรรมาภิ บ าล

5. ใช้ ป ระโยชน์ จ ากโครงสร้ า งธุ ร กิ จ และศั ก ยภาพ ขอ งอง ค์ ก ร ใ น ปั จ จุ บั น เ ป็ น ฐ า น ใ น ก า ร ข ย า ย ธุ ร กิ จ ต่ อ ไ ป ใ น อ น า ค ต โ ด ย จ ะ พิ จ า ร ณ า ถึ ง

ผลตอบแทนระยะสั้ น และระยะยาวของผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเหมาะสม


สารบั ญ

รายงานประจํ า ปี 2552

จุ ด เด่ น การดำเนิ น งาน สารจากประธานกรรมการ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ข้ อ มู ล บริ ษั ท ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ รายงานผลการดำเนิ น งาน คำอธิ บ ายและการวิ เ คราะห์ ข องฝ่ า ยจั ด การ สำหรั บ ผลการดำเนิ น งานปี 2552 สถานการณ์ ปิ โ ตรเลี ย มและอะโรเมติ ก ส์ ปี 2552 และแนวโน้ ม ปี 2553 การบริ ห ารจั ด การด้ า นคุ ณ ภาพ ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม กิ จ กรรมสำคั ญ ในปี 2552 โครงสร้ า งการจั ด การ โครงสร้ า งรายได้ รายการระหว่ า งกั น โครงสร้ า งองค์ ก ร คณะกรรมการ คณะผู้ บ ริ ห าร รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการต่ อ รายงานทางการเงิ น รายงานของผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต และงบการเงิ น คำย่ อ และศั พ ท์ เ ทคนิ ค

10 12 14 16 27 29 31 41 55 60 63 66 68 80 81 89 90 100 118 120 181


BEYOND SUCCESS THE POWER OF SYNERGY

... การประสานพลั ง แห่ ง ศั ก ยภาพให้ เ ป็ น หนึ่ ง คื อ สมการสู่ ค วามสำเร็ จ ที่ น ำ PTTAR ข้ า มผ่ า น ทุ ก อุ ป สรรคด้ ว ยพื้ น ฐานที่ แ ข็ ง แกร่ ง ผสานการร่ ว มแรงร่ ว มใจภายในองค์ ก ร สู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ของ ระบบการจั ด การและการสร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ ม าตรฐานสากล ด้ ว ยการยึ ด มั่ น ในการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ มุ่ ง สู่ ก ารเป็ น บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต อะโรเมติ ก ส์ แ ละน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ชั้ น นำของเอเชี ย ที่ มี ธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งไปสู่ ปิ โ ตรเคมี ขั้ น กลางถึ ง ขั้ น ปลายและพลั ง งานทดแทนอย่ า งมั่ น คง

... และด้ ว ยสำนึ ก ของการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในสั ง คมไทย PTTAR จึ ง ให้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การดู แ ลสั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ร่ ว มสร้ า งสั ง คมที่ น่ า อยู่ บนวิ ถี แ ห่ ง พลั ง ร่ ว มระหว่ า งชุ ม ชน และอุ ต สาหกรรมอย่ า งสร้ า งสรรค์ แ ละยั่ ง ยื น


จากหลายแรงสู่ ห นึ่ ง พลั ง

... การผนึ ก กำลั ง ของบุ ค ลากรคุ ณ ภาพ ที่ พ ร้ อ มใจกั น ร่ ว มขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รสู่ เ ป้ า หมาย อันท้าทาย ประกอบกับความยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจด้วยจริยธรรม และหลักการแห่งธรรมาภิบาล ที่ ค ำนึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ยอย่ า งเท่ า เที ย ม ควบคู่ กั บ การให้ ค วามสำคั ญ กั บ การพั ฒ นา ระบบการบริ ห ารจั ด การด้ า นความปลอดภั ย และคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม คื อ การรวมพลั ง ให้ เ ป็ น หนึ่ ง

TOGETHER IN UNITY ภายใต้ ค่ า นิ ย มองค์ ก ร (Core Values) 5 ประการ คื อ S-P-E-E-D ซึ่ ง ทุ ก คนร่ ว มกั น ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ให้ เ กิ ด เป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก ร พร้ อ มสร้ า งความมั่ น ใจให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ก้ า วเดิ น ไปสู่ ทิ ศ ทางแห่ ง ความสำเร็ จ อย่ า งมั่ น คง


จากหนึ่ ง พลั ง สู่ ค วามสํ า เร็ จ

... จากพลั ง แห่ ง การผสานศั ก ยภาพ สู่ ค วามสำเร็ จ ของการขยายงานตามโครงการเพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ที่ ไ ม่ เ พี ย งเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ และลดต้ น ทุ น การผลิ ต เท่ า นั้ น ทว่ า ยั ง มี ส่ ว นสำคั ญ ในการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ว่ า จะเป็ น โครงการโรงงานอะโรเมติ ก ส์ หน่ ว ยที่ 2 โครงการเชื้ อ เพลิ ง สะอาดและ ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 1 ซึ่งสามารถลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงได้ร้อยละ 30 โครงการติดตั้ง Activated Carbon ที่ถังเก็บผลิตภัณฑ์เบนซีน เพื่อดักจับไอระเหยมิให้รั่วไหลออกสู่

TOGETHER TOWARD EXCELLENCE บรรยากาศ โครงการก่ อ สร้ า งระบบควบคุ ม ไอน้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง และปรั บ ปรุ ง ระบบการจ่ า ยน้ ำ มั น เป็ น แบบสู บ ถ่ า ยจากด้ า นล่ า ง โครงการปรั บ ปรุ ง การเผาไหม้ ที่ ห น่ ว ยผลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ ลดการระบาย ก๊ า ซออกไซด์ ข องไนโตรเจนลงได้ ร้ อ ยละ 10 ... สิ่ ง เหล่ า นี้ ล้ ว นสะท้ อ นให้ เ ห็ น ความมุ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการดำเนิ น งาน ควบคู่ กั บ การดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ มุ่ ง สู่ ค วามสำเร็ จ ในการสร้ า งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ เพื่ อ สั ง คมและชุ ม ชนตลอดไป


จากความสำเร็ จ สู่ ค วามยั่ ง ยื น

... จากหลายแรงสู่ ห นึ่ ง พลั ง จากหนึ่ ง พลั ง สู่ ค วามสำเร็ จ และจากความสำเร็ จ สู่ ก ารร่ ว ม สร้ า งสรรค์ สั ง คมไทย ด้ ว ยสำนึ ก รั บ ผิ ด ชอบที่ มุ่ ง หวั ง ให้ ธุ ร กิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ มเติ บ โต ไปด้ ว ยกั น PTTAR จึ ง ดำเนิ น กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมและชุ ม ชนรอบข้ า งอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

TOGETHER FOR TOMORROW ควบคู่ กั บ การสนั บ สนุ น โครงการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งจริ ง จั ง อี ก ทั้ ง ยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งาน มี จิ ต อาสา สู่ ก ารร่ ว มกั น สร้ า งเครื อ ข่ า ยความสั ม พั น ธ์ และความเข้ า ใจอั น ดี ร ะหว่ า งอุ ต สาหกรรม และชุ ม ชน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ ถื อ และเชื่ อ มั่ น อั น เป็ น พื้ น ฐานแห่ ง การอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งยั่ ง ยื น


0

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

จุ ด เด่ น การดำเนิ น งาน

หน่วย : ล้านบาท

ฐานะการเงิ น สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น

2552

2551

2550

154,609 94,292 60,317

137,540 84,905 52,635

131,218 62,709 68,509 หน่วย : ล้านบาท

ผลการดำเนิ น งาน รายได้จากการขายและบริการ EBITDA EBITDA with LCM กำไรสุทธิ กำไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น) อัตราส่วนทางการเงิน

2552

2551

2550

225,300 14,842 20,015 9,162 3.09

251,386 (3,833) (9,005) (8,465) (2.86)

253,709 26,588

2552

2551

2550

1.44 3.98 16.22 1.56

1.05 (3.35) (13.97) 1.61

1.54 7.06 29.02 0.92

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนกำไรสุทธิ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) หมายเหตุ : EBITDA คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย LCM คือ ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ

18,018 6.08


วั ต ถุ ดิ บ นำเข้ า กลั่ น

ค่ า การกลั่ น และส่ ว นต่ า งระหว่ า ง ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ กั บ วั ต ถุ ดิ บ หน่วย : พันบาร์เรลต่อวัน

2552

2551

165 131

2552

2550

2551

2550

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล 2552

2551

2550

2552

2551

2550 11.78

154 113

6.46 58

73

4.43

5.43

4.23

1.28

ธุ ร กิ จ โรงกลั่ น

ธุ ร กิ จ อะโรเมติ ก ส์

ธุ ร กิ จ โรงกลั่ น GRM

ธุ ร กิ จ อะโรเมติ ก ส์ P2F

หมายเหตุ : รวมผลกระทบจากการบริหารความเสี่ยงค่าการกลั่นและวัตถุดิบ (Hedging)

กำไรขั้ น ต้ น รวม จากการผลิ ต

ค่ า ใช้ จ่ า ยในการดำเนิ น งาน และค่ า ใช้ จ่ า ยทางการเงิ น หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

2552

2551

2550

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล 2552

2551

2550

10.79 2.28 5.94

2.55 0.57

0.90 1.38

1.77 0.39

1.98

1.38

0.19

หมายเหตุ : รวมผลกระทบจากการบริหารความเสี่ยงค่าการกลั่นและวัตถุดิบ (Hedging) รวมผลกระทบจากกําไร (ขาดทุน) จากสต็อกน้ำมัน ไม่รวม LCM

ค่าใช้จ่ายดําเนินงาน

ดอกเบี้ยจ่ายและ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน


12

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

สารจาก

ประธานกรรมการ

ปี 2552 เป็นปีที่บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) หรือ PTTAR เผชิญ กับภาวะที่ท้าทายหลายประการ เนื่องจากเป็นปีแรกที่บริษัทฯ ดำเนินการผลิตภายใต้การเชื่อมต่อ โรงกลั่นน้ำมันกับโรงงานอะโรเมติกส์ทั้งสองหน่วยอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมกับการยกเลิกการกลั่นร่วมกับบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (SPRC) เมื่อวันที่

1 กุมภาพันธ์ 2552 ดังนั้น การจัดโครงสร้างองค์กรและการเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรใหม่ให้ สอดคล้องกับขอบข่ายงานที่เปลี่ยนแปลงไปจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่บริษัทฯ จะต้องดำเนินการ ให้สำเร็จลุล่วงไปให้ได้ เพื่อให้บริษัทฯ สามารถผสานประโยชน์จากการผลิตร่วมระหว่างโรงกลั่นกับ โรงงานอะโรเมติกส์ให้ได้สูงสุดตามที่สัญญาไว้กับผู้ถือหุ้น

นอกจากนั้น สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปี 2552 ที่ยังคงอยู่ใน ภาวะชะลอตัวต่อเนื่องจากปี 2551 จึงเป็นความท้าทายที่สำคัญ

อีกประการหนึ่งที่บริษัทฯ ต้องใช้ความพยายามที่สูงขึ้นไปอีกเพื่อ ฟันฝ่าอุปสรรคจากภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว ซึ่งบริษัทฯ สามารถ ดำเนินการได้สำเร็จตามแผนทุกประการ ทั้งเรื่องการจัดโครงสร้าง องค์ ก รที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ที่ ย อมรั บ ของทุ ก ฝ่ า ย การสร้ า ง ประโยชน์จากการผลิตร่วม และการดำเนินโครงการขยายงานของ

บริษัทฯ ปัจจัยความสำเร็จที่ทำให้บริษัทฯ ผ่านพ้นอุปสรรคนานัปการ จากความท้าทายทั้งสองประการ ในปี 2552 ที่ผ่านมา เป็นเพราะ บริษัทฯ ได้จัดทำโครงสร้างองค์กรใหม่ที่เกิดจากการรวมผู้บริหาร และพนักงานจากบริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ ATC และบริษัท โรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด (มหาชน) หรือ RRC โดยไม่ ต้ อ งให้ พ นั ก งานออกจากงานแต่ อ ย่ า งใด แต่ ไ ด้ จั ด ขอบข่ายงานใหม่ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการบริหารและการสร้าง รายได้มากขึ้นให้แก่องค์กรในระยะยาว ส่งผลให้พนักงานทุกระดับ

สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างกลมกลืน นอกจากนี้ พนักงาน

ยังมีส่วนร่วมในการกำหนดค่านิยมขององค์กร เพื่อเป็นหลักในการ ดำเนินงาน ทำให้เกิดการยอมรับและนำไปเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ร่วมกัน โดยบริษัทฯ สามารถผสานวัฒนธรรม โครงสร้าง รวมถึง ระบบงานให้ อ ยู่ ใ นกรอบเดี ย วกั น และเป็ น ที่ ย อมรั บ ของทุ ก ฝ่ า ย ความสำเร็จในการควบรวมองค์กรได้อย่างราบรื่นในครั้งนี้ยังได้รับ การยอมรั บ จากองค์ ก รด้ า นการบริ ห ารงานบุ ค คลในต่ า งประเทศ

โดยผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ได้รบั รางวัลการบริหารจัดการเรือ่ งการควบรวม เป็นผลสำเร็จจาก World HRD Congress นับเป็นผลตอบแทน

ของการทำงานที่ดีอีกประการหนึ่ง นอกจากนี้ การที่บริษัทฯ เร่งจัดทำโครงการผสานประโยชน์ จากการผลิตร่วม (Synergy) ให้แล้วเสร็จตามกำหนด และโครงการ ก่อสร้างโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 และโครงการ Condensate Residue Splitter ซึ่ ง ทำให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ำลั ง การผลิ ตผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิโตรเลียมเพิ่มขึ้นจาก 186,000 บาร์เรลต่อวัน เป็น 228,000 บาร์ เ รลต่ อ วั น และกำลั ง การผลิ ต สารอะโรเมติ ก ส์ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก


3

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการ

1,189,000 ตันต่อปี เป็น 2,259,000 ตันต่อปี ยังเป็นปัจจัยที่ช่วยให้ บริษัทฯ สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการหารายได้ในช่วงวิกฤต ในปี 2552 และยังเป็นฐานในการสร้างรายได้เพิ่มขึ้นในอนาคต อีกด้วย ในปี 2552 บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญอย่างยิ่งในการบริหาร ความเสี่ยงด้านความผันผวนของค่าการกลั่นและราคาน้ำมัน และ การประเมินมูลค่าน้ำมันคงคลัง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้สามารถ รับมือกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรั บ การดู แ ลสภาวะแวดล้ อ ม ความปลอดภั ย และ สุ ข อนามั ย ของประชาชน บริ ษั ท ฯ ได้ ก ำหนดเป็ น นโยบาย ในการคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดำเนินธุรกิจด้วยการยึดมั่น ในกฎกติ ก าอย่ า งเคร่ ง ครั ด และมี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการดำเนินโครงการเพื่อสังคม (CSR) อย่างสม่ำเสมอ ทำให้บริษัทฯ มีสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชนและสังคม โดยรอบ โครงการท่ า เที ย บเรื อ ของบริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล EIA Awards 2008 มีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่น จากกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานโครงการผลิต น้ำมัน Euro IV ของบริษัทฯ สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังให้ความสำคัญเรื่องการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยได้รับคะแนนการจัดประชุมผู้ถือหุ้นในระดับดีเยี่ยม สมควรเป็นตัวอย่าง และได้รับการประเมินผลการกำกับดูแลกิจการ ของบริ ษั ท ฯ ในระดั บ ดี เ ลิ ศ สิ่ ง เหล่ า นี้ ย่ อ มเป็ น เครื่ อ งยื น ยั น ว่ า บริษัทฯ มีการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ด้วยความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อันจะเป็นรากฐาน ที่แข็งแรงมั่นคง ช่วยให้บริษัทฯ เติบโตได้อย่างยั่งยืน ซึ่งจะส่งผลดี ต่อผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ในระยะยาวต่อไป ด้วยการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของ ธรรมาภิบาล แม้ว่าปี 2552 จะเป็นปีที่ทั้งตลาดน้ำมันและตลาด ปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์มีความผันผวนมาก แต่บริษัทฯ สามารถ พลิกฟืน้ จากภาวะขาดทุนในปี 2551 กลับมามีกำไร 9,162 ล้านบาทได้ ความสำเร็จในปีนี้ย่อมยืนยันว่า นโยบายการควบรวม ATC และ RRC เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น นโยบายที่ ถู ก ต้ อ ง สามารถสร้ า งผลกำไร เพิ่มขึ้น ทำให้ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนในรูปเงินปันผลมากขึ้น และ เป็นไปตามทิศทางของโลกที่มีแนวโน้มว่า โรงกลั่นซึ่งมีสายการผลิต ต่อเนื่องไปยังธุรกิจปิโตรเคมีย่อมมีศักยภาพสูงกว่าโรงกลั่นที่ดำเนิน ธุรกิจการกลั่นอย่างเดียว สุดท้ายนี้ ผมเชื่อว่าด้วยกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ และความตั้งใจจริง ในการทำงานอย่ า งทุ่ ม เทและมุ่ ง มั่ น ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนักงานทุกคน ผนวกกับความพร้อมขององค์กร ความเข้าใจ ความเชื่อมั่น และการสนับสนุนด้วยดีจากผู้ถือหุ้น คู่ค้า และลูกค้า ตลอดจนสถาบันการเงินต่างๆ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมด บริษัทฯ จึงมีความพร้อมในการแข่งขัน และสามารถดำเนิน ธุรกิจเพื่อสร้างกำไรและการเติบโตในอนาคตได้อย่างเข้มแข็งและ มั่นคงในระยะยาว ผมจึงใคร่ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้


4

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

รายงาน

เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วย ดร.โชคชัย อักษรนันท์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์ และ นายนครินทร์ วีระเมธีกุล ดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้ รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2550 และนายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ดำรงตำแหน่งกรรมการ ตรวจสอบแทนนายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์ ที่ครบวาระการเป็น กรรมการบริษทั ฯ ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการของ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 ล้วนเป็นกรรมการอิสระ และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ ได้ปฏิบัติหน้าที่และแสดงความเห็น อย่างเป็นอิสระ เป็นไปตามขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งสอดคล้องกับประกาศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องคุณสมบัติและขอบเขตการ ดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 ในปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบจัดให้มีการประชุมรวม 9 ครัง้ โดยมีฝา่ ยจัดการ หน่วยงานตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี เข้ า ร่ ว มประชุ ม ตามวาระที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมด้วย จำนวน 2 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน และให้ข้อเสนอแนะในวาระ ต่างๆ สรุปได้ดังนี้ สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำปี 2552 โดยร่ ว มกั บ ฝ่ า ยบริ ห ารและผู้ ส อบบั ญ ชี เห็ น ว่ า รายงานทางการเงิน รายการบัญชีกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ได้ จั ด ทำขึ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ ง มี ค วามเหมาะสมเพี ย งพอ โปร่งใส เชื่อถือได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองโดยทั่วไป โดยได้เชิญผู้สอบบัญชีร่วมประชุมทุกครั้ง

ของคณะกรรมการตรวจสอบ

ที่มีการพิจารณางบการเงิน ระบบบัญชีและงบการเงินมี ความเชื่อถือได้ มีการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินอย่าง เพี ย งพอทั น เวลา พร้ อ มทั้ ง ให้ ข้ อ สั ง เกตและรั บ ทราบ แนวทางแก้ไขปัญหาให้เกิดประโยชน์แก่บริษัทฯ สอบทานและประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบควบคุม ภายในร่วมกับผู้สอบบัญชี และหน่วยงานตรวจสอบภายใน ทุกไตรมาส เห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอ ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระ สำคัญ สามารถสร้างความมั่นใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่า บริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งในด้านของความมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการดำเนินงาน รวมถึงการ ดูแลทรัพย์สิน ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินและ การปฏิบัติตามกฎระเบียบและนโยบายบริษัทฯ การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบปี 2552 ตามแผนงาน ที่ได้รับอนุมัติ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มีระบบการควบคุมภายในที่ดี มีการปฏิบัติ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงให้มี การติดตามแก้ไขประเด็นที่มีนัยสำคัญตามรายงานผลการ ตรวจสอบภายใน นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแผนการตรวจสอบประจำปี 2553 ซึ่งจัดทำขึ้น บนพื้ น ฐานของการประเมิ น การควบคุ ม ภายในและ ตามฐานความเสี่ยงของบริษัทฯ รวมทั้งสนับสนุนความ ร่ ว มมื อ ในการปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบร่ ว มกั บ บริ ษั ท ใน เครือกลุ่ม ปตท.


15 บตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • การปฏิ บริษัทฯ มีหน่วยงานที่กำกับดูแลให้มีการปฏิบัติโดยเป็นไป

ควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่มีข้อบกพร่องเป็นสาระ สำคัญ มีระบบบริหารความเสี่ยงอย่างเพียงพอและเหมาะสม การ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎเกณฑ์ภาครัฐเป็นไปโดยถูกต้อง สำหรับ

ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง งบการเงินรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ไม่มีเหตุการณ์ กับธุรกิจของบริษัทฯ ที่แสดงถึงปัญหาหรือรายการที่มีผลกระทบต่อฐานะการเงิน การจัด ความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบ ทำงบการเงิน จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควรมีการเปิดเผยข้อมูล เห็นว่า บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด (KPMG) เพียงพอ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำปี 2552 เป็นผู้ที่ คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีเสนอต่อ ไม่มีความสัมพันธ์กับบริษัทฯ โดยไม่มีการถือหุ้นและไม่มี คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี การให้บริการอื่นแก่บริษัทฯ นอกเหนือจากงานสอบบัญชี 2553 เพื่ อ แต่ ง ตั้ ง นายวิ นิ จ ศิ ล ามงคล ผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต และได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเหมาะสม โดยเป็นไปตาม ทะเบียนเลขที่ 3378 หรือนายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ผู้สอบบัญชี มาตรฐานการประกอบวิชาชีพการสอบบัญ ชี รวมทั้ ง มี รั บ อนุ ญ าต ทะเบี ย นเลขที่ 3565 หรื อ นายเจริ ญ ผู้ สั ม ฤทธิ์ เ ลิ ศ

ความเข้าใจธุรกิจของบริษัทฯ ค่อนข้างดี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4068 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี การทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้ ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีสำหรับปี 2553 พิจารณาสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันที่อาจก่อให้เกิด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ เห็ น ว่ า เป็ น รายการจริ ง ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ ทางการค้าอันเป็นธุรกิจปกติทั่วไป มีการเปิดเผยรายการที่ เกี่ยวโยงกันโดยเป็นไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ มีเหตุผล และเป็นอิสระ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน (นายโชคชัย อักษรนันท์) คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วเห็นว่า บริษัทฯ ถือ ประธานกรรมการตรวจสอบ นโยบายการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น สำคั ญ มี ผ ลให้ ร ะบบการ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2553


6

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

รายงาน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ว่าเป็นรากฐานของการดำเนินธุรกิจ และต้องดำเนินธุรกิจด้วยความ ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ รับผิดชอบต่อสังคม โดยคำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้องค์กรเติบโตได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน อันเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการได้ให้ความสำคัญในเรื่องการ กำกับดูแลให้บริษทั ฯ ดำเนินการตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ กำหนดอย่ า งครบถ้ ว น ต่ อ เนื่ อ ง และ สม่ ำ เสมอ และนำหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ที่ เ ป็ น สากลและ สอดคล้ อ งกั บ เกณฑ์ ข องคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มาใช้ปฏิบัติในบริษัทฯ โดยคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการร่วมกับ ฝ่ายจัดการได้จัดทำคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เป็น ลายลักษณ์อักษร ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2551 เพื่อให้บุคลากรทุกระดับลงนาม รั บ ทราบและใช้ เ ป็ น หลั ก ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด และได้ เ ผยแพร่ นโยบายและคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัท www.pttar.com ภายใต้หัวข้อการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งคู่มือดังกล่าวจะมีการสอบทานและปรับปรุงเป็นระยะๆ นอกจากการกำหนดคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และแนว ปฏิบตั ติ า่ งๆ ทีเ่ อือ้ ให้บริษทั ฯ และหน่วยงานสามารถนำไปใช้ปฏิบตั งิ าน ได้อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว บริษัทฯ ยังมีระบบการตรวจสอบติดตาม การปฏิบัติจริง อาทิ การจัดทำแผนปฏิบัติงานกำกับดูแลกิจการ ปี 2552 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ การ ตรวจติดตามงานของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ โดยให้บริษัทฯ รายงานสรุปผลการปฏิบัติตามแผนเป็นรายไตรมาส การวางระบบ เพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ตามคู่ มื อ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การประเมิ น ผลความพึ ง พอใจของผู้ มี ส่วนได้เสียแยกตามกลุ่ม อาทิ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน การจัดทำ

แผนการจั ด การของแต่ ล ะหน่ ว ยงานที่ ส อดคล้ อ งและสนั บ สนุ น แนวปฏิบัติในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี เช่น ฝ่ายทรัพยากร บุคคลกำหนดเป็นคู่มือพนักงาน ฝ่ายจัดหากำหนดหลักเกณฑ์และ จรรยาบรรณในการจัดหาพัสดุ ฝ่ายตรวจสอบภายในกำหนดกฎบัตร การตรวจสอบภายใน ฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม และฝ่ายสื่อสารองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์กำหนดเป็น แผนปฏิบัติการและกิจกรรม เป็นต้น เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายการ กำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง บริษัทฯ กำหนดให้มีการสื่อความและรณรงค์เพื่อสร้างจิตสำนึก ของพนักงานให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติตามคู่มือการกำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ ผ่านสื่อประเภทต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ระบบข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ภายใน (Intranet) โปสเตอร์ การประชุ ม ระดั บ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน และกิ จ กรรม พนักงาน เป็นต้น และเพื่อยกระดับการสื่อความเรื่องการกำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น รวมทั้งมีการตรวจสอบและ ประเมินผลทั้งจากบุคลากรภายในบริษัทฯ และบุคคลภายนอก อันจะ ส่ ง ผลให้ ก ารปฏิ บั ติ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลอย่ า งแท้ จ ริ ง บริษัทฯ จึงจัดทำกระบวนการสื่อความเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติตาม คู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ไว้ในระบบมาตรฐาน ISO 9001 ซึ่งมีกำหนดรับการตรวจประเมินจากสำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในปีต่อไป โดยมีรายละเอียดกิจกรรมบน เว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อเป็นการสนับสนุนนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่าง เป็นรูปธรรม บริษัทฯ มีหน่วยงานรับผิดชอบติดตามงานการกำกับ ดูแลกิจการ ทำหน้าที่สื่อความและประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร เพื่อสนับสนุนให้การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการเป็นไป ตามแผนและนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดย รายงานต่อเลขานุการบริษัทและเลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแล กิ จ การ ซึ่ ง จะเป็ น ผู้ ร ายงานสรุ ป ผลการดำเนิ น งานเสนอต่ อ คณะ กรรมการกำกับดูแลกิจการและคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ เพื่อให้คณะกรรมการฯ มั่นใจได้ว่าบุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ

การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ


7

เข้าใจและยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีในการทำงาน โดยคณะ กรรมการฯ ได้ให้ข้อแนะนำเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานของบริษัทฯ อยู่เสมอ เพื่อผลักดันให้การกำกับดูแลกิจการเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ บริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี : “คณะกรรมการบริษัทฯ มีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในเรื่องการดำเนินธุรกิจ การกำกับดูแลกิจการ และการบริหาร จัดการที่ดีเลิศ โดยมุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้นและ คำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและ เป็นธรรมต่อผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และความมัน่ ใจต่อผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย” หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ มีเนื้อหาครอบคลุม หลักพื้นฐาน 6 ประการของการกำกับดูแลกิจการที่ดี ได้แก่ การ รับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability) ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความ สามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility) การปฏิบัติต่อ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม (Equitable Treatment) มีความโปร่งใสในการดำเนินงานทีส่ ามารถตรวจสอบได้ (Transparency) มีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว (Creation of Long-Term Value) และมีจริยธรรมจรรยาบรรณในการประกอบ ธุรกิจ (Ethics) นับจากการจัดตั้งบริษัทฯ ปลายปี 2550 ต่อเนื่องถึงปี 2552 บริษทั ฯ ได้รณรงค์ให้พนักงานนำหลักการดังกล่าวมาใช้ในการปฏิบตั งิ าน และการดำรงชีวิต โดยในปี 2552 บริษัทฯ ได้เพิ่มการรณรงค์เรื่อง การมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคนในการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย สร้าง ระบบการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี ององค์กร และการสร้างความเชือ่ มัน่ ว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดีสามารถส่งผลให้บริษัทฯ มีความเจริญ เติบโตและยิ่งใหญ่ได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้พนักงานมีความเข้าใจใน หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีมากขึ้น บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับ บริษัทจดทะเบียนปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สรุปได้ ดังนี้

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำปี 2552 เมื่ อ วั น ที่ 7 เมษายน 2552 บริษัทฯ ดำเนินการจัดประชุมโดยยึดหลักเกณฑ์ ตามกฎหมายควบคู่กับหลักปฏิบัติเพื่อการกำกับดูแลกิจการที่ดีของ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคู่มือการกำกับดูแล กิจการของบริษัทฯ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิในการประชุม อย่างเต็มที่ โดยบริษทั ฯ ได้รบั ผลประเมินการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ปี 2552 จากสำนักงาน ก.ล.ต. และสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย 100 คะแนนเต็ม จัดอยู่ในระดับดีเยี่ยมสมควรเป็นตัวอย่าง เพิ่มขึ้นจาก ปี 2551 ที่บริษัทฯ ได้รับผลประเมิน 98.63 คะแนน บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเพิ่มวาระการประชุมและ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนดเป็น เวลา 60 วั น ระหว่ า งวั น ที่ 17 พฤศจิ ก ายน 2551 ถึ ง วั น ที่ 16 มกราคม 2552 รวมทั้งให้ผู้ถือหุ้นส่งคำถามล่วงหน้าเกี่ยวกับ วาระการประชุมก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้ โดยเผยแพร่ข่าวผ่านทาง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ซึง่ บริษทั ฯ ได้ ร วบรวมคำถามจากผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ส่ ง มาล่ ว งหน้ า ไปตอบชี้ แ จงใน วันประชุมผู้ถือหุ้น อีกทั้งได้จัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยที่สนใจสอบถาม ข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก เกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ พบปะและประชุ ม กั บ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการและผู้บริหารระดับสูงอย่างใกล้ชิด ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นฯ ด้วย ก่อนการประชุม บริษทั ฯ ได้ประกาศวัน Record Date ล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 14 วัน และแจ้งวันปิดสมุดทะเบียน 1 วัน ในวันทำการ ถัดจากวัน Record Date เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงสิทธิการเข้าร่วม ประชุมและสิทธิรับเงินปันผล บริษัทฯ เผยแพร่หนังสือเชิญประชุม และเอกสารประกอบในเว็บไซต์ www.pttar.com ล่วงหน้า 30 วัน ก่ อ นวั น ประชุ ม และแจ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบผ่ า นการรายงานต่ อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลา ศึ ก ษาข้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอสำหรั บ การพิ จ ารณาลงมติใน


8

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

แต่ละวาระการประชุมก่อนได้รับข้อมูลในรูปเอกสาร ซึ่งได้นำส่งถึง ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า 14 วัน ก่อนวันประชุม ในวันประชุม บริษทั ฯ จัดให้มกี ารอำนวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ และผู้รับมอบฉันทะที่เข้าร่วมประชุมทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดย จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสาร และแยกจุดลงทะเบียนด้วยระบบ รหัสแถบ (Barcode) ตามประเภทของผู้มาประชุม คือ ผู้ถือหุ้น บุคคลธรรมดา และผู้ถือหุ้นนิติบุคคล พร้อมจัดทำใบลงคะแนนเสียง ในแต่ละวาระการประชุม และเปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุม ล่วงหน้า 2 ชั่วโมง ทำให้การลงทะเบียนสะดวกรวดเร็ว และภายหลัง เปิดประชุมไปแล้ว ผู้ถือหุ้นยังสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม เพื่อใช้สิทธิออกเสียงในวาระที่ยังไม่ลงมติได้ กรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะได้เข้าร่วม ประชุม รวมทั้งผู้บริหารระดับสูง ผู้สอบบัญชี และที่ปรึกษากฎหมาย เพื่อตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น โดยในปี 2552 กรรมการมาประชุม ครบทั้ง 15 ท่าน (ร้อยละ 100) ซึ่งมากกว่าปี 2551 ที่มีกรรมการมา ประชุมร้อยละ 93 ประธานกรรมการบริษัทฯ ซึ่งทำหน้าที่ประธานใน ที่ประชุม ได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบและขอความเห็นชอบวิธีการปฏิบัติ ในการออกเสียงลงคะแนน คือ 1 หุน้ เท่ากับ 1 เสียง ซึง่ การลงคะแนน และนับคะแนนเสียงเป็นไปอย่างเปิดเผย ประธานได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถาม และแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง เพือ่ ให้สามารถตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้องในเรื่องสำคัญของบริษัทฯ โดยกรรมการที่เกี่ยวข้อง ได้ตอบทุกคำถามอย่างชัดเจนและเพียงพอ ที่ปรึกษากฎหมายของ บริษัทฯ ได้ร่วมชี้แจงรายละเอียดในประเด็นข้อกฎหมายให้ผู้ถือหุ้น ทราบ โดยที่ปรึกษากฎหมายและอาสาสมัครผู้ถือหุ้นทำหน้าที่เป็น คนกลางตรวจสอบความถูกต้องในการลงคะแนนเสียงเพื่อความ โปร่งใสตลอดการประชุม ซึ่งบริษัทฯ ได้เก็บใบลงคะแนนเสียงใน วาระสำคัญทัง้ หมดตามแนวปฏิบตั ขิ องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเคารพสิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยไม่ มี ก ารเพิ่ ม วาระการประชุ ม หรื อ เปลี่ยนแปลงลำดับวาระการประชุม หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลสำคัญใน การประชุม

บริษัทฯ ได้จัดส่งรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายใน 14 วัน หลังการ ประชุ ม และเผยแพร่ ร ายงานการประชุ ม รวมทั้ ง บั น ทึ ก วิ ดี โ อการ ประชุมไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบอย่าง รวดเร็วและทั่วถึง และผู้ที่สนใจอื่นๆ ได้มีโอกาสรับทราบและศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ นอกจากนั้น ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิได้รับ เงินปันผลจากกำไรสะสมของบริษัทฯ แม้ว่าผลประกอบการในปี 2551 ประสบภาวะขาดทุน โดยบริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2552 บริษัทฯ ได้ดูแลผู้ถือหุ้นมากกว่าสิทธิตามกฎหมาย ได้แก่ การ ให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นปัจจุบันและการทำบทรายงานและการวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการนำเสนอทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ และผูถ้ อื หุน้ กู้ ของบริษัทฯ ทุกรายสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารและพัฒนาการ ของบริษัทฯ ทางจดหมายข่าว (PTTAR Newsletter) ซึ่งจัดส่งให้ ทางไปรษณียเ์ ป็นประจำทุกไตรมาส และบริษทั ฯ ได้จดั โครงการผูถ้ อื หุน้ เยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ เพื่อสร้างความมั่นใจและให้ความรู้แก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ การกลั่ น และอะโรเมติ ก ส์ และการบริ ห าร จัดการด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบโรงงาน 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ มีการดำเนินการเพื่อรักษาสิทธิที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับและ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น ใช้สิทธิเสนอเพิ่มวาระประชุม และเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะ สม เพื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าตามเกณฑ์ที่คณะ กรรมการกำหนด รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งคำถามล่วงหน้า ก่อนวันประชุม ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ ไปรษณีย์ โทรสาร หรือ เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ และได้ ส่ ง ใบมอบฉั น ทะพร้ อ มแจ้ ง รายชื่ อ กรรมการอิสระของบริษัทฯ ที่ไม่ได้เป็นผู้มีส่วนได้เสียในวาระประชุม ไว้ในเอกสารเชิญประชุม ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้เข้าประชุม และออกเสียงแทนหรือมอบให้ผู้อื่นมาประชุมแทนได้ โดยในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2552 มีผู้มอบฉันทะให้ผู้อื่นประชุมแทน จำนวน 1,377 ราย


9

บริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้องครบถ้วน โปร่งใส อย่างทั่วถึง ทั้งรายงานข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทั่วไป ตลอดจน ข้อมูลสำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ โดยได้เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางและสื่อการเผยแพร่ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เว็บไซต์ของบริษัทฯ และการเสนอข่าวโดยผู้บริหาร ผ่านสือ่ มวลชน จัดให้หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เป็นช่องทางการติดต่อ สื่อสารกับนักลงทุนที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2140-4000 ต่อ 4107 และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : ir@pttar.com เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร รวมทัง้ ตอบข้อสงสัยเกีย่ วกับกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั ฯ กับนักลงทุน ผู้ ถื อ หุ้ น และนั ก วิ เ คราะห์ รวมทั้ ง จั ด ตั้ ง ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก รและ รัฐกิจสัมพันธ์เพื่อให้ข่าวสารแก่สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป บริษัทฯ กำหนดโครงสร้างองค์กร และกำหนดขอบเขตแห่ง อำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานไว้อย่าง ชัดเจน รวมทั้งกำหนดนโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และ คู่มือการปฏิบัติงานไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล และตรวจสอบระหว่างกัน โดยมีฝ่ายตรวจสอบภายในซึ่งมีความเป็น อิ ส ระและมี บ ทบาทหน้ า ที่ ต ามกฎบั ต รที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะ กรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 ทำหน้าที่ตรวจสอบ การปฏิบัติงาน เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานได้ดำเนินการตาม แนวทางที่กำหนด เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง และสามารถบรรลุ เ ป้ า หมายได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยจะต้ อ ง รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็นประจำ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมภายในที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น แก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม จึงกำหนดให้มีการดำเนินการต่างๆ เพื่อป้องกันและตรวจสอบการทำ รายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์และการใช้ ข้อมูลภายในโดยมิชอบ ทั้งโดยการกำหนดนโยบาย แนวทางปฏิบัติ ตลอดจนการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ได้แก่ การกำหนดระยะเวลา ห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ของกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงิน 30 วันก่อนการประกาศ

งบการเงินรายไตรมาส และ 45 วันก่อนการประกาศงบการเงิน ประจำปี เพื่อความทัดเทียมกันในการเข้าถึงข้อมูล ซึ่งได้รับความ ร่วมมือจากกรรมการและผู้บริหารอย่างเคร่งครัด นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ ยังได้กำหนดแนวทาง ปฏิบัติให้สอดคล้องกับคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยกำหนดให้ บุคลากรทุกระดับของบริษทั ฯ รายงานเรือ่ งทีส่ งสัยว่าอาจมีความขัดแย้ง ของผลประโยชน์กับบริษัทฯ และเก็บรวบรวมไว้เป็นหลักฐาน เพื่อ เป็นเครื่องป้องกันไม่ให้เกิดเหตุที่อาจเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนหรือ ขัดแย้งโดยไม่ได้เจตนา โดยบริษัทฯ รวบรวมและรายงานสรุปเสนอ คณะกรรมการฯ รวมทั้งประสานติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ และให้กรรมการบริษัทฯ แจ้งให้บริษัทฯ ทราบ ในกรณีที่มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาใด ที่ บ ริ ษั ท ฯ ทำขึ้ น หรื อ กรณี ที่ หุ้ น หรื อ หุ้ น กู้ ข องบริ ษั ท ฯ ที่ ถื อ อยู่ มีจำนวนเพิ่มขึ้นหรือลดลง สรุปการถือหุ้นของคณะกรรมการใน “โครงสร้างการจัดการ” และในการประชุมกรรมการบริษัทฯ หากมี วาระที่ อ าจเป็ น ผลประโยชน์ ที่ ขั ด กั น กั บ ผลประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ กรรมการที่เป็นผู้มีส่วนได้เสียจะไม่ร่วมประชุม หรืองดออกเสียงและ ให้ความเห็นในวาระนั้น 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริ ษั ท ฯ ได้ รั ก ษาสิ ท ธิ แ ละผลประโยชน์ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุกกลุ่มอย่างเต็มที่ และเนื่องจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย แต่ละกลุ่มแตกต่างกัน บริษัทฯ จึงพิจารณาสิทธิและผลประโยชน์ ความเป็ น ธรรม รวมทั้ ง ความพึ ง พอใจของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า ง รอบคอบถี่ถ้วน ดูแลให้มีการปฏิบัติอย่างระมัดระวังไม่ให้บริษัทฯ หรือบุคลากรของบริษัทฯ เป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนหรือไม่เป็น ธรรมต่อผู้อื่น ควบคู่ไปกับการกำหนดนโยบายส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การเปิดโอกาสให้ ผู้มีส่วนได้เสียให้ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้บริษัทฯ การ กำหนดช่องทางแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีและกำหนดเป็นเอกสารควบคุมใน


20

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ระบบคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงาน การลดผลกระทบจากมลภาวะ และรักษาสิง่ แวดล้อม และการสร้างสัมพันธภาพทีด่ เี พือ่ การอยูร่ ว่ มกัน อย่างยั่งยืน เป็นต้น ในปี 2552 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการและผู้บริหารได้ ดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างใกล้ชิด โดยคณะกรรมการฯ ได้ ลงพื้นที่พบปะกับชุมชนรอบโรงงานที่จังหวัดระยอง เพื่อสอบถาม ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับโรงงานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กัน เป็นกรรมการตัดสินการประกวดผลงานนิทรรศการของพนักงาน เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี และร่วมพบปะกับผู้ถือหุ้นรายย่อย ที่ให้ความสนใจสอบถามเกี่ยวกับสถานการณ์ทางธุรกิจและปัญหา

อันอาจส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ รวมทั้งรับทราบรายงานข้อคิดเห็น/

ข้ อ เสนอแนะของผู้ ถื อ หุ้ น ในโอกาสต่ า งๆ เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ นำไป พิ จ ารณาดำเนิ น การตามความเหมาะสม อี ก ทั้ ง ให้ ค วามสำคั ญ ติ ด ตามแนวทางการแก้ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ม าบตาพุ ด และ

ผลกระทบต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง ผู้ถือหุ้น : บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้น ในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ โ ปร่ ง ใส โดยคำนึ ง ถึ ง การเติ บ โตของมู ล ค่ า บริษัทฯ ในระยะยาว มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเป็นธรรมและ

เท่าเทียม รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น และได้ จัดทำจดหมายข่าว เพื่อเป็นข้อมูลส่งให้ผู้ถือหุ้นทุกรายเป็นประจำ บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด โครงการผู้ ถื อ หุ้ น เยี่ ย มชมโรงกลั่ น และ

โรงอะโรเมติกส์ที่จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน และ

1 ธันวาคม 2552 รวมจำนวน 500 คน โดยส่งเอกสารเชิญผู้ถือหุ้น ซึ่งมีรายชื่อ ณ วันปิดสมุดทะเบียนครั้งล่าสุด คือ วันที่ 10 มีนาคม 2552 ทุกราย พร้อมเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และเปิดให้ผถู้ อื หุน้ ที่ ส นใจสมั ค รเข้ า ร่ ว มโครงการทางไปรษณี ย์ ต อบรั บ และโทรสาร

จับฉลากรายชื่อผู้สมัครอย่างโปร่งใส และประกาศรายชื่อผู้ได้รับสิทธิ ทางเว็บไซต์ พร้อมแจ้งทางโทรศัพท์ จากการประเมินความพึงพอใจ ของผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ร่ ว มโครงการ สรุ ป ผลการประเมิ น อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี

(ร้อยละ 92) และผู้ถือหุ้นได้ให้ข้อแนะนำที่เป็นประโยชน์เพื่อปรับปรุง โครงการให้ดียิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป พนักงาน : บริษัทฯ สนับสนุนการพัฒนาความสามารถ

ในการทำงานระดับมืออาชีพ บรรจุบุคคลให้เหมาะกับงาน ปฏิบัติ

กั บ พนั ก งานอย่ า งเท่ า เที ย มและเป็ น ธรรม จั ด ให้ มี ส วั ส ดิ ก าร

สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดีและปลอดภัย และให้ผลตอบแทนที่ เทียบเคียงได้ในธุรกิจเดียวกัน รายละเอียดในหัวข้อ “รายงานผลการ ดำเนินงาน” รวมทั้งจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้พนักงานมีจิตสำนึกเรื่อง การกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยให้มีการประเมินผลความเข้าใจและ ความพึงพอใจเป็นระยะๆ เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คู่ค้า : บริษัทฯ ปฏิบัติต่อคู่ค้าต่างๆ อย่างเสมอภาคและ เป็นธรรม โดยเป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้าและตามสัญญา บนพืน้ ฐาน ที่คู่ค้าต่างๆ จะยึดหลักแนวทางดำเนินธุรกิจเช่นเดียวกับบริษัทฯ

• เจ้าหนี้ : บริษัทฯ ปฏิบัติตามพันธะสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้

การค้าและสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด และหากมีเหตุอันจะทำให้ ไม่สามารถปฏิบัติตามข้อผูกพันในสัญญา บริษัทฯ จะแจ้งเจ้าหนี ้ ล่วงหน้าเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน ลูกค้า : บริษัทฯ สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า ด้วยการ รักษาคำมั่นสัญญาที่มีต่อลูกค้า การจัดส่งผลิตภัณฑ์และบริการที่มี คุณภาพ ตรงเวลา และด้วยราคาที่ยุติธรรม มีการประชุมหารือกับ ลูกค้าเพื่อรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ส่งผลให้ได้รับประโยชน์ สูงสุดร่วมกันทั้งสองฝ่าย และไม่มีพฤติกรรมประสานประโยชน์กับ

คู่แข่งซึ่งทำให้ลูกค้าไม่ได้รับความยุติธรรม โดยมีการประเมินผล ความพึงพอใจของลูกค้าทุกผลิตภัณฑ์ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งในปี 2552

ผลประเมินได้ตามเป้าหมายร้อยละ 100 คู่แข่ง : บริษัทฯ ยึดหลักการดำเนินธุรกิจอย่างเสรีและ

ส่งเสริมการค้าเสรี ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดีอย่าง ยุติธรรม มีจรรยาบรรณและอยู่ในกรอบกฎหมาย และจรรยาบรรณ ทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ กำหนดให้ บุ ค ลากรละเว้ น พฤติ ก รรมที่ ไ ม่ เหมาะสมอันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อคู่แข่งทางการค้า โดยใน ระยะเวลาที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ไม่ เ คยมี ข้ อ พิ พ าทใดๆ ในเรื่ อ งที่ เกี่ยวข้องกับคู่แข่งทางการค้า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม : บริษัทฯ ให้ความสำคัญ อย่างยิ่งกับการดำเนินธุรกิจด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ไม่ให้

ส่งผลกระทบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการ รองรับที่มีประสิทธิภาพ นอกเหนือไปจากการปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบี ย บอย่ า งเคร่ ง ครั ด มี ก ารลงทุ น ในโครงการเพื่ อ ลด

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รายละเอียดในหัวข้อ “การบริหารจัดการ ด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม” อีกทั้ง ให้การสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนโดยรอบโรงงานอย่างสม่ำเสมอ เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเสนอความเห็นเพื่อการพัฒนา อาชีพ การศึกษา และสภาพแวดล้อมในพื้นที่รอบโรงงาน และมี โครงการสนั บ สนุ น สั ง คมเพื่ อ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น โดยบริ ษั ทฯ กำหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมไว้อย่าง ชัดเจนในคู่มือการกำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้บุคลากรถือปฏิบัติ หากมีผลกระทบต่อชุมชนก็พยายามแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ไม่ให้

ยืดเยื้อ จนกลายเป็นความไม่เข้าใจและเกิดปัญหาระหว่างโรงงานกับ ชุมชน นอกจากการดู แ ลและมี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ปั ญ หาในระดั บ

ท้องถิ่นแล้ว ผู้บริหารของบริษัทฯ ยังมีบทบาทในการร่วมแก้ปัญหา สิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ ประเทศ โดยประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นตัวแทนภาคเอกชนในคณะกรรมการแก้ไข ปัญหาการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรค 2 รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (คณะกรรมการร่วม 4 ฝ่าย) ซึ่งแต่งตั้งโดย นายกรัฐมนตรี เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรา 67 วรรค 2


21

ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งรวมถึงกรณี

สิ่งแวดล้อมที่มาบตาพุด และผู้บริหารระดับสูงอีก 2 รายเป็นตัวแทน ในคณะอนุ ก รรมการประเมิ น โครงการที่ ส่ ง ผลกระทบรุ น แรงต่ อ สุขภาพ (HIA) การดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ยึด แนวทางซึง่ สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยการแสดงความรับผิดชอบของโรงงานอุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) ซึ่งประกอบด้วยประเด็นหลัก 7 ประเด็น ได้แก่ การ กำกับดูแลองค์กร สิทธิมนุษยชน การปฏิบตั ดิ า้ นแรงงาน สิง่ แวดล้อม การดำเนินงานอย่างเป็นธรรม ประเด็นด้านผู้บริโภคและการพัฒนา สังคม ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำหนดให้ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหนึ่ง ในค่านิยมขององค์กร “SPEED” (S = Social Responsibility)

เช่นเดียวกับจริยธรรม (E = Ethics) และสนับสนุนให้พนักงาน

เข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนรอบโรงงานและภายในจังหวัดระยอง โดย พิจารณาการเข้าร่วมกิจกรรมของพนักงาน เป็นส่วนหนึ่งของการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน รายละเอียดในหัวข้อ “ความรับผิดชอบต่อ สังคม” 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ มีกระบวนการเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดของการ เป็นบริษัทจดทะเบียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ โดยตระหนักถึงความ สำคั ญ ของการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ส ำคั ญ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง ข้ อ มู ล ทาง

การเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เสมอภาค และทันต่อเหตุการณ์ รวมทั้งเป็นไปตามกฎหมาย และระเบี ย บต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ

ผ่านช่องทางต่างๆ ที่สะดวกต่อการค้นหา เช่น เว็บไซต์ของบริษัทฯ ข่ า วประชาสั ม พั น ธ์ การแถลงข่ า วต่ อ สื่ อ มวลชน การประชุ ม

นักวิเคราะห์ ช่องทางการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และของ ก.ล.ต. เป็นต้น โดยมีหน่วยงานนักลงทุน สัมพันธ์และฝ่ายสื่อสารองค์กรและรัฐกิจสัมพันธ์ ทำหน้าที่เผยแพร่ ข้อมูลของบริษัทฯ ในปี 2552 ผู้บริหารระดับสูงรวมถึงส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ ได้ให้ข้อมูลนักลงทุนในโอกาสต่างๆ ได้แก่ การจัดพบปะนักลงทุน (Road Show) ในต่ า งประเทศ 3 ครั้ ง จั ด ประชุ ม นั ก วิ เ คราะห์ ทางการเงิน 4 ครั้ง การเข้าพบที่บริษัทฯ 75 ครั้ง การประชุมทาง โทรศัพท์ 500 ครั้ง การจัดประชุมนักลงทุนในประเทศ 3 ครั้ง

การเปิดเผยข้อมูลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษัทฯ 45 ครั้ง ส่งจดหมายข่าวถึงผู้ถือหุ้นทุกราย 3 ฉบับ และจัดนิทรรศการในงาน SET in the City และ Money Expo สำหรับการเผยแพร่ข่าวสารแก่ประชาชนทั่วไปผ่านสื่อมวลชน บริษัทฯ ได้จัดประชุม/สัมมนาสื่อมวลชน 1 ครั้ง ส่งข่าวเผยแพร่

15 ครั้ง นำสื่อมวลชนเยี่ยมชมโรงงาน 5 ครั้ง ผู้บริหารระดับสูง

ให้ สั ม ภาษณ์ สื่ อ มวลชนทั้ ง เป็ น หมู่ ค ณะและรายบุ ค คล 170 ครั้ ง นอกจากนั้นยังเป็นผู้ร่วมเสวนาและวิทยากรบรรยายในเวทีสื่อมวลชน และเวทีวิชาการด้านเศรษฐกิจ การบริหารจัดการ และสิ่งแวดล้อม

ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ ให้ ข้ อ มู ล ผ่ า นสื่ อ โทรทั ศ น์ วิ ท ยุ

สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อทางอินเทอร์เน็ต และพบปะกับสื่อมวลชนเป็นระยะๆ ตลอดปี เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนและประชาชน นอกจากการเปิดเผยข้อมูลแล้ว บริษัทฯ ยังมีช่องทางสื่อสาร

2 ทาง (two-way communication) ที่สะดวกรวดเร็ว คือ ผ่านทาง จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง เผยแพร่ ไ ว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ

ภายใต้ หั ว ข้ อ การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ซึ่ ง ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น และ ประชาชนทั่วไป สามารถแจ้งข้อร้องเรียนหรือข่าวสารถึงกรรมการ

บริ ษั ท ฯ หรื อ ติ ด ต่ อ สอบถามเกี่ ย วกั บ บริ ษั ท ฯ ได้ โดยติ ด ต่ อ เลขานุการบริษัทและเลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่

e-mail: corp-governance@pttar.com และภายใต้หัวข้อ “ข้อมูล

นักลงทุน” ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ที่ ir@pttar.com ซึ่งผู้ถือหุ้นได้ใช้ ช่องทางดังกล่าวในการติดต่อเป็นจำนวนมาก โดยในปี 2552 มีการ ตอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 1,500 ครั้ง สำหรับการเปิดเผยรายงานทางการเงินมีรายละเอียดอยู่ใน “รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน” 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ มีข้อกำหนดเกี่ยวกับองค์ประกอบและคุณสมบัติของ กรรมการเป็นลายลักษณ์อักษรในข้อบังคับ และคู่มือการกำกับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ ซึ่งเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดย กรรมการบริษัทฯ จะต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน มีวาระการดำรงตำแหน่งไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน มีกรรมการ อิสระจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะและต้อง

ไม่น้อยกว่า 3 คน และกำหนดคุณสมบัติเรื่องการถือหุ้นในบริษัท ของกรรมการอิสระที่เข้มกว่าเกณฑ์ของ ก.ล.ต. ประธานกรรมการบริษัทฯ ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับประธาน

เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงเป็นอิสระจากกัน

แต่ก็ถ่วงดุลซึ่งกันและกัน และมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ระหว่าง ประธานกรรมการ กรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายจัดการ ออกจากกันอย่างชัดเจน กรรมการบริษัทฯ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ประกอบด้วย ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ด้ า นปิ โ ตรเลี ย ม หรื อ ปิ โ ตรเคมี อ ย่ า งน้ อ ย 3 คน

ด้านกฎหมายอย่างน้อย 1 คน และด้านบัญชีและการเงินอย่างน้อย

1 คน การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ ต้องมีความโปร่งใส โดยผ่าน กระบวนการพิ จ ารณาของคณะกรรมการสรรหาและกำหนด

ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและ กำหนดค่าตอบแทนมีหน้าที่พิจารณาด้วยความรอบคอบในการเสนอ ชื่อบุคคลที่เหมาะสม พร้อมประวัติอย่างเพียงพอสำหรับการตัดสินใจ


22

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

เพื่อให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งตามข้อบังคับของบริษัทฯ ต่อไป โดยพิจารณารายชื่อบุคคลที่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอด้วย สำหรับการ เเต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ษั ท ฯ เเทนกรรมการที่ อ อกก่ อ นครบวาระ

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้เเต่งตั้ง ณ สิ้นปี 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้ทรง

คุณวุฒิทั้งหมด 15 คน เป็นกรรมการที่เป็นอิสระ 7 คน ประธาน กรรมการไม่เป็นสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อย โดยมีประธาน

เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ซึ่งเป็นฝ่ายจัดการอยู่ใน คณะกรรมการบริษทั ฯ เพียงคนเดียว โดยโครงสร้างของคณะกรรมการ

บริษัทฯ ทำให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่เป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือกลุ่ม ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) ต้ อ งถื อ หุ้ น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของจำนวนหุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ

ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ นิ ติ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง โดยให้ นั บ รวมหุ้ น ที่ ถื อ โดยผู้ ที่ เกี่ยวข้องด้วย (ข้อกำหนดขั้นต่ำของ ก.ล.ต. คือ ต้องถือหุ้นไม่เกิน ร้อยละ 1) 2) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น กรรมการที่ มี ส่ ว นร่ ว มบริ ห ารงาน/

พนักงาน/ลูกจ้าง/ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ/ผู้มีอำนาจควบคุม ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับ เดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 3) ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียน

ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรส ของบุตร กับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมของ บริษัทหรือบริษัทย่อย 4) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในลักษณะที่อาจ เป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ หรือผู้บริหารของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี 5) ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูเ้ กีย่ วข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระได้

บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น มีความ สำคั ญ ในการกำหนดนโยบายและทิ ศ ทางในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ

ตลอดจนกำกับดูแลและกำหนดจรรยาบรรณของบริษัทฯ เพื่อเป็น แนวทางในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ อันจะทำให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นทุกราย บริษัทฯ จึงกำหนด บทบาทหน้ า ที่ แ ละหลั ก ปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการและกรรมการ

บริ ษั ท ฯ เพิ่ ม เติ ม จากที่ ก ฎหมายกำหนด เพื่ อ เป็ น แบบอย่ า งให้

พนักงานทุกระดับยึดมั่นเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสร้าง ความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป โดยสรุปดังนี้ 1) ด้านการกำหนดนโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องให้ความเห็นชอบในเรื่องที่สำคัญ เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัทฯ เช่น วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายทางการเงิน ความเสีย่ ง แผนงานและงบประมาณ ตลอดจน กำกับดูแลการปฏิบัติการของฝ่ายจัดการตามแผนงานที่กำหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) ด้านการกำกับดูแลเพื่อสร้างมูลค่ากิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องกำหนดนโยบายด้านการบริหาร ความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้งองค์กร และกำกับดูแลให้มีระบบหรือ กระบวนการในการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ บริษัทฯ อย่างเหมาะสม โดยมีมาตรการรองรับและวิธีควบคุมเพื่อลด ผลกระทบต่อธุรกิจ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์กับธุรกิจ ของบริษัทฯ 3) ด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องปฏิบัติหน้าที่ ตลอดจนกำกับดูแล การดำเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์

ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างเคร่งครัด กำหนดนโยบาย การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณของบริ ษั ท ฯ ดู แ ลให้ บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและเป็นอิสระ ดูแลให้บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ดูแลรักษาผลประโยชน์ และสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ดูแลรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งมีรายละเอียดในหัวข้อ “รายการ ระหว่างกัน” ให้มคี วามเป็นธรรมเพือ่ ประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ โดยรวม รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามเข้ า ใจ

มีจติ สำนึกและปฏิบตั ติ ามแนวทางการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ 4) ด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจ ของบริ ษั ท ฯ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม

โดยพยายามลดมลพิ ษ จากอุ ต สาหกรรมควบคู่ ไ ปกั บ การส่ ง เสริม ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น อย่ า งยั่ ง ยื น ของสั ง คมไทย ซึ่ ง เริ่ ม ต้ น ที่ ก าร

ยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนรอบโรงงานให้ดีขึ้น


23

และมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและลดผลกระทบที่ชุมชนได้รับอย่าง จริงจัง เพื่อให้ชุมชนและโรงงานสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้การกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัทฯ บรรลุ เป้าหมายสูงสุด คณะกรรมการจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่ อ ทำหน้ า ที่ ศึ ก ษาในรายละเอี ย ด กลั่ น กรองและกำหนดกรอบ มาตรฐานงาน ตลอดจนการกำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการ บริหารในแต่ละด้าน เพื่อให้เกิดการตรวจสอบ ถ่วงดุล อันจะนำมา ซึ่งประสิทธิภาพในการบริหารงานและเกิดประโยชน์สูงสุดกับบริษัทฯ โดยในปี 2552 บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดย่อยทั้งหมด 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ข้อมูลเรื่องการทำหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะ กรรมการชุ ด ย่ อ ยทั้ ง 4 คณะ รวมทั้ ง ค่ า ตอบแทนกรรมการ มี

รายละเอียดอยู่ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หมายถึงกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ตามประกาศ ของคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ.28/2551 ซึ่งหมายความว่า กรรมการทีด่ ำรงตำแหน่งเป็นผูบ้ ริหาร กรรมการทีท่ ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการดำเนิ น การใดๆ เยี่ยงผู้บริหาร และให้หมายความรวมถึ ง กรรมการที่มีอำนาจลงนามผูกพัน เว้นแต่จะแสดงได้ว่าเป็นการ

ลงนามผูกพันตามรายการที่คณะกรรมการมีมติอนุมัติไว้แล้ว และ เป็นการลงนามร่วมกับกรรมการรายอื่น ในปี 2552 บริษัทฯ มีกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 ราย คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการ

ทีม่ อี ำนาจลงนามผูกพันอีก 2 ราย รายละเอียดในหัวข้อ “คณะกรรมการ” เลขานุการบริษัท ในการประชุมครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2551 คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง นางพวงเชาว์ นาคะนาท

ผู้จัดการสำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหารและเลขานุการบริษัท ดำรง ตำแหน่ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท ตามมาตรา 89/15 ของ พ.ร.บ.

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พ.ร.บ.

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 เพื่อทำหน้าที่ ให้คำแนะนำด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะ

ต้องทราบ ปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ และ ประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ รวมทั้งมี

หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบอื่ น ๆ ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ก ำหนดไว้ ใ น กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการ ในปี 2552 โดยกำหนดปฏิทินการประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปีมากกว่า ที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ คือ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง และจะมี ก ารประชุ ม นั ด พิ เ ศษเพิ่ ม ตามความจำเป็ น การประชุ ม

ทุกครั้งมีการกำหนดวาระการประชุมอย่างชัดเจน และมีการรายงาน ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ เป็นประจำ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมระเบียบวาระและเอกสารประกอบการประชุมล่วงหน้า เพื่อให้ คณะกรรมการได้มีเวลาในการพิจารณาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ ก่อนการประชุม ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ร่วมกันพิจารณาเรื่องจัดเป็นวาระการประชุม ตามความสำคัญและจำเป็น ส่วนกรรมการท่านอื่นก็สามารถเสนอ เรื่ อ งเข้ า เป็ น วาระการประชุ ม ได้ เ ช่ น กั น ในการประชุ ม ทุ ก ครั้ ง ประธานจะเปิดโอกาสให้กรรมการทุกท่านมีอิสระที่จะอภิปรายแสดง ความคิดเห็น นำเสนอเรื่องหรือซักถามในที่ประชุม และฝ่ายจัดการ ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง เข้าร่วมประชุมในวาระที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง เพื่อชี้แจงตอบข้อซักถามอย่างเต็มที่ ในการประชุม หากกรรมการ ท่านใดมีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ในวาระใด ต้องงดออกเสียง หรือให้ความเห็นในวาระนั้น หลังจากการประชุมทุกครั้ง บริษัทฯ จัด ทำรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยรายงานการประชุม มี ก ารรั บ รองในการประชุ ม ครั้ ง ต่ อ ไป และจั ด เก็ บ พร้ อ มเอกสาร

การประชุ ม ไว้ อ ย่ า งครบถ้ ว นในระบบจั ด เก็ บ เอกสารสำคั ญ ของ

บริ ษั ท ฯ เพื่ อ พร้ อ มสำหรั บ การตรวจสอบจากคณะกรรมการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเข้ า ร่ ว มประชุ ม ของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ปี 2552 ในปี 2552 คณะกรรมการบริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำกั ด (มหาชน) มี ก ารประชุ ม ตามวาระปกติ จำนวน 10 ครั้ง

การประชุมโดยไม่มีผู้บริหารและฝ่ายจัดการเข้าร่วมจำนวน 1 ครั้ง และการประชุ ม เฉพาะกรรมการอิ ส ระจำนวน 1 ครั้ ง โดยมี

รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการ ชุดย่อยของกรรมการแต่ละราย ดังนี้


24

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

กรรมการบริ ษั ท ฯ

รายชื่ อ กรรมการ

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์*** 2. นายอภัย จันทนจุลกะ 3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม 4. นายอำพน กิตติอำพน* 5. นายโชคชัย อักษรนันท์ 6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 7. นางพรรณี สถาวโรดม 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ 9. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช*** 10. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล 11. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 12. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี* 13. พลตำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส* 14. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์* 15. นายพิชัย ชุณหวชิร*/** 16. นายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์* 17. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์* 18. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

วาระปกติ 10 ครั้ ง

ประชุ ม โดยไม่ มี ผู้ บ ริ ห าร หรื อ ฝ่ า ย จั ด การ 1 ครั้ ง

ประชุ ม กรรมการ เฉพาะ กรรมการ กรรมการ สรรหาและ กรรมการ บริ ห าร กรรมการ ตรวจสอบ กำกั บ ดู แ ล กำหนด กิ จ การ ความเสี ่ ย ง อิ ส ระ ค่ า ตอบแทน 9 ครั้ ง 8 ครั ้ ง 7 ครั ้ ง 1 ครั้ ง 3 ครั้ ง

8/9 1/1 9/10 1/1 1/1 8/8 9/10 1/1 1/1 8/8 10/10 1/1 3/3 10/10 1/1 1/1 9/9 9/10 1/1 3/3 10/10 1/1 8/10 1/1 1/1 5/5 1/1 9/10 1/1 1/1 9/9 10/10 1/1 7/8 8/10 0/1 1/1 5/5 7/7 1/1 1/1 1/1 7/7 1/1 4/4 2/3 2/2 2/2 3/3 10/10

* กรรมการแต่งตั้งใหม่ 3 ท่าน ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552

2/3 7/7 7/7

0/2

คือ 1. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี 2. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส 3. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ 2 ท่านที่ครบวาระ คือ 1. นายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์ 2. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ กรรมการ 2 ท่านที่ครบวาระและได้รับการแต่งตั้งใหม่ คือ 1. นายอำพน กิตติอำพน 2. นายพิชัย ชุณหวชิร ** กรรมการลาออกระหว่างปี 2552 มี 1 ท่าน คือ นายพิชัย ชุณหวชิร ลาออกเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552 *** กรรมการแต่งตั้งใหม่ในระหว่างปี 2552 มี 2 ท่าน คือ 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 แทนนายพรชัย รุจิประภา 2. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช แต่งตั้งเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 แทนนายพิชัย ชุณหวชิร หมายเหตุ : นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 นายอำพน กิตติอำพน ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2552 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 นายอภัย จันทนจุลกะ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552


25

การประเมินผลงานคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีการประเมินผลคณะกรรมการ

บริษัทฯ หลังสิ้นสุดการดำเนินงานในปี 2552 จำนวน 1 ครั้ง โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ก รรมการพิ จ ารณาประเมิ น ผลงาน ปั ญ หา อุปสรรค รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะแก่บริษัทฯ นำไปใช้เป็นแนวทางใน การปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานของกรรมการให้ดียิ่งขึ้น โดย เป็ น การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านคณะกรรมการทั้ ง คณะและ

รายบุคคล (ประเมินตนเอง) จำนวน 15 ราย โดยการกำหนดเกณฑ์ ประเมินผล ดังนี้ 5 (ร้อยละ 100) = ดีมาก 4 (ร้อยละ 80) = ดี

3 (ร้อยละ 60) = มาตรฐาน 2 (ร้อยละ 40) = พอใช้ และ 1

(ร้อยละ 20) = ควรปรับปรุง สรุ ป ผลประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านประจำปี 2552 ของคณะ กรรมการทั้งคณะในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 95.90 ประกอบด้วยการประเมิน 4 หัวข้อใหญ่ 38 ข้อย่อย ดังนี้

หั ว ข้ อ

คะแนนเฉลี่ ย (ร้ อ ยละ)

1. นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy) 2. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ (Board Structure) 3. การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ (Board Performance) 4. การจัดเตรียมและดำเนินการประชุม (Board Meeting)

97.60 97.22 96.10 92.67

สรุปผลประเมินตนเองในการปฏิบัติงานประจำปี 2552 ของคณะกรรมการรายบุคคลในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 96.37 ประกอบด้วยการประเมิน 6 หัวข้อใหญ่ 22 ข้อย่อย ดังนี้

หั ว ข้ อ

คะแนนเฉลี่ ย (ร้ อ ยละ)

1. ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability) 2. ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility) 3. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม และสามารถอธิบายได้ (Equitable Treatment) 4. มีความโปร่งใสในการดำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ (Transparency) 5. การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว (Creation of Long-Term Value) 6 การมีจริยธรรม/จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน (Ethics)

96.33 96.67 95.56 96.67 93 100

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ มีนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนให้กรรมการทุกท่าน เข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และ สถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันวิทยาการตลาดทุน รวมทั้ง

เข้าร่วมสัมมนาในหัวข้อต่างๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ของกรรมการ บริษัทฯ ได้ดำเนินการให้กรรมการบริษัทฯ เป็นสมาชิกของ สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบันกรรมการบริษัทไทย เพื่อรับ ทราบข้ อ มู ล

ข่าวสาร และได้แจ้งให้กรรมการพิจารณาสมัครเข้ารับการอบรม หลั ก สู ต รต่ า งๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดปี ทั้ ง นี้ ณ สิ้ น ปี 2552 มี กรรมการที่ ผ่ า นการอบรมหลั ก สู ต ร Directors Accreditation Program (DAP) แล้ว 8 ท่าน หลักสูตร Directors Certification

Program (DCP) 8 ท่าน หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 2 ท่าน หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD)/Finance for Non-Finance Directors (FND) 5 ท่าน หลักสูตร The Role of Chairman (RCP) 2 ท่าน หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC) 1 ท่าน และหลักสูตรของ สถาบันวิทยาการตลาดทุน 12 ท่าน กรณีมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ จะชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ผลการดำเนินงาน โครงการขยายงาน โครงการร่วมทุน สรุปผลการ ประชุมคณะกรรมการที่ผ่านมา และแนวทางการปฏิบัติงานตาม

หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้กรรมการใหม่มีความเข้าใจใน ธุ ร กิ จ และสามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่ อ เนื่ อ งได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ


26

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

สำหรับรายละเอียดการพัฒนาผู้บริหารปรากฏในหัวข้อ “รายงาน ผลการดำเนินงาน” ทั้งนี้ การวางแผนการพัฒนาและสืบทอดงาน ของผู้บริหาร ต้องรายงานให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ โดย บริษัทฯ มีการทำแผนการทดแทนตำแหน่ง (Succession Planning) สำหรับตำแหน่งงานบริหาร ตลอดจนการโยกย้ายผู้บริหารภายในให้ เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่รับผิดชอบต่องบการเงินของ

บริษัทฯ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบให้ทำหน้าที่สอบทาน รายงานทางการเงินและดูแลให้มีการจัดทำรายงานทางการเงินอย่าง มีคุณภาพและถูกต้องตามมาตรฐานทางบัญชีที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป

มีการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญของบริษัทฯ อย่างโปร่งใสและเพียงพอ นำเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำปี งบการเงิน ดั ง กล่ า วตรวจสอบโดยผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าต บริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี

ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญ

ทั้งข้อมูลทางการเงิน และที่ไม่ใช่ทางการเงิน ดำเนินการบนพื้นฐาน ของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนสม่ำเสมอ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ า ตอบแทนกรรมการเป็ น ไปตามมติ ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ได้เปิดเผยข้อมูลไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนกรรมการ” ซึ่งเทียบเคียง ได้กับค่าตอบแทนรวมเฉลี่ยต่อปีของกรรมการในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน คือ กลุ่มทรัพยากร ตามรายงานการสำรวจค่าตอบแทนกรรมการ

ครัง้ ล่าสุด คือ ปี 2551 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

(IOD) โดยค่าตอบแทนประธานกรรมการบริษัทฯ เท่ากับร้อยละ 89.88 ของค่าเฉลี่ยของกลุ่มฯ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่เป็น ผู้ บ ริ ห ารเท่ า กั บ ร้ อ ยละ 90.96 ของค่ า เฉลี่ ย ของกลุ่ ม ฯ และ

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่ไม่เป็นผู้บริหารเท่ากับร้อยละ 89.07 ของค่าเฉลี่ยของกลุ่มฯ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน เป็นผู้ประเมิน ผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป เป็นประจำทุกปี เพื่อนำไปใช้ในการพิจารณากำหนดค่าตอบแทน

ตามเกณฑ์ที่เป็นรูปธรรม สะท้อนภาระหน้าที่ อยู่ในระดับที่สามารถ จูงใจบุคลากรได้ และสอดคล้องกับผลงานของบริษัทฯ และนำเสนอ ผลประเมินดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย ได้ทำการสำรวจระดับการกำกับดูแลกิจการ บริษัทจดทะเบียนไทย ประจำปี 2552 ซึ่งบริษัทฯ ได้รับการประเมิน เป็นครั้งแรก และบริษัทฯ ได้รับผลประเมินในกลุ่มดีเลิศ (5 ดาว) ช่วงคะแนน 90 - 100 คะแนน คณะกรรมการบริษัทฯ โดยคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ

มีความมุ่งมั่นที่จะยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้

ดียิ่งขึ้น และเทียบเคียงมาตรฐานสากล เพื่อให้การกำกับดูแลกิจการ เกิดประโยชน์และเป็นธรรมสูงสุดต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ และผู้มีส่วน

ได้เสียทุกกลุ่มต่อไป พลเอก (สมเจตน์ บุญถนอม) ประธานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ


27

ข้ อ มู ล บริ ษั ท

ชื่อ ทะเบียนเลขที่ ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ โรงกลั่นน้ำมัน โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 คลังวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ โฮมเพจ ข้อมูลนักลงทุน ประเภทธุรกิจ จำนวน/มูลค่าหุ้น นายทะเบียนหุ้น ผู้สอบบัญชีปี 2552

ค่าตอบแทนการสอบบัญชี

...

บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) 0107550000254 เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2140-4000 โทรสาร 0-2140-4111-2 เลขที่ 8 ถนนไอ-แปด นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-1000 โทรสาร 0-3897-1099 เลขที่ 4 ถนนไอ-สอง นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-2000 โทรสาร 0-3897-2099 เลขที่ 98/9 ถนนทางหลวงระยองสาย 3191 นิคมอุตสาหกรรมอาร์ ไอ แอล ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-3000 โทรสาร 0-3897-3099 เลขที่ 11 ถนนไอ-สี่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมืองระยอง จังหวัด ระยอง 21150 โทรศัพท์ 0-3897-2000 โทรสาร 0-3897-2099 www.pttar.com ir@pttar.com หรือ 0-2140-4000 ดำเนินธุรกิจกลั่นน้ำมันและจัดหาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูป ผลิต และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องจากสารอะโรเมติกส์ และธุรกิจบริษัทร่วมทุนต่างๆ ณ วันที่ 29 มกราคม 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนเท่ากับ 29,938,149,690 บาท แบ่งออก เป็นหุ้นสามัญจำนวนทั้งสิ้น 2,993,814,969 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ทุนชำระแล้ว คือ 29,643,449,180 บาท บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2654-5427 นายวินิจ ศิลามงคล ทะเบียนเลขที่ 3378 และ/หรือนายไวโรจน์ จินดามณีพิทักษ์ ทะเบียน เลขที่ 3565 และ/หรือนายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ทะเบียนเลขที่ 4068 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ชั้น 50 - 51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 บริษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีสำหรับปี 2552 ให้แก่สำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชี สังกัดในรอบบัญชีปี 2552 เป็นจำนวนเงิน 2,550,000 บาท


28

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2552 ปรากฏ ดังนี ้ ลำดั บ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่ อ

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) State Street Bank and Trust Company Chase Nominees Limited 42 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด HSBC (Singapore) Nominees Pte. Ltd. Merrill Lynch, Pierce, Fenner & Smith Inc. Norbax Inc., 13 State Street Bank and Trust Company for London Somers (U.K.) Limited กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

จำนวนหุ้ น

ร้ อ ยละ

1,441,987,368 68,947,158 67,488,128 67,092,241 34,399,533 18,707,299 17,381,987 15,841,481 14,815,000 13,106,858

48.65 2.33 2.28 2.26 1.16 0.63 0.59 0.53 0.50 0.44

นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในแต่ละปี โดยกำหนดให้จ่ายตาม ผลการดำเนินงานในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีและทุนสำรองต่างๆ ทั้งหมดของบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไขว่า การจ่าย เงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตด้วย สำหรับปี 2552 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติในการประชุมครัง้ ที่ 2/2553 เมือ่ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2553 ให้เสนอทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2553 อนุมัติการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1.25 บาท คิดเป็นเงิน 3,705,431,147.50 บาท จ่ายในอัตราหุน้ ละ 0.20 บาท จากกำไรสุทธิที่ได้รบั ยกเว้นภาษีจากสิทธิประโยชน์สง่ เสริมการลงทุน (BOI) จึงไม่สามารถเครดิตภาษีได้ จ่ายในอัตราหุ้นละ 0.80 บาท จากกำไรสุทธิที่ไม่ได้เสียภาษี เนื่องจากการใช้สิทธิประโยชน์จากผลขาดทุนสะสมยกมา จึงไม่สามารถ เครดิตภาษีได้ จ่ายในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท จากกำไรที่เสียภาษีในอัตราร้อยละ 25 จึงสามารถเครดิตภาษีได้ บุคลากร จำนวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,059 คน ผลตอบแทนพนักงาน รายการ จำนวนเงิน เงินเดือน = 58,091,095 บาท เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ = 5,975,347 บาท

• • •


29

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

...

และสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ในสัดส่วนการผลิตที่สอดคล้องกับความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า โดยมี ต้ น ทุ น การผลิ ต ต่ ำ โรงกลั่ น น้ ำ มั น ของ บริษัทฯ ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง มีกำลัง การกลั่นน้ำมันดิบและคอนเดนเสทรวม 280,000 บาร์เรลต่อวัน โดย 1. ธุรกิจการกลั่นน้ำมันและจัดหาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมคุณภาพสูงได้หลายประเภท ได้แก่ สำเร็จรูป น้ำมันสำเร็จรูปชนิดเบา ประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียม เหลว แนฟทาชนิดเบา และรีฟอร์เมท บริ ษั ท ฯ เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ก ลั่ น น้ ำ มั น และจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิโตรเลียมสำเร็จรูปชั้นนำของประเทศ โดยเป็นเจ้าของและเป็น น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป กึ่ ง หนั ก กึ่ ง เบา ประกอบด้ ว ย น้ ำ มั น ผู้ดำเนินการโรงกลั่นน้ำมันแบบ Complex ที่ทันสมัยที่สุดและมี อากาศยาน และน้ำมันดีเซล ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานสูงที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย น้ำมันสำเร็จรูปชนิดหนัก ประกอบด้วย น้ำมันเตา แปซิฟิก เนื่องจากสามารถเพิ่มความยืดหยุ่นของกระบวนการกลั่น ปัจจุบัน บริษัทฯ มีหน่วยกลั่นจำนวน 3 หน่วย ดังนี้ บริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ ด ำเนิ น กิ จ การโรงกลั่ น น้ ำ มั น และปิ โ ตรเคมี สายอะโรเมติ ก ส์ อ ย่ า งครบวงจร มี โ ครงสร้ า งการดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยสามารถแบ่งตามประเภทธุรกิจได้ ดังนี้

• • •

หน่ ว ยกลั ่น

หน่วยกลั่นน้ำมันดิบ

กำลั ง การกลั่ น (บาร์ เ รลต่ อ วั น )

รายละเอี ย ด

145,000

โรงกลั่ น น้ ำ มั น แบบ Complex มี ห น่ ว ย Hydrocracker และ Visbreaker ซึ่งสามารถเปลี่ยนน้ำมันเตาเป็นน้ำมันสำเร็จรูปชนิดกึ่งหนักกึ่งเบา ซึ่งทำการ กลั่นน้ำมันดิบเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูปเป็นหลัก ซึ่งอาจรวมถึง การผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่หน่วยผลิตอะโรเมติกส์

หน่วยกลั่นแยกคอนเดนเสท หน่วยที่ 1

70,000

ผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ และมีผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อื่นๆ ได้แก่ แนฟทาชนิดเบา ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และคอนเดนเสท เรสิดิว

หน่วยกลั่นแยกคอนเดนเสท หน่วยที่ 2

65,000

ผลิตรีฟอร์เมทเพื่อส่งให้แก่หน่วยผลิตอะโรเมติกส์ และมีผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อื่นๆ ได้แก่ แนฟทาชนิดเบา ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และคอนเดนเสท เรสิดิว

นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ด ำเนิ น การก่ อ สร้ า ง Upgrading Complex ระยะที่ 1 ซึ่งทำหน้าที่ผลิตน้ำมันปิโตรเลียมสำเร็จรูป จากคอนเดนเสท เรสิดิวที่เกิดจากกระบวนการกลั่นแยกคอนเดนเสท

แล้ วเสร็ จ เมื่ อเดื อ นมี น าคม 2552 โดยมีก ำลั ง การผลิ ต 55,000 บาร์เรลต่อวัน


30

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

2. ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ แ ละ ส่วนผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่ได้จากกระบวนการผลิต ได้แก่ แรฟฟิเนท และสารอะโรเมติกส์หนัก ผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ขั้นต้น ปัจจุบัน บริษัทฯ มีหน่วยผลิตอะโรเมติกส์ จำนวน 2 หน่วย ได้แก่ เบนซีน พาราไซลีน ออร์โธไซลีน โทลูอีน และมิกซ์ไซลีนส์ ดังนี้

หน่วย : ตันต่อปี ผลิ ต ภั ณ ฑ์

พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน ออร์โธไซลีน มิกซ์ไซลีนส์ โทลูอีน รวม

หน่ ว ยผลิ ต อะโรเมติ ก ส์ หน่ ว ยที่ 1

540,000 307,000 200,000 66,000 76,000 - 1,189,000

3. กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม บริษัทฯ ได้แสวงหาโอกาสในการขยายธุรกิจ โดยการร่วมทุน กับบริษทั อืน่ ในการดำเนินโครงการต่างๆ เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงาน ของบริษัทฯ สร้างผลกำไรและการเติบโตที่ยั่งยืนในอนาคต บริ ษั ท ร่ ว มทุ น

ลั ก ษณะธุ ร กิ จ

หน่ ว ยผลิ ต อะโรเมติ ก ส์ หน่ ว ยที่ 2

รวม

655,000 355,000 - - - 60,000 1,070,000

1,195,000 662,000 200,000 66,000 76,000 60,000 2,259,000

ทั้งนี้ โครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทร่วมทุนและกิจการร่วมค้า ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สามารถสรุปได้ดังนี ้

ทุ น จดทะเบี ย น (ล้ า นบาท)

ทุ น จดะเบี ย น ชำระแล้ ว (ล้ า นบาท)

สั ด ส่ ว น การถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท ฯ (เงิ น ลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ)

บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสารฟีนอล 9,252 7,985

ร้อยละ 30 (2,396 ล้านบาท)

บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายไอน้ำ/ไฟฟ้า 6,859 6,859

ร้อยละ 20 (1,372 ล้านบาท)

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด

ผู้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 150 150 และการสื่อสารแก่บริษัทผู้ถือหุ้น

ร้อยละ 20 (30 ล้านบาท)

บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด

ผู้บริหารจัดการและดำเนินการ 6 6 กลั่นน้ำมันของโรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ กับโรงกลั่นน้ำมันสตาร์ปิโตรเลียม

ร้อยละ 49.99 (3 ล้านบาท)

ผู้บริการด้านการจัดหาแรงงาน 2 2 และจ้างเหมาบริการแก่ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

ร้อยละ 25 (5 แสนบาท)

บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด

หมายเหตุ : บริษัทฯ มีกระบวนการผลิตที่สามารถปรับเปลี่ยน เพื่อให้ได้ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของตลาด


3

รายงาน

...

ผลการดำเนิ น งาน

ปี 2552 เป็นอีกปีหนึ่งที่บริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการ ดำเนินงานด้านต่างๆ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดโครงสร้างองค์กรและการพัฒนาองค์กร หลังการควบรวมบริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ATC) และบริษัท โรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด (มหาชน) (RRC) เป็นบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) (PTTAR) เมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2550 พนักงานของ RRC เดิมยังคง ต้องปฏิบัติงานให้กับบริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด (ARC) ซึ่ ง เป็ น ผู้ บ ริ ห ารจั ด การโรงกลั่ น น้ ำ มั น ภายใต้ สั ญ ญาร่ ว มปฏิ บั ติ การกลั่นระหว่าง RRC และบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (SPRC) ต่อไปจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2552 นับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นมา พนักงานของ PTTAR ทั้งหมดจึงได้ปฏิบัติงานร่วมกันภายใต้โครงสร้างองค์กรใหม่ โดยมุ่ ง เน้ น การผสมผสานและปรั บ ปรุ ง ทั้ ง วั ฒ นธรรม โครงสร้ า ง ระบบงาน หลักเกณฑ์และขั้นตอนการทำงานของ ATC และ RRC ให้ อ ยู่ ใ นกรอบเดี ย วกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเสมอภาคและยุ ติ ธ รรม ทั่วทั้งองค์กร โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ จัดให้พนักงานมีส่วนร่วมในการกำหนดค่านิยมขององค์กร และจัดกิจกรรมสร้างให้เกิดความเข้าใจ และปฏิ ปฏิบัติตาม ค่านิยมอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ ได้กำหนดค่านิยม : SPEED ดังนี้ S = Social Responsibility and Caring P = Professionalism E = Ethics E = Engagement D = Diversity & Teamwork จัดกิจกรรมเสริมสร้างทีมงานและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง พนักงาน โดยมุ่งเน้นให้พนักงานทุกระดับเป็นหนึ่งเดียวให้ เร็วที่สุด พร้อมทั้งผสมผสานวัฒนธรรมในการทำงานให้ เป็นบรรทัดฐานเดียวกัน

• • • •

ปรับปรุงหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่งงานต่างๆ ให้ ชัดเจน รวมทั้งวางหลักเกณฑ์และแนวทางการเติบโตใน สายวิ ช าชี พ ตาม Technical Ladder และทำการ ประเมินค่างานตามหน้าที่ใหม่ เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐานใน การกำหนดระดั บ และอั ต ราเงิ น เดื อ นของพนั ก งานให้ สอดคล้องกับค่างานตามโครงสร้างองค์กรใหม่ จัดให้มีการมอบหมายอำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานและ สั่งงาน (Authority) ของพนักงานระดับบังคับบัญชาให้ เหมาะสมกับขอบข่ายการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ปรับปรุงระบบสวัสดิการของพนักงานให้เป็นระบบเดียวกัน ทั้งองค์กรและอยู่ในระดับที่เทียบเคียงได้กับอุตสาหกรรม ที่ใกล้เคียงกัน วางกรอบ Leadership Competency และ Management Practices รวมทัง้ พัฒนาผูบ้ ริหารให้มที กั ษะและคุณลักษณะ ตามกรอบที่กำหนด บริ ห ารการเปลี่ ย นแปลงอย่ า งเป็ น ระบบโดยมุ่ ง เน้ น การ สื่อสารแบบสองทาง พร้อมทั้งฝึกอบรมให้ผู้บริหารตั้งแต่ ระดับส่วนทำหน้าที่ Change Agent เพื่อสร้างความเข้าใจ ในเรื่ อ งต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น พร้ อ มทั้ ง เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานได้ เ สนอหรื อ แสดงความคิ ด เห็ น โดยตรงกับผู้บริหาร สำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพื่อนำไปจัดทำแผนงานบุคคลให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น

2. ด้ า นการผลิ ต การจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ และการจำหน่ า ย ผลิตภัณฑ์ 2.1 การผลิต โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ได้เริ่มเปิดดำเนินการ เชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2552 และโครงการ Upgrading Complex ระยะที่ 1 ซึ่งนำคอนเดนเสท เรสิดิว (Condensate


32

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

Residue หรือ CR) จากโรงงาน AR3 มาผลิตเป็นน้ำมันอากาศยาน และน้ำมันดีเซล ได้ก่อสร้างแล้วเสร็จและทดลองเดินเครื่องตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2552 ปัจจุบัน หน่วยผลิตทั้ง 3 แห่ง คือ โรงกลั่นน้ำมัน (AR1) โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 (AR2) และโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ได้ดำเนินการผลิตร่วมกันอย่างเต็มรูปแบบ และ บริษัทฯ ได้ร่วมกับบริษัท Shell Global Solutions (SGS) จัดทำ

โปรแกรมวางแผนการผลิต (Global Linear Programming Model) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนการผลิต โดยประมวลจากราคา วัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ปริมาณความต้องการ และความพร้อม ของหน่ ว ยการผลิ ต ต่ า งๆ โดยให้ ผ ลลั พ ธ์ เ ป็ น แผนการผลิ ต ที่ ใ ห้ ผลตอบแทนสูงสุดแก่บริษัทฯ ทั้งนี้ สามารถสรุปผลการดำเนินงาน ด้านปฏิ ปฏิบัติการผลิตปี 2552 ได้ดังนี้ หน่วย : พันบาร์เรลต่อวัน

โรงกลั่ น AR1

โรงงาน AR2

โรงงาน AR3

รวม

วัตถุดิบหลัก

144.8

42.3

55.0

242.1

น้ำมันดิบ คอนเดนเสท

144.8 158.2 3.3 15.7 20.9 19.9 74.4 24.1 -

42.3 48.6 5.5 13.1 10.0 4.9 3.1 2.2 9.8

55.0 52.3 5.7 16.0 11.7 5.8 13.0

144.8 97.3 259.1 14.5 44.8 20.9 19.9 74.4 24.1 21.8 10.7 3.1 2.2 22.8

ผลิตภัณฑ์หลัก

ก๊าซแอลพีจี แนฟทาชนิดเบา รีฟอร์เมท น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน สารอะโรเมติกส์อื่น คอนเดนเสท เรสิดิว


33

โรงกลั่น AR1 ไม่มีแผนการหยุดซ่อมบำรุงในปี 2552 แต่หยุด ฉุกเฉินเพื่อซ่อมหน่วย Hydrocracker (HCU) เป็นเวลาเพียง 7 วัน จึ ง ทำให้ มี อั ต ราการใช้ ก ำลั ง การผลิ ต ที่ ร้ อ ยละ 102 ส่ ว นโรงงาน อะโรเมติกส์มีอัตราการใช้กำลังการผลิตร้อยละ 82 เนื่องจากบริษัทฯ ต้องลดการผลิตในช่วงต้นปี จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจซึ่งส่งผลให้

ความต้องการใช้สารอะโรเมติกส์ลดลงทั่วโลก ในปี 2552 บริษัทฯ สร้างประโยชน์จากการ Synergy ระหว่าง หน่วยผลิตทั้ง 3 แห่งคิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 130.3 ล้านเหรียญ สหรัฐ ประกอบด้วย

ผลประโยชน์ จ ากการ Synergy โรงงานทั้ ง 3 แห่ ง

ผลประโยชน์ (ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ )

1. การลดการเก็บสต็อกน้ำมันดิบ 2. การใช้ N2 Blanket ที่ถังรีฟอร์เมท 3. การใช้ท่าเทียบเรือและถังเก็บวัตถุดิบที่ AR1 4. การใช้สารอะโรเมติกส์หนักผสมในน้ำมันเตาแทนน้ำมันดีเซล 5. การนำรีฟอร์เมทไปผลิตอะโรเมติกส์แทนการส่งออก 6. การนำ Condensate Residue ไปกลั่นที่หน่วย CRS แทนการส่งออก 7. การส่งก๊าซไฮโดรเจนที่เหลือใช้จาก AR2/AR3 มาใช้ที่ AR1 รวมผลประโยชน์จากการ Synergy โรงงานทั้ง 3 แห่ง

0.03 3.46 8.50 6.58 57.05 54.24 0.43 130.29

2.2 การจัดหาวัตถุดิบ บริษัทฯ ได้จัดหาน้ำมันดิบและคอนเดนเสทซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตผ่าน บมจ. ปตท. ในราคาตลาด เป็นปริมาณรวมทั้งสิ้น 88.58 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 5,468 ล้านเหรียญสหรัฐ วั ต ถุ ดิ บ หลั ก

น้ำมันดิบ คอนเดนเสท รวมทั้งสิ้น

ปริ ม าณ (ล้ า นบาร์ เ รล)

ราคาเฉลี่ ย (เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล)

มู ล ค่ า (ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ )

52.98 35.60 88.58

62.65 60.37 61.52

3,319 2,149 5,468


34

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้วางแผนเลือกนำน้ำมันดิบที่ได้ผลกำไรดีกว่า น้ำมันดิบตามแผนธุรกิจเข้ามากลั่น ได้แก่ Al Shaheen, Masila, Pattani, Benchamas, Umm Shaif และ Dar Blend ทำให้

มีผลกำไรเพิ่ม 6.27 ล้านเหรียญสหรัฐ การ Synergy กับโรงกลั่นอื่น

ได้แก่ การร่วมขนส่งน้ำมันดิบกับโรงกลั่น SPRC และ IRPC ทำให้ ประหยัดค่าขนส่ง 8.26 ล้านเหรียญสหรัฐ การนำ High Flash Kerosene จาก SPRC มาใช้ในการผลิตทำให้ได้ประโยชน์ 0.50 ล้านเหรียญสหรัฐ

ผลประโยชน์

ผลประโยชน์ (ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ )

1. โรงกลั่น AR1 (เลือกใช้น้ำมันดิบที่มีราคาถูก High Mercury, High TAN) 2. การร่วมขนส่งน้ำมันดิบกับบริษัทอื่น (SPRC, IRPC) 3. การนำ High Flash Kerosene มาใช้ในการผลิต รวมผลประโยชน์ 2.3 การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ในปี 2552 บริษัทฯ สามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้ ปริมาณรวม 73.9 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่า 4,771 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยลูกค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหลักของบริษัทฯ ได้แก่ ปตท. ซึ่งมี สัญญาซื้อผลิตภัณฑ์ร้อยละ 70 ของกำลังการผลิตเดิม และทั้งหมด ของกำลั ง การผลิ ต ส่ ว นเพิ่ ม (โดยเป็ น ราคาในประเทศอย่ า งน้อย

ร้อยละ 50) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้หาลูกค้ารายใหม่ๆ เพิ่มเติม

โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์น้ำมันเตา ทำให้บริษัทฯ มีความยืดหยุ่นใน

การผลิตและจำหน่ายมากขึ้น ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่บริษัทฯ

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

ในประเทศ ส่งออก รวมทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์

ในประเทศ ส่งออก รวมทั้งสิ้น

6.27 8.26 0.50 15.03

ส่งออกไปจำหน่ายในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ จีน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม มีจำนวนรวมกันประมาณร้อยละ 32 ของการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั้งหมด สำหรับผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ บริษัทฯ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ได้ รวมทั้งสิ้น 1.86 ล้านตัน โดยส่วนใหญ่เป็นการจำหน่ายในประเทศ ผ่าน ปตท. ร้อยละ 78 ส่วนที่เหลือบริษัทฯ ส่งไปจำหน่ายยังภูมิภาค เอเชีย ได้แก่ สิงคโปร์ ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน อินเดีย และเกาหลี รวมทั้งภูมิภาคอื่นๆ เช่น คูเวต เป็นต้น

ปริ ม าณ

ราคาเฉลี่ ย

มู ล ค่ า

สั ด ส่ ว นตามมู ล ค่ า

(ล้านบาร์เรล) 51.7 22.2 73.9 (ล้านตัน) 1.40 0.46 1.86

(เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล) 63.1 68.0 64.6 (เหรียญสหรัฐต่อตัน) 856 729 825

(ล้านเหรียญสหรัฐ) 3,260 1,511 4,771 (ล้านเหรียญสหรัฐ) 1,198 335 1,533

(ร้อยละ) 68 32 100 (ร้อยละ) 78 22 100

3. การดำเนิ น งานด้ า นเทคนิ ค วิ ศ วกรรม การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต และการบริ ห ารโครงการ ขยายงาน ในปี 2552 บริษทั ฯ ยังคงให้ความสำคัญในการปรับปรุงหน่วยผลิต ทั้ ง ในส่ ว นของโรงกลั่ น น้ ำ มั น และโรงงานอะโรเมติ ก ส์ เพื่ อ เพิ่ ม เสถียรภาพ (Reliability) ของหน่วยผลิต และเพิ่มศักยภาพการ

แข่งขันในระยะยาว ตลอดจนการพัฒนาความสามารถของบุคลากร ด้านเทคนิคและวิศวกรรมของบริษัทฯ ให้มากขึ้น โดยสามารถสรุป รายละเอียด ดังนี้ 3.1 การปรับปรุงเสถียรภาพของหน่วยผลิต จัดตั้งคณะทำงานวิเคราะห์ปัญหาที่ทำให้เกิด Unplanned Shutdown ทั้ ง ในส่ ว นของโรงกลั่ น น้ ำ มั น และโรงงาน


35

อะโรเมติ ก ส์ โดยจะวิ เ คราะห์ ต้ น เหตุ ข องปั ญ หาและให้

ข้ อ แนะนำในการแก้ ปั ญ หาเพื่ อ ให้ เ กิ ด การผลิ ต อย่ า ง

ต่อเนื่องตามแผนธุรกิจประจำปี เตรียมดำเนินการปรับปรุงระบบควบคุมการผลิต (DCS Upgrading Project) ระยะที่ 2 ซึ่งจะทำการปรับปรุงระบบ และติดตั้งระบบใหม่ในช่วงการหยุดซ่อมบำรุงใหญ่โรงกลั่น น้ำมัน ซึ่งโครงการนี้จะช่วยเพิ่มเสถียรภาพและรองรับ

การขยายกำลังการผลิตของโรงกลั่นน้ำมันในอนาคต จัดทำ Equipment Integrity Review ทีโ่ รงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 ทั้งหมด แทนการทำ First Turnaround & Inspection ทำให้ไม่ต้องหยุดการผลิตประมาณ 20 วัน ตามแผนที่วางไว้ ดำเนินการติดตั้งชุดวาล์วควบคุมใหม่ที่หน่วย PAREX ที่ โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 เพื่อลดความเสี่ยงจากการ หยุดผลิตโดยไม่ได้คาดหมาย ทำให้บริษัทฯ ลดการสูญเสีย ลงได้ประมาณ 10 ล้านบาทต่อปี โดย ณ สิ้นปี 2552 โครงการมีความก้าวหน้าโดยรวมร้อยละ 40 และคาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จในเดือนมีนาคม 2553 บริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการซ่อมบำรุงตามแผนงาน ส่งผลให้บริษัทฯ มีความพร้อมในการเดินเครื่องหน่วยผลิต (Plant Availability) กว่าร้อยละ 98 สูงกว่าแผนที่กำหนด ไว้ที่ร้อยละ 97 บริหารงานซ่อมบำรุงใหญ่ (Turnaround Management) ของโรงงานทั้ง 3 แห่ง แบบแผนงานรวม (Long Term Shut Down Plan) พร้ อ มทั้ ง มี ก ารดำเนิ น งานแบบ Integrated Turnaround Team ส่งผลให้งานซ่อมบำรุงใหญ่ ของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพ และยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ เชิงธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 3.2 การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต โครงการปรั บ ปรุ ง หน่ ว ยกลั่ น ให้ ส ามารถรั บ น้ ำ มั น ดิ บ

ค่าความเป็นกรดสูง (High Total Acid Number) ซึ่งมี ราคาถูกได้ เพื่อให้โรงกลั่นน้ำมันมีความยืดหยุ่นในการ เลือกใช้วตั ถุดบิ มากชนิดขึน้ โดยบริษทั ฯ ได้ดำเนินโครงการ แล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม 2552 โครงการก่อสร้างหน่วยกำจัดสารปรอท (Mercury Removal Unit หรือ MRU) เพือ่ ให้โรงกลัน่ น้ำมันสามารถนำน้ำมันดิบ ที่มีสารปรอทสูงจากในประเทศมาเข้ากลั่นได้ โดยบริษัทฯ ได้ดำเนินโครงการแล้วเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน 2552 โครงการก่อสร้างหน่วย Pressure Swing Absorption (PSA) เพื่ อ ผลิ ต ก๊ า ซไฮโดรเจนบริ สุ ท ธิ์ ที่ โ รงงานอะโรเมติ ก ส์

หน่วยที่ 2 นำไปใช้แทนก๊าซไฮโดรเจนที่ผลิตจากก๊าซ ธรรมชาติของโรงกลั่นน้ำมัน ซึ่งมีต้นทุนการผลิตสูงกว่า

• • •

• • • •


36 โครงการได้ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2552 ก่อนกำหนดประมาณ 2 เดือน การปรับปรุงกระบวนการผลิตในโรงงานอะโรเมติกส์ เช่น การปรับเพิ่มกำลังการผลิตหน่วย TAC9 ร้อยละ 5.5 โดย ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการลงทุน การปรับปรุงการเดินเครือ่ งทีห่ น่วย Tatoray เพื่ อ ลดผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ บนซี น และเพิ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พาราไซลีนตามสภาวะตลาด การปรับการผลิตหน่วย Isomar เพื่อลดการสูญเสียไซลีน เป็นต้น คิดเป็นผลประโยชน์ที่ได้ ในปี 2552 ประมาณ 16.5 ล้านเหรียญสหรัฐ การเปลี่ ย นอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย นความร้ อ นของหน่ ว ย รี ฟ อร์ เ มอร์ ที่ โ รงงานอะโรเมติ ก ส์ หน่ ว ยที่ 1 ทำให้ มี ประสิทธิภาพและกำลังการผลิตสูงขึ้น โดยคาดว่าจะติดตั้ง แล้วเสร็จในช่วงการซ่อมบำรุงใหญ่ในปี 2553 3.3 การบริหารโครงการขยายงาน โครงการโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ก่อสร้าง และทดลองเดินเครือ่ งแล้วเสร็จ เมือ่ วันที่ 10 มกราคม 2552 ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ เพิ่มขึ้นเป็น 2.26 ล้านตันต่อปี ซึ่งสูงที่สุดในประเทศ และ เป็นอันดับที่ 7 ในเอเชีย โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 1 (Upgrading Complex Phase 1) หรือโครงการ ก่อสร้างหน่วย Condensate Residue Splitter: CRS เพือ่ นำคอนเดนเสท เรสิดวิ ทีผ่ ลิตได้จากโรงงานอะโรเมติกส์ มาเพิ่ ม มู ล ค่ า เป็ น น้ ำ มั น อากาศยาน น้ ำ มั น ดี เ ซล และ น้ำมันเตา โดยมีกำลังการผลิต 55,000 บาร์เรลต่อวัน โดย โครงการดังกล่าวก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม 2552 โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 2 (Upgrading Complex Phase 2) หรือโครงการ ก่อสร้างหน่วย Deep Hydrodesulfurization: DHDS เพื่อ ผลิตน้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำพิเศษ 50 ppm (มาตรฐานยูโร 4) รองรับนโยบายปรับปรุงคุณภาพน้ำมันที่จะเริ่มบังคับใช้ใน ปี 2555 โดย ณ สิ้นปี 2552 โครงการมีความก้าวหน้า โดยรวมร้อยละ 16.45 โครงการผลิตพลังงานทดแทน (Green Jet/Green Diesel) บริษัทฯ อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุน ผลิตเชื้อเพลิง Green Jet และ Green Diesel ซึ่งเป็น generation ที่ 2 ของเชื้อเพลิงชีวภาพ ซึ่งมีคุณสมบัติ ดีกว่าน้ำมันเชื้อเพลิงปิโตรเลียม สามารถใช้ผสมในน้ำมัน อากาศยานและน้ ำ มั น ดี เ ซลได้ ใ นสั ด ส่ ว นที่ สู ง และเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ที่ ป ลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกต่ ำ เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม

• • • • • •

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)


37

4. การดำเนินงานด้านการเงิน จากสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจถดถอยทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลกในช่วงปี 2552 เนื่ อ งจากปั ญ หาสินเชื่อด้อยคุณภาพ (Sub-Prime) ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เกิดปัญหาสินเชื่อตึงตัว (Credit Crunch) เป็นความเสี่ยงสูงที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด บริ ษั ท ฯ ได้ ด ำเนิ น การจั ด หาเงิ น กู้ ร ะยะยาวจำนวนทั้ ง สิ้ น 18,000 ล้านบาท ทดแทนหนี้ระยะสั้นบางส่วน เพื่อให้มั่นใจว่าใน สถานการณ์ที่สินเชื่อตึงตัวในตลาดโลก บริษัทฯ จะมีสภาพคล่อง เพียงพอสำหรับการดำเนินธุรกิจและการขยายงาน รายละเอียดของ เงินกู้ระยะยาวที่ดำเนินการจัดหา มีดังนี้ ออกหุ้นกู้สกุลเงินบาทจำนวน 15,000 ล้านบาท โดยหุ้นกู้ มีอายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.50 เสนอขายต่อ นักลงทุนสถาบันและนักลงทุนทั่วไป (Public Offering) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 ลงนามในสัญญาเงินกู้ระยะยาวจำนวน 3,000 ล้านบาท ระยะเวลาสัญญา 8 ปี กับธนาคารเพื่อการส่งออกและ

