บร�ษัท สากล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำป 2560 เพ�่อมุ งสู การเป นผู นำธุรกิจด าน การให บร�การพลังงานของประเทศ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
1
สารบัญ 2 สารจากท่านประธานกรรมการ 3 สารจากประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร 4 - 5 รายงานคณะกรรมการตรวจ สอบ 6 - 12 รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ คณะ กรรมการ บริษัท สากล เอน เนอยี จำ�กัด(มหาชน)
ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ
14 - 23 นโยบายและภาพรวมการ ประกอบธุรกิจ 24 - 47 ลักษณะการประกอบธุรกิจ
ส่วนที่ 3 ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน 111 - 118 ข้อมูลที่สำ�คัญทางการเงิน
48 - 55 ปัจจัยเสี่ยง
119 - 136 การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของ ฝ่ายจัดการ
56 - 59 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญ อื่น
137 - 210 รายงานและงบการเงินรวม
ส่วนที่ 2 การจัดการและ การดูแลกิจการ 61 - 63 ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 64 นโยบายการจ่าปันผล 65 - 78 โครงสร้างการจัดการ 79 - 92 การกำ�กับดูแล 93 - 99 ความรับผิดชอบต่อสังคม 99 - 100 การควบคุ ม ภายในและการ บริหารจัดการความเสี่ยง 101 - 109 รายการระหว่างกัน
2
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
สารจากท่านประธานกรรมการ
สารจากประธานกรรมการบริษัท ศาสตราจารย์กิตติคุณดร.ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ปี 2560 เป็นปีแห่งการเติบโตของบริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) โดยที่บริษัทได้น�ำหุ้น เข้าจดทะเบียนและซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ซึ่ง ได้รับการตอบรับจากนักลงทุนรายย่อย และนักลงทุนสถาบันเป็นอย่างดียิ่ง และบริษัทยังคงมุ่งมั่นที่จะ พัฒนาอย่างต่อเนื่องภายใต้กลยุทธ์หลักในการขยายธุรกิจของบริษัทไปยังธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ในด้านต่างๆ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามวิสัยทัศน์ของบริษัท “เพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้น�ำธุรกิจด้านการให้บริการพลังงานของประเทศ” นอกเหนือจากการด�ำเนินงานทางธุรกิจแล้ว บริษัทยังคงยึดมั่นในหลักจริยธรรม บรรษัทภิบาล และแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ด�ำรงแนวทางการท�ำธุรกิจด้วยความสุจริต อีกทั้งยังคงนโยบาย มุ่งเน้นความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ท้ายที่สุดนี้ในนามของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ผมใคร่ขอขอบคุณ ผู้ถือหุ้น พันธมิตรทางธุรกิจ สถาบันการเงิน หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ที่ให้ความเชื่อมั่น และสนับสนุนบริษัทเสมอมา และที่ส�ำคัญ ผมขอแสดงความขอบคุณคณะผู้บริหารและพนักงานของ บริษัททุกท่านส�ำหรับความทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจเพื่อบรรลุเป้าหมายบริษัท ทั้งนี้ ขอให้ทุกท่านเชื่อมั่น ว่า บริษัทจะยังคงมุ่งมั่นทุ่มเทในการด�ำเนินธุรกิจอย่างสร้างสรรค์และซื่อสัตย์ เพื่อก้าวไปข้างหน้าอย่าง มั่นคงและสร้างผลตอบแทนอย่างยั่งยืน ให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนรวมทุกๆ ท่านตลอดไป
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
3
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร “เพิ่มมูลค่าให้ธุรกิจเดิม สร้างเสริมธุรกิจใหม่” เรียนท่านผู้ถือหุ้น ทุกท่าน ปี2560 ทีผ่ า่ นมาถือเป็นปีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงและเป็นพัฒนาการครัง้ ส�ำคัญของบริษทั ฯ นัน่ คือ การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ถือว่าเป็นก้าวส�ำคัญของบริษทั ฯอีกก้าวหนึง่ ที่จะมาช่วยให้บริษัทฯ เติบโตได้อย่างมั่นคง และ ยั่งยืน บมจ. สากล เอนเนอยี ถือว่าเป็นผูป้ ระกอบการธุรกิจสถานีอดั ก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนทีม่ กี ำ� ลังการผลิต สูงที่สุดของประเทศ (กว่า 800,000กิโลกรัม ต่อ วัน) ซึ่งปัจจุบันก๊าซธรรมชาติ NGV ยังถือเป็นเชื้อเพลิง ที่ประหยัดที่สุดส�ำหรับยานยนต์ NGV จึงยังเป็นที่นิยมและเป็นเชื้อเพลิงหลักของผู้ประกอบการขนส่ง และรถขนส่งเชิงพาณิชย์ของประเทศไทยในปัจจุบนั รวมถึงปัจจุบนั สถานการณ์ราคาน�ำ้ มันทีเ่ ริม่ ปรับตัว สูงขึ้นกว่าในช่วงปี 2559-2560 จะเป็นปัจจัยบวกที่ท�ำให้ผู้ประกอบการใช้งาน NGV มากขึ้นอีกด้วยใน ปี 2561 นี้ ซึ่งบริษัทได้มีการเตรียมความพร้อมในการรองรับการใช้งาน NGV ที่จะมากขึ้นโดยการสร้าง ช่องจ่ายก๊าซเพิ่มอีก 8 ช่องจ่ายที่ จังหวัดสระบุรี ซึ่งเปิดใช้งานแล้วตั้งแต่ วันที่ 8 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีความมุ่งมั่นที่จะขยายธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงานทดแทนอื่นๆตามแผนกลยุทธ์ ของบริษทั ฯ เพือ่ สร้างความเติบโตให้กบั บริษทั ฯ สร้างความมัน่ คงด้านรายได้ และเพิม่ ก�ำไรให้กบั บริษทั ฯ โดยการเข้าลงทุนและขยายธุรกิจนั้นบริษัทจะพิจารณาและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการอย่าง รอบคอบ และละเอียดถี่ถ้วนเพื่อประโยชน์สูงสุดของท่านผู้ถือหุ้นทุกท่าน ท่านผูถ้ อื หุน้ ครับ ผมและผูบ้ ริหารทุกคนของเรามีความมุง่ มัน่ และมัน่ ใจในความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ทเี่ ราสัง่ สมมาเป็นเวลายาวนาน จะท�ำให้ธรุ กิจเดิมและธุรกิจใหม่ของเราประสบความส�ำเร็จ สร้างผลก�ำไรและผลตอบแทนที่ดีส�ำหรับทุกท่านครับผมให้ข้อคิดกับ พนักงานทุกคนเสมอว่า “เราต้อง ท�ำงาน และต้องท�ำงานให้มากขึ้น” ขอบคุณครับ
(นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
4
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท สากลเอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) มีจ�ำนวน 4ท่าน ประกอบด้วย (1) พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรีชา ประธานกรรมการตรวจสอบ (2) นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี กรรมการตรวจสอบ (3) นางรวิฐา พงษ์นุชิต กรรมการตรวจสอบ และ (4) นายอัฐวุฒิ ปภังกร กรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อ ก�ำหนด และแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันคณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ สอดคล้อง กับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปีบัญชี 2560ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 6ครั้ง โดยมีผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายในเข้าร่วมประชุมด้วย ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําปี2560ของบริษัทฯ และงบการเงินรวม ร่วมกับ สํานัก ตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีโดยได้สอบถามผูส้ อบบัญชีในเรือ่ งความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน การปรับปรุงรายการ บัญชีที่สําคัญ รวมถึงการประมาณการทางบัญชี ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินความเพียงพอเหมาะสมของวิธีการบันทึกบัญชี และขอบเขตการตรวจสอบ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ และความมีอิสระของผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจ ว่าการจัดทํางบการเงินเป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายและมาตรฐานบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปมีความเชื่อ ถือได้และทันเวลา รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เป็นประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงิน 2. สอบทานและให้ความเห็นต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึง การเปิดเผยข้อมูลตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ซึ่งผู้สอบบัญชีได้เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว และคณะ กรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 3. สอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และ ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาจากรายงานการตรวจสอบภายใน และแบบการประเมินความเพียง พอของบริษัทฯ โดยในปี 2560 ไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งบริษัทฯมีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม มีการ เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายในอย่างเพียงพอ เหมาะสมและมีประสิทธิผล นอกจากนีค้ ณะกรรมการตรวจสอบได้ทำ� การสอบทานแผนกลยุทธ์ แผนการตรวจสอบประจาํ ปีและแผนการตรวจสอบระยะ ยาว การปฏิบัติงานตามแผน ผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายในโดยให้ข้อแนะนําและติดตามการดําเนินการแก้ไข ในประเด็นที่มีนัยสําคัญ เพื่อก่อให้เกิดการกํากับดูแลกิจการที่ดีและมีการควบคุมภายในที่เพียงพอ 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจ�ำ ปี 2560 เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรม การบริษัทฯให้ขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำ ปี 2560 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความ เป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทนแล้ว เห็นควรเสนอให้ว่าจ้างบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำ ปี 2560 พร้อมด้วยค่าสอบบัญชีปีละ 2,160,000.- บาท ทัง้ นีค้ ณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกีย่ วกับการเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีดงั กล่าวนี้ ในรอบปีทผี่ า่ นมา เป็นผูส้ อบบัญชีได้ ปฏิบัติงานด้วยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ และมีการปฏิบัติสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
5
โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั ติ ามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้ระบุไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึง่ ใช้ความรูค้ วามสามารถความระมัดระวัง ความรอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ ตลอดจนได้ให้ความ เห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน และคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่ารายงานข้อมูลทางการเงินของบริษัทฯ มีความถูกต้องเชื่อถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่ว ไปบริษัทฯ มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องตามกฎหมาย ข้อผูกพันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจ รวมถึงระบบการกํา กับดูแลกิจการทีด่ ี มีการบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างเพียงพอมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะ สมและมีประสิทธิผล ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (พล.ต.อ.วรพงษ์ ชิวปรีชา) ประธานกรรมการตรวจสอบ
6
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ต�ำแหน่ง
ประธานกรรมการ,กรรมการอิสระ 69
-ปริญญาเอก ดุษฎีบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมโยธา (Civil Eng.) จาก Oregon State University ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Certification Program(DCP)รุน่ 76 ปี 2006สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุ่นที่56 ปี2006สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง
กุมภาพันธ์ 2551 – กรกฎาคม 2557
กรรมการ,ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
พฤษภาคม 2551 – ปัจจุบัน
ต�ำแหน่ง
64
อายุ
เมษายน 2560 – ปัจจุบัน
7
ประธานกรรมการบริษัท ,กรรมการ อิสระ บริษทั สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -ประธานกรรมการก�ำกับกิจการ พลังงาน
-ปริญญาโท(รัฐประศาสนศาตร์)สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุน่ ที1่ 32 ปี2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับ สูง(บยส.) รุ่นที่11สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการยุติธรรม
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) 289,460,803(31.12%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร สามีของนางอารีย์ สุเมธโชติเมธา
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง มกราคม 2552 - กรรมการ,ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบัน บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) กันยายน 2527 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ธารสุวรรณ จ�ำกัด กรกฏาคม 2545 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ธารธนาคม จ�ำกัด กุมภาพันธ์ 2550 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ทรานส์ กรุ๊ป จ�ำกัด พฤษภาคม 2556 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ไทย ไบโอก๊าซ เทคโนโลยี จ�ำกัด มกราคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษทั ซีเอสเค อินเวนทอรี่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด มีนาคม 2557 – พฤศจิกายน - กรรมการ 2560 บริษัท ไทย ทรานส์ วิศวกรรม จ�ำกัด มีนาคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ทีซี เพาเวอร์ รีซอร์สเซส จ�ำกัด มีนาคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ซีเอสเค เวสท์ รีไซคลิ่ง จ�ำกัด กันยายน 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด ตุลาคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษทั สากล เอนเนอยี ไบโอแมส เพาเวอร์15 จ�ำกัด มีนาคม 2558 – พฤศจิกายน - กรรมการ 2560 บริษัท ทรานส์ โซล่า เอนเนอยี จ�ำกัด มิถุนายน 2558 - กรรมการ – พฤศจิกายน 2560 บริษัท จามจุรี 44 ดีไซน์ จ�ำกัด
8
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา
นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา
ต�ำแหน่ง
ต�ำแหน่ง
อายุ
อายุ
กรรมการ,รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอาวุโส
63
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- ปริญญาโท (คณะรัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accredited Program (DAP) รุน่ ที1่ 32 ปี2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) 206,756,858 (22.23%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
ภรรยาของนายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง กุมภาพันธ์ 2553 - กรรมการ,รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารอาวุโส (ก่อนแปรสภาพ) บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) – ปัจจุบัน กันยายน 2527 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษัท ธารสุวรรณ จ�ำกัด กรกฏาคม 2545 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษัท ธารธนาคม จ�ำกัด กรกฎาคม 2546 – - กรรมการ ปัจจุบัน บริษัท ที ไลน์ ทรานสปอร์ต จ�ำกัด กุ ม ภาพั น ธ์ 2550 – - กรรมการ ปัจจุบัน บริษัท ทรานส์ กรุ๊ป จ�ำกัด มิถนุ ายน 2555 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษัท พีทีซี โฮลดิ้ง จ�ำกัด พฤษภาคม 2556 – - กรรมการ ปัจจุบัน บริษัท ไทย ไบโอก๊าซ เทคโนโลยี จ�ำกัด กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 – - กรรมการ ปัจจุบัน บริษัท เอ็น15 เทคโนโลยี จ�ำกัด มีนาคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท บี.พี.15 จ�ำกัด กันยายน 2557 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด ตุลาคม 2557 – ปัจจุบัน - กรรมการ บริษทั สากล เอนเนอยี ไบโอแมส เพาเวอร์15 จ�ำกัด มีนาคม 2558 - กรรมการ – พฤศจิกายน 2560 บริษัท ซีเอเอ็น 145 จ�ำกัด มกราคม 2559 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษัท สโมสรเทเบิลเทนนิสธารสุวรรณ จ�ำกัด
กรรมการ,กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ 36
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- ปริญญาตรี (International Marketing) Bournemouth University - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุ่นที่127 ปี2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) 930,661 (0.10%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
บุตรของคุณชัชชัยและคุณอารีย์ สุเมธโชติเมธาและ เป็นสามีของนางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง กุมภาพันธ์ 2553 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบัน มิ ถุ น ายน 2555 – ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2556 – ปัจจุบัน กุมภาพันธ์ 2557 – ปัจจุบัน กั น ยายน 2557 – ปัจจุบัน ตุ ล าคม 2557 – ปัจจุบัน
- กรรมการ,กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พีทีซี โฮลดิ้ง จ�ำกัด - กรรมการ - บริษัท ซีเอสเค อินเวนทอรี่ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอ็น15 เทคโนโลยี จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั สากลเอนเนอยี ไบโอแมส เพาเวอร์15 จ�ำกัด
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล ต�ำแหน่ง
กรรมการ, ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน,กรรมการ สรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
อายุ 32
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ (การเงิน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accredited Program (DAP) รุ่นที่127 ปี2016สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตรFinancial Statements for Directors (FSD)รุ่น 32 ปี 2017สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Board Nomination and Compensation Program รุ่น 1/2017 - หลักสูตรประกาศนียบัตรYoung CFOCertification Program รุ่นที่ 1สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรม ราชูปถัมภ์
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ภรรยาของ นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง พฤศจิกายน 2558 -กรรมการ,ประธานเจ้าหน้าที่ (ก่อนแปรสภาพ) บริหารการเงิน,กรรมการสรรหา – ปัจจุบัน และก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน)
9
นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา ต�ำแหน่ง กรรมการ,ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ,เลขานุการบริษัท อายุ 32
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- ปริญญาโท International Marketing (MA),London Metropolitan University, London ,UK - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุ่น ที่132 ปี2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Driving Strategic Success with IT Governance (ITG) รุน่ ที่ 3/2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลั ก สู ต ร Anti-Corruption Practice Guide ACPG รุ ่ น ที่ 34/2016สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร นักบริหารรุน่ ใหม่เพือ่ งานพิทกั ษ์สนั ติราษฎร์ (บพส.) รุ่นที่1คณะต�ำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ - หลักสูตรประกาศนียบัตรโครงการพัฒนาธุรกิจลูกค้า KTB-MMS รุ่นที่ 2ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด(มหาชน)
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) 930,661 (0.10%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร บุตรของคุณชัชชัยและคุณอารีย์ สุเมธโชติเมธา
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง พฤศจิกายน 2558 - กรรมการ,ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปฏิบตั กิ าร (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบนั ,เลขานุการบริษทั บริษทั สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) เมษายน 2555 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษทั ทรานส์ เอนเนอยี จ�ำกัด มิถนุ ายน 2555 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษทั พีทซี ี โฮลดิง้ จ�ำกัด กุมภาพันธ์ 2557 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษทั เอ็น15 เทคโนโลยี จ�ำกัด มีนาคม 2557 - กรรมการ – พฤศจิกายน 2560 บริษทั ไทย ทรานส์ วิศวกรรม จ�ำกัด มีนาคม 2557 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษทั บี.พี.15 จ�ำกัด มีนาคม 2558 - กรรมการ – พฤศจิกายน 2560 บริษทั ซีเอเอ็น 145 จ�ำกัด มีนาคม 2558 – พฤศจิกายน - กรรมการ 2560 บริษทั ทรานส์ โซล่า เอนเนอยี จ�ำกัด มกราคม 2559 – ปัจจุบนั - กรรมการ บริษทั สโมสรเทเบิลเทนนิสธารสุวรรณ จ�ำกัด
10
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นางธนิภา พวงจ�ำปา
พลต�ำรวจเอกวรพงษ์ ชิวปรีชา
ต�ำแหน่ง
ต�ำแหน่ง
อายุ
อายุ
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
กรรมการ
กรรมการอิสระ,ประธานกรรมการตรวจสอบ 64
56
- ปริญญาโท (หลักสูตรการจัดการภาครัฐและเอกชน)สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ -หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุน่ ที1่ 34 ปี2017สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ตุลาคม 2558 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบนั ตุลาคม 2550 – ปัจจุบนั
กันยายน 2551 – ปัจจุบนั กันยายน 2551 – ปัจจุบนั กรกฎาคม 2553 – ปัจจุบนั สิงหาคม 2556 – ปัจจุบนั สิงหาคม 2557 – ปัจจุบนั กันยายน 2557 – ปัจจุบนั ตุลาคม 2557 – ปัจจุบนั พฤศจิกายน 2557 – ปัจจุบนั สิงหาคม 2558 – ปัจจุบนั พฤศจิกายน 2558 – ปัจจุบนั พฤศจิกายน 2558– ปัจจุบนั
- กรรมการ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ที.เอส.ปาล์ม ออยล์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ไทย อัลเทอเนทีฟ เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท โกลบอล ปาล์ม ออยล์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ซันนี่ ดีว่า จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท โกลบอล อินเตอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เดอะลอฟตี้ แวร์เฮาส์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด - กรรมการ บริษทั สากล เอนเนอยี ไบโอแมส เพาเวอร์15 จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท โกลบอล รีฟายเนอรี่ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ดอนสัก วิลล์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท จีไอ กรีน พาวเวอร์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท จีไอ กรีน ปาล์ม ออยล์ จ�ำกัด
- ปริญญาโท (รัฐประศาสนศาตร์) “เกียรตินิยมดี” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Certification Program(DCP) รุ่น 218ปี 2016สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง พฤศจิกายน 2558 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบนั กุมภาพันธ์ 2552 – ปัจจุบนั 2558 - ปัจจุบนั 2556 - 2558 2555 - 2556
-กรรมการอิสระ ,ประธานกรรมการ ตรวจสอบ บริษทั สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริ ษั ท สโมสรฟุ ต บอลโล่ ห ์ เ งิ น จ�ำกัด (มหาชน) - รองประธาน คณะกรรมาธิการ ชับเคลื่อนการปฎิรูปประเทศด้าน กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม สภาขับเคลื่อนการปฎิรูปประเทศ - รองผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ - ผูช้ ว่ ย ผูบ้ ญ ั ชาการต�ำรวจแห่งชาติ. ทีป่ รึกษา (สบ 10)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นางรวิฐา พงศ์นุชิต
ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ต�ำแหน่ง
กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ
11
ต�ำแหน่ง
อายุ
กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ,ประธานกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
อายุ
64
- ปริญญาเอก ดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์)มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง - ปริญญาเอก (วิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาเทคโนโลยีความ ปลอดภัย) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา - ปริญญาเอก (วิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปริญญาเอก (วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Certification Program(DCP) รุ่น 115 ปี 2009สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตรFinancial Statements for Directors (FSD)รุ่น 4 ปี 2009สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตรRole of the Chairman Program (RCP) รุ่น 23 ปี 2010สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง พฤศจิกายน 2558 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบัน ต�ำแหน่งงานปัจจุบัน
-กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) -นายกสมาคมนิ สิ ต เก่ า มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์(ส.มก.) -ประธานคณะกรรมการมู ล นิ ธิ ก ารจั ด การทรั พ ยากร อย่างยั่งยืน (มูลนิธิ 3R) -ประธานคณะกรรมการมู ล นิ ธิ เ พื่ อ พั ฒ นาการ ประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรม (วธอ.) ต�ำแหน่งราชการทีผ่ า่ นมา -ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม -รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม -อธิบดีกรมอุตสาหกรรม -อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ -ผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม คณะกรรมการ (BOD) ภาค -ประธานคณะกรรมการการนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง รัฐและภาคเอกชน ประเทศไทย (กนอ.) -ประธานคณะกรรมการ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) -ประธานคณะกรรมการบริ ห ารส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) -ประธานคณะกรรมการบริหารธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) นายกสมาคม -ประธานคณะกรรมการอุ ต สาหกรรมพั ฒ นามู ล นิ ธิ กระทรวงอุตสาหกรรม -ประธานคณะกรรมการสถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่ ง ชาติ สถาบั น ยานยนต์ สถาบั น อาหารสถาบั น เหล็ ก และ เหล็กกล้าแห่งประเทศไทย สถาบันพลาสติก สถาบัน ก่อสร้างแห่งประเทศไทย -กรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (อก.) -กรรมการปตท.ส� ำ รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จ� ำ กั ด (มหาชน) (ปตท.สผ.) -นายกสมาคมส่งเสริมคุณภาพแห่งประเทศไทย (อก.) - น า ย ก ส ม า ค ม นิ สิ ต เ ก ่ า วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -นายกสมาคมนั ก เรี ย นเก่ า เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาใน พระบรมราชูปถัมภ์
68
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- ปริญญาโท (หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Certification Program(DCP) รุ่น 59 ปี 2005สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) -ไม่มี-
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร -ไม่มี-
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง พฤศจิกายน 2558 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบัน กันยายน 2535 – ปัจจุบัน มิถุนายน 2537 – ปัจจุบัน กันยายน 2547 – ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2550 – ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2554 – ปัจจุบัน มีนาคม 2556 – ปัจจุบัน มีนาคม 2556 – ปัจจุบัน
- กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ,ประธาน กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท น�่ำเฮง คอนกรีต (1992) จ�ำกัด - กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ,ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท โซลาร์ตรอน จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท ซิ น เน็ ค (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท ภูตรา คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด - ประธานกรรมการ บริษัท จันทร์ค�ำ เรสซิเดนซ์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ไวส์ แมเนจเมนท์ แอดไวซอรี่ จ�ำกัด
12
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ดร.อัฐวุฒิ ปภังกร ต�ำแหน่ง
กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ
อายุ 32
คุณวุฒิทางการศึกษา /ประวัติอบรม
- DBA in Business and Administration major in Management (Corporate governance)University of The Thai Chamber of Commerce -ปริญญาโท(หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต)มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี (หลักสูตรบัญชีบัณฑิต) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ - หลักสูตรประกาศนียบัตรDirector Accredited Program (DAP) รุ่นที่134 ปี2017สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%)(1) - ไม่มี -
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร - ไม่มี -
ประสบการณ์การท�ำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง กันยายน 2559 (ก่อนแปรสภาพ) – ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2535 – ปัจจุบัน ตุลาคม 2549 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2549 – ปัจจุบัน พฤศจิกายน 2549 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2549 – มกราคม 2561
- กรรมการอิสระ,กรรมการตรวจสอบ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท ส�ำนักงาน สัจพงษ์ ทนายความ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ชนาธิป ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท คริษฐา จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท กณิศา จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท กรกฎ ป่าตอง จ�ำกัด
หมายเหตุ: ข้อมูลสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท เป็นข้อมูล ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561
