.6' 5g 02
MEDIA REVOLUTIONIST
06
.6' 6 '4 6 ''% 6' B)4 '4 6 A ę6/ ę6 9I 'è/6'
34
17 4 ''% 6' 'è-5
38 '5"&Ĝ.8 9ID ę D 6' '4 1 <' 8
62
20 C& 6&B)4$6"'+% 6' '4 1 <' 8
40
ę1"ô"6 6 /%6&
ę1%=)/)5 '5"&Ĝ B)4 =ę ;1/<ę
ę1%=) 5I+E B)4 ę1%=).7 5g1;I
+6%'5 ċ 1 Ę1.5 % .8ø B+ )ę1% B)4 =ę 9IA 9I&+ ę1
99
6' + <%$6&D B)4 6' 'è/6' 5 6' +6%A.9I&
108 ę1%=) 6 6'A è 9I.7 5g
ĝ 5& +6%A.9I&
46
88
6' 7 5 =B) 8 6'
'6& 6''4/+Ę6 5
)5 - 4 6' '4 1 <' 8
44
78
93
30
C ' .'ę6
6' 5 6'
90 C& 6& 6' Ę1 ę6 6' < 'è 1'Ĝ'5 5
117 6'+èA '64/Ĝ B)4 71 8 6& 1 !ē6& 5 6'
6'A è
ã +è.5& 5, Ĝ »Å»ÁÀ
16'ĜA1. 4A ğ =ę 8+5 8 6'.'ę6 .'' Ĝ ) 6 5 A 8 ę+& +6%'5 ċ 1 Ę1.5 % ã "5 8 »ÅÅ»ÁÀ
16'ĜA1. 4 7A. 1 ) 6 5 A 8 < $6" < '= B A"÷I1 1 . 1 < +6% ę1 6' 1 )= ę6 ę+& 9% < )6 ' 9I%9 +6%A ğ A)8, "'ę1%'5 6'A )9I& B )
B)4B.+ /6C1 6.D/%ĘG 1&=ĘA.%1 $6&D ę'4 6' 5 6'B)4A C C)&9 9I 5 .%5& ã $6"'+% 6' '4 1 <' 8 1 'è-5 B)4 'è-5 &Ę1&
16'ĜA1. 7A 8 <' 8 /)5 B Ę 11 A ğ )<Ę% E ęB Ę <' 8 .;I1 <' 8 .< $6"B)4 +6% 6% <' 8 A") B)4 <' 8 '5 ę6 B)4 )8 8 ''% C & <' 8 .;I1%9.5 .Ę+ 9ID/gĘ 9I.< 5J .;I1C ' 5, ĜB)4+è &< C &%9 Ę1 ¤ 8 è 1) 9+éA ğ =ę 7 B)4&5 %9 Ę1 9+é 6+A 9&%19 Ę1 E ęB Ę Ę1 . 6& 9 9+é wº³ÀÀ·¾ '+% : );I +è &< w ¸³ºÄ·Àº·»Æ ¥ 'è-5 3 E ę Ę1&1 '6&E ęC & 6'A ę6.=Ę <' 8 .< $6"B)4 +6% 6%A"÷I1A ğ 6' 'è/6'B)4 5 6' 5 .;I1 D %;1D/ęA 8 '4C& Ĝ.= .<
PAGE
2
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
สารจากประธานกรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร “เขมทุกเรื่องราว สุดทุกอารมณ” นอกจากจะเปนปรากฏการณใหมของ “ชอง 8” ที่อารเอสนําเสนอสูสายตาผูชมในป 2559 ที่ผานมาแลวนั้น นับไดวาป 2559 เปน อี ก ป ที่ ก ารแข ง ขั น ในสื่ อ ต า งๆ มี ค วามเข ม ข น และหลากหลายอารมณ อ ย า งแท จ ริ ง ผู ป ระกอบการทั้ ง รายเก า รายใหม ต า งสรรสร า งรายการเพื่ อ แย ง ชิ ง สายตาผู ช ม ใหมากที่สุด แตในทางกลับกัน เม็ดเงินโฆษณากลับมีอยูอยางจํากัด สําหรับอารเอสเอง ก็มีการปรับเปลี่ยนองคกรในหลายดาน ทั้งการจัดโครงสรางธุรกิจใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มความสามารถ และมุงเนนการทํางานเพื่อใหบรรลุผล รวมกัน การเขาสูปที่ 3 ของการเปลี่ยนผานสูธุรกิจโทรทัศนระบบดิจิตอล “ชอง 8” อย า งเต็ ม ตั ว เรานํ า เสนอทั้ ง ละคร มวย ข า ว วาไรตี้ และซี รี ส ต า งประเทศที่ ส นุ ก เขมขนและทันสมัยเพื่อตอบโจทยกลุมผูชมที่หลากหลายมากขึ้น แตเราก็ไมลืมวาการ บริหารตนทุนอยางมีประสิทธิภาพก็มีสวนสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน อีกหนึ่งธุรกิจสื่อ นัน่ คือ ธุรกิจวิทยุอยาง “คูลฟาเรนไฮต 93” ซึง่ อยูใ นอุตสาหกรรมทีอ่ มิ่ ตัว ก็ตอ งปรับตัว เพื่ อ รั ก ษาส ว นแบ ง ตลาดและความเป น ผู นํ า ให ไ ด อ ย า งต อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง การขยั บ ตั ว เขาสูธุรกิจสุขภาพและความงามที่เปนความทาทายในสภาพเศรษฐกิจปจจุบัน อารเอส มองเห็นประโยชนของการนําสื่อที่มีอยูในมือเพื่อใชเพิ่มรายไดใหแกบริษัทฯ เราเริ่มจาก การพั ฒ นาสิ น ค า โดยเน น ไปที่ ก ารขายและการตลาดผ า นช อ งทางสื่ อ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ง “ชอง 8” “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” รวมถึงสื่อวิทยุและอื่นๆ ซึ่งไดรับผลตอบรับ ดีเกินคาด ทําใหในป 2559 อารเอสไดตอยอดรายไดดวยการเพิ่มชองทางการขายและ สรางแบรนดใหเปนที่รูจักในวงกวาง ภายใต “บริษัท ไลฟสตาร จํากัด” นําโดยแบรนด “มาจีค” ผานทางโฆษณาโทรทัศน สื่อนอกบาน รวมถึง “มาจีค” ยังไดเขาไปจําหนาย ในรานวัตสัน อีฟแอนดบอย ท็อปส และกูรเมตมารเก็ตในเครือเดอะมอลลใกลบานทาน ภาพรวมในป 2559 นั้น ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเมื่อเทียบกับปกอนหนายังอยู ในเกณฑทรงตัว โดยขยายตัวไดเพียงรอยละ 3.2 ปจจัยภายนอกยังมีความไมแนนอนสูง และการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกอยูในระดับตํ่า แมวารัฐบาลจะออกมาตรการกระตุน เศรษฐกิจ เชน มาตรการเพิ่มรายไดใหแกผูมีรายไดนอย มาตรการชวยเหลือเกษตรกร และเศรษฐกิจฐานราก มาตรการกระตุนภาคอสังหาริมทรัพย มาตรการภาษีกระตุน เศรษฐกิจและการทองเที่ยว เปนตน การเรงรัดการเบิกจายของรัฐบาลและโครงการ ลงทุนโครงสรางพื้นฐานที่มีความกาวหนามากขึ้น รวมถึงอัตราดอกเบี้ยและเงินเฟอ ที่ยังอยูในระดับตํ่า แตภาคประชาชนกลับยังมีการใชจายในระดับตํ่า ซึ่งสงผลตอเนื่อง มาถึ ง อุ ต สาหกรรมโฆษณาที่ มี ก ารเติ บ โตสั ม พั น ธ กั บ เศรษฐกิ จ ของประเทศก็ ไ ด รั บ ผลกระทบตามไปดวย ประกอบกับการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามิ น ทราธิ ร าช
ท ามกลางโลกของ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว กอปรกับการแข งขันที่รุนแรง และมีความหลากหลาย องค กรที่จะเติบใหญ อย างยั่งยืนได ต องเป นองค กร คุณภาพ อาร เอสจึงไม เคยหยุดนิ่ง และพร อมสําหรับการปรับเปลี่ยน ตลอดเวลา ในป ที่ผ านมา อาร เอสมีการปรับโครงสร าง องค กรแบบเข มข น เราพัฒนา ตนเองตลอดเวลา ปรับทีมทํางาน และพร อมสนับสนุนบุคลากร
3
PAGE
4
บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 ประชาชนทั้งประเทศตางโศกเศราและรวมกันไวอาลัยตอพระองคทาน สื่อโทรทัศน และวิ ท ยุ ไ ด ง ดการเผยแพร ร ายการ ทํ า ให ใ นช ว งไตรมาส 4 ของป 2559 เม็ ด เงิ น โฆษณาในช ว ง 30 วั น แรกถู ก เลื่ อ นออกไป และกระเตื้องขึ้นเพียงเล็กนอยในชวงปลายป คาดวาอุตสาหกรรมสื่อและโฆษณาจะกลับมาคึกคักอีกครั้งหลังผานไตรมาส 1 ป 2560 ซึ่งไตรมาสดังกลาวเปนชวงที่รายไดสื่อไมสูงนัก ผลประกอบการของป 2559 บริษัทฯ มีรายไดรวมเทากับ 3,249 ลานบาท ลดลงจากปกอนหนา เนื่องจากบริษัทฯ มีรายได จากธุ ร กิ จ สื่ อ โทรทั ศ น ผ า นดาวเที ย ม “ช อ ง 2” และ “สบายดี ที วี ” ลดลงอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ตามการหดตั ว ลงของอุ ต สาหกรรม โทรทัศนผานดาวเทียมโดยรวม อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดบริหารตนทุนของชองดาวเทียมใหมีประสิทธิภาพมากที่สุดในสถานการณ ป จ จุ บั น และคาดว า เมื่ อ เศรษฐกิ จ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น โทรทั ศ น ด าวเที ย มจะกลั บ มาเป น กํ า ลั ง สํ า คั ญ ในการสร า งรายได ใ ห แ ก บ ริ ษั ท ฯ และมีความสามารถในการทํากําไรดีเนื่องจากมีตนทุนตํ่ากวาโทรทัศนระบบดิจิตอลมาก ในสวนของ “ชอง 8” ที่มีเรตติ้งเปน อั น ดั บ ต น ๆ ของประเทศทํ า รายได สู ง ขึ้ น กว า ป 2558 เล็ ก น อ ยแม ว า จะได รั บ ผลกระทบจากการเลื่ อ นการใช เ ม็ ด เงิ น โฆษณา ในไตรมาส 4 แตผลจากการปรับผังและคุณภาพรายการใหเขมขนขึ้น ดังจะเห็นไดจาก “คุยขาวเชาชอง 8” มีผูชมทะลุ 1.5 ลานคน ทําใหเรตติ้งกลุมรายการขาวติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนระบบดิจิตอลหนาใหม และอันดับ 3 ของประเทศ รวมถึง กลุมรายการมวยและละครก็ไดรับความนิยมสูง ในสวนของรายไดธุรกิจสื่อวิทยุลดลง เนื่องจากอยูในอุตสาหกรรมที่คอนขาง อิ่มตัว แต “คูลฟาเรนไฮต 93” ก็ยังสามารถรักษาสวนแบงทางการตลาดทั้งในแงของรายไดและจํานวนผูฟงอยูในอันดับ 1 ของกลุม Easy Listening และอั น ดั บ 2 ของประเทศ ธุ ร กิ จ เพลงมี ร ายได ล ดลงจากป ก อ นหน า อั น เนื่ อ งมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของผูบริโภคที่มีรูปแบบการฟงเพลงผานออนไลน ซึ่งรายไดจากออนไลนยังเติบโตไมพอเพียงกับรายไดที่หายไปของการจัดจําหนาย เพลงแบบเดิม อารเอสเองก็ไมหยุดนิ่ง เราไดปรับโครงสรางธุรกิจเพลงจนเรียกไดวาเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจเพลง ที่เชื่อวา จะมั่นคงและยั่งยืน โดยเปดโอกาสใหศิลปนทุกคนมีสวนรวมในการลงทุนผลิตและวางแผนผลงานเพลงในลักษณะกึ่งพันธมิตร ทางธุรกิจ ซึ่งสงผลดีตอตัวศิลปนทั้งในเรื่องการวางแผนงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานของผลงาน ตลอดจนการพัฒนาตนเอง อยางสมํ่าเสมอ ขณะเดียวกันบริษัทฯ ก็สามารถบริหารจัดการตนทุนการผลิตไดแมนยํายิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจเพลงยังคงเปนธุรกิจ ที่บริษัทฯ ใหความสําคัญเนื่องจากเปนตนทางของคอนเทนต และบุคลากรทางดานบันเทิงสวนใหญของบริษัทฯ ที่สามารถตอยอด ไปสู ธุ ร กิ จ สื่ อ ได ส ว นรายได ธุ ร กิ จ รั บ จ า งและผลิ ต กิ จ กรรมมี ร ายได เ พิ่ ม ขึ้ น จากป ก อ นหน า เนื่ อ งจากรั บ รู ร ายได จ ากกิ จ กรรม ขนาดใหญ ในสวนของธุรกิจใหม คือ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายใตบริษัท “ไลฟสตาร” ไดเปดตัวสินคาใหเปนที่รูจักทั่วประเทศ และขยายชองทางการจัดจําหนายสูรานคาปลีกสมัยใหมทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดรวมกวาพันสาขา ทั้งนี้ ในสวนของรายไดนั้น ทรงตัวเมื่อเปรียบเทียบกับป 2558 จากเศรษฐกิจที่ขยายตัวตํ่าและการใชจายภาคครัวเรือนที่ยังไมฟนตัวนัก สงผลตอการตัดสินใจ เลือกซื้อสินคาของผูบริโภค อีกทั้งในไตรมาส 4 บริษัทฯ ไมสามารถโฆษณาและจัดจําหนายสินคาผานชองทางสื่อของบริษัทฯ ไดมากนักจากการเลื่อนออกอากาศรายการภายหลังวันที่ 13 ตุลาคมที่ผานมา อยางไรก็ตาม การบุกตลาดภายนอกทําใหอารเอส ไดเรียนรูถึงปญหาและอุปสรรคตางๆ ของธุรกิจนี้ เราเชื่อมั่นวาในป 2560 เราไดพัฒนาแนวทางที่เหมาะสมและดีขึ้น พรอมที่จะเปน อีกกาวที่ยิ่งใหญสําหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม ท า มกลางโลกของการเปลี่ ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว กอปรกั บ การแข ง ขั น ที่ รุ น แรงและมี ค วามหลากหลาย องค ก รที่ จ ะเติ บ ใหญ อย า งยั่ ง ยื น ได ต อ งเป น องค ก รคุ ณ ภาพ อาร เ อสจึ ง ไม เ คยหยุ ด นิ่ ง และพร อ มสํ า หรั บ การปรั บ เปลี่ ย นตลอดเวลา ในป ที่ ผ า นมา อาร เ อสมี ก ารปรั บ โครงสร า งองค ก รแบบเข ม ข น เราพั ฒ นาตนเองตลอดเวลา ปรั บ ที ม ทํ า งานและพร อ มสนั บ สนุ น บุ ค ลากร ให มี คุ ณ ภาพเพื่ อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพขององค ก รแบบยั่ ง ยื น รวมทั้ ง การปรั บ โครงสร า งการบริ ห ารเพื่ อ ให เ กิ ด ความคล อ งตั ว และทําใหคณะกรรมการบริหารและฝายจัดการมีการสื่อสารกันอยางใกลชิด นอกเหนือจากการมุงเนนใหพนักงานพัฒนาความรู ความสามารถของตนเองอยูตลอดเวลาแลวนั้น บริษัทฯ ยังสงเสริมใหผูบริหาร พนักงาน และศิลปนของอารเอสไดนอมนําหลัก
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาใชในชีวิตประจําวัน รวมถึงการทําประโยชน เพื่อสังคมควบคูกับการดําเนินธุรกิจบันเทิงอยางตอเนื่อง โดยในป 2559 ที่ผานมา เราไดเขารวมโครงการเพื่อสังคมมากมาย เชน “ชอง 8 Share To Child” เปนการนําดาราศิลปนปนรักวันเด็กแกนองๆ บานนนทภูมิ ศิลปนอารเอสเซ็นสัญญารับภารกิจ เปนฑูตสมาคมปองกันการทารุณสัตวแหงประเทศไทย ทีมผูประกาศขาวชวยเหลือผูประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศิลปน ดาราอารเอสรวมรณรงคกวาดลางยุงลาย กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย ณ ทําเนียบรัฐบาล รวมถึงการรวมพลังทําดีเพื่อพอ ลงพื้นที่ชวยผูประสบภัยหนาว จังหวัดเชียงใหม เปนตน อีกหนึ่งความภาคภูมิใจของอารเอส คือ การจัดทําบทเพลงพิเศษ “รักพอ... ไมมีวันพอเพียง” เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในสวนของนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ไดรับการจัดอันดับอยูในกลุม Very Good CG Scoring จากผลสํารวจ การกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําป พ.ศ. 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ ได มี ก ารทบทวนนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณธุ ร กิ จ เป น ประจํ า ทุ ก ป พร อ มทั้ ง ให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานถือปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวมาโดยตลอด ในป 2559 บริษัทฯ ไดนํานโยบายการปองกันการ มีสวนเกี่ยวของกับคอรรัปชัน (Anti-corruption Policy) มาพิจารณาใหมีความชัดเจนและครอบคลุมมากขึ้นเพื่อควบคูไปกับ การดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณทานผูถือหุน พันธมิตรทางธุรกิจ ลูกคา หนวยงานราชการ และผูมีอุปการคุณ ทุ ก ท า นที่ เชื่ อ มั่ น ไว ว างใจ และสนั บ สนุ น บริ ษั ท ฯ ด ว ยดี เ สมอมา รวมถึ ง พนั ก งานและศิ ล ป น ทุ ก ท า นที่ ทุ ม เทแรงกาย แรงใจ มีความพรอมที่จะปรับเปลี่ยนและเผชิญกับทุกสถานการณแมในชวงที่ทาทายของธุรกิจสื่อเชนทุกวันนี้ เราจะรวมมือกันนําพาองคกร ใหกาวเดินตอไปสูการเปนบริษัทชั้นนําของทุกคน
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ประธานกรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร
5
PAGE
6
คณะกรรมการบริษัท
คุณสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ตําแหน ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ าหน าที่บริหาร
คุณพรพรรณ เตชรุ งชัยกุล
ตําแหน ง กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจ าหน าที่ฝ ายปฏิบัติการ
คุณดามพ นานา
ตําแหน ง กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ าหน าที่ฝ ายการเงิน
คุณดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
ตําแหน ง กรรมการ และประธานเจ าหน าที่ฝ ายกฎหมาย
คุณศุภชัย นิลวรรณ
ตําแหน ง กรรมการ และรองกรรมการผู อํานวยการอาวุโส
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
คุณโสรัตน วณิชวรากิจ ตําแหน ง กรรมการ
คุณพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
ตําแหน ง กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน
พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน
คุณวรรณสุดา ธนสรานาต
ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน
PAGE
7
PAGE
8
คณะกรรมการบริษัท
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ตําแหน ง : ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ าหน าที่บริหาร สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 33.09 อายุ 54 ป การศึกษา : ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ●
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : กรรมการ บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด กรรมการ บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด กรรมการ บริษัท ไทเกอรฟน จํากัด กรรมการ บริษัท เชษฐโชติ จํากัด
●
●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2546
●
การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2555 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2535 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - 2555 รองประธานกรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
●
สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
389,400,000 1,246,300 54,000,000 334,153,700
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
9
นางพรพรรณ เตชรุ งชัยกุล
ตําแหน ง : กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจ าหน าที่ฝ ายปฏิบัติการ สัดส วนการถือหุ น : อายุ 46 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Executive Development Program รุนที่ 4 (EDP4) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
2550 - ปจจุบัน
●
●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Director Accreditation Program (DAP) ป 2547 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2554 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน)
2547 - ปจจุบัน
ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการบริหาร ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
-
PAGE
10
นายดามพ นานา
ตําแหน ง : กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ าหน าที่ฝ ายการเงิน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 47 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) University of Notre Dame, Indiana, USA ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2551 Director Accreditation Program (DAP) ป 2551 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2550 - ปจจุบัน กรรมการ และกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2554 - 2559 กรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - 2559 กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2545 - 2550 Senior Vice President ธนาคารฮองกงและเซี่ยงไฮแบงกิ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (HSBC)
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
-
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
11
นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
ตําแหน ง : กรรมการ และประธานเจ าหน าที่ฝ ายกฎหมาย สัดส วนการถือหุ น : อายุ 61 ป การศึกษา : น.บ.ท. เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมาย แหงเนติบัณฑิตยสภา น.บ. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประกาศนียบัตร กฎหมายการคาระหวางประเทศ สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ประกาศนียบัตร กฎหมายภาษีอากร สํานักอบรม และศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา
2551 - ปจจุบัน
●
2550 - 2558
●
●
2555 - 2557
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2551 Director Accreditation Program (DAP) ป 2551 Financial Statements for Directors (FSD) ป 2551 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2558 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่ฝายกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
2540 - 2550
กรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สํานักกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
-
PAGE
12
นายศุภชัย นิลวรรณ
ตําแหน ง : กรรมการ และรองกรรมการผู อํานวยการอาวุโส สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 0.01 อายุ 49 ป การศึกษา : ปริญญาตรี คณะวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Executive Development Program รุนที่ 8 (EDP8) ป 2554 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย Advanced Retail Management รุนที่ 8 (ARM8) ป 2554 บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) ●
●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2559 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2558 - ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูอํานวยการ - ธุรกิจเพลง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2544 - 2550 กรรมการผูจดั การ บริษัท อารสยาม จํากัด
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
76,500 76,500
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
13
นายโสรัตน วณิชวรากิจ
ตําแหน ง : กรรมการ สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 11.39 อายุ 43 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) ●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2556 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2555 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2543 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท แพนเอเชียอุตสาหกรรม จํากัด การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : บริษัท แพนเอเชียอุตสาหกรรม จํากัด
●
สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
114,000,000 1,000,000 115,000,000
PAGE
14
นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
ตําแหน ง : กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 75 ป การศึกษา : ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี พาณิชยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 966
2544 - ปจจุบัน
●
●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Audit Committee Program (ACP) ป 2548 Director Accreditation Program (DAP) ป 2547 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2557 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จํากัด (มหาชน) กุมภาพันธ 2550 - กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน และประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - ปจจุบัน กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และรองประธานกรรมการสรรหา และคาตอบแทน บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน)
2535 - ปจจุบัน 2545 - 2557
ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัทที่ปรึกษาในเครือบริษัท โปรเฟสชั่นแนล อัลไลแอนซ กรุป จํากัด กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท โปลิฟารม จํากัด กรรมการบริหาร บริษัท ภูเก็ต อินเตอรเนชั่นแนล ฮอสปตอล จํากัด
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : กรรมการ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัทที่ปรึกษาในเครือบริษัท โปรเฟสชั่นแนล อัลไลแอนซ กรุป จํากัด กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท โปลิฟารม จํากัด
●
●
●
●
สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
-
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
15
พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
ตําแหน ง : กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 70 ป การศึกษา : ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิตทางพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) ปริญญาตรี โรงเรียนนายรอย Sandhurst U.K. ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง ●
●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 Audit Committee Program (ACP) ป 2550 Finance for Non-Finance Director (FN) ป 2550 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2557 - ปจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 2557 มกราคม 2550 - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กุมภาพันธ 2550 - กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ปจจุบัน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2549 รองผูบัญชาการทหารสูงสุด (ทบ.) กองบัญชาการทหารสูงสุด 2548 ประธานคณะที่ปรึกษา กองทัพบก 2543 ผูบัญชาการศูนยอํานวยการสรางอาวุธ กองทัพบก
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
-
PAGE
16
นางวรรณสุดา ธนสรานาต
ตําแหน ง : กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 0.02 อายุ 65 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม ●
●
การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2559 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 13 มกราคม 2559 - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - ปจจุบัน Senior Vice President ลูกคาจีน ลูกคาธุรกิจรายกลาง ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั อื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)
90,000 120,000 210,000
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
17
PAGE
18
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ อารเอสไดดําเนินการกอตั้งในป พ.ศ. 2519 โดยเริ่มตนจากการทําธุรกิจเพลงครบวงจร ตอมาบริษทั ไดแปลงสภาพเปนบริษทั มหาชน และไดทาํ การจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในป พ.ศ. 2546 ดวยทุนจดทะเบียน 560 ลานบาท และภายหลัง ไดเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)” โดย ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท มีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกชําระแลว จํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท อยางไรก็ดี บริษัทไดขยายธุรกิจมาอยางตอเนื่องจากธุรกิจเพลง ไปสูธุรกิจสื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม โดยเมื่อปลายป 2556 บริษัทฯ เปนผูชนะ การประมูลคลื่นความถี่ เพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจ ระดับชาติ หมวดหมูทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (Standard Definition) จํานวน 1 ชอง และบริษัทฯ ไดนํา “ชอง 8” ที่เดิมออกอากาศอยูบนระบบโทรทัศนผานดาวเทียม เปลี่ยนมาออกอากาศในระบบดิจิตอลแทน ตั้งแตเดือนเมษายน ป 2557 เปนตนมา บริษัทไดดําเนินการภายใตวิสัยทัศน (Vision) และพันธกิจ (Mission) รวมถึงเปาหมาย การดําเนินธุรกิจ ดังนี้
วิสัยทัศน (Vision) “อารเอสจะเปนผูปฏิวัติการสรางสรรคผลงานบันเทิง ดวยความรับผิดชอบตอสังคม”
พันธกิจ (Mission) “อารเอสจะนําเสนอผลงานบันเทิงคุณภาพทุกรูปแบบ เพื่อตอบสนองทุกความตองการ ของลูกคา ดวยทีมบุคลากรที่มีความเปนเลิศ พรอมรับการเปลี่ยนแปลงและแสวงหา โอกาสใหมๆ อยูเสมอ ภายใตระบบการจัดการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย”
เป าหมายการดําเนินธุรกิจใน 5 ป ขา งหน า (5-Year Business Direction) “อารเอส เปนองคกรที่ทําธุรกิจรวมกับ “โอกาส” โดยมุงเนนความเปนผูนํา และลงทุน อยางตอเนื่องเพื่อความยั่งยืนในธุรกิจสื่อ และขยายไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจสื่อ โดยใหมีสัดสวนรายไดเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญเพื่อเสริมความแข็งแกรงของรายไดรวม ของบริษัทฯ”
ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย อย ปจจุบันอารเอส ดําเนินธุรกิจหลักแบงออกเปน 4 กลุม ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสุขภาพ และความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม โดยธุรกิจสื่อมีสัดสวน ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ประกอบไปด ว ย สื่ อ โทรทั ศ น และสื่ อ วิ ท ยุ โดยมี ช อ ง 8 ดิ จิ ต อลที วี เปนผูนํา และยังมีชองทีวีดาวเทียมอีก 3 ชอง ไดแก ชอง 2 ชองสบายดีทีวี และชอง
YOU Channel โดยแตละชองรายการ ของบริษัทฯ ไดรับผลตอบรับที่ดีทั้งในแง ของผู ช มและลู ก ค า ผู ล งโฆษณา รวมถึ ง คลื่นวิทยุ COOLfahrenheit 93 ก็ยังคง รั ก ษาฐานผู ฟ ง ที่ ชั ด เจนและได รั บ ความ นิยมเปนอันดับหนึ่ง ทําใหธุรกิจสื่อของ บริษทั ฯ มีการเติบโตอยางตอเนือ่ ง บริษทั ฯ ไดตอ ยอดรายไดโดยการเขาสูธ รุ กิจสุขภาพ และความงามเพื่ อ เป น การบริ ห ารและ จัดการกับสื่อในมือใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได มี ก ารลงทุ น ผานบริษัทยอยตางๆ โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัทยอยในเครือของบริษัท ที่ลงทุนเองรอยละ 100 และดําเนินธุรกิจอยู ประกอบดวย -
บริษัท อาร.เอส. เทเลวิชั่น จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโทรทัศนในระบบดิจิตอล
-
บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโฆษณาและ จําหนายผลิตภัณฑเสริมความงาม
-
บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจสื่อวิทยุ
-
บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจจัดเก็บคาลิขสิทธิ์
-
บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท โพเอมา จํากัด) (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจรับจางจัดกิจกรรม
-
บริษัท ยาค จํากัด (รอยละ 99.97) ดําเนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน
-
บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน
โครงสร างการถือหุ นของบริษัทเป นดังนี้ บริษัท อาร เอส จํากัด (มหาชน)
สื่อโทรทัศน
ธุรกิจรับจ าง และผลิตกิจกรรม
ธุรกิจเพลง
ธุรกิจสื่อ สื่อวิทยุ
บมจ.อาร เอส 99.99% บจ.อาร .เอส. เทเลวิชั่น
99.99% บจ.คูลลิซึ่ม
ธุรกิจสุขภาพและความงาม
บมจ.อาร เอส
บมจ.อาร เอส
99.99% บจ.จัดเก็บ ลิขสิทธิ์ ไทย
99.97% บจ.ย าค
99.99% บจ.ไลฟ สตาร
99.99% บจ.อาร อัลไลแอนซ 99.99% บจ.บันเทิง วาไรตี้
หมายเหตุ : - ตัวเลขรอยละ (แสดงเปนเปอรเซ็นต) แสดงสัดสวนการถือหุนของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) - กรณีที่ไมใชบริษัทยอยที่ถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 100 กลุมผูถือหุนหลักสวนที่เหลือไมไดเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) - บริษัทที่หยุดธุรกรรมชั่วคราว ไดแก บจ.อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร, บจ.อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท, บจ.บลูแฟรรี่, บจ.เวรี่เวลล, บจ.อะลาดิน เฮาส และ บจ.ดีมีเดีย แอนดโปรดักชั่น - บริษัทที่เลิกกิจการ และอยูระหวางการชําระบัญชี ไดแก บจ.อารเอส อินสโตรมีเดีย
19
PAGE
20
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
21
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ธุรกิจในปจจุบันของกลุมอารเอส ประกอบดวย 4 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจาง และผลิตกิจกรรม
โครงสร างรายได ประเภทรายได
กลุมธุรกิจสื่อ กลุมธุรกิจสุขภาพและความงาม กลุมธุรกิจเพลง กลุมธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดจากธุรกิจอื่น รวมรายได
2557 (ล านบาท)
3,356.8 1.2 566.1 350.2 32.1 4,306.4
สัดส วน (ร อยละ)
2558 (ล านบาท)
78 0 13 8 1 100
2,246.1 231.9 463.6 707.4 79.7 3,728.7
สัดส วน (ร อยละ)
60 6 13 19 2 100
2559 (ล านบาท)
1,814.7 227.9 321.6 753.2 7.6 3,124.9
สัดส วน (ร อยละ)
58 8 10 24 0 100
ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสื่อของอารเอส ประกอบดวย 2 สื่อหลัก ไดแก สื่อโทรทัศน และสื่อวิทยุ
ธุรกิจสื่อโทรทัศน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจทีวีดิจิตอลชอง 8 และโทรทัศนดาวเทียมจํานวน 3 ชอง ไดแก ชอง 2 ชองสบายดีทีวี และชอง YOU Channel ซึ่งมีรูปแบบ คอนเซ็ปต และกลุมเปาหมายที่แตกตางกัน ดังนี้
ช อง 8 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” เปดตัวโลโกใหม ภายใตคอนเซ็ปต “เขมทุกเรื่องราว สุดทุก อารมณ” นําเสนอรายการที่ตอบโจทยความตองการของกลุมผูชมโทรทัศนสวนใหญ ของประเทศ พร อ มทั้ ง ขยายฐานผู ช มกลุ ม คนเมื อ ง ด ว ยการผลิ ต และสร า งสรรค ความบันเทิงแบบครบทุกรูปแบบ วางคอนเซปตใหเปนฟรีทีวีที่เขาถึงผูคนไดหลากหลาย เพศและวัย โดยมีรายการที่เปนแมเหล็กของชอง ไดแก ละครใหมออกอากาศเปนครั้งแรก (First Run) ในป 2559 ชอง 8 มีละครใหมออกอากาศเปนครั้งแรก จํานวน 8 เรื่อง ไดแก “สะใภรสแซบ” “พี่เลี้ยง” “มนตรักอสูร” “บาปบรรพกาล” “ลาดับตะวัน” “บวงรัก สลักแคน” “แมนาก” และ “กระถินริมรั้ว” นอกจากนี้ยังมีรายการตางๆ ในรูปแบบ ที่หลากหลาย อาทิ รายการกีฬา “8 Max มวยไทย” “เดอะแชมเปยน มวยไทยตัดเชือก”
PAGE
22
รวมถึงมวยระดับโลกที่ไดรับลิขสิทธิ์มาถายทอดสด ไดแก “ศึกมวยโลก ชอง 8 HBO Boxing” “UFC มวยกรง 8 เหลี่ยม” โดยในป 2559 ไดเพิ่มความมันสดวยรายการมวยในวันศุกรชวงไพรมไทม ไดแก “มวยไทย แบทเทิ้ล” และตอดวย “มวยมันส ซูเปอร Max” รวมถึง รายการขาวที่ถูกนําเสนอใหดูงาย เขาใจงาย เปนตนแบบรายการขาวชวงเชาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในประเทศ และไดรับความนิยม ติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนในระบบดิจิตอลรายใหม และอันดับ 3 ของประเทศ สําหรับ “คุยขาวเชาชอง 8” ตามมาดวย “ขาวเดนชอง 8” “คุยขาวเย็นชอง 8” และ “ขาวเดนรอบวันชอง 8” รวมถึงการเพิ่มรายการขาว “สะดุดขาวเด็ด” นําเสนอขาวขําขัน ทุกประเภททั้งในประเทศและตางประเทศ และ “ปากทองตองรู” รายการขาวเศรษฐกิจ เรื่องรองทุกขชวยชาวบาน พาชิมเมนูเด็ด และสถานที่ทองเที่ยวสุดฮิต รวมอยูภายในรายการเดียว “ชอง 8” ยังเพิ่มความเขมขนดวยรายการวาไรตี้ตางๆ อาทิ “บันเทิง108” “ปากโปง” “เสียงสวรรคพิชิตลาน” “ครัวลั่นทุง” “ซุปตารตลาดแตก” “อึ้งทึ่งเสียวกําลังสอง” “The Guest ตีสนิทคนดัง” “สไมลเรนเจอรขบวนการอัพยิ้ม” และ “English สะกิดตอมฮา” รวมไปถึงการนําซีรีสตางประเทศยอดนิยมทั้งเกาหลีและจีนมาออก อากาศหมุนเวียนกันไปตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งรายการตางๆ เหลานี้ทําให “ชอง 8” มีเรตติ้งครองอันดับตนของประเทศ จากการสํารวจ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) เดือนธันวาคม 2559
ช อง 2 สถานีโทรทัศน “ชอง 2” ภายใตคอนเซปต “วาไรตี้ฮอต ละครฮิต” ที่รวบรวมสุดยอด รายการวาไรตี้ ละครที่ไดรับความนิยมอยางสูงจากชอง 8 และซีรีสตางประเทศ คัดสรร และนําเสนออยางเขมขนบน “ชอง 2” เพื่อรักษาฐานกลุมผูชมที่ชื่นชอบความบันเทิง อยางครบรส รวมไปถึงสื่อที่ครอบคลุมเพื่อใชในการโปรโมทชอง เขาถึงกลุมเปาหมาย และการสนับสนุนจากเหลาพันธมิตรมากมายที่ใหการตอบรับเปนอยางดี
ช อง สบายดีทีวี ชอง “สบายดีทวี ”ี จับกลุม เปาหมายผูช นื่ ชอบเพลงไทย ในหลากหลายแนวเพลง ไมเพียงแต จํากัดเฉพาะเพลงลูกทุงเทานั้น ยังมีเพลงแนวเพื่อชีวิต เพลงสตริง เพลงฮิตในอดีต และ เพลงเกาหาฟงยาก ภายใตสโลแกน “ชองเพลงฮิตอันดับหนึ่งของเมืองไทย” ดวยจุดแข็ง ของชอง “สบายดีทวี ”ี ทีด่ แู ลการผลิตและบริหารคอนเทนตเองภายใตคา ยเพลงอารสยาม ทําใหมีจุดแข็งในการนําเสนอรายการไดหลากหลายรูปแบบ ทั้งในเชิงลึกและเชิงกวาง สามารถดึงศักยภาพของศิลปนมาใชไดอยางเต็มที่ ควบคูไ ปกับการคัดสรรผูด าํ เนินรายการ ที่มีเอกลักษณ เปนที่จดจําและชื่นชอบกับคนหลากหลายกลุม จึงทําใหชอง “สบายดีทีวี” เปนชองทีส่ ามารถรับชมไดอยางเพลิดเพลิน สนุกสนานไดตลอดทัง้ วัน และสามารถสือ่ สาร ถึงกันผานขอความมือถือ (sms) และภาพหนาจอ (display) ไดตลอดเวลา
ช อง YOU Channel ชอง “YOU Channel” ชองรายการที่มาพรอมคอนเซ็ปต “ชองเพลงไทยสากลของ คนทั้งชาติ” ตอบโจทยกลุมผูชมและผูฟงที่มีหัวใจรักในเสียงดนตรีทุกเพศ ทุกวัย นําเสนอ คอนเทนตในรูปแบบของมิวสิควีดโี อหรือภาพคอนเสิรต ของศิลปนทีห่ ลากหลาย เพือ่ สราง กระแสนิยม และเปนชองทางในการโปรโมทศิลปนในเครืออารเอส
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
การตลาดและการแข งขัน ในป 2559 อุตสาหกรรมสื่อโทรทัศนมีการแขงขันเพื่อแยงชิงสายตาคนดูและเม็ดเงินโฆษณามีความรุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต เนื่องจาก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. ไดจดั ใหมกี ารประมูลใบอนุญาตดิจติ อล ทีวีประเภทธุรกิจจํานวน 24 ใบอนุญาต ทําใหมีคูแขงรายใหมเกิดขึ้นมากมาย ชอง 8 ในฐานะที่เปนชองที่มีประสบการณในการทําสื่อ ุ ภาพ โทรทัศนมาอยางยาวนานจากการทีเ่ คยอยูใ นธุรกิจโทรทัศนดาวเทียมมากอน ทําใหบริษทั ฯ มีความรูค วามสามารถ ผลิตผลงานทีม่ คี ณ ไดถูกใจผูชมเปนอยางดีมาอยางตอเนื่อง ถึงแมวาการเกิดขึ้นของดิจิตอลทีวีในประเทศไทยจะทําใหหลายฝายตางใหความสนใจ ไมวาจะเปนผูชมหรือลูกคาผูลงโฆษณาที่ตาง เทเม็ดเงินโฆษณาเขามาในอุตสาหกรรมดิจิตอลทีวี แตอยางไรก็ตาม จากการแขงขันของผูประกอบการอยางสูงในปจจุบัน ประกอบกับ สภาพเศรษฐกิจที่มีการเติบโตไมสูงนัก ทําใหเม็ดเงินโฆษณาในระบบคอนขางจํากัด และบางสวนถูกยายไปสําหรับการโฆษณาผานสื่อ ออนไลน การจะอยูใหไดในอุตสาหกรรมนี้ การผลิตรายการใหโดดเดน เปนที่สนใจ และตรงกับความตองการของกลุมเปาหมาย รวมถึง การบริหารตนทุนการผลิตรายการอยางเหมาะสม เปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งยวดในธุรกิจนี้ และอีกสิ่งหนึ่งที่ละเลยไมได ก็คือ การนํา คอนเทนตที่นาสนใจไปวางไวบนสื่อออนไลนในชวงเวลาที่เหมาะสม ก็จะกอใหเกิดรายไดอีกทางหนึ่ง อยางไรก็ตาม ผูชมสวนใหญเกือบรอยละ 60 ของประเทศยังคงรับชมชองโทรทัศนผานดาวเทียม และตนทุนการประกอบการโทรทัศน ผานดาวเทียมนั้นไมสูงนักเมื่อเทียบกับดิจิตอลทีวี ดังนั้นบริษัทฯ จึงยังคงใหความสําคัญกับธุรกิจทีวีดาวเทียม ทั้งชอง 2 และชอง สบายดีทวี ี และพยายามรักษาความผูน าํ ในธุรกิจทีวดี าวเทียมไว โดยเชือ่ วาในชวงทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศพลิกฟน ตัวดีขนึ้ เม็ดเงินโฆษณา ผานทีวีดาวเทียมจะเพิ่มขึ้นมาก และมีความสามารถในการทํากําไรไดเปนอยางดี
กลยุทธ การตลาด 1) กลยุทธการกําหนดตราสินคาของบริษัท และจุดยืนทางการตลาด (positioning) ของรายการ บริษัทฯ ไดกําหนดตําแหนงทางการตลาดของธุรกิจไวอยางชัดเจน ในรายการแตละประเภท การสื่อสารภาพลักษณของบริษัทฯ และการออกแบบรายการมุงเนนตอบสนองกลุมเปาหมายโดยเฉพาะ โดยพิจารณาพฤติกรรมของผูชมแตละกลุม และกระแส ที่กําลังเปนที่นิยม ทั้งนี้สอดรับกับกลยุทธของกลุมบริษัทฯ ซึ่งมีความเขมแข็งและมีความสามารถในการแขงขันในตลาดสูง 2) กลยุทธการใชจุดแข็งทางการแขงขันของกลุมอารเอสมาเปนองคประกอบหลักในการผลิตเพื่อใหไดรายการที่มีคุณภาพ นอกจากกําหนดกลุมผูชมเปาหมายที่ชัดเจน การออกแบบและผลิตรายการใหมีคุณภาพนั้น บริษัทฯ ยังไดนําจุดแข็งทางการแขงขัน ขององคกรในกลุมตลาดวัยรุนและตลาดเพลงลูกทุง ซึ่งเปนตลาดขนาดใหญและมีความสามารถในการซื้อสูง ทั้งในดานศิลปน นักรองนักแสดง พิธีกรในสังกัด เพลง และ คอนเทนตอื่นๆ โดยนํามาใชเปนองคประกอบหลักในการผลิตรายการ เมื่อผนวกเขากับ จุ ด แข็ ง ของที ม งานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและมี ป ระสบการณ ใ นการผลิ ต สื่ อ รายการโทรทั ศ น แ ละสื่ อ วี ดี ทั ศ น แ ล ว ทํ า ให ผ ลงาน การผลิตมีคุณภาพและมีผลตอบรับที่ดี 3) กลยุทธการกําหนดรูปแบบการขายเพื่อสรางคุณคาสูงสุดใหกับลูกคา การออกแบบการขายสื่อโฆษณาเพื่อตอบสนองความตองการและสรางคุณคาสูงสุดใหกับลูกคาในลักษณะของการขายแบบ แพ็คเกจ คือ การขายเวลาโฆษณารวมกับการทํากิจกรรมทางการตลาดควบคูก นั ไป เพือ่ เปนการชวยตอกยํา้ และสรางการรับรูแ บรนด ใหกับลูกคา โดยทีมงานมุงเนนการสรางสรรคกิจกรรมทางการตลาดในแนวความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) เพื่อกระตุนจิตสํานึกและเผยแพรความรูเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมของลูกคาที่มีตอผูบริโภคโดยนํามา เสนอในรายการใหดูกลมกลืนแนบเนียนไปกับตัวรายการ และสามารถสื่อสารคุณสมบัติของสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการออกแบบแพ็คเกจของสื่อโฆษณาลงในหลายๆ รายการรวมกันเพื่อใหการใชงบประมาณโฆษณาของลูกคาคุมคาสูงสุด
23
PAGE
24
4) กลยุทธการสรางคุณภาพรวมเพื่อเปนที่ยอมรับของลูกคา มุง เนนการสรางคุณภาพรวมในทุกสวนงานของบริษทั ฯ เพือ่ ใหเปนทีย่ อมรับและไววางใจจากลูกคา ไมเฉพาะแตในสวนของคุณภาพ การผลิตที่สรางความพึงพอใจใหกับลูกคาแตยังรวมถึงดานการบริการทั้งกอนและหลังการขาย เชน การตอบสนองความตองการ ของลูกคาอยางรวดเร็วและถูกตอง การรับฟงและแกปญหาใหกับลูกคา เปนตน 5) กลยุทธการพัฒนารูปแบบรายการเพื่อตอบสนองรสนิยมของกลุมเปาหมาย มีการวิเคราะหความตองการของผูชมเปาหมายอยางตอเนื่อง เพื่อนํามาใชในการพัฒนารูปแบบการผลิตใหสอดคลองกับความ ตองการของกลุมผูชมและลูกคาเพื่อเพิ่มความนิยมในตัวรายการ และเพิ่มยอดขายอยางตอเนื่อง 6) กลยุทธการบริหารการจัดการและการบริหารตนทุน วางโครงสรางใหเกิดความคลองตัวในการบริหารจัดการ และการบริหารตนทุน โดยใชพนักงานของบริษทั ฯ ในการผลิตงานสวนหนึง่ และใชการจางงานบุคลากรภายนอก (Outsourcing) อีกสวนหนึ่ง
การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ การเกิดขึ้นของดิจิตอลทีวีทําใหมีผูเลนรายใหมมากขึ้น การแยงชิงบุคลากรที่มีความรูความสามารถ จึงเกิดขึ้นอยางรุนแรงและหลีกเลี่ยง ไมได แตอยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดมีแผนการปองกันความเสี่ยงโดยมีการเซ็นสัญญาบุคลากรตางๆ ทั้งผูเขียนบท ผูกํากับ และนักแสดง ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีการคัดสรรบุคลากรทั้งเบื้องหนาและเบื้องหลังที่มีศักยภาพ มีความเชี่ยวชาญ และเปนที่ยอมรับของกลุมเปาหมาย โดยในสวนของบุคลากรเบื้องหนา มุงเนนที่ศิลปนนักแสดงในสังกัดของกลุมอารเอส และอีกสวนหนึ่งไดมาจากการคัดเลือกนักแสดง และศิลปนอิสระ สําหรับทีมงานผลิตนั้น ในสวนของการสรางสรรครูปแบบงานและการควบคุมการผลิต เปนการจัดการโดยทีมงาน ของบริษัทฯ สวนของการดําเนินการผลิตอยูในรูปแบบของพนักงานภายในสวนหนึ่ง และอีกสวนหนึ่งเปนการจางผลิต
ธุรกิจสื่อวิทยุ บริษัทดําเนินธุรกิจผานระบบคลื่นความถี่ระบบ F.M. 93.0 MHz ภายใตแบรนด COOLfahrenheit 93 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ สถานีวิทยุ
COOLfahrenheit 93
ผูใหสัมปทานคลื่นวิทยุ
สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือ
วันและเวลาออกอากาศ
24 ชั่วโมง
สัญญาณสงครอบคลุมพื้นที่
กรุงเทพฯ และปริมณฑล
แนวคิด (Concept)
50 Minutes Music Freeze Your Mind
กลุมผูฟงเปาหมายหลัก
นักศึกษา คนทํางาน อายุระหวาง 20 - 44 ป
สถานีวิทยุ COOLFahrenheit 93 (F.M. 93.0 MHz) COOLfahrenheit 93 ดําเนินตามนโยบายของบริษัทฯ ในการประกอบกิจการวิทยุเชิงพาณิชยเต็มรูปแบบ โดยยังคงเนนรักษา ความนิยมของสถานีไว พรอมขยายฐานผูฟงใหกวางขึ้นผาน platform radio online จนทําใหในปจจุบัน COOLfahrenheit 93 ยังคงรักษาฐานผูฟงที่ชัดเจนและความนิยมในการรับฟงไวไดจนสามารถครองความนิยมในอันดับ 1 ของกลุมเปาหมายอยางตอเนื่อง กวาทศวรรษ จากการสํารวจ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) สงผลใหลูกคาบริษัทโฆษณา และบริษัทเจาของสินคา ยังคงความมั่นใจในการใชสื่อโฆษณาของบริษัทอยางตอเนื่อง
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
รูปแบบของรายการวิทยุ COOLfahrenheit 93 สถานีที่นําเสนอเพลงไทยสากลในแนว EASY LISTENING ที่ไดรับการยอมรับจากกลุมผูฟงสูงสุดและ เปนรายการวิทยุคลื่นแรกที่สรางปรากฏการณการนําเสนอเพลงเพราะตอเนื่องมากที่สุด 50 นาที “50 Minutes Music Freeze your mind” โดยทุกๆ บทเพลงเพราะไดผานการคัดสรรจากผลสํารวจความนิยมของผูฟงอยางแทจริง พรอมดวยทีมคูลเจมืออาชีพที่ไดรับ การยอมรับจากกลุมคนฟง และการจัดกิจกรรมที่ตอบสนองไลฟสไตลและเปดโลกทัศนของกลุมคนทํางานรุนใหมอยางตอเนื่อง สงผลให COOLfahrenheit 93 เปนสถานีเพลงอันดับ 1 ทั้งบนหนาปทมวิทยุและหนาจอมัลติสกรีน (ออนไลน) ของคนทํางานอยางเปน เอกฉันทจากการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) ดวยกลยุทธการตลาดที่ไมหยุดนิ่ง ตั้งแตป 2545 จนกระทั่งปจจุบันนี้ (ขอมูลเดือนธันวาคม 2559) ในกลุมรายการวิทยุประเภทเพลงไทยสากล ของกลุมคนทํางาน (20 - 44 ป)
การตลาดและการแข งขัน ในปจจุบันถึงแมวากลุมผูฟงจะมีพฤติกรรมการฟงเพลงผานวิทยุนอยลง แตอยางไรก็ตามยอดผูฟงที่มีการฟงเพลงออนไลนผานเว็บไซต และอุปกรณสมารทโฟนนั้นมีมากขึ้น โดย COOLfahrenheit 93 มียอดผูฟงที่ฟงเพลงผานทางเว็บไซต และแอพพลิเคชั่น เพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ รวมถึงชองทางการติดตอสื่อสาร ยอดติดตาม (Follow) ยอดแฟนเพจ (Like) ผานทางโซเชียลมีเดียก็มีมากขึ้นอยางตอเนื่อง การตลาดและการแขงขันของธุรกิจสื่อวิทยุยังคงมีอยูสูงเนื่องจากงบประมาณโฆษณาที่มีจํากัด ทําใหลูกคาจะเลือกซื้อเวลาโฆษณา จากรายการวิทยุที่ไดรับความนิยมสูงเปนปจจัยหลัก แตในขณะเดียวกัน กลยุทธดานราคานั้นก็มีความสําคัญตอการตัดสินใจซื้อ โฆษณาสูง เนือ่ งดวยจะทําใหลกู คาสามารถไดเวลาโฆษณามากขึน้ หรือไดรปู แบบโฆษณาทีห่ ลากหลายทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั กลยุทธการขายของ แตละบริษัทที่จะจูงใจใหลูกคาเห็นวาคุมคากับเงินที่ใชไปสูงที่สุด
กลยุทธ การตลาด 1) กลยุทธนโยบายความคุมคา (Value for money) เพื่อสรางประโยชนสูงสุดใหกับงบประมาณที่ลูกคามีอยูเพื่อการโฆษณา ในลักษณะของการขายแบบแพ็คเกจ คือ การขายเวลาโฆษณารวมกับการจัดกิจกรรมทางการตลาดซึ่งมีผลตอการสงเสริม การขายอยางเปนรูปธรรมและคุมคาตอการลงทุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดออกแบบแพ็คเกจที่เขาถึงกลุมผูฟงเปาหมาย ทั้งระบบอนาล็อก (F.M. 93.0 MHz) และระบบดิจิตอล (radio online) ครอบคลุมทุก platform smartphone ทําใหตอบโจทยผซู อื้ สือ่ โฆษณา ทีม่ แี นวโนมนิยมการใชสอื่ ดิจติ อล ออนไลน ที่เพิ่มมากขึ้นอีกดวย 2) กลยุทธการจัดกิจกรรมสงเสริมการขาย จากสภาวะการแขงขันอยางเขมขนของธุรกิจวิทยุทตี่ อ งการสรางความแตกตางของรายการ ใหเกิดขึ้น เพื่อเสริมสรางมูลคาเพิ่มทั้งตอคลื่นวิทยุและตอลูกคาและสินคาที่รวมกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ ดังนั้นการขายเวลา โฆษณาอยางเดียวไมเพียงพอตอความตองการของลูกคา และตอการสรางแบรนดของบริษัทฯ และคลื่น ดวยเหตุนี้ทางบริษัทฯ จึงมีการปรับปรุงกลยุทธการดําเนินการใหความสําคัญกับการจัดกิจกรรมสงเสริมการขายโดยมีกลยุทธการเปนพันธมิตรทางธุรกิจ (Synergy) กับพันธมิตรในดานตางๆ โดยการเขารวมเปนสื่อพันธมิตร (Media Partner) ใหกับกิจกรรมหรือคอนเสิรตที่มีกลุมลูกคา เปาหมายเดียวกัน รวมถึงการเพิ่มมูลคาของสินคาโดยมีกิจกรรมสงเสริมการขายที่ทํารวมกันระหวางรายการและผูฟง กิจกรรมสงเสริมการขายทั้งหมดนี้ บริษัทฯ จะเนนกิจกรรมที่มีคุณภาพที่สามารถใหสาระและบันเทิงกับผูรวมกิจกรรมและ ในขณะเดียวกันยังสามารถตอบสนองนโยบายการตลาดของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความชัดเจนและตรงกับกลุมเปาหมาย สงผลใหบริษัทฯ สามารถสรางรายไดจากการจัดกิจกรรมสงเสริมการขายใหกับลูกคาไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้แลวบริษัทฯ ยังใชศักยภาพของฝายโฆษณาและประชาสัมพันธของบริษัทฯ เพื่อเผยแพรกิจกรรมของ COOLfahrenheit 93 และกิจกรรมของลูกคาใหเปนที่ยอมรับและรูจักอยางแพรหลายทั้งในรูปแบบขาวประชาสัมพันธและการโฆษณาในสื่ออื่นๆ เชน สื่อออนไลน รายการโทรทัศน นิตยสาร สื่อนอกบาน (OOH) ฯลฯ อีกดวย
25
PAGE
26
3) กลยุทธการใหบริการวางแผนโฆษณา บุคลากรของบริษัทฯ เปนผูที่อยูในสายงานวิทยุมาเปนเวลานาน มีความรูและความเขาใจ ในธุรกิจสือ่ วิทยุเปนอยางดี สามารถใหคาํ ปรึกษากับลูกคาในการวางแผนการบริหารสือ่ ใหมคี ณ ุ ภาพมากทีส่ ดุ และการเลือกซือ้ เวลา โฆษณาหรือแพ็คเกจโฆษณาทีเ่ หมาะสมกับวัตถุประสงคของลูกคาและกลุม ผูฟ ง รายการ บริษทั ฯ มีการวางแผนโฆษณาโดยสรางสรรค กิจกรรมพิเศษเฉพาะกิจ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาและขอจํากัดของสินคาแตละประเภท ซึ่งบริษัทฯ ไดใชนโยบาย การเปนคูคารวมกับผลิตภัณฑในการวางแผนโฆษณาเชนนี้กับสินคาทุกรายที่สนับสนุนรายการ เพื่อสรางแรงจูงใจและเกิดความ คุมคาสูงสุดในการเลือกใชบริการสื่อของบริษัทฯ
การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ 1. นักจัดรายการวิทยุ และบุคลากรฝายผลิตและสรางสรรค บริษัทฯ ไดสรางนวัตกรรมใหมของวงการวิทยุโดยนักจัดรายการวิทยุแตละคนจะตองเพิ่มศักยภาพของตนเองใหมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ จะตองมีเรื่องของความรูเบื้องตนทางการตลาด รูจักการใชเทคโนโลยี และสื่อออนไลน Social Media ใหเกิดประโยชนสูงสุด พรอมทั้งสามารถดําเนินรายการตามรูปแบบของรายการที่วางไวใหสอดคลองกับรสนิยมของกลุมเปาหมาย ปจจุบันนักจัดรายการ ของบริษัทฯ ยังตองเปนผูมีทักษะในการเปนผูดําเนินรายการในการจัดกิจกรรมสงเสริมการขาย (on ground) เพื่อรองรับงานกิจกรรม พิเศษ (event) เพื่อสงเสริมการขายอีกทางหนึ่งดวย ซึ่งนักจัดรายการจะเปนผูมีสวนสําคัญในการสรางความนิยมใหแกสถานี 2. ระบบการออกอากาศ บริษทั ไดเลือกใชระบบคอมพิวเตอรในการควบคุมการออกอากาศแบบอัตโนมัตซิ งึ่ เปนเทคโนโลยีทเี่ ปนมาตรฐานสากล และมีการอัพเดท ซอฟตแวรอยางตอเนื่อง เพื่อความทันสมัยและคุณภาพในการออกอากาศ ผานคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม และ platform radio online ที่เขาถึงทุกดีไวซ ทั้ง smartphone และ PC
ธุรกิจสุขภาพและความงาม อารเอสดําเนินธุรกิจสุขภาพและความงามผานบริษัท ไลฟสตาร จํากัด โดยมีผลิตภัณฑ ครอบคลุมทัง้ ผลิตภัณฑบาํ รุงผิว (Skin Care) ภายใตแบรนด “มาจีค” (Magique) ผลิตภัณฑ ดูแลเสนผม (Hair Care) ภายใตแบรนด “รีไวฟ” (Revive) และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Food Supplement) ซึ่งผลิตภัณฑเหลานี้ไดแรงบันดาลใจจากนวัตกรรมระดับโลกและ สถาบันวิจัยทั้งในและตางประเทศ นําเสนอผานผลิตภัณฑกวา 20 รายการ และโฆษณา ผานชองทางสื่อของอารเอส ทั้งชอง 8 ชอง 2 และชองสบายดีทีวี เนื่องจากอารเอส เล็งเห็นถึงชองทางการใชสื่อในมือใหเกิดประโยชนสูงสุด อีกทั้งบริษัทฯ ไดตอยอดขยาย ชองทางการจัดจําหนายออกไปยังรานคาปลีกสมัยใหมทั่วประเทศ
การตลาดและการแข งขัน ตลาดอุตสาหกรรมสุขภาพและความงามในประเทศไทยมีขนาดสูงกวาแสนลานบาท อีกทั้งยังมีอัตราการเติบโตที่สมํ่าเสมอแมวา เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวในระดับตํา่ ก็ตาม เนือ่ งจากในยุคสมัยปจจุบนั คนรุน ใหมหนั มาสนใจดูแลรักษาสุขภาพเพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวติ ใหดขี นึ้ รวมถึงเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆ ไดงา ยและทันทวงทีมากขึน้ ทําใหคนรูจ กั เลือกสรรผลิตภัณฑทตี่ รงกับความตองการ ไลฟสไตล และชวยยกระดับใหดูดีขึ้น อยางไรก็ตาม ดวยมูลคาตลาดผลิตภัณฑสุขภาพและความงามที่คอนขางสูง ทําใหเกิดการแขงขัน สูงตามไปดวย ผลิตภัณฑมีความหลากหลายทั้งในแงของประเภทผลิตภัณฑ แบรนด ราคา การจัดจําหนาย รวมถึงสวนแบงการตลาด ก็กระจายไปยังผูป ระกอบการอยางหลากหลาย ทัง้ ผูป ระกอบการทีเ่ ปนแบรนดระดับโลกและแบรนดในประเทศ นอกเหนือไปจากคุณภาพ ของผลิตภัณฑที่เปนสวนสําคัญในธุรกิจสุขภาพและความงามแลวนั้น การทําการตลาด โฆษณา และชองทางการจัดจําหนายที่ตรงกับ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ความตองการของผูบริโภคก็มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ดวยเหตุนี้ ทําใหบริษัทฯ เชื่อมั่นวา นอกเหนือไปจากการมีคูคาและ พันธมิตรที่แข็งแกรงแลวนั้น จุดแข็งของอารเอสคือการมีประสบการณอันยาวนานและมีสื่อแตกตางกันหลายประเภทอยูในมือ จะนําพา ใหผลิตภัณฑสุขภาพและความงามของไลฟสตารขึ้นมาเปนแบรนดหนึ่งในตัวเลือกหลักของผูบริโภคได
กลยุทธ การตลาด ผลิตภัณฑสุขภาพและความงามของบริษัทฯ ไดรับแรงบันดาลใจมาจากนวัตกรรมระดับโลก รวมถึงไดผูเชี่ยวชาญและพันธมิตรจาก สถาบันวิจัยตางประเทศ รวมกับสวนผสมที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดวยการสกัดจากเทคโนโลยีขั้นสูง อยูในบรรจุภัณฑที่สามารถเก็บรักษา คุณภาพของผลิตภัณฑไวไดอยางเหมาะสม โดยบริษัทฯ เลือกใชการตั้งราคาอยางสมเหตุสมผลเพื่อใหคนสวนใหญจับตองได อารเอสใชการโฆษณาประชาสัมพันธผา นชองทางสือ่ ของบริษทั ฯ เปนชองทางแรก ทัง้ ชอง 8 ชอง 2 และชองสบายดีทวี ี รวมถึงการโฆษณา ในชองโทรทัศนทไี่ ดรบั ความนิยมในระดับสูงและการโฆษณาผานบิลบอรดทัว่ ประเทศ เพือ่ ทําใหผลิตภัณฑเปนทีร่ จู กั ในวงกวาง เมือ่ ลูกคา ตองการซือ้ สินคาสามารถโทรศัพทเขามาที่ call center ของบริษทั ฯ หรือสามารถซือ้ ผานออนไลนไดที่ www.shop1781.com ในสวนนี้ จะทําใหบริษัทฯ มีขอมูลผูบริโภค ทราบถึงรสนิยมและความตองการผานผลิตภัณฑที่นําเสนอที่มีความหลากหลาย และสามารถนํามาใช จัดการใหเกิดประโยชนกับชองทางจัดจําหนายอื่นๆ เชน รานคาปลีกสมัยใหม เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคได บริษัทฯ ยังมีแผนเพิ่มจํานวนประเภทผลิตภัณฑและขยายชองทางการจัดจําหนายใหมๆ ทั้งหางสรรพสินคาและรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermarket and Superstore) รานคาสะดวกซื้อ (Convenience Store) และรานจําหนายเวชสําอาง (Drug store) กลยุทธดานการสงเสริมการตลาด บริษัทฯ มีการวางแผนอยางตอเนื่องตลอดทั้งปใหเหมาะสมกับลูกคาในแตละชองทางการจัดจําหนาย อาทิเชน การทําโปรโมชั่น Shock Deal และโปรโมชั่นรวมกับรานคาปลีกตางๆ
การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ อารเอสรวมมือกับสถาบันวิจัยนานาชาติเปนผูคิดคนสวนผสมที่สําคัญในแตละผลิตภัณฑ เมื่อไดสวนผสมหรือสารสกัดที่สําคัญแลว จะนํามาผลิตโดยพันธมิตรชั้นนําระดับประเทศ และบางสวนเปนบริษัทในเครือของบริษัทชั้นนําระดับโลกเปนผูรับจางผลิตผลิตภัณฑ
ธุรกิจเพลง ธุ ร กิ จ เพลงของอาร เ อส มี ก ารดํ า เนิ น งานในลั ก ษณะครบวงจร ครบทุ ก ขั้ น ตอนของการดํ า เนิ น งาน ตั้ ง แต ก ารคั ด เลื อ กศิ ล ป น การทํางานเพลง การทําการโปรโมท การวางกลยุทธสื่อและการตลาด การบริหารศิลปน และการบริหารคอนเทนตเพลง ทั้งในแง ตัวศิลปน ตัวงานเพลง ผานชองทางทั้งในสื่อ Online เชน streaming, download และ Offline เชน โทรทัศน 1) การวางโครงสรางการประกอบธุรกิจเพลง (Business Model) การทํางานเพลงจะเริ่มตนจากการนําเสนอแนวความคิด คอนเซ็ปตของงาน และกําหนดกลุมผูฟงเปาหมาย รวมกับศิลปนที่พรอมจะรวมเปนพารทเนอรกัน ดวยการที่อารเอสมีทีมงาน ที่มีประสิทธิภาพและประสบการณในหลากหลายรูปแบบ รวมถึงชองทางสื่อที่มีศักยภาพทั้ง Offline และ Online ทําใหสามารถ ผลิตผลงานเพลงไดหลากหลายเพื่อตอบสนองกลุมเปาหมายไดครบทุกกลุมและสามารถผลิตผลงานออกสูตลาดไดอยางตอเนื่อง หลังจากนั้นจึงนําเสนอคอนเซ็ปตและกลยุทธ ตอคณะกรรมการบริหารธุรกิจเพลง (Music Business Management Board) เพื่อพิจารณาอนุมัติในหลักการ 2) การวางนโยบายการผลิ ต ผลงานในจํ า นวนที่ เ หมาะสม เน น การให ค วามสํ า คั ญ กั บ คุ ณ ภาพของผลงาน และการดู แ ลสิน ค า เมื่อออกสูตลาดอยางใกลชิดตั้งแตตนจนจบกระบวนการ ทําใหการผลิตผลงานแตละโปรเจคเปนไปตามการวางแผนในขั้นตน และมีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงการตอบรับของกลุมเปาหมาย ผานตัววัดในชองทาง Social Media ตางๆ 3) การใชประโยชนจากสื่อตางๆ ไมวาจะเปนสื่อโทรทัศน สื่อออนไลนทั้งทางเว็บไซต และโซเชียลมีเดียตางๆ ของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือเพื่อใหการประชาสัมพันธผลงานมีประสิทธิภาพ และเปนการใชสื่อที่มีอยูทั้งหมดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
27
PAGE
28
4) การบริหารจัดการลิขสิทธิ์งานเพลงที่มีอยูอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อสรางรายไดเพิ่มเติมใหกับบริษัท 5) การตอยอดในเชิง Value ของศิลปนที่ผลิตผลงาน โดยจะตอยอดทั้งในเชิงของการวางกลยุทธในการสรางรายไดจากงาน Event, Showbiz ตางๆ รวมไปถึงการเปน Brand Ambassador, Presenter ของผลิตภัณฑที่มี positioning และกลุมเปาหมาย เดียวกับกับตัวศิลปน 6) การวางนโยบายในการเปดโอกาสใหกับกลุมศิลปนใหม นักแตงเพลง และชองทางสรางสรรคงานเพลงรูปแบบใหม เพื่อพัฒนา และยกระดับงานเพลงของกลุมอารเอสใหทันสมัยและครอบคลุมกลุมเปาหมายตลอดเวลา โดยที่การประกอบธุรกิจเพลง มีรายไดหลักจาก 3 แหลงดังนี้ 1) รายไดจาก Showbiz, Event ของศิลปนที่อยูในสังกัด เปนการวางกลยุทธเพื่อการขายงานแสดง/งานโชวของศิลปน ตลอดทั้งป รวมทั้งการตอยอดเชิงภาพลักษณของศิลปนในแงของการเปน Brand Ambassador หรือ Presenter ผลิตภัณฑตางๆ 2) รายไดจากการขายผลิตภัณฑเพลงในรูปแบบตางๆ ผานทางระบบดิจิตอล (Digital Content) ไมวาจะเปนการดาวนโหลดเพลง (Download) การดาวนโหลดเสียงเรียกเขาผานทางโทรศัพท (Ring tone) การเลือกซือ้ เพลงรอสายผานเครือขายของระบบโทรศัพท เคลือ่ นที่ (Ring Back Tone) การดาวนโหลดเพลง (Full Song) ผานชองทางอืน่ ๆ เชน iTunes หรือผานเครือขายของระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ (WAP) การฟงเพลงในรูปแบบ Online Streaming ผาน Platform ตางๆ เชน JOOX, Apple Music การฟงเพลง และดูมิวสิควิดีโอออนไลนผาน YouTube, Line TV 3) รายไดจากการจัดเก็บลิขสิทธิ์เพลง โดยบริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด หรือในชื่อยอวา TCC (Thai Copyright Collection CO., LTD.) เปนบริษัทในเครือที่ทําหนาที่จัดเก็บลิขสิทธิ์ผลงานตางๆ ที่ถูกนําไปใชในเชิงพาณิชยใหกับบริษัทฯ
ศิลป นนักร องในสังกัด (Artist/Singer) ปจจุบนั บริษทั ฯ มีศลิ ปนนักรองเพลงไทยสากล และเพลงไทยลูกทุง ประกอบดวยศิลปนเดีย่ วและศิลปนกลุม ซึง่ สามารถนําเสนองานเพลง ทีห่ ลากหลายครอบคลุมทุกกลุม เปาหมายทัว่ ประเทศ ตัวอยางศิลปนในอารเอส ไดแก ใบเตย อารสยาม, จะ อารสยาม, กระแต อารสยาม, เบิ้ล ปทุมราช อารสยาม, วงเฟลม, วงเคลิ้ม, เอก สุระเชษฐ, แบล็คแจ็ค, บาววี, จินตหรา พูนลาภ, บีทเติ้ล, กลุมศิลปนสโมสรชิมิ เปนตน
การตลาดและการแข งขัน ในปจจุบันผูบริโภคมีพฤติกรรมการฟงเพลงที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีตัวแปรที่สําคัญคือการใชงานอินเทอรเน็ตและการเพิ่มขึ้นอยาง แพรหลายของอุปกรณสมารทโฟน (Smartphone) สงผลใหผูบริโภคหันมาฟงเพลงออนไลนผานทางเว็บไซตตางๆ และฟงเพลง บนอุปกรณสมารทโฟนกันมากขึ้น ดังนั้นบริษัทฯ จึงตองใหความสําคัญกับชองทางการจัดจําหนายมากขึ้น ตองมีชองทางที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถเขาถึงผูบริโภคไดอยางทั่วถึงโดยไมจําเปนจะตองเปนผลิตภัณฑแผนเพลงเสมอไป นอกจากนี้ในปจจุบัน คอนเทนตเพลงมีการผลิตกันออกมาหลากหลาย ทําใหผูบริโภคสามารถเลือกฟงไดงายดายผาน social network ตางๆ ทําใหเกิดรูปแบบใหมๆ ของคอนเทนตเพลงในตลาดมากขึ้น
ธุรกิจรับจ างและผลิตกิจกรรม รายไดจากธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม มาจาก 2 สวน ไดแก การจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด
การจัดคอนเสิร ตและกิจกรรมการตลาด ประเภทของธุรกิจการแสดงและกิจกรรมการตลาด เปนอีกรูปแบบหนึง่ ในประเทศไทยทีม่ กี ารขยายตัวอยางรวดเร็ว เปนผลใหลกู คาบริษทั โฆษณาและบริษัทเจาของสินคา มีการจัดสรรงบประมาณในแงของกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย (Below the line) มากขึ้น อารเอสมีความเชี่ยวชาญในการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด ผลิตผลงานไดสอดคลองกับแผนการตลาดของลูกคาที่ลงทุน ในสื่อกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย ประเภทการแสดงและอีเวนต โดยมีการเสนอแผนงาน รูปแบบสื่อกิจกรรมบันเทิงตางๆ ใหมีความตอเนื่องและสงผลตอธุรกิจในระยะยาวได
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
สําหรับธุรกิจการจัดคอนเสิรต และกิจกรรมการตลาด ในประเทศไทยจะจัดแบงเปน 3 กลุมใหญ ดังนี้ 1. กลุมบริษัทประเภทจัดงานแสดง (Presentation) และผูรับจางจัดอีเวนต (Event Organizer) ที่ใหบริการรับจัดอีเวนตทั่วไป ใหกับสินคาและบริการ 2. กลุมบริษัทประเภท ผูสนับสนุนอีเวนตระดับทองถิ่น (Local Event Promoter) ที่ใหบริการจัดการแสดง โชว คอนเสิรต โดยเปนผูลงทุนในการทําตลาด จัดงานเอง และ/หรือ รวมกับบริษัทอื่นๆ ในประเทศ 3. กลุมบริษัทประเภท ผูสนับสนุนอีเวนตระหวางประเทศ (International Event Promoter) ที่ใหบริการจัดการแสดง โชว คอนเสิ ร ต โดยผู ล งทุ น และให บ ริ ก ารในการทํ า แผนตลาด จั ด งานเอง และ/หรื อ ร ว มกั บ บริ ษั ท อื่ น โดยเป น ผู คั ด สรรงาน เพื่อมาทําตลาดในประเทศ การจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาดในประเทศไทย มีการแขงขันคอนขางสูง เนื่องจากมีผูประกอบการ ทั้งบริษัทที่มีขนาดเล็ก กลาง และใหญ เปนจํานวนมาก แตในขณะเดียวกันธุรกิจนี้ก็มีโอกาสทางดานธุรกิจสูง เนื่องจากแผนการตลาดสวนใหญของสินคาตางๆ จะจัดสรรงบประมาณของกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย เพิ่มขึ้นทุกๆ ปเชนกัน อารเอสเปนบริษัทสื่อขนาดใหญ ซึ่งมีขอไดเปรียบในการดําเนินธุรกิจการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด เนื่องจากมีศิลปน นักรอง ที่ไดรับความนิยมอยูในสังกัดเปนจํานวนมาก อีกทั้งมีธุรกิจสื่อครบวงจร ทั้งสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ ทําใหมั่นใจไดวาการจัด คอนเสิรตและกิจกรรมการตลาดกับบริษัทฯ จะตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ
การตลาดและการแข งขัน บริษัทฯ ใชทั้งกลยุทธ Mass Customization Strategy และกลยุทธการตอบสนองลูกคาเฉพาะราย (Individual Customization Strategy) เปนกลยุทธหลักในการทํางาน (ขึ้นอยูกับประเภทของการผลิตและการบริการ) โดยมุงเนนไปที่กลุมลูกคาที่เปนเจาของสินคา (Direct Customer) เปนหลัก แตก็ไมละเลยลูกคาที่เปนบริษัทโฆษณา (Advertising Agency) ทั้งนี้ในการนําเสนองานใหกับลูกคานั้น ทางบริษัทฯ มุงเนนที่จะใหลูกคาไดมองใหเห็นวางานที่บริษัทฯ นําเสนอนั้น เปนเครื่องมือทางการตลาด (Marketing Tool) ที่จะทําให ลูกคาแตละรายประสบความสําเร็จในวัตถุประสงคทางการตลาดที่ตั้งไวของลูกคาทุกรายโดยอาศัยหลักการของการตลาดภาคบันเทิง (Entertainment Marketing) ในการเขาถึงผูบริโภค
29
PAGE
30
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ป จจัยความเสี่ยง บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย (บริษทั ฯ) ประเมินความเสีย่ งทีม่ นี ยั สําคัญ ที่อาจเกิดขึ้นและอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ มีดังนี้
ความเสี่ยงจากการออกประกาศหลักเกณฑ จากสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) บริษัทฯ ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการประกอบกิจการโทรทัศนทั้งในระบบภาคพื้นดิน ซึ่งสงสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital Terrestrial Television) และระบบดาวเทียม (Satellite Television) ซึ่งกิจการโทรทัศนนับไดวาเปนกิจการสื่อสารมวลชนที่มีอิทธิพล ตอประชาชนเปนอยางยิง่ เพราะเปนการสือ่ สารทีป่ ระชาชนสามารถเขาถึงและรับรูข อ มูล ไดอยางทั่วถึงมากกวาสื่อมวลชนประเภทอื่นๆ ดังนั้นการประกอบกิจการโทรทัศนจึงตอง ดําเนินภายใตกฎหมายเปนสําคัญ ซึ่งหนวยงานภาครัฐที่เขามามีบทบาทการกํากับดูแล ผูป ระกอบกิจการโทรทัศนของประเทศไทย คือ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) มีอาํ นาจหนาทีห่ ลักในการกํากับ ดูแลและออกประกาศหลักเกณฑตางๆ เพื่อควบคุมกํากับดูแลผูประกอบกิจการโทรทัศน ใหมีการแขงขันกันอยางเสรีและเปนธรรม มีมาตรฐานทางจริยธรรมและคุมครองผูบริโภค ใหไดรับประโยชนและมิใหถูกเอาเปรียบจากผูประกอบกิจการ อาทิเชน การกํากับดูแล เนื้อหารายการตองมีคุณภาพเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย การจัดระดับความเหมาะสม ของรายการเพื่อคุมครองเด็กและเยาวชน การโฆษณา การสงเสริมและคุมครองสิทธิ ของคนพิการใหเขาถึงหรือรับรูและใชประโยชนจากรายการของกิจการโทรทัศน เปนตน ณ ปจจุบันประกาศ กสทช. ยังมีออกมาอยางตอเนื่องตามแนวนโยบายของ กสทช. และ ตามสภาพปญหาของการประกอบกิจการ ดังนั้น การออกประกาศตางๆ ของ กสทช. จึงยังเปนสิ่งที่ควบคูไปกับการประกอบธุรกิจของผูประกอบกิจการโทรทัศนทุกราย เชนเดิม กฎเกณฑตา งๆ ทีจ่ ะออกมาควบคุมการดําเนินธุรกิจเกีย่ วกับการประกอบกิจการ โทรทัศนของบริษัทฯ จึงยังไมเสถียรและตองใชเวลาอีกสักระยะเพื่อใหเห็นกฎเกณฑ ที่ออกมาบังคับทั้งหมดกอนวาจะสงผลกระทบกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือ ไมเพียงใด อันจะสะทอนเปนปจจัยความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจได
ความเสี่ยงจากการแข งขันที่รุนแรงในธุรกิจสื่อโทรทัศน ตั้งแตเริ่มออกอากาศทีวีดิจิตอลชวงกลางป 2557 เปนตนมา อุตสาหกรรมโทรทัศน เผชิ ญ กั บ สภาวการณ แข ง ขั น ที่ รุ น แรง เกิ ด การปรั บ ตั ว เปลี่ ย นแปลงต า งๆ มากมาย จากผูประกอบการของแตละชอง ไมวาจะเปนผูป ระกอบการรายเดิม (ระบบแอนะล็อก) ที่ตองพยายามรักษาอันดับของตัวเองไมใหตกลงมา และรายใหมที่ตองตอสูเพื่อชวงชิง เรตติ้งและเม็ดเงินโฆษณาในตลาดใหไดมากที่สุด ซึ่งตางก็ใชกลยุทธในการเรียกคะแนน ความนิยมโดยมีคอนเทนตเปนแมเหล็กสําคัญในการดึงดูดผูชมรายการ โดยเฉพาะในชวง ของไพรมไทม (Prime Time) จะมีการแขงขันรุนแรงมากที่สุด ผูชมรายการจะเปนผูไดรับ
ประโยชนจากทางเลือกที่หลากหลายขึ้น บริษทั เอเยนซีโ่ ฆษณาจะมีตวั เลือกในการลง โฆษณามากขึน้ โดยมี “เรตติง้ ” และ “ความ คุม คาของราคา” เปนเกณฑในการพิจารณา ลงโฆษณา ซึง่ จะทําใหการขายเวลาโฆษณา ยากขึ้น อ ย า ง ไร ก็ ดี จ า ก ก า ร ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ประสบการณ ก ารทํ า ธุ ร กิ จ ผลิ ต รายการ โทรทัศน และบริหารชองรายการของตัวเอง มาเป น เวลานาน มี ก ลุ ม ผู ช มเป า หมาย ชัดเจน มีคอนเทนตที่แข็งแรงดวยรูปแบบ ที่ตรงกับรสนิยมของผูชมกลุมเปาหมาย มี บุ ค ลากรและที ม งานที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสบการณ ตลอดจนการจัดกิจกรรม สงเสริมการตลาดรูปแบบตางๆ เพือ่ กระตุน ใหผชู มติดตามรับชมอยางตอเนือ่ งและเพือ่ ใหเปนที่รูจักในวงกวาง ทําใหชองโทรทัศน ของบริษัทฯ ติดอยูในอันดับตนๆ จากการ จั ด อั น ดั บ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) จะชวยใหบริษัทฯ สามารถช ว งชิ ง และรั ก ษาส ว นแบ ง ทาง การตลาดจากคูแขงในอุตสาหกรรมได
ความเสี่ยงจากการต ออายุ สัญญาสัมปทาน สัมปทานธุรกิจทีวีดาวเทียม จากการที่ กสทช. ไดออกประกาศเรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหบริการ กระจายเสียงหรือโทรทัศน เพือ่ จัดระเบียบ ผูประกอบการชองทีวีดาวเทียมและเคเบิล ทีวใี หเขาสูก ลไกการกํากับดูแล โดย กสทช. จะออกใบอนุญาตใหผูประกอบการเปน คราวๆ ในขั้นแรกใบอนุญาตจะมีอายุ 1 ป หลั ง จากนั้ น จะพิ จ ารณาต อ ใบอนุ ญ าต ใหอีกคราวละไมเกิน 2 ป โดย กสทช. ไดนําหลักเกณฑเรื่องรองเรียนการกระทํา ความผิ ด เกี่ ย วกั บ เนื้ อ หารายการที่
31
PAGE
32
ไมเหมาะสม หรือการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย หรือการกระทําอันเปนการขัดหรือแยงกับ การกํากับดูแลดานการคุมครองผูใชบริการ รวมถึงหลักเกณฑอื่นๆ ที่ทาง กสทช. จะออก เพิ่มเติมในอนาคต มาเปนพื้นฐานในการพิจารณาตอใบอนุญาตแกผูประกอบการกิจการ แตละราย ซึ่งการไดรับใบอนุญาตเปนคราวๆ และแตละคราวมีอายุการประกอบการ ระยะสั้นอาจเปนขอจํากัดในการขยายธุรกิจ การวางแผนการผลิต และการสรางรายได ของบริษัทฯ อยางไรก็ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติตามขอกําหนด และกฎเกณฑอยางเครงครัด เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวาบริษัทฯ จะสามารถไดรับการ ตอใบอนุญาตประกอบกิจการทีวีดาวเทียมไดอยางตอเนื่อง
สัมปทานธุรกิจวิทยุ โดยปกติการทําสัญญาเชาเวลาออกอากาศกระจายเสียงสถานีวิทยุมีระยะเวลาประมาณ 2 ป ซึ่งหากบริษัทฯ ไมไดรับการตออายุสัญญาเชาเวลาออกอากาศดังกลาวจะสง ผลกระทบถึงความตอเนื่องของการออกอากาศรายการและรายไดของบริษัทฯ ทั้งนี้ หมายรวมถึงความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญาซึ่งอาจทําใหบริษัทฯ ไดรับ เงื่อนไขที่ดอยลงไปจากเดิม นอกจากนี้ การแสวงหาเวลาออกอากาศใหมเพื่อทดแทน อาจทําใหบริษัทฯ สูญเสียประโยชนจากการขาดความตอเนื่องทางธุรกิจ และการสราง ความนิยมใหเทียบเคียงกับรายการเดิมได หรืออาจทําใหตนทุนเพื่อการไดมาสูงขึ้น อยางไรก็ดี บริษัทฯ เชื่อวาจากการที่บริษัทฯ ผลิตผลงานที่มีคุณภาพออกมาอยางตอเนื่อง จนไดรับความนิยม มีฐานผูฟงรายการประจํา รวมถึงการที่บริษัทฯ ไดรักษามาตรฐาน ในการชําระเงินและปฏิบัติตามเงื่อนไขของการจายคาเชาเวลาอยางเครงครัด ตลอดจน มีการสรางความสัมพันธอันดีกับผูใหสัมปทานจะทําใหบริษัทฯ ไดรับความไววางใจและ สามารถลดความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการตออายุสญ ั ญาเชาได แตอยางไรก็ตาม บริษทั ฯ จะพิจารณาถึงมูลคาของสัญญาสัมปทาน โดยเปรียบเทียบกับความคุมคาในการลงทุน ซึ่ง หากพิจารณาแลวเห็นวาไมกอใหเกิดประโยชน ทางบริษัทฯ อาจพิจารณาไมตออายุ สัมปทานดังกลาว ทั้งนี้ ในป 2558 บริษัทฯ ไดผานการพิจารณาอนุมัติใหตออายุสัมปทาน ออกไปอีก 2 ป โดยสัญญาสิ้นสุดในป 2560 เมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2559 ไดมคี าํ สัง่ หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ยืดระยะเวลาที่ กสทช. เรียกคืนคลื่นความถี่วิทยุ กระจายเสียงจากเดิมในป 2560 ออกไปอีก 5 ป และใหคงสิทธิในการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง และการถือครองคลืน่ ความถีด่ งั กลาวไดตามขอบเขตและสิทธิเดิม ซึง่ บริษทั ฯ เห็นวาคําสั่งดังกลาว จะเปนผลดีตอธุรกิจวิทยุของบริษัทฯ ที่จะทําใหมูลคาสัมปทาน รวมถึงขอบเขตและสิทธิไมเปลี่ยนแปลง
พกพาตางๆ (ที่เรียกวา Second Screen ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ นหน า จอที่ 2 รองจาก โทรทัศน) Second Screen จึงเปนสิง่ สําคัญ ที่ ส ง ผลให บ ทบาทของรายการโทรทั ศ น ตองเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับกับสื่อสังคม ออนไลน (Social Media) ดวย บริษัทฯ จึง ตระหนักดีถึงการเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ใหทันกับเทคโนโลยีเพื่อสรางโอกาสการ สือ่ สารกับผูร บั ชมใหครอบคลุมทุกชองทาง แตอีกปจจัยที่สําคัญของการเติบโตทางสื่อ สังคมออนไลน (Social Media) คือ การ ควบคุมกํากับดูแลของภาครัฐที่มีแนวโนม จะเข ม ข น ขึ้ น เนื่ อ งจากป จ จุ บั น ยั ง ไม มี หนวยงานใดที่กํากับดูแลโดยตรง จึงทําให การเสนอขอมูลขาวสารในชองทางสือ่ สังคม ออนไลน (Social Media) คอนขางเสรีและ มีขีดจํากัดนอยกวาสื่อโทรทัศนที่ตองอยู ภายใตการกํากับดูแลของ กสทช. ดังนัน้ ใน อนาคตอั น ใกล ภ าครั ฐ ย อ มต อ งกํ า หนด หนวยงานกํากับดูแลและออกกฎระเบียบ เพื่อควบคุมกํากับดูแลสื่อสังคมออนไลน (Social Media) ใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะ สงผลใหการดําเนินธุรกิจผานชองทางนี้ อาจถูกกํากับมากยิ่งขึ้น อาทิเชน การขอ ใบอนุญาตประกอบกิจการ การเรียกเก็บ คาธรรมเนียมประกอบกิจการ การควบคุม เนื้ อ หารายการ เป น ต น แต อ ย า งไรก็ ดี บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจดวยความระมัดระวัง และอยูภ ายใตกฎเกณฑกรอบของกฎหมาย จึงมั่นใจวา บริษัทฯ จะสามารถปรับตัวให ทันกับทุกสถานการณ
ความเสี่ยงจากความก าวหน าของเทคโนโลยี
ความเสี่ยงจากการถูก ละเมิดลิขสิทธิ์
ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันวาเทคโนโลยีมีอิทธิพลตอการใชชิวิตของผูคนทั่วโลก ความเจริญ กาวหนาของเทคโนโลยีทาํ ใหทกุ คนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารไดอยางรวดเร็ว มีผลทําให พฤติกรรมของผูคนในโลกเปลี่ยนแปลงไปไมวาจะเปนการติดตอสื่อสาร การรับรูขอมูล ขาวสาร การหาความบันเทิงตางๆ จากเดิมผูคนเปนเพียงผูรอรับขอมูลขาวสารจาก สือ่ โทรทัศน สือ่ หนังสือพิมพ แตปจ จุบนั เทคโนโลยีทาํ ใหพฤติกรรมของผูค นเปลีย่ นแปลง ไปทําใหการเปนผูรอรับขอมูลสิ้นสุดลง โดยสามารถเปนผูแสวงหาขอมูลไดดวยตนเอง ประกอบกับขอมูลขาวสารแพรกระจายไดอยางรวดเร็วดวยการสงผานระบบอินเทอรเน็ต ไปยังอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสซงึ่ อยูใ นมือของทุกคน อยางสมารทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ
ต ล อ ด ร ะ ย ะ เว ล า ห ล า ย ป ที่ ผ า น ม า อุตสาหกรรมเพลงไดรบั ผลกระทบหลักจาก การถู ก ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ในหลากหลาย รูปแบบ ไมวา จะเปนการจําหนายแผนเพลง (CD, VCD, DVD, MP3) แบบละเมิดลิขสิทธิ์ การดาวนโหลดเพลงจากเว็บไซตที่ไมไดรับ อนุญาต การนําคอนเทนตเพลงไปหารายได ของผูประกอบการรานคา รานอาหาร และ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
รานคาราโอเกะ การจัดกิจกรรมและงานแสดงคอนเสิรตตางๆ รวมถึงการนําคอนเทนต ไปใชเพื่อประโยชนทางพาณิชยหรือเพื่อความบันเทิงสวนตัวผานชองทางออนไลน ซึ่งการ ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ดังกลาว สงผลใหรายไดของสวนงานเพลงไมสะทอนปริมาณการบริโภค ที่แทจริง อยางไรก็ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของปญหาที่เกิดขึ้น และไดดําเนินการหาทาง แกไข โดยการทบทวนแผนธุรกิจใหมๆ อยูเสมอ เพื่อใหมีความยืดหยุน เหมาะสมและ ทันเหตุการณ เชน การปรับโครงสรางภายในของสายงานเพือ่ รองรับแผนงานทีเ่ ปลีย่ นแปลง และตอบสนองความตองการของลูกคาแตละรายไดอยางตรงจุด การใชกลยุทธการขายให เขากับพฤติกรรมของผูบริโภคตามยุคสมัย การพัฒนาระบบงานภายในใหรองรับกับระบบ Platform ตางๆ ที่มีอยูในตลาดปจจุบันและที่จะเกิดขึ้นใหมได รวมถึงมีหนวยงานที่ รับผิดชอบดูแลเรื่องการปองกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์โดยเฉพาะ ซึ่งไดรับ ความร ว มมื อ และสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ ในการบั ง คั บ ใช ก ฎหมายเข า ดํ า เนิ น การกั บ ผูประกอบการที่กระทําความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ในผลงานของบริษัทฯ รวมถึงรณรงค ประชาสัมพันธกระตุนลูกคาและผูประกอบธุรกิจที่นํางานลิขสิทธิ์ไปใช ตองเคารพตอสิทธิ์ และทําการชําระคาลิขสิทธิ์เปนการตอบแทน จากมาตรการดังกลาวขางตน บริษัทฯ คาดวาจะชวยลดผลกระทบอยางมีนัยสําคัญจากความเสี่ยงของการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ได
ความเสี่ยงจากโครงการขนาดใหญ ที่ ได มาเป นครั้งคราว บริษัทฯ มีแผนการขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง ซึ่งบางโครงการที่บริษัทฯ ไดมา จําเปนตอง ใชเงินลงทุนคอนขางสูง จึงอาจมีความเสี่ยงหากไมสามารถบริหารรายไดใหเปนไปตาม เปาหมายที่วางไว ซึ่งอาจมาจากหลายสาเหตุ ไดแก การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของ เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค กระแสความนิยมตางๆ ภาวะการ แขงขันในอุตสาหกรรมที่รุนแรงมากขึ้น ตลอดจนอาจมีการบอกเลิกสัญญา หรือ การเกิด เหตุการณใดๆ ที่ทําใหไมสามารถดําเนินการตอได เปนตน อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดกําหนด กระบวนการในการพิจารณากลั่นกรอง ประเมินประโยชนและความคุมคากอนการ ตัดสินใจลงทุน โดยจัดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เมื่อมีการทําสัญญาหรือ ขอผูกพันใดๆ จะมีผูเชี่ยวชาญจากหลายฝายที่เกี่ยวของเขารวมกันพิจารณาเพื่อความ รอบคอบรัดกุม ตลอดจนกําหนดใหมีการวางแผนและการเตรียมงานลวงหนา นอกจากนี้ หากเปนโครงการขนาดใหญมากจะตองไดรบั การอนุมตั เิ ห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั ดวย เพื่อลดความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุนดังกลาว
ความเสี่ยงจากพึ่งพิงผู ผลิตผลิตภัณฑ สุขภาพและความงาม บริษัทฯ มีพันธมิตรที่มีชื่อเสียงระดับตนๆ ของประเทศเพื่อผลิตผลิตภัณฑสุขภาพและ ความงาม โดยบริษทั ฯ จะเปนผูก าํ หนดวัตถุดบิ หลัก (Active ingredient) รวมถึงคุณสมบัติ ของผลิตภัณฑโดยรวม และจะรวมกับสถาบันวิจัยชั้นนําทั่วโลก รวมถึงโรงงานผูผลิตใน การพัฒนาสูตรการผลิตและขั้นตอนการผลิต แตโรงงานผูผลิตจะเปนผูจัดหาวัตถุดิบและ ดําเนินการผลิตเองทั้งกระบวนการ ซึ่งหากผูผลิตรายใดรายหนึ่งเกิดปญหาไมสามารถ ผลิตผลิตภัณฑดังกลาวใหแกบริษัทฯ ได จะสงผลใหบริษัทฯ ไมสามารถทําการจัดหา ผลิตภัณฑไดตรงตามเวลาหรือตามความตองการของลูกคา ซึง่ อาจสงผลตอผลประกอบการ รวมของบริษัทฯ ได
PAGE
อยางไรก็ดี บริษทั ฯ มีนโยบายในการจัดการ ตอความเสี่ยงดังกลาว โดยการกระจาย คําสั่งผลิตสูผูผลิตชั้นนําในประเทศออกไป จํานวนหลายราย เพื่อไมใหเกิดการพึ่งพิง ผูผลิตเพียงรายเดียว รวมถึงความพยายาม ในการสรางความสัมพันธอันดีกับผูผลิต รายใหมๆ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวน ทําใหบริษทั ฯ สามารถต อ รองกั บ ผู ผ ลิ ต และสามารถ ควบคุมตนทุนสินคาไดมากขึ้น
ความเสี่ยงจากอายุของ ผลิตภัณฑ สุขภาพและความงาม เนื่ อ งจากความจํ า เป น ในการสั่ ง ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ สุ ข ภาพและความงามต อ งมี จํานวนมากพอเพื่อการบริหารตนทุนใหอยู ในระดับที่เหมาะสม และตองมีการบริหาร สินคาสําหรับการจัดเก็บสินคาคงคลังใน จํานวนทีเ่ พียงพอเพือ่ การกระจายสินคาให แกรานคาปลีกทั่วประเทศ บริษัทฯ จึงมี ความเสี่ยงจากอายุของผลิตภัณฑสุขภาพ และความงามซึ่งโดยอายุเฉลี่ยสวนใหญ ประมาณ 3 ป หากในกรณีที่กระแสนิยม ของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ บริษทั ฯ อยูใ นชวงเริม่ ตนของธุรกิจและตอง มี ก ารนํ า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ สิ น ค า ใหม ๆ ออกมาอยางตอเนื่อง กอนการผลิตสินคา บริษัทฯ ตองทําการ สํารวจตลาดและพฤติกรรมของผูบริโภค เพื่อใหสามารถวิเคราะหและคาดการณ ยอดขายของผลิ ต ภั ณ ฑ แ ต ล ะประเภท ใหแมนยําที่สุด และเพื่อใหสอดคลองกับ ความต อ งการของตลาดในขณะนั้ น ๆ โดยตองติดตามและตรวจสอบอายุคงเหลือ ของสินคาอยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งมีการ บริหารจัดการสินคาคงเหลือใหเหมาะสม กับชวงอายุของแตละผลิตภัณฑ ซึ่งโดย เฉลี่ยหากสินคามีอายุคงเหลือประมาณ 18 เดือนและมีอัตราการสั่งซื้อชาลง สินคานั้น จะถูกนํามาพิจารณาโดยฝายบริหาร และ จัดใหมโี ปรโมชัน่ หรือทําการตลาดใดๆ เพือ่ เรงการขายสินคาเหลานัน้ ออกไปใหเร็วทีส่ ดุ
33
PAGE
34
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
35
ทรัพย สินที่ใช ในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสินหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย (กลุมอารเอส) แสดงรายละเอียด ดังตอไปนี้
ที่ดิน บริษัทฯ และบริษัทยอยไดทําการเชาที่ดินเพื่อใชในการประกอบธุรกิจจากบุคคลอื่นนอกกลุมดังรายละเอียดตอไปนี้ ผู เช า
อายุสัญญา
ค าเช า/เดือน (ล านบาท)
บมจ. อารเอส
3 ป (ส.ค. 2557 - ก.ค. 2560)
0.41
ที่ตั้ง
เลขที่ 431/2-5 ซอยลาดพราว 15 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
อุปกรณ อุปกรณหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย มีดังนี้ บริษัท
อุปกรณ และเครื่องจักร
ลักษณะ กรรมสิทธิ์
มูลค าตามบัญชี ป 2559 (ล านบาท)
ภาระผูกพัน
1. บมจ. อารเอส
อุปกรณหองควบคุมการออกอากาศ และอุปกรณถายทํารายการโทรทัศน
เจาของ
246.27
ไมมี
2. บจ. คลูลิซึ่ม
อุปกรณหองบันทึกเสียง
เจาของ
1.96
ไมมี
คลังสินค า คลังสินคาของบริษัทยอย มีดังนี้ ผู เช า
อายุสัญญา
ค าเช า/ค าบริการ ต อเดือน (ล านบาท)
เลขที่ 9/102 หมูที่ 5 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
บจ. ไลฟสตาร
1 ป (สิ้นสุดสัญญา เดือนเมษายน 2560)
0.20
อาคาร B อาคาร 2BB เลขที่ 9/46 หมูที่ 5 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
บจ. ไลฟสตาร
1 ป (ปจจุบันไดตออายุสัญญาเชา เปนชวงเวลา 1 มกราคม 31 ธันวาคม 2560)
0.10
ที่ตั้ง
PAGE
36
สัมปทานและสัญญาเช าวิทยุ บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาสถานีวิทยุจากหนวยงานราชการและบริษัทภายนอก ตามรายละเอียดดังนี้ สถานี
F.M. 93.0 MHz
เจ าของสถานี
ช วงเวลาตามสัญญา
สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือวังนันทอุทยาน
1 มกราคม 2559 - 31 ธันวาคม 2560
สัญญาบริการการส งสัญญาณภาพ บริษัทฯ และบริษัทยอยแหงหนึ่ง ไดทําสัญญาบริการการสงสัญญาณภาพ และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มีดังนี้ ผู ให บริการ
1. องคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย 2. บริษทั ไทยคม จํากัด (มหาชน)
ช วงเวลาตามสัญญา
สิ้นสุดวันที่ 16 มิถุนายน 2571 1 สิงหาคม 2556 - 1 กรกฎาคม 2566
ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน เพื่อให บริการโทรทัศน ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ เปนผูไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน เพื่อใหบริการโทรทัศน ภาคพืน้ ดินในระบบดิจติ อล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ หมวดหมูท วั่ ไปแบบความคมชัดปกติ จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ใบอนุญาตเลขที่ B1-S20031-0012-57 มีอายุสบิ หาปนบั ตัง้ แตวนั ที่ 25 เมษายน 2557 สิ้นผลวันที่ 24 เมษายน 2572 ในการประกอบกิจการโทรทัศนทางคณะกรรมการ กสทช. ไดออกประกาศเพื่อกําหนด หลักเกณฑ เงื่อนไข หนาที่ตางๆ ของผูไดรับใบอนุญาตใหปฏิบัติตามไวอยางเครงครัด รวมถึงกําหนดมาตรการกํากับดูแลผูรับใบอนุญาต มิใหดาํ เนินการใดๆ อันเปนฝาฝนตอกฎหมาย คําสัง่ หรือประกาศตางๆ โดยมีบทกําหนดโทษทางกฎหมายไวตงั้ แตโทษทางปกครอง ไดแก การสั่งระงับการทําใดๆ อันเปนความผิด การปรับ การพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต จนถึงโทษทางอาญา ไดแก การปรับ หรือโทษจําคุก เงือ่ นไขทีผ่ รู บั ใบอนุญาตตองปฏิบตั เิ พือ่ ใหดาํ รงไวซงึ่ ใบอนุญาต (ทีม่ า : เงือ่ นไขแนบทายใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละประกอบกิจการ โทรทัศน เพือ่ ใหบริการโทรทัศนภาคพืน้ ดินในระบบดิจติ อล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ) อาทิเชน คุณสมบัตขิ องผูร บั ใบอนุญาต ตองเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด การใหบริการโทรทัศนผูรับใบอนุญาตตองประกอบกิจการดวยตนเอง จะมอบการบริหารจัดการหรือ ยินยอมใหบุคคลอื่นเปนผูมีอํานาจประกอบกิจการแทนมิได หรือจะโอนสิทธิในใบอนุญาตใหกับบุคคลอื่นอันทําใหมีผลกระทบ ตอการประกอบกิจการตามที่ไดรับใบอนุญาตไมได แตอาจแบงชวงเวลาใหผูอื่นเชาเวลาดําเนินรายการบางชวงไดตามหลักเกณฑ ที่คณะกรรมการกําหนด การบริหารจัดการสถานีตองมีกระบวนการในการกํากับดูแลตนเองใหมีประสิทธิภาพตามกรอบมาตรฐาน จริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบตอสังคม ตามทีค่ ณะกรรมการกําหนด การออกอากาศรายการตองปฏิบตั ติ ามประกาศ กสทช. วาดวยเรื่องผังรายการ เนื้อหารายการ สําหรับการใหบริการโทรทัศนอยางเครงครัด จะออกอากาศรายการที่มิไดกําหนดไวในผังรายการ มิไดโดยตองมีการจัดใหมีระบบการตรวจสอบเนื้อหารายการที่ไมขัดหรือแยงกับกฎหมาย การหารายไดดวยวิธีการโฆษณา การบริการ ธุรกิจ ไดไมเกินชัว่ โมงละสิบสองนาทีครึง่ โดยเมือ่ รวมเวลาโฆษณาและการบริการธุรกิจตลอดทัง้ วันเฉลีย่ แลวตองไมเกินชัว่ โมงละสิบนาที รวมถึงการชําระคาธรรมเนียมใหใชคลื่นความถี่ตองเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด เปนตน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
การชําระค าธรรมเนียมให ใช คลื่นความถี่ตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ดังนี้ หนวย : ลานบาท งวดการ จ ายชําระ
ค าธรรมเนียมใบอนุญาต ในส วนของราคาขั้นตํ่า จํานวนเงิน
ค าธรรมเนียมใบอนุญาต ในส วนที่เกินขั้นตํ่า จํานวนเงิน
รวม
วันที่ครบกําหนดชําระ
1
190.0
188.5
378.5
11 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557
2
114.0
188.5
302.5
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3
38.0
377.0
415.0
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
4
38.0
377.0
415.0
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
5
-
377.0
377.0
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
6
-
377.0
377.0
23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
รวม
380.0
1,885.0
2,265.0
ทัง้ นีก้ รณีทผี่ รู บั ใบอนุญาตชําระคาธรรมเนียมตามตารางขางบนไมครบถวนภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด จะตองชําระคาธรรมเนียมเพิม่ เปน จํานวนเงินเทากับผลคูณของจํานวนเงินคาธรรมเนียมที่ตองชําระกับอัตราดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งคูณกับสัดสวนของจํานวนวันที่ คางชําระตอจํานวนวันในหนึ่งป (360 วัน) หรืออาจถูกพิจารณาพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต ตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ตอมาเมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2559 ราชกิจจานุเบกษาไดประกาศคําสัง่ หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 76/2559 เรือ่ งมาตรการ สงเสริมการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะ เพื่อเปนมาตรการ ชวยแกปญหาจากผลกระทบของสภาวะเศรษฐกิจที่สงผลตอรายไดของผูประกอบการที่สุจริตทําใหไมอาจชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ไดทันภายในระยะเวลาที่กําหนด อันเปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกผูประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเปนการสงเสริม อุตสาหกรรมกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ใหเกิดประสิทธิภาพและสรางความมั่นคงใหแกระบบ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ คําสั่งดังกลาวมีผลใหผูไดรับใบอนุญาตมีสิทธิเลือกวิธีการชําระคาธรรมเนียมตามบัญชีทายคําสั่ง หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดโดยทําหนังสือแจงความประสงคไปยังสํานักงาน กสทช. ซึ่งวิธีการชําระคาธรรมเนียม ตามคําสั่ง คสช. จะทําใหผูไดรับใบอนุญาตไดรับประโยชนจากการขยายระยะเวลา กลาวคือ การชําระคาธรรมเนียมตามเงื่อนไขเดิม ตองชําระราคาขั้นตํ่าในงวดที่สี่เปนงวดสุดทาย แตคําสั่ง คสช. ขยายใหงวดที่สี่แบงชําระไดเปนสองงวด และคาธรรมเนียมในสวน ที่เกินกวาราคาขั้นตํ่าในสวนที่เหลืองวดที่สี่ถึงงวดที่หก คําสั่ง คสช. ขยายใหแบงชําระไดเปนอีกหกงวด โดยตองเสียดอกเบี้ยอัตรา นโยบายตามที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนดในวันที่ชําระ
37
PAGE
38
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ข อพิพาททางกฎหมาย บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯหรือบริษัทยอย อยางมีนัยสําคัญ และไมมีขอพิพาทที่มีผลกระทบดานลบอันอาจจะมีผลกระทบตอสินทรัพยของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยที่มีจํานวนสูงกวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตลอดจนไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติ ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย
39
PAGE
40
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
ข อมูลทั่วไปและข อมูลสําคัญอื่น ข อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท
:
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”)
ประเภทธุรกิจ
:
4 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ทั้งสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม
ที่ตั้งสํานักงานใหญ
:
อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
ทะเบียนเลขที่
:
0107546000016
เว็บไซต
:
http://www.rs.co.th
โทรศัพท
:
+66 2511 0555
โทรสาร
:
+66 2511 2324
ทุนจดทะเบียน
:
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท
ทุนชําระแลว
:
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท
นายทะเบียนหลักทรัพย
:
บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท +66 2009 9000 โทรสาร +66 2009 9991 เว็บไซต http://www.set.or.th/tsd
ผูสอบบัญชี
:
บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 179/74-80 ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท +66 2344 1000 โทรสาร +66 2286 5050 เว็บไซต http://www.pwc.com/th
ที่ปรึกษากฎหมาย
:
สํานักกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5622
PAGE
41
PAGE
42
ข อมูลทั่วไปของบริษัทย อยที่บริษัทถือหุ นเกินร อยละ 10 ชื่อบริษัท
สถานที่ตั้ง
1. บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น 431/4 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล จํากัด เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
ประเภทธุรกิจ
ธุรกิจสื่อ โทรทัศน
ชนิดหุ น ทุนจดทะเบียน
ทุนชําระแล ว
ถือหุ น ร อยละ
หุนสามัญ 300,000,000 300,000,000 99.99 บาท บาท
2. บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด)
ธุรกิจ 419/2 ซอยลาดพราว 15 หุนสามัญ 200,000,000 200,000,000 99.99 บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล สื่อโฆษณา บาท เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 และจําหนาย ผลิตภัณฑ โทรศัพท +66 2902 1933, เสริมความงาม +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5621
3. บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด
ธุรกิจสื่อวิทยุ หุนสามัญ 25,000,000 25,000,000 419/2 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล บาท บาท เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5694
99.99
4. บริษัท ยาค จํากัด
ธุรกิจผลิต 431/3 ซอยลาดพราว 15 รายการ ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรทัศน โทรศัพท +66 2 938 5630 - 2 โทรสาร +66 2511 2324
หุนสามัญ 2,500,000 บาท
2,500,000 บาท
99.97
ธุรกิจจัดเก็บ หุนสามัญ 5,000,000 5. บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย 203/34-36 คาลิขสิทธิ์ จํากัด บาท ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2938 8000 โทรสาร +66 2938 5583
5,000,000 บาท
99.99
ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 80,000,000 80,000,000 203/34-36 และผลิต บาท ซอยลาดพราว 15 บาท กิจกรรม ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
99.99
6. บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด)
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
43
ชนิดหุ น ทุนจดทะเบียน
ทุนชําระแล ว
ถือหุ น ร อยละ
7. บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด
ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 5,000,000 419/3 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
5,000,000 บาท
99.98
8. บริษัท เวรี่เวลล จํากัด
ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 4,000,000 431/3 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
4,000,000 บาท
99.98
9. บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด
ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 5,000,000 431/2 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
5,000,000 บาท
99.99
10. บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด
419/1 ซอยลาดพราว 15 ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 37,000,000 37,000,000 บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล บาท และผลิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
99.99
11. บริษัท อารเอส อินเตอร เนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด
419/3 ซอยลาดพราว 15 ธุรกิจใหบริการ หุนสามัญ 37,500,000 37,500,000 บาท บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล และรับจาง เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 จัดกิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 ดานการกีฬา โทรสาร +66 2511 2324
83.33
12. บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด
419/2 อาคารเชษฐโชติศกั ดิ์ 2 ชั้นที่ 3 ซอยลาดพราว 15 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
หุนสามัญ 1,000,000 บาท
1,000,000 บาท
99.99
ผลิตรายการ หุนสามัญ 4,500,000 13. บริษัท อาร.เอส. สปอรต 419/2 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล โทรทัศนและ มาสเตอร จํากัด เขตจตุจักร กรุงเทพฯ รับจางผลิตงาน 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324
4,500,000
75.98
ชื่อบริษัท
สถานที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
ธุรกิจผลิต รายการ โทรทัศน
PAGE
44
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
45
ข อมูลหลักทรัพย และผู ถือหุ น จํานวนทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท มีทุนชําระแลวจํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคา ที่ตราไวหุนละ 1 บาท
ผู ถือหุ น กลุมผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ณ วันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2559 มีดังนี้ ลําดับที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ * 1. 2. 3. 4. ** 1. 2.
ชื่อ-สกุล
กลุม เชษฐโชติศักดิ์ * กลุม วณิชวรากิจ ** ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) นายชาญยุทธิ์ เหลารัดเดชา SIX SIS LTD นางสาวชมกมล พุมพันธุมวง นายศิริศักดิ์ สนโสภณ นางทรงศรี พสวงศ
จํานวนหุ นที่ถือ
349,033,500 125,000,000 70,000,000 45,684,836 43,273,300 18,937,600 18,468,240 11,400,000 9,221,100 8,000,000
คิดเป นร อยละ
34.56 12.38 6.93 4.52 4.28 1.88 1.83 1.13 0.91 0.79
กลุมเชษฐโชติศักดิ์ ไดแก นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 334,153,700 หุน คิดเปนรอยละ 33.09 นายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 374,800 หุน คิดเปนรอยละ 0.04 นายเชษฐ เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 13,705,000 หุน คิดเปนรอยละ 1.36 นายโชติ เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 800,000 หุน คิดเปนรอยละ 0.08 กลุมวณิชวรากิจ ไดแก นายโสรัตน วณิชวรากิจ ถือหุนจํานวน 115,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 11.39 นายโยธิน วณิชวรากิจ ถือหุนจํานวน 10,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 0.99
รายชื่อกลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณ มีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ (กลุมผูถือหุน หรือผูถือหุนที่ถือหุนเกินกวารอยละ 10 และดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทฯ หรือสงตัวแทนเขามาเปนกรรมการบริษัท)
การออกหลักทรัพย อื่น -ไมมี-
นโยบายการจ ายเงินป นผล บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยมี น โยบายจ า ยเงิ น ป น ผลในอั ต ราไม น อ ยกว า ร อ ยละ 50 ของกํ า ไรสุ ท ธิ ห ลั ง จากหั ก ภาษี แ ละสํ า รอง ตามกฎหมายแลว ทั้งนี้ คณะกรรมการของบริษัทฯ มีอํานาจในการพิจารณายกเวนไมดําเนินการตามนโยบายดังกลาว หรือเปลี่ยนแปลง นโยบายดังกลาวไดเปนครั้งคราว โดยอยูภายใตเงื่อนไขที่การดําเนินการดังกลาวจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุน
PAGE
46
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
โครงสร างการจัดการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee)
คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee)
คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการบริหาร (Executive Board)
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Committee) คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Human Development Committee)
ประธานเจ าหน าที่บริหาร (CEO)
ฝ ายตรวจสอบกลาง (Internal Audit)
บริหารลูกค าองค กร (Corporate Client Management) ธุรกิจสื่อโทรทัศน (Television) สํานักกฎหมาย (Legal Office) การเงินและบัญชี (Finance & Accounting) ทรัพยากรบุคคลและธุรการ (Human Resource and Administration) สื่อสารองค กร (Corporate Communication) เทคโนโลยีสารสนเทศและบรอดคาสท (Information Technology and Broadcast)
ธุรกิจสื่อวิทยุ (Radio) ธุรกิจเพลง (Music) ธุรกิจสุขภาพและความงาม (Health and Beauty) ธุรกิจรับจ างและผลิตกิจกรรม (Event)
47
PAGE
48
โครงสรางการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบดวยคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการรวมทัง้ หมด 7 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัท ของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 9 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการบริหาร
2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และเลขานุการบริษัท
3. นายดามพ นานา
กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการบรรษัทภิบาล
4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
กรรมการบริษัท
5. นายศุภชัย นิลวรรณ
กรรมการบริษัท
6. นายโสรัตน วณิชวรากิจ
กรรมการบริษัท
7. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
8. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
9. นางวรรณสุดา ธนสรานาต
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
นิยามกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการจากภายนอกทีไ่ มไดมตี าํ แหนงเปนผูบ ริหารหรือพนักงานประจําของบริษทั ฯ ไมไดเปนกรรมการบริหาร หรือ กรรมการผูม อี าํ นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ และเปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญ ผูบ ริหาร และผูท เี่ กีย่ วของ สามารถทําหนาทีค่ มุ ครอง ผลประโยชนของผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน และสามารถชวยดูแลไมใหเกิดรายการทีม่ คี วามขัดแยงทางผลประโยชนระหวางบริษทั ฯ กับบุคคลที่เกี่ยวของกัน โดยมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (1) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ใหนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของ* ดวย (2) ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน**/พนักงาน/ลูกจาง/ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา/ผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน*** หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งในปจจุบัน และในชวงเวลา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
(3) ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรส ของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (4) ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ แบงได ดังนี้ (ก) ลักษณะความสัมพันธ ❒
ความสัมพันธในลักษณะของการใหบริการทางวิชาชีพ ●
●
ลักษณะความสัมพันธ : ผูสอบบัญชี ผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมิน ราคาทรัพยสิน เปนตน ระดับนัยสําคัญที่เขาขายไมอิสระ - กรณีผูสอบบัญชี : หามทุกกรณี - กรณีเปนผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น : มูลคารายการเกิน 2 ลานบาทตอป
❒
ความสัมพันธทางการคา/ทางธุรกิจ (ใชแนวทางในทํานองเดียวกับขอกําหนดวาดวยการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ของตลาดหลักทรัพยฯ) ●
●
ลักษณะความสัมพันธ : กําหนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกรรมปกติ รายการเชา/ ใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพย/บริการ และรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ระดับนัยสําคัญที่เขาขายไมอิสระ : มูลคารายการ ≥ 20 ลานบาท หรือ ≥ รอยละ 3 ของ NTA ของบริษัท แลวแต จํานวนใดจะตํ่ากวา ทั้งนี้ ในการพิจารณามูลคารายการใหรวมรายการที่เกิดขึ้นในระหวาง 6 เดือน กอนวันที่มี การทํารายการในครั้งนี้ดวย
(ข) กรณีที่มีลักษณะความสัมพันธตาม (ก) กับนิติบุคคล บุคคลที่ถือวาเขาขายไมอิสระ ไดแก ผูถือหุนรายใหญ กรรมการ (ยกเวนกรณีเปนกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ) และผูบริหารหรือ Partner ของนิติบุคคลนั้น (ค) กําหนดชวงเวลาที่หามมีความสัมพันธตาม (ก) และ (ข) : ปจจุบันและ 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง (ง) ขอยกเวน : กรณีมีเหตุจําเปนและสมควร ซึ่งมิไดเกิดขึ้นอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ อาจมีความสัมพันธเกินระดับนัยสําคัญทีก่ าํ หนดในระหวางดํารงตําแหนงก็ได แตตอ งไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั กอน และมติที่ไดตองเปนมติเปนเอกฉันท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทตองจัดใหมีการเปดเผยความสัมพันธดังกลาวของ กรรมการรายนั้นไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย (แบบ Filing) แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) และรายงานประจําป (แบบ 56-2) ของบริษัทฯ และหากตอมาบริษัทฯ จะเสนอกรรมการอิสระ/กรรมการ ตรวจสอบรายนัน้ เพือ่ ดํารงตําแหนงตออีกวาระหนึง่ คณะกรรมการบริษทั ตองจัดใหมกี ารเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับความสัมพันธ ดังกลาวในหนังสือนัดประชุมผูถือหุนในวาระเลือกตั้งกรรมการดวย (5) ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ (6) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระได (7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามขอ (1) - (6) อาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของ บริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบองคคณะ (Collective Decision) ได
49
PAGE
50
ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการอิสระมีการดํารงตําแหนงเปนกรรมการอิสระในบริษัทใหญ บริษัทยอย และบริษัทยอยลําดับเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดํารงตําแหนงดังกลาว และคาตอบแทนรวม ที่กรรมการอิสระรายนั้น ไดรับในแบบ Filing แบบ 56-1 และแบบ 56-2 ดวย หมายเหตุ *
ผูที่เกี่ยวของ หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย
**
กรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหาร กรรมการที่ทําหนาที่รับผิดชอบเยี่ยงผูบริหาร และกรรมการที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน เวนแตแสดงไดวาเปนการลงนามผูกพันตามรายการที่คณะกรรมการมีมติอนุมัติไวแลว และเปนการลงนามรวมกับกรรมการรายอื่น
*** บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หมายถึง บริษัทยอยตั้งแต 2 บริษัทขึ้นไปที่มีบริษัทใหญเปนบริษัทเดียวกัน
กรรมการผู มีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล นายดามพ นานา นายศุภชัย นิลวรรณ สองในหาคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2546 ไดมีมติกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทไว ดังนี้ คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจหนาที่จัดการบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ มติของที่ประชุมผูถือหุน และมีอํานาจมอบหมายแตงตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งใหเปนกรรมการบริหารหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นใด เพื่อดําเนินการอยางหนึ่ง อยางใดหรือหลายอยางภายใตการควบคุมของคณะกรรมการบริษัทได เวนแตอํานาจในการดําเนินการดังตอไปนี้ จะกระทําไดก็ตอเมื่อ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอน ทัง้ นีก้ าํ หนดใหรายการทีก่ รรมการหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดเสีย หรือมีความขัดแยง ทางผลประโยชนอื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ใหกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใด ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น (ก) เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดมติจากที่ประชุมผูถือหุน (ข) การทํารายการที่กรรมการมีสวนไดเสียและอยูในขายที่กฎหมาย หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยระบุใหตองไดรับอนุมัติ จากที่ประชุมผูถือหุน และในกรณี ดั ง ต อ ไปนี้ จ ะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ด ว ยคะแนนเสี ย ง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนที่เขาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญ (ข) การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชนมาเปนของบริษัทฯ (ค) การทํา แกไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญ การมอบหมายใหบุคคลอื่น เขาจัดการธุรกิจของบริษัทฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกําไรขาดทุนกัน (ง) การแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิหรือขอบังคับ (จ) การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุนกู การควบหรือเลิกบริษัท (ฉ) การใดที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย หรือประกาศตลาดหลักทรัพยกําหนดใหตองไดรับมติจากที่ประชุมผูถือหุน เชน การไดมา หรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียนหรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
หนาที่ความรับผิดชอบ ตลอดจนอํานาจอนุมัติของคณะกรรมการ ของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) รวมถึงเรื่องดังตอไปนี้ 1. พิจารณาและอนุมัติวิสัยทัศน และพันธกิจของกลุมบริษัทฯ 2. ดูแลใหการดําเนินการตางๆ เปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ 3. อนุมตั แิ ละหรือใหความเห็นชอบนโยบาย แผนงาน และงบประมาณประจําป และกํากับดูแลใหฝา ยจัดการดําเนินการใหเปนไปตาม นโยบายและแผนงานที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจารณาและอนุมัติรายการที่มีนัยสําคัญ ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ ประกาศ นโยบาย ระเบียบหรืออํานาจดําเนินการ ของบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีหนาที่พิจารณารายชื่อกรรมการใหมซึ่งไดรับการพิจารณากลั่นกรองแลวและนําเสนอโดยคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการที่ไดรับการเสนอชื่อจะตองพรอมที่จะทุมเทเวลา ความรู ความสามารถที่มีใหแกบริษัทฯ และมีความเขาใจหนาที่ความรับผิดชอบของกรรมการ สําหรับกรรมการใหมทางบริษัทฯ มีกระบวนการใหขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจและ การดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อใหกรรมการใหมมีความรูความเขาใจในธุรกิจของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั มีการประเมินผลการทํางานของคณะกรรมการบริษทั ประจําปตามแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษัท เพื่อเปนการตรวจสอบการทํางานและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการบริษัทใหดียิ่งขึ้น
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของประธานกรรมการ เพื่อทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ อีกทั้งลงคะแนนเสียงชี้ขาดในกรณีที่ ที่ประชุมคณะกรรมการมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียงเทากัน ตลอดจนทําหนาที่เรียกประชุมคณะกรรมการ และเปนประธานในที่ประชุมใหญผูถือหุนของบริษัท รวมถึง ปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายซึ่งกําหนดไวเฉพาะใหเปนหนาที่ของประธานกรรมการ
การเข าร วมประชุมคณะกรรมการบริษัทในป 2559 รายนามคณะกรรมการ
ตําแหน ง
จํานวนครั้งที่เข าร วมประชุม
1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ประธานกรรมการ
6/6
2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
กรรมการ
6/6
3. นายดามพ นานา
กรรมการ
6/6
4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
กรรมการ
6/6
5. นายศุภชัย นิลวรรณ
กรรมการ
6/6
6. นายโสรัตน วณิชวรากิจ
กรรมการ
6/6
7. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
กรรมการอิสระ
6/6
8. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
กรรมการอิสระ
6/6
9. นางวรรณสุดา ธนสรานาต
กรรมการอิสระ
5/6
51
PAGE
52
คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
ประธานคณะกรรมการ
2. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
กรรมการ
3. นางวรรณสุดา ธนสรานาต
กรรมการ
หมายเหตุ : 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย คือ กรรมการตรวจสอบที่มีความรู และ ประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัทฯ โดยเปนผูสอบบัญชีรับ อนุญาต เลขทะเบียน 966 รับตรวจสอบบัญชี บริษัทตางๆ ซึ่งไมใชบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ (ก) เขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจทางธุรกิจ ตลอดจนการกํากับดูแลกิจการ (ข) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และถอดถอนผูสอบบัญชี และเสนอคาสอบบัญชีบริษัทฯ ประจําป รวมถึงประเด็น ดังนี้ ❒
❒
พิจารณาความเปนอิสระของผูส อบบัญชี เชน พิจารณาจากการใหบริการอืน่ นอกเหนือจากการสอบบัญชี (non-audit service) ที่อาจทําใหขาดความเปนอิสระ เชน การวางระบบบัญชี เปนตน ใหมีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขาประชุมดวยอยางนอย 1 ครั้ง ตอป เพื่อขอความเห็นจากผูสอบบัญชี ในเรื่องตางๆ
(ค) พิจารณานโยบายและแนวทางปฏิบัติของฝายตรวจสอบกลางใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลอยางตอเนื่อง (ง) พิจารณาทบทวนแผนงานการตรวจสอบประจําปของฝายตรวจสอบกลาง (จ) สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล โดยสอบทาน รวมกับผูสอบบัญชีภายในและภายนอก รวมถึงประเด็น ดังนี้ ❒
❒
ใหความเห็นชอบในการแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง และพิจารณาความดีความชอบของหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ทั้งนี้เพื่อใหหนวยงานดังกลาวมีความเปนอิสระอยางแทจริง พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายในโดยพิจารณาจากการปฏิบัติหนาที่ และการรายงานตางๆ รวมถึง สายงานบังคับบัญชาของหนวยงานนี้
(ฉ) พิ จ ารณารายงานผลการตรวจสอบรายไตรมาส และข อ เสนอแนะของผู ส อบบั ญ ชี ภ ายในและภายนอก รวมทั้ ง ติ ด ตาม ผลการดําเนินการตามขอเสนอแนะดังกลาว (ช) สอบทานรายการทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอยรายไตรมาส ใหมีความถูกตองเชื่อถือได และมีการเปดเผยขอมูล ที่เพียงพอ ตามกระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี (ซ) ดูแลและสอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ (ฌ) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใ ห เ ป น ไปตามกฎหมายและข อ กํ า หนด ของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาว สมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ (ญ) พิจารณารวมกับผูสอบบัญชีถึงปญหา หรือขอจํากัดที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบงบการเงิน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
(ฎ) จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกลาว ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และตองประกอบดวยขอมูล ดังนี้ ❒
จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขารวมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแตละทาน
❒
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบในประเด็น ดังนี้ o ความถูกตองครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ o ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ o การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของ กับธุรกิจของบริษัทฯ o ความเหมาะสมของผูสอบบัญชี o รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน o ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร
❒
รายการอื่นที่เห็นวา ผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท
(ฏ) คณะกรรมการตรวจสอบมีอํานาจเชิญกรรมการบริหาร ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของมาใหขอมูล หรือเขารวมประชุมได (ฐ) การปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนาม ดังตอไปนี้ 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
ประธานกรรมการ
2. พลเอกไพโรจน พานิชสมัย
กรรมการ
3. นางวรรณสุดา ธนสรานาต
กรรมการ
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน (ก) พิจารณาหลักเกณฑและกระบวนการในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ รวมทั้งคัดเลือก บุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ไดกําหนดไว และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทซึ่งจะนําเสนอที่ประชุมผูถือหุน ใหเปนผูแตงตั้งกรรมการ แบงไดเปน ❒
กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบของคณะกรรมการ ที่คณะกรรมการกําหนดไว โดยดําเนินการ ดังนี้ o พิจารณาความเหมาะสมของความรู ประสบการณ และความเชี่ยวชาญของกรรมการโดยรวมวา คณะกรรมการตองการ กรรมการที่มีคุณสมบัติลักษณะใดบาง
53
PAGE
54
o พิจารณาความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน เพื่อพิจารณาวา กรรมการอิสระคนใดมีคุณสมบัติครบถวนหรือ คนใดขาดคุณสมบัติในการเปนกรรมการอิสระ รวมทั้งพิจารณาวาจําเปนตองสรรหากรรมการอิสระใหมหรือไม หากมี กรรมการอิสระไมครบตามนโยบายของคณะกรรมการ o พิจารณาการอุทิศเวลาของกรรมการ ❒
สรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการใหคณะกรรมการพิจารณาเพื่อเสนอชื่อใหที่ประชุม ผูถือหุนเปนผูแตงตั้ง โดยดําเนินการ ดังนี้ o กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษัทฯ o ดําเนินการพิจารณารายชื่อบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อมาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติ ที่กําหนดไว o ตรวจสอบใหรอบคอบวาบุคคลที่จะถูกเสนอชื่อนั้นมีคุณสมบัติตามกฎหมายและขอกําหนดของหนวยงานทางการ o ดําเนินการทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว เพื่อจะไดมั่นใจวา บุคคลดังกลาว มีความยินดีจะมารับตําแหนงกรรมการของบริษัท หากไดรับการแตงตั้งจากผูถือหุน o เสนอชื่อใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและบรรจุชื่อในหนังสือนัดประชุมผูถือหุน เพื่อใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณา แตงตั้งตอไป
(ข) พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทนของกรรมการเพื่อเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ซึ่งจะนําเสนอที่ประชุม ผูถือหุนใหเปนผูอนุมัติ (ค) พิจารณาเกณฑประเมินผลประธานเจาหนาที่บริหาร (ง) พิจารณากําหนดคาตอบแทนประจําปของกรรมการ (จ) พิจารณาการเสนอขายหลักทรัพยใหม (หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน) ใหแกกรรมการและพนักงาน โดยใหเงื่อนไขตางๆ จูงใจใหกรรมการและพนักงานปฏิบัติหนาที่เพื่อใหเกิดการสรางมูลคาเพิ่มใหผูถือหุนในระยะยาวและสามารถรักษาบุคลากร ที่มีคุณภาพไดอยางแทจริง แตในขณะเดียวกันตองไมสูงเกินไปและเปนธรรมตอผูถือหุนดวย ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมมี ติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และอนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน ดังรายนามตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ประธานกรรมการ
2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
กรรมการ
3. นายดามพ นานา
กรรมการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ไดมมี ติกาํ หนดขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารมีอาํ นาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (ก) มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการกูหรือใหกูยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการเขาเปนผูคํ้าประกัน หรือการชําระหรือใชจายเงินเพื่อธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้ ภายในวงเงินสําหรับแตละรายการไมเกินกวา 100 ลานบาท หรือจํานวนเทียบเทา (ข) มีอํานาจแตงตั้ง ถอดถอนเจาหนาที่ของบริษัทฯ ในตําแหนงที่ไมสูงกวาตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร (เดิมใชชื่อตําแหนง เปนกรรมการผูจัดการ) (ค) มีอํานาจจัดทํา เสนอแนะและกําหนดนโยบายแนวทางธุรกิจ และกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการ (ง) จัดตั้งโครงสรางองคกรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การฝกอบรม การวาจาง และการเลิกจางของพนักงานของบริษัทฯ (จ) กําหนดแผนธุรกิจ อํานาจการบริหารงาน อนุมัติงบประมาณสําหรับประกอบธุรกิจประจําป และงบประมาณรายจายประจําป และดําเนินการตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธทางธุรกิจโดยสอดคลองกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ไดแถลงตอคณะกรรมการ (ฉ) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการ อนึง่ การอนุมตั กิ ารเขาทํารายการดังกลาวขางตน จะตองไมมลี กั ษณะเปนการอนุมตั กิ ารเขาทํารายการทีท่ าํ ใหคณะกรรมการบริหารหรือ ผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติการเขาทํารายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง หรือมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทฯ และตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทฯ หรือบริษทั ยอย ยกเวนเปนการอนุมตั กิ ารเขาทํารายการทีเ่ ปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑทคี่ ณะกรรมการบริษทั ไดพจิ ารณาอนุมตั ไิ ว ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการมีอํานาจในการแกไขเปลี่ยนแปลงขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารไดตามที่จําเปนหรือเห็นสมควร
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 2 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
ประธานกรรมการ
2. นายดามพ นานา
กรรมการ
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และอนุมัติ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) พิจารณานโยบาย แผนงานและการดําเนินงานบริหารความเสี่ยง รวมถึงใหคําแนะนําแกคณะกรรมการบริษัท และฝายจัดการ ในเรื่องการบริหารความเสี่ยง (ข) กํากับดูแลและสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามแผนงานและสําเร็จลุลวงในระดับองคกร ตลอดจนระดับโครงการ (ค) พิจารณาความเสี่ยงที่สําคัญของบริษัทในระดับองคกร และประเมินการดําเนินงานบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับกลยุทธ และแผนธุรกิจของบริษัทฯ (ง) รายงานการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท
55
PAGE
56
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 2 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
ประธานกรรมการ
2. นายดามพ นานา
กรรมการ
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และอนุมัติ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล โดยกําหนดใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) เสนอแนวทางหรือนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท (ข) ทบทวนหรือปรับปรุงแนวทางหรือนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ (ค) ใหคําแนะนําดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี แกคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท (ง) ดูแลใหกรรมการและฝายจัดการปฏิบัติงานตามนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนาม ดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
ประธานกรรมการ
2. นางสาวประอรศรี อุดมผล
กรรมการ
3. นายชาคริต พิชญางกูร
กรรมการ
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ก) นําเสนอนโยบาย และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคล (ข) พัฒนากลยุทธ และเทคนิควิธีเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ค) กํากับ และดูแลการดําเนินงานดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ง) พิจารณา และตัดสินใจในประเด็นที่เกี่ยวของดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตามแนวทางที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหาร
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
คณะผู บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะผูบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 6 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
ประธานเจาหนาที่บริหาร
2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ
3. นายดามพ นานา
ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน
4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
ประธานเจาหนาที่ฝายกฎหมาย
5. นายศุภชัย นิลวรรณ
รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส
6. นางสาวนงลักษณ งามโรจน
รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส
หมายเหตุ 1. ผูบริหาร หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย (กลต.) ที่ สจ.14/2540 2. นางสาวชุติมา ทิชาชาติ ไดออกจากการเปนผูบริหารของบริษัท เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2559
ขอบเขตอํานาจหน าที่ของประธานเจ าหน าที่บริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ไดมีมติ กําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร (เดิมใชชื่อตําแหนงเปนกรรมการผูจัดการ) โดยกําหนดใหประธานเจาหนาที่ บริหาร มีอํานาจอนุมัติในการดําเนินการใดๆ ที่จําเปนหรือเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินงานตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ ภายในวงเงินสําหรับ แตละรายการไมเกินกวา 25 ลานบาท หรือจํานวนเทียบเทา ทั้งนี้ การอนุมัติการทํารายการดังกลาวขางตนประธานเจาหนาที่บริหารไมมี อํานาจในการดําเนินการใดๆ ในหรือเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทฯ และ/หรือ รายการหรือเรื่องที่ประธานเจาหนาที่บริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่จะทําขึ้นกับบริษัทฯ และบริษัทยอย ในกรณีดังกลาว รายการหรือเรื่องดังกลาวจะตองนําเสนอตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ คณะกรรมการของบริษัทฯ (แลวแตกรณี) เพื่อพิจารณาอนุมัติ
การสรรหากรรมการและผู บริหาร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมมี ติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และอนุมตั ขิ อบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังนัน้ การคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเขาดํารงตําแหนงเปน กรรมการของบริษทั ฯ ตองผานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน วิธกี ารสรรหากรรมการจะกระทําโดยคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑคุณสมบัติตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของ นอกจากนีย้ งั พิจารณาถึงความหลากหลาย ของทักษะ ประสบการณ ความรู และความสามารถเฉพาะเพื่อประโยชนและการพัฒนากิจการของบริษัทฯ รวมทั้งการอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ จากนั้นจึงนํารายชื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้ง
57
PAGE
58
ในการแตงตั้งคณะกรรมการของบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี้ (ก) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอเสียงหนึ่ง (ข) ใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคลไป (ค) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งใหประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ ทําหนาที่เปนเลขานุการบริษัท ซึ่งปจจุบัน คือ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ชื่อสกุล
นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
ตําแหนง
กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ
อายุ
46 ป
คุณวุฒิทางการศึกษา
ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Executive Development Program รุนที่ 4 (EDP 4) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
สัดสวนการถือหุน
ไมมี
ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร
ไมมี
ประสบการณทํางาน
2547 - ปจจุบัน กรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2550 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ค าตอบแทนผู บริหาร ค าตอบแทนที่เป นตัวเงิน ก) กรรมการบริษัท ป 2559
รายการ
จํานวน (ท าน)
จํานวนเงิน (บาท)
รายละเอียดค าตอบแทน
กรรมการบริษัท
9
1,110,000
คาตอบแทนประจําและเบี้ยประชุม
กรรมการตรวจสอบ
3
1,748,000
คาตอบแทนประจําและเบี้ยประชุม
โดยมีรายละเอียดคาตอบแทนประจํา และเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท เปนรายบุคคลดังนี้ ลําดับที่
ป 2559
รายนามกรรมการบริษัท
ค าตอบแทนประจํา (บาท)
ค าเบี้ยประชุม (บาท)
1
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
-
150,000
2
นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล
-
120,000
3
นายดามพ นานา
-
120,000
4
นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ
-
120,000
5
นายศุภชัย นิลวรรณ
-
120,000
6
นายโสรัตน วณิชวรากิจ
-
120,000
7
นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย
-
120,000
8
พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย
-
120,000
9
นางวรรณสุดา ธนสรานาต
-
120,000
รวมทั้งหมด
1,110,000
หมายเหตุ 1. คาตอบแทนกรรมการนี้เปนผลประโยชนที่จายใหแกกรรมการของบริษัทฯ ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 (โดยไมรวมเงินเดือน และผลประโยชนที่เกี่ยวของที่จายใหกับกรรมการซึ่งดํารงตําแหนงเปนผูบริหารของบริษัทฯ ดวย) และการเปนกรรมการบริษัทยอยไมไดรับคาตอบแทน
ข) กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัทฯ รายการ
ป 2559 จํานวน (ท าน)
จํานวนเงิน (ล านบาท)
รายละเอียดค าตอบแทน
กรรมการบริหาร
3
-
-
ผูบริหาร
7
68.18
เงินเดือน/โบนัส/สวัสดิการอื่นๆ
ในป 2559 บริษัทไดจายเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหาร 6 ราย จํานวนเงินรวมประมาณ 2.29 ลานบาท
59
PAGE
60
ค าตอบแทนอื่น -ไมมี-
บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุมบริษัทฯ มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 1,109 คน ประกอบดวยพนักงานใน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 611 คน และบริษัทในเครือ 498 คน และไดจายผลตอบแทนเปนจํานวนเงินรวมประมาณ 760 ลานบาท โดยเปนผลตอบแทนในรูปของ เงินเดือน โบนัสและคาใชจายบุคลากรอื่นๆ ตลอดจน มีเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงาน จํานวนเงินรวมประมาณ 18 ลานบาท
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1. บริษัทฯ คํานึงถึงความสําคัญของพนักงานในฐานะทุนมนุษย (Human Capital) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะผลักดันใหองคกร บรรลุสูเปาหมายได จึงกําหนดใหมีแผนงานและมีการจัดสรรงบประมาณในแตละปไวอยางชัดเจน และมีการจัดระดับการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล ไว 3 ระดับ คือ การพัฒนาองคกร (Organization Development) การพัฒนาอาชีพ (Career Development) และการฝกอบรมและพัฒนา (Training Development) โดยในป 2559 ไดจัดการอบรมรวมทั้งสิ้น 11 หลักสูตร จํานวน 26 รุน แบงเปนจัดฝกอบรมภายในเปนจํานวน 194 ชั่วโมงและฝกอบรมภายนอกเปนจํานวน 277 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 471 ชั่วโมง แบงเปน 1.1 การพัฒนาองคกร (Organization Development) ไดสงเสริมการสรางวัฒนธรรมองคกรภายในของกลุมบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ตั้งแตชวงการปฐมนิเทศพนักงานใหม ผานกิจกรรม Welcome Day และการใชงานโปรแกรม Lotus Notes จัดทั้งหมด 10 รุน จํานวนผูเขาอบรม 124 คน 1.2 การพัฒนาอาชีพของพนักงาน (Career Development) ไดกําหนดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) และกําหนดหลักเกณฑการเลื่อนตําแหนง/ปรับระดับตําแหนง (Promotion Path) 1.3 การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน (Training Development) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาโดยใชกรอบของความสามารถ (Competency Base Training) ประกอบกับผลสํารวจความจําเปนในการฝกอบรม (Training Need) โดยมีวิธีการพัฒนา ทั้งในสวนของการสงไปฝกอบรมภายนอก (Public Training) และจัดฝกอบรมภายใน (In-house Training) ที่ครอบคลุม ทั้งดานการพัฒนาความรู (Knowledge Development) การพัฒนาทัศนคติ (Attitude Development) และการ พัฒนาทักษะ (Skill Development) ไดแก 1) หลักสูตร Winner Mindset จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 24 คน 2) Passion to Win Camp จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 39 คน 3) ระบบพื้นฐานงานออกอากาศสถานีโทรทัศน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 90 คน 4) Children’s Rights and Business Principles จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 19 คน และ 5) Team Building CCM 2016 เสริมสรางพลังการทํางานเปนทีม จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 107 คน เปนพนักงานตั้งแตระดับปฏิบัติการถึงระดับผูบริหาร บริษัทฯ ยังไดจัดอบรมตามที่กฎหมายกําหนด ไดแก 1) หลักสูตรความปลอดภัยสําหรับลูกจางทั่วไปและลูกจางเขางานใหม จํานวน 4 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 163 คน 2) การปฐมพยาบาลเบื้องตนและการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรม จํานวน 56 คน 3) เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 12 คน และ 4) เจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหนางาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 51 คน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
2. บริษัทใหความสําคัญกับการสรางความผูกพัน (Engagement) ของพนักงานในองคกรมาอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีกิจกรรม ตางๆ เชน กิจกรรมของขวัญที่เพียงพอและดีตอใจ โดยมอบขาวหอมมะลิปลอดสาร 100% จากกลุมชาวนาจังหวัดสุรินทร เพื่อเปนของขวัญวันปใหมใหแกผูบริหาร, พนักงาน และศิลปน นักรอง นักแสดง ผูประกาศ เปนตน 3. บริษัทมุงเนนในการสรางจิตสํานึกในการรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) กับพนักงานเพื่อ ใหเปนไปตามวิสัยทัศนขององคกรอยางตอเนื่อง โดยการสงเสริมและจัดใหมีกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรม RS Birthday Charity ซึ่งจัดขึ้นทุกเดือนตลอดป 2559 เพื่อใหพนักงาน ศิลปน นักรองนักแสดง ที่มีวันคลายวันเกิดในแตละเดือนไดรวมแบงปน ความสุขใหแกผูดอยโอกาสทางสังคม ผูปวยโรครายแรง เด็ก คนชรา และผูพิการ ในมูลนิธิ สถานสงเคราะหและองคกร เพื่อสาธารณะตางๆ ดังนี้ RS Birthday Charity ครั้งที่ 13 เดือนมกราคม 59 ที่สถานสงเคราะหเด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด (บานนนทภูมิ) RS Birthday Charity ครั้งที่ 14 เดือนกุมภาพันธ 59 โครงการปนรัก ผานของรัก สูสังคม รวมกับมูลนิธิยุวพัฒน RS Birthday Charity ครั้งที่ 15 เดือนมีนาคม 59 ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา RS Birthday Charity ครั้งที่ 16 เดือนเมษายน 59 ที่มูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ ปากเกร็ด RS Birthday Charity ครั้งที่ 17 เดือนพฤษภาคม 59 ที่มูลนิธิอนุเคราะหคนพิการ (โรงเรียนศรีสังวาลย) RS Birthday Charity ครั้งที่ 18 เดือนมิถุนายน 59 ที่สถาบันวิจัยจุฬาภรณ 4. จากการที่บริษัทฯ ไดประกาศนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานโดยจัดใหมีตัวแทนพนักงาน ทุกระดับรวมเปนคณะทํางานดานความปลอดภัยในระดับตางๆ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายดานความปลอดภัยใหเห็นผลเปน รูปธรรมและสอดคลองตามกฎหมายและมาตรฐานดานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ ในป 2559 บริษัทฯ ไดขยายผลและติดตามการดําเนินงานดานความปลอดภัยฯ โดยนําแผนงานไปปฏิบัติกับพนักงานทุกระดับเพื่อ ปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง เชน 1) ลงพื้นที่ตรวจสอบ รายงาน และติดตามการแกไขจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่การทํางาน 2) ปรับปรุงพื้นที่การทํางานในจุดที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุและทําการติดปายสัญลักษณดานความปลอดภัยตางๆ 3) ปรับปรุงระบบ ทางหนีไฟ ปรับปรุงปายบอกทางหนีไฟและไฟสองสวางฉุกเฉินใหอยูในมาตรฐานที่กําหนด 4) ตรวจสอบสภาพถังดับเพลิงในแตละตึก ตามระยะเวลาที่กําหนด และ 5) เก็บสถิติการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บปวยของพนักงานที่ใชบริการหองพยาบาลของบริษัทฯ เพื่อวิเคราะหหาสาเหตุ แนวทางแกไขและใหขอมูลขาวสาร ความรูดานสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานเพื่อใหพนักงาน นําไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางานใหมีความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี เปนตน ทั้งนี้ ในป 2559 อัตราการเจ็บปวยของพนักงาน ที่ใชบริการหองพยาบาลของบริษัทฯ อยูที่ประมาณรอยละ 0.11 ตอเดือน
61
PAGE
62
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
การกํากับดูแลกิจการ บริ ษั ท ฯ ได กํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยให ค วามสํ า คั ญ ต อ ระบบการควบคุ ม และการตรวจสอบภายใน และมุงเนนการกํากับดูแลฝายบริหารใหดําเนินการตามนโยบายอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนระยะยาวของผูถือหุน รวมทั้ง มุงเนนเรื่องความโปรงใสในการดําเนินกิจการ การเปดเผยขอมูล และการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ตลอดจนความรับผิดชอบ ตอสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในป พ.ศ. 2559 บริษัทไดรับการจัดอันดับที่ Very Good CG Scoring จากผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจําป พ.ศ. 2559 สรุปการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในป 2559 ดังนี้
นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ อยางเปนลายลักษณอักษร และจัดใหมีการพิจารณา ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาวอยางนอยปละ 1 ครั้ง และบริษัทฯ ไดเผยแพรใหกรรมการและพนักงานเพื่อใชอางอิงและถือปฏิบัติ รวมทั้งเผยแพร บนเว็บไซตภายในของบริษัทฯ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัตินโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ครอบคลุมแนวทางปฏิบัติเปน 5 หมวด ไดแก •
สิทธิของผูถือหุน
•
การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน
•
บทบาทของผูมีสวนไดเสีย
•
การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส
•
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
สิทธิของผู ถือหุ น บริษัทฯ ไดใหความสําคัญและเคารพสิทธิของผูถือหุน โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด ใน ป 2559 บริษัทฯ จัดประชุม สามัญผูถือหุนวันที่ 27 เมษายน 2559 ซึ่งกรรมการทุกทาน ที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมผูถือหุน ยกเวน นายศุภชัย นิลวรรณ ไมไดเขารวมประชุม เนื่องจากติดภารกิจ (รายชื่อกรรมการบริษัทที่เขาประชุมผูถือหุน ดูรายละเอียดไดที่รายงานการประชุมผูถือหุน) บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมและอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุน รวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเขารวมการประชุมผูถือหุน โดยบริษัท เลือกสถานที่จัดการประชุมมีระบบขนสงมวลชนเขาถึงและเพียงพอเพื่อใหผูถือหุนสามารถเดินทางเขารวมการประชุมไดสะดวก บริษัทฯ มีนโยบายการปฏิบัติกับผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน โดยตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิของผูถือหุนในการเขาถึงขอมูล ของบริษทั ฯ อยางเพียงพอและทันเวลา ในการจัดประชุมผูถ อื หุน บริษทั ฯ จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมทัง้ ขอมูลประกอบการประชุม ตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบลวงหนากอนวันประชุมอยางนอย 7 วัน ซึ่งเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด
63
PAGE
64
ในป 2559 บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนนายทะเบียนหุนของบริษัทฯ เปนผูจัดสงหนังสือเชิญประชุม ใหแกผูถือหุนลวงหนากอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน หรือ 14 วัน แลวแตกรณีที่กฎหมายกําหนด ในป 2559 บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือนัดประชุม พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบลวงหนากอน วันประชุมในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด ซึ่งในแตละวาระมีหลักการและเหตุผลและความเห็นของคณะกรรมการบริษัทประกอบ นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน และเอกสารประกอบการประชุม ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษไวทเี่ ว็บไซต ของบริษัทฯ http://www.rs.co.th/investor.html กอนวันประชุมไมนอยกวา 30 วัน และ เผยแพรรายงานประจําป ไวที่ เว็บไซต ของบริษัทฯ กอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการเขาถึงขอมูลของผูถือหุน สวนรายงานการประชุมผูถือหุนที่ จัดในป 2559 ไดนําไปโพสตไวภายใน 14 วัน หลังการประชุมผูถือหุนแลวเสร็จ บริษัทฯ ไดจัดการประชุมผูถือหุนโดยกอนเริ่มประชุม ประธานในที่ประชุมไดมอบหมายใหเลขานุการบริษัทชี้แจงวิธีการออกเสียงลงคะแนนใหที่ประชุมทราบ ในระหวางการประชุมประธาน ในที่ประชุมเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการสอบถามเพิ่มเติม และแสดงความคิดเห็น กอนการออกเสียงลงคะแนน ในทุกวาระ และสนับสนุนใหมกี ารใชบตั รลงคะแนนเสียงในวาระทีส่ าํ คัญ เพือ่ ความโปรงใสและตรวจสอบได รายงานการประชุมถูกจัดทําขึน้ อยางถูกตอง ครบถวน เสร็จสมบูรณ ในเวลาที่กฎหมายกําหนด และมีระบบการจัดเก็บที่ดีเพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได ในป 2559 บริษัทฯ ดูแลผูถือหุนมากกวาสิทธิตามกฎหมาย เชน การใหขอมูลสําคัญที่เปนปจจุบันผานเว็บไซต และไมมีการลิดรอนสิทธิ ของผูถือหุนในการศึกษาสารสนเทศของบริษัทฯ ที่ตองเปดเผยตามขอกําหนดตางๆ และการเขาประชุมผูถือหุน ไดแก ไมเพิ่มวาระ การประชุมหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลสําคัญโดยไมไดแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนา ไมแจกเอกสารที่มีขอมูลสําคัญเพิ่มเติมในที่ประชุม ผูถือหุนอยางกะทันหัน และไมจํากัดสิทธิในการเขาประชุมของผูถือหุนที่มาสาย เปนตน และในระหวางการประชุมผูถือหุน ประธาน ในที่ประชุมไดเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการสอบถาม แสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนสงคําถามลวงหนากอนวันประชุม โดยสงคําถามผานเว็บไซตของบริษัทฯ หรือสงจดหมายถึงคณะกรรมการบริษัท ซึ่งการใหสิทธิของผูถือหุนและการสงเสริมใหผูถือหุนใชสิทธิเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดี
การปฏิบัติต อผู ถือหุ นอย างเท าเทียมกัน สําหรับผูถือหุนที่ไมสะดวกเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทฯ เสนอใหมอบฉันทะใหกรรมการอิสระซึ่งเปนประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบเขาประชุมและลงคะแนนเสียงแทน ในการประชุมสามัญผูถือหุนป 2559 มีผูถือหุนจํานวน 22 ราย มอบฉันทะใหประธาน กรรมการตรวจสอบ ซึ่งเปนกรรมการอิสระที่บริษัทฯ เสนอเปนผูรับมอบฉันทะใหออกเสียงแทน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 บริษัทไดเผยแพรขอมูลถึงผูถือหุนผานเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนสวนนอยเสนอเรื่องเพื่อบรรจุ เปนวาระการประชุมสามัญผูถ อื หุน พรอมทัง้ กําหนดกฎเกณฑทชี่ ดั เจนลวงหนาสําหรับการพิจารณาการเพิม่ วาระทีผ่ ถู อื หุน สวนนอยเสนอ และบริษัทฯ มีกําหนดวิธีการใหผูถือหุนสวนนอยเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาดํารงตําแหนงกรรมการ พรอมขอมูล ประกอบการพิจารณาดานคุณสมบัติและการใหความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อ อยางไรก็ตาม ไมมีผูเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระ การประชุมสามัญผูถือหุน และไมมีผูเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการ บริษัทฯ มีมาตรการปองกันกรรมการและผูบริหารใชขอมูลภายในเพื่อหาผลประโยชนใหแกตนเองหรือผูอื่นในทางมิชอบเปนลายลักษณ อักษร ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหกรรมการบริษัท ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ รายงานรายการที่อาจมีความ ขัดแยงของผลประโยชนของตนและผูเกี่ยวของตอคณะกรรมการโดยสงขอมูลใหแกสํานักกฎหมาย เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท และใหคณะกรรมการสามารถพิจารณาธุรกรรมของบริษัทฯ ที่อาจมีความขัดแยงของผลประโยชนและสามารถตัดสินใจเพื่อประโยชน ของบริษัทฯ โดยรวม ทั้งนี้ กรรมการและผูบริหารที่มีสวนไดเสียกับธุรกรรมที่ทํากับบริษัทฯ ไมใหมีสวนรวมในการตัดสินใจทําธุรกรรม ดังกลาว ดังรายละเอียดที่ไดเปดเผยในหัวขอการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน อีกทั้ง คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหในการทํารายการ ระหวางกันนั้นจะตองเปนไปตามขอกําหนดที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดังรายละเอียดที่ไดเปดเผยในหัวขอ มาตรการ หรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน ตั้งแตป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายหามกรรมการและ ผูบริหารระดับสูง(**) ซื้อขายหุนบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอนงบการเงินเผยแพรและ 2 วันหลังเปดเผยงบการเงิน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัทกําหนดขอหามไมใหมีการใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดจากการเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานในการหาประโยชนสวนตน หรือทําธุรกิจแขงขันกับบริษัทฯ หรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งไมใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนของตนในการซื้อขายหุนของบริษัทฯ ไวในคูมือจรรยาบรรณ และไดเปดเผยไวในหัวขอการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน หมายเหตุ (**) หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ที่มีหนาที่ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตามกฎหมาย
บทบาทของผู มีส วนได เสีย บริษัทฯ ใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักถึง แรงสนับสนุนจากผูมีสวนไดเสีย โดยเฉพาะอยางยิ่งชุมชนและสังคม ซึ่งใหความสําคัญอยางสมํ่าเสมอ (ดูตัวอยางในหัวขอบทบาทและ ความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล) รวมทั้งบริษัทฯ ไดจัดใหมีระเบียบและแนวปฏิบัติเปนลายลักษณ อักษร รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัย เพื่อใหผูที่เกี่ยวของ ซึ่งไดแก กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของกลุมบริษัทอารเอส เปนตน ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทฯ ดวยความซื่อสัตยสุจริตและมีจริยธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัทฯ และผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ สวนเนื้อหาของคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ ครอบคลุมในเรื่องจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณของพนักงาน ซึ่งไดแก
ความรับผิดชอบต อสังคมและสิ่งแวดล อม บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบที่พึงมี ตอประเทศชาติ สังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจนดําเนินธุรกิจและควบคุมใหมีการปฏิบัติภายใตกรอบของกฎหมาย และกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของอยางครบถวน รวมถึงมุงมั่นผลักดันใหเกิดกระแสพัฒนาคุณภาพของสังคมและสิ่งแวดลอม ทั้งที่ดําเนินการเองและรวมมือ กับรัฐและชุมชน และสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่องใหแกพนักงานและลูกจางทุกระดับ ในการปฏิบตั ติ นเปนคนดีทาํ ประโยชนใหกบั ชุมชนและสังคม รวมทัง้ สนับสนุนใหพนักงานและลูกจางมีสว นรวมสรางสรรคกจิ กรรมตางๆ เพื่อชุมชนและสังคมอยางสมํ่าเสมอ อันกอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดีในองคกรตอไป โดยมีการทบทวน ประเมินผล และติดตามความกาวหนา ในการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหแนใจวา บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามนโยบายเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจน บริษัทฯ ไดสนับสนุนใหมีกิจกรรมรณรงคการใชทรัพยากรอยางรูคุณคาในองคกร เชน บริษัทสนับสนุนใหลดการใชกระดาษ โดยทดแทน ดวยวิธีอื่นแทน เชน ใชขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น ทําใหบริษัทฯ สามารถลดการใชกระดาษลงไปไดอยางมาก และสนับสนุนการ ใชกระดาษสองหนา การชวยกันประหยัดพลังงาน เชน ปดแอรและปดไฟชวงระหวางพัก และใหขาวสารขอมูลความรู พรอมทั้งรณรงค การใชทรัพยากรอยางประหยัดเปนตน (ดูตวั อยางในหัวขอบทบาทและความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล)
ลูกค า บริษัทฯ มุงมั่นในการจําหนายสินคาและใหบริการที่มีคุณภาพกับลูกคาของบริษัทฯ และรับผิดชอบในการปฏิบัติตามสัญญาอยาง เครงครัด ตลอดจนมีหนวยงานใหบริการ ดูแล ชี้แจงขอสงสัย และแกไขปญหาตางๆ ใหกับลูกคา
ผู ถือหุ น บริษัทฯ บริหารงานดวยความรูความสามารถที่ดี มีประสิทธิภาพ เพื่อใหผลการดําเนินงานที่ดี โดยคํานึงถึงความเสี่ยงในปจจุบันและ อนาคต ตลอดจนใหเกิดผลตอบแทนที่เหมาะสมตอผูถือหุน และควบคุมดูแลใหเปนที่มั่นใจไดวา ไดมีการรายงานผลการปฏิบัติงาน และสถานะทางการเงินของบริษัทฯ ตลอดจนการเปดเผยขอมูลตอผูถือหุนอยางถูกตองครบถวน
65
PAGE
66
พนักงาน บริษัทฯ ถือวาพนักงานเปนสมบัติอันมีคาของบริษัทฯ ดังนั้นคุณคาของพนักงานจึงถือเปนเรื่องสําคัญ ซึ่งบริษัทฯ จัดใหมีสวัสดิการ ที่เหมาะสมแกพนักงาน ใหผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน แตละคน และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในระยะสั้น ไดแก เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และสอดคลอง กับผลการดําเนินงานของบริษัทในระยะยาว ไดแก การวัดผลการปฏิบัติงานพนักงานตาม Key Performance Indicators (KPI) และการจายผลตอบแทนของอุตสาหกรรมเดียวกัน และกลุมบริษัทอารเอส ใหความสําคัญกับการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของพนักงานอยูเสมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ทั้งนี้บริษัทฯจัดใหมีการตรวจสุขภาพพนักงาน การประกันชีวิตและสุขภาพพนักงาน และจัดใหมีการตรวจสอบความปลอดภัยของ สถานที่ทํางานสมํ่าเสมอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ไดมีการพิจารณาและอนุมัตินโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน บริ ษั ท ฯ ส ง เสริ ม ให มี ก ารฝ ก อบรมให ค วามรู แ ก พ นั ก งาน กรรมการ และผู บ ริ ห าร เป น ต น (ดู ตั ว อย า งในหั ว ข อ บทบาทและ ความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล)
คู ค าและเจ าหนี้ บริษัทฯ ตั้งมั่นในความซื่อสัตยสุจริต และเที่ยงธรรมตอคูคา โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และอยูบนพื้นฐานของการไดรับ ผลตอบแทนที่เปนธรรมตอทั้งสองฝาย หลีกเลี่ยงความลําเอียง หรือสถานการณที่ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดจน ยึดมั่นและถือปฏิบัติตามสัญญา เงื่อนไขตามขอตกลง และหนาที่ที่พึงมีตอคูคาและเจาหนี้ หากเกิดกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข ของสัญญาที่ตกลงกันไวได บริษัทฯ จะแจงใหเจาหนี้ทราบลวงหนาเพื่อรวมกันพิจารณาหาแนวทางการแกปญหา อีกทั้งบริษัทฯ ไมสนับสนุนการทุจริตและการจายสินบนเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจของบริษัท (ดูรายละเอียดไดในหัวขอนโยบายการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น) บริษัทฯ มีเกณฑการคัดเลือกคูคา/ผูขาย/ใหบริการภายนอก ดังนี้ •
คุณภาพของสินคา/และบริการ
•
ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความชํานาญ และประสบการณ
•
นโยบายการคา
•
ความมีชื่อเสียงทางธุรกิจ
•
สถานภาพทางการเงิน
คู แข ง บริษัทฯ สงเสริมนโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ตลอดจนปฏิบัติตอคูแขงอยางมืออาชีพ
คุณธรรม บริษัทฯ มุงมั่นกระทําในสิ่งที่ถูกตอง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ตรงไปตรงมา ภายใตกฎหมาย และกฎระเบียบของบริษัทฯ โดยถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณนี้ในทุกกิจกรรมและในการตัดสินใจในทุกเรื่องของบริษัทฯ บริษัทฯจะดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย และคํานึงถึงความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอบริษัทฯ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ความเสมอภาคกับสิทธิมนุษยชนแก ผู เกี่ยวข อง บริษัทฯ ไมมีการกีดกัน หรือไมใหสิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติแกผูหนึ่งผูใด เนื่องจากความแตกตางทางดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุ สถาบันการศึกษา รวมทั้งไมเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ทรัพย สินทางป ญญาหรือลิขสิทธิ์ บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนการไมลวงละเมิดทรัพยสินทางปญญาหรือลิขสิทธิ์ คณะกรรมการบริษัทไดมีการพิจารณาทบทวน และปรับปรุงคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งใน ป 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัติคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัทฯ รวมถึงใชเปนขอมูลในการฝกอบรมพนักงานใหมเพื่อใหพนักงานทุกระดับรับทราบ อยางทั่วถึง และมีกระบวนการดูแลใหมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดอยางเครงครัด บริษัทฯ มีนโยบายใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับปฏิบัติตามที่กําหนดในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ อยางเครงครัด ในปที่ผานมา บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญและ ที่มีผลกระทบดานลบอันอาจจะมีผลกระทบตอสินทรัพยของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยที่มีจํานวนสูงกวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตลอดจนไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย บริษัทฯ พัฒนากลไกการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียในการสรางเสริมผลการดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อสรางความมั่นคงอยางยั่งยืน ใหกับกิจการโดยการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และรับฟงความเห็น ขอรองเรียน หรือขอเสนอแนะ (ยกเวนคํารองเกี่ยวกับพฤติกรรม ที่อาจสอถึงการทุจริต หรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองคกร ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอนโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น) ทั้งจากพนักงานเอง และผูมีสวนไดเสียอื่น ผานทางการพบผูบริหาร หนวยงานตรวจสอบกลาง หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ เลขานุการ บริษัท หรือคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อนําเสนอผานไปยังคณะกรรมการบริษัทโดยตรง โดยทางเว็บไซต http://www.rs.co.th/ investor.html ทางโทรศัพท หมายเลข +66 2938 4307 และ +66 2511 0555 ตอ 1496 หรือติดตอโดยตรงตามหนวยงานดังกลาว เพื่อใหมีการรวบรวมและตรวจสอบขอมูลตามกระบวนการที่บริษัทฯ กําหนดไวและรายงานตอคณะกรรมการ สําหรับคํารองเกีย่ วกับรายงานทางบัญชีและการเงิน การควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและจรรยาบรรณ เลขานุการบริษัท จะเปนผูรับเอกสารและสรุปประเด็นตางๆ ทั้งหมดเสนอใหคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทเปน รายไตรมาส บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการเก็บขอมูลรองเรียนเปนความลับเพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูรองเรียน และเรื่องรองเรียน ดังกลาวจะรับรูเฉพาะในกลุมบุคคลที่ไดรับมอบหมายและเกี่ยวของดวยเทานั้น
การเป ดเผยข อมูลและความโปร งใส บริษัทฯ ใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ โดยกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงาน ผูบริหารไวอยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสิน และมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการควบคุม ภายในที่เกี่ยวกับระบบการเงิน โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบรายงานทางการเงินเสนอผูบริหารสายงานที่รับผิดชอบ บริษัทฯ มีฝายตรวจสอบภายในทําหนาที่ตรวจสอบโดยจะรายงานการตรวจสอบตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหมั่นใจวาการ ปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินสําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ มีนโยบายที่จะมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ (Compliance Control)
67
PAGE
68
คณะกรรมการชุดย อย คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยเพื่อชวยกลั่นกรองรายละเอียดโดยกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ ไวในระเบียบของแตละคณะ สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการชุดยอยเปนกรรมการอิสระ ยกเวน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประธานกรรมการไมดํารงตําแหนงในคณะกรรมการชุดยอย ทุกคณะ อีกทั้งยังกําหนดใหกรรมการอิสระเปนประธานของแตละคณะดวย ยกเวน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปจจุบัน บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดยอย 6 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รายละเอียดเกี่ยวกับรายชื่อ หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดยอยอยูในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ ❏
คณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการอิสระ รายนามคณะกรรมการตรวจสอบ และหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทเห็นวา นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย เปนกรรมการอิสระที่มีความรูและความเชี่ยวชาญดานบัญชีและการเงิน จึงไดแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง ซึ่งกรรมการตรวจสอบทุกทานที่อยู ในตํ า แหน ง ได เข า ร ว มประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบทุ ก ครั้ ง และรายงานผลการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต อ คณะกรรมการบริ ษั ท อยางสมํ่าเสมอ อีกทั้งในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวมกันระหวางคณะกรรมการตรวจสอบกับ ผูสอบบัญชีโดยไมมีผูบริหารอยู 1 ครั้ง
❏
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมด จํานวน 3 ทาน ซึ่งมีสมาชิกที่เปนกรรมการอิสระทั้งหมด จํานวน 3 ทาน โดยกรรมการอิสระ 1 ใน 3 ทาน เปนประธานกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการฯ มีวาระในการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป (ดูรายละเอียด ในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ) ในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน รวมทั้งสิ้นจํานวน 2 ครั้ง ซึ่งกรรมการทุกทาน ที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนทุกครั้ง และคณะกรรมการสรรหาฯ รายงาน ผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทอยางสมํ่าเสมอ ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. พิจารณาสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติและความเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทแทนกรรมการ ที่พนจากตําแหนงตามวาระ 2. พิจารณาอนุมัติแตงตั้งกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพิ่มเติม 3. พิจารณาทบทวนและอนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 4. พิจารณาทบทวนความเหมาะสมของรูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน 5. พิจารณาทบทวนเรื่องคาตอบแทนประจําปของกรรมการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
6. พิจารณาเกณฑการประเมินผลประธานเจาหนาที่บริหาร 7. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนประจําป 2559 8. รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทอยางสมํ่าเสมอ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีความเห็นวา รายการดังกลาวมีความเหมาะสมและเปนไปเพื่อประโยชน ของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว ❏
คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน รายนามคณะกรรมการบริหาร ดูรายละเอียดในหัวขอ โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งสิ้นจํานวน 24 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. จัดทํา เสนอแนะและกําหนดนโยบายแนวทางธุรกิจ และกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการ 2. กําหนดแผนธุรกิจ การบริหารงาน อนุมัติงบประมาณสําหรับประกอบธุรกิจประจําป และงบประมาณรายจายประจําป และดํ า เนิ น การตามแผนทางธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ ท างธุ ร กิ จ โดยสอดคล อ งกั บ นโยบาย และแนวทางธุ ร กิ จ ที่ ไ ด แ ถลงต อ คณะกรรมการ 3. กํากับ ควบคุมและดูแลบริหารงานใหเปนไปตามกลยุทธและแผนงานที่ไดวางไว 4. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารไดบริหารงาน อยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูความสามารถ และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว
❏
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมดจํานวน 2 ทาน (ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ)
69
PAGE
70
โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อวางแผน ทบทวนระบบ หรือประเมินประสิทธิผล ของการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งสิ้นจํานวน 1 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. พิจารณาแผนงาน ปจจัยความเสี่ยงที่สําคัญของบริษัท การดําเนินงานบริหารความเสี่ยง และประเมินการบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับกลยุทธ และแผนธุรกิจของบริษัท 2. กํากับดูแลและสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามแผนงาน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งไดปฏิบตั งิ านในการบริหารความเสีย่ งอยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูค วามสามารถ และสอดคลอง กับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสีย ในระยะยาวแลว ❏
คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมดจํานวน 2 ทาน (ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ) คณะกรรมการบรรษัทภิบาลไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณ ของกลุมบริษัทฯ และนโยบายที่เกี่ยวของอื่นๆ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. ทบทวนนโยบายกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส และนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 2. สงเสริมใหการปฏิบัติงานสอดคลองไปกับนโยบายกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส และนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 3. ใหคําแนะนําดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีแกคณะกรรมการบริษัท 4. กําหนดแนวทางและสอบทานการรายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเสนอในรายงานประจําป คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีความเห็นวา รายการดังกลาวมีความเหมาะสมและเปนไปเพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว
❏
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน รายนามคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และหนาที่ของคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. ทบทวนและพัฒนานโยบาย และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคล 2. พัฒนากลยุทธ และเทคนิควิธีเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3. กํากับ และดูแลการดําเนินงานดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. พิจารณา และตัดสินใจในประเด็นทีเ่ กีย่ วของดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตามแนวทางทีไ่ ดรบั อนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริหาร
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ไดปฏิบัติงานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูความสามารถ และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งใหประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ ทําหนาที่เปนเลขานุการบริษัท ซึ่งปจจุบัน คือ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีบทบาทหนาที่หลัก ดังนี้ •
ใหคําแนะนําดานกฎหมาย ดานบัญชีและภาษี และกฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบ
•
ปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ
•
ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ
เลขานุการบริษทั เปนผูท มี่ คี วามรูท งั้ ทางดานบัญชีและกฎหมาย อยางไรก็ตาม บริษทั ไดสง เสริมใหผทู ที่ าํ งานสนับสนุนงานของเลขานุการ บริษัทและคณะกรรมการบริษัทไดเขารวมอบรมคอรส Company Secretary Program (CSP) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย (IOD) นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีหนวยงานกํากับการปฏิบตั งิ าน (Compliance Unit) ซึง่ อยูใ นสังกัดสํานักกฎหมายชวยดูแลงาน ของคณะกรรมการบริษัทใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ หรือกฎหมายอีกดวย
การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีกําหนดประชุมโดยปกติอยางนอยปละ 4 ครั้ง และ มีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนด วาระการประชุม และวันประชุมไวลวงหนา โดยมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปนประจํา ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือ เชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารการประชุมกอนการประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ บริษัทไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดยประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหารรวมกันพิจารณาการ เลือกเรื่องเขาวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาใหแนใจวาเรื่องที่สําคัญไดถูกบรรจุเขาวาระการประชุมเรียบรอยแลว และกรรมการแตละทานมีความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม ตลอดจนคณะกรรมการบริษัทสามารถเขาถึงขอมูล ทีจ่ าํ เปนไดจากประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ทัง้ นี้ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ (นิยามและคุณสมบัตดิ รู ายละเอียดในหัวขอโครงสราง การจัดการของบริษัทฯ) จะเขารวมประชุมทุกครั้ง โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งสิ้นจํานวน 6 ครั้ง โดยการประชุมจัดที่สํานักงานใหญของบริษัทฯ ทุกครั้ง ซึ่งกรรมการทุกทานที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัท ทุกครั้ง ยกเวน นายศุภชัย นิลวรรณ ที่ขาดการประชุม 1 ครั้ง เนื่องจากติดภารกิจ ในกรณีทมี่ กี รรมการทานใดเปนผูม สี ว นไดเสียอยางมีนยั สําคัญในเรือ่ งทีก่ าํ ลังพิจารณา กรรมการทานนัน้ จะไมเขารวมการประชุมระหวาง การพิจารณาเรื่องนั้นๆ นอกจากนี้ จํานวนองคประชุมขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการอยูไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายใหกรรมการที่ไมเปนผูบริหารมีโอกาสที่จะประชุมระหวางกันเองตามความจําเปน เพื่ออภิปรายปญหา ตางๆ เกีย่ วกับการจัดการทีอ่ ยูใ นความสนใจโดยไมมฝี า ยจัดการรวมดวย และใหแจงประธานเจาหนาทีบ่ ริหารทราบถึงผลการประชุมดวย
71
PAGE
72
การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกปตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัท แบงออกเปนการประเมินผลเปนรายบุคคลโดยตนเอง และการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ เพื่อให คณะกรรมการบริษัทรวมกันพิจารณาตรวจสอบผลงานและปญหาเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการบริษัท ใหดียิ่งขึ้น องคประกอบของการประเมิน ประกอบดวย โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทําหนาที่ของกรรมการ ความสัมพันธกับฝายจัดการ การพัฒนาตนเองของกรรมการ และการพัฒนาผูบริหาร อีกทั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนใหความเห็นในการกําหนดเกณฑการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความเห็นชอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่บริหารจะถูก ประเมินตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนกําหนด และประเมินโดยคณะกรรมการ บริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระเทานั้น เพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทประจําป 2559 เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทรวมกันพิจารณาผลงานและปญหาเพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป และผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่ บริหารประจําป 2559 ไดถูกประเมินโดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระเทานั้น เพื่อพิจารณาผลงานและการปรับปรุงแกไข ตอไป นอกจากนั้น คณะกรรมการยังจัดใหมีการประเมินผลงานทั้งคณะและเปนรายบุคคลของคณะกรรมการชุดยอยทั้งหมด ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การจ ายค าตอบแทน บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไวอยางชัดเจนและโปรงใส สําหรับประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหาร ระดับสูง บริษัทฯ มีนโยบายทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่จะใหผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของแตละคน และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และการจายผลตอบแทน ของอุตสาหกรรมเดียวกัน สวนนโยบายคาตอบแทนกรรมการนั้น ผูถือหุนไดอนุมัติคาตอบแทนของกรรมการ โดยในการประชุมวิสามัญ ผูถือหุนครั้งที่ 1/2546 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2546 และที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2556 ไดพิจารณาอนุมัติ คาตอบแทนกรรมการใหอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมซึ่งสูงเพียงพอที่จะดึงดูด และรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ตองการ และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ สวนการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทนกําหนดเกณฑการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ใหความเห็นชอบ และผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่บริหารจะถูกประเมินโดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระ เทานั้น (รายละเอียดคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไดแสดงไวในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ)
การพัฒนากรรมการและผู บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายใหกรรมการเดิมซึ่งไดรับมอบหมายแนะนํากรรมการใหมใหรูจักบริษัทฯ และบรรยายสรุปแผนธุรกิจ ของบริษัทฯ ผลประกอบการ กลยุทธ สภาพการแขงขัน วิสัยทัศน คานิยมองคกร นโยบายกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจ รวมทั้งขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท เปนตน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะเสริมสรางและพัฒนาความรูใหมๆ ใหกับกรรมการและผูบริหาร โดยสนับสนุนใหเขารับการสัมมนา และการอบรมในหลักสูตรที่เปนประโยชน ซึ่งจัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และสถาบันอื่นๆ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ ออกคาใชจาย ซึ่งในป 2559 ไดสนับสนุนกรรมการเขารวมอบรม ดังนี้ ลําดับ
กรรมการ
ตําแหน ง
หลักสูตรที่อบรมในป 2559
1
นายศุภชัย นิลวรรณ
กรรมการ และรองกรรมการ ผูอํานวยการอาวุโส
Director Accreditation Program (DAP) ป 2559
2
นางวรรณสุดา ธนสรานาต
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน
Director Accreditation Program (DAP) ป 2559
แผนการสืบทอดงานของประธานเจ าหน าที่บริหารและผู บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษัทไดสนับสนุนใหมีการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง ซึ่งจะชวยใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปไดอยางราบรื่น นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีโครงการสําหรับพัฒนาผูบริหาร ซึ่งเปนการเตรียมใหพรอมเปนแผนที่ตอเนื่องถึงผูสืบทอดงาน ของประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได เพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดความตอเนื่อง ในการบริหารจัดการองคกร มีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล พิจารณาเสนอชื่อและคัดเลือกกลุมผูบริหารซึ่งมีศักยภาพสูง เพื่อนํามาพัฒนาและเตรียมความพรอม 2. คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลดําเนินการใหมีการพัฒนาผูบริหารกลุมดังกลาวโดยจัดโปรแกรมพัฒนาผูบริหารระดับสูง 3. คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมพิจารณาคัดเลือกผูที่มีความเหมาะสมเพื่อมาดํารงตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง สําหรับตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหารที่มีการคัดเลือกแลวจะนําเสนอ ตอที่ประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริษัทตอไป 4. คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค า ตอบแทนจะพิ จ ารณาบุ ค คลที่ ไ ด รั บ การเสนอมาว า มี ค วามเหมาะสม และมี ค วามรู ความสามารถ ที่จะเปนประโยชนตอบริษัทได พรอมขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อ แตงตั้งตอไป
งานนักลงทุนสัมพันธ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักดีวาขอมูลของบริษัทฯ ทั้งที่เกี่ยวกับการเงินและที่ไมใชการเงิน ลวนมีผลตอกระบวนการตัดสินใจ ของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ จึงใหความสําคัญตอการเปดเผยสารสนเทศที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส และทั่วถึง ทั้งโดยผานชองทางจากสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ พรอมทั้งจัดใหมีการประชุม พบปะระหวางคณะผูบริหารของบริษัทฯ กับนักวิเคราะหหลักทรัพย กองทุน และนักลงทุนทั่วไป เพื่อตอบขอซักถามตางๆ อยาง เทาเทียมกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดให “แผนกนักลงทุนสัมพันธ” ทําหนาที่ติดตอสื่อสาร และใหขอมูลขาวสาร และกิจกรรมตางๆ ของบริษัทฯ แกผูลงทุนสถาบัน ผูถือหุน นักวิเคราะห ภาครัฐที่เกี่ยวของ และนักลงทุนทั่วไป ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอหนวยงาน ดังกลาวไดที่
73
PAGE
74
หมายเลขโทรศัพท :
+66 2938 4307 และ +66 2511 0555 ตอ 1496
เว็บไซต :
http://www.rs.co.th/investor.html
เฟซบุก :
http://www.facebook.com/pages/rs-ir/256459961140733
ทวิตเตอร :
https://twitter.com/rs_ir หรือ
อีเมล :
ir@rs.co.th
นอกจากนี้ในรอบป 2559 บริษัทฯ ไดเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ผานกิจกรรมตางๆ ดังนี้ •
การจัดประชุมนักวิเคราะห เพื่อแถลงผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในทุกไตรมาส โดยเปดโอกาสใหนักวิเคราะหไดพบปะ ผูบริหารเพื่อตอบขอซักถามในประเด็นตางๆ และเอกสารประกอบการประชุมไดถูกนําเสนอผานเว็บไซตของบริษัทฯ
•
การเขารวมงานที่จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยและบริษัทหลักทรัพยในการพบปะนักลงทุนสถาบัน และนักลงทุนตางชาติ ไดแก งาน CNS Corporate Access และงาน Thailand Focus 2016 “A New Growth Strategy” อีกทั้งยังเปดโอกาสใหนักลงทุน ไดพบปะพูดคุยกับผูบริหารระดับสูงที่บริษัทฯ เพื่อตอบขอสงสัยในประเด็นตางๆ และทราบถึงแนวทางการดําเนินงานในอนาคต นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ56-1) และ รายงานประจําป (แบบ56-2) เผยแพรทางระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาดหลักทรัพยฯ และในเว็บไซตของบริษัทฯ ในสวนของรายงานประจําป บริษัทฯ ไดจัดสงใหผูถือหุนเปนประจําทุกป รวมถึงจัดทํารูปเลมสําหรับผูถือหุนในงานประชุมสามัญผูถือหุนประจําป
การสรรหาและแต งตั้งกรรมการและผู บริหารระดับสูงสุด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน และอนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังนั้น การคัดเลือกบุคคลที่จะเขา ดํารงตําแหนงเปนกรรมการของบริษัทฯ ตองผานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน วิธีการสรรหากรรมการจะกระทํา โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑคุณสมบัติตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของ นอกจากนีย้ งั พิจารณา ถึงความหลากหลายของทักษะ ประสบการณ ความรู และความสามารถเฉพาะเพื่อประโยชนและการพัฒนากิจการของบริษัทฯ รวมทั้งการอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ จากนั้นจึงนํารายชื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาแตงตั้ง ในการแตงตั้งคณะกรรมการของบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี้ (ก) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอเสียงหนึ่ง (ข) ใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคลไป (ค) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด
นโยบายความหลากหลายในโครงสร างของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหา ใหสอดคลองกับกลยุทธในการดําเนินธุรกิจของบริษัท และมีความหลากหลายสําหรับผูที่จะมาทําหนาที่เปนกรรมการ โดยพิจารณาจากทักษะที่จําเปนที่ยังขาดอยูในคณะกรรมการบริษัท รวมทั้ง วิชาชีพ ความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน และเพศ เปนตน ดังจะเห็นไดในป 2558 คณะกรรมการฯ ไดมีการสรรหากรรมการอิสระ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ที่เปนผูหญิงจํานวน 1 ทาน เพื่อใหมีความหลากหลายของโครงสรางคณะกรรมการฯ อยางไรก็ตาม คณะกรรมการฯ ยังไดใชฐานขอมูล กรรมการ (Director Pool) ในการสรรหากรรมการใหม แตคุณสมบัติฯ ยังไมเหมาะสมกับบริษัท ณ ขณะนั้น และในการสรรหา กรรมการ คณะกรรมการไดจัดทํา Board Skill Matrix เพื่อกําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาโดยพิจารณาจากกลยุทธ ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ
ความเป นอิสระจากฝ ายจัดการของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 4 ทาน (เปนกรรมการอิสระ 3 ทาน) และเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร 5 ทาน ประวัติของกรรมการแตละทานแสดงไวในหัวขอ “ประวัติคณะกรรมการบริษัท” ประธานกรรมการเปนบุคคลเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร และเปนตัวแทนของกลุมผูถือหุนใหญ อยางไรก็ตาม โครงสราง คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ทําใหเกิดการถวงดุลและสอบทาน การบริหารงาน คณะกรรมการบริษัทเห็นวา กรรมการอิสระทั้ง 3 ทาน มีความเปนอิสระ และมีคุณสมบัติตามนิยามที่บริษัทกําหนดขึ้น ดังรายละเอียด ในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทเห็นวา นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย เปนกรรมการอิสระที่มีความรู และความเชี่ยวชาญดานบัญชีและการเงิน จึงไดแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
ความเหมาะสมของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดคุณสมบัติที่เหมาะสมของผูที่จะดํารงตําแหนงกรรมการ ประกอบดวยผูมีความรู ประสบการณ ความสามารถเฉพาะดานที่เปนประโยชนกับบริษัทฯ รวมทั้งอุทิศเวลา ความรู ความสามารถ และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อเสริมสรางใหบริษัทฯ เจริญกาวหนา และกําหนดนโยบายใหกรรมการทุกคนและผูบริหารระดับสูง (**) ที่มีหนาที่รายงานการถือ ครองหลักทรัพยตามกฎหมายจัดสงรายงานดังกลาวใหแกคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา ในคณะกรรมการของบริษัทใหกรรมการดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนไดไมเกิน 3 บริษัท และใหกรรมการที่เปนผูบริหาร ไปดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นไดไมเกิน 2 บริษัท ตลอดจนในการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทจดทะเบียนอื่น ของประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง (**) ของบริษัทฯ ตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทกอน กรรมการหรือผูบริหารระดับสูงของบริษัทไมเคยเปนพนักงานหรือหุนสวนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทใชบริการอยูในชวง 2 ปที่ผานมา หมายเหตุ (**) หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของ ก.ล.ต.
ประสิทธิภาพในการทําหน าที่ของคณะกรรมการบริษัท การกําหนดนโยบาย คณะกรรมการบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ภารกิจ กลยุทธ เปาหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลใหฝายจัดการดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่วางไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนมีจุดมุงหมายไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการจัดการใหบริษัทฯ มีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และนโยบายและการดําเนินงานบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมทั้งมีการติดตามผลการดําเนินงานในเรื่อง ดังกลาวอยางสมํ่าเสมอในการประชุมคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทเปนผูพิจารณาการกําหนดและแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และประธาน เจาหนาที่บริหารอยางชัดเจน
75
PAGE
76
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ไดมีการพิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศนและ ภารกิจของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการไดพิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศนและภารกิจของบริษัทอยางนอยปละ 1 ครั้ง
การกํากับดูแลฝ ายจัดการ คณะกรรมการบริษัทไดมีการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน และผลการจัดการความเสี่ยง และการปฏิบัติตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในและผลการบริหารความเสี่ยง และประเมินเรื่อง การปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี
การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย อยและบริษัทร วม การเสนอชื่อและใชสิทธิออกเสียงแตงตั้งบุคคลเปนกรรมการในบริษัทยอยและบริษัทรวมดําเนินการโดยฝายจัดการ ตั้งแตป 2557 เป น ต น ไป การเสนอชื่ อ และใช สิ ท ธิ อ อกเสี ย งดั ง กล า วต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ด ว ย โดยบุ ค คลที่ ไ ด รั บ แต ง ตั้ ง ใหเปนกรรมการในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม มีหนาที่ดําเนินการเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดของบริษัทยอยหรือบริษัทรวมนั้นๆ และบริษัท ไดกําหนดใหบุคคลที่ไดรับแตงตั้งนั้น ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทกอนที่จะไปลงมติ หรือใชสิทธิออกเสียงในเรื่องสําคัญ ในระดับเดียวกับที่ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ หากเปนการดําเนินการโดยบริษัทเอง นอกจากนี้ ในกรณีเปนบริษัทยอย บุคคลที่ไดรับแตงตั้งจากบริษัทนั้น ตองดูแลใหบริษัทยอยมีขอบังคับในเรื่องการทํารายการเกี่ยวโยง ที่สอดคลองกับบริษัท มีการจัดเก็บขอมูล และการบันทึกบัญชีใหบริษัทสามารถตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดทํางบการเงินรวมไดทัน กําหนดดวย ตลอดจนกําหนดระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอ ตลอดป 2559 บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ยกเวนเรื่องตอไปนี้ 1. ไมไดเปดเผยคาตอบแทนของกรรมการที่เปนผูบริหารในสวนที่ไดรับจากการเปนกรรมการบริษัทอื่น เพราะไมใชขอมูลของบริษัทฯ 2. ประธานกรรมการเปนบุคคลเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร และเปนตัวแทนของกลุมผูถือหุนใหญ อยางไรก็ตาม โครงสราง คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ทําใหเกิดการถวงดุลและสอบทาน การบริหารงานที่โปรงใสและรัดกุม 3. คณะกรรมการไมไดกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการอิสระไวใหไมเกิน 9 ป เนื่องจากมีความเห็นวา กรรมการอิสระ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และมีประสบการณมาก ดังนั้น การดํารงตําแหนงกรรมการเปนเวลานานจะชวยใหเขาใจ การดําเนินธุรกิจของบริษัทไดดียิ่งขึ้น 4. บริษัทไมไดกําหนดใหกรรมการและผูบริหารระดับสูงแจงตอคณะกรรมการ หรือผูที่คณะกรรมการมอบหมายเกี่ยวกับการซื้อขาย หุนของบริษัท อยางนอย 1 วันลวงหนา กอนทําการซื้อขาย เนื่องจากบริษัทมีระเบียบขอบังคับในเรื่องการใชขอมูลภายใน ของบริษัทและนโยบายที่ครอบคลุมเรื่องการใชขอมูลภายใน
การดูแลเรื่องการใช ข อมูลภายใน บริษัทฯ ไดดําเนินการแจงใหผูบริหารฝายตางๆ ใหเขาใจถึงภาระหนาที่ในการรายงานการถือหลักทรัพยในบริษัทฯ ของตนเอง คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดโทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 นอกจากมาตรการที่เปนขอกําหนดของกฎหมายแลว บริษัทฯ ไดมีนโยบายเปนลายลักษณอักษรซึ่งครอบคลุมเรื่องการใชขอมูลภายใน ไวในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติแกกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคน โดยคูมือจรรยาบรรณ ของกลุมบริษัทฯ ผานมติการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแลวเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 และไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
และอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป ซึ่งการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัติครั้งลาสุดเปนการประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการกําหนดระเบียบขอบังคับในการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชดังนี้ (1) กรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ จะตองรักษาความลับ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ (2) กรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษัทฯ จะตองไมนําความลับ และ/หรือ ขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปเปดเผย หรือแสวงหาผลประโยชนแกตนเองหรือเพือ่ ประโยชนแกบคุ คลอืน่ ใด ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม และไมวา จะไดรบั ผลตอบแทน หรือไมก็ตาม (3) กรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ จะตองไมทําการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพยของบริษัทฯ โดยใช ความลับและ/หรือขอมูลภายในบริษัทฯ และ/หรือเขาทํานิติกรรมอื่นใดโดยใชความลับและ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัทฯ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม โดยขอกําหนดนี้รวมความถึงคูสมรสหรือผูที่อยูกินดวยกันฉันสามีภริยา บุพการี ผูสืบสันดาน ผูรับบุตรบุญธรรม หรือบุตรบุญธรรม และพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน หรือพี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกันของกรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ พนักงานคนใดฝาฝนในระเบียบดังกลาวบริษัทฯ จะถือวาไดกระทําผิดอยางรายแรงโดยอาจมีโทษตั้งแตขั้นตักเตือนดวยวาจาจนถึง ขั้นใหออกจากงาน ตั้งแตป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายหามกรรมการและผูบริหารระดับสูงซื้อขายหุนบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอน งบการเงินเผยแพรและ 2 วันหลังเปดเผยงบการเงิน
ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี ค าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาสอบบัญชีใหกับบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปนสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีของบริษัทประจําป 2559 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชี สังกัด ในรอบปบัญชีที่ผานมา มีจํานวนเงินรวม 4.30 ลานบาท โดยเปนของบริษัทฯ จํานวนเงิน 1.00 ลานบาท และบริษัทยอยรวมกัน จํานวนเงิน 3.30 ลานบาท
ค าบริการอื่นๆ บริษัทฯ จายคาบริการสําหรับการสอบทานแบบสรุปคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายป (นส.1) และแบบแสดงประเภทของรายไดจากการประกอบกิจการ (นส.2) ตามประกาศ กสทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียง หรือกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2555 ใหกับบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด มีจํานวนเงินรวม 0.15 ลานบาท
77
PAGE
78
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ความรับผิดชอบต อสังคม สิ่งแวดล อม และผู ที่เกี่ยวข อง บริษัทฯ สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนดวยความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดเสีย ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศน (Vision) ของบริษัทฯ โดยแบงตามกิจกรรมไดดังนี้
1. การประกอบกิจการด วยความเป นธรรม บริษัทฯ มุงมั่นกระทําในสิ่งที่ถูกตอง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ตรงไปตรงมา ภายใตกฎหมายและกฎระเบียบของบริษัทฯ โดยถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณนี้ในทุกกิจกรรมและในการตัดสินใจในทุกเรื่องของบริษัทฯ
2. การเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ ใหความสําคัญในการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน โดยยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย รวมทั้งหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษยเกิดมาพรอมกับความเสมอภาค ความเทาเทียมในแงของศักดิ์และสิทธิ์ โดยจะไมมีการกีดกัน หรือไมใหสิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติแกผูหนึ่งผูใด เนื่องจากความแตกตางทางดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ สีผิว อายุ ภาษา สถาบันการศึกษา รวมทั้งไมเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
3. การปฏิบัติต อแรงงานอย างเป นธรรม บริษัทฯ คํานึงถึงความสําคัญของทุนมนุษย (Human Capital) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะผลักดันใหองคกรบรรลุสูเปาหมาย บริษัทฯ จึงมีแผนการสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรบุคคลไวดังนี้ 1) กําหนดใหมีแผนงานและมีการจัดสรรงบประมาณในแตละปไวอยางชัดเจน มีการจัดระดับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลไว 3 ระดับ คือ การพัฒนาองคกร (Organization Development) การพัฒนาอาชีพ (Career Development) และการฝกอบรมและ พัฒนา (Training Development) โดยในป 2559 ไดจัดการอบรมรวมทั้งสิ้น 11 หลักสูตร จํานวน 26 รุน แบงเปนจัดฝกอบรม ภายในเปนจํานวน 194 ชั่วโมงและฝกอบรมภายนอกเปนจํานวน 6 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 200 ชั่วโมง รวมถึงการจัดอบรมตามที่ กฎหมายกําหนด ไดแก 1) หลักสูตรความปลอดภัยสําหรับลูกจางทั่วไปและลูกจางเขางานใหม จํานวน 4 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 163 คน 2) การปฐมพยาบาลเบื้องตนและการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 56 คน 3) เจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 12 คน และ 4) เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับหัวหนางาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 51 คน 2) จัดตรวจสุขภาพประจําปใหพนักงาน โดยจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพที่เหมาะสม และเจรจาตอรองกับโรงพยาบาลใหพนักงาน สามารถเพิ่มรายการตรวจสุขภาพไดในราคาพิเศษ พรอมทั้งอํานวยความสะดวกใหโรงพยาบาลมาใหบริการตรวจสุขภาพ ถึงที่อาคารสํานักงานของบริษัทฯ 3) จัดสรรสวัสดิการพนักงาน เชน สวัสดิการคารักษาพยาบาลผานการประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู สวัสดิการเงินชวยเหลือและ อื่นๆ เชน เงินชวยเหลืองานศพ กรณีพนักงานเสียชีวิต และกรณีบิดา มารดา บุตร หรือคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมายของพนักงาน เสียชีวิต เงินชวยเหลือกรณีพนักงานสมรส กรณีพนักงานอุปสมบท เปนตน 4) ใหความสําคัญกับการสรางความผูกพัน (Engagement) ของพนักงานในองคกรอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมของขวัญที่เพียงพอและดีตอใจ โดยมอบขาวหอมมะลิปลอดสาร 100% จากกลุมชาวนาจังหวัดสุรินทร เพื่อเปน ของขวัญวันปใหมใหแกผูบริหาร พนักงาน ศิลปน นักรอง นักแสดง และผูประกาศ เปนตน
79
PAGE
80
5) ประกาศนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานโดยจัดใหมีตัวแทนพนักงานทุกระดับรวมเปน คณะทํางานดานความปลอดภัยในระดับตางๆ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายดานความปลอดภัยใหเห็นผลเปนรูปธรรมและสอดคลอง ตามกฎหมายและมาตรฐานดานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ
4. ความรับผิดชอบต อลูกค าและผู บริโภค บริษัทฯ มุงมั่นในการสรางสรรคและผลิตผลงานดานสื่อและดานบันเทิงทุกรูปแบบ เพื่อสรางความพึงพอใจอยางตอเนื่องใหกับลูกคา จําหนายสินคาและใหบริการที่มีคุณภาพกับลูกคาของบริษัทฯ ตลอดจนมีหนวยงานใหบริการ ดูแล ชี้แจงขอสงสัย และแกไขปญหาตางๆ ใหกับลูกคา
5. บทบาทและความรับผิดชอบต อชุมชน สิ่งแวดล อม และสังคมส วนรวม บริษัทฯ ยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบ ที่พึงมีตอประเทศชาติ สังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจนดําเนินธุรกิจและควบคุมใหมีการปฏิบัติภายใตกรอบของกฎหมาย และกฎเกณฑ ตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางครบถวน รวมถึงมุงมั่นผลักดันใหเกิดกระแสพัฒนาคุณภาพของสังคม และสิ่งแวดลอม ทั้งที่ดําเนินการเอง และรวมมือกับรัฐและชุมชน และสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่องใหแกพนักงานทุกระดับ ในการปฏิบัติตนเปนคนดีทําประโยชนใหกับชุมชนและสังคม รวมทั้งสนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมสรางสรรคกิจกรรมตางๆ เพื่อชุมชน และสังคมอยางสมํ่าเสมอ อันกอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดีในองคกรตอไป โดยในป 2559 กลุมบริษัทฯ มีบทบาทและความรับผิดชอบ ตอสังคมที่สําคัญ ดังนี้
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
กิจกรรม RS Birthday Charity 2016 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) สานตอกิจกรรม “RS Birthday Charity 2016” เพื่อใหพนักงาน ศิลปน นักรองนักแสดง ที่มีวันคลายวันเกิดในแตละเดือนไดรวมแบงปนความสุขใหแกผูดอยโอกาสทางสังคม ผูปวยโรครายแรง เด็ก คนชรา และผูพิการ ในมูลนิธิ สถานสงเคราะหและองคกรเพื่อสาธารณะตางๆ อาทิ การเลี้ยงอาหารกลางวัน มอบสิ่งของอุปโภค บริโภคที่จําเปน และใหความบันเทิงทั้งการรองและการเตนกับเด็กๆ ณ สถานสงเคราะหเด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด (บานนนทภูมิ) ศิลปน นักรองนักแสดง และชาวอารเอส รวมกันบริจาคของรักที่ยังอยูในสภาพใชงานไดใหกับโครงการ ปนกัน เพื่อเปนชองทางระดมทุนการศึกษาใหเยาวชนไทย โดยเปนทุนการศึกษาสําหรับนักเรียนทุนในมูลนิธิยุวพัฒน การรวมเลี้ยงอาหารผูปวยภาคสนาม ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา การเขารวมบริจาคอาหารและสิ่งจําเปนใหกับนองหมา นองแมว ณ มูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ ปากเกร็ด การรวมกันเลี้ยงอาหารกลางวันใหกับนองๆ บริเวณโรงอาหาร ของโรงเรียนศรีสังวาลย มูลนิธิอนุเคราะหคนพิการ ในพระราชูปถัมภของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ กิจกรรมรวมกันตกแตงกระถางตนไมในเดือนสิ่งแวดลอมโลก เพื่อมอบเปนกําลังใจและสรางบรรยากาศสดชื่นใหกับผูปวย โรคมะเร็ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ
วัตถุประสงค : 1. เพื่ อ ให ค วามช ว ยเหลื อ กั บ บุ ค คล หน ว ยงาน และ องคกรการกุศลตางๆ 2. เพื่อใหกําลังใจเด็ก ผูสูงอายุ ผูพิการ และผูปวยเรื้อรัง ต า งๆ ที่ ไ ด รั บ ความเดื อ ดร อ นหรื อ ต อ งการความ ชวยเหลือ 3. เพื่อใหดารา นักแสดง และพนักงานที่สนใจไดทํา กิจกรรมเพื่อชวยเหลือสังคมอยางตอเนื่อง 4. เพื่ อ ให ด ารา นั ก แสดง มี ส ว นในการสร า งกระแส การทําดี และเปนแบบอยางที่ดีใหกับประชาชนทั่วไป 5. เพือ่ สงเสริมใหพนักงานเกิดความรูส กึ ผูกพันกับองคกร
PAGE
81
PAGE
82
กิจกรรมเพื่อสังคมอื่นๆ ในรอบป 2559
ดร.องอาจ สิ ง ห ลํ า พอง กรรมการผู อํ า นวยการใหญ สถานีโทรทัศนชอง 8 นําทีมดารานักแสดงใบเตย-อารสยาม และมารติน มิดาล เขามอบเงินจํานวน 4 แสนบาท จาก การขายปฏิทินชอง 8 ใหกับมูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อสมทบทุนโครงการสถาบันการแพทยจักรีนฤบดินทร
โครงการ “แลงนี้ ไมแลงนํ้าใจ ดวยการใหโลหิต” นํา ดารา-นางเอกสาว จากชอง 8 มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ เขาพบ พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี มอบปาย รณรงคเลนสงกรานตอยางมีสติ ใชนํ้าอยางประหยัด และ ชวยกันบริจาคโลหิตกักตุนไวชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ บนทองถนน ในชวงเทศกาลสงกรานต ใหมีโลหิตสํารอง ไวจายใหกับโรงพยาบาลตางๆ ไดอยางทันทวงที มังกร-ปภาวิน หงษขจร และ ฟาใส-อรจิรา แกวสวาง ดารา นักแสดงจาก ชอง 8 รวมงานแถลงขาว วันดอกปอบปบาน พรอมรณรงคชวนคนไทย ซื้อดอกปอบป เพื่อนํารายไดชวยเหลือ ครอบครั ว ทหารผ า นศึ ก ที่ ไ ด รั บ บาดเจ็ บ และสมทบทุ น มู ล นิ ธิ สงเคราะห ค รอบครั ว ทหารผ า นศึ ก ในพระราชู ป ถั ม ภ สมเด็ จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในวันทหารผานศึก
พลตํารวจโท ศานิตย มหถาวร ผูบัญชาการตํารวจนครบาล และพลตํารวจตรี ทรงพล วัธนะชัย ผบก.น.6 รวมกับสถานี โทรทัศนชอง 8 จัดกิจกรรมเดินรณรงค “ปองกันอัคคีภัย ชวงเทศกาลตรุษจีน” โดยมีศิลปนดาราชอง 8 อาทิ ลาลา (ขวัญนภา เรืองศรี) ลูลู (ดวงฤดี บุญบํารุง) และฝาย-เวฬุรีย รวมกันเดินรณรงค
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สภานายิกาสภากาชาดไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให นายแผน วรรณเมธี เลขาธิการสภากาชาดไทย เปนผูแทนพระองค พรอมดวย ทีมผูประกาศขาว จากสถานีโทรทัศนชอง 8 อาทิ หลี่แช-วิยดา พีรรัฐกุล กอย-บุญญิตา งามศัพพศิลป แนส-ฑิฆัมพร อยูกําเนิด เอ-ดลนกฤต แดงหวานปสีห พรอมดวย ลูลู-ดวงฤดี บุญบํารุง และลาลา-ขวัญนภา เรืองศรี ลงพื้นที่นํ้าทวม นําชุดธารนํ้าใจสภากาชาดไทยพรอมนํ้าดื่มมอบใหแก ราษฎรที่ไดรับความเดือดรอนจากเหตุอุทกภัยใน อําเภอผักไห จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ศิ ล ป น อาร เ อส อาทิ กระแต-กระต า ย อารสยาม แบล็คแจ็ค-จารุพงศ กลวยไม งาม เนย-ซิ น ญอริ ต า พ อ ย-พรวรา สิทธิประศาสน เติรด-ลภัส งามเชวง และ อี ก มากมาย รณรงค ก ารใช นํ้ า อย า ง ประหยั ด และเล น สงกรานต กั น อย า ง ปลอดภัย ภายใตแคมเปญ “Save Water Save Life” (เซฟ วอเตอร เซฟ ไลฟ)
พลเอก ประยุท ธ จั น ทร โ อชา นายกรั ฐมนตรี พร อ มด ว ย ศ.คลินิ ก เกี ย รติ คุ ณ นพ.ป ย ะสกล สกลสั ต ยาทร รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง สาธารณสุข และนพ.อํานวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค พรอมศิลปน ดาราจากอารเอส อาทิ ใบเตย-สุ ธี วั น ทวี สิ น และ อลิ ซ ชญาดา อารสยาม รวมรณรงคกวาดลางยุงลาย กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย พรอมเปดตัว แอพพลิเคชัน (Application) พิชิตลูกนํ้ายุงลาย โดยรัฐบาล ใช โ อกาสทองช ว งหน า แล ง เร ง รณรงค ก วาดล า งยุ ง ลาย ใช ม าตรการ 3 เก็บปองกัน 3 โรค
PAGE
83
PAGE
84
พลอากาศเอก ชัยพฤกษ ดิษยะศริน ผูชวยผูบัญชาการ กองทัพอากาศ และสถานีโทรทัศนชอง 8 รวมพลัง ทําดีเพื่อพอ ลงพื้นที่ชวยเหลือผูประสบภัยหนาวที่ อํ า เภอสารภี จั ง หวั ด เชี ย งใหม โดยมีดาราชอง 8 ใบเตย-สุธีวัน ทวีสิน มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ โบวลิ่ง-ปริศนา กัมพูสิริ และ มังกร-ปภาวิน หงษขจร ทั้งหมดขึ้นเครื่องบินจากหนวยมิตรประชา กองทัพ อากาศ รวมลงพื้นที่ชวยเหลือประชาชน ตลอดจน ผู สู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ อ ากาศหนาว โดยมอบผ า ห ม ใหกับประชาชนในถิ่นทุรกันดาร จํานวน 250 ผืน พรอมจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่ชวยเหลือ ที่โรงเรียน สารภีพิทยาคม ตําบลยางเนิ้ง อําเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม
ศิลปนดาราอารเอส อาทิ จะ อารสยาม และ ฟลุค-จิระ ด า นบวรเกี ย รติ เข า พบ พลเอก ประยุ ท ธ จั น ทร โ อชา นายกรัฐมนตรี เพื่อรณรงค แคมเปญ “ปดไฟ 1 ชั่วโมง ใหโลกพัก” หรือ 60+ Earth Hour โดยเชิญชวนคนไทย ทั่วประเทศ ปดไฟดวงที่ไมจําเปน 1 ชั่วโมง ตั้งแตเวลา 20.30 - 21.30 น. พรอมกับหัวเมืองใหญกวา 7,000 ประเทศทั่วโลก ซึ่งจากสถิติจากการจัดกิจกรรม ปดไฟ 1ชั่วโมง เมื่อป 2558 สามารถประหยัดไฟฟาไดถึง 1,699 เมกะวัตต คิดเปนการลด ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซต ได 1,073 ตัน ซึ่งสามารถลด คาใชจายในการผลิตกระแสไฟฟาไดถึง 6,656,699 บาท
กุ ง สุ ธิ ร าช อาร ส ยาม และพิ ธี ก รรายการ อึ้ ง ทึ่ ง เสี ย ว พรอม ขนมจีน-กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท ดารานักแสดง ชอง 8 ทําหนาที่พรีเซ็นเตอรประชาสัมพันธเชิญชวนคนไทย สนั บ สนุ น ดอกแก ว กั ล ยา (ดอกไม สั ญ ลั ก ษณ ป ระจํ า วั น คนพิการ) เนื่องในโอกาสวันคนพิการแหงชาติ เพื่อนํารายได บริจาคสมทบ “กองทุนดอกแกวกัลยา” ชวยเหลือคนพิการ ในงานวันคนพิการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
“กิจกรรมชอง 8 คืนความรัก” มอบความบันเทิง มอบของบริจาค รดนํ้าดําหัว เลี้ยงอาหาร ใหกับผูสูงอายุ เนื่องในวันผูสูงอายุ แหงชาติ ณ บานผูสูงอายุบางแค 2 โดยมีดาราศิลปนมารวมตัวในงานบุญครั้งนี้ อาทิ มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ เอี๊ยง-สิทธา สภานุชาติ เปก-รัฐภูมิ ไขนาค และ เซลีนา เพียซ
สงมอบความสุขใหนอ งๆ ทีโ่ รงเรียนบานนานอย และโรงเรียน บานนาราบ จังหวัดนาน ใน “กิจกรรมชอง 8 คืนความรัก” ขึ้นเครื่องบินทหาร C-130 จากหนวยมิตรประชา กองทัพ อากาศ สงตอความรักดวยการอาสามอบความบันเทิงดวย เสียงเพลง มอบอุปกรณการเรียน การกีฬา และทุนการศึกษา เพือ่ ชวยเหลือนอง โดยมีดาราศิลปนชอง 8 รวมกิจกรรม อาทิ ลาลา-ขวัญนภา เรืองศรี ลูลู-ดวงฤดี บุญบํารุง โบวลิ่งปริศนา กัมพูสิริ และ เอี๊ยง-สิทธา สภานุชาติ
คุณศุภชัย นิลวรรณ กรรมการผูอํานวยการธุรกิจเพลง บมจ. อารเอส จํากัด (มหาชน) พรอมดวยศิลปน คายกามิกาเซ อาทิ แตงคกิ้ว-ศิลปชนก คลายแต เติรด-ลภัส มารค-ธนัต แองจี-้ ฐิตชิ า กรีน-ปยะภูมิ พารท เคียราน เนโกะ-เนรัญชรา ไปป มากอน ฯลฯ รวมมอบอาหารและความบันเทิง ใหกับ นองบานราชาวดีหญิง ในกิจกรรม “กามิกาเซ กิ๊ฟ แอนด แชร สงสุขปใหมใหนอง” ณ บานราชาวดีหญิง
PAGE
85
PAGE
86
6. การจัดการสิ่งแวดล อม บริษัทฯ สงเสริมใหมีการรณรงคและสรางจิตสํานึกใหแกพนักงานในการอนุรักษและการใชทรัพยากรและพลังงานตางๆ อยางชาญฉลาด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนสร า งสรรค แ ละสนั บ สนุ น กิ จ กรรมอั น เป น ประโยชน ต อ การดู แ ลรั ก ษา การอนุ รั ก ษ และการใช ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และพลังงานตางๆ อยางตอเนื่อง โดยการสงเสริม รณรงค และปลูกจิตสํานึกรวมกันในการรูจัก ถึงประโยชน เห็นคุณคา และการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งการประหยัดไฟฟา โดยการปดสวิทซไฟและเครื่องใชไฟฟา ทุกครั้งที่เลิกใชงาน ปดไฟเมื่อพักเที่ยง ปดแอรกอนเลิกงานครึ่งชั่วโมง การใชบันไดแทนการใชลิฟท การประหยัดนํ้า โดยมีเจาหนาที่ คอยตรวจสอบการรั่วซึมของอุปกรณ การประหยัดนํ้ามัน โดยการวางแผนการเดินทางกอนออกเดินทาง การใช E-mail แทนการ สงเอกสารดวยตัวเอง รวมทั้งการประหยัดพลังงานอื่นๆ ในที่ทํางาน อาทิ การใชกระดาษใหครบทั้ง 2 ดาน เปนตน โดยนอกจาก ประชาสัมพันธรณรงค ใหความรูกับพนักงานอยูเสมอแลว ยังกระตุนโดยการจัดกิจกรรมประหยัดพลังงาน ภายใตแคมเปญ OFFICE เบอร 5 เพื่อใหรางวัลกับหนวยงานที่มีผลงานในการประหยัดพลังงานโดดเดนที่สุดอีกดวย
รางวัลที่ ได รับในป 2559 เอ-ดลยกฤต กอย-บุญญิตา และ หลี่แช-วิยดา ผูประกาศขาว รายการ “คุยขาวเชาชอง 8” ชวงคุยขาวบรรเทาทุกข สถานีโทรทัศน ชอง 8 เขารับรางวัล “ประชาบดี” และ “เข็มเชิดชูเกียรติ” ประเภทสื่อที่นําเสนอกิจกรรมที่เปนประโยชนแกผูอยูในสภาวะ ยากลําบาก ประจําป 2559 ซึ่งจัดโดยกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย (พม.)
ดารา ชอง 8 และศิลปนคายอารสยาม อาทิ จินตหรา พูนลาภ อารสยาม โบวลิ่ง-ปริศนา กัมพูสิริ มังกร-ปภาวิน หงษขจร และ อารม-พิพัฒน คูลเจ จากคลื่นคูล 93 เขารับ รางวัลศิลปนเพือ่ สังคมไทยปลอดบุหรี่ ประจําป 2559 จาก เครือขาย สุขภาพวิชาชีพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ณ อาคาร แพทยสมาคมแหงประเทศไทย
มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ และ มังกร-ปภาวิน หงษขจร จากสถานีโทรทัศนชอง 8 ไดเขาพิธีเซ็นสัญญารับภารกิจ เปน ฑูตสมาคมปองกันการทารุณสัตวแหงประเทศไทย (TSPCA) เพื่อทําหนาที่เปนตัวแทนในการปองกัน ยับยั้ง และชวยเหลือสัตวที่ถูกทารุณกรรม
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
กุง-สุธิราช คายอารสยาม และพิธีกรรายการ “อึ้ง ทึ่ง เสียว” จากทางชอง 8 เขารับโลหประกาศเกียรติคุณ รางวัล “บุคคล ผูทําคุณประโยชนตอเด็กและเยาวชนประจําป 2559 สาขา สื่อมวลชนเพื่อเด็กและเยาวชนที่ปองกันปญหาสังคม” จาก สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษเด็ก เยาวชน ผูด อ ยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย
อารสยาม ตอกยํ้าความเปนคายเพลงลูกทุงอันดับ 1 ของเมืองไทย กวาด 6 รางวัลเกียรติยศจากทั้งหมด 15 รางวัล ในงานประกาศรางวัลมหานครอวอรดส ครั้งที่ 12 ประจําป 2558 ซึ่งจัดโดย FM 95 ลูกทุงมหานคร นําทีมโดยศิลปน แหงชาติ ชาย เมืองสิงห (สมเศียร พานทอง) บาววี อารสยาม (พันจาอากาศเอก วีรยุทธิ์ นานชา) กระแต-กระตาย อารสยาม (นิภาพร-ฐิฆพรณ บุญยะเลี้ยง) เดือนเพ็ญ อํานวยพร อารสยาม (อํานวย จันโทสี) และ นุช วิลาวัลย อารสยาม
กุง-สุธิราช วิรดา วงศเทวัญ และ หนูมิเตอร จากคายอารสยาม ไดรับประดับเข็มเครื่องหมายรูปกระเปาคันชีพฯ ประจําป 2559 จาก กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค เนื่องจากเปนผูที่บําเพ็ญคุณงาม ความดี และใหการสนับสนุนกิจการของกรมทหารราบที่ 2ฯ ตลอดมา
กระแต อารสยาม เขารับรางวัล “เอ็มไทย ท็อป ทอลก อะเบาต 2016” สาขาศิลปน ที่ ถู ก กล า วถึ ง มากที่ สุ ด บนโลกออนไลน จากการสํารวจของเว็บไซตเอ็มไท
PAGE
87
PAGE
88
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการเสริมสรางการควบคุมภายใน ใหมีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ เพื่อเปนการปองกัน ทรัพยสินของบริษัทฯ ไมใหเกิดความเสียหาย หรือนําไปหาประโยชนโดยมิชอบ โดยมีฝายตรวจสอบกลางเปนหนวยงานทําหนาที่ ตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านและกิ จ กรรมทางการเงิ น ที่ สํ า คั ญ และรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหฝายตรวจสอบกลางมีความเปนอิสระเพียงพอในการปฏิบัติงาน ปจจุบันหัวหนางานผูตรวจสอบภายใน คือ นางสาวกรพินธุ นาคศุภรังษี มีตําแหนงเปน ผูชวยผูอํานวยการฝายตรวจสอบกลาง
คุณวุฒิทางการศึกษา/การอบรม : •
ปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
•
ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
•
เขารวมอบรมและสัมมนาตางๆ ที่จัดโดยสภาวิชาชีพบัญชี สมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย (สตท.) สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ประสบการณ การทํางาน : •
2536 - 2544
ผูชวยผูจัดการ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ออดิท จํากัด
•
ธันวาคม 2544 - ปจจุบัน
ผูชวยผูอํานวยการฝายตรวจสอบกลาง บมจ. อารเอส
ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ 3 ทานเขารวมประชุม ดวย คณะกรรมการไดประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในโดยการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร และการตอบแบบประเมิน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ดวยตนเอง สรุปไดวา การประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ในดานตางๆ 5 สวน คือ 1. องคกรและสภาพแวดลอม บริษัทฯ คํานึงถึงสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี โดยไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และไดเผยแพรเพื่อใชอางอิงและถือปฏิบัติ ตลอดจนติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ตามนโยบายฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน ทบทวนแผนธุรกิจ และให ขอสังเกตแกฝายจัดการไปพิจารณาดําเนินการ 2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มุงเนนใหความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยจัดใหมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อกําหนดนโยบาย กํากับดูแล และสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามนโยบาย หรือแผนงาน และสําเร็จลุลวง 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ มีนโยบาย ระเบียบขอบังคับ วิธีปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ และอํานาจอนุมัติ เพื่อใหมีการควบคุมที่รัดกุม 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ จัดใหมีระบบสารสนเทศที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงานทางบัญชีและการรายงาน ทางการเงิน อยางเปนระบบ และเปนไปตามนโยบาย และระเบียบขอบังคับที่ควบคุม 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทไดรับทราบผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเปาหมายทุกไตรมาส และมีฝายงาน ตรวจสอบภายในทําหนาที่ประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่มีอยูและตรวจสอบการ ปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในของหนวยงานตางๆ ตามแผนการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบแลว คณะกรรมการมีความเห็นวา ปจจุบันบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในในเรื่องการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวอยางเพียงพอแลว สําหรับการควบคุมภายในในหัวขออื่น คณะกรรมการเห็นวาบริษัทมีการควบคุม ภายในที่เพียงพอแลวเชนกัน
89
PAGE
90
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
นโยบายการต อต านการทุจริตคอร รัปชัน บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน ดังนั้น ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 จึงไดมีการพิจารณา อนุมัตินโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชันเพื่อใหแนวทางปฏิบัติของบริษัทมีความ ชัดเจนยิ่งขึ้น
นโยบายและแนวทางปฏิบัติ คณะกรรมการบริษทั มุง มัน่ ในการดําเนินธุรกิจภายใตกรอบการปฏิบตั ติ ามนโยบายกํากับ ดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส เพื่อใหมีความโปรงใส และ ไมยอมรับการทุจริตคอรรัปชันในทุกรูปแบบ ตลอดจนสรางจิตสํานึกและคานิยมในเรื่อง ความซื่อสัตยสุจริต และการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน ใหเปนวัฒนธรรมองคกร โดยกําหนดใหมีการกํากับดูแล ควบคุมดูแล บริหารความเสี่ยง และระบบควบคุมภายใน เพื่อปองกันการทุจริตคอรรัปชันอยางมีประสิทธิภาพ แนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ 1. กํ า หนดหลั ก การการให ห รื อ รั บ ของขวั ญ การรั บ ประโยชน แ ละการเกี่ ย วข อ ง ทางการเงิน ไวในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส 2. กําหนดระเบียบปฏิบัติในเรื่องตางๆ รวมถึงลําดับอํานาจอนุมัติไวอยางชัดเจน ไดแก การจัดซื้อจัดจางไมใหมีการใหหรือรับในลักษณะที่เปนการทุจริตคอรรัปชัน และใหดําเนินการตามคูมือการปฏิบัติงานฝายจัดหาจัดซื้อ เพื่อใหมีความชัดเจน และโปรงใส
การกํ า กั บ ดู แ ลและควบคุ ม ดู แ ลเพื่ อ ป องกันและติดตามความเสี่ยง จากการ ทุจริตคอร รปั ชัน และการติดตามประเมิน 3. จัดใหมีการควบคุมภายในอยางเพียงพอและเหมาะสม ไดแก การแบงแยกหนาที่ ผลการปฏิบัติตามนโยบายการต อต าน ความรับผิดชอบในงานอยางชัดเจนและเหมาะสม การอนุมัติหรือใหความเห็นชอบ การทุจริตคอร รัปชัน ตามลําดับชั้น การตรวจสอบ และการสอบทาน เปนตน
4. มีการสื่อสารนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุม บริษัทอารเอส รวมถึงนโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน 5. จั ด ให มี ช อ งทางการร อ งเรี ย นและการแจ ง เบาะแส ทั้ ง จากพนั ก งานและผู มี ส ว นได เ สี ย อื่ น รวมทั้ ง ยั ง ได กํ า หนดมาตรการคุ ม ครองและรั ก ษาความลั บ ของ ผูรองเรียน
การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริต คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดมีการพิจารณาวางแผน ทบทวนระบบ และประเมิน ประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงเปนประจําป ซึ่งครอบคลุมถึงความเสี่ยง ที่อาจเกิดจากการทุจริตคอรรัปชันดวย
1. จัดใหมีการสื่อสารและฝกอบรมแก พนักงานทุกคนเพือ่ ใหความรูเ กีย่ วกับ นโยบายและแนวปฏิ บั ติ ใ นการ ตอตานการทุจริตคอรรัปชัน 2. เปดโอกาสใหพนักงานในทุกระดับ ไดเสนอความคิดเห็น และขอเสนอแนะ เพื่ อ การพั ฒ นาการควบคุ ม ภายใน รวมถึงการปองกันการทุจริตคอรรปั ชัน ใหเหมาะสมและรัดกุมมากขึ้น
91
PAGE
92
3. กรรมการ ผูบริหาร หรือหัวหนางานในทุกระดับมีหนาที่สอดสองติดตามไมใหผูใตบังคับบัญชาฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามจริยธรรม ในเรื่องนี้ รวมถึงสื่อสารและใหความรูกับผูเกี่ยวของ 4. ฝายตรวจสอบกลางปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามแผนงานตรวจสอบประจําปที่กําหนดไว หากตรวจพบความเสี่ยงหรือการกระทํา ซึ่ ง ส ง ผลกระทบที่ มี นั ย สํ า คั ญ ในเรื่ อ งเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั น ให นํ า เสนอข อ มู ล ต อ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท 5. ชองทางในการแจงเบาะแสและรองเรียน ในกรณีที่พบเห็นการกระทําที่ฝาฝนนโยบายดังกลาว ทั้งจากพนักงานเอง และผูมี สวนไดเสียอื่น สามารถรองเรียนหรือใหขอมูลผานชองทางอีเมล : IA_Anti_Corr@rs.co.th และใหความรวมมือในการตรวจสอบ ขอเท็จจริงตางๆ
มาตรการคุ มครองและรักษาความลับของผู ร องเรียน บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการเก็บขอมูลรองเรียนเปนความลับเพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูรองเรียน และเรื่องรองเรียนดังกลาว จะรับรูเฉพาะในกลุมบุคคลที่ไดรับมอบหมายและเกี่ยวของดวยเทานั้น และบุคคลใดๆ ที่ไดรับทราบเรื่องรองเรียน หรือขอมูลที่เกี่ยวของ กับเรื่องรองเรียน จะตองปกปองขอมูลเรื่องรองเรียน หรือขอมูลที่เกี่ยวของกับเรื่องรองเรียนใหเปนความลับ และไมเปดเผยตอ บุคคลอื่น เวนแตเปนการใหขอมูลเพื่อการตรวจสอบขอเท็จจริงตามกระบวนการ หรือตามที่กฎหมายกําหนด หากมีการจงใจฝาฝน นําขอมูลไปเปดเผย บริษัทฯ จะดําเนินการลงโทษทางวินัยและ/หรือดําเนินการทางกฎหมายแลวแตกรณี
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
93
PAGE
94
รายการระหว างกัน รายละเอียดขอมูลของรายการระหวางกัน ระหวางบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของกันไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษัทฯ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ไดสอบทานรายการระหวางกัน ของบริษัทฯ แลวมีความเห็นวารายการระหวางกันดังกลาว เปนไปตามเงื่อนไขการคาโดยทั่วไปและเปนไปตามหลักเกณฑตาม ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีหลักฐานการทํารายการครบถวน ตลอดจนมีการเปดเผยในงบการเงินอยางเพียงพอ ในป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจตามปกติกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2559 ดังตอไปนี้ บุคคลที่อาจมีความขัดแย ง
ความสัมพันธ
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 33.09 ในบริษัทฯ
บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 18.70 ในบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด นางสุจีรา เชษฐโชติ ผูถือหุนรอยละ 6.30 ของ บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และเปนภรรยาของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ซึ่งเปนกรรมการและผูถือหุน รอยละ 33.09 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ นายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการ และถือหุนรอยละ 14.35 ในบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และถือหุนรอยละ 0.04 ในบริษัทรวมทั้ง เปนนองชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นางสาวมาลี เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 14.50 ใน บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และเปนพี่สาวของ นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ และนายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์
บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด
นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 50.00 โดยรวมการถือหุนของภรรยาดวย ในบริษัท เชษฐโชติ จํากัด ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด นายโชติ เชษฐโชติศักดิ์ ผูถือหุนรอยละ 10.00 ในบริษัทเม็มเบอรชิปจํากัด และถือหุนรอยละ 0.08 ในบริษัทฯ และเปนบุตรชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นายเชษฐ เชษฐโชติศักดิ์ ผูถือหุนรอยละ 30.00 ในบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด และถือหุนรอยละ 1.36 ในบริษัทฯ และเปนบุตรชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์
หมายเหตุ สัดสวนการถือหุนของบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในบริษัทฯ เปนขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
ลักษณะรายการระหว างกัน เงื่อนไขและนโยบายราคา การกําหนดราคาของรายการระหวางกันกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน สวนใหญเปนการใหเชาทรัพยสิน ไดกระทําโดยคํานึงถึงความ เหมาะสมโดยอางอิงไดกับราคาตลาดและมีเงื่อนไขอื่นๆ ไมแตกตางอยางเปนสาระสําคัญจากตลาด โดยลักษณะของรายการ ระหวางกันประกอบไปดวย
การเช าอาคาร งบการเงิ น สํ า หรั บ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยได ชํ า ระค า เช า อาคาร ค า บริ ก ารส ว นกลาง คาสาธารณูปโภค และคาบริการอื่นๆ ใหแก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอส.เอส.ทู.ซี จํากัด) และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ (ซึ่งถือเปนบุคคลที่อาจมีความขัดแยงกัน) เปนจํานวน 70.14 ลานบาท 10.70 ลานบาท และ 0.26 ลานบาท ตามลําดับ บริษัทฯ ไดมีการเชาอาคารเชษฐโชติศักดิ์ 1 - 3 จากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน โดยคิดคาเชาและคาบริการสวนกลาง ในอัตรา 327 บาทตอตารางเมตร ซึ่งมีความสมเหตุสมผลเมื่อเทียบกับอาคารที่อยูในบริเวณ ใกลเคียงกับบริษัทฯ ซึ่งคิดคาเชาและคาบริการในอัตรา 480 - 690 บาทตอตารางเมตร สวนการเชาอาคารอื่นในบริเวณใกลเคียงจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด นั้น (รายละเอียดในตาราง คาเชาอาคารสํานักงาน ขอ 4 5 และ 6) มีการเรียกเก็บคาเชาและคาบริการสวนกลางแบบเหมารวม (การคิดคาบริการแบบเหมารวม หมายถึง การคิดคาเชาและคาบริการรวมตออาคารทั้งหลัง แทนที่จะคิดเปนตารางเมตร โดยคิดราคาตามสภาพของอาคารแตละอาคาร ที่ใหเชา) โดยมีวัตถุประสงคของการเชาเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน และอาคารจอดรถของบริษัทฯ ทั้งนี้ อาคารสํานักงานที่ทางบริษัทฯ ไดทําการเชาจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (ตารางคาเชาอาคารสํานักงาน ขอ 5 และ 6 ซึ่งอยูในบริเวณติดกับอาคารเชษฐโชติศักดิ์ 2) เปนอาคารที่ทางบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด ไดทําการเชาชวงตอมาจากนายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์ และนํามาปรับปรุงพื้นที่ลักษณะการใชงานจากบานทาวนเฮาส มาเปนอาคารสํานักงาน พรอมใหบริการอํานวย ความสะดวกเกี่ยวกับสาธารณูปโภคตางๆ และคิดคาเชา/คาบริการในอัตราเหมารวม โดยมีอัตราเฉลี่ยประมาณ 287 บาทตอ ตารางเมตร (คํานวณจากคาเชา/คาบริการที่คิดในอัตราเหมารวมหารพื้นที่ใชสอยโดยประมาณของอาคาร) ซึ่งเปนอัตราที่ตํ่ากวาอาคาร เชษฐโชติศักดิ์ 1 - 3 โดยอัตราดังกลาวมีความสมเหตุสมผลตามรายละเอียดที่เปรียบเทียบตามวรรคกอน อนึ่ง สาเหตุหลักที่บริษัทฯ ทําการเชาชวงตอจาก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด นั้น เนื่องจากบริษัทดังกลาวมีความชํานาญเชี่ยวชาญในการบริหารสํานักงานเชา ไดดีโดยสัญญาเชาที่ทํากับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีรายละเอียดดังตารางตอไปนี้
95
PAGE
96
ค าเช าอาคารสํานักงาน ผู เช า
พื้นที่ (ตรม.)
ค าเช าและ ค าบริการ/ เดือน (ล านบาท)
เริ่ม
สิ้นสุด (*)
อนุมัติ รายการโดย (**)
1. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 1 บจ. เลขที่ 419/1 เชษฐโชติศักดิ์ ซอยลาดพราว15 เขตจตุจักร กทม.
บมจ. อารเอส
3,745
1.22
มิ.ย. 58
พ.ค. 61
คณะกรรมการ
2. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 2 บจ. เลขที่ 419/2 เชษฐโชติศักดิ์ ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
บมจ. อารเอส บจ. คลูลิซึ่ม บจ. ไลฟสตาร
4,645 1,200 200
1.52 0.39 0.07
มิ.ย. 58 มิ.ย. 58 มิ.ย. 58
พ.ค. 61 พ.ค. 61 พ.ค. 61
คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ
บจ. 3. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 3 เชษฐโชติศักดิ์ เลขที่ 419/3 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
บมจ. อารเอส
2,242
0.73
มิ.ย. 58
พ.ค. 61
คณะกรรมการ
บมจ. อารเอส (ราคา เหมารวม) (***)
0.76
ม.ค. 59
ธ.ค. 61
คณะกรรมการ
อาคาร/ที่ตั้ง
ผู ให เช า/ ผู เช าช วง
อายุสัญญา
4. อาคารเลขที่ 419/4 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
บจ. เม็มเบอรชิป
5 อาคารเลขที่ 203/18-20 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์/ บจ. เชษฐโชติศักดิ์
บมจ. อารเอส
(ราคา เหมารวม)
0.19
มิ.ย. 58
พ.ค. 61
คณะกรรมการ
6. อาคารเลขที่ 203/34-36 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์/ บจ. เชษฐโชติศักดิ์
บจ. จัดเก็บ ลิขสิทธิ์ไทย
(ราคา เหมารวม)
0.15
มิ.ย. 58
พ.ค. 61
คณะกรรมการ
หมายเหตุ *
สามารถตออายุของสัญญาเชาออกไปไดอีก เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาเชา (การตออายุสัญญาเชาดังกลาว ไมเปนไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งตองมีการพิจารณาสัญญาใหมทุกครั้ง) ** รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นไดมีการอนุมัติรายการและเปดเผยขอมูลตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนแลว *** ระยะเวลาเชา 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561 เปลี่ยนชื่อผูเชาจากเดิม บมจ.อารเอส เปน บริษัท อาร. เอส. เทเลวิชั่น จํากัด
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
97
การเช าที่ดิน งบการเงินสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดชําระคาเชาที่ดิน ใหแก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ เปนจํานวนเงิน 0.32 ลานบาท บริษัทฯ และบริษัทยอยไดมีการเชาที่ดินจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ ซึ่งเปนที่ดินที่เชาชวงตอมา จาก นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์ มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนโรงเก็บอุปกรณและรานคา โดยคิดคาเชาที่ดินในอัตราตารางวาละ 36 - 105 บาท ซึ่งมีความสมเหตุสมผลเมื่อเปรียบเทียบกับการเชาที่ดินในบริเวณใกลเคียง รายละเอียดการเชามีดังตารางตอไปนี้ อายุสัญญา
อนุมัติ รายการโดย (**)
ผู ให เช า/ ผู เช าช วง
ผู เช า
พื้นที่ (ตรม.)
ค าเช า/ เดือน (บาท)
เริ่ม
สิ้นสุด (*)
1. ที่ดิน ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
คณะบุคคล เชษฐโชติศักดิ์
บมจ. อารเอส
152 ตร.วา
22,000
มิ.ย. 58
พ.ค. 61
ดําเนินการโดย ฝายจัดการ
2. ที่ดิน ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.
บจ. เชษฐโชติศักดิ์
บจ. ไลฟสตาร
52 ตร.ม
5,500
มิ.ย. 58
ก.ค. 61
ดําเนินการโดย ฝายจัดการ
ที่ตั้ง
หมายเหตุ *
สามารถตออายุของสัญญาเชาออกไปไดอีก เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาเชา (การตออายุสัญญาเชาดังกลาว ไมเปนไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งตองมีการพิจารณาสัญญาใหมทุกครั้ง) ** สัญญาที่ดําเนินการโดยฝายจัดการเนื่องจากขนาดของรายการไมถึงเกณฑที่ตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนแลว
การซื้อทรัพย สินถาวร -ไมมี-
การคํ้าประกัน -ไมมี-
PAGE
98
ความจําเป นและความสมเหตุสมผลของการทํารายการระหว างกัน รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นนั้นมีความจําเปนและความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ซึ่งในป 2559 ที่ผานมา บริษัทฯ มีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทยอย และกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีรายการหลักๆ อันไดแก การเชาที่ดิน การเชาอาคารเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน หรือเพื่อการดําเนินธุรกิจ และรายการคํ้าประกันซึ่งเปนรายการ ที่ดําเนินตามธุรกิจปกติ ไมมีเงื่อนไขพิเศษ และไมมีการถายเทผลประโยชน ระหวางบริษัทฯ และผูที่เกี่ยวของ การกําหนดราคา อัตราคาธรรมเนียม และ/หรือ อัตราดอกเบี้ย เปนการกําหนดตามราคาที่สอดคลองกับอัตราปกติที่สามารถเปรียบเทียบไดกับการ ทํารายการกับบุคคลอื่นที่ไมมีความเกี่ยวของกัน ซึ่งไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป 2559 แลว คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ไดสอบทานรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย และกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง อันไดแก การเชาที่ดิน การเชาอาคาร รายการซื้อขายสินคา หรือทรัพยสิน คาลิขสิทธิ์ การรับจางผลิต งานคอนเสิรตและกิจกรรม การตลาด การขายโฆษณา คาบริการ และดอกเบี้ยเงินกู ฯลฯ ซึ่งไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป 2559 แลว มีความเห็นวา รายการดังกลาวเปนรายการที่ดําเนินตามธุรกิจปกติ มีความจําเปนและความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื่อ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ
มาตรการ หรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหว างกัน บริษัทฯ มีนโยบายในการทํารายการระหวางกัน คือ รายการระหวางกันนั้น ตองอยูบนพื้นฐานของความจําเปน ความสมเหตุสมผล และเป น การดํ า เนิ น การเพื่ อ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ต อ กลุ ม บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง เป น ไปในราคา และเงื่ อ นไขที่ ไ ม แ ตกต า งกั บ รายการ ที่มีกับบุคคลภายนอกที่ไมเกี่ยวของกัน และในกรณีที่มีรายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญ บริษัทฯ จะจัดใหผานการอนุมัติจาก คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท รวมถึงที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี โดยกําหนดใหการออกเสียงในที่ประชุมนั้นๆ กรรมการ หรือผูถือหุน ซึ่งมีสวนไดเสีย จะไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ทั้งนี้ การดําเนินการใดๆ จะตองเปนไปตามประกาศที่เกี่ยวของ ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
นโยบายหรือแนวโน มการทํารายการระหว างกันรวมทั้งการได มาหรือจําหน ายไปซึ่งสินทรัพย ในอนาคต บริษัทฯ ยังคงมีนโยบายหรือแนวโนมในการทํารายการระหวางกันในอนาคตกับบริษัทที่เกี่ยวของกันตอไป เชน การเชาอาคารสํานักงาน การเชาที่ดิน และการคํ้าประกันเงินกูของบริษัทในกลุมโดยบริษัทฯ อยางไรก็ตามบริษัทฯ ไมมีนโยบายที่จะทํารายการกับบุคคล ที่ อ าจขั ด แย ง กั น ยกเว น ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ เห็ น ว า จะได รั บ ผลตอบแทนสู ง สุ ด ซึ่ ง เป น ไปในราคาและเงื่ อ นไขที่ ไ ม แ ตกต า งหรื อ ดีกวาจากบุคคลภายนอก ซึ่งบริษัทฯ จะกําหนดใหผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนในกรณีที่เปน รายการตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
99
PAGE
100
ข อมูลทางการเงินที่สําคัญ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ
381,535
757,112
15.6%
103,762
2.5%
0.1% 4,522 24.1% 875,712 2.3% 163,095 0.6% 40,928 0.1% 97,985 35.5% 1,939,354
0.1% 18.1% 3.4% 0.8% 2.0% 40.0%
647,567 129,680 67,630 1,483 950,123
15.6% 3.1% 1.6% 0.0% 23.0%
0.1% 7.9%
4,104 473,046
0.1% 11.4%
37.2% 1,666,431 6.7% 551,610 35,417 2.7% 124,080 4.7% 303,618 0.6% 30,860 60.0% 3,189,166 100.0% 4,139,289
40.3% 13.3% 0.9% 3.0% 7.3% 0.7% 77.0% 100.0%
สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน : เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น - เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน : เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) คาใชจายลวงหนาเกินป ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย (สุทธิ) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย
4,465 1,100,765 106,767 25,694 6,601 1,625,826
5,406 388,231 1,937,315 372,633 92,454 117,361 37,359 2,950,757 4,576,584
8.3%
0.1% 8.5%
5,103 384,016
42.3% 1,802,058 8.1% 323,571 2.0% 130,538 2.6% 228,020 0.8% 31,266 64.5% 2,904,572 100.0% 4,843,927
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
101
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ
หนี้สินและสวนของเจาของ หนี้สินหมุนเวียน : เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงินที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดคางจาย ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน : หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน (สุทธิ) เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย (สุทธิ) ประมาณการผลขาดทุนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน
840,927 7,655
235,349 36,735 57,379 84,102 23,338 1,285,484
5,103 1,467,594 3,705 65,351 6,017 1,547,771 2,833,255
18.4% 1,419,374 0.2%
5,865
5.1% 361,675 0.8% 14,366 1.3% 48,410 1.8% 37,642 0.5% 11,949 28.1% 1,899,282
0.1% -
7,206 -
32.1% 1,105,919 0.1% 1,659 1.4% 85,546 0.1% 17,156 33.8% 1,217,486 61.9% 3,116,768
29.3%
589,116
14.2%
0.1%
11,668
0.3%
7.5% 378,076 - 706,000 0.3% 1,892 1.0% 43,962 0.8% 22,905 0.2% 15,150 39.2% 1,768,769
9.1% 17.1% 0.0% 1.1% 0.6% 0.4% 42.7%
0.1% -
24,702 444,060
0.6% 10.7%
22.8% 727,843 0.0% 1.8% 97,959 0.4% 16,432 25.1% 1,310,996 64.3% 3,079,765
17.6% 2.4% 0.4% 31.7% 74.4%
PAGE
102
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ
31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ
หนี้สินและสวนของเจาของ (ตอ) สวนของเจาของ : ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 1,026,000,280 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,013,591,880 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 1,022,346,046 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ หุนสามัญซื้อคืน สวนตางระหวางราคาซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย ที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับมูลคาสุทธิ ตามบัญชีของบริษัทยอย กําไรสะสม จัดสรรแลว-ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรแลว-สํารองหุนสามัญซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของเจาของ รวมหนี้สินและสวนของเจาของ
1,026,000
22.4% 1,013,592
1,022,346 255,225 (74,672)
(16,594) 69,910 74,672 382,381 1,713,268 30,061 1,743,329 4,576,584
20.9% 1,009,938
24.4%
22.3% - 1,009,938 5.6% 255,825 (1.6%) -
20.9% 1,009,938 5.3% 255,825 - (465,275)
24.4% 6.2% (11.2%)
(0.4%)
(0.3%)
(16,594)
1.5% 91,781 1.6% 8.4% 375,901 37.4% 1,716,850 0.7% 10,308 38.1% 1,727,159 100.0% 4,843,927
หมายเหตุ : งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายใหม โดยฝ ายจัดการ
-
-
1.9% 100,895 465,275 7.8% (317,336) 35.4% 1,049,321 0.2% 10,203 35.7% 1,059,524 100.0% 4,139,289
2.4% 11.2% (7.7%) 25.4% 0.2% 25.6% 100.0%
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
103
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ รายได รายไดจากการขาย 311,682 รายไดจากการใหบริการ 3,994,770 รวมรายไดจากการขายและใหบริการ 4,306,451 รายไดอื่น 26,925 รวมรายได 4,333,377 ตนทุน ตนทุนขาย (277,516) ตนทุนการใหบริการ (2,640,518) รวมตนทุนขายและการใหบริการ (2,918,034) คาใชจาย คาใชจายในการขาย (322,500) คาใชจายในการบริหาร (535,930) คาใชจายอื่น (4,016) รวมคาใชจาย (862,446) 552,897 กําไร (ขาดทุน) กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน (77,802) กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได 475,095 (คาใชจาย) รายไดภาษีเงินได (107,452) กําไร (ขาดทุน) สําหรับป 367,644 กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไมจัดประเภทรายการใหมเขาไปไวใน กําไรหรือขาดทุนในภายหลัง - กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน 1,567 - การเปลี่ยนแปลงสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี เกี่ยวกับ - กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน (313) กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป 368,897
พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ
พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ
7.2% 795,468 92.2% 2,933,238 99.4% 3,728,706 0.6% 51,551 100.0% 3,780,258
21.0% 838,345 77.6% 2,286,574 98.6% 3,124,919 1.4% 123,590 100.0% 3,248,509
25.8% 70.4% 96.2% 3.8% 100.0%
(6.4%) (379,644) (60.9%) (2,323,358) (67.3%) (2,703,002)
(10.0%) (399,755) (61.5%) (1,931,248) (71.5%) (2,331,004)
(12.3%) (59.5%) (71.8%)
(7.4%) (12.4%) (0.1%) (19.9%) 12.8% (1.8%) 11.0% (2.5%) 8.5%
(345,119) (531,188) (83) (876,390) 200,865 (81,085) 119,781 12,330 132,110
(9.1%) (14.1%) (0.0%) (23.2%) 5.3% (2.1%) 3.2% 0.3% 3.5%
(441,939) (516,763) (1,907) (960,609) (43,104) (83,373) (126,477) 24,235 (102,241)
(13.6%) (15.9%) (0.1%) (29.6%) (1.3%) (2.6%) (3.9%) 0.7% (3.1%)
0.0%
-
-
-
-
(0.0%) 8.5%
132,110
3.5%
(102,241)
(3.1%)
PAGE
104
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
การแบงปนกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
กําไร (ขาดทุน) ตอหุนสวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) จํานวนหุนสามัญ (พันหุน)
พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ
พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ
340,975 26,669 367,644
7.9% 0.6% 8.5%
121,634 10,476 132,110
3.2% 0.3% 3.5%
(102,145) (96) (102,241)
(3.1%) (0.0%) (3.1%)
341,819 27,078 368,897
7.9% 0.6% 8.5%
121,634 10,476 132,110
3.2% 0.3% 3.5%
(102,145) (96) (102,241)
(3.1%) (0.0%) (3.1%)
0.3465 983,958
0.1208 1,006,635
หมายเหตุ : งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายการใหม โดยฝ ายจัดการ
(0.1043) 978,992
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
105
งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย (กลับรายการ) คาเผื่อสินคาลาสมัย (กลับรายการ) ขาดทุนจากการทําลายสินคา กลับรายการประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยไมมีตัวตน (กลับรายการ) คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยหมุนเวียนอื่น และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (กลับรายการ) คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน (กลับรายการ) (กําไร) ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพย ไมมีตัวตน และอาคารและอุปกรณ (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงินดอกเบี้ยจาย การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น คาใชจายลวงหนาเกินป สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กอนดอกเบี้ยรับตนทุนทางการเงินจาย และภาษีเงินไดจาย รับคืนภาษีถูกหัก ณ ที่จาย เงินสดจายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน
พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ
พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ
475,095
124.5%
119,781
15.8%
(126,477)
(121.9%)
1,078,491 4,294
282.7% 1.1%
546,667 19,176
72.2% 2.5%
468,499 4,932
451.5% 4.8%
2,635 (7,491) (37,733)
0.7% (2.0%) (9.9%)
(3,114) 29,915 3,889 (22,369)
(0.4%) 4.0% 0.5% (3.0%)
(1,361) 17,555 6,960 (12,474)
(1.3%) 16.9% 6.7% (12.0%)
19,719
5.2%
(4,490)
(0.6%)
15,153
14.6%
(302) 90 1,756
(0.1%) 0.0% 0.5%
673 303 (2,045)
0.1% 0.0% (0.3%)
(1,010) 999 -
(1.0%) 1.0% -
306 17,151 (2,957) 77,802 1,628,857
0.1% 4.5% (0.8%) 20.4% 426.9%
808 (744) 20,194 (2,455) 81,085 787,272
0.1% (0.1%) 2.7% (0.3%) 10.7% 104.0%
456 (419) 12,414 (1,742) 83,373 466,858
0.4% (0.4%) 12.0% (1.7%) 80.4% 449.9%
(36,910) (60,365) (17,330) 8,312 10,857 (6,164) 7,849 (3,456)
(9.7%) (15.8%) (4.5%) 2.2% 2.8% (1.6%) 2.1% (0.9%)
205,862 (90,133) (24,203) (91,212) 5,189 588,867 (11,389) 11,139
27.2% (11.9%) (3.2%) (12.0%) 0.7% 77.8% (1.5%) 1.5%
223,220 8,900 (31,150) 96,948 (35,417) 970 (850,748) 3,200 (2,384)
215.1% 8.6% (30.0%) 93.4% (34.1%) 0.9% (819.9%) 3.1% (2.3%)
1,531,652 883 (155,875) 1,376,660
401.4% 0.2% (40.9%) 360.8%
1,381,392 12,298 (192,056) 1,201,634
182.5% 1.6% (25.4%) 158.7%
(119,603) 61,887 (120,167) (177,883)
(115.3%) 59.6% (115.8%) (171.4%)
PAGE
106
งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบี้ยรับ เงินใหกยู มื ระยะสัน้ แกบคุ คลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเพิม่ ขึน้ รับชําระเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบุคคล และกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกพนักงานลดลง เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน เงินสดจายซื้อที่ดนิ อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายชําระดอกเบี้ย เงินรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายชําระเงินกูยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายชําระหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน เงินสดจายใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ และประกอบการโทรทัศน จายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน จายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมลดลงจากการจายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมลดลงจากการจายเงินลดทุน เงินสดรับจากการเพิ่มทุน เงินสดรับจากการจําหนายหุนซื้อคืน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือปลายป รายการที่มิใชเงินสด เจาหนี้คงคางจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ภายใตสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน คางจาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม ดอกเบีย้ คางรับจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม คาเผื่อดอกเบี้ยคางรับจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ลดทุนหุนสามัญซื้อคืน สวนเกินมูลคาทุนสามัญที่ลดลงจากการลดทุนหุนสามัญซื้อคืน
พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ
พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ
3,139 (91,000)
0.8% (23.9%)
2,471 (68,500)
0.3% (9.0%)
1,735 (30,000)
1.7% (28.9%)
91,000 41 (74) (141,258) 473 (550,934) (688,614)
23.9% 0.0% (0.0%) (37.0%) 0.1% (144.4%) (180.5%)
68,500 59 (57) (88,984) 8,694 (274,409) 531 (351,696)
9.0% 0.0% (0.0%) (11.8%) 1.1% (36.2%) 0.1% (46.5%)
30,000 4,522 (139,435) 6,949 (471,238) (597,467)
28.9% 4.4% (134.4%) 6.7% (454.2%) (575.8%)
(26,195) 755,000 (755,000) 65,000 (351,915) (6,133)
(6.9%) 197.9% (197.9%) 17.0% (92.2%) (1.6%)
(13,365) 470,000 (470,000) (10,216)
(1.8%) (28,400) (27.4%) 62.1% 3,046,000 2,935.6% (62.1%) (2,340,000) (2,255.2%) 444,060 428.0% (1.3%) (19,266) (18.6%)
(340,500) (8,000) (310,955) (10) 100,049 (878,658)
(89.2%) (2.1%) (81.5%) (0.0%) 26.2% (230.3%)
(302,500) (180,916) (11,478) (18,750) 62,864 (474,361)
(40.0%) (23.9%) (1.5%) (2.5%) 8.3% (62.7%)
(415,000) (100,109) (9) (465,275) 122,001
(400.0%) (96.5%) (0.0%) (448.4%) 117.6%
(190,612) 572,147 381,535
(50.0%) 150.0% 100.0%
375,576 381,535 757,112
49.6% 50.4% 100.0%
(653,350) 757,112 103,762
(629.7%) 729.7% 100.0%
19,459
9,039
28,752
-
-
416
-
9,960
41,278
1,702,942 -
-
2,490
-
(52,347) 39,939
(2,490) -
หมายเหตุ : งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายการใหม โดยฝ ายจัดการ
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
107
อัตราส วนทางการเงินที่สําคัญ ป 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา) ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน)
1.26 0.97 1.07 5.25 69 33.48 11 19.29 19 61
1.02 0.75 0.75 4.87 75 16.85 22 17.79 21 76
0.54 0.34 -0.10 5.36 68 11.91 31 15.58 23 76
อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%)
32.24% 12.21% 261.74% 7.87% 20.69%
27.51% 4.00% 804.77% 3.22% 7.09%
25.41% -5.33% N/A -3.14% -7.39%
อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย (เทา)
14.69% 128.83% 1.15
4.26% 55.93% 0.80
-0.96% 0.51% 0.72
อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%)
1.65 7.11 0.72 88.41%
1.82 2.48 1.15 83.03%
2.94 -0.52 -0.06 -
ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไร (ขาดทุน) ตอหุนสวนที่เปนของบริษัทใหญ (บาท)
1.7353 0.3465
1.7102 0.1208
1.0961 -0.1043
PAGE
108
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
109
การวิเคราะห และคําอธิบายของฝ ายจัดการ การวิเคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการในสวนนี้ไดจัดทําขึ้นจากผลประกอบการรวมของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ (“บริษัทฯ”) ตามงบการเงินที่ผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี เพื่อประโยชนในการแสดงภาพผลประกอบการ โดยรวมของบริษัทฯ ไดมีการจัดแบงกลุมธุรกิจหลัก ออกเปน 4 กลุมหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจเพลง ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม และธุรกิจสุขภาพและความงาม ดังตาราง กลุ มธุรกิจ 1) ธุรกิจสื่อ
ประเภท ธุรกิจสื่อโทรทัศน
“ชอง 8” “ชอง 2” “สบายดีทีวี” “You Channel”
ธุรกิจสื่อวิทยุ
“COOL Fahrenheit 93”
2) ธุรกิจเพลง
- ธุรกิจดิจิตอล - ธุรกิจจัดเก็บลิขสิทธิ์ - ธุรกิจบริหารศิลปน (1)
3) ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม
-
4) ธุรกิจสุขภาพและความงาม
จัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด งานรับจางผลิต กลุมผลิตภัณฑดูแลผิวหนา กลุมบํารุงเสนผมและหนังศีรษะ กลุมอาหารเสริม
หมายเหตุ : (1) ป 2559 ธุรกิจบริหารศิลปนจัดกลุมธุรกิจใหมโดยอยูภายใตธุรกิจเพลง (เดิมอยูกลุมธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม)
1. ภาพรวมธุรกิจ ภาพรวมธุรกิจสื่อโทรทัศนและวิทยุทั้งอุตสาหกรรมสําหรับป 2559 ปรับตัวลดลงจากผลกระทบของการงดเผยแพรรายการทั้งภาพ และเสียงที่แสดงถึงความรื่นเริง โดยนําเสนอเพียงขาว พรอมทั้งเผยแพรขอมูลขาวสารการถายทอดภาพและเสียงเกี่ยวกับการ เสด็จสวรรคตและงานพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ อยางตอเนื่องเปนเวลา 30 วันภายหลัง วันที่ 13 ตุลาคม 2559 โดยตลาดสื่อและโฆษณายังไดรับผลกระทบอยางตอเนื่องจนถึงปลายป 2559 โดยหากพิจารณาการใชงบโฆษณา (ADEX) ผานสื่อโทรทัศนและวิทยุจากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) ชี้ใหเห็นวา เม็ดเงินโฆษณา ของป 2559 เทียบกับป 2558 ลดลง 13,802 ลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากการลดลงของเม็ดเงินโฆษณาผานทั้งโทรทัศนและวิทยุ อยางไรก็ตาม ในสวนของโทรทัศนระบบดิจิตอลนั้นมีสัดสวนการใชงบโฆษณาลดลงนอยที่สุด โดยลดลงเพียง 538 ลานบาท หรือลดลง รอยละ 2.6 ตามดวยการใชงบโฆษณาผานวิทยุที่ลดลง 413 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 7.3 ธุรกิจสื่อโทรทัศนโดยรวมนั้น เม็ดเงินโฆษณาลดลงสะทอนจากจํานวนผูชมโทรทัศนเฉลี่ยเดือนธันวาคม ป 2559 ลดลงเมื่อเทียบกับ ชวงเวลาเดียวกันของป 2558 กวารอยละ 4.3 ของจํานวนผูชมทั่วประเทศ อยางไรก็ตาม สัดสวนผูชมโทรทัศนในระบบดิจิตอล มีจํานวนสูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 43.7 ในเดือนธันวาคม ป 2559 เทียบกับรอยละ 29.3 ในเดือนธันวาคม ป 2558
PAGE
110
2. สรุปผลการดําเนินงานสําหรับป 2559 งบการเงินรวมของบริษัทฯ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญจํานวน 102.1 ลานบาท ลดลง 223.7 ลานบาท จากปกอนหนา ซึ่งมีกําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญจํานวน 121.6 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 184.0 สาเหตุจากการลดลงของรายไดธุรกิจสื่อเปนหลัก โดยเปนผลมาจากการงดการเผยแพรรายการในไตรมาส 4 ของป 2559 ในสวนของคาใชจายทางการตลาดสูงขึ้นสําหรับใชในการโฆษณาผลิตภัณฑสุขภาพและความงามออกสูตลาดคาปลีก และประชาสัมพันธ สินคาใหเปนที่รูจักในวงกวางตั้งแตชวงกลางป 2559 เปนตนมา ทําใหในป 2559 บริษัทฯ มีผลขาดทุน 102.1 ลานบาท หรือลดลง 223.7 ลานบาท
สรุปผลการดําเนินงานแยกตามกลุ มธุรกิจ 2.1 รายได รายไดจากการขายและบริการสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 3,124.9 ลานบาท ลดลงสุทธิจากปกอน จํานวน 603.8 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 16.2 แยกอธิบายตามกลุมธุรกิจ ไดดังนี้ หน วย : ล านบาท รายไดธุรกิจสื่อ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดจากการขายและบริการ
ป 2558 จํานวน ร อยละ 2,246.1 60.3 463.6 12.4 707.4 19.0 231.9 6.2 79.7 2.1 3,728.7 100
ป 2559 จํานวน ร อยละ 1,814.7 58.1 321.6 10.3 753.2 24.1 227.9 7.3 7.6 0.2 3,124.9 100
เปลี่ยนแปลง (y-y) จํานวน -431.4 -19.2% -142.0 -30.6% 45.7 6.5% -4.1 -1.7% -72.1 -90.5% -603.8 -16.2%
2.1.1 รายไดธุรกิจสื่อ รายไดจากธุรกิจสื่อประกอบดวย รายไดจากธุรกิจสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ โดยในป 2559 มีรายไดจากธุรกิจสื่อรวม จํานวน 1,814.7 ลานบาท ลดลงจากปกอน จํานวน 431.4 ลานบาท คิดเปนรอยละ 19.2 ประกอบไปดวย - ธุรกิจสื่อโทรทัศน : ประกอบดวย รายไดจากชองโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล หมวดหมูทั่วไปแบบความ คมชัดปกติ ไดแก สถานีโทรทัศน “ชอง 8” รายไดจากชองโทรทัศนดาวเทียม ไดแก “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” เปนหลัก ภาพรวมรายไดธุรกิจสื่อโทรทัศนลดลง เนื่องจากผลกระทบของการใชงบโฆษณาผานสื่อโทรทัศนดาวเทียมโดยรวม ลดลงอยางมีนัยสําคัญตามการจัดสรรเม็ดเงินโฆษณาที่ลดลง โดยการใชงบโฆษณาผานสื่อโทรทัศนดาวเทียมสําหรับ ป 2559 เทียบกับป 2558 ลดลง 2,560 ลานบาท หรือลดลงกวารอยละ 42.3 เปนผลใหรายไดของ “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” ลดลง ในสวนของโทรทัศนระบบดิจิตอล แมวาการใชงบโฆษณาโดยรวมสําหรับป 2559 เทียบกับ ป 2558 จะลดลงรอยละ 2.6 ซึ่งผลกระทบหลักมาจากการงดการเผยแพรรายการอยางตอเนื่องเปนเวลา 30 วันในชวงไตรมาส 4 และอุตสาหกรรมสื่อโทรทัศนที่ไดรับผลกระทบตอเนื่องจนถึงสิ้นป 2559 อยางไรก็ตาม รายไดของ “ชอง 8” ซึ่งเปนรายไดหลักของธุรกิจสื่อโทรทัศนของบริษัทฯ กลับทําไดดีสวนทางกับตลาดโดยรวม
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
111
ตลอดป 2559 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” ภายใตคอนเซปต “เขมทุกเรื่องราว สุดทุกอารมณ” พรอมโลโกใหม และการเพิ่มเติมรายการใหมๆ เพื่อขยายฐานผูชมโทรทัศนกลุมคนเมืองยังคงไดรับความนิยมตอเนื่องทั้งรายการ ในกลุมกีฬา ไดแก รายการ “8 Max มวยไทย” “เดอะแชมเปยน มวยไทยตัดเชือก” “ศึกมวยโลก ชอง 8 HBO Boxing” และ “UFC มวยกรง 8 เหลี่ยม” และการเพิ่มรายการมวยในชวงเวลาไพรมไทมวันศุกรทั้ง “มวยไทย แบทเทิ้ล” และ “มวยมันส ซูเปอร Max” รายการขาว นําโดย“คุยขาวชอง 8” ซึ่งสรางสถิติใหม ทําใหเรตติ้งกลุมรายการขาวของ ชอง 8 ติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนในระบบดิจิตอลรายใหม และอันดับ 3 ของประเทศ รวมถึงการเพิ่ม รายการขาวรูปแบบใหม คือ “สะดุดขาวเด็ด” และ “ปากทองตองรู” ในสวนของละคร มีละครที่ออกอากาศใหม ทั้งสิ้น 8 เรื่อง ไดแก “สะใภรสแซบ” “มนตรักอสูร” “พี่เลี้ยง” “ลาดับตะวัน” “บาปบรรพกาล” “บวงรัก สลักแคน” “แมนาก” และ“กระถินริมรั้ว” นอกจากนี้ ยังเพิ่มความสนุกดวยการเติมวาไรตี้อีก 3 รายการ ไดแก “The Guest ตี ส นิ ท คนดั ง ” “สไมล เรนเจอร ข บวนการอั พ ยิ้ ม ” และ “English...สะกิ ด ต อ มฮา” อี ก ทั้ ง มี ก ารออกอากาศ ซีรีสตางประเทศยอดนิยมทั้งเกาหลีและจีนเพื่อเพิ่มฐานผูชมใหมๆ อีกดวย จากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) “ชอง 8” มีจํานวนผูชมชวงปลายปเพิ่มขึ้นจากปลายป 2558 ถึงรอยละ 13.9 - ธุรกิจสื่อวิทยุ : รายไดธุรกิจสื่อวิทยุมาจากผลการดําเนินงานของ “COOL Fahrenheit 93” ภาพรวมรายไดธุรกิจ สื่อวิทยุในป 2559 ลดลงรอยละ 11.9 จากปกอน สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการซื้อสื่อโฆษณาที่เปลี่ยนไป ของทั้งอุตสาหกรรม ประกอบกับในป 2559 บริษัทฯ ยุติการดําเนินธุรกิจสําหรับคลื่น “สบายดี เรดิโอ 88.5” อยางไรก็ตาม จากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) คลื่น “COOL Fahrenheit 93” ยังคงไดรับความนิยมติดอยูในอันดับ 1 ของกลุม Easy Listening และอันดับ 2 ของประเทศ และยังมีการจัดกิจกรรม สําหรับผูฟงซึ่งไดรับความนิยมอยางสูงตลอดทั้งป ไดแก “อิ๊งค Eat All Around” “COOL Music Alive” “COOL Outing” “COOL Music Fest” และ “One Life” 2.1.2 รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจเพลง ประกอบดวย รายไดจากธุรกิจดิจิตอล รายไดจากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ และรายไดจากการบริหารศิลปน โดยบริษทั ฯ ไดหยุดผลิตและจําหนายแผนเพลงไปตัง้ แตไตรมาส 1 ของป 2559 เพือ่ ใหสอดคลองกับพฤติกรรมของผูบ ริโภค เพลงที่เปลี่ยนแปลงไปและกอใหเกิดความคลองตัว เปนผลใหรายไดโดยรวมของป 2559 จํานวน 321.6 ลานบาท ลดลง จากปกอน จํานวน 142.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 30.6 อีกทั้งพฤติกรรมการดาวนโหลดริงโทนก็ลดความนิยมลง ทั้งนี้ แนวโนมรายไดของการใหบริการ Music Streaming และ YouTube ยังเพิ่มขึ้น แตไมเพียงพอกับการลดลงของรายได จากชองทางอื่นๆ อยางไรก็ตาม ภายหลังการปรับโครงสรางธุรกิจ ตัดตนทุนที่ไมกอใหเกิดรายไดออกไป ทําใหธุรกิจเพลง โดยรวมยังมีความสามารถในการทํากําไรที่ดี 2.1.3 รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม ประกอบดวย รายไดจากการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด และรายไดจาก งานรับจางผลิต ในป 2559 รายไดจากธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม จํานวน 753.2 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 45.7 ล า นบาท คิ ด เป น ร อ ยละ 6.5 เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ ยั ง คงมี กิ จ กรรมคอนเสิ ร ต ที่ จั ด อย า งต อ เนื่ อ งและประสบ ความสําเร็จเปนอยางดี ทั้งคอนเสิรต “The Next Venture Concert 2016” “Love Laugh Cry with 9 Men” รวมถึง คอนเสิรตสําหรับสื่อตางๆ ของบริษัทฯ ทั้ง “ชอง 8 พบเพื่อน” และ “สบายดีสัญจร” เปนตน
PAGE
112
2.1.4 รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม ประกอบดวย รายไดจากการจัดจําหนายกลุมผลิตภัณฑดูแลผิวหนา ภายใตแบรนด “มาจีค (Magique)” กลุมบํารุงเสนผมและหนังศีรษะ ภายใตแบรนด “รีไวฟ (Revive)” และกลุมอาหารเสริม โดยบริษัทฯ มีรายไดจํานวน 227.9 ลานบาท คอนขางทรงตัวจากป 2558 ที่จํานวน 231.9 ลานบาท เหตุผลหลักมาจากการทําการ ขายผานสื่อโทรทัศนไมไดในชวงไตรมาส 4 ประกอบกับเศรษฐกิจที่ซบเซามาระยะหนึ่งสงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ ที่เพิ่งออกใหมในตลาด อยางไรก็ตาม เมื่อธุรกิจโฆษณาเริ่มกลับมาเปนปกติ บริษัทฯ ไดเพิ่มเสนการขายและโฆษณา ผานสื่อของบริษัทฯ มากขึ้น รวมถึงเพิ่มจํานวนเจาหนาที่รับสายคอลเซ็นเตอรเพื่อรองรับความตองการของลูกคา ทีส่ งู ขึน้ ใหไดทงั้ หมด และยังทําการตลาดในทุกชองทางเพือ่ เปนการกระตุน ยอดขายสําหรับลูกคาเดิม และเพือ่ ประชาสัมพันธ ใหผลิตภัณฑเปนที่รูจักในวงกวาง รวมถึงการขยายชองทางการขายและการทําโปรโมชั่นรวมกับรานวัตสัน (Watsons) อีฟ แอนด บอย (EVEANDBOY) ท็อปส มารเก็ต (Tops Market) กูรเมต มารเก็ต (Gourmet Market) และ โฮม เฟรช มารท (Home Fresh Mart) ดวย 2.2 ต นทุนขายและบริการ ตนทุนขายและบริการจํานวน 2,331.0 ลานบาท ลดลงจากปกอน จํานวน 372.0 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 13.8 เนื่องมาจาก ตนทุนของชองโทรทัศนดาวเทียมลดลงอยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากความพยายามในการบริหารตนทุนใหลดลง ตามรายไดที่หดตัวลง ตนทุนขายและบริการอีกสวนหนึ่งที่ลดลงมาจากตนทุนของธุรกิจผลิตและจําหนายแผนเพลงที่ลดลง เปนอยางมากตามการยุติการผลิต อยางไรก็ตาม แมตนทุนการดําเนินงานของชอง 8 จะเพิ่มสูงขึ้น แตก็เปนไปตามสัดสวน เดียวกับรายไดทเี่ พิม่ ขึน้ โดยเปนการพัฒนาคุณภาพดานเนือ้ หารายการ อุปกรณในการดําเนินงาน ตนทุนละครตามการออกอากาศ และการเพิ่มรายการใหมๆ ใหไดรับความนิยมและเพิ่มฐานผูชมอยางตอเนื่อง 2.3 ค าใช จ ายในการขายและบริหาร ค าใช จ ายอื่น และต นทุนทางการเงิน คาใชจายในการขายและบริหาร จํานวน 960.6 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2558 จํานวน 84.2 ลานบาท คิดเปนเพิ่มขึ้นรอยละ 9.6 จากการเพิ่ ม ขึ้ น หลั ก ๆ ของค า ใช จ า ยในการขายและการโฆษณาประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า สุ ข ภาพและความงามของบริ ษั ท ฯ ผานชองทางขายอื่นนอกเหนือจากที่แตเดิมขายผานชองทาง Telesales เพียงอยางเดียว ในสวนของตนทุนทางการเงิน จํานวน 83.4 ลานบาท เพิ่มขึ้น 2.3 ลานบาทจากป 2558 คิดเปนเพิ่มขึ้นรอยละ 2.8 สาเหตุมาจาก ดอกเบี้ยจายธนาคารสูงขึ้นจากการเริ่มกูยืมระยะยาวเปนปแรกเพื่อชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่โทรทัศน ในระบบดิจิตอล 2.4 อัตรากําไรขั้นต น อัตรากําไรสุทธิ และอัตราผลตอบแทนผู ถือหุ น (ROE) ป 2558
ป 2559
อัตรากําไรขั้นตน
27.5%
25.4%
อัตรากําไรสุทธิ
3.2%
-3.1%
อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (ROE)
7.1%
-7.4%
ป 2559 บริษัทฯ มีอัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรสุทธิ และอัตราผลตอบแทนผูถือหุน ลดลงจากปกอน สาเหตุหลักมาจากการ ลดลงของผลประกอบการจากธุรกิจสื่อ และธุรกิจสุขภาพและความงาม
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
113
3. สินทรัพย 3.1 ส วนประกอบของสินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น 4,139.3 ลานบาท แบงเปนสินทรัพยหมุนเวียนรอยละ 23.0 และ สินทรัพยไมหมุนเวียน รอยละ 77.0 สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 4,139.3 ลานบาท ลดลงจากป 2558 รอยละ 14.5 มีสาเหตุหลักมาจากการ ลดลงของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รอยละ 86.3 จากการซื้อหุนคืน และการลงทุนในคอนเทนตรายการตางๆ ลูกหนี้ การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) ลดลงรอยละ 26.1 ตามการลดลงของรายได และในระหวางป ไดตัดจําหนายคาใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนในระบบดิจิตอล จํานวน 135.6 ลานบาท อยางไรก็ดี สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) เพิ่มขึ้น รอยละ 70.5 จากการเพิ่มขึ้นของคอนเทนตละครและซีรีสตางประเทศ 3.2 คุณภาพของสินทรัพย 3.2.1 ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) หน วย : ล านบาท ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ : เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) รอยละของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตอมูลคาลูกหนี้การคา
ป 2558
ป 2559 364.7
266.0
270.7 21.2 25.0 48.6 730.2 -60.5 669.7 4.87 75 8.3%
205.9 13.5 3.5 70.7 559.6 -63.4 496.2 5.36 68 11.3%
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) 496.2 ลานบาท ลดลงจากปกอน 173.5 ลานบาท คิดเปน รอยละ 25.9 ตามการลดลงของรายไดขายและบริการ รวมถึงการรับชําระหนี้ในระหวางป โดยสวนใหญเปนลูกหนี้การคาจากกิจกรรม การคาปกติ ซึ่งบริษัทฯ อาจมีขอตกลงในการเรียกเก็บลวงหนาบางสวน หรือใหเครดิตเทอมซึ่งโดยเฉลี่ยอยูในระยะเวลา 60 - 90 วัน ขึ้นอยูกับประเภทของการขายหรือบริการที่ให หากพิจารณาจากอายุลูกหนี้ในตารางขางตนจะเห็นวา ระยะเวลาคางชําระของลูกหนี้โดยสวนใหญเกินรอยละ 80 เปนลูกหนี้ที่ยังไมถึง กําหนดชําระและคางชําระนอยกวา 3 เดือน ซึ่งเปนไปตามระยะเวลาการใหสินเชื่อของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในป 2558 และ ป 2559 ระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัทฯ อยูที่ประมาณ 68 - 75 วัน ซึ่งใกลเคียงกับนโยบายในการใหเครดิตเทอมเฉลี่ย ของบริษัทฯ ที่ประมาณ 60 - 90 วัน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายพิจารณาและทบทวนคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระ หนี้ทุกงวดบัญชีอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหมูลหนี้ที่คงเหลือในงบการเงินแสดงมูลคาที่คาดวาจะไดรับจริง โดยใชวิธีการพิจารณามูลหนี้ของ ลูกหนี้รายตัวที่มีแนวโนมจะมีปญหาในการจายชําระ และมีปญหาในการติดตามทวงถามหนี้ ซึ่งมูลหนี้ที่จะนํามาใชรวมในการพิจารณา นั้นจะครอบคลุมถึงหนี้ทั้งหมดที่ลูกหนี้รายนั้นมีตอบริษัทฯ รวมถึงมีมาตรการในการติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้อยางเครงครัด
PAGE
114
3.2.2 สินคาคงเหลือ (สุทธิ) หน วย : ล านบาท
ป 2558
ป 2559
ราคาทุน
203.6
187.7
หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย
-40.5
-58.0
สินคาคงเหลือ (สุทธิ)
163.1
129.7
อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา)
16.85
11.91
22
31
19.9%
30.9%
ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ยรวม (วัน) รอยละของคาเผื่อมูลคาสินคา ตอมูลคาสินคาคงเหลือ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ประกอบดวย สินคาสําเร็จรูปประเภทผลิตภัณฑเสริมความงาม กลองรับสัญญาณ ดาวเทียม “SUN BOX” งานระหวางทําประเภทรายการโทรทัศน งานรับจางและผลิตกิจกรรม รวมมูลคาสุทธิ 129.7 ลานบาท ลดลง จากปกอน 33.4 ลานบาท คิดเปนรอยละ 20.5 จากสินคาของงานรับจางผลิตเปนหลัก จากตารางขางตน บริษัทฯ มีระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ยไมเกิน 1 เดือน จากงานระหวางทําประเภทรายการโทรทัศน งานรับจางและ ผลิตกิจกรรม ที่มีกําหนดสงมอบงานในระยะเวลาอันสั้น ในสวนของสินคาสําเร็จรูป บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการควบคุมสินคา คงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค อีกทั้งมีนโยบายในการทําลายสินคาที่ไมมีมูลคาและ ไมไดใชประโยชนแลว เพื่อชวยลดตนทุนของงานดานการบริหารคลังสินคา นอกจากนี้ สําหรับสินคาคงเหลือที่ยังขายไมไดและคงคาง อยูในคลังสินคา หรืองานระหวางทําที่คางการสงมอบเปนระยะเวลานาน บริษัทฯ มีนโยบายในการทบทวนมูลคาสินคาคงเหลือ อยางสมํ่าเสมอในทุกงวดบัญชีเพื่อใหสินคาคงเหลือแสดงรายการในงบการเงินดวยมูลคาสุทธิที่จะไดรับโดยสะทอนประโยชนที่จะไดรับ ในอนาคตอยางแทจริง โดยในป 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนคาเผื่อสินคาลาสมัยตอมูลคาสินคาคงเหลือ รอยละ 30.9 เพิ่มขึ้นจากปกอน ที่มีอัตราเทากับรอยละ 19.9 จากการบันทึกคาเผื่อสินคาลาสมัยของกลองรับสัญญาณ “SUN BOX” 3.2.3 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) หน วย : ล านบาท
ป 2558 1,462.7
ป 2559 1,933.7
หัก คาตัดจําหนายสะสม
-810.5
-1,038.4
คาเผื่อการดอยคา
-328.6
-343.7
สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ)
323.6
551.6
ราคาทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) ประกอบดวย ลิขสิทธิ์ละคร ลิขสิทธิ์เพลง โปรแกรมคอมพิวเตอรและอื่นๆ รวมมูลคาสุทธิ 551.6 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 228.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 70.5 จากการเพิ่มขึ้นของคอนเทนตละคร ซีรีส ตางประเทศ และโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อรองรับระบบการทํางานในดานตางๆ
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
115
จากตารางขางตน คาเผื่อการดอยคา ณ สิ้นป 2558 และ 2559 จํานวน 328.6 ลานบาท และ 343.7 ลานบาท ตามลําดับ สวนใหญ มาจากลิขสิทธิ์เพลง และลิขสิทธิ์ภาพยนตรที่มีอายุเปนเวลานาน สําหรับลิขสิทธิ์เพลงเนื่องจากมีอายุการใหประโยชนที่ไมทราบแนนอน บริษัทฯ จึงไมมีการตัดจําหนายแตใชวิธีการทดสอบการดอยคาแทน อยางไรก็ดี บริษัทฯ มีนโยบายในการทบทวนมูลคาสุทธิที่คาดวา จะไดรับอยางสมํ่าเสมอในทุกงวดบัญชีเพื่อลดความเสี่ยงที่ราคาตามบัญชีที่แสดงในงบการเงินมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ตามประโยชนเชิงเศรษฐกิจที่คาดวาจะไดรับในอนาคต
4. สภาพคล อง 4.1 กระแสเงินสด หน วย : ล านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน
ป 2558 1,201.6
ป 2559 -177.9
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
-351.7
-597.4
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
-474.3
122.0
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ
375.6
-653.3
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป
757.1
103.8
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 103.8 ลานบาท ลดลงจากปกอน 653.3 ลานบาท สาเหตุหลักมาจากการซื้อหุนคืน 465.3 ลานบาท การจายเงินปนผล 100.1 ลานบาท และการลงทุนในคอนเทนตผลิตรายการ โทรทัศน ทั้งละคร ขาว และรายการวาไรตี้ตางๆ รวมถึงการลงทุนในอุปกรณดําเนินงานตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตรายการ และการดําเนินงานใหดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในระหวางป บริษัทฯ จายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ในระบบดิจิตอล 415.0 ลานบาท สุทธิจากการไดรับเงินกูยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินรวม 1,150.1 ลานบาท 4.2 อัตราส วนสภาพคล องที่สําคัญ ป 2558
ป 2559
อัตราสวนสภาพคลอง (เทา)
1.02
0.54
อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา)
0.75
0.34
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)
75
68
ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน)
22
31
ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ย (วัน)
21
23
Cash cycle (วัน)
76
76
ในป 2559 บริษัทฯ มีอัตราสวนสภาพคลองและอัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว 0.54 เทา และ 0.34 เทา ตามลําดับ ลดลงจากป 2558 ที่มีอัตรา 1.02 เทา และ 0.75 เทา ตามลําดับ จากแผนการเพิ่มการลงทุนในคอนเทนตละคร ซีรีสตางประเทศ และรายการตางๆ ใน “ชอง 8” เพื่อเพิ่มศักยภาพของการแขงขันใหทัดเทียมกับชองรายการอื่นๆ รวมถึงการวางแผนการเติบโตของธุรกิจสุขภาพ และความงาม จึงมีความจําเปนที่ตองใชเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น
PAGE
116
อย า งไรก็ ดี การบริ ห ารเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเป น ไปตามปกติ โดยระยะเวลาเก็ บ หนี้ เ ฉลี่ ย ยั ง คงสอดคล อ งกั บ นโยบายของบริ ษั ท ฯ การขายสินคาหรือการสงมอบงานรับจางแกลูกคา รวมถึงการจายชําระหนี้เปนไปตามวงจรการดําเนินธุรกิจปกติของบริษัทฯ
5. แหล งที่มาของเงินทุน หนี้สิน ส วนของเจ าของ และอัตราส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ น หน วย : ล านบาท เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
ป 2558
ป 2559 -
706.0
-
444.1
คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย (สุทธิ)
1,467.6
1,105.9
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
1,537.6
684.7
111.6
139.1
หนี้สินรวม
3,116.8
3,079.8
สวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ
1,716.9
1,049.3
1.82
2.94
เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 3,079.8 ลานบาท ลดลงจากปกอน 37.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.2 โดยมี การเปลี่ยนแปลงหลักๆ ไดแก การเพิ่มขึ้นของเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 706.0 ลานบาท เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 444.1 ลานบาท เพื่อจายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ในระบบดิจิตอล ในขณะที่หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง 852.9 ลานบาท หลักๆ จากรายไดรับลวงหนางานรับจางผลิตเนื่องจาก ไดสงมอบงานเรียบรอยแลว และการจายชําระของคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ จํานวน 1,049.3 ลานบาท ลดลงจากปกอน 667.5 ลานบาท คิดเปนรอยละ 38.9 จากการซื้อหุนคืนจํานวน 465.3 ลานบาท การจายเงินปนผลใหผูถือหุน จํานวน 100.1 ลานบาท และผลขาดทุนระหวางงวด 102.1 ลานบาท ในป 2559 มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน 2.94 เทา เพิ่มขึ้นจากป 2558 ที่มีอัตราสวน 1.82 เทา จากการเพิ่มขึ้นของเงินกูยืม ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินเปนหลัก
6. ป จจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต อผลการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ในป 2560 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” ไดวางกลยุทธเสริมความแข็งแกรงอยางตอเนื่องสําหรับประเภทรายการที่ไดรับความนิยม นําโดยรายการในกลุมกีฬา ขาว ละคร และวาไรตี้ เพื่อเพิ่มเรตติ้งแบบกาวกระโดด ใหสอดคลองกับการปรับเพิ่มขึ้นคาโฆษณา ประมาณรอยละ 35 จากป 2559 สําหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายหลังการตอบรับเปนอยางดีของกลยุทธวางเสนการขายใหมตั้งแตกลางเดือนธันวาคม ที่ผานมา บริษัทฯ วางแผนเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ (SKU) ใหครอบคลุมตามความตองการของผูบริโภคมากขึ้น รวมทั้งขยายชองทาง การจัดจําหนายสินคาผานโฮมชอปปงและรานคาปลีกอื่นๆ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
117
PAGE
118
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) สําหรับป พ.ศ. 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท และสนับสนุนใหบริษัทมีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพื่อใหมีความโปรงใส มีคุณธรรม และจริยธรรม กอใหเกิดความเชื่อมั่นแกผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียอื่นๆ รวมถึง ไดมีการพิจารณาสอบทานงบการเงินประจําป พ.ศ. 2559 รวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลว มีความเห็นสอดคลองกับ ผูสอบบัญชีภายนอกและฝายบริหารวา งบการเงินและการเปดเผยขอมูลทางการเงินของบริษัทครบถวน เพียงพอ และถูกตองตามที่ควร และเปนไปตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป นอกจากนั้นระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอเหมาะสมไมพบขอบกพรอง ที่เปนสาระสําคัญ สําหรับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทไดปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของและนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหการดําเนินการในรายการดังกลาวเปนไปอยางสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมกับฝายตรวจสอบกลางเพื่อหารือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นการประเมินความเสี่ยง ผลการ ตรวจสอบ และความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งใหขอเสนอแนะในการปองกันหรือลดความเสี่ยง พิจารณาและ อนุมัติแผนงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทใหมีความโปรงใสและมีการปฏิบัติตามขอกําหนด ของกฎหมาย ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง รวมการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีภายนอกโดยไมมีผูบริหาร หรือฝายบริหารเขารวมการประชุมดวย เพื่อเปดโอกาสใหผูสอบบัญชีภายนอกนําเสนอขอมูล ปญหาที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึง ขอเสนอแนะตางๆ ไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการยังไดทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําป 2559 และไดพิจารณาสอบทานคุณสมบัติ ความเปนอิสระ คาสอบบัญชี ผลงาน และความพรอมในการใหบริการของผูสอบบัญชีภายนอก ตามที่ผูบริหารเสนอ พิจารณาเห็นวามีความเหมาะสม จึงนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทสําหรับการแตงตั้งผูสอบบัญชีจาก บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ สําหรับป พ.ศ. 2560 เพื่อนําเสนอที่ประชุมผูถือหุนลงมติ แตงตั้งตอไป
(นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
119
รายงานคณะกรรมการ เรียน ทานผูถือหุน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท เปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอยซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการ ที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1/2546 ได มี ม ติ แ ต ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง ประกอบด ว ยกรรมการที่ ไ ม เ ป น ผู บ ริ ห าร เปนผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไดปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปนี้แลว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและงบการเงินประจําป 2559 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย ที่คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ไดแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน เปนจริง ถูกตอง ครบถวน ตามที่ควร ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
(นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์) ประธานกรรมการ/ประธานเจาหนาที่บริหาร
PAGE
120 รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผูถือหุนของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) และบริษัทยอย (“กลุมกิจการ”) และงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทแสดงฐานะการเงินรวมของกลุมกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ ผลการดํา เนิ น งานรวมและผลการดํ าเนิ น งานเฉพาะกิจ การ กระแสเงิ น สดรวมและกระแสเงิน สดเฉพาะกิ จการสํ า หรับ ป สิ้น สุ ด วันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
งบการเงินที่ตรวจสอบ ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุมกิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการที่แนบมานี่ของบริษัท ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับ ปสิ้น สุดวันเดียวกัน และหมา ยเหตุประกอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ
เกณฑในการแสดงความเห็น ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวในสวนของความรับผิดชอบของ ผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของขาพเจา ขาพเจามีความเปนอิสระจากกลุมกิจการ และบริษัทตามขอกําหนดจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชีในสวนที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ และขา พเจาไดปฏิบัติตามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดเหลานี้ ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดง ความเห็นของขาพเจา
เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ เรื่องสํา คัญในการตรวจสอบคือ เรื่องตา ง ๆ ที่มีนั ยสําคัญที่สุดตามดุลยพินิ จเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพของขาพเจาในการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปจจุบัน ขาพเจาไดนําเรื่องเหลานี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของขาพเจา ทั้งนี้ ขาพเจาไมไดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรื่องเหลานี้
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ
วิธีการตรวจสอบ
การประเมินมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขอ 15 ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ และประกอบกิจการโทรทัศนมูลคา 1.67 พันลานบาทสุทธิจาก คาตัดจัดจําหนายสะสม เนื่องจากเปนชวงเปลี่ยนแปลงการรับ สื่อ จากระบบทีวีอ นาล็อกสูระบบทีวี ดิจิตอล แตการรับชมที วี ดิ จิ ต อลยั ง ไม ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศ ดั ง นั้ น ส ว นแบ ง การตลาดของผูชมในระบบทีวีดิจิตอลยังคงนอยกวาระบบทีวี อนาล็อก สงผลใหความสามารถในการแขงขันของทีวีดิจิตอล ยังคงเปนรองทีวีอนาล็อกอยูในปจจุบัน
ขาพเจาประเมินและสอบถามผูบ ริหารในเชิงทดสอบเกี่ยวกับ การประมาณการกระแสเงินสดของกลุมกิจการรวมถึงขั้นตอน การจัดทํา และทดสอบขอมูลสําคัญที่ใชในการคํานวณประมาณ การกระแสเงินสดในอนาคต
ขาพเจาเปรียบเทียบประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตของ กลุ ม กิ จ การที่ ทํ า ในป ป จ จุ บั น กั บ ประมาณการกระแสเงิ น สด ในอนาคตที่ทําในปที่แลว รวมถึงประเมินและสอบถามเชิงทดสอบ เกี่ ย วกั บ การปรั บ ปรุ ง ของประมาณการที่ สํ า คั ญ และข า พเจ า จากขอบงชี้ขางตนแสดงใหเห็นวามูลคาที่ กลุมกิจการคาดวาจะ เปรี ย บเที ย บประมาณการกระแสเงิ น สดของกลุ ม กิ จ การกั บ ไดรับคืนจากการใชใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่และประกอบ ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงของปปจจุบัน กิจการโทรทัศนนั้นอาจต่ํากวามูลคาตามบัญชีสุทธิ ซึ่งผูบริหาร ประเมินการดอ ยคาประจําปของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ ข า พเจ า สอบถามผู บ ริ ห ารเชิ ง ทดสอบเกี่ ย วกั บ ข อ สมมติ ฐ าน ที่สําคัญคือการเติบโตของรายไดและอัตราคิดลด เพื่อทําความเขาใจ และประกอบกิจการโทรทัศนแลวพบวาไมมีการดอยคา แผนการเติบโตในอนาคต พรอ มดวยพิจารณาวากลุม กิจการ ขาพเจาใหความใสใจการประเมินการดอยคาในใบอนุญาตใหใช มีความสามารถในการทําใหแผนสัมฤทธิ์ผลภายในระยะเวลา คลื่ นความถี่ และประกอบกิจ การโทรทั ศน เพราะใบอนุ ญ าต ที่ส มควร ข า พเจ าได เปรี ยบเทีย บอัต ราการเติ บโตของรายได มีมูลคาเปนจํานวนที่มีสาระสําคัญ และมีขอสมมติฐานที่สําคัญที่ กับภาพรวมของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ขาพเจา ผูบ ริหารใชดุลยพินิจในการประเมิน อัตราการเติบโตโดยรวม ไดเปรียบเทียบอัตราคิดลดของตนทุนเงินทุนของกลุมกิจการกับ ของรายไดและอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของ อัตราดอกเบี้ยที่กลุมกิจการจายจริง สมมติฐานเพียงเล็กนอยจะสงผลใหประมาณการกระแสเงินสด ข าพเจ าทดสอบการวิ เคราะห ความอ อนไหวของข อสมมติ ฐาน เปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ เกี่ยวกับอัตราการเติบโตของรายได และอัตราคิดลด เพื่อพิจารณา การเปลี่ยนแปลงของสมมติฐานซึ่งอาจสงผลใหเกิดการดอยคา ของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน อางอิงจากหลักฐานที่มีอยู ขาพเจาพบวา สมมติฐานที่ผูบริหารใช ในการประเมินมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ประกอบกิจการ โทรทัศนสมเหตุสมผล
PAGE
121
PAGE
122 เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ
วิธีการตรวจสอบ
สินทรัพยภาษีเงินไดจากขาดทุนสะสมของบริษัทยอยอาจจะ ไมไดใชสิทธิประโยชนทางภาษี อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการขอ 18 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมีสินทรัพยภาษีเงินได รอตัดบัญชีจํานวน 304 ลานบาท ประกอบดวยสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีจากขาดทุนสะสมทางภาษีที่ยังไมไดใชของบริษัท และบริษัทยอยจํานวน 143 ลานบาท
ขาพเจาทําความเขาใจรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่สํ า คัญ และทดสอบหลั ก ฐานสนั บ สนุ น การบั น ทึก การรั บ รู สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ขาพเจาประเมินขาดทุนทางภาษี ที่สามารถใชไดยกไปโดยพิจารณาจากระยะเวลาสิ้นสุดการใชได ตามกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวของ นอกจากนั้นขาพเจาพิจารณา กลุมกิจการรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากขาดทุน ความถูกตองของการคํานวณภาษี และประมาณการการใชภาษี สะสมทางภาษีที่ยังไมไดใช เมื่อ ผูบริหารพิจารณาวาจะมีกําไร ในอนาคต ทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะสามารถนําผลขาดทุน สะสมทาง ภาษียกมามาหักเปนรายจายได ผูบริหารของกลุมกิจการจัดทํา ข า พเจ า ประเมิ น และสอบถามผู บ ริ ห ารเชิ ง ทดสอบเกี่ ย วกั บ ประมาณการกํ า ไรที่ ต อ งเสี ย ภาษี ใ นอนาคต เพื่ อ พิ จ ารณา ดุลยพินิจและสมมติฐานที่ใชในการประมาณการกระแสเงินสด ความสามารถในการใชประโยชนทางภาษีของภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในอนาคตของกลุมกิจการในชวงระยะเวลา 5 ปขางหนา ซึ่งเปน ที่ตั้งจากขาดทุนสะสมทางภาษี ที่ยังไมไดใ ช ซึ่ง ประมาณการ ระยะเวลาที่ ก ลุม บริ ษั ท สามารถใช สิ ทธิ ประโยชน จากขาดทุ น อัตราการเติบโตของรายไดแ ละกําไรเปน ปจ จัยสําคัญ ที่สงผล สะสมทางภาษี ซึ่ งมี ข อสมมติ ฐานด านการเติ บโตของกํ าไรใน อนาคตอันเปนผลมาจากการเติบโตของรายไดโดยเปรียบเทียบ กระทบตอประมาณการเหลานี้ อั ต ราการเติ บ โตของรายได ข องกลุ ม กิ จ การเปรี ย บเที ย บกั บ ขาพเจาใหความใส ใจในเรื่อ งสิน ทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ประมาณการทางเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ที่ตั้งจากขาดทุนสะสมที่ยังไมไดใชเพราะมูลคาสินทรัพยภาษีเงินได รอตัดบัญชีที่ถูกตั้งเปนสาระสําคัญ และการพิจารณาตัวเลขดังกลาว จากวิ ธี ป ฏิ บั ติ งานของข า พเจ า ดั ง กล า วข างต น ข า พเจ า พบว า เกี่ยวของกับดุลยพินิจของผูบริหารในการประเมิน ความสามารถ ขอ สมมติฐานที่สํา คัญที่ผู บ ริหารใชใ นการประมาณการกําไร ในการทํากําไรใหเกิดขึ้นไดในอนาคต เพื่อใหสามารถใชประโยชน ที่ตองเสียภาษีในอนาคตอยูในระดับที่สมเหตุสมผล ทางภาษีจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีที่ตั้งจากขาดทุนสะสม ทางภาษีที่ยังไมไดใช
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ
วิธีการตรวจสอบ
การรับรูจํานวนการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการขอ 2.10 สินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมียอดคงเหลือตนทุน วิธีการตรวจสอบของขาพเจาในเรื่องดังกลาวรวมถึง การผลิตละครสุทธิจํานวน 299 ลานบาท คิดเปนมูลคารอยละ 54 x ประเมินความเหมาะสมของวิธีการคาดการณที่เกี่ยวกับการ ของมู ลคา สิน ทรัพย ไมมีตั วตนทั้ งหมด ตน ทุน การผลิต ละคร ประมาณการจํานวนตอนของการออกอากาศละครแตละเรื่อง แสดงมู ล ค า ตามราคาทุ น หั ก ค า ตั ด จํ า หน า ยสะสม ซึ่ ง ต น ทุ น โดยเทียบกับแผนการออกอากาศ การผลิตละครตัดจําหนายตามรูป แบบที่คาดการณของการใช x ประเมิน จํา นวนตอนที่อ อกอากาศจริ งของละครเรื่ อ งนั้ น ของสินทรัพยเพื่อประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยเปรี ยบเที ย บกับ แผนการออกอากาศละครที่ นํ า มาใช คํานวณการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร ผูบริหารแบงสั ดสวนตน ทุนการผลิตละครออกเปน 2 สว น x ทดสอบการคํ า นวณ เพื่ อ ประเมิ น ความถู ก ต อ งของการ กลาวคือ สวนแรกของตนทุนการผลิตละครจะตัดจําหนายตาม คํานวณการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร จํ า นวนตอนในแต ล ะครั้ ง ที่ ค าดการณ ว า จะออกอากาศทาง โทรทัศน และสวนที่เหลือของตนทุนการผลิตละครจะตัดจําหนาย อางอิงจากหลักฐานที่มีอยู ขาพเจาพิจารณาแลววาดุลยพินิจของ ดวยวิธีเสนตรง ผูบริหารนั้นสมเหตุสมผล และอยูในระดับที่ยอมรับได ขาพเจาใหความใสใจวิธีการตัดจําหน ายตน ทุนการผลิตละคร ในสวนที่ตัดจําหนายตามจํานวนตอนในแตละครั้งที่คาดการณวา จะออกอากาศทางโทรทัศน เนื่ องจากวิธีตัดจําหนายในสวนนี้ เกี่ ย วข อ งกั บ การใช ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู บ ริ ห ารในการคาดการณ จํานวนตอนที่จะออกอากาศในอนาคต และตนทุนการผลิตละคร ตามสวนแบงมีจํานวนเงินที่มีสาระสําคัญ
PAGE
123
PAGE
124
ขอมูลอื่น กรรมการเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวย ขอมูลซึ่งรวมอยูในรายงานประจําป แตไมรวมถึงงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานนั้น ขาพเจาคาดวาขาพเจาจะไดรับรายงานประจําปภายหลังวันที่ ในรายงานของผูสอบบัญชีนี้ ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่น และขาพเจาไมไดใหความเชื่อมั่นตอขอมูลอื่น ความรับผิดชอบของขาพเจาที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอื่น มีความขัดแยงที่มีสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือกับความรูที่ไดรับจากการตรวจสอบของขาพเจา หรือ ปรากฏวาขอมูลอื่นมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม เมื่อขาพเจาไดอานรายงานประจําป หากขาพเจาสรุปไดวามีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขาพเจาตองสื่อสาร เรื่องดังกลาวกับคณะกรรมการตรวจสอบ ความรับผิดชอบของกรรมการตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้ โดยถูกตองตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ กรรมการพิจารณาวาจําเปน เพื่อใหสามารถจัดทํา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริต หรือขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุมกิจการและบริษัทใน การดําเนินงานตอเนื่อง เปดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการ ดําเนินงานตอเนื่อง เวนแตกรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุมกิจการและบริษัท หรือหยุดดําเนินงาน หรือไมสามารถดําเนินงานตอเนื่อง ตอไปได คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ชวยกรรมการในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุมกิจการและบริษัท
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของขาพเจามีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผู ส อบบัญชี ซึ่ งรวมความเห็นของข าพเจาอยูดวย ความเชื่อ มั่ น อย างสมเหตุ ส มผลคือ ความเชื่ อ มั่น ในระดับสู ง แต ไมไดเป น การรับประกันวาการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ที่มีอ ยู ไดเ สมอไป ข อ มูล ที่ ขัดต อ ขอ เท็จจริงอาจเกิ ดจากการทุจริต หรือ ขอ ผิ ดพลาด และถือ วามีส าระสําคัญ เมื่อ คาดการณ อ ยา ง สมเหตุสมผลไดวารายการที่ขัดตอขอเท็จจริงแตละรายการ หรือทุกรายการรวมกันจะมีผ ลตอ การตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใช งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้ ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาไดใชดุลยพินิจเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยี่ยง ผูประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของขาพเจารวมถึง x
x x x
x x
ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองตอความเสี่ยงเหลานั้น และไดหลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเสี่ยงที่ไมพบ ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึ่งเปนผลมาจากการทุจริตจะสูงกวาความเสี่ยงที่เกิดจากขอผิดพลาด เนื่องจากการ ทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรูรวมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตาม ขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุมกิจการและบริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่กรรมการใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปดเผย ขอมูลที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นโดยกรรมการ สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุใหเกิดขอสงสัยอยางมี นัยสําคัญตอความสามารถของกลุมกิจการและบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่องหรือไม ถาขาพเจาไดขอสรุปวามีความไมแนนอน ที่มีสาระสําคัญ ขาพเจาตองกลาวไวในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจาถึงการเปดเผยที่เกี่ยวขอ งในงบการเงิน รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ หรือถาการเปดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของขาพเจาจะเปลี่ยนแปลงไป ขอสรุปของขาพเจา ขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับ จนถึงวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือ สถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุมกิจการและบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนื่อง ประเมินการนําเสนอ โครงสรางและเนื้อหาของงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปดเผยวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณในรูปแบบที่ทําใหมีการนําเสนอขอมูลโดยถูกตองตามที่ควร ไดรับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอยางเพียงพอเกี่ยวกับขอมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุมหรือกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุมกิจการเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงินรวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแลและการปฏิบัติงาน ตรวจสอบกลุมกิจการ ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบแตเพียงผูเดียวตอความเห็นของขาพเจา
PAGE
125
PAGE
126
ขาพเจาไดสื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบตามที่ไดวางแผนไว ซึ่งรวมถึงประเด็นที่ มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบและขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึ่งขาพเจาไดพบในระหวางการตรวจสอบ ของขาพเจา ขาพเจาไดใหคํารับรองแกคณะกรรมการตรวจสอบวา ขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับความเปนอิสระและ ไดสื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมด ตลอดจนเรื่องอื่นซึ่ง ขาพเจาเชื่อวามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมใหขาพเจาขาดความเปน อิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ขาพเจาไดพิจารณาเรื่องตาง ๆ ที่มีนั ยสําคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปจจุบันและกําหนดเปนเรื่องสําคัญในการตรวจสอบ ขาพเจาไดอธิบายเรื่องเหลานี้ในรายงานของผูสอบบัญชี เวนแตกฎหมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หรือในสถานการณที่ยากที่จะเกิดขึ้น ขาพเจาพิจ ารณาวา ไมควรสื่อสารเรื่องดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุผลวาจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกวาผลประโยชนตอสวนไดเสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกลาว บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด
สุดวิณ ปญญาวงศขันติ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3534 กรุงเทพมหานคร 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2560
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
7
103,761,958
757,111,787
23,739,791
518,611,127
8 9 35 ง) 10 23 11
647,567,198 129,679,765 67,630,189 1,483,466
4,522,302 875,711,663 163,095,437 40,928,458 97,984,687
568,171,986 577,700,000 3,525,818 326,904
1,023,419,799 494,274,774 54,667,935 96,728,841
950,122,576
1,939,354,334
1,173,464,499
2,187,702,476
9 12 13 14
4,103,678 473,046,349
5,102,753 384,016,267
291,364,640 581,361,593 450,699,505
481,732,849 358,736,941
15 16
1,666,431,413 551,610,176 35,416,667 124,080,113 303,617,658 30,859,926
1,802,058,253 323,571,197 130,537,536 228,020,379 31,265,889
142,171,290 55,838,141 94,574,938 27,713,927
109,666,456 69,548,760 108,772,378 28,119,889
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
3,189,165,980
2,904,572,274
1,643,724,034
1,156,577,273
รวมสินทรัพย
4,139,288,556
4,843,926,608
2,817,188,533
3,344,279,749
หมายเหตุ สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น - เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) เงินใหกยู ืมระยะสั้นแกกจิ การที่เกีย่ วของกัน (สุทธิ) สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้การคาบริษัทที่เกีย่ วของกันเกินป เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) คาใชจายจายลวงหนาเกินป ภาษีเงินไดถกู หัก ณ ที่จาย (สุทธิ) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ)
17 18 19
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
PAGE
127
PAGE
128 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
20
589,116,455
1,419,373,826
264,066,264
1,121,993,242
21
11,667,631
5,865,272
11,667,631
5,865,272
15 22 35 จ)
378,075,913 706,000,000 1,891,930 43,962,189 22,905,356 15,149,577
361,674,762 14,365,874 48,410,441 37,642,175 11,949,157
598,000,000 140,400,000 33,707,868 4,989,690
48,000,000 14,365,874 26,430,661 6,762,080
1,768,769,051
1,899,281,507
1,052,831,453
1,223,417,129
21 24
24,702,002 444,060,000
7,206,218 -
24,702,002 -
7,206,218 -
15
727,842,925 97,959,294 16,431,623
1,105,918,838 1,659,333 85,545,748 17,156,186
84,092,281 10,832,374
74,813,289 11,007,788
รวมหนี้สินไมหมุนเวียน
1,310,995,844
1,217,486,323
119,626,657
93,027,295
รวมหนี้สิน
3,079,764,895
3,116,767,830
1,172,458,110
1,316,444,424
หมายเหตุ หนี้สินและสวนของผูถอื หุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงินที่ถงึ กําหนดชําระ ภายในหนึ่งป (สุทธิ) คาใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศนคา งจายที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) เงินกูย ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วของกัน ประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดคา งจาย ภาษีเงินไดหกั ณ ที่จายคางจาย
23
รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน (สุทธิ) เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศนคา งจาย (สุทธิ) ประมาณการผลขาดทุนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
25 26
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
129
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
1,013,591,880
1,013,591,880
หนี้สินและสวนของเจาของ (ตอ) สวนของเจาของ ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ 1,013,591,880 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 1 บาท หุน สามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุน สามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ไดรับชําระแลวหุน ละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุน สามัญ หุน สามัญซื้อคืน สวนตางระหวางราคาซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย ที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับมูลคาสุทธิ ตามบัญชีของบริษัทยอย กําไรสะสม จัดสรรแลว - ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรแลว - สํารองหุน สามัญซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร
27.1
27.1 27.2
1,009,937,646
1,009,937,646
1,009,937,646 1,009,937,646 255,824,816 255,824,816 (465,274,840) -
1,009,937,646 1,009,937,646 255,824,816 255,824,816 (465,274,840) -
-
(16,593,840)
-
-
100,894,958 465,274,840 (317,336,467)
91,780,991 375,900,765
100,894,958 465,274,840 278,073,003
91,780,991 670,291,872
รวมสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
1,049,320,953 10,202,708
1,716,850,378 10,308,400
1,644,730,423 -
2,027,835,325 -
รวมสวนของเจาของ
1,059,523,661
1,727,158,778
1,644,730,423
2,027,835,325
รวมหนี้สินและสวนของเจาของ
4,139,288,556
4,843,926,608
2,817,188,533
3,344,279,749
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
PAGE
130 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ
838,344,671 2,286,574,490
795,468,082 2,933,238,304
602,604,617 823,641,491
526,270,615 1,410,569,657
รวมรายไดจากการขายและใหบริการ
3,124,919,161
3,728,706,386
1,426,246,108
1,936,840,272
ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ
(399,755,366) (1,931,248,198)
(379,643,823) (2,323,358,482)
(304,699,156) (810,971,576)
(252,743,876) (1,215,832,602)
รวมตนทุนขายและการใหบริการ
(2,331,003,564)
(2,703,002,305)
(1,115,670,732)
(1,468,576,478)
29
793,915,597 123,589,627
1,025,704,081 51,551,204
310,575,376 444,284,393
468,263,794 611,176,175
30 32
917,505,224 (441,938,595) (516,763,250) (1,907,295) (83,372,848)
1,077,255,285 (345,119,294) (531,187,500) (83,033) (81,084,844)
754,859,769 (124,755,919) (427,375,121) 11,870,455 (2,057,180) (16,065,241)
1,079,439,969 (140,965,440) (479,581,259) (35,076,889) (1,080,279) (4,751,313)
33
(126,476,764) 24,235,322
119,780,614 12,329,876
196,476,763 (14,197,440)
417,984,789 19,427,875
กําไร(ขาดทุน)สําหรับป กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น
(102,241,442) -
132,110,490 -
182,279,323 -
437,412,664 -
กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป
(102,241,442)
132,110,490
182,279,323
437,412,664
กําไรขัน้ ตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจา ย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุน คาใชจายอื่น ตนทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
หมายเหตุ การแบงปปนกําไร(ขาดทุน) สวนทีเ่ ปปนของบริษทั ใหญ สวนทีเ่ ปปนของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ํานาจควบคุม
การแบงปปนกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม สวนทีเ่ ปปนของบริษทั ใหญ สวนทีเ่ ปปนของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ํานาจควบคุม
งบการเงินรวม จัดประเภทใ ท หม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ จัดประเภทใ ท หม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(102,145,200) (96,242)
121,634,482 10,476,008
182,279,323 -
437,412,664 -
(102,241,442)
132,110,490
182,279,323
437,412,664
(102,145,200) (96,242)
121,634,482 10,476,008
182,279,323 -
437,412,664 -
(102,241,442)
132,110,490
182,279,323
437,412,664
(0.1043)
0.1208
0.1862
0.4345
กําไรตอหุน สวนทีเ่ ปนของบริษทั ใหญ กําไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐาน (บาท)
34.1
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
PAGE
131
1,009,937,646
255,824,816
-
-
-
-
-
(39,938,917)
40,539,101
-
-
-
-
-
-
52,347,317
22,324,499
(74,671,816)
ซื้อคืน
หมายเหตุประกอบงบการเงิินรวมและงบการเงิินเฉพาะกิิจการในหน ใ า 139 - 226 เปปนสวนหนึ่ึงของงบการเงิินนี้ี
ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
-
-
จายเงินปนผล
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป
-
จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย
-
(12,408,400)
-
255,224,632
1,022,346,046
-
28
หุนสามัญ
(16,593,840)
-
-
-
-
-
-
-
(16,593,840)
บริษัทยอย
สุทธิตามบัญชีของ
สวนเกิน มูลคาหุน
ทีอ่ อกและ
ภายใ ย ตการควบคุม
ในบริษัทยอยทีอ่ ยู
ราคาซื้อเงินลงทุน
สวนตางระหวาง
ทุนสํารอง
91,780,991
-
-
21,870,633
-
-
-
-
69,910,358
ตามกฎหมาย
-
-
-
-
(74,671,816)
-
-
-
74,671,816
ซื้อคืน
หุนสามัญ
สํารอง
กําไรสะสม จัดสรรแลว
สวนของผูเ ปนเจาของของบริษทั ใหญ
เดียวกันกับมูลคา
เรียกชําระแลว
งบการเงินรวม (บาท) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ทุนจดทะเบียน
สํารองหุน สามัญซือ้ คืน
จดทะเบียนของบริษัทยอย
27.2
27.2
ลดทุนจดทะเบียนจากการตัดหุน สามัญซือ้ คืน
สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการลดทุน
27.2
หมายเหตุ
จําหนายหุน สามัญซือ้ คืน
การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป
ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558
สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
375,900,765
121,634,482
(180,915,596)
(21,870,633)
74,671,816
-
-
-
382,380,696
จัดสรร
1,716,850,378
121,634,482
(180,915,596)
-
-
-
-
62,863,600
1,713,267,892
ของบริษทั ใหญ
10,308,400
10,476,008
(11,478,277)
-
-
(18,750,000)
-
-
30,060,669
อํานาจควบคุม
ยังไมไ ด ของผูเ ปนเจาของ สวนไ น ดเสียทีไี่ มมี
รวมสวน รวม
1,727,158,778
132,110,490
(192,393,873)
-
-
(18,750,000)
-
62,863,600
1,743,328,561
สวนของเจาของ
PAGE
132
255,824,816
1,009,937,646
(465,274,840)
-
-
-
-
-
(465,274,840)
-
ซื้อคืน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
255,824,816
1,009,937,646
จายเงินปนผล
กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป
หุนสามัญ
-
-
-
-
16,593,840
-
-
(16,593,840)
บริษัทยอย
สุทธิตามบัญชีของ
สวนเกิน มูลคาหุน
เรียกชําระแลว
ทีอ่ อกและ
ภายใ ย ตการควบคุม
ในบริษัทยอยทีอ่ ยู
ราคาซื้อเงินลงทุน
สวนตางระหวาง
ทุนสํารอง
100,894,958
-
-
9,113,967
-
-
-
91,780,991
ตามกฎหมาย
465,274,840
-
-
-
-
465,274,840
-
-
ซื้อคืน
หุนสามัญ
สํารอง
กําไรสะสม จัดสรรแลว
สวนของผูเ ปนเจาของของบริษทั ใหญ
เดียวกันกับมูลคา
-
28
27.2
หมายเหตุ
งบการเงินรวม (บาท) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ทุนจดทะเบียน
จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย
การควบคุมกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของบริษัทยอย
สวนตางระหวางราคาซือ้ เงินลงทุนในบริษัทยอยทีอ่ ยูนอก
สํารองหุน สามัญซือ้ คืน
จําหนายหุน สามัญซือ้ คืน
การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป
ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559
สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
(317,336,467)
(102,145,200)
(100,109,385)
(9,113,967)
(16,593,840)
(465,274,840)
-
375,900,765
จัดสรร
1,049,320,953
(102,145,200)
(100,109,385)
-
-
-
(465,274,840)
1,716,850,378
ของบริษทั ใหญ
10,202,708
(96,242)
(9,450)
-
-
-
-
10,308,400
อํานาจควบคุม
ยังไมไ ด ของผูเ ปนเจาของ สวนไ น ดเสียทีไี่ มมี
รวมสวน รวม
1,059,523,661
(102,241,442)
(100,118,835)
-
-
-
(465,274,840)
1,727,158,778
สวนของเจาของ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
133
28
27.2 27.2
หมายเหตุ
40,539,101 (39,938,917) 255,824,816
1,009,937,646
255,224,632
1,022,346,046 (12,408,400) -
สวนเกิน มูลคาหุน
ทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและ เรียกชําระแลว
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป จําหนายหุน สามัญซื้อคืน ลดทุนจดทะเบียนจากการตัดหุน สามัญซื้อคืน สํารองหุน สามัญซื้อคืน จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป
สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
-
22,324,499 52,347,317 -
(74,671,816)
91,780,991
21,870,633 -
69,910,358
-
(74,671,816) -
74,671,816
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารอง หุนสามัญ ทุนสํารอง หุนสามัญ ซื้อคืน ตามกฎหมาย ซื้อคืน
670,291,872
74,671,816 (21,870,633) (180,915,596) 437,412,664
360,993,621
ยังไมไ ด จัดสรร
2,027,835,325
62,863,600 (180,915,596) 437,412,664
1,708,474,657
รวมสวนของ เจาของ
PAGE
134
28
27.2
หมายเหตุ
255,824,816
1,009,937,646
255,824,816
1,009,937,646 -
สวนเกิน มูลคาหุน
ทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและ เรียกชําระแลว
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป จําหนายหุน สามัญซื้อคืน สํารองหุน สามัญซื้อคืน จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป
สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)
(465,274,840)
(465,274,840) -
-
100,894,958
9,113,967 -
91,780,991
465,274,840
465,274,840 -
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารอง หุนสามัญ ทุนสํารอง หุนสามัญ ซื้อคืน ตามกฎหมาย ซื้อคืน
278,073,003
(465,274,840) (9,113,967) (100,109,385) 182,279,323
670,291,872
ยังไมไ ด จัดสรร
1,644,730,423
2,027,835,325 (465,274,840) (100,109,385) 182,279,323
รวมสวนของ เจาของ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
135
PAGE
136 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
บาท
บาท
บาท
บาท
(126,476,764)
119,780,614
196,476,763
417,984,789
468,498,619
546,666,741
110,597,903
88,988,709 2,661,161
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย
14, 15, 16, 31
คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญภาษีเงินไดหัก ณ ทีจ่ าย คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญเงินใหกยู มระยะสั ื ้นบริษัททีเ่ กีย่ วของกัน (กลับรายการ) คาเผือ่ สินคาลาสมัย (กลับรายการ)
9
4,931,692
19,175,827
3,015,651
(1,360,952)
(3,114,451)
-
-
17,555,279
29,915,367
(9,425,226) (3,565,749)
(10,574,774) (3,630,215)
6,959,939
3,888,845
6,959,234
3,888,845
(12,473,944)
(22,369,059)
(14,365,874)
(22,369,059)
16
15,152,801
(4,490,167)
15,460,069
15,802,735 (138,802)
35 ง) 10
ขาดทุนจากการทําลายสินคา กลับรายการประมาณการคาเผือ่ การรับคืนสินคา (กลับรายการ)คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพยไมมีตวั ตน คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 11, 19
(1,010,122)
672,755
93,536
คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม
และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
13
999,075
303,337
-
(กลับรายการ)คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย
12
-
-
(11,773,751)
49,370,541
กลับรายการประมาณการผลขาดทุนของเงินลงทุนในบริษัทยอย
12
-
-
12,997,200
(2,949,109)
(กลับรายการ)ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน
30
-
(กําไร)ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตวั ตนและอาคารและอุปกรณ
30
กําไรจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ
29
(418,842)
(744,323)
(276,618)
(27,945)
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน
25
12,413,546
20,194,264
9,278,992
18,106,055
เงินปนผลรับ
28
-
-
(122,813,200)
(369,578,855)
ดอกเบีย้ รับ
29
(1,741,591)
(2,454,665)
(25,992,049)
(19,099,399)
ตนทุนทางการเงินดอกเบีย้ จาย
32
83,372,848
81,084,844
16,065,241
4,751,313
466,857,582
787,272,105
183,170,876
173,695,053
455,998
(2,045,499)
-
807,675
438,754
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
509,063
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
137
บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
บาท
บาท
บาท
บาท
หมายเหตุ การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น
223,219,784
205,862,089
34,853,007
(228,559,402)
สินคาคงเหลือ
8,900,454
(90,133,029)
47,748,632
(49,342,837)
ภาษีมูลคาเพิ่ม
(31,149,983)
(24,203,392)
7,277,207
(641,099)
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น
96,947,535
(91,212,310)
96,848,251
(94,040,584)
คาใชจายลวงหนาเกินปป
(35,416,667)
-
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
-
-
969,771
5,189,222
(133,888)
4,316,968
(850,748,041)
588,867,436
(877,491,970)
646,929,951
ภาษีเงินไดหัก ณ ทีจ่ ายคางจาย
3,200,420
(11,388,929)
(1,772,390)
1,081,495
หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
(2,383,896)
11,138,796
(175,414)
10,091,694
(119,603,041)
1,381,391,988
(509,675,689)
463,531,239
61,886,965
12,297,788
37,010,317
12,297,788
เงินสดจายภาษีเงินได
(120,167,366)
(192,056,271)
(23,299,698)
(32,922,621)
เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน
(177,883,442)
1,201,633,505
(495,965,070)
442,906,406
1,734,580
2,470,534
25,010,734
16,236,570
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น
เงินสดไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงานกอนดอกเบีย้ รับ ตนทุนทางการเงินจาย และภาษีเงินไดจาย รับคืนภาษีถกู หัก ณ ทีจ่ าย
17
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบีย้ รับ เงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเพิ่มขึน้
35 ง)
(30,000,000)
(68,500,000)
(815,500,000)
(338,500,000)
รับชําระเงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน
35 ง)
30,000,000
68,500,000
741,500,000
184,500,000
เงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกพนักงานลดลง
-
59,101
เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย
-
-
เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน
4,522,302
(100,852,193)
(57,462)
-
-
เงินสดรับจากการลดทุนของบริษัทยอย
-
-
เงินปนผลรับ
-
-
249,809,030
379,079,203
(139,435,339)
(88,983,784)
(142,928,538)
(70,385,388)
6,948,891
8,693,737
13,074,284
248,598
(471,237,618)
(274,408,741)
(60,523,831)
(10,884,255)
530,895
262,296
(351,695,720)
(90,148,218)
เงินสดจายซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมลงทุน
(597,467,184)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
93,750,000
254,044,728
PAGE
138 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
บาท
บาท
บาท
บาท
(28,399,595)
(13,364,724)
(14,507,890)
(4,939,309)
เงินรับจากเงินกูย มระยะสั ื ้นจากสถาบันการเงิน
3,046,000,000
470,000,000
2,573,000,000
370,000,000
จายชําระเงินกูย มระยะสั ื ้นจากสถาบันการเงิน
(2,340,000,000)
(470,000,000)
(1,975,000,000)
(370,000,000)
เงินรับจากเงินกูย มระยะยาวจากสถาบั ื นการเงิน
444,060,000
-
จายชําระหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน
(19,265,933)
(10,216,316)
(415,000,000)
(302,500,000)
หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายชําระดอกเบีย้
เงินสดจายใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละประกอบการโทรทัศน
(19,265,933) -
(10,216,316) -
เงินรับจากเงินกูย มระยะสั ื ้นจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน
35 จ)
-
-
223,500,000
127,500,000
จายชําระเงินกูย มระยะสั ื ้นจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน
35 จ)
-
-
(131,100,000)
(325,545,000)
28
(100,109,385)
(180,915,596)
(100,109,385)
(180,915,596)
(9,450)
(11,478,277)
-
-
-
-
จายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการจายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการจายเงินลดทุน
27.3
-
(18,750,000)
เงินสดรับจากการจําหนายหุนซื้อคืน
27.2
(465,274,840)
62,863,600
(465,274,840)
62,863,600
เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน
122,000,797
(474,361,313)
91,241,952
(331,252,621)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
(653,349,829)
375,576,472
(494,871,336)
365,698,513
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือตนปป
757,111,787
381,535,315
518,611,127
152,912,614
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือปลายปป
103,761,958
757,111,787
23,739,791
518,611,127
28,751,749
9,038,606
27,742,761
8,817,124
รายการทีมิม่ ิใชเงินสด เจาหนี้คงคางจากการซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อสินทรัพยไมมีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
415,588
-
368,080
-
เจาหนี้จากการซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
41,278,000
9,960,000
41,278,000
9,960,000
ลูกหนี้คงคางจากการจําหนายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
-
5,945,521
ลูกหนี้คงคางจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
-
-
-
500,679
ดอกเบีย้ คางรับจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2,489,884
-
-
-
คาเผือ่ ดอกเบีย้ คางรับจากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
(2,489,884)
-
-
-
ลดทุนหุนสามัญซื้อคืน
27.2
-
(52,347,317)
-
(52,347,317)
สวนเกินมูลคาทุนสามัญทีล่ ดลงจากการลดทุนหุนสามัญซื้อคืน
27.2
-
39,938,917
-
39,938,917
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
139
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1
ขอมูลทั่วไป บริ ษั ท อาร เ อส จํ า กั ด (มหาชน) (“บริษั ท ”) เป น บริ ษั ท จํ า กั ด ซึ่ ง ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในประเทศไทยเมื่ อ วั น ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2535 บริษัทไดแปลงสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัดเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2546 และจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และมีที่อยูจดทะเบียนดังนี้ เลขที่ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงคในการรายงานขอมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทยอยวา “กลุมกิจการ” ธุรกิจหลักของกลุมกิจการ ไดแก ธุรกิ จบันเทิงเต็มรูปแบบ ซึ่งประกอบดวยธุรกิจหลักไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจจัดจําหน ายเพลง ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม และธุรกิจอื่นที่สนับสนุนธุรกิจหลักของกลุม งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559
2
นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญที่ใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดังตอไปนี้ 2.1
เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการไดจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใตพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามขอกําหนด ของคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ว า ด ว ยการจั ด ทํ า และนํ า เสนอรายงานทางการเงิ น ภายใต พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตัวเลขเปรียบเทียบไดมีการจัดประเภทรายการใหมเพื่อใหสอดคลองกับการนําเสนอรายการในงบการเงินงวดปจจุบันเทา ที่จําเปน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน ยกเวน เรื่องที่อธิบายในนโยบายการบัญชีในลําดับตอไป การจัดทํางบการเงินใหสอดคลองกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย กําหนดใหใชประมาณการทางบัญชี ที่สําคัญและการใชดุลยพินิจของผูบริหารซึ่งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุมกิจการไปถือปฏิบัติ และตองเปดเผยเรื่องการใชดุลยพินิจของผูบริหาร หรือ ความซับซอน หรือ เกี่ยวกับขอสมมติฐานและประมาณการที่มี นัยสําคัญตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหมายเหตุ 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เปนภาษาไทย ในกรณี ที่มีเนื้อความขัดแยงกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเปนหลัก
PAGE
140
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการ ที่เกี่ยวของกัน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เรื่อง เกษตรกรรม เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกัน เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
141
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการปรับราคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเสื่อมราคาสะสม ในกรณีที่กิจการใชวิธีการ ตีราคาใหม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) เรื่องผลประโยชนพนั กงาน ไดมีการอธิบายเกี่ยวกับวิธีการ ปฏิบัติทางบัญชีสําหรับเงินสมทบจากพนั กงานหรือบุคคลที่ส ามแกโครงการผลประโยชน ที่กําหนดไวให ชัดเจนขึ้น การปรับปรุงดังกลาวใหความแตกตางระหวาง เงินสมทบที่เกี่ยวของกับการบริการที่เกิดขึ้นในรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เงินสมทบนั้ นเกิดขึ้นเทานั้ น และเงินสมทบที่เกี่ยวของกับการบริการที่มากกวาหนึ่ งรอบ ระยะเวลาบัญชี มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดรวมกิจการที่ใหบริการดานผูบริหารสําคัญแกกิจการที่รายงาน หรือแกบริษัทใหญของกิ จการที่รายงาน ซึ่ง กิจการตองเปดเผยจํานวนเงินที่กิจการไดจายใหแกกิจการที่ใหบริการดานผูบริหารสําคัญ มาตรฐานดังกลาวไม สงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล มาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 27 (ปรับปรุง 2558) ใหกิจการที่ดําเนิ น ธุรกิจด านการลงทุน ที่ไดรับการยกเวน ไมตองรวมบริษัทยอยเขามาในการจัดทํางบการเงินรวมสามารถแสดงงบการเงินเฉพาะกิจการเพียงงบเดียวได และไดกําหนดใหวัดมูล คาเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวดวยมูลคายุติธรรมและรับรูการเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมดังกลาวไปยังกําไรหรือขาดทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย ไดมีการกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปดเผยขอมูลในกรณีที่มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยวัดมูลคาโดยใชวิธีมูลคายุติ ธรรมหักตนทุน ในการจําหนาย โดยการเปดเผยดังกลาวรวมถึง 1) ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม 2) กรณีที่การวัดมูลคายุติธรรม อยูในลําดับชั้นที่ 2 และ 3 จะตองมีการเปดเผย เทคนิคที่ใชในการวัดมูลคายุติธรรม และขอสมมติฐานสําคัญที่ ใช มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล
PAGE
142
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) เรื่องสินทรัพยไมมีตัวตนไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการ ปรับราคาตามบัญชีกอนหักคาตัดจําหนายสะสม และคาตัดจําหนายสะสมในกรณีที่กิจการใชวิธีการตีราคาใหม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2558) เรื่องอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น วา กิจการควรพิจารณามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ในการพิจารณาวาการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุนนั้นเขาเงื่อนไขการรวมธุรกิจหรือไม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับ งบการเงินของ กลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 41 เรื่องเกษตรกรรม ไดมีการกําหนดใหสิ น ทรัพยชีวภาพ รวมถึง ผลผลิตทาง การเกษตร ณ จุดเก็บเกี่ยวจากสินทรัพยชีวภาพของกิจการตองวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย สภาวิ ชาชี พได มี การออกแนวปฏิ บั ติ ทางการบั ญชี สํ าหรั บ มาตรฐานการบั ญชี ฉบั บ ที่ 41 เรื่ องเกษตรกรรม โดยยกเวนพืชเพื่อการใหผลิตผล ออกจากขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 แนวปฏิบัตินี้กําหนดให พืชเพื่อการใหผลิตผล จะตองวัดมูล คาดวย ราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสม หักคาเพื่อการดอยคา (ถามี) ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงิน ของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ไดกําหนดคํานิยาม ใหชัดเจนขึ้น สําหรับ “เงื่อนไขการไดรับสิทธิ ” และ กําหนดคํานิยามแยกกันระหวาง “เงื่อนไขผลงาน” และ “เงื่อนไขการบริการ” มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการรวมธุรกิจ ไดกําหนดใหชัดเจนขึ้นในเรื่อง ก) ภาระผูกพันที่กจิ การตองจายชําระสิ่งตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้นที่เขาคํานิยามของเครื่องมือทางการเงิน วาเปน หนี้สินทางการเงินหรือสวนของเจาของตามคํานิยามของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 เรื่องการแสดงรายการ สําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) หรือตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่เกี่ยวของ และไดกําหนดใหวัดมูลคาสิ่งตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้นที่ไมไดถูกจัดประเภทเปนสวนของเจาของดวยมูลคา ยุติธรรมและรับรูการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมในกําไรหรือขาดทุนทุกสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน และ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ไมไดถือปฏิบัติกับการบัญชีสําหรับการจัดตั้งการรวมคาที่อยู ภายใตมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุม กิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) ถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึง สัญญาประกันภัยตอ) ที่กิจการเปนผูออกและสัญญาประกันภัยตอที่กิจการถือไว มาตรฐานการรายงานทาง การเงิ น ฉบั บ นี้ ยกเวน เปน การชั่ว คราว ใหผู รั บ ประกั น ภั ย ไม ต อ งปฏิ บั ติต ามข อ กํ า หนดบางประการของ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ รวมทั้งขอกําหนดตามแมบทการบัญชีในการเลือกใชนโยบายการ บัญชี สํา หรับ สัญ ญาประกัน ภัย อย างไรก็ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ นี้มีข อ กํ าหนด ดัง นี้ (ก) หามตั้งประมาณการหนี้ สินสําหรับ คาสินไหมทดแทนที่ยังไมเกิดขึ้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน (ข) ใหทดสอบความเพียงพอของหนี้สินจากการประกันภัยที่รับรูแลว และทดสอบการดอยคาของสินทรัพยจาก สัญญาประกัน ภัยตอ และ (ค) ใหผูรับประกัน ภัยบัน ทึกหนี้สินจากสัญญาประกัน ภัยไวในงบแสดงฐานะ การเงินของกิจการจนกวาภาระหนี้สินจากสัญญาประกันภัยนั้นจะหมดลง หรือยกเลิก หรือสิ้นผลบังคับ และให แสดงหนี้ สินจากสั ญญาประกั นภั ยโดยไม มี การหั กกลบกับ สิน ทรัพ ยจ ากสัญ ญาประกัน ภัย ตอ ที่เ กี่ย วข อ ง มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยตอ) ที่ กิ จ การเป น ผู อ อกและสั ญ ญาประกั น ภั ย ต อ ที่ กิ จ การถื อ ไว มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 4 ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุมกิจการ
143
PAGE
144
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) เรื่องสวนงานดําเนินงาน ไดกําหนดใหมีการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับดุลยพินิจของผูบริหารในการรวมสวนงานเขาดวยกัน และกําหนดใหนําเสนอการกระทบยอด สินทรัพยของสวนงานกับสินทรัพยของกิจการเมื่อกิจการรายงานขอมูลสินทรัพยของสวนงานใหกับผูมีอํานาจ ตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของกิจการ มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง งบการเงินรวม การปรับปรุงนี้ไดใหคํานิยาม ของกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนและไดกําหนดขอยกเวนในการจัดทํางบการเงินรวม ซึ่งการปรับปรุง ดังกลาวสงผลใหกองทุนหลายกองทุนและกิจการที่มีธุรกิจที่คลายคลึงกัน ไดรับขอยกเวนจากการนําบริษัทยอย เกือบทั้งหมดมารวมในการจัดทํางบการเงินรวม แตจะวัดมูล คาเงินลงทุน ในบริษัทยอยเหลานั้ นดวยมูลคา ยุติธรรมผานกําไรหรือขาดทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) ไดกําหนดใหกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน เปดเผยขอมูลที่กําหนดไวสําหรับกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับ งบการเงินและการเปดเผยขอมูลของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 13 (ปรับปรุง 2558) เรื่องมูล คายุติธรรมไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับขอยกเวนในเรื่องของการวัดมูลคายุติธรรมเปนกลุมใหปฏิบัติใชกับทุกสัญญาที่อยูในขอบเขตของ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรูและการวัดมูลคาเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) หรือ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9 เรื่องเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ซึ่งรวมถึงสัญญาที่ ไมเปนสัญญาทางการเงิน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
145
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบััญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ กลาวถึงการบัญชีสําหรับหนี้สินการจายเงินที่นําสงรัฐ หากหนี้สินนั้นอยูภายใตขอบเขต ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) เรื่องประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ยังไดกลาวเกี่ยวกับการบัญชีสําหรับ หนี้สินการจายเงินที่นําสงรัฐที่จังหวะเวลาและจํานวนเงินมีความแนนอน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบ กับงบการเงินของกลุมกิจการ
PAGE
146
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง สัญญาเชา เรื่อง รายได เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจาก รัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรื่อง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟอรุนแรง เรื่อง กําไรตอหุน เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
147
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรือผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได - รายการแลกเปลี่ยนเกีย่ วกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สนิ ที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เรื่อง การประเมินวา ขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชา หรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง
PAGE
148
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2558)
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558)
เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําและปฏิสมั พันธของ รายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559)
เรือ่ ง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง เกษตรกรรม เรื่ อ ง สิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย นที่ ถื อ ไว เ พื่ อ ขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น
PAGE
149
PAGE
150 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) ไดใหความชัดเจนในหลายประเด็น ที่สําคัญดังตอไปนี้ - ความมีสาระสําคัญ - กิจการไมควรรวมยอดหรือแยกแสดงขอมูลในรูปแบบที่ทําใหผูใชงบการเงินเขาใจ รายการไดลดลง หากเปนรายการที่มีสาระสําคัญ จะตองเปดเผยขอมูลใหเพียงพอเพื่ออธิบายผลกระทบที่มี ตอฐานะการเงินหรือผลการดําเนินงาน - การแยกแสดงรายการและการรวมยอด - รายการบรรทัดที่ระบุใน TAS 1 อาจจําเปนตองแสดงแยกจากกัน หากเกี่ยวของตอความเขาใจฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ นอกจากนี้ยังมีแนวปฏิบัติใหม ของการใชการรวมยอด - หมายเหตุประกอบงบการเงิน - ยืนยันวาหมายเหตุประกอบงบการเงินไมจําเปนตองเรียงลําดับตามลําดับ การแสดงรายการในงบการเงิน - รายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย - สวนแบงกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียจะถูกจัดกลุมโดยพิจารณาวาเปนรายการที่จะถูกจั ดประเภทใหมไปยัง กําไรหรือ ขาดทุน ในภายหลั งหรือ ไม โดยแตจะกลุ มจะแยกแสดงเปนรายการบรรทั ดแยกต างหากใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้นวา การคิดคาเสื่อมราคาที่ดินอาคารและอุปกรณโดยอางอิงกับรายไดน้ันไมเหมาะสม และ แกไขขอบเขตใหพืช ที่ใหผลิตผลที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเกษตรรวมอยูในขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้น สําหรับการเลือกใชอัตราคิดลดสําหรับการประมาณผลประโยชนหลังออกจากงานวาใหใชอัตราผลตอบแทน ของหนี้สินโดยพิจารณาจากสกุลเงินของหนี้สินที่มีสกุลเงินที่สอดคลองกับสกุลเงินของหนี้สินผลประโยชน หลังออกจากงานเปนสําคัญ ไมใชพิจารณาจากประเทศที่หนี้สินนั้นเกิดขึ้น
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการแกไขโดยใหทางเลือกเพิ่มในการบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทยอย การรวมคา หรือบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใชวิธีสวนไดเสียตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เพิ่มเติมจากเดิมที่ใหใชวิธีราคาทุน หรือวิธีมูลคายุติธรรม (เมื่อมีการประกาศใช) ทั้งนี้การเลื อกใชนโยบายบัญชีสํา หรับเงินลงทุ นแตละประเภท (บริษัท ยอ ย การร วมคา หรือ บริษัท รวม) เปนอิสระจากกัน โดยหากกิจการเลือกที่จะเปลี่ยนมาใชวิธีสวนไดเสียจะตองทําโดยปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ 1) ใหทางเลือกเพิ่มสําหรับ กิจการที่ไมใชกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุนที่มีสวนไดเสียในบริษัทรวมหรือการรวมคาที่เปน กิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน โดยในการบันทึกบัญชีโดยใชวิธีสวนไดเสียในเงินลงทุนในบริษัทรวม หรือการรวมคาที่เปนกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุนนั้น จะมีทางเลือกในการที่จะยังคงการวัดมูลคา เงินลงทุนในบริษัท ย อยของบริษัท รวมหรื อการรวมคานั้น ๆ ดวยวิธีมูล คายุติธรรมตามที่บ ริษัท รวมหรื อ การรวมคานั้นๆใชอยู หรือจะถอดการวัดมูลคายุติธรรมออกและแทนดวยการจัดทํางบการเงินรวมของบริษัทรวม หรือการรวมคาที่เปนกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน และ 2) เพิ่มทางเลือกในการใชวิธีสวนไดเสีย สําหรับเงินลงทุนในบริษัทรวมหรือการรวมคาในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือไดกําหนดใหมีความชัดเจน ถึงความหมายของการอางอิงในมาตรฐาน ไปยัง “ขอมูลที่ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล หรือที่อื่นในรายงานทางการเงินระหว างกาล” วากิจการที่ใชประโยชนของขอผอนปรนนี้จะตองอางอิงจาก งบการเงินระหวางกาลไปถึงยังรายงานอื่นที่มีขอมูลดังกลาวอยางเฉพาะเจาะจง โดยที่ผูใชงบการเงินตองสามารถ เขาถึงรายงานอื่นที่มีขอมูลนั้นในลักษณะและเวลาเดียวกันกับงบการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการเปลี่ยนแปลงโดยใหมีการสันนิษฐานวาการตัดจําหนาย ของสินทรัพยไมมีตัวตนโดยการอางอิงจากรายไดน้ันไมเหมาะสม ขอสันนิษฐานนี้อาจตกไปหากเข าขอหนึ่ง ขอใดตอไปนี้ คือสินทรัพยไมมีตัวตนไดถูกแสดงเหมือนเปนตัววัดของรายได (นั่นคือรายไดเปนปจจัยที่เปน ขอจํากัดของมูลคาที่จะไดรับจากสินทรัพย) หรือสามารถแสดงไดวารายไดและการใชประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ที่ไดจากสินทรัพยมีความสัมพันธกันเปนอยางมาก
151
PAGE
152 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2599) ไดมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งสอดคลองกับแนวปฏิบัติทางบัญชี สําหรับการวัดมูลคาและรับรูรายการของพืชเพื่อการใหผลผลิตซึ่งสภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศเมื่อ พ.ศ. 2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหความชั ดเจนเพิ่มเติม ในกรณีท่ีสินทรัพย (หรือกลุมสินทรัพยท่ีจะจําหนาย) ถูกจัดประเภทใหมจาก “ที่ถือไวเพื่อขาย” เปน “ที่มีไว เพื่อจายใหแกผูเปนเจาของ” หรือถูกจัดประเภทใหมในทางตรงกันขามนั้น ไมถือวาเปนการเปลี่ยนแปลง แผนการขายหรือแผนการจายและไมตองปฏิบัตติ ามแนวทางการบันทึกบัญชีสําหรับการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการปรับปรุงใหชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับ 1) ขอยกเวน ในการจัดทํางบการเงินรวมวาใหใชกับกิจการที่เปนบริษัทใหญข้นั กลางที่เปนบริษัทยอยของกิจการที่ดําเนินธุรกิจ ดานการลงทุนดวยเหมือนกัน และ 2) กิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนจะตองนําบริษัทยอยที่ไมใชกิจการ ที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนและบริษัทยอยดังกลาวใหบริการหรือมีกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน มารวมใน การจัดทํางบการเงินรวมดวย มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 11 (ปรับปรุง 2559) ไดกําหนดใหมีความชัดเจนมากขึ้นสําหรับ 1) การซื้อสวนไดเสียในการดําเนินงานรวมกันที่กิจกรรมของการดําเนินงานรวมกันนั้นประกอบกันขึ้นเปนธุรกิจ ใหผูซ้อื นําหลักการบัญชีของการรวมธุรกิจมาถือปฏิบัติ และ 2) ในกรณีที่ผูรวมดําเนินงานมีการซื้อสวนไดเสีย ในการดําเนินงานรวมกันเพิ่มขึ้นนั้น สวนไดเสียเดิมที่มีอยูในการดําเนินงานรวมกันจะไมถูกวัดมูลคาใหม หากรวมดําเนินงานยังคงมีการควบคุมรวมอยู มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการกําหนดใหชัดเจนยิ่งขึ้นใหกิจการที่เปน กิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน ตองเปดเผยขอมูลของบริษัทยอยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตามที่ กําหนดใน TFRS 12 แมไมไดมีการจัดทํางบการเงินรวม ผูบริหารของกิจการอยูในระหวางการประเมินและพิจารณาผลกระทบจากการปรับปรุงดังกลาวขางตนที่มีตอ งบการเงินของกลุมกิจการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการ ปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2559)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง สัญญาเชา เรื่อง รายได เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือ จากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรื่อง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงิน เฟอรุนแรง เรือ่ ง กําไรตอหุน เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น
PAGE
153
PAGE
154
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกันภัย เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความ เกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผูถือหุน เรือ่ ง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สนิ ที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง2559) เรื่อง การรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําและปฏิสัมพันธของ รายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน
155
PAGE
156 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับป รุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรับปรุง 2559)
เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ เรื่อง การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และ ตราสารทุน เรื่อง การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับ เครื่องมือทางการเงิน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
157
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3
บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม (1)
บริษัทยอย บริษัทยอยหมายถึงทุกกิจการที่ กลุมกิจการมีอํานาจในการควบคุม กลุมกิจการมีอํานาจการควบคุมเมื่อกลุมกิจการ เปดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับผูไดรับการลงทุน และมีความสามารถที่จะทําให เกิดผลกระทบตอผลตอบแทนนั้นจากการมีอํานาจเหนือผูไดรับการลงทุน กลุมกิจการรวมงบการเงินของบริษัทยอย ไวในงบการเงินรวมตั้งแตวันที่ กลุมกิจการมีอํานาจในการควบคุมบริษัทยอย กลุมกิจการจะไมนํางบการเงินของ บริษัทยอยมารวมไวในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุมกิจการสูญเสียอํานาจควบคุม กลุมกิจการบัน ทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือ ปฏิบัติตามวิธีซื้อ สิ่งตอบแทนที่โ อนใหสําหรับการซื้อ บริษัทยอ ย ประกอบดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ผูซื้อโอนใหและหนี้สินที่กอขึ้นเพื่อจายชําระใหแกเจาของเดิมของผูถูกซื้อ และสวนไดเสียในสวนของผูถือหุนที่ออกโดยกลุมกิจการ สิ่งตอบแทนที่โอนใหรวมถึงมูลคายุติธรรมของสินทรัพย หรือหนี้สินที่ผูซื้อคาดวาจะตองจายชําระตามขอตกลง ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อจะรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น มูลคาเริ่มแรกของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่รับมาจากการรวมธุรกิจจะถูก วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือ ในการรวมธุรกิจแตละครั้ง กลุมกิจการวัดมูลคาของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมในผูถูกซื้อดวยมูลคายุติธรรม หรือ มูลคาของสิน ทรัพยสุทธิที่ระบุไดของผูถูกซื้อตามสัดสวนของหุน ที่ ถือโดยสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผูซื้อตองวัดมูลคาสวนไดเสียที่ผูซื้อถืออยูในผูถูกซื้อกอนหนา การรวมธุรกิจใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือและรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลคาใหมน้ัน ในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายออกไปโดยกลุมกิจการ รับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ การเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายที่รับรูภายหลังวันที่ซื้อซึ่งจัดประเภทเปนสินทรัพยหรือหนี้สินให รับรูในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายซึ่งจัดประเภทเปนสวนของผูถือหุนตองไมมีการวัดมูลคา ใหม และใหบันทึกการจายชําระในภายหลังไวในสวนของผูถือหุน ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผูซื้อตองวัดมูลคาสวนไดเสียที่ผูซื้อถืออยูในผูถูกซื้อที่กอนหนา การรวมธุรกิจใหมมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือและรับรู ผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลคาใหม นั้นในกําไร หรือขาดทุน สวนเกินของมูลคาสิ่งตอบแทนที่โอนให มูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อและมูลคายุติธรรม ณ วันซื้อ ธุรกิจของสวนไดเสียในสวนของผูถือหุนของผูถูกซื้อที่ผูซ้ือถืออยูกอนการรวมธุ รกิจ ที่มากกวามูลคายุติธรรมสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดที่ไดมา ตองรับรูเปนคาความนิยม หากมูลคาของมูลคาสิ่งตอบแทนที่ โอนให มูลคาสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมในผูถูกซื้ อ และมูลค ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของสวนไดเสี ยในส วนของ ผูถ ือหุนของผูถูกซื้อที่ผูซื้อถืออยูกอนการรวมธุรกิจ นอยกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยที่ไดมา เนื่องจากการซื้อในราคาต่ํากวามูลคายุติธรรม จะรับรูสวนตางโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน
PAGE
158 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3
บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม (ตอ) (1)
บริษัทยอย (ตอ) กิจการจะตัดรายการบัญชีระหวางกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกันในกลุมกิจการ ขาดทุนที่ ยังไมเกิดขึ้นจริงก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวาสินทรัพยที่โอนระหว างกันเกิดการ ดอยคา นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกปรับปรุงเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมกิจการ ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทยอยจะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการปรับ เพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย ตนทุนนั้น จะรวมตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของกับการไดมาของเงินลงทุนนี้ รายชื่อของบริษัทยอยของกลุมกิจการไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12
(2)
รายการและสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กลุมกิจการปฏิบัติตอรายการกับสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมเชนเดียวกันกับรายการกับสวนที่เปนของผูถือหุน กลุมกิจการ สําหรับการซื้อสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนที่จายใหและหุนที่ไดมาของ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิของหุนที่ซื้อมาในบริษัทยอยจะถูกบันทึกในสวนของผูถือหุน และกําไรหรือ ขาดทุนจากการขายในสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมจะถูกบันทึกในสวนของผูถือหุน
(3)
การจําหนายบริษัทยอย เมื่ อกลุ ม กิ จ การสู ญ เสี ย การควบคุ ม ส ว นได เ สี ย ในกิ จ การที่ เ หลื อ อยู จ ะวั ด มู ล ค า ใหม โ ดยใช มู ล ค า ยุ ติ ธ ร รม การเปลี่ยนแปลงในมูลคาจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน มูลคายุติธรรมนั้นจะถือเปนมูลคาตามบัญชีเริ่มแรกของมูลคา ของเงินลงทุนเพื่อวัตถุประสงคในการวัดมูลคาในเวลาตอมาของเงินลงทุนที่เหลืออยูในรูปของบริษัทรวม กิจการ รวมคา หรือสินทรัพยทางการเงิน สําหรับทุกจํานวนที่เคยรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในสวนที่เกี่ยวของกับ กิจการนั้นจะถูกปฏิบัติเสมือนวากลุมกิจการมีการจําหนายสินทรัพยหรือหนี้สินที่เกี่ยวของนั้นออกไป
(4)
บริษัทรวม บริษัทรวมเปน กิจการที่ กลุมกิจการมีอิท ธิพลอยางเปนสาระสําคัญแตไมถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทั่วไปก็คือการที่ กลุมกิจการถือ หุน ที่มีสิท ธิอ อกเสียงอยูระหวางรอ ยละ 20 ถึงรอ ยละ 50 ของสิทธิอ อกเสียงทั้งหมด เงินลงทุน ในบริษัท รวมรับ รูโ ดยใชวิธีสวนไดเสี ยในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใตวิธีสวนไดเสี ย กลุมกิจการรับ รู เงินลงทุนเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุน มูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในภายหลังวันที่ไดมาดวย สวนแบงกําไรหรือขาดทุนของผูไดรับการลงทุนตามสัดสวนที่ผูลงทุนมีสวนไดเสียอยู เงินลงทุนในบริษัทรวมของ กลุมกิจการรวมถึงคาความนิยมที่ระบุได ณ วันที่ซ้อื เงินลงทุน ถาสวนไดเสียของเจาของในบริษัทรวมนั้นลดลงแตยังคงมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ กิจการตองจัดประเภทรายการ ที่เคยรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเขากําไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดสวนในสวนไดเสียของเจาของที่ลดลง
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3
บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอย (ตอ) (4)
บริษัทรวม (ตอ) สวนแบงกําไรหรือขาดทุนของกลุมกิจการในบริษัทรวมที่เกิดขึ้นภายหลังการไดมาจะรวมไวในกําไรหรือขาดทุน และสว นแบ งในกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็จอื่ น ที่เกิ ดขึ้ น ภายหลังการไดม าจะรวมไวในกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็ จอื่ น ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงภายหลังการไดมาดังกลาวขางตน จะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อ สวนแบงขาดทุน ของกลุมกิจการในบริษัทรวมมีมูลคาเทากับหรือเกินกวามูลคาสวนไดเสียของกลุมกิจการ ในบริษัทรวมนั้น กลุมกิจการจะไมรับรูสวนแบงขาดทุนอีกตอไป เวนแตกลุมกิจการมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทรวม หรือรับวาจะจายหนี้แทนบริษัทรวม กลุมกิจการมีการพิจารณาทุกสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีวามีขอบงชี้ที่แสดงวาเงินลงทุนในบริษัทรวมเกิดการดอยคา หรือไม หากมีขอบงชี้เกิดขึ้นกลุมกิจการจะคํานวณผลขาดทุนจากการดอยคา โดยเปรียบเทียบมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน และรับรูผลตางไปที่สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ของเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบ กําไรขาดทุน รายการกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกลุมกิจการกับ บริษัท รวมจะตัดบัญชีเทาที่ กลุมกิจการมีสวนไดเสีย ในบริษัทรวมนั้น รายการขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวา สินทรัพยท่โี อนระหวางกันเกิดการดอยคา บริษัทรวมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเทาที่จําเปนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมกิจการ กําไรและ ขาดทุนจากการลดสัดสวนในบริษัทรวมจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวม จะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการ ปรับเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของสิ่งตอบแทนที่คาดวาตองจาย ตนทุนจะรวมตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของจากการไดมาของเงินลงทุนนี้ รายชื่อของบริษัทรวมของกลุมกิจการไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13
159
PAGE
160 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.4
การแปลงคาเงินตราตางประเทศ (ก)
สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงิน รายการที่ ร วมในงบการเงิ น ของแต ล ะบริ ษั ท ในกลุ ม กิ จ การถู ก วั ด มู ล ค า โดยใช ส กุ ล เงิ น ของสภาพแวดล อ ม ทางเศรษฐกิจหลักที่บริษัทดําเนินงานอยู (สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงินของบริษัท
(ข)
รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการหรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลคาใหม รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือ จายชําระที่เ ปนเงินตราตางประเทศ และที่เกิดจากการแปลงคาสิน ทรัพยและหนี้ สินที่เปนตัวเงินซึ่งเปนเงินตรา ตางประเทศดวยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นป ไดบันทึกไวในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการรับรูรายการกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องคประกอบของ อัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรูไวในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นดวย ในทางตรงขามการ รับรูกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในกําไรหรือขาดทุน องคประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด ของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรูไวในกําไรขาดทุนดวย
2.5
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสด หมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท แตไมรวมเงินฝากธนาคารประเภทที่ตองจายคืนเมื่อสิ้น ระยะเวลาที่กําหนด (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินอื่น และไมรวมเงินฝาก ธนาคารที่มีขอจํากัดในการเบิกถอน และรายการเทียบเทาเงินสดรวมถึงเงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคลองสูงซึ่งมีอายุ ไมเกินสามเดือนนับจากวันที่ไดมา ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจายคืนเมื่อ ทวงถาม เงินลงทุน ระยะสั้น อื่น ที่มีสภาพคลองสูงซึ่งมีอ ายุไมเกินสามเดือนนับจากวันที่ไดมา และ เงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไวในสวนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน
2.6
ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคารับรูเริ่มแรกดวยมูลคาตามใบแจงหนี้และจะวัดมูลคาตอมาดวยจํานวนเงินที่เหลืออยูหักคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึง ผลตางระหวางราคาตามบัญชีของ ลูกหนี้การคาเปรียบเทียบกับมูลคาที่คาดวาจะไดรับจากลูกหนี้การคา หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนโดยถือเปน สวนหนึ่งของคาใชจายในการบริหาร
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
161
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.7
สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในงบแสดงฐานะการเงินดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนของ สินคาคงเหลือคํานวณโดยวิธีเขากอนออกกอน ตนทุนในการซื้อประกอบดวยราคาซื้อ และคาใชจายทางตรงที่เกี่ยวของกับ การซื้อสินคานั้น เชน คาอากรขาเขา คาขนสง หักดวยสวนลดเกี่ยวของทั้งหมด สวนยอมใหหรือเงินที่ไดรับคืน ตนทุนของ สินคาสําเร็จรูป และงานระหวางทําภาพยนตร ละคร หนังแผน และอื่นๆ ประกอบดวย ตนทุนการผลิตทางตรง การถายทํา และคาใชจายในการผลิตอื่น มูลคาสุทธิที่จะไดรับประมาณจากราคาที่คาดวาจะขายได ตามปกติของธุรกิจหักดวยคาใชจายที่ จําเปนเพื่อใหสินคานั้นสําเร็จรูปและเพื่อใหสินคานั้นขายไดรวมถึงคาใชจายในการขาย กลุมกิจการจะบันทึกบัญชีคาเผื่อลด มูลคาสินคาเมื่อพบวามีสินคาเกา ลาสมัย เสื่อมคุณภาพเทาที่จําเปน
2.8
อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณแสดงรายการดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ตนทุนเริ่มแรกจะ รวมตนทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการซื้อสินทรัพยนั้น ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลังจะรวมอยูในมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือรับรูแยกเปนอีกสินทรัพยหนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อตนทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดวาจะใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตแกกลุมกิจการ และตนทุนดังกลาวสามารถวัดมูลคา ไดอยางนาเชื่อถือ มูลคาตามบัญชีของชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออก สําหรับคาซอมแซมและบํารุงรักษาอื่นๆ กลุมกิจการจะรับรูตนทุนดังกลาวเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาเสื่อมราคาของสินทรัพยอื่ นคํานวณด วยวิ ธีเสนตรงเพื่อลดราคาตามบั ญชี ใ ห เทากับมูลค าคงเหลือของสินทรัพยแตละ ชนิด ตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพยที่ประมาณไวดังตอไปนี้ อาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
20 ป ตามอายุสัญญาเชาที่ดิน 8 ป 7 เดือน 5 - 10 ป 5 - 10 ป 5 ป
ทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานกลุมกิจการไดมีการทบทวนและปรับปรุงมูลคาคงเหลือ และอายุการใหประโยชนของสินทรัพย ใหเหมาะสม ในกรณีที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยดังกลาวจะถูกปรับลด ใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนทันที รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ คํานวณโดยการเปรียบเทียบสิ่งตอบแทนสุทธิ ที่ไดรับจากการจําหนายสินทรัพยกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และไดรวมอยูในรายไดอื่นและคาใชจายอื่นตามลําดับ
PAGE
162 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.9
ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ใบอนุ ญ าตให ใช คลื่ นความถี่ และประกอบกิจ การโทรทัศ น ประกอบด วย ต น ทุ นทางตรงที่เ กี่ย วข อ งกับ การไดม าซึ่ ง ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิ จิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ ในหมวดหมูขาวสารและสาระ และหมวดหมูทั่วไป แบบความคมชัดปกติ แสดงดวยมูลคาเทียบเทาเงินสดโดยวิธีคิดลด จํานวนเงินที่ตองจายชําระเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดตามที่ธนาคารกําหนดสําหรับสินเชื่อเพื่อการดังกลาว หักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวางราคาเทียบเทาเงินสดกับจํานวนเงินทั้งหมดที่ตองจาย ชําระบันทึกเปนตนทุนทางการเงินตลอดอายุการจายชําระคาธรรมเนียมการไดรับใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน โดยจะเริ่มตัดจํ าหนายเมื่อ พรอ มที่จะใหบ ริการ บริษัท ตัดจําหน า ยใบอนุ ญาตใหใ ชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนโดยวิธีเสนตรงตามอายุของใบอนุญาต 15 ป
2.10 สินทรัพยไมมีตัวตน ตนทุนการผลิตละครและรายการ ตนทุนการผลิตละครและรายการ แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) ในระหวางป พ.ศ. 2558 กลุมกิจการไดเปลี่ยนวิธีการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละครจากวิธีตามประมาณการรายไดเปนตาม จํานวนครั้งที่ออกอากาศ ลิขสิทธิ์อื่น ลิขสิท ธิ์อื่น แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อ การดอยคา (ถามี) กลุมกิจการตัดจําหนายเปน คาใชจายโดยวิธีเสนตรงตามอายุสัญญาที่เกี่ยวของ ลิขสิทธิ์มาสเตอรเทปเพลง ลิขสิท ธิ์มาสเตอรเทปเพลงมีอ ายุการใหประโยชนไมทราบแน น อน กลุมกิจการจึงไมมีการตัดจําหน ายแตจะใชวิธีการ ทดสอบการดอยคาแทน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.10 สินทรัพยไมมีตวั ตน (ตอ) โปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุน ที่ใชในการบํารุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอรใหบัน ทึกเปน คาใชจายเมื่อเกิดขึ้น คาใชจายที่เกิดจากการพัฒนา ที่เกี่ยวของโดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงซึ่ง กลุมกิจการเปนผูดูแล จะรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตนเมื่อเปนไปตามขอกําหนดทุกขอดังนี้ x x x x x x
มีความเปนไปไดทางเทคนิคที่กจิ การจะทําโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเสร็จสมบูรณเพื่อนํามาใชประโยชนหรือขายได ผูบริหารมีความตั้งใจที่จะทําโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเสร็จสมบูรณและนํามาใชประโยชนหรือขาย กิจการมีความสามารถที่จะนําโปรแกรมคอมพิวเตอรน้นั มาใชประโยชนหรือขาย สามารถแสดงวาโปรแกรมคอมพิวเตอรน้นั ใหผลประโยชนทางเศรษฐกิจในอนาคตอยางไร มีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรดานเทคนิค ดานการเงิน และดานอื่นไดเพียงพอที่จะนํามาใชเพื่อทําใหการ พัฒนาเสร็จสิ้นสมบูรณ และนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชประโยชนหรือนํามาขายได กิจการมีความสามารถที่จะวัดมูลคาของรายจายที่เกี่ยวของกับโปรแกรมคอมพิวเตอร ที่เกิดขึ้นในระหวางการพัฒนา ไดอยางนาเชื่อถือ
ตนทุนโดยตรงที่รับรูเปนสวนหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร จะรวมถึงตนทุนพนักงานที่ ทํางานในทีมพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอรและคาใชจายที่เกี่ยวของในจํานวนเงินที่เหมาะสม ตนทุนการพัฒนาอื่นที่ไมเขาเงื่อนไขเหลานี้จะรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น คาใชจายในการพัฒนาหากกอนหนานี้รับรูเปน คาใชจายไปแลว จะไมรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตนในเวลาภายหลัง ตนทุนในการพั ฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรจะรับรู เปนสินทรัพยไมมีตั วตนและตัดจํ าหน ายโดยใชวิธี เสนตรงตลอดอายุ ประมาณการใหประโยชนในระยะเวลาไมเกิน 10 ป 2.11 การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยที่มีอายุการใหประโยชน ไมทราบแนชัดเชน คาความนิย ม ซึ่งไมมีการตัดจําหนายจะถูกทดสอบการดอยคาเปน ประจําทุกป สินทรัพยอื่นที่มีการตัดจําหนายจะมีการทบทวนการดอยคา เมื่อมีเหตุการณหรือสถานการณบงชี้วาราคาตามบัญชี อาจสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รายการขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูเมื่อราคาตามบัญชีของสิน ทรัพยสูงกวามูลคา ที่คาดวาจะไดรับคืน ซึ่งหมายถึงจํานวนที่สูงกวาระหวางมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายเทียบกับมูลคาจากการใช สินทรัพยจะถูกจัดเปนหนวยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได เพื่อวัตถุประสงคของการประเมินการดอยคา สินทรัพย ที่ไ มใ ช สิ น ทรั พย ทางการเงิ นนอกเหนื อจากคาความนิ ยมซึ่ งรั บรู รายการขาดทุ นจากการดอยคาไปแลว จะถู กประเมิ น ความเปนไปไดที่จะกลับรายการขาดทุนจากการดอยคา ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
163
PAGE
164
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.12 สัญญาเชาระยะยาว - กรณีทกี่ ลุมกิจการเปนผูเชา สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณซึ่งผูเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปน สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบัน สุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา โดยจํานวนเงินที่ตองจายจะปนสวนระหวางหนี้สิน และคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยู โดยพิจารณาแยกแตล ะสัญญา ภาระผูกพัน ตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงิน จะบัน ทึกเปน หนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบัน ทึกในกําไรหรือขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาทางการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา หรืออายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะสั้นกวา สัญญาเชาดําเนินงาน สัญญาเชาสินทรัพยซึ่งผูใหเ ชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดรับจากผูใหเชา) จะทยอยบันทึกใน กําไรหรือขาดทุนโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น 2.13 เงินกูยืม เงินกูยืมรับรูเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ไดรับหักดวยตนทุนการจัดทํารายการที่เกิดขึ้น เงินกูยืมวัดมูลคา ในเวลาตอมาดวยวิธีราคาทุนตัดจําหนายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ผลตางระหวางสิ่งตอบแทน (หักดวยตนทุนการจัดทํา รายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลคาที่จายคืนเพื่อชําระหนี้นั้นจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดชวงเวลาการกูยืม คาธรรมเนียมที่จายไปเพื่อใหไดเงินกูมาจะรับรูเปนตนทุนการจัดทํารายการเงินกูในกรณีที่มีความเปนไปไดจะใชวงเงินกู บางสวนหรือทั้งหมด ในกรณีน้ี คาธรรมเนียมจะรอการรับรูจนกระทั่งมีการถอนเงิน หากไมมีหลักฐานที่มีความเปนไปได ที่จะใชวงเงินบางสวนหรือ ทั้งหมด คาธรรมเนียมจะรับ รูเปน คาใชจายจายลวงหน าสําหรับการใหบ ริการสภาพคลอ ง และจะตัดจําหนายตามระยะเวลาของวงเงินกูที่เกี่ยวของ เงินกูยืมจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุมกิจการไมมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขใหเลื่อนชําระหนี้ออกไปอีกเปนเวลา ไมนอยกวา 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
165
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.14 ภาษีเงินไดงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับงวดประกอบดวย ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดจะรับรู ในกําไรหรือขาดทุน ยกเวนสวนภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับรายการที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรายการที่รับรู โดยตรงไปยังสวนของผูถือหุน ในกรณีนี้ภาษีเงิน ไดต องรับ รูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังสวนของ ผูถือหุนตามลําดับ ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันคํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมี ผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัท และบริษัทยอยตองดําเนินงานอยูและเกิดรายไดเพื่อเสียภาษี ผูบริหารจะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเปนงวด ๆ ในกรณีที่มีสถานการณที่การนํากฎหมายภาษี ไปปฏิบัติ ขึ้นอยูกับการตีความ และจะตั้งประมาณการคาใชจายภาษีที่เหมาะสมจากจํานวนที่คาดวาจะตองจายชําระภาษีแก หนวยงาน จัดเก็บ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลตางชั่วคราวระหวางฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สิน และราคาตามบัญชี ที่แสดงอยูในงบการเงิน อยางไรก็ตามกลุมกิจการจะไมรับรูภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรูเริ่มแรกของรายการ สินทรัพยหรือรายการหนี้สินที่เกิดจากรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไมมีผลกระทบตอ กําไรหรือขาดทุนทั้งทางบัญชีหรือทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคํานวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มี ผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมีผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดวา อัตราภาษีดังกลาว จะนําไปใชเมื่อสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของไดใช ประโยชน หรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ไดมี การจายชําระ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะรับรูหากมีความเปนไปไดคอนขางแนวากลุมกิจการจะมีกําไรทางภาษีเพียงพอที่จะนํา จํานวนผลตางชั่วคราวนั้นมาใชประโยชน กลุมกิจการไดต้ังภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลตางชั่วคราวของ เงินลงทุนในบริษัทรวม บริษัทยอย และสวนไดเสียในกิจการรวมคาที่ตองเสียภาษีเวนแตกลุมกิจการสามารถควบคุมจังหวะ เวลาของการกลับรายการผลตางชั่วคราวและการกลับรายการผลตางชั่วคราวมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะไมเกิดขึ้นได ภายในระยะเวลาที่คาดการณไดในอนาคต สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ ตอเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ที่จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน และทั้งสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเกี่ยวของกับภาษีเงินไดที่ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษี หนวยงาน เดียวกันโดยการเรียกเก็ บเปนหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกันซึ่งตั้งใจจะจายหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินได ของ งวดปจจุบันดวยยอดสุทธิ
PAGE
166 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.15 ผลประโยชนพนักงาน กลุมกิจการไดกําหนดโครงการผลประโยชน เมื่อเกษียณอายุในหลายรูปแบบ กลุมกิจการมีทั้งโครงการสมทบเงิน และ โครงการผลประโยชน สําหรับโครงการสมทบเงิน กลุ มกิจการจะจายเงินสมทบให กองทุนในจํานวนเงินที่ คงที่ กลุมกิจการไมมี ภาระผู กพันทาง กฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะตองจายเงินเพิ่ม ถึงแมกองทุนไมมีสินทรัพยเพียงพอที่จะจายใหพนัก งาน ทั้งหมดสําหรับการใหบริการจากพนักงานทั้งในอดีตและปจจุบัน กลุมกิจการจะจายสมทบใหกับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่ง บริหารโดยผูจัดการกองทุนภายนอกตามเกณฑและขอกําหนดของ พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กลุม กิจการไมมีภาระผูกพันที่จะจายเงินเพิ่มอีก เมื่อไดจายเงินสมทบไปแลว เงินสมทบจะถูกรับรูเปนคาใชจายผลประโยชน พนักงานเมื่อถึงกําหนดชําระ สําหรับเงินสมทบจายลวงหนาจะถูกรับรูเปนสินทรัพยจนกวาจะมีการไดรับเงินคืนหรือหัก ออกเมื่อครบกําหนดจาย สําหรับโครงการผลประโยชนคือโครงการบําเหน็จบํานาญที่ไมใชโครงการสมทบเงิน ซึ่งจะกําหนดจํานวนเงินผลประโยชน ที่พนักงานจะไดรับเมื่อเกษียณอายุ โดยสวนใหญจะขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน อายุ จํานวนปที่ใหบริการ และ คาตอบแทน หนี้สินสําหรับโครงการผลประโยชนจะรับรูในงบแสดงฐานะการเงินดวยมูลคาปจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่ สิ้นรอบ ระยะเวลารายงานหักดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยโครงการ ภาระผูกพันนี้คํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยอิสระ ทุกป ดวยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ซึ่งมูลคาปจจุบันของโครงการผลประโยชนจะประมาณโดยการคิดลด กระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใชอัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนสกุลเงิน เดียวกับ สกุล เงิน ที่จะจา ยภาระผูกพัน และวันครบกําหนดของพันธบัต รรัฐบาลใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตอ งชําระภาระผูกพัน กองทุ น บําเหน็จบํานาญ กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงจากประสบการณหรือการ เปลี่ยนแปลงในขอสมมติฐานจะตองรับรูในสวนของผูถือหุนผานกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ตนทุนบริการในอดีตจะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน เวนแตการเปลี่ย นแปลงโครงการผลประโยชนน้ันจะมีเงื่อนไข ซึ่งผูกกับระยะเวลาที่พนักงานยังคงตองใหบริการตามที่กําหนด (ระยะเวลาการใหสิทธิ) ซึ่งในกรณีน้ันตนทุนการใหบริการ ในอดีตจะถูกตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตลอดระยะเวลาการใหสิทธิ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.16 สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน สินทรัพ ยทางการเงิน ที่สําคัญ ซึ่งได แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด วย เงิ นสดและรายการเที ยบเทา เงิน สด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สิน ทางการเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้ การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน และภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับรายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ บริษัท มีการทําสั ญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศลวงหนาเพื่อ ช วยปอ งกัน บริษัท จากความเคลื่อ นไหวของอัตรา แลกเปลี่ยนดวยการกําหนดอัตราที่จะใชในการจายหนี้สิน ที่เปนสกุล เงินตางประเทศ บริษัทไมรับรูสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศลวงหนาในงบการเงินในวันเริ่มแรกและจะรับรูเมื่อครบกําหนดตามสัญญา 2.17 ประมาณการหนี้สิน - ทั่วไป ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อ กลุมกิจการมีภาระผูกพันในปจจุบันตามกฎหมายหรือตามขอตกลงซึ่งจัดทําไวอันเปน ผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณในอดีต ซึ่งการชําระภาระผูกพันนั้นมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะสงผลให กลุมกิจการ ตองสูญเสียทรัพยากรออกไปและสามารถประมาณการจํานวนที่ตองจายไดอยางนาเชื่อถือ ในกรณีท่มี ีภาระผูกพันที่คลายคลึงกันหลายรายการ กลุมกิจการกําหนดความนาจะเปนที่กิจการจะสูญเสียทรัพยากรเพื่อจาย ชําระภาระผูกพัน เหลานั้น โดยพิจารณาจากความน าจะเปนโดยรวมของภาระผูกพันทุกประเภท แมวาความเปนไปได คอนขางแนที่กลุมกิจการจะสูญเสียทรัพยากรเพื่อชําระภาระผูกพันบางรายการที่จัดอยูในประเภทเดียวกันจะมีระดับต่ํา กลุมกิจการจะวัดมูลคาของจํานวนประมาณการหนี้สิน โดยใชมูลคาปจจุบันของรายจายที่คาดวาจะตองนํามาจายชําระภาระผูกพัน โดยใชอัตรากอนภาษีซึ่งสะทอ นถึงการประเมินสถานการณตลาดในปจจุบันของมูลคาของเงินตามเวลาและความเสี่ยง เฉพาะของหนี้สิน ที่กําลังพิจารณาอยู การเพิ่มขึ้นของประมาณการหนี้สินเนื่องจากมูล คาของเงินตามเวลา จะรับ รูเปน ดอกเบี้ยจาย 2.18 ทุนเรือนหุน หุน สามัญและหุนบุริมสิทธิชนิดไถถอนไมได (ถามี) ที่กิจการสามารถกําหนดการจายเงินปนผลไดอยางอิสระจะจัดประเภทไว เปนสวนของผูถือหุน หุนประเภทอื่นซึ่งรวมถึงหุนบุริมสิทธิ์ชนิดบังคับไถถอนจะจัดประเภทไวเปนหนี้สิน ตนทุนสวนเพิ่มที่เกี่ยวของกับการออกหุนใหมหรือการออกสิทธิในการซื้อหุนซึ่งสุทธิจากภาษีจะถูกแสดงในสวนของผูถือหุน โดยนําไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ไดรับจากการออกตราสารทุนดังกลาว กรณีท่บี ริษัทใดก็ตามในกลุมกิจการซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทกลับคืน (หุนทุนซื้อคืน) สิ่งตอบแทนที่จายไปรวมถึงตนทุน เพิ่มเติมที่เกี่ยวของโดยตรง(สุทธิจากภาษีเงินได จะรับรูเปนหุนทุนซื้อคืนและแสดงเปนรายการหักจากยอดรวมของสวน ของกผูถือหุนของบริษัทจนกวาหุนทุนซื้อคืนดังกลาวจะถูกยกเลิกไปหรือจําหนายออกไปใหม เมื่อมีการจําหนายหุนทุนซื้อ คืนออกไปใหม สิ่งตอบแทนใดๆ ที่ไดรับ จากการขายหรือนํ าหุนทุนซื้อคืนออกจําหน ายใหมสุท ธิจากตน ทุน เพิ่มเติมที่ เกี่ยวของโดยตรงสุทธิจากภาษีเงินไดท่เี กี่ยวของ จะแสดงรวมไวในสวนของผูถือหุน
167
PAGE
168 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.19 การรับรูรายได รายไดประกอบดวยมูลคายุติธรรมที่จะไดรับจากการขายสินคาและบริการซึ่งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของกลุมกิจการ รายได จะแสดงด วยจํ านวนเงิ นสุทธิ จากภาษี ขาย การรั บคืน เงิ นคืนและส วนลด โดยไมรวมรายการขายและการให บริ การภายใน กลุมกิจการสําหรับงบการเงินรวม 2.19.1 รายไดจากการขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อผูซ้ือรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสําคัญของความเปนเจาของสินคา 2.19.2 รายไดจากการใหบริการ ก) ข) ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ)
รายไดจากการบริการโฆษณาและการประชาสัมพันธจะรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลวทางสื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ สื่อในธุรกิจโมเดิรนเทรด และสื่ออื่น ๆ รายไดจากการรับจาง รับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบงาน รายไดจากการผลิตกิจกรรมรับรูเปนรายไดตามสัดสวนงานที่ใหบริการเสร็จ รายไดจากการใหเชาชวงสถานีโทรทัศนรับรูเปนรายไดตามระยะเวลาของการใหเชาชวง รายไดจากการจัดคอนเสิรตรับรูเปนรายไดเมื่อมีการแสดงแลว รายไดคาบริหารศิลปนรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว รายไดธุรกิจดิจิตอลรับรูเมื่อมีการใหบริการดาวนโหลดเพลงแลว รายไดจากการบริหารจัดการรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว
2.19.3 รายไดคาลิขสิทธิ์ ก) ข)
รายไดจากคาลิขสิทธิ์เพลงรับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบหรือรับรูรายไดตามวิธีเสนตรงตามอายุสัญญา รายไดจากการขายลิขสิทธิ์ภาพยนตรรับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบ
2.19.4 รายไดดอกเบี้ย รายไดดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑสัดสวนของเวลาโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของชว งเวลาจนถึงวันครบอายุ และพิจารณาจากจํานวนเงินตนที่เปนยอดคงเหลือในบัญชีสําหรับการบันทึกคางรับของกลุมกิจการ 2.19.5 เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อบริษัทมีสิทธิในการรับเงินปนผล
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2
นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.20 ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวย ดอกเบี้ยจายและคาธรรมเนียมจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และจากบริษัทยอย และดอกเบี้ยจายจากหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน 2.21 การจายเงินปนผล เงินปนผลและเงินปนผลระหวางกาลที่จายบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนและกรรมการของกลุมกิจการที่เกี่ยวของไดอนุมัติการจายเงินปนผลตามลําดับ 2.22 ขอมูลจําแนกตามสวนงาน สวนงานดํ าเนิ น งานไดถูก รายงานในลัก ษณะเดี ยวกับ รายงานภายในที่นํ า เสนอใหผู มีอํ านาจตั ดสิ น ใจสู งสุ ดด านการ ดําเนินงาน ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหนาที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผล การปฏิบัติงานของสวนงานดําเนินงาน ซึ่งพิจารณาวาคือ คณะกรรมการบริษัทที่ทําการตัดสินใจเชิงกลยุทธ
3
การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน 3.1
ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุมกิจการยอมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งไดแก ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงดานมูลคายุติธรรมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานกระแสเงินสด อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงดานราคา) ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ และความเสี่ยงดานสภาพคลอง แผนการจั ดการความเสี่ ย งโดยรวมของกลุ มกิ จ การจึ ง มุง เนน ความผั น ผวนของตลาดการเงิ น และแสวงหาวิ ธี การลด ผลกระทบที่ทําใหเสียหายตอผลการดําเนินงานทางการเงินของกลุมกิจการใหเหลือนอยที่สุดเทาที่เปนไปได การจัดการความเสี่ยงดําเนินงานโดยฝายการเงิน ฝายการเงินของกลุมกิจการจะชี้ประเด็น ประเมิน และปองกันความเสี่ยงทาง การเงินดวยการรวมมือกันทํางานอยางใกลชิดกับหนวยปฏิบัติงานตางๆ ภายในกลุมกิจการ ฝายการเงินจะกําหนดหลักการ โดยภาพรวมเพื่อจัดการความเสี่ยงและนโยบายที่เกี่ยวของรวมถึงนโยบายสําหรับความเสี่ยงที่เฉพาะเจาะจง เชน ความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงการใหสินเชื่อ การใชตราสารทั้งที่เปนอนุพันธทาง การเงินและไมใชอนุพันธทางการเงินและการลงทุนโดยใชสภาพคลองสวนเกินในการจัดการความเสี่ยง 3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุมกิจการมีความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศเนื่องจากบริษัทมีรายการบางรายการเปนเงินตรา ตางประเทศ บริษัทไดเขาทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อปองกันความเสี่ยงในอนาค ตที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน อยางไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทไมมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา คงเหลือ
169
PAGE
170 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3
การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) 3.1
ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) 3.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งความผันผวนดังกลาวจะสงผลกระทบ ตอผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทในอนาคต ซึ่งเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับบัญชีเงินฝากธนาคารและ เงินกูยืมจากธนาคารอยางไรก็ตาม กลุมกิจการไมไดใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยแตอยางใด เนื่องจากฝายบริหารมีความเห็นวากลุมกิจการไมมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่จะกระทบ ตอกลุมกิจการอยางเปนสาระสําคัญ 3.1.3 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมกิจการไมมีการกระจุกตัวอยางมีนัยสําคัญของความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ กลุมกิจการมีนโยบายที่เหมาะสม เพื่อ ทําใหเชื่อ มั่นไดวาไดขายสินคาและใหบริการแกลูกคาที่มีประวัติสินเชื่อ อยูในระดับที่เหมาะสม คูสัญญา ในอนุพันธทางการเงินและรายการเงินสดไดเลือกที่จะทํารายการกับสถาบันการเงินที่มีระดับความนาเชื่อถือสูง 3.1.4 ความเสี่ยงดานสภาพคลอง จํานวนเงินสดที่มีอยางเพียงพอและเงินลงทุนในหลักทรัพยที่มีตลาดรองรับยอมแสดงถึงการจัดการความเสี่ยงของ สภาพคลองอยางรอบคอบ ความสามารถในการหาแหลงเงินทุนแสดงใหเห็นไดจากการที่มีวงเงิน อํานวยความ สะดวกในการกูยืมที่ไดมีการตกลงไวแลวอยางเพียงพอ สวนงานบริหารเงินของกลุมกิจการไดตั้งเปาหมายวาจะใช ความยืดหยุนในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อที่ตกลงไวใหเพียงพอที่จะหามาไดเนื่องจากลักษณะ ธรรมชาติของธุรกิจที่เปนฐานของกลุมกิจการมีพลวัตเปลี่ยนแปลงได
3.2
การประมาณมูลคายุติธรรม ความแตกตางของระดับขอมูลสามารถแสดงไดดังนี้ x x x
ขอมูลระดับ 1 ไดแก ราคาเสนอซื้อขาย (ไมตองปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคลองสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินอยางเดียวกัน ขอมูลระดับ 2 ไดแก ขอมูลอื่นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยูในขอมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตไดโดยตรง (ไดแก ขอมูลราคา) หรือโดยออม (ไดแก ขอมูลที่คํานวณมาจากราคา) สําหรับสินทรัพยนั้นหรือหนี้สินนั้น ขอมูลระดับ 3 ไดแก ขอมูลสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินซึ่งไมไดมาจากขอมูลที่สามารถสั งเกตไดจากตลาด (ขอมูลที่ ไมสามารถสังเกตได)
ขอมูลเกี่ยวกับมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 24
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
171
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4
ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินจิ การประมาณการ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินิจ ไดมีการประเมินทบทวนอยางตอเนื่อง และอยูบนพื้นฐานของประสบการณในอดีต และปจจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณถึงเหตุการณในอนาคตที่เชื่อวามีเหตุผลในสถานการณขณะนั้น กลุมกิจการมีการประมาณการทางบัญชีและใชขอสมมติฐานที่เกี่ยวของกับเหตุการณในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชีอาจไมตรง กับ ผลที่เกิดขึ้น จริง ประมาณทางการบัญชีที่สําคัญและขอสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอยางเปนสาระสําคัญที่อาจเปนเหตุใหเกิด การปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหนา มีดังนี้ (ก)
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงิน ไดรอการตัดบัญชีเกิดจากผลแตกตางชั่วคราวบางรายการซึ่งมีความเปนไปไดคอนขางแนที่จะใชสิทธิ ประโยชนทางภาษี โดยการประมาณการของผูบริหาร ซึ่งมีขอสมมติฐานจากการคาดการณผลกําไรที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต และปรับปรุงดวยปจจัยความผันผวนภายนอกอยางอื่นที่คาดวาจะกระทบตอประมาณผลกําไรที่คาดวาจะเกิดขึ้น รวมทั้ง การพิจารณาการใชผลขาดทุนทางภาษีในอดีต ซึ่งผูบริหารไดพิจารณาดวยหลักความระมัดระวังรอบคอบ
(ข)
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน มูลคาปจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานขึ้นอยูกับหลายปจจัยที่ใชในการคํานวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย โดยมีขอสมมติฐานหลายตัว รวมถึงขอสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของขอสมมติฐานเหลานี้จะสงผลกระทบ ตอมูลคาของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน กลุมกิจการไดพจิ ารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสมในแตละป ซึ่งไดแกอัตราดอกเบี้ยที่ควรจะใชในการกําหนดมูลคาปจจุบันของ ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะตองจายภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ในการพิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสม กลุมกิจการพิจารณาใช อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่ตองจายชําระ ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ และมีอายุครบกําหนดใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตองจายชําระภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ที่เกี่ยวของ ขอสมมติฐานหลักอื่นๆสําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานอางอิงกับสถานการณปจจุบันในตลาด ขอมูลเพิ่มเติม เปดเผยในหมายเหตุ 25
(ค)
ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน และสินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนและสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ไดมา ตลอดจนการทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคต จากสินทรัพยหรือหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคํานวณหามูลคาปจจุบัน ของกระแสเงินสดนั้นๆ
PAGE
172 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 5
การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของกลุมกิจการในการบริหารทุนของกลุมกิจการนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่อ ง ของกลุมกิจการ เพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุน ที่เหมาะสมเพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลุมกิจการอาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน การคืนทุนใหแกผูถือหุน การออกหุนใหม หรือการขายทรัพยสินเพื่อลดภาระหนี้สนิ
6
การจัดประเภทรายการใหม ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูบริหารไดมกี ารพิจารณาจัดประเภทรายการใหมของตัวเลขเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและเฉพาะกิจการ สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม
ตามที่เคยรายงานไว บาท
เพิ่มขึน้ (ลดลง)จากการ จัดประเภทใหม ตามทีจ่ ัดประเภทใหม บาท บาท
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รายไดธุรกิจสือ่ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดอื่น
2,246,138,300 374,962,586 796,019,155 311,586,345 50,803,881
795,468,082 2,933,238,304 (2,246,138,300) (374,962,586) (796,019,155) (311,586,345) 747,323
795,468,082 2,933,238,304 51,551,204
คาใชจาย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร
(2,706,851,881) (207,026,213) (665,431,005)
(379,643,823) (2,323,358,482) 2,706,851,881 (138,093,081) 134,243,505
(379,643,823) (2,323,358,482) (345,119,294) (531,187,500)
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
173
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6
การจัดประเภทรายการใหม (ตอ) ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูบริหารไดมีการพิจารณาจัดประเภทรายการใหมของตัวเลขเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและเฉพาะกิจการ สรุปไดดังนี้ (ตอ) งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึน้ (ลดลง)จากการ ตามที่เคยรายงานไว จัดประเภทใหม ตามทีจ่ ัดประเภทใหม บาท บาท บาท งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รายไดธุรกิจสือ่ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดอื่น คาใชจาย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร
882,103,508 323,351,395 750,123,332 53,262,037 539,148,230
526,270,615 1,410,569,657 (882,103,508) (323,351,395) (750,123,332) (53,262,037) 72,027,945
526,270,615 1,410,569,657 611,176,175
(1,468,576,478) (70,550,083) (549,996,616)
(252,743,876) (1,215,832,602) 1,468,576,478 (70,415,357) 70,415,357
(252,743,876) (1,215,832,602) (140,965,440) (479,581,259)
PAGE
174
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 7
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม
เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร - ประเภทออมทรัพย - ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 3 เดือน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
10,952,337 87,138,053 5,658,917
6,804,963 677,505,069 72,800,736
7,869,942 15,066,493 803,356
4,056,559 441,841,839 72,711,710
12,651 103,761,958
1,019 757,111,787
23,739,791
1,019 518,611,127
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.10 ถึงรอยละ 0.62 ตอป (พ.ศ. 2558 : รอยละ 0.30 ถึงรอยละ 1.70 ตอป) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 3 เดือน) มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.37 ตอป (พ.ศ. 2558 : รอยละ ละ 0.90 ถึงรอยละ 1.00 ตอป) 8
เงินลงทุนระยะสั้น งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินฝากธนาคาร - ประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 12 เดือน)
-
4,522,302
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 12 เดือน) มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.00 ตอป
-
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
175
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ)
หมายเหตุ ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน หัก ลูกหนี้การคา บริษัทที่เกี่ยวของกันเกินป
35 ข)
ลูกหนี้อื่น - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน รายไดคางรับ - บริษัทอื่น เงินปนผลคางรับ เงินทดรองจาย- พนักงาน - บริษัทที่เกี่ยวของกัน 35 ข) ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน 35 ข) คาใชจายจายลวงหนา - บริษัทอื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น - ลูกหนี้อื่น - บริษัทอื่น - รายไดคางรับ - บริษัทอื่น - ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน
35 ข)
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
559,605,691 -
730,219,610 -
108,681,736 710,225,807
258,584,219 529,447,172
559,605,691 53,290,331 74,824,468 8,440,880 -
730,219,610 53,685,998 123,040,971 11,241,829 -
(291,364,640) 527,542,903 45,613,153 42,757,136 820,933 180,713
788,031,391 46,037,055 92,074,160 126,995,830 2,392,480 142,797
7,011 2,489,884 71,843,224 770,501,489
73,035,970 991,224,378
3,400 10,316,955 30,425,476 657,660,669
9,339,040 44,880,078 975,123,391
(63,415,499) (53,100,066) (3,928,842)
(60,499,530) (53,253,082) (1,760,103)
(36,688,994) (45,578,383) (3,928,842)
(36,194,460) (45,731,399) (1,760,103)
(2,489,884) (122,934,291)
(115,512,715)
(3,292,464) (89,488,683)
(2,787,070) (86,473,032)
647,567,198
875,711,663
568,171,986
1,023,419,799
PAGE
176 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) (ตอ) ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคาแยกตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ งบการเงินรวม
บริษัทอื่น ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
265,999,298 205,946,763 13,466,298 3,485,347 70,707,985 559,605,691
364,700,544 270,706,750 21,168,060 24,990,970 48,653,286 730,219,610
37,350,759 23,884,375 2,585,351 458,199 44,403,052 108,681,736
116,215,330 98,025,610 1,849,897 5,327,366 37,166,016 258,584,219
งบการเงินรวม
บริษัทที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
-
-
100,800,170 96,764,008 94,215,062 127,081,927 291,364,640 710,225,807
123,574,107 71,952,455 79,418,617 119,732,553 134,769,440 529,447,172
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ในงบเฉพาะกิจการมียอดลูกหนี้บริษัท ยอยคางนานเกินกวา 12 เดือน จํานวน 291,364,640 บาท ซึ่งเปนยอดคางชําระจากบริษัท อาร เอส เทเลวิชั่น จํากัด ทั้งจํานวน ผูบริหารพิจารณาวา แมวาบริษัทยอยนี้เปนบริษัทที่ดําเนินธุรกิจหลัก และสามารถสรางกระแสเงินสดรับใหแกกลุมกิจการ แตในชวงระยะแรกนี้ บริษัทยอยตองใชเงินทุนหมุนเวียนจํานวนมาก ผูบริหาร จึงไดประเมินความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัท ยอ ยนี้ รวมทั้งพิจารณาแผนการจายชําระเงินคืน ที่ไดรับ จากบริษัท ยอ ย ผูบริหารมีความมั่นใจในสามารถชําระคืนในที่สุด แตอยางไรก็ตาม ผูบริหารพิจารณาวาควรจัดรายการคางชําระของลูกหนี้บริษัท ยอยนี้เปนสินทรัพยไมหมุนเวียนและยังไมมีความจําเปนตองตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จนกวาจะมีการผิดนัดชําระตามแผน
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
177
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 10สินคาคงเหลือ (สุทธิ) งบการเงินรวม
สินคาสําเร็จรูปประเภทภาพยนตร และ เพลงในสื่อ เทป ซีดี วีซีดี ดีวีดี หนังแผน และ อื่น ๆ ผลิตภัณฑเสริมความงาม สินคาของที่ระลึก รวมสินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา : ภาพยนตรและอื่น ๆ เพลง รายการทีวี คอนเสิรตและกิจกรรมรับจางผลิต กิจกรรมอื่นๆ รวมงานระหวางทํา วัตถุดบิ กลองรับสัญญาณดาวเทียม เงินจายลวงหนาคาสินคา อื่น ๆ รวม สินคาคงเหลือ หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สินคาคงเหลือ (สุทธิ)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
622,273 108,872,773 1,288,288 110,783,334
5,367,046 52,920,879 17,020,844 75,308,769
622,273 1,288,288 1,910,561
5,366,428 17,020,844 22,387,272
1,516,529 6,352,480 1,004,404 8,873,413
1,325,560 3,527,445 1,201,787 6,054,792
1,516,529 869,418 2,385,947
30,000 1,015,065 1,045,065
64,614,658 1,829,625 1,622,942 187,723,972 (58,044,207) 129,679,765
2,463,875 79,498,003 2,591,000 37,667,926 203,584,365 (40,488,928) 163,095,437
4,296,508 (770,690) 3,525,818
2,463,876 33,108,161 59,004,374 (4,336,439) 54,667,935
ตนทุนของสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายและรวมอยูในตนทุนขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจํานวน 67,051,602 บาท และ 814,002 บาท (พ.ศ. 2558 : 333,812,861 บาท และ 241,197,573 บาท) ตามลําดับ กลุมบริษัทตั้งเพิ่มคาเผื่อสินคาคงเหลือที่เคยรับรูในงบการเงินรวมเปนจํานวน 17,555,279 บาท และกลับรายการคาเผื่อสินคาคงเหลือที่ เคยรับรูในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจํานวน 3,565,749 บาท (พ.ศ. 2558 : ตั้งเพิ่มเปนจํานวน 29,915,367 บาท และกลับรายการ เปนจํานวน 3,630,215 บาท) ตามลําดับ ในราคาทุนเดิมจํานวนที่กลับรายการไดรวมอยูในตนทุนขายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
PAGE
178 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 11
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินมัดจํา เงินประกัน อืน่ ๆ หัก คาเผื่อการดอยคา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ)
12
600,000 260,698 657,256 1,517,954 (34,488) 1,483,466
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
94,431,832 2,595,375 1,438,282 98,465,489 (480,802) 97,984,687
361,392 361,392 (34,488) 326,904
94,431,832 1,721,219 1,056,592 97,209,643 (480,802) 96,782,841
เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวย สัดสวนการถือหุน ชื่อบริษัท บริษัทยอยที่ดําเนินธุรกิจ บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติง้ แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัทยอยทีห่ ยุดดําเนินธุรกิจ บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริษทั บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด
พ.ศ. 2559 รอยละ
พ.ศ. 2558 รอยละ
ลักษณะธุรกิจ
จดทะเบียนใน
ใหบริการสื่อโทรทัศนในระบบดิจิตอล ใหบริการสื่อโฆษณาและจําหนายผลิตภัณฑ เสริมความงาม ใหบริการสื่อวิทยุ จัดเก็บคาลิขสิทธ
ประเทศไทย
100
100
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย
100 100 100
100 100 100
รับจางจัดกิจกรรม ผลิตรายการโทรทัศน
ประเทศไทย ประเทศไทย
100 100
100 100
ใหบริการและรับจางจัดกิจกรรมดานการกีฬา รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม ผลิตรายการโทรทัศน
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย
83 100 100 100 100
83 100 100 100 -
รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม รับจางผลิตรายการโทรทัศนและกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม ผลิตเพลงลูกทุง สื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ จัดจําหนายภาพยนตและรับจางผลิตภาพยนต รับจัดคอนเสิรตและกิจกรรมตาง ๆ ใหบริการเชาสนามฟุตบอล
ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย
100 65 76 100 100 100 100 100
100 65 76 100 100 100 100 100
12
บริษัทยอยที่ดําเนินธุรกิจ บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด รวม
-
80,000,000 80,000,000 80,000,000 80,000,000 (76,069,917) (75,877,273) 3,930,083 4,122,727 2,500,000 2,500,000 2,499,300 2,499,300 (2,499,300) 2,499,300 7,495,401 1,000,000 852,193 852,193 697,000,000 596,000,000 825,793,779 724,941,586 (256,926,105) (260,135,868) 568,867,674 464,805,718 122,813,200 368,283,036
57,374,954 69,198,062 183,064,874 8,294,005 12,635,984 193,973 498,930 631,889 608,693
-
37,500,000 37,500,000 191,250,000 191,250,000 (154,567,097) (154,938,192) 36,682,903 36,311,808 37,000,000 37,000,000 32,775,000 32,775,000 (26,289,091) (26,821,103) 6,485,909 5,953,897 25,000,000 25,000,000 5,199,993 5,199,993 5,199,993 5,199,993 5,000,000 5,000,000 4,999,400 4,999,400 4,999,400 4,999,400 5,000,000 5,000,000 4,009,993 4,009,993 4,009,993 4,009,993 4,000,000 4,000,000 3,999,300 3,999,300 3,999,300 3,999,300
-
300,209,300 200,209,300
36,999,870 114,099,601
-
200,000,000 200,000,000 199,999,300 199,999,300
-
มูลคาตามบัญชี เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 29) พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท
199,999,300 199,999,300
-
วิธีราคาทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการดอยคา พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
300,000,000 200,000,000 300,209,300 200,209,300
ทุนชําระแลว พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)
เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
179
12
รวมทั้งสิ้น
บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม
บริษัทยอยที่หยุดดําเนินธุรกิจ บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด** บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด* บริษัท อาวอง จํากัด* บริษัท อาร สยาม จํากัด* บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบวิ ชั่น จํากัด* 5,000,000 30,000,000 3,000,000 4,000,000 1,000,000 4,500,000 5,000,000 15,000,000 67,500,000
พ.ศ. 2558 บาท 4,999,300 19,499,300 2,667,595 27,166,195
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
4,999,300 7,755,501 2,777,326 395,704 999,300 16,927,131
พ.ศ. 2558 บาท
มูลคาตามบัญชี
4,999,300 4,999,300 19,499,300 (12,004,681) (11,743,799) 7,494,619 2,999,300 (221,974) 3,999,300 (3,603,596) 999,300 2,667,595 (2,667,595) (2,667,595) 4,999,300 (4,999,300) 33,800,530 (33,800,530) 73,963,925 (14,672,276) (57,036,794) 12,493,919
พ.ศ. 2558 บาท
วิธีราคาทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการดอยคา
-
พ.ศ. 2559 บาท
1,295,819 1,295,819
พ.ศ. 2558 บาท
เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 29)
749,500,000 663,500,000 852,959,974 798,905,511 (271,598,381) (317,172,662) 581,361,593 481,732,849 122,813,200 369,578,855
5,000,000 30,000,000 3,000,000 4,000,000 1,000,000 4,500,000 5,000,000 52,500,000
พ.ศ. 2559 บาท
ทุนชําระแลว
เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)
เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
180
12
บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติง้ แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด เปนบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมไม เปนสาระสําคัญ ดังนั้น บริษัทจึงไมไดเปดเผยขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยดังกลาว
-
-
-
เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2559 บริษัททําสัญญาซื้อขายหุนกับบริษัท นาโนไลฟ จํากัด เพื่อซื้อหุนสามัญทั้งหมดของบริษัทเปนจํานวนทั้งหมด 100,000 หุน เปนจํานวนเงิน 107,208 บาท บริษัทไดรับการโอนหุน และบันทึกในทะเบียนผูถือหุนของบริษัท นาโนไลฟ จํากัด วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัท นาโนไลฟ จํากัด ไดทําการเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด เรียกเก็บชําระคาหุนเพิ่มหุนละ 7.45 บาท เปนจํานวนเงิน 745,000 บาท สําหรับหุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ในระหวางปบริษัทยอยที่หยุดดําเนินการแลว ไดมีการดําเนินการจดทะเบียนขอยกเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย โดยบริษัท อาวอง จํากัด จดทะเบียนขอยกเลิกเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 สวนบริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด, บริษัท อาร สยาม จํากัด และบริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด จดทะเบียนขอยกเลิกเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ดังนั้น นับตั้งแตวันที่จดทะเบียนยกเลิกกิจการ ขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยทั้ง 4 แหงนี้ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวมสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด เปนบริษัทยอยทีอ่ ยูภายใตกระบวนการลมละลายและไดถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด ดังนั้นขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยนี้ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวมสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดังนี้
-
บริษัทยอยดังกลาวขางตนไดรวมอยูในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุมกิจการ สัดสวนของสิทธิในการออกเสียงในบริษัทยอยโดยบริษัทใหญ ไมแตกตางจากสัดสวนที่ถือหุนสามัญ บริษัทใหญไมไดถือหุนบุริมสิทธิ ของบริษัทยอยที่รวมอยูในกิจการ
* การชําระบัญชีเสร็จแลว **เลิกกิจการและอยูในระหวางการชําระบัญชี
เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)
เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
181
PAGE
182 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) งบการเงินรวม บาท
ชื่อบริษัท
ธุรกิจหลัก
บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด
รับจางจัดกิจกรรม
รอยละ
ทุนที่ออกและเรียกชําระ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 20,000,000
20,000,000
สัดสวนการถือหุนของบริษัท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 25.00
25.00
งบการเงินรวม เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนตามวิธีราคาทุน
เงินลงทุนในบริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด หัก คาเผื่อการดอยคา เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ)
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
4,103,678 4,103,678
5,102,753 5,102,753
6,303,621 (2,199,943) 4,103,678
6,303,621 (1,200,868) 5,102,753
เงินลงทุนในบริษัทรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม
ราคาตามบัญชีสุทธิตนป สวนแบงขาดทุนสําหรับป ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
5,102,753 (999,075) 4,103,678
5,406,090 (303,337) 5,102,753
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
183
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) (ตอ) ขอมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินสําหรับบริษัท บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด ซึ่งปฏิบัติตามวิธีสวนไดเสีย แสดงดังตอไปนี้ งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพยสุทธิ
15,777,710 711,596 16,489,306
16,056,439 150,000 16,206,439
74,598 74,598
73,370 73,370
16,414,708
16,133,069
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท รายได
690,512
20,257,504
กําไรกอนภาษี คาใชจาย/รายไดภาษีเงินได
371,505 (74,598)
336,408 (70,612)
กําไรสุทธิ
296,907
265,796
74,227
66,449
สวนไดเสียตามสัดสวนการถือหุนของบริษัท
14
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม
ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม
อาคารและอุปกรณ (สุทธิ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
33,252,931 (31,031,907) 2,221,024
3,511,380 626,301 660,000 (1,773,491) 1,601,079 (2,404,245) 2,221,024
33,740,121 (30,228,741) 3,511,380
อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา
204,163,870 (139,565,089) 64,598,781
84,909,536 12,299,896 840,000 (23,216,678) 16,092,820 (26,326,793) 64,598,781
214,240,652 (129,331,116) 84,909,536
อุปกรณ
452,174,882 (251,585,725) 200,589,157
196,334,851 48,639,920 6,806,439 (18,561,323) 17,100,504 (49,731,234) 200,589,157
415,289,846 (218,954,995) 196,334,851
52,595,041 (23,029,475) 29,565,566
22,420,962 12,517,009 (392,523) 392,522 (5,372,404) 29,565,566
40,470,555 (18,049,593) 22,420,962
งบการเงินรวม (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
87,041,739 87,041,739
81,053,828 14,294,350 (8,306,439) 87,041,739
81,053,828 81,053,828
งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง
829,228,463 (445,212,196) 384,016,267
388,230,557 88,377,476 (43,944,015) 35,186,925 (83,834,676) 384,016,267
784,795,002 (396,564,445) 388,230,557
รวม
PAGE
184
14
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสือ่ มราคาสะสม
ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม
อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
34,189,065 (33,251,677) 937,388
2,221,024 936,134 (2,219,770) 937,388
33,252,931 (31,031,907) 2,221,024
อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา
413,058,761 (163,864,516) 249,194,245
64,598,781 30,435,461 181,301,135 (896,675) 886,200 (1,945,030) 1,944,961 (27,130,588) 249,194,245
204,163,870 (139,565,089) 64,598,781
อุปกรณ
483,579,834 (304,314,484) 179,265,350
200,589,157 33,075,750 9,888,830 (8,852,394) 8,543,680 (2,707,234) 2,677,146 (63,949,585) 179,265,350
452,174,882 (251,585,725) 200,589,157
67,181,399 (23,692,427) 43,488,972
29,565,566 31,670,517 (15,669,500) 9,458,640 (1,414,659) 990,261 (11,111,853) 43,488,972
52,595,041 (23,029,475) 29,565,566
งบการเงินรวม (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
160,394 160,394
87,041,739 104,308,620 (191,189,965) 160,394
87,041,739 87,041,739
งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง
998,169,453 (525,123,104) 473,046,349
384,016,267 200,426,482 (25,418,569) 18,888,520 (6,066,923) 5,612,368 (104,411,796) 473,046,349
829,228,463 (445,212,196) 384,016,267
รวม
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
185
14
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม
ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม
อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
25,503,343 (23,631,509) 1,871,834
2,997,504 772,401 660,000 (221,747) 112,718 (2,449,042) 1,871,834
24,292,689 (21,295,185) 2,997,504
อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา
129,808,764 (74,962,341) 54,846,423
77,139,911 6,178,500 840,000 (16,713,419) 10,791,395 (234,500) 142,714 (23,298,178) 54,846,423
139,738,183 (62,598,272) 77,139,911
อุปกรณ
423,027,969 (233,453,807) 189,574,162
191,291,800 37,951,774 6,806,439 (11,267,070) 11,022,922 (500,100) 191,851 (45,923,454) 189,574,162
390,036,926 (198,745,126) 191,291,800
47,557,771 (21,716,107) 25,841,664
17,689,607 12,517,009 (392,523) 392,522 (4,364,951) 25,841,664
35,433,285 (17,743,678) 17,689,607
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
86,602,858 86,602,858
81,053,828 13,855,469 (8,306,439) 86,602,858
81,053,828 81,053,828
งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง
712,500,705 (353,763,764) 358,736,941
370,172,650 71,275,153 (28,373,012) 22,206,839 (956,347) 447,283 (76,035,625) 358,736,941
670,554,911 (300,382,261) 370,172,650
รวม
PAGE
186
14
1,871,834 936,134 (2,112,343) 695,625 26,439,477 (25,743,852) 695,625
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป - ตามที่ปรับใหม ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสือ่ มราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ
346,459,529 (100,189,325) 246,270,204
54,846,423 35,729,931 181,301,135 (337,301) 333,747 (43,000) 43,000 (25,603,731) 246,270,204
129,808,764 (74,962,341) 54,846,423
อุปกรณ
440,586,617 (277,784,955) 162,801,662
189,574,162 31,400,050 8,537,150 (21,151,281) 14,568,736 (1,227,272) 1,214,344 (60,114,227) 162,801,662
423,027,969 (233,453,807) 189,574,162
62,141,057 (21,369,437) 40,771,620
25,841,664 31,670,239 (15,672,294) 9,460,727 (1,414,659) 990,261 (10,104,318) 40,771,620
47,557,771 (21,716,107) 25,841,664
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ
160,394 160,394
86,602,858 103,395,821 (189,838,285) 160,394
86,602,858 86,602,858
งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง
875,787,074 (425,087,569) 450,699,505
358,736,941 203,132,175 (37,160,876) 24,363,210 (2,684,931) 2,247,605 (97,934,619) 450,699,505
712,500,705 (353,763,764) 358,736,941
รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณซึ่งหักคาเสื่อมราคาทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยูในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีจํานวนเงินทั้งสิ้น 209,801,826 บาท และ 177,518,206 บาท (พ.ศ. 2558 : 197,007,572 บาท และ 164,116,445 บาท) ตามลําดับ
25,503,343 (23,631,509) 1,871,834
อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ - ตามที่ปรับใหม
อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
187
PAGE
188 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14
อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ) สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและบริษัทยอยเปนผูเชา ซึ่งรวมแสดงในรายการขางตนประกอบดวย รถยนต มีมูลคา ตามบัญชีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
ราคาทุนของสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน หัก คาเสื่อมราคาสะสม มูลคาสุทธิตามบัญชี 15
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
60,153,041 (12,877,093) 47,275,948
27,439,701 (12,303,902) 15,135,799
60,153,041 (12,877,093) 47,275,948
27,439,701 (12,303,902) 15,135,799
ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) รายการเคลื่อนไหวของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม
มูลคาเทียบเทาเงินสด (มูลคาปจจุบัน) หัก คาตัดจําหนายสะสม
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
2,030,326,376 (363,894,963) 1,666,431,413
2,030,326,376 (228,268,123) 1,802,058,253
เมื่อ วัน ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 บริ ษัท ยอ ยแหงหนึ่ ง (“บริษั ท อารเ อส เทเลวิชั่น จํากัด ”) ไดรับใบอนุ ญาตใหใชคลื่ นความถี่ และประกอบกิจการโทรทัศนเพื่อใหบริการโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติในหมวดหมูทั่วไป แบบความคมชัดปกติ ในราคาประมูล 2,265 ลานบาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สําหรับระยะเวลา 15 ป (เริ่มตั้งแตวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 ถึงวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2572)
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
189
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15
ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) (ตอ) บริษัทยอยดังกลาวจะตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่โดยแยกชําระ ดังนี้ 1) คาธรรมเนี ยมใบอนุ ญาตในสวนของราคาขั้น ต่ําจํานวน 380 ลานบาท แบงชําระ 4 งวด ภายใน 3 ป (วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560) นับแตวันที่ไดรับใบอนุญาตตามเงื่อนไขที่ กสทช. กําหนด 2) คาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เกินกวาราคาขั้นต่ําจํานวน 1,885 ลานบาท แบงชําระ 6 งวด ภายใน 5 ป (วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562) นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตตามเงื่ อ นไขที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย งกิ จ การโทรทั ศ น แ ละกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ (“กสทช”)กําหนด 3) วางหนังสือค้ําประกันการชําระคืนคาธรรมเนียมสวนที่เหลือจากการจายชําระใหกับ กสทช. ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หนังสือค้ําประกันดังกลาวมียอดคงเหลือจํานวน 1,251 ลานบาท (พ.ศ. 2558 : 1,695 ลานบาท) 4) ตารางแสดงภาระผูกพันที่ตองจายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ มีดังนี้ คาธรรมเนียม ใบอนุญาตใน สวนของราคาขั้นต่ํา จํานวนเงิน งวดการจายชําระ ลานบาท 1 2 3 4 5 6 รวม
คาธรรมเนียมใบอนุญาต ในสวนที่เกินขั้นต่ํา จํานวนเงิน ลานบาท
รวม ลานบาท
190.0 114.0 38.0 38.0 -
188.5 188.5 377.0 377.0 377.0 377.0
378.5 302.5 415.0 415.0 377.0 377.0
380.0
1,885.0
2,265.0
บริษัทยอยบันทึกใบอนุญาตดังกลาว ณ วันที่ไดรับสิทธิดวยมูลคาเทียบเทาเงินสด (มูลคาปจจุบัน)
วันที่ครบกําหนดชําระ 11 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
PAGE
190 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15
ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันที่จะตองจายคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท ราคาตามบัญชีสุทธิตนป จายชําระ ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
1,584,000,000 (415,000,000) 1,169,000,000
พ.ศ. 2558 บาท 1,886,500,000 (302,500,000) 1,584,000,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทยอยมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนที่ตองจาย หัก ดอกเบี้ยในอนาคต หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
1,169,000,000 (63,081,162) 1,105,918,838 (378,075,913) 727,842,925
พ.ศ. 2558 บาท 1,584,000,000 (116,406,400) 1,467,593,600 (361,674,762) 1,105,918,838
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 จํานวนเงินที่ตองจายชําระมีดังนี้
กําหนดชําระภายใน 1 ป 2 - 5 ป
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท 415,000,000 754,000,000 1,169,000,000
พ.ศ. 2558 บาท 415,000,000 1,169,000,000 1,584,000,000
เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559 คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ออกคําสั่งตามมาตรา 44 เรื่อง มาตรการสงเสริมการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชนสาธารณะ โดยใหผูรับใบอนุญาตรายใดไมสามารถปฏิบัติ ตามหลักเกณฑการชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เหลือ ตั้งแต งวดที่สี่เปน ตน ไป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กําหนดเริ่มแรก แจงเปนหนังสือไปยัง กสทช. ลวงหนากอนวันครบกําหนดชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามที่กําหนดไวใน ประกาศ ในกรณีที่ กสทช. พิจารณาแลวเห็นเปนการสมควร ก็ใหผูรับใบอนุญาตรายนั้นชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เหลือ ทั้งหมดตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดไวในคําสั่งนี้ ซึ่งกําหนดใหขยายการชําระคาธรรมเนียมใบอนญาตในสวนที่เหลือ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุมกิจการกําลังอยูในระหวางกระบวนการการพิจารณาสําหรับการชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่ดังกลาวแก กสทช.
16
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา
ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย โอนงานระหวางติดตั้ง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 31) คาเผื่อดอยคา
ราคาตามบัญชีสุทธิ
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา
สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ)
295,821,750 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,796
70,480,268 5,947,262 (299,999) (15,802,735) 60,324,796
289,874,488 (82,403,675) (136,990,545) 70,480,268
คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,045,856,452 (672,515,495) (174,242,368) 199,098,589
52,820,472 301,285,508 (4,999,972) 4,999,988 (155,007,407) 199,098,589
749,570,916 (522,508,076) (174,242,368) 52,820,472
ตนทุนการผลิต ละครและ ภาพยนตร
102,189,180 (55,323,744) (1,544,808) 45,320,628
181,025,912 9,658,574 (720,258,500) 719,727,589 (162,534,931) 17,701,984 45,320,628
812,789,106 (612,516,402) (19,246,792) 181,025,912
โปรแกรม คอมพิวเตอร และอื่นๆ
งบการเงินรวม (บาท)
18,827,184 18,827,184
68,306,223 255,162,813 (307,232,770) 2,590,918 18,827,184
70,897,141 (2,590,918) 68,306,223
ตนทุน ระหวางทํา
1,462,694,566 (810,542,913) (328,580,456) 323,571,197
372,632,875 264,821,387 (725,258,472) 724,727,577 (317,842,337) 4,490,167 323,571,197
1,923,131,651 (1,217,428,153) (333,070,623) 372,632,875
รวม
295,821,790 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,836
70,480,308 5,947,262 (299,999) (15,802,735) 60,324,836
289,874,528 (82,403,675) (136,990,545) 70,480,308
คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง
624,028,723 (451,074,954) (166,242,356) 6,711,413
11,292,611 (4,581,198) 6,711,413
624,028,723 (446,493,756) (166,242,356) 11,292,611
ตนทุนการผลิต ละครและ ภาพยนตร
92,759,077 (50,288,870) 42,470,207
44,171,234 6,871,539 (725,000) 224,321 (8,071,887) 42,470,207
86,612,538 (42,441,304) 44,171,234
โปรแกรม คอมพิวเตอร และอื่นๆ
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)
160,000 160,000
2,094,546 4,012,716 (5,947,262) 160,000
2,094,546 2,094,546
ตนทุน ระหวางทํา
1,012,769,590 (584,067,498) (319,035,636) 109,666,456
128,038,699 10,884,255 (725,000) 224,321 (12,953,084) (15,802,735) 109,666,456
1,002,610,335 (571,338,735) (303,232,901) 128,038,699
รวม
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
191
16
60,324,796 4,501,408 (60,000) (15,460,045) 49,306,159
300,323,158 (82,763,674) (168,253,325) 49,306,159
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย โอนงานระหวางติดตั้ง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 31) คาเผื่อดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิ 1,363,547,074 (890,886,422) (173,935,124) 298,725,528
199,098,589 317,690,622 (218,370,927) 307,244 298,725,528
1,045,856,452 (672,515,495) (174,242,368) 199,098,589
142,470,832 (64,718,522) (1,544,808) 76,207,502
45,320,628 40,917,373 (635,721) 634,278 (10,029,056) 76,207,502
102,189,180 (55,323,744) (1,544,808) 45,320,628
งบการเงินรวม (บาท) ตนทุนการผลิต โปรแกรม ละครและ คอมพิวเตอร ภาพยนตร และอื่นๆ
127,370,987 127,370,987
18,827,184 426,234,425 (317,690,622) 127,370,987
18,827,184 18,827,184
ตนทุน ระหวางทํา
1,933,712,051 (1,038,368,618) (343,733,257) 551,610,176
323,571,197 471,653,206 (635,721) 634,278 (228,459,983) (15,152,801) 551,610,176
1,462,694,566 (810,542,913) (328,580,456) 323,571,197
รวม
300,323,198 (82,763,674) (168,253,349) 49,306,175
60,324,836 4,501,408 (60,000) (15,460,069) 49,306,175
295,821,790 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,836
คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง
624,028,723 (454,207,533) (166,242,356) 3,578,834
6,711,413 160,000 (160,000) (3,132,579) 3,578,834
624,028,723 (451,074,954) (166,242,356) 6,711,413
131,828,319 (59,734,038) 72,094,281
42,470,207 39,198,503 (117,040) 14,744 (12,221) 10,793 (9,470,705) 72,094,281
92,759,077 (50,288,870) 42,470,207
17,192,000 17,192,000
160,000 17,192,000 (160,000) 17,192,000
160,000 160,000
งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) ตนทุนการผลิต โปรแกรม ละครและ คอมพิวเตอร ตนทุน ภาพยนตร และอื่นๆ ระหวางทํา
1,073,372,240 (596,705,245) (334,495,705) 142,171,290
109,666,456 60,891,911 (277,040) 14,744 (12,221) 10,793 (12,663,284) (15,460,069) 142,171,290
1,012,769,590 (584,067,498) (319,035,636) 109,666,456
รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีกอนหักคาตัดจําหนายสินทรัพยของสินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งหักคาตัดจําหนายทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยู ในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมี จํานวนทั้งสิ้น 79,360,064 บาท และ 78,955,164 บาท (พ.ศ. 2558 : 59,252,293 บาท และ 56,842,014 บาท) ตามลําดับ
295,821,750 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,796
คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง
ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิ
สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
192
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
193
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 17
ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย (สุทธิ) งบการเงินรวม
ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย หัก คาเผื่อภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย ที่คาดวาจะไมไดรับคืน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
131,947,576
139,765,951
55,838,141
69,548,760
(7,867,463) 124,080,113
(9,228,415) 130,537,536
55,838,141
69,548,760
ในระหว า งป ก ลุ ม บริ ษัท ได รั บ เงิน ภาษี เ งิ น ได ถู ก หั ก ณ ที่ จ า ยคืน ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การเป น จํ า นวน 61,886,965 บาท และ 37,010,317 บาท (พ.ศ. 2558 : 12,297,788 บาท และ 12,297,788 บาท) ตามลําดับ 18
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะใชประโยชนภายใน 12 เดือน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะใชประโยชนเกินกวา 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะจายชําระภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะจายชําระเกินกวา 12 เดือน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
98,614,369
111,228,506
15,091,755
38,945,349
206,682,177 305,296,546
117,413,048 228,641,554
81,162,071 96,253,826
70,448,204 109,393,553
898,031
(77,800)
898,031
(77,800)
(2,576,919) (1,678,888)
(543,375) (621,175)
(2,576,919) (1,678,888)
(543,375) (621,175)
303,617,658
228,020,379
94,574,938
108,772,378
PAGE
194
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือตนป เพิ่มในงบกําไรขาดทุน ยอดคงเหลือปลายป
228,020,379 75,597,279 303,617,658
117,360,680 110,659,699 228,020,379
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 108,772,378 (14,197,440) 94,574,938
88,366,146 20,406,232 108,772,378
สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีแสดงรายการสุทธิตามหนวยภาษีในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ดังนี้ งบการเงินรวม
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
303,617,658 303,617,658
228,020,379 228,020,379
94,574,938 94,574,938
108,772,378 108,772,378
18
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)
หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ทรัพยสินภายใตสัญญาเชาการเงิน รวมหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมมีตัวตน ประมาณการรับคืนสินคา คาเผื่อสินคาลาสมัย หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ขาดทุนสะสมทางภาษี คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน คาเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ รวมสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (1,057,713) (1,057,713) 75,597,279
228,020,379
5,819,641 (63,408) (2,494,789) 3,511,055 115,958 7,590,414 2,482,709 59,530,803 (1,787,016) 1,949,625 76,654,992
(621,175) (621,175)
13,282,224 39,592,323 2,873,175 9,069,298 2,336,066 18,470,404 17,109,150 83,513,917 42,394,997 228,641,554
1 มกราคม พ.ศ. 2559 บาท
งบการเงินรวม เพิ่ม(ลด)ใน ) งบกําไรขาดทุน บาท
303,617,658
(1,678,888) (1,678,888)
19,101,865 39,528,915 378,386 12,580,353 2,452,024 26,060,818 19,591,859 143,044,720 40,607,981 1,949,625 305,295,546
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท
108,772,378
(621,175) (621,175)
8,396,278 13,079,936 2,873,175 867,288 2,336,066 14,962,658 24,483,155 42,394,997 109,393,553
(14,197,440)
(1,057,713) (1,057,713)
5,748,855 (7,812,479) (2,873,175) (713,150) 115,958 1,855,798 (9,624,143) (1,787,016) 1,949,625 (13,139,727)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม เพิ่ม(ลด)ใน ) พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุน บาท บาท
รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
94,574,938
(1,678,888) (1,678,888)
14,145,133 5,267,457 154,138 2,452,024 16,818,456 14,859,012 40,607,981 1,949,625 96,253,826
31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
195
18
5,674,026 (621,175) 5,052,851 110,659,699
(5,674,026) (5,674,026) 117,360,680
หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมมีตัวตน ทรัพยสินภายใตสัญญาเชาการเงิน รวมหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)
5,321,548 5,008,237 (4,473,812) 6,605,958 2,336,066 10,281,477 4,038,854 34,093,523 42,394,997 105,606,848
7,960,676 34,584,086 7,346,987 2,463,340 8,188,927 13,070,296 49,420,394 123,034,706
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมมีตัวตน ประมาณการรับคืนสินคา คาเผื่อสินคาลาสมัย หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ขาดทุนสะสมทางภาษี คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน รวมสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี
1 มกราคม พ.ศ. 2558 บาท
งบการเงินรวม เพิ่ม(ลด)ใน ) งบกําไรขาดทุน บาท
228,020,379
(621,175) (621,175)
13,282,224 39,592,323 2,873,175 9,069,298 2,336,066 18,470,404 17,109,150 83,513,917 42,394,997 228,641,554
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
88,366,146
-
7,737,854 25,831,526 7,346,987 1,379,939 11,341,447 34,728,393 88,366,146
20,406,232
(621,175) (621,175)
658,424 (12,751,590) (4,473,812) (512,651) 2,336,066 3,621,211 (10,245,238) 42,394,997 21,027,407
งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม เพิ่ม(ลด)ใน ) พ.ศ. 2558 งบกําไรขาดทุน บาท บาท
รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ (ตอ)
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
108,772,378
(621,175) (621,175)
8,396,278 13,079,936 2,873,175 867,288 2,336,066 14,962,658 24,483,155 42,394,997 109,393,553
31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท
PAGE
196
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
197
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) งบการเงินรวม
เงินมัดจํา เงินประกัน หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินประกัน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) 20
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
557,673 39,788,130 40,345,803 (9,485,877) 30,859,926
557,673 40,757,901 41,315,574 (10,049,685) 31,265,889
557,673 31,242,131 31,799,804 (4,085,877) 27,713,927
557,673 31,108,243 31,665,916 (3,546,027) 28,119,889
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
35 ค)
130,421,797 35,312,967 3,720,985
168,813,426 24,213,770 3,598,412
40,453,007 25,247,406 28,804,620 3,651,447
67,251,140 113,953,850 22,710,528 3,465,566
35 ค)
132,067,313 -
704,803,756 -
31,812,878 40,504,358
619,064,055 51,594,944
35 ค)
202,490,061 -
228,498,470 -
59,624,854 997,996
86,988,338 -
35 ค)
62,034,949 -
205,987,287 -
28,537,698 -
71,067,871 20,051,654
35 ค)
361,939 -
401,631
130,356
4,030,369 264,066,264
65,714,940 1,121,993,242
หมายเหตุ เจาหนี้การคา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน รายไดรับลวงหนา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย - คานายหนาและคาใชจาย สงเสริมการขายคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - คาใชจายโครงการคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - ดอกเบี้ยคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - คาใชจายคางจายอื่นๆ - บริษัทอืน่
งบการเงินเฉพาะกิจการ
35 ค)
22,706,444 589,116,455
83,458,705 1,419,373,826
PAGE
198 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 21
หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (สุทธิ) งบการเงินรวม
หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก ดอกเบี้ยในอนาคตของสัญญาเชาการเงิน หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
38,965,125 (2,595,492) 36,369,633 (11,667,631) 24,702,002
14,153,197 (1,081,707) 13,071,490 (5,865,272) 7,206,218
38,965,125 (2,595,492) 36,369,633 (11,667,631) 24,702,002
14,153,197 (1,081,707) 13,071,490 (5,865,272) 7,206,218
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 จํานวนเงินที่ตองจายสําหรับสัญญาเชาการเงินขางตน มีดังนี้ งบการเงินรวม
ภายใน 1 ป เกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป
22
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
13,025,844 25,939,281 38,965,125
6,432,135 7,721,062 14,153,197
13,025,844 25,939,281 38,965,125
6,432,135 7,721,062 14,153,197
เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม ประเภทของเงินกูยืมระยะสัน้ ตั๋วสัญญาใชเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
706,000,000
-
598,000,000
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ตั๋วสัญญาใชเงินที่ตออายุไดในสกุลเงินบาท มีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืม ประมาณรอยละ 3.10 ตอป ถึงอัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.60 ตอป เงินกูคงเหลือพรอมดอกเบี้ยมีกําหนดชําระคืนในระหวางเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
199
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22
เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ตอ) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม ตั๋วสัญญาใชเงิน ราคาตามบัญชีสุทธิตนงวด/ป เงินกูยืมเพิ่ม ชําระคืนเงินกูยืม ราคาตามบัญชีสุทธิปลายงวด/ป
23
พ.ศ. 2559 บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2558 บาท
3,046,000,000 (2,340,000,000) 706,000,000
-
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
2,573,000,000 (1,975,000,000) 598,000,000
-
ภาษีมูลคาเพิ่ม งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีซ้อื ยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีมูลคาเพิ่มรอรับคืน
(88,179,440) 60,418,191 51,429,249 23,668,000
(95,525,631) 61,766,158 26,277,490 (7,481,983)
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท (52,906,013) 3,065,294 16,132,851 (33,707,868)
(46,430,213) 11,265,888 8,733,664 (26,430,661)
ภาษีมูลคาเพิ่มแสดงรายการสุทธิตามหนวยภาษี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ดังนี้ งบการเงินรวม
ภาษีมูลคาเพิ่ม (สินทรัพย) ภาษีมูลคาเพิ่ม (หนี้สิน)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
67,630,189 (43,962,189) 23,668,000
40,928,458 (48,410,441) (7,481,983)
(33,707,868) (33,707,868)
(26,430,661) (26,430,661)
PAGE
200 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24
เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีรายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 กูเพิ่มระหวางป จายชําระคืนเงินกูยืมระหวางป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
444,060,000 444,060,000
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมีวงเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน แหงหนึ่งจํานวน 1.60 พัน ลานบาท อัตรา ดอกเบี้ย MLR ลบดวยรอยละคงที่ตามสัญญา โดยชําระคืนเงินตนงวดแรกในวันครบกําหนดระยะเวลา 25 เดือนนับจากวันเบิกเงินกู ครั้งแรกในวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และงวดตอไป ชําระเปนรายไตรมาส ทั้งนี้ กําหนดชําระคืนดอกเบี้ยทั้งหมดภายใน 96 เดือน นับตั้งแตวันเบิกเงินกูครั้งแรก อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
รอยละ 4.25
-
รอยละ 4.25
-
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
201
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24
เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ตอ) ราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาว มีดังนี้ งบการเงินรวม ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
444,060,000 444,060,000
-
มูลคายุติธรรม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 444,060,000 444,060,000
-
มูลคายุติธรรมของเงินกูยืมสวนที่หมุนเวียนมีมูล คาเทากับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไมมีสาระสํา คัญ มูลคายุติธรรมคํานวณจากกระแสเงินสดในอนาคตซึ่งคิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมที่อัตรารอยละ 4.25 (พ.ศ. 2558 : ไมมี) และ อยูในขอมูลระดับ 2 ของลําดับขั้นมูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กําหนดระยะเวลาชําระคืนเงินตนของเงินกูยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงินสรุปได ดังนี้ งบการเงินรวม ถึงกําหนดชําระภายในปสิ้นสุด ครบกําหนดชําระภายในไมเกิน 1 ป ครบกําหนดชําระเกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป ครบกําหนดชําระหลังจาก 5 ป
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
360,000,000 84,060,000 444,060,000
-
PAGE
202 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 25
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม
งบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
97,959,294
85,545,748
84,092,281
74,813,289
รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวระหวางปมีดังนี้ งบการเงินรวม
ยอดตนป ตนทุนบริการปจจุบนั ตนทุนบริการในอดีต ตนทุนดอกเบี้ย ยอดปลายป
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
85,545,748 9,626,100 2,787,446 97,959,294
65,351,484 9,114,836 8,591,010 2,488,418 85,545,748
74,813,289 7,036,956 2,242,036 84,092,281
56,707,234 8,011,683 7,930,865 2,163,507 74,813,289
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด อัตราเงินเฟอ อัตราการเพิ่มของเงินเดือน
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
รอยละ 3.50 รอยละ 3.00 รอยละ 7.00 - 7.50
รอยละ 3.50 รอยละ 3.00 รอยละ 7.00 - 7.50
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
203
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 25
ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (ตอ) การวิเคราะหความออนไหวของขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) งบการเงินรวม พ.ศ.2559 พ.ศ.2558 บาท บาท
การเปลี่ยนแปลงใน ขอสมมติฐาน อัตราคิดลด อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มของเงินเดือน อัตราการเพิ่มของเงินเดือน อัตราการลาออก อัตราการลาออก
เพิ่มขึ้นรอยละ 1 ลดลงรอยละ 1 เพิ่มขึ้นรอยละ 1 ลดลงรอยละ 1 เพิ่มขึ้นรอยละ 20 ลดลงรอยละ 20
(10,198,869) 11,858,406 13,250,483 (11,489,778) (14,065,131) 17,729,684
(9,390,463) 10,982,712 11,330,128 (9,843,699) (12,038,711) 15,096,944
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ.2559 พ.ศ.2558 บาท บาท (8,691,390) 10,085,983 11,297,659 (9,815,474) (11,889,888) 14,921,219
(7,996,726) 9,332,597 9,640,551 (8,393,408) (10,149,428) 12,665,532
การวิเคราะหความออนไหวขางตนนี้อางอิงจากการเปลี่ยนแปลงขอสมมติ ขณะที่ใหขอสมมติอื่นคงที่ ในทางปฏิบัติสถานการณ ดังกลาวยากที่จะเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในขอ สมมติอ าจมีความสัมพัน ธกัน ในการคํานวณการวิเคราะหความออ นไหว ของภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวที่มีตอการเปลี่ยนแปลงในขอสมมติหลักไดใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว 26
หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
เงินมัดจํารับ เงินค้ําประกันผลงาน
งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
16,431,623 16,431,623
66,000 10,766,374 10,832,374
17,156,186 17,156,186
66,000 10,941,788 11,007,788
PAGE
204
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
ทุนเรือนหุน 27.1 ทุนเรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุนสามัญ หุนสามัญ สวนเกินมุลคาหุน หุน บาท บาท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ลดทุน (หมายเหตุ 27.2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลดทุน (หมายเหตุ 27.2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,022,346,046 (12,408,400) 1,009,937,646 1,009,937,646
1,022,346,046 (12,408,400) 1,009,937,646 1,009,937,646
255,224,632 600,184 255,824,816 255,824,816
27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน หุนสามัญซื้อคืน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 1/2555 มีมติใหซ้ือหุนสามัญคืนจํานวนไมเกิ น 26 ลานหุน คิดเปนไมเกินรอยละ 2.9 ของจํานวนหุนที่จําหนายทั้งหมด (ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 บริษัทมีหุน ที่ ออกจําหนายไดแลวทั้งหมดจํานวน 882,654,428 หุน) และวงเงินสูงสุดที่จะใชในการซื้อหุนคืนจํานวนไมเกิน 75 ลานบาท เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารทางการเงิน เนื่องจากบริษัทมีสภาพคลองสวนเกินโดยทําการซื้อคืนหุนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืนภายในระยะเวลา 6 เดือน นับตั้งแตวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 โดยกําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซ้ือคืนเมื่อ พนกําหนด 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้น โดยขายคืนภายใน 3 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทมีหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 17,700,000 หุน มูลคาการซื้อคืนคงเหลือ 74,671,816 บาท โดยมีราคาตลาดของหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 297,360,000 บาท เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 441,600 หุน ในราคาของหุนละ 21.00 บาท รวมเปนเงิน 9,273,600 บาท
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
205
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
ทุนเรือนหุน (ตอ) 27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน (ตอ) หุนสามัญซื้อคืน (ตอ) เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 3,000,000 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.80 บาท ถึง 11.00 บาท รวมเปนเงิน 32,700,000 บาท เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 1,850,000 หุน ในราคาระหวางหุนละ 11.00 บาท ถึง 11.40 บาท รวมเปนเงิน 20,890,000 บาท เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนสําหรับหุนสามัญซื้อคืนที่ไมสามารถจําหนายไดหมดภายใน ระยะเวลาที่กําหนดไวจํานวน 12,408,400 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท กับกระทรวงพาณิชยแลว เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 1/2559 มีมติใหบริษัทดําเนินการซื้อหุนคืน โดยมี รายละเอียดดังนี้ x วงเงินสูงสุดที่ใชในการซื้อหุนคืนไมเกิน 470.00 ลานบาท x จํานวนหุนที่จะซื้อคืนไมเกิน 50.70 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท จํานวนหุนที่จะซื้อคืนไมเกินรอยละ 5.02 ของ หุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด x วิธีการในการซื้อหุนคืนโดยซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย x กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืนภายในระยะเวลา 6 เดือนนับตั้งแตวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 x หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน โดยใหนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลั ง 30 วันกอนที่บริษัทจะทําการเปดเผย ขอมูลมาประกอบการพิจารณากําหนดราคาซื้อคืน ราคาซื้อคืนจะไมเกินกวาราคาปดของหุนเฉลี่ย 5 วันทําการซื้อขาย กอนหนาวันที่ทําการซื้อขายในแตละครั้งบวกดวยจํานวนรอยละ 15 ของราคาปดเฉลี่ยดังกลาว ทั้งนี้ราคาหุนเฉลี่ย ยอนหลัง 30 ตั้งแตวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 เทากับ 9.27 บาทตอหุน ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 4,840,300 หุน ในราคาระหวางหุนละ 9.10 บาท ถึง 9.70 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 45,850,070 บาท ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 9,637,600 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.10 บาท ถึง 10.60 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 99,155,940 บาท ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 13,740,600 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.10 บาทถึง 12.10 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 151,530,140 บาท ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 15,054,800 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.40 บาทถึง 11.70 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 168,738,690 บาท
PAGE
206 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27
ทุนเรือนหุน (ตอ) 27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของหุนสามัญซื้อคืนและสวนเกินมูลคาหุนสามัญซื้อคืนสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เปนดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 จําหนาย ลดทุน ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ซื้อคืน ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
จํานวนหุน
มูลคาของ หุนสามัญซื้อคืน บาท
สวนเกินมูลคา หุนสามัญซื้อคืน บาท
17,700,000 (5,291,600) (12,408,400) 43,273,300 43,273,300
74,671,816 (22,324,499) (52,347,317) 465,274,840 465,274,840
(40,539,101) 39,938,917 (600,184) (600,184)
27.3 การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย ในการประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น เมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ได มี ม ติ ล ดทุ น จดทะเบี ย นของ บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด เปนจํานวนเงิน 112,500,000 บาท โดยลดหุนสามัญจํานวน 1,125,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558 โดยจายเงินคืนใหกับใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมเปนจํานวนเงิน 18,750,000 บาท 27.4 การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย ในการประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น เมื่ อ วั น ที่ 29 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 ผู ถื อ หุ น ได มี ม ติ อ นุ มั ติ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นของ บริษัท อาร.เอส. เทเลวิชั่น จํากัด จากหุนสามัญจํานวน 2,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เปนหุนสามัญ จํานวน 3,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดรับคาหุนสําหรับ หุนสามัญที่เพิ่มจํานวน 1,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ในราคาหุนละ 100 บาท โดยมีมูลคาหุนที่ชําระแลว ตามมูลคาที่ตราไว 100,000,000 บาท และ 100,000,000 บาท ตามลําดับ บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
207
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 28
การจายเงินปนผล ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของบริษัทเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2559 ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผล จากผลการดําเนินงานสําหรับป พ.ศ. 2558 ในอัตราหุนละ 0.10 บาท เปนจํานวนเงินรวม 100,109,385 บาท ทั้งนี้เงินปนผลดังกลาว จายชําระในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของบริษัทเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผล จากการดําเนินงานสําหรับป พ.ศ. 2557 ในอัตราหุนละ 0.18 บาท เปนจํานวนเงินรวม 180,915,596 บาท ทั้งนี้เงินปนผลดังกลาว จายชําระในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
29
รายไดอ่นื
กําไร(ขาดทุน)สุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยน รายไดดอกเบี้ย รายไดเงินปนผล (หมายเหตุ 12) กําไรจากการขายอาคาร และอุปกรณ รายไดคาเชาพื้นที่ รายไดจากการบริหารจัดการ รายไดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ รายไดอื่น
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
2,038,922 1,741,591 418,842 407,634 391,308 118,591,330 123,589,627
907,276 2,454,665 747,323 447,401 27,084 30,974,673 15,992,782 51,551,204
1,866,035 25,992,049 122,813,200 276,618 8,117,654 225,861,968 59,356,869 444,284,393
466,109 19,099,399 369,578,855 27,945 4,951,993 209,545,089 7,506,785 611,176,175
รายไดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ เปนรายไดที่เกิดจากการเรียกเก็บคาละเมิดลิขสิทธิ์กีฬาจากบริษัทแหงหนึ่ง
PAGE
208 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30
คาใชจายอื่น งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน และอาคารและอุปกรณ กลับรายการจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในบริษัทอื่น กลับรายการ(ขาดทุน)จากการประมาณการหนี้สนิ กําไร(ขาดทุน)จากการปดกิจการในบริษัทยอย คาใชจายอื่น ๆ
31
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
(455,998) 524,183 (999,076) 1,268,868 (2,245,272) (1,907,295)
(807,675) (303,337) 2,045,499 (1,017,520) (83,033)
(438,754) 216,940 (103,747) (1,731,619) (2,057,180)
(509,063) (571,216) (1,080,279)
คาใชจายตามลักษณะ คาใชจายที่สําคัญสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ถูกจัดประเภทตามลักษณะดังตอไปนี้ ซึ่งแสดงรวมไว ในกําไร(ขาดทุน)กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป และงานระหวางทํา ตนทุนบริการและวัตถุดิบใชไป คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 14) คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 15 และ 16) คาเชาและคาสาธารณูปโภค คาใชจายในการสงเสริมการขายและโฆษณา (กลับรายการ)ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการทําลายสินคา และคาเผื่อสินคาลาสมัย
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
15,860,392 2,126,282,856 688,790,268 104,411,795 364,086,823 109,421,784 108,781,805 16,902,815
(104,263,368) 2,518,675,593 699,654,492 83,834,676 453,098,611 109,847,523 235,291,463 (3,778,393)
54,707,866 760,655,617 469,640,036 97,934,619 12,663,284 93,900,822 14,790,006 15,656,163
(46,779,519) 1,076,890,660 601,185,761 76,035,625 12,953,084 93,501,298 96,554,702 13,620,854
23,525,589
1,714,223
2,405,077
1,689,938
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
209
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32
ตนทุนทางการเงิน
ดอกเบีย้ จายเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยจายเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 35 ก) ดอกเบี้ยจายหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน ดอกเบี้ยจายจากคาใบอนุญาตใหใช เคลื่อนความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน
33
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(28,761,534)
(13,364,725)
(13,676,726)
(2,264,438)
(1,286,076)
(569,001)
(1,102,439) (1,286,076)
(1,917,874) (569,001)
(53,325,238) (83,372,848)
(67,151,118) (81,084,844)
(16,065,241)
(4,751,313)
ภาษีเงินได รายการกระทบยอดภาษีเงินไดสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
ภาษีเงินไดในงวดปจจุบันสําหรับกําไรทางภาษี สําหรับป การปรับปรุงจากการบันทึกภาษีเงินไดปกอน ต่ําไป รายการที่เกิดจากผลแตกตางชั่วคราว (หมายเหตุ 18) รวม(คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
(51,361,957)
(96,920,630)
-
-
75,597,279 24,235,322
(1,409,193) 110,659,699 12,329,876
(14,197,440) (14,197,440)
(978,357) 20,406,232 19,427,875
PAGE
210 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 33
ภาษีเงินได (ตอ) รายการกระทบยอดภาษีเงินไดสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีทางบัญชี ภาษีคํานวณจากอัตราภาษีรอยละ 20 (พ.ศ. 2558 : รอยละ 20) ผลกระทบ: คาใชจายที่ไมสามารถหักภาษี คาใชจายที่สามารถหักเพิ่มได ผลแตกตางชั่วคราวที่ไมไดบันทึกเปนสินทรัพย คาเผื่อเงินลงทุนและเงินใหกูยืมในบริษัทยอย รายไดที่ไมตองเสียภาษี - เงินปนผลรับ การปรับปรุงภาษีเงินไดปกอนต่ําไป ภาษีเงินได
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท
(126,476,764)
119,780,614
196,476,763
417,984,789
25,295,353
(23,956,123)
(39,295,353)
(83,596,958)
(9,167,357) 2,441,020 (664,828) 6,340,571 (9,437) 24,235,322
(8,610,843) 284,807 3,626,231 42,394,997 (1,409,193) 12,329,876
(6,234,948) 359,044 (698,146) 7,109,323 24,562,640 (14,197,440)
(6,566,038) 47,562 1,384,823 35,221,072 73,915,771 (978,357) 19,427,875
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
211
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 34
กําไร(ขาดทุน)ตอหุน 34.1 กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไร(ขาดทุน )สวนที่เปนของผูถือหุนสามัญดวยจํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายในระหวางป
สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ที่เปนของ บริษัทใหญ (บาท) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน) กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) 35
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
(102,145,200) 978,992,072 (0.1043)
121,634,482 1,006,634,753 0.1208
182,279,323 978,992,072 0.1862
437,412,664 1,006,634,753 0.4345
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทหมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัทไมวาจะเปน โดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัท รวมถึงบริษัท ที่ทําหนาที่ถือหุน บริษัทยอยและกิจการที่เปน บริษัทยอยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึง บริษัทรวมและบุคคลซึ่งถือหุนที่มีสิทธิออกเสี ยง ไมวาทางตรงหรือทางออม และมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับบริษัท ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัท ตลอดทั้ง สมาชิกในครอบครัวที่ใกลชิดกับบุคคลดังกลาว และกิจการที่เกี่ยวของกับบุคคลเหลานั้น ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทแตละรายการ บริษัทคํานึงถึงเนื้อหาของความสัมพันธ มากกวารูปแบบทางกฎหมาย เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่สําคัญเปดเผยในหมายเหตุ 12 และ หมายเหตุ 13 รายการกับบุคคลหรือบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สําคัญที่นอกเหนือจากบริษัทยอยและบริษัทรวมสรุปได ดังนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน
ลักษณะธุรกิจ
บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส.ทู ซี จํากัด”) ผูบริหาร
ใหบริการเชาสถานที่ รับจางจัดกิจกรรม ใหบริการเชาสถานที่
-
ลักษณะความสัมพันธ มีผูถือหุนและกรรมการรวมกัน ถือหุนทางออมโดยมีกรรมการบริษัทยอยรวมกัน มีผูถือหุนและกรรมการรวมกัน
บุคคลที่มีอํานาจและความรับ ผิดชอบการวางแผน สั่งการและ ควบคุมกิจกรรมตางๆ ของกิจการไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ รวมถึ ง กรรมการของกลุ ม กิ จ การ (ไม ว า จะทํ า หน า ที่ ใ นระดั บ บริหารหรือไม)
35
ก)
รวม
บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด 49,775,048 23,530,921 7,850 32,787,517 3,529,950 109,631,286
4,372,500 (67) 45,448,946 49,821,379
23,276,673 2,525,073 2,744,449 28,546,195
รายไดธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม
-
รายได ธุรกิจลิขสิทธิ์
26,322,283 26,322,283
รายได บริการอื่น
127,534,943 60,000,000 24,003,900 10,325,100 3,606,050 391,975 225,861,968
รายไดจากการ บริหารจัดการ
24,251,169 137,705 577,049 93,600 25,059,523
ดอกเบี้ยรับ
รายไดอ่นื
2,840,964 7,632,499 559,386 11,349 11,044,198
รายไดอ่นื
212
รายได ธุรกิจสื่อ
รายไดธุรกิจ จัดจําหนาย เพลง
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)
รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558
รายการคาที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน สามารถสรุปไดดังนี้ :
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
35
ก)
บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม 182,012,693 124,030,954 9,813 1,860,000 307,913,460
รายได ธุรกิจสื่อ 639,410 466,884 53,544,841 54,651,135
รายไดธุรกิจ จัดจําหนาย เพลง 6,907,550 3,657,224 58,643 3,900,000 1,600 4,043,100 5,096,000 23,664,117
รายไดธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม -
รายได ธุรกิจลิขสิทธิ์
6,925,433 1,226,565 270,000 8,421,998
รายได บริการอื่น
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)
รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)
รายการคาที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน สามารถสรุปไดดังนี้ : (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
80,785,724 90,259,121 24,484,632 13,687,612 328,000 209,545,089
รายไดจากการ บริหารจัดการ
15,941,424 3,288 437,151 878,685 1,644 93,600 814,200 18,169,992
ดอกเบี้ยรับ
รายไดอ่นื
2,064,950 961,640 211,846 14,357 1,250,000 1,800 4,504,593
รายไดอ่นื
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
213
35
ก)
รวม
บริษัท เชษฐโชติศกั ดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรซิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส. ทู ซี จํากัด”)
รวม
บริษัท เชษฐโชติศกั ดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรซิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส. ทู ซี จํากัด”)
27,157,673 2,131,800 29,289,473
32,603,361 6,337,838 38,941,199
47,722,673 47,722,673
28,635,318 28,635,318
47,722,673 47,722,673
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร
29,548,746 29,548,746
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
42,047,979 6,337,838 48,385,817
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร
28,100,425 4,364,070 32,464,495
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร
รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวขอ งกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
214
35
ก)
รวม
บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท ยาค จํากัด บริษทั อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด
บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชนั่ จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) 24,823,386 3,928,834 548,842 20,886,100 2,263,500 52,450,662
ตนทุนขายและ บริการ 1,259,100 74,327 100,000 1,433,427
คาใชจาย ในการขาย และบริหาร 4,098 348,402 68,899 75,714 57,703 436,933 60,485 1,639 48,566 1,102,439
ตนทุน ทางการเงิน - ดอกเบี้ยจาย
-
-
44,626,250 7,365,179
10,000 52,001,429
51,796,722 51,442,490
6,582,134 2,700,000 112,521,346
คาใชจาย ในการขาย และบริหาร
77,245 68,284 41,978 1,168,055 152,877 4,782 12,637 29,002 1,917,874
303,476
59,538
ตนทุน ทางการเงิน - ดอกเบี้ยจาย
-
-
คาตอบแทน ผูบริหารสําคัญ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)
คาตอบแทน ตนทุนขายและ ผูบริหารสําคัญ บริการ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
215
35
ข)
รวม
บริษัทยอย บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด -
ลูกหนี้การคา 2,489,884 2,489,884
(2,489,884) (2,489,884)
-
-
ลูกหนี้การคา
2,489,884 2,489,884
(2,079,438) (2,079,438)
คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ
คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ
เงินทดรองจาย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)
ยอดคงเหลือที่เกิดจากการลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
-
เงินทดรองจาย
PAGE
216
35
ข)
บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษทั เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม 602,095,439 83,608,315 4,490,158 1,847,735 17,437,915 746,245 710,225,807
6,213,049 1,614,022 2,489,884 10,316,955
(802,580) (2,489,884) (3,292,464)
2,665 2,315 4,067 1,750 5,200 164,716 180,713
456,604,770 59,516,856 3,428,538 3,068,803 2,762,205 4,066,000 529,447,172
3,206,761 2,121,973 1,520,422 2,489,884 9,339,040
(707,632) (2,079,438) (2,787,070)
915 900 1,481 10 900 138,591 142,797
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ เงินทดรองจาย
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ เงินทดรองจาย
ยอดคงเหลือที่เกิดจากการลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
217
35
ค)
บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (หมายเหตุ 20) บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส. เอส. ทูซี จํากัด”) รวม
รวม
บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (หมายเหตุ 20) บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส. เอส. ทูซี จํากัด”)
1,305,189 2,066,405 3,371,594
-
-
เจาหนี้การคา
2,066,405 3,720,985
-
-
-
-
-
-
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรับ ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
1,654,580
-
เจาหนี้การคา
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรับ ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
ยอดคงเหลือที่เกิดจากการเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
-
-
คาใชจาย คางจาย
-
-
เจาหนี้การคา
-
-
เจาหนี้การคา
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
-
คาใชจาย คางจาย
งบการเงินรวม
-
-
-
-
222,700 3,185,713
2,963,013
-
-
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
222,700 3,598,412
3,375,712
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
-
-
คาใชจาย คางจาย
-
-
คาใชจาย คางจาย
PAGE
218
35
ค)
279,853 -
279,853 3,651,447
8,836,542
94,614 12,500 15,360,010 943,740 -
25,247,406
25,247,406
บริษัทยอย (หมายเหตุ 20) บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย)จํากัด) บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด รวม
รวมทั้งสิ้น
เจาหนี้การคา
40,504,358
40,504,358
56,000 40,448,358 -
-
401,631
113,115 401,631
215,615 1,639 18,852 16,967 18,476 16,967
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
ยอดคงเหลือที่เกิดจากการเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
997,996
997,996
-
997,996
คาใชจาย คางจาย
113,953,850
3,465,566
279,853
-
-
113,953,850
-
279,853
51,594,944
51,594,944
-
226,000 51,368,944 -
-
130,356
70,610 27,157 130,356
12,221 13,579 6,789
-
-
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย
65,918,898 4,033,092 804 -
44,001,056
เจาหนี้การคา
งบการเงินเฉพาะกิจการ
20,051,654
20,051,654
-
1,581,110 -
18,470,544
คาใชจาย คางจาย
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
219
35
ง)
บริษัท เอส-วัน สปอรต จํากัด รวม
บริษัทยอย บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด
บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด
บริษัทรวมทางออม (30,000,000)
30,000,000 4,500,000 781,000,000 815,500,000
526,395,000
เพิ่มขึน้ ในระหวางป
(741,500,000)
(30,000,000) (28,500,000) (683,000,000) -
รับชําระคืน ในระหวางป
เงินใหกูยืมระยะสั้น
30,000,000
รับชําระคืน ในระหวางป
เงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ ในระหวางป
24,000,000 2,340,000 479,700,000 20,355,000
ยอดยกมา
-
ยอดยกมา
เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทที่เกี่ยวของกัน (สุทธิ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
600,395,000
2,340,000 577,700,000 20,355,000
ยอดคงเหลือ
-
ยอดคงเหลือ
(32,120,226)
(9,425,226) (2,340,000) (20,355,000)
ยอดยกมา
-
ยอดยกมา
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
-
ลดลง ในระหวางป -
ยอดคงเหลือ
-
-
เพิ่มขึน้ ในระหวางป
9,425,226
9,425,226 -
ลดลง ในระหวางป
คาาเผื่อการดอยคาของงเงินใหกูยืมระยะสั้นั
(22,695,000)
(2,340,000) (20,355,000)
ยอดคงเหลือ
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พพ.ศ. 2559 (บาท)
-
เพิ่มขึน้ ในระหวางป
คาเผื่อการดอยคาของเงินใหกูยืมระยะสั้น
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)
494,274,774
14,574,774 479,700,000 -
ยอดยกมา
-
ยอดยกมา
(30,000,000)
815,500,000
30,000,000 4,500,000 781,000,000 -
เพิ่มขึน้ ในระหวางป
(741,500,000)
(30,000,000) (28,500,000) (683,000,000) -
รับชําระคืน ในระหวางป
9,425,226
9,425,226 -
ลดลง ในระหวางป
-
ลดลง ในระหวางป
เงินใหกูยืมระยะสัน้ (สุสทธิ)
30,000,000
รับชําระคืน ในระหวางป
เงินใหกูยืมระยะสัน้ (สุทธิ) เพิ่มขึน้ ในระหวางป
577,700,000
577,700,000 -
ยอดคงเหลือ
-
ยอดคงเหลือ
PAGE
220
35
ง)
บริษัทยอย บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัทสตารซ (ประเทศไทย)จํากัด) บริษัท เอส-วัน สปอรต จํากัด รวม
บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด
บริษัทรวมทางออม (32,000,000)
68,500,000 4,000,000 261,000,000 5,000,000 338,500,000
20,355,000 372,395,000
(5,000,000) (184,500,000)
(68,500,000) (1,000,000) (110,000,000)
เงินใหกูยืมระยะสั้น เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป
32,000,000
เงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป
20,000,000 1,000,000 2,340,000 328,700,000
ยอดยกมา
-
ยอดยกมา
เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทที่เกี่ยวของกัน (สุทธิ) (ตอ)
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
20,355,000 526,395,000
24,000,000 2,340,000 479,700,000
ยอดคงเหลือ
-
ยอดคงเหลือ -
-
-
(20,355,000) (42,695,000)
(20,000,000) (2,340,000) -
-
10,574,774
10,574,774 -
(20,355,000) (32,120,226)
(9,425,226) (2,340,000) -
งบกการเงินเฉพาะกิจกาาร สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พพ.ศ. 2558 (บาท) คาาเผื่อการดอยคาของงเงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดยกมา ในระหวางป ในระหวางป ยอดคงเหลือ
-
งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) คาเผื่อการดอยคาของเงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ ลดลง ยอดยกมา ในระหวางป ในระหวางป ยอดคงเหลือ
329,700,000
1,000,000 328,700,000
ยอดยกมา
-
ยอดยกมา
(32,000,000)
-
5,000,000 338,500,000
68,500,000 4,000,000 261,000,000
(5,000,000) (184,500,000)
(68,500,000) (1,000,000) (110,000,000)
10,574,774
10,574,774 -
เงินใหกูยืมระยะสั้น (สุททธิ) เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ลดลง ในระหวางป ในระหวางป ในระหวางป
32,000,000
เงินใหกูยืมระยะสั้น (สุทธิ) เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ลดลง ในระหวางป ในระหวางป ในระหวางป
494,274,774
14,574,774 479,700,000
ยอดคงเหลือ
-
ยอดคงเหลือ
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE
221
35
จ)
10,000,000 26,000,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 48,000,000
189,000,000 1,000,000 4,000,000 2,000,000 5,000,000 2,500,000 20,000,000 223,500,000
(100,000,000) (11,000,000) (100,000) (20,000,000) (131,100,000)
89,000,000 30,000,000 4,500,000 4,900,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 140,400,000
ยอดคงเหลือ
90,000,000 7,000,000 139,000,000 6,000,000 750,000 1,000,000 2,295,000 246,045,000
ยอดยกมา
25,000,000 3,000,000 75,000,000 6,000,000 3,500,000 15,000,000 127,500,000
(115,000,000) (188,000,000) (1,500,000) (1,000,000) (1,000,000) (750,000) (1,000,000) (2,295,000) (15,000,000) (325,545,000)
10,000,000 26,000,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 48,000,000
ยอดคงเหลือ
เงินกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ จายชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป
เงินกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ จายชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป
ยอดยกมา
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)
งบการเงินเฉพาะบริษัท
222
บริษัทยอย บริษทั คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเ นชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษทั เวรีเวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด)
เงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
PAGE
PAGE
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
223
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 35
รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ฉ)
คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ ผูบ ริห ารสํา คัญ ของบริษั ท รวมถึ งกรรมการ (ไมว า จะทํ า หน า ที่ใ นระดั บ บริห ารหรือ ไม ) และคณะผูบ ริห ารระดับ สู ง คาตอบแทนที่จายหรือคางจายสําหรับผูบริหารสําคัญมีดังนี้ งบการเงินรวม
เงินเดือนและผลประโยชนระยะสั้นอื่น ผลประโยชนระยะยาวอื่น
36
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
160,488,746 4,013,808 164,502,554
152,873,823 5,936,291 158,810,114
137,786,906 3,082,573 140,869,479
141,440,823 5,144,456 146,585,279
ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ในการวัดผลการดําเนินงานของกลุมกิจการ กลุมกิจการมีการพิจารณาจากกําไรขั้นตนจากรายไดตางๆโดยจัดประเภท ของรายได ออกเปนรายไดธุรกิจสื่อ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม และรายไดธุรกิจบริการ และอื่นๆ ยอดรายไดไดตัดรายการระหวางกันออกแลว กําไรขั้นตนคํานวนจากยอดรายไดหักดวยตนทุนขายและตนทุนการใหบริการ งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
รายได รายไดภายนอก รายไดภายใน รวมรายได ตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน สินทรัพยถาวร สินทรัพยไมมีตัวตน
ธุรกิจสื่อ บาท
ธุรกิจเพลง บาท
ธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม บาท
1,814,720,195 289,518,869 2,104,239,064 1,857,220,682
321,567,493 49,553,150 371,120,643 253,583,303
753,156,702 20,886,017 774,042,719 434,655,561
227,876,041 227,876,041 58,856,375
7,598,730 73,989,664 81,588,394 79,974,585
3,124,919,161 433,947,700 3,558,866,861 2,684,290,506
247,018,382
117,537,340
339,387,158
169,019,666
1,613,809
874,576,355
(80,660,758)
319,479,862 2,074,848,449
12,694,528 49,368,622
692
16,278,441 4,538,237
124,592,826 89,286,281
473,046,349 2,218,041,589
-
-
ธุรกิจสุขภาพ และความงาม บาท
ธุรกิจบริการ และอื่นๆ บาท
รวม รายการตัดบัญชี บาท บาท
รวม บาท
3,124,919,161 (433,947,700) (433,947,700) 3,124,919,161 (353,286,942) 2,331,003,564 793,915,597 473,046,349 2,218,041,589
PAGE
224
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 36
ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน (ตอ) งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558
รายได รายไดภายนอก รายไดภายใน รวมรายได ตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน สินทรัพยถาวร สินทรัพยไมมีตัวตน
37
ธุรกิจสื่อ บาท
ธุรกิจเพลง บาท
ธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม บาท
2,246,138,300 564,941,446 2,811,079,746 2,349,707,827
463,541,174 60,275,343 523,816,517 310,662,526
707,440,567 36,288,161 743,728,728 495,929,803
231,926,508 381,815 232,308,323 63,922,717
79,659,837 100,186,849 179,846,686 163,901,387
3,728,706,386 762,073,614 4,490,780,000 3,384,124,260
3,728,706,386 (762,073,614) (762,073,614) 3,728,706,386 (681,121,955) 2,703,002,305
461,371,919
213,153,991
247,798,925
168,385,606
15,945,299
1,106,655,740
(80,951,659) 1,025,704,081
219,490,316 2,022,670,801
24,504,953 60,395,859
1,258 -
6,564,122 -
133,455,618 42,562,790
384,016,267 2,125,629,450
ธุรกิจสุขภาพ และความงาม บาท
ธุรกิจบริการ และอื่นๆ บาท
รวม รายการตัดบัญชี บาท บาท
-
รวม บาท
384,016,267 2,125,629,450
วงเงินสินเชื่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 วงเงินสินเชื่อที่ยังไมไดเบิกใชมีดังนี้ งบการเงินรวม
วงเงินสินเชื่อตางๆ ที่ไดรบั - วงเงินที่ยังไมไดใช 38
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 ลานบาท
พ.ศ. 2558 ลานบาท
พ.ศ. 2559 ลานบาท
พ.ศ. 2558 ลานบาท
5,090
990
2,207
820
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสัญญาที่สําคัญ 38.1 ภาระผูกพัน งบการเงินรวม
ภาระผูกพันรายจายฝายทุน ซื้อทรัพยสิน ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงาน ภายในระยะเวลาหนึ่งป ระยะเวลามากกวาหนึ่งปถึงสามป รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พ.ศ. 2559 บาท
พ.ศ. 2558 บาท
พ.ศ. 2559 บาท
-
174,989,500
-
65,502,891 29,362,431 94,865,322
59,846,390 82,450,722 142,297,112
57,292,411 26,274,731 83,567,142
พ.ศ. 2558 บาท 174,989,500 59,646,390 82,450,722 142,097,112
ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST
PAGE
225
บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 38
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสัญญาที่สําคัญ (ตอ) 38.2 สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวของกันและกิจการอื่น ก) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาจํานวน 1 สัญญา เพื่อใชบริการเกี่ยวกับการรับสงสัญญาณโทรทัศนผานดาวเทียม โดยมีกําหนดระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2566 โดยบริษัทตกลงจายคาธรรมเนียมสําหรับการใชบริการและ จายคาใชจายตางๆ ที่เกี่ยวกับการใชบริการดังกลาวตามที่ ระบุในสัญญา ทั้งนี้ บริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ที่ระบุไวในสัญญา ข) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาเวลาของสถานีวิทยุกระจายเสียงกับสวนราชการจํานวน 1 สัญญา กําหนดระยะเวลา 2 ป ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ค) บริษัทและบริษัทยอยสองแหงไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) โดยมีภาระผูกพันที่จะตองปฏิบัติตามขอกําหนดตาง ๆ ที่ระบุไวในใบอนุญาตและตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายป และคาธรรมเนี ยมในการนําสงเขากองทุนตาม ขอกําหนดและเงื่อนไขที่ประกาศโดย กสทช. ง) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาใชบริการโครงขายโทรทัศนประเภทที่ใชคลื่นความถี่ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล กับองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย (ส.ส.ท.) สําหรับดําเนินกิจการโทรทั ศนระบบ ดิจิตอลระยะเวลา 15 ป โดยมีคาธรรมเนียมสําหรับการใชบริการตามที่ระบุไวในสัญญา และบริษัทยอยไดวางหนังสือ ค้ําประกันจากสถาบันการเงินรอยละ 5 ของมูลคาตามสัญญา 38.3 หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กลุมกิจการมีภาระผูกพันกับธนาคารพาณิชย ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ค้ําประกันใหบริษัทฯบริษัทยอยและ บริษัทอื่น (หนวย : ลานบาท)
4.93
15.11
งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 0.26
3.71
PAGE
226 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 39
ขอพิพาททางกฎหมายที่สําคัญ 39.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทและบริษัทยอยถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย เนื่องจากการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ของบริษัท จํานวนทุนทรัพย 38.32 ลานบาท และ 102.63 ลานบาท ตามลําดับ ปจจุบันอยูระหวาง การพิจารณาของศาล ดังนั้นผูบริหารจึงยังไมไดบันทึกประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวของ 39.2 เงินสนับสนุนการถายทอดฟุตบอลโลก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 บริษัทยอยและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดตกลงรวมกันใหบริษัทยอยถายทอดการแขงขันฟุตบอลโลก 2014 ทุกการแขงขันผานบริการโทรทัศนท่ีเปนการทั่วไป (Free TV) โดยกสทช.จะใหเงินสนับสนุน ปจจุบัน บริษัท ยอ ยไดยื่น ฟองตอศาลปกครองสูงสุด เพื่อ เรียกเงิน สนั บ สนุ น 57.14 ลานบาท จากคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียงกิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ซึ่ง ณ ป จจุบันคดีอยูระหวางการพิจารณาของ ศาลปกครองสูงสุด