นำเข้าแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2552 นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ดำเนินการเจรจากับธนาคารในประเทศ หรือธนาคารต่างประเทศที่มีสาขาในประเทศไทย ให้พิจารณาวงเงินกู้ หมุนเวียนระยะสัน้ (Working Capital Facilities) แก่บริษทั ฯ เพิม่ เติม และ/หรือต่ออายุวงเงินกู้ที่ครบกำหนดออกไป 5. ด้านการบริหารความเสี่ยงและโครงการร่วมทุน 5.1 การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพื่อช่วยกำหนดนโยบายและแนวทางในการบริหารความเสี่ยงให้ ครอบคลุมทัง้ องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพแทนคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบสามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส อบทาน

การปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานในองค์กรได้อย่างเป็นอิสระ นับตั้งแต่ช่วงปลายปี 2551 ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกาจากปัญหา

หนี้ด้อยคุณภาพ (Sub-Prime Loan) อีกทั้งการขยายกำลังการผลิต หลายแห่งในประเทศแถบเอเชีย ทำให้ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ เช่น ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้

ในปี 2551 บริษัทฯ มีผลประกอบการขาดทุนจำนวนมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผลขาดทุนจากการประเมินมูลค่าน้ำมันคงคลัง ปี 2552

จึงเป็นปีที่ท้าทายสำหรับธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นที่ต้องมีการ บริ ห ารจั ด การให้ ธุ ร กิ จ อยู่ ร อดได้ ภ ายใต้ ส ภาวะที่ ยั ง คงผั น ผวน

โดยสามารถสรุปภาพรวมการบริหารความเสี่ยงในปี 2552 ได้ดังนี้ 1. ดำเนินการสอบทานความเสี่ยงเพื่อให้ผลการดำเนินงาน

ของบริษัทฯ เป็นไปตามเป้าหมาย

• •

2. ติ ด ตามการดำเนิ น งานบริ ห ารความเสี่ ย งให้ ค รอบคลุ ม

ทุกด้าน และเป็นไปตามแผน ดังนี้ ความเสี่ ย งด้ า นความผั น ผวนของค่ า การกลั่ น และราคา น้ำมัน ความสัมพันธ์หรือส่วนต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม สำเร็จรูปและราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์กับราคาของน้ำมันดิบและ วัตถุดิบอื่นๆ ที่ใช้ในการกลั่นน้ำมันและการผลิตเป็นปัจจัยหลักที่

ส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษัทฯ ทั้งนี้ ต้นทุนในการซื้อ น้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ กับราคาขายของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สำเร็จรูปและราคาขายของผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ขึ้นอยู่กับราคา ตลาดโลก ซึง่ มีปจั จัยหลายประการทีอ่ ยูน่ อกเหนือการควบคุมของบริษทั ฯ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ ได้มีการ เจรจาสูตรราคากับคู่ค้าเป็นระยะ เพื่อให้ราคาซื้อขายสะท้อนราคา ตลาดในปัจจุบัน รวมทั้งเลือกใช้วัตถุดิบที่เหมาะสมกับกระบวนการ ผลิ ต ของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ค วามยื ด หยุ่ น สู ง นอกจากนี้ ยั ง ได้ น ำการ

ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในรูปแบบต่างๆ มาใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารความเสี่ยงเพิ่มเติม ดังนี ้ 1) ทำสั ญ ญาป้ อ งกั น ความเสี่ ย งด้ า นค่ า การกลั่ น ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (Crack Spread) ในจำนวน ร้อยละ 16.5 ของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ และสัญญาซื้อ น้ำมันดิบดูไบล่วงหน้าเพื่อบริหารค่าต้นทุนเชื้อเพลิง และการสูญเสีย (Fuel & Loss) จำนวนร้อยละ 14.0 ของปริมาณเชื้อเพลิงและการสูญเสีย 2) ทำสั ญ ญาซื้ อ น้ ำ มั น ดิ บ ดู ไ บล่ ว งหน้ า เพื่ อ กำหนด

ส่ ว นต่ า งราคาพาราไซลี น ในจำนวนร้ อ ยละ 19.8

ของพาราไซลีนที่ผลิตได้ 3) แปลงต้ น ทุ น ราคาวั ต ถุ ดิ บ ให้ ต รงกั บ เดื อ นที่ ท ำการ

ผลิตจริง เพื่อลดความผันผวนของผลประกอบการ

ในแต่ละเดือน


38

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

Rate Swap) บางส่วนเพื่อให้มีสัดส่วนอัตราดอกเบี้ยคงที่และอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวที่เหมาะสม ซึ่งในปี 2552 บริษัทฯ ได้แปลงอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ของหุ้นกู้บางส่วนเป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในระยะสั้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้ลงได้ ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบและนโยบายรัฐที่เปลี่ยนแปลง เช่ น เดี ย วกั บ ผู้ ป ระกอบการรายอื่ น ในประเทศ บริ ษั ท ฯ ประกอบกิจการภายใต้กฎหมายและการกำกับดูแลอย่างเข้มงวด

ของรัฐบาล ดังนั้น ธุรกิจของบริษัทฯ ย่อมได้รับผลกระทบโดยตรง จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล เช่น นโยบายควบคุมราคา ก๊าซหุงต้ม นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ดำเนินการติดตามสถานการณ์ และวางแนวทางบรรเทาความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ และนโยบายรัฐ โดยเฉพาะในเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ทำให้บริษัทฯ บรรเทาผลกระทบจากกรณีนี้ลงได้เป็นอย่างมาก ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ในช่วงที่ผ่านมา หน่วยการผลิตของบริษัทฯ ได้มีการหยุด การดำเนิ น การนอกเหนื อ กำหนดการที่ ว างไว้ (Unscheduled Shutdown) โดยมีสาเหตุมาจากหลายประการ เช่น ระบบไฟฟ้า ขัดข้อง การขัดข้องของหน่วยการผลิต เป็นต้น อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ กั บ การบริ ห าร

ความเสี่ยงทางด้านปฏิบัติการเพื่อเป็นการบรรเทาความรุนแรงที่อาจ เกิดขึ้น โดยบริษัทฯ ได้ตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ ต่างๆ ของทุกหน่วยการผลิตตามระยะเวลาที่กำหนด ติดตามการ ปรับปรุง Reliability ของโรงไฟฟ้า PTTUT CUP2 วางแผนจัดหา น้ำสำหรับใช้ในกระบวนการผลิต รวมทัง้ ได้เพิม่ การบริหารความเสีย่ ง ด้านความเชื่อถือได้ (Reliability) สำหรับหน่วยการผลิตในทะเบียน ความเสี่ยงระดับองค์กรปี 2553 ด้วย ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุง Reliability ของหน่ ว ยการผลิ ต ให้ สู ง ขึ้ น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ เ ตรี ย ม

ความพร้อมในการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉิน เพื่อป้องกันและรองรับ สภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งรวมถึงการกำหนดมาตรการป้องกัน ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติภัยเพลิงไหม้รุนแรงในโรงงาน ความเสี่ยงที่เกิดจากการพึ่งพาน้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ จากแหล่งต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภูมิภาค ตะวันออกกลางสำหรับกิจการโรงกลั่นน้ำมัน โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ เลือกใช้น้ำมันดิบโดยพิจารณา จากคุณสมบัติ ราคา และผลิตภัณฑ์ที่จะกลั่นได้ โดยในปี 2552 บริษทั ฯ ต้องพึง่ พาการนำเข้าน้ำมันดิบและวัตถุดบิ อืน่ ๆ เกือบทัง้ หมด จากประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลางและบางส่วนจากประเทศใน ภูมิภาคตะวันออกไกล (Far East) และแอฟริกาตะวันตก ความ สามารถในการจั ด หาน้ ำ มั น ดิ บ และวั ต ถุ ดิ บ อื่ น ๆ จากภู มิ ภ าค

4) ทำสัญญาบริหารความเสี่ยงความผันผวนของราคา น้ำมันแบบ Zero-Cost Collar เพือ่ ป้องกันผลขาดทุน จากสต็อกน้ำมันในช่วงเดือนสุดท้ายของรอบบัญชี ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง บริษัทฯ ได้เสนอขายหุ้นกู้จำนวน 15,000 ล้านบาท เมื่อ เดือนเมษายน 2552 เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ มีสภาพคล่องเพียงพอ

ที่ จ ะดำเนิ น ธุ ร กิ จ ได้ ใ นช่วงที่สถาบันการเงินทั่วโลกประสบปั ญ หา วิกฤต โดยบริษัทฯ ได้นำเงินสดที่ได้ไปชำระคืนหนี้เงินกู้ระยะสั้น ทำให้มีอัตราส่วนสภาพคล่องสูงขึ้น ความเสี่ ย งด้ า นความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี่ ย นและ อัตราดอกเบี้ย รายได้และต้นทุนของบริษัทฯ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปสกุลเงิน เหรี ย ญสหรั ฐ จึ ง ถื อ ได้ ว่ า เป็ น การป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากอั ต รา

แลกเปลี่ยนโดยธรรมชาติธุรกิจ (Natural Hedge) อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงมีความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนที่มีผลต่อส่วนต่าง ระหว่างรายได้และต้นทุนวัตถุดิบและหนี้สกุลเงินต่างประเทศ เพื่อ เป็นการลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการบริหารกระแสเงินสดรับและค่าใช้จ่ายที่ อยู่ ในสกุลเงินตราต่างประเทศเดียวกัน รวมถึงการซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า และเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ เพื่อช่วยลด

ผลกระทบในจังหวะเวลาที่เหมาะสม โดยในปี 2552 บริษัทฯ ได้ทำ สัญญาซื้อเงินสกุลเหรียญสหรัฐล่วงหน้าเพื่อรองรับธุรกรรมที่อาจ

เกิดขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ มีหนี้เงินกู้ทั้งที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate) และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate) ที่อาจปรับ เพิ่มสูงขึ้นได้ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและแนวโน้มการเกิดภาวะ เงินเฟ้อ บริษทั ฯ จึงได้พจิ ารณาแปลงอัตราดอกเบีย้ หนีเ้ งินกู้ (Interest

• •


39

ตะวั น ออกกลางขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการที่อยู่นอกเหนื อ การ ควบคุ ม ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง รวมถึ ง ความไม่ ส งบและเสถี ย รภาพทาง

การเมืองของประเทศในภูมภิ าค การขนถ่ายน้ำมันดิบ การเดินทางของ เรือบรรทุกน้ำมันดิบ กฎเกณฑ์ของรัฐบาลที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม น้ำมันและพลังงาน สภาพภูมิอากาศและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมใน ภูมิภาคดังกล่าว ถึ ง แม้ ว่ า ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท ฯ จะยั ง ไม่ เ คยประสบ อุ ป สรรคที่ มี นั ย สำคั ญ ในการจั ด ซื้ อ น้ ำ มั น ดิ บ และวั ต ถุ ดิ บ อื่ น ๆ ที่

เพียงพอเพื่อใช้ในการผลิต อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นการลดความเสี่ยง จากผลกระทบดังกล่าว บริษัทฯ ได้มีการทำสัญญาซื้อน้ำมันดิบแบบ เทอมบางส่วนเพื่อลดความเสี่ยงเรื่องการจัดหาจากตลาดจร และมี การแต่งตั้งคณะทำงานติดตามความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของ ตลาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริษัทฯ มีข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มการ ปรับตัวของตลาดน้ำมันดิบและวัตถุดิบอื่นๆ รวมทั้งการขนส่งที่มี

ผลกระทบต่อกำไรขั้นต้น เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถลดระดับความเสี่ยง ของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ความเสี่ยงที่เกิดจากการขาดแคลนวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการ ผลิตสารอะโรเมติกส์ วัตถุดบิ หลักที่ใช้ในการผลิตสารอะโรเมติกส์ คือ คอนเดนเสท ซึ่งความเสี่ยงจากการขาดแคลนคอนเดนเสทอาจมีสาเหตุมาจาก หลายประการ เช่น ผู้จัดหาวัตถุดิบหลัก (ปตท.) ไม่สามารถจัดหา วัตถุดิบได้ทันตามกำหนดเวลา เรือขนส่งวัตถุดิบล่าช้า อย่างไรก็ตาม การควบรวมกิจการระหว่างโรงกลั่นและโรงอะโรเมติกส์ ทำให้บริษัทฯ สามารถลดความเสีย่ งจากการขาดแคลนคอนเดนเสทได้ โดยสามารถ ใช้รีฟอร์เมทจากโรงกลั่นเป็นวัตถุดิบในการผลิตอะโรเมติกส์แทน

อีกทั้งบริษัทฯ มีการเก็บสำรองคอนเดนเสทสำหรับการผลิตเป็นเวลา 7 วัน มีการจัดหาวัตถุดิบคอนเดนเสทจากแหล่งอื่นๆ ในต่างประเทศ หรือใช้แนฟทาเป็นวัตถุดิบได้ นอกจากนี้ ยังมีการติดตามการจัดหา และการขนส่ ง วั ต ถุ ดิ บ อย่ า งใกล้ ชิ ด รวมทั้ ง เตรี ย มการเพื่ อ เพิ่ ม

ช่องทางในการขนถ่ายและจัดเก็บคอนเดนเสทด้วย ความเสี่ยงเกี่ยวกับโครงการขยายการลงทุนของบริษัทฯ บริ ษั ทฯ อยู่ ในระหว่างดำเนินการก่อสร้าง Upgrading Complex ระยะที่ 2 (Deep Hydrodesulfurization หรือ DHDS) ใน พื้ น ที่ โ รงกลั่ น น้ ำ มั น ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง เป็ น โครงการต่ อ เนื่ อ งจาก โครงการ Upgrading Complex ระยะที่ 1 เพื่อผลิตน้ำมันดีเซล กำมะถันต่ำพิเศษ 50 ppm (มาตรฐานยูโร 4) รองรับการปรับปรุง คุณภาพน้ำมันในปี 2555 บริษัทฯ คาดว่าจะสามารถดำเนินการ ก่อสร้าง Upgrading Complex ระยะที่ 2 แล้วเสร็จภายในสิ้นปี 2554 อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ อาจมี ค วามเสี่ ย งที่ ไ ม่ ส ามารถ ดำเนินการก่อสร้างได้ภายในกำหนดเวลาและงบประมาณที่คาดไว้

อันอาจเกิดจากสภาพภูมิอากาศ การผลิตอุปกรณ์เครื่องจักรจาก

ผู้ผลิตในต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบและนโยบายรัฐ

ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการจ้างที่ปรึกษาบริหารโครงการเพื่อติดตามควบคุม การก่อสร้างอย่างใกล้ชิดเพื่อมิให้เกิดความล่าช้า ความเสี่ ย งจากการไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ท่ อ ส่ ง น้ ำ มั น ดิ บ บางส่วนของบริษัทฯ เพื่อทำการบำรุงรักษาหรือซ่อมบำรุง โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ ได้เชื่อมต่อกับทุ่นรับน้ำมันดิบ กลางทะเล (Single Point Mooring-SPM) ที่บริษัทฯ และบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (SPRC) เป็นเจ้าของร่วมกัน

โดยท่อส่งน้ำมันดิบได้กอ่ สร้างแล้วเสร็จในปี 2536 และท่อส่งน้ำมันดิบ ส่วนใหญ่วางอยู่ใต้ทะเล ต่อมาการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ได้ทำการถมทะเลเพื่อนำที่ดินดังกล่าวออกให้เช่า ทำให้

ท่อส่งน้ำมันดิบบางส่วนถูกฝังอยู่ใต้ดินในพื้นที่ถมทะเล (Reclaimed Land) บริษัท บีแอลซีพี พาวเวอร์ จำกัด (บีแอลซีพี) ได้เช่าพื้นที่

ถมทะเลดังกล่าวบางส่วนจาก กนอ. เพื่อใช้ก่อสร้างโรงไฟฟ้า โดย โรงไฟฟ้ า บางส่ ว นก่ อ สร้ า งในบริ เ วณเหนื อ ท่ อ ส่ ง น้ ำ มั น ดิ บ ใต้ ดิ น

ดังกล่าว การที่มีโรงไฟฟ้าบางส่วนก่อสร้างในบริเวณเหนือท่อส่ง น้ำมันดิบนี้อาจจำกัดความสามารถของบริษัทฯ ในการเข้าแก้ไขได้ ทันท่วงที ในกรณีทรี่ ะบบท่อส่งน้ำมันดิบทีต่ งั้ อยู่ในทีด่ นิ ของบีแอลซีพี มีการรั่วไหล หรือในการเข้าตรวจสอบและซ่อมบำรุงท่อส่งน้ำมันดิบ เพื่อลดความเสี่ยงของการรั่วไหลดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และ SPRC ได้ร่วมเจรจากับ กนอ. และบีแอลซีพี ทำให้สามารถ กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยบริษัทฯ และ SPRC ทำการเดินท่อน้ำมันดิบบนพื้นที่ถมทะเลเพื่อทดแทนท่อน้ำมันดิบ ส่ ว นที่ ถู ก ฝั ง ดิ น ซึ่ ง จะทำให้ บ ริ ษั ท ฯ และ SPRC สามารถเข้ า ซ่อมแซมและบำรุงรักษาท่อน้ำมันดิบช่วงดังกล่าวได้ ซึ่งปัจจุบัน บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ SPRC เป็นผู้ดำเนินการออกแบบและ

ก่อสร้างท่อน้ำมันดิบบนพื้นที่ถมทะเลดังกล่าว คาดว่าจะสามารถ ทำการก่อสร้างและเชื่อมต่อได้ในปี 2556 ในช่วงที่โรงกลั่น SPRC หยุดซ่อมบำรุง 5.2 โครงการร่วมทุนที่สำคัญ 5.2.1 บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด (PPCL) บริษทั ฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 30 โดย PPCL จะซือ้ เบนซีนจาก

บริษัทฯ ไปผลิตฟีนอลและอะซีโตน ขนาดกำลังการผลิต 200,000 ตันต่อปี และ 124,000 ตันต่อปี ตามลำดับ โรงงานฟีนอลก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริ่มดำเนินการผลิต เชิ ง พาณิ ช ย์ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมี น าคม 2552 และกำลั ง อยู่ ระหว่ า งการศึ ก ษาในการขยายกำลั ง การผลิ ต เพิ่ ม อี ก 50,000 ตันต่อปี


40

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

PPCL อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างโรงงานบิสฟีนอล เอ • ปัซึจ่งใช้จุบฟนั ีนอลและอะซี โตนเป็นวัตถุดิบ โดย ณ สิ้นปี 2552

โครงการมีความก้าวหน้าโดยรวมร้อยละ 97.87 และคาดว่า โครงการจะก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนมีนาคม 2553 5.2.2 บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) บริษัทฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 20 โดย PTTUT เป็นบริษัท ผลิ ต และจำหน่ า ยสาธารณู ป โภค เช่ น ไฟฟ้ า ไอน้ ำ

น้ำอุตสาหกรรมให้แก่บริษัทในกลุ่ม ปตท. และโรงงาน อุตสาหกรรมในพื้นที่ใกล้เคียง PTTUT มีหน่วยผลิตสาธารณูปการ (Central Utilities Project: CUP) 3 หน่วย CUP1 อยูใ่ นระหว่างก่อสร้างโครงการ CUP1 ระยะที่ 6 เพื่ อ รองรั บ การขยายงานของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.

โดย ณ สิ้นปี 2552 โครงการมีความก้าวหน้าโดยรวม

ร้ อ ยละ 94.40 และคาดว่ า จะแล้ ว เสร็ จ ในเดื อ น พฤษภาคม 2553 CUP2 เริ่มผลิตเชิงพาณิชย์ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 และเป็ น ผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า และไอน้ ำ ให้ แ ก่ โ รงงาน AR3 ของบริษัทฯ CUP3 ระยะที่ 1 ได้เริ่มจ่ายไอน้ำตั้งแต่เดือนธันวาคม 2552 โดย ณ สิ้นปี 2552 โครงการมีความก้าวหน้า โดยรวมร้อยละ 99.71 5.2.3 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด (PTTICT) บริษัทฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 20 โดย PTTICT เป็นบริษัทที่ ให้ บ ริ ก ารด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารแก่ บริษัทในกลุ่ม ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นร่วมใน PTTICT บริษัทฯ ได้ทำสัญญาจ้าง PTTICT มีกำหนดอายุสัญญา

5 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 โดยเมื่อครบกำหนด อายุสัญญาแล้ว อาจต่อสัญญาออกไปอีกเป็นครั้งๆ ครั้งละ 5 ปี

• • •

5.2.4 บริษัท Business Services Alliance จำกัด (BSA) บริษัทฯ ร่วมลงทุนร้อยละ 25 โดย BSA เป็นบริษัทที่ให้ บริการด้านการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการแก่ ปตท. และบริษัทในเครือ 6. การดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทฯ ดำเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่ อ รองรั บ และให้ ก ารสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านภายใต้ โ ครงสร้ า ง องค์กรใหม่ และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกันของโรงงาน ทั้งสามแห่งของบริษัทฯ ดังนี้ ปรับปรุง Data Network ให้สามารถเชื่อมต่อและทำงาน รับส่งข้อมูลร่วมกันได้ทั้งบริษัทฯ ปรั บ ปรุ ง ระบบโทรศั พ ท์ ข องบริ ษั ท ฯ ให้ ส ามารถติ ด ต่ อ สื่อสารระหว่างโรงงานต่างๆ และสำนักงานใหญ่ โดยไม่มี ค่าใช้จ่าย เริ่มใช้งานระบบ SAP Hydrocarbon Supply Chain (SAP-IS-Oil) เพือ่ รองรับและให้การสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน ของโรงกลั่น ปรับปรุง เพิ่มเติมและขยายขอบเขตการใช้งานโปรแกรม ระบบงานต่างๆ ให้ครอบคลุมการใช้งานภายใต้โครงสร้าง องค์กรใหม่ ซึ่งช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริหาร จัดการ เช่น ระบบ SAP ระบบ e-mail และระบบใช้แฟ้ม ข้อมูลร่วมกัน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดให้มีการซ้อมแผนเหตุภัยพิบัติระบบ SAP เพื่อทดสอบความพร้อมการใช้งานระบบงานสำรอง SAP และ สร้างความพร้อมและความเข้าใจในกระบวนการจัดการเหตุภัยพิบัติ รวมถึงบทบาทและหน้าที่เมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติของผู้ใช้งาน

• • • •


4

คำอธิ บ ายและการวิ เ คราะห์

...

ของฝ่ า ยจั ด การ สำหรั บ ผลการดำเนิ น งานปี 2552

1. ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

60.32 165 2.91 1.52 0.63 1.84 6.90

47.92 131 5.16 (0.93) (4.55) (2.38) (2.70)

26 26 (44) 263 114 177 355

41.32 113 5.36 0.07 0.60 0.95 6.98

21.21 58 (1.91) 3.19 (1.91) (0.63)

95 95 381 (98) 150 1,208

ธุรกิจโรงกลั่น

วัตถุดิบนำเข้ากลั่น (M.BBL) (KBD) Market GRM Hedging Gain/(Loss)/1 Stock Gain/(Loss)/2 (LCM)/LCM Reversal/3 Accounting GRM ธุรกิจอะโรเมติกส์

วัตถุดิบนำเข้าผลิต (M.BBL) (KBD) Market P2F Hedging Gain/(Loss)/1 Stock Gain/(Loss)/2 (LCM)/LCM Reversal/3 Accounting P2F


42

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ม/(ลด) (ร้อยละ)

92.78 254 4.24 1.02 0.68 1.62 7.55 1.38 0.90 1.57 20,015 9,162 3.09 34.47

67.97 186 3.06 0.34 (3.21) (2.27) (2.08) 1.98 0.57 1.23 (9,005) (8,465) (2.86) 33.49

36 36 39 199 121 171 463 (30) 58 28 322 208 208 3

PTTAR

วัตถุดิบรวม (M.BBL) วัตถุดิบรวม (KBD) Market GIM Hedging Gain/(Loss)/1 Stock Gain/(Loss)/2 (LCM)/LCM Reversal/3 Accounting GIM ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ค่าเสื่อมราคา Total EBITDA (ล้านบาท) กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ (ล้านบาท) กำไร/(ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) Average FX (THB/US$) หมายเหตุ :

/1 /2 /3

กำไรจากการสิ้นสุดสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นก่อนกำหนด และกำไร/(ขาดทุน) จากส่วนต่างจากสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นและส่วนต่างราคา น้ำมันดิบสุทธิ กำไร/(ขาดทุน) จากผลกระทบจากสต็อกน้ำมัน (ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ)/กลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ

2. ผลการดำเนินงานด้านการผลิตและการจำหน่าย 2.1 ธุรกิจการกลั่น 1) การผลิต บริ ษั ท ฯ ได้ ย กเลิ ก สั ญ ญาการกลั่ น ร่ ว มกั บ บริ ษั ท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (SPRC) ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 ดังนั้น ปริมาณน้ำมันดิบและวัตถุดิบนำเข้ากลั่น ซึ่งคำนวณ ด้ ว ยวิ ธี แ บ่ ง ปริ ม าณระหว่ า งโรงกลั่ น ของบริ ษั ท ฯ กั บ SPRC ในสัดส่วน 50 ต่อ 50 เกิดขึ้นเฉพาะเดือนมกราคม 2552 เท่านั้น

ธุ ร กิ จ โรงกลั ่น

วัตถุดิบนำเข้ากลั่น (M.BBL) (KBD) CDU Utilization Rate (%)

ในปี 2552 บริษัทฯ มีปริมาณน้ำมันดิบและวัตถุดิบนำเข้ากลั่น (Total Intake) เฉลี่ย 165 พันบาร์เรลต่อวัน (KBD) ด้วยอัตรา CDU Utilization Rate ที่ร้อยละ 102 เพิ่มขึ้นจากปี 2551 ที่ 131 KBD ด้วยอัตรา CDU Utilization Rate ทีร่ อ้ ยละ 87 เนือ่ งจากในปีนี้ โรงกลัน่ น้ำมันของบริษทั ฯ มีการหยุดซ่อมฉุกเฉินหน่วย Hydrocracking (HCU) เพียง 7 วัน เนื่องจาก gasoil re-boiler รั่ว ในขณะที่ ปี 2551 โรงกลัน่ ของบริษทั ฯ มีการหยุดซ่อมบำรุงตามแผนและฉุกเฉิน รวม 79 วัน ประกอบกับ SPRC หยุดซ่อมบำรุงตามแผน 49 วัน

ไตรมาส 1/2552

ไตรมาส 2/2552

ไตรมาส 3/2552

ไตรมาส 4/2552

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

14.59 162 103

14.47 159 97

15.38 167 104

15.88 173 104

60.32 165 102

47.92 131 87

26 26 15


43

2) การจำหน่าย ปี 2552 บริ ษั ท ฯ จำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป และ จำหน่ายผลิตภัณฑ์เป็นวัตถุดิบป้อนโรงงานปิโตรเคมีในประเทศได้ ร้อยละ 70 ของมูลค่าจำหน่ายรวม และบริษัทฯ ส่งออกน้ำมันดีเซล น้ ำ มั น อากาศยาน รี ฟ อร์ เ มท และน้ ำ มั น เตาไปจำหน่ า ยใน ต่างประเทศรวมกันประมาณร้อยละ 30 ของมูลค่าจำหน่ายรวม

ธุ ร กิ จ อะโรเมติ ก ส์

วัตถุดิบนำเข้าผลิต (M.BBL) (KBD) BTX Utilization Rate (%)

2.2 ธุรกิจอะโรเมติกส์ 1) การผลิต ในปี 2552 บริษัทฯ มีปริมาณวัตถุดิบนำเข้าผลิตผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์จำนวน 41.32 ล้านบาร์เรล (M.BBL) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ที่ 21.21 ล้านบาร์เรล หรือร้อยละ 95 เนื่องจากมีปริมาณการผลิต เพิ่มขึ้นจากโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 หรือ AR3 ซึ่งเริ่มดำเนิน การผลิตเชิงพาณิชย์ตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2552 โดยมีอัตรา BTX Utilization Rate ที่ร้อยละ 82

ไตรมาส 1/2552

ไตรมาส 2/2552

ไตรมาส 3/2552

ไตรมาส 4/2552

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

9.16 102 71

9.98 110 82

11.09 121 87

11.08 120 88

41.32 113 82

21.21 58 82

95 95 0

2) การจำหน่าย ในปี 2552 บริษทั ฯ จำหน่ายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ในประเทศ ได้ร้อยละ 75 ของมูลค่าจำหน่ายรวม และส่งออกร้อยละ 25 ของ

มูลค่าจำหน่ายรวม โดยตลาดส่งออกผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ส่วนใหญ่ อยู่ในภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ สิงคโปร์ ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน อินเดีย คูเวต และเกาหลี เป็นต้น

2.3 สรุปสัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต

แอลพีจี แนฟทาชนิดเบา รีฟอร์เมท* พาราไซลีน เบนซีน น้ำมันอากาศยานและดีเซล น้ำมันเตา อื่นๆ

ปี 2552

ปี 2551

KBBL

ร้ อ ยละ

KBBL

ร้ อ ยละ

5,282 16,402 4,081 7,963 3,915 38,324 8,808 2,385 87,159

6 19 5 9 4 44 10 3 100

4,381 7,038 7,937 3,492 2,000 26,760 6,951 4,282 62,842

7 11 13 6 3 43 11 7 100

หมายเหตุ : * รวมน้ำมันเบนซินจนถึงวันที่ 31 มกราคม 2552 ซึ่งบริษัทฯ ได้ยกเลิกสัญญาการกลั่นร่วมกับ SPRC


44

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

3. สถานการณ์ราคาน้ำมันและผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ สรุปราคาเฉลี่ยของน้ำมันดิบและราคาน้ำมันสำเร็จรูป

ไตรมาส ไตรมาส 4/2551 1/2552

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

ไตรมาส 2/2552

ไตรมาส 3/2552

ไตรมาส 4/2552

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

ราคาน้ำมันดิบ

Dubai WTI Dated Brent

53 59 57

44 43 44

59 60 59

68 68 68

75 76 75

62 62 62

94 100 98

(34) (38) (37)

56 75 70 45

55 55 53 39

69 67 66 53

77 75 75 65

80 83 82 71

70 70 69 57

103 121 120 79

(32) (42) (42) (27)

3.71 22.13 17.64 (7.85)

10.53 11.18 8.92 (5.19)

9.58 7.42 7.03 (5.71)

8.93 7.28 6.98 (2.85)

5.05 7.33 6.22 (4.35)

8.52 8.30 7.29 (4.52)

9.05 27.78 25.96 (14.98)

(6) (70) (72) (70)

ราคาน้ำมันสำเร็จรูป

น้ำมันเบนซิน (95Ron) น้ำมันอากาศยาน/น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล (0.5%s) น้ำมันเตา ส่วนต่างราคาน้ำมันดิบ Dubai

น้ำมันเบนซิน (95Ron) น้ำมันอากาศยาน/น้ำมันก๊าด น้ำมันดีเซล (0.5%s) น้ำมันเตา ที่มา : บริษัทฯ

3.1 สถานการณ์ราคาน้ำมัน 1) ราคาน้ำมันดิบ ในปี 2552 ราคาน้ ำ มั น ดิ บ ดู ไ บปรั บ ตั ว ลดลงจากปี 2551 ร้อยละ 34 เฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 62 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล (US$/BBL) โดยในไตรมาส 1/2552 ราคาน้ำมันปรับลดลงต่อเนือ่ งจากปลายปี 2551 เนื่องจากอุปสงค์น้ำมันในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกลดลง สอดคล้องกับ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม จากมาตรการอัดฉีด เม็ ด เงิ น กระตุ้ น เศรษฐกิ จ และนโยบายปรั บ ลดอั ต ราดอกเบี้ ย ของ ประเทศต่างๆ ส่งผลให้ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้น ตั้งแต่ ไตรมาส 2/2552 ส่งผลให้ความต้องการใช้นำ้ มันเพิม่ ขึน้ ประกอบกับ เงินสหรัฐอ่อนค่าลง ผลักดันให้ราคาน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง ในช่วงที่เหลือของปี โดย International Energy Agency (IEA) รายงานว่าความต้องการใช้น้ำมันโลกในปี 2552 ลดลงจากปี 2551 มาอยู่ที่ประมาณ 84.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน (MMBD) หรือลดลง ร้อยละ 1.6 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากความต้องการใช้น้ำมันของกลุ่ม OECD ได้แก่ อเมริกาเหนือและยุโรปลดลง ขณะที่ความต้องการใช้ น้ำมันของกลุม่ Non-OECD โดยเฉพาะประเทศจีนและอินเดียเพิม่ ขึน้

2) ราคาน้ำมันสำเร็จรูป ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2552 ราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปรับลดลงต่อเนื่องจากปลายปี 2551 เนื่องจากความต้องการลดลง ตามภาวะเศรษฐกิ จ โลก ขณะที่ อุ ป ทานมี ม ากในแต่ ล ะภู มิ ภ าค โดยเฉพาะในเอเชียมีโรงกลั่นน้ำมันใหม่ในประเทศจีนและอินเดีย อย่างไรก็ตาม ราคาได้ปรับสูงขึ้นตั้งแต่ไตรมาส 2/2552 ซึ่งสัมพันธ์ ไปกับน้ำมันดิบที่ปรับสูงขึ้น ทั้งนี้ หากพิจารณาส่วนต่าง (Crack Spread) ในครึ่งปีหลัง พบว่าลดลงจากครึ่งแรกของปี 2552 และ ลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา (เว้นแต่ราคาน้ำมันเตาที่ปรับสูงขึ้น) โดยเป็นผลมาจากปัจจัยปริมาณน้ำมันสำเร็จรูปปิโตรเลียมในตลาด มีมาก จากปริมาณสำรองน้ำมันในแต่ละภูมิภาคที่ทรงอยู่ในระดับสูง ขณะที่ ค วามต้ อ งการน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป เพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ยในสั ด ส่ ว นที่ น้อยกว่าอุปทาน ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ ความต้องการน้ำมันเบนซิน (Gasoline) ลดลงนับตั้งแต่ ปลายไตรมาสที่ 2 โดยจีนลดการนำเข้า รวมทัง้ อินโดนีเซีย และเวียดนามลดปริมาณนำเข้า จากความต้องการที่ลดลง


45

ความต้ อ งการน้ ำ มั น อากาศยาน (Jet/Kerosene) ใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ลดลงจากปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ ทำให้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวซบเซา ส่งผลต่อธุรกิจการบิน ความต้องการน้ำมันดีเซล (Diesel) ในเอเชีย โดยเฉพาะ จากประเทศจีน ชะลอตัวลงและลดการนำเข้า เนื่องจาก มี ป ริ ม าณสำรองในประเทศอยู่ ใ นระดั บ สู ง ประกอบกั บ อุปทานในตลาดยุโรปมีอยู่ระดับสูง ทำให้มีสินค้าส่งมายัง ทวี ป เอเชี ย กดดั น ให้ ค่ า การกลั่ น ทรงตั ว อยู่ ใ นระดั บ ต่ ำ ส่งผลให้โรงกลั่นในเอเชียปรับลดกำลังการกลั่นลง ความต้องการน้ำมันเตา (Fuel Oil) ในตะวันออกกลางและ เอเชี ย ยั ง คงมี อ ยู่ ต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะความต้ อ งการใน อุตสาหกรรมการเดินเรือ (Bunker) และการผลิตกระแส ไฟฟ้ า ประกอบกั บ ปริ ม าณการผลิ ต น้ ำ มั น เตาลดลง จากการปรับลดการผลิตน้ำมันของกลุ่มโอเปก ส่งผลให้ อุปทานน้ำมันดิบชนิดหนัก (Heavy Crude) ตึงตัว ผลักดัน ให้ส่วนต่างราคาน้ำมันเตาเทียบกับน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้น 3.2 สถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ในปี 2552 สถานการณ์ ต ลาดปิ โ ตรเคมี ใ นสายผลิ ต ภั ณ ฑ์ อะโรเมติกส์มที ศิ ทางเดียวกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อ

• •

ความต้ อ งการใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น ปลายของพาราไซลี น และเบนซี น ได้ แ ก่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ชิ้ น ส่ ว นคอมพิ ว เตอร์ ชิ้ น ส่ ว น รถยนต์ ของเล่น เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และเรซิน ซึ่งกดดันให้ความต้องการสารอนุพันธ์ขั้นกลางชะลอตัวลง เมื่อเทียบกับปี 2551 อย่างไรก็ตาม ประเทศจีนและอินเดียยังคง เติบโตต่อเนือ่ ง แม้วา่ ภาวะเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวลงก็ตาม เนือ่ งจาก มีการบริโภคจากภายในประเทศมากขึ้นจากอดีตที่ผ่านมา ซึ่งผลจาก วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐฯ และยุโรป ส่งผลกระทบ ต่อการขยายตัวในกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียเพียงเล็กน้อย ด้ า นอุ ป ทาน (Supply) ในปี 2552 ตึ ง ตั ว นั บ ตั้ ง แต่ ป ลาย ไตรมาส 1 ต่อเนื่องจากปลายปี 2551 เนื่องจากผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ในภูมิภาคเอเชียและยุโรป เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน จีน สิงคโปร์ และประเทศไทย ประสบปัญหาทางเทคนิค ต้องหยุด ซ่อมบำรุง (Shutdown) และประสบปัญหาขาดวัตถุดิบในการผลิต ด้านโรงอะโรเมติกส์ใหม่ในประเทศจีน ได้แก่ Shanghai No.2 และ ในตะวันออกกลาง ได้แก่ Kuwait-KARO และ Oman ได้เลื่อนการ เปิดเดินเครื่องจากกำหนดเดิมในช่วงไตรมาส 2 ส่งผลให้ตลาดเอเชีย ตึงตัวจากเดิมที่คาดการณ์ว่าอุปทานจะมีเหลือ

สรุปราคาเฉลี่ยของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์หลักสำหรับธุรกิจอะโรเมติกส์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์

พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน แนฟทาชนิดเบา คอนเดนเสท เรสิดิว คอนเดนเสท

ไตรมาส ไตรมาส 4/2551 1/2552

หน่วย : เหรียญสหรัฐต่อตัน

ไตรมาส 2/2552

ไตรมาส 3/2552

ไตรมาส 4/2552

ปี 2552

ปี 2551

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

685 426 526 350 497 422

850 386 479 344 368 397

957 655 690 508 472 464

1,013 804 1,009 600 541 560

1,005 860 942 671 582 628

982 676 766 511 489 512

1,143 1,039 1,148 890 908 875

(14) (35) (33) (43) (46) (41)

263 4

453 (11)

493 191

453 244

377 232

470 164

268 164

75 0

ส่วนต่างราคาคอนเดนเสท

พาราไซลีน เบนซีน

ที่มา : บริษัทฯ หมายเหตุ : ราคาพาราไซลีน คือ Spot FOB Korea, ราคาเบนซีน คือ Spot CFR S/E Asia


46

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

4. ผลการดำเนินงาน (งบการเงินรวม) 4.1 งบกำไรขาดทุน วัตถุดิบรวม (M.BBL)

ขายสุทธิ ต้นทุนวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค Market GIM Hedging Gain/(Loss)/1 Stock Gain/(Loss)/2 (LCM)/LCM Reversal/3 Accounting GIM ต้นทุนการผลิต (Processing Cost) ค่าใช้จ่ายในการปิดซ่อมบำรุง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

OPEX

รายได้อื่น EBITDA ต้นทุนทางการเงินสุทธิ ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน/4 กำไร/(ขาดทุน) สุทธิก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ กำไรต่อหุ้น (EPS) หมายเหตุ :

/1 /2 /3 /4

หน่วย : ล้านบาท ปี 2552

ปี 2551

92.78 225,300 (207,311) (4,434) 13,555 3,249 2,169 5,173 24,145 (2,933) (25) (1,451) (4,409) 278 20,015 (2,889) (5,036) (99) 575 12,566 (3,404) 9,162 3.09

67.97 251,387 (241,549) (2,877) 6,961 778 (7,298) (5,173) (4,732) (2,624) (580) (1,299) (4,502) 229 (9,005) (1,301) (2,797) (175) (302) (13,581) 5,116 (8,465) (2.86)

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

24.81 (26,087) 34,238 (1,557) 6,594 2,471 9,467 10,345 28,878 310 (555) 152 (94) 49 29,020 1,588 2,239 (76) 877 26,147 8,521 17,626 5.95

กำไรจากการสิ้นสุดสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นก่อนกำหนด และกำไร/(ขาดทุน) จากส่วนต่างจากสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่นและส่วนต่างราคา น้ำมันดิบสุทธิ กำไร/(ขาดทุน) จากผลกระทบจากสต็อกน้ำมัน (ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ)/กลับรายการค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ ไม่รวมกำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิที่เกิดจากการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภภัณฑ์ เนื่องจากได้นำไปรวมในต้นทุนวัตถุดิบแล้ว


47

4.2 กำไรขั้นต้นจากการดำเนินงาน (GIM) ในปี 2552 บริ ษั ท ฯ มี ร ายได้ จ ากการขายสุ ท ธิ 225,300

ล้านบาท ลดลง 26,087 ล้านบาทจากปี 2551 เนื่องจากส่วนต่าง ของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมโดยเฉพาะ Middle Distillate ปรับตัว ลดลง ส่งผลให้ Market GRM ลดลงจาก 5.16 US$/BBL ในปี 2551 มาเป็น 2.91 US$/BBL ในปี 2552 ในขณะที่ส่วนต่างราคา ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะพาราไซลีน ทำให้ Market P2F เพิ่มขึ้นจาก -1.91 US$/BBL ในปี 2551 มาเป็น 5.36 US$/ BBL ในปี 2552 ส่งผลให้ Market GIM เพิ่มขึ้นจาก 3.06 US$/ BBL ในปี 2551 มาเป็น 4.24 US$/BBL ในปี 2552 ทั้งนี้ ราคา น้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยราคาน้ำมันดิบเพิ่มขึ้น จากระดับ 40 US$/BBL ณ ต้นปี 2552 มาปิดที่ 78 US$/BBL

ณ สิ้นปี ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรจากสต็อก (รวม LCM) จำนวน 7,342 ล้านบาท เมื่อรวมกับผลกำไรจากการทำสัญญาแลกเปลี่ยนค่าการกลั่น และส่วนต่างน้ำมันดิบจำนวน 3,249 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก การทำสัญญาล่วงหน้าของส่วนต่างราคาน้ำมันอากาศยานและน้ำมัน ดีเซลที่ราคาสูงตั้งแต่ปี 2551 บริษัทฯ มีกำไร (Accounting GIM) จำนวน 24,145 ล้านบาท คิดเป็น 7.55 US$/BBL เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 28,878 ล้านบาท 4.3 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (OPEX) จากปริ ม าณการผลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในปี 2552 ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น

การผลิ ต รวม และค่ า ใช้ จ่ า ยในการขายและบริ ห ารเพิ่ ม ขึ้ น 462

ล้ า นบาท แต่ ห ากคิดเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหน่วยจะลดลง 0.35 US$/BBL อย่างไรก็ตาม เมื่อรวมกับค่าใช้จ่ายในการปิดซ่อมบำรุงที่

ลดลง 555 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายดำเนินงานรวม 4,409 ล้านบาท ลดลงจากปี 2551 จำนวน 94 ล้านบาท 4.4 EBITDA จากรายการดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้บริษัทฯ มี EBITDA สำหรับปี 2552 จำนวน 20,015 ล้านบาท เพิ่มจากปี 2551 จำนวน 29,020 ล้านบาท ปัจจัยหลักเกิดจากราคาน้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์ ปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ ทำให้เกิดกำไรจากสต็อก (รวม LCM) 7,342 ล้านบาท อีกทั้งส่วนต่างราคาที่เพิ่มขึ้นตามการปรับตัวของภาวะเศรษฐกิจ ซึ่ง สอดคล้องกับการขยายกำลังการผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2

(AR3) ทำให้บริษทั ฯ มีรายได้เพิม่ ขึน้ และมีตน้ ทุนเฉลีย่ ต่อหน่วยลดลง 4.5 ต้นทุนทางการเงินและกำไรสุทธิ บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินสำหรับปี 2552 จำนวน 2,889 ล้านบาท คิดเป็น 0.90 US$/BBL เพิ่มขึ้นจากปี 2551 จำนวน 1,588 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 5,324 ล้านบาท อีกทั้งโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ได้ ก่อสร้างแล้วเสร็จ ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายของเงินกู้ยืมเพื่อการก่อสร้าง

ถู ก บั น ทึ ก เป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยทางการเงิ น แทนการบั น ทึ ก เป็ น ต้ น ทุ น โครงการเช่นในระหว่างก่อสร้าง จากค่าเงินบาทที่แข็งขึ้นจาก 35.08 บาทต่อเหรียญสหรัฐ

ณ สิ้นปี 2551 เป็น 33.52 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ณ สิ้นปี 2552

ส่งผลให้บริษทั ฯ มีผลกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน 575 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่มีผลมาจากเงินกู้จำนวน 570 ล้านเหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายภาษีในปี 2552 จำนวน 3,404 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรสุทธิในปี 2552 จำนวน 9,162 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2551 จำนวน 17,626 ล้านบาท


48

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

4.6 งบดุล

หน่วย : ล้านบาท

31 ธั น วาคม 2552

31 ธั น วาคม 2551

เพิ่ ม /(ลด) (ร้ อ ยละ)

49,530 105,080 154,609

28,814 108,726 137,540

72 (3) 12

34,349 59,943 94,292

27,432 57,473 84,905

25 4 11

34,252 26,065 60,317 154,609

34,249 18,386 52,635 137,540

0 42 15 12

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สิน

หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนที่ออกและชำระแล้ว และส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำไรสะสม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 154,609 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 17,069 ล้านบาท หรือร้อยละ 12 เป็นผลมาจาก สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นเพิ่ ม ขึ้ น 20,716 ล้ า นบาท หรื อ ร้อยละ 72 ส่วนใหญ่มาจากลูกหนี้การค้าและมูลค่าสินค้า คงเหลือเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณและราคาขายที่เพิ่มขึ้น โดยปริมาณที่เพิ่มขึ้นมีปัจจัยหลักจากการเริ่มดำเนินการ เชิงพาณิชย์ของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนลดลง 3,646 ล้านบาท หรือร้อยละ 3 ส่วนใหญ่มาจากการตัดจ่ายสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีลงจำนวน 3,584 ล้านบาท

• •

สำหรับหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 9,387 ล้านบาท หรือร้อยละ 11 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของเจ้ า หนี้ ก ารค้ า เนื่ อ งจาก ปริมาณการซื้อวัตถุดิบเพิ่มขึ้นสำหรับโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น รวมทั้งสิ้น 60,317 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากวันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 7,682 ล้านบาท หรือร้อยละ 15 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการ เพิ่มขึ้นจากกำไรสุทธิของปีนี้


49

4.7 งบกระแสเงินสด

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำเนินงาน หัก เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน บวก เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดต้นงวด (1 มกราคม) ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศ คงเหลือสิ้นงวด บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดำเนินงานจำนวน 3,427 ล้านบาท กระแสเงิ น สดจ่ า ยสุ ท ธิ จ ากกิ จ กรรมลงทุ น จำนวน 5,053 ล้านบาท ประกอบด้วยจัดซื้อที่ดินอาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่นจำนวน 4,980 ล้านบาท โดยมีรายการหลัก ได้แก่ รายจ่ายลงทุนสำหรับโครงการอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2 (AR3) หน่วย ปรับปรุงคุณภาพไฮโดรเจนให้บริสทุ ธิ์ (Pressure Swing Absorption Unit หรือ PSA) โครงการเชื้อเพลิงสะอาดส่วนต่อขยายระยะที่ 2

หน่วย : ล้านบาท ปี 2552

ปี 2551

3,427 5,053 1,966 1,011 11 1,362

(4,960) 21,744 24,862 2,764 88 1,011

(DHDS หรือโครงการน้ำมันยูโร 4) นอกจากนี้ ยังมีเงินลงทุนเพิ่มใน บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด จำนวน 328 ล้านบาท กระแสเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 1,966 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินสดรับจากการออกหุน้ กูส้ กุลบาทในไตรมาส 2 ปี 2552 จำนวน 15,000 ล้ า นบาท และเงิ น สดจ่ า ย อั น ได้ แ ก่ การชำระคื น หุ้ น กู้ แ ละเงิ น กู้ ยื ม จากสถาบั น การเงิ น สุ ท ธิ 9,220 ล้านบาท ดอกเบีย้ จ่าย 2,333 ล้านบาท และเงินปันผล 1,479 ล้านบาท คงเหลือเงินสดสิ้นงวดจำนวน 1,362 ล้านบาท


50

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

5. อัตราส่วนทางการเงิน

(หน่วย : ร้อยละ)

อัตราส่วนกำไรขั้นต้นต่อรายได้จากการขาย อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อรายได้จากการขาย อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) ที่มาในการคำนวณ : อัตราส่วนกำไรขั้นต้น อัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินไม่หมุนเวียนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

ปี 2552

ปี 2551

5.4 4.1 6.93

(4.7) (3.4) N/A

ณ 31 ธธั น วาคม 2552

ณ 31 ธธั น วาคม 2551

1.4 0.7 1.6 1.0 1.2

1.1 0.3 1.6 1.1 1.3

= กำไรขั้นต้น/รายได้จากการขาย = กำไรสุทธิ/รายได้จากการขาย = EBITDA/ดอกเบี้ย = สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน = (เงินสดและรายการเทียบเท่า + เงินลงทุนระยะสั้น + ลูกหนี้การค้า)/หนี้สินหมุนเวียน = หนี้สินรวม/ส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สินไม่หมุนเวียน/ส่วนของผู้ถือหุ้น = (หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - เงินลงทุน)/ส่วนของผู้ถือหุ้น


5

โครงสร้ า งการผลิ ต CDU

น้ำมันดิบ

REF3

รีฟอร์เมท

PSA3 SPM/JETTY

HVU

HCU

VBU

AR1

MEROX CRS

HDS

DHDS

ดีเซล 50 ppm น้ำมันเตา

ก๊าซไฮโดรเจน

ไพก๊าซ

CS1

REF1

คอนเดนเสท เรสิดิว

PSA1

CHX

CS2

REF2

อะโรเมติกส์หนัก

มิกส์ ไซลีน

ไพก๊าซ

ARO2

คอนเดนเสท เรสิดิว

AR3

สัดส่วนวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ วัตถุดิบนำเข้ากลั่น/ผลิต 280,000 บาร์เรลต่อวัน AR1 น้ำมันดิบ 145,000 บาร์เรลต่อวัน

ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 228,000 บาร์เรลต่อวัน

ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ 2.259 ล้านตัน

แอลพีจี ร้อยละ 9

ผลิตภัณฑ์อื่น ร้อยละ 9

รีฟอร์เมท ร้อยละ 5

ไซโคลเฮกเซน ร้อยละ 9

แนฟทาเบา ร้อยละ 23 เบนซีน ร้อยละ 29

AR2 คอนเดนเสท 70,000 บาร์เรลต่อวัน AR3 คอนเดนเสท 65,000 บาร์เรลต่อวัน AR1 AR2 AR3

ไซโคลเฮกเซน

ก๊าซไฮโดรเจน

PSA2 คอนเดนเสท

ออร์โธไซลีน พาราไซลีน เบนซีน

ARO1

รีฟอร์เมท โทลูอีน

AR2

ก๊าซไฮโดรเจน

คอนเดนเสท

น้ำมันอากาศยาน

= โรงกลั่นน้ำมัน = โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 = โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 2

ผลิตภัณฑ์กึ่งหนักกึ่งเบา ร้อยละ 53 พาราไซลีน ร้อยละ 53 น้ำมันเตา ร้อยละ 10

พาราไซลีน เบนซีน


52

53

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ขั้ น ต้ น

ขั้ น กลาง

อีเทน

แอลพีจี

ถุงบรรจุอาหาร ดอกไม้พลาสติก

พีวีซี

ท่อ หนังเทียม แผ่นยาง ขวด วงกบหน้าต่างประตู

ไอโซ-บิวทีน

พีพี

ถุงสาน ของเล่นเด็ก เส้นใยทำพรม หม้อแบตเตอรี่

บิวตะไดอีน

เอ็มทีบีอี

สารเพิ่มค่าออกเทนในน้ำมันเบนซิน

เอบีเอส

ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์

วีซีเอ็ม

โพรเพน

บมจ. ปตท. เคมิคอล

โพรพิลีน มิกซ์ C4

เอ็นจีแอล แนฟทา

สไตรีน

เอสเอเอ็น

ใบพัดพัดลม

จีพีพีเอส

ของเล่นเด็ก กล่องคอมแพ็คดิสก์ บรรจุภัณฑ์

เอชไอพีเอส อีพีเอส เอสบีอาร์ ฟีโนลิคเรซิน เบนซีน

ปตท./นำเข้า

คิวมีน/ ฟีนอล

บีสฟีนอล-เอ

โพลีคาร์บอเนต อีพอกซีเรซิน

โรงกลั่นน้ำมัน

กล่องโฟมบรรจุอาหาร ยางรถยนต์ ท่อยาง ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องใช้ ไฟฟ้า แผงวงจรไฟฟ้า ฉนวนความร้อน คอมแพ็คดิสก์ กระจกนิรภัย ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์ ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แผ่นพลาสติกในอุตสาหกรรมก่อสร้าง

คาโปรแลคตัม

ไนลอน 6

เส้นใย ถุงน่อง พรม

กรดอะดิปิก

ไนลอน 6.6

ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่องใช้ ไฟฟ้า ชิ้นส่วนอุปกรณ์รถยนต์

แอลเอบี

แอลเอเอส

ผงซักฟอก

พีทีเอ

โพลีเอสเตอร์

พีเอ

พลาสติกไซเซอร์

โรงอะโรเมติกส์

ฟูลเรนจ์ แนฟทา

พาราไซลีน

โรงกลั่น ในประเทศ

ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์

ไซโคลเฮกเซน

น้ำมันดิบ คอนเดนเสท

ตั ว อย่ า งการใช้ ง าน

พีอี

บิวทีน-1

เอทิลีน

โรงแยก ก๊าซธรรมชาติ ปตท.

ขั้ น ปลาย

ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ฟิล์ม ภาชนะบรรจุอาหาร ขวดเพท

รีฟอร์เมท ออร์โธไซลีน สารอะโรเมติกส์หนัก น้ำมันเตา น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล แอลพีจี

สารเชื่อมท่อพีวีซี สารฟอกย้อม ตัวทำละลาย เชื้อเพลิง วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี


54

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ตลาดภายในประเทศ

ปตท. คอนเดนเสท

ปตท.

บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)

แนฟทา

คอนเดนเสท เรสิดิว น้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำพิเศษ

โทลูอีน

บริษัท ระยอง เพียวริฟายเออร์ จำกัด (มหาชน)

วัตถุดิบ บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำกัด (มาบตาพุด)

ผลิตภัณฑ์หลักส่งออก

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว แนฟทาชนิดเบา บริษัท ระยอง โอเลฟินส์ จำกัด

แนฟทาชนิดเบา ส่งออก

บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)

ไอน้ำ/ไฟฟ้า บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน)

ไซโคลเฮกเซน บริษัท คาโปรแลคตัมไทย จำกัด (มหาชน)

กำมะถัน แนฟทาชนิดเบา ก๊าซธรรมชาติ โรงแยก ก๊าซธรรมชาติ ปตท.

ไพก๊าซ

แอลพีจี

บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน)

เบนซีน

ปตท.

คอนเดนเสท น้ำมันดิบ น้ำมันเตา

บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด เบนซีน

บริษัท สยามสไตรีน โมโนเมอร์ จำกัด

ดีเซล น้ำมันอากาศยาน

พาราไซลีน บริษัท สยามมิตซุย พีทีเอ จำกัด

ปตท. แนฟทาชนิดเบา พาราไซลีน บริษัท ศักดิ์ ไชยสิทธิ จำกัด

สารอะโรเมติกส์หนัก

บริษัท ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน)

พาราไซลีน

วัตถุดิบและพลังงาน ขนส่งทางท่อ ขนส่งทางรถบรรทุก ขนส่งทางเรือ

บริษัท คอนทิเนนทอล ปิโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำกัด

ออร์โธไซลีน

บริษัท อินโดรามา ปิโตรเคม จำกัด

บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด


55

สถานการณ์ ปิ โ ตรเลี ย มและอะโรเมติ ก ส์ ปี 2552 และแนวโน้ ม ปี 2553

สถานการณ์ราคาน้ำมันในปี 2552 ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยทั้งปี 2552 อยู่ที่ 61.69 เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล โดยในช่วงครึ่งแรกของปี ราคาน้ำมันได้ปรับลดลงเมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 50.4 มาอยู่ที่ ระดับ 51.69 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เนื่องจากความต้องการใช้ น้ ำ มั น โลกมี อั ต ราการเติ บ โตลดลงจากปี 2551 ประมาณ 2.74 ล้านบาร์เรลต่อวัน (MMBD) มาอยู่ที่ 84.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน* โดยที่ อุ ป สงค์ น้ ำ มั น โลกปรั บ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาตั้ ง แต่ ป ลายปี 2551 เป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกอย่างรุนแรง ซึ่งปี 2552 คาดว่าจะหดตัวที่ระดับร้อยละ 2.0 โดยอุปสงค์ที่ลดลง ส่วนใหญ่มาจากกลุ่มประเทศเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการ พั ฒ นา (Organization for Economic Cooperation and Development-OECD) ซึ่งปรับตัวลดลงอย่างมาก เมื่อเทียบกับ ปีที่ผ่านมา โดยลดลง 2.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือประมาณร้อยละ 5 มาอยู่ที่ 45.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตและส่งออกที่ประสบปัญหา การว่างงานเพิ่มขึ้นจากธุรกิจที่ปิดกิจการลง สำหรับปริมาณการใช้ น้ ำ มั น ของกลุ่ ม Non-OECD โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง จี น และอิ น เดี ย ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2552 อยู่ที่ระดับ 7.9 และ 3.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 70,000 บาร์เรล และ 80,000 บาร์เรล ตามลำดับ เนื่องจากรัฐบาลจีนมีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจใน ปริ ม าณที่ เ พี ย งพอ และทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ โดยเน้ น การปรั บ ปรุ ง โครงสร้างพื้นฐาน และกระตุ้นการใช้จ่ายภายในประเทศ รวมถึง มาตรการลดหย่อนภาษี และขยายกำลังการผลิตของโรงกลั่นน้ำมัน ให้เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ ขณะที่รัฐบาลอินเดียเร่ง พัฒนาประเทศในด้านการก่อสร้างที่อยู่อาศัย การขนส่ง ส่งเสริมการ ผลิตรถยนต์ขนาดเล็กและการเปิดดำเนินการโรงกลั่นน้ำมันแห่งใหม่ ในอินเดีย ในไตรมาส 1 ปี 2552 ที่ผ่านมา ทำให้การใช้น้ำมันเติบโต ของทั้ง 2 ประเทศยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การที่กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (Organization of Petroleum Exporting Countries-OPEC หรือกลุ่มโอเปก)

...

ปรั บ ลดปริ ม าณการผลิ ต เพื่ อ สร้ า งสมดุ ล ให้ ต ลาด และพยุ ง ราคา น้ำมันให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้น ทำให้กลุ่มโอเปก 11 ประเทศ (ไม่รวม อิรัก) ปรับลดเป้าหมายการผลิตน้ำมันมาอยู่ที่ระดับปริมาณ 24.85 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากระดับเดิมที่ 26.23 ล้านบาร์เรลต่อวัน อีกทั้ง สภาพเศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง เป็นปัจจัยหลักใน การขับเคลื่อนความต้องการใช้น้ำมันโลกให้เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจาก มาตรการอัดฉีดเม็ดเงินกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ รวมทั้ง นโยบายปรับลดอัตราดอกเบี้ย ได้สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุน ส่งผลให้ราคาน้ำมันดิบดูไบในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 ปรับสูงขึ้น จากครึ่งแรกของปีประมาณ 20.0 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล หรือ ร้อยละ 38.7 มาอยู่ที่ระดับ 71.68 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล นอกจากนี้ ราคาน้ ำ มั น ยั ง ได้ รั บ ปั จ จั ย สนั บ สนุ น จากค่ า เงิ น เหรียญสหรัฐที่อ่อนตัวลง เมื่อเทียบกับเงินสกุลหลักอื่นๆ โดยเฉพาะ สกุลยูโร เนื่องจากแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ด้วยการ อัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ตลาดปริมาณมาก และการปรับลดอัตราดอกเบี้ย ลงมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 0 - 0.25 ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน มายังตลาดสินค้าโภคภัณฑ์มากขึ้น สถานการณ์ ร าคาน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ได้ แ ก่ น้ ำ มั น เบนซิ น (Gasoline: 95) แนฟทา น้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตา 180 cts (ร้อยละ 3) ในช่วงครึ่งแรกของปี 2552 ราคาผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมปรับลดลงมาก เนื่องจากความต้องการลดลงตามภาวะ เศรษฐกิจโลก ในขณะที่อุปทานในแต่ละภูมิภาคยังมีมาก โดยเฉพาะ ในเอเชียที่มีโรงกลั่นน้ำมันใหม่เริ่มดำเนินการผลิตในจีนและอินเดีย ส่งผลให้ส่วนต่างราคาน้ำมันสำเร็จรูปและน้ำมันดิบปรับตัวลดลง ในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 ราคาน้ำมันสำเร็จรูปปรับตัวสูงขึ้น ตามราคาน้ ำ มั น ดิ บ ที่ ป รั บ สู ง ขึ้ น แต่ ส่ ว นต่ า งปรั บ ตั ว ลดลงอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งจากครึ่ ง แรกของปี 2552 โดยส่ ว นต่ า งของน้ ำ มั น ดี เ ซล และน้ ำ มั น อากาศยานมี ก ารปรั บ ตั ว ลดลงมาก เนื่ อ งจากได้ รั บ ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ถ ดถอย ทำให้ ก ารผลิ ต ภาค อุตสาหกรรมลดลง ส่งผลให้ความต้องการน้ำมันดีเซลในภาคการ ผลิตและขนส่งลดลงอย่างมาก ในขณะที่ น้ำมันอากาศยานได้รับ


56

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ผลกระทบจากการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และภาวะซบเซาของการท่ อ งเที่ ย วทั่ ว โลก ส่ ง ผลให้ โ รงกลั่ น ใน ประเทศญี่ ปุ่ น ยุ โ รป และสหรั ฐ อเมริ ก าต้ อ งลดกำลั ง การผลิ ต เนื่องจากค่าการกลั่นที่ปรับตัวลงอย่างมาก ซึ่งส่งผลดีต่อส่วนต่าง น้ำมันเตา เนื่องจากความต้องการน้ำมันเตาในตะวันออกกลางและ เอเชียยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะความต้องการในอุตสาหกรรม การเดินเรือ และการผลิตไฟฟ้า ในขณะที่อุปทานน้ำมันเตาลดลง จากการปรั บ ลดการผลิ ต น้ ำ มั น ของกลุ่ ม โอเปก ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น น้ำมันดิบหนักที่จะให้ปริมาณน้ำมันเตามาก นอกจากนี้ การลดกำลัง การกลั่นของโรงกลั่นลงทำให้อุปทานน้ำมันเตาลดลงอย่างมาก ส่งผล ให้ส่วนต่างของน้ำมันเตาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2552 สถานการณ์ราคาผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ปี 2552 ในปี 2552 สถานการณ์ ต ลาดปิ โ ตรเคมี ส ายผลิ ต ภั ณ ฑ์ อะโรเมติกส์หดตัวตามเศรษฐกิจโลกที่ถดถอยจากภาวะวิกฤติด้าน การเงินการธนาคารในสหรัฐอเมริกาและยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ช่วงครึง่ แรกของปี 2552 กลุม่ ประเทศในภูมภิ าคเอเชียมีการขยายตัว ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศลดลง เนื่องจากได้รับผลกระทบ จากภาวะเศรษฐกิ จ ถดถอยของสหรั ฐ อเมริ ก าและยุ โ รป ซึ่ ง เป็ น

ตลาดส่งออกที่สำคัญ ส่งผลให้ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ขั้นปลาย

ของเบนซีนและพาราไซลีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วน คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ของเล่น เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์ โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และเรซินลดลงอย่างมาก ทำให้ความต้องการ สารอนุ พั น ธ์ ขั้ น กลาง ได้ แ ก่ เบนซี น และพาราไซลี น ชะลอตั ว ลง ทั้งนี้ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในแต่ละภูมิภาคมีการลดอัตรา

การผลิตเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการที่หดตัว อย่างไรก็ตาม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของทั่วโลกที่ออกมาในช่วงครึ่งหลังของ

ปี 2552 ส่งผลให้เศรษฐกิจเริ่มกลับมาขยายตัว ทำให้มีการอุปโภค บริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมของ แต่ละประเทศสูงขึ้น เช่น ประเทศในยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะ เยอรมนี จีน และอินเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการ Cash for Clunkers ในสหรัฐอเมริกา และยุโรป นอกจากนี้ การขยายตัว

อย่า งมากของยอดขายรถในจีนทำให้ความต้องการใช้ผลิตภั ณ ฑ์ สำเร็จรูปขั้นปลายของผลิตภัณฑ์เบนซีนสูงขึ้น ส่งผลให้ราคาเบนซีน และส่วนต่างราคาเบนซีนปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 จนถึงไตรมาส 4 ปี 2552 สำหรั บ ความต้ อ งการใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ำเร็ จ รู ป ขั้ น ปลายของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ าราไซลี น ได้ แ ก่ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ข วด โพลี เ อสเตอร์ เฟอร์นิเจอร์ ไฟเบอร์ และเรซิน ในกลุ่มประเทศยุโรปและเอเชีย

ปรั บ ตั ว ไม่ ม ากนั ก ในช่ ว งต้ น ปี เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง กล่ า วเป็ น ของใช้สิ้นเปลืองที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบจาก

การหดตัวของเศรษฐกิจมากนัก ทำให้ส่วนต่างราคาพาราไซลีน

ปรับตัวลงไม่มาก แต่หลังจากเศรษฐกิจโลกมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น

ในช่วงครึ่งหลังของปี 2552 ส่งผลให้มีความต้องการผลิตภัณฑ์

ขั้นปลาย (Downstream-PET Bottle Resin, Polyester Fiber) ใน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชียเหนือ โดยเฉพาะประเทศจีนปรับสูงขึน้ ส่งผลให้ผู้ผลิตในภูมิภาคเอเชียปรับเพิ่มอัตราการผลิตมาอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 70 - 75 ทำให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ขนั้ กลาง (Derivatives: PTA) และผลิตภัณฑ์ขั้นต้น (Upstream: Paraxylene) ปรับเพิ่มสูง ขึน้ ตามไปด้วย ส่งผลให้ราคาพาราไซลีนและส่วนต่างราคาพาราไซลีน

ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 จนถึงไตรมาส 4 ปี 2552 ในขณะที่อุปทานของทั้งเบนซีนและพาราไซลีนเกิดภาวะตึงตัว ตั้งแต่ปลายไตรมาส 1 เนื่องจากผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ใน เอเชียและยุโรป เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน จีน สิงคโปร์ ไทย ประสบปั ญ หาทางเทคนิ ค ต้ อ งหยุ ด ซ่ อ มบำรุ ง และประสบปั ญ หา

ขาดวัตถุดิบในการผลิตจากการลดกำลังการผลิตของโรงกลั่นน้ำมัน นอกจากนี้ โรงงานอะโรเมติกส์ใหม่ในจีนและตะวันออกกลางได้เลื่อน การดำเนินการผลิตจากกำหนดเดิมในช่วงไตรมาส 2 อย่างไม่มี กำหนดแน่ชัด เช่น CNOOC (กำลังการผลิต 250,000 ตันต่อปี) และ Tianjin (กำลังการผลิต 250,000 ตันต่อปี) ของจีน KARO (กำลังการผลิต 324,000 ตันต่อปี) ของคูเวต Oman Oil (กำลัง

การผลิต 210,000 ตันต่อปี) ของโอมาน ในขณะที่ ผู้ผลิตในญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และไทย ปรับลดอัตราการผลิตลงประมาณร้อยละ 5 - 10 ของกำลังการผลิต ส่งผลให้ตลาดเบนซีนในเอเชียตึงตัว

จากเดิมที่คาดการณ์ว่าอุปทานจะมีเหลือ เป็นเหตุสนับสนุนให้ราคา เบนซีนและส่วนต่างราคาเบนซีนคงตัวอยู่ในระดับสูงได้ แนวโน้มสถานการณ์ราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปใน ตลาดโลกปี 2553 แนวโน้ ม ราคาน้ ำ มั น ดิ บ ในตลาดโลก ได้ แ ก่ เวสต์ เ ทกซั ส เบรนท์ ทาปีส และดูไบ ซึ่งถือว่าเป็นวัตถุดิบสำคัญสำหรับโรงกลั่น น้ำมัน ปี 2553 คาดว่าจะปรับสูงขึ้นจากปี 2552 CMAI (Chemical Market Associates Inc.) และ Purvin & Gertz ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ ปิโตรเคมี และพลังงาน

ได้คาดการณ์ว่า ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2553 มีแนวโน้มจะปรับ สูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยปี 2552 และสอดคล้องไปกับการประมาณการ ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ที่ประเมินไว้ที่ระดับราคา 72.1 เหรียญ สหรัฐต่อบาร์เรลในปี 2553 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้ม ขยายตั ว ในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น ซึ่ ง CMAI คาดการณ์ ว่ า ในปี 2553 ผลิตภัณฑ์มวลรวมโลกจะขยายตัวสูงขึ้นที่ประมาณร้อยละ 3.5 ต่อปี เทียบกับปี 2552 ซึ่งอยู่ในภาวะถดถอยประมาณร้อยละ -2.0 โดย ประเมินจากภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและยุโรปที่จะกลับมา ขยายตั ว ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ได้ ผ่ า นพ้ น จุ ด ต่ ำ สุ ด แล้ ว ในขณะที่ ภู มิ ภ าคเอเชี ย มี ก ารขยายตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากปี ที่ ผ่ า นมา

โดยเฉพาะจีนจะมีอตั ราการขยายตัวสูงขึน้ ทีป่ ระมาณร้อยละ 10.0 ต่อปี ในปี 2553 จากร้อยละ 8.5 ต่อปี ในปี 2552 ที่ผ่านมา


57

Percent (%)

World GDP Growth Rates (Constant 2007 U.S. Dollars)

5.0

Forecast

4.0 3.0 2.0 1.0 0.0 -1.0 -2.0 -3.0

Most Likely Scenario 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14

2010 GDP Growth, % change Q/Q annualized

สหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก เอเชีย ยกเว้นญี่ปุ่น

1 st

2 nd

3 rd

4 th

2010

3.5 1.9 7.0

3.0 1.5 6.0

3.5 2.0 6.5

4.0 2.3 7.5

2.9 1.5 7.5

ในปี 2553 ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกคาดว่าจะปรับสูงขึ้น โดยมีปัจจัย ดังนี้ 1. อุปสงค์ (Demand) หรือความต้องการน้ำมันดิบจะเพิ่มขึ้น สัมพันธ์ไปกับภาวะเศรษฐกิจโลกที่กลับมาขยายตัวในปี 2553 โดยใน ต้นปี ความต้องการน้ำมันดิบจากโรงกลั่นเพื่อการกลั่นเป็นน้ำมัน สำเร็จรูป Distillate และน้ำมันเพื่อความอบอุ่นจะเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เข้าสู่ช่วงฤดูหนาวในยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา และเอเชียเหนือ ประกอบกับพยากรณ์อากาศที่คาดว่า สภาพอากาศในสหรัฐอเมริกา และยุโรปจะหนาวเย็นกว่าปกติ อุปสงค์หรือความต้องการน้ำมันดิบ จะมี ต่ อ เนื่ อ ง และเมื่ อ เข้ า สู่ ฤ ดู ร้ อ นซึ่ ง เป็ น ช่ ว งฤดู ก าลท่ อ งเที่ ย ว จะส่งผลให้ความต้องการใช้น้น้ำมันเบนซินในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ปรับเพิ่มขึ้น

ทั้ ง นี้ คาดว่ า ความต้ อ งการน้ ำ มั น ดิ บ เพื่ อ การกลั่ น ในเอเชี ย จะปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากความต้องการน้ำมันในประเทศจีน อินเดีย และการเริ่มเดินเครื่องโรงกลั่นใหม่ ได้แก่ Sinopec และ Reliance ในช่วงไตรมาส 1 ปี 2553 2. อุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลกมีแนวโน้มคงตัว จากการที่ สมาชิกกลุ่มโอเปก 11 ประเทศ (ไม่รวมอิรัก) มีแผนคงการผลิตไว้ที่ เป้าหมายเดิมที่ระดับ 24.84 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพื่อรักษาระดับ ราคาน้ำมันดิบให้อยูท่ ี่ 70 - 80 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เช่นเดียวกับ ในช่วงปลายปีทผี่ า่ นมา อย่างไรก็ตาม สภาวะเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชียทีม่ กี ารขยายตัวดีขนึ้ ประกอบกับค่าเงินเหรียญสหรัฐ ยั ง คงมี ค วามผั น ผวน และมี แ นวโน้ ม อ่ อ นค่ า ลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขณะเดี ย วกั น ความกั ง วลต่ อ อุ ป ทานน้ ำ มั น ในตะวั น ออกกลางเริ่ ม


58

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

มีสัญญาณความตึงเครียดมากขึ้นจากโครงการนิวเคลียร์ของอิหร่าน อีกทัง้ บทบาทของนักลงทุนกลุม่ สถาบัน (Hedge Fund) ทีอ่ าจเข้ามา เก็งกำไรในตลาดซื้อขายน้ำมันดิบล่วงหน้ามากขึ้น จะเป็นสาเหตุ สำคั ญ ที่ ท ำให้ ร าคาน้ ำ มั น ดิ บ ยั ง คงตั ว อยู่ ใ นระดั บ สู ง เช่ น เดี ย วกั บ ปลายปี 2552 ในปี 2553 ผู้เชี่ยวชาญด้านปิโตรเคมีและพลังงานจาก CMAI โดย Purvin & Gertz ประเมินอุปสงค์น้ำมันของโลกเฉลี่ยปี 2553

ไปในทางเดียวกับสำนักงานพลังงานระหว่างประเทศ (International Energy Agency-IEA) ว่าจะปรับสูงขึน้ ประมาณ 1.48 ล้านบาร์เรล ต่อวัน หรือร้อยละ 1.76 มาอยู่ที่ 85.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน จาก 84.32 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากปี 2552 ที่ผ่านมา ในขณะที่ อุปทาน น้ำมันของโลกจะอยู่ที่ 87.16 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก 85.98 ล้านบาร์เรลต่อวัน เมื่อปี 2552 ที่ผ่านมา

World Petroleum Supply/Demand Balance หน่วย : ล้านบาร์เรลต่อวัน 2005

2006

2007

2008

2009

2010

25.38 15.96 8.90 50.24 33.84 84.07

25.18 15.90 8.70 49.78 35.28 85.06

25.27 15.41 8.74 49.42 36.84 86.26

23.97 15.48 8.42 47.87 38.15 86.02

23.13 14.81 7.91 45.85 38.47 84.32

23.61 14.79 7.83 46.23 39.57 85.80

31.18 4.87 41.52 8.68 86.24 2.17

31.53 5.07 41.51 8.89 87.00 1.94

31.22 5.24 41.64 9.19 87.28 1.02

32.46 5.46 40.99 9.42 88.33 2.31

29.79 5.34 41.25 9.61 85.98 1.65

30.13 5.39 41.72 9.91 87.16 1.36

DEMAND

North America OECD Europe OECD Pacific Total OECD Total Non-OECD Grand Total World Demand SUPPLY

OPEC Crude* OPEC NGL, Condensates Non-OPEC Crude* Non-OPEC NGL, etc. Total World Supply Inventory Change & Misc.

* OPEC Crude includes and Non-OPEC crude excludes Angola and Ecuador for all time periods Source: Purvin & Gertz

ราคาน้ำมันสำเร็จรูป คาดว่ า ราคาน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป จะปรั บ ตามราคาน้ ำ มั น ดิ บ และ ปัจจัยพื้นฐานตลาดจากอุปสงค์และอุปทานซึ่งสัมพันธ์ไปกับภาวะ เศรษฐกิจโลกที่คาดว่าจะมีการขยายตัวจากปี 2552 ส่งผลให้ส่วนต่าง ราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกับราคาน้ำมันดิบปรับสูงขึ้นจากปี 2552 โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2553 ความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูป

ได้แก่ น้ำมันดีเซลและน้ำมันเพื่อความอบอุ่นจะเพิ่มขึ้น เนื่องจาก เป็นช่วงฤดูหนาวในสหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และเอเชียเหนือ ทั้งนี้ ภาวะตลาดมีแนวโน้มอยู่ในภาวะมีอุปทานสูงกว่าอุปสงค์ เนื่องจากโรงกลั่นใหม่ในจีนและอินเดีย ได้เดินเครื่องทำการผลิตใน ช่วงไตรมาสแรกของปี 2553 รวมทั้งปริมาณสำรองน้ำมันสำเร็จรูป (Middle Distillate) ของแต่ละภูมิภาคทั่วโลกยังอยู่ระดับสูง ทำให้


59

แนวโน้มส่วนต่างในช่วงครึ่งปีแรกอาจจะไม่ปรับตัวสูงขึ้นมากนัก อย่างไรก็ตาม จากการคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจโลกว่า จะมีอัตรา การขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และทั่วโลก น่าจะขยายตัวดีขนึ้ เป็นลำดับ คาดว่าอุปสงค์นำ้ มันสำเร็จรูปจะเพิม่ ขึน้ และทำให้อุปสงค์และอุปทานเข้าสู่สภาวะสมดุลมากขึ้น นอกจากนี้ การหยุดซ่อมบำรุงประจำปีของโรงกลั่นในเอเชียและยุโรปในช่วง ปลายไตรมาส 3 และไตรมาส 4 จะส่งผลให้สว่ นต่าง และค่าการกลัน่ (Gross Refining Margin-GRM) น่าจะปรับสูงขึ้นมากกว่าครึ่งแรก ของปี 2553 ตลาดคาดว่าค่าการกลั่นของโรงกลั่นแบบ Complex ที่ สิงคโปร์ในปี 2553 เฉลี่ยจะอยู่ที่ระดับประมาณ 3 - 5 เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล แนวโน้ ม สถานการณ์ ร าคาปิ โ ตรเคมี ใ นตลาดโลกปี 2553 ในปี 2553 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของกลุ่มประเทศ

ในเอเชียจะมีการขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากภาวะเศรษฐกิจ

ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ของสหรั ฐ อเมริ ก าและยุ โ รป ซึ่ ง เป็ น ตลาดส่ ง ออก

ทีส่ ำคัญของเอเชีย ส่งผลให้อตุ สาหกรรมปิโตรเคมีมกี ารขยายตัวสูงขึน้ ความต้ อ งการใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น ปลายของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ บนซี น และ

พาราไซลีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ของเล่น เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และเรซิ น ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากปลายปี 2552

ส่งผลให้ความต้องการสารอนุพันธ์ขั้นกลางในสายอะโรเมติกส์ใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ปรั บ สู ง ตามไปด้ ว ย โดยอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี

โดยเฉพาะในจีนและอินเดียจะยังคงเติบโตอย่างสูง เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจของประเทศดังกล่าวมีการเติบโตก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ ซึ่งพึ่งพา อุ ป สงค์ แ ละการบริโภคจากภายในประเทศมากขึ้นกว่ า อดี ต โดย

อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ขั้นปลายของผลิตภัณฑ์เบนซีน และพาราไซลีนจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ในปี 2553 อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์พาราไซลีนในโลกมีแนวโน้ม ขยายตัวประมาณ 1.764 ล้านตันต่อปี หรือร้อยละ 6.1 ต่อปีมาอยู่ที่ ระดับ 28.79 ล้านตันต่อปี โดยคาดว่าความต้องการส่วนใหญ่ของ ผลิตภัณฑ์พาราไซลีนมาจากภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ที่มีแนวโน้ม ขยายตัวประมาณ 1.56 ล้านตันต่อปี หรือร้อยละ 6.9 ต่อปี มาอยู่ที่ ระดับ 22.52 ล้านตันต่อปี และจากแผนการสร้างโรงงาน PTA ขึน้ ใหม่ ในจีนและอินเดีย เพื่อรองรับความต้องการภายในประเทศดังกล่าว ทั้งนี้ ตลาดพาราไซลีนในเอเชียมีอัตราการขยายตัวที่ดีและ

ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในอิ น เดี ย ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมี นั ย สำคั ญ ถื อ ว่ า เป็ น ตลาดใหม่ ที่ ศักยภาพสูง และอาจเติบโตขึ้นมาทัดเทียมกับจีนได้ในอนาคต

ขณะที่ ผู้ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ขั้ น ปลายจากอุ ต สาหกรรมการผลิ ต โพลีเอสเตอร์ ไฟเบอร์ และ PET มีอัตราส่วนรวมคิดเป็นร้อยละ 90 ของความต้องการพาราไซลีนทั่วโลก โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ PET คาดว่าความต้องการทั่วโลกจะขยายตัวเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 6.7 ต่อปี ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ทั่วโลกยอมรับบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจาก PET มากขึ้น ส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียยังคงขาดแคลน และต้องนำเข้า ผลิตภัณฑ์พาราไซลีนประมาณ 1.74 ล้านตันต่อปี โดยจีนยังมีความ ต้องการนำเข้าผลิตภัณฑ์พาราไซลีนสูงถึงปีละ 2.67 ล้านตันต่อปี ส่วนอุปสงค์ของผลิตภัณฑ์เบนซีนในปี 2553 มีแนวโน้มขยายตัว ประมาณ 1.595 ล้านตันต่อปี หรือร้อยละ 4.0 ต่อปี มาอยู่ที่ระดับ 40.32 ล้านตันต่อปี โดยคาดว่าอุปสงค์มาจากภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตะวันออกกลาง และยุโรป ซึ่งมาจากภาวะอุตสาหกรรมรถยนต์

ของโลก ทั้งในสหรัฐอเมริกาและจีนมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทั้ ง นี้ ภาพโดยรวมภู มิ ภ าคเอเชี ย ยั ง คงอยู่ ใ นฐานะผู้ส่งออก ผลิตภัณฑ์เบนซีนไปยังอเมริกาเหนือ และยุโรปเป็นหลัก โดยคาดว่า ส่วนต่างของราคาเบนซีนกับคอนเดนเสทจะอยู่ที่ระดับสูงใกล้เคียงกับ ปี 2552 ที่ผ่านมา อยู่ที่ประมาณ 172 เหรียญสหรัฐต่อตัน อุ ป ทานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ในปี 2553 จาก โรงงานอะโรเมติ ก ส์ ใ หม่ ใ นจี น และตะวั น ออกกลาง แต่ อุ ป ทาน ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์อาจจะไม่เพิ่มขึ้นมากนัก เนื่องจากแผนการ ปรับลดอัตราการผลิตซึ่งขาดแคลนวัตถุดิบจากการที่โรงกลั่นลดกำลัง การผลิต อีกทั้งการหยุดซ่อมบำรุงประจำปีของโรงกลั่นและโรงงาน อะโรเมติกส์ ในช่วงไตรมาส 1 และ 2 ปี 2553 และแนวโน้มปัญหา ทางเทคนิคของโรงงานอะโรเมติกส์ใหม่ในตะวันออกกลาง ซึ่งอาจจะ ทำให้ไม่สามารถเริ่มทำการผลิตได้ตามแผนเดิม ภาวะตลาดโดยรวมคาดว่า อุปทานพาราไซลีนจะเพิ่มสูงขึ้น

ในปี 2553 ที่ 3.29 ล้านตันต่อปี หรือร้อยละ 9.0 ต่อปี มาอยู่ที่ ระดับ 36.70 ล้านตันต่อปี โดยคาดว่าจะมีอัตราการผลิตอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 79.2 สำหรับกำลังการผลิตเบนซีนในปี 2553 มีแนวโน้มปรับตัว

สู ง ขึ้ น เช่ น กั น ที่ 2.03 ล้ า นตั น ต่ อ ปี ห รื อ ร้ อ ยละ 3.7 มาอยู่ ท ี่ ระดับ 55.34 ล้านตันต่อปี และคาดว่าจะมีอัตราการผลิตอยู่ที่ระดับ ร้อยละ 73.0

ที่มาข้อมูล World GDP, World Oil Supply/Demand ประมาณการโดย CMAI: Chemical Market Associates, Inc., Purvin & Gertz


60

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

การบริ ห ารจั ด การด้ า นคุ ณ ภาพ

ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม

บริษัทฯ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม รวมถึงความรับผิดชอบ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งเป็ น ธรรม โดยกำหนดเป็ น นโยบาย ดังนี้ มุ่งเน้นการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร เพื่อผลิตสินค้า และบริ ก ารที่ ต รงตามข้ อ กำหนด เพื่ อ ตอบสนองความ พึงพอใจและความคาดหวังของลูกค้า ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพกระบวนการทำงาน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิทธิผลอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ กฎหมาย และข้ อ ตกลงอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การดำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง การ กำหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อวัดผลการปรับปรุงนั้นๆ สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่ให้ความสำคัญในการบริหาร จั ด การความปลอดภั ย การดู แ ลห่ ว งใยความปลอดภั ย ซึ่งกันและกัน เพื่อปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัยของ พนั ก งาน และเป็ น การป้ อ งกั น การเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ข อง ผู้ปฏิบัติงาน ให้ความสำคัญอย่างต่อเนื่องในการดำเนินการเพื่อลดผล กระทบและป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตของชุมชน รวมถึงผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำองค์กรไปสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน กำกั บ ดู แ ลการใช้ ท รั พ ยากรและพลั ง งานอย่ า งคุ้ ม ค่ า เพื่อลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต (Loss Control) ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในเชิงธุรกิจ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานในทุ ก ระดั บ มี ค วามเข้ า ใจในระบบ การจั ด การ และมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมเพิ่ ม ผลผลิ ต เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความพึ ง พอใจในการทำงาน ก่ อ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด และบรรลุวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ

• • • • • •

ทั้งนี้ สามารถสรุปผลการดำเนินงานด้านการบริหารคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในปี 2552 ได้ ดังนี้ การบริหารจัดการด้านคุณภาพ ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำเนินการรวมระบบการจัดการ และ กระบวนการทำงาน 2 ระบบให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น โดยยึ ด หลักการและแนวคิดของการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรหรือ TQM (Total Quality Management) ทั้งนี้ เพื่อเป้าหมายขอการรับรอง ระบบการจัดการมาตรฐานแบบองค์รวมหรือ IMS ISO (Integrated Management System: ISO 9001, ISO 14001 and TIS/OHSAS 18001) ในปี 2553 ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบ ภายในตามข้อกำหนดของระบบการจัดการมาตรฐานแบบองค์รวม เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่รวม 2 ระบบเข้าด้วยกัน แล้วเสร็จในเดือน พฤศจิกายน 2552 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้นำนโยบายกิจกรรมเพิ่มผลผลิตมาใช้ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนา/เรียนรู้ร่วมกันของพนักงาน และยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดการทำงานเป็นทีม โดยบริษัทฯ ได้ ส่งกลุ่ม QC ดีเด่นของบริษัทฯ เข้าร่วมแข่งขันในงานมหกรรมคิวซี แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 จัดโดยสมาคมส่งเสริมคุณภาพแห่ง ประเทศไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และ ได้รับคัดเลือกเป็นกลุ่มคิวซีดีเด่นแห่งประเทศไทย ซึ่งต้องไปร่วม นำเสนอผลงานในงานมหกรรมคิ ว ซี น านาชาติ The 7 th China Shanghai International Symposium on Quality and the Forum of International Academy for Quality ในด้านการจัดการความรู้ บริษัทฯ ได้ดำเนินการให้ความรู้และ สร้างความเข้าใจในกระบวนการจัดการความรู้กับหน่วยงานต่างๆ ดังนี้


6

จั ด เก็ บความรู้จากพนักงานผ่านกิจกรรม One Sheet Sharing, One Article Sharing และ One Knowledge Sharing ได้กว่า 100 เรื่อง สร้างต้นแบบการเรียนรู้ด้วยการเชิญผู้บริหารระดับสูงของ องค์กรมาถ่ายทอดความรู้ผ่านกิจกรรม “Love & Learn ปั น ความรั ก ปั น ความรู้ ” ทำให้ พ นั ก งานได้ เ รี ย นรู้ ผ่ า น ประสบการณ์ของผู้บริหาร รวมทั้งสร้างบรรยากาศการ ทำงานที่เป็นหนึ่งเดียว (One Team) พัฒนาคลังความรู้ที่ใช้เป็นพื้นที่ในการแบ่งปันความรู้ของ พนักงานผ่านระบบ Intranet (KM web) จัดตั้ง CoP (Community of Practice) ขึ้น โดยปัจจุบัน มีกลุ่มความรู้รวม 11 กลุ่ม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้แบ่งปันความรู้สู่บริษัทในกลุ่ม ปตท. ผ่ า นการดำเนิ น กิ จ กรรม Share & Learn ซึ่ ง เริ่ ม ต้ น ที่ ง าน Turnaround โดยมีบริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) โรงแยกก๊าซธรรมชาติของ ปตท. และ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำกัด เข้าร่วมแบ่งปันความรู้ รวมทั้งขยายกลุ่ม ความรู้ ไ ปในด้ า นต่ า งๆ เช่ น Plant Modify Management, Engineering, Instrument, Rotating และ KM เป็นต้น ทั้งนี้ ผลจากการดำเนินงานทำให้บริษัทฯ ได้รับรางวัลในระดับ Certificate of Honor จากงาน PTT Group KM Award 2009 และ The Master 4 คน จากกลุ่มความรู้ต่างๆ ในองค์กรยังได้รับรางวัล The Best Contributor จากงานเดียวกันอีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ถ่ายทอดความรู้สู่สังคมผ่านช่องทางการนำเสนอความรู้ของ บุคลากรที่มีคุณภาพใน CoP ต่างๆ ให้กับสถานศึกษาทั้งในภาครัฐ และเอกชนอีกมากมาย

• • •

การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสำคั ญ ในการสร้ า งวั ฒ นธรรมด้ า นความ ปลอดภั ย ในการทำงาน โดยมี เ ป้ า หมายที่ จ ะทำให้ พ นั ก งานและ ผู้รับเหมามีความตระหนักในการทำงานให้ปลอดภัยอย่างยั่งยืน ผ่าน การพั ฒ นาวั ฒ นธรรมความปลอดภั ย “CARES” (Caring / Awareness in safety / Relationship / Everyone goes home safely everyday / Stop if unsafe) ด้วยแนวคิดที่จะให้พนักงาน และผู้รับเหมาทุกคนดูแลใส่ใจความปลอดภัยซึ่งกันและกัน เป็นผลให้ บริษัทฯ บรรลุความสำเร็จในการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยโดยไม่มี อุ บั ติ เ หตุ ถึ ง ขั้ น บั น ทึ ก ของพนั ก งานและผู้ รั บ เหมาประจำครบ 2 ล้ า นชั่ ว โมงในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2552 นอกจากนี้ โรงงาน อะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 ยังได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับประเทศ เป็นปีที่ 7 ติดต่อกัน (2546 - 2552) แสดงให้เห็นถึง ความสม่ำเสมอในการดำเนินงานด้านความปลอดภัยของบริษัทฯ อนึ่ง บริษัทฯ ได้ตั้งทีมงานเพื่ออยู่เวรระวังเหตุฉุกเฉินเพิ่มเติม ให้กับโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 รวมทั้งได้ ฝึกซ้อมแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินระดับที่ 2 (Table Top Exercise) ทุ ก วั น ศุ ก ร์ เพื่ อ สร้ า งความพร้ อ มและความชำนาญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้อบรมหลักสูตรการดับเพลิงและการผจญเพลิงชั้นสูง ให้กับพนักงานปฏิบัติการของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 และ หน่วยที่ 2 และเพิม่ ความถีใ่ นการฝึกจากปีละหนึง่ ครัง้ เป็นปีละสองครัง้ บริษัทฯ ยังได้เข้าร่วมกับหน่วยงานราชการ อาทิ กองทัพเรือ และกรมขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ฝึกการปฏิบัติการรักษาความ ปลอดภั ย ท่ า เรื อ ตามมาตรฐาน International Ship and Port Security ในบริเวณท่าเรือของบริษัทฯ ภายใต้ชื่อการฝึก NASMEX 09 เพื่อทดสอบระบบการประสานงานร่วมกันระหว่างกลุ่มบริษัทที่มี


62

ท่าเรือและหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน 2 กรกฎาคม 2552 ทั้งนี้ ท่าเรือของบริษัทฯ เป็นท่าเรือเดียวใน มาบตาพุดทีห่ น่วยปฏิบตั กิ ารพิเศษของกองทัพเรือไม่สามารถบุกยึดได้ เนื่องจากมีระบบการรักษาความปลอดภัยที่รัดกุมอย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย บริษัทฯ ตระหนักถึงเรื่องสุขภาพของพนักงานที่ปฏิบัติงานใน พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง ซึ่ ง มี โ อกาสได้ รั บ สารเคมี อั น ตรายเข้ า สู่ ร่างกาย จึงได้จัดโปรแกรมการตรวจร่างกายพิเศษให้แก่พนักงาน ปฏิบัติการและพนักงานซ่อมบำรุงในกระบวนการผลิตปีละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจหาอาการของโรคทางเดินหายใจและมะเร็ง ซึ่งยังไม่พบ พนักงานที่เจ็บป่วยเป็นมะเร็งหรือโรคทางเดินหายใจเรื้อรังจากการ ทำงาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้กำหนดมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ ระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โดยการคัดกรองผู้ที่อาจ ติ ด เชื้ อ รวมทั้ ง ให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพของตนเองและ ครอบครัวแก่พนักงานและผู้รับเหมาอย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมายและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมอย่าง เคร่งครัด ถือเป็นภารกิจที่บริษัทฯ ให้ความสำคัญมาโดยตลอด ซึ่ง ยืนยันได้จากผลตรวจวัดการระบายมลสารจากปล่องต่างๆ และน้ำที่ ผ่านการบำบัดแล้ว ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้บริษัทฯ ได้รับรางวัล EIA Monitoring Award ในส่วนกิจการท่าเรือขนส่งผลิตภัณฑ์ จาก สำนั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ดำเนินโครงการต่างๆ ที่จะช่วยลดการ ปล่อยมลพิษให้น้อยลง ส่งผลให้การร้องเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อมจาก ชุ ม ชนมี จ ำนวนน้ อ ยจนเป็ น ที่ น่ า พอใจ โดยโครงการที่ เ กี่ ย วกั บ สิ่งแวดล้อมซึ่งบริษัทฯ ได้ดำเนินการในปี 2552 ได้แก่

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

โครงการติดตั้ง Activated Carbon ที่ถังเก็บผลิตภัณฑ์ เบนซีนของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 เพื่อดักจับไอระเหยมิให้รั่วไหลออกสู่บรรยากาศ (VOC Reduction) โดยบริษัทฯ ได้ติดตั้ง Activated Carbon ที่ โ รงงานอะโรเมติ ก ส์ ห น่ ว ยที่ 2 แล้ ว เสร็ จ เมื่ อ เดื อ น ธันวาคม 2552 ซึ่งสามารถดักจับไอระเหยจากถังเบนซีน ได้ เ กื อ บร้ อ ยละ 100 และยั ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ มี ประสิทธิภาพและมีอายุการใช้งานเพิ่มมากขึ้น ส่วนการ ติดตั้งที่โรงงานอะโรเมติกส์ หน่วยที่ 1 มีความก้าวหน้า โดยรวม ณ เดือนธันวาคม 2552 ที่ร้อยละ 30 และคาดว่า จะติดตั้งแล้วเสร็จในเดือนมีนาคม 2553 โครงการก่อสร้างระบบควบคุมไอน้ำมันเชื้อเพลิง (Vapor Recovery Unit) และปรับปรุงระบบการจ่ายน้ำมันเป็น แบบสูบถ่ายจากด้านล่าง (Bottom Loading) ที่หน่วย ขนถ่ายผลิตภัณฑ์น้ำมันทางรถบรรทุก เพื่อป้องกันการ แพร่ ก ระจายของไอน้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ไปสู่ บ รรยากาศ โดย ณ สิ้นปี 2552 โครงการมีความก้าวหน้าโดยรวม ร้อยละ 60 และคาดว่าจะแล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2553 โครงการปรับปรุงการเผาไหม้ที่หน่วยผลิตไฟฟ้า (Gas Turbine) เป็นโครงการที่ดำเนินงานปรับปรุงอุปกรณ์เพื่อ ลดการระบายก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจนจากการใช้ก๊าซ เชื้อเพลิงที่ระบบการเผาไหม้ของหน่วยผลิตไฟฟ้า โดยจะ ช่ ว ยลดการปล่ อ ยก๊ า ซออกไซด์ ข องไนโตรเจนลงได้ ร้อยละ 10 ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ปรับปรุงอุปกรณ์แล้วเสร็จ 2 หน่วย ในเดือนเมษายน และสิงหาคม 2552 และกำลัง อยู่ระหว่างการปรับปรุงหน่วยที่ 3 ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จใน ไตรมาส 1 ปี 2553 โครงการเชื้อเพลิงสะอาดและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 1 (Upgrading Complex Phase 1) ซึ่งนำน้ำมัน เตาที่ได้จากโครงการไปเป็นเชื้อเพลิงในโรงงาน ทำให้ สามารถลดการปล่อยมลสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงได้ถึง ร้อยละ 30


63

ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จำกั ด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบข้าง ซึ่งบริษัทฯ ให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ในฐานะบริษัทที่มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม บริษัทฯ ได้ดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมายและหลัก ธรรมาภิ บ าลควบคู่ ไ ปกั บ การดู แ ลจั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนรอบข้ า ง นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง กำหนดให้ Social Responsibility and Caring เป็นหนึ่งในค่านิยมขององค์กร เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วม ดูแลสังคม และยังจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะขึ้นมาดูแลงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility – CSR) ในภาพรวม และชุมชนรอบข้างโรงงาน ทั้งนี้ สามารถสรุปโครงการ เพื่อสังคมที่สำคัญของบริษัทฯ ในปี 2552 ได้ดังนี้ การดำเนินงานในพื้นที่มาบตาพุดและจังหวัดระยอง การศึกษา โครงการเตรียมความพร้อมมุ่งสู่มหาวิทยาลัย โดยมี พนั ก งานอาสาสมั ค รสอนวิ ช าเคมี ฟิ สิ ก ส์ และ คณิตศาสตร์ให้แก่นกั เรียนชัน้ ม.6 โรงเรียนมาบตาพุด พันพิทยาคาร ร่วมกับ กลุ่ม ปตท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถาบันกวดวิชาที่มีชื่อเสียงติวสอบเข้ามหาวิทยาลัย ให้แก่นักเรียนชั้น ม.6 ของโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัด ระยอง จัดทำห้องสมุด PTTAR เพื่อน้อง-ปรับปรุงห้องสมุด และจัดหาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ห้องสมุดเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่น่าสนใจสำหรับเด็ก ในปี 2552 บริษัทฯ จัด สร้างห้องสมุดให้แก่โรงเรียนวัดตากวน เป็นแห่งที่ 13 ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัด “ค่ายปิโตรแคมป์ สู่แชมป์ ปิโตร” ให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของ โรงเรี ย น 7 แห่ ง ในจั ง หวั ด ระยอง และคั ด เลื อ ก

...

• • • •

นักเรียน 4 คน รับทุนการศึกษาเพื่อศึกษาต่อระดับ ปริ ญ ญาตรี ภาควิ ช าเคมี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สุขภาพอนามัย คลินิกที่โรงงานอะโรเมติกส์หน่วยที่ 2 - ให้บริการ รักษาพยาบาลแก่ชุมชนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัดตั้ง “คลินิกปันน้ำใจ” ที่โรงแยก ก๊าซธรรมชาติระยอง ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ให้การ รักษาแก่ชุมชนโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเป็นประจำทุกเดือน ส่งเสริมอาชีพ ร่วมกับฝ่ายจัดหา ในการวางหลักเกณฑ์การจัดซื้อ จั ด จ้ า งและจั ด หาสิ น ค้ า และบริ ก ารที่ เ อื้ อ อำนวยให้ ชุมชนมีโอกาสทำธุรกิจกับบริษัทฯ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น อาหารและขนมจากชุมชนสำหรับกิจกรรมต่างๆ งานจัดสวนและดูแลต้นไม้ ร่วมกับฝ่ายทรัพยากรบุคคล ส่งเสริมการรับลูกหลาน ชุมชนเข้าทำงานกับบริษัทฯ และมีการจ้างแรงงานใน ท้องถิ่น ทั้งในรูปของพนักงานและผู้รับเหมา สิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมทำความสะอาดชายหาดและปลูกต้นไม้ ร่วมกับชุมชน และเทศบาลเมืองมาบตาพุด จั ด ทำสถานที่ บ รรจุ น้ ำ มั น เครื่ อ งใช้ แ ล้ ว ให้ กั บ กลุ่ ม ประมง 2 กลุ่ม เพื่อช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ เกิดจากการทิ้งน้ำมันเครื่องอย่างไม่เหมาะสม ความปลอดภัย ซ้อมแผนฉุกเฉินร่วมกับชุมชน เพื่อสร้างความมั่นใจ ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ร่วมกับกลุ่ม ปตท. สนับสนุนกิจกรรมของตำรวจ อาสา เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน

• • • • •

• •

• • • •


64

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

• •

กีฬา

• •

เป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอลเยาวชน PTT Group Cup ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัดการแข่งขันเดิน-วิ่งมินิ-ฮาล์ฟ มาราธอน ศาสนา/วัฒนธรรม/จริยธรรม บรรพชาสามเณร กฐินสามัคคี

• •

การร่วมมือดำเนินงาน CSR ระหว่างกลุ่ม ปตท. นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ที่มีธุรกิจ และ/หรือโรงงานอยู่ในจังหวัดระยองรวม 12 บริษัท ดำเนินงานเพื่อ สังคมและชุมชน เพื่อให้การทำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และ สนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมมาก ยิ่งขึ้น ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับดูแลการดำเนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสื่อความ กลุ่ม ปตท. ในพื้นที่ จังหวัดระยอง ซึ่งมีภารกิจ ดังนี้ กำกับดูแลการดำเนินงาน CSR/PR กลุ่ม ปตท. ระยอง ให้เป็นไปตามนโยบายของกลุ่ม ปตท. กำกั บ ดู แ ลการสื่ อ ความและฐานข้ อ มู ล ของกลุ่ ม ปตท. ระยอง ให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ กำกับดูแลการบริหารประเด็นของกลุ่ม ปตท. ระยอง พิจารณางบประมาณการดำเนินงาน CSR/PR กลุ่ม ปตท. ระยอง เป็นผู้แทนกลุ่ม ปตท. ร่วมงานกิจกรรมเพื่อสังคม

• • • • •

การสื่อสารกับชุมชน บริษัทฯ มีการสื่อสารพูดคุยกับชุมชนอย่างต่อเนื่องและโปร่งใส เพื่อให้ชุมชนมีความเชื่อถือและไว้วางใจ รวมทั้งเสริมสร้างความ สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน โดยมีการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน ดังนี้


65

• • • • • • •

ลงพื้นที่พบปะและเยี่ยมเยียนชุมชนเป็นประจำทุกวัน เพื่อ สร้างความสัมพันธ์อันดี และรับฟังความคิดเห็นของชุมชน จัดประชุมร่วมกับชุมชนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อชี้แจงการ ดำเนินงานของบริษัทฯ และรับฟังข้อเสนอแนะของชุมชน นำคณะกรรมการชุมชนและสมาชิกชุมชนเยี่ยมชมการ ดำเนินงานเพื่อสร้างความเข้าใจ จัดสัมมนาผู้นำชุมชนประจำปี เพื่อนำความคิดเห็นและ ข้ อ เสนอแนะมาปรั บ แผนงานในปั จ จุ บั น และใช้ ใ นการ วางแผนงานในอนาคต แจ้งข้อมูลข่าวสารทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ชุมชน เพื่อสื่อ ความกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ร่วมกับฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่ ง แวดล้ อ ม จั ด ให้ มี ร ะบบตอบรั บ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม จากชุมชน แจ้งกำหนดการซ่อมบำรุงหรือกำหนดการซ้อมแผนฉุกเฉิน ล่วงหน้า

การมีส่วนร่วมของพนักงาน บริษัทฯ สนับสนุนให้พนักงานมี ‘จิตอาสา’ โดยเข้าร่วม หรือ ริเริ่มกิจกรรม CSR ที่มุ่งเน้นชุมชนรอบโรงงานหรือภายในจังหวัด ระยอง อาทิ การลงพื้นที่ทำความสะอาดร่วมกับกลุ่มประมงเรือเล็ก ตากวน-อ่าวประดู่ ซึ่งอยู่ติดกับโรงกลั่นน้ำมัน การร่วมปลูกต้นไม้กับ ชุ ม ชน และการอาสาสมั ค รสอนหนั ง สื อ ให้ เ ยาวชนในโรงเรี ย น เป็นต้น นอกจากนี้ พนักงานบริษทั ฯ ยังรวมกลุม่ กันเพือ่ ร่วมสร้างสรรค์ กิจกรรมเพื่อสังคม ภายใต้ชื่อ “กลุ่มร่มไม้” “กลุ่มสามบาท” “กลุ่ม ออฟโรด” และ “กลุ่มโบราณคานแข็ง” โดยใช้เวลาว่างร่วมกันพัฒนา สังคมในพื้นที่ห่างไกลทั่วประเทศ รวมทั้งกลุ่มกิจกรรม “One Fine Friday” ที่ร่วมกันจัดโครงการแบ่งปันให้แก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ซึ่ ง ทุ ก กลุ่ ม เป็ น กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ข องพนั ก งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย CSR ของบริษัทฯ


66

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

กิ จ กรรมสำคั ญ

24 กุมภาพันธ์ 2552 รั บ มอบตราแห่ ง เกี ย รติ ย ศขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ระยอง ตาม “โครงการรณรงค์เสียภาษีในท้องถิ่น” 9 เมษายน 2552 รั บ รางวั ล “EIA Monitoring Awards 2008” ในฐานะ ผู้ ป ระกอบการที่ ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรการในรายงานการวิ เ คราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการสภาพแวดล้อมดีเด่นประจำปี 2551 จาก “โครงการท่าเทียบเรือ” 27 เมษายน 2552 รั บ รางวั ล “QC ดี เ ด่ น ” ในโอกาสที่ ก ลุ่ ม คิ ว ซี Instrument Complex I จาก PTTAR ผ่านเข้ารอบคัดเลือก ในงานมหกรรมคิวซี แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23 30 เมษายน 2552 เสนอขาย “หุ้นกู้ไม่มีประกันของบริษัท ครั้งที่ 1/2552” ให้แก่ ผู้ลงทุนทั่วไปและผู้ลงทุนสถาบัน 6 พฤษภาคม 2552 ลงนามใน Letter of Intent for PTTAR Clean Fuel Project ร่วมกับบริษัท เอส เค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด จาก ประเทศเกาหลีใต้ และบริษัท ไทย วู รี เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ในปี 2552


67

15 มิถุนายน 2552 ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบได้ รั บ ใบรั บ รองความสามารถของ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบ ISO/IEC 17025-2005 จากสำนักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 2 กรกฎาคม 2552 รั บ รางวั ล สถานประกอบการดี เ ด่ น ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ในการทำงานระดั บ ประเทศ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 31 กรกฎาคม 2552 ลงนามสัญญาออกแบบและก่อสร้างหน่วย Deep Hydrodesulphurization เพื่อผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงตามมาตรฐานยูโร 4 กับบริษัท เอส เค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด จากประเทศ เกาหลี ใ ต้ และบริ ษั ท ไทย วู รี เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง จำกั ด โดยใช้ งบประมาณในการดำเนิ น งานประมาณ 221 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ จะแล้วเสร็จในปลายปี 2554 17 พฤศจิกายน 2552 ลงนามในสัญญาเงินกู้ระยะยาวสกุลเงินบาท จำนวน 3,000 ล้านบาท ระยะเวลา 8 ปี กับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่ง ประเทศไทย 25 ธันวาคม 2552 ลงนามบันทึกความเข้าใจกับบริษัท โยโกกาว่า (ประเทศไทย) จำกั ด สำหรั บ ความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิตของอุตสาหกรรมการกลั่นและอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี


68

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

...

โครงสร้ า งการจั ด การ

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จำกั ด (มหาชน) ประกอบด้ ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย เฉพาะเรื่อง 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของ จำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ มีจำนวน 15 ท่าน ดังนี้ 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธานกรรมการ 2. นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการ กำกับดูแลกิจการ 3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม กรรมการอิ ส ระและประธานคณะกรรมการกำกั บ ดู แ ล กิจการ 4. นายอำพน กิตติอำพน กรรมการและประธานคณะกรรมการสรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน 5. นายโชคชัย อักษรนันท์ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการและกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน 7. นางพรรณี สถาวโรดม กรรมการ 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ กรรมการอิสระ 9. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหาร ความเสี่ยง 10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง และกรรมการกำกับดูแลกิจการ 11. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ยกรรมการจำนวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน กรรมการบริษัทฯ มีอายุไม่เกิน 70 ปี และมีวาระการดำรงตำแหน่งไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน มี อำนาจและหน้าที่ในการกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และทิศทางในการ ดำเนินธุรกิจ ตลอดจนกำกับดูแลและกำหนดจรรยาบรรณขององค์กร เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต รอบคอบและระมัดระวัง มีจริยธรรม และจรรยาบรรณ รวมถึงการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างดีที่สุด ทั้งนี้ เว้นแต่เรื่องดังต่อไปนี้ที่จะต้อง ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดำเนินการด้วย ได้แก่ 1.1 การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ หมดหรือบางส่วน ที่สำคัญให้แก่บุคคลอื่น 1.2 การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทมหาชนจำกัดอื่นหรือ บริษัทจำกัดมาเป็นของบริษัทฯ 1.3 การทำ แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่ากิจการ ของบริษทั ฯ ทัง้ หมดหรือบางส่วนทีส่ ำคัญ การมอบหมายให้บุคคลอื่น เข้าจัดการธุรกิจของบริษัทฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมี วัตถุประสงค์จะแบ่งกำไรขาดทุนกัน 1.4 การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของ บริษัทฯ 1.5 การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบบริษัท และการเลิกบริษัท


69

12. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส กรรมการอิ ส ระ และกรรมการสรรหาและกำหนด

ค่าตอบแทน 13. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ 14. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการและกรรมการบริหารความเสี่ยง 15. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม กรรมการ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ

ผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการ รายละเอียดประวัติกรรมการและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัทฯ ปรากฏอยู่ใน “คณะกรรมการ” และจำนวนครั้ง ของการประชุมและการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ ปรากฏใน “รายงานการกำกับดูแลกิจการ” 2. คณะกรรมการชุดย่อย มีจำนวน 4 คณะ ดังนี้ 2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และ พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้างานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง

ประเทศไทย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็น อิสระเพื่อทำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ ค่ า ตอบแทนผู้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง เข้ า ร่ ว ม ประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิด รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจ ว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัทฯ 6. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้อง

ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้ อ ง ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของบริษัทฯ 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมาย

ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ที่เกี่ยวโยงกัน 6.6 จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควร ทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ

ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. สอบทานการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญของบริษัทฯ เพื่อ ให้เกิดความเชื่อมโยงกับการควบคุมภายใน 8. ทบทวนและเสนอข้อแก้ไข ขอบเขต หน้าที่ และความ

รับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับ ภาวการณ์ 9. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ

มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ ในการปฏิ บั ติ ดั ง กล่ า ว คณะกรรมการตรวจสอบ

มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง 10. หากคณะกรรมการตรวจสอบพบหรื อ มี ข้ อ สงสั ย ว่ า

มีรายการหรือการกระทำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบ อย่างมีนัยสำคัญต่อฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน ของบริ ษั ท ฯ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ดำเนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข ภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 10.1 รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 10.2 การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่อง

ที่สำคัญในระบบควบคุมภายใน 10.3 การฝ่ า ฝื น กฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์ฯ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ

บริษัทฯ


70

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

2.3 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่และ รายชื่ อ ตำแหน่ ง ความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการบริษัทฯ 1. นายโชคชัย อักษรนันท์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล กรรมการตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใส 2. สรรหาและพิ จ ารณาคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ ส มควรได้ รั บ การ 3. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการตรวจสอบ เสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ และประธานเจ้าหน้าที่ นายเผ่ า พั น ธ์ ศรี ร องเมื อ ง ผู้ จั ด การฝ่ า ยตรวจสอบภายใน ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ (1 มกราคม 2552 - 31 ธันวาคม 2552) นางสาวอารยา บุรัสการ ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ 3. เสนอความเห็นเรื่องการคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการ คณะกรรมการตรวจสอบ (1 มกราคม 2553 - ปัจจุบัน) เสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณานำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งเป็นกรรมการ

ในปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ มี บริษัทฯ ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน และการเป็นกรรมการตรวจสอบ 4. พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธกี ารกำหนดค่าตอบแทน 2 ท่าน โดยนายโชคชัย อักษรนันท์ มีประสบการณ์ในตำแหน่ง ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผลให้แก่คณะกรรมการบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) กรรมการชุ ด ย่ อ ย และผู้ บ ริ ห ารระดั บ รองกรรมการ

จำกัด (มหาชน) และกรรมการตรวจสอบ บริษัทบริหารสินทรัพย์ ผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป สถาบั น การเงิ น (บบส.) และปั จ จุ บั น ดำรงตำแหน่ ง ประธาน 5. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม ชุดย่อย เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณา จำกั ด (มหาชน) นายนคริ น ทร์ วี ร ะเมธี กุ ล มี ป ระสบการณ์ ใ น อนุมัติ ตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) 6. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานและเสนอค่าตอบแทน จำกัด (มหาชน) และปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการตรวจสอบ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไปต่ อ

บริษัท หลักทรัพย์ธนชาติ จำกัด (มหาชน) และสำหรับนายวิฑูรย์

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ สิมะโชคดีได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่นที่ 4/2009 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบัน รายชื่ อ ตำแหน่ ง กรรมการบริษัทไทยเรียบร้อยแล้ว 2.2 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบ 1. นายอำพน กิตติอำพน ประธานคณะกรรมการ ดังต่อไปนี้ สรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน 1. พิจารณา เสนอแนะแนวปฏิบัติด้านการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสรรหา 2. กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณ และกำหนดค่าตอบแทน พนักงาน และจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั ฯ ตลอดจน พั ฒ นาและยกระดั บ ระบบการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของ 3. พลตำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน บริษัทฯ สู่มาตรฐานสากล นางพวงเชาว์ นาคะนาท ผู้จัดการสำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหารและเลขานุการ

รายชื่ อ

ตำแหน่ ง

1. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม 2. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 3. นายอภัย จันทนจุลกะ

ประธานคณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ

นางพวงเชาว์ นาคะนาท ผู้จัดการสำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหารและเลขานุการ บริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ

บริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน

2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางในการบริ ห าร

ความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. สอบทานให้มีการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยง ทั่วทั้งองค์กร


71

3. ให้คำแนะนำในการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญ โดยเฉพาะ ความเสี่ ย งทางการเงิ น และความผั น ผวนของราคา ผลิตภัณฑ์ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 4. สอบทานการรายงานการบริหารความเสี่ยง และติดตาม ความเสีย่ งทีส่ ำคัญ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีการจัดการความเสีย่ ง เพียงพอและเหมาะสม รายชื่ อ

1. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 2. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล 3. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

ตำแหน่ ง

ประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

3. คณะผู้บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นผู้มี อำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการงานต่างๆ ให้เป็นไปตามนโยบาย โดยมีการกำหนดขอบเขตอำนาจการอนุมัติในเรื่องสำคัญ ๆ เป็น

ลายลักษณ์อักษรไว้อย่างชัดเจนในข้อบังคับบริษัทฯ และระเบียบ ต่างๆ ของบริษัทฯ เช่น ระเบียบบริษัทว่าด้วยการบริหารงานบุคคล

การพัสดุ การเงิน การบัญชีและงบประมาณ และการจัดหาและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เป็นต้น นอกจากนัน้ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ยังบริหารจัดการงานตามที่คณะกรรมการมอบหมายโดยการบริหาร บริษทั ฯ ตามแผนงาน หรืองบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการ อย่ า งเคร่ ง ครั ด ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และระมั ด ระวั ง รั ก ษา

ผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2551 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2551 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำหนดนโยบายและ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการดำรงตำแหน่ ง กรรมการที่ บ ริ ษั ท อื่ น ของประธาน

เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูง

ของบริษัทฯ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน โดยใน ปี 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งผู้บริหารเป็นกรรมการใน บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด (PPCL) 3 ราย บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) 2 ราย บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด (PTTICT) 1 ราย และอนุมัติให้นายอธิคม เติบศิริ ไปปฏิบัติงาน Secondment ที่บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เพื่อไปปฏิบัติงาน

ที่ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2552 เป็นต้นไป

รายละเอียดโครงสร้างและประวัติคณะผู้บริหารของบริษัทฯ ปรากฏใน “โครงสร้างองค์กร” และ “คณะผู้บริหาร” 4. การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้นำระบบคณะกรรมการสรรหามาใช้ในการสรรหา บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมและสมควรได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น

กรรมการบริ ษั ท ฯ และประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ

ผู้จัดการใหญ่ โดยยึดหลักตามข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เป็นอย่างน้อย ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีสัญญา หรือข้อตกลงใดๆ ทีก่ ำหนดจำนวนกรรมการทีม่ าจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ไว้ชัดเจน แต่จะพิจารณาตามสัดส่วนการถือหุ้น ความเหมาะสมและ ความจำเป็นต่อธุรกิจของบริษัทฯ เป็นหลัก รวมทั้งบริษัทฯ ไม่มี นโยบายปิดกั้นผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ เลือกตั้งเป็นกรรมการตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนด โดยในปี 2552 บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นร่วมเสนอชื่อบุคคล เพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้า ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2551 - 19 มกราคม 2552 ด้วย โดยการ แต่งตั้งกรรมการแต่ละรายต้องได้รับคะแนนเสียงเห็นชอบเกินกว่า

กึ่งหนึ่งของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิ ออกเสียง หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ กำหนดไว้ชัดเจนในข้อบังคับของบริษัทฯ ซึ่งได้รับความเห็นชอบ

จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยแล้ว ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นรายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือ 2. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละรายจะใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดตามข้อ 1. เลือกตั้งบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็น

ผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะ พึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับ การเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกิน จำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น

ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมนั้นเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 4. ในการประชุมสามัญประจำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจาก ตำแหน่งตามวาระหนึ่งในสาม (1/3) เป็นอัตรา ถ้าจำนวน กรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสาม (3) ส่วนไม่ได้ก็ให้ ออกโดยจำนวนใกล้ ที่ สุ ด กั บ ส่ ว นหนึ่ ง ในสาม (1/3) กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามนัยนี้ อาจได้รับเลือกให้ กลั บ มารั บ ตำแหน่ ง อี ก ได้ กรรมการที่ จ ะต้ อ งออกจาก ตำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท นั้นให้กรรมการจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็น

ผู้ออกจากตำแหน่ง


72

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

อนึ่ ง กรรมการอิ ส ระของบริ ษั ท ฯ จำนวน 2 ท่ า น เป็ น กรรมการอิสระของบริษัทจดทะเบียนที่เกี่ยวข้อง 2 บริษัท กล่าวคือมี บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่รายเดียวกับบริษัทฯ ได้แก่ นายโชคชัย อักษรนันท์ เป็นกรรมการอิสระและประธานคณะ กรรมการตรวจสอบของบริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และนายวิฑูรย์ สิมะโชคดี เป็นกรรมการอิสระและ กรรมการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ปตท. เคมิ ค อล จำกั ด (มหาชน) ทั้งนี้ กรรมการอิสระทุกท่านของบริษัทฯ ไม่มีรายการที่ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพระหว่าง กรรมการกั บ บริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม หรื อ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งกับบริษัทฯ 5. ค่าตอบแทนผู้บริหาร 5.1 ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน 5.1.1 คณะกรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหน้าที่ในปี 2552 ตั้งแต่วันที่

1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2552 โดยมีการประชุม คณะกรรมการฯ รวม 12 ครั้ง ในปี 2552 มีการจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ตามภาระหน้าที่ที่ได้

รับผิดชอบตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ซึ่ ง เป็ น อั ต ราคงเดิ ม เท่ า กั บ ค่ า ตอบแทนกรรมการ ประจำปี 2551 ดังนี้ ค่าตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการ 50,000 บาท กรรมการ 40,000 บาท ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการชุดย่อย ประธานกรรมการ 40,000 บาท กรรมการ 30,000 บาท (จ่ายเฉพาะกรรมการที่มาประชุม) โดยในปี 2552 งดจ่ายเงินโบนัสกรรมการ เนื่องจากบริษัทฯ มี ผลประกอบการปี 2551 ขาดทุน

5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหน่ง ให้ยื่นใบลาออกต่อ บริ ษั ท ฯ การลาออกมี ผ ลนั บ แต่ วั น ที่ ใ บลาออกไปถึ ง บริษัทฯ กรรมการซึ่งลาออกตามความในวรรคแรกอาจ แจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยก็ได้ 6. ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเลือกบุคคลซึ่งมี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเข้ า เป็ น กรรมการแทนในตำแหน่ ง

ที่ว่างก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่า

สอง (2) เดือน บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ในตำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งต้องประกอบด้วย คะแนนเสี ย งไม่ น้ อ ยกว่ า สามในสี่ (3/4) ของจำนวน กรรมการที่ยังเหลืออยู่ 7. ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น อาจลงมติ ใ ห้ ก รรมการคนใดคนหนึ่ ง

ออกจากตำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระก็ได้ โดยให้ ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำนวน

ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง มาประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง และมี หุ้ น

นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นที่ถือโดย

ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง สำหรับการแต่งตั้งผู้บริหารระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน โดยพิจารณาสรรหา จากบุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ และประสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ

ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เป็นหลัก ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2552 คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี กรรมการรวม 15 ท่าน โดยเป็นกรรมการอิสระ 7 ท่าน ประกอบด้วย ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ห ลากหลาย อาทิ ด้ า นปิ โ ตรเลี ย มหรื อ ปิ โ ตรเคมี

6 ท่าน ด้านกฎหมาย/บริหาร 2 ท่าน ด้านบัญชีและการเงิน 3 ท่าน ด้านความมั่นคง 2 ท่าน ด้านเศรษฐกิจ 1 ท่าน และด้านสังคม

1 ท่าน รายละเอียดใน “คณะกรรมการ” สำหรับหลักเกณฑ์การเลือก ตั้งกรรมการอิสระ มีรายละเอียดปรากฏใน “รายงานการกำกับดูแล กิจการ”


73 หน่วย : บาท กรรมการ รวม เบี้ ย สรรหา กรรมการ กรรมการ กรรมการ ค่ า ตอบแทน กรรมการ และกำหนด ตรวจสอบ กำกั บ ดู แ ล บริ ห าร กรรมการ ปี 2552 ค่ า ตอบแทน กิ จ การ ความเสี่ ย ง ปี 2552

รายชื่ อ

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ 2. นายอภัย จันทนจุลกะ 3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม 4. นายอำพน กิตติอำพน 5. นายโชคชัย อักษรนันท์ 6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 7. นางพรรณี สถาวโรดม 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ 9. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล 10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 11. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี 12. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส 13. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ 14. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช 15. นายพิชัย ชุณหวชิร 16. นายสมโภชน์ กาญจนาภรณ์ 17. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ 18. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม รวม หมายเหตุ : 1. 2. 3. 4. 5.

กรรมการลำดับที่ 16, 17 กรรมการลำดับที่ 4, 15 กรรมการลำดับที่ 11, 12, 13 กรรมการลำดับที่ 1, 14 กรรมการลำดับที่ 15

550,000 - 480,000 - 480,000 - 480,000 120,000 480,000 - 480,000 90,000 480,000 - 480,000 - 480,000 - 480,000 - 480,000 - 350,000 30,000 350,000 - 220,000 - 240,000 - 130,000 60,000 130,000 - 480,000 - 7,250,000 300,000

- - - - 360,000 - - - 270,000 - 150,000 - - - - 60,000 - - 840,000

- 240,000 320,000 - - - - - - 210,000 - - - - - - - - 770,000

- 550,000 - 720,000 - 800,000 - 600,000 - 840,000 - 570,000 - 480,000 - 480,000 210,000 960,000 280,000 970,000 - 630,000 - 380,000 - 350,000 60,000 280,000 - 240,000 - 250,000 - 130,000 - 480,000 550,000 9,710,000

ครบวาระเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ครบวาระและได้รับการแต่งตั้งใหม่ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ได้รับการแต่งตั้งใหม่ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ได้รับการแต่งตั้งใหม่ระหว่างปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 และ 16 กรกฎาคม 2552 ตามลำดับ โดยกรรมการลำดับที่ 1 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 ขอลาออกจากตำแหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552


74

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

5.1.2 ผู้บริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน 9 ราย ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในรอบปี 2552 ในรูปเงินเดือน โบนัส ค่าที่พัก และค่าประจำโรงงาน เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 49,725,776 บาท

รายชื่ อ ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ*

1. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม 2. นายบวร วงศ์สินอุดม 3. นายอธิคม เติบศิริ*** 4. นายกัญจน์ ปทุมราช 5. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ 6. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์ 7. นางนิธิมา เทพวนังกูร 8. นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม 9. นายวริทธิ์ นามวงษ์

ตำแหน่ ง **

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสปฏิบัติการ (1 ก.พ. 52 - ปัจจุบัน) และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 มิ.ย. 52 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่วางแผนและธุรกิจ (1 ม.ค. 52 - 31 ม.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ (1 ก.พ. 52 - 30 พ.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการ (1 ม.ค. 52 - 31 ม.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่เทคนิคและวิศวกรรม (1 ก.พ. 52 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร และรักษาการผู้จัดการฝ่ายประชาสัมพันธ์ (1 ม.ค. 52 - 31 ม.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 ก.พ. 52 - 31 ก.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น (1 ส.ค. 52 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการโรงกลั่น (1 ก.พ. 52 - 31 ก.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (1 ส.ค. 52 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร (1 ม.ค. 52 - 31 ม.ค. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร และรักษาการผู้จัดการฝ่ายบัญชีองค์กร (1 ก.พ. 52 - 15 ก.ย. 52) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินและบัญชีองค์กร (16 ก.ย. 52 - ปัจจุบัน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารโครงการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร (1 ก.พ. 52 - ปัจจุบัน)

* ผู้บริหารตามข้อกำหนด ก.ล.ต. (ซึ่งต้องเปิดเผยค่าตอบแทน) ** เป็นการดำรงตำแหน่งของผู้บริหารตามข้อกำหนด ก.ล.ต. ณ ปี 2552 *** ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ที่บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) ในตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร


75

5.2 ค่าตอบแทนอืน่ บริ ษั ท ฯ จ่ า ยเงิ น สมทบเข้ า กองทุ น สำรองเลี้ ย งชี พ ให้ แ ก่

ผู้บริหารที่เป็นพนักงานของบริษัทฯ ในอัตราร้อยละ 10 - 15 ของ เงินเดือน (ขึ้นอยู่กับอายุงาน) โดยมีเงื่อนไขว่าพนักงานดังกล่าวจะมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ เงิ น สมทบข้ า งต้ น เมื่ อ พ้ น สภาพการเป็ น พนั ก งานและ

มีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้มีใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (ESOP Warrants) ที่รับมาจากบริษัท โรงกลั่นน้ำมันระยอง จำกัด (มหาชน) (RRC) เพื่ อ จั ด สรรให้ แ ก่ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร และ

พนั ก งานของ RRC เดิ ม และพนั ก งานของบริ ษั ท ปตท. จำกั ด (มหาชน) ที่มาปฏิบัติงานเต็มเวลา (Secondees) ซึ่งได้รับอนุมัติ จาก ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2550 และที่ประชุมผู้ถือหุ้นร่วม ATC-RRC เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2550 จำนวน 57,999,996 หน่วย ปัจจุบัน (29 มกราคม 2553) มีพนักงานใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ ตาม ESOP Warrants แล้วจำนวนหุ้น 716,396 หุ้น ทำให้ทุน

จดทะเบียนชำระแล้วของบริษัทฯ เพิ่มจาก 29,636,285,220 บาท เป็น 29,643,449,180 บาท

การถือหุ้นของคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

รายชื่ อ กรรมการ

ตำแหน่ ง

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธาน กรรมการ 2. นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธาน 3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม กรรมการ 4. นายอำพน กิตติอำพน กรรมการ 5. นายโชคชัย อักษรนันท์ กรรมการ 6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการ 7. นางพรรณี สถาวโรดม กรรมการ 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ กรรมการ 9. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล กรรมการ 10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ 11. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการ 12. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส กรรมการ 13. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ 14. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการ 15. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม กรรมการ

ส่ ว นได้ เ สี ย จำนวนหุ้ น กั บ สั ญ ญา ในบริ ษั ท ฯ ใดๆ (หุ้ น )

จำนวน ESOP Warrant (หน่ ว ย)

จำนวนหุ้ น สั ด ส่ ว น ณ วั น ที่ 31 การถื อ หุ้ น ธั น วาคม (ร้ อ ยละ) 2551 (หุ้ น )

เพิ่ ม ขึ้ น / (ลดลง) (หุ้ น )

-

-

-

-

-

-

- - - - - - - - - - - - - -

- 30,335 - 83,844 - - - 254,502 80,111 - - 76,221 - -

- 473,469 473,469 - 473,469 473,469 - - 473,469 - - - - 473,469

- 0.0010 - 0.0028 - - - 0.0085 0.0027 - - 0.0025 - -

- 30,335 - 83,844 - - - 254,502 80,111 - - 76,221 - -

- - - - - - - - - - - - - -

หมายเหตุ : รายละเอียดข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับกรรมการบริษัทฯ ปรากฏในหน้า “คณะกรรมการ” จำนวน ESOP Warrants 473,469 หน่วย = ร้อยละ 0.82 ของจำนวนทั้งหมด


76

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

จำนวนหุ้นของผู้บริหารบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 รายชื่ อ ผู้ บ ริ ห าร ของบริ ษั ท ฯ*

1. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม 2. นายบวร วงศ์สินอุดม* 3. นายกัญจน์ ปทุมราช 4. นายพรเทพ บุตรนิพันธ์ 5. นายวันชัย ธาดาดลทิพย์* 6. นางนิธิมา เทพวนังกูร 7. นายประเชิญ อ่อนเอี่ยม 8. นายวริทธิ์ นามวงษ์*

ตำแหน่ ง

จำนวนหุ้ น ในบริ ษั ท ฯ (หุ้ น )

จำนวน ESOP Warrant (หน่ ว ย)

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร - 1,718,749** และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (2.96%) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส 10,335 786,889 ปฏิบัติการ และรักษาการ (1.35%) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 228,664 - เทคนิคและวิศวกรรม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 228,664 - ปฏิบัติการโรงกลั่น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 46,340 559,694 ปฏิบัติการอะโรเมติกส์ (0.96%) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ - 597,307 การเงินและบัญชีองค์กร (1.02%) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 11,885 - บริหารโครงการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 16,000 449,572 บริหารองค์กร (0.77%)

หมายเหตุ : * รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3 ท่าน ได้รับการแต่งตั้งใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นไป รายละเอียดข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับผู้บริหารของบริษัทฯ ปรากฏในหน้า “คณะผู้บริหาร” ** รวมจำนวน ESOP Warrant ของผู้บริหารลำดับที่ 1 = 2,192,218 หน่วย

จำนวนหุ้ น สั ด ส่ ว น ณ วั น ที่ 31 การถื อ หุ้ น ธั น วาคม (ร้ อ ยละ) 2551 (หุ้ น )

เพิ่ ม ขึ้ น / (ลดลง) (หุ้ น )

-

-

-

0.0003

-

10,335

0.0077

228,664

-

0.0077

228,664

-

0.0015

-

46,340

-

-

-

0.0004

39,220

(27,335)

0.0005

-

16,000


บริ ษั ท ปตท. จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. เคมิ ค อล จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. สำรวจและ บริ ษั ท ผลิ ต บางจาก ปิ โ ตรเลี ย ม ปิ โ ตรเลี ย ม จำกั ด จำกั ด (มหาชน) (มหาชน) บริ ษั ท ทิ พ ย ประกั น ภั ย จำกั ด (มหาชน)

กรรมการ

กรรมการ

ประธาน

บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไออาร์ พี ซี พี ที ที ไอซี ที จำกั ด พาวเวอร์ จำกั ด โซลู ชั่ น ส์ (มหาชน) จำกั ด (มหาชน) จำกั ด

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธาน ประธาน 2. นายอภัย จันทนจุลกะ รองประธาน 3. พลเอก สมเจตน์ บุญถนอม กรรมการ 4. นายอำพน กิตติอำพน กรรมการ กรรมการ 5. นายโชคชัย อักษรนันท์ กรรมการ กรรมการ 6. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการ กรรมการ/ประธาน ประธาน ประธาน กรรมการ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 7. นางพรรณี สถาวโรดม กรรมการ 8. นายวิชช์ จีระแพทย์ กรรมการ 9. นายนครินทร์ วีระเมธีกุล กรรมการ 10. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่ กรรมการ กรรมการ ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจ ปิโตรเลียม ขั้นปลาย/ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำมัน

รายชื่ อ กรรมการ และผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ และการกลั่ น จำกั ด (มหาชน)

6. กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในบริษัทใหญ่ บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง

ประธาน

บริ ษั ท พี ที ที ฟี น อล จำกั ด

บริ ษั ท พี ที ที ยู ทิ ลิ ตี้ จำกั ด

77


1 1. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการ 12. พลตำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส กรรมการ 13. นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ กรรมการ 14. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช กรรมการ 15. นายชายน้อย เผื่อนโกสุม กรรมการ/ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 16. นายบวร วงศ์สินอุดม รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ อาวุโส ปฏิบัติการ

รายชื่ อ กรรมการ และผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ และการกลั่ น จำกั ด (มหาชน)

กรรมการ

บริ ษั ท ทิ พ ย ประกั น ภั ย จำกั ด (มหาชน) บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไออาร์ พี ซี พี ที ที ไอซี ที จำกั ด พาวเวอร์ จำกั ด โซลู ชั่ น ส์ (มหาชน) จำกั ด (มหาชน) จำกั ด

บริ ษั ท พี ที ที ฟี น อล จำกั ด

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจ ก๊าซธรรมชาติ ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน และ รักษาการ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และ พัฒนาองค์กร รองกรรมการ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สังกัดกลุ่ม ธุรกิจปิโตรเลียม ขั้นปลาย ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สังกัดหน่วยธุรกิจ ปิโตรเคมี และการกลั่น

บริ ษั ท ปตท. จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. เคมิ ค อล จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. สำรวจและ บริ ษั ท ผลิ ต บางจาก ปิ โ ตรเลี ย ม ปิ โ ตรเลี ย ม จำกั ด จำกั ด (มหาชน) (มหาชน)

6. กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในบริษัทใหญ่ บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

กรรมการ

บริ ษั ท พี ที ที ยู ทิ ลิ ตี้ จำกั ด

78 รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)


บริ ษั ท ปตท. จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. เคมิ ค อล จำกั ด (มหาชน)

บริ ษั ท ปตท. สำรวจและ บริ ษั ท ผลิ ต บางจาก ปิ โ ตรเลี ย ม ปิ โ ตรเลี ย ม จำกั ด จำกั ด (มหาชน) (มหาชน) บริ ษั ท ทิ พ ย ประกั น ภั ย จำกั ด (มหาชน) บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท บริ ษั ท ไทยออยล์ ไทยออยล์ ไออาร์ พี ซี พี ที ที ไอซี ที จำกั ด พาวเวอร์ จำกั ด โซลู ชั่ น ส์ (มหาชน) จำกั ด (มหาชน) จำกั ด

หมายเหตุ : กรรมการลำดับที่ 1 กรรมการลำดับที่ 2 และ 14 กรรมการลำดับที่ 11, 12, 13 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ลำดับที่ 16 และ 19

ได้รับการแต่งตั้งใหม่ระหว่างปี 2552 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 และได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 ได้รับการแต่งตั้งระหว่างปีเป็นรองประธาน และเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 ตามลำดับ ได้รับการแต่งตั้งใหม่ 3 ท่าน ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2552 ได้รับการแต่งตั้งใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552

17. นายกัญจน์ ปทุมราช รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เทคนิคและ วิศวกรรม 18. นางนิธิมา เทพวนังกูร รองกรรมการ ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการใหญ่ การเงินและ สังกัดหน่วยธุรกิจ บัญชีองค์กร ปิโตรเคมี และการกลั่น 19. นายวริทธิ์ นามวงษ์ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร

รายชื่ อ กรรมการ และผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ

บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ และการกลั่ น จำกั ด (มหาชน)

6. กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในบริษัทใหญ่ บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

กรรมการ

กรรมการ

บริ ษั ท พี ที ที ฟี น อล จำกั ด

กรรมการ

บริ ษั ท พี ที ที ยู ทิ ลิ ตี้ จำกั ด

79


80

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

โครงสร้ า งรายได้ ปี 2552 1. รายได้จากธุรกิจอะโรเมติกส์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์

ยอดขาย 2551 ล้ า นบาท

ร้ อ ยละ

ยอดขาย 2552 ล้ า นบาท

ปริ ม าณการผลิ ต 2552

ร้ อ ยละ พั น ตั น ต่ อ ปี ร้ อ ยละ

1.1 เบนซีน 9,847 4 11,897 5 1.2 โทลูอีน 192 0 1.3 พาราไซลีน 18,531 7 34,392 15 1.4 ออร์โธไซลีน 2,191 1 1,873 1 1.5 มิกซ์ไซลีนส์ 1,175 0 17 0 1.6 ไซโคลเฮกเซน 6,494 3 4,225 2 1.7 ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 3,569 1 5,235 2 1.8 แนฟทาชนิดเบา 13,735 5 21,479 10 1.9 แรฟฟิเนต 750 0 1.10 สารอะโรเมติกส์หนัก 1,786 1 248 0 1.11 คอนเดนเสท เรสิดิว 16,705 7 8,774 4 1.12 แนฟทาชนิดหนัก 2,248 1 837 0 รวม 77,031 31 89,169 40 สัดส่วนการจำหน่ายภายในประเทศต่อต่างประเทศของธุรกิจอะโรเมติกส์ (ร้อยละ)

548 10 1,095 65 149 357 1,118 16 502 39 3,898

14 28 2 4 9 29 13 2 101

สั ด ส่ ว นการจำหน่ า ยปี 2552

ในประเทศ ล้ า นบาท ร้ อ ยละ

6,507 31,304 1,005 17 2,281 5,235 11,949 82 8,688 67,068

4 19 1 1 3 7 5 41 75

ต่ า งประเทศ ล้ า นบาท ร้ อ ยละ

5,389 192 3,089 868 1,944 9,530 166 86 837 22,101

9 5 1 3 15 1 35 25

2. รายได้จากธุรกิจโรงกลั่น ผลิ ต ภั ณ ฑ์

ยอดขาย 2551 ล้ า นบาท

2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

ร้ อ ยละ

ยอดขาย 2552 ล้ า นบาท

ปริ ม าณการผลิ ต 2552

ร้ อ ยละ พันบาร์เรลต่อปี ร้ อ ยละ

โพรพิลีน 2,282 1 124 0 ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 5,921 2 1,407 1 แนฟทาชนิดเบา 7,521 3 11,488 5 น้ำมันเบนซิน 32,762 13 1,710 1 รีฟอร์เมท 4,578 2 8,083 4 น้ำมันอากาศยาน 18,241 7 17,738 8 น้ำมันดีเซล 76,859 31 77,265 34 น้ำมันเตา 23,280 9 17,177 8 รายได้จากการขาย ผลิตภัณฑ์พลอยได้ 2,896 1 161 0 2.10 รายได้อื่นๆ 16 0 23 0 รวม 174,356 69 136,131 60 สัดส่วนการจำหน่ายภายในประเทศต่อต่างประเทศของธุรกิจโรงกลั่น (ร้อยละ) รวมทั้งสิ้น 251,387 225,300 สัดส่วนการจำหน่ายภายในประเทศต่อต่างประเทศของบริษัทฯ (ร้อยละ)

สั ด ส่ ว นการจำหน่ า ยปี 2552

ในประเทศ ล้ า นบาท ร้ อ ยละ

66 1,201 5,747 648 3,433 7,274 27,242 8,808

0 2 11 1 6 13 50 16

124 1,407 11,467 1,710 41 13,974 61,661 3,672

1 7 1 9 38 2

182 54,602

0 0 100

161 23 95,195

59 70

162,262

ต่ า งประเทศ ล้ า นบาท ร้ อ ยละ

21 8,043 3,764 15,604 13,505 40,936

13 6 25 21 65 30

63,038 72

28


8

...

รายการระหว่ า งกั น

1. บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และลักษณะความสัมพันธ์ ชื่ อ บริ ษั ท

1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

2. บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน)

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท

เป็นบริษัทที่ประกอบกิจการและ ส่งเสริมธุรกิจปิโตรเลียม รวมถึง ธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ ปิโตรเลียม

ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ฯ • บมจ. โดยถือหุ้นอยู่ร้อยละ 48.65 ้ บ ริ ห าร 9 ท่ า น เป็ น กรรมการ/ • มีผู้บกริรรมการ/ผู หารของบริษัทฯ ได้แก่

เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ

• • นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 49.16 • เป็(บมจ. ปตท. เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ

อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี ส าย โอเลฟินส์

นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอำพน กิตติอำพน นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายเพิ่มศักดิ์ ชีวาวัฒนานนท์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายพิชัย ชุณหวชิร**** นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์***** นายชายน้อย เผื่อนโกสุม มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน มีการร่วมใช้บริการกำจัดคราบน้ำมันในทะเล

ร้อยละ 48.65) มีกรรมการ 5 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี นายพิชัย ชุณหวชิร มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน


82

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ชื่ อ บริ ษั ท

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

3. บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำกัด 4. บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 5. บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) 6. บริษัท เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ จำกัด 7. บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)*

เป็ น บริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเก็ บ และ บริการขนถ่ายเคมีเหลว น้ำมัน และก๊าซ

เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจโรงกลั่น น้ำมันในประเทศ เป็นบริษัททำธุรกิจรับประกันภัย

ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท

่ บมจ. ปตท. เคมิคอล ถือหุ้นอยู่

• ร้เป็อนยละบริษ51ัทที(บมจ. ปตท. ถือหุ้นใน บมจ. ปตท.

เคมิคอล และบริษัทฯ ร้อยละ 49.16 และ 48.65 ตามลำดับ เป็นผู้ให้บริการคลังเก็บวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ

ทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 28.46 • เป็(บมจ.นบริษปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65)

2 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ • มีได้กแรรมการ ก่

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายพิชัย ชุณหวชิร มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 13.33 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65) มีกรรมการเป็นกรรมการของบริษัทฯ คือ นายพิชัย ชุณหวชิร มีการทำสัญญาประกันภัย เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจเพื่อให้ เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 50 เช่าเชิงพาณิชย์ (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65) บริษัทฯ เป็นผู้เช่าพื้นที่สำนักงาน เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 36.68 อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี และ (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ โรงกลั่นน้ำมันในประเทศ 48.65) มีกรรมการ 4 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายพิชัย ชุณหวชิร มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน

• • • • • • • • •


83

ชื่ อ บริ ษั ท

8. บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด** 9. บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด*** 10. Chevron U.S.A. Inc. (Singapore)/ Chevron Singapore Pte. Ltd. 11. บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท

เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจโรงกลั่น เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 36 น้ำมัน (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65) เป็นบริษทั ทีถ่ อื หุน้ ในบริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จำกัด ร่วมกับบริษทั ฯ ในสัดส่วนฝ่ายละร้อยละ 50 มี ก ารทำสั ญ ญาร่ ว มปฏิ บั ติ ก ารกลั่ น ในรู ป แบบ พันธมิตร มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจบริหาร เป็นบริษัทที่บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง โรงกลัน่ น้ำมันระยอง และโรงกลัน่ จำกัด (SPRC) และบริษัทฯ ถือหุ้นอยู่ฝ่ายละ

น้ำมันสตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง ร้อยละ 50 (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ของ SPRC และบริษัทฯ ในสัดส่วนร้อยละ 36 และ 48.65 ตามลำดับ) บริ ห ารการดำเนิ น การตามสั ญ ญาร่ ว มปฏิ บั ติ

การกลั่นในรูปแบบพันธมิตรระหว่างบริษัทฯ กับ SPRC เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจซื้อขาย เป็ น บริ ษั ท ที่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ร่ ว มกั บ บริ ษั ท สตาร์ น้ำมันสำเร็จรูป ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จำกัด (SPRC) (บมจ. ปตท. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ร้อยละ 48.65 ถือหุ้นใน SPRC ร้อยละ 36) SPRC เป็นบริษทั ทีถ่ อื หุน้ ในบริษทั อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นงิ่ จำกัด ร่วมกับบริษทั ฯ ในสัดส่วนฝ่ายละ ร้อยละ 50 มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์นำ้ มันสำเร็จรูประหว่างกัน เป็นบริษัทที่ประกอบกิจการกลั่น เป็นบริษทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 49.10 น้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย มจำหน่ า ยใน (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ ประเทศและส่งออก 48.65) มีกรรมการ 3 ท่าน เป็นกรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายพิชัย ชุณหวชิร นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ พาวเวอร์ จำกัด ซึ่งบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 55 มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑ์นำ้ มันสำเร็จรูประหว่างกัน

• • • • •

• • • • • •


84

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

ชื่ อ บริ ษั ท

12. บริษัท ปตท. ค้าสากล จำกัด 13. บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด 14. บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 15. บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด 16. บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด 17. บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจซื้อขาย น้ำมันสำเร็จรูป เป็ น บริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต และจำหน่ า ย เม็ดพลาสติก เป็นบริษัทที่ให้บริการบำรุงรักษา โรงงานและงานวิศวกรรม เป็ น บริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต และจำหน่ า ย สารฟีนอลและสารอะซีโตน เป็ น บริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต และจำหน่ า ย สาธารณูปโภค เ ป็ น บ ริ ษั ท ที่ ใ ห้ บ ริ ก า ร ด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท

ษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100 • เป็(บมจ.นบริปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ

48.65) มีการจำหน่ายน้ำมันสำเร็จรูปส่งออกจากบริษัทฯ

• ทั ที่ บมจ. ปตท. ถือหุน้ อยูร่ อ้ ยละ 41.44 • เป็(บมจ.นบริษปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65)

ช ญา ภิ ญ ญาวั ธ น์ ประธานกรรมการ

• เป็นายปรั นกรรมการของบริษัทฯ • มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกึ่งสำเร็จรูป ษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 40 • เป็(บมจ.นบริปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65) มีการจ้างบำรุงรักษาอุปกรณ์โรงงาน

• บริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 30 • เป็มีปนระธานกรรมการ/กรรมการ • กรรมการ/ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้แ4ก่ ท่าน เป็น นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายชายน้อย เผื่อนโกสุม นายกัญจน์ ปทุมราช นางนิธิมา เทพวนังกูร มีการซื้อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ระหว่างกัน เป็นบริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20 มีกรรมการ 2 ท่าน เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ ได้แก่ นายบวร วงศ์สินอุดม นายวริทธิ์ นามวงษ์ เป็นผูจ้ ำหน่ายสาธารณูปโภคเพือ่ ใช้ในกระบวนการ ผลิตโรงงานอะโรเมติกส์แห่งที่ 2 ให้บริษัทฯ เป็นบริษัทร่วม บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 20 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานกรรมการ เป็นกรรมการของบริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารแก่บริษัทฯ

• • • • • • •


85

ชื่ อ บริ ษั ท

ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ

ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท

18. บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ เป็นบริษัทที่ให้บริการงานจัดหา เป็นบริษัทที่ บมจ. ปตท. ถือหุ้นอยู่ร้อยละ 25 จำกัด แรงงานและจ้างเหมาบริการ (บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ฯ ร้อยละ 48.65) บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 25

หมายเหตุ : * บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) ได้ดำเนินการจดทะเบียนต่อนายทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย์เพื่อเปลี่ยนแปลงชื่อเป็น บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2549 ** บริษัทได้ทำสัญญายกเลิกสัญญาการดำเนินงานร่วม กับ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด ในส่วนเฉพาะธุรกิจการกลั่นน้ำมัน เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2549 ซึ่งการยกเลิกดังกล่าวมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 และมีผลให้ดำเนินการยกเลิกกิจการ ของบริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด *** บริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด ได้จดทะเบียนเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 ปัจจุบันอยู่ในระหว่าง การชำระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ **** เป็นกรรมการบริษัทฯ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2552 ***** เป็นกรรมการบริษัทฯ ถึงวันที่ 7 เมษายน 2552

2. ข้ อ มู ล รายการระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้อง มีรายละเอียด ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 4 ในงบการเงิน สำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 2.1 ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน 1. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ มีสัญญาซื้อวัตถุดิบและขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

ที่ ผ ลิ ต ได้ ข องบริ ษั ท ฯ ให้ แ ก่ บมจ. ปตท. ซึ่ ง เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ใหญ่

ของบริษัทฯ เนื่องจากบริษัทฯ ถูกจัดตั้งขึ้นภายใต้โครงการพัฒนา อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อนำทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย ได้แก่ คอนเดนเสทที่เป็นผลพลอยได้จากการขุดเจาะก๊าซธรรมชาติมาใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด โดย บมจ. ปตท. จะนำคอนเดนเสทที่ผลิตได้

ส่งขายให้กับบริษัทฯ เพื่อเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตสารอะโรเมติกส์ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ทำสัญญาซื้อคอนเดนเสทระยะยาวกับ บมจ. ปตท. ครอบคลุมถึง พ.ศ. 2559 โดยในส่วนของราคาวัตถุดิบนั้น บริษัทฯ และ บมจ. ปตท. กำหนดให้ราคาวัตถุดิบแปรผันตามราคาตลาด ซึ่ง เป็นแนวทางปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปของธุรกิจทีอ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี

บริษัทฯ มีสัญญากับ บมจ. ปตท. ในการซื้อขายก๊าซ ธรรมชาติ เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตของบริษัทฯ รวมทั้งสัญญา

ซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สัญญาจัดหาน้ำมันดิบและวัตถุอื่นๆ โดยกำหนดราคาขายตามธุรกิจปกติซึ่งกำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทาง ปฏิ บั ติ ข องตลาดและธุ ร กิ จ ปกติ และสั ญ ญาร่ ว มใช้ บ ริ ก ารกำจั ด

คราบน้ำมันในทะเล ในฐานะบริษัทในกลุ่ม ปตท. ซึ่ง บมจ. ปตท. มี สัญญาใช้บริการกับ Oil Spill Response Company Limited (OSR) โดยบริษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมรายปีให้ตามอัตราที่กำหนดใน สัญญา 2. รายการระหว่างบริษัทฯ กับ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์พลอยได้ระหว่างกัน โดยผลิตภัณฑ์พลอยได้ของบริษัทหนึ่งสามารถใช้เป็นวัตถุดิบของ

อีกบริษัทหนึ่งได้ จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์พลอยได้ของ

ทัง้ สองฝ่าย นอกจากนัน้ การทีโ่ รงงานของสองบริษทั ตัง้ อยูใ่ กล้เคียงกัน และมีระบบท่อรับส่งผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อกัน ทำให้สามารถลดต้นทุน ในการจัดส่งผลิตภัณฑ์ระหว่างกันได้


86

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

3. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำกัด (TTT) TTT เป็นผู้ประกอบการด้านท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์

ที่มีความเชี่ยวชาญ และมีมาตรฐานสากลในการดำเนินงาน รวมทั้ง

มีสถานที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับโรงงานของบริษัทฯ ดังนั้น การใช้บริการ

ท่าเทียบเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ของ TTT จึงเป็นการลดต้นทุน

ในการดำเนินงานของบริษัทฯ ในด้านต้นทุนก่อสร้าง และค่าใช้จ่าย ในการจัดเก็บวัตถุดิบที่นำเข้า และผลิตภัณฑ์ส่งออกของบริษัทฯ 4. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) มี ก ารซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งกั น ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง

ทั้งสองฝ่ายเอื้อประโยชน์ให้กับอีกฝ่ายหนึ่ง จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าของ ผลิตภัณฑ์ของทั้งสองฝ่าย โดยกำหนดราคาซื้อขายตามธุรกิจปกติ

ซึ่งกำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 5. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นการประกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับธุรกิจของ

บริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงได้จดั หากรมธรรม์ประกันภัย เพือ่ คุม้ ครองทรัพย์สนิ โรงงานและธุ ร กิ จ หยุ ด ชะงั ก (Business Interruption) โดยได้

ทำประกันภัยเป็นกลุ่ม (Package) เดียวกับ บมจ. ปตท. ซึ่งได้ซื้อ ประกันภัยกับบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) ส่งผลให้ บริษัทฯ มีภาระเบี้ยประกันภัยที่ต่ำลง 6. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ จำกัด บริษทั ฯ ได้เช่าพืน้ ทีช่ นั้ 14 ของศูนย์เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ จากบริษัท เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ จำกัด เพื่อใช้เป็นพื้นที่สำนักงาน เนือ่ งจากมีทตี่ งั้ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ ริเวณเดียวกับอาคาร ปตท. สำนักงานใหญ่ และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทในเครือ ปตท. และของ กระทรวงพลังงาน ทำให้มีความสะดวกและคล่องตัวในการติดต่อ ประสานงานทั้งกับ ปตท. และหน่วยงานราชการ รวมถึงบริษัทลูกค้า ต่างๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รองรับการ ขยายงานได้เป็นอย่างดี

7. รายการระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จำกั ด (มหาชน) ภายหลังจากทีบ่ ริษทั ฯ ดำเนินโครงการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ แล้วเสร็จ บริษัทฯ ต้องซื้อวัตถุดิบโทลูอีนจากบริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) (IRPC) เพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ เสริมในโรงงานอะโรเมติกส์ เพื่ อ เปลี่ ย นเป็ น สารเบนซี น และพาราไซลี น ซึ่ ง มี มู ล ค่ า สู ง กว่ า นอกจากนี้ บริษัทฯ มีสัญญาจำหน่ายผลิตภัณฑ์แนฟทาชนิดเบา

ให้กับ IRPC ใช้เป็นวัตถุดิบ เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ โดยกำหนดราคาขายตามธุรกิจปกติซึ่งกำหนดราคาตาม ราคาตลาด และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไป ตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 8. รายการระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ บริ ษั ท สตาร์ ปิ โ ตรเลี ย ม รีไฟน์นิ่ง จำกัด บริษัทฯ และบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (SPRC) มีสัญญาร่วมปฏิบัติการกลั่นในรูปแบบพันธมิตรมาตั้งแต่ พ.ศ. 2542 ในการร่วมกันบริหารจัดการการดำเนินงานของโรงกลั่น น้ำมันสตาร์และโรงกลั่นน้ำมันระยอง โดยการจัดตั้งบริษัท อัลลาย แอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด (ARC) ขึ้นเป็นผู้บริหารการดำเนินงาน

ร่วมของโรงกลั่นทั้งสอง โดยบริษัทฯ และ SPRC ถือหุ้นในสัดส่วน

ที่เท่ากันใน ARC ร้อยละ 50 บริษัทฯ จำหน่ายผลิตภัณฑ์สารอะโรเมติกส์หนักซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์พลอยได้ของบริษัทฯ ให้ SPRC เพื่อใช้ในการผลิตและ/ หรือปรับปรุงคุณภาพน้ำมันสำเร็จรูป โดยมีความยืดหยุ่นสูงในเรื่อง ปริ ม าณและช่ ว งเวลารั บ ซื้ อ ซึ่ ง เป็ น ผลดี ต่ อ บริ ษั ท ฯ ในการลด

ความเสี่ยงในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณการใช้ในประเทศจำกัด ประกอบกับถังเก็บ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มีขนาดเล็ก นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังจัดซื้อ วัตถุดิบรีฟอร์เมทจาก ARC เป็นวัตถุดิบเสริมในโรงงานเพื่อลด

ความเสี่ยง และทำให้บริษัทฯ มีความยืดหยุ่นในการเลือกใช้วัตถุดิบ ได้ ห ลากหลาย ประกอบกั บ การที่ โ รงงานของสองบริ ษั ท ตั้ ง อยู่

ใกล้ เ คี ย งกั น และมี ร ะบบท่ อ รั บ ส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ชื่ อ มต่ อ กั น ทำให้ สามารถลดต้นทุนในการจัดส่งผลิตภัณฑ์ระหว่างกันได้


87

อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได้ ท ำสั ญ ญายกเลิ ก การร่ ว ม

ปฏิบัติการฯ กับ SPRC เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2549 โดยสัญญา

มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 เป็นต้นไป โดยบริษัทฯ จะยั ง คงใช้ ทุ่ น รั บ น้ ำ มั น ดิ บ ทางทะเล (SPM) ระบบท่ อ ส่ ง น้ ำ มั น

สำเร็จรูปไปยังระบบขนส่งน้ำมันทางท่อ Thappline ท่าเรือส่ง LPG และอุปกรณ์ผลิตกำมะถันเม็ด (Sulfur Pelletizer) ร่วมกับ SPRC อยู่ นอกจากนัน้ บริษทั ฯ มีการตกลงเบือ้ งต้นกับ SPRC ทีจ่ ะแลกเปลีย่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ กึ่ ง สำเร็ จ รู ป (Intermediate Product) เพื่ อ รั ก ษา

ผลประโยชน์ ร่ ว มกั น โดยข้ อ ตกลงดั ง กล่ า วยั ง ไม่ มี ผ ลผู ก พั น ทาง กฎหมาย และมีบันทึกความเข้าใจร่วมกันเรื่องโครงสร้างสำหรับ

ใช้วางท่อ (Pipe Racks) บนพื้นที่ของ SPRC 9. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท อัลลายแอนซ์ รีไฟน์นิ่ง จำกัด บริษัทฯ และ SPRC ได้ทำสัญญาร่วมปฏิบัติการกลั่น

ในรู ป แบบพั น ธมิ ต ร โดยบริ ษั ท อั ล ลายแอนซ์ รี ไ ฟน์ นิ่ ง จำกั ด (ARC) เป็นผู้บริหารการดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ 2542 ปัจจุบันได้มี การทำสัญญายกเลิกการร่วมปฏิบัติการดังกล่าวแล้ว โดยมีผลบังคับ

ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2552 ซึ่ ง ARC ได้ จ ดทะเบี ย น

เลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการชำระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ 10. รายการระหว่างบริษัทฯ กับกลุ่มบริษัท เชฟรอน บริ ษั ท ฯ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย มสำเร็ จ รู ป ให้ แ ก่ ก ลุ่ ม บริษัท เชฟรอน ซึ่งถือหุ้นในบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด ร้อยละ 64 โดยกำหนดราคาขายตามธุรกิจปกติซึ่งกำหนด ราคาตามราคาตลาด และมีขอ้ กำหนดและเงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการซือ้ ขาย เป็นตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 11. รายการระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ บริ ษั ท ไทยออยล์ จำกั ด (มหาชน) บริ ษั ท ฯ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย มสำเร็ จ รู ป จากบริ ษั ท

ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) เพื่อขายให้กับลูกค้าตามที่ได้ตกลง ปริมาณกันไว้ล่วงหน้าเป็นรายเดือน เนื่องจากโรงกลั่นน้ำมันสตาร์ ปิ โ ตรเลี ย ม รี ไ ฟน์ นิ่ ง ไม่ ส ามารถเริ่ ม ผลิ ต ได้ ต ามกำหนดการ

ที่วางเอาไว้ในการหยุดซ่อมประจำปี สำหรับปี 2551 โดยการซื้อขาย มีการตกลงราคากันตามธุรกิจปกติ ซึ่งกำหนดราคาตามราคาตลาด

และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการซื้อขายเป็นไปตามแนวทาง ปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 12. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท ปตท. ค้าสากล จำกัด บริษัทฯ มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูป

ส่งออกให้บริษัท ปตท. ค้าสากล จำกัด โดยกำหนดราคาซื้อขายตาม ธุรกิจปกติ ซึง่ กำหนดราคาตามราคาตลาด และมีขอ้ กำหนดและเงือ่ นไข อื่นๆ ในการขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 13. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำกัด บริษัทฯ มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกึ่งสำเร็จรูป ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท เอ็ ช เอ็ ม ซี โปลี เ มอส์ จำกั ด เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ใน

การผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โดยกำหนดราคาซื้ อ ขายตามธุ ร กิ จ ปกติ

ซึ่งกำหนดราคาตามราคาตลาด และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 14. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษทั ฯ มีสญั ญาว่าจ้างบริการเพือ่ ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ ในโรงงานกับบริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด โดยการว่าจ้างมีการตกลงอัตราค่าบริการตามธุรกิจปกติ ซึ่งกำหนด ตามราคาตลาด และมีข้อกำหนดและเงื่อนไขอื่นๆ ในการตกลงราคา เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 15. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด บริษัทฯ มีสัญญาจำหน่ายผลิตภัณฑ์เบนซีนเพื่อใช้เป็น วัตถุดิบให้บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด เพื่อใช้ในการผลิตสารฟีนอล และสารอะซีโตน โดยกำหนดราคาซื้อขายตามธุรกิจปกติ ซึ่งกำหนด ราคาตามราคาตลาด และมี ข้ อ กำหนดและเงื่ อ นไขอื่ น ๆ ในการ

ซื้อขายเป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของตลาดและธุรกิจปกติ 16. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด บริ ษั ท ฯ มี สั ญ ญาซื้ อ สาธารณู ป โภคจากบริ ษั ท พี ที ที

ยูทิลิตี้ จำกัด เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานอะโรเมติกส์ หน่ ว ยที่ 2 ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง การใช้ ส าธารณู ป โภคจาก PTTUT

ดังกล่าว ช่วยลดการลงทุนของบริษัทฯ ในการก่อสร้างโรงงานผลิต สาธารณูปโภคเพื่อใช้ในการผลิตปิโตรเคมี


88

รายงานประจํ า ปี 2552 บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จํ า กั ด (มหาชน)

Delegated Authorities (MODA) เฉพาะเรื่ อ งตามแต่ ล ะกรณี

โดยธุรกรรมทั้งหมดสะท้อนสภาวการณ์ตลาดในช่วงเวลาที่ประกอบ ธุรกรรม ซึ่งการกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนดังกล่าว บริษัทฯ กระทำอย่ า งเปิ ด เผย โดยคำนึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ

เป็นหลัก และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติที่ใช้กันทั่วไปในธุรกิจ

การกลั่ น น้ ำ มั น และปิ โ ตรเคมี ซึ่ ง สามารถตรวจสอบและชี้ แ จงได้ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีระบบการควบคุมและตรวจสอบ ภายใน การรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการ

บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือเพื่อทราบเป็นประจำ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท จะเปิ ด เผยรายการระหว่ า งกั น กั บ บุ ค คลที่ อ าจ

มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง หมดต่ อ สาธารณชน

ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท

จดทะเบี ย นตามประกาศตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วอย่ า งเคร่ ง ครั ด

มาโดยตลอด 2.3 นโยบายการทำรายการระหว่างกันในอนาคต สำหรั บ นโยบายการทำรายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ฯ ใน อนาคตจะเป็นรายการที่ดำเนินการทางธุรกิจตามปกติเช่นเดิม ไม่มี รายการใดเป็นพิเศษ ไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง และผู้ถือหุ้น ส่วนนโยบายการกำหนด ราคาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกัน

จะกำหนดจากราคาเชิงพาณิชย์ตามปกติของธุรกิจ เช่นเดียวกับ

ที่ ก ำหนดให้ กิ จ การอื่ น ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น สำหรั บ ราคาวั ต ถุ ดิ บ จะ ดำเนินการซื้อขายตามสัญญาที่ได้กำหนดให้ราคาวัตถุดิบแปรผันไป ตามราคาตลาดเช่นเดียวกับที่ผ่านมา และบริษัทฯ จะเปิดเผยชนิด และมูลค่าของรายการระหว่างกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความ

ขั ด แย้ ง ภายใต้ ป ระกาศของคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ใช้บังคับกับการทำรายการดังกล่าว

17. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด บริษัทฯ ได้ทำสัญญาว่าจ้างบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด เพื่อให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแก่ บริษัทฯ ซึ่งบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำกัด เป็นบริษัทที่ให้ บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับบริษัทในเครือ ปตท. ทั้งหมด โดยบริษัทฯ จะได้รับผลประโยชน์ด้านการบริหารจัดการสินทรัพย์ การบริการ การสร้างศักยภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการลงทุน

ทางด้าน ICT รวมทั้งการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลของธุรกิจ ภายในกลุ่ม ปตท. เพื่อสร้างประสิทธิภาพและสายโซ่อุปทาน อันนำ ไปสู่การ Collaboration ทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และเป็นพื้นฐานในการสนับสนุน Synergy ด้านอื่นๆ ร่วมกับบริษัท ในกลุ่ม ปตท. 18. รายการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด บริ ษั ท ฯ ได้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ปตท. จำกัด (มหาชน) และบริษัทร่วมของบริษัทฯ โดยการซื้อหุ้นบุริมสิทธิ ของบริ ษั ท บิ ซิ เ นส เซอร์ วิ ส เซส อั ล ไลแอนซ์ จำกั ด เพื่ อ เป็ น

ทางเลือกในการจัดหาแรงงานและการจ้างเหมาบริการ เนื่องจาก บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำกัด เป็นบริษัทที่ให้ บริการจัดหาแรงงานและจ้างเหมาบริการแก่บริษัทในเครือ ปตท. 2.2 ขั้นตอนและนโยบายการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน บริ ษั ท ฯ ยึ ด หลั ก การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่งใส และยุติธรรม ดังนั้น การทำข้อตกลงหรือข้อผูกพันใดๆ ทาง ธุรกิจกับบุคคลภายนอก หรือการเข้าทำรายการระหว่างกันกับบุคคล ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ซึ่ ง กั น และกั น บริ ษั ท ฯ

จะปฏิบัติด้วยหลักเกณฑ์เดียวกัน ไม่มีการเลือกปฏิบัติ โดยบริษัทฯ ได้กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน ผู้มีอำนาจอนุมัติและวงเงินการ อนุ มั ติ ข องผู้ บ ริ ห ารแต่ ล ะระดั บ ไว้ อ ย่ า งชั ด เจนใน Manual of


89

โครงสร้ า งองค์ ก ร คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการ สรรหาและกำหนด ค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง

คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน สำนักประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและ เลขานุการบริษัท

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริหารโครงการ

ฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

ผู้อำนวยการ โครงการ

ฝ่ายแผนกลยุทธ์ องค์กร

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่อาวุโส ปฏิบัติการ

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ การเงินและ บัญชีองค์กร

ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบัญชีองค์กร

ฝ่ายวางแผน การเงินและ ข้อมูลผู้บริหาร

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และ พัฒนาธุรกิจ

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร

ฝ่ายวางแผน จัดหาและการผลิต ฝ่ายพาณิชยกิจ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ฝ่ายทรัพยากร บุคคล ฝ่ายสื่อสารองค์กร และรัฐกิจสัมพันธ์ ฝ่ายจัดหา

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เทคนิคและ วิศวกรรม

ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายบํารุงรักษา ฝ่ายเทคนิค

โครงการงานซ่อม บำรุงและตรวจสอบ โรงงาน

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการ อะโรเมติกส์ ฝ่ายปฏิบัติการ อะโรเมติกส์ 1 ฝ่ายปฏิบัติการ อะโรเมติกส์ 2

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการโรงกลั่น ฝ่ายปฏิบัติการ โรงกลั่น ฝ่ายบริหารคลัง และรับส่งวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์


90

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Board of Directors

91

01

02

03

Dr. Norkun Sitthiphong

Mr. Apai Chandanachulaka

General Somjed Boontanom

Chairman

Vice Chairman, Independent Director and Corporate Governance Committee

Independent Director and Chairman of Corporate Governance Committee

04

05

Dr. Ampon Kittiampon

Dr. Chokchai Aksaranan

Director and Chairman of Nomination and Remuneration Committee

Independent Director and Chairman of Audit Committee

01

06

07

08

09

02

03

04

05

06

07

08

Mr. Prasert Bunsumpun

Mrs. Pannee Sathavarodom

Dr. Wit Jeraphat

Director and Nomination and Remuneration Committee (Authorized Director)

Director

Independent Director

09

10

Mr. Nakarin Virameteekul

Mr. Prajya Phinyawat

Independent Director, Audit Committee and Risk Management Committee

Director, Chairman of Risk Management Committee and Corporate Governance Committee (Authorized Director)

10

11

12

13

Dr. Witoon Simachokedee

Pol. Gen. Sereepisut Tameeyaves

Mr. Permsak Shevawattananon

Independent Director

Independent Director and Nomination and Remuneration Committee

Director

14

15

Mr. Tevin Vongvanich

Mr. Chainoi Puankosoom

Director and Risk Management Committee

Director, President & CEO, Secretary to the Board of Directors (Authorized Director)

11

12

13

14

15


92

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

01 Dr. Norkun Sitthiphong Chairman Age: 56 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.Eng. (Mechanical Engineering), Chulalongkorn University • M.S. (Mechanical Engineering), Oregon State University, USA • Ph.D. (Mechanical Engineering), Oregon State University, USA

Work Experience • Dean of Faculty of Engineering, Chiang Mai University • Vice President for Research Affairs, Chiang Mai University • Vice President for Academic Affairs, Chiang Mai University Present Positions • Deputy Permanent Secretary, Ministry of Energy • Chairman, PTT Public Co., Ltd. • Chairman, IRPC Public Co., Ltd. • Director, Nuclear Power Program Development Office

• •

National Defense Course, Class 47, National Defense College Capital Market Academy Leadership Program, Class 4, Capital Market Academy • The Role of Chairman (RCP) 21/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD)

02 Mr. Apai Chandanachulaka Vice Chairman, Independent Director and Corporate Governance Committee Age: 66 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • Bachelor of Arts in Political Science (the Second Class Hons.), Thammasat University • Master of Arts in Political Science, Thammasat University • National Defense Course (1990), Class 33, National Defense College • Ph.D. in Liberal Art (Honorary), Pibulsongkram Rajabhat University • Ph.D. in Law (Honorary), Ramkhamhaeng University • Director Accreditation Program (DAP) 77/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Saraburi Governor, Phitsanulok Governor • Director-General of the Community Development Department, Department of Corrections, Department of Provincial Administration • Permanent Secretary, Ministry of Labor • Permanent Secretary, Ministry of Social Development and Human Security • Judge of the Constitutional Court • Minister of Labor Present Position • Retired Government Official


93

03 General Somjed Boontanom Independent Director and Chairman of Corporate Governance Committee Age: 61 PTTAR Shareholding by Director: 30,335 shares or 0.0010% PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.S., Chulachomklao Royal Military Academy • M.A., Army Command and General Staff College • Director Accreditation Program (DAP) 62/2007,

Director Certification Program (DCP) 91/2007 and Finance for Non-Finance Director (FND) 35/2007, Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leadership Program, Class 6, Capital Market Academy

Work Experience • Staff Officer for Supreme Command Headquarters Commander Director-General, Office of Special Development, • Commanding General of Armed Forces Development Command International Security and Project Management, • Extent 100 Acre (King Naresuan Memorial, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province) • Deputy Commanding General of Armed Forces Development Command, Ministry of Defense Director-General, Office of Budget of Defense, •

Ministry of Defense • Chairman of Advisor, Ministry of Defense, Kingdom of Thailand Present Position • Retired Military Official

04 Dr. Ampon Kittiampon Director and Chairman of Nomination and Remuneration Committee Age: 54 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • Bachelor of Arts, Kasetsart University • M.S. Economics, Northeastern University, Boston, USA • Ph.D. Applied Economics, Clemson University, South Carolina, USA • National Defense Course, Class 45, National Defense College • Director Certification Program (DCP) 80/2006, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Deputy Permanent Secretary, Ministry of Agriculture and Cooperatives (MOAC) • Director-General, The National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS) • Member of the National Legislative Assembly Present Positions • Secretary General, National Economic and Social Development Board • Board of the Bank of Thailand • Monetary Policy Committee • Council of State • Director, Board of Investment • Director, PTT Public Co., Ltd. • Board of Trustee of Kasetsart University


94

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

05 Dr. Chokchai Aksaranan Independent Director and Chairman of Audit Committee Age: 67 PTTAR Shareholding by Director: 83,844 shares or 0.0028% PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.Sc. (Hon.) in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • M.Sc. E & Ph.D. in Chemical Engineering, University of New Brunswick, Canada • Honorary Doctorate Degree in Science,

University of New Brunswick, Canada Diploma, National Defense Course for the Joint State-Private Sector, Class 1, National Defense College • The Role of Chairman Program (RCP) 11/2005, Director Accreditation Program (DAP) 50/2006, Understanding the Financial Statement (UFS) 3/2005, Audit Committee Program (ACP) 22/2008 and DCP Refresher Course 1/2008, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Chairman, Bangkok Commercial Asset Management Co., Ltd. • Director, Thai Olefins Public Co., Ltd. • Director and Audit Committee Chairman, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Director and Audit Committee, Asset Management Company Present Positions • Chairman of Executive Board, Siam City Bank Public Co., Ltd. • Chairman, Saha Patana Interholding Public Co., Ltd. • Chairman of Executive Board, Vinythai Public Co., Ltd. • Director and Chairman of Audit Committee, PTT Exploration and Production Public Co., Ltd. • Chairman, Thai Ethoxylate Co., Ltd.

06 Mr. Prasert Bunsumpun Director and Nomination and Remuneration Committee (Authorized Director) Age: 57 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.E. (Civil Engineering), Chulalongkorn University • MBA, Utah State University, USA

• • •

• •

• •

Honorary Doctoral in Engineering, Chulalongkorn University Honorary Doctoral in Management, National Institute of Development Administration (NIDA) Honorary Doctoral in Management Science, Phetchaburi Rajabhat University Diploma, National Defense Course for the Joint State-Private Sector, The National Defense College, Class 10 Certificate in Advanced Management Program, Harvard Business School, USA Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 6, King Prajadhipok’s Institute Director Accreditation Program (DAP), Class 26/2004, Thai Institute of Directors Association (IOD) Capital Market Academy Leadership Program, Class 3, Capital Market Academy

Work Experience • Deputy President, Marketing, Downstream Oil Business, Petroleum Authority of Thailand President, PTT Oil, Petroleum Authority of Thailand • (Deputy Governor Level) • President, PTT Gas, Petroleum Authority of Thailand (Deputy Governor Level) • Senior Executive Vice President, Gas Business Group, PTT Public Company Limited Present Positions • Director and President and CEO, PTT Public Co., Ltd. • Chairman, PTT Exploration and Production Public Co., Ltd. • Director, Thai Oil Public Co., Ltd. • Director, PTT Chemical Public Co., Ltd. • Director, IRPC Public Co., Ltd. • Chairman, Community Enterprise Research and Development Institute


95

07 Mrs. Pannee Sathavarodom Director Age: 61 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.A. (Econ) in Honors, Thammasat University • M.A. (Econ), Thammasat University • Certificate of Bond Market (1996): Fixed Interim Analysis, Economic Development Institute of The World Bank

Work Experience • Senior Expert for Finance and Tax Acting Director-General, Public Debt Management Office • Deputy Director-General, Fiscal Policy Office • Deputy Director-General, Fiscal Policy Office and Director-General, Public Debt Management Office • Director-General, Public Debt Management Office • Director-General, Fiscal Policy Office Present Position • Retired Government Official

• •

National Defense Course, Class 44, National Defense College Certificate of Advance Executive Program 2004, Kellogg School of Management, Northwestern University, USA • Director Accreditation Program (DAP) 42/2005, Finance for Non-finance Director (FND) 22/2005 and Director Certification Program (DCP) 72/2006 Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leadership Program, Class 5, Capital Market Academy

08 Dr. Wit Jeraphat Independent Director Age: 58 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • LL.B.(Hon.), Chulalongkorn University • Barrister-At-Law • LL.M., Chulalongkorn University

• • • • •

Doctor of Laws, Thammasat University (Excellent Thesis Reward from The National Research Council of Thailand, 2008) National Defense Course, Class 35, National Defense College Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 1, King Prajadhipok’s Institute High Certificate In Judicial Processes for Senior Executive, Office of the Judiciary, Class 9 High Certificate In Judicial Work for Senior Executive, Office of the Attorney General, Class 4 Director Accreditation Program (DAP) 75/2008, Thai Institute of Directors Association (IOD) Capital Market Academy Leadership Program, Class 7, Capital Market Academy

Work Experience • Director-General, Department of Appellate Court Litigation, Region 3 • Director-General, Department of Bankruptcy Litigation • Director-General, Department of Peoples’ Rights Protection and Legal Aid Present Positions • Director-General, Department of Technical Affairs • Board of the National Research Council of Thailand, Law Field • Board of Scrutinizing Nationality


96

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

09 Mr. Nakarin Virameteekul Independent Director, Audit Committee and Risk Management Committee Age: 45 PTTAR Shareholding by Director: 228,664 shares PTTAR Shareholding by related person: 25,838 shares PTTAR Shareholding: 254,502 shares or 0.0085% Education/Training • B.Eng. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • M.S. in Chemical Engineering, University of New Hamshire, USA • Director Certification Program (DCP) 22/2002, DCP Refresher Course 5/2007, Audit Committee Program (ACP) 22/2008 and Financial Statements for Directors (FSD) 4/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Director and Audit Committee, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Director, Business Development Bank, The People’s Republic of China • Board Member, Metropolitan Electricity Authority • Director, Thailand-China Business Council • Member of Sripatum University Council Present Positions • Independent Director and Audit Committee, Thanachart Securities Public Co., Ltd.

• • •

Managing Director, M.Thai Group Ltd. Deputy Managing Director, All Seasons Property Co., Ltd. Director, Siam Bangna Land Co., Ltd.

10 Mr. Prajya Phinyawat Director, Chairman of Risk Management Committee and Corporate Governance Committee (Authorized Director) Age: 58 PTTAR Shareholding by Director: 54,273 shares PTTAR Shareholding by related person: 25,838 shares PTTAR Shareholding: 80,111 Shares or 0.0027% Education/Training • B.E. (Civil Engineering), Chulalongkorn University • M.S. (Civil Engineering), Stanford University, USA • Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas at Austin, USA • Diploma, National Defense Course for the Joint State-Private Sector, The National Defense College Director Certification Program (DCP), Class 14/2002, • Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leadership Program, Class 7, Capital Market Academy

Work Experience • President, Natural Gas Business, Petroleum Authority of Thailand • President, PTT Exploration and Production Public Co., Ltd. • Deputy Governor, Corporate Plan and Development, Petroleum Authority of Thailand (PTT) • Deputy Governor, Corporate Strategy and Development, Petroleum Authority of Thailand (PTT) Senior Executive Vice President, Corporate Strategy and • Development, PTT Public Co., Ltd. • Senior Executive Vice President, Corporate Support, PTT Public Co., Ltd. • Senior Executive Vice President, Petrochemicals & Refining Business Group, PTT Public Co., Ltd. Present Positions • Chief Operating Officer, Downstream Petroleum Business Group and Senior Executive Vice President, Oil Business Unit, PTT Public Co., Ltd. • Director, Thai Oil Public Co., Ltd. • Director, IRPC Public Co., Ltd. • Director, PTT Chemical Public Co., Ltd. • Chairman, PTT Phenol Co., Ltd. • Chairman, HMC Polymers Co., Ltd.


97

11 Dr. Witoon Simachokedee Independent Director Age: 55 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.Eng (Electrical Engineering), Kasetsart University • L.L.B., Thammasat University • M.B.A., Thammasat University • Ph.D in Public Administration (Public and Private Management), Ramkhamhaeng University • Diploma, National Defense Course for The Joint State-Private Sector, Class 46, National Defense College • Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 11, King Prajadhipok’s Institute • Capital Market Academy Leadership Program, Class 7, Capital Market Academy • Director Certification Program (DCP) 115/2009 and Financial Statements for Directors 4/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Deputy Director-General, Department of Primary Industries and Mines, Ministry of Industry • Deputy Director-General, Department of Industrial Works, Ministry of Industry • Director-General, The Bangkok City Project, Ministry of Industry • Inspector-General, Ministry of Industry • Deputy Permanent Secretary, Ministry of Industry • Director-General, Department of Primary Industries and Mines, Ministry of Industry • Director-General, Department of Industrial Works, Ministry of Industry Present Positions • Permanent Secretary, Ministry of Industry • Director, PTT Chemical Public Co., Ltd. • Chairman, Thai Oleochemicals Co., Ltd. • Director, The Electricity Generating Authority of Thailand • Director, Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited • Director, ACT Mobile Co., Ltd. • Chairman, Thai Fatty Alcohols Co., Ltd.

12 Pol. Gen. Sereepisut Tameeyaves

Independent Director and Nomination and Remuneration Committee Age: 61 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • Armed Forces Academic Preparatory School, Class 8 • Police Cadet Academy, Class 24 • Inspector and Commander, Class 13 • Institute of Police Administration, Class 8 • Master Degree of Arts (Honorary Degree) Political Science, Ramkhamhaeng University • Top Management Program Course 1 (Class 10) and Course 2 (Class 15), Civil Service Training Institute • Doctorate (Honorary Degree) Political Science, Ramkhamhaeng University • National Defense Course, Class 38, National Defense College • Doctorate (Honorary Degree) Public Administration, Ubon Ratchathani University

Capital Market Academy Leadership Program, Class 9, Capital Market Academy Director Accreditation Program (DAP) Class 60/2006 and • Role of the Compensation Committee (RCC) Class 9/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD) Work Experience • Commander, Crime Suppression Division • Commander in Chief, Central Investigation Bureau • Assistant Director-General, Thailand National Police Department Assistant National Police Commander • National Police Inspector-General • Acting National Police Commander • National Police Commander • • Member of Council of National Security Present Position • Retired Police Official


98

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

13 Mr. Permsak Shevawattananon Director Age: 59 PTTAR Shareholding by Director: 76,221 shares or 0.0025% PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.Eng. Mechanical Engineering, University of Santo Tomas Manila, Philippines • Cert., ASEAN Executive Program (AEP), GE Management Development Institute • Cert., Senior Executive Program (SEP), Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University • Director Certification Program (DCP) Class 52/2004, Thai Institute of Directors Association (IOD)

Work Experience • Vice President, Gas Plant Department, Petroleum Authority of Thailand • Senior Vice President, Gas Processing Plant, Gas Business Group, Petroleum Authority of Thailand • Executive Vice President, Natural Gas Processing, Gas Business Group, Petroleum Authority of Thailand • President & Chief Executive Officer, Trans Thai - Malaysia (Thailand) Public Co., Ltd. • Senior Executive Vice President, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • President, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Chief Executive Officer and Director, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present Position • Senior Executive Vice President, Gas Business Unit, PTT Public Co., Ltd.

14 Mr. Tevin Vongvanich Director and Risk Management Committee Age: 51 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • B.Eng. (Chemical Eng.) - 1st Honors, Chulalongkorn University • M.S. (Petroleum Eng.), University of Houston, USA • M.S. (Chemical Eng.), Rice University, USA • Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 10, King Prajadhipok’s Institute • Program for Global Leadership (PGL), Harvard Business School, USA • Senior Executive Program (S.E.P. 7), SASIN/Kellogg/Wharton • Director Certification Program (DCP) Class 21/2002 and Financial Statements for Directors (FSD) Class 6/2009, Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leadership Program, Class 6, Capital Market Academy

Work Experience • Senior Vice President, Regional Assets Division, PTT Exploration and Production Public Company Limited • Executive Vice President, Corporate Business Development, PTT Public Company Limited Executive Vice President, Acting Senior Executive Vice • President, Corporate Strategy & Development, PTT Public Company Limited • Senior Executive Vice President, Corporate Strategy & Development, PTT Public Company Limited Present Positions • Chief Financial Officer and Acting Senior Executive Vice President, Corporate Strategy & Development, PTT Public Company Limited • Director, PTT Chemical Public Company Limited • Director, Bangchak Petroleum Public Company Limited • Director, PTT Exploration and Production Public Co., Ltd. • Director, Bangkok Aviation Fuel Services Public Co., Ltd. • Director, PTT International Limited • Chairman, PTT ICT Solutions Company Limited


99

15 Mr. Chainoi Puankosoom Director, President & CEO, Secretary to the Board of Directors (Authorized Director) Age: 59 PTTAR Shareholding by Director: None PTTAR Shareholding by related person: None Education/Training • Bachelor Degree in Higher Accounting, California College of Commerce, USA • Master of Management (MM), Sasin Graduate Institute of Business Administration, Chulalongkorn University • Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 6, King Prajadhipok’s Institute • Director Accreditation Program (DAP) 63/2007, Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leader Program, Class 9, Capital Market Academy

Work Experience • Deputy Managing Director-Finance, Thai Oil Public Co., Ltd. • Managing Director, Independent Power (Thailand) Co., Ltd. • Executive Vice President, Petrochemicals and Refining Business Group, PTT Public Co., Ltd. • President, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • President, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Director, PTT Utility Co., Ltd. Present Positions • President & CEO, Secretary to the Board of Directors, PTT Aromatics & Refining Public Co., Ltd. • Senior Executive Vice President, Downstream Petroleum Business Group, PTT Public Co., Ltd. • Chairman, Petroleum Refining Industry Club, The Federation of Thai Industries • Director, PTT Phenol Co., Ltd. • Member of the Council of Trustees, Petroleum Institute of Thailand

Directors who retired and resigned during the year 2009

01

02

Mr. Somphot Kanchanaporn

Dr. Chitrapongse Kwangsukstith

Director and Audit Committee (27 December 2007 - 7 April 2009)

Director (10 April 2008 - 7 April 2009)

03 Mr. Pichai Chunhavajira Director and Risk Management Committee (27 December 2007 - 30 June 2009)


100

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Senior Management

01

02

03

Mr. Chainoi Puankosoom

Mr. Prachurn Oneiam

Mr. Khomson Piyawattanaviroj

President & CEO (1 October 2008 - Present)

Executive Vice PresidentProject Management (10 January 2008 - Present)

Project Director-MP/A (1 February 2009 - Present)

04 Mr. Manop Saeng-Ngern Project Director-MP/B (1 February 2009 - Present)

01

02

03

04

01

02

03

Mrs. Puangchao Nakanart

Mr. Sakesiri Piyavej

Miss Duangkamol Settanung

Vice President-Office of CEO & Corporate Secretary (1 February 2009 - Present)

Vice President-Quality, Safety, Health and Environment (1 February 2009 - Present)

Vice President-Corporate Strategy (10 January 2008 - Present)

04 Miss Araya Buruskarn Vice President-Internal Audit (1 January 2010 - Present)

01

02

03

04


101

01

02

03

Mrs. Nitima Thepvanangkul

Mrs. Natchalee Phadungsidh

Mrs. Siriluck Phonorthong

Executive Vice President-Finance and Accounting (1 February 2009 - Present)

Vice President-Treasury (16 September 2009 - Present)

Vice President-Corporate Accounting (16 September 2009 - Present)

04 Mr. Somboon Setsuntipong Vice President-Financial Planning and Management Information (16 September 2009 - Present)

01

02

04

03

01

02

03

Mr. Bowon Vongsinudom

Mr. Siridech Kumvongdee

Mr. Saroj Putthathammawong

Senior Executive Vice President-Operations, Acting Executive Vice President-Supply Planning & Business Development (1 June 2009 - Present)

Vice President-Supply and Planning (1 February 2009 - Present)

Vice President-Commercial (1 February 2009 - Present)

04 Mr. Dumrong Pinpuvadol Vice President-Business Development (10 January 2008 - Present)

01

02

03

04


102

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

01

02

03

Mr. Varit Namwong

Mr. Paupan Srirongmuang

Miss Brinda Klasnimi

Executive Vice PresidentHuman Resources & Corporate Administration (1 February 2009 - Present)

Vice President-Human Resources (1 January 2010 - Present)

Vice President-Public & Government Affairs (1 February 2009 - Present)

04 Mr. Surapong Harn-amorn Vice President-Procurement (1 January 2010 - Present)

01

02

03

04

01

02

03

Mr. Kun Patumraj

Mr. Suwat Suratchaikarn

Mr. Anutin Chuarypen

Executive Vice PresidentAsset Management (1 February 2009 - Present)

Vice President-Reliability & Engineering (1 February 2009 - Present)

Vice President-Maintenance (1 January 2010 - Present)

04

05

Mrs. Jeeranee Pimthanothai

Mr. Sopon Siriratchatapong

Vice President-Technology (10 January 2008 - Present)

Turnaround Director (1 January 2010 - Present)

01

02

03

04

05


103

01

02

03

Mr. Bowon Vongsinudom

Mr. Vanchai Tadadoltip

Mr. Supasit Tongsupachok

Senior Executive Vice PresidentOperations, Acting Executive Vice President-Supply Planning & Business Development (1 June 2009 - Present)

Executive Vice President-Aromatics Operations (1 August 2009 - Present)

Vice President-Aromatics 1 Operations (1 January 2010 - Present)

04 Mr. Sawat Trongdilokrat Vice President-Aromatics 2 Operations (1 January 2010 - Present)

01

02

03

04

05

06

07

Mr. Porntep Butniphant

Mr. Ratchada Sawasdirak

Mr. Suthap Grinchan

Executive Vice President-Refinery Operations (1 August 2009 - Present)

Vice President-Refinery Operations (1 February 2009 - Present)

Vice President-Movement and Dispatching Operations (1 January 2010 - Present)

05

06

07


104

Mr. Chainoi Puankosoom

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

President & CEO (10 January 2008 - Present) Education • Bachelor Degree in Higher Accounting, California College of Commerce, USA • Master of Management (MM), Sasin Graduate Institute of Business Administration, Chulalongkorn University • Diploma in Politics and Governance in Democratic Systems for Executives Course, Class 6, King Prajadhipok’s Institute • Director Accreditation Program (DAP) 63/2007, Thai Institute of Directors Association (IOD) • Capital Market Academy Leader Program, Class 99,

Former Positions • Deputy Managing Director-Finance, Thai Oil Public Co., Ltd. • Managing Director, Independent Power (Thailand) Co., Ltd. • Executive Vice President, Petrochemicals and Refining Business Group, PTT Public Co., Ltd. • President, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • President, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Director, PTT Utility Co., Ltd. Present • President & CEO, Secretary to the Board of Directors, PTT Aromatics & Refining Public Co., Ltd. • Senior Executive Vice President, Downstream Petroleum Business Group, PTT Public Co., Ltd.

Capital Market Academy

Mr. Bowon Vongsinudom Senior Executive Vice President-Operations, Acting Executive Vice President-Supply Planning & Business Development (1 June 2009 - Present) Education • B.Eng. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • M.Eng. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • MM, Sasin, Chulalongkorn University • NDC 2547

Mr. Prachurn Oneiam Executive Vice President-Project Management (10 January 2008 - Present) Education • B.Eng. in Mechanical Engineering, Kasetsart University

Chairman, Petroleum Refining Industry Club, The Federation of Thai Industries • Director, PTT Phenol Co., Ltd. • Member of the Council of Trustees, Petroleum Institute of Thailand

Former Positions • Commercial Manager, Thai Oil Public Co., Ltd. • MQ, Thai Oil Public Co., Ltd. • Executive Vice President-Operations and Business, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • (Co) Chief Executive Officer, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Director, PTT Utility Co., Ltd. • Senior Executive Vice President-Operations and Acting Executive Vice President-Supply Planning & Business Development, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Director, Machinery Operation Department, Petroleum Authority of Thailand • Senior Assistant Director, Production and Engineering, Bangkok Polyethylene Co., Ltd. • Vice President, Maintenance, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Production, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Project Director, ATC Reformer and Aromatics Complex II, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. Present • Executive Vice President-Project Management, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


105

Mrs. Nitima Thepvanangkul Executive Vice President-Finance and Accounting (1 February 2009 - Present) Education • Bachelor’s Degree in Accounting, Chulalongkorn University • Master’s Degree in Finance, National Institute of Development Administration (NIDA) • NIDA-Wharton Executive Leadership Program, The Wharton School, University of Pennsylvania and National Institute of Development Administration (NIDA)

Former Positions • Vice President, Accounting and Finance Department, Gas Business Group, PTT Public Co., Ltd. • Vice President, Treasury Department, PTT Public Co., Ltd. • Executive Vice President, Finance, Accounting and Budgeting, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • Executive Vice President-Corporate Finance and Accounting PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Executive Vice President, Petrochemicals and Refining Business Group, PTT Public Co., Ltd. • Director, PTT Phenol Co., Ltd.

Mr. Varit Namwong Executive Vice President-Human Resources & Corporate Administration (1 February 2009 - Present) Education • Bachelor of Business Administration, Marketing, Assumption Business Administration College • Master of Business Administration, Business Administration (International Program), Ramkhamhaeng University, • Cert. in Senior Executive Program (SEP), Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University

Mr. Kun Patumraj Executive Vice President-Asset Management (1 February 2009 - Present) Education • B.Sc. Chemical Engineers, New Jersey Institute of Technology, USA • M.Eng. Chemical Engineers, Manhattan College, New York, USA • Cert. in Senior Executive Program (SEP), Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University • Advance Management Program (AMP), Harvard Business School, Harvard University

Executive Vice President-Finance and Accounting, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Material and Logistics Manager, Rayong Refinery Co., Ltd. • Contract & Purchasing Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Manager Human Resources, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Director, PTT Utility Co., Ltd. • Executive Vice President-Human Resources & Corporate Administration, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Assistant Project Director, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Production, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Plant Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant President, Operations, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Senior Vice President, Operations, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Executive Vice President-Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Director, PTT Utility Co., Ltd. Present • Director, PTT Phenol Co., Ltd. • Executive Vice President-Asset Management, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


106

Mr. Vanchai Tadadoltip Executive Vice President-Aromatics Operations (1 August 2009 - Present) Education • Bachelor of Science, Chemical Technology, Chulalongkorn University

Mr. Porntep Butniphant Executive Vice President-Refinery Operations (1 August 2009 - Present) Education • B.Sc. in Chemistry, Chiangmai University • M.S.E.C. (Process Technology), Department of Chemistry and Chemical Engineering, University of Detroit, Michigan, USA

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Refinery Operation Manager, Star Petroleum Refining Co., Ltd. • Refinery Operation Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Manager, Major Projects, Alliance Refining Co., Ltd. • Executive Vice President-Refinery Operations PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Executive Vice President-Aromatics Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Lecturer, Chemistry Department, Faculty of Science,

Khon Kaen University • Engineer, Policy and Planning Department, Petroleum Authority of Thailand • Senior Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Deputy Project Director, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Plant Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Senior Vice President, Operations, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Senior Vice President, Administration, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Executive Vice President-Corporate Support and Acting Vice President-Public Relations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Executive Vice President-Aromatics Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Executive Vice President-Refinery Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


107

Mr. Khomson Piyawattanaviroj Project Director-MP/A (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. in Mechanical Engineering, Chulalongkorn University

Mr. Manop Saeng-Ngern Project Director-MP/B (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. Prince of Songkhla University

Former Positions • Assistant Manager, Engineering Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Engineering Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Deputy Project Director (Construction), Aromatics and Reformer Complex II Project, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Project, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Project Director-Clean Fuel Project, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Project Director-MP/A, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Piping Engineer, CTCI Co., Ltd. • Trainee Engineer, Unocal Co., Ltd. • Piping Engineer, Electricity Generating Authority of Thailand • Engineer, Mechanical Division, Seatec Engineering Co., Ltd. • Piping Engineer, UHDE (Thailand) Co., Ltd. • Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Storage Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Project, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Management Project, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistance Manager, Project Department, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Quality and Safety,

The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. Vice President-Quality and Safety, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Present • Project Director-MP/B, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


108

Miss Araya Buruskarn Vice President-Internal Audit (1 January 2010 - Present) Education • B.A. in English Linguistics, Ramkhamhaeng University • Master Degree in Public Administration, Tarleton State University, Texas, USA

Mrs. Puangchao Nakanart Vice President-Office of CEO & Corporate Secretary (1 February 2009 - Present) Education • B.A. Chulalongkorn University • M.A. (Speech Communication) Ball State University, Indiana, USA

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Assistant Store Manager, Southland Corporation, USA • Supervisor, Loews Anatole Hotel, USA • Support Services, US Sprint Telecommunication, USA • Manager, Office Administration and Procurement Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Human Resources Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Administration & Procurement, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Administration and Procurement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Vice President-Procurement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Internal Audit, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Chief, Administration and Petroleum Concession, Mineral Fuels Division, Department of Mineral Resources, Ministry of Industry • Director, Meetings and Reports Division, Office of the Governor, Petroleum Authority of Thailand • Manager, Meetings and Reports Division, Office of the Governor, Petroleum Authority of Thailand • Vice President, Office of the President, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Human Resources and Acting Vice President, Office of the President, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Corporate Affairs & Human Resources, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Office of the President, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Office of Chief Executive Officer, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Office of CEO & Corporate Secretary, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


109

Mr. Sakesiri Piyavej Vice President-Quality, Safety, Health and Environment (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. in Electrical Engineering, Chulalongkorn University • MPA (Honor) in Management for Executive, National Institute of Development Administration (NIDA)

Miss Duangkamol Settanung Vice President-Corporate Strategy (10 January 2008 - Present) Education • B.Sc. in Statistics, Kasetsart University (1st Class Honor) • Master of Business Administration, Thammasat University

Former Positions • Electrical Engineer, Metropolitan Electricity Authority • Purchasing Engineer, Siam Fiber Cement Co., Ltd., Siam Cement Group • Electrical Engineer, Thai Oil Co., Ltd. • Plant Operator, Thai Olefins Co., Ltd. • Process Control Engineer, Star Petroleum Refining Co., Ltd. • Lead Process Control Engineer, Alliance Refining Co., Ltd. • Instrument and Electrical Engineering Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Unwinding Manager, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Vice President, Quality, Safety, Health and Environment, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Analyst, Petroleum Authority of Thailand • Financial Economics Section Manager, The Bangchak Petroleum Public Co., Ltd. • Supply Planning Section Manager, The Bangchak Petroleum Public Co., Ltd. • Manager, Feedstock and Product Management Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Feedstock and Production Planning Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Finance & Accounting, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. Present • Director, PTT ICT Solutions Co., Ltd. • Vice President-Corporate Strategy, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


110

Mrs. Natchalee Phadungsidh Vice President-Treasury (16 September 2009 - Present) Education • Bachelor of Economics, Monetary Economics and Public Finance, Chulalongkorn University • Master of Science (Economics), Kasetsart University

Mrs. Siriluck Phonorthong Vice President-Corporate Accounting (16 September 2009 - Present) Education • B.A. Accounting, Thammasat University

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Analyst, National Finance and Securities Co., Ltd. • Equities Sales, Cathay Trust Finance and Securities Co., Ltd. • Planning and Analysis Officer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Section Head, Planning and Analysis, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Section Head, Financial Planning and Liquidity Management, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Finance, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Finance Officer, PTT Public Co., Ltd. • Financial Analyst and MIS Officer, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • Treasurer Division Manager, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • Acting Vice President-Treasury, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Treasury, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Verification Accountant, National Petrochemical Co., Ltd. • Head of Financial Accountant, Oriental Silica Co., Ltd. • Senior Oil Accountant, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • Oil Accounting Supervisor, Rayong Refinery Public Co., Ltd. • Financial Accounting Manager, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Corporate Accounting, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


111

Mr. Somboon Setsuntipong Vice President-Financial Planning and Management Information (16 September 2009 - Present) Education • B.A. Faculty of Commerce & Accountancy, Banking & Finance, Chulalongkorn University

Mr. Siridech Kumvongdee Vice President-Supply and Planning (1 February 2009 - Present) Education • B.Sc. Chemistry, Ramkhamhaeng University • M.Sc. Chemical Engineering, Washington University, USA

Mr. Saroj Putthathammawong Vice President-Commercial (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • Master of Business Administration, Thammasat University

Former Positions • Internal Auditor, Siam Tyre Co., Ltd. • Manager, Finance Division, Plan Estate Co., Ltd. • Manager, Financial Planning Department, Siam Sinthorn Co., Ltd. • Vice President, Finance and Planning Department, Yoonsila Chiangmai Co., Ltd. • Treasury Manager, Thai Industrial Gases Public Co., Ltd. • Manager, Financial Administration Section, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Finance Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Accounting Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Acting Vice President-Aromatics Accounting, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Manager, Cost Accounting Division, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Financial Planning and Management Information, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Economics Petroleum Section Manager, PTT • Scheduling Manager, Rayong Refinery Co., Ltd. • Business Development Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Commercial Manager, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Vice President-Supply and Planning, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Process Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Aromatics Operations, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Production Planning, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Commercial, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Feedstock and Production Planning, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Vice President, Planning and Commercial, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Commercial, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Supply and Marketing, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Commercial, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


112

Mr. Dumrong Pinpuvadol Vice President-Business Development (10 January 2008 - Present) Education • B.Eng. in Civil Engineering, Kasetsart University • M.Eng. in Civil Engineering, Chulalongkorn University • MBA (General Management), National Institute of Development Administration (NIDA)

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Assistant Chief Division, Petroleum Authority of Thailand • Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Planning and Control Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Plant Administration, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Human Resources & Administration, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Human Resources, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Planning & Commercial, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Strategic Planning & Business Development, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. Present • Vice President-Business Development, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Mr. Paupan Srirongmuang Vice President-Human Resources (1 January 2010 - Present) Education • B.Sc. Econ., Kasetsart University • MBA, Rangsit University

Former Positions • MIS Manager, Seafood City Co., Ltd. (Unicord Group) • Manager, Management Information System Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Information Technology, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Office of Internal Audit and Risk Management, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Office of Internal Audit, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Vice President-Internal Audit, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Human Resources, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


113

Miss Brinda Klasnimi Vice President-Public & Government Affairs (1 February 2009 - Present) Education • B.A. International Affairs, Faculty of Political Science, Thammasat University

Mr. Surapong Harn-amorn Vice President-Procurement (1 January 2010 - Present) Education • B.Eng. in Civil Engineering, Chulalongkorn University

Former Positions • TV News Editor, Thai TV Channel 9, MCOT Radio, Thai News Agency, The Mass Communication Organization of Thailand (MCOT) • Program Producer & News Editor, Thai Language Service, BBC World Service, British Broadcasting Corporation • Media Coordinator, Communications Division, Corporate Public Affairs Department, Shell Companies in Thailand • Head Public Relations Division, Rayong Refinery Co., Ltd. • Public Affairs Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Manager, Public/Government Affairs, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Vice President-Public & Government Affairs, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Engineer, VES. Group Engineering Co., Ltd. • Engineer, TDCI Co., Ltd. • Engineer, NK-TDCI Co., Ltd. • Engineer, Ch. Karnchang Public Co., Ltd. • Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Division Manager, Planning & Control, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Plant Training and Personnel Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Quality Assurance Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Quality Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Human Resources Administration Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Human Resources, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Human Resources, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Procurement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


114

Mr. Suwat Suratchaikarn Vice President-Reliability & Engineering (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. in Electrical Engineering, Chulalongkorn University • MBA in General Management, Sukhothai Thammathiraj University

Mr. Anutin Chuarypen Vice President-Maintenance (1 January 2010 - Present) Education • B.Sc. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • Master of Science, Computer & Engineering Management, Assumption University

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Instrument & Electrical Engineering Manager, Star Petroleum Refining Co., Ltd. • Project Engineering Division Manager, Alliance Refining Co., Ltd. • Asset Management Manager, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Vice President-Reliability & Engineering, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Process Engineer, National Petrochemical Public Co., Ltd. • Process Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Shift Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Reformer Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Vice President, Production, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Deputy Project Director (Project Support), Aromatics and Reformer Complex II Project, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Aromatics 2 Production, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Vice President-Aromatics 2 Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Maintenance, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


115

Mrs. Jeeranee Pimthanothai Vice President-Technology (10 January 2008 - Present) Education • B.Sc. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University • Master of Engineering in Petrochemical Technology, Chulalongkorn University

Former Positions • Engineer, M Thai Industrial Co., Ltd. • Engineer, PCK Pigment Co., Ltd. • Assistant Vice President, Technical, Thai Solvent and Chemical Co., Ltd. • Process Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Process Technology Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Vice President, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Technical, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. Present

Mr. Sopon Siriratchatapong Turnaround Director (1 January 2010 - Present) Education • B.Eng. (Production), King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi MPA (Management for Executive), National Institute of • Development Administration (NIDA)

Vice President-Technology, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Engineer, Thai Pipe Fitting Co., Ltd. • Engineer, Niti Pattana Co., Ltd. • Engineer, Thai Special Steel Co., Ltd. • Engineer, Mechem Supply Co., Ltd. • Engineer, Euro Engineering Co., Ltd. • Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Workshop Division Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Storage and Utility Maintenance Division Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Vice President, Maintenance, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Maintenance, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Maintenance, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Turnaround Director, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


116

Mr. Supasit Tongsupachok Vice President-Aromatics 1 Operations (1 January 2010 - Present)

Education • B.Eng. in Electronic Engineering Department, Rajamangala University of Technology • MBA, Burapha University

Mr. Sawat Trongdilokrat Vice President-Aromatics 2 Operations (1 January 2010 - Present)

Education • B.Sc. in Chemical Engineering, Chulalongkorn University

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Former Positions • Instrument Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Senior Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Instrument Maintenance Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Storage Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Storage, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Movement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Vice President-Aromatics Movement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Aromatics 1, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Assistant Shift Supervisor, Thai Petrochemical Industry Public Co., Ltd. • Process Engineer, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Shift Manager, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Manager, Aromatics Division, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Assistant Vice President, Production, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President, Production, The Aromatics (Thailand) Public Co., Ltd. • Vice President-Aromatics 1 Production, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. • Vice President-Aromatics 1 Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Aromatics 2 Operations PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.


117

Mr. Ratchada Sawasdirak Vice President-Refinery Operations (1 February 2009 - Present) Education • B.Eng. in Mechanical Engineering, Mahanakorn University of Technology • Master of Public Administration, Chulalongkorn University

Mr. Suthap Grinchan Vice President-Movement and Dispatching Operations (1 January 2010 - Present)

Education • Master of Business Administration, Ramkhamhaeng University

Former Positions • Shift Operations Manager, Rayong Refinery Co., Ltd. • Shift Operations Coordinator, Alliance Refining Co., Ltd. • Operations Specialist, Alliance Refining Co., Ltd. Present • Vice President-Refinery Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Former Positions • Shift Manager in Operation, Rayong Refinery Co., Ltd. • Shift Coordinator in Supply and Planning, Alliance Refining Co., Ltd. • Operations Coordinator in Production Unit Movement and Dispatches, Alliance Refining Co., Ltd. • PD Project Manager in Production Unit Movement and Dispatches, Alliance Refining Co., Ltd. • Vice President-Refinery Movement, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd. Present • Vice President-Movement and Dispatching Operations, PTT Aromatics and Refining Public Co., Ltd.

Senior Management who moved to other companies in PTT Group

01

02

Executive Vice President-Supply Planning & Business Development (1 February 2009 – 31 May 2009)

Vice President-Financial Planning and Management Information (10 January 2008 - 15 September 2009)

Executive Vice President, Secondment to IRPC Public Co., Ltd. As Senior Executive Vice President, Corporate Strategy and Planning (1 June 2009 – Present)

Vice President-Finance and Accounting, PTT Phenol Co., Ltd. (16 September 2009 – Present)

Mr. Atikom Terbsiri

Mrs. Nidcha Jirametthanakij


118

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

The Board of Directors’ Report on Its Responsibility to Financial Reports

Recognizing its responsibility for compliance with good corporate governance, the Board of Directors of PTT Aromatics and Refining Public Company Limited (PTTAR) has ensured that the financial statements and financial information contained in this Annual Report were reasonably accurate and complete. The Board has ensured that PTTAR prepared its financial statements under generally-accepted accounting principles under the Accounting Act B.E. 2543 as well as the regulations of the Securities and Exchange Commission (SEC) on the preparation and presentation of financial reports under the Securities and Exchange Act B.E. 2535. In so doing, PTTAR relied on accounting policies, consistently applied with due discretion, and contain sensible estimates. The Company put in place an efficient internal control system to provide reasonable confidence to the Board that its financial statements were both accurate and credible. In addition, PTTAR had in place a system to safeguard assets and prevent frauds or irregularities. Together with an adequate, suitable risk management system, the Company ensured that connected transactions, which could cause conflicts of interest, represented real business transactions reasonably conducted in the normal course of business and in the best interests of the Company. Finally, the Board ensured that all laws, rules, and relevant regulations were strictly observed. The Board is responsible for the financial reports as of 31 December 2009 filed by PTTAR, which has bolstered its confidence that the Company’s financial status, revenue, expenditure, and consolidated cash flow statements are both factual and sensible. These have undergone reviews by the Audit Committee, and the Company’s auditor has reviewed them under generally-accepted auditing principles. The auditor has expressed views in the certified auditor’s report.

(Mr. Norkun Sitthiphong) Chairman

(Mr. Chainoi Puankosoom) President and CEO

...


Annual Financial Statements and Audit Report of Certified Public Accountant

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company For the years ended 31 December 2009 and 2008


120

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Audit Report

of Certified Public Accountant

To the Shareholders of PTT Aromatics and Refining Public Company Limited I have audited the accompanying consolidated and separate balance sheets as at 31 December 2009 and 2008, and the related statements of income, changes in equity and cash flows for the years then ended of PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its joint venture company, and of PTT Aromatics and Refining Public Company Limited, respectively. The Company’s management is responsible for the correctness and completeness of information presented in these financial statements. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audits to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statements presentation. I believe that my audits provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, the consolidated and separate financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial positions as at 31 December 2009 and 2008 and the results of operations and cash flows for the years then ended of PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its joint venture company, and of PTT Aromatics and Refining Refin ing Public Company Limited, respectively, in accordance with generally accepted accounting principles.

(Winid Silamongkol) Certified Public Accountant Registration No. 3378 KPMG Phoomchai Audit Ltd. Bangkok 12 February 2010


121

...

Balance sheets As at 31 December 2009 and 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

Unit : in Baht

Consolidated financial statements Assets

Note

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Current assets Cash and cash equivalents

5

1,362,220,367

1,010,538,505

1,362,220,367

1,011,040,346

Trade accounts receivable

4, 6

21,357,485,747

6,181,532,288

21,357,485,747

6,178,539,394

Other receivables from related parties

4

94,748,047

249,666,091

94,748,047

248,481,689

Inventories

7

19,879,601,652

14,689,892,261

19,879,601,652

14,689,892,261

Receivables from Oil Fuel Fund

8

32,533,677

280,643,536

32,533,677

280,643,536

Value-added tax receivable

3,562,737,685

3,157,583,458

3,562,737,685

3,157,583,458

Revenue Department receivable

2,424,487,427

2,419,236,184

2,424,487,427

2,419,236,184

815,700,719

824,661,026

815,700,719

821,328,583

49,529,515,321

28,813,753,349

49,529,515,321

28,806,745,451

Other current assets

4, 9

Total current assets

Non-current assets Investment in joint venture company

10

-

-

-

3,125,000

Investments in associates

11

3,350,886,976

3,122,303,878

3,797,375,000

3,469,400,000

Property, plant and equipment

12

96,264,805,521

96,719,065,177

96,264,805,521

96,719,065,177

Leasehold prepayment

883,098,760

911,672,463

883,098,760

911,672,463

Intangible assets

13

740,345,907

717,078,829

740,345,907

717,078,829

Deferred tax assets

14

3,353,626,113

6,937,071,199

3,353,626,113

6,937,071,199

486,863,170

319,449,745

485,241,697

319,449,745

Other non-current assets

4, 15

Total non-current assets

105,079,626,447

108,726,641,291

105,524,492,998

109,076,862,413

Total assets

154,609,141,768

137,540,394,640

155,054,008,319

137,883,607,864

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


122

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Balance sheets (Continued)

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

As at 31 December 2009 and 2008

Unit : in Baht

Consolidated financial statements Liabilities and equity

Note

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Current liabilities Short-term loans from financial institutions 16

13,576,491,816

14,237,000,298

13,576,491,816

14,237,000,298

Trade accounts payable

13,291,596,206

8,611,255,598

13,291,596,206

8,611,255,598

4, 17

Current portion of debentures

16

307,692,160

615,384,640

307,692,160

615,384,640

Current portion of long-term loans

16

2,027,752,000

970,824,000

2,027,752,000

970,824,000

Current portion of subordinated loans

16

2,144,328,073

2,144,328,073

-

Other payables

-

934,654,302

1,197,800,340

934,654,302

1,200,779,807

Construction payables

838,916,620

825,067,757

838,916,620

825,067,757

Accrued finance costs

450,142,438

322,660,299

450,142,438

322,660,299

Accrued excise tax

156,227,296

49,457,730

156,227,296

49,457,730

Other current liabilities

19

621,603,660

602,507,822

621,603,660

597,266,931

Total current liabilities

34,349,404,571

27,431,958,484

34,349,404,571

27,429,697,060

16

26,349,368,000

35,607,660,000

26,349,368,000

35,607,660,000

16

25,049,365,410

10,824,143,854

25,049,365,410

10,824,143,854

4, 16

6,703,281,720

8,579,463,898

6,703,281,720

8,579,463,898

14

1,573,573,715

1,752,553,036

1,573,573,715

1,752,553,036

266,913,415

709,398,370

266,913,415

709,398,370

4, 18

Non-current liabilities Long-term loans from

financial institutions

Debentures Subordinated loans Deferred income tax liabilities

Other non-current liabilities Total non-current liabilities

59,942,502,260

57,473,219,158

59,942,502,260

57,473,219,158

Total liabilities

94,291,906,831

84,905,177,642

94,291,906,831

84,902,916,218

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


123

...

Balance sheets (Continued) As at 31 December 2009 and 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

Unit : in Baht

Consolidated financial statements

Liabilities and equity

Note

2009

2008

Separate financial statements

2009

2008

Equity Share capital

20

Authorised share capital

29,938,149,690

29,938,149,690

29,938,149,690

29,938,149,690

Issued and paid-up share capital

29,637,261,860

29,636,285,220

29,637,261,860

29,636,285,220

21

4,614,534,045

4,613,242,927

4,614,534,045

4,613,242,927

21

2,319,681,419

1,856,633,603

2,319,681,419

1,856,633,603

Additional paid-in capital

Share premium

Retained earnings

Appropriated

Legal reserve

Business expansion reserve

6,514,000,000

6,514,000,000

6,514,000,000

6,514,000,000

Unappropriated

17,231,757,613

10,015,055,248

17,676,624,164

10,360,529,896

Total equity

60,317,234,937

52,635,216,998

60,762,101,488

52,980,691,646

Total liabilities and equity

154,609,141,768

137,540,394,640

155,054,008,319

137,883,607,864

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


124

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Statements of income

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

For the years ended 31 December 2009 and 2008

Unit : in Baht

Consolidated financial statements

Note

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Revenues Revenue from sale of goods and

rendering of services

4, 22, 29

Interest income

225,299,541,983

251,386,792,169

225,299,541,983

251,370,412,561

3,598,192

20,046,327

3,598,192

20,046,327

1,573,416,329

-

Gain from early settlement of crack spread

swap agreements

4

1,573,416,329

-

4

1,675,248,268

777,881,059

1,675,248,268

777,881,059

Net foreign exchange gain

23

1,368,457,181

59,870,913

1,368,457,181

59,831,168

Other income

4

278,189,639

212,572,388

278,189,639

214,741,308

Total revenues

230,198,451,592

252,457,162,856

230,198,451,592

252,442,912,423

of services

4

213,099,794,927

263,202,450,861

213,099,794,927

263,199,335,519

Selling expenses

4, 24

335,067,577

283,762,374

335,067,577

283,762,374

Administrative expenses

4, 25

1,113,240,354

979,126,944

1,113,240,354

966,954,811

92,561,868

76,434,204

92,561,868

76,434,204

214,640,664,726

264,541,774,383

net of income tax

(99,391,903)

(175,082,470)

15,458,394,963

(12,259,693,997)

15,557,786,866

(12,083,574,485)

4, 27

(2,892,364,756)

(1,321,188,144)

(2,892,364,756)

(1,321,188,143)

Difference of crack spread swap and crude

oil spread swap agreements

Expenses Cost of sale of goods and rendering

Management benefit expenses Total expenses

26

214,640,664,726 264,526,486,908

Share of losses of associates,

-

-

Profit (loss) before costs finance

and income tax expense

Finance costs Profit (loss) before income tax expense

12,566,030,207

(13,580,882,141)

12,665,422,110

(13,404,762,628)

28

(3,404,465,765)

5,116,221,720

(3,404,465,765)

5,116,994,570

9,161,564,442

(8,464,660,421)

9,260,956,345

(8,287,768,058)

Basic

3.09

(2.86)

3.12

(2.80)

Diluted

3.09

(2.85)

3.12

(2.79)

Income tax expense Profit (loss) for the year Earnings (loss) per share

30

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


20

Shares options exercised

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.

-

31

Dividends

Balance at 31 December 2009

-

Transfer to legal reserve

29,637,261,860

976,640

-

Total recognised income

29,636,285,220 -

Balance at 1 January 2009

29,636,285,220

-

Profit for the year

31

Balance at 31 December 2008

Dividends

-

Total recognised expense

29,636,285,220

Issued and paid-up share capital

-

Note

Loss for the year

Balance at 1 January 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

...

4,614,534,045

1,291,118

-

-

-

-

4,613,242,927

4,613,242,927

-

-

-

4,613,242,927

2,319,681,419

-

-

463,047,816

-

-

1,856,633,603

1,856,633,603

-

-

-

1,856,633,603

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

6,514,000,000

-

-

-

6,514,000,000

17,231,757,613

-

(1,481,814,261)

(463,047,816)

9,161,564,442

9,161,564,442

10,015,055,248

10,015,055,248

(7,409,071,305)

(8,464,660,421)

(8,464,660,421)

25,888,786,974

Consolidated financial statements Additional Retained earnings paid-in capital Legal Business expansion Share premium reserve reserve Unappropriated

For the years ended 31 December 2009 and 2008

60,317,234,937

2,267,758

(1,481,814,261)

-

9,161,564,442

9,161,564,442

52,635,216,998

52,635,216,998

(7,409,071,305)

(8,464,660,421)

(8,464,660,421)

68,508,948,724

Total equity

Unit : in Baht

Statements of changes in equity

125


- -

Transfer to legal reserve 31 20

Dividend

Shares options exercised

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.

-

Total recognised income

Balance at 31 December 2009

-

Profit for the year

29,637,261,860

976,640

29,636,285,220

Balance at 1 January 2009

29,636,285,220

-

31

Balance at 31 December 2008

Dividend

-

Total recognised expense

-

Loss for the year

Issued and paid-up share capital 29,636,285,220

Note

Balance at 1 January 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

...

4,614,534,045

1,291,118

-

-

-

-

4,613,242,927

4,613,242,927

-

-

-

4,613,242,927

Additional paid-in capital Share premium

Unit : in Baht

2,319,681,419

-

-

463,047,816

-

-

1,856,633,603

1,856,633,603

-

-

-

1,856,633,603

6,514,000,000

-

-

-

-

-

6,514,000,000

6,514,000,000

-

-

-

6,514,000,000

17,676,624,164

-

(1,481,814,261)

(463,047,816)

9,260,956,345

9,260,956,345

10,360,529,896

10,360,529,896

(7,409,071,305)

(8,287,768,058)

(8,287,768,058)

26,057,369,259

60,762,101,488

2,267,758

(1,481,814,261)

-

9,260,956,345

9,260,956,345

52,980,691,646

52,980,691,646

(7,409,071,305)

(8,287,768,058)

(8,287,768,058)

68,677,531,009

Separate financial statements Total equity Retained earnings attributable to Legal Business expansion equity holders of reserve reserve Unappropriated the company

For the years ended 31 December 2009 and 2008

(Continued)

Statements of changes in equity

126 Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited


127

...

Statements of cash flows For the years ended 31 December 2009 and 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

Unit : in Baht

Consolidated financial statements

Note

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Cash flows from operating activities Profit (loss) for the year

9,161,564,442

(8,464,660,421)

9,260,956,345

(8,287,768,058)

Depreciation and amortisation

5,320,822,739

2,926,118,377

5,320,822,739

2,926,118,377

Interest income

(3,598,192)

(20,046,327)

(3,598,192)

(20,046,327)

Adjustments for

Dividends income Finance costs

27

- 2,892,364,756

- 1,321,188,144

- 2,892,364,756

(2,181,368) 1,321,188,143

Allowance for decline in value

of inventories

-

7

5,172,717,988

-

5,172,717,988

Allowance for obsolete inventories

(Reversal)

82,994,017

(26,343,657)

82,994,017

(26,343,657)

Unrealised (gain) loss on exchange

(992,001,660)

209,786,556

(992,001,660)

209,786,556

Reserve for retirement benefits

3,322,610

3,405,609

3,322,610

3,405,609

11,008,878

9,501,767

11,008,878

9,501,767

99,391,903

175,082,470

3,404,465,765

(5,116,221,720)

3,404,465,765

(5,116,994,570)

19,980,335,258

(3,809,471,214)

19,980,335,258

(3,810,615,540)

Loss on disposal of property,

plant and equipment

Share of losses of associates,

net of income tax

Income tax expense

28

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.

-

-


128

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Statements of cash flows (Continued)

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

For the years ended 31 December 2009 and 2008

Unit : in Baht

Consolidated financial statements

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Changes in operating assets and liabilities Trade accounts receivable

(15,178,946,352)

15,910,923,450

(15,178,946,352)

15,913,251,208

153,733,449

88,352,967

153,733,449

87,832,420

(5,103,707,368)

2,490,270,459

(5,103,707,368)

2,490,270,459

Receivable from Oil Fuel Fund

248,109,859

(170,067,157)

248,109,859

(170,067,157)

Value-added tax receivable

(405,154,227)

(1,911,946,721)

(405,154,227)

(1,916,249,044)

Other current assets

(86,717,668)

(1,172,322,441)

(86,717,668)

(1,167,254,270)

Other non-current assets

21,742,748

(1,481,153)

21,240,907

(1,481,153)

4,681,841,071

(12,596,446,577)

4,681,841,071

(12,596,446,577)

Other payables

(401,515,513)

(561,099,471)

(401,515,513)

(557,951,080)

Accrued excise tax

106,769,566

(516,795,254)

106,769,566

(516,795,254)

76,029,628

(142,721,896)

76,029,628

(142,293,679)

(665,798,045)

663,646,020

(665,798,045)

663,646,020

Other receivables from related parties Inventories

Trade accounts payable

Other current liabilities Other non-current liabilities Income taxes paid Net cash provided by (used in) operating activities

-

(3,230,583,155)

-

(3,237,036,276)

3,426,722,406

(4,959,742,143)

3,426,220,565

(4,961,189,923)

6,024,893

21,615,279

6,024,893

21,615,279

Cash flows from investing activities Interest received Dividends received Purchase of investment in Share of associate

-

-

-

2,181,368

(327,975,000)

(1,106,940,000)

(327,975,000)

(1,106,940,000)

(4,531,246,410)

(20,539,643,604)

(4,531,246,410)

(20,539,643,604)

329,444,584

551,000

329,444,584

551,000

Purchase of intangible assets

(56,255,949)

(53,998,319)

(56,255,949)

(53,998,319)

Leasehold prepayment

(23,186,860)

(57,912,729)

(23,186,860)

(57,912,729)

(449,590,349)

(7,417,734)

(449,590,349)

(7,417,734)

(5,052,785,091)

(21,743,746,107)

(5,052,785,091)

(21,741,564,739)

Purchase of property, plant and equipment Sale of property, plant and equipment

Other non-current assets Net cash used in investing activities

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


129

...

Statements of cash flows (Continued) For the years ended 31 December 2009 and 2008

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

Unit : in Baht

Consolidated financial statements

2009

Separate financial statements

2008

2009

2008

Cash flows from financing activities Finance costs paid

(2,333,475,262)

(1,871,056,275)

(2,333,475,262)

(1,871,056,275)

Dividends paid to equity holders

(1,481,535,895)

(7,403,530,964)

(1,481,535,895)

(7,403,530,964)

172,838,411,921

104,658,122,267

172,838,411,921

104,658,122,267

(92,892,900,000) (173,673,000,000)

(92,892,900,000)

6,000,000,000

52,799,831,000

6,000,000,000

52,799,831,000

(13,770,824,000)

(29,428,087,599)

(13,770,824,000)

(29,428,087,599)

Proceeds from short-term loans from financial

institutions

Repayment of short-term loans from financial

institutions

(173,673,000,000)

Proceeds from long-term loans from financial

institutions

Repayment of long-term loans from financial

institutions

Proceeds from bonds

15,000,000,000

-

15,000,000,000

-

Repayment of bonds

(615,384,640)

-

(615,384,640)

-

Repayment of subordinated loans Proceeds from ESOP Warrant Net cash provided by financing activities

- 2,267,758

(1,000,000,000) -

-

(1,000,000,000)

2,267,758

-

1,966,459,882

24,862,378,429

1,966,459,882

24,862,378,429

340,397,197

(1,841,109,821)

339,895,356

(1,840,376,233)

1,010,538,505

2,763,638,154

1,011,040,346

2,763,406,407

11,284,665

88,010,172

11,284,665

88,010,172

1,362,220,367

1,010,538,505

1,362,220,367

1,011,040,346

Net increase (decrease) in cash and

cash equivalents

Cash and cash equivalents at beginning of year Effect of exchange rate changes on

balances held in foreign currencies

Cash and cash equivalents at end of year

Non-cash transactions As of 31 December 2009 and 2008, the Company acquired machinery and equipment totalling Baht 839 million and Baht 525 million which have not yet been paid for.

The accompanying notes are an integral part of these financial statements.


130

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

...

Notes to the financial

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited and its Joint Venture Company

For the years ended 31 December 2009 and 2008

statements

Note

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39

Contents General information Basis of preparation of the financial statements Significant accounting policies Related party transactions and balances Cash and cash equivalents Trade accounts receivable Inventories Receivables from Oil Fuel Fund Other current assets Investment in joint venture company Investments in associates Property, plant and equipment Intangible assets Deferred tax Other non-current assets Interest-bearing liabilities Trade accounts payable Other payables Other current liabilities Share capital Additional paid-in capital and reserve Segment information Net foreign exchange gain (loss) Selling expenses Administrative expenses Employee benefit expenses Finance costs Income tax expense Promotional privileges Earnings (loss) per share Dividends Significant contractual agreements Financial instruments Commitments with non-related parties Arbitration disputes Event after the reporting period Thai Accounting Standards (TAS) not yet adopted Other Reclassification of accounts


131

These notes form an integral part of the financial statements. The financial statements were authorised for issue by the Directors on 12 February 2010.

1. General information 1.1 The Company

PTT Aromatics and Refining Public Company Limited, the “Company”, was formed on 27 December 2007 from the

amalgamation of The Aromatics (Thailand) Public Co.,Ltd., “ATC”, and Rayong Refinery Public Co.,Ltd., “RRC”,

in accordance with the Public Company Limited Act, B.E. 2535 (1992). The Company is incorporated in Thailand and has its registered office at 555/1 Energy Complex, Building A,

14th floor, Vibhavadi Road, Chatuchak, Bangkok, 10900, Thailand. The Board of Governors of the SET approved the listing of the Company on the day that the Registrar accepted the registration of the amalgamation, 27 December 2007. The Company’s major shareholder during the year was PTT Public Company Limited (48.65% shareholding) which was incorporated in Thailand. The principal business of the Company is the refining and provision of integrated petroleum products and production and distribution of aromatics products with plans to proceed with the production of aromatics products and enter into other joint investment business. 1.2 The joint venture company The Company’s operations in the refinery segment are managed by Alliance Refining Company Limited, “ARC”, incorporated in Thailand. ARC is jointly controlled by the Company and Star Petroleum Refining Company Limited “SPRC” under the Operating Alliance Agreement (the “Agreement”), as discussed in note 3. The Company holds a 50% equity interest in ARC. ARC earns its service income by managing the refinery operations of the Company and SPRC.

On 18 February 2009, ARC has registered for liquidation with the Ministry of Commerce and is in the process of being liquidated.

2. Basis of preparation of the financial statements The financial statements issued for Thai reporting purposes are prepared in the Thai language. This English translation of the financial statements has been prepared for the convenience of readers not conversant with the Thai language. The financial statements are prepared in accordance with Thai Accounting Standards (“TAS”) and Thai Financial Reporting Standards (“TFRS”) including related interpretations and guidelines promulgated by the Federation of Accounting Professions (“FAP”) and with generally accepted accounting principles in Thailand. On 15 May 2009, the FAP announced (Announcement No. 12/2009) the re-numbering of TAS to the same numbers as the International Accounting Standards (“IAS”) on which the TAS/TFRS are based. The Group has adopted the following revised (TAS/TFRS) and accounting guidance which were issued by the FAP during 2008 and 2009 and effective for accounting periods beginning on or after 1 January 2009: TAS 36 (revised 2007) Impairment of Assets TFRS 5 (revised 2007) Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations (formerly TAS 54) Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements (revised 2007) (effective on 26 June 2009) Accounting Guidance about Leasehold Right (effective on 26 June 2009) Accounting Guidance about Business Combination under Common Control The adoption of these revised TAS/TFRS and accounting guidance does not have any material impact on the consolidated or separate financial statements.


132

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

The FAP has issued during 2009 a number of new and revised TAS which are not currently effective and have not been adopted in the preparation of these financial statements. These new and revised TAS are disclosed in note 37. The financial statements are presented in Thai Baht, rounded in the notes to the financial statements to the nearest million, unless otherwise stated. They are prepared on the historical cost basis except as stated in the accounting policies. The preparation of financial statements in conformity with TAS and TFRS requires management to make judgements, estimates and assumptions that affect the application of policies and reported amounts of assets, liabilities, income and expenses. Actual results may differ from these estimates. Estimates and underlying assumptions are reviewed on an ongoing basis. Revisions to accounting estimates are recognised in the period in which estimates are revised and in any future periods affected. Information about significant areas of estimation uncertainty and critical judgements in applying accounting policies that have the most significant effect on the amounts recognised in the financial statements is included in the following notes: Note 14 Utilisation of tax losses

3. Significant accounting policies (a) Basis of consolidation The consolidated financial statements relate to the Company and its joint venture company (together referred to

as the “Group”) and the Group’s interests in associates. Joint venture company The joint venture company is a company, in the refinery segment, over whose activities the Company has joint control, established by contractual agreement and requiring unanimous consent for strategic financial and operating decisions.The consolidated financial statements include the Company’s proportionate share of the joint venture company’s assets, liabilities, revenue and expenses combined with items of a similar nature on a line by line basis, from the date that joint control commenced until the date that joint control ceases. Associates Associates are those entities in which the Group has significant influence, but not control, over the financial and operating policies. Significant influence is presumed to exist when the Group holds between 20% and 50% of the voting power of another entity. The consolidated financial statements include the Group’s share of the income, expenses and equity movements of associates, from the date that significant influence commences until the date that significant influence ceases. When the Group’s share of losses exceeds its interest in an associate, the Group’s carrying amount is reduced to nil and recognition of further losses is discontinued except to the extent that the Group has incurred legal or constructive obligations or made payment on behalf of the associate. Transactions eliminated on consolidation Intra-group balances and transactions, and any unrealised income or expenses arising from intra-group transactions, are eliminated in preparing the consolidated financial statements. Unrealised gains arising from transactions with associates and joint venture are eliminated against the investment to the extent of the Group’s interest in the investee. Unrealised losses are eliminated in the same way as unrealised gains, but only to the extent that there is no evidence of impairment. (b) Foreign currencies Foreign currency transactions Transactions in foreign currencies are translated to Thai Baht at the foreign exchange rates ruling at the dates of the transactions. Monetary assets and liabilities denominated in foreign currencies at the reporting date are translated to Thai Baht

at the foreign exchange rates ruling at that date. Foreign exchange differences arising on translation are recognised in the statement of income.


133

Non-monetary assets and liabilities measured at cost in foreign currencies are translated to Thai Baht using the foreign exchange rates ruling at the dates of the transactions. (c) Derivative financial instruments Derivative financial instruments are used to manage exposure to foreign exchange, interest rate and commodity price risks arising from operational, financing and investment activities. Derivative financial instruments are not used for trading purposes. However, derivatives that do not qualify for hedge accounting are accounted for as trading instruments. Derivative financial instruments comprise interest rate swaps, forward exchange contracts and oil refining margin hedge. Initially the Company records the derivative financial instruments at cost. Subsequent to initial recognition, at each settlement date or due date the Company records the payment or receipt, made under the terms of the contract for derivative financial instruments, as expense or income in the statement of income. (d) Cash and cash equivalents Cash and cash equivalents comprise cash balances, call deposits and highly liquid short-term investments.

Bank overdrafts that are repayable on demand are a component of financing activities for the purpose of the statement of cash flows. (e) Trade and other accounts receivable Trade and other accounts receivable are stated at their invoice value less allowance for doubtful accounts. The allowance for doubtful accounts is assessed primarily on analysis of payment histories and future expectations of customer payments. Bad debts are written off when incurred. (f)

Inventories Inventories are stated at the lower of cost and net realisable value, by the following methods: Finished goods, by products, goods in process and raw materials

: Average cost method

Stores, supplies and others

: Average cost method

Cost comprises all costs of purchase, costs of conversion and other costs incurred in bringing the inventories to their present location and condition. In the case of manufactured inventories and work-in-progress, cost includes an appropriate share of production overheads based on normal operating capacity. Net realisable value is the estimated selling price in the ordinary course of business less the estimated costs to complete and to make the sale. Allowance is made for all inventories declining, obsolete, slow-moving or deteriorated inventories. (g) Investments Investments in joint venture company and associates Investments in joint venture company and associates in the separate financial statements of the Company are accounted for using the cost method. Investments in associates in the consolidated financial statements are accounted for using the equity method. Disposal of investments On disposal of an investment, the difference between net disposal proceeds and the carrying amount is recognized in the statement of income. If the Group disposes of part of its holding of a particular investments, the deemed cost of the part sold is determined using the weighted average method.


134

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

(h) Property, plant and equipment Owned assets Property, plant and equipment are stated at cost less accumulated depreciation and impairment losses. The cost of self-constructed assets includes the cost of materials, direct labor, the initial estimate, where relevant, of the costs of dismantling and removing the items and restoring the site on which they are located, and an appropriate proportion of production overheads. Where parts of an item of property, plant and equipment have different useful lives, the Company accounts for these as separate items of property, plant and equipment. Capitalisation of interest cost Interest cost generally is expensed as incurred. Interest costs are capitalised if they are directly attributable to the acquisition, construction or production of a qualifying asset. Capitalisation of interest costs commences when the activities to prepare the asset are in progress and expenditures and interest costs are being incurred. Interest costs are capitalised until the assets are ready for their intended use. Depreciation Depreciation is charged to the statement of income on a straight line basis over the estimated useful lives of each part of an item of property, plant and equipment. The estimated useful lives are as follows: Buildings and leasehold improvements

20 - 30 years

Plant, machinery and equipment (except catalysts which

are amortised over their useful lives of 2-10 years)

Furniture, fixtures and office equipment Transportation equipment

5 - 30 years 5 - 7 years 5 - 10 years

No depreciation is provided on freehold land or assets under construction. (i)

Intangible assets Intangible assets that are acquired by the Group, which have finite useful lives, are stated at cost less accumulated

amortisation and impairment losses. Other intangible assets are amortised in the statement of income on a straight-line basis over their estimated useful lives from the date that they are available for use. The estimated useful lives are as follows: Deferred loan arrangement fees Deferred technical process royalties Computer system development and software

5 - 7 years 22 - 30 years 5 - 10 years

(j)

Impairment The carrying amounts of the Group’s assets are reviewed at each reporting date to determine whether there is any

indication of impairment. If any such indication exists, the assets’ recoverable amounts are estimated. An impairment loss is recognised if the carrying amount of an asset or its cash-generating unit exceeds its recoverable amount. The impairment loss is recognised in the statement of income unless it reverses a previous revaluation credited to equity, in which case it is charged to equity. Calculation of recoverable amount The recoverable amount of a non-financial asset is the greater of the asset’s value in use and fair value less costs to sell. In assessing value in use, the estimated future cash flows are discounted to their present value using a pre-tax discount rate that reflects current market assessments of the time value of money and the risks specific to the asset.

For an asset that does not generate cash inflows largely independent of those from other assets, the recoverable amount is determined for the cash-generating unit to which the asset belongs.


135

Reversals of impairment An impairment loss in respect of a financial asset is reversed if the subsequent increase in recoverable amount can be related objectively to an event occurring after the impairment loss was recognised. For financial assets carried at amortised cost and available-for-sale financial assets that are debt securities, the reversal is recognised in the statement of income. For available-for-sale financial assets that are equity securities, the reversal is recognised directly in equity. Impairment losses recognised in prior periods in respect of non-financial assets are assessed at each reporting date for any indications that the loss has decreased or no longer exists. An impairment loss is reversed if there has been

a change in the estimates used to determine the recoverable amount. An impairment loss is reversed only to the extent that the asset’s carrying amount does not exceed the carrying amount that would have been determined, net of depreciation or amortisation, if no impairment loss had been recognised. (k) Interest-bearing liabilities Interest-bearing liabilities are recognised initially at fair value less attributable transaction charges. (l)

Trade and other accounts payable Trade and other accounts payable are stated at cost.

(m) Employee benefits Defined contribution plans Obligations for contributions to defined contribution pension plans are recognised as an expense in the statement of income as incurred. Employee share options No compensation cost or obligation is recognised when share options are issued under employee incentive programmes. When options are exercised, equity is increased by the amount of the proceeds received. (n) Provisions A provision is recognised when the Group has a present legal or constructive obligation as a result of a past event, and it is probable that an outflow of economic benefits will be required to settle the obligation and a reliable estimate

can be made of the amount of the obligation. If the effect is material, provisions are determined by discounting the expected future cash flows at a pre-tax rate that reflects current market assessments of the time value of money and, where appropriate, the risks specific to the liability. (o) Revenue Revenue excludes value added taxes and other sales taxes and is arrived at after deduction of trade discounts. Sales of goods and service rendered Revenue is recognised in the statement of income when the significant risks and rewards of ownership have been transferred to the buyer. No revenue is recognised if there is continuing management involvement with the goods

or there are significant uncertainties regarding recovery of the consideration due, associated costs or the probable return

of goods. Service income is recognised as services are provided. Service income, in the refinery segment, is recognised on an accrual basis in the statement of income based on the terms and conditions of the agreement. Service fee of ARC is marked up at 5% from ARC’s operating cost.


136

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Interest and dividend income Interest income is recognised in the statement of income as it accrues. Dividend income is recognised in the statement of income on the date the Group’s right to receive payments is established. Other income is recognised on an accrual basis. (p) Expenses Expenses are recognised on an accrual basis. Operating leases Payments made under operating leases are recognised in the statement of income on a straight line basis over the term of the lease. Contingent rentals are charged to the statement of income for the accounting period in which they are incurred. Finance costs Interest expenses and similar costs are charged to the statement of income for the period in which they are incurred, except to the extent that they are capitalised as being directly attributable to the acquisition, construction or production of an asset which necessarily takes a substantial period of time to be prepared for its intended use or sale. Maintenance Expenditures on repairs and maintenance are charged to the statement of income for the period in which the expenditures are incurred. Expenditures of a capital nature are added to the cost of the related plant and equipment. (q) Income tax Income tax on the profit or loss for the year comprises current and deferred tax. Income tax is recognised in the statement of income except to the extent that it relates to items recognised directly in equity, in which case it is recognised in equity. Current tax Current tax is the expected tax payable on the taxable income for the year, using tax enacted or substantively enacted at the reporting date, and any adjustment to tax payable in respect of previous years. Deferred tax Deferred tax is recognised in respect of temporary differences between the carrying amounts of assets and liabilities for financial reporting purposes and the amounts used for taxation purposes and benefit of tax losses recognised. Deferred tax is not recognised for the following temporary differences: the initial recognition of goodwill; the initial recognition of assets or liabilities in a transaction that is not a business combination and that affects neither accounting nor taxable profit; and differences relating to investments in subsidiaries and joint venture to the extent that it is probable that they will not reverse in the foreseeable future. Deferred tax is measured at the tax rates that are expected to be applied to the temporary differences when they reverse, based on the laws that have been enacted or substantively enacted by the reporting date. A deferred tax asset is recognised to the extent that it is probable that future taxable profits will be available against which the temporary differences and benefit of tax losses recognised can be utilised. Deferred tax assets are reviewed at each reporting date and reduced to the extent that it is no longer probable that the related tax benefit will be realised.

4. Related party transactions and balances

Related parties are those parties linked to the Group and the Company as shareholders or by common shareholders

or directors. Transactions with related parties are conducted at prices based on market prices or, where no market price exists, at contractually agreed prices. Relationships with related parties that control or jointly control the Company or are being controlled or jointly controlled by the Company or have transactions with the Group were as follows :


137

Name of entities

Country of incorporation/ nationality

Nature of relationship

PTT Public Company Limited

Thai

Major shareholder, 48.65% shareholding,

some common directors Thai Oil Public Company Limited

Thai

49.10% holding by major shareholders,

some common directors PTT Chemical Public

Thai

49.16% holding by major shareholders,

Company Limited some common directors HMC Polymers Co., Ltd.

Thai

41.44% holding by major shareholders,

some common directors Star Petroleum Refining

Thai

36% holding by major shareholders,

Company Limited some common directors IRPC Public Company Limited

Thai

36.68% holding by major shareholders,

some common directors Bangchak Petroleum Public Company

Thai

28.46% holding by major shareholders,

Limited some common directors Dhipaya Insurance Public Company

Thai

13.33% holding by major shareholders,

Limited some common directors PTT International Trading Pte., Ltd.

Singapore

100.00% holding by major shareholders

Energy Complex Company Limited

Thai

50.00% holding by major shareholders

PTT Maintenance and Engineering

Thai

40.00% holding by major shareholders

Thai

The Company and Star Petroleum Refining

Company Limited Alliance Refining Company Limited

Co., Ltd., 50% holding by each

PTT Phenol Company Limited

Thai

Associate, 30% shareholding

PTT Utility Company Limited

Thai

Associate, 20% shareholding

PTT ICT Solutions Company Limited

Thai

Associate, 20% shareholding

Thai Tank Terminal Co., Ltd.

Thai

51% holding by PTT Chemical Public Company

Limited Chevron U.S.A. Inc. (Singapore)

Singapore

Common shareholdings

Chevron Singapore Pte., Ltd.

Singapore

Common shareholdings

USA

Common shareholdings

Other companies in the Chevron Group


138

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

The pricing policies for particular types of transactions are explained further below:

Transactions

Pricing policies

Revenue from sale of goods

Market prices

Service income

Contract price /Operation cost marked up at 5% (only with ARC)

Other income

Negotiated agreement

Purchases of raw materials and utilities

Market price

Certain cost of sale of goods and rendering of

Contract price and operation cost

services and selling and administrative expenses marked up at 5% (only with ARC) Selling and administrative expenses

Market prices/Contract price

Finance costs

Contract price (MLR-2)

Directors’ remuneration

Determined by the Board of Directors

and approved by Shareholders

Significant transactions for the year ended 31 December 2009 and 2008 with related parties were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

Sale of goods and rendering of services

168,770

218,031

168,770

218,031

Purchases of goods or receiving of services

195,097

240,517

195,097

240,517

51

80

51

80

2008

Major shareholder

Other income Administrative expenses

68

45

68

45

1,573

-

1,573

-

1,676

778

1,676

778

287

262

287

262

Purchases of goods or receiving of services

-

19

-

22

Administrative expenses

7

12

7

18

14,198

18,809

14,198

18,801

8,403

14,412

8,403

14,412

43

18

43

18

Selling expenses

291

229

291

229

Administrative expenses

248

82

248

82

Directors’ remuneration

10

10

10

10

Gain from early settlement of crack spread swap agreements Net gain on crack spread swap and crude oil spread swap agreements Finance costs Joint venture company

Other related parties Sale of goods and rendering of services Purchases of goods or receiving of services Other income


139

Amendment to crack spread swap agreements On 26 March 2009, the Company and PTT Public Company Limited (“PTT�), a major shareholder, agreed to amend

certain terms and conditions of their crack spread swap agreements. Under the amendment, the crack spread swap agreements for 3.2 million Barrels of oil were early settled. As a result, the latter had to make payment to the Company for this early settlement of such agreements amounting to Baht 1,573 million. The Company presented such transaction in the statement of income. Balances as at 31 December 2009 and 2008 with related parties were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

14,690

4,421

14,690

4,421

477

71

477

168

400

168

397

Chevron U.S.A. Inc. (Singapore)

-

46

-

46

Other companies in the Chevron Group

-

23

-

23

Trade accounts receivable-related parties Major shareholder PTT Public Company Limited Associate PTT Phenol Company Limited

71

Other related parties Star Petroleum Refining Company Limited

PTT Chemical Public Company Limited

-

4

-

4

537

-

537

-

15,872

4,965

15,872

4,962

86

221

86

220

PTT ICT Solution Company Limited

7

2

7

2

PTT Phenol Company Limited

1

1

1

1

1

25

1

25

Bangchak Petroleum Public Company Limited Total

Other receivables from related parties Major shareholder PTT Public Company Limited Associate

Other related parties Star Petroleum Refining Company Limited Other companies in the Chevron Group Total

-

1

-

-

95

250

95

248

1

-

1

-

140

121

140

121

Other current assets Major shareholder PTT Public Company Limited Other related parties Dhipaya Insurance Public Company Limited PTT Chemical Public Company Limited) Total

2

2

2

2

143

123

143

123


140

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Other non-current assets

2009

2008

2009

2008

Other related parties PTT Chemical Public Company Limited

2

4

2

4

Dhipaya Insurance Public Company Limited

-

Total

2

50

-

50

54

2

54

12,301

7,735

12,301

7,735

126

110

126

110

Star Petroleum Refining Company Limited

377

443

377

443

PTT Chemical Public Company Limited

309

26

309

26

Thai Oil Public Company Limited

-

158

-

158

Other companies in the Chevron Group

-

44

-

44

13,113

8,516

13,113

8,516

93

44

93

44

-

4

-

7

30

8

30

8

Trade accounts payable-related parties Major shareholder PTT Public Company Limited Associate PTT Utility Company Limited Other related parties

Total Other payables to related parties Major shareholder PTT Public Company Limited Joint venture company Alliance Refining Company Limited Associate PTT ICT Solutions Company Limited Other related parties Star Petroleum Refining Company Limited

169

295

169

295

PTT Maintenance and Engineering Company Limited

1

-

1

-

Dhipaya Insurance Public Company Limited

1

-

1

-

Other companies in Chevron Group

-

20

-

20

PTT Chemical Public Company Limited Total

-

1

-

1

294

372

294

375


141

Unit : in million Baht

Subordinated loans from shareholders

Interest rate (% per annum)

2009

2008

Consolidated financial statements

2009

2008

Separate financial statements

2009

2008

Major shareholder PTT Public Company Limited 4.75 4.75 6,703 6,500 6,703 6,500 Movements during the year ended 31 December 2009 and 2008 of subordinated loans from shareholders were as follows: Unit : in million Baht

Subordinated loans from shareholders Major shareholder At 1 January Increase Decrease

Consolidated financial statements

Separate financial statements

2009

2008

2009

2008

6,500 203 -

7,001 257 (758)

6,500 203 -

7,001 257 (758)

At 31 December 6,703 6,500 6,703 6,500 Subordinated loans were granted by the Company’s principal shareholders under the Shareholders Support Agreement. The loans bear interest at the rate agreed under the Shareholders Support Agreement. Currently, the interest rate is MLR minus 2% per annum. These loans and related interest will not be repaid unless all the terms and conditions stipulated for such repayment in the debenture deed are met. On 13 November 2009, the Company and Major shareholder in the shareholder loan agreements had agreed to amend certain terms and conditions of the shareholder loan agreements. Under the amendment agreements, the Company shall make the repayment of principles and interest if the conditions as specify in the amendment agreements can be satisfied especially certain covenants under any loan agreements of the Company in present. The amendments include change the payment term to within 30 December 2010 and change in the interest rate from MLR minus 2% per annum to MLR minus 1% per annum which is effect from the period from 30 June 2010 to 30 December 2010. Significant agreements with related parties Operating Alliance Agreement The Company entered into an operating alliance agreement (the “Operating Alliance Agreement”) with SPRC, which operates a neighboring refinery. To implement the operating alliance between the Company and SPRC (the “Operating Alliance”), ARC, a private limited liability company equally owned by the Company and SPRC, was incorporated and appointed as the exclusive operator of the two refineries. According to the Operating Alliance Agreement, ARC does not hold title to any of the Operating Alliance’s intakes, output, capital assets or general supplies. The Company and SPRC each have a participating interest of 50% of all Operating Alliance intakes, assets and future capital assets, and output from the combined refineries is also divided equally before selling. Accordingly, the Operating Alliance does not prevent the Company from maintaining a separate legal existence, ownership, capital structure, ownership of fixed assets, debt, liabilities or technology arrangements or, to any material degree, affect the Company’s feedstock or offtake arrangements. The Operating Alliance Agreement is effective until terminated by either party giving three years’ written notice of termination to the other party. The Operating Alliance Agreement can also be terminated upon the occurrence of an event of default, as defined in the Operating Alliance Agreement. For the purpose of the operation of ARC and the performance of the Operating Alliance Agreement, the Company, SPRC, their shareholders and other related parties entered into various agreements, to share information and to provide assistance to each other, as necessary.


142

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Operating Alliance Termination Agreement On 8 February 2006, the Company entered into an Operating Alliance Termination Agreement with SPRC to terminate the refinery segment. The Operating Alliance Termination Agreement with effect from 1 February 2009 and to liquidate ARC as described in Note 1.2. However, The Company has agreed to maintain the usage of jointly owned assets with SPRC including single point mooring (SPM), piping system for refined products supplies, the LPG Jetty, and the Sulfur Palletizer which these assets are managed by SPRC. Gas purchase and sales agreement The Company entered into two natural gas purchase and sales agreements with PTT whereby the Company is committed to purchase natural gas from PTT at the average range per day as specific in the agreement for 10 years starting from 23 May 2008 and 1 January 2009. The purchase price in the agreement is based on gas price as specified in the agreement and the Thailand Producer Price Index (PPI). Product Offtake Agreement The Company entered into a purchase and sale agreement with PTT and The Shell Company of Thailand (“SCOT”). According to this agreement, the Company is committed to sell a portion of its refined petroleum products produced to PTT and SCOT. For domestic sales, the product price reflects prices prevailing in Thailand for products of a similar quality that are sold in or imported to Thailand. For export sales, the product price reflects the prevailing international spot price for that product. This agreement will expire on 9 February 2024. New Complex Product Offtake Agreement On 9 February 2006, the Company has entered into a new complex product offtake agreement with PTT under which PTT has agreed to purchase 100% of the volume of refined petroleum products actually produced by the proposed reforming and upgrading complexes and declared by the Company up to the production capacity of the proposed reforming and upgrading complexes on the same terms and conditions as apply to the sale of refined petroleum products from the Company’s existing refinery under the terms of the product offtake agreement, provided that at least 50% of such volume will be sold at a competitive domestic market price and the remainder sold at a competitive export market price or other mutually agreed price. Other than as described above, the New Complex Product Offtake Agreement incorporates the provisions of the Product Offtake Agreement with PTT. Crude and other feedstock Supply Agreements

Interim Crude Supply Agreement

The Company entered into an Interim Crude Supply Agreement with PTT, pursuant to which PTT has agreed to supply the Company with crude oil and other feedstocks for the Company’s refinery operations, as nominated by ARC, on the terms and based on the current practice under the Operating Alliance. The Interim Crude Supply Agreement provides that it is to remain in effect until the termination date of the Operating Alliance (1 February 2009). As a result, the long-term Feedstock Supply Agreement coming into force.

Long-term Feedstock Supply Agreement

Under the terms of the Feedstock Supply Agreement, PTT agreed to supply the Company with crude oil and other feedstocks for the Company’s refinery operations at prices that are based on competitive market prices for the relevant feedstocks. The Feedstock Supply Agreement becomes effective on the termination date of the Operating Alliance and continues in force for an initial term expiring on 8 February 2024 but continues in effect thereafter until terminated in accordance with the agreement. Crude Oil Spread Swap Agreement The Company has entered into crude oil spread swap agreements with PTT to hedge the Company’s crude oil price. Under the agreements, calculated based on the difference of the average price for Dubai crude oil of the period quotations for specified quantities with a fixed price. The Company shall make payment or receive of the difference with PTT. As at

31 December 2009, the 0.3 million barrels of crude under these agreements were subjected to the provisions of the agreement.


143

Oil Spill Response Joint Service Agreement On 1 January 2006, the Company has entered into an Oil Spill Treatment Joint Service Agreement with PTT. The agreement allows the Company to utilise the OSR services as a company of PTT Group by paying an annual service fee to PTT at the rate specified in the Agreement. Memorandum of Understanding on the Construction of Pipe Racks on SPRC’s Area On 21 December 2007, the Company has entered into negotiations for a Memorandum of Understanding on the Construction of Pipe Racks on SPRC’s Area to interconnect its refinery and upgrading complex. The Company agreed to invest in the construction of the pipe racks and has the right to make use of. Raw material purchase and sale aromatics product agreements The Company and various local companies, including related companies, have entered into raw material and finished product purchase and sale agreements. The purchase and sale prices of raw materials and finished products is based on the prices specified in the agreements. These agreements are in effect for periods from 2 to 15 years from the agreement date. Shareholders Support Agreement The Company entered into a Shareholders Support Agreement on 30 March 2001 with its principal shareholders. The parties have agreed, among other things: a) to extend cooperation in such a way to ensure that all reasonable assistance is given to the Company to enhance its liquidity and continuation of operations; b) to make available financial support upon request from the Company up to an aggregate amount of USD 210 million. The Company fully obtained financial support from the principal shareholders under this arrangement in 2001. c) a principal shareholder is committed to provide additional support of USD 90 million if changes in circumstances indicate that the shareholders support under b) may not be adequate. On 18 June 2004, the Company and the Company’s principal shareholders under the Shareholders Support Agreement entered into Shareholder Loan Agreement to amend the terms of the Shareholders Support Agreement especially the conditions to payment loan under the said Shareholders Support Agreement back to the Company’s principal shareholders. Shareholders Support Agreement to Associated Company An associated company, the Company and two principal shareholders concluded negotiations with a financial institution regarding loan facilities granted to an associated company in an amount of Baht 8,320 million for a period of 13 years.

A condition of the loan facilities requires shareholders to enter into a Shareholders Support Agreement which was approved by the Board of Directors of the Company held on 7 September 2006. On 26 September 2006, the Company as a shareholder, two principal shareholders and the associated company entered into Shareholders Support Agreement for the associated company in relation to the financing of the development, construction and operation of a Phenol and Acetone project. The parties agreed, among other matters, on the following: a) Each shareholder under the agreement will subscribe and pay for in cash in addition to the shares held by it so that the long-term debt-to-equity ratio will be maintained as stipulated in the agreement. b) The share capital of the associated company shall not be less than Baht 4,000 million on the Project Completion Date. c) All shareholders under the agreement have to collectively hold not less than 51% of the shares in the associated company until the maturity of the loan. d) If the associated company does not have sufficient cash to pay its project creditor during construction prior to the project completion date, each shareholder under the agreement has to provide monetary support, according to their percentage shareholding, providing the Project Completion Date occurs no later than 31 December 2008. However, the Lenders have extended the Project Completion Date to 31 March 2009. On 30 April 2009, the associated company received the letter of acceptance from the financial institution to confirm that the Project Completion Date was 31 March 2009. In connection with this, all shareholders must comply with terms and conditions stipulated in the agreement.


144

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Office Lease Agreements On 1 October 2009, the Company entered into lease agreements with related parties for office space. Under the terms of the lease agreements, the Company is committed to pay monthly rental and service charges. The agreement was terminated in November 2012.

5. Cash and cash equivalents Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Cash at banks - current accounts

8

66

8

66

Cash at banks - savings accounts

1,354

945

1,354

945

Total

1,362

1,011

1,362

1,011

The currency denomination of cash and cash equivalents as at 31 December 2009 and 2008 was as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Thai Baht (THB) United States Dollars (USD) Total

2009

2008

2009

2008

690

925

690

925

672

86

672

86

1,362

1,011

1,362

1,011

6. Trade accounts receivable Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

15,872

4,965

15,872

4,962

Other parties

5,485

1,217

5,485

1,217

21,357

6,182

21,357

6,179

Note

Related parties

4

Less allowance for doubtful accounts Total

2008

-

-

-

-

21,357

6,182

21,357

6,179

The Company had no bad and doubtful debts expenses for year ended 31 December 2009 and 2008.


145

Aging analyses for trade accounts receivable were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

15,720

4,919

15,720

4,916

-

-

-

-

Related parties Within credit terms Over due: Less than 3 months 3 - 6 months Less allowance for doubtful accounts Net

152

46

152

46

15,872

4,965

15,872

4,962

-

-

-

-

15,872

4,965

15,872

4,962

5,485

1,217

5,485

1,217

-

-

-

-

5,485

1,217

5,485

1,217

-

-

-

-

Other parties Within credit terms Overdue Less allowance for doubtful accounts Net Total

5,485

1,217

5,485

1,217

21,357

6,182

21,357

6,179

The normal credit term granted by the Group ranges from 19 days to 30 days. The currency denomination of trade accounts receivable as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Thai Baht (THB) United States Dollars (USD) Total

2009

2008

2009

2008

20,309

6,128

20,309

6,125

1,048

54

1,048

54

21,357

6,182

21,357

6,179


146

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

7. Inventories Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Raw materials, net

9,257

10,354

9,257

10,354

Petroleum products

4,970

4,226

4,970

4,226

Petrochemical products

1,026

745

1,026

745

603

972

603

972

Crude oil in transit, net

2,941

2,709

2,941

2,709

Other supplies

1,377

1,069

1,377

1,069

20,174

20,075

20,174

20,075

(294)

(5,385)

(294)

(5,385)

19,880

14,690

19,880

14,690

By products

Less allowance for decline in value and obsolete inventories Net

Under the regulations of the Ministry of Energy, the Company is required to maintain a minimum level of inventory of crude oil and Liquefied Petroleum Gas (LPG) at all times based on the production planned for the year. As at 31 December 2009, the value of this minimum level of inventory amounted to Baht 2,604 million (2008: Baht 4,482 million). During the year ended 31 December 2008, the Company made an allowance for write-down of inventories to net realisable value of Baht 5,173 Million. The allowance is included in cost of sales in the financial statements. The cost of inventories which is recognised as an expense and included in ‘cost of sale of goods’ for the year ended

31 December 2009 are included changed in inventories of finished goods and work in progress in amounted of Baht

(656) million (2008: Baht (793) million) and raw material and consumables used in amounted of Baht 207,471 million. (2008: Baht 243,312 million).

8. Receivables from Oil Fuel Fund Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Compensation under the price control plan From Gasohal and Biodiesel

2009

2008

2009

2008

32

180

32

180

From Liquefied Petroleum Gas (LPG)

1

-

1

-

From cost different to use Natural Gas (NG) in refinery process

-

101

-

101

Total

33

281

33

281

Under the price control plan of the Ministry of Energy, the Company is required to sell LPG at controlled prices (the “Government’s controlled price”) as determined by the Ministry of Energy. The Ministry of Energy is then required to compensate the Company for the difference between a separate controlled wholesale price, also set by the Ministry of Energy, and the Government’s controlled price, through the Oil Fuel Fund. Equally, if the controlled wholesale price is less than the Government’s controlled price, the Company is required to compensate the Oil Fuel Fund for the difference.


147

9. Other current assets Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

568

435

568

435

Revenue Department receivable Prepaid insurance premium-Dhipaya 140

121

140

121

Other receivables

Insurance Public Company Limited

30

127

30

126

Prepaid expenses

9

94

9

94

Prepaid withholding tax

-

3

-

-

Others

69

45

69

45

Total

816

825

816

821

10. Investment in joint venture company Unit : in million Baht

Separate

financial statements

2009

2008

At 1 January

3

Transferred to non-current assets

(3)

-

-

3

At 31 December

3

Investment in joint venture company as at 31 December 2009 and 2008, and dividend income from those investments for the years then ended were as follows: Unit : in million Baht

Separate financial statements

Ownership

(%)

Paid-up capital

Cost method

Dividend income

2009

2008

2009

2008

2009

2008

2009

-

49.99

-

6

-

3

-

2008

Joint venture Alliance Refinery Company Limited

2

Alliance Refining Company Limited (“ARC�) is a joint venture company between the Company and SPRC which were appointed as the exclusive operator of the two refineries. Operating Alliance Termination Agreement under the dated 1 February 2009, managements of both companies agreed to liquidate ARC. ARC is currently registered for liquidation with the Ministry of Commerce on 18 February 2009 and is in process entity. The investment is disclosed in non-current assets.


148

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

The following summarised financial information on interests in the joint venture company which has been included in the consolidated financial statements represents the Group’s share. Unit : in million Baht

Ownership

Current

Current

Total

Net

(%)

assets

liabilities

revenues

profit

49.99

10

5

-

-

49.99

10

5

33

-

2009 Alliance Refining Company Limited 2008 Alliance Refining Company Limited

11. Investments in associates Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

At 1 January Share of net losses of investments - equity method Acquisitions At 31 December

2008

2009

2008

3,122

2,190

3,469

2,362

(99)

(175)

-

-

328

1,107

328

1,107

3,351

3,122

3,797

3,469


20

PTT ICT Solutions Company Limited

20

PTT ICT Solutions Company Limited

20

Total

30

PTT Utility Company Limited

2009

PTT Phenol Company Limited

Associates

20

20

30

2008

(%)

13,901

150

6,859

6,892

Ownership interest

14,994

150

6,859

7,985

20

20

30

2009 2008

Paid-up capital

20

PTT Utility Company Limited

Total

30

PTT Phenol Company Limited

2009 2008

(%)

Associates

Ownership interest

Investments in associates as at 31 December 2009 and 2008 were as follows:

3,469

30

1,372

2,067

3,351

40

1,243

2,068

3,122

47

1,239

1,836

2009 2008

Equity method

14,994

150

6,859

7,985

2009

13,901

150

6,859

6,892

2008

Paid-up capital

3,797

30

1,372

2,395

2009

3,469

30

1,372

2,067

2008

Cost method

Separate financial statements

3,797

30

1,372

2,395

2009 2008

Cost method

Consolidated financial statements

-

-

-

-

2009

-

-

-

-

-

-

-

-

2008

Impairment

-

-

-

-

2009 2008

Impairment

3,122

47

1,239

1,836

3,797

30

1,372

2,395

2009

3,469

30

1,372

2,067

2008

At cost-net

Unit : in million Baht

3,351

40

1,243

2,068

2009 2008

At equity-net

Unit : in million Baht

149


150

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

The following summarised financial information on associated companies which have been accounted for using the equity method is not adjusted for the percentage of ownership held by the Group: Unit : in million Baht

Ownership

Total

Total

Total

Net profit/

(%)

assets

liabilities

revenues

(loss)

PTT Phenol Company Limited

30

19,039

12,147

7,297

(323)

PTT Utility Company Limited

20

20,995

14,778

6,149

22

PTT ICT Solutions ompany Limited

20

2009

882

682

854

(32)

40,916

27,607

14,300

(333)

PTT Phenol Company Limited

30

14,676

8,555

33

(407)

PTT Utility Company Limited

20

15,661

9,466

2,687

(343)

PTT ICT Solutions ompany Limited

20

Total 2008

Total

828

593

938

75

31,165

18,614

3,658

(675)

As at 31 December 2009 and 2008, the Group had invested in 3 joint projects with associates comprising;

a) The Phenol Project, which uses product of the Company as its feedstock.

b) The Central Utilities Project, the main objective of which is to produce and distribute electricity and steam to the

c) The ICT Project, which provides ICT services to the Company, other shareholders and related parties.

Company and other shareholders and other nearby plants.


Finance costs capitalised Capitalised during 2008 (note 27) Rate of interest capitalised during 2008 (% per annum) Capitalised during 2009 (note 27) Rate of interest capitalised during 2009 (% per annum)

Cost At 1 January 2008 Additions Transfers Disposals At 31 December 2008 and 1 January 2009 Additions Transfers Disposals At 31 December 2009

- - - -

- - -

2,566 - 1,816 - 4,382

1,200 182 36 - 1,418

-

1,850 2 714 -

1,196 2 2 -

-

- -

-

73,287 681 47,910 (365) 121,513

69,760 2,484 1,055 (12)

-

- -

-

1,071 10 183 (85) 1,179

904 12 160 (5)

-

- -

-

85 - - - 85

84 2 - (1)

3.30 - 3.40

2.91 - 5.74 77

1,650

49,203 4,054 (49,945) - 3,312

32,571 18,563 (1,931) -

Consolidated and Separate financial statements Plant, Furniture, Land Buildings and machinery fixtures and Assets and leasehold and office Transportation Under improvements improvements equipment equipment equipment construction

12. Property, plant and equipment

3.30 - 3.40

2.91 - 5.74 77

1,650

127,412 4,927 (450) 131,889

106,365 21,065 (18)

Total

Unit : in million Baht

151


Net book value At 31 December 2009 At 31 December 2008

Accumulated depreciation At 1 January 2008 Depreciation charge for the period Disposals At 31 December 2008 and 1 January 2009 Depreciation charge for the year Disposals At 31 December 2009

Test run costs capitalised Capitalised during 2008

1,820 3,487

746 149 - 895

3 2 - 5

1,197 1,413

673 75 (2)

-

2 1 -

-

Land Buildings and and leasehold improvements improvements

12. Property, plant and equipment (Continued)

44,179 87,674

29,108 4,782 (51) 33,839

26,536 2,574 (2)

-

317 377

754 107 (59) 802

698 60 (4)

-

3 2

82 1 - 83

81 1 -

-

49,203 3,312

- - - -

- - -

7,546

Consolidated and Separate financial statements Plant, Furniture, machinery fixtures and Assets and office Transportation Under equipment equipment equipment construction

96,719 96,265

30,693 5,041 (110) 35,624

27,990 2,711 (8)

7,546

Total

Unit : in million Baht

152 Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited


153

Depreciation for year ended 31 December 2009 and 2008 were charged to Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Cost of sale of goods Administrative expenses Total

2009

2008

2009

2008

4,967

2,697

4,967

2,697

74

14

74

14

5,041

2,711

5,041

2,711

The gross amount of the Group’s fully depreciated property, plant and equipment that was still in use as at

31 December 2009 amounted to Baht 4,579 million (2008: Baht 4,404 million). Certain property, plant and equipment were pledged or mortgaged as collaterals for the Company’s debt (note 16). As disclosed in note 4, under the terms of the Operating Alliance Agreement, the Company, in refinery segment, and SPRC own certain assets jointly. The cost of these assets has been shared equally by both entities. Details of the cost, depreciation and net book value of these assets in the Company’s records as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

-

726

Cost Building, plant and machinery

-

726

Equipment

-

135

-

135

Assets under construction

9

182

9

182

Total

9

1,043

9

1,043

-

84

-

84

Accumulated depreciation Building, plant and machinery Equipment

-

85

-

85

Total

-

169

-

169

Net book value

9

874

9

874


154

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

13. Intangible assets Unit : in million Baht

Consolidated and Separate financial statements

Deferred

Computer

Deferred loan

technical

system

arrangement

process

development

fees

royalties

and software

Total

116

614

294

1,024

Additions

26

-

54

80

Disposals

-

-

(6)

(6)

142

614

342

1,098

-

-

103

103

Cost At 1 January 2008

At 31 December 2008 and 1 January 2009 Additions Disposals

-

-

(6)

(6)

142

614

439

1,195

At 1 January 2008

78

102

127

307

Amortisation charge for the year

22

28

30

80

At 31 December 2009 Accumulated amortisation

Disposals

-

-

(6)

(6)

100

130

151

381

Amortisation charge for the year

9

29

41

79

Disposals

-

-

(6)

(6)

109

159

186

454

At 31 December 2008

42

484

191

717

At 31 December 2009

33

455

253

741

At 31 December 2008 and 1 January 2009

At 31 December 2009 Net book value

14. Deferred tax Deferred tax assets and liabilities determined after appropriate offsetting are included in the balance sheets as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

Deferred tax assets

3,354

6,937

3,354

6,937

Deferred tax liabilities

1,574

1,753

1,574

1,753

Net

1,780

5,184

1,780

5,184

2008


155

Movements in deferred tax assets and liabilities during the year ended 31 December 2009 and 2008 were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated and Separate financial statements Charged / At (credited) to: At 1 January Statement of 31 December 2009 income (note 28) 2009 Deferred tax assets Inventories (allowance for decline in value) Others (general) Loss carry forward Total

63 15 6,859 6,937

25 - (3,608) (3,583)

88 15 3,251 3,354

Deferred tax liabilities Property, plant and equipment (depreciation) Inventories (allowance for decline in value) Total Net

1,505 248 1,753 5,184

69 (248) (179) (3,404)

1,574 1,574 1,780 Unit : in million Baht

Consolidated and Separate financial statements Charged / At (credited) to: At 1 January Statement of 31 December 2008 income (note 28) 2008 Deferred tax assets Inventories (allowance for decline in value) Others (general) Loss carry forward Total

72 15 - 87

(9) - 6,859 6,850

63 15 6,859 6,937

Deferred tax liabilities Property, plant and equipment (depreciation) Inventories (allowance for decline in value) Total Net

35 - 35 52

1,470 248 1,718 5,132

1,505 248 1,753 5,184

15. Other non-current assets

Advance payment for purchase of property, plant and equipment Prepaid insurance expense Withholding tax deducted at source Others Total

Unit : in million Baht

Consolidated financial statements

2009

2008

455 - - 32 487

216 50 28 25 319

Separate financial statements

2009

2008

455 - - 30 485

216 50 28 25 319


156

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

16. Interest-bearing liabilities Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

2009

2008

2009

2008

Current Short-term loans from financial institutions unsecured

8,383

6,607

8,383

6,607

Bill of exchange unsecured

5,193

7,630

5,193

7,630

13,576

14,237

13,576

14,237

Current portion of debentures secured

308

615

308

615

2,028

971

2,028

971

2,144

-

2,144

-

18,056

15,823

18,056

15,823

unsecured

26,349

35,608

26,349

35,608

Current portion of long-term loans from financial institutions unsecured Subordinated loans from other parties unsecured ( including related accrued Interest totalling Baht 529 million in 2009) Non-current Long-term loans from financial institutions Debentures secured

-

308

-

308

unsecured

25,050

10,516

25,050

10,516

25,050

10,824

25,050

10,824

6,703

6,500

6,703

6,500

million in 2008)

-

2,079

-

2,079

6,703

8,579

6,703

8,579

Subordinated loans

unsecured

- Shareholders (including related accrued interest totalling Baht 1,653 million in 2009 and Baht 1,450 million in 2008)

4

- Other parties (including related accrued interest totalling Baht 464

58,102

55,011

58,102

55,011

Total

76,158

70,834

76,158

70,834


157

The periods to maturity of interest-bearing liabilities as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Within one year

18,056

15,823

18,056

15,823

After one year but within five years

51,177

43,932

51,177

43,932

6,925

11,079

6,925

11,079

76,158

70,834

76,158

70,834

After five years Total

Secured interest-bearing liabilities as at 31 December were secured on the following assets: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

327

352

327

352

Plant, machinery and equipment

10,718

13,472

10,718

13,472

Total

11,045

13,824

11,045

13,824

Buildings and improvements

The currency denominations of interest-bearing liabilities as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Thai Baht (THB)

56,892

50,319

56,892

50,319

United States Dollars (USD)

19,266

20,515

19,266

20,515

Total

76,158

70,834

76,158

70,834


158

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Long-term loans of the Group and the Company as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Tranche A

2,732

2,982

2,732

2,982

Tranche B

6,485

7,017

6,485

7,017

Tranche C

4,960

5,580

4,960

5,580

Tranche D

-

4,800

-

4,800

Long term loans from a syndicate of financial institutions

Tranche F and G

5,700

5,700

5,700

5,700

19,877

26,079

19,877

26,079

First financial institution

3,000

6,000

3,000

6,000

Second financial institution

2,500

2,500

2,500

2,500

Long term loans from local financial institutions

Third financial institution

-

2,000

-

2,000

3,000

-

3,000

-

8,500

10,500

8,500

10,500

28,377

36,579

28,377

36,579

Fourh financial institution

Less Current portion of long-term loans

2,028

971

2,028

971

26,349

35,608

26,349

35,608

Debentures Secured

308

923

308

923

Senior unsecured

25,050

10,516

25,050

10,516

25,358

11,439

25,358

11,439

308

615

308

615

25,050

10,824

25,050

10,824

Shareholder

6,703

6,500

6,703

6,500

Other parties

2,144

2,079

2,144

2,079

8,847

8,579

8,847

8,579

Less Current portion of subordinated loans

2,144

-

2,144

-

6,703

8,579

6,703

8,579

58,102

55,011

58,102

55,011

Less Current portion of debentures Subordinated loans

Total


MOR minus margin which is equal to interest rate at 0.72% - 1.05% per annum Interest rate based on the money market rate

20 December 2005 A syndicate of financial institutions

A local branch of a foreign financial

7 October 2008

500

600

500

1,000

800

1,000

450

1,600

Total

is equal to interest rate at 1.99% - 2.49% per annum

Interest rate based on the money market rate,

1,800

but not exceeding MLR minus margin which

A local financial institution

but not exceeding MLR

Interest rate based on the money market rate,

Interest rate based on the money market rate

Interest rate based on the money market rate

Interest rate based on the money market rate

Interest rate based on the money market rate

Interest rate based on the money market rate

Interest rate based on the money market rate

2 March 2009

17 December 2008 A local financial institution

institutions

A local branch of foreign financial

A local financial institution

26 August 2008

institutions

A local branch of foreign financial

11 June 2008

2 April 2008

Unutilised

16 December 2008 A local financial institution

institutions

A local financial institution

13 March 2008

A local financial institution

6 August 2007

Interest rate based on the money market rate

facility of Baht 30 million bears interest at

(“the Lenders�)

exceeding MOR minus margin and the overdrafts

interest based on the money market rate, but not

2,200

remaining facility of Baht 1,770 million bears

The first facility of Baht 1,800 million bears

3,600

None

None

None

None

None

None

None

None

None

None

None

(% per annum)

interest based on the money market rate and the

A local financial institution

(in million Baht)

19 June 2003

Utilised

6,450

1,800

600

500

1,000

800

-

-

150

-

1,000

600

(in million Baht)

amount

Security

Carrying

Interest rate

Agreement Date

Facilities

Short-term loans from financial institutions

159


20 January 2013

Terminate date

None

Security

20 January 2011

None

margin which is equal to interest rate at 3.38% - 4.38% per annum

None

interest rate of the Lenders plus

26 December 2012

Average 6-months fixed deposit

4,800

Baht

rate at 3.38% - 4.38% per annum

D

margin which is equal to interest

None

interest rate of the Lenders plus

26 December 2012

Average 6-months fixed deposit

per annum

to interest rate at 0.66% - 2.29%

LIBOR plus margin which is equal

per annum

to interest rate at 0.72% - 1.05%

LIBOR plus margin which is equal

(% per annum)

Interest rate

6,200

Baht

C

States

Dollars

200

United

B

States

100

Dollars

United

(in million)

Facilities

A

Currency

Tranche

follows:

the initial utilisation (26 December 2005)

from the end of the seventh year after

Repayment in full amount commencing

utilisation (26 December 2005)

from the eighteenth month after the initial

12 semi-annual installments commencing

after the initial utilisation (20 January 2006)

Commencing from the end of fifth year

utilisation (20 January 2006)

from the eighteenth month after the initial

12 semi-annual installments commencing

Payment term

On 20 December 2005, the Company entered into revolving long term syndicated loans with financial institutions (the “Lenders�) which were divided as

Long-term loans from a syndicate of Lenders

Long-term loans from financial institutions

Exchange was approved by the Stock Exchange of Thailand.

Exchange line from Baht 10,000 million to Baht 20,000 million. The Bills of Exchange will be sold to investors as appropriate. The issuance of the Bills of

million with a period of no more than 270 days. Consequently, on 13 November 2008, the meeting of the Board of Directors resolved to increase the Bills of

On 8 May 2008, the meeting of the Board of Directors resolved to approve the issuance of a Bills of Exchange line on a revolving basis of Baht 10,000

Bills of exchange

160 Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited


MLR minus margin which is equal

28 March 2015

Terminate date

None

Security

agreement date (28 March 2007)

from the thirty-six month after the

11 semi-annual installments commencing

Payment term

Under the aforementioned loan facility agreements, the Company is required to comply with certain covenants including maintenance of financial ratios.

to interest rate at 4.61% - 5.25%

7,000

(% per annum)

Interest rate

per annum

Baht

(in million)

Facilities

F&G

Currency

Tranche

On 28 March 2007, the Company entered into revolving long term loans with foreign financial institutions (the “Lenders�) which were divided as follows:

161


162

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Long-term loans from local financial institutions First financial institution On 26 May 2008, the Company entered into a long-term credit facilities agreement with a local financial institution for investment in the expansion projects and improvements in efficiency of synergy projects of the refinery and aromatics business and for use as working capital for general corporate purposes. This agreement is in effect for a period of 9 years and the details were as follows:

Years

Facilities

(in million Baht)

1 - 7

6,000

7 - 8

4,000

8 - 9

2,000

Years

Interest rates

(% per annum)

1 - 3

THBFIX plus margin which is equal to interest rate at 2.91% - 5.28% per annum

4 - 9

6 month-fixed deposit rate plus 2.25% per annum or THBFIX plus margin which shall be subject

to mutual negotiation

This loan is repayable in 3 installments in amounts specified in the agreement and commencing on 25 May 2015, and will terminate on 25 May 2017. This loan agreement has certain covenants pertaining to maintenance of certain financial ratios in the financial statements, percentage of shares held by the major shareholder and others as specified in the agreement. Second financial institution On 22 July 2008, the Company entered into a long-term credit facilities agreement with a local financial institution totalling Baht 2,500 million for investment in the expansion projects and improve efficiency of synergy projects of the refinery and aromatics business. This agreement is in effect for periods of 10 years and bears interest at 6mTHBFIX rate plus margin which is equal to interest rate at 2.85% - 3.03% per annum. This loan is repayable in different installments as specified in the agreement and commencing from the eighth year after the initial utilisation. This loan agreement has certain covenants pertaining to maintenance of certain financial ratios in the financial statements, percentage of shares held by the major shareholder and others as specified in the agreement. Third financial institution On 22 August 2008, the Company entered into a long-term credit facilities agreement with a local bank totalling Baht 2,000 million for investment in the expansion projects and improve efficiency of synergy projects of the refinery and aromatics business. This agreement is in effect for periods of 10 years and bears interest at 6mTHBFIX rate plus margin which is equal to interest rate at 3.39% - 4.37% per annum. This loan is repayable in different installments as specified in the agreement and commencing from the eighth year after the initial utilisation. This loan agreement has certain covenants pertaining to maintenance of certain financial ratios in the financial statements. Fourth financial institution On 17 November 2009, the Company entered into a long-term credit facilities agreement with a local bank totalling Baht 3,000 million for investment in the expansion projects. This agreement is in effect for periods of 8 years and bears interest at Prime rate minus margin which is equal to interest rate at 4.35% per annum. This loan is repayable in full amount on terminate date. This loan agreement has certain covenants pertaining to maintenance of certain financial ratios in the financial statements, percentage of shares held by the major shareholder and others as specified in the agreement.


163

Debentures Secured debentures On 24 June 2003, the Company issued amortised secured debentures to institutional investors for repayment of all principal and accrued interest under a Loan and Credit Facility Agreement and loans under Credit Agreements before maturity of the agreement. The principal (in equal installments) and interest are payable twice a year, on 24 June and 24 December through the terms of each series of debentures. The first interest payment commenced on 24 December 2003 and the principal repayment commenced on 24 June 2004. The debenture series 1 is a five-year-term, maturing on 24 June 2008, at the interest rate of 3.15% per annum, consisting of 8,000,000 debentures at Baht 1,000 face value totalling Baht 8,000 million and the debenture series 2 is a seven-year-term, maturing on 24 June 2010, at the interest rate of 3.40% per annum consisting of 4,000,000 debentures at Baht 1,000 face value totalling Baht 4,000 million. The placement agreement for debentures has certain restrictive covenants pertaining to disposal or transfer of assets, maintenance of certain financial ratios and percentage of shares held by the major shareholder. The above debentures are secured by the mortgage of machinery installed in the plant, plant building and the assignment of the land lease agreements entered into with The Industrial Estate Authority of Thailand. On 19 January 2009, the Bondholders’ meeting passed resolutions to amend the terms and conditions of the debentures. The amendments include change in the financial ratio to reflect the Company’s business structure after the merger and change in the interest rate from 3.40% per annum to 4.00% per annum, which has effect from 24 December 2008 onwards. Senior unsecured debentures

US Dollars debentures On 20 July 2005, the Company completed the issuance and the offering of senior unsecured debentures in the amount of USD 300 million, with a 7-year-term, at the interest rate of 5.5% per annum. The debentures were issued at 99.845% of the principal amount and will be redeemed on 20 July 2012. The interest payments on the debentures are payable semi-annually with the first interest payment to be made on 20 January 2006. The Offering Circular of these debentures has certain covenants pertaining to negative pledge on assets or revenues of the Company and the relevant principal subsidiaries to secure for the benefit of the holders of any International Investment Securities and maintenance of shareholders’ loan. The net proceeds of the debentures will be used to finance the construction of Aromatics II plant as per shareholders’ approval.

Thai Baht debentures On 30 April 2009, the Company issued five-year Thai Baht unsubordinated, unsecured debentures with the name registered and having bond holders’ representative with an amount of Baht 15,000 million which bear interest rate at 5.5% per annum. The proceeds from the debentures will be used for refinancing and/or working capital. The principal will be bullet payment on 30 April 2014 (the maturity date) and interest are payable every three months. The placement agreement for debentures has restrictive covenants pertaining to maintenance percentage of shares held by the major shareholder. Subordinated loans from other parties These loans were formerly subordinated loans in Thai Baht which were granted by the Company’s principal shareholders under the Shareholders Support Agreement. However, some shareholders under this agreement subsequently sold their shares in the Company. The loans bear interest at the rate agreed under the Shareholders Support Agreement. Currently, the interest rate is MLR minus 2% per annum. On 13 November 2009, the Company and each of former shareholders in the shareholder loan agreements had agreed to amend certain terms and conditions of the shareholder loan agreements. Under the amendment agreements, the Company shall make the repayment of principles and interest if the conditions as specify in the amendment agreements can be satisfied especially certain covenants under any loan agreements of the Company in present. The amendments include change the payment term to within 30 December 2010 and change in the interest rate from MLR minus 2% per annum to MLR minus 1% per annum which is effect from the period from 30 June 2010 to 30 December 2010.


164

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

17. Trade accounts payable Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

2009

2008

2009

2008

4

13,113

8,516

13,113

8,516

Other parties

179

95

179

95

13,292

8,611

13,292

8,611

Related parties Total

The currency denomination of trade accounts payable as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Thai Baht (THB)

8,628

4,446

8,628

4,446

United States Dollars (USD)

4,664

4,165

4,664

4,165

13,292

8,611

13,292

8,611

Total

18. Other payables Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

Related parties

2009

2008

2009

2008

4

294

372

294

375

Other parties

641

826

641

826

Total

935

1,198

935

1,201

The currency denominations of other payables as at 31 December were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Thai Baht (THB)

333

493

333

496

United States Dollars (USD)

589

686

589

686

Other currencies Total

13

19

13

19

935

1,198

935

1,201


165

19. Other current liabilites Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Revenue Department payable : - Value added tax payable - Withholding tax payable Accrued bonus Account payable to consultant

173

1

173

-

46 198

96

46

96

97

198

95

1

70

1

68

119

135

119

135

Others

85

204

85

203

Total

622

603

622

597

Accrued expenses

20. Share capital Unit : million shares/million Baht

Par value

per share

(In Baht)

2009 Number

Amount

2008 Number

Amount

Authorised At 1 January - Ordinary shares

10

2,994

29,938

2,994

29,938

10

2,994

29,938

2,994

29,938

10

2,964

29,636

2,964

29,636

-

1

-

-

2,964

29,637

2,964

29,636

At 31 December - Ordinary shares Issued and paid-up At 1 January - Ordinary shares

Issue of new shares At 31 December - Ordinary shares

10


166

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

On 15 October 2007, the Company, under the refinery segment, issued and offered 58 million units of warrants to purchase common shares of the Company (“ESOP Warrants Project”) as approved by the Securities and Exchange Commission. The details of the warrants are as follows: Type of warrant

: Named and non-transferable warrant to buy ordinary shares of the Company, under the

refinery segment Number of units

: 58 million units

Maturity

: 5 years

Offering

: Offer to the Company’s directors, under the refinery segment management and employees

Offering price

: Baht 0 per unit

Exercise price

: Baht 12 per share

Exercise right per unit : Warrant 1 unit to 1 ordinary share Exercise period One year after the Securities and Exchange Commission approved At 31 December 2009, the holders of 0.2 million units of the warrants had exercised their rights to buy the Company’s ordinary shares. The number of unexercised warrant is 57.8 million units. (31 December 2008: 58 million units). On 11 January 2008, the Company revised the exercise price and share swap ratios, with the approval of the SEC,

as follows:

Exercise price

: Baht 23.22 per share

Share swap ration

: Original warrant 1 unit to 0.5167553 new ordinary share of the Company

21. Additional paid-in capital and reserve Share premium Section 51 of the Public Companies Act B.E. 2535 requires companies to set aside share subscription monies received in excess of the par value of the shares issued to a reserve account (“share premium”). Share premium is not available for dividend distribution. Legal reserve Section 116 of the Public Companies Act B.E. 2535 requires that a company shall allocate not less than 5% of its annual net profit, less any accumulated losses brought forward, to a reserve account (“legal reserve”), until this account reaches an amount not less than 10% of the registered authorised capital. The legal reserve is not available for dividend distribution.

22. Segment information Segment information is presented in respect of the Group’s business segments, based on the Group’s management and internal reporting structure. Segment results, assets and liabilities include items directly attributable to a segment as well as those that can be allocated on a reasonable basis. Unallocated items mainly comprise interest or dividend-earning assets and revenue, interest-bearing loans, borrowings and expenses, and corporate assets and expenses. Business segments The Group comprises the following main business segments: Segment 1

Petrochemical

Segment 2

Refinery

Geographic segments Management considers that the Group operates in a single geographic area, namely in Thailand, and has, therefore, only one major geographic segment.


Total expenses

for using the equity method

Share of losses from investments accounted

Net foreign exchange loss

oil spread swap agreements

Difference of crack spread swap and crude

96,931

99

-

-

42

598

Administrative expenses

Management benefit expenses

335

95,857

Selling expenses

Cost of sale and rendering of services

102,055

202

Other income

Total revenues

624

Net foreign exchange gain

oil spread swap agreements

95

-

Gain from early settlement of crack spread swap agreements

Difference of crack spread swap and crude

2

Interest income

101,132

Revenue from sale and rendering of services

Petrochemical

2009

82,766

175

88

-

40

536

284

81,643

79,427

120

-

2,266

-

10

77,031

2008

Business segment financial position

141,717

-

-

-

51

515

-

141,151

152,182

76

744

1,581

1,573

2

148,206

2009

188,192

-

-

1,488

36

452

-

186,216

179,220

92

148

-

-

10

178,970

2008

Refinery

(23,908)

-

-

-

-

-

-

(23,908)

(24,039)

-

-

-

-

-

(24,039)

2009

278

1,368

1,676

1,573

4

225,299

99

-

-

93

1,113

335

213,100

(6,241) 214,740

-

(88)

(1,488)

-

(9)

-

(4,656)

2008

264,717

175

-

-

76

979

284

263,203

252,457

212

60

778

-

20

251,387

Total

2009

(6,190) 230,198

-

(88)

(1,488)

-

-

(4,614)

2008

segment profit

Elimination of

Unit : in million Baht

167


Profit (loss) before finance costs and income tax expenses

Interest expense

53,800

Total liabilities

Loss on disposal of property, plant and equipment

-

214

53,800

Other liabilities

Amortisation

80,625

Total assets

2,935

19,310

Depreciation

55,316

Other assets

5,999

Inventories

Property, plant and equipment

2,665

Profit (loss) for the year

620

5,124 1,839

Tax expense

2009

-

163

917

43,618

43,618

71,396

10,829

56,133

4,434

(2,037)

(1,927)

625

(3,339)

2008

Petrochemical

Business segment financial position (Continued)

(11)

66

2,106

40,492

40,492

74,010

19,088

40,949

13,973

6,588

2,824

1,053

10,465

2009

(10)

52

1,795

41,287

41,287

66,107

15,302

40,586

10,219

(6,479)

(3,189)

696

(8,972)

2008

Refinery

Elimination of

-

-

-

-

-

(26)

67

-

(93)

(91)

(40)

-

(131)

2009

-

-

-

-

-

37

-

-

37

51

-

-

51

2008

segment profit

(11)

280

5,041

94,292

94,292

154,609

38,465

96,265

19,879

9,162

3,404

2,892

15,458

2009

2008

(10)

215

2,712

84,905

84,905

137,540

26,131

96,719

14,690

(8,465)

(5,116)

1,321

(12,260)

Total

Unit : in million Baht

168 Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited


169

23. Net foreign exchange gain (loss) Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

From purchase and sale of raw materials and product

793

362

793

362

Others

575

(302)

575

(302)

1,368

60

1,368

60

Total

24. Selling expenses Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

291

230

291

230

32

32

32

32

Customs duty and import expenses

4

5

4

5

Product inspection

3

2

3

2

Tank rental Transportation expenses

Others Total

5

15

5

15

335

284

335

284

25. Administrative expenses Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Personnel expenses

348

328

348

323

Rentals

134

80

134

80

27

40

27

40

604

531

604

524

1,113

979

1,113

967

Consultant fee Others Total


170

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

26. Employee benefit expenses Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

88

68

88

68

Management Salary Others

63

63

63

63

151

131

151

131

Salary

611

525

611

525

Others

491

539

491

539

1,102

1,064

1,102

1,064

Total

1,253

1,195

1,253

1,195

Other employees

Management benefit expenses are included in the statement of income as follows: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Cost of sale of goods Management benefit expenses Total

2009

2008

2009

58

54

58

2008 54

93

77

93

77

151

131

151

131

Staffs working in the refineries of the Company are employed by ARC under the Operating Alliance Agreement.

The Company shares joint costs, as defined in the Agreement, with ARC in proportion to their participating interests. Reserve for retirement benefits The Company recognises a liability for retirement benefits related to certain former employees of the Company prior to those employees being transferred to ARC under the Agreement. This liability is the minimum amount required to be paid to employees upon resignation in accordance with Company policy. Registered provident fund With the transfer of employees from the Group under the refinery segment, and SPRC to ARC under the Operating Alliance Agreement, the provident fund obligations of both the Company and SPRC were also transferred to a provident fund established under ARC on 1 August 1999. Under the plan, employees in the refinery segment must contribute into the fund between 3% to 15% of the employees’ monthly salaries depending on their years of accredited service. The Group shall make contributions equal to the employees. Employees in the petrochemical segment must contribute into the fund at 5% or 10% of the employees’ monthly salaries. The Group shall make contributions at 10% of the employees’ monthly salaries. The provident fund is registered with the Ministry of Finance as a juristic entity and is managed by a licensed Fund Manager.


171

27. Finance costs Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

2009

2008

2009

2008

Interest expense and financial charges paid and payable to: - Related parties

4

287

262

287

262

- Financial institutions

2,617

2,256

2,617

2,256

- Other parties

65

82

65

82

2,969

2,600

2,969

2,600

(77)

(1,279)

(77)

(1,279)

2,892

1,321

2,892

1,321

Capitalised as cost of construction in progress Net

12

28. Income tax expense Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

2009

2008

2009

2008

Current tax expense Current year

-

1

-

-

Under provided in prior years

-

15

-

15

-

16

-

15

Movements in temporary differences

(204)

1,727

(204)

1,727

Benefit of tax losses recognised

3,608

(6,859)

3,608

(6,859)

3,404

(5,132)

3,404

(5,132)

3,404

(5,116)

3,404

(5,117)

Deferred tax expense

Total

14

Reconciliation of effective tax rate

Consolidated financial statements

2009

2008

Rate

Rate

(%)

(in million

(%)

Profit (loss) before tax Income tax using the Thai corporation tax rate

30

Income tax reduction

Baht) 12,566 3,770

(in million Baht) (13,581)

30

(4,074)

(252)

(793)

Expenses not deductible for tax purposes

30

60

Expenses with additional for tax purposes

(144)

(309)

Total

27

3,404

38

(5,116)


172

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Reconciliation of effective tax rate

Separate financial statements

2009

2008

Rate

Rate

(%)

(in million

(%)

Profit (loss) before tax Income tax using the Thai corporation tax rate

30

(in million

Baht)

Baht)

12,665

(13,405)

30

(4,022)

Income tax reduction

(252)

(793)

Expenses not deductible for tax purposes

-

7

Expenses with additional for tax purposes Total

27

3,800

(144) 3,404

(309)

38

(5,117)

29. Promotional privileges By virtue of the provisions of the Industrial Investment Promotion Act of B.E. 2520, the Group has been granted privileges by the Board of Investment relating to manufacturing and distributing Aromatics and Cyclohexane, Manufacturing and distributing products from Reformer and Aromatics Complex II, Construction Project of Thappline, Upgrading project, Clean fuel project and GT-Nox Reduction project. The privileges granted include:

(a) exemption from payment of import duty on machinery approved by the Board;

(b) exemption from payment of income tax for certain operations for a period of eight years from the date on which

(c) a 50% reduction in the normal income tax rate on the net profit derived from certain operations for a period of

the income is first derived from such operations; five years, commencing from the expiry date in (b) above. As a promoted company, the Group must comply with certain terms and conditions prescribed in the promotional certificates. Summary of revenue from promoted and non-promoted businesses for the year ended 31 December 2009 and 2008: Unit : in million Baht

Consolidated financial statements

2009

2008

Non-

Non-

Promoted

promoted

Promoted

promoted

businesses businesses

Total

businesses businesses

Total

Export sales

14,292

48,745

63,037

16,591

24,129

40,720

Local sales

26,255

160,046

186,301

57,744

157,537

215,281

Eliminations Total Revenue

-

(24,039)

(24,039)

-

(4,614)

(4,614)

40,547

184,752

225,299

74,335

177,052

251,387


173

Unit : in million Baht

Separate financial statements

2009

2008

Non-

Non-

Promoted

promoted

Promoted

promoted

businesses businesses

Total

businesses businesses

Total

Export sales

14,292

48,745

63,037

16,591

24,129

40,720

Local sales

26,255

160,046

186,301

57,744

157,520

215,264

Eliminations Total Revenue

-

(24,039)

(24,039)

-

(4,614)

(4,614)

40,547

184,752

225,299

74,335

177,035

251,370

30. Earnings (loss) per share Basic earnings (loss) per share The calculations of basic earnings (loss) per share for the year ended 31 December 2009 and 2008 were based on the profit (loss) for the years attributable to equity holders of the Company and the number of ordinary shares outstanding during the year as follows: Unit : in million Baht/million shares

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

of the Company (basic)

9,162

(8,465)

9,261

(8,288)

Number of ordinary shares outstanding

2,964

2,964

2,964

2,964

Profit (loss) attributable to equity holders

Earnings (loss) per share (basic) (in Baht)

3.09

(2.86)

3.12

(2.80)

Diluted earnings (loss) per share The calculations of diluted earnings (loss) per share for the year ended 31 December 2009 and 2008 were based on the profit (loss) for the years attributable to equity holders of the Company and the weighted average number of ordinary shares outstanding during the years after adjusting for the effects of all dilutive potential ordinary shares as follows: Unit : in million Baht/million shares

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

9,162

(8,465)

9,261

(8,288)

2,964

2,964

2,964

2,964

-

4

-

4

2,964

2,968

2,964

2,968

Profit (loss) attributable to equity holders of the Company (basic and diluted) Weighted average number of ordinary shares outstanding (basic) Effect of shares options on issue Weighted average number of ordinary shares outstanding (diluted) Earnings (loss) per share (diluted) (in Baht)

3.09

(2.85)

3.12

(2.79)


174

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

31. Dividends At the Annual General Meeting of the shareholders of the Company held on 7 April 2009, the shareholders approved the appropriation of dividends of Baht 0.50 per share, amounting to Baht 1,481.8 million which was distributed from unappropriated retained earnings. The dividend paid to the shareholders on 24 April 2009. At the annual general meeting of shareholders of the Company held on 10 April 2008, the shareholders approved the appropriation of dividends of Baht 2.50 per share, amounting to Baht 7,409 million and the appropriation of legal reserve of Baht 579 million. The dividend was paid to shareholders during 2008.

32. Significant contractual agreements As at 31 December 2009, the Group had the following significant contractual agreements: 32.1 Land lease agreement The Company entered into three lease agreements with The Industrial Estate Authority of Thailand (IEAT) for two leases of land for a period of 30 years and the lease of land for 27 years and 10 months. Under the terms of the agreements, the Company is committed to pay rental annually. 32.2 The agreements of the Reformer and Aromatics Complex II Project There are many agreements related to this project with other parties as follows: Reformer and Aromatics Complex II Project On 18 August 2005, the Company entered into the letter of intent – Supply and Construction Contract for Reformer and Aromatics Complex II Project total 4 contracts with SK Engineering and Construction Co., Ltd. and GS Engineering and Construction Corp. The supply contract covers the supply of equipment and materials and the performance of engineering and other associated work as specified in the agreement. The Company has commitments to pay for the Supply Contract and the Construction Contract of Reformer and Aromatics Complex II Project as indicated in the above agreements totalling USD 470.7 million and Baht 7,476.8 million. The construction of this project is finished and commenced operation in January 2009. PMC Services Contract On 3 October 2005, the Company entered into PMC services contract with a local branch of a foreign company. The contract shall cover professional consultancy, project management and engineering services to monitor and review the work related to Reformer and Aromatics Complex II Project. The Company has commitments to pay for the contracts in an amount of Pound Sterling 7.3 million and Baht 168.2 million. 32.3 Contract for Upgrading Complex On 26 October 2007, the Company entered into a construction agreement with a supplier for construction of Upgrading Complex phase 1 for a total sum of USD 200 million. This project is finalise construction and start commercial operation in March 2009. 32.4 Construction operation of the Petroleum Refinery Agreement On 20 November 1992, the Company assumed from The Shell Company of Thailand (“SCOT”) all the rights and obligations related to the construction and operation of a petroleum refinery that had previously accrued to SCOT in accordance with an agreement between SCOT and the Ministry of Industry (“MOI”) dated 30 October 1991 (the “MOI Agreement”). According to the terms of the MOI Agreement, as amended, the Company has to comply with stipulated conditions including the sale of its shares to the public through the Stock Exchange of Thailand (“SET”).


175

32.5 Technical Services Agreement On 18 October 2006, the Company entered into a Technical Services Agreement with Shell Global Solution (Thailand) Limited (“SGS”). Under the contract, the Company agreed to obtain certain technical advice and service from SGS, limited to 1,040 service hours in each year. The agreement duration is 5 years and the initial service fee amounts to EUR 2.53 million, which will be adjusted in line with the increase in labor cost index. The agreement can be automatically renewed for 5 years. 32.6 Deep Hydrodesulphurization Unit On 31 July 2009, the Company entered into the supply and construction contract of Deep Hydrodesulphurization (DHDS) Unit to produce diesel, in compliance with Euro 4 standard, with SK Engineering and Construction Company Limited from South Korea and Thai Woo Ree Engineering Company Limited. The Company has commitments to pay for this project approximately USD 221 Million. The project has been approved by the National Environment Board since 2008 and will require 31 months for construction and targeting to complete by the end of 2011.

33. Financial instruments Financial risk management policies Risk management is integral to the whole business of the Group. The Group has a system of controls in place to create an acceptable balance between the cost of risks occurring and the cost of managing the risks. The management continually monitors the Group’s risk management process to ensure that an appropriate balance between risk and control is achieved. Interest rate risk Interest rate risk is the risk that future movements in market interest rates will affect the results of the Group’s operations and its cash flows because loan interest rates are mainly floating. The Group is primarily exposed to interest rate risk from certain loans at floating interest rates which may be adjusted in the future. The Group mitigates this risk by swapping floating interest rates to fixed interest rates. The effective interest rates of interest-bearing financial liabilities as at 31 December and the periods in which those liabilities mature or re-price were as follows: Unit : in million Baht

Consolidated and Separate financial statements Effective

After 1 year

interest

Within

but within

After

rates

1 year

5 years

5 years

Total

(% per annum)

2009 Current Short-term loans from financial institutions Current portion of long - terms loans Debentures Subordinated loans

1.30 - 4.30

13,576

-

-

13,576

0.72 - 4.38

2,028

-

-

2,028

308

-

-

308

3.85 - 4.75

2,144

-

-

2,144

4.00 and 5.50

Non-current Long-term loans from financial institutions Debentures Subordinated loans Total

0.66 - 5.28

-

19,424

6,925

26,349

4.00 and 5.50

-

25,050

-

25,050

3.85 - 4.75

-

6,703

-

6,703

18,056

51,177

6,925

76,158


176

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Unit : in million Baht

Consolidated and Separate financial statements

Effective

After 1 year

interest

Within

but within

After

rates

1 year

5 years

5 years

Total

(% per annum)

2008 Current Short-term loans from financial institutions

3.55 - 4.18

14,237

-

-

14,237

Current portion of long - terms loans

2.88 - 5.40

971

-

-

971

3.40

615

-

-

615

0.89 - 5.25

-

33,108

2,500

35,608

3.40 and 5.50

-

10,824

-

10,824

Debentures Non-current Long-term loans from financial institutions Debentures Subordinated loans

4.88 - 5.25

Total

-

-

8,579

8,579

15,823

43,932

11,079

70,834

Foreign currency risk The Group is exposed to foreign currency risk relating to purchases and sales which are denominated in foreign currencies. The Group primarily utilizes forward exchange contracts to hedge financial assets and liabilities denominated in foreign currencies. At 31 December, the Group and the Company were exposed to foreign currency risk in respect of financial assets and liabilities denominated in the following currencies: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

Note

2009

2008

2009

2008

672

86

United States Dollars Cash and cash equivalents

5

672

86

Trade accounts receivable

6

1,048

54

1,048

54

Trade accounts payable

17

(4,664)

(4,165)

(4,664)

(4,165)

Other payables and other liabilities

(599)

(1,184)

(599)

(1,184)

16

(19,266)

(20,515)

(19,266)

(20,515)

(22,809)

(25,724)

(22,809)

(25,724)

Other payables and other liabilities

(13)

(13)

(40)

(22,822)

(25,764)

-

10,516

(22,822)

(15,248)

Long-term loans Other currencies Gross balance sheet exposure

(22,822)

Currency forwards

-

Net exposure

(22,822)

(40) (25,764) 10,516 (15,248)


177

Credit risk Credit risk is the potential financial loss resulting from the failure of a customer or a counterparty to settle its financial and contractual obligations to the Group as and when they fall due. Management has a credit policy in place and the exposure to credit risk is monitored on an ongoing basis. Credit evaluations are performed on all customers requiring credit over a certain amount. At the balance sheet date there were no significant concentrations of credit risk. The maximum exposure to credit risk is represented by the carrying amount of each financial asset in the balance sheet. Liquidity risk The Group monitors its liquidity risk and maintains a level of cash and cash equivalents and financial ratios according to loan agreements deemed adequate by management to finance the Group’s operations and to mitigate the effects of fluctuations in cash flows. Determination of fair values A number of the Group’s accounting policies and disclosures require the determination of fair value, for both financial and non-financial assets and liabilities. The fair value is the amount for which an asset could be exchanged, or a liability settled, between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. Fair values have been determined for measurement and/or disclosure purposes based on the following methods. When applicable, further information about the assumptions made in determining fair values is disclosed in the notes specific to that asset or liability. The company uses the following methods and assumptions are used to estimate the fair value of each class of financial instruments. Cash and cash equivalents and short-term investments in fixed deposits - the carrying values are approximate to their fair values due to the relatively short-term maturity of these financial instruments. The fair value of trade and other short-term receivables is taken to approximate the carrying value. Trade accounts payable and other payables- the carrying amounts of these financial liabilities are approximate to their fair values due to the relatively short-term maturity of these financial instruments. Debentures with a fixed rate of interest. The fair value of these liabilities is estimated using the discounted cash flow model based on the average interest rates currently being offered for loans with similar terms to borrowers of similar credit quality, which are presented below: Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Carrying

Carrying

Fair value

value

Fair value

value

THB Debentures

15,452

15,308

15,452

15,308

USD Debentures

10,952

10,050

10,952

10,050

Total

26,404

25,358

26,404

25,358

2009

2008 THB Debentures

923

923

923

923

USD Debentures

11,824

10,517

11,824

10,517

Total

12,747

11,440

12,747

11,440


178

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

34. Commitments with non-related parties Unit : in million Baht

Consolidated

Separate

financial statements

financial statements

2009

2008

2009

2008

Capital commitments Contracted but not provided for: Buildings and other constructions

2

26

2

26

Machinery and equipment

4,824

2,417

4,824

2,417

Total

4,826

2,443

4,826

2,443

Within one year

40

29

40

29

After one year but within five years

78

49

78

49

After five years

66

75

66

75

184

153

184

153

Non-cancellable operating lease commitments

Total Other commitments Crude oil purchase agreement

As at 31 December 2009, the Company entered into crude oil purchase agreement for the year 2009 in USD currency with PTT. Under this agreement, PTT has agreed to sell crude oil to the Company in various volume in each month as specified in the agreement totalling 51.7 million Barrels amounting to approximately USD 3,229 million (2008: 48.6 million Barrels, approximately USD 2,673 million). Foreign forward contract In July 2007, the Company entered into forward contracts covering USD currency with a branch of a foreign financial institution for an amount of USD 300 million. The repayment terms of the forward contracts are 5 years commencing from August 2007 to July 2012. However, the Company terminated all foreign forward contracts in February 2009. The Company had gained from this termination in an amount of Baht 136.7 million. As at 31 December 2009, the Company had three forward contracts covering USD currency with local branch of three foreign financial institutions for an amount of USD 15.7 million which used for project investment and repayment USD currency loan. The settlement terms of the forward contracts are commencing in different month and ending within first quarterly of year 2010. Interest rate swap agreements As at 31 December 2009, the Company had various interest rate swap agreements with a local bank, five Thailand branches of overseas banks and an overseas bank to reduce the risk of fluctuation in interest rates as follows:

1. Covering U.S. Dollar in an amount of USD 60 million, which are effective every six months for a period of 4.5 years, ending January 2013.


179

2. Covering Thai Baht in the total amount of Baht 9,400 million divided as follows :

- in an amount of Baht 4,000 million for 1.5 years, which is effective date in December 2011.

- in an amount of Baht 2,000 million for 3 years, which is effective date in December 2011.

- in an amount of Baht 1,500 million for 5 years, which is effective date in December 2013.

- in an amount of Baht 600 million for 8 years, which is effective date in December 2016.

- in an amount of Baht 300 million for 9 years, which is effective date in December 2017.

- in an amount of Baht 1,000 million for 10 years, which is effective date in December 2018.

For the duration of the agreements, the Company has commitments to receive payments from or make payments to the other party whenever the interest rates vary from the agreed rates based on the terms and conditions stipulated in the agreements. However, the Company is still liable for commitments with the lender if the counterparty is unable to comply with the terms and conditions of such agreements.

35. Arbitration disputes On 3 December 2009, a listed company field an arbitration against PTT and the Company as a producer to perform according to the sale and purchase of raw materials agreement which the said company has been committed by PTT or to compensate for a damage of approximately Baht 13,805 million. The dispute is currently under the process of arbitration. The Company believes that the outcome of the arbitration will not cause a damage to the Company. Therefore, the Company has not provided any loss that might incur from such matter in the financial statements.

36. Event after the reporting period On 22 January 2010, the Company entered into a long-term credit facilities agreement with a local financial institution totalling Baht 6,000 million for investments and/or used as working capital for general corporate purposes. In addition, it may partially use to refinance the existing debt. This agreement is in effect for periods of 10 years.

37. Thai Accounting Standards (TAS) not yet adopted The Group has not adopted the following new and revised TAS that has been issued as of the reporting date but are not yet effective. The new and revised TAS are anticipated to become effective for annual financial periods beginning on or after 1 January in the year indicated.

Effective Date TAS 24 (revised 2007) Related Party Disclosures

1 January 2011

TAS 40

1 January 2011

Investment Property

Management is presently considering the potential impact of adopting and initial application of these new and revised TAS on the consolidated and separate Company’s financial statements.


180

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

38. Other On 29 September 2009, the Central Administrative Court ordered, following the petition no. 586/2009 (Map Ta Phut case), to temporarily suspend 76 projects in Map Ta Phut Industrial Estate and nearby areas. This is due to concerns that these projects may seriously affect the quality of environment, natural resources, and health of the nearby community. The Supreme Administrative Court on 2 December 2009 subsequently entered a corrected order of the Central Administrative Court to allow the 11 projects specified in the Supreme Administrative Court’s order to proceed, and uphold the suspension ordered by the Central Administrative Court for the remaining 65 projects until the further judgment or order of the Court. From the Supreme Administrative Court’s order, the Company can proceed 2 projects as normal and temporarily suspended 1 project. However, the Company decided to suspend this suspended project prior to the temporary suspension order of the Courts, due to higher construction cost than anticipated.

39. Reclassification of accounts Certain accounts in the 2008 financial statements have been reclassified to conform to the presentation in the 2009 financial statements as follows: Unit : in million Baht

2008

Consolidated financial statements

Before

After

Before

After

reclass.

Reclass.

reclass.

reclass.

Reclass.

reclass.

-

1,328

(1,328)

Separate financial statements

Statement of income Selling and administrative expenses 1,339

(1,339)

-

Selling expense

-

284

284

-

284

284

Administrative expenses

-

979

979

-

967

967

Management benefit expenses

-

76

76

-

77

77

-

-

The reclassifications have been made to comply with the classification set out in the Pronouncement of the Department of Business Development Re: Determination of items in the financial statements B.E. 2552 dated 30 January 2009.


181

Abbreviations and Technical Terms

Abbreviation BZ

Benzene

TOL

Toluene

PX

Paraxylene

OX

Orthoxylene

MX

Mixed Xylenes

ABS

Acrylonitrile-Butadiene-Styrene

BPA

Bisphenol A

EPS

Expandable Polystyrene

GPPS

General Purpose Polystyrene

HIPS

High Impact Polystyrene

LAS

Linear Alkyl Benzenesulfonate

LAB

Linear Alkyl Benzene

LPG

Liquefied Petroleum Gas

MTBE

Methyl Tertiary Butyl Ether

NGL

Natural Gas Liquid

PC

Polycarbonate

PET

Poly Ethylene Terephthalate

PBT

Poly Butylene Terephthalate

Py-gas

Pyrolysis Gasoline

PP

Polypropylene

PA

Phathalic Anhydride

PVC

Poly Vinyl Chloride

PTA

Purified Terephthalic Acid

PE

Polyethylene

SBR

Styrene-Butadiene Rubber

SAN

Styrene-Acrylonitrile

SM

Styrene Monomer

VCM

Vinyl Chloride Monomer

...


182

Annual Report 2009 PTT Aromatics and Refining Public Company Limited

Technical Terms Complex Refinery

A refinery that has manufacturing processes (conversion units or upgrading units) to upgrade lower value hydrocarbon products to higher value products. The type of processing facilities indicates the degree of complexity of the refinery.

Condensate

Liquid that is formed when a vapor cools.

Heavy Products

pertaining to fuel oil, long residue and bitumen.

High Vacuum Unit (HVU)

A refinery unit that further fractionates the black fuel oil fraction produced by the CDU, which is also known as long residue, to produce a light fuel oil fraction (light vacuum gasoil and heavy vacuum gasoil) and a heavy fuel oil fraction (short residue). In the HVU, separation occurs in the fractionation column at a high temperature and under vacuum conditions to prevent a cracking reaction.

Light Products

pertaining to LPG, unleaded gasoline, reformate and isomerate

Middle Distillates

pertaining to diesel (or automotive gasoil and industrial gasoil), and jet fuel.

Naphtha Hydrotreater (NHT)

A refinery unit that removes contaminants from naphtha in the presence of catalysts and hydrogen.


S

P

E

E

D

Social Responsibility & Caring

Professionalism

Ethics

Engagement

Diversity & Teamwork

มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ทำงานแบบมื อ อาชี พ

ต่ อ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม

มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์

และเอื้ อ อาทรต่ อ ผู้ อื่ น

มี จ ริ ย ธรรม

และธรรมาภิ บ าล

รั ก PTTAR

เหมื อ นบ้ า นเรา

ทำงานร่ ว มกั น เป็ น ที ม และยอมรั บ ความคิ ด

ที่ แ ตกต่ า งเพื่ อ ความ สำเร็ จ ของ PTTAR

Designed by Plan Grafik Co., Ltd. Tel. 0-2277-2222


บริ ษั ท ปตท. อะโรเมติ ก ส์ แ ละการกลั่ น จำกั ด (มหาชน) บริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.

สำนั ก งานใหญ่ : 555/1 ศู น ย์ เ อนเนอร์ ยี่ ค อมเพล็ ก ซ์ อาคารเอ ชั้ น 14 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงจตุ จั ก ร เขตจตุ จั ก ร กรุ ง เทพฯ 10900 โทรศั พ ท์ 0-2140-4000 โทรสาร 0-2140-4111-2

www.pttar.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.