SIS: Annual Report 2013 TH

Page 1

1 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สารบัญ วิสยั ทัศน์และพันธกิจ................................................................................................................................................. 4 ข้ อมูลการเงินโดยสรุป ............................................................................................................................................... 5 สารจากคณะกรรมการ .............................................................................................................................................. 7 ข้ อมูลทัว่ ไปของบริ ษัท ............................................................................................................................................... 8 โครงสร้ างองค์กร ..................................................................................................................................................... 13 คณะกรรมการบริษัท ............................................................................................................................................... 14 คณะผู้บริหาร.......................................................................................................................................................... 22 การเปลี่ยนแปลงของการถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร ......................................................................................... 26 บริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ อง .............................................................................................................................. 27 ภาวะอุตสาหกรรม .................................................................................................................................................. 28 สถานภาพและศักยภาพในการแข่งขัน ...................................................................................................................... 30 การดําเนินการและผลงานที่สําคัญในปี 2556 ........................................................................................................... 32 โครงสร้ างรายได้ บริษัท ............................................................................................................................................ 34 คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ .............................................................................................................. 37 รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง .................................................................................................................. 40 ปั จจัยความเสี่ยง ..................................................................................................................................................... 41 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ..................................................................................................................................................... 44 รายงานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ...................................................................................................... 45 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ........................................................................................................................... 46 บุคลากร ................................................................................................................................................................. 48 รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ................................................................................................... 50 รายงานการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี................................................................................................. 51 รายงานระหว่างกัน.................................................................................................................................................. 67 ความรับผิดชอบต่อสังคม ........................................................................................................................................ 68 รายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ........................................................................................ 74 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ............................................................................. 78 รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต .................................................................................................................. 79 งบแสดงฐานะการเงิน.............................................................................................................................................. 81 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ .......................................................................................................................................... 84 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น ............................................................................................................ 85 งบกระแสเงินสด ..................................................................................................................................................... 87 หมายเหตุประกอบงบการเงิน................................................................................................................................... 90 1 ข้ อมูลทัว่ ไป ...........................................................................................................................................................91 2

เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน .....................................................................................................................................91

3

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี .........................................................................................................................93

4

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ ......................................................................................................................................95

5

บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ............................................................................................................................105

6

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด .......................................................................................................................111

7

ลูกหนี ้การค้ า .......................................................................................................................................................111

8

ลูกหนี ้อื่น .............................................................................................................................................................113

9

สินค้ าคงเหลือ ......................................................................................................................................................114

10 เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย .........................................................................................................................................114 2 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


11 เงินลงทุนระยะยาวอื่น ..........................................................................................................................................116 12 ลูกหนี ้การค้ าระยะยาว .........................................................................................................................................116 13 อุปกรณ์ ...............................................................................................................................................................117 14 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ..............................................................................................................................................121 15 ภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี ..........................................................................................................................................122 16 หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ย ........................................................................................................................................126 17 เจ้ าหนี ้การค้ า.......................................................................................................................................................128 18 เจ้ าหนี ้อื่น ............................................................................................................................................................129 19 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน .........................................................................................................................129 20 ทุนเรื อนหุ้น ..........................................................................................................................................................131 21 สํารอง .................................................................................................................................................................132 22 ส่วนงานดําเนินการ ..............................................................................................................................................133 23 รายได้ อื่น ............................................................................................................................................................137 24 ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน...............................................................................................................137 25 ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ .........................................................................................................................................138 26 ภาษี เงินได้ ...........................................................................................................................................................139 27 กําไร(ขาดทุน) ต่อหุ้น ...........................................................................................................................................140 28 เงินปั นผล ............................................................................................................................................................141 29 เครื่ องมือทางการเงิน ............................................................................................................................................142 30 ภาระผูกพันที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน .............................................................................................145 31 หนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้น ..............................................................................................................................................147 32 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ...........................................................................................................147 33 มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยที่ยงั ไม่ได้ ใช้ .................................................................................................147

3 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่SiS…. ….. เราเป็ นผู้นําธุรกิจไอทีในประเทศไทย พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง ดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและเป็ นธรรม ..... ส่งเสริ มการใช้ เทคโนโลยี มีสนิ ค้ าคุณภาพสูงหลากหลาย ทําให้ คนไทยมีความสามารถมากขึ ้น ผู้ประกอบการไทย และ ประเทศไทยมีประสิทธิภาพขึ ้น ..... เติบโตอย่างมัน่ คง ให้ ผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวต่อผู้ถือหุ้น ..... มีพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถสูง ให้ คําแนะนําที่ดีกบั ลูกค้ า ..... ประสบผลสําเร็จพร้ อมกับลูกค้ าซัพพลายเออร์ และพนักงาน

4 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ข้ อมูลการเงินโดยสรุ ป รายได้ รวม

กําไรสุทธิ

บริ ษัทฯ มีรายได้ รวม 18,345 ล้ านบาท ลดลงจากปี ที่ผ่านมา 3,746 ล้ านบาท หรื อลดลง 17% ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นการลดลง ของยอดขายสมาร์ ทโฟนจากผู้ผลิต 3 รายที่มียอดขายรวม ลดลง 4,895 ล้ านบาทเทียบกับปี ที่ผ่านมาเนื่องจากบริ ษัทฯ ลดการสัง่ ซื ้อและจําหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิตทัง้ 3 รายเนื่องจาก สินค้ าไม่ได้ รับความนิยม

บริ ษัทฯ มีผลกําไรสุทธิ 190 ล้ านบาท เท่ากับอัตราตอบแทน ผู้ถือหุ้น (ROE) ที่ 17.5% ซึ่งเป็ นผลการดําเนินธุรกิจที่ดีขึ ้น หลังจากแก้ ปัญหาความเสียหายและการขาดทุนจากธุรกิจ สมาร์ ทโฟนจากผู้ผลิตบางรายในปี 2555

ล้ านบาท 25,000

400 300

22,713 22,091

20,000

ล้ านบาท 295

200 18,345

190

144

100

16,584 15,000

242

-

13,950

(100)

2552

2553

2554

2555

2556

(200)

10,000

(300) (400)

5,000

(500) -

(600) 2552

2553

2554

2555

(549)

2556

อัตราผลตอบแทนต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินปั นผล อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 17.5% โดยอยู่ ในลําดับที่ 82 ของบริ ษัทฯ ที่มี ROE สูงสุดใน SET (ข้ อมูล จาก SETSMART) ในขณะที่อตั ราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือ หุ้นของทังตลาดฯ ้ อยูท่ ี่ 14.4% ซึง่ ถือว่าอัตราผลตอบแทนของ บริษัทฯ สูงกว่าอัตราผลตอบแทนของตลาดโดยรวม

คณะกรรมการมีมติให้ เสนอต่อประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิ จ่ายเงินปั นผล 0.20 บาทต่อหุ้น คิดเป็ นเงินปั นผลรวมทังสิ ้ ้น 70 ล้ านบาท หรื อเท่ากับจ่ายเงินปั นผลในอัตราร้ อยละ 36.8 ของกําไรสุทธิและเท่ากับอัตราเงินปั นผลตอบแทน 4.58% เมื่อใช้ ราคาปิ ดวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ซึง่ เป็ นวันก่อนแจ้ ง มติจ่ายเงินปั นผลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

30.0% 26.4% 26.3%

บาท/หุ้น

25.0%

0.60

20.0%

17.5%

15.0%

0.50

0.50 0.40

0.40

11.4% 0.30

10.0%

0.25 0.20

0.20

5.0%

0.10

N/A

0.0% 2552

2553

2554

2555

2556

2552

5 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

2553

2554

2555

2556


สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หน่วย : ล้ านบาท 2552

2553

2554

2555

2556

ผลการดําเนินงาน รายได้ รวม อัตราเติ บโตของรายได้ กํ าไรก่ อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ อัตราเติ บโตของกํ าไรก่ อนดอกเบีย้ และภาษี กํ าไรสุทธิ อัตราเติ บโตของกํ าไรสุทธิ

ล้ านบาท) 13,949.5 16,584.4 22,712.5 22,091.3 18,345.1 15.4% 18.9% 37.0% -2.7% -17.0% ล้ านบาท) 364.8 461.3 330.2 (561.9) 329.4 8.2% 26.5% -28.4% ล้ านบาท) 241.7 295.3 143.5 (549.0) 190.2 17.0% 22.2% -51.4%

ฐานะการเงิน สินทรั พย์รวม (Total Assets) หนี ้สินรวม (Total Debt) ส่วนของผู้ถือหุ้น (Equity)

ล้ านบาท) ล้ านบาท) ล้ านบาท)

อัตราส่ วนทางการเงิน อัตรากํ าไรขั ้นต้ น (Gross Profit Margin) อัตรากํ าไรสุทธิ (Net Profit Margin) อัตราผลตอบแทนจากสินทรั พย์ (Return On Assets) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return On Equity) อัตราส่วนทุนเหมุนเวียน (Current Ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ ว (Quick Ratio) อัตราส่วนหนี ้สินรวมต่อส่วนผู้ถือหุ้น (D/E) อัตราส่วนหนี ้สินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนผู้ถือหุ้น (D/E) ข้ อมูลต่ อหุ้น กํ าไรสุทธิต่อหุ้น (Earning Per Share) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (Book Value Per Share) เงินปั นผลต่อหุ้น (Dividend Per Share)

2,981.9 1,984.0 999.3

3,473.2 2,231.1 1,242.1

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า)

5.40% 1.73% 9.43% 26.4% 1.45 0.95 1.99 0.91

5.83% 1.78% 9.15% 26.3% 1.50 0.92 1.80 0.79

(บาท) (บาท) (บาท)

1.19 4.92 0.40

1.44 5.96 0.50

6,018.8 4,739.2 1,279.6

4,861.0 4,057.2 803.8

5,042.7 3,673.3 1,369.4

4.66% 3.03% 0.63% -2.49% 3.02% -10.00% 11.4% -50.3% 1.22 1.08 0.43 0.66 3.70 5.05 1.75 3.25

5.72% 1.04% 3.84% 17.5% 1.26 0.65 2.68 1.88

0.62 6.06 0.25

-2.36 3.44 -

หมายเหตุ 

กําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิประจําปี ด้วยจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ วในระหว่างปี ตามวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนัก  คณะกรรมการได้ มีมติให้ เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมตั ิจ่ายเงินปั นผล 0.20 บาทต่อหุ้น สําหรับผลประกอบการของปี 2556 นี ้ ซึง่ จะขอ อนุมตั ิการจ่ายในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอีกครัง้

6 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

0.64 3.91 0.20


สารจากคณะกรรมการ เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น เศรษฐกิจไทยในปี 2556 มีการเริ่มต้ นด้ วยการคาดการณ์จากหน่วยงานต่างๆ ว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวที่ระดับ 5-6% ต่อเนื่องจากการขยายตัวที่สงู ถึง 6.5% ในปี 2555 และการส่งออกจะเติบโตกว่า 10% อย่างไรก็ตาม จากภาวะเศรษฐกิจโลกที่มี ความแปรปรวนอย่างมาก ทังความผั ้ นผวนของเศรษฐกิจในสหรัฐฯ การไม่ฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจยุโรป และความผันผวนของตลาด เงินดอลล่าร์ สหรัฐที่ไหลเข้ าสูต่ ลาดเอเชียจนทําให้ เงินบาทแข็งค่าขึ ้นอย่างฉับพลัน ซึง่ ปิ ดท้ ายปี ด้ วยการไหลออกเมื่อมีแนวโน้ มว่า เศรษฐกิจในสหรัฐฯ จะดีขึ ้น จนทําให้ เงินบาทอ่อนตัวมากในช่วงสิ ้นปี เมื่อรวมกับกําลังซื ้อของประชาชนที่ลดลงอย่างรวดเร็ว ทังจากการใช้ ้ จ่ายเพื่อซื ้อรถยนต์ใหม่ภายใต้ โครงการรถยนต์คนั แรกของรัฐบาล โครงการบ้ านหลังแรก ที่ทําให้ หนี ้สินของประชากรไทยเพิ่มขึ ้นสูงสุดที่ 79.5% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และโครงการลงทุนของรัฐบาลที่มีความล่าช้ า ส่งผลต่อเนื่องถึงการลงทุนของภาคเอกชนที่ชะลอตัวตาม และปิ ดท้ ายด้ วยความ ขัดแย้ งทางการเมือง และการประท้ วงอย่างรุนแรงในหมูป่ ระชาชนทัว่ ไป จากการเสนอกฎหมายนิรโทษกรรมและความพยายาม แก้ ไขรัฐธรรมนูญจนทําให้ มีการประกาศยุบสภา และจบปี 2556 ด้ วยการส่งออกของไทยที่หดตัวลง 0.31%และการขยายตัวของ เศรษฐกิจที่ 2.9% ตํ่ากว่าที่คาดการณ์ไว้ มาก ในแง่อตุ สาหกรรมไอที ปี 2556 ก็เป็ นอีกปี ที่ความต้ องการคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) โดยรวมลดลงโดย International Data Corporation (IDC) บริษัทวิจยั ชันนํ ้ า ได้ แจ้ งผลการสํารวจจํานวน PC ที่สง่ มอบทัว่ โลกในปี 2556 ว่ามีการหดตัวลงถึง 10% และเป็ นการหดตัวติดต่อกันเป็ นปี ที่สองจากที่เคยเติบโตติดต่อกันมาทุกปี ในขณะที่ฝ่ายวิจยั นโยบาย สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ รายงานผลการสํารวจมูลค่าตลาด PC ปี 2556 ว่าลดลง 8.8% เมื่อเทียบกับปี ที่ ผ่านมา ซึง่ PC ถือเป็ นหนึง่ ในสินค้ าหลักของอุตสาหกรรมไอที การลดลงของ PC จึงส่งผลกระทบที่สําคัญต่ออุตสาหกรรมไอที โดยเฉพาะในธุรกิจค้ าปลีกที่เน้ นกลุม่ เป้าหมายการใช้ PC ในภาคครัวเรื อนที่ยอดขายลดลงอย่างชัดเจน แม้ จะมีผลกระทบทังจากเศรษฐกิ ้ จในประเทศและอุตสาหกรรมไอทีที่หดตัวลง ซึง่ ส่งผลให้ รายได้ รวมของบริ ษัทฯ ในปี 2556 ลดลง 17% มาอยูท่ ี่ระดับ 18,345 ล้ านบาท บริษัทฯ ยังคงมีกําไรสุทธิ 190 ล้ านบาท เท่ากับอัตราตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) ที่ 17.5% ปี 2557 จะเป็ นปี ที่ยงุ่ ยากอีกปี หนึง่ เพราะมีปัญหาความความขัดแย้ งทางการเมืองอย่างรุนแรงชนิดที่ยงั ไม่เห็นทางออก ตังแต่ ้ ต้นปี และเริ่มส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว และการลงทุน ในขณะที่กําลังซื ้อของประชาชนก็ยงั อยูใ่ นระดับตํ่า อย่างต่อเนื่อง และหลายหน่วยงานเริ่ มประเมินภาวะเศรษฐกิจว่าจะมีอตั ราการขยายตัวเพียง 2.8% ซึง่ บริษัทฯ ต้ องติดตาม สถานการณ์อย่างใกล้ ชิดและปรับตัวตามสถานการณ์อย่างรวดเร็ว ในนามของคณะกรรมการ ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทุกท่าน พนักงาน คูค่ ้ า เจ้ าหนี ้ และผู้ผลิตสินค้ าทุกรายที่ให้ ความไว้ วางใจ บริษัทฯ สนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทฯ ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริ มการใช้ เทคโนโลยีที่จะทําให้ คนไทย ผู้ประกอบการไทย และประเทศไทย มีประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันสูงขึ ้น

(นายสุวิทย์ จินดาสงวน) ประธานกรรมการ 5 มีนาคม 2557 7 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

(นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ) กรรมการผู้จดั การ 5 มีนาคม 2557


ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ลักษณะธุรกิจ : จําหน่ายสินค้ าไอทีให้ กบั ผู้ประกอบการ โดยบริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ าเทคโนโลยีหลากหลายประเภทให้ กบั ผู้ผลิตสินค้ าชัน้ นําของโลกกว่า 70 รายและจําหน่ายสินค้ าให้ กบั ผู้ประกอบการหลายด้ านในประเทศไทยกว่า 5,000 ราย โดยมีเป้าหมายด้ าน ้ ามาจําหน่ายอย่างหลากหลายและการมีฐาน ธุรกิจที่จะเป็ นผู้นําในการนําเทคโนโลยีเข้ ามาในประเทศไทย จากการนําสินค้ าชันนํ ลูกค้ าที่กว้ างขวาง โดยจะมีการขยายทังสิ ้ นค้ าและฐานลูกค้ าอย่างต่อเนื่อง

บางส่ วนของสินค้ าที่บริษัทฯ จัดจําหน่ าย Axis, Asus, Apple, Acer, Aver, APC, Apacer, Avermedia, Alcatel, AMD, Anymode, Barkan, Brocade, BlueTrek, BlackBerry, Brother, Bosch, Case-Mate, Cyber Rack, Cyber Power, D-Link, Dell, Double Take, Devialet, EMC, Emerson, Ergotron, Fortinet, Fujitsu, Firetide, Golla, GoldenEar Technology, Hewlett Packard, Huawei, iGO, IBM, Infocus, Imation, Jabra, Juniper, Lenovo, LinkSys, LG, Microsoft, MSI, Nikon, Norton, Nutanix, OKI,Olympus, Philips, PCTools, Panasonic, QNAP, Ricoh, Radware, Samsung, Sandisk, Symantec, Sanyo, Strontium, Trend Micro, Toshiba, Targus, Veritas, VMware, Veeam, Western Digital, Xerox, Zyxel, ZTE

เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต์ อีเมล

นักลงทุนสัมพันธ์

: บมจ. 0107547000052 : www.sisthai.com : ส่วนกลาง sis@sisthai.com เลขานุการบริษัท companysecretary@sisthai.com ร้ องเรี ยน/แนะนํา complain@sisthai.com : เว็บไซต์: www.sisthai.com/investor_th.html อีเมล:investorinfo@sisthai.com

8 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บุคคลอ้ างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรั พย์

ผู้สอบบัญชี

กรรมการอิสระที่ทาํ หน้ าที่ดูแล ผู้ถือหุ้นรายย่ อย

: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : (662) 229 -2800 โทรสาร : (662) 359-1259 Call Center : (662) 229-2888 เว็บไซต์: http://www.tsd.co.th E-mail: contact.tsd@set.or.th : นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4195 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ชัน้ 50-51 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ , 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 677-2000 โทรสาร (662) 677-2222 หมายเหตุ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (เดิมชื่อ บริ ษัท เคพีเอ็มจี ออดิท (ประเทศไทย) จํากัด) เป็ นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ โดยเป็ นผู้ทําการตรวจสอบและ แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทฯ ซึง่ บริ ษัท เคพีเอ็มจีฯ ได้ เป็ นผู้สอบบัญชี ้ ปีแรกที่ดําเนินการ (2542) และบริษัทฯ ผ่านการ ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องตังแต่ ตรวจสอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไขทุกปี : อีเมล : independentdirector@sisthai.com

9 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ที่ตงั ้ สํานักงานใหญ่ สํานักงานใหญ่ มีพื ้นที่ ทังสิ ้ ้น 3,300 ตารางเมตร ตังอยู ้ ท่ ี่ เลขที่ 9 อาคารภคินท์ ชันที ้ ่ 9 ห้ องเลขที่ 901 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 (ติดกับฟอร์ จนู ทาวน์) โทร (02) 640-3000 โทรสาร (02) 640-3780

10 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


นอกจากสํานักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ แล้ ว บริษัทฯ มีสาขาต่างจังหวัด ที่เปิ ดเป็ นสํานักงานขายและศูนย์บริ การดังนี ้ สาขาเชียงใหม่ 244 ถนนวัวลาย ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์ (053) 201901-3 สาขาภูเก็ต 185/43 ถนนพังงา ตําบลตลาดใหญ่ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ (076) 344106-8 สาขาขอนแก่ น 114/65-66 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ (043) 245511, (043) 245588, (043) 245524 สาขาพัทยา 151/15 ถนนสุขมุ วิท-พัทยา ตําบลหนองปรื อ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท์ (038) 423028 สาขาหาดใหญ่ 62 ถนนโชติวิทยะกุล 3 ตําบลหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ (074) 559082-4 สาขาอุบลราชธานี 148 ถนนพรหมเทพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ (045) 244522 ศูนย์ บริการกรุ งเทพฯ ไอทีมอลล์ ห้ องเลขที่ 26 ชัน้ 4 ศูนย์การค้ าฟอร์ จนู ทาวน์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. (02) 640-3000 ต่อ 4004

11 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คลังสินค้ าและศูนย์ บริการในกรุ งเทพฯ พื ้นที่ 10,000 ตารางเมตรโดยใช้ Warehouse Management ของ SAP เป็ นระบบจัดการคลังสินค้ าและเพื่อลดความผิดพลาดใน การจัดส่ง บริษัทฯ มีการ scan บาร์ โค้ ดของรหัสสินค้ าและ serial number ของสินค้ าก่อนส่งออกพร้ อมทังติ ้ ดตังกล้ ้ อง IP Camera ทัว่ ทังบริ ้ เวณ เพื่อรักษาความปลอดภัยและเพื่อให้ สามารถตรวจสอบย้ อนหลังเมื่อเกิดความผิดพลาดได้

12 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


โครงสร้ างองค์ กร บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริ ษัท 1) นายสุวิทย์ จินดาสงวน 5) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ 2) นายสมชาย ศิริวิชยกุล 6) นายลิม ฮวีไฮ 3) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ 7) นายลิม เคียฮอง 4) นายโรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 8) นายลิม เคียเม้ ง

นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ

Value Added Commercial Business Unit

นายไกวัลย์ บุญเสรฐ

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน 1) นายสมชาย ศิริวิชยกุล 2) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ

3) นายลิม ฮวีไฮ 4) นายโรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

3) นายสมชาย ศิริวิชยกุล

กรรมการผู้จัดการ

นายสมบัติ ปั งศรี นนท์

4) นายสมชาย ศิริวิชยกุล 5) นายโรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

คณะกรรมการตรวจสอบ 1) นายโรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 2) นายสุวิทย์ จินดาสงวน

เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการ นายสมบัติ ปั งศรี นนท์

กรรมการบริ หาร

คณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล 1) นายสุวิทย์ จินดาสงวน 2) นายลิม ฮวีไฮ 3) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ

ฝ่ ายบัญชีและการเงิน นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา ฝ่ ายปฏิบัติการ นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ

Consumer Business Unit

นายธนา ธนะแพสย์ Commercial Business Unit

นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ Phone Business Unit

นายจิรวัฒน์ ศรี ธระชิยานนท์ Movie & Music Business Unit

นายพนิต ศรี เกริ กกริ ช ฝ่ ายบริการ นายพรศักดิ์ ปั งศรี นนท์

13 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 2) นายโรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 1) นายลิม ฮวีไฮ 3) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์

ฝ่ ายตรวจสอบภายใน นางสาวปรี ยาภรณ์ นิยมไชยวิสาล


คณะกรรมการบริษัท

เรียงจากซ้ ายไปขวา 1) นายสมชาย ศิริวิชยกุล (กรรมการอิสระ – ประธานคณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทน) •2) นายลิม เคีย เม้ ง (กรรมการ) •3) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการผู้จดั การ) •4) นายสุวิทย์ จินดาสงวน (กรรมการอิสระ – ประธานกรรมการ – ประธานคณะกรรมการกํากับดูแล บรรษั ท ภิ บ าล) •5) นายสมบัติ ปั ง ศรี น นท์ (กรรมการบริ ห าร) •6) นายลิ ม ฮวี ไฮ (ประธานคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง) •7) นายลิม เคีย ฮอง (กรรมการ) •8) ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ (กรรมการอิสระ – ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ)

14 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายสุวิทย์ จินดาสงวน

ตําแหน่ ง

ประธานกรรมการ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการ อิสระ • ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิ บาล 60 ปี ไทย ปริ ญญาโท วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต(เศรษฐศาสตร์ เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  Director Certification Program  Directors Accreditation Program  Audit Committee Program  Improving the Quality of Financial Reporting  Role of the Compensation Committee  Role of the Chairman Program  Monitoring the Quality of Financial Reporting  Monitoring the System of Internal Control and Risk Management  Monitoring the Internal Audit Function  Monitoring Fraud Risk Management  Successful Formulation & Execution of Strategy  Role of the Nomination and Governance Committee  Risk Management Committee Program  Audit Committee: Experience, Problem and Best PracticePractice  CG of Thai Listed Companies  IT Governance : A Strategic Path Forward  Directors Forum 2/2012 "Risk Oversight VS Risk Management” 323,003 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.09 ของหุ้นทังหมด ้ 9 กุมภาพันธ์ 2547 – 10 ปี

อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรมจาก IOD

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 56) วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระ ประวัตกิ ารทํางานและการดํารงตําแหน่ ง ประวัตกิ ารทํางาน 2556 - ปั จจุบนั

การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ น บริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ น บริษัทจดทะเบียน

ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2550 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 1) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ยูนิเวนเจอร์ จํากัด (มหาชน) 2) กรรมการบริ หารความเสี่ยง บริ ษัท อสมท จํากัด (มหาชน) 2556 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท ฏีมแอ็ด คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด 2555 - ปั จจุบนั กรรมการพิจารณาผู้ทําแผน และผู้บริ หารแผนฟื น้ ฟูกิจการ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท ไวด์ ไว แม็กซ์ จํากัด 2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท อินเตอร์ เน็ทโซลูชนั่ แอนด์ เซอร์ วิส โพรวายเดอร์ จํากัด

15 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

ตําแหน่ ง

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรร หาและกําหนดค่าตอบแทน • กรรมการบริ หาร ความเสี่ยง • กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล • กรรมการอิสระ

อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรมจาก IOD

52 ปี ไทย

Doctor of Philosophy in Marketing & Management, Charles Sturt University  Director Certification Program  Directors Accreditation Program  Audit Committee Program  Finance for Non-finance Director  Improving the Quality of Financial Reporting  Role of the Compensation Committee  Chartered Director Class  DCP Refresher  Successful Formulation & Execution of Strategy  Monitoring the System of Internal Control and Risk Management  Monitoring the Internal Audit Function  Monitoring Fraud Risk Management  How to Develop a Risk Management Plan  Improving Board Decisions  Audit Committee: Experience, Problem and Best Practice  Fellow Member of Thai Institute of Directors Association  Certificate of Diploma  CEO Relations : Balancing Trust and Oversight  What the Board Should Expect from the Company Secretary  Monitoring the Quality of Financial Reporting  Will the Global Economy Stumble or Slow down? And what will that mean for Thailand? 39,430 หุ้นคิดเป็ นร้ อยละ 0.01 ของหุ้นทังหมด ้ 9 กุมภาพันธ์ 2547 – 10 ปี

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 56) วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระ ประวัตกิ ารทํางานและการดํารงตําแหน่ ง ประวัตกิ ารทํางาน 2556 - ปั จจุบนั

การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ น บริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน

กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2552 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2552 - ปั จจุบนั บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2549 - 2551 2551 - 2552 ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน

2556 - ปั จจุบนั 2555 - ปั จจุบนั 2553 - ปั จจุบนั 2553 - ปั จจุบนั 2547 - ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ออสสิริส ฟิ วเจอร์ จํากัด รองคณบดี วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย กรรมการอิสระ บริ ษัท ออสสิริส ฟิ วเจอร์ จํากัด กรรมการ บริ ษัท ทิปท็อป โลจิสติกส์ จํากัด อาจารย์ประจํา คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย

16 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายสมชาย ศิริวชิ ยกุล

ตําแหน่ ง

ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน • กรรมการ ตรวจสอบ • กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล • กรรมการอิสระ 57 ปี ไทย

อายุ สัญชาติ การศึกษา

Master of Engineering (Civil Engineering), Tokyo Institute of Technology, Japan Accredited Gemologist, Asian Institute of Gemological Sciences (AIGS)

การฝึ กอบรมจาก IOD       

Director Certification Program Directors Accreditation Program Audit Committee Program DCP Refresher Role of the Compensation Committee Successful Formulation & Execution of Strategy Monitoring the System of Internal Control and Risk Management  Monitoring the Internal Audit Function  Monitoring the Quality of Financial Reporting  Monitoring Fraud Risk Management  Audit Committee: Experience, Problem and Best Practice  IT Governance : A Strategic Path Forwardc  Will the Global Economy Stumble or Slow down? And what will that mean for Thailand?  Evolving Executive Compensation with Changing Times  ควรกําหนดบทบาทและอํานาจหน้ าที่ของกรรมการอิสระอย่างไร เพื่อให้ สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ อย่างมีประสิทธิผล สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 56) ไม่มีการถือหุ้นในบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระ 9 กุมภาพันธ์ 2547 – 10 ปี ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ ง ประวัตกิ ารทํางาน 2556 - ปั จจุบนั กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2552 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2549 - 2552 กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 - 2552 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 – 2550 ประธานคณะกรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน ที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น 2555 - ปั จจุบนั General Manager, FCC (Thailand) Co., Ltd. ที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน 2547 - ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท ไซเบอร์ อินเทรนด์ จํากัด 2546 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การบริ ษัท โปรฟิ ต เซ็นเตอร์ กรุ๊ป จํากัด 2533 - ปั จจุบนั หุ้นส่วนผู้จดั การห้ างหุ้นส่วนจํากัด ศิริโชคพัฒนาการ

17 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายลิม ฮวี ไฮ

กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม • ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง • กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน • กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิ บาล 64 ปี อายุ สัญชาติ สิงคโปร์ การศึกษา ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ (เกียรตินิยมอันดับหนึง่ ), Nanyang University ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ The National University of Singapore การฝึ กอบรมจาก IOD  Director Accreditation Program (DAP)  Director Certification Program (DCP) ประเภทกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร สัดส่ วนการถือหุ้น  244,687 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.07 ของหุ้นทังหมด ้ (31 ธ.ค. 2556)  ถือหุ้นทางอ้ อม 165,616,595 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 47.3 โดยเป็ นกรรมการของSIS TECHNOLOGIES (THAILAND) PTE. LTD. วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรมการ 12 มิถนุ ายน 2543 - 13 ปี ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน 2556 - ปั จจุบนั กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2551 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2551 - ปั จจุบนั บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2549 - 2551 บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2547 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2543 - 2547 กรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด กรรมการและกรรมการผู้จดั การใหญ่ 2526 - ปั จจุบนั SiS Group of Companies ผู้จดั การ, Banque Nationale De Paris 2522 - 2525 เจ้ าหน้ าที่อาวุโส, Development Bank of Singapore 2519 - 2521 การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มีการดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด (เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทเอสไอเอสฯ ถือหุ้น 99.99%) กรรมการ บริ ษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทเอสไอ เอสฯ ถือหุ้น 99.99%) ตําแหน่ ง

18 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายลิม เคีย ฮอง

กรรมกการผู้มีอํานาจลงงนาม 57 ปี สิงคโปปร์ ปริ ญญาตรี ญ บริ หารธุรกิจ, University of Washingtonn, USA กรรมกการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร  2411,875 หุ้น คิดเป็ปนร้ อยละ 0.07 ของหุ ข ้ นทังหมด ้  ถือหุ ห้ นทางอ้ อม 1655,616,595 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 47.3 4 โดยเป็ นกรรรมการของ SISS TECHNOLOG GIES (THAILANND) PTE. LTD วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรรมการ 12 มิถนุ ายน 25443 – 13 ปี ประวัตกิ ารทํางาน า และ การรดํารงตําแหน่ ง ประวัตกิ ารทํางาน า 2547 - ปั จจุบนั ก กรรมการ บ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จํากักด (มหาชน) บริ 2543 - 2547 ก กรรมการ บ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จํากั บริ าด 2526 - ปั จจุบนั ป ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร S Group of Companies SiS การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบี ท ยน - ไม่มีการดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่ไม่ เป็ นบริริษัทจดทะเบียน กรรมการ บริ ษัท เอสสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด (เป็ นบริริ ษัทที่บริ ษัทเอสไไอเอสฯ ถือหุ้น 99.99%) กรรมการ บริ ษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ปประเทศไทย) จํากัด (เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทเอสไอ เอสฯ ถือหุห้​้ น 99.99%)

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา ประเภทกรรมมการ สัดส่ วนการถือหุ อ ้น (31 ธ.ค. 56)

ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายลิม เคีย เม้ ง

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา

กรรมกการผู้มีอํานาจลงงนาม 60 ปี สิงคโปปร์ Bachelor of Commeerce, Nanyang University, Sinngapore Masteer of International Managemeent Amerrican Graduatee School of Inteernational Manaagement, USAA กรรมกการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร

ประเภทกรรมมการ ท อม 165,616,595 หุ้น คิดเป็ นร้ น อยละ 47.3 โดยยเป็ นกรรมการขออง SiS สัดส่ วนการถือหุ อ ้ น ถือหุ้นทางอ้ Technnologies (Thailannd) Pte. Ltd. (31 ธ.ค. 56) 2 เมษายน 25556 - 1 ปี 26 วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรรมการ า และ การรดํารงตําแหน่ ง ประวัตกิ ารทํางาน ประวัตกิ ารทํางาน า 2556 - ปั จจุบนั ก กรรมการ บ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จํากักด (มหาชน) บริ 2550 - ปั จจุบนั V Chairman,, SiS Group of Companies Vice 2529 - ปั จจุบนั E Executive Direcctor, SiS Groupp of Companies 2522 - 2529 B of Americca Bank แ งในกิจการรอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบี ท ยน - ไม่มีการดํารงตําแหน่ การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่ไม่ เป็ นบริริษัทจดทะเบียน - ไม่มี-

19 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายสมชัย สิทธิ ท ชัยศรีชาติติ

กรรรมการผู้จดั การ • กรรมการผู้มีมีอํานาจลงนาม • กรรมการสรรหหาและ กําหนดค่ า าตอบแททน • กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิ ท บาล อายุ 544 ปี ไททย สัญชาติ ปริริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขขาวิศวกรรมไฟฟ้า การศึกษา มหหาวิทยาลัยสงขลลานคริ นทร์ ปริริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลั ย ยธรรมศาสตตร์ การฝึ กอบรมจาก IOD  Director Certiffication Program   DirectorsAccrreditation Progrram  CEO Successsion and Effectiive Leadershipp Developmentt  IT Governancee : A Strategic Path Forward  Successful Foormulation & Exxecution the Sttrategy  What the Boarrd Should Do inn a Turnaroundd Situation  ภาวะเศรษฐกิจ 2552 : จําเป็ นหรื ห อไม่ต้อง Dowwnsize องค์กร  IOD Breakfastt Talk 1/2012 "A Asian Businesss Models in Transformation" กรรรมการที่เป็ นผู้บริ บ หาร ประเภทกรรมมการ สัดส่ วนการถือหุ อ ้น  9,457,961หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 2.7ของหุ 2 ้ นทังหม ้ ด โดยยังไม่รวมหุ้นของ  นางวรี พร สิทธิชัชยศรี ชาติ (คูส่ มรส) จํานวน 9,4221,780 หุ้น (31 ธ.ค. 56)  นายพิชญ์ สิทธิชัชยศรี ชาติ (บุตร) ร จํานวน12,5500,164 หุ้น  นางสาวพลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุ ( ตร) จํานวน 19,923,796 หุ้น วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรรมการ นุ 2541 - 155 ปี 17 มิถนายน า และ การรดํารงตําแหน่ งในกิ ใ จการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน ประวัตกิ ารทํางาน า 25556 - ปั จจุบนั กรรมกาารกํากับดูแลบรรรษัทภิบาล บริ ษัท เอสไอเอส เ ดิสทริริ บิวชัน่ (ประเทศศไทย) จํากัด (มหหาชน) 25547 - ปั จจุบนั กรรมกาารผู้จดั การ บริ ษัท เอสไอเอส เ ดิสทริริ บิวชัน่ (ประเทศศไทย) จํากัด (มหหาชน) 25541 - 2547 กรรมกาารผู้จดั การ บริ ษัท เอสไอเอส เ ดิสทริริ บิวชัน่ (ประเทศศไทย) จํากัด 25535 - 2541 กรรมกาารผู้จดั การ บริ ษัท เอ็ เ มแอนด์วีเทคโโนโลยี จํากัด 25525 - 2535 ผู้จดั การทัว่ ไป ช ปเทพนคร จํากัด บริ ษัท ชาร์ การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบี ท ยน -ไม่มี การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่ไม่ เป็ นบริริษัทจดทะเบียน กรรมกาารผู้จดั การ บริ ษัท เอสไอเอส เ เวนเจจอร์ จํากัด (เป็ นบบริ ษัทที่บริ ษัทเออสไอเอสฯ ถือ หุ้น 99.99%) กรรมกาารผู้จดั การ บริ ษัท คูคล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (เป็ นบริ ษทที ัท ่บริ ษัทเอส ไอเอสฯ ถือหุ้น 99.99% %) ตําแหน่ ง

20 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายสมบัติ ปั​ั งศรีนนท์

ตําแหน่ ง

กรรรมการบริ หาร • กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม า • กรรมการบริ ก หารรความ เสี่ยง • เลขานุการรบริ ษัท 577 ปี

อายุ

ไททย ปริริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขขาวิศวกรรมไฟฟ้า เทคโนโลยีพระจอม เกล้ าธนบุรี ย ยธรรมศาสตตร์ ปริริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลั การฝึ กอบรมจาก IOD  Director Certiffication Program  Directors Accreditation Proggram  Role of the Coompensation Committee C  Successful Foormulation and Execution of Strategy S ประเภทกรรมมการ กรรรมการที่เป็ นผู้บริ บ หาร สัดส่ วนการถือหุ อ ้น  21,080,010 หุ้น คิดเป็ นร้ อยล ละ 6.02 ของหุ้นทังหมด ้ โดยยยังไม่รวมหุ้นขออง  นายชานนท์ ปั งศรี (31 ธ.ค. 56) ง นนท์ (บุตร) จํจานวน 6,228,145 หุ้น  นายธนกร ปั งศรี​ี นนท์ (บุตร) จํานวน 7,065,4669 หุ้น วันที่และจํานวนปี ที่เป็ นกรรรมการ 17 มิถนุ ายน 25541 - 15 ปี ประวัตกิ ารทํางาน า และ การรดํารงตําแหน่ งในกิ ใ จการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน า 2552 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หารรความเสี่ยง บริ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จําากัด (มหาชน) 2547 - ปั จจุบนั กรรมการบริ หารร บริ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จําากัด (มหาชน) 2541 - 2547 กรรมการบริ หารร บริ ษัท เอสไอเอสส ดิสทริ บิวชัน่ (ปประเทศไทย) จําากัด 2540 - 2542 กรรมการบริ หารร บริ ษัท เอ็มแอนดด์วีเทคโนโลยี จํากั าด 2535 - 2540 กรรมการบริ หารร บริ ษัท ธนวรรธนน์อินฟอร์ เมชัน่ ซิสเต็ ส ม จํากัด การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบี ท ยน -ไม่มี การดํารงตําแหน่ แ งในกิจการรอื่นที่ไม่ เป็ นบริริษัทจดทะเบียน กรรมกาารบริ หาร บริ ษัท เอสไอเอส เ เวนเจจอร์ จํากัด (เป็ นบบริ ษัทที่บริ ษัทเออสไอเอสฯ ถือ หุ้น 99.99%) กรรมการบริ หาร บริ ษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (เป็ น บริษัษัทที่บริ ษัทเอส ไอเอสฯ ถือหุ้น 99.99% %) สัญชาติ การศึกษา

21 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


คณะผู้บริหาร

เรียงจากซ้ ายไปขวา 1) นายพนิต ศรี เกริ กกริ ช(ผู้จดั การทัว่ ไป Movie & Music Business Unit) •2) นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ (ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ) •3) นายไกวัลย์ บุญเสรฐ (ผู้จดั การทัว่ ไป Value Added Commercial Business Unit) •4) นายธนา ธนะแพสย์ (ผู้จดั การทัว่ ไป Consumer Business Unit) •5) นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา (ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน) •6) นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ (ผู้จดั การทัว่ ไป Commercial Business Unit)

22 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน 44 ปี ไทย ปริ ญญาโท การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  SiS-Chula Mini MBA : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute  โครงการอบรมเพือ่ รับประกาศนียบัตร CFO สภาวิชาชีพบัญชี  Risk Management Seminar & Workshop สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย  เตรี ยมพร้ อมรับเกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยะเ  ผลกระทบจากการใช้ มาตรฐานการบัญชี IFRS สําหรับบริ ษัทจด ทะเบียนกคราะห์หลักทรั  Q & A สําหรับการ Implement มาตรฐานบัญชีใหม่ : สภาวิชาชีพบัญชี 2,069,896 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.59 ของหุ้นทังหมด ้

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 56) ประวัตกิ ารทํางาน

2542 - ปั จจุบนั 2537 - 2542 2534 - 2536

ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)(ประเทศไทย) ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี บริ ษัท เอ็มแอนด์วีเทคโนโลยี จํากัด ผู้ตรวจสอบบัญชีอาวุโส บริ ษัท คูเปอร์ สแอนด์ไลน์แบรนด์ จํากัด

ชื่อ – ชื่อสกุล

นางวรีพร สิทธิชัยศรีชาติ

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ 54 ปี ไทย ปริ ญญาตรี วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์  ความรู้มาตรฐานสําหรับคณะกรรมการกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ : สมาคม บริ ษัทจัดการลงทุน/สมาคมกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ/สถาบันพัฒนาความรู้ ตลาดทุน  การบริ หารผลตอบแทนตามแนวคิดการบริ หารองค์กรสมัยใหม่ : บริ ษัท ไฮ โพเทรนนิ่งแอนด์คอนเซ้ าท์แทนซี่ จํากัด  การบริ หารทรัพยากรมนุษย์บนพื ้นฐานของ Competency : บริ ษัท วาโซ่ จํากัด  The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute  GEN Y Talent Management & Succession Planning : OMEGAWORLDCLASS Research Institute  การบริ การค่าตอบแทนสําหรับผู้แทนฝ่ ายขาย : MPI Management & Psychology Institute  Salary Structure Design : OMEGAWORLDCLASS Research Institute  9,421,780 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 2.7 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ โดยยังไม่รวมหุ้นของ  นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (คูส่ มรส) จํานวน 9,457,961 หุ้น  นายพิชญ์ สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร) จํานวน 12,550,164 หุ้น  นางสาวพลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร) จํานวน 19,923,796 หุ้น 2542 - ปั จจุบนั ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)( ผู้จดั การฝ่ ายข้ อมูลและสารสนเทศ บริ ษัท เอ็มแอนด์วี เทคโนโลยี จํากัด 2537 - 2542

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 56) ประวัตกิ ารทํางาน

23 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกกุล

น นายธนวั ฒน์ พริง้ วณิชย์

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม สัดส่ วนการถือหุ อ ้น (31 ธ.ค. 56) า ประวัตกิ ารทํางาน

ผู้จัจดการทัว่ ไป ฝ่ าย Commercial Business Unitt 477 ปี ไททย ปริริ ญญาโท (Com mmerce) Macquuarie Universityy, Sydney, Ausstralia  The Coachingg Clinic : Manaagement and Psychology P Insstitute 499,584 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.01 ของหุ ข ้ นทังหมด ้ 25549 - ปั จจุบนั

25546 - 2548 25545 - 2546 25543 - 2545

ผู้จดั กาารทัว่ ไป ฝ่ าย Coommercial Bussiness Unit บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริริ บิวชัน่ (ประเทศศไทย) ( จํากัด (มหาชน)( ผู้จดั กาารฝ่ ายขายและการตลาด บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิพิวเตอร์ ซิสเต็มส์​์ จํากัด Busineess Consultant Kenan Instituttion of ASIS ผู้จดั กาารฝ่ ายขาย บริ ษทั เดอะแวลลูซิสเต็ ส มส์ จํากัด

ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายพนิต ศรีเกริ เ กกริช

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จัจดการทัว่ ไป ฝ่ ายย Movie & Mussic Business Unit 466 ปี ไททย ปริริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลั ย ยอัสสัมชัญ  การพัฒนาทักษะหั ษ วหน้ างานยุคใหม่ ค : บริ ษัท ไฮฮโพ เทรนนิ่งแอนนด์คอน เซ้ าท์แทนซี่ จํากักด ไมม่มี 25547 - ปั จจุบนั ผู้จดั การทัว่ ไป Movie & Musicc Business Unit บริ ษัท เอสไอเออส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)(( 25545 - 2547 ผู้จดั การฝ่ ายการตลาด บริ ษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) ผู้จดั การผลิตภัณฑ์ 25542 - 2545 บริ ษัท ไพโอเนียร์ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย)) จํากัดทย) 25541 - 2542 ผู้จดั การผลิตภัณฑ์ บริ ษัท บีเอ็มจี เอนเตอร์ เทนเม้ นต์ น (ประเทศไทยย) จํากัดศไทย) จํากัด

สัดส่ วนการถือหุ อ ้น ประวัตกิ ารทํางาน า

24 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายธนา ธนะะแพสย์

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา

ผู้จัจดั การทัว่ ไป ฝ่ ายย Consumer Business B Unit 522 ปี ไททย ปริริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลั ย ยอัสสัมชัญ ปริริ ญญาโท การตลลาด มหาวิทยาลลัยธรรมศาสตร์  SiS-Chula Minni MBA : จุฬาลงงกรณ์มหาวิทยาลัย  The Coachingg Clinic : Managgement and Pssychology Insttitute ไมม่มี

การฝึ กอบรม สัดส่ วนการถือหุ อ ้น ประวัตกิ ารทํางาน า

25551 - ปั จจุบนั 25548 - 2551 25539 - 2548

ผู้จดั กาารทัว่ ไป Consuumer Business Unit,

บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริริ บิวชัน่ (ประเทศศไทย) ( จํากัด (มหาชน)( ผู้จดั การทัว่ ไป Thai Saamsung Electricc Company Consumer Sales Mannager Hewlett Packard (Thailand) Co., Ltd.

ชื่อ – ชื่อสกกุล

นายไกวัลย์ บุญเสรฐ

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา อ ้น สัดส่ วนการถือหุ ประวัตกิ ารทํางาน า

ผู้จัจดการทัว่ ไป ฝ่ าย Value Addedd Commercial Business Unit 488 ปี ไททย ปริริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลั ย ยหอการค้ าไทย ไ ไมม่มี 25551 - ปั จจุบนั ผู้จดั การทัว่ ไป ไ Value Addedd Commercial Business Unit บริ ษัท เอสไออเอส ดิสทริ บิวชันั่ (ประเทศไทย)) จํากัด (มหาชน)( 25546 - 2551 Vice President, Total Acceess Communiccation 25545 - 2546 Senior Salees Manager, Heewlett Packardd (Thailand) o., Ltd. 25540 - 2545 Major Accoount Manager, Compaq Computer (Thailandd)

25 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


การเปลี่ยนแปลงของการถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร ระหว่างปี 2556 กรรมการและผู้บริหารได้ มีการซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทฯ ดังนี ้: ชื่อ กรรมการ นายสุวิทย์ จินดาสงวน ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ นายสมชาย ศิริวิชยกุล นายลิม ฮวี ไฮ นายลิม เคีย ฮอง นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ นายลิม เคีย เม้ ง ผู้บริหาร นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ นายพนิต ศรี เกริ กกริ ช นายธนา ธนะแพสย์ นายไกวัลย์ บุญเสรฐ

จํานวนหุ้น(หุ้น) ณ 1 มกราคม 2556

จํานวนหุ้น (หุ้น) ซื ้อระหว่างปี 2556

จํานวนหุ้น (หุ้น) ขายระหว่างปี 2556

จํานวนหุ้น (หุ้น) ณ 31 ธันวาคม 2556

214,000 26,125 163,125 161,250 6,266,130 13,966,020 -

109,003 13,305 81,562 80,625 3,191,831 7,113,990 -

-

-

323,003 39,430 244,687 241,875 9,457,961 21,080,010 -

1,371,360 6,242,160 23,185 -

698,536 3,179,620 106,399 -

80,000 -

2,069,896 9,421,780 49,584 -

26 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-


บริษัทย่ อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ อง บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจที่ตอ่ เนื่องกับธุรกิจ หลักของบริษัทฯ รวมทังสิ ้ ้น 4 บริษัทดังนี ้ บริษัท บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

ลักษณะกิจการ

สัดส่ วนการถือหุ้น

ค้ าส่งสินค้ ากลุม่ สมาร์ ทโฟน

99.99%

เป็ นบริ ษัทฯ ที่จะไปลงทุนในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกับ ธุรกิจที่ตอ่ เนื่องกับธุรกิจหลักของบริ ษัท

99.99%

ถือหุ้นโดย บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด

ค้ าปลีกสินค้ าไอที

15%

บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด

พัฒนาแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน

15%

บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

ภาพแสดงความสัมพันธ์ของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง

27 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ภาวะอุตสาหกรรม International Data Corporation (IDC) บริ ษัทวิจยั ชันนํ ้ า ได้ รายงานผลสํารวจตลาดคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) ทัว่ โลกของปี 2556 ว่ามีการส่งมอบ 314.6 ล้ านเครื่ อง ลดลง 10% เมื่อเทียบกับปี 2555 และให้ เหตุผลประกอบว่าเกิดจากผู้บริ โภคใช้ เวลากับคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลลดลง โดยไปใช้ เวลากับสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตมากขึ ้น ทําให้ ผ้ บู ริ โภคไม่สนใจที่จะซื ้อ PC ใหม่ เพื่อทดแทนของเดิมที่ใช้ อยู่ Top 5 Vendors, Worldwide PC Shipments, 2013 (Preliminary) (Units Shipments are in thousands) Vendor

2013 Shipments

2013 Market Share

2012 Shipments

2012 Market Share

2013/2012 Growth

1. Lenovo

53,771

17.1%

52,348

15.0%

2.7%

2. HP

52,171

16.6%

58,129

16.6%

-10.3%

3. Dell

37,791

12.0%

38,719

11.1%

-2.4%

4. Acer Group

24,022

7.6%

33,588

9.6%

-28.5%

5. ASUS

18,666

5.9%

23,214

6.6%

-19.6%

Others

128,134

40.7%

143,386

41.0%

-10.6%

Total

314,554

100.0%

349,383

100.0%

-10.0%

Source: IDC Worldwide Quarterly PC Tracker, January 9, 2014 http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS24595914

สําหรับตลาด PC ในประเทศไทย ฝ่ ายวิจยั นโยบาย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ได้ สํารวจมูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ ประจําปี 2556 และได้ สรุปว่ามูลค่าตลาดคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลปี 2556 อยู่ที่ 58,565 ล้ านบาท ลดลง 8.8% เมื่อเทียบกับปี 2555 ที่ผ่านมา ซึง่ เป็ นการลดลงที่ใกล้ เคียงกับตลาดโลกตามที่ IDC ได้ ประมาณการไว้ และ ได้ ประมาณการขนาดตลาด PC ในปี 2557 ว่าจะมีขนาด 59,565 ล้ านบาท เติบโตขึ ้น 1.7% สาเหตุหลักที่ตลาด PC หดตัวลงเพราะคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล ได้ มีการพัฒนามานานจนอาจเรี ยกได้ ว่าใกล้ ถึงจุดอิ่มตัว แล้ วในระยะหลัง ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจ ในขณะที่ตลาดสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตเป็ นสินค้ าใหม่ ที่ใช้ เทคโนโลยีใหม่หลาย ด้ านมาใช้ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเริ่ มใช้ งานได้ ดี ทําให้ สินค้ ากลุม่ สมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตเริ่ มใช้ งานแทนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลได้ ในหลายส่วน รวมไปถึงมีความสามารถเหนือกว่า PC ในหลายด้ าน ทําให้ ผ้ บู ริ โภคให้ ความสนใจในการใช้ งานมาก ขึ ้นจนมีผลทําให้ ตลาดคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลหดตัวลง สําหรับตลาดสมาร์ ทโฟน IDC ได้ รายงานตลาดสมาร์ ทโฟนทัว่ โลกในปี 2556 ว่ามีการส่งมอบสมาร์ ทโฟนสูงถึง 1,004.2 ล้ านเครื่ อง ซึง่ เป็ นปี แรกที่มีการส่งมอบสมาร์ ทโฟนเกิน 1,000 ล้ านเครื่ อง โดยมีการเติบโต 38.4% จากปี 2555 และในปี 2556 ้ ซึ่งก็เป็ นปี แรกเช่นกันที่สมาร์ ทโฟนมีสดั ส่วนเกินครึ่งของโทรศัพท์มือถือ สมาร์ ทโฟนมีสดั ส่วน 55.1% ของโทรศัพท์มือถือทังหมด ทังหมด ้ โดยสัดส่วนของสมาร์ ทโฟนเมื่อเทียบกับโทรศัพท์มือถือทังหมดอยู ้ ท่ ี่ 41.7% ในปี 2555 Top Five Smartphone Vendors, Shipments, and Market Share, 2013 (Units in Millions) Vendor

2013 Shipment Volumes

2013 Market Share

2012 Shipment Volumes

2012 Market Share

Year-over-Year Change

Samsung

313.9

31.3%

219.7

30.3%

42.9%

Apple

153.4

15.3%

135.9

18.7%

12.9%

Huawei

48.8

4.9%

29.1

4.0%

67.5%

LG

47.7

4.8%

26.3

3.6%

81.1%

Lenovo

45.5

4.5%

23.7

3.3%

91.7%

Others

394.9

39.3%

290.5

40.1%

35.9%

1,004.2

100.0%

725.3

100.0%

38.4%

Total

Source: IDC Worldwide Mobile Phone Tracker, January 27, 2014 http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS24645514

28 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สําหรับตลาดแท็บเล็ตIDC ได้ รายงานผลการสํารวจตลาดโดยรวมทัว่ โลกว่าในปี 2556 มีการส่งมอบแท็บเล็ตทังสิ ้ ้น 217.1 ล้ านเครื่ อง ขณะที่ในปี 2555 มีการส่งมอบแท็บเล็ตทังสิ ้ ้น 144.2 ล้ านเครื่ อง เพิ่มขึ ้นสูงถึง 50.6% อย่างไรก็ตาม IDC ได้ ให้ ความเห็นเพิ่มเติมว่าความต้ องการแท็บเล็ตของผู้บริ โภคจะเริ่ มอ่อนตัวลง และหวังว่าการนําแท็บเล็ตไปใช้ ในธุรกิจจะช่วยขยาย ตลาดแท็บเล็ตโดยรวมในปี 2557 และปี ต่อๆ ไปได้ ในขณะที่ สวทช. ได้ รายงานผลการสํารวจมูลค่าตลาดแท็บเล็ตในประเทศไทย ว่ามีการเติบโตจาก 16,800 ล้ านบาทในปี 2555 ไปเป็ น 17,000 ล้ านบาทในปี 2556 หรื อเติบโตเพียง 1.2%และได้ ประมาณการ ขนาดตลาดแท็บเล็ตในปี 2557 ไว้ ที่ 18,870 ล้ านบาท เติบโตขึ ้น 11% https://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS24650614 ตลาดแท็บเล็ตเริ่ มขยายตัวน้ อยลง ส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน เริ่ มผลิตสมาร์ ทโฟนที่จอภาพใหญ่ ขึน้ ทําให้ สามารถใช้ ทดแทนแท็บเล็ตได้ ดีขึ ้น ลดความจําเป็ นของผู้บริโภคที่ต้องพกพาอุปกรณ์เพิ่มขึ ้น สําหรับตลาดคอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ สวทช. ได้ ประมาณมูลค่าตลาดฮาร์ ดแวร์ โดยรวมของประเทศไทยว่ามีมลู ค่า 87,435 ล้ านบาทในปี 2556 ลดลงจากปี 2555 ในอัตรา 4.0% ซึง่ เป็ นการลดลงติดต่อกันเป็ นปี ที่สอง แต่ก็ประมาณมูลค่าตลาดฮาร์ ดแวร์ โดยรวมของปี 2557 ว่ามีมลู ค่ารวมอยูท่ ี่ 91,174 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 4.3% ในปี 2557 และต่อไป มีแนวโน้ มและการพัฒนาสินค้ าที่สําคัญ ซึง่ จะมีผลต่ออุตสาหกรรมในหลายด้ าน พอสรุปได้ ดงั นี ้ การพัฒนา PC ให้ ตรงกับความต้ องการมากขึน้ ทังบริ ้ ษัทไมโครซอฟท์ฯ และ บริ ษัทอินเทลฯ ซึ่งเป็ น บริ ษัทหลักในการพัฒนาอุตสาหกรรม PC ได้ เร่ งปรับปรุ ง ระบบปฏิบตั ิการ Windows ให้ ใช้ งานในระบบสัมผัสได้ ดีขึ ้นไป อีก พร้ อมๆ กับบริ ษัทอินเทลฯ ที่พยายามพัฒนา CPU ให้ ใช้ พลังงานน้ อยลง เพื่อให้ เครื่ องใช้ งานได้ นานขึน้ ซึ่งยังคงต้ อง ติ ด ตามต่ อ ไปว่ า ทั ง้ ไมโครซอฟท์ แ ละอิ น เทล จะประสบ ผลสําเร็ จในการพัฒนา PC ในรูปแบบใหม่ๆ ที่จะได้ รับความ นิยมจากผู้ใช้ ได้ มากเพียงใด ซึง่ ถ้ าประสบผลสําเร็จ ก็จะทําให้ ตลาดคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลมีการเติบโตได้ อีกครัง้ Virtual Desktop เทคโนโลยี Virtual Desktop ได้ เกิดขึ ้นมาหลายปี แล้ ว แต่ ความแพร่ หลายของสมาร์ ทโฟน, แท็บเล็ตและการขยายตัวของ ระบบเชื่อมต่อความเร็ วสูง 3G ที่ครอบคลุมขึ ้น ทําให้ เกิดความ ต้ องการใช้ งานจากนอกสถานที่และจากอุปกรณ์ต่างๆ มากขึ ้น ซึ่ง ความต้ องการเหล่ า นี ้ จะเป็ นแรงผลัก ดัน ให้ บริ ษั ท ต่ า งๆ เริ่ ม ปรับเปลี่ยนการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ให้ เป็ นแบบ virtual desktop ที่ นําเอาระบบ Windows ไปทํางานบน Server เพื่อให้ สามารถ เรี ยกใช้ จากภายนอก ผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลายได้ ง่ายขึ ้น การปรั บปรุ ง Data Center ด้ วยการใช้ Cloud Technology จากการได้ รับความนิยมเพิ่มขึ ้นของ Cloud Computing ทําให้ ผ้ ผู ลิตได้ พฒ ั นาสินค้ าและบริ การให้ ทํางานในระบบ Cloud ได้ ดีขึ ้น ทังในแง่ ้ การจัดการที่ง่ายขึ ้น การขยายงานที่คล่องตัวขึ ้น ฯลฯ ทําให้ เกิดความคุ้มค่าในการนําเทคโนโลยีเหล่านี ้มา ปรับใช้ ในองค์กรมากขึ ้น ซึง่ ช่วยขยายอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ให้ เติบโตเพิ่มขึ ้น

29 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สถานภาพและศักยภาพในการแข่ งขัน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจขายส่งคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ อุปกรณ์ตอ่ พ่วงและอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติตา่ งๆ ในประเทศไทย โดยบริ ษัทฯ ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อปี 2541 และในปี 2547 บริษัทฯ เข้ าเป็ นบริ ษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีการเติบโตของรายได้ รวมอย่างต่อเนื่องทุกปี อย่างไรก็ตามในสองปี หลัง คือปี 2555 และ 2556 บริษัทฯ มีรายได้ รวมที่ลดลงเนื่องจากธุรกิจในส่วนสมาร์ ทโฟนที่ลดลงมาก จนทําให้ รายได้ รวมลดลง โดยในปี 2556 ธุรกิจส่วนสมาร์ ทโฟนของบริ ษัทฯ ลดลง 3,477 ล้ านบาท (ลดจาก 5,545 ล้ านบาทในปี 2555 เหลือ 2,069 ในปี 2556) อย่างไรก็ ตาม ถึงแม้ วา่ รายได้ รวมของบริ ษัทฯ จะลดลง แต่ในแง่สว่ นแบ่งตลาด ถ้ าใช้ ข้อมูลจาก สวทช. ที่ได้ สํารวจและประมาณมูลค่า ตลาดฮาร์ ดแวร์ โดยรวมของประเทศไทยว่ามีมลู ค่า 87,435 ล้ านบาทนัน้ จากรายได้ รวมของบริ ษัทฯ ที่ 18,345 ล้ านบาท เท่ากับ บริษัทฯ มีสว่ นแบ่งตลาด 21.0% ของตลาดฮาร์ ดแวร์ โดยรวมของประเทศไทย ซึง่ ทําให้ บริษัทฯ ถือเป็ นหนึง่ ในผู้ประกอบการสําคัญ ในอุตสาหกรรมนี ้

รายได้ รวม (บาท) 25,000

รายได้ รวม (ล้ านบาท)

20,000 15,000 10,000 5,000 รายได้ รวม

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

6,752

8,760

9,295

10,492

12,087

13,950

16,584

22,713

22,091

18,345

การปรั บโครงสร้ างพืน้ ฐาน ในปี 2556 บริ ษัทฯ เริ่มโครงการปรับปรุงระบบ e-commerce ซึง่ เป็ นโครงการระยะเวลา3 ปี ที่ประกอบด้ วยโครงการย่อย 3 โครงการ โดยเริ่ มจากการปรั บปรุ งระบบที่ ช่วยให้ ผ้ ูแทนจํ าหน่าย สามารถซื อ้ สิน ค้ าจากบริ ษั ทฯ ด้ วยตนเองผ่านระบบ e-commerce ได้ ซึง่ ระบบนี ้ คาดว่าจะเสร็จในช่วงต้ นปี 2557 จากนัน้ จะพัฒนาระบบที่สอง ซึง่ เป็ นระบบที่ช่วยให้ ผ้ แู ทนจําหน่าย ที่เป็ นผู้ค้าปลีก สามารถใช้ ระบบ e-commerce ในการนําเสนอสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าได้ สะดวกขึ ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสขายสินค้ า ให้ กบั ผู้แทนจําหน่าย และสุดท้ าย ตามด้ วยระบบที่จะช่วยให้ ผ้ แู ทนจําหน่ายที่สนใจจะขายสินค้ าผ่าน e-commerce สามารถทําได้ สะดวกและมีประสิทธิ ภาพขึ ้น ซึ่งเมื่อพัฒนาระบบครบทัง้ 3 โครงการนี ้ จะทําให้ บริ ษัทฯ สามารถปรับตัวเข้ าสู่ธุรกิจค้ าปลีกใน อนาคตได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค การมีเครื อข่ ายที่กว้ างขวาง ้ ้นมากกว่า 5,000 รายครอบคลุม บริ ษัทฯ มีเครื อข่ายลูกค้ าที่กว้ าง โดยในปี 2556 บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ าให้ ลกู ค้ าทังสิ ลูกค้ าทังแบบค้ ้ าปลีกที่ขายให้ กบั การซื ้อใช้ ในครัวเรื อน และแบบที่ขายเข้ าองค์กรที่ซื ้อไปใช้ ในธุรกิจ โดยยังคงมีผ้ ปู ระกอบการใหม่ ติดต่อขอเป็ นลูกค้ าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการมีฐานลูกค้ าที่ซื ้อสินค้ าจากบริ ษัทฯ เป็ นประจําอยู่จํานวนมากนี ้ ทําให้ บริ ษัทฯ มีความ มัน่ คงของยอดขาย และเป็ นรากฐานสําคัญที่ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถขยายธุรกิจเพิ่มเติมได้ ง่ายด้ วยการจัดหาสินค้ าเพิ่มเติมมา จําหน่ายให้ กบั ฐานลูกค้ าที่ซื ้อสินค้ าเป็ นประจํากับบริ ษัทฯ อยูแ่ ล้ ว

30 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การมีสนิ ค้ าจํจาหน่ ายหลายยประเภท บริ ษัษัทฯ ได้ รับความมไว้ วางใจจากผ้ผู้ผลิตชันนํ ้ าระดับโลกให้ เป็ นผ้ผู้แทนจําหน่ายสินค้ ากว่า 70 ราย และได้ รับการติดต่อจาก ผู้ผลิตอีกหลาายราย เพื่อให้ เป็ปนผู้แทนจําหนน่ายสินค้ าเพิ่มขึ​ึ ้น ซึ่งการมีสนค้ ิน าที่หลากหลายนี ้ ทําให้ บริ ษษัทฯ สามารถจัจัดหาสินค้ ามา ป้อนให้ กบั ลูกค้ ก าได้ อย่างต่อเนื เ ่ อง ในปีป 2556 บริ ษัทฯ ได้ เป็ นผู้แทนจจําหน่ายสินค้ าเพิ เ ่มเติมให้ กบั ผู้ผลิต 4 รายคือ AMD, Trend Micro, Veeam m, Eye-Fi

ระบบงานแลละวัฒนธรรมอองค์ กร บริ ษัษัทฯ มีการพัฒนาระบบงานที ฒ ที่มีประสิทธิ ภาพและมี า การปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง มีการลลงทุนในระบบงงานที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางาน เช่นระบบ ERPP ของ SAP, ระะบบ electronic workflow ของ ข Lotus Nottes, ระบบ Calll Center ของ ภ พร้ อมกัน Avaya, ระบบบ e-commercee ของ Magentto ซึง่ ช่วยทําให้ห้ พนักงานสามาารถทํางานได้ อย่างเป็ นระบบแและมีประสิทธิภาพ นี ้ บริ ษัทฯ ได้ มีการพัฒนาวัฒ ั นธรรมองค์กรให้ ก เป็ นองค์กรที ก ่เน้ นการเรี ยนรู ย ้ มีการปรับปรุ ป งประสิทธิ ภาพตลอดเวลา ทําให้ บริ ษัทฯ น กรให้ สอดดคล้ องกับการเปปลี่ยนแปลงภายนอกได้ อย่างรรวดเร็ว ยังคงความสาามารถในการแขข่งขันและสามาารถปรับเปลี่ยนองค์ การให้ ความสําคัญในการรกํากับดูแลกิจการ จ บริ ษัษัทฯ ให้ ความสํสําคัญและมีการดําเนินการตาามแนวทางกํากักบกิจการที่ดีใน 5 แนวทาง อันได้ แก่ 1) สิทธิของผู ข ้ ถือหุ้น 2) การปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเทท่าเทียมกัน 3) การ แ งใส ใ คํานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย 4) การเเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ า ากับดู บ แล 5) ความรับผิดชอบของคณะะกรรมการซึง่ จากการสํารวจตตามโครงการสํารวจการกํ ท ยนที่สมาคมส่ ส งเสริ มสถาบั ม นกรรมมการบริ ษัทไทยยจัดทําขึน้ บริ ษั ทฯ กิจการบริ ษัทจดทะเบี ได้ รับการประะเมินอยู่ในเกณ ณฑ์ “ดีเลิศ” ตังแต่ ง้ ปี 2552 ต่ตอเนื่องมาถึงปี 2556 ซึ่งเป็ นรระดับ สูงสุด ซึ่งแสดดงให้ เห็น ถึง กาารให้ ความสํา คัญในการกํ ากักบดูแ ลกิ จการรที่ จะทํ าให้ บริ ษั ท ฯ สามารถเติบโตได้ โ อย่างมัน่ คง รวมไปถึง ในนปี 2556 บริ ษัทฯ ท เป็ นหนึ่งใน 10 บริ ษัทฯ ที่ได้ ไ รับ รางวัล Set Awward ด้ านการเเป็ นบริ ษัทจดทะเบียนด้ านการรรายงานบรรษัษัทภิบาลดีเยี่ยม พ การมีพนักงาานที่มีคุณภาพ บริ ษัษัทฯ มีชื่อเสียงด้ านการมีพนักงานที ก ่มีคณ ุ ภาาพ ซึ่งพนักงานนของบริ ษัทฯ มัมกจะเป็ นที่ต้องงการของผู้ผลิตและคู ต ่แข่งอยู่ เสมอ บริ ษัทฯ มีกระบวนการรที่ดีในด้ านพนักั งานตังแต่ ้ การรคัดเลือกรับพนันักงานโดยมีการทดสอบความ า มรู้ การคัดเลือกผู ก ้ สมัครที่มีผล การเรี ยนที่ดี การสัมภาษณ์​์ การตรวจสอบบข้ อมูลของผู้สมัครจากแหล่งอื ง ่นๆ การฝึ กอบรมพนักงานออย่างต่อเนื่อง การมีนโยบาย บ ้ าหมายบริ ษัษัทฯ การจัดหาาเครื่ องมือในการทํางานที่ดีให้หพนักงาน การรให้ โอกาสในกการทํางานและ ผลตอบแทนทีที่สอดคล้ องกับเป การเติบโต นโโยบายที่เป็ นธรรมต่อทุกฝ่ ายย การให้ พนักงาานมีส่วนร่ วมในการตัดสินใจจต่างๆ การเปิ ดดเผยข้ อมูลให้ พนั พ กงานทราบ ข้ อเท็จจริ ง การสื่อสารภายในที่เปิ ดกว้ าง ฯลฯ ซึ่งการสสะสมสิ่งเหล่านีม้ าเป็ นเวลานนาน ทําให้ บริ ษษั​ั ทฯ มีพนักงานนส่วนใหญ่ ที่มี ย ่สําคัญของบริ ข ษัทฯ ในกการพัฒนาให้ บริ บ ษัทฯ ก้ าวหน้ าต่ า อไป คุณภาพและททุม่ เท เป็ นทรัพยากรที

31 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


การดําเนินการและผลงานที่สาํ คัญในปี 2556 SET Award และผลสํารวจโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําปี 2556 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ สนับสนุนสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IDO) ให้ สํารวจและประเมินการกํากับดูแลกิจการของบริ ษัทจดทะเบียนประจําปี 2556 ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ รับแจ้ งผลการประเมินว่าอยู่ที่ระดับ “ดีเลิศ” ในหมวดสิทธิของผู้ถือหุ้น หมวดการ ปฏิบัติต่อผู้ถือ หุ้นอย่างเท่า เที ยมกัน หมวดการคํ านึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย และ หมวดการเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส โดยได้ รับคะแนนในระดับ “ดีมาก” ในหมวด ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ พร้ อมทังได้ ้ รับ SET AWARD ในด้ าน Top Corporate Governance Report Award – รางวัลบริ ษัทจดทะเบียนด้ านการรายงานบรรษัทภิบาลดี เยี่ยม ซึง่ เป็ นรางวัลที่มอบให้ กบั 10 บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ การจัดงานสัมมนาและการเข้ าร่ วมงานแสดงสินค้ า ตลอดปี 2556 บริษัทฯ ได้ จดั งานสัมมนาและเข้ าร่วมงานต่างๆ หลายงาน ซึง่ มีภาพบางส่วนจากงานต่างๆ เช่น

งานสัมมนาแนะนําสินค้ า Juniper Networks จัดวันที่ 21 มิถนุ ายน 2556 ที่ บ้ านไร่กาแฟ สาขาเอกมัย

การจัดงานร่วมกับผู้แทนจําหน่ายเพื่อแนะนําสินค้ า EMC ให้ กบั ลูกค้ าของผู้แทนจําหน่าย จัดเมื่อวันที่19 มิถนุ ายน 2556 ที่โรงแรม Grand Mercure รัชดาภิเษก

32 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


งานเปิ ดตัว SiS เป็ น Distributor ของ Veeam อย่าง เป็ นทางการ พร้ อมแนะนําสินค้ า ณ โรงแรม Arnoma วันที่ 17 กันยายน 2556

งานสัมมนา SiS Expo เรื่ อง Connecting on Cloud จัดที่ห้อง ประชุม SiS ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2556

ได้ รับรางวัล “Distributor Of the Year – ASEAN” จาก VMWare VMWare เป็ นบริษัทด้ าน Cloud และ Virtualization รายใหญ่ของโลกรายหนึง่ โดยบริษัทฯ ได้ เป็ น distributor ให้ กบั VMWare มาติดต่อกันหลายปี แล้ ว ในปี 2556 บริษัทฯ ได้ รับรางวัล Distributor Of the Year – ASEAN ซึง่ เป็ นรางวัลที่ ให้ กบั Distributor ที่ประสบผลสําเร็จสูงสุดใน ASEAN ในงาน VMWare Partner Exchange 2013 On Tour การจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ นและได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ ให้ อยู่ ในกลุ่ มดี เ ยี่ ย ม สํา นักงาน กลต. ได้ ร่ ว มกับ สมาคมส่ง เสริ ม ผู้ล งทุน ไทยและสมาคมบริ ษั ท จด ทะเบียนไทย กระตุ้นบริ ษัทจดทะเบียนให้ ปรับปรุงคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดให้ มีการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ ถือหุ้นสามัญ (AGM) ประจําปี 2556 โดยได้ ประเมินการประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี ของบริ ษัทฯ ที่ปิดรอบบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ซึ่งจากการเห็นความสําคัญของการประชุมผู้ถือหุ้น ตระหนักถึงความสําคัญของผู้ถือหุ้นที่ได้ ลงทุนในบริ ษัทฯ ว่าควรได้ รับ ข้ อมูลที่ เหมาะสมในการประชุมผู้ถือหุ้น จึงพยายามจัดประชุมให้ ผ้ ูถือหุ้นได้ ประโยชน์ สูงสุด เพื่อให้ ทราบข้ อมูลและสามารถ ติดตามการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ซึง่ จากการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี 2556 บริ ษัทฯ ได้ คะแนน จากการประเมินเต็ม 100 คะแนน ถือเป็ น 1 ใน 94 บริ ษัทฯ ที่ได้ คะแนนเต็ม 100 ได้ รับผล “ดีมาก” จากการสํารวจการกํากับดูแลกิจการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยได้ สํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจําปี 2556 ที่มีการประเมินการ กํากับกิจการใน 5 หมวดได้ แก่ สิทธิของผู้ถือหุ้น การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส การ คํานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ซึง่ บริษัทฯ ได้ รับการจัดกลุม่ อยูใ่ นกลุม่ ดีเลิศ ซึง่ เป็ น กลุม่ ที่ได้ คะแนนระหว่าง 90 – 100 คะแนน และมีบริ ษัทฯ ทังสิ ้ ้น 87 บริษัทฯ ที่ได้ คะแนนดังกล่าว โดยบริษัทฯ ได้ ตงเป ั ้ ้ าที่จะ พัฒนาการกํากับดูแลกิจการให้ ดีขึ ้นไปอีก เพื่อการเติบโตอย่างมัน่ คง 33 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


โครงสสร้ างรายยได้ บรษั ริ ท บริ ษัทฯ ท มีรายได้ รวมในปี 2556 เท่ากั า บ 18,345 ล้ านบาทลดลงจ า ากปี ที่ผา่ นมา 17% โดยในปี 2556 นี ้ บริ ษัทฯ ท แบ่งการ ดําเนินงานเป็ น Business Unit U ซึง่ สามารถสรุปการขายตาาม Business Unit U ดังนี ้

ห ายดังนี ้ โดยแต่ละ Business Unit มีสินค้ าและช่องทางการจัดจําหน่ Commercial เป็ น Business Unit ที่จําหน่น่ายสินค้ าให้ กบผู บั ้ แทนจําหน่ายที ย ่ขายเข้ าองค์ค์กรทังเอกชนแล ้ ละราชการ โดยยในแง่สินค้ า จะแบ่งเป็ นกลุม่ หลักๆ เช่น PC/Server: IBM, Lenovo, HP, Toshiba

Storage: WDD NAS, QNAP, Lenovo, HP

Network: HPP, Zyxel

Printer/Others: HP, Xerox, OKI, Fujitsu

34 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


Value Addedd เป็ น Business Unit ที่จําหน่นายสินค้ าที่ต้องการคํ ง าแนะนําทังก่ ้ อนและหลัลังการขายซึง่ จะะเป็ นสินค้ าประะเภทใหม่และผ้ผู้ใช้ เป็ นองค์กร งั ้ ชการ โดยในแงง่สนิ ค้ า จะแบ่งเป็ นกลุม่ หลักๆ เช่น ขนาดใหญ่ ทังเอกชนและรา Enterprise Storage: S EMC,, HP

Backup: EMC, Symantec,, Veeam, Double-Take

Network: Junniper, Brocadde

T Micro Security: Forrtinet, Juniperr, Symantec, Trend

Virtualizationn: VMWare

Surveillance: Axis, Bosch, D-Link, QNAAP

35 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


Consumer ใ าหน่ายเป็ นร้ านค้ าปลีลีก โดยมีประเภภทสินค้ าต่างๆ จําหน่ายสินค้ า IT ที่ใช้ ในธุธุรกิจขนาดเล็กหรื อใช้ ในบ้ าน ช่องทางหลักในการจํ เช่น X เครื่ องพิมพ์ : HP, Brother, Xerox PC/Notebook: Acer, Asuss, HP, Lenovo Network: D-LLink, Zyxel, Liinksys Monitor: Sam msung, LG, Phhilips Mouse/Keybboard: Microsooft Storage: WDD Tablet: Lenoovo, Acer, Asuus

Phone จําหน่ายสมารร์ ทโฟนและ อุปกรณ์เสริ มต่ตางๆ เช่น memory, ซองง, power bankk ให้ กบั ร้ านค้ าปลี ป กโทรศัพท์มือถื อ อ ซึง่ ปั จจุบนั บริริ ษัทฯ จําหน่าย สินค้ าของ Saamsung, LG, Asus, A Acer เป็ นหลัก

36 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


คําอธิบายและการวิเคราะห์ ของฝ่ ายจัดการ ผลดําเนินงาน ในปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ แบ่งธุรกิจออกเป็ นหน่วยธุรกิจ (Business Unit) ซึง่ แต่ละหน่วยธุรกิจจะมีสินค้ าและพนักงานขาย ของตนเองในลักษณะคล้ ายบริ ษัทย่อย เพื่อความคล่องตัวในการบริ หารจัดการ โดยได้ ดําเนินการมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั เพื่อให้ แต่ละหน่วยธุรกิจสามารถบริหารงานในลักษณะที่แตกต่างกันไปตามกลุม่ สินค้ าและกลุม่ ลูกค้ าที่เป็ นเป้าหมายได้ บริ ษัทฯ ได้ แสดงยอดขายในปี 2556 แยกตามหน่วยธุรกิจตามตารางซึ่ง Business Unit ที่มียอดขายลดลงมากคือ Phone โดยลดจากยอดขาย 5,545 ล้ านบาทในปี 2555 เหลือ 2,069 ล้ านบาทในปี 2556 หรื อลดลง 3,477 ล้ านบาท ทังนี ้ ้เพราะ ผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน 3 ราย ที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย มียอดขายลดลงมาก โดยในปี 2555 บริ ษัทฯ มียอดขายสมาร์ ทโฟนจาก BlackBerry, HTC และ Motorola รวม 5,061 ล้ านบาทและลดลงเหลือ 165 ล้ านบาทในปี 2556 หรื อเท่ากับลดลง 4,895 ล้ านบาท ยอดขายแยกตาม Business Unit (ล้ านบาท) Commercial Consumer Value Added Phone Others Total

2555 4,669 7,974 1,537 5,545 2,128 21,852

2556 เปลี่ยนแปลง 4,794 2.7% 8,479 6.3% 1,474 -4.1% 2,069 -62.7% 1,437 -32.5% 18,253 -16.5%

กําไรจากการดําเนินงาน บริ ษัทฯ มีกําไรขันต้ ้ นประจําปี 2556 เท่ากับ 1,042.5 ล้ านบาท คิดเป็ น 5.7% ของยอดขายซึง่ ถือเป็ นอัตรากําไรขันต้ ้ น ตามปกติของอุตสาหกรรมนี ้ โดยมีกําไรสุทธิ 190.2 ล้ านบาท เท่ากับอัตราตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) ที่ 17.5% และเท่ากับ 1.04% ของยอดขาย (Profit Margin) การจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทฯ มีกําไรต่อหุ้น 0.64 บาท และที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทฯ มีมติอนุมตั ิให้ เสนอจ่ายเงินปั นผลประจําปี 2556 สําหรับผลการดําเนินงานรวมในอัตราหุ้นละ 0.20 บาท และให้ นําเสนอขออนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 ต่อไป การจ่ายเงินปั นผลตามที่จะขออนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในครัง้ นี ้ ถ้ าได้ รับการอนุมตั ิ จะคิดเป็ นเงินปั นผลที่ต้อง จ่ายทังสิ ้ ้นรวม70 ล้ านบาท เท่ากับอัตราการจ่ายเงินปั นผล (Dividend Payout) 36.8% และเท่ากับอัตราเงินปั นผลตอบแทน (Dividend Yield) 4.58% เมื่อเทียบกับราคาปิ ดวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ราคา 4.38 บาท ซึง่ เป็ นวันก่อนแจ้ งมติจ่ายเงินปั นผล ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ฐานะทางการเงิน ด้ านสินทรั พย์ สินทรัพย์ที่สําคัญของบริ ษัทฯ มีสองรายการคือลูกหนีก้ ารค้ าและสินค้ าคงเหลือ ซึ่งสองรายการนี ้ มีมลู ค่ารวมเท่ากับ 79.1% ของสินทรัพย์ทงหมดโดยมี ั้ รายละเอียดดังนี ้ ลูกหนีก้ ารค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษัทฯ มีลกู หนี ้การค้ าสุทธิ 2,298 ล้ านบาท ลดลง 297 ล้ านบาท หรื อลดลง 11.4% เมื่อ เทียบกับปี ที่ผ่านมา และเท่ากับระยะเวลาเก็บหนี เ้ ฉลี่ย 53.4 วัน ซึ่งเป็ นระดับที่สูงขึน้ แต่ก็ยงั ถือว่าอยู่ในระดับใกล้ เคียงกับ อุตสาหกรรมและไม่เป็ นปั ญหาที่จะกระทบต่อการดําเนินงาน โดยปกติ บริ ษัทฯ จะกําหนดเวลาชําระเงินในการขายไว้ ที่ 30 วัน แต่ในทางปฏิบตั ิ ลูกค้ าส่วนใหญ่ จะรวมชําระเงิน ้ งานโครงการที่มี สัปดาห์ละหนึง่ วัน หรื อชําระทุกๆ สองสัปดาห์ ทําให้ ระยะเวลาชําระเงินเพิ่มขึ ้นมากกว่า 30 วัน รวมทังกรณี กําหนดระยะเวลาชําระเงินชัดเจนตามโครงการอยูแ่ ล้ ว ลูกค้ าจะขอชําระเงินตามระยะเวลาของโครงการ ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีลกู หนี ้การค้ าและระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ยตามแผนภาพ 37 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


3,000

60.0

2,500

50.0

2,000

40.0

1,500

30.0

1,000

20.0

500

10.0

2552

2553

2554

2555

2556

มูลค่าลูกหนี ้การค้ า (ล้ านบาท)

1,824

2,018

1,837

2,595

2,298

ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน)

43.2

46.2

34.9

40.8

53.4

สินค้ าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษัทฯ มีสินค้ าคงเหลือ 1,692 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 501 ล้ านบาท หรื อเพิ่มขึ ้น 42.0% และ เท่ากับระยะเวลาขายเฉลี่ย 31.6 วัน ซึง่ ถึงแม้ จะเพิ่มขึ ้นมาก แต่ก็ถือว่ายังอยูใ่ นระดับที่ไม่เป็ นปั ญหาเพราะสินค้ าคงเหลือส่วนใหญ่ เป็ นสินค้ าใหม่ โดยบริ ษัทฯ จะพยายามลดระดับสินค้ าคงเหลือลงให้ เหลือน้ อยกว่า 30 วัน ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีสนิ ค้ าคงเหลือและระยะเวลาขายเฉลี่ยตามแผนภาพ 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 ‐

2552

2553

2554

2555

2556

มูลค่าสินค้ าคงเหลือ (ล้ านบาท)

919

1,152

3,171

1,191

1,692

ระยะเวลาขายเฉลี่ย (วัน)

23.9

24.7

37.9

38.9

31.6

45.0 40.0 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 ‐

หนีส้ นิ

หนี ส้ ินที่สําคัญของบริ ษัทฯ คื อเจ้ าหนี ก้ ารค้ าและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หนี ส้ ินสองรายการนี ้ มี มูลค่ารวมเป็ น 91.9% ของมูลค่าหนี ้สินรวม โดยมีรายละเอียดดังนี ้ เจ้ าหนีก้ ารค้ า บริ ษัทฯ มีเจ้ าหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อยู่ที่ 802 ล้ านบาท เท่ากับระยะเวลาชําระหนี ้เฉลี่ย 20.9 วัน ซึ่ง เจ้ าหนี ้จะให้ เวลาชําระหนี ้ระหว่าง 30 – 45 วัน แต่เนื่องจากเจ้ าหนี ้หลายรายให้ สว่ นลดถ้ าชําระหนี ้ก่อนกําหนด ซึง่ ถ้ าบริ ษัทฯ เห็น ว่าคุ้มค่าและมีวงเงินกู้เหลืออยู่ ก็อาจจะเลือกชําระหนี ้เร็ วกว่ากําหนด ทําให้ ระยะเวลาชําระหนี ้โดยเฉลี่ยตํ่ากว่า 30 วัน รวมทัง้ บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะชําระหนี ้ตามกําหนดเวลาที่ตกลงไว้ กบั เจ้ าหนี ้ ซึง่ เป็ นหนึ่งในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีในด้ านสิทธิ ของผู้มีสว่ นได้ เสีย ที่บริษัทฯ จะชําระหนี ้ตรงตามที่ตกลงไว้ กบั Supplier แต่ละราย ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีเจ้ าหนี ้การค้ าและระยะเวลาชําระหนี ้เฉลี่ยตามแผนภาพ 2500

35 30

2000

25 1500

20

1000

15 10

500 0

5

2552

2553

2554

2555

2556

เจ้ าหนี ้การค้ า (ล้ านบาท)

905

991

2,274

1,191

802

ระยะเวลาชําระหนี ้ (วัน)

20.9

22.1

27.5

29.4

20.9

38 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

0


เงินกู้จากสถาบันการเงิน บริ ษัทฯ มีเงินกู้จากสถาบันการเงินทังสิ ้ ้นเท่ากับ 2,574 ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยอัตราส่วนของเงินกู้ต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ 1.9 เท่าซึง่ เป็ นอัตราส่วนที่ลดลงจากปี ที่ผ่านมา เนื่องจากในปี 2556 บริ ษัทฯ มีการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน 116.7 ล้ านหุ้นที่มีราคาขายที่ 3.25 บาทเพื่อเสนอขายแก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิม ซึง่ ในการเพิ่มทุนนี ้ ทําให้ บริ ษัทฯ มีสว่ นของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ ้น 375.5 ล้ านบาท 3,000

3.5

2,500

3.0 2.5

2,000

2.0

1,500

1.5

1,000

1.0

500

0.5

2552

2553

2554

2555

2556

เงินกู้สถาบันการเงิน (ล้ านบาท)

907

976

2,243

2,610

2,574

อัตราส่วนหนี ้สินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วน ของผู้ถือหุ้น

0.9

0.8

1.0

3.2

1.9

ส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นในปี 2556 เท่ากับ 1,369 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 566 ล้ านบาทจากปี ที่ผ่านมาจากการเพิ่มทุน 376 ล้ านบาทและจาก กําไรสุทธิ 190 ล้ านบาท ส่ วนของผู้ถือหุ้น (ล้ านบาท) 1,600 1,400 1,200

1,242

1,369

1,280

999

1,000

804

800 600 400 200 ‐ 2552

2553

2554

2555

2556

กระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน โดยรวมแล้ ว ในปี 2556 บริ ษัทฯ มีวงจรเงินสด (cash cycle) อยู่ที่ 64.1 วัน และมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานที่ลดลง 243.5 ล้ านบาทจากปี ที่ผา่ นมา โดยรายการหลักที่ทําให้ กระแสเงินสดของปี 2556 ลดลง คือ - การเพิ่มขึ ้นของสินค้ าคงเหลือ 495.8 ล้ านบาท 392.9 ล้ านบาท - เจ้ าหนี ้การค้ าที่ลดลง ส่วนรายการหลักที่ทําให้ กระแสเงินสดของปี 2556 เพิ่มขึ ้นคือ - ลูกหนี ้การค้ าที่ลดลง 253.1 ล้ านบาท - กําไรจากการดําเนินงาน 190.2 ล้ านบาท ซึง่ ในปี 2557 ถ้ าบริษัทฯ สามารถลดสินค้ าคงเหลือลงให้ เหลือน้ อยกว่า 30 วันได้ ก็จะช่วยทําให้ กระแสเงินสดดีขึ ้นได้

39 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการบริ หารความเสี่ยง ที่จะทําให้ การดําเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง จึงได้ มีการแต่งตังคณะกรรมการบริ ้ หารความเสี่ยง เพื่อช่วยกลัน่ กรองความเสี่ยงที่สําคัญ รวมถึงนําเสนอแนวทางแก้ ไขที่เหมาะสม โดย มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี ซึง่ ปั จจุบนั ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่านดังนี ้ 1. นายลิม ฮวี ไฮ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร) 2. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ) 3. นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และหัวหน้ าทีมงานบริหารความเสี่ยง (กรรมการบริหาร) กรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ จัดตัง้ คณะทํางาน ซึ่งประกอบด้ วย กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริ หาร ผู้บริ หารระดับสูง และ ตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อร่ วมกํ าหนดนโยบายด้ านการบริ หารความเสี่ยง ประเมิน ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อบริ ษัทฯ รวมถึงจัดทําแผน ติดตาม หรื อมาตรการเพื่อป้องกัน และแก้ ไขหาก เกิดความเสี่ยงนันขึ ้ ้น ตามแนวทางปฏิบตั ิที่เป็ นสากล ในปี 2556 ภาวะเศรษฐกิจโลกเริ่ มมีความแน่นอนและดีขึ ้นเมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา อย่างไรก็ ตาม เศรษฐกิ จไทยยังคงพบกับความท้ าทายจากความขัดแย้ งทางการเมืองที่ทวีความรุ นแรงขึน้ ค่าเงินบาทอ่อนลงตัวลงมากกว่า 10% เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สหรัฐ ตลาดผู้บริ โภคไทยจึงยังคง อ่อนตัวลง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงยังคงติดตามความคืบหน้ าของบริ ษัทฯ ในการปฏิบัติ ตามแผนงานหลักที่กําหนดไว้ แล้ วซึง่ มีเป้าหมายในการทําให้ บริ ษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจอย่างมี กําไรได้ ตอ่ เนื่องภายใต้ ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และในปี ที่ผ่านมา คณะกรรมการฯ ได้ ติดตาม ผลจากรายงาน และชี ้ให้ ฝ่ายบริหารรับรู้ถงึ ความเสี่ยงของบริษัทฯ ที่รวมไปถึงระดับสินค้ าคงเหลือ และระดับลูกหนี ้ที่สงู เพื่อให้ บริ ษัทฯ ดําเนินการได้ ตามเป้าหมาย คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงยังคงติดตาม และควบคุมความเสี่ยงผ่านรายงานของคณะบริ หารความเสี่ยง ด้ วยแนวทางนี ้ คณะกรรมการฯ มี ความเชื่อว่าสามารถป้องกันบริ ษัทฯ ไม่ให้ เกิดความเสียหายจากความเสี่ยงได้ และทําให้ ระบบการ ควบคุมความเสี่ยงมีการดําเนินการอย่างได้ ผล มีประสิทธิภาพและเป็ นไปตามแนวทางการกํากับดูแล กิ จ การที่ ดี ซึ่ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งขอขอบพระคุณ ผู้เ กี่ ย วข้ อ งทุก ท่ า นที่ ไ ว้ ว างใจและ สนับสนุนบริ ษัทฯ อย่างต่อเนื่อง

(นายลิม ฮวี ไฮ) ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 5 มีนาคม2557

40 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ปั จจัยความเสี่ยง ปั จจัยความเสี่ยงหลักที่อาจมีผลต่อผลประกอบการของบริษัทฯ และอาจทําให้ เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนมีดงั นี ้ 1) ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผู้ผลิตน้ อยราย ในปี 2552 ผู้ผลิตรายใหญ่สดุ ที่บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย มีสดั ส่วน 41% ของยอดขายรวมซึง่ ถือเป็ นความเสี่ยงในการ พึง่ พาผู้ผลิตที่ค่อนข้ างสูง ซึง่ ต่อมา บริษัทฯ มีการเพิ่มการเป็ นผู้แทนจําหน่ายของสินค้ า ทําให้ สดั ส่วนของยอดขายของผู้ผลิต รายใหญ่สดุ ต่อยอดขายรวมค่อยๆ ลดลง และเท่ากับ 21% ในปี 2556 ที่ผา่ นมา แต่ถงึ แม้ ความเสี่ยงในการพึง่ พาผู้ผลิตราย ใหญ่สดุ ลดลงและบริษัทฯ ได้ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิตมากกว่า 70 รายในปี 2556 แต่ 50% ของยอดขายรวม ยังคงมาจากผู้ผลิตเพียง 3 ราย ซึง่ บริษัทฯ ยังคงต้ องติดตามและให้ ความสําคัญในการลดความเสี่ยงในเรื่ องนี ้ต่อไปโดยมี แนวทางดังนี ้

สัดส่ วนยอดขายของผู้ผลิตรายใหญ่ สุดต่ อยอดขายรวม

2552 41%

2553 31%

2554 26%

2555 18%

2556 21%

 การรั กษาความสัมพันธ์ ท่ ดี ีกับผู้ผลิต บริ ษัทฯ มีการลงทุนหลายด้ านเพื่อปรับปรุงระบบงานให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ สามารถเป็ นคูค่ ้ าที่ดีของผู้ผลิตรายใหญ่ ซึง่ ที่ ายเป็ นคูค่ ้ าที่ ผ่านมา บริษัทฯ ก็เป็ นลูกค้ ารายใหญ่ของผู้ผลิตรายใหญ่เช่นกัน ทําให้ ความสัมพันธ์เป็ นแบบสองทางที่ทงสองฝ่ ั้ มีความสําคัญของกันและกัน  การจําหน่ ายสินค้ าเพิ่ม บริษัทฯ มีการหาสินค้ าอื่นๆ มาจําหน่ายเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสินค้ าประเภทใหม่ที่ไม่มีความขัดแย้ งกับผู้ผลิตเดิม ที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายอยู่แล้ ว ในปี 2556 บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ าเพิ่มขึ ้น เช่น AMD, Veeam, Eye-Fi, Trend Micro ซึง่ บริษัทฯ ยังคงเพิ่มการเป็ นผู้แทนจําหน่ายของสินค้ าอื่นๆ ในปี 2557 ต่อไป  การพัฒนาประสิทธิภาพอย่ างต่ อเนื่อง บริษัทฯ ยังคงมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ เป็ นองค์กรที่สําคัญและมีสว่ นในอุตสาหกรรมไอทีไทย เช่น:  การครอบคลุมตลาด ้ ้อสินค้ าจาก ในปี 2556 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มีเครื อข่ายลูกค้ าที่เป็ นบริษัทฯ ที่ดําเนินธุรกิจ IT และได้ เปิ ดบัญชีพร้ อมทังซื บริษัทฯ แล้ วมากกว่า 5,000 ราย ซึง่ บริษัทฯ สามารถช่วยเหลือผู้ผลิตในการจัดจําหน่ายสินค้ าไปยังกลุม่ ลูกค้ ากว่า 5,000 ราย ได้ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  การจัดเก็บและกระจายสินค้ า บริษัทฯ มีระบบบริ หารคลังสินค้ าที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีพื ้นที่ 10,000 ตารางเมตรที่สามารถเก็บสินค้ าให้ กบั ผู้ผลิต และจัดส่งให้ กบั ลูกค้ าทัว่ ประเทศไทยได้ อย่างรวดเร็วถึงแม้ จะเป็ นการสัง่ ซื ้อในจํานวนน้ อย โดยบริษัทฯ สามารถจัดส่ง สินค้ าให้ กบั ลูกค้ าในเขตกรุงเทพฯ ภายในวันเดียวกันถ้ าสัง่ ซื ้อก่อน 11.00 น. และสามารถจัดส่งสินค้ าในวันถัดไป สําหรับลูกค้ าที่สงั่ ซื ้อหลัง 11.00 น. หรื อลูกค้ าต่างจังหวัดในวันถัดไปได้ ทงหมดซึ ั้ ง่ เป็ นการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ  การบริหารลูกหนีร้ ายย่ อย บริษัทฯ มีทีมงานที่สามารถบริหารลูกหนี ้รายย่อยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีฐานลูกค้ ามากกว่า 2,500 รายที่มีวงเงิน เครดิต สามารถซื ้อสินค้ าแบบเครดิตจากบริษัทฯ ได้ ทนั ที ซึง่ สามารถช่วยเหลือผู้ผลิตในการให้ เครดิตกับลูกค้ ารายย่อย ทําให้ ผ้ ผู ลิตสามารถเริ่มจําหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าหลายๆ รายได้ อย่างรวดเร็ว  ระบบ e-commerce ในปี 2556 บริษัทฯ ได้ ปรับปรุงระบบ e-commerce ขึ ้นใหม่และได้ ทดลองใช้ ในปลายปี 2556 ซึง่ ระบบ e-commerce ที่บริ ษัทฯ พัฒนาขึ ้นนี ้ จะช่วยให้ ลกู ค้ าของบริษัทฯ สามารถสัง่ ซื ้อสินค้ าด้ วยตนเองได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง ซึง่ นอกเหนือจากการสัง่ ซื ้อสินค้ าแล้ ว ยังมีบริการอื่นๆ ที่บริษัทฯ ได้ เพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถเข้ าไป 41 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ดําเนินการด้ วยตนเองได้ ทังหมดนี ้ ้ ทําให้ บริ ษัทฯ เป็ นกลไกสําคัญในอุตสาหกรรมไอทีของประเทศไทย และทําให้ ผ้ ผู ลิตต้ องการให้ บริ ษัทฯ เป็ น ผู้แทนจําหน่ายอย่างต่อเนื่อง ทังผู ้ ้ ผลิตที่แต่งตังให้ ้ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายอยู่แล้ วและผู้ผลิตรายใหม่ๆ ที่มีการ ติดต่อขอให้ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายเพิ่ม ซึง่ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะขยายธุรกิจโดยการนําสินค้ าประเภทใหม่ๆ ที่ น่าสนใจมาขายเพิ่มเติม เพื่อลดความเสี่ยงด้ านการพึง่ พาผู้ผลิตน้ อยรายลง 2) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีท่ กี ระทบต่ อสินค้ าคงคลัง เนื่องจากสินค้ าหลักของบริษัทฯ เป็ นคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วง ซึง่ สินค้ าในกลุม่ นี ้มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทําให้ สนิ ค้ าคงคลังของบริษัทฯ อาจจะมีการล้ าสมัย สร้ างความเสียหายกับบริ ษัทฯได้ ซึง่ บริษัทฯ มีการดําเนินการบริหาร ความเสี่ยงด้ านสินค้ าคงคลังหลายๆ วิธีดงั นี ้  การควบคุมมูลค่ าสินค้ าคงคลังให้ คงเหลือน้ อย บริ ษัทฯ มีนโยบายในการเก็บสินค้ าคงคลังอยูใ่ นช่วง 15 – 45 วัน ตามประเภทของสินค้ า โดยสินค้ าที่จําหน่ายมาจนมีข้อมูล การขายแล้ วบริ ษัทฯ จะลดสินค้ าคงคลังให้ อยูใ่ นระดับ 15 วัน ส่วนสินค้ าใหม่ ที่ยงั ไม่ทราบความต้ องการที่ชดั เจน ก็สามารถ เก็บสินค้ าในปริ มาณที่มากกว่าได้ แต่ก็ไม่ควรเกิน 45 วัน เพื่อให้ สามารถแก้ ไขปั ญหาได้ ถ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงของตลาด โดยบริษัทฯ มีมลู ค่าสินค้ าคงคลังในแต่ละปี ที่ผา่ นมาตามตารางด้ านล่าง

มูลค่ าสินค้ าคงคลัง (ล้ านบาท) ระยะเวลาขายเฉลี่ย (วัน)

2549 488 25.9

2550 566 20.5

2551 789 22.5

2552 919 23.9

2553 1,152 24.7

2554 3,171 37.9

2555 1,191 38.9

2556 1,692 31.6

การให้ มีผ้ ูจัดการผลิตภัณฑ์ ดูแลสินค้ าโดยเฉพาะ บริษัทฯ มีการกําหนดให้ ผ้ บู ริหารผลิตภัณฑ์ (Product Manager) เป็ นผู้ดแู ลสินค้ าทังในแง่ ้ ของการสัง่ ซื ้อ การดูแลสินค้ าคง คลัง และส่งเสริมขายสินค้ า ทําให้ มีผ้ เู ชี่ยวชาญที่ให้ ความสําคัญในการดูแลสินค้ าแต่ละยี่ห้อ เมื่อเกิดปั ญหาขึ ้นก็สามารถ แก้ ไขได้ อย่างรวดเร็วรวมทังบริ ้ ษัทฯ ถือว่าการดูแลสินค้ า เป็ นปั จจัยสําคัญในการประเมินผลงานของผู้บริหารผลิตภัณฑ์ การตัง้ สํารองสินค้ าล้ าสมัย ้ ารองสินค้ าคงคลังล้ าสมัยตามอายุสนิ ค้ าในทุกๆ เดือน โดยการตังสํ ้ ารองนี ้เป็ นไปอย่างพอเพียง ซึง่ เมื่อมี บริษัทฯ มีการตังสํ สินค้ าค้ างสต็อก จะมีการตังสํ ้ ารองตามอายุสนิ ค้ าอันจะทําให้ กําไรที่แสดงในงบการเงิน เป็ นกําไรที่หกั ภาระสินค้ าค้ างสต็อก ไปแล้ วเสมอ ระบบข้ อมูล บริษัทฯ มีการลงทุนด้ านระบบจัดการสินค้ าคงคลังของ SAP ECC6 ซึง่ เป็ นระบบที่จะให้ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้ าได้ อย่างถูกต้ อง และรวดเร็ว พร้ อมรายงานต่างๆ ที่ช่วยในการจัดการสินค้ าคงคลังได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น รายงาน Inventory Aging แยกแต่ละรายการสินค้ า รายงาน inventory turnover แยกแต่ละรายการ ฯลฯ รวมไปถึงระบบแจ้ งเตือนที่มีการรวบรวม ข้ อมูลสินค้ าคงคลังที่ค้างนานไว้ ในฐานข้ อมูลและให้ ผ้ ดู แู ลสินค้ าแต่ละคนเข้ าไปบันทึกแนวทางในการแก้ ปัญหา ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ ทําให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิงานและผู้เกี่ยวข้ องทุกคน รับรู้ข้อมูลที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับสินค้ าคงคลังอยูเ่ สมอ การจัดการ ฝ่ ายจัดการของบริษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการดูแลสินค้ าคงคลังอย่างสมํ่าเสมอ ผู้บริหารระดับสูงสุด มีการประชุมเพื่อ ตรวจสอบมูลค่าสินค้ าคงคลังโดยรวมและอายุสินค้ ารวมกับผู้จดั การผลิตภัณฑ์ทกุ สัปดาห์ ซึง่ ทําให้ บริษัทฯ เห็นแนวโน้ มการ เปลี่ยนแปลง และสามารถกําหนดมาตรการแก้ ไขปั ญหาได้ อย่างรวดเร็ว สามารถลดความเสียหายด้ านสินค้ าคงคลังลงได้ และสร้ างให้ เป็ นวัฒนธรรมของบริษัทฯ ในการให้ ความสําคัญในการดูแลสินค้ าคงคลัง

42 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


3) ความเสี่ยงด้ านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่ างประเทศ บริษัทฯ มีการสัง่ ซื ้อสินค้ าบางส่วนโดยชําระด้ วยเงินสกุลดอลลาร์ สหรัฐ ในขณะที่สินค้ าทังหมดจะจํ ้ าหน่ายในประเทศเป็ นเงินบาท ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ รับคําแนะนําจากหน่วยงาน โดยบริษัทฯ มีการทําสัญญาป้องกันความเสี่ยงล่วงหน้ าอย่างน้ อย 50% ในทุกใบสัง่ ซื ้อทังนี ที่เกี่ยวข้ องของสถาบันการเงินอย่างสมํ่าเสมอในการทําสัญญาป้องกันความเสี่ยงว่าควรจะทําในระดับใด 4) ความเสี่ยงจากการแข่ งขันและกําไรขัน้ ต้ นตํ่า ้ นอยู่ในระดับตํ่า แต่เป็ นอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ ธุรกิจขายส่งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ถือเป็ นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง มีกําไรขันต้ และยังมีการเติบโตซึ่งจากลักษณะอุตสาหกรรมแบบนี ้ อาจมีค่แู ข่งใช้ ราคามาเป็ นกลยุทธ์หลักในการแข่งขัน ซึง่ ถ้ าเกิดขึ ้น บริ ษัทฯ อาจต้ องลดราคาสินค้ าเพื่อให้ สามารถแข่งขันได้ ดีขึ ้น และอาจจะกระทบผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ บริ ษัทฯ ได้ พยายามลด ความเสี่ยงด้ วยการเพิ่มประเภทสินค้ า ทําให้ มีการขายสินค้ ากระจายมากประเภทขึน้ ถ้ าเกิดปั ญหาขึ ้น ก็จะมีผลกระทบเฉพาะ บางส่วน รวมไปถึงบริษัทฯ พยายามให้ ความสําคัญในการพัฒนาและส่งเสริมการขายสินค้ าที่ตลาดไม่ใหญ่นกั แต่สามารถให้ กําไร ได้ ดีและมีการแข่งขันน้ อยมาช่วยเพิ่มกําไร พร้ อมกันนี ้ บริ ษัทฯ ได้ มีการขายสินค้ าไปยังลูกค้ าจํานวนมาก โดยบริ ษัทฯ มีลกู ค้ า มากกว่า 5,000 ราย จึงมีการขายที่กระจาย สมํ่าเสมอ กระจายความเสี่ยงไปยังลูกค้ าหลายราย และเนื่องจากธุรกิจค้ าส่งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ เป็ นธุรกิจที่ใช้ เงินทุนมาก มีโอกาสน้ อยที่จะมีค่แู ข่งรายใหม่เข้ ามาในตลาดเพิ่ม ในทางกลับกัน เชื่อว่าจะมีผ้ คู ้ าบาง รายที่ไม่สามารถแข่งขันได้ ออกจากตลาดไป หรื อมีการควบรวมกิจการระหว่างผู้ค้าส่ง นอกจากนี ้ ในปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ จดั โครงสร้ างการบริ หารใหม่ในรู ปแบบหน่วยธุรกิจ (Business Unit) เพื่อให้ สามารถ บริหารสินค้ าที่แตกต่างกันได้ โดยนอกเหนือจากหน่วยธุรกิจที่เน้ นการขายสินค้ าจํานวนมากแล้ ว บริ ษัทฯ ได้ จดั ตังหน่ ้ วยธุรกิจแบบ Value Added เพื่อจัดจําหน่ายสินค้ าที่กําไรสูงขึ ้นมาด้ วยซึง่ หน่วยธุรกิจแบบนี ้ จะมีการเพิ่มบริ การต่างๆ ที่เหมาะสมเข้ าไป ซึง่ จะ ช่วยลดความเสี่ยงจากการแข่งขันด้ านราคาลงได้ 5) ความเสี่ยงจากลูกหนีก้ ารค้ า ้ กบั บริ ษัทฯ รวมไปถึง การขายส่วนใหญ่เป็ นการขายเชื่อ โดยลูกหนี ้ส่วนใหญ่ไม่ได้ มอบหลักประกันที่ครอบคลุมหนี ้สินทังหมดให้ ลูกค้ าของบริษัทฯ หลายราย เป็ นบริษัทฯ ขนาดเล็กและเป็ นบริษัทฯ ใหม่ที่ยงั ไม่มีเงินทุนมากนัก ดังนันหากลู ้ กหนี ้การค้ าของ บริ ษัทฯ เกิดปั ญหาในการบริ หารงาน ไม่สามารถชําระเงินได้ ตามกําหนด จะส่งผลต่อสภาพคล่องของบริ ษัทฯ ทางด้ านเงินทุน หมุนเวียน หรื อผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ บริ ษัทฯ มีการลดความเสี่ยงด้ านลูกหนี ้การค้ าด้ วยการตรวจสอบเครดิตอย่าง รัดกุมก่อนจะให้ เครดิตกับลูกค้ า และมีการแยกฝ่ ายควบคุมเครดิตออกจากฝ่ ายขาย เพื่อให้ การพิจารณาเครดิตเป็ นไปอย่างอิสระ และเพื่อลดความเสี่ยงด้ านหนี ้สูญลงไปอีก ในปี 2556 บริ ษัทฯ มีประกันคุ้มครองส่วนหนึ่งของความเสียหายจากปั ญหาหนีเ้ สีย รวมทังบริ ้ ษัทฯ ได้ มีการตังสํ ้ ารองเพื่อให้ งบการเงินที่มีอยู่ สะท้ อนข้ อเท็จจริงจากภาวะหนี ้ที่อาจจะไม่สามารถชําระได้ 6) ความเสี่ยงด้ านการเงิน จากโครงสร้ างธุรกิจค้ าส่งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วงซึง่ เป็ นธุรกิจที่มี cash cycle อยู่ในช่วง 45 - 60 วัน ทําให้ ปริ มาณเงินทุน หมุนเวียนที่ต้องใช้ อาจเพิ่มขึ ้นมากถ้ าบริ ษัทฯ มีการเติบโตของรายได้ รวมเพิ่มขึ ้นสูงกว่า 15% ซึง่ ถือเป็ นความเสี่ยงและภาระของ บริ ษัทฯ ที่ต้องจัดหาเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษัทฯ มีการกู้เงินจากสถาบันการเงินรวม 2,574 ล้ านบาท ซึง่ เงินกู้เหล่านี ้ เป็ นเงินกู้ระยะสัน้ ถ้ าทุกสถาบันการเงิน มีการเรี ยกเงินคืนพร้ อมๆ กัน จะสร้ างปั ญหาด้ านการเงินให้ กบั บริ ษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม การที่บริ ษัทฯ ได้ เข้ าเป็ นบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทําให้ บริ ษัทฯ มีทางเลือกในการเพิ่ม เงินทุนหมุนเวียนมากขึ ้น รวมทังบริ ้ ษัทฯ มีการกระจายการกู้เงินไปยังสถาบันการเงินหลายๆ แห่ง เพื่อลดความเสี่ยงในการพึ่งพา สถาบันการเงินรายใดรายหนึง่ เป็ นหลัก 7) ความเสี่ยงจากการพึ่งพาบุคลากร ไอที เ ป็ นธุ ร กิ จ ที่ ต้ อ งอาศัย บุค ลากรที่ มี ค วามรู้ เฉพาะด้ า นเข้ า มาร่ ว มงานจํ า นวนมาก ซึ่ง นอกเหนื อ จากการรั บ พนัก งานที่ มี ประสบการณ์ เข้ ามาร่ วมงานแล้ ว บริ ษัทฯ ยังต้ องมีการฝึ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ สามารถให้ บริ การลูกค้ าได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งหากบุคลากรที่มีความสามารถและความชํานาญงานได้ ลาออกจากบริ ษัทฯ อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงาน และความสามารถในการขยายงานของบริ ษัทฯ ในระยะสัน้ และก่อให้ เกิดงบประมาณเพิ่มเติมที่ต้องใช้ ในการฝึ กอบรมบุคลากร กลุ่ม ใหม่ขึ น้ มาทดแทน อย่า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ มี ก ารจัด ระบบค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมให้ กับ พนัก งาน ซึ่ง แปรเปลี่ ย นตาม 43 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ความสามารถ รวมทังได้ ้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื ้อหุ้นของบริ ษัทฯ ในราคาพิเศษให้ แก่พนักงานของบริ ษัทฯ ที่สามารถใช้ สิทธิ ได้ ตามอายุงาน เพื่อจูงใจให้ ร้ ู สึกถึงความมีส่วนร่ วมเป็ นเจ้ าของบริ ษัทฯ และทํางานให้ บริ ษัทฯ อย่างเต็มที่และยาวนานขึน้ รวมทังการดํ ้ าเนินการอีกหลายด้ าน เพื่อลดความเสี่ยงการพึง่ พาบุคลากรของบริ ษัทฯ เช่น การแยกงานการขายและการตลาดออก จากกัน ซึง่ ทําให้ ลกู ค้ าทุกรายจะได้ รับการติดต่อจากบริ ษัทฯ ผ่าน 2 หน่วยงานหลักคือ ฝ่ ายขายและฝ่ ายการตลาด ลดความเสี่ยง จากการพึง่ พาพนักงานเพียงฝ่ ายเดียวลงได้ การปรับปรุงระบบงานโดยใช้ Information System เข้ ามาช่วยงานมากขึ ้น เช่น การใช้ ระบบ ERP ของ SAP ECC6 และการใช้ Electronic Workflow ของ Lotus Notes ทําให้ ระบบงานต่างๆ สามารถทําได้ ง่าย รวดเร็ว ถูกต้ อง มีระบบเตือนภัยเมื่องานผิดพลาด ลดการพึ่งพาบุคลากรลงได้ บ้าง รวมทังมี ้ การกําหนดโครงสร้ างการบริ หาร ที่มีการ กระจายงานออกให้ ผ้ บู ริ หารหลายๆ ท่าน จัดให้ มีพนักงานที่มีความสามารถใกล้ เคียงกัน และสามารถทํางานทดแทนกันได้ ใน หลายๆ ระดับซึง่ เชื่อว่าทังหมดนี ้ ้จะช่วยลดการพึง่ พาบุคลากรลงได้

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ 31ธันวาคม 2556 มีดงั นี ้ ลําดับ 1 2

3

4 5 6 7 8 9 10

ชื่อผู้ถอื หุ้น SIS TECHNOLOGIES (THAILAND) PTE. LTD รวมหุ้นของครอบครัวสิทธิชยั ศรี ชาติประกอบด้ วย - นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการผู้จดั การ) - นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ (คูส่ มรส) - นายพิชญ์ สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตรชาย) - นางสาวพลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตรสาว) รวมหุ้นของครอบครัวปั งศรี นนท์ประกอบด้ วย - นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ (กรรมการบริ หาร) - นายชานน ปั งศรี นนท์ (บุตรชาย) - นายธนกร ปั งศรี นนท์ (บุตรชาย) นายสมพงษ์ ชลคดีดํารงกุล CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-UBS AG LONDON BRANCH-NRBS IPB CLIENT SEG

บริ ษัทซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะบุคคลนายวิโรจน์ โกศลธนวงศ์และนางสาว รักชนก ลุมาดกพันธุ์ โดยนายวิโรจน์ โกศลธนวงศ์ บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด นางสาวปฏิญญา ศุภอมรกุล นางวิภารัตน์ เลิศศิวาพร

รวมหุ้นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 ราย รวมหุ้นทัง้ หมด

จํานวนหุ้นที่ถอื 165,616,595 51,353,701

ร้ อยละของ หุ้นทัง้ หมด 47.3% 14.7%

9,457,961 9,421,780 12,550,164 19,923,796 34,373,624

9.8% 21,080,010 6,228,145 7,065,469

16,485,800 5,206,410 3,971,370 3,970,800

4.7% 1.5% 1.1% 1.1%

3,804,455 2,562,275 2,415,031

1.1% 0.7% 0.7%

289,760,061 350,198,655

82.7%

หมายเหตุ บริ ษัท SiS Technologies (Thailand) PTE. LTD. มีลกั ษณะธุรกิจเป็ น Investment Holding และมีนายลิม ฮวี ไฮ นายลิม เคีย ฮอง และ นายลิม เคีย เม้ ง เป็ นกรรมการ ซึง่ ทังสามท่ ้ านนี ้ เป็ นกรรมการของบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เช่นกัน

44 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ รับการแต่งตังจากคณะกรรมการบริ ้ ษัท มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้ วยกรรมการจํานวน 4 ท่าน โดยมี นายสมชาย ศิริวิชยกุล (กรรมการอิสระ) เป็ นประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และมี ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ (กรรมการอิสระ), นายลิม ฮวี ไฮ (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร), นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการ ผู้จดั การ) เป็ นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทนได้ ปฏิ บัติหน้ าที่ตามที่ได้ รั บมอบหมาย ซึ่งได้ กําหนดไว้ ในกฎบัตร ด้ ว ยความ ระมัดระวังอย่างรอบคอบในการสรรหา และการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ตลอดจนให้ ข้ อเสนอแนะต่างๆ อย่างสมเหตุสมผลต่อคณะกรรมการบริ ษัท โดยในปี 2556 ได้ มีการประชุมรวม 2 ครัง้ ซึ่งกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน ทุกท่านเข้ าร่วมประชุมทุกครัง้ เพื่อพิจารณาเรื่ องต่างๆ ตามหน้ าที่ ดังนี ้ 1. พิจารณา และประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามหน้ าที่ ความรับผิดชอบ และผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ โดยเปรี ยบเทียบกับเป้าหมาย และแผนงานประจําปี 2556 เพื่อกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร ให้ สอดคล้ องกับผลการประเมิน รวมถึงพิจารณา ทบทวน ค่าตอบแทนกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย สําหรั บปี 2557 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ มีการ พิจารณาเพื่อปรับอัตราค่าตอบแทน ที่ใช้ มาตังแต่ ้ ปี 2552 เพื่อให้ เหมาะสมกับภาระหน้ าที่ ที่เพิ่มขึ ้นตามข้ อกําหนดของหน่วยงาน กํากับดูแล และสอดคล้ องกับภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั โดยรายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริ หารระดับสูงประจําปี 2556 ได้ เปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี 2556 แบบรายบุคคล สําหรับนโยบายค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุด ย่อย สําหรับปี 2557 จะได้ นําเสนอรายละเอียดในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป 2. พิจารณาแผนสืบทอดตําแหน่ง (Succession Plan) ซึง่ ได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องจากปี 2553 โดยได้ เพิ่มกระบวนการที่จะสรรหา บุคลากรเพื่อสามารถเป็ นผู้สืบทอด หรื อทดแทนตําแหน่งของกรรมการที่เป็ นผู้บริ หารภายในเวลาที่เหมาะสม และได้ เพิ่มการพัฒนา ความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะในด้ านต่างๆ ที่จําเป็ น เพื่อให้ บริ ษัทฯมีความมัน่ คง และสามารถแข่งขันทางธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง 3. ในปี 2557 จะมีกรรมการที่ว่างลงตามวาระ ซึ่งคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน ได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอรายชื่อ บุคคลเพื่อรับเลือกเป็ นกรรมการตามหลักเกณฑ์ และระยะเวลาที่บริ ษัทฯได้ แจ้ งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาและนํ า เสนอที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทัง้ นี ไ้ ม่ มี ผ้ ู ถื อ หุ้ นท่ า นใดเสนอชื่ อ บุ ค คลมายัง บริ ษั ท ฯ คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทน จึงมีความเห็นให้ เสนอ กรรมการที่ต้องออกตามวาระกลับเข้ าดํารงตําแหน่งเป็ น กรรมการอีกวาระหนึง่ เนื่องจากมีคณ ุ สมบัติที่เหมาะสม และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด 4. หลังจากที่ได้ สรรหากรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หารเพิ่มอีก 1 ท่าน ซึ่งได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้น ให้ เลือกในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2556 ที่ผ่านมา และจากเหตุผลที่ข้อกําหนดของหน่วยงานกํากับดูแล และกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทมหาชนที่เพิ่มขึ ้น อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ มีการพิจารณาเรื่ องการเพิ่มจํานวนกรรมการอิสระอีก 1 ท่าน เพื่อช่วย กลัน่ กรองงานด้ านต่างๆของคณะกรรมการชุดย่อย และแบ่งเบาภาระของคณะกรรมการบริ ษัท ซึง่ ที่ประชุมคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทนมีการพิจารณาและหารื อกันอย่างรอบด้ าน แต่ยงั ไม่สามารถหาข้ อสรุปได้ เนื่องจากมีกรรมการบางท่านเห็นว่ายัง ไม่มีความจําเป็ นเร่ งด่วนในการสรรหากรรมการอิสระเพิ่มอีก 1 ท่านในขณะนี ้อันมีผลเนื่องมาจากสภาวะทางเศรษฐกิจที่หดตัวทําให้ การคาดการณ์ ข องผลประกอบการในปี 2557 เป็ นเรื่ อ งที่ ค าดการณ์ ไ ด้ ย ากลํ า บาก ซึ่ง ทางคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทนจะได้ พิจารณาเรื่ องนี ้ในโอกาสต่อไป 5. ในปี 2556 นี ้คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ เสนอชื่อคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาลซึง่ ประกอบด้ วยกรรมการ จํานวน 5 ท่าน คือ นายสุวิทย์ จินดาสงวน (กรรมการอิสระ), ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ (กรรมการอิสระ), นายสมชาย ศิริวิชยกุล (กรรมการอิสระ), นายลิม ฮวี ไฮ (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร) และ นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการผู้จดั การ) ซึ่งได้ รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษัทในเดือนสิงหาคม 2556 และเริ่ มดําเนินงานของคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาลแล้ ว คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนตระหนักถึงความสําคัญและประโยชน์ สูง สุด ของผู้ถื อ หุ้น รวมถึ ง ผู้ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุก ฝ่ าย จึ ง ปฏิ บัติห น้ า ที่ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ มี ค วาม ระมัดระวัง เป็ นธรรม โปร่ งใส ตามมาตรฐานสากล ในการกําหนดผลตอบแทนของกรรมการ และ กรรมการชุดย่อย เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการพัฒนาการปฏิบตั ิงาน ในการสร้ างผลการดําเนินงานให้ ดี ขึ ้นอย่างต่อเนื่อง

(นายสมชาย ศิริวิชยกุล) ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 5 มีนาคม 2557 45 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ าตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายการกําหนดค่าตอบแทนให้ กรรมการและผู้บริ หารที่กําหนดไว้ ชดั เจนและโปร่งใส มีการจ่ายค่าตอบแทนเพิ่มตาม ปริมาณงานที่เพิ่มขึ ้น ค่าตอบแทนที่กําหนดไว้ อยูใ่ นระดับเดียวกันกับอุตสาหกรรมและเหมาะสมกับกรรมการที่มีคณ ุ สมบัติที่ ต้ องการ โดยสําหรับค่าตอบแทนกรรมการ มีการแยกตามประเภทค่าตอบแทนดังนี ้ เงินประจําตําแหน่ งกรรมการ ประธานกรรมการ จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 20,000 บาท กรรมการท่านอื่น (ยกเว้ นกรรมการผู้จดั การ และ กรรมการบริหาร เนื่องจากทังสองท่ ้ าน เป็ นผู้บริ หารที่ได้ รับเงินเดือนจากบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว) จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในฐานะ กรรมการในอัตราเดือนละ 10,000 บาท เงินประจําตําแหน่ งกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 32,500 บาท กรรมการตรวจสอบท่านอื่น จะได้ รับเงิน ประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 25,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการ กรรมการที่เข้ าประชุมกรรมการ ซึง่ บริษัทฯ จัดให้ มีการประชุมกรรมการทุกไตรมาส จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดย ประธานกรรมการ จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาทเป็ นครัง้ ละ 30,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบที่เข้ าประชุมกรรมการตรวจสอบ ซึง่ มีการประชุมเดือนละครัง้ โดยกรรมการตรวจสอบจะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 7,500 บาท และประธานกรรมการตรวจสอบจะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 10,000 บาทและจ่ายให้ ไม่เกินปี ละ 12 ครัง้ เบีย้ ประชุมกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนที่เข้ าประชุม ซึง่ มีการประชุม 2 ครัง้ จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดยประธาน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง ซึง่ มีการประชุม 4 ครัง้ จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดยประธานกรรมการบริหารความ เสี่ยง จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล กรรมการกับดูแลบรรษัทภิบาล จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดยประธานกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล จะได้ รับ เพิ่มอีก 10,000 บาท รางวัลพิเศษประจําปี จะมีการจ่ายรางวัลพิเศษให้ กบั กรรมการที่ไม่ใช่กรรมการบริหารปี ละครัง้ ตามผลงาน โดยกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน จะเป็ นผู้พิจารณาตามหัวข้ อที่กําหนดขึ ้น สําหรับปี 2556 บริษัทฯ ได้ ขออนุมตั ิงบประมาณโดยรวมในการจ่ายค่าตอบแทนให้ กบั กรรมการไว้ ไม่เกิน 6 ล้ านบาท โดย บริษัทฯ ได้ จ่ายจริ งที่ 4,410,000 บาท และจะมีการเสนอให้ ผ้ ถู ือหุ้นพิจารณาอนุมตั ิคา่ ตอบแทนกรรมการประจําปี 2556 ไว้ ที่ไม่ เกิน 6 ล้ านบาทในที่ประชุมสามัญประจําปี โดยในปี 2556 กรรมการแต่ละท่าน ได้ รับผลตอบแทนตามประเภทรายได้ ดงั นี ้

46 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ

สุวิทย์ จินดาสงวน

ตําแหน่ง

เงินประจํา ตําแหน่งกรรมการ เงินประจํา ตําแหน่งกรรมการ ตรวจสอบ เบี ้ยประชุม กรรมการ เบี ้ยประชุม กรรมการ ตรวจสอบ เบี ้ยประชุม กรรมการสรรหาฯ เบี ้ยประชุม กรรมการบริ หาร ความเสี่ยง รางวัลประจําปี รวม

สมชาย ศิริวิชยกุล

โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

ลิม ฮวี ไฮ

ลิม เคีย ฮอง

 กรรมการอิสระ  กรรมการ ตรวจสอบ  ประธานกรรมการ  ประธาน คณะกรรมการ กํากับดูแล บรรษัทภิบาล

 กรรมการอิสระ  กรรมการ ตรวจสอบ  ประธาน กรรมการสรรหา และกําหนด ค่าตอบแทน  กรรมการกํากับ ดูแลบรรษัทภิ บาล

 กรรมการอิสระ  ประธาน กรรมการ ตรวจสอบ  กรรมการสรรหา และกําหนด ค่าตอบแทน  กรรมการบริ หาร ความเสี่ยง  กรรมการกํากับ ดูแลบรรษัทภิ บาล

240,000

120,000

120,000

120,000

120,000

300,000

300,000

390,000

-

-

180,000

120,000

120,000

120,000

80,000

90,000

90,000

120,000

-

-

60,000

40,000

40,000

80,000

120,000

270,000 1,140,000

400,000

420,000 1,230,000

270,000 960,000

ลิม สมชัย เคีย เม้ ง สิทธิชัยศรี ชาติ

สมบัติ ปั งศรีนนท์

 กรรมการ  กรรมการ  กรรมการ  กรรมการ  กรรมการบริ หาร  กรรมการสรรหา  กรรมการบริ หาร ผู้จดั การ และกําหนด  กรรมการสรรหา ความเสี่ยง ค่าตอบแทน และกําหนด  ประธาน ค่าตอบแทน กรรมการบริ หาร  กรรมการกํากับ ความเสี่ยง ดูแลบรรษัทภิ  กรรมการกํากับ บาล ดูแลบรรษัทภิ บาล

80,000

-

-

-

-

120,000

120,000

-

-

-

-

40,000

-

40,000

80,000 200,000

120,000

160,000

200,000

สําหรับค่าตอบแทนของกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนจะประเมินการปฏิบตั ิงานของ กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร โดยแบ่งการประเมินออกเป็ น 3 หมวดคือหมวดการปฏิบตั ิตามยุทธวิธีที่กําหนดไว้ (สัดส่วน 12%), หมวด Operation & Corporate Governance (สัดส่วน 18%) เมื่อเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้ และหมวดผล ประกอบการ (สัดส่วน 70%) เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม สําหรับผู้บริ หารระดับรองลงไป กรรมการผู้จดั การจะเป็ นผู้กําหนดผลตอบแทนและแจ้ งยอดรวมการจ่ายให้ กบั กรรมการกําหนด ค่าตอบแทนพร้ อมกับเปิ ดเผยในรายงานประจําปี ในส่วนค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริ หารรวม 8 รายในปี 2556 ในรูปเงินเดือน เงินรางวัลประจําไตรมาสและเงินโบนัสประจําปี เป็ นจํานวนเงินรวม 39,092,472 บาท โดยมีรายชื่อดังต่อไปนี ้: 1) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ กรรมการผู้จดั การ 2) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ กรรมการบริ หารและเลขานุการบริษัท 3) นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน 4) นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ 5) นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Commercial 6) นายพนิต ศรี เกริกกริ ช ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Movie & Music 7) นายธนา ธนะแพสย์ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Consumer 8) นายไกวัลย์ บุญเสรฐ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Value Added Commercial

47 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


เงินสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพของผู้บริหาร เงินสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลี ้ยงชีพของผู้บริ หาร 8 ราย ในปี 2556 เป็ นจํานวนเงิน 1,714,650 บาท โดยจะต้ องมีอายุงานตังแต่ ้ 2 ปี ขึ ้นไป จึงจะเริ่มได้ รับบางส่วนของค่าตอบแทนนี ้ และจะได้ รับเต็มเมื่ออายุงาน 5 ปี ขึ ้นไปตามรายละเอียดดังนี ้ อายุงาน น้ อยกว่า 2 ปี 2 – 3 ปี 3 – 4 ปี 4 – 5 ปี 5 ปี ขึ ้นไป

อัตราส่ วนที่ได้ รับ จ่ายคืนเฉพาะส่วนของพนักงานพร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 20% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 40% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 70% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 100% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน

บุคลากร บริษัทฯ มีพนักงานทังสิ ้ ้น 521 คน โดยแบ่งออกเป็ นพนักงานของบริ ษัทฯ 385 คน ซึง่ ในส่วนนี ้ แบ่งออกเป็ นผู้บริ หาร 8 คนและเป็ น พนักงานฝ่ ายอื่น 377 คน ซึ่งนอกจากนี ้ ยังมีพนักงานของบริ ษัทภายนอกที่ส่งพนักงานมาทํางานที่บริ ษัทฯ136 คนโดยแบ่ง ้ นฝ่ ายต่างๆ ดังนี ้ พนักงานทังหมดออกเป็ บมจ. เอสไอเอสฯ Outsource รวม ฝ่ ายขาย (คน) 165 93 258 ฝ่ ายสินค้ า/การตลาด (คน) 73 0 73 ฝ่ ายการเงิน/เครดิต (คน) 23 0 23 ฝ่ ายคลังสินค้ า (คน) 27 37 64 ฝ่ ายเทคนิค (คน) 29 0 29 ฝ่ ายบริ การ (คน) 27 0 27 อื่นๆ (คน) 33 6 39 รวม (คน) 377 136 513 ค่าตอบแทนพนักงาน(ล้ านบาท) 177.0 18.0 195.0 โดยค่าตอบแทนพนักงาน ประกอบด้ วย 1) เงินเดือน 2) โบนัสประจําไตรมาส 3) รางวัลพิเศษ (เฉพาะพนักงานขายและผู้จดั การ ผลิตภัณฑ์) 4) โบนัสประจําปี

เงินสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ เงินสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลี ้ยงชีพของพนักงาน 377 คน ในปี 2556 รวม 5,545,141 บาท โดยจะต้ องมีอายุงานตังแต่ ้ 2 ปี ขึ ้นไป จึงจะเริ่ มได้ รับบางส่วนของค่าตอบแทนนี ้ และจะได้ รับเต็มเมื่ออายุงาน 5 ปี ขึ ้นไปตามรายละเอียดดังนี ้ อายุงาน น้ อยกว่า 2 ปี 2 – 3 ปี 3 – 4 ปี 4 – 5 ปี 5 ปี ขึ ้นไป

อัตราส่ วนที่ได้ รับ จ่ายคืนเฉพาะส่วนของพนักงานพร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 20% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 40% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 70% ของบริ ษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 100% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน

48 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ มีนโยบายส่งเสริ มให้ พนักงานได้ รับการพัฒนาความรู้ ศักยภาพและความสามารถตามสายงานตลอดจนมี ทัศนคติที่ดี มีการเติบโตเจริญก้ าวหน้ าไปพร้ อมกับบริษัทฯ โดยผ่านกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง การฝึ กอบรม การสัมมนา ในปี 2556 บริ ษัทฯ มีพนักงานที่ทําหน้ าที่ฝึกอบรมพนักงานขายโดยเฉพาะ 1 ตําแหน่งและได้ มอบหมายงานฝึ กอบรมให้ ผู้จดั การผลิตภัณฑ์อาวุโสอีก 5 คน รับผิดชอบการฝึ กอบรมแก่ผ้ จู ดั การผลิตภัณฑ์ และมีการว่าจ้ างพนักงานจากภายนอก ให้ ทํา หน้ าที่ฝึกอบรมโดยเฉพาะอีก 1 รายตลอดทังปี ้ เพื่อฝึ กอบรมการขายงานโครงการ และ งานขายลูกค้ ารายใหญ่ นอกจากนี ้ บริษัทฯ ได้ จดั เตรี ยมพื ้นที่เพื่อแสดงประกาศนียบัตรที่พนักงานได้ มา จากการไปฝึ กอบรมและสอบผ่าน เพื่อเป็ นการให้ เกียรติกบั พนักงานเหล่านันและถื ้ อเป็ น การส่งเสริมให้ พนักงานได้ มีการเรี ยนรู้มากขึ ้น สํา หรั บ พนัก งานขาย บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให้ มี การเข้ า ไปเรี ยนรู้ ด้ ว ยตนเองจาก เว็บไซต์ของผู้ผลิตที่มีการจัดทําหลักสูตรให้ เรี ยนรู้ ด้วยตนเองได้ โดยกําหนดเป็ น KPI ที่เมื่อสอบผ่าน บริ ษัทฯ จะมอบรางวัลพิเศษ ให้ เพิ่มเติม บริ ษัทฯ มีห้องประชุมขนาดใหญ่ที่จดั ประชุมพนักงานได้ มากกว่า 300 คน พร้ อมห้ องประชุมขนาดกลางและขนาดเล็ก จํานวนมาก พร้ อมอุปกรณ์ที่ทําให้ สามารถจัดประชุมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้ มีการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ทกุ คน จัดให้ มีระบบ “พี่เลี ้ยง” ให้ กับพนักงานใหม่ทุกคน มีเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายฝึ กอบรมที่ทํางานด้ านฝึ กอบรมเต็มเวลา 1 คน มีการกําหนด งบประมาณเพื่อใช้ ในการฝึ กอบรมพนักงานทุกปี มีการฝึ กอบรมทังด้ ้ านที่เกี่ยวกับงานโดยตรงที่เป็ นการอบรมภายใน และการ อบรมด้ านอื่นๆ ที่มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ ความรู้

ในปี 2556 บริ ษัทฯ มีจํานวนเฉลี่ยของชัว่ โมงต่อการฝึ กอบรมทังสิ ้ ้นเท่ากับ 19 ชัว่ โมง

49 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการ บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) มีมติในการประชุมครัง้ ที่ 3/2556 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ให้ แต่งตังคณะกรรมการกํ ้ ากับดูแลบรรษัทภิบาล โดยมีนายสุวิทย์ จินดาสงวน เป็ นประธานกรรมการ, นาย ลิม ฮวี ไฮ, ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์, นายสมชาย ศิริวิชยกุล และ นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ ดํารงตําแหน่งกรรมการ มีหน้ าที่ และความรั บ ผิ ด ชอบในการกํ า หนดนโยบายการกํ า กับ ดูแ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ ประเมิ น และทบทวนเกี่ ย วกับ นโยบาย จรรยาบรรณ ตลอดจนถึงแนวปฏิบตั ิที่ดีให้ สอดคล้ องกับกฎหมายและข้ อเสนอแนะเพื่อเป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดีแก่บริษัทฯ คณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ตระหนักถึงความสําคัญและมุง่ มัน่ ให้ บริษัทฯ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยยึด ถื อ การปฏิ บัติ ตามหลักการการกับดูแลกิจการที่ดีและหลักจริ ยธรรมทางธุรกิจ ซึ่งจะได้ วางกรอบปฏิบัติและกําหนดเป็ นโยบายธรรมาภิบาล เพื่อให้ การดําเนินงานด้ านธรรมาภิบาลของบริ ษัทเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิ ผล สร้ างความเชื่อมัน่ ต่อผู้ถือหุ้น ้ บปรุง และผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย ส่งเสริมให้ การดําเนินงานของบริ ษัทฯ สอดคล้ องกับนโยบายธรรมาภิบาลและจริ ยธรรม รวมทังปรั แนวปฏิบตั ิให้ สอดคล้ องตามแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งจากการผลักดันให้ มีการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ ดีมาตลอด ทําให้ บริษัทฯ ได้ รับการประเมินต่างๆ ในระดับที่ดีเลิศดังนี ้ รางวัล SET AWARD ด้ านการรายงานบรรษัทภิบาลดีเยี่ยม ในงานครบรอบ 10 ปี SET Awards 2013 ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และวารสาร การเงินธนาคาร ได้ จดั ขึ ้นโดยมีบริษัท ทริส คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด เป็ นที่ปรึกษาเพื่อจัดทําหลักเกณฑ์ และประเมินผลรางวัล SET Awards นัน้ บริ ษัทฯ เป็ นหนึ่งใน 10 บริ ษัทฯ ที่ได้ รับรางวัลบริ ษัทจด ทะเบียนด้ านการรายงานบรรษัทภิบาลดีเยี่ยม (Top Corporate Governance Report Awards) รางวัล "ดีเลิศ" ด้ านการกํากับดูแลกิจการ จากการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําปี 2556 ที่ดําเนินการ โดย สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD), ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) บริ ษัทฯ ได้ รับการประเมินอยู่ในกลุ่ม “ดีเลิศ” (excellent) ซึง่ เป็ นกลุม่ สูงสุดที่มีช่วงคะแนนระหว่าง 90 – 100 คะแนน พร้ อมกับอีก 87 บริษัท อันแสดงถึงการให้ ความสําคัญและ การปฏิ บัติ ต ามแนวทางที่ ต ลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยกํ า หนดไว้ ซึ่ง บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ การประเมิ น ให้ อ ยู่ใ นกลุ่ม “ดี เ ลิ ศ ” (excellent) ติดต่อกันมาตังแต่ ้ ปี 2552 คะแนนเต็ม 100 ด้ านคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ จากการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย ได้ ร่วมกัน ประเมินทุกปี นัน้ บริ ษัทฯ เป็ นหนึ่งใน 96 บริ ษัทฯ ที่ได้ รับคะแนนเต็ม 100 จาก การประเมินในปี 2556 นี ้ ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ รับคะแนนเต็ม 100 ทุกปี ติดต่อกันมา ตังแต่ ้ ปี 2552 อันแสดงถึงการให้ ความสําคัญกับผู้ถือหุ้นและการปฏิบตั ิต่อผู้ถือ หุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ผลการสํารวจที่ผ่านมา แสดงถึงความตังใจของบริ ้ ษัทฯ ในการดําเนิน ธุรกิจให้ เป็ นไปตามการกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึง่ บริ ษัทฯ จะพยายามปรับปรุงให้ ดีขึ ้นเพื่อการเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คงสืบไป

(นายสุวิทย์ จินดาสงวน) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล 5 มีนาคม 2557 50 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานการปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ได้ ตระหนักและให้ ความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการและผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทฯ ได้ ร่วมกันผลักดันให้ เกิดวัฒนธรรมในการกํากับดูแลกิจการที่พนักงานทุกคน นําไปปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ บริ ษัทฯ มีรากฐานที่ แข็งแรง สามารถเติบโตได้ อย่างต่อเนื่องและมัน่ คง โดยยึดถือข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดีที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมส่งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) กําหนดไว้ ดงั นี ้ บริ ษัทฯ ยังคงยืนหยัดที่จะดําเนินธุรกิจควบคู่ไปกับการใส่ใจ ดูแลรักษาสังคมและสิ่งแวดล้ อมภายใต้ หลักจริ ยธรรม การ กํากับดูแลกิจการที่ดี ไม่สนับสนุนการดําเนินการที่มีลกั ษณะเป็ นการละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาหรื อลิขสิทธิ์ จัดให้ มีระบบการ บริ หารจัดการที่สามารถป้องกันการจ่ายสินบนและทุจริ ตและเป็ นระบบที่ตรวจสอบได้ รวดเร็ ว และการนํ าปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพียงมาบูรณาการ เพื่อนําไปสู่การดําเนินธุรกิจที่ประสบความสําเร็ จอย่างยัง่ ยืน โดยส่งเสริ มให้ พนักงานทุกคนปฏิบตั ิตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยมีการติดตามแนวทางที่กําหนดขึ ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) กําหนดไว้ ดังนี ้ สิทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ ตระหนักถึงภาระและหน้ าที่ของการเป็ นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ฯ ที่จะต้ องคํานึงถึงผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นทุกราย มีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันดังนี ้ ั นธรรมองค์กรที่  มีการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและระมัดระวัง เพื่อให้ บริ ษัทฯ มีการเจริ ญเติบโตอย่างมัน่ คง มีวฒ ดี มีผลตอบแทนต่อการลงทุนที่เหมาะสม ทังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ ระบุให้ เป็ นหนึ่งในเป้าหมายหลัก ของบริษัทฯ  มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน มีการเปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้ วน เพียงพอ และโปร่ งใส จัดให้ มี การประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที่สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสเท่า ้ าถาม ให้ ความสําคัญต่อข้ อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น และกําหนดสิทธิออกเสียง เทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตังคํ ในการเข้ าประชุมของผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน  ในปี 2557 นี ้ มีการกําหนดให้ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงทุกท่านแจ้ งรายละเอียดของการจะซื ้อจะขายหุ้นของบริ ษัทฯ ้ การแจ้ งให้ พนักงานทุกคน งดซื ้อขาย ต่อคณะกรรมการของบริ ษัทฯ ล่วงหน้ า 1 วัน ก่อนซื ้อขายหุ้นของบริ ษัทฯ รวมทังมี หุ้นของบริ ษัทฯ เมื่อจบไตรมาสและบริ ษัทฯ ยังไม่ได้ ประกาศผลประกอบการ เพื่อลดความเป็ นไปได้ ในการใช้ ข้อมูล ภายในของบริษัทฯ ในการซื ้อขายหุ้น  การเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นสอบถามการดําเนินงาน ซึง่ ในปี 2556 มีผ้ ถู ือหุ้นสอบถามรายละเอียดการดําเนินงานทางอีเมล และทางโทรศัพท์มาหลายครัง้ ซึ่งบริ ษัทฯ ก็ได้ ตอบคําถามผู้ที่สนใจทุกครัง้ รวมทังเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นและผู้บริ หาร กองทุนฯ เข้ าพบผู้บริหารอย่างสมํ่าเสมอ  บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอวาระการประชุมหรื อส่งคําถามเกี่ยวกับบริ ษัทฯ ล่วงหน้ าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ ภายใต้ หวั ข้ อ Investor Relations และหัวข้ อย่อย “การเสนอวาระประชุม” ที่ให้ ผ้ ถู ือหุ้น สามารถเข้ าไปดูหลักเกณฑ์ในการเสนอเรื่ องเพื่อพิจารณาเป็ นวาระการประชุม การเสนอชื่อผู้เข้ ารับการเลือกตังเป็ ้ น กรรมการ รวมไปถึง แบบเสนอเรื่ อ งเพื่ อ บรรจุเป็ นวาระการประชุมผู้ถื อ หุ้น ประจํ า ปี ผ่า นเว็บ ไซต์ ห รื อ ทางอี เมลได้ ที่ investorinfo@sisthai.com  เพื่ อ ให้ ผ้ ูถื อ หุ้น และบุค คลภายนอกที่ ส นใจจะลงทุน ในบริ ษั ท ฯ ได้ ข้ อ มูลอย่า งถูกต้ อ งและรวดเร็ ว บริ ษั ท ฯ จัดให้ มี หน่วยงานผู้ลงทุนสัมพันธ์พร้ อมกับให้ มีหน้ า Investor Relation ในเว็บไซต์ของบริ ษัทฯ www.sisthai.com เพื่อให้ ข้อมูล ที่ เ ป็ นประโยชน์ ซึ่ ง ผู้ ถื อ หุ้ นและผู้ ที่ ส นใจจะลงทุ น ทุ ก ท่ า น สามารถสอบถามหรื อแนะนํ า ผ่ า นอี เ มลได้ ที่ investorinfo@sisthai.com ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2556 มีผ้ ถู ือหุ้นได้ สอบถามในที่ประชุม ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ ตอบข้ อสอบถามของผู้ถือหุ้นในที่ประชุมอย่างครบถ้ วน 51 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลในอัตราประมาณร้ อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี และสํารองตามกฎหมาย ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจในการพิจารณายกเว้ นไม่ดําเนินการตามนโยบายดังกล่าวหรื อเปลี่ยนแปลงนโยบายดังกล่าวได้ เป็ นครัง้ คราว โดยอยูภ่ ายใต้ เงื่อนไขที่การดําเนินการดังกล่าวจะต้ องก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น เช่น ใช้ เป็ นทุน สํารองสําหรับการชําระคืนเงินกู้ ใช้ เป็ นเงินลงทุนเพื่อขยายธุรกิจของบริษัทฯ หรื อกรณีมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะตลาด ซึง่ อาจ มีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริษัทฯ ในอนาคต บริษัทฯ ไม่ได้ กําหนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปั นผลของบริษัทย่อยให้ กบั บริ ษัท ซึง่ การจ่ายเงินปั นผลจะขึ ้นอยูก่ บั ผล ประกอบการของแต่ละบริษัทฯ ในแต่ละปี การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จัดให้ มีการประชุมผู้ถือหุ้นตามแนวปฏิบตั ิที่ดี ซึง่ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ได้ ร่วมกันประเมินคุณภาพการจัด ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญทุกปี นัน้ บริ ษัทฯ มีผลการประเมินการประชุมตามตารางด้ านล่างซึง่ บริษัทฯ มีการปรับปรุงการประชุม ให้ เป็ นไปตามแนวทางที่ได้ รับคําแนะนํา ซึง่ บริษัทฯ ได้ คะแนนเต็มจากการประเมิน อันแสดงถึงการให้ ความสําคัญกับผู้ถือหุ้น และความพยายามในการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ปี

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้ รับ

2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556

100 110 110 100 100 100 100 100

56.4 72.0 102.5 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

สําหรับผลการดําเนินงานงวด 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2556 บริ ษัทฯ กําหนดวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ครัง้ ที่ 1/2557 ในวันศุกร์ ที่ 18 เมษายน 2557 โดยกรรมการบริ ษัทฯ ทุกคน และผู้บริ หารบางส่วนจะเข้ าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นดังกล่าว และ จะมีการดําเนินการดังนี ้:  เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอชื่อผู้เข้ ารับการเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ รวมไปถึงสามารถดาวน์โหลดหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น จาก www.sisthai.com ได้  เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอวาระการประชุมหรื อส่งคําถามเกี่ยวกับบริษัทฯ ล่วงหน้ าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้ ผ่านทางเว็บไซต์ ของบริ ษัทฯ www.sisthai.com ภายใต้ หวั ข้ อ Investor Relations และหัวข้ อย่อย “การเสนอวาระประชุม” ที่ให้ ผ้ ถู ือหุ้น สามารถเข้ าไปดูหลักเกณฑ์ในการเสนอเรื่ องเพื่อพิจารณาเป็ นวาระการประชุม  จัด ให้ มีการลงทะเบี ยนผู้เข้ า ร่ วมประชุมด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อ อํ านวยความสะดวกแก่ผ้ ูถือ หุ้น พร้ อมจัดพิ มพ์ บัตร ลงคะแนนสําหรับแต่ละวาระให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เพื่อใช้ ในการลงคะแนน ซึ่งก่อนเริ่ มประชุม ประธานกรรมการจะชีแ้ จงวิธีการ ลงคะแนนและนับคะแนน ซึ่งบริ ษัทฯ จะใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการลงคะแนน ซึ่งจะสรุ ปผลคะแนนทุกขัน้ ตอนอย่าง ชัดเจนในห้ องประชุมเพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ และรายงานผลการลงคะแนนต่อสาธารณชนในวันทําการถัดไป  ในกรณี ที่ ผ้ ูถื อ หุ้น ไม่ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุม ได้ บริ ษั ท ฯ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถื อ หุ้น มอบฉัน ทะให้ บุค คลอื่ น กรรมการอิส ระ กรรมการผู้จดั การ หรื อเลขานุการบริษัทฯ เข้ าร่วมประชุมแทนได้  ประธานในที่ประชุมจะจัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมเพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถือหุ้นได้ ซักถามและแสดงความเห็นต่อที่ประชุม รวมทังสอบถามข้ ้ อสงสัยต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ ในที่ประชุมตามวาระที่กําหนดไว้ รวมทังจะมี ้ การบันทึกประเด็น ซักถามและข้ อคิดเห็นที่สําคัญไว้ ในรายงานการประชุมอย่างครบถ้ วน สิทธิของผู้มีส่วนได้ เสียอื่นๆ บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ และได้ กําหนดเป็ นนโยบายของบริษัทฯ ในการปฏิบตั ิกบั ผู้มีสว่ นได้ เสีย อื่น ๆ อย่างเป็ นธรรมและเหมาะสมดังนี ้ 52 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


1. พนักงานน บริ ษัทฯ ตระหนั ต กถึงควาามสําคัญของพพนักงานที่มีสว่ นสํ น าคัญต่อควาามก้ าวหน้ าของงบริ ษัทฯ และมีนโยบายในการรดูแลความ ปลอดภัยของพนั ย กงานแและพัฒนาพนักงานให้ ก มีความมรู้ความสามารรถเพิ่มขึ ้น เปิ ดโโอกาสให้ พนักงานได้ ทํางานทีชอบ ่ช ส่งเสริ ม ให้ มีความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ ้น ให้ อํานาาจการตัดสินใจจภายใต้ ข้อกําหนดที ห ่ตรวจสอบบได้ ให้ โอกาสใในการปฏิบตั ิงานที า ่ ก านนเช่น หลากหลลายและจ่ายผลลตอบแทนตามความสามารถโโดยมีแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับพนักงานหลายด้ ก. ด้ านควาามปลอดภัย สุสขอนามัยพนั​ักงานและสภาาพแวดล้ อมในนการทํางาน I. ควาามปลอดภัยในกการปฏิบตั ิงาน บริ ษัษัทฯ ได้ ดําเนินการด้ ก านความปปลอดภัยทังในแ ้ แง่สถานที่ทํางาาน ให้ มีผงั ที่เหมมาะสม มี ช่องทางเดิ ง นที่กว้ างเพี ง ยงพอ ไม่มีสิสง่ิ กีดขวาง และในแง่อปุ กรณ์ ณ์ จะคํานึงถึงคววาม ปลออดภัยในการใช้ช้ งานเป็ นปั จจัยสําคัญในการพิพิจารณาเลือกซืซื ้อ้ รวมไปถึงกาารซื ้อ อุปกรณ์ ก เพิ่มเติม เพืพื่อให้ เกิดความมปลอดภัยในกาารใช้ งานมากขึ ้น้ เช่น ในปี 25556 บริ ษัษัทฯ ซื ้อกล้ องพิพิเศษที่ติดตังเพื ้ ่อให้ พนักงานขับั รถยกสามารถมองเห็นตําแหหน่งของ

II.

III.

IV.

V.

VI.

ที่ตกได้ กั ชดั เจนขึ ้น ซึง่ กล้ องดังกล่าว า ไม่เป็ นที่นิยมใช้ ม ในประเทศไไทย จน บริ ษัษัทฯ ต้ องสัง่ ซื ้อกล้ องดังกล่าวมมาจากต่างประะเทศโดยตรง ก ดอุบตั ิเหตุ ห ทกุ ครัง้ บริ ษัทฯ มีระบบ databaase ที่ใช้ บนั ทึกการเกิ ้ ้เพื่อให้ ใ พนักงานที่เกี่ยวข้ องสามารถถติดตามปั ญหาเพื่อ ที่เกิดขึ ้น ทังนี หาททางแก้ ไขและป้องกันอุบตั ิเหตุไม่ให้ เกิดขึ ้นได้ด้ อีกอย่างเป็ นระะบบ โดย ในปีป 2556 เกิดอุบตั ิเหตุขึ ้น 11 ครรัง้ ซึง่ มีการบันทึทกรายละเอียดไว้ ด ทกุ ครัง้ ข กงาน 1 ครัง้ และต้ องหหยุดงาน 6 วัน ซึง่ บริ ษัทฯ ออกกค่าใช้ จ่ายในกการรักษาพยาบบาลให้ ทงหมด ั้ โดยยมีการบาดเจ็บของพนั นอกกนัน้ เป็ นความเสียหายของทรัรัพย์สนิ ที่บริ ษัทฯ ท ได้ ทําประกันไว้ น แล้ ว การรลดความเสี่ยงตต่อการเกิดอัคคีภยั มีการปรั า บกระบวนนการทํางานเพื่อลดโอกาสเสี อ ่ยงต่อการเกิดเหตุเพลิงไหม้ เช่น มีการตรวจสออบอุปกรณ์ไฟฟฟ้าว่าไม่มีการ ใช้ เกินกําลัง การจัดั เก็บวัสดุอนั ตรายอย่างเหมาะสม การจัดที่สูสบบุหรี่ และห้ ามสู ม บบุหรี่ ในคลัลังสินค้ าและที่ทํทาํ งาน ฯลฯ การรจัดให้ มีแผนฉุกเฉิ ก นเมื่อเกิดอุบับติภยั มีการร่ า วมมือกับเจ้ าของอาคารที่บริ บ ษัทฯ เช่า เพื่อซ้ อ อมเมื่อมีอบุ ตั ิภยั ต่างๆ เช่น ไฟไหม้ และอบบรมการใช้ เครื่ องมื อ อช่วยดับไฟฟ โดยจัดเป็ นประจําทุกปี รวมมทังให้ ้ มีผ้ รู ับผิดชอบหลั ด กในกรรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิ​ินขึ ้น การดูแลประตู ล ทางงออกไม่ให้ มีสงิ่ กีดขวาง ฯลฯ สุขอนามั อ ยพื ้นฐาน บริ ษัษัทฯ มีนโยบายยที่จะให้ พนักงานมีสขุ อนามัยพื ้นฐานที่ดี มีการดู า แลที่ทํางานนให้ มีความสะออาด มีระบบระบายอากาศที่ ดี มีการจัดแสงสว่างอย่ า างเหมาะสสม มีจํานวนอ่างล้ า างมือและห้ห้ องสุขาอย่างเพีพียงพอและมีการกระตุ้นให้ พนันกงานช่วยกัน ษ ดอย่างสมํ่าเสมอรวมทังทุ ้ กปี บริ บ ษัทฯ จัดให้ พนั พ กงานที่ต้องกการฉีดวัคซีนป้อองกันโรคหวัด โรคตั โ บอักเสบ รักษาความสะอาด สามมารถดําเนินการได้ โดยบริ ษัทฯ ออกค่าใช้ จ่ายให้ ย 50% อุปกรณ์ ก และการปฐฐมพยาบาล มีการจั า ดหาอุปกรณ ณ์ปฐมพยาบาลลอย่างเพียงพอและเหมาะสมและจัดให้ มีการรอบรมการปฐมมพยาบาลให้ กบั พนักงาน ที่ เกี่ยวข้ องและมีห้องพยาบาลสําหรั ห บพนักงาน การรฝึ​ึ กอบรมด้ านคความปลอดภัย มีการฝึ า กอบรมด้ านความปลอดภั น ยั ให้ พนักงาน โดยกํ โ าหนดให้ เป็ นส่วนหนึง่ ขอองการปฐมนิเทศของฝ่ ายบุคคล ค

พ กงานได้ ทาํ งานที่ถนัด ข. การให้ พนั เพื่อให้ พนันกงานมีโอกาสสทํางานที่ชอบแและตรงกับควาามถนัด เมื่อบริษัทฯ จะรับพนักั งานเพิ่ม บริ ษษั​ัทฯ จะเปิ ดโอกกาสให้ พนักงานนเดิมสามารถสมมัครได้ ก่อนคนนนอก ทังนี ้ ้ พนักงานจะต้ ก องผ่านกระบวนการ า คัดเลือกจากหนน่วยงานที่ต้องกการรับเหมือน การรับพนนักงานใหม่และเปิ ดโอกาสให้ห้ พนักงานแจ้ งใหห้ ทราบเมื่อต้ องการย้ ง ายไปทํางานในลักษณะะงานแบบอื่นทีถนั ่ ด ซึง่ บริ ษัทฯ ท จะพิจารณาความเหมาะสมมในทุกกรณีที่พนั พ กงานแจ้ งให้ ทราบ 53 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)


ค. ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม บริษัทฯ มีนโยบายในการกําหนดผลตอบแทนที่เหมาะสมทังระยะสั ้ นและระยะยาวให้ ้ กบั พนักงาน โดยมีการตรวจสอบและ เปรี ยบเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกันทุกปี และนอกเหนือจากรายได้ ประจําในรูปเงินเดือนแล้ ว บริ ษัทฯ กําหนดให้ พนักงานทุก คนมีสวัสดิการและรายได้ อื่นๆ เพิ่มเติม เช่น I. การจ่ายโบนัสเป็ นรายไตรมาส บริษัทฯ มีการกําหนดเป้าหมายประจําไตรมาสและมีการจ่ายโบนัสแต่ละไตรมาสให้ กบั พนักงานทุกคนตามผลงานรวม ของแต่ละหน่วยธุรกิจที่พนักงานสังกัดอยูแ่ ละตามผลงานรวมบริ ษัทฯ ทังนี ้ ้เพื่อให้ พนักงานทุกคนมีจิตสํานึกที่จะร่วมกัน ทํางานให้ ได้ ตามเป้าหมายในแต่ละไตรมาส II. การจ่ายโบนัสประจําปี ในแต่ละปี บริษัทฯ กําหนดให้ มีการจ่ายโบนัสประจําปี ให้ กบั พนักงานตามผลประกอบการรวมของบริ ษัทฯ และตาม ผลงานของพนักงานแต่ละคน III. โครงการ Employee Stock Option เพื่อเสริมสร้ างให้ พนักงานมีความรู้สกึ ร่วมในการเป็ นเจ้ าของกิจการและให้ พนักงานได้ รับผลตอบแทนที่ดีตามผล ประกอบการของบริษัทฯ ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ กระจาย Stock Option ให้ พนักงานครัง้ แรกเมื่อเริ่มเข้ าจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ ในปี 2547 จํานวน 5,000,000 สิทธิ์ โดยให้ ทยอยใช้ สทิ ธิ์ใน 5 ปี ซึง่ มีพนักงานใช้ สทิ ธิ์เปลี่ยนเป็ นหุ้นทังสิ ้ ้น 3,174,100 หุ้น เมื่อจบโครงการในปี 2552 ซึง่ เมื่อจบโครงการ ได้ ขอมีการดําเนินการต่อ โดยในที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ครัง้ ที่ 1 ปี 2553 ได้ รับอนุมตั ิจากผู้ถือหุ้น เพื่อให้ ดําเนินการในโครงการ Stock Option ต่อเพื่อจัดสรรให้ พนักงาน ผู้บริหารและกรรมการเพิ่มอีก 10 ล้ านหุ้น สําหรับทยอยใช้ สทิ ธิ์ในระยะเวลา 3 ปี IV. ตรวจสุขภาพประจําปี บริษัทฯ จัดให้ มีการตรวจสุขภาพประจําปี สําหรับพนักงานทุกคน เพื่อให้ มีข้อมูลเกี่ยวกับ สุขภาพของตนเองและเป็ นการส่งเสริมการมีสขุ ภาพดีโดยเมื่อทราบผล ก็จะจัดให้ มีแพทย์ เข้ ามาให้ คําแนะนําการปฏิบตั ิตวั เพื่อให้ มีสขุ ภาพดี รวมไปถึงการให้ พนักงานฉีดวัคซีน ป้องกันตับอักเสบ และวัคซีนป้องกันไข้ หวัดใหญ่ในราคา 50% ของต้ นทุน โดยบริษัทฯ ช่วย ออกให้ อีก 50% V. กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ ้ ปี 2546 โดยทังบริ ้ ษัทฯ บริษัทฯ จัดให้ มีกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพให้ กบั พนักงานทุกคน ตังแต่ และพนักงานจ่ายเงินสะสมเข้ าโครงการในอัตรา 3% และ 5% ของเงินเดือน และพนักงาน จะเริ่มได้ รับส่วนของบริษัทฯ เมื่อทํางานมากกว่า 2 ปี ขึ ้นไป โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพของ พนักงาน มีมลู ค่ารวมผลประโยชน์ 80.7 ล้ านบาท และพนักงานจะได้ รับบางส่วนของบริษัทฯ เมื่อทํางานตังแต่ ้ 2 ปี ขึ ้น ไป และได้ รับทังหมดเมื ้ ่อทํางานมากกว่า 5 ปี ดังนี ้ อายุงาน อัตราส่ วนที่ได้ รับ น้ อยกว่า 2 ปี จ่ายคืนเฉพาะส่วนของพนักงานพร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 2 – 3 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 20% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 3 – 4 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 40% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 4 – 5 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 70% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 5 ปี ขึ ้นไป จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 100% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน VI. การประกันอุบตั ิเหตุ บริษัทฯ มีการประกันภัยอุบตั ิเหตุเพิ่มเติมนอกเหนือจากกองทุนเงินทดแทนให้ กบั พนักงานทุกคน โดยคุ้มครอง 24 ชัว่ โมง ทัว่ โลก ซึง่ ในปี 2556 มีจํานวนเงินทุนประกันทังสิ ้ ้น 221 ล้ านบาท ง. การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ ให้ ความสําคัญด้ านการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงานโดยสามารถดูรายละเอียดได้ ที่หวั ข้ อ บุคลากร - การพัฒนา บุคลากร

54 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


จ. การจัดให้ มีเครื่ องมือในการทํางานที่ดี บริษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการให้ พนักงานทํางานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และจัดให้ มีเครื่ องมือในการทํางานที่ดี มี ประสิทธิภาพโดยเฉพาะด้ าน Information Technology ที่เป็ นธุรกิจหลักของบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว เช่น จัดให้ พนักงานทุกคนมี คอมพิวเตอร์ ใช้ งาน และพนักงานที่ทํางานภายนอกบริษัทฯ จะมีคอมพิวเตอร์ แบบโน้ ตบุ๊กพร้ อมระบบสื่อสารไร้ สายที่สามารถ เชื่อมต่อกับบริษัทฯ ได้ ตลอดเวลา พร้ อมกับจัดให้ มีระบบการทํางานแบบ electronic workflow ที่พนักงานทุกคนสามารถ ้ ่ทํางานและภายนอก รวมไปถึงระบบจัดเก็บข้ อมูลที่ทําให้ พนักงานทุกคนสามารถ ทํางานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ได้ ทังในที เข้ าถึงข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องได้ อย่างรวดเร็ว มีข้อมูลประกอบการทํางานและตัดสินใจได้ ถกู ต้ อง ฉ. การให้ มีวันหยุดประจําปี ที่เหมาะสม บริษัทฯ กําหนดให้ พนักงานมีวนั หยุดประจําปี และวันลากิจที่สามารถลาโดยได้ รับเงินเดือนตามปกติได้ รวมปี ละ 12 วัน โดย ให้ เริ่ มลาได้ ตงแต่ ั ้ บรรจุเข้ าทํางานโดยไม่ต้องรอให้ ทํางานครบปี และพนักงานที่ไม่ได้ ใช้ วนั ลา เมื่อครบปี บริษัทฯ จะคํานวณ จ่ายคืนให้ ตามวันลาที่ไม่ได้ ใช้ ช. การเปิ ดเผยข้ อมูลต่ อพนักงาน บริ ษัทฯ มีนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการเปิ ดเผยข้ อมูลต่อพนักงานมาตังแต่ ้ ต้น มีการเปิ ดให้ พนักงานทุกคนสามารถเข้ าถึง ข้ อมูลต่างๆ ของบริ ษัทฯ ได้ มีการรายงานผลประกอบการในแต่ละเดือนให้ พนักงานรับทราบทุกเดือนเพื่อให้ พนักงานมีข้อมูล ประกอบการตัดสินใจที่ดีและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ซึง่ จากระบบดังกล่าว บริษัทฯ กําหนดให้ พนักงานทุกคนงดการซื ้อขาย หุ้นของบริษัทฯ ระหว่างจบไตรมาสจนถึงวันที่บริ ษัทฯ รายงานผลประกอบการต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เสมอ ซ. ส่ งเสริมให้ พนักงานแสดงความเห็น บริษัทฯ มีกระบวนการส่งเสริมให้ พนักงานทุกคนแสดงความเห็นในทุกเรื่ องอย่างเสรี ทงในแง่ ั้ การแนะนํา หรื อการแจ้ งปั ญหา โดยได้ จดั ให้ มี database ในด้ านนี ้โดยเฉพาะและมีระบบกระตุ้นเตือนให้ พนักงานให้ ข้อมูลอย่างน้ อยเดือนละครัง้ พร้ อมทัง้ ้ ดให้ พนักงานทุกคนสามารถเข้ าไปดูข้อมูลต่างๆ ได้ เปิ ดให้ สามารถส่งข้ อมูลที่แจ้ งให้ กบั พนักงานที่เกี่ยวข้ องได้ ทนั ที รวมทังเปิ ซึง่ การให้ ข้อมูล สามารถเลือกได้ ทงแบบเปิ ั้ ดเผยและแบบที่ไม่ต้องการเปิ ดเผยชื่อผู้ให้ ข้อมูล 2. ลูกค้ า บริษัทฯ ตระหนักดีวา่ ลูกค้ าเป็ นผู้มีอปุ การคุณอย่างสูงต่อบริษัทฯ ซึง่ บริษัทฯ มีความมุง่ มัน่ ที่จะตอบสนองความต้ องการของ ลูกค้ า และปรารถนาให้ ลกู ค้ าประสบผลสําเร็จในธุรกิจทังระยะสั ้ นและระยะยาวผ่ ้ านความจริ งใจในการดําเนินธุรกิจกับลูกค้ า โดยบริ ษัทฯ กําหนดแนวทางในการสร้ างความพึงพอใจในระยะสันและยาวกั ้ บลูกค้ าผ่านแนวทางสําคัญ 4 ประการ คือ - การให้ ข้อมูลและปฏิบตั ิกบั ลูกค้ าอย่างถูกต้ องแม่นยํา - การมีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการปฏิบตั ิงานกับลูกค้ า - การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ าเสมือนเป็ นหุ้นส่วนการค้ า - การให้ คําแนะนําที่ดีและมีประโยชน์กบั ลูกค้ า รวมทังบริ ้ ษัทฯ เปิ ดให้ ลกู ค้ าสามารถติดต่อผู้บริหารได้ โดยตรงไม่วา่ จะเป็ นการร้ องเรี ยนหรื อแนะนําโดยมีการแจ้ งที่อยูท่ าง ้ ษัทฯ มีหน่วยงานที่จดั ตังขึ ้ ้นเพื่อพิจารณาคําร้ องเรี ยนทุกเรื่ อง และ อีเมลที่ลกู ค้ าสามารถใช้ ในการติดต่อโดยตรงรวมทังบริ ติดตามแก้ ปัญหาจนจบ นอกจากนี ้ ในการจัดหาสินค้ ามาจําหน่าย บริษัทเน้ นการคัดเลือกสินค้ าที่ผลิตโดยคํานึงถึง ้ วนตัวและองค์กร รวมทังมี ้ การให้ ข้อมูลที่ สิง่ แวดล้ อม เป็ นสินค้ าที่ใช้ งานได้ อย่างปลอดภัยและมีประโยชน์ตอ่ การใช้ งานทังส่ ถูกต้ องและเพียงพอต่อผู้บริโภค มีการให้ บริการหลังการขายที่ดีกบั ลูกค้ า 3. คู่ค้า บริษัทฯ กําหนดจรรยาบรรณในการจัดซื ้อจัดจ้ าง เพื่อให้ การดําเนินธุรกิจกับคู่ค้าเป็ นไปอย่างเหมาะสม เคารพต่อสิทธิใน ทรัพย์สนิ หรื อกรรมสิทธิ์ของคูค่ ้ า ไม่เอารัดเอาเปรี ยบคูค่ ้ า มีการให้ เกียรติและปฏิบตั ิกบั คูค่ ้ าตามสัญญาที่เป็ นธรรม เสมอภาค ้ าย มีการชําระเงินค่าสินค้ าหรื อบริ การให้ กบั คูค่ ้ าตรงตามข้ อตกลง บนพื ้นฐานของการได้ รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรมทังสองฝ่ และ ส่งเสริมให้ คคู่ ้ าดําเนินความรับผิดชอบด้ านสังคมร่วมกับองค์กร ตระหนักถึงความสําคัญของคูค่ ้ าที่เป็ นส่วนหนึง่ ใน ความสําเร็จของบริษัทฯ ให้ ความช่วยเหลือคูค่ ้ าและต้ องการให้ คคู่ ้ าเจริญก้ าวหน้ าไปพร้ อมกับบริษัทฯ และเปิ ดโอกาสให้ คคู่ ้ า สามารถร้ องเรี ยนโดยตรงมายังผู้บริหารหรื อกรรมการอิสระผ่านระบบ group email ที่เผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์ หรื อสามารถโทร แจ้ งกับฝ่ ายตรวจสอบภายในได้ โดยตรงหากไม่ได้ รับความเป็ นธรรมในการดําเนินกิจการกับบริษัท 55 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


นอกจากนี ้ บริษัทฯ กําหนดแนวปฏิบตั ิในการคัดเลือกคูค่ ้ าที่นอกจากจะมีผลงานที่ดีในราคาที่แข่งขันได้ แล้ ว ยัง พิจารณาถึงเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคมของคู่ค้า การดําเนินงานอย่างโปร่งใสที่ตอ่ ต้ านการทุจริ ต ต่อต้ านการรับหรื อให้ สินบนในทุกรูปแบบ 4. Supplier บริ ษัทฯ ตระหนักถึงการทํางานร่วมกับ Supplier เพื่อให้ ประสบผลสําเร็จร่วมกัน ซึง่ บริษัทฯ ตังมั ้ น่ บนความเชื่อว่า Supplier ทุกรายที่เลือกให้ SiS เป็ นผู้แทนจําหน่าย จะประสบผลสําเร็จในการดําเนินธุรกิจในประเทศไทย เพราะ SiS เป็ นองค์กรที่มี ้ การมีเครื อข่ายลูกค้ าที่ครอบคลุม การเข้ าใจความต้ องการของตลาด การ ประสิทธิภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทังในแง่ มีพนักงานที่มีความสามารถ การลงทุนในระบบที่สามารถเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ เข้ ากับคอมพิวเตอร์ ของ supplier าย มีการทํางานร่วมกับ Supplier ใน เพื่อให้ มีข้อมูลที่รวดเร็วได้ ซึง่ เป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของทังสองฝ่ ้ การแนะนําสินค้ าและเทคโนโลยีให้ กบั ผู้ใช้ และผู้ประกอบการในประเทศไทย มีการชําระเงินผ่านระบบ electronic เพื่อลด ขันตอน ้ ลดค่าใช้ จ่าย และชําระเงินตรงตามข้ อตกลง โดยบริษัทฯ ยึดมัน่ ในการดําเนินธุรกิจที่ได้ ประโยชน์ร่วมกัน เคารพและ ไม่ละเมิดสิทธิทางปั ญญาและลิขสิทธิ์ของ Supplier เปิ ดเผยข้ อมูล ปฏิบตั ิตามข้ อตกลงและกฎหมายอย่างเคร่งครัด 5. เจ้ าหนี้ บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้ อตกลงของเจ้ าหนี ้อย่างเคร่งครัด มีการเปิ ดเผยข้ อมูลการดําเนินงานที่ผา่ นมาและแผนการใน อนาคตให้ เจ้ าหนี ้ทราบอย่างต่อเนื่อง ในกรณีที่ต้องมีการคํ ้าประกัน จะเปิ ดเผยต่อเจ้ าหนี ้ทุกรายและปฏิบตั ิกบั เจ้ าหนี ้ทุกราย อย่างทัดเทียมกัน ชําระคืนเงินกู้และดอกเบี ้ยให้ เจ้ าหนี ้เงินกู้ยืมทุกประเภทตามกําหนดเวลา มีการบริ หารการใช้ เงินทุนอย่างมี ประสิทธิภาพและใช้ ในธุรกิจเท่านัน้ ไม่ใช้ เงินไปในทางที่ขดั ต่อวัตถุประสงค์ในการกู้ยืม ซึง่ บริษัทฯ ยังไม่เคยผิดนัดชําระหนี ้กับ เจ้ าหนี ้ 6. คู่แข่ ง บริ ษัทฯ เชื่อมัน่ ในเรื่ องการแข่งขันเสรี และอย่างเป็ นธรรมโดยเชื่อว่าระบบการแข่งขันเสรี จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพของทุก ฝ่ าย ปฏิบตั ิตอ่ คู่แข่งภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่กล่าวร้ ายหรื อทําลายชื่อเสียงของคูแ่ ข่ง ไม่แสวงหาข้ อมูลที่เป็ น ความลับของคูแ่ ข่งด้ วยวิธีการที่ไม่สจุ ริตหรื อไม่เหมาะสม ในทางกลับกัน ถ้ ามีโอกาสก็จะร่วมมือกับ Supplier และคูแ่ ข่งใน การขยายตลาดเพื่อให้ อตุ สาหกรรมเติบโตขึ ้นอย่างมีคณ ุ ภาพ 7. สังคมและสิง่ แวดล้ อม ก. ต่อต้ านการทุจริ ต ้ ้น และไม่เข้ าไปมี บริษัทฯ เน้ นการดําเนินงานอย่างถูกต้ อง โปร่งใส ต่อต้ านการทุจริ ตทุกรูปแบบ ไม่มีการจ่ายสินบนใดๆ ทังสิ ส่วนร่วมในโครงการที่มีการจ่ายสินบน มีนโยบายต่อต้ านการทุจริตในลักษณะ zero tolerance policy และได้ มีการแจ้ งให้ พนักงานรับทราบถึงนโยบาย พร้ อมทังมี ้ ระบบการรับแจ้ งเรื่ องทุจริตจากผู้เกี่ยวข้ องที่ไม่ต้องเปิ ดเผยชื่อ และมีการรักษา ความลับของผู้ร้องเรี ยนอย่างเข้ มงวด ข. การช่วยเหลือสังคม บริษัทฯ มีการสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาชุมชนโดยรอบที่ตงของสํ ั้ านักงานทังในกรุ ้ งเทพฯ และต่างจังหวัด และร่วมรักษาสภาพแวดล้ อมในชุมชนและสังคมให้ น่าอยู่ สนับสนุนให้ ชมุ ชนและสังคมมีระบบ สาธารณูปโภคพื ้นฐานต่างๆ อย่างเพียงพอ และมีการตอบแทนสังคมตามความสามารถในการทํากําไร โดยเน้ นด้ าน การศึกษาและสิ่งแวดล้ อม ซึง่ บริ ษัทฯ มีการกําหนดงบประมาณในการทํางานเพื่อสังคมทุกปี ตามที่ได้ ชี ้แจงรายละเอียดของ โครงการไว้ ใน “ภารกิจต่อสังคม” ค. การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบตั ิตอ่ แรงงานอย่างเป็ นธรรม บริษัทฯ ให้ การสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิมนุษยชน มีการตรวจตราดูแลมิให้ ธุรกิจของตนเข้ าไปมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับ การล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่สนับสนุนการบังคับใช้ แรงงาน ต่อต้ านการใช้ แรงงานเด็ก โดยดูแลครอบคลุมไปถึงคูค่ ้ า ง. สิง่ แวดล้ อม บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการรักษาสภาพแวดล้ อม และกําหนดเป็ นนโยบายของบริษัทฯ ที่จะดําเนินธุรกิจอย่าง 56 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


I.

II.

III.

IV.

รับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้ อม ดูแลป้องกันมิให้ การดําเนินงานของบริษัทฯ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้ อม พร้ อมกําหนดแนวทางที่นํามาใช้ ในการปฏิบตั ิงานดังนี ้ การจัดหาสินค้ าที่รักษาสิง่ แวดล้ อม บริษัทฯ มีการส่งเสริมและจัดหาสินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมมาใช้ ถึงแม้ ราคาจะเพิ่มขึ ้น และในทางกลับกัน มีการหา สินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมมาจําหน่ายในราคาพิเศษ ที่ไม่แพงขึ ้นหรื อแพงขึ ้นเล็กน้ อย เช่น สินค้ าที่ช่วยประหยัด พลังงาน สินค้ าที่ผลิตภายใต้ มาตรฐานสิง่ แวดล้ อม การฝึ กอบรมพนักงานด้ านสิง่ แวดล้ อม มีการบรรจุหลักสูตรด้ านสิง่ แวดล้ อมเข้ าไปในหลักสูตรการฝึ กอบรมพนักงาน ซึง่ จะถือเป็ นส่วนหนึง่ ของหลักสูตรที่ พนักงานต้ องเข้ าไปศึกษาหาความรู้ในระบบ e-learning ของบริษัทฯ การประหยัดพลังงาน บริ ษัทฯ มีการกระตุ้นให้ พนักงานช่วยกันประหยัดพลังงาน มีการเลือกใช้ สนิ ค้ าที่ช่วยประหยัดพลังงานโดยเฉพาะเมื่อมี การซื ้ออุปกรณ์ใหม่มาทดแทนของเดิมที่เสียหาย ปรับวิธีการใช้ งานอุปกรณ์ให้ ช่วยลดพลังงาน เช่น จัดให้ มีสวิตช์ไฟแยก ้ เป็ นส่วนๆ และกําหนดให้ มีผ้ รู ับผิดชอบในการปิ ดไฟในช่วงพักเที่ยงและเลิกงาน หรื อเมื่อไม่มีพนักงานทํางานในส่วนนันๆ เช่นเดียวกับเครื่ องปรับอากาศที่กําหนดให้ มีผ้ รู ับผิดชอบเป็ นส่วนๆ เพื่อปรับอุณหภูมิให้ เหมาะสม หรื อปิ ดการใช้ งานถ้ า ไม่มีความจําเป็ น โครงการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ มีโครงการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพหลายโครงการ เช่น Electronic Workflow บริษัทฯ ได้ พฒ ั นาระบบ electronic workflow เพื่อทดแทนแบบฟอร์ มและการขออนุมตั ิตา่ งๆ มามากกว่า 10 ปี จน ปั จจุบนั มี workflow ที่ใช้ ช่วยการดําเนินการมากกว่า 100 ระบบ ซึง่ การพัฒนา electronic workflow นี ้ นอกจากจะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เพราะมีระบบเตือนให้ อนุมตั ิทางอีเมล พร้ อมกับการให้ ตรวจสอบขันตอนได้ ้ ตาม กําหนดเวลา ยังสามารถช่วยประหยัดกระดาษได้ มาก โดยบริษัทฯ ยังคงพัฒนา workflow เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ เพื่อทดแทน ขันตอนปกติ ้ ที่ต้องใช้ กระดาษ Print and Pick เมื่อพบว่ามีพนักงานสัง่ พิมพ์ แล้ วไม่ได้ รับเอกสาร ทําให้ ต้องทิ ้งเอกสารเหล่านี ้ทุกวันและมีจํานวนมากขึ ้น บริ ษัทฯ เปลี่ยนเครื่ องพิมพ์ให้ เป็ นระบบเก็บข้ อมูลลงใน Hard Disk โดยยังไม่พิมพ์ออกมา แล้ วให้ ผ้ สู งั่ พิมพ์ใส่รหัสขณะที่ต้องการ รับเอกสาร เครื่ องจึงพิมพ์เอกสารออกมาให้ ทําให้ ลดการสูญเสียกระดาษที่พิมพ์แล้ วไม่มารับได้ 100% การใช้ Fax Server บริ ษัทฯ พบว่าเมื่อได้ รับแฟกซ์ที่ลกู ค้ าส่งมาให้ แล้ วต้ องทิ ้งกระดาษเหล่านันจํ ้ านวนมากทุกวัน จึงมีการติดตัง้ fax server ที่จะเปลี่ยนแฟกซ์ให้ อยูใ่ นรูป electronic แล้ วมีระบบเตือนแจ้ งให้ ผ้ รู ับทราบ สามารถเข้ าไปดูแฟกซ์ผา่ นระบบ electronic ได้ ทําให้ ประหยัดกระดาษและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานได้ มากขึ ้น เพราะทุกคนสามารถตรวจสอบ แฟกซ์ด้วยตนเองได้ ผา่ นคอมพิวเตอร์ ของแต่ละคนโดยไม่ต้องเดินไปที่เครื่ องแฟกซ์และเป็ นการประหยัดกระดาษได้ มาก เช่นเดียวกับการส่ง ที่สามารถส่งแฟกซ์ผา่ นคอมพิวเตอร์ ได้ โดยไม่ต้องพิมพ์ออกมาก่อน Scan to email นอกจากการส่งแฟกซ์ผา่ นคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้องพิมพ์ออกมาก่อน บริษัทฯ ติดตังเครื ้ ่ อง scan ที่สามารถ scan แล้ วส่ง อีเมลให้ ผ้ รู ับได้ ทนั ที แทนการส่งแฟกซ์ซงึ่ จะช่วยด้ านรับให้ ไม่ต้องพิมพ์ออกมาบนกระดาษ ซึง่ ช่วยลดค่าใช้ จ่ายและเป็ น มิตรต่อสภาพแวดล้ อม Video Conference บริษัทฯ ลดการเดินทางของพนักงานประจําศูนย์ตา่ งจังหวัดด้ วยการใช้ ระบบการประชุมทางไกล ที่จดั ให้ มีการประชุม ระหว่างสํานักงานใหญ่กบั สาขาต่างๆ ได้ ด้วยระบบ Video Conference ที่สามารถประชุมร่วมกันได้ และเห็นภาพผ่าน จอคอมพิวเตอร์ ถงึ แม้ จะอยูค่ นละสถานที่ เป็ นการประหยัดพลังงานและเวลาที่จะต้ องเดินทางมาประชุม ให้ ลูกค้ าชําระเงินผ่ านระบบ electronic เพื่อลดการใช้ นํ ้ามันในการเดินทาง รวมทังลดปั ้ ญหาทางด้ านการจราจรลง บริ ษัทฯ จึงได้ จดั ให้ มีการชําระเงินผ่าน internet โดยร่วมมือกับธนาคาร 4 แห่ง โดยให้ ลกู ค้ าสามารถเข้ าไปเช็ครายการที่ยงั ไม่ชําระผ่านระบบของธนาคารและ 57 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


เลือกชําระรายการที่ถงึ กําหนดได้ และเริ่มประชาสัมพันธ์ให้ ลกู ค้ าเข้ ามาใช้ ระบบนี ้ซึง่ ก็ได้ รับความร่วมมือมากขึ ้นเรื่ อยๆ โดยระบบนี ้ จะลดขันตอนการวางบิ ้ ล เก็บเช็ค การส่งเช็คไปธนาคาร ฯลฯ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมเพราะช่วยลดการ เดินทาง ประหยัดนํ ้ามัน และลดปริมาณการใช้ เช็คลงได้ ภาวะผู้นําและวิสัยทัศน์ ของคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้ วยผู้มีประสบการณ์ในหลายๆ สาขา ที่สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ในธุรกิจ มีวิสยั ทัศน์ และมีความเป็ น อิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการมีสว่ นในการร่วมกําหนดและให้ ความ เห็นชอบในเรื่ องวิสยั ทัศน์ ยุทธวิธี เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริ ษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลให้ ฝ่ายจัดการดําเนินการ ให้ เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณที่กําหนดไว้ รวมทังติ ้ ดตามผลการดําเนินงานทุกเดือนดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้ อบังคับต่างๆ ของหน่วยงานที่กํากับดูแล และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง ให้ เป็ นไปตามมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ โดยกรรมการผู้จดั การ มีการสื่อสารกลยุทธ์ เป้าหมาย สถานการณ์ และผลการดําเนินงานของ บริษัทฯ ให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกคนได้ รับทราบในที่ประชุมรวมของบริษัทฯ ที่จดั ประชุมขึ ้นทุกเดือน พร้ อมแจ้ งทิศทางการ ดําเนินงานในเดือนถัดไป คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ กําหนดให้ มีการจัดทําแผนการพัฒนาและสืบทอดงานของกรรมการผู้จดั การและผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อเตรี ยมความพร้ อมอย่างต่อเนื่อง กรณีที่กรรมการผู้จดั การและผู้บริ หารระดับสูงไม่สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการบริษัท 1. กรรมการบริษัทต้ องเป็ นบุคคลธรรมดา ที่มีความรู้ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ และ ต้ องมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศความรู้ ความสามารถ เพื่อปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ แก่บริษัท ้ องไม่มี 2. มีคณ ุ สมบัติ และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายว่าด้ วยบริษัทมหาชนจํากัด และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้ อง รวมทังต้ ลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้ รับความไว้ วางใจให้ บริหารจัดการกิจการที่มีมหาชนเป็ นผู้ถือหุ้นตามที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกําหนด 3. กรรมการบริ ษัทสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัทอื่นได้ แต่ต้องไม่เกิน 5 แห่งในกรณีที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน และต้ อง ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่กรรมการของบริษัท ทังนี ้ ้ห้ ามมิให้ กรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และ เป็ นการแข่งขันกันกับกิจการของบริ ษัท ห้ ามเข้ าเป็ นหุ้นส่วน หรื อเข้ าเป็ นกรรมการในนิติบคุ คลอื่น ที่ประกอบกิจการอันมี สภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท ไม่วา่ จะทําเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์ผ้ อู ื่น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตัง้ 4. กรรมการอิสระต้ องมีคณ ุ สมบัติเกี่ยวกับความเป็ นอิสระตามที่บริ ษัทกําหนด และเป็ นไปตามแนวทางเดียวกันกับคุณสมบัติ ของกรรมการตรวจสอบ ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่ องคุณสมบัติและขอบเขตการดําเนินงานของ คณะกรรมการตรวจสอบและต้ องสามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายได้ เท่าเทียมกันและไม่ให้ เกิดความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ นอกจากนันยั ้ งต้ องสามารถเข้ าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระได้ บริษัทฯ ได้ กําหนดนิยามกรรมการอิสระไว้ ดงั นี ้ ข้ อกําหนดและนิยามกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่ เป็ นอิสระในการตัดสิน ใจ ไม่เป็ นผู้ที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ ผู้ถือ หุ้น รายใหญ่ ผู้บ ริ ห าร และ ผู้เกี่ยวข้ อง ของ บริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เพื่อดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่า เทียมกัน โดยมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละหนึ่งของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัท ทังนี ้ ้ ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องของกรรมการอิสระรายนันๆ ้ ด้ วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน หรื อที่ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจําจากบริ ษัท หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ทัง้ ในปั จจุบนั และ 2 ปี ก่อนหน้ าที่จะรับตําแหน่งกรรมการอิสระ

58 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


3. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิตหรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คู่สมรส พี่ น้ อง และบุตร รวมทังคู ้ ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท หรื อบุคคลที่จะได้ รับการ เสนอให้ เป็ นผู้บริหารหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัทหรื อบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ ้ เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนรับตําแหน่งเป็ นกรรมการ อิสระ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจในข้ อนี ้ รวมถึงการทํารายการทางการค้ าที่กระทําเป็ นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรื อให้ เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรื อบริการหรื อการให้ หรื อรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้ วยการรับหรื อให้ กู้ยืม คํ ้าประกัน การให้ สนิ ทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี ้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทํานองเดียวกัน ซึง่ เป็ นผลให้ ผ้ ขู ออนุญาตหรื อ คูส่ ญ ั ญามีภาระหนี ้ที่ต้องชําระต่ออีกฝ่ ายหนึง่ ตังแต่ ้ ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของบริษัทฯ หรื อตังแต่ ้ 20 ล้ านบาท ้ ้ การคํานวณภาระหนี ้ดังกล่าวให้ เป็ นไปตามวิธีการคํานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยว ขึ ้นไป แล้ วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า ทังนี โยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้ วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน 5. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของ บริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของสํานักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผ้ สู อบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท สังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนรับตําแหน่งเป็ นกรรมการอิสระ 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการเงิน ซึ่ง ได้ รับค่าบริ การเกินกว่า 2 ล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจ ควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ ้ วย เว้ น แต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนรับตําแหน่งกรรมการอิสระ 7. ไม่เป็ นกรรมการที่ได้ รับการแต่งตังขึ ้ ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึง่ เป็ นผู้เกี่ยวข้ อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย หรื อไม่เป็ นหุ้นส่วน ที่มีนยั ในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีสว่ นร่วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจําหรื อถือหุ้นเกิน ร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขัน ที่มีนยั กับกิจการของบริษัทฯ หรื อบริษัทย่อย 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท การพัฒนากรรมการ บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาความรู้ของกรรมการ ซึ่งได้ กําหนดให้ เป็ นหนึ่งในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ้ วยงานกํากับ บริ ษัทฯ โดยมีการส่งเสริ ม และอํานวยความสะดวกให้ กรรมการได้ รับการฝึ กอบรมด้ านต่างๆ ตลอดมา ทังจากหน่ ดูแลที่เกี่ยวข้ องและจากหน่วยงานอื่นอย่างสมํ่าเสมอผ่านเลขานุการบริษัทฯ การฝึ กอบรมของกรรมการ คณะกรรมการมีนโยบายส่งเสริมให้ กรรมการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนั บริษัทฯ มีกรรมการรวม 8 ท่าน โดยแบ่งเป็ น กรรมการที่เป็ นชาวต่างประเทศ 3 ท่าน และกรรมการที่มีสญ ั ชาติไทย 5 ท่าน กรรมการ 6 ท่าน ผ่านการอบรม Director Certification Program (DCP) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการทัง้ 8 ท่าน มีประสบการณ์ด้าน การเงินมากกว่า 10 ปี และกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็ นกรรมการอิสระทัง้ 3 ท่าน ได้ ผา่ นการฝึ กอบรม Audit Committee Program จาก สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ในปี 2556 มีการเข้ ารับการฝึ กอบรมของกรรมการดังนี ้

59 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อกรรมการ นายสุวิทย์ จินดาสงวน – ประธานกรรมการ

หัวข้ อฝึ กอบรม RMP 1/2013 Risk Management Committee Program

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เมื่อมีกรรมการใหม่ จะมีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ มอบให้ เลขานุการบริษัทฯ และกรรมการ ผู้จดั การ สรุปข้ อมูลต่างๆ ให้ กรรมการใหม่ได้ รับทราบ พร้ อมทังมอบข้ ้ อมูลต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์รวมไปถึงบันทึกการประชุมต่างๆ ที่ผา่ นมา กําหนดให้ กรรมการใหม่เข้ าเยี่ยมชมกิจการ เพื่อให้ เข้ าใจถึงอุตสาหกรรมและการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการ ชี ้แจงลักษณะธุรกิจ กลยุทธ์ในการดําเนินงานจากกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ หาร ทังนี ้ ้ ในปี 2556 บริษัทฯ มีกรรมการใหม่ หนึง่ ท่าน คือนาย ลิม เคีย เม้ ง และได้ มีการปฐมนิเทศและให้ ข้อมูลต่างๆ กับกรรมการใหม่ไปแล้ ว ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ มีโครงสร้ างกรรมการที่เป็ นอิสระต่อการดําเนินงาน โดยมีกรรมการอิสระ 3 ใน 8 คน (37.5%) มีกรรมการที่เป็ นตัวแทนผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ 3 ใน 8 คน (37.5%) และมีกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร 2 ใน 8 คน (25.0%) จึงมีความเป็ นอิสระในการดําเนินงาน และได้ ดแู ลรายการที่อาจเกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบรวมทังมี ้ การกําหนดนโยบายและมีวิธีการดูแลไม่ให้ ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้ องนําข้ อมูลภายในของบริษัทฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนดังนี ้ 1. คณะกรรมการได้ รับทราบและมีการตรวจสอบรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยงกัน รวมทังมี ้ การปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก และได้ เปิ ดเผยรายละเอียดไว้ ในรายงานประจําปี และแบบ 56-1 2. ในการประชุมคณะกรรมการในวาระที่กรรมการมีสว่ นได้ เสีย หรื อมีผลประโยชน์เกี่ยวข้ อง ก่อนการพิจารณา กรรมการที่ มีสว่ นได้ เสียจะออกจากที่ประชุมเพื่อให้ ที่ประชุมได้ อภิปรายกันอย่างอิสระ 3. บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายในองค์กร โดยกําหนดให้ ผ้ บู ริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ตอ่ สํานักงานคณะกรรมการ กลต. ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และห้ ามพนักงาน ทุกท่านเปิ ดเผยข้ อมูลภายในแก่บคุ คลภายนอกหรื อบุคคลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง เนื่องจากบริษัทฯ มีการดําเนินกิจการ ในรูปแบบที่เปิ ดเผยข้ อมูลให้ กบั พนักงานทุกท่านมาตลอด จึงมีการห้ ามพนักงานทุกท่านซื ้อ-ขาย หุ้นของบริษัทฯ เมื่อ จบไตรมาสจนกว่าบริษัทฯ จะส่งผลประกอบการให้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และในปี 2557 มีข้อกําหนดเพิ่มให้ กรรมการและ ผู้บริ หารทุกคนแจ้ งให้ คณะกรรมการทราบล่วงหน้ า 1 วัน ก่อนที่จะมีการซื ้อขายหุ้นของบริษัทฯ จริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมัน่ การดําเนินธุรกิจด้ วยความโปร่งใส สุจริ ต และยึดถือความเป็ นธรรมในการดําเนินธุรกิจโดยให้ ผ้ บู ริ หารและหัวหน้ า งานปฏิบตั ิเป็ นตัวอย่าง ซึง่ ได้ มีการประกาศแนวทางปฏิบตั ิให้ กบั พนักงานนําไปปฏิบตั ิมาโดยตลอด และเพื่อให้ เป็ นรูปธรรมมาก ้ เพื่อจัดทําเป็ นคูม่ ือจรรยาบรรณเพื่อแจกให้ กบั พนักงานทุกคน รวมทัง้ ขึ ้น บริ ษัทฯ จะรวบรวมแนวทางที่ประกาศไปแล้ วทังหมด กําหนดให้ อยูใ่ นรายการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ รวมทังมี ้ การชี ้แจงในที่ประชุมประจําปี ของบริษัทฯ ทุกปี โดยมีการให้ หวั หน้ างาน เป็ นผู้ดแู ลให้ พนักงานมีการปฏิบตั ิงานอย่างสุจริ ต และปฏิบตั ิตามแนวจรรยาบรรณของบริษัทฯ การป้องกันการทุจริต บริษัทฯ ตระหนักถึงความร้ ายแรงของปั ญหาการทุจริตที่จะมีผลเสียต่อบริ ษัทฯ ทังในแง่ ้ การดําเนินงานและความน่าเชื่อถือของ บริษัทฯ เป็ นอย่างมาก จึงมีนโยบายและแนวการปฏิบตั ิในการป้องกันและแก้ ปัญหาการทุจริตทุกรูปแบบดังนี ้  ออกแบบระบบงานให้ ทกุ ส่วนงานมีการตรวจสอบและคานอํานาจกันเสมอ  การปลูกฝั งให้ พนักงานมีจิตสํานึกและค่านิยมที่ตอ่ ด้ านการทุจริ ต ้ การประชาสัมพันธ์ช่องทางการติดต่อกับผู้บริหารโดยตรง  มีช่องทางให้ ผ้ เู กี่ยวข้ องสามารถแจ้ งการทุจริตที่เกิดขึ ้นได้ ทังในแง่ ผ่าน complain@sisthai.com ซึง่ ได้ แจ้ งไว้ ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ซึง่ ช่องทางนี ้ ประสบผลสําเร็จมาก มีการแจ้ งข้ อมูลที่เกิด ปั ญหาขึ ้นให้ บริษัทฯ รับทราบอย่างสมํ่าเสมอ โดยบริษัทฯ มีฐานข้ อมูลที่เก็บทุกเรื่ องที่มีการส่งเข้ ามา รวมถึงช่องทางการ ติดต่อกรรมการตรวจสอบโดยตรงผ่าน independentdirecto@sisthai.com ซึง่ เป็ นช่องทางที่สามารถติดต่อกรรมการอิสระได้ โดยตรง 60 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


 มีการกําหนดไม่ให้ พนักงานรับของขวัญที่มีมลู ค่าเกินกว่า 1,000 บาท  ไม่มีการแสวงหาอํานาจเหนือบุคคลอื่นอย่างไม่เหมาะสม เช่น การให้ สญ ั ญาว่าจะให้ ของมีคา่ เพื่อที่จะได้ มาซึง่ ความได้ เปรี ยบ อย่างไม่เหมาะสม  บริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายการเบิกค่าใช้ จ่ายของพนักงานอย่างเหมาะสมและชัดเจนเพื่อไม่ให้ เกิดการทุจริต และทุก รายการที่มีการเบิกจ่ายต้ องผ่านการตรวจสอบจากหัวหน้ าโดยตรงและจากฝ่ าย General Affair ที่ดแู ลด้ านการควบคุม ค่าใช้ จ่าย พร้ อมทังมี ้ การแจ้ งให้ พนักงานทุกคนรับทราบตังแต่ ้ ต้นว่าบริษัทฯ มีนโยบายด้ านการเบิกค่าใช้ จ่ายตามค่าใช้ จ่าย จริงที่เกิดขึ ้น  บริษัทฯ ถือว่าการทุจริตเป็ นความผิดร้ ายแรง และเมื่อเกิดการทุจริตขึ ้น จะมีคณะกรรมการร่วมกันพิจารณาถึงมาตรการ ลงโทษ ซึง่ อาจจะเป็ นการตําหนิ ตักเตือน ชดใช้ ค่าเสียหาย การให้ พ้นสภาพการเป็ นพนักงาน การดําเนินคดีกบั พนักงานที่ ทุจริตรวมไปถึงการตรวจสอบรายละเอียดของปั ญหาที่เกิดขึ ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ การทุจริ ตนันเกิ ้ ดขึ ้นได้ อีก การถ่ วงดุลของกรรมการที่ไม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการ กรรมการของบริ ษัทฯ มีทงสิ ั ้ ้น 8 ท่าน และกําหนดให้ มีกรรมการอิสระมากกว่า 1 ใน 3 ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ กําหนด ไว้ โดยแบ่งกรรมการออกเป็ นประเภทดังนี ้ ประเภทกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร

จํานวน 3 3 2

อัตราส่ วน 37.5% 37.5% 25.0%

ทังนี ้ ้ บริษัทฯ กําหนดนโยบายการไปดํารงตําแหน่งกรรมการที่บริ ษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพย์ฯ จํานวนไม่เกิน 5 บริ ษัท ซึง่ เป็ นไปตามข้ อแนะนําของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่าน ซึง่ ทัง้ 3 ท่าน เป็ นกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้ วยกรรมการ 4 ท่าน โดยมีกรรมการอิสระเป็ นประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน และมีสดั ส่วนของกรรมการทังหมดดั ้ งนี ้ จํานวน อัตราส่ วน ประเภทกรรมการ 2 50% กรรมการอิสระ 1 25% กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 25% กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร บทบาทและหน้ าที่กรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีหน้ าที่เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท ในเรื่ องค่าตอบแทนของกรรมการและ ผู้บริ หารระดับสูง และแผนสืบทอดงานในตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง นอกจากวัตถุประสงค์ข้างต้ น คณะกรรมการยังมีอํานาจและ หน้ าที่ตามวัตถุประสงค์ตอ่ ไปนี ้ 1. เพื่อทบทวน กําหนด และให้ ความเห็นเกี่ยวกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ประจําปี ขององค์กรที่เกี่ยวกับค่าตอบแทนของ กรรมการและผู้บริ หารระดับสูง กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริ หาร และประเมินผลงานของกรรมการและผู้บริ หาร ระดับสูง เปรี ยบเทียบกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ประจําปี เพื่อนํามาใช้ เป็ นฐานในการกําหนดค่าตอบแทนรายปี ของ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการบริ หาร ที่ประกอบด้ วยค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี ้ยประชุม และค่าตอบแทนด้ าน แรงจูงใจอื่นๆ 61 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


2. เพื่อศึกษา และทบทวนแผนการให้ ค่าตอบแทนในรูปแบบของหุ้น และให้ ข้อเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับแผนการ ดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทเมื่อมีความจําเป็ น 3. จัดเตรี ยมหลักการ และหลักเกณฑ์ การสรรหา ประเมิน คัดเลือก สนับสนุน และการปลดออก รวมถึงการเสนอชื่ อ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริ หาร สําหรั บตําแหน่งที่ว่างและพัฒนาแผนการสืบทอดตําแหน่งผู้บริ หาร ระดับสูง ในบริษัท และ/หรื อ บริษัทย่อย และ/หรื อ บริษัทร่วม 4. สรรหา ประเมิน คัดเลือก เสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสม มีความสามารถ และคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์สําหรับตําแหน่ง กรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการบริ หาร ตามเงื่อนไขการดํารงตําแหน่งที่ว่างของบริ ษัท และ/หรื อ บริ ษัทย่อย และ/ หรื อ บริ ษัทร่ วม ซึ่งบัญชีรายชื่อผู้ที่ถกู เสนอเพื่อเลือกตังจะถู ้ กเสนอโดยกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ไปยัง คณะกรรมการบริ ษัท เพื่ออนุมตั ิ และ/หรื อ เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมตั ิ 5. ทําการจัดเตรี ยมและเผยแพร่ ต่อสาธารณะ เกี่ยวกับการรายงานค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริ หารระดับสูงประจําปี รวมถึงการสรรหาในรู ปแบบของ proxy statement โดยประธานคณะกรรมการมีหน้ าที่นําเสนอรายงานการกําหนด ค่า ตอบแทนรายปี และนโยบายค่า ตอบแทนต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท และจัดทํ า รายงานหรื อ เปิ ดเผยรายงานการ ดําเนินงานของคณะกรรมการไว้ ในรายงานประจําปี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่าน โดยมีกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารเป็ นประธาน และมีสดั ส่วนของกรรมการทังหมดดั ้ งนี ้ จํานวน อัตราส่ วน ประเภทกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 33.33% 1 33.33% กรรมการอิสระ 1 33.33% กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ในการประชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 3/2556 เมื่อวันศุกร์ ที่ 9 สิงหาคม 2556 ได้ มีการอนุมตั ิให้ จดั ตังคณะกรรมการกํ ้ ากับดูแล บรรษัทภิบาลโดยมีสมาชิกดังนี ้ นายสุวิทย์ จินดาสงวน ประธานกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล นายลิม ฮวี ไฮ นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล นายสมชาย ศิริวิชยกุล กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ซึง่ ทําให้ สดั ส่วนของกรรมการกํากับดูแลกิจการมีสดั ส่วนดังนี ้ ประเภทกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร

จํานวน 1 3 1

อัตราส่ วน 20% 60% 20%

การแยกตําแหน่ งประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการออกจากกัน บริษัทฯ ได้ แยกตําแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการผู้จดั การออกจากกัน เพื่อให้ มีการคานอํานาจซึง่ กันและกัน มีการสอบ ทานการบริหารงานได้ อย่างโปร่งใส โดยประธานกรรมการเป็ นผู้นําฝ่ ายนโยบาย ควบคุมการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ มี ประสิทธิภาพ สนับสนุนและผลักดันให้ กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการประชุม สนับสนุนให้ มีการดําเนินธุรกิจตามนโยบาย ผ่าน กรรมการผู้จดั การที่เป็ นผู้นําฝ่ ายบริหาร ทังนี ้ ้ มีการร่วมกันจัดวางนโยบาย งบประมาณ และแผนการดําเนินงานอย่างใกล้ ชิด บริษัทฯ กําหนดให้ ผ้ ดู ํารงตําแหน่งประธานกรรมการ เป็ นกรรมการอิสระ 62 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ กําหนดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยทุกการประชุมมีการกําหนดวาระการประชุมเพื่อทราบและเพื่อพิจารณา อย่างชัดเจน โดยมีการแจ้ งกําหนดการประชุมล่วงหน้ าตลอดทังปี ้ ทุกปี มีการติดตามผลการดําเนินงานเป็ นประจํา มีเอกสาร ประกอบการประชุมครบถ้ วนและมีการส่งให้ คณะกรรมการล่วงหน้ าก่อนการประชุม ในวาระการประชุมที่กรรมการใดมีสว่ นได้ ส่วนเสีย หรื อมีผลประโยชน์เกี่ยวข้ องก่อนการพิจารณา กรรมการที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียจะออกจากที่ประชุมเพื่อให้ สามารถอภิปราย ได้ อย่างอิสระ และได้ มีการเชิญผู้บริ หารเข้ าร่วมประชุมเป็ นบางครัง้ เพื่อชี ้แจงข้ อมูลเพิ่มเติม ร่วมหารื อเพื่อหาแนวทางแก้ ไขรวมถึง ตอบข้ อซักถามในกรณีตา่ งๆ รวมทังการประชุ ้ มกรรมการ จะต้ องมีการประชุมกันเองโดยไม่มีกรรมการผู้จดั การและ กรรมการบริ หารด้ วย นอกจากนี ้ ยังมีการประชุมเฉพาะระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบกับผู้ตรวจสอบบัญชี และบริษัทฯ กําหนด องค์ประชุมขันตํ ้ ่า ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการว่าต้ องมีกรรมการอยูไ่ ม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจํานวน กรรมการทังหมด ้ โดยบริษัทฯ เพิ่มข้ อกําหนดว่ากรรมการทุกคนมีสดั ส่วนของการเข้ าร่วมประชุมคณะกรรมการอย่างน้ อยร้ อยละ 75 ของการประชุมทังปี ้ (ยกเว้ นกรรมการใหม่ที่เพิ่งเป็ นกรรมการระหว่างปี ) โดยมีรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมทังปี ้ ดังนี ้

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

ประชุม กรรมการ

1. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 2. นายสมชาย ศิริวิชยกุล 3. ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 4. นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ 5. นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ 6. นายลิม ฮวี ไฮ 7. นายลิม เคีย ฮอง 8. นายลิม เคีย เม้ ง

5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 4/5 2/3

ประชุมกรรมการ สรรหาและ ประชุมกรรมการ กําหนด ตรวจสอบ ค่ าตอบแทน

12/12 12/12 12/12

2/2 2/2 2/2 2/2

ประชุม กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

4/4 4/4 4/4

ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น 2556

1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1

รวม

18/18 20/20 24/24 8/8 10/10 12/12 5/6 2/3

หมายเหตุ : ข้ อมูลที่แสดงในรูปแบบ X/Y X คือจํานวนครัง้ ที่เข้ าประชุม และ Y คือจํานวนครัง้ ที่จดั ประชุม

การให้ กรรมการประเมินการปฏิบัตงิ านของตนเอง เพื่อให้ คณะกรรมการได้ พิจารณาและทบทวนผลงานและการปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการและคณะกรรมย่อยมีการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานของปี ที่ผา่ นมาด้ วยตนเองเป็ นประจําทุกปี เพื่อนํามาแก้ ไขและปรับปรุงการดําเนินงานให้ ดียิ่งขึ ้น โดยใช้ แนวทางจาก แบบประเมินที่เสนอโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาเป็ นหลักในการประเมิน สําหรับกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร จะมีการประเมินโดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนแยก ต่างหากโดยแบ่งการประเมินออกเป็ น 3 หมวด คือ หมวดการปฏิบตั ิตามยุทธวิธีที่กําหนดไว้ (สัดส่วน 12%) หมวด Operation & Corporate Governance (สัดส่วน 18%) เมื่อเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้ และหมวดผลประกอบการ (สัดส่วน 70%) เมื่อเทียบ กับอุตสาหกรรมและนําผลการประเมินนี ้ไปกําหนดผลตอบแทนให้ กบั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการได้ จดั ให้ มีระบบการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพในทุกด้ าน ทังการดํ ้ าเนินงานให้ เป็ นไปตามกฎหมายหรื อ ข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องทางด้ านการเงิน ด้ านการปฏิบตั ิงาน การดูแลทรัพย์สนิ ให้ มีการนําไปใช้ งานในกิจการของบริ ษัทฯ อย่าง เหมาะสม รวมไปถึงคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ มีการปฏิบตั ิงานร่วมกับฝ่ ายกํากับและตรวจสอบ ในการจัดให้ มีการตรวจสอบ ภายในที่ครอบคลุมด้ านต่างๆ 8 ด้ านคือ 1) การขายสินค้ า 2) ด้ านลูกหนี ้การค้ าและเครดิต 3) ด้ านสินค้ าคงคลัง 4) ด้ านจัดซื ้อ และนําเข้ า 5) ด้ านเจ้ าหนี ้/ค่าใช้ จ่าย 6) ด้ านงานซ่อมและบริการ 7) ด้ านสินทรัพย์ถาวร 8) ด้ านการเงินและบัญชี โดย คณะกรรมการตรวจสอบ มีการทบทวนผลการตรวจสอบกับฝ่ ายกํากับและตรวจสอบทุกเดือน ซึง่ คณะกรรมการมีความเห็นว่า 63 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ การมีส่วนร่ วมในระบบกํากับดูแลกิจการ บริ ษัทฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงกลไกในการให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียเข้ ามามีสว่ นร่วมในระบบกํากับดูแลกิจการ มีการเปิ ดเผยข้ อมูล อย่างโปร่งใส เปิ ดโอกาสให้ ลกู ค้ าแนะนําหรื อร้ องเรี ยนผ่านอีเมล complain@sisthai.com และนักลงทุนผ่านอีเมล investorinfo@sisthai.com โดยบริษัทฯ จัดให้ มีคณะทํางานพิจารณาเรื่ องที่มีการร้ องเรี ยนหรื อแนะนํามาทุกเรื่ อง พร้ อมระบบ จัดเก็บข้ อมูลเพื่อติดตามเรื่ องที่มีการแนะนําเข้ ามาอย่างเป็ นระบบ การดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายห้ ามกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนในการนําข้ อมูลภายในเกี่ยวกับฐานะและผลการดําเนินงานของ บริษัทฯ ซึง่ ยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ ในการซื ้อขายหลักทรัพย์ รวมทังเพื ้ ่อแสวงหาประโยชน์สว่ นตัวอื่นๆ ทังนี ้ ้บริษัทฯ ได้ ้ ส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้ องตามมาตรา 258 แห่ง แจ้ งให้ กรรมการ ผู้บริหาร รวมทังคู พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ของบุคคลดังกล่าวได้ เข้ าใจถึงภาระหน้ าที่ในการรายงานการถือครอง หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ภายใน 3 วันตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นอกจากนี ้ ยังให้ มีการรายงานหลักทรัพย์ในรายงานประจําปี ทุกครัง้ นอกเหนือจากนี ้ บริษัทฯ ได้ มีข้อห้ าม ไม่ให้ พนักงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารปฏิบตั ิตามแนวทางเดียวกันกับผู้บริ หารในการงดซื ้อขาย หลักทรัพย์ก่อนที่งบการเงินจะเผยแพร่ตอ่ สาธารณะชน โดยในช่วงเวลาดังกล่าว หากพนักงานมีความจําเป็ นจะต้ องซื ้อขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ จะต้ องแจ้ งให้ ฝ่ายกํากับและตรวจสอบทราบถึงเหตุผลก่อนซื ้อขาย และจะต้ องให้ มีการอนุมตั ิจากฝ่ าย จัดการก่อน จึงจะสามารถซื ้อขายได้ เพื่อให้ พนักงานระลึกถึงข้ อปฏิบตั ินี ้ บริษัทฯ ได้ สง่ อีเมลให้ พนักงานทุกคนรับทราบถึงข้ อปฏิบตั ิทกุ ไตรมาส รายงานของคณะกรรมการ ้ อยดังนี ้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ แต่งตังคณะกรรมย่ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้ เป็ นผู้บริหาร 3 ท่าน เป็ นผู้ดแู ลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบ ควบคุมภายในโดยมีคณะกรรมการดังนี ้ 1. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 3. นายสมชาย ศิริวิชยกุล กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 2 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่านและกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน โดยมีกรรมการอิสระ เป็ นประธานในการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนให้ ผ้ บู ริหารโดยมีคณะกรรมการดังนี ้ 1. นายสมชาย ศิริวิชยกุล ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) 2. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) 3. นายลิม ฮวี ไฮ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร) 4. นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน (กรรมการผู้จดั การ) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้ วย กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน กรรมการอิสระ 1 ท่าน และกรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร 1 ท่าน เพื่อสอบทานและ ควบคุมความเสี่ยงขององค์กรโดยมีคณะกรรมการดังนี ้ 1. นายลิม ฮวี ไฮ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร) 2. นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการบริหาร) 3. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ) 64 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คณะกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล ประกอบด้ วย กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร 1 ท่านและกรรมการอิสระ 3 ท่านเพื่อเสนอแนะแนวทาง ในการปฏิบตั ิที่ดีเกี่ยวกับจริ ยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของกรรมการ ผู้บริ หารและพนักงานโดยมีคณะกรรมการ ดังนี ้ ประธานกรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล (กรรมการอิสระ) 1. นายสุวิทย์ จินดาสงวน ์ 2. ดร.โรจนศักดิ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล (กรรมการอิสระ) 3. นายสมชาย ศิริวิชยกุล กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล (กรรมการอิสระ) 4. นายลิม ฮวี ไฮ กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร) 5. นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ กรรมการกํากับดูแลบรรษัทภิบาล (กรรมการผู้จดั การ) ความเห็นของคณะกรรมย่อยทังหมด ้ ปรากฏในรายงานประจําปี ฉบับนี ้แล้ ว การให้ กรรมการและผู้บริหารเปิ ดเผยการซือ้ ขายหุ้น เพื่อให้ เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริ ษัทฯ กําหนดให้ ผ้ บู ริหารและกรรมการทุกท่าน เปิ ดเผยและรายงานการซื ้อ-ขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ให้ ที่ประชุมกรรมการทราบทุกครัง้ โดยบรรจุเรื่ องการรายงานการซื ้อ-ขายนี ้ เป็ นหนึง่ ในวาระการประชุม กรรมการประจําไตรมาสและในปี 2557 นี ้ บริษัทฯ เพิ่มข้ อกําหนดโดยให้ กรรมการและผู้บริหารทุกคน รายงานการจะซื ้อจะขายหุ้น ของบริษัทฯ ให้ คณะกรรมการรับทราบก่อนซื ้อขายหุ้นของบริษัทฯ ล่วงหน้ า 1 วัน รายงานการมีส่วนได้ เสียของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ กําหนดให้ กรรมการและผู้บริหารทุกคนต้ องรายงานให้ บริ ษัทฯ ทราบถึงการมีสว่ นได้ เสียของตนหรื อของบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้ อง ซึง่ เป็ นส่วนได้ เสียที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารการจัดการของบริษัทฯ หรื อบริษัทย่อย ทังนี ้ ้ เพื่อให้ บริ ษัทฯ มีข้อมูล ประกอบการดําเนินการตามข้ อกําหนดเกี่ยวกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันซึง่ เป็ นรายการที่อาจก่อนให้ เกิดความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์และอาจนําไปสูก่ ารถ่ายผลประโยชน์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ ซึง่ เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ทจ. 2/2552 โดยบริษัทฯ กําหนดให้ เลขานุการบริษัทฯ มีหน้ าที่ในการจัดเก็บแบบรายงานการมีสว่ นได้ เสีย ณ ที่ตงสํ ั ้ านักงานใหญ่ และนําสําเนาแบบรายงานการมีสว่ นได้ เสียต่อประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้ รับแจ้ งจากผู้มีหน้ าที่แจ้ งรายงานการมีสว่ นได้ เสีย ความสัมพันธ์ กับผู้ลงทุน คณะกรรมการบริษัทให้ ความสําคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลทังรายงานทางการเงิ ้ นและข้ อมูลทัว่ ไปให้ มีความถูกต้ อง ทันเวลาและ โปร่งใส โดยบริ ษัทฯ จัดให้ มีหวั ข้ อ Investor Relations ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.sisthai.com) เพื่อสื่อสารกับนักลงทุนและผู้ที่ สนใจโดยเฉพาะ โดยมีการเปิ ดเผยข้ อมูลต่างๆ ในหน้ าดังกล่าว รวมไปถึงการเปิ ดให้ ผ้ สู นใจสามารถสอบถามข้ อสงสัยต่างๆ ทาง อีเมล หรื อทางโทรศัพท์ได้ และการเปิ ดโอกาสให้ มีการเยี่ยมชมกิจการและสอบถามข้ อมูลความคืบหน้ าการดําเนินกิจการจากทัง้ นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบัน นักวิเคราะห์ นักข่าว เมื่อมีการร้ องขอ โดยในปี 2556 มีการติดต่อสื่อสารทังโดยตรงและ ้ ทางอ้ อม สรุปได้ ดงั นี ้: - การสอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมทาง อีเมล และโทรศัพท์ 11 ครัง้ - การให้ สมั ภาษณ์ด้านผลประกอบการกับสื่อต่างๆ 3 ครัง้ - การประชุมกับนักวิเคราะห์ 1 ครัง้ - การให้ นกั ลงทุนสถาบันพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ 3 ครัง้ 1 ครัง้ - การให้ นกั ลงทุนรายย่อยพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ

65 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


เลขานุการบริษัทและบทบาทหน้ าที่ คณะกรรมการบริ ษัท ได้ กําหนดให้ นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ เป็ นเลขานุการบริ ษัทฯ เพิ่มเติมไปจากตําแหน่งเดิมที่เป็ น กรรมการบริหารของบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว โดยได้ แสดงคุณสมบัติไว้ แล้ วในส่วน คณะผู้บริหารและเลขานุการบริ ษัท ซึง่ กําหนดบทบาท หน้ าที่ดงั นี ้ หน้ าที่เลขานุการบริษัท ทําหน้ าที่เลขานุการบริ ษัท หน้ าที่ที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และหน้ าที่ที่จะกําหนดเพิ่ม โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หน้ าที่เลขานุการกรรมการบริษัท เป็ นหน้ าที่เดิมในการประสานงานเพื่อจัดประชุมกรรมการบริษัทและจัดประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ โดยประสานงานกับกรรมการผู้จดั การเพื่อกําหนดวาระการประชุม และจัดทําหนังสือเชิญประชุมต่างๆ ดังกล่าวพร้ อมทัง้ ประสานงานกับกรรมการบริษัททังหมดเพื ้ ่อการจัดประชุมดังกล่าว จัดทําเอกสารประกอบวาระการประชุม จดบันทึกรายงานการ ประชุมทังหมด ้ ประสานงานผู้เกี่ยวข้ องเพื่อชี ้แจงหรื อให้ ข้อมูลต่อที่ประชุมในแต่ละวาระของการประชุม หน้ าที่ดาํ เนินการตามมติท่ ปี ระชุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทะเบียนบริษัทฯ กรณีที่กรรมการหรื อผู้ถือหุ้นมีมติที่เกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนบริษัทฯ เลขานุการบริษัทจะเป็ นผู้รับผิดชอบเปลี่ยนแปลงทะเบียนบริษัทฯ ให้ เป็ นไปตามมติที่ประชุม หน้ าที่ให้ คาํ ปรึกษาแก่ คณะกรรมการ ในส่วนที่จะต้ องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด ้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายในเวลาที่กําหนดไว้ รวมทังการรายงานข้ ้ อมูลให้ กบั หลักทรัพย์ รวมทังข้ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎระเบียบที่กําหนดขึ ้น หน้ าที่ประสานงานการจัดทํารายงานประจําปี ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ภายในบริ ษัทฯ เพื่อรวบรวมข้ อมูลสําหรับการ ทํารายงานประจําปี ให้ ครบถ้ วนตามข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ หน้ าที่เป็ นนายทะเบียนหุ้นบริษัทในเครื อ ในกรณีที่มีบริษัทในเครื อ เลขานุการบริษัท มีหน้ าที่เป็ นนายทะเบียนหุ้นของบริษัท ในเครื อที่เป็ นบริ ษัทจํากัด รวมไปถึงการแจ้ งต่อกรมทะเบียนธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ หน้ าที่ประสานงานกับ Investor Relation เพื่อดูแลการเปิ ดเผยข้ อมูลให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย แผนการสืบทอดตําแหน่ ง คณะกรรมการได้ มอบหมายให้ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้รับผิดชอบเรื่ องแผนการสืบทอดตําแหน่ง ซึง่ ได้ มีการ มอบหมายให้ กรรมการผู้จดั การจัดทําแผนในการทดแทนตําแหน่งงานหลัก ซึง่ อยู่ในระหว่างการปฏิบตั ิโดยมีการกําหนดความรู้ ความสามารถที่ต้องการของตําแหน่งงานหลัก หลังจากนัน้ จะมีการพิจารณาคัดเลือกพนักงานที่มีอยูแ่ ล้ ว พร้ อมกับประเมินตาม ความรู้ ความสามารถของตําแหน่งหลัก เพื่อให้ ทราบว่าพนักงานที่คดั เลือกมาแล้ วนัน้ ขาดคุณสมบัติข้อใด จากนัน้ จะมีการให้ ฝึ กอบรมเพิ่ม หรื อ ย้ ายให้ ไปดําเนินงานอื่นเพื่อเพิ่มประสบการณ์ด้านที่ขาด ซึง่ จะมีการพิจารณาถึงความคืบหน้ าของแผนการสืบ ทอดตําแหน่งในทุกครัง้ ที่มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน วิสัยทัศน์ และภารกิจของบริษัท คณะกรรมการได้ กําหนดวิสยั ทัศน์และภารกิจของบริษัทฯ พร้ อมทังเผยแพร่ ้ ให้ พนักงาน ผู้มีสว่ นได้ เสียทังหมดรั ้ บรู้ รวมทังจะมี ้ การ ทบทวนและอนุมตั ิทกุ ๆ 5 ปี

66 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีการกําหนดนโยบายในการทํารายการระหว่างกันที่สําคัญ ว่าจะต้ องได้ รับการพิจารณาและอนุมตั ิจากคณะกรรมการ ก่อนทํารายการ และรายการระหว่างกันที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในปี 2556 โดยมีรายละเอียดดังนี ้ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง

ลักษณะรายการและลักษณะความสัมพันธ์

บริษัท คลิก คอนเนค จํากัด

บริษัทฯ ขายสินค้ าให้ บริษัท คลิก คอนเนค จํากัด เพื่อนําไปใช้ งาน ในบริษัทฯ มูลค่า ลูกหนี ้ค้ างชําระต้ นงวด ลูกหนี ้ค้ างชําระปลายงวด ลักษณะความสัมพันธ์ บริ ษัทฯ ถือหุ้นในบริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด ร้ อยละ 15 ของทุน จดทะเบียนที่เรี ยกชําระแล้ ว นโยบายการกําหนดราคาและเงื่อนไขระหว่างกัน เป็ นการขายโดยมีราคาและเงื่อนไขที่เป็ นปกติเช่นเดียวกับที่ขาย ให้ กบั กิจการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้ องกันและเป็ นไปตามราคาตลาด ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่า รายการดังกล่าว ไปการขายโดยมีราคาและเงื่อนไขที่เป็ นปกติเช่นเดียวกับที่ขาย ให้ กบั กิจการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้ องกันและเป็ นไปตามราคาตลาด บริ ษัท ฯ ได้ รับความช่วยเหลื อในด้ านการให้ คํา แนะนํ า ปรึ ก ษา ประสานงาน จัดหาผู้ผลิตสินค้ าไอที รายใหม่ การเจรจาติดต่อ ด้ า นการเงิ น กับ ธนาคาร รวมถึง การปั น ส่ว นค่ า ใช้ จ่ า ยจากการ บริ หารจัดการบางส่วนร่ วมกัน โดยบริ ษัทฯ จะจ่ายค่าธรรมเนียม การจัดการตามสัญญาที่ตกลงกันไว้ ลักษณะความสัมพันธ์ SiS International Holdings Limited เป็ นบริ ษัทฯ ของผู้ถือหุ้น ใหญ่ เป็ นบริ ษั ท ใหญ่ ใ นลํ า ดั บ สู ง สุ ด ของกลุ่ ม บริ ษั ท และมี กรรมการร่วมกันกับบริ ษัท นโยบายการกําหนดราคาและเงื่อนไขระหว่างกัน ตัง้ แต่ปี 2547 เป็ นต้ นมา บริ ษัทฯ ได้ ทําสัญญา โดยกําหนด ค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.0625 ของยอดขาย ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการดังกล่าว เป็ นไปตามสัญญาที่ได้ ตกลงกันไว้ และยังพิจารณาเห็นว่า อัตรา ดังกล่าว เป็ นอัตราเดิมจากปี ก่อน ซึ่งเป็ นอัตราที่ตํ่ากว่าที่ได้ เรี ยก เก็ บ จากบริ ษั ท ฯ ในเครื อ อื่ น ๆ จึ ง เห็ น ว่ า เป็ นสัญ ญาที่ มี ค วาม เหมาะสม

SiS International Holdings Limited.

หมายเหตุ ในปี 2545 บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.25 ของยอดขาย ในปี 2546 บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.125 ของยอดขาย ในปี 2547 เป็ นต้ นมา บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.0625 ของยอดขาย

67 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

มูลค่ ารายการ (พันบาท) ปี 2556 ปี 2555 120 433 30 1

93 30

11,374

13,679


ความรั บผิดชอบต่ อสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน บริษัทฯ มีนโยบายการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยให้ เป็ นไปด้ วยความรับผิดชอบต่อ สังคม สิง่ แวดล้ อมและกลุม่ ผู้มีสว่ นได้ เสียซึง่ จากวิสยั ทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่กําหนดไว้ วา่  เราเป็ นผู้นําธุรกิจไอทีในประเทศไทย พัฒนาองค์ กรอย่ างต่ อเนื่อง ดําเนินธุรกิจอย่ างโปร่ งใสและเป็ นธรรม  ส่ งเสริ มการใช้ เทคโนโลยี มีสินค้ าคุณภาพสูงหลากหลาย ทําให้ คนไทยมีความสามารถมากขึ้น ผู้ประกอบการ ไทยและประเทศไทย มีประสิทธิภาพมากขึน้  เติบโตอย่ างมั่นคง ให้ ผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวต่ อผู้ถือหุ้น  มีพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถสูง ให้ คาํ แนะนําที่ดีกับลูกค้ า  ประสบผลสําเร็จพร้ อมกับลูกค้ า ซัพพลายเออร์ และพนักงาน บริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานความรับผิดชอบต่อสังคมขึ ้นโดยยึดแนวทางที่สอดคล้ องกับประกาศของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน (ก.ล.ต.) และการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้ องกับการคอร์ รัปชัน่ ตามกรอบการรายงานของ The Global Reporting Initiative (GRI) โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี ้

ความรั บผิดชอบต่ อสังคมในกระบวนการธุรกิจ การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญด้ านการประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม และกําหนดเป็ นข้ อแรกของวิสยั ทัศน์ ภารกิจและกล ยุทธ์ ของบริ ษัทฯ ซึ่งกําหนดไว้ ว่า “เราเป็ นผู้นําธุรกิจไอทีในประเทศไทย พัฒนาองค์ กรอย่ างต่ อเนื่อง ดําเนินธุรกิจอย่ าง โปร่ งใสและเป็ นธรรม” ซึง่ มีการนําแนวคิดเรื่ องนี ้ไปปฏิบตั ิในหลายด้ าน เช่น:

ต่ อต้ านการแข่ งขันที่ไม่ เป็ นธรรม บริ ษัทฯ ตระหนักว่าการแข่งขันเสรี เป็ นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ กบั องค์กร จึงมีนโยบายสนับสนุนการค้ าเสรี ไม่มีการ กําหนดราคาจําหน่ายเพื่อกําจัดคูแ่ ข่ง หรื อการกระทําอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผูกขาด กีดกันหรื อจํากัดการแข่งขันที่เป็ นการละเมิดกฎหมาย ซึง่ ที่ผ่านมา อุตสาหกรรม IT เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันเสรี อยู่แล้ ว ราคาสินค้ ามีการปรับตัวลงตลอดเวลา มีค่แู ข่งเข้ ามาทํา ธุรกิจจํานวนมาก จึงถือว่าเป็ นอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันเสรี

เคารพสิทธิในทรั พย์ สินทางปั ญญาของคู่ค้า บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม การเคารพสิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญหาของคู่ ค้ า Supplier อย่างเคร่ งครัด ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปั ญญา ไม่จําหน่าย สินค้ าลอกเลียนแบบ ไม่ทําธุรกิจกับลูกค้ าหรื อ Supplier ที่ดําเนินการเกี่ยวกับ สินค้ าลอกเลียนแบบ หรื อละเมิดลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร ซึง่ บริ ษัทฯ มีการปฏิบตั ิในเรื่ อง นี ้อย่างต่อเนื่อง เช่น การฝึ กอบรมพนักงานขายให้ ตระหนักถึงเรื่ องลิขสิทธิ์ การติด ประกาศที่จดุ ขายให้ ทราบถึงการที่บริ ษัทฯ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์และไม่สนับสนุนให้ มี การละเมิดลิขสิทธิ์

68 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

การร่ วมกับ Microsoft จัดฝึ กอบรมพนักงานขายเกี่ยวกับ ลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์


ในทางกลับกัน บริ ษัทฯ ส่งเสริ มการเคารพสิทธิ ในทรัพย์ สินทางปั ญหาของคู่ค้า มีการนํ า สินค้ าด้ าน Software ที่มีลิขสิทธิ์ถกู ต้ องมาจําหน่ายเช่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จาก VMware, Symantec, Veeam, Norton, Trend Micro โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณี VMwareที่บริ ษัทฯ ได้ จัดจําหน่ายจนได้ รับรางวัล Distributor of the Year – ASEAN. ในปี 2556 บริ ษัทฯ ไม่มีโทษปรับที่จากการละเมิดกฎหมายและข้ อบังคับ

การเคารพสิทธิมนุษยชน

บริ ษัทฯ มีการดําเนินธุรกิจที่เคารพสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถึง สิ ท ธิ ใ นชี วิ ต และเสรี ภ าพ ความเสมอภาคในกฎหมาย เสรี ภ าพในการแสดงออกสิ ท ธิ ท าง เศรษฐกิ จสัง คมและวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึง สิท ธิ ในการทํ า งานสิท ธิ ในการศึก ษาและสิท ธิ ด้า น สวัสดิการสังคม ไมมีการใช้ แรงงานเด็ก และไม่ดําเนินธุรกิจกับคู่ค้าที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึง่ ในปี 2556 บริษัทฯ ไม่มีกิจกรรมที่กระทบด้ านสิทธิมนุษยชนและไม่ได้ รับคําร้ องทุกข์เกี่ยวกับการละเมิด สิทธิมนุษยชน

การติดข้ อความเรื่ องการไม่ ละเมิด ลิขสิทธิ์ท่ จี ุดขาย

การปฏิบัตติ ่ อแรงงานอย่ างเป็ นธรรม หนึ่งในวิสยั ทัศน์และพันธกิจของบริ ษัทฯ คือ “มีพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถสูง ให้ คําแนะนําที่ดีกบั ลูกค้ า”และการตระหนัก ถึงการเจริ ญเติบโตของบริ ษัทฯ ไปพร้ อมกับพนักงานดังที่กําหนดไว้ ในวิสยั ทัศน์และพันธกิจว่า “ประสบผลสําเร็ จพร้ อมกับลูกค้ า ซัพพลายเออร์ และพนักงาน” ซึ่งบริ ษัทฯ มีการดําเนินงานหลายด้ านเพื่อให้ สอดคล้ องกับวิสยั ทัศน์และพันธกิจด้ านที่เกี่ยวกับ แรงงานเช่น

การพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ มี นโยบายส่งเสริ มให้ พนักงานได้ รับการพัฒนาความรู้ ศักยภาพและ ความสามารถตามสายงานตลอดจนมีทศั นคติที่ดี มีการเติบโตเจริ ญก้ าวหน้ าไปพร้ อมกับ บริ ษัทฯ โดยผ่านกระบวนการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง การฝึ กอบรม การสัมมนา ในปี 2556 บริ ษัทฯ มีพนักงานที่ทําหน้ าที่ฝึกอบรมพนักงานขายโดยเฉพาะ 1 ตําแหน่งและได้ มอบหมายงานฝึ กอบรมให้ ผ้ จู ดั การผลิตภัณฑ์อาวุโสอีก 5 คน รับผิดชอบ การฝึ กอบรมแก่ผ้ จู ัดการผลิตภัณฑ์ และมีการว่าจ้ างพนักงานจากภายนอก ให้ ทําหน้ าที่ ประกาศณียบัตรของพนักงานที่ผ่านการ ฝึ กอบรมโดยเฉพาะอีก 1 รายตลอดทังปี ้ เพื่อฝึ กอบรมการขายงานโครงการ และงานขาย ฝึ กอบรม ลูกค้ ารายใหญ่ นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ได้ จดั เตรี ยมพื ้นที่เพื่อแสดงประกาศนียบัตร ที่พนักงานได้ มาจากการไปฝึ กอบรมและสอบผ่อน เพื่อเป็ นการให้ เกียรติ กับพนักงานเหล่านัน้ และถือเป็ นการส่งเสริ มให้ พนักงานได้ มีการเรี ยนรู้ มากขึ ้น สําหรับพนักงานขาย บริ ษัทฯ กําหนดให้ มีการเข้ าไปเรี ยนรู้ ด้วย ตนเองจากเว็บไซต์ ของผู้ผลิตที่มีการจัดทําหลักสูตรให้ เรี ยนรู้ด้วยตนเอง ได้ โดยกําหนดเป็ น KPI ที่เมื่อสอบผ่าน บริ ษัทฯ จะมอบรางวัลพิเศษให้ เพิ่มเติม บริ ษั ท ฯ มี ห้ องประชุ ม ขนาดใหญ่ ที่ จั ด ประชุ ม พนั ก งานได้ ภาพการฝึ กอบรมที่ห้องสัมนาของบริษัท มากกว่า 300 คน พร้ อมห้ องประชุมขนาดกลางและขนาดเล็กจํานวนมาก พร้ อมอุปกรณ์ที่ทําให้ สามารถจัดประชุมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้ มีการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ทกุ คน จัดให้ มีระบบ “พี่เลี ้ยง” ให้ กบั พนักงานใหม่ทกุ คน มีเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายฝึ กอบรมที่ทํางานด้ าน ฝึ กอบรมเต็มเวลาสองคน มีการกําหนดงบประมาณเพื่อใช้ ในการฝึ กอบรมพนักงานทุกปี มีการฝึ กอบรมทังด้ ้ านที่เกี่ยวกับงานโดย ตรงที่เป็ นการอบรมภายใน และการอบรมด้ านอื่นๆ ที่มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ ความรู้ ในปี 2556 บริษัทฯ มีจํานวนเฉลี่ยของชัว่ โมงต่อการฝึ กอบรมทังสิ ้ ้นเท่ากับ 19 ชัว่ โมง 69 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สุขภาพ อาชีวอนามัย บริษัทฯ ส่งเสริมให้ พนักงานมีสขุ ภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ดี โดยมีกิจกรรมต่างๆ หลายด้ านในเรื่ องนี ้ดังนี ้ ตรวจสุขภาพประจําปี บริษัทฯ จัดให้ มีการตรวจสุขภาพประจําปี สําหรับพนักงานทุกคนซึง่ เป็ นการตรวจสุขภาพอย่าง อด ตรวจปั สสาวะ X-Ray ปอด วัดความดัน วัดสายตา และเปิ ดโอกาสให้ ครอบคลุม ทังตรวจเลื ้ พนักงานสามารถเลือกตรวจเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากโปรแกรมมาตรฐานที่บริษัทฯ จัดขึ ้นได้ เพื่อให้ มี ข้ อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองและเป็ นการส่งเสริมการมีสขุ ภาพดีพร้ อมจัดให้ มีแพทย์เข้ ามา แนะนําการปฏิบตั ิตวั เพื่อให้ มีสขุ ภาพดีและตอบข้ อสงสัยต่างๆ ให้ กบั พนักงานโดยเพื่ออํานวยความ สะดวก บริษัทฯ จัดให้ มีการดําเนินการที่สํานักงานของบริษัทฯ การสนับสนุนค่ าใช้ จ่ายด้ านวัคซีน เพื่อป้องกันโรคที่มีโอกาสติดต่อสูง บริษัทฯ จัดให้ พนักงานสามารถเลือกฉีดวัคซีนป้องกันตับอักเสบ และวัคซีนป้องกันไข้ หวัดใหญ่ได้ ในราคา 50% ของต้ นทุนโดยบริ ษัทฯ ช่วยออกให้ อีก 50% และอํานวยความสะดวกโดยให้ พยาบาลมาฉีดให้ ที่บริษัทฯ ซึง่ นอกเหนือจากวัคซีน 2 ด้ านนี ้แล้ ว ถ้ าพบว่ามีโรคระบาดอื่น ๆ อีก บริษัทฯ จะปรึกษาหน่วยงาน อนามัยเพิ่มเติมเพื่อหาทางป้องกันโรคอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ ้นได้

สถิตทิ ่ สี าํ คัญเกี่ยวกับการจ้ างงาน จํานวนพนักงานและการเปลี่ยนแปลง พนักงานต้ นปี 2556 พนักงานที่ลาออกในปี 2556 พนักงานที่รับในปี 2556 พนักงานปลายปี 2556

จํานวน(คน) 440 116 61 385

% ของจํานวนพนักงานต้ นปี 100% 26% 14% 88%

จํานวนพนักงานลาคลอด บริษัทฯ มีนโยบายสําหรับพนักงานที่ลาคลอดดับนี ้  สามารถลางานได้ 90 วัน โดย 45 วันแรก ยังได้ รับเงินเดือนตามปกติ  บริษัทฯ มีนโยบายในการให้ พนักงานที่ลาคลอด สามารถกลับมาทํางานในตําแหน่งเดิมที่ถนัดได้ โดยในปี 2556 บริ ษัทฯ มี ้ ้น 9 คน และทุกคนกลับมาทํางานในตําแหน่งเดิม พนักงานลาคลอดทังสิ จํานวน % พนักงานที่ลาคลอดในปี 2556 9 คน พนักงานที่กลับมาทํางานในตําแหน่งเดิม 9 คน 100% สัดส่ วนพนักงาน บริษัทฯ ให้ ความเท่าเทียมกันในการจ้ างงาน ไม่คํานึงถึงเพศ ศาสนา และมีการจ้ างงานกระจายตามที่ตงของสํ ั้ านักงานโดยมีข้อมูล ในการจ้ างงานดังนี ้ ระดับแรงงาน เพศชาย เพศหญิง รวม สัดส่ วนผู้หญิง ผู้บริ หาร 6 2 8 25% หัวหน้ า 23 24 47 51% พนักงาน 150 180 330 55% ศาสนา พุทธ คริ สต์ อิสลาม รวม

จํานวนพนักงาน 366 4 15 385

70 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

สัดส่ วน 95% 1% 4% 100%


ความปลอดภัยในการรปฏิบัตงิ าน บริ ษัษัทฯ ได้ ดําเนินการด้ ก านความปปลอดภัยทังในแ ้ แง่สถานที่ทํางาาน ให้ มีผงั ที่เหมมาะสม มีช่องทางเดินที น ่กว้ างเพียงพออ ไม่มีสงิ่ กีดขวาง และการลงททุนในแง่อปุ กรณ ณ์ที่จะต้ องพิจารณา า ด้ านความปลอดภัยในการใช้ช้ งานเป็ นปั จจัยสํ ย าคัญในการเเลือกซื ้อ รวมไปปถึงการซื ้ออุปกรณ์ ก ใ เกิดความปลลอดภัยในการใชช้ งานมากขึ ้น เชช่นในปี 2556 บริ บ ษัทฯ ซื ้อกล้ องพิ อ เศษ เพิ่มเติม เพื่อให้ ที่ติดตังเพื ้ ่อให้ห้ พนักงานขับรถถยกสามารถมอองเห็นตําแหน่งของที ง ่ตกั ได้ ชดเจนขึ ดั ้น ซึง่ กล้ อง อ ดังกล่าว ไม่เป็ นที่นิยมใช้ ในปประเทศไทย จนนบริ ษัทฯ ต้ องสัสัง่ ซื ้อกล้ องดังกล่าวมา จากต่างประเททศโดยตรง บริ ษัทฯ มีระบบบ database ที่ใช้ บนั ทึกการรเกิดอุบตั ิเหตุทกครั ุ ง้ ที่เกิดขึ ้น ทังนี ้ ้ เพื่อให้ พนักงาานที่เกี่ยวข้ องสามารถติดตามปั ญหาเพื่อหาททางแก้ ไขและปปองกั ้ น อุบตั ิเหตุไม่ให้ เกิดขึ ้นอีกได้ อย่างเป็ นระบบ โดยในปี 25566 เกิดอุบตั ิเหตุขึขึ ้น้ 11 ครัง้ ซึง่ เป็ นการเกิดขึ ด ้นที่คลังสินค้​้ า และมีการบันทึ น กรายละเอียดไว้ ทกุ ครัง้ โดยยมีการ บาดเจ็บของพพนักงาน 1 ครัง้ และต้ องหยุดงาน ง 6 วันซึง่ บริริ ษัทฯ ออกค่าใชช้ จ่ายใน ร ระบบฐานข้ อมูลในการเก็บอุบัตเิ หตุท่ เี กิดขึน้ ง ้ เพื ่ อให้ สสามารถนํามาวิเครราะห์ เพื่อ ทุ ก ครั การรักษาพยาาบาลให้ ทงหมด ั ้ ด นอกนัน้ เป็ นความเสียหายจจากการจัดเก็บสินค้ าซึง่ ป้องงกันปั ญหาได้ บริ ษัทฯ ได้ ทําประกั า นไว้ แล้ ว สถานที ส ่ เกิดอุบับัตเิ หตุ สําํ นักงาน -

จํานวนอุบตั ิเหตุ ห ที่เกิดขึ ้นในปีปี 2556 จํานวนอุบตั ิเหตุ ห ที่เกิดการบาาดเจ็บ รวม

คลั​ังสินค้ า 10 1 11

การประกันอุบัตเิ หตุ บริ ษัทฯ มีการรประกันภัยอุบตั ิเหตุเพิ่มเติมนอกเหนื น อจากกองทุนเงินทดแทนให้ กบั พนักั งานทุกคน โดดยคุ้มครอง 24 ชัว่ โมงทัว่ โลก ซึง่ ในปี 2556 มีจํานวนเงินทุนประกันทังสิ ้ น้น 221 ล้ านบาทท การขยายสวัวัสดิการไปยังคู่ค้า ในการดําเนินธุ น รกิจ นอกเหนืนือจากแรงงานทีที่เป็ นพนักงานขของบริ ษัทฯ โดยตรงแล้ ว มีแรงงานของคู่ค้าที่ต้องทํางานร่วมกั ว บพนักงาน ของบริ ษัทฯ ด้ วยโดยแบ่งเป็ปนสามกลุ่มคือพนักงานบางสส่วนของคลังสินค้ น า พนักงานขขายที่ให้ คําแนะะนําสินค้ า และะพนักงานของ บริ ษัทขนส่ง ซึ่งพนักงานเหล่านี ้ ได้ รับสวัสดิ ส การน้ อยกวว่าพนักงานของงบริ ษัทฯ บริ ษัษัทฯ จึงทยอยเพิพิ่มสวัสดิการใให้ กับพนักงาน เหล่านี ้ ตามตารางด้ านล่าง โบนัสประจําไตรมาสส โบนัสประจําปี ตรวจสุขภาพประจํ ข าปี ค่ านายหหน้ า ประกันอุอบัตเิ หตุบุคคล ค ประกันอุอบัตเิ หตุรถยนนต์

S SiS

Outsource – คลลังสินค้ า

O Outsource – พพนักงานขาย

ขนส่ง

 

 

71 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เออสไอเอส ดิสทริ บวชั วิ น่ (ประเทศไทยย)

 


ความรั บผิดชอบต่ อผู้บริโภค บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับความรับผิดชอบต่อผู้บริ โภคในสินค้ าและ บริ ก ารที่ บ ริ ษั ท ฯ จํ า หน่ า ยออกไป โดยเป็ นกระบวนการครบวงจรตัง้ แต่ ก าร คัดเลือกสินค้ าที่ดี มีคณ ุ ภาพสูง และเป็ นสินค้ าที่ผา่ นมาตรฐานการตรวจสอบด้ าน ต่าง ๆ รวมทัง้ ด้ านความปลอดภัยมาจําหน่าย มีการให้ คําแนะนํ าสินค้ าให้ กับ ช่องทางการจัดจําหน่าย มีการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดและระเบียบต่างๆ ที่แสดงถึง ความรั บผิดชอบต่อผู้บริ โภคซึ่งรวมไปถึงฉลากผลิตภัณฑ์ ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริ โภค มีมาตรการรับประกันหลังการขายที่ดีและมีประสิทธิ ภาพ เช่น การเปิ ดศูนย์บริ การที่ครอบคลุมพื ้นที่โดยปั จจุบนั บริ ษัทฯ มีศูนย์บริ การที่เปิ ดทํา การทุกวัน ตังอยู ้ ่ในศูนย์การค้ าฟอร์ จนู ทาวน์ และมีศนู ย์บริ การในต่างจังหวัดอีก 6 แห่งคือ เชียงใหม่, ขอนแก่น, อุบลฯ , พัทยา, ภูเก็ต และหาดใหญ่

ภาพสินค้ าที่มีฉลากผลิตภัณฑ์ ตาม พระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองผู้บริโภค

ในกรณีที่ผ้ บู ริ โภคไม่ได้ รับความสะดวก หรื อต้ องการแนะนํา สามารถติดต่อบริ ษัทฯ ได้ หลายทางรวมไปถึงการส่งอีเมล ให้ บริ ษัทฯ ได้ ที่ complain@sisthai.com ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ ประชาสัมพันธ์ ช่องทางการติดต่อไว้ ที่ web site และเอกสารที่สง่ ให้ ลกู ค้ า อย่างต่อเนื่อง ในปี 2556 บริ ษัทฯ ไม่ได้ รับโทษปรับจากการละเมิดกฎหมายและข้ อบังคับเกี่ยวกับข้ อกําหนดและการใช้ สอยผลิตภัณฑ์ และบริการ

การดูแลรั กษาสิ่งแวดล้ อม การประหยัดพลังงาน บริษัทฯ มีนโยบายในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้ อมด้ วยการประหยัดการใช้ พลังงาน มีการแบ่งพื ้นที่การทํางานเป็ นส่วนย่อย เมื่อไม่ใช้ งานก็สามารถปิ ดการใช้ งานเป็ นส่วนๆ ได้ ส่งเสริมและผลักดันการนําสินค้ าที่ช่วยลดพลังงานมาจําหน่าย เช่น การประชาสัมพันธ์สนิ ค้ า Server รุ่นใหม่ที่ประหยัดพลังงานให้ กบั ลูกค้ า มีการ ปลูกฝั งให้ พนักงานมีจิตสํานึกในการช่วยประหยัดพลังงาน เช่น มีป้ายเตือนให้ ปิด ไฟและเครื่ องปรับอากาศเมื่อออกจากห้ องประชุม และเมื่อต้ องซื ้ออุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทดแทนของเดิม ก็จะซื ้ออุปกรณ์ที่ประหยัดไฟเ ช่น การใช้ ไฟแบบ LED แทน หลอดไฟแบบเดิม

ภาพป้ายเตือนให้ ปิดไฟ ปิ ดแอร์ เมื่อออกจากห้ อง ประชุม

การลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ บริษัทฯ ได้ ร่วมกับ DTAC เพื่อลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แบตเตอรี่ มือถือเก่า อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ต่างๆ ที่ไม่ใช้ งานแล้ วนํามาทิ ้งเพื่อนําเข้ าสูก่ ระบวนการทําลายหรื อ Recycle ที่ถกู ต้ องและปลอดภัย ซึ่งเป็ นการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องตังแต่ ้ ปี 2555 โดยลูกค้ าสามารถนําอุปกรณ์ ที่ได้ ที่สํานักงาน และศูนย์บริ การทังหมด ้ ของบริ ษัทฯ ทังในกรุ ้ งเทพฯ และต่างจังหวัด รวมถึงลูกค้ าที่ร่วมโครงการอีก มากกว่า 50 จุดทัว่ ประเทศ โดยจะมีการรับขยะเหล่านี ้กลับ แล้ วจะมีการทําลายหรื อ recycle อย่าง ถูกต้ องและปลอดภัย ในปี 2556 บริ ษั ท ฯ ไม่ไ ด้ รั บ โทษปรั บจากการละเมิด กฎหมายและข้ อ บัง คับ ด้ า น สิง่ แวดล้ อม

กล่ องบรรจุขยะอีเลคทรอนิคส์ ที่ไปติดตัง้ ตามจุดต่ าง ๆ

72 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้ องกับคอร์ รัปชั่น ในปี 2556 คณะกรรมการของบริ ษัทฯ ได้ กําหนดนโยบายการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยที่จะไม่มีส่วน เกี่ยวข้ องกับการคอร์ รัปชัน่ ไม่ว่าด้ วยการเรี ยก รับ และจ่ายสินบน และให้ เป็ นฯไปตามกฎหมายเกี่ยวกับการห้ ามจ่ายสินบน หรื อ การสนับสนุนการทุจริตคอร์ รัปชัน่ และให้ พิจารณาเข้ าร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้ านทุจริต บริ ษัทฯ ได้ กําหนดการ “ดําเนินธุรกิจอย่างโปร่ งใสและเป็ นธรรม” ให้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิสยั ทัศน์ ภารกิจและกลยุทธ์ของบริ ษัทฯ อยู่ แล้ ว รวมทังมี ้ การกําหนดให้ เป็ นแนวปฏิบตั ิ นโยบาย บรรจุเป็ นหัวข้ อในการฝึ กอบรมพนักงานใหม่ทกุ คน ในเรื่ องการต่อต้ านทุจริ ต ทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้ องกับ ข้ าราชการ นักการเมือง พรรคการเมืองหรื อหน่วยงานเอกชน และจะจัดให้ มีการฝึ กอบรมแก่พนักงานเพื่อ ส่งเสริมความซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิตามหน้ าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้ เห็นถึงความมุ่งมัน่ ของบริ ษัทฯ ใน การปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิที่ดีของธุรกิจตามแนวทางที่ แนวรวมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยได้ กําหนดไว้

การร่ วมพัฒนาชุมชนและสังคม เมื่อมีการเปิ ดสํานักงานต่างจังหวัด บริษัทฯ มีนโยบายการจ้ างแรงงานท้ องถิ่นให้ มากที่สดุ และในทุกระดับ โดยปั จจุบนั บริ ษัทฯ มี สัดส่วนการจ้ างงานในสํานักงานต่างจังหวัดดังนี ้ จํานวนพนักงาน จํานวนพนักงานต่ าง รวม สัดส่ วนพนักงาน ท้ องถิ่น ถิ่น ท้ องถิ่น/ทัง้ หมด สํานักงานหาดใหญ่ 6 1 7 2% สํานักงานเชียงใหม่ 8 4 12 3% สํานักงานพัทยา 4 3 7 2% สํานักงานอุบล 3 1 4 1% สํานักงานขอนแก่น 5 1 6 2% สํานักงานภูเก็ต 5 5 1% รวม 31 10 41 11%

การจ่ ายภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล

บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในการจ่ายภาษี ให้ รัฐเพื่อให้ นําไปใช้ จ่ายในกิจการอันเป็ นสาธารณประโยชน์ทวั่ ไป ซึ่ง บริ ษัทฯ ยึดหลักการจ่ายภาษี อย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน ตรงเวลา โดยตลอดเวลาที่ผ่านมา บริ ษัทฯ มีการจ่ายภาษี เงินได้ นิติบคุ คลใน อัตราที่สงู กว่าที่ระบุไว้ ตามกฎหมายเพราะคํานึงถึงข้ อยกเว้ น ค่าใช้ จ่ายหรื อต้ นทุนที่กรมสรรพากรกําหนดไม่ให้ นํามาหักภาษี อย่าง เคร่งครัดดังนี ้ กําไรก่ อนหักภาษี (ล้ านบาท) การจ่ ายภาษีเงินได้ (ล้ านบาท) อัตราภาษีตามกฎหมาย อัตราภาษีท่ บี ริษัทฯ จ่ าย

2551

2552

2553

2554

2555

2556

302.1 95.5 25% 31.6%

333.8 92.1 25% 27.6%

422.7 127.4 30% 30.1%

272.1 128.5 30% 47.2%

(662.8) 75.9 23%

244.8 52.2 20% 21.3%

73 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ เรี ยน ท่ านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน คือ ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ เป็ นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายสุวิทย์ จินดาสงวน และ นายสมชาย ศิริวิชยกุล เป็ นกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านมีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามที่กําหนดไว้ ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สอดคล้ องกับข้ อกําหนดและแนวทางปฏิบตั ิที่ดีสําหรับคณะกรรมการตรวจสอบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยได้ รับการเสนอแต่งตังจากที ้ ่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ซึง่ มี วาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามขอบเขตความรับผิดชอบในภารกิจที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท อย่างเป็ นอิสระในการตรวจสอบและสอบทาน เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ บริษัทมีการกํากับดูแลกิจการอย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอ โดยปราศจาก รวมทังการดํ ้ าเนินงานของบริษัทเป็ นไปเพื่อประโยชน์สงู สุดของผู้ถือหุ้นโดยรวมอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ และมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม รวมทังผู ้ ้ บริหารได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์สจุ ริ ต มีความรับผิดชอบ และเป็ นไปตามนโยบายของบริษัทฯ ในรอบปี 2556 ได้ มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทังสิ ้ ้นจํานวน 12 ครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ เชิญกรรมการที่เป็ น ผู้บริหาร ผู้บริหารระดับสูง และผู้เกี่ยวข้ องร่วมประชุมตามวาระต่างๆ เพื่อสอบถามข้ อมูลในประเด็นต่างๆ เพื่อให้ การตรวจสอบ และสอบทานมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น นอกจากนี ้ ได้ มีการจัดประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารร่วมด้ วย จํานวน 1 ครัง้ และมีการจัดการประชุมร่วมกับกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารโดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผู้บริหารเข้ าร่วมด้ วย จํานวน 1 ครัง้ ทังนี ้ ้ มีรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านดังนี ้ เข้ าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทังสิ ้ ้นจํานวน 12 ครัง้ 1. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 2. นายสุวิทย์ จินดาสงวน เข้ าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทังสิ ้ ้นจํานวน 12 ครัง้ 3. นายสมชายศิริวิชยกุล เข้ าร่วมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทังสิ ้ ้นจํานวน 12 ครัง้ นอกจากนี ้ กรรมการตรวจสอบทุกท่านได้ เข้ าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีและร่วมประชุมกับกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หารโดยไม่มี ฝ่ ายบริหารร่วมด้ วยครบทุกครัง้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการหารื อ และแลกเปลี่ยนข้ อคิดเห็นกับฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี และ กรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารในเรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ สรุปสาระสําคัญในการปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ดงั นี ้ 1. สอบทานงบการเงินระหว่ างกาลรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2556 ซึง่ ผ่านการสอบทานและตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีรวมถึงการเปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นสาระสําคัญ คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับฟั งคําชี ้แจงและซักถามฝ่ ายบริหาร และ ผู้สอบบัญชีในเรื่ องความถูกต้ องครบถ้ วนของงบการเงิน รายการบัญชีที่เพิ่มขึ ้นและลดลงอย่างมีนยั สําคัญ และความเสี่ยง ทังนี ้ ้ได้ จดั ให้ มีประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้ าร่วมประชุม เพื่อให้ รายงานทางการเงินมีความถูกต้ อง เชื่อถือ ได้ และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้ องกับกฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานกํากับดูแลต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชีวา่ งบการเงินดังกล่าวมีความถูกต้ องตามที่ควรใน สาระสําคัญตามหลักการบัญชีรับรองทัว่ ไป อนึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานพบว่าบริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงสถานะทางการเงินที่มีสาระสําคัญ ในปี 2556 กล่าวคือ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ รวม 18,345 ล้ านบาท ลดลงจากปี ก่อน 3,746 ล้ านบาทหรื อลดลงร้ อยละ 17 อย่างไรก็ตาม มีผลกําไรสุทธิรวมเท่ากับ 190 ล้ านบาท เทียบกับการขาดทุนสุทธิรวมจํานวน 549 ล้ านบาทของปี 2555 ส่งผล ให้ บริษัทฯ มีกําไรสุทธิตอ่ หุ้นในปี ปั จจุบนั เท่ากับ 0.64 บาทต่อหุ้นซึง่ สูงกว่ากําไรสุทธิตอ่ หุ้น ในปี 2555 ที่มีผลขาดทุนที่ 2.36 ้ ้กําไรสุทธิตอ่ หุ้นเป็ นตัวชี ้วัดศักยภาพในการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ และบริษัทย่อย ซึง่ แสดงให้ เห็นว่า ปี บาทต่อหุ้น ทังนี 2556 สถานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยรวมดีขึ ้น 2. สอบทานข้ อมูลการดําเนินงาน และระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน โดยได้ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กําหนดโดยสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จากการพิจารณาผลการตรวจสอบภายในของหน่วยงานตรวจสอบ ภายในตามแผนงานที่ได้ รับอนุมตั ิ ซึง่ ครอบคลุมระบบงานที่สําคัญ และมีการดูแลรักษาทรัพย์สนิ รวมทังมี ้ การเปิ ดเผยข้ อมูล 74 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


3.

4.

5.

6.

อย่างเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯมีระบบการติดตามควบคุมดูแลการดําเนินงานอย่างเหมาะสม รวมทังมี ้ การบริ หารความเสี่ยง ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั การดําเนินธุรกิจและกระบวนการบริหารงานในเรื่ องสภาพแวดล้ อม ภายในบริษัทฯ การกําหนดวัตถุประสงค์การบ่งชี ้เหตุการณ์การประเมินความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง ระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้ อมูล คณะกรรมการตรวจสอบพบว่าการดําเนินงานในปี 2556 สินค้ าคงเหลือของบริ ษัทฯ สูงขึ ้น 501 ล้ านบาท อย่างไรก็ ตาม การเพิ่มขึ ้นของสินค้ าคงเหลือดังกล่าว เป็ นการเพิ่มขึ ้นในกลุม่ สินค้ าที่มีความต้ องการสูง ดังนัน้ สินค้ าคงเหลือที่เพิ่มขึ ้น ดังกล่าว ไม่น่าจะส่งผลกระทบในเชิงลบกับบริษัทฯ ขณะเดียวกัน ลูกหนี ้การค้ าของบริษัทฯ ลดลง 297 ล้ านบาท เทียบกับปี 2555 ทังนี ้ ้ จากการตรวจสอบและการวิเคราะห์พบว่าส่วนของลูกหนี ้การค้ าที่เพิ่มขึ ้นเป็ นส่วนของลูกค้ าโครงการต่างๆ ซึง่ มี สัญญาการส่งมอบสินค้ าและชําระราคาสินค้ าที่ชดั เจน สรุปได้ ว่าสภาพการณ์สินค้ าคงเหลือและลูกหนี ้การค้ าของบริษัทฯ ใน ปี 2556 อยูใ่ นสถานะผลการดําเนินงานที่ดีและความเสี่ยงไม่สงู นัก รวมไปถึงการดําเนินการจัดซื ้อสัญญาล่วงหน้ าเพื่อลด ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน พบว่า บริ ษัทฯ สามารถดําเนินการได้ ตามนโยบายและระบบที่กําหนดไว้ ทําให้ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนลดลง สอบทานการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน หน้ าที่ ความ รับผิดชอบ อัตรากําลัง แผนการฝึ กอบรม งบประมาณ และความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และได้ อนุมตั ิ แผนงานการตรวจสอบประจําปี 2556 ทังนี ้ ้ ยังได้ พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิแผนการตรวจสอบปี 2557 รวมทัง้ มีการ ทบทวนอนุมตั ิกฎบัตรหน่วยงานตรวจสอบภายในให้ เหมาะสมและมีความทันสมัย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบตรวจสอบภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิผล และมีความเป็ น อิสระ รวมทังมี ้ การสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบ ทังในด้ ้ านบุคลากร และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ยิ่งไปกว่านัน้ แม้ บริษัทฯ จะมีอปุ สรรคในการดําเนินงานของฝ่ ายตรวจสอบภายในปี 2556 เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงและขาดบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ เร่งดําเนินการจัดหาบุคลากร และปั จจุบนั ได้ มี หัวหน้ างานตรวจสอบภายในเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว จึงเชื่อว่า จะทําให้ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของงานตรวจสอบภายในดี ขึ ้น และเกิดความสมดุลระหว่างปริ มาณงานและความรับผิดชอบกับจํานวนบุคลากรที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั การสอบทานการปฏิบัตติ ามกฎหมาย รวมถึงข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็ นสาระสําคัญ ในเรื่ องการไม่ปฏิบตั ิตาม กฎหมาย และ ข้ อกําหนด ดังกล่าว รวมถึงให้ ความเห็นเกี่ยวกับ พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ รายการที่เกี่ยวโยงกันดังกล่าวของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อให้ การทํารายการมีความสมเหตุสมผล เป็ นไปตามกฎหมาย และข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดย คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายเป็ นสําคัญ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การทํารายการดังกล่าวเป็ นการดําเนินงานตามธุรกิจปกติหรื อเป็ นรายการ ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่าง สนับสนุนธุรกิจปกติ เพื่อประโยชน์สงู สุดต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ และของผู้ถือหุ้น รวมทังมี เพียงพอ พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่ งตัง้ และเสนอค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจําปี 2557 เพื่อเสนอแนะคณะกรรมการบริษัท ให้ ความเห็นชอบ ก่อนเสนอขออนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ดําเนินการ คัดเลือกผู้สอบบัญชีโดยได้ ประเมินทักษะ ความรู้และความสามารถของผู้สอบบัญชีและคณะผู้ช่วยผู้สอบบัญชี คุณภาพของ ผลงานการตรวจสอบปี 2556 ค่าตอบแทน และความเป็ นอิสระ เปรี ยบเทียบกับผู้สอบบัญชีรายอื่น จึงเห็นสมควรเสนอ แต่งตัง้ นายวิเชียร ธรรมตระกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3183 หรื อ นางสาววรรณาพร จงพีรเดชานนท์ ผู้สอบ บัญชีรับ อนุญาตเลขทะเบียน 4098 หรื อ นางสาวสุรีย์รัตน์ ทองอรุณแสง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4409 หรื อ นาย เอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4195 จากบริษัท เคพีเอ็มจีภมู ิไชย สอบบัญชีจํากัด ให้ เป็ นผู้สอบ บัญชีของบริษัทฯประจําปี 2557 โดยมีคา่ ตอบแทนการสอบบัญชีเป็ นจํานวนเงิน 1,255,000 บาท ซึง่ เท่ากับค่าตอบแทนการ สอบบัญชีปี 2556แต่สงวนสิทธิ์ที่จะคิดค่าใช้ จ่ายเพิ่มในกรณีที่มีงานพิเศษที่ต้องตรวจสอบเพิ่ม 75 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


7. สอบทานการกํากับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงนโยบายเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้ บริ ษัทฯมีการปฏิบตั ิรวมถึงมีการ เปิ ดเผยข้ อมูลการปฏิบตั ิงานอย่างโปร่งใส เพียงพอ เป็ นไปตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงาน ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สนับสนุนให้ ฝ่ายบริหารปฏิบตั ิตาม คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและเป็ นไปตามนโยบายที่บริษัทฯ ได้ กําหนดไว้ อย่างต่อเนื่อง ในปี ที่ผา่ นมาบริ ษัทฯ ได้ รับรางวัลและการประเมินที่ดีทางด้ านการกํากับดูแลกิจการ 3 เรื่ อง คือ I. รางวัล SET AWARD ด้ านการรายงานบรรษัทภิบาลดีเยี่ยม ซึง่ เป็ นรางวัลที่จดั โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และวารสารการเงินธนาคารโดยมีบริษัท ทริ ส คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด เป็ นที่ปรึกษาและเป็ นผู้ประเมิน II. คะแนน "ดีเลิศ" ด้ านการกํากับดูแลกิจการ ซึง่ ดําเนินการโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD), ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) III. คะแนนเต็ม 100 ด้ านคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ซึง่ เป็ นการประเมินโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ทังนี ้ ้คณะกรรมการตรวจสอบจะสนับสนุน งานด้ านการตรวจสอบ การสอบทานและร่วมในการกํากับดูแลให้ บริษัทฯ มี การปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีตอ่ ไป 8. การประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง โดยได้ เปรี ยบเทียบกับแนวทางการปฏิบตั ิที่ดี รวมถึงได้ มีการเข้ าอบรมเสริ มความรู้ในด้ านต่างๆ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง การ ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า จากผลสรุปโดยรวมของปี 2556ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานอยูใ่ นระดับที่ น่าพอใจ โดยได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ครบตามที่กําหนดไว้ ในกฎบัตร และมีการเข้ ารับการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้กบั หน่วยงานที่เป็ น ที่ยอมรับ เช่น สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย อย่างต่อเนื่อง บทสรุ ป ภาพรวมในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ครบถ้ วนตามที่ระบุไว้ ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ ไ ด้ รั บ อนุมัติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท โดยได้ ใ ช้ ค วามรู้ ความสามารถ ความหลายหลากในเชิ ง ความรู้ และ ประสบการณ์ ข องกรรมการ และมี ค วามเป็ นอิ ส ระ ตลอดจนได้ ใ ห้ ค วามเห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ ต่ อ ฝ่ ายบริ ห ารและ คณะกรรมการบริษัทอย่างต่อเนื่องและทันการณ์ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีการรายงานข้ อมูลทางการเงินและการดําเนินงานอย่างเพียงพอ มี ระบบการควบคุม ภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสม รวมทัง้ มี ก ารปฏิ บัติ ต ามกฎหมาย ข้ อกํ าหนด และระเบียบข้ อ บัง คับต่างๆ ที่ สอดคล้ องกับการกํ ากับ ดูแ ลกิจการที่ดี และมี การพัฒนาระบบการปฏิ บัติงานให้ มี คุณภาพและเหมาะสมต่อสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ นอกจากนัน้ ปี 2556 เป็ นช่วงระยะเวลาที่บริ ษัทฯ ต้ องเร่ งพัฒนาและแก้ ไขปั ญหาผลการดําเนินงานจากปี 2555 ซึ่ง ได้ รับผลกระทบจากปั จจัยสําคัญๆ 2 ประการ กล่าวคือ ประการที่ 1) การบริ หารจัดการการขายสินค้ าคงเหลือ ซึ่งมีลกั ษณะของ การเสื่อมความนิยมเร็วด้ วยการลดราคา และประการที่ 2) การผิดสัญญาทางการค้ าของบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง ทังนี ้ ้ การตรวจสอบและ การสอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบและฝ่ ายตรวจสอบภายในได้ เน้ นการตรวจสอบตามแนวทางการบริ หารจัดการความ เสี่ยง โดยมุง่ ลดและขจัดความเสี่ยง ขณะเดียวกัน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ กบั ธุรกิจ ซึง่ จากการตรวจสอบการบริ หารจัดการการขายสินค้ า คงเหลือดังที่กล่าวมาแล้ ว และการบริ หารจัดการสินค้ าคงเหลือ พบว่า แม้ จะมีสินค้ าคงเหลือเพิ่มขึน้ 501 ล้ านบาทเทียบกับปี 2555 แต่อย่างน้ อยร้ อยละ 40 ของสินค้ าคงเหลือเป็ นสินค้ าที่มีความต้ องการซื ้อสูง ส่วนที่เหลือเป็ นสินค้ าที่ยงั มีศกั ยภาพในการ ขายเช่นกัน ดังนัน้ จึงไม่น่าส่งผลต่อปริ มาณสินค้ าคงเหลือในระยะยาว อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบได้ เน้ นยํา้ กับ กรรมการฝ่ ายบริ หารในเรื่ องการบริ หารจัดการสินค้ าคงเหลือให้ มีประสิทธิภาพและเป็ นไปตามนโยบายของบริ ษัทอย่างเคร่ งครัด และระมัดระวัง สําหรับกรณี การผิดสัญญาทางการค้ าของบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง คณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ กรรมการบริ หารรายงาน ความคืบหน้ าของการดําเนินการกับกรณีดงั กล่าว ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกครัง้ เพื่อติดตามตรวจสอบการเร่ งรัด ติดตามทวงถามการชําระราคาสินค้ าและการรับสินค้ าคืน รวมทังการดํ ้ าเนินการทางกฎหมายกับบริ ษัทดังกล่าวอย่างเข้ มงวดและ ระมัดระวัง และได้ ให้ ความเห็นในการดําเนินการกับกรรมการบริ หาร โดยดําเนินการให้ อยู่ภายใต้ ความเห็นของที่ปรึกษาทางด้ าน กฎหมายและที่ปรึกษาทางด้ านการเงิน เพื่อให้ เกิดความถูกต้ องตามขันตอนต่ ้ างๆ และเพื่อประโยชน์สงู สุดของผู้ถือหุ้นทุกรายให้ มากที่สดุ ซึง่ การดําเนินการดังกล่าวกําลังอยูใ่ นขันตอนทางกฎหมาย ้

76 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบยังคงกําหนดนโยบายให้ ฝ่ายตรวจสอบภายในติดตามเรื่ องลูกหนี ้ สินค้ าคงเหลือ และความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึง การตรวจสอบการดําเนินงานด้ านต่างๆ ตามแผนการตรวจสอบปี 2557 ซึ่งได้ รับการพิจารณาและอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ ทังนี ้ ้ การปฏิบตั ิงานการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ยังคงยึดตามแนวคิดของการบริ หารจัดการความเสี่ยง (Risk Based Audit)และ การกํ า กับ ดูแ ลกิ จ การที่ ดี อ ย่ า งเข้ ม งวด อาทิ เ ช่ น มี ก ารติ ด ตามการซื อ้ สัญ ญา ล่ ว งหน้ าเพื่ อ ลดความเสี่ ย งจากความผัน ผวนของอัต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่า งประเทศ หรื อ มี การติ ด ตามการอนุมัติว งเงิ น ลูกค้ า ตาม Delegation of Authorityนอกจากนี ้ คณะกรรมการตรวจสอบยัง ได้ ศึ ก ษาและประยุก ต์ ก าร ดําเนินการตรวจสอบตามแนวทาง COSO2013 ซึ่งเป็ นกรอบแนวทางใหม่ ซึ่งจะ ทําให้ การตรวจสอบมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น และเชื่อว่าจะสามารถ ลดความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจ เพื่อประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นโดยรวมได้ อย่างมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้น

(ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 5 มีนาคม 2557

77 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทฯ เป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) รวมถึงข้ อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําปี โดยงบการเงินดังกล่าวจัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รองรับ ทัว่ ไป โดยเลือกใช้ นโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ มีความระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สดุ มี ความสมเหตุสมผล และความรอบคอบในการจัดทํ างบการเงิ น รวมทัง้ การเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญอย่างเพี ยงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และดูแลให้ บริ ษัทฯ มีระบบการบริ หารความเสี่ยง รวมถึงมีความเพียงพอในระบบการควบคุมภายใน และมี การปฏิบตั ิถกู ต้ องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง ในการนี ้ คณะกรรมการบริ ษั ท มี การแต่ง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็ นกรรมการอิสระ ที่ไ ม่มีส่วนร่ วมในการ บริ หารงาน เป็ นผู้สอบทานนโยบายการบัญชี คุณภาพรายงานทางการเงิน และสอบทานระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบในเรื่ องนี ้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้ แสดงไว้ ในรายงานประจําปี คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯโดยรวมอยูใ่ นระดับที่น่าพอใจ และสามารถ สร้ างความเชื่อมัน่ ว่า รายงานทางการเงิน รวมถึงงบการเงินประจําปี 2556 ของบริษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) มีความถูกต้ อง ครบถ้ วน เชื่อถือได้ และเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

(นายสุวิทย์ จินดาสงวน) ประธานกรรมการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 5 มีนาคม 2557

(นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ) กรรมการผู้จดั การ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 5 มีนาคม 2557

78 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต

79 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


80 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน

สิ นทรัพย์

หมายเหตุ 2556

สินทรั พย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6 73,933 ลูกหนี้การค้า 5, 7 2,298,030 ลูกหนี้อื่น 5, 8 483,306 เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกั 5 สิ นค้าคงเหลือ 9 1,692,048 สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 20,420 รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน 4,567,737 สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้การค้าระยะยาว อุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

10 11 12 13 14 15

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2555 2554 2556 2555 2554 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (พันบาท) 77,901 2,595,066 476,445 1,191,348 4,340,760

8,571 130,826 38,586 285,161 11,815 474,959

8,571 29,219 141,287 42,243 287,614 11,310 520,244

5,042,696

4,861,004

81 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

185,252 61,747 1,836,696 2,190,817 547,481 321,730 437,050 3,170,752 1,581,857 14,227 17,836 5,754,408 4,611,037

67,090 2,572,643 323,614 211,050 1,139,775 4,314,172

82,297 1,660,374 313,029 601,500 1,315,725 8,691 3,981,616

130,329 129,795 38,586 194,247 11,815 504,772

130,329 29,219 140,497 42,243 190,646 11,310 544,244

9,970 57,425 136,373 47,441 75,108 13,980 340,297

6,116,737 5,115,809

4,858,416

4,321,913

8,571 57,425 136,787 47,441 97,965 14,140 362,329


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน

หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ 2556

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2556 2555 2554

(ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (พันบาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน 16 2,573,577 เจ้าหนี้การค้า 5, 17 801,976 เจ้าหนี้อื่น 5, 18 236,144 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี 16 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 6,552 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 18,443 รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน 3,636,692 หนี้สินไม่ หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 16 3,960 ประมาณการหนี้สินต้นทุนการรื้ อถอนสิ นทรัพย์ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 19 32,637 รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน 36,597 รวมหนีส้ ิ น 3,673,289

(ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่)

2,610,280 1,190,879 188,520

2,242,664 2,513,356 2,274,295 781,375 170,152 233,838

2,528,079 1,109,498 170,649

1,772,738 1,012,118 164,136

1,201 21,849 13,199 4,025,928

1,549 5,218 6,552 17,289 18,285 4,711,167 3,553,406

1,201 21,848 11,593 3,842,868

1,549 5,004 13,820 2,969,365

3,960 27,337 31,297 4,057,225

1,292 3,960 3,960 22,790 32,637 28,042 36,597 4,739,209 3,590,003

3,960 27,337 31,297 3,874,165

1,292 3,960 22,790 28,042 2,997,407

82 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน

หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ 2556

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2556 2555 2554

(ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (พันบาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน 16 2,573,577 เจ้าหนี้การค้า 5, 17 801,976 เจ้าหนี้อื่น 5, 18 236,144 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี 16 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 6,552 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 18,443 รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน 3,636,692

2,610,280 1,190,879 188,520

2,242,664 2,513,356 2,274,295 781,375 170,152 233,838

2,528,079 1,109,498 170,649

1,772,738 1,012,118 164,136

1,201 21,849 13,199 4,025,928

1,549 5,218 6,552 17,289 18,285 4,711,167 3,553,406

1,201 21,848 11,593 3,842,868

1,549 5,004 13,820 2,969,365

3,960 27,337 31,297 4,057,225

1,292 3,960 3,960 22,790 32,637 28,042 36,597 4,739,209 3,590,003

3,960 27,337 31,297 3,874,165

1,292 3,960 22,790 28,042 2,997,407

350,199 350,199 435,415

250,000 233,466 176,694

213,174 350,199 211,184 350,199 170,915 435,415

250,000 233,466 176,694

213,174 211,184 170,915

35,020 548,773 1,369,407

21,317 372,302 803,779

21,317 35,020 974,112 705,172 1,377,528 1,525,806

21,317 552,774 984,251

21,317 921,090 1,324,506

5,042,696

4,861,004

6,116,737 5,115,809

4,858,416

4,321,913

หนี้สินไม่ หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 16 ประมาณการหนี้สินต้นทุนการรื้ อถอนสิ นทรัพย์ 3,960 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 19 32,637 รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน 36,597 รวมหนีส้ ิ น 3,673,289 ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแล้ว ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

(ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่)

20

20

21

83 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบการเงินรวม

หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รายได้อื่น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ ต้นทุนทางการเงิน รวมค่ าใช้ จ่าย

5 5, 23

5, 25 25 5, 25

กําไร (ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 26 กําไร (ขาดทุน) และกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท) 27

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 (พันบาท) 18,198,371 26,878 119,833 18,345,082

21,851,786 17,241,291 40,144 19,006 171,975 121,137 27,370 22,091,275 17,381,434

17,946,033 26,034 213,933 14,527 18,200,527

17,163,432 19,322 338,949 466,178 27,764 84,611 18,100,256

21,211,191 16,255,594 18,352 16,287 445,098 320,582 978,575 462,582 28,049 100,860 83,641 22,754,076 17,166,735

17,120,635 17,385 283,158 1,044,248 90,297 18,555,723

244,826 -54,652 190,174

-662,801 113,787 -549,014

214,699 -48,598 166,101

-355,196 39,676 -315,520

0.64

-2.36

0.56

-1.35

84 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้น บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น งบการเงินรวม กําไรสะสม หมายเหตุ

ทุนเรื อนหุน้

ส่วนเกิน

ที่ออกและชําระแล้ว

มูลค่าหุน้

ทุนสํารอง

รวมส่วน

ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ของผูถ้ ือหุน้ (พันบาท)

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ตามที่รายงานในปี ก่ อน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 3 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ปรับปรุ งใหม่

211,184 211,184

170,915 170,915

20

1,164

5,779

-

-

6,943

หุน้ ปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

20, 28

21,118

-

-

(21,118)

-

เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

28

-

-

-

(31,678)

(31,678)

22,282

5,779

-

(52,796)

(24,735)

-

-

-

(549,014)

(549,014)

21,317 21,317

876,147 97,965 974,112

1,279,563 97,965 1,377,528

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ

รวมเงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถือหุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู ือ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี ขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

233,466

176,694

21,317

(549,014) 372,302

(549,014) 803,779

233,466

176,694

21,317

84,688

516,165

-

287,614

287,614

372,302

803,779

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามที่รายงานในปี ก่ อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

3

-

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ปรับปรุ งใหม่

233,466

176,694

21,317

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ 20 รวมเงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้

116,733 116,733

258,721 258,721

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี กําไรและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

21

-

-

-

190,174 190,174

-

-

13,703

(13,703)

35,020

548,773

350,199

85 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-

435,415

375,454 375,454 190,174 190,174 1,369,407


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้น บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ตามที่รายงานในปี ก่ อน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบ 3 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ปรับปรุ งใหม่

ทุนเรื อนหุน้ ที่ออกและชําระแล้ว

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ส่ วนเกิน ทุนสํารอง รวมส่ วน มูลค่าหุน้ ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ของผูถ้ ือหุน้ (พันบาท)

211,184 211,184

170,915 170,915

21,317 21,317

845,982 75,108 921,090

1,249,398 75,108 1,324,506

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ 20 หุน้ ปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั 20, 28 เงินปั นผลให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริ ษัท 28 รวมเงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื

1,164 21,118 22,282

5,779 5,779

-

(21,118) (31,678) (52,796)

6,943 (31,678) (24,735)

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี ขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

233,466

176,694

21,317

(315,520) (315,520) 552,774

(315,520) (315,520) 984,251

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามที่รายงานในปี ก่ อน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบั 3 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ปรับปรุ งใหม่

233,466 233,466

176,694 176,694

21,317 21,317

362,128 190,646 552,774

793,605 190,646 984,251

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ 20 รวมเงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื

116,733 116,733

258,721 258,721

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี กําไรและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี โอนไปสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

21

-

-

-

166,101 166,101

-

-

13,703

(13,703)

35,020

705,172

350,199

86 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-

435,415

375,454 375,454 166,101 166,101 1,525,806


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 (ปรับปรุ งใหม่) (ปรับปรุ งใหม่) (พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี 190,174 รายการปรั บปรุ ง ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย 35,596 ดอกเบี้ยรับ -23,200 ต้นทุนทางการเงิน 84,611 (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง 19,555 ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ 236 ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ 1,184 สํารองค่าเผื่อสิ นค้าล้าสมัยและเสื่ อมสภาพ (กลับรายกา -4,887 ต้นทุนสําหรับภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน 5,300 ภาษีเงินได้ 54,652 363,221 การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรั พย์ และหนีส้ ิ นดําเนินงาน ลูกหนี้การค้า 253,110 สิ นค้าคงเหลือ -495,813 ลูกหนี้อื่น 35,881 สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น -20,420 ลูกหนี้ระยะยาว 29,219 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น -505 เจ้าหนี้การค้า -392,939 เจ้าหนี้อื่น 46,975 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 5,244 จ่ายภาษีเงินได้ -67,496 เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมดําเนินงาน -243,523

87 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-549,014

166,101

-315,520

35,470 -7,209 100,860 -1,084 315 611,512 -54,427 4,547 -113,787 27,183

35,227 -35,777 83,641 17,819 177 1,056 18,314 5,300 48,598 340,456

35,285 -33,451 90,297 903 92 78,635 605,235 12,378 4,547 -39,676 438,725

-771,468 2,033,831 -527,378 14,227 28,206 2,830 -1,081,275 31,711 -4,090 -59,231 -305,454

338,028 -460,396 44,941 (17,836) 29,219 (505) -330,825 64,401 6,692 -67,495 -53,320

-934,635 163,572 (598,362) 8,691 28,206 2,670 97,172 19,825 -2,227 -59,018 -835,381


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 (ปรับปรุ งใหม่)

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 (ปรับปรุ งใหม่)

(พันบาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินจ่ายสุ ทธิ จากการซื้ อบริ ษทั ย่อย ซื้ ออุปกรณ์ ขายอุปกรณ์ เงินให้กยู้ ืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมการลงทุน

23,200 (20,466) 537 (1,785) 1,486

7,209 (44,127) 255 (6,225) (42,888)

35,462 (19,745) 485 (226,000) (1,785) (211,583)

38,359 (198,994) (43,228) 140 390,450 (6,225) 180,502

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั จ่ายชําระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับสุ ทธิ จากเงินกูย้ ืมสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญ เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(83,962) (1,201) (52,222) 375,454 238,069

(99,193) (31,678) (1,640) 366,559 6,943 240,991

(84,853) (1,201) (29,840) 375,454 259,560

(88,599) (31,678) (1,640) 754,646 6,943 639,672

(3,968) 77,901 73,933

(107,351) 185,252 77,901

(5,343) 67,090 61,747

(15,207) 82,297 67,090

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดลดลงสุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้น 6 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสิ้น 6

88 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 (พันบาท)

ข้ อมูลงบกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายละเอียดอุปกรณ์ที่ซ้ื อมาในระหว่างปี มีดงั นี้ อุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้นในระหว่างปี 13 การเปลี่ยนแปลงในเจ้าหนี้ค่าซื้ ออุปกรณ์ อุปกรณ์ ท่ซี ื้อมาโดยการชําระเป็ นเงินสด

20,466 20,466

35,038 -9,089 44,127

19,745 19,745

34,143 -9,085 43,228

รายละเอียดสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ซ้ื อมาในระหว่างปี มีดงั นี้ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่เพิ่มขึ้นในระหว่างปี 14 1,785 การเปลี่ยนแปลงในเจ้าหนี้ค่าซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตนที่ซื้อมาโดยการชําระเป็ นเงินสด 1,785

300 -5,925 6,225

1,785 1,785

300 -5,925 6,225

89 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

หมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุ สารบัญ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33

เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี ้การค้ าระยะยาว อุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ย เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้อื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุ้น สํารอง ส่วนงานดําเนินงาน รายได้ อื่น ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ ภาษี เงินได้ กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น เงินปั นผล เครื่ องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน หนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ ใช้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ งบการเงินนี ้ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่21 กุมภาพันธ์ 2557 90 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็ นนิติบคุ คลที่จดั ตังขึ ้ ้นในประเทศไทยและมีที่อยู่ จดทะเบียนตังอยู ้ ่เลขที่ 9 อาคารภคินท์ ชัน้ ที่ 9 ห้ องเลขที่ 901 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย บริ ษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 21 มิถนุ ายน 2547 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปี ได้ แก่SiS Technologies (Thailand) Pte. Ltd. (ถือหุ้นร้ อยละ 47.29)ซึง่ เป็ นนิติบคุ คลจัดตังใน ้ ประเทศสิงคโปร์ ,กลุม่ ตระกูลสิทธิชยั ศรี ชาติ (ถือหุ้นร้ อยละ 14.66)และตระกูลปั งศรี นนท์ (ถือหุ้นร้ อยละ 9.83) บริ ษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการขายอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ สํานักงานอัตโนมัติ การให้ บริ การและให้ เช่า คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพ่วง และการจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงรายละเอียดของบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 5และ10

2

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบัติ งบการเงินนี ้จัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพ บัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้ อง สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกและปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับซึ่งเกี่ยวข้ องกับการดําเนินงานของกลุ่ม บริษัท และมีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรื อหลังวันที่ 1มกราคม 2556 ดังต่อไปนี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8

เรื่ อง ภาษี เงินได้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ส่วนงานดําเนินงาน

การปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ข้างต้ นนัน้ มีผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การบัญชีของกลุม่ บริษัท ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 3 นอกเหนือจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ข้างต้ น สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกและปรับปรุ ง มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ ซึง่ มีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เป็ นต้ น ไป และไม่ได้ มีการนํ ามาใช้ สําหรั บการจัดทํางบการเงินนี ม้ าตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรั บปรุ งใหม่ที่ เกี่ยวกับการดําเนินงานของกลุม่ บริ ษัทได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 33 91 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 (ข) เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี ้จัดทําขึ ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้ นรายการที่สําคัญที่แสดงในงบแสดงฐานะทาง การเงินดังต่อไปนี ้ - เครื่ องมือทางการเงินที่แสดงด้ วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุนวัดมูลค่าด้ วยราคายุติธรรม - มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกผันตามโครงการผลประโยชน์พนักงานที่กําหนดไว้

(ค)

สกุลเงินทีใ่ ช้ ในการดําเนินงานและนําเสนองบการเงิน งบการเงินนี ้จัดทําและแสดงหน่วยเงินตราเป็ นเงินบาทซึง่ เป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานของกลุ่มบริ ษัท ข้ อมูลทางการ เงินทังหมดมี ้ การปั ดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้ แสดงเป็ นหลักพันบาทยกเว้ นที่ระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น

(ง)

การประมาณการและใช้ วจิ ารณญาณ ในการจัดทํางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ วิจารณญาณ การประมาณและข้ อ สมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี ้สิน รายได้ และค่าใช้ จ่าย ผลที่เกิดขึ ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที่ใช้ ในการจัดทํางบการเงินจะได้ รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการทาง บัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้ รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้ รับผลกระทบ ข้ อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้ อสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสําคัญ ต่อการรับรู้จํานวนเงินในงบการเงินซึง่ ประกอบด้ วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี ้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 4(ต) หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 15 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19 หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 29

ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี การใช้ ประโยชน์ของขาดทุนทางภาษี การวัดมูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ การตีมลู ค่าของเครื่ องมือทางการเงิน

92 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 3

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ก) ภาพรวม ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556 ผลจากการถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ดังที่กล่าว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 2 กลุม่ บริษัทได้ เปลี่ยนนโยบายการบัญชีดงั นี ้ การบัญชีภาษี เงินได้  การบัญชีเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ  การนําเสนอข้ อมูลส่วนงานดําเนินงาน รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีใหม่ที่กลุม่ บริ ษัทถือปฏิบตั ิได้ รวมอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 3 (ข) ถึง 3 (ง) ดังนี ้ สําหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่ออกและปรับปรุงใหม่นนไม่ ั ้ มีผลกระทบต่อนโยบายการบัญชี ฐานะ การเงินและผลการดําเนินงานของกลุม่ บริษัท 

ข) การบัญชีภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ระบุให้ กิจการต้ องบันทึกสินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการ ตัดบัญชีในงบการเงินสินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีคือ จํานวนภาษี เงินได้ ที่กิจการได้ รับคืนหรื อต้ องจ่ายใน อนาคตตามลําดับ ซึง่ เกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์และหนี ้สินที่แสดงในงบแสดงฐานะ การเงินกับฐานภาษี ของสินทรัพย์และหนี ้สินนัน้ และขาดทุนทางภาษี ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษี เงินได้ รอ การตัดบัญชีได้ อธิบายไว้ ในหมายเหตุข้อ4 (ต) กลุม่ บริ ษัทถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556 เป็ น ต้ นไป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้ ปรับปรุงย้ อนหลังในงบการเงิน ผลกระทบต่องบการเงินมีดงั ต่อไปนี ้

93 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

งบแสดงฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี เพิ่มขึ ้น หนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี เพิ่มขึ ้น กําไรสะสมเพิ่มขึ ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ ้น

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 31 1 31 31 1 ธันวาคม ธันวาคม มกราคม ธันวาคม ธันวาคม มกราคม 2556 2555 2555 2556 2555 2555 (พันบาท) 294,773

294,701

111,313

203,342

197,733

87,182

9,612 285,161

7,087 287,614

13,348 97,965

9,095 194,247

7,087 190,646

12,074 75,108

285,161

287,614

97,965

194,247

190,646

75,108

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31ธันวาคม ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ (เพิ่มขึ ้น)/ลดลง กําไรสําหรับปี เพิ่มขึ ้น/(ลดลง) กําไรต่อหุ้น เพิ่มขึ ้น/(ลดลง) - กําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐาน (บาท)

2556 (2,453) (2,453) (0.01)

- กําไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)

2555

2556 (พันบาท) 189,649 3,601 189,649 3,601 0.81 0.81

0.01

2555 115,538 115,538 0.50 0.50

ค) การบัญชีเกี่ยวกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่ างประเทศ ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556 กลุม่ บริ ษัทถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21(ปรับปรุง 2552)เรื่ อง ผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆ ที่ใช้ ในการ รายงาน ซึ่งเป็ นสกุลเงินที่พิจารณาว่าเป็ นสกุลเงินในสภาวะแวดล้ อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนันประกอบกิ ้ จการ มาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) กําหนดให้ กิจการ ระบุสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานและแปลงค่ารายการที่เป็ นสกุล ต่างประเทศให้ เป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่าดังกล่าวตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21(ปรับปรุง 2552) ซึง่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ได้ ให้ คํานิยามสําหรับเงินตราต่างประเทศ คือ เงินตราสกุลอื่นนอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานของกิจการ

94 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ผู้บริ หารกําหนดสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานของบริษัทเป็ นสกุลเงินบาท ดังนันการถื ้ อปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 21 (ปรับปรุง 2552) สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้ รับผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่อ สินทรัพย์ หนี ้สิน และ กําไรสะสมของกลุม่ บริษัท

ง) การนําเสนอข้ อมูลส่ วนงานดําเนินงาน ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556กลุม่ บริ ษัทถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8เรื่ อง ส่วนงานดําเนินงาน นโยบายการบัญชีใหม่เกี่ยวกับการแสดงข้ อมูลเกี่ยวกับส่วนงานดําเนินงานและนโยบายการบัญชีเดิมนันอธิ ้ บายในย่อหน้ า ถัดไป กลุม่ บริ ษัทได้ ปรับย้ อนหลังข้ อมูลตามส่วนงานในงบการเงินสําหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่รวมอยู่ในงบ การเงินปี 2556 ของกลุ่มบริ ษัทเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ ข้อมูลเปรี ยบเทียบ ทังนี ้ ้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกระทบเพียง การเปิ ดเผยข้ อมูลเท่านันและไม่ ้ มีผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี ้สิน หรื อกําไรต่อหุ้นของกลุม่ บริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับ ที่ 8 นํ าเสนอมุมมองของผู้บริ หารในการรายงานข้ อ มูลส่วนงาน จึง มีก าร เปลี่ยนแปลงการนําเสนอและการเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับส่วนงาน ทังนี ้ ้ข้ อมูลส่วนงานอ้ างอิงจากข้ อมูลภายในที่ได้ รายงาน ต่อผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงานของกลุม่ บริ ษัทอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงาน และเพื่อจัดสรรทรัพยากรให้ สว่ นงานดังกล่าว ที่ผ่านมากลุ่มบริ ษัทนําเสนอข้ อมูลส่วนงานตามส่วนงานธุรกิจและส่วนงาน ภูมิศาสตร์ ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 14 เรื่ อง การเสนอข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน การเปลี่ยนแปลงการนํ าเสนอและการเปิ ดเผยข้ อมูลส่วนงานนี ไ้ ม่มีผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่อข้ อ มูลส่วนงานที่เคย นําเสนอในงบการเงินของกลุม่ บริษัท

4

นโยบายการบัญชีท่ สี าํ คัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังต่อไปนี ้ได้ ถือปฏิบตั ิโดยสมํ่าเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงานยกเว้ นที่ได้ กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ3 เรื่ องการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้ วยงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุม่ บริ ษัท”) บริ ษัทย่อย บริ ษั ทย่อ ยเป็ นกิจการที่อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุ่มบริ ษัท การควบคุมเกิดขึน้ เมื่ อกลุ่มบริ ษัทมี อํานาจควบคุมทัง้ ทางตรงหรื อทางอ้ อมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนัน้ เพื่อได้ มาซึ่งประโยชน์ จาก กิจกรรมของบริ ษัทย่อย งบการเงินของบริ ษัทย่อยได้ รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การ ควบคุมสิ ้นสุดลง

95 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 นโยบายการบัญ ชี ข องบริ ษั ท ย่ อ ยได้ ถู ก เปลี่ ย นตามความจํ า เป็ นเพื่ อ ให้ เป็ นนโยบายเดี ย วกั น กั บ ของกลุ่ม บริ ษั ท ผลขาดทุนในบริ ษัทย่อยจะต้ องถูกปั นส่วนไปยังส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมแม้ ว่าการปั นส่วนดังกล่าวจะทําให้ สว่ นได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม

(ข) เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีทีเ่ ป็ นเงิ นตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิด รายการ สินทรัพย์และหนี ้สินที่เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงาน โดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันนัน้ กําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน สินทรัพย์และหนีส้ ินที่ไม่เป็ นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคาทุนเดิม แปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

(ค) เครื่ องมือทางการเงินทีเ่ ป็ นตราสารอนุพันธ์ เครื่ อ งมื อทางการเงิ น ที่ เป็ นตราสารอนุพัน ธ์ ไ ด้ ถูกนํ า มาใช้ เพื่ อ จัดการความเสี่ยงที่ เกิ ดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ ไม่ได้ มีไว้ เพื่อค้ า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพนั ธ์ที่ไม่เข้ าเงื่อนไข การกําหนดให้ เป็ นเครื่ องมือป้องกันความเสี่ยงถือเป็ นรายการเพื่อค้ า เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ จะถูกบันทึกบัญชีเมื่อเริ่ มแรกด้ วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้ จ่ายที่เกิดจากการทํา รายการดังกล่าวบันทึกในกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครัง้ แรกใช้ มลู ค่ายุติธรรม กําไร หรื อขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้ เป็ นมูลค่ายุติธรรมบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนทันที หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้ า ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด ให้ ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้ าตาม สัญญา กับราคาล่วงหน้ าของสัญญาปั จจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกําหนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยประเภทที่ ใช้ กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล

96 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 (ง)

การป้องกันความเสี่ยง การป้ องกันความเสีย่ งจากมูลค่ายุติธรรม ในกรณีที่เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ถกู ใช้ ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ หนี ้สิน หรื อข้ อผูกมัดที่ยงั ไม่มีการรับรู้ (หรื อเฉพาะส่วนที่เจาะจงของสินทรัพย์ หนี ้สิน หรื อข้ อผูกมัด) กําไร หรื อขาดทุนจากการตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมหรื อองค์ประกอบที่เป็ นเงินตราต่างประเทศของเครื่ องมือทางการเงินที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงถูกบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน รายการที่ได้ รับการป้องกันความเสี่ยง ตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมเพื่อให้ สอดคล้ องกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน กําไรหรื อขาดทุนที่เกิดขึ ้นถูกบันทึกในกําไรหรื อ ขาดทุน

(จ) เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้ วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภท เผื่อเรี ยก และเงินลงทุนระยะสันที ้ ่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้ องชําระคืนเมื่อทวงถามถือเป็ นส่วนหนึ่งของ กิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด

(ฉ) ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี ้หักค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญพิจารณาโดยอาศัยการประเมินของฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับความสูญเสียที่อาจเกิดขึ ้นจากยอดลูกหนี ้คง ้ าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญในอัตราร้ อย ค้ าง การประเมินดังกล่าวได้ คํานึงถึงลูกหนี ้ที่ค้างชําระเกินกว่า 3 เดือนขึ ้นไปโดยจะตังค่ ละ 100 ร่ วมกับ การวิเคราะห์ประวัติการชําระหนี ้และการคาดการณ์ เกี่ยวกับการชําระหนี ้ในอนาคตของลูกหนี ้ ตลอดจน สภาวะทางเศรษฐกิจในประเทศ ลูกหนี ้จะถูกตัดจําหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี ้สูญ

(ช) สินค้ าคงเหลือ สิ นค้าสําเร็ จรูป สินค้ าคงเหลือแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุทธิที่จะได้ รับแล้ วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ต้ นทุนของสินค้ าคํานวณโดยใช้ วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนัก ต้ นทุนสินค้ าประกอบด้ วยราคาทุนที่ซื ้อ หรื อต้ นทุนอื่นเพื่อให้ สินค้ า อยูใ่ นสถานที่และสภาพปั จจุบนั

97 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 มูลค่าสุทธิที่จะได้ รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้ จากการดําเนินธุรกิจตามปกติหกั ด้ วยค่าใช้ จ่ายที่จําเป็ น โดยประมาณในการขาย กลุ่มบริ ษัทตังค่ ้ าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง สําหรับสินค้ าที่เสื่อมคุณภาพ เสียหาย ล้ าสมัยและค้ างนานโดยอาศัยการประเมิน ของฝ่ ายบริหารดังนี ้ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติพิจารณาอายุของสินค้ าคงเหลือดังนี ้ สินค้ าที่ซื ้อมาน้ อยกว่า 120 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 121 - 180 วัน ้ 181 - 240 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 241 - 300 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 301 - 360 วัน สินค้ าที่ไม่มีการขายเกิน 360 วัน

ไม่ตงค่ ั ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ

20 40 60 80 100

โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื อ่ นที ่ โทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่พิจารณาอายุของสินค้ าคงเหลือดังนี ้ สินค้ าที่ซื ้อมาน้ อยกว่า 210 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 211 - 270 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 271 - 330 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 331 - 390 วัน สินค้ าที่ซื ้อมาตังแต่ ้ 391 - 450 วัน สินค้ าที่ไม่มีการขายเกิน 451 วัน

ไม่ตงค่ ั ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ ตังค่ ้ าเผื่อสินค้ าเสื่อมคุณภาพไว้ ร้อยละ

20 40 60 80 100

(ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใช้ วิธีราคาทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึง่ ไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้ องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้ อยค่า

98 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 (ฌ) อุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สิ นทรัพย์ทีเ่ ป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษัท อุปกรณ์แสดงด้ วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้ องกับการได้ มาของสินทรัพย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรัพย์ที่กิจการก่อสร้ างเอง รวมถึงต้ นทุนของวัสดุแรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการจัดหาสินทรัพย์เพื่อให้ สินทรัพย์นนอยู ั ้ ่ใน สภาพที่พร้ อมจะใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื อ้ ถอนการขนย้ ายการบูรณะสถานที่ตงั ้ ของสินทรัพย์และ ต้ นทุนการกู้ยืม สําหรับเครื่ องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธ์ ซอฟท์แวร์ ซึ่งไม่สามารถทํางานได้ โดยปราศจากลิขสิทธ์ ซอฟท์แวร์ นนั ้ ให้ ถือว่า ลิขสิทธ์ซอฟท์แวร์ ดงั กล่าวเป็ นส่วนหนึง่ ของอุปกรณ์ ส่ว นประกอบของรายการอุปกรณ์ แต่ละรายการที่ มีอ ายุการให้ ประโยชน์ ไ ม่เท่ากัน ต้ อ งบัน ทึก แต่ล ะส่วนประกอบที่ มี นัยสําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนสุทธิที่ได้ รับจากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของอุปกรณ์ โดยรับรู้สทุ ธิเป็ นรายได้ อื่นในกําไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์ทีเ่ ช่า การเช่าซึง่ กลุม่ บริ ษัทได้ รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านันๆ ้ ให้ จดั ประเภท เป็ นสัญญาเช่าการเงิน ส่วนอุปกรณ์ ที่ได้ มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อมูลค่า ปั จจุบนั ของจํานวนเงินขันตํ ้ ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า หักด้ วยค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุน จากการด้ อยค่า ค่าเช่าที่ชําระจะแยกเป็ นส่วนที่เป็ นค่าใช้ จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี ้ตามสัญญา เพื่อทําให้ อัตราดอกเบี ้ยแต่ละงวดเป็ นอัตราคงที่สําหรับยอดคงเหลือของหนี ้สิน ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรื อ ขาดทุน ต้นทุนทีเ่ กิ ดขึ้นในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้ เป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการอุปกรณ์ ถ้ ามีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที่กลุม่ บริ ษัทจะได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนัน้ และสามารถวัดมูลค่าต้ นทุนของรายการ นันได้ ้ อย่างน่าเชื่อถือ ชิน้ ส่วนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้ นทุนที่เกิดขึน้ ในการซ่อมบํารุ ง อุปกรณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นประจําจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น 99 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ค่าเสือ่ มราคา ค่าเสื่ อมราคาคํานวณจากมูลค่าเสื่ อมสภาพของรายการอุปกรณ์ ซึ่ งประกอบด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์หรื อต้นทุน ในการ เปลี่ยนแทนอื่นหักด้วยมูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็ นค่าใช้ จ่ายในกําไรหรื อขาดทุน คํานวณโดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณ ของส่วนประกอบของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์แสดงได้ ดงั นี ้ ยานพาหนะ เครื่ องตกแต่งและติดตัง้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงาน ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า

5 5 3 และ 5 3, 5, 10 และ 12

ปี ปี ปี ปี

กลุม่ บริ ษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้ อยที่สดุ ทุกสิ ้นรอบปี บัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม

(ญ) สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน ค่าลิ ขสิ ทธิ์ ซอฟท์แวร์ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ ที่กลุ่มบริ ษัทซื ้อมาและมีอายุการใช้ งานจํากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและ ผล ขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม ค่าตัดจํ าหน่าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรื อจํานวนอื่นที่ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือ

ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงซึ่งโดยส่วนใหญ่ จะสะท้ อนรู ปแบบที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ ใน อนาคตจากสินทรั พย์ นัน้ ตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ จากค่า ลิขสิทธิ์ ซอฟท์ แวร์ โดยเริ่ มตัดจํ าหน่ายเมื่ อ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟท์แวร์ นนพร้ ั ้ อมที่จะให้ ประโยชน์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์สําหรับปี ปั จจุบนั และปี เปรี ยบเทียบคือ 5 และ 10 ปี

100 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้ รับการทบทวนทุกสิ ้นรอบปี บัญชีและ ปรับปรุงตามความเหมาะสม

(ฎ) การด้ อยค่ า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริษัทได้ รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี ้เรื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ ในกรณีที่มี ข้ อบ่งชี ้จะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้ เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสด สูงกว่ามูลค่าที่จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน เว้ นแต่เมื่อมีการกลับรายการการประเมิน มูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ ้นเดียวกันที่เคยรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้ อยค่าในเวลาต่อมา ในกรณีนี ้จะ รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น การคํานวณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง มูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์หรื อมูลค่า ยุติธรรมของสินทรั พ ย์ หักต้ นทุนในการขายแล้ ว แต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่า จากการใช้ ของสินทรั พ ย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคํานึงภาษี เงินได้ เพื่อให้ สะท้ อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที่ไม่ ก่อให้ เกิ ดกระแสเงิ นสดรั บโดยอิสระจากสินทรั พย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนรวมกับหน่วยสินทรั พย์ ที่ ก่อให้ เกิดเงินสดที่สนิ ทรัพย์นนเกี ั ้ ่ยวข้ องด้ วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนเพิ่มขึ ้นในภายหลัง และ การเพิ่มขึ ้นนันสั ้ มพันธ์ โดยตรงกับขาดทุนจากการด้ อยค่าที่เคยรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุน สําหรับสินทรัพย์ ทางการเงินที่ บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและตราสารหนี ้ที่จดั ประเภทเป็ นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกบันทึกในกําไร หรื อขาดทุน ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็ นตราสารทุนที่จัดประเภทเป็ นหลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้ โดยตรงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

(ฏ) หนี้สินทีม่ ีภาระดอกเบี้ย หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี ้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี ้สิน ที่มีภาระดอกเบีย้ จะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจํ าหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี เ้ ริ่ มแรกและ ยอดหนี เ้ มื่อครบ กําหนดไถ่ถอนจะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริง

101 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 (ฐ) เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น แสดงในราคาทุน

(ฑ)

ผลประโยชน์ พนักงาน โครงการสมทบเงิ น โครงการสมทบเงินเป็ นโครงการผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ซึง่ กิจการจ่ายสมทบเป็ นจํานวนเงินที่แน่นอนไปอีก กิจการหนึ่งแยกต่างหาก (กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่ จะต้ องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้ าโครงการสมทบเงินจะถูกรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายพนักงานในกําไรหรื อ ขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ ทํางานให้ กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ทีก่ ําหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ เป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพัน สุทธิ ของกลุ่มบริ ษัทจากโครงการผลประโยชน์ ที่กําหนดไว้ ถูกคํานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจากการประมาณ ผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในปั จจุบนั และในงวดก่อน ๆ ผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ มีการคิดลด กระแสเงินลดเพื่อให้ เป็ นมูลค่าปั จจุบนั ทังนี ้ ้ได้ สทุ ธิจากต้ นทุนบริ การในอดีตที่ยงั ไม่รับรู้ และมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ โครงการ อัตราคิดลดเป็ นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรระยะยาวของรัฐบาลในประเทศไทยซึง่ มีระยะเวลาครบกําหนด ใกล้ เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุ่มบริ ษัท และมีสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่ายการ คํานวณนันจั ้ ดทําโดยนักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ได้ รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้ องกับต้ นทุนบริ การในอดีต ของพนัก งานรั บ รู้ ในกํ า ไรหรื อ ขาดทุนโดยวิธี เ ส้ น ตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ย จนถึง วัน ที่ ผ ลประโยชน์ นัน้ เป็ นสิท ธิ ข าด ผลประโยชน์ที่เป็ นสิทธิขาดจะรับรู้เป็ นค่าใช้ จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนทันที ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะสันของพนั ้ กงานวัดมูลค่าโดยมิได้ คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อพนักงาน ทํางานให้ ้ อการปั นส่วนกําไร หากกลุม่ บริ ษัทมี หนี ้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชําระสําหรับการจ่ายโบนัสเป็ นเงินสดระยะสันหรื ภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้ องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ ทํางานให้ ในอดีต และภาระผูกพันนี ้สามารถประมาณได้ อย่างสมเหตุสมผล

102 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 (ฒ) รายได้ รายได้ ที่รับรู้ไม่รวมภาษี มลู ค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้ า การขายสิ นค้าและให้บริ การ รายได้ รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อได้ โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของสินค้ าที่มีนยั สําคัญไปให้ กบั ผู้ซื ้อ แล้ ว และจะไม่รับรู้ รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยัง มีการควบคุมหรื อบริ หารสินค้ าที่ขายไปแล้ วนัน้ หรื อมี ความไม่แน่นอนที่ มี นัยสําคัญในการได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้ าหรื อให้ บริ การนัน้ ไม่อาจวัดมูลค่าของจํานวนรายได้ และ ต้ นทุนที่เกิดขึ ้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่นอนที่จะต้ องรับคืนสินค้ า บริ ษัทจะรั บรู้ รายได้ จากการจัดจํ าหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงสุทธิ จากการประมาณการรั บคืน เมื่อสินค้ าได้ ถูก จําหน่ายให้ กบั ลูกค้ าแล้ ว บริ ษัทจะรับรู้ รายได้ จากการจัดจําหน่ายสินค้ าผ่านทางร้ านค้ า (Smartshop) เมื่อผู้แทนจําหน่ายของบริ ษัทได้ จําหน่าย สินค้ าให้ กบั ลูกค้ าแล้ ว รายได้ จากการให้ บริการรับรู้เมื่อมีการให้ บริการแก่ลกู ค้ าแล้ ว ดอกเบี ย้ รับ ดอกเบี ้ยรับบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตามเกณฑ์คงค้ าง

(ณ) ต้ นทุนทางการเงิน ดอกเบี ้ยจ่ายและค่าใช้ จ่ายในทํานองเดียวกันรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนในงวดที่ค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเกิดขึ ้น ดอกเบี ้ยซึ่งเป็ น ส่วนหนึง่ ของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริง

(ด) สัญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที่ได้ รับตาม สัญญาเช่าจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเป็ นส่วนหนึง่ ของค่าเช่าทังสิ ้ ้นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า

103 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ ้นต้ องนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขันตํ ้ ่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อได้ รับการ ยืนยันการปรับค่าเช่า การจําแนกประเภทสั ญญาเช่ า ณ วัน ที่ เ ริ่ ม ต้ น ข้ อ ตกลง กลุ่ม บริ ษั ท จะพิ จ ารณาว่ า ข้ อ ตกลงดัง กล่า วประกอบด้ ว ยสัญ ญาเช่ า หรื อ มี สัญ ญาเช่ า เป็ น ส่วนประกอบหรื อไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ าการปฏิบตั ิตามข้ อตกลงนันขึ ้ ้นอยู่กบั การใช้ สินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง และข้ อตกลงนันจะนํ ้ าไปสู่สิทธิในการใช้ สินทรัพย์ ถ้ าทําให้ กลุ่มบริ ษัทมีสิทธิ ในการ ควบคุมการใช้ สนิ ทรัพย์

(ต) ภาษีเงินได้ ค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ สําหรับปี ประกอบด้ วยภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีภาษี เงินได้ ของงวด ปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนเว้ นแต่ในส่วนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวข้ องในการรวมธุรกิจ หรื อ รายการที่รับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้นหรื อกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั ได้ แก่ภาษี ที่คาดว่าจะจ่ายชําระหรื อได้ รับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรื อขาดทุนประจําปี ที่ต้อง เสียภาษี โดยใช้ อตั ราภาษี ที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงานตลอดจนการปรับปรุงทางภาษี ที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีบนั ทึกโดยคํานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่เกิดขึ ้นระหว่างมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และ หนี ้สินและจํานวนที่ใช้ เพื่อความมุง่ หมายทางภาษี ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะไม่ถกู รับรู้เมื่อเกิดจากผลแตกต่างชัว่ คราว ต่อไปนี ้ การรับรู้ ค่าความนิยมในครัง้ แรก การรับรู้ สินทรัพย์หรื อหนี ้สินในครัง้ แรกซึง่ เป็ นรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจและ รายการนันไม่ ้ มีผลกระทบต่อกําไรขาดทุนทางบัญชีหรื อทางภาษี และผลแตกต่างที่เกี่ยวข้ องกับเงินลงทุนในบริ ษัทย่อยและ กิจการร่วมค้ าหากเป็ นไปได้ วา่ จะไม่มีการกลับรายการในอนาคตอันใกล้ การวัดมูลค่าของภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีต้องสะท้ อนถึงผลกระทบทางภาษี ที่จะเกิดจากลักษณะวิธีการที่กลุม่ บริ ษัทคาด ว่าจะได้ รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์หรื อจะจ่ายชําระหนี ้สินตามมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่สิ ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีวดั มูลค่าโดยใช้ อตั ราภาษี ที่คาดว่าจะใช้ กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใช้ อัตราภาษี ที่ประกาศใช้ หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ในการกําหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี กลุม่ บริ ษัทต้ องคํานึงถึงผลกระทบของ สถานการณ์ทางภาษี ที่ไม่แน่นอนและอาจทําให้ จํานวนภาษี ที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ ้น และมีดอกเบี ้ยที่ต้องชําระ กลุม่ บริ ษัทเชื่อว่า ได้ ตงภาษี ั ้ เงินได้ ค้างจ่ายเพียงพอสําหรับภาษี เงินได้ ที่จะจ่ายในอนาคต ซึง่ เกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฏหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี ้อยู่บนพื ้นฐานการประมาณการและข้ อ สมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ๆอาจจะทําให้ กลุม่ บริ ษัทเปลี่ยน การตัดสินใจโดยขึ ้นอยู่กบั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบ ต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง

104 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีและหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีสามารถหักกลบได้ เมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ที่จะนําสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี ้สินภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั และภาษี เงินได้ นี ้ประเมินโดย หน่วยงานจัดเก็บภาษี หน่วยงานเดียวกันสําหรับหน่วยภาษี เดียวกันหรื อหน่วยภาษี ต่างกัน สําหรับหน่วยภาษี ต่างกันนัน้ กิจการมีความตังใจจะจ่ ้ ายชําระหนี ้สินและสินทรัพย์ภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั ด้ วยยอดสุทธิหรื อตังใจจะรั ้ บคืนสินทรัพย์ และจ่ายชําระหนี ้สินในเวลาเดียวกัน สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่นอนว่ากําไรเพื่อเสียภาษี ในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใช้ ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเท่าที่ประโยชน์ทางภาษี จะมีโอกาสถูกใช้ จริง

(ถ) กําไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษัท แสดงกําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานและกําไรต่อหุ้นปรับลดสําหรับหุ้นสามัญ กําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานคํานวณโดยการ หารกําไรหรื อขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญของกลุม่ บริ ษัท ด้ วยจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักที่ออกจําหน่ายระหว่างปี กําไรต่อหุ้นปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรื อขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญที่ปรับปรุ งด้ วยจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง นํ ้าหนักที่ออกจําหน่ายและปรับปรุงด้ วยจํานวนสิทธิซื ้อหุ้นของพนักงาน

(ท) รายงานทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน ผลการดําเนินงานของส่วนงานที่รายงานต่อประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของกลุ่มบริ ษัท (ผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการ ดํ าเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึน้ จากส่วนงานดํา เนินงานนัน้ โดยตรงรวมถึงรายการที่ได้ รับการปั นส่วนอย่า ง สมเหตุสมผล รายการที่ไม่สามารถปั นส่วนได้ สว่ นใหญ่เป็ นรายการทรัพย์สนิ องค์กรและสินทรัพย์หรื อหนี ้สินภาษี เงินได้

5

บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันกับกลุ่มบริ ษัท หากกลุ่ม บริ ษัทมีอํานาจควบคุมหรื อควบคุมร่ วมกันทังทางตรงและทางอ้ ้ อมหรื อมีอิทธิพลอย่างมีนยั สําคัญต่อบุคคลหรื อกิจการใน การตัดสินใจทางการเงินและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน หรื อกลุ่มบริ ษัทอยู่ภายใต้ การควบคุมเดียวกันหรื ออยู่ภายใต้ อิทธิพลอย่างมีนยั สําคัญเดียวกันกับบุคคลหรื อกิจการนัน้ การเกี่ยวข้ องกันนี ้อาจเป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ ที่มีกบั บริ ษัทย่อยได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 10 สําหรับความสัมพันธ์ กบั ผู้บริ หารสําคัญ และกิจการที่เกี่ยวข้ องกันอื่นมีดงั นี ้

105 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

ชื่อกิจการ ผู้บริหารสําคัญ

SiS International Holdings Ltd. SiS Technologies (Thailand) Pte Ltd. บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด

บริษัทย่ อยทางตรง บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

ลักษณะความสัมพันธ์

ประเทศที่จัดตัง้ /สัญชาติ

เบอร์ มิวดา สิงคโปร์

บุคคลที่มีอํานาจและความรับผิดชอบการวางแผน สั่ง การและควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจการไม่ว่าทางตรง หรื อ ทางอ้ อ ม ทัง้ นี ้ รวมถึ ง กรรมการของกลุ่ม บริ ษั ท / บริษัท (ไม่วา่ จะทําหน้ าที่ในระดับบริหารหรื อไม่) เป็ นบริ ษั ท ใหญ่ ใ นลํ า ดับ สูง สุด ของกลุ่ม บริ ษั ท และมี กรรมการร่วมกันกับบริ ษัท อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของบริษัทใหญ่ในลําดับสูงสุด

ไทย ไทย

บริษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นร้ อยละ 15 บริษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นร้ อยละ 15

ไทย

บริษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นทางอ้ อม

ไทย

เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 99.99

ไทย

เป็ นบริ ษัทย่อย บริ ษัทถือหุ้นร้ อยละ 99.99

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดงั ต่อไปนี้ รายการ

นโยบายการกําหนดราคา

ขายสินค้ า ค่าธรรมเนียมการจัดการรับ / จ่าย ค่าเช่า ซื ้อสินค้ า ดอกเบี ้ยรับ / จ่าย สําหรับเงินให้ ก้ ยู ืม / เงินกู้ยืม ดอกเบี ้ยรับจากการชําระเงินล่าช้ า

อ้ างอิงจากราคาตลาดบวกค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องที่เกิดขึ ้นจริง ตามอัตราที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ตามอัตราที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา อ้ างอิงจากต้ นทุนจริงบวกค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องที่เกิดขึ ้นจริง อ้ างอิงกับอัตราดอกเบี ้ยของสถาบันการเงิน ตามอัตราที่ตกลงกัน

106 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปได้ ดงั นี ้

สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

ขายสินค้ า ซื ้อสินค้ า รายได้ คา่ ธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียมการจัดการ รายได้ คา่ เช่า ดอกเบี ้ยรับ ผู้บริหารสําคัญ ค่าตอบแทนผู้บริ หารสําคัญ ผลประโยชน์ระยะสันของพนั ้ กงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวมค่าตอบแทนผู้บริหารสําคัญ

120 11,374 -

728,166 157,091 13,679 1,781 -

318 27,963 10,776 13,067

712,236 157,257 86,575 11,216 1,781 26,624

42,621 1,772

44,467 1,889

38,087 1,554

36,895 1,536

44,393

46,356

39,641

38,431

107 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคมมีดงั นี้ งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

ลูกหนี้การค้ าบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด บริษัท คลิก คอนเนค จํากัด หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ (กลับรายการ) หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ สําหรับปี ลูกหนี้อ่ืน บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ (กลับรายการ) หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ สําหรับปี

46,223 1 46,224 (46,223) 1

46,572 30 46,602 (46,572) 30

46,223 1 46,224 (46,223) 1

46,572 30 46,602 (46,572) 30

(349)

(5,664)

(349)

3,982

557,087 (557,087) -

599,829 (599,829) -

541,542 (541,542) -

584,284 (584,284) -

(42,742)

599,829

(42,742)

584,284

รายได้ ค้างรั บ บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

-

-

2,654

5,661

ดอกเบี้ยค้ างรั บ บริษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

-

-

1,674

1,333

108 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย (บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด) มีสญ ั ญาสินค้ าฝากขายกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน (บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์อินเตอร์ เนชั่นแนล จํากัด) โดยในเดือนพฤศจิ กายน 2555 บริ ษัทได้ แจ้ งเรี ยกคืนสินค้ าฝากขาย ทังหมดจากบริ ้ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันดังกล่าว เนื่องจากบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันทําผิดสัญญารับฝากสินค้ า บริ ษัทและบริ ษัทย่อยจึง ได้ ดําเนินการเรี ยกชดใช้ ความเสียหายจากบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดลูกหนี ้ความเสียหายจาก สินค้ าฝากขายมียอดคงเหลือเป็ นเงินประมาณ 599.83 ล้ านบาท (งบการเงินรวม) และ 584.28 ล้ านบาท (งบการเงินเฉพาะ กิจการ)ตามลําดับทังนี ้ ้บริษัทได้ ฟ้องร้ องดําเนินคดีต่อบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันดังกล่าว ดังนันบริ ้ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ประมาณ การค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี ้ดังกล่าวไว้ เป็ นจํานวน 599.83 ล้ านบาทและ 584.28 ล้ านบาทตามลําดับ ในระหว่างปี 2556 บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด ได้ มีการโอนสินค้ าบางส่วนเพื่อชําระหนี ้จํานวนเงิน 42.7 ล้ านบาท ซึง่ บริ ษัทได้ มีการประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับสําหรับการบันทึกรับโอนสินค้ ามูลค่า 20.5 ล้ านบาท เงินให้ ก้ ูยืมระยะสั้น แก่ กจิ การที่เกี่ยวข้ องกัน

อัตรา ดอกเบีย้ 2556 2555

งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2555

4.00-4.50

2555

437,050

211,050

(พันบาท)

(ร้อยละต่อปี ) บริษัทย่ อย บริ ษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

2556

3.68-4.00

-

-

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2556 2555 บริษัทย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

109 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท) 211,050 226,000 437,050

601,500 (390,450) 211,050


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ กิจการที่เกี่ยวข้ องกันดังกล่าว มีกําหนดระยะเวลาชําระคืน เมื่อทวงถาม งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

เจ้ าหนี้การค้ าบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด

86 86

85 85

86 86

85 85

เจ้ าหนี้อ่ืนบริษัทที่เกี่ยวข้ องกัน SiS International Holdings Ltd.

832

4,451

767

3,915

ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย SiS International Holdings Ltd.

758

945

686

824

สัญญาสําคัญที่มีกับกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน รายได้ ค่าธรรมเนียมการจัดการ บริ ษัทมีสญ ั ญาค่าธรรมเนียมการจัดการกับบริษัทย่อย (บริษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด) เพื่อปั นส่วนค่าใช้ จ่าย จากการใช้ พนักงานและทรัพย์สินร่วมกัน สัญญามีกําหนดระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป โดยคิดใน อัตราคงที่เดือนละ 1.50ล้ านบาทรวมกับร้ อยละ 1 ของยอดขายสุทธิของบริษัทย่อยของแต่ละเดือน

ค่ าธรรมเนียมการจัดการ ในปี 2547 บริ ษัทได้ ทําสัญญากับบริ ษัท SiS International Holdings Ltd. เพื่อปั นส่วนค่าใช้ จ่ายจากการใช้ พนักงานระดับ บริหารร่วมกัน สัญญามีกําหนดระยะเวลาตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2547 เป็ นต้ นไป และจะจ่ายค่าตอบแทนเป็ นรายเดือนใน อัตราร้ อยละ 0.0625 ของยอดขายแต่ละเดือน

110 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 6

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2556 2555 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ รวม

174 2,104 71,655 73,933

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

(พันบาท) 166 174 9,971 937 67,764 60,636 77,901 61,747

166 7,136 59,788 67,090

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดทังหมดของกลุ ้ ม่ บริษัทและบริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 เป็ นสกุลเงินบาท

7

ลูกหนีก้ ารค้ า

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการอื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ สําหรับปี

5

งบการเงินรวม 2556 2555 46,224 2,522,711 2,568,935 (270,905) 2,298,030

61,762

111 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

(พันบาท) 46,602 2,758,693 2,805,295 (210,229) 2,595,066

11,683

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 46,224 2,414,992 2,461,216 (270,399) 2,190,817

46,602 2,735,892 2,782,494 (209,851) 2,572,643

61,635

20,951


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 การวิเคราะห์อายุของลูกหนี ้การค้ ามีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555

2555

(พันบาท) กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

บุคคลและกิจการอื่นๆ ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน 3 เดือน ถึง 6 เดือน 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ รวม

1

81

1

81

46,223 46,224 (46,223)

46,521 46,602 (46,572)

46,223 46,224 (46,223)

46,521 46,602 (46,572)

1

30

1

30

1,623,170

1,880,137

1,549,885

1,861,202

688,479 20,453 8,932 181,677 2,522,711 (224,682) 2,298,029 2,298,030

555,809 45,812 178,967 97,968 2,758,693 (163,657) 2,595,036 2,595,066

654,097 20,401 8,932 181,677 2,414,992 (224,176) 2,190,816 2,190,817

551,943 45,812 178,967 97,968 2,735,892 (163,279) 2,572,613 2,572,643

โดยปกติระยะเวลาการให้ สนิ เชื่อแก่ลกู ค้ าของกลุม่ บริ ษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 30 วันถึง 90 วัน

112 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ยอดลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2556 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา รวม

8

2,280,714 17,316 2,298,030

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

2555

(พันบาท) 2,595,066 2,188,953 1,864 2,595,066 2,190,817

2555 2,572,643 2,572,643

ลูกหนีอ้ ่ ืน หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ลูกหนี ้ความเสียหายจาก สินค้ าฝากขาย

สุทธิ

557,087 557,087 (557,087) -

599,829 599,829 (599,829) -

541,542 2,654 1,674 545,870 (541,542) 4,328

584,284 5,661 1,333 591,278 (584,284) 6,994

กิจการอื่น ลูกหนี ้สรรพากร รายได้ ค้างรับ ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า อื่นๆ รวม

419,254 54,008 2,369 7,675 483,306

403,392 57,754 8,346 6,953 476,445

272,787 40,911 2,369 1,335 317,402

260,652 47,888 8,080 316,620

รวม

483,306

476,445

321,730

323,614

รายได้ ค้างรับ ดอกเบี ้ยค้ างรับ หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

5 5 5

113 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 9

สินค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

สินค้ าสําเร็จรูป - อุปกรณ์คอมพิเตอร์ และเครื่ องมือสื่อสาร สินค้ าสําเร็จรูป - แผ่นดิจิตอลภาพ และเพลง สินค้ าระหว่างทาง รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง สุทธิ ต้ นทุนของสินค้ าคงเหลือที่บนั ทึกเป็ น เป็ นค่าใช้ จ่ายและได้ รวมในบัญชี ต้ นทุนขาย - ต้ นทุนขาย - การปรับลดมูลค่าเป็ นมูลค่าสุทธิที่ คาดว่าจะได้ รับ - กลับรายการการปรับลดมูลค่า สุทธิ

10

1,734,220

1,254,420

1,618,766

1,174,383

13,842 58,494 1,806,556 (114,508) 1,692,048

15,645 40,678 1,310,743 (119,395) 1,191,348

13,842 58,494 1,691,102 (109,245) 1,581,857

15,645 40,678 1,230,706 (90,931) 1,139,775

17,168,319

21,265,618

16,237,280

17,108,257

18,314 (23,201) 17,163,432

12,378 (66,805) 21,211,191

18,314 16,255,594

12,378 17,120,635

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื ้อเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้ อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม

114 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท) 259,994 61,000 198,994 (129,665) (129,665) 130,329 130,329


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และเงินปั นผลรับจากเงินลงทุนสําหรับแต่ละปี มีดงั นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทย่อย บริษัทย่ อยทางตรง บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด บริษัท คูล ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย)จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

สัดส่วนความเป็ น เจ้ าของ 2555 2556 (ร้อยละ)

ทุนชําระแล้ ว 2556 2555

ราคาทุน 2556

2555

การด้ อยค่า 2556 2555 (พันบาท)

ราคาทุน-สุทธิ 2556 2555

เงินปั นผลรับ 2556 2555

ถือเงินลงทุน

99.99

99.99

60,000

60,000

60,000

60,000

51,030

51,030

8,970

8,970

-

-

ซื ้อมาขายไป

99.99

99.99

200,000 260,000

200,000 260,000

199,994 259,994

199,994 259,994

78,635 129,665

78,635 129,665

121,359 130,329

121,359 130,329

-

-

รวม บริษัทย่อยทังหมดดํ ้ าเนินธุรกิจในประเทศไทย

115 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 11

เงินลงทุนระยะยาวอื่น งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

เงินลงทุนระยะยาวอื่น หลักทรัพย์อื่นที่ไม่อยูใ่ นความต้ องการของตลาด

59,601 59,601 (51,030) 8,571

หัก ค่าเผื่อการด้ อยค่า สุทธิ

59,601 59,601 (51,030) 8,571

-

-

-

-

เงินลงทุนระยะยาวอื่น เป็ นเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด และ บริษัท คลิก คอนเนค จํากัด ซึง่ บริษัทย่อยของบริษัท(บริษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด) ถือหุ้นอยูใ่ นอัตราร้ อยละ 15 ในระหว่างปี 2554 บริษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด ได้ ตงค่ ั ้ าเพื่อการด้ อยค่าในมูลค่าของเงินลงทุนในบริษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด ทังจํ ้ านวนเป็ นมูลค่า 51 ล้ านบาท

12

ลูกหนีก้ ารค้ าระยะยาว งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

ครบกําหนดรับชําระ ภายในหนึง่ ปี ครบกําหนดรับชําระหลังจาก หนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี รวม

เงินต้ น

2556 ดอกเบี ้ย

29,219

781

30,000

28,206

1,794

30,000

781

30,000

29,219 57,425

781 2,575

30,000 60,000

29,219

ยอดรับชําระ เงินต้ น (พันบาท)

-

2555 ดอกเบี ้ย

ยอดรับชําระ

ในระหว่างปี 2554 กลุม่ บริษัทได้ ทําสัญญาการขายสินค้ าให้ กบั มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มีกําหนดรับชําระเงินงวดละ 15 ล้ าน บาท ทุก 6 เดื อน เป็ นเวลา 3 ปี โดยสัญญาจะสิน้ สุดในเดือนเมษายน 2557 กลุ่มบริ ษัทคํ านวณดอกเบี ย้ อ้ างอิงอัตรา ้ วเฉลี่ยจากสถาบันการเงิน ดอกเบี ้ยของเงินกู้ยืมระยะสันถั

116 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 13

อุปกรณ์

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ ้น จําหน่าย วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

ยานพาหนะ

เครื่ องตกแต่ง และติดตัง้

10,563 -

15,772 1,365 -

150,792 24,759 4,564 (10,157)

59,808 8,101 917 -

4,668 813 (5,481) -

241,603 35,038 (10,157)

10,563 1,012 (4,102) 7,473

17,137 323 (653) 16,807

169,958 18,681 (1,201) 187,438

68,826 440 69,266

-

266,484 20,466 (5,956) 280,994

6,825 1,414 -

4,988 1,705 -

88,351 20,388 (9,587)

4,652 6,461 -

-

104,816 29,968 (9,587)

8,239 1,351 (4,102) 5,488

6,693 1,776 (653) 7,816

99,152 20,119 (430) 118,841

11,113 6,910 18,023

-

125,197 30,156 (5,185) 150,168

117 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

10 10

รวม


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริษัท

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

ยานพาหนะ

เครื่ องตกแต่ง และติดตัง้

3,738 3,738

10,784 10,784

62,441 62,441

55,156 55,156

4,668 4,668

133,049 3,738 136,787

2,324 2,324

10,444 10,444

70,806 70,806

57,713 57,713

-

138,963 2,324 141,287

1,985 1,985

8,991 8,991

68,597 68,597

51,243 51,243

118 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

10 10

รวม

130,826 130,826


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ ้น จําหน่าย วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

ยานพาหนะ

เครื่ องตกแต่ง และติดตัง้

10,563 -

15,772 1,365 -

150,351 23,864 4,564 (9,734)

59,808 8,101 917 -

4,668 813 (5,481) -

241,162 34,143 (9,734)

10,563 1,012 (4,102) 7,473

17,137 323 (653) 16,807

169,045 17,960 (1,074) 185,931

68,826 440 69,266

-

265,571 19,745 (5,829) 279,487

6,825 1,414 -

4,988 1,705 -

88,324 20,207 (9,502)

4,652 6,461 -

-

104,789 29,787 (9,502)

8,239 1,351 (4,102) 5,488

6,693 1,776 (653) 7,816

99,029 19,748 (412) 118,365

11,113 6,910 18,023

-

125,074 29,785 (5,167) 149,692

119 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

10 10

รวม


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริษัท

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

ยานพาหนะ

เครื่ องตกแต่ง และติดตัง้

3,738 3,738

10,784 10,784

62,027 62,027

55,156 55,156

4,668 4,668

132,635 3,738 136,373

2,324 2,324

10,444 10,444

70,016 70,016

57,713 57,713

-

138,173 2,324 140,497

1,985 1,985

8,991 8,991

67,566 67,566

51,243 51,243

10 10

รวม

129,795 129,795

ราคาทรัพย์สินของบริ ษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ์ ซึ่งได้ คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจํานวนแล้ วแต่ยงั ใช้ งานจนถึง ณ 31 ธันวาคม 2556 มีจํานวน91.0 ล้ านบาท (2555: 74.0 ล้านบาท)

120 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 14

สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์ รวม ซอฟท์แวร์ ระหว่างติดตัง้ (พันบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 เพิ่มขึ ้น จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

75,441 75,441 75,441

1,135 300 1,435 1,785 3,220

76,576 300 76,876 1,785 78,661

ค่ าตัดจําหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

29,135 5,498 34,633 5,442 40,075

-

29,135 5,498 34,633 5,442 40,075

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

46,306 40,808 35,366

1,135 1,435 3,220

47,441 42,243 38,586

121 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 15

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2556 2555 สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี หนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีสุทธิ

294,773 (9,612) 285,161

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท) 294,701 203,342 197,733 (7,087) (9,095) (7,087) 287,614 194,247 190,646

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ ้นในระหว่างปี มีดงั นี ้

ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นหนี ้สิน ขาดทุนสะสมยกมา อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุ 26) (พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

156,435 23,879 12,127

237 (978) 3,104

156,672 22,901 15,231

512 87,858 13,890 294,701

(512) (968) (811) 72

86,890 13,079 294,773

122 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นสินทรัพย์ ประมาณการส่งคืนสินค้ า รวม สุทธิ

(7,087) (7,087) 287,614

ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นหนี ้สิน ขาดทุนสะสมยกมา อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุ 26) (พันบาท)

(4,084) 1,559 (2,525) (2,453) งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุ 26) (พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

(4,084) (5,528) (9,612) 285,161

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

44,396 39,979 10,042

112,039 (16,100) 2,085

156,435 23,879 12,127

16,895 111,312

512 87,858 (3,005) 183,389

512 87,858 13,890 294,701

123 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นสินทรัพย์ ประมาณการส่งคืนสินค้ า รวม สุทธิ

(3,272) (10,075) (13,347) 97,965

งบการเงินรวม บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน (หมายเหตุ 26) (พันบาท)

3,272 2,988 6,260 189,649

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

(7,087) (7,087) 287,614

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 (หมายเหตุ 26) 2556 (พันบาท) สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นหนี ้สิน อื่นๆ รวม

153,251 18,186 12,127

210 3,663 2,833

153,461 21,849 14,960

279 13,890 197,733

(279) (818) 5,609

13,072 203,342

124 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 (หมายเหตุ 26) 2556 (พันบาท) หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นสินทรัพย์ ประมาณการส่งคืนสินค้ า รวม สุทธิ

(7,087) (7,087) 190,646

(3,567) 1,559 (2,008) 3,601

(3,567) (5,528) (9,095) 194,247

งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 (หมายเหตุ 26) 2555 (พันบาท) สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ ประมาณการหนี ้สิน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นหนี ้สิน อื่นๆ รวม

42,178 18,067 10,042

111,073 119 2,085

153,251 18,186 12,127

16,895 87,182

279 (3,005) 110,551

279 13,890 197,733

125 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ บันทึกเป็ น (รายจ่าย)/ รายได้ ใน กําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 (หมายเหตุ 26) 2555 (พันบาท) หนี้สนิ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา ซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ที่เป็ นสินทรัพย์ ประมาณการส่งคืนสินค้ า รวม สุทธิ

(1,999) (10,075) (12,074) 75,108

1,999 2,988 4,987 115,538

(7,087) (7,087) 190,646

ขาดทุนทางภาษี จะสิ ้นอายุในปี บัญชี2560ส่วนผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้ หกั ภาษี ยงั ไม่สิ ้นอายุตามกฎหมายเกี่ยวกับภาษี เงิน ได้ ปัจจุบนั นัน้

16

หนีส้ ินที่มีภาระดอกเบีย้ งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

ส่ วนที่หมุนเวียน - ไม่ มีหลักประกัน ทรัสต์รีซีท เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ปี รวม

1,215,280 1,358,297 2,573,577

981,306 1,628,974 2,610,280

1,205,059 1,308,297 2,513,356

899,105 1,628,974 2,528,079

2,573,577

1,201 2,611,481

2,513,356

1,201 2,529,280

126 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 หนี ส้ ินที่มีภาระดอกเบี ย้ ซึ่งไม่รวมหนี ส้ ินตามสัญญาเช่าการเงินแยกแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดชํ าระณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ ดงั นี ้ งบการเงินรวม 2556 2555 ครบกําหนดภายในหนึง่ ปี รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

(พันบาท) 2,610,280 2,513,356 2,610,280 2,513,356

2,573,577 2,573,577

2,528,079 2,528,079

ภายใต้ เงื่อนไขของสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าว กิจการจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ในสัญญา เช่น การดํารงสัดส่วนหนี ้สิน ต่อทุน เป็ นต้ น

หนี้สินตามสัญญาเช่ าการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555มีรายละเอียดดังนี ้ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556

ครบกําหนดชําระ ภายในหนึง่ ปี รวม

มูลค่า อนาคตของ จํานวนเงิน ขันตํ ้ ่าที่ต้อง จ่าย

ดอกเบี ้ย

-

-

2555 มูลค่า มูลค่า ปั จจุบนั ของ อนาคตของ จํานวนเงิน จํานวนเงิน ขันตํ ้ ่าที่ต้อง ขันตํ ้ ่าที่ต้อง จ่าย จ่าย (พันบาท)

เจ้ าหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงินมีกําหนดการจ่ายชําระเป็ นรายเดือน

127 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-

1,233 1,233

ดอกเบี ้ย

32 32

มูลค่า ปั จจุบนั ของ จํานวนเงินขัน้ ตํ่าที่ต้องจ่าย

1,201 1,201


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 17

เจ้ าหนีก้ ารค้ า หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่น รวม

5

งบการเงินรวม 2556 2555 86 801,890 801,976

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

(พันบาท) 85 86 1,190,794 781,289 1,190,879 781,375

85 1,109,413 1,109,498

ยอดเจ้ าหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ ดงั นี ้ งบการเงินรวม 2556 2555 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา รวม

591,013 210,963 801,976

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่น รวม

4

(พันบาท) 966,453 582,473 224,426 198,902 1,190,879 781,375

งบการเงินรวม 2555 2554 85 1,190,794 1,190,879

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 965,928 143,570 1,109,498

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(พันบาท) 85 2,490 2,271,805 1,109,413 2,274,295 1,109,498

2,490 1,009,628 1,012,118

ยอดเจ้ าหนี ้การค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ ดงั นี ้ งบการเงินรวม 2555 2554 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริกา รวม

966,453 224,426 1,190,879

128 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(พันบาท) 965,928 705,995 1,568,300 143,570 2,274,295 1,109,498

702,458 309,660 1,012,118


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 18

เจ้ าหนีอ้ ่ ืน หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

กิจการทีเ่ กี่ยวข้ องกัน เจ้ าหนี ้อื่น ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย รวม กิจการอื่น ค่าใช้ จ่ายส่งเสริ มการขายค้ างจ่าย ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์พนักงานค้ าง เจ้ าหนี ้อื่น เงินรับล่วงหน้ า ค่าสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนค้ างจ่าย อื่นๆ รวม รวม

19

5 5

832 758 1,590

4,451 945 5,396

767 686 1,453

3,915 824 4,739

68,685 65,789 36,611 24,562 11,575 27,332 234,554 236,144

56,917 39,750 35,731 11,728 11,575 27,423 183,124 188,520

67,329 65,789 36,300 24,562 11,575 26,830 232,385 233,838

56,917 39,750 33,005 11,728 11,575 12,935 165,910 170,649

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน กลุ่มบริ ษัทจัดการโครงการบําเหน็จพนักงานตามข้ อกําหนดของพระราชบัญญัติค้ มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการให้ ผล ประโยชน์เมื่อเกษี ยณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม ต้ นทุนบริการปั จจุบนั และดอกเบี ้ย ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณวันที่ 31 ธันวาคม

27,337 5,300

22,790 4,547

27,337 5,300

22,790 4,547

32,637

27,337

32,637

27,337

129 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ค่าใช้ จ่ายที่รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน งบการเงินรวม 2556 2555 ต้ นทุนบริการปั จจุบนั ดอกเบี ้ยจากภาระผูกพัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

4,343 957

(พันบาท) 3,750 797

4,343 957

3,750 797

5,300

4,547

5,300

4,547

ข้ อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนัก)

อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ ้นของเงินเดือน อัตราการหมุนเวียนพนักงาน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 (ร้อยละ) 3.5 3.5 3.5 3.5 6 6 6 6 0-22 0-22 0-22 0-22

ข้ อสมมุติเกี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้ อมูลทางสถิติที่เผยแพร่ทวั่ ไปและตารางมรณะ

130 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 20

ทุนเรื อนหุ้น มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ลดหุ้น ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ หุ้นที่ออกและชําระเต็มมูลค่ า แล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

1

2556 จํานวนหุ้น

2555 จํานวนหุ้น จํานวนเงิน (พันหุน้ / พันบาท)

จํานวนเงิน

1

250,000 (16,534) 116,733

250,000 (16,534) 116,733

213,174 36,826

213,174 36,826

1

350,199

350,199

250,000

250,000

1 1

233,466 116,733

233,466 116,733

211,184 22,282

211,184 22,282

1

350,199

350,199

233,466

233,466

การออกหุ้นสามัญ บริ ษัท ในการประชุมสามัญประจําปี ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิการเพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริ ษัท จากทุนจดทะเบียนเดิม 213.2 ล้ านบาท เป็ นทุนจดทะเบียน 250 ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ 250 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จํานวน 36.8 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนการ เพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 และได้ มีการอนุมตั ิการจ่ายปั นผลเป็ นหุ้นสามัญ ้ ้น 21.12 ล้ านบาทบริ ษัทได้ จด ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ในอัตรา 10 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท รวมมูลค่าทังสิ ทะเบียนการเปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2555

131 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ในเดือนมิถนุ ายน 2555 ได้ มีผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิใช้ สิทธิในการซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัทจํานวน 0.97 ล้ านหุ้นในราคา สิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริษัทตามงบการเงินฉบับล่าสุดก่อนวันที่มีการใช้ สิทธิ ซึง่ เท่ากับราคา หุ้นละ 6.18 บาทบริ ษัทได้ จดทะเบียนการเปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 มิถนุ ายน 2555 ในเดือนธันวาคม 2555 ได้ มีผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิใช้ สิทธิในการซื ้อหุ้นสามัญของบริ ษัทจํานวน 0.20 ล้ านหุ้นในราคา สิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริษัทตามงบการเงินฉบับล่าสุดก่อนวันที่มีการใช้ สิทธิ ซึง่ เท่ากับราคา หุ้นละ 4.92 บาทบริษัทได้ จดทะเบียนการเปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2555 ในการประชุมสามัญประจําปี ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2556 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียนของ บริ ษัท จากทุนจดทะเบียนเดิม 250 ล้ านบาท เป็ นทุนจดทะเบียน 233 ล้ านบาท เพื่อตัดทุนจดทะเบียนหุ้นที่เหลือจาก พนักงานไม่ได้ นําใบแสดงสิทธิมาใช้ สทิ ธิในการซื ้อหุ้นของบริษัท หุ้นที่เหลือจากการจ่ายหุ้นปั นผล และหุ้นที่เหลือจากบริ ษัท ไม่มีการเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทัว่ ไป และอนุมตั ิการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษัท จากทุนจดทะเบียน 233 ล้ านบาท เป็ น ทุนจดทะเบียน 350 ล้ านบาทโดยเป็ นหุ้นสามัญ 350 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่ จํานวน 117 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท ซึง่ กําหนดการเสนอขายหุ้นสามัญในอัตราหุ้นละ 3.25 บาท บริ ษัทได้ จด ทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 19 มิถนุ ายน 2556

บริ ษัทย่อย ในเดือนพฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)มีมติให้ เพิ่มทุนจดทะเบียนในบริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชั่น (ประเทศไทย) จํ ากัด จากเดิม 1ล้ านบาท เป็ น 200 ล้ านบาท ประกอบด้ วยหุ้น สามัญจํานวน 19.9 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 10 บาท เป็ นจํานวนเงิน 199 ล้ านบาท

ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่าหุ้น ที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้ องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี ้ตังเป็ ้ นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี ้จะนําไปจ่ายเป็ น เงินปั นผลไม่ได้

21

สํารอง สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้ องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารอง ตามกฎหมาย”) อย่างน้ อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมี จํานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี ้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ 132 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 การเคลื่อนไหวในทุนสํารอง การเคลื่อนไหวในทุนสํารองแสดงรายการในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

22

ส่ วนงานดําเนินการ กลุม่ บริ ษัทมี 4 ส่วนงานที่รายงาน ดังรายละเอียดข้ างล่าง ซึง่ เป็ นหน่วยงานธุรกิจที่สําคัญของกลุม่ บริ ษัท หน่วยงานธุรกิจที่ สําคัญนี ้ผลิตสินค้ าและให้ บริการที่แตกต่างกัน และมีการบริหารจัดการแยกต่างหาก เนื่องจากใช้ เทคโนโลยีและกลยุทธ์ทาง การตลาดที่ แ ตกต่ า งกัน ผู้มีอํ า นาจตัด สิน ใจสูง สุด ด้ า นการดํ า เนิ น งานสอบทานรายงานการจัด การภายในของแต่ล ะ หน่วยงานธุรกิจที่สําคัญอย่างน้ อยทุกไตรมาส การดําเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานของกลุม่ บริษัทโดยสรุปมีดงั นี ้  ส่ วนงาน 1สินค้ าธุรกิจ  ส่ วนงาน 2สินค้ าผู้บริ โภค  ส่ วนงาน 3สินค้ าสําหรับโครงการ  ส่ วนงาน 4โทรศัพท์ การดําเนินงานอื่นไม่มีสว่ นงานใดที่เข้ าเกณฑ์เชิงปริมาณเพื่อกําหนดส่วนงานที่รายงานในปี 2556 หรื อ 2555 ข้ อมูลผลการดําเนินงานของแต่ละส่วนงานที่รายงานได้ รวมอยูด่ งั ข้ างล่างนี ้ ผลการดําเนินงานวัดโดยใช้ กําไรก่อนภาษี เงินได้ ของส่วนงาน ซึ่งนําเสนอในรายงานการจัดการภายในและสอบทานโดยผู้มีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงานของ กลุ่ม บริ ษั ท ผู้บ ริ ห ารเชื่ อ ว่ า การใช้ กํ า ไรก่ อ นภาษี เ งิ น ได้ ใ นการวัด ผลการดํ า เนิ น งานนัน้ เป็ นข้ อ มูล ที่ เ หมาะสมในการ ประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงานและสอดคล้ องกับกิจการอื่นที่ดําเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน

133 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 ข้ อมูลเกี่ยวกับส่ วนงานทีร่ ายงาน งบการเงินรวม ส่ วนงานที่ 1

ส่ วนงานที่2

ส่ วนงานที่ 3

รวมส่ วนงานที่ รายงาน

ส่ วนงานที่4

รวม

ส่ วนงานอื่น

2556

2555

2556

2555

2556

2556 2555 (ล้านบาท)

2555

2556

2555

2556

2555

2556

2555

4,739

4,669

8,478

7,974

1,475

1,537

2,069

5,545

16,761

19,725

1,437

2,127

18,198

21,852

4,739

4,669

8,478

7,974

1,475

1,537

2,069

5,545

16,761

19,725

1,437

2,127

18,198

21,852

กําไร(ขาดทุน)ขันต้ ้ น ตามส่วนงาน

261

282

407

419

193

128

107

(273)

968

556

67

85

1,035

641

สินทรัพย์ตามส่วนงาน ที่รายงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

309

211

971

558

159

175

116

119

1,555

1,063

137

128

1,692

1,191

รายได้ จากลูกค้ า ภายนอก รายได้ รวม

134 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่ วนงาน 1

ส่ วนงาน 2

ส่ วนงาน 3

รวมส่ วนงานที่ รายงาน

ส่ วนงาน 4

อื่นๆ

รวม

2556

2555

2556

2555

2556

2556 2555 (ล้านบาท)

2555

2556

2555

2556

2555

2556

2555

รายได้ จากลูกค้ า ภายนอก

4,729

4,669

8,405

7,974

1,475

1,537

1,195

1,639

15,804

15,819

1,437

2,127

17,241

17,946

รายได้ รวม

4,729

4,669

8,405

7,974

1,475

1,537

1,195

1,639

15,804

15,819

1,437

2,127

17,241

17,946

กําไร(ขาดทุน)ขันต้ ้ น ตามส่วนงาน

261

282

402

419

193

128

62

(88)

918

741

68

84

986

825

สินทรัพย์ตามส่วนงาน ที่รายงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

309

211

971

559

159

175

6

67

1,445

1,012

137

128

1,582

1,140

135 | รายงานประจําปี 2556 | บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

การกระทบยอดรายได้ กําไรหรื อขาดทุน สินทรัพย์และหนี ้สิน และรายการอื่นที่มีสาระสําคัญของส่วนงานที่ รายงาน งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (ล้านบาท)

กําไรหรื อขาดทุนขัน้ ต้ น รวมกําไรจากส่วนงานที่รายงาน กําไรจากส่วนงานอื่นๆ

968 67 1,035

556 85 641

918 68 986

741 84 825

จํานวนที่ไม่ได้ ปันส่วน - รายได้ อื่นๆ - ค่าใช้ จ่ายในดําเนินงานอื่น - ต้ นทุนทางการเงิน

147 (852) (85)

239 (1,442) (101)

140 (827) (84)

254 (1,344) (90)

กําไร(ขาดทุน) รวมก่ อนภาษีเงินได้

245

(663)

215

(355)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 2556 2555 (ล้านบาท) สินทรั พย์ รวมสินทรัพย์ของส่วนงานที่รายงาน สินทรัพย์อื่น จํานวนที่ไม่ได้ ปันส่วน สินทรั พย์ รวม

1,555 137 3,351 5,043

1,063 128 3,670 4,861

1,445 137 3,534 5,116

1,012 128 3,718 4,858

ส่ วนงานภูมศิ าสตร์ กลุ่ม บริ ษั ท ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เฉพาะในประเทศเท่ า นัน้ ไม่ มี ร ายได้ จ ากต่ า งประเทศหรื อ สิ น ทรั พ ย์ ใ นต่ า งประเทศที่ มี สาระสําคัญ

136 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

23

รายได้ อ่ ืน หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

รายได้ จากการส่งเสริม การขาย ดอกเบี ้ยรับ รายได้ คา่ ธรรมเนียมการ จัดการ อื่นๆ รวม

24

5 5 5

80,954 23,200

146,539 7,209

42,852 35,777

75,823 33,451

15,679 119,833

18,227 171,975

27,963 14,545 121,137

86,575 18,084 213,933

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าตอบแทน อื่น ๆ พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าตอบแทน อื่น ๆ รวม

42,621 1,772 44,393

44,467 1,889 46,356

38,087 1,554 39,641

36,895 1,536 38,431

223,288 23,412 246,700 291,093

167,901 22,479 190,380 236,736

223,288 23,412 246,700 286,341

167,901 22,479 190,380 228,811

กลุม่ บริ ษัทได้ จดั ตังกองทุ ้ นสํารองเลี ้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุม่ บริ ษัทบนพื ้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการ เป็ นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้ อยละ 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุม่ บริ ษัทจ่ายสมทบ ในอัตราร้ อยละ 5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพนี ้ได้ จดทะเบียนเป็ นกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ ตามข้ อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนที่ได้ รับอนุญาต

137 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

25

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จได้ รวมการวิเคราะห์ค่าใช้ จ่ายตามหน้ าที่ ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะได้ เปิ ดเผยตามข้ อกําหนดใน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี ้ งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (พันบาท)

รวมอยู่ในต้ นทุนขาย การเปลี่ยนแปลงในสินค้ าคงเหลือ ซื ้อสินค้ าคงเหลือ สํารอง (กลับรายการ) ค่าเผื่อสินค้ าล้ าสมัย และเสื่อมสภาพ รวม รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการขาย ค่าโฆษณาและส่งเสริ มการขาย ค่าขนส่งสินค้ า ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน อื่น ๆ รวม รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าเช่า ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าบริการ ประมาณการค่าใช้ จ่าย ค่าธรรมเนียมการจัดการ ขาดทุนจากการด้ อยค่าเงินลงทุนใน บริษัทย่อย อื่นๆ รวม

(495,813) 17,664,132

2,033,831 19,231,787

(460,396) 16,697,676

163,572 16,944,685

(4,887) 17,163,432

(54,427) 21,211,191

18,314 16,255,594

12,378 17,120,635

281,470 32,892 21,649 2,938 338,949

387,346 29,498 22,092 6,162 445,098

265,591 30,404 21,649 2,938 320,582

229,954 26,222 22,092 4,890 283,158

41,238 258,696 37,935 35,596 15,661 13,349 11,329

611,512 203,270 37,536 35,466 17,482 13,703

41,111 258,696 37,935 35,227 15,661 13,349 10,776

605,235 203,270 37,536 35,285 16,737 11,216

52,374 466,178

59,606 978,575

49,827 462,582

78,635 56,334 1,044,248

138 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

26

ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ ทรี่ ั บรู้ ในกําไรหรือขาดทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2556

2555

2556

2555

(พันบาท) ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สําหรับปี ปั จจุบนั ภาษี งวดก่อนที่บนั ทึกสูงไป

53,690 (1,491) 52,199

75,862 75,862

53,690 (1,491) 52,199

75,862 75,862

2,453 2,453 54,652

(189,649) (189,649) (113,787)

(3,601) (3,601) 48,598

(115,538) (115,538) (39,676)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงของ ผลแตกต่างชัว่ คราว

15

สุทธิ

การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีทแี่ ท้ จริง งบการเงินรวม 2556 อัตรา (ร้อยละ)

(พันบาท)

20

244,826 48,965

23

(662,801) (152,444)

2 22

5,687 54,652

(6) 17

38,657 (113,787)

กําไรก่อนภาษี เงินได้ รวม จํานวนภาษี ตามอัตราภาษี เงินได้ ผลกระทบทางภาษี ของรายได้ และค่าใช้ จ่ายที่ไม่ถือเป็ น รายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายทางภาษี - สุทธิ สุทธิ

139 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

2555 อัตรา (ร้อยละ)

(พันบาท)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 อัตรา อัตรา (ร้อยละ) (ร้อยละ) (พันบาท) (พันบาท) กําไรก่อนภาษี เงินได้ รวม จํานวนภาษี ตามอัตราภาษี เงินได้ ผลกระทบทางภาษี ของรายได้ และค่าใช้ จ่ายที่ไม่ถือเป็ น รายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายทางภาษี - สุทธิ สุทธิ

20

214,699 42,940

23

(355,196) (81,695)

3 23

5,658 48,598

(12) 11

42,019 (39,676)

การลดอัตราภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ วยการลดอัตราและยกเว้ นรัษฎากรฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลง วันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ ลดอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลสําหรับกําไรสุทธิเป็ นระยะเวลาสามรอบระยะเวลาบัญชีได้ แก่ ปี 2555 2556 และ 2557จากอัตราร้ อยละ 30 เหลืออัตราร้ อยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่มในหรื อ หลังวันที่ 1 มกราคม 2555และร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถดั มา (2556 และ 2557) ที่ เริ่มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557ตามลําดับ ทั้งนี้ เป็ นที่เชื่อได้วา่ รัฐบาลจะดําเนิ นการแก้ไขกฎหมายเพื่อให้อตั ราภาษีไม่สูงไปกว่าร้อยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลา บัญชี ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็ นต้นไปทั้งนี้ เพื่อให้เป็ นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

27

กําไร(ขาดทุน) ต่ อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานสําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 คํานวณจากกําไร (ขาดทุน) สําหรับปี ที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทและจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ วระหว่างปี แต่ละปี โดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วง นํ ้าหนัก ซึ่งกําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานของปี ก่อนได้ ถกู คํานวณขึ ้นใหม่โดยปรับจํานวนหุ้นสามัญเพื่อสะท้ อนผลกระทบของ การออกหุ้นปั นผลสําหรับปี 2555 โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปั นผลได้ เกิดขึน้ ตังแต่ ้ วนั ที่เริ่ มต้ นของปี แรกที่เสนอ รายงาน แสดงการคํานวณดังนี ้

140 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2556 2555 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท/พันหุน้ ) กําไร (ขาดทุน) ที่เป็ นส่ วนของผู้ถือหุ้นของ บริษัท (ขัน้ พืน้ ฐาน) จํานวนหุ้นสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุ้นที่ออกจําหน่ายเมื่อ วันที่ 18 พฤษภาคม 2555 ผลกระทบจากหุ้นที่ออกจําหน่ายเมื่อ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2555 ผลกระทบจากหุ้นที่ออกจําหน่ายเมื่อ วันที่ 12ธันวาคม 2555 ผลกระทบจากหุ้นที่ออกจําหน่ายเมื่อ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2556 จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่ วงนํา้ หนัก กําไร(ขาดทุน) ต่ อหุ้น (บาท)

190,174

(549,014)

166,101

(315,520)

233,466

211,184

233,466

211,184

-

21,118

-

21,118

-

546

-

546

-

11

-

11

62,684 296,150 0.64

232,859 (2.36)

62,684 296,150 0.56

232,859 (1.35)

กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นปรับลด กลุ่มบริ ษัทไม่มีการแสดงกําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลดสําหรับปี 2555 เนื่องจากการออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ซื ้อหุ้น สามัญให้ แก่กรรมการและพนักงานของกลุ่มบริ ษัทไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อจํานวนหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลด

28

เงินปั นผล ในการประชุมสามัญประจําปี ของผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิการจัดสรรกําไรเป็ น หุ้นปั นผลและเงินปั นผลดังนี ้ 1) จ่ายปั นผลเป็ นหุ้นสามัญให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ในอัตรา 10 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท รวมมูลค่า ทังสิ ้ ้น 21.12 ล้ านบาท 2) จ่ายปั นผลเป็ นเงินสดในอัตราหุ้นละ 0.15 บาท คิดเป็ นจํานวนเงิน 31.68 ล้ านบาท หุ้นปั นผลและเงินปั นผลดังกล่าวได้ จ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในระหว่างปี 2555

141 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

29

เครื่ องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุม่ บริ ษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี ้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดตามสัญญาของคู่สญ ั ญา กลุ่มบริ ษัทไม่มีการถือหรื อออกเครื่ องมือ ทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งกําไรหรื อการค้ า การจัดการความเสี่ยงเป็ นส่วนที่สําคัญของธุรกิจของกลุ่มบริ ษัท กลุ่มบริ ษัทมีระบบในการควบคุมให้ มีความสมดุลของ ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้ นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้ นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝ่ ายบริหารได้ มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุม่ บริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีความสมดุล ระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง

การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการกลุ่มบริ ษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้ มนั่ คงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้ าหนี ้และความเชื่อมัน่ ของตลาดและก่อให้ เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้ มีการกํากับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึง่ กลุม่ บริ ษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานต่อส่วนของเจ้ าของรวม ซึง่ ไม่รวมส่วนได้ เสียที่ ไม่มีอํานาจควบคุม อีกทังยั ้ งกํากับดูแลระดับการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ

ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี ้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี ้ยในตลาดในอนาคต ซึ่ง ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริ ษัทกลุ่มบริ ษัทมีความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี ้ยที่เกิดจาก เงินกู้ยืม(ดูหมายเหตุข้อ 16) สินทรัพย์และหนี ้สินทางการเงินของกลุ่มบริ ษัทโดยส่วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี ้ยลอยตัวโดย อ้ างอิงตามอัตราตลาด เช่น อัตราดอกเบี ย้ ลูกค้ าชัน้ ดีของธนาคารพาณิ ชย์ ดอกเบี ย้ เงิ นฝากออมทรั พย์ หรื ออัตรา ดอกเบี ้ยอ้ างอิงอื่น เป็ นต้ น อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ งของหลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี ้และเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 และระยะที่ ครบกําหนดชําระหรื อกําหนดอัตราใหม่มีดงั นี ้

142 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้อยละต่อปี ) ปี 2556 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม ปี 2555 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม

ปี 2555 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม

รวม

1.05 - 4.60

2,574 2,574

-

-

2,574 2,574

1.15 - 4.09

2,610 2,610

-

-

2,610 2,610

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้อยละต่อปี ) ปี 2556 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ล้ านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน ภายใน 1 ปี 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ล้ านบาท)

รวม

1.05 - 4.60

2,513 2,513

-

-

2,513 2,513

1.15 - 4.09

2,528 2,528

-

-

2,528 2,528

143 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่ งเกิดจากการซื้ อสิ นค้าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ กลุ่ม บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศซึ่ งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่ งปี เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงของหนี้ สิน ทางการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่รายงานเป็ นรายการที่เกี่ยวข้อง กับรายการซื้ อสิ นค้าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคมกลุม่ บริษัทและบริ ษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมาจากการมี หนี ้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี ้

หมายเหตุ เงินเหรี ยญสหรั ฐอเมริกา เจ้ าหนี ้การค้ า ทรัสต์รีซีท ยอดรวมความเสี่ยงทัง้ สิน้

สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

17

30

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (ล้านบาท)

211 465 676

224 352 576

199 454 653

(693) (17)

(512) 64

(616) 37

2

144 270 414

(270) 144

ความเสี่ยงจากสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลกู ค้ าหรื อคู่สญ ั ญาไม่สามารถชําระหนี ้กลุม่ บริ ษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ เมื่อ ครบกําหนด อาจทําให้ เกิดความสูญเสียทางการเงินได้ ทังนี ้ ้กลุ่มบริ ษัทได้ กําหนดนโยบายในการป้องกันความเสี่ยง ั ญา โดยกําหนดระเบียบการพิจารณาและระยะเวลาการ ดังกล่าว โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้ าและคูส่ ญ เรี ยกเก็บหนี ้ รวมถึงการมีนโยบายการทําประกันภัยสําหรับความเสี่ยงจากการไม่สามารถเก็บเงินจากลูกหนี ้ได้

ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุม่ บริ ษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้ เพียงพอต่อการดําเนินงานของกลุม่ บริษัทและเพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง

144 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

การกําหนดมูลค่ ายุตธิ รรม นโยบายการบัญชีและการเปิ ดเผยของกลุม่ บริ ษัทกําหนดให้ มีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมทังสิ ้ นทรัพย์และหนี ้สินทางการ เงินและไม่ใช่ทางการเงินมูลค่ายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผ้ ูซือ้ และผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์หรื อชํ าระ ั้ ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างอิสระ หนี ้สินกัน ในขณะที่ทงสองฝ่ ในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้ องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรื อการเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมถูกกําหนด โดยวิธีต่อไปนี ้ ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลค่ายุติธรรมถูกเปิ ดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้ องกับ สินทรัพย์และหนี ้สินนันๆ ้ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้การค้ า เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เป็ นมูลค่าที่ใกล้ เคียง กับมูลค่าตามบัญชี หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าถือตามราคาตลาดของสัญญาล่วงหน้ า ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด ให้ ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้ าตามสัญญา กับ ราคาล่วงหน้ าของสัญญาปั จจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกําหนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อตั ราดอกเบี ้ยประเภทที่ใช้ กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล

30

ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่ เกี่ยวข้ องกัน งบการเงินรวม 2556 2555 ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดําเนินงานที่ ยกเลิกไม่ ได้ ภายในหนึง่ ปี หลังจากหนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี รวม

145 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

17 2 19

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (ล้านบาท)

35 12 47

17 2 19

35 12 47


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 งบการเงินรวม 2556 2555 ภาระผูกพันอื่นๆ วงเงินสินเชื่อที่ยงั ไม่ได้ ใช้ สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า หนังสือคํ ้าประกันจากธนาคาร รวม

2,162 693 165 3,020

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (ล้านบาท)

2,771 512 154 3,437

2,002 616 165 2,783

2,433 270 154 2,857

สัญญาเช่ าและสัญญาบริการ กลุม่ บริ ษัทได้ ทําสัญญาเช่าพื ้นที่อาคารสํานักงานและโกดังเก็บสินค้ าและสัญญาเช่าอุปกรณ์ สัญญามีอายุประมาณ 13 ปี

สัญญาซื้อขายเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ า ในปี 2556 กลุ่มบริ ษัทมีวงเงินของการซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ ากับธนาคารพาณิชย์จํานวนประมาณ 3,843 ล้ านบาท หรื อจํานวนเงินที่เทียบเท่า117ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ (2555: 3,892 ล้านบาท หรื อจํ านวนเงิ นเที ยบเท่า 126 ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ) ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 กลุ่ม บริ ษั ท ได้ ทํ า สัญ ญาซื อ้ เงิ น ตราต่า งประเทศล่ว งหน้ า จํ า นวนเงิ น ประมาณ 22ล้ า น ดอลล่าร์ สหรัฐ หรื อจํานวนเงินเทียบเท่า 693.26ล้ านบาท ซึ่งรายการดังกล่าว จะครบกําหนดอายุภายในเดือนมิถนุ ายน 2557(2555:16.59 ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ หรื อจํ านวนเงิ นเที ยบเท่า 512.32 ล้านบาท จะครบกํ าหนดอายุภายในเดื อน มิ ถนุ ายน 2556)

อื่น ๆ ในปี 2549 กลุม่ บริษัทได้ ทําสัญญาจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลง จํานวนสองฉบับ ซึง่ บริ ษัทจะต้ องจ่ายชําระค่า สินค้ าเพิ่มในส่วนของรายได้ จากการจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงให้ แก่ผ้ ผู ลิตหลังจากหักส่วนลดในอัตราที่ ้ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2549 และวันที่ 1 ตุลาคม 2549 เป็ นต้ นไปและ ระบุตามสัญญาการจัดจําหน่าย สัญญามีผลตังแต่ สัญญาดังกล่าวจะยกเลิกเมื่อคูส่ ญ ั ญามีการบอกเลิกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร

146 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

31

หนีส้ ินที่อาจเกิดขึน้ ในระหว่างปี 2554 บริ ษัทได้ ถกู ฟ้องร้ องโดยบริ ษัทในประเทศแห่งหนึ่ง เนื่องจากผิดสัญญาค่าเช่าสถานที่เป็ นเหตุให้ โจทย์เสียหายจากการขาดรายได้ เป็ นจํานวนเงิน 111.69 ล้ านบาท ทังนี ้ ้เมื่อวันที่ 11 มิถนุ ายน 2556 ศาลแพ่งได้ มีคํา พิพากษายกฟ้อง

32

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทได้ มีมติเห็นชอบให้ เสนอที่ประชุมสามัญประจําปี ของผู้ถือ หุ้นเพื่ออนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลเป็ นเงินสด ในอัตราหุ้นละ 0.20 บาทคิดเป็ นจํานวนเงินประมาณ 70.04 ล้ านบาท

33

มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยที่ยังไม่ ได้ ใช้ กลุม่ บริ ษัทยังไม่ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดงั ต่อไปนี ้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยัง ไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ซึ่งเกี่ ยวข้ องกับการดําเนินงานของกลุ่ม บริ ษั ท และกํ า หนดให้ ถื อ ปฏิ บัติกับ งบการเงิ น สํา หรั บ รอบระยะเวลาบัญ ชี ที่ เริ่ มในหรื อ หลัง วัน ที่ 1 มกราคม ในปี ดังต่อไปนี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่ อง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555)

การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษี เงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน งบการเงินระหว่างกาล การด้ อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ส่วนงานดําเนินงาน

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

147 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

ปี ที่มีผล บังคับใช้ 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557 2557


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32

เรื่ อง การเปลี่ยนแปลงในหนี ้สินที่เกิดขึ ้นจากการรื อ้ ถอน การ บูรณะและหนี ้สินที่มีลกั ษณะที่คล้ ายคลึงกัน การประเมินว่าข้ อตกลงประกอบด้ วยสัญญาเช่าหรื อไม่

ปี ที่มีผล บังคับใช้ 2557 2557

สิทธิในส่วนได้ เสียจากกองทุนการรื อ้ ถอน การบรูณะและ การปรับปรุงสภาพแวดล้ อม งบการเงินระหว่างกาลและการด้ อยค่า

2557 2557

โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลกู ค้ า

2557

การโอนสินทรัพย์จากลูกค้ า

2557

สิง่ จูงใจสัญญาเช่าดําเนินงาน การประเมินเนื ้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของ กฎหมายตามสัญญาเช่า การเปิ ดเผยข้ อมูลของข้ อตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน -ต้ นทุนเว็บไซต์

2557 2557 2557 2557

ขณะนี้ ผบู ้ ริ หารกําลังพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวต่องบการเงินของบริ ษทั ---------------------------------------------------------------------------------

148 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556และ 2555

149 | รายงานประจําปี 2556| บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.