SAT: Annual Report 2012 TH

Page 1

รายง

า น ป ร ะ จ จำ ป ี

2555

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)


สาร บั ญ

02 03 04 05 06 08 09 32 34 36 39 40 41 49 55 56 59 62 64 65 66 68 71 83

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน รายงานคณะกรรมการ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ส่วนแบ่งทางการตลาด SBG กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ปัจจัยความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผังการบริหาร โครงสร้างการบริหาร คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร ค่าตอบแทน การควบคุมภายใน รายการระหว่างกัน รายงานของคณะกรรมการสรรหา และค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน


รายงานประจ�ำปี 2555

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)


02

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

2555

งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นสามัญ ราคาพาร์ต่อหุ้น (บาท) 1.00 1.00 1.00 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) * 14.21 12.30 13.09 ก�ำไรต่อหุ้น (บาท) * 2.40 1.20 2.44 ผลการด�ำเนินงาน (พันบาท) รายได้จากการขาย 9,409,555 6,420,730 6,263,137 รายได้รวม 9,590,423 6,567,669 6,416,331 ก�ำไรสุทธิ 815,763 408,164 759,150 ข้อมูลเกี่ยวกับงบดุล (พันบาท) สินทรัพย์หมุนเวียน 3,187,644 2,161,693 2,670,201 สินทรัพย์รวม 10,126,624 8,830,964 8,077,170 หนี้สินหมุนเวียน 2,574,719 1,865,152 1,760,952 หนี้สินรวม 5,295,398 4,648,696 4,004,400 ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว 339,923 339,923 339,923 ส่วนของผู้ถือหุ้น 4,831,225 4,182,268 4,072,771 อัตราส่วนทางการเงิน ผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (%) 18.10% 9.89% 21.87% ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) 24.35% 18.11% 26.72% ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) 8.61% 4.83% 10.64% ก�ำไรขั้นต้น (%) 15.89% 15.14% 19.70% อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียน ต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า) 1.24 1.16 1.52 อัตราส่วนสภาพคล่องต่อหนี้สิน (เท่า) 0.93 0.72 1.21 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 1.10 1.11 0.98 หมายเหตุ 1.* ในปี 2555 ใช้จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวน 341.723 ล้านหุ้น ในปี 2554 ใช้จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวน 339.923 ล้านหุ้น ในปี 2553 ใช้จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวน 311.047 ล้านหุ้น

งบการเงินเฉพาะบริษัท 2555 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่)

1.00 10.42 2.01

1.00 8.81 0.96

1.00 9.52 1.38

3,145,327 2,121,724 3,524,010 2,346,961 682,162 326,740

2,172,200 2,386,046 430,421

1,447,819 5,225,820 770,073 1,685,126 339,923 3,540,693

1,168,798 4,456,240 487,618 1,460,276 339,923 2,995,964

1,264,969 4,312,917 522,982 1,352,566 339,923 2,960,351

20.87% 65.20% 14.09% 24.16%

10.97% 41.30% 7.45% 23.38%

17.26% 49.97% 10.48% 27.67%

1.88 1.12 0.48

2.40 0.89 0.49

2.42 1.62 0.46


รายงานประจ�ำปี 2555

03

รายงานคณะกรรมการ

(นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์) กรรมการผู้อ�ำนวยการ

(นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม) ประธานกรรมการ

ในปี 2555 เป็นปีที่บริษัทฯ มีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งจากการที่บริษัทฯ ในกลุม่ ฉลองครบรอบ 50 ปี อีกทัง้ นับเป็นประวัตศิ าสตร์ทบี่ ริษทั ฯ มีผลการด�ำเนินงาน ทีส่ งู สุดนับแต่กอ่ ตัง้ มา ซึง่ สอดคล้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศทีม่ ยี อดผลิต รถยนต์สูงสุดเช่นเดียวกัน โดยมียอดผลิตรถยนต์ในประเทศรวม 2,453,717 คัน หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 68 จากปี 2554 ซึ่งเป็นการผลิตเพื่อขายในประเทศอยู่ที่ 1,436,335 คัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 81จากนโยบายภาครัฐฯ ในการกระตุน้ ความต้องการซือ้ รถยนต์ของ ผู้บริโภคในประเทศจากนโยบายรถยนต์คันแรก และการผลิตเพื่อส่งออกจ�ำนวน 1,026,671 คัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 45 จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศหลังจาก เหตุการณ์สึนามิ ในประเทศญี่ปุ่นและวิกฤตน�้ำท่วมในประเทศไทยปี 2554 บริษัทฯ มีรายได้รวมในปี 2555 ที่ 9,590.42 ล้านบาทหรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 46 ส่งผลให้มกี ำ� ไรสุทธิ เท่ากับ 816 ล้านบาทหรือเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ100 โดยมีกำ� ไรต่อหุน้ เท่ากับ 2.40 บาทต่อหุน้ และในภาวะที่ธุรกิจก�ำลังเติบโตไปอย่างต่อเนื่องนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ยังคงให้ ความส�ำคัญในการยกระดับการด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยัง่ ยืนเพือ่ ให้บริษทั ฯ มีความ พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งปัจจัยภายนอกและภายในโดยเฉพาะการเตรียมพร้อม สูป่ ระชาคมเศรฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในปี 2558 บริษทั มุง่ เน้นการผลิตสินค้าทีม่ คี ณุ ภาพและแข่งขันได้ การมีสว่ นร่วมในการออกแบบกับลูกค้า รวมถึงการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นคนเก่งคนดี รับผิดชอบต่อสังคม นอกจากการให้ความส�ำคัญกับกลยุทธ์ควบคูก่ บั การบริหารความเสีย่ งขององค์กร บริษัทฯ ยึดมั่นในนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และตระหนักถึงการป้องกันการ ทุจริตจากการด�ำเนินงานโดยร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดอบรมสัมนา เชิงปฏิบัติการ เรื่อง “จริยธรรม... กับความยั่งยืนขององค์กร” เพื่อสร้างจิตส�ำนึกและ เป็นแนวปฏิบตั อิ ย่างถูกต้องในการป้องกันการทุจริตให้กบั ผูบ้ ริหาร-พนักงานในองค์กร

ด้วยความมุ่งมั่นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับรางวัล ส�ำคัญๆ อาทิเช่น รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ (SET Award of Honor 2012) ที่มีความเป็นเลิศด้านการรายงานบรรษัทภิบาล ยอดเยี่ยมต่อเนื่อง 4 ปีติดต่อกัน (Excellence in Corporate Governance Report 2009 - 2012) รางวัลยอดเยีย่ ม ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Best Corporate Social Responsibility Awards) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 รางวัลยอดเยี่ยม ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relation Awards) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้รบั การประเมินผลโครงการ ส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในระดับ “ดีเลิศ” ติดต่อกันเป็นปีที่ 5 ในนามคณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน รวมถึง พนักงานและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่มีส่วนร่วมในการผลักดันให้บริษัทฯ ประสบ ความส�ำเร็จและก้าวมาถึงปีที่ 50 อย่างสมบูรณ์ และขอให้มนั่ ใจได้วา่ คณะกรรมการ บริษัทฯ จะยึดมั่น และก�ำกับดูแลกิจการให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง บนความสมดุล และความยั่งยืนขององค์กรในระยะยาว


04

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

วิสัยทัศน์ พันธกิจ

วิสัยทัศน์

เป็นบริษัทที่เติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในเอเชียที่มีความเชี่ยวชาญ ในการออกแบบและผลิต ด้วยความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสังคม

พันธกิจ • • • • • •

เพิ่มศักยภาพการจัดการภายในองค์กร เพื่อสร้างการยอมรับ และสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตอบสนองความคาดหวังของลูกค้าด้วยผลิตภัณฑ์ และบริการที่มีคุณภาพสูง เป็นหุ้นส่วนกับลูกค้า เพื่อการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพิ่มศักยภาพกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และเป็นผู้น�ำด้านต้นทุนการผลิต ด้วยเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความสามารถ ความสอดคล้องของหลากหลายวัฒนธรรม และคุณภาพชีวิตของบุคลากร รักษาและยกระดับธรรมาภิบาล การบริหารความเสี่ยง มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ สังคม บนพื้นฐานของการมีความรู้คู่คุณธรรม


รายงานประจ�ำปี 2555

05

ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท : บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ชื่อบริษัท (ภาษาอังกฤษ) : Somboon Advance Technology Public Company Limited ลักษณะการประกอบธุรกิจ : โรงงานผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ โดยมีผลิตภัณฑ์หลักได้แก่ เพลาข้าง (Axle Shaft) ให้แก่ผู้ผลิตยานยนต์ (Original Equipment Manufacturer “OEM”) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และลงทุน ในบริษัทอื่นที่ประกอบกิจการโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ท�ำให้ ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มบริษัทมีความหลากหลายด้านยานยนต์ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่และโรงงาน : - เลขที่ 129 หมู่ที่2 ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ - เลขที่ 300/100 หมู่ที่ 1 นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง เลขทะเบียนบริษัท : 0107574700660 โทรศัพท์ : 02-728-8500 โทรสาร : 02-728-8513, 02-728-8517 Home Page : www.satpcl.co.th ทุนจดทะเบียน : 341,723,287 บาท บริษัทย่อย : 1. บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด ประกอบธุรกิจผลิตชิน้ ส่วนอะไหล่ยานยนต์ โดยมีผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ แหนบแผ่น (Leaf Spring), เหล็กกันโคลง (Stabilizer Bar) และสปริงขด (Coil Spring) 2. บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด ประกอบธุรกิจผลิตชิน้ ส่วนอะไหล่ยานยนต์ โดยมีผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ จานเบรก (Disc Brake) และเบรกดุม (Drum Brake) และชิ้นส่วน ในเครื่องจักรกลการเกษตร 3. บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด ประกอบธุรกิจผลิตชิน้ ส่วนงานหล่อ (Casting Products) ส�ำหรับรถยนต์ ได้แก่ จานเบรก (Disc Brake) และเบรกดุม (Drum Brake) แท่นยึด (Bracket) และผลิตชิ้นส่วนงานหล่อส�ำหรับเครื่องจักรกลการเกษตร 4. บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล (เจแปน) จ�ำกัด ประกอบธุรกิจบริการด้านการตลาดให้กับบริษัทในกลุ่มสมบูรณ์ 5. บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด ประกอบธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ด้วยการทุบขึ้นรูป(ร้อน/เย็น)


06

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ประกอบธุรกิจผลิตชิน้ ส่วนส�ำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น รถยนต์นงั่ รถกระบะ รถบรรทุกและอุตสาหกรรม เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตร โดยกลุ่มลูกค้าหลักได้แก่ผู้ประกอบยานยนต์ (Original Equipment Manufacturer “OEM”) ทั้งในประเทศ และต่างประเทศซึ่งมีการท�ำสัญญาซื้อขายระยะยาว และผู้ค้าชิ้นส่วนอะไหล่ (Replacement Equipment Manufacturer “REM”) การด�ำเนินงานของบริษทั ในกลุม่ มีนโยบายเติบโตไปกับลูกค้า โดยมุง่ เน้นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์กรและผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยมี ผลิตภัณฑ์ทแี่ ตกต่างกัน ในด้านการด�ำเนินงานนัน้ แต่ละบริษทั จะมีการด�ำเนินงานเสมือนเป็นหน่วยธุรกิจ (Business Unit “BU”) ขององค์กร โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ มีหน้าทีใ่ นการก�ำหนดนโยบายรวม เพือ่ ให้บริษทั ในกลุม่ แต่ละบริษทั น�ำไปปฏิบตั ใิ ช้ ซึง่ ผูบ้ ริหารในแต่ละสายงาน จะต้องรายงานการปฏิบตั งิ านต่อกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ทัง้ นีใ้ นด้านการด�ำเนินงานแต่ละบริษทั มีการก�ำหนด เป้าหมาย กลยุทธ์การด�ำเนิน ธุรกิจ และมีการติดตามผลร่วมกัน โดยจัดให้มีการประชุมเป็นประจ�ำในการประชุมผู้บริหารของกลุ่มบริษัท (Executive Committee)

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทสมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 100%

บ. สมบูรณ์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด 25.50%

ตระกูลกิตะพาณิชย์

ผู้ถือหุ้นรายย่อย

22.02%

52.48%

บ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) SAT 99.99%

บ. สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียว อุตสาหกรรม จ�ำกัด SBM 21.25% บ. ซึชิโยชิ สมบูรณ์ โคเตท แซนด์ จ�ำกัด*

99.99%

บ. บางกอกสปริง อินดัสเตรียล จ�ำกัด BSK

99.99%

บ. อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด ICP

20.0% บ. ยามาดะ สมบูรณ์ จ�ำกัด* 2.90% บ. นิชินโบะ สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จ�ำกัด* 1.80% บ. สมบูรณ์ โซมิค แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด*

99.99%

บ. สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด SFT

* ไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งถือหุ้นในบริษัทที่เกี่ยวข้องนี้เกินร้อยละ 10

100%

บ. เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล เจแปน จ�ำกัด SIJ


รายงานประจ�ำปี 2555

โครงสร้างรายได้แยกตามผลิตภัณฑ์

โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย แยกตามผลิตภัณฑ์หลักในปี 2555 ปี 2554 และปี 2552 สามารถจ�ำแนกได้ดังนี้

ผลิตภัณฑ์

เพลาข้าง แหนบแผ่น จานเบรกและเบรกดุม เหล็กกันโคลง สปริงขด ท่อร่วมไอเสีย จานไฟและดุมล้อช่วยแรง ชิ้นส่วนเครื่องยนต์การเกษตร อื่นๆ* รวมรายได้จากการขายสินค้า รายได้อื่นๆ รวมรายได้

% ด�ำเนิน การถือหุ้น การโดย ของบริษัท

SAT BSK SBM BSK BSK SBM SBM SBM

99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

งบการเงินปี 2555 รายได้ %

งบการเงินปี 2554 รายได้ %

งบการเงินปี 2553 รายได้ %

3,049 894 927 697 817 209 593 856 1,368 9,410 180 9,590

2,057 765 605 469 514 221 354 464 972 6,421 147 6,568

2,080 570 615 491 500 234 387 491 895 6,263 153 6,416

32 9 10 7 9 2 6 9 14 98 2 100

31 12 9 7 8 3 5 7 16 98 2 100

หมายเหตุ * ผลิตภัณฑ์อื่นๆ อาทิ เช่น เพลาแหนบ วาล์ว พุชรอด แท่นยึด และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ทั้งสิ้นรวมกันกว่า 20 รายการ

32 9 10 8 8 4 6 8 14 98 2 100

07


08

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ส่วนแบ่งทางการตลาดของผลิตภัณฑ์หลัก เพลาข้ าง Rear Axle Shaft

สปริงขด Coil Spring

ส่วนแบ่งการตลาดปี 2555

ส่วนแบ่งการตลาดปี 2555

BSK 42%

SAT 83%

Other 17% Other 58% เหล็ ก กั น โคลง Stabilizer Bar

จานเบรก

Disc Brake

ส่วนแบ่งการตลาดปี 2555

ส่วนแบ่งการตลาดปี 2555

BSK 38%

SBM 29%

Other 62% ดุ ม เบรก Drum Brake

ส่วนแบ่งการตลาดปี 2555

SBM 27%

Other 73%

Other 71%


รายงานประจ�ำปี 2555

09

SBG…. กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน

คณะกรรมการบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืน เป็นองค์กรโปร่งใสและมีธรรมภิบาลที่แท้จริง มีความ รับผิดชอบและรักษาผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียและสังคม โดยรวม พัฒนาบุคคลากรให้เป็นคนดี มีคุณธรรม ส่งเสริมความรู้และ คุณภาพชีวติ พร้อมกับการพัฒนาสภาพแวดล้อม และสิง่ แวดล้อมทีด่ ขี นึ้ เพือ่ มุง่ สูป่ ระสิทธิผลของความรับผิดชอบต่อสังคมผ่านแนวทาง การรายงานความยั่งยืน ตามกรอบการจัดท�ำรายงาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ดังนี้ 1. การก�ำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ เป็น 1 ใน 6 ภาระกิจหลัก ของยุทธศาสตร์องค์กร เพื่อให้การ ด�ำเนินธุรกิจเติบโตอย่างยัง่ ยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง..กับการสร้างภูมคิ มุ้ กันทีด่ ใี นการด�ำเนินธุรกิจ และส่งเสริมให้พนักงาน ทุกระดับทั่วทั้งองค์กร มีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตส�ำนึกในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต ผ่านการ อบรมสัมมนาภายใต้หลักสูตร CG เรื่อง “จริยธรรม... กับความยั่งยืนขององค์กร” ต่อเนื่องติดต่อกันเป็นปีที่ 5 ในปี 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พัฒนาด้านการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ 1. ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดอบรมสัมนาเชิงปฏิบัติการ เรือ่ ง “จริยธรรม..กับความยั่งยืนขององค์กร” ส�ำหรับ ผู้บริหารระดับสูง (ผู้จัดการทั่วไป-รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ) เพื่อสร้างจิตส�ำนึกในการป้องกันการทุจริต แผนการด�ำเนินงานปี 2556 : ก�ำหนดจัดอบรม ”มาตรการป้องกันการทุจริต” ส�ำหรับผู้บริหารระดับกลาง-พนักงาน เพื่อให้ ครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร


10

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

2. เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต โดยด�ำเนินการประเมินตนเองเกีย่ วกับมาตรการ ต่อต้านการคอร์รัปชั่น แผนการด�ำเนินงานปี 2556 : (1) ชี้แจงและท�ำความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน (2) เพิ่มแผนการตรวจสอบ การทุจริต แยกออกจากแผนการตรวจสอบ Core Business และก�ำหนดให้ตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกปี (3) ก�ำหนดให้หน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ตรวจประเมิน (4) รวบรวมนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ (ออกเป็นหมวดเฉพาะ) ในนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ 3. ก�ำหนดนโยบายการบริหารจัดการของบริษัทฯ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการวางแผน ด�ำเนินงานในส่วนต่างๆ 4. จัดท�ำคูม่ อื “กรรมการ” และ คูม่ อื “ปฐมนิเทศกรรมการ” เพือ่ ใช้เป็นแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ของนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ 5. รางวัลด้านการก�ำกับดูแลกิจการ 5.1 รางวัล SET AWARDS จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (1) รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ (SET Award of Honor) ทีม่ ี ความเป็นเลิศด้านบรรษัทภิบาลดีเด่น ตัง้ แต่ปี 2552 - ปี 2555 (2) รางวัลยอดเยี่ยมด้านนักลงทุนสัมพันธ์ (3) รางวัลยอดเยี่ยมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 5.2 ได้รบั การประเมินผลให้เป็น 1 ใน 59 บริษทั จดทะเบียน ทีไ่ ด้รบั คะแนน อยู่ในระดับ “ดีเลิศ” (Excellent CG Scoring) จากรายงานการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ประจ�ำปี 2555 ติดต่อกันเป็นปีที่ 5 โดยมีคะแนนทุกรายหมวด อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” และเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนน เฉลี่ยของบริษัทที่ท�ำการส�ำรวจทั้งหมด 497 บริษัท ทั้งภาพรวมและรายหมวด สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริษัทที่ท�ำการ ส�ำรวจทั้งหมด (กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมและบริษัทในกลุ่ม SET 100) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ครอบคลุมเนื้อหา 5 หมวด ได้แก่ หมวดสิทธิของผู้ถือหุ้น หมวดการ ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน หมวดบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย หมวดการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และหมวดความรับผิด ชอบของคณะกรรมการ โดยมีเนื้อหาดังนี้ 1. หมวด สิทธิของผู้ถือหุ้น : บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น มีส่วนในการดูแลกิจการและให้ความเห็นเกี่ยวกับการด�ำเนิน กิจการให้มากขึ้น โดยในปีนี้ บริษัทฯ ได้เพิ่มแนวปฏิบัติที่ดีในเรื่อง การเผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ได้รบั ทราบผลของการประชุมและสามารถตรวจสอบความถูกต้องผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุม อีกทั้งยังคงด�ำเนินการในด้านสิทธิของผู้ถือหุ้น เพื่อความยั่งยืนในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเป็นวาระการประชุมล่วงหน้า ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม 2554 และการส่งค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2555 ล่วงหน้า ระหว่างวันที่ 19 มีนาคม 2555 ถึงวันที่ 7 เมษายน 2555 โดยแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทัง้ ประกาศ หลักเกณฑ์ และระบุขั้นตอน ที่ชัดเจนไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ที่ www.satpcl.co.th ส่วนของ “ข้อมูลนักลงทุน” ภายใต้หัวข้อ “ประชุมผู้ถือหุ้น” 1.2 แจ้งวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น และใช้บัตรลงคะแนนเสียง 1.3 น�ำเสนอค่าตอบแทนกรรมการให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติเป็นประจ�ำทุกปี และน�ำเสนอนโยบายและหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เกี่ยวกับการก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ให้ผู้ถือหุ้นทราบ 1.4 คณะกรรมการบริษัทฯ ไม่มีการถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นที่ออกแล้วของบริษัทฯ 1.5 บริษัทฯ ไม่ได้เพิ่มวาระการประชุม หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลส�ำคัญ โดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าในการประชุม ผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี 2555 อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามในที่ประชุม ซึ่งรายละเอียด ได้มีการบันทึกไว้ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น


รายงานประจ�ำปี 2555

11

1.6 บริษทั ฯ ได้การอ�ำนวยความสะดวกและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายเข้าร่วมประชุมฯ โดยจัดสถานทีป่ ระชุมฯ ทีส่ ามารถเดินทาง ได้สะดวก ใกล้สถานีรถไฟฟ้า เป็นต้น 2. หมวด การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน : บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็น ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย โดยเฉพาะนักลงทุนสถาบัน หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ เพือ่ ให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง เช่น การจัดประชุมผู้ถือหุ้น การก�ำหนดกระบวนการที่อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นเข้าประชุมได้โดยไม่ยุ่งยากจนเกินไป ผูถ้ อื หุน้ ได้รบั การคุม้ ครองจากการกระท�ำทีเ่ ป็นการเอาเปรียบ และผูถ้ อื หุน้ มีอำ� นาจควบคุม เป็นต้น ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังคงด�ำเนิน การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อความยั่งยืนในเรื่องต่อไปนี้ 2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้า ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2554 โดยแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทัง้ ประกาศหลักเกณฑ์ และระบุ ขัน้ ตอน ทีช่ ดั เจนไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.satpcl.co.th ส่วนของ “ข้อมูลนักลงทุน” ภายใต้หวั ข้อ “ประชุมผูถ้ อื หุน้ ” 2.2 ให้สิทธิออกเสียงแก่ผู้ถือหุ้น ตามจ�ำนวนหุ้นที่ถือ อย่างเท่าเทียมกัน 2.3 ไม่มีการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทร่วม ที่อาจท�ำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีนัยส�ำคัญ 2.4 บริษทั ฯ ได้แนบหนังสือมอบฉันทะแบบ ข. ซึง่ เป็นแบบทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถก�ำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้เองในแต่ละ วาระ ไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบอ�ำนาจให้กรรมการ อิสระหรือบุคคลอื่น เข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทน พร้อมทั้งเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น สามารถดาวน์โหลดได้ 2.5 ในปี 2555 บริษัทฯ จัดการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งหมด 1 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ในวันที่ 20 เมษายน 2555 โดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุมครบทั้ง 10 คน และได้มอบให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหุ้นของบริษัทฯ ด�ำเนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าเป็นเวลา 26 วัน และได้ น�ำหนังสือเชิญประชุมเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ล่วงหน้าเป็นเวลา 30 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้ศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุม 2.6 ไม่มีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษัทที่ไม่ใช่บริษัทย่อย 2.7 คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดข้อห้ามไม่ให้มกี ารใช้โอกาสหรือข้อมูลทีไ่ ด้จากการเป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงาน ในการหาประโยชน์ส่วนตน หรือท�ำธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัทฯ หรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งไม่ใช้ข้อมูลภายในเพื่อ ประโยชน์ของตนในการซื้อขายหุ้นของบริษัทฯ หรือให้ข้อมูลภายในแก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหุ้นของ บริษัทฯ ทั้งนี้กรรมการและผู้บริหารจะต้องมีการรายงานการถือหลักทรัพย์ครั้งแรกและรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 2.8 คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้กรรมการของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และผูบ้ ริหาร รายงานการมีสว่ นได้เสีย ของตนเองและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ตามมาตรา 89/14 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 และก�ำหนดให้มีการทบทวนรายงานฯ ภายในเดือนมกราคม ของทุกปี และ/หรือทุกครัง้ ที่มีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูล โดยให้ส่งรายงานถึงฝ่ายเลขานุการบริษัท ภายใน 7 วันท�ำการ ทั้งนี้ ได้ขยายผลไปยังพนักงานระดับจัดการของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ตั้งแต่ผู้จัดการแผนกขึ้นไป และพนักงานที่มี ส่วนเกีย่ วข้องระดับต�ำ่ กว่าผูจ้ ดั การลงมา ซึง่ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการในสายงาน เห็นควร ให้จดั ท�ำรายงานฯ ตามนโยบาย การก�ำกับดูแลกิจการ ส�ำหรับปี 2555 มีการรายงานทั้งหมด 113 ราย และมี 1 รายที่มีการท�ำรายการส่วนได้เสีย กับบริษัทฯ ซึ่งเป็นพนักงานระดับหัวหน้างาน โดยได้ขึ้น ทะเบียน และรายงานให้ประธานกรรมการและประธานคณะ กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล เพื่อแจ้งให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ


12

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

3. หมวด การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย : บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมถึง ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ และตระหนักถึงบทบาท ความส�ำคัญของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ในปี 2555 บริษัทฯ ได้เพิ่มแนว ปฏิบัติที่ดี ดังนี้ (1) ก�ำหนดนโยบายการป้องกันการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ว่าด้วยการรับและการให้สงิ่ ของหรือประโยชน์อนื่ ใด เพือ่ จูงใจให้ปฏิบตั ิ ในทางที่มิชอบ ก่อให้เกิดความขัดแย้ง โดยเปิดเผยถึงแนวทางการปฏิบัติให้กับคู่ค้าของบริษัทฯ รับทราบโดยทั่วกัน (2) สิทธิทางการเมือง สิทธิมนุษยชนสากล และการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (3) เพิ่มช่องทางการแจ้งข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะ กระบวนการรับข้อร้องเรียน มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียน (4) ก�ำหนดให้ “จริยธรรมและข้อพึงปฏิบัติในการท�ำงาน” เป็นวินัย ซึ่งกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนต้องปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งคัด หากฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามถือเป็นการท�ำผิดวินัย ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงานบุคคล ทั้งนี้ บริษทั ฯ ได้ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ก�ำหนดให้พนักงานต้องเอาใจใส่และปฏิบัติงาน ด้วยจิตส�ำนึกถึงความปลอดภัยและค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และสังคม และยังคงยึดถือและพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เช่น 3.1 ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า สิ่งแวดล้อม และสังคมไว้อย่างชัดเจนในคู่มือจริยธรรม ธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการท�ำงาน รวมถึงการให้ความส�ำคัญกับสังคมและกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างหลากหลาย 3.2 เปิดเผยนโยบายและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เช่น ด้านบุคลากร ด้านความปลอดภัย ด้านลูกค้า/ คู่ค้า/เจ้าหนี้ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านผู้ถือหุ้น เป็นต้น 3.3 จัดให้มกี องทุนส�ำรองเลีย้ งชีพส�ำหรับพนักงานและการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานในระดับผูบ้ ริหารระดับสูงของ บริษัทและ/บริษัทย่อย (โครงการ ESOP Scheme) 3.4 จัดให้มชี อ่ งทางให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถร้องเรียนต่อกรรมการอิสระโดยตรงผ่านอีเมล์ของกรรมการ อิสระ และก�ำหนดให้มีช่องทางการรับข้อร้องเรียนด้านธรรมาภิบาลจากพนักงาน ผ่านเลขานุการบริษัท โดยน�ำเสนอ รายงานด้านธรรมาภิบาลต่อคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาลเป็นรายไตรมาส 4. หมวด การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส : บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลทีส่ ำ� คัญของบริษทั อย่างถูกต้อง ครบถ้วนภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ด้วยความโปร่งใส เช่น โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ การด�ำเนินธุรกิจและ ผลประกอบการทางการเงิน การก�ำกับดูแล นโยบายในการด�ำเนินธุรกิจ กระบวนการตรวจสอบและควบคุม และช่องทางที่ หลากหลายในการเปิดเผยข้อมูล ในปี 2555 บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการปรับปรุงเว็บไซต์ของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงข้อมูลของบริษัทฯ โดยจัดหมวดการเปิดเผยหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ดิ า้ นการก�ำกับดูแลทีด่ ตี ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ฯ และส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ดังนี้ 4.1 จัดส่งรายงานทางการเงินต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์/ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด และไม่มีรายการที่ผู้สอบบัญชีแสดงความคิดเห็นอย่างมีเงื่อนไข 4.2 เปิดเผยข้อมูลในรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์ของบริษัทฯ ไว้ค่อนข้างครบถ้วน เช่น งบการเงิน นโยบายการก�ำกับดูแล กิจการและจริยธรรมธุรกิจ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม บทวิเคราะห์จากนักวิเคราะห์สถาบันต่างๆ ลักษณะการ ประกอบธุรกิจ รายงานประจ�ำปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี การประชุมผูถ้ อื หุน้ รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ข่าวแจ้ง ตลาดหลักทรัพย์ฯ และข่าวจากสื่อสิ่งพิมพ์ 4.3 จัดให้มหี น่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพือ่ เป็นช่องทางในการติดต่อ สือ่ สารข้อมูลอย่างหลากหลาย เช่น จัดให้มกี ารประชุม นักวิเคราะห์และแถลงข่าวผลประกอบการของบริษัทฯ ทุกไตรมาส และน�ำเสนอข้อมูลต่อนักลงทุน (Road Show) ในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น 4.4 เปิดเผยหลักเกณฑ์การให้ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารไว้ในรายงานประจ�ำปี อย่างชัดเจน


รายงานประจ�ำปี 2555

13

4.5 เปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับการถือหุน้ ของกรรมการและผูบ้ ริหารไว้อย่างชัดเจน และก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหาร ต้องรายงานเรื่องดังต่อไปนี้ 4.5.1 การซื้อ-ขายหุ้นของบริษัทฯ 4.5.2 รายการเกีย่ วโยงและรายงานการมีสว่ นได้เสีย ของกรรมการและผูบ้ ริหารเพือ่ ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ของกรรมการและผูบ้ ริหาร จึงได้รายงานต่อประธาน กรรมการ และบรรจุเป็นวาระเพือ่ แจ้งให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ทราบเป็นรายไตรมาส 4.6 ไม่มปี ระวัตกิ ารถูกสัง่ ให้แก้ไขงบการเงินจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ 4.7 แต่งตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2555 โดยผู้สอบบัญชีมีคุณสมบัติ ไม่ขัดกับหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และมีค่าตอบแทนการสอบบัญชีประจ�ำปี 2555 จ�ำนวน 1,245,000 บาทเพิ่มขึ้น จากปี 2554 จ�ำนวน 40,000 บาท โดยได้รวมค่าตรวจสอบบัญชีตามสิทธิในบัตรส่งเสริมการลงทุน (BOI) แล้ว และผูส้ อบบัญชี ไม่ได้ให้บริการอืน่ ๆ แก่บริษทั ฯ และไม่มคี วามสัมพันธ์ และ/หรือการมีสว่ นได้เสียกับบริษทั /บริษทั ย่อย/ผูบ้ ริหาร/ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง 4.8 งบการเงินของบริษัทฯ ได้รับการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชี 4.9 เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการ และผู้บริหาร ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย ชื่อ ต�ำแหน่ง การศึกษา การถือหุ้น ในบริษัทฯ ประสบการณ์ท�ำงาน และภาพถ่าย 4.10 ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่องานนักลงทุนสัมพันธ์เป็นอย่างมาก โดยมีส่วนร่วมในการพบปะ ให้ข้อมูล และแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์ และนักข่าว อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยบริษทั ฯ มีแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ขึ้นนับตั้งแต่ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ นักข่าว และผู้สนใจทั่วไป สามารถเข้าถึงข้อมูลบริษัทฯ ที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันต่อเหตุการณ์ ได้อย่าง เท่าเทียมกัน โดยเฉพาะข้อมูลส�ำคัญทีจ่ ะมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ และสามารถน�ำข้อมูลเหล่านัน้ ไปประกอบ การตัดสินใจการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลต่อมูลค่าที่แท้จริงของบริษัทฯ ในที่สุด บริษัทฯ ได้มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศและข่าวสารต่างๆ ตามแนวทางและกฎเกณฑ์ที่ส�ำนักงาน ก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด ผ่านช่องทางต่างๆ อย่างหลากหลาย เช่น การใช้ชอ่ งทางการ สื่อสารและการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การเปิดโอกาสให้นักลงทุน หรือนักวิเคราะห์ เข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ (Site Visit) หรือพูดคุยกับผู้บริหารของบริษัทฯ (Company Visit) การเปิดโอกาสให้นักข่าว จากทั้งส�ำนักข่าวไทยและต่างประเทศ เข้าพบและสัมภาษณ์ การออกเอกสารข่าวผลประกอบการ (Earning Release) ของ บริษัทฯ ให้แก่สาธารณชนอย่างสม�่ำเสมอ การจัดประชุมร่วมกับนักวิเคราะห์ เพื่อติดตามการผลด�ำเนินงานของบริษัทฯ และแนวโน้มของอุตสาหกรรมทุกไตรมาส การมีชอ่ งทางการสือ่ สารให้นกั ลงทุนสามารถสอบถามข้อมูลบริษทั ฯ ผ่าน IR Contact ได้ทงั้ ทางโทรศัพท์ และจดหมายอิเลคทรอนิคส์ รวมถึงการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารผ่าน Company Website (www.satpcl.co.th) ซึ่งมีการปรับปรุงข้อมูลส่วนของ IR อย่างสม�่ำเสมอ ทั้งในส่วนของงบการเงิน รายงานประจ�ำปี แบบ 56-1 เอกสารประกอบ การน�ำเสนอข้อมูลบริษัทฯ บทวิเคราะห์หลักทรัพย์ และอื่นๆ ทั้งนี้ ในปี 2555 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีกิจกรรมในการน�ำเสนอข้อมูลทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1. การน�ำเสนอข้อมูลต่อนักลงทุน (Road Show) ภายในประเทศ 1 ครั้ง ซึ่งผ่านรายการเคเบิลทีวี จัดโดย รายการ Money Channel และต่างประเทศอีก 3 ครั้ง ณ ประเทศสิงคโปร์ และ ฮ่องกง 2. การประชุมนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) จ�ำนวน 4 ครั้ง 3. การเข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัท (Site Visit) หรือพูดคุยกับผู้บริหารของบริษัทฯ (Company Visit) และการรับสาย ผ่าน Conference Call ของนักวิเคราะห์ และ นักลงทุนสถาบันทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ จ�ำนวน 8 ครั้ง


14

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

4. การน�ำเสนอข้อมูลในงานบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Opportunity Day) จ�ำนวน 4 ครั้ง 5. การออกเอกสารข่าวผลประกอบการ (Earning Release) จ�ำนวน 4 ครั้ง 6. การเผยแพร่ข่าว (Press Releases) ในกรณีที่บริษัทมีกิจกรรมการลงทุน หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ส�ำคัญ 7. การให้ขอ้ มูล และตอบข้อซักถามของนักลงทุน และสือ่ มวลชนทีต่ ดิ ต่อทางจดหมายอิเลคทรอนิคส์ ที่ ir@somboon.co.th และ ทางโทรศัพท์ 0-2728-8596 อย่างสม�่ำเสมอ 5. หมวด ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ : บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในการแสดงบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย เช่น การก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ การพิจารณาตรวจสอบการด�ำเนินงาน ดูแลให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างโปร่งใส อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงด�ำเนินการ ปฏิบัติเพื่อสร้างความยั่งยืนในเรื่องต่อไปนี้ 5.1 คณะกรรมการบริษทั ฯ ประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ โดยบริษทั ฯ ได้จดั ให้มจี ำ� นวนกรรมการทีเ่ หมาะสม กับขนาดของกิจการบริษทั ฯ ในปัจจุบนั มีกรรมการทัง้ หมด 10 คน ซึง่ เป็นกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจ�ำนวน 3 คน กรรมการ ทีไ่ ม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร 7 คน ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 6 คน ซึง่ มีจำ� นวนเกินร้อยละ 60 ของกรรมการทัง้ คณะ ทั้งนี้กรรมการแต่ละคนมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี และไม่จ�ำกัดจ�ำนวนวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง โดยมี รายละเอียดการด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรายบุคคล ดังนี้

ชื่อ

นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ นายปัญจะ เสนาดิสัย นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ นายอัจฉรินทร์ สารสาส นายไพฑูรย์ ทวีผล นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

ปีที่ได้รับ ปีที่เลือก แต่งตั้ง ครั้งล่าสุด

2551 2547 2547 2550 2552 2551 2547 2547 2547 2547

2554 2554 2555 2555 2554 2554 2555 2553 2553 2553

ประเภท ของกรรมการ

กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการอิสระ

การสรรหา/ การแต่งตั้งเป็น การแต่งตั้ง กรรมการ ในครัง้ ในปี 2555 ถัดไป

ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่ ไม่ใช่

2557 2557 2558 2558 2557 2557 2558 2556 2556 2556

5.2 คณะกรรมการบริษัทฯ จัดให้มีการทบทวน ขอบเขต บทบาทอ�ำนาจหน้าที่ของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการบริษัท ย่อยเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละครั้ง 5.3 คณะกรรมการบริษัทฯ อยู่ระหว่างการก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ดีของกรรมการ ในเรื่อง (1) การเกษียณอายุ (2) วาระด�ำรง ต�ำแหน่งของกรรมการ และ (3) การหมุนเวียนต�ำแหน่งของกรรมการชุดย่อย 5.4 เพือ่ น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั งิ านด้านการก�ำกับดูแลกิจการอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายเกีย่ วกับ จ�ำนวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนจะไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการได้ ดังนี้ 5.4.1 จ�ำนวนบริษัท ที่กรรมการแต่ละคนจะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนได้ไม่เกิน 5 บริษัท 5.4.2 กรรมการผูอ้ ำ� นวยการและผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั สามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั อืน่ ได้ไม่เกิน 3 บริษทั โดยต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน


รายงานประจ�ำปี 2555

15

5.5 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ปรับปรุงคูม่ อื นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจฯ เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิ ที่ดีของ “เข็มทิศธุรกิจ” ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยถือเป็นวินัยในการปฏิบัติงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ดังนี้ 5.5.1 ก�ำหนดให้กรรมการผู้อ�ำนวยการ สามารถไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นได้ โดยต้องได้รับ การอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทฯ 5.5.2 ก�ำหนดช่องทางการแจ้งข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะ ในเรือ่ งต่างๆ รวมถึงการแจ้งเบาะแสการ กระท�ำผิดกฎหมาย โดยเปิดโอกาสให้พนักงานและผู้ส่วนได้เสียมีช่องการแสดงความเห็นได้อย่างอิสระ เพื่อน�ำไปสู่การปรับปรุงระบบ บริหารจัดการ และสามารถร้องเรียนผ่านอีเมล์ของกรรมการอิสระ โดยตรงหรือส่งจดหมายร้องเรียนผ่านเลขานุการ บริษัทฯ 5.5.3 เพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง จึงได้ก�ำหนดให้คู่มือ “จริยธรรมฯ” เป็นวินัยอย่างหนึ่ง ซึ่งกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด การฝ่าฝืนไม่ปฏิบตั ติ าม ถือเป็นการท�ำผิดวินยั ตามระเบียบว่าด้วย การบริหารงานบุคคล 5.5.4 ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งของผลประโยชน์ไว้ในคู่มือจริยธรรมฯ เพื่อป้องกันการใช้โอกาสแสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตน 5.6 ไม่มปี ระวัตกิ ารกระท�ำผิดกฎระเบียบของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์/ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 5.7 ก�ำหนดให้ประธานกรรมการเป็นบุคคลคนละคนกับกรรมการผู้อ�ำนวยการ โดยมีบทบาท อ�ำนาจ และหน้าที่ที่แบ่งแยก ออกจากกันอย่างชัดเจน และแต่งตั้งกรรมการอิสระเป็นประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร และประธาน คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ 5.8 บริษัทฯ มีนโยบายให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีโอกาสประชุมระหว่างกันเอง เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการ จัดการทีอ่ ยูใ่ นความสนใจ โดยไม่มฝี า่ ยจัดการร่วมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ ส�ำหรับปี 2555 ได้จดั ให้มกี ารประชุม 2 ครัง้ เมือ่ วันที่ 22 มิถนุ ายน และ 21 ธันวาคม 2555 เพือ่ ติดตามความคืบหน้าแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ทั้งนี้ ประธานกรรมการได้แจ้งผลการหารือให้กรรมการผู้อ�ำนวยการรับทราบ 5.9 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีส่วนร่วมกับฝ่ายบริหาร ในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และ งบประมาณของบริษัทฯ โดยจัดให้มีการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระเพื่อร่วมกันก�ำหนดทิศทางองค์กร ผ่านการ สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารระหว่างคณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหารระดับสูงเป็นประจ�ำทุกปี โดยภายหลังจากการสัมมนา ได้สื่อสารแผนธุรกิจและเป้าหมายให้พนักงานทุกระดับทั่วทั้งองค์กรปฏิบัติตามภายใต้กิจกรรม “จับเข่าคุยกัน” ซึ่ง กรรมการผู้อ�ำนวยการจะเป็นผู้ชี้แจงนโยบายและผลการด�ำเนินงานปีละ 2 ครั้ง) 5.10 คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาทในการแก้ไขสถานการณ์หรือปัญหาของบริษัทฯ โดยได้หารือร่วมกับฝ่ายบริหารเพื่อ ก�ำหนดมาตรการและแผนด�ำเนินงานในการป้องกันผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริษัทฯ 5.11 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยได้มีการก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน 5.12 คณะกรรมการบริษัทฯ จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การด�ำเนินการให้ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ จัดให้มกี ารบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมเพียงพอ ตลอดจน จัดให้มีกลไกลการตรวจสอบและถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปกป้องรักษาและดูแลทรัพย์สิน มีแผนก ตรวจสอบภายใน ภายใต้การดูแลของผูจ้ ดั การแผนกโดยนายวิศรุต บุญโต ซึง่ เป็นหน่วยงานอิสระทีร่ ายงานตรงต่อคณะ กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล และจัดท�ำรายงานคณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้อย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย ข้อมูลส�ำคัญอย่างครบถ้วน และมีการก�ำหนดนโยบายบริหารความเสี่ยงไว้อย่างชัดเจน


16

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

5.13 คณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลให้บริษัทฯ มีระบบบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ และการติดตามการบริหารความเสี่ยงอย่าง สม�่ำเสมอ จึงได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management Committee) เพื่อพิจารณา การบริหารความเสี่ยงในทุกด้านให้มีความเหมาะสม และมอบหมายให้ ติดตาม ดูแล วิเคราะห์การบริหารความเสี่ยง ในระดับปฏิบัติแต่ละฝ่ายงาน ผ่าน Risk Champion และให้รายงานผลการบริหารความเสี่ยง ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบทุกไตรมาส 5.14 แต่งตัง้ นายธนกฤต เพิม่ พูนขันติสขุ ซึง่ เป็นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถ และได้ผา่ นการฝึกอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท โดยได้รับแต่งตั้งเป็น เลขานุการบริษัทฯ ตั้งแต่ปี 2549 เพื่อท�ำหน้าที่ ให้เป็นไปตามพรบ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ม.89/15 ดังนี้ (1) เป็นศูนย์กลางในการการจัดท�ำ/เก็บรักษาเอกสาร (2) ทะเบียนกรรมการ (3) จัดประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือนัดประชุมและ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น (4) รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร (5) จัดกิจกรรมระหว่างกรรมการ และผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างกันให้ดียิ่งขึ้น (6) ประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ บริษัทฯ (7) ให้ความเห็นเกี่ยวกับกฎหมาย ประกาศต่างๆ (8) เรื่องอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ 5.15 คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้จดั ตัง้ คณะท�ำงานธรรมาภิบาล (CG Committee) โดยมอบให้ เลขานุการบริษัทฯ ท�ำหน้าที่ประธานคณะท�ำงานโดยมีบทบาท หน้าที่ (1) ส่งเสริม เผยแพร่ นโยบายการก�ำกับดูแล กิจการ จริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการท�ำงาน (2) ศึกษา ปรับปรุง ประเมิน ทบทวน เสนอแนะ หลักเกณฑ์การ ก�ำกับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจฯ ของบริษัทฯ ให้เป็นปัจจุบัน และสอดคล้องกับกฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และแนวปฏิบัติที่ดีขององค์กรชั้นน�ำ ที่เป็นมาตรฐานสากล (3) ดูแลให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจฯ ของบริษัทฯ โดยรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบฯ ทราบทุกไตรมาส (4) ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล มอบหมาย 5.16 การประชุมคณะกรรมการ : คณะกรรมการบริษัทฯ มีการก�ำหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นการล่วงหน้า ทัง้ ปี และจะประชุมกันมากกว่า 6 ครัง้ ในแต่ละปี รวมทัง้ มีการประชุมกรณีพเิ ศษตามความจ�ำเป็น ในการประชุมแต่ละครัง้ มีการก�ำหนดวาระการประชุมทีช่ ดั เจน ทัง้ วาระเพือ่ ทราบและวาระเพือ่ พิจารณา มีเอกสารประกอบการประชุมทีค่ รบถ้วน เพียงพอ และจัดส่งให้กบั คณะกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอ ก่อนเข้าร่วมประชุม ในการประชุมประธานได้จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอ เพื่อให้กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและ แสดงความเห็นร่วมกันได้อย่างเปิดเผย โดยมีประธานกรรมการเป็นผู้ประมวลความเห็นและข้อสรุปที่ได้จากที่ประชุม บันทึกการประชุมจัดท�ำเป็นลายลักษณ์อักษรโดยเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ และหลังจากที่ผ่านการรับรองจากที่ ประชุมจะถูกจัดเก็บไว้ที่ตู้เอกสาร ชั้น 2 อาคาร 11 ส�ำนักงานใหญ่ ส�ำหรับกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ โดย รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน สรุปได้ดังนี้


รายงานประจ�ำปี 2555

17

การเข้าร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) ชื่อ-นามสกุล

นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ นายปัญจะ เสนาดิสัย นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ นายอัจฉรินทร์ สารสาส นายไพฑูรย์ ทวีผล นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

ต�ำแหน่ง

คณะ กรรมการ บริษัทฯ

กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบฯ/ กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ กรรมการอิสระ/ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบฯ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบฯ /ประธานคณะกรรมการสรรหา และค่าตอบแทนฯ กรรมการ/กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ/กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ

9/9 9/9 9/9

12/12 -

5/6

3/3

2/2 2/2 2/2

9/9 9/9 9/9

12/12 -

- 6/6 6/6 3/3

2/2 2/2 2/2

9/9 9/9 9/9 9/9

12/12 12/12

-

2/2

คณะ คณะ คณะกรรมการ คณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ สรรหาและ ที่ไม่เป็น บริหาร ตรวจสอบฯ ค่าตอบแทนฯ ผู้บริหาร

3/3

5.17 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ : คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ ตนเองแบบทั้งคณะ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อทบทวนว่าได้มีการก�ำกับดูแลให้มีการก�ำหนด และ/หรือด�ำเนินการต่างๆ ได้อย่างเพียงพอ และ ใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนฝ่ายบริหารน�ำไปปรับปรุง/พัฒนาการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยใช้แบบฟอร์ม ทีบ่ ริษทั ฯ ปรับปรุงจากตัวอย่างแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของคณะกรรมการบริษัทฯ และแจ้งผลการประเมินให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ และ วิเคราะห์ผลการประเมิน เพื่อน�ำไปสู่การด�ำเนินการของฝ่ายบริหาร 5.18 การประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ : คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการเป็นประจ�ำทุกปี โดยใช้เป้าหมายและหลักเกณฑ์ในการประเมินทีเ่ ชือ่ มโยงกับความส�ำเร็จของแผน ยุทธศาสตร์ เพื่อพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน และเงินรางวัลจูงใจที่เหมาะสม 5.19 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร • การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ทุกคน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในธุรกิจ และการ ด�ำเนินการด้านต่างๆ ของบริษัทฯ เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ ขณะเดียวกันก็มีนโยบายที่ จะเสริมสร้างความรู้และมุมมองใหม่ๆ ให้กับกรรมการทุกคนทั้งในแง่การก�ำกับดูแลกิจการ ภาวะอุตสาหกรรม ธุรกิจ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพของกรรมการให้สามารถเข้า รับต�ำแหน่งได้เร็วที่สุด โดยมีเลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้ประสานงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. เรื่องที่ควรทราบ : โครงสร้างธุรกิจ และโครงสร้างกรรมการ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ กฎหมายที่ควรทราบ 2. ความรู้ทั่วไปของธุรกิจ แนวทางการด�ำเนินงาน และเยี่ยมชมกระบวนการผลิต 3. จัดให้มกี ารพบปะหารือกับประธานกรรมการ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ เพือ่ สอบถามข้อมูลเชิงลึกเกีย่ วกับการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ


18

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้ ในปี 2555 ถึงแม้บริษัทฯ ไม่มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ แต่เพื่อให้กรรมการได้รับทราบข้อมูลข่าวสารที่เป็น ปัจจุบัน จึงได้ปรับปรุงคู่มือปฐมนิเทศกรรมการและแจกจ่ายให้กรรมการได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงความรู้ทั่วไปของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้กรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบตั หิ น้าที่ รวมทัง้ พบปะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยเลขานุการบริษทั ฯ จะเป็นผูป้ ระสานงาน กับกรรมการเพื่อเข้าอบรมหลักสูตรกรรมการของสถาบันกรรมการบริษัทไทย ได้แก่ Directors Certification Program (DCP) Directors Accreditation Program (DAP) Audit Committee Program (ACP) ทั้งนี้ เพื่อน�ำความรู้และ ประสบการณ์มาพัฒนาองค์กรต่อไป • การพัฒนาความรู้ คณะกรรมการบริษัทฯ ส่งเสริม สนับสนุน ให้กรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท เข้ารับการอบรมสัมมนาจาก หลักสูตรต่างๆ ที่จัดขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือองค์กรอิสระต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และเป็นประโยชน์ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส�ำหรับปี 2555 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ส่งเสริมความรู้ให้กรรมการและผู้บริหาร ดังนี้ 1. จัดให้มีการอบรมสัมมนา 1.1 ประธานกรรมการ เข้าร่วมอภิปรายและระดมความคิดเห็น “New Role of the Chairman under Globalization” จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 1.2 การสัมมนาภายในกลุ่มบริษัทฯ (In-House Training ) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ให้แก่กรรมการ และผู้บริหารระดับสูง เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการทุจริต โดยร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดสัมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ จริยธรรม... กับความยัง่ ยืนขององค์กร ” เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม และ 14 พฤศจิกายน 2555 และก�ำหนดแผนงาน เพื่อน�ำไปสู่การบริหารจัดการองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม ในปี 2556 1.3 ส่งเสริมให้กรรมการ มีโอกาสการเรียนรู้แบบ “Learning By Doing” หนังสือ Chairing of The Board 1.4 จัดให้มกี ารส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับกลาง-พนักงานทุกระดับ ผ่านการอบรมเรือ่ ง “บทบาท ของพนักงาน.... ต่อการต่อต้านการทุจริต” และกฎหมายการต่อต้านการทุจริตที่ควรทราบ 1.5 เข้าร่วมอบรม/สัมมนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ • หลักสูตร Financial Instruments for Directors จัดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ เพือ่ ทราบถึงเครือ่ งมือทางการเงินประเภทต่างๆ ที่ช่วยในการบริหารสภาพคล่องของบริษัทฯ • หลักสูตรต่อต้านการทุจริตส�ำหรับผู้บริหาร เพื่อผลักดันให้เกิดการต่อต้านการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • สัมมนาเรื่อง กฎหมายต่อต้านการทุจริตฉบับใหม่กับการพัฒนาองค์กรไทยไปสู่ความโปร่งใส เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อม สร้างความรู้และความเข้าใจ ในการน�ำไปพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้เป็นไปตามกฎหมาย จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2. On the Job Training เพื่อส่งเสริมให้กรรมการ และผู้บริหาร ได้รับความรู้เฉพาะด้านที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ เช่น การเยี่ยมชมสายการผลิตใหม่ โครงการลงทุนใหม่ ซึ่งอนุมัติการลงทุนไว้แล้ว การเยี่ยมชมสายการผลิตของ ลูกค้าหลักหรือกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนรถยนต์ เพื่อรับทราบสถานการณ์โดยทั่วไป เป็นต้น


รายงานประจ�ำปี 2555

19

5.20 การจัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการและรองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ เพือ่ มัน่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ มีผบู้ ริหาร ที่มีความรู้ ความสามารถเพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีแผนพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร เพื่อจัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานประกอบด้วย กรรมการผู้อ�ำนวยการ และรองกรรมการผู้อ�ำนวยการทุกสายงาน 2. คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ พิจารณาก�ำหนดความรู้ ความสามารถ (Competency) ประสบการณ์ของแต่ละ ต�ำแหน่งงาน เพือ่ คัดเลือกผูบ้ ริหารทีม่ คี ณุ สมบัตสิ อดคล้องตามทีก่ ำ� หนด สามารถสืบทอดงานของแต่ละต�ำแหน่งงานได้ 3. กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ประเมินการปฏิบตั งิ านและความรู้ ความสามารถของผูบ้ ริหารทีม่ คี ณุ สมบัตสิ อดคล้อง เทียบกับ ระดับ Competency ที่ต้องการ เพื่อจัดท�ำแผนการพัฒนารายบุคคลในการลด Competency Gap 4. มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (Executive HR) ท�ำหน้าทีด่ แู ลติดตามการอบรม และพัฒนาความรู้ ความ สามารถของผู้สืบทอดต�ำแหน่งรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ 5. กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ จัดให้มกี ารหมุนเวียนหน้าที่ ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารทีม่ คี ณุ สมบัตสิ อดคล้อง และมอบหมาย ให้ผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร เพื่อให้มีความเข้าใจ ประสบการณ์ และความพร้อมในการบริหารองค์กรต่อไปในอนาคต 6. กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน และผลการพัฒนาตามแผนพัฒนารายบุคคลของผูบ้ ริหารทีม่ คี ณุ สมบัติ สอดคล้อง ต่อคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนปีละ 2 ครั้ง 7. คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน ทบทวนและสรุปผลการจัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ และรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ เป็นประจ�ำ และรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ ปีละ 2 ครั้ง 5.21 การสรรหากรรมการและผู้บริหาร : เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้ก�ำหนด นโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและ ค่าตอบแทน เป็นผูส้ รรหาบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมเข้ารับการคัดเลือก โดยบุคคลทีเ่ หมาะสมจะถูกคัดเลือกโดยคณะกรรมการ สรรหาฯ ซึ่งจะเป็นผู้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหาคัดเลือก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์ของ บริษัทฯ ในช่วงเวลานั้น โดยในปี 2555 บริษัทฯ ได้สรรหากรรมการผู้อ�ำนวยการ แทนกรรมการผู้อ�ำนวยการที่เกษียณอายุ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 5.22 การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน การจัดกระบวนทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ พนักงานมีจะความสามารถตามที่องค์กรต้องการถือเป็น กลยุทธ์เร่งด่วนขององค์กร บริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์จึงจัดให้มีแผนพัฒนารายบุคคล ส�ำหรับพนักงานทุกระดับ มีระบบการ จัดการบนฐานสมรรถนะ และการก�ำหนดคุณลักษณะของต�ำแหน่งงานทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจและทิศทางขององค์กร โดยพนักงานทุกคนต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตั้งแต่เริ่มเข้าท�ำงาน และการวางแผนความก้าวหน้าตามกระบวนการ บริหารสายอาชีพ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ สมรรถนะ น�ำมาประยุกต์จนเกิดเป็นทักษะในการท�ำงานให้สอดคล้องกับเป้าหมาย องค์กร ซึ่งความรู้หลักที่ใช้ในการพัฒนาบุคลากรแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย ความรู้พื้นฐาน ด้านคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมระดับองค์กร ความรู้ด้านธุรกิจและจริยธรรมทางธุรกิจ ความรู้ที่ต้องพัฒนา ในหน่วยธุรกิจและการพัฒนาสมรรถนะด้านวิชาชีพ และความรู้ด้านภาวะผู้น�ำและการบริหารจัดการ นอกจากนีม้ ีการก�ำหนดหลักสูตรพื้นฐานเพื่อเสริมสมรรถนะส่วนบุคคลให้กบั พนักงานทุกระดับ สอดรับกับวัฒนธรรมค่านิยม DNA ส่งเสริมให้พนักงานเป็นคนดี สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างสันติสุข ผ่านการพัฒนาและกิจกรรมต่างๆ เช่น หลักสูตร จริยธรรมการการด�ำเนินธุรกิจ หลักสูตรบทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารต่อการด�ำเนินการทางธุรกิจ อย่างไรก็ตาม ภาพรวม ผลการวิเคราะห์แผนพัฒนาพนักงานรายบุคคลปี 2555 พบว่า พนักงานส่วนใหญ่ยงั มีความต้องการเพิม่ เติมความรู้ และพัฒนา ทักษะอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองการขยายธุรกิจ และการเติบโตขององค์กร จึงเป็นที่มาที่บริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์ ต้อง ทบทวนแนวทาง และเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการพัฒนาพนักงาน เช่น ระบบพีเ่ ลีย้ ง การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การสอนงาน การหมุนเวียน เรียนรู้งาน การมอบหมายงานหรือโครงการ การอบรมซึ่งมีการออกแบบหลักสูตรใหม่ที่เน้นการพัฒนาความรู้และทักษะทาง ธุรกิจในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ การทบทวนหลักสูตรปฐมนิเทศ เพิ่มเติมความรู้ด้านธุรกิจทั้งห่วงโซ่คุณค่าของบริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์ หลักสูตรการปฏิบัติการความคิดเชิงกลยุทธ์ หลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้บริหารกับธุรกิจระดับโลก


20

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

5.23 การส่งเสริมความรู้ของพนักงาน ส�ำหรับพนักงานใหม่ทุกคน จะได้รับการอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศ ที่มุ่งเน้นให้รับทราบวิสัยทัศน์ นโยบายองค์กร ความรู้ ภาพกว้างและเชิงลึกเกีย่ วกับธุรกิจ สวัสดิการ ระเบียบข้อปฏิบตั ิ กิจกรรมภายในองค์กร และกิจกรรมเพือ่ สังคม รวมทัง้ เสริมสร้าง วัฒนธรรมองค์กร และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวโดยเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้ในระหว่างร่วมงานกับบริษัทฯ ในกลุ่ม สมบูรณ์ พนักงานทุกระดับจะได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ แตกต่างกันตามเนื้อหา ลักษณะงาน และระดับงาน ภายใต้แนวคิดสัดส่วน 70:20:10 การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน หรือฝึกปฏิบัติงาน หมุนเวียน เรียนรูง้ าน อบรมวิธกี ารปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ การเป็นวิทยากรสอนทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั ฯ เป็นสัดส่วน 70% การสอนงาน และระบบพี่เลี้ยง เป็นสัดส่วน 20% และการเรียนรู้จากการสร้างประสบการณ์ เช่น การฟังบรรยาย การประชุม/ถกประเด็น เรียนด้วยตนเองผ่านหนังสือ บทเรียน กรณีศึกษา ผ่านสื่อทางภาพและเสียง เป็นต้น เมื่อพนักงานเติบโตไปสู่ระดับงานที่สูงขึ้น บริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์ มีหลักสูตรเตรียมความพร้อม เมื่อต้องการเปลี่ยนบทบาท จากพนักงานสูบ่ ทบาทผูน้ ำ� ประกอบด้วย หลักสูตร Managerial Management และ Business Knowledge ส�ำหรับพนักงาน ระดับกลางและผูจ้ ดั การ หลักสูตร Management Advancement Program และ Global Executive Development Program เพือ่ เตรียมความพร้อมส�ำหรับการเป็นผูบ้ ริหารระดับสูงต่อไป จากแผนกลยุทธ์บริษทั ฯ ในกลุม่ สมบูรณ์ ปี 2556 - 2561 บริษทั ฯ จะมุ่งสู่การเป็นบริษัทฯ ที่สามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจระดับสากล จึงเล็งเห็นความส�ำคัญของการพัฒนา Leadership Competency ให้สอดรับกับวิสัยทัศน์ และ พันธกิจใหม่ขององค์กร มีความกระชับชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งมีความเหมาะสม เชิงกว้างและเชิงลึกในทุกสายอาชีพ ปี 2555 บริษัทฯ ในกลุ่มสมบูรณ์จึงได้จัดกระบวนทัศน์เพื่อทบทวน Leadership Competency โดยได้รับความร่วมมือจาก พนักงานและผู้บริหารทั่วทั้งองค์กร ผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์วิสัยทัศน์ และ พันธกิจน�ำสู่ ปัจจัยขับเคลื่อนเชิงธุรกิจในกลุ่มสมบูรณ์ (Business Driver) การทบทวน Job Family เพื่อให้สอดรับกับ Business Driver ทั้งนี้ผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง เข้าร่วมกิจกรรมทบทวน Leadership Competency แบบ Focus Group แยกตามสายงานและสายอาชีพตาม Job Family และได้มีการปรับใช้ Leadership Competency ชุดใหม่นี้ ในผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง และในปี 2556 จะน�ำสู่การใช้งานกับพนักงานทุกระดับ โดยได้มีการเตรียมความพร้อม ส�ำหรับพนักงานสายงานทรัพยากรบุคคล เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการการประยุกต์ใช้ Leadership Competency ชุดใหม่ กับงานในสายงานทรัพยากรบุคคลทั้งสายงาน สรุปจ�ำนวนวัน แยกระดับ และประเภทหลักสูตร ตามแผนการอบรมประจ�ำปี 2555 Chart รวมชั่วโมงการจัดฝึกอบรมแต่ละด้านในปี 2555


รายงานประจ�ำปี 2555

21

Chart จ�ำนวนชั่วโมงอบรมเฉลี่ยแบ่งตามระดับพนักงานและกลุ่มหลักสูตรปี 2555

2. การด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม

คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายและยึดถือปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่อง ในเรื่องของการปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต การเคารพสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา การส่งเสริมสิทธิทางการเมือง ตลอดจนการปฏิบัติตามพันธสัญญาต่อ ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ได้แก่ 1. การแข่งขันที่เป็นธรรม : การปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ตกลงกันไว้กับผู้ขาย หรือเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด เป็นธรรมตามข้อ ตกลงต่างๆ ที่ได้ให้พันธะสัญญาไว้ในการด�ำเนินธุรกิจร่วมกัน แนวทางในการปฏิบัติ 1) ระบุเงื่อนไข และข้อตกลงต่างๆ ร่วมกัน ไว้ในสัญญาซื้อขาย และ ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้องรีบแจ้งให้ลูกค้าทราบ เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 2) ให้ข้อมูลข่าวสารและค�ำแนะน�ำที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันเหตุการณ์ ต่อลูกค้า เพื่อให้ทราบเกี่ยวกับสินค้า การบริการ 3) ส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพ ตรงตามข้อตกลงกับลูกค้าในราคาที่เป็นธรรม ไม่ค้าก�ำไรเกินควร 2. ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมในคู่ค้า : 2.1 ส่งเสริมการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของผูข้ าย และเปิดโอกาสให้ผขู้ ายได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการด�ำเนิน กิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัทอย่างต่อเนื่อง ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยสามารถเข้าร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมต่างๆ ของบริษทั ผ่านทางตรงด้วยอาสาแรงงาน หรือทางอ้อมด้วยการสนับสนุนทุนทรัพย์หรือสิง่ ของได้ตามความสามารถและ ความประสงค์ของผู้ขาย 2.2 ตรวจสอบความเกี่ยวโยงและเกี่ยวข้องระหว่างพนักงานทุกระดับชั้นกับผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับเหมา ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความไม่เป็นธรรมและไม่เสมอภาคในการด�ำเนินธุรกิจระหว่างผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับเหมา แต่ละรายของบริษัทฯ


22

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

2.3 ชี้แจง ขอความร่วมมือ และตรวจสอบถึงความเป็นธรรมในการจ้างงานและการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานของผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับเหมา ที่เป็นคู่ค้าของบริษัทฯ ว่ายังคงความเป็นธรรมและปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่อย่างต่อเนื่อง แนวทางในการปฏิบัติ 1) ก�ำหนดมาตรการที่เกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมไว้ในนโยบายและข้อปฏิบัติในการจัดซื้อ จัดจ้าง 2) สนับสนุนให้พนั ธมิตรทางการค้า/คูค่ า้ ยอมรับ และน�ำไปปรับใช้นโยบายในลักษณะเดียวกัน โดย ไม่กอ่ ให้เกิดการแข่งขัน ที่ไม่เป็นธรรม 3. การเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สิน : ส่งเสริมและปฏิบัติตามสิทธิในทรัพย์สิน ทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร สิทธิทาง ศีลธรรม อย่างเคร่งครัด แนวทางในการปฏิบัติ 1) ก�ำหนดนโยบายไว้ในจริยธรรมและข้อพึงปฏิบัติในการปฏิบัติงาน หมวดการปฏิบัติต่อคู่ค้า 2) ส่งเสริมให้ผู้บริหาร พนักงาน ใช้ทรัพยากรและทรัพย์สินของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มความสามารถในการ แข่งขันและการให้บริการที่ดีแก่ลูกค้า ใช้สินค้าและบริการที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องและไม่สนับสนุนสินค้าหรือการกระท�ำ ที่เป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 4. การเกีย่ วข้องกับการเมืองอย่างมีความรับผิดชอบ : บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจด้วยความเป็นกลางทางการเมือง ไม่เข้าไปมีสว่ นร่วม และไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองหนึ่งพรรคการเมืองใด หรือผู้มีอ�ำนาจทางการเมืองคนหนึ่งคนใด ไม่น�ำเงินทุนหรือทรัพยากรของ บริษทั ฯ ไปใช้สนับสนุน ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อมแก่พรรคการเมืองหรือนักการเมืองใดๆ โดยไม่อนุญาตให้ผบู้ ริหารและ พนักงาน ใช้อ�ำนาจครอบง�ำ ชักใย ข่มขู่ บีบบังคับ แนวทางในการปฏิบัติ 1) รณรงค์และส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ผ่านช่องทางการสื่อสาร เช่น weekly news เสียงตามสาย เป็นต้น 2 เปิดโอกาสให้พนักงานใช้สิทธิทางการเมืองโดยอิสระ โดยไม่เข้าไปชักจูง ครอบง�ำ 3. การต่อต้านการทุจริต

คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีนโยบายว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ว่าด้วย “การรับสิ่งของหรือประโยชน์อื่นใดที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจโดยไม่เป็นธรรมต่อการปฏิบัติหน้าที่” และ “การให้สินบน” ไว้อย่างชัดเจนในคู่มือจริยธรรมธุรกิจของบริษัทฯ และได้ยึดถือ ปฏิบัติมาโดยตลอดดังนี้ 1. จัดให้มีการประชุมผู้ขาย เพื่อประกาศถึง นโยบายการต่อต้านการทุจริต และการด�ำเนินงานด้านจัดหา จัดซื้อแก่คู่ค้าเป็น ประจ�ำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ขายของบริษัทฯ ได้มีช่องทางในการรับทราบนโยบาย ข่าวสาร การด�ำเนินงานด้านจัดหา และจัดซื้ออย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม และเป็นโอกาสในการท�ำความเข้าใจ ในวิธีการด�ำเนินงานและด�ำเนินธุรกิจร่วมกัน ตามนโยบายของบริษทั ในแต่ละปี อีกทัง้ ยังได้เปิดช่องทางการร้องเรียนให้กบั ผูข้ ายของบริษทั ในกรณีไม่ได้รบั ความเป็นธรรมใน การด�ำเนินธุรกิจกับบริษัท หรือได้รับการข่มขู่หรือเรียกรับสินบนจากเจ้าหน้าที่ของบริษัทฯ เช่น ช่องทาง Website ของ กรรมการอิสระโดยตรง หรือผ่านทางผู้บริหารสูงสุดของฝ่ายจัดหาได้โดยตรง 2. ก�ำหนดให้พนักงานห้ามรับสิ่งของ หรือการให้สิ่งของใดๆ เพือ่ ประโยชน์อื่นใดจากบุคคลที่มีหน้าที่หรือท�ำธุรกิจที่เกีย่ วข้องกับ องค์กร ไม่ว่าจะเป็นผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับเหมา โดยก�ำหนดเป็นแนวปฎิบัติอย่างชัดเจน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาความ ไม่โปร่งใสและไม่เป็นธรรมในการค้า ระหว่างผู้ขาย ผูร้ บั จ้างช่วง ผูร้ บั เหมาเกิดขึน้ และเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาทุจริต และความไม่เป็นธรรมในการด�ำเนินธุรกิจอย่างชัดเจน เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาทุจริต และความไม่เป็นธรรมในการ ด�ำเนินธุรกิจ


รายงานประจ�ำปี 2555

23

แนวทางในการปฏิบัติ 1) จัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร ระดับผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับจริยธรรม กับการสร้างความ ยั่งยืนขององค์กร และก�ำหนดจัดต่อเนื่องทุกระดับ 2) เปิดโอกาสให้พนักงานและผูม้ สี ว่ นได้เสีย สามารถแจ้งเบาะแส ผ่าน E-mail กรรมการอิสระโดยตรง และก�ำหนดมาตรการ คุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส โดยได้ก�ำหนดไว้ในคู่มือจริยธรรมของบริษัทฯ 3) ประกาศนโยบาย ความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจและการต่อต้านการคอร์รัปชั่น ในการจัดประชุมผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง ผู้รับเหมา พร้อมทั้งแจกจ่ายคู่มือนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ให้ผู้แทนที่เข้าร่วมในการประชุมทราบ และกรณีพบว่า คู่ค้ามีส่วนร่วมกระท�ำการทุจริต บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิในการระงับการท�ำธุรกิจกับบริษัทนั้นทันที 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน

คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญและถือเป็นนโยบายหลักในการด�ำเนินธุรกิจไปสู่ความยั่งยืน โดยค�ำนึงถึงการเคารพสิทธิ มนุษยชนและเคารพต่อศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์ของพนักงานทุกคน ซึ่งเป็นรากฐานของการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณภาพและคุณค่า 1. บริษัทฯ มีมาตรการคุ้มครองพนักงานที่ให้ข้อมูลแก่ทางการกรณีมีการท�ำผิดกฎหมาย หรือผิดพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ จะได้รับความคุ้มครอง บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนต�ำแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ท�ำงาน สั่งพักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้าง (มาตรา 89/2) อันเนื่องมาจากสาเหตุแห่ง การแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการท�ำผิดกฎหมายหรือการผิดจรรยาบรรณ 2. บริษัทฯ ตระหนักว่าพนักงานเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างผลิตภัณฑ์คุณภาพแก่บริษัทฯ บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญในการ ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรม ทั้งในเรื่องการให้โอกาส ผลตอบแทน การแต่งตั้ง โยกย้าย และการพัฒนาศักยภาพควบคู่ กับการพัฒนาคุณธรรม เพื่อให้พนักงานเป็นผู้มีความสามารถและเป็นคนดีของสังคม เช่น การจ้างงานที่เป็นธรรมส�ำหรับ พนักงานและให้พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพ ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมและจัดระบบการท�ำงานให้ พนักงานมีความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน มีสุขอนามัยที่ดี พัฒนาพนักงานเพื่อฝึกทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพอย่างทั่วถึง และให้พนักงานรับทราบข่าวสารของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอ แนวทางในการปฏิบัติ 1) ก�ำหนดนโยบายให้บริษัทในกลุ่มสมบูรณ์ ไม่ท�ำธุรกรรมกับบริษัทที่ไม่ค�ำนึงถึงสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะการละเมิดสิทธิ ขั้นพื้นฐาน ด้านเชื้อชาติ สตรี เด็ก คนพิการ เป็นต้น 2) ก�ำหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงจากการกระท�ำผิดกฎหมายสิทธิมนุษยชน เป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 3) ก�ำหนดให้มกี ารตรวจประเมินจากหน่วยงานตรวจสอบภายใน โดยก�ำหนดให้เป็นกระบวนการหลักในการตรวจประเมิน เป็นประจ�ำทุกปี และรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ 4) เปิดโอกาสให้พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม แสดงความเห็นผ่านช่องทางการเสนอแนะโดยผ่าน E-mail ของ กรรมการอิสระหรือเลขานุการบริษัทฯ 5) มีช่องทางการสื่อสารเพื่อให้พนักงานหรือผู้มีส่วนได้เสีย ทราบความคืบหน้าในการแจ้งเบาะแส 6) จัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547


24

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม

คณะกรรมการบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในการปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเป็นธรรม และให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชนและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ตามหลักสิทธิมนุษย์สากล และหลักจริยธรรมฯ ที่ดี เพื่อน�ำไปสู่ความสงบสุขในสังคม และสร้างความเจริญ เติบโตให้องค์กรด้วยความยั่งยืน 1. การเคารพสิทธิในการท�ำงานตามหลักสิทธิมนุษยชน โดยการไม่เลือกปฏิบตั ติ อ่ การจ้างงาน ไม่บงั คับให้บคุ คลขาดความสมัครใจ ที่จะท�ำงาน ไม่ใช้แรงงานเด็ก เคารพในสิทธิและเสรีภาพของพนักงาน แนวทางในการปฏิบัติ 1) ก�ำหนดนโยบายว่าด้วยการไม่เลือกปฏิบตั แิ ละความเสมอภาคทางโอกาส โดยไม่จำ� กัดเชือ้ ชาติ สีผวิ เพศ ศาสนา สัญชาติ ภูมิหลังของบุคคล ความคิดเห็นทางการเมือง อายุ หรือความทุพพลภาพ มาเป็นปัจจัยในการพิจารณาและตัดสินใจ การจ้างงาน 2) ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาพนักงานเพื่อฝึกทักษะและเพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปิดโอกาสให้พนักงานมีการเรียนรู้อย่าง ทั่วถึงและสม�่ำเสมอ 3) จัดให้มชี อ่ งทางให้พนักงานสามารถร้องเรียน ในกรณีไม่ได้รบั ความเป็นธรรม หรือแจ้งเบาะแสเกีย่ วกับเรือ่ งทีอ่ าจเป็นการ กระท�ำผิดกฎหมาย และมีกระบวนการแก้ไข รวมถึงมาตรการคุ้มครองพนักงานผู้ร้อง ที่เป็นระบบและยุติธรรม จ�ำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีดังนี้ บริษัท

1. บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) 2. บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด 3. บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด 4. บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด รวม จ�ำนวนพนักงานตามประเภทการจ้างงาน พนักงานประจ�ำ พนักงานสัญญาจ้าง

จ�ำนวน (คน) 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2554

ชาย 557 1,215 465 478 2,715 ชาย 2,485 230

หญิง 178 191 76 60 505 หญิง 492 13

ชาย 492 1,060 399 403 2,354 ชาย 2,197 157

หญิง 162 173 74 49 458 หญิง 438 20

2. ให้ความคุ้มครองทางสังคมและสภาพการท�ำงานของพนักงาน โดยก�ำหนดเงื่อนไขการจ้างที่เป็นธรรมและได้รับค่าตอบแทน และสวัสดิการอื่นที่เหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย โดยหลีกเลี่ยงการกระท�ำที่ไม่เป็นธรรมที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ในหน้าที่การงานของพนักงาน หรือคุกคามและสร้างความกดดันต่อสภาพจิตใจของพนักงาน แนวทางในการปฏิบัติ 1) ส่งเสริมให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในหน้าที่การงาน และครอบครัว 2) มีเงื่อนไขการจ้างงานที่เป็นธรรมและให้พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพในรูปเงินเดือน โบนัส สวัสดิการ เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพและค่าตอบแทนอื่นๆ 3) แต่งตั้ง โยกย้าย ให้รางวัลและลงโทษพนักงาน ด้วยความสุจริตใจ และตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้ความสามารถ และ ความเหมาะสมของพนักงาน


รายงานประจ�ำปี 2555

25

4) ก�ำหนดนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด 5) เปิดโอกาสให้พนักงานเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการสวัสดิการเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการด�ำเนินงานและสถานภาพของ บริษัทฯ ให้พนักงานทราบอย่างสม�่ำเสมอ 6) ก�ำหนดมาตรการคุ้มครองพนักงานที่ให้ข้อมูลแก่ทางการกรณีมีการท�ำผิดกฎหมายหรือผิดพรบ.หลักทรัพย์ฯ อันเนื่อง มาจากการแจ้งเบาะแสหรือการท�ำผิดกฎหมาย 3. ให้ความคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงาน ดูแลรักษาสภาพแวดล้อม และจัดระบบการท�ำงานให้พนักงานมี ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน รวมถึงมีสุขอนามัยที่ดี แนวทางในการปฏิบัติ : ความปลอดภัย คือ หัวใจของการท�ำงาน บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญกับสุขภาพและความปลอดภัย ในการท�ำงาน โดยมีนโยบายและเป้าหมายเพื่อป้องกันการสูญเสียจากการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากการท�ำงาน จัดท�ำแผน งานทีม่ งุ่ เน้นในเรือ่ งการป้องกัน การส่งเสริมการมีสว่ นร่วม การขจัดจุดเสีย่ งภัย และการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง พร้อมมีแนวคิด ในการสร้างให้ทุกคนมีวัฒนธรรมความปลอดภัยในการท�ำงาน คือ รับผิดชอบต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน (CSR in process) ในปี 2555 ได้จัดท�ำโครงการต่างๆ ดังนี้ 1. โครงการขจัดจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่การท�ำงาน : (1) เพื่อค้นหาและขจัดอันตรายโดยพนักงาน (Completely Check Completely Find out) ซึ่งได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา เพื่อให้พนักงานมีส่วนร่วมในการค้นหา จุดเสี่ยงในพื้นที่ท�ำงาน และติดตามการแก้ไขให้ได้ตามแผนงาน ส่งผลให้พนักงานปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ปลอดภัย และ ไม่เกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นซ�้ำอีก ผลลัพธ์ในปี 2555 เท่ากับ 0 ราย ซึ่งปัจจุบันบริษัทฯ ได้รับการตรวจประเมินจากลูกค้า อยู่ในระดับ”ดี” หรือ “เกรด A” (2) กิจกรรม 5 ส และ Shop floor มุ่งเน้นการขจัดต้นตอของความเสี่ยง และส่งเสริม ให้พนักงานมีบทบาทในการน�ำเสนอผลงาน “ประกวดการท�ำพื้นที่ให้สะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย” ผลการด�ำเนิน งานในปี 2555 บรรลุเป้าหมายทุกโรงงานคิดเป็นร้อยละ100 2. โครงการสร้างจิตส�ำนึกและความรู้ให้กับพนักงาน (1) “ขับขี่ปลอดภัยและตั้งสติ ก่อนสตาร์ท” และ “เมาไม่ขับ” ในช่วงเทศกาลสงกรานต์/ปีใหม่ เป็นการณรงค์ ส่งพนักงานกลับบ้านอย่างปลอดภัย ผลการด�ำเนินการพบว่าตั้งแต่ปี 2553-2555 คือ 0 ราย (2) การ “ตรวจสอบสมรรถภาพรถจักรยานยนต์ของพนักงานฟรี” (3) “สัปดาห์ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม” ผลลัพธ์ปี 2555 บริษทั ฯ สามารถด�ำเนินการ ตามแผนงานร้อยละ 100 3. โครงการ “ส่งเสริมสุขภาพพนักงาน” (1) จัดกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษาและเลิกสูบ บุหรีเ่ ป็นประจ�ำทุกปี โดยมีการเดินรณรงค์แผ่นป้ายเข้าในโรงงาน จัดกิจกรรมปฏิญาณตน จะเลิกเหล้า ในปี 2555 มีพนักงานเข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากปีที่ผ่านมา โดยกิจกรรมงดเหล้ามีจ�ำนวน 1,000 คน และเลิกสูบบุหรี่จ�ำนวน 500คน (2) โรงงาน สีขาวปลอดยาเสพติด มีการตรวจสารเสพติดกับพนักงานและมีต�ำรวจโรงงานคอย ประสานงาน และตรวจตราอย่างต่อเนื่อง 4. โครงการ “Zero Accident 400,000 ชั่วโมงปลอดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน” เป็นการ ส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานร่วมกันป้องกันอุบัติเหตุ เนื่องจากอุบัติส่วนใหญ่ เกิดจากการกระท�ำที่ไม่ปลอดภัย หรือประมาท เช่น ไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคล หรือไม่ปฏิบตั ติ ามกฎทีก่ ำ� หนดไว้ และเพือ่ ให้ผเู้ กีย่ วข้องได้ชว่ ยกันพยายาม คิดหากลยุทธ์ทจี่ ะมาลดอุบตั เิ หตุดงั กล่าว ได้เข้าร่วมโครงการรณรงค์ลดสถิตอิ บุ ตั เิ หตุ จากการด�ำเนินการดังกล่าวส่งผลให้ปี 2555 บริษัทฯ ได้รับโล่รางวัลทองแดง จากการ บรรลุเป้าหมาย 1,000,000 ชั่วโมงจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม


26

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังคงยึดหลักและด�ำเนินการตามนโยบายทีจ่ ะตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า ซึง่ เป็นผูซ้ อื้ ผลิตภัณฑ์และ ได้รับบริการโดยตรงจากบริษัทฯ รวมไปถึงผู้บริโภคที่เป็นผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ให้สามารถมั่นใจได้ว่านอกจากจะได้รับสินค้า บริการ ที่มีราคาที่ยุติธรรม มีคุณภาพที่ดีที่สุดแล้ว บริษัทฯ ยังตระหนักถึงความปลอดภัยที่อาจส่งผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึง การกระท�ำที่เป็นการละเมิดหรือท�ำให้เสียสิทธิของของผู้บริโภค แนวทางในการปฏิบัติ 1. สิทธิในการได้รับการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน : บริษัทฯ ก�ำหนดแนวปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดได้ ต้องรีบแจ้งให้ลูกค้าทราบ เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 2. สิทธิด้านความปลอดภัย: บริษัทฯ มีระบบการจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าอย่างปลอดภัย มีมาตรการรักษาความลับของลูกค้า ไม่ส่งต่อข้อมูลโดยไม่ได้รับความยินยอมจากลูกค้า และไม่น�ำข้อมูลของลูกค้าไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมิชอบ 3. สิทธิดา้ นข้อมูลข่าวสาร : บริษทั ฯ ก�ำหนดแนวปฏิบตั ใิ นการให้ขอ้ มูลข่าวสารและค�ำแนะน�ำทีถ่ กู ต้อง เพียงพอ และทันเหตุการณ์ ต่อลูกค้า เพื่อให้ทราบเกี่ยวกับสินค้า การบริการ 4. สิทธิในการเลือก : บริษัทฯ มีนโยบายไม่ค้าก�ำไรเกินควร โดยก�ำหนดราคาที่เป็นธรรมและคุณภาพของสินค้าตอบสนองต่อ ความพึงพอใจของลูกค้า 5. สิทธิในการแสดงความคิดเห็น : จัดให้มีระบบและกระบวนการ ที่ให้ลูกค้าร้องเรียนเกี่ยวกับคุณภาพ ปริมาณ ความปลอดภัย ของสินค้าและบริการ รวมทั้งความรวดเร็วในการตอบสนองการส่งมอบ และการด�ำเนินการอย่างถึงที่สุด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ การตอบสนองอย่างรวดเร็ว 6. สิทธิทจี่ ะได้รบั การชดเชย : บริษทั ฯ มีนโยบายทีใ่ ห้ลกู ค้าได้รบั ความเป็นธรรมจากการรับสินค้าและบริการทีไ่ ม่เป็นไปตามมาตรฐาน โดยก�ำหนดให้มีรับประกันสินค้า ภายใต้เงื่อนไขระยะเวลาที่เหมาะสม และปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค 7. สิทธิทางการศึกษา : บริษัทฯ มีนโยบายที่จะให้ลูกค้าได้รับข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความเข้าใจ เพื่อจ�ำเป็นต่อการพิจารณา สั่งซื้อสินค้า 7. การพัฒนาชุมชนและสังคม

ปี 2555 เป็นโอกาสพิเศษที่บริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจอยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนานถึง 50 ปี บริษัทฯ จึงด�ำเนิน “โครงการ 50 ปี SBG ก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน” เพื่อแสดงออกถึงความมุ่งมั่น และจริงใจ ในการสร้างบุคลากรขององค์กรให้เป็นทั้งคนเก่งและคนดี เพื่อการมีส่วนร่วมดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของบริษัทฯ และสังคมโดยรวม เพื่อตอบแทนคุณของแผ่นดิน ดังนั้น ตลอดปี 2555 บริษัทฯ จึงมุ่งมั่น ในการพัฒนาและส่งเสริมให้บุคลากรของบริษัทฯ ได้ใช้ความเก่งของตนเองในการท�ำความดี ด้วยการ ร่วมกันพัฒนาชุมชนและสังคมรอบข้างให้มีความเจริญควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และ เติบโตร่วมกันอย่างยั่งยืน โดยผ่านช่องทางกิจกรรมท�ำความดีต่างๆ การพัฒนาชุมชนและสังคม 1. การบริจาค : บริษัทฯ ได้รว่ มบริจาคเงินเพื่อสมทบทุนโครงการ “สร้างศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ” โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อรักษา ผู้ป่วยโรคตับ ไต มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน�้ำเหลือง ธาลัสซีเมีย และไขกระดูกฝ่อ เป็นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 5 ล้านบาท โดยบริษัทฯ บริจาค 3 ล้านบาท และ คุณมาลินี กิตะพาณิชย์ ร่วมบริจาคอีก 2 ล้านบาท • กิจกรรมส่งเสริมการออมเหรียญน�ำ้ ใจ ในโครงการ “๑ ขวดน�ำ้ ใจพีใ่ ห้นอ้ ง” เพือ่ รวบรวมเงินน�ำไปท�ำประโยชน์ให้กบั สังคม ทั้งหมด 3 ครั้ง


รายงานประจ�ำปี 2555

27

• ร่วมกับโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในการจัดกิจกรรมสันทนาการ เลีย้ งอาหารว่าง และ บริจาคสิ่งของให้กับทหารผ่านศึกที่เข้ารับการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ • กองทุนเรื่องเล่าเช้านี้ (ช่อง 3) เพื่อซื้อรถบริจาคโลหิตเคลื่อนที่ • มูลนิธิทีวีบูรพา เพื่อซื้อรองเท้ากันระเบิดให้กับทหารใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ • ปี 2555 บริษทั ฯ ร่วมกับสภากาชาดไทยจัดให้มกี ารบริจาค โลหิต รวม 4 ครัง้ โดยมีผู้ บริหาร พนักงาน และบุคคลภายนอก เข้าร่วมบริจาคโลหิตรวม 514คน ปริมาณโลหิต รวม 208,600 cc. • รวบรวมปฏิทินตั้งโต๊ะและกระดาษใช้แล้ว เพื่อน�ำไปบริจาคให้กับโรงเรียนสอนคน ตาบอดกรุงเทพ มีผู้บริหารและพนักงานน�ำปฏิทินมาบริจาครวม 236 อัน • รับบริจาคชุดนักเรียนมือสองเพื่อแลกกับต้นไม้เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก เพื่อมอบให้ กับมูลนิธิกระจกเงา ส่งต่อไปยังเด็กๆ ที่ขาดแคลนในต่างจังหวัด โดยได้ชุดนักเรียน ทั้งหมด 269 ตัว รองเท้าจ�ำนวน 58 คู่ 2. การบ�ำเพ็ญประโยชน์ : บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะส่งเสริมให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการท�ำงานเพือ่ สังคม โดยเปิดโอกาสให้พนักงาน เสนอโรงเรียนที่ขาดแคลนในพื้นที่ จังหวัดบ้านเกิด” ภายใต้โครงการ “รักบ้านเกิด” เพื่อพัฒนาท้องถิ่นบ้านเกิดของตนเอง และกิจกรรมที่บริษัทฯ มีส่วนร่วมในการสนับสนุนของ องค์การบริหารส่วนต�ำบล และลูกค้า ดังนี้ โครงการ “รักบ้านเกิด” (1) โรงเรียนวัดเปร็งราษฎร์บ�ำรุง จ.ฉะเชิงเทรา เพื่อปรับปรุงโรงอาหาร ห้องเรียนพละศึกษา ห้องน�้ำ อ่างล้างหน้าแปรงฟัน และปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์โดยรอบ (2) โรงเรียนอนุบาลปากพลี จ.นครนายก โดยการปรับปรุง โรงอาหาร สนามกีฬา และสวนหย่อม • กิจกรรมทีม่ สี ว่ นร่วมกับท้องถิน่ และลูกค้า (1) ร่วมกับอบต.บางโฉลง พัฒนา/ซ่อมแซม บ้านคุณลุงดิ้น ผู้ยากไร้ในชุมชนบางโฉลง “บ้านท้องถิ่นไท เทิดไทองค์ราชัน” (2) ร่วมกับลูกค้า พัฒนาโรงเรียนบ้านคลองสารภีและโรงเรียนวัดคลองเฆ่ จ.ปราจีนบุรี โดย การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่ดี เช่น โรงอาหาร ทางเดิน ห้องน�้ำ สนามเด็กเล่น • บริษัทร่วมเป็นพี่เลี้ยงให้กับ CSR Club ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการ ด�ำเนินโครงการ คืนโรงเรียนให้ลกู หลานสานสัมพันธ์ชมุ ชน” โดยใช้เงินทุนในการบูรณการ ของ ตลาดทุน โดยการฟืน้ ฟูโรงเรียนทีไ่ ด้รบั ความเสียหายอย่างหนัก จากมหาอุทกภัย ในปี 2554 ซึ่งทางบริษัทฯ ได้ส่งทีมช่างเข้าร่วมส�ำรวจสถานที่และประเมินการด�ำเนิน การซ่อมแซม และร่วมเป็นเจ้าภาพหลักในการพัฒนาโรงเรียนวัดแก้วสุวรรณ จ.พระนครศรี อยุธยา 3. การเข้าร่วมโครงการกับหน่วยงานต่างๆ • ร่วมโครงการ “แนวร่วมดูแลคูคลอง” โดยการสนับสนุนของกระทรวงการคลัง ภายใต้ การด�ำเนินงานของสถาบันไทยพัฒน์ โดยการจัดกิจกรรมรณรงค์กับชุมชนที่อาศัยอยู่ ริมคลอง ให้ช่วยกันดูแลคูคลองให้สะอาด ไม่ทิ้งขยะลงในคูคลอง ซึ่งบริษัทได้ร่วม เข้าไปให้ความรู้ในเรื่องการท�ำ 5 ส. การเก็บขยะรีไซเคิลมาขาย การรณรงค์ดูแลน�้ำ ในคูคลองให้ใสสะอาด ในชุมชนวัดสังฆราชา กรุงเทพฯ • ได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 30 บริษัทน�ำร่องใน “โครงการพัฒนาผลิตภาพการผลิต อุตสาหกรรมตามมาตรฐานเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม” จัดโดยสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ร่วมกับ ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และได้รับเกียรติบัตรส�ำหรับสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ และมีการน�ำ มาตรฐานแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคอุตสาหกรรมไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม


28

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

• ได้รับโล่ห์และประกาศนียบัตร CSR-DIW Continuous Award 2012 จากกรมโรงงาน จากการด�ำเนินการ Self Assessment ระบบ CSR-DIW อย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลา 3 ปี • ร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมต�ำรวจโรงงานอย่างต่อเนื่องมากว่า 9 ปี ในการร่วมด�ำเนิน การป้องกันและป้องปราบปัญหาอาชกรรมและยาเสพติดในสถานประกอบการ โดยใน ปี 2555 มีผู้บริหารและพนักงานที่เป็นสมาชิกสมาคมต�ำรวจโรงงานกว่า 120 คนเข้ารับ การอบรม ซึ่งท�ำหน้าที่ในการสอดส่องดูแลปัญหาอาชญากรรมต่างๆ ภายในบริษัท ใน ส่วนของการป้องปรามปัญหายาเสพติดก็ได้มีประสานงานร่วมกับสถานีต�ำรวจในพื้นที่ ท�ำการสุ่มตรวจปัสสาวะพนักงานทุกๆ 3 เดือน นอกจากนั้นยังมีการช่วยอ�ำนวยความ สะดวกเรื่องของการจราจรภายในบริษัทในช่วงชั่วโมงเร่งด่วนอีกด้วย 4. ส่งเสริมการศึกษา • ส่งเสริมด้านการศึกษาให้กับพนักงาน บุตรพนักงาน และเด็กนักเรียนในชุมชนรอบข้าง เป็นอีกหนึง่ กิจกรรมทีบ่ ริษทั ฯ ส่งเสริมมาอย่างต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 14 โดยในปี 2555 บริษทั ฯ ได้มอบทุนจ�ำนวนทั้งสิ้นกว่า120 ทุน รวมเป็นเงินกว่า 600,000 บาท • เพื่อเป็นการเปิดโอกาสในการเรียนรู้และเพิ่มประสบการณ์นอกห้องเรียนให้กับบุตร พนักงาน บริษัทจึงได้จัดกิจกรรมทัศนศีกษาให้กับลูกพนักงานในช่วงปิดเทอม ผ่าน โครงการ”สานสัมพันธ์เอสบีจีเพื่อลูกรัก” เป็นปีที่ 9 โดยในปีนี้ได้พาลูกพนักงาน ไปทัศนศึกษาที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี • ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้รับเชิญจากวิทยาลัยสารพัดช่าง จ.สมุทรปราการ ให้เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อร่วมในการวางแผน พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบัน 5. ส่งเสริมประเพณีทอ้ งถิน่ : เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์และสืบสานประเพณีเก่าแก่ของท้องถิน่ บริษทั ฯ ได้รว่ มสนับสนุนการจัดประเพณี ของท้องถิ่นบางพลีและบางโฉลงดังนี้ • ประเพณีรับบัว ซึ่งเป็นประเพณีเก่าแก่ของชาวอ�ำเภอบางพลี โดยบริษัทฯ ได้บริจาคเงิน สมทบในการจัดงาน และได้ร่วมออกบูทบริการเครื่องดื่มฟรีให้กับผู้เข้าร่วมงาน • ประเพณีบชู าบวงสรวงไหว้ศาลพ่อหลวงคงเพชร สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ เี่ ป็นทีเ่ คารพของชาวต�ำบล บางโฉลง โดยบริษทั ฯ ได้บริจาคเงินสมทบในการจัดงาน และได้รว่ มออกบูธบริการเครือ่ งดืม่ สมุนไพรฟรีให้กับผู้เข้าร่วมงาน นอกจากนี้ ยังได้มีการรณรงค์ประเพณีที่ดีงามของคนไทย เช่น • เทศกาลสงกรานต์ โดยการจัดพิธีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุที่อยู่ในชุมชนบางโฉลง จ�ำนวน 10 ท่านที่ โรงอาหาร และมีพิธีการสรงน�้ำพระพุทธรูป • เทศกาลทอดกฐิน โดยผูบ้ ริหารและพนักงานได้รว่ มเป็นเจ้าภาพร่วมในการทอดกฐินของวัด บางโฉลงใน ต.บางโฉลง อ. บางพลี จ.สมุทรปราการ และวัดหนองบอนวิปสั นา ต.ตาสิทธิ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง ในช่วงวันเข้าพรรษา ได้รว่ มถวายเทียนพรรษาให้กับวัดในชุมชน • การเปิดโรงงานให้เป็นศูนย์เรียนรู้แก่สถาบัน หน่วยงานต่างๆ ให้เยี่ยมชมโรงงาน : เพื่อ การเรียนรู้ร่วมกันของบริษัทฯ กับชุมชนรอบข้าง และหน่วยงานต่างๆ บริษัทฯ จึงมี นโยบายที่จะเปิดโรงงานให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่สนใจจะเข้ามาเรียนรู้ระบบบริหาร จัดการองค์กร ในด้านกระบวนการผลิต การควมคุมคุณภาพของสินค้า ด้านการบริหาร และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การด�ำเนินการด้าน CSR ของบริษัท โดยในปี 2555 มีผู้เยี่ยมชมโรงงานมากกว่า 500 คนจาก 11 หน่วยงาน


รายงานประจ�ำปี 2555

29

6. การส่งเสริมพนักงานให้เป็นคนดีของสังคม โครงการ “50 ปี SBG สานคนเก่ง สร้างคนดี” จากนโยบายด้านหนึ่งของบริษัทฯ ที่มุ่งมั่นในการพัฒนาบุคคลากรด้วยการ “สานฅนเก่ง สร้างฅนดี” เพื่อให้เป็นคนที่สมบูรณ์ คือ เป็นทั้งคนเก่งและคนดี บริษัทฯ จึงได้น้อมน�ำหลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อเป็นคนเก่งและคนดีตอบแทนคุณแผ่นดิน โดยได้จัดท�ำสมุด บันทึกพฤติกรรมการเป็นคนเก่งและคนดี แจกให้กับพนักงานทุกคน เพื่อพนักงานจะได้รู้จักการปฏิบัติตนให้เป็นคนเก่งและ คนดี ทัง้ ในชีวติ การท�ำงานและชีวติ ส่วนตัว ตามรอยเท้าของพ่อหลวงของคนไทย และได้จดลงในสมุดบันทึก เพือ่ ส่งให้หวั หน้า ได้รับทราบการเป็นคนเก่งและคนดีของตนเอง โครงการอุปสมบทหมู่เฉลิมพระเกียรติ์ เพื่อเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนา และส่งเสริมให้ พนักงานได้มโี อกาสในการบวชและศึกษาในพระธรรมวินยั และเพือ่ ทดแทนคุณบิดา มารดา และถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีพิธี อุปสมบทหมู่เฉลิมพระเกียรติ์ 85 พรรษา โดยมีพนักงานสมัครเข้าร่วมอุปสมบท ณ วัดบาง โฉลงใน จ.สมุทรปราการ จ�ำนวน 9 รูป และวัดพันเสด็จใน จ.ชลบุรี จ�ำนวน 9 รูป โครงการงดเหล้าเข้าพรรษา กิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติตนเป็นคนดีผ่าน โครงการ งดเหล้า เข้าพรรษา” เพื่อส่งเสริมให้พนักงานลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในช่วงเทศกาล เข้าพรรษา เพื่อการมีสุขภาพที่ดี มีเงินเก็บออม และห่างไกลจากสารเสพติด ซึ่งมีพนักงาน กว่า 1,200 คนได้ เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 40 ของพนักงานทั้งหมด โครงการวิศวกรปฏิบัติธรรม บริษัทได้จัดหลักสูตรการปฏิบัติธรรมให้พนักงานที่เป็นวิศวกร ในสายงานพัฒนาและวิจยั ผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต เพือ่ เป็นการฝึกสมาธิให้กบั วิศวกร และสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน โดยได้จดั การอบรมเป็น 2 รุน่ ทีว่ ดั ธรรมมงคล ตั้งสติก่อนสตาร์ท เป็นการรณรงค์อุบัติ เป็น “0” ในช่วงวันหยุดต่อเนื่องในช่วงเทศกาล ส�ำคัญต่างๆ เพื่อเตือนสติพนักงานให้ลด ละ เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และของมึนเมา อันเป็นสาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ จากการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ปี 2555 พนักงานไม่ประสบอุบัติเหตุในช่วงวันหยุดต่อเนื่อง ดอกมะลิเพื่อแม่ : บริษทั ฯ สนับสนุนให้พนักงานได้ท�ำความดีเพิอ้ ตอบแทนพระคุณแม่ ด้วยการน�ำดอกมะลิวนั แม่มาจ�ำหน่าย ให้พนักงาน โดยรายได้ร่วมสนับสนุนกิจกรรมของสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ชมรม “เพื่อนช่วยเพื่อน” ค�ำว่า “น�้ำใจ” ไม่มีที่สิ้นสุดส�ำหรับพนักงาน SBG จึงได้จัดตั้งชมรมฯ เพื่อช่วยเหลือเพื่อนพนักงาน ที่ประสบเหตุจากภัยธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นอุทกภัย วาตภัย และอัคคีภัย โดยชมรมฯ จะมอบเงินช่วยเหลือให้กับพนักงาน (เป็นเงินที่ได้รับบริจาคจากผู้บริหารและพนักงาน และบริษัทฯ ร่วมสมทบอีก 1 เท่าของเงินที่ได้รับการบริจาค) รางวัลแห่งความภูมใิ จ CSR Awards: จากการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่าง ต่อเนือ่ ง ส่งผลให้บริษทั ฯ ได้รบั คัดเลือกและได้รบั รางวัล SET Award 2012 ด้าน CSR Awards 2012 (Corporate Social Responsibility Awards) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 8. การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

คณะกรรมการบริษัทฯ ยึดถือแนวปฏิบัติที่ดีและความสัมพันธ์กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ ด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กร รวมถึง สังคม และประเทศชาติด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


30

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

มลพิษทางอากาศ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดมาตรการควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ โดยติดตั้งระบบบ�ำบัดมลพิษทางอากาศ (Bag House Filter) ในการดูดฝุน่ ทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิต ส่งผลให้คณุ ภาพอากาศทีร่ ะบายออกมาเป็นไปตามมาตรฐานทางอากาศ ไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชุมชนและสังคมในพืน้ ทีร่ อบโรงงานและเพือ่ ให้เกิดการยอมรับจากชุมชน ท�ำให้โรงงาน อุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน มลพิษด้านสิ่งแวดล้อม : มลพิษน�้ำ น�้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติ และน�ำมาใช้ในกระบวนการผลิต ซึ่งการ ย่อมก่อให้เกิดมลพิษทางน�้ำได้ เช่น น�้ำจากกระบวนการผลิต (ล้างคราบไขมัน) น�้ำเสียจากกระบวนการหล่อเย็น และน�้ำเสียที่ผ่านกระบวนการผลิตจะถูกรวบรวม เข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของบริษัท อีกส่วนหนึง่ จะถูกส่งไปบ�ำบัดภายนอก ซึง่ เป็นบริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากกรมโรงงาน น�ำ้ ทิง้ ทีอ่ อกจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะถูกตรวจสอบ คุณภาพเป็นประจ�ำทุกเดือน เช่น ค่า pH, BOD, TSS, Oil & Grease, Zinc ซึง่ ผลการตรวจวัดทีไ่ ด้เป็นไปตามกฏหมายก�ำหนด ส�ำหรับการ ตรวจวัดคุณภาพน�ำ้ ทิง้ ทีผ่ า่ นการาบ�ำบัดแล้ว ทาง SAT ได้กำ� หนดขึน้ เพือ่ ติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียอย่างต่อเนือ่ ง มลพิษด้านสิ่งแวดล้อม : กากอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน จึงได้น�ำกากอุตสาหกรรมที่เกิดจากกระบวนการผลิตกลับมา ใช้ใหม่ โดยการน�ำไป Recycle เช่น การน�ำเศษขี้กลึงที่ได้กลับไปหลอมใหม่ SAT ได้เล็งเห็นการน�ำกากอุตสาหกรรมทีม่ อี ยูม่ าสร้างให้เกิดประโยชน์เพือ่ ลดปริมาณกากอุตสาหกรรมทีน่ �ำไปฝังกลบ ให้มปี ริมาณน้อย ลง และสนับสนุนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่ามากที่สุด เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การจัดการกากอุตสาหกรรม : ในการคัดเลือกบริษทั รับก�ำจัดกากอุตสาหกรรมของบริษทั ฯ ต้องผ่านการตรวจสอบใบอนุญาต รง.4 สถานที่รับก�ำจัดกากอุตสาหกรรม และต้องได้รับการตรวจสอบสถานที่ก�ำจัดกากอุตสาหกรรม เป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ดังนี้ ข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้กับชุมชน ปี 2554 สถานีตรวจวัดที่ 1 บริเวณท้ายบริษัท (บางนา) สถานีตรวจวัดที่ 3 ส�ำนักงานหมู่บ้านกรีนวัลเลย์ สถานีตรวจวัดที่ 2 บ้านป้าถนอม (คุณประเสริฐ) สถานีตรวจวัดที่ 4 บ้านคุณอัจฉร


รายงานประจ�ำปี 2555

31

ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ก�ำหนด พารามิเตอร์ ในการตรวจวัด คือ NOx (ออกไซด์ของไนโตรเจน), SO2 (ซัลเฟอร์ไดออกไซด์) ซึ่งหากใน พื้นที่มีปริมาณออกไซด์ของไนโตรเจน และซัลเฟอร์ไออกไซด์เกินมาตรฐานก�ำหนด จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน เช่น ระบบทางเดินหายใจ รวมถึงการเกิดฝนกรดในพื้นที่ได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ท�ำการตรวจวัดค่า TSP (ฝุ่นโดยรวม) ในอากาศเพื่อเฝ้า ระวังปริมาณฝุน่ ในพืน้ ทีใ่ ห้กบั ชุมชน รวมถึงการตรวจวัดค่า CO (คาร์บอนมอนนอกไซด์) ซึง่ โดยส่วนใหญ่จะเกิดจากการเผาไหม้ทไี่ ม่สมบูรณ์ หากมีปริมาณมาก จะส่งผลท�ำให้ผู้ที่ได้รับก๊าซดังกล่าวหมดสติได้ จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณชุมชนรอบข้าง เพือ่ ตรวจติดตามคุณภาพอากาศ พบว่า ค่าพารามิเตอร์ตา่ งๆ อยูใ่ นเกณฑ์ ที่กฏหมายก�ำหนด และจะไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชนรอบข้างโรงงาน 9. การวิจัยและพัฒนาจากการด�ำเนินความรับผิดชอบต่อสังคม

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์องค์กรในปี 2556 “เป็นบริษัทที่เติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในเอเชีย ที่มีความ เชี่ยวชาญ ในการออกแบบและผลิต ด้วยความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียและสังคม” และเพื่อน�ำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ในระยะยาว ด้วยการพัฒนาและต่อยอดความรู้ใหม่ๆ เพื่อน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต กระบวนการท�ำงานให้เจริญ ก้าวหน้า ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีต้นทุนที่เหมาะสม และสร้างความสามารถในการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายในการพัฒนา นวัตกรรมอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม และน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยได้ สร้างศูนย์ทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และด�ำเนินการวิจัยพัฒนามาอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการพัฒนาความรู้ โดยร่วมมือกับ ผูเ้ ชีย่ วชาญชาวต่างชาติ ทีม่ ปี ระสบการณ์ในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เข้ามาร่วมฝึกสอนเพือ่ ต่อยอดความรูข้ องบุคลากรบริษทั ฯ จากการวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเนื่องที่ผ่านมา ในปี 2555 บริษัทฯ ได้ท�ำทดสอบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จานเบรก โดยเฉพาะ ปัญหาในการเกิดเสียงและสั่นสะเทือน (NVH) โดยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการทดสอบจากต่างประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการให้ กับลูกค้า รวมไปถึงการขยายขีดความสามารถในการทดสอบและพัฒนา Module Hub/ Caliper โดยเฉพาะHub บริษัทฯ ได้ร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญในด้านกระบวนการขึ้นรูปโลหะ การลงทุนและออกแบบกระบวนการผลิต ด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบ Progressive die Multi-step ทีเ่ ป็นระบบ Fully-automatic และจะท�ำการทดสอบในช่วงเดือนมิถนุ ายน 2556 และพัฒนากระบวนการออกแบบงาน Casting ของ Caliper ด้วย Simulation software เพือ่ ให้ชนิ้ งานหล่อ มีคณุ ภาพสูงสุด ลดการเกิดของเสีย รวมไปถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพลาข้าง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ในอนาคต เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในอนาคต และเพื่อให้การ บริการในการทดสอบและแก้ปัญหาให้แก่ลูกค้าอย่างครบวงจร 10. การจัดท�ำรายงานแห่งความยั่งยืน

เพื่อยกระดับการจัดท�ำรายงานแห่งความยั่งยืนให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติของบริษัทฯ ในปี 2555 บริษัทฯ ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติ การ เพือ่ ก�ำหนดตัวชีว้ ดั ตามกรอบการจัดท�ำรายงานความยัง่ ยืน (GRI) กับพนักงานและผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยร่วมกับสถาบันไทยพัฒน์ และ ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (CSRI) บริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานแห่งความยั่งยืน ภายใต้หัวข้อ “SBG …กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ โดย ได้พัฒนาเนื้อหาเพื่อให้ครอบคลุมแนวทางความรับผิดชอบทิศทางองค์กร ข้อมูลที่จ�ำเป็นขององค์กร การก�ำกับดูแล ขอบเขตและดัชนี เนี้อหา GRI ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ด้านสังคม โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนารายงานความยั่งยืนให้ครอบคลุมตัวชี้ วัดตามกรอบการจัดท�ำรายงานความยั่งยืน (GRI) ภายใน 3 ปี นับตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป


32

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ปี 2555 ประเทศไทยเผชิญกับสภาพเศรษฐกิจทีผ่ นั ผวน ทัง้ จากปัจจัยภายนอกและภายในประเทศ ซึง่ ส่งผลต่อทัง้ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร แต่จากแรงสนับสนุนของอุปสงค์ภายในประเทศที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ง ทั้งจากการใช้จ่ายภาคครัวเรือน การใช้จ่าย ภาครัฐ รวมไปถึงการลงทุนของภาคเอกชน ท�ำให้เศรษฐกิจไทยในภาพรวมยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากการทีค่ า่ ยรถยนต์ประสบปัญหาภัยพิบตั แิ ต่สามารถฟืน้ คืนกลับสูร่ ะดับการผลิตปกติได้อย่างรวดเร็วประกอบกับนโยบายรถยนต์ คันแรก และการเปิดตัวรถยนต์รนุ่ ใหม่ทมี่ าพร้อมกับการประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการขาย ทีช่ ว่ ยกระตุน้ ยอดจ�ำหน่าย โดยเฉพาะอย่างยิง่ รถยนต์รุ่นที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการคืนภาษีจากภาครัฐ ทั้งยังได้รับแรงหนุนจากการขยายตัวของการส่งออกไปยังตลาดหลัก เช่น ASEAN, Australia และ Middle East ท�ำให้ปี 2555 เป็นปีประวัติศาสตร์ของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยอีกปีหนึ่ง ที่สามารถท�ำตัวเลขทั้งยอด จ�ำหน่ายภายในประเทศ ยอดการส่งออก และยอดการผลิตสูงสุดเป็นประวัติการณ์ โดยมียอดผลิตรถยนต์ เพิ่มขึ้นอย่างจากปี 2554 กว่าร้อยละ 68 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 1 ตารางที่ 1: สถิติยอดประกอบรถยนต์ในประเทศไทย ปี

2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

รถยนต์นั่ง (คัน)

รถกระบะ ขนาด 1 ตัน (คัน)

277,603 298,819 315,444 401,309 313,442 554,387 537,987 957,622

822,867 866,990 948,388 974,642 670,737 1,066,759 899,200 1,451,843

รถเพื่อการ พาณิชย์อื่นๆ (คัน)

24,846 22,235 23,514 17,791 15,199 24,158 20,608 44,252

ยอดรวมรถเพื่อ การพาณิชย์ (คัน)

ยอดรวม ทั้งหมด (คัน)

อัตรา การเติบโต (%)

847,713 889,225 971,902 992,433 685,936 1,090,917 919,808 1,496,095

1,125,316 1,188,044 1,287,346 1,393,742 999,378 1,645,304 1,457,795 2,453,717

21.25 5.57 8.36 8.26 -28.29 64.63 -11.40 68.32

ที่มา : สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย คาดว่าแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2556 จะขยายตัวประมาณร้อยละ 4.5 - 5.5 โดยมีปจั จัยสนับสนุน ทั้งจากการมาตรการในการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจโลกที่มีความชัดเจนมากขึ้น ทั้งปัญหาหนี้สาธารณะ (Government-Debt Crisis) ของกลุ่ม EU และปัญหาวิกฤตการคลัง (Fiscal Cliff) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งส่งผลต่อการฟื้นตัวของปริมาณการผลิตและการส่งออกในภาคอุตสาหกรรม และราคาสินค้าเกษตร ในภาคการเกษตรเป็นส�ำคัญ อีกทั้งยังมีแรงผลักดันจากอุปสงค์ภายในประเทศที่ยังคงมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดี จากนโยบายค่าแรง ขั้นต�่ำ 300 บาท และนโยบายกระตุ้นต่างๆ เศรษฐกิจของรัฐบาล ปัจจัยที่ได้กล่าวข้างต้น ได้ส่งผลต่อก�ำลังซื้อและความเชื่อมั่นของ ผูบ้ ริโภคในการซือ้ รถยนต์ทเี่ พิม่ ขึน้ ประกอบกับยังมียอดคงค้างส่งมอบรถยนต์อกี เป็นจ�ำนวนมากจากโครงการรถยนต์คนั แรก ท�ำให้คาดว่า ยอดขายรถยนต์ในประเทศช่วงครึง่ แรกของปี 2556 จะยังคงขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตาม แม้จะประเมินว่าโครงการรถยนต์คนั แรก เป็นการกระตุ้นความต้องการซื้อรถยนต์ในช่วงเพียงครึ่งปีแรก และ อาจส่งผลให้ยอดขายรถยนต์ในช่วงครึ่งหลังของปีชะลอตัวลง ทว่า ค่ายรถยนต์ก็ได้ปรับแนวทางการผลิตเพื่อส่งออกมากขึ้น เพื่อชดเชยตลาดในประเทศที่หายไป ในส่วนของอุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกลการเกษตร (รถแทรกเตอร์) ซึง่ เป็นภาคธุรกิจหนึง่ ของกลุม่ บริษทั ฯ ในปี 2555 ทีผ่ า่ นมา มียอด จดทะเบียนรถแทรกเตอร์ใหม่ จ�ำนวน 67,890 คัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 14% ทั้งนี้คาดว่าอุตสาหกรรมฯ จะยังคงมีการเติบโตขึ้น อย่างต่อเนื่อง ตามทิศทางราคาผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้น การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศจีน อีกทั้งการรวมกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะช่วยส่งเสริมด้านการส่งออกไปยังประเทศ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV Countries) ซึ่งเป็น ลูกค้าหลักของอุตสาหกรรมนี้