พฤศจิกายน 2549 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2550 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2550 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2550 – มกราคม 2561 กันยายน 2550 – มกราคม 2561 กันยายน 2550 – มกราคม 2561 พฤศจิกายน 2550 – มกราคม 2561 มกราคม 2553 – ปัจจุบัน พฤษภาคม 2553 – ธันวาคม 2560 มิถุนายน 2554 – ปัจจุบัน มิถุนายน 2558 – ปัจจุบัน มิถุนายน 2558 – ปัจจุบัน กันยายน 2558 – ปัจจุบัน
- กรรมการ บริษัท ชัชพงษ์ ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท สวรินทร์ ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท พลาธิป ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท พิธิวัต ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อดิรุจ ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อธิป ป่าตอง จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท อนุทัต จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ปิ่นเกล้า-บางล�ำภู จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ออสเมียม จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท นาวารักษ์ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท ทรัพย์สิทธิ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท โฮท ฮอร์โลจีรี่ จ�ำกัด - กรรมการ บริษัท มิตรที่อยู่ จ�ำกัด
ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 14 - 23 24 - 47 48 - 55 56 - 59
นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยเสี่ยง ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น
14
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
1.นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
1.1 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ
บริษัท สากล เอนเนอยีจ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”)จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2552 โดยเกิด จากการร่วมทุนของ 3 บริษัท คือ บริษัท ธารสุวรรณ จ�ำกัด บริษัท ไอ เอ็ม ไอ อินดัสตรีส์ จ�ำกัด และบริษัท ไทย อัลเทอเน ทีฟ เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ป จ�ำกัดด้วยทุนจดทะเบียน 80.00 ล้านบาทเพื่อด�ำเนินกิจการในการอัดก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas Vehicles: NGV) ให้รถขนส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (“ปตท.”) ตามที่ได้รับการคัดเลือกจาก ปตท. ในโครงการจัดตั้งสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother Station: PMS)โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2560บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 465.00ล้านบาทและมีทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว 346.40 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท ต่อมาวันที่ 20 พฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ได้ขอจดทะเบียนเพิ่มทุนช�ำระแล้วจ�ำนวน 118.60 ล้านบาท รวมเป็นทุนช�ำระแล้วจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ บริษัทฯ จึงมีทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 930.00 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีสถานีกา๊ ซธรรมชาติหลัก จ�ำนวน 2 แห่ง คือ สถานีกา๊ ซธรรมชาติหลัก ต�ำบลเชียงรากน้อย อ�ำเภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติสูงสุด เท่ากับ 350 ตันต่อวัน และสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก ต�ำบลท่า มะปราง อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีก�ำลังการอัดอัดก๊าซธรรมชาติสูงสุด เท่ากับ 400 ตันต่อวัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพในการต่อยอดทางธุรกิจ จึงศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนในกิจการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพลังงานอีก ด้วย
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
15
1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ เพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้น�ำธุรกิจด้านการให้บริการพลังงานของประเทศ ค่านิยม 1. ตั้งมั่นในคุณธรรมความซื่อสัตย์ 2. มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ 3. ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม 4. ร่วมสร้างความเชื่อมั่น 5. ทุ่มเทเพื่อความปลอดภัยสูงสุด 6. ร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม พันธกิจ ด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงาน โดยค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาคส่วนดังนี้ ต่อผู้ถือหุ้น : สร้างผลตอบแทนที่ดี และขยายธุรกิจให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ต่อพนักงาน : สนั บ สนุ น การฝึ ก อบรมและพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งพร้ อ มด้ ว ยสวั ส ดิ ก าร และผลตอบแทนตามสมควรและเป็นธรรม และให้ความส�ำคัญสูงสุดด้าน ความปลอดภัย ต่อคู่ค้า : มุ่งสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจที่ดีกับคู่ค้าเพื่อธุรกิจที่ยั่งยืนมุ่ง ต่อลูกค้า : สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า ด้วยการรักษามาตรฐานในการบริการระดับ สูงที่เปี่ยมด้วยนวัตกรรม ต่อเจ้าหนี้ : ให้ความส�ำคัญต่อการปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต ต่อคูแ่ ข่ง : สนับสนุนและส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรมโดย ปฏิบตั ติ ามกรอบการแข่งขันทีด่ มี จี รรยาบรรณและอยูใ่ นกรอบของกฎหมาย ต่อสังคม : เป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และส่วนรวม เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ 1. เป็นผู้น�ำในธุรกิจรับจ้างอัดก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน 2. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาธุรกิจใหม่ด้านพลังงานอย่างต่อเนื่อง
MISSION
VISION
16
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
3. ลงทุนในธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4. จัดสรรงบประมาณที่เพียงพอและเหมาะสม 5. เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจ เพื่อบรรลุเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ มุ่งเน้นกลยุทธ์ 3 ด้าน ได้แก่ 1. กลยุทธ์ด้านการลดต้นทุน 2. กลยุทธ์ด้านในการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง 3. กลยุทธ์ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีในการอัดก๊าซธรรมชาติ
เป็นผู้น�ำในธุรกิจรับจ้างอัดก๊าซ ธรรมชาติหลักเอกชน
ลงทุนในธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม
ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาธุรกิจ ใหม่ด้านพลังงานอย่างต่อเนื่อง
เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
จัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ และเหมาะสม
17
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ประวัประวั ติความเป็ นมานการเปลี ่ ยนแปลงและพั ฒนาการที ่ สาคั่สญ�ำคัญ 1.3 1.3 ติความเป็ มา การเปลี ่ยนแปลงและพั ฒนาการที สรุปล�ำดับสรุ เหตุปลกาดั ารณ์บเหตุ ส�ำคักญารณ์ ของบริ ฯ ษัทฯ สาคัษญัทของบริ ปี 2551
เหตุการณ์ สาคัญ ้ ก๊าซธรรมชาติ ในเดือนตุลาคม บริ ษัท ธารสุวรรณ จากัด ยื่นข้ อเสนอเข้ าประมูลในโครงการจัดตังสถานี หลักเอกชนที่จงั หวัดปทุมธานี
2552
ได้ รับผลแจ้ งการคัดเลือกในการจัดตังสถานี ้ ก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ในเขตพื ้นที่ 1 (ตาบลเชียงรากน้ อย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี) เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2552 จดทะเบียนก่อตังบริ ้ ษัท สากล เอนเนอยี จากัด เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2552 ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก จานวน 80,000,000 บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจานวน 800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท โดยมีทนุ ชาระ แล้ วเป็ นจานวนมูลค่าหุ้นละ 25 บาท รวมมีทนุ จดทะเบียนชาระแล้ ว 20,000,000 บาท ในเดือนมกราคม บริ ษัทฯ ท าสัญ ญาจะซือ้ จะขายที่ดินที่ต าบลเชี ย งรากน้ อย อาเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี เพื่อใช้ ในการก่อสร้ างสถานีก๊าซธรรมชาติหลักที่ปทุมธานี ในเดือนมีนาคม เพื่อให้ มีคณ ุ สมบัติสอดคล้ องตามข้ อเสนอเพื่อดาเนินโครงการจัดตังสถานี ้ ก๊าซธรรมชาติ หลักเอกชน จึงเกิดการร่วมทุนของ 3 บริ ษัท ดังนี ้ 1. บริ ษัท ธารสุวรรณ จากัด เป็ นผู้ก่อตังบริ ้ ษัทฯ 2. บริ ษัท ไอเอ็มไอ อินดัสตรี ส์ จากัด (IMI) (เดิมชื่อ บริ ษัท อินเตอร์ เนชัน่ แนล เมเซอริ่ ง อินดัสตรี ส์ จากัด) ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2532 เป็ นผู้มีประสบการณ์ทางด้ านวิศวกรรม ซึง่ IMI เป็ นบริ ษัทที่ได้ รับ การขึ ้นทะเบียนเป็ นผู้ค้าที่รับรองแล้ ว (Approved Vendor List) กับ ปตท. ทังนี ้ ้ IMI ได้ เข้ าร่ วมจัดตัง้ บริ ษัทฯ โดยเป็ นผู้ที่ให้ การสนับสนุนด้ านวิศวกรรม 3. บริ ษัท ไทย อัลเทอเนทีฟ เอ็นเนอร์ ยี กรุ๊ป จากัด (TAE) ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 ประกอบ ธุรกิจลงทุนในบริ ษัทอื่น โดยเน้ นการถือในธุรกิจประเภทพลังงาน ทังนี ้ ้ TAE ได้ เข้ าร่ วมจัดตังบริ ้ ษัทฯ เนื่องจากเป็ นผู้ที่สนใจร่วมลงทุน บริ ษัทฯ ลงนามในสัญญาระยะยาว 20 ปี ในการดาเนินธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (PMS) ฉบับ ที่ 1 กับ ปตท. เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2552 โดยสถานีตงอยู ั ้ ่ที่ตาบลเชียงรากน้ อย อาเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี มีกาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติตามสัญญาไม่ต่ากว่า 200 ตันต่อวัน และมีกาลังสารองการผลิต ร้ อยละ 25 ตลอดอายุสญ ั ญา บริ ษัทฯ เริ่ มดาเนินการก่อสร้ างสถานีแห่งแรกที่จงั หวัดปทุมธานี ในเดือนพฤษภาคม เมื่อเดือนกรกฎาคม บริ ษัทฯ ชาระทุนจดทะเบียนเพิ่มเติมอีก 60,000,000 บาท รวมเป็ นทุนจดทะเบียน และเรี ยกชาระแล้ วเต็มจานวน 80,000,000 บาท บริ ษัทฯ เริ่ มปฏิบตั ิการจ่ายก๊ าซธรรมชาติตามสัญญาให้ กบั ปตท. เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2552 โดยสามารถ อัดก๊ าซธรรมชาติให้ กบั รถขนส่งก๊ าซธรรมชาติของ ปตท. ได้ เฉลีย่ วันละประมาณ 250 ตัน (ปทุมธานี) บริ ษัทฯ ได้ รับบัตรส่งเสริ มการลงทุน ฉบับที่ 1 สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัดปทุมธานีจาก คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 โดยได้ รับสิทธิประโยชน์เพื่อการ ลงทุนในกิจการสาหรับการลงทุนในกิจการ สถานีก๊าซธรรมชาติสาหรับยานพาหนะ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ หน้ า 3
18
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ปี 2553
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
เหตุการณ์ สาคัญ ในเดือนมิถุนายน บริ ษัท ฯ ทาสัญ ญาจะซือ้ จะขายที่ดิน ตาบลท่ามะปรางและต าบลห้ วยแห้ ง อาเภอ แก่งคอย จังหวัดสระบุรี เพื่อใช้ ในการจัดตังสถานี ้ ก๊าซธรรมชาติหลักที่สระบุรี ในเดือนสิงหาคม บริ ษัทฯ เข้ าประมูลในโครงการสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนที่จงั หวัดสระบุรี ในเดื อ นตุ ล าคม บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ ผลแจ้ งการคั ด เลื อ กในการจั ด ตัง้ สถานี ก๊ าซธรรมชาติ ห ลัก เอกชน ในพื ้นที่จงั หวัดสระบุรี ในเดือนตุลาคม บริ ษัทฯ ได้ เพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 80,000,000 บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจานวน 800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ 100 บาท โดยชาระแล้ วเป็ นจานวนมูลค่าหุ้นละ 25 บาท โดยบริ ษัทฯ จัดสรรให้ แก่ผ้ ถู ือ หุ้นเดิม ทาให้ บริ ษัทฯ มีทนุ จดทะเบียนรวมทังหมด ้ 160,000,000 บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจานวน 1,600,000 หุ้น และมีทนุ จดทะเบียนชาระแล้ ว 100,000,000 บาท บริ ษัทฯ เริ่ มดาเนินการก่อสร้ างสถานีแห่งที่ 2 ที่จงั หวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2553
2554
บริ ษัทฯ ได้ รับบัตรส่งเสริ มการลงทุน ฉบับที่ 2 สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน จังหวัดสระบุรี จาก คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2554 โดยได้ รับสิทธิประโยชน์เพื่อการลงทุน ในกิจการสาหรับการลงทุนในกิจการ สถานีก๊าซธรรมชาติสาหรับยานพาหนะ ในเดือนกุมภาพันธ์ บริ ษัทฯ ได้ ชาระทุนจดทะเบียนเพิ่มเติมอีก 60,000,000 บาท รวมเป็ นทุนจดทะเบียน และเรี ย กช าระแล้ ว เต็ ม จ านวน 160,000,000 บาท แบ่ งเป็ น หุ้น สามัญ จ านวน 1,600,000 หุ้น มูล ค่ า ที่ตราไว้ 100 บาท บริ ษัทฯ ลงนามในสัญญาระยะยาว 20 ปี ในการดาเนินธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ฉบับที่ 2 กับ ปตท. เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 โดยสถานีตงอยู ั ้ ่ที่ตาบลท่ามะปราง อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีกาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติไม่ต่ากว่า 200 ตันต่อวัน และมีกาลังสารองการผลิตร้ อยละ 25 ตลอดอายุ สัญญา บริ ษัทฯ เริ่ มปฏิบตั ิการจ่ายก๊ าซธรรมชาติตามสัญญาให้ กบั ปตท. เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2554
2555
ในเดือนมิถนุ ายน บริ ษัทฯ ได้ ทาแก้ ไขสัญญาเพิ่มกาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติ กับ ปตท. สาหรับสถานีก๊าซ ธรรมชาติหลักเอกชน จังหวัดสระบุรี โดยมีกาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติไม่ต่ากว่า 320 ตันต่อวัน และมีกาลัง สารองการผลิตร้ อยละ 25 ตลอดอายุสญ ั ญา
2557
้ ษัท เอสเค 15 จากัด ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก จานวน 140.00 ล้ านบาท ในเดือนกันยายน ได้ จดั ตังบริ โดยบริ ษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 เพื่อดาเนินธุรกิจให้ เช่าอสังหาริ มทรัพย์ ในเดือนตุลาคม ได้ จัดตัง้ บริ ษัท สากล ไบโอแมส พาวเวอร์ จากัด ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก จานวน 19.00 ล้ านบาท โดยบริ ษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 เพื่อประกอบกิจการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า ในเดือนตุลาคม ได้ จดั ตัง้ บริ ษัท สากล วินด์ พาวเวอร์ จากัด ด้ วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก จานวน 62.00 ล้ านบาท โดยบริ ษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 เพื่อประกอบกิจการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า ในเดือนธันวาคม บริ ษัทฯ ดาเนินการเรื่ องการขอเพิ่มปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติอี กจานวน 100 ตันต่อ วันกับ ปตท. สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัดปทุมธานี 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ หน้ า 4
19
รายงานประจำ�ปี 2560 ัท สากลเอนเนอยี เอนเนอยี จำ�จํกัาดกั(มหาชน) บริษบริัทษสากล ด (มหาชน)
ป 2558
เหตุการณสําคัญ ในเดือนกรกฎาคมบริษัท ไอเอ็มไอ อินดัสตรีส จํากัด ไดถอนหุนคืนจากบริษัทฯจํานวน 16.00 ลานบาท ทําใหทุนจดทะเบียนรวมของบริษัทฯ ลดลงจาก 160.00 ลานบาท เปน 144.00 ลานบาท ในเดือนมิถุนายน บริษัทฯ ทําสัญญาเพิม่ เติมในการปรับปรุงคุณภาพกาซ สําหรับสถานีกาซธรรมชาติที่ จังหวัดปทุมธานี บริษัท สากล วินด พาวเวอร จํากัดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร 15 จํากัด เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2558 บริษัทฯ ไดเพิ่มทุนจดทะเบียนอีก 202,400,000 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 2,024,000 หุน มูลคา ที่ตราไว 100 บาท โดยชําระแลวเต็มจํานวนรวมบริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งหมด 346,400,000 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน 3,464,000 หุน มูลคาที่ตราไว 100 บาท
2559
บริษัท สากล ไบโอแมส พาวเวอร จํากัด ไดจดทะเบียนเลิกบริษัท เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2559 และสิ้นสุด การชําระบัญชีเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 มีมติอนุมัติดังนี้ - อนุมัติการแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัด และเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท สากล เอนเนอยี จํากัด (มหาชน) - อนุมัติการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวจากหุนละ 100 บาท เปนหุนละ 0.5 บาท โดยเปน ผลใหจํานวนหุนที่ออกแลวเพิ่มจาก 3,464,000 หุน เปน 692,800,000หุน - อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 346,400,000บาท เปน 465,000,000 บาท โดยจัดสรรหุนเพิ่มทุน เสนอขายแกประชาชนทั่วไป(IPO) จํานวนไมเกิน 237,200,000 หุนมูลคาที่ตราไวหุนละ 0.5 บาท ณ วันที่14กันยายน 2559บริษัทฯ ไดจดทะเบียนแปรสภาพบริษัทเปนบริษัทมหาชนจํากัด
2560
ในเดือนมีนาคม บริษัทฯ เปลี่ยนแปลงผูถือหุนจากบริษัท ธารสุวรรณ จํากัด และบริษัท ไทย อัลเทอเนทีฟ เอ็นเนอรยี กรุป จํากัด ซึ่งถือหุนรอยละ 72.22 และรอยละ 27.78 ตามลําดับ เปนผูถือหุนบุคคลธรรมดา (โปรดดูรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงผูถือหุนในสวนที่ 5 ขอมูลหลักทรัพยและผูถือหุน หัวขอ โครงสรางผู ถือหุน) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวจํานวน 118,600,000 บาท รวม เปนทุนชําระแลวจํานวน 465,000,000บาทแบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 930,000,000 หุน เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2560บริษัทฯ ไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (SET)
2561
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2561 มีมติอนุมัติใหบริษัทฯ เขาซื้อ กิจการของบริษัท อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัดในสัดสวนรอยละ 75 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวของ บริษัท อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัด จํานวน 7,500 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 100 บาท ในราคาหุนละ 1,267.67 บาท รวมทัง้ สิน้ 9,500,000 บาท โดย ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ 2561 บริษัทฯ ไดถือหุนของบริษัท อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัด จํานวน 7,500 หุนและวันที่ 6 มีนาคม 2561บริ ัท อารเอนเนอยี อี ไบโอฟูเจํอลส ากัดได บริษัทษสากล ากัดจํ(มหาชน) จดทะเบียนเพิ่มทุนอีกจํานวน 14,000,000 บาทโดยบริษัทฯ ไดถือหุนในบริษัท อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัด การณ ําคัญนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวของบริษัทอารอี จํานวน 112,500 หุน หรือคิดเปนสัดสวนรเหตุ อยละ 75สของทุ ไบโอฟูเอลส จํากัด
ป
1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจหนา 5
1.4
โครงสรางการถือหุนของบริษัท
20
1.4
ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนอีกจํานวน 14,000,000 บาท โดยบริษัทฯ ไดถือหุนในบริษทั อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัดจํานวน 112,500 หุน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 75 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวของบริษัท รายงานประจำ�ปี 2560 อารอี ไบโอฟู เอลส จํากัด บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
1.4 โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท
โครงสรางการถือหุนาของบริ แผนภาพแสดงโครงสร้ งการถืษอหุัท้นและสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561 แผนภาพแสดงโครงสรางการถือหุนและสัดสวนการถือหุนของบริษัท ณ วันที่ 15มีนาคม2561 53.80%
20.69%
25.51%
แกตาราง
99.99%
99.99%
75.00%
หมายเหตุ : บริษัท อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัด เป็น บริษัทย่อยของบริษัทฯเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2561
รายละเอียยดการถื ดการถืออหุหุ้นนในบริษัทย่ยอย ณ ที่ 31ธันธัวาคม นวาคม2561 2560 รายละเอี วันวัทีน่ 31 ทุนจดทะเบียน ชําระแลว (บาท)
ชื่อบริษัท บริษัท เอสเค 15 จํากัด บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร 15 จํากัด บริษัท อารอี ไบโอฟูเอลส จํากัด
สัดสวนการถือ หุน
140,000,000 62,000,000
(รอยละ) 99.99 99.99
15,000,000
75.00
(เปนบริษัทยอยของบริษัทฯเมื่อเดือนกุมภาพันธ 2561) 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจหนา 6
ธุรกิจหลัก ใหเชาอสังหาริมทรัพย อยูระหวางการศึกษาความ เปนไปไดของการดําเนินธุรกิจ โรงไฟฟาชีวมวล ผลิตและจําหนายกาซไบโอ มีเทนอัด ขนาดกําลังการผลิต 9,000 กิโลกรัมตอวัน
บริษัทย่อย 1. บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด (SK 15 Company Limited) บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่11 กันยายน 2557 เพื่อประกอบธุรกิจให้เช่า อสังหาริมทรัพย์มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เขตจตุจักรกรุงเทพมหานครโดย ณ วันที่ 31ธันวาคม2560บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด มีทุนจดทะเบียน 140,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ1,400,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาทและมีทุนช�ำระ แล้วเต็มจ�ำนวนโดยบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วทั้งหมด ปัจจุบันบริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด มีที่ดินจังหวัดนครสววรค์ ประมาณ 57 ไร่ โดยแบ่งให้บุคคลภายนอกเช่าพื้นที่บางส่วน ส�ำหรับที่ดินส่วนที่เหลือบริษัท เตรียมพื้นที่ส�ำหรับพัฒนาโครงการในอนาคต
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
21
2. บริษทั สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15จ�ำกัด (Sakol Energy Biomass Power 15 Company Limited) บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15จ�ำกัด(เดิมชื่อบริษัท สากล วินด์ พาวเวอร์ จ�ำกัด) จดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที2่ 1ตุลาคม2557เพือ่ ศึกษาความเป็นไปได้ของการด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวลมีสำ� นักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลเชียงรากน้อย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานีโดย ณ วันที่ 31ธันวาคม2560บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15จ�ำกัดมีทุนจดทะเบียน62,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ620,000หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้น ละ100 บาท และมีทุนช�ำระแล้วเต็มจ�ำนวน โดยบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 99.99 ของทุนช�ำระแล้ว ปัจจุบันบริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15 จ�ำกัด มีที่ดินจังหวัดสงขลา ประมาณ 101 ไร่ โดยบริษัทเตรียมพื้นที่ส�ำหรับพัฒนา โครงการในอนาคต 3. บริษัท อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัด (RE BioFuels Company Limited) บริษทั อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัด จดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 17 กรกฎาคม2560 เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวล มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่3 อาคารพร้อมพันธุ์ 3 ยูนิต 706 ชั้น 7 ซอยลาดพร้าว 3 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โดย ณ วันที่ 6 มีนาคม 2561 บริษัท อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัด มีทุนจดทะเบียน 15,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้น สามัญ 150,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ100 บาท และมีทนุ ช�ำระแล้วเต็มจ�ำนวน โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 75.00 ของทุนช�ำระแล้ว ปัจจุบัน บริษัท อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัดด�ำเนินธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายก๊าซไบโอมีเทนอัด (Compressed Bio-methane Gas) ขนาดก�ำลังผลิต 9,000 กิโลกรัมต่อวัน โดยน�ำก๊าซชีวภาพที่ผลิตจากน�้ำเสียของโรงงานแปรรูปแป้งมัน ส�ำปะหลังมาเข้าสูก่ ระบวนการปรับปรุงคุณภาพและอัดก๊าซเพือ่ ให้ได้กา๊ ซไบโอมีเทนอัดทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ทียบเท่าก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับยานยนต์(Natural Gas for Vehicles) และขายให้กับกลุ่มลูกค้าหลักซึ่งเป็นกลุ่มผู้ขับขี่รถบรรทุกที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ (NGV) เป็นเชื้อเพลิง
1.5 ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ มี และโปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ “11. รายการระหว่างกัน” โครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทอื่นของผู้ถือหุ้นใหญ่ณ 31ธันวาคม2560มีรายละเอียดดังนี้ 1. รายชื่อกิจการหรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับครอบครัวสุเมธโชติเมธา1/
22
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท 1
บริษัท สากล เอนเนอยี จํากัด (มหาชน)
ลักษณะการดําเนินธุรกิจ
บริษัท เอ็น15 เทคโนโลยี จํากัด
สัดสวนการถือหุนของ ครอบครัวสุเมธโชติเมธา 90.00%
กําจัดขยะอุตสาหกรรมที่ไมเปน อันตรายและโรงไฟฟาจายขยะภายใน นิคมอมตะนคร 2 บริษัท ทรานส กรุป จํากัด ซื้อ ขาย แรลิกไนท และไมแปรรูป 100.00% 3 บริษัท บี.พี.15 จํากัด ผลิตและจําหนายเชื้อเพลิงชีวมวลอัด 80.00% (Wood pellet) 4 บริษัท พีทีซี โฮลดิ้ง จํากัด เหมืองแร / ขายถานหิน / ขายเชื้อเพลิง 100.00% ชีวมวล และใหเชาสํานักงาน 5 บริษัท ธารธนาคม จํากัด ขนสงสินคาประเภทเกษตรกรรม 100.00% ตูคอนเทนเนอรถานหิน และปูนซีเมนต 6 บริษัท ธารสุวรรณ จํากัด ขนสงสินคาประเภทเกษตรกรรม 100.00% ตูคอนเทนเนอรถานหิน ปูนซีเมนต และกาซธรรมชาติ NGV 7 บริษัท ที ไลน ทรานสปอรต จํากัด ขนสงตูสินคา Container 100.00% 8 บริษัท ซีเอสเค อินเวนทอรี่ จํากัด ใหเชาคลังสินคา 70.00% 9 บริษัท ซีเอสเค อินเวนทอรี่ เซอรวิสเซส ใหบริการการจัดการในคลังสินคา 70.00% จํากัด 10 บริษัท ไทย ทรานส วิศวกรรม จํากัด3/ ใหบริการกอสรางโรงงาน คลังสินคา 0.004% (ทางตรง) และ ออฟฟตสํานักงาน 100.00% (ทางออม โดยถือหุน ผาน บริษัท ทรานส โซลาร เอน เนอยี จํากัด และบริษัท พีทีซีโฮ ลดิ้ง จํากัด) 11 บริษัท ทรานส เอนเนอยี จํากัด รับเหมากอสรางโรงงาน และ 100.00% สํานักงาน 12 บริษัท ทรานส โซลาร เอนเนอยี จํากัด โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย 0.02% (ทางตรง) 3/ 100.00% (ทางออม โดยถือหุน ผานบริษัท พีทีซี โฮลดิ้ง จํากัด) 3/ 13 บริษัท ซีเอเอ็น 145 จํากัด ซื้อขายไมแปรรูป 10.00% (ทางตรง) 42.00% (ทางออม โดยถือหุน ผานบริษัท บี.พี.15 จํากัด) 14 บริษัท จามจุรี 44 ดีไซน จํากัด3/ รวบรวมและขาย เศษวัสดุทาง 35.00% การเกษตร 15 บริษัท ซีเอสเค เวสท รีไซคลิ่ง จํากัด2/ นําเอาของเสียมาใชงานใหม 25.00% (ทางตรง) ปจจุบันยังไมมีการดําเนินธุรกิจ 42.00% (ทางออม โดยถือหุน 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจหนา 8
23
รายงานประจำ�ปี 2560 ัท สากลเอนเนอยี เอนเนอยี จำ�จํกัาดกั(มหาชน) บริษบริัทษสากล ด (มหาชน)
ชื่อบริษัท
สัดสวนการถือหุนของ ครอบครัวสุเมธโชติเมธา ผานบริษัท ซีเอสเค อินเวนทอรี่ จํากัด) โครงการนํารองผลิตไฟฟาจากหญาเน 50.00% เปยร รับทําเหมืองแร 50.00% ลักษณะการดําเนินธุรกิจ
16
บริษัท ไทย ไบโอกาซ เทคโนโลยี จํากัด2/ 17 บริษัท ทีซี เพาเวอร รีซอรสเซส จํากัด3/
หมายเหตุ1/ครอบครัวสุเมธโชติเมธา ประกอบดวย 1.นาย ชัชชัย สุเมธโชติเมธา 2.นางอารีย สุเมธโชติเมธา 3.นางสาวอินทิรา สุเมธโชติเมธา 4.นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา 5.นายระพีพัฒน สุเมธโชติเมธา 6.นายจักรพงส สุเมธโชติเมธา 7.นางสาวนภาภัช วิมลวัชรกร และ 8.นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล 2/ ไมเคลื่อนไหว และมีแผนที่จะดําเนินการปดบริษัท 3/ จดทะเบียนเลิกบริษัท เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560 2. รายชื่อกิจการหรือธุรกิจที่เกี่ยวของกับครอบครัวนันที ชื่อบริษัท
ลักษณะการดําเนินธุรกิจ
1
บริษัท โกลบอล ปาลม ออยล จํากัด
2
บริษัท โกลบอล รีฟายเนอรี่ จํากัด
3
บริษัท โกลบอล อินเตอร จํากัด
4
บริษัท จีไอ กรีน ปาลม ออยล จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท จีไอ กรีน เทรดดิ้ง จํากัด) บริษัท จีไอ กรีน พาวเวอร จํากัด บริษัท ซันนี่ ดีวา จํากัด บริษัท ดอนสัก วิลล จํากัด บริษัท เดอะลอฟตี้ แวรเฮาส จํากัด (เดิมชื่อบริษัท กรีนโคล เอ็นเนอรยี่ จํากัด) บริษัท ไทย อัลเทอเนทีฟ เอ็นเนอรยี กรุป จํากัด
5 6 7 8 9
ซื้อขายน้ํามันปาลมและซื้อขาย ผลิตภัณฑ ที่เกี่ยวของกับน้ํามันปาลม อยูระหวางการศึกษาและการจัดตั้ง โครงการ โรงกลั่นน้ํามันปาลม ถังสําหรับจัดเก็บน้ํามันปาลม และ ถัง สําหรับ จัดเก็บผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ ซื้อขายน้ํามันปาลมและซื้อขาย ผลิตภัณฑ ที่เกี่ยวของกับน้ํามันปาลม ผลิตและจําหนายไบโอดีเซล ผลิต และจําหนาย นม โยเกิรต ใหบริการที่พักอาศัย อยูระหวางการศึกษาและการจัดตั้ง Warehouse เก็บสินคา
จัดตั้งขึ้นเพื่อถือหุนบริษัทอื่น โดยเนนการลงทุนในธุรกิจประเภท พลังงาน 2/ 10 บริษัท ที.เอส.ปาลม ออยล จํากัด ซื้อขายน้ํามันปาลมและซื้อขาย ผลิตภัณฑ ที่เกี่ยวของกับน้ํามันปาลม หมายเหตุ1/คุณธนิภา พวงจําปา เปนกรรมการบริษัท 2/ ไมเคลื่อนไหวและมีแผนที่จะดําเนินการปดบริษัท 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจหนา 9
สัดสวนการถือหุนของ ครอบครัวนันที -1/ -1/ -1/ -1/ -1/ 98.00% 3.00% 90.00% 90.00% 11.00%
24 2.
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
2.1
โครงสร้ างรายได้
2.1 โครงสร้างรายได้
รายได้ รวมจากการขายและบริ การของบริ ษัทษแบ่ ละบริกการ าร ส�สำาหรั แต่ลละช่ะช่ววงระยะเวลา งระยะเวลา รายได้ รวมจากการขายและบริ การของบริ ัทแบ่งตามประเภทผลิ งตามประเภทผลิตตภัภัณณฑ์ฑ์แและบริ หรับบแต่ รายละเอี ยดดั อไปนี มีมีรายละเอี ยดดั งต่งอต่ไปนี ้ ้ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ รายได้ รายได้ จากการให้ บริ การ 340.36 93.72 385.55 93.04 310.15 92.94 รายได้ ตามสัญญาเช่าการเงิน 19.94 5.49 22.18 5.35 21.43 6.42 รายได้ อื่น/1 2.87 0.79 6.65/2 1.60 2.12 0.64 รวมรายได้ 363.17 100.00 414.38 100.00 333.70 100.00 /1 หมายเหตุ รายได้ อื่น ได้ แก่ กาไรจากการจาหน่ายกองทุนเปิ ด ดอกเบี ้ยรับ รายได้ คา่ เช่าและค่าสาธารณูปโภค เป็ นต้ น /2 รายได้ อื่นที่เพิ่มขึ ้นในปี 2559 เนื่องจากบริ ษัทฯ มีการรับรู้กาไรจากการขายที่ดิน
2.2
ลักษณะผลิ ตภัณตฑ์ภัณ และบริ การการ 2.2 ลักษณะผลิ ฑ์และบริ
ลั ลักกษณะการประกอบธุ ษณะการประกอบธุรรกิกิจจ บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother บริ ษั ท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิ จสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother Station: PMS) โดยให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติ NGV ให้รถขนส่งก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (“ปตท.”) Station: PMS) โดยให้ บริ การอัดก๊ าซธรรมชาติ NGV ให้ รถขนส่งก๊ าซธรรมชาติของบริ ษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (“ปตท.”) เพื่อขนส่งไปให้กับสถานีบริการ NGV นอกแนวท่อส่งก๊าซ หรือสถานีลูก (Daughter Station) รวมถึงด�ำเนินการปรับปรุง เพื่อขนส่งไปให้ กับสถานีบริ การ NGV นอกแนวท่อส่งก๊ าซ หรื อสถานีลกู (Daughter Station) รวมถึงดาเนินการปรับปรุ ง คุณภาพก๊าซธรรมชาติ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายก�ำหนดก่อนที่จะน�ำไปใช้ในส่วนอื่นๆ ต่อไป โดยมีลูกค้า คือ คุณภาพก๊ าซธรรมชาติ เพื่อให้ เป็ นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนดก่อนที่จะนาไปใช้ ในส่วนอื่นๆ ต่อไป โดยมีลกู ค้ า คือ ปตท. ปตท. แผนภาพแสดงภาพรวมการประกอบธุรกิจ แผนภาพแสดงภาพรวมการประกอบธุรกิจ
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 1
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
25
หมายเหตุ : 1. Private Mother Station คือ สถานีที่อยู่บนแนวท่อก๊าซธรรมชาติ โดยเพิ่มความดันพร้อม ปรับปรุงคุณภาพก๊าซและอัดจ่ายก๊าซให้กบั รถขนส่งก๊าซ เพือ่ ขนส่งก๊าซไปยังสถานีลูก (Daughter Station) 2. Daughter Station คือ สถานีที่ตั้งอยู่ห่างจาก แนวท่อก๊าซธรรมชาติ โดยต้องรับก๊าซจากรถขนส่งที่มาจาก สถานีแม่ และจ�ำหน่ายให้กับผู้ใช้บริการ 3. Conventional Station คือ สถานีอยู่บนแนว ท่อก๊าซธรรมชาติพร้อมปรับปรุงคุณภาพก๊าซ แล้วจ�ำหน่าย ให้กับผู้ใช้บริการ ทั้งนี้ Ex-Pipeline เป็น Conventional Station รูปแบบหนึ่งซึ่งต่างจากเดิมตรงที่มีรูปแบบการซื้อ ขายก๊าซธรรมชาติไม่ใช่เป็นการรับส่วนแบ่งการตลาดตามรูป แบบ Conventional เดิม
2. สระบุรี ตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณ ริ ม ถนนทางหลวงแผ่ น ดิ น สาย แก่งคอย-บางนา (3222) ต�ำบลท่ามะปรางและต�ำบล ห้วยแห้ง อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีเนือ้ ที่ 18 ไร่ 2 งาน 61 ตารางวา รองรับความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติไม่ต�่ำ กว่า 320 ตันต่อวัน และมีก�ำลังส�ำรองการผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา (รวมก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติได้สูงสุด เท่ากับ 400 ตันต่อวัน) และสามารถอัดก๊าซ NGV ให้รถขนส่ง ก๊าซธรรมชาติได้อย่างน้อย 10 คันพร้อมกัน มีอัตราการเติม ไม่น้อยกว่า 12 ตันต่อชั่วโมง และสามารถผลิตก๊าซได้ 24 ชั่วโมง ตลอด 365 วันต่อปี
ปัจจุบนั สถานีกา๊ ซธรรมชาติของบริษทั ฯ มี 2 สถานี คือ สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัดปทุมธานี และ สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัดสระบุรี โดยมีการท�ำ สัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ พร้อมตั้งสถานีก๊าซธรรมชาติ หลักเอกชน (“สัญญาจ้างอัดก๊าซฯ”) กับ ปตท. (โปรดดูสรุป สาระส�ำคัญของสัญญาในเอกสารเพิ่มเติม ทรัพย์สินที่ใช้ใน การประกอบธุรกิจ) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ปทุมธานี ตั้งอยู่บริเวณ ต�ำบลเชียงรากน้อย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีเนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 64 ตารางวา รองรับ ความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV ในปริมณฑล มีก�ำลัง การอัดก๊าซธรรมชาติไม่ต�่ำกว่า 200 ตันต่อวัน และมีก�ำลัง ส�ำรองการผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา (รวมก�ำลังการ อัดก๊าซธรรมชาติและก�ำลังส�ำรอง เท่ากับ 250 ตันต่อวัน) ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาเพิ่มเติมกับ ปตท. โดยสามารถอัด ก๊าซธรรมชาติเพิ่มได้อีก 100 ตันต่อวัน รวมทั้งหมดสามารถ อัดก๊าซธรรมชาติได้สงู สุด เท่ากับ 350 ตันต่อวัน และสามารถ อัดก๊าซธรรมชาติ NGV ให้รถขนส่งก๊าซธรรมชาติได้อย่างน้อย 10 คันพร้อมกัน มีอตั ราการเติมไม่นอ้ ยกว่า 12 ตันต่อชัว่ โมง และสามารถผลิตก๊าซได้ 24 ชั่วโมง ตลอด 365 วันต่อปี
เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ
26
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ตามที่ ปตท. มีแผนเปลี่ยนการจ่ายก๊าซธรรมชาติจากแนวท่อตะวันตกเป็นแนวท่อตะวันออกในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2558 ส่งผลให้คุณภาพก๊าซธรรมชาติ NGV ที่จ่ายให้สถานีก๊าซธรรมชาติจังหวัดปทุมธานีเปลี่ยนแปลงไป โดยก๊าซ ธรรมชาติดงั กล่าวมีคา่ ความร้อนสูงขึน้ ดังนัน้ ปตท. จึงมีความจ�ำเป็นให้บริษทั ฯ ลงทุนติดตัง้ ระบบปรับปรุงคุณภาพก๊าซ โดย มีการผสมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) หรือก๊าซไนโตรเจน (N2) เข้ากับก๊าซธรรมชาติ เพือ่ ให้ได้คา่ ความร้อนตามมาตรฐาน ส�ำหรับยานยนต์ตามที่กรมธุรกิจพลังงานก�ำหนดไว้ สถานีปรับปรุงคุณภาพก๊าซ
จุดเติมก๊าซธรรมชาติเพื่อขนส่ง
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
27
กระบวนการอัดก๊าซธรรมชาติ แผนภาพแสดงขั้นตอนการอัดก๊าซธรรมชาติ ทอสงกาซ (Distribution Pipeline)
สถานีควบคุมความดันและวัดปริมาตรกาซฯ (Metering and Regulating Station)
เครื่องอัดกาซฯ (Compressor)
ตูจ ายกาซธรรมชาติ (Filing Panel)
รถบรรจุกาซ NGV (NGV Trailer)
ขั้นตอนการอัดก๊าซธรรมชาติของสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก 1. ก๊าซธรรมชาติจากระบบท่อส่งก๊าซไหลเข้าสู่สถานีเติมก๊าซธรรมชาติหลัก โดยผ่านสถานีวัดปริมาณก๊าซ (Gas Metering) เพื่อวัดปริมาณก๊าซธรรมชาติที่เข้าสถานี 2. ก๊าซธรรมชาติความดันต�่ำจากระบบท่อส่งก๊าซที่ไหลผ่านสถานีวัดปริมาณก๊าซ จะถูกส่งเข้าเครื่องอัดก๊าซ (Compressor) ให้มีความดันสูงตามต้องการ 3. ก๊าซธรรมชาติความดันสูงจะถูกส่งไปที่ตู้จ่ายก๊าซธรรมชาติ (Filing Panel) เพื่ออัดเข้าสู่รถขนส่งก๊าซธรรมชาติ ไปยังสถานีลูกต่อไป
28
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
กาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติตดิ ตัง้ และปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
สาขาปทุมธานี กาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติตดิ ตัง้ (ตันต่อปี )
157,899
157,899
157,899
157,899 118,532
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อปี )
84,518
91,029
97,944
89,178
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อวัน)
232
249
268
244
อัตราการอัดก๊ าซธรรมชาติ (ร้ อยละ)
54%
58%
62%
56%
กาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติตดิ ตัง้ (ตันต่อปี )
166,549
166,549
166,549
166,549 125,026
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อปี )
126,226
122,718
120,323
121,661
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อวัน)
346
336
329
333
อัตราการอัดก๊ าซธรรมชาติ (ร้ อยละ)
76%
74%
72%
73%
กาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติตดิ ตัง้ (ตันต่อปี )
324,448
324,448
324,448
324,448 243,558
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อปี )
210,744
213,747
218,267
210,839
ปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติจริ ง (ตันต่อวัน)
577
586
596
578
อัตราการอัดก๊ าซธรรมชาติ (ร้ อยละ)
65%
66%
67%
65%
สาขาสระบุรี
รวมทัง้ หมด
ที่มา : บริ ษัทฯ หมายเหตุ 1. กาลังการอัดก๊ าซธรรมชาติติดตัง้ คือ กาลังการผลิตติดตังสู ้ งสุดของเครื่ องจักร (Maximum Capacity)
แผนการซ่อมบ�ำรุงรักษา ัทฯ มีแผนการซ่ ำรุงรักษาเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ (Compressor) ประมาณ 2 ครั้งต่อปี หรือจะมีการ บริษแผนการซ่ อมบารุองรัมบ� กษา บ�ำรุงรักษาทุกๆ การใช้งาน 4,000 ชั่วโมงเครื่องจักร โดยจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 วันต่อครั้ง ส�ำหรับตู้จ่ายก๊าซธรรมชาติ บริ ษัทฯ มีแผนการซ่อมบารุงรักษาเครื่ องอัดก๊ าซธรรมชาติ (Compressor) ประมาณ 2 ครัง้ ต่อปี หรื อจะมีการ (Filling Panel) มีแผนการซ่อมบ�ำรุงรักษาประมาณเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 1 วันต่อครั้ง ทั้งนี้ บริษัทฯ บารุ งรักษาทุกๆ การใช้ งาน 4,000 ชัว่ โมงเครื่ องจักร โดยจะใช้ ระยะเวลาประมาณ 2 วันต่อครัง้ สาหรับตู้จ่ายก๊ าซธรรมชาติ มีทมี งานทีม่ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ และมีประสบการณ์ในด้านการบ�ำรุงรักษา เข้ามาตรวจสอบสภาพการใช้งานของอุปกรณ์ (Filling Panel) มีแผนการซ่อมบารุ งรักษาประมาณเดือนละ 1 ครัง้ โดยใช้ ระยะเวลาประมาณ 1 วันต่อครัง้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ซ่อมบ�ำรุง และปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงานของเครื่องจักรอย่างสม�่ำเสมอ มีทีมงานที่มี ความรู้ ความเชี่ ยวชาญ และมีประสบการณ์ ในด้ านการบารุ งรักษา เข้ ามาตรวจสอบสภาพการใช้ งานของ อุปกรณ์ ซ่อมบารุง และปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของเครื่ องจักรอย่างสม่าเสมอ
2.3
การตลาดและการแข่ งขัน
2.3.1
กลยุทธ์ การแข่ งขัน 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 5
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
29
2.3 การตลาดและการแข่งขัน
2.3.1 กลยุทธ์การแข่งขัน (1) ลดปริมาณการสูญเสียก๊าซ (Gas Loss) เนือ่ งจากบริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามสัญญารับจ้างอัดก๊าซกับ ปตท. ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงต้องอัดก๊าซธรรมชาติตามปริมาณทีก่ ำ� หนด และควบคุมปริมาณการสูญเสียก๊าซให้น้อยที่สุด (ไม่เกินร้อยละ 1) เพื่อไม่ให้เสียค่าปรับตามสัญญา ซึ่งส่วนใหญ่บริษัทฯ มีปริมาณการสูญเสียก๊าซ (Gas Loss) ไม่เกินร้อยละ 1 อีกทั้งยังสามารถส่งก๊าซธรรมชาติได้ตามก�ำหนด เวลาที่วางไว้ตามสัญญา ท�ำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับบริษัทฯ ที่จะได้รับสัมปทานจาก ปตท. ต่อไป หาก มีการเปิดประมูลสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนอีกในอนาคต หมายเหตุ ปริมาณการสูญเสียก๊าซ (Gas Loss) คือ ปริมาณก๊าซส่วนต่างที่เกิดจากมิเตอร์ก่อนเข้าสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก และมิเตอร์จ่ายก่อนเข้ารถขนส่งก๊าซธรรมชาติ (2) ปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์หรือส่วนประกอบที่ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากส่วนใหญ่อุปกรณ์หรือส่วนประกอบที่ใช้ในสถานีก๊าซธรรมชาติ ต้องมีการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีการปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์หรือส่วนประกอบต่างๆ อาทิ อะไหล่ที่ใช้ในเครื่อง Compressor โดยบริษัทฯ มีจ้างบริษัทผู้ผลิตภายในประเทศผลิตอุปกรณ์หรือส่วนประกอบดังกล่าว เพื่อลดการน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุนในการด�ำเนินงาน และช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้ (3) การเลือกท�ำเลที่ตั้งไว้ล่วงหน้า ทีด่ นิ ถือเป็นสิง่ ส�ำคัญในจัดตัง้ สถานีกา๊ ซธรรมชาติหลักเอกชน เนือ่ งจากจะต้องเป็นทีด่ นิ ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณแนวท่อก๊าซของ ปตท. โดยบริษัทฯ จะซื้อที่ดินไว้ล่วงหน้าในพื้นที่ที่ ปตท. มีการวางแนวท่อก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับเพื่อใช้การประมูลสถานีก๊าซ ธรรมชาติหลักเอกชนในอนาคต ซึ่งพื้นที่ที่บริษัทฯ ซื้อไว้ อยู่ในแนวท่อก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ท�ำให้บริษัทฯ มีความได้เปรียบในการประมูลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (4) ขยายธุรกิจไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการอัดก๊าซธรรมชาติและธุรกิจพลังงาน บริษัทฯ มีแผนที่จะขยายธุรกิจไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการอัดก๊าซธรรมชาติและธุรกิจพลังงาน เพื่อเป็นการกระจายความ เสี่ยงทางธุรกิจ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการอัดก๊าซธรรมชาติ เช่น ธุรกิจขนส่งก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจปั๊มน�้ำมัน สถานีบริการแนว ท่อ (Conventional Ex-Pipeline) ธุรกิจก๊าซไบโอมีเทนอัก(CBG) ธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวลต่างๆ ธุรกิจการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรเป็นพลังงานต่างๆ เป็นต้น เนื่องจากบริษัทฯ เล็งเห็นศักยภาพในการต่อยอดจากธุรกิจเดิมของบริษัทฯ ซึ่ง ปัจจุบันบริษัทฯ อยู่ระหว่างการเจรจาในการท�ำสถานีบริการแนวท่อ (Conventional Ex-Pipeline) กับ ปตท. นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีความสนใจลงทุนในธุรกิจพลังงาน โดยได้ทำ� การศึกษาความเป็นได้ในการลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลอีกด้วย
30
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
2.3.2 ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ลูกค้าของบริษทั ฯ คือ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) โดยรถขนส่งก๊าซธรรมชาติ ซึง่ มีการท�ำสัญญารับจ้างขนส่งก๊าซธรรมชาติ จาก ปตท. จะมารับบริการการอัดก๊าซธรรมชาติในสถานีของบริษัทฯ โดยมีการวางแผนตารางรถขนส่งก๊าซธรรมชาติเข้า ออกล่วงหน้าเป็นรายเดือนและรายสัปดาห์ หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงแผนการขนส่งได้ขึ้นอยู่กับ ปตท. ก�ำหนด ทั้งนี้ หาก มีกรณีเร่งด่วน ทาง ปตท. สามารถแจ้งล่วงหน้า 1-3 วัน เพื่อประสานงานวางแผนจัดตารางเข้าและออกส�ำหรับรถขนส่งอัด ก๊าซธรรมชาติจากทาง ปตท. 2.3.3 นโยบายการก�ำหนดราคา บริษัทฯ มีนโยบายการก�ำหนดราคาตามสัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติพร้อมตั้งสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน โดยอัตราค่าจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ (1) ค่าตอบแทนการลงทุน (Availability Payment: AP) ซึ่ง เป็นค่าตอบแทนคงที่ตลอดอายุสัญญา และ (2) ค่าด�ำเนินการ (Energy Payment: EP) เป็นค่าตอบแทนแปรผันตามตัวแปร ได้แก่ ราคาค่าไฟฟ้า อัตราแลกเปลี่ยน และดัชนีราคาผู้บริโภค ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการปรับปรุงคุณภาพก๊าซธรรมชาติ จะมีการ คิดค่าจ้างปรับปรุงคุณภาพก๊าซธรรมชาติเพิ่มเติม โดยประกอบด้วย 2 ส่วน คือ (1) ค่าตอบแทนการลงทุนระบบปรับปรุง คุณภาพก๊าซ (Availability Payment 2: AP2) ซึ่งเป็นค่าตอบแทนคงที่ตลอดอายุสัญญา และ (2) ค่าด�ำเนินการ (Energy Payment 2: EP2) ซึง่ เป็นค่าตอบแทนแปรผัน ได้แก่ ราคาค่าไฟฟ้า ดัชนีคา่ ขนส่งสินค้าทางถนน และดัชนีราคาผูบ้ ริโภค โดย บริษทั ฯ จะเรียกเก็บจาก ปตท. ตามปริมาณก๊าซธรรมชาติทอี่ ดั จริงในแต่ละเดือน ทัง้ นี้ หากปริมาณก๊าซรวมที่ ปตท. รับต�ำ่ กว่า ปริมาณรวมที่รับรองในแต่ละเดือน ปตท. จะช�ำระค่าตอบแทนการอัดก๊าซของปริมาณก๊าซส่วนขาด เฉพาะค่าตอบแทนการ ลงทุน (AP) (โปรดดูรายละเอียดการก�ำหนดอัตราค่าจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ ในส่วนที่ 2.2.5 ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ) 2.3.4 การจ�ำหน่ายและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ภาพแสดงขั้นตอนการจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ
1
2
1. บริษัทผู้รับขนส่งก๊าซธรรมชาติที่ท�ำสัญญากับ ปตท. ตรวจความพร้อมของตู้บรรจุก๊าซให้อยู่ใน สภาพที่พร้อมใช้งาน
2. บริษัทผู้รับขนส่งก๊าซธรรมชาติที่ท�ำสัญญากับ ปตท. น�ำตู้บรรจุก๊าซเข้าจุดเติมก๊าซเพื่อขนส่ง (Trailer Bay)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
3
4
5
6
3. บริษทั ฯ ด�ำเนินการอัดก๊าซธรรมชาติ
4. บริ ษั ท ฯ บั น ทึ ก ปริ ม าณการอั ด ก๊ า ซ ธรรมชาติ เพื่อด�ำเนินการออกใบส่งของให้ บริษัทผู้รับขนส่งก๊าซธรรมชาติที่ท�ำสัญญา กับ ปตท.
5. บริษทั ผูร้ บั ขนส่งก๊าซธรรมชาติทที่ ำ� สัญญา กับ ปตท. น�ำตูบ้ รรจุกา๊ ซธรรมชาติทบี่ รรจุกา๊ ซ ธรรมชาติแล้วมาจอดทีล่ านจอดรถ เพือ่ รอส่ง ให้ลูกค้าต่อไป
6. บริษทั ผูร้ บั ขนส่งก๊าซธรรมชาติทที่ ำ� สัญญา กับ ปตท. ด�ำเนินการขนส่งก๊าซธรรมชาติจาก สถานีของบริษัทฯ ไปยังสถานีลูกหรือสถานี บริการต่อไป
31
32
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ทั้งนี้ การด�ำเนินการอัดก๊าซธรรมชาติให้กับรถขนส่งดังกล่าว เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญาจ้างอัดก๊าซฯ กับ ปตท. โดยสถานีบริการที่จังหวัดปทุมธานี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติไม่ต�่ำกว่า 200 ตันต่อวัน และมีก�ำลังส�ำรองการผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา และสามารถอัดก๊าซธรรมชาติเพิ่มได้อีก 100 ตันต่อวัน และส�ำหรับสถานีบริการที่จังหวัดสระบุรี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติไม่ต�่ำกว่า 320 ตันต่อวัน และมีก�ำลังส�ำรองการผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา โดยกระบวนการตรวจวัดปริมาณก๊าซธรรมชาตินั้น พนักงานของ ปตท. และพนักงานของบริษัทฯ จะท�ำการตรวจ วัดร่วมกันทุกสิ้นเดือนที่สถานีควบคุมความดันและวัดปริมาณก๊าซ (Metering and Regulating Station) ซึ่ง ปตท. ตกลง จ่ายค่าอัดก๊าซธรรมชาติเป็นจ�ำนวนเท่ากับปริมาณก๊าซธรรมชาติที่อัดให้รถขนส่งก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ตามจริงในแต่ละ เดือน และจะช�ำระเงินภายใน 30 วัน นับจากบริษัทฯ ส่งใบเรียกเก็บเงิน
2.4 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
2.4.1 ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากบริษัทฯ ประกอบธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ซึ่งรับจ้างอัดก๊าซธรรมชาติให้กับรถขนส่งก๊าซ ธรรมชาติของ ปตท. เพือ่ ส่งไปยังสถานีลกู ดังนัน้ ความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติจะส่งผลต่อการเติบโตของธุรกิจนี้ ทัง้ นี้ ภาพ รวมธุรกิจก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย มีดังนี้ การสำรวจและผลิตป โตเลียม และจัดกาก าซธรรมชาติ
ธุรกิจจัดจำหน ายก าซฯ ธุรกิจท อส งก าซธรรมชาติ ธุรกิจโรงแยกก าซฯ และธุรกิจระบบท อจัดจำหน ายก าซฯ ก าซอีเทน ก าซโพรเพน ก าซป โตเลียมเหลว ก าซโซลีนธรรมชาติ ก าซคาร บอนไดออกไซด
แหล งก าซธรรมชาติ ในประเทศ โรงแยกก าซธรรมชาติ
กลุ มลูกค า
ลูกค าป โตรเคมี ลูกค าอุตสาหกรรม หน วยธุรกิจน้ำมัน
ก าซธรรมชาติ ก าซธรรมชาติ แหล งก าซธรรมชาติ จากประเทศเพ�่อนบ าน แหล งก าซธรรมชาติ นำเข าในรูป LNG
ก าซธรรมชาติ
กฟผ. ผู ผลิตไฟฟ า ผู ผลิตไฟฟ ารายเล็ก ลูกค าอุตสาหกรรม ธุรกิจ NGV
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
33
2.4.1.1 การจัดหาและการใช้ก๊าซธรรมชาติ ปัจจุบัน แหล่งก๊าซธรรมชาติหลักในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 แหล่งหลัก ดังนี้ 1. ผลิตในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 75 ของปริมาณการผลิตก๊าซธรรมชาติทั้งหมดมาจาก 1.1 ทะเลอ่าวไทย ได้แก่ แหล่งเอราวัณ แหล่งบงกช แหล่งอาทิตย์ แหล่งเบญจมาศ แหล่งทานตะวัน แหล่งปลาทอง เป็นต้น 1.2 บริเวณพื้นที่ทับซ้อน ได้แก่ แหล่งพัฒนาร่วมไทย – มาเลเซีย (JDA) 1.3 พื้นที่บนบกในประเทศ ได้แก่ แหล่งน�้ำพอง อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น และแหล่งภูฮ่อม อ�ำเภอ หนองแสน จังหวัดอุดรธานี 2. น�ำเข้าจากต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 25 ของปริมาณการผลิตก๊าซธรรมชาติทั้งหมด มาจาก 2.1 น�ำเข้าจากประเทศพม่า ได้แก่ แหล่งยาดานา แหล่งเยตากุน และแหล่งซอติก้า คิดเป็นร้อยละ 17 2.2 น�ำเข้าจากต่างประเทศในรูปก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) ได้แก่ ตะวันออกกลาง อเมริกาใต้ และ ออสเตรเลีย คิดเป็นร้อยละ 8 ทั้งนี้ ปตท.เป็นผู้ด�ำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจก๊าซธรรมชาติ โดยเป็นผู้ซื้อก๊าซธรรมชาติจากผู้ขายก๊าซธรรมชาติภายใต้ สัญญาซื้อก๊าซธรรมชาติทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส�ำหรับการน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) จากต่างประเทศ ปตท. ได้จัดตั้ง บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จ�ำกัด (PTTLNG) เพื่อด�ำเนินการโครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือและสถานีรับ-จ่าย ในนาม Map Ta Phut LNG Terminal เพื่อรองรับความต้องการในการใช้ก๊าซธรรมชาติในอนาคต ในปี 2559 การผลิตก๊าซในประเทศไทยอยู่ที่ 3,766 ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ส่วนที่เหลือเป็นการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งแบ่งเป็นการน�ำเข้าจากพม่าจ�ำนวน 859 ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน และการน�ำเข้าในรูป LNG จ�ำนวน 390 ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน รวมการจัดหาก๊าซธรรมชาติทั้งหมด 5,015 ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ทั้งนี้ ประเทศไทยเริ่มมีการน�ำเข้า LNG ครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม 2554 กราฟแสดงการจัดหาและการใช้ก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย ปี 2533 – 2559 ล้านลูกบาศก์ฟุตรต่อวัน 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000
นํา เขา ในรูป LNG
นํา เขา จากประเทศพมา
ที่มา : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
2559
2557
2555
2553
2551
2549
2547
2545
2543
2541
2539
2537
2535
2533
-
34
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
2.4.1.2 เครือข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย ปตท. มีการวางระบบท่อจัดจ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ โดยมีความยาวประมาณ 493 กิโลเมตร เพื่อเชื่อมต่อ จากระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติไปยังลูกค้าอุตสาหกรรมต่างๆ ทั่วประเทศ
ที่มา: แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี 2559 ของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
35
2.4.1.3 ส่วนประกอบของก๊าซธรรมชาติและประโยชน์ ก๊าซธรรมชาติ ประกอบด้วย สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลากหลายชนิด เช่น ก๊าซมีเทน ก๊าซอีเทน ก๊าซโพรเพน ก๊าซบิว เทน เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีสารประกอบที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอน เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ก๊าซ ไนโตรเจน และน�้ำ เป็นต้น โดยก๊าซต่างๆ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
1. ก๊าซมีเทน (C1) : ใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าและความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม ใช้เป็น วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี และเมื่อน�ำไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูง จะเรียกว่า “ก๊าซธรรมชาติอัด (CNG)” สามารถใช้เป็นเชื้อ เพลิงในรถยนต์ หรือเรียกว่า “ก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์ (Natural Gas for Vehicle : NGV)” 2. ก๊าซอีเทน (C2) : ใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โดยเป็นสารตัง้ ต้นส�ำหรับผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลนี (PE) เพือ่ ใช้ผลิตถุงพลาสติก หลอดยาสีฟนั ขวดพลาสติกใส่แชมพู เส้นใยสังเคราะห์ชนิดต่างๆ ทีน่ ำ� ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ 3. ก๊าซโพรเพน (C3) : ใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โดยเป็นสารตัง้ ต้นส�ำหรับผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพร พิลีน (PP) เพื่อใช้ผลิตยางสังเคราะห์ หม้อแบตเตอรี่ กาว และสารเพิ่มคุณภาพน�้ำมันเครื่อง 4. ก๊าซบิวเทน (C4) : ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี โดยเป็นสารตั้งต้นส�ำหรับผลิตสารเติมแต่งเพื่อเพิ่ม ค่าออกเทนในน�้ำมันเบนซินแทนตะกั่ว (MTBE) ยางสังเคราะห์ และเม็ดพลาสติก ABS 5. ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (C3 + C4) : ใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มในครัวเรือน เชื้อเพลิงในรถยนต์ เชื้อเพลิงให้ ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม และใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 6. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) : เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับจากกระบวนการแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจาก ก๊าซธรรมชาติ ใช้ในอุตสาหกรรมหล่อเหล็ก อุตสาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม (น�้ำอัดลมและเบียร์) ใช้ท�ำน�้ำยาดับเพลิง ฝนเทียม น�้ำแข็งแห้ง หรือน�ำไปใช้สร้างควันในอุตสาหกรรมบันเทิง
36
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
2.4.1.4 การใช้ ก๊าซธรรมชาติ
2.4.1.4 การใช้ก๊าซธรรมชาติ ตารางแสดงการใช้ ธตารางแสดงการใช้ รรมชาติรายสาขา ธระหว่ างปีร2555 – 2559 รรมชาติ ายสาขา ระหว่างปี 2555 – 2559 (หน่วย : ล้ านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน) 2555 โรงไฟฟ้า
2556
2557
2558
2559
2,670
2,695
2,740
2,859
2,793
โรงแยกก๊ าซ
958
930
960
950
948
โรงงานอุตสาหกรรม
628
635
653
651
694
รถยนต์
278
307
317
304
278
4,534
4,567
4,670
4,764
4,713
รวม
ที่มา : สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ซธรรมชาติ ในประเทศไทยปี 2559 ถูกใช้2559 ไปในการผลิ ไฟฟ้ามากทีต่สไฟฟ้ ดุ คิาดมากที เป็ นร้ อ่สยละ คือ รองลงมา การใช้ ก๊าการใช้ ก๊าซธรรมชาติ ในประเทศไทยปี ถูกใช้ไตปในการผลิ ุด คิด59.26 เป็นร้รองลงมา อยละ 59.26 การใช้ ก๊าคืซธรรมชาติ นโรงแยกก๊ ใานโรงแยกก๊ ซ เพื่ อนาไปใช้ ถุดิบเป็ในอุ างๆ เช่น อุาตงๆสาหกรรมปิ โตรเคมี เป็โตรเคมี นต้ น เป็นต้น อ การใช้ก๊าใซธรรมชาติ าซ เพืเป็่อนน�วัำตไปใช้ นวัตตสาหกรรมต่ ถุดิบในอุตสาหกรรมต่ เช่น อุตสาหกรรมปิ คิดเป็ นร้ อคิยละ ซธรรมชาติ ในโรงงานอุ ตสาหกรรม คิดเป็ นคิร้ อยละ และการใช้ ก๊าซธรรมชาติ ในการในการขนส่ง ดเป็น20.11 ร้อยละการใช้ 20.11ก๊าการใช้ กา๊ ซธรรมชาติ ในโรงงานอุ ตสาหกรรม ดเป็นร้14.73 อยละ 14.73 และการใช้ กา๊ ซธรรมชาติ ขนส่ง (CNG) 5.90 (CNG)ร้ อร้ยละ อยละ 5.90
5.90% รถยนต CNG
14.73% โรงงานอุสาหกรรม
59.26% โรงไฟฟ า 20.11% โรงแยกก าซ ที่มา : สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
ที่มา : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 13
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
37
2.4.1.5 ปริมาณรถ NGV ในประเทศไทย คัน
2.4.1.6 สถานีบริการก๊าซ NGV และปริมาณการจ�ำหน่าย NGV เฉลี่ยต่อเดือน ปริมาณจ�ำหน่าย NGV เฉลี่ย (ตันต่อเดือน)
ที่มา : บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ข้อมูลสถิติในช่วงตั้งแต่ปี 2549 - 2560 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ NGV มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่า จ�ำนวนรถยนต์ที่ใช้ก๊าซ NGV เพิ่มจาก 23,496 คัน ในปี 2549 เป็น 474,297 คัน ณ เดือนมิถุนายน 2559 หรือ มีอัตรา เติบโตเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 35.05 ท�ำให้ปริมาณจ�ำหน่ายก๊าซ NGV เฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 7,779 ตันต่อเดือน เป็น 234,216 ตันต่อ เดือน หรือมีอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 40.56 ส�ำหรับจ�ำนวนสถานีบริการฯ ในปีพ.ศ. 2560 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจาก 102 แห่ง(ปีพ.ศ. 2549) เป็น 505 แห่ง หรือมีอัตราเติบโตเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 17.28
38
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
2.4.1.7 ปริมาณจ�ำหน่าย NGV เฉลี่ยส�ำหรับยานยนต์ และการเคลื่อนไหวของราคาเชื้อเพลิง
ปริมาณจ�ำหน่าย NGV เฉลี่ย
ราคาต่อหน่วย
(ตันต่อเดือน)
(บาท)
ที่มา : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ในช่วงปี 2550 -2554 รัฐบาลให้การสนับสนุนก๊าซธรรมชาติ โดยตรึงราคา NGV ให้อยู่ในระดับต�่ำและช่วยชดเชย ราคา NGV ที่ยังไม่สะท้อนราคาตลาด ท�ำให้การใช้ NGV ได้รับความนิยมและมีการเติบโตอย่างสูงมาก เนื่องจากราคาอยู่ใน ระดับต�่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับระดับราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงเบนซินและดีเซลและราคา LPG ซึ่งยังมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2555 – 2557 รัฐบาลเริ่มยกเลิกการชดเชย และเริ่มปรับเพิ่มราคาขาย NGV ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง เพิม่ ขึน้ เพือ่ ลดภาระการอุดหนุนราคาก๊าซ NGV ทีร่ าคาปรับสูงขึน้ ตามกลไกราคาในตลาดโลก ซึง่ ในช่วงปี 2556-2557 ราคา น�้ำมันได้เริ่มทรงตัว และในปี 2558 ราคาน�้ำมันได้ปรับตัวต�่ำลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบต่อปริมาณจ�ำหน่าย NGV เฉลี่ย ที่ลดลงจาก 267,907 ตันต่อเดือน ในปี 2557 เป็น 256,999 ตันต่อเดือน ในปี 2558 หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 4.07 ในขณะที่ราคาขายปลีก NGV ในประเทศยังอยู่ในระดับ 13.00 - 13.50 บาท ส�ำหรับราคา LPG ในช่วงปี 2555 -2557มีการ ปรับราคาขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ในช่วง 11.21 – 11.77 บาท/ลิตร หรือ 20.76 – 21.80 บาท/กิโลกรัมและ ในช่วงปี 2558 คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) มีมติให้ปรับสูตรการค�ำนวณต้นทุนการจัดหา LPG ให้สะท้อน ต้นทุนทีแ่ ท้จริง โดยเป็นการใช้สตู รอัตราถ่วงน�ำ้ หนักจากผูผ้ ลิต 3 แหล่ง คือ โรงกลัน่ น�ำ้ มัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ และราคาน�ำ เข้าตามตลาดโลก (LPG Pool Price) ซึ่งมีผลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ทั้งนี้ จะส่งผลให้ราคาขายปลีกเปลี่ยนแปลง และ จะปรับราคาตามต้นทุนในตลาดโลก โดยในปี 2558 ราคา LPG เฉลี่ย เท่ากับ 12.63 บาท/ลิตร หรือ 23.39 บาท/กิโลกรัม
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
39
รายงานประจำ �ปี23.39 2560 เปลีย่ นแปลง และจะปรับราคาตามต้ นทุนในตลาดโลก โดยในปี 2558 ราคา LPG เฉลีย่ เท่ากับบริ12.63 ตรจำหรื ษัท สากลบาท/ลิ เอนเนอยี �กัดอ(มหาชน) บาท/กิโลกรัม ในปีในปี 2560 บราคาน� งขึ้นจากปี น้อยโดยยั งคงอยู ่ในระดั 25บาทต่ -26 บาทต่ ซึ่งยังคง 2560 ระดัระดั บราคาน ้ามัน้ำได้มันเพิได้่มเสูพิง่มขึสู้นจากปี 25592559 เล็กน้เล็อกยโดยยั งคงอยู ่ในระดั บ 25บ-26 อลิตรอซึลิง่ ตยัรงคง นราคาที บหลายปี ี่ผ่านๆมา ประกอบกั มติคณะกรรมการบริ หารนโยบายพลั งาน (กบง.) ก�ำหนดให้ เป็ นเป็ราคาที ่อยู่ต่อ่ายูเมื่ต�่ำอเมื เที่อยเที บกัยบบกั หลายปี ที่ผ่าทนๆมา ประกอบกั บ มติบคณะกรรมการบริ หารนโยบายพลั งงาน ง(กบง.) กาหนดให้ ลอยตั วราคาก๊ าซธรรมชาติ สำ� หรับยานยนต์ บยานยนต์(NGV) (NGV) แบบมีเงือ่ นไขด้วยการให้ เกิเนกิน13.50 อกิอโลกรัม ลอยตั วราคาก๊ าซธรรมชาติ สาหรั ยการให้ปตท. ปตท.ประกั ประกันนราคาไม่ ราคาไม่ 13.50บาทต่ บาทต่ ท�ำให้ ริมาณการใช้ NGV NGV ลดลงลดลง ส�ำหรัสบาหรั LPGบ เมื ่อวันเมืที่อ่ 2วันธัทีน่ วาคม 25592559 กบง.กบง. มีมติเมีห็มนติชอบแนวทางเปิ ดเสรีดธเสรี ุรกิธจุรก๊กิาจซ LPG กิโลกรั ม ทปาให้ ปริ มาณการใช้ LPG 2 ธันวาคม เห็นชอบแนวทางเปิ น 2 ระยะ เป็นระยะที ช่วงเวลาเปลี ่ยนผ่านก่่ยอนผ่ นจะเปิ เสรีทั้งระบบ ได้ด�ำเนิซึ่งนได้การตั เดือนมกราคม ก๊ าซเป็LPG เป็ น 2โดยแบ่ ระยะ งโดยแบ่ งเป็ น่1ระยะที ่ 1 ช่วงเวลาเปลี านก่อดนจะเปิ ดเสรี ทซึงั ้ ่งระบบ ดาเนิ้งแต่ นการตั ง้ แต่เดือน 2560 และ ระยะที ่ 2 การเปิ ทั้งระบบ เนินการภายใต้ การพิจารณาของกรมธุ รกิจพลังรงาน เห็นเมืว่า่อตลาดมี มกราคม 2560 และ ระยะทีด่ เสรี 2 การเปิ ดเสรี ทจะเริ งระบบ ั ้ ่มด�ำจะเริ ่ มดาเนินการภายใต้ การพิจารณาของกรมธุ กิจพลัเมืง่องาน เห็นว่าความ พร้อคมด้วามพร้ านการแข่ ขันที่เพียงงพอทั วนการผลิ ตและจัดตหา ตลาดมี อมด้ างนการแข่ ขันที่เพี้งในส่ ยงพอทั งในส่ ้ วนการผลิ และจัดหา
2.4.2
2.4.2 นโยบายของรั บาลที ลต่อก๊าซ NGV นโยบายของรั ฐบาลที่มีผฐลต่ อก๊ า่มซีผNGV ปี
เหตุการณ์
2536
- ริ เริ่ มนา NGV มาใช้ กบั รถประจาทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ จานวน 82 คัน
2543
- เปิ ดโครงการแท๊ กซี่ NGV จานวน 1,000 คัน - มีมติคณะรัฐมนตรี กาหนดราคา NGV เป็ นร้ อยละ 50 ของราคาน ้ามันดีเซล
2545
- ปรับราคาขายปลีกราคา NGV ตามลาดับขัน้ จนถึงร้ อยละ 65 ของราคาน ้ามันเบนซิน 91 ในปี 2552 โดยมีเพดานราคา 10.34 บาท (ราคาน ้ามันเชื ้อเพลิง ลิตรละ 14 – 15 บาท)
2548
- กาหนดการใช้ NGV ทดแทนนา้ มันร้ อยละ 10 โดยมีการขยายสถานีก๊าซ NGV จาก 31 แห่ง เป็ น 180 แห่งในปี 2551
2550
- คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติให้ ราคา NGV สะท้ อนต้ นทุนที่แท้ จริ ง - สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ขอความร่ วมมือให้ จาหน่าย NGV 8.50 บาท/ กิโลกรัมในปี 2550 - 2551 จากนัน้ จึงปรับ ราคาเป็ นกิ โลกรัม ละ 12.00 บาทในปี 2552 และ 13.00 บาทในปี 2553 และสะท้ อนต้ นทุนจริ งในปี 2554 เป็ นต้ นไป
2551
- คณะรัฐมนตรี มีมติสง่ เสริ มให้ ใช้ NGV แทนการใช้ น ้ามันให้ ได้ ร้อยละ 20
2552
- คณะรัฐมนตรี มีมติให้ ชะลอการปรับราคา NGV ตามนโยบายเดิม - คณะรัฐมนตรี มีมติให้ ตรึงราคาขาย NGV ที่ 8.50 บาท จนถึงเดือนสิงหาคม 2553 โดยยังต้ องมี การขยายสถานี และให้ คณะกรรมการบริ หารนโยบายพลังงาน (กบง.) ดาเนินการชดเชยราคา ขายปลีกที่ต่ากว่าราคาทุน - คณะรัฐมนตรี มีมติให้ กบง. มีอานาจกากับราคาขายปลีก NGV เช่นเดียวกับน ้ามันเชื ้อเพลิง - มติ กพช. อนุมัติเงินกองทุนนา้ มันชดเชยราคา NGV กิ โลกรัมละ 2.00 บาท ไม่เกิ น 300.00 ล้ านบาทต่อเดือน
2553
- มติคณะรัฐมนตรี ตรึงราคา NGV และชดเชยกิโลกรัมละ 2.00 บาทต่อไป 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 16
40
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ปี 2554
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
เหตุการณ์ - มติคณะรัฐมนตรี ตรึงราคา NGV และชดเชยกิโลกรัมละ 2.00 บาทต่อไป - มติคณะรัฐมนตรี ตรึงราคา NGV และชดเชยกิโลกรัมละ 2.00 บาท ถึง 15 มกราคม 2555 และ ให้ ป รั บขึน้ เดือนละ 0.50 บาทต่อ กิ โลกรัม จนถึงเดือนธันวาคม 2555 พร้ อมกับปรั บลดเงิ น ชดเชย
2555
- มติ กพช. ตรึงราคา NGV ที่ 10.50 บาท พร้ อมยกเลิกเงินชดเชย
2557
- ที่ประชุม กบง. มีมติปรับขึ ้นราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรับรถยนต์สว่ นบุคคลขึ ้น 1.00 บาท ต่อกิโลกรัม จากเดิมอยูท่ ี่ 10.50 บาทต่อกิโลกรัม มาอยูท่ ี่ 11.50 บาทต่อกิโลกรัม ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2557 - ที่ประชุมคณะกรรมการบริ หารนโยบายพลังงาน (กบง.) เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 มีมติให้ ปรับราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรับรถยนต์สว่ นบุคคล ขึ ้น 1.00 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิมอยู่ ที่ 10.50 บาทต่อกิโลกรัม เป็ น 11.50 บาทต่อกิโลกรัม ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2557 และให้ คง ราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรับรถโดยสารสาธารณะที่ 8.50 บาทต่อกิโลกรัม เพื่อให้ สะท้ อน ต้ นทุนที่แท้ จริ งมากขึ ้น และลดภาระการอุดหนุนราคาก๊ าซ NGV จาก ปตท. - เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ที่ประชุม กบง. มีมติให้ ปรับขึ ้นราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรั บ รถยนต์ ส่วนบุคคลเพิ่มขึน้ 1.00 บาทต่อกิ โลกรั ม จากเดิมอยู่ที่ 11.50 บาทต่อกิ โลกรัม เป็ น 12.50 บาทต่อกิโลกรัม ตังแต่ ้ วนั ที่ 3 ธันวาคม 2557 และปรับราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรับ รถโดยสารสาธารณะเพิ่มขึ ้น 1.00 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิมอยูท่ ี่ 8.50 บาทต่อกิโลกรัม เป็ นอยู่ ที่ 9.50 บาทต่อกิโลกรัม ตังแต่ ้ วนั ที่ 3 ธันวาคม 2557
2558
- เมื่ อ วัน ที่ 30 มกราคม 2558 ที่ ป ระชุม กบง. มี ม ติ ให้ ป รั บ ราคาขายปลีก ก๊ า ซ NGV สาหรั บ รถยนต์ ส่วนบุค คลขึน้ ในอัต รา 0.50 บาทต่อกิ โลกรั ม จากเดิ ม 12.50 บาทต่อ กิ โลกรัม เป็ น 13.00 บาทต่ อ กิ โลกรั ม ตัง้ แต่ วัน ที่ 31 มกราคม 2558 และปรั บ ราคาขายปลี ก ก๊ าซ NGV สาหรับรถโดยสารสาธารณะขึ ้นในอัตรา 0.50 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิม 9.50 บาทต่อกิโลกรัม เป็ น 10.00 บาทต่อกิโลกรัม ตังแต่ ้ วนั ที่ 31 มกราคม 2558 - เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2558 ที่ประชุม กบง. มีมติให้ ปรับขึ ้นราคาขายปลีกก๊ าซ NGV สาหรับ รถยนต์ ส่วนบุคคล 0.50 บาทต่อกิ โลกรัม จาก 13.00 บาทต่อกิ โลกรั ม เป็ น 13.50 บาทต่อ กิโลกรัม เพื่อให้ ราคาสะท้ อนต้ นทุนที่แท้ จริ งมากขึ ้นและเป็ นไปตามกลไกตลาด และให้ คงราคา ขายปลีก NGV สาหรับรถโดยสารสาธารณะอยูท่ ี่ 10.00 บาทต่อกิโลกรัม โดยมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ 8 กันยายน 2558 เป็ นต้ นไป
2559
- เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2559 ที่ประชุม กบง. มีมติให้ ลอยตัวราคาก๊ าซ NGV แบบมีเงื่อนไข คือ ตังแต่ ้ วนั ที่ 21 มกราคม 2559 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 โดยขอให้ ปตท. กาหนดเพดาน ราคาขายปลีก ก๊ าซ NGV ส าหรั บ รถยนต์ ทั่วไปที่ 13.50 บาทต่ อ กิ โลกรั ม หากในช่ ว งเวลา ดังกล่าว ต้ นทุนราคาก๊ าซ NGV อยู่ในระดับที่ต่ากว่า 13.50 บาทต่อกิโลกรัม ให้ ปรับราคาขาย
ที่มา : บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และส�ำนักงานนโยบายและแผนพลั งงาน กระทรวงพลังงาน 2. ลักษณะการประกอบธุ รกิจ หน้ า 17
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
41
จากการที่ภาครัฐมีมติให้ลอยตัวราคาก๊าซ NGV อย่างมีเงื่อนไข เพื่อสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม 2559 เป็นต้นไป ซึ่งการลอยตัวราคา NGV ดังกล่าวอาจไม่ส่งผลกระทบโดยตรงกับทางบริษัทฯ เนื่องจากรายได้ หลักของบริษัทฯนั้น มาจากการรับจ้างอัดก๊าซที่ก�ำหนดไว้ตามปริมาณการอัดก๊าซขั้นต�่ำ ที่ได้ตกลงและท�ำสัญญาระยะยาว ไว้กับ ปตท. เท่านั้น ในการจัดสรรรถมารับก๊าซจะเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของ ปตท. แต่เพียงผู้เดียว ซึ่งในรอบเดือนถ้า ปริมาณก๊าซรวมที่ ปตท. รับต�่ำกว่าปริมาณที่รับในแต่ละเดือน ปตท. จะช�ำระค่าตอบแทนการอัดก๊าซของปริมาณก๊าซส่วน ขาด ในส่วนที่เป็นค่าตอบแทนเฉพาะค่าตอบแทนการลงทุน (AP) ให้กับทางบริษัทฯ ตามสัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ ราคาขายปลีกเฉลี่ยของก๊าซธรรมชาติ (NGV) ย้อนหลัง (ปี 2546 – 2560) หนวย: บาท/กิโลกรัม
2.4.3 ภาวะการแข่งขัน 1) สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother Station: PMS) เนื่องจากการลงทุนสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ส�ำหรับให้บริการสูบอัดก๊าซธรรมชาติ ต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง มี เหตุผลหลักมาจากต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ โดยต้องเป็นพื้นที่ที่ติดกับแนวส่งท่อก๊าซธรรมชาติของ ปตท. และอุปกรณ์มีราคา ค่อนข้างสูง อาทิ เครื่องสูบอัดก๊าซธรรมชาติ ช่องจ่ายก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น ประกอบกับมีความจ�ำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญ ด้านวิศวกรรมที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน เนื่องจากก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุมันตรายที่มีแรงดันสูง หากไม่ระมัดระวัง และไม่มีผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมดูแลระบบเป็นอย่างดีแล้ว อาจท�ำให้เกิดอันตรายได้ บริษัทฯ มีความพร้อมในด้านการลงทุน ทั้งในส่วนของพื้นที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการด�ำเนินการเป็นสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก รวมถึงมีบคุ ลกรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ และมีความเชีย่ วชาญในด้านวิศวกรรมเป็นอย่างดี ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงเป็นผูน้ ำ� ในการ ด�ำเนินการเป็นสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนของ ปตท. ซึ่งบริษัทฯ เป็นหนึ่งในเอกชนรายแรกที่ด�ำเนินธุรกิจนี้ นอกจากนี้ ในธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเป็นธุรกิจสัมปทาน ผู้ที่จะด�ำเนินการต้องมีความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างดี และต้องมี ความพร้อมด้านเงินลงทุนและบุคลากร ท�ำให้มีอุปสรรคในการเข้าสู่ธุรกิจนี้ค่อนข้างสูง ปัจจุบันสถานีก๊าซธรรมชาติหลักมีจำ� นวน 19สถานี โดยเป็นสถานีที่ ปตท. ด�ำเนินการเอง 15สถานี และว่าจ้างให้เอกชน ด�ำเนินการสูบอัดก๊าซธรรมชาติจำ� นวน 4สถานี ซึง่ บริษทั ฯ ได้รบั การว่าจ้างจาก ปตท. ให้ดำ� เนินธุรกิจสถานีกา๊ ซธรรมชาติหลัก จ�ำนวน 2สถานี ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดปทุมธานีและจังหวัดสระบุรี ซึง่ จ�ำนวนสถานีของบริษทั ฯ คิดเป็นร้อยละ 50 ของจ�ำนวนสถานี ก๊าซธรรมชาติหลักที่ด�ำเนินการโดยเอกชนทั้งหมดส�ำหรับอีก 2สถานี ด�ำเนินการโดย บริษัท สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท วินเนอร์ยี่ คอร์ปอเรชั่น จํากัด รายละเอียดดังนี้
ธรรมชาติหลัก จานวน 2สถานี ตังอยู ้ ่ที่จงั หวัดปทุมธานีและจังหวัดสระบุรี ซึ่งจานวนสถานีของบริ ษัทฯ คิดเป็ นร้ อยละ 50 รายงานประจำก�๊ ปีาซธรรมชาติ 2560 ของจานวนสถานี หลักที่ดาเนินการโดยเอกชนทังหมดส ้ าหรับอีก 2สถานี ดาเนินการโดย บริ ษัท สแกน อินเตอร์ บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) จากัด (มหาชน) และบริ ษัท วินเนอร์ ยี่ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด รายละเอียดดังนี ้
42
บริษัทที่ดาเนินการ บริ ษัท สแกน อินเตอร์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท วินเนอร์ ยี่ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด
ที่ตงั ้ สถานี
กาลังการผลิตก๊ าซ ธรรมชาติอัดขัน้ ต่าตามสัญญา
ปี ที่ครบกาหนด สัญญา
350 ตัน/วัน
2572
350 ตัน/วัน
2572
ต.บางกระบือ อ.สามโคก จ. ปทุมธานี ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี จ. สมุทรปราการ
ที่มา : แบบแสดงรายการข้ ที่มา : แบบแสดงรายการข้ มูล(56-1) ประจ�ำของบริ ปี (56-1) สแกนจากัอิดนเตอร์ จ�ำกัดและบริ (มหาชน) อมูลประจอาปี ษัท ของบริ สแกน ษอินัทเตอร์ (มหาชน) ษัทฯ และบริษัทฯ ข่ง โดยตรง ่ อ งจากการด รกิ จ สถานี ก๊ าซธรรมชาติ งกล่ า ว เป็ำเนิ น การ ปัปัจจจุจุบบนั ันบริบริษษทั ั ทฯฯยังยัไม่งไม่ มคี มแู่ ี คขู่่แงโดยตรง เนือ่ เนื งจากการด� ำเนินาเนิ ธุรกินจธุสถานี กา๊ ซธรรมชาติ หลักดังหกล่ลัากวดัเป็ นการด� นการ ดาเนินสการภายใต้ ั ก๊าญาจ้ งอัดก๊ าซกัางไรก็ บ ปตท.อย่ างไรก็ญตญาจ้ าม าหากสั ญาจ้ งอัดก๊หมดอายุ าซกับ ปตท. หมดอายุ ารต่ษอัทฯ ภายใต้ ัญญาจ้างอัสดญ ซกับาปตท.อย่ ตาม หากสั งอัดก๊ญาซกั บ าปตท. และไม่ มีการต่และไม่ อสัญญามีกบริ สัญญา บริ ข่ง เนื่อลงจากต้ งประมู ่อดาเนิ ธุรกิจสถานีหกลั๊ ากซธรรมชาติ หลักใหม่ในอนาคต อาจจะมี คู่แษข่ัทง ฯเนือาจจะมี ่องจากต้คอแู่ งประมู เพื่อด�ำอเนิ นธุรกิลจเพืสถานี ก๊านซธรรมชาติ ใหม่ในอนาคต 2) สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV ตามแนวท่อ (Conventional Station) แบบ Ex-Pipeline 2) สถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ NGV ตามแนวท่อ (Conventional Station) แบบ Ex-Pipeline สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV ตามแนวท่อ (Conventional Station) แบบ Ex-Pipeline เป็นสถานีบริการที่เจ้าของ าซธรรมชาติ NGV ตามแนวท่ อ (Conventional Station) แบบ Ex-Pipelineเป็ บ ริ ก ารที กิจการจะด�สถานี ำเนินบธุรริ กิกจารก๊ โดยการซื ้อก๊าซธรรมชาติ และน�ำไปขายปลี กให้กับรถทั ่วไปผ่านการอั ดก๊าซในแรงดันนสถานี ที่เหมาะสม โดย่ เจ้ าของกิงจกล่ การจะด น ธุารกิปตท.จะเป็ จโดยการซืนอ้ ผูก๊้ราับซธรรมชาติ แ ละนดหาและจ� าไปขายปลี รถทั่ว ไปผ่าจนการอั าซในแรงดั ่ นโยบายดั าวมีเงื่อาเนิ นไขว่ ผิดชอบในการจั ำหน่กาให้ยก๊กาับซธรรมชาติ ากแนวท่ดอก๊ ให้ กับเอกชนนทีใน โดยนโยบายดั งกล่นในกิ าวมีจเงืการ ่อนไขว่ นผู้รับตัผิง้ แต่ ดชอบในการจั ดหาและจ ยก๊ าซธรรมชาติ อ ส่เหมาะสม วนของเอกชนให้ เป็นผูล้ งทุ NGVา ปตท.จะเป็ แบบครบวงจร การก่อสร้างระบบท่ อส่าหน่ งก๊าาซจากแนวท่ อส่งก๊จาากแนวท่ ซของ ปตท. บั เอกชน วนของเอกชนให้ นผู้ลงทุ ในกิจการ NGV ตังแต่ ้ การก่ างระบบท่ซึ่งอท�ส่ำงหน้ ก๊ าซจากแนวท่ อ ถึให้ง กสถานี ควบคุในส่ มแรงดั นและวัดปริเมป็าตรก๊ าซน(Metering andแบบครบวงจร Regulating Statio: M/Rอสร้Station) าที่ควบคุมแรง ดันก๊าซและวัดปริมาณการซื้อขายการก่อสร้างสถานี ควบคุมแรงดันและวัดปริมาตรก๊าซ (M/R Station) การก่อสร้างระบบ 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 19 ท่อส่งก๊าซจาก M/R Station ถึงสถานีบริการ NGV และการก่อสร้างสถานีบริการ NGV ในส่วนของการซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติ จะซื้อขายเป็นค่าความร้อน (บาท/ล้านบีทียู) ตามโครงสร้างราคาที่ภาครัฐเป็นผู้ก�ำหนด ปัจจุบันมีสถานีในรูปแบบ Ex-pipeline ที่ด�ำเนินการแล้ว จ�ำนวน 2 สถานี ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัท เบสท์เอ็นจีวีจ�ำกัด และ บริษัท สุขสมเกียรติขนส่ง (2004) จ�ำกัด โดยสถานีดังกล่าวตั้งอยู่ที่จังหวัดสระบุรี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติ ไม่เกิน 20 ตัน/วัน ยังมีสถานีที่อยู่ระหว่างยื่นข้อเสนอเพื่อท�ำโครงการอีก 5 สถานี ซึ่งจะตั้งสถานีในเขตจังหวัดชัยนาท นครสวรรค์และสระบุรี
GAS
สถานีจังหวัดปทุมธานีและสระบุรีเป็น สถานีส่งก๊าซเอกชนโดยคิดเป็น
ร้อยละ50% ของสถานีทั้งหมด
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
43
2.4.4 การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ (1) การจัดหาก๊าซธรรมชาติและก๊าซเฉื่อยส�ำหรับปรับปรุงคุณภาพก๊าซ เนื่องจาก ปตท. เป็นผู้จัดหาก๊าซธรรมชาติให้แก่บริษัทฯ ตลอดอายุสัญญาจ้างอัดก๊าซฯ ดังนั้น ก๊าซธรรมชาติจึงไม่ ถือเป็นวัตถุดิบของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่า ปตท. จะเป็นผู้รับความเสี่ยงจากก๊าซธรรมชาติดังกล่าว แต่บริษัทฯ ได้ รับผลกระทบจากความเสี่ยงที่ ปตท. ไม่สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติให้บริษัทฯ ได้ นอกจากนี้ เนื่องจากก๊าซธรรมชาติที่ได้รับจาก ปตท. นั้น ยังมีค่าความร้อนไม่เหมาะสมส�ำหรับรถยนต์ ดังนั้น บริษัทฯ จึง ต้องเติมก๊าซเฉื่อย ซึ่งได้แก่ คาร์บอนไดออกไซค์ (CO2) หรือ ไนโตรเจน (N2) ในอัตราส่วนที่พอเหมาะ เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ของก๊าซธรรมชาติให้เหมาะสมตามที่กรมธุรกิจพลังงานก�ำหนดไว้ส�ำหรับรถยนต์ทั่วไป ซึ่งก�ำหนดให้มีค่าพลังงานความร้อน หรือ Wobbe Index (W.I.) ระหว่าง 37 – 42 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร ซึง่ ก๊าซเฉือ่ ยดังกล่าวถือเป็นวัตถุดบิ หนึง่ ของบริษทั ฯ โดยบริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาจัดหาก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ (CO2) และก๊าซไนโตรเจน (N2) จากผู้จัดจ�ำหน่ายในประเทศราย เดียว คือ กลุ่มบริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อใช้ในกระบวนการดังกล่าว โดยมีระยะเวลาในการท�ำสัญญา ระยะยาวประมาณ 5 – 6 ปี อย่างไรก็ตาม แม้บริษัทฯ จะมีการจัดหาก๊าซเฉื่อยจากผู้จัดจ�ำหน่ายเพียงรายเดียว แต่บริษัทฯ มีรายชื่อผู้จัดจ�ำหน่ายก๊าซเฉื่อย (Supplier List) เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ (2) การจัดหาเครื่องจักร ส่วนประกอบหลักในการประกอบธุรกิจสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน คือ เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติ และเครื่อง บรรจุก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน จังหวัดปทุมธานี บริษัทฯ มีการจัดซื้อเครื่องจักรจากบริษัท ในประเทศ ในขณะที่สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน จังหวัดสระบุรี บริษัทฯ มีการจัดซื้อเครื่องจักรโดยตรงจากผู้ผลิตต่าง ประเทศที่มีชื่อเสียง โดยมีการว่าจ้างบริษัทในประเทศที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ เพื่อติดตั้งเครื่องจักรดังกล่าว (3) การจัดหาชิ้นส่วนและอุปกรณ์ บริษทั ฯ มีการจัดซือ้ ชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ ทัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตในต่างประเทศโดยตรง หรือตัวแทนจ�ำหน่ายในประเทศ อย่างไรก็ตาม เพื่อลดการน�ำเข้าชิ้นส่วนและอุปกรณ์ดังกล่าวจากต่างประเทศ บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุง พัฒนา และว่าจ้าง บริษทั ในประเทศ เพือ่ ผลิตชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ดงั กล่าว โดยมีประสิทธิภาพการท�ำงานเทียบเท่ากับชิน้ ส่วนและอุปกรณ์จาก ต่างประเทศ ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุนส่วนนี้ได้
44
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
2.4.5 สิทธิประโยชน์การลงทุนจากบัตรส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน งเสริ มการลงทุ น ภาย บริ ษัทฯ ได้ รั บสิทธิประโยชน์จากการลงทุ ากการลงทุนน โดยได้ โดยได้รรับับอนุ อนุมมัตัติบิบัตัตรส่รส่งเสริ งเสริมมจากคณะกรรมการส่ จากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ น ใต้พระราชบั ญญัตญิสญั่งเสริ การลงทุ น พ.ศ. 25202520 ซึ่งบริ องปฏิ บัตบิตตั ามเงื ่อนไขและข้ อก�อำกหนดต่ างๆางๆที่รทีะบุ ไว้ไใว้นบั ภายใต้ พระราชบั ติสง่มเสริ มการลงทุ น พ.ศ. ซึ่งษบริัทษฯ ัทจะต้ ฯ จะต้ องปฏิ ิตามเงื ่อนไขและข้ าหนดต่ ่ระบุ ในตร การลงทุ น มีนดังมีนีด้ งั นี ้ บัส่งตเสริ รส่งมเสริ มการลงทุ ผู้ได้ รับ วันเริ่มและสิน้ สุด เลขที่บัตร ลงวันที่ สิทธิ สิทธิประโยชน์ บริ ษัทฯ 1876(1)/255 1876(1)/2552 19 พฤศจิกายน - 9 ตุลาคม 2552 ถึง8 (สาขา 2 2552 ตุลาคม 2560 ได้ รับ ปทุมธานี) ยกเว้ นภาษีเงินได้ นติ ิ บุคคลสาหรับกาไร สุทธิที่ได้ จากการ ประกอบกิจการ
สิทธิประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับตามบัตรส่ งเสริมการ ลงทุน สาหรับการลงทุนในกิจการ สถานีก๊าซธรรมชาติ สาหรับยานพาหนะ - ได้ รับอนุญาตนาคนต่างด้ าวซึ่งเป็ นช่างฝี มือ หรื อผู้ชานาญการ คู่สมรสและบุคคลซึ่งอยู่ ในอุปการะของบุคคลทัง้ สองประเภทนีเ้ ข้ า มาในราชอาณาจั ก รได้ ตามจ านวนและ ก าหนดระยะเวลาให้ อ ยู่ในราชอาณาจัก ร - 9 ตุลาคม 2560 ถึง 8 เท่าที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร ตุลาคม 2565 ได้ รับ ลดหย่อนภาษีเงินได้ - ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ น าคนต่ า งด้ าวซึ่ ง เป็ น ช่างฝี มือหรื อผู้ชานาญการเข้ ามาทางานตาม นิติบคุ คลสาหรับ ตาแหน่งหน้ าที่การทางานที่คณะกรรมการ กาไรสุทธิที่ได้ จาก ให้ ความเห็นชอบตลอดระยะเวลาเท่าที่ได้ รับ การลงทุนในอัตรา อนุญาตให้ อยูใ่ นราชอาณาจักร ร้ อยละ 50 ของอัตรา - ได้ รับ ยกเว้ น อากรขาเข้ าสาหรั บ เครื่ องจัก ร ปกติ ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ - ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลส าหรั บ กาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับ การส่งเสริ ม เป็ นระยะเวลา 8 ปี นับ แต่วนั ที่ เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ - ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนาเงินปั นผลจากกิจการที่ ได้ รับการส่งเสริ ม ซึ่งได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคลในข้ างต้ นไปรวมคานวณเพื่อเสีย ภาษี เงินได้ ตลอดเวลาที่ได้ รับการยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล - ได้ รับลดหย่อนภาษี เงินได้ นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุทธิที่ได้ จากการลงทุนในอัตราร้ อยละ 50 ของอัต ราปกติ เป็ นเวลา 5 ปี นับ จาก วัน ที่ พ้ น ก าหนดการยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุคคลในข้ างต้ น - ได้ รับอนุญ าตให้ หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และ ค่าประปาสองเท่าของค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเป็ น
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 21
45
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ผู้ได้ รับ สิทธิ
เลขที่บัตร
ลงวันที่
วันเริ่มและสิน้ สุด สิทธิประโยชน์
สิทธิประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับตามบัตรส่ งเสริมการ ลงทุน ระยะเวลา 10 ปี นับตัง้ แต่วันที่เริ่ มมี รายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ - ได้ รับอนุญาตให้ หกั เงินลงทุนในการติดตัง้ หรื อก่อสร้ างสิง่ อานวยความสะดวกร้ อยละ 25 ของเงินลงทุน นอกเหนือไป จากการหัก ค่าเสือ่ มราคาตามปกติ
1059(1)/2554 18 มกราคม 2554 - 16 กรกฎาคม 2554 สาหรับการลงทุนในกิจการ สถานีก๊าซธรรมชาติ บริ ษัทฯ 1059(1)/255 (สาขา 4 ถึง 15 กรกฎาคม สาหรับยานพาหนะ สระบุรี) 2562 ได้ รับยกเว้ น - ได้ รับอนุญาตนาคนต่างด้ าวซึง่ เป็ นช่างฝี มือ ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล หรื อผู้ชานาญการ คูส่ มรสและบุคคลซึง่ อยู่ สาหรับกาไรสุทธิที่ได้ ในอุปการะของบุคคลทังสองประเภทนี ้ ้เข้ า จากการประกอบ มาในราชอาณาจักรได้ ตามจานวนและ กาหนดระยะเวลาให้ อยูใ่ นราชอาณาจักร กิจการ เท่าที่คณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร - 16 กรกฎาคม 2562 - ได้ รับอนุญาตให้ นาคนต่างด้ าวซึง่ เป็ น ถึง 15 กรกฎาคม ช่างฝี มือหรื อผู้ชานาญการเข้ ามาทางานตาม 2567 ได้ รับลดหย่อน ตาแหน่งหน้ าที่การทางานที่คณะกรรมการ ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล ให้ ความเห็นชอบตลอดระยะเวลาเท่าที่ได้ รับ สาหรับกาไรสุทธิที่ได้ อนุญาตให้ อยูใ่ นราชอาณาจักร จากการลงทุนใน อัตราร้ อยละ 50 ของ - ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าสาหรับเครื่ องจักร ตามทีค่ ณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ อัตราปกติ - ได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลส าหรั บ กาไรสุทธิที่ได้ จากการประกอบกิจการที่ได้ รับ การส่งเสริ ม เป็ นระยะเวลา 8 ปี นับ แต่วนั ที่ เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิจการนัน้ - ได้ รับยกเว้ นไม่ต้องนาเงินปั นผลจากกิจการที่ ได้ รับการส่งเสริ ม ซึ่งได้ รับยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคลในข้ างต้ นไปรวมคานวณเพื่อเสีย ภาษี เงินได้ ตลอดเวลาที่ได้ รับการยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล - ได้ รับลดหย่อนภาษี เงินได้ นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุทธิที่ได้ จากการลงทุนในอัตราร้ อยละ 50 ของอัต ราปกติ เป็ นเวลา 5 ปี นับ จาก 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 22
46
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ผู้ได้ รับ วันเริ่มและสิน้ สุด สิทธิประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับตามบัตรส่ งเสริมการ เลขที่บัตร ลงวันที่ วันเริ่มและสิน้ สุด สิทธิประโยชน์ สิทธิ ผู้ได้ รับ สิทธิประโยชน์ ลงทุนท่ ไี ด้ รับตามบัตรส่ งเสริมการ เลขที่บัตร ลงวันที่ สิทธิ สิทธิประโยชน์ วัน ที่ พ้ น ก าหนดการยกเว้ลงทุ น เงิ น ได้ นิ ติ น ภาษี บุคคลในข้วัานงต้ที่นพ้ น ก าหนดการยกเว้ น ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ คคลในข้ น ง ค่าไฟฟ้า และ - ได้ รับอนุญบุาตให้ หักาค่งต้ าขนส่ - ได้ รับอนุาของค่ ญ าตให้ ค่านไฟฟ้า และ ค่าประปาสองเท่ าใช้หจัก่าค่ยดัาขนส่ งกล่างวเป็ ยดังกล่าวเป็ น ระยะเวลาค่า10ประปาสองเท่ ปี นับตัง้ แต่าวของค่ ันที่เริา่ มใช้มีจร่าายได้ ระยะเวลาจการนั 10 ปีน้ นับตัง้ แต่วันที่เริ่ มมี รายได้ จากการประกอบกิ น้ ดตัง้ - ได้ รับอนุญจากการประกอบกิ าตให้ หักเงิ นลงทุจนการนั ในการติ รับ่งอนุ ญ าตให้ หักเงิ นลงทุอยละ นในการติ ดตัง้ หรื อก่อ- สร้ได้างสิ อานวยความสะดวกร้ อก่อนสร้นอกเหนื างสิ่งอานวยความสะดวกร้ 25 ของเงิหรื นลงทุ อไป จากการหัก อยละ 25 ของเงินลงทุน นอกเหนือไป จากการหัก ค่าเสือ่ มราคาตามปกติ ค่าเสือ่ มราคาตามปกติ 2.4.6
มาตรฐานที่บริษัทฯ ได้ รับ 2.4.6 มาตรฐานที่บริษัทฯ ได้รับ 2.4.6 มาตรฐานที่บริษัทฯ ได้ รับ สาขา ประเภทมาตรฐาน ปทุมธานี สาขา ISO 9001:2008 ระบบบริ หารงานคุณ ภาพมาตรฐานสากล ประเภทมาตรฐานสาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติ หลักเอกชนระบบบริ (Privateหารงานคุ MotherณStation: PMS) ปทุมธานี ISO 9001:2008 ภาพมาตรฐานสากล สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติ TIS 18001 / มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรม ระบบการจั การอาชี วอนามัยและ หลักเอกชน (Private Mother Station: ดPMS) OHSAS TIS 18001ค/ ว า ม ป มาตรฐานผลิ ล อ ด ภั ย (Occupational health and safety ดmanagement ตภัณ ฑ์ อุตสาหกรรม ระบบการจั การอาชี วอนามัยและ 18001:2007 system : specification) ส าหรั บ สถานี ก ๊ า ซธรรมชาติ หลัand กเอกชน (Private OHSAS ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย (Occupational health safety management Mother Station: PMS) 18001:2007 system : specification) สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private สระบุรี ISO 9001:2008 ระบบบริ Mother ห ารงานคุ ณ ภาพPMS) ส าหรั บ สถานี ก๊ าซธรรมชาติ ห ลัก เอกชน Station: (Private Mother Station: PMS) สระบุรี ISO 9001:2008 ระบบบริ ห ารงานคุ ณ ภาพ ส าหรั บ สถานี ก๊ าซธรรมชาติ ห ลัก เอกชน ISO มาตรฐานระบบการจั ดการสิ ่งแวดล้PMS) อม (Environmental management (Private Mother Station: 14001:2004 System) ส าหรั บ สถานี ก ๊ าซธรรมชาติ ห ลั กอเอกชน (Private Mother ISO มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้ ม (Environmental management Station: PMS) 14001:2004 System) ส าหรั บ สถานี ก๊ าซธรรมชาติ ห ลั ก เอกชน (Private Mother TIS 18001:2554 มาตรฐานผลิ ต ภัณPMS) ฑ์ อุตสาหกรรม ระบบการจัด การอาชี วอนามัยและ Station: ค ว า ม ป มาตรฐานผลิ ล อ ด ภั ย (Occupational health and safety ดmanagement TIS 18001:2554 ต ภัณ ฑ์ อุตสาหกรรม ระบบการจั การอาชี วอนามัยและ system : คspecification) ส าหรั บ สถานี ก ๊ า ซธรรมชาติ หลัand กเอกชน (Private ว า ม ป ล อ ด ภั ย (Occupational health safety management Mother Station: PMS) system : specification) สาหรับสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother Station: PMS) 2.4.7 กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง 2.4.7 กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง 1. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่ อง หลักเกณฑ์และมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีก๊าซธรรมชาติที่กรมธุรกิจ งงาน เรื่ อง หลักเกณฑ์ญ และมาตรฐานความปลอดภั ยของสถานี ก๊ายซธรรมชาติ พลังงานมีอานาจหน้1.าทีประกาศกระทรวงพลั ่รับผิดชอบ พ.ศ. 2546 ออกตามพระราชบั ญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 และระเบี บกรมธุรกิทจี่กรมธุรกิจ พลังงานมีอานาจหน้ ที่รงับงาน ผิดชอบ พ.ศ. 2546 ออกตามพระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 และระเบียบกรมธุรกิจ พลังงาน และประกาศกรมธุ รกิจาพลั พลังงาน และประกาศกรมธุ 2. พระราชบั ญญัตคิ วบคุมรนกิจ้ามัพลั นเชืงงาน ้อเพลิง พ.ศ. 2542 ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2. พระราชบั ญญั ตคิ วบคุ(ฉบั มน บ้ามัทีน่ 5)เชื พ.ศ. ้อเพลิง2558 พ.ศ.ของกระทรวงมหาดไทย 2542 ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3. พระราชบั ญญัตคิ วบคุ มอาคาร 3. พระราชบั ญงญัเมืตอคิ งวบคุ 4. พระราชบั ญญัตกิ ารผั พ.ศ.มอาคาร 2518 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 ของกระทรวงมหาดไทย 4. พระราชบั ตกิ ารผัพ.ศ. งเมือ2535 ง พ.ศ. 2518 5. พระราชบั ญญัตวิ ตั ถุญอญั นั ตราย 5. พระราชบั ญญั ตวิ ตั ถุกอษาคุ นั ตราย พ.ศ.ง่ 2535 6. พระราชบั ญญัติสง่ เสริ มและรั ณภาพสิ แวดล้ อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 6. พระราชบัญญัติสง่ เสริ2.มและรั กษาคุณภาพสิรง่ กิแวดล้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ลักษณะการประกอบธุ จ หน้ าอ23 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 23
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
47
2.4.7 กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีก๊าซธรรมชาติที่กรม ธุรกิจพลังงานมีอ�ำนาจหน้าที่รับผิดชอบ พ.ศ. 2546 ออกตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และ ระเบียบกรมธุรกิจพลังงาน และประกาศกรมธุรกิจพลังงาน 2. พระราชบัญญัติควบคุมน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 ของกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน 3. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2558 ของกระทรวงมหาดไทย 4. พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 5. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 6. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 7. พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 8. พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 2.4.8 ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ได้มงุ่ เน้นด�ำเนินการธุรกิจอย่างมีคณ ุ ภาพ ควบคูก่ บั การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ฯ ได้ให้ความ ส�ำคัญในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น คุณภาพอากาศ และคุณภาพน�้ำ เป็นต้น โดยบริษัทมีการจัดท�ำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อนการก่อสร้างสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ส�ำหรับในแต่ละกระบวนการอัด ก๊าซธรรมชาติ จะมีการก�ำกับและดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อควบคุมให้ระดับมลภาวะต่างๆ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด รวมถึงมีการนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่รัดกุมและสอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจ นอกจาก นี้ บริษัทฯ ยังมีการจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาตรวจสอบประจ�ำปี โดยมีการตรวจสอบ 5 ด้าน ได้แก่ 1) การตรวจวัดปริมาณ ความเข้มข้นของฝุ่นละอองและสารเคมีในบรรยากาศการท�ำงาน 2) การตรวจวัดสภาพความร้อน 3) การตรวจวัดแสงสว่าง ะ 4) การตรวจระดับเสียงเฉลี่ยและเสียงรบกวน และ 5) ตรวจวัดคุณภาพน�้ำทิ้งก่อนปล่อยออกนอกโรงงาน ซึ่งผลการตรวจ วัดตามพารามิเตอร์ต่างๆ อยู่ในเกณฑ์ที่มาตรฐานก�ำหนด ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่เคยมี ข้อพิพาทหรือปัญหาเกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด 2.4.9 งานที่ยังไม่ส่งมอบ - ไม่มี –
48
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
3.ปัจจัยเสี่ยง การลงทุนในหุน้ สามัญของบริษทั ฯ มีความเสีย่ ง นักลงทุนควรพิจารณาข้อมูลในเอกสารฉบับนี้ และควรใช้วจิ ารณญาณ อย่างรอบคอบในการพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงในหัวข้อนี้ รวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่ปรากฏในเอกสารนี้ ก่อนการตัดสินใจลงทุนใน หุ้นสามัญของ บริษัทฯ ปัจจัยความเสี่ยงที่ระบุในหัวข้อนี้เป็นปัจจัยความเสี่ยงที่บริษัทฯ เห็นว่ามีนัยส�ำคัญและอาจก่อให้เกิดผลกระทบใน ทางลบต่อบริษัทฯ และมูลค่าหุ้นสามัญของบริษัทฯ รวมทั้งอาจส่งผลต่อการลงทุนของผู้ลงทุนในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญ โดย ปัจจัยความเสี่ยงที่ระบุในหัวข้อนี้มีการประเมินจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ทั้งนี้ อาจยังมีความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ยังไม่อาจ คาดการณ์ได้ ณ ปัจจุบนั หรือเป็นความเสีย่ งทีบ่ ริษทั ฯ พิจารณาในขณะนีแ้ ล้วเห็นว่าไม่มผี ลกระทบในสาระส�ำคัญต่อการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ปัจจัยความเสี่ยงส�ำหรับกลุ่มบริษัทฯที่อาจจะมีผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนของผู้ลงทุนอย่างมีนัยส�ำคัญ สามารถสรุปได้ดังนี้ ได้หลักของบริษัทฯ มาจากลูกค้ารายใหญ่เพียงรายเดียว ซึ่ง (1) ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ หากสัญญาดังกล่าวสิ้นสุดลง หรือ ปตท. ได้ยกเลิกสัญญาดัง ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจกับลูกค้ารายใหญ่ 1 ราย ได้แก่ กล่าว ก็จะส่งผลกระทบในทางลบ กับผลประกอบการของบ ปตท. ซึ่งเป็นผู้จัดจ�ำหน่ายก๊าซ NGV รายเดียวของประเทศ ริษัทฯอย่างมีนัยส�ำคัญ อย่างไรก็ตามบริษทั ฯก็ได้มนี โยบายในการลดความ ในขณะเดียวกันบริษัทฯ เป็นผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจเกี่ยวเนื่อง กับก๊าซธรรมชาติ จึงมีการให้บริการทางธุรกิจมาโดยตลอด เสี่ยงดังกล่าวโดยการปฏิบัติตามสัญญาว่าจ้างโดยเคร่งครัด โดยเป็นการท�ำสัญญาว่าจ้างระยะยาวซึ่งสัญญาจ้างอัดก๊าซ ส่งมอบบริการที่มีคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอ บริษัทฯจึงได้ ธรรมชาติพร้อมตั้งสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนของบ รับการว่าจ้างจาก ปตท. อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน นอกจากนี้ ที่ผ่านมาฝ่ายพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯได้มีการ ริษัทฯ มีอยู่ 2 สถานี คือ 1.สถานีกา๊ ซธรรมชาติหลักเอกชนทีจ่ งั หวัดปทุมธานี ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการต่างๆ ซึ่งเป็น สัญญาลงนามวันที่ 17 มีนาคม 2552 มีอายุสัญญา 20 ปี นับ โครงการทีจ่ ะขยายการลงทุนไปในธุรกิจต่อเนือ่ งด้านพลังงาน เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจากการกระจุกตัวทางธุรกิจใน ตั้งแต่วันลงนาม จะสิ้นสุดลงในปี 2572 2.สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนที่จังหวัดสระบุรี อนาคต ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากเงือ่ นไขในสัญญากับ ปตท. สัญญาลงนามวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 มีอายุสัญญา 20 ตามสัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ โดยสถานีก๊าซ ปีนับตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างได้รับแจ้งผลการคัดเลือกวันที่ 15 ธรรมชาติหลักเอกชน มีเนื้อหาที่อาจเป็นประเด็นความเสี่ยง ตุลาคม 2553 จะสิ้นสุดลงในปี 2573 โดยในปีสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม2560 บริษัทฯ มี ที่อาจเกิดกับบริษัทฯจากเงื่อนไขในสัญญาที่ท�ำกับ ปตท. รายได้จากธุรกิจอัดก๊าซธรรมชาติเท่ากับ 310.15ล้านบาท ประกอบด้วย หรือคิดเป็นร้อยละ 92.94ของรายได้รวมซึ่งจะเห็นได้ว่าราย
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
1) การชดเชยความเสียหายกรณีไม่สามารถอัดก๊าซ ตามค�ำรับรอง ยกเว้นกรณีที่ ปตท. ระงับการจ่ายก๊าซ ให้ผรู้ บั จ้างยอมชดเชยค่าเสียหายของปริมาณก๊าซส่วนที่ขาด อัน เนื่องจากการที่ ปตท. ต้องจัดหาก๊าซธรรมชาติอัดจากแหล่ง อื่นทดแทน เป็นรายวัน ในอัตรา 1.5 เท่าของค่าตอบแทน การอัดก๊าซธรรมชาติ 2) ในกรณีมีปริมาณก๊าซธรรมชาติส่วนต่างที่เกิด จากมิเตอร์ก่อนเข้าสถานีฯ และมิเตอร์จ่ายก่อนเข้ารถขนส่ง ก๊าซธรรมชาติ ส่วนต่างทีเ่ กินกว่าร้อยละ 1 ผูร้ บั จ้างตกลงจ่าย เงินชดเชยค่าเนื้อก๊าซฯ ส่วนต่างให้ ปตท. ในอัตราที่ ปตท. แจ้งให้ทราบ โดยผู้รับจ้างตกลงให้ ปตท.สามารถหักกลบกับ ค่าจ้างอัดก๊าซธรรมชาติได้ และในกรณีที่ผู้รับจ้างสามารถ พิสูจน์ได้ว่าปริมาณก๊าซส่วนต่างเกิดจากความผิดพลาดของ ระบบการวัดปริมาณก๊าซ ปตท. ยินดีจะเจรจาเพื่อลดค่า ชดเชยดังกล่าว ซึ่งในระยะเวลาของการด�ำเนินงานที่ผ่าน มาบริษัทฯ เคยมีประวัติการเกิด ค่าชดเชยเนื้อก๊าซสูญเสีย (Gas Loss) มากกว่าร้อยละ 1ซึ่งบริษัทฯได้บันทึกค่าชดเชย เนื้อก๊าซดังกล่าวให้เป็นต้นทุนในงบการเงินแล้ว 3) ทาง ปตท. มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ กรณีทผี่ ผู้ ลิต และ/หรือผูร้ บั สัมปทานไม่มกี า๊ ซธรรมชาติเพียงพอทีจ่ ะส่งให้ ปตท. อีกต่อไป 4) กรณีทเี่ กิดจากเหตุสดุ วิสยั และ/หรือการกระท�ำ ของบุคคลทีส่ าม ซึง่ มิใช่ความผิดของคูส่ ญ ั ญาฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ และหากปรากฎว่ามีความเสียหาย และ/หรือสูญหายอย่าง สิน้ เชิงต่อระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ระบบท่อย่อย ของ ปตท. และ/หรือสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก ซึ่งมิ อาจซ่อมแซมให้กลับคืนสูส่ ภาพดีและใช้การได้ตามมาตรฐาน อุตสาหกรรมทั่วไปและความปลอดภัย ได้ภายใน 30 วัน นับ จากวันทีเ่ กิดเหตุการณ์ดงั กล่าว หรือภายในระยะเวลาอืน่ ทีค่ ู่ สัญญาจะตกลงกันหลังจากเกิดเหตุการณ์นนั้ ให้ถอื ว่าสัญญา ฉบับนี้สิ้นสุดลงเมื่อพ้นก�ำหนดระยะเวลา 30 วัน หรือระยะ เวลาอื่นๆ ที่คู่สัญญาตกลงกันดังกล่าว ในกรณีที่บริษัทไม่สามารถอัดก๊าซตามค�ำรับรอง ปริมาณอัดขั้นต�่ำให้กับ ปตท. ได้นั้น มีความเป็นไปได้ค่อน ข้างน้อยที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว เพราะจะเห็นว่าส�ำหรับ สถานีสระบุรี บริษัทฯ มีสัญญาการอัดก๊าซขั้นต�่ำอยู่ที่ 320 ตันต่อวัน และมีกำ� ลังการผลิตติดตัง้ ไว้ทรี่ ะดับ 400 ตันต่อวัน
49
ซึ่งยังเกินกว่าปริมาณอัดขั้นต�่ำที่รับรอง และส�ำหรับสถานี ปทุมธานี บริษัทฯ มีสัญญาการอัดก๊าซขั้นต�่ำกับ ปตท. อยู่ ที่ 200 ตันต่อวัน แต่บริษัทฯ ติดตั้งก�ำลังการผลิตไว้ที่ 350 ตันต่อวัน ซึ่งจะเห็นว่า มีส่วนต่างเกินไว้เพื่อรับรองการอัดใน ระดับหนึ่งอย่างเพียงพอ ดังนั้น ความเสี่ยงที่บริษัทฯ จะอัด ก๊าซไม่ถึงยอดขั้นต�่ำ จึงมีความเป็นไปได้ค่อนข้างต�่ำ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯได้มีนโยบายในการลดความ เสีย่ งดังกล่าวและให้ความส�ำคัญกับการปฏิบตั ติ ามสัญญาว่า จ้างทีท่ ำ� ไว้กบั ปตท. อย่างเคร่งครัด รวมถึงการส่งมอบบริการ ที่มีคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอมาโดยตลอดนับตั้งแต่บริษัทเริ่ม ด�ำเนินการ และยังเป็นการรักษาความสัมพันธ์อันดีระหว่า งบริษัทฯกับ ปตท. มาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้บริษัทฯยังได้มีแ ผนการลดความเสี่ ย งอื่นๆ ทั้งความเสี่ยงจากกรณีไม่สามารถอัดก๊าซตามค�ำ รับรอง, ความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดจากเหตุสดุ วิสยั โดยบริษทั ฯได้มี การวางแผนตรวจสอบและซ่อมบ�ำรุงเครือ่ งอัดก๊าซธรรมชาติ อย่างสม�ำ่ เสมอ และจัดท�ำแผนการบริหารความต่อเนือ่ งทาง ธุรกิจ Business Continuity Management (BCM) เพื่อ ก�ำหนดกรอบการบริหารจัดการองค์กรในภาวะวิกฤติรนุ แรง และการตัดสินใจในการบริหารจัดการกับเหตุการณ์ดังกล่าว ที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งทั้งหมดนี้จึงท�ำให้มั่นใจได้ว่าทางบริษัทไม่ได้นิ่งนอนใจกับ การเตรียมความพร้อมทีจ่ ะรับมือกับความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากเงื่อนไขในสัญญากับ ปตท. จึงท�ำให้บริษัทได้รับการว่า จ้างจาก ปตท. อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน
50
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ในส่วนของการยกเลิกสัญญาก่อนก�ำหนด ที่เกิด จากการเกิดความเสียหายของระบบท่อส่งก๊าซนั้น โดยหาก เป็นท่อส่งก๊าซบริเวณภายในสถานี ทางบริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมการบ�ำรุงรักษาเป็นอย่างดี ขณะที่ ส�ำหรับส่วนของ ท่อส่งก๊าซภายนอกสถานีฯ อยู่ในความดูแลของ ปตท. โดย ระบบท่อประธาน มีผู้ใช้งานร่วมกันหลายภาคส่วน ทั้งโรง ไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้นบริษัทฯเชื่อว่า หน่วยงาน ของ ปตท.จะให้ความสนใจในการดูแลรักษาเป็นอย่างดี ดัง นัน้ การจะเกิดกรณีเสียหายของท่อจนถึงขัน้ ต้องหยุดด�ำเนิน งานถือเป็นความเสี่ยงในระดับต�่ำเช่นกัน ความเสี่ ย งจากการพึ่ ง พิ ง องค์ ก รหรื อ บริ ษั ท ผู ้ จัดหาสินค้าและบริการให้กับธุรกิจ บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยมีการพึ่งพิงผู้จัดหาสินค้า และบริการ กับองค์กรหรือบริษัทฯรายใหญ่ จ�ำนวน 2 ราย ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่ เป็นผู้จัดจ�ำหน่ายไฟฟ้าภายในประเทศ และบริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย)จ�ำกัด(มหาชน) เป็นผู้น�ำในด้านการจัดหา ผลิตภัณฑ์แก๊สอุตสาหกรรมในประเทศไทย และหากการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและบริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ยกเลิกสัญญาบริการไฟฟ้า สัญญาซื้อขายแก๊ส และสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง จะส่งผลกระทบในทางลบกับการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯอย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งนี้หากเกิดกรณีที่ บริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน) นั้นไม่สามารถให้บริการในการจ�ำหน่ายแก๊ส อุตสาหกรรมได้ตามสัญญา ทางบริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน)จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบและเสียค่าปรับตาม เนื้ อหาที่ มีการแจ้ งไว้ในสัญญาซื้อขายแก๊สอุตสาหกรรม หรื อ หากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ บ ริ ษั ท ลิ น เด้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน)ไม่สามารถให้บริการในการจ�ำหน่ายแก๊ส อุตสาหกรรมได้ตามสัญญา ทางบริษัทฯเองก็ยังสามารถ จัดหาผู้จัดจ�ำหน่ายรายอื่นเพื่อมาทดแทนได้ เนื่องจากยังมี ผู้จัดจ�ำหน่ายแก๊สอุตสาหกรรมรายใหญ่ในประเทศไทยอีก จ�ำนวน 2-3 รายที่พร้อมจะให้บริการกับทางบริษัทฯ อย่างไรก็ตามตลอดระยะเวลาการด�ำเนินงานขอ งบริษัทฯในช่วงที่ผ่านมานั้น บริษัทฯได้ปฏิบัติตามสัญญา อย่างเคร่งครัด สามารถจ่ายค่าบริการไฟฟ้ารวมถึงค่ารับซื้อ แก๊สอุตสาหกรรมตามสัญญาได้อย่างสม�่ำเสมอ และเชื่อว่า จะสามารถขยายสัญญาต่อไปได้ในอนาคต
ความเสี่ยงจากเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติเกิดความ เสียหาย ในสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติจ�ำนวน 6 เครื่อง และสถานีกา๊ ซธรรมชาติหลักเอกชน อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัด สระบุรมี เี ครือ่ งอัดก๊าซธรรมชาติจำ� นวน 6 เครือ่ ง ทีใ่ ช้อดั ก๊าซ ให้กับรถขนส่งก๊าซ NGV เพื่อส่งไปยังสถานีบริการลูก สถานี บริการก๊าซธรรมชาติหลักเปิดด�ำเนินการ 24 ชั่วโมง ตลอด 365 วันต่อปี โดยบริษัทฯ ตกลงกับ ปตท. เกี่ยวกับปริมาณ อัดก๊าซไม่ต�่ำกว่า 200 ตันต่อวันที่สถานีบริการก๊าซจังหวัด ปทุมธานีและปริมาณอัดก๊าซไม่ตำ�่ กว่า 320 ตันต่อวันทีส่ ถานี บริการก๊าซจังหวัดสระบุรีนอกจากนี้ต้องมีก�ำลังส�ำรองการ ผลิตร้อยละ 25 ตลอดอายุสัญญา และต้องอัดก๊าซ NGV ให้ รถขนส่งก๊าซ NGV ได้อย่างน้อย 10 คันพร้อมกัน และมีอตั รา การเติมไม่นอ้ ยกว่า 12 ตันต่อชัว่ โมง หากบริษทั ฯ ไม่สามารถ ท�ำได้ตามทีไ่ ด้ตกลงไว้ บริษทั ฯ ต้องชดเชยค่าเสียหายในส่วน ที่ขาดให้กับ ปตท. ในอัตรา 1.5 เท่าของค่าตอบแทนการอัดก๊าซ ดังนัน้ หากเกิด ความเสียหายกับสถานีบริการก๊าซธรรมชาติหลัก หรือเครือ่ ง อัดก๊าซธรรมชาติ จนกระทัง่ บริษทั ฯ ไม่สามารถอัดก๊าซ NGV ได้ตามที่ตกลงกันไว้กับ ปตท. จะส่งผลให้รายได้ของบริษัทฯ ลดลงและเกิดรายจ่ายเพิ่มขึ้นจากค่าชดเชยความเสียหาย ซึ่งบริษัทฯได้ตระหนักถึงความเสี่ยงในข้อนี้เป็น อย่างดี ตลอดระยะเวลาด�ำเนินงานของบริษัทฯที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้มีการซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาเครื่องอัดก๊าซ ธรรมชาติที่สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนอย่างต่อเนื่อง ตามตารางแผนซ่อมบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance)ซ่อมบ�ำรุงรายเดือนตลอดปีโดยบริษัทฯ มี การบริหารจัดการด�ำเนินงาน
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
เพื่อให้เกิดความปลอดภัย มีการสับเปลี่ยนการใช้เครื่องอัด ก๊าซธรรมชาติเพื่อให้เครื่องอัดก๊าซธรรมชาติแต่ละเครื่อง มีอายุการใช้งานเฉลี่ยใกล้เคียงกัน มีการวางแผนตรวจสอบ และซ่อมบ�ำรุงเครื่องอัดก๊าซธรรมชาติสม�่ำเสมอ จึงท�ำให้ใน ระยะเวลาของการด�ำเนินงานตลอดช่วงทีผ่ า่ นมานัน้ บริษทั ฯ ไม่เคยต้องจ่ายชดเชยค่าเสียหายในส่วนดังกล่าวให้แก่ ปตท. เลย นอกจากนัน้ บริษทั ฯ มีวงเงินประกันภัยความเสีย่ ง ภัยทรัพย์สินของสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัด ปทุมธานีและจังหวัดสระบุรี จ�ำนวน 181.52 ล้านบาทและ 190.00 ล้านบาทตามล�ำดับ ซึ่งครอบคลุมอาคารสถานีก๊าซ ธรรมชาติหลัก ตลอดจนสิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สินอุปกรณ์ ต่างๆ รวมถึงความคุ้มครองถึงบุคคลที่สามที่ได้รับอันตราย ในวงเงินจ�ำกัดความรับผิดไม่เกินสถานีละ 10 ล้านบาท และ บริษัทได้จัดท�ำประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก วงเงินประกันภัย รวมจ�ำนวน ไม่เกิน 165.00 ล้านบาท ซึ่งให้ความคุ้มครอง ต่อการสูญเสียรายได้ หากเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของ สถานี ก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนทั้งสองสถานี นอกจากนี้ทา งบริษัทฯได้จัดท�ำประกันภัยเพิ่มเติมตามประกาศกระทรวง พลังงานเรือ่ ง หลักเกณฑ์และวิธกี ารในการจัดให้มกี ารประกัน ภัยความรับผิดตามกฎหมายแก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภัย อันเกิดจากการประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 3 พ.ศ. 2557 ในวงเงินไม่เกินสถานีละ 5 ล้านบาทต่อครั้ง ความเสี่ ย งจากการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ใ นสถานี ก ๊ า ซ ธรรมชาติหลักเอกชน ในสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนของบริษัทฯ ถือ เป็นส่วนทีส่ ร้างรายได้หลักให้กบั บริษทั ฯ จึงมีความเสีย่ งหาก เกิดอุบัติเหตุขึ้นในสถานีบริการ ทั้งนี้ถึงแม้บริษัทฯ มีวงเงิน ประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สินของสถานีก๊าซธรรมชาติ หลักเอกชนจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสระบุรี จ�ำนวน 181.52ล้านบาทและ 190.00 ล้านบาทตามล�ำดับ ซึ่งวงเงิน ประกันความเสีย่ งดังกล่าวได้มกี ารแยกรายละเอียดทรัพย์สนิ เอาประกันภัยในแต่ละรายการอย่างเพียงพอ ครอบคลุม อาคารสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก ตลอดจนสิ่งปลูกสร้าง และ ทรัพย์สนิ อุปกรณ์ตา่ งๆ รวมถึงความคุม้ ครองถึงบุคคลทีส่ าม ที่ได้รับอันตรายในวงเงินจ�ำกัดความรับผิดไม่เกินสถานีละ 10 ล้านบาทและบริษัทฯยังได้จัดท�ำประกันภัยความรับผิด ตามกฎหมายแก่ผไู้ ด้รบั ความเสียหายจากภัยอันเกิดจากการ
51
ประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 3 พ.ศ.2557 ในวงเงินไม่ เกินสถานีละ 5 ล้านบาทต่อครั้ง มาอย่างต่อเนื่องตลอดทุกปี อย่ า งไรก็ ต ามจากการด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมาขอ งบริษัทฯนั้น ยังไม่เคยเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงที่สถานีก๊าซ ธรรมชาติหลักเอกชนของบริษัทฯแต่อย่างใด เนื่องจากทาง บริษัทฯมีการก�ำหนดมาตรการความปลอดภัยภายในสถานี บริการก๊าซธรรมชาติส�ำหรับยานยนต์และปฏิบัติตามคู่มือ มาตรฐานสถานีบริการก๊าซที่ ปตท.ก�ำหนด และก�ำหนดให้ พนักงานปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด รวมถึงการควบคุมบุคคล ภายนอกเมือ่ เข้ามาใช้บริการเติมก๊าซรวมถึงบริษทั ได้รบั การ รับรองมาตรฐาน TIS18001 ซึ่งเป็น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (Occupational health and safety management system : specification) ส�ำหรับสถานีกา๊ ซ ธรรมชาติหลักเอกชน ซึ่งบริษัทได้รับรองมาตรฐานดังกล่าว ทั้งสาขาปทุมธานีและสาขาสระบุรี ความเสี่ยงจากการขาดแคลนก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากบริษัทฯด�ำเนินธุรกิจรับจ้างอัดก๊าซเป็น ธุรกิจหลัก ซึ่งธุรกิจนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ ซึ่ง ต้องพึ่งพาก๊าซธรรมชาติจากท่อส่งก๊าซของ ปตท. ซึ่งถ้าหาก มีความขัดข้องในระบบส่งก๊าซธรรมชาติของ ปตท. และมี การหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติชั่วคราว ก็อาจจะท�ำให้บริษัทฯ ไม่สามารถให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติได้ แม้ว่าจะไม่มีเบี้ย ปรับจากปตท. แต่ก็อาจจะท�ำให้บริษัทฯสูญเสียโอกาสที่จะ มีรายได้ตามปกติได้
วงเงินประกันภัยความเสี่ยง สถานีก๊าซจังหวัดปทุมธานี
วงเงินประกันภัยความเสี่ยง สถานีก๊าซจังหวัดสระบุรี
181.52 ล้านบาท 190.00 ล้านบาท
52
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตามความเสี่ยงในส่วนนี้มีความเป็นไป ได้ของการเกิดน้อยมากเนื่องจากทาง ปตท.ได้มีการด�ำเนิน การติดตามความเคลือ่ นไหวของการจัดหาและความต้องการ ใช้ก๊าซธรรมชาติ ตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงราคาก๊าซ ธรรมชาติในตลาดโลก และนโยบายของภาครัฐรวมถึงได้มี การประสานงานกับกลุ่มผู้ขายและลูกค้าอย่างใกล้ชิด เพื่อ ทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติและ LNG ทั้งในระยะสั้นและยาวอย่างสม�่ำเสมอ ให้สามารถรองรับกับ สถานการณ์ที่ไม่เป็นไปตามแผน รวมถึงผลกระทบเมื่อเกิด เหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤต โดยทางปตท. ได้มีการด�ำเนิน การเจรจาจัดหาก๊าซธรรมชาติจากแหล่งต่างๆในประเทศ และการเจรจาจัดหาก๊าซธรรมชาติเหลว หรือ Liquefied Natural Gas (LNG) จากกลุ่มผู้ขายในหลายประเทศทั่ว โลก ปตท. จึงมีการวางแผนการจัดหาก๊าซธรรมชาติเหลว เพิ่มเติม โดยมีแผนที่จะขยายสถานีรับ – จ่ายก๊าซธรรมชาติ เหลว (LNG Terminal) ระยะที่ 1ให้มีก�ำลังการรับ LNG ขนาด 11.5ล้านตัน/ปี และลงทุนโครงการก่อสร้างท่าเทียบ เรือและ LNG Terminal แห่งที่ 2เพื่อรองรับปริมาณ LNG ที่เพิ่มสูงขึ้น เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการใช้ ก ๊ า ซธรรมชาติ ข อง ประเทศ อีกทั้งยังเป็นการบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จากการขาดแคลนก๊าซธรรมชาติในอนาคต ซึ่งการจัดหา ก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ตามในสัญญาซื้อก๊าซธรรมชาติกับ ผู้ขายก๊าซธรรมชาติทั้งแหล่งก๊าซธรรมชาติในประเทศ และ ต่างประเทศ จ�ำนวน สัญญารวม 15 ฉบับจะมีการก�ำหนด ปริมาณซื้อก๊าซธรรมชาติขั้นต�่ำรายปีที่ ปตท. จะต้องรับซื้อ โดยหากในปีสัญญาใด ปตท. ไม่สามารถรับก๊าซธรรมชาติ ได้ครบตามปริมาณขั้นต�่ำที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา ปตท. จะ ต้องช�ำระค่าก๊าซธรรมชาติ ในส่วนที่ไม่ได้รับนั้นด้วย (Takeor-Pay) และนอกจากนี้ ในสัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติ โดยสถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การแก้ไขสัญญา ซึ่งเปิดไว้ว่ากรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของ กฎหมาย การเปลี่ยนแปลงทางราคาเชื้อเพลิงหรือกรณีเกิด ภาวะขาดแคลนและ/หรือไม่เพียงพอต่อความต้องการก๊าซ ธรรมชาติในประเทศ อันมีผลให้คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะ ได้รับความเสียเปรียบ หรือความความเสียหายอย่างร้าย แรงจากการที่ต้องปฎิบัติตามข้อก�ำหนดแห่งสัญญานี้ต่อไป
คู่สัญญาฝ่ายที่ได้รับความเสียหายมีสิทธิที่จะร้องขอเป็นลาย ลักษณ์อักษรให้มีการตกลงใหม่ และคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะ ต้องประชุมกันภายในสามสิบ (30) วัน นับแต่คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่าย ร้องขอ ถ้าทัง้ สองฝ่ายเห็นพ้องต้องกันในการแก้ไขข้อขัดข้อง ที่เกิด ก็สามารถแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมและลงนามร่วมกัน ความเสี่ยงจากผลต่างระหว่างราคาน�้ำมันและ ราคาก๊าซ NGV ลดลงและความต้องการใช้ก๊าซ NGV ที่ลดลง เนือ่ งจากก๊าซ NGV ถือเป็นเชือ้ เพลิงทีเ่ ป็นทางเลือก ส�ำหรับผู้ใช้รถยนต์ เนื่องจากก๊าซ NGV มีราคาต�่ำกว่าราคา น�้ำมันเชื้อเพลิงหลักเช่น น�้ำมันเบนซินและน�้ำมันดีเซล ซึ่งผู้ ใช้รถยนต์จะหันมาใช้กา๊ ซ NGV ทีเ่ ป็นเชือ้ เพลิงทางเลือกเพิม่ ขึ้นหากส่วนต่างระหว่างราคาก๊าซ NGV และราคาน�้ำมันเชื้อ เพลิงหลักอยูใ่ นระดับสูง ในทางกลับกัน หากส่วนต่างระหว่าง ราคาก๊าซ NGV และราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงหลักอยู่ในระดับต�่ำ ก็จะท�ำให้ผู้ใช้รถยนต์ใช้ก๊าซ NGV ลดลง แม้ว่าบริษัทฯจะไม่ ได้ด�ำเนินธุรกิจจ�ำหน่ายก๊าซ NGVซึ่งเป็นธุรกิจที่ได้รับผล กระทบทางตรงจากการเปลี่ยนแปลงของส่วนต่างของราคา ก๊าซ NGVและราคาน�ำ้ มัน แต่อตุ สาหกรรมก๊าซ NGV ทัง้ หมด จะได้รับผลกระทบจากอุปสงค์ที่ลดลง ซึ่งหากความต้องการ ก๊าซ NGV ลดลงก็อาจจะส่งผลให้ปริมาณการว่าจ้างอัดก๊าซ ธรรมชาติจากปตท. ลดลง หรือปริมาณขยายธุรกิจก๊าซ NGV ของปตท. ลดลง ซึ่งอาจจะส่งผลต่อรายได้ในปัจจุบันของ บริ ษั ท ฯ และความสามารถในการขยายธุ ร กิ จ อั ด ก๊ า ซ ธรรมชาติในอนาคตของบริษัทฯ ได้ การเปรียบเทียบราคาเชื้อเพลิงต่อกิโลเมตร บาทต่อกิโลเมตร
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
53
ที่มา : ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)และเว็บไซต์www. gasthai.com หมายเหตุ : การอ้างอิงราคาเชื้อเพลิงต่อกิโลเมตร โดยการทดสอบจากตัวอย่างรถยนต์รุ่นและประเภทต่างๆ และใช้ความเร็ว เฉลีย่ ในหลายระดับรวมถึงทดสอบในพืน้ ทีแ่ ละสภาพแวดล้อมทีอ่ าจต่างกัน ดังนัน้ ผลการทดสอบอัตราการสิน้ เปลืองดังกล่าว อาจแตกต่างไปตามปัจจัยข้างต้น รวมถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและปัจจัยอื่นๆ ณ ขณะท�ำการทดสอบ ทั้งนี้ อัตราการสิ้น เปลืองของเชื้อเพลิงอาจเปลี่ยนแปลงไปตามการทดสอบของแต่ละองค์กร อย่างไรก็ตาม หากพิจารณากราฟเปรียบเทียบราคา เชือ้ เพลิงต่อกิโลเมตร ในช่วงปี 2552 – มิถนุ ายน 2560จะเห็น ได้ว่ามีส่วนต่างราคาระหว่างราคา NGV กับน�้ำมันเชือ้ เพลิง ต่างๆโดยราคาเชือ้ เพลิงของ NGV ต่อกิโลเมตรยังอยูใ่ นระดับ ต�ำ่ กว่าเชือ้ เพลิงประเภทอืน่ แม้วา่ ในปี 2558 ราคาน�ำ้ มันดีเซล และแก๊สโซฮอล์ 95ต่อกิโลเมตรได้ปรับตัวต�ำ่ ลงอย่างมาก จาก การลดลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ ของราคาน�ำ้ มันในตลาดโลก รวม ถึงในส่วนของLPG นัน้ พบว่าแม้ราคาLPG ได้ปรับตัวลดลงใน ช่วงปี 2559 จากราคาในตลาดโลกทีล่ ดลง แต่การใช้ NGV ในยานยนต์ก็ยังคงความคุ้มค่าไม่ด้อยกว่าการใช้LPG ส่วน หนึ่งเนื่องจากปัจจุบันภาครัฐยังมีการสนับสนุนและชดเชย ราคา LPG ท�ำให้ราคา LPG ยังไม่ได้สะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริง ทัง้ นี้ หากมีความจ�ำเป็นต้องมีการพิจารณาถึงสถานะของกอง ทุนน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง รวมถึงแนวทางการปรับราคา LPG ให้มี ความเหมาะสมกับสถานการณ์ตน้ ทุนราคาในตลาดโลกต่อไป ในอนาคต ก็อาจมีพจิ ารณาแนวทางการเปิดเสรีของ LPG จะ ส่งผลให้ราคา LPG จะสะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงมากขึน้ ซึง่ อาจ
ท�ำให้เกิดส่วนต่างระหว่าง LPG และ NGV มีมากขึน้ ด้ ว ยข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จะพบว่ า ราคาต่ อ กิโลเมตรของการใช้ NGV เป็นเชื้อเพลิงก็ยังคงมีค่าในระดับ ต�่ำที่สุด แม้ว่าจะมีการปล่อยราคา NGV ลอยตัวในปี 2559 ก็ตาม จึงท�ำให้เชือ่ มัน่ ได้วา่ ยังคงมีกลุม่ ลูกค้าส่วนหนึง่ ทีเ่ ลือก ใช้กา๊ ซ NGV เป็นเชือ้ เพลิงต่อไป โดยเฉพาะกลุม่ ผูใ้ ช้รถขนส่ง และรถบรรทุกขนาดใหญ่ ความเสี่ยงอันอาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม กรณีฉุกเฉิน หรือภาวะวิกฤต
54
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทฯมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อม ทัง้ จากภายในกิจการและภายนอกกิจการ เช่น การ เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทรี่ วดเร็ว การเปลีย่ นกลยุทธ์ของ คูแ่ ข่ง ลักษณะของอุตสาหกรรม ภาวะตลาดในประเทศ และ ต่างประเทศ ไปจนถึงกรณีเกิดจากภาวะวิกฤติรุนแรงอื่นๆ ซึ่งปัจจัยต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้นกับบริษัทฯ อย่างมีนัยส�ำคัญได้ในอนาคตอย่างไร ก็ตาม ทางบริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหาร ความเสีย่ งภายใต้ความไม่แน่นอนต่างๆ โดยถือว่าการบริหาร ความเสี่ยงเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของทุกกระบวนการใน การด�ำเนินธุรกิจที่มีความเชื่อมโยงกันทุกระดับ จึงได้มีการ จัดท�ำแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ Business Continuity Management (BCM) ซึง่ เป็นการรวมกลุม่ ของ คณะท�ำงานทั้งในระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ และหัวหน้าฝ่าย หลักๆ ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ เพื่อก�ำหนดกรอบการบริหาร จัดการองค์กรในภาวะวิกฤติรุนแรงและการตัดสินใจในการ บริหารจัดการกับเหตุการณ์ดังกล่าวที่อาจเกิดขึ้น (2) ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ ความเสีย่ งจากการขาดแคลนพนักงานทีม่ ที กั ษะความช�ำนาญ เนื่องจากธุรกิจของบริษัทฯเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับงาน วิศวกรรม เครื่องจักรกลและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นธุรกิจที่มี ลักษณะเฉพาะ แตกต่างจากเครื่องจักรทั่วไป รวมถึงต้องมี การร่วมงานกับบริษัทฯ อื่นๆ ที่ใช้มาตรฐานระดับสากล ดัง นัน้ บุคลากรจึงมีลกั ษณะทีม่ คี วามสามารถเฉพาะทาง การสูญ เสียบุคลากรทีม่ ปี ระสบการณ์และความสามารถ เช่น หัวหน้า วิศวกร หรือพนักงานในต�ำแหน่งส�ำคัญอื่น ๆ ก็อาจส่งผล ให้การด�ำเนินของบริษัทฯไม่ต่อเนื่องได้ ซึ่งบริษัทฯได้ทราบ ถึงความเสี่ยงในข้อนี้ จึงเน้นความส�ำคัญในด้านการรักษา บุคลากรและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและประสบการณ์ และ มีการส่งเสริมให้บุคลากรแต่ละสายงานได้เข้ารับการอบรม สัมมนาในสาขางานที่เกี่ยวข้องทุกๆ ปี อีกด้วย ความเสีย่ งจากการมีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่ทมี่ อี ทิ ธิพล ต่อการก�ำหนดนโยบายบริหารงาน
กลุ่มตระกูลสุเมธโชติเมธา รวมถึง เป็นผู้ถือหุ้น ใหญ่ โดย ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561 ถือหุ้นรวมกันใน บริษัทฯ เป็นสัดส่วนร้อยละ53.80ของจ�ำนวนทุนช�ำระแล้ว ทัง้ หมด นอกจากนีน้ ายชัชชัย สุเมธโชติเมธา ยังด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและเป็นกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนาม ในบริษทั ฯ อีกด้วย ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย อาจมีความเสีย่ งจากการ ที่กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่จะมีอิทธิพลต่อการก�ำหนดนโยบาย การบริหารงานไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง สามารถควบคุม นโยบายและการบริหารงานในบริษัทฯได้ รวมถึงสามารถ ควบคุมการอนุมตั มิ ติประชุม ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ อ้ งการเสียงส่วนใหญ่ ได้ ยกเว้นเรือ่ งทีก่ ฎหมายหรือข้อบังคับของบริษทั ฯทีก่ ำ� หนด ให้ต้องได้รับเสียง 3ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้น ผู้ถือ หุน้ รายอืน่ อาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพือ่ ตรวจสอบ และถ่วงดุลเรื่องที่กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสนอได้ อย่างไรก็ดี เพื่อความโปร่งใสในการบริหารจัดการ และการตรวจสอบและถ่วงดุลอ�ำนาจผูบ้ ริหารและกรรมการ บริษัทฯได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเข้ามา เพื่อ ท�ำหน้าที่ตรวจสอบ ถ่วงดุลการตัดสินใจ และพิจารณา อนุมัติรายการต่างๆ ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อ มิให้เกิดรายการที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง และเพื่อก่อให้เกิด ความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังมี กรรมการบริษัทฯ 6 ท่านจาก 11 ท่าน หรือเกินกว่ากึ่งหนึ่ง เป็นกรรมการที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของกลุ่มตระกูลสุเมธโชติ เมธาจึงสามารถพิจารณากลั่นกรองการเสนอเรื่องต่างๆ ที่ จะพิจารณาเข้าสู่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(3) ความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ถือหลักทรัพย์ ความเสีย่ งจากราคาหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อาจผันผวนซึง่ ก่อ ให้เกิดผลขาดทุนอย่างมีนัยส�ำคัญต่อผู้ลงทุนที่ซื้อหุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ราคาหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อาจมีการเปลีย่ นแปลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ โดยที่ปัจจัยหลาย ประการเป็นสิ่งที่บริษัทฯ ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น • ทัศนะทีม่ ตี อ่ โอกาสส�ำหรับธุรกิจและการประกอบ การของกลุ่มบริษัทฯ และหมวดธุรกิจอุตสาหกรรมพลังงาน และสาธารณูปโภคโดยทั่วไป • ความแตกต่างระหว่างผลประกอบการทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานที่แท้จริง กับผลประกอบการทางการ เงินและผลการด�ำเนินงานที่ผู้ลงทุนและนักวิเคราะห์ได้คาด หวัง
55
• การเปลีย่ นแปลงในค�ำแนะน�ำหรือมุมมองของนัก วิเคราะห์ • การเปลี่ยนแปลงในการประเมินมูลค่าตลาดและ ราคาหุ้นของบริษัทฯจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่ง ด�ำเนินธุรกิจคล้ายคลึงกับบริษทั ฯ และความผันผวนของราคา หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ฯ • การเปลี่ ย นแปลงในเงื่ อ นไขต่ า งๆ ที่ มี ผ ลกระ ทบต่ออุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องกับก๊าซธรรมชาติ หรือสภาพ เศรษฐกิจโดยทั่วไป หรือบรรยากาศในตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือเหตุการณ์หรือปัจจัยอื่นๆ ดังนั้น จากปัจจัยต่างๆ ข้างต้นรวมทั้งปัจจัยอื่นๆ หุ้นสามัญ ของบริษัทฯ อาจมีการซื้อขายในราคาที่ต�่ำกว่าราคาเสนอ ขายอย่างมีนัยส�ำคัญ
56
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
4. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น
4.1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
ชื่อบริษัท
:
บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน)
ชื่อย่อ
:
SKE
ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
:
เลขที่ 15หมู่ที่ 1 ต�ำบลเชียงรากน้อย อ�ำเภอสามโคก
(สถานีก๊าซธรรมชาติปทุมธานี)
จังหวัดปทุมธานี12160
ที่ตั้งสถานีก๊าซธรรมชาติสระบุรี
เลขที่ 168 หมู่ที่ 4 ต�ำบลท่ามะปราง อ�ำเภอแก่งคอย
:
จังหวัดสระบุรี 18110
ที่ตั้งส�ำนักงานกรุงเทพมหานคร
:
เลขที่ 252/108(บี),252/109(ซี) อาคารเมืองไทย-ภัทร
คอมเพล็กซ์ ชั้นที่ 21 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง
เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร10310 (บริษัทฯ ได้จด
ทะเบี ย นส� ำ นั ก งานสาขาต่ อ กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า
กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 และ
จดทะเบียนยกเลิกส�ำนักงานสาขาเลขที่ 444 อาคาร
โอลิมเปียไทยทาวเวอร์ ชั้นที่ 6 ถนนรัชดาภิเษก แขวง
สามเสนนอกเขตห้ว ยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2561)
เลขทะเบียนบริษัท
:
0107559000443
ประเภทธุรกิจ
:
ทรัพยากร
กลุ่มอุตสาหกรรม
:
พลังงานและสาธารณูปโภค
ทุนจดทะเบียน
:
465,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว
:
465,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
มูลค่าที่ตราไว้
:
0.50 บาท
โทรศัพท์
:
02-593-7217
โทรสาร
:
02-593-7216
เว็บไซด์
:
http://www.sakolenergy.com
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
57
4.2 ข้อมูลทั่วไปบริษัทย่อย
1. บริษัท
:
บริษัท เอสเค 15 จ�ำกัด
ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
15 ถนนประเสริฐมนูกิจ แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
เลขทะเบียนบริษัท
:
0105557134459
ประเภทธุรกิจ
:
ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์
กลุ่มอุตสาหกรรม
:
อสังหาริมทรัพย์
ทุนจดทะเบียน
:
140,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม2560
ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว
:
140,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม2560
มูลค่าที่ตราไว้
:
หุ้นละ 100 บาท
โทรศัพท์
:
02-593-7217
2. บริษัท
:
บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15 จ�ำกัด
ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ :
15 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเชียงรากน้อย อ�ำเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี 12160
เลขทะเบียนบริษัท
0135557018734
:
ประเภทธุรกิจ :
อยูร่ ะหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ของการด�ำเนินธุรกิจ โรงไฟฟ้าชีวมวล
กลุ่มอุตสาหกรรม
:
พลังงานและสาธารณูปโภค
ทุนจดทะเบียน
:
62,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว
:
62,000,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
มูลค่าที่ตราไว้
:
หุ้นละ 100 บาท
โทรศัพท์
:
02-593-7217
3. บริษัท
:
บริษัท อาร์อี ไบโอฟูเอลส์ จ�ำกัด
(เป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์2561)
ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่
3 อาคารพร้อมพันธุ์ 3 ยูนติ 706 ชัน้ 7 ซอยลาดพร้าว 3 แขวง
:
จอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
เลขทะเบียนบริษัท
0105560117390
:
58
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ
:
ผลิตและจ�ำหน่ายก๊าซไบโอมีเทนอัด ขนาดก�ำลังการผลิต
9,000 กิโลกรัมต่อวัน
กลุ่มอุตสาหกรรม
:
พลังงานและสาธารณูปโภค
ทุนจดทะเบียน
:
15,000,000 บาท ณ วันที่ 6มีนาคม2561
ทุนที่เรียกช�ำระแล้ว
:
15,000,000 บาท ณ วันที่ 6มีนาคม2561
มูลค่าที่ตราไว้
:
หุ้นละ 100 บาท
โทรศัพท์
:
02-542-2357
4.3 ข้อมูลของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ
1. นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : โทรศัพท์ : โทรสาร : 2. ผู้สอบบัญชี บริษัท : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : โทรศัพท์ : โทรสาร : 3. ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : โทรศัพท์ : โทรสาร :
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 02-229-2800 02-359-1259 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด 195 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 50-51 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 02-677-2000 02-677-2222 บริษัท ส�ำนักกฏหมาย แคปปิตอล จ�ำกัด 44 อาคารสมุทไลฟ์ ชั้นที่ 18ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 02-633-9088 02-633-9089 (เป็นที่ปรึกษาให้บริษัทจนถึงวันที่เสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุนให้แก่ประชาชนเป็นครั้งแรก)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
4. ที่ปรึกษาด้านการเงิน บริษัท : ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : โทรศัพท์ : โทรสาร :
4.4 ข้อมูลส�ำคัญอื่น (ในกรณีที่มี)
-ไม่มี-
59
บริษัทหลักทรัพย์ เคที ซีมิโก้ จ�ำกัด ชั้น 16 อาคารลิเบอร์ตี้สแควร์ 287 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 02-695-5000 02-631-1702
ส่วนที่ 2 การจัดการและการดูแลกิจการ 61 - 63 64 65 - 78 78 - 91 93 - 99 99 - 100 101 -109
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น นโยบายการจ่ายปันผล โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแล ความรับผิดชอบต่อสังคม การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
61
5.ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น
5.1 จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้ว
ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท และมีทุนที่ออกและเรียก ช�ำระแล้วจ�ำนวน 346.40 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 692.80 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ต่อมาบริษทั ฯ ได้กำ� หนดวันทีเ่ สนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจ�ำนวน 237.20 ล้านหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 0.50 บาท โดยก�ำหนด ราคาเสนอขายหุน้ ละ 1.80 บาท และวันทีช่ ำ� ระเงินค่าหุน้ เพิม่ ทุนระหว่างวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 โดยมีผู้จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ทั้งสิ้นจ�ำนวน 237.20 ล้านหุ้น มูลค่าบริ ที่ตษราไว้ หุ้นละ 0.50 บาท น ัท สากล เอนเนอยี จํากัดรวมเป็ (มหาชน) เงินที่ได้รับจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนจ�ำนวน 426.96 ล้านบาท 5.ขงอการเสนอขายหุ มูลหลักทรัพย้นแต่ละผู ถือหุน ภายหลั อประชาชนในครั ้งนี้ บริษัทฯ มีทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท แบ่งออก เป็น5.1 หุ้นสามั ญจ�ำนวน 930.00ยนและทุ ล้านหุ้นนมูชํลาค่ระแล าที่ตราไว้ จํานวนทุ นจดทะเบี ว หุ้นละ 0.50 บาท ณ วันที่ 31 ธัณ นวาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท เรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 465.00 ล้านบาท วันที่ 30 กันยายน 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 465.00 ลานบาท และมีทุนที่ออกและเรียกชําระแลว แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 930.00 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท จํานวน 346.40 ลานบาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 692.80 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท โดยประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 ได้มีมติเห็นชอบให้ ออกและจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน ตอมาบริ ษัทฯล้ได กํา้นหนดวั เพิ่มบาท ทุนจําเพื นวน 237.20 แลก่าปนหุระชาชนทั น มูลคาที่ว่ตไปราไว หุนละPublic 0.50 Offering) บาท โดย จ�ำนวน 237.20 านหุ มูลค่นาทีที่เ่ตสนอขายหุ ราไว้ต่อหุน้นสามั ละ ญ0.50 ่อเสนอขายให้ (Initial
กําหนดราคาเสนอขายหุนละ 1.80 บาท และวันที่ชําระเงินคาหุนเพิ่มทุนระหวางวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 โดยมีผูจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ทั้งสิ้นจํานวน 237.20 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 5.2 ข้อจ�ำกัดการโอนหุ้น บาท รวมเปนเงินที่ไดรับจากการเสนอขายหุนเพิ่มทุนจํานวน 426.96 ลานบาท หุ้นของ บมจ. สากล เอนเนอยี สามารถโอนได้โดยไม่มีข้อจ�ำกัด โดยการโอนหุ้นจะต้องไม่ท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้น อประชาชนในครั ้ บริษญัททีฯ่อมีอกจ� ทุนทีำ่อหน่ อกและเรี ระแลวจํานวน 465.00 ลานบาท แบง โดยบุภายหลั คคลต่งาการเสนอขายหุ งด้าวมากกว่าร้นอตยละ 49.00 ของหุ้ง้นนีสามั ายได้แล้ยวกชํทั้งาหมดของ บมจ. สากล เอนเนอยี ออกเปนหุนสามัญจํานวน 930.00 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 465.00 ลานบาท เรียกชําระแลวจํานวน 465.00 ลานบาท
5.3 โครงสร้างผู้ถือหุ้น ณ วัณ นทีวั่ 15มี ปได ดังปนีได้ ้ ดังนี้ รายชื รายชื่อผู่อถผูือ้ถหุือนหุรายใหญ ้นรายใหญ่11อั11นดัอับนแรก ดับแรก นที่ น15าคม2561 มีนาคม สามารถสรุ 2561 สามารถสรุ ลําดับ
รายชื่อผูถือหุน
จํานวน (หุน)
สัดสวนการถือหุน (%)
1
นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
289,460,803
31.125
2
นางอารีย สุเมธโชติเมธา
206,756,858
22.232
3
นายธนกร นันที
57,733,320
6.208
4
นางธนภร นันที
57,733,320
6.208
5
นางสาวกาญจนธนิกา นันที
38,488,880
4.139
6
นายธนภัทร นันที
38,488,880
4.139
7
บริษัท ไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน)
20,006,500
2.151
8
นายศราวุธ อนรรฆธรรม
5,400,000
0.581
9
นายอัฟฟาน หะยียูโซะ
5,130,000
0.552
10
นางสาวลาวัณย บุนะจินดา
5,065,000
0.545
11
นางสุจิตรา โกสียศิริกุล
5,000,000
0.538
729,263,561
78.418
รวม
กลุมผูถือหุนรายใหญโดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดโนยบายการจัดการ หรือการดําเนินงานของบริษัท อยางมีนัยสําคัญ
�ปี 2560 62 รวมบริรายงานประจำ ษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จํากัด (มหาชน)
729,263,561
78.418
บริษัทหรืสากล จํากัด (มหาชน) กลุมผูถือหุนรายใหญโดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดโนยบายการจัดการ อการดํเอนเนอยี าเนินงานของบริ ษัท อยางมีนัยกลุ สํามคัผูญถือหุนรายใหญโดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดโนยบายการจัดการ หรือการดําเนินงานของบริษัท
อยางมีลํนาดััยสํบาคัญ
รายชื่อผูถือหุน
จํานวน (หุน)
สัดสวนการถือหุน (%)
1ลําดับ นายชัชชัย สุเมธโชติ รายชื่อเผูมธา ถือหุน นางอารี 12 นายชั ชชัยย สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา นางสาวอิย นสุทิเมธโชติ รา สุเมธโชติ 23 นางอารี เมธา เมธา
จํ289,460,803 านวน (หุน) 206,756,858 289,460,803
31.12อหุน (%) สัดสวนการถื 22.23 31.12
930,661 930,661 930,661 930,661
0.10 0.10 0.10 0.10
34 45
นายธนาพณ เมธา นางสาวอิ นทิรสุาเมธโชติ สุเมธโชติ เมธา นายระพีพัฒนสุเสุมธโชติ เมธโชติเมธา เมธา นายธนาพณ
56 67
นายจักรพงส นายระพี พัฒนสุสุเมธโชติ เมธโชติเมธา เมธา นางเพลิ นพิศ สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา นายจั กรพงส
78 89
นายธนดล สุเมธโชติ เมธา นางสาวนภาภั ช วิมลวั ชรกร นายธนกร นันันนทีที นายธนกร
910 11 10
12 11 รวม รวม
นางธนภร นันันนทีที นางธนภร นางสาวกาญจนธธนินิกกาา นันันนทีที นางสาวกาญจน นายธนภัททรร นันันนทีที นายธนภั
รายชื่อ่อผูผูถถือือหุหุนนของบริ ของบริษษัทัทยยออยย รายชื
930,661 206,756,858 930,661 930,661
200,000 930,661 200,000 415,295
57,733,320 57,733,320 57,733,320 57,733,320 38,488,880 38,488,880 38,488,880 38,488,880
692,800,000 692,800,000
0.10 22.23 0.10 0.10
0.02 0.10 0.02 0.04 6.21 6.21 6.21 6.21 4.14 4.14 4.14 4.14
74.49 74.49
บริษษัทัท เอสเค เอสเค 15 15 จํจําากักัดด ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 สามารถสรุ สามารถสรุปปได ได ดัดังงนีนี้้ บริ น ่อผูถือหุน ลํลําาดัดับบ รายชื่อผูถือหุรายชื บริษษัทัท สากล สากล เอนเนอยี เอนเนอยี จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) 11 บริ นายชัชชชัชัยย สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา 22 นายชั 33 44
นายมณฑล นันันนทีที นายมณฑล นายธนาพณ สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา นายธนาพณ
จํานวน (หุน) (หุน) จํานวน 1,399,997 1,399,997 11 11 11
สัดสสัวนการถื อ อ ดสวนการถื (%) 97.00 97.00 หุหุนน (%) 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00
รวม 1,400,000 100 รวม 1,400,000 100 บริษษัทัท สากล สากล เอนเนอยี เอนเนอยี ไบโอแมส ไบโอแมส พาวเวอร พาวเวอร 15 15 จํจําากักัดด ณ ณ วัวันนทีที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560 สามารถสรุ สามารถสรุปปได ได ดัดังงนีนี้้ บริ น ่อผูถือหุน ลํลําาดัดับบ รายชื่อผูถือหุรายชื บริษษัทัท สากล สากล เอนเนอยี เอนเนอยี จํจําากักัดด (มหาชน) (มหาชน) 11 บริ นายชัชชชัชัยย สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา 22 นายชั 3
นายมณฑล นันที
4
นายจักรพงส สุเมธโชติเมธา
รวม
จํานวน (หุน) (หุน) จํานวน 619,997 619,997 11
สัดสสัวนการถื อ อ ดสวนการถื หุน (%) หุ97.00 97.00 น (%) 1.00 1.00
1
1.00
1
1.00
620,000
100
5. ผูถือหุน หนา 2
5. ผูถือหุน หนา 2
3นายมณฑล 1 1.001 นายมณฑล 1.001.001.00 1.00 3ทีนัน3ทีนายมณฑล 1 1.00 นายมณฑล นายมณฑล นนทีทีนันทีนันที นันที 1 1 1 3 นั33นนัทีนนายมณฑล นันายมณฑล นที นันันายมณฑล 1 11 1.00 1.00 1.00 3 3 3 นายมณฑล 4นายจั รพงส เมธโชติ กสุเมธโชติ รพงส สุเมธา เมธโชติ เมธา1เมธา 1 1.001 1.00 1.00 รพงส เมธโชติ มธาสุเมธา 1.00�1.00 รายงานประจำ ปี 2560 กรพงส สุกเมธโชติ 1 1.00 นายจั ก4รพงส เ4มธโชติ สุเ4มธโชติ เมธา มธา 1 1 นายจั กเกรพงส สุนายจั 4กรพงส นายจั รพงส สุนายจั เมธโชติ เมธา 1 11 1.00 1.00 1.00 4 4 4 นายจั กนายจั รพงส สุ4เสุมธโชติ เกนายจั มธา บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) 620,000 รวมรวมรวม รวม 620,000 100100100 100 620,000 รวมรวม 620,000 620,000 620,000 100620,000 100 620,000 รวม รวม 100 100 รวม 620,000 100 ษนี ไบโอฟู นาคม ่ าคม 6ง้ นี2561 มีดัสามารถสรุ 2561 สามารถสรุ ัที วัดบริ อาร จํอลส าวั6วักันสามารถสรุ ณ มี2561 สามารถสรุ นี้ ดังนี้ บริ ัทอจํกัอาร ไบโอฟู อลส จํมีไบโอฟู กัดาคม นดทีนจํที่ วั6าาคม ่ สามารถสรุ 6นกัมีทีดมีวัน่ น6าคม ้ งนีดัป้ งได ษอาร ด่ 2561 มีได ัทอาร ษอาร ัทอี อาร อี ไบโอฟู อบริี ไบโอฟู อลส าี ดไบโอฟู กับริจํัทดณ กัี ณ วัอทีณ ่ นอดเ6อลส ป่ 6วันได ปทีงนดันีได ้ นสามารถสรุ ง2561 นีาคม ้ สามารถสรุ ษจํเษอลส ัทาบริ อาษออาร ไบโอฟู จํีาคม าณาเกันอลส ัทเบริ อาร เนอลส จํเีอาร านทีมีกัาคม วัจํด2561 นาณกัทีเณ มีณ 2561 สามารถสรุ ปได ดัปปงไดนีได ้ ดัปดังไดงนีปนี้ ดัได บริบริ ษัทษบริ ไบโอฟู เษอลส ่ ัทที6อวัเ่อลส มีน6ไบโอฟู 2561 สามารถสรุ ปณทีาคม ดั2561
63
หุานนวน จํด)นการถื าสนนวน ดัผูบถลํรายชื าดวนวน (หุ นอ) (หุ สัสอดวนการถื สวสัอนการถื อ อ ผูถบนถือ่ ือหุผูหุรายชื นวน อดสวอนการถื บา่อรายชื ถน่อนือผูหุถือน่อหุผูนถจํือาจํนวน จํสันาดนวน ดนการถื บรายชื จํา(หุ นวน (หุ ) จํนา)นวน ว)นการถื อสัดนอส) วสัสันการถื บลํบหุานดัลํรายชื จํจําานวน นสสันนการถื )ว(หุ ดดสสวสัวนการถื ือ่ า่อหุดัผูรายชื (หุ )จํสั(หุส(หุ ลําลํดัาบดัลํบาดัรายชื ่อรายชื ผูลํ่อถาผูดัือถ่อบหุลํือผูลํานหุถาดันดัือรายชื น)น(หุ หุ75.00 น 75.00 (%) 75.00 บริ ษจํเอนเนอยี ัทาสากล ากัด (มหาชน) 112,500 น75.00 (%) บริ ัทเอนเนอยี สากล กั(มหาชน) ดจํ112,500 (มหาชน) 112,500 หุ(%) นหุ(%) 1 เอนเนอยี สากล เอนเนอยี 1 เอนเนอยี ษเอนเนอยี า(มหาชน) กัจํ112,500 ดา112,500 112,500 หุ112,500 น(%) หุ(%) น75.00 (%) หุหุนน(%) ัทสากล ัท 1สากล จํด(มหาชน) าัท(มหาชน) กัษดสากล (มหาชน) 75.00 75.00 าากักัเอนเนอยี ดจํด(มหาชน) 75.00 หุน (%) 1ษสากล บริ ษ1ัทบริบริ กัเอนเนอยี ดจํจํ(มหาชน) 112,500 75.00 หุน112,500 1 1 1 บริบริ ษัทษบริ เอนเนอยี จํสากล าษจํษกั1ัทาบริ ดัทกัสากล ัทอปีอาร 22,497 14.998 14.998 พาวเวอร กัปดจํากัด 22,497 22,497 14.998 บริ อาร พาวเวอร กัด22,497 22,497 14.998 2ี พาวเวอร ษกับริ พาวเวอร จํดปา22,497 กัจํกรุ ดา22,497 22,497 14.998 ัทอาร ัทอี 2อาร อ2ี พาวเวอร อบริ กรุ ปจํัทอกรุ าปัทดกัอษจํอดอาร าัที บริ กัอาร ดอษี กรุ 14.998 14.998 ษปษ2ัทบริ อาร ี พาวเวอร จํกรุจําากัปกรุ 22,497 14.998 2ษอาร ษ2ัทบริ อาร จํกรุกรุ าอกัปีปดพาวเวอร 2 2 2 บริบริ ษัทษบริ พาวเวอร กรุ าี จํพาวเวอร 14.998 ัทพดดจํฟจํชิาาาพกัดสางวู ากั15,001 ด 15,001 10.0010.00 ษชิฟัทพาบริสางวู ดจํ15,001 15,001 10.0010.00 ัทาฟกัฟษบริ กัดชิจํดพากัจํดดาชิกัพ15,001 15,001 10.00 15,001 10.00 ัทฟ3าษฟสางวู ัทาสางวู ด3พชิษพจํ3ดัทาบริ ชิจํบริ ดบริ 10.00 10.00 3ฟ3าดสางวู าดาัทสางวู ดฟจํดษชิาชิพกัสางวู 15,001 ดสางวู 15,001 3 3 3 บริบริ ษัทษบริ ชิบริ กัฟพาดษากัษจํ3ัทสางวู 10.00 นายลาร สดเลโอนาร สเลโอนาร ตาฟ 1 0.0006 0.0006 4นายลาร นายลาร กุเลโอนาร สมตาฟ 10.0006 0.0006 4สตาฟ นายลาร สโกเดนแฮล ตาฟ โกเดนแฮล 0.0006 4สเลโอนาร กุสมตาฟ ดเลโอนาร โกเดนแฮล ม ม 1 ม 11 0.0006 10.0006 0.0006 นายลาร นายลาร กุนายลาร ตาฟ เลโอนาร เลโอนาร โกเดนแฮล มกุโกเดนแฮล สตาฟ กุดกุสสสตาฟ เลโอนาร ดดโกเดนแฮล มด1ม โกเดนแฮล 0.0006 4ส กุสส4กุตาฟ ส4นายลาร เลโอนาร ม1ด 1โกเดนแฮล 4 4 4 นายลาร ดกุสดโกเดนแฮล ปทมพงศา1 1 1 1 0.0006 0.0006 5นายรั ชทมพงศา ชาร ปชาร ทมพงศา 10.0006 0.0006 ชาร ปทนายรั มพงศา 0.0006 ชปชาร ปทชมพงศา 10.0006 0.0006 นายรั ทนายรั มพงศา ป5ทมพงศา ชปชชาร 0.0006 5ชชารปช5ชาร ชนายรั ชาร5นายรั ทนายรั มพงศา 1 11 0.0006 5 5 5 นายรั ชนายรั ชาร ท5ปมพงศา รวมรวม รวม
รวมรวมรวม รวม รวม รวม
150,000 150,000 100100100 100 150,000 150,000 150,000 150,000 100150,000 100 150,000 100 100 150,000 100
5.4างผู 5.4 ข้ถ5.4 อนขือตกลงระหว่ าถงผู ถ้หุลกระทบต อื ลกระทบต หุใใหญ น้หุถลกระทบต ใือนเรื อ่ งที งที่มอการออกและเสนอขายหลั ม่ ีผลกระทบต ผี่อใลกระทบต ลกระทบต่ การออกและเสนอขายหลั กยทรั พย์อยกการ หรื อการบริ าร อการ ขถ่ออาใือางผู ตกลงระหว าใหญ่ หุ่มอในเรื นเรื ่ออีผงที ่มอีผออการออกและเสนอขายหลั ลกระทบต การออกและเสนอขายหลั พการ ยอหการ หรื ขน5.4 ตกลงระหว ือนงผู หุใหญ นถงที ใใหญ ลกระทบต ยทรัอหรื ตกลงระหว น่มือใหญ นเรื ่อการออกและเสนอขายหลั ่มีผงที การออกและเสนอขายหลั ทรัหรื หรืยอพอกการ การ 5.4 อใหญ ่มงทีีผ่มลกระทบต อการออกและเสนอขายหลั พทรั หรื ขตกลงระหว อตกลงระหว ขอตกลงระหว งผู หุตกลงระหว ในเรื นเรื ่องผู ่มืองที ีผาหุถนงผู ีผนเรื อนเรื กการออกและเสนอขายหลั ทรั ยหรืพหรื อหรื การ ใ่อในเรื พกพยทรั หรื ขา5.4 อ5.4 งผู หุงที น่มาถ่อื ใหญ ีผนงที ลกระทบต การออกและเสนอขายหลั กอทรัการ พกกทรั 5.45.4ขอ5.4 ถตกลงระหว ือาถขงผู หุขืออนหุตกลงระหว ใหญ ใอาใหญ นเรื งที ีผงผู อใหญ การออกและเสนอขายหลั กอทรั พกอยพทรั อยการ ษัทษหโดยที าษงัทวมี มลงนามด้ ยวมี หกล่ โดยที ่ขบอาวงาริวมี ตกลงดั วมี ัทรววยยมลงนามด ารงานของบริ ่ขวัทอมลงนามด ษรวัทบมลงนามด รริววษยมลงนามด บริ ัทโดยที งวกล กล ัทกล บริ หบริ ษงบากล ่ขรัทริงวอรษกล ตกลงดั กล ัทริมลงนามด วย วย วย หบริ ารงานของบริ หารงานของบริ ษบริ ัทหโดยที ษห่ขารงานของบริ ัท้อารงานของบริ โดยที อหตกลงดั ่ขบริ กล า่ขริัทัทบ่ขวมี ริอตกลงดั มลงนามด วบรริวมี ยริวษาษมลงนามด วงัทบวมี ยรริรวษบวามลงนามด ษกล บริ ษองัทตกลงดั โดยที ่ขวมี อัทริวมี ตกลงดั ารงตกลงดั วมี ษวงัทบยากล บริบริ หงานของบริ ารงานของบริ ัทารงานของบริ โดยที ่ขตกลงดั อ่ขารงานของบริ ตกลงดั งารงานของบริ าโดยที บษษโดยที ษอร่โดยที ัทวษบตกลงดั มลงนามด ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดย ครอบครัวสุเมธโชติเมธา และครอบครัวนันที ได้ลงนามในหนังสือข้อตกลง
ผูนถรายใหญ นรายใหญ ษสุและครอบครั ัทมธโชติ ฯครอบครั โดย เลและครอบครั เและครอบครั มธา นงทีลสืงนามในหนั อขอตกลงไม ือรายใหญ หุครอบครั ษองบริ ัทโดย ฯและครอบครั โดย สุและครอบครั เทีนมธโชติ เลมธา ทีวตกลงไม งขสืออตกลงไม ขงอสืตกลงไม ถรายใหญ นษรายใหญ ของบริ ษเขัทมธโชติ ัทองบริ โดย ครอบครั วสุเมธโชติ มธา นันงอนสืทีลวขทีองนามในหนั ลขนงนามในหนั งนามในหนั สืงนามในหนั ือผูรายใหญ ของบริ ษเโดย ัทเขมธา ฯเมธา ครอบครั วเครอบครั สุวเนัวมธโชติ มธา และครอบครั นันสืวได ลนัไดงนามในหนั อตกลงไม ือผูนหุถรายใหญ รายใหญ หุนรายใหญ โดย ัทหุถฯนครอบครั มธโชติ เวมธา วทีวนัไดสุเนและครอบครั ได ทีมธโชติ ได งนามในหนั ลวงนามในหนั อทีอนัลตกลงไม อได ือัทษือหุฯผูัทหุนถโดย ขือครอบครั ฯสุฯครอบครั ครอบครั วและครอบครั มธา ออขงขอสือตกลงไม ือองบริ หุผูขนผูษถองบริ องบริ ษหุองบริ โดย นันทีวงวและครอบครั อไดขงอลงสืตกลงไม ผูถผูือถหุไม่ ขผูองบริ งนามในหนั สืได ปนือระกอบกิ จถขการ หรื อฯเข้ ามีขสโดย ่วนได้ เวัทสีสุฯยวเทีษสุมธโชติ ่อวาจมี ความขั ดเแย้ งสุกัเบมธโชติ ธุมธา รกิวจนนัเในอนาคต ลงวั นที่ นั12 กัองนขไดตกลงไม ยายน 2560 โดยตกลงและ การ ากันได ยคในอนาคต ทีงวามขั คกันบจบวามขั แย กักิลงวั ธุยายน กิที2560 จ่ 12 ในอนาคต ทีกั2560 ่น12 กั2560 นโดยตกลง ยายน 2560 โดยตก ยธุคจาจมี ทีครวามขั ่อเสีแย วามขั ดทีธุลงวั บน่ กักิ12 ธุนจงรในอนาคต ทียายน ่ 12 ยายน 2560 โดยตกลง หรืจาจมี อการ เข าคมีอจหรื มีสเข สวเอคาวสีนได นได เสาจมี สีเข ทีเธุมี่อบสีค่อราจมี าจมี แย งกักิแย ลงวั นลงวั ่ ลงวั 12 นลงวั ยายน 2560 โดยตกลง มีวามขั สดาทีวมีเแย กัทีรกิบกิ่ จง12 นยายน ทีโดยตกลง กันยายน โดยตกลง ประกอบกิ จการจหรื การ หรื าการ วมีประกอบกิ สจเวหรื นได เยการ สีประกอบกิ ทีเการ สีาจมี ทีเข าจมี งสยธุกิวามขั กัเวรทีจสีบนได กิ่อในอนาคต ในอนาคต จาจมี นงธุแย นจดธุกัในอนาคต ทีรในอนาคต ยายน กับจนในอนาคต ดกั่อดคแย ร่ 12 น2560 ทีกัทีโดยตกลง ่ น12 กักั่ น12 จสนได อทีำยจเข สหรื นได ยหรื ่อสีงนได ดกิวามขั บาจมี ธุงรดลงวั ในอนาคต นรลงวั 2560 โดยตกลง ประกอบกิ จการ อัทเขอฯประกอบกิ าเขประกอบกิ มีาอสมีเขวประกอบกิ สีจการ ค่อวปาวามขั ดเข แย กัยดวงยบทีแย ลงวั ยายน 2560 โดยตกลง รัประกอบกิ บรองต่ อบริประกอบกิ ษหรื โดยมี สนได าระส� คั่อหรื ญา่อยมีอสรุ ว่าวามขั บัทคัสรุ ษคัญ ัทสฯาระสํ าวคัาปญวสรุ และรั บและรั รองต บริ ษฯาปอัทโดยมี โดยมี สคัปญ าระสํ า ปวา บรองต ฯญษวโดยมี าระสํ ญวาสรุ ปวคัสรุ วาญาปสรุ บษสรองต อษาัทบริ ัทวาระสํ คัสปญาาระสํ และรั บรองต บอรองต อบริ อัทษบริ ฯบษและรั โดยมี ัทฯและรั าระสํ าบริ คัษโดยมี ญ ปสาโดยมี สรุ วฯสาาระสํ และรั บสโดยมี ฯปอรองต สบริ าสรุาคัโดยมี รองต อสรองต บริ ัทอคับริ ฯญ าสรุ และรั บและรั รองต บริ ษและรั ฯัทโดยมี าระสํ าอาระสํ สรุ
(1) จะไม่ประกอบกิจการ หรือเข้ามีส่วนได้เสียในธุรกิจที่อาจมีความขัดแย้งกับธุรกิจของบริษัทฯ และ/หรือ บริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง หมายถึ ง (1) สถานี ก ๊ า ซธรรมชาติ ห ลั ก เอกชน (Private Mother Station: PMS) (2) โรง ระกอบกิ การ หรื กิแย จคของบริ คกััทบจบวามขั แย ธุัทัทรฯกิฯษและ/หรื จและ/หรื ษอ ัทฯอและ/หรื เข ในธุ จธุคจาจมี ทีครวามขั ่อ(3) วามขั บษกิธุัทจองราของบริ ฯอและ/หรื อ อ (1)จจะไม จะไม ระกอบกิ เข า่อมีั จรททีหรื มีาจมี เสสีเขยรวคยในธุ ในธุ กิทกัจดยงจบทีฯแย าจมี จดธุกัของบริ ษของบริ (1) ระกอบกิ าวสีทีอนได มีนได สาในธุ เจมีสีแย แย งธุแย กัรกิกอบกิจงารก๊ ัทของบริ (1) จะไม ปงานทางเลื ระกอบกิ ป(1) ระกอบกิ จการ จหรื การ หรื อจะไม าอจะไม าการ นได เยการ สีปอโดยบริ ยจเข ในธุ เการ สีหรื ในธุ รเข กิวทีษาจนได กิสเข ่อย่สจวเอาจมี าจมี ควมีเอสีนได วามขั ดทีสยรษแย กัรทีธุ่อบเกิค่อรสีาจมี งและ ธุจกิวามขั กัยรรทีจกิบในธุ กิ่อของบริ ของบริ จาจมี ัทธุและ/หรื ฯดธุของบริ อรของบริ จะไม ปหรื จกิเวหรื หรื ดกััท่อดษคสถานี แย งฯษรดงกักิและ/หรื รริและ/หรื ษบจและ/หรื (1) ปกที ระกอบกิ ารจยมีอกิอการ สจหรื ยค่อยของบริ กิานได ่อเวรกิในธุ าจมี ดรกิวามขั บาจมี ฯกักิซธรรมชาติ อษฯ ัทและ/หรื (1)(1)ไฟฟ้ การ อเข มีเนิ สมีเขวปจนสนได สีจการ ในธุ วามขั ดวามขั งสีันได ษทีงวามขั ฯแย าจะไม พลัปจะไม งระกอบกิ อ(1) ่ ด(1) �าเข ำประกอบกิ ธุวมีปจะไม รสระกอบกิ จนได อหมายถึ ซึ1)หง่ 1)หมายถึ (ซธรรมชาติ สถานี หอืPrivate ลัStation: Private อางซึษยซธรรมชาติ ซึยา1)่งซธรรมชาติ งลักิเอกชน กหัPrivate ลัPrivate ( PMS) PMS) (2) บริ ษยัทบริ ย(่งอEx-Pipeline อหมายถึ งย(สถานี ((“ธุ าสถานี กเอกชน (จStation: Private Station: PMS) (2) ษบริ ่ง(ัทกหมายถึ 1) สถานี ก1)(าPrivate หเอกชน ลั(อกหธุMother เอกชน Private Mother Station: PMS) (2)PMS) ่งยหมายถึ ซึ่งษหมายถึ งัท1) สถานี เอกชน ลั1) Mother Station: PMS) (2)Mother (2) ยซึสถานี ยัท1)ยษยซึซึกสถานี ่งอัท่งบริ หมายถึ กงกาเอกชน หกหลัาลัซธรรมชาติ กMother Station: PMS) (2) บริ ย(งอษ(1) าก(จหซธรรมชาติ กPrivate เอกชน Mother Station: PMS) (2)อStation: ษัทษบริ ยัทอยษยอัทซึยย่งซึอหมายถึ งัทบริ ายยกหมายถึ ซธรรมชาติ ลั(หสถานี (ซธรรมชาติ (2) NGVบริบริ Conventional แบบ รกสถานี ของบริ ษซธรรมชาติ ท(าลัซธรรมชาติ ฯ”) หรื รกกิ( เอกชน ่ กน( เอกชน ใดที ่ มPrivate ี Mother ล(Mother ั กPMS) ษณะเดี ยMother วกั นStation: หรื ากิงานทางเลื พลั ธุัทฯัทเ(3) รยป็และ กิยอษ(3) จอนยของบริ ยัทกฯบอฯารก ยของบริ ษสถานี ัทีริสฯก่ ว(3) และ ริากซธรรมชาติ ารกาซธรรมช โรงไฟฟ อเนิ เนิ นษ่ดกิฯธุําัทจนรเนิ จัทษยของบริ โดยบริ ยบสถานี ัท(3) ฯาทีซธรรมชาติ และ ริซธรรมชาติ การก โรงไฟฟ งานทางเลื กที ยของบริ บริสถานี ริกาก(3) พลั รโดยบริ ัทโดยบริ และ (3) สถานี บเารก าบซธรรมชาติ โรงไฟฟ างธุพลั งานทางเลื อโรงไฟฟ กที ่ดาพลั ําฯเนิ นําโรงไฟฟ เนิ ธุกิารจงพลั นกิงานทางเลื รงโดยบริ จ่ดออโดยบริ ษบริ ยําเนิ ษรยของบริ ยของบริ อธุเนิ ฯยโดยบริ ษกิแต่ สถานี บและ ริาและ าษฯสถานี โรงไฟฟ ่ดนยอัท่ดําธุอกที ร่ดอรยของบริ กิอํายกินจกที และ บนได้ ารก ซธรรมชาติ พลั อธุจกที ําอกที กิัท่ดนกที จนยย่ําธุโดยบริ อษนและ ษจอัทการหรื ัทยของบริ ฯอษริษยของบริ ารก ซธรรมชาติ งบงานทางเลื อากที ่ดงษาอํ งานทางเลื เนิ นง่ดาธุงงานทางเลื รและ/หรื โดยบริ ษงเนิ ัทงานทางเลื ษจธุโดยบริ ัทเว้ และ สถานี กัทษัทริารก คล้ าโรงไฟฟ ยคลึ งโรงไฟฟ กัาพลั นากัพลั รโรงไฟฟ กิงงานทางเลื จ ของบริ ักที ทพลั กิษย(3) อษ(3) ธุกัทซธรรมชาติ รารก กิซธรรมชาติ จ(3) ่ มบสถานี สีริกสถานี ยาบาารก และ/ NGV แบบ กิ่มฯ”) ัทวกั ร่นีลักกิักใดที อืีลย่นัก่มวกั ใดที ่มวกั ีลอนักยนหรื ษณะเดี NGV Conventional Ex-Pipeline (“ธุ จอืษของบริ ษฯ”) ธุหรื รวกั จอ่มนใดที ีลนักยษณะเดี NGV Conventional Ex-Pipeline (“ธุ กิธุจกิจรของบริ ธุษณะเดี กิอจหรื จธุยอืฯ”) ่มออืธุีลหรื ยวกั หรืยอนอวกัหรืนอยหรืวกัอนหร NGV Conventional ัทของบริ หรื รอืวกั อืักกิหรื ษณะเดี วกั NGVNGV Conventional Conventional แบบ แบบ Ex-Pipeline Ex-Pipeline (“ธุ รจ(“ธุ กิของบริ จแบบ รของบริ กิจแบบ ของบริ ัทฯ”) ษรหรื ฯ”) หรื หรื กิของบริ ่นกิจ(“ธุ นัทรฯ”) ักร่มหรื ีลอจัทอักธุอืฯ”) ยจีลใดที นหรื อ่มจษณะเดี Conventional Ex-Pipeline รธุอรกิร(“ธุ ษใดที ัท่มหรื หรื ร่นรกิษยใดที ่นอนกิ่มนใดที ษณะเดี Conventional แบบ Ex-Pipeline กิัท(“ธุ จEx-Pipeline ฯ”) อษักจีลธุษณะเดี กิษณะเดี หรื หรือNGV ประกอบการอยู ่แNGV ล้ว NGV Conventional แบบ Ex-Pipeline (“ธุConventional รแบบ กิแบบ ษEx-Pipeline ัทษ(“ธุ ฯ”) อของบริ จอกิรของบริ อืษธุกิจ่นรัทจอืรใดที ีลใดที อ่นษณะเดี ยคลึ งบาร กัษธุัทจนอรัทผูษของบริ ธุัทษยหุัทอรฯัทกิน้ เว จรายใหญ่ ษปอแต ัทนบริ ยแต เวนีสการหรื เสียและ ัทแต อยจอมี่ษนบริ อย่ทีเวษกิธุจยวข้ เอกิวปสีนธุนได ีสสียจวยทีและ/ สีนได ยและ/ ยคลึ กััทบกัจบฯธุของบริ ฯยษยและ/หรื และ/หรื ัทกิท้ยเว อการหรื ยว่ธุษยเวอนเกี กิยเวแต ธุนรฯย่มรกิกิและ/ กิีสอได้ ที่มอบักิ่มธุีสจโอกาส ีสรวเทีกิวสีนได เหรื และ/ งและ/หรื นาผูงธุรและ/หรื กับ้รกิอบกินจริจธุกับริ และ/หรื อจษยและ/หรื บริ ยนรยจแต จเยนแต ่มจอนได วร่มเสีกินได เ่มสีีสยเวและ/ าคล ยคลึ งนกักันบงกักัธุบคล นรธุกิกัราจบกิยคลึ ธุจคล รของบริ กิางาจยคลึ ของบริ ษงยคลึ ฯษรนยคลึ อรของบริ อัทของบริ ยษฯนบริ เว นัทผูการหรื ่มนอจวนอีสนกิงทีนได ่มจนได เอปทั ธุสีทีการหรื คล กักิคล ยสีอัทแต เ่มรจัทนทีปเกิีสปเว จปของบริ การหรื จจจวธุทีการหรื (2) หากในอนาคตกรรมการ หของบริ หรื รนได อนได กัคล นษกัาัทคล บฯงกััทกัธุานและ/หรื ษกิบริ ฯกักิบริ อแต ัทกิบริ ยจเฯกิอปษการหรื นอกิแต การหรื รสีการหรื กิยษอเจและ/ ยีสทีธุและ/ คลคล ายคลึ งากัยคลึ ของบริ ยถ้ ัทษบจและ/หรื อืษยของบริ นเว เปฯนษอเนและ/หรื รเวอเัทธุนกิปบริ และ/ อประกอบการอยู หรื อหรื ประกอบการอยู วแลว แษลวัทฯ และ/หรือ บริษัทย่อย ทางกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น ข้อเสนอทางธุ กิจใดๆหรืซึอแ่งประกอบการอยู คววามขั ดหรืแย้ กัแบแลธุลวรวกิแจลของบริ อหรื ประกอบการอยู อรประกอบการอยู แวหรื ลอวอแประกอบการอยู ลประกอบการอยู หรื แลอวงประกอบการอยู หรืหรื อประกอบการอยