PTTGC: Annual Report 2012 TH

Page 1


b a l a nc e b uilding glob globa a l l ea de rs h ip po sit ion, io n, shaping the so cia l susta i n a bi l i t y ในขณะทีเ่ รามุง มัน่ เพือ่ กาวสูค วามเปนผูน ำในระดับสากล เรายังคงมุง มัน่ เพือ่ เปนหนึง่ ในองคกรทีส่ ราง ความสุขและสังคมที่ยั่งยืน การสรางความสมดุลใหเกิดขึ้นในทุกๆ ดาน คือหนึ่งในเปาหมายหลัก ที่ พีทที ี โกลบอล เคมิคอล มุง มัน่ เพือ่ นำไปสูก ารเติบโตทีย่ ง่ั ยืนไมวา จะเปนการสรางการเติบโตทางธุรกิจ การกาวไปสูการเปนผูนำในธุรกิจเคมีภัณฑระดับสากล การดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงสิ่งแวดลอม การเสริมสรางสังคมและชุมชนที่เขมแข็ง รวมทั้งการมุงสรางประโยชนใหกับผูถือหุนในระยะยาว

เรามุงมั่นสรางสรรค พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืนดวยการเปนองคกรที่นาเชื่อถือ สำหรับ ผูมีสวนไดเสียดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม โดยสรางและบมเพาะบุคลากรใหมี ศักยภาพสูงอยางตอเนือ่ ง ยึดมัน่ ในความเปนเลิศทางวิชาชีพ รวมทัง้ ยังมุง เนนความเปนเลิศดานการวิจยั พัฒนา และการประยุกตใชเทคโนโลยีที่นำสมัย เราเชื่อวาความยั่งยืนทางธุรกิจมิไดเกิดจากความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจเพียงอยางเดียว แตรวมถึง การเปนองคกรที่มีความรับผิดชอบในทุกๆ ดาน เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน


ดัชนีความยั่งยืนระดับสากล $TEG*9Z;b;OZ7LTM$EECLW_%WDI $TE6U_;V;$TE9Wg_= ;_GVJ $TELE T*LEE' ;IS7$EEC_@YgOLZ%BT@ `GRO;T'79WgDSg*DY; • ผลิตภัณฑชีวภาพ • โครงการชีวภาพ

แนวทางเพื่อสิ่งแวดลอมระดับสากล _CYO*OZ7LTM$EEC_-V*;V_IJ; LS*'C'TE <O;7gU LVg*`I6G OC `GR'ITC=GO6BSD9Wg_= ;_GVJ • • • • • •

อากาศ : คุณภาพเหนือกวาที่กฎหมายกำหนด น้ำ : การบริหารจัดการน้ำ - ลดการใช ใชซ้ำ และนำกลับมาใชใหม กากของเสีย : ปริมาณกากของเสียฝงกลบเปนศูนย - การจัดการวงจรชีวิตกากของเสีย การควบคุมผลิตภัณฑ : คารบอนฟุตพริ้นท - ฉลากคารบอน พลังงาน : โครงการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ

มาตรฐานการรายงานระดับสูงสุด เพื่อความยั่งยืน @;S$*T; - CW=ERLV9:VBT@ `GR'ITC_= ;OD[ 9Wg6W -ZC-; - @S4;T6 T;_JEK2$V+ EV_EVgCa'E*$TE@S4;T_JEK2$V+-ZC-; • สรางงานใหชุมชน • สนับสนุนชุมชนใหแข็งแกรง • สรางรายไดใหชุมชนอยางยั่งยืน






รางวัลแหงความสำเร็จ ระดับโลก

ระดับประเทศ

Best in class

DOW JONES SUSTAINABILITY INDEXES

ไดรับเชิญใหเขารับและตอบแบบการประเมิน โดย Dow Jones Sustainability Indexes (DJSI) และผล การประเมินประกาศในวันที่ 13 กันยายน 2555 โดย บริษัทฯ อยูใน Chemical Sector และไดรับคะแนน 66 คะแนน หรือ อยูใน 2nd Quartile

Forbes 2012 Global 2000

ได รั บ การจั ด อั น ดั บ ที่ 665 จาก 2,000 บริ ษั ท จดทะเบียนทีม่ คี วามโดดเดนจากทัว่ โลก โดยพิจารณา จาก 4 ปจจัย ไดแก ยอดขาย (Sales) กำไร (Profits) สินทรัพย (Assets) และมูลคาทางการตลาด (Market Value)

ASIA PACIFIC ENTERPRISE LEADERSHIP AWARDS

ไดรับรางวัลจาก Asia Pacific Enterprise Leadership Awards (APELA) ในสาขาการพัฒนาสังคมอยางยัง่ ยืน จากโครงการพัฒนาอาชีพชุมชนของบริษัทฯ

PRIME MINISTER’S INDUSTRY AWARD 2012

บริษัทฯ (สาขา 3) ไดรับรางวัลอุตสาหกรรมดีเดน ประจำป 2555 ประเภทการบริหารความปลอดภัย ซึ่งมอบใหแกผูประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่มี ความคิดริเริ่ม และมีความคิดสรางสรรคสิ่งที่เปน ประโยชนตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ

UNITED NATIONS GLOBAL COMPACT ADVANCED LEVEL

เขารวมเปนเครือขายกับ UN Global Compact ที่ Advanced Level ซึ่งเปนบริษัทแรกในประเทศไทย ที่ปฏิบัติตามเกณฑขั้นสูงสุดของขอตกลงโลกแหง สหประชาชาติ

PLATTS 2012 GLOBAL ENERGY AWARDS

รับรางวัล Global Energy Awards Winner ประเภท โครงการพัฒนาสังคมยอดเยี่ยมแหงป และรางวัล Excellence Awards ดาน Stewardship ป 2012 จากโครงการเขาหวยมะหาด

THE BEST PAPER AWARDS

บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด (PTTPE) ในกลุมบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ไดรับรางวัล Best Paper Awards จากงานสัมมนา 7th LDPE Plant Improvement Conference จากการบรรยายในหัวขอ “Hyper Compressor Intercooler Cleaning by Using Pipe Cleaning Machine” ของกระบวนการผลิต LDPE, PTTPE ณ ประเทศเยอรมัน

THAILAND’S TOP CORPORATE BRAND VALUES 2012

รับรางวัลมูลคาแบรนดองคกรสูงสุดจากกลุมสินคา อุตสาหกรรม ซึ่งบริษัทฯ มีมูลคาแบรนดองคกร 44,432 ลานบาท วัดโดยเครื่องมือ Corporate Brand Success Valuation (CBS Valuation)

ICIS TOP 100 CHEMICAL COMPANIES 2012

รับการจัดอันดับโดย ICIS ในอันดับที่ 24 จาก 100 บริษัทชั้นนำในธุรกิจปโตรเคมีของ ICIS จากผลการ ดำเนินงานที่ดีเยี่ยม และการยอมรับจากธุรกิจและ ผูมีสวนไดเสีย ในป 2012

GLOBAL REPORTING INITIATIVES (GRI A+)

รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน ประจำป 2011 ของ บริษัทฯ ไดรับการรับรองความถูกตองจาก Global Reporting Initiative ที่ระดับสูงสุด A+

AMCHAM CSR EXCELLENCE RECOGNITION 2012

รับรางวัล AMCHAM CSR Excellence Recognition 2012 ในระดับ Silver Class ในฐานะองคกรที่ดำเนิน กิจกรรมเปนประโยชนและรับผิดชอบตอสังคมโดดเดน ตอเนื่องเปนปที่ 3


Beyond ComPLIANCE

Business Leader’s Award Fight Human Trafficking

ไดรับเลือกใหเขาชิงรางวัล Business Leader’s Award Fight Human Trafficking ของ UNGC จากการ ดำเนินงานดานการตอตานการคามนุษย

การลดปริมาณของเสีย นำไปฝงกลบจนเปนศูนย

บริษัทฯ (สาขา 2, 3, และ 4) ไดรางวัลยอดเยี่ยมดาน การลดปริ ม าณของเสี ย นำไปฝ ง กลบจนเป น ศู น ย (Zero Waste to Landfill Achievement Award) ตาม โครงการพัฒนาศักยภาพการใชประโยชนกากของเสีย ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

คารบอนฟุตพริ้นท

บริ ษั ท ฯ เป น ผู ผ ลิ ต โพลี เ อทิ ลี น ความหนาแน น สู ง (HDPE) รายแรกทีไ่ ดรบั เครือ่ งหมายคารบอนฟุตพริน้ ท สำหรับผลิตภัณฑ จำนวน 47 เกรดจากองคการ บริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ซึ่ ง สะท อ นการเป น องค ก รที่ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น มิตรตอสิ่งแวดลอม

อุตสาหกรรมสีเขียว

ไดรับการรับรองใหเปนอุตสาหกรรมสีเขียว ในระดับ ที่ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรม จากการบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมอยางเปนระบบและมีการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง

3R S AWARDS

บริษัทฯ (สาขา 2, 3, 4, 5 และ 6) ไดรับรางวัลจาก การจั ด การของเสี ย ภายในโรงงานตามหลั ก 3Rs (Reuse, Reduce และ Recycle) และไดรับเลือกเปน โครงการนำรองในโครงการพัฒนาศักยภาพการใช ประโยชนกากอุตสาหกรรม จากกระทรวงอุตสาหกรรม

SAA AWARDS FOR LISTED COMPANIES 2012

รับรางวัล CEO, CFO และ IR ยอดเยี่ยมจากเวที SAA Awards for Listed Companies 2012 โดยรางวัล พิจารณาผูบ ริหารทีม่ คี วามสามารถในการบริหารทีเ่ ปน เลิศและเปนผูท มี่ สี ว นอยางมากตอการเจริญเติบโตของ เศรษฐกิจ ตลาดทุน และประเทศไทยโดยรวม

LICENSE TO OPERATE

โครงการรณรงคลดสถิติอุบัติเหตุ จากการทำงานใหเปนศูนย ป 2555

บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด (TSCL) ในกลุมบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล รับโลประกาศเกียรติคุณ โครงการรณรงคลดสถิติอุบัติเหตุจากการทำงานให เปนศูนยป 2555 โดย TSCL ไมมีอุบัติเหตุถึงขั้น หยุดงานตั้งแตป 2541 - 2554 รวม 1,877,260.25 ชั่วโมงการทำงาน

EIA MONITORING AWARDS 2012

รับรางวัล EIA Monitoring Awards 2012 จากการ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรการในการรายงานผลวิ เ คราะห ผลกระทบสิง่ แวดลอมและมีการจัดการสภาพแวดลอม ดีเดน

สถานประกอบการดีเดนดาน ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทำงาน ระดับประเทศ

รับรางวัลสถานประกอบการดีเดนดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงาน ปที่ 14 จากกระทรวงแรงงาน

รางวัลธงขาวดาวเขียว

บริษัทฯ (สาขา 2, 4, 5 และ 6) ไดผานการประเมิน และรับรางวัลธงขาวดาวเขียว ซึ่งเปนรางวัลที่แสดง ถึ งการมีธรรมาภิบาลดานสิ่ งแวดลอมดีเ ดน การ บริหารจัดการสิง่ แวดลอมโปรงใส ไมทำลายทรัพยากร ธรรมชาติ จากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

THE CERTIFICATE OF THAI Labor STANDARD (TLS 8001-2010)

รับการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001-2553) ระดับสมบูรณ โดยกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน



บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไมหยุดยั้งที่จะคิดคน พัฒนา และสรางสรรคนวัตกรรมเคมีภัณฑที่เปนประโยชน เพื่อตอบสนอง ตอความตองการในชีวิตประจำวัน และยกระดับคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น เรามุงมั่นที่จะเสริมสรางความมั่นคงทางดานธุรกิจ ควบคูไปกับการคำนึงถึงสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อการเติบโตพรอมกันอยางยั่งยืน


4 7;1&;5( -;(' > 90B37= ; &< <2C ( 7<2 < *2:'<( 220 <2 90B3&;I4G* E 2 72 < 'A2 > D+(+; &< 'A2 > 3; 6": <2*2: 9)'A2 > D3: <2#=C(>( <( 3A 0+3>$/;" * E$2C3?10D3:7<'<2"B* <2 3A 0+3>$/;" 9:E2C0$> 7 3A 0+3>$/;" E9C3. (7 3A 0'A2 > +3>$/;" E-3>C092 3A 0'A2 > +3>$/;" C9&>3?(99 G # 3A 0'A2 > +3>$/;" C 0?C- I97> D4#3 90 3A 0'A2 > C 0?/;" (>#- C56 'A2 > <2F8 )2 <2 D3:9@I(H 7%<( <2" $3<#* E$2C3?10D3:* E$2C 0? F(* D3:D(4E( 0F(9(< $ =9'>)<1D3: <24 C 2<:8 9 , <1 ;# <2 <2)2 8<2 4<0C7?I1 D3:* ;1 4<0C7?I1 <2 4) A0/<1F( E 2 72 < <2%@98A ( 9 )2 6;&F( 3A 0 E 2 72 < 2<1G# 2<1 <22:84 < ;(


E 2 72 < +B %@98A ( (E1)<1 <2 <1C (* (+3 ": 220 <2 ":+B )2 8<2 E 2 72 < <2 ;# <2

<2-;!(<91 < 1;I 1@( <2#=C(>( <(# <( 4<0*39#/;1 9< ?49(<0;1 D3:7> D4#3 90 <2 = ;)#BD3 > <2 <2)2 8<29 2D3:)A 3< 2 2<1 <( ": 220 <2 = ;)#BD3 > <2 2<1 <( ": 220 <27228<D3: =8(# <$9)D&( 2<1 <( ": 220 <2)2 8<2 4<0C7?I1

2<1 <( ": 220 <2$24 79) 2<1 <( 4<02;)+># 9) 9 ": 220 <2$ 92<1 <(&< <2C ( 2<1 <( 9 +B 79)); ?2;)9(A <$ ) <2C ( 80<1C8$A*2: 9) ) <2C ( <$9)D&( 9 +B 79)); ? 5;-& C& (> D3: =9'>)<1


!% % ! "

% ( ! # # . )0- . $ %0 * /" . , *#"+ & "& $ # & )0- - ( # & &- *0# *# !& & % ( # #!% . $ & /! / !( . # / & '- ( + ( !, & % & )0 %0 * - & - *# )0 ) )0!+ . , & !( &. $ & - ( % ! & # ." & - , & & & ' & )-0 !+

, % & % & + & /" + - . $ , % ## - 0# & - - ( # & *##& )


# , !' %> & & - ? % )0 75 % & 699835

? % )0 75 % & 6999 E8(B? A'J89J6

7;61=:;

87:14:6

++&/)/ 1+&/,* +,.&,-, ,+&,10

/)&)/+ *))&1,) +-)&-20 ,-&/0,

5:81956

5=<145;

*+)&*/. --&,-0

*,/&1.0 /*&*/*

64<1898

67<1489

.))&,).# #.-&-+,#

./+&1**# #..&102#

741477

781445

-1&2+)# #/'//#

..&)-.# #0'.-

*'0.# #*)'02# #.'2.# #1').# #*-'-*# #)'.1# #)'-0# #*'02#

#+',*# #2'1.# #.'22# #0'1)# #*-'+1# #)'.1# #)',+# #*',1#

.! @& $ & - 2 & - !( % # # # #

? @ A @B AC DEF E A F@F G A @ H I@ J" A "? A @ K CH I@

" )A!( # #

H G A " F? B G@ H G J"

! # , *#"+

& '- ( & 2 & - # #

@K? L @# 647853(+#

'B !+ ( # #

39;><=:9#647853(,# K C H #$B A%#

#% &! & & - # # # # # # # #

C EC #$ AC %# C #647853# C @K? #$ @EF%# C K A C @K? #$ @EF%# C E BDA C A @ #$ @EF%# E BDA C C L MJ H #$ @EF%# C H G A " F? B G@ C C L MJ H #$ AC %# C H G A " F? B G@ A C C L MJ H #$ AC %# C H G A " F? B G@ A C #647853#$ AC %

E>J?RE4P R:&8-'F>QA6J/,J@R/L8@B>:@HE8NW/V3'>M,J@.B99@LCI6,I8>J4AF36MW?I/V>(V3'4@B0DF90J,;Q'DF99I21M /9,J@R/L8RD>OF8R:@M?9R6M?9 DKE@I9:)

6MW9@LCI6G 0I36KR<OWFU1'R:&8:@HT?18*U8,J@BLR.@JHE*;A,J@3KR8L8/J8-F/9@LCI6G R8OWF/0J, 9@LCI6 <M6M6M T,A9FA R.>L.FA 0K,I3 >EJ18 R,L30J,,J@.B99@LCI6@HEB(J/ 9@LCI6 :46 R.>L.FA 0K,I3 >EJ18 ,I9 9@LCI6 :46 FHT@R>4L,D*SAH,J@,AIW8 0K,I3 >EJ18 T3?V3'036HR9M?80I34IX/9@LCI6UE>(-NX8R>OWFBI86MW 4PAJ.>

0N/6KUE'/9,J@R/L8:@H0K:)

6MWV3'@I9,J@4@B0DF9SA'BSD3/;A,J@3KR8L8/J84IX/S4(BI86MW 4PAJ.>

5N/BI86MW 7I8BJ.>

R6(J8IX8 .OF,KV@,(F8EI,3F,R9MX?=JCMR/L8V3' .(JRDOWF>@J.J SAH.(J4I30KE8(J? #!" .OF 6MWV>(@B>;A,@H690J,>QA.(JD4+F,8XK>I8 V>(@B> $ " % SAH SAHV>(@B>;A,@H69-F/ "%


สารจากประธานกรรมการ เรียน ทานผูถือหุน ป 2555 เปนปที่เศรษฐกิจโลกมีความผันผวนทั้งจากปญหาหนี้สาธารณะของประเทศในแถบทวีปยุโรป ปญหา Fiscal Cliff ในสหรัฐอเมริกา การชะลอตัวของเศรษฐกิจในประเทศจีน รวมถึงปญหาความไมสงบในภูมิภาค ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ตลอดจนความผันผวนของราคาน้ำมัน สงผลใหราคาวัตถุดบิ และผลิตภัณฑในภาพรวม มีความผันผวนตลอดทั้งป และภาคการสงออกของแตละประเทศขยายตัวลดลง สำหรับสภาวะเศรษฐกิจของไทย ยังคงสามารถขยายตัวไดโดยแรงสนับสนุนหลักจากการใชจายในประเทศ ทั้งจากการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนที่ยังคงขยายตัวไดดี รวมถึงปจจัยบวกจากตลาดใหมที่มีศกั ยภาพ โดยเฉพาะตลาดสงออกของประเทศ ออสเตรเลีย แอฟริกา อินเดีย และฮองกง สำหรับ พีทีที โกลบอล เคมิคอล ป 2555 เปนปที่บริษัทฯ ไดดำเนินกิจการครบรอบ 1 ปภายหลังจากการควบรวม กิจการ ตลอดระยะเวลาหนึ่งปที่ผานมา บริษัทฯ ไดวางรากฐานดวยการเปน Fully Integrated Petrochemical and Refinery Operations โดยอาศัยพื้นฐานความแข็งแกรงขององคกรทำใหเกิดประสิทธิภาพทั้งในดาน การผลิตและการสรางกำไร ดวยการมีกลุมผลิตภัณฑที่หลากหลาย การมีโครงสรางตนทุนที่แข็งแกรงและ ความสามารถในการแขงขันไดในเวทีโลก นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังไดลดผลกระทบจากปจจัยภายนอกและสภาวะความผันผวนทางเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ดวยการ ดำเนินการภายในองคกรในดานตางๆ อาทิ การสรางมูลคาเพิ่มดวยการดำเนินงานตามโครงการ Operational Excellence และโครงการ Synergy อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิต การบริหารจัดการ Inventory การบริหารความเสี่ยงดานความผันผวนของราคาวัตถุดิบ/ผลิตภัณฑ และในดานการเงิน ที่บริษัทฯ ไดเพิ่มความแข็งแกรงดวยการจัดหาเงินทุนจากการออกและเสนอขายหุนกูใหกับนักลงทุนสถาบันตางประเทศ จำนวน 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งไดรับความสนใจจากนักลงทุนสถาบันตางประเทศเปนอยางมาก รวมถึง ดำเนินงานตามแผนเพื่อปองกันความเสี่ยงทางการเงินดานอัตราแลกเปลี่ยน และการบริหารเงินเพื่อใหไดรับ ผลตอบแทนที่สูงอยางมีประสิทธิภาพ ในการวางรากฐานการลงทุนทีแ่ ข็งแกรง บริษทั ฯ ไดกา วเชิงรุกสูก ารเปนผูน ำในภูมภิ าค เพือ่ ตอบสนองตอการเขาสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่กำลังจะเขามามีบทบาทตอการดำเนินธุรกิจของไทย ตลอดจนกาวที่ สำคัญในการขยายการลงทุนไปยังตางประเทศ ซึ่งนอกเหนือจากการเขาซื้อหุนและรวมลงทุนในบริษัท Perstorp ประเทศฝรัง่ เศส ทีไ่ ดดำเนินการเสร็จสิน้ ไปแลวและภายหลังไดเปลีย่ นชือ่ เปน Vencorex นัน้ บริษทั ฯ ยังไดจดั ทำ ความรวมมือทางธุรกิจที่สำคัญดวยการลงนามในขอตกลงรวมกับ Petronas และ Itochu ภายใตโครงการ RAPID (Refinery & Petrochemical Integrated Development) เพื่อศึกษาความเปนไปไดที่จะขยายกลุมผลิตภัณฑ ดาวนสตรีม เพื่อรองรับความตองการใชผลิตภัณฑจากปโตรเคมีที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต และการลงนาม บันทึกความเขาใจ (MOU) เพื่อพัฒนาความรวมมือในธุรกิจเคมีภัณฑกับ Sinochem International ประเทศจีน เพื่อเปนกาวสำคัญอีกกาวที่จะรุกเขาสูธุรกิจเคมีภัณฑในประเทศจีนอีกดวย



1 0

และเพื่อการเตรียมตัวรองรับการเติบโตขององคกร บริษัทฯ ไดวางกลยุทธดวยการสรางคานิยมและวัฒนธรรม องค ก ร และปรั บโครงสรางองค ก รใหเหมาะสม เพื่อสงเสริม ขีดความสามารถในการแขงขันขององค กร ไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงกระบวนการทำงานและระบบบริหาร ดวยการรวมระบบงานตางๆ ใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน และปรับใหเปนสากลดวยโครงการ Integration Management Office (IMO) ตลอดจนการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงงานในดานตางๆ อยางตอเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวาโรงงานของกลุม บริษัทฯ จะสามารถดำเนินการผลิตไดอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงสุด ในดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี จากการที่ประเทศไทยไดรับการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีในภาพรวม สูงขึน้ กวาปทผี่ า นมา โดยในป 2555 ประเทศไทยไดรบั การจัดอันดับอยูใ นลำดับที่ 3 ของภูมภิ าคอาเซียน สูงขึน้ กวา ป 2554 ซึง่ อยูใ นลำดับ 5 แสดงใหเห็นถึงแนวโนมและทิศทางทีด่ ตี อ ความนาเชือ่ ถือขององคกรธุรกิจในประเทศไทย เปนอยางมาก ในสวนของบริษัทฯ ก็ไดใหความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีตั้งแต เริ่มจัดตั้งบริษัทฯ ซึ่งกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในกลุมไดยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงานมาโดยตลอด และเพื่อการพัฒนามาตรฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดีใหมีความเปนสากล สอดคลองกับมาตรฐานการดำเนิน ธุรกิจในปจจุบันที่บริษัทฯ ไดเขารวมลงทุนในตางประเทศ จึงเปนเรื่องจำเปนที่บริษัทฯ และบริษัทในกลุมจะตอง ใหความสำคัญกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณธุรกิจ และการปฏิบัติงานตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวของ ในประเทศที่ไดเขาไปลงทุน และเพื่อเปนการรองรับ บริษัทฯ จึงไดจัดทำนโยบายการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Policy) ขึ้น เพื่อปองกันความเสี่ยงจากการไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวของในทุกที่ ทีบ่ ริษทั ฯ ไดเขาไปลงทุนดวย เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านเปนไปอยางถูกตอง และสอดคลองกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในการดูแลรับผิดชอบตอสังคมและผูมีสวนไดเสีย ที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ นั้น พีทีที โกลบอล เคมิคอล ไดมุงเนน การดำเนินการในระดับสากลซึ่งครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อสรางความสมดุลระหวาง สภาพแวดลอมการดำเนินธุรกิจ และความคาดหวังของผูมีสวนไดเสีย โดยไดปฏิบัติตามแนวทาง United Nations Global Compact ในระดับ Advanced Level และตามมาตรฐานสากล ISO26000 รวมถึงการจัดทำรายงาน การพัฒนาอยางยัง่ ยืน ทีร่ ะดับสูงสุด (Global Reporting Initiatives A+) การไดรบั การประเมินและจัดอันดับในดัชนี วัดประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอยางยัง่ ยืนดาวนโจนส หรือ Dow Jones Sustainability Indexes ทีร่ ะดับ Second Quartile Performance ของกลุม ธุรกิจเคมีภณั ฑ ตลอดจนไดรบั คะแนนสำรวจความพึงพอใจ ของกลุม ลูกคา นักลงทุน กลุม ชุมชนแวดลอมโรงงานของบริษทั ฯ ตามเปาหมายทีว่ างไว และจากความมุง มัน่ ในการ ดำเนินธุรกิจดวยความหวงใยและใสใจตอสิง่ แวดลอมภายใตกรอบจริยธรรม สงผลใหบริษทั ฯ ไดรบั การยอมรับและ ยกยองจากองคกรชั้นนำทั้งในและตางประเทศ ซึ่งแสดงถึงความสำเร็จในการดำเนินงานดานตางๆ ทั้งดานธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของบริษัทฯ ด ว ยการวางกลยุ ท ธ ก ารบริ ห ารจั ด การอย า งรอบคอบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง การเตรี ย มความพร อ ม ในดานตางๆ สงผลใหในป 2555 บริษัทฯ มีผลการดำเนินงานเกินเปาหมายที่ตั้งไวในทุกดาน ทั้งในดานการเงิน เสถียรภาพของโรงงาน การบริหารผูม สี ว นไดเสีย และการบริหารจัดการองคกร โดยบริษทั ฯ มีรายไดจากการขาย รวม 562,811 ลานบาท มีกำไรสุทธิ 34,001 ลานบาท คิดเปนกำไรตอหุน 7.54 บาท


1

ในนามคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคน ผมขอขอบคุณทานผูถือหุนและผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย ที่ไดใหการสนับสนุนดวยดีเสมอมา ทำใหบริษัทฯ สามารถฝาฟนปญหาและอุปสรรคทั้งมวล จนมีผลสัมฤทธิ์ที่ดี เกินเปาหมายในทุกดาน และยังไดรบั รางวัลและเกียรติประวัตจิ ากองคกรตางๆ ทัง้ ในระดับประเทศและระดับโลก โดยขอใหคำมั่นวา บริษัทฯ จะพัฒนาองคกรตอไปอยางไมหยุดยั้ง เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันและสรางกำไร จากการขยายธุรกิจดวยการใหความสำคัญทัง้ ในดานการตลาดทีม่ อี ตั ราการเติบโตอยางตอเนือ่ งและมีความตองการ ใชผลิตภัณฑปโตรเคมีและเคมีภัณฑในระดับสูง ดานการผลิตที่มุงเนนการเพิ่มประสิทธิภาพและการจัดหาแหลง วัตถุดิบราคาต่ำ โดยยังคงใหความสำคัญกับการรักษาสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในระดับสูงสุด และดาน การลงทุนขยายธุรกิจที่มุงพัฒนาผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัติพิเศษ ตอบสนองความตองการใหมของตลาด พรอมกับ ความใสใจและรับผิดชอบตอสังคม เพื่อเปนเครื่องยืนยันใหเห็นถึงความมุงมั่นของบริษัทฯ ในการที่จะกาวไปสู ความเปนผูนำในระดับสากลและเติบโตอยางตอเนื่องตอไปในอนาคต

(นายประเสริฐ บุญสัมพันธ) ประธานกรรมการ

1


1

2

ขอมูลทั่วไป :C1#+7.4 S\kaPh WlPPl l s?^Sd^ qAZkAd^ Cj?hM ZciER

:C1* 10,4 +4&* &(( =-B#A <<< 7::/,/86;7 ,64 =, 3=#8*"#+7.4 "; 3=#8*" L _hRPlx QhR_iAZ S\kahPf ZlPoRCMPgqSl[RqP i?hS SiP T\g?dSM _[co RbiZhGCjR_RPhyBbkyR co R Zp^A iPlxN\iu_ co R^g SiP sM[PoRCMPgqSl[R rS BqT R b _R And CjR_RPoREj\gr^ _ And SiP rS Bdd?qT Rco RbiZhGPlxCjcR i[uM r^ _PhyBcZM CjR_R co R Zp^A iPlxN\iu_ co R^g SiP CjR_RPoRPlx[hBZkuM Ej\g And SiP rS Bdd?qT Rco RbiZhGPlx[hBZkuM Ej\gPhyBcZM CjR_R co R Zp^A iPlxN\iu_ co R^g SiP -4" 1 4D #+7.4 No^iAZ -4"=+7C) :D1 5*@" ,5 0,4 +4&* 2 No^iAZ !;+ 7 0,4

?^o ZU^kNYhLJ T sN\q^l[Zr^gbiQi\LpT?i\ ?^o ZU^kNYhLJ dgs\qZNk?b ?^o ZU^kNYhLJ sdq^X Rb ?^o ZQo\?kCU^kNYhLJ sW^kqZd\ ?^o ZQo\?kCU^kNYhLJ qdPk^lRdd?uFM ?^o ZQo\?kCU^kNYhLJ qAZlqWnxdbkxBr_M^ dZ ?^o ZQo\?kCqAZlYhLJ ERkMWkq`a Qo\?kC?i\tc S\k?i\r^gdnxRv

6"-"&"4 5"+-) AR L _hRPlx QhR_iAZ

7 1#+7.4 0" -* 5""4 , ;"/4)&4"! sP\`hWP 4*13 18 7::/,/86;7 ,64 0" -* 5" 6 4#1 +>,3=, 5"; 5+#+7.4 sP\`hWP 4*13 ,/ 7::/,/86;7 ,64

8C 4D /6"4 5"@0 /5 5/6"4 5"@0 q^@Pl x `pR[ qdRqRd\ [Axl dZqW^w?F diAi\qd EhRy ORR_kYi_Ml\Bh bkN r@_BCNoC?h \ q@NCNoC?h \ ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5/6"4 5"+3*1 q^@Plx ORR\iaH\ Rk[Z NjS^qRkRW\g djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5?+ ?1=,' "/ A1 0"9C q^@Plx ORRud cRmxB RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5?+ ?1=,' "/ A1 /8C q^@Plx ORRud blx RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5?+ 13?+=) 7 / q^@Plx ORRud bdB RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5?+ 13?+=) 7 / q^@Plx ORRPiBc^_B\g[dB bi[ RkAZdoNbic?\\Z di\ ud rd^ NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5?+ ,4C""D6)4" q^@Plx ORRud rTM RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\


1

8C 4D /5 5 /5 5 5= 8*#=+:1>,3 ,4 %,7 (4 q^@Plx ORRs\BTo [ RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5 ,4 /6+1 13?+=) 7 / q^@Plx ORRud blx RkAZdoNbic?\\ZZiSNiWoM NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 /5 5>,B#= 1+ -7/= B"= 1+ q^@Plx ORRT?\L bBqA\igc \iaH\ NjS^ZiSNiWoM djqYdqZndB\g[dB ChBc_hM\g[dB sP\`hWP sP\bi\ 8C 4D /5 5 =1 7- =1 = B"= 1+ q^@Plx diAi\FhRPi_q_d\ Sl EhyR Fd[qD[W _B ORR_kYi_Ml\hBbkN r@_BCdZW^ q@NCNoCh?\ ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ #; ,1 5 17 "5* 3=#8*"0,4 +4&* 0; "/5)4 S\kahP `pR[ \hSVi?c^h?P\hW[ T\gqP`uP[ Cj?hM diAi\N^iMc^h?P\hW[ rc BT\gqP`uP[ ORR\hEMiYkqa? r@_BA^dBqN[ q@NA^dBqN[ ?\oBqPWf sP\`hWP *33 ,.5:.8 sP\bi\ q_wSuFN <<< :9- ,6 :0 "5* 3=#8*"0; " < >,3%< > "%< :10; " < QRiAi\Pci\uP[ Cj?hM ZciER

ORRWc^s[QkR r@_BCdZW^ CNoCh?\ ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ q_wSuFN <<< :4++*52 ,64

3

"5* 3=#8*"0; " < QRiAi\uP[WiLkE[ Cj?hM ZciER

V i[TIkShNk?i\ ORRqWE\So\l r@_BZh??gbhR q@N\iEqP_l ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ V i[S\k?i\c^h?P\hW[ EhyR sFR qd ORR\hEMiYkqa? CNoCh?\ ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ q_wSuFN <<< 9,+ ,6 :0 "5* 3=#8*"0; " < / ;,=0+8* /0+4 2 1:1+*52 $ 3668 %5. "93*5- *9: ).9:3*5- '6*- "93*5- *9: !65/ #65/ (.3 *= %< /1##4 8 Ri[u_s\CR CkRMiZLlWPk ?h a Upb dSShGEl\Sh dRoGiNq^@Pl x c\nd Ri[_kRkC `k^iZBA^ Up bdSShGEl\hSdRoGiNq^@Plx c\nd Ri[Rk\Rh M\ ^l^iqZQ_hKR Upb dSShGEl\Sh dRoGiNq^@Pl x c\nd Ri[qC\kG Up bhZ]PQkzq^k` Up bdSShGEl\hSdRoGiNq^@Plx S\kahP qAWlqdwZCl YpZkuE[ bdSShGEl Cj?hM EhyR qdwZuW\ Pi_q_d\ ORRbiP\tN ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ q_wSuFN <<< 274/ ,6 :0 8C$+9 .5 0)5* S\kahP qSqAd\ rdRM rZwAqAwRFlx Cj?hM EhyR r^g diAi\dhSMo^\iekZqW^b ORRW\g\iZ r@_Bbl^Z q@NSiB\h? ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ q_wSuFN <<< +*2.84,2.5>1. ,64 S\kahP bjRh??HcZi[bi?^ b[iZW\lqZl[\ Cj?hM EhyR diAi\ Mk ddXX `q`b rdP qFwRP\h^ q_k^M ORRW\g\iZ r@_BTPoZ_hR q@NTPoZ_hR ?\oBqPWf sP\`hWP sP\bi\ q_wSuFN <<< 91*43*< ,6 :0 S\kahP bjRh??HcZi[ MjqRkR bZq?l[\Nk r^gSoGZi Cj?hM ORRblxW\g[i r@_BSiB\h? q@NSiB\h? ?\oBqPWZciRA\ sP\`hWP Ap bi[

sP\bi\ OmB (8*-.4*82 &*:.5:

q_wSuFN <<< -9+ ,6 :0


1 4

โครงสรางธุรกิจ

@'& <& B$0?6<& *9/9D 0<& 66/ B%D 0<& -; D 0<&4 D B 0@S @ &

-. "/ 0- 9 ( B#/@0<.-@501 A&+$9 &;"@'9 / +6/ @-$ &G:-8&69 92.9& &G:-8&"<@ 0 &G:-8&@#9

@6$;0<& B*/*T0<& D*B/D0 ;4 A 4B 0<& -; < I

%>/ ; $ 9@$<.'@/ 6 A07 08 @ E'@ -<,8! %>/ ; 9/)0;#A07 :5& 9.49%9/!?(B, %>/ ; C5 '/ 9/':/> /8 39B/ 9&A07 9/66 A''1 21 //- %>/ ; C5 '/ 9/" 9& 19-(06",8. 69 <16&9-8.A074; A1"0 6 %>/ ; C5 '/ 9/B / 4/ 9 4:5/8'$ 6 &4 %>/ ; C5 '/ 9/" 9&@$ B&B0.<49/4&@$2A07 9/4=F649/ %>/ ; C5 '/ 9/" 9& 9/ 8"59A/ 9& %>/ ; 9/#09"A07 =G6 9.)0;#,8! 4> ,9*A07B, &9 9/


1

5

B*0<@6$;0<& 19-5&9A& &4? B*0<@6$;0<& 19-5&9A& &#F: B*0<@6$;0<& 19-5&9A& &#F: @ ; @4 & B*0<4D#/ & B*0<D1&;0 06D/"

1 " 23' @6$;0<&66 D " @6$;0<&D 0 60 @6$9&60@6-<& 6<$6 <@0$

! " # $% &' ( @-$;0@64@$6/ A+##<GA6 ;" A+##<AG 60 6S60 0<@ 6/ & B60<B6@ -< &;"*T@23 D'B6*094#;

! " ) ' * +, +U&60 ';4+U&60 @6 B$0?6<&D"D6B D .9@&$ K J @S 7@-$;0<& D"D6B D .9@&$A076&>*8&% J H J MONRLQNRMP


1

6

แผนผังทางธุรกิจ เอทิลีนออกไซด เอทิลีน เอทิลเบนซีน / สไตรีนโมโนเมอร โพรพิลีน

กาซธรรมชาติ

โพรพิลีนออกไซด มิกซซี 4 บิวทาไดอีน

คิวมีน

เบนซีน

ไซโคลเฮกเซน โทลูอีน โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต / เฮกซะเมทิลีนไดโอโซไซยาเนต

คอนเดนเสท พาราไซลีน

กรดเทเรฟทาลิกบริสุทธิ์

ออรโธไซลีน

ฟาทาลิกแอนไฮไดรด

น้ำมันดิบ

แฟตตี้แอลกอฮอล โอลีโอเคมิคอล

น้ำมันปาลม

เมทิลเอสเทอร (บี 100)

ผลผลิต ทางการเกษตร

วัตถุดิบ

ผลิตภัณฑขั้นตน

ผลิตภัณฑขั้นกลาง

ผลิตภัณฑขั้นปลาย


1

7

อุตสาหกรรม โมโนเอทิลีนไกลคอล โพลีเอทิลีนความหนาแนนสูง

อุตสาหกรรมดานบรรจุภัณฑ

โพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำ โพลีเอทิลีน ความหนาแนนต่ำเชิงเสน เอทานอลเอมีน

อุตสาหกรรมเคมีเพื่อสุขอนามัย

โพลีออล อีทอกซีเลท โพลีสไตรีน อะคริโลไนทริลบิวทาไดอีน-สไตรีน

อุตสาหกรรมยารักษาโรค

ฟีนอล โพลีโพรพิลีน

บิสฟีนอล เอ อะซิโตน สไตรีนบิวทาไดอีนรับเบอร อุตสาหกรรมยานยนต

เมทิลเมทาคริเลต

โพลีคารบอเนต อีพอกซี เรซิน โพลีเมทิลเมทาคริเลต อุตสาหกรรมกอสราง ไนลอน 6

คาโปรแลกตัม

โพลียูรีเทน โพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส สารเสริมสภาพพลาสติก ผลิตภัณฑปโตรเลียม - กาซปโตรเลียมเหลว - รีฟอรเมท - แนฟทาชนิดเบา - น้ำมันอากาศยาน - น้ำมันดีเซล - น้ำมันเตา

อุตสาหกรรมสิ่งทอ

พลาสติกชีวภาพ อุตสาหกรรมทางการเกษตร ผลิตภัณฑเคมีชีวภาพ ผลิตภัณฑเคมีเพื่อ สุขอนามัยสวนบุคคล

ปโตรเลียม และสาธารณูปการ

อะโรเมติกส

โอเลฟินส

โพลิเมอร

เอทิลีนออกไซด

ผลิตภัณฑเคมี เพื่อสิ่งแวดลอม

เคมีภัณฑ ชนิดพิเศษ

ผลิตภัณฑที่มีโอกาสทางธุรกิจ


1

8

กลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการ ภาพรวมธุรกิจ บริษัทฯ เปนหนึ่งในผูกลั่นน้ำมันและจำหนายผลิตภัณฑปโตรเลียม สำเร็จรูปชั้นนำของประเทศ โดยเปนเจาของและผูดำเนินการโรงกลั่น น้ำมันแบบ Complex ทีท่ นั สมัย กลาวคือโรงกลัน่ ของบริษทั ฯ มีหนวย Hydrocracker และ Visbreaker ซึง่ สามารถเปลีย่ นน้ำมันเตาเปนน้ำมัน สำเร็จรูปกึง่ หนักกึง่ เบาทีม่ มี ลู คาสูงกวา โดยมีกำลังการกลัน่ น้ำมันดิบ ผลิตภัณฑปโตรเลียม

น้ำมันสำเร็จรูปชนิดเบา

น้ำมันสำเร็จรูป กึ่งหนักกึ่งเบา น้ำมันสำเร็จรูปชนิดหนัก

145,000 บารเรลตอวัน นอกจากนี้ โรงกลัน่ ของบริษทั ฯ ยังมีความยืดหยุน และสามารถผลิตผลิตภัณฑในสัดสวนที่สอดคลองกับความตองการ ของลูกคา และสภาวะตลาดที่อาจมีความผันผวน ทั้งนี้ สามารถสรุป ผลิตภัณฑปโตรเลียมที่บริษัทฯ ผลิตได และการนำไปใชประโยชนได ดังนี้ การนำไปใชประโยชนทั่วไป

กาซปโตรเลียมเหลว หรือ แอลพีจี

- ใชเปนเชื้อเพลิง - ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี (โรงงานโอเลฟนส)

แนฟทาชนิดเบา

- ใชเปนสารองคประกอบในการผลิตน้ำมันเบนซิน - ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี (โรงงานโอเลฟนส)

รีฟอรเมท

- ใชเปนสารองคประกอบในการผลิตน้ำมันเบนซิน - ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี (โรงงานอะโรเมติกส)

น้ำมันอากาศยาน

- ใชเปนเชื้อเพลิงอากาศยาน

น้ำมันดีเซล

- ใชเปนเชื้อเพลิงทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาคการขนสง

น้ำมันเตา

- ใชเปนเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรม และการขนสงทางทะเล

การดำเนินงานของกลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการในป 2555 ในป 2555 บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑปโตรเลียมไดรวมทั้งสิ้นประมาณ 70.7 ลานบารเรล โดยใชวัตถุดิบเขากลั่นประมาณ 71.9 ลานบารเรล โดยมีปริมาณน้ำมันดิบนำเขากลั่น และอัตราการใชกำลังการกลั่น สรุปไดดังนี้ ป 2555

กำลังการกลั่นน้ำมันดิบ (พันบารเรลตอวัน) ปริมาณน้ำมันดิบนำเขากลั่น (พันบารเรลตอวัน) อัตราการใชกำลังการกลั่น (% CDU Utilization)

145 146 100%


1

9

ดานการจำหนาย บริษัทฯ สามารถจำหนายผลิตภัณฑปโตรเลียมได ปริมาณรวมประมาณ 70.7 ลานบารเรล โดยผลิตภัณฑหลักคือ น้ำมันดีเซลและน้ำมันอากาศยาน ซึง่ บริษทั ฯ มียอดจำหนายในประเทศ ประมาณรอยละ 85 ของปริมาณการผลิตน้ำมันดีเซลและน้ำมัน อากาศยานของบริษัทฯ คิดเปนสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 21 ของยอดจำหนายในประเทศไทยทัง้ หมด นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังไดหา ลู ก ค า รายใหม ๆ เพิ่ ม เติ ม โดยเฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ น้ ำ มั น เตาและ รีฟอรเมท ทำใหบริษัทฯ มีความยืดหยุนในการผลิตและจำหนาย มากขึ้น ทั้งนี้ ผลิตภัณฑปโตรเลียมที่บริษัทฯ สงออกไปจำหนาย ในภูมิภาคเอเชีย ไดแก สิงคโปร และเวียดนาม มีจำนวนรวมกัน ประมาณรอยละ 30 ของการจำหนายผลิตภัณฑปโตรเลียมทั้งหมด

ประสิทธิภาพ ลดการปลอยกาซเรือนกระจก ชวยลดการเกิดภาวะ โลกรอน การเดินเครื่องระบบ Low NOx Emission ของเครื่องกำเนิด ไฟฟากังหันกาซไฟฟาอยางตอเนื่อง เพื่อลดการระบายออกไซด ของไนโตรเจน การลดการปลอยสารอินทรียระเหย (VOC) ให เปนศูนยดว ยการเดินเครือ่ งหนวยนำกลับไอสารอินทรียร ะเหย (Vapor Recovery Unit) ทีถ่ งั เก็บผลิตภัณฑและคลังจายผลิตภัณททางรถบรรทุก

ดานสิ่งแวดลอม โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ ไดดำเนินโครงการและ ปฎิบตั ติ ามมาตรการตามขอกำหนดในรายงานการวิเคราะหผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอม (EIA) เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง รวมถึงการปรับปรุงอุปกรณในกระบวนการผลิต เพื่อใหมั่นใจวาจะ สามารถใชทรัพยากรไดอยางเต็มประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน เชน การปรับปรุงและทำความสะอาดอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน ในกระบวนการผลิต การผลิตไฟฟาดวยเครื่องกำเนิดไฟฟาแบบ ความรอนรวม (cogeneration) ทำใหมีการใชพลังงานอยางมี

ในป 2555 บริษัทฯ ไดรับรางวัลการจัดการของเสียที่ดีภายในโรงงาน ตามหลัก 3Rs (3Rs Award) จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดรับ รางวัลสถานประกอบการทีป่ ฏิบตั ติ ามมาตรการในรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิง่ แวดลอม และมีการจัดการสภาพแวดลอมดีเดนประจำป 2555 (EIA Monitoring Awards 2012) และไดรับรางวัลธรรมาภิบาล สิ่งแวดลอม (ธงขาวดาวเขียว) ดวยคะแนนยอดเยี่ยม

นอกจากนี้ โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ ยังเปนผูผลิตน้ำมันดีเซล กำมะถันต่ำตามมาตรฐานยูโร IV ทำใหสามารถลดการปลอยมลสาร ซัลเฟอรไดออกไซดจากกระบวนการผลิตในพื้นที่มาบตาพุด และ จากการเผาไหมนำ้ มันดีเซลในรถยนต


2 0

กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส ภาพรวมธุรกิจ บริษัทฯ เปนผูผลิตและจำหนายผลิตภัณฑอะโรเมติกส จากการเพิ่ม มูลคาใหกับวัตถุดิบคอนเดนเสทจากอาวไทย โดยบริษัทฯ มีหนวย ผลิตอะโรเมติกส 2 หนวย ซึ่งมีกำลังการกลั่นคอนเดนเสทรวม 135,000 บารเรลตอวัน และกำลังการผลิตผลิตภัณฑอะโรเมติกส ไดแก พาราไซลีน เบนซีน ไซโคลเฮกเซน ออรโธไซลีน มิกซไซลีนส และโทลู อี น รวมทั้ ง สิ้ น 2,259,000 ตั น ต อ ป ทั้ ง นี้ ส ามารถ สรุปภาพรวมผลิตภัณฑอะโรเมติกส รวมถึงการนำไปใชประโยชน ไดดังแสดงในแผนภาพตอไปนี้

นอกจากผลิตภัณฑอะโรเมติกสดังกลาวแลว โรงงานอะโรเมติกส ของบริ ษั ท ฯ ยั ง ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ พ ลอยได ที่ ส ำคั ญ ได แ ก ก า ซ ปโตรเลียมเหลว และแนฟทาชนิดเบา ซึง่ สามารถเพิม่ มูลคาเปนผลิตภัณฑ โอเลฟนส และ Condensate Residue ซึง่ ถูกสงไปเพิม่ มูลคา โดยการ กลั่นแยกเปนน้ำมันอากาศยาน น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตา

2

- $3

+$" #3

; &

#

' % #

! &

' C

! "#$ % &

B

!

! & #

' / ,+ (+ 9, + :( "

% ;% B'

+

1 8 +" ,- .& ' / 012 <$ 1 8 +" - ; 93 &

1 8 +" = # & 1 8 +" - ; 93 &

,- .& + 2$ ,- .& = # &

&

'$ &

$ $

% # #$ ) ,#D E

&

& D

$#$ : C % %&

$ ' ( ) *$ $

& &

3$ 93 & : ; $33$

+

# F

1 8 +" 93 & #+

: ; + 56* .7&

'$ - :

' "

,- .& ' / 012*$30 2$

4 +

( 56* .7&

2 03 ' $;(& 2 %2$3 4"%

: ; + 56 $($ $ ' ) *$ $ 3$>+$: 012 -? " 9,% 0 $ @ $

; & ( / 012 -? "# ; $3 0 , $( +$ A


2

1

การดำเนินงานที่สำคัญของกลุมผลิตภัณฑ อะโรเมติกส ในป 2555 ในป 2555 บริษัทฯ มีการใชวัตถุดิบเพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑ อะโรเมติกสทั้งสิ้น 5.9 ลานตัน โดยวัตถุดิบที่สำคัญคือ คอนเดนเสท ซึ่งบริษัทฯ จัดหาผาน ปตท. ในราคาตลาด เปนปริมาณประมาณ 43 ลานบารเรล

ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑอะโรเมติกสไดทั้งสิ้นประมาณ 2.01 ลานตัน โดยมีปริมาณการผลิตผลิตภัณฑอะโรเมติกส และ อัตราการใชกำลังการผลิต (%BTX Utilization Rate) สรุปไดดังตาราง ตอไปนี้

ป 2555

กำลังการผลิตผลิตภัณฑอะโรเมติกส (พันตันตอป)

2,259

ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑอะโรเมติกส (พันตัน)

2,014

BTX Utilization Rate (%)

ดานการจำหนายผลิตภัณฑ บริษัทฯ สามารถจำหนายผลิตภัณฑ อะโรเมติกสและผลิตภัณฑพลอยไดรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 3.3 ลานตัน โดย สวนใหญเปนการจำหนายผาน ปตท. ประมาณรอยละ 58 โดยบริษทั ฯ มี ส ว นแบ ง การตลาดในประเทศสำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ อ ะโรเมติ ก ส สูงที่สุด คือ เบนซีน ประมาณรอยละ 50 และพาราไซลีน ประมาณ ร อ ยละ 55 สำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ อ ะโรเมติ ก ส ส ว นที่ เ หลื อ บริ ษั ท ฯ สงไปจำหนายยังภูมิภาคเอเชีย ไดแก สิงคโปร ไตหวัน อินโดนีเซีย มาเลเซี ย จี น อิ น เดี ย และเกาหลี รวมทั้ ง ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ เช น ซาอุดิอาระเบีย คูเวต และเนเธอรแลนด เปนตน

86%

ดานการดูแลสิ่งแวดลอม กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกสไดดำเนินการ ตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมตามที่ระบุใน รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA : Environmental Impact Assessment) อยางเครงครัดมาโดยตลอด นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังไดดำเนินการอืน่ ๆ เพิม่ เติมเพือ่ ลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอม เชน การติดตัง้ อุปกรณดดู ซับไอสารอินทรียร ะเหยจากถังเก็บผลิตภัณท เบนซีนที่โรงงานอะโรเมติกสหนวยที่ 1 และ 2 โดยในระยะยาว จะติดตั้งอุปกรณดูดกลับไอสารอินทรียระเหยที่ทุกถังเก็บผลิตภัณท คาดวาจะแลวเสร็จในป 2556 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดดำเนินการ จัดทำบัญชีการปลดปลอยสารอินทรียระเหยแลวเสร็จโดยสมัครใจ กอนทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมจะบังคับใชอยางเปนทางการ


2 2

กลุมผลิตภัณฑโอเลฟินส ภาพรวมธุรกิจ บริษทั ฯ เปนผูผ ลิตและจำหนายผลิตภัณฑเอทิลนี และโพรพิลนี ซึง่ รวม เรี ย กว า “โอเลฟ น ส ” โดยจำหน า ยให แ ก ก ลุ ม โรงงานป โ ตรเคมี ขั้นตอเนื่องภายในกลุมบริษัท ไดแก โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก โพลีเอทิลีนความหนาแนนสูง (HDPE) โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก โพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำ (LDPE) โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก โพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำเชิงเสน (LLDPE) และโรงงานผลิต เอทิลีนออกไซด/เอทิลีนไกลคอล (EO/EG)

ณ สิน้ ป 2555 บริษทั ฯ มีกำลังการผลิตติดตัง้ (Nameplate Capacity) ของโอเลฟ น ส ร วม 2,888,000 ตั น ต อ ป ประกอบด ว ย เอทิ ลี น 2,376,000 ตันตอป และโพรพิลีน 512,000 ตันตอป ทั้งนี้ สามารถ สรุปภาพรวมผลิตภัณฑโอเลฟนส รวมถึงการนำไปใชประโยชน ไดดังแผนภาพตอไปนี้

3 %%) 6;

!-

'

9

0

3 40

, &+ # ! 6 / 5 ' % % 7 %3/5 " 8 9 ! 3 $ 8 !

! " # ! " $ % & '( )$

#'% * &+ ,- . , " /

! ""

01. *2

8# % / "

01 % % & % "

01

5 0 3

8# % % 3" + / 9 ! - : 8

% + !

, -7 %

3 %6 6

- : 5% %


2 3

ทั้งนี้ บริษัทฯ มีโรงงานโอเลฟนสที่ใชทั้งกาซธรรมชาติและแนฟทา เปนวัตถุดิบ ทำใหสามารถปรับการใชวัตถุดิบในการผลิตใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกบริษัทฯ ไดตามสภาวะตลาดในแตละชวง สำหรับ ผลิตภัณฑพลอยไดที่ไดจากการผลิตโอเลฟนส สวนใหญบริษัทฯ จะนำไปเพิ่มมูลคา เชน การสงไพโรไลซิสแกสโซลีน ไปเพิ่มมูลคา เปนผลิตภัณฑอะโรเมติกส การสงแครกเกอรบอททอมไปกลั่นแยกที่ โรงกลั่นน้ำมันของบริษัทฯ เปนตน

การดำเนินงานที่สำคัญของกลุมผลิตภัณฑ โอเลฟินส ในป 2555 ในป 2555 บริษัทฯ สามารถผลิตโอเลฟนส ไดรวมทั้งสิ้น 2.55 ลานตัน คิดเปนอัตราการใชกำลังการผลิตที่ 88% โดยเปนการผลิตเอทิลีนและ โพรพิลนี 2.15 ลานตัน และ 0.40 ลานตัน ตามลำดับ สำหรับวัตถุดบิ หลัก ทีส่ ำคัญในการผลิตโอเลฟนสของบริษทั ฯ ไดแก อีเทน โพรเพน แอลพีจี ซึ่ ง เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากก า ซธรรมชาติ ที่ ผ ลิ ต ได จ ากโรงแยกก า ซ ธรรมชาติของ ปตท. โดยในป 2555 บริษัทฯ จัดหาวัตถุดิบหลักจาก ปตท. คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 98 ของปริมาณวัตถุดบิ ทีจ่ ดั หา ทัง้ หมด ป 2555

กำลังการผลิต (พันตันตอป)

2,888

1. เอทิลีน

2,376

2. โพรพิลีน

512

ปริมาณการผลิตจริง (พันตัน)

2,552

1. เอทิลีน

2,151

2. โพรพิลีน

401

อัตราการใชกำลังการผลิต (%)

ทัง้ นี้ โอเลฟนสทผี่ ลิตไดสว นใหญบริษทั ฯ จะสงใหกบั โรงงานขัน้ ตอเนือ่ ง ในกลุมบริษัท รวมถึงจำหนายใหลูกคาในประเทศเปนหลัก โดยในป 2555 บริษัทฯ สงออกเอทิลีนปริมาณ 59,205 ตัน คิดเปนรอยละ 3.9 ของปริมาณเอทิลีนที่จำหนายทั้งหมด สวนโพรพิลีนบริษัทฯ สงออก ปริมาณ 92,304 ตัน คิดเปนรอยละ 22.9 ของปริมาณโพรพิลีนที่ จำหนายทั้งหมด

88%

สำหรับผลการดำเนินงานดานสิง่ แวดลอม โรงงานโอเลฟนส สาขา ไอ-หนึง่ และ ไอ-สี่ ของบริษัทฯ ไดรับรางวัลการจัดการของเสียภายในโรงงาน ที่ดีตามหลัก 3Rs นอกจากนี้ โรงงานโอเลฟนส สาขา ไอ-หนึ่ง ยังได รับเกียรติบัตรการนำรองการใชประโยชนจากกากของเสีย ภายใต “โครงการพัฒนาศักยภาพการใชประโยชนกากของเสียไดทั้งหมด (Zero Waste to Landfill Achievement Award)” จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม อีกดวย


2 4

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร ภาพรวมธุรกิจ ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ โ พลิ เ มอร มี ค วามสำคั ญ ในการเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ขั้นตอเนื่องหลักของผลิตภัณฑโอเลฟนส โดยผลิตภัณฑโพลิเมอร จะถูกนำไปใชแปรรูปเปนสินคาอุปโภคบริโภคทั่วไป รวมถึงสินคา จำเปนทั้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ตลอดจนสินคา ที่เพิ่มความสะดวกสบายตามวิถีชีวิตของผูบริโภคสมัยใหม บริษัทฯ จึงมุงเนนใหความสำคัญในการดำเนินธุรกิจในกลุมนี้ โดยในป 2555 บริษัทฯ มีกำลังการผลิตโพลิเมอรที่สำคัญ ไดแก HDPE, LDPE, LLDPE และ PS รวมทั้งสิ้น 1,590,000 ตันตอป ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดผลิต ผลิตภัณฑกลุมโพลิเมอร ทั้งจากบริษัทฯ เอง และผานบริษัทในกลุม ซึ่งประกอบดวย บริษัท บางกอกโพลีเอททิลีน จำกัด (มหาชน) (BPE) ถือหุน โดยบริษทั ฯ รอยละ 100 บริษทั พีทที ี โพลิเอทิลนี จำกัด (PTTPE) ซึ่งถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 100 บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด (TSCL) ที่ PTTPE ถือหุนรอยละ 100 และบริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) (VNT) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 24.98 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดลงทุนใน บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด (PTTPM) ซึง่ บริษทั ฯ ถือหุน รอยละ 25 โดย PTTPM เปนตัวแทนใน การดำเนินกิจกรรมดานการตลาดและการจัดจำหนายผลิตภัณฑ เม็ดพลาสติก HDPE LDPE และ LLDPE ของบริษัทฯ อันเปนการ ชวยเพิม่ ศักยภาพทางการตลาดทัง้ ในและตางประเทศใหแกกลุม บริษทั ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ม็ ด พลาสติ ก โพลี เ อทิ ลี น ทั้ ง หมดจำหน า ยภายใต เครื่องหมายการคา “Innoplus” สวนเม็ดพลาสติก PS จัดจำหนาย ภายใตเครื่องหมายการคา “Diarex” ทั้งนี้ สามารถสรุปผลิตภัณฑ ของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร และการนำไปใชประโยชนไดดังนี้ 1) เม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแนนสูง (HDPE)

เปนผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นปลายน้ำ เปนสารตั้งตนสำหรับ งานเปาฟลม งานเปาแบบ งานทอ งานฉีดแบบและงานเสนใย โดยสามารถปรั บ คุ ณ สมบั ติ แ ละลั ก ษณะงานตามความ ตองการของลูกคา อาทิ ถุงบรรจุสินคา ขวดน้ำดื่ม ขวดนม แกลลอนน้ำมันหลอลื่น ของใชในบาน ของเลน ตลอดจน ผลิตภัณฑทางการกอสรางและอุตสาหกรรมการเกษตร เชน เชื อ ก อวน ตาข า ย ลั ง แท น รองสิ น ค า ท อ น้ ำ และ ทอรอยสายไฟ เปนตน

2) เม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำเชิงเสน (LLDPE)

ใชในอุตสาหกรรมการหีบหอ เชน ใชทำเปนฟลม หดรัด (shrink film) ฟลมยึดรัดรูป (stretch film) ถุงบรรจุสิ่งของที่มี น้ำหนักสูง ถุงบรรจุเสือ้ ผา ถุงบรรจุอาหารแชแข็ง การแปรรูป นอกจากในรูปของฟลมแลวก็ยังมีการนำ LLDPE มาทำทอน้ำ เคลือบสายไฟและสายเคเบิ้ล เปนตน 3) เม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำ (LDPE)

ใชทำถุงเย็น ถุงแชแข็ง ถุงซิป ฟลม ดานการเกษตร ทอน้ำหยด เปนฉนวนหุมสายไฟและสายเคเบิ้ล ของใชในบาน ฝาน้ำดื่ม ของเลนเด็ก สายน้ำเกลือ ขวดน้ำเกลือ ขวดพลาสติกชนิดบีบได หลอดยาสีฟน ซองขนม ดอกไมพลาสติก รองเทา ฟลมหอ รัดรูป (shrink film) ฟลม หออาหารทัว่ ไป และทำวัสดุเคลือบผิว เปนตน 4) เม็ดพลาสติกโพลีสไตรีน (PS)

บริษทั ฯ ผลิตผลิตภัณฑโพลีสไตรีน 2 ชนิด คือ GPPS (General Purpose Polystyrene) ใชในการขึ้นรูปบรรจุภัณฑประเภท ใชแลวทิง้ ถาดทีใ่ ชในการแพทยและในธุรกิจโรงแรม ผลิตของเลน เครื่องใชสำนักงาน และ HIPS (High Impact Polystyrene) ใชเปนสารตั้งตนสำหรับผลิตภัณฑที่ตองการความทนทาน ตอแรงกระแทก เชน อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา ภายในบาน ของเด็กเลน เปนตน 5) ผงพลาสติกพีวีซี (Polyvinyl Chloride : PVC)

ใช ใ นการผลิ ต ท อ เครื่ อ งกรอง ฟ ล ม ใสและขุ น สำหรั บ หอผลิตภัณฑ ใชเปนสารเคลือบผิว เชน วัสดุที่ใชทำพื้นหอง ผนัง หนังเทียม เปนตน

การดำเนินงานที่สำคัญของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑ โพลิเมอร ในป 2555 ป 2555 บริษทั ฯ สามารถผลิตผลิตภัณฑโพลิเมอร ไดแก HDPE LLDPE LDPE และ PS ไดรวมกันทัง้ สิน้ 1.52 ลานตัน โดยมีรายละเอียดการผลิต และอัตราการใชกำลังการผลิต ดังนี้


2 5

กำลังการผลิต บริษัท

ผลิตภัณฑ

ปริมาณ การผลิตจริง

อัตราการใช กำลังการผลิต

(พันตัน)

(%)

(พันตันตอป)

PTTGC

HDPE

300

306

102%

BPE

HDPE

500

485

97%

PTTPE

LLDPE

400

400

100%

LDPE

300

264

88%

PS

90

63

70%

TSCL

สำหรับการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอม บริษัทฯ ยึดถือหลักในการ ประกอบธุรกิจ โดยใหมีการใชทรัพยากรตางๆ อยางคุมคาและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนควบคุ ม ป อ งกั น ให เ กิ ด ผลกระทบต อ สิ่งแวดลอมนอยที่สุด เชน ติดตั้งระบบ Reverse Osmosis (RO) เพื่อนำน้ำทิ้งที่ผาน การบำบัดโดยระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานแลว มาใช ประโยชนโดยการผลิตน้ำใส (Clarified Water) เพื่อใชใน กระบวนการผลิตในระบบน้ำหลอเย็น ซึ่งเปนการลดปริมาณ น้ำทิ้งและใชทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด ติดตั้งอุปกรณประสิทธิภาพสูงเพิ่มเติมเพื่อลดผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอม เชน ระบบกำจัดฝุน (Bag Filter) ที่เกิดจาก กระบวนการขนถายผลิตภัณฑไปยังไซโล ดานการจัดการกากของเสีย ทั้งประเภทขยะทั่วไป และขยะ อุตสาหกรรม กากของเสียที่เปนของแข็งจะแยกประเภท เพือ่ นำไปจำหนายหรือกำจัดโดยบริษทั ทีไ่ ดรบั การขึน้ ทะเบียน กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม กากของเสียที่เปนของเหลว จะจำหนายเปนเชื้อเพลิงกับบริษัทที่ไดรับการขึ้นทะเบียน กับกรมโรงงานอุตสาหกรรมเชนกัน เปนตน

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใหความสำคัญกับการบริหารจัดการความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม (Safety, Occupational Health and Environment) ตามมาตรฐานสากลในทุกหนวยผลิต โดยในป 2555 BPE และ TSCL ไดรับโลประกาศเกียรติคุณระดับเงิน โครงการรณรงคลดสถิตอิ บุ ตั เิ หตุจากการทำงานใหเปนศูนย และรางวัล สถานประกอบกิจการดีเดนดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทำงานระดับประเทศ จากกระทรวงแรงงาน ประจำป 2555 อนึ่ง ในป 2555 กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอรยังไดรับการรับรอง การใชเครื่องหมายคารบอนฟุตพริ้นท จากองคการบริหารจัดการ กาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) (อบก.) สำหรับการผลิต HDPE รวม 31 เกรด


2 6

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด ภาพรวมธุรกิจ เพื่อเพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑโอเลฟนสและตอบสนองความตองการ ของกลุมอุตสาหกรรม และผูบริโภคไดครอบคลุมยิ่งขึ้น บริษัทฯ เห็นถึงความจำเปนในการผลิตผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูงและยังไมมีการ ผลิตในประเทศ ทำใหสามารถทดแทนการนำเขาจากตางประเทศ และเพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหกับอุตสาหกรรมปโตรเคมีของไทย บริษัทฯ จึงไดขยายธุรกิจไปสูธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซดและ ผลิตภัณฑขั้นตอเนื่อง (EO-Based Performance Products) ซึ่งไดแก ผลิตภัณฑเอทิลนี ออกไซด/เอทิลนี ไกลคอล (EO/EG) รวมถึงผลิตภัณฑ ตอเนื่องของเอทิลีนออกไซด (EO Derivatives) ไดแก เอทานอลเอมีน (Ethanolamines) และสารอีทอกซีเลท (Ethoxylate) เปนตน

2) เอทานอลเอมีน (Ethanolamines)

ผลิตจากเอทิลนี ออกไซด ใชในการสังเคราะหสารลดแรงตึงผิว สารทำใหหนังสัตวหรือหนังฟอกมีความนุม สารเคมีทาง การเกษตรและสารปฏิชีวนะ ใชเปนสวนผสมในการผลิต ครีมนวดผม สบู น้ำยาดัดผม เครื่องสำอาง น้ำยาปรับผานุม อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมซีเมนต และกระบวนการ ผลิตสิ่งทอ 3) แฟตตี้แอลกอฮอลอีทอกซีเลท (Ethoxylate)

ผลิ ต จากเอทิ ลี น ออกไซด แ ละแฟตตี้ แ อลกอฮอล (Fatty Alcohol) เปนวัตถุดิบตั้งตนในการผลิตแชมพู น้ำยาลางจาน น้ำซักลาง อีกทั้งในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ยังเปนวัตถุดิบใน น้ำยาลางเสนใย (scouring agent) และเปนตัวชวยละลาย ในขั้นตอนการทำเสนใยใหนิ่ม

โดยในป 2555 กลุม บริษทั มีกำลังการผลิต โมโนเอทิลนี ไกลคอล (Mono Ethylene Glycol : MEG) 395,000 ตันตอป สวนเอทานอลเอมีน และอี ท อกซี เ ลทมี ก ำลั ง การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ล ะ 50,000 ตั น ต อ ป โดยบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจผลิตผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซดผานบริษัท ทีโอซีไกลคอล จำกัด (TOCGC) ถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 100 และ บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด (TEX) ถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 50

การดำเนินงานที่สำคัญของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑ เอทิลีนออกไซด ในป 2555

ทั้งนี้ สามารถสรุปผลิตภัณฑสำคัญของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีน ออกไซด และการนำไปใชประโยชนได ดังนี้

ในป 2555 กลุม ธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลนี ออกไซดสามารถผลิตผลิตภัณฑ และมีอัตราการใชกำลังการผลิต สรุปไดดังนี้

1) เอทิลีนออกไซด (Ethylene Oxide : EO) และ เอทิลีนไกลคอล (Ethylene Glycol : EG)

EO/EG เปนผลิตภัณฑขั้นตอเนื่องของเอทิลีน โดยผลิตภัณฑ EG ประกอบดวย Mono Ethylene Glycol (MEG), Di Ethylene Glycol (DEG), Tri Ethylene Glycol (TEG), Poly Ethylene Glycol (PEG) โดยมีผลิตภัณฑหลักในรูปของ MEG ซึ่งใช เปนวัตถุดบิ รวมกับ PTA ในการผลิตเสนใยโพลีเอสเตอรสำหรับ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ และการผลิตขวดน้ำใส หรือ ขวดเพ็ท (PET)

กำลังการผลิต บริษัท

ผลิตภัณฑ

ปริมาณ การผลิตจริง

อัตราการใช กำลังการผลิต

(พันตัน)

(%)

(พันตันตอป)

TOCGC

TEX

EO/EG

395

349

88%

EA

50

43

86%

Ethoxylate

50

65

130%


2 7

ดานการจำหนาย บริษัทฯ จำหนายผลิตภัณฑ MEG ใหกับลูกคา ในประเทศผานชองทางการจัดจำหนายทัง้ ทางตรง และนายหนาการคา คิ ด เป น ปริ ม าณมากกว า ร อ ยละ 80 ของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผ ลิ ต ได โดยบริษัทฯ มีสวนแบงการตลาดผลิตภัณฑ MEG ในประเทศไทย ประมาณรอยละ 60 เพิ่มขึ้นมาจากป 2554 ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ MEG สวนที่เหลือถูกสงออกไปจำหนายยังตลาดตางประเทศ โดยเนนที่ ตลาดประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ในเอเชียเปนหลัก สวนผลิตภัณฑ EA สามารถนำไปใชเปนวัตถุดิบหรือเปนสารประกอบในการผลิต ไดในอุตสาหกรรมหลายชนิด ลูกคาทั้งในและตางประเทศของ EA จึงมีความหลากหลายและแตกตางกัน ในขณะที่ผลิตภัณฑแฟตตี้ แอลกอฮอลอีทอกซีเลท เปนสารลดแรงตึงผิวที่ใชในอุตสาหกรรม Personal Care และ Home Care ซึ่งสามารถใชไดโดยตรง และเปนวัตถุดิบใหกับผลิตภัณฑอื่นในกลุมเดียวกัน เชน แชมพู น้ำยาลางจาน น้ำยาซักลาง อีกทั้งยังเปนวัตถุดิบในน้ำยาลางเสนใย ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ (scouring agent) และเปนตัวชวยละลาย ในขั้นตอนการทำเสนใยใหนิ่ม โดยในป 2555 บริษทั ฯ จำหนาย EA และแฟตตีแ้ อลกอฮอลอที อกซีเลท ใหกับลูกคาผานชองทางการจัดจำหนายทั้งทางตรง นายหนาการคา และตั ว แทนจำหน า ย โดยจะมุ ง เน น การสร า งฐานการตลาด ในประเทศไทย และประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียเปนหลัก

ดานสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มุงเนนการปองกันปญหาสิ่งแวดลอม เชน การเฝาระวังปริมาณความเขมขนสารเคมีในบรรยากาศ คุณภาพ อากาศทีอ่ อกจากปลองระบายและรอบโรงงาน คุณภาพน้ำทิง้ ทีร่ ะบาย ออกจากโรงงาน ซึง่ มีการตรวจวัดใหสอดคลองตามมาตรฐานทีก่ ำหนด ดำเนินการสงกำจัดกากหรือวัสดุเหลือใชไปยังผูรับบำบัดที่ไดรับ อนุญาตถูกตองตามกฎหมายโดยมีระบบติดตามตรวจสอบเสนทาง (GPS) เพื่อขจัดปญหาลักลอบทิ้งขยะ และการดำเนินการลดอัตรา การรั่วไหลของสารระเหยอินทรียระเหยงาย (VOC) โดยบริษัทฯ ได ดำเนินการดานสิง่ แวดลอมเปนไปตามทีก่ ฎหมายกำหนดอยางเขมงวด และในป 2555 ทาง TEX ไดรับรางวัลโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับสาม โครงการธรรมภิบาลสิ่งแวดลอม (ธงขาวดาวเขียว) และ โครงการการใชประโยชนจากกากของเสีย (3R Award and Zero Waste to Landfill) นอกจากนี้ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซดยังใหความสำคัญใน เรือ่ งการประหยัดพลังงาน โดยการดำเนินการตรวจสอบการแลกเปลีย่ น ความรอนที่เกิดขึ้นจากเครื่องปฏิกรณเคมีใหมีการถายเทความรอนที่ อัตราการผลิตสูงสุด ลดการพึง่ พาไอน้ำสวนทีต่ อ งนำเขามาจากโรงงาน ผลิตไอน้ำ เพิม่ การหมุนเวียนสารรอนทีม่ คี า ความรอนแฝงมาใชถา ยเท ความรอนในขั้นตอนการผลิต สำรวจอุปกรณการผลิต และลดการใช ไฟฟาทีเ่ กินความจำเปน รวมถึงการจัดการเวลาเพื่อลด Peak ไฟฟา ของการเดินเครื่องปมน้ำขนาดใหญ เปนตน


2 8

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม ภาพรวมธุรกิจ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ คมี เ พื่ อ สิ่ ง แวดล อ ม คื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ ช วั ต ถุ ดิ บ จาก ธรรมชาติ อาทิ น้ำมันปาลม น้ำมันในเมล็ดปาลม น้ำมันพืช ไขมันสัตว หรือขาวโพด เปนวัตถุดิบหลักในการผลิต โดยผลิตภัณฑที่ไดสามารถ นำไปผลิตผลิตภัณฑตอเนื่องตางๆ ไดมากมาย ทั้งในอุตสาหกรรม สุขอนามัยสวนบุคคล อุตสาหกรรมยา และอุตสาหกรรมพลาสติก ชีวภาพ ฯลฯ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพือ่ สิง่ แวดลอม ผานบริษทั ตางๆ ไดแก บริษทั ยอย 2 บริษทั คือ บริษทั ไทยโอลีโอเคมี จำกัด หรือ TOL (ถือหุน โดยบริษทั ฯ 100%) และ บริษทั ไทยแฟตตีแ้ อลกอฮอลส จำกัด หรือ TFA ซึ่ง TOL ถือหุน 100% และมีบริษัทรวมทุนระหวาง บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอรเนชั่นแนล ไพรเวท จำกัด ซึ่งเปน บริษัทในเครือของบริษัทฯ กับพันธมิตรทางธุรกิจอีกจำนวน 4 บริษัท ไดแก บริษัท Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. หรือ Emery ซึง่ เปนบริษทั รวมทุนกับบริษทั ไซม ดารบี้ แพลนเทชัน่ จำกัด (มาเลเซีย) โดยมีสดั สวนการถือหุน เทากันทีร่ อ ยละ 50 บริษทั Myriant Corporation ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนกับผูถือหุนเดิมของ Myriant โดยมีสัดสวน การถือหุน ทีร่ อ ยละ 47 บริษทั Natureworks LLC ซึง่ เปนบริษทั รวมทุน กับ Cargill Inc ประเทศสหรัฐอเมริกา ในสัดสวนการถือหุนเทากันที่ รอยละ 50 และบริษัท ไบโอสเปคตรัม จำกัด (Bio Spectrum) โดย บริษัทฯ ไดรวมลงทุนกับกลุมบริษัท Inventa Technology (S) Pte Ltd ประเทศสิงคโปร ในสัดสวนรอยละ 75:25 โดยการลงทุนในธุรกิจ ผลิตภัณฑเคมีเพือ่ สิง่ แวดลอมของบริษทั ฯ สามารถแบงประเภทธุรกิจได 3 ประเภทดังตอไปนี้ กลุม Value Added Oleochemicals 1) เมทิลเอสเทอร (Methyl Ester)

เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ เ คมี เ พื่ อ สิ่ ง แวดล อ มขั้ น พื้ น ฐาน (Basic Oleochemicals) โดยใชสารเมทิลเอสเทอร (B100) ผสม กั บ น้ ำ มั น ดี เ ซลเพื่ อ ผลิ ต ไบโอดี เ ซล ที่ มี คุ ณ ภาพตาม มาตรฐานยุโรป (EN14214) โดยเมทิลเอสเทอรจะชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในน้ำมันดีเซล ทัง้ ในดานคุณสมบัตกิ ารหลอลื่น เพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหมของเครื่องยนต ชวยยืดอายุ การใชงานของเครื่องยนต และที่สำคัญคือชวยลดมลภาวะ หรือผลกระทบตอสิง่ แวดลอม 2) แฟตตี้แอลกอฮอล (Fatty Alcohol)

เปนผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอมขั้นพื้นฐาน ซึ่งใชเปนสาร ตั้ ง ต น ที่ ส ำคั ญ ที่ ใ ช ต อ ยอดไปสู อุ ต สาหกรรมสุ ข อนามั ย

สวนบุคคล โดยในปจจุบนั TFA เปนผูผ ลิตแฟตตีแ้ อลกอฮอล แตผูเดียวในประเทศไทย ซึ่งสามารถทดแทนการนำเขาจาก ตางประเทศไดเปนมูลคามหาศาล 3) กลีเซอรีน (Glycerin)

เปนผลิตภัณฑพลอยไดจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑเคมี เพือ่ สิง่ แวดลอม กลีเซอรีนสามารถนำไปใชในอุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมสุขอนามัยสวนบุคคล 4) แฟตตี้แอซิด (Fatty Acid)

เปนผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอมขั้นพื้นฐานที่ผลิตไดจาก บริษัท Emery ในประเทศมาเลเซีย สามารถนำไปใชใน อุตสาหกรรมสุขอนามัยสวนบุคคล สบู และเครื่องสำอาง 5) เคมีเพื่อสิ่งแวดลอมชนิดพิเศษ (Specialty Oleochemicals)

เปนผลิตภัณฑท่ไี ดจากการนำผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม ขั้นพื้นฐานไปผานกระบวนการตอเนื่อง ผลิตภัณฑเคมีเพื่อ สิ่งแวดลอมชนิดพิเศษสามารถนำไปใชในอุตสาหกรรมตางๆ มากมาย ครอบคลุมตั้งแตอุตสาหกรรมสารทำความสะอาด อุตสาหกรรมสุขอนามัยสวนบุคคล ผลิตภัณฑหลอลื่นและ อุตสาหกรรมพลาสติก ตัวอยางผลิตภัณฑเคมีเพือ่ สิง่ แวดลอม ชนิดพิเศษ ไดแก ไตรอะซิตนิ กรดโอโซน สารเติมแตงพลาสติก และสารเคมีที่ใชในอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมัน ทั้งนี้ บริษัท Emery เปนผูผลิตผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอมชนิดพิเศษ ดังกลาว กลุม Food and Nutraceuticals 6) สารแคโรทีนอยด (Carotenoid)

เปนผลิตภัณฑที่สกัดจากสารธรรมชาติ โดยเกิดจากการนำ น้ำมันปาลมเพื่อมาผลิตเปนสารเมทิลเอสเทอร และนำเขา กระบวนการเพือ่ ทำการสกัดสีและทำใหเปนสารแคโรทีนอยด เข ม ข น ทั้ ง ในรู ป แบบของเหลวและผง เพื่ อ ที่ น ำไปใช ใ น อุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพสำหรับใชเปนสี เติมแตงอาหาร


2 9

กลุม Bioplastics / Biochemicals 7) เคมีชีวภาพ (Bio-based chemicals) และ พลาสติกชีวภาพ (Bioplastics)

เปนการนำผลิตภัณฑจากธรรมชาติ อาทิ น้ำตาล มันสำปะหลัง ขาวโพด มาเปนวัตถุดิบ เพื่อผลิตเปน Lactic Acid และ Succinic Acid ซึ่ ง เป น สารตั้ ง ต น ที่ น ำไปผลิ ต เป น พลาสติ ก ชี ว ภาพ เช น Polylactic Acid (PLA) และ

ผลิตภัณฑดานโพลีเอสเตอร เชน 1,4 Butanediol ทั้งนี้ บริษัท Natureworks และ Myriant เปนผูผลิตผลิตภัณฑ ดังกลาว ทั้งนี้ สามารถสรุปผลิตภัณฑ และกำลังการผลิตผลิตภัณฑเคมีเพื่อ สิ่งแวดลอมของกลุมบริษัท ไดดังแสดงในตารางตอไปนี้

กำลังการผลิต บริษัท

ผลิตภัณฑ (พันตันตอป)

TOL / TFA

Emery

Natureworks

เมทิลเอสเทอร (Methyl Ester)

200

กลีเซอรีน (Glycerin)

31

แฟตตี้แอลกอฮอลส (Fatty Alcohol)

100

แฟตตี้แอซิท (Fatty Acid)

630

กลีเซอรีน (Glycerin) / ไตรอะซิติน (Triacetine)

152

แฟตตี้แอลกอฮอลส (Fatty Alcohol) / เมทิลเอสเทอร (Methyl Ester)

160

เอสเทอรพลาสติก (Ester-Plastic)

45

เอสเทอรออยฟลล (Ester-Oilfield)

20

โอโซนแอซิท (Ozone Acid)

22

Fatty Acid / Fatty Alcohol Surfactant

20

PLA

150

การดำเนินงานของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมี เพื่อสิ่งแวดลอมในป 2555 ในป 2555 TOL และ TFA มียอดขายเมทิลเอสเทอรและแฟตตีแ้ อกอฮอลส สูงสุดเปนประวัติการณ จากการไดลูกคาใหมทั้งลูกคาในประเทศและ ลูกคาตางประเทศ โดยไดมกี ารขยายฐานลูกคาไปยังตลาดตางประเทศ มากขึ้นทั้งในประเทศจีน อินเดีย รวมถึงการเจาะประเทศใหมๆ เชน ประเทศในกลุมแอฟริกาและบราซิล ในดานสิง่ แวดลอม TOL ยังคงไดรบั การรับรองในระบบคุณภาพ ISO9000, มาตรฐานเกีย่ วกับการจัดการสิง่ แวดลอม ISO14000 หรือ Environmental Management Systems (EMS), มาตรฐานอุ ต สาหกรรมไทย

มอก.18000 (TIS 18000) และ Occupational Health and Safety Assessment System (OHSAS 18000) วาดวย มาตรฐานอุตสาหกรรม ด า นการจั ด การอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย , ระบบ GMP (Good Manufacturing Practice) ที่เปนระบบพื้นฐานสำคัญเพื่อ ประกันความปลอดภัยของอาหาร และ HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) ที่เปนการใชระบบการวิเคราะหอันตราย และจุดวิกฤตที่ตองควบคุม รวมถึงการรับรองจากสถาบันมาตรฐาน ฮาลาลแหงประเทศไทย


3 0

กลุมธุรกิจเคมีภัณฑชนิดพิเศษ ภาพรวมธุรกิจ ความสำคัญในธุรกิจกอสรางและอุตสาหกรรมยานยนต โดย ที่สามารถนำมาใชเปนฉนวนเพื่อลดการใชพลังงานในอาคาร และยังสามารถนำมาทำเปนโฟมทีใ่ ชงานทัว่ ไปในอุตสาหกรรม เฟอรนิเจอร ที่นอน รวมถึงเบาะรถยนต

ผลิตภัณฑเคมีภัณฑชนิดพิเศษเปนผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นกลางและ ขั้นปลาย ที่สามารถนำไปใชเปนสวนประกอบสำคัญในอุตสาหกรรม ตอเนื่องอื่นๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต ธุรกิจกอสราง พลาสติก วิศวกรรม เปนตน โดยในปจจุบันมีบริษัทในกลุมธุรกิจเคมีภัณฑชนิด พิเศษรวม 2 บริษทั ไดแก บริษทั พีทที ี ฟนอล จำกัด (PPCL) ซึง่ บริษทั ฯ ถือหุนรอยละ 60 และบริษัท Vencorex Holding ประเทศฝรั่งเศส ซึง่ บริษทั ฯ ถือหุน รอยละ 51 โดยสามารถสรุปผลิตภัณฑทบี่ ริษทั ฯ ผลิต และการนำไปใชประโยชนได ดังนี้

4) Hexamethylene di-isocyanate (HDI) และอนุพันธของ HDI

เปนผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นกลางที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต สารเคลือบผิวประเภท PU coating ที่มีความสำคัญในธุรกิจ กอสรางและอุตสาหกรรมยานยนต โดยสามารถนำมาใชเพื่อ เคลือบสีผิวไม เฟอรนิเจอร รถยนต ทำใหชิ้นงานมีความ คงทนตอการขีดขวนมากขึ้น

1) ฟีนอล (Phenol)

เปนผลิตภัณฑปโ ตรเคมีขน้ั กลาง ซึง่ ผลิตจากวัตถุดบิ เบนซีนและ โพรพิลนี โดยฟนอลจะถูกใชเปนสารตัง้ ตนสำคัญในการผลิตเปน สารบิสฟนอล เอ (Bisphenol A หรือ BPA) และ Phenolic resin

การดำเนินงานของกลุม ธุรกิจเคมีภณ ั ฑชนิดพิเศษ ในป 2555

2) บิสฟีนอล เอ (BPA)

เปนผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นกลางที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต โพลิคารบอเนต (Polycarbonate หรือ PC) ซึ่งเปนพลาสติก วิศวกรรมที่สามารถนำไปใชในอุตสาหกรรมตางๆ มากมาย เชน อุตสาหกรรมชิ้นสวนประกอบรถยนต อุตสาหกรรม คอมพิวเตอร อุตสาหกรรมผลิตแผน CD/DVD และอุตสาหกรรม ผลิตเครื่องใชในบาน เปนตน

สำหรับป 2555 PPCL มีกำลังการผลิตติดตั้งสำหรับสารฟนอล 200,000 ตันตอป สารอะซีโตน 124,000 ตันตอป และบิสฟนอล เอ 150,000 ตันตอป ทั้งนี้ โรงงานฟนอลและบิสฟนอล เอ ของ PPCL มี กระบวนการผลิตที่ตอเนื่องกัน สวนบริษัทรวมทุน Vencorex Holding มีโรงผลิต TDI, HDI และอนุพนั ธของ HDI ทีด่ ำเนินการผลิตในเชิงพาณิชย ในประเทศฝรั่งเศส และประเทศสหรัฐอเมริกา

3) Toluene di-isocyanate (TDI)

ทั้งนี้ สามารถสรุปกำลังการผลิต ปริมาณการผลิตและอัตราการใช กำลังการผลิต ไดดงั นี้

เปนผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นกลางที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต โฟม Polyurethane (PU) ซึ่งเปนพลาสติกประเภทหนึ่งที่มี

กำลังการผลิต บริษัท

ผลิตภัณฑ

ปริมาณ การผลิตจริง

อัตราการใช กำลังการผลิต

(พันตัน)

(%)

(พันตันตอป)

PPCL

Vencorex

Phenol

200

238

119%

Acetone

124

149

119%

BPA

150

110

74%

TDI

125

82

66%

HDI and HDI Derivatives

35

30

85%


3

PPCL ยังคงรักษาระดับความสามารถในการแขงขันไวไดเปนอยางดี โดยมี ย อดสั่ ง ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากลู ก ค า อย า งต อ เนื่ อ งตลอดทั้ ง ป รวมทั้งไดริเริ่มโครงการตางๆ ที่ชวยในเรื่องการลดการใชพลังงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เปนตน ทั้งนี้ ในป 2555 PPCL ไดรับการอนุมัติจากสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ (สรอ.) ในการขยายขอบเขตการรับรองระบบ Integrated Management System (IMS) ไปยังโรงงานบิสฟนอล เอ ไดแก IMS, ISO 9001, ISO 14001, OHSAS 18001 และ TIS 18001 นอกจากนี้ PPCL ยังไดรับรางวัลสถานประกอบการและหนวยงาน ดีเดนดานนวัตกรรมเทคโนโลยีสีเขียว ซึ่งเปนรางวัลที่มอบใหกับ บริ ษัทที่ ด ำเนินธุ ร กิ จบนพื้ นฐานแห งความสำนึ ก รัก ษสิ่งแวดลอม ในงานวิศวกรรมแหงชาติประจำป 2555

1

สำหรับ Vencorex ยังคงรักษาระดับความสามารถในการแขงขันใน ธุรกิจ HDI และอนุพันธของ HDI ไวไดเปนอยางดี โดยมียอดสั่งซื้อ ผลิตภัณฑจากลูกคาอยางตอเนื่องตลอดทั้งป ในขณะที่ธุรกิจ TDI ไดเริม่ ดำเนินงานโครงการตางๆ ทีช่ ว ยลดการใชพลังงานและเพิม่ กำลัง การผลิต ทั้งนี้ เพื่อลดตนทุนในการผลิตในภาพรวมทั้งหมด


3 2

ธุรกิจการใหบริการและอื่นๆ นอกเหนือจากกลุม ธุรกิจทัง้ 7 กลุม ขางตน บริษทั ฯ ยังไดใหความสำคัญ กับธุรกิจและกิจกรรมทีส่ นับสนุนใหการดำเนินธุรกิจมีความมัน่ คงและ ครบวงจรยิ่งขึ้น โดยมีบริการดานตางๆ สำหรับกลุมบริษัทและลูกคา ในกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมีขั้นตอเนื่อง ดังนี้

อาชีวอนามัยและสิง่ แวดลอมทุกประเภท และบริการออกแบบ และวางระบบปองกันอัคคีภยั รวมทัง้ เปนทีป่ รึกษาทางดานการ จั ด ทำระบบมาตรฐานการจั ด การระบบคุ ณ ภาพ ระบบ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอมตามมาตรฐาน สากล เปนตน

1) ธุรกิจทาเทียบเรือและคลังเก็บเคมีภัณฑ

ดำเนินการผานบริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด (TTT) โดยใหบริการทาเทียบเรือขนถายและคลังเก็บเคมีภัณฑเหลว แกลูกคาอุตสาหกรรมทั่วไปในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตามที่ไดรับสัมปทาน

5) ธุรกิจใหบริการโครงสรางสำหรับทอขนสง

ดำเนินการผานบริษทั อิสเทิรน ฟลูอดิ ทรานสปอรต จำกัด (EFT) ซึง่ เปนผูใ หบริการโครงสรางสำหรับทอขนสงกับผูป ระกอบการ ปโตรเลียมและปโตรเคมีในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และพื้นที่ใกลเคียง

2) ธุรกิจการผลิตและจำหนายสาธารณูปโภค

ดำเนินการผานบริษทั โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (GPSC) (เดิมคือบริษทั พีทที ี ยูทลิ ติ ี้ จำกัด (PTTUT) โดย PTTUT ไดควบรวม กับบริษัท ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556) เพื่อผลิตและจำหนายไฟฟา ไอน้ำ และ น้ ำ ใช ใ นอุ ต สาหกรรม ให กั บ กลุ ม บริ ษั ท และโรงงาน อุตสาหกรรมขางเคียง 3) ธุรกิจใหบริการบำรุงรักษาโรงงานและการออกแบบ วิศวกรรม

ดำเนินการผาน บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด (PTTME) เพือ่ ดําเนินธุรกิจบริการงานบำรุงรักษาโรงงาน งานออกแบบและวิศวกรรมงานกอสราง งานเดินทอ งานจัดหา งานวั ส ดุ และงานบริ ห ารงานผลิ ต ให กั บ บริ ษั ท ในกลุ ม ปโตรเลียมและปโตรเคมีภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และกลุมอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาค เอเชีย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดรวมกับบริษัทในกลุม ปตท. ลงทุนในบริษัท พีทีที เอ็นเนอรยี่ โซลูชั่นส จำกัด (PTTES) เพือ่ ใหบริการทีป่ รึกษาทางดานเทคนิควิศวกรรมในกลุม ปตท. 4) ธุรกิจใหบริการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สิ่งแวดลอม

โดยเป น การดำเนิ น การอย า งครบวงจรผ า น บริ ษั ท เอ็นพีซี เซ็ฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด (NPC S&E) เชน การใหบริการฝกอบรมดานความปลอดภัย

6) ธุรกิจใหบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

ดำเนินการผานบริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่น จำกัด (PTTICT) ซึ่งใหการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหแกบริษัทในกลุม ปตท. 7) ธุรกิจใหบริการดานการจัดหาแรงงาน

ดำเนินการผาน บริษทั บิซเิ นส เซอรวสิ เซส อัลไลแอนซ จำกัด (BSA) โดยใหบริการดานการจัดหาแรงงานและจางเหมาบริการแก ปตท. และบริษัทในกลุม ปตท. 8) ธุรกิจการตลาดและซื้อขายผลิตภัณฑสุขภาพและ โภชนาการ

ดำเนินการโดย บริษทั ไบโอครีเอชัน่ จำกัด หรือ BIO Creation บริษัทยอยของบริษัทฯ ซึ่งจะดำเนินธุรกิจการใหบริการทาง การคา (Trading) ที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑที่เกี่ยวของในกลุม สุขภาพและโภชนาการ (Health & Nutrition) เชน อุตสาหกรรม อาหารและอาหารเสริม (Food/Supplement) สารประกอบ เพื่อสุขภาพและความงาม (Personal Care) และผลิตภัณฑ พลอยไดอื่นๆ


3 3

สถานการณตลาดปโตรเลียมและปโตรเคมี ในป 2555 และแนวโนมในอนาคต เศรษฐกิจโลกในป 2555 และแนวโนมในอนาคต กองทุนการเงินระหวางประเทศ หรือ IMF คาดการณ ณ เดือน มกราคม 2556 วา ผลิตภัณฑมวลรวม (GDP) ของโลกในป 2555 จะขยายตัวประมาณรอยละ 3.2 ซึ่งลดลงเมื่อเทียบกับป 2554 โดย ไดรับแรงกดดันจากเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐฯ และกลุมประเทศ ยูโรโซนยังไมมีสัญญาณฟนตัวที่ชัดเจน สงผลกระทบใหเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีนที่พึ่งพาการสงออกไปยังตลาด ในภู มิ ภ าคดั ง กล า ว มี อั ต ราการขยายตั ว ที่ ช ะลอลงตามไปด ว ย อยางไรก็ตาม IMF คาดการณวา แนวโนมเศรษฐกิจโลกในป 2556 คาดวา จะขยายตัวดีขึ้นอยูที่ประมาณรอยละ 3.5 โดยมีแนวโนมการฟนตัว และขยายตัวอยางชาๆ ทั้งนี้ เศรษฐกิจสหรัฐฯ มีแนวโนมฟนตัวจาก การบริโภคและการลงทุนทีไ่ ดรบั แรงสนับสนุนจากมาตรการผอนคลาย ทางการเงิน แตก็ยังคงมีความเสี่ยงจากความเขมงวดในการปลอย สินเชื่อและอัตราการวางงานที่ยังอยูในระดับสูง ดานเศรษฐกิจของ กลุม ประเทศยูโรโซน คาดวาจะขยายตัวรอยละ -0.2 เนือ่ งจากประเทศ สวนใหญยังคงไดรับผลกระทบจากมาตรการรัดเข็มขัดทางการคลัง อยางเขมงวด อยางไรก็ตาม จากมาตรการตางๆ ของประเทศจีน ไดแก มาตรการผ อ นคลายทางการเงิ นและมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ ทางการคลังโดยมุงเนนการบริโภคภายในประเทศ รวมถึงการลงทุน ในโครงสรางพื้นฐานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 ก็จะสงผลดีตอสภาพเศรษฐกิจของจีนในป 2556 นี้ และสงผลดี ตอภาพรวมเศรษฐกิจโลก ตามลำดับ

สถานการณตลาดปโตรเลียมและปโตรเคมีในป 2555 ตลาดปโตรเลียม

ตลาดน้ำมันดิบของโลกในป 2555 ยังคงมีความผันผวนสูงโดยราคา น้ำมันดิบดูไบเคลือ่ นไหวอยูร ะหวาง 90 - 125 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ขณะที่ราคาเฉลี่ยอยูที่ 109 เหรียญสหรัฐฯ ตอบารเรล ปรับตัวสูงขึ้น จากป 2554 ประมาณรอยละ 2.8 โดยปจจัยที่ทำใหราคาน้ำมันดิบ ปรับสูงขึน้ ไดแก ความกังวลเรือ่ งอุปทานน้ำมันดิบจากปญหาขอพิพาท ในตะวั น ออกกลาง ประกอบกั บมาตรการกระตุ นเศรษฐกิจของ ธนาคารกลางสหรัฐฯ (มาตรการ QE-3 และ QE-4) ซึ่งทำใหมีเม็ดเงิน เขามาเก็งกำไรในสินทรัพยเสี่ยงซึ่งรวมถึงน้ำมันมากขึ้น ในขณะที่ ปจจัยที่ทำใหราคาน้ำมันดิบปรับลดลง ไดแก ความกังวลเรื่องวิกฤติ ของเศรษฐกิจทัง้ ปญหาหนีส้ าธารณะในกลุม ประเทศยูโรโซน การชะลอตัว ทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และจีน นอกจากนี้ กำลังการผลิตในลิเบีย

อิรัก ซูดานใต ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น รวมไปถึงการคนพบแหลงน้ำมัน ใหมๆ ในทวีปอเมริกาเหนือ เปนตน ดานสถานการณตลาดของผลิตภัณฑปโ ตรเลียมในป 2555 พบวาราคา และสวนตางราคาผลิตภัณฑปโตรเลียมมีความผันผวนสูงเชนเดียว กับราคาน้ำมันดิบ โดยมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ไดแก ความตองการ ผลิตภัณฑตามฤดูกาล การหยุดเดินเครือ่ งของโรงกลัน่ ในหลายประเทศ ทัง้ ตามแผนงานและแบบฉุกเฉิน รวมถึงความกังวลตอความไมแนนอน ของสภาวะเศรษฐกิ จ โลก อย า งไรก็ ต าม ภาวะการแข ง ขั น ของ อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันในป 2555 ไมรุนแรงมากนัก เนื่องจาก ตลาดคอนขางตึงตัว จากการที่มีโรงกลั่นในยุโรปและสหรัฐอเมริกา หยุดดำเนินการผลิตมากกวา 1 ลานบารเรลในชวงครึ่งแรกของป นอกจากนี้ ยังเกิดอุปทานตึงตัวจากการที่โรงกลั่นน้ำมันหลายแหง หยุดดำเนินการฉุกเฉินเนื่องจากอุบัติเหตุเพลิงไหม ในขณะที่ความ ตองการใชนำ้ มันยังคงเพิม่ ขึน้ จากป 2554 ประมาณ 0.8 ลานบารเรลตอวัน ตลาดผลิตภัณฑอะโรเมติกส

ในป 2555 สถานการณตลาดผลิตภัณฑอะโรเมติกส มีอัตราการ เติบโตชะลอตัว สัมพันธไปกับภาวะเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวลดลง อยางไรก็ตาม จากภาวะอุปทานของตลาดที่ลดลง เนื่องจากการ ขาดแคลนวัตถุดิบ Reformate และ Pyrolysis Gasoline จากการหยุด ผลิ ต ของโรงกลั่ น ในสหรั ฐ ฯ ยุ โ รป และเอเชี ย ตะวั น ออก และ การลดอัตราการผลิตของโรงแครกเกอรในภูมิภาค ประกอบกับ ยังมีการหยุดซอมบำรุงโรงงานอะโรเมติกสตามแผน ในขณะทีอ่ ปุ สงค ของตลาดยังคงขยายตัวจากกำลังการผลิตใหมๆ ของผลิตภัณฑ ขั้นปลาย (โรงผลิต PTA และ Polyester) โดยเฉพาะในประเทศจีน อีกทั้งราคาวัตถุดิบ ไดแก ราคาน้ำมันดิบและแนฟทา ยังทรงตัวอยูใน ระดับสูงตอเนื่องจากป 2554 สงผลใหราคาพาราไซลีนเฉลี่ยทั้งป อยูที่ 1,484 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน สวนราคาเบนซีนเฉลี่ยทั้งป อยูที่ 1,207 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน ในขณะที่ ภ าวะการแข ง ขั น ของตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ อ ะโรเมติ ก ส ใ นป 2555 นั้น ถือวาไมรุนแรงมากนัก โดยเฉพาะในชวงปลายป เนื่องจาก ตลาดเกิดภาวะตึงตัวจากการขาดแคลนวัตถุดบิ ในการผลิตพาราไซลีน และเบนซี น ส ง ผลให ส ว นต า งราคาพาราไซลี น และเบนซี น กั บ คอนเดนเสทยังคงอยูในระดับสูง คือ 538 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน และ 261 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน ตามลำดับ


3 4

ตลาดผลิตภัณฑโอเลฟินส

ตลาดผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด

สถานการณตลาดโอเลฟนสในภูมิภาคเอเชียของป 2555 นี้ เปนปที่ คอนขางผันผวน โดยราคาเฉลีย่ เอทิลนี อยูท รี่ ะดับ 1,230 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน เพิม่ ขึน้ จากปกอ นประมาณรอยละ 4 เนือ่ งจากราคาตนทุนวัตถุดบิ ที่ยังอยูในระดับสูงตามราคาน้ำมันดิบ ประกอบกับตลาดเอทิลีน ก็คอนขางตึงตัวเปนบางชวง อันเปนผลมาจากโรงแครกเกอรหลายโรง ในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกกลางไดหยุดซอมบำรุงประจำปและ ลดกำลังการผลิต ทั้งที่เปนไปตามแผนและเนื่องจากปญหาทางดาน เทคนิค ในขณะที่สถานการณตลาดโพรพิลีนของภูมิภาคเอเชียนั้น จะแตกตางกับตลาดเอทิลีน โดยราคาโพรพิลีนเฉลี่ยทั้งปอยูที่ 1,267 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน ปรับลดลงจากปกอ นประมาณรอยละ 9 โดยมีปจ จัย สำคัญมาจากหนวยผลิตโพรพิลีนแบบ On purpose (หนวยผลิตที่ได โพรพิลีนเปนผลิตภัณฑหลัก) สามารถเดินเครื่องไดตามปกติและ มี ก ารหยุ ด การเดิ น เครื่ อ งเพื่ อ ซ อ มบำรุ ง ตามแผนและจากป ญ หา ทางดานการผลิตไมมากนัก นอกจากนี้ ยังมีหนวยผลิตแหงใหมหลายโรง โดยเฉพาะจากจีน, เกาหลีใต และไตหวัน กำลังการผลิตรวมประมาณ 2.4 ลานตันตอป เริ่มทำการผลิตไดในปนี้ ในขณะที่ความตองการ ในตลาดผลิตภัณฑขั้นตอเนื่องนั้นก็ยังคงซบเซาอันเปนผลมาจาก ความไมแนนอนของสภาพเศรษฐกิจโลก

เนื่องจาก Mono Ethylene Glycol (MEG) เปน Commodity Product และใช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ของอุ ต สาหกรรมโพลี เ อสเตอร ซึ่ ง เป น วัตถุดิบหลักตอเนื่องสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ และอุตสาหกรรม ผลิตขวดพลาสติกใส สถานการณทางการตลาดของ MEG จึงเปนไป ในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ อุ ต สาหกรรมโพลี เ อสเตอร โดยเฉพาะตลาด ในประเทศจีนซึ่งเปนประเทศที่มีความตองการใช MEG และนำเขา MEG มากทีส่ ดุ ในโลก สำหรับตลาดผลิตภัณฑ EA และแฟตตีแ้ อลกอฮอล อีทอกซีเลท ซึง่ เปนผลิตภัณฑขนั้ ตอเนือ่ งของผลิตภัณฑในกลุม เอทิลนี ออกไซดนั้น พบวาภาพรวมตลาดยังคงชะลอตัวอยู โดยมีสาเหตุหลัก มาจากราคาวัตถุดบิ เอทิลนี ทีป่ รับตัวลดลง ประกอบกับปริมาณ Supply ของผลิตภัณฑทปี่ รับตัวสูงขึน้ เนือ่ งจากผูผ ลิตบางรายกลับมาเดินเครือ่ ง ผลิต ในขณะที่ปริมาณความตองการใชผลิตภัณฑปรับตัวลดลง จากสภาวะเศรษฐกิจซบเซาทัง้ ในภูมภิ าคยุโรปและเอเชีย ทำใหภาพรวม ตลอดทั้งปตลาดผลิตภัณฑทั้งสองไมไดขยายตัวเทาที่ควร

สวนภาวะการแขงขันของตลาดโอเลฟนสในภูมิภาคเอเชียของป 2555 นัน้ ไมคอ ยรุนแรงมากนัก จะมีแตเฉพาะในชวงครึง่ แรกของป เทานั้น ที่จะมีการแขงขันทางดานราคาที่คอนขางรุนแรงพอสมควร เนื่องจากตลาดอยูในภาวะ oversupply จากปจจัยทางดานความ ตองการทีช่ ะลอตัวลง เนือ่ งจากความไมแนนอนของสภาพเศรษฐกิจโลก ทั้งในประเทศสหรัฐฯ และจีน รวมถึงปญหาวิกฤตหนี้สินในกลุม ประเทศยุโรป ที่กดดันใหความตองการใชผลิตภัณฑลดลง ตลาดผลิตภัณฑโพลิเมอร

สถานการณตลาดโดยภาพรวม ราคาโพลีโอเลฟนสเพิ่มขึ้นในทิศทาง เดียวกับราคาน้ำมันดิบ ในขณะทีภ่ าวะการซือ้ ขายชะลอตัวจากสภาพ เศรษฐกิจ แมวาจะมีมาตรการกระตุนเศรษฐกิจออกมาอยางตอเนื่อง ทำให ค วามต อ งการซื้ อ มี เ ฉพาะช ว งฤดู ก าลผลิ ต และมี ลั ก ษณะ ซือ้ เทาทีจ่ ำเปน แตอยางไรก็ตาม ชวงปลายป 2555 อุปทานจะคอนขาง ตึงตัวจากมาตรการคว่ำบาตรอิหรานทีเ่ ขมงวดมากขึ้น รวมถึงปญหา การหยุ ด ผลิ ต ของผู ผ ลิ ต หลายราย และป ญ หาท า เรื อ แออั ด ใน ซาอุดิอาระเบีย โดยสรุ ป ราคาเฉลี่ ย ป 2555 สำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ HDPE LLDPE และ LDPE อยูท ี่ 1,380 1,354 และ 1,362 เหรียญสหรัฐฯ ตอตัน ตามลำดับ

ตลาดผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม

ในภาพรวมความตองการเมทิลเอสเทอร มีนอ ยกวากำลังการผลิตทัง้ ใน ตลาดโลกและตลาดในประเทศ โดยปจจัยหลักทีม่ ผี ลตอความตองการ เมทิลเอสเทอร คือนโยบายและการสนับสนุนจากรัฐบาล สำหรับ ตลาดในประเทศนั้น ปริมาณน้ำมันปาลมที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต มีผลเปนอยางมากตอการประกาศบังคับใชเมทิลเอสเทอร โดยตลอด ทั้งป รัฐบาลมีการบังคับใชไบโอดีเซล บี 4 และบี 5 เทานัน้ ทำให ความตองการยังคงทรงตัวอยู สวนสถานการณตลาดแฟตตีแ้ อลกอฮอล และกลีเซอรีนในป 2555 มีการปรับตัวดีขึ้นอยางตอเนื่องจากป 2554 ซึง่ เปนผลจากความตองการใชทเี่ พิม่ ขึน้ ทัง้ ในกลุม อุตสาหกรรมอนามัย สวนบุคคล และอุตสาหกรรมยาที่ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง สำหรับสถานการณตลาดของผลิตภัณฑเคมีเพือ่ สิง่ แวดลอมชนิดพิเศษ ไดแก Ozone Acid, Green Polymers, Agro Green และ Oilfield Chemicals และผลิตภัณฑเคมีชวี ภาพและพลาสติกชีวภาพโดยรวมนัน้ ยังคงไดรบั ผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจในทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกา แตความตองการก็ปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ อยางมีนยั สำคัญ เนือ่ งจากผูบ ริโภค มีความตองการใชเคมีภัณฑท่เี ปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น ตลาดผลิตภัณฑเคมีภัณฑชนิดพิเศษ

จากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลงในป 2555 เปนปจจัยสำคัญ ที่กดดันใหความตองการใชผลิตภัณฑในกลุมเคมีภัณฑชนิดพิเศษ โดยรวมขยายตัวลดลง นอกจากนี้ ผลิตภัณฑฟนอลและบิสฟนอล เอ ยังไดรับผลกระทบจากการที่มีโรงงานแหงใหมในประเทศจีนเริ่ม ดำเนินการเชิงพาณิชย ประกอบกับราคาวัตถุดิบเบนซีนที่ปรับสูงขึ้น ในชวงปลายป ทำใหสว นตางราคาฟนอลกับวัตถุดบิ ปรับลดลงเมือ่ เทียบ


3 5

กับป 2554 สำหรับสถานการณตลาด TDI ไดรับผลกระทบจากราคา วัตถุดบิ ทีป่ รับเพิม่ ขึน้ ตามราคาน้ำมันดิบและสงผลกระทบตอ margin ของผูผลิต TDI ในตลาดลดลงเมื่อเทียบกับป 2554 เชนกัน

ลานบารเรลตอวัน โดยความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ สวนใหญมาจากประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ตะวันออกกลาง และอดีตสหภาพโซเวียต ทั้งนี้ น้ำมันดีเซลจะเปนผลิตภัณฑที่มีความตองการใชเพิ่มขึ้นสูงที่สุด (คิดเปนรอยละ 60 ของปริมาณความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ ) เพือ่ ใชในภาค อุตสาหกรรมจากประเทศกำลังพัฒนาเปนหลัก รองลงมา ไดแก น้ำมัน เบนซินและแนฟทา ในขณะทีท่ างดานการผลิตน้ำมันดิบจากกลุม ผูผ ลิต นอกกลุมโอเปก ก็คาดวาจะเพิ่มขึ้นประมาณ 0.89 ลานบารเรลตอวัน มาอยูท รี่ ะดับ 54.2 ลานบารเรลตอวัน ซึง่ เปนระดับทีส่ งู สุดตัง้ แตป 2553 โดยสวนใหญจะเพิ่มขึ้นมาจากประเทศบราซิลและสหรัฐฯ เปนหลัก สงผลใหลดการพึง่ พาน้ำมันจากประเทศในกลุม โอเปกลงเหลือประมาณ 29.9 ลานบารเรลตอวัน จาก 30.2 ลานบารเรลตอวัน ในป 2554

แนวโนมของตลาดผลิตภัณฑปโ ตรเลียมและปโตรเคมี ในป 2556 สำหรับแนวโนมสถานการณธุรกิจปโตรเลียมในป 2556 ทางองคการ พลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agencies : IEA) ประเทศสหรัฐอเมริกา คาดวาความตองการใชน้ำมันของโลกจะเพิ่ม สูงขึน้ จากป 2555 ประมาณ 0.87 ลานบารเรลตอวัน มาอยูท รี่ ะดับ 90.5 Glob a l Oi l D e m a n d G row th

2 0 1 1 / 2 0 1 2 / 201 3

(Tho us a n d b a r r els pe r day)

281 1 64 119

Eu ro p e

Nort h A m e r ica

FSU

-1 8 1 37

-333 -488 95 1 215

-7 5

663

197

389

49

- 2 70

Mi d d l e East As i a 4 104 109

A f r ica

256 16 8

154

L at i n A m e r ica G LO BAL OI L D EM AND ( M BD) D EM AND

G R OW TH

C H ANG E

20 1 1

88.9

0.85

1 . 0%

20 1 2

89.7

0.80

0.9%

20 1 3

90.5

0.87

1 . 0%

ที่มา: IEA ประจำเดือน ธันวาคม 2555


3 6

ในขณะทีแ่ นวโนมของตลาดผลิตภัณฑปโ ตรเคมีในป 2556 นัน้ คาดวา จะมีแนวโนมดีขนึ้ เนือ่ งจากตลาดไดรบั ประโยชนจากแนวโนมเศรษฐกิจ โลกทีค่ าดวาจะฟน ตัว ซึง่ เปนผลมาจากมาตรการกระตุน เศรษฐกิจของ ประเทศตางๆ เชน สหรัฐฯ, จีน และประเทศในกลุม ยุโรป เปนตน อยางไรก็ตาม ตลาดผลิตภัณฑปโตรเคมีอาจไดรับผลกระทบจาก ปจจัยตางๆ ไดแก ความผันผวนของราคาตนทุนวัตถุดิบทั้งในสวน ของราคาน้ำมันและแนฟทา ปจจัยทางดานการผลิตที่จะมีการหยุด การผลิตเพือ่ ซอมบำรุงประจำป และการเริม่ ดำเนินการผลิตของโรงงาน ปโตรเคมีแหงใหมหลายโรงภายในภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะใน ประเทศจีนและตะวันออกกลางที่จะเริ่มทำการผลิตไดในป 2556 นี้ ซึ่งจะสงผลตอราคาและผลกำไร (margin) ของผลิตภัณฑปโตรเคมี ในแตละชวงตลอดทั้งป สำหรับแนวโนมของตลาดผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม อันไดแก ผลิตภัณฑโอลีโอเคมีพื้นฐาน (เมทิลเอสเทอร, แฟตตี้แอลกอฮอล, กลีเซอรีน) และโอลีโอเคมีชนิดพิเศษ (Ozone Acid, Green Polymers, Agro Green และ Oilfield Chemicals) รวมไปถึงผลิตภัณฑเคมีชวี ภาพ และพลาสติกชีวภาพนัน้ ยังคงมีปจ จัยเสีย่ งของเศรษฐกิจในทวีปยุโรป และสหรัฐอเมริกา ที่จะสงผลใหปริมาณความตองการสินคาชะลอตัว

ลงไปได แตในทางกลับกันคาดวาจะไดรับผลดีจากการเติบโตอยาง แข็งแกรงของเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย ประกอบกับความตองการในดาน เคมีภณั ฑทเ่ี ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมก็มแี นวโนมเพิม่ สูงขึน้ ทำใหคาดการณ วาตลาดจะสามารถเติบโตตอไปได ในขณะที่แนวโนมของตลาดเคมีภัณฑชนิดพิเศษ ไดแก ฟนอลและ ผลิตภัณฑขั้นตอเนื่องกับตลาดโทลูอีนไดไอโซไซยาเนต (TDI) ของป 2556 นี้ คาดวาราคาและ margin ของผลิตภัณฑจะไดรับแรงกดดัน มาจากราคาตนทุนวัตถุดบิ อันไดแก ราคาโพรพิลนี , เบนซีนและโทลูอนี ทีย่ งั คงอยูใ นระดับทีส่ งู ประกอบกับทีจ่ ะมีกำลังการผลิตใหมในภูมภิ าค เอเชีย โดยเฉพาะจากประเทศจีนและเกาหลีใต ที่จะเริ่มทำการผลิต ไดตลอดในป 2556 นี้ แตอยางไรก็ตาม ก็จะไดรบั ปจจัยสนับสนุนจาก ความตองการของตลาดที่จะขยายตัวขึ้นตามการฟนตัวของสภาพ เศรษฐกิจโลก ทีจ่ ะเขามาชวยสนับสนุนใหตลาดและราคาของผลิตภัณฑ ตางๆ ดังกลาวในตลาด ยังคงเติบโตตอไปไดเชนกัน


3 7

คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ บทสรุปผูบริหาร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เกิดจาก การควบบริษัท ระหวางบริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (“PTTCH”) กับ บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) (“PTTAR”) โดยไดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทใหมเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 เพื่อความเขาใจของผูใชงบการเงินในเชิงเปรียบเทียบ บริษัทฯ

จึงไดจัดทำรายงานขอมูลทางการเงินรวมประหนึ่งทำใหมที่ยังไมได ตรวจสอบ (งบการเงินเสมือนเปรียบเทียบ) สำหรับป 2554 เพื่อใชใน การเปรียบเทียบกับผลประกอบการสำหรับป 2555 ดังนี้ ในป 2555 บริษทั ฯ และบริษทั ยอยมีกำไรสุทธิ 34,001 ลานบาท ปรับตัว เพิ่มขึ้นรอยละ 13 จากป 2554 และ มีกำไรตอหุนเทากับ 7.54 บาท ตอหุน โดยสรุปผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย ไดดงั นี้

ตารางสรุปผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทยอย 2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

ไตรมาส 4/2555

รายไดจากการขาย

562,811

500,305

12%

144,595

EBITDA

55,879

54,423

3%

16,281

กำไรสุทธิ

34,001

30,033

13%

10,388

Adjusted EBITDA*

55,045

48,920

13%

16,312

กำไรสุทธิ (บาท/หุน)

7.54

6.66

13%

2.3

อัตราจายเงินปนผล (บาท/หุน)

3.40**

2.98

14%

(หนวย : ลานบาท)

หมายเหตุ:

* Adjusted EBITDA คือ EBITDA ที่ไมรวมผลกระทบจากมูลคาสตอกน้ำมัน (ไมรวม Inventory และ NRV) และ ไมรวมผลกระทบของ Commodity Hedging ** ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 ไดมีมติเห็นชอบใหเสนอที่ประชุมสามัญ ผูถือหุนประจำป 2556 เพื่อพิจารณาอนุมัติจายเงินปนผลสำหรับผลการดำเนินงานป 2555 ของบริษัทฯ ในอัตราหุนละ 3.40 บาท คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 45 ของกำไรสุทธิ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 บริษัทฯ ไดจายเงินปนผลระหวางกาลไปแลวในอัตราหุนละ 0.95 บาท และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตรา หุนละ 2.45 บาท สิทธิในการรับเงินปนผลดังกลาวยังมีความไมแนนอนจนกวาจะไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2556

ผลการดำเนินงานในป 2555 ผลการดำเนินงานในป 2555 ของบริษัทฯ ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ ป 2554 โดยมีปจจัยบวกจากปริมาณการผลิตและขายที่เพิ่มขึ้น โดยรวม เชน อัตราการใชกำลังการผลิตของโอเลฟนสป 2555 อยูที่ รอยละ 88 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 80 เนื่องจากบริษัทฯ ไดรับ กาซธรรมชาติซงึ่ ใชเปนวัตถุดบิ มากขึน้ และอัตราการใชกำลังการผลิต ของผลิตภัณฑ MEG ที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 88 จากรอยละ 65 ในป 2554 ประกอบกับปจจัยทางดานราคา ทัง้ นี้ ในป 2555 ราคาน้ำมันดิบ ดูไบเฉลี่ย อยูที่ 109 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล เพิ่มขึ้นจากป 2554 ทีร่ อ ยละ 3 ในขณะทีส่ ว นตางราคาผลิตภัณฑกบั วัตถุดบิ ของผลิตภัณฑ ปโตรเลียมหลักลดลงเล็กนอย ทำใหป 2555 บริษัทฯ มี Market GRM อยูท ี่ 4.7 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ลดลงจากปกอ นที่ 4.9 เหรียญสหรัฐฯ/ บารเรล ซึ่งสวนหนึ่งมาจากการนำเอาคอนเดนเสทเรสิดิวเขามากลั่น

มากขึ้น ในกลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส Market P2F อยูที่ 257 เหรียญ สหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 42 จากปกอนหนา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก สวนตางราคาเบนซีนกับวัตถุดิบเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญ ในกลุม ผลิตภัณฑโอเลฟนสและผลิตภัณฑตอเนื่อง ราคาผลิตภัณฑ HDPE และ LLDPE ปรับตัวขึ้นเล็กนอย ในขณะที่ราคาผลิตภัณฑ LDPE ปรับตัวลดลงอยางมีนยั สำคัญ อยางไรก็ตาม ดวยปริมาณขายทีเ่ พิม่ ขึน้ กลุมธุรกิจนี้จึงมีผลประกอบการที่ดีขึ้น แมวาในเดือนสิงหาคม 2555 ไดมีการปรับสูตรราคากาซธรรมชาติใหกับ ปตท. ก็ตาม นอกจากนี้ ในป 2555 บริษัทฯ ไดดำเนินการตามแผนกลยุทธที่จะมุงสูความ เปนเลิศดวย Excellence Program ตางๆ เชน การเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการผลิต การผลิตผลิตภัณฑ Polymer หลาย Grade ที่เหมาะกับ ความตองการของลูกคา เพิ่มสวนแบงการตลาดในประเทศ และการ สราง synergy value หลังการควบกิจการ สงผลให Adjusted EBITDA ของบริษัทฯ ปรับตัวดีขึ้นรอยละ 13 เมื่อเทียบกับป 2554


3 8

ภาพรวมอุตสาหกรรม สถานการณตลาดน้ำมัน

. 55 ธ.ค

. 55 ต.ค

. 55 ส.ค

. 55 มิ.ย

. 55 เม.ย

. 55 ก.พ

. 54 ธ.ค

. 54 ต.ค

. 54 ส.ค

มิ.ย

. 54

Dubai ULG 95 Jet Gas Oil Fuel Oil

. 54 เม.ย

. 54 ก.พ

ธ.ค

. 53

เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล 160 140 120 100 80 60 40 20 0

ตารางราคาและสวนตางราคาผลิตภัณฑปโตรเลียมกับน้ำมันดิบดูไบ 2555

2554

น้ำมันดิบดูไบ

109

106

3%

น้ำมันอากาศยาน

127

126

1%

18

19

-5%

124

120

3%

17

18

-6%

106

100

6%

-4

-6

33%

หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล

น้ำมันอากาศยาน-น้ำมันดูไบ น้ำมันดีเซล น้ำมันดีเซล-น้ำมันดูไบ น้ำมันเตา น้ำมันเตา-น้ำมันดูไบ ราคาน้ำมันดิบในป 2555 มีความผันผวนมากในครึ่งแรกของปและ เคลื่อนไหวในกรอบแคบๆ ในครึ่งปหลัง โดยราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ย อยูที่ 109 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่ 106 เหรียญ สหรัฐฯ/บารเรล เพิ่มขึ้นรอยละ 3 ซึ่งเปนผลมาจากปญหาขอพิพาทใน ตะวันออกกลางและมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของธนาคารกลาง สหรัฐฯ (มาตรการ QE-3 และ QE-4) ทำใหมีเม็ดเงินเขามาเก็งกำไร ในสินทรัพยเสี่ยงซึ่งรวมถึงน้ำมันมากขึ้น อยางไรก็ตาม ในระหวางป ราคาน้ำมันดิบก็ไดรับปจจัยในทางลบดวยเชนกัน เชน ปญหาหนี้ สาธารณะในกลุมประเทศยูโรโซน ความไมชัดเจนของการฟนตัวของ เศรษฐกิจของสหรัฐฯ และการขยายตัวที่ลดลงของเศรษฐกิจจีน นอกจากนี้ ยังมีผลจากกำลังการผลิตที่กลับมาจากประเทศที่เคยมี ปญหาทางการเมือง เชน ลิเบีย อิรัก และ ซูดานใต อีกทั้งการคนพบ

% เพิ่ม/(ลด)

แหลงน้ำมันใหมๆ ในทวีปอเมริกาเหนือก็มีสวนทำใหราคาน้ำมันดิบ ปรับตัวลดลงดวยเชนกัน ราคาและสวนตางราคาผลิตภัณฑปโตรเลียมในป 2555 มีความ ผันผวนสูงเชนเดียวกับราคาน้ำมันดิบ อันมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ไดแก ความตองการผลิตภัณฑตามฤดูกาล การหยุดเดินเครื่องของ โรงกลั่นในหลายประเทศ โดยสวนตางราคาน้ำมันอากาศยานกับ น้ำมันดิบดูไบ เฉลี่ยอยูที่ 18 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ปรับตัวลดลง จากป 2554 จำนวน 1 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ซึ่งเปนผลมาจาก ความตองการทีล่ ดลงจากกลุม ประเทศ OECD จากสภาวะเศรษฐกิจโลก ที่ยังไมฟนตัว และสภาพอากาศในชวงตนปที่หนาวเย็นนอยกวา ที่คาดการณ สวนตางราคาน้ำมันดีเซลกับน้ำมันดิบดูไบ เฉลี่ยอยูที่


3 9

17 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ปรับตัวลดลงจากป 2554 จำนวน 1 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ซึง่ เปนไปตามสภาวะเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะ ในภูมภิ าคยุโรปทีม่ คี วามตองการใชลดลง และสวนตางราคาน้ำมันเตา กับน้ำมันดิบดูไบ เฉลีย่ อยูท ลี่ บ 4 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากป 2554 จำนวน 2 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล เนื่องจากมีความ

ต อ งการใช น้ ำ มั น เตาจากญี่ ปุ น เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ า ทดแทน โรงไฟฟานิวเคลียรที่ตองปดตัวลงจากเหตุแผนดินไหวเมื่อป 2554 อยางไรก็ตาม ในดานอุปสงคไดรับแรงหนุนจากอุปทานที่หายไป จากการหยุ ด เดิ น เครื่ อ งจากเหตุ เ พลิ ง ไหม ที่ โ รงกลั่ น ในสหรั ฐ ฯ และโรงกลั่นในเวเนซูเอลา

สถานการณตลาดอะโรเมติกส

Condensate

. 55 ธ.ค

. 55 ต.ค

. 55 ส.ค

. 55 มิ.ย

. 55 เม.ย

. 55 ก.พ

. 54 ธ.ค

. 54 ต.ค

. 54

. 54 ส.ค

เม.ย

มิ.ย

. 54

Naphtha MOPJ PX FECP BZ Spot Korea

. 54 ก.พ

ธ.ค

. 53

เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 1,800 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0

ตารางสวนตางระหวางราคาผลิตภัณฑกับคอนเดนเสท 2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

946

926

2%

1,484

1,541

-4%

538

615

-13%

1,207

1,086

11%

261

160

63%

หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

คอนเดนเสท พาราไซลีน FECP พาราไซลีน FECP-คอนเดนเสท เบนซีน Spot Korea เบนซีน Spot Korea-คอนเดนเสท ในป 2555 ผลิตภัณฑพาราไซลีนปรับตัวลดลงจากป 2554 มาอยูที่ 1,484 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ขณะทีส่ ว นตางราคาพาราไซลีนกับคอนเดนเสท ซึง่ เปนวัตถุดบิ หลักของบริษทั ฯ ในป 2555 อยูท ี่ 538 เหรียญสหรัฐฯ /ตัน ปรั บ ลดลงจาก 615 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น หรื อ ลดลงร อ ยละ 13 ในปที่ผานมา เนื่องจากผูผลิตผลิตภัณฑขั้นปลายจากอุตสาหกรรม การผลิตเสนใย Polyester และ PET มีความตองการขยายตัวลดลง อยางไรก็ตาม ในชวงปลายป 2555 มีความตองการผลิตภัณฑพาราไซลีน เพิ่มขึ้นจากการเกิดขึ้นใหมของโรง PTA ในจีน ประกอบกับมีการหยุด การผลิตของโรงกลั่นในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และ เอเชียตะวันออก ทำใหวตั ถุดบิ นำเขาผลิตผลิตภัณฑพาราไซลีนลดลง ซึง่ สงผลใหราคา และสวนตางราคาและวัตถุดิบของผลิตภัณฑพาราไซลีนปรับเพิ่ม

ขึ้นมากในชวงปลายป ในขณะที่ในป 2555 ราคาเบนซีนเฉลี่ยอยูที่ 1,207 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น ขณะที่ ส ว นต า งราคาเบนซี น กั บ คอนเดนเสทในป 2555 อยูที่ 261 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ปรับเพิ่มขึ้น 101 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น จากป 2554 หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 63 โดยครึ่งแรกของป 2555 สวนตางราคาเบนซีนกับคอนเดนเสทอยูที่ 180 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน และปรับตัวสูงขึ้นในครึ่งหลังของปเนื่องจาก ภาวะอุปทานของเบนซีนที่ตึงตัวขึ้นจากปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการผลิตเบนซีนอันไดแก Reformate และ Pyrolysis Gasoline ซึ่งทำใหสวนตางราคาเบนซีนกับ คอนเดนเสทปรับตัวขึ้นสูงสุดใน เดือนธันวาคม 2555 มาอยูที่ 541 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน


4 0

สถานการณตลาดโอเลฟินสและผลิตภัณฑตอเนื่อง สถานการณตลาดเอทิลีน

แนฟทา เอทิลีน

ราคาเอทิลีนสำหรับป 2555 เฉลี่ยอยูที่ 1,230 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้นจากปกอน 43 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 4 โดยในป 2555 ราคาเอทิลีนคอนขางผันผวนจากปจจัยบวกของราคา น้ำมันดิบและแนฟทาทีป่ รับตัวสูงขึน้ ในไตรมาสแรก กอนปรับตัวลดลง อยางมากในไตรมาส 2 และเริม่ ทรงตัวในครึง่ ปหลัง อันเปนผลมาจาก เหตุการณความไมสงบในประเทศในตะวันออกกลางและการบังคับใช มาตรการคว่ำบาตรอิหรานที่ยังคงมีอยู ประกอบกับตลาดเอทิลีนที่ คอนขางตึงตัวเปนบางชวงจากการหยุดซอมบำรุงประจำป และการ ลดกำลังการผลิตตามแผนงานรวมถึงปญหาทางดานการผลิตของ

. 55 ธ.ค

. 55 ต.ค

. 55 ส.ค

. 55 มิ.ย

. 55 เม.ย

ก.พ

. 55

. 54 ธ.ค

ต.ค

. 54

. 54 ส.ค

. 54 มิ.ย

. 54

โพรพิลีน

เม.ย

. 54 ก.พ

ธ.ค

. 53

เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 1,800 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0

โรงโอเลฟนสในภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีน อยางไรก็ตาม ในระหวางปไดมปี จ จัยลบทีเ่ ขามากดดันใหราคาเอทิลนี ในตลาดปรับตัว ลดลงจากความไมแนนอนของสภาวะเศรษฐกิจโลก ทำใหผูผลิต บริหารสินคาคงคลังใหเพียงพอสำหรับทำการผลิตตามแผนเทานั้น นอกจากนี้ ยั ง ได รั บ ป จ จั ย ลบจากการที่ มี โ รงโอเลฟ น ส แ ห ง ใหม ในจีน 2 โรงของบริษัท Daqing Petrochemical และ Fushun Petrochemical กำลังการผลิตรวม 1.4 ลานตันตอป ซึ่งเริ่ม ทำการผลิตไดในชวงครึ่งหลังของปอีกดวย

สถานการณตลาดเม็ดพลาสติกและ MEG

แนฟทา HDPE LLDPE

. 55 ธ.ค

. 55 ต.ค

. 55 ส.ค

. 55 มิ.ย

. 55 เม.ย

. 55 ก.พ

. 54 ธ.ค

. 54 ต.ค

. 54 ส.ค

. 54 มิ.ย

. 54

LDPE

เม.ย

. 54 ก.พ

ธ.ค

. 53

เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 2,000 1,800 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0


4

ราคาเม็ดพลาสติก HDPE (SEA) สำหรับป 2555 เฉลี่ยอยูที่ 1,380 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปกอน 7 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1 โดยในป 2555 ราคาโพลิเมอรปรับตัวเพิ่มขึ้น ในทิศทางเดียวกับราคาน้ำมันดิบ ในขณะที่ภาวะการซื้อขายชะลอตัว จากความไมแนนอนในสภาพเศรษฐกิจและความกังวลตอปญหา หนาผาทางการเงิน (Fiscal cliff) รวมทั้งปญหาหนี้สาธารณะเรื้อรัง ของกรีซที่ขยายตัวไปยังสเปน อิตาลี และฝรั่งเศส ทำใหผูผลิต ดำเนินการบริหารจัดการสินคาคงคลังใหอยูในระดับต่ำ

โดยส ว นต า งระหว า งราคา HDPE และแนฟทาเฉลี่ ย อยู ที่ 437 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากป ก อ น 2 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1 ราคาเม็ดพลาสติก LLDPE สำหรับป 2555 เฉลี่ ย อยู ที่ 1,354 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากป ก อ น 15 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1 และมีสวนตางระหวางราคา LLDPE และแนฟทาเฉลี่ยอยูที่ 411 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันของปกอน 10 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ในขณะที่

2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

แนฟทา

943

938

1%

HDPE

1,380

1,373

1%

437

434

1%

1,354

1,339

1%

411

401

2%

1,362

1,602

-15%

419

664

-37%

หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

HDPE-แนฟทา LLDPE LLDPE-แนฟทา LDPE LDPE-แนฟทา ในขณะทีร่ าคาเม็ดพลาสติก LDPE สำหรับป 2555 ลดลงจากชวงเดียวกัน ของป ก อ นโดยมี ร าคาเฉลี่ ย อยู ที่ 1,362 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ/ตั น ลดลง 240 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือลดลงรอยละ 15 โดยมีสว นตางระหวาง ราคา LDPE และแนฟทาเฉลี่ยอยูที่ 419 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ลดลง 245 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เนื่องจากผลิตภัณฑของ LDPE เปนวัตถุดิบ

MEG

ของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี ต ลาดหลั ก คื อ ตลาดยุ โ รปและสหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง กำลั ง ประสบป ญ หาทางเศรษฐกิ จ ประกอบกั บ ผู ผ ลิ ต ใน ตะวันออกกลางที่เคยสง LDPE ใหกับตลาดยุโรปก็ตองหันมาสงออก มายังเอเชียแทน ทำใหอปุ ทานของผลิตภัณฑมีมากเกินความตองการ ในเอเชียและสงผลใหราคาปรับตัวลดลงดวยเชนกัน 2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

1,179

1,314

-10%

379

542

-30%

หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

MEG-0.65 เอทิลีน

ราคา MEG (SEA) สำหรับป 2555 เฉลี่ยอยูที่ 1,179 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ปรับตัวลดลงจากปกอน 135 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือลดลงรอยละ 10 เนือ่ งจากสภาพเศรษฐกิจทีย่ งั ไมแนนอน ราคาน้ำมันดิบทีย่ งั คงผันผวน และอุปสงคของผลิตภัณฑ MEG ที่ลดลง ซึ่งมีความสัมพันธโดยตรง กับความตองการของผลิตภัณฑโพลีเอสเตอรซึ่งอยูในภาวะซบเซา

1

อยางตอเนื่อง สงผลใหราคา MEG ถูกกดดันแมวาในบางชวงตลาด จะประสบปญหาอุปทานขาดแคลน แตไมไดสงผลใหราคา MEG เพิ่มขึ้นมากนัก นอกจากนั้น ราคาเอทิลีนซึ่งเปนวัตถุดิบหลักของ MEG ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันดิบสงผลใหสวนตางระหวาง MEG และเอทิลีนลดลงมากถึงรอยละ 30 จากปกอน


4 2

นำเขากลั่น 51 KBD ซึ่งเพิ่มขึ้น 20 KBD จากป 2554 หรือรอยละ 63 ซึ่งมีเหตุผลหลักมาจากการที่โรงอะโรเมติกสสงคอนเดนเสทเรสิดิว มากลั่ น ที่ โ รงกลั่ น น้ ำ มั น มากขึ้ น จากการสิ้ น สุ ด สั ญ ญาขาย คอนเดนเสทเรสิดิวให ปตท. ตั้งแตวันที่ 31 มกราคม 2555

ผลการดำเนินงานตามกลุมผลิตภัณฑ กลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการ ในป 2555 บริ ษั ท ฯ มี วั ต ถุ ดิ บ นำเข า กลั่ น 197 KBD เพิ่ ม ขึ้ น 35 KBD จากป 2554 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 22 ซึ่งประกอบไปดวย น้ำมันดิบนำเขากลั่น 146 KBD เพิ่มขึ้น 15 KBD จากป 2554 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 12 และคอนเดนเสทเรสิดิวและวัตถุดิบอื่นที่

ในขณะที่อัตรากำลังการผลิตเฉลี่ยของหนวย CDU อยูที่รอยละ 100 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 90 ซึ่งมีการหยุดซอมบำรุงเปนเวลา 47 วัน ในไตรมาส 1/2554

ตารางวัตถุดิบนำเขากลั่น 2555

2554

น้ำมันดิบ (M.BBL)*

53

48

12%

(KBD)**

146

131

12%

คอนเดนเสทเรสิดิวและวัตถุดิบอื่น (M.BBL)*

19

11

63%

(KBD)**

51

31

63%

วัตถุดิบนำเขากลั่นรวม (M.BBL)*

72

59

22%

(KBD)**

197

162

22%

100%

90%

CDU Utilization Rate CDU Capacity = 145 KBD Condensate Residue Splitter Capacity = 58 KBD Total Capacity = 203 KBD

* Million Barrel ** Kilo Barrel/Day

% เพิ่ม/(ลด)

ลานบารเรล พันบารเรล/วัน

ตารางปริมาณการขายผลิตภัณฑปโตรเลียม ผลิตภัณฑ

2555 พันบารเรล

%

2554 % พันบารเรล

% เพิ่ม/(ลด)

แนฟทาชนิดเบา

5,677

8%

4,902

9%

16%

รีฟอรเมต

5,494

8%

3,209

6%

71%

น้ำมันอากาศยาน

6,293

9%

6,090

11%

3%

น้ำมันดีเซล

38,799

55%

28,417

52%

37%

น้ำมันเตา

9,245

13%

7,836

14%

18%

อื่นๆ

5,210

7%

4,635

8%

12%

70,717

100%

55,088

100%

28%

รวม


4 3

ตาราง Gross Refinery Margin หนวย : เหรียญสหรัฐฯ / บารเรล

2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

Market GRM

4.7

4.9

-5%

Hedging Gain / (Loss)

0.4

-0.7

-148%

Stock Gain / (Loss) Net NRV

-0.3

2.5

-112%

4.8

6.7

-29%

Accounting GRM ผลการดำเนินงานธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันในป 2555 ปรับตัวดีขึ้นกวา ปกอนหนา เนื่องจากในป 2555 โรงกลั่นน้ำมันเดินเครื่องเต็มกำลัง ตลอดปแมวา กำไรขัน้ ตนจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GRM) ปรับตัวลดลงอยูที่ 4.7 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ซึ่งลดลงจากป 2554 ที่ 4.9 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ทั้งนี้ เนื่องจากสวนตางราคาของ ผลิตภัณฑ Middle Distillates และน้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงจาก ปกอนหนา โดยสวนตางราคา Jet-Dubai ในป 2555 อยูที่ 18 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ลดลง 1 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรลจากป 2554 หรือคิดเปนลดลงรอยละ 5 และ Diesel-Dubai ในป 2555 อยูที่ 17 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ลดลง 1 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรลจากป 2554 หรือคิดเปนลดลงรอยละ 6

ในป 2555 ธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันมีผลขาดทุนจากสต็อกน้ำมันสุทธิ NRV เล็กนอยอยูที่ 0.3 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล หรือคิดเปนขาดทุน 680 ลานบาท เนื่องจากราคาน้ำมันปลายป 2554 ตอเนื่องมาถึงป 2555 เคลื่อนไหวในกรอบแคบๆ เมื่อเทียบกับป 2554 ที่มีกำไรจาก สตอกน้ำมันสุทธิ NRV 2.5 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล หรือคิดเปน 4,613 ลานบาท นอกจากนี้ ในป 2555 บริษัทฯ ยังมีกำไรจากการบริหารความเสี่ยง ผลิตภัณฑ (Commodity Hedging) คิดเปน 0.4 เหรียญสหรัฐฯ/ บารเรล ทำใหมีกำไรขั้นตนจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GRM) เทากับ 4.8 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ลดลงจากป 2554 ที่ 6.7 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล

กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส ตารางการขายผลิตภัณฑอะโรเมติกส 2555

2554 % เพิ่ม/(ลด)

พันตัน

%

พันตัน

%

595

18%

606

14%

-2%

1,141

35%

1,159

27%

-2%

ไซโคลเฮกเซน

183

6%

185

4%

-1%

ผลิตภัณฑ BTX อื่นๆ

66

2%

62

1%

7%

1,985

61%

2,012

47%

-1%

แนฟทาและแรฟฟเนท

767

23%

1,297

30%

-41%

คอนเดนเสท เรสิดิว

49

1%

530

12%

-91%

ผลิตภัณฑพลอยไดอื่นๆ

461

14%

445

10%

4%

3,262

100%

4,283

100%

-24%

เบนซีน พาราไซลีน

รวมผลิตภัณฑ BTX

รวมทั้งสิ้น


4 4

ในป 2555 โรงอะโรเมติกสทั้งสองโรงมีวัตถุดิบนำเขาผลิตสุทธิทั้งสิ้น 5.91 ลานตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 3 จากป 2554 ในขณะที่ปริมาณผลิต ของผลิตภัณฑ BTX ลดลง รอยละ 2 เนื่องมาจากการเปลี่ยนแหลง คอนเดนเสทบางสวนซึ่งใชเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตโดยเปนการ นำเขาจากนอกประเทศซึ่งมีราคาที่ถูกกวาและให margin ที่สูงกวา

ถึ ง แม ว า Yield จะลดลง โดยรวมป 2555 BTX Yield อยู ที่ รอยละ 37 ลดลงจาก BTX Yield ในป 2554 อยูที่รอยละ 39 อัตราการผลิตสารอะโรเมติกส (BTX Utilization) ในป 2555 อยูท รี่ อ ยละ 86 ลดลงจากป 2554 ที่รอยละ 88 เนื่องจากมีการหยุดการผลิตเพื่อ ซอมแซมในป 2555 รวม 36 วัน

ตารางวัตถุดิบนำเขาผลิตภัณฑอะโรเมติกส 2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

วัตถุดิบนำเขาผลิต (พันตัน)

5,911

5,753

3%

ปริมาณการผลิต BTX (พันตัน)

2,014

2,052

-2%

อัตราการใชกำลังการผลิต BTX

86%

88%

2555

2554

% เพิ่ม/(ลด)

257

181

42%

Hedging Gain/(Loss)

-1.6

0.2

-932%

Stock Gain/(Loss) Net NRV

12.6

34.8

-64%

268

216

24%

ตาราง Market P2F ของผลิตภัณฑอะโรเมติกส หนวย : เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

Market P2F

Accounting P2F

ผลการดำเนินงานของกลุมธุรกิจอะโรเมติกสโดยรวมดีขึ้นในป 2555 เมือ่ เปรียบเทียบกับป 2554 เนือ่ งมาจากราคาสวนตางผลิตภัณฑเบนซีน กับคอนเดนเสททีส่ งู ขึน้ เปนสำคัญซึง่ เฉลีย่ อยูท ี่ 261 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้น 101 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือคิดเปนเพิ่มขึ้นรอยละ 63 แมวา สวนตางราคาพาราไซลีนกับคอนเดนเสท ในตลาดโลกจะปรับตัว ลดลงประมาณรอยละ 13 เมื่อเทียบกับป 2554 แตบริษัทฯ ไดดำเนิน การจัดหาแหลงคอนเดนเสทนำเขาใหมๆ เพิ่มขึ้นซึ่งมีราคาถูกกวา ประกอบกับราคาคอนเดนเสทในประเทศใชสูตรราคาอิงกับราคา

น้ำมันดิบ Brent เปนหลัก ทำใหราคาคอนเดนเสทของบริษัทฯ มีราคา ที่ถูกกวาคอนเดนเสทในตลาดคอนขางมาก จึงทำให Market P2F ของผลิตภัณฑ BTX เพิ่มขึ้นเปน 257 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน จาก 181 เหรียญสหรัฐฯ/ตันในป 2554 ถึงแมวาในป 2555 บริษัทฯ จะมีปริมาณ การขายผลิตภัณฑอะโรเมติกสลดลงก็ตาม โดยในป 2555 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑอะโรเมติกสรวมได 3.26 ลานตัน ลดลงจากป 2554 ที่ 4.28 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 24 ตามอัตราการใชกำลังการผลิต ที่ลดลง


4 5

กลุมผลิตภัณฑโอเลฟินสและกลุมธุรกิจผลิตภัณฑตอเนื่อง ตารางปริมาณขายและอัตราการใชกำลังการผลิตของผลิตภัณฑโอเลฟินสและผลิตภัณฑตอเนื่อง 2554

2555 ปริมาณ ขาย (พันตัน)

อัตราการใช กำลัง การผลิต

ปริมาณ ขาย (พันตัน)

% เพิ่ม/(ลด) อัตราการใช กำลัง การผลิต

ปริมาณ ขาย

โอเลฟนส1

748

88%

737

80%

2%

HDPE

778

99%

758

95%

3%

LLDPE

396

100%

337

89%

18%

LDPE

273

88%

158

56%

72%

Total Polyethylene

1,447

96%

1,254

80%

15%

MEG2

350

88%

279

65%

26%

หมายเหตุ: 1. ปริมาณขายผลิตภัณฑโอเลฟนสเปนปริมาณขายสุทธิใหกับลูกคาภายนอก 2. คิดอัตราการใชกำลังการผลิตที่ 395 KTA

ในป 2555 ผลประกอบการของกลุม ผลิตภัณฑโอเลฟนสและผลิตภัณฑ ตอเนื่องดีขึ้นเมื่อเทียบกับป 2554 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากปริมาณการ ผลิตและขายทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยมีอตั ราการใชกำลังการผลิตของทุกผลิตภัณฑ เพิ่มขึ้น อัตราการใชกำลังการผลิตรวมของโพลีเอทิลีนที่รอยละ 96

เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 80 ในขณะที่ราคา HDPE เฉลี่ยอยูที่ 1,380 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้น 7 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน จากป 2554 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 0.5

โอเลฟินสและผลิตภัณฑตอเนื่อง

Adjusted EBITDA Margin Adjusted EBITDA Margin (ไมรวมผลกระทบของ Stock loss และ NRV และไมรวมผลกระทบของ Commodity Hedging) ของ กลุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ โ อเลฟ น ส แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ ต อ เนื่ อ งอยู ที่ ร อ ยละ 27 ในป 2555 ซึ่งลดลงเล็กนอยจากป 2554 ที่รอยละ 28 เนื่องจาก ราคาผลิตภัณฑ LDPE ที่ปรับตัวลดลง ทั้งนี้ รวมผลกระทบจากการ ปรับสูตรราคาเนื่องจากมีการปรับสูตรราคากาซที่บริษัทฯ รับจาก ปตท. ในไตรมาสที่ 3/2555

2555

2554

27%

28%

ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2555 บริษัทฯ มีการปรับสูตรราคาซื้อขาย วัตถุดิบปโตรเคมีจากกาซธรรมชาติ ระหวางบริษัทฯ และ ปตท. ตามที่บริษัทฯ ไดแจงตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไปแลวนั้น โดยการปรับสูตรราคาซื้อขายดังกลาวมีผลใหราคาวัตถุดิบปโตรเคมี เพิ่ม ขึ้นประมาณ 40 เหรี ยญสหรัฐฯ/ตั น หรือเพิ่ม ขึ้นประมาณ รอยละ 8 อยางไรก็ตาม บริษัทฯ สามารถปรับราคาขายเม็ดพลาสติก กับผูซื้อในบางสวนเพื่อสงผานราคาตนทุนวัตถุดิบที่มีการปรับขึ้น เชนกัน


4 6

กลุมผลิตภัณฑโอเลฟินส ตารางสัดสวนการใชวัตถุดิบ 2555

กาซธรรมชาติ แนฟทา รวม

2554

พันตัน

%

พันตัน

%

3,100

87%

2,808

87%

473

13%

414

13%

3,574

3,222

อัตราการใชกำลังการผลิตของกลุมผลิตภัณฑโอเลฟนสในป 2555 อยูที่รอยละ 88 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 80 ซึ่งมีสาเหตุหลัก มาจากปริมาณของกาซจาก ปตท. ที่สงใหโรงโอเลฟนสของบริษัทฯ เพิ่ ม ขึ้ น ทำให บ ริ ษั ท ฯ สามารถผลิ ต โอเลฟ น ส ไ ด ม ากขึ้ น โดย โรงแยกกาซหนวยที่ 6 เริ่มผลิตเชิงพาณิชยในไตรมาส 1/2554 ทำใหไมสามารถสงกาซใหบริษัทฯ ไดอยางเต็มที่ในชวงแรก แตใน ครึ่ ง ป ห ลั ง สามารถส ง วั ต ถุ ดิ บ ก า ซได เ ต็ ม ที่ ม ากขึ้ น นอกจากนั้ น ในไตรมาส 4/2554 ยังมีผลกระทบจากเหตุการณนำ้ ทวมในประเทศไทย

ทำใหการใชไฟฟาและความตองการของกาซทั้งหมดลดลง และเปน สาเหตุใหปริมาณกาซที่ผานโรงแยกกาซลดลงเชนกัน จากเหตุผล ดังกลาวทำใหอัตราการใชกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นในป 2555 โดยมี ปริ ม าณวั ต ถุ ดิ บ นำเข า ผลิ ต รวม 3.57 ล า นตั น ซึ่ ง มี สั ด ส ว น กาซธรรมชาติคดิ เปนรอยละ 87 และแนฟทารอยละ 13 ทัง้ นี้ ในป 2555 โรง Cracker ของบริษัทฯ มีการหยุดผลิตของโรง I-4/2 รวม 46 วัน โรง I-4/1 รวม 26 วัน และ โรง PTTPE Cracker 13 วัน

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร

ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ LLDPE

ผลประกอบการของกลุม โพลิเมอรในป 2555 โดยรวมดีขนึ้ เมือ่ เทียบกับ ปกอ นหนา โดยมีสาเหตุหลักมาจากปริมาณการผลิตและขายทีเ่ พิม่ ขึน้ ในทุกผลิตภัณฑ แมวาราคาของ LDPE จะปรับตัวลดลง โดยผลการ ดำเนินงานของผลิตภัณฑหลักมีดังนี้

อัตราการใชกำลังการผลิตในป 2555 ของโรง LLDPE อยูที่รอยละ 100 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 89 เนื่องจากในป 2555 บริษัทฯ สามารถ เดินเครื่องไดเต็มกำลังการผลิต

ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ HDPE

อัตราการใชกำลังการผลิตรวมของโรง HDPE ทั้ง 3 โรงอยูที่รอยละ 99 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 95 ซึ่งในป 2555 มีการหยุดผลิตของ โรง HDPE I-1 รวม 15 วันเพื่อทำความสะอาด โรง BPE1 รวม 30 วัน ตามแผนการซอมบำรุง และโรง BPE2 รวม 26 วัน เพือ่ ทำความสะอาด โดยการหยุดผลิตดังกลาวเปนการหยุดผลิตตามแผนงาน ซึ่งบริษัทฯ สามารถจัดการและควบคุมปริมาณการผลิตใหมีประสิทธิภาพและ เปนไปตามเปาหมายไดในป 2555 ในด า นผลการดำเนิ น งานของผลิ ต ภั ณ ฑ HDPE ในป 2555 โดยรวมเมือ่ เทียบกับป 2554 ดีขนึ้ เนือ่ งจากทัง้ ปริมาณและราคาปรับตัว สูงขึ้น โดยปริมาณการขายในป 2555 เพิ่มขึ้นรอยละ 3 ในขณะที่ราคา HDPE ในป 2555 เฉลี่ยอยูที่ 1,380 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน เพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 จากปกอ นหนา ถึงแมวา ราคา HDPE จะผันผวนตามราคาน้ำมันดิบ โดยราคาลงไปต่ำสุดในเดือนมิถุนายน แตราคาก็ไดปรับตัวขึ้นอยาง ตอเนือ่ งในครึง่ หลังของป 2555 และจากทัง้ ปริมาณและราคาทีเ่ พิม่ ขึน้ เปนผลใหรายไดจากการขายผลิตภัณฑ HDPE ดีขึ้นรอยละ 6

ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ LLDPE ดีขึ้น โดยในป 2555 เมื่อ เปรียบเทียบกับป 2554 รายไดจากการขายผลิตภัณฑ LLDPE เพิ่มขึ้น รอยละ 18 ซึง่ มีสาเหตุหลักเนือ่ งมาจากทัง้ ปริมาณขายทีเ่ พิม่ ขึน้ รอยละ 18 และราคาเพิ่มขึ้นเปน 1,354 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ซึ่งปรับตัว เพิ่มขึ้นรอยละ 1 จากป 2554 ผลการดำเนินงานของผลิตภัณฑ LDPE

อัตราการใชกำลังการผลิตของโรง LDPE อยูที่รอยละ 88 เพิ่มขึ้นจาก ป 2554 ซึ่งมีอัตราใชกำลังการผลิตที่รอยละ 56 เนื่องจากในป 2555 โรง LDPE มีการหยุดเดินเครือ่ งทัง้ ตามแผนและหยุดเพือ่ ปรับปรุงอุปกรณ รวม 78 วัน ในขณะที่ป 2554 เปนปที่โรง LDPE เพิ่งเริ่มดำเนินงาน เชิงพาณิชยจึงยังไมสามารถเดินเครื่องไดอยางสม่ำเสมอ ผลการดำเนินงานของ LDPE ในป 2555 ดีขึ้นเมื่อเทียบกับป 2554 ตามเหตุผลที่กลาวแลวขางตนประกอบกับประสิทธิภาพทางการผลิต ที่ดีขึ้นทำใหปริมาณการผลิตและขายเพิ่มขึ้น แมวาราคา LDPE จะลดลงก็ตาม โดยปริมาณขายเพิ่มขึ้นสูงถึงรอยละ 72 ถึงแมวา ราคาเฉลี่ยในป 2555 จะอยูที่เทากับ 1,362 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ซึ่งปรับตัวลดลงจากป 2554 ที่ 1,602 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือลดลง รอยละ 15 อยางไรก็ตาม เมือ่ เทียบรายไดจากการขายป 2555 มีรายได จากการขายผลิตภัณฑ LDPE เพิ่มขึ้นรอยละ 46


4 7

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด อัตราการใชกำลังการผลิตในป 2555 ของโรง MEG อยูที่รอยละ 88 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 65 เนื่องมาจากโรงงาน MEG สวนขยายกำลังการผลิต 95,000 ตัน/ป สามารถทดลองเดินเครื่อง และดำเนิ น การผลิ ต หลั ง จากศาลปกครองสู ง สุ ด มี ค ำสั่ ง ยกเลิ ก มาตรการหรือวิธกี ารคุม ครองเพือ่ บรรเทาทุกขชว่ั คราวกอนการพิพากษา ในสวนของโครงการสวนขยายของบริษทั ฯ เพือ่ ใหทางการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.) ไดพจิ ารณาดำเนินการตามขัน้ ตอนการอนุญาต และไดรับใบอนุญาตตั้งแตวันที่ 29 พฤศจิกายน 2555

รายไดจากการขายป 2555 มีรายไดจากการขายผลิตภัณฑ MEG เพิม่ ขึน้ รอยละ 15 เนือ่ งจากปริมาณขายทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ มีผลมากกวาราคา ของผลิตภัณฑที่ลดลง โดยปริมาณขายเพิ่มขึ้นรอยละ 26 แมวาราคา MEG เฉลี่ยในป 2555 จะลดลงจาก 1,314 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน ในป 2554 เปน 1,179 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือคิดเปนลดลงรอยละ 10

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม ผลการดำเนินงานของกลุม ธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพือ่ สิง่ แวดลอมมีผลการ ดำเนินงานดีกวาป 2554 เนื่องจากมีอัตราการใชกำลังการผลิตของ ผลิตภัณฑเมทิลเอสเทอรอยูท รี่ อ ยละ 93 เพิม่ ขึน้ จากปกอ นหนาทีร่ อ ยละ 62 ในขณะทีอ่ ตั ราการใชกำลังการผลิตของผลิตภัณฑแฟตตีแ้ อลกอฮอล อยูที่รอยละ 101 เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่รอยละ 81 ในขณะที่ราคา ของน้ำมันปาลมดิบในประเทศตลอดป 2555 ลดลงจากป 2554

ประมาณรอยละ 17 เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสูตลาดมากขึ้น รวมทั้งปริมาณคงคลังของน้ำมันปาลมดิบในประเทศที่เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนือ่ ง เชนเดียวกับราคาน้ำมันในเมล็ดปาลมทีล่ ดลงประมาณรอยละ 33 ทำใหกำไรขั้นตนของกลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม เพิ่มขึ้นจากปกอนหนารอยละ 17

กลุมธุรกิจผลิตภัณฑพิเศษ - ฟีนอล รายไดจากการดำเนินงานของกลุมผลิตภัณฑฟนอลลดลงจากป 2554 โดยมีสาเหตุมาจากราคาผลิตภัณฑทลี่ ดลงอยางมีนยั สำคัญ ในป 2555 บริษทั พีทที ี ฟนอล จำกัด มีปริมาณผลิตและขายทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยผลิตภัณฑ ฟนอลมีอัตราการใชกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 119 จากรอยละ 115 ในป 2554 ในขณะที่อัตราการใชกำลังการผลิตของผลิตภัณฑ บีพีเอลดลงอยูที่รอยละ 74 จากรอยละ 79 ในป 2554 (คำนวณ

บนกำลังการผลิต 9 เดือน เนื่องจากโรงบีพีเอเริ่มดำเนินการผลิต เชิงอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2554) อยางไรก็ตาม ปริมาณ ผลิตของบีพีเอทั้งปเพิ่มขึ้นรอยละ 25 ในขณะที่ราคาผลิตภัณฑลดลง โดยสวนตางราคาฟนอล-เบนซีนลดลงรอยละ 57 จากป 2554 และสวนตางราคาบีพีเอ-ฟนอลลดลงรอยละ 47 จากป 2554 ทำให กำไรขั้นตนของกลุมผลิตภัณฑฟนอลลดลงประมาณรอยละ 25

กลุมธุรกิจการลงทุนตางประเทศ ผลการดำเนินงานในป 2555 ของ Emery ลดลงจากป 2554 โดยกำไร ขั้นตนลดลงรอยละ 8 ซึ่งเปนผลจากปริมาณการขายผลิตภัณฑ แฟตตี้แอซิดและผลิตภัณฑตอเนื่องที่ลดลงรอยละ 19 และราคา เฉลี่ ย รวมที่ ล ดลงร อ ยละ 9 อย า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ มี ก ารรั บ รู ผลกำไรสุทธิของ Emery เพิ่มขึ้นเปน 156 ลานบาทในป 2555 จากกำไรสุทธิ 29 ลานบาทในป 2554 เปนผลมาจากรายไดที่เปน extraordinary item จากการเรียกเงินประกัน Business interruption and property damage รวม 11 ลานเหรียญสหรัฐฯ เปนสำคัญ ผลการดำเนินงานในป 2555 ของ Myriant ลดลงจากป 2554 โดยในป 2555 บริษัทฯ มีการรับรูผลขาดทุนจากการลงทุนในบริษัท Myriant 566 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่มีผลขาดทุน 475 ลานบาท ทั้งนี้ Myriant เปนบริษทั ดำเนินงานทางดาน Research and Development ทำใหมีคาใชจายในชวงกอนการดำเนินงานเชิงพานิชยคอนขางสูง บริษทั ฯ ไดเขาถือหุน ใน Natureworks รอยละ 50 ในเดือนพฤษภาคม 2555 โดย Natureworks ดำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการผลิตพลาสติกชีวภาพ

Poly Lactic Acid (PLA) บริษัทฯ มีการรับรูผลขาดทุนจากการลงทุน ในบริษัท Natureworks รวม 94 ลานบาท เนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจ ในยุโรปยังไมฟนตัว ทำใหยอดขายในภูมิภาคดังกลาวลดลงเชนกัน ทั้งนี้ การลงทุนใน Natureworks ของบริษัทฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ที่จะกาวเขาไปสูธุรกิจพลาสติกชีวภาพใหมากขึ้น และเรียนรูวิธีการ ผลิตและขายของผลิตภัณฑพลาสติกชีวภาพเพื่อมาสรางโรงงานใน ภูมิภาคเอเชียตอไป บริษทั ฯ ไดเขาถือหุน ใน Vencorex รอยละ 51 ในเดือนพฤษภาคม 2555 โดย Vencorex ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเคมีภัณฑชนิดพิเศษ TDI, HDI และผลิตภัณฑตอเนื่อง โดยในป 2555 มีอัตราใชกำลังการผลิตอยูที่ รอยละ 70 เนื่องจากมีการปดเพื่อหยุดซอมบำรุงโรง TDI และ HDI ใน เดือนมิถนุ ายน 2555 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีการรับรูผ ลกำไรสุทธิจากการลงทุน ในบริษัท Vencorex อยูที่ 333 ลานบาท โดยการลงทุนใน Vencorex มุงเนนที่จะไดเทคโนโลยีสำหรับการผลิตผลิตภัณฑ Poly Urethane


4 8

ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบป 2555 และป 2554 ป 2555 ลานบาท %

ป 2554 ลานบาท %

ผลตาง ลานบาท %

ไตรมาส 4/2555 ลานบาท %

รายไดจากการขาย

562,811

100

500,305

100

62,506

12

144,595

100

ตนทุนวัตถุดิบ

-470,191

-84

-423,641

-85

-46,550

-11

-117,517

-81

92,620

16

76,664

15

15,956

21

27,078

19

คาใชจายผันแปรอื่น

(1) -16,525

-3

-10,423

-2

-6,102

-59

-4,782

-3

คาใชจายการผลิตคงที่

(2) -15,871

-3

-12,256

-2

-3,615

-29

-5,064

-4

Stock Gain / (Loss) และ (3) NRV กำไร / (ขาดทุน) Commodity Hedging (4)

175

0

6,778

1

-6,603

-97

-323

-0

659

0

-1,275

-0

1,934

152

292

0

(5)

5,552

1

4,294

1

1,258

29

2,205

2

คาใชจายในการขายและ (6) -10,731 บริหาร 55,879 EBITDA

-2

-9,359

-2

-1,372

-15

-3,126

-2

10

54,423

11

1,456

3

16,281

11

คาเสื่อมราคาและ รายการตัดบัญชี

(7) -15,358

-3

-13,608

-3

-1,750

-13

-4,152

-3

EBIT

40,521

7

40,815

8

-294

-1

12,129

8

คาใชจายไดการเงินสุทธิ

-5,523

-1

-5,576

-1

53

1

-1,387

-1

(8)

911

0

-724

-0

1,635

226

409

0

สวนแบงกำไร / (ขาดทุน) (9) จากเงินลงทุน

-44

-0

161

0

-205

-127

-127

-0

(10) -1,416

-0

-3,102

-1

1,686

54

-694

-0

34,449

6

31,574

6

2,875

9

10,329

7

34,001

6

30,033

6

3,968

13

10,388

7

448

0

1,541

0

-1,093

-71

-59

-0

55,045

10

48,920

10

6,125

13

16,312

11

Product to Feed Margin

รายไดอื่นๆ

กำไร / (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

ภาษีเงินได กำไรสุทธิ หลังหักภาษีเงินได สวนของกำไรที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัท สวนไดเสีย ที่ไมมีอำนาจควบคุม Adjusted EBITDA

หมายเหตุ: Adjusted EBITDA คือ EBITDA ที่ไมรวมผลกระทบจากมูลคาสตอกน้ำมัน (ไมรวม Inventory และ NRV) และ ไมรวมผลกระทบของ Commodity Hedging


4 9

ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบ (1) คาใชจายผันแปรอื่น

คาใชจายผันแปรอื่นในป 2555 จำนวน 16,525 ลานบาท เพิ่มขึ้น 6,102 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 59 ซึ่งมีสาเหตุ หลักเนือ่ งมาจากปริมาณการผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จากป 2554 และ ค า ใช จา ยผั นแปรจากกลุมธุร กิจที่อ ยูในตางประเทศเปน สำคัญรวม3,876 ลานบาท โดยเปนคาใชจา ยของ Vencorex และ Natureworks ที่บริษัทฯ ไดเขาลงทุนในเดือนพฤษภาคม 2555 รวม 3,671 ลานบาท นอกจากนั้น ยังมีการเพิ่มขึ้นของ คาใชจา ยผันแปรจากหนวยการผลิต EURO IV ซึง่ เริม่ ดำเนินการ ผลิตตัง้ แตเดือนพฤศจิกายน ป 2554 และการเพิม่ ขึน้ ของราคา กาซธรรมชาติ ทำใหตนทุนสาธารณูปการเพิ่มขึ้นประมาณ รอยละ 8 ของตนทุนเดิมในป 2554 (2) คาใชจายการผลิตคงที่

คาใชจา ยในการผลิตคงทีใ่ นป 2555 จำนวน 15,871 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 3,615 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 29 ซึง่ มีสาเหตุหลัก จากคาใชจา ยในการผลิตคงทีข่ อง Vencorex และ Natureworks รวม 2,259 ล า นบาทและค า ใช จ า ยในการซ อ มบำรุ ง ที่ เพิ่มขึ้น 520 ลานบาท จากการเริ่มดำเนินงานเชิงพาณิชย โรงบีพเี อของบริษทั พีทที ี ฟนอล จำกัด นอกจากนัน้ ยังมีคา บริหารคลังเพิ่มขึ้น 205 ลานบาท จากการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณการผลิตของ HDPE LLDPE และ LDPE (3) Stock Gain / (Loss) และ NRV

ในป 2555 บริษัทฯ เกิด stock gain และ NRV รวม 175 ลานบาท ซึ่งเปน Stock gain 99 ลานบาท (เปน stock loss ของโรงกลัน่ 680 ลานบาทและ stock gain ของโรงอะโรเมติกส 779 ลานบาท) เนือ่ งมาจากราคาน้ำมันดิบดูไบทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ เล็กนอยจากสิ้นป 2554 ที่ 106 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรลเปน 107 เหรียญสหรัฐฯ/บารเรล ณ สิ้นป 2555 โดยมีวัตถุดิบ คงเหลือปลายงวด รวมทั้งสิ้นประมาณ 5.81 ลานบารเรล นอกจากนัน้ บริษทั ฯ มี NRV gain 76 ลานบาทมาจากผลิตภัณฑ Phenol และ BPA เปนสำคัญ เนื่องจากราคาผลิตภัณฑ ณ สิน้ ป 2555 ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จาก ณ สิน้ ป 2554 ทำใหบริษทั ฯ ยกเลิกสวนที่เคยรับรูขาดทุนในป 2554 กลับมาเปนกำไร ในป 2555 ทั้งนี้ ในป 2554 บริษัทฯ มี stock gain และ NRV รวม 6,778 ลานบาท (4) กำไร / (ขาดทุน) Commodity Hedging

ในป 2555 บริษัทฯ มีกำไรจากการทำ Hedging ผลิตภัณฑ จำนวน 659 ลานบาท เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 1,934 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 152 สาเหตุหลักเกิดจากการทำ Stock Hedging ในปริมาณ 4.4 ลานบารเรล ซึง่ ทำใหบริษทั ฯ มีผลกำไร ป 2555 รวม 218 ลานบาท เนื่องจากราคาน้ำมันดิบปรับ

ตัวลดลงต่ำกวาระดับที่บริษัทฯ ไดทำการขายน้ำมันดิบ ลวงหนาไว นอกจากนัน้ ยังมีการทำ Crack Spread Hedging ในปริมาณ 9.4 ลานบารเรล ทำใหบริษัทฯ มีกำไรใน 2555 รวม 405 ลานบาท เนือ่ งจากสวนตางราคาผลิตภัณฑปโ ตรเลียม ปรับตัวลดลงต่ำกวาระดับที่บริษัทฯ ไดทำการขายสวนตาง ราคาลวงหนาไว ในขณะที่ในป 2554 บริษัทฯ มีผลขาดทุน จากการทำ Stock Hedging รวม 1,162 ลานบาท (5) รายไดอื่นๆ

รายไดอนื่ ๆ ในป 2555 จำนวน 5,552 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 1,258 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 29 จากป 2554 ซึ่งมีสาเหตุหลัก มาจากการเขาไปถือหุนใน Vencorex ในป 2555 ซึ่งมีผล ทำใหรายไดอนื่ ๆ เพิม่ ขึน้ 750 ลานบาท จากการเรียกเก็บคา Shared Facility ในบริเวณโรงงานที่ประเทศฝรั่งเศสและยังมี รายไดจากการตอรองราคาซือ้ (Gain on bargain purchase) จำนวน 944 ลานบาทจากการลงทุนใน Vencorex เพือ่ ใหรบั รู มูลคายุติธรรมตามมาตรฐานการบัญชี นอกจากนี้ ยังมีการ เพิ่มขึ้นของรายไดจากคา Claim ประกันภัย Business Interruption ของโรงงานของ Emery โรงงาน LDPE และ ทาเรือ Jetty รวม 659 ลานบาท (6) คาใชจายในการขายและบริหาร

คาใชจายในการขายและบริหาร 10,731 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,372 ลานบาท หรือรอยละ 15 มีสาเหตุหลักจากคาใชจาย ในการขายและบริหารของ Vencorex และ Natureworks รวม 713 ลานบาท นอกจากนัน้ ยังมีคา ใชจา ยพนักงานทีเ่ พิม่ ขึน้ จำนวน 543 ลานบาท ซึง่ มีสาเหตุหลักจากการปรับนโยบาย การใหผลตอบแทนพนักงานจากการควบรวมกิจการ และ คาที่ปรึกษาโครงการลงทุนในตางประเทศที่เพิ่มขึ้นอีก 70 ลานบาท (7) คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี

คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี 15,358 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,750 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 13 สาเหตุสำคัญเนื่อง มาจากคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนายของ Vencorex และ Natureworks จำนวน 855 ลานบาท คาเสื่อมราคาของหนวย EURO IV ประมาณ 220 ลานบาท (เริ่มดำเนินการผลิตเชิง พาณิชยในเดือนพฤศจิกายน 2554) และโรง BPA ประมาณ 110 ลานบาท (เริม่ ดำเนินการผลิตเชิงพาณิชยในเดือนเมษายน 2554) นอกจากนั้น ยังมีคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย จากการประเมินมูลคาทรัพยสินใหม (PPA) ณ วันควบรวม กิจการ 723 ลานบาท อยางไรก็ตาม มีคาเสื่อมราคาที่ลดลง 495 ลานบาทจากการยืดอายุโรงโอเลฟนสและโรงโพลิเมอร จาก 25 ป เปน 35 ป ตัง้ แตวนั ควบรวมกิจการ ทัง้ นีก้ ารพิจารณา ยืดอายุโรงงานนัน้ เพือ่ ใหสะทอนอายุการใชงานจริงในปจจุบนั


5 0

(8) กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

(9) สวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน

ในป 2555 บริษัทฯ มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 911 ลานบาท สวนใหญเกิดจากการบริหารความเสี่ยงอัตรา แลกเปลี่ยน (Hedging) ตามนโยบายบริษัทฯ ดังนี้ ตนป 2555 บริษัทฯ มีหนี้เงินกูที่เปนเงินตราตางประเทศ ประมาณ 629 ลานเหรียญสหรัฐฯ ณ สิ้นป 2555 คาเงินบาท แข็งคาประมาณ 1.05 บาท/เหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับตนป บริษัทฯ จึงรับรูกำไรรวมประมาณ 660 ลานบาท กำไรจากตราสารอนุพันธภายใตนโยบายบริหารความเสี่ยง จำนวน 89 ลานบาท ในวันที่ 19 กันยายน 2555 บริษทั ฯ ไดมกี ารออกหุน กูเ ปนสกุล เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ จำนวน 1,000 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ โดยบริษัทฯ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเพียงเล็กนอย นอกจากนี้บริษัทฯ มีกำไรอัตราแลกเปลี่ยนจากการดำเนิน ธุรกิจปกติ ประมาณ 232 ลานบาท

สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุน 44 ลานบาท ลดลง 205 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 127 มีสาเหตุสำคัญเนื่องมาจาก การรับรูผลกำไรจากเงินลงทุนใน VNT ลดลง 66 ลานบาท และรับรูผลขาดทุนจากเงินลงทุนใน Myriant เพิ่มขึ้น 144 ลานบาท (10) ภาษีเงินได

ภาษีเงินไดในป 2555 จำนวน 1,416 ลานบาท ลดลง 1,686 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 54 จากป 2554 เนื่องมาจาก ผลประกอบการทีล่ ดลงของโรงงานทีไ่ มไดรบั สิทธิพเิ ศษทางภาษี โดยเฉพาะอยางยิ่งภาษีเงินไดของธุรกิจโรงกลั่นของบริษัทฯ ที่ลดลง 1,117 ลานบาท เนื่องจาก Stock gain ที่ลดลง จากเดิมคอนขางมาก นอกจากนัน้ ยังมีผลมาจากการใชสทิ ธิ ประโยชนทางภาษีของโครงการ GT-Nox Reduction และ ยังมีผลมาจากอัตราภาษีเงินไดที่ลดลง จากอัตรารอยละ 30 เปน 23 ในป 2555

งบแสดงฐานะการเงิน (หนวย : พันลานบาท) เงินสดรายการเทียบเทา และเงินลงทุนระยะสั้น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

22.6

(หนวย : พันลานบาท) 44.3

82.6

60.0

หนี้สินอื่น

100.8 136.8

120.2

ที่ดินอาคารอุปกรณ

61.2

235.3

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

240.5

สวนของผูถือหุน 208.5

สินทรัพยไมหมุนเวียน

32.4 373 พันลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

238.0

34.6 436 พันลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555


5 1

สินทรัพย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพยรวมทัง้ สิน้ 436,062 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวน 63,095 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 17 มาจากสินทรัพยหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 55,654 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 53 และสินทรัพยไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 7,441 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 3 1) สินทรัพยหมุนเวียน เพิ่มขึ้น 55,654 ลานบาท มีสาเหตุ สำคัญสรุปไดดงั นี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เพิม่ ขึน้ 12,296 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญเนื่องมาจากเงินที่ไดรับจากการออกเสนอขาย หุน กูส กุลดอลลารเมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2555 เปนสำคัญ

ลูกหนีก้ ารคา เพิม่ ขึน้ 11,259 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญเนือ่ งมาจาก ลูกหนีก้ ารคาของกลุม ธุรกิจตางประเทศเพิม่ ขึน้ โดยเปนลูกหนี้ การคาของ Vencorex และ Natureworks รวม 3,381 ลานบาท นอกจากนั้น ปริ ม าณการขายเพิ่ม ขึ้น และราคาขายของ ผลิตภัณฑตา งๆ รวมถึงจากการเริม่ ดำเนินการผลิตในสวนตอ ขยายของ TOCGC เปนสำคัญ ทัง้ นี้ AR Turnover สำหรับ ป 2555 มีจำนวน 30 วันเทากับ ณ สิน้ ป 2554

สิ้นป 2555 (วัน)

สิ้นป 2554 (วัน)

AR Turnover

30

30

0

Inventory Turnover

19

21

-2

สินคาคงเหลือเพิม่ ขึน้ 4,902 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญมาจาก การเพิม่ ขึน้ ของ Vencorex และ Natureworks รวม 3,428 ลานบาท ทั้งนี้ จำนวนวันสินคาคงเหลือเฉลี่ยอยูท่ปี ระมาณ 19 วัน ลดลงจาก ณ สิน้ ป 2554 เล็กนอย ซึง่ มีจำนวนวันสินคา คงเหลือเฉลีย่ อยูท ่ี 21 วัน สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ 27,197 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญ เนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนระยะสัน้ 25,160 ลานบาท จากการลงทุนในตัว๋ B/E นอกจากนีย้ งั มีคา ใชจา ยจายลวงหนา เชน คาประกันภัย คาสินคาและบริการ รวม 760 ลานบาท ลูกหนีเ้ งินชดเชยกองทุนน้ำมัน 220 ลานบาท และสินทรัพย หมุนเวียนอืน่ ของกลุม บริษทั ตางประเทศเพิม่ ขึน้ 365 ลานบาท

เพิ่ม/(ลด) (วัน)

2) สินทรัพยไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 7,441 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญ สรุปไดดงั นี้ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิเพิ่มขึ้น 5,154 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 2 จากมูลคาสินทรัพยของบริษทั Vencorex และ Natureworks เพิม่ ขึน้ 9,456 ลานบาท และการเพิม่ ขึน้ ของตนทุนในการดำเนินงานของโครงการตามความคืบหนา และจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายในการทำ turnaround ของโรงอะโรเมติกส โรงโอเลฟนส I-4/2 และโรงอืน่ ๆ เปนสำคัญ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 2,287 ลานบาท หรือ เพิ่มขึ้นรอยละ 7 มีสาเหตุสำคัญเนื่องมาจากเงินใหกยู ืมแก Myriant จำนวน 40 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 1,219 ลานบาท การเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ ของบริษทั Vencorex และ Natureworks รวม 2,286 ลานบาท


5 2

หนี้สิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวมทัง้ สิน้ 198,017 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวน 33,504 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 20 มาจากหนีส้ นิ หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 9,465 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 16 และหนีส้ นิ ไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 24,039 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 23 1) หนีส้ นิ หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 9,465 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญสรุป ไดดงั นี้ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 766 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 36 โดยเปนเงินกูย มื ระยะสัน้ ของ Emery และ Vencorex ทัง้ จำนวน เจาหนีก้ ารคาเพิม่ ขึน้ 11,216 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 41 มีสาเหตุสำคัญเนือ่ งมาจากเจาหนีก้ ารคาของ Vencorex และ Natureworks 2,258 ลานบาท และยังมีสาเหตุมาจากราคา วัตถุดบิ และปริมาณการซือ้ วัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ ในป 2555 สะทอน จากการใชการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ เงินกูย มื ระยะยาวทีถ่ งึ กำหนดชำระภายใน 1 ป ลดลง 6,426 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 32 จากการจายคืนหุน กูข องบริษทั ฯ 235 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 7,600 ลานบาท และหุน กูเ งินบาท 2,100 ลานบาท และจายคืนเงินกูดอยสิทธิ์ของบริษัทฯ 4,988 ลานบาท แก ปตท. ในป 2555 อยางไรก็ตาม บริษทั ฯ มีหนุ กูท จ่ี ะถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป เพิม่ ขึน้ 8,000 ลานบาท เปนสำคัญ หนีส้ นิ หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ 571 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 61 สาเหตุสำคัญเนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของหนีส้ นิ หมุนเวียน อืน่ ของ Vencorex และ Natureworks รวม 192 ลานบาท และการเพิ่มขึ้นของเงินสมทบกองทุนน้ำมันและ LPG ของ บริษทั ฯ 240 ลานบาท โดยเปนเงินสมทบกองทุนน้ำมันของ Diesel เปนหลัก เนือ่ งจากมีการปรับอัตราเงินสมทบเขากองทุน จากอัตรา 0 เปน 1.50 บาทตอลิตร

2) หนีส้ นิ ไมหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 33,698 ลานบาท มีสาเหตุสำคัญ เนือ่ งมาจาก เงินกูย มื ระยะยาวและหุน กูเ พิม่ ขึน้ 22,350 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 23 จากการออกหุนกู 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ และการเพิม่ ขึน้ ของเงินกูย มื ของบริษทั Natureworks ประมาณ 10 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 309 ลานบาท ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานเพิ่มขึ้น 972 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 46 มีสาเหตุสำคัญเนือ่ งมาจากภาระผูกพัน ผลประโยชนพนักงานของ Vencorex จำนวน 653 ลานบาท และบันทึกหนี้สินผลประโยชนพนักงานสำหรับป 2555 ของ กลุม บริษทั ฯ เปนสำคัญ สวนของผูถือหุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มีสว นของผูถ อื หุน 238,045 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำนวน 29,585 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 15 เนือ่ งจากในป 2555 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิรวม 34,001 ลานบาท และการใชสทิ ธิ Warrant ของพนักงาน Ex - AR ทำให ทุนทีอ่ อกและเรียกชำระแลวและสวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ 28 ลานบาท และ 139 ลานบาท ตามลำดับ กำไรจากกลับรายการจาก Warrant ทีไ่ มมกี ารใชสทิ ธิ์ 7 ลานบาท และการเพิม่ ขึน้ ของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ำนาจ ควบคุม 5,662 ลา นบาท สาเหตุจากการลงทุ นใน Vencorex เปนสำคัญ ในขณะทีบ่ ริษทั ฯ มีการจายเงินปนผลสำหรับผลการดำเนินงาน ป 2554 และจายเงินปนผลระหวางกาลป 2555 ไปรวมจำนวน 10,139 ล า นบาท การปรั บ ลดมู ล ค า ยุ ติ ธ รรมจากการใช สิ ท ธิ Warrant ของพนักงานบริษทั ฯ 47 ลานบาท และมีผลขาดทุนจากการ แปลงคางบการเงินที่ไปลงทุนในบริษัทฯในกลุมตางประเทศเพิ่มขึ้น 60 ลานบาท


5 3

งบกระแสเงินสด สำหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิได มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 54,881 ลานบาท มีเงินสดสุทธิใชไปจาก กิจกรรมลงทุน 41,689 ลานบาท และมีเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรม จัดหาเงิน 1,327 ลานบาทและมีผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของเงิน

ตราตางประเทศคงเหลือสิน้ งวด 425 ทำใหบริษทั ฯ มีเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด ณ สิน้ ป 2555 เทากับ 31,269 ลานบาท และบริษทั ฯ มีเงินลงทุนระยะสัน้ 28,792 ลานบาท ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2555 ทีม่ เี งินสดและรายการเทียบเทา 18,973 ลานบาท

อัตราสวนทางการเงินทีส่ ำคัญ สัดสวนทางการเงิน

2555

2554

อัตราสวนสภาพคลอง

2.31

1.75

อัตราสวน EBITDA ตอรายไดรวม

9.85%

10.79%

อัตราสวนกำไรสุทธิตอรายไดรวม

5.99%

5.95%

อัตราสวนผลตอบแทนตอสินทรัพย

7.80%

8.05%

อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน

14.28%

14.41%

อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน

0.58

0.58

อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิตอสวนของผูถือหุน

0.32

0.47

อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิตอ EBITDA

1.38

1.79

หมายเหตุ : อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวน EBITDA ตอรายไดรวม (ยอนหลัง 4 ไตรมาส) อัตราสวนกำไรสุทธิตอรายไดรวม (ยอนหลัง 4 ไตรมาส) อัตราสวนผลตอบแทนตอสินทรัพย อัตราสวนผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน

= =

อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA

=

= = = = =

สินทรัพยหมุนเวียน หาร หนี้สินหมุนเวียน EBITDA หาร รายไดรวม (ไมรวมกำไร/(ขาดทุน) จาก อัตราแลกเปลี่ยนและสวนไดเสียจากการลงทุนในบริษัทยอย) กำไรสุทธิ หาร รายไดรวม (ไมรวมกำไร/(ขาดทุน) จาก อัตราแลกเปลี่ยนและสวนไดเสียจากการลงทุนในบริษัทยอย) กำไรสุทธิ (ยอนหลัง 4 ไตรมาส) หาร สินทรัพยรวมเฉลี่ย กำไรสุทธิ (ยอนหลัง 4 ไตรมาส) หาร สวนของผูถือหุนรวมเฉลี่ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หาร สวนของผูถือหุน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยหักเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและ เงินลงทุนชั่วคราว หาร สวนของผูถือหุน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยหักเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและ เงินลงทุนชั่วคราว หาร EBITDA (ยอนหลัง 4 ไตรมาส)


5 4

การบริหารความเสี่ยงและปจจัยความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) กลุ ม บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล ตระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย ง ในการดำเนินธุรกิจและการลงทุนตลอดจนความเสี่ยงเชิงกลยุทธ จึ ง ได ก ำหนดนโยบายให มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ทั้ ง องค ก ร อยางเปนระบบ โดยริเริ่มนวัตกรรมการบริหารความเสี่ยงเชิงรุกทั้งใน ระยะสั้นและยาว ภายใตกลไก “ระบบเตือนภัยลวงหนา” (Early Warning System) หรื อ EWS และขยายขอบข า ยการบริ ห าร ความเสี่ยงของแตละหนวยผลิตใหครอบคลุมตลอดหวงโซอุปทาน อยางเปนระบบ ภายใตระบบ“การบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ” (Business Continuity Managment) หรือ BCM โดยเริ่มดำเนินการ ในหนวยธุรกิจที่เหมาะสมและมีความพรอมกอนในระยะแรก การบริหารความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ อยูภายใตการกำกับดูแลของ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (RMC) ของบริษทั ฯ โดยมีคณะจัดการ (MC) เปนกลไกหลักในการจัดการบริหารความเสี่ยงองคกร และมี คณะทำงานบริหารความเสี่ยงดานความผันผวนของตนทุนราคา วั ต ถุ ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ และความเสี่ ย งด า นการเงิ น (CFRM) ทำหนาทีก่ ำหนดกลยุทธ ระดับราคาและปริมาณในการบริหารความเสีย่ ง ดานราคาวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ และความเสีย่ งดานการเงิน เพือ่ ใหเปนไป ตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ งตามทีไ่ ดรบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไดดำเนินการใหมีการวิเคราะหความเสี่ยงของกลุมบริษัทฯ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพอยางตอเนื่อง โดยมีการวิเคราะหแบบ จำลองทางการเงิน เพือ่ ประเมินความเสีย่ งตอผลประกอบการของบริษทั ในรูปแบบ Value at Risk (VaR) ซึง่ จะชีถ้ งึ ผลกระทบทางการเงินตอ บริษทั ฯ จากการเปลีย่ นแปลงปจจัยสำคัญ ณ ระดับความเปนไปไดตา งๆ การวิเคราะหผลกระทบและโอกาสของความเสี่ยง ที่อาจสงผลตอการ บรรลุวัตถุประสงคของบริษัทฯ หรือเปาหมายของโครงการ พรอมทั้ง ใหมกี ารจัดทำแผนจัดการความเสีย่ งตามแนวทางทีก่ ำหนดไว และการ ติดตามและวิเคราะหขอมูลทั้งปจจัยภายในและภายนอกที่อาจสงผล ตอการผลิต การขาย และราคา ทั้งในสวนของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ และที่สืบเนื่องมาจากตลาดการเงิน เศรษฐกิจและปจจัยแวดลอมอื่น ทางธุรกิจอยางตอเนื่อง เพื่อลดทอนโอกาสที่จะเกิดเหตุการณท่ีเปน ความเสี่ยง และ/ หรือบรรเทาผลกระทบกรณีเกิดเหตุการณท่ีเปน ความเสี่ยงขึ้นจริง และใหเจาหนาทีร่ ะดับบริหารและระดับปฏิบตั งิ าน เขาใจการเปลี่ยนแปลงของขอมูลที่ถูกตองและสอดคลองกัน เพื่อให สามารถเตรียมความพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงในปจจัยสำคัญๆ

โดยเฉพาะความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จริ ง ได อ ย า งทั น ท ว งที แ ละมี ประสิทธิภาพสูงสุด

ปจจัยความเสี่ยง (Risk Factors) แมบริษทั ฯ จะไดใหความสำคัญในการจัดใหมรี ะบบการบริหารความเสีย่ ง ทีส่ อดคลองกับมาตรฐานสากล แตจากลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรม ทีก่ ลุม บริษทั ฯ ประกอบการอยู โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการกลัน่ น้ำมัน ปโตรเคมี เม็ดพลาสติก และอื่นๆ ของกลุมบริษัทฯ ทำใหไมอาจ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงหลากหลายประการ ที่หากเกิดขึ้นแลวอาจสงผล ตอการบรรลุเปาหมายหรือการดำเนินธุรกิจของกลุม บริษทั ฯ อยางมีนยั สำคัญ ความเสี่ยงดังกลาวอาจแบงออกเปน 2 ประเภทหลัก ไดแก ความเสี่ยงของอุตสาหกรรม และความเสี่ยงเฉพาะของกลุมบริษัทฯ อยางไรก็ดี นอกเหนือจากปจจัยความเสีย่ งทีป่ รากฏในรายงานนีอ้ าจมี ความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งบริษัทฯ ไมอาจทราบไดในขณะที่จัดทำรายงานนี้ หรือเปนความเสี่ยงที่บริษัทฯ พิจารณา ณ เวลาที่จัดทำรายงานนี้วา ไมเปนสาระสำคัญ แตอาจเปนปจจัยความเสี่ยงที่มีความสำคัญ และ หากเกิดขึน้ จริงก็อาจสงผลตอการดำเนินงานของบริษทั ฯ หรือของบริษทั ในกลุมอยางมีนัยสำคัญได

ความเสี่ยงของอุตสาหกรรม (Industrial Risks) ความเสีย่ งดานราคาผลิตภัณฑและวัตถุดบิ (Price Risks)

การเปลีย่ นแปลงของราคาผลิตภัณฑและวัตถุดบิ ของกลุม บริษทั ฯ อาจสงผลกระทบตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ อยางมี นัยสำคัญ เนือ่ งจากราคาของผลิตภัณฑและวัตถุดบิ สวนใหญของ กลุม บริษทั ฯ เปนราคาตลาดโลก หรือมีสตู รอางอิงราคาตลาดโลก ซึ่งจะไดรับผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความ ตองการใชผลิตภัณฑ ซึง่ มักขึน้ อยูก บั ภาวะเศรษฐกิจโลก หรือเศรษฐกิจ ในประเทศทีเ่ ปนตลาดหลักของผลิตภัณฑ และจากการเปลีย่ นแปลง ระดับกำลังการผลิตของผลิตภัณฑหรือวัตถุดบิ นัน้ ๆ ในตลาดโลก อันเปนปจจัยที่มักอยูนอกเหนือการควบคุมของกลุมบริษัทฯ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีนโยบายที่ใหมีการกำหนดสูตร ราคาที่ชัดเจนในสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑและวัตถุดิบ ทั้งของบริษัทฯ และบริษัทในกลุม ที่สะทอนราคาอางอิงตลาดซื้อขายหลักหลายแหง


5 5

ในกรณีที่สามารถดำเนินการไดและมีความเหมาะสม ซึ่งจะชวยลด ความผันผวนของราคาลงไดระดับหนึ่ง ทั้งยังมีนโยบายที่จะใหสูตร ราคาในสั ญ ญาซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละวั ต ถุ ดิ บ ของบริ ษั ท ฯ หรื อ ระหวางบริษัทฯ กับบริษัทในกลุม หรือระหวางบริษัทในกลุมดวยกัน เชื่อมโยงกับราคาตนทุนของผลิตภัณฑในกรณีที่มีความเหมาะสม ซึ่งจะชวยลดผลกระทบตอบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุมที่เปนผูขาย กรณีราคาตลาดของผลิตภัณฑลดต่ำลงกวาตนทุนผลิต ทำใหราคา ตนทุนวัตถุดบิ สวนหนึง่ ของกลุม บริษทั ฯ มีความยืดหยุน ในการสะทอน ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ ปลายทาง และสามารถลดผลกระทบจากราคา ที่ เ ปลี่ ย นแปลงโดยเฉพาะในช ว งวั ฏ จั ก รขาลงของอุ ต สาหกรรม หรือในชวงที่ตลาดมีความซบเซาลงไดในระดับหนึ่ง บริษัทฯ ยังไดดำเนินการบริหารความเสี่ยงดานราคาผลิตภัณฑและ วัตถุดบิ โดยเฉพาะราคาน้ำมันดิบ รวมถึงราคาวัตถุดบิ และผลิตภัณฑอนื่ กรณีที่สามารถดำเนินการไดและเหมาะสมโดยใชตราสารอนุพันธ สัญญาซื้อขายลวงหนาและเครื่องมือทางการเงินอื่นๆ ที่เหมาะสม ภายใตนโยบายและกรอบการดำเนินการตามที่คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงไดกำหนดไว ทั้งนี้ เพื่อมุงเนนที่จะลดความเสี่ยงจากการ เปลี่ยนแปลงราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑที่จะมีตอเปาหมายทางธุรกิจ ของกลุมบริษัทฯ เปนสำคัญ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ไดกำหนดใหมกี ารประสานแผนการผลิตจากสวนกลาง ระหวางกลุม ผลิตภัณฑกบั กลุม ธุรกิจตางๆ ภายในกลุม บริษทั ฯ ในกรณี ทีม่ คี วามเกีย่ วเนือ่ งและเหมาะสม เพือ่ ใหการผลิตและขายมีประสิทธิภาพ และไดผลตอบแทนสูงสุดภายใตขอ จำกัดทีม่ อี ยูใ นแตละชวงเวลา ซึง่ จะชวย ลดผลกระทบจากความผันผวนหรือการเปลีย่ นแปลงราคาวัตถุดบิ และ ผลิตภัณฑของกลุมบริษัทฯ ลงไดในระดับหนึ่ง กลุม บริษทั ฯ ยังคงแสวงหาโอกาสทางธุรกิจอยางตอเนือ่ งในทุกกลุม ธุรกิจ ที่มีศักยภาพและสอดคลองกับกลยุทธของบริษัทฯ ซึ่งจะชวยลด ผลกระทบในเชิงลบกรณีสว นตางราคาผลิตภัณฑกบั วัตถุดบิ ของกลุม ใด กลุม หนึง่ ลดต่ำลงกวาเปาหมาย และลดความผันผวนในรายไดและกำไร สุทธิของกลุม บริษทั ฯ ลงไดในระยะปานกลางถึงยาว ซึง่ ก็จะเปนปจจัย สนับสนุนใหกลุม บริษทั ฯ มีขดี ความสามารถในการแขงขันเพิม่ ขึน้ และ สามารถเติบโตไดอยางยั่งยืน ความเสี่ยงดานการจัดหาวัตถุดิบของกลุมบริษัทฯ (Feedstock Risk)

กลุม บริษทั ฯ มีความเสีย่ งในการจัดหาวัตถุดบิ ทัง้ ทีอ่ าจเนือ่ งมาจาก ผูจัดหาวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ซึ่งไดแก ปตท.ไมสามารถจัดหา หรือนำสงวัตถุดบิ หลักใหแกกลุม บริษทั ฯ ไดตามสัญญา และทีอ่ าจ

เนือ่ งมาจากปจจัยภายนอกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จนสงผลใหวตั ถุดบิ หลัก ของบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุมขาดแคลน ในสวนของโรงกลัน่ น้ำมัน ซึง่ ตองพึง่ พาการนำเขาน้ำมันดิบและวัตถุดบิ อื่นๆ ที่ใชในกระบวนการกลั่นเกือบทั้งหมดจากประเทศในภูมิภาค ตะวันออกกลาง และบางสวนจากประเทศในภูมิภาคตะวันออกไกล และแอฟริกาตะวันตก ความสามารถในการจัดหาน้ำมันดิบและวัตถุดบิ อื่นๆ ดังกลาว ขึ้นอยูกับปจจัยภายนอกหลายประการ ซึ่งรวมถึง ความไมสงบและเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศในภูมิภาค การขนถายน้ำมันดิบ การเดินทางของเรือบรรทุกน้ำมันดิบ กฎเกณฑ ของรัฐบาลทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมน้ำมันและพลังงาน สภาพภูมอิ ากาศ และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในภูมิภาคดังกลาว เปนตน ในสวนของโรงงานอะโรเมติกส ซึ่งตองพึ่งพาการจัดหาคอนเดนเสท ผาน ปตท. และโรงงานโอเลฟนส ซึ่งตองพึ่งพาการจัดหากาซอีเทน จาก ปตท. เชนเดียวกัน อาจประสบปญหาไมไดรบั มอบวัตถุดบิ จากผูจ ดั หา ดังกลาวไดตามสัญญา ซึง่ อาจเนือ่ งมาจากสาเหตุหลากหลายประการ เชน ปตท. ไมสามารถจัดหาวัตถุดิบไดทันตามกำหนดเวลาหรือในปริมาณ ตามแผนงานของบริ ษั ท ฯ เรื อ ขนส ง วั ต ถุ ดิ บ ล า ช า หรื อ โรงแยก กาซอีเทนประสบปญหาในการผลิต เปนตน ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงอาจ สงผลเชิงลบตอการดำเนินงานของบริษัทฯ ไดอยางมีนัยสำคัญ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีการทำสัญญาซื้อน้ำมันดิบ ระยะยาวไวบางสวน และมีการเก็บสำรองน้ำมันดิบและคอนเดนเสท สำหรับการผลิตไวสวนหนึ่ง มีการเตรียมความพรอมกรณีที่ตองจัดหา วัตถุดิบคอนเดนเสทจากแหลงอื่นๆ ในตางประเทศ หรือใชแนฟทา เปนวัตถุดิบทดแทน นอกจากนี้ ยังมีการติดตามการจัดหาและการขนสงวัตถุดบิ อยางใกลชดิ รวมทั้งมีการเพิ่มชองทางในการขนถายและจัดเก็บคอนเดนเสทกรณี ที่สามารถดำเนินการไดและมีความเหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดมีการติดตามความเคลื่อนไหวและการ เปลีย่ นแปลงของปจจัยแวดลอม และวิเคราะหและประเมินแนวโนมของ ปจจัยที่อาจสงผลตอปริมาณวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ อยางตอเนื่อง เพื่ อ ให ส ามารถกำหนดนโยบายและการจัดการที่อาจชวยบรรเทา ผลกระทบกรณีเหตุการณท่ีเปนความเสี่ยงในการจัดหาวัตถุดิบของ กลุมบริษัทฯ เกิดขึ้นจริง


5 6

ความเสี่ยงจากการที่สถานที่ตั้งโรงงานของกลุมบริษัทฯ ผูจัดหาวัตถุดิบหลัก และลูกคาหลักสวนใหญของกลุม บริษัทฯ อยูรวมกันในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและ บริเวณใกลเคียง (Cluster-of-Plants Risk)

โรงงานกลั่นน้ำมัน โรงปโตรเคมีขนาดใหญ โรงผลิตเม็ดพลาสติก และโรงปโตรเคมีขั้นปลายที่รับผลิตภัณฑจากโรงปโตรเคมีขั้นตน เปนวัตถุดิบ มักตั้งอยูในบริเวณใกลเคียงกับโรงงานผลิตวัตถุดิบ หรือลูกคาหลัก เพื่อลดคาใชจายดานการจัดสงวัตถุดิบหรือนำสง ผลิตภัณฑ (Logistics Cost) โรงงานของกลุม บริษทั ฯ มีทต่ี ง้ั ในลักษณะ ดังกลาวเชนกัน โดยสวนใหญตงั้ อยูใ นนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และบริเวณใกลเคียง อีกทัง้ ผูจ ดั หาวัตถุดบิ หลักและลูกคาหลักของ กลุม บริษทั ฯ ตางก็ตงั้ อยูใ นหรือบริเวณใกลเคียงนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง ดังนั้น หากเกิดเหตุการณที่กอใหเกิด ความเสียหายรายแรงตอโรงงาน สถานประกอบการ หรือระบบ ทอสงของกลุม บริษทั ฯ ผูจ ดั หาวัตถุดบิ หลักหรือลูกคาหลักของกลุม บริษทั ฯ อาจสงผลเสียหายรายแรงตอผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ หรือบริษัทในกลุมได แนวทางการลดความเสี่ยง : กลุมบริษัทฯ กำหนดใหมีการรักษาความ ปลอดภัยของโรงงานตามมาตรฐานสากล และมีนโยบายใหมกี ารประกัน ความเสีย่ งภัยทุกชนิดทีเ่ กิดจากการดำเนินงานของบริษทั ฯ หรือบริษทั ยอย ที่ดำเนินการเชิงพาณิชยแลว และประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิดที่ อาจเกิดขึน้ ในระหวางการกอสรางสำหรับโครงการทีอ่ ยูร ะหวางดำเนินการ ตามมาตรฐานสากล เพือ่ บรรเทาผลกระทบกรณีเกิดเหตุการณรา ยแรง ตอบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุม ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม (Environmental Risk)

จากลักษณะการดำเนินการของอุตสาหกรรมและการดำเนินงาน โครงการในอุตสาหกรรมการกลัน่ น้ำมัน ปโตรเคมี เม็ดพลาสติกและ อุตสาหกรรมปลายน้ำทีร่ บั ผลิตภัณฑจากอุตสาหกรรมตนน้ำขางตน มั ก เกี่ ย วข อ งกั บ กระบวนการผลิ ต จากปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี แ ละ กิ จ กรรมที่ อ าจก อ ให เกิดอันตรายตอ สุ ขภาพและสิ่งแวดลอม ซึง่ หากเกิดอุบตั เิ หตุ เหตุสดุ วิสยั หรือความผิดพลาดในการดำเนินงาน อาจสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม ผูม สี ว นไดเสีย แผนการลงทุนของ กลุมบริษัทฯ และตอผลการดำเนินงาน ตลอดถึงภาพลักษณของ บริษทั ฯ หรือบริษทั ในกลุม ทัง้ ในระยะสัน้ และในระยะยาวไดอยาง มีนัยสำคัญ แนวทางการลดความเสี่ ย ง : บริ ษั ท ฯ กำหนดนโยบายด า น อาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม เปนกรอบภารกิจตั้งแต เริ่มตนในการวางแผนการลงทุนโครงการ การเลือกเทคโนโลยีและ กระบวนการผลิต การออกแบบติดตั้ ง การกำหนดวิธีปฏิบัติงาน

การสรางวัฒนธรรมความปลอดภัย การดำเนินกิจกรรม การประเมิน ความเสี่ ย งด า นสิ่ ง แวดล อ ม การป อ งกั น และลดผลกระทบ ดานสิง่ แวดลอมตอผูม สี ว นไดเสีย การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและมาตรฐาน ที่กำหนดอยางเครงครัด การปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการ สิ่งแวดลอมในเชิงรุก และการปรับปรุงเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน เชิ ง เศรษฐนิ เ วศ (Eco-Efficiency) หรื อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การใช พ ลั ง งาน โดยการใช พ ลั ง งานอย า งคุ ม ค า เพื่ อ ให เ กิ ด การ เติบโตอยางยั่งยืนทั้งองคกรและสังคม ตลอดถึงการดำเนินการ ตามมาตรฐานระบบจั ด การด า นสิ่ ง แวดล อ ม ISO 14001 การ จัดทำรายงานผลการปฏิบตั ติ ามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ สิง่ แวดลอม กำหนดใหมมี าตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดลอม เสนอตอสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม อยางตอเนือ่ ง และการสือ่ สารใหผเู กีย่ วของทราบอยางทัว่ ถึง โดยกลุม บริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะทำงานที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอมที่ประกอบดวย ตัวแทนชุมชนรอบโรงงาน และหนวยราชการที่เกี่ยวของ ใหเขามามี สวนรวมกิจกรรมดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมภายในโรงงาน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองในลักษณะของความเสี่ยงที่ไดมีการ บริหารจัดการ รวมถึงมาตรการปองกันเพื่อควบคุมดานกระบวนการ ผลิตตางๆ ที่กลุมบริษัทฯ ดำเนินการอยู ความเสี่ยงดานการเงิน (Financial Risks) (ก) ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน (FX Risk)

โครงสรางราคาขายผลิตภัณฑและราคาซือ้ วัตถุดบิ ของกลุม บริษทั ฯ สวนหนึ่ง อางอิงกับเงินเหรียญสหรัฐฯ (USD Linked) ชวยใหมี การบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นตามธรรมชาติ (Natural Hedge) ไดในระดับหนึ่ง เนื่องจากรายไดจากการขายผลิตภัณฑ และต น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ จะปรั บ เปลี่ ย นไปตามอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ เปลีย่ นแปลงไป อยางไรก็ตาม กลุม บริษทั ฯ ยังคงมีความเสีย่ งจาก อัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากสวนตางระหวางรายไดจากการขาย ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละต น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ ป น เงิ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ (USD Product-to-Feed Margin) โดยหากเงินบาทแข็งคาขึ้น เมื่อเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐฯ ความสามารถในการทำกำไรของ บริษัทฯ ในสกุลเงินบาทจะลดลง ดังนั้น ความผันผวนและการ เปลีย่ นแปลงของคาเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินเหรียญสหรัฐฯ จึงอาจ สงผลกระทบตอกลุมบริษัทฯ ไดอยางมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีการรับรูร ายได กำไร หรือสวนแบงกำไร (หรือ ผลขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษทั รวม ตลอดจนตัวเลขทางบัญชี อื่นใดตามที่มาตรฐานการบัญชีของไทย (Thai GAAP) กำหนดไว ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงของค า เงิ น บาทเมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น สกุ ล ตางประเทศ ที่บริษัทในกลุมใชอางอิงอาจสงผลกระทบในเชิงลบ ตอบริษทั ฯ ในทางบัญชีหรือทางการเงินอืน่ ใดไดอยางมีนยั สำคัญ


5 7

แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ มีการบริหารความเสีย่ งดานอัตรา แลกเปลีย่ น โดยการพยายามทำใหภาระหนีต้ า งประเทศสอดคลองกับ รายไดรับสุทธิที่เปนสวนตางระหวางรายไดจากการขายผลิตภัณฑ กับตนทุนวัตถุดิบ (Product-to-Feed Margin) ของบริษัทฯ ในระดับ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ และใชเครือ่ งมือทางการเงิน อาทิ การซือ้ ขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนา (Forward) เพือ่ ปองกันความเสีย่ งของรายรับและ รายจายที่เปนเงินสกุลตางประเทศในสวนที่เกินจาก Natural Hedge สวนหนึ่ง (ข) ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk)

จากการที่กลุมบริษัทฯ มีแผนขยายธุรกิจเพื่อการเติบโตระยะยาว ขณะที่ตลาดการเงินอาจมีความผันผวนในบางชวงเวลา ดังนั้น กลุมบริษัทฯ จึงไมอาจหลีกเลี่ยงในการเผชิญความเสี่ยงที่อัตรา ดอกเบีย้ ในตลาดการเงินจะผันผวนหรือปรับตัวสูงขึน้ ในชวงจังหวะ เวลาทีบ่ ริษทั ฯ หรือบริษทั ในกลุม ประสงคจะกูเ งินจากตลาด ซึง่ อาจ สงผลใหบริษทั ฯ หรือบริษทั ในกลุม ไมอาจกูเ งินไดครบตามจำนวน ที่ตองการหรือตองมีตนทุนทางการเงินสูงขึ้น แนวทางการลดความเสี่ยง : เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินที่อาจเกิดขึ้น และจากอัตราดอกเบี้ย ในตลาดการเงินทีอ่ าจปรับตัวสูงขึน้ ในชวงระยะเวลาทีบ่ ริษทั ฯ ประสงค จะกูยืมเงิน 1. บริษัทฯ มีการจัดเตรียมวงเงินกูยืมระยะสั้นไวกับสถาบัน การเงิน เพื่อเปนแหลงเงินทุนในระยะสั้นกรณีมีความจำเปน 2. บริษทั ฯ มีการทบทวนโครงสรางหนีท้ มี่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงทีแ่ ละ หนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อยางสม่ำเสมอ โดยพิจารณา ปรับเปลี่ยนสัดสวนหนี้ในทั้งสองสวนดังกลาวใหอยูในระดับ ที่เหมาะสมและสอดคลองกับสภาวะความตองการใชเงินทุน ของกลุมบริษัทฯ ตลอดถึงสภาวะและแนวโนมอัตราดอกเบี้ย ในแตละชวงเวลา ความเสี่ยงดานนโยบายภาครัฐ (Government Policy Risk)

อุตสาหกรรมที่กลุมบริษัทฯ ประกอบกิจการอยู สวนใหญมีการ กำกับดูแลอยางเขมงวดจากหนวยงานภาครัฐและจะไดรบั ผลกระทบ จากการเปลีย่ นแปลงนโยบายภาครัฐ ทัง้ โดยทางตรงและทางออม โดยเฉพาะหากเป น ไปอย า งฉั บ พลั น หรื อ ในช ว งเวลากระชั้ น หรือไมเปนไปตามสมมติฐานกรณีปกติ ตามที่บริษัทฯ หรือบริษัท ในกลุมไดคาดไวหรือรับทราบจากภาครัฐกอนหนา เชน นโยบาย ราคากาซหุงตม นโยบายพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก นโยบายน้ำมันปาลม นโยบายดานสิง่ แวดลอม และนโยบายสงเสริม การลงทุนในพื้นที่ท่ีกำหนดใหเปนเขตอุตสาหกรรม เปนตน

อาจสงผลในเชิงลบตอผลการดำเนินงานของกลุม บริษทั ฯ ไดอยาง มีนัยสำคัญทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แนวทางการลดความเสีย่ ง : กลุม บริษทั ฯ มีการติดตามการเปลีย่ นแปลง นโยบายสำคัญๆ ของภาครัฐที่อาจสงผลตอการดำเนินธุรกิจของกลุม บริษทั ฯ และมีการประสานงานกับหนวยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วของ ในการใหขอมูลและความเห็น ทั้งโดยตรงและโดยออมตอการดำเนิน นโยบายภาครัฐ หรือการเปลี่ยนแปลงในนโยบายใดๆ ที่เกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมที่กลุมบริษัทฯ ดำเนินการอยูในชวงจังหวะเวลาและ ในกรณีที่เหมาะสม อันจะชวยใหภาครัฐไดรับขอมูลอยางถูกตองและ ครบถวนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ประกอบการพิจารณาเปลีย่ นแปลงหรือกำหนด นโยบายทีเ่ กีย่ วของใดๆ ซึง่ เชือ่ วาจะชวยลดผลกระทบ และ/หรือโอกาส ที่ ค วามเสี่ ย งด า นนโยบายภาครั ฐ จะส ง ผลรุ น แรงต อ กลุ ม บริ ษั ท ฯ ลงไดในระดับหนึ่ง

ความเสีย่ งเฉพาะของบริษทั (Company-Specific Risks) ความเสีย่ งจากความขัดแยงทางผลประโยชนของผูถ อื หุน (Conflict-of-Interests Risk)

จากการที่ ปตท. ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญสุดของบริษัทฯ คิดเปน รอยละ 48.89 ของทุนจดทะเบียนชำระแลวของบริษทั ฯ เปนผูจ ดั หา วัตถุดบิ หลักสวนใหญของกลุม บริษทั ฯ ทัง้ ในสวนของโรงกลัน่ น้ำมัน โรงงานอะโรเมติกส และโรงงานโอเลฟนส และเปนผูร บั ซือ้ ผลิตภัณฑ หลักในสวนของโรงกลัน่ น้ำมันและโรงงานอะโรเมติกส จึงอาจทำให เกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางกลุม บริษทั ฯ กับผูถ อื หุน รายใหญดังกลาว ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการบริหารจัดการเพื่อ ผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีเจตนารมณในการดำเนินธุรกิจ ตามหลักกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยกำหนดใหมีการเผยแพรความ สำคัญและหลักการปฏิบตั ใิ นการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณ ธุรกิจในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อันเปนมาตรฐาน ซึ่งบริษัทฯ คาดหวังจากบุคลากรทุกระดับ อันไดแก คณะกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน ผูปฏิบัติงานสมทบ และพนักงานของผูรับจางใหไดรับทราบ และถือปฏิบัติในการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงแนวทางการทำธุรกรรมกับ ผูถือหุน บริษัทยอย หรือบริษัทรวมทุนของผูถือหุน กรรมการหรือ เจาหนาทีบ่ ริหารของกลุม บริษทั ฯ อยางรัดกุม และขอปฏิบตั ใิ นการทำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งกำหนดใหผูมีสวนไดสวนเสียงดออกเสียง ในวาระดังกลาวในการประชุมคณะกรรมการและการประชุมผูถือหุน เพื่อปองกันความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ในฐานะที่เปนบริษัทจดทะเบียนไดใหความสำคัญอยางมากตอการ


5 8

ปฏิบตั ิ ตาม พ.ร.บ. หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2551 โดยไดแตงตั้งกรรมการอิสระและคณะกรรมการ ตรวจสอบเข า มาดู แ ลผลประโยชน ใ ห แ ก ผู ถื อ หุ น รายย อ ย และ ความเปนธรรมใหแกผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายอยางเทาเทียมกัน ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผูจัดหาวัตถุดิบรายใหญ (Supplier Risk)

จากการทีก่ ลุม บริษทั ฯ พึง่ พาวัตถุดบิ หลักสวนใหญจาก ปตท. ดังนัน้ หาก ปตท. ไมสามารถจัดหาหรือไมปฏิบตั ติ ามขอสัญญาในการจัดหา วัตถุดิบที่มีกับบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุมการดำเนินงานของกลุม บริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบในเชิงลบอยางมีนัยสำคัญ แนวทางการลดความเสี่ยง : จากการที่ ปตท. เปนผูถือหุนรายใหญ ลำดับทีห่ นึง่ ของบริษทั ฯ กอปรกับการจัดหาวัตถุดบิ จากผูจ ดั หาวัตถุดบิ หลักดังกลาว สวนใหญอยูภ ายใตสญั ญาซือ้ ขายระยะยาว อีกทัง้ ลักษณะ เฉพาะของอุตสาหกรรมปโตรเคมีที่มีขอจำกัดในการแสวงหาลูกคา (ในฝงการขายวัตถุดิบใหกับบริษทั ฯ) ดังนั้น โอกาสที่ผูจัดหาวัตถุดิบ หลักของกลุมบริษัทฯ ขางตน จะไมปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายหรือ เปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อขายที่ผิดไปจากขอตกลงภายในระยะเวลา อันสั้นจึงอยูในระดับต่ำ ซึ่งหมายถึงความเสี่ยงจากการพึง่ พาผูจ ดั หา วัตถุดิบรายใหญของบริษัทฯ และบริษัทในกลุมบางแหงอยูในระดับ ทีจ่ ำกัดดวยเชนกัน ขณะทีใ่ นการจัดหาน้ำมันดิบของบริษทั ฯ ผาน ปตท. อาจพิจารณาไดวามีความเสี่ยงอยูในระดับที่จำกัด เนื่องจากเปนการ ดำเนินธุรกิจตามปกติของ ปตท. ซึ่งตองดำเนินการจัดหาน้ำมันดิบ ใหบริษทั ฯ ตามขอสัญญา ความเสีย่ งในการเดินเครือ่ งจักรโรงงาน (Plant Operation Risks)

ในการเดินเครือ่ งจักรโรงงานของกลุม บริษทั ฯ ยอมมีความเปนไปได ทีจ่ ะเกิดเหตุขดั ของหรือภาวะชะงักงันจากหลากหลายสาเหตุ ทัง้ จาก ภายในกลุม บริษทั ฯ และจากภายนอกกลุม บริษทั ฯ โดยไมสามารถ คาดการณลวงหนาได เหตุดังกลาวอาจไดแก ความผิดพลาด ของบุคลากร อุบัติเหตุ สาธารณูปการ (ไฟฟา น้ำ ไอน้ำ ฯลฯ) ไมเพียงพอหรือขัดของในการนำจาย อุปกรณเครื่องจักรขัดของ ระบบการขนสงทางทอขัดของ โรงงานของผูจ ดั หาวัตถุดบิ ขัดของ สงผลใหตอ งลดปริมาณจัดสงวัตถุดบิ ใหแกกลุม บริษทั ฯ และโรงงาน ของลูกคาขัดของ สงผลใหไมสามารถรับผลิตภัณฑของกลุม บริษทั ฯ ไดตามทีต่ กลงไว เปนตน เหตุการณทเี่ ปนความเสีย่ งขางตน หาก เกิดขึ้นจริง อาจสงผลใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือบริษัท ในกลุม ชะงักงันหรือคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่วางไว และอาจ สงผลใหรายไดและผลกำไรของบริษัทฯ หรือของบริษัทในกลุม ลดลงอยางมีนัยสำคัญ

แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งในการเดิน เครือ่ งจักรโรงงานของกลุม บริษทั ฯ จึงไดกำหนดใหมแี ผนรองรับภาวะ ชะงักงันในการดำเนินธุรกิจ เพื่อใชระงับเหตุฉุกเฉินหรือควบคุมเหตุ ขัดของ ลดความเสียหายตอทรัพยสิน ปองกันอันตรายตอบุคคลและ สิ่งแวดลอม และใหโรงงานกลับคืนสูสภาวะปกติไดเร็วที่สุด อีกทั้งยัง ไดกำหนดใหมแี ผนบำรุงรักษาเชิงปองกันและเชิงพยากรณ (Preventive/ Predictive Maintenance) เพื่อลดความเสี่ยงในสวนที่เกี่ยวของกับ อุปกรณเครื่องจักรลงใหอยูในระดับต่ำสุด กำหนดใหมีคูมือขั้นตอน การดำเนินงานในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเดินเครื่องจักรโรงงาน และการซอมบำรุงรักษา รวมทัง้ มีการฝกอบรมเพือ่ ทบทวนคูม อื ขัน้ ตอน ตางๆ เปนประจำสม่ำเสมอ เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด อุบัติเหตุหรือเหตุขัดของลงใหอยูในระดับต่ำสุด และมีนโยบายให บริษัทฯ และบริษัทยอย ที่มีการผลิตเชิงพาณิชยแลวมีการประกัน ความเสี่ยงภัยทุกชนิดที่เกิดจากการดำเนินงาน (All Risks Insurance) ประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption Insurance) และ ประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายตอบุคคลภายนอก (Third Party Liability Insurance) ตามมาตรฐานสากล เพื่อลดความเสียหายตอ กลุมบริษัทฯ ใหอยูในระดับต่ำสุด กรณีเกิดความเสี่ยงดังกลาวขึ้น บริษัทฯ ยังไดขยายขอบขายการบริหารความเสี่ยงของแตละโรงงาน ของกลุมบริษัทฯ ใหครอบคลุมตลอดหวงโซอุปทานภายใตระบบ “การบริหารความตอเนือ่ งทางธุรกิจ” (Business Continuity Management) หรือ BCM โดยเริม่ จากหนวยผลิตทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกันสูงในกลุม ธุรกิจ ผลิตภัณฑโอเลฟนส และกลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอรบางสวน ในป 2555 - 2556 กอนทีจ่ ะขยายใหครอบคลุมหวงโซอปุ ทานในกลุม ธุรกิจ อืน่ ของกลุม บริษทั ตอไปตามความเหมาะสม โดยเชือ่ วา เมือ่ เกิดเหตุที่ ทำใหกระบวนการรับวัตถุดิบ การผลิต หรือการนำสงผลิตภัณฑ ในหวงโซอปุ ทานหยุดชะงักโดยพลัน ระบบ BCM จะชวยยนลดระยะเวลา และ/หรือระดับของความเสียหายอันเนื่องจากความชะงักงันดังกลาว ไดอยางมีนัยสำคัญ ความเสี่ยงโครงการ (Project Risks)

ความเสีย่ งโครงการของกลุม บริษทั ฯ อาจแบงออกไดในสองรูปแบบ ไดแก ความเสีย่ งโครงการทีม่ กี ารกอสราง (Construction Project) ซึ่งรวมถึงโครงการที่อยูใน Synergy Projects และความเสี่ยง โครงการทีเ่ ปนการควบรวมกิจการหรือรวมลงทุน (M&A Project) โดยโครงการที่มีการกอสรางมักมีความเชื่อมโยงกันในลักษณะ ของการรับสงวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑระหวางโครงการที่กำลัง ดำเนินการกับหนวยผลิตเดิม หรือในการรับสงกระแสไฟฟา และไอน้ ำ ระหว า งสายการผลิ ต กั บ ระบบสาธารณู ป การ โดยทั้งโครงการที่มีการกอสรางและโครงการที่เปนการควบรวม


5 9

หรือรวมลงทุนมักกำหนดสมมุติฐานทางเศรษฐศาสตร ตลอดจน สมมุ ติ ฐ านอื่ น ๆ ที่ ส ำคั ญ ของโครงการซึ่ ง อาจเปลี่ ย นแปลง ไปจาก ณ เวลาที่บริษัทฯ หรือบริษัทในกลุมมีการตัดสินใจ ดำเนิ น การโครงการได อ ย า งมี นั ย สำคั ญ เช น สมมุ ติ ฐ าน ดานตนทุนคากอสราง (กรณีโครงการทีม่ กี ารกอสราง) สมมุตฐิ าน ดานราคาผลิตภัณฑและวัตถุดิบ สมมุติฐานดานตนทุนการผลิต สมมุติฐานดานกฎหมายและกฎระเบียบของหนวยงานภายนอก ทีก่ ำกับดูแลโครงการ หรือที่โครงการจะตองเขาไปเกี่ยวของดวย ทั้งโดยทางตรงและโดยทางออมในชวงระยะเวลาการดำเนินงาน โครงการ สมมุติฐานดานเทคโนโลยี และสมมุติฐานดานบุคลากร สำคัญ เปนตน ดังนัน้ กลุม บริษทั ฯ จึงไมอาจหลีกเลีย่ งความเสีย่ ง ที่มีอยูในหลากหลายประเภทและรูปแบบได โดยหากความเสี่ยง เหลานีเ้ กิดขึน้ จริงก็อาจสงผลกระทบตอโครงการในหลายลักษณะ ที่สำคัญ ไดแก ผลกระทบตอระยะเวลาดำเนินโครงการที่อาจ ตองลาชาจากแผนที่กำหนดไว (Project Delay) ผลกระทบตอ ต น ทุ น โครงการที่ อ าจเพิ่ ม ขึ้ น เกิ น กว า งบลงทุ น ที่ ก ำหนดไว (Cost Overrun) และผลกระทบตอความคุมคาของโครงการ ลงทุน ซึ่งความเสี่ยงที่อาจกอใหเกิดผลกระทบที่สำคัญขางตน ไดแก ความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม ความเสี่ยงดานสุขภาพอนามัย ความเสี่ ย งด า นการออกแบบโครงการ ความเสี่ ย งด า น ใบอนุญาตตางๆ ความเสีย่ งดานจัดหาวัสดุอปุ กรณและเครือ่ งจักร ความเสี่ยงดานงานกอสราง ความเสี่ยงดานการเดินเครื่องจักร ชวงทดลองเดินเครือ่ ง (Execution Risk) ความเสีย่ งดานการจัดหา วัตถุดิบ ความเสี่ยงดานการตลาด และความเสี่ยงดานการรับ และนำสงวัตถุดิบและผลิตภัณฑ (Logistics Risk) เปนตน ซึ่งหาก ความเสี่ ย งเหล า นี้ ห รื อ อื่ น ใดเกิ ด ขึ้ น จริ ง อาจส ง ผลกระทบ ตอการดำเนินงานโครงการอยางรุนแรง และอาจสงผลกระทบตอ ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในกลุมในระยะสั้น หรือระยะยาวไดอยางมีนัยสำคัญ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงโครงการ ของกลุมบริษัทฯ ที่มีอยู จึงกำหนดใหหนวยงานผูรับผิดชอบโครงการ มี ก ารประเมิ น และบริ ห ารความเสี่ ย งโครงการตามนโยบายและ กรอบการดำเนินงานบริหารความเสี่ยงโครงการตามที่คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งกำหนดไว โดยดำเนินการตามขัน้ ตอนและในรูปแบบ ทีก่ ำหนด ซึง่ รวมถึงการระบุความเสีย่ งของโครงการ ประเมินผลกระทบ และโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง จัดทำและดำเนินการตามแผนจัดการ ความเสี่ยง รายงานและทบทวนรายงานความเสี่ยงอยางตอเนื่อง โดย

หากสามารถดำเนินการไดตามที่กำหนด คาดวาจะชวยลดโอกาสที่ ความเสี่ยงโครงการแตละความเสี่ยงจะเกิดขึ้น หรือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการรับมือกับผลกระทบกรณีเกิดเหตุการณที่เปนความเสี่ยงขึ้น ซึ่ง หมายถึงคาเสียโอกาสทางธุรกิจหรือความเสียหายทีอ่ าจนอยกวากรณี ทีไ่ มมกี ารบริหารความเสีย่ งเลย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีนโยบายใหมี การประกันความเสีย่ งภัยโครงการทีม่ กี ารกอสรางตามมาตรฐานสากล เพื่อลดความเสียหายตอกลุมบริษัทฯ ใหอยูในระดับต่ำสุดกรณีเกิด เหตุการณที่เปนความเสี่ยงของโครงการที่มีการกอสรางขึ้นจริง ความเสี่ยงดานบุคลากร (Human Resources Risk)

จากการที่กลุมบริษัทฯ ยังคงมีแผนขยายธุรกิจไปยังปโตรเคมี ขั้นปลาย ผลิตภัณฑตอเนื่อง ผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑประเภท High Volume Specialty (HVS) หรืออื่นใด ทั้งภายในและตางประเทศ ซึ่งมีเทคโนโลยีการผลิต การเดิน เครื่องจักรโรงงาน หรือการวางแผนและบริหารการผลิตและขาย ผลิตภัณฑที่อาจแตกตางไปจากธุรกิจปจจุบันของกลุมบริษัทฯ อยางมาก หรือมีการวิจยั และพัฒนาความรู เทคโนโลยีหรือกระบวนการ ผลิตขั้นสูง ซึ่งบุคลากรที่มีอยูของกลุมบริษัทฯ อาจขาดความ เชี่ยวชาญหรือประสบการณในการดำเนินงานดังกลาวในระดับ ที่มีประสิทธิภาพ ไดมาตรฐานหรือเพียงพอตอการแขงขันใน ระดับสากล หรือกลุม บริษทั ฯ อาจไมสามารถสรรหาบุคลากรจาก ภายนอกทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและประสบการณไดตามความตองการ ทันตอแผนงานทีก่ ำหนดไว หรืออาจไมสามารถรักษาไวซงึ่ บุคลากร ปจจุบนั หรืออนาคตของกลุม บริษทั ฯ หรือของบริษทั ทีบ่ ริษทั ฯ หรือ บริ ษัท ในกลุ ม เขา ควบรวมหรื อรวมลงทุนดวย ซึ่ งหากความ เสี่ยงดานบุคลากรดังกลาวเกิดขึ้นจริง อาจสงผลในเชิงลบตอ การดำเนินการของกลุมบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและ/หรือใน ระยะยาว ไดอยางมีนัยสำคัญ แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งดานบุคลากร ดังกลาวนับตั้งแตชวงการพิจารณาความเปนไปไดของการดำเนินงาน ตามแผนธุรกิจหรือโครงการ และเตรียมการดานบุคลากรที่มีความ เชีย่ วชาญและประสบการณตามความตองการของแตละแผนงาน หรือ โครงการตัง้ แตชว งเริม่ ตน โดยบริษทั ฯ กำหนดใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ กำหนดกลยุ ท ธ แ ละแผนดำเนิ น งานด า นการบริ ห ารและพั ฒ นา ศักยภาพบุคลากรที่สอดคลองกับกลยุทธและแผนงานลงทุนของกลุม บริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเชื่อวาจะสามารถลด ความเสี่ยงดานบุคลากรของกลุมบริษัทฯ ลงไดในระดับหนึ่ง


6 0

การควบคุมภายใน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไดใหความสำคัญ ตอการควบคุมภายในที่ดีอยางตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนใหระบบการ ทำงานของบริษทั ฯ มีความถูกตอง โปรงใส ตรวจสอบได และสามารถ ลดหรือปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานระบบการควบคุม ภายในของบริษัทฯ เพื่อใหความมั่นใจวาระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ มีอยางเพียงพอ และเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ สำหรับป 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมรวม 12 ครั้ง เพื่อมอบหมายนโยบายและกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมดวยทุกครั้ง เพื่อให ความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 2/2556 เมือ่ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 คณะกรรมการตรวจสอบไดเสนอผลการประเมินการควบคุม ภายในของบริษัทฯ โดยสรุปวาบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ เพียงพอและมีประสิทธิผล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นตอ ระบบการควบคุ ม ภายในเช น เดี ย วกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแสดงแยกตามองคประกอบการควบคุมภายใน ไดดังนี้ 1. สภาพแวดลอมการควบคุม (Control Environment)

บริษัทฯ มีการจัดโครงสรางองคกรตามกลุมธุรกิจเพื่อใหสามารถ สนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทฯ ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการมอบอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบที่เหมาะสม บริษัทฯ ไดประกาศนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และนโยบายการ กำกับดูแลการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฏหมาย เพื่อใหมีระบบ การบริหารจัดการของกลุม บริษทั ฯ เปนไปตามนโยบายการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี และกรรมการ ผูบริหาร พนักงานของบริษัทฯ ได รั บ ทราบ และยึ ด ถื อ เป น หลั ก ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ด ว ยความ รับผิดชอบอยางมีจรรยาบรรณ เปนธรรม โปรงใส ถูกตองตาม กฎหมายและตรวจสอบได โดยมุงมั่นสรางประโยชนสูงสุดใหแก ผู ถื อ หุ น และคำนึ ง ถึ ง ผู มี ส ว นได เ สี ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ สร า ง ความเชื่อมั่น และเติบโตอยางยั่งยืน นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษทั ฯ ไดดแู ลใหมกี ารกำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจน และวั ด ผลได โดยพิ จ ารณาแนวทางการจั ด ทำทิ ศ ทางและ กรอบการดำเนินงานทั้งในระยะสั้น และระยะยาวของบริษัทฯ ตามกระบวนการจัดทำ ทบทวนแผนธุรกิจและเปาหมายของ บริษัทฯ และไดใหขอคิดเห็นและขอสังเกตเพื่อใหฝายจัดการ ไปพิจารณาดำเนินการ

2. การบริหารความเสี่ยง (Risk Assessment)

บริษัทฯ ใหความสำคัญและจัดใหมีการบริหารความเสี่ยง โดย แตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อทำหนาที่กำหนด นโยบายและกำกับดูแลใหการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เปนไปอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ไดดำเนินการ บริหารความเสี่ยงตามนโยบายที่ไดรับจากคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย ง รวมทั้ ง ติ ด ตามสถานการณ แ ละวิ เ คราะห ป จ จั ย ที่อาจกอใหเกิดความเสี่ยงใหมๆ ที่สำคัญ อันไดแก ความเสี่ยง ตอผลประกอบการ ความเสี่ยงตอการบรรลุวัตถุประสงคของ บริษัทฯ และความเสี่ยงตอการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ ลงทุน และมีการวิเคราะหเหตุการณตางๆ ไดแก ภาพรวม ธุรกิจปจจุบัน ปจจัยภายนอกที่สำคัญที่สงผลกระทบตอธุรกิจ และปจจัยภายในที่อาจสงผลกระทบตอการดำเนินธุรกิจและการ บรรลุวัตถุประสงคเชิงกลยุทธของบริษัทฯ และจัดทำแผนบริหาร ความเสี่ยงเพื่อปองกันหรือลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถ ยอมรับได อีกทั้งมีระบบการเตือนภัยลวงหนา โดยมีฝายจัดการ ติดตามการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยง และสรุป ผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยงเสนอคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อรายงานตอคณะกรรมการบริษัทฯ เปนประจำ ทุกไตรมาส 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)

ในภาพรวมบริษัทฯ มีกิจกรรมควบคุมที่เหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล มีการจัดทำนโยบาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน กำหนดอำนาจหนาที่ และวงเงินอำนาจอนุมตั ขิ องฝายจัดการเปน ลายลักษณอักษรทั้งดานการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไป ที่รัดกุม มีการจัดโครงสรางองคกรโดยคำนึงถึงหลักเกณฑการ แบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบ อาทิเชน การอนุมัติ การบันทึก รายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน แยกออกจากกัน เพื่อใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทั้ง มีกลไกการถวงดุลอำนาจ (Check and Balance) บริษทั ฯ มีมาตรการทีร่ ดั กุมในการทำธุรกรรมกับผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการ ผู บ ริ ห าร หรื อ ผู ที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยได ก ำหนดเป น แนวทางปฏิ บั ติ ส ำหรั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทาง ผลประโยชนตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีการเปดเผย ขอมูลรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนไวในคูมือ การกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ


6

บริษัทฯ มีการติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัทยอยหรือ บริษทั รวมอยางสม่ำเสมอ ซึง่ ไดมอบหมายใหผบู ริหารจากบริษทั ฯ เขาไปทำหนาทีบ่ ริหารจัดการในตำแหนงกรรมการผูจ ดั การ และได แตงตั้งผูแทนเขาไปดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทยอยและ บริษัทรวม ทำใหบริษัทฯ มีสวนรวมในการกำหนดนโยบาย ไดรับทราบขอมูลและติดตามผลการดำเนินงานไดเปนระยะๆ ตามดัชนีวัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ 4. ขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication)

บริษทั ฯ จัดใหมรี ะบบขอมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการปฏิบตั งิ าน การรายงานทางการเงิน อยางเปนระบบ และการดำเนินงานตาม นโยบายและระเบี ย บปฏิ บั ติ ต า งๆ ที่ ใ ช ใ นการควบคุ ม และ ดำเนินกิจกรรมของบริษทั ฯ ทีเ่ ปนปจจุบนั และเขาถึงไดงา ย มีการ จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี และบัญชีตางๆ ไว อยางครบถวนและเปนหมวดหมู นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีการสือ่ สาร ขอมูลสารสนเทศที่สำคัญไปยังผูบริหารและผูใชภายในบริษัทฯ ในรู ป แบบที่ ช ว ยให ผู รั บ ข อ มู ล สารสนเทศปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต าม ความรับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทำให บริษัทฯ บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย

1

5. การติดตาม (Monitoring)

บริษทั ฯ มีกระบวนการติดตามประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ที่เพียงพอ ที่ชวยสนับสนุนใหบรรลุเปาหมาย มีการปรับปรุงแกไข ใหสอดคลองกับสถานการณทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ซึง่ ขอบกพรองตาง ๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที คณะกรรมการบริษัทฯ ไดรับทราบ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเปาหมายทุกไตรมาส นอกจากนี้ มีหนวยงานตรวจสอบภายในทำหนาที่ตรวจสอบการปฏิบัติตาม ระบบการควบคุมภายในของหนวยงานตางๆ ตามแผนตรวจสอบ ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อประเมินความ เพียงพอและความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในทีไ่ ดจดั วางไว และรายงานผลใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจำทุกไตรมาส ซึ่งผลการตรวจสอบการดำเนินงานตามแผนงานตรวจสอบในป 2555 ไมพบรายการทีเ่ กิดความขัดแยงทางผลประโยชน การทุจริต หรือมีสงิ่ ผิดปกติหรือมีความบกพรองทีส่ ำคัญในระบบการควบคุม ภายใน หรือฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ


6 2

โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ ในบริษัทยอยและบริษัทรวม PT TG C 1 00 %

PT Tpe

1 00 %

100 %

bs a

50%

b pe

pt t ict

40%

1 00 %

tocgc

gpsc

3 0.31 %

1 00 %

tol

pt tp m

25%

1 00 %

bio creation

1 00 %

n pc s&e

1 00 %

ch inter

100 %

tscl

tfa

vnt 100% A dva nc ed b ioc he m ica l

100 %

pttgc ( netherlands ) 51 %

75 % 60 %

51 % 50 %

ef t

vencor ex

bio spectrum

pt tes 100 %

p pcl

pt tgc ( us a ) 50 %

60 %

24.98 %

n at u r ewor ks

api

2 2.65 %

20%

1 5 .34 %

60%

pt tme

m hpc

100 %

a p ro h

50%

e mery

ttt

tex

47.35%

myr i a nt

หมายเหตุ : 1) วันที่ 31 พฤษภาคม 2555 การเขาซื้อหุนบริษัท Perstorp Holding France SAS คิดเปนสัดสวนการถือหุนโดย PTTGC International (Netherlands) B.V. รอยละ 51 ของบริษัทฯ ไดดำเนินการแลวเสร็จ และไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน Vencorex Holding 2) วันที่ 31 พฤษภาคม 2555 การเขาซื้อหุนบริษัท Natureworks LLC คิดเปนสัดสวนการถือหุนโดย PTTGC International (USA) รอยละ 50 ของบริษัทฯ ไดดำเนินการ แลวเสร็จเปนที่เรียบรอย 3) วันที่ 31 ตุลาคม 2555 จดทะเบียนเลิกบริษัทยอย บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด (EA) โดยโอนกิจการทั้งหมด รวมถึงสิทธิและหนาที่ตางๆ ไปใหแก บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด (TOCGC) 4) วันที่ 10 มกราคม 2556 บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) ไดควบรวมกับบริษัท ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด และเปลี่ยนชื่อเปนบริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (GPSC) 5) บริษทั BSA - บริษทั ฯ ถือหุน โดยตรงโดยเปนหุน บุรมิ สิทธิ รอยละ 25 และถือหุน โดยออมผาน PTTUT และ PTTICT โดยเปนหุน บุรมิ สิทธิ รอยละ 10 และรอยละ 15 ตามลำดับ 6) บริษทั EFT - บริษัทฯ ถือหุนโดยตรง รอยละ 15 และถือหุนโดยออมผาน TTT รอยละ 7.65 7) บริษทั API ถือหุนใน MHPC รอยละ 60 หรือเทากับบริษัทฯ ถือหุนใน MHPC รอยละ 9.2


6 3

บริษัทยอย PTTPE BPE TSCL TOCGC TOL TFA Bio Creation NPC S&E CH Inter PTTGC (Netherlands) PTTGC (USA) AP ROH Bio Spectrum PPCL PTTME TTT TEX Vencorex Natureworks Emery

บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด บริษัท บางกอกโพลีเอททิลีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด PTT Chemical International Private Limited PTTGC International (Netherlands) B.V. PTTGC International (USA) Inc. PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited บริษัท ไบโอ สเปกตรัม จำกัด บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด บริษัท พีทีที เมนเทนเนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด Vencorex Holding Natureworks LLC Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd

บริษัทรวม BSA Myriant PTTICT GPSC PTTPM VNT Advanced Biochemical EFT PTTES

บริษัท บิซิเนส เซอรวิสเซส อัลไลแอนซ จำกัด Myriant Corporation บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จำกัด

บริษัทอื่น API MHPC

Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited Mehr Petrochemical Company Limited


6 4

โครงสรางรายได โครงสรางรายไดจากการขายและบริการของบริษัทฯ และบริษัทยอย แบงตามกลุมธุรกิจ สำหรับงวด 19 ตุลาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2554

ธุรกิจหลัก

สำหรับ ป 2555 รายได รอยละ (ลานบาท)

รายได (ลานบาท)

รอยละ

3,548 3,802 6,489 25,912 7,297 2,062 49,109

3 4 6 25 7 2 47

17,830 23,121 25,170 159,404 38,262 6,472 270,259

3 4 4 28 7 1 48

2,628 9,764 951 6,575 2,832 2,812 25,562

3 9 1 6 3 3 24

14,651 52,636 7,387 22,753 1,455 15,042 113,923

3 9 1 4 0 3 20

2,693 1,999 820 742 6,254

3 2 1 1 6

16,427 10,982 5,287 3,864 36,560

3 2 1 1 6

11,105 457 11,562

11 11

60,504 3,148 63,651

11 1 11

2,797 638 3,435

3 1 4

12,710 3,528 16,239

2 1 3

1. กลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการ

(1) รายไดจากการขายแนฟทาชนิดเบา (2) รายไดจากการขายรีฟอรเมต (3) รายไดจากการขายน้ำมันอากาศยาน (4) รายไดจากการขายน้ำมันดีเซล (5) รายไดจากการขายน้ำมันเตา (6) อื่นๆ

รวม 2. กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส

(1) รายไดจากการขายเบนซีน (2) รายไดจากการขายพาราไซลีน (3) รายไดจากการขายไซโคลเฮกเซน (4) รายไดจากการขายแนฟทาชนิดเบาและชนิดหนัก (5) รายไดจากการขายคอนเดนเสท เรซิดิว (6) อื่นๆ

รวม 3. กลุมผลิตภัณฑโอเลฟินส

(1) รายไดจากการขายเอทิลีน (2) รายไดจากการขายโพรพิลีน (3) รายไดจากการขายผลิตภัณฑพลอยได (4) อื่นๆ

รวม 4. กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร

(1) รายไดจากการขายเม็ดพลาสติก (2) รายไดจากการขายโพลีสไตรีน

รวม 5. กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด

(1) รายไดจากการขาย EO/EG (2) รายไดจากการขาย EO Derivatives

รวม


6 5

สำหรับงวด 19 ตุลาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2554

ธุรกิจหลัก รายได (ลานบาท)

รอยละ

สำหรับ ป 2555 รายได รอยละ (ลานบาท)

6. กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม

(1) รายไดจากการขาย ME/FA (2) รายไดจากการขายจาก Emery (3) รายไดจากการขายจาก Natureworks

รวม

2,520 3,029 5,548

2 3 5

12,636 16,098 1,349 30,083

2 3 0 5

527 426 1,056 2,009

1 1 2

6,602 3,728 6,086 10,156 750 27,321

1 1 1 2 0 5

945 406 1,351 104,830

1 1 100

5,475 2,105 7,580 565,617

1 0 1 100

7. กลุมธุรกิจ High-Volume Specialties

(1) รายไดจากการจำหนายฟนอล (2) รายไดจากการจำหนายอะซิโตนและผลิตภัณฑพลอยได (3) รายไดจากการจำหนาย Bis Phenol (4) รายไดจากการขาย HDI / TDI (5) อื่นๆ

รวม 8. ธุรกิจการใหบริการและอื่นๆ

(1) รายไดจากการจำหนายไฟฟา น้ำและไอน้ำ (2) อื่นๆ

รวม รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : แสดงรายการหลังตัดรายการระหวางกันแลว


6 6

รายการระหวางกัน รายการระหวางกันกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน สำหรับรอบบัญชีป 2555 บริษัทฯ มีความเกี่ยวของกับบริษัทตางๆ ในกลุมบริษัทฯ โดยการมีผูถือหุนรวมกันหรือกรรมการรวมกัน รายการบัญชี ระหวางกิจการที่เกี่ยวของกันตามหมายเหตุประกอบงบการเงินไดกำหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือเปนไปตามเงื่อนไข และเกณฑที่ตกลงกัน ตามสัญญาระหวางบริษัทฯ และบริษัทเหลานั้น หากไมมีตลาดรองรับ ความสัมพันธกับบริษัทตางๆ และรายการที่เกี่ยวของกันเปรียบเทียบ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (PTT)

- เปนผูถือหุนรายใหญ ถือหุนบริษัทฯ รอยละ 48.89 - มีกรรมการของบริษัทฯ ที่เปน ผูบริหาร ใน PTT คือ 1. นายณัฐชาติ จารุจินดา 2. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ 3. นายอนนต สิริแสงทักษิณ 4. นายบวร วงศสินอุดม - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจา ยอื่น ตนทุนทางการเงิน

- เปนบริษัทรวม (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 25) - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 50 - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน PTTPM คือ 1. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน 2. นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน

264,841 395,808 27 199 167

17,576 241 23,152 1,207

22,347 293 31,553 585

11,561 3 -

63,646 1 12 10

5,411 3 -

6,462 6 1

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

2. บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด (PTTPM)

51,838 60,671 135 891 61

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน


6 7

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

3. บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) (VNT)

- เปนบริษัทรวม (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 24.98) - มีกรรมการรวมกัน คือ นายอนนต สิริแสงทักษิณ - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน VNT คือ 1. นางพันธทิพ อึ๊งผาสุข 2. นายธเนศ เจริญทรัพย - มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น เงินปนผลรับ

- เปนบริษัทรวม (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 40) - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน PTTICT คือ 1. นายปฏิภาณ สุคนธมาน 2. นายวริทธิ์ นามวงษ - มีการใหบริการระหวางกัน

631 6

602 12

2 18 55

9 43 306

17 79

21 84

9

32

1,936 3,074 5 4

12,422 12,112 15

327 8 464 23

666 7 443 20

12

71

6

11

รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้ผูรับเหมากอสราง - กิจการ ที่เกี่ยวของกัน

5. บริษทั สตาร ปโตรเลียม - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) รีไฟนนิ่ง จำกัด ถือหุนรอยละ 36 (SPRC) - มีกรรมการรวมกัน คือ นายสุกฤตย สุรบถโสภณ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ ระหวางกัน

6,529 61 2 299

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

4. บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด (PTTICT)

1,187 7 -

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

6. บริษัท ปตท. สผ. สยาม - เปนบริษทั ยอยของบริษทั ปตท.สผ. จำกัด (PTTEPS) (PTTEP) - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน


6 8

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

7. บริษัท ปตท. สำรวจ และผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (PTTEP)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 65.29 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 48.50 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน

39

3 -

2 1

176 -

1,220 60 78

77 24 1

320 30 20 1

1,358 212 1

22,949 18,827 6

2,147 1 13 13

1,458 1,696 12

1,264 61

6,192 210

550 12 25 425

803 5 71 237

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

8. บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด (PTTAC)

11

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

9. บริษัท ไออารพีซี จำกัด (มหาชน) (IRPC)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 38.51 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ ระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

10. บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด (HMC)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) รายการจากงบกำไรขาดทุน ถือหุนรอยละ 41.44 - เปนผูถือหุนของบริษัทฯ รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ถือหุนรอยละ 1.85 ซื้อสินคาหรือบริการ - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน HMC คือ นายณรงค บัณฑิตกมล รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ และใหบริการระหวางกัน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน


6 9

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

11. บริษทั บางจากปโตรเลียม - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) จำกัด (มหาชน) (BCP) ถือหุนรอยละ 27.22 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายณัฐชาติ จารุจินดา - มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ

-

42 32

1

-

129 224

2,621 1,059

57

1,284 97

42 31

473 346 63

257 77

702 85

1 37

4 145

1 4

1 3

2,552 1,183 -

1,912 3,322 8

45 -

33 2

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน 12. บริษัท พีทีที อินเตอรเนชั่นแนล เทรดดิ้ง จำกัด (PTTT)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 100 - มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

13. บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) (DHIPAYA)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 13.33 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

14. บริษัท เอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ จำกัด (ENCO)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 50 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินคาหรือบริการ คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

15. บริษัท ไทยออยล จำกัด - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) (มหาชน) (TOP) ถือหุนรอยละ 49.10 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายณัฐชาติ จารุจินดา - มีการซือ้ ขายผลิตภัณฑ และใหบริการ ระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน


7 0

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

16. บริษัท บิซิเนส เซอรวิสเซส อัลไลแอนซ จำกัด (BSA)

- เปนบริษัทรวม รายการจากงบกำไรขาดทุน (บริษทั ฯ ถือหุน บุรมิ สิทธิ รอยละ 25) - มีการใหบริการระหวางกัน ซื้อสินคาหรือบริการ คาใชจายอื่น

56 8

202 56

34

13 38

8 94 50

48 872 191

5 1 134

7 2 225

2

27

4 9

2 -

7 1 -

83 12 4

2 -

6 1

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน 17. บริษัท พีทีที โพลีเมอร โลจิสติกส จำกัด (PTTPL)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 100 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ ซื้อสินคาหรือบริการ คาใชจายอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

18. บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จำกัด (EFT)

- เปนบริษัทรวม (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 22.65) - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน EFT คือ นายวริทธิ์ นามวงษ - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินคาหรือบริการ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

19. บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จำกัด (PTTES)

- เปนบริษัทรวม รายการจากงบกำไรขาดทุน (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 20) - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน PTTES ซื้อสินคาหรือบริการ คือ นายกัญจน ปทุมราช รายไดอื่น - มีการใหบริการระหวางกัน คาใชจา ยอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน


7 1

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

20. บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด (PTTME)

- เปนบริษัทยอย (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 60) - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 40 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายบวร วงศสินอุดม - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน PTTME คือ นายกัญจน ปทุมราช - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น เงินปนผลรับ

22. บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด (PPCL)

313 190 43

131 96

58 72

66

375

300 4

1,688 15

5 114 1

6 340 2

1,231 2

11,409 18

258 3

2,448 6

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้ผูรับเหมากอสราง - กิจการ ที่เกี่ยวของกัน

21. บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (GPSC) (ชื่อเดิม บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด)

128 51 6 -

- เปนบริษัทรวม (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 30.31) - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 30.10 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายบวร วงศสินอุดม - มีผูบริหารที่เปนกรรมการ ใน GPSC คือ 1. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน 2. นายณรงค บัณฑิตกมล - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ ระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน

- เปนบริษัทยอย (บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 60) - ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 40 - มีกรรมการรวมกัน คือ นายอนนต สิริแสงทักษิณ - มีผบู ริหารทีเ่ ปนกรรมการใน PPCL คือ 1. นายธเนศ เจริญทรัพย 2. นางพันธทิพ อึ๊งผาสุข 3. นายปฏิภาณ สุคนธมาน 4. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน 5. นายสุวิทย ทินนโชติ 6. นายณรงค บัณฑิตกมล - มี ก ารซื้ อ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ และให บริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน

ซื้อสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนีก้ ารคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน

รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ รายไดอื่น รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน


7 2

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

รายการ ที่เกี่ยวของกัน

สำหรับระยะเวลา ตั้งแต 19 ตุลาคม 2554 (วันควบบริษัท) ถึง 31 ธันวาคม 2554

ป 2555

* (ลานบาท)

23. บริษัท พีทีที แทงค เทอรมินัล จำกัด (PTT TANK)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 100 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ รายไดอื่น

-

5 4

1

2 1

-

282 102

-

14

-

2

-

1

-

2

รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน 24. Myriant Corporation (Myriant)

- เปนบริษัทรวมของ CH Inter ถือหุนรอยละ 47.35 - มีผูบริหารที่เปนกรรมการใน (Myriant) คือ นายธเนศ เจริญทรัพย - มีการกูยืมเงินระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ รายการจากงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีอ้ น่ื - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

25. บริษัท ทอสงปโตรเลียม จำกัด (THAPPLINE)

26. บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำกัด (PTTLNG)

27. บริษัท ปตท. สผ. อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (PTTEPI)

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 33.19 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน

- ผูถือหุนรายใหญ (PTT) ถือหุนรอยละ 100 - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน

- เปนบริษัทยอยของ ปตท.สผ (PTTEP) - มีการใหบริการระหวางกัน

รายการจากงบกำไรขาดทุน

รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ

รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ

รายไดจากการขายสินคาหรือบริการ

* รายการบางรายการในงบการเงินป 2554 ไดมีการจัดประเภทรายการใหม เพื่อใหสอดคลองกับการนำเสนองบการเงินป 2555


7 3

ความจำเปนและความสมเหตุสมผลของการเขาทำ รายการระหวางกัน สำหรับการเขาทำรายการขายสินคาที่บริษัทฯ ผลิตใหแกบริษัทที่ เกีย่ วของกันนัน้ โดยสวนใหญมวี ตั ถุประสงคเพือ่ ใหบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน ซึ่งอยูในฐานะผูซื้อนำเอาผลิตภัณฑที่ซื้อจากบริษัทฯ ไปแปรรูปเพื่อ ผลิตเปนผลิตภัณฑของตน ทัง้ นี้ ราคาทีจ่ ำหนายเปนไปตามสูตรราคา ทีก่ ำหนดไวในสัญญา หรือราคาซือ้ ขายในตลาดจรแลวแตกรณี ซึง่ เปน ราคาที่คำนึงถึงผลประโยชนของคูสัญญาทั้งสองฝายและอางอิงกับ ราคาตลาด โดยที่มิไดมีการถายเทผลประโยชนระหวางกันหรือมี รายการใดเปนพิเศษแตอยางใด สวนการเขาทำรายการใหบริการ แกบริษทั ทีเ่ กีย่ วของของบริษทั ฯ นัน้ เปนไปเพือ่ ประโยชนในการขนสง หรือจัดเก็บผลิตภัณฑของบริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน ทัง้ นี้ อัตราคาธรรมเนียม ที่ไดจากการใหบริการนั้น เปนไปตามสภาวะตลาด ซึ่งเปนราคาที่ คำนึงถึงผลประโยชนของคูส ญั ญาทัง้ สองฝายและอางอิงกับราคาตลาด โดยที่มิไดมีการถายเทผลประโยชนระหวางกันหรือมีรายการใดเปน พิเศษแตอยางใด สำหรับการเขาทำรายการซือ้ สินคา วัตถุดบิ และ / หรือ รับบริการจาก บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกันนัน้ เปนการดำเนินธุรกิจปกติ โดยทีป่ ริมาณสินคา หรือวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อหรือบริการที่บริษัทฯ ไดรับจากบริษัทที่ เกี่ยวของนั้น สอดคลองกับความตองการและการดำเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ ทัง้ นี้ ราคาทีร่ บั ซือ้ หรือรับบริการจากบริษทั ทีเ่ กีย่ วของมีลกั ษณะ เปนไปตามที่ตกลงกันในสัญญา ซึ่งกอใหเกิดประโยชนทางการคา แกทั้งบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวของ โดยที่มิไดมีวัตถุประสงคใน การถายเทผลประโยชนระหวางกัน หรือมีรายการใดๆ เปนพิเศษ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีความจำเปนที่จะตองซื้อวัตถุดิบที่ใชในการ ผลิตจากบริษัทที่เกี่ยวของ เนื่องจากบริษัทที่เกี่ยวของมีกำลังผลิต เพียงพอที่จะขายใหกับบริษัทฯ และวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัทที่เกี่ยวของ ก็มีคุณภาพตรงตามความตองการของโรงงาน อีกทั้งบริษัทฯ ยังไดรับ ประโยชนจากการประหยัดคาขนสง เนื่องจากสามารถขนสงวัตถุดิบ ที่ซื้อจากบริษัทที่เกี่ยวของผานทางระบบทอซึ่งมีความปลอดภัยสูง เพราะบริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข อ งบางส ว นมี โ รงงานที่ ผ ลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ซึ่ ง ขาย ใหแกบริษัทฯ ตั้งอยูในหรือบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง

มาตรการหรือขั้นตอนอนุมัติการเขาทำรายการ ระหวางกัน กรณี ที่ก รรมการของบริ ษั ทฯ จะทำการซื้อ ทรัพ ยสิ นของบริษั ท ฯ หรือขายทรัพยสินใหแกบริษัทฯ หรือกระทำธุรกิจอยางใดอยางหนึ่ง กั บ บริ ษั ท ฯ ไม ว า จะกระทำในนามของตนเองหรื อ บุ ค คลอื่ น ขอบังคับของบริษัทฯ กำหนดไวอยางชัดเจนวา การทำรายการใน

ลักษณะดังกลาวจะตองไดรับความยินยอมจากคณะกรรมการของ บริษัทฯ จึงจะทำใหรายการดังกลาวมีผลผูกพันบริษัทฯ อยางไรก็ตาม กรรมการที่มีสวนไดเสียในการซื้อทรัพยสิน ขายทรัพยสิน หรือกระทํา ธุรกิจอยางใดอยางหนึง่ กับบริษทั ฯ จะไมมสี ทิ ธิออกเสียงในเรือ่ งดังกลาว ตามขอบังคับของบริษัทฯ นอกจากจะไดรับความยินยอมจากคณะกรรมการของบริษัทฯ แลว การที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยเขาทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือกระทํา การเพื่อใหไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอยในลักษณะที่เปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในประกาศ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ใชบังคับกับการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน หรือการไดมาหรือจําหนายไป ซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียนแลวแตกรณี บริษัทฯ และ/หรือ บริษทั ยอยตองปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑและวิธกี ารตามทีป่ ระกาศดังกลาว กําหนดไวในเรื่องนั้นๆ ดวย

ความเห็นของคณะกรรมการอิสระ ไมมีความเห็นที่แตกตางจากคณะกรรมการบริษัทฯ

นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน ในอนาคต รายการระหวางกันของบริษทั ฯ ในอนาคต จะเปนรายการทีด่ าํ เนินการ ตามปกติของธุรกิจเชนเดิม ไมมีรายการใดเปนพิเศษ ไมมีการถายเท ผลประโยชนระหวางบริษทั ฯ กับบริษทั ทีเ่ กีย่ วของหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วของ สวนนโยบายการกําหนดราคาระหวางบริษัทฯ กับบริษัทหรือบุคคล ที่เกี่ยวของกัน ก็จะกําหนดจากราคาตามปกติของธุรกิจเชนเดียวกับ ที่กําหนดใหแกบริษัทหรือบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน ทั้งนี้ ราคาสินคา หรือวัตถุดบิ ทีซ่ อื้ จากบริษทั หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วของกัน ก็จะเปนไปตามที่ ตกลงกันไวในสัญญา หรือเปนราคาทีอ่ งิ กับราคาตลาดสําหรับวัตถุดบิ ชนิดนั้นๆ นอกจากนี้ ในสวนของคาบริการที่จะจายใหแกบริษัทหรือ บุคคลที่เกี่ยวของกัน ก็จะอิงกับอัตราคาบริการปกติที่อาจจายใหแก บริษัทหรือบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน สวนราคาขายสินคาที่บริษัทฯ จะขายใหแกบริษัทหรือบุคคลที่เกี่ยวของกันนั้น จะเปนราคาที่อิงกับ ราคาตลาดซึ่งสวนใหญมักเปนราคามาบตาพุด ในสวนของการเปดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ จะเปนไป ตามกฎหมายและระเบียบทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย รวมทัง้ ตลาดหลักทรัพยแ หงประทศไทยกำหนด อี ก ทั้ ง เป น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ บริ ษั ท หรื อ บุ ค คล ที่เกี่ยวของกันของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหง ประเทศไทย


7 4

โครงสรางผูถือหุน รายชือ่ ผูถ อื หุน สูงสุด 10 รายแรก ของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ณ วันปดสมุดทะเบียนผูถ อื หุน วันที่ 31 ตุลาคม 2555 มีดังนี้ ลำดับที่

ชื่อผูถือหุน

จำนวนหุน

รอยละ

1.

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

2,204,318,913

48.89

2.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด

266,348,576

5.91

3.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

109,737,967

2.43

4.

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด

83,427,636

1.85

5.

บริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน)

82,164,775

1.82

6.

THE BANK OF NEW YORK MELLON-CGT TAXABLE

79,095,518

1.75

7.

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

78,008,642

1.73

8.

CHASE NOMINEES LIMITED 42

73,607,306

1.63

9.

บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด

43,420,625

0.96

10.

NORTRUST NOMINEES LIMITED-NT0 SEC LENDING THAILAND

38,581,522

0.86

หมายเหตุ:

(1) ผูถือหุนกลุมบริษัท ปตท. ประกอบดวย 1. บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2. บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) รอยละ 41.44) (2) ผูถือหุนบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด คือผูถือหุนซึ่งถือใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (Non-Voting Depository Receipt : NVDR) ไมมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ยกเวน กรณีการใชสิทธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการเพิกถอนหุนออกจาก การเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ (3) ผูถือหุนกลุมบริษทั ปูนซิเมนตไทย ประกอบดวย 1. บริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) จำนวนหุนชำระแลวที่ถือในบริษัทฯ : 82,164,775 หุน 2. บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด (ถือหุนโดยบริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) รอยละ 26) จำนวนหุนชำระแลวที่ถือในบริษัทฯ : 43,420,625 หุน 3. บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) (ถือหุนโดยบริษัท ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ถือหุนรวมกันรอยละ 90.33) จำนวนหุนชำระแลวที่ถือในบริษัทฯ : 8,541,081หุน (4) กลุม ผูถ อื หุน รายใหญทโ่ี ดยพฤติการณมอี ทิ ธิพลตอการกำหนดนโยบายการจัดการ หรือการดำเนินงานของบริษทั ฯ อยางมีนยั สำคัญมีกลุม บริษทั ปตท. ที่ถือหุนในบริษัทฯ รวมรอยละ 49.66 (5) ผูถือหุนตางดาว ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2555 บริษทั ฯ มีผถู อื หุน ตางดาวรวมกัน 321 ราย ถือหุน รวมกัน 913,582,161 หุน คิดเปนรอยละ 20.26 ของทุนจดทะเบียนชำระแลว (6) บริษัทฯ มีขอจำกัดเกี่ยวกับการถือหุนของผูถือหุนตางดาวตามขอบังคับของบริษัทฯ ขอ 8 วา “หุนของบริษัทสามารถโอนไดโดยไมมีขอจำกัด เวนแตการโอนหุนนั้น เปนเหตุใหมีคนตางดาวถือหุนอยูในบริษัทเกินกวารอยละสามสิบเจ็ด (37) ของจำนวนหุนที่จำหนายไดทั้งหมด”


7 5

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ไดกำหนดนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ดังนี้ “กำหนดใหจาย ไดไมนอยกวารอยละ 30 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีและทุนสำรองตางๆ ทั้งหมดของบริษัทฯ โดยมีเงื่อนไขวาการจายเงินปนผลดังกลาว จะขึ้นอยูกับแผนการลงทุน ความจำเปน และความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคตดวย”

นโยบายจายเงินปนผลของบริษัทยอย นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอยของบริษัทฯ นั้น คณะกรรมการของบริษัทยอยจะพิจารณาใหความเห็นชอบ และเสนอใหที่ประชุมผูถือหุน ของแตละบริษัท พิจารณาอนุมัติในแตละป โดยการจายเงินปนผลจะพิจารณาจากแผนการลงทุนตามความจำเปนและความเหมาะสมอื่นๆ เชน ความเพียงพอของกระแสเงินสดของบริษัทยอยหลังจากหักสำรองเงินตามที่กฎหมายกำหนดแลว


7 6

คณะกรรมการ

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานกรรมการ อายุ 60 ป

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (M.B.A.) Utah State University, สหรัฐอเมริกา ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมสังคม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 10 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปรอ. 4010) Certificate in Advanced Management Program (รุน 155), Harvard Business School สหรัฐอเมริกา ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 6 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 26/2004 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 28/2012 สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร บริษทั ไออารพซี ี จำกัด (มหาชน)

- ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนตซีส จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร บริษทั เมอรเมด มาริไทม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษทั ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) - ประธานองคกรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณการทำงาน 2546 - 2554 ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ / กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) ต.ค. 2551 - มี.ค. 2554 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2543 - 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2550 - 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) ก.พ. - มิ.ย. 2553 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2553 รองประธานกรรมการ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ก.ค. 2553 - เม.ย. 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2553 กรรมการ บริษัท ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) 2547 - 2553 กรรมการ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2555 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน) 2549 - 2551 สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


7 7

พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส

นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 61 ปี

อายุ 64 ป (ลาออก เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556)

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม โรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ 8 รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยตำรวจ รุนที่ 24 การบริหารงานตำรวจชั้นสูง วิทยาลัยการตำรวจ รุนที่ 8 นักบริหารระดับสูงหลักสูตรที่ 1 รุนที่ 10 และหลักสูตรที่ 2 รุนที่ 15 สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ รุนที่ 38 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 9

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 60/2006 หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 9/2009 และ หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 27/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบนั - ขาราชการบำนาญ ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน / กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 ผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแหงชาติ 2550 สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแหงชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแหงชาติ 2550 รักษาการราชการแทนผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ กรมตำรวจ สำนักงานตำรวจแหงชาติ ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง รุนที่ 1 เนติบัณฑิตไทย รุนที่ 27 สำนักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร หลักสูตรอัยการจังหวัด รุนที่ 9/2530 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 9

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 76/2006 หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 56/2006 หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statement (UFS) รุน 3/2006 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 28/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - อธิบดีอัยการ สำนักงานคณะกรรมการอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด - กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ / ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานอนุกรรมการ พิจารณาอุทธรณ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย - กรรมการ / ประธานกรรมการการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละความรับผิดชอบตอสังคม และประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งและควบคุมภายใน การไฟฟาสวนภูมภิ าค - ประธานกรรมการ บริษัท กฎหมายกรุงไทย จำกัด ประสบการณการทำงาน 2551 - 2554 กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ / กรรมการกำกับดูแล กิจการ / กรรมการกำหนดคาตอบแทน บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2554 อธิบดีอัยการ ฝายคดีศาลสูงเขต 9 2551 - 2554 อธิบดีอยั การ สำนักงานนโยบายยุทธศาสตรและงบประมาณ 2552 - 2554 กรรมการบริหาร องคการอุตสาหกรรมปาไม 2551 - 2554 กรรมการ การไฟฟานครหลวง 2549 - 2551 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (SME Bank) 2548 - 2551 รองอธิบดีอยั การ ฝายคดีทรัพยสนิ ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ 2548 - 2551 รองอธิบดีอัยการ ฝายคดีอาญากรุงเทพใต 2548 - 2551 รองอธิบดีอัยการ ฝายคณะกรรมการอัยการ 2548 - 2550 กรรมการและกรรมการตรวจสอบ สำนักงานความรวมมือ พัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน (องคการมหาชน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


7 8

นายปรัชญา ภิญญาวัธน

นายวศิน ธีรเวชญาณ

กรรมการ

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

อายุ 61 ป

อายุ 64 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย M.S. (Civil Engineering), Stanford University, U.S.A. Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas at Austin, U.S.A. วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวม เอกชน (ปรอ.) รุนที่ 15 - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 7 - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง ดานวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 1/2555

-

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 14/2002 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) รองประธานกรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน)

ประสบการณการทำงาน 2551 - 2554 ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย และ รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจน้ำมัน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2547 - 2550 รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2550 - 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2549 - 2554 กรรมการ บริษัท ไออารพีซี จำกัด (มหาชน) 2548 - 2554 กรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2547 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) 2555 ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด 2555 กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายระหวางประเทศ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) เนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2515 หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 40

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 94/2012 และ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 155/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ที่ปรึกษาดานกฎหมายและเขตแดน กระทรวงการตางประเทศ - กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร - ประธานคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนรวมไทย - มาเลเซีย (ฝายไทย) - อุปนายกสมาคมมิตรภาพไทย - เกาหลีใต - กรรมการในคณะกรรมการพิเศษเพื่อพิจารณาอนุสัญญาตางๆ ของกระทรวง การตางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ - รองประธานคณะกรรมการรวมดานเทคนิคไทย - กัมพูชา (ฝายไทย) (เจรจาเขตแดนทางทะเล) - ประธานการประชุมเจาหนาที่อาวุโสดานเขตแดนไทย - ลาว (ฝายไทย) - ประธานคณะกรรมการเขตแดนรวมไทย - พมา (ฝายไทย) - ที่ปรึกษา บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 อาจารยพิเศษผูบรรยายกฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีเมือง และแผนกคดีบุคคล มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง เชียงราย 2551 - 2553 ประธานคณะกรรมาธิการเขตแดนรวมไทย - กัมพูชา (ฝายไทย) 2551 - 2552 สมาชิกในคณะผูทรงคุณวุฒิอาเซียน - เกาหลีใตของอาเซียน 2551 - 2552 ประธานคณะผูเชี่ยวชาญดานกฎหมายระดับสูงของอาเซียน เพื่อการปฏิบัติตามกฎบัตรอาเซียน 2548 - 2551 เอกอัครราชทูต (เจาหนาที่การทูต 10) ณ กรุงโซล ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


7 9

นางรวีพร คูหิรัญ

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ *

อายุ 68 ป

อายุ 66 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง - Master of Business Administration - MBA (Accounting), Central Michigan University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 38 - หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส. 14) วิทยาลัยการยุติธรรม สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม - หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานการคาและการพาณิชย รุนที่ 4 (TEPCoT 4) หอการคาแหงประเทศไทยรวมกับกระทรวงพาณิชย - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 7 - หลักสูตรการตรวจเงินแผนดิน (The International Auditor’s Fellowship Program) สำนักงานตรวจเงินแผนดิน สหรัฐอเมริกา - หลักสูตร Audit of Computer Systems, Kingston Polytechnic ประเทศอังกฤษ - การตรวจสอบภายใน และการตรวจสอบโดยใชคอมพิวเตอร ณ สำนักงาน การตรวจเงินแผนดิน ประเทศอังกฤษ - การตรวจสอบการจัดซื้อจัดจาง สำนักงานตรวจเงินแผนดิน ประเทศเกาหลี การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 94/2012 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 155/2012 และ หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 38/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) - กรรมการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน สำนักงาน คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงกิจการวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ (กสทช.) ประสบการณการทำงาน 2551 - 2553 กรรมการคดีพเิ ศษ (กรรมการผูท รงคุณวุฒ)ิ คณะกรรมการคดีพเิ ศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (D.S.I.) 2543 - 2549 กรรมการตรวจเงินแผนดิน (คตง.) สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยตำรวจ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ประกาศนียบัตรวิทยาลัยสืบสวนกลางแหงสหรัฐอเมริกา (FBI) ปริญญาบัตรหลักสูตรปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 34 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 107/2008 และ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 73/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ขาราชการบำนาญ ประสบการณการทำงาน 2553 - 2554 ทีป่ รึกษาประธานกรรมการ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 ทีป่ รึกษารัฐมนตรีวา การกระทรวงตางประเทศ กระทรวงตางประเทศ 2551 ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 2551 กรรมการ บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

* ไดรบั แตงตัง้ เปนประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ตัง้ แตวนั ที่ 15 กุมภาพันธ 2556


8 0

พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท

นายอำนวย ปรีมนวงศ

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

อายุ 61 ป

อายุ 54 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟา (วทบ.ทอ.) โรงเรียนนายเรืออากาศ - ปริญญาโท วิศวกรรมไฟฟา (Aerospace Systems) Cranfield Institute of Technology สหราชอาณาจักร - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 46 - การบริหารทาอากาศยานในยุคของการแขงขัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - วิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ 30 - โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุนที่ 32 - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 5 - หลักสูตรการกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผูบ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองคการมหาชน รุนที่ 3 สถาบันพระปกเกลา - สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 47/2005 หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) รุน 2/2012, หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน 14/2012 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 155/2012 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 30/2013 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ตุลาการศาลทหาร - กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ประสบการณการทำงาน 2551 - 2554 กรรมการผูอำนวยการใหญ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จำกัด 2548 - 2549 กรรมการ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศเอก) 2549 - 2550 หัวหนานายทหาร ฝายเสนาธิการ ประจำผูบัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศโท) 2548 - 2549 ผูบัญชาการศูนยวิทยาศาสตรและพัฒนาระบบอาวุธ กองทัพอากาศ (อัตราพลอากาศโท) 2552 - 2554 อุปนายกสมาคมวอลเลยบอลแหงประเทศไทย ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - Advanced Executive Program, Kellogg School of Management, Northwestern University, U.S.A. - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 51 การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 80/2006 หลักสูตร Financial Statement for Directors (FSD) รุน 11/2011 และ หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 38/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) -

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน หัวหนาผูตรวจราชการ กระทรวงการคลัง กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กรรมการ ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง กรรมการ การรถไฟแหงประเทศไทย กรรมการ บริษัท ณุศาศิริ จำกัด (มหาชน)

ประสบการณการทำงาน 2547 - 2549 ผูอำนวยการสำนักบริหารที่ราชพัสดุกรุงเทพมหานคร กรมธนารักษ 2549 - 2551 รองอธิบดี กรมธนารักษ 2551 - 2552 ที่ปรึกษาดานพัฒนาอสังหาริมทรัพย กรมธนารักษ 2555 ประธานกรรมการ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง 2552 - 2555 ประธานกรรมการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


8

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ

นายเกรียงไกร เธียรนุกุล

กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ

อายุ 58 ป

อายุ 53 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม - Post-Graduate Diploma, Hydraulic Engineering, International Institute of Hydraulic Engineering, Delft, ประเทศเนเธอรแลนด - หลักสูตรนักบริหารพลังงานระดับสูง รุนที่ 1 กระทรวงพลังงาน - หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุนที่ 43 สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด - หลักสูตรนักบริหารระดับสูง หลักสูตรที่ 1 รุน ที่ 44 สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน (ก.พ.) สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน - ปริญญาบัตร วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 51 การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 96/2012 และหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 39/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน - กรรมการอิสระ / กรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2550 - 2552 ผูอ ำนวยการสำนักพัฒนาพลังงานทดแทน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

1

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - The Executive Management Seminar 2002 for Paper and Packaging Business, the Wharton School, University of Pennsylvania - ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 22 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 2 การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 110/2008 และ หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 25/2009 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - กรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) - ประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร บริษัท นิวไวเต็ก จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท เพรสทิจ ไดเรคท มารเก็ตติ้ง จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท เพรสทิจ กิฟท แอนด พรีเมี่ยม จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท มีเดีย เชคเกอร จำกัด - กรรมการบริหาร บริษัท บางกอก บายนดิ้ง จำกัด ประสบการณการทำงาน 2553 - 2555 รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2551 - 2553 กรรมการ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) 2549 - 2553 ประธาน กลุมอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2549 - 2552 กรรมการ การไฟฟานครหลวง 2549 - 2551 กรรมการบริหาร สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2548 - 2551 กรรมการบริหาร สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2548 - 2551 ประธาน มูลนิธิสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


8 2

นายณัฐชาติ จารุจินดา

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ

กรรมการ กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

กรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง อายุ 54 ปี

อายุ 57 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม - พาณิชยศาสตรและการบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ.) รุนที่ 20 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Program for Global Leadership (PGL) สถาบัน Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตร Oxford Energy Seminar ประเทศอังกฤษ - หลักสูตร Break Through Program for Senior Executives (BPSE) สถาบัน IMD ประเทศสวิตเซอรแลนด การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 129/2010 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ประธานเจาหนาทีป่ ฏิบตั กิ ารกลุม ธุรกิจปโตรเลียมขัน้ ปลาย สังกัดประธานเจาหนาที่ บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท บางจากปโตรเลียม จำกัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับสอง) - หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP3) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 132/2010 หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน 38/2012 และ หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR) รุน 12/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - รองกรรมการผูจัดการใหญหนวยธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ไทยออยล เอทานอล จำกัด - กรรมการ บริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด

ประสบการณการทำงาน ม.ค. - ก.ย. 2554 รองกรรมการผูจ ดั การใหญกลยุทธองคกร บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) 2552 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญหนวยธุรกิจการคาระหวางประเทศ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2548 - 2552 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญธุรกิจกาซธรรมชาติ สำหรับยานยนต บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เม.ย. - ต.ค. 2554 กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2555 กรรมการ บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2553 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญแผนและบริหารบริษัทในเครือ หนวยธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เม.ย. - ต.ค. 2554 กรรมการ และกรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและ การกลั่น จำกัด (มหาชน) เม.ย. - ต.ค. 2554 กรรมการ และกรรมการสรรหา บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2555 กรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 ผูชวยกรรมการอำนวยการดานวางแผนกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) 2550 - 2551 ผูชวยกรรมการอำนวยการดานธุรกิจ บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี


8 3

นายบวร วงศสินอุดม

นายอนนต สิริแสงทักษิณ

กรรมการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ อายุ 60 ปี

อายุ 58 ป

-

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ.) รุนที่ 17 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปริญญาโท พาณิชยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี วิทยาศาสตร (ธรณีวิทยา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประกาศนียบัตร Project Investment Appraisal and Management และ Global Leadership, Harvard University สหรัฐอเมริกา - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท. 1) รุนที่ 1 สถาบันวิทยาการตลาดทุน -

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 76/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 52/2006 และ หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 73/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สังกัดประธานเจาหนาทีป่ ฏิบตั กิ าร กลุม ธุรกิจปโตรเลียม ขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวสิ จำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด - กรรมการ และกรรมการผูจัดการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited - กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด

-

ประสบการณการทำงาน ต.ค. 2553 - ต.ค. 2554 กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานเจาหนาที่ บริ ห ารและกรรมการผู จั ด การใหญ และเลขานุ ก าร คณะกรรมการ บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโสปฏิบัติการ และรักษาการ รองกรรมการผูจัดการใหญ แผนพาณิชยและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด 2551 - 2552 ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร (รวม) บริษทั อัลลายแอนซ รีไฟนนงิ่ จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2551 - เม.ย. 2555 กรรมการ / กรรมการบริหารความเสีย่ ง / ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2545 - 2551 รองกรรมการผูจัดการใหญกลยุทธและพัฒนาองคกร บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) 2553 - 2555 กรรมการ PTTEP FLNG Holding Company Limited 2553 - 2555 กรรมการ PTT FLNG Limited 2549 - 2552 ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด 2549 - 2552 กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด 2549 - 2552 กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด 2548 - 2552 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน) 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท สตารปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด 2543 - 2552 กรรมการ บริษัท ปตท. จำหนายกาซธรรมชาติ จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการรายอื่น ผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญ ของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย - ไมมี

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) รองประธานกรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ PTT Chemical International Private Limited ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด ประธานกรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด ประธานกรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ Vencorex Holding กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V. กรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย กรุงเทพพาณิชย จำกัด กรรมการสภา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง


8 4

คณะผู้บริหาร

01

นายอนนต สิร�แสงทักษิณ ประธานเจาหนาที่บริหาร

02

นายบวร วงศสินอุดม กรรมการผูจัดการใหญ


8 5

03

( . ! . ' $ ' - & ' 1# "' ' & . +$3 , '" / % ' . . )

04

( ' ) %+2 (#, $ ' - & ' 1# "' ' , $

05

( ) ( #, ( $ ' - & ' 1# "' ' ' . ) / % & *

06

( )3 ( " $ ' - & ' 1# "' ' )#' & ' $

07

( '! ( ' " #' ) , $ ' - & ' 1# "' ' ) ' $

08

( ! .%*1 , 0 $ ' - & ' 1# "' ' ' ' / % ' ) )

09

( ' , (

$ ' - & ' 1# "' ' ) / % ( , & !'

10

( #, ) 0 ) $ ' - & ' 1# , ) & 0$. "

11

( ' ) $ ' - & ' 1# , ) & $%0 . ) "

12

( . , ) ' $ ' - & ' 1# , ) & 0 . * / %"' ' - '

13

( %' , ) $) ' - & $ ' - & ' 1# , , ) ) & 0 ). $

14

( .# !' )3 ! ( ' $ ' - & ' 1# , , ) ) & .$ ) * $$ 2

15

( ' ' ( ( ) $ ' - & ' 1# , , ) ) & . * . +3$")3 / $

16

( & ' %) /

$ ' - & ' 1# "& & % ' . '# ' *3 )#'


8 6

ประวัติคณะผูบริหาร นายอนนต สิริแสงทักษิณ 01

ประธานเจาหนาที่บริหาร อายุ 60 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี - ปริญญาโท พาณิชยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร (ธรณีวิทยา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตร Project Investment Appraisal and Management และ Global Leadership, Harvard University สหรัฐอเมริกา - หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง (วตท. 1) รุน ที่ 1 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 52/2006 และหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 73/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - รองประธานกรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) - รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ PTT Chemical International Private Limited - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด - ประธานกรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd - ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - ประธานกรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ Vencorex Holding

- กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V. - กรรมการ บริษัท บริหารสินทรัพย กรุงเทพพาณิชย จำกัด - กรรมการสภา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ประสบการณการทำงาน 2551 - เม.ย. 2555 กรรมการ / กรรมการบริหารความเสีย่ ง / ประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษทั ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2545 - 2551 รองกรรมการผูจ ดั การใหญกลยุทธและพัฒนาองคกร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 2553 - 2555 กรรมการ PTTEP FLNG Holding Company Limited 2553 - 2555 กรรมการ PTT FLNG Limited 2549 - 2552 ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี ไอซีที โซลูชน่ั ส จำกัด 2549 - 2552 กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด 2549 - 2552 กรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำกัด 2548 - 2552 กรรมการ บริษทั ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษทั บางกอกโพลีเอททีลนี จำกัด (มหาชน) 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน) 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษทั สตารปโ ตรเลียม รีไฟนนง่ิ จำกัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด 2543 - 2552 กรรมการ บริษทั ปตท. จำหนายกาซธรรมชาติ จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

นายบวร วงศสินอุดม กรรมการผูจัดการใหญ

02

อายุ 58 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาโท การจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาบัตร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ.) รุนที่ 17 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 76/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - รองกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด - ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด - กรรมการ และกรรมการผูจัดการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited

- กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited - กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด - กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด

ประสบการณการทำงาน ต.ค. 2553 - ต.ค. 2554 กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ และ เลขานุการคณะกรรมการ บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและ การกลั่น จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 รองกรรมการผูจ ดั การใหญอาวุโสปฏิบตั กิ าร และรักษาการ รองกรรมการผูจ ดั การใหญ แผนพาณิชยและพัฒนา ธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด 2551 - 2552 ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร (รวม) บริษทั อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


8 7

นายธเนศ เจริญทรัพย 03

รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรและความเปนเลิศ อายุ 58 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - Ph.D. (Mechanical Engineering), Illinois Institute of Technology, U.S.A. - Master of Science (Mechanical Engineering), Texas A & I University, U.S.A. - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 97/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน -

ประธานกรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด ประธานกรรมการ บริษทั แอดวานซ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการ บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด กรรมการ PTT Chemical International Private Limited กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ Myriant Corporation กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด

ประสบการณการทำงาน ต.ค. 2554 - พ.ย. 2555 รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานนวัตกรรม บริหารการขยายธุรกิจและความยั่งยืน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2554 รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการตลาดและ พาณิชยกิจ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2549 - 2550 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผูอำนวยการโครงการผลิตภัณฑ อีโอ / อีจี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 - 2555 กรรมการ Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited 2551 - 2555 กรรมการ Mehr Petrochemical Company Limited 2551 - 2554 กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร มารเก็ตติง้ จำกัด 2551 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด 2551 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด 2549 - 2550 รองผูจัดการใหญ สายงานปฏิบัติการ บริษัท ทีโอซีไกลคอล จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

นางพันธทิพ อึ๊งผาสุข รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกลยุทธองคกร

04

อายุ 52 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร - ประกาศนียบัตร The Advance Management Program (AMP), The Harvard Business School, U.S.A - ประกาศนียบัตร Chief Finance Officer (CFO) รุนที่ 1/2547 จากสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีแหงประเทศไทย (สภาวิชาชีพ บัญชี) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 67/2005 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และสถาบัน กรรมการบริษัทออสเตรเลีย

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน -

กรรมการ / Executive Committee บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ Vencorex Holding กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V. กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด กรรมการ PTT Chemical International Private Limited

-

กรรมการ Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ บริษัท แอดวานซ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จำกัด กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2551 - 2554 2548 - 2550 2554 - 2555 2552 - 2555 2551 - 2554 2551 - 2553 2550 - 2553 2550 - 2551

รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานกลยุทธและกิจการ ตางประเทศ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานวางแผนและ พัฒนาธุรกิจองคกร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กรรมการ Myriant Corporation กรรมการ บริษัท เกลือพิมาย จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร มารเก็ตติง้ จำกัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


8 8

นายปฏิภาณ สุคนธมาน รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการเงินและบัญชี

05

อายุ 51 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ วิชาเอกการเงิน The American University, U.S.A. - ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร วิชาเอกการบริหารงานคลัง (เกียรตินิยม อันดับ 2) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุนที่ 8 (ปรม. 8) สถาบันพระปกเกลา - ประกาศนียบัตรโครงการอบรมผูบริหารระดับสูงในยุคโลกาภิวัตน ป 2552 รุนที่ 5 (Ex - PSM 5) มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจ การคลัง (มูลนิธิ สวค.) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 73/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited - กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited

-

กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 2546 - 2552 2552 - 2555 2552 - 2555

รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานการเงินและบัญชี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานดานบัญชีและ การเงิน บริษทั บางจากปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

นายวริทธิ์ นามวงษ รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานบริหารศักยภาพองคกร

06

อายุ 49 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (International Program) มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ประกาศนียบัตร หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 91/2011 และหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 160/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน -

กรรมการ PTT Chemical International Private Limited กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด กรรมการ บริษัท สปอรต เซอรวิสเซส อัลไลแอนซ จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 2545 - 2552 2554 - 2555

รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกร บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) ผูจัดการฝายทรัพยากรบุคคล บริษัท อัลลายแอนซ รีไฟนนิ่ง จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


8 9

นางทัศนาลักษณ สันติกุล รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการองคกร อายุ 58 ปี

07

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาโท - เอก กฎหมายระหวางประเทศ University D’Aix-Marseille, ฝรั่งเศส - รัฐศาสตรบัณฑิต (การระหวางประเทศ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตร Business Program NIDA-Wharton สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร รุนที่ 2 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 92/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณการทำงาน 2551 - 2554 2549 - 2550

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการองคกร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ สำนั ก กรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน -

กรรมการ PTT Chemical International Private Limited กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวสิ จำกัด

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ

08

อายุ 55 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (เกียรตินิยม อันดับสอง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advance Management Program (AMP) รุน 183/2012, Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร The Strategy Challenge (TSC) Program ป 2010, IMD - INSEAD Business School ป 2010, INSEAD Executive Education, France - NIDA-Wharton Executive Leaders ป 2005, Wharton School of Business, University of Pennsylvania, U.S.A. - หลักสูตร The Board’s Role in Mergers and Acquisitions รุน 1/2011 และหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 160/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

-

กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2553 2550 - 2551 2548 - 2550 2552 - 2555

ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ แผนกลยุ ท ธ แ ละ บริหารการลงทุน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ แผนและกลยุทธองคกร บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญวางแผนหนวยธุรกิจ กาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ สั ง กั ด รองกรรมการผู จั ด การใหญ หนวยธุรกิจปโตรเคมี บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


9 0

นายกัญจน ปทุมราช รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานวิศวกรรมและบำรุงรักษา

09 อายุ 56 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - B.Sc., Chemical Engineers, New Jersey Institute of Technology, U.S.A. - M.Eng., Chemical Engineers, Manhattan College, New York, U.S.A. - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Senior Executive Program (SEP), สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advance Management Program (AMP), Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร PTT Executive Leadership Program, GE Crotonville, U.S.A. - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 91/2011 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 27/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน

- กรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2554 - 2555 2553 - 2554

กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด รองกรรมการผูจ ดั การใหญอาวุโสเทคนิคและวิศวกรรม บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) ม.ค. - เม.ย. 2553 รองกรรมการผูจัดการใหญเทคนิคและวิศวกรรม บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) 2550 - 2552 รองกรรมการผูจัดการใหญปฏิบัติการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2545 - 2550 รองผูจัดการใหญปฏิบัติการ บริษัท อะโรเมติกส (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 2549 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

- ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จำกัด - กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด

นายสุวิทย ทินนโชติ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑโอเลฟินส

10

อายุ 56 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - Master of Public and Private Management, National Institute of Development Administration (NIDA) - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาฯ เจาคุณทหารลาดกระบัง - ประกาศนียบัตร ASEAN Executive Program (AEP), GE Crotonville - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 92/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2554 - 2555 2551 - 2554

กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ โพลิเมอร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2551 รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ เอทิลนี ออกไซด บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยปฏิบัติการโรงงาน I-4 บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) พ.ค. - ส.ค. 2555 Member Representative to the Governance Board, Natureworks LLC 2554 - ส.ค. 2555 Member of the Board Directors and President, PTTGC International (USA) Inc. 2551 - 2555 กรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด 2552 - 2555 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด 2552 - 2554 กรรมการ บริษทั บางกอกโพลีเอททีลนี จำกัด (มหาชน) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


9

1

นายณรงค บัณฑิตกมล 11

รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส อายุ 58 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - พาณิชยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลั ก สู ต รผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง สถาบั น บั ณ ฑิ ต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - Advance Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 97/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณการทำงาน 2550 - 2554 2553 - 2554 2551 - 2554

รองกรรมการผูจ ดั การใหญ กลุม กิจการผลิตโอเลฟนส และสาธารณูปการ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน -

กรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด กรรมการ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด

นายพรเทพ บุตรนิพันธ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการ อายุ 57 ปี

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร สาขาเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม - M.S.E.C. (Process Technology), Department of Chemistry and Chemical Engineering, University of Detroit, Michigan, U.S.A. - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 98/2012 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน

12

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554

รองกรรมการผูจ ดั การใหญปฏิบตั กิ ารโรงกลัน่ บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) ก.พ. - ส.ค. 2552 รองกรรมการผูจัดการใหญปฏิบัติการอะโรเมติกส บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) 2551 - 2552 รองกรรมการผูจ ดั การใหญบริหารองคกร และรักษาการ ผูจ ดั การฝายประชาสัมพันธ บริษทั ปตท. อะโรเมติกส และการกลั่น จำกัด (มหาชน)

- กรรมการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


9 2

นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร อายุ 57 ปี

13

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - Master of Science (Mechanical), Manhattan College, New York, U.S.A. - Bachelor of Science (Mechanical), New York Institute of Technology, U.S.A. - Senior Executive Program 2007, Stanford University, U.S.A. - หลักสูตร “อบรมผูบริหารเปนนักบริหารมืออาชีพ 2548” โดยสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจ กระทรวงการคลัง - หลักสูตร “การบริหารงานบุคคลสำหรับผูบังคับบัญชา” โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตร Senior Executive Program โดยสถาบันบัณฑิตบริหาร ธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 79/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ประธานกรรมการ บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด - Member of the Board Directors and President, PTTGC International (USA) Inc. - Member Representative to the Governance Board, Natureworks LLC - กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด - กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด - กรรมการ Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited - กรรมการ Mehr Petrochemical Company Limited

ประสบการณการทำงาน 2548 - 2554

รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานบริหารศักยภาพ องคกร บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2552 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด 2552 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด 2552 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด 2552 - 2554 กรรมการ บริษทั อีสเทิรน ฟลูอดิ ทรานสปอรต จำกัด 2551 - 2554 กรรมการ PTT Chemical International Private Limited 2551 - 2554 กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited 2551 - 2554 กรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด 2551 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด 2548 - 2554 กรรมการ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด 2548 - 2553 กรรมการ บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด ก.พ. - ธ.ค. 2548 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานบริหาร บริษัท ไทยโอเลฟนส จำกัด (มหาชน) 2548 - 2550 รักษาการกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ไทยอีทอกซีเลท จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด

14

อายุ 57 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริ ญญาโท รัฐประศาสนศาสตร การจัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตรรัฐศาสตร - ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเฟยติ ประเทศฟลิปปนส - ประกาศนียบัตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต ธุรกิจศศินทร (SEP รุน 19) - ประกาศนียบัตร Business Program NIDA-Wharton สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร รุนที่ 3 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 117/2009 และหลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุน 4/2009 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ประธานกรรมการ และผูจัดการใหญ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด - กรรมการ บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด

ประสบการณการทำงาน 2552 - 2554 2555 2555 2548

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ เอทิลนี ออกไซด บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ และผูจัดการใหญ บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด กรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด ผูจัดการฝายสนับสนุนการผลิตและสาธารณูปการ บริษัท ไทยโอเลฟนส จำกัด (มหาชน)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


9 3

นายวันชัย ธาดาดลทิพย รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม

15

อายุ 55 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน 90/2011 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - ประธานกรรมการ และรักษาการผูจัดการใหญ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด - ประธานกรรมการ และรักษาการกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด - กรรมการ และ Executive Committee, Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. - กรรมการ Natureworks LLC - กรรมการ และ Secretary of Corporation, PTTGC International (USA) Inc. - กรรมการ Vencorex Holding - กรรมการ PTTGC International (Netherlands) B.V.

ประสบการณการทำงาน 2554 - 2555

รองกรรมการผูจ ดั การใหญ กลุม ธุรกิจผลิตภัณฑ HVS บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2553 - 2554 รองกรรมการผูจัดการใหญแผนพาณิชยและพัฒนา ธุรกิจ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) 2552 - 2553 รองกรรมการผูจัดการใหญปฏิบัติการอะโรเมติกส บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) ก.พ. - ส.ค. 2552 รองกรรมการผูจัดการใหญปฏิบัติการโรงกลั่น บริษทั ปตท. อะโรเมติกสและการกลัน่ จำกัด (มหาชน) 2549 - 2554 ผูจ ดั การฝายโครงการ บริษทั อัลลายแอนซ รีไฟนนงิ่ จำกัด ก.พ. - ธ.ค. 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี

นายคงกระพัน อินทรแจง รองกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร

16

อายุ 45 ป

คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม - ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี University of Houston, U.S.A. - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 119/2009 และหลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุน 21/2009 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

การดำรงตำแหนงในปจจุบัน - กรรมการ / Executive Committee และประธานเจาหนาที่บริหาร Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. - กรรมการ Emery Oleochemicals LLC - กรรมการ Emery Oleochemicals GmbH - กรรมการ Emery Oleochemicals (UK) Pvt Ltd. - กรรมการ Erca Emery Surfactants B.V. - กรรมการ Emery Aekyung Sdn. Bhd. - กรรมการ PTT Chemical International Private Limited - กรรมการ PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited

ประสบการณการทำงาน 2554 - 2555

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหนาที่ Chief Executive Officer, Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd.

2552 - 2554

ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ สั ง กั ด กรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหนาที่ Chief Executive Officer, Emery Oleochemicals (M) Sdn. Bhd. ม.ค. - ต.ค. 2552 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ เอทิลนี ออกไซด บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ก.พ. - ธ.ค. 2551 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมงานผลิตภัณฑ โอลีโอเคมี บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2550 - 2552 ผูจัดการฝาย หนวยงานกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) 2552 ประธานกรรมการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด 2552 ประธานกรรมการ บริษทั ไทยเอทานอลเอมีน จำกัด 2552 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโคลีนคลอไรด จำกัด 2550 - 2553 กรรมการ บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด 2550 - 2551 กรรมการ บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด 2550 - 2551 กรรมการ / เลขานุการกรรมการ และผูจัดการใหญ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด 2550 - 2552 รองประธานกลุมอุตสาหกรรมปโตรเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร - ไมมี


9 4

ผูบริหารระดับผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กิจการสัมพันธ

นายทศพร บุณยพิพัฒน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ High-Volume Specialties

ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ที่ ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ผูบริหารระดับสูงในบริษัทยอย นายประกอบ เพชรรัตน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร ปฏิบัติหนาที่ ผูจัดการใหญ บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด

นายณะรงคศักดิ์ จิวากานันต ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร ปฏิบัติหนาที่ Chief Executive Officer PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited

นายสมเกียรติ คุณเลิศกิจ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร ปฏิบัติหนาที่ กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด

นายสิริเดช คุมวงศดี ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร ปฏิบัติงาน Secondment บริษัท พีทีที ฟีนอล จำกัด


9 5

การเปลี่ยนแปลงกรรมการและผูบริหาร ระหวางป 2555 และขอมูลเพิ่มเติม 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ลาออกจากตำแหนงกรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555

2. นายอนนต สิริแสงทักษิณ ไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร แทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555

3. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส กรรมการอิสระ และประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ลาออกจากตำแหนง เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมีมติแตงตั้งให พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน กรรมการอิสระ และกรรมการกำกับดูแลกิจการ เปน ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ แทน ตั้งแตวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556

4. นายธเนศ เจริญทรัพย ดำรงตำแหนง รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรและความเปนเลิศ ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2555

5. นายคงกระพัน อินทรแจง ดำรงตำแหนง รองกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร ตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555


9 6

โครงสรางการจัดการ

-// - /2/ 0 :

-// - / // -; 2 : B

-// - / :/8 / 5 7

-// - / -;- : F - 0- /

2/ 0 : I

5B = = 2-//

- /2 - 0

89 -// :;/ / -<

- 0- / .4

- 1 2 34 = 5 >? 4

@ :5 A7 B.9 2/4 5 C 5 9

- 1 2 34 =/5 2 - 4

- B.4 4-/

- 1 2 34 E=2/5 . / F - /


9 7

โครงสรางองคกร เพื่อผลักดันกลยุทธสูการปฏิบัติและการบริหารงานใหสอดคลองและบรรลุผลสำเร็จตามทิศทางและเปาหมายในการ ดำเนินธุรกิจระยะยาวและตอบสนองการพัฒนาอยางยั่งยืน บริษัทฯ จึงไดปรับปรุงโครงสรางการบริหารของ กลุมบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล โดยมีผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป

- . /- 01 2 34 = 5 /4

- /5 8

: D

- . /- 0 1 2 34 5 B -GH 4

:/8 / 9 - 4-/

- . /- 01 2 34 %#$ (&,'" )"!% &+%"*

- . /- 0 1 2 345 5 67

- 0- / 4-/


9 8

รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ชื่อกรรมการ

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ 2. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส (ลาออกตั้งแตวันที่ 11 มกราคม 2556) 3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ 6. นางรวีพร คูหิรัญ 7. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน 8. พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท 9. นายอำนวย ปรีมนวงศ 10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล 12. นายณัฐชาติ จารุจินดา 13. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ 14. นายบวร วงศสินอุดม

*

15. นายอนนต สิริแสงทักษิณ หมายเหตุ

*

ตำแหนง

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการ กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน กรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการกำกับดูแลกิจการ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ

นายอนนต สิริแสงทักษิณ ไดรับการแตงตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 ใหดำรงตำแหนงกรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ แทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555


9 9

องคประกอบคณะกรรมการบริษัท ขอบังคับบริษทั ฯ กำหนดใหคณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยกรรมการ จำนวนไมนอยกวา 5 คน แตไมเกิน 15 คน ซึ่งเลือกตั้งและถอดถอน โดยที่ประชุมผูถือหุน โดยประกอบดวยกรรมการอิสระไมนอยกวา หนึ่งในสาม (1/3) ของจำนวนกรรมการทั้งหมด แตตองมีไมนอยกวา 3 คน ทั้งนี้ กรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่ง (1/2) ของจำนวนกรรมการ ทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรและกรรมการทั้งหมดของ บริษัทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามที่ กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ กรรมการอิสระตองมีคุณสมบัติอยางนอย เปนไปตามหลักเกณฑหรือขอกำหนดตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และกรรมการบริษัทฯ มีอายุไมเกิน 70 ป การเลือกตั้ง และการพนจากตำแหนงกรรมการบริษัท

ขอบังคับบริษัทฯ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการพนจาก ตำแหนงกรรมการบริษัท สรุปไดดังนี้ การเลือกตั้งกรรมการ

ใหที่ประชุมผูถือหุนลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการบริษัทตาม หลักเกณฑดังตอไปนี้ (1) ผูถ อื หุน คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเทากับหนึง่ หุน ตอหนึง่ เสียง (2) กรณีทบี่ คุ คลผูไ ดรบั การเสนอชือ่ เปนกรรมการมีจำนวนไมเกิน กวาจำนวนกรรมการที่จะพึงมีไดในการเลือกตั้งครั้งนั้น ใหที่ ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการที่ไดรับการเสนอชื่อนั้น โดย กรรมการทีผ่ ถู อื หุน ออกเสียงเลือกตัง้ จะไดรบั คะแนนเสียงจาก ผูถ อื หุน ตามจำนวนหุน ทีผ่ ถู อื หุน นัน้ มีอยูท ั้งหมดตาม (1) โดย จะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) กรณีที่บุคคลผูไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการมีจำนวนเกิน กวาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีไดในการเลือกตัง้ ครัง้ นัน้ ใหใช วิธีการลงคะแนนเปนรายบุคคล ทั้งนี้ ในการออกเสียงลง คะแนนบุคคลแตละคนที่ผูถือหุนออกเสียงเลือกตั้งจะไดรับ คะแนนเสียงจากผูถือหุนตามจำนวนหุนที่ผูถือหุนนั้นมีอยู ทั้งหมดตาม (1) โดยผูถือหุนดังกลาวจะแบงคะแนนเสียง ใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งมากหรือนอยเพียงใดไมได โดย บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผูไดรับ การเลือกตัง้ เปนกรรมการเทาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงเลือกตัง้ ในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลำดับ ถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการ ที่พึงจะมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ใหผเู ปนประธานเปนผูอ อกเสียง ชี้ขาด

ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการคนใดคนหนึง่ เปนประธานกรรมการ และใหคณะกรรมการพิจารณาเลือกและแตงตั้งกรรมการอีก คนหนึง่ เปนรองประธานกรรมการ และใหปฏิบตั หิ นาทีแ่ ทนประธาน กรรมการในกรณีที่ประธานกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได เปนการชั่วคราว หรือเมื่อตำแหนงประธานกรรมการวางลง การ วินจิ ฉัยชีข้ าดของทีป่ ระชุมใหถอื เสียงขางมากของจำนวนกรรมการ ที่เขาประชุม ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออก เสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว ออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือกบุคคลคนหนึง่ ซึง่ มีคณุ สมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายเขาเปนกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปก็ได เวนแตวาระของ กรรมการจะเหลือนอยกวาสอง (2) เดือน บุคคลซึง่ เขาเปนกรรมการ แทนดังกลาวจะอยูใ นตำแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระทีย่ งั เหลือ อยูของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการในกรณีนี้ตอง ประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ (3/4) ของจำนวน กรรมการที่ยังเหลืออยู กรณีที่ตำแหนงกรรมการวางลงจนเหลือนอยกวาจำนวนที่จะเปน องคประชุม ใหกรรมการที่เหลืออยูกระทำการในนามของคณะ กรรมการไดแตเฉพาะการจัดใหมีการประชุมผูถือหุนเพื่อเลือกตั้ง กรรมการแทนตำแหนงทีว่ า งทัง้ หมดเทานัน้ โดยใหกระทำภายใน หนึง่ (1) เดือนนับแตวนั ทีจ่ ำนวนกรรมการวางลงเหลือนอยกวาจำนวน ทีจ่ ะเปนองคประชุม และบุคคลซึง่ เขาเปนกรรมการแทนอยูใ นตำแหนง ไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน การพนจากตำแหนงกรรมการ

ในการประชุมสามัญประจำปทกุ ครัง้ ใหกรรมการออกจากตำแหนง ตามวาระหนึ่งในสาม (1/3) ถาจำนวนกรรมการที่จะแบงออกให เปนสาม (3) สวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่ง ในสาม กรรมการทีจ่ ะตองออกจากตำแหนงในปแรก และปทสี่ อง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นใหใชวิธีจับสลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนทีอ่ ยูใ นตำแหนงนานทีส่ ดุ นัน้ เปน ผูอ อกจากตำแหนง กรรมการทีอ่ อกตามวาระนัน้ อาจถูกเลือกเขามา ดำรงตำแหนงใหมก็ได นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระแลว กรรมการจะพนจาก ตำแหนงเมื่อตาย หรือลาออก หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะ ตองหามตามทีก่ ฎหมายกำหนด หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ลงมติใหออก หรือศาลมีคำสั่งใหออก กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหนงใหย่นื ใบลาออกตอบริษัท การลาออกมีผลนับแตวนั ทีใ่ บลาออกไปถึงบริษทั ทัง้ นี้ กรรมการ ซึง่ ลาออกจากตำแหนงอาจแจงการลาออกของตนใหนายทะเบียน ทราบดวยก็ได


1 0 0

ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตำแหนง กอนถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสาม ในสี่ (3/4) ของจำนวนผูถือหุนซึ่งมาประชุม และมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ นับรวมกันไดไมนอ ยกวากึง่ หนึง่ (1/2) ของจำนวนหุนที่ ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการ

คณะกรรมการมีหนาที่ในการจัดการบริษัทฯ ตลอดจนปฏิบัติหนาที่ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับบริษัทฯ ตลอดจน มติของทีป่ ระชุมผูถ อื หุน โดยอำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบทีส่ ำคัญ ของคณะกรรมการบริษัท สรุปไดดังนี้ (1) ปฏิบัติหนาที่ ตลอดจนกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ ประชุมผูถือหุนอยางเครงครัด โดยยึดหลัก “ขอพึงปฏิบัติที่ดี สำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน” ตามที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยกำหนด (2) ทุม เทเวลา และใหความสำคัญในการกำหนดวิสยั ทัศนพนั ธกิจ ทิศทาง และกลยุทธของบริษทั ฯ โดยรวมกันแสดงความคิดเห็น อยางเต็มที่ มีการแสวงหาขอมูลทีเ่ ปนประโยชนตอ การกำหนด ทิศทางของบริษัทฯ (3) ทบทวนและใหความเห็นชอบกับกลยุทธและนโยบายทีส่ ำคัญ รวมถึงวัตถุประสงคเปาหมายทางการเงินและแผนงานของ บริษัทฯ พรอมทั้งกำกับดูแลและติดตามใหฝา ยบริหารมีการ ปฏิบตั ติ ามแผนงานทีก่ ำหนดไวตามทิศทางและกลยุทธองคกร อยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมั่นใจไดวาฝายบริหารจะสามารถนำ วิสัยทัศน ทิศทาง และกลยุทธที่กำหนดขึ้น ไปปฏิบัติใหเกิด ผลไดอยางมีประสิทธิภาพ (4) กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ ที่ประกอบดวยหลักการ และแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการ ฝายบริหาร พนักงาน รวมทั้งลูกจางทุกคนไวอยางเหมาะสม โดยมุงสรางสำนึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ สราง ความเขาใจและใหยดึ ถือปฏิบตั ติ ามโดยเครงครัด ควบคูไ ปกับ ขอบังคับและระเบียบของบริษัทฯ เพื่อใหเกิดความเปนธรรม ตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุม (5) จัดใหมรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี ทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือ รวมทัง้ ดูแลใหมกี ระบวนการในการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล (6) พิจารณาถึงปจจัยเสี่ยงสำคัญที่อาจเกิดขึ้น และกำหนดแนว ทางการบริหารจัดการความเสีย่ งอยางครบถวน และครอบคลุม ดูแลใหผูบริหารมีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพใน การบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาสทาง

ธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกลาว ตลอดจนจัดให มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ และมีประสิทธิผล (7) สอดสองดูแลและจัดการแกไขปญหาความขัดแยงทางผล ประโยชนทอี่ าจจะเกิดขึน้ รวมถึงรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ใหความ สำคัญในการพิจารณาธุรกรรมหลักทีม่ คี วามสำคัญ โดยมุง เนน ใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยรวม (8) จัดใหมีชองทางในการสื่อสารกับผูถือหุนแตละกลุมอยาง เหมาะสม และกำกับดูแลการเปดเผยขอมูล เพื่อใหมั่นใจวา มีความถูกตอง ชัดเจน โปรงใส นาเชื่อถือ และมีมาตรฐาน สูงสุด (9) ประเมินผลงานและทบทวนการปฏิบัติหนาที่ของตนเอง และ ของประธานเจาหนาที่บริหารอยางสม่ำเสมอ (10) จัดใหมีระบบ หรือกลไกการกำหนดคาตอบแทนผูบริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ที่เหมาะสมสอดคลองกับผลการดำเนิน งาน เพื่อกอใหเกิดแรงจูงใจทั้งในระยะสั้น และระยะยาว (11) เปนผูน ำและเปนแบบอยางในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี มีจรรยาบรรณ สอดคลองกับนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษทั ฯ (12) จัดใหมกี ารประเมินผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำกับดูแล กิจการที่ดี และจรรยาบรรณของบริษัทฯ ไมนอยกวาปละ 1 ครั้ง (13) จัดใหมีระบบการคัดสรรบุคลากรที่จะเขามารับผิดชอบใน ตำแหน ง บริ ห ารที่ ส ำคั ญ ทุ ก ระดั บ อย า งเหมาะสมและมี กระบวนการสรรหาที่โปรงใส เปนธรรม (14) ตองรายงานใหบริษัทฯ ทราบถึงการมีสวนไดเสียของตนเอง และผูเกี่ยวของ ซึ่งเปนสวนไดเสียเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (15) กรรมการบริษัทฯ ทุกคน มีหนาที่ตองเขารวมประชุมคณะ กรรมการบริษทั ฯ และการประชุมผูถ อื หุน ทุกครัง้ หากมีภารกิจ สำคัญที่ไมสามารถเขารวมประชุมไดใหแจงตอประธาน กรรมการบริษัทฯ (16) กรรมการบริษทั ฯ ตองใหความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจ ดวย ความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม สงเสริมความเปน อยูท ดี่ ขี นึ้ อยางยัง่ ยืนของสังคมไทย โดยเริม่ ตนทีก่ ารยกระดับ ชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชุมชนรอบโรงงานใหดีขึ้น เพื่อใหชุมชนและโรงงานสามารถอยูรวมกันไดอยางยั่งยืน นอกจากนี้ การดำเนินการของคณะกรรมการบริษทั ทีต่ อ งไดรบั อนุมตั ิ จากที่ประชุมผูถือหุนกอนดำเนินการในเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ การเขาทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการไดมาหรือจำหนายไป ซึง่ สินทรัพยทสี่ ำคัญของบริษทั ตามทีก่ ฎหมาย และคณะกรรมการ กำกับตลาดทุนประกาศกำหนด


1

การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางสวนทีส่ ำคัญให แกบุคคลอื่น การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเปนของบริษัทฯ การทำ แกไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางสวนทีส่ ำคัญ การมอบหมายใหบคุ คลอืน่ เขาจัดการ ธุรกิจของบริษทั หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงค จะแบงกำไรขาดทุนกัน การเพิ่มเติม หรือแกไขเปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณหสนธิ หรือ ขอบังคับของบริษัทฯ การเพิ่มทุน / ลดทุนจดทะเบียน การออกหุนกูเพื่อเสนอขายตอประชาชน การเลิกบริษัท / การควบเขากับบริษัทอื่น การประกาศจายเงินปนผลประจำป กิจการอื่นใดที่กฎหมายหรือขอบังคับของบริษัท กำหนดใหตอ ง ไดรบั ความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอนดำเนินการ กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท

ตามขอบังคับบริษัทฯ และหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ณ วันที่ 11 มกราคม 2556 กรรมการผู มี อ ำนาจลงลายมื อ ชื่ อ แทนบริ ษั ท ฯ ประกอบด ว ย “(1) นายอนนต สิรแิ สงทักษิณ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ลงลายมือชือ่ และประทับตราสำคัญของบริษทั หรือ (2) นายสมชาย คูวจิ ติ รสุวรรณ นายสุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวฒั น นางรวีพร คูหิรัญ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล นายณัฐชาติ จารุจินดา นายสุกฤตย สุรบถโสภณ นายบวร วงศสนิ อุดม พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท นายวศิน ธีรเวชญาณ นายอำนวย ปรีมนวงศ นายปรัชญา ภิญญาวัธน กรรมการสองคนในสิบสองคนนี้ ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตรา สำคัญของบริษัทฯ”

1

คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง เพือ่ ใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ไดแตงตั้ง คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งทัง้ สิน้ 4 คณะ โดยไดมอบหมายภาระหนาที่ ในการพิจารณากลั่นกรองการดำเนินงานที่สำคัญเปนการเฉพาะเรื่อง ดวยความรอบคอบและมีประสิทธิภาพ เพื่อนำเสนอความเห็นตอ คณะกรรมการบริษัทฯ โครงสรางของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังตอไปนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ

ประกอบดวย กรรมการบริษทั ฯ ทีเ่ ปนกรรมการอิสระอยางนอย 3 คน อยางนอย 1 คน ตองมีความรูด า นบัญชี / การเงิน และตองมีคณุ สมบัติ ครบถวนตามหลักเกณฑที่กำหนดในประกาศคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และขอบเขตการดำเนินงานตามประกาศ คณะกรรมการกำกับตลาดทุน โดยกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ทุกทานเปนผูท มี่ คี วามรูแ ละประสบการณทำหนาทีใ่ นการสอบทานให บริษัทฯ มีการเปดเผยรางรายงานทางการเงินที่นาเชื่อถือได มีการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิผล มีการคัดเลือกผูต รวจสอบบัญชีทมี่ คี วามเปนอิสระ และมีการพิจารณา การปฏิบตั แิ ละการเปดเผยรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน อยางครบถวน

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ ชื่อกรรมการ

0

ตำแหนง

นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ

ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

นางรวีพร คูหิรัญ

กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

นายอำนวย ปรีมนวงศ

กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ)

นางสาวอารยา บุรัสการ ตำแหนง ผูจัดการฝาย หนวยงานตรวจสอบภายใน ปฏิบัติหนาที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ


1 0 2

คณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป หรือสิน้ สุดวาระการดำรงตำแหนงดวยเหตุการพนสภาพการเปนกรรมการ บริษทั ฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทัง้ นี้ กรรมการตรวจสอบ ทีพ่ น จากตำแหนงตามวาระอาจไดรบั แตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั อีกได โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตอำนาจหนาที่ และความ รับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้ รายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี

สอบทานรายงานทางการเงินของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวา รายงานทางการเงินแสดงถึงฐานะทางการเงินอยางถูกตอง นาเชือ่ ถือและเปดเผยอยางเพียงพอ และบริษทั ฯ มีการปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานการบัญชี กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวของ พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และเสนอคาตอบแทนผูสอบ บัญชีของบริษัทฯ เพื่อใหไดผูสอบบัญชีที่มีความเปนอิสระ สงเสริมความเปนอิสระและใหความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสม ของผูสอบบัญชี การควบคุมภายใน

สอบทานใหบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และ มีประสิทธิผล สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบบริหารความเสี่ยงและมาตรการ ในการจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม สอบทานกระบวนการภายในเกีย่ วกับการรับแจงเบาะแส และ การรับขอรองเรียน การตรวจสอบภายใน

สอบทานใหบริษทั ฯ มีระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล และกำกับใหหนวยงานตรวจสอบภายใน ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาแตงตัง้ โยกยาย และการพิจารณาความดีความชอบ ของหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาอนุมัติกฎบัตรหนวยงานตรวจสอบภายใน อนุมตั แิ ละประเมินแผนการตรวจสอบภายในประจำป เพือ่ ให แผนการตรวจสอบสอดคลองกับประเภทและระดับความเสีย่ ง ของบริษัทฯ สอบทานและพิจารณารวมกับผูตรวจสอบภายในเกี่ยวกับผล การตรวจสอบ ประสานความเข า ใจระหว า งคณะกรรมการตรวจสอบ ฝายจัดการ หนวยงานตรวจสอบภายใน และผูสอบบัญชีให อยูใ นแนวทางเดียวกัน รวมทัง้ พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ กับผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ใหมีความสัมพันธและเกื้อกูลกัน

การปฏิบัติตามกฎหมายและขอกำหนดที่เกี่ยวของ

สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนด ของตลาดหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาว สมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ การรายงาน

จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและเปดเผยไวใน รายงานประจำปของบริษัทฯ โดยแสดงรายการตามที่ตลาด หลักทรัพยฯ กำหนด และตองลงนามโดยประธานกรรมการ ตรวจสอบ รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบ ในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือ มีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทำ ซึ่งอาจมีผลกระทบ อยางมีนัยสำคัญตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ บริษทั ฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อบริษัทฯ ดำเนินการปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ไดแก 1) รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองที่สำคัญ ในระบบการควบคุมภายใน 3) การฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ กับธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการของบริษทั ฯ หรือฝายจัดการไมดำเนินการ ใหมีการปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่สมควร กรรมการตรวจ สอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานตอสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือ ตลาดหลักทรัพยฯ ได หนาที่อื่นๆ

คณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอคำปรึกษาจากที่ปรึกษา ภายนอกทีเ่ ปนอิสระไดในกรณีจำเปน โดยบริษทั ฯ เปนผูออก คาใชจาย ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และ เสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่ออนุมัติ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ดวย ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


1 0 3

นอกจากนี้ กำหนดใหคณะกรรมการตรวจสอบจัดใหมีการประชุม รวมกับผูสอบบัญชีของบริษัท โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุม อยางนอยปละ 1 ครั้ง ความรับผิดชอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการ บริษทั ฯ โดยตรง ตามหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ดรบั มอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความรับผิดชอบในการดำเนิน งานของบริษัทฯ ตอบุคคลภายนอก

คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

ประกอบดวย กรรมการบริษัทฯ อยางนอย 3 คน และอยางนอยหนึ่ง (1) คน ตองเปนกรรมการอิสระ โดยประธานคณะกรรมการสรรหา และกำหนดคาตอบแทน ควรเปนกรรมการอิสระ ทำหนาที่คัดเลือก บุคคลที่สมควรไดรับการเสนอรายชื่อเปนกรรมการใหม หรือสรรหา ประธานเจาหนาที่บริหาร โดยใหมีการกำหนดวิธีการสรรหาอยางมี หลักเกณฑ โปรงใส และพิจารณาแนวทางการกำหนดคาตอบแทนใหแก กรรมการ และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร โดยใหมกี ารกำหนดหลักเกณฑ หรือวิธีการกำหนดคาตอบแทนใหแกกรรมการที่เปนธรรมและสมเหตุ สมผล และเสนอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

รายชื่อคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ ชื่อกรรมการ

ตำแหนง

นายวศิน ธีรเวชญาณ

ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน (กรรมการอิสระ)

พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท

กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน (กรรมการอิสระ)

นายณัฐชาติ จารุจินดา

กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนมีวาระการดำรงตำแหนง คราวละ 3 ป หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหนงดวยเหตุการพน สภาพการเปนกรรมการบริษัทฯ หรือการลาออกหรือการถูกถอดถอน ทั้งนี้ กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนซึ่งพนจากตำแหนง ตามวาระอาจไดรบั แตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ฯ ใหดำรงตำแหนง ตอไปอีกได คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน มีขอบเขตอำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกำหนด ค า ตอบแทน ซึ่งได รั บความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท ฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้

พิจารณาแนวทาง / กำหนดคาตอบแทน ใหแกกรรมการและ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร โดยใหมกี ารกำหนดหลักเกณฑหรือวิธี การกำหนดคาตอบแทนทีเ่ ปนธรรมและสมเหตุสมผล เพือ่ เสนอ ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และ / หรือทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพื่อพิจารณาอนุมัติ ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ความรับผิดชอบ

คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนมีความรับผิดชอบตอ คณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง ตามหนาที่และความรับผิดชอบ ที่ไดรับมอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความ รับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทฯ ตอบุคคลภายนอก

ขอบเขตอำนาจหนาที่

คัดเลือกบุคคลที่สมควรไดรับการเสนอรายชื่อเปนกรรมการ รายใหม หรือสรรหาประธานเจาหนาที่บริหาร โดยใหมีการ กำหนดหลักเกณฑ หรือวิธีการสรรหาและคัดเลือกอยางมี หลักเกณฑและความโปรงใส เพือ่ เสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และ / หรือที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ

ประกอบดวยกรรมการบริษัทฯ อยางนอย 3 คน และอยางนอยหนึ่ง (1) คน ตองเปนกรรมการอิสระ โดยประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ควรเปนกรรมการอิสระ ทำหนาที่พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะ แนวนโยบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณ และจริยธรรมทางธุรกิจตามระบบ การกำกับดูแลกิจการที่ดีตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อกำหนด เปนระเบียบปฏิบัติขององคกร ทั้งนี้ เพื่อใหเปนแนวทางปฏิบัติ ขององคกรที่ไดมาตรฐานและเปนแนวทางที่ถูกตอง


1 0 4

รายชื่อคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ ชื่อกรรมการ

ตำแหนง

พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส (ลาออกตั้งแตวันที่ 11 มกราคม 2556)

ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ)

พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน (ดำรงตำแหนงประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556)

กรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ)

นายเกรียงไกร เธียรนุกุล

กรรมการกำกับดูแลกิจการ (กรรมการอิสระ)

นายบวร วงศสินอุดม

กรรมการกำกับดูแลกิจการ

นางทัศนาลักษณ สันติกุล ตำแหนง รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการองคกร ปฏิบัติหนาที่เลขานุการคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ความรับผิดชอบ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการมีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการ หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหนงดวยเหตุการพนสภาพการเปน บริษทั ฯ โดยตรงตามหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ดรบั มอบหมาย กรรมการบริษทั ฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทัง้ นี้ กรรมการ และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงมีความรับผิดชอบในการดำเนิน กำกับดูแลกิจการซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระ อาจไดรับแตงตั้งจาก งานของบริษัทฯ ตอบุคคลภายนอก คณะกรรมการบริษัทฯ ใหดำรงตำแหนงตอไปอีกได คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการมีขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบตาม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กฎบัตรคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ซึง่ ไดเสนอตอคณะกรรมการ ประกอบดวย กรรมการบริษทั ฯ อยางนอย 3 คน และอยางนอยหนึง่ (1) บริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้ คน ตองเปนกรรมการอิสระ ทำหนาทีก่ ำหนดนโยบาย และเสนอแนะแนว ทางในการบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของ ขอบเขตอำนาจหนาที่ บริษทั ฯ อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กำกับดูแลใหมรี ะบบหรือ พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะแนวนโยบาย / แนวปฏิบตั ิ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบตอธุรกิจของ เกี่ยวกับจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจตามระบบการ บริษทั ฯ อยางเหมาะสม รวมทัง้ การติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิ กำกับดูแลกิจการทีด่ ตี อ คณะกรรมการบริษทั ฯ และฝายจัดการ ตามกรอบการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ใหมนั่ ใจวามีการจัดการความเสีย่ ง เพือ่ กำหนดเปนระเบียบปฏิบตั ขิ ององคกร ทัง้ นี้ เพือ่ ใหเปนแนว อยางเพียงพอ และเหมาะสม ทางปฏิบตั ขิ ององคกรทีไ่ ดมาตรฐาน และเปนแนวทางทีถ่ กู ตอง กำกับดูแล ใหคำปรึกษา ประเมินผล และทบทวนนโยบาย และ การปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณ ธุรกิจ เพือ่ พัฒนาและยกระดับระบบการกำกับดูแลกิจการของ บริษัทฯ สูมาตรฐานสากล ปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังนี้ ชื่อกรรมการ

ตำแหนง

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ

กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ)

นายบวร วงศสินอุดม

กรรมการบริหารความเสี่ยง

นายอดิศร วิชยั ขัทคะ ตำแหนง ผูจ ดั การฝาย หนวยงานบริหารความเสีย่ งองคกรและระบบการควบคุมภายใน ปฏิบตั หิ นาทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง


1 0 5

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป หรือสิ้นสุดวาระการดำรงตำแหนงดวยเหตุการพนสภาพการเปน กรรมการบริษทั ฯ หรือการลาออก หรือการถูกถอดถอน ทัง้ นี้ กรรมการ บริหารความเสี่ยงซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระอาจไดรับแตงตั้งจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ใหดำรงตำแหนงตอไปอีกได คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงมีขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบตาม กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ดังนี้ ขอบเขตอำนาจหนาที่

กำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางใหการบริหารความ เสี่ยงตางๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยาง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กำหนดแผนจัดการความเสี่ยงและกระบวนการบริหารความ เสี่ยงทั่วทั้งองคกร ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหารความ เสี่ยงทั่วทั้งองคกร ปฏิบัติหนาที่อื่นใดก็ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ความรับผิดชอบ

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการ บริษทั ฯ โดยตรง ตามหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ดรบั มอบหมาย และคณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงตองมีความรับผิดชอบในการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ตอบุคคลภายนอก

กรรมการอิสระ ขอบังคับของบริษัทฯ กำหนดใหคณะกรรมการบริษัทฯ ตองประกอบ ดวยกรรมการอิสระจำนวนไมนอ ยกวาหนึง่ ในสาม (1/3) ของกรรมการ ทั้งคณะ แตตองมีไมนอยกวาสาม (3) คน ซึ่งเปนกรรมการที่มีความรู ความสามารถ และมีคุณสมบัติความเปนอิสระ ตามประกาศคณะ กรรมการกำกับตลาดทุนและตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำหนดให เขมกวาขอกำหนดของ ก.ล.ต. ในเรื่องสัดสวนการถือหุนรอยละ 0.5 (ก.ล.ต.กำหนดรอยละ 1) กรรมการอิสระ ตองสามารถใหความคิดเห็นในการประชุมไดอยางเปน อิสระ เขาประชุมโดยสม่ำเสมอ และตองเขาถึงขอมูลทางการเงินและ ทางธุรกิจอื่นอยางเพียงพอที่จะสามารถแสดงความเห็นไดอยางเปน อิสระ รักษาประโยชนของผูเกี่ยวของและดูแลไมใหเกิดความขัดแยง ทางผลประโยชนระหวางบริษัทฯ กับผูบริหาร กรรมการบริษัทฯ หรือ ผูถือหุนรายใหญหรือบริษัทอื่น ซึ่งมีกรรมการ ผูบริหาร หรือผูถือหุน

รายใหญกลุมเดียวกัน และนอกจากนี้ กรรมการอิสระตองรายงาน รับรองความเปนอิสระของตนเมือ่ ไดรบั การแตงตัง้ และเปนประจำทุกป เพือ่ เปดเผยในรายงานประจำป รวมทัง้ แจงใหบริษทั ฯ ทราบเมือ่ มีการ เปลี่ยนแปลง นิยามคุณสมบัติ “กรรมการอิสระ”

(1) ถื อ หุ น ไม เ กิ น ร อ ยละ 0.5 ของจำนวนหุ น ที่ มี สิ ท ธิ อ อก เสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท โดย นับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการอิสระดวย (2) ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจำ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับ เดียวกัน ผูถ อื หุน รายใหญ หรือของผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ทั้งในปจจุบันและกอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ ไมนอยกวา 2 ป (3) ไมมคี วามสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายในลักษณะทีเ่ ปนบิดามารดา คูส มรส พีน่ อ ง และบุตร รวมทัง้ คูส มรสของบุตรของกรรมการรายอืน่ ผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอ ใหเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย (4) ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยาง อิสระ รวมทัง้ ไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี ำนาจควบคุมของ ผูท มี่ คี วามสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั ทั้งในปจจุบันและกอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ ไมนอยกวา 2 ป โดยความสัมพันธทางธุรกิจดังกลาว รวมถึงการทำรายการทาง การคาทีก่ ระทำเปนปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชา อสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือ การใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือให กูยืม ค้ำประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวม ถึงพฤติการณอื่นทำนองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหบริษัทหรือ คูส ญั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ งชำระตออีกฝายหนึง่ ตัง้ แตรอ ยละ 3 ของสินทรัพยทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต 20 ลานบาท ขึ้นไป แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ตามวิธีการคำนวณมูลคา ของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกำกับ ตลาดทุน โดยใหนบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหวาง 1 ปกอ น วันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกันดวย


1 0 6

(5) ไมเปนผูส อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผู ถื อ หุ น รายใหญ หรื อ ผู มี อ ำนาจควบคุ ม ของบริ ษั ท และ ไมเปนผูถือหุนที่มีนัย (ถือหุนเกินกวารอยละ 10 ของจำนวน หุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั โดยนับรวมผูท เี่ กีย่ วของ ดวย) ผูม อี ำนาจควบคุม หรือหุน สวนของสำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู ทั้งในปจจุบันและกอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ ไมนอยกวา 2 ป (6) ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการ เปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงินซึ่งไดรับ คาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัทบริษัทใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญหรือผูม อี ำนาจควบคุม ของบริษทั และไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี ำนาจควบคุม หรือ หุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย ทั้งในปจจุบันและ กอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระไมนอยกวา 2 ป (7) ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของ กรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่ เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ

8) ไมประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขัน ทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั หรือบริษทั ยอย หรือไมเปนหุน สวน ทีม่ นี ยั ในหางหุน สวน หรือเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงานที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจำ หรือถือหุน เกินรอยละ 1 ของจำนวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อื่นซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการ แขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย (9) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปน อิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระของบริษัทแลว กรรมการอิสระอาจไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ใหตดั สินใจ ในการดำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (Collective Decision) ไดโดย ไมถอื วากรรมการอิสระนัน้ เปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กรรมการอิสระของบริษัทฯ มีจำนวน 9 ทาน ซึ่งมากกวา 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ตามเกณฑที่ ก.ล.ต. กำหนด ประกอบดวย ชื่อกรรมการอิสระ

ตำแหนง

1. พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน

ประธานกรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ

2. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ

3. นายวศิน ธีรเวชญาณ

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

4. นางรวีพร คูหิรัญ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

5. พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท

กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

6. นายอำนวย ปรีมนวงศ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

7. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ

กรรมการอิสระ / กรรมการบริหารความเสี่ยง

8. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล

กรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ

9. พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส*

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ

* ลาออกจากตำแหนงกรรมการบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 11 มกราคม 2556


1 0 7

ที่ประชุมกรรมการอิสระ ในการประชุมครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 ได เ ห็ น ชอบกฎบั ต รกรรมการอิ ส ระเพื่ อ กำหนด องคประกอบ คุณสมบัติ บทบาท หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ อิสระใหชัดเจน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการอิสระมีความ ชัดเจน โปรงใส และเปนรูปธรรม สอดคลองกับหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อสรางความมั่นใจและความนาเชื่อถือตอผูถือหุนทุกราย ขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบ

กรรมการอิสระเปนบุคคลที่มีความเปนกลาง และมีหนาที่ดูแลผล ประโยชนของบริษัทฯ โดยรวม เพื่อใหผูถือหุนทุกรายไดรับ ผลประโยชนอยางทัดเทียมกัน โดยมีหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบตอ คณะกรรมการบริษัทฯ ตามกฎบัตรกรรมการอิสระ ดังตอไปนี้ พิจารณาใหขอเสนอแนะและความคิดเห็นตอคณะกรรมการ บริษัทฯ ในเรื่องที่สำคัญที่พึงปฏิบัติและเปนประโยชนตอ บริษัทฯ และผูถือหุนทุกราย กรรมการอิสระ สามารถขอคำปรึกษาจากทีป่ รึกษาภายนอก ทีเ่ ปนอิสระไดในกรณีจำเปน โดยบริษทั ฯ เปนผูอ อกคาใชจา ย สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอกำหนด/กฎเกณฑของ หนวยงานกำกับดูแลบริษทั จดทะเบียน ทีเ่ กีย่ วของกับกรรมการ อิสระ รวมถึงทบทวนนิยามกรรมการอิสระใหมคี วามเหมาะสม และครบถวนตามกฎหมาย ทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรกรรมการอิสระ เพื่อใหมีความ เหมาะสมและเปนปจจุบันอยูเสมอ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย โดย จะตองไมมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ

คณะจัดการ เพื่อใหการบริหารจัดการของบริษัทฯ สามารถดำเนินไปไดอยางมี ประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ไดจดั ใหมคี ณะจัดการ อันประกอบไปดวยผูบ ริหาร ระดับสูง ไดแก ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ ดั การใหญ และ รองกรรมการผูจัดการใหญ โดยใหมีหนาที่ในการกำหนดกลยุทธ พิจารณาและใหขอเสนอแนะในเรื่องเกี่ยวกับนโยบาย และทิศทาง การดำเนินงานของบริษัทฯ และการบริหารจัดการใหเปนไปตาม นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกำหนดไว

เลขานุการบริษัท พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 กำหนดใหคณะกรรมการบริษัทฯ ตองจัดใหมีเลขานุการบริษัท เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายในการจัดทำและเก็บรักษาเอกสาร สำคัญของบริษัท ไดแก ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม และ รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั และผูถ อื หุน รายงานประจำป และเก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร ดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุม ผูถ อื หุน นอกจากนี้ ยังมีหนาทีใ่ หคำแนะนำเกีย่ วกับขอกำหนดกฎเกณฑ ตางๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ควรรับทราบ เพือ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบริหารทำหนาที่อยางเปนประโยชนตอบริษัทฯ และจัดอบรม / ให ข อ มู ล ที่ จ ำเป น ต อ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ แ ก ก รรมการบริ ษั ท ที่ ไ ด รั บ แตงตัง้ ใหม รวมทัง้ ดูแลและประสานงานใหบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ขอกำหนด และมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และผูถือหุนอยาง ครบถวนและถูกตอง

ประธานเจาหนาที่บริหาร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 4/2555 เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2555 ไดมมี ติแตงตัง้ นายอนนต สิรแิ สงทักษิณ เปนประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 เปนตนไป ตามการพิจารณาเสนอแนะ ของคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน โดยนายอนนต สิริแสงทักษิณ เปนผูมีความรูความสามารถ และมีประสบการณ ในการดำเนินธุรกิจทั้งดานพลังงาน ปโตรเลียม ปโตรเคมี มีภาวะ ความเปนผูน ำและมีประสบการณในการเปนผูน ำองคกร ทัง้ นี้ ประธาน เจาหนาที่บริหาร ไดรับคาตอบแทนและผลประโยชนในฐานะเปน ผูบริหารสูงสุดของบริษัท ที่ปฏิบัติหนาที่ประธานเจาหนาที่บริหาร นอกเหนือจากที่ไดรับในฐานะเปนกรรมการ และมีอำนาจและหนาที่ บริหารกิจการของบริษัทตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณ ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ และเปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของ พนักงาน และเจาหนาที่ตางๆ ของบริษัทฯ

โดยนางวลัยพร บุษปะเวศ ผูจัดการฝาย หนวยงานกำกับองคกร และเลขานุการบริษัท ไดรับแตงตั้งใหทำหนาที่เลขานุการบริษัท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554


1 0 8

การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และคาตอบแทน ป 2555 ในป 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และกรรมการอิสระ มีการประชุมดังนี้ การประชุมคณะกรรมการในป 2555 รายชื่อกรรมการ

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานกรรมการ 2. พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ เตมียาเวส * กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ 3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ 4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน กรรมการ 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหาและกำหนด คาตอบแทน 6. นางรวีพร คูหิรัญ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 7. พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวัฒน กรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ 8. พล.อ.อ.สมชาย เธียรอนันท กรรมการอิสระ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน 9. นายอำนวย ปรีมนวงศ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ 10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ กรรมการอิสระ / กรรมการบริหารความเสี่ยง 11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล กรรมการอิสระ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ 12. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ / กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน 13. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ กรรมการ / ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง 14. นายบวร วงศสินอุดม กรรมการ / กรรมการกำกับดูแลกิจการ / กรรมการบริหารความเสี่ยง 15. นายอนนต สิริแสงทักษิณ ** กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ 16. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล *** กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ

กรรมการ บริษัทฯ รวม 12 ครั้ง

กรรมการ กรรมการสรรหา กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ ตรวจสอบ และกำหนดคาตอบแทน กำกับดูแลกิจการ บริหารความเสี่ยง รวม 1 ครั้ง รวม 8 ครั้ง รวม 4 ครั้ง รวม 7 ครั้ง รวม 6 ครั้ง

12/12 11/12

-/1

10/12

1/1

7/7 8/8

12/12 10/12

1/1

12/12

1/1

10/12

1/1

12/12

1/1

12/12

1/1

12/12

1/1

11/12

1/1

11/12

4/4

8/8 6/7 4/4 8/8 6/6 7/7 4/4

12/12 12/12 8/8 4/4

หมายเหตุ : * พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ เตมียาเวส ลาออกจากตำแหนงกรรมการ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 ** นายอนนต สิริแสงทักษิณ ไดรับการแตงตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 ใหดำรงตำแหนงกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ แทนนายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 *** นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ลาออกจากตำแหนงกรรมการ ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555

6/6 7/7

6/6


1 0 9

คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ

ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2555 เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2555 ของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไดอนุมตั คิ า ตอบแทนกรรมการ บริษทั ฯ คาตอบแทนกรรมการเฉพาะเรือ่ ง และโบนัสกรรมการ สำหรับผลประกอบการป 2554 (ตัง้ แตวนั ที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554) ดังนี้ (1) คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ และกรรมการเฉพาะเรื่อง ตั้งแตวันที่ 2 เมษายน 2555 ดังนี้ ประเภทคาตอบแทน

1. คาตอบแทนกรรมการบริษัท • คาตอบแทนรายเดือน • คาเบี้ยประชุม

อัตราคาตอบแทน

คาตอบแทนรายเดือน • ประธานกรรมการ • กรรมการ

60,000 บาท / เดือน 50,000 บาท / เดือน

คาเบี้ยประชุม • ไมมี 2. คาตอบแทนกรรมการเฉพาะเรื่อง • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน • กรรมการกำกับดูแลกิจการ • กรรมการบริหารความเสี่ยง

คาเบี้ยประชุมรายครั้งเมื่อเขารวมประชุม - ประธานกรรมการ 50,000 บาท / ครั้งการประชุม - กรรมการ 40,000 บาท / ครั้งการประชุม

(2) โบนัสกรรมการสำหรับผลการดำเนินงานป 2554 (19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554) โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ไดพิจารณาเสนอ จายโบนัสกรรมการทั้งคณะใหสะทอนและเชื่อมโยงกับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และอยูในเกณฑที่ใกลเคียงกับบริษัทอุตสาหกรรม เดียวกัน ในวงเงิน 6.34 ลานบาท คิดเปนรอยละ 0.30 ของกำไรสุทธิ สำหรับงวดตั้งแตวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ภายหลังการควบบริษัท ซึ่งที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2555 ไดมีมติอนุมัติโบนัสกรรมการตามเสนอ โดยคำนวณตามระยะเวลา ที่ดำรงตำแหนงในป 2554 และประธานกรรมการไดรับสูงกวากรรมการรอยละ 25


1

1

0

คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ที่จายในป 2555 รายชื่อกรรมการ

คาตอบแทน รายเดือน กรรมการ บริษัทฯ (บาท)

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ

720,000

-

-

-

-

528,571.47 1,248,571.47

2. พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ เตมียาเวส (ลาออกตั้งแต 11 มกราคม 2556)

600,000

-

-

300,000

-

422,857.14 1,322,857.14

3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ

600,000 400,000

-

-

-

422,857.14 1,422,857.14

4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน

600,000

-

-

-

-

291,428.57

5. นายวศิน ธีรเวชญาณ

600,000

-

150,000

-

-

422,857.14 1,172,857.14

6. นางรวีพร คูหิรัญ

600,000 320,000

-

-

-

422,857.14 1,342,857.14

7. พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวัฒน

600,000

-

-

200,000

-

422,857.14 1,222,857.14

8. พล.อ.อ.สมชาย เธียรอนันท

600,000

-

120,000

-

-

422,857.14 1,142,857.14

9. นายอำนวย ปรีมนวงศ

600,000 320,000

-

-

-

422,857.14 1,302,857.14

10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ

600,000

-

-

-

11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล

600,000

-

-

240,000

-

422,857.14 1,262,857.14

12. นายณัฐชาติ จารุจินดา

600,000

-

120,000

-

-

422,857.14 1,142,857.14

13. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ

600,000

-

-

-

14. นายบวร วงศสินอุดม**

600,000

-

-

15. นายอนนต สิริแสงทักษิณ**/***

400,000

-

-

-

-

เบี้ยประชุมกรรมการเฉพาะเรื่อง (บาท) กรรมการ กรรมการ กรรมการสรรหา กรรมการ กำกับ บริหาร ตรวจสอบ คและกำหนด าตอบแทน ดูแลกิจการ ความเสี่ยง

โบนัสที่จาย * ในป 2555 (บาท)

รวม (บาท)

891,428.57

200,000 422,857.14 1,222,857.14

250,000 422,857.14 1,272,857.14

240,000 200,000 422,857.14 1,462,857.14 -

400,000.00

กรรมการที่ลาออกระหวางป 2554-2555 ที่ไดรับคาตอบแทน ในป 2555 1. นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ** / ****

200,000

-

-

-

-

422,857.14 622,857.14

2. นายจิตรพงษ กวางสุขสถิตย *****

-

-

-

-

-

22,857.14

รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : * ** *** **** *****

9,120,000 1,040,000 390,000 980,000 650,000

บริษัทฯ จายโบนัสสำหรับผลการดำเนินงานป 2554 ใหคณะกรรมการบริษัทฯ ในป 2555 แสดงคาตอบแทนเฉพาะตำแหนงกรรมการ ไมรวมคาตอบแทนในตำแหนงผูบริหาร นายอนนต สิริแสงทักษิณ เขารับตำแหนงกรรมการ ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ลาออกจากการเปนกรรมการ ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 นายจิตรพงษ กวางสุขสถิตย ลาออกจากการเปนกรรมการ ตั้งแตวันที่ 22 ตุลาคม 2554 และนายปรัชญา ภิญญาวัธน ไดรับแตงตั้งแทน ตั้งแตวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554

22,857.14

6,340,000 18,480,000


1

1

1

คาตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทยอยที่สำคัญ การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทยอยของกรรมการบริษัทฯ เปนไปเพื่อดูแลธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย ใหมีการดำเนินงานที่สอดคลอง ตามนโยบายธุรกิจของกลุม โดยคาตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ที่ดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทยอยที่สำคัญ ในป 2555 เปนดังนี้ บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด (PTTPE) (บริษัทถือหุนรอยละ 100) ชื่อ

1. นายอนนต สิริแสงทักษิณ 2. นายบวร วงศสินอุดม

ตำแหนง

คาตอบแทนรวม (บาท)

ประธานกรรมการ

144,516.12

กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ

182,419.35

กรรมการ

54,838.71

3. นายปรัชญา ภิญญาวัธน (ลาออกเมื่อ 24 มีนาคม 2555)

บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) (BPE) (บริษัทถือหุนรอยละ 100) ชื่อ

นายปรัชญา ภิญญาวัธน

ตำแหนง

คาตอบแทนรวม (บาท)

รองประธานกรรมการ

480,000

บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด (NPC S&E) (บริษัทถือหุนรอยละ 100) ชื่อ

นายบวร วงศสินอุดม

ตำแหนง

ประธานกรรมการ

คาตอบแทนรวม (บาท)

206,896.55

บริษัท ปตท. เคมิคอล อินเตอรเนชั่นแนล ไพรเวท จำกัด (CH Inter) (บริษัทถือหุนรอยละ 100) ชื่อ

ตำแหนง

คาตอบแทนรวม (ดอลลารสิงคโปร)

1. นายอนนต สิริแสงทักษิณ (ดำรงตำแหนงแทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ตั้งแตเดือนมิถุนายน 2555)

ประธานกรรมการ

15,000

กรรมการ

6,667

2. นายบวร วงศสินอุดม (ดำรงตำแหนงตั้งแต เดือนกันยายน 2555) บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด (PPCL) (บริษัทถือหุนรอยละ 60) ชื่อ

ตำแหนง

นายอนนต สิริแสงทักษิณ (ดำรงตำแหนงแทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2555)

ประธานกรรมการ

คาตอบแทนรวม (บาท)

180,000


1

1

2

บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำกัด (PTTUT) (บริษัทถือหุนรอยละ 60) ชื่อ

นายบวร วงศสินอุดม

ตำแหนง

กรรมการ

คาตอบแทนรวม (บาท)

200,000

หมายเหตุ : ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 PTTUT ไดควบรวมกับบริษัท ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จำกัด และเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด (GPSC)

บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด (PTTME) (บริษัทถือหุนรอยละ 60) ชื่อ

นายบวร วงศสินอุดม

ตำแหนง

ประธานกรรมการ

คาตอบแทนรวม (บาท)

240,000

บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด (TTT) (บริษัทถือหุนรอยละ 51) ชื่อ

นายบวร วงศสินอุดม

ตำแหนง

กรรมการ

คาตอบแทนรวม (บาท)

240,000

บริษัท เอเมอรี่ โอลีโอเคมิคอลส (Emery) (บริษัทยอยของบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 50) ชื่อ

ตำแหนง

คาตอบแทนรวม (ริงกิตมาเลเซีย)

นายอนนต สิริแสงทักษิณ (ดำรงตำแหนงแทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2555)

ประธานกรรมการ

66,320


1

1

การถือหุนของกรรมการบริษัทฯ ชื่อกรรมการ

ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนชำระแลว 45,061,129,360 บาท สัดสวนการถือหุน / จำนวนหุน

ณ 31 ธันวาคม 2555 ทุนชำระแลว 45,088,491,170 บาท สัดสวนการถือหุน / จำนวนหุน

เปลี่ยนแปลง เพิ่ม / (ลด) (หุน)

0.006017% 271,142

0.006013% 271,142

-

2. พล.ต.อ.เสรีพิศุทธ เตมียาเวส กรรมการอิสระ (ลาออกเมื่อ 11 มกราคม 2556)

-

-

-

3. นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ กรรมการอิสระ

-

-

-

0.006627% 298,645 (คูสมรส 12,953 หุน) -

0.004583% 206,645 (คูสมรส 12,953 หุน) -

6. นางรวีพร คูหิรัญ กรรมการอิสระ

-

-

-

7. พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวัฒน กรรมการอิสระ

-

-

-

8. พล.อ.อ.สมชาย เธียรอนันท กรรมการอิสระ

-

-

-

9. นายอำนวย ปรีมนวงศ กรรมการอิสระ

-

-

-

10. นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ กรรมการอิสระ

-

-

-

11. นายเกรียงไกร เธียรนุกุล กรรมการอิสระ

-

-

-

12. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ

0.000001% 54

0.000001% 54

-

13. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ กรรมการ

-

-

-

14. นายบวร วงศสินอุดม * กรรมการ

0.004968% 223,868

0.004965% 223,868

-

0.001686% 76,010 (คูสมรส 6,705 หุน)

0.001686% 76,027 (คูสมรส 6,705 หุน)

17

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานกรรมการ

4. นายปรัชญา ภิญญาวัธน กรรมการ 5. นายวศิน ธีรเวชญาณ กรรมการอิสระ

15. นายอนนต สิริแสงทักษิณ * กรรมการ และเลขานุการคณะกรรมการ

หมายเหตุ : * ไดใชสิทธิ ESOP Warrant PTTAR ครบถวนแลวเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555

(92,000) -

3


1

1

4

ผูบริหาร รายชื่อผูบริหารบริษัทฯ ตามนิยามของ ก.ล.ต. และการถือครองหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีดังตอไปนี้ ชื่อผูบริหาร

1. นายอนนต สิริแสงทักษิณ * ประธานเจาหนาที่บริหาร 2. นายบวร วงศสินอุดม * กรรมการผูจัดการใหญ 3. นายธเนศ เจริญทรัพย รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานขับเคลือ่ นยุทธศาสตรและความเปนเลิศ 4. นางพันธทิพ อึ๊งผาสุข รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานกลยุทธองคกร 5. นายปฏิภาณ สุคนธมาน รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการเงินและบัญชี 6. นายวริทธิ์ นามวงษ * รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานบริหารศักยภาพองคกร 7. นางทัศนาลักษณ สันติกุล รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการองคกร 8. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ 9. นายกัญจน ปทุมราช รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานวิศวกรรมและบำรุงรักษา 10. นายสุวิทย ทินนโชติ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑโอเลฟนส 11. นายณรงค บัณฑิตกมล รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑอะโรเมติกส 12. นายพรเทพ บุตรนิพันธ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมผลิตภัณฑปโตรเลียมและสาธารณูปการ 13. นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร 14. นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซด 15. นายวันชัย ธาดาดลทิพย * รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑเคมีเพื่อสิ่งแวดลอม 16. นายคงกระพัน อินทรแจง รองกรรมการผูจัดการใหญ สังกัดประธานเจาหนาที่บริหาร

ณ 31 ธันวาคม 2554 ทุนชำระแลว 45,061,129,360 บาท สัดสวนการถือหุน / จำนวนหุน

ณ 31 ธันวาคม 2555 ทุนชำระแลว 45,088,491,170 บาท สัดสวนการถือหุน / จำนวนหุน

0.001686% 76,010 (คูสมรส 6,705 หุน) 0.004968% 223,868 0.001951% 87,917

0.001686% 76,027 (คูสมรส 6,705 หุน) 0.004965% 223,868 0.001994% 87,917

0.003515% 158,389 (คูสมรส 25,065 หุน) -

0.003512% 158,389 -

(25,065) -

0.001523% 68,639

0.002416% 108,939

40,300

0.000002% 119

0.000002% 119

-

0.000172% 7,772

-

0.002543% 114,629

0.002542% 114,629

0.002132% 96,086 (คูสมรส 24,313 หุน) 0.000689% 31,084 (คูสมรส 31,084 หุน) 0.002543% 114,629

0.002131% 96,086 (คูสมรส 24,313 หุน) 0.000689% 31,084 (คูสมรส 31,084 หุน) 0.002542% 114,629

0.000377% 16,991 (คูสมรส 23,139 หุน) 0.000002% 97

0.000376% 16,991 (คูสมรส 25,000 หุน) 0.000002% 97

0.002125% 95,763

0.002122% 95,716

(47)

-

-

-

หมายเหตุ : *ไดใชสิทธิ ESOP Warrant PTTAR ครบถวนแลวเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555

เปลี่ยนแปลง เพิ่ม / (ลด) (หุน)

17 -

(7,772) -

1,861 -


1

1

5

การเปลี่ยนแปลงผูบริหาร ในป 2555 1) นายอนนต สิริแสงทักษิณ ดำรงตำแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 เปนตนไป ตามมติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555 2) นายธเนศ เจริญทรัพย ดำรงตำแหนง รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานขับเคลือ่ นยุทธศาสตรและความเปนเลิศ ตัง้ แตวนั ที่ 1 ธันวาคม 2555 เปนตนไป ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2555 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 3) นายคงกระพัน อินทรแจง ดำรงตำแหนง รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สังกัดประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ตัง้ แตวนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2555 เปนตนไป ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2555 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 ทั้งนี้ ผูบริหารบริษัทฯ ตั้งแตระดับรองกรรมการผูจัดการใหญ ขึ้นไป ถึงประธานเจาหนาที่บริหาร จะไดรับการแตงตั้งโดยใชมติเสียงขางมากของ คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยผูบ ริหารจำนวน 3 ทาน คือ นายอนนต สิรแิ สงทักษิณ นายบวร วงศสนิ อุดม และนางศรีวรรณ เอีย่ มรุง โรจน เปนผูบ ริหาร ระดับสูง ที่ บมจ. ปตท. มอบหมายใหมาปฏิบัติงานในบริษัทฯ คาตอบแทนรวมของผูบริหาร สำหรับป 2555 คาตอบแทนป 2555

จำนวนราย

จำนวนเงิน (บาท)

เงินเดือนรวม

15

51,788,900.00

เงินรางวัลพิเศษ

15

25,671,913.50

เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

15

9,478.231.76

รวม

15

86,939,045.26


1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ลำดับ

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ เตมียาเวส นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ นายปรัชญา ภิญญาวัธน นายวศิน ธีรเวชญาณ นางรวีพร คูหิรัญ พล.ต.อ. สมบัติ อมรวิวัฒน พล.อ.อ. สมชาย เธียรอนันท นายอำนวย ปรีมนวงศ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล นายณัฐชาติ จารุจินดา นายสุกฤตย สุรบถโสภณ นายบวร วงศสินอุดม นายอนนต สิริแสงทักษิณ

รายชื่อ PTTPE

PTTGC

x / / / / / / / / / / / / / /,// /,// /,// X

NPC S&E

X /

CH INTER PTTGC

/ X

PPCL

AP ROH

/ X X

PTTME

X

TTT

/

Emery

X

PTT

Vencorex

หมายเหตุ :

// // // / //

PTTEP

/

BCP

/ = กรรมการ

/

X,//

/

// = ผูบริหาร

/

/

TLB

/

บริษัทรวม / บริษัทที่เกี่ยวของ

IRPC

(Netherlands)

BPE

บริษัทยอย

TOP

กรรมการที่ดำรงตำแหนงในบริษัทยอย / บริษัทรวม / บริษัทที่เกี่ยวของ

GPSC

PTTAC PTT

/

/

SPRC

International

x = ประธานกรรมการ

X

1

VNT

1 6


AP ROH

Natureworks

MHPC

API

เงินลงทุนอื่น

บริษัทรวม / บริษัทที่เกี่ยวของ

/

/

/

//

// //

/ = กรรมการ

/ / / /,// หมายเหตุ :

/

Myriant Corporation บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส จำกัด บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จำกัด บริษัท พีทีที โพลีเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิรน ฟลูอิด ทรานสปอรต จำกัด บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จำกัด บริษัท แอดวานซ ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จำกัด

/

/

/ /

X /

= Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Private Limited = Mehr Petrochemical Company Limited

= = = = = = = =

/ /

/

X / / / / /

X /

บริษัทที่เกี่ยวของ

BCP IRPC TOP TLB PTTAC PTT International HMC SPRC

PTT PTTEP

/ /

// = ผูบริหาร

/ /

/

/

X

/ /

x = ประธานกรรมการ

/

X /

Advanced Biochemical

= บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) = บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) = บริษัท บางจากปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) = บริษัท ไออารพีซี จำกัด (มหาชน) = บริษัท ไทยออยล จำกัด (มหาชน) = บริษัท ไทยลูบเบส จำกัด (มหาชน) = บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำกัด = บริษัท พีทีที อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด = บริษัท เฮ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด = บริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จำกัด

/

/

/ /

/

1

CH Inter PTTGC (Netherlands) PTTGC (USA)

TTT TEX Emery Vencorex

PPCL PTTME

= PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited = บริษัท พีทีที ฟนอล จำกัด = บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ แอนด เอนจิเนียริง จำกัด = บริษัท ไทยแทงคเทอรมินัล จำกัด = บริษัท ไทยอีทอกซีเลท จำกัด = Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd = Vencorex Holding (ชื่อเดิม Perstorp Holding France SAS) = Natureworks LLC

/

/ /

/,//

/ X / / / / / / / /

Myriant PTTICT GPSC PTTPM VNT EFT PTTES Advanced Biochemical

บริษัท พีทีที โพลีเอทิลีน จำกัด บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยสไตรีนิคส จำกัด บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จำกัด บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำกัด บริษัท ไทยแฟตตี้แอลกอฮอลส จำกัด บริษัท ไบโอ ครีเอชั่น จำกัด บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรวิส จำกัด = PTT Chemical International Private Limited = PTTGC International (Netherlands) B.V. = PTTGC International (USA) Inc.

/

X X / / / / / / / / /

PTTPE BPE TSCL TOCGC TOL TFA Bio Creation NPC S&E

= = = = = = = =

PTTGC PTTPE BPE TSCL TOCGC TOL TFA

/,// X /,// /,// // X // / / // / / / / // / // / / / // / // / // / / // // // / / X // X,// // X,// X,// //

Bio Creation

บริษัทรวม

นายอนนต สิริแสงทักษิณ นายบวร วงศสินอุดม นายธเนศ เจริญทรัพย นางพันธทิพ อึ๊งผาสุข นายปฏิภาณ สุคนธมาน นายวริทธิ์ นามวงษ นางทัศนาลักษณ สันติกุล นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน นายกัญจน ปทุมราช นายสุวิทย ทินนโชติ นายณรงค บัณฑิตกมล นายพรเทพ บุตรนิพันธ นายอัฒฑวุฒิ หิรัญบูรณะ นายเสริมศักดิ์ ศรียาภัย นายวันชัย ธาดาดลทิพย นายคงกระพัน อินทรแจง

รายชื่อ

NPC S&E CH INTER

บริษัทยอย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ลำดับ

PTTGC (USA) PTTGC (Netherlands)

บริษัทยอย AP ROH PPCL PTTME TTT TEX Emery Vencorex Natureworks PTT HMC GPSC Myriant PTTICT PTTPM VNT EFT PTTES API MHPC

ผูบริหารที่ดำรงตำแหนงในบริษัทยอย / บริษัทรวม / บริษัทที่เกี่ยวของ

1 7



S U STA I N A B L E D E V E LO P M E N T


1 2 0

การพัฒนาอยางยั่งยืน พันธกิจ “การพัฒนาอยางยั่งยืน” ในฐานะผูนำดานอุตสาหกรรมปโตรเคมีและเคมีภัณฑ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) มุงมั่นที่จะสรางการเจริญเติบโต อยางยัง่ ยืนควบคูก บั ความรับผิดชอบตอสังคม ดวยพันธกิจ ‘การพัฒนา สังคมที่มีความสุขอยางยั่งยืน’ Shaping the Social Sustainability โดยตระหนักวา การมีชีวิตที่ดี สุขภาพดี มีความปลอดภัย มีความ สะดวกสบาย ตองควบคูกับการชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และ ตอบสนองความตองการของตลาดเกิดใหม นอกเหนือจากนีย้ งั ชวยเพิม่ มูลคาวัตถุดิบในประเทศ พรอมๆ กับการบริหารทรัพยากรประเทศ อยางคุมคา มุงสรางประโยชนสูงสุดตอสังคม เพื่อคนไทยทุกคน พันธกิจขางตน กำหนดขึน้ โดย คณะกรรมการกำกับดูแลการดำเนินงาน ดานความรับผิดชอบตอสังคม กลุมบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC Group’s Corporate Social Responsibility Committee) เพือ่ กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานดานการพัฒนาอยางยัง่ ยืน ที่มีจุดมุงหมายเปนองคกรตนแบบดานการพัฒนาอยางยั่งยืน

กรอบการดำเนินงาน การกำหนดแนวทางปฏิบัติดานการพัฒนาอยางยั่งยืนของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล ไดยดึ ถือกรอบการดำเนินงานดานการพัฒนาอยาง ยั่งยืนในระดับสากล โดยปรับใหเหมาะสมกับลักษณะอุตสาหกรรม ปรับเปลีย่ นแผนงานใหสอดคลองกับสภาวการณทเี่ ปลีย่ นแปลงอยูเ สมอ รวมถึงความคาดหวังของผูม สี ว นไดเสีย ซึง่ พิจารณาลำดับความสำคัญ จากความรุนแรงของผลกระทบ และความสนใจของผูมีสวนไดเสีย โดยมีปจ จัยสำคัญ คือ การรักษาสมดุลดานความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม และการปกปอง ดูแล รักษาสิ่งแวดลอม เพื่อให อุตสาหกรรมและชุมชนอยูรวมกันไดอยางยั่งยืนและมีความสุข

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเติบโตของประชากรและเศรษฐกิจผลักดันอุปสงคใหเพิ่มมากขึ้น อันเปนปจจัยสำคัญทีท่ ำใหความตองการสินคาพืน้ ฐานเพือ่ การดำรงชีวติ และความตองการยกระดับคุณภาพชีวติ สูงขึน้ ในฐานะที่ พีทที ี โกลบอล เคมิคอล ซึง่ เปนผูผ ลิตปโตรเคมี และเคมีภณั ฑชน้ั นำ จึงตระหนักถึงบทบาท ในการมีสวนชวยพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง ในดานตางๆ ไดแก

การผลิตผลิตภัณฑทเ่ี อือ้ ตอสิง่ แวดลอม การลดการพึง่ พาเชือ้ เพลิงฟอสซิล วัสดุทผี่ ลิตจากแหลงทีส่ ามารถนำกลับมาใชใหม และกระบวนการผลิต ทีม่ คี วามปลอดภัย รักษาสภาพแวดลอม ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ เปนตน เพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจโดยรวม อันนำไปสูประโยชนตอสังคมอยางยั่งยืน นอกจากนี้ พีทีที โกลบอล เคมิคอล ยังใหความสำคัญตอการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ที่เราเขาไปดำเนินธุรกิจ ดวยตระหนักถึง บทบาทความรับผิดชอบตอชุมชนที่อยูอาศัย พรอมพัฒนาศักยภาพ ของชุมชนใหเทียบเทาระดับสากล ภายใตเปาหมายการพัฒนาแหง สหั ส วรรษขององค ก ารสหประชาชาติ หรื อ United Nations Millennium Development Goals (MDGs) ซึ่งบริษัทฯ ไดปฏิบัติ ตามแนวทาง United Nations Global Compact Advanced Level ที่ระดับสูงสุด การปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ISO26000 และการ จัดทำรายงานการพัฒนาอยางยั่งยืนที่ระดับสูงสุด Global Reporting Initiatives A+ เปนตน สงผลให พีทีที โกลบอล เคมิคอล ไดรับ การประเมินและจัดอันดับในดัชนีวัดประสิทธิผลการดำเนินธุรกิจตาม แนวทางการพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น ดาวน โ จนส หรื อ Dow Jones Sustainability Indexes ที่ระดับ Second Quartile Performance ของกลุมธุรกิจเคมีภัณฑ

การพัฒนาสังคม พีทที ี โกลบอล เคมิคอล มีนโยบายใหความสำคัญตอการพัฒนาสังคม และชุมชนอยางตอเนื่อง ผานหลากหลายโครงการ พรอมทั้งเล็งเห็น ความสำคัญของการสรางพันธมิตรเปนแนวรวม เพือ่ ขยายโอกาสในการ มี ส ว นร ว มดำเนิ น กิ จ กรรมที่ ดี สู สั ง คมจากทุ ก กลุ ม เป า หมายของ ผูมีสวนไดเสียขององคกร อาทิ นักลงทุน ผูถือหุน ลูกคา และคูคา ดวยพิจารณาวาความรวมมือกอใหเกิดศักยภาพและผลอันยิ่งใหญ ซึ่งจะเปนประโยชนตอสังคม ภารกิจสำคัญของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล ไดใหความสำคัญ ในหลายดาน อาทิ การสนับสนุนโครงการอันเปนประโยชนทั้งดาน สิ่งแวดลอม การพัฒนาศักยภาพเยาวชน การพัฒนาการศึกษา การส ง เสริ ม สาธารณสุ ข และสุ ข อนามั ย และการช ว ยเหลื อ สาธารณประโยชนตางๆ


1

โครงการครูอาสา โครงการแนะแนวการศึกษา โครงการพานอง เขามหาวิทยาลัย โครงการการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม โครงการแดนองผูมีความหวัง โครงการทอดผาปาสามัคคีเพื่อ สนั บ สนุ น การศึ ก ษาหลั ก สู ต รพระปริ ยั ติ ธ รรมของสามเณร วัดมงคลสามัคคีธัมโมทัย (เขาสาป) ดานการสาธารณสุขและสุขอนามัย

โครงการหนวยแพทยเคลื่อนที่ โครงการตูยาโรงเรียน โครงการ สนับสนุนเม็ดพลาสติกสำหรับเตานมเทียมในผูปวยมะเร็งเตานม และคลีนิคปนน้ำใจเพื่อชุมชน ดานการสรางและสงเสริมอาชีพชุมชน

โครงการสรางอาชีพและรายไดทยี่ งั่ ยืน หรือ วิสาหกิจใหกบั ชุมชน ผลิตผลิตภัณฑสบู Luffala ดานสิ่งแวดลอม

โครงการฟน ปา รักษนำ้ เขาหวยมะหาด รวมกับชุมชนชากลูกหญา จ.ระยอง และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โครงการกระสอบ พลาสติกแบบมีปก เพือ่ ลดผลกระทบจากภัยดินถลมรวมกับมูลนิธิ ชัยพัฒนา โครงการบริหารจัดการน้ำในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง รวมกับ สารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร องคการมหาชน ดานการชวยเหลือสาธารณประโยชน

การพัฒนาอยางยั่งยืนของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล มีการ ปรั บ ปรุ ง อยา งต อเนื่อง และไมมีที่สิ้ นสุด เพื่ อยกมาตรฐาน ชีวิตความเปนอยูของประชาชน ซึ่งสะทอนถึงการดำเนินธุรกิจ เพือ่ ความสำเร็จในระยะยาว เคียงคูก บั การอยูร ว มกันอยางสมดุล และสรางสรรค เพื่อสังคมที่ยั่งยืน

โครงการรวมพลคนเกิดเดือนตางๆ โครงการแดนอ งเพือ่ ความหวัง โครงการสงเสริมวัฒนธรรมและประเพณีวัดเขาสาป โครงการ กระสอบพลาสติกแบบมีปกลดผลกระทบดินถลมรวมกับมูลนิธิ ชัยพัฒนา โครงการสงเสริมวัฒนธรรมและประเพณี โครงการ ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติตามธรรมชาติตางๆ เชน อุทกภัย ทุพภิขภัย วาตภัย เปนตน

a

Righ

Right s

RepoCr SR ting

STAKEH OL D ER

ENGAGEM ENT t Produc ship Steward

การตอบสนองความตองการพลังงาน และชีวติ ความเปนอยูท เี่ พิม่ สูงขึน้ ของโลก ภายใตทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัด พีทีที โกลบอล เคมิคอล มุ ง มั่ น ในการเติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น ควบคู กั บ การลดผลกระทบต อ สิง่ แวดลอม โดยบริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน ขอกำหนด และกฎหมายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล อ ม อยางเขมงวด รวมกับการดำเนินการตามระบบการจัดการสิง่ แวดลอม ตามมาตรฐาน ISO 14001

o v e r n a nc n G e L ea n de Labo Humats r

Or

ga

n

iz

o ti

Su Manpply Chai agem n e nt

l Soctima ent t&y s Inve mmuni ent C o elo p m Dev

p hi ental rs viroangmement n E Man

การปกปอง ดูแล รักษาสิ่งแวดลอม

1

บริษัทฯ มีวิสัยทัศนในการพัฒนาการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน จึงไดจัดทำแผนกลยุทธการจัดการดานสิ่งแวดลอมเชิงรุก (Proactive Environmental Management) โดย เนนการเพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต พัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางคุมคา ควบคูกับการ จัดการกาซเรือนกระจก การจัดการคุณภาพอากาศ การจัดการ น้ำ และการจัดการของเสียอุตสาหกรรม เพื่อลดผลกระทบ ที่อาจจะเกิดตอสิ่งแวดลอมอยางมีนัยสำคัญ วิจัยและพัฒนาสินคา และกระบวนการที่สงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมนอยกวา Life Cycle Management ทำให ผลิตภัณฑที่ไดมีความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมยิ่งขึ้น สรางจิตสำนึก และปรับเปลีย่ นพฤติกรรมเรือ่ งการมีจติ สำนึก ทางดานสิง่ แวดลอม เชน การประหยัดพลังงาน การใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพ แกพนักงานทั่วทั้งองคกร โครงการฟนฟู รักษาสภาพแวดลอมและทรัพยากร และ บูรณาการระบบนิเวศทัง้ ระบบเพือ่ ความยัง่ ยืน โครงการฟน ปา รักษน้ำ เขาหวยมะหาด ซึ่งโครงการดังกลาวไดรับรางวัล เกียรติยศระดับโลก “Platts Global Energy Awards 2012”

Fair O Prac perating tic es

ดานการศึกษา

2


1 2 2

การดำเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ดวยการดำเนินงานที่สอดคลองกับนโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานสากล และบนพื้นฐานของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนยึดมั่นใน การปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน ขอกำหนด ขอบังคับ กฎหมายดานสิง่ แวดลอม และกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของอยางเครงครัด สงผลใหบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไดรับการยกยองและไดรับรางวัล เกียรติยศตางๆ ซึง่ เปนเครือ่ งยืนยันถึงความมุง มัน่ ในการดำเนินธุรกิจ ที่มุงสูความเปนเลิศนับแตอดีตมาจนปจจุบัน

นโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มุงมั่นในการดำเนินธุรกิจ เปนผูนำในอุตสาหกรรมเคมี เปน องคกรแหงนวัตกรรม ใหความสำคัญกับความรับผิดชอบตอสังคมและชุมชน รวมถึงการพัฒนาระบบคุณภาพ ความมัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง โดยกำหนดเปนนโยบายดังนี้ 1. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ดานความมัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิง่ แวดลอม รวมถึงมาตรฐาน และขอกำหนดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ 2. บริหารคุณภาพทัว่ ทัง้ องคกร ดวยเครือ่ งมือการบริหารคุณภาพ การจัดการความรู และการเพิ่มผลผลิต เพื่อตอบสนองความ พึงพอใจของลูกคา และพัฒนานวัตกรรมทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม 3. บริหารความเสีย่ ง เพือ่ ปองกันอันตราย ความเจ็บปวยจากการ ทำงาน ความสูญเสียจากอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ ความเสียหาย ตอทรัพยสิน และสรางวัฒนธรรมความปลอดภัย B-CAREs เพื่อดูแลหวงใยความปลอดภัยของทุกคน 4. ตระหนั ก ถึ ง ภั ย คุ ก คามด า นความมั่ น คงเพื่ อ ปกป อ งชี วิ ต ทรัพยสินและขอมูลขององคกร 5. ดูแลในเรื่องอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงาน ที่ดี และสงเสริมใหทุกคนมีสุขภาพดี และมีความสุขในการ ทำงาน 6. ประเมินและลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม โดยเนนการปรับปรุง และป อ งกั น ที่ แ หล ง กำเนิ ด รวมทั้ ง ใช ท รั พ ยากรอย า ง มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผูบริหารทุกระดับในบริษัทฯ จะรับผิดชอบและเปนแบบอยาง ในการพัฒนาและธำรงไวซึ่งระบบการจัดการคุณภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดลอม โดยสนับสนุนทรัพยากรอยางเพียงพอ เพื่อใหพนักงานทุกคนมีสวนรวมในการนำนโยบายไปปฏิบัติ รวมถึง สื่อสารใหผูเกี่ยวของทราบผลการดำเนินการดาน QSHE อยางทั่วถึง

สรุปผลการดำเนินงานดานการบริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่งแวดลอม ในป 2555 ไดดังนี้ 1. การบริหารจัดการดานความปลอดภัย

บริษทั ฯ ใหความสำคัญในเรือ่ งความปลอดภัยของทัง้ พนักงาน และผูรับเหมา โดยไดมีการสรางความตระหนักใหพนักงาน และผูร บั เหมาดูแลความปลอดภัยของตนเองและเพือ่ นรวมงาน ภายใตชื่อวัฒนธรรมความปลอดภัย B-CAREs: “พฤติกรรม ปลอดภัย หวงใยเอื้ออาทร หยุดกอนถาไมปลอดภัย” โดยมี จุดมุงหมายเพื่อไปสูการเปนองคกรที่ปราศจากอุบัติเหตุและ การบาดเจ็บ ควบคูไปกับการดำเนินงานระบบการจัดการ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม การจัดการ ความปลอดภัยกระบวนการผลิต และการจัดการความปลอดภัย ผู รั บ เหมา โดยโรงงานในกลุ ม บริ ษั ท ได รั บ รางวั ล สถาน ประกอบกิจการดีเดนดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทำงาน ระดับประเทศเปนปที่ 15 ติดตอกัน (2541-2555) และยังไดรับรางวัลอุตสาหกรรมดีเดนดานการ บริหารความปลอดภัยจากกระทรวงอุตสาหกรรม (Prime Minister Award) ประจำป 2555 แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานดานความปลอดภัยของบริษัทฯ ผูบริหารระดับสูงใหความสำคัญกับการสรางความตระหนัก ในความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดลอม จึงมีนโยบาย ให จั ด งานวั น ส ง เสริ ม ความตระหนั ก ด า นความปลอดภั ย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม หรือ SHE Day อยางตอเนื่อง เปนประจำทุกป โดยจะมีการใหโอวาทเรื่องความสำคัญของ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม จากประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ ดั การใหญ การมอบรางวัล ดีเดนใหแกพนักงานที่เปนตัวอยางที่ดีในการทำงานอยาง ปลอดภัยและใสใจในสิง่ แวดลอม การประกวดนิทรรศการจาก สายงานตางๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู สรางความภาคภูมิใจ ใหกับการมีสวนรวมในความสำเร็จของผลประกอบการดาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดลอม ทีใ่ นป 2555 นัน้ ผลประกอบการดานความปลอดภัยดีติดระดับ Top 25% (First Quartile) เมื่อเทียบกับระดับโลก การจัดการดานความปลอดภัยในกระบวนการผลิต (Process Safety Management) ก็เปนสิง่ สำคัญ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาอุปกรณ ในกระบวนการผลิตไดรับการออกแบบ และประเมินความ


1 2 3

ปลอดภัย (Process Hazard Analysis) ตั้งแตกอนเริ่มกอสราง เพือ่ สรางความมัน่ ใจใหกบั ชุมชนโดยรอบ บริษทั ฯ มีการบริหาร ความปลอดภั ย ของผู รั บ เหมา (Contractor Safety Management) ตั้งแตการคัดเลือกผูรับเหมาที่มีทักษะดาน การทำงานและดานความปลอดภัย มีการสอบและฝกอบรม ดานความปลอดภัยใหพนักงานและผูร บั เหมาอยางสม่ำเสมอ ถาหากมีการดัดแปลงในกระบวนการผลิตจะตองทำการ จัดการศึกษาและประเมินความเสี่ยงดานความปลอดภัย (HAZOP) และตองมีกระบวนการจัดการความเปลี่ยนแปลง อยางเปนระบบ (Management of Change) เพื่อใหแนใจ กอนลงมือทำการดัดแปลง หรือกอสราง และกอนเริม่ เดินเครือ่ ง อุ ป กรณ ใ นกระบวนการผลิ ต จะต อ งมี ก ารตรวจสอบและ ทบทวนความปลอดภัย (Pre Start Up and Safety Review) โดยผูชำนาญการดานวิศวกรรมเสียกอน จึงจะไดรับอนุญาต ใหเริม่ ดำเนินการได รวมถึงหากมีการทำงานในพืน้ ทีก่ ระบวน การผลิ ต จะต อ งได รั บ อนุ ญ าตจากเจ า ของพื้ น ที่ ท ำงาน (Permit to Work) และทำการสื่อสารตามมาตรการดาน ความปลอดภัยกอนเริ่มลงมือทำงาน บริษทั ฯ ไดเขารวมกับกลุม โรงงานอุตสาหกรรมในมาบตาพุด จัดการซอมแผนฉุกเฉินระดับจังหวัด และการซอมอพยพ ของชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมอารไอแอล นอกจากนีย้ งั ไดมอบหมายใหพนักงานของบริษัทฯ ที่มีความเชี่ยวชาญ ในการระงับ และโตตอบภาวะฉุกเฉิน เขารวมกับผูว า ราชการ จังหวัดระยอง ปองกันภัยจังหวัดระยอง เทศบาลเมือง มาบตาพุด และกลุมโรงงานอุตสาหกรรมในมาบตาพุด เพื่อชวยชุมชนจัดทำแผนฉุกเฉิน และทำการซอมแผนใน กรณีที่เกิดอุบัติเหตุในโรงงานและสงผลกระทบถึงชุมชน ความสามารถในการเก็บกูคราบน้ำมันในทะเลก็เปนสิ่งที่ สำคัญโดยบริษัทฯ ไดเขารวมการซอม Rayong Oil Spill Emergency Response รวมกับสมาคมอนุรกั ษสภาพแวดลอม ของกลุมอุตสาหกรรมน้ำมัน (IESG) และหนวยราชการ ทีเ่ กีย่ วของ เชน กรมเจาทาและกองทัพเรือ เพือ่ ทดสอบความ พรอมของแผนฉุกเฉินการดำเนินการในการขจัดคราบน้ำมัน และระบบการสื่อสารแผนการดำเนินการในการขจัดคราบ น้ำมันของบริษัทฯ และกลุมคณะอนุกรรมการงานปองกัน และแกไขการรัว่ ไหลของน้ำมันในเขตพืน้ ทีร่ ะยองใหกบั ชุมชน ที่ อ ยู ใ นพื้ น ที่ ใ กล เ คี ย งได รั บ ทราบ และบริ ษั ท ฯ ยั ง เป น หนึ่งในสมาชิกของกลุมชวยเหลือในภาวะฉุกเฉินของกลุม โรงงานอุตสาหกรรม (Emergency Mutual Aid Group: EMAG) ซึ่งมีสวนรวมในการรางแผนปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

ประจำจังหวัดระยอง และแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน กลุมนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยองดวย 2. การบริหารจัดการดานอาชีวอนามัย

บริ ษั ท ฯ มี ค วามห ว งใยพนั ก งาน โดยเฉพาะกลุ ม ที่ เ ป น ผูปฏิบัติการในกระบวนการผลิต จึงมีการทบทวนโปรแกรม การตรวจสุขภาพพนักงาน โดยเฉพาะพนักงานกลุมที่มี โอกาสไดรับและสัมผัสสารอันตราย เพื่อเปนการเฝาระวัง สุขภาพพนักงานเชิงรุก รวมทั้งมีมาตรการตรวจวัดทาง สุขศาสตรอุตสาหกรรมของพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดแก ความรอน แสง เสียง และสารเคมี ตามแผนที่กำหนด เพื่อเปนขอมูลใน การปรับปรุงสภาพการทำงานใหปลอดภัย และใชขอ มูลจากการ ตรวจวัดทางสุขศาสตรอุตสาหกรรม ประเมินความเสี่ยง จากการปฏิบัติงาน (Health Risk Assessment) เพื่อทบทวน มาตรการในการปองกันการเกิดโรคจากการทำงานอีกดวย นอกจากดูแลสุขภาพของพนักงานแลว ยังไดจัดตั้งคลีนิค ปนน้ำใจ จำนวน 2 แหง ที่สาขา 5 โรงอะโรเมติกส 2 และ ที่หนองแฟบใกลโรงงานโอเลฟนสที่ 3 PTTPE เพื่อทำการตรวจ รักษาโรคใหกบั ชุมชนในพืน้ ทีใ่ กลเคียงโรงงานโดยไมคดิ มูลคา โดยมีงบประมาณในการดำเนินการประมาณ 4 ลานบาท ตอป นอกจากนีย้ งั ไดรว มกับกลุม เพือ่ นชุมชนจัดหนวยแพทย เคลื่อนที่ เพื่อตรวจสุขภาพเบื้องตน และใหความรูการดูแล สุขภาพของประชาชนในชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมใน มาบตาพุด 34 ชุมชน โดยมีพนักงานที่มีจิตอาสามาชวยงาน ทุกครั้งแมจะเปนวันหยุดงานก็ตาม และสำหรับสถานการณโรคไขหวัดใหญที่มีการแพรระบาด อยางตอเนื่องเปนประจำทุกปในประเทศไทย บริษัทฯ จึงได ดำเนินการฉีดวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญใหกับพนักงาน และผูร บั เหมาทีบ่ ริษทั ฯ ทำการจางโดยตรงทุกคน โดยไมคดิ คา ใชจา ย และสามารถนำสมาชิกในครอบครัวมารับการฉีดวัคซีน ไดในราคาตนทุน แสดงใหเห็นถึงความหวงใยตอทุกชีวิตที่ มาทำงานรวมกันและรวมไปถึงครอบครัวดวย 3. การบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม

บริษัทฯ ยึดมั่นในการปฏิบัติตามมาตรฐาน ขอกำหนด และ กฎหมายสิ่งแวดลอมอยางเขมงวด โดยนำระบบบริหารการ จัดการสิง่ แวดลอมตามมาตรฐาน ISO 14001 มาใชเปนมาตรฐาน ขั้นตนในการปฏิบัติงาน พรอมทั้งมีแผนกลยุทธการจัดการ ดานสิ่งแวดลอมในเชิงรุก (Proactive Environmental Management) ควบคูไปกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในระยะยาว


1 2 4

บริษัทฯ ใหความสำคัญในการปองกันใหเกิดผลกระทบตอ สิง่ แวดลอมตางๆ โดยกำหนดใหมกี ารควบคุมและปองกันตัง้ แต ขั้นตอนการออกแบบกอนเริ่มดำเนินโครงการ รวมถึงดำเนิน การศึกษาผลกระทบสิง่ แวดลอมดานตางๆ ของแตละโครงการ ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม (Environmental Impact Assessment หรือ EIA) อยางละเอียด พรอมทั้ง กำหนดมาตรการในการปองกันและลดผลกระทบ รวมถึง มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม ทีโ่ ครงการนัน้ ๆ จะตองยึดถือปฏิบตั ิ และนำเสนอตอหนวยงาน ราชการผูมีอำนาจพิจารณาอนุมัติกอนเริ่มดำเนินโครงการ บริษทั ฯ มีโครงการสรางมูลคาเพิม่ (Synergy Project) โดยนำ กาซเชื้อเพลิง (Offgas) จากโรงกลั่นน้ำมันมาใชเปนวัตถุดบิ ที่โรงโอเลฟนส ซึ่งถือเปนโครงการสำคัญที่สะทอนถึงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติ อยางสูงสุด อีกทั้ง บริษัทฯ นำเอาปรัชญาการบริหารจัดการ ที่ เ รี ย กว า โครงการประสิ ท ธิ ภ าพนิ เ วศเศรษฐกิ จ หรื อ Eco-Efficiency มาเปนดัชนีชวี้ ดั สมรรถภาพดานสิง่ แวดลอม อยางเปนระบบและตอเนือ่ ง อันประกอบดวยการใชนำ้ (Water Consumption) การใชพลังงาน (Energy Consumption) การเกิดน้ำเสีย (Wastewater Generation) การกอใหเกิด ภาวะโลกรอน (Global Warming Contribution) และการ ปลอยสารที่กอใหเกิดการทำลายชั้นบรรยากาศ (Ozone Depleting Substances) โดยมุงเพื่อใชในการปรับปรุงการ ใชทรัพยากรใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และลดผลกระทบตอ สิ่ ง แวดล อ มที่ เ กิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมและกระบวนการผลิ ต ครอบคลุมทุกโรงงานในกลุมบริษัทฯ เพื่อดำเนินธุรกิจที่ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอมซึง่ สงผลดีตอ การดำเนินธุรกิจ และการ จัดการสิ่งแวดลอมของประเทศในอนาคต ดวยการมุงมั่นใหกลุมบริษัทฯ มีการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development) นอกเหนือจากการจัดการสิ่งแวดลอมใหสอดคลอง ตามทีก่ ฎหมายกำหนดอยางเครงครัดทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิต และกิจกรรมตางๆ ภายในโรงงานแลวนั้น ยังมีการกำหนดเปาหมาย รวมกับบริษัทในกลุมในการดำเนินการลดปริมาณของเสีย นำไป ฝงกลบจนเปนศูนยภายในป 2558 โดยใชแนวทางตามหลักการ 3Rs อันไดแก การลดของเสียทีแ่ หลงกำเนิด การนำของเสียกลับมาใชซำ้ และ การนำกลับไปใชใหมทั้งภายในและภายนอกโรงงาน โดยรวมกับแนว ความคิดในการใชเทคโนโลยีนวัตกรรม (Innovation Technology) ทีเ่ หมาะสมในปจจุบนั พรอมทัง้ สนับสนุนการศึกษาวิจยั และพัฒนาเพือ่ สรางมูลคาเพิ่มใหกับของเสีย ซึ่งเปนหนึ่งในแนวทางการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industry) นอกจากนี้ไดดำเนินการดวย

ความสมัครใจดวยการเพิม่ เติมมาตรการตางๆ ทีด่ กี วากฎหมาย อาทิ การกำหนดเกณฑการคัดเลือกผูรับจัดการของเสียอุตสาหกรรมอยาง เขมงวด เชน การเลือกวิธกี ารจัดการของเสียทีม่ คี วามเหมาะสม และ มีการตรวจสอบความสามารถจัดการไดจริง การกำหนดใหผรู บั ขนสง ของเสียอันตรายของกลุม บริษทั ฯ ตองติดตัง้ ระบบการติดตามเสนทาง การเดินรถดวยระบบดาวเทียม (GPS) บนรถบรรทุกขนสงของเสียทุกคัน เพื่อปองกันการลักลอบทิ้งของเสียโดยผิดกฎหมาย และนำของเสีย ที่ไมสามารถนำกลับมาใชไดในโรงงานไปใชใหเกิดประโยชน รวมถึง การใหความรูแ ละฝกอบรมพนักงานในดานสิง่ แวดลอม จัดใหมแี ผนงาน การสื่ อ สารเรื่ อ งการจั ด การสิ่ ง แวดล อ มตั้ ง แต ข้ั น ตอนปฐมนิ เ ทศ พนักงานใหม กำหนดใหมกี ารอบรมเพือ่ ทบทวนและฟน ฟูความรูใ หกบั พนักงานทุกๆ 2 ป และสอดแทรกการใหความรูเรื่องสิ่งแวดลอม ในการประชุมตางๆ และในโอกาสอืน่ ๆ ดวย อาทิ การประชุมคณะกรรมการ ความปลอดภัย การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการของบริษทั Department Workshop อีกทัง้ จะมีการอบรมเพิม่ เติม กรณีมกี จิ กรรมพิเศษตางๆ อาทิ การซอมบำรุงใหญ สำหรับผูร บั เหมาทีต่ อ งเขามาทำงานในพืน้ ทีโ่ รงงาน มีการใหความรูเ รือ่ งการจัดการสิง่ แวดลอมตัง้ แตกอ นเริม่ ทำงาน โดยมี หัวขอเรื่องสิ่งแวดลอมใน Safety Induction Course ซึ่งผูรับเหมา ทุกคนตองเขารับการอบรมนี้ เพื่อเปนการย้ำเตือนใหตระหนักถึง ความปลอดภัยกอนการทำงานทุกวัน บริษัทฯ ไดเตรียมพรอมเพื่อรองรับความตองการของตลาดสากล โดยดำเนินการใหมีศึกษารอยเทาคารบอนของผลิตภัณฑ (Carbon Footprint of Product) และไดรับการรับรองฉลากคารบอนฟุตพริ้นท จากองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ซึ่งเปน องคกรสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เม็ดพลาสติก โพลีเอทิลีนชนิดความหนาแนนสูง (HDPE) รวมถึงผลิตภัณฑเอทิลีน ออกไซด และเอทิลีนไกลคอลของกลุมบริษัทฯ จำนวนทั้งสิ้น 47 เกรด ผลิตภัณฑ แลวเสร็จ ซึง่ บริษทั ฯ ไดดำเนินโครงการนีอ้ ยางตอเนือ่ ง และ ไดวางกลยุทธขยายการดำเนินงานโครงการใหครอบคลุมผลิตภัณฑอน่ื ๆ ของกลุม บริษทั ฯ ตอไป โดยมีวตั ถุประสงคหลักเพือ่ ประเมินปริมาณการ ปลดปลอยกาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑของกลุมบริษัทฯ ซึ่งหนึ่งใน การแสดงถึงความเปนผูนำในธุรกิจปโตรเคมีและธุรกิจตอเนื่อง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีมาตรการควบคุมมลพิษ (Pollution Prevention) ตางๆ อาทิ จั ด ทำบั ญ ชี ป ริ ม าณการระบายไอของสารอิ น ทรี ย ร ะเหย (Volatile Organic Compounds หรือ VOCs) และควบคุม การซอมบำรุงอุปกรณใหมีการระเหยของสาร VOCs ออกสู บรรยากาศนอยที่สุด นอกเหนือจากการติดตั้งระบบนำกลับ ไอสารไฮโดรคารบอนจากการขนถายทางรถแลว


1 2 5

ติดตัง้ ระบบนำกลับไอสารไฮโดรคารบอน (Vapour Recovery Unit หรือ VRU) ที่ถังเก็บผลิตภัณฑอะโรเมติกสของบริษัทฯ ซึ่งถือเปนระบบนำกลับไอสารไฮโดรคารบอนที่ใหญที่สุดใน ประเทศไทย ติดตัง้ ทอนำไอสารไฮโดรคารบอนกลับ (Vapour Return Line) เพื่อลำเลียงไอระเหยที่อาจจะออกสูบรรยากาศนำกลับเขาสู ถังเก็บผลิตภัณฑเพื่อนำไปจัดการไดอยางถูกตอง ติดตั้งและเดินเครื่องหนวยกลั่น DHDS (Deep HydroDeSulphurizer) เพือ่ ผลิตน้ำมันดีเซลกำมะถันต่ำตามขอกำหนด ของยูโร 4 ของโครงการผลิตเชือ้ เพลิงสะอาด เพือ่ ทำใหบริษทั ฯ สามารถจำหนายน้ำมันเชื้อเพลิงที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ลดมลพิษในอากาศของประเทศไทย มีมาตรการเลือกใชการใชเชื้อเพลิงสะอาดเพื่อลดการระบาย กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) และการปรับปรุงระบบการ เผาไหมของเครื่องกำเนิดไฟฟากังหันกาซเพื่อลดการระบาย กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ติ ด ตั้ งเครื่อ งตรวจวั ดคุ ณ ภาพอากาศอยางอัต โนมัติแบบ ตอเนื่องที่ปลายปลองของโรงงานทุกปลอง และสงขอมูลไปที่ ศูนยเฝาระวังดานสิง่ แวดลอมของสำนักงานนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด อยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ติดตั้งระบบการนำน้ำในกระบวนการผลิตกลับมาใชใหมให มากที่สุด และลดการระบายน้ำทิ้งออกจากโรงงานโดยนำน้ำ ที่บำบัดแลวบางสวนกลับมาใชใหมในกิจกรรมตางๆ ของ โรงงาน และมีระบบการพักน้ำเพื่อสามารถตรวจสอบและ ควบคุมคุณภาพน้ำทิ้งใหอยูในเกณฑที่กฎหมายกำหนดกอน จะระบายน้ำออกไปภายนอกโรงงาน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังไดจดั ทำบัญชีกจิ กรรมการปลดปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas หรือ GHG) ในองคกรตามมาตรฐานสากล ISO 14064-1:2006 ซึง่ จะเปนการรวบรวมขอมูลการปลอยกาซเรือนกระจก ของบริษัทฯ โดยกำหนดการเก็บขอมูลแยกเปน 3 Scope คือ 1. การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมของบริษัทฯ โดยตรง 2. การปลดปลอยกาซเรือนกระจกโดยผูผ ลิตไฟฟาและความรอนทีท่ าง บริษัทฯ ซื้อเขามา และ 3. การปลดปลอยกาซเรือนกระจกโดยกิจกรรมทีเ่ ปนผลจากกิจกรรม ตางๆ ของบริษัทฯ

ซึ่งการดำเนินการตามมาตรฐานสากลนี้เอง ทำใหบริษัทฯ มีสวนใน การบริหารจัดการการปลอยกาซเรือนกระจกอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการกำหนดแนวทางและนโยบายตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในอนาคต บริษทั ฯ ยังมีนโยบายในการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมในกระบวน การผลิตตางๆ เชน โครงการอนุรักษพลังงานในกระบวนการผลิต โครงการอนุรักษพลังงานในระบบบำบัดน้ำเสีย โครงการอนุรักษ พลังงานในระบบผลิตน้ำสะอาด และโครงการอนุรกั ษพลังงานในระบบ น้ำหลอเย็น ซึ่งมีสวนชวยหาแนวทางและทางเลือกที่เหมาะสมในการ อนุรักษพลังงานและลดการใชสารเคมีในระบบ โดยเปนแนวคิดที่จะ นำทรัพยากรธรรมชาติมาใชใหเกิดประโยชนสงู สุด และเปนการพัฒนา กระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอีกดวย กลุมบริษัทฯ ไดลงทุนกอสรางหอเผาระบบปด (Enclosed Ground Flare) ณ โรงงานของบริษทั พีทที ี โพลีเอทิลนี จำกัด ดวยงบประมาณ กวา 500 ลานบาท ซึง่ นับเปนบริษทั แรกในประเทศไทยทีน่ ำระบบเตาเผา เทคโนโลยีทันสมัยนี้มาใช โดยเปนการลงทุนเพิ่มเพื่อลดการการเกิด ควันดำ ความรอน และเสียงรบกวนออกสูช นั้ บรรยากาศ เพือ่ ยกระดับ คุณภาพสิ่งแวดลอมพรอมทั้งประหยัดการใชทรัพยากรและพลังงาน ไปพรอมๆ กัน บริษัทฯ ใหความสำคัญกับการพัฒนาระบบความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานสากล รวมทั้ง ดำเนิ น ธุ ร กิ จ ด ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต อ ชุ ม ชน สั ง คม และ สิ่งแวดลอม โดยกำหนดและทบทวนนโยบาย / แนวปฏิบัติที่ดี ของบริ ษั ท ฯ มาอย า งต อ เนื่ อ งเพื่ อ นำไปสู ก ารพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศ เพื่ อ ให อุ ต สาหกรรมและชุ ม ชน อยูรวมกันอยางยั่งยืน



CO R PO R AT E G OV E R N A N C E


1 2 8

การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ได ใ ห ค วามสำคั ญ กั บ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ตามหลั ก การกำกั บ ดู แ ล กิจการทีด่ ี ดวยความโปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได และรับผิดชอบ ตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ดวยเล็งเห็นวาการกำกับดูแลกิจการที่ดี ไมเพียงแตจะสรางความเชื่อมั่นในการดำเนินกิจการของบริษัทฯ เท า นั้ น แต ยั ง เป น หลั ก สำคั ญ อย า งยิ่ ง ต อ การเจริ ญ เติ บ โตอย า ง เขมแข็งและมั่นคง เพื่อสรางมูลคาเพิ่มแกองคกรและผูถือหุน พัฒนา สังคมและประเทศชาติ ตลอดจนดูแลรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย กลุมตางๆ ไดอยางยั่งยืน โดยบริษัทฯ ภายใตการกำกับดูแลของ คณะกรรมการไดยึดมั่นการปฏิบัติตามนโยบายและหลักการกำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส ำหรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นของตลาดหลั ก ทรั พ ย แหงประเทศไทย ในหลักการสำคัญทั้ง 5 หมวดมาอยางตอเนื่อง สรุปไดดังนี้

การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ในป 2555 1. สิทธิของผูถือหุน

บริษัทฯ ตระหนักและใหความสำคัญกับสิทธิของผูถือหุน โดยได กำหนดแนวปฏิบัติที่ดีตางๆ เพื่อสรางความมั่นใจวาผูถือหุน จะไดรับความสะดวกในการใชสิทธิขั้นพื้นฐานของตนอยางเต็มที่ ดวยวิธีการและมาตรฐาน อันเปนที่ยอมรับและเชื่อถือได ไดแก สิทธิพื้นฐานตามกฎหมาย : เพื่อใหผูถือหุนไดใชสิทธิตางๆ ตามที่กฎหมายใหไวอยางครบถวน สิทธิในการไดรับขอมูลขาวสาร : เพื่อใหผถู ือหุนไดรับขอมูล ขาวสารที่สำคัญอยางเปนปจจุบันและทันตอเหตุการณ ผาน ชองทางที่หลากหลายและเขาถึงไดงาย เชน ระบบขาว ของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตลอดจนเปดโอกาสใหผถู อื หุน ติดตอขอขอมูล หรือสอบถามบริษัทฯ ไดโดยตรงผานชองทางของหนวยงาน กำกับองคกรและเลขานุการบริษัท cg@pttgcgroup.com หรือหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ ir@pttgcgroup.com สิทธิเขาประชุมและออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผูถ อื หุน : เพื่อใหผูถือหุนทุกกลุม รวมถึงผูถือหุนตางชาติและนักลงทุน สถาบัน ไดเขารวมประชุมและใชสิทธิออกเสียง รวมถึง มีสวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องสำคัญ บริษัทฯ ไดกำหนด ใหหนวยงานกำกับองคกรและเลขานุการบริษทั และหนวยงาน นักลงทุนสัมพันธ ทำหนาทีด่ แู ลและสงเสริมใหผูถือหุนไดใชสิทธิ ของตนอยางเทาเทียมกัน

2. การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

บริษทั ฯ มุง มัน่ สรางความเทาเทียมกันใหเกิดขึน้ กับผูถ อื หุน ทุกราย ทุกกลุม ไมวาจะเปนผูถือหุนชาวไทยหรือตางชาติ ผูถือหุน รายใหญ / รายยอย หรือนักลงทุนสถาบัน โดยดำเนินการบนพืน้ ฐาน ความเทาเทียมกันของผูถือหุน ดังตอไปนี้ 2.1 การจัดประชุมสามัญผูถือหุนประจำป

บริษัทฯ ไดจัดประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2555 เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555 เวลา 14.00 น. ณ หองบางกอกคอนเวนชั่น เซ็นเตอร ศูนยการคาเซ็นทรัลลาดพราว กรุงเทพฯ ซึง่ นับเปน การประชุ ม ผู ถื อ หุ น ครั้ ง แรกภายหลั ง จากการควบบริ ษั ท โดยในการจัดประชุมดังกลาว บริษทั ฯ ไดปฏิบตั ติ ามกฎหมาย อย า งเคร ง ครั ด ควบคู ไ ปกั บ แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ต าม AGM Checklist ของ ก.ล.ต. อีกทั้งยังคำนึงถึงสิทธิของผูถือหุนและ การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกันตามหลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี โดยสรุปไดดังนี้ กอนการประชุมผูถือหุน บริษทั ฯ ไดเปดโอกาสใหผถู อื หุน เสนอระเบียบวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ รับการพิจารณา เลือกตั้งเปนกรรมการ รวมถึงการสงคำถามที่เกี่ยวของกับ ระเบียบวาระการประชุมและตองการใหตอบในที่ประชุม เปน การลวงหนากอนวันประชุมสามัญผูถือหุน ตามหลักเกณฑที่ คณะกรรมการบริษทั ฯ กำหนด โดยไดเปดเผยใหผถู อื หุน ทราบ อยางทั่วถึง และหลักเกณฑที่กำหนดก็มิไดเปนการปดกั้น ใหผถู อื หุน สวนนอยไมสามารถเสนอได โดยประธานกรรมการ จะเปนผูแจงผลการพิจารณาพรอมเหตุผลใหผูถือหุน ได รับทราบในการประชุมผูถือหุน ทั้งนี้ ในการประชุมสามัญ ผูถือหุนประจำป 2555 ไมมีผูถือหุนรายใดเสนอระเบียบวาระ และชือ่ บุคคลมายังบริษทั ฯ สำหรับการสงคำถามลวงหนานัน้ ประธานกรรมการไดตอบคำถามในการประชุมอยางครบถวน และในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2556 บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอระเบียบวาระและชื่อบุคคล ลวงหนาเปนเวลา 3 เดือนกอนวันสิน้ ป ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ ไดนำขอเสนอแนะและความคิดเห็นของผูถือหุนมา พิจารณา พรอมทัง้ บรรจุเรือ่ งการเตรียมการจัดประชุมสามัญ ผูถ อื หุน ประจำปไวในการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ เพือ่ พิจารณาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดประชุมใหดยี ง่ิ ขึน้


1 2 9

บริษัทฯ ไดแจงขาวตอตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อเผยแพรให ผู ถือ หุ น รับทราบทั นที ภ ายหลังจากที่ค ณะกรรมการมีมติ กำหนดวันประชุมสามัญผูถือหุนวันกำหนดสิทธิ (Record Date) ในการเขาประชุมและรับเงินปนผล วันปดสมุดทะเบียน พักการโอนหุน และการจายเงินปนผล หนังสือเชิญประชุมผูถือหุนและเอกสารประกอบการประชุม ที่เกี่ยวของ ตลอดจนแบบหนังสือมอบฉันทะทุกแบบตามที่ กระทรวงพาณิชยกำหนด ไดจดั ทำทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมีรายละเอียดครบถวน ไดแก วัน / เวลา /สถานทีป่ ระชุม ที่ชัดเจน ระเบียบวาระการประชุมแยกเปนแตละวาระพรอม ความเห็นของคณะกรรมการ นอกจากนี้ ยังไดเสนอชือ่ กรรมการ อิสระใหผูถือหุนพิจารณาเลือกเปนผูรับมอบฉันทะ ในกรณีที่ ผูถือหุนไมสามารถมารวมประชุมดวยตนเอง ตลอดจนแจงให ผูถ อื หุน ไดรบั ทราบถึงกฎเกณฑตา งๆ ทีใ่ ชในการประชุม เชน การลงทะเบียน การใชสทิ ธิการออกเสียงลงคะแนน และขัน้ ตอน การออกเสียงลงมติ ซึง่ บริษทั ฯ มิไดกำหนดเงือ่ นไข/ กฎเกณฑ ที่ซับซอน หรือสรางความยุง ยากแกผูถือหุนแตประการใด เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีเวลาศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับ การประชุมอยางเพียงพอ บริษัทฯ ไดเผยแพรหนังสือเชิญ ประชุม ตลอดจนเอกสารประกอบที่เกี่ยวของผานระบบขาว ของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ ลวงหนา เปนเวลา 30 วันกอนวันประชุม และไดจดั สงหนังสือเชิญประชุม และเอกสารประกอบซึ่ ง เป น ชุ ด เดี ย วกั บ ที่ ไ ด เ ผยแพร บ น เว็บไซตใหแกผถู อื หุน ทางไปรษณียล งทะเบียนลวงหนาเปนเวลา 21 วัน กอนวันประชุม ซึง่ มากกวาระยะเวลาทีก่ ฎหมายกำหนด วันประชุมผูถือหุน จัดเตรียมสถานที่ที่มีขนาดเพียงพอสามารถรองรับจำนวน ผูถ อื หุน และผูร บั มอบฉันทะ จัดใหมเี จาหนาทีซ่ งึ่ เปนพนักงาน ของบริษัทฯ ดูแลตอนรับและใหขอมูลแกผูถือหุน ตลอดจน จัดสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ พรอมทั้งเตรียมความพรอม ในการรักษาความปลอดภัยและแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน เปดโอกาสใหผูถือหุนลงทะเบียนเขาประชุมลวงหนากอนการ ประชุมเปนเวลา 2 ชั่วโมง จัดระบบการตรวจสอบเอกสารที่ ไมยุงยากซับซอน จัดการลงทะเบียนดวยระบบบารโคด (Barcode) พรอมทั้งอุปกรณคอมพิวเตอรที่ทันสมัยและ เพียงพอ เพื่อใหการลงทะเบียนสะดวกรวดเร็ว ขอมูลถูกตอง ครบถวน และตรวจสอบได แมภายหลังเปดประชุมไปแลว ผูถ อื หุน ยังสามารถลงทะเบียนเขารวมประชุม เพือ่ ใชสทิ ธิออกเสียงใน ระเบียบวาระที่ยังไมไดพิจารณาลงมติได กรรมการบริษัทฯ ทุกทาน และกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะ รวมถึงผูบ ริหารระดับสูง ไดใหความสำคัญและเขารวมประชุม

ผูถ อื หุน อยางครบถวน โดยถือเปนหนาทีท่ จ่ี ะตองเขารวมประชุม นอกจากนี้ ผูส อบบัญชีและทีป่ รึกษากฎหมายไดเขารวมประชุม เพือ่ ตอบขอซักถามและรวมชีแ้ จงในประเด็นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของดวย ประธานกรรมการบริษัทฯ ทำหนาที่ประธานในที่ประชุมและ ไดแจงหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการประชุมตามกฎหมาย และขอบังคับของบริษทั ฯ อาทิ การเปดประชุม การออกเสียงลง คะแนน วิธีการนับคะแนนเสียงของผูถือหุนในแตละระเบียบ วาระ นอกจากนี้ ประธานฯ ยังไดเปดโอกาสใหผูถือหุนได ซักถามอยางเพียงพอ ประธานกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะ ไดเขารวมประชุมและไดทำหนาทีโ่ ดยการตอบคำถาม/ ชีแ้ จง ในระเบียบวาระที่เกี่ยวของ ในการนับคะแนนเพื่อลงมติ ไดจัดใหมีที่ปรึกษากฎหมาย ภายนอก และอาสาสมัครจากผูถ อื หุน รวมเปนสักขีพยานและ ทำหน า ที่ เ ป น คนกลางตรวจสอบความถู ก ต อ งในการลง คะแนนเสียง ในทุกระเบียบวาระการจัดเก็บใบลงคะแนนเสียง ไดดำเนินการตามแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ขี อง ก.ล.ต. โดยไมมกี ารเพิม่ ระเบียบวาระการประชุม หรือเปลีย่ นแปลงลำดับระเบียบวาระ การประชุม หรือขอมูลสำคัญในการประชุม ประธานฯ ไดจดั สรรเวลาการประชุมอยางเพียงพอและดำเนิน การประชุมอยางเหมาะสมและโปรงใสเปนไปตามลำดับ ระเบียบวาระที่แจงในหนังสือเชิญประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดจัดใหมีเจาหนาที่ของบริษัทฯ เพื่อแปลภาษาสำหรับ กรณีการตอบขอซักถามของผูถือหุนที่เปนตางชาติดวย ภายหลังวันประชุม เพื่อใหผูถือหุนไดรับทราบผลการประชุมที่ถูกตองครบถวน และทันเวลา บริษทั ฯ ไดรายงานมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน ตอตลาด หลักทรัพยฯ ภายหลังการประชุมเสร็จสิ้นลง และจัดทำ รายงานการประชุมผูถ อื หุน ทัง้ ภาษาไทยและอังกฤษ โดยแยก เปนแตละวาระอยางถูกตอง ชัดเจน และครบถวน มีการระบุ จำนวนกรรมการที่เขารวมประชุมตลอดจนบันทึกประเด็น สำคัญทีผ่ ถู อื หุน ไดซกั ถาม / แสดงความคิดเห็น และขอชีแ้ จง ของกรรมการ รวมถึงผลการนับคะแนนเสียงในแตละวาระ และ ไดนำสงรายงานการประชุมดังกลาวตอตลาดหลักทรัพยฯ ภายใน 14 วันหลังการประชุมตามเกณฑที่กำหนด และได เผยแพรไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนไดรับทราบ และผูที่สนใจอื่นๆ ไดมีโอกาสศึกษาขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนที่สนใจสามารถติดตอขอรับ วีดิทัศนบันทึกการประชุมได


1 3 0

จากการรักษาคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2555 บริษัทฯ ไดรับการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถือหุน (AGM Assessment) ดวยคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในระดับดีเยี่ยม ตลอดจนไดรบั ผลประเมินความพึงพอใจของผูถ อื หุน ตอการจัดประชุม สามัญผูถือหุน มากกวารอยละ 90 2.2 การรับขอเสนอแนะหรือคำถามจากผูถือหุน ถึงประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ

ผู ถื อ หุ น สามารถเสนอแนะและแสดงความคิ ด เห็ น ไปยั ง ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการผานเว็บไซตบริษัทฯ ซึ่ง เลขานุการบริษัทจะเปนผูรวบรวมขอมูล ขอเสนอแนะ และ คำถามของผูถือหุน นำเสนอตอประธานกรรมการกำกับดูแล กิจการเพือ่ พิจารณา หากประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ พิจารณาแลวมีความเห็นวาเรื่องใดมีประโยชนตอการดำเนิน กิจการของบริษัทฯ หรือเปนเรื่องสำคัญที่มีผลตอผูมีสวนได เสียโดยรวม หรือมีผลตอการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการจะเสนอเรื่องดังกลาว ตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ตอไป 2.3 การเสริมสรางความสัมพันธอันดีกับผูถือหุน

ในป 2555 บริษทั ฯ ไดจดั โครงการผูถ อื หุน เยีย่ มชมกิจการของ บริษัทฯ ณ จังหวัดระยอง จำนวน 2 รุนๆ ละ 250 คน โดยมี ผูถือหุนเขารวมโครงการทั้งสิ้น 500 คน เพื่อสรางความมั่นใจ และใหความรูความเขาใจแกผูถือหุน ตลอดจนเปดโอกาสให ผูถ อื หุน ไดซกั ถามเกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการ โรงงานของกลุมบริษัทฯ และเพื่อสรางความสัมพันธระหวาง ผูบริหาร พนักงาน และผูถือหุน รวมทั้งการดูแลสังคมชุมชน และสิง่ แวดลอม ดวยการจัดใหผถู อื หุน ไดรว มทำกิจกรรม CSR ณ ศูนยอนุรักษพันธุเตาทะเล กองทัพเรือ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยในการสมัครเขารวมโครงการดังกลาว บริษทั ฯ ไดแจงขาวการจัดโครงการฯ พรอมรายละเอียดและวิธีการ คัดเลือกใหผถู อื หุน ทุกรายรับทราบลวงหนาผานชองทางตางๆ อยางทั่วถึง ไดแก ระบบขาวของตลาดหลักทรัพยฯ เว็บไซต บริษัทฯ และจดหมายไปรษณียลงทะเบียนถึงผูถือหุนแตละ ราย เพือ่ ใหผถู อื หุน ทุกรายไดรบั สิทธิอยางเทาเทียมกัน บริษทั ฯ จึงดำเนินการคัดเลือกผูถ อื หุน ทีไ่ ดรบั สิทธิดว ยวิธกี ารจับสลาก ผานระบบคอมพิวเตอร และประกาศผลผูมีสิทธิเขารวม โครงการฯ ผ า นเว็ บ ไซต บ ริ ษั ท ฯ พร อ มทั้งไดใหผถู ือหุน ประเมินความพึงพอใจตอการจัดโครงการเยีย่ มชมกิจการและ ไดนำผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้นตอไป

2.4 การดูแลการใชขอมูลภายในของกรรมการและผูบริหาร

คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดคำนึงถึงการปฏิบตั อิ ยางเทาเทียมกัน ตอผูถือหุนและนักลงทุนทุกรายในการเขาถึงขอมูล จึงได กำหนดนโยบายและจรรยาบรรณธุรกิจในการดำเนินการตางๆ เพือ่ ปองกันการใชขอ มูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ดังนี้ กำหนดจรรยาบรรณของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ในเรือ่ งการใชขอ มูลภายในและการรักษาขอมูลอันเปนความลับ ตลอดจนการหามซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ฯ โดยใชขอ มูล ภายในไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ธุรกิจ และสื่อสารใหกับบุคคลดังกลาวไดรับทราบและถือ ปฏิบัติ เพื่อปองกันมิใหมีการใชประโยชนหรือเปดเผยขอมูล ภายในเพื่อประโยชนสวนตนหรือผูเกี่ยวของ กำหนดระยะเวลาหามการซื้อขายหลักทรัพยของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานที่เกี่ยวของกับการจัดทำขอมูลทาง การเงิน ซึ่งรวมถึงคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ของบุคคลดังกลาว โดยกำหนดระยะเวลาหามการซื้อขาย หลักทรัพยของบริษัทฯ เปนเวลา 45 วันกอนการเปดเผยงบ การเงินรายไตรมาส และ 60 วันกอนการเปดเผยงบการเงิน ประจำป และสิ้นสุดระยะเวลางดเวนการซื้อขายหลักทรัพย ภายหลังจากทีบ่ ริษทั ฯ ไดเปดเผยงบการเงินดังกลาวตอตลาด หลักทรัพยฯ แลวเปนเวลา 24 ชัว่ โมง โดยบริษทั ฯ ไดแจงเตือน ใหกรรมการและผูบริหารรับทราบลวงหนากอนถึงระยะเวลา ดังกลาวอยางสม่ำเสมอ กำหนดนโยบายการกำกับดูแลการปฏิบัติงานในเรื่องการ ปกปองรักษา และการใชอย า งถูกตองซึ่งขอมูลขา วสาร (Confidentiality of Information Policy) โดยผูบริหารและ พนักงานมีหนาที่ตองปฏิบัติตามหลักการรักษาความลับของ ขอมูลและปองกันไมใหผอู นื่ ไดรขู อ มูลของบริษทั ฯ ขอมูลของ ลูกคา /คูค า หรือขอมูลสวนบุคคลของผูอ นื่ อีกทัง้ ปฏิบตั ติ าม มาตรการในการดูแลรักษาขอมูลความลับหรือขอมูลที่ยัง ไมไดเปนขอมูลสาธารณะ เพื่อประโยชนในการดำเนินธุรกิจ และรักษาไวซึ่งมาตรฐานของการปกปองรักษาและการใช ขอมูลขาวสารที่ถูกตองตามเกณฑของกฎหมายไทยและตาง ประเทศ กรรมการและผูบ ริหารตามนิยามของ ก.ล.ต. มีหนาทีร่ ายงาน การซื้อ-ขาย-โอน-รับโอนหลักทรัพยของบริษัทฯ ภายใน 3 วันทำการ หลังจากทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงมายังบริษทั ฯ โดยคณะ กรรมการไดมอบหมายใหเลขานุการบริษัททำหนาที่รวบรวม การเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพยของกรรมการและผูบ ริหาร ดังกลาว เพือ่ บรรจุเปนระเบียบวาระรายงานใหคณะกรรมการ รับทราบเปนประจำทุกครั้งที่มีการประชุมคณะกรรมการ


1

2.5 การปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน

คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกำหนดนโยบายจรรยาบรรณธุรกิจ และการดำเนินการตางๆ เพื่อปองกันความขัดแยงทาง ผลประโยชนใดๆ ที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้ กำหนดนโยบายใหกรรมการหรือผูบ ริหารทีอ่ าจมีความเกีย่ วของ กับรายการทีอ่ าจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน หรือ มีสวนไดเสียในระเบียบวาระการประชุมใดจะไมเขารวม ประชุมในวาระดังกลาว หรือในกรณีทตี่ อ งเขาประชุม เพือ่ ให ขอมูลที่จำเปนตอการพิจารณาจะตองงดออกเสียงหรืองดให ความเห็นในระเบียบวาระการประชุมนัน้ ๆ พรอมกันนี้ เลขานุการ บริษัทหรือเลขานุการคณะกรรมการเฉพาะเรื่องคณะตางๆ จะจดบั น ทึ ก ความเกี่ยวของของกรรมการหรือผูบริหารเปน ลายลักษณอกั ษรไวในรายงานการประชุมครั้งที่มีการพิจารณา เรื่องดังกลาวดวย กำหนดจรรยาบรรณธุรกิจเรื่องการมีสวนไดเสียและความ ขัดแยงทางผลประโยชน ไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพือ่ ใหกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทุกคนยึดถือเปนแนว ปฏิบัติ อีกทั้งกำหนดแนวปฏิบัติที่ดีใหสอดคลองกัน โดย กำหนดใหบุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ และทุกคนมีหนาที่ ตองรายงานเรือ่ งทีส่ งสัยวาอาจมีความขัดแยงกับผลประโยชน ของกลุมบริษัทฯ ในแบบรายงานการเปดเผยรายการขัดแยง ทางผลประโยชนตอบริษัทฯ ครั้งแรกเมื่อไดรับแตงตั้งให ดำรงตำแหนง เปนประจำทุกสิน้ ป และเมือ่ เกิดเหตุการณ เพือ่ แสดงถึงเจตนารมณการปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส และ เพือ่ ปองกันเหตุที่อาจเปนผลประโยชนทับซอนหรือขัดแยงกับ ผลประโยชนของกลุมบริษัทฯ โดยในป 2555 บริษัทฯ ไดพัฒนาการรายงานความขัดแยง ทางผลประโยชนของพนักงานผานระบบออนไลน เพื่อลด ปริมาณการใชกระดาษ และเพื่อความสะดวกในการติดตาม จัดเก็บและสืบคนขอมูล ตลอดจนผูบ งั คับบัญชาตามลำดับชัน้ จะไดรับทราบและแสดงความคิดเห็นตอการรายงานของ พนักงานในสังกัดของตนอีกดวย 3. บทบาทของผูมีสวนไดเสีย

คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดกำกับดูแลการดำเนินธุรกิจโดยยึดมัน่ ใน ความรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสียกลุม ตางๆ ทีเ่ กีย่ วของบนพืน้ ฐาน การเคารพสิทธิ การดูแลรับผิดชอบ และความพึงพอใจของผูม สี ว น ไดเสียเสมอมา เพือ่ ประโยชนรว มกันอยางยัง่ ยืน และเพือ่ ใหบริษทั ฯ มีระบบการบริหารจัดการทีเ่ ชือ่ มัน่ ไดวา ผูม สี ว นไดเสียดังกลาวจะได รับการคุมครองและปฏิบัติดวยความเสมอภาคอยางเครงครัด คณะกรรมการจึงไดกำหนดนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ตี อ ผูม สี ว น ไดเสียไวอยางชัดเจน สอดคลองกับความตองการของแตละกลุม ดังนี้

3

1

ผูถือหุน : สงเสริมใหผูถือหุนไดใชสิทธิขั้นพื้นฐานของตนและ มุงมั่นสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับผูถือหุน โดยคำนึงถึง การเจริญเติบโตของบริษัทฯ อยางยั่งยืน สรางมูลคาเพิ่ม และให ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ ดำเนินธุรกิจตามหลัก การกำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากสิทธิขั้นพื้นฐานที่กำหนดไวในกฎหมายขอบังคับบริษัทฯ และคูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี อาทิ สิทธิในการเขาประชุมผูถ อื หุน และออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการแสดงความเห็นอยางอิสระในที่ ประชุมผูถือหุน สิทธิในการขอตรวจสอบจำนวนหุน รวมถึงสิทธิที่จะ ไดรับผลตอบแทนอยางเปนธรรมแลว บริษัทฯ ยังใหสิทธิผูถือหุน ในการสอบถามและเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆ เกี่ยวกับการดำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ลูกคา : มุง มัน่ สรางความพึงพอใจและความมัน่ ใจใหกบั ลูกคาและ ประชาชนที่จะไดรับผลิตภัณฑและบริการที่ดีมีคุณภาพในระดับ ราคาที่เหมาะสม และยกระดับมาตรฐานใหสูงขึ้นอยางตอเนื่อง รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน บริษัทฯ ไดจัดใหมีหนวยงานที่ดูแลรับผิดชอบในการดูแลลูกคา ให ขอเสนอแนะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ใหคำปรึกษาวิธีการแกปญหาและ รั บ ข อ ร อ งเรี ย นเพื่ อ ให ลู ก ค า ได รั บ ความพึ ง พอใจและตอบสนอง ความตองการของลูกคาอยางสูงสุด ทัง้ ในดานผลิตภัณฑและการบริการ มีการจัดพบปะ/เยี่ยมเยียนกิจการของลูกคาเพื่อรับฟงความคิดเห็น และตอบขอซักถามเกี่ยวกับปญหาอุปสรรคตางๆ เพื่อประโยชน สูงสุดรวมกัน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ไมมพี ฤติกรรมประสานประโยชนกบั คูแ ขงเพือ่ ทำใหลกู คาไมไดรบั ความยุตธิ รรม โดยดำเนินการตามสัญญา จรรยาบรรณทางธุรกิจและหลักกฎหมายอยางเครงครัด อีกทั้งยังจัดใหมี การประเมินความพึงพอใจของลูกคาในทุกผลิตภัณฑและบริการเปน ประจำอยางตอเนื่อง เพื่อตรวจสอบความพึงพอใจและนำมาปรับปรุง ผลิตภัณฑและการบริการตอไป คูคา : คำนึงถึงความเสมอภาคและความซื่อสัตยในการดำเนิน ธุรกิจ รักษาผลประโยชนรว มกับคูค า โดยการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และกติกาที่กำหนดรวมกันอยางเครงครัด และมีจรรยาบรรณใน การดำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ ยึดถือหลักความเสมอภาค โปรงใส เปนธรรม และความซือ่ สัตย ในการดำเนินธุรกิจ ดวยการปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการคาและ สัญญาบนพื้นฐานจรรยาบรรณทางธุรกิจ นโยบายและแนวปฏิบัติตอ คูค า อยางเครงครัด อีกทัง้ ระบุเรือ่ งความขัดแยงทางผลประโยชนไวเปน


1 3 2

หลักการหนึ่งในสัญญา รวมทั้งไมใหผูบริหารหรือพนักงานเขาไป มีอิทธิพลหรือสามารถชี้นำ จูงใจ ใหหรือรับประโยชนตอบแทน ซึ่งไม เปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อปองกันการกระทำใดๆ ที่ไมสมควร ตลอดจนกำหนดใหคูคายึดถือและตระหนักในเรื่องความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม รวมถึงการปฏิบัติตาม ขอกำหนดดานแรงงานและสิทธิมนุษยชน โดยคำนึงถึงคุณภาพชีวิต ของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอมรวมกัน นอกจากนี้ ในป 2555 บริษัทฯ ไดกำหนดหลักเกณฑในการประเมิน จริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของคูคา การจัดใหคูคาไดลงนามใน สัตยาบันเรื่องการตอตานทุจริต คอรรัปชั่น และแจงใหคูคาไดทราบ ถึงนโยบายการไมรับของขวัญ ทรัพยสิน หรือผลประโยชนอื่นใดของ พนักงานบริษัทฯ คูแขงทางการคา : ปฏิบัติตอคูแขงทางการคาใหสอดคลองกับ หลักสากล ภายใตกรอบแหงกฎหมายเกีย่ วกับหลักปฏิบตั กิ ารแขงขัน ทางการคาและยึดถือกติกาของการแขงขันอยางเปนธรรม บริษัทฯ ยึดหลักการดำเนินธุรกิจและสงเสริมการคาเสรี โดยประพฤติ ตามกรอบกติกาการแขงขันอยางยุตธิ รรม มีจรรยาบรรณและอยูในกรอบ กฎหมาย ไมละเมิดทรัพยสินทางปญญาหรือความลับทางการคา รวมถึงไมทำลายชื่อเสียงของคูแขงทางการคาดวยการกลาวหาหรือ โจมตีคูแขง เจาหนี้ : ยึดถือแนวทางการปฏิบัติที่ดีตามเงื่อนไขและเปนธรรม ตอเจาหนี้ รวมถึงการชำระคืนตามกำหนดเวลา บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามพันธสัญญาทีม่ ตี อ เจาหนีก้ ารคา และเจาหนีส้ ถาบัน การเงินทุกรายอยางเครงครัดตามเงื่อนไขขอกำหนดของสัญญา ไมปกปดขอมูลหรือขอเท็จจริง อันจะทำใหเจาหนี้เกิดความเสียหาย โดยหากมีเหตุอันจะทำใหไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันในสัญญา บริษทั ฯ จะแจงเจาหนีท้ นั ที เพือ่ หาแนวทางแกไขปญหาดังกลาวรวมกัน นอกจากนั้น ยังจัดใหมีโครงการตางๆ เพื่อสรางความสัมพันธที่ดีกับ เจาหนี้โดยการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมรวมกับเจาหนี้ ตามโอกาส ที่เหมาะสมดวย ภาครัฐ : ใหความสำคัญกับภาครัฐซึง่ ถือเปนหนึง่ ในผูม สี ว นไดเสีย โดยกำหนดแนวทางในการปฏิบัติตอภาครัฐในประเทศตางๆ ที่เขาไปลงทุน เพื่อหลีกเลี่ยงการดำเนินการที่อาจสงผลตอการ กระทำที่ไมเหมาะสม

บริษัทฯ ดำเนินงานตามกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งในประเทศไทยหรือ ประเทศตางๆ ที่เขาไปลงทุน โดยถือวาหนวยงานของภาครัฐเปน สวนสำคัญที่สนับสนุนใหธุรกิจของบริษัทฯ ดำเนินไปอยางราบรื่น และเปนไปตามแนวทางที่ถูกตองตามนโยบาย กฎระเบียบ และ ขอบังคับ ซึง่ บริษทั ฯ มีการประสานงานและแลกเปลีย่ นขอมูลกับหนวยงาน ภาครัฐอยางสม่ำเสมอ ภายในขอบเขตที่เหมาะสมและบนพื้นฐาน ของความโปรงใส เพือ่ สรางความสัมพันธทดี่ ใี นระยะยาวกับหนวยงาน ของภาครัฐ เชน การรวมจัดกิจกรรมและสนับสนุนโครงการตางๆ รวมกับภาครัฐอยางตอเนื่อง พนักงาน : มุงมั่นพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงการเรียนรู เสริ ม สร า งวั ฒ นธรรมและบรรยากาศการทำงาน ส ง เสริ ม การทำงานเป น ที ม ให ผ ลตอบแทนที่ เ ป น ธรรม ดู แ ลความ ปลอดภัยและรักษาสภาพแวดลอมการทำงาน ใหความสำคัญ ตอการพัฒนาถายทอดความรูและความสามารถของพนักงาน รั บ ฟ ง ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอยาง เทาเทียมและเสมอภาค กำหนดและตอยอดการปลูกฝงวัฒนธรรม องคกร ดวยตระหนักวาพนักงานทุกคนเปนหนึ่งปจจัยสำคัญ และมีคุณคานำมาซึ่งความสำเร็จความกาวหนาและการเจริญ เติบโตอยางยั่งยืนของกลุมบริษัทฯ บริษัทฯ คัดเลือกบรรจุและจัดสรรพนักงาน โดยคำนึงถึงคุณวุฒิ ประสบการณและความสามารถ เพือ่ ใหทำงานในตำแหนงทีเ่ หมาะสม สงเสริมการพัฒนาความรูความสามารถของพนักงานอยางตอเนื่อง ตลอดจนสงเสริมใหพนักงานมีโอกาสกาวหนา ผลักดันใหพนักงาน แสดงความสามารถในการปฏิบัติงานในหนาที่ความรับผิดชอบที่ได รับมอบหมาย อีกทั้งเปดโอกาสใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานใน ตำแหนงตางๆ ในบริษทั ฯ ไดอยางเทาเทียมกันและเปนธรรมโดยไมมี การเลือกปฏิบตั ิ ไมวา จะเปนเรือ่ งเพศ อายุ ศาสนา หรือการทุพพลภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ใหความสำคัญในเรื่องการเคารพศักดิ์ศรีความ เปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค การใหเกียรติซงึ่ กันและกัน และไมใหเกิดกรณีการคุกคามตางๆ ตามแนวทางจรรยาบรรณธุรกิจ ของบริษัทฯ และนโยบายการเคารพสิทธิมนุษยชน (Human Rights Policy) ทีไ่ ดกำหนดไวในนโยบายกำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ ตลอดจนปลูกฝง สงเสริมและสนับสนุนใหพนักงานทุกคนมีการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของโดยเครงครัด ปฏิเสธ และตอตานการทุจริตและการติดสินบนทุกรูปแบบ นอกจากนี้ ยังจัดใหมสี วัสดิการแกพนักงานของบริษทั ฯ และครอบครัว อยางเปนธรรมและมั่นคงตอการดำรงชีพ และจัดใหมีคณะกรรมการ สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ อันประกอบดวย ตัวแทนฝาย บริหารและตัวแทนฝายพนักงานเพือ่ รวมกันควบคุมดูแล และเสนอแนะ


1 3 3

การจัดสวัสดิการทีเ่ พียงพอและเหมาะสมแกพนักงาน มีการจัดกิจกรรม เพื่ อ ให ค วามรู และเสริ ม สร า งสภาพแวดล อ มในการทำงานที่ ดี มีความปลอดภัยใหกบั พนักงาน รวมไปถึงผูร บั เหมาทีเ่ ขามาปฏิบตั งิ าน ในเขตพื้นที่ของบริษัทฯ มีการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการเกิด สถานการณตางๆ เปนประจำทุกป เชน การจัดการซอมอพยพกรณี เกิดอัคคีภัยอาคารสูงในพื้นที่สำนักงานกรุงเทพ และการฝกซอมแผน ฉุกเฉินในพื้นที่โรงงาน ทดสอบและประเมินความพรอมของการระงับ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ประจำพื้ น ที่ จั ด ให มี ค ณะกรรมการความปลอดภั ย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน ทั้งพื้นที่สำนักงาน กรุงเทพฯ และโรงงาน บริษัทฯ ไดจัดทำแผนการสื่อความการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมี วัตถุประสงคใหผูบริหารและพนักงานบริษัทฯ และบริษัทในกลุมรับรู และนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจไปปรับใช ในการปฏิบตั งิ านและการดำรงชีวติ อีกทัง้ ไดนำ PTTGC Core Values “GC-SPIRIT” มาใชเปนเครื่องมือรวมในการขับเคลื่อนการกำกับดูแล กิจการที่ดีคือ I = Integrity & Ethics การสรางพลังความดี สงเสริม และตอกย้ำใหพนักงานตระหนักถึงความเกงความดีแบบจับตองได ดวยการปฏิบตั จิ ริงโดยการ ”ยึดถือ” และ “ปฏิบตั ”ิ ตามคูม อื การกำกับ ดูแลกิจการที่ดี เพื่อเปนเสมือนพลังที่ผลักดันใหการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีของบริษัทฯ กาวไปสูระดับสากลไดอยางยั่งยืนและมั่นคง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปดโอกาสใหพนักงานมีชองทางในการเสนอ ขอคิดเห็นตอผูบ ริหารโดยตรงเชน “Management Site Visit” โครงการ ผูบริหารพบปะพนักงานเพื่อพูดคุยสอบถามปญหาตางๆ ตลอดจน ใหคำปรึกษาและใหกำลังใจในการปฏิบัติงานแกพนักงาน รวมถึงการ จัดใหมีกิจกรรมสรางความสัมพันธในองคกรระหวางผูบริหารและ พนักงานในหนวยงานเดียวกัน เพื่อสรางความเขาใจและเพื่อใหเกิด ความคุนเคยและเปนกันเองในการทำงาน จัดใหมีชองทางในการรับ ขอรองเรียนเกี่ยวกับจรรยาบรรณธุรกิจ (Whistle blower) ในโครงการ “Bring the Best” ซึ่งดูแลรับผิดชอบโดยหนวยงานตรวจสอบภายใน โดยทุ ก ข อ ร อ งเรี ย นที่ มี ห ลั ก ฐานชั ด เจนจะได รั บ การปฏิ บั ติ อ ย า ง เสมอภาค โปรงใสและใหความเปนธรรมแกทุกฝาย ชื่อผูรองเรียน จะถูกปดเปนความลับและจะไดรับความคุมครองไมใหถูกกลั่นแกลง ทั้งในระหวางการสอบสวนและภายหลังการสอบสวน ชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอม : ดำเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบ ตอชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอม ทัง้ ในดานความปลอดภัย คุณภาพ ชีวิต และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ ตระหนักถึงคุณภาพชีวติ ของชุมชนและสังคม ทัง้ พืน้ ทีโ่ ดยรอบโรงงานและในระดับประเทศ คืนผลกำไรสวนหนึง่ เพื่อกิจกรรมที่จะมีสวนสรางสรรคชุมชนและสังคม คำนึงถึงการ

ดำเนินธุรกิจที่จะมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตั้งแตการผลิตขั้นตน จนถึงขั้นปลาย การเลือกเทคโนโลยีการผลิตและกระบวนการ กำจัดของเสีย รวมถึงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทีจ่ ะสงเสริมการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจดวยความรอบคอบระมัดระวัง ไมใหสง ผลกระทบ ตอชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอม โดยมุง สนับสนุนกิจกรรมเพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวิตและเสริมสรางประโยชนสุขของชุมชน สังคม และ สิ่งแวดลอมที่บริษัทฯ เขาไปดำเนินธุรกิจอยางตอเนื่องตลอดมา โดยกำหนดใหความรับผิดชอบตอสังคมเปนหนึ่งใน PTTGC Core Values “GC-SPIRIT” คือ R = Responsibility for Society การรับผิดชอบ ตอสังคม โดยจัดทำแผนดำเนินงานดานกิจการเพือ่ สังคมใหสอดคลอง กับกลยุทธขององคกร การพัฒนาดานสังคมและการลงทุน เพื่อลด ผลกระทบในดานตางๆ กับชุมชนทีอ่ ยูร อบขาง กำหนดการปฏิบตั งิ าน ดานการพัฒนาอยางยั่งยืนตามหลักสากล อาทิ DJSI UNGC GRI ISO26000 โดยมีการติดตามผลการดำเนินงานดานการพัฒนาอยาง ยั่งยืน เพื่อใหสอดคลองกับการดำเนินธุรกิจและบรรลุวัตถุประสงค ตามเปาหมาย นอกจากนี้ ไดกำหนดใหมีการจัดทำรายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน และการดำเนินการดานความรับผิดชอบตอสังคมตามมาตรฐานสากล เปนฉบับแยกตางหากจากรายงานประจำป เพื่อใหผูถือหุน และ ผู เ กี่ ย วข อ งไดรับทราบและมั่นใจวาการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ไดคำนึงถึงปจจัยดานสิง่ แวดลอมและสังคมเพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน อีกทัง้ สงเสริมใหพนักงานไดมสี ว นรวมในการปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดี ที่ทำ ประโยชนใหกบั ชุมชนและสังคม ดวยการสนับสนุนใหเขารวมกิจกรรม กับสังคมและชุมชนรอบโรงงาน หรือกลุมผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของ โดยกำหนดใหการเขารวมกิจกรรมของพนักงานและการมีจติ อาสา เปนสวนหนึง่ ของการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน อาทิ การบำเพ็ญประโยชน และใหความชวยเหลือแกชุมชนและสังคมที่ไดรับความเดือดรอนและ ขาดแคลน การรวมกันบริจาคเงิน สิง่ ของ และการทำกิจกรรมตางๆ ของ พนักงาน ใหมปี ระสิทธิผลกอใหเกิดประโยชนสงู สุดตอชุมชนและสังคม นอกจากบริษทั ฯ จะไดใหความสำคัญตอผูม สี ว นไดเสียตามแนวปฏิบตั ิ ดังทีก่ ลาวมาขางตนแลว บริษทั ฯ ยังไดกำหนดแนวทางการดำเนินการ ในการแจงเบาะแส และการตรวจสอบขอมูล รวมทัง้ แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับ การชดเชย กรณีผมู สี ว นไดเสียไดรบั ความเสียหายจากการละเมิดสิทธิ อีกดวย


1 3 4

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักและใหความสำคัญกับคุณภาพ ของขอมูล และการเปดเผยขอมูลอยางเทาเทียมโปรงใสและ เปนธรรม ผานชองทางที่เขาถึงขอมูลไดงายและนาเชื่อถือ โดย ไดกำหนดนโยบายและกำกับดูแลใหการจัดทำและการเปดเผย ขอมูลทั้งที่เปนขอมูลทางการเงินและที่ไมใชทางการเงิน อยาง เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา โดยขอมูลที่เปดเผยจะตอง จั ด ทำขึ้ น อย า งรอบคอบ มี ค วามถู ก ต อ ง โปร ง ใส ชั ด เจน ตรวจสอบได และสม่ำเสมอ เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย ของบริษัทฯ เกิดความมั่นใจและไดรับขอมูลอยางเทาเทียมกัน ตามขอกำหนด กฎหมาย ขอบังคับบริษัทฯ และหนวยงาน ของรัฐที่เกี่ยวของ ดังนี้

ชองทางและสือ่ ตางๆ ทีห่ ลากหลาย และทบทวนใหเปนปจจุบนั อยางสม่ำเสมอ ไดแก วิสยั ทัศน พันธกิจ ลักษณะการประกอบ ธุรกิจ โครงสรางการจัดการ โครงสรางการถือหุน รายชื่อ กรรมการและผูบริหาร รายงานการดำเนินงานของบริษัทฯ หนังสือรับรองการจดทะเบียน ขอบังคับบริษทั ฯ นโยบาย/คูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจ การลงทุนใน โครงการทีส่ ำคัญ ขาวสารการดำเนินงานของบริษทั ฯ การดำเนิน โครงการเพื่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดลอมและความปลอดภัย นวัตกรรมซึ่งไดคิดคนขึ้นโดยคำนึงถึงผลกระทบตอสังคม ชองทางการรับขอรองเรียน และขอมูลการติดตอหนวยงาน ที่รับผิดชอบงานนักลงทุนสัมพันธ ฯลฯ 4.2 ชองทางการเปดเผยขอมูล

4.1 คุณภาพของขอมูล

บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลขาวสารตอผูถือหุน นักลงทุน และ สาธารณชนทัว่ ไปอยางรวดเร็ว ทันเวลา เชือ่ ถือได ครบถวน และ ถูกตอง เปนไปตามกฎหมายและระเบียบตางๆ ทัง้ นี้ การเปดเผย ขอมูลขาวสารตางๆ ของบริษทั ฯ ตอสาธารณะ ทัง้ ทีเ่ ปนขอมูล ทางการเงินและที่ไมใชทางการเงิน ดำเนินการดังนี้ บริษัทฯ ไดกำกับดูแลใหมีการจัดทำรายงานทางการเงิน ที่มีขอมูลถูกตองครบถวนเปนจริงตามมาตรฐานการบัญชี และผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีที่เปนอิสระ รวมถึง การเปดเผยคาสอบบัญชีของผูสอบบัญชี โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบไดดำเนินการตามเกณฑของ ก.ล.ต. และตลาด หลั ก ทรั พ ย ฯ อย า งถู ก ต อ งและครบถ ว น สอดคล อ งกั บ หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ม าโดยตลอดนั บ แต ก าร จัดตั้งบริษัทฯ การเปดเผยขอมูลกรรมการและผูบริหารที่เกี่ยวของกับการ ดำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยตามขอกำหนดของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ ไดแก รายงานการมีสว นไดเสีย ของกรรมการ ผู บ ริ ห าร และบุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ ง ตามกฎหมาย รายงานการถือหลักทรัพยและการเปลีย่ นแปลง การถือหลักทรัพย การรับทราบภาระหนาทีก่ ารรายงานการถือ หลักทรัพย รายงานการตรวจสอบ การควบคุมภายใน และการ บริหารความเสี่ยง การรับรองความเปนอิสระของกรรมการ อิสระ รายงานของคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง และรายงานการ ปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี รายงานตางๆ ตาม กฎหมายที่เกี่ยวของ ไดจัดทำอยางครบถวนระมัดระวังและ โปรงใส เปนไปตามหลักการ Fiduciary Duties บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลนอกเหนือจากสารสนเทศตางๆ ตามขอกำหนดของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ ใหแกผถู อื หุน และสาธารณชนทั่วไปไดรับทราบขาวสารของบริษัทฯ ผาน

บริษทั ฯ เปดเผยขอมูลตามขอกำหนดและมากกวาขอกำหนด ผานชองทางตางๆ ดังนี้ เผยแพรขอมูลผานทางระบบ SET Community Portal ของ ตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และไดปรับปรุงขอมูลในเว็บไซตใหเปน ปจจุบนั อยางสม่ำเสมอ พรอมกับจัดใหมชี อ งทางในการติดตอ กับหนวยงานตางๆ ไวอยางครบถวน การสื่อสารภายนอกองคกร ไดแก การเปดตัวโครงการตางๆ การให สั ม ภาษณ โ ดยผู บ ริ ห ารต อ สื่ อ มวลชนเพื่ อ เผยแพร วิสยั ทัศน กลยุทธ เปาหมาย และผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ไดดำเนินการอยางครบถวนและถูกตองตามแนวปฏิบัติเรื่อง การให ข อ มู ล ข า วสารและการแสดงความเห็ น แก บุ ค คล ภายนอก ตามที่กำหนดไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ การสื่อสารภายในองคกรเปนอีกหนึ่งชองทางที่บริษัทฯ ให ความสำคัญ โดยไดจดั ใหมกี ารเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามสำคัญ ตอพนักงานในบริษทั ฯ ผานระบบสือ่ สารภายในองคกรรูปแบบ ตางๆ ไดแก อีเมล อินทราเน็ต วารสารภายใน ปายประกาศ นิทรรศการ เพื่อใหพนักงานไดรับทราบกลยุทธ ทิศทาง นโยบาย ขาวสารภายในองคกร และเพือ่ นำไปใชประโยชนใน การดำเนินงานภายใตแนวปฏิบตั กิ ารใชขอ มูลภายในและการ รักษาขอมูลอันเปนความลับตามจรรยาบรรณธุรกิจ โดย หนวยงานและพนักงานที่รับผิดชอบจะรับทราบถึงหนาที่ของ ผูเปดเผยขอมูลและปฏิบัตติ ามดวยความซื่อตรง 4.3 หนวยงานรับผิดชอบในการเปดเผยขอมูล

หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) มีหนาที่ รับผิดชอบกำกับดูแลการเปดเผยขอมูลแกนักลงทุน โดยให ขอมูลและอำนวยความสะดวกในการติดตอรับขอมูลขาวสาร


1 3 5

กับบริษัทฯ เพื่อใหนักลงทุนไดรับขาวสารที่ถูกตอง ครบถวน และรวดเร็ว โดยในป 2555 มีการจัดกิจกรรมการเปดเผย ขอมูลแกนักลงทุนหลายรูปแบบ เพื่อแนะนำและใหขอมูล บริษัทฯ แกนักลงทุนในโอกาสตางๆ เชน การพบนักลงทุน ทั้ ง ในประเทศและต า งประเทศ จั ด ประชุ ม นั ก วิ เ คราะห ทางการเงิน การออกบูธในงาน SET in the City การเปดเผย ขอมูลผานชองทางของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของ บริษทั ฯ ตอบขอซักถามทางโทรศัพท / อีเมล สงจดหมายขาว ถึงผูถือหุนทุกราย นอกจากนี้ เพื่อเปนการเปดชองทางในการติดตอสื่อสารและ ใหขอ มูลเพิม่ เติมแกผถู อื หุน และนักลงทุน จึงไดเปดชองทางไว ในเว็บไซตของบริษัทฯ ในหัวขอ Investor Relations หรือ นักลงทุนสัมพันธ ประกอบดวยขอมูลของบริษทั ฯ ขอมูลสำหรับ ผูถือหุน นักลงทุน ขอมูลทางการเงิน เอกสารเผยแพรตางๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดตอรับขอมูลขาวสารกับ หนวยงาน อีกทั้งไดเปดชองทางในการติดตอกับหนวยงาน ทางอี เ มล : ir@pttgcgroup.com เพื่ อ ส ง คำถามหรื อ ขอสงสัยตางๆ เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของบริษัทฯ หน ว ยงานสื่ อ สารและภาพลั ก ษณ อ งค ก ร (Corporate Communication and Branding) ทำหนาที่ประชาสัมพันธ และเผยแพรขอ มูลขาวสาร เหตุการณความเคลือ่ นไหวกิจกรรม ทางธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ใหแกสื่อมวลชนทุกแขนงและ ประชาชนทัว่ ไป อาทิ ผูบ ริหารระดับสูงใหสมั ภาษณพิเศษตอ สือ่ มวลชนกลุม ตางๆ ไดแก สือ่ โทรทัศน สือ่ สิง่ พิมพ และนิตยสาร เพือ่ ใหขอ มูลโครงสราง/ ทิศทางการดำเนินธุรกิจและวิสยั ทัศน ขององคกร การสงภาพขาว (Photo Release) ขาวแจก (Press Release) และปฏิทนิ ขาว (Calendar News) ใหแกสอื่ มวลชน ทั้งสวนกลางและทองถิ่นเพื่อเผยแพรตอสาธารณชน หนวยงานกิจการเพื่อสังคม (CSR) ไดจัดทำรายงานการ พัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainability Report) ประจำป 2555 ตามมาตรฐานสากล Global Reporting Initiative (GRI) โดยไดรับการรับรองดวยมาตรฐานขั้นสูงสุดในระดับ A+ เพื่อ เผยแพรใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมไดรับทราบถึงการดำเนิน ธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบของบริษัทฯ กิจกรรมดานการ พัฒนาสังคม การเปดบานพบชุมชนเพือ่ ชีแ้ จงการดำเนินธุรกิจ ของกลุมบริษัทฯ ทำความรูจักและคุนเคยกับคณะผูบริหาร ชีแ้ จงถึงนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมของกลุม บริษทั ฯ เสริมสรางความเขาใจและความสัมพันธอันดีระหวางบริษัทฯ และชุมชน รวมถึงผูม สี ว นไดเสียในพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังเปนชองทาง ในการรับฟงความคิดเห็นของชุมชนผูม สี ว นไดเสีย เพือ่ จัดทำ แผนปฏิบัติการปรับปรุงแกไขการดำเนินธุรกิจองคกรดาน

ความรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนการลงพื้นที่เพื่อพูดคุย สอบถามชี้แจงใหแกชุมชนไดรับทราบถึงโครงการและการ ดำเนินงานตางๆ ทั้งดานการศึกษา และการสาธารณสุขของ กลุมบริษัทฯ รวมถึงการแจงขาวประชาสัมพันธกิจกรรมเพื่อ ใหชมุ ชนไดเขามามีสว นรวม เชน การมอบทุนพยาบาล โครงการ ติวนองเขามหาวิทยาลัย “ติวเตอรเพื่อนชุมชน” โครงการให ความรูแกเยาวชน “เปดประตูสูประชาคมอาเซียน” และ โครงการหนวยแพทยเคลื่อนที่ ฯลฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจัดใหมีชองทางสื่อสารที่สะดวก รวดเร็วผานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรืออีเมล ซึ่งได เผยแพรไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ ภายใตหัวขอ “การกำกับ ดูแลกิจการที่ดี” โดยผูถือหุน นักลงทุนและประชาชนทั่วไป สามารถติดตอถึงประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการได โดยตรง หรือติดตอเลขานุการบริษทั เพือ่ ติดตอสอบถามขอมูล เกีย่ วกับบริษทั ฯ ที่ e-mail address : cg@pttgcgroup.com 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ถือเปนหัวใจสำคัญของการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทสำคัญในการ กำกับดูแลกิจการเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ การแสดง ความรับผิดชอบตอหนาทีแ่ ละผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ จึงเปนหลักสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี โครงสรางการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละขอบเขตอำนาจหนาทีข่ อง คณะกรรมการ อันประกอบดวย องคประกอบ คุณสมบัติ การแตงตัง้ บทบาทหนาที่ การดำรงตำแหนง และการดำเนินงานของกรรมการ ผูบ ริหาร และผูป ฏิบตั งิ าน ไดรบั การกำหนดไวอยางชัดเจน รวมทัง้ การกำหนดนโยบาย ขอบังคับ ระเบียบวิธีปฏิบัติ และคูมือการ ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการดำเนินธุรกิจไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกัน โดยมีหนวยงาน ตรวจสอบภายในซึ่ ง มี บ ทบาทหน า ที่ ต ามที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบการดำเนินงาน เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ ไดดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด เป น ไปตามกฎหมายและข อ กำหนดที่ เ กี่ ย วข อ งได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ


1 3 6

โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ไดปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต โปรงใส รอบคอบ ระมัดระวัง และเขาใจถึงบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบทีอ่ ยูบ นพืน้ ฐานของกฎหมาย ขอกำหนด กฎเกณฑ ขอบังคับบริษัท มติที่ประชุมผูถือหุน และหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี ไมกระทำการใดที่เปนการขัดหรือแยงกับผลประโยชน ของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนและนักลงทุนเกิดความมั่นใจ 5.1 โครงสรางและองคประกอบของคณะกรรมการ

ประกอบไปดวย กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการ เฉพาะเรือ่ ง ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ ดั การใหญ และเลขานุการบริษัท โดยมีบทบาทหนาที่ที่แสดงใหเห็นถึง การตรวจสอบและถวงดุลระหวางกัน ดังนี้ 5.1.1 กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ฯ มีจำนวน 15 คน ประกอบดวย กรรมการ ที่ไมเปนผูบริหาร 4 คน กรรมการที่เปนผูบริหาร (ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร, กรรมการผูจ ดั การใหญ) 2 คน และกรรมการ อิสระ 9 คน ซึ่งจำนวนกรรมการอิสระมีเกินกวากึ่งหนึ่งของ กรรมการทั้งคณะตามเกณฑ ก.ล.ต. และในจำนวนนี้มี กรรมการอิสระทีเ่ ปนเพศหญิงรวมอยูใ นองคคณะดวย 1 คน องคประกอบของคณะกรรมการมีความหลากหลายจากสาขา อาชีพตางๆ กรรมการบริษัทฯ ทุกทานเปนผูทรงคุณวุฒิที่มี ความรู ความสามารถ และประสบการณทั้งดานปโตรเลียม ปโตรเคมี พลังงาน บริหารจัดการ บัญชีและการเงิน กฎหมาย ความมัน่ คง และการตรวจสอบ เพือ่ ผสานความรูค วามสามารถ คุณสมบัตแิ ละประสบการณมาใชใหเปนประโยชนตอ บริษทั ฯ โครงสรางของคณะกรรมการบริษัทฯ ทำใหสามารถปฏิบัติ หนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ และไดเปดเผยชื่อ ประวัติ วุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ การถือครองหลักทรัพยในบริษทั ฯ ผานชองทางตางๆ ไดแก รายงานประจำป แบบ 56-1 และ เว็บไซตบริษัทฯ อีกทั้งไดกำหนดองคประกอบและคุณสมบัติ ของกรรมการไวเปนลายลักษณอกั ษรในขอบังคับบริษทั ฯ และ คูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยไดเผยแพรไว บนเว็บไซตของบริษัทฯ เชนกัน ประธานกรรมการ ไมเปนบุคคลคนเดียวกับประธานเจาหนาที่ บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ โดยแบงแยกบทบาท หนาที่อยางชัดเจน รวมทั้งประธานกรรมการไมเปนสมาชิก ในคณะกรรมการเฉพาะเรือ่ งทุกคณะ ทำใหประธานกรรมการ สามารถแสดงความคิดเห็นตอการดำเนินงานและปฏิบัติ หนาที่ดวยความเปนอิสระภายใตนโยบายที่คณะกรรมการ ได ก ำหนดร ว มกั น เพื่ อ ประโยชน ข องบริ ษั ท ฯ ผู ถื อ หุ น และประเทศชาติเปนสำคัญ นอกจากนี้ ขอบังคับบริษทั ฯ และ คูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ยังไดกำหนดอำนาจหนาทีข่ อง

คณะกรรมการและคณะจัดการไวเปนลายลักษณอักษร เพื่อ ประโยชนในการกำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการ ปฏิบตั หิ นาทีอ่ ยางชัดเจน เพือ่ ใหบรรลุเปาหมายทางธุรกิจของ บริษทั ฯ ไดแก วิสยั ทัศน ภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน การบริหารความเสี่ยง แผนงาน และงบประมาณ โดยในการ ปฏิบตั งิ านจะตองผานการพิจารณาและกลัน่ กรองจากคณะจัดการ (Management Committee) อันประกอบดวยผูบริหาร ระดับสูงกอนนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา ซึง่ คณะ กรรมการไดตดิ ตามดูแลใหคณะจัดการดำเนินงานและรายงาน ผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายและแผนงานดังกลาวอยางสม่ำเสมอ 5.1.2 กรรมการอิสระ ในการพิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ ค วามเป น อิ ส ระของกรรมการ อิสระนัน้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดพจิ ารณาทัง้ จากการดำรง ตำแหนงที่ผานมาในอดีตและปจจุบัน รวมถึงความสัมพันธ ทางธุรกิจกับบริษัทฯ ตามหลักเกณฑของ ก.ล.ต. และตลาด หลักทรัพยฯ โดยกรรมการอิสระของบริษทั ฯ มีจำนวนทัง้ หมด 9 คน ซึง่ มากกวา 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ คณะ และมีจำนวน มากกวาเกณฑท่กี ฎหมายกำหนด กรรมการอิสระไดปฏิบัติหนาที่โดยคำนึงถึงประโยชนของ ผูมีสวนไดเสียทุกฝายอยางเทาเทียม บริษัทฯ กำหนดนิยาม ของกรรมการอิสระไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่ง สอดคลองกับขอกำหนดของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ รวมทั้งไดพิจารณากำหนดหลักเกณฑสัดสวนการถือหุนของ กรรมการอิสระใหเขมกวา โดยกำหนดใหถอื หุน ไมเกินรอยละ 0.5 (ก.ล.ต. กำหนดรอยละ 1) และตองรับรองคุณสมบัติ ความเปนอิสระของตนเองตามเกณฑที่กำหนดขางตนเปน ประจำทุกสิ้นป โดยในป 2555 กรรมการอิสระไดจัดใหมีการประชุมรวมกัน เฉพาะกรรมการอิสระ จำนวน 1 ครัง้ ตามหลักการกำกับดูแล กิ จ การที่ ดี โดยในการประชุ ม ซึ่ ง นั บ เป น ครั้ ง แรกนั บ แต การควบบริษัท ไดจัดใหมีการบรรยายโดยผูทรงคุณวุฒิจาก ภายนอก และกรรมการอิสระไดรวมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ในหัวขอ “การปฏิบตั หิ นาทีข่ องกรรมการอิสระ” ในประเด็น ตางๆ อาทิ การใหความคิดเห็น / ขอเสนอแนะในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดอยางเปนอิสระ การรักษาผลประโยชน และการดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวาง บริษทั กับผูม สี ว นไดเสีย การดูแลใหมรี ะบบควบคุมภายในและ การบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ เปนตน


1 3 7

นอกจากนี้ ในการประชุมดังกลาว กรรมการอิสระไดเลือกและ แตงตัง้ ให พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวฒั น เปนประธานกรรมการอิสระ และเพือ่ ใหการปฏิบตั หิ นาทีข่ องกรรมการอิสระมีความชัดเจน และเปนรูปธรรม ที่ประชุมกรรมการอิสระไดจัดทำกฎบัตร กรรมการอิสระขึ้นเปนลายลักษณอักษรอีกดวย 5.1.3 คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง เพือ่ ใหการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษทั ฯ บรรลุ เปาหมายสูงสุด คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการ เฉพาะเรื่องเพื่อทำหนาที่ศึกษากลั่นกรอง ตลอดจนกำหนด หลักเกณฑตา งๆ เปนการเฉพาะเรือ่ ง พรอมทัง้ จัดใหมกี ฎบัตร ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะเปนลายลักษณอักษร โดยเปดเผยไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเว็บไซต ของบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่องทุกคณะ ยังไดรายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทฯ อยางสม่ำเสมอ รวมทั้งรายงานการปฏิบัติหนาที่ในรอบป ที่ผานมาตอผูถือหุน โดยเปดเผยไวในรายงานประจำป (1) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด ว ย กรรมการอิ ส ระจำนวน 3 ท า น มี ว าระ การดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป โดยทุกทานเปนผูที่มีความรู และประสบการณ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถทำหน า ที่ ใ นการ สอบทานความนาเชือ่ ถือของงบการเงิน มีขอบเขตอำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ สอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดเชิญผูสอบบัญชีเขารวมประชุม ดวยทุกครัง้ โดยผูส อบบัญชีไดแสดงความเห็นตอรายงานทาง การเงินใหคณะกรรมการตรวจสอบไดรบั ทราบ และไดบนั ทึก ความเห็นรวมทั้งขอสังเกต / ขอเสนอแนะไวในรายงานการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (2) คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ประกอบดวย กรรมการบริษทั ฯ จำนวน 3 ทาน กรรมการ 2 ทาน เป น กรรมการอิ ส ระ มี ว าระการดำรงตำแหน ง คราวละ 3 ป ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนเปน กรรมการอิสระ ปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายในการ พิจารณาหลักเกณฑและแนวทางการกำหนดคาตอบแทน ใหแกกรรมการบริษัท และประธานเจาหนาที่บริหาร รวมทั้ง กำหนดหลักเกณฑหรือวิธีการสรรหาคัดเลือกบุคคลตาม กระบวนการสรรหาอยางโปรงใส และพิจารณาหลักเกณฑ / รูปแบบการจายคาตอบแทนแกกรรมการบริษัท และประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร ดวยความโปรงใสและสมเหตุสมผล เปรียบเทียบ ไดกับกลุมธุรกิจเดียวกัน

(3) คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ประกอบดวย กรรมการบริษัทฯ จำนวน 4 ทาน โดยประธาน กรรมการกำกับดูแลกิจการ และกรรมการอีก 2 ทานเปน กรรมการอิสระ มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป ปฏิบตั ิ หนาที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายในการ พิจารณากำหนดแนวทาง เสนอแนะแนวนโยบาย/ แนวปฏิบตั ิ เกี่ยวกับจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจตามระบบการ กำกับดูแลกิจการที่ดีตอคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะ จัดการ ตลอดจนกำกับดูแลใหคำปรึกษา ประเมินผลและ ทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี เพื่อพัฒนาแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ให ส อดคล อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ ข องสำนั ก งาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพยฯ และองคกรชั้นนำอยางครบถวน และ ยกระดับระบบการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สูมาตรฐาน สากลตอไป (4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบดวย กรรมการบริษทั ฯ จำนวน 3 ทาน กรรมการ 1 ทาน เปนกรรมการอิสระ มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป ปฏิบัติหนาที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมาย เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางในการ บริหารความเสีย่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กำกับดูแลใหมรี ะบบหรือ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบตอ ธุรกิจของบริษัทฯ อยางเหมาะสม รวมทั้งการติดตามและ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ต ามกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพือ่ ใหมนั่ ใจวาบริษทั ฯ มีการจัดการความเสีย่ งทีเ่ พียงพอและ เหมาะสม 5.1.4 เลขานุการบริษัท เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 89/15 ของ พ.ร.บ.หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 แกไขโดย พ.ร.บ.หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ฉบับที่ 4 พ.ศ.2551 คณะกรรมการ บริษัท ฯ ไดแต งตั้งใหนางวลั ยพร บุษปะเวศ ตำแหนง ผูจัดการฝาย หนวยงานกำกับองคกรและเลขานุการบริษัท สังกัดสายงานกิจการองคกร ดำรงตำแหนงเลขานุการบริษัท เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงทำหนาที่ กำกั บ ดู แ ลให บ ริ ษั ท ฯ และคณะกรรมการมี ก ารปฏิ บั ติ ที่สอดคลองและเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับที่เกี่ยวของ ตลอดจนมติที่ประชุมคณะกรรมการ/ ผูถือหุน และหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนั้น ยังสนับสนุนการจัดให กรรมการ / ผูบ ริหารไดรบั ความรูแ ละเขาอบรมหลักสูตรตางๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ ก รรมการและกรรมการ


1 3 8

เฉพาะเรื่อง รวมถึงการรายงานใหกรรมการผูบริหารไดทราบ ถึงการแกไขเปลี่ยนแปลงขอกำหนดกฎเกณฑตางๆ และ ทำหนาที่เก็บรักษาเอกสารสำคัญตามกฎหมาย โดยสามารถ ติดตอกับเลขานุการบริษทั ไดท่ี email : cg@pttgcgroup.com 5.2 วาระการดำรงตำแหนงกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดกำหนดวาระการดำรงตำแหนงของ กรรมการไวในขอบังคับของบริษทั ฯ โดยกรรมการมีวาระการ ดำรงตำแหนงในแตละวาระคราวละ 3 ป สอดคลองกับ พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได ตระหนั ก ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นฐานะ กรรมการบริษทั ฯ จึงใหความสำคัญกับจำนวนบริษทั ทีก่ รรมการ ไปดำรงตำแหนงไมใหมากเกินไป โดยไดกำหนดนโยบายการ ดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นใหเหมาะสม และสอดคลองกับเกณฑ Asean CG Scorecard ซึ่งเปน มาตรฐานสากล รวมถึ ง สภาพธุ ร กิ จ ป จ จุ บั น ตลอดจน เพื่ อ ให ก ารพั ฒ นาความรู ความสามารถ และการนำ ประสบการณจากธุรกิจอื่นที่หลากหลายมาใชประโยชนตอ บริษัทฯ โดยกรรมการบริษัทฯ ควรดำรงตำแหนงกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนไมเกิน 5 บริษัท และดูแลไมใหมจี ำนวน มากเกินไป โดยพิจารณาความสามารถในการอุทิศเวลาใน การปฏิบัติหนาที่เปนสำคัญ ซึ่งบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลการ ดำรงตำแหนงกรรมการในบริษทั อืน่ ของกรรมการแตละรายไว ในรายงานประจำป และแบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซตของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ในการไปดำรงตำแหนงกรรมการในบริษทั อืน่ ของประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ ดั การใหญ ตลอดจนผูบ ริหาร ระดับสูงนั้น ก็ไดพจิ ารณาการดำรงตำแหนงใหเหมาะสมกับ ลักษณะและสภาพธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการดูแลธุรกิจที่ เขาไปลงทุนเปนสำคัญเชนกัน 5.3 บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ในฐานะตัวแทนของผูถือหุน มีความ สำคัญในการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน กลยุทธ และทิศทาง ในการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนกำกับดูแลและติดตามการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของการวิเคราะห ปจจัยตางๆ ทั้งภายในและภายนอกองคกรที่จะมีผลตอการ ดำเนินธุรกิจ ตลอดจนความคาดหวังจากผูมีสวนไดเสีย กลุมตางๆ เพื่อเปนแนวทางการดำเนินงานใหบรรลุวัตถุ ประสงค อันจะทำใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทฯ และ ผูถือหุนทุกราย บริษัทฯ จึงกำหนดบทบาทหนาที่และหลัก ปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ เพิ่มเติมจากที่กฎหมาย กำหนด ไดแก

ดานการกำหนดนโยบายและกลยุทธทางธุรกิจ : เพือ่ ทำหนาทีใ่ ห ความเห็นชอบในเรื่องที่สำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานของ บริษทั ฯ เชน วิสยั ทัศน ภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยงแผนงานและงบประมาณ ตลอดจนกำกับดูแล การปฏิบัติงานของคณะจัดการใหบรรลุตามเปาหมายและ แผนงานทีก่ ำหนด ดานการกำกับดูแลเพื่อสรางมูลคากิจการ : เพื่อทำหนาที่การ กำหนดนโยบายใหครอบคลุมทั้งองคกร และกำกับดูแลใหมี ระบบหรือกระบวนการในการบริหารจัดการความเสี่ยงอยาง เหมาะสม รวมถึงมีมาตรการรองรับและควบคุมเพื่อลด ผลกระทบตอธุรกิจและใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนกับ ธุรกิจของบริษัทฯ ดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี : เพื่อปฏิบัติหนาที่ในการ กำกับดูแลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคขอ บังคับและมติทปี่ ระชุมผูถ อื หุน อยางเครงครัด กำหนดนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณ ธุรกิจของบริษทั ฯ ตลอดจนนโยบายกำกับดูแลการปฏิบตั งิ าน กำกั บ ดู แ ลให มี แ นวปฏิ บั ติ ใ นการควบคุ ม ภายใน และ การสอบทานทีด่ แี ละเปนอิสระ ดูแลใหบริษทั ฯ เปดเผยขอมูล สำคัญทีเ่ กีย่ วของกับบริษทั ฯ และรักษาผลประโยชน / สิทธิของ ผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน ดูแลรายการทีอ่ าจกอใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชนใหมีความเปนธรรมโปรงใส เพือ่ ประโยชนของบริษทั ฯ และผูถ อื หุน โดยรวม อีกทัง้ สนับสนุน การพัฒนาบุคลากรใหมีความเขาใจมีจิตสำนึกปฏิบัติตาม แนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ดานการสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคม สิง่ แวดลอม และสิทธิ มนุษยชน : เพื่อใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมควบคูไปกับการสงเสริม ความเปนอยูที่ดีขึ้นอยางยั่งยืนของสังคมไทย ยกระดับชีวิต ความเปนอยูข องประชาชนในชุมชนรอบโรงงานใหดขี นึ้ และมี สวนรวมในการแกปญ หาและลดผลกระทบทีช่ มุ ชนไดรบั อยาง จริงจัง เคารพในหลักสิทธิมนุษยชน และการใชแรงงานอยาง เปนธรรม เพือ่ ใหชมุ ชนและโรงงานสามารถอยูร ว มกันไดอยาง ยั่งยืน ซึง่ ทีผ่ า นมา คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความ รับผิดชอบเพื่อเปนแบบอยางใหพนักงานทุกระดับยึดมั่นเปน แนวทางในการปฏิบตั งิ าน และสรางความมัน่ ใจใหแกผถู อื หุน และนักลงทุนทั่วไปอยางเต็มความสามารถ


1 3 9

5.4 การสรรหาและแตงตั้งกรรมการ

เพือ่ ใหการสรรหาและแตงตัง้ กรรมการบริษทั ฯ ดำเนินการอยาง มีหลักเกณฑและโปรงใส เปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการ ทีด่ แี ละสอดคลองกับแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี คณะกรรมการสรรหาและ กำหนดคาตอบแทนจึงไดกำหนดหลักเกณฑการพิจารณา บุคคลที่สมควรไดรับการเสนอชื่อเพื่อแตงตั้งเปนกรรมการ บริษทั ไวดงั นี้ การเสนอแตงตัง้ กรรมการรายใหม จะพิจารณา จากองคประกอบตางๆ ไดแก การมีคณุ สมบัตสิ อดคลองตาม กฎหมายและขอกำหนดทีเ่ กีย่ วของ การเปนผูท รงคุณวุฒทิ ม่ี ี ความรูค วามสามารถและประสบการณทหี่ ลากหลายในสาขา วิชาชีพตางๆ ที่เปนประโยชนกับการปฏิบัติหนาที่กรรมการ เพื่ อ ผสานความรู ค วามสามารถที่ เ ป น ประโยชน แ ก ก าร ดำเนินงานของบริษัทฯ การมีสวนไดเสียหรือความขัดแยง ทางผลประโยชนทอี่ าจมีกบั บริษทั ฯ ในกรณีทกี่ ารเสนอแตงตัง้ กรรมการรายเดิม จะพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผานมา และกรณีเสนอแตงตัง้ เปนกรรมการอิสระจะพิจารณาเพิม่ เติม ในเรื่องคุณสมบัติความเปนอิสระของกรรมการ นอกจากนี้ ได ก ำหนดให ผู ที่ ไ ด รั บ การเสนอชื่ อ เป น กรรมการจะต อ ง ใหความยินยอมในการเสนอชือ่ เพือ่ พิจารณาเปนกรรมการดวย 5.5 นโยบายการกำกับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ

คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดจดั ใหมนี โยบายการกำกับดูแลกิจการ คูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณธุรกิจ ทีม่ เี นือ้ หา แนวปฏิบัติและหลักเกณฑตางๆ ที่สอดคลองกับมาตรฐาน สากล โดยคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไดติดตามใหมี การปฏิบัติตามแผนงานกำกับดูแลกิจการที่ดี และประเมิน ประสิทธิผลการปฏิบตั งิ านตามหลักการกำกับดูแลกิจการของ บริษทั ฯ และเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ตี ามหลักการกำกับ ดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ และ มาตรฐานสากล ผานการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแล กิจการเปนประจำ พรอมทัง้ รายงานการติดตามผลการปฏิบตั ิ ตามนโยบายการกำกับดูแลกิจการตอคณะกรรมการบริษัทฯ และเปดเผยตอผูถือหุนในรายงานประจำป ฯลฯ ตามแผนงานกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ไดกำหนดให มีการประเมินและวัดผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการ ประเมินผล การรั บ รู แ ละการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ที่ดีของพนักงาน ตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติตาม หลักเกณฑของหนวยงานอืน่ ๆ อาทิ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพยฯ IOD และสมาคมสงเสริมผูล งทุนไทย เพือ่ วัดประสิทธิภาพการ ปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และผลักดันให ยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ สูมาตรฐาน สากล

คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดกำกับดูแลใหมกี ารสือ่ ความนโยบาย การกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจใหครอบคลุม ทั้งภายในและภายนอกองคกร เพื่อสื่อสารกับพนักงานและ กลุมผูมีสวนไดเสียผานกิจกรรมและสื่อตางๆ ของบริษัทฯ ไดแก การประกาศใชนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี การสงมอบคูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณธุรกิจ ให แ ก ก รรมการผู บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนของบริ ษั ท ฯ และบริษทั ในกลุม รวมทัง้ จัดใหมกี ารปฐมนิเทศกรรมการและ พนักงานเขาใหมทุกราย เพื่อรับทราบและเขาใจในหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และจัดกิจกรรมสงเสริม การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ดีภายในองคกร เพื่อสรางความรู ความเขาใจของพนักงานและสามารถนำไปใชในการปฏิบตั งิ าน ไดจริง และยังไดจัดทำ “คูมือจรรยาบรรณธุรกิจ” เพื่อ สงมอบใหแกผมู สี ว นไดเสีย อาทิ ลูกคา คูค า เจาหนี้ บริษทั รวมทุน และหน ว ยงานอื่น ที่เ กี่ย วข อ ง และเผยแพร ใ ห กับ ผูส นใจ ทั่วไป ผานเว็บไซตบริษัทฯ รวมถึงจัดทำ “PTTGC Suppliers Code of Conduct” หรือ “จริยธรรมในการดำเนินธุรกิจของ ผูผลิตผูจัดหาสินคาวัตถุดิบและบริการ” เพื่อสงมอบใหกับ คูคาและพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความมุง มัน่ ในการดำเนินธุ ร กิ จ อย า งมี จ รรยาบรรณของกลุ ม บริ ษั ท ฯ และมุ ง หวั ง ให ผู ร ว มดำเนิ น ธุ ร กิ จ ต า งยึ ด มั่ น ในหลั ก การ เดียวกันดวย ในทุกป บริษัทฯ และบริษัทในกลุม ปตท. ไดรวมกันจัดงาน PTT Group CG Day โดยมีจุดประสงคในการนำหลักการ กำกับดูแลกิจการทีด่ มี าเผยแพรแกพนักงานและปรับใชในการ ดำเนินธุรกิจอยางยั่งยืนรวมกัน ซึ่งกิจกรรมดังกลาวเปน กิ จ กรรมที่ บ ริ ษั ท จดทะเบี ย นในกลุ ม ปตท. ได จั ด มา อย า งต อ เนื่ อ ง และได รั บ ความร ว มมื อ และความสนใจ จากพนักงานเปนอยางมาก โดยในป 2555 บริษัทฯ ไดเปน เจาภาพจัดงานดังกลาวภายใตแนวคิด “Surfing the Global Wave” ซึง่ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไดใหความสำคัญ และเขารวมงานดังกลาวดวย 5.6 นโยบายการกำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ และ บริษัทในกลุมฯ (Compliance Policy)

บริ ษั ท ฯ ให ค วามสำคั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของ และที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณธุรกิจทีเ่ ปนสากล และเพือ่ เปนการแสดงออกโดย ชัดแจงและเปนทางการของการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ทีเ่ ปนรูปธรรม ในป 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงไดกำหนด นโยบายการกำกั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านขึ้ น โดยมี เ นื้ อ หา


1 4 0

ประกอบไปดวยหลัก 7 ประการ ไดแก 1. นโยบายการสนับสนุนการแขงขันอยางเปนธรรม และไม กระทำการอั น เป น การฝ า ฝ น การป อ งกั น การผู ก ขาด (Antitrust Law / Competitive Law Policy) 2. นโยบายการปองกันและตอตานการทุจริต การใหหรือ รับสินบน (Anti-Corruption and Anti-Bribery Policy) 3. นโยบายการเคารพสิทธิมนุษยชน (Human Rights Policy) 4. นโยบายการคุ ม ครองสิ ท ธิ ใ นทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา (Intellectual Property Policy) 5. นโยบายการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและ ต อ ต า นการสนั บ สนุ น ทางการเงิ น แก ก ารก อ การร า ย (Anti-Money Laundering and Combating the Financing of Terrorism Policy) 6. นโยบายการปกปองรักษาและการใชอยางถูกตองซึง่ ขอมูล ขาวสาร (Confidentiality of Information Policy) 7. นโยบายการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ (Other Laws, Rules and Regulations which Concern Business of PTTGC and PTTGC Group Policy) ทัง้ นี้ เพือ่ เปนการสนับสนุนมาตรการปองกันและลดความเสีย่ ง จากการไมปฏิบตั งิ านตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ใหกบั บริษทั ฯ และบริษัทในกลุมและยังชวยสงเสริมการรับรูใหกับบุคคล ภายนอกไดรับทราบถึงความมุงมั่นของบริษัทฯ ที่จะเคารพ และปฏิบัติงานตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ในทุกภูมิภาค ที่บริษัทฯ และบริษัทในกลุมไดเขาไปดำเนินธุรกิจ ตลอดจน เปนเครื่องมือในการชวยใหการปฎิบัติงานของกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงาน ตลอดจนการดำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษัทในกลุมเปนไปในทิศทางเดียวกัน 5.7 การประกาศเจตนารมณแนวรวมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการตอตาน การทุจริต

ในป 2555 บริษทั ฯ ไดรว มประกาศเจตนารมณแนวรวมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต ทีส่ มาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รวมกับหอการคาไทย สมาคมธนาคารไทย หอการคาตางชาติ และสมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย ซึ่งจะเปนมาตรฐานรวมดานจริยธรรมของ ภาคธุรกิจในการแสดงความมุงมั่นที่จะรวมมือในการปองกัน และตอตานการทุจริต นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกำหนดแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการตอตานทุจริตไวในคูมือ การกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ รวมถึงได กำหนดให น โยบายการป อ งกั น และต อ ต า นการทุ จ ริ ต

การใหหรือรับสินบน (Anti-Corruption and Anti-Bribery Policy) เปนหนึ่งในหลักสำคัญ 7 ประการ ภายใตนโยบาย การกำกับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ และบริษทั ในกลุม ฯ (Compliance Policy) โดยถือวาการกระทำใดๆ ที่เปนการ ฝ า ฝ น กฎหมายว า ด ว ยการป อ งกั น และต อ ต า นการทุ จ ริ ต (Corruption) และการใหหรือรับสินบน (Bribery) กับเจาหนาที่ ของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐตางประเทศ หรือเจาหนาที่ ของหนวยงานภาคเอกชน เปนสิ่งที่ไมถูกตองและไมเปนไป ตามนโยบายดังกลาว บุคลากรทุกระดับจะตองตอตานและ ละเวนการกระทำเชนนั้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดสื่อสาร / เผยแพร ตลอดจนจั ด กิ จ กรรมที่ ส อดคล อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ ดั ง กล า ว ให พ นั ก งานภายในบริ ษั ท ฯ และผู ร ว มธุ ร กิ จ ได รั บ ทราบ นโยบายดังกลาวของบริษัทฯ รวมกันดวย 5.8 การควบคุมและตรวจสอบภายใน

5.8.1 การควบคุมภายใน บริษัทฯ ใหความสำคัญตอการจัดใหมีการควบคุมภายใน ที่เพียงพอและมีประสิทธิผล สอดคลองกับสภาพแวดลอม และลั ก ษณะการดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ มี ความรับผิดชอบตอการควบคุมภายใน ดังนี้ คณะกรรมการ: สอบทานใหบริษทั ฯ มีระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล ผูบริหารระดับสูง: จัดใหมีระบบการควบคุมภายใน และ ปลูกฝงใหพนักงานมีความรูความเขาใจ มีทัศนคติที่ดี และ ใหความรวมมือปฏิบัติตามการควบคุมภายในที่กำหนดขึ้น ผูบริหารระดับกลาง : จัดวางการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วของกับ งานที่รับผิดชอบ จัดใหมีการประเมินผล ปรับปรุง สอบทาน และควบคุมใหมีการปฏิบัติตามการควบคุมภายใน พนักงานทุกระดับ: ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง และการควบคุมภายในของบริษัทฯ การควบคุมภายในของบริษัทฯ นำแนวทางการปฏิบัติที่เปน มาตรฐานสากลมาปรับใช ซึ่งมีองคประกอบที่สำคัญ ไดแก สภาพแวดลอมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรม ควบคุม สารสนเทศ และการสือ่ สาร และกิจกรรมการติดตาม เพื่อใหม่ันใจตอการบรรลุวัตถุประสงคดานการดำเนินงาน การรายงาน และการปฏิบัติตามขอกำหนดและกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วของ โดยบริษทั ฯ ไดเปดเผยรายงานการควบคุมภายใน ไวในรายงานประจำป


1

5.8.2 การตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ไดจัดโครงสรางใหมีหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึง่ มีความเปนอิสระโดยรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดกำกับดูแลใหหนวยงานตรวจสอบ ภายในปฏิบัติงานอยางอิสระ เที่ยงธรรม และมีจรรยาบรรณ ที่ดีตามที่ระบุในกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน และเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน เพือ่ ทำ หนาที่ในการสอบทานและประเมินความเพียงพอ และความ มีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน เพื่อใหการปฏิบัติ หนาทีข่ องหนวยงานตางๆ สามารถสนับสนุนใหองคกรบรรลุ วัตถุประสงค และมีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมตาม สภาพแวดลอมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง หนวยงานตรวจสอบภายใน มีการวางแผนงานตรวจสอบภายใน ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาวสอดคลองกับทิศทางกลยุทธทางธุรกิจ และความเสี่ยงขององคกร การตรวจสอบมุงเนนการใหขอ เสนอแนะเชิงปองกัน หรือการปรับปรุงกระบวนการ / กิจกรรม เพือ่ ใหเกิดมูลคาเพิม่ ตอบริษทั ฯ มีการรายงานผลการตรวจสอบ และการติดตามผลการปฏิบตั ติ ามขอเสนอแนะแกคณะกรรมการ ตรวจสอบเปนประจำทุกไตรมาส ขอตรวจพบไดรบั ความรวมมือ เปนอยางดีจากฝายจัดการและมีการดำเนินการแลวเสร็จตามแผน นอกเหนือจากการประเมินระบบควบคุมภายในโดยการตรวจสอบ ตามแผนงานตรวจสอบคณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทาน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ และรายงาน ตอคณะกรรมการบริษทั ฯอยางนอยปละ 1 ครั้ง ดานการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐาน สากล บริษัทฯ ไดจัดจางบริษัทที่ปรึกษาที่มีความเปนอิสระ เพือ่ ทำการประเมินความพรอมรับการประเมินจากหนวยงาน ภายนอก ซึง่ ผลการประเมินพบวา การดำเนินงานอยูใ นระดับ ที่เปนมาตรฐานในธุรกิจที่ใกลเคียงกัน อีกทั้งไดสรางกรอบ แนวทางประกันคุณภาพ และพัฒนางานตรวจสอบภายใน ตลอดจนการพัฒนาเครื่องมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่ง ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพงานตรวจสอบภายใน เพือ่ รักษาระดับงาน ตรวจสอบภายในใหเปนไปตามมาตรฐานสากล และปรับปรุง การปฏิบัติงานใหมีการเพิ่มประสิทธิภาพอยางสม่ำเสมอ มีการสงเสริมใหผูบริหารของบริษัทฯ มีความรูความเขาใจ ดานการควบคุมภายในที่ดี โดยการจัดสัมมนาแกผูบริหาร เพื่อทบทวนและทำความเขาใจระบบการควบคุมภายในที่ดี รวมทัง้ นำไปประยุกตใชในหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ และเปนไป ตามนโยบายซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดมอบใหไว ในการ จัดวางระบบการควบคุมภายในทุกหนวยงานใหสอดคลองกัน

4

1

และมีการติดตาม ปรับปรุงการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง และสรางใหเปนวัฒนธรรมและพฤติกรรมการดำเนินงาน ประจำภายในบริษัทฯ อีกทั้งบริษัทฯ ไดสรางชองทางรับเรื่อง รองเรียนเมือ่ พบพฤติกรรมทีไ่ มเหมาะสมหรือขัดตอจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ (Whistleblower) เพื่อมุงสงเสริมใหกลุมบริษัทฯ ยึดมัน่ การดำเนินงานทีโ่ ปรงใส มีคณุ ธรรม และความรับผิดชอบ ตอผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย 5.9 การบริหารความเสี่ยงองคกร

คณะกรรมการบริษทั ฯ แตงตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ขึ้ น เพื่ อ กำหนดนโยบายด า นการบริ ห ารความเสี่ ย งให ครอบคลุมทัง้ องคกร รวมทัง้ กำกับดูแลใหมรี ะบบ และ / หรือ กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบตอ ธุรกิจของบริษัทฯ และ / หรือลดความเปนไปไดที่จะเกิด ความเสี่ยงขึ้นจริง ตลอดจนใหขอเสนอแนะในกรอบและ แนวทางในการบริหารความเสี่ยงที่จะสนับสนุนใหบริษัทฯ บรรลุ เ ป า หมายในการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ทั้ ง ในระยะสั้ น และ ระยะยาว และใหความเห็นตอกระบวนการและแผนจัดการ ความเสี่ยงระดับองคกร (Corporate Risks) ของฝายจัดการ รวมทั้ ง ติ ด ตามการประเมิ น สถานะความเสี่ ย ง ผลการ ปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องคกร ตลอดจน ใหความเห็นตอแผนจัดการความเสีย่ งระดับองคกร เพือ่ ใหการ บริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ทั้ ง องค ก รเป น ไปอย า งเหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ มีโอกาสสูงสุดทีจ่ ะบรรลุวตั ถุประสงคและเปาหมายทีไ่ ดตงั้ ไว ภายใตขอจำกัดใดๆ ที่อาจมีอยู โดยคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงมีการรายงานการบริหารความเสี่ยงองคกรตอ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนประจำทุกไตรมาส หรือเมื่อมี ประเด็ น ความเสี่ ย งในระดั บ องค ก รที่ ส ำคั ญ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได ก ำหนดนโยบายและการปฏิ บั ติ เ รื่ อ งการ บริหารความเสี่ยงไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ รายงานการดำเนินการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมอยาง สม่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปดเผยปจจัยความเสี่ยงสำคัญ ของบริษัทฯ และแนวทางการลดความเสี่ยงตอผูถือหุนใน รายงานประจำปอีกดวย


1 4 2

5.10 การประชุมคณะกรรมการบริษัท

ในป 2555 คณะกรรมการไดจดั ใหมกี ารประชุมคณะกรรมการ บริษทั ฯ อยางสม่ำเสมอ รวมทัง้ สิน้ 12 ครัง้ เพือ่ พิจารณาและ รับทราบดำเนินการในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ ตลอดจนการจัดประชุมพิจารณาแผนกลยุทธธุรกิจทั้งระยะ สั้นและระยะยาว รวมถึงการพิจารณาทบทวนแผนระหวางป ซึง่ บริษทั ฯ ไดเปดเผยจำนวนครัง้ ทีก่ รรมการแตละทานเขารวม ประชุมตามขอกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต. ไวในรายงาน ประจำปอยางครบถวน ประธานกรรมการบริษทั ฯ และประธานเจาหนาทีบ่ ริหารรวมกัน กำหนดระเบียบวาระการประชุมและพิจารณาเรือ่ งเขาสูร ะเบียบ วาระการประชุมคณะกรรมการบริษทั โดยเปดโอกาสใหกรรมการ แตละคนสามารถเสนอเรื่องตางๆ เพื่อเขารับการพิจารณา เปนวาระการประชุมได ในการประชุมแตละครั้งจะมีการ กำหนดระเบียบวาระการประชุมลวงหนาไวชดั เจน กรรมการ ทุกทานไดรับหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบการ ประชุมที่มีขอมูลสำคัญครบถวนกอนการประชุมลวงหนา ประมาณ 5 วัน เพื่อใหกรรมการมีเวลาอยางเพียงพอในการ พิจารณาศึกษาวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุม บริษัทฯ ไดกำหนดตารางการประชุมไวลวงหนาเปนรายป และอาจมีการประชุมวาระพิเศษเพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความ สำคัญเรงดวน และแจงใหกรรมการทุกทานทราบ เพื่อให กรรมการสามารถจัดสรรเวลาเขารวมประชุมได ในกรณีที่มี เหตุจำเปนไมสามารถเขารวมประชุมได กรรมการไดมีการ แจงขอลาประชุมตอประธานกรรมการเปนลายลักษณอักษร ประธานกรรมการทำหนาที่ประธานในที่ประชุม และไดเปด โอกาสใหกรรมการแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ ในการ พิจารณาเรือ่ งตางๆ ประธานกรรมการจัดสรรเวลาใหกรรมการ อภิปรายประเด็นปญหาอยางเพียงพอ การลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ใหถือมติเสียง ขางมากของจำนวนกรรมการที่เขาประชุม หากคะแนนเสียง เทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง เปนเสียงชี้ขาดโดยใหกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง และ กรรมการที่มีสวนไดเสียจะไมเขารวมประชุมและ / หรือไมใช สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ใหความสำคัญเรื่องความเกี่ยวโยงและความขัดแยงทาง ผลประโยชน โดยมีการดำเนินการอยางโปรงใสและมีการ เปดเผยขอมูลอยางครบถวน ถึงแมวาบริษัทฯ จะมีโครงสรางแบบกลุมธุรกิจที่มีการเขา ทำรายการระหวางกันกับบริษทั ในกลุม คอนขางมาก แตในการ เขาทำรายการระหวางกันดังกลาว บริษัทฯ ก็ไดปฏิบัติตาม หลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูล รายละเอียดการเขาทำรายการระหวางกันอยางครบถวนเชนกัน

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทแตละครั้ง ผูบริหารระดับ สู ง ที่ เ กี่ ย วข อ งได เ ข า ร ว มประชุ ม ด ว ยเพื่ อ ให ข อ มู ล ที่ เ ป น ประโยชน และรับทราบนโยบายโดยตรงและนำไปปฏิบัติได อยางมีประสิทธิภาพ เวนแตในบางคราวที่เปนการประชุม เฉพาะกรรมการบริษทั หรือประชุมเฉพาะกรรมการอิสระ หรือ ประชุมเฉพาะกรรมการบริษทั ทีไ่ มเปนผูบ ริหาร หรือการประชุม คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบไดจดั ใหมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมกับผูสอบบัญชี ของบริษทั ฯ โดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง และเมื่อเสร็จสิ้นการประชุมคณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัทจะเปนผูทำหนาที่บันทึกรายงานการประชุม เสนอใหทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ รับรองในการประชุม ครัง้ ถัดไป และลงนามรับรองความถูกตองโดยประธานในที่ ประชุม ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั สามารถแสดงความคิดเห็นหรือขอแกไข เพิ่มเติมรายงานการประชุมไดกอนการรับรอง โดยรายงาน การประชุมที่ไดรับการรับรองแลวจะจัดเก็บอยางเปนระบบ ในรูปแบบของเอกสารชั้นความลับของบริษัทฯ ในรูปแบบ เอกสารอิเล็กทรอนิกส เพื่อสะดวกในการสืบคนและอางอิง มีระบบควบคุมที่ไมสามารถแกไขไดโดยไมผานที่ประชุม คณะกรรมการ 5.11 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ

ในป 2555 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดพจิ ารณาแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ บริษัทฯ ประจำป 2555 ทั้ง 3 แบบ คือ ทั้งคณะ ตนเอง และ แบบไขว เพื่ อ ให ก ารประเมิ น ผลดั ง กล า วมี ห ลั ก เกณฑ ที่ เหมาะสม และสามารถนำผลการประเมินมาใชเปนสวนหนึ่ง ในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนประจำปของกรรมการ นอกเหนือจากผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ และไดนำเสนอ สรุปผลการประเมินตอคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุม ครัง้ ที่ 12/2555 เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2555 ซึง่ คณะกรรมการ บริษทั ฯ ไดรบั ทราบผลการประเมินดังกลาว และนำขอเสนอแนะ จากการประเมินผลเพื่อบริษัทฯ นำมากำหนดแนวทางที่จะ ปรับปรุงใหการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการมีประสิทธิภาพ อยางเปนรูปธรรม การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ (ทัง้ คณะ) ประเด็น คำถาม ประกอบดวย 6 หมวดหลัก รวมทั้งหมด 30 ขอ มีหัวขอ ประเมินดังนี้


1

1. นโยบายของคณะกรรมการ (Board Policy) 2. การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ (Board Performance) 3. โครงสราง องคประกอบ และคุณสมบัติของคณะกรรมการ (Board Structure) 4. แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Style) 5. การจัดเตรียมและการดำเนินการประชุม (Board Meeting) 6. การพัฒนากรรมการ (Board Development) สรุปการประเมินผลคณะกรรมการ (ทั้งคณะ) ในภาพรวม เห็นวา ประสิทธิภาพการทำงานอยูในเกณฑดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ รอยละ 96.9 การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการรายบุคคล (ตนเอง) ประเด็นคำถาม ประกอบดวย 3 หมวดหลัก รวมทั้งหมด 15 ขอ มีหัวขอประเมินดังนี้ 1. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณและจริยธรรมธุรกิจ 2. ความรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาที่ 3. การพัฒนาตนเอง และการทำงานเปนทีม สรุปการประเมินผลกรรมการรายบุคคล (ตนเอง) ในภาพรวม เห็นวา ประสิทธิภาพการทำงานอยูในเกณฑดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ รอยละ 95.6 การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการรายบุคคล (แบบไขว) ประเด็นคำถาม ประกอบดวย 3 หมวดหลัก รวมทั้งหมด 15 ขอ มีหัวขอประเมินดังนี้ 1. ความเปนอิสระ 2. การอุทิศเวลา และการเขารวมประชุม 3. ความรู ความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน สรุปการประเมินผลกรรมการรายบุคคล (แบบไขว) ในภาพรวมเห็นวา ประสิทธิภาพการทำงานอยูในเกณฑดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยเทากับ รอยละ 98 5.12 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

คณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายใหคณะกรรมการสรรหาและ กำหนดคาตอบแทนมีหนาที่กำหนดคาตอบแทนกรรมการ ในระดั บ ที่ เ หมาะสม ให ส อดคล อ งกั บ บทบาทหน า ที่ ความรับผิดชอบดวยความชัดเจนเปนธรรม และเปนไปตาม กฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วของ โดยคณะกรรมการสรรหาและ กำหนดคาตอบแทนกำหนดโครงสรางและองคประกอบของ ค า ตอบแทน พิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บกั บ ข อ มู ล การจ า ย คาตอบแทนกรรมการของบริษัทชั้นนำในตลาดหลักทรัพยฯ และในกลุ ม อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หน า ที่ แ ละขอบเขต ความรับผิดชอบ รวมถึงนำผลการประเมินการปฏิบตั งิ านของ

4

3

คณะกรรมการทัง้ คณะ เปนสวนหนึง่ ของการพิจารณากำหนด คาตอบแทนกรรมการ นอกเหนือจากผลการดำเนินงานของ บริษทั ฯ รวมถึงสถานการณและแนวโนมทางเศรษฐกิจประกอบกัน เพื่อกำหนดเปนนโยบายและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน กรรมการบริษทั และนำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา เพื่อเสนอขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน สำหรับคาตอบแทน คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง จะพิ จ ารณาตามหน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบในการเปนกรรมการเฉพาะเรือ่ ง โดยจะไดรบั คาตอบแทนเพิ่มจากการปฏิบัติหนาที่นั้นอยางเหมาะสม 5.13 คาตอบแทนประธานเจาหนาที่บริหาร

คณะกรรมการบริษทั ฯ มีนโยบายในการพิจารณาคาตอบแทน ของประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร โดยจัดใหมกี ารประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของประธานเจาหนาทีบ่ ริหารประจำป พิจารณาจาก ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ กำหนดดัชนีชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator) ตามกลยุทธและเปาหมาย การบริหารจัดการ การบริหารศักยภาพขององคกรและธุรกิจ ตลอดทัง้ ป โดยคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน เป นผู ก ำหนดหลั ก เกณฑ ห รื อ วิ ธี ก ารกำหนดค า ตอบแทน ที่เปนธรรมและสมเหตุสมผล เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาตอไป 5.14 การพัฒนากรรมการและผูบริหาร

บริษัทฯ ใหความสำคัญในเรื่องการพัฒนากรรมการอยาง ตอเนือ่ ง ถึงแมกรรมการสวนใหญของบริษทั ฯ จะผานการอบรม ในหลักสูตรทีส่ ำคัญครบถวนแลว บริษทั ฯ ก็ไดมนี โยบายในการ สงเสริมใหกรรมการบริษัทฯ เขารับการอบรมหรือเขารวม กิจกรรมเพื่อเปนการเพิม่ พูนความรูด า นตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ บทบาทหนาทีท่ ไี่ ดรบั มอบหมาย ทัง้ ในฐานะกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการเฉพาะเรื่องชุดต า งๆ ทั้งที่จัดโดยสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย สำนักงาน ก.ล.ต. โดยในป 2555 บริษัทฯ ไดมีการแจงหลักสูตรการอบรมตางๆ ใหกรรมการทราบลวงหนาเปนรายไตรมาส เพือ่ กรรมการจัดสรร เวลาเขาอบรมไดอยางเหมาะสม รวมทัง้ ยังไดเผยแพรเอกสาร และคูม อื การปฏิบตั งิ านทีจ่ ำเปนตอการปฏิบตั หิ นาทีก่ รรมการ ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท คูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุ ร กิ จ กฎระเบี ย บ แนวปฏิ บั ติ ต า งๆ ที่ไดรับจาก ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ ใหกรรมการและ ผูบริหารรับทราบอยางสม่ำเสมอ


1 4 4

ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการรายใหม บริษัทฯ ไดกำหนด แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการเตรียมความพรอมในการปฏิบตั หิ นาที่ กรรมการบริษทั เพือ่ ใหกรรมการทีเ่ ขารับตำแหนงใหมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ไดอยางรวดเร็วและสะดวกที่สุด โดยเลขานุการ บริษัทจะเปนผูประสานงานในเรื่องตางๆ ดังนี้ รวบรวมและจัดสงขอกำหนด หลักเกณฑ และแนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวกับกรรมการบริษัท ตลอดจนขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ เพือ่ ใหกรรมการมีขอ มูลทีศ่ กึ ษาไดในเบือ้ งตน และเพือ่ ประโยชน ในการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับกรรมการบริษัท จัดใหมกี จิ กรรมการปฐมนิเทศกรรมการ (Board Orientation) เพื่อใหกรรมการที่ไดรับแตงตั้งใหมไดรบั ทราบขอมูลโครงสราง และลักษณะการดำเนินธุรกิจของกลุม บริษัทฯ ที่เปนประโยชน ตอการปฏิบัติหนาที่รวมถึงพบปะกับทีมผูบริหาร จัดใหมี Plant Visit เพื่อเยี่ยมชมสถานที่ปฏิบัติงานแตละแหง ของกลุมบริษัทฯ และบริษัทที่ไดเขารวมทุนในตางประเทศ เพือ่ ใหคณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเขาใจในธุรกิจของบริษทั ฯ และนำความรูต ลอดจนประสบการณมาใชประโยชนตอ บริษทั ฯ ไดมากยิ่งขึ้น ในป 2555 กรรมการบริษัทฯ ทุกทานไดเขารับการอบรม หลักสูตรพื้นฐานสำคัญที่จำเปน ในฐานะกรรมการตามหลัก การกำกับดูแลกิจการทีด่ จี ากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) อยางครบถวน นอกจากนี้ กรรมการ เฉพาะเรื่องคณะตางๆ ยังไดใหความสนใจเขารวมอบรม

สัมมนาเพิ่มพูนความรูในเรื่องที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ อาทิ หลักสูตร Audit Committee Program หลักสูตร Role of the Chairman Program หลั ก สู ต ร Role of the Compensation Committee หลักสูตร Risk Committee และหลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee นอกจากนี้ ยังไดจัดทำแผนพัฒนาและเพิ่มพูนความรูที่ เกี่ยวของกับการดำเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ในดานตางๆ ใหแกกรรมการปจจุบันอยางตอเนื่อง 5.15 แผนการสืบทอดงาน

บริษัทฯ มีแผนการเตรียมการสืบทอดตำแหนงงานที่สำคัญ อยางเปนระบบ เพื่อรองรับการขยายธุรกิจ การเปลี่ยนแปลง โครงสรางของบริษัทฯ และทดแทนผูเกษียณอายุ ใหมีการ สื บ ทอดตำแหน ง ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง เพื่ อ ความต อ เนื่ อ ง ในการบริหาร ตลอดจนพัฒนาผูบริหารใหมีความพรอมใน การสืบทอดตำแหนงงานแทน ซึ่งจะพิจารณาจากความรู ความสามารถ ประสบการณและวิสยั ทัศนในการนำพาบริษทั ฯ ใหเจริญเติบโตตามแผนกลยุทธ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดกำหนดไว และสามารถสรางความเติบโตไปพรอมกับองคกร อันจะสงผลใหกลุม บริษทั ฯ สามารถบรรลุเปาหมายเชิงกลยุทธ ในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ


1 4 5

การบริหารองคกรและบุคลากร บริษัทฯ ยังคงมุงมั่นและมีเปาหมายที่ชัดเจนในการเสริมสรางความ เขมแข็งของฐานการผลิตเดิม และเพิ่มสายผลิตภัณฑอยางครบวงจร ตัง้ แตขน้ั ตนน้ำถึงขัน้ ปลายน้ำ ตลอดจนการขยายธุรกิจไปยังตางประเทศ ทั้งนี้ โดยตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารองคกรและบุคลากร เพื่อสนับสนุนตอเปาหมายทางธุรกิจดังกลาว บริษัทฯ จึงมีการปรับ โครงสรางองคกรเพิ่มเติมภายหลังการควบกิจการ ใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ลดความซ้ำซอนในการปฏิบัติงาน และการใชบุคลากรที่มีอยู ใหเกิดประโยชนสูงสุด ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดมกี ารทบทวนและจัดสรรอัตรากำลังคน รวมทัง้ สรรหา บุคลากรใหสอดคลองกับทิศทางการเจริญเติบโตของบริษทั ฯ และขอบขาย ความรับผิดชอบของแตละสายงาน โดยมุงเนนพนักงานในกลุมที่เปน กำลังสำคัญในการผลักดันใหกลยุทธของบริษัทฯ ประสบผลสำเร็จ เชน กลุม วิศวกรกระบวนการผลิต (Process Engineer) กลุม พนักงาน พัฒนาธุรกิจเพื่อการเติบโต (Growth & Business Development) กลุมนักวิจัย (R&D) เปนตน บริ ษั ท ฯ ยั ง ได จั ด ทำระบบการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย พื้ น ฐาน ที่จำเปน เชน ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) โดยเนนใหมีความยุติธรรมและโปรงใส และหัวหนางานทุกระดับไดเขามามีสวนรวมในการกำหนดตัวชี้วัด ในการทำงาน การติดตามความกาวหนาในการดำเนินงาน และ การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ในด า นระบบบริ ห ารสายอาชี พ (Career Management System) ไดดำเนินการวางระบบบริหาร สายอาชีพ เพื่อใหเกิดความชัดเจนของเสนทางเดินและการพัฒนา พนักงานในสายอาชีพตางๆ ในองคกร ทั้งในกลุมพนักงานปฏิบัติการ (Operator) กลุม ชางเทคนิคทัง้ ทีท่ ำงานบำรุงรักษาและหองปฏิบตั กิ าร เคมี กลุม วิศวกรในทุกสาขา เชน วิศวกรเครือ่ งกล ไฟฟา เครือ่ งมือวัด และกระบวนการผลิต เปนตน และมีแผนจะดำเนินการใหครอบคลุม ทุกสายอาชีพในป 2556 ทัง้ นี้ ในดานระบบการพัฒนาพนักงาน ไดกำหนด ใหหัวหนางานและพนักงานรวมกันจัดทำแผนการพัฒนารายบุคคล

(Individual Development Plan หรือ IDP) ซึ่งพิจารณาจากทักษะ ความสามารถที่จำเปนตองไดรับการพัฒนาตามตำแหนงงาน เปนตน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดวางระบบและจัดทำคูมือการบริหารธุรกิจ ตางประเทศ (International Business Model หรือ IBM) รวมทัง้ คูม อื การบริหารบริษทั ในเครือ (Subsidiary) และการบริหารคาตอบแทนของ พนักงานทีไ่ ปปฏิบตั งิ านประจำตางประเทศ เพือ่ เตรียมความพรอมรองรับ การขยายธุรกิจไปในตางประเทศทั้งในปจจุบันและอนาคต ในดานการปลูกฝง หลอหลอมวัฒนธรรมและคานิยมองคกร ตามแนวทาง GC-SPIRIT เปนสิ่งที่บริษัทฯ ใหความสำคัญและดำเนินการมาอยาง ตอเนื่อง โดยเนนใหผูบริหารทำตัวเปนแบบอยาง (Leadership Role Model) ตามหลัก 4B1L (Build One Team, Build Trust, Be a Coach, Be Open, Lead Change) ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดเสริมสราง ความเขาใจของพนักงานผานการสื่อสารและกิจกรรมตางๆ เชน การจัดประกวดการออกแบบ GC-SPIRIT Mascot, การจัดกิจกรรม GC-SPIRIT Singing Contest เปนตน นอกจากนัน้ ยังปลูกฝงคานิยม องค ก รผ า นการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย ต า งๆ เช น ระบบการ บริหารผลการปฏิบัติงาน โปรแกรมการพัฒนาพนักงานและผูบริหาร ระบบการปรับระดับและแตงตัง้ พนักงาน เปนตน ทัง้ นี้ เพือ่ ใหมนั่ ใจวา GC-SPIRIT จะไดรับการปลูกฝงและเปนรากฐานที่สำคัญในการ สนับสนุนการเจริญเติบโตอยางยั่งยืนขององคกรตอไป การดำเนินการตางๆ ขางตน เปนการเสริมสรางความเขมแข็งของโครงสราง องคกรและระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย รวมทัง้ การสรางความเปน หนึง่ เดียวขององคกรหลังการควบบริษทั ฯ อยางไรก็ตาม บริษทั ฯ ยังตอง มีการดำเนินการอยางตอเนื่องตอไป เพื่อการเตรียมบุคลากรใหพรอม รองรับความตองการทางธุรกิจ เปนตน การพัฒนาภาวะผูน ำ การพัฒนา และเติบโตในสายอาชีพของพนักงาน การบริหารและพัฒนาพนักงาน ทีม่ ศี กั ยภาพและความสามารถสูง ทัง้ นี้ เพือ่ เสริมสรางความผูกพันของ พนักงานตอองคกร และรักษาพนักงานใหอยูแ ละเจริญเติบโตไปกับองคกร


1 4 6

รายงานคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ เรียน ทานผูถือหุน ในป 2555 คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ อันประกอบดวย พลตำรวจเอก เสรีพศิ ทุ ธ เตมียาเวส ประธานกรรมการ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวฒั น นายเกรียงไกร เธียรนุกุล และนายบวร วงศสินอุดม กรรมการ ไดปฏิบัติงานตามขอบเขต อำนาจหนาที่ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยจัดใหมกี ารประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการขึน้ เพือ่ พิจารณากำหนดหลักเกณฑและแนวทาง รวมทัง้ ใหขอ เสนอแนะ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานโดยยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และขอสรุปผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ในรอบป 2555 เสนอตอทานผูถือหุน ดังนี้ 1. จัดทำคูม อื การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ แลวเสร็จตามกำหนดเวลา โดยประธานกรรมการบริษทั ฯ ไดสง มอบ คูมือฯ ใหแกคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งประธานเจาหนาที่บริหารไดสงมอบคูมือใหแกผูบริหาร และพนักงานของกลุมบริษัทฯ เพื่อศึกษาทำความเขาใจ และลงนามในพันธสัญญาเพื่อยึดถือเปนหลักปฏิบัติรวมกัน พรอมทั้งกำกับดูแลใหมีการสื่อความและเผยแพร ความรูความเขาใจใหแกพนักงานในหลักการที่ระบุไวในคูมืออยางตอเนื่อง 2. จัดใหมกี ารประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการโดยกำหนดแผนการประชุมลวงหนาทัง้ ป เพือ่ พิจารณาและรับทราบเรือ่ งตางๆ พรอมทัง้ ไดใหขอเสนอแนะตอฝายจัดการ ทั้งนี้ ในป 2555 ไดมีการประชุมทั้งสิ้น 7 ครั้งรวมการประชุมนอกสถานที่ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบการรายงาน ความรับผิดชอบตอชุมชนและลงพื้นที่พบปะชุมชน ตลอดจนเขารวมกิจกรรม CSR ในพื้นที่จังหวัดระยอง นอกจากนี้ ยังไดเขารวมกิจกรรม PTT Group CG Day 2012 ซึ่งบริษัทฯ เปนเจาภาพจัดงานดังกลาวดวย 3. พิจารณาแผนเตรียมการจัดประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2555 ตลอดจนใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนเพื่อใหการจัดประชุมเปนไปดวย ความเรียบรอย โปรงใส มีประสิทธิภาพ และดำเนินการตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี สอดคลองกับเกณฑ AGM Checklist ในทุกขัน้ ตอน อีกทัง้ ไดใหขอ เสนอแนะเพิม่ เติม อาทิ การจัดใหพนักงานจากหนวยงานตางๆ เขามามีสว นรวมปฏิบตั งิ านตอนรับผูถ อื หุน ในลักษณะพนักงาน จิตอาสาเพื่อสงเสริมวัฒนธรรมที่ดีขององคกร โดยบริษัทฯ ไดรับการประเมินการจัดประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2555 ซึ่งประเมินโดย สมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย ในระดับดีเลิศดวยคะแนนเต็ม 100 คะแนน 4. พิจารณารายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ป 2555 เพื่อใหการเปดเผยขอมูลมีเนื้อหาที่ครบถวนสอดคลอง ตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี และการประเมินระดับการกำกับดูแลกิจการทีด่ ตี ามมาตรฐานทัง้ ในประเทศ ไดแก ก.ล.ต. ตลท. และ IOD ตลอดจนมาตรฐานสากล ไดแก GRI, DJSI เพื่อเปดเผยไวในรายงานประจำป 2555 ตอไป 5. กำกับดูแลการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ของบริษัทฯ ไดแก ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา คูแขง เจาหนี้ ชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อใหมีการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และสามารถประเมินความเพียงพอ และเหมาะสมของการดูแลรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสียเพือ่ การปรับปรุงและพัฒนาตอไป โดยใหหนวยงานทีด่ แู ลรับผิดชอบตอผูม สี ว นไดเสีย กลุมตางๆ ของบริษัทฯ รายงานสรุปการดำเนินงาน ตลอดจนแผนงานในอนาคตตอคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ทั้งนี้ ในป 2555 พบวาบริษัทฯ มีการปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียสอดคลองกับนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ ในประเด็นตางๆ อยางครบถวน 6. จัดงานเสวนาและถายทอดประสบการณแกพนักงานในหัวขอเรื่อง “ดูแลชุมชนอยางไร ใหไดใจมวลชน” โดยประธานกรรมการกำกับ ดูแลกิจการไดรว มบรรยายแลกเปลีย่ นประสบการณ ในงาน “Smile Society ทำดีเพือ่ สังคม” และมอบรางวัล “2012 CSR Idol” ใหแกพนักงาน จิตอาสาของกลุมบริษัทฯ เพื่อเปนขวัญกำลังใจและขอบคุณพนักงานที่มีจิตอาสา โดยมีพนักงานรวมรับฟงการเสวนาทั้งสิ้นกวา 300 คน


1

4

7

7. พิจารณาและใหความเห็นชอบ ตลอดจนใหขอเสนอแนะในการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลการปฏิบัติงาน (Corporate Compliance Policy) ของบริษัทฯ และบริษัทในกลุม เพื่อกำหนดกฎเกณฑการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับการที่บริษัทฯ ไดขยายการลงทุนไปยังภูมิภาค ตางๆ ตลอดจนกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของที่เปนสากล และเพื่อแสดงออกอยางชัดแจงและเปนทางการถึงการกำกับดูแล การปฏิบัตงิ าน (Corporate Compliance) ที่เปนรูปธรรม เพื่อใหผูบริหารและพนักงานของกลุมบริษัทฯ ไดยึดถือปฏิบัติไดอยางชัดเจน และเปนไปในทิศทางเดียวกัน 8. พิจารณาทบทวนแนวทางการดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนของกรรมการบริษัทฯ ที่กำหนดไวในคูมือการกำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี เพือ่ ใหมคี วามเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพธุรกิจปจจุบนั ตลอดจนการพัฒนาความรู ความสามารถ และการนำประสบการณจาก ธุรกิจอื่นที่หลากหลายของกรรมการมาใชประโยชนตอบริษัทฯ โดยใหพิจารณาความสามารถในการอุทิศเวลาในการปฏิบัติหนาที่ของ กรรมการเปนสำคัญ ซึ่งคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ไดเห็นชอบการแกไขเกณฑการจำกัดจำนวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทฯ แตละคนจะดำรงตำแหนงได จาก “ไมเกิน 3 บริษัท” เปน “ไมเกิน 5 บริษัท” และเพิ่มเติมเรื่องความสามารถในการอุทิศเวลาในการปฏิบัติ หนาที่ประกอบดวย 9. พิจารณาและรับทราบโครงการประเมินการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษทั จดทะเบียนในระดับภูมภิ าคอาเซียน หรือ ASEAN CG Scorecard ซึ่งขอมูลหลักที่ใชในการประเมิน ไดแก รายงานประจำป ขอมูลที่เผยแพรบนเว็บไซตบริษัท โดยไดใหบริษัทฯ ศึกษารายละเอียดกฎเกณฑ ที่ตองดำเนินการเพิ่มเติม และนำมาพิจารณาปรับปรุงใหสอดคลองกับแนวทางการประเมินตอไป รวมถึงการจัดทำขอมูลของบริษัทฯ ที่เผยแพรผานสื่อตางๆ เปนภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับการประเมินในระดับมาตรฐานสากลตอไป 10. พิจารณา / ทบทวนการดำเนินงานตามแผนงานการกำกับดูแลกิจการ ป 2555 และพิจารณา / ใหความเห็นชอบแผนงานกำกับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ ป 2556 เพื่อใหการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และบริษัทในกลุม ไดรับการพัฒนาและยกระดับสู มาตรฐานสากลอยางตอเนื่อง 11. พิจารณาผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ ป 2555 ตามที่ไดกำหนดไวในกฎบัตร โดยสรุปผลการประเมิน ในภาพรวมทัง้ คณะ คิดเปนรอยละ 94.5 ทัง้ นี้ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไดมคี วามคิดเห็นเพิม่ เติมวา “ควรจัดใหคณะกรรมการกำกับ ดูแลกิจการ ไดศึกษาระบบงานตางๆ ของบริษัทฯ เพื่อใหสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการใหขอเสนอแนะและความเห็นที่เปนประโยชนตอ บริษัทฯ มากยิ่งขึ้น” โดยที่คณะกรรมการบริษัทฯ ไดใหความสำคัญในเรื่องการกำกับดูแลกิจการและเห็นพองรวมกันวา การกำกับดูแลกิจการที่ดีเปนปจจัยสำคัญ ในการดำเนินธุรกิจอยางยั่งยืน และเปนพื้นฐานที่จะสงเสริมการดำเนินงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นตอไป อีกทั้งไดใหการสนับสนุนเพื่อให การกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ไดมีการปฏิบัติจนเปนที่ยอมรับและไดรับความเชื่อมั่นจากผูมีสวนไดเสีย ตลอดจนหนวยงานกำกับดูแลตางๆ คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการจะมุงมั่นทุมเท เพื่อยกระดับและพัฒนาการกำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ สูมาตรฐานสากลตอไป

ในนามคณะกรรมการกำกับดูแลกิจการ

(พลตำรวจเอก เสรีพิศุทธ เตมียาเวส) ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ หมายเหตุ : ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการ ไดลาออกจากตำแหนงกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 โดยไดพิจารณาและลงนามรายงานผลการปฏิบัติงานป 2555 ฉบับนี้ ในระยะเวลาที่ดำรงตำแหนง


1 4 8

รายงานคณะกรรมการสรรหา และกำหนดคาตอบแทน เรียน ทานผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไดใหความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยไดแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนขึ้น โดยมีองคประกอบเปนไปตามขอบังคับบริษัทฯ อันประกอบดวย นายวศิน ธีรเวชญาณ ทำหนาที่ ประธาน และมี พลอากาศเอกสมชาย เธียรอนันท และนายณัฐชาติ จารุจินดา เปนกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน เพื่อทำหนาที่ตามที่ คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ในการกำหนดวิธีการ หลักเกณฑการสรรหา และพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรไดรับการเสนอรายชื่อเปน กรรมการบริษทั ฯ และสรรหาประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร เพือ่ ใหเกิดความโปรงใส รวมทัง้ พิจารณาแนวทางกำหนดคาตอบแทนใหแกกรรมการ และประธาน เจาหนาที่บริหารอยางเปนธรรมและสมเหตุผล โดยนำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเสนอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป ในป 2555 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง โดยกรรมการทุกทานไดเขารวมประชุมครบถวนเพื่อปฏิบัติ หนาทีต่ ามภารกิจทีไ่ ดรบั มอบหมายอยางรอบคอบ ระมัดระวังและสมเหตุสมผล โดยในระเบียบวาระเพือ่ พิจารณาเรือ่ งใดทีก่ รรมการอาจมีสว นไดเสีย กรรมการทานนั้นจะงดออกเสียงในระเบียบวาระนั้นๆ 1. การพิจารณาสรรหากรรมการบริษัทฯ / ประธานเจาหนาที่บริหาร 1.1 พิจารณารายชื่อกรรมการแทนกรรมการที่ตองออกตามวาระในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2555 คณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 1/2555 เมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2555 ไดดำเนินการตามขอบังคับบริษทั ฯ โดยไดจบั สลากรายชือ่ กรรมการที่ตองออกตามวาระในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2555 โดยกรรมการที่จับสลากออกมีจำนวนรวม 5 ทาน ไดแก นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ พลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน นายสุกฤตย สุรบถโสภณ พลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท และ นายวศิน ธีรเวชญาณ และเนือ่ งจากกรรมการทีต่ อ งออกจากตำแหนงตามวาระครัง้ นี้ ประกอบดวยกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน จำนวน 2 ทาน คือ นายวศิน ธีรเวชญาณ และพลอากาศเอก สมชาย เธียรอนันท ดังนั้น ในการพิจารณารายชื่อบุคคลที่สมควรไดรับ การเสนอชือ่ เปนกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนจะพิจารณาเปนรายบุคคล และกรรมการทีม่ สี ว นไดเสีย จะไมออกเสียงลงคะแนนในการพิจารณาตนเอง คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดพิจารณาหลักเกณฑ คุณสมบัติ ประสบการณ ความเชี่ยวชาญและความเหมาะสม ที่จะเปนประโยชนสูงสุดใหแกการดำเนินกิจการของบริษัทฯ และไดเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ใหกรรมการทั้ง 5 ทาน กลับเขาดำรงตำแหนงกรรมการบริษัทตอไปอีกวาระหนึ่ง โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ไดเห็นชอบและเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2555 ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามขอเสนอดังกลาว 1.2 พิจารณาเสนอชื่อบุคคลเพื่อแตงตั้งเปนกรรมการ และสรรหาบุคคลเพื่อดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร แทนตำแหนงที่วางลง คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดพจิ ารณาเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ แตงตัง้ ให นายอนนต สิรแิ สงทักษิณ รองกรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึง่ เปนผูท รงคุณวุฒิ มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการเปนผูน ำองคกร ตลอดจน มีคณุ สมบัตคิ รบถวนและเหมาะสมทีจ่ ะเปนประโยชนสงู สุดแกการดำเนินธุรกิจ ใหดำรงตำแหนงกรรมการบริษทั และประธานเจาหนาที่ บริหาร แทน นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล กรรมการบริษทั และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ทีไ่ ดลาออกจากตำแหนง ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดเห็นชอบและแตงตัง้ ใหดำรงตำแหนงตามขอเสนอดังกลาว ทัง้ นี้ ตัง้ แตวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2555 โดยคณะกรรมการสรรหาและกำหนด คาตอบแทนไดกำหนดวีธีการสรรหา และพิจารณาคัดเลือกอยางมีหลักเกณฑ รอบคอบ และโปรงใส 2. พิจารณาแนวทางกำหนดคาตอบแทนใหแกกรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร 2.1 คาตอบแทนกรรมการบริษัท กรรมการเฉพาะเรื่อง และโบนัสกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนไดพิจารณาคาตอบแทนแกกรรมการ และกรรมการเฉพาะเรื่องของบริษัทฯ ประจำป 2555 และโบนัสกรรมการ ประจำป 2554 โดยคำนึงถึงความเหมาะสมเทียบเคียงกับบริษัทจดทะเบียนอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันที่มี ขนาดใกลเคียงกัน ผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ ผลการปฏิบตั งิ านและภาระหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการ และคณะกรรมการ


1 4 9

เฉพาะเรื่อง รวมถึงสภาพเศรษฐกิจโดยรวม โดยคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดเสนอใหคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเสนอทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน กำหนดคาตอบแทนรายเดือนของกรรมการบริษทั และเบีย้ ประชุมกรรมการเฉพาะเรือ่ ง ประจำป 2555 ใหเปนไปตามอัตราเดิมที่ที่ประชุมผูถือหุนรวมระหวาง PTTAR และ PTTCH ไดอนุมัติไวเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2554 นอกจากนี้ ไดเสนอแนวทางการกำหนดเงินโบนัสกรรมการทั้งคณะประจำป 2554 ใหสะทอนและเชื่อมโยงกับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และอยูในเกณฑที่ใกลเคียงกับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน 2.2 คาตอบแทนประธานเจาหนาที่บริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาคาตอบแทนของประธานเจาหนาที่บริหาร โดยการประเมินผลการปฏิบตั งิ านสำหรับผลการดำเนินงานตัง้ แตวนั ที่ 19 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 และของป 2555 อยางมีหลักเกณฑ เปนธรรม และสมเหตุสมผล 3. การเขารวมโครงการสำรวจคาตอบแทนกรรมการประจำป 2555 ของ IOD คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดเห็นชอบการเขารวมโครงการสำรวจคาตอบแทนกรรมการ ประจำป 2555 ของบริษัทฯ ซึ่งจัดทำโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวปฏิบตั แิ ละระดับคาตอบแทนของกรรมการ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนจัดทำแนวทางกำหนดคาตอบแทนกรรมการที่เหมาะสมกับบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และเพือ่ ยกระดับการพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการใหเทากับมาตรฐานสากล ซึง่ คณะกรรมการ สรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดนำผลสำรวจดังกลาวมาใชเปนขอมูลสวนหนึ่งเพื่อประกอบการพิจารณาคาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ 4. พิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจำป 2555 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทนไดพจิ ารณาแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ ประจำป 2555 ทัง้ สามแบบ คือ ประเมินทั้งคณะ ประเมินตนเอง และประเมินกรรมการทานอื่น (แบบไขว) เพื่อใหการประเมินผลดังกลาวมีหลักเกณฑที่เหมาะสม และ สามารถนำผลการประเมินมาใชเปนสวนหนึง่ ในการพิจารณากำหนดคาตอบแทนประจำปของกรรมการ นอกเหนือจากผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ 5. การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ป 2555 กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดกำหนดให “คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน จัดใหมกี ารประเมินผลการ ปฏิบัติงาน และรายงานผลการประเมินประจำป ตอคณะกรรมการบริษัทฯ” ซึ่งคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน ไดประเมิน ผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการฯ ในป 2555 โดยสรุปผลการประเมินในภาพรวมทัง้ คณะ คิดเปนรอยละ 99.33 คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน จะมุง มัน่ ปฏิบตั หิ นาทีเ่ พือ่ ใหผถู อื หุน ตลอดจนผูม สี ว นไดเสียทุกฝายเกิดความมัน่ ใจทัง้ ตอกระบวนการ สรรหา และกระบวนการกำหนดคาตอบแทนที่คำนึงถึงความสัมพันธระหวางผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และภาระหนาที่ความรับผิดชอบของ กรรมการ เพือ่ ใหการดำเนินการเปนไปดวยความโปรงใสและถูกตองตามหลักเกณฑทกี่ ำหนดตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ประโยชนสงู สุด อันจะสงผลถึงการสรางมูลคาเพิ่มใหกับบริษัทฯ ในระยะยาวตอไป ในนามคณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

(นายวศิน ธีรเวชญาณ) ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน


1

5 0

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ทานผูถือหุน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัทฯ จำนวน 3 ทาน โดยเปน กรรมการอิสระ 1 ทาน ทุกทานเปนผูม คี วามรูค วามสามารถดานการบริหารความเสีย่ ง โดยมี นายสุกฤตย สุรบถโสภณ เปนประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยง นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ และนายบวร วงศสินอุดม เปนกรรมการบริหารความเสี่ยง ในป 2555 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดปฏิบัติงานตามขอบเขต อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ โดยไดจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง ซึ่งกรรมการบริหารความเสี่ยงทุกทานไดเขารวมประชุมทุกครั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดเชิญผูบริหารเขารวมประชุมดวยตามความเหมาะสม ทั้งนี้ สาระสำคัญของการปฏิบัติงาน สรุปไดดงั นี้ 1. สอบทานและใหความเห็นชอบตอแนวทางการบริหารความเสี่ยง ซึ่งบริษัทฯ ไดดำเนินการตามกรอบและแนวทางการบริหารความเสี่ยง ที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดใหความเห็นชอบไว โดยระบุปจจัยเสี่ยง วิเคราะหความเสี่ยง และกำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง สำหรับความเสีย่ งตอผลประกอบการประจำป 2555 ความเสีย่ งตอการบรรลุวตั ถุประสงคและเปาหมายของบริษทั ฯ และความเสีย่ งตอการ บรรลุวัตถุประสงคของโครงการลงทุน ซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงที่สำคัญของบริษัทฯ และมีแผนจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่บริษัทฯ ยอมรับได 2. ในแตละไตรมาส คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดติดตามผลการดำเนินการดานการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญ อันไดแก การบริหาร ความเสีย่ งตอผลประกอบการประจำป 2555 การบริหารความเสีย่ งตอการบรรลุวตั ถุประสงคและเปาหมายของบริษทั ฯ การบริหารความเสีย่ ง ตอการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการลงทุน การบริหารความเสี่ยงดานการเงิน การบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของตนทุนราคา วัตถุดิบและราคาผลิตภัณฑ ซึ่งบริษัทฯ ไดดำเนินการตามกรอบ แนวทาง และแผนการจัดการความเสี่ยงที่ไดรับความเห็นชอบ รวมทั้ง ไดดำเนินการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 3. สอบทานและใหความเห็นชอบตอแนวทางการบริหารความเสีย่ ง สำหรับโครงการลงทุนทีส่ ำคัญและใชเงินลงทุนสูง กอนนำเสนอใหคณะกรรมการ บริษทั ฯ พิจารณา ซึง่ บริษทั ฯ ไดระบุปจ จัยเสีย่ ง วิเคราะหความเสีย่ ง และกำหนดแผนจัดการความเสีย่ งสำคัญ ครอบคลุมทัง้ ชวงการศึกษาโครงการ การดำเนินโครงการ และชวงการเขาสูการดำเนินการในเชิงพาณิชย 4. สอบทานและใหขอเสนอแนะตอแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม (Emerging Risk) ที่อาจมีผลกระทบรุนแรงตอบริษัทฯ อันไดแก วิกฤตเศรษฐกิจยุโรป และสถานการณชอ งแคบฮอรมซุ ซึง่ ชวยใหบริษทั ฯ มีความพรอมทีจ่ ะบรรเทาผลกระทบทีเ่ กิดจากสถานการณดงั กลาว 5. สอบทานและใหขอเสนอแนะตอแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่บริษัทฯ พัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหาร ความเสี่ยง อันไดแก ระบบเตือนภัยลวงหนา (Early Warning System: EWS) และการบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM) ซึ่งจะชวยใหบริษัทฯ มีความพรอมในการจัดการและรองรับความเสี่ยงที่มีผลกระทบรุนแรงไดลวงหนา


1

5 1

6. ทบทวน ปรับปรุง นโยบาย กรอบและแนวทางการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ใหมีความเหมาะสม กับสถานการณและความเสี่ยงของบริษัทฯ 7. ประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทั้งคณะและรายบุคคล รวมทั้งรายงานผลการประเมินและผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงใหคณะกรรมการบริษัทฯ ไดรับทราบ จากการพิจารณา สอบทาน และติดตามการดำเนินการดานการบริหารความเสี่ยงตามที่ไดกลาวขางตน เชื่อวา การที่บริษัทฯ ไดดำเนินการบริหาร ความเสี่ยงอยางเปนระบบ มีการติดตามผลการดำเนินการและปรับปรุงอยางสม่ำเสมอ จะเปนสวนชวยใหบริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงคและ เปาหมายที่บริษัทฯ ไดกำหนดไว อันจะสรางมูลคาเพิ่มใหแกบริษัทฯ ผูถือหุนและผูที่มีสวนไดเสียของบริษัทฯ ไดอยางยั่งยืน

ในนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

(นายสุกฤตย สุรบถโสภณ) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง




1 5 4

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ไดใหความสำคัญกับการควบคุมภายใน โดยไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย กรรมการอิสระ 3 ทาน ซึง่ เปนผูท รงคุณวุฒทิ มี่ ปี ระสบการณในดานตางๆ เชน การบริหาร การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร และกฎหมาย เปนตน โดยมี นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นายอำนวย ปรีมนวงศ และนางรวีพร คูหิรัญ เปนกรรมการตรวจสอบ ซึ่งมีองคประกอบ คุณสมบัติ ตามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามขอบเขต หนาทีท่ ไี่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ และเปนไปตามกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ซึง่ สอดคลองกับบทบาทหนาทีต่ ามประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อยางเปนอิสระ และไดรับความรวมมืออยางดีจากฝายจัดการ ผูตรวจสอบภายใน และผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ซึ่งในป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบจัดใหมี การประชุมจำนวนรวม 8 ครั้ง กรรมการตรวจสอบทุกทานเขารวมประชุมครบทุกครั้ง และไดรายงานสรุปผลการดำเนินงานสำหรับป 2555 ใหคณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 ผลการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสำคัญ สรุปไดดังนี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานขอมูลที่สำคัญของงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำป 2555 โดยมีฝายจัดการที่เกี่ยวของและผูสอบบัญชีเขารวมประชุมเพื่อตอบขอซักถาม ผูสอบบัญชีไดรายงานผลการตรวจสอบงบการเงินพบวา งบการเงินไดทำตามขอกำหนดของกฎหมายและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบการเงินแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยถูกตอง ตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเชนเดียวกับผูสอบบัญชี รวมทั้งการเปดเผย หมายเหตุประกอบในงบการเงินมีอยางเพียงพอตามมาตรฐาน ผลการตรวจสอบระบบงานบัญชีของผูสอบบัญชีไมพบประเด็นที่เปน นัยสำคัญ โดยคณะกรรมการตรวจสอบไดตดิ ตามการดำเนินการของฝายจัดการอยางสม่ำเสมอ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดจดั ประชุม รวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการรวมดวย เพื่อสอบทานความเปนอิสระและหารือเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบงบการเงิน ประกอบดวย ขอบเขตการตรวจสอบ ระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงิน การเปดเผยขอมูล และรายการเกี่ยวโยง เปนตน 2. การสอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ฯ และฝายจัดการไดใหความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยไดกำหนดนโยบาย และกรอบการดำเนินงานดานการบริหารความเสี่ยงองคกรตาม COSO Enterprise Risk Management มีการประเมินปจจัยความเสี่ยงทั้ง ภายในบริษัทฯ และความเสี่ยงจากภายนอกที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งในปจจุบันและอนาคต รวมถึงมีระบบการเตือนความเสี่ยงลวงหนา มีการจัดทำ แผนการจัดการความเสีย่ ง และติดตามความกาวหนาของการจัดการความเสีย่ งอยางตอเนือ่ ง มีการรายงานการปฏิบตั งิ านใหคณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบเปนประจำ คณะกรรมการตรวจสอบมีความมั่นใจวาบริษัทฯ สามารถควบคุมและลดผลกระทบที่อาจมีผลตอการบรรลุวัตถุประสงคของ การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหอยูในระดับที่ยอมรับได 3. การสอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดมอบนโยบายการจัดวางระบบการควบคุมภายในทุกหนวยงานใหมีความ สอดคลองกัน และมีการติดตามปรับปรุงการควบคุมภายในอยางตอเนือ่ ง และสรางใหเปนวัฒนธรรมและพฤติกรรมการดำเนินงานประจำภายใน บริษทั ฯ อีกทัง้ สงเสริมใหฝา ยจัดการของบริษทั ฯ มีความรูค วามเขาใจดานการควบคุมภายในทีด่ ี และนำไปประยุกตใชในหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ จากการสอบทานระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ ตามรายงานของหนวยงานตรวจสอบภายในเปนประจำทุกไตรมาสพบวา การควบคุมภายใน ของกระบวนการปฏิบตั งิ านและระบบงานสำคัญมีความเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ มีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ/หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั ฯ ไมพบขอบกพรองทีเ่ ปนสาระสำคัญ การแกไข ตามขอเสนอแนะสวนใหญแลวเสร็จตามกำหนดหรือมีความคืบหนาอยางเหมาะสม นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังจัดใหฝา ยจัดการของ


1 5 5

กระบวนงานที่สนับสนุนตอการบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคเชิงกลยุทธของกลุมบริษัทฯ รายงานผลการกำกับดูแลและการควบคุม ภายในดวย คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาผลการประเมินการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในภาพรวมแลว มีความเห็นวาบริษัทฯ ใหความสำคัญของการควบคุมภายใน สามารถสรางความมั่นใจอยางสมเหตุสมผลไดวา มีการควบคุมภายในที่เพียงพอและมีประสิทธิผล 4. การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานใหหนวยงานตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระและกำกับดูแลใหมี ระบบการตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิผลตามมาตรฐานสากล มีการสรางกรอบแนวทางการตรวจสอบการกำกับดูแลกิจการตามนโยบายและคูม อื การกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และแนวทางประกันคุณภาพ รวมถึงพัฒนางานตรวจสอบภายในและเครื่องมือดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพงานตรวจสอบภายใน การจัดทำแผนการตรวจสอบภายในยึดแนวทางตามกรอบมาตรฐานขั้นตอนการจัดทำแผนงาน ตรวจสอบตามความเสี่ยง (Risk Based Audit Plan Framework) ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานสากลและสอดคลองกับแผนกลยุทธทางธุรกิจ เปาหมายของบริษทั ฯ และความเสีย่ งระดับองคกร รวมทัง้ จัดใหมกี ารประเมินคุณภาพเบือ้ งตนของหนวยงานตรวจสอบภายใน เพือ่ เตรียมพรอม รับการประเมินคุณภาพจากผูประเมินอิสระจากภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาและอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำป 2556 และติดตามดำเนินการตามแผนการตรวจสอบ รวมทั้งใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบภายใน อยางตอเนื่อง 5. การเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ไดรับคัดเลือกและแตงตั้งเปนผูสอบบัญชี จากการพิจารณาบริษัท ผูสอบบัญชีที่เชิญเขาเสนอราคา 3 ราย และคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาผลการปฏิบัติงานในปที่ผานมาของบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด และไดสอบทานคุณสมบัติของผูสอบบัญชี รวมถึงคาตอบแทนผูสอบบัญชี และใหความเห็นชอบเสนอแตงตั้งนายไวโรจน จินดามณีพิทักษ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3565 หรือนายเจริญ ผูสัมฤทธิ์เลิศ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 หรือนายวินิจ ศิลามงคล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 หรือนายนิรันดร ลีลาเมธวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2316 แหงบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำป 2556 ใหที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาใหความเห็นชอบนำเสนอใหที่ประชุมผูถือหุน อนุมัติ คณะกรรมการตรวจสอบไดทำการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบทัง้ คณะและรายบุคคล ประจำป 2555 เพือ่ พิจารณาทบทวน การปฏิบัติงานตามขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมาย และรายงานผลการประเมินฯ ใหคณะกรรมการบริษัทฯ ไดรับทราบ โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบใหความสำคัญกับการควบคุมภายใน และไดปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบ ระมัดระวัง ในภาพรวมบริษัทฯ มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม ซึ่งสามารถทำใหบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจ บรรลุตามวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพ

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายสมชาย คูวิจิตรสุวรรณ) ประธานกรรมการตรวจสอบ


1

5 6

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงินของบริษัทฯ งบการเงินของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ที่ไดนำมาจัดทำงบการเงินรวม ไดจัดทำขึ้นตามขอกำหนดใน ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา ซึง่ ออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แหงพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการรับผิดชอบตอรายงานทางการเงินของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ที่จัดทำขึ้นเพื่อใหเกิด ความมั่นใจวาไดแสดงฐานะทางการเงิน รายไดและคาใชจาย และกระแสเงินสดรวมที่เปนจริงและสมเหตุสมผล โดยไดจัดใหมีการบันทึกขอมูล ทางบัญชีที่ถูกตองครบถวนและเพียงพอที่จะรักษาไวซึ่งทรัพยสิน รวมทั้งการปองกันการทุจริตและการดำเนินการที่ผิดปกติ และในการจัดทำ รายงานทางการเงินไดมีการพิจารณาเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม่ำเสมอ และเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป รวมทั้งไดมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งผูสอบบัญชีไดแสดงความเห็นตองบการเงินของ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ในรายงานของผูสอบบัญชี

(นายประเสริฐ บุญสัมพันธ) ประธานกรรมการ

(นายอนนต สิริแสงทักษิณ) ประธานเจาหนาที่บริหาร


1

5 7

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอยและของเฉพาะบริษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทำและการนำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุมภายในทีผ่ บู ริหารพิจารณาวาจำเปนเพือ่ ใหสามารถจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจา ไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอกำหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติ งานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน วิธีการ ตรวจสอบทีเ่ ลือกใชขนึ้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของผูส อบบัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญของ งบการเงิน ไมวา จะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมินความเสีย่ งดังกลาว ผูส อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วของกับการ จัดทำและการนำเสนองบการเงินโดยถูกตองตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพือ่ วัตถุประสงค ในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทำขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนำเสนองบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

(ไวโรจน จินดามณีพิทักษ) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3565 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 15 กุมภาพันธ 2556


1 5 8

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม

สิ นทรัพย์

หมายเหตุ

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2555 2554

2554 (บาท)

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนี การค้าและตัวเงินรับ ลูกหนี อื น สิ นค้าคงเหลือ เงินให้กูย้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกี ยวข้องกัน ทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี ลูกหนี กองทุนนํามันเชื อเพลิง ภาษีมลู ค่าเพิมรอเรี ยกคืน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการทีควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนระยะยาวอื น เงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกียวข้องกัน ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิยม สิ ทธิการเช่าทีดิน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน

6 13 5, 7 5, 8 9 5

31,269,311,119 28,792,230,328 52,740,970,717 2,664,866,647 41,046,887,925 -

18,973,235,320 3,632,406,455 41,482,265,978 1,613,749,348 36,145,301,273 -

19,002,725,615 27,000,000,000 41,172,540,790 1,542,311,238 26,347,790,856 1,905,000,000

9,155,276,500 2,000,000,000 33,462,976,680 1,030,393,982 24,729,966,486 3,944,680,433

5

663,810,601 2,286,555,515 30,996,018 1,366,430,068 29,338,000 160,891,396,938

442,270,386 2,249,869,493 54,052,594 643,511,369 105,236,662,216

6,545,000,000 663,810,601 1,984,197,873 7,192,148 732,802,257 29,338,000 126,932,709,378

6,545,000,000 442,270,386 1,627,014,496 11,837,570 368,699,486 83,318,116,019

6,150,975,823 607,181,684 1,219,428,000 240,497,110,636 10,769,445,327 1,132,139,979 10,080,431,267 137,753,019 669,117,230 3,906,993,339 275,170,576,304

6,177,580,837 327,022,741 235,343,015,627 10,741,678,397 1,167,902,994 8,505,126,747 346,719,945 364,107,061 4,756,840,715 267,729,995,064

68,154,724,375 210,000,000 3,398,891,913 290,738,392 11,665,657,276 135,197,564,337 7,009,726,812 976,048,335 4,026,437,745 137,753,019 2,473,304,936 233,540,847,140

59,111,587,259 210,000,000 3,398,891,913 290,738,392 16,886,000,000 135,255,213,114 7,009,726,812 1,064,602,733 4,246,373,891 346,719,945 3,424,188,265 231,244,042,324

436,061,973,242

372,966,657,280

360,473,556,518

314,562,158,343

10

5, 11 5, 11 5, 12 13 5 14 16 15 17 18

รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


1 5 9

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม

หนีสิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2555 2554

2554 (บาท)

หนีสินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสันจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี การค้า เจ้าหนี อื น เจ้าหนี ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง เงินกูย้ มื ระยะสันจากกิจการทีเกี ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอืน ทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี หุ้นกูท้ ีถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี เงินกูด้ อ้ ยสิทธิทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ งปี ภาษีเงินได้นิติบคุ คลค้างจ่าย ตราสารอนุพนั ธ์ หนี สิ นหมุนเวียนอื น รวมหนีสินหมุนเวียน หนีสินไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอื น หุ ้นกู้ หนี สิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ตราสารอนุพนั ธ์ หนี สิ นไม่หมุนเวียนอืน รวมหนีสินไม่หมุนเวียน รวมหนีสิน

19 5, 20 5, 21 5 5, 19

2,868,804,078 38,485,181,772 8,878,080,641 3,450,235,110 -

2,102,809,184 27,268,919,047 7,264,372,969 2,046,845,613 -

31,747,233,494 4,276,225,985 3,257,806,190 3,935,835,990

22,932,326,825 4,387,783,492 1,394,822,644 1,200,769,349

19

5,523,366,931

5,273,873,805

2,852,276,161

3,441,745,905

19 19 5, 19

12,143,646 8,000,000,000 1,277,608,441 31,961,603 1,117,734,647 69,645,116,869

9,698,832,960 4,988,172,818 833,825,099 77,024,696 512,781,723 60,067,457,914

8,000,000,000 1,247,839,792 25,578,146 609,359,073 55,952,154,831

9,698,832,960 4,988,172,818 667,143,891 8,613,711 302,947,049 49,023,158,644

54,728,936,556 442,795,347 65,280,468,674 3,931,047,880 3,074,087,085 142,888,086 772,038,207 128,372,261,835 198,017,378,704

54,824,188,156 43,277,518,114 3,420,013,592 2,101,758,491 229,275,362 592,273,898 104,445,027,613 164,512,485,527

34,190,531,567 65,280,468,674 3,176,654,170 1,157,216,427 126,632,960 294,846,025 104,226,349,823 160,178,504,654

31,658,061,703 43,277,518,114 2,972,681,338 1,057,100,210 144,375,727 309,985,852 79,419,722,944 128,442,881,588

22

19 19 19 18 23

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


1 6 0

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม 31 ธันวาคม

หนีสิ นและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุ

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2555 2554

2554 (บาท)

ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น 24 ทุนจดทะเบียน ทุนทีออกและชําระแล้ว ทุนสําหรับการใช้สิทธิภายใต้โครงการออกหลักทรัพย์ ให้แก่พนักงานทีอยูร่ ะหว่างการใช้สิทธิ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 25 ส่วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจ 25 กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย 25 สํารองสําหรับการชําระคืนเงินกูย้ มื สํารองสําหรับการขยายงาน ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื นของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น 25 รวมส่ วนของบริษทั ส่วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น รวมหนีสินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

45,129,302,690 45,088,491,170

45,129,302,690 45,061,129,360

45,129,302,690 45,088,491,170

45,129,302,690 45,061,129,360

36,978,396,897 12,086,007,975

46,730,261 36,839,313,917 12,086,007,975

36,978,396,897 13,505,861,611

46,730,261 36,839,313,917 13,505,861,611

4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 110,159,175,502 352,816,862 222,432,615,365 15,611,979,173 238,044,594,538

4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 86,290,201,235 413,146,889 198,504,256,596 9,949,915,157 208,454,171,753

4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 86,954,575,227 200,295,051,864 200,295,051,864

4,512,930,269 807,802,564 12,446,994,126 72,898,514,647 186,119,276,755 186,119,276,755

436,061,973,242

372,966,657,280

360,473,556,518

314,562,158,343


1

6

งบกำไรขาดทุน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา

สําหรับระยะเวลา

ตังแต่วนั ที

ตังแต่วนั ที

สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) รายได้ รายได้จากการขาย

5, 35

562,810,895,739

104,433,308,577

470,265,119,864

88,751,326,380

รายได้จากการให้บริ การ

5, 35

2,806,153,605

396,713,403

368,565,066

73,111,263

รายได้จากการลงทุน

5, 27

797,987,071

170,812,043

12,653,810,517

1,484,235,144

2,035,153,723

710,485,495

1,788,393,203

560,268,924

กําไรจากตราสารอนุพนั ธ์ กําไรจากอัตราแลกเปลี ยนสุทธิ

821,399,393

-

766,876,207

-

กําไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็ นขัน

28

กําไรจากการต่อรองราคาซื อ

4

943,893,319

รายได้อืน

5

1,802,076,598

206,758,933

1,037,863,517

230,247,781

572,017,559,448

106,775,474,407

486,880,628,374

91,099,189,492

515,391,233,742

98,584,450,781

447,352,924,211

86,147,665,337

5

1,105,530,012

145,049,343

165,332,567

42,668,539

รวมรายได้

-

857,395,956 -

-

-

-

-

ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย

5, 9

ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร

29

2,312,592,337

383,862,956

502,083,623

90,720,188

30

9,691,984,345

2,395,738,102

6,191,348,155

1,666,853,091

ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน

11

ต้นทุนทางการเงิน

33

ขาดทุนจากตราสารอนุพนั ธ์ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลียนสุทธิ

กําไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้

12 34

กําไรสํ าหรับปี /งวด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

586,386,922

-

6,320,475,850

1,213,191,204

5,108,808,577

944,648,633

1,286,815,476

1,060,696,632

1,200,862,841

897,824,462

-

รวมค่าใช้ จ่าย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

-

745,919,736

461,107,746,896

641,138,406

536,108,631,762

104,528,908,754

(43,981,981)

(122,539,637)

35,864,945,705

2,124,026,016

25,772,881,478

667,670,836

1,416,072,492

240,777,523

1,584,520,239

61,006,780

34,448,873,213

1,883,248,493

24,188,361,239

606,664,056

-

90,431,518,656 -

1


1 6 2

งบกำไรขาดทุน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา

สําหรับระยะเวลา

ตังแต่วนั ที

ตังแต่วนั ที

สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) ส่ วนของกําไร (ขาดทุน) ทีเป็ นของ ผูถ้ ือหุ้นของบริ ษทั ใหญ่ ส่วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไรสํ าหรับปี /งวด กําไรต่ อหุ้ น (บาท) กําไรต่อหุ ้นขันพืนฐาน

34,001,274,926

2,113,439,517

24,188,361,239

447,598,287

(230,191,024)

34,448,873,213

1,883,248,493

24,188,361,239

606,664,056

7.54

0.47

5.37

0.13

7.54

0.47

5.37

0.13

-

606,664,056 -

36

กําไรต่อหุ้นปรับลด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


1 6 3

งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา

สําหรับระยะเวลา

ตังแต่วนั ที

ตังแต่วนั ที

สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) กําไรสํ าหรับปี /งวด กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน

34,448,873,213

1,883,248,493

24,188,361,239

606,664,056

ผลต่างจากอัตราแลกเปลียนจากการแปลงค่า หน่วยงานต่างประเทศ กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืนสําหรับปี /งวด - สุ ทธิจากภาษี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี /งวด

143,998,816 143,998,816 34,592,872,029

(8,501,276) (8,501,276) 1,874,747,217

24,188,361,239

606,664,056

การแบ่ งปันกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่ วนทีเป็ นของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนทีเป็ นของส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี /งวด

33,940,944,899 651,927,130 34,592,872,029

2,114,013,530 (239,266,313) 1,874,747,217

24,188,361,239 24,188,361,239

606,664,056 606,664,056

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


25

45,061,129,360

-

-

1,282,980 1,282,980

45,059,846,380

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

โอนไปสํารองตามกฎหมาย

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับงวด กําไร กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอืน รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด

รายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนทีได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น เพิมหุ ้นสามัญ 24 รวมเงินทุนทีได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น

สํ าหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที 19 ตุลาคม 2554

หมายเหตุ

46,730,261

-

-

(1,862,328) (1,862,328)

48,592,589

36,839,313,917

-

-

6,522,111 6,522,111

36,832,791,806

6,901,431

-

-

12,086,007,975 4,512,930,269

-

-

-

12,086,007,975 4,506,028,838

ทุนสําหรับการใช้ สิ ทธิ ภายใต้โครงการ ทุนเรื อนหุ ้น ออกหลักทรัพย์ให้แก่ ทีออกและ พนักงานทีอยูร่ ะหว่าง ส่ วนเกินทุน ทุนสํารอง ชําระแล้ว การใช้สิทธิ ส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น จากการรวมธุ รกิจ ตามกฎหมาย

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

807,802,564

-

-

-

807,802,564

สํารองสําหรับ การชําระคืน เงินกูย้ มื

12,446,994,126

-

-

-

12,446,994,126

สํารอง การขยายงาน

กําไรสะสม

86,290,201,235

(6,901,431)

2,113,439,517 2,113,439,517

-

84,183,663,149

ยังไม่ได้ จัดสรร (บาท)

งบการเงินรวม

402,148,251

-

574,013 574,013

-

401,574,238

10,998,638

-

-

-

10,998,638

413,146,889

-

574,013 574,013

-

412,572,876

องค์ประกอบอืนของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น รวม ผลต่าง ส่ วนเกินทุน องค์ประกอบอืน จากการแปลงค่า จากการลดสัดส่ วน ของ งบการเงิน การลงทุน ส่ วนของผูถ้ ือหุ้น

198,504,256,596

-

2,113,439,517 574,013 2,114,013,530

5,942,763 5,942,763

196,384,300,303

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ้น

9,949,915,157

-

(230,191,024) (9,075,289) (239,266,313)

-

208,454,171,753

-

1,883,248,493 (8,501,276) 1,874,747,217

5,942,763 5,942,763

10,189,181,470 206,573,481,773

ส่ วนของ ส่วนได้เสี ย ทีไม่มีอาํ นาจ ควบคุม

1 6 4


4

45,088,491,170

-

27,361,810 27,361,810

45,061,129,360

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี กําไร กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอืน รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

การเปลียนแปลงในส่ วนได้เสียในบริษทั ย่ อย การได้มาซึ งส่วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุมจากการรวมธุรกิจ รวมการเปลียนแปลงในส่ วนได้ เสียในบริษทั ย่ อย

รายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนทีได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิมหุ้นสามัญ 24 สิ ทธิ ซือหุ ้นทีไม่มีการใช้สิทธิ เงินปันผลให้ผถู้ ือหุ้นของบริ ษทั 37 รวมเงินทุนทีได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น

สําหรับปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2555

หมายเหตุ

-

-

(39,704,885) (7,025,376) (46,730,261)

46,730,261

36,978,396,897

-

139,082,980 139,082,980

36,839,313,917

-

-

12,086,007,975 4,512,930,269

-

-

12,086,007,975 4,512,930,269

ทุนสําหรับการใช้ สิ ทธิ ภายใต้โครงการ ทุนเรื อนหุ ้น ออกหลักทรัพย์ให้แก่ ทีออกและ พนักงานทีอยูร่ ะหว่าง ส่ วนเกินทุน ทุนสํารอง ชําระแล้ว การใช้สิทธิ ส่ วนเกินมูลค่าหุ ้น จากการรวมธุ รกิจ ตามกฎหมาย

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

807,802,564

-

-

807,802,564

สํารองสําหรับ การชําระคืน เงินกูย้ มื

12,446,994,126

-

-

12,446,994,126

สํารอง การขยายงาน

กําไรสะสม

34,001,274,926 34,001,274,926 110,159,175,502

-

7,025,376 (10,139,326,035) (10,132,300,659)

86,290,201,235

ยังไม่ได้ จัดสรร (บาท)

งบการเงินรวม

(60,330,027) (60,330,027) 341,818,224

-

-

402,148,251

10,998,638

-

-

10,998,638

(60,330,027) (60,330,027) 352,816,862

-

-

413,146,889

องค์ประกอบอืนของส่วนของผูถ้ ือหุ ้น รวม ผลต่าง ส่ วนเกินทุน องค์ประกอบอืน จากการแปลงค่า จากการลดสัดส่ วน ของ งบการเงิน การลงทุน ส่ วนของผูถ้ ือหุ้น

34,001,274,926 (60,330,027) 33,940,944,899 222,432,615,365

-

126,739,905 (10,139,326,035) (10,012,586,130)

198,504,256,596

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั

รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ้น

447,598,287 204,328,843 651,927,130 15,611,979,173

5,504,069,483 5,504,069,483

(493,932,597) (493,932,597)

34,448,873,213 143,998,816 34,592,872,029 238,044,594,538

5,504,069,483 5,504,069,483

126,739,905 (10,633,258,632) (10,506,518,727)

9,949,915,157 208,454,171,753

ส่ วนของ ส่วนได้เสี ย ทีไม่มีอาํ นาจ ควบคุม

1 6 5


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

โอนไปสํารองตามกฎหมาย

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับงวด กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับงวด 25 45,061,129,360

-

-

1,282,980 1,282,980

รายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนทีได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิมหุน้ สามัญ รวมเงินทุนทีได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น 24

45,059,846,380

-

-

6,522,111 6,522,111

-

-

-

6,901,431

-

-

46,730,261 36,839,313,917 13,505,861,611 4,512,930,269

-

-

(1,862,328) (1,862,328)

807,802,564

-

-

-

48,592,589 36,832,791,806 13,505,861,611 4,506,028,838 807,802,564

12,446,994,126

-

-

-

12,446,994,126

สํารอง การขยายงาน

กําไรสะสม สํารองสําหรับ การชําระคืน เงินกูย้ มื

งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนสําหรับการใช้ สิ ทธิ ภายใต้โครงการ ทุนเรื อนหุน้ ออกหลักทรัพย์ให้แก่ ทีออกและ พนักงานทีอยูร่ ะหว่าง ส่วนเกินทุน ทุนสํารอง ชําระแล้ว การใช้สิทธิ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ จากการรวมธุรกิจ ตามกฎหมาย (บาท)

สํ าหรับระยะเวลาตังแต่ วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที 19 ตุลาคม 2554

หมายเหตุ

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

72,898,514,647

(6,901,431)

606,664,056 606,664,056

-

72,298,752,022

ยังไม่ได้ จัดสรร

186,119,276,755

-

606,664,056 606,664,056

5,942,763 5,942,763

185,506,669,936

รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุน้

1 6 6


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับปี กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

รายการกับผู้เป็ นเจ้ าของทีบันทึกโดยตรงเข้าส่ วนของผู้ถอื หุ้น เงินทุนทีได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น เพิมหุน้ สามัญ สิ ทธิซือหุน้ ทีไม่มีการใช้สิทธิ เงินปั นผลให้ผถู้ ือหุน้ ของบริ ษทั รวมเงินทุนทีได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ถู อื หุ้น

สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2555

37

24

หมายเหตุ

45,088,491,170

27,361,810 27,361,810

-

(39,704,885) (7,025,376) (46,730,261)

-

-

36,978,396,897 13,505,861,611 4,512,930,269

139,082,980 139,082,980

807,802,564

-

46,730,261 36,839,313,917 13,505,861,611 4,512,930,269 807,802,564

12,446,994,126

-

12,446,994,126

สํารอง การขยายงาน

กําไรสะสม สํารองสําหรับ การชําระคืน เงินกูย้ มื

งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนสําหรับการใช้ สิ ทธิ ภายใต้โครงการ ทุนเรื อนหุน้ ออกหลักทรัพย์ให้แก่ ทีออกและ พนักงานทีอยูร่ ะหว่าง ส่วนเกินทุน ทุนสํารอง ชําระแล้ว การใช้สิทธิ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ จากการรวมธุรกิจ ตามกฎหมาย (บาท) 45,061,129,360

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

24,188,361,239 24,188,361,239 86,954,575,227

7,025,376 (10,139,326,035) (10,132,300,659)

72,898,514,647

ยังไม่ได้ จัดสรร

24,188,361,239 24,188,361,239 200,295,051,864

126,739,905 (10,139,326,035) (10,012,586,130)

186,119,276,755

รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุน้

1 6 7


1 6 8

งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับระยะเวลา สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปี /งวด รายการปรั บปรุง ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย รายได้จากการลงทุน ต้นทุนทางการเงิน กําไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็ นขัน (กําไร) ขาดทุนจากตราสารอนุพนั ธ์ทียังไม่เกิดขึนจริ ง (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลียนทียังไม่เกิดขึนจริ ง กําไรจากการต่อรองราคาซือ (กลับรายการ) ค่าเผือหนี สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสิ นค้าคงเหลือ (กลับรายการ) ค่าเผือการลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผือการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย (กําไร) ขาดทุนจากการจําหน่ายทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สํารองผลประโยชน์พนักงาน รายได้ทีรับรู ้ค่าธรรมเนี ยมการใช้ฐานวางระบบท่อ และอุปกรณ์และรายได้อืน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม (สุทธิ จากภาษีเงินได้) กําไรจากการเปลียนแปลงสัดส่วนเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

34,448,873,213

1,883,248,493

24,188,361,239

606,664,056

16,814,543,439 (797,987,071) 6,320,475,850 79,519,862 (130,015,320) (943,893,319) 8,018,782 50,106,900 (76,321,242) 338,294,010 219,799,908 2,630,437 344,960,970

3,193,965,717 (170,812,043) 1,213,191,204 (857,395,956) (360,880,823) 663,585,850 (1,341,625) 358,708 45,702,785 39,725,504 331,107,415 1,848,435 42,669,511

9,280,267,981 (12,653,810,517) 5,108,808,577 209,610,158 (204,493,448) 5,719,684 586,386,922 100,950,021 9,276,933 126,128,367

1,838,915,497 (1,484,235,144) 944,648,633 (412,752,877) 596,408,091 2,002,200 358,708 (14,337,731) 29,900,169 159,985,861 (5,788,142) 18,222,822

(18,715,484) 43,981,981 (275,615,278) 1,416,072,492 57,844,730,130

(3,475,864) 122,539,637 (182,922) 240,777,523 6,384,631,549

(14,574,247) 1,584,520,239 28,327,151,909

(2,925,870) 61,006,780 2,338,073,053


1 6 9

งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับระยะเวลา สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) การเปลียนแปลงในสิ นทรั พย์ และหนี สิ นดําเนิ นงาน ลูกหนีการค้าและตัวเงินรับ ลูกหนีอืน สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนีภาษีมูลค่าเพิม สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน หนีสิ นหมุนเวียนอืน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนีสิ นไม่หมุนเวียนอืน เงินสดได้มาจากกิจกรรมดําเนิ นงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

(7,700,720,526) (1,037,430,196) (1,479,889,810) 46,125,990 (722,918,698) (490,805,242) 9,071,196,380 592,700,302 604,952,925 (176,788,096) (410,699,746) 56,140,453,413 (1,259,268,609) 54,881,184,804

6,143,978,456 (263,844,266) 5,326,220,768 (1,115,508,773) 101,194,421 (555,733,271) (6,609,106,412) 729,218,583 (41,106,248) (24,308,010) (143,667,932) 9,931,968,865 (38,999,073) 9,892,969,792

(7,785,995,751) (613,445,676) (1,623,544,054) (357,183,377) (364,102,771) (162,510,101) 8,812,845,890 (215,162,058) 306,412,025 (26,012,150) 7,448,864 26,305,902,750 (813,949,231) 25,491,953,519

7,092,745,339 (277,333,435) 5,571,160,692 (1,159,151,821) 16,579,727 (433,426,029) (7,681,217,889) 1,084,700,818 (36,534,018) (8,892,000) (156,659,961) 6,350,044,476 (6,594,468) 6,343,450,008

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบีย รับเงินปันผล ซือทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายทีดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุนชัวคราว (เพิมขึน) ลดลง รับชําระคืนเงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน รับชําระคืนเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกันเพิมขึน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกียวข้องกันเพิมขึน ซือสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจากการคืนทุนของบริ ษทั ย่อย เงินจ่ายสุทธิเพือการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและกิจการทีควบคุมร่ วมกัน เงินสดจ่ายเพือการลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายเพือการลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินสดสุ ทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน

611,281,545 300,369,689 (8,851,331,155) 53,089,668 (25,159,823,873) (1,240,795,000) (743,230,698) (6,658,815,101) (41,689,254,925)

186,699,747 (837,244,653) 22,706,580 1,611,665,037 (287,523,192) (7,500,000) 688,803,519

1,553,476,619 10,915,794,779 (5,636,271,291) 33,334,371 (25,000,000,000) 2,426,680,433 6,545,000,000 (387,000,000) (1,345,283,994) (223,744,688) 312,824,078 (9,942,348,116) (20,747,537,809)

497,878,681 1,445,426,000 (169,111,379) 17,308,150 1,940,000,000 1,673,000,000 (1,502,822,545) (201,652,528) (7,500,000) 3,692,526,379

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


1

7 0

งบกระแสเงินสด บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับระยะเวลา สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 19 ตุลาคม 2554 ถึง หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554 (บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน จ่ายเงินปันผล จ่ายชําระหนีสิ นตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสันจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสันจากกิจการทีเกียวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอืน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสันจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสันจากกิจการทีเกียวข้องกัน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอืน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ ชําระคืนหุ้นกู้ ชําระคืนเงินกูด้ อ้ ยสิ ทธิ เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุ ทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิมขึน (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี /งวด ผลกระทบจากอัตราแลกเปลียนของเงินตรา ต่างประเทศคงเหลือสิ นปี /งวด เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสินปี /งวด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

6

(6,677,072,168) (10,534,018,210) (271,288,647) 11,214,883,684 474,156 19,498,885,956 (11,149,681,826) (232,160,925) (19,311,177,678) 30,460,645,584 (9,623,584,145) (4,823,819,000) 126,739,905 (1,321,173,314)

(1,420,310,966) (166,848,174) (38,193,676) 5,192,239,392 2,389,967,981 (11,276,933,354) (12,091,362,867) 5,942,763 (17,405,498,901)

(5,459,914,192) (10,139,326,035) (152,421,698) 8,000,000,000 3,225,184,562 19,035,685,000 (8,000,000,000) (490,117,921) (17,057,403,543) 30,460,645,584 (9,623,584,145) (4,823,819,000) 126,739,905 5,101,668,517

(1,105,993,572) (25,806,485) 4,850,000,000 1,100,742,361 2,000,000,000 (10,887,000,000) (11,604,453,789) 5,942,763 (15,666,568,722)

11,870,756,565 18,973,235,320

(6,823,725,590) 25,865,424,056

9,846,084,227 9,155,276,500

(5,630,592,335) 14,763,858,505

425,319,234 31,269,311,119

(68,463,146) 18,973,235,320

1,364,888 19,002,725,615

22,010,330 9,155,276,500


1

หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

สารบัญ ข้อมูลทัวไป เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีทีสําคัญ การซื อธุรกิจ บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีการค้าและตัวเงินรับ ลูกหนีอืน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และกิจการทีควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนอืน ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ ทธิ การเช่าทีดิน ค่าความนิยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนีสิ นทีมีภาระดอกเบีย เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน หนีสิ นหมุนเวียนอืน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุน้ ส่ วนเกินทุนและสํารอง รายงานทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน รายได้จากการลงทุน กําไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็ นขัน ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

7 1


1 7 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43

สารบัญ ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ สิ ทธิ ประโยชน์จากการส่ งเสริ มการลงทุน กําไรต่อหุน้ เงินปั นผล เครื องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการทีไม่เกียวข้องกัน คดีฟ้องร้อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินทียังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่


1 7 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ งของงบการเงินนี งบการเงินนีได้รับอนุมตั ิให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการ เมือวันที 15 กุมภาพันธ์ 1

ข้ อมูลทัวไป บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “PTTGC” เกิ ดขึ นจากการควบบริ ษทั (Amalgamation) ระหว่าง บริ ษ ทั ปตท.เคมิ ค อล จํา กัด (มหาชน) “PTTCH” และบริ ษทั ปตท.อะโรเมติ กส์ และการกลัน จํา กัด (มหาชน) “PTTAR” โดยได้จดทะเบียนจัดตังบริ ษทั ขึนเมือวันที 19 ตุลาคม 2554 ภายใต้พระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. ทีบริ ษทั ได้กาํ หนดให้มีอตั ราการแลกหุน้ ของการควบบริ ษทั ให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ของ PTTCH และ PTTAR ทีมี ชื อปรากฏในสมุดทะเบี ยนผูถ้ ื อหุ ้นของแต่ละบริ ษทั โดยบริ ษทั ได้มาซึ งทรั พย์สิน หนี สิ น สิ ทธิ หน้าที และภาระ ผูกพันทังหมดของทังสองบริ ษทั ตลอดรวมสัญญาต่าง ๆ ที PTTCH และ PTTAR ได้ทาํ ไว้ก่อนหน้าการควบรวม บริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) “บริ ษทั ” เป็ นนิ ติบุคคลทีจัดตังขึ นในประเทศไทย และมีทีอยู่จด ทะเบียนดังนี สํานักงานใหญ่

: เลขที / ศูนย์เอนเนอร์ยีคอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน 4- ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย

สาขาที 1 (สาขาสํานักงานระยอง)

: เลขที ถนนราษฎ์นิยม ตําบลเนินพระ อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย

สาขาที (สาขาโรงโอเลฟิ นส์ ไอ-หนึง)

: เลขที ถนนไอ-หนึ ง ตํา บลมาบตาพุ ด อํา เภอเมื องระยอง จัง หวัด ระยอง ประเทศไทย

สาขาที (สาขาโรงโอเลฟิ นส์ ไอ-สี )

: เลขที ถนนไอ-สี ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย

สาขาที (สาขาโรงอะโรเมติกส์ )

: เลขที ถนนไอ-สอง ตํา บลมาบตาพุ ด อํา เภอเมื อ งระยอง จัง หวัด ระยอง ประเทศไทย

สาขาที (สาขาโรงอะโรเมติกส์ )

: เลขที / ถนนทางหลวงระยอง-สาย จังหวัดระยอง ประเทศไทย

ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง


1 7 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาขาที (สาขาโรงกลันนํามัน)

: เลขที 8 ถนนไอ-แปด ตํา บลมาบตาพุ ด อํา เภอเมื อ งระยอง จัง หวัด ระยอง ประเทศไทย

สาขาที (สาขาท่าเทียบเรื อและ คลังผลิตภัณฑ์)

: เลขที ถนนโรงปุ๋ ย ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย

สาขาที : เลขที ถนนไอ-สี ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง (สาขาคลังสํารองอะโรเมติกส์) ประเทศไทย สาขาที (สาขาแล็บเซอร์วิสเซ็นเตอร์ )

: เลขที / ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย

สาขาที 10 (สาขาเอ คิว เอ เซ็นเตอร์)

: เลขที 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชัน 40 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย

คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยรับหลักทรัพย์ของบริ ษทั เป็ นหลักทรั พย์จดทะเบี ยนตังแต่ วนั ที นายทะเบียนรับจดทะเบียนการควบบริ ษทั เมือวันที 19 ตุลาคม 2554 บริ ษทั เป็ นบริ ษทั ในกลุ่มของบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”) ซึ งเป็ นนิติบุคคลทีจัดตังขึนในประเทศไทยและ เป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั ซึ งถือหุน้ ร้อยละ 48.89 ของทุนทีออกและชําระแล้ว บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิ จหลักเกี ยวกับการผลิ ตและจําหน่ ายผลิ ตภัณฑ์เอทิ ลีน โพรพิลีน เม็ดพลาสติ กโพลิ เอทิ ลีน และ เคมีภณ ั ฑ์ชีวภาพ ผลิตภัณฑ์พลอยได้ ได้แก่ มิกซ์ซีโฟว์ ไพโรไลซี สก๊าซโซลีน แครกเกอร์ บอททอม และเทลก๊าซ และการกลันนํามัน และจัด หาผลิ ต ภัณ ฑ์ปิ โตรเลี ย มสํ า เร็ จ รู ป การผลิ ต และจํา หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ อ ะโรเมติ ก ส์ รวมถึ ง ผลิ ตภัณ ฑ์ต่ อ เนื องจากสารอะโรเมติ กส์ และมี ธุ ร กิ จ รอง คื อ การผลิ ต และจํา หน่ า ยไฟฟ้ า นํา ไอนํา และสาธารณู ปการอืนๆ ตลอดจนให้บริ การต่อเนื อง ได้แก่ การให้บริ การท่าเที ยบเรื อ และคลังเก็บเคมีภณ ั ฑ์เหลว นํามัน และก๊าซ เป็ นต้น รายละเอียดของบริ ษทั ย่อยและกิจการทีควบคุมร่ วมกัน ณ วันที 31 ธันวาคม มีดงั นี


1 7 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ชือกิจการ บริ ษทั ย่ อยทางตรง บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและ ผลิตภัณฑ์ทีเกียวข้องใน กลุ่มสุ ขภาพและ โภชนาการ บริ ษทั ไบโอ สเปกตรัม จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์เคมีภณ ั ฑ์ชีวภาพ บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด ผลิตและจําหน่าย (อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์เคมีภณ ั ฑ์ชีวภาพ บริ ษทั ไทยแท้งค์เทอร์มินลั จํากัด บริ การจัดเก็บและ ขนถ่ายเคมีภณ ั ฑ์เหลว นํามัน และก๊าซ บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ บริ การบํารุ งรักษาโรงงาน เอนจิเนียริ ง จํากัด และงานวิศวกรรม บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ บริ การด้านความปลอดภัย เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด และสิ งแวดล้อม PTT Chemical International Pte. Ltd. ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน กิจการต่างประเทศ บริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด ผลิตและจําหน่าย สาธารณูปการ

ประเทศทีกิจการ จัดตัง

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2555 2554

ไทย

100

100

ไทย

100

100

ไทย

75

75

ไทย

100

100

ไทย

100

100

ไทย

100

100

ไทย

51

51

ไทย

100

100

ไทย

60

60

ไทย

100

100

สิ งคโปร์

100

100

ไทย

60

60

ไทย

60

60


1 7 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ชือกิจการ บริ ษทั ย่ อยทางอ้ อม บริ ษทั ไทยแฟตตีแอลกอฮอล์ จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์เคมีภณ ั ฑ์ชีวภาพ บริ ษทั ไทยสไตรี นิคส์ จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บริ ษทั ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชันแนล ให้บริ การแก่วิสาหกิจ ในกลุ่มบริ ษทั (สํานักงานปฏิบตั ิการภูมิภาค เอเชีย แปซิ ฟิค) จํากัด PTTGC International (USA) Inc. ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน กิจการต่างประเทศ PTTGC International (Netherlands) ลงทุน และดําเนินธุรกิจใน B.V. กิจการต่างประเทศ Vencorex Holding ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ เคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษ กิจการทีควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั ไทย อีทอกซี เลท จํากัด ผลิตและจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี กิจการทีควบคุมร่ วมกันทางอ้ อม Emery Oleochemical (M) Sdn.Bhd. ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ เคมีภณ ั ฑ์ชีวภาพ NatureWorks LLC ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ พลาสติกชีวภาพ

ประเทศทีกิจการ จัดตัง

บริษทั ถือหุ้นร้ อยละ 2555 2554

ไทย

100

100

ไทย

100

100

ไทย

100

100

สหรัฐอเมริ กา

100

100

เนเธอร์แลนด์

100

100

ฝรังเศส

51

-

ไทย

50

50

มาเลเซี ย

50

50

สหรัฐอเมริ กา

50

-


1 7 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ก) เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงิ นนี จัดทําขึ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิ บตั ิ ทางการบัญชี ทีประกาศใช้โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที เกียวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอืนๆ ซึ งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที เริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป และไม่ได้มีการนํามาใช้สาํ หรับการจัดทํางบการเงินนี มาตรฐาน การรายงานทางการเงินทีออกและปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวได้เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 42 (ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนีจัดทําขึนโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นทีกล่าวไว้ในนโยบายบัญชี (ค) สกุลเงินทีนําเสนองบการเงิน งบการเงินนีจัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาท ข้อมูลทางการเงินทังหมดมีการปั ดเศษในหมายเหตุประกอบ งบการเงินเพือให้แสดงเป็ นหลักล้านบาท ยกเว้นทีระบุไว้เป็ นอย่างอืน (ง) การประมาณการและใช้ วิจารณญาณ ในการจัดทํางบการเงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ้ ริ หารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณ และข้อสมมติ ฐานหลายประการ ซึ งมี ผลกระทบต่ อการกําหนดนโยบายการบัญชี และการรายงานจํานวนเงิ นที เกียวกับ สิ นทรัพย์ หนีสิ น รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลทีเกิดขึนจริ งอาจแตกต่างจากทีประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติ ฐานที ใช้ในการจัดทํางบการเงิ นจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื อง การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีทีประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตทีได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกียวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานทีสําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบ สําคัญต่อการรับรู ้จาํ นวนเงินในงบการเงินซึ งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี


1 7 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 16 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38 3

การซื อธุรกิจ เงินลงทุนอืน ค่าความนิยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ การตีมลู ค่าของเครื องมือทางการเงิน

นโยบายการบัญชีทีสํ าคัญ นโยบายการบัญชีทีนําเสนอดังต่อไปนีได้ถือปฏิบตั ิโดยสมําเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาทีรายงาน

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงิ นรวมประกอบด้วยงบการเงิ นของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยและกิ จการที ควบคุ มร่ วมกัน (รวมกันเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”) และส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม การรวมธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั บันทึกบัญชีสาํ หรับการรวมธุรกิจโดยปฏิบตั ิตามวิธีซือ ยกเว้นในกรณี ทีเป็ นการรวมธุ รกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การควบคุ ม หมายถึ งอํานาจในการกําหนดนโยบายทางการเงิ นและการดําเนิ นงานของกิ จ การเพื อให้ได้มาซึ ง ประโยชน์จากกิจกรรมของกิ จการนัน ในการพิจารณาอํานาจในการควบคุม กิจการต้องนําสิ ทธิ ในการออกเสี ยงที เกิ ดขึ นมารวมในการพิ จารณาด้วย วันที ซื อกิ จการคื อวันที อํา นาจในการควบคุ มนันได้ถูกโอนไปยังผูซ้ ื อ การ กําหนดวันที ซื อกิ จการและการระบุเกี ยวกับการโอนอํานาจควบคุมจากผูถ้ ูกซื อไปยังผูซ้ ื อต้องใช้ดุลยพินิจเข้ามา เกียวข้อง กลุ่มบริ ษทั รับรู ้ค่าความนิยม ณ วันทีซื อ ด้วยส่ วนของมูลค่าในข้อ (1) ทีมากกว่าข้อ (2) (1) ผลรวมของ - มูลค่ายุติธรรมของสิ งตอบแทนทีโอนให้ - มูลค่าของส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุมในบริ ษทั ของผูถ้ กู ซื อ และ - มูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยทีมีอยู่ ณ วันซื อ หากเป็ นการรวมธุรกิจทีดําเนิ นการสําเร็ จแบบเป็ นขัน ๆ


1 7 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (2) มูลค่ายุติธรรมสุ ทธิ ของสิ นทรัพย์ทีได้มาทีระบุได้และหนีสิ นทีรับมา ในกรณี ทีมูลค่าในข้อ (1) น้อยกว่าข้อ (2) ผลต่างดังกล่าวถือเป็ นกําไรจากการต่อรองราคาซื อซึ งจะถูกรับรู ้ทนั ทีใน กําไรหรื อขาดทุน สิ งตอบแทนทีผูซ้ ื อโอนให้หรื อคาดว่าจะต้องจ่ายรับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันทีซื อ ต้น ทุ น ที เกี ยวข้อ งกับ การซื อของกลุ่ ม บริ ษัท /บริ ษัท ที เกิ ด ขึ นจากการรวมธุ ร กิ จ เช่ น ค่ า ที ปรึ กษากฎหมาย ค่าธรรมเนียมวิชาชีพและค่าทีปรึ กษาอืนๆ ถือเป็ นค่าใช้จ่ายเมือเกิดขึน การรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน การรวมธุรกิจของกิจการหรื อการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ให้บนั ทึกบัญชีโดยใช้วิธีเสมือนว่าเป็ น วิธีการรวมส่ วนได้เสี ย และตามแนวปฏิบตั ิทีออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหว่างปี 2552 บริ ษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยเป็ นกิจการทีอยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มบริ ษทั การควบคุมเกิดขึนเมือกลุ่มบริ ษทั มีอาํ นาจควบคุมทัง ทางตรงหรื อทางอ้อมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนัน เพือได้มาซึ งประโยชน์ จากกิจกรรมของบริ ษทั ย่อย ดังนันงบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้ถกู รวมอยูใ่ นงบการเงินรวม นับแต่วนั ทีกลุ่มบริ ษทั มี การควบคุมจนถึงวันทีการควบคุมสิ นสุ ดลง นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถกู เปลียนตามความจําเป็ นเพือให้เป็ นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริ ษทั ผล ขาดทุนในบริ ษทั ย่อยจะต้องถูกปันส่ วนไปยังส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม แม้วา่ การปันส่ วนดังกล่าวจะทําให้ ส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม การสู ญเสี ยอํานาจควบคุม เมือมีการสูญเสี ยอํานาจควบคุม กลุ่มบริ ษทั จะตัดรายการสิ นทรัพย์และหนีสิ นในบริ ษทั ย่อย ส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจ ควบคุมและส่ วนประกอบอืนในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ทีเกียวข้องกับบริ ษทั ย่อยนัน กําไรหรื อขาดทุนทีเกิดขึนจากการ สู ญเสี ยอํานาจควบคุ มในบริ ษทั ย่อยรั บรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุ น ส่ วนได้เสี ยที ยังคงเหลื ออยู่ให้วดั มูลค่ าด้วยมูลค่ า ยุติธรรม ณ วันทีสูญเสี ยอํานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเป็ นเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยหรื อเป็ นสิ นทรัพย์ ทางการเงินเผือขาย ขึนอยูก่ บั ระดับของอิทธิ พลทีคงเหลืออยู่


1 8 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน กิจการที ควบคุมร่ วมกัน กิจการที ควบคุมร่ วมกัน เป็ นกิ จการที กลุ่มบริ ษทั มีส่วนร่ วมในการควบคุมกิ จกรรมตามที ตกลงไว้ในสัญญา และ ได้รับความเห็ นชอบร่ วมกันในการตัดสิ นใจเชิ งกลยุทธ์ ทางการเงิ นและการดําเนิ นงาน งบการเงิ นรวมได้รวม สิ นทรัพย์ หนี สิ น รายได้ และค่าใช้จ่าย แต่ละรายการของกิ จการที ควบคุมร่ วมกันเฉพาะสัดส่ วนของกลุ่มบริ ษทั โดยใช้เกณฑ์รวมแต่ละบรรทัดของกิจการทีควบคุมร่ วมกัน นับแต่วนั ทีมีการร่ วมควบคุมจนถึงวันทีการร่ วมควบคุม ได้สินสุ ดลง บริ ษัทร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจการทีกลุ่มบริ ษทั มีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญโดยมีอาํ นาจเข้าไปมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจเกียวกับ นโยบายทางการเงินและการดําเนิ นงานแต่ไม่ถึงระดับทีจะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญ ถูกสันนิษฐานว่ามีอยูเ่ มือกลุ่มบริ ษทั มีอาํ นาจในการออกเสี ยงในกิจการอืนตังแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมบันทึกในงบการเงินรวมโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย (เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั ทีถูก ลงทุน) โดยรับรู ้รายการเริ มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนทีเกียวข้องกับการซื อทีเกิดจากการทํารายการดังกล่าว งบการเงินรวมได้รวมส่ วนแบ่งผลกําไรขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืนของบริ ษทั ร่ วมทีถูกลงทุน ภายหลังจาก การปรับปรุ งนโยบายการบัญชี ให้เป็ นนโยบายเดี ยวกันกับของกลุ่มบริ ษทั นับจากวันที มีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญ จนถึงวันทีการมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญนันสิ นสุ ดลง เมือส่ วนแบ่งผลขาดทุนทีกลุ่มบริ ษทั ได้รับมีจาํ นวนเกินกว่า ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ทีไปลงทุนนัน มูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั จะถูกทอนลงจนเป็ นศูนย์และจะ ไม่รับรู ้ส่วนแบ่งผลขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กรณี ทีกลุ่มบริ ษทั ผูล้ งทุนมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อต้องจ่ายเงิ น เพือชําระภาระผูกพันแทนในนามของผูถ้ กู ลงทุน การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชี ระหว่างกิ จการในกลุ่ม รวมถึงรายได้ หรื อค่าใช้จ่ายที ยังไม่เกิ ดขึนจริ งซึ งเป็ นผลมา จากรายการระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรทียังไม่เกิดขึนจริ งซึ งเป็ นผลมา จากรายการกับบริ ษทั ร่ วมและกิจการทีควบคุมร่ วมกันถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าทีกลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยใน กิจการทีถูกลงทุนนัน ขาดทุนทียังไม่เกิดขึนจริ งถูกตัดรายการในลักษณะเดียวกับกําไรทียังไม่เกิดขึนจริ ง


1

8

1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ข) เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ทีเป็ นเงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีทีเป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียน ณ วันทีเกิดรายการ สิ นทรัพย์และหนี สิ นที เป็ นตัวเงิ นและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที รายงาน แปลงค่าเป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลียน ณ วันทีรายงาน ส่ วนกําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์และหนี สิ นที ไม่เป็ นตัวเงิ นซึ งเกิ ดจากรายการบัญชี ทีเป็ นเงิ นตราต่างประเทศ ซึ งบันทึ กตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิม แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียน ณ วันทีเกิดรายการ กิจการในต่ างประเทศ สิ นทรัพย์และหนีสิ นของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียน ณ วันทีรายงาน ค่าความนิยมและรายการปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมทีเกิดจากการซื อกิจการในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลียน ณ วันทีรายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการในต่างประเทศ แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียนทีใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันทีเกิดรายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลียนที เกิ ดจากการแปลงค่างบการเงิ น บันทึ กในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน และแสดงเป็ น รายการผลต่างจากอัตราแลกเปลียนในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ จนกว่ามีการจําหน่ายเงินลงทุนนันออกไป (ค) เครื องมือทางการเงินทีเป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เครื องมือทางการเงินทีเป็ นตราสารอนุพนั ธ์ได้ถูกนํามาใช้เพือจัดการความเสี ยงทีเกิดจากการเปลียนแปลงในอัตรา แลกเปลี ยนเงิ นตราต่ า งประเทศ อัต ราดอกเบี ย ที เกิ ด จากกิ จ กรรมดําเนิ นงาน และกิ จกรรมจัด หาเงิ น ถื อ ว่า เครื องมือทางการเงิ นที เป็ นตราสารอนุ พนั ธ์ไม่ได้มีไว้เพือค้า อย่างไรก็ตามตราสารอนุ พนั ธ์ทีไม่เข้าเงื อนไขการ กําหนดให้เป็ นเครื องมือป้ องกันความเสี ยงถือเป็ นรายการเพือค้า


1 8 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เครื องมือทางการเงินทีเป็ นตราสารอนุพนั ธ์จะถูกบันทึกบัญชี เมือเริ มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้จ่ายทีเกิดจากการ ทํารายการดังกล่าวบันทึ กในกําไรหรื อขาดทุนเมือเกิ ดขึ น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึ กครังแรกใช้มูลค่า ยุติธรรม กําไรหรื อขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่บนั ทึกในกําไรหรื อขาดทุนทันที มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบี ยถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้า ณ วันที รายงาน ราคาอ้างอิง เหล่านันสามารถทดสอบหาความสมเหตุสมผลได้ ด้วยการคิ ดลดประมาณการกระแสเงิ นสดในอนาคต ภายใต้ ข้อกําหนดต่ างๆ และวันสิ นสุ ดของแต่ละสัญญา และโดยการใช้อตั ราดอกเบี ยในท้องตลาดของเครื องมื อทาง การเงินทีคล้ายคลึงกัน ณ วันทีรายงาน หากมี ราคาตลาด มูลค่ า ยุติ ธรรมของสัญญาซื อขายเงิ นตราต่ างประเทศล่ วงหน้าถื อตามราคาตลาดของสัญญา ล่วงหน้า ณ วันทีในรายงาน ในกรณี ทีไม่มีราคาตลาด ให้ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้ราคาล่วงหน้าของสัญญาใน ลักษณะเดียวกันและครบกําหนดในวันเดียวกัน ณ วันทีรายงาน (ง)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือเรี ยก และเงินลงทุน ชัวคราวที มีสภาพคล่องสู ง เงินเบิ กเกินบัญชี ธนาคารซึ งจะต้องชําระคื นเมือทวงถามถือเป็ นส่ วนหนึ งของกิ จกรรม จัดหาเงินในงบกระแสเงินสด

(จ) ลูกหนีการค้ าและลูกหนีอืน ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืนแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี หักค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญบันทึกตามหลักเกณฑ์อายุหนี ทีเกินกําหนดชําระและการพิจารณาแผนการชําระหนี ในอนาคต ลูกหนีจะถูกตัดจําหน่ายบัญชีเมือทราบว่าเป็ นหนีสู ญ (ฉ)

สินค้ าคงเหลือ วัตถุดิบ สิ นค้ าระหว่ างผลิต และสิ นค้ าสําเร็ จรู ป สิ นค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ทีจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํากว่า


1 8 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ต้นทุ นของสิ นค้าคํานวณโดยใช้วิธีถวั เฉลี ยถ่วงนําหนัก ต้นทุ นสิ นค้าประกอบด้วยต้นทุ นที ซื อ ต้นทุ นในการ ดัดแปลงหรื อต้นทุนอืนเพือให้สินค้าอยูใ่ นสถานทีและสภาพปัจจุบนั ในกรณี ของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่าง ผลิตทีผลิตเอง ต้นทุนสิ นค้าคํานวณโดยการปั นส่ วนของค่าโสหุ ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยคํานึ งถึงระดับกําลัง การผลิตตามปกติ มูลค่าสุ ทธิ ทีจะได้รับเป็ นการประมาณราคาทีจะขายได้จากการดําเนินธุรกิจปกติหกั ด้วยค่าใช้จ่ายทีจําเป็ นในการขาย (ช) สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียนทีถือไว้ เพือขาย สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีคาดว่ามูลค่าตามบัญชีทีจะได้รับคืนส่ วนใหญ่มาจากการขายมากกว่ามาจากการใช้สินทรัพย์ นันต่อไป จัดเป็ นประเภทสิ นทรัพย์ทีถือไว้เพือขาย สิ นทรัพย์วดั มูลค่าด้วยจํานวนทีตํากว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชี กับมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่ อยและกิจการที ควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยและกิจการทีควบคุมร่ วมกัน ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั บันทึกบัญชี โดยใช้วิธีราคาทุน ส่ วนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสี ย เงินลงทุนในตราสารทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจําหน่ ายเงินลงทุน เมือมีการจําหน่ ายเงิ นลงทุน ผลต่างระหว่างจํานวนเงินสุ ทธิ ทีได้รับและมูลค่าตามบัญชี จะถูกบันทึ กในกําไรหรื อ ขาดทุน ในกรณี ทีกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั จําหน่ายเงินลงทุนที ถืออยู่บางส่ วน การคํานวณต้นทุนสําหรับเงินลงทุนที จําหน่ายไป และเงินลงทุนทียังถืออยูใ่ ห้ใช้วิธีถวั เฉลียถ่วงนําหนัก


1 8 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ฌ) ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ การรั บรู้ และการวัดมูลค่ า สิ นทรั พย์ ทีเป็ นกรรมสิ ทธิ ของกิจการ ทีดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาทุนหมายถึงต้นทุนทางตรงที เกี ยวข้องกับการได้มาของสิ นทรั พย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสิ นทรัพย์ทีกิ จการ ก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอืน ๆ ที เกียวข้องกับการจัดหาสิ นทรัพย์ เพือให้สินทรัพย์นนอยู ั ่ในสภาพที พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื อถอน การขนย้าย การ บูรณะสถานทีตังของสิ นทรัพย์และต้นทุนการกูย้ ืม สําหรับเครื องมือทีควบคุมโดยลิขสิ ทธิ ซอฟต์แวร์ ซึงไม่สามารถ ทํางานได้โดยปราศจากลิขสิ ทธิ ซอฟต์แวร์นนให้ ั ถือว่า ลิขสิ ทธิ ซอฟต์แวร์ดงั กล่าวเป็ นส่ วนหนึงของอุปกรณ์ ส่ วนประกอบของรายการทีดิน อาคารและอุปกรณ์ แต่ละรายการทีมีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากัน ต้องบันทึกแต่ ละส่ วนประกอบทีมีนยั สําคัญ แยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ ายที ดิ น อาคาร และอุปกรณ์ คื อผลต่ างระหว่างสิ งตอบแทนสุ ทธิ ทีได้รับจากการ จําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู ้สุทธิ เป็ นรายได้อืนในกําไรหรื อขาดทุน สิ นทรั พย์ ทีเช่ า การเช่าซึ งกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้รับส่ วนใหญ่ของความเสี ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินทีเช่านันๆ ให้จดั ประเภทเป็ นสัญญาเช่ า การเงิ น ที ดิ น อาคารและอุปกรณ์ ทีได้มาโดยการทํา สัญญาเช่ าการเงิ นบันทึ กเป็ น สิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่ายุติธรรมหรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขันตําทีต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จาํ นวนใดจะตํา กว่า หักด้วยค่าเสื อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าทีชําระจะแยกเป็ นส่ วนทีเป็ นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่ วนทีจะหักจากหนีตามสัญญา เพือทําให้อตั ราดอกเบียแต่ละงวดเป็ นอัตราคงทีสําหรับยอดคงเหลือของหนี สิ น ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกําไรขาดทุน


1 8 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ต้ นทุนที เกิดขึนในภายหลัง ต้นทุ นในการเปลี ยนแทนส่ วนประกอบจะรั บรู ้ เป็ นส่ วนหนึ งของมูลค่ าตามบัญชี ของรายการที ดิ น อาคารและ อุปกรณ์ ถ้ามีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทีกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั จะได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการ นัน และสามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการนันได้อย่างน่าเชื อถือ ชิ นส่ วนที ถูกเปลียนแทนจะถูกตัดจําหน่ ายตาม มูลค่าตามบัญชี ต้นทุนทีเกิดขึนในการซ่ อมบํารุ งทีดิน อาคารและอุปกรณ์ทีเกิดขึนเป็ นประจําจะรับรู ้ในกําไรหรื อ ขาดทุนเมือเกิดขึน ค่ าเสื อมราคา ค่าเสื อมราคาคํานวณจากมูลค่าเสื อมสภาพของรายการอาคารและอุปกรณ์ ซึ งประกอบด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ หรื อต้นทุนในการเปลียนแทนอืน หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่าเสื อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุน คํานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณ ของส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์แสดงได้ดงั นี ส่ วนปรับปรุ งทีดิน โรงงาน เครื องจักร อุปกรณ์ และเครื องมือ เครื องใช้โรงงาน อาคาร และส่ วนปรับปรุ งทรัพย์สินทีเช่า เครื องตกแต่ง ติดตัง และอุปกรณ์สาํ นักงาน ยานพาหนะ

3-30 3-35 5-50 3-30 3-20

ปี ปี ปี ปี ปี

กลุม่ บริ ษทั /บริ ษทั ไม่คิดค่าเสื อมราคาสําหรับทีดินและสิ นทรัพย์ทีอยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยทีสุ ดทุกสิ นรอบ ปี บัญชี และปรับปรุ งตามความเหมาะสม (ญ) สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน ค่ าความนิยม ค่าความนิยมทีเกิดจากการซื อธุรกิจ รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภายหลังจากการรับรู ้เริ มแรกแล้วค่าความนิ ยมจะ ถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักค่าเผือการด้อยค่าสะสม


1 8 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าความนิ ยมของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม รับรู ้อยู่ในมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม หากเกิดผลขาดทุน จากการด้อยค่าในเงินลงทุนให้หกั จากมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตนอืน ๆ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนอืนๆ ทีกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ซื อมาและมีอายุการใช้งานจํากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่าย สะสมและค่าเผือการด้อยค่าสะสม รายจ่ ายภายหลังการรั บรู้ รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู ้รายการจะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์เมือก่อให้เกิดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็ น สิ นทรัพย์ทีสามารถระบุได้ทีเกี ยวข้องนัน ค่าใช้จ่ายอืนรวมถึงค่าความนิ ยมและตราผลิตภัณฑ์ทีเกิ ดขึ นภายในให้ รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมือเกิดขึน ค่ าตัดจําหน่ าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์หรื อจํานวนอืนทีใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่ า ตัด จํา หน่ า ยรั บรู ้ ใ นกํา ไรหรื อ ขาดทุ น โดยวิ ธีเ ส้น ตรงซึ งโดยส่ ว นใหญ่ จะสะท้อ นรู ปแบบที คาดว่ า จะได้รั บ ประโยชน์ในอนาคตจากสิ นทรัพย์นนตามระยะเวลาที ั คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ งไม่รวม ค่าความนิ ยม โดยเริ มตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมือสิ นทรัพย์นนพร้ ั อมทีจะให้ประโยชน์ ระยะเวลาทีคาดว่า จะได้รับประโยชน์สาํ หรับงวดปัจจุบนั แสดงได้ดงั นี สิ ทธิ ในการใช้แนววางท่อ สิ ทธิ ในการใช้ท่าเรื อ สิ ทธิ ในการใช้อืนๆ ค่าสิ ทธิ สาํ หรับกระบวนการผลิต คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ สัญญาทีทํากับลูกค้าและความสัมพันธ์กบั ลูกค้าทีเกียวข้อง เครื องหมายการค้า

6-15 15-16 3-17 -30 3-15 5-12

ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี

วิธีการตัดจําหน่ าย ระยะเวลาที คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ นรอบปี บัญชีและปรับปรุ งตามความเหมาะสม


1 8 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ฎ) การด้ อยค่ า ยอดสิ นทรั พย์ตามบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุ กวันที รายงานว่ามี ขอ้ บ่งชี เรื องการด้อยค่ า หรื อ ไม่ ในกรณี ทีมี ขอ้ บ่ งชี จะทํา การประมาณมูลค่ าสิ นทรั พ ย์ทีคาดว่าจะได้รั บคื น สํา หรั บ ค่ าความนิ ยมและ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนทีมีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน หรื อ ยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าทีคาดว่าจะ ได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู ้เมือมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชี ของหน่ วยสิ นทรัพย์ทีก่อให้เกิ ด เงินสดสูงกว่ามูลค่าทีจะได้รับคืน โดยขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน การคํานวณมูลค่ าที คาดว่ าจะได้ รับคื น มูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์ทีไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์ หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์หักต้นทุนในการขาย แล้วแต่มูลค่าใดจะสู งกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของ สิ นทรัพย์ ใช้วิธีประมาณการจากกระแสเงิ นสดที จะได้รับในอนาคตคิ ดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิ ดลด ก่อนคํานึงถึงภาษีเงินได้ เพือให้สะท้อนมูลค่าทีอาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบนั ซึ งแปรไปตามเวลาและความเสี ยงที มีต่อสิ นทรัพย์ สําหรับสิ นทรัพย์ทีไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสิ นทรัพย์อืน จะพิจารณามูลค่าทีคาด ว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสิ นทรัพย์ทีก่อให้เกิดเงินสดทีสิ นทรัพย์นนเกี ั ยวข้องด้วย การกลับรายการด้ อยค่ า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการเมือมูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืนเพิมขึนในภายหลัง และการเพิมขึนนันสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าทีเคยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิ ยมจะไม่มีการปรับปรุ งกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอืนๆ ทีเคยรับรู ้ในงวดก่อน จะถูกประเมิน ณ ทุกวันทีทีออกรายงานว่ามีขอ้ บ่งชี เรื องการ ด้อยค่าหรื อไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการหากมีการเปลียนแปลงประมาณการที ใช้ในการคํานวณ มูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าทีมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ไม่เกิน กว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื อมราคาหรื อค่าตัดจําหน่าย เสมือนหนึ งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อย ค่ามาก่อน


1 8 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ฏ) หนีสินทีมีภาระดอกเบีย หนีสิ นทีมีภาระดอกเบียแสดงในราคาทุน (ฐ)

เจ้ าหนีการค้ าและเจ้ าหนีอืน เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนี อืนแสดงในราคาทุน

(ฑ) ผลประโยชน์ ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงิ นเป็ นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึ งกิ จการจ่ายสมทบเป็ นจํานวนเงิ นที แน่ นอนไปอีกกิ จการหนึ งแยกต่างหาก (กองทุนสํารองเลียงชี พ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระ ผูกพันโดยอนุมานทีจะต้องจ่ายเพิมเติ มอีกนอกเหนื อจากเงินสมทบ ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบ เงินจะถูกรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายพนักงานในกําไรหรื อขาดทุนในรอบระยะเวลาทีพนักงานได้ทาํ งานให้กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ ทีกําหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ทีกําหนดไว้เป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนื อจากโครงการสมทบเงิ น ภาระผูกพันสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั จากโครงการผลประโยชน์ทีกําหนดไว้ถูกคํานวณแยกต่ างหากเป็ นราย โครงการจากการประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที เกิดจากการทํางานของพนักงานในปั จจุบนั และในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้มีการคิดลดกระแสเงินลดเพือให้เป็ นมูลค่าปัจจุบนั กรณี ทีกิจการมีการจัดตังสิ นทรัพย์โครงการ(กองทุนผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน) การประมาณผลประโยชน์ ในอนาคตที เกิ ดจากการทํางานของพนักงานในปั จจุ บนั และในงวดก่อนๆ ต้องสุ ทธิ มูลค่ ายุติธรรมของสิ นทรั พย์ โครงการด้วย อัตราคิดลดเป็ นอัตรา ณ วันทีรายงาน จากหุ ้นกูภ้ าคเอกชนที ได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับดี ซึ งมีระยะเวลาครบ กํา หนดใกล้เ คี ย งกับ ระยะเวลาของภาระผูก พัน ของกลุ่ ม บริ ษัท /บริ ษัท และมี ส กุ ล เงิ น เดี ย วกับ สกุ ล เงิ น ของ ผลประโยชน์ทีคาดว่าจะจ่าย การคํา นวณจัด ทํา โดยนั กคณิ ต ศาสตร์ ป ระกันภัย ที ได้รั บอนุ ญ าตเป็ นประจํา ทุ ก ปี โดยวิ ธีคิ ด ลดแต่ ละหน่ ว ยที ประมาณการไว้


1 8 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั รับรู ้กาํ ไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยทังหมดทีเกิ ดขึ นใน กําไรหรื อขาดทุน ผลประโยชน์ ระยะยาวอืน ภาระผูกพันสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ทีเป็ นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานนอกเหนื อจากโครงการบํานาญ เป็ นผลประโยชน์ในอนาคตทีเกิ ดจากการทํางานของพนักงานในปั จจุบนั และงวดก่อน ซึ งผลประโยชน์นีได้คิดลด กระแสเงินสดเพือให้เป็ นมูลค่าปัจจุบนั และสุ ทธิ จากมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทีเกียวข้อง อัตราคิดลดเป็ นอัตรา ณ วันที รายงานจากหุ ้นกูภ้ าคเอกชนที ได้รับการจัดอันดับอยู่ในระดับดี ซึ งมี ระยะเวลาครบกําหนดใกล้เคี ยงกับ ระยะเวลาของภาระพูกพันของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั โดยคํานวณตามวิธีคิดลดแต่ ละหน่ วยที ประมาณการไว้ กําไร ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ประกันภัยรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมือเกิดขึน ผลประโยชน์ เมือเลิกจ้ าง ผลประโยชน์เมือเลิกจ้างรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมือกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั แสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกียวกับการเลิกจ้าง และไม่มีความเป็ นไปได้ทีจะยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็ นทางการทังการเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติ หรื อการ สนับสนุนการออกจากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์เมือเลิกจ้างรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมือกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั เสนอให้มี การออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเป็ นไปได้ทีจะได้รับการตอบรับข้อเสนอนัน และสามารถประมาณจํานวน ของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุสมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันทีรายงาน ผลประโยชน์ ระยะสั นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสันของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงิ นสดและรับรู ้ เป็ นค่ าใช้จ่ายเมื อ พนักงานทํางานให้ หนี สิ นรับรู ้ดว้ ยมูลค่าที คาดว่าจะจ่ายชําระ หากกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดย อนุมานทีจะต้องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการทีพนักงานได้ทาํ งานให้ในอดีตและภาระผูกพันนีสามารถประมาณได้อย่าง สมเหตุสมผล


1 9 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ โครงการให้สิทธิ ซือหุ ้นแก่ พนักงานของกลุ่มบริ ษ ทั อนุ ญาตให้กรรมการและพนักงานมี สิทธิ ซือหุ ้นของบริ ษ ทั ภายใต้เงือนไขทีกําหนด จํานวนเงินทีได้รับจากการใช้สิทธิ สุทธิ จากค่าใช้จ่ายเกียวกับการใช้สิทธิ จะถูกรับรู ้ในทุน เรื อนหุน้ และส่ วนเกินมูลค่าหุน้ เมือมีการใช้สิทธิ ซือหุน้ แล้ว (ฒ) ประมาณการหนีสิน ประมาณการหนี สิ นจะรับรู ้ก็ต่อเมือกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีภาระหนี สิ นตามกฎหมายที เกิ ดขึ นในปั จจุบนั หรื อที ก่อตัว ขึนอันเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจจะต้องถูก จ่ายไปเพือชําระภาระหนี สิ นดังกล่าว ประมาณการหนี สิ นพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงิ นสดที จะจ่ายในอนาคต โดยใช้อตั ราคิ ดลดในตลาดปั จจุ บ ันก่ อนคํา นึ ง ถึ งภาษี เงิ นได้ เพื อให้ส ะท้อนจํานวนที อาจประเมิ นได้ใ นตลาด ปั จจุบนั ซึ งแปรไปตามเวลาและความเสี ยงทีมีต่อหนี สิ น ประมาณการหนี สิ นส่ วนทีเพิมขึ นเนื องจากเวลาที ผ่านไป รับรู ้เป็ นต้นทุนทางการเงิน (ณ) รายได้ รายได้ทีรับรู ้ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิมและแสดงสุ ทธิ จากส่ วนลดการค้า การขายสิ นค้ าและให้ บริ การ รายได้รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุนเมือได้โอนความเสี ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าทีมีนยั สําคัญไป ให้กบั ผูซ้ ื อแล้ว และจะไม่รับรู ้รายได้ถา้ ฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสิ นค้าทีขายไปแล้วนัน หรื อมีความ ไม่แน่ นอนที มีนยั สําคัญในการได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ การนัน หรื อไม่อาจวัด มูลค่าของจํานวนรายได้และต้นทุนทีเกิดขึนได้อย่างน่าเชือถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนทีจะต้องรับคืน สิ นค้า รายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมือมีการให้บริ การ การลงทุน รายได้จากการลงทุนประกอบด้วยเงินปันผลและดอกเบียรับจากการลงทุนและเงินฝากธนาคาร


1

9

1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนในวันทีกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีสิทธิ ได้รับเงินปันผล ดอกเบียรั บ ดอกเบียรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ด)

ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วย ดอกเบียจ่ายของเงินกูย้ ืม ประมาณการหนี สิ นส่ วนทีเพิมขึนเนื องจากเวลาทีผ่านไป และสิ งตอบแทนทีคาดว่าจะต้องจ่าย ขาดทุนจากมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินทีรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ทางการเงิ น(นอกเหนื อลูกหนี การค้า) และ ขาดทุนจากเครื องมือป้ องกันความ เสี ยง รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ต้นทุนการกูย้ ืมทีไม่ได้เกียวกับการได้มา การก่อสร้างหรื อ การผลิตสิ นทรัพย์ทีเข้าเงือนไข รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน โดยใช้วิธีอตั ราดอกเบียทีแท้จริ ง

(ต)

สัญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าทีอาจจะเกิดขึนซึ งได้รับการยืนยันการปรับค่าเช่า ต้องนํามารวมคํานวณเป็ นจํานวนเงินค่าเช่าขันตําทีต้องจ่าย และรับรู ้ตามระยะเวลาทีคงเหลือของสัญญาเช่า

(ถ)

ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับปี /งวดประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี โดยภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี จะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน เว้นแต่ในส่ วนที เกียวกับรายการทีบันทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ให้ รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน


1 9 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ได้แก่ภาษีทีคาดว่าจะจ่ายชําระหรื อสามารถขอคืนได้ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุน ประจําปี /งวด ทีต้องเสี ยภาษีโดยใช้อตั ราภาษีทีประกาศใช้หรื อทีคาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันทีรายงาน ตลอดจนการ ปรับปรุ งทางภาษีทีเกียวกับรายการในปี ก่อนๆ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัวคราวทีเกิดขึนระหว่างมูลค่าตามบัญชี และมูลค่าทาง ภาษีของสิ นทรัพย์และหนีสิ น ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะไม่ถกู รับรู ้เมือเกิดจากผลแตกต่างชัวคราวต่อไปนี - การรับรู ้ค่าความนิยมในครังแรก - การรับรู ้สินทรัพย์หรื อหนี สิ นในครังแรกซึ งเป็ นรายการทีไม่ใช่การรวมธุ รกิจและรายการนันไม่มีผลกระทบ ต่อกําไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี - ผลแตกต่างทีเกียวข้องกับเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและกิ จการร่ วมค้าหากเป็ นไปได้ว่าจะไม่มีการกลับรายการ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในอนาคตอันใกล้ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี วดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีทีคาดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัวคราวเมือมีการกลับรายการ โดย ใช้อตั ราภาษีทีประกาศใช้หรื อทีคาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันทีรายงาน ในการกําหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ต้องคํานึ งถึง ผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีทีไม่แน่ นอนและอาจทําให้จาํ นวนภาษีทีต้องจ่ายเพิมขึ น และมีดอกเบี ยที ต้อง ชําระ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั เชื อว่าได้ตงภาษี ั เงินได้คา้ งจ่ายเพียงพอสําหรับภาษีเงิ นได้ทีจะจ่ายในอนาคต ซึ งเกิ ดจาก การประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตี ความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดี ต การ ประเมินนีอยูบ่ นพืนฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกียวข้องกับการตัดสิ นใจเกียวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆอาจจะทําให้กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั เปลียนการตัดสิ นใจโดยขึนอยู่กบั ความเพียงพอของภาษีเงิน ได้ค า้ งจ่ า ยที มี อ ยู่ การเปลี ยนแปลงในภาษี เ งิ น ได้ค ้า งจ่ า ยจะกระทบต่ อค่ า ใช้จ่ า ยภาษี เ งิ นได้ในงวดที เกิ ด การ เปลียนแปลง สิ นทรั พย์และหนี สิ นภาษี เงิ นได้รอตัดบัญชี ของหน่ วยภาษีทีต่างกัน สามารถหักกลบกันได้เมือกิ จการมีสิทธิ ตาม กฎหมายทีจะหักกลบสิ นทรัพย์และหนี สิ นภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้นีถูกประเมินโดยหน่วยงาน จัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกัน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมือมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีนนสามารถใช้ ั ประโยชน์เพือลดภาษีเงินได้ในอนาคต สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จะถูกทบทวน ณ ทุกวันทีรายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าทีประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริ ง


1 9 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ท)

กําไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษทั / บริ ษทั แสดงกําไรต่อหุน้ ขันพืนฐานและกําไรต่อหุ น้ ปรับลดสําหรับหุ น้ สามัญ กําไรต่อหุ น้ ขันพืนฐาน คํานวณโดยการนํากําไรหรื อขาดทุนของผูถ้ ือหุน้ สามัญของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั หารด้วยจํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลียถ่วง นําหนักที ออกจําหน่ ายระหว่างปี กําไรต่อหุ ้นปรับลดคํานวณโดยการนํากําไรหรื อขาดทุนของผูถ้ ือหุ ้นสามัญที ปรับปรุ ง หารด้วยจํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนําหนักทีออกจําหน่ายและผลกระทบของตราสารทีอาจเปลียนเป็ น หุน้ สามัญปรับลดทังหมดและสิ ทธิ ซือหุน้ ของพนักงาน


1 9 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 4

การซือธุรกิจ (ก)

Vencorex Holding ประเทศฝรั งเศส

เมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั PTTGC International (Netherlands) B.V. (“PTTGC NL”) ซึ งบริ ษทั ถือหุ น้ อยู่ร้อยละ 100 ผ่านทางบริ ษทั PTT Chemical International Pte. Ltd. ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้เข้าทําการ ซื อหุ น้ สามัญร้อยละ 51 ในบริ ษทั Perstorp Holding France SAS (ต่อมาเปลียนชื อเป็ น บริ ษทั Vencorex Holding) ซึ งเป็ นนิ ติบุคคลทีจัดตังขึ นในประเทศฝรังเศส โดยชําระเป็ นเงินสดจํานวน 121 ล้านเหรี ยญยูโร (หรื อประมาณ 4,785 ล้านบาท) การมีอาํ นาจควบคุมใน Vencorex Holding จะทําให้กลุ่มบริ ษทั เข้าสู่ ธุรกิจผลิตภัณฑ์ชนิ ดพิเศษซึ งเป็ นธุ รกิจ ปลายนําทีช่วยสร้างมูลค่าเพิมและมีขนาดตลาดใหญ่เพียงพอตามแผนกลยุทธ์บริ ษทั กลุ่มบริ ษทั ถื อรายการดังกล่าวเป็ นการรวมธุ รกิ จ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นมี การกําหนดให้ ผูบ้ ริ หารทําการประเมิน มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หนี สิ นและหนี สิ นที อาจเกิดขึ นที ระบุได้ ณ วันที ซื อ ธุ รกิจ กลุ่มบริ ษทั ได้จา้ งผูป้ ระเมินราคาอิสระเพือหามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี สิ นทีได้มา ภายใน ระยะเวลาในการวัดมูลค่า (measurement period) ซึ งต้องไม่เกินหนึ งปี นับตังแต่วนั ทีซื อกิจการเพือสะท้อน ผลของข้อมูลเพิมเติมทีได้รับเกียวกับข้อเท็จจริ งและสถานการณ์แวดล้อมทีมีอยู่ ณ วันทีซื อ ซึ งข้อมูลดังกล่าว มีผลต่อการวัดมูลค่าของจํานวนต่างๆ ทีเคยรับรู ้ไว้ ณ วันทีซื อกิจการ ทังนี การประเมินมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของ Vencorex Holding ทีได้มาเมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 ได้ดาํ เนินการ เสร็ จสิ นในไตรมาสที 4 ปี 2555 ข้อมูลของสิ งตอบแทนทังหมดทีโอนให้และมูลค่าทีรับรู ้ ณ วันทีซื อสําหรับสิ นทรัพย์ทีได้มาและหนี สิ นที รับมาแต่ละประเภททีสําคัญ มีดงั นี


1 9 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

มูลค่ าตามบัญชี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน สิ นทรัพย์อืน / (หนีสิ นอืน) – สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี / (หนีสิ นภาษี เงินได้รอตัดบัญชี) – สุ ทธิ สิ นทรัพย์ และหนีสิ นสุ ทธิทีระบุได้ หั ก ส่ วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม สิ นทรัพย์ สุทธิทีได้ มา กําไรจากการต่อรองราคาซื อ รวมสิ งตอบแทนในการซือ เงินสดทีได้มา สิ งตอบแทนในการซือสุ ทธิ – ชําระแล้ ว

183 2,072 3,354 6,334 1,438 (1,901) (260) (995) 90 10,315

ปรับปรุ งมูลค่ า ยุตธิ รรม (ล้ านบาท) 264 1,136 (482) 918

มูลค่ ายุตธิ รรม 183 2,336 3,354 7,470 1,438 (1,901) (260) (995) (392) 11,233 (5,504) 5,729 (944) 4,785 (183) 4,602

ในระหว่างปี นับตังแต่วนั ทีเข้าซื อกิจการจนถึงวันที 31 ธันวาคม 2555 บริ ษทั ดังกล่าวมีรายได้เป็ นจํานวนเงิน 275 ล้านเหรี ยญยูโร (หรื อประมาณ 10,906 ล้านบาท) และขาดทุ นสุ ทธิ จาํ นวน 16 ล้านเหรี ยญยูโร (หรื อประมาณ 653 ล้านบาท) ซึ งรวมเป็ นส่ วนหนึงของผลการดําเนินงานของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาระหว่างผูถ้ ือหุ น้ PTTGC NL ได้ตกลงให้สิทธิ แก่ผถู ้ ือหุ น้ อีกฝ่ ายในการขายหุ น้ (Put option) ส่ วนที เหลื ออี กร้ อยละ 9 ใน Vencorex Holding และ PTTGC NL ก็ได้สิทธิ ในการซื อหุ ้น (Call option) ส่ วนทีเหลือ ใน Vencorex Holding ด้วยเช่นกัน หากผูถ้ ือหุ น้ อีกฝ่ ายไม่มีการใช้สิทธิ หรื อใช้สิทธิ บางส่ วนในการขายหุน้ ดังกล่าว โดยเงือนไขและราคาซื อขายนันเป็ นไปตามข้อกําหนดในสัญญา


1 9 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ข)

NatureWorks LLC ประเทศสหรั ฐอเมริ กา เมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั PTTGC International (USA) Inc. (“PTTGC USA”) ซึ งบริ ษทั ถือหุ น้ อยู่ ร้อยละ 100 ผ่านทางบริ ษทั PTT Chemical International Pte. Ltd. ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ได้เข้าทําการซื อ หุ น้ สามัญในสัดส่ วนร้อยละ 50 ในบริ ษทั NatureWorks LLC (“NatureWorks”) ซึ งเป็ นนิ ติบุคคลทีจัดตังขึน ในประเทศสหรัฐอเมริ กา โดยชําระเป็ นเงินสดจํานวน 150 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (หรื อประมาณ 4,758 ล้านบาท) การเข้าร่ วมทุนใน NatureWorks จะสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขันให้กบั บริ ษทั เนื องจาก NatureWorks เป็ นผูผ้ ลิ ตพลาสติ กชี วภาพรายใหญ่แ ละรายเดี ย วที มี ผลผลิ ตในเชิ งพาณิ ช ย์ จึ งมี ค วามได้เ ปรี ย บในด้า น ประสบการณ์การดําเนิ นธุ รกิจ และความเป็ นผูน้ าํ ในด้านการตลาดและเทคโนโลยีทีได้รับการยอมรับจาก ลูกค้าชันนําซึ งเป็ นรากฐานทีแข็งแกร่ งในการพัฒนาพลาสติกชีวภาพชนิดอืนๆต่อไป กลุ่มบริ ษทั ถื อรายการดังกล่าวเป็ นการรวมธุ รกิ จ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นมี การกําหนดให้ ผูบ้ ริ หารทําการประเมิน มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หนี สิ นและหนี สิ นที อาจเกิดขึ นที ระบุได้ ณ วันที ซื อ ธุ รกิจ กลุ่มบริ ษทั ได้จา้ งผูป้ ระเมินราคาอิสระเพือหามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี สิ นทีได้มา ภายใน ระยะเวลาในการวัดมูลค่า (measurement period) ซึ งต้องไม่เกินหนึ งปี นับตังแต่วนั ทีซื อกิจการเพือสะท้อน ผลของข้อมูลเพิมเติมทีได้รับเกียวกับข้อเท็จจริ งและสถานการณ์แวดล้อมทีมีอยู่ ณ วันทีซื อ ซึ งข้อมูลดังกล่าว มีผลต่อการวัดมูลค่าของจํานวนต่างๆ ทีเคยรับรู ้ไว้ ณ วันทีซื อกิจการ ทังนี การประเมินมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของ NatureWorks ทีได้มาเมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 ได้ดาํ เนินการเสร็ จสิ นในไตรมาสที 4 ปี 2555 ข้อมูลของสิ งตอบแทนทังหมดทีโอนให้และมูลค่าทีรับรู ้ ณ วันทีซื อสําหรับสิ นทรัพย์ทีได้มาและหนี สิ นที รับมาแต่ละประเภททีสําคัญ มีดงั นี


1 9 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

มูลค่ าตามบัญชี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน สิ นทรัพย์อืน / (หนีสิ นอืน) – สุ ทธิ สิ นทรัพย์ สุทธิทีได้ มา ค่าความนิยม รวมสิ งตอบแทนในการซือ เงินสดทีได้มา สิ งตอบแทนในการซือสุ ทธิ – ชําระแล้ ว

2,701 948 323 1,070 24 (436) (295) (480) 3,855

ปรับปรุ งมูลค่ า ยุตธิ รรม (ล้ านบาท) 24 514 346 4 888

มูลค่ ายุตธิ รรม 2,701 972 323 1,584 370 (436) (295) (476) 4,743 15 4,758 (2,701) 2,057

ในระหว่างปี นับตังแต่วนั ทีซื อกิจการจนถึงวันที 31 ธันวาคม 2555 บริ ษทั ดังกล่าวมีรายได้คิดตามสัดส่ วน เงินลงทุน จํานวน 44 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (หรื อประมาณ 1,349 ล้านบาท) และขาดทุนสุ ทธิ ตามสัดส่ วนเงินลงทุนจํานวน 3 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (หรื อประมาณ 94 ล้านบาท) ซึ งรวมเป็ นส่ วนหนึ งของผลการดําเนิ นงานของกลุ่ม บริ ษทั กลุ่มบริ ษทั มีค่าใช้จ่ายทีเกียวข้องกับการซื อกิจการทังสองแห่ งเป็ นจํานวนเงินรวม 398 ล้านบาท ทีเกียวข้องกับค่าที ปรึ กษากฎหมาย ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบสถานะทางการเงินและอืน ๆ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้ถูกรวมอยู่ในค่าใช้จ่าย ในการบริ หารในงบกําไรขาดทุนรวมของกลุ่มบริ ษทั ในงวดทีเกิดรายการ


1 9 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 5

บุคคลหรือกิจการทีเกียวข้ องกัน เพือวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกันกับกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั หากกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีอาํ นาจควบคุมหรื อควบคุมร่ วมกันทังทางตรงและทางอ้อมหรื อมีอิทธิ พลอย่างมีสาระสําคัญ ต่อบุคคลหรื อกิจการในการตัดสิ นใจทางการเงินและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน หรื อกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั อยู่ภายใต้ การควบคุมเดียวกันหรื ออยูภ่ ายใต้อิทธิ พลอย่างมีสาระสําคัญเดียวกันกับบุคคลหรื อกิจการนัน การเกียวข้องกันนี อาจ เป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ทีมีกบั บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน มีดงั นี ชือกิจการ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด บริ ษทั ไบโอ สเปกตรัม จํากัด บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด

บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด (อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี) บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษทั ไทยแท้งค์เทอร์มินลั จํากัด

ประเทศทีจัดตัง ลักษณะความสั มพันธ์ /สั ญชาติ ไทย เป็ นผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ มีผบู ้ ริ หารร่ วมกันกับบริ ษทั และมี กรรมการของบริ ษทั ทีเป็ นผูบ้ ริ หาร ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ และมี ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ นกรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 75 ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีผบู ้ ริ หาร ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ และมี ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ นกรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ และมีผบู ้ ริ หาร ของบริ ษทั ทีเป็ นกรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ


1 9 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ชือกิจการ

ประเทศทีจัดตัง ลักษณะความสั มพันธ์ /สั ญชาติ บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการและ ผูบ้ ริ หารร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที เป็ นกรรมการ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการ บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ ง จํากัด ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ PTT Chemical International Pte. Ltd. สิ งคโปร์ เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ มีกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ บริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 6 มีผถู ้ ือหุ น้ และ กรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที เป็ นกรรมการ บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 6 มีผถู ้ ือหุ น้ และ กรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที เป็ นกรรมการ บริ ษทั ไทยแฟตตีแอลกอฮอลส์ จํากัด ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั บริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที เป็ นกรรมการ บริ ษทั ไทยสไตรี นิคส์ จํากัด ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั บริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ที เป็ นกรรมการ บริ ษทั ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชันแนล ไทย เป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั บริ ษทั ย่อยของ (สํานักงานปฎิบตั ิการภูมิภาค เอเชีย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั แปซิ ฟิค) จํากัด และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ นกรรมการ Emery Oleochemical (M) Sdn. Bhd. มาเลเซี ย เป็ นกิจการทีควบคุมร่ วมกันของบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 5 มีกรรมการ ร่ วมกันกับบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หารของบริ ษทั ทีเป็ น กรรมการ


2 0 0


2 0 1


2 0 2


2 0 3


2 0 4


2 0 5


2 0 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ลูกหนีการค้ า-กิจการทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั พีทีที แทงค์เทอร์มินลั จํากัด บริ ษทั ปตท. สผ. อินเตอร์เนชันแนล จํากัด หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สุ ทธิ

หนีสูญและหนีสงสัยจะสูญสําหรับปี /งวด ลูกหนีอืน-กิจการทีเกียวข้ องกัน

2 1 33,998 33,998

26,778 ,778

32,556 32,556

24,188 24,188

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา สําหรับปี ตังแต่วนั ที 19 สําหรับปี ตังแต่วนั ที 19 สิ นสุ ดวันที ตุลาคม 2554 สิ นสุ ดวันที ตุลาคม 2554 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษทั ย่ อย บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด PTT Chemical International Pte. Ltd.

293

241

-

-

2

281

234

24 11 1 1

10 10 7 1 3


2 0 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ลูกหนีอืน-กิจการทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

บริ ษทั ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชันนอล (สํานักงานปฎิบตั ิการภูมิภาค แอเชียแป ซิ ฟิค) จํากัด บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ ง จํากัด บริ ษทั ไทยแฟตตีแอลกอฮอล์ จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษทั ไทยแท้งค์เทอร์มินลั จํากัด บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด บริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด Vencorex Holding กิจการทีควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั ไทยอีทอกซี เลท จํากัด NatureWorks LLC Emery Oleochemical (M) Sdn. Bhd. บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซี ที โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด Myriant Corporation กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั พีทีที แทงค์เทอร์มินลั จํากัด บริ ษทั พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด บริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด

-

-

2 49

19 52

-

-

58 1 10 5

131 1 8 7

-

-

11 6 6 1

8 5 3 -

-

-

5 2 -

4 1

6 21 6 2 14

3 17 2 4 -

4 19 6 2 14

2 15 1 4 -

1 30 2

1 24 1 1

-

-


2 0 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ลูกหนีอืน-กิจการทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั เอนเนอร์ยี คอมเพล็กซ์ จํากัด บริ ษทั ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) บริ ษทั สตาร์ปิโตรเลียมรี ไฟน์นิง จํากัด บริ ษทั ปตท.สํารวจและผลิตปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด บริ ษทั บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด Emeryoleo Specialties (M) Sdn. Bhd. หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สุ ทธิ

หนีสูญและหนีสงสัยจะสูญสําหรับปี /งวด

1 2 7 1 702 5 13 3 1,109 1,109

1

1 8

2 5

1 9

257 12

414 -

105 -

572 572

13 3 956 956

641 641

งบการเงินรวม สําหรับ ระยะเวลา สําหรับปี ตังแต่วนั ที 19 สิ นสุ ดวันที ตุลาคม 2554 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ ระยะเวลา สําหรับปี ตังแต่วนั ที 19 สิ นสุ ดวันที ตุลาคม 2554 31 ธันวาคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 -


2 0 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสัน บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด

อัตราดอกเบีย 2555 2554 (ร้ อยละต่ อปี )

5.17-5.29 5.17-5.29

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

5.30 5.30 5.30 5.30 -

-

-

900 800

980 13 1,000 1,707 -

5.17-5.29 5.30

-

-

205 1,905 1,905

245 3,945 3,945

หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั นแก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน – สุ ทธิ เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษัท ไทยแฟตตี แอลกอฮอล์ จํากัด Vencorex Holding

งบการเงินรวม

5.17-5.29 5.17-5.29 5.17-5.29

5.30 5.30 5.30

-

-

2,749 11,659 2,080

3,858 16,823 2,315

5.17-5.29 6.00

5.30 -

-

-

398 105

435 -


2 1

0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ) เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว (ต่ อ) บริษทั ร่ วมทางอ้ อม Myriant Corporation

อัตราดอกเบีย 2555 2554 (ร้ อยละต่ อปี )

อัตราที มากกว่า ระหว่าง U.S. Prime Rate บวกส่วนเพิม หรื ออัตราคงที

หั ก ส่ วนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาวแก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน – สุ ทธิ สรุปเงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน เงินให้กยู้ ืมระยะสัน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวส่ วนทีถึง กําหนดชําระภายในหนึงปี เงินให้กยู้ ืมระยะยาว หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ รวมเงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน – สุ ทธิ

-

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

1,220 1,220 1,220

-

1,220 18,211 (6,545) 11,666

23,431 (6,545) 16,886

-

-

1,905

3,945

1,220 1,220 1,220

-

6,545 11,666 20,116 20,116

6,545 16,886 27,376 27,376


2 1

1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

หนีสูญและหนีสงสัยจะสูญสําหรับปี /งวด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตังแต่วนั ที 19 สําหรับปี ตุลาคม 2554 สําหรับปี ตุลาคม 2554 สิ นสุ ดวันที ถึง สิ นสุ ดวันที ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) -

รายการเคลื อนไหวของเงิ นให้กูย้ ืมแก่ กิจการที เกี ยวข้องกันสําหรั บปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม ระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 4 มีดงั นี เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน

งบการเงินรวม

และสําหรั บ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสัน บริษทั ย่ อย ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน ลดลง ณ วันที 31 ธันวาคม เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว บริษทั ย่ อย ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน ลดลง

-

-

3,945 387 (2,427) 1,905

2,442 1,503 3,945

-

-

23,431 105 (6,545) 16,991

25,104 (1,673) 23,431


2 1 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินให้ ก้ ยู มื แก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน

เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาว (ต่ อ) บริษทั ร่ วม ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน หั ก ครบกําหนดชําระในหนึงปี ณ วันที 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

1,220 1,220 1,220

-

1,220 18,211 (6,545) 11,666

23,431 (6,545) 16,886

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (หมายเหตุ 11) เงินลงทุนในกิจการทีควบคุมร่ วมกัน (หมายเหตุ 11)

-

-

68,155

59,112

-

-

210

210

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม (หมายเหตุ 12)

6,151

6,178

3,399

3,399

เจ้ าหนีการค้ า-กิจการทีเกียวข้ องกัน

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษทั ย่ อย บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั ระยองโอเลฟิ นส์ จํากัด บริ ษทั สตาร์ปิโตรเลียมรี ไฟน์นิง จํากัด บริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด บริ ษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด

31,553

23,152

26,611

21,010

-

-

2,115 340 18

933 114 22

39 443 1,696 20 71

4 464 13 25

39 443 1,618 -

4 464 -


2

1

3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เจ้ าหนีการค้ า-กิจการทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั บางจาก ปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) PTT International Trading Pte.Ltd. รวม เจ้ าหนีอืน-กิจการทีเกียวข้ องกัน

97 33,919

1 57 23,716

งบการเงินรวม

31,184

22,547

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษทั ย่ อย บริ ษทั บางกอกโพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ ง จํากัด บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษทั ไทยแท้งค์เทอร์มินลั จํากัด บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด บริ ษทั ไทยสไตรี นิคส์ จํากัด PTT Chemical International Pte. Ltd. บริ ษทั ปตท. เคมิคอล อินเตอร์เนชันแนล (สํานักงานปฎิบตั ิการภูมิภาค เอเชียแป ซิ ฟิค) จํากัด

585

1,207

488

1,078

-

-

47 18

42 5

-

-

72 20 18 103

96 15 2 14 9

-

-

30 2 2 -

21 1 2 4

-

-

31

-


2 1 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เจ้ าหนีอืน-กิจการทีเกียวข้ องกัน (ต่ อ)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

บริษทั ร่ วม บริ ษทั วีนิไทย จํากัด (มหาชน) ั จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซี ที โซลูชนส์ บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด กิจการอืนทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด บริ ษทั ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริ ษทั เอนเนอร์ยี คอมเพล็กซ์ จํากัด บริ ษทั สตาร์ปิโตรเลียมรี ไฟน์นิง จํากัด บริ ษทั บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด บริ ษทั พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด บริ ษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด อืนๆ รวม เจ้ าหนีผู้รับเหมาก่ อสร้ าง-กิจการ ทีเกียวข้ องกัน

12 84 1 1

6 79 9 -

5 77 1 -

3 71 9 -

225 85 12 3 20

134 77 13 4 23

8 59 2 20

5 56 10 4 23

38 1 237 1,304

34 1 425 22 2,034

12 1,015

22 1,492

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

บริษทั ย่ อย บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริ ง จํากัด บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที ไอซี ที โซลูชนส์ ั จํากัด รวม

-

-

375

66

32 32

9

32 407

9


2

1

5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินกู้ยมื จากกิจการ ทีเกียวข้ องกัน

อัตราดอกเบีย

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555 2554 (ร้ อยละต่ อปี ) เงินกู้ยมื ระยะสั น บริษทั ย่ อย บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด 2.39- 3.003.27 3.45 บริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน 2.39จํากัด 3.27 รวมเงินกู้ยมื จากกิจการทีเกียวข้ องกัน

(ล้ านบาท)

-

-

711

1,201

-

-

3,225 3,936

1,201

รายการเคลือนไหวของเงิ นกูย้ ืมจากบุคคลหรื อกิ จการที เกี ยวข้องกันสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 4 มีดงั นี เงินกู้ยมื จากกิจการทีเกียวข้ องกัน เงินกู้ยมื ระยะสั น บริษทั ย่ อย ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน ลดลง ณ วันที 31 ธันวาคม เงินกู้ด้อยสิทธิจากผู้ถอื หุ้นทีถึง อัตราดอกเบีย 2555 2554 กําหนดชําระภายในหนึงปี (ร้ อยละต่ อปี ) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 6.25 บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน)

งบการเงินรวม

และ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

-

-

งบการเงินรวม 5

1,201 3,225 (490) 3,936

,101 1,201

งบการเงินเฉพาะกิจการ 5 4

4 (ล้ านบาท)

-

4,988

-

4,988


2 1 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาสําคัญทีทํากับบุคคลหรือกิจการทีเกียวข้ องกัน ณ วันที 31 ธันวาคม

5 บริ ษทั มีสญ ั ญาสําคัญทีทํากับบุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน ดังนี

สัญญาซือขายผลิตภัณฑ์ โอเลฟิ นส์ บริ ษทั มีสัญญาซื อขายเอทิ ลีนกับกิ จการที เกี ยวข้องกัน 2 แห่ ง โดยสัญญาฉบับหนึ งได้รับประกันการซื อผลิตภัณฑ์ เอทิลีนไม่นอ้ ยกว่าปริ มาณตามทีระบุไว้ในสัญญา และกําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเอทิลีนในตลาดโลก โดยสัญญามี ระยะเวลา 10 ปี นับจากวันทีที มีผลบังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2564 ส่ วนสัญญา กับกิ จการที เกียวข้องกันอีกแห่ งหนึ ง ซึ งสัญญาได้สินสุ ดในเดือนธันวาคม 2554 ปั จจุบนั ใช้การเจรจาและจัดทําเอกสาร ซื อขายเป็ นแบบรายเดือน โดยกําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเอทิลีนในตลาดโลกในช่วงแรก และตังแต่เดือนพฤษภาคม 2555 ได้เปลียนการกําหนดราคาขายมาเป็ นอ้างอิงจากราคาเม็ดพลาสติกโพลีเอทิลีน บริ ษทั มีสญ ั ญาซื อขายเอทิลีนรวมจํานวน ฉบับกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่และกิจการทีเกียวข้องกันอีก 2 แห่ ง โดยตามสัญญา แต่ ละฉบับกําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาในตลาดโลก อ้างอิงจากราคาเม็ดพลาสติ กโพลีเอทิ ลีนในตลาดโลก และ อ้างอิงจากราคาอีเทน สัญญามีระยะเวลาตังแต่ ปี ถึง ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา โดย สัญญาฉบับหนึงมีผลสิ นสุ ดในเดือนกรกฎาคม 2555 อย่างไรก็ตาม สัญญาจะต่ออายุโดยอัตโนมัติ เว้นแต่ฝ่ายหนึ งฝ่ ายใด จะแจ้งขอยกเลิกสัญญาโดยบอกกล่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแจ้งไปยังอีกฝ่ ายเป็ นเวลาล่วงหน้า 1 ปี ส่ วนสัญญาอีก 2 ฉบับ จะมีผลสิ นสุ ดในเดือนสิ งหาคม 2564 และเดือนพฤษภาคม บริ ษทั มีสัญญาซื อขายโพรพิลีนรวมจํานวน 2 ฉบับ กับกิจการทีเกียวข้องกัน 2 แห่ ง โดยตามสัญญาแต่ละฉบับกําหนด ราคาขายอ้างอิงจากราคาเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีนและราคาโพรพิลีนในตลาดโลก สัญญามีระยะเวลาตังแต่ ปี ถึง ปี นับจากวันทีที มีผลบังคับตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2559 และเดือน ธันวาคม 2566 สัญญาซือขายผลิตภัณฑ์ พลอยได้ บริ ษทั มีสัญญาซื อขายก๊าซไฮโดรเจนรวมจํานวน 2 ฉบับ กับกิจการทีเกียวข้องกัน 2 แห่ ง โดยตามสัญญาแต่ละฉบับ กําหนดราคาขายทีอ้างอิงจากราคาก๊าซธรรมชาติสาํ หรับอุตสาหกรรม สัญญามีระยะเวลา ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับ ตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนมีนาคม และเดือนธันวาคม


2

1

7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริ ษทั มีสัญญาซื อขายเทลก๊าซกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งโดยตามสัญญากําหนดราคาขายทีอ้างอิงจากราคาก๊าซ ธรรมชาติสาํ หรับอุตสาหกรรม สัญญามีระยะเวลา ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผล สิ นสุ ดในเดือนกรกฎาคม สัญญาซือขายสาธารณูปการและบริ การอืนๆ บริ ษทั มีสัญญาการจําหน่ ายไฟฟ้ าจํานวนรวม 2 ฉบับกับกิจการทีเกียวข้องกัน 2 แห่ ง โดยตามสัญญากําหนดราคาขาย อ้างอิงจากราคาของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค สัญญามีระยะเวลา ปี นับจากวันที ทีมีผลบังคับตามที ระบุไว้ในแต่ละ สัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนกันยายน 2557 และเดือนธันวาคม 2559 บริ ษทั มีสญ ั ญาการจําหน่ายสาธารณูปการจํานวนรวม 3 ฉบับ เพือจําหน่ายสาธารณูปการต่างๆ เช่น ไฟฟ้ า ไอนํา และนําปรับสภาพ กับกิจการทีเกียวข้องกัน 2 แห่ง สัญญามีระยะเวลาตังแต่ 10 ปี ถึง ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับ ตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม เดือนธันวาคม และเดือนกรกฎาคม

กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งมีสัญญาซื อขายไฟฟ้ า ไอนําและนําเพือการอุตสาหกรรมจํานวนหลายฉบับกับบริ ษทั และกิจการทีเกียวข้องกันหลายแห่ ง สัญญามีระยะเวลา 15 ปี นับแต่วนั ทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในช่ วงเดื อนกรกฎาคม 2566 ถึง เดือนกันยายน 2570 และสามารถต่อสัญญาได้อีก 5 ปี โดย คู่สญ ั ญาทังสองฝ่ ายตกลงกันในเงือนไข และรายละเอียดของสัญญาต่อไป บริ ษทั มีสัญญาให้บริ การขนถ่ายผลิตภัณฑ์กบั กิจการทีเกียวข้องกันแห่งหนึ ง สัญญามีระยะเวลา 3 ปี นับจากวันทีทีมีผล บังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 58 โดยสัญญาจะต่ออายุโดยอัตโนมัติได้อีกคราวละ 3 ปี เว้นฝ่ ายหนึ งฝ่ ายใดจะแจ้งขอยกเลิกสัญญาโดยบอกกล่าวล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์อกั ษร แต่อายุสญ ั ญารวมต้องไม่เกิน ปี สัญญาซือขายวัตถุดบิ และก๊ าซเชือเพลิง บริ ษทั มีสัญญาซื อขายก๊าซแอลพีจีกบั ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเม็ดพลาสติ ก โพลิโพรพิลีน สัญญามีระยะเวลา 15 ปี นับจากวันที ทีมีผลบังคับตามที ระบุ ไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือน พฤษภาคม 64


2 1 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริ ษทั มีสัญญาซื อขายก๊าซธรรมชาติกบั ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคานํามันเตา สัญญามีระยะเวลา ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 61 โดย สัญญาสามารถต่ออายุได้เป็ นระยะเวลา ปี โดยบอกกล่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแจ้งไปยังอีกฝ่ ายหนึ งเป็ นเวลาล่วงหน้า ปี บริ ษทั ทําสัญญาซื อขายก๊าซธรรมชาติจาํ นวน 2 ฉบับ กับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ โดยราคาซื อขายตามสัญญาขึนอยู่กบั ราคา เนือก๊าซตามเงือนไขทีกําหนดในสัญญาและดัชนี ราคาผูผ้ ลิตในประเทศไทยในหมวดสิ นค้าสําเร็ จรู ป (PPI) สัญญามี ระยะเวลา 10 ปี นับจากวันที ทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดื อนพฤษภาคม 2561 และ ธันวาคม 2561 กิจการที เกี ยวข้องกันหลายแห่ งได้ทาํ สัญญาซื อขายก๊าซธรรมชาติ จาํ นวน 6 ฉบับ กับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยสัญญา 5 ฉบับกําหนดราคาซื อขายผลิตภัณฑ์เป็ นไปตามที ระบุในสัญญา และอีกฉบับหนึ งกําหนดราคาซื อขายขึ นอยู่กบั ดัชนี ราคาผูผ้ ลิตในประเทศไทย ซึ งสัญญามีระยะเวลา 10 ถึง 15 ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2562 ถึงเดือนมกราคม 2567 บริ ษทั มีสญ ั ญาซื อขายเบนซี นกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเบน ซี นทีประกาศในตลาดตามระบุในสัญญา ซึ งระยะเวลาของสัญญา 15 ปี นับจากวันที ที มีผลบังคับตามทีระบุไว้ใน สัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนมีนาคม 2567 บริ ษทั มีสัญญาซื อขายก๊าซเอ็นจี แอลกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยตามสัญญากําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาประกาศ กลางของแนฟทาในภูมิภาค สัญญามีระยะเวลา ปี นับจากวันที ที มีผลบังคับตามที ระบุไว้ในสัญญา และจะมีผล สิ นสุ ดในเดือนพฤษภาคม 64 โดยสัญญาสามารถต่ออายุได้เป็ นระยะเวลา ปี ตามข้อตกลงของทังสองฝ่ าย บริ ษทั มี สัญญาซื อขาย อีเทน โพรเพน และแอลพี จี จํานวนรวม 2 ฉบับกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยสัญญาฉบับหนึ ง กําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเม็ดพลาสติ กโพลีเอทิลีน และเม็ดพลาสติ กโพลิโพรพิลีน และอีกฉบับหนึ งอ้างอิง ราคาเม็ดพลาสติ กโพลีเอทิลีน โดยสัญญาทังสองฉบับดังกล่าวมีการขยายระยะเวลาของสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ด ในเดือนธันวาคม 563 บริ ษทั มีสัญญาซื อขายก๊าซแอลพี จีจาํ นวน 2 ฉบับกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยกําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาเม็ด พลาสติกโพลิโพรพิลีน สัญญาทังสองฉบับดังกล่าวมีระยะเวลาประมาณ 8 ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2563


2

1

9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งมีสัญญาซื ออีเทนกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ โดยตามสัญญากําหนดโครงสร้างราคาซื อขาย เป็ นราคาอ้างอิงตามราคาตลาดโลกของโพลีเ อทิ ลีนความหนาแน่นสู ง สัญญามีระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที ทีมีผล บังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ด ในเดือนมกราคม 2568 โดยสามารถต่ออายุของสัญญาได้เป็ นเวลา ปี ตามความเห็นชอบของทังสองฝ่ ายและบอกกล่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแจ้งไปยังอีกฝ่ ายหนึ งเป็ นเวลาล่วงหน้า ปี กิจการที เกี ยวข้องกันแห่ งหนึ งมีสัญญาซื อวัตถุดิบทีมีอีเทนเป็ นส่ วนประกอบในอัตราสู ง (Ethane Rich Gas) กับ กิจการทีเกียวข้องกันอีกแห่งหนึง โดยตามสัญญากําหนดโครงสร้างราคาซื อขายเป็ นราคาอ้างอิงตามราคาของโพลีเอ ทิลีน และโพลีโพรพิลีนในภูมิภาค สัญญามีระยะเวลา ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนมกราคม ตังแต่วนั ที 1 สิ งหาคม 2555 บริ ษทั และกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งได้ทาํ การปรับราคาซื อขายวัตถุดิบปิ โตรเคมีจาก ก๊าซธรรมชาติกบั ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ตามข้อตกลงในสัญญาหลายฉบับ สัญญารั บซือผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม บริ ษทั มีสัญญาซื อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ และบริ ษทั อืนอีกแห่ งหนึ ง โดยตามสัญญากําหนด ราคาขายอ้างอิงจากราคาขายโดยทัวไปของผลิตภัณฑ์ทีมีคุณภาพใกล้เคียงกับที ขาย หรื อนําเข้ามาในประเทศไทย สําหรับการขายในประเทศไทย และกําหนดราคาขายของผลิตภัณฑ์ตามราคาตลาดขณะนันสําหรับการขายส่ งออก สัญญามีระยะเวลา 18 ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนกุมภาพันธ์ และหลังจากนันสัญญาจะมีผลบังคับต่อเนื องโดยอัตโนมัติ ยกเว้นจะมีการบอกเลิกสัญญาล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง อักษรโดยคู่สญ สัญญารั บซือผลิตภัณฑ์ ของโครงการขยายการลงทุน บริ ษทั ทําสัญญารับซื อผลิ ตภัณฑ์ของโครงการขยายการลงทุนกับผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ โดยผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่จะรั บซื อ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็ จรู ปของบริ ษทั ร้อยละ ของปริ มาณผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสําเร็ จรู ปทีบริ ษ ัทผลิตได้จาก Reforming complex และ Upgrading complex โดยมีเงื อนไขการรับซื อตามทีกําหนดไว้ในสัญญารับซื อผลิตภัณฑ์ ซึ งกําหนดไว้ว่าปริ มาณอย่างน้อยร้อยละ จะขายด้วยราคาตลาดภายในประเทศ และส่ วนที เหลือจะขายในราคา ตลาดต่างประเทศ หรื อราคาอืนที ตกลงร่ วมกัน สัญญามีระยะเวลา 18 ปี นับจากวันที ทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ใน สัญญา และจะมี ผลสิ นสุ ดในเดื อนกุมภาพันธ์ และหลังจากนันสัญญาจะมี ผลบังคับต่ อเนื องโดยอัตโนมัติ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง ยกเว้นจะมีการบอกเลิกสัญญาล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์อกั ษรโดยคู่สญ


2 2 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาจัดหานํามันดิบและวัตถุดิบอืนระยะยาว บริ ษทั มีสญ ั ญาจัดหานํามันดิบและวัตถุดิบอืนจํานวน 2 ฉบับกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ โดยตามสัญญากําหนดราคาอิงตาม ราคาตลาดของนํามันดิบและวัตถุดิบอืน สัญญามีระยะเวลา 15 ปี และ 20 ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในธันวาคม 559 และ เดื อนกุมภาพันธ์ 567 โดยหลังจากนันสัญญาจะมีผลบังคับต่ อเนื องโดยอัตโนมัติ ยกเว้นจะมีการบอกเลิกสัญญา ล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์อกั ษรโดยคู่สญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง สัญญาแลกเปลียนค่ าการกลัน บริ ษทั มีสัญญาแลกเปลียนค่าการกลันจํานวนหลายสัญญา กับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ เพือป้ องกันความเสี ยงค่าการกลัน ด้วยวิธีการแลกเปลียนค่าการกลันลอยตัว (โดยคํานวณจากราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทีตลาดสิ งคโปร์ คือ Diesel, Gasoil, Kerosene และ Fuel Oil กับราคานํามันดิ บดูไบ) กับค่าการกลันคงทีที ปริ มาณคงที ต่อเดือน ตามสัญญา ดังกล่าวบริ ษทั จะต้องรับหรื อจ่ายเงินส่ วนต่างระหว่างค่าการกลันดังกล่าวตามเงือนไขทีระบุในสัญญา สัญญาส่ วนต่ างราคาระหว่ างเวลาของนํามันดิบและวัตถุดบิ บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาส่ วนต่างราคาระหว่างเวลาของนํามันดิบและวัตถุดิบทีใช้ในการผลิตจํานวนหลายสัญญากับผูถ้ ือ หุ น้ รายใหญ่ เพือป้ องกันความเสี ยงด้านราคา โดยคํานวณจากส่ วนต่างของราคานํามันดิ บและวัตถุดิบที ใช้ในการ ผลิตถัวเฉลียระหว่างเดือนปั จจุบนั กับราคาของเดือนถัดไป บริ ษทั จะต้องรับหรื อจ่ายเงินส่ วนต่างราคาดังกล่าวตาม เงือนไขทีระบุในสัญญา สัญญาซือขายผลิตภัณฑ์ อะโรเมติกส์ บริ ษทั ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ กิ จการที เกี ยวข้องกัน และบริ ษทั อื นหลายแห่ ง ได้ร่วมลงนามในบันทึ กหัวข้อสัญญา เกียวกับหลักการของสัญญาซื อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์หลายฉบับ ราคาซื อขายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวจะ เป็ นไปตามข้อตกลงในสัญญา สัญญาดังกล่าวจะมีผลใช้บงั คับเป็ นระยะเวลาตังแต่ 1- ปี นับแต่วนั ทีในสัญญา และ จะมีผลสิ นสุ ดในปี 6 ถึง และหลังจากนันสัญญาจะมีผลบังคับต่อเนืองโดยอัตโนมัติ ยกเว้นจะมีการบอกเลิก สัญญาล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์อกั ษรโดยคู่สญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึงเป็ นเวลาล่วงหน้า เดือนถึง ปี


2 2 1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สัญญาซือขายเม็ดพลาสติก บริ ษทั และกิจการทีเกียวข้องกันสองแห่ งมีสัญญาซื อขายเม็ดพลาสติกกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยบริ ษทั ต้อง จําหน่ายผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกทังหมดแก่กิจการทีเกียวข้องกันนี เพือนําไปจัดจําหน่ายต่อให้แก่ลูกค้าในตลาด โดยตาม สัญญากําหนดราคาขายอ้างอิงจากราคาขายผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้าปลายทาง ซึ งเป็ นราคาตลาดเม็ดพลาสติ กในแต่ละ ช่วงเวลานันๆ หักลบด้วยส่ วนต่างทางการตลาดทีเหมาะสมและเป็ นธรรมกับคู่สัญญาทังสองฝ่ าย สัญญามีระยะเวลา จํานวน ฉบับ และ ปี นับจากวันทีทีมีผลบังคับตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม เดือนมกราคม 2565 หนึงฉบับ สัญญาเงินให้ ก้ ยู มื และสัญญาเงินกู้ยมื บริ ษทั มีสญ ั ญาเงินให้กยู้ ืมโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งเป็ นวงเงินให้กยู้ ืมระยะยาวจํานวน , ล้านบาท เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีอตั ราดอกเบียเท่ากับต้นทุนถัวเฉลียเงินทุนของบริ ษทั เงินให้กยู้ ืมนี มีกาํ หนด ชําระคืนทุกรายไตรมาสเริ มตังแต่เดือนมิถุนายน 2553 ภายในระยะเวลา ปี บริ ษทั มีสัญญาเงินให้กยู้ ืมโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งเป็ นวงเงินให้กยู้ ืมระยะยาวจํานวน , ล้านบาท เงิ นให้กยู้ ืมดังกล่าวมีอตั ราดอกเบี ยเท่ากับต้นทุนถัวเฉลียเงิ นทุนของบริ ษทั เงิ นให้กยู้ ืมนี มีกาํ หนด ชําระคืนทุกรายครึ งปี เริ มตังแต่เดือนมิถุนายน 2554 ภายในระยะเวลา 5 ปี บริ ษทั มีสัญญาเงิ นให้กยู้ ืมโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการที เกี ยวข้องกันแห่ งหนึ งเป็ นวงเงิ น 4,015 ล้านบาท โดย แบ่ งเป็ นเงิ นให้กู้ยืมระยะยาวจํานวน 2,31 ล้านบาท และเงิ นให้กู้ยืมระยะสันจํานวน 1,700 ล้านบาท เงิ นให้กู้ยื ม ดังกล่าวมีอตั ราดอกเบี ยเท่ากับต้นทุนถัวเฉลี ยเงิ นทุ นของบริ ษทั เงิ นให้กยู้ ืมนี มีกาํ หนดชําระคื นทุ กรายครึ งปี เริ ม ตังแต่เดือนมิถุนายน 2555 ภายในระยะเวลา 10 ปี บริ ษทั มีสัญญาเงินให้กยู้ ืมโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งวงเงิน 485 ล้านบาท โดยแบ่งเป็ น เงิ นให้กยู้ ืมระยะยาวจํานวน 3 ล้านบาท และเงิ นให้กูย้ ืมระยะสันจํานวน ล้านบาท เงิ นให้กยู้ ืมดังกล่าวมี อตั รา ดอกเบียเท่ากับต้นทุนถัวเฉลียเงินทุนของบริ ษทั เงินให้กยู้ ืมนีมีกาํ หนดชําระคืนทุกรายครึ งปี เริ มตังแต่เดือนมิถุนายน 2555 ภายในระยะเวลา 12 ปี บริ ษทั มีสญ ั ญาเงินให้กยู้ ืมโดยมีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ งจํานวน 2 ฉบับรวมเป็ นวงเงินให้กยู้ ืม ระยะยาวจํานวน 40 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา อัตราดอกเบียคํานวณจากอัตราใดอัตราหนึงทีมากกว่าระหว่าง United States Prime Rate บวกส่ วนเพิม หรื อ อัตราดอกเบียคงที เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีกาํ หนดชําระคืนเมือสิ นสุ ดสัญญาใน เดือนกรกฎาคม 2558 และเดือนมีนาคม 2559


2 2 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริ ษทั มีสญ ั ญาเงินให้กยู้ ืมโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง เป็ นวงเงินให้กยู้ ืมระยะยาวจํานวน 60 ล้านเหรี ยญยูโร อัตราดอกเบี ยคงที เงิ นให้กูย้ ืมดังกล่าวมีกาํ หนดชําระคื นเมื อสิ นสุ ดสัญญาในเดื อนกรกฎาคม 2560 บริ ษทั มี สัญญาเงิ นให้กยู้ ืมระยะสัน โดยการใช้บริ การโอนเงิ นระหว่างบัญชี ผ่านระบบ Liquidity Management System (“ระบบ LMS”) ซึ งไม่มีหลักประกันอายุสัญญา 3 ปี แก่กิจการทีเกียวข้องกัน 3 แห่ ง วงเงินรวม 3,400 ล้าน บาท เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีอตั ราดอกเบียเท่ากับต้นทุนถัวเฉลียเงินทุนของบริ ษทั บริ ษทั มีสัญญาเงินกูย้ ืมระยะสันโดยการใช้บริ การโอนเงินระหว่างบัญชี ผ่านระบบ Liquidity Management System (“ระบบ LMS”) ซึ งไม่มีหลักประกันอายุสัญญา 3 ปี จากกิจการทีเกียวข้องกัน 3 แห่ ง วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท เงินกูย้ ืมดังกล่าวมีอตั ราดอกเบียเท่ากับอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนระยะสัน หักร้อยละ . ต่อปี บริ ษทั ได้ให้เงินกูย้ ืมระยะสันโดยไม่มีหลักประกันแก่กิจการทีเกียวข้องจํานวน 2 แห่ ง โดยมีตวใช้ ั เงินเป็ นหลักฐาน รวมเป็ นจํานวนทังสิ น 1,005 ล้านบาท เงินให้กยู้ ืมดังกล่าวมีอตั ราดอกเบียเท่ากับต้นทุนถัวเฉลียเงินทุนของบริ ษทั โดยตัวสัญญาใช้เงินดังกล่าวมีอายุ เดือน และสามารถต่ออายุตวสั ั ญญาใช้เงินได้ สัญญาบริ การ บริ ษทั มีสัญญาจ้างเหมางานประกันคุณภาพ งานตรวจสอบอุปกรณ์และเครื องจักรกับกิ จการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยสัญญามีระยะเวลา ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 บริ ษทั มีสญ ั ญาการให้บริ การแก่กิจการทีเกียวข้องกันรวม 10 แห่ ง เพือให้บริ การด้านต่างๆ สัญญามีผลบังคับใช้ตงแต่ ั วันที ที กําหนดในสัญญา ต่อมาตังแต่ วนั ที 1 มกราคม 2555 บริ ษทั ได้ให้บริ การในลักษณะเดี ยวกันกับกิ จการที เกียวข้องกันอีก 2 แห่ ง โดยทุกสัญญาดังกล่าวจะต่อในปี ถัดไปโดยอัตโนมัติ แต่สามารถสิ นสุ ดสัญญาโดยบอกกล่าว ให้อีกฝ่ ายหนึ งทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า เดื อน และอัตราค่าบริ การจะทําการตกลงร่ วมกัน ภายในไตรมาส 4 ของทุกปี บริ ษทั มีสญ ั ญาจ้างเหมาบริ การรักษาความปลอดภัยและป้ องกันอัคคีภยั กับกิจการทีเกียวข้องกันแห่งหนึ ง โดยกิจการที เกี ยวข้องกันนี จะให้บริ การรักษาความปลอดภัยและป้ องกันอัคคี ภยั แก่ทรัพย์สิน พนักงานและผูท้ ี มาติ ดต่อที อยู่ใน บริ เวณพืนทีของบริ ษทั โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2557 บริ ษทั มีสัญญาจ้างเหมาบริ หารงานคลังสิ นค้า HDPE กับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2556


2 2 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริ ษทั มีสัญญาจ้างออกแบบ ก่อสร้างและติดตัง BD Pipeline, Storage Tanks และ Facilities สําหรับ BV Project กับ กิจการทีเกียวข้องกันแห่งหนึง โดยสัญญามีระยะเวลา 2 ปี และจะมีผลสิ นสุ ดในเดือนธันวาคม 2556 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญางานบริ การด้านเทคนิคกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่งหนึง ภายใต้สัญญานี บริ ษทั ตกลงจ้างกิจการที เกียวข้องให้บริ การคําปรึ กษาทางด้านเทคนิค โดยมีจาํ นวนชัวโมงพืนฐานสําหรับการให้คาํ ปรึ กษาปี ละ 2,1 0 ชัวโมง ซึ งสัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา ปี และค่าบริ การในอัตราปี แรกเป็ นไปตามทีกําหนดในสัญญา และปรับเพิมขึนตาม ดัชนีค่าจ้างแรงงานโดยมีสิทธิ ต่อสัญญาได้อีก ปี บริ ษทั มีสญ ั ญาจ้างเหมาให้บริ การงานทดสอบตัวอย่างกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยสัญญามีระยะเวลา ปี และให้ต่อสัญญาในปี ถัดไปโดยอัตโนมัติจนกว่าจะมีการบอกเลิกสัญญาโดยคู่สัญญาฝ่ ายหนึ งฝ่ ายใด และสามารถ สิ นสุ ดสัญญาโดยบอกกล่าวให้อีกฝ่ ายหนึงทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า เดือน สัญญาเช่ าอาคารสํานักงาน บริ ษทั มีสญ ั ญาเช่าพืนทีและบริ การสํานักงานกับกิจการทีเกียวข้องกันแห่ งหนึ ง โดยสัญญามีระยะเวลา 2 ปี และจะมี ผลสิ นสุ ดในเดือนกันยายน 57 โดยมีอตั ราค่าเช่าและค่าบริ การ และเงือนไขข้อผูกพันเป็ นไปตามทีกําหนดสัญญา 6

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2555 2554

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินฝากธนาคารเงินตราต่างประเทศ เงินฝากธนาคารประเภทประจํา เงินลงทุนชัวคราวทีมีสภาพคล่องสูง รวม

3 2,990 9,194 699 3,048 15,335 31,269

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท)

, ,

13,854 8,973

(11) 7,316 695 3 11,000 19,003

51

8,100 9,155


2 2 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี งบการเงินรวม 2555 2554 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเหรี ยญสิ งคโปร์ สกุลเงินเยน สกุลเงินริ งกิตมาเลเซี ย อืนๆ รวม 7

26,831 2,904 719 121 89 570 35 31,269

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท) 17,823 18,305 , 446 697 112 341 7 1 18,973 19,003 ,

ลูกหนีการค้ าและตัวเงินรับ

หมายเหตุ บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน บุคคลหรื อกิจการอืนๆ หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สุ ทธิ

5

งบการเงินรวม 2555 2554 33,998 18,796 52,794 (53) 52,741

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท) 26,778 32,556 24,188 14,733 8,638 9,296 41,511 41,194 33,484 (29) (21) (21) 41,482 41,173 33,463


2 2 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษทั สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี 19 ตุลาคม สําหรับปี 19 ตุลาคม สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) (กลับรายการ) หนีสูญและหนี สงสัยจะสูญ สําหรับปี /งวด

8

(1)

-

-

การวิเคราะห์อายุของลูกหนีการค้ามีดงั นี งบการเงินรวม 2555 2554 กิจการทีเกียวข้ องกัน ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : น้อยกว่า 3 เดือน - 6 เดือน - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท)

33,974

26,775

32,556

24,188

24 33,998 33,998

3 26,778 26,778

32,556 32,556

24,188 24,188


2 2 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) กิจการอืนๆ ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : น้อยกว่า 3 เดือน - 6 เดือน - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หั ก ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สุ ทธิ รวม

18,117

14,228

8,574

9,249

611 26 13 29 18,796 (53) 18,743 52,741

460 25 15 5 14,733 (29) 14,704 41,482

43 21 8,638 (21) 8,617 41,173

28 4 13 2 9,296 (21) 9,275 33,463

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชือแก่ลกู ค้าของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีระยะเวลาตังแต่ วันถึง วัน ยอดลูกหนีการค้า ณ วันที 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี งบการเงินรวม 2555 2554 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน สกุลเงินริ งกิตมาเลเซี ย อืนๆ รวม

43,063 6,108 3,284 79 152 55 52,741

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(ล้ านบาท) 34,773 38,522 5,789 2,651 644 41,482 41,173

30,027 3,436 33,463


2 2 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 8

ลูกหนีอืน

ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า รายได้คา้ งรับ ลูกหนีอืน อืนๆ รวม

9

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) 1,450 696 714 418 742 323 347 149 333 544 438 446 140 51 43 17 2,665 1,614 1,542 1,030

สิ นค้ าคงเหลือ

สิ นค้าสําเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ วัสดุโรงงานและอะไหล่ สิ นค้าระหว่างทาง หั ก ค่าเผือการลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผือสิ นค้าเสื อมสภาพ สุ ทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) 16,348 12,807 8,688 7,773 1,806 2,195 11,383 9,460 10,044 8,257 7,972 6,518 4,084 3,738 3,750 5,324 3,532 4,962 41,259 36,304 26,348 24,730 (184) (159) (28) 41,047 36,145 26,348 24,730


2 2 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม สําหรับปี 19 ตุลาคม สําหรับปี 2554 ถึง สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือทีบันทึกเป็ น ค่าใช้จ่ายและได้รวมในบัญชีตน้ ทุนขาย - ต้นทุนขาย - (กลับรายการ) การปรับลดมูลค่า สุ ทธิ 10

515,46 (76) 515,3

98,538 46 98,584

447,353 447,353

86,162 (14) 86,148

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนทีถือไว้ เพือขาย ส่ วนหนึ งของสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนถูกนําเสนอเป็ นกลุ่มสิ นทรัพย์ทีถือไว้เพือขายซึ งเป็ นไปตามการตัดสิ นใจของ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั บริ ษทั ได้เริ มพยายามดําเนิ นการขายและคาดว่าการขายจะเกิ ดขึ นภายในเดื อนมี นาคม 2556 สิ นทรัพย์ทีจัดประเภทเป็ นถือไว้เพือขาย ณ วันที ธันวาคม มีดงั ต่อไปนี งบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะกิจการ 5 (ล้ านบาท) สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน – Catalyst

29 29


2 2 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 11

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย และกิจการทีควบคุมร่ วมกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท) บริ ษทั ย่ อย ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ซื อเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่า รับคืนเงินลงทุน ณ วันที ธันวาคม

59,112 9,942 (586) (313) 68,155

59,112 59,112

กิจการทีควบคุมร่ วมกัน ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ซื อเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที ธันวาคม

210 210

210 210

รวม ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ซื อเงินลงทุน ขาดทุนจากการด้อยค่า รับคืนเงินลงทุน ณ วันที ธันวาคม

59,322 9,942 (586) (313) 68,365

59,322 59,322


บริษทั ย่อย บริ ษทั บางกอก โพลีเอททีลีน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด บริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด (อยูใ่ นระหว่างการชําระบัญชี ) บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด บริ ษทั ไทยโอลีโอเคมี จํากัด บริ ษทั พีทีทีโพลีเอทิลีน จํากัด บริ ษทั เอ็นพีซี เซฟตี แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส จํากัด PTT Chemical International Pte. Ltd. บริ ษทั ไบโอ สเปกตรัม จํากัด บริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนี ยริ ง จํากัด

100

100

100 100 100 100

100

100 75

60

100

100

100 100 100 100

100

100 75

60

สัดส่วนความ เป็ นเจ้าของ 2555 2554 (ร้ อยละ)

137

16,668 221

165

900 370 7,400 22,000

5,395

1,700

137

6,969 221

165

900 280 7,400 22,000

5,395

1,700

ทุนชําระแล้ว 2555 2554

82

16,821 146

82

6,969 146

165

900 280 7,400 22,600

1 370 7,400 22,600

165

5,395

3,664

2554

5,395

3,664

2555

ราคาทุน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

82

16,821 146

165

1 370 7,400 22,600

5,395

3,664

82

6,969 146

165

900 280 7,400 22,600

5,395

3,664

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

มูลค่ายุติธรรม สําหรับหลักทรัพย์จด ทะเบียนฯ 2555 2554

43

-

-

5,720

4,315

-

-

-

-

-

1,079

-

เงินปั นผลรับ 2555 2554

และสําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง

ราคาทุน-สุทธิ 2555 2554 (ล้ านบาท)

-

การด้อยค่า 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และกิจการทีควบคุมร่ วมกัน ณ วันที 31 ธันวาคม และเงินปั นผลรับสําหรั บปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 มีดงั นี

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2 3 0


50

กิจการทีควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั ไทย อีทอกซี เลท จํากัด

รวม

51 60 60

บริษทั ย่อย (ต่ อ) บริ ษทั ไทยแท้งค์ เทอร์มินลั จํากัด บริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด บริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด

50

51 60 60

สัดส่ วนความ เป็ นเจ้าของ 2555 2554 (ร้ อยละ)

420

900 6,859 8,351

420

900 6,859 8,351

ทุนชําระแล้ว 2555 2554

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

210 210 68,365

459 4,500 6,552 68,155

2555

2554

210 210 59,322

459 4,500 6,552 59,112

ราคาทุน

-

-

210 210 68,365

459 4,500 6,552 68,155 210 210 59,322

459 4,500 6,552 59,112

ราคาทุน-สุทธิ 2555 2554 (ล้ านบาท)

-

การด้อยค่า 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

-

-

มูลค่ายุติธรรม สําหรับหลักทรัพย์จด ทะเบียนฯ 2555 2554

63 63 10,617

467 9 10,554

1,079

1,079

เงินปั นผลรับ 2555 2554

2 3 1


บริ ษทั ไทย อีทอกซีเลท จํากัด

31 ธันวาคม 2554

บริ ษทั ไทย อีทอกซีเลท จํากัด

31 ธันวาคม 2555

50

50

สั ดส่ วน ความเป็ น เจ้ าของ (ร้ อยละ)

700

728

สิ นทรัพย์ หมุนเวียน

224

213

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

924

941

สิ นทรัพย์ รวม

289

237

หนีสิ น หมุนเวียน

4

3

293

240

หนีสิ นไม่ หนีสิ น หมุนเวียน รวม (ล้ านบาท)

329

1,666

รายได้ รวมสํ าหรับ ปี /งวด

305

1,533

ค่ าใช้ จ่าย รวมสํ าหรับ ปี /งวด

24

133

กําไรสุ ทธิ สํ าหรับปี / งวด

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของกิจการทีควบคุมร่ วมกันซึ งกลุ่มบริ ษทั บันทึกเงินลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวตามวิธีรวมตามสัดส่ วนในงบการเงินรวม โดยแสดงตามสัดส่ วนของกลุ่มบริ ษทั

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2 3 2


2 3 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน การเพิมเงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั PTT Chemical International Pte. Ltd. เมือวันที ธันวาคม คณะกรรมการ บริ ษทั มีมติอนุมตั ิการเพิมทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน . ล้านยูโร (แบ่งเป็ น . ล้านหุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ ยูโร) เพือนําเงินดังกล่าวไปเพิมทุนในบริ ษทั PTTGC International (Netherlands) B.V. ซึ งบริ ษทั ได้เรี ยกชําระค่า หุน้ พร้อมทังได้รับชําระเงินค่าหุน้ ดังกล่าวเต็มจํานวนแล้วในเดือนพฤษภาคม ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั PTT Chemical International Pte. Ltd. เมือวันที เมษายน คณะกรรมการ บริ ษทั มีมติอนุมตั ิการเพิมทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน . 0 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (แบ่งเป็ น . ล้าน หุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) เพือนําเงินดังกล่าวไปเพิมทุนในบริ ษทั PTTGC International (USA) Inc. ซึ งบริ ษทั ได้เรี ยกชําระค่าหุน้ พร้อมทังได้รับชําระเงินค่าหุน้ ดังกล่าวเต็มจํานวนแล้วในเดือนพฤษภาคม ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั PTT Chemical International Pte. Ltd. เมื อวันที 21 กันยายน คณะกรรมการบริ ษทั มีมติอนุมตั ิการเพิมทุนจดทะเบียนของบริ ษทั จํานวน 9.5 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา (แบ่งเป็ น 9.5 ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา) เพือนําเงินดังกล่าวไปเพิมทุนในบริ ษทั Emery Oleochemicals (M) Sdn Bhd. ซึ งบริ ษทั ได้เ รี ยกชํา ระค่ าหุ ้นพร้ อมทังได้รับชําระเงิ นค่ าหุ ้นบางส่ วนเป็ นจํานวน 5 ล้า นเหรี ย ญ สหรัฐอเมริ กา ในเดือนธันวาคม 2555 เมือวันที 30 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ได้ทาํ การจ่ายชําระค่าหุ ้นเพิมเติ มให้กบั บริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด จํานวน 16 บาทต่อหุ ้น คิดเป็ น 89.60 ล้านบาท ทําให้เงิ นลงทุนในบริ ษทั ไบโอ ครี เอชัน จํากัด เพิมขึ นจาก 280 ล้านบาท (50 บาทต่อหุน้ ) เป็ น 369.60 ล้านบาท (66 บาทต่อหุน้ ) เงินปั นผลจ่ ายของบริ ษัทย่ อยและกิจการที ควบคุมร่ วมกัน ในการประชุมสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ไทยแท้งค์เทอร์ มินลั จํากัด เมือวันที เมษายน ผูถ้ ือหุ น้ มีมติ อนุ มตั ิ การจัดสรรเงิ นปั นผลแก่ผถู ้ ือหุ ้นในอัตราหุ ้นละ 101.67 บาท จํานวนเงิ น 915 ล้านบาท โดยบริ ษทั ย่อย จ่ายเงิ นปั นผลจํานวน 614 ล้านบาท ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในเดื อนพฤษภาคม และ ธันวาคม 2555 และจะจ่ายเงิ นปั นผล คงเหลือจํานวน 301 ล้านบาท ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ภายในปี 2556 ขึนอยูก่ บั กระแสเงินสดของบริ ษทั ในการประชุมสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ไทย อีทอกซี เลท จํากัด เมือวันที 24 เมษายน ผูถ้ ือหุ น้ มี มติอนุมตั ิการจัดสรรเงินปั นผลแก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 30 บาท จํานวนเงิน 126 ล้านบาท โดยเงินปั นผลดังกล่าว ได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤษภาคม 2555


2 3 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ในการประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด เมือวันที 25 เมษายน ผูถ้ ือหุ ้นมีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปั นผลแก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 0.21 บาท จํานวนเงิน 14 ล้านบาท โดยเงินปั นผลดังกล่าวได้ จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤษภาคม 2555 ในการประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิ เนี ยริ ง จํากัด เมือวันที 26 เมษายน ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุมตั ิ การจัดสรรเงิ นปั นผลแก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ . บาท จํานวนเงิน ล้าน บาท โดยเงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนเมษายน 2555 ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั พี ทีที โพลี เอทิ ลีน จํากัด เมือวันที 7 กันยายน คณะกรรมการมีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปั นผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 14 บาท จํานวนเงิน 3,080 ล้านบาท โดยเงิ น ปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนกันยายน 2555 ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั พีทีที โพลีเอทิลีน จํากัด เมือวันที 26 ธันวาคม คณะกรรมการมีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปั นผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 12 บาท จํานวนเงิน 2,640 ล้านบาท โดยเงิ น ปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนธันวาคม 2555 ในการประชุมสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด เมือวันที 30 เมษายน ผูถ้ ือหุ น้ มีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปันผลแก่ผถู ้ ือหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 36 บาท จํานวนเงิน 1,942 ล้านบาท โดยเงินปั นผลดังกล่าวได้ จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤษภาคม 2555 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิ ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด เมือวันที 8 มิถุนายน การจัดสรรเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ ้นละ 15 บาท จํานวนเงิ น 809 ล้านบาท โดยเงิ นปั นผล ดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนมิถุนายน 2555 ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ที โอซี ไกลคอล จํากัด เมื อวันที 26 กันยายน คณะกรรมการมี มติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 14 บาท จํานวนเงิน 755 ล้านบาท โดยเงินปั น ผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนกันยายน 2555 ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด เมือวันที 22 พฤศจิกายน คณะกรรมการมีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 15 บาท จํานวนเงิน 809 ล้านบาท โดยเงินปั น ผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤศจิกายน 2555


2 3 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ทีโอซี ไกลคอล จํากัด เมือวันที 23 พฤศจิกายน 2554 คณะกรรมการมีมติ อนุมตั ิการจัดสรรเงิ นปั นผลระหว่างกาลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ ้นละ 20 บาท จํานวนเงิน 1,079 ล้านบาท เงิ นปั น ผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤศจิกายน 2554 อืนๆ เมือวันที 27 กรกฎาคม 2555 ทีประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ไทยเอทานอลเอมีน จํากัด (“EA”) และทีประชุม คณะกรรมการของบริ ษทั ที โอซี ไกลคอล จํากัด (“TOCGC”) มีมติ อนุ มตั ิหลักการการโอนและรับโอนกิ จการทัง หมดของ EAโดยการโอนทรัพย์สิน หนี สิ น สิ ทธิ หน้าทีและความรับผิดชอบที EA มีอยู่ทงหมดให้ ั แก่ TOCGC การ โอนกิจการดังกล่าว มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายในวันที 1 ตุลาคม 2555 ต่อมาเมือวันที 31 ตุลาคม 2555 EA ได้จด ทะเบียนเลิกบริ ษทั กับกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ โดย EA มีการคืนเงินคงเหลือบางส่ วนเป็ นจํานวน เงิ น 312.82 ล้านบาทในเดื อนธันวาคม 2555 ซึ งบริ ษทั มีการรับรู ้ผลขาดทุ นจากการด้อยค่าเงิ นลงทุ นในบริ ษทั ดังกล่าวจํานวน 586.39 ล้านบาท ทังนีเงินลงทุนส่ วนทีเหลือจํานวน 0.79 ล้านบาท บริ ษทั คาดว่าจะได้รับคืนจาก EA ภายหลังเสร็ จสิ นการชําระบัญชี ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ เมือวันที 22 มิถุนายน 2555 และการประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ของบริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด (“PTTUT”) ซึ งบริ ษทั ถือหุ ้นร้อยละ 60 เมือวันที 10 กันยายน 2555 มีมติอนุมตั ิการ ควบรวมกิจการระหว่าง PTTUT และบริ ษทั ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด (“IPT”) เพือดําเนิ นธุ รกิจไฟฟ้ า ซึ งรวมทังการลงทุนและพัฒนาโครงการด้านธุรกิจไฟฟ้ าในอนาคต โดยภายหลังการควบรวมกิจการ PTTUT จะสิ น สภาพของการเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ซึ งบริ ษทั ทีเกิดจากการควบรวมกิจการจะรับไปทังทรัพย์สิน หนี สิ น หน้าที และความรั บผิดชอบของ PTTUT และ IPT ทังหมด ต่อมาการควบรวมกิ จการระหว่าง PTTUT และ IPT ได้ ดําเนิ นการแล้วเสร็ จเมือวันที 10 มกราคม 2556 โดยมีชือบริ ษทั ใหม่ว่า บริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซิ นเนอร์ ยี จํากัด และ มีทุนจดทะเบียนเริ มต้นจํานวน 8,630 ล้านบาท โดยบริ ษทั มีสดั ส่ วนการถือหุน้ ร้อยละ 30.31


2 3 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 12

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม งบการเงินรวม

ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ส่ วนแบ่งขาดทุนสุ ทธิ จากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสี ย ซื อเงินลงทุน รายได้เงินปันผล กําไรจากการเปลียนแปลงสัดส่ วนเงินลงทุน ผลต่างจากอัตราแลกเปลียน ณ วันที 31 ธันวาคม

6,178 (44) (300) 276 41 6,151

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท) 3,399 6,301 (122) (3) (6) 6,178

3,399

3,391 8 3,399


20

20

47.35 12.50

บริษทั ร่ วมทางอ้ อม Myriant Corporation Erca Moerdijk B.V.

รวม

23 40

23 40

47.85 12.50

25 25

25 25

บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซีที โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด

สัดส่วนความเป็ น เจ้าของ 2555 2554 (ร้ อยละ)

0.07 63

150

10 150

40 7,111

0.07 63

150

10 150

40 7,111

ทุนชําระแล้ว 2555 2554

1,919 80 1,999 5,398

30 3,399

2 60

10 3,297

2555

ราคาทุน

1,919 80 1,999 5,398

30 3,399

2 60

10 3,297

2554

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ณ วันที 31 ธันวาคม และเงินปันผลรับสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

1,184 80 1,264 6,151

34 4,887

18 245

158 4,432

1,483 80 1,563 6,178

32 4,615

17 150

121 4,295

ส่วนได้เสี ย 2555 2554

งบการเงินรวม

2555 (ล้ านบาท)

-

-

-

-

การด้อยค่า 2554

-

-

-

-

1,184 80 1,264 6,151

34 4,887

18 245

158 4,432

1,483 80 1,563 6,178

32 4,615

17 150

121 4,295

ส่วนได้เสี ย-สุ ทธิ จาก การด้อยค่า 2555 2554

300

300

4 -

296

-

3

3

3 -

เงินปันผลรับ 2555 2554

และสําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 มีดงั นี

2 3 7


บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซีที โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด รวม

25 25

15 40

20

25 25

15 40

20

สัดส่วนความเป็ น เจ้าของ 2555 2554 (ร้ อยละ)

150

10 150

40 7,111

150

10 150

40 7,111

ทุนชําระแล้ว 2555 2554

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ราคาทุน

30 3,399

2 60

10 3,297

2555

30 3,399

2 60

10 3,297

2554

การด้อยค่า 2554

-

-

-

2555

-

-

-

30 3,399

2 60

10 3,297

30 3,399

2 60

10 3,297

ราคาทุน-สุ ทธิ 2555 2554 (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

5,329

-

5,329

4,944

-

4,944

มูลค่ายุติธรรมสําหรับ หลักทรัพย์จดทะเบียนฯ 2555 2554

299

3 -

296

-

3

3 -

เงินปันผลรับ 2555 2554

2 3 8


2 3 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อมูลทางการเงินโดยสรุ ปของบริ ษทั ร่ วมซึ งกลุ่มบริ ษทั บันทึ กเงิ นลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสี ย แต่ไม่ได้ ปรับปรุ งให้แสดงข้อมูลตามสัดส่ วนทีถือหุน้ โดยกลุ่มบริ ษทั สั ดส่ วนความ เป็ นเจ้ าของ (ร้ อยละ) 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซีที โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด บริษทั ร่ วมทางอ้ อม Myriant Corporation

25 25 23 40 20

8,084 21,285 97 1,786 352 31,604

7,459 4,688 19 1,168 187 13,521

71,135 17,090 92 2,358 412 91,087

147 1,692 26 238 7 2,110

47.35

2,952 2,952 34,556

2,791 2,791 16,312

15 15 91,102

(945) (945) 1,165

25 25 23 40 20

6,626 24,156 94 1,573 211 32,660

6,141 6,848 23 1,196 53 14,261

15,789 2,064 25 541 78 18,497

(9) (58) 8 55 7 3

47.85

1,550 1,550 34,210

254 254 14,515

2 2 18,499

(928) (928) (925)

รวม 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง จํากัด บริ ษทั วีนิไทย จํากัด (มหาชน) บริ ษทั อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต จํากัด บริ ษทั พีทีที ไอซีที โซลูชนส์ ั จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี โซลูชนส์ ั จํากัด บริษทั ร่ วมทางอ้ อม Myriant Corporation รวม

สิ นทรัพย์ รวม

รายได้ หนีสิ น รวมสํ าหรับ กําไร (ขาดทุน) รวม ปี /งวด สํ าหรับปี /งวด (ล้ านบาท)


2 4 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 13

เงินลงทุนอืน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

เงินลงทุนชัวคราว ตัวสัญญาใช้เงินจากสถาบันการเงิน เงินลงทุนระยะยาวอืน ตราสารทุนอืนทีไม่อยู่ในความต้องการของตลาด Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. (บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 15.34) Guangzhou Keylink Chemical Co., Ltd. (กลุ่มบริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 15) Exeltium SAS (กลุ่มบริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 4) บริ ษทั บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด (กลุ่มบริ ษทั ถือหุน้ บุริมสิ ทธิ ร้อยละ 50) รวม

28,792 28,792

3,632 3,632

27,000 27,000

2,000 2,000

290

290

290

290

30 286

36 -

-

-

1 607 29,399

1 327 3,959

1 291 27,291

1 291 2,291

ยอดเงินลงทุนระยะยาวอืน ณ วันที 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี งบการเงินรวม

สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินเหรี ยญฮ่องกง สกุลเงินยูโร สกุลเงินบาท รวม

290 30 286 1 607

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ล้ านบาท) 290 290 36 1 1 327 291

290 1 291


ทีดิน อาคารและอุปกรณ์

ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน โอน จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 เพิมขึน ได้มาจากการซือธุรกิจ โอน จําหน่าย ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที ธันวาคม

14

283,767 239 6,811 (261) 23 290,579 467 6,354 11,014 (318) 394 308,490

6,985 38 10 (1)

7,032 24 301 31 (7)

6 7,387

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

22 15,375

13,915 15 1,006 431 (14)

-

13,766 22 127 -

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

3,308

3,149 149 3 37 (30)

1

3,200 32 (46) (38)

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

-

932 10 3 (9)

(1) 884

936 70 (12) (109)

ยานพาหนะ

35 11,746

11,458 9,905 1,390 (11,021) (21)

12

17,595 1,327 (7,476) -

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

456 347,190

327,069 10,630 9,054 480 (499)

35

326,245 1,668 (571) (308)

รวม

2 4 1


ค่ าเสือมราคาและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ค่าเสื อมราคาสําหรับงวด จําหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี โอน จําหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ ณ วันที ธันวาคม 255 (83,202) (2,414) 218 (1) (9) (85,408) (12,999) (663) 257 (186) (98,969)

(373) (12) -

(385) (64) 3 1 -

(445)

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

(9) (4,245)

(3,522) (689) (30) 5 -

(2)

(3,393) (127) -

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

(2) (2,303)

(1,893) (443) 3 32 -

(1)

(1,796) (133) 37 -

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

(1) (526)

(518) (120) 5 108 -

-

(500) (26) 8 -

ยานพาหนะ

-

-

(205)

(205)

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

(198) (106,693)

(91,726) (14,315) (652) 403 (205)

(12)

(89,264) (2,712) 263 (1)

รวม

2 4 2


ณ วันที 31 ธันวาคม 255 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

ณ วันที 31 ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

6,942 6,942

6,647 6,647

6,612 6,612

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

209,521 209,521

205,171 205,171

200,565 200,565

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

11,130 11,130

10,393 10,393

10,373 10,373

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

912 93 1,005

1,150 106 1,256

1,297 107 1,404

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

ยานพาหนะ

191 167 358

197 221 418

190 242 432

11,541 11,541

11,458 11,458

17,595 17,595

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

240,237 260 240,497

235,016 327 235,343

236,632 349 236,981

รวม

2 4 3


ต้นทุนการกูย้ มื ทีเกียวข้องกับการก่อสร้างโรงงานใหม่ได้บนั ทึกเป็ นส่ วนหนึงของต้นทุนสิ นทรัพย์สาํ หรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 7 ล้านบาท มีอตั ราดอกเบียทีรับรู้ร้อย ละ 4 ต่อปี

ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 ทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั มูลค่าตามบัญชีจาํ นวน 25 ล้านบาท (2554: 16 ล้ านบาท) ได้จดทะเบียนเพือเป็ นหลักประกันเงินกูย้ มื ธนาคาร (ดูหมายเหตุ 19)

การคําประกัน

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริ ษทั ก่อนหักค่าเสื อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึงได้คิดค่าเสื อมราคาเต็มจํานวนแล้ว แต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 มีจาํ นวน 14,991 ล้านบาท (2554 :11,562 ล้ านบาท)

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2 4 4


ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน โอน จําหน่าย ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 เพิมขึน โอน จําหน่าย ณ วันที ธันวาคม 180,286 51 6,496 (227) 186,606 175 7,924 (175) 194,530

3,859 38 8 -

3,905 21 9 (5) 3,930

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

6,726 3 163 (11) 6,881

6,607 1 118 -

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

2,070 99 25 (15) 2,179

2,071 10 9 (20)

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

527 5 532 58 (71) 519

ยานพาหนะ

9,191 7,398 (8,210) (10) 8,369

15,662 667 (7,138) -

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

209,030 7,754 (89) (287) 216,408

209,012 772 (507) (247)

รวม

2 4 5


ค่ าเสือมราคาและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ค่าเสื อมราคาสําหรับงวด จําหน่าย ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที ธันวาคม 255 (68,496) (1,345) 215 (69,626) (7,026) 156 (76,496)

(271) (5) -

(276) (25) 2 (299)

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

(1,983) (277) 4 (2,256)

(1,930) (53) -

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

(1,536) (281) 15 (1,802)

(1,500) (56) 20

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(354) (71) 68 (357)

(339) (15) -

ยานพาหนะ

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

-

-

(73,775) (7,680) 245 (81,210)

(72,536) (1,474) 235

รวม

2 4 6


3,631 3,631

3,629 3,629

3,588 3,588

118,034 118,034

116,980 116,980

111,790 111,790

4,625 4,625

4,743 4,743

4,677 4,677

อาคาร และส่ วน ปรับปรุ งอาคาร

298 79 377

453 81 534

487 84 571

เครื องตกแต่ง ติดตังและอุปกรณ์ (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ยานพาหนะ

22 140 162

25 153 178

28 160 188

8,369 8,369

9,191 9,191

15,662 15,662

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

134,979 219 135,198

135,021 234 135,255

136,232 244 136,476

รวม

ราคาทรัพย์สินของบริ ษทั ก่อนหักค่าเสื อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ งได้คิดค่าเสื อมราคาเต็มจํานวนแล้วแต่ยงั คงใช้งานจนถึง ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 มีจาํ นวน 4,020 ล้าน บาท (2554:3,277 ล้ านบาท)

ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ภายใต้กรรมสิ ทธิของกลุ่มบริ ษทั ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

ทีดิน และส่ วนปรับปรุ ง

โรงงาน เครื องจักร และอุปกรณ์ เครื องมือ เครื องใช้โรงงาน

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2 4 7


2 4 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 15

สิ ทธิการเช่ าทีดิน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กิจการ (ล้ านบาท)

ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 เพิม โอน ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

4 2,470

2,306

ค่ าตัดจําหน่ ายและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับงวด ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

(1,242) (1 ) (1,2 ) (79) (1,338)

(1,235) (1 ) (1,25 ) (78) (1,330)

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

1,184 1,16 1,132

1,082 1,065 976

, 1 2,427 50 (11)

2,317 2,31 (11)


2 4 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 16

ค่ าความนิยม ค่าความนิยม หมายเหตุ จากการรวมธุรกิจ ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ส่ วนต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ได้มาจากการซื อธุรกิจ ส่ วนต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 255

4

ขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที 31 ธันวาคม 255 มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที 31 ธันวาคม 255

งบการเงินรวม ค่าความนิยมจาก การซื อธุรกิจ (ล้ านบาท)

รวม

7,709 -

3,029 4

10,738 4

7,709 7,709

3,033 15 12 3,060

10,742 15 12 10,769

-

-

-

-

-

-

7,709 7,709 7,709

3,029 3,033 3,060

10,738 10,742 10,769


2 5 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าความนิยม ค่าความนิยมจาก จากการรวมธุรกิจ การซื อธุรกิจ (ล้ านบาท)

รวม

ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ส่ วนต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ส่ วนต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 255

7,010 7,010 7,010

-

7,010 7,010 7,010

ขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที 31 ธันวาคม 255

-

-

-

มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที ธันวาคม 4 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที 31 ธันวาคม 255

7,010 7,010 7,010

-

7,010 7,010 7,010


สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน

ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน โอน ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิมขึน ได้มาจากการรวมธุรกิจ โอน ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที 31 ธันวาคม 255

17

1,376 152 90 1 1,619 85 115 145 5 1,969

4,737 315 38 5,090

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์

4,547 169 21

ค่าลิขสิ ทธิ สําหรับกระบวน การผลิต

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

(5) 3,318

3,175 148 -

3,175 -

สัญญาทีทํากับ ลูกค้า ความสัมพันธ์ กับลูกค้าที เกียวข้อง

425

424 1

478 (54)

สิ ทธิในการใช้ แนววางท่อ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

8 2,138

612 15 1,330 173

523 7 82

สิ ทธิในการใช้ และการ ดําเนินการอืน ๆ

4 574

(1) 365 257 215 (267)

341 14 11

สิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตน รอตัด จําหน่าย

12 13,514

10,932 672 1,808 90

10,440 342 150

รวม

2 5 1


ค่ าตัดจําหน่ ายและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับงวด โอน ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียนเงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ขาดทุนจากการด้อยค่า ผลต่างจากการแปลงอัตราแลกเปลียน เงินตรา ต่างประเทศ ณ วันที 31 ธันวาคม 255 (703) (55) (1) (759) (242) (4) (1,005)

(1,077) (253) (33) (1,363)

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์

(1,032) (45) -

ค่าลิขสิ ทธิ สําหรับกระบวน การผลิต

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

2 (416)

(91) (327) -

(91) -

สัญญาทีทํากับ ลูกค้า ความสัมพันธ์ กับลูกค้าที เกียวข้อง

(201)

(173) (28) -

(173) (5) 5

สิ ทธิในการใช้ แนววางท่อ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

1 (449)

(327) (123) -

(314) (8) (5)

สิ ทธิในการใช้ และการ ดําเนินการ อืน ๆ

สิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตน รอตัด จําหน่าย

-

-

-

(1) (3,434)

(1) (2,427) (973) (33)

(2,222) (204) -

รวม

2 5 2


มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที 31 ธันวาคม 255 3,515 3,660 3,727

ค่าลิขสิ ทธิ สําหรับกระบวน การผลิต

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

673 860 964

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์

3,175 3,084 2,902

สัญญาทีทํากับ ลูกค้า ความสัมพันธ์ กับลูกค้าที เกียวข้อง

305 251 224

สิ ทธิในการใช้ แนววางท่อ (ล้ านบาท)

งบการเงินรวม

209 285 1,689

สิ ทธิในการใช้ และการ ดําเนินการ อืน ๆ

341 365 574

สิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตน รอตัด จําหน่าย

8,218 8,505 10,080

รวม

2 5 3


1,394 21 1,415 1,415

(728) (18) (746) (90) (836)

ราคาทุน ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 เพิมขึน โอน ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิมขึน โอน ณ วันที 31 ธันวาคม 255

ค่ าตัดจําหน่ ายและขาดทุนจากการด้ อยค่ า ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับงวด โอน ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี ณ วันที 31 ธันวาคม 255

ค่าลิขสิ ทธิ สําหรับกระบวน การผลิต

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

(549) (24) (573) (126) (699)

1,041 16 119 1,176 47 92 1,315

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์

(60) (60) (192) (252)

2,518 2,518 2,518

(131) (4) 4 (131) (19) (150)

339 (29) 310 1 311

(5) (4) (3) (12) (17) (29)

50 53 103 12 115

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัญญาทีทํากับ ลูกค้า สิ ทธิในการใช้ ความสัมพันธ์ และการ กับลูกค้าที สิ ทธิในการ ดําเนินการ เกียวข้อง ใช้แนววางท่อ อืน ๆ (ล้ านบาท)

-

223 49 (25) 247 122 (51) 318

สิ นทรัพย์ ไม่มีตวั ตน รอตัด จําหน่าย

(1,413) (110) 1 (1,522) (444) (1,966)

5,565 65 139 5,769 181 42 5,992

รวม

2 5 4


มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ณ วันที 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที 31 ธันวาคม 255 666 669 579

ค่าลิขสิ ทธิ สําหรับกระบวน การผลิต

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

492 603 616

คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์

2,518 2,458 2,266

208 179 161

45 91 86

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัญญาทีทํากับ สิ ทธิในการใช้ ลูกค้า และการ ความสัมพันธ์ ดําเนินการ กับลูกค้าที สิ ทธิในการใช้ อืน ๆ เกียวข้อง แนววางท่อ (ล้ านบาท) 223 247 318

สิ นทรัพย์ไม่มี ตัวตนรอตัด จําหน่าย

4,152 4,247 4,026

รวม

2 5 5


2 5 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 18

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนีสิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม มีดงั นี งบการเงินรวม สิ นทรัพย์ 2555 รวม การหักกลบรายการของภาษี สิ นทรัพย์ (หนีสิ น) ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีสุทธิ

หนีสิ น 2554

1,515 (846) 669

2555 (ล้ านบาท) 1,475 (4,777) (1,111) 846 364 (3,931)

2554 (4,531) 1,111 (3,420)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ นทรัพย์ 2555 รวม การหักกลบรายการของภาษี สิ นทรัพย์ (หนีสิ น) ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีสุทธิ

664 (664) -

หนีสิ น 2554

2555 (ล้ านบาท) 852 (3,841) (852) 664 (3,177)

2554 (3,825) 852 (2,973)


2 5 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายการเคลือนไหวของสิ นทรัพย์และหนีสิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรวมทีเกิดขึนในระหว่างปี /งวดมีดงั นี

ณ วันที 1 มกราคม 2555 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ยอดขาดทุนยกไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทน พนักงาน ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม

งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน การได้มา ส่ วน งบกําไร ซึง ของ ขาดทุน บริ ษทั ย่อย ผูถ้ ือหุน้ (หมายเหตุ 34) (ล้ านบาท)

ผลต่าง จากอัตรา แลกเปลียน

ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

27 345

(21) (345)

-

-

-

6 -

297

22

-

-

-

319

322 484 1,475

(17) 282 (79)

3 3

115 115

1 1

305 885 1,515

(2,302)

21

-

(416)

(13)

(2,710)

หนีสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่า ทางการเงิน ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม

(12)

2

-

-

-

(10)

(2,186) (31) (4,531)

129 122 274

-

(91) (507)

(13)

(2,057) (4,777)

สุ ทธิ

(3,056)

195

3

(392)

(12)

(3,262)


2 5 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ยอดขาดทุนยกไป ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทน พนักงาน ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม

งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน งบกําไร ส่ วน การได้มา ขาดทุน ของ ซึง (หมายเหตุ 34) ผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ย่อย (ล้ านบาท)

ผลต่าง จากอัตรา แลกเปลียน

ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

21 53

6 292

-

-

-

27 345

271

26

-

-

-

297

765 315 1,425

(443) 169 50

-

-

-

322 484 1,475

(1,859)

(443)

-

-

-

(2,302)

(7)

(5)

-

-

-

(12)

หนีสินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่า ทางการเงิน กําไรสุ ทธิจากการปรับมูลค่า ยุติธรรมของสัญญา แลกเปลียนอัตราดอกเบีย ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม

(40)

24

-

-

-

(16)

(2,360) (20) (4,286)

174 5 (245)

-

-

-

(2,186) (15) (4,531)

สุ ทธิ

(2,861)

(195)

-

-

-

(3,056)


2 5 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ณ วันที 1 มกราคม 2555 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม หนีสินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน กําไรสุ ทธิ จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบีย ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ รวม สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน งบกําไร ส่ วน ขาดทุน ของ (หมายเหตุ 34) ผูถ้ ือหุน้ (ล้ านบาท)

ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

24 213 345 259 11 852

(19) 2 (345) (17) 191 (188)

-

5 215 242 202 664

(1,851) (10)

(19) (140) 1

-

(19) (1,991) (9)

(16) (1,948) (3,825)

13 129 (16)

-

(3) (1,819) (3,841)

(2,973)

(204)

-

(3,177)


2 6 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี สิ นค้าคงเหลือ ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ยอดขาดทุนยกไป ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ อืนๆ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย) / รายได้ใน งบกําไร ส่ วน ขาดทุน ของ (หมายเหตุ 34) ผูถ้ ือหุน้ (ล้ านบาท)

ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

22 219 702 16 959

2 (6) 345 (443) (5) (107)

-

24 213 345 259 11 852

หนีสินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน กําไรสุ ทธิ จากการปรับมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบีย ผลปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมกิจการ รวม

(1,702) (5)

(149) (5)

-

(1,851) (10)

(41) (2,123) (3,871)

25 175 46

-

(16) (1,948) (3,825)

สุ ทธิ

(, )

(61)

-

(2,973)


2 6 1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 19

หนีสิ นทีมีภาระดอกเบีย งบการเงินรวม หมายเหตุ 2555 2554 ส่ วนทีหมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะสันจากสถาบันการเงิน ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะสันจากกิจการทีเกียวข้องกัน ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน 5 เงินกู้ยมื ระยะสั น เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินส่ วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ส่ วนทีมีหลักประกัน ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการอืนส่ วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน หุน้ กูส้ ่ วนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน เงินกูด้ อ้ ยสิ ทธิ ส่วนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน 5 เงินกู้ยมื ระยะยาวส่ วนทีถึงกําหนดชําระ ภายในหนึงปี หนีสิ นตามสัญญาเช่าการเงินส่ วนทีถึง กําหนดชําระภายในหนึงปี รวมหนีสิ นทีมีดอกเบียระยะสั น

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท)

2,869

2,103

-

-

2,869

,103

3,936 3,936

, 1,201

2,220 3,303

1,582 3,692

2,852

-

12

-

-

-

8,000

9,699

8,000

9,699

-

4,988

-

4,988

13,535

19,961

10,852

18,129

200 16,604

184 22,248

97 14,885

19,444

,


2 6 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) ส่ วนทีไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่ วนทีมีหลักประกัน ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการอืน ส่ วนทีมีหลักประกัน ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน หุน้ กู้ ส่ วนทีไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยมื ระยะยาว

19,293 35,436

21,590 33,234

34,191

31,658

307 136

-

-

-

65,280 120,452

43,278 98,102

65,280 99,471

43,278 74,936

หนีสิ นตามสัญญาเช่าการเงิน รวมหนีสิ นทีมีดอกเบียไม่ หมุนเวียน

306 120,758

295 98,397

131 99,602

139 75,075

รวม

137,362

120,645

114,487

94,519

หนี สิ นที มี ภาระดอกเบี ยซึ งไม่รวมหนี สิ นตามสัญญาเช่ าการเงิ น แสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจ่ ายชําระ ณ วันที ธันวาคม ได้ดงั นี

ครบกําหนดภายในหนึงปี ครบกําหนดหลังจากหนึ งปี แต่ไม่เกินห้าปี ครบกําหนดหลังจากห้าปี รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) 16,404 22,064 14,788 19,330 65,355 78,641 53,801 55,472 55,097 19,461 45,670 19,464 136,856 120,166 114,259 ,


2 6 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาว ณ วันที 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ งเป็ นสิ นทรัพย์ดงั นี งบการเงินรวม 2555 2554 ทีดิน อาคารและอุปกรณ์

24,680

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท) 15,736 -

หุ้นกู้ ณ วันที 31 ธันวาคม 5 บริ ษทั มียอดหุ น้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีหลักประกันสกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา และเงิน บาทคงค้างรวม 73,280 ล้านบาท (มูลค่าหุน้ กูเ้ ดิม 73,019 ล้านบาท และส่ วนปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมของหุ น้ กูจ้ ากการ รวมกิ จการ 261 ล้านบาท) (2554 : , ล้ านบาท (มูลค่ าหุ้ นกู้เดิม , ล้ านบาท และส่ วนปรั บปรุ งมูลค่ า ยุติธรรมของหุ้นกู้จากการรวมกิจการ 585 ล้ านบาท)) หุน้ กูเ้ หล่านีมีอายุระหว่าง ปี ถึง ปี โดยมีอตั ราดอกเบียและ กําหนดชําระคืนทีแตกต่างกันตามทีระบุไว้ในแต่ละสัญญา รายละเอียดของหุน้ กู้ ณ วันที

ธันวาคม

5 ของบริ ษทั มีดงั นี

วงเงิน มูลค่าทีตราไว้ สกุลเงิน (ล้ าน) หุน้ ละ ปี

ดอกเบีย อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี

ระยะเวลาชําระคืน

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ราคาร้อยละ เหรี ยญ 99.46 ของมูลค่าทีตราไว้ สหรัฐ ไม่มีหลักประกัน อเมริ กา

300

10,000

10

5.5

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และ ครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน มิถุนายน 2558

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

2,800

1,000

10

5.5

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และ ครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน ตุลาคม 2560

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

500

1,000

7

5.6

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

8,000

1,000

1-3 4-5

5.3 6

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และ ครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน ตุลาคม 2558 ชําระดอกเบียทุกงวดสามเดือน และครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน ธันวาคม 2556


2 6 4

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน วงเงิน มูลค่าทีตราไว้ สกุลเงิน (ล้ าน) หุน้ ละ ปี

ดอกเบีย อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี

ระยะเวลาชําระคืน

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

4,000

1,000

1-3 4-5 6-7

5.3 6 6.45

ชําระดอกเบียทุกงวดสามเดือน และครบกําหนดไถ่ถอนใน เดือนธันวาคม 2558

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

1,058

1,000

7

4.9

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน มิถุนายน 2559

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

1,942

1,000

10

5.5

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน มิถุนายน 2562

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน

บาท

15,000

1,000

5

5.5

ชําระดอกเบียทุกงวดสามเดือน และ ครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน เมษายน 255

เหรี ยญ สหรัฐ อเมริ กา

1,000

100

10

4.25

ชําระดอกเบียทุกงวดหกเดือน และ ครบกําหนดไถ่ถอนในเดือน กันยายน 2565

หุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิ ทธิ ราคาร้อยละ 99.108 ของมูลค่าทีตราไว้ ไม่มีหลักประกัน

เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 5 กลุม่ บริ ษทั และบริ ษทั มียอดเงินกูร้ ะยะยาวแบบมีระยะเวลาและแบบหมุนเวียนกับสถาบัน การเงินหลายแห่ งคงค้างรวม 6 ,252 ล้านบาท และ 37,043 ล้านบาท ตามลําดับ (มูลค่าเงินกูเ้ ดิม 59,816 ล้านบาท และ 36,891 ล้านบาท และส่ วนปรับปรุ งมูลค่ายุติธรรมของเงินกูจ้ ากการรวมกิจการ 36 ล้านบาท และ 152 ล้าน บาท ตามลําดับ) (2554: 60,098 ล้ านบาท และ 35,100 ล้ านบาทตามลําดับ (มูลค่ าเงิ นกู้เดิ ม 59,608 ล้ านบาท และ 34,930 ล้ านบาท และส่ วนปรั บปรุ งมูลค่ ายุติธรรมของเงิ นกู้จากการรวมกิจการ 90 ล้ านบาท และ 170 ล้ านบาท ตามลําดั บ)) โดยมี อตั ราดอกเบี ยและกําหนดชําระคื นที แตกต่ างกันตามที ระบุ ไว้ในแต่ ละสัญญา ภายใต้สัญญา ดังกล่าว บริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตามเงือนไขบางประการเกียวกับการรักษาอัตราส่ วนทางการเงินต่างๆ การดํารงสัดส่ วน การถือหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ ใหญ่และเงือนไขอืนตามทีระบุไว้ในสัญญา


2 6 5

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน กลุ่มบริ ษทั มีรายละเอียดของเงินกูย้ ืม ณ วันที

ธันวาคม 2555 ดังนี

สกุลเงิน

วงเงิน (ล้ าน)

ดอกเบีย อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี

บาท

1,000

THBFIX 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

บาท

7,500

อัตราสูงสุ ดของ เงินฝาก ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 15 งวด โดย ประจํา 6 เดือน บวก งวดแรกชําระในเดือนสิ งหาคม 2554 อัตราส่ วนเพิม

บาท

1,500

อัตราดอกเบียคงที

บาท

1,600

ระยะเวลาชําระคืน

บริษทั ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 9 งวดโดย งวดแรกชําระในเดือนตุลาคม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 9 งวด โดย งวดแรกชําระในเดือนกันยายน 2554

THBFIX 6 เดือน บวก ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน อัตราส่ วนเพิม งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนมีนาคม

บาท

,

THBFIX 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดสิ บสองเดือน จํานวน งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกรกฎาคม

บาท

,

อัตราสูงสุ ดของเงินฝาก ประจํา เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้น ณ สิ นสุ ดสัญญาเดือนพฤษภาคม

ชําระคืนเงินต้น ณ สิ นสุ ดสัญญาเดือนธันวาคม 2

บาท

3,000

Prime Rate หักอัตรา ส่ วนลด

บาท

9,898

อัตราสูงสุ ดเงินฝากประจํา ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน งวด 6 เดือน บวก อัตรา โดยงวดแรกชําระในเดือนมีนาคม ส่ วนเพิม

เหรี ยญสหรัฐ อเมริ กา

100

อัตรา LIBOR บวก อัตราส่วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกรกฎาคม


2 6 6

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สกุลเงิน

วงเงิน (ล้ าน)

ดอกเบีย อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี

ระยะเวลาชําระคืน

บริษทั 80

อัตรา LIBOR เดือน/3 เดือน/ เดือน บวก อัตราส่วนเพิม

ชําระคืนเงินต้น ณ สิ นสุ ดสัญญาเดือนกันยายน 2

บาท

,

FDR 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกันยายน

บาท

3,

THBFIX 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้น ณ สิ นสุ ดสัญญาเดือนกันยายน 2561

บาท

170

THBFIX 3 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดสามเดือน จํานวน 12 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนมีนาคม 2555

THBFIX 3 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดสามเดือน จํานวน 12 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกันยายน 2555

เหรี ยญสหรัฐ อเมริ กา

บริษทั ย่ อย

บาท บาท

760

อัตรา BIBOR 3 เดือน บวก ชําระคืนเงินต้นทุกงวดสามเดือน จํานวน 14 งวด อัตราส่ วนเพิม โดยงวดแรกชําระในเดือน กันยายน 2555

บาท

3,500

FDR 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 20 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน กุมภาพันธ์ 2552

บาท

3,400

FDR 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 20 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน สิ งหาคม 2555

บาท

3,600

FDR 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 20 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน ธันวาคม 2554


2 6 7

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สกุลเงิน

วงเงิน (ล้ าน)

ดอกเบีย อัตรา (ร้อยละ) ต่อปี

ระยะเวลาชําระคืน

บาท

5,511

FDR 6 เดือน บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 20 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือน กรกฎาคม 2555

บาท

6,320

FDR 6 เดือน ถัวเฉลีย 4 ธนาคาร บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 19 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกันยายน 2553

บาท

3,240

FDR 6 เดือน ถัวเฉลีย 4 ธนาคาร บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหกเดือน จํานวน 19 งวด โดยงวดแรกชําระในเดือนกันยายน 2555

เหรี ยญสหรัฐ อเมริ กา

50

อัตรา LIBOR บวก อัตราส่ วนเพิม

ชําระคืนเงินต้นทุกงวดหนึงปี จํานวน งวด โดย งวดแรกชําระในเดือนมกราคม 7

ณ วันที 31 ธันวาคม 2555 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มี วงเงิ นสิ นเชื อซึ งยังมิได้เบิ กใช้เป็ นจํานวนเงิ นรวม 53,342 ล้านบาท และ 48,436 ล้านบาท ตามลําดับ (2554: 68,768 ล้ านบาท และ 59,273 ล้ านบาท ตามลําดับ) ยอดหนีสิ นทีมีภาระดอกเบีย ณ วันที

ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี งบการเงินรวม

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเยน สกุลเงินริ งกิตมาเลเซี ย อืนๆ รวม

86,804 47,887 1,359 18 1,291 3 137,362

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ล้ านบาท) 96,829 68,336 22,331 46,151 , 120,645 114,487

73,597 20,922 94,519


2 6 8

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 20

เจ้ าหนีการค้ า งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ บุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน บุคคลหรื อกิจการอืนๆ รวม ยอดเจ้าหนีการค้า ณ วันที

5

33,919 4,566 38,485

(ล้ านบาท) 23,716 31,184 3,553 563 27,269 31,747

ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดงั นี งบการเงินรวม

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงินยูโร สกุลเงินเหรี ยญสิ งคโปร์ สกุลเงินเยน สกุลเงินริ งกิตมาเลเซี ย อืนๆ รวม

22,547 385 22,932

34,724 1,074 2,321 9 13 332 12 38,485

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ล้ านบาท) 20,832 31,650 5,543 97 331 27,269 31,747

17,503 5,429 22,932


2 6 9

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 21

เจ้ าหนีอืน งบการเงินรวม

ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานค้างจ่าย ดอกเบียค้างจ่าย เจ้าหนีอืน เงินมัดจําและเงินรับล่วงหน้า เจ้าหนีเงินประกันผลงาน หนีสิ นตามสัญญาเช่าการเงินส่ วนที ถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี อืนๆ รวม 22

งบการเงินเฉพาะกิจการ

3,461 747 3,384 454 117

(ล้ านบาท) 2,155 1,652 609 700 3,400 1,767 594 5 248 35

1,180 558 2,504 3 9

200 515 8,878

184 74 7,264

114 20 4,388

97 20 4,276

หนีสิ นหมุนเวียนอืน งบการเงินรวม

ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ายรอนําส่ ง เจ้าหนีกรมสรรพากร ภาษีคา้ งจ่ายอืนๆ อืนๆ รวม

298 254 373 193 1,118

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท) 270 93 54 96 513

248 309 52 609

226 35 42 303


2 7 0

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 23

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

งบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงินสํ าหรับ มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันทีไม่ได้จดั ให้มีกองทุน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันทีจัดให้มีกองทุน ผลประโยชน์ระยะยาวอืน รวม มูลค่ายุติธรรมของภาระผูกพันทีจัดให้มีกองทุน สุ ทธิ

2,484 840 326 3,650 (576) 3,074

1,604

2,598 (496) 2,102

893 264 1,157 1,157

, 1,057

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี 19 ตุลาคม สําหรับปี 19 ตุลาคม สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) งบกําไรขาดทุน รับรู้ ในกําไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์พนักงานระยะยาว ผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอืน ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย รวม

271 40

41 3

94 32

15 3

220 531

331 375

126

160 178


2

7 1

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน การเปลียนแปลงในมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานจากการซื อ บริ ษทั ย่อย ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ต้นทุนบริ การปัจจุบนั และดอกเบีย ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยทีรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน อืนๆ ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที 31 ธันวาคม

2,598 -

2,280

1,057 -

888

642 (177)

(25)

(26)

(9)

339

44

126

18

220 27 1

331 (29) (3)

-

160 -

3,650

2,598

1,157

1,057


2 7 2

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าใช้จ่ายทีรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 31)

ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ดอกเบียจากภาระผูกพัน ผลตอบแทนทีคาดหวังจากโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย อืนๆ รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี 19 ตุลาคม สําหรับปี 19 ตุลาคม สิ นสุ ดวันที สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง 2554 ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) 205 5 76 14 134 50 4 (33) 220 5 531

(8)

-

-

7 375

126

160 178


2 7 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ค่าใช้จ่ายทีรับรู ้ในรายการต่อไปนีในงบกําไรขาดทุน

ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ สําหรับ ระยะเวลา ระยะเวลา ตังแต่วนั ที ตังแต่วนั ที สําหรับปี 19 ตุลาคม สําหรับปี 19 ตุลาคม สิ นสุ ดวันที สิ นสุ ดวันที 2554 ถึง 2554 ถึง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2554 (ล้ านบาท) 117 22 59 11 194 22 67 7 220 531

331 375

126

160 178

ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันทีรายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลียถ่วง นําหนัก) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร้ อยละ)

อัตราคิดลด ณ วันที 31 ธันวาคม การเพิมขึนของเงินเดือนในอนาคต อัตราการลาออก อายุเกษียณ

2.8-5 3.32-7 0-15 60 ปี

4.66-4.8 3.32-6 0-6 60 ปี

4.8 6 0-3 60 ปี

ข้อสมมุติเกียวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติทีเผยแพร่ ทวไปและตารางมรณะ ั

4.8 6 0-6 60 ปี


2 7 4

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับโครงการทีได้จดั เป็ นกองทุนมีสินทรัพย์ของกองทุนดังต่อไปนี งบการเงินรวม

ตราสารทุน พันธบัตรรัฐบาล และหุน้ กูบ้ ริ ษทั เอกชน อืนๆ รวม

320 222 34 576

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท) 290 176 30 496

-

-

การเปลียนแปลงในมูลค่าของสิ นทรัพย์ของโครงการทีได้จดั เป็ นกองทุนมีดงั ต่อไปนี งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท)

มูลค่ายุติธรรมของโครงการ ณ วันที 1 มกราคม 2555 ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 การจ่ายเงินสมทบในโครงการ การจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนโดยโครงการ ผลประโยชน์ทีคาดการณ์จากโครงการ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน อืนๆ มูลค่ ายุตธิ รรมของโครงการ ณ 31 ธันวาคม

496 54 (18) 34 11 3 (4) 576

501 14 (10) 24 (39) 9 (3) 496

-

-


2 7 5

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 24

ทุนเรือนหุ้น มูลค่าหุน้ ต่อหุน้ (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที 1 มกราคม 2555 หุน้ สามัญ ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 หุน้ สามัญ เพิมทุน ณ วันที 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ ทุนทีออกและชําระแล้ ว ณ วันที 1 มกราคม 2555 หุน้ สามัญ ณ วันที 19 ตุลาคม 2554 หุน้ สามัญ เพิมทุน ณ วันที 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

จํานวนหุน้

10

4,512.9

10 10

-

จํานวนเงิน จํานวนหุน้ (ล้ านหุ้ น / ล้ านบาท)

45,129.3 -

จํานวนเงิน

-

-

4,512.9 -

45,129.3 -

10

4,512.9

45,129.3

4,512.9

45,129.3

10

4,506.1

45,061.1

-

-

10 10

2.7

27.4

4,506.0 0.1

45,059.8 1.3

10

4,508.8

45,088.5

4,506.1

45,061.1

ระหว่างปี 55 บริ ษทั ได้ออกหุ น้ สามัญใหม่จาํ นวน 2.74 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 0 บาท เป็ นจํานวนรวม 27.4 ล้าน บาท มีรายละเอียด ดังนี วันที จํานวนหุน้ คําอธิ บาย (ล้านหุ น้ ) 31 มกราคม

5

0.53

รองรับการใช้สิทธิ ซือหุน้ สามัญของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ

30 เมษายน

5

0.69

รองรับการใช้สิทธิ ซือหุน้ สามัญของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ

30 กรกฎาคม

5

0.29

รองรับการใช้สิทธิ ซือหุน้ สามัญของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ

15 ตุลาคม 2555

1.23

รองรับการใช้สิทธิ ซือหุน้ สามัญของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ

รวม

2.74


2 7 6

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 25

ส่ วนเกินทุนและสํ ารอง ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ทีบริ ษทั เสนอขายหุ น้ สู งกว่า มูลค่าหุน้ ทีจดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนําค่าหุ น้ ส่ วนเกินนี ตังเป็ นทุนสํารอง (“ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ ”) ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ นีจะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ ส่ วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจ ส่ วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจ ส่ วนใหญ่เกิดจากการเพิมมูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ปตท.อะโรเมติกส์และ การกลัน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด และบริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด ทีวัดค่าและบันทึกด้วยมูลค่า ยุติธรรม ณ วันรวมกิจการระหว่างบริ ษทั ปตท.เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ปตท.อะโรเมติกส์และการกลัน จํากัด (มหาชน) สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติ แห่ ง พระราชบัญญัติบริ ษ ทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษทั จะต้องจัดสรรทุ นสํา รอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ ประจําปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่า สํารองดังกล่าวมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนีจะนําไปจ่ายเป็ นเงินปันผลไม่ได้ องค์ ประกอบอืนของส่ วนของผู้ถอื หุ้น ผลต่ างจากการแปลงค่ างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทังหมดจากงบการเงิน ของหน่วยงานในต่างประเทศและการแปลงค่าหนีสิ นจากการป้ องกันความเสี ยงในเงินลงทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั


2 7 7

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 26

รายงานทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน กลุ่ ม บริ ษัท นํ า เสนอข้ อ มู ล ทางการเงิ น จํา แนกตามส่ ว นงาน โดยแสดงส่ วนงานธุ ร กิ จ เป็ นรู ปแบบหลั ก ในการรายงาน โดยพิจารณาจากการบริ หารการจัดการและโครงสร้างการบริ หารและการรายงานทางการเงินภายใน ของกลุ่มบริ ษทั เป็ นเกณฑ์ในการกําหนดส่ วนงาน ผลได้ (เสี ย) สิ นทรัพย์และหนี สิ นตามส่ วนงาน รวมรายการทีเกี ยวข้องโดยตรงกับส่ วนงาน หรื อทีสามารถปั นส่ วน ให้กบั ส่ วนงานได้อย่างสมเหตุสมผล รายการทีไม่สามารถปันส่ วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบียหรื อเงินปั นผล ทังส่ วนของสิ นทรั พย์และรายได้ เงิ นให้กูย้ ืมที มีดอกเบี ย เงิ นกูย้ ืมและค่ าใช้จ่าย และสิ นทรั พย์และค่าใช้จ่ายของ กิจการโดยรวม ส่ วนงานธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั เสนอส่ วนงานธุรกิจทีสําคัญ ดังนี ส่ วนงาน 1 ส่ วนงาน 2 ส่ วนงาน 3 ส่ วนงาน 4 ส่ วนงาน 5 ส่ วนงาน 6 ส่ วนงาน 7 ส่ วนงาน 8 ส่ วนงาน 9

กลุ่มกิจการผลิตโอเลฟิ นส์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์และรี ไฟน์เนอร์รี กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์เอทิลีนออกไซด์ กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมี กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ กลุ่มธุรกิจบริ การและอืนๆ กลุ่มธุรกิจในต่างประเทศ รายได้เงินปันผลและอืนๆ


379,299 13,447 2,247

54,870

3,269

58,139

-

9,498 1,416

934 7,148

ต้นทุนขายและการให้บริ การ

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร

รวมค่าใช้ จ่าย ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วม กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้ นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน

ภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี

360 10,840

2,351

376,948

392,746

67,637

รวมรายได้

391,892 4 25 665 160

66,504 448 684 (57) 58

ส่ วนงาน 2

รายได้ รายได้จากการลงทุน กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียน กําไร (ขาดทุน) จากตราสารอนุพนั ธ์ กําไรจากการต่อรองราคาซื อ รายได้อืน

ส่ วนงาน 1

36 10,606

11,378 736

430

53,640

805

52,835

64,588

63,651 70 135 (22) 754

ส่ วนงาน 3

20 4,871

4,983 92

-

11,400

448

10,952

16,383

16,240 51 24 68

ส่ วนงาน 4

ข้ อมูลเกียวกับผลได้ (เสี ย) ตามส่ วนงานธุรกิจ สํ าหรับปี สิ นสุ ดวันที ธันวาคม

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

(1) 272

426 155

-

13,294

447

12,847

13,720

13,581 18 17 27 77

ส่ วนงาน 5

ส่ วนงาน 7

(103) 84

395 414

-

16,407

816

15,591

16,802

176 979

3,606 2,451

138

16,632

2,073

14,559

20,100

(ล้ านบาท) 16,415 17,761 126 1,448 42 (34) 166 2 53 923

ส่ วนงาน 6

(6) (1,410)

(1,225) 191

(618)

29,620

2,980

26,640

29,013

28,441 11 (72) (33) 666

ส่ วนงาน

11,275

11,275 -

-

586

586

-

11,861

10,917 944 -

ส่ วนงาน

(10,216)

(11,598) (1,382)

6

(50,516)

(1,771)

(48,745)

(62,120)

(48,868) (12,295) (957)

ตัดรายการ ระหว่างกัน

1,416 34,449

42,185 6,320

(44)

528,501

12,004

516,497

570,730

565,617 798 821 748 944 1,802

รวม

2 7 8


75,549 3 475 258 (730)

10,571

-

276 297 (207) 186

รวมค่าใช้ จ่าย ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วม กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้ นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรับงวด

351 89

286 209

74,615 494

75,552

75,507 45

ส่ วนงาน 2

ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลียน ขาดทุน (กําไร) จากตราสารอนุพนั ธ์

9,086 990

ต้นทุนขายและการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร

8

10,847

,

รวมรายได้

รายได้ รายได้จากการลงทุน กําไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็ นขัน รายได้อืน

ส่ วนงาน 1

1,386 151 (8) 1,243

(14)

10,301

34 39

9,973 255

11,701

11,562 19 120

ส่ วนงาน 3

1,179 19 10 1,150

-

2,279

(17) (1)

2,187 110

3,458

3,435 10 13

ส่ วนงาน 4

ข้ อมูลเกียวกับผลได้ (เสี ย) ตามส่ วนงานธุรกิจ สํ าหรับระยะเวลาตังแต่ วนั ที ตุลาคม

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

184 33 (1) 152

-

2,546

(10) 6

2,450 100

2,730

2,685 3 42

ส่ วนงาน 5

ส่ วนงาน 7

(656) 89 (1) (744)

-

2,696

(9) 135

2,400 170

2,040

834 431 226 177

20

3,329

(7) 3

2,997 336

4,143

(ล้ านบาท) 2,009 3,598 29 319 2 226

ส่ วนงาน 6

ถึง ธันวาคม

(493) 28 (36) (485)

(136)

3,392

118 (130)

2,831 573

3,035

3,029 3 3

ส่ วนงาน

1,980 1,980

-

-

-

-

1,980

1,085 857 38

ส่ วนงาน

(1,356) (310) (1,046)

8

(8,057)

-

(7,809) (248)

(9,421)

(7,736) (1,395) (290)

ตัดรายการ ระหว่างกัน

3,337 1,213 241 1,883

(122)

102,606

746 350

98,730 2,780

106,065

104,830 171 857 207

รวม

2 7 9


เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนีการค้าและตัวเงินรับ ลูกหนีอืน สิ นค้าคงเหลือ เงินให้กยู้ ืมระยะสันแก่ กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการ ทีเกียวข้องกันทีถึงกําหนด ชําระภายในหนึงปี ลูกหนีกองทุนนํามันเชือเพลิง ภาษีมูลค่าเพิมรอเรี ยกคืน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการทีควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนระยะยาวอืน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่ กิจการทีเกียวข้องกัน ทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน รวมสิ นทรัพย์

1,916 221 32,967 634 21,703 664 23 232 29 -

93,269 11,052 3 2,144 164,857

3,750

1,642 6 533 -

60,604 912 123 98 476 110,084

ส่ วนงาน 2

11,183 15,911 8,966 725 5,155

ส่ วนงาน 1

ข้ อมูลเกียวกับฐานะทางการเงินตามส่ วนงานธุรกิจ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

25,690 2,309 12 154 39 59,252

329 1 317 -

-

7,750 10,867 6,462 305 5,017

ส่ วนงาน 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

-

9,607 164 17 791 14,883

96 22 -

711

348 2,296 251 580

ส่ วนงาน 4

-

5,836 188 21 28 9,473

52 2 37 -

-

851 1,082 56 1,320

ส่ วนงาน 5

-

13,956 1,513 105 208 23,752

75 14 7 -

-

(ล้ านบาท) 3,879 339 2,173 44 1,439

ส่ วนงาน 6

11,666 21,390 916 85 2 49,830

6,545 5 85 -

1,905

1,596 1,454 3,052 850 279

ส่ วนงาน 7

13,653 2,432 189 222 31,568

65 8 131 -

-

3,746 5,427 245 5,450

ส่ วนงาน 8

-

-

75,688

68,155 210 6,716 607

ส่ วนงาน 9

(10,447) (3,508) 2,496 (3) (103,326)

(6,545) 2 (68,155) (210) (565) -

(6,366)

(9,684) (445) 104

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

รวม

1,219 240,497 21,982 138 669 3,907 436,061

664 2,287 31 1,366 29 6,151 607

-

31,269 28,792 52,741 2,665 41,047

2 8 0


เงินกูย้ ืมระยะสันจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน เจ้าหนีรับเหมาก่อสร้าง เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที ถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการอืนทีถึง กําหนดชําระภายในหนึงปี หุ น้ กูท้ ีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ตราสารอนุพนั ธ์ หนีสิ นหมุนเวียนอืน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการอืน หุ น้ กู้ หนีสิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ตราสารอนุพนั ธ์ หนีสิ นไม่หมุนเวียนอืน รวมหนีสิ น

10 23,395 1,253 140

19

19 3 356 72 82 2,755 421 1 1 28,527

6,695

6,682 974 21 346 32,074 28,817 446 621 106 248 89,750

ส่ วนงาน 2

3,287 4,127 2,181 3,125

ส่ วนงาน 1

ข้ อมูลเกียวกับฐานะทางการเงินตามส่ วนงานธุรกิจ ณ วันที 31 ธันวาคม 2555

1,281 189 5 185 10,104 5,526 102 207 20 63 26,324

2,394

2,055 2,783 936 474

ส่ วนงาน 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

6 1 20 14 6 2,300

-

800 858 553 42

ส่ วนงาน 4

6 2,206 2 12 1 3,190

272

214 463 14

ส่ วนงาน 5

ส่ วนงาน 6

7,128 41 24 16 10,988

427

2,804 532 16

(ล้ านบาท)

18 152 2 103 12,821 30,855 23 86 81 58,284

2,144

214 9,478 2,174 133

ส่ วนงาน 7

12 36 3 128 771 443 562 1,689 374 11,686

117

2,869 3,186 1,496 -

ส่ วนงาน 8

-

ส่ วนงาน 9

-

-

-

-

(82) (26) (10,447) (2) (33,032)

(6,545)

(6,366) (8,360) (710) (494)

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

รวม

12 8,000 1,278 32 1,118 54,729 443 65,280 3,931 3,074 143 772 198,017

5,523

2,869 38,485 8,878 3,450

2 8 1


เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนีการค้าและตัวเงินรับ ลูกหนีอืน สิ นค้าคงเหลือ เงินให้กยู้ ืมระยะสันแก่ กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการ ทีเกียวข้องกันทีถึงกําหนด ชําระภายใหนึงปี ลูกหนีกองทุนนํามันเชือเพลิง ภาษีมูลค่าเพิมรอเรี ยกคืน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการทีควบคุมร่ วมกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนระยะยาวอืน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่ กิจการทีเกียวข้องกัน ทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน รวมสิ นทรัพย์

303 10 27,180 522 20,991 -

442 633 154 -

96,799 11,393 25 3,063 161,515

515

838 12 317 -

57,630 848 322 78 518 79,401

ส่ วนงาน 2

, , 1 , 27 4,304

ส่ วนงาน 1

ข้ อมูลเกียวกับฐานะทางการเงินตามส่ วนงานธุรกิจ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

26,915 2,421 173 95 42,863

172 74 -

-

133 4,437

,

,

ส่ วนงาน 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

-

10,156 166 23 894 15,232

166 1 27 -

1,201

43 553

,

ส่ วนงาน 4

6,254 190 21 38 9,327

227 14 -

-

, 4 46 1,002

ส่ วนงาน 5

14,551 1,345 1 147 22,990

106 33 8 -

-

32 1,889

(ล้ านบาท) 4,156 -

ส่ วนงาน 6

16,886 22,520 942 14 2 58,890

6,545 97 83 -

3,945

, , ,609 681 319

ส่ วนงาน 7

-

3,909 614 54 1 10,684

11 8 -

-

282 2,547

,

ส่ วนงาน 8

-

-

66,286

59,302 210 6,447 327

ส่ วนงาน 9

(16,886) (3,391) 2,496 (1) (94,222)

(6,545) (34) (59,302) (210) (269) -

(5,661)

(4,370) (152) 103

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

442 2,250 54 643 6,178 327

-

18,973 3,632 41,482 1,614 36,145

235,343 20,415 347 364 4,757 372,966

รวม

2 8 2


ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ตราสารอนุพนั ธ์ หนีสิ นหมุนเวียนอืน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ น้ กู้ หนีสิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ตราสารอนุพนั ธ์ หนีสิ นไม่หมุนเวียนอืน รวมหนีสิ น

เงินกูย้ ืมระยะสันจากสถาบันการเงิน เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน เจ้าหนีรับเหมาก่อสร้าง เงินกูย้ ืมระยะสันจากกิจการ ทีเกียวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที ถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี หุ น้ กูท้ ีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี เงินกูด้ อ้ ยสิ ทธิ ทีถึงกําหนดชําระภายใน หนึงปี

3

1,305 7,602

,

1,323

4,259 2,097

603 184 13,488 23,367 200 577 121 50,301

2 9 109 23,122 15,535 2,755 375 144 1 78,160

19,117 2,535 558

ส่ วนงาน 2

1,377 1,457 1,248

ส่ วนงาน 1

ข้ อมูลเกียวกับฐานะทางการเงินตามส่ วนงานธุรกิจ ณ วันที 31 ธันวาคม 2554

111 104 9,437 4,314 50 185 39 23,594

4,142 -

2,367

1,996 631 218

ส่ วนงาน 3

บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

12 29 11 9 2,827

-

1,707

732 286 41

ส่ วนงาน 4

4 5 2,478 2 9 1 3,318

272 -

-

199 335 13

ส่ วนงาน 5

ส่ วนงาน 6

47 8,102 41 19 85 4 10,290

255 -

-

1,459 244 34

(ล้ านบาท)

109 64 14,292 61 275 58 247 23,458

1,586 -

261

4,820 1,616 69

ส่ วนงาน 7

67 17 33 791 97 868 170 5,841

-

-

2,103 1,160 535 -

ส่ วนงาน 8

ส่ วนงาน 9

(70) (15) (16,886) (33,277)

-

(6,545) -

(5,661)

(3,591) (375) (134)

-

-

-

ตัดรายการ ระหว่ างกัน

รวม

834 77 513 54,824 43,277 3,420 2,102 229 592 164,512

,

5,274 9,699

-

2,103 27,269 7,264 2,047

2 8 3


2 8 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 27 รายได้ จากการลงทุน งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) เงินปันผลรั บ บริ ษทั ย่อย กิจการทีควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั ร่ วม ดอกเบียรั บ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจการอืน

5 5 5

-

-

10,554 63 299 10,916

1,079 3 1,082

5 5 5

2 102 694 798 798

171 171 171

1 1,238 102 397 1,738 12,654

297 105 402 1,484

รวม 28

กําไรจากการรวมธุรกิจแบบเป็ นขัน บริ ษทั รับรู ้ผลกําไรจํานวน 857 ล้านบาทในงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 จากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยในเงิ นลงทุนในบริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด และบริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด ซึ ง บริ ษทั ปตท. เคมิ คอล จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ปตท. อะโรเมติ กส์ และการกลัน จํากัด (มหาชน) มี สัดส่ วนการถื อหุ ้นในบริ ษทั พีทีที ฟี นอล จํากัด เท่ ากับร้อยละ 30 และ ร้ อยละ 30 ตามลําดับ และ มีสดั ส่ วนการถือหุน้ ในบริ ษทั พีทีที ยูทิลิตี จํากัด เท่ากับร้อยละ 40 และ ร้อยละ 20 ตามลําดับก่อนการรวมธุรกิจ


2 8 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 29 ค่ าใช้ จ่ายในการขาย งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

ค่าใช้จ่ายในการจัดจําหน่าย ค่าใช้จ่ายการสนับสนุนการขาย ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายเกียวกับบุคลากร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

(ล้ านบาท) 274 58 4 48 384

1,687 158 170 298 2,313

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

481 21 502

85 6 91

30 ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) ค่าใช้จ่ายเกียวกับบุคลากร ค่าทีปรึ กษา ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ ค่าศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ ค่าบริ การพนักงานปฏิบตั ิการ ขาดทุนจากการประมาณตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัย ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร อืนๆ รวม

3,947 473 365 125 151 220 1,274 53 3,084 9,692

-

2,574 335 326 106 325

2,396

752 15 1,758 6,191

601 57 56 98 65

163 24 1,667


2 8 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 31

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ของพนักงาน งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) ผู้บริ หาร เงินเดือน โบนัส ค่าแรง และสวัสดิการอืนๆ เงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชี พ ผลประโยชน์พนักงานระยะยาว ผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอืน พนักงานอืน เงินเดือน โบนัส ค่าแรง และสวัสดิการอืนๆ เงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชี พ ผลประโยชน์พนักงานระยะยาว ผลประโยชน์พนักงานระยะยาวอืน รวม

404 14 4 3 425

54 2 1 57

218 9 3 230

39 2 1 42

9,504

1,752

4,678

1,160

425 267 37 10,233 10,658

53 40 3 1,848 1,905

244 91 32 5,045 5,275

45 14 3 1,222 1,264

โครงการผลประโยชน์ ทีกําหนดไว้ รายละเอียดของโครงการผลประโยชน์ทีกําหนดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23


2 8 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน โครงการสมทบเงินที กําหนดไว้ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ตังกองทุนสํารองเลียงชี พสําหรับพนักงานของกลุ่มบริ ษทั บนพืนฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็ปนสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราขันตําตามทีกฎหมายกําหนดแต่ไม่เกินอัตราร้อย ละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริ ษทั จ่ายสมทบในอัตราขันตําตามทีกฎหมายกําหนดแต่ไม่เกินอัตราร้อยละ 15 ของเงินเดือนของพนักงานในแต่ละเดือน กองทุนสํารองเลียงชี พนี ได้จดทะเบียนเป็ปนกองทุนสํารองเลียงชี พตาม ข้อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจ้ ดั การกองทุนทีได้รับอนุญาต 32 ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิปดเผยตามข้อกําหนดในมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) รวมอยู่ ในต้ นทุนขาย การเปลียนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ป และงานระหว่างทํา วัตถุดิบใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกียวกับบุคลากร ค่าเสื อมราคาทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไ์ม่มีตวั ตน รวมอยู่ ในค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายเกียวกับบุคลากร ค่าเสื อมราคาทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไ์ม่มีตวั ตน ค่าเช่าขันตําทีต้องจ่ายตามสัญญาเช่า ดําเนินงาน

3,152 333,057 6,413 13,594 434

8,122 55,319 986 2,539 92

915 211,422 2,701 7,229 161

4,833 39,110 663 1,395 47

4,245 721 539

919 118 103

2,574 451 283

601 83 80

339

53

274

37


2 8 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 33 ต้ นทุนทางการเงิน

งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุด วันที 31 หมายเหตุ ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุด วันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) ดอกเบียจ่ าย บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย หุน้ กู้ เงินกูแ้ ละเงินเบิกเกินบัญชี จากธนาคาร รวมดอกเบียจ่ าย ต้นทุนทางการเงินอืน หั ก: จํานวนทีรวมอยูใ่ นต้นทุน ของสิ นทรัพย์ทีเข้าเงือนไข ส่ วนทีบันทึกเป็ นต้นทุนของ สิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง สุ ทธิ

5 5

14

167 2,954

61 507

167 115 2,954

61 9 507

2,845 5,966 354

595 1,163 57

1,619 4,855 254

320 897 48

6,320

(7) 1,213

5,109

945


2 8 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 34 ภาษีเงินได้ งบการเงินรวม

สําหรับปี สิ นสุด วันที 31 ธันวาคม

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

สําหรับปี สิ นสุด วันที 31 ธันวาคม

สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

(ล้ านบาท) ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สําหรับปี ปัจจุบนั ภาษีปีก่อนๆ ทีบันทึกตําไป

1,563 48 1,611

44 2 46

1,331 50 1,381

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลียนแปลงของผลต่างชัวคราว 18

(195)

204

รวม

1,416

1,585

การกระทบยอดเพือหาอัตราภาษีทีแท้ จริ ง

งบการเงินรวม สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

อัตราภาษี (ร้ อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้ จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ ผลกระทบจากความแตกต่างของอัตราภาษี สําหรับกิจการในต่างประเทศ รายได้ทีไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี ภาษีปีก่อนๆ ทีบันทึกตําไป อืนๆ รวม

-

สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

23.0

(ล้ านบาท) 35,865 8,249

3.9

(14) (6,977) 104 48 6 1,416

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

(ล้ านบาท) 2,

30.0 19 ( ) 118 .


2 9 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน การกระทบยอดเพือหาอัตราภาษีทีแท้ จริ ง

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม

อัตราภาษี (ร้ อยละ) กําไรก่อนภาษีเงินได้ จํานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายได้ทีไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้ามทางภาษี ภาษีปีก่อนๆ ทีบันทึกตําไป รวม

23.0

6.1

(ล้ านบาท) 25,773 5,928 (4,463) 70 50 1,585

สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554

อัตราภาษี (ร้ อยละ)

(ล้ านบาท) 6

30.0 ( ) 62 .

การลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบคุ คล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที พ.ศ. ลง วันที 21 ธันวาคม 2554 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ เป็ นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชี ได้แก่ปี และ จากอัตราร้อยละ เหลืออัตราร้อยละ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ทีเริ มใน หรื อหลังวันที มกราคม และร้อยละ ของกําไรสุ ทธิ สาํ หรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถดั มา (2556 และ และ ตามลําดับ ) ทีเริ มในหรื อหลังวันที มกราคม ทังนี เป็ นที เชื อได้ว่ารั ฐบาลจะดําเนิ นการแก้ไขกฎหมายเพื อให้อตั ราภาษี ไม่สูงไปกว่า ร้ อยละ สํา หรั บรอบ ระยะเวลาบัญชี ทีเริ มในหรื อหลังวันที มกราคม เป็ นต้นไป ทังนี เพือให้เป็ นไปตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื อ วันที 11 ตุลาคม 2554 ในการเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ


2 9 1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 35

สิ ทธิประโยชน์ จากการส่ งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนอนุ มตั ิ ให้บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์หลายประการในฐานะผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 การผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขนต้ ั น ขันกลาง และขัน ปลาย กิ จการผลิตสาธารณู ปการ กิ จการให้บริ การท่าเที ยบเรื อสําหรับขนถ่ายสิ นค้าเหลวและคลังเก็บสิ นค้าเหลว กิจการบริ การขนส่ งสิ นค้าสําหรับเดินทะเล กิจการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีจากปิ โตรเลียม กิจการวิจยั และพัฒนาเคมีภณ ั ฑ์ โพลีเมอร์และสูตรเคมี กิจการบริ การทดสอบทางวิทยาศาสตร์ และกิจการโรงกลันนํามัน ซึ งพอสรุ ปสาระสําคัญได้ ดังนี ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสาํ หรับเครื องจักรทีได้รับอนุมตั ิโดยคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ทีได้จากการประกอบกิ จการที ได้รับการส่ งเสริ มมี กําหนดเวลาแปดปี นับแต่วนั ที เริ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนัน โดยมีขอ้ กําหนดเพิมเติ มให้ไม่เกิ น ร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าทีดินและทุนหมุนเวียน ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 สําหรับกําไรสุ ทธิ ทีได้จากการประกอบกิจการทีได้รับการ ส่ งเสริ มมีกาํ หนดเวลาห้าปี นับแต่วนั ทีสิ นสุ ดสิ ทธิ ประโยชน์ตามข้อ (ข) เนืองจากเป็ นกิจการทีได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิตามเงือนไขและข้อกําหนดตามทีระบุไว้ใน บัตรส่ งเสริ มการลงทุน รายได้ทีได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและทีไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการสรุ ปได้ดงั นี งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม สําหรับปี สิ นสุ ด วันที 31 ธันวาคม 5 2554 ถึง 31 ธันวาคม

ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รายได้จากการให้บริ การ รวมรายได้

กิจการที ได้รับการ ส่งเสริ ม

กิจการที ไม่ได้รับการ ส่งเสริ ม

27,480 311,625 73 339,178

7,218 123,942 296 131,456

กิจการที ได้รับการ รวม ส่งเสริ ม (ล้ านบาท)

34,698 435,567 369 470,634

17,929 33,913 14 51,856

กิจการที ไม่ได้ รับการ ส่งเสริ ม

8,497 28,413 59 36,969

รวม

26,426 62,326 73 88,825

บริ ษทั ย่อยบางแห่งในกลุ่มบริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์การส่ งเสริ มการลงทุนเช่นเดียวกับบริ ษทั ดังกล่าวข้างต้น


2 9 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 36 กําไรต่ อหุ้น กําไรต่ อหุ้นขันพืนฐ น าน กําไรต่อหุ น้ ขันพืนฐานสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555 และสําหรับระยะเวลาตังแต่ 19 ตุลาคม 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2554 คํานวณจากกําไรสําหรับปี /งวด ทีเป็ปนส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั และจํานวนหุน้ สามัญทีออกจําหน่าย แล้วระหว่างปี /งวดโดยวิ​ิธีถัวเฉลียถ่วงนําหนัก แสดงการคํานวณดังนี งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้ านบาท/ล้ านหุ้น)

กําไรทีเปปนส่ วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษทั (ขันพืนฐาน) จํานวนหุน้ สามัญทีออก ณ วันที 1 มกราคม จํานวนหุน้ สามัญทีออก ณ วันที 19 ตุลาคม ผลกระทบจากหุน้ ทีออกจําหน่ายระหว่างปี /งวด จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลียถ่ วงนําหนัก (ขันพืนฐาน) กําไรต่ อหุ้น (ขันพืนฐาน) (บาท)

34,001.27 4,506.09 1.35

2,113.44 4,505.98 0.11

24,188.36 4,506.09 1.35

606.66 4,505.98 0.11

4,507.44 7.54

4,506.09 0.47

4,507.44 5.37

4,506.09 0.13

กําไรต่ อหุ้นปรั บลด กําไรต่อหุน้ ปรับลดสําหรับปีปสิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2555 และ สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 19 ตุลาคม 4 ถึง 31 ธันวาคม 2554 คํานวณจากกําไรสําหรับปี /งวด ทีเป็ปนส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั และจํานวนหุ น้ สามัญทีออกจําหน่าย แล้วระหว่างปี /งวดโดยวิธีถวั เฉลียถ่วงนําหนัก แสดงการคํานวณหลังจากที ได้ปรับปรุ งผลกระทบของหุ ้นปรับลด ดังนี


2 9 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ล้ านบาท/ล้ านหุ้น) กําไรทีเปปนส่ วนของผู้ถือหุ้นของบริษทั (ปรับลด) จํานวนหุน้ สามัญโดยวิ​ิธีถัวเฉลียถ่วงนําหนัก (ขันพืนฐาน) ผลกระทบจากการออกสิ ทธิ ทีจะเลือกซื อหุน้ จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลียถ่ วงนําหนัก (ปรับลด) กําไรต่ อหุ้น (ปรับลด) (บาท) 37

, .7

, .

24,188.36

606.66

4,507.44 -

4,506.09 0.89

4,507.44 -

4,506.09 0.89

, . 7.54

, . 0.47

4,507.44 5.37

4,506.98 0.13

เงินปันผล ในการประชุ มสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมือวันที เมษายน ผูถ้ ือหุ ้นมีมติ อนุ มตั ิ การจัดสรรเงิ น ปั นผลแก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ . บาท จํานวนเงิน , ล้านบาท โดยบริ ษทั จ่ายเงินปั นผลดังกล่าวให้แก่ผถู ้ ือ หุน้ ในเดือนเมษายน 2555 ในการประชุ มคณะกรรมการของบริ ษทั เมือวันที 17 สิ งหาคม 2555 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ิ การจ่ายเงินปั นผล ระหว่างกาลสําหรับผลประกอบการตังแต่วนั ที 1 มกราคม 2555 ถึงวันที 30 มิถุนายน 2555 ในอัตราหุ น้ ละ 0.95 บาท ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเฉพาะผูท้ ี มีสิทธิ รับเงิ นปั นผล จํานวนเงิ นรวมประมาณ 4,282 ล้านบาท โดยบริ ษทั จ่ายเงิ นปั นผล ดังกล่าวให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนกันยายน 2555

38

เครืองมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสียงทางด้ านการเงิน กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีความเสี ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลียนแปลงอัตราดอกเบียและอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดตามสัญญาของคู่สญ ั ญา กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ไม่มีการถือหรื อ ออกเครื องมือทางการเงินทีเป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพือการเก็งกําไรหรื อการค้า การจัดการความเสี ยงเป็ นส่ วนที สําคัญของธุ รกิ จของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มี ระบบในการบริ หาร จัดการความเสี ยงอย่างต่อเนือง เพือการควบคุมความเสี ยงให้อยูใ่ นระดับทีเหมาะสมและยอมรับได้


2 9 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน การบริ หารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั คือ การรักษาระดับเงินทุนให้เหมาะสมเพือสร้างความเชื อมันแก่นกั ลงทุน เจ้าหนี คู่คา้ และผูม้ ี ส่วนได้เสี ยทุ กฝ่ าย รวมถึ งการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุ น และระดับการจ่ ายเงิ นปั นผลที เหมาะสม เพือให้ธุรกิจเติบโตอย่างยังยืน ความเสียงด้ านอัตราดอกเบีย ความเสี ยงด้านอัตราดอกเบีย หมายถึง ความเสี ยงที เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี ยในตลาดในอนาคต ซึ ง ส่ งผลกระทบต่อการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั เนืองจากกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ต้องชําระอัตรา ดอกเบี ยเงิ นกูย้ ืมเพือใช้ในการดําเนิ นงานทังแบบคงที และลอยตัว กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้มีการบริ หารจัดการความ เสี ยงดังกล่าวเพือให้แน่ใจว่ามีความเหมาะสมต่อการดําเนินธุรกิจ อัตราดอกเบียทีแท้จริ งของเงินให้กยู้ ืม ณ วันที 31 ธันวาคม และระยะทีครบกําหนดชําระหรื อกําหนดอัตราใหม่มี ดังนี งบการเงินรวม อัตราดอกเบีย ภายใน 1 ปี หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี รวม ทีแท้จริ ง แต่ภายใน 5 ปี (ร้ อยละต่ อปี ) (ล้ านบาท) ปี 2555 ไม่ หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคลหรื อ อัตราทีมากกว่า กิจการทีเกียวข้องกัน ระหว่าง U.S Prime Rate บวกส่ วนเพิม หรื ออัตราคงที 1,220 1,220 รวม 1,220 1,220


2 9 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

อัตราดอกเบีย ทีแท้จริ ง (ร้ อยละต่ อปี ) ปี 2555 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคลหรื อ กิจการทีเกียวข้องกัน ต้นทุนถัวเฉลียเงินกูย้ ืม ไม่ หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคลหรื อ ต้นทุนถัวเฉลียเงิน กิจการทีเกียวข้องกัน กูย้ มื /อัตราทีมากกว่า ระหว่าง U.S Prime Rate บวกส่ วนเพิม หรื ออัตราคงที รวม ปี 2554 หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคลหรื อ กิจการทีเกียวข้องกัน ต้นทุนถัวเฉลียเงินกูย้ ืม ไม่ หมุนเวียน เงินให้กยู้ ืมแก่บุคคลหรื อ กิจการทีเกียวข้องกัน ต้นทุนถัวเฉลียเงินกูย้ ืม รวม

ภายใน 1 ปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี หลังจาก 5 ปี แต่ภายใน 5 ปี (ล้ านบาท)

รวม

8,450

-

-

8,450

8,450

10,548 10,548

1,118 1,118

11,666 20,116

10,490

-

-

10,490

10,490

15,496 15,496

1,390 1,390

16,886 27,376

อัตราดอกเบียทีแท้จริ งของหนี สิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และระยะเวลาทีครบ กําหนดชําระหรื อกําหนดอัตราใหม่ได้เปิ ดเผยไว้แล้วในหมายเหตุ 19


2 9 6

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ความเสียงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มีความเสี ยงจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ ซึ งเกิดจากการซื อสิ นค้าและการขายสิ นค้าที เป็ นเงินตราต่างประเทศ รวมทังเงิ นกูย้ ืมที เป็ นสกุลต่างประเทศ กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ได้ป้องกันความเสี ยงจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี ยนในสิ นทรั พย์และหนี สิ นทางการเงิ นโดยการทําสัญญาซื อขายเงิ นตราต่ างประเทศ ล่วงหน้า ซึ งสัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันทีในรายงานเป็ นรายการทีเกียวข้องกับรายการซื อและ ขายสิ นค้าทีเป็ นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป นอกจากการทําสัญญาซื อและขายเงิ นตราต่ างประเทศล่ วงหน้าแล้ว กลุ่มบริ ษทั ได้ใช้เครื องมื อทางการเงิ นเพื อ ป้ องกันความเสี ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบียและอัตราแลกเปลียนได้แก่ การทําสัญญาแลกเปลียนสกุลเงิน และอัตราดอกเบีย ณ วันที 31 ธันวาคม กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีความเสี ยงจากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมาจาก การมีสินทรัพย์และหนีสิ นทีเป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ (ล้ านบาท) สกุลเงินเหรี ยญสหรั ฐอเมริ กา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6 ลูกหนีการค้า 7 ลูกหนีอืน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการที 5 เกียวข้องกัน เงินลงทุนอืน 13 หนีสิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย 19 เจ้าหนีการค้า 20 เจ้าหนีค่าก่อสร้าง เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ

2,904 6,108 182

446 5,789 508

697 2,651 167

112 3,436 463

1,2 290 (47,887) (1,074) (664) (1,186) (40,10 ) (2,245) (40,10 )

290 (22,331) (5,543) (508) (2,188) (23,537) 3,406 (20,131)

1,2 290 (46,151) (97) (352) (488) (42,06 ) 37 (42,02 )

290 (20,922) (5,429) (508) (1,628) (24,186) (24,186)


2 9 7

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริ ษทั ได้มีการทําสัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศจํานวน 2,579 ล้านบาท (2554: 5,111 ล้ านบาท) สําหรับ รายการขายและซื อสิ นค้าซึ งมีราคาอ้างอิงเป็ นเงินตราต่างประเทศในอนาคตเพือจ่ายชําระหนีสิ นทางการเงินทีมีภาระ ดอกเบียบางส่ วนเป็ นเงินตราต่างประเทศ หมายเหตุ สกุลเงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีการค้า ลูกหนีอืน เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการที เกียวข้องกัน เงินลงทุนอืน หนีสิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีค่าก่อสร้าง เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท)

6 7

719 3,284 80

341 644 1

37

1

5 13 19 20

286 (1,359) (2,321) (148) (559) (18) 56 -

(331) (185) (285) 185 185

105 (96) (15) 31 31

(185) (241) (425) (425)

121 1 (9) (20) 93 93

7 15 220 242 242

1 (20) (19) (19)

15 217 232 232

สกุลเงินเหรี ยญสิงคโปร์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6 ลูกหนีอืน เจ้าหนีการค้า 20 เจ้าหนีค่าก่อสร้าง เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ


2 9 8

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ (ล้ านบาท) สกุลเงินเยน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีการค้า ลูกหนีอืน หนีสิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีค่าก่อสร้าง เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ สกุลเงินริ งกิตมาเลเซีย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีการค้า ลูกหนีอืน หนีสิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ

6 7 19 20

6 7 19 20

89 79 (18) (13) (65) (31) 41 41

37 138 1 (82) (32) (38) (128) (104) (104)

(65) (26) (91) (91)

1 (38) (121) (158) (158)

570 152 707 (1,291) (332) (4,063) (4,257) (4,257)

276 106 280 (1,369) (506) (444) (1,657) (1,657)

-

-


2 9 9

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

หมายเหตุ อืนๆ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีการค้า ลูกหนีอืน เงินลงทุนอืน หนีสิ นทางการเงินทีมีภาระดอกเบีย เจ้าหนีการค้า เจ้าหนีค่าก่อสร้าง เจ้าหนีอืน ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงินทีมีความเสี ยง สัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี ยงคงเหลือสุ ทธิ

6 7 13 19 20

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้ านบาท) 35 55 2 30 (3) (12) (14) 93 93

43 32 36 (34) (25) (38) (11) 3 3

1 2 (1) 2 2

1 (37) (4) (40) (40)

ความเสียงทางด้ านสินเชือ ความเสี ยงทางด้านสิ นเชือ คือ ความเสี ยงทีลูกค้าหรื อคู่สญ ั ญาไม่สามารถชําระหนีแก่กลุ่มบริ ษทั ตามเงือนไขทีตกลง ไว้เมือครบกําหนด ฝ่ ายบริ หารได้กาํ หนดนโยบายการบริ หารสิ นเชือเพือควบคุมความเสี ยงทางด้านสิ นเชื อดังกล่าวอย่างสมําเสมอ โดย การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายทีขอวงเงินสิ นเชื อในระดับหนึงๆ ณ วันทีในรายงานไม่พบว่ามีความ เสี ยงจากสิ นเชื อที เป็ นสาระสําคัญ ความเสี ยงสู งสุ ดทางด้านสิ นเชื อแสดงไว้ในราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ทาง การเงินแต่ละรายการ ณ วันทีในรายงาน อย่างไรก็ตาม เนื องจากลูกค้าส่ วนใหญ่มีสัญญาผูกพันกันในระยะยาวและ บางส่ วนเป็ นผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั บริ ษทั จึ งได้รับการชําระเงิ นค่าสิ นค้าและบริ การมาโดยสมําเสมอ สําหรับลูกค้า ภายในประเทศที ไม่มีสัญญาผูกพันระยะยาว กลุ่มบริ ษทั ก็ได้ประเมินความเสี ยงโดยสมําเสมอและเลือกทําธุ รกิ จ เฉพาะกับบริ ษทั ทีมีความน่าเชือถือเท่านัน ทังนี โดยพยายามจํากัดวงเงินความเสี ยงให้อยู่ในขอบเขตทีจํากัดและอาจ ให้วางหลักประกันในบางกรณี สําหรับการส่ งออก จะพิจารณาความน่ าเชื อถือของคู่คา้ และอาจเลือกวิธีการตกลง ชําระเงิ นเป็ นรายกรณี และมีการทําประกันภัยสิ นเชื อทางการค้าร่ วมด้วย ดังนัน ฝ่ ายบริ หารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผล เสี ยหายทีมีสาระสําคัญจากการเก็บหนีไม่ได้


3 0 0

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ความเสียงจากสภาพคล่ อง กลุ่มบริ ษ ทั /บริ ษทั มี การควบคุ มความเสี ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรั กษาระดับของเงิ นสดและรายการ เที ยบเท่าเงิ นสดให้เพี ยงพอต่ อการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั เพื อทําให้ผลกระทบจากความผันผวนของ กระแสเงินสดลดลง การกําหนดมูลค่ ายุติธรรม นโยบายการบัญชี และการเปิ ดเผยของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั กําหนดให้มีการวัดมูลค่ายุติธรรมทังสิ นทรัพย์และหนี สิ น ทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินทีผูซ้ ื อและผูข้ ายตกลงแลกเปลียนสิ นทรัพย์ หรื อชําระหนี สิ นกัน ในขณะทีทังสองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลียนกัน และสามารถต่อรองราคา กันได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ ีไม่มีความเกียวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรื อการเปิ ดเผย มูลค่ายุติธรรมถูกกําหนดโดยวิธีต่อไปนี ข้อมูลเพิมเติมเกียวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลค่ายุติธรรมถูกเปิ ดเผย ในหมายเหตุทีเกียวข้องกับสิ นทรัพย์และหนีสิ นนันๆ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนีการค้าและลูกหนีระยะสันอืนๆ เป็ นมูลค่าทีใกล้เคียงกับราคาทีบันทึกในบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ทีเป็ นตราสารทุนทีจะถือไว้จนครบกําหนด พิจารณาโดยอ้างอิงกับราคา เสนอซื อ ณ วันทีในรายงาน มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนทีจะถือไว้จนครบกําหนดถูกพิจารณาเพือความมุ่งหมาย ในการเปิ ดเผยในงบการเงินเท่านัน มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบียถือตามราคาอ้างอิงของนายหน้า ณ วันทีในรายงาน ราคาอ้างอิง เหล่านันสามารถทดสอบหาความสมเหตุสมผลได้ ด้วยการคิ ดลดประมาณการกระแสเงิ นสดในอนาคต ภายใต้ ข้อกําหนดต่ างๆ และวันสิ นสุ ดของแต่ละสัญญา และโดยการใช้อตั ราดอกเบี ยในท้องตลาดของเครื องมื อทาง การเงินทีคล้ายคลึงกัน ณ วันทีวัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื อขายเงิ นตราต่างประเทศล่วงหน้าถือตามอัตราแลกเปลียนของสัญญาซื อขายล่วงหน้า สําหรับระยะเวลาคงเหลือของสัญญาเทียบกับอัตราแลกเปลียน ณ วันทีวัดมูลค่า มูลค่ายุติธรรมของหนี สิ นทางการเงิ นที ไม่ใช่ ตราสารอนุ พนั ธ์ ซึ งพิจารณาเพือความมุ่งหมายในการเปิ ดเผยในงบ การเงิ น คํานวณจากมูลค่ าปั จจุ บนั ของกระแสเงิ นสดในอนาคตของเงิ นต้นและดอกเบี ย ซึ งคิ ดลดโดยใช้อตั รา ดอกเบียในท้องตลาด ณ วันทีรายงาน


3 0 1

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน มูลค่ายุติธรรมของหุน้ กูพ้ ร้อมทังมูลค่าตามบัญชีตามทีปรากฏ ณ วันที 31 ธันวาคม มีดงั นี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่า มูลค่าตาม มูลค่า มูลค่าตาม ยุติธรรม บัญชี ยุติธรรม บัญชี (ล้ านบาท) ปี 2555 หมุนเวียน หุน้ กู้ ไม่ หมุนเวียน หุน้ กู้ รวม ปี 2554 หมุนเวียน หุน้ กู้ ไม่ หมุนเวียน หุน้ กู้ รวม

8,192

8,000

8,299

8,000

68,254 76,446

65,280 73,280

67,839 76,138

65,280 73,280

9,718

9,699

9,718

9,699

44,513 54,231

43,278 52,977

44,513 54,231

43,278 52,977


3 0 2

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 39

ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการทีไม่ เกียวข้ องกัน งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้ านบาท)

ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน สั ญญาที ยังไม่ ได้ รับรู้ ทีดิน โรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์ อาคาร อืนๆ รวม ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดําเนินงานที ยกเลิกไม่ ได้ ภายในหนึงปี หลังจากหนึงปี แต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม ภาระผูกพันอืนๆ เลตเตอร์ออฟเครดิตทียังไม่ได้ใช้ หนังสื อคําประกันจากธนาคาร สัญญาซื อขายอัตราแลกเปลียนล่วงหน้า สัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ หนังสื อคําประกันวงเงินกูย้ ืมและวงเงิน คําประกันจากธนาคาร สัญญาอืนๆ รวม

16 2,592 118 316 3,042

16 1,869 22 12 1,919

16 1,288 12 311 1,627

189 341 368 898

198 352 408 958

10 40 35 85

253 7,030 1,827 4,724

47 7,823 3,433 8,194

136 5,920 37 2,694

1,443 3,687 18,964

1,819 21,316

1,443 14 10,244

, , ,


3 0 3

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 40

คดีฟ้องร้ อง เมือวันที ธันวาคม บริ ษทั แห่ งหนึ งได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เพือเรี ยกร้องให้บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”) และบริ ษทั ในฐานะผูผ้ ลิตให้ปฏิบตั ิตามสัญญาซื อขายวัตถุดิบทีบริ ษทั ดังกล่าวมีอยู่กบั ปตท. หรื อร่ วมกั น ชดใช้ ค่ า เสี ย หายเป็ นเงิ น ประมาณ , ล้า นบาท อย่ า งไรก็ ต าม เมื อวัน ที มี น าคม อนุญาโตตุลาการได้มีคาํ สังให้จาํ หน่ายข้อพิพาทในส่ วนของบริ ษทั ออกจากสารบบความแล้ว เนื องจากบริ ษทั มิได้เป็ น คู่สญ ั ญาโดยตรงกับบริ ษทั ดังกล่าว ต่อมา เมือวันที สิ งหาคม บริ ษทั ดังกล่าวได้ยืนฟ้ องคดี แพ่งเพือเรี ยกร้องให้ปตท. และบริ ษทั ในฐานะผูผ้ ลิตให้ ปฏิ บัติ ตามสัญญาซื อขายวัตถุ ดิ บที บริ ษ ทั ดังกล่ าวมี กับปตท.หรื อร่ วมกันชดใช้ค่ าเสี ยหายเป็ นเงิ นจํานวน ,380 ล้านบาท ทังนี บริ ษทั ได้ยืนคําให้การคัดค้านคําฟ้ องดังกล่าวต่ อศาลแพ่ง เนื องจากบริ ษทั มิ ได้เป็ นคู่สัญญาโดยตรง กับบริ ษ ทั ดังกล่ าว และเมื อวันที มิ ถุนายน ศาลแพ่ งนัดพร้ อมเพื อฟั งผลคําวิ นิจฉัยของอนุ ญาโตตุ ลาการ ระหว่างบริ ษ ทั ดังกล่ าวกับปตท. แต่ การดําเนิ นการทางอนุ ญาโตตุ ลาการยังไม่ แล้วเสร็ จ ศาลแพ่ งจึ งเห็ นควรให้ เลื อนไปนัดพร้ อมเพื อฟั งคําวินิจฉัยชี ขาดของอนุ ญาโตตุ ลาการในวันที 13 ธันวาคม 2555 ซึ งต่ อมาได้เลือนเป็ น วันที 18 มีนาคม 2556 บริ ษทั เชื อว่าผลการพิจารณาของศาลจะไม่เกิ ดความเสี ยหายแก่บริ ษทั ดังนันบริ ษทั จึ งไม่ได้ บันทึกค่าเผือผลเสี ยหายทีอาจเกิดขึนจากเรื องดังกล่าวไว้ในงบการเงิน

41

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมือวันที 5 กุมภาพันธ์ ทีประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติเห็นชอบให้เสนอที ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ เพือ อนุ มตั ิ จ่ายเงินปั นผลสําหรับปี 2555 ในอัตราหุ ้นละ 3.40 บาท ซึ งบริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลไปแล้วใน อัตราหุ น้ ละ 0.95 บาท ในเดือนกันยายน 2555 ตามทีกล่าวไว้ในหมายเหตุ 6 และจะจ่ายเงินปั นผลงวดสุ ดท้ายใน อัตราหุ ้นละ 2.45 บาท ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเฉพาะผูท้ ี มีสิทธิ รับเงิ นปั นผล ทังนี การจ่ายเงิ นปั นผลดังกล่าวขึ นอยู่กบั การ อนุมตั ิจากทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ในวันที 4 เมษายน


3 0 4

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน 42

มาตรฐานการรายงานทางการเงินทียังไม่ ได้ ใช้

กลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั ยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังต่ อไปนี ณ วันที รายงาน เนื องจากยังไม่มีการ บังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที ออกและปรับปรุ งใหม่ดงั ต่อไปนี กําหนดให้ถือปฎิ บตั ิ กบั งบการเงิ น สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีทีเริ มในหรื อหลังวันที มกราคมในปี ดังต่อไปนี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื อง

ปี ทีมีผลบังคับใช้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 20

การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการ เปิ ดเผยข้อมูลเกียวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 21 (ปรับปรุ ง 2552) ผลกระทบจากการเปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที 8 ส่ วนงานดําเนิ นงาน

2556 2556 2556

มาตรฐานการบัญชีฉบับที 20 - เรื อง การบัญชีสําหรั บเงินอุดหนุนจากรั ฐบาลและการเปิ ดเผยข้ อมูลเกียวกับความ ช่ วยเหลือจากรั ฐบาล ผูบ้ ริ หารเชื อว่าการนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที 20 มาถือปฏิ บตั ิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ทีเริ มตังแต่ วนั ที 1 มกราคม 2556 จะไม่มีผลกระทบทีมีสาระสําคัญต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มาตรฐานการบัญชีฉบับที 21 – ผลกระทบจากการเปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียนเงินตราต่ างประเทศ การเปลียนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที 21 เพือเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆทีใช้ในการรายงาน ซึ งเป็ นสกุลเงินที พิจารณาว่าเป็ นสกุลเงิ นในสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิ จที กิจการนันประกอบกิ จการ มาตรฐาน การบัญชี ฉบับที 21 กําหนดให้กิจการ ระบุสกุลเงินทีใช้รายงานและแปลงค่ารายการทีเป็ นสกุลต่างประเทศให้เป็ น สกุลเงิ นที ใช้ในการดําเนิ นงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่ าดังกล่าวตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที 21 ซึ งมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที 21 ได้ใ ห้ค ํา นิ ย ามสํ า หรั บ เงิ น ตราต่ า งประเทศ กล่ า วคื อ เงิ น ตราสกุ ล อื น นอกเหนือจากสกุลเงินทีใช้ในการดําเนินงานของกิจการ ผูบ้ ริ หารกําหนดสกุลเงิ นทีใช้ในการดําเนิ นงานของบริ ษทั เป็ นสกุลเงินบาท ดังนันการถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับที 21 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี ทีเริ มตังแต่วนั ที 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้รับผลกระทบทีมีสาระสําคัญ ต่อสิ นทรัพย์ หนีสิ น และกําไรสะสมของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั


3 0 5

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที 8 เรือง ส่ วนงานดําเนินงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที 8 นําเสนอหลักการที เปลียนไปจากเดิ ม โดยมีหลักการเปิ ดเผยส่ วนงาน ดําเนินงานจากข้อมูลภายในทีนําเสนอให้ผมู ้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงาน การเปลียนนโยบายการบัญชี ดังกล่าวกระทบเพียงการเปิ ดเผยข้อมูลเท่านันไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั 43

การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบการเงิน 2554 ได้มีการจัดประเภทรายการใหม่เพือให้สอดคล้องกับการนําเสนองบการเงินปี 2555 นอกจากนีไม่มีการจัดประเภทรายการอืนใดทีมีสาระสําคัญแล้ว 2554 งบการเงินรวม ก่อนจัด ประเภท ใหม่ งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนีอืน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน เจ้าหนีอืน เจ้าหนีเงินประกันผลงาน หนีสิ นหมุนเวียนอืน

544 1,713 3,062 247 4,468

จัดประเภท ใหม่

1,070 (1,070) 4,202 (247) (3,955) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจัด ก่อนจัด หลังจัด ประเภท ประเภท จัดประเภท ประเภท ใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่ (ล้ านบาท) 1,614 643 7,264 513

446 953 2,504 9 2,178

584 (584) 1,884 (9) (1,875) -

การจัดประเภทรายการใหม่นีเนืองจากผูบ้ ริ หารเห็นว่ามีความเหมาะสมกับธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั /บริ ษทั มากกว่า

1,030 369 4,388 303


3 0 6

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี คาตอบแทนจากการสอบบัญชี

คาบริการอื่นๆ

บริษทั ฯ และบริษทั ยอย จายคาสอบบัญชีใหกบั บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด ซึ่งเปนสำนักงานสอบบัญชี ที่ผูสอบบัญชีประจำป 2555 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชี และสำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัดในรอบปบัญชีที่ผานมา มีจำนวนเงินรวม 10.77 ลานบาท โดยเปนของบริษัทฯ จำนวน 3.75 ลานบาท และบริษัทยอยรวมกันจำนวน 7.02 ลานบาท

- ไมมี -


3 0 7

ศัพทเทคนิคและคำอธิบาย Aromatics

อะโรเมติกส

กลุมของสารประกอบอินทรียที่มีวงของคารบอน 6 อะตอม ยึดตอกันดวยพันธะคูและพันธะเดี่ยว สลับกัน (เรียกวาวงเบนซีน) อาจมีหนึง่ วงหรือมากกวา ก็ได เชน เบนซีน โทลูอีน ไซลีน เปนตน

Bis-Phenol A (BPA)

บิสฟนอล เอ

ผลิตจากฟนอลและอะซิโตน ใชเปนวัตถุดิบในการ ผลิตโพลีคารบอเนต หรืออีพอกซีเรซิน

Butadiene

บิวทาไดอีน

ผลิตโดยการสกัดดวยตัวทำละลายที่มีข้ัวออกจาก มิกซซีโฟร ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตยางสังเคราะห

Butene -1

บิวทีน - วัน

เปนผลิตภัณฑขา งเคียงจากกระบวนการแตกตัวดวย ตัวเรงปฏิกิริยาของน้ำมันกาด หรือกาซออยลใน โรงกลั่นน้ำมัน และกระบวนการแตกตัวโดยใชไอน้ำ ของแนฟทา หรือผลิตจากการแยกออกจากมิกซซโี ฟร ใชเปนสารตั้งตนในการผลิตโพลิเมอร

Carotenoid

แคโรทีนอยด

เปนสารธรรมชาติทพี่ บอยูท วั่ ไปในพืช ผัก ผลไม และ จุลชีพ จำแนกเปน 2 กลุม คือ กลุม แคโรทีน เปนสาร ไมมีขั้วและละลายไดในไขมัน เชน เบตาแคโรทีน และไลโคพีน สวนอีกกลุม คือกลุมแซนโท มีขั้ว มากกวาและละลายในไขมันไดนอ ยกวาแคโรทีนอยด กลุมแรก เชน ลูทีน และแอสตาแซนทิน

EO Base Performance Product

ผลิตภัณฑอีโอเบส

เปนผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซดและผลิตภัณฑขั้น ตอเนื่อง ไดแก เอทิลีนออกไซด เอทิลีนไกลคอล เอทานอลเอมีน อีทอกซีเลท เปนตน

Ethanolamine

เอทานอลเอมีน

ไดจากปฏิกริ ยิ าระหวางเอทิลนี ออกไซดกบั แอมโมเนีย ใชเปนสวนผสมในการผลิตครีมนวดผม น้ำยาปรับผานุม เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมยา

Ethoxylate

อีทอกซีเลท

ผลิตจากเอทิลีนออกไซด ใชเปนสารลดแรงตึงผิว ในผลิตภัณฑทำความสะอาด

Ethylene

เอทิลีน

ผลิตจากอีเทน หรือกาซปโตรเลียมเหลว หรือแนฟทา ใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิตโพลีเอทิลนี ไวนิลคลอไรด โมโนเมอร สไตรีนโมโนเมอร และเอทิลนี ออกไซด


3 0 8

Ethylene Glycol (EG)

เอทิลีนไกลคอล

สังเคราะหโดยเติมน้ำในสารตั้งตนเอทิลีนออกไซด ทำใหไดสารประกอบในกลุมเอทิลนี ไกลคอล ไดแก โมโนเอทิลนี ไกลคอล ไดเอทิลีนไกลคอล ไตรเอทิลีน ไกลคอล และโพลีเอทิลีนไกลคอล

Ethylene Oxide (EO)

เอทิลีนออกไซด

ผลิตจากปฏิกริยาระหวางเอทิลนี กับออกซิเจน ใชเปน วัตถุดิบในการผลิตเอทิลีนไกลคอล เอทานอลเอมีน อีทอกซีเลท เปนตน

High Density Polyethylene (HDPE)

โพลีเอทิลีนความหนาแนนสูง

เป น เทอร โ มพลาสติ ก ที่ ไ ด จ ากการรวมตั ว ของ เอทิลีนโมโนเมอร มีความหนาแนนและความเปน ผลึกสูง ใชท ำภาชนะบรรจุ น้ำมั นหลอลื่น และ ถุงหิ้วที่นิยมเรียกวาถุงกอบแกบ

Hydrocracking

การแตกตัวดวยไฮโดรเจน

การเปลีย่ นไฮโดรคารบอนโมเลกุลใหญใหเปนโมเลกุลเล็ก โดยการแตกพันธะคารบอน-คารบอน ซึง่ ใชไฮโดรเจน ชวย กระบวนการนีใ้ ชในการกลัน่ น้ำมันทีม่ กี ำมะถัน ปนอยูมาก ทางเคมีเรียกวา Hydrogenolysis

Linear Low Density Polyethylene - LLDPE

โพลีเอทิลีนเชิงเสน ความหนาแนนต่ำ

เปนเทอรโมพลาสติกประเภทกิง่ ความเปนผลึกรอยละ 65-80 ไดจากการรวมตัวของเอทิลีนโมเมอรกับ โคโมโนเมอรของบิวทีน-1 และเฮกซีน-1 ใชทำฟลม หดรัด

Low Density Polyethylene - LDPE

โพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ำ

เปนเทอรโมพลาสติกประเภทกิ่ง ความเปนผลึก รอยละ 60-75 ไดจากการรวมตัวของเอทิลนี ภายใต ความดันสูง ใชในการผลิตภาชนะบรรจุ

Methyl Ester

เมทิลเอสเตอร

ไดจากการทำปฏิกิริยาระหวางน้ำมันพืชดิบ หรือ ไขมั น สั ต ว กั บ แอลกอฮอล ผ า นกระบวนการ เอสเตอร ริ ฟ เ คชั่ น ใช ผ ลิ ต เป น น้ ำ มั น ไบโอดี เ ซล

Methylamines

เมทิลเอมีน

ผลิตจากสารตั้งตนเมททานอล และแอมโมเนีย ใชเปนสวนผสมในแชมพู ครีมนวดผม น้ำยาปรับผานุม เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมยา

Mixed C4s

มิกซซีโฟร

เปนผลิตภัณฑพลอยไดจากกระบวนการแตกตัว ด ว ยไอน้ ำ ของแนฟทาในการผลิ ต สารโอเลฟ น ส สามารถนำมาแยกองคประกอบเปนสารบิวทาไดอีน บิวทีน-วัน ไอโซบิวทีน เปนตน


3 0 9

Mixed Xylenes

มิกซไซลีนส

เปนสารอะโรเมติกส ซึง่ ผลิตจากการรีฟอรมดวยตัวเรง ปฏิกิริยาของสารตั้งตนแนฟทา ประกอบไปดวย 3 ไอโซเมอร ไดแก พาราไซลีน ออรโทไซลีน และ เมทาไซลีน ดังนัน้ จึงสามารถใชเปนวัตถุดบิ ในการผลิต สารอะโรเมติกสทม่ี มี ลู คาสูงกวา นอกจากนีย้ งั สามารถ ใชเปนตัวทำละลายในอุตสาหกรรมตางๆ ได

Mono Ethylene Glycol (MEG)

โมโนเอทิลีนไกลคอล

สังเคราะหโดยเติมน้ำในสารตั้งตนเอทิลีนออกไซด สามารถใชเปนสารกันเยือกแข็งในรถยนต หรือใชเปน สารตั้งตนรวมกับกรดเทเรฟทาลิกบริสุทธิ์ ในการ ผลิตโพลีเอสเตอรสำหรับผลิตขวดน้ำดื่มใส ฟลม เสนใย

Naphtha

แนฟทา

เปนผลิตภัณฑทไ่ี ดจากการกลัน่ น้ำมันดิบโดยตรง ซึง่ มี ชวงการกลั่นเหมือนกับแกสโซลีน ใชเปนวัตถุดิบ สำคั ญ สำหรั บ อุ ต สาหกรรมป โ ตรเคมี และเป น ตัวทำละลาย

Olefins

โอเลฟนส

เปนไฮโดรคารบอนทีไ่ มอม่ิ ตัว มีพนั ธะคูอ ยางนอย 1 แหงในโมเลกุล เชน เอทิลีน โพรพิลีน บิวทาไดอีน

Oleochemicals

โอลิโอเคมิคอล

เคมีภณั ฑจากผลิตภัณฑธรรมชาติ คือ ไขมันพืชและสัตว ไดแก แฟตตี้แอลกอฮอล เมทิลเอสเตอรกลีเซอรีน

O-Xylene หรือ Orthoxylene (OX)

ออรโธไซลีน

เปนสารอะโรเมติกส ที่มีหมูเมทิล 2 หมูตออยู ที่ตำแหนงที่ 1 และ 2 ของวงแหวน เบนซีนใชเปน วัตถุดิบสำหรับผลิตสารฟาทาลิกแอนไฮไดรดซึ่งเปน วัตถุดบิ ตัง้ ตนสาหรับการผลิตสารพลาสติกไซเซอร

Poly Ethylene Terephthalate (PET)

โพลีเอทิลีนเทเรฟทาเลต

หรืออาจเรียกวา “โพลีเอสเตอร” เปนโพลิเมอรที่ ไดจากปฏิกิริยาระหวางโมโนเอทิลีนไกลคอลกับ กรดเทเรฟทาลิก ใชเปนวัตถุดิบรวมกับโมโนเอทิลีน ไกลคอลในการผลิตเสนใยสังเคราะห ขวดบรรจุน้ำ แถบบันทึกเสียง เทปกาว ทำฟลม กลองบรรจุอาหาร เปนตน

Poly Vinyl Chloride - PVC

โพลีไวนิลคลอไรด

เปนเทอรโมพลาสติกที่ผลิตจากไวนิลคลอไรด มี 2 ชนิด คือ Unplasticized และ Plasticized ใชเปน วัตถุดิบตั้งตนในการผลิตทอน้ำ ทอรอยสายไฟฟา หนังเทียม เปนตน


3

1

0

Polymers

โพลิเมอร

สารเคมีทมี่ นี ำ้ หนักโมเลกุลสูง 5000 ขึน้ ไป ไดจากการ รวมตัวกันของโมโนเมอรชนิดเดียวกันหรือตางกัน เชน โพลีเอทิลีน ยาง เซลลูโลส

Polyurethane (PU)

โพลียูรีเทน

เปนเทอรโมพลาสติก ไดจากการเกิดโพลิเมอรแบบ กลั่นตัวระหวางไกลคอล และไดไอโซไซยาเนต โดย คุณสมบัติ แข็ง ออน หรือยืดหยุน จะขึน้ กับสารเติมแตง ที่ ใ ส เ ข า ไป ใช ผ สมกั บ ยางเพื่ อ ทำพื้ น รองเท า ฉนวนกันความรอน ทีป่ ด น้ำฝน เปนตน

Propylene

โพรพิลีน

ไฮโดรคารบอนไมอิ่มตัว ผลิตจากโพรเพน หรือ กาซปโตรเลียมเหลว หรือแนฟทา ใชเปนสารตัง้ ตน ในการผลิตโพลีโพรพิลนี บางครัง้ เรียกวา Propene แบงเปน 3 ประเภท ไดแก Refinery grade propylene และ Chemical grade propylene และ Polymer grade propylene ขึ้นอยูกับอัตราสวนระหวาง โพรพิลีนกับโพรเพน

P-xylene หรือ Paraxylene (PX)

พาราไซลีน

เปนสารอะโรเมติกสทมี่ หี มูเ มทิล 2 หมู ตออยูท ตี่ ำแหนง ที่ 1 และ 4 ของวงแหวนเบนซีน ใชเปนสารตั้งตน ในการผลิตกรดเทเรฟทาลิก

Pyrolysis gasoline

ไพโลไลซิลกาซโซลีน

เปนผลิตภัณฑพลอยไดจากกระบวนการแตกตัวดวย ไอน้ำเมื่อใชแนฟทาเปนวัตถุดิบ สามารถใชเปน สวนผสมในน้ำมันเบนซิน หรือใชเปนวัตถุดิบตั้งตน สำหรับการผลิตสารอะโรเมติกส

Toluene

โทลูอีน

เปนสารอะโรเมติกสทมี่ หี มูเ มทิล 1 หมูต อ กับวงแหวน เบนซี น สามารถใช เ ป น สารตั้ ง ต น สำหรั บ ผลิ ต สารอะโรเมติกสที่มีมูลคาสูงกวา ไดแก เบนซีน และ ไซลีน นอกจากนี้ยังสามารถใชเปนตัวทำละลาย ในสีทาบาน กาว แล็กเกอร และทินเนอร เปนตน

Toluene Di-Isocyanate - TDI

โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต

ไดจากปฏิกิริยาระหวางโทลูอีนไดเอมีนและฟอสจีน ใชในการผลิตโพลียูรีเทน




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.