รายงานประจ�ำปี 2555

33

สถานการณ์ด้านการแข่งขันของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทยปี 2556 จะรุนแรงเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มก�ำลังการผลิตของ ค่ายรถยนต์ต่างๆ ท�ำให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนต้องขยายตัวตาม อีกทั้ง การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่จะเกิดขึ้นในปลายปี 2558 ทุกประเทศเกิดความตื่นตัวในการพัฒนามากขึ้น นอกจากนี้ จากการที่กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากต่างประเทศทยอยเข้ามา ลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ทั้งจากอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นฐานด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ที่แข็งแรง เป็นจะเป็นฐานการผลิตติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลกในอีกไม่เกิน 5 ปีข้างหน้า ส่งผลให้สถานการณ์ด้านการแข่งขันของบริษัทผู้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์นับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น นับเป็นความท้าทายต่อบริษัทในกลุ่มสมบูรณ์ที่จะเติบโตในอนาคต ด้วยแนวทาง การด�ำเนินธุรกิจอย่างสมดุล บนพืน้ ฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยูบ่ นระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ มีเหตุผลรอบรอบ และค�ำนึงถึง ความเหมาะสมของสถานการณ์และสภาพขององค์กร เพื่อให้เกิดการพัฒนา และเติบโตอย่างยั่งยืน


34

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง บริษัทในกลุ่มสมบูรณ์ ได้พัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงในองค์กรให้มีความชัดเจน และเกิดประสิทธิผลขึ้นมาเป็นล�ำดับ จากที่มุ่งเน้นเฉพาะความเสี่ยงในเชิงปฏิบัติการในสายการผลิตและการตลาด จนมาสู่การบูรณาการณ์สู่การความเสี่ยงที่ครอบคลุม วัตถุประสงค์หลักขององค์กร ทั้งในด้านการเงิน การด�ำเนินงาน การจัดการด้านกลยุทธ์และความสอดคล้องกับกฏระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตามหลักสากลทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ มีระบบการติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งในการประเมินเหตุการณ์ความเสีย่ ง ที่ส�ำคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจในแต่ละช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ โดยทีมผู้บริหารระดับสูงได้ก�ำกับดูแล ติดตามให้มีการ จัดการ มีการเตรียมพร้อมในการจัดการความเสีย่ งต่างๆ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ สามารถป้องกันและลดผลกระทบของความเสีย่ งในสถานการณ์ตา่ งๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสามารถกลับสู่สภาวะปกติได้ในเวลาอันรวดเร็ว ในรอบปี 2555 ทีผ่ า่ นมาบริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญกับการเตรียมความพร้อม และสร้างความมัน่ ใจในการรับมือกับสถานการณ์อทุ กภัย ทีอ่ าจจะเกิดซ�ำ้ โดยได้ปรับประยุกต์บทเรียนจากการศึกษากรณีตวั อย่างต่างๆ ของเหตุการณ์ในปี 2554 โดยได้วางแผนด�ำเนินงาน แผนส�ำรอง ฉุกเฉินต่างๆ จนสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าที่เข้ามาท�ำการตรวจประเมิน และสอบถามถึงมาตรการรับมือและป้องกัน ความเสี่ยงต่างๆ ที่บริษัทฯได้ด�ำเนินการ นอกจากนี้ ในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ขององค์กร ยังได้วิเคราะห์ประเด็นโอกาสและ ความเสีย่ งจากการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปีทจี่ ะมาถึงนีด้ ว้ ย ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จำ� แนกประเภทการจัดการความเสีย่ งไว้ ดังนี้ 1. ความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ (Strategic Risks)

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ใหม่โดยก�ำหนดเป้าหมาย ที่จะเป็นบริษัทที่เติบโต และขยายสู่ตลาดในเอเชีย โดยยังรักษาฐานที่มั่น ในตลาดเดิมคือลูกค้าในประเทศและกลุ่มอาเซียนให้แข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นประเด็นทางกลยุทธ์ที่ต้องให้ความส� ำคัญเพื่อควบคุม สภาวะทีท่ ำ� ให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้ คือการสร้างความสัมพันธ์ทดี่ ี และการตอบสนองความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้า ด้วยกลยุทธ์หลักในด้านการส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพ ตรงเวลา และมีต้นทุนสามารถแข่งขันได้ ส�ำหรับการเติบโตสูต่ ลาดต่างประเทศ การสรรหาพันธมิตรทางกลยุทธ์ (Strategic partners) และสร้างความแข็งแกร่งทางพันธมิตร กับคู่ค้า เป็นการลดภาระความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญ ทั้งในด้านการเงิน และปฏิบัติการ เนื่องจากเป็นตลาดใหม่ จึงควรอาศัยผู้ที่มีความคุ้นเคยหรือเชี่ยวชาญในพื้นที่ที่น่าเชื่อถือในการสนับสนุนการด�ำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ส�ำหรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AECซึ่งจะเป็นประเด็นทั้งโอกาสและอุปสรรคที่ส�ำคัญต่อการด�ำเนินงานในร ะยะข้างหน้าบริษทั จึงได้เตรียมความพร้อมทีจ่ ะรับมือกับปัญหาด้านแรงงานขาดแคลนจากการแข่งขันแย่งชิงแรงงานฝีมอื และการเคลือ่ น ย้ายแรงงาน/ผูเ้ ชีย่ วชาญซึง่ อาจส่งผลให้คา่ จ้างแรงงานในประเทศทีม่ แี นวโน้มเพิม่ สูงขึน้ บริษทั ฯ ได้เร่งพัฒนาประสิทธิภาพและมาตรฐาน ของบุคลากร และรักษาบุคลากรคนเก่ง คนดีให้อยู่กับองค์กร 2. ความเสี่ยงจากการปฏิบัติการ (Operational Risks)

ความเสี่ยงจากราคาวัตถุดิบที่ผันผวนส่งผลต่อต้นทุนการผลิต วัตถุดบิ ส�ำเร็จรูปหลักของบริษทั คือ เหล็ก ซึง่ จะต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ เนือ่ งจากเป็นเหล็กเกรดทีม่ คี ณุ ภาพดีโดยเป็นการน�ำเข้า จากประเทศญี่ปุ่นเป็นหลัก รองลงมาคือจีน อินเดีย และอินโดนีเซียตามล�ำดับ ยกเว้นเศษเหล็กที่ซื้อจากแหล่งภายในประเทศ ทั้งนี้ ในปี 2555 ราคาวัตถุดิบมีการปรับตัวลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2554 ในทิศทางเดียวกับปริมาณความต้องการบริโภค สืบเนื่องมาจาก ปัญหาด้านเศรษฐกิจของประเทศในสหภาพยุโรป ขณะที่วัตถุดิบส�ำเร็จรูปในอุตสาหกรรมรถยนต์ ยังมีความต้องการที่เติบโตต่อเนื่อง ประกอบกับวัตถุดิบส�ำเร็จรูปตามธรรมชาติที่หายาก จึงท�ำให้ราคาปรับลดลงในสัดส่วนที่น้อยกว่า เมื่อเทียบกับวัตถุดิบส�ำเร็จรูปพื้นฐาน ทั่วไป เพื่อป้องกันเหตุการณ์ความเสี่ยงข้างต้น ในปี 2555 ทางบริษัทฯ ได้ท�ำการส�ำรวจแหล่งขายวัตถุดิบส�ำเร็จรูปในกลุ่มประเทศที่มี ความสามารถในการแข่งขัน รวมไปถึงการเข้าไปร่วมพัฒนากับผูผ้ ลิตวัตถุดบิ ส�ำเร็จรูปให้ได้สนิ ค้าทีม่ คี ณุ ภาพและราคาทีส่ ามารถแข่งขันได้ ในระยาว ท�ำให้ ในปี 2555 บริษัทฯ สามารถที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของราคา และแหล่ง วัตถุดิบได้ดีขึ้น


รายงานประจ�ำปี 2555

35

3. ความเสี่ยงด้านการเงิน

ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน จากการขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริษัทฯ มีเครื่องจักรและอุปกรณ์หลายรายการที่ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ รวมถึงการน�ำเข้าวัตถุดิบ (เหล็ก) โดยตรงจากต่างประเทศที่นอกเหนือจากการสั่งซื้อผ่านตัวแทนจ�ำหน่ายในประเทศ ท�ำให้บริษัทฯ จึงยังคงมีความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น โดยในปี 2555 ค่าเงินบาทเมือ่ เทียบกับสกุลดอลลาร์สหรัฐ และเงินเยน ญี่ปุ่น มีความผันผวนค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับปี 2554 ดังนั้นเพื่อลดผลกระทบด้วยการสร้างสมดุลของสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น สกุลเงินต่างประเทศ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นด้วยการท�ำสัญญาซือ้ ขายอัตราแลกเปลีย่ น ล่วงหน้า หรือ Forward Contract

4. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk)

4.1 ความเสี่ยงตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค (Product Liability Law) แม้จะยังไม่มเี หตุการณ์ฟอ้ งร้องจากผูบ้ ริโภคเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ การรับผิดจากกฏหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภคก็ยงั เป็นประเด็น ความเสีย่ งทีบ่ ริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญมาโดยตลอด โดยได้กำ� หนดแนวทางและมาตรการทีม่ งุ่ เน้นไปสูก่ ารป้องกันปัญหาทีต่ น้ เหตุ ด้วยการควบคุมคุณภาพการผลิตสินค้าตลอดทัง้ กระบวนการอย่างเข้มงวด ตามมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO/TS 16949 ทีไ่ ด้รบั การรับรอง อีกทั้ง บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญ โดยก�ำหนดเป็นกลยุทธ์ระดับองค์กรที่พนักงานทุกคน ต้องจัดการกระบวนการผลิต ให้สามารถตรวจสอบได้ในแต่ละจุด โดยเฉพาะจุดเสีย่ ง (Critical Process) รวมถึงการตรวจสอบขัน้ สุดท้ายก่อนส่งมอบสินค้า ให้กับลูกค้า โดยยอมให้เกิดของเสียได้น้อยที่สุดตามเป้าหมายที่ลูกค้ายอมรับได้ รวมถึงการก�ำหนดเป้าหมายของงานเสียที่ ลูกค้าขอแลกเปลี่ยนต้องเป็นศูนย์ (Zero Claims) เพื่อให้สินค้าที่ส่งมอบมีคุณภาพเป็นเลิศ ขณะเดียวกัน ได้ก�ำหนดมาตรการ เชิงรับ เพื่อจ�ำกัดขอบเขตของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากมีกรณีการฟ้องร้องจากผู้บริโภค ด้วยการท�ำข้อตกลงกับลูกค้า ผู้ประกอบรถยนต์เพื่อก�ำหนดขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจน รวมถึงจัดท�ำประกันภัยส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ เป็น ผู้ออกแบบเองในอีกทางหนึ่งด้วย 4.2 ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและชุมชน มาตรการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม เป็นสิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อเนือ่ งทุกๆ ปี จึงได้มงุ่ มัน่ ที่จะบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงทุกประเภทอันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของพนักงานควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์กรเพื่อ มุง่ สูค่ วามเป็นเลิศในการจัดการ ด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม ส�ำหรับประเด็นด้านความปลอดภับ บริษทั ฯ มุง่ เน้น การมีส่วนร่วมของพนักงานทุกฝ่ายในการก�ำจัดจุดเสี่ยงภัย และป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นโดยผ่านกิจกรรม Completely Check Completely Find Out (CCCF) ซึง่ เป็นกิจกรรมทีม่ กี ารด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ งและได้ผลลัพธ์ทนี่ า่ พอใจ โดยสามารถ ลดจุดเสี่ยงส�ำคัญที่อาจท�ำให้พนักงานเกิดอันตรายได้ รวมถึงจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกที่ดีให้กับพนักงาน ผ่านการ จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย กิจกรรมขับขี่ปลอดภัยและเมาไม่ขับ จัดท�ำวารสารด้านความปลอดภัย รวมถึงการจัดอบรม หลักสูตรด้านความปลอดภัยเป็นระยะๆ จนเป็นผลให้อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในงานลดลงเป็นศูนย์จนบรรลุผลส�ำเร็จได้ตาม เป้าหมาย นอกจากนี้ยังให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครับ และด�ำเนินการ อย่างมีประสิทธิผลครบถ้วน เช่น การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า รถยก เครน หม้อไอน�้ำ ตรวจสุขภาพประจ�ำปี และตรวจวัด สภาพแวดล้อม เป็นต้น สิ่งที่ยืนยันถึงความส�ำเร็จถึงการให้ความส�ำคัญจากผู้บริหารทุกระดับ ทั้งในด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (TIS/OHSAS 18001 และ ISO 14001) บริษัทฯ ได้ผ่านการตรวจประเมินและได้รับการรับรอง จากหน่วยงานภายนอกตามมาตรฐานการจัดการสากลอย่างต่อเนื่อง


36

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา • มกราคม 2555

SAT และ BSK ได้รับรางวัลเกียรติยศความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง (CSR-DIW Continuous Awards) จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม • กุมภาพันธ์ 2555 SAT ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณคณะกรรมการแห่งปี - ดีเด่น ประจ�ำปี 2553/54 จากสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ติดต่อกันเป็นครั้งที่ 2 • มิถุนายน 2555 SBG ได้รับรางวัลสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ จากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ • สิงหาคม 2555 สารสนเทศการเปลี่ยนแปลงกรรมการผู้อ�ำนวยการ จากการเกษียณอายุงาน • ธันวาคม 2555 SAT ได้รบั รางวัล SET Awards 2012 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร ดังนี้ • รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ (SET Award of Honor) ด้านการรายงานบรรษัทภิบาล ปี 2009-2012 • รางวัลยอดเยี่ยมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม • รางวัลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม • มกราคม 2554 SAT และ BSK ได้รับรางวัลเกียรติยศความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง (CSR-DIW Continuous Awards 2010) จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม • เมษายน 2554 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติโครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และพัฒนา (SBG Learning Academy) • พฤษภาคม 2554 คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุมตั จิ ดั ตัง้ บริษทั ในประเทศญีป่ นุ่ ภายใต้ชอื่ บริษทั เอสบีจี อินเตอร์เนชัน่ แนล (เจแปน) จ�ำกัด • มิถุนายน 2554 SBG ได้รับรางวัลสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ จากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ • ธันวาคม 2554 1) คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติการจัดตั้งบริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด เพื่อรองรับ การขยายธุรกิจในอนาคต 2) SAT ได้รับรางวัล SET Awards 2011 จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงิน ธนาคาร ดังนี้ • รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ (SET Awards of Honors) บริษทั ทีม่ คี วามเป็นเลิศต่อเนือ่ ง 3 ปีซอ้ น (2009-2011) ด้านการรายงานบรรษัทภิบาล • รางวัลดีเด่นและรางวัลยอดเยี่ยมด้านความรับผิดชอบต่อสังคม รางวัลที่ได้รับจากลูกค้า ประจ�ำปี 2554 • Award of Quality Zero รางวัล Excellence in Zero Defect from MMTh (BSK) • มีนาคม 2553 SAT ได้รับ Bronze Award – KANO Quality Award จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) • มิถุนายน 2553 1) SAT ได้รับรางวัลสหกิจศึกษาดีเด่นระดับชาติ จากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2) คณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติเรื่องต่างๆ ดังนี้ 2.1 อนุมัติให้ ICP ขยายก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 2,500 ตัน/เดือน โดยมีมูลค่าการลงทุนประมาณ 1,203 ล้านบาท (หนึ่งพันสองร้อยสามล้านบาท) โดยสร้างโรงงานผลิตงานหล่อชิ้นส่วนแห่งใหม่ ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง เพื่อรองรับค�ำสั่งซื้อทั้งปัจจุบัน และค�ำสั่งซื้อใหม่ ในอนาคตในผลิตภัณฑ์งานหล่อจากลูกค้าหลักในกลุม่ ชิน้ ส่วนยานยนต์ และชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรกล การเกษตร


รายงานประจ�ำปี 2555

37

2.2 อนุมัติให้ SAT และบริษัทย่อยด�ำเนินการการช�ำระคืนวงเงินสินเชื่อทั้งหมดที่มีอยู่กับ บริษัท ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) และรับการสนับสนุนวงสินเชื่อรวมจ�ำนวนเงินประมาณ 3,600 ล้านบาท (สามพันหกร้อยล้านบาท) กับสถาบันการเงินแห่งใหม่ ส�ำหรับโครงการลงทุนใหม่ ตามแผนการลงทุนของบริษัทฯ 2.3 อนุมัติการออกใบแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้จ�ำนวน 25,000,000 หน่วย โดยไม่ คิดมูลค่า เพื่อจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ในอัตราส่วนการจองซื้อ 12 หุ้นเดิมต่อ 1 ใบแสดงสิทธิ 2.4 อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทอีกจ�ำนวน 40,000,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญ จ�ำนวน 40,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจ�ำนวน 300,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่เป็นจ�ำนวน 340,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 340,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท และการแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อ 4 ของบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับการเพิ่มทุนจดทะเบียน 2.5 อนุมตั จิ ดั สรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจ�ำนวน 40,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ตามรายละเอียด ดังนี้ 2.5.1 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 25,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบแสดงสิทธิ ในการซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ 2.5.2 จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน 15,000,000 หุ้น เพื่อเสนอขายในคราวเดียวกันหรือต่าง คราวกันให้แก่บุคคลในวงจ�ำกัด (Private Placement) • กรกฎาคม 2553 BSK ได้รบั รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ระดับประเทศ • สิงหาคม 2553 1) บริษัทในกลุ่มสมบูรณ์ทั้ง 3 บริษัท ได้แก่ SAT SBM และ BSK ได้รับเลือกจากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานให้เป็นสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน ประจ�ำปี 2553 และ รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน 5 ปี 2) BSK ได้รับรางวัล Bronze Award - Thailand Kaizen Award 2010 จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 3) SAT SBM และ BSK ได้รบั ใบรับรองมาตรฐานการบริหารจัดการด้านเอดส์ และวัณโรค (ASO-T) ระดับเงิน จากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน • ตุลาคม 2553 SBM และ ICP ได้รบั ใบรับรองมาตรฐานการบริหารจัดการด้านเอดส์และวัณโรค (ASO-T) จากกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน • พฤศจิกายน 2553 1) บริษัทฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศองค์กรดีเด่น ด้านการบริหารจัดการความโปร่งใส (NACC Integrity Awards) ประจ�ำปี 2553 ส�ำหรับองค์กรธุรกิจเอกชน จากส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ 2) บริษัทฯได้รับรางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น (Top Corporate Governance Report Awards) จากงาน SET Awards 2010 ซึ่งเป็นรางวัลที่ได้รับติดต่อกันเป็นปีที่ 2 โดย ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร 3) คณะกรรมการบริษัทฯมีมติอนุมัติให้บริษัทฯเพิ่มทุนใน ICP เพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้น 4) บริษัทฯ ได้รับเครื่องหมาย “มาตรฐานฝีมือแรงงานในสถานประกอบการ” จากกระทรวงแรงงาน 5) BSK ได้รับใบรับรองจากโครงการ “TCC HRD (TOYOTA CO-OPERATION CLUB)” HDR Activity 2010


38

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

• ธันวาคม 2553

ICP เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิมจ�ำนวน 185,000,000 บาท เป็นทุนจดทะเบียนใหม่จำ� นวน 785,000,000 บาท โดยเพิ่มทุนอีกจ�ำนวน 600,000,000 บาท เพื่อใช้ส�ำหรับโครงการลงทุน ในการขยายก�ำลังการผลิตชิ้นส่วน งานหล่อ การช�ำระคืนหนี้เงินกู้ที่มีอยู่กับบริษัทฯ และส�ำรองเป็นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ รางวัลที่ได้รับจากลูกค้า ประจ�ำปี 2553 • เกียรติบัตรมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม พ.ศ. 2553 (CSR-DIW) จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม (SAT2) • Award of Quality Zero Defects from MMTh (SAT) • รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 QCC Supplier Contest from Thai NOK (SBM)


รายงานประจ�ำปี 2555

39

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 ชื่อบุคคล/ นิติบุคคล

1. บริษัทสมบูรณ์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด 2. ตระกูล กิตะพาณิชย์ 3. นายสมพงษ์ ชลคดีด�ำรงกุล 4. AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-APEX 5. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 6. AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-TIGER 7. DBS BANK A/C SG0900110824 8. นายส�ำราญ กนกวัฒนาวรรณ 9. กองทุนเปิดบัวหลวงสิริผลบรรษัทภิบาล 10. นางวารุณี ชลคดีด�ำรงกุล

จ�ำนวนหุ้น

86,665,800 74,847,498 28,810,000 9,858,533 9,715,584 5,791,133 4,499,982 4,000,000 2,844,700 2,400,000

ร้อยละ

25.50 22.02 8.48 2.90 2.70 1.70 1.32 1.18 0.84 0.71

หมายเหตุ: - นักลงทุนหลักของกองทุนเพือ่ การร่วมลงทุนประกอบด้วย International Finance Corporation (IFC), California Public Employees’ Retirement System (CalPERS), Asian Development Bank (ADB), กระทรวงการคลัง เป็นต้น ข้อจ�ำกัดการถือหุ้นของชาวต่างชาติ

ผู้ถือหุ้นที่เป็นชาวต่างชาติสามารถถือครองหุ้นของบริษัทฯ รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจ�ำนวนหุ้นที่ออกและช�ำระแล้ว โดย ณ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 หุ้นของบริษัทฯ ที่ถือครองโดยชาวต่างชาติมีจ�ำนวนร้อยละ 10.04


รองกรรมการ ผู้อ�ำนวยการบริหาร

แผนกตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบ และธรรมาภิบาล

คณะกรรมการสรรหา และค่าตอบแทน

ฝ่ายปฏิบัติการ SAT

ฝ่ายปฏิบัติการ BSK

ฝ่ายขายและการตลาด

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายปฏิบัติการ Casting

ฝ่ายปฏิบัติการ Machining (Auto)

รอง กก.ผอ.สายการขาย รอง กก.ผอ.สายปฏิบตั กิ าร รอง กก.ผอ.สายปฏิบตั กิ าร และการตลาด SAT/BSK SBM/ICP

ผังการบริหาร

ฝ่ายปฏิบัติการ Machining (์​์Non-Auto/Nissan)

ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ

ฝ่ายจัดหา

รอง กก.ผอ.สายจัดหา และพัฒนาคุณภาพ

กรรมการผู้อ�ำนวยการ

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ

ฝ่ายบัญชี ฝ่ายต้นทุน และงบประมาณ ฝ่ายธุรการ รัฐกิจสัมพันธ์ และกิจกรรมเพื่อสังคม

ฝ่ายการเงิน ฝ่ายพนักงานสัมพันธ์

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

ฝ่ายพัฒนาระบบ และปฏิบัติการสารสนเทศ

รอง กก.ผอ.สายงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ

ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ BSK

ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ SAT&SBM&ICP

ฝ่ายพัฒนากระบวนการผลิต

เลขานุการบริษัทฯ

ฝ่ายกลยุทธ์องค์กร

รอง กก.ผอ.สายทรัพยากร รอง กก.ผอ.สายการเงิน บุคคล&ธุรการ บัญชี

รอง กก.ผอ.สน. กรรมการผู้อ�ำนวยการ

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

40 บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)


รายงานประจ�ำปี 2555

41

โครงสร้างการบริหาร โครงสร้างการบริหารของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการจ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมี รายชื่อและขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นายสรรเสริญ นายยงยุทธ นายปัญจะ นายสบสันติ์ นายอัจฉรินทร์ นายไพฑูรย์ นายวีระยุทธ นายยงเกียรติ์ นางสาวนภัสร นายสุระศักดิ์

วงศ์ชะอุ่ม กิตะพาณิชย์ เสนาดิสัย เกตุสุวรรณ สารสาส ทวีผล กิตะพาณิชย์ กิตะพาณิชย์ กิตะพาณิชย์ เคารพธรรม

ต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ/กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ

ทั้งนี้มี นายธนกฤต เพิ่มพูนขันติสุข เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ ประกอบด้วย นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ และนางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ โดยกรรมการสองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และการก�ำกับดูแลให้การบริหารจัดการเป็นไป ตามนโยบายแนวทางและเป้าหมาย ทีจ่ ะก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ อยูใ่ นกรอบของการมี จริยธรรมทีด่ ี และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการมีหน้าทีป่ ฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั ฯ และมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยปฏิบตั หิ น้าที่ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ทั้งในปัจจุบันและในระยะยาว ทั้งนี้ รวมทั้งการปฏิบัติให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการบริษัทฯเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการผู้อ�ำนวยการ (President) ให้เป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ


42

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ฯ คณะกรรมการก�ำหนดให้เรือ่ งดังต่อไปนี้ เป็นอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรม การบริษัทฯ ที่จะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ ให้ความเห็นชอบ 1. นโยบาย แนวทางยุทธศาสตร์การท�ำธุรกิจ เป้าหมาย แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 2. ผลงานและผลประกอบการประจ�ำเดือน และประจ�ำไตรมาสของบริษทั ฯ เทียบกับแผนและงบประมาณ และพิจารณาแนวโน้ม ระยะต่อไปของปี 3. การลงทุนในโครงการที่ไม่มีในงบประมาณประจ�ำปี 4. การใช้เงินลงทุนเกินงบลงทุนโครงการที่ได้รับอนุมัติไว้รวมร้อยละ 5 และเกินงบลงทุนอื่นๆ ที่ไม่ใช่งบลงทุนโครงการรวมเกิน ร้อยละ 10 5. การซื้อและจ�ำหน่ายสินทรัพย์ การซื้อกิจการและเข้าร่วมในโครงการร่วมทุนที่ไม่ขัดกับเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ที่มีมูลค่าเกินจ�ำนวนที่มอบอ�ำนาจให้กรรมการผู้อ�ำนวยการ 6. การท�ำธุรกรรมหรือการกระท�ำใดๆ อันมีผลกระทบที่ส�ำคัญต่อฐานะทางการเงิน ภาระหนี้สิน ยุทธศาสตร์การท�ำธุรกิจ และ ชื่อเสียงของบริษัทฯ 7. การท�ำสัญญาใดๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการท�ำธุรกิจปกติ และสัญญาที่เกี่ยวกับการท�ำธุรกิจปกติที่มีความส�ำคัญ 8. การท�ำรายการเกี่ยวโยงกันระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วมกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ส่วนที่ไม่เข้า ข้อก�ำหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ 9. ธุรกรรมใดๆ ที่มีผลให้โครงสร้างเงินทุนของบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเกิน 1.5 : 1 10. การจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 11. การเปลี่ยนนโยบายและวิธีปฏิบัติที่มีนัยส�ำคัญเกี่ยวกับการบัญชี การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน 12. การว่าจ้างกรรมการผู้อ�ำนวยการ และผู้บริหารระดับสูง 13. การก�ำหนดและการเปลี่ยนแปลงอ�ำนาจอนุมัติที่มอบให้กรรมการผู้อ�ำนวยการ และผู้บริหารระดับสูง 14. การอนุมัติวงเงินการปรับเงินเดือนและโบนัสหรือสูตรโบนัส หรือสูตรการปรับผลตอบแทนประจ�ำปีของผู้บริหารและพนักงาน 15. การเสนอแต่งตั้งและการสิ้นสุดสถานภาพของกรรมการ เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ 16. การมอบอ�ำนาจหน้าที่ให้ประธานกรรมการ กรรมการผู้อ�ำนวยการ หรือกรรมการบริษัทฯ คนใดคนหนึ่ง รวมถึงการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงแก้ไขการมอบอ�ำนาจหน้าทีด่ งั กล่าว ทัง้ นีต้ อ้ งไม่ขดั กับกฎเกณฑ์ขอ้ ก�ำหนดตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์ฯ 17. การแต่งตั้งและก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อย 18. การจัดให้มีและก�ำกับดูแลให้มีการบริหารจัดการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ 19. การแต่งตั้งกรรมการในบริษัทย่อย 20. การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและแก้ไขโครงสร้างองค์กร ระดับรองกรรมการผู้อ�ำนวยการขึ้นไป 21. การด�ำเนินการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ


รายงานประจ�ำปี 2555

43

2. คณะกรรมการบริหาร มีกรรมการอิสระเป็นประธานฯ ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล

1. 2. 3. 4.

นายสบสันติ์ นายยงยุทธ นายวีระยุทธ นายสุระศักดิ์

เกตุสุวรรณ กิตะพาณิชย์ กิตะพาณิชย์ เคารพธรรม

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้มี นายธนกฤต เพิ่มพูนขันติสุข เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร

1. กลั่นกรอง - นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ในการท�ำธุรกิจและโครงสร้างการบริหารงาน ตลอดจนหลักเกณฑ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและการแข่งขัน - แผนธุรกิจ และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทฯ - โครงการลงทุน ทุกโครงการ - แผนก�ำลังคนประจ�ำปี - การสรรหา/คัดเลือกผูบ้ ริหารใหม่ ในระดับรองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ คณะกรรมการสรรหาฯ ก�ำหนดไว้ โดยจะพิจารณาจากผูส้ มัครทีผ่ า่ นการคัดเลือกแล้วอย่างน้อย 2 คน แต่ไม่เกิน 3 คน ไม่รวม ต�ำแหน่งกรรมการ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำหรับค่าตอบแทนฯ ให้พิจารณาตามหลักเกณฑ์ของโครงสร้างเงินเดือน ยกเว้น (1) การแต่งตั้งภายใน (2) การก�ำหนดค่าตอบแทนที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ให้เสนอคณะกรรมการสรรหาฯ พิจารณาก่อน 2. อนุมัติ หรือไม่อนุมัติ - โครงการลงทุนในวงเงินไม่เกิน 100 ล้านบาท โดยโครงการลงทุนนั้นต้องเป็นโครงการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลัก ของบริษัทฯ และมีอัตราผลตอบแทนการลงทุนของโครงการ (IRR) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 เว้นแต่เป็นโครงการลงทุน เพื่อการบ�ำรุงรักษา ปรับปรุงประสิทธิภาพ หรือทดแทนเครื่องจักร - การเปิดและปิดบัญชีของบริษัทฯ ในสถาบันการเงินต่างๆ - ตัดบัญชีสินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพ - การขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้ในการด�ำเนินงานไม่เกิน 10 ล้านบาท/รายการ - การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และแก้ไขโครงสร้างองค์กร ระดับฝ่าย และรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ (ต�่ำกว่า ระดับฝ่ายมอบให้กรรมการผู้อ�ำนวยการ อนุมัติ) - การท�ำสัญญาใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สัญญาด้านการบริหาร หรือสัญญาให้ค�ำแนะน�ำ หรือให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของบริษัทฯ ในวงเงินรับหรือจ่ายไม่เกิน 10 ล้านบาท และมีอายุสัญญาไม่เกิน 1 ปี 3. ติดตามและก�ำกับการด�ำเนินการ - แผนกลยุทธ์ แผนงาน และโครงการที่อยู่ในแผนธุรกิจประจ�ำปี ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ - ผลการด�ำเนินงานทางการเงินของบริษัทฯ 4. รายงานคณะกรรมการบริษัทฯ - ผลการด�ำเนินงานทางการเงินประจ�ำเดือน - รายการที่คณะกรรมการบริหาร อนุมัติหรือไม่อนุมัติ 5. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย


44

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

3. คณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล

1. นายปัญจะ 2. นายอัจฉรินทร์ 3. นายไพฑูรย์

เสนาดิสัย สารสาส ทวีผล

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้มี นายวิศรุต บุญโต เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล คณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาลมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล

1. สอบทานรายงานทางการเงินให้ถกู ต้องครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชีทยี่ อมรับกันทัว่ ไป และให้มกี ารเปิดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพิจารณาถึงความเป็น อิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. สอบทานการปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4. สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการกระท�ำที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 5. สอบทานความเหมาะสมและเพียงพอของระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ของบริษัทฯ 6. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ พิจารณาความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และ มีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม 7. ให้ความเห็นชอบการแต่งตัง้ โยกย้าย การพิจารณาความดีความชอบของหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนพิจารณา ให้ความเห็นชอบแผนงาน งบประมาณ และอัตราก�ำลังของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 8. จัดท�ำรายงานก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบฯ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั ฯ และลงนามโดย ประธานคณะกรรมการตรวจสอบฯ โดยประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ความถูกต้อง เชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงิน (2) ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน (3) การปฏิบัติตามกฎหมายหลักทรัพย์ฯ ข้อก�ำหนดของ ต.ล.ท. หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (4) ความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (6) การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบฯ และการเข้าร่วมประชุมของแต่ละท่าน (7) ความเห็นหรือข้อสังเกตที่ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ (8) รายการอื่นใดที่ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ 9. ในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีอ�ำนาจเชิญผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ ที่เกี่ยงข้องมาให้ ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 10 ให้มอี ำ� นาจว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลภายนอกมาให้ความเห็นหรือค�ำปรึกษาในกรณีจำ� เป็น โดยบริษทั ฯ เป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ย 11. พิจารณาทบทวนขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบฯ ประจ�ำทุกปี 12. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบฯ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบทุกไตรมาส 13. ด�ำเนินการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบเบื้องต้นแก่ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และผู้สอบบัญชี ในกรณีที่ ผู้สอบบัญชีได้แจ้งเหตุอันควรสงสัยให้คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้รับทราบ โดยให้ด�ำเนินการภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้ รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีแล้ว


รายงานประจ�ำปี 2555

45

14. รับทราบส�ำเนารายงานของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้รายงานถึงการมีสว่ นได้เสียของตน หรือของบุคคลทีม่ คี วาม เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด 15. ทบทวนนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมทางธุรกิจ และติดตามการปฏิบตั ติ ามนโยบายเป็นประจ�ำ อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ 16. พิจารณาแต่งตั้งคณะท�ำงาน เพื่อท�ำหน้าที่สนับสนุนการก�ำกับดูแลกิจการ จริยธรรมธุรกิจ ได้ตามความเหมาะสม 17. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย 4. คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยมีประธานและกรรมการเป็นกรรมการอิสระทัง้ คณะ ชื่อ – นามสกุล

1. 2. 3. 4.

นายไพฑูรย์ นายปัญจะ นายสุระศักดิ์ นายอัจฉรินทร์

ทวีผล เสนาดิสัย เคารพธรรม สารสาส

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการสรรหาฯ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้มี นายธีระรัตน์ เปี่ยมสุภัคพงศ์ เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

1. ก�ำหนดนโยบายต่างๆ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาดังนี้ 1.1 นโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการในการสรรหากรรมการ และกรรมการผู้อ�ำนวยการ 1.2 นโยบาย หลักเกณฑ์ วิธกี ารจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อนื่ ทีจ่ า่ ยให้แก่คณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้อ�ำนวยการ 2. คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาดังนี้ 2.1 กรรมการ 2.2 กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ทีไ่ ด้รบั มอบอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบโดยตรงจากคณะกรรมการบริษทั ฯ 2.3 กรรมการผู้อ�ำนวยการและรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ ส�ำหรับต�ำแหน่งรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ มอบให้กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการพิจารณาเบือ้ งต้น เพือ่ เสนอคณะกรรมการสรรหาฯ ให้ความเห็นชอบ และเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา 3. ดูแลให้คณะกรรมการบริษัทฯ มีขนาดและองค์ประกอบที่เหมาะสมกับองค์กร รวมทั้งการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 4. ดูแลให้กรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการ ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย 5. ก�ำหนดแนวทาง น�ำเสนอ และให้ความเห็นชอบผลการประเมินการปฏิบัติงานของกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อพิจารณาปรับ ค่าตอบแทนและการจ่ายเงินรางวัลจูงใจประจ�ำปี 6. ติดตามการท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการและรองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 7. รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 8. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯมอบหมาย


46

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล

1. 2. 3. 4. 5.

นายยงเกียรติ์ นางสาวนภัสร นายวิชัย นางจิราพร นายโคอิจิ

กิตะพาณิชย์ กิตะพาณิชย์ ศรีมาวรรณ์ ศรีสมวงษ์ มิยาฮาร่า

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ทั้งนี้มี นายหิรัญ พบลาภ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1. ก�ำกับดูแลให้หน่วยงานต่างๆ ในการก�ำหนดและด�ำเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง 2. ให้คำ� แนะน�ำ และอนุมตั หิ ลักการในภาพรวม ส�ำหรับการวางแผนการบริหารความเสีย่ งขององค์กร และมาตรการการควบคุม ที่เพียงพอและเหมาะสม 3. รับผิดชอบให้มีการประเมินความเสี่ยง จัดท�ำ และก�ำกับดูแลการด�ำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยงในระดับองค์กร (Corporate Risk) 4. เสนอเรื่องแก่คณะกรรมการบริหาร หรือ คณะกรรมการบริษัทฯ ให้มีการก�ำหนดทิศทางการบริหาร การก�ำหนดกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง และความเสี่ยงที่ยอมรับได้ เพื่อพิจารณาทบทวน หรือ อนุมัติ 5. จัดให้มีการประชุมทบทวนผลการด�ำเนินงานตามระบบบริหารความเสี่ยง พร้อมรายงานผลแก่คณะกรรมการบริหาร หรือ คณะกรรมการบริษัทฯ 6. ผู้บริหาร ประกอบด้วย ชื่อ – นามสกุล

1. นายยงเกียรติ์ 2. นางสาวนภัสร

กิตะพาณิชย์ กิตะพาณิชย์

3. นายวิชัย 4. นางจิราพร

ศรีมาวรรณ์ ศรีสมวงษ์

5. 6. 7. 8.

มิยาฮาร่า สิทธินันท์เจริญ สุรีรัตนันท์ แซ่จิว

นายโคอิจิ นายสมศักดิ์ นายชีระวิทย์ นายมงคล

ต�ำแหน่ง

กรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายการเงินและบัญชี และรักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายทรัพยากรบุคคลและธุรการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายจัดหาและพัฒนาคุณภาพ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายเทคโนโลยีสารสนเทศ และรักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายการขาย, การพัฒนาธุรกิจและการตลาด รักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายปฏิบัติการ BSK รักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายปฏิบัติการ SAT รักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ - สายปฏิบัติการ SBM & ICP


รายงานประจ�ำปี 2555

47

ขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ของกรรมการผู้อ�ำนวยการ

1. จัดท�ำนโยบาย แนวทางยุทธศาสตร์การท�ำธุรกิจ เป้าหมาย แผนงานและงบประมาณประจ�ำปีของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย เสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 2. ด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทางยุทธศาสตร์การท�ำธุรกิจ เป้าหมาย แผนงานและงบประมาณ ประจ�ำปีของบริษทั ฯ และบริษัทย่อย ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯอนุมัติ 3. รายงานผลงานและผลประกอบการประจ�ำเดือนและไตรมาสของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเทียบกับแผนและงบประมาณ ให้คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบพร้อมเสนอข้อแนะ 4. อนุมัติค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 1 ล้านบาทต่อครั้ง โดยต้องรายงานให้คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ 5. อนุมัติโครงการลงทุนในวงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท โดยโครงการลงทุนนั้น ต้องเป็นโครงการลงทุนที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลัก ของบริษัทฯ และมีอัตราผลตอบแทนการลงทุนโครงการ (IRR Project) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 และต้องสอดรับกับนโยบาย การก�ำหนดราคาขาย ของคณะกรรมการบริหาร และรายงานคณะกรรมการบริหารทราบ เว้นแต่ โครงการลงทุนที่ไม่เป็น ไปตามเกณฑ์ขา้ งต้น ให้เสนอคณะกรรมการบริหารพิจารณาอนุมตั ิ ทัง้ นี้ ให้รวมถึงโครงการลงทุน เพือ่ การบ�ำรุงรักษา การปรับปรุง ประสิทธิภาพ หรือ การทดแทนเครื่องจักรเดิม 6. อนุมัติ ให้ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและแก้ไขโครงสร้างองค์กร ระดับแผนกลงไป 7. เรื่องอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ทัง้ นี้ การใช้อำ� นาจหน้าทีข่ องกรรมการผูอ้ ำ� นวยการไม่รวมถึง (ต้องไม่ขดั แย้งกับกฎเกณฑ์ของ ก.ล.ต.) อ�ำนาจในการอนุมตั ริ ายการ ที่ท�ำให้กรรมการผู้อ�ำนวยการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด กับบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมทั้งรายการที่ก�ำหนดให้ขอความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาหรือจ�ำหน่ายไป ซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เป็นต้น การประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการผู้อ�ำนวยการ

คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้อ�ำนวยการเป็นประจ�ำทุกปี โดยใช้เป้าหมายและ หลักเกณฑ์ การประเมินทีเ่ ชือ่ มโยงกับความส�ำเร็จของแผนยุทธศาสตร์ เพือ่ พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน และเงินรางวัลจูงใจทีเ่ หมาะสม โครงสร้างคณะกรรมการและองค์ประกอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษทั ฯ จัดให้มจี ำ� นวนกรรมการทีเ่ หมาะสมกับขนาดของกิจการ โดยปัจจุบนั มีกรรมการจ�ำนวน 10 คน ประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 7 คน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 คน ในจ�ำนวนกรรมการทั้งคณะ โดยบริษัทฯมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 6 คน กรรมการอิสระ มีจ�ำนวนร้อยละ 60 ของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย

1. นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม 2. นายปัญจะ เสนาดิสัย 3. นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ 4. นายอัจฉรินทร์ สารสาส 5. นายไพฑูรย์ ทวีผล 6. นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม ค�ำนิยามของ “กรรมการอิสระ” มีดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของทุนจดทะเบียนที่ช�ำระแล้วของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม ทั้งนี้ ให้นับหุ้นที่ถือโดย ผู้เกี่ยวข้องด้วย


48

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

2. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบการบริหารงานในทางปกติธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ รวมทั้งไม่เป็นกรรมการที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน บริษัทฯ ลูกจ้าง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ได้ รับเงินเดือนประจ�ำจากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ 3. เป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงินและบริหารงาน 4. เป็นกรรมการที่ไม่ใช่ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 5. เป็นกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 6. เป็นกรรมการที่ไม่ใช่เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ 7. เป็นกรรมการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการของบริษัทฯ หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. สามารถปฏิบัติหน้าที่ แสดงความเห็น หรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ได้โดยอิสระ การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

เพือ่ ให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงได้กำ� หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธกี ารสรรหากรรมการ และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน เป็นผู้สรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมเข้ารับ การคัดเลือก โดยบุคคลที่เหมาะสมจะถูกคัดเลือกโดยคณะกรรมการสรรหาฯ ซึ่งจะเป็นผู้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการสรรหา คัดเลือก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของสถานการณ์ของบริษทั ฯในช่วงเวลานัน้ การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการฝึกอบรม และการให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องแก่กรรมการและผู้บริหาร เพื่อให้มี การปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น ส่งเสริมให้มีการพบปะระหว่างกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นซึ่งกันและกัน ส่งเสริมให้จัดท�ำแผนพัฒนาศักยภาพผู้บริหารระดับกรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ ฯลฯ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ ติดตามการจัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผู้อ�ำนวยการ และ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อมั่นใจได้ว่าบริษัทฯ มีผู้บริหารที่มีความรู้ ความสามารถเพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ฯ ก�ำหนดให้มแี ผนพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริหาร เพือ่ จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งงานประกอบด้วย กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการ และรองกรรมการผู้อ�ำนวยการทุกสายงาน 2. คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ พิจารณาก�ำหนดความรู้ ความสามารถ (Competency) ประสบการณ์ของแต่ละ ต�ำแหน่งงาน เพื่อคัดเลือกผู้บริหารที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามที่ก�ำหนด สามารถสืบทอดงานของแต่ละต�ำแหน่งงานได้ 3. กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ประเมินการปฏิบตั งิ านและความรู้ ความสามารถของผูบ้ ริหารทีม่ คี ณุ สมบัตสิ อดคล้อง เทียบกับระดับ Competency ที่ต้องการ เพื่อจัดท�ำแผนการพัฒนารายบุคคลในการลด Competency Gap 4. มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (Executive HR) ท�ำหน้าทีด่ แู ลติดตามการอบรม และพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของผู้สืบทอดต�ำแหน่งรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ 5. กรรมการผู้อ�ำนวยการ จัดให้มีการหมุนเวียนหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้บริหารที่มีคุณสมบัติสอดคล้อง และมอบหมายให้ ผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้อ�ำนวยการ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริหาร เพือ่ ให้มคี วามเข้าใจ ประสบการณ์ และความ พร้อมในการบริหารองค์กรต่อไปในอนาคต 6. กรรมการผู้อ�ำนวยการ รายงานผลการปฏิบัติงาน และผลการพัฒนาตามแผนพัฒนารายบุคคลของผู้บริหารที่มีคุณสมบัติ สอดคล้อง ต่อคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนปีละ 2 ครั้ง 7. คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน ทบทวนและสรุปผลการจัดท�ำแผนการสืบทอดต�ำแหน่งงานของกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ และ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ เป็นประจ�ำ และรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ ปีละ 2 ครั้ง


รายงานประจ�ำปี 2555

49

คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร

นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม อายุ 65 ปี ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ

นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ อายุ 61 ปี กรรมการ/รองประธานกรรมการ,กรรมการบริหาร, กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัทฯ

วุฒิทางการศึกษา

วุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Bridgeport, USA • ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 37

• Mini MBA, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี พาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ) หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ) รุ่นที่ 9 อบรมหลักสูตร • อบรมหลักสูตร Role of the Chairman อบรมหลักสูตร • อบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Directors • อบรมหลักสูตร Director Certification Program • อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program • อบรมหลักสูตร Role of the Chairman การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี การถือหุ้นในบริษัทฯ % 2.12% ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2551-ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ/กรรมการอิสระ, 2547-ปัจจุบัน • รองประธานกรรมการ/กรรมการบริหาร บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • ประธานกรรมการ, บมจ. หลักทรัพย์บัวหลวง 2541-ปัจจุบัน • รองประธานกรรมการ, • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ, บจ. ซึชิโยชิ สมบูรณ์ โคเตท แซนด์ บมจ. ดิ เอราวัณ กรุ๊ป • กรรมการ, บจ. ยามาดะ สมบูรณ์ • ประธานคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน/ 2537-ปัจจุบนั • กรรมการ, บจ. สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม กรรมการอิสระ, บมจ. เทเวศประกันภัย • กรรมการ, บจ. บางกอกสปริงอินดัสเตรียล 2549-2551 • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม


50

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

นายปัญจะ เสนาดิสัย อายุ 64 ปี

นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ อายุ 67 ปี

วุฒิทางการศึกษา

วุฒิทางการศึกษา

กรรมการอิสระ, ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล, กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ

• Master of Business Administration Suffolk University (USA) อบรมหลักสูตร • อบรมหลักสูตร Director Certification Program • อบรมหลักสูตร Audit Committee Program • อบรมหลักสูตร Role of Compensation Committee • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการ และผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 2 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 4 การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี

ประธานคณะกรรมการบริหาร, กรรมการอิสระ

• International Senior Management Program (ISMP), Harvard Business School • M.S. Industrial & System Engineering, U of Southern California • M.B.A. General Management, U of Southern California • วศ.บ. (เกียรตินิยม) อุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อบรมหลักสูตร

• อบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Directors • อบรมหลักสูตร Audit Committee Program • อบรมหลักสูตร Director Certification Program การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

2555-ปัจจุบัน • ที่ปรึกษา, บจ. ดีคอร์ป 2554-ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ, บจ. เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล เจแปน 2550-ปัจจุบัน • กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ, • ที่ปรึกษา, บจ. มินเซน แมชีนเนอรี่ บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2549-ปัจจุบัน • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และธรรมาภิบาล, 2552-ปัจจุบัน • ที่ปรึกษา, บจ. นอริตาเก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2551-ปัจจุบัน • ประธานคณะกรรมการบริหาร, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2548-ปัจจุบัน • กรรมการ/ประธานกรรมการตรวจสอบ, 2550-ปัจจุบัน • กรรมการอิสระ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี บมจ. ไพลอน 2547-ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2546-2551 • ที่ปรึกษาคณะจัดการ, บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย 2546-ปัจจุบัน • กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ, บมจ. รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ 2545-ปัจจุบัน • กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน, บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา 2526-ปัจจุบัน • กรรมการ, บมจ. เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ 2547-2554 • ประธานกรรมการ, บมจ. เดวา ดีเวลลอปเม้นท์ 2549-2552 • กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการพิจารณา ผลตอบแทนฯ, ธนาคารออมสิน ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง


รายงานประจ�ำปี 2555

นายอัจฉรินทร์ สารสาส อายุ 69 ปี

นายไพฑูรย์ ทวีผล อายุ 62 ปี

วุฒิทางการศึกษา

วุฒิทางการศึกษา

กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล, กรรมการสรรหา และค่าตอบแทน, กรรมการอิสระ

• ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ การบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเคนซิงตั้น สหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ) หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ) รุน่ ที่ 1 • วุฒิบัตร/ใบอนุญาตวิศวกรควบคุม : วุฒิวิศวกรอุตสาหการ อบรมหลักสูตร

• อบรมหลักสูตร Director Certification Program การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล /กรรมการสรรหาและค่าตอบแทน บมจ.สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • ทีป่ รึกษาอิสระ ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพ (TQM) • นายกกิตติมศักดิ์, สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย (TAPMA) • วิทยากรพิเศษ ด้านการพัฒนาคุณภาพ • ประธานกิตติมศักดิ์, กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการ, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) • ที่ปรึกษาคณะกรรมการ, สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย • ที่ปรึกษา, กลุ่มบริษัท Cobra International 2549-2552 • กรรมการอ�ำนวยการ, บริษัท ซัมมิท โอโตซีท อินดัสตรี จ�ำกัด

51

ประธานคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ, กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล,กรรมการอิสระ

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอบบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อบรมหลักสูตร

• อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program • อบรมหลักสูตร Director Certification Program • อบรมหลักสูตร Audit Committee Program • อบรมหลักสูตร Role of the Chairman • อบรมหลักสูตร Chartered Director Program • อบรมหลักสูตร Advanced Audit Committee การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

2555-ปัจจุบัน • กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ, บมจ. เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ • กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ, บมจ. อีซบี่ าย 2552-ปัจจุบัน • ประธานคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี ปัจจุบัน • กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี, บมจ. บิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ 2551-ปัจจุบัน • กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2547-ปัจจุบัน • กรรมการบริหาร, โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย 2545-ปัจจุบัน • กรรมการอิสระ/ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ/ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ระดับองค์กร, บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา


52

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ อายุ 55 ปี กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ

นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ อายุ 50 ปี กรรมการ, กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ, กรรมการผูอ้ ำ� นวยการบริหาร

วุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมเครื่องกล Eckert Technology Institute (Germany) อบรมหลักสูตร • อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program

วุฒิทางการศึกษา

การถือหุ้นในบริษัทฯ % 2.65% ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

2547-ปัจจุบัน • กรรมการ/กรรมการบริหาร, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2547-2555 • กรรมการผู้อ�ำนวยการ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2537-2555 • กรรมการ/ประธานบริหาร, บจ. สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม • กรรมการ/ประธานบริหาร, บจ. บางกอกสปริงอินดัสเตรียล 2537-ปัจจุบัน • กรรมการ/รองประธานบริษัท, บจ. นิชินโบะ สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ • รองประธานบริษัท, บจ. สมบูรณ์ โซมิค แมนูแฟคเจอริ่ง

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • Master of Industrial Engineering, Waseda University (Japan) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์เครือ่ งกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อบรมหลักสูตร

• อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program • อบรมหลักสูตร Finance for Non-Finance Directors • อบรมหลักสูตร Director Certification Program การถือหุ้นในบริษัทฯ % 1.96% ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ปัจจุบัน • กรรมการผู้อ�ำนวยการ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • ประธาน, กลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและอะไหล่ ยานยนต์ ภายใต้สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2554-ปัจจุบัน • กรรมการ, บจ. เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล เจแปน 2550-2555 • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการบริหาร, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2550-ปัจจุบนั • กรรมการ, บจ. สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม • กรรมการ, บจ. บางกอกสปริง อินดัสเตรียล • ประธานกรรมการ, บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ • นายกกิตติมศักดิ์, สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 2549-ปัจจุบัน • อุปนายกอาวุโส, สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย


รายงานประจ�ำปี 2555

นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ อายุ 49 ปี กรรมการ, กรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ, รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการสายการเงินและบัญชี วุฒิทางการศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Bachelor of Business Administration in Finance and Management (BBA), Simon fraser University (Canada) อบรมหลักสูตร • อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program การถือหุ้นในบริษัทฯ % 1.65% ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ-สายการเงินและบัญชี บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2550-2555 • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2550-ปัจจุบนั • กรรมการ, บจ. อินเตอร์เนชัน่ แนล แคสติง้ โปรดักส์ 2547-ปัจจุบัน • กรรมการ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2540-ปัจจุบัน • กรรมการ, บจ. บางกอกสปริง อินดัสเตรียล 2550-2553 • กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการสรรหา และค่าตอบแทน, สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

53

นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม อายุ 47 ปี

กรรมการอิสระ, กรรมการบริหาร, กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ วุฒิทางการศึกษา

• Master of Business Administration, University of Pennsylvania (USA) • Master of Science, Operation Research, University of Michigan (USA) • ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อบรมหลักสูตร

• อบรมหลักสูตร Director Accreditation Program การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

2554-ปัจจุบนั • กรรมการอิสระ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • กรรมการ, สายการบินนกแอร์ จ�ำกัด 2551-ปัจจุบัน • กรรมการ, บมจ. เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ • กรรมการ, บมจ. เอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น 2550-ปัจจุบัน • กรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2549-ปัจจุบนั • กรรมการบริหาร, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • กรรมการ, บมจ. เมอร์เมด มาริไทม์ • กรรมการ, บมจ. อีซี่บาย 2546-ปัจจุบัน • กรรมการผู้จัดการ, บจ. อัลตัส แอดไวซอรี่ 2549-2554 • ประธานกรรมการ, บจ. เอเชียบุ๊คส์ 2547-2554 • กรรมการ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี


54

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ อายุ 51 ปี

นางจิราพร ศรีสมวงษ์ อายุ 46 ปี นายโคอิจิ มิยาฮาร่า อายุ 52 ปี รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ

รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการสายการขาย, การพัฒนาธุรกิจ และการตลาด

วุฒิทางการศึกษา

วุฒิทางการศึกษา

วุฒิทางการศึกษา

รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ สายจัดหาและ พัฒนาคุณภาพ

• ปริญญาโท ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา • ปริญญาตรี รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน ในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

2551-ปัจจุบนั • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายจัดหาและพัฒนาคุณภาพ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2550-2551 • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายจัดซื้อและโลจิสติกส์, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต University of San Francisco, USA • ปริญญาตรี พาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท วิศวกรรม เครือ่ งกล มหาวิทยาลัยคาโกชิมา่ ประเทศญีป่ นุ่ • ปริญญาตรี วิศวกรรม เครือ่ งกล มหาวิทยาลัยคาโกชิมา่ ประเทศญีป่ นุ่

การถือหุ้นในบริษัทฯ % ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงาน ในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง 2551-ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ, บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2547-2551 • ผู้จัดการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจ�ำประเทศไทยและมาเลเซีย, บจ. ไทโก้ อิเลคทรอนิกส์

การถือหุ้นในบริษัทฯ % ประสบการณ์ท�ำงาน ในระยะ 5 ปี ย้อนหลัง

ไม่มี

2555-ปัจจุบัน • รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ-สายการขาย, การพัฒนาธุรกิจและการตลาด บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี 2551-2555 • ผูจ้ ดั การประสานงาน, โตโยต้า เคอร์ลอสการ์ มอเตอร์ อินเดีย (TMC) 2548-2550 • ผู้จัดการกลุ่ม และผู้จัดการฝ่ายเทคนิค, โตโยต้า มอเตอร์ คอเปอร์เรชัน่ ประเทศญีป่ นุ่ (TMC)


รายงานประจ�ำปี 2555

55

การถือครองหุ้น ของคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร กรรมการ

นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ นายปัญจะ เสนาดิสัย นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ นายอัจฉรินทร์ สารสาส นายไพฑูรย ทวีผล นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ นางจิราพร ศรีสมวงษ์

จ�ำนวนหุ้นสามัญ ณ วันที่ 23 ส.ค. 55

7,215,975 9,009,274 6,660,900 555,075 5,612,641 -

ลักษณะ การถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้นที่ถือ ที่ไม่ใช่หุ้นสามัญ

ทางตรง ทางตรง ทางตรง ทางอ้อม (ภรรยา) ทางตรง -

-

การเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ชื่อ – สกุล

1. นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม 2. นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ 3. นายปัญจะ เสนาดิสัย 4. นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ 5. นายอัจฉรินทร์ สารสาส 6. นายไพฑูรย์ ทวีผล 7. นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ 8. นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ 9. นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ 10. นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม 11. นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ 12. นางจิราพร ศรีสมวงษ์

หุ้นสามัญ (หุ้น) 23 ส.ค. 55 14 มี.ค. 55 30 ธ.ค. 54 30 ธ.ค. 53

7,215,975 9,009,274 6,660,900 5,612,641 -

7,215,975 10,009,274 7,215,975 5,612,641 -

7,215,975 10,009,274 7,215,975 5,612,641 -

หมายเหตุ: - ข้อมูลจากรายงานการกระจายการถือหุ้น ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2555

7,215,975 10,009,274 7,215,975 5,612,641 -

4 ส.ค. 53 (เพิ่มทุน)

29 มิ.ย. 53

7,215,975 10,909,274 7,215,975 5,612,641 -

6,660,900 10,070,100 6,660,900 5,180,900 -


56

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส โดยมีคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนส�ำหรับ กรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูง ได้แก่ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ และรองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ และเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 1. นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ ซึ่งได้แก่ 1) ค่าบ�ำเหน็จกรรมการประจ�ำปี 2) ค่าตอบแทนที่จ่ายเป็นรายเดือน 3) ค่าตอบแทนที่จ่ายเป็นเบี้ยประชุม โดยพิจารณาถึงภารกิจ ความรับผิดชอบ และการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์กบั บริษทั ฯ โดยเปรียบเทียบกับบริษทั อืน่ ทีม่ ขี นาดและลักษณะของธุรกิจทีใ่ กล้เคียงกัน โดยกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้มหี น้าที่ และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มมากขึ้นด้วย

2. นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร

คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร จะเป็นผู้พิจารณาทบทวนค่าตอบแทนของกรรมการผู้อ�ำนวยการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯพิจารณาอนุมัติ ซึ่งค่าตอบแทนดังกล่าว มีการก�ำหนดอย่างเหมาะสม ตามโครงสร้างค่าตอบแทน ของบริษทั ฯ และพิจารณาเปรียบเทียบจาก 1) ข้อมูลการส�ำรวจการจ่ายค่าตอบแทนจากสถาบัน องค์กร และหน่วยงานทีไ่ ด้รบั ความเชือ่ ถือ 2) อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และก�ำไรสุทธิ 5 ปีย้อนหลัง รวมทั้ง พิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายด้วย กรรมการผูอ้ ำ� นวยการจะเป็นผูพ้ จิ ารณาความเหมาะสมในการก�ำหนดค่าตอบแทน และการปรับค่าจ้างประจ�ำปี ของผูบ้ ริหารระดับ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ โดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ประกอบกับผลการปฏิบัติงานตาม เป้าหมายที่ได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า

ค่าตอบแทนกรรมการ 1. ค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุม ต�ำแหน่ง

1. ประธานฯ 2. รองประธานฯ 3. กรรมการ

ค่าตอบแทนรายเดือน คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท บริหาร

27,000 18,750 15,000

45,000 30,000

คณะกรรมการ บริษัทฯ

45,000 31,250 25,000

เบี้ยประชุม/ครั้ง (บาท) คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบฯ สรรหาและค่าตอบแทนฯ

37,500 25,000

37,500 25,000


รายงานประจ�ำปี 2555

57

2. ค่าตอบแทนที่เป็นบ�ำเหน็จกรรมการ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

ค่าตอบแทนรวมทีเ่ ป็นตัวเงินของคณะกรรมการบริษทั ฯ ในรูปของเบีย้ ประชุมและบ�ำเหน็จกรรมการ เป็นจ�ำนวนเงินรวมทัง้ สิน้ 8,887,745 บาท รายละเอียดดังนี้ รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

ค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุม บ�ำเหน็จ ค่าตอบแทน กรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ รวม บริษัท บริหาร ตรวจสอบฯ สรรหาและ ปี 2554 ค่าตอบแทนฯ

1 นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม 2 นายยงยุทธ กิตะพาณิชย์ 3 นายปัญจะ เสนาดิสัย 4 นายสบสันติ์ เกตุสุวรรณ 5 นายอัจฉรินทร์ สารสาส 6 นายไพฑูรย์ ทวีผล 7 นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ 8 นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ 9 นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ 10 นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

325,791 226,244 180,995 180,995 180,995 180,995 180,995 180,995 180,995 180,995

819,000 568,750 455,000 455,000 455,000 455,000 405,000 405,000 405,000 455,000

360,000 540,000 360,000

187,500 150,000 150,000 รวม

75,000 112,500 75,000

1,144,791 1,154,994 898,495 1,175,995 785,995 898,495 585,995 585,995 585,995 1,070,995 8,887,745

หมายเหตุ: บ�ำเหน็จกรรมการ เป็นการค�ำนวณจ่ายจากผลการด�ำเนินงานในปี 2554 ที่จ่ายในปี 2555 ค่าตอบแทนผู้บริหาร 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารของบริษัทฯ ในรูปของเงินเดือนและโบนัส หน่วย : บาท

เงินเดือนรวม โบนัสรวม รวม

จ�ำนวนราย

พ.ศ. 2555

จ�ำนวนราย

พ.ศ. 2554

8 8

20,947,005 5,249,856 26,196,861

9 9

27,422,056.67 6,311,661.00 33,733,717.67

หมายเหตุ: - ปี 2555 ประกอบด้วยผู้บริหาร 8 คน คือ นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นายวรพจน์ ฉัตรชัยกุลศิริ (ลาออกระหว่างปี) นายวสันต์ ชวเจริญพันธ์ นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นางจิราพร ศรีสมวงษ์ และ นายภากร ทองเจริญ (ลาออกระหว่างปี) - ปี 2554 ประกอบด้วยผู้บริหาร 9 คน คือ นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นายวรพจน์ ฉัตรชัยกุลศิริ นายวสันต์ ชวเจริญพันธ์ นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นางจิราพร ศรีสมวงษ์ นายภากร ทองเจริญ และนายธนิต วิริยรัต


58

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

2. ค่าตอบแทนอื่น เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

ในรอบปี 2555 บริษัทฯได้สมทบเงินเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่ผู้บริหารของบริษัทฯ ดังนี้ หน่วย : บาท

เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

จ�ำนวนราย

พ.ศ. 2555

จ�ำนวนราย

พ.ศ. 2554

8

982,948.25

8

1,129,541.50

หมายเหตุ: - ปี 2555 ประกอบด้วยผู้บริหาร 8 คน คือ นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นายวรพจน์ ฉัตรชัยกุลศิริ นายวสันต์ ชวเจริญพันธ์ นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นางจิราพร ศรีสมวงษ์ และนายภากร ทองเจริญ - ปี 2554 ประกอบด้วยผู้บริหาร 8 คน คือ นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์ นายยงเกียรติ์ กิตะพาณิชย์ นายวรพจน์ ฉัตรชัยกุลศิริ นายวสันต์ ชวเจริญพันธ์ นายวิชัย ศรีมาวรรณ์ นางสาวนภัสร กิตะพาณิชย์ นางจิราพร ศรีสมวงษ์ และนายภากร ทองเจริญ


รายงานประจ�ำปี 2555

59

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดประชุมครั้งที่ 2/2556 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบฯ เข้าร่วมประชุม และได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอ และความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน โดยอ้างอิง “แบบประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน” ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบฯ รายงานผลการตรวจสอบภายใน พร้อมทัง้ ข้อเสนอแนะการตรวจสอบ ซึง่ มุง่ เน้นการตรวจสอบเชิงปฏิบตั กิ าร ให้พัฒนามีประสิทธิภาพมีประสิทธิผล อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้มีการติดตามการแก้ไขตามรายงานผลการตรวจสอบและรายงานให้ คณะกรรมการบริษัททราบอย่างสม�่ำเสมอ ด้านการดูแลทรัพย์สิน บริษัทฯ มีระบบป้องกันที่ดี ไม่พบรายการทุจริตหรือการน�ำทรัพย์สิน ของบริษัทฯ ไปใช้โดยมิชอบ ผลการสอบทานพบว่ามีการปฏิบัติตามขั้นตอนที่ก�ำหนดไว้ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดกฎหมายของภาครัฐ และนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ในส่วนการหารือกับผู้สอบบัญชี เห็นว่าบริษัทจัดท�ำงบการเงินเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมี ระบบควบคุมภายในที่เพียงพอครอบคลุมทั้งทางด้านองค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน และ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล โดยมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง ไม่มีข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. องค์กร และสภาพแวดล้อม

บริษทั ฯ มีการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจนและวัดผลได้ โดยมีการก�ำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณประจ�ำปี และตัวชีว้ ดั ที่ชัดเจนในการขยายตลาดและเพิ่มความสามารถในการท�ำก�ำไรของหน่วยธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่ม และทดแทน การน�ำเข้า รวมทัง้ การสร้างเครือข่ายกับพันธมิตรในต่างประเทศ การปรับค่าจ้าง และการจ่ายเงินรางวัลจูงใจ ประจ�ำปี 2555 เป็นการประเมิน โดยพิจารณาจากผลส�ำเร็จตามเป้าหมายของดัชนีชี้วัด และผลก�ำไรของบริษัท เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ด้านการพัฒนาคุณภาพทางการ ปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น บริษัทฯ ก�ำหนดโครงสร้างการบริหารประกอบด้วยคณะกรรมการ 5 ชุด ได้แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะ กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล คณะกรรมการสรรหาและ ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยคณะกรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และก�ำกับดูแลให้การบริหารจัดการเป็นไป ตามเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น อยู่ในกรอบของการมีจริยธรรมที่ดี และรับผิดชอบต่อสังคม โดยในปี 2555 บริษัทฯ ได้รับรางวัล SET Awards 2012 รางวัลด้านบรรษัทภิบาล รางวัลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ และรางวัลความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งนี้บริษัทฯ ได้มกี ารจัดท�ำและทบทวนนโยบายและระเบียบวิธกี ารปฏิบตั งิ าน ในธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซือ้ ระบบสารสนเทศ และการบริหารทัว่ ไป ที่รัดกุม อีกทั้งบริษัทฯ ยังได้ประกาศเจตนารมย์ เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต และได้จัดให้มีการ ประเมินตนเองเกีย่ วกับมาตรการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั มีนโยบายและขัน้ ตอนการปฏิบตั อิ ย่างเหมาะสมต่อความเสีย่ ง ด้านการคอร์รัปชั่นที่อาจเกิดขึ้น และให้การด�ำเนินงานสามารถสร้างความมั่นใจให้ต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ 2. การบริหารความเสี่ยง

บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงเป็นนโยบายส�ำคัญ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วย กรรมการและผู้บริหารแต่ละสายงาน ท�ำหน้าที่ในการประเมินปัจจัยเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายนอกได้แก่ สภาพเศรษฐกิจ นโยบายภาครัฐ และความผันผวนของราคาวัตถุดบิ และปัจจัยภายใน ทีม่ ผี ลกระทบต่อเป้าหมายและการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และก�ำหนดผูร้ บั ผิดชอบ ความเสี่ยงในหน่วยงานต่างๆ พร้อมทั้งมอบหมายให้การบริหารความเสี่ยงเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารทุกคน มีการวางแผนและ ก�ำหนดมาตรการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจและเป้าหมายของบริษัทฯ จัดให้มีการติดตามการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร โดยเน้นให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ รวมทั้ง การจัดการการให้ความรู้กับพนักงานทุกระดับให้มีความเข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญในการบริหารความเสี่ยงให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งผล การปฏิบตั ไิ ด้มกี ารรายงานต่อคณะคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบฯได้เป็นผูก้ ำ� กับดูแล ความเพียงพอและเหมาะสม ของการบริหารความเสี่ยง


60

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบและ ธรรมาภิบาล และคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งคณะกรรมการ ทั้ง 4 คณะ ได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารดังนี้ (1) การก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละวงเงินอนุมตั ขิ องผูบ้ ริหารทุกฝ่ายและทุกระดับไว้อย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยก�ำหนดต�ำแหน่งผูม้ อี ำ� นาจอนุมตั ิ วงเงิน การสัง่ การ การก่อหนี้ และการช�ำระหนี้ ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร รวมทัง้ ได้มกี าร ทบทวนความเหมาะสมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (2) จัดท�ำระบบการปฏิบัติงานและอ�ำนาจหน้าที่ในการอนุมัติ ตามลักษณะการประกอบธุรกิจและโครงสร้างองค์กร (3) ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำรายการข้อกฎหมาย หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เพื่อควบคุมให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างเคร่งครัด (4) การประเมินความเสี่ยงทั้งปัจจัยจากภายในและภายนอกบริษัทและติดตามการปฏิบัติตามแผนบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบฯได้พิจารณาทบทวนและอนุมัติแผนการตรวจสอบประจ�ำปี เพื่อให้ครอบคลุมทุกกระบวนการ ปฏิบตั งิ านทีม่ คี วามเสีย่ งสูง รวมทัง้ ครอบคลุมถึงความคาดหวังของผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ท�ำให้บริษทั ฯ มัน่ ใจว่าหน่วยงานต่างๆ มีการควบคุม การปฏิบัติงานที่เพียงพอ ทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบฯได้พจิ ารณาประเด็นส�ำคัญและปัญหาทีต่ รวจพบจากการตรวจสอบ โดยได้เสนอแนะให้ฝา่ ยบริหารด�ำเนิน การแก้ไข และให้มีการรายงานผลการแก้ไข มาตรการป้องกันมิให้เกิดปัญหาเดิมขึ้นอีก กรณีทมี่ กี ารท�ำธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ อันอาจจะน�ำมาซึง่ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ นั้น ธุรกรรมที่เกิดขึ้นจะต้องผ่านขั้นตอนการอนุมัติตามระเบียบของบริษัทฯ เช่นเดียวกับ ธุรกรรมปกติ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำรายการจะต้องท�ำหน้าที่พิจารณาว่าการท�ำรายการมีความสมเหตุสมผล และเป็นไปตามปกติ ธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น เสมือนเป็นรายการที่กระท�ำกับบุคคลภายนอก และถูกต้องตามกฎหมาย โดยธุรกรรมอันอาจจะน�ำมาซึ่งความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวจะไม่มีสิทธิออกเสียง และมีการเปิดเผยข้อมูล เป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนด บริษทั ฯ มีการมุง่ ในในการพัฒนาขบวนการผลิตให้ได้สนิ ค้าทีม่ มี าตรฐานเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล รวมทัง้ ให้ความส�ำคัญอย่างมาก ต่อการดูแลความปลอดภัยในการท�ำงาน การรักษาสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทฯได้การรับรองระบบคุณภาพ “ISO/TS 16949”และ “ISO 14001” ซึง่ มีหน่วยงานทีแ่ ยกอิสระจากสายการผลิต ท�ำหน้าทีใ่ นการตรวจสอบติดตามให้มกี ารปฏิบตั เิ ป็นไปตามข้อก�ำหนดต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ ในส่วนของการท�ำธุรกรรมด้านการการเงิน และ จัดซื้อ จัดจ้างนั้น บริษัทฯก�ำหนดให้พนักงานและผู้บริหารปฏิบัติตาม “คู่มืออ�ำนาจด�ำเนินการ” และ “คู่มือควบคุมการ จัดซื้อ-จัดจ้าง” ซึ่งก�ำหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยระบุไว้ชัดเจนถึงหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และอ�ำนาจในการอนุมตั จิ า่ ยเงิน และการท�ำสัญญาจัดซือ้ จัดจ้าง เพือ่ ให้มคี วามรอบคอบ รัดกุมและป้องกันการทุจริตในธุรกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการเงิน 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล

ในการเสนอเรือ่ ง ให้คณะกรรมการพิจารณา บริษทั ฯ ได้จดั ให้มขี อ้ มูลทีส่ �ำคัญต่างๆ อย่างเพียงพอ เพือ่ ให้คณะกรรมการใช้ประกอบ การตัดสินใจโดยการจัดท�ำรายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูลเพือ่ ศึกษา ประกอบการตัดสินใจเป็นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุการบริษัทฯ ซึ่งมีหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำด้านข้อบังคับและกฎเกณฑ์ต่างๆ ดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทฯ ตลอดจนประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่เป็น ศูนย์กลางในการจัดท�ำและจัดเก็บเอกสารส�ำคัญ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบ ความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการได้


รายงานประจ�ำปี 2555

61

ในส่วนของการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีต่างๆ นั้น บริษัทฯจะมีการจัดเก็บไว้อย่างครบถ้วน เป็นหมวดหมู่ ทุกรายการ เพื่อความโปร่งใสและเพื่อเป็นข้อมูลในการปฏิบัติงานโดยไม่เคยได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชีว่ามีข้อบกพร่องในเรื่องนี้ คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้พิจารณาร่วมกับผู้สอบบัญชี แผนกตรวจสอบภายใน และผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการจัดท�ำงบการเงินขอ งบริษัทฯทุกไตรมาส เพื่อให้มีความมั่นใจว่า บริษัทฯมีการใช้นโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และเหมาะสมกับลักษณะ ธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลอย่างเหมาะสม 5. ระบบการติดตาม

บริษัทฯ ได้มีการติดตามผลการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2555 รวม 10 ครั้ง และมีระบบการติดตามการปฏิบัติงานเป็นล�ำดับชั้น ตั้งแต่คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริหาร และคณะผู้บริหาร เพื่อติดตามเป้าหมายและก�ำกับการด�ำเนินการตามแผนกลยุทธ์ แผนงาน และโครงการ ที่อยู่ในแผนธุรกิจประจ�ำปี ที่ได้รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทฯเป็นประจ�ำทุกเดือน พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและปรับแผนการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไป และเมื่อพบว่าผลการด�ำเนินการมีความแตกต่างจากเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ได้ก�ำหนดให้ผู้รับผิดชอบน�ำเสนอรายงาน เพือ่ ทบทวนการปฏิบตั งิ านและการวิเคราะห์สาเหตุตลอดจนร่วมพิจารณาเพือ่ อนุมตั แิ ผนการแก้ไขปัญหา และให้รายงานการปฏิบตั อิ ย่าง ต่อเนื่อง บริษัทฯ จัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอย่างสม�่ำเสมอโดยผู้รับผิดชอบในฝ่ายงานรับผิดชอบในการ ดูแลการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายใน และมีแผนกตรวจสอบภายในท�ำการตรวจสอบการปฏิบัติและรายงานผลอย่างเป็นอิสระ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบฯ โดยในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีการประชุมรวม 6 ครั้ง


62

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ระหว่างปี 2554 และ ระหว่างปี 2555 ดังต่อไปนี้ บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด (SBM) ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

รายการค้าปกติ 1. SAT ขายเศษวัสดุ ให้ SBM 2. SAT เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้น SBM 3. SAT รับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจาก SBM 4. SAT จ่ายช�ำระค่าสาธารณูปโภคให้ SBM 5. SAT รับช�ำระค่าสาธารณูปโภคจาก SBM 6. SAT รับช�ำระค่าธรรมเนียมบริหารจัดการจาก SBM

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

2.31 440.00 13.47 0.01 19.23 81.83

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

- ราคาตลาด/เป็นการเพิม่ รายได้ให้กบั SAT จากการขาย เศษวัตถุดิบที่เป็นส่วนสูญเสียตามปกติของการผลิต 110.00 ตามสัญญากู้เงิน 12.05 ตามสัญญากู้เงิน 0.01 ราคาใกล้เคียงทุน/SAT ใช้สาธารณูปโภคของ SBM 20.47 ราคาใกล้เคียงทุน/SBM ใช้สาธารณูปโภคของ SAT 65.66 ราคาใกล้เคียงทุน/เป็นการให้บริการแก่ SBM

หมายเหตุ: รายการที่ 1 - 6 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด (BSK) ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

รายการค้าปกติ 1. SAT จ่ายช�ำระค่าสาธารณูปโภคให้ BSK 2. SAT รับช�ำระค่าสาธารณูปโภคจาก BSK 3. SAT รับช�ำระค่าธรรมเนียมบริหารจัดการจาก BSK

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

1.23 4.53 54.77

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

1.41 ราคาใกล้เคียงทุน/SAT ใช้สาธารณูปโภคของ BSK 0.38 ราคาใกล้เคียงทุน/BSK ใช้สาธารณูปโภคของ SAT 58,72 ราคาใกล้เคียงทุน/เป็นการให้บริการแก่ BSK

หมายเหตุ: รายการที่ 1 - 3 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด (ICP) ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

รายการค้าปกติ 1. SAT ขายเศษวัสดุ ให้ ICP

1.48

-

2. SAT เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้น ICP 3. SAT รับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจาก ICP 4. SAT รับช�ำระค่าสาธารณูปโภคจาก ICP

90.00 1.08 1.13

200.00 7.86 -

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

รายการค้าปกติ ราคาตลาด/เป็นการเพิม่ รายได้ให้กบั SAT จากการขาย เศษวัตถุดบิ ทีเ่ ป็นส่วนสูญเสียตามปกติของการผลิต ตามสัญญากู้เงิน ตามสัญญากู้เงิน ราคาใกล้เคียงทุน / ICP ใช้สาธารณูปโภคของ SAT

หมายเหตุ: รายการที่ 1 - 4 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน


รายงานประจ�ำปี 2555

63

บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด (SIJ) ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

รายการค้าปกติ 1. SAT เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ยืมระยะสั้น SIJ 2. SAT รับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมจาก SIJ

10.00 0.01

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

รายการค้าปกติ 30.00 ตามสัญญากู้เงิน 0.87 ตามสัญญากู้เงิน

หมายเหตุ: รายการที่ 1-2 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด (SFT) ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

รายการค้าปกติ 1. SAT รับช�ำระค่าสาธารณูปโภคจาก SFT

-

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

รายการค้าปกติ 0.20 ราคาใกล้เคียงทุน/SFT ใช้สาธารณูปโภคของ SAT

หมายเหตุ: รายการที่ 1 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ซึชิโยชิ สมบูรณ์ โคเตท แซนด์ จ�ำกัด ลักษณะรายการที่ส�ำคัญ

ยอดคงค้าง/มูลค่าของ รายการ (ล้านบาท) ปี 2554 ปี 2555

รายการค้าปกติ 1. ICP มีซื้อทรายอบแห้งจากบริษัท ซึชิโยชิ สมบูรณ์ โคเตท แซนด์ จ�ำกัด

17.61

เงื่อนไขราคา/ความจ�ำเป็น

รายการค้าปกติ 38.45 ซื้อในราคาตลาด/ลักษณะการซื้อสินค้าเป็นครั้ง คราวเพื่อในใช้ในการผลิตสินค้า

หมายเหตุ: รายการที่ 1 เป็นรายการที่ผู้สอบบัญชีระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน


64

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ โดยมีนายไพฑูรย์ ทวีผล กรรมการอิสระ ท�ำหน้าที่ ประธานคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ และมีกรรมการอิสระท�ำหน้าที่กรรมการ ในคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ ได้แก่ นายปัญจะ เสนาดิสัย นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม และนายอัจฉรินทร์ สารสาส มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 3 ปี โดยมีผลบังคับตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป ในปี 2555 คณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ จัดให้มีการประชุมฯ รวม 3 ครั้ง โดยกรรมการทุกท่านได้เข้าร่วมประชุมครบ ทุกครั้ง เพื่อติดตามและพิจารณาเรื่องส�ำคัญที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ สรุปได้ดังนี้ 1. ปรับโครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการ โดยเพิ่มสัดส่วนกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารร้อยละ 80 (กรรมการอิสระ ร้อยละ 60) ของกรรมการทั้งคณะ 2. ทบทวน บทบาท หน้าที่และความรับผิดของคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนฯ 3. ทบทวนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสรรหา และค่าตอบแทนฯ รวมถึงหลักเกณฑ์ที่ส�ำคัญ ดังนี้ 3.1 หลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหา คัดเลือก แต่งตั้งผู้บริหาร 3.2 หลักเกณฑ์การปรับอัตราค่าจ้างให้เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ และแนวโน้มอุตสาหกรรม รวมถึงการปรับค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ ตามนโยบายรัฐบาล 3.3 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินรางวัลจูงใจพนักงานและผูบ้ ริหาร ให้สอดคล้องกับค่าตอบแทนของบริษทั อืน่ ในกลุม่ อุตสาหกรรม เดียวกัน 3.4 ปรับปรุงโครงสร้างค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์อนื่ ของกรรมการ เพือ่ ให้สอดคล้องกับความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิ หน้าที่ของกรรมการ 3.5 ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการเพื่อก�ำหนดบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่องการเกษียณอายุกรรมการ วาระด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ และการหมุนเวียนต�ำแหน่งของกรรมการชุดย่อย 3.6 การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระและเสนอชื่อบุคคลเข้าเป็นกรรมการ แทนกรรมการที่ครบวาระ

(นายไพฑูรย์ ทวีผล) ประธานคณะกรรมการสรรหาและค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร


รายงานประจ�ำปี 2555

65

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้จดั ท�ำงบการเงินประจ�ำปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยได้เลือกใช้นโยบาย ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอ ตลอดจนใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและสมเหตุสมผลในการจัดท�ำงบการเงิน รวมทั้งเปิดเผย ข้อมูลที่ส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบในการก�ำกับดูแลรายงานทางการเงินให้มีประสิทธิภาพ โดยได้แต่งตั้งคณะ กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อรับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินให้ ถูกต้องครบถ้วน มีการใช้นโยบายทีเ่ หมาะสมและถือปฏิบตั โิ ดยสม�ำ่ เสมอ ตลอดจนสอบทานให้บริษทั ฯมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอ และเหมาะสมและร่วมประเมินความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทุจริตหรือการด�ำเนินการ ที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญและเพียงพอที่จะด�ำรงรักษาทรัพย์สินของบริษัทฯ จากวิธปี ฏิบตั แิ ละการก�ำกับดูแลข้างต้น คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงมีความเห็นว่างบการเงินของบริษทั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได้แสดงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานได้ถูกต้อง เชื่อถือได้ เป็นไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม) ประธานกรรมการ

(นายวีระยุทธ กิตะพาณิชย์) กรรมการผู้อ�ำนวยการ


66

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และธรรมาภิบาล เรียน ผู้ถือหุ้น บริษัท สมบูรณ์แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบฯ ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเป็นอิสระ 3 คน 1 ในนั้น เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ ด้านการบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบฯ ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งสอดคล้องกับประกาศของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบฯ มีการประชุมทัง้ สิน้ 6 ครัง้ และได้รายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการบริษทั เป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส กรรมการตรวจสอบฯ แต่ละคนได้เข้าร่วมประชุมตามรายละเอียด ดังนี้ นายปัญจะ  เสนาดิสัย ประธานกรรมการตรวจสอบฯ เข้าร่วมประชุม 5/6 ครั้ง นายไพฑูรย์  ทวีผล กรรมการตรวจสอบฯ เข้าร่วมประชุม 6/6 ครั้ง นายอัจฉรินทร์  สารสาส กรรมการตรวจสอบฯ เข้าร่วมประชุม 6/6 ครั้ง การประชุมในบางครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้หารือกับกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ายบริหาร ผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน ตามวาระ อันสมควร ซึ่งการประชุมทุกครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้รายงานแสดงความเห็นและให้ข้อเสนอแนะอย่างอิสระโดยสรุปสาระ ส�ำคัญได้ดังนี้ ความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน

สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี 2555 ร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชีเพื่อให้ความเห็นชอบต่อรายงาน ทางการเงินได้จัดท�ำขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญ ตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป และสอบทานการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญ รายการที่เกี่ยวข้องกัน และรายการที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างครบถ้วนเพียงพอและเชื่อถือได้ รวมทั้งได้หารือ เป็นการเฉพาะกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยบริหารเข้าร่วม เพือ่ รับทราบประเด็นปัญหาทีพ่ บจากการสอบบัญชี ตลอดจนพิจารณาและเสนอ ความเห็นต่อแผนการตรวจสอบและผลการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีก่อนเสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา ระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

ก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน ให้ปฏิบตั สิ อดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ โดยใช้วธิ กี ารประเมินความเสีย่ งและระบบควบคุมภายใน ตามมาตรฐานของ COSO ตลอดจนพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงานตรวจสอบประจ�ำปี ซึ่งจัดท�ำขึ้นโดยพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยง ทางธุรกิจด้านต่างๆ รวมทั้งแผนอัตราก�ำลังและแผนการพัฒนาบุคลากร ในการพิจารณารายงานผลการตรวจสอบได้ให้ข้อเสนอแนะทั้ง ต่อแผนกตรวจสอบภายในและฝ่ายบริหาร เพื่อใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ตลอดจนได้พิจารณาและให้การสนับสนุน ด้านอัตราก�ำลังและการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้พิจารณาถึงผลการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบในเรื่องที่ส�ำคัญตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี พร้อมกับให้ข้อสังเกต และน�ำเสนอเรื่องที่ส�ำคัญต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้มีการติดตามให้ฝ่ายบริหาร เร่งปรับปรุงการปฏิบัติงาน ตามประเด็นที่ผู้ตรวจสอบภายในตรวจพบ การปฏิบัติตามข้อก�ำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้สอบทานให้บริษัท ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ โดยมีความเห็นว่า รายการที่บริษัทต้อง ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจที่ได้สอบทานนั้นมีความเพียงพอ และได้ให้ฝ่ายบริหารติดตามสาระส�ำคัญของการประกาศใช้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และประกาศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งรายงานเพื่อทราบและพิจารณาอย่างใกล้ชิด


รายงานประจ�ำปี 2555

67

การเปิดเผยข้อมูลของรายการที่เกี่ยวโยงกัน

พิจารณาการท�ำรายการระหว่างกัน และการเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจ�ำปี และรายไตรมาส ตลอดจนให้ความเห็นโดยอิสระต่อรายการได้มาและจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ ในการลงทุนในโครงการส�ำคัญต่างๆ ของบริษทั และบริษทั ย่อย การคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ าณาผลการปฏิบตั งิ านในปีทผี่ า่ นมาของบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด (KPMG) ซึง่ เป็นการ ท�ำหน้าที่ผู้สอบบัญชีให้กับบริษัทและบริษัทย่อย เห็นว่า น่าพึงพอใจ โดยจากการประชุมร่วมกัน ผู้สอบบัญชีได้รายงานข้อบกพร่องของ ระบบการควบคุมภายในทีต่ รวจสอบพบ รวมทัง้ แนวทางการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ให้คณะกรรมการตรวจสอบฯ ทราบทุกไตรมาส จึงเห็นควรเสนอแนะให้คณะกรรมการบริษัทน�ำเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้ง นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ นายวีระชัย รัตนจรัสกุล และ นางมัญชุภา สิงห์สุขสวัสดิ์ แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชี ของบริษัทและบริษัทย่อย ประจ�ำปี 2556 โดยมีค่าตอบแทนเมื่อรวมกับบริษัทย่อย เป็นจ�ำนวนเงิน 3,800,000 บาท โดยผู้สอบบัญชีไม่ได้ ให้บริการอื่นแก่บริษัทในกลุ่ม การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

ส่งเสริมและติดตามความคืบหน้าของกระบวนการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง การพิจารณาปรับปรุงคู่มือ CG และ Code of Conducts รวมทั้งให้แนวทางและข้อเสนอแนะอื่นที่จ�ำเป็นเพื่อการพัฒนา ซึ่งในปีนี้บริษัท ได้รบั รางวัลเกียรติยศแห่งความส�ำเร็จ ส�ำหรับบริษทั ทีม่ คี วามเป็นเลิศด้าน Top Corporate Governance ต่อเนือ่ ง 4 ปี ตัง้ แต่ปี 2009 - 2012 การบริหารความเสี่ยง

ก�ำกับดูแลระบบการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ของบริษทั ให้มกี ระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นระบบมาตรฐาน ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยได้พิจารณารายงานผลการบริหารความเสี่ยงในปีที่ผ่านมา และให้ข้อเสนอแนะการ ปรับปรุง รวมทั้งมุมมองด้านความเสี่ยงต่างๆ ความเห็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามกฏบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบฯ

จากการประเมินผลผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบฯประจ�ำปี 2555 เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2556 คณะกรรมการ ตรวจสอบฯ ได้สอบทานการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบฯ ในเรื่อง การท�ำหน้าที่โดยรวม การสอบทานการจัดท�ำงบการ เงิน การสอบทานการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง การสอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั การพิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การ จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบฯ ซึ่งผลการประเมินโดยรวมสรุปว่า ได้ปฏิบัติงานอย่างครบถ้วน แล้ว คณะกรรมการตรวจสอบฯ เห็นว่า บริษัทมีกระบวนการจัดท�ำและการเปิดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินที่เหมาะสมและเชื่อถือ ได้ รวมทั้งมีการบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนให้บริษัทมีการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีอย่างยั่งยืน

นายปัญจะ เสนาดิสัย คณะกรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล 15 กุมภาพันธ์ 2556


68

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ค�ำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ภาพรวมของการด�ำเนินงานที่ผ่านมา

บริษัทฯ และบริษัทย่อย ด�ำเนินธุรกิจผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ โดยรายได้หลักของกลุ่มบริษัทมาจากการขายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น เพลาข้าง แหนบแผ่น จานเบรก เบรกดุม เหล็กกันโคลง และเหล็กสปริงขด เป็นต้น โดยเป็นการจ�ำหน่ายให้กับโรงงานประกอบ รถยนต์ (Original - Equipment Manufacturer) ที่อยู่ในประเทศเป็นส่วนใหญ่ ในระหว่างปีการประกอบรถยนต์เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 68% โดยยอดขายของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 47%

การวิเคราะห์ก�ำไรขาดทุน

การวิเคราะห์รายได้ ในปี 2555 และ ปี 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รวม เท่ากับ 9,590 ล้านบาท และ 6,568 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) เพิ่มขึ้น 3,023 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46 โดยมีรายได้จากการขายสินค้าและบริการ-สุทธิของปี 2555 เป็นเงิน 9,410 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากงวดเดียวกันของปี 2554 เป็นเงิน 2,989 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 47 จากปริมาณการขายชิ้นส่วนที่เพิ่มขึ้นจากภาวะฟื้นตัวของ ตลาดรถยนต์ภายในประเทศและนโยบายของภาครัฐ ซึ่งสอดคล้องกับภาพรวมของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศที่ปรับตัว เพิ่มสูงขึ้น โดยในระหว่างปี 2555 มีปริมาณการผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จ�ำนวน 995,922 คัน คิดเป็นร้อยละ 68 การวิเคราะห์ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและบริการ ในปี 2555 และปี 2554 บริษัทฯ มีต้นทุนขายและบริการรวม เท่ากับ 7,915 ล้านบาท และ 5,448 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) เพิ่มขึ้น 2,467 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 45 เป็นผลมาจากค่าแรงงานปรับสูงขึน้ ตามนโยบายรัฐบาลสัดส่วนของต้นทุนคงที่ปรับเพิ่มสูงขึน้ จาก ค่าเสื่อมราคา 153 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มสายการผลิต และการขยายโรงหล่อแห่งใหม่ รวม 173 ล้านบาท เพื่อ รองรับความต้องการของลูกค้า รวมถึงต้นทุนวัตถุดิบ/วัสดุที่ใช้ในการผลิตเบิกใช้สูงขึ้นเฉลี่ย 15% ค่าใช้จ่ายจากการขายและบริหาร บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหารในปี 2555 เท่ากับ 641 ล้านบาท โดยสูงขึน้ จากปีกอ่ น 143 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 29 เนื่องจากบริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานสูงขึ้นจาการขยายโรงงานแห่งใหม่ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ เพิ่มขึ้นตามโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์หลัก ค่าใช้จ่ายทางการเงิน บริษัทฯ มีต้นทุนทางการเงินในปี 2555 เท่ากับ 160 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 40 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 34 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ในปี 2555 บริษัทฯ มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคล 70 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 8 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 10 เนื่องจากได้รับ ประโยชน์จากผลการด�ำเนินงานที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน บริษัทฯ มีก�ำไรจากการด�ำเนินงานโดยไม่รวมส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายทางการเงิน และ ภาษีเงินได้ ใน ปี 2555 จ�ำนวน 1,035 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 439 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 74 จากปริมาณยอดขายสินค้าที่เพิ่มขึ้นตาม ภาคอุตสาหกรรมรถยนต์เป็นหลัก ก�ำไรสุทธิ บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิ เท่ากับ 816 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนเป็นเงิน 408 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 100 สาเหตุ หลักเนื่องมาจากยอดผลิตรถยนต์โดยรวมในประเทศเติบโตอย่างมากนักเพื่อรองรับความต้องการของผู้บริโภค


รายงานประจ�ำปี 2555

69

การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน

สินทรัพย์ เมื่อพิจารณาจากงบการเงินรวมของบริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 31 ธันวาคม 2554 เท่ากับ 10,127 ล้านบาท และ 8,831 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) เพิ่มขึ้น 1,296 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15 สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในโครงการลงทุนใหม่เพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตรองรับความต้องการของลูกค้าในอนาคตเป็นส�ำคัญ ลูกหนี้การค้า บริษทั ฯ มียอดลูกหนีก้ ารค้าสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1,576 ล้านบาท และเท่ากับ 875 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้น 701 ล้านบาทจากปริมาณยอดขายที่เพิ่มสูงขึ้น เงินลงทุน เมื่อพิจารณางบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีเงินลงทุนสุทธิในบริษัทที่เกี่ยวข้องจ�ำนวน 180 ล้านบาท ซึง่ เป็นการลงทุนใน บริษทั ยามาดะ สมบูรณ์ จ�ำกัด บริษทั ซึชโิ ยชิ สมบูรณ์ โคเตท แซนด์ จ�ำกัด บริษทั นิชนิ โบะ สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จ�ำกัด และบริษัทสมบูรณ์ โซมิค แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด ซึ่งบริษัทฯ มีต้นทุนเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าว เท่ากับ 73 ล้านบาท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จ�ำนวน 6,391 ล้านบาท และปี 2554 มีจ�ำนวน 6,145 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 246 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 4 ซึ่งเป็นผลจากการที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ลงทุนเพิ่มสายการผลิตเพลาข้าง ประมาณ 163 ล้านบาท และสายการผลิตเหล็กกันโครงประมาณ 187 ล้านบาทเป็นหลัก เพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิตรองรับความต้องการของลูกค้าในอนาคต ส่งผลให้มีทรัพย์สินถาวรเพิ่มขึ้น บริษัทฯ มีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เท่ากับ 594 ล้านบาท และ 604 ล้านบาท ตามล�ำดับ ส�ำหรับส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ มีการตัดจ�ำหน่ายตามระยะเวลาใช้งานที่เหลือของสินทรัพย์แต่ละประเภท โดยในระหว่างปี 2555 มีการตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวม 10 ล้านบาท หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 5,295 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นหนี้สินระยะสั้น เท่ากับ 2,575 ล้านบาท และหนี้สิน ระยะยาว เท่ากับ 2,721 ล้านบาท ซึ่งสูงกว่าปีก่อน 647 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 14 โดยหลักเพิ่มขึ้นจากการลงทุนเครื่องจักรเพื่อ ขยายก�ำลังการผลิตของโรงงานและค่าวัตถุดิบเพื่อรองรับการผลิตที่เพิ่มขึ้นมาก แบ่งเป็นหนี้สินระยะสั้นจากเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ ทรัสต์รีซีทเพิ่มขึ้น 418 ล้านบาท และหนี้สินจากเงินกู้ยืมธนาคารเพิ่มขึ้น 104 ล้านบาท โดยในระหว่างปีมีจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว 369 ล้านบาท เป็นส�ำคัญ ส่วนของผู้ถือหุ้น โครงสร้างเงินทุน บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 4,831 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งเท่ากับ 4,182 ล้านบาท เป็นเงิน 649 ล้านบาท เนื่องจากผลก�ำไรจากการด�ำเนินงานระหว่างงวด ในปี 2554 บริษัทฯ มีมติลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 340,000,000 บาท เป็น 339,923,287 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 76,713 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 76,713 บาท ได้จดทะเบียนการลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ในปี 2554 บริษัทฯ มีมติเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 339,923,287 บาท เป็น 341,723,287 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 76,713 บาท เพื่อโครงการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานกลุ่มบริษัท ได้จดทะเบียน การเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2554 ในระหว่างปี 2555 บริษัทฯ มีการจัดสรรก�ำไรประจ�ำปี 2554 เป็นเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.45 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 153 ล้านบาท ทั้งนี้ได้มีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนสิงหาคม 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.35 บาท ดังนั้นส่วนที่เหลือใน อัตราหุ้นละ 0.10 บาท เป็นเงินจ�ำนวน 34 ล้านบาทได้จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม 2555 และจัดสรรก�ำไรส�ำหรับผล การด�ำเนินงานครึง่ ปีแรกของปี 2555 เป็นเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.30 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 102 ล้านบาท จ่ายเงินปันผล ให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนกันยายน 2555


70

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ มีโครงสร้างเงินทุนประกอบด้วยหนี้สินรวม 5,295 ล้านบาทและส่วนของผู้ถือหุ้น 4,831 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นประมาณ 1.10 เท่า การวิเคราะห์งบกระแสเงินสด จากงบการเงินรวมสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดรับจากการด�ำเนิน งานสุทธิ จ�ำนวน 1,778 และ 863 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) กระแสเงินสดจ่ายจากกิจกรรมลงทุน 1,106 และ 1,726 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) เป็นผลมาจากการเพิ่มสายการผลิตเพลาข้าง ประมาณ 163 ล้านบาท และสายการผลิตเหล็กกันโครงประมาณ 187 ล้านบาท และมี กระแสเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมจัดหาเงินในปี 2555 จ�ำนวน (324) และ 331 ล้านบาท (ตามล�ำดับ) เป็นผลมาจากการจ่ายช�ำระ เจ้าหนี้ทรัสต์รีซีท 116 ล้านบาท ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวตามโครงการลงทุน 369 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลรวม 136 ล้านบาท ปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการด�ำเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต จากการฟืน้ ตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์ในปี 2555 อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ การสนับสนุนจากนโยบายภาครัฐในโครงการรถยนต์คนั แรก ส่งผลให้ยอดขายรถยนต์ในประเทศมีจำ� นวนถึง 1.4 ล้านคัน ในขณะทีย่ อดผลิตรถยนต์เพือ่ ส่งออกมีจำ� นนวน 1.0 ล้านคัน ซึง่ ท�ำให้ยอดผลิต รถยนต์สูงที่สุดในประวัติการณ์และถูกจัดอันดับที่ 10 ของโลก โดยประเทศไทยยังคงเป็นฐานการผลิตรถปิคอัพที่ส�ำคัญในการส่งออก ไปทั่วโลกส่งผลให้อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องใน 2556 นอกจากนี้จากความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในกลุ่มอาเซียน (AEC) ในปี 2557 จะเป็นแรงสนับสนุนให้อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยจะมีการ ขยายการลงทุนในอุตสาหกรรมมากขึน้ จากปัจจัยดังกล่าว บริษทั ฯ จ�ำเป็นต้องเตรียมพร้อมทัง้ ปัจจัยภายในและภายนอกโดยเฉพาะทาง ด้านบุคคลากรกับการลงทุน โดยบริษัทมีแผนกลยุทธ์ขององค์กรในการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดในกลุ่มอาเซียนให้มากขึ้น การลงทุน วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มมี ลู ค่าเพิม่ การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตและการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพือ่ การแข่งขันในด้านต้นทุน รวม ถึงการบริหารจัดการบุคคลากรและกระบวนท�ำงานให้สอดคล้องกับแนวทางการเติบโตขององค์กรอย่างยั่งยืน


annual report 2012

71

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบก�ำไร ขาดทุนรวมและงบก�ำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดง การเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควร ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาด

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี

ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวจากผลการตรวจสอบ ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั งิ านตรวจสอบเพือ่ ให้ได้ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจาก การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัด ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบ บัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบ วิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของ กิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของ บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของบริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะ กิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ์ 2556

(นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4195


72

somboon advance technology public company limited

งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

สินทรัพย์

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย สินค้าคงเหลือ อะไหล่เครื่องจักร ลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อะไหล่เครื่องจักร เงินมัดจ�ำค่าซื้อที่ดินและเครื่องจักร ค่าความนิยมจากการรวมธุรกิจ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

5 4, 6 4, 7 4 8 7

9 10 11 12 13

14

รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

814,630,276 467,219,092 341,569,023 156,213,631 1,576,126,793 875,154,059 522,214,318 246,107,775 138,400 128,400 42,045,392 33,308,359 - 340,000,000 540,000,000 610,908,331 716,734,494 159,793,987 169,760,293 59,378,106 59,992,359 25,511,870 25,873,730 66,371,320 82,208,182 12,901,306 21,368,495 36,285,930 20,248,870 3,783,645 2,039,630 3,163,839,156 2,221,685,456 1,447,819,541 1,194,671,913 - 2,301,554,702 1,861,560,952 153,199,815 144,950,766 26,651,146 26,651,146 101,345,000 101,345,000 6,391,410,465 6,144,764,154 1,386,072,857 1,340,241,481 85,815,393 60,309,569 38,246,393 24,579,634 58,182,925 19,306,488 17,934,556 17,934,556 59,331,001 63,930,433 23,652,337 25,728,274 45,109,426 49,392,983 9,168,042 9,457,477 6,938,979,727 6,609,278,607 3,778,000,819 3,261,567,818 10,102,818,883 8,830,964,063 5,225,820,360 4,456,239,731


73

annual report 2012

งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ทรัสต์รีซีท เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้ - ซื้อสินทรัพย์ ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เจ้าหนี้ค่าซื้อที่ดิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

15 4, 16 4

25,292,583 1,455,382,882 -

141,353,814 921,478,778 -

482,473,225 3,346,815

269,644,694 486,102

15

531,058,074

373,288,900

170,102,473

155,311,717

23,069,214 16,841,169 141,482,101 203,201,854 17,335,747 29,528,753 357,293,534 179,458,327 2,550,914,135 1,865,151,595

333,407 16,145,251 97,672,279 770,073,450

333,912 935,030 17,059,851 43,846,949 487,618,255

2,574,133,309 2,628,132,694 2,643,953 25,713,167 - 11,354,000 143,311,119 116,065,580 590,995 2,279,375 2,720,679,376 2,783,544,816

862,820,415 353,698 - 51,552,001 327,060 915,053,174

916,358,548 687,104 - 53,625,047 1,987,173 972,657,872

15

17

15 15 18

รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

5,271,593,511 4,648,696,411 1,685,126,624 1,460,276,127


74

somboon advance technology public company limited

งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

2554

2555

2554

341,723,287 339,923,287 711,432,209 725,654

341,723,287 339,923,287 711,432,209 -

341,723,287 339,923,287 711,432,209 725,654

341,723,287 339,923,287 711,432,209 -

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 20 ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 20 สิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน 19 ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว 21 ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ - บริษัท ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ - บริษัทย่อย ก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยส�ำหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน 18 ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลง งบการเงิน รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

39,175,809 34,000,000 34,175,809 34,000,000 3,167,170,544 2,492,554,235 2,398,005,162 1,851,988,141

รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

10,102,818,883 8,830,964,063 5,225,820,360 4,456,239,731

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

56,418,431 537,913,298

58,619,967 545,531,864

56,418,431 -

58,619,967 -

(21,907,743)

-

13,184

-

373,883 206,090 4,831,225,372 4,182,267,652 3,540,693,736 2,995,963,604


75

annual report 2012

งบก�ำไรขาดทุน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการขายและบริการ รายได้เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุน บริษัทร่วม ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

4 4, 9 4 4 24

10 25 27

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

9,409,555,598 6,420,730,044 3,145,327,669 2,121,724,678 1,966,246 - 100,357,877 2,346,683 7,873,350 21,959,103 19,554,106 21,896,558 2,917,212 154,658,139 139,065,215 253,448,243 205,681,812 9,590,423,224 6,567,668,609 3,524,010,104 2,346,960,596 7,914,507,776 5,448,335,531 2,385,514,870 1,625,709,737 139,021,005 74,734,754 33,980,820 19,870,968 501,896,416 423,031,180 350,864,346 277,933,991 25,885,195 11,014,457 160,031,214 119,730,997 54,262,511 44,115,163 8,715,456,411 6,091,717,657 2,824,622,547 1,978,644,316 10,514,049 885,480,862 (69,717,417) 815,763,445

9,966,391 485,917,343 (77,753,363) 408,163,980

699,387,557 (17,225,522) 682,162,035

368,316,280 (41,576,120) 326,740,160

2.40

1.20

2.01

0.96


76

somboon advance technology public company limited

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยส�ำหรับโครงการ ผลประโยชน์พนักงาน ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลง ค่าหน่วยงาน ตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

815,763,445

408,163,980

682,162,035

326,740,160

18

(21,907,743)

-

13,184

-

13

167,793 (9,820,102) (31,560,052)

206,090 (9,941,239) (9,735,149)

(2,201,536) (2,188,352)

(2,195,521) (2,195,521)

784,203,393

398,428,831

679,973,683

324,544,639

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


28 -

-

711,432,209 34,000,000

-

339,923,287

-

711,432,209 34,000,000

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

-

339,923,287

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ช�ำระแล้ว

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วน ของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและ การจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้า ส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

หมายเหตุ

408,163,980 408,163,980 2,492,554,235

(288,931,718)

(288,931,718)

2,373,321,973

-

-

-

-

60,815,488 553,277,582

206,090 (2,195,521) (7,745,718) 206,090 (2,195,521) (7,745,718) 206,090 58,619,967 545,531,864

-

-

-

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคา ผลต่างจากอัตรา สินทรัพย์ แลกเปลี่ยนจากการแปลง ค่าหน่วยงานต่างประเทศ ทุนส�ำรอง บริษัท บริษัทย่อย ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร งบการเงินบริษัทย่อย

ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

408,163,980 (9,735,149) 398,428,831 4,182,267,652

(288,931,718)

(288,931,718)

4,072,770,539

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

(บาท)

ส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

annual report 2012

77


ก�ำไรสะสม

งบการเงินรวม

(in Baht)

167,793 167,793 373,883

-

- 815,763,445 - 815,763,445 - 5,175,809 (5,175,809) 339,923,287 711,432,209 725,654 39,175,809 3,167,170,544

-

-

-

- 725,654

-

-

- (135,971,327)

206,090

- (135,971,327)

- 725,654

-

-

-

-

- 34,000,000 2,492,554,235

-

-

-

725,654 - (135,245,673)

-

- (135,971,327)

- 815,763,445 (21,907,743) (2,201,536) (7,618,566) (31,560,052) (21,907,743) (2,201,536) (7,618,566) 784,203,393 (21,907,743) 56,418,431 537,913,298 4,831,225,372

-

-

-

- 58,619,967 545,531,864 4,182,267,652

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคา ก�ำไร (ขาดทุน) สินทรัพย์ จากการประมาณการ สิทธิใน ผลต่างจาก ตามหลักการ หุ้นสามัญที่ อัตราแลกเปลี่ยนจาก คณิตศาสตร์ประกันภัย ส่วนเกิน เสนอขายให้ ทุนส�ำรอง รวมส่วน การแปลงค่าหน่วยงาน ส�ำหรับโครงการผล มูลค่าหุ้น กับพนักงาน ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร ต่างประเทศงบการเงิน ประโยชน์พนักงาน บริษัท บริษัทย่อย ของผู้ถือหุ้น

339,923,287 711,432,209

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้า ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการ จัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท 28 สิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้ กับพนักงาน 19 รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรง เข้าส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี จัดสรรเป็นทุนส�ำรองตามกฏหมาย 21 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ทุนเรือนหุ้น หมายเหตุ ที่ออกและ ช�ำระแล้ว

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น 78 somboon advance technology public company limited


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้าส่วนของผู้ถือหุ้น 28

หมายเหตุ

339,923,287

-

-

339,923,287

711,432,209

-

-

711,432,209

34,000,000

-

-

34,000,000

ทุนเรือนหุ้นที่ออก ทุนส�ำรอง และช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามกฎหมาย

1,851,988,141

326,740,160 326,740,160

(288,931,718) (288,931,718)

1,814,179,699

ยังไม่ได้จัดสรร

ก�ำไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

58,619,967

(2,195,521) (2,195,521)

-

60,815,488

องค์ประกอบอื่นของ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาสินทรัพย์

2,995,963,604

326,740,160 (2,195,521) 324,544,639

(288,931,718) (288,931,718)

2,960,350,683

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(บาท)

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

annual report 2012

79


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

339,923,287

-

จัดสรรเป็นทุนส�ำรองตามกฏหมาย

21

-

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี ก�ำไร ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี 711,432,209

-

-

-

-

711,432,209

-

339,923,287

-

28 19

Retained earnings

(in Baht)

725,654

-

-

725,654

725,654

-

(175,809)

682,162,035 682,162,035 34,175,809 2,398,005,162

175,809

-

- (135,969,205)

- (135,969,205) -

34,000,000 1,851,988,141

13,184

-

13,184 13,184

-

-

-

56,418,431 3,540,693,736

-

- 682,162,035 (2,201,536) (2,188,352) (2,201,536) 679,973,683

- (135,243,551)

- (135,969,205) 725,654

58,619,967 2,995,963,604

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ ตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัย ส่วนเกินทุน ทุนเรือนหุ้น สิทธิในหุ้นสามัญที่ ส�ำหรับโครงการ จากการตีราคา รวมส่วนของ ที่ออกและ เสนอขายให้กับ ทุนส�ำรอง ช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น พนักงาน ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร ผลประโยชน์พนักงาน สินทรัพย์บริษัท ผู้ถือหุ้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้า ส่วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรร ส่วนทุนให้ผู้ถือหุ้น เงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัท สิทธิในหุ้นสามัญที่สเนอขายให้กับพนักงาน รวมรายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรง เข้าส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น 80 somboon advance technology public company limited


annual report 2012

81

งบกระแสเงินสด

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท) งบการเงินรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรส�ำหรับปี รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ถาวร ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนทางการเงิน ตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือและอะไหล่ เครื่องจักร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (ก�ำไร) ขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินปันผลรับ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ค่าใช่จ่ายสิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน จ่ายผลประโยชน์พนักงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

815,763,445

408,163,980

682,162,035

326,740,160

720,293,937 5,014,064 (2,346,683) 160,031,214

567,047,366 (492,709) (7,873,350) 119,730,997

208,686,785 3,801 (21,959,103) 54,262,511

191,925,902 (19,554,106) 44,115,163

7,642,142 6,664,141 1,896,976 (10,514,049) (1,966,245) 15,282,236 967,538 69,717,417 1,788,446,133

13,885,470 14,321,301 627,501 (9,966,391) 14,501,900 77,753,363 1,197,699,428

244,215 1,145,106 445,841 (100,357,877) 7,361,258 967,538 17,225,522 850,187,632

2,808,274 363,550 (672,898) 7,009,300 41,576,120 594,311,465

(700,769,538) (10,000) 103,292,385 (7,968,314) (16,037,060) 4,283,557 532,227,570 177,835,207 (1,688,380) 1,879,611,560 (9,944,440) (90,436,883) 1,779,230,237

259,789,160 (287,832,094) (9,039,004) (495,465) (20,549,611) (146,139,360) (24,669,519) (2,112,490) 966,651,045 (848,620) (102,687,985) 863,114,440

(276,066,563) (8,737,033) 9,722,091 8,467,189 (1,744,015) (710,565) 211,643,446 2,860,713 53,335,729 (1,660,113) 847,298,511 (9,421,120) (34,285,373) 803,592,018

171,628,050 2,768,243 (73,268,508) (12,474,268) (149,172) (284,546) (79,403,533) 151,501 (17,514,368) (2,404,692) 583,360,172 (41,165,913) 542,194,259


82

somboon advance technology public company limited

งบกระแสเงินสด

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

(บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 2555 2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปันผลจากบริษัทย่อย รับเงินปันผลจากบริษัทร่วม รับเงินปันผลจากบริษัทอื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย รับช�ำระคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินมัดจ�ำค่าซื้อที่ดินและเครื่องจักร (เพิ่มขึ้น) ลดลง ขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อะไหล่เครื่องจักร ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารลดลง เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ทรัสต์รีซีท เพิ่มขึ้น (ลดลง) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินลดลง เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาว ช�ำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

2,346,683 7,873,350 21,959,103 - 100,357,877 2,265,000 5,571,000 1,966,246 - (790,000,000) - 990,000,000 - (439,993,750) (1,020,980,446) (2,016,018,805) (238,649,490) 4,166,622 2,155,809 3,620,000 (58,182,925) 318,117,635 (19,306,488) 2,450,000 (29,999,935) (32,059,681) (13,304,899) (9,068,075) (14,582,090) (4,551,600) (1,107,486,830) (1,726,492,782) (389,869,247) (155,466,469) (132,957,061) (860,612)

(53,173,603) -

19,554,106 (1,570,000,000) 1,340,000,000 (9,542,500) (402,550,161) 672,898 (12,503,045) (8,399,476) (642,768,178) (44,115,163) -

(116,061,231) 107,571,079 (16,841,169) (15,708,204) (333,911) (92,643) 469,317,973 928,636,292 101,954,340 294,430,291 (369,310,000) (266,947,500) (141,845,000) (95,731,000) (135,971,327) (288,931,718) (135,969,205) (288,931,718) (324,332,223) 330,802,276 (229,367,379) (134,440,233)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

347,411,184 (532,576,066) 467,219,092 999,795,158 814,630,276 467,219,092

184,355,392 (235,014,152) 156,213,631 391,227,783 340,569,023 156,213,631

รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้ - ซื้อสินทรัพย์

141,482,101

16,145,251

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

203,201,854

935,030


annual report 2012

83

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

หมายเหตุ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34

สารบัญ

ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน สิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน ทุนเรือนหุ้น ส�ำรอง รายงานทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ ภาษีเงินได้ สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เงินปันผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่


84

somboon advance technology public company limited

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้น�ำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทย และจัดท�ำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทยและงบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจาก คณะกรรมการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 1. ข้อมูลทั่วไป

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียน ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ที่ 2 ถนนบางนา-ตราด ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนมกราคม 2548 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปีได้แก่ บริษัท สมบูรณ์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด (ถือหุ้นร้อยละ 25.50) ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และกลุ่มตระกูลกิตะพาณิชย์ (ถือหุ้นร้อยละ 24.28) บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตเพลารถกระบะและที่รองแหนบรถบรรทุก รายละเอียดของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 4 และ 9 ชื่อกิจการ

ลักษณะธุรกิจ

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียว อุตสาหกรรม จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ยานยนต์ บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ยานยนต์ บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด สนับสนุนข้อมูลทางด้านการตลาด บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วน ยานยนต์

บริษัทถือหุ้นร้อยละ ประเทศ ที่กิจการจัดตั้ง 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2555 2554

ไทย ไทย ไทย ญี่ปุ่น ไทย

100 100 100 100 100

100 100 100 100 -

2. เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน

(ก) เกณฑ์การถือปฏิบัติ งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพ บัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึ่งมีผลบังคับส�ำหรับงบการเงินที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป และไม่ได้มีการน�ำมาใช้ส�ำหรับการจัดท�ำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าวได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33 (ข) เกณฑ์การวัดมูลค่า งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นรายการที่ส�ำคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะทางการ เงินดังต่อไปนี้ - หนี้สินจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่ช�ำระด้วยเงินสด วัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม - มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ของพนักงานที่ก�ำหนดไว้


annual report 2012

85

(ค) สกุลเงินที่น�ำเสนองบการเงิน งบการเงินนีจ้ ดั ท�ำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท ข้อมูลทางการเงินทัง้ หมดมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้แสดงเป็นหลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น (ง) การประมาณการและใช้วิจารณญาณ ในการจัดท�ำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้วิจารณญาณ การประมาณและ ข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการก�ำหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจ�ำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานทีใ่ ช้ในการจัดท�ำงบการเงินจะได้รบั การทบทวนอย่างต่อเนือ่ ง การปรับประมาณการทางบัญชี จะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกีย่ วกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานทีส่ ำ� คัญในการก�ำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบส�ำคัญต่อ การรับรู้จ�ำนวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18 การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 19 การวัดมูลค่าของสิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน 3. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ นโยบายการบัญชีที่น�ำเสนอดังต่อไปนี้ได้ถือปฏิบัติโดยสม�่ำเสมอส�ำหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก) เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของกลุ่ม บริษัทในบริษัทร่วม บริษัทย่อย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจควบคุมทั้งทางตรง หรือทางอ้อมในการก�ำหนดนโยบายทางการเงินและการด�ำเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรม ของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุม สิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนตามความจ�ำเป็นเพื่อให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญโดยมีอ�ำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย ทางการเงินและการด�ำเนินงานแต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐาน ว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 เงินลงทุนในบริษัทร่วมบันทึกในงบการเงินรวมโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย (เงินลงทุนตามวีธีส่วนได้เสียของบริษัทที่ถูกลงทุน) โดยรับรู้รายการเริ่มแรกด้วยราคาทุน รวมถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อที่เกิดจากการท�ำรายการดังกล่าว งบการเงินรวมได้รวมส่วนแบ่งก�ำไรหรือขาดทุนและก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ของกลุม่ บริษทั ภายหลังจากการปรับปรุงนโยบาย การบัญชีให้เป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยส�ำคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่าง มีนัยส�ำคัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมมีจ�ำนวนเกินกว่าส่วนได้เสียในบริษัทร่วม มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย รวมถึงส่วนได้เสียระยะยาวใดๆ จะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และ หยุดรับรูส้ ว่ นผลขาดทุน เว้นแต่กรณีทกี่ ลุม่ บริษทั มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือต้องจ่ายเงินเพือ่ ช�ำระภาระผูกพันแทนในนาม บริษัทร่วม


86

somboon advance technology public company limited

การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการ ระหว่างกิจการในกลุ่ม ถูกตัดรายการในการจัดท�ำงบการเงินรวม ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจากรายการกับ บริษัทร่วมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัด รายการในลักษณะเดียวกับก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) เงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ก�ำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์และหนี้สินที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ กิจการในต่างประเทศ สินทรัพย์และหนี้สินของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ใกล้เคียงกับอัตรา ณ วันที่เกิด รายการ ผลต่างจากอัตราแลกเปลีย่ นทีเ่ กิดจากการแปลงค่า บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และแสดงเป็นรายการผลต่างจากอัตรา แลกเปลี่ยนในส่วนของผู้ถือหุ้น จนกว่ามีการจ�ำหน่ายเงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ได้ถกู น�ำมาใช้เพือ่ จัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงในอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย ที่เกิดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน กิจกรรมจัดหาเงิน และกิจกรรมลงทุน เครื่องมือ ทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ไม่ได้มีไว้เพื่อค้า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเงื่อนไข การก�ำหนดให้เป็นเครื่อง มือป้องกันความเสี่ยงถือเป็นรายการเพื่อค้า กลุ่มบริษัทได้ใช้เครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งประกอบด้วยสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ซึ่งไม่ได้มี การรับรู้ในงบการเงิน ณ วันที่ท�ำสัญญา (ง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้น ทีม่ สี ภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึง่ จะต้องช�ำระคืนเมือ่ ทวงถามถือเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแส เงินสด (จ) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการช�ำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการช�ำระหนี้ในอนาคตของ ลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจ�ำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ


annual report 2012

87

(ฉ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ต้นทุนของสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างผลิตค�ำนวณโดยใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ส�ำหรับวัตถุดบิ และวัสดุโรงงานค�ำนวณโดยใช้วธิ เี ข้า ก่อนออกก่อน ต้นทุนสินค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซื้อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรือต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยู่ในสถานที่และ สภาพปัจจุบัน ในกรณีของสินค้าส�ำเร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตที่ผลิตเอง ต้นทุนสินค้า ค�ำนวณโดยการใช้ต้นทุนมาตรฐาน ซึ่งได้รับการปรับปรุงให้ใกล้เคียงกับราคาทุนถัวเฉลี่ยซึ่งได้พิจารณารวมการปันส่วนของค่าโสหุ้ยการผลิตอย่างเหมาะสม โดยค�ำนึงถึงระดับก�ำลังการผลิตตามปกติ มูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั เป็นการประมาณราคาทีจ่ ะขายได้จากการด�ำเนินธุรกิจปกติหกั ด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ ำ� เป็นโดยประมาณในการ ขาย (ช) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วมและบริษัทย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน ส่วนการบันทึก บัญชีเงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินรวมใช้วิธีส่วนได้เสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดซึ่งถือไว้เพื่อค้า จัดประเภทเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน และแสดงในมูลค่ายุติธรรม ก�ำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย์ได้บันทึกในงบก�ำไรขาดทุน ตราสารหนี้ซึ่งกลุ่มบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบก�ำหนดจัดประเภทเป็นเงินลงทุนที่ถือจนครบก�ำหนด เงินลงทุนที่ถือ จนครบก�ำหนดแสดงในราคาทุนตัดจ�ำหน่ายหักด้วยขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อมา กับมูลค่าไถ่ถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจ่ายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือตั้งใจถือไว้จนครบ ก�ำหนด เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน จะรับรู้ผลก�ำไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่เป็นเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ย จะต้องบันทึกดอกเบี้ยในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้อยค่า การจ�ำหน่ายเงินลงทุน เมื่อมีการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างจ�ำนวนเงินสุทธิที่ได้รับและมูลค่าตามบัญชีและรวมถึงก�ำไรหรือขาดทุนสะสม จากการตีราคาหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น จะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุน ในกรณีที่กลุ่มบริษัทจ�ำหน่ายบางส่วนของเงินลงทุนที่ถืออยู่ การค�ำนวณต้นทุนส�ำหรับเงินลงทุนที่จ�ำหน่ายไปและเงินลงทุนที่ ยังถืออยู่ใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก ปรับใช้กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนที่เหลืออยู่ทั้งหมด (ซ) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากมูลค่าที่เพิ่มขึ้นหรือ ทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ไม่ได้มีไว้เพื่อขายตามปกติธุรกิจหรือใช้ในการผลิตหรือจัดหาสินค้าหรือให้บริการหรือใช้ในการบริหารงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงในราคาทุนและขาดทุนจากการด้อยค่า ต้นทุนรวมค่าใช้จ่ายทางตรงเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการก่อสร้างที่กิจการก่อสร้างเองรวมถึง ต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรงและต้นทุนทางตรงอืน่ เพือ่ ให้อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานและรวมถึง ต้นทุนการกู้ยืม


88

somboon advance technology public company limited

(ฌ) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า ยกเว้นที่ดินและอาคารที่ แสดงด้วยราคาที่ตีใหม่ ราคาที่ตีใหม่หมายถึงมูลค่ายุติธรรมซึ่งก�ำหนดจากการเกณฑ์การใช้งานของสินทรัพย์ที่มีอยู่จริง ณ วันที่มีการตีราคาใหม่หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมที่ค�ำนวณจากมูลค่ายุติธรรมนั้นและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ราคาทุนรวมถึงต้นทุนทางตรง ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของสินทรัพย์ ต้นทุนของการก่อสร้างสินทรัพย์ที่กิจการก่อสร้างเอง รวมถึงต้นทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้สินทรัพย์นั้น อยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ ต้นทุนในการรื้อถอน การขนย้าย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ และต้นทุนการกู้ยืม ส�ำหรับเครื่องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ซึ่งไม่สามารถท�ำงานได้โดยปราศจากลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ นั้นให้ถือว่า ลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่เท่ากันต้องบันทึกแต่ละส่วน ประกอบที่มีนัยส�ำคัญแยกต่างหากจากกัน ก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจ�ำหน่ายกับ มูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยรับรู้สุทธิเป็นรายได้อื่นในก�ำไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ที่เช่า การเช่าซึง่ กลุม่ บริษทั ได้รบั ส่วนใหญ่ของความเสีย่ งและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สนิ ทีเ่ ช่านัน้ ๆ ให้จดั ประเภทเป็น สัญญาเช่าการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ได้มาโดยท�ำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือ มูลค่าปัจจุบนั ของจ�ำนวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า หักด้วยค่าเสือ่ มราคาสะสมและขาดทุน จากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ช�ำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อท�ำให้ อัตราดอกเบีย้ แต่ละงวดเป็นอัตราคงทีส่ ำ� หรับยอดคงเหลือของหนีส้ นิ ค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบก�ำไรขาดทุน สินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ การตีราคาใหม่ดำ� เนินการโดยผูเ้ ชีย่ วชาญในการประเมินราคาทีม่ คี วามป็นอิสระอย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์ที่ได้รับการประเมินไม่แตกต่างอย่างเป็นสาระส�ำคัญจากมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รายงาน มูลค่าของสินทรัพย์สว่ นทีต่ เี พิม่ ขึน้ จะบันทึกไปยังก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ และแสดงเป็น “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์” ในองค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ยกเว้นกรณีทเี่ คยประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ลดลงและรับรูข้ าดทุนในก�ำไรหรือขาดทุน ของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันนั้นแล้ว ในกรณีที่มูลค่าของสินทรัพย์ลดลงจากการตีราคาใหม่จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับ มูลค่าทีล่ ดลงเฉพาะจ�ำนวนทีล่ ดลงมากกว่าส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ทเี่ คยบันทึกไว้ครัง้ ก่อนในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื่นของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันนั้น ส่วนเกินจากการตีราคาทรัพย์สินจะถูกตัดบัญชี เท่ากับผลต่างระหว่างค่าเสื่อมราคา ของสินทรัพย์ทตี่ รี าคาใหม่กบั ค่าเสือ่ มราคาของสินทรัพย์ในราคาทุนเดิมและโอนโดยตรงไปก�ำไรสะสม ในกรณีทมี่ กี ารจ�ำหน่าย สินทรัพย์ที่เคยตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพย์ที่จ�ำหน่ายจะโอนโดยตรงไปยังก�ำไรสะสมและไม่รวม ในการค�ำนวณก�ำไรหรือขาดทุนจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลัง ต้นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ถ้ามี ความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทกี่ ลุม่ บริษทั จะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนัน้ และสามารถวัดมูลค่าต้นทุน ของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ชิ้นส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจ�ำหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการ ซ่อมบ�ำรุงที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำจะรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น


annual report 2012

89

ค่าเสื่อมราคา ค่าเสือ่ มราคาค�ำนวณจากมูลค่าเสือ่ มสภาพของรายการอาคาร และอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้วยราคาทุนของสินทรัพย์หรือต้นทุน ในการเปลี่ยนแทนอื่น หักด้วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณของส่วน ประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น 20 - 40 ปี เครื่องจักรและอุปกรณ์ 5 - 18 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและเครื่องใช้ส�ำนักงาน 3 - 5 ปี ยานพาหนะ 5 ปี ค่าเสื่อมราคาของส่วนที่ตีราคาเพิ่มตัดจ�ำหน่ายไปสู่บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้อยที่สุดทุกรอบปีบัญชีและ ปรับปรุงตามความเหมาะสม (ญ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ค่าความนิยม ค่าความนิยม ถูกวัดมูลค่า ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากต้นทุนการได้มาของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ส่วนที่เกินกว่ามูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์สุทธินั้น ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อกิจการของบริษัทย่อยรับรู้ในสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ภายหลังจากการรับรู้เริ่มแรก ค่าความนิยม จะถูกวัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนหักผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ค่าความนิยมได้ถูกทดสอบการด้อยค่าตามที่อธิบาย ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3(ฎ) ค่าความนิยมติดลบรับรู้ทันทีในงบก�ำไรขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ ที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจ�ำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสมและ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการ รายจ่ายภายหลังการรับรู้รายการจะรับรู้เป็นสินทรัพย์เมื่อก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยรวมเป็นสินทรัพย์ที่ สามารถระบุได้ที่เกี่ยวข้องนั้น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมถึงค่าความนิยมและตราผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมื่อเกิดขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าตัดจ�ำหน่ายค�ำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรือจ�ำนวนอื่นที่ใช้แทนราคาทุนหักด้วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจ�ำหน่ายรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่จะสะท้อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ในอนาคต จากสินทรัพย์นนั้ ตามระยะเวลาทีค่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนซึง่ ไม่รวมค่าความนิยม โดยเริม่ ตัดจ�ำหน่าย สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเมื่อสินทรัพย์นั้นพร้อมที่จะให้ประโยชน์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ส�ำหรับปีปัจจุบันและปี เปรียบเทียบแสดงได้ดังนี้ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ 3 - 5 ปี วิธีการตัดจ�ำหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้รับการทบทวนทุกสิ้นรอบปีบัญชีและ ปรับปรุงตามความเหมาะสม


90

somboon advance technology public company limited

(ฎ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณีที่มี ข้อบ่งชี้จะท�ำการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ส�ำหรับค่าความนิยมและสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนที่มีอายุการ ให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน หรือยังไม่พร้อมใช้งาน จะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรูเ้ มือ่ มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สงู กว่ามูลค่าทีจ่ ะได้รบั คืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในก�ำไร หรือขาดทุน เว้นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วน ของผู้ถือหุ้นและมีการด้อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี้จะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจนว่า สินทรัพย์ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยไม่ต้องปรับ กับยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนทีบ่ นั ทึกในงบก�ำไรขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนทีซ่ อื้ กับมูลค่ายุตธิ รรม ในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในก�ำไรหรือขาดทุน การค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินส�ำหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย ค�ำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่สนิ ทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่ายุตธิ รรม ของสินทรัพย์หักต้นทุนในการขายแล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการ กระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนค�ำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่า ที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ ส�ำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแส เงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อนื่ จะพิจารณามูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้เกิดเงินสดทีส่ นิ ทรัพย์ นั้นเกี่ยวข้องด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน จะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ส�ำหรับสินทรัพย์ทางการเงิน ทีบ่ นั ทึกโดยวิธรี าคาทุนตัดจ�ำหน่ายและตราสารหนีท้ จี่ ดั ประเภทเป็นหลักทรัพย์เผือ่ ขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในก�ำไร หรือขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารทุนทีจ่ ดั ประเภทเป็นหลักทรัพย์เผือ่ ขาย การกลับรายการจะถูกรับรูโ้ ดยตรง ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมจะไม่มกี ารปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทไี่ ม่ใช่สนิ ทรัพย์ ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุน จากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ช้ในการค�ำนวณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน ขาดทุน จากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าทีม่ ลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสือ่ มราคา หรือค่าตัดจ�ำหน่าย เสมือนหนึ่งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฏ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สิน ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จะบันทึกต่อมาโดยวิธรี าคาทุนตัดจ�ำหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนีเ้ ริม่ แรกและยอดหนีเ้ มือ่ ครบก�ำหนดไถ่ถอน จะบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ฐ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน


annual report 2012

91

(ฑ) ผลประโยชน์ของพนักงาน โครงการสมทบเงิน โครงการสมทบเงินเป็นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็นจ�ำนวนเงินที่แน่นอนไปอีก กิจการหนึ่งแยกต่างหาก (กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้อง จ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในก�ำไรหรือขาดทุน ในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ท�ำงานให้กับกิจการ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้เป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพัน สุทธิของกลุ่มบริษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ถูกค�ำนวณแยกต่างหากเป็นรายโครงการจากการประมาณ ผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงานของพนักงานในปัจจุบันและในงวดก่อนๆ ผลประโยชน์ดังกล่าวได้มีการคิดลด กระแสเงินลดเพื่อให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ทั้งนี้ได้สุทธิจากต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ โครงการ อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลา ของภาระผูกพันของกลุ่มบริษัทและมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่าย การค�ำนวณนั้นจัดท�ำโดย นักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ได้รับอนุญาตเป็นประจ�ำทุกปี โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกับต้นทุนบริการในอดีต ของพนักงานรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลีย่ จนถึงวันทีผ่ ลประโยชน์นนั้ เป็นสิทธิขาด ผลประโยชน์ ที่เป็นสิทธิขาดจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรหรือขาดทุนทันที กลุ่มบริษัทรับรู้ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น และรับรู้ค่าใช้จ่ายของโครงการผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ภาระผูกพันสุทธิของกลุ่มบริษัทที่เป็นผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานนอกเหนือจากโครงการบ�ำนาญ เป็นผลประโยชน์ ในอนาคตที่เกิดจากการท�ำงานของพนักงานในปัจจุบันและงวดก่อน ซึ่งผลประโยชน์นี้ได้คิดลดกระแสเงินสดเพื่อให้เป็น มูลค่าปัจจุบนั และสุทธิจากมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเี่ กีย่ วข้อง อัตราคิดลดเป็นอัตรา ณ วันทีร่ ายงานจากพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีระยะเวลาครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาของภาระพูกพันของกลุ่มบริษัท โดยค�ำนวณตามวิธีคิดลดแต่ละหน่วย ที่ประมาณการไว้ ก�ำไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทแสดงเจตนาผูกพันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการเลิกจ้าง และไม่มี ความเป็นไปได้ทจี่ ะยกเลิก มีรายละเอียดอย่างเป็นทางการทัง้ การเลิกจ้างก่อนวันเกษียณตามปกติ หรือการสนับสนุนการออก จากงานโดยสมัครใจ ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อกลุ่มบริษัทเสนอให้มีการออกจากงานโดยสมัครใจ และมีความเป็นไปได้ที่จะได้รับการตอบรับข้อเสนอนั้น และสามารถประมาณจ�ำนวนของการยอมรับข้อเสนอได้อย่างสมเหตุ สมผล มีการคิดลดกระแสเงินสดหากระยะเวลาการจ่ายผลประโยชน์เกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่รายงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงานวัดมูลค่าโดยมิได้คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อพนักงาน ท�ำงานให้ หนี้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระส�ำหรับการจ่ายโบนัสเป็นเงินสดระยะสั้นหรือการปันส่วนก�ำไร หากกลุ่มบริษัท มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้องจ่ายอันเป็นผลมาจากการที่พนักงานได้ท�ำงานให้ในอดีต และภาระผูกพันนี้สามารถประมาณได้อย่างสมเหตุสมผล


92

somboon advance technology public company limited

การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มูลค่ายุติธรรมของสิทธิซื้อหุ้น ณ วันที่ให้สิทธิแก่พนักงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานพร้อมๆ ไปกับการเพิ่มขึ้นในส่วนของ ผู้ถือหุ้น ตลอดระยะเวลาที่พนักงานสามารถเข้าใช้สิทธิได้อย่างไม่มีเงื่อนไข จ�ำนวนที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายจะถูกปรับปรุงเพื่อ ให้สะท้อนถึงจ�ำนวนสิทธิซื้อหุ้นที่แท้จริงซึ่งเข้าเงื่อนไขการให้บริการที่เกี่ยวข้องและเงื่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขเรื่อง ตลาดทุน พร้อมทั้งพิจารณาถึงโอกาสที่ผลการปฏิบัติงานของพนักงานจะไม่เป็นไปตามเงื่อนไข (ฒ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็นผลมา จากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อช�ำระภาระหนี้สิน ดังกล่าว ประมาณการหนีส้ นิ พิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดทีจ่ ะจ่ายในอนาคตโดยใช้อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อน ค�ำนึงถึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจ�ำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผ่านไปรับรู้เป็นต้นทุนทางการเงิน (ณ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า การขายสินค้าและให้บริการ รายได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของสินค้าที่มีนัยส�ำคัญไปให้กับ ผู้ซื้อแล้ว และจะไม่รับรู้รายได้ถ้าฝ่ายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินค้าที่ขายไปแล้วนั้นหรือมีความไม่แน่นอนที่มีนัย ส�ำคัญในการได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ไม่อาจวัดมูลค่าของจ�ำนวนรายได้และต้นทุน ทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างน่าเชือ่ ถือ หรือมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่นอนทีจ่ ะต้องรับคืนสินค้า รายได้จากการให้บริการรับรูเ้ มือ่ มีการ ให้บริการ รายได้ค่าเช่า รายได้คา่ เช่าจากอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนรับรูใ้ นก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่า ค่าใช้จา่ ยเริม่ แรก ทีเ่ กิดขึน้ เป็นการเฉพาะเพือ่ ให้เกิดสัญญาเช่ารับรูเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของค่าเช่าทัง้ สิน้ ตามสัญญา ค่าเช่าทีอ่ าจเกิดขึน้ รับรูเ้ ป็นรายได้ ในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งค่าเช่านั้นเกิดขึ้น เงินปันผลรับ เงินปันผลรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิได้รับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง (ด) ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในท�ำนองเดียวกันบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณีที่มี การบันทึกเป็นต้นทุนส่วนหนึง่ ของสินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ ดังกล่าวก่อนที่จะน�ำมาใช้เองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในก�ำไร หรือขาดทุนโดยใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ต้นทุนการกู้ยืมที่ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มา การก่อสร้างหรือ การผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไข รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดย ใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ต) สัญญาเช่าด�ำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่าด�ำเนินงานบันทึกในก�ำไรหรือขาดทุนโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับตาม สัญญาเช่า จะรับรู้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญาตลอดอายุสัญญาเช่า


annual report 2012

93

ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ้นต้องน�ำมารวมค�ำนวณจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้รับ การยืนยันการปรับค่าเช่า การจ�ำแนกประเภทสัญญาเช่า ณ วันที่เริ่มต้นข้อตกลง กลุ่มบริษัทจะพิจารณาว่าข้อตกลงดังกล่าวประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบ หรือไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้าการปฏิบตั ติ ามข้อตกลงนัน้ ขึน้ อยูก่ บั การใช้สนิ ทรัพย์ทมี่ ลี กั ษณะ เฉพาะเจาะจง และข้อตกลงนั้นจะน�ำไปสู่สิทธิในการใช้สินทรัพย์ ถ้าท�ำให้กลุ่มบริษัทมีสิทธิในการควบคุมการใช้สินทรัพย์ (ถ) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้จากก�ำไรหรือขาดทุนส�ำหรับปีประกอบด้วยภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ภาษีที่คาดว่าจะจ่ายช�ำระ โดยค�ำนวณจากก�ำไรประจ�ำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษี ที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ ในการก�ำหนดมูลค่าของภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน กลุ่มบริษัทต้องค�ำนึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ไม่แน่นอน และอาจท�ำให้จ�ำนวนภาษีที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้น และมีดอกเบี้ยที่ต้องช�ำระ กลุ่มบริษัท เชื่อว่าได้ตั้งภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพียงพอ ส�ำหรับภาษีเงินได้ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปัจจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมาย ภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้อยู่บนพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้อมูลใหม่ๆ อาจจะท�ำให้กลุ่มบริษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ้นอยู่กับความ เพียงพอของภาษีเงินได้ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิด การเปลี่ยนแปลง 4. บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เพือ่ วัตถุประสงค์ในการจัดท�ำงบการเงิน บุคคลหรือกิจการเป็นบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับกลุม่ บริษทั หากกลุม่ บริษทั มีอำ� นาจ

ควบคุมหรือควบคุมร่วมกันทัง้ ทางตรงและทางอ้อมหรือมีอทิ ธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญต่อบุคคลหรือกิจการในการตัดสินใจทางการเงิน และการบริหารหรือในทางกลับกันหรือกลุ่มบริษัทอยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันหรืออยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมีสาระส�ำคัญเดียวกัน กับบุคคลหรือกิจการนั้น การเกี่ยวข้องกันนี้อาจเป็นรายบุคคลหรือเป็นกิจการ ความสัมพันธ์ที่มีกับบริษัทย่อยและบริษัทร่วมได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9 และ 10 ส�ำหรับความสัมพันธ์กับ ผู้บริหารส�ำคัญและกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น มีดังนี้ ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตั้ง /สัญชาติ

บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด บริษัท ยามาดะ สมบูรณ์ จ�ำกัด บริษัท ซึชิโยชิ สมบูรณ์โคเตท แซนด์ จ�ำกัด ผู้บริหารส�ำคัญ

ไทย ไทย ไทย ญี่ปุ่น ไทย ไทย ไทย ไทย

ลักษณะความสัมพันธ์

เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นร้อยละ 100 เป็นบริษัทร่วม บริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 20 เป็นบริษัทร่วม บริษัทย่อยถือหุ้นร้อยละ 21.25 บุคคลทีม่ อี ำ� นาจและความรับผิดชอบการวางแผน สัง่ การและ ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของกิจการไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งนี้ รวมถึงกรรมการของกลุ่มบริษัท (ไม่ว่าจะท�ำหน้าที่ใน ระดับบริหารหรือไม่)


94

somboon advance technology public company limited

รายการที่ส�ำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 สรุปได้ดังนี้ (ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

นโยบายการก�ำหนดราคา ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ราคาใกล้เคียงราคาตลาด ผู้บริหารส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์ระยะยาว ค่าใช้จ่ายสิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน รวมค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ บริษัทย่อย รายได้เงินปันผล ค่าสาธารณูปโภครับ ราคาใกล้เคียงทุน ดอกเบี้ยรับ ราคาที่ตกลงตามสัญญา รายได้ค่าธรรมเนียมในการบริหารจัดการ ราคาที่ตกลงตามสัญญา ขายเศษจากการผลิต ราคาตลาด ซื้อสินค้า ราคาใกล้เคียงราคาตลาด ค่าสาธารณูปโภคจ่าย ราคาใกล้เคียงทุน ดอกเบี้ยจ่าย ราคาใกล้เคียงราคาตลาด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ขายสินค้า ราคาใกล้เคียงราคาตลาด ผู้บริหารส�ำคัญ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์ระยะยาว ค่าใช้จ่ายสิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน รวมค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ

94.3

131.6

53.5 17.3 1.0 71.8

29.3 14.5 43.8

100.4 20.8 20.8 179.4 8.5 0.2 1.4 0.5

17.3 14.6 136.6 3.8 0.2 1.2 -

2.1

1.1

43.5 9.3 1.0 53.8

36.1 7.0 43.1

ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554

(ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ย่งกี่ (1995) จ�ำกัด บริษัท ออโตโมทีฟโปรดักส์ อิมปอร์ต แอนด์ เอ็กซ์ปอร์ต เซ็นเตอร์ จ�ำกัด รวม

39,325

51,602

1,075

2,158

39,325

51 51,653

1,075

2,158


annual report 2012

95

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทย่อย บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ย่งกี่ (1995) จ�ำกัด บริษัท สมบูรณ์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด รวม

-

-

18,615 10,938 12,153 219 120

21,518 10,082 1,708 -

128 10 138 138

128 128

42,045

33,308 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย

บริษัทย่อย บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด รวม

110,000 200,000 30,000 340,000

440,000 90,000 10,000 540,000

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดังนี้ (พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

540,000 790,000 (990,000) 340,000

310,000 1,570,000 (1,340,000) 540,000


96

somboon advance technology public company limited

เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ MMR (Money Market Rate) ต่อปี งบการเงินรวม 2555 2554

(พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทย่อย บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัทร่วม บริษทั ซึชโิ ยชิ สมบูรณ์โคเตท แซนด์ จ�ำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ย่งกี่ (1995) จ�ำกัด

-

-

38

-

14,060

6,140

-

-

119 14,179

446 6,586

38

(พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทย่อย บริษัท สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด รวม

-

-

93 1,097 2 2,155 3,347

253 225 8 486

5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม

330 3,013 807,461 3,826 814,630

270 2,413 410,873 53,663 467,219

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

90 2,408 335,245 3,826 341,569

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2555 2554

สกุลเงินบาท สกุลเงินเยน รวม

809,823 4,807 814,630

456,684 10,535 467,219

90 1,922 100,538 53,663 156,213 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

341,569 341,569

156,213 156,213


annual report 2012

6. ลูกหนี้การค้า

(พันบาท) หมายเหตุ

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญส�ำหรับปี

4

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

39,325 1,536,802 1,576,127 1,576,127

51,653 823,501 875,154 875,154

1,075 521,139 522,214 522,214

2,158 243,950 246,108 246,108

-

-

-

-

การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้า มีดังนี้

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กิจการอื่นๆ ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดช�ำระ : น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม

97

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

39,325

51,653

1,075

2,158

39,325 39,325

51,653 51,653

1,075 1,075

2,158 2,158

1,525,162

815,505

511,327

239,169

11,571 1 68 1,536,802 1,536,802

7,935 61 823,501 823,501

9,812 521,139 521,139

4,781 243,950 243,950

1,576,127

875,154

522,214

246,108

โดยปกติระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าของกลุ่มบริษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 30 วัน ถึง 90 วัน


98

somboon advance technology public company limited

ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้

(พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินเยน รวม

1,548,132 21,441 6,554 1,576,127

853,802 12,344 9,008 875,154

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

505,191 17,023 522,214

239,692 6,416 246,108

7. ลูกหนี้อื่น

(พันบาท) หมายเหตุ

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า รายได้ค้างรับ ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้กรมสรรพากร อื่นๆ รวม

4

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

138

128

42,045

33,308

12,774 7,202 7,429 35,727 3,239 66,371 66,509

8,738 5,244 18,277 48,544 1,405 82,208 82,336

2,743 245 6,504 2,567 842 12,901 54,946

1,531 27 17,119 1,902 789 21,368 54,676

8. สินค้าคงเหลือ

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

สินค้าส�ำเร็จรูป งานระหว่างท�ำ วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน สินค้าระหว่างทาง รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง สุทธิ

201,849 97,820 159,444 125,407 53,696 638,216 (27,308) 610,908

325,350 102,388 149,738 118,827 50,489 746,792 (30,058) 716,734

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

61,746 15,367 48,406 38,037 2,835 166,391 (6,597) 159,794

116,093 4,690 20,916 34,298 116 176,113 (6,353) 169,760


annual report 2012

99

9. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

(พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

1,861,561 439,994 2,301,555

1,852,018 9,543 1,861,561

เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้

บริษัทย่อย บริษทั สมบูรณ์หล่อเหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัด บริษัท บางกอกสปริงอินดัสเตรียล จ�ำกัด บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แคสติ้ง โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล แจแปน จ�ำกัด บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน เงินปันผลรับ 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 (ร้อยละ) (พันบาท)

100 100 100 100 100

100 100 100 100 -

500,000 130,000 785,000 9,543 100,000

160,000 130,000 785,000 9,543 -

875,989 535,995 519,989 519,989 100,358 796,034 796,034 9,543 9,543 100,000 2,301,555 1,861,561 100,358

-

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2555 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ได้มีมติอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนในบริษัท สมบูรณ์หล่อ เหล็กเหนียวอุตสาหกรรม จ�ำกัดจากเดิม 160 ล้านบาท เป็น 500 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จ�ำนวน 1.36 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 250 บาท บริษัทย่อยได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2554 มีมติอนุมัติจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่ในประเทศไทยในนาม “บริษัท สมบูรณ์ ฟอร์จจิ้ง เทคโนโลยี จ�ำกัด” เพื่อผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ โดยมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 100 ล้านบาท โดยออกหุ้นสามัญจ�ำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท บริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทย่อยดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิชย์แล้วในเดือนมกราคม 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 มีมติอนุมัติจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่ในประเทศญี่ปุ่นในนาม “บริษัท เอสบีจี อินเตอร์เนชั่นแนล เจแปน จ�ำกัด” เพื่อสนับสนุนข้อมูลด้านการตลาดของกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่น โดยมีทุนจดทะเบียน จ�ำนวน 25 ล้านเยน โดยออกหุ้นสามัญจ�ำนวน 250,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 เยน บริษัทได้ด�ำเนินการจดทะเบียนจัดตั้ง บริษัทย่อยดังกล่าวในระหว่างเดือนกรกฎาคม 2554 10. เงินลงทุนในบริษัทร่วม

(พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ณ วันที่ 1 มกราคม ส่วนแบ่งก�ำไรสุทธิจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย รายได้เงินปันผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม

144,950 10,515 (2,265) 153,200

140,555 9,966 (5,571) 144,950


21.25 20.00

21.25 72,000 72,000 15,300 15,300 35,801 34,607 20.00 150,000 150,000 30,807 30,807 117,399 110,343 46,107 46,107 153,200 144,950

1,071 1,194 2,265

1,530 4,041 5,571

เงินปันผลรับ 2555 2554

มูลค่าเงินลงทุนในบริษัท ซึชิโยชิ สมบูรณ์โคเตท แซนด์ จ�ำกัด ตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค�ำนวณจากงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 ซึ่งตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ของบริษัทดังกล่าว และงบการเงินส�ำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่จัดท�ำขึ้นโดยฝ่ายบริหารและไม่ได้ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทดังกล่าว มูลค่าเงินลงทุนในบริษัท ยามาดะ สมบูรณ์ จ�ำกัด ตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค�ำนวณจากงบการเงินส�ำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2555 ซึ่งตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ของบริษัทดังกล่าว และงบการเงินส�ำหรับหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่จัดท�ำขึ้นโดยฝ่ายบริหารและไม่ได้ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทดังกล่าว

บริษัทร่วม บริษัท ซึชิโยชิ สมบูรณ์โคเตท แซนด์ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่าย ทรายเคลือบ พลาสติก, ทรายอบแห้ง บริษัท ยามาดะ สมบูรณ์ จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายอะไหล่รถ

ประเภทธุรกิจ

งบการเงินรวม สัดส่วนความเป็นเจ้าของ ทุนช�ำระแล้ว วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 (%) (พันบาท)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และเงินปันผลรับส�ำหรับแต่ละปี มีดังนี้

100 somboon advance technology public company limited


annual report 2012

101

11. เงินลงทุนระยะยาวอื่น

ชื่อบริษัท

ลักษณะของธุรกิจ

บริษัท นิชินโบะ สมบูรณ์ ออโตโมทีฟ จ�ำกัด

ผลิตและจ�ำหน่าย อะไหล่รถระบบเบรค บริษัท สมบูรณ์ โซมิคแมนู-แฟคเจอริ่ง จ�ำกัด ผลิตและจ�ำหน่ายอะไหล่รถ รวม

งบการเงินรวม อัตราส่วนการถือหุ้น ทุนช�ำระแล้ว 2555 2554 (ร้อยละ)

732,600 300,000

2.90 1.80

ราคาทุน 2555 2554 (พันบาท)

2.90 21,250 21,250 1.80 5,401 5,401 26,651 26,651

12. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เป็นที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย ซึ่งได้ถูกน�ำไปวางเป็นหลักประกันวงเงิน สินเชือ่ ของบริษทั บางส่วน ซึง่ มีมลู ค่ายุตธิ รรมจากการประเมินของผูป้ ระเมินอิสระ เมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2553 เป็นจ�ำนวนเงิน 112.49 ล้านบาท (2554: 112.49 ล้านบาท) 13. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

(พันบาท) งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร ติดตั้ง สินทรัพย์ อาคารและ และอุปกรณ์ และเครื่องใช้ ระหว่างก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างอื่น โรงงาน ส�ำนักงาน ยานพาหนะ และติดตั้ง

ที่ดิน

ราคาทุน /ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 945,002 เพิ่มขึ้น 104,987 โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 1,049,989 เพิ่มขึ้น 47,107 โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 1,097,096 ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555

รวม

1,097,806 5,212,954 2,071 99,241 346,003 1,799,593 (159) (60,114)

108,363 12,096 9,828 (711)

30,727 519,624 7,914,476 1,745 1,863,737 2,083,877 - (2,155,424) (3,879) (80) (64,943)

1,445,721 1,577 23,559 (5,005) 1,465,852

7,051,674 89,561 343,547 (31,346) 7,453,436

129,576 11,877 1,066 (1,351) 141,168

28,593 825 (7,459) 21,959

227,857 9,933,410 813,469 964,416 (368,172) - (45,161) 673,154 10,852,665

-

320,346 2,868,038 62,560 473,472 (102) (56,370)

78,904 17,310 (709)

26,727 2,349 (3,879)

- 3,294,015 - 555,691 - (61,060)

-

382,804

95,505

25,197

- 3,788,646

3,285,140


102

somboon advance technology public company limited

(พันบาท) งบการเงินรวม เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร ติดตั้ง สินทรัพย์ อาคารและ และอุปกรณ์ และเครื่องใช้ ระหว่างก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างอื่น โรงงาน ส�ำนักงาน ยานพาหนะ และติดตั้ง

ที่ดิน

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

945,002 945,002

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท 1,049,989 ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 1,049,989 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท 1,097,096 ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 1,097,096

74,883 (940) 456,747

รวม

614,076 (24,387) 3,874,829

16,108 (1,331) 110,282

1,659 (7,459) 19,397

- 706,726 - (34,117) - 4,461,255

777,460 2,279,310 65,606 777,460 2,344,916

29,459 29,459

4,000 4,000

519,624 4,550,855 - 69,606 519,624 4,620,461

1,062,917 3,707,984 58,550 1,062,917 3,766,534

34,071 34,071

624 2,772 3,396

227,857 6,083,442 - 61,322 227,857 6,144,764

1,009,105 3,529,362 49,245 1,009,105 3,578,607

30,886 30,886

1,475 1,087 2,562

673,154 6,341,078 - 50,332 673,154 6,391,410 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ที่ดิน

ราคาทุน /ราคาประเมินใหม่ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ้น โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร ติดตั้ง สินทรัพย์ อาคารและ และอุปกรณ์ และเครื่องใช้ ระหว่างก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างอื่น โรงงาน ส�ำนักงาน ยานพาหนะ และติดตั้ง

รวม

106,598 -

283,373 1,750,127 347 21,496 14,448 346,238 (165)

42,572 6,473 1,216 (72)

19,352 1,746 (1,550)

29,267 2,231,289 372,928 402,990 (361,902) (80) (1,867)

106,598 106,598

298,168 339 5,237 (4,187) 299,557

50,189 3,743 (397) 53,535

19,548 10 (7,400) 12,158

40,213 2,632,412 241,084 251,960 (45,715) - (12,009) 235,582 2,872,363

2,117,696 6,784 40,478 (25) 2,164,933


annual report 2012

103

(พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแต่ง เครื่องจักร ติดตั้ง สินทรัพย์ อาคารและ และอุปกรณ์ และเครื่องใช้ ระหว่างก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างอื่น โรงงาน ส�ำนักงาน ยานพาหนะ และติดตั้ง

ที่ดิน

ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี โอน จ�ำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

-

62,738 14,556 -

996,140 163,172 (140)

-

77,294 15,334 (121) 92,507

106,598 106,598

รวม

30,498 16,026 8,727 2,075 (72) (1,550)

- 1,105,402 - 188,530 - (1,762)

1,159,172 179,560 (25) 1,338,707

39,153 5,721 (393) 44,481

16,551 1,444 (7,400) 10,595

- 1,292,170 - 202,059 - (7,939) - 1,486,290

220,635 220,635

753,987 753,987

12,074 12,074

3,326 3,326

29,267 1,122,561 3,326 29,267 1,125,887

106,598 106,598

220,874 220,874

958,524 958,524

11,036 11,036

624 2,373 2,997

40,213 1,337,869 2,373 40,213 1,340,242

106,598 106,598

207,050 207,050

826,226 826,226

9,054 9,054

476 1,087 1,563

235,582 1,384,986 1,087 235,582 1,386,073

ราคาทรัพย์สินของกลุ่มบริษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ์ ซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจ�ำนวนแล้ว แต่ยังคง ใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจ�ำนวน 1,279.25 ล้านบาท (2554: 1,041.5 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่ดินของบริษัทย่อยมูลค่า 165.8 ล้านบาท (2554: 123.7 ล้านบาท) เป็นที่ดินที่บริษัทย่อยยังไม่ได้รับ โอนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ซึ่งการโอนจะเป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทย่อยมีเครื่องจักรซึ่งได้มาภายใต้สัญญาขายและเช่าทางการเงินกลับคืน โดยมีมูลค่าสุทธิตาม บัญชีเป็นจ�ำนวนประมาณ 50.3 ล้านบาท (2554: 58.6 ล้านบาท) บริษัทและบริษัทย่อยได้น�ำที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างและเครื่องจักรส่วนใหญ่ไปค�้ำประกันสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคารพาณิชย์ ในระหว่างปี 2555 บริษัทย่อยได้รวมต้นทุนการกู้ยืมเข้าเป็นราคาทุนของโครงการก่อสร้างอาคารและติดตั้งเครื่องจักรจ�ำนวน 2.6 ล้านบาท (2554: 13.2 ล้านบาท) ต้นทุนการกู้ยืมนี้เป็นต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดจากเงินกู้ที่กู้มาเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไปแต่บริษัทได้


104

somboon advance technology public company limited

น�ำมาใช้ในโครงการนี้ โดยค�ำนวณจากอัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนซึ่งเป็นอัตราถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของเงินกู้ยืมดังกล่าวในอัตราร้อยละ 5.05 ถึง 5.09 ต่อปี (2554: อัตราร้อยละ 3.43 ถึง 4.43 ต่อปี) บริษัทและบริษัทย่อยได้ตัดสินใจที่จะปฏิบัติตามประกาศสภาวิชาชีพฉบับที่ 18/2554 เรื่องการบันทึกบัญชีเมื่อมีการตีราคาใหม่ ซึง่ หากบริษทั ค�ำนวณค่าเสือ่ มราคาจากมูลค่าทีต่ รี าคาใหม่ ก�ำไรส�ำหรับปีและก�ำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ จะมีการเปลีย่ นแปลง ดังต่อไปนี้: งบการเงินรวม 2555 2554

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ก�ำไรส�ำหรับปีลดลง (พันบาท) ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานลดลง (บาท)

9,820 (0.03)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

9,941 (0.03)

2,202 (0.01)

2,196 (0.01)

14. สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน

(พันบาท) งบการเงินรวม ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ซอฟท์แวร์ระหว่างติดตั้ง

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

55,530 9,027 27,164 91,721 7,135 98,856

25,756 5,555 (27,164) 4,147 1,833 5,980

81,286 14,582 95,868 8,968 104,836

ค่าตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

18,767 13,170 31,937 13,568 45,505

-

18,767 13,170 31,937 13,568 45,505

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

36,763 59,784 53,351

25,756 4,147 5,980

62,519 63,931 59,331


annual report 2012

105

(พันบาท) งบการเงินรวม ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ซอฟท์แวร์ระหว่างติดตั้ง

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ้น โอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

16,380 4,092 13,552 34,024 2,719 36,743

13,224 4,307 (13,552) 3,979 1,833 5,812

29,604 8,399 38,003 4,552 42,555

ค่าตัดจ�ำหน่าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

6,686 5,589 12,275 6,628 18,903

-

6,686 5,589 12,275 6,628 18,903

มูลค่าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

9,694 21,749 17,840

13,224 3,979 5,812

22,918 25,728 23,652

15. หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

ส่วนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ทรัสต์รีซีท ส่วนที่ไม่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินส่วนที่ถึง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่มีหลักประกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินส่วนที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี รวมหนี้สินส่วนที่หมุนเวียน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

25,293

141,354

-

-

531,058

373,289

170,103

155,312

23,069 579,420

16,841 531,484

333 170,436

334 155,646


106

somboon advance technology public company limited

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ส่วนที่ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน 2,574,133 2,628,133 862,820 916,359 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 2,644 25,713 354 687 รวมหนี้สินส่วนที่ไม่หมุนเวียน 2,576,777 2,653,846 863,174 917,046 รวม 3,156,197 3,185,330 1,033,610 1,072,692 หนีส้ ินที่มภี าระดอกเบีย้ ซึ่งไม่รวมหนีส้ ินตามสัญญาเช่าการเงิน แสดงตามระยะเวลาครบก�ำหนดการจ่ายช�ำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ (พันบาท) ครบก�ำหนดภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบก�ำหนดหลังจากห้าปี รวม

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

556,351 2,232,241 341,892 3,130,484

170,103 753,684 109,136 1,032,923

514,643 1,840,124 788,009 3,142,776

155,312 681,217 235,141 1,071,670

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - ทรัสต์รีซีทมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ MMR (Money Market Rate) ต่อปี วงเงินสินเชื่อระยะยาวของบริษัทย่อยแห่งหนึ่งกับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งมีข้อจ�ำกัดว่าจะจ่ายเงินปันผลได้ต่อเมื่อไม่กระทบ ต่อการรักษาสัดส่วนหนี้ต่อทุน ความสามารถในการช�ำระหนี้ และเงื่อนไขอื่นๆ ตามที่ธนาคารก�ำหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย่อยมีวงเงินกู้ยืมดังกล่าวที่ยังมิได้เบิกใช้เป็นจ�ำนวน 571.2 ล้านบาท (2554 : 133.7 ล้านบาท) วงเงินสินเชื่อระยะยาวค�้ำประกันโดยที่ดินส่วนใหญ่พร้อมสิ่งปลูกสร้าง และเครื่องจักรส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อย หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้Finance lease liabilities (พันบาท) งบการเงินรวม 2555 มูลค่า อนาคตของ จ�ำนวนเงิน ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ดอกเบี้ย

ครบก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดช�ำระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

2554 มูลค่า มูลค่า มูลค่า ปัจจุบันของ อนาคตของ ปัจจุบันของ จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงินขั้น ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ดอกเบี้ย ต�่ำที่ต้องจ่าย

23,691

(622)

23,069

18,790 (1,949)

16,841

2,682 26,373

(38) (660)

2,644 25,713

26,533 (820) 45,323 (2,769)

25,713 42,554


107

annual report 2012

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 มูลค่า อนาคตของ จ�ำนวนเงิน ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย

ครบก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ครบก�ำหนดช�ำระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

2554 มูลค่า มูลค่า มูลค่า ปัจจุบันของ อนาคตของ ปัจจุบันของ จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงินขั้น ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ขั้นต�่ำที่ต้องจ่าย ดอกเบี้ย ต�ำ่ ที่ต้องจ่าย

ดอกเบี้ย

365

(32)

333

388

(54)

334

365 730

(11) (43)

354 687

731 1,119

(44) (98)

687 1,021

นอกเหนือจากเครื่องจักรซึ่งได้มาภายใต้สัญญาขายและเช่าทางการเงินกลับคืน บริษัทและบริษัทย่อยได้ท�ำสัญญาเช่าการเงินกับ บริษัทลีสซิ่งเพื่อเช่ายานพาหนะใช้ในการด�ำเนินงานของกิจการโดยมีก�ำหนดการช�ำระค่าเช่าเป็นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะ เวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ปี ถึง 5 ปีและสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาที่บอกเลิกไม่ได้ หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เป็นสกุลเงินบาท 16. เจ้าหนี้การค้า

(พันบาท) หมายเหตุ

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการอื่นๆ รวม

4

งบการเงินรวม 2555 2554

14,179 1,441,204 1,455,383

6,586 914,893 921,479

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

38 482,435 482,473

ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราได้ดังนี้

(พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินเยน รวม

1,285,494 141,619 28,270 1,455,383

269,645 269,645

778,207 91,489 51,783 921,479

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

462,322 16,444 3,707 482,473

259,535 4,095 6,015 269,645

17. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานค้างจ่าย เงินมัดจ�ำและเงินรับล่วงหน้า อื่นๆ รวม

184,641 15,319 157,333 357,293

172,622 6,727 109 179,458

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

97,305 367 97,672

43,738 109 43,847


108

somboon advance technology public company limited

18. ภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

งบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันในงบแสดงฐานะการเงินส�ำหรับ โครงการผลประโยชน์ 143,311 116,066 51,552 53,625 ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบก�ำไรขาดทุน รับรู้ในก�ำไรส�ำหรับปี โครงการผลประโยชน์ 15,282 14,502 7,361 7,009 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการ คณิตศาสตร์ประกันภัยที่รับรู้ 21,908 (13) กลุ่มบริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มบริษัทได้เลือกถือปฏิบัติตามมาตรฐานใหม่โดยการปรับย้อนหลัง และได้ปรับงบการเงินปีก่อนแล้ว กลุม่ บริษทั และบริษทั จัดการโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานและบ�ำเหน็จบ�ำนาญพนักงานตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณและผลประโยชน์ระยะยาวอื่นแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ (พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ต้นทุนบริการปัจจุบัน และดอกเบี้ย (ก�ำไร) ขาดทุน จากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

116,066 (9,945) 15,282

102,412 (848) 14,502

53,625 (9,421) 7,361

46,616 7,009

21,908

-

(13)

-

143,312

116,066

51,552

53,625

งบก�ำไรขาดทุน

(พันบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

ต้นทุนบริการปัจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม

9,829 5,453 15,282

9,663 4,839 14,502

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

4,847 2,514 7,361

4,802 2,207 7,009


annual report 2012

ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในงบก�ำไรหรือขาดทุนข้างต้น แสดงรวมในรายการดังต่อไปนี้

(พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม

9,243 6,039 15,282

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

8,629 5,873 14,502

1,851 5,510 7,361

รับรู้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

1,646 5,363 7,009 (พันบาท)

งบการเงินรวม 2555 2554

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (ก�ำไร) ขาดทุนจากการประมาณตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่รับรู้ในระหว่างปี รวม

109

21,908 21,908

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

-

(13) (13)

-

ข้อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก) (ร้อยละ) งบการเงินรวม 2555 2554

อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต โครงการบ�ำเหน็จบ�ำนาญเพิ่มขึ้นในอนาคต

4.00 5.00 2.50

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

4.75 5.00 2.50

4.00 5.00 2.50

4.75 5.00 2.50

ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ทั่วไปและตารางมรณะ 19. สิทธิในหุ้นสามัญที่เสนอขายให้กับพนักงาน

โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานที่อยู่ในระดับ ผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัท (รวมถึงพนักงานซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัท) ซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทย โดยบริษัท จะให้ผลตอบแทนแก่พนักงานที่อยู่ในระดับผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัท เพื่อซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทได้ท�ำหนังสือ เพื่อแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการฯ ให้แก่พนักงานดังกล่าวในระหว่างเดือนกรกฏาคม 2554 ลักษณะที่ส�ำคัญโดยสรุปของหุ้นสามัญโครงการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท โครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัทมีอายุโครงการต่อเนื่อง 4 ปี นับจากวันที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนครั้งแรกเป็นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้นไม่เกิน 1,800,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทั้งนี้ราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนใน แต่ละครั้งจะเป็นราคาตลาด ซึ่งหมายถึง ราคาถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ย้อนหลัง 15 วัน ท�ำการติดต่อกันก่อนวันที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในแต่ละครั้ง โครงการดังกล่าวมีเงื่อนไขในการจองซื้อ โดยที่พนักงาน ตามโครงการฯ ต้องมีสถานะเป็นพนักงานของบริษทั และ/หรือบริษทั ย่อย ณ วันทีม่ กี ารเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนในแต่ละครัง้ และ จ�ำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่พนักงานแต่ละรายจะได้รับในแต่ละปีขึ้นอยู่กับผลประเมินที่ได้จากตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) ใน แต่ละปี


110

somboon advance technology public company limited

บริษัทจะท�ำการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยจะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งแรกภายใน 1 ปี นับจากวัน ที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นต้องมีมติอนุมัติ โดยหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จะเสนอขายในปีแรกนี้จะมีจ�ำนวนรวมกันไม่เกินร้อยละ 35 ของจ�ำนวน หุ้นสามัญเพิ่มทุนทั้งหมดที่เสนอขายภายใต้โครงการนี้ และบริษัทจะท�ำการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เหลือทั้งหมดภายใน 3 ปี นับจากวันที่มีการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งแรก อย่างไรก็ตาม พนักงานที่จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนและได้รับการจัดสรร หุ้นสามัญเพิ่มทุนตามโครงการฯ จะถูกห้ามขายหุ้นที่ได้รับจัดสรรในแต่ละคราว เป็นระยะเวลา 1 ปีนับจากวันที่ได้รับกรรมสิทธิ์ใน หุ้นสามัญเพิ่มทุนตามโครงการฯ (Lock up period) จากผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทประจ�ำปี 2554 และผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่เกิดขึ้นจริงไม่เป็นไปตามเงื่อนไข การได้รับสิทธิ ท�ำให้บริษัทไม่สามารถเสนอขายหุ้นให้กับพนักงานได้ คณะกรรมการบริษัทจึงพิจารณาไม่รับรู้บริการที่ได้รับเป็น ส่วนหนึ่งของค่าตอบแทนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และจากผลกระทบดังกล่าวมีผลท�ำให้โครงการฯ สิ้นสุดลง ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ 32/2551 เรื่อง การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อกรรมการหรือพนักงาน อย่างไรก็ตามที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ยังมีความประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน จ�ำนวน 1,800,000 หุ้นให้แก่พนักงานที่อยู่ในระดับผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัทและหรือบริษัทย่อย ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งใน ประเทศไทย (รวมถึงพนักงานซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ) ซึ่งมีรายละเอียดและเงื่อนไขโครงการตามเดิม โดยที่ประชุมมีมติอนุมัติ โครงการดังกล่าว มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มีผลบังคับใช้ส�ำหรับการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ส�ำหรับการให้สิทธิในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 ส่งผลให้บริษัทต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของสิทธิโครงการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าว ผลตอบแทนตามโครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัทถูกก�ำหนดด้วยตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) ส�ำหรับปี 2555 บริษัทได้ก�ำหนดเกณฑ์การให้การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ จากผลประกอบการของกลุ่มบริษัทและผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานเป็นรายบุคคล ส�ำหรับผลการปฏิบัติงานตลอดทั้งปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 จากผลการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทประจ�ำปี 2555 และผลการปฏิบัติงานของพนักงานเป็นรายบุคคล อยู่ในเกณฑ์ประมาณการ ได้รับสิทธิตามโครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงาน โดยบริษัทบันทึกค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการให้สิทธิในหุ้นสามัญ ที่เสนอขายให้กับพนักงานส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 จ�ำนวน 1.0 ล้านบาท ส�ำหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการ ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการวัดมูลค่ายุติธรรมตามโครงการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท แสดงได้ดังนี้ วันที่ให้สิทธิ 1 มิถุนายน 2555 มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญ ณ วันให้สิทธิ 27.75 บาท ราคาใช้สิทธิ ราคาตลาด


annual report 2012

111

20. ทุนเรือนหุ้น 2555 มูลค่าหุ้นต่อหุ้น (บาท)

จ�ำนวนหุ้น

2554 จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนหุ้น (พันหุ้น / พันบาท)

จ�ำนวนเงิน

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ลดหุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1 1 1

341,723 -

341,723 -

340,000 (77) 1,800

340,000 (77) 1,800

1

341,723

341,723

341,723

341,723

ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1 1

339,923 -

339,923 -

339,923 -

339,923 -

1

339,923

339,923

339,923

339,923

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 มีมติอนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 340,000,000 บาท เป็น 339,923,287 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจ�ำนวน 76,713 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 76,713 บาท เพื่อตัดหุ้นจดทะเบียนที่ยังมิได้น�ำออกจ�ำหน่ายหรือจ�ำหน่ายไม่ได้ก่อนการเพิ่มทุนตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทได้จดทะเบียนการลดทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 339,923,287 บาท เป็น 341,723,287 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจ�ำนวน 1,800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 1,800,000 บาท เพื่อ โครงการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนให้แก่พนักงานของกลุม่ บริษทั บริษทั ได้จดทะเบียนการเพิม่ ทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2554 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้นที่ จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องน�ำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนส�ำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผล ไม่ได้ 21. ส�ำรอง

ส�ำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนส�ำรอง (“ส�ำรองตาม กฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าส�ำรองดังกล่าวมีจ�ำนวน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินส�ำรองนี้จะน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลต่างการแปลงค่าทั้งหมดจากงบการเงินของหน่วยงาน ในต่างประเทศและการแปลงค่าหนี้สินจากการป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิของบริษัท


112

somboon advance technology public company limited

ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในการตีราคาสินทรัพย์ใหม่แสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิของ การตีราคาที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่แสดงในงบการเงินด้วยการตีราคาใหม่จนกระทั่งมีการขายหรือจ�ำหน่าย 22. ข้อมูลทางการเงินจ�ำแนกตามส่วนงาน

ส่วนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทด�ำเนินกิจการหลักในส่วนงานธุรกิจเดียว คือ ผลิตและจ�ำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ ดังนั้นฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่า กลุ่มบริษัทมีส่วนงานธุรกิจเพียงส่วนงานเดียว ส่วนงานภูมิศาสตร์ กลุม่ บริษทั ด�ำเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านัน้ ดังนัน้ ฝ่ายบริหารจึงพิจารณาว่า กลุม่ บริษทั มีสว่ นงานทางภูมศิ าสตร์เพียงส่วนงาน เดียว 23. กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเป็นสมาชิก ของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบ ในอัตราร้อยละ 3 ถึง อัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนส�ำรอง เลี้ยงชีพตามข้อก�ำหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุนที่ได้รับอนุญาต 24. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

งบการเงินได้รวมการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหน้าที่ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะได้เปิดเผยตามข้อก�ำหนดในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับต่างๆ ดังนี้ (พันบาท) เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ไป การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูปและงานระหว่างท�ำ ต้นทุนทางการเงิน อื่นๆ รวมค่าใช้จ่าย

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

1,402,192 725,275 4,438,370 128,069 160,031 1,861,519 8,715,456

428,138 206,585 1,658,032 43,669 54,263 433,936 2,824,623

990,549 555,312 3,268,676 224,994 119,731 932,456 6,091,718

321,322 192,026 1,138,694 70,531 44,115 211,956 1,978,644

25. ภาษีเงินได้

การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิเป็นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีได้แก่ปี 2555 2556 และ 2557 จากอัตราร้อยละ 30 เหลืออัตราร้อยละ 23 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของก�ำไรสุทธิส�ำหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถัดมา (2556 และ 2557) ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ตาม ล�ำดับ


annual report 2012

113

ทั้งนี้เป็นที่เชื่อได้ว่ารัฐบาลจะด�ำเนินการแก้ไขกฎหมายเพื่อให้อัตราภาษีไม่สูงไปกว่าร้อยละ 20 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ม ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 ในการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จ�ำนวนภาษีเงินได้ในงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการน้อยกว่าจ�ำนวนภาษีเงินได้ที่ค�ำนวณ โดยการใช้อัตราภาษีเงินได้คูณกับยอดก�ำไรสุทธิตามบัญชีส�ำหรับปีเนื่องจาก (1) กลุม่ บริษทั มีกำ� ไรสุทธิในจ�ำนวนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ ซึง่ เกิดจากธุรกรรมทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน โดยก�ำไรสุทธิจากธุรกรรม ดังกล่าวไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ (2) ความแตกต่างระหว่างการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายทางบัญชีกับรายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษี 26. สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้กลุ่มบริษัทได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับ ซึ่งพอสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีส�ำหรับเครื่องจักรที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนดเวลาแปดปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น เป็นจ�ำนวนไม่เกินจ�ำนวนเงินลงทุนโดยไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน (ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 ส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำหนด เวลาห้าปี นับแต่วันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) เนือ่ งจากเป็นกิจการทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน บริษทั และบริษทั ย่อยจะต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขและข้อก�ำหนดตามทีร่ ะบุไว้ในบัตร ส่งเสริมการลงทุน รายได้ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนสรุปได้ดังนี้ (พันบาท) งบการเงินรวม 2555 กิจการที่ได้รับ กิจการที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม

ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ ตัดรายการระหว่างกัน รวมรายได้

21,865 5,346,386 (1,427,225) 3,941,026

รวม

330,276 352,141 5,700,511 1,046,897 (562,257) (1,989,482) 5,468,530 9,409,556

2554 กิจการที่ได้รับ กิจการที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม

59,859 3,568,226 (1,092,624) 2,535,461

รวม

218,991 278,850 3,888,480 7,456,706 (222,202) (1,314,826) 3,885,269 6,420,730 (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 กิจการที่ได้รับ กิจการที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม

ขายต่างประเทศ ขายในประเทศ รวมรายได้

21,387 2,034,853 2,056,240

37,878 1,051,210 1,089,088

รวม

59,625 3,086,063 3,145,328

2554 กิจการที่ได้รับ กิจการที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม การส่งเสริม

42,481 1,369,154 1,411,635

16,388 693,702 710,090

รวม

58,869 2,062,856 2,121,725


114

somboon advance technology public company limited

27. ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานส�ำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ค�ำนวณจากก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของ บริษัทและจ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้วระหว่างปีในแต่ละปีโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก แสดงการค�ำนวณดังนี้ (พันบาท/พันหุ้น) งบการเงินรวม 2555 2554

ก�ำไรที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัท (ขั้นพื้นฐาน) จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกจ�ำหน่ายแล้ว ก�ำไรต่อหุ้น (ขั้นพื้นฐาน) (บาท)

815,763 339,923 2.40

408,164 339,923 1.20

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

682,162 339,923 2.01

326,740 339,923 0.96

ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด กลุ่มบริษัทไม่มีการแสดงก�ำไรต่อหุ้นปรับลด เนื่องจากการออกหุ้นสามัญตามโครงการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่พนักงาน ของกลุ่มบริษัทไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อจ�ำนวนหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด 28. เงินปันผล

ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการมีมติอนุมัติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับ ผลการด�ำเนินงานครึ่งปีแรกของปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 0.30 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 102 ล้านบาท ซึ่งเป็นการจ่ายจากกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ทั้งจ�ำนวน โดยเงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 6 กันยายน 2555 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผล ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานของปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.45 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 153 ล้านบาท ซึ่งเป็นการจ่ายจากกิจการ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ทั้งจ�ำนวน ทั้งนี้ได้มีการจ่ายเงินปันระหว่างกาลเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.35 บาท ดังนั้นส่วนที่คงเหลือในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 34 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวมีก�ำหนดจ่ายให้ แก่ผู้ถือหุ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม 2555 ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลใน อัตราหุ้นละ 0.35 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 118.97 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในระหว่างเดือนกันยายน 2554 ในการประชุมสามัญประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผล ในอัตราหุน้ ละ 0.50 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 169.96 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จา่ ยให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระหว่างเดือนพฤษภาคม 2554 29. เครื่องมือทางการเงิน

นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้านการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการด�ำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดตามสัญญาของคูส่ ญั ญา กลุม่ บริษทั ไม่มกี ารถือหรือออกเครือ่ งมือทางการทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งก�ำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่ส�ำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ายบริหารได้มีการ ควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการ ควบคุมความเสี่ยง


annual report 2012

115

การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความเชื่อมั่นของตลาดและ ก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการก�ำกับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทพิจารณาจาก สัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมด�ำเนินงานต่อส่วนของเจ้าของรวม ซึ่งไม่รวมส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม อีกทั้งยังก�ำกับ ดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่ง ผลกระทบต่อการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท เนื่องจากดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอัตราคงที่ กลุ่มบริษัทมี ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุข้อ 15) กลุ่มบริษัทได้ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยท�ำให้แน่ใจว่าดอกเบี้ย ที่เกิดจากเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอัตราคงที่ และใช้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ย เพื่อใช้ในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากหลักทรัพย์ที่เป็นตราสารหนี้และ เงินกู้ยืมเป็นการเฉพาะ อัตราดอกเบี้ยของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�ำหนดช�ำระหรือก�ำหนดอัตราใหม่มีดังนี้ อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

ปี 2555 หมุนเวียน เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ย่อย รวม ปี 2554 หมุนเวียน เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ย่อย รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

3.8 - 4.8

340,000 340,000

-

-

340,000 340,000

3.0 - 4.8

540,000 540,000

-

-

540,000 540,000

อัตราดอกเบี้ยของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบก�ำหนดช�ำระหรือก�ำหนดอัตราใหม่ มีดังนี้ อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

ปี 2555 หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวม

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

FDR.3M + อัตราคงที่

556,351

-

-

556,351

FDR.3M + อัตราคงที่

556,351

2,232,241 2,232,241

341,892 341,892

2,574,133 3,130,484


116

somboon advance technology public company limited

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

ปี 2554 หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวม

ปี 2554 หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวม

รวม

FDR.3M + อัตราคงที่

514,643

-

-

514,643

FDR.3M + อัตราคงที่

514,643

1,840,124 1,840,124

788,009 788,009

2,628,133 3,142,776

อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี)

ปี 2555 หมุนเวียน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย ไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวม

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (พันบาท)

รวม

FDR.3M + อัตราคงที่

170,103

-

-

170,103

FDR.3M + อัตราคงที่

170,103

753,684 753,684

109,136 109,136

862,820 1,032,923

FDR.3M + อัตราคงที่

155,312

-

-

155,312

FDR.3M + อัตราคงที่

155,312

681,217 681,217

235,142 235,142

916,359 1,071,671

ความเสี่ยงจากเงินตราต่างประเทศ กลุม่ บริษทั มีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ซึง่ เกิดจากการซือ้ สินค้าและการขายสินค้าทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัทจะพิจารณาท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อป้องกัน ความเสีย่ งของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันทีร่ ายงาน เป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับรายการซื้อและขายสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป


annual report 2012

117

(พันบาท) หมายเหตุ

เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ เงินเยน เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความสี่ยงคงเหลือสุทธิ

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

6 16

21,441 (141,619) (120,178) 56,127 (64,051)

12,344 (91,489) (79,145) (79,145)

17,023 (16,444) 579 3,391 3,970

6,416 (4,095) 2,321 2,321

5 6 16

4,807 6,554 (28,270) 22,617 1,904 7,612 321,666 329,278

10,535 9,008 (51,783) 620 1,363 (30,257) (30,257)

(3,707) (3,707) 62,872 59,165

(6,015) (6,015) (6,015)

ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถช�ำระหนี้แก่กลุ่มบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้เมื่อครบ ก�ำหนด ฝ่ายบริหารได้ก�ำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวโดยสม�่ำเสมอ โดยการวิเคราะห์ฐานะ ทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงานไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เป็นสาระส�ำคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบแสดงฐานะการเงิน อย่างไร ก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจ�ำนวนมาก ฝ่ายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระส�ำคัญจากการเก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่อง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เพียงพอ ต่อการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทและเพื่อท�ำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การก�ำหนดมูลค่ายุติธรรม นโยบายการบัญชีและการเปิดเผยของกลุ่มบริษัทก�ำหนดให้มีการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมทั้งสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินและ ไม่ใช่ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จ�ำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรือช�ำระหนี้สินกัน ในขณะที่ ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรือการเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมถูกก�ำหนดโดยวิธีต่อไปนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยว กับสมมติฐานในการก�ำหนดมูลค่ายุติธรรมถูกเปิดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ เนือ่ งจากสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั และบริษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน้ เงินให้กยู้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั รา ดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน


118

somboon advance technology public company limited

มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอ้างอิงของคู่สัญญา ณ วันที่รายงาน มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีมูลค่าสุทธิ 371.88 ล้านบาท (2554: 440.34 ล้านบาท) 30. ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

(ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ ที่ดิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน งานก่อสร้างอาคาร รวม

23.8 187.9 0.3 67.2 279.2

36.0 154.8 0.6 1.6 193.0

9.8 0.3 1.6 11.7

0.3 1.6 1.9

ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม

69.9 66.7 136.6

59.3 96.4 155.7

9.2 12.5 21.7

10.2 9.5 19.7

ภาระผูกพันอื่นๆ หนังสือค�้ำประกันจากธนาคาร รวม

72.5 72.5

61.1 61.1

18.3 18.3

14.0 14.0

บริษัทได้ท�ำสัญญาความช่วยเหลือทางเทคนิคกับบริษัทแห่งหนึ่งในต่างประเทศ เพื่อกระบวนการผลิตงานกลึงโดยบริษัทต้องจ่าย ค่าธรรมเนียมในอัตราร้อยละ 1.5 ของต้นทุนกระบวนการกลึง โดยไม่รวมต้นทุนวัตถุดิบส�ำหรับสินค้าที่บริษัทผลิตและขาย สัญญามีอายุ 5 ปี โดยสิ้นสุดในปี 2558 และบริษัทมีสิทธิต่อสัญญาได้อีกเป็นระยะเวลา 5 ปี บริษัทได้ท�ำสัญญาความช่วยเหลือทางเทคนิคกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งในต่างประเทศ เพื่อกระบวนการผลิตเหล็กทุบขึ้นรูปโดย บริษัทต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในอัตราร้อยละ 3 ของต้นทุนกระบวนการทุบขึ้นรูป โดยไม่รวมต้นทุนวัตถุดิบส�ำหรับสินค้าที่บริษัท ผลิตและขาย สัญญามีอายุ 5 ปี โดยสิ้นสุดในปี 2557 และบริษัทมีสิทธิต่อสัญญาได้อีกเป็นระยะเวลา 5 ปี บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ท�ำสัญญาความช่วยเหลือด้านเทคนิคกับบริษัทแห่งหนึ่งในต่างประเทศ เพื่อกระบวนการผลิตงานกลึงโดย บริษทั ย่อยต้องจ่ายค่าธรรมเนียมในอัตราร้อยละ 1.5 ของต้นทุนกระบวนการกลึงโดยไม่รวมต้นทุนวัตถุดบิ ส�ำหรับสินค้าทีบ่ ริษทั ย่อย ผลิตและขาย สัญญามีอายุ 5 ปี โดยสิ้นสุดในปี 2557 และบริษัทย่อยมีสิทธิต่อสัญญาได้อีกเป็นระยะเวลา 5 ปี บริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่งได้ท�ำสัญญาความช่วยเหลือด้านเทคนิคกับบริษัทแห่งหนึ่งในต่างประเทศ เพื่อกระบวนการผลิตงานหล่อ โดยบริษัทย่อยต้องจ่ายค่าธรรมเนียมเป็นรายเดือนในอัตราเดือนละ 1 ล้านเยน สัญญามีอายุ 5 ปี โดยสิ้นสุดในปี 2558 และบริษัท ย่อยมีสิทธิต่อสัญญาได้อีกเป็นระยะเวลา 5 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากับธนาคารในประเทศหลายแห่งเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงจากการช�ำระเงินค่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ มูลค่าตามสัญญา 56.1 ล้านบาท (2554: ไม่มี) สัญญาที่ท�ำไว้ในปี 2555 จะครบก�ำหนดภายในเดือนกันยายน 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) เพื่อคงอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะ ยาวมูลค่าสัญญา 371.9 ล้านบาท (2554: 434.4 ล้านบาท) จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราคงที่ตามที่ระบุไว้ในสัญญา


annual report 2012

119

31. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ในระหว่างปี 2554 บริษทั ได้ฟอ้ งร้องบริษทั ในประเทศสองแห่ง เนือ่ งจากผิดสัญญาจ้างพัฒนาโปรแกรมและสัญญาอนุญาตให้ใช้สทิ ธิ

เป็นจ�ำนวนเงิน 35.6 ล้านบาท โดยจ�ำเลยรายหนึ่งได้ฟ้องแย้งบริษัทเป็นจ�ำนวนเงิน 50 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 การฟ้องร้องดังกล่าวยังไม่สิ้นสุด และผลของการฟ้องร้องยังไม่สามารถทราบได้ บริษัทจึงมิได้ตั้งค่าเผื่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น จากการถูกฟ้องร้อง แม้ว่าบริษัทมีความเชื่อว่าผลของคดีจะเป็นไปในเชิงบวก แต่บริษัทก็ไม่ได้รับรู้สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้นจาก การฟ้องร้องดังกล่าว

32. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน

ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 คณะกรรมการมีมติอนุมัติในเรื่องดังต่อไปนี้ 1) จ่ายปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานของปี 2555 จากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ทั้งจ�ำนวน ในรูปเงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.72 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 244.76 ล้านบาท ทั้งนี้ได้มีการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2555 ในอัตราหุ้นละ 0.30 บาท ดังนั้นส่วนที่คงเหลือในอัตราหุ้นละ 0.42 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 142.78 ล้านบาท เงินปันผล ดังกล่าวมีก�ำหนดจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นในเดือนพฤษภาคม 2556 และจ่ายปันผลเป็นหุ้นสามัญให้แก่ผู้ถือหุ้น ในอัตรา 4 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท รวมมูลค่าทั้งสิ้นไม่เกิน 84.99 ล้านบาท 2) มีมติให้ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 341,723,287 บาท เป็น 339,958,087 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจ�ำนวน 1,765,200 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 1,765,200 บาท เพื่อตัดหุ้นจดทะเบียนที่ยังมิได้น�ำออกจ�ำหน่ายหรือจ�ำหน่าย ไม่ได้ก่อนการเพิ่มทุนตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 3) มีมติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 339,958,087 บาท เป็น 426,712,809 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจ�ำนวน 86,754,722 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 86,754,722 บาท เพื่อการจ่ายหุ้นปันผลและโครงการเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุนให้แก่พนักงานของกลุ่มบริษัท 33. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้ใช้

บริษัทและบริษัทย่อยยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยัง ไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ก�ำหนดให้ถอื ปฏิบัตกิ บั งบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ 2556 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (ปรับปรุง 2552) ต่างประเทศ 2556 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานปฏิบัติการ 2556 ผูบ้ ริหารคาดว่าจะน�ำมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีมาใช้และถือปฏิบตั โิ ดยผูบ้ ริหารพิจารณา ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังกล่าว ต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งมีผลกระทบที่มีสาระส�ำคัญต่อ งบการเงินในงวดที่ถือปฏิบัติ มาตรฐานการบัญชี ดังกล่าวมีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 - ภาษีเงินได้ การเปลีย่ นแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ระบุให้กจิ การต้องบันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบการเงิน สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคือจ�ำนวนภาษีเงินได้ที่กิจการต้องจ่าย หรือได้รับในอนาคตตามล�ำดับ ซึ่งเกิดจากผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงในงบแสดง ฐานะทางการเงินกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินนั้น และขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ ปัจจุบันบริษัทและบริษัทย่อยไม่ได้ บันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีในงบการเงิน


120

somboon advance technology public company limited

บริษัทและบริษัทย่อยจะถือปฏิบัติมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจะปรับปรุงย้อนหลังในงบการเงิน และปรากฎในงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผู้บริหารประมาณผลกระทบต่องบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้ (ล้านบาท) งบการเงินรวม 2555

งบแสดงฐานะทางการเงิน ประมาณการเปลี่ยนแปลงจากการปรับงบการเงิน ย้อนหลังเนื่องมาจากการน�ำมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 - ภาษีเงินได้มาถือปฏิบัติ: สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ส่วนเกินทุนจากการตีราคาลดลง ก�ำไรสะสมเพิ่มขึ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้น (ลดลง)

68,764 (87,634) 18,870 (68,764)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

72,028 (88,836) 16,808) (72,028)

2554

105 (2,977) 3,082 105

102 (3,093) 3,195 102

ยังไม่สามารถก�ำหนดผลกระทบต่องบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จส�ำหรับปี 2556 และในงวดต่อมาภายหลัง 34. การจัดประเภทรายการใหม่ รายการในงบการเงินของปี 2554 บางรายการได้จัดประเภทใหม่ให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินของปี 2555 ดังนี้

(พันบาท) 2554 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัด จัดประเภท หลังจัด ก่อนจัด จัดประเภท หลังจัด ประเภทใหม่ ใหม่ ประเภทใหม่ ประเภทใหม่ ใหม่ ประเภทใหม่

งบแสดงฐานะการเงิน อะไหล่เครื่องจักร-หมุนเวียน อะไหล่เครื่องจักร-ไม่หมุน เวียน

120,301

59,992 (59,992) -

59,992 60,309

50,453

การจัดประเภทรายการใหม่นี้ เนื่องจากผู้บริหารเห็นว่ามีความเหมาะสมกับธุรกิจของกลุ่มกิจการมากกว่า

25,874 (25,874) -

25,874 24,579


บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 129 หมู่ 2 ถนนบางนา-ตราด กม. 15 ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทร.0 2728 8500 แฟกซ์. 0 2728 8513 www.satpcl.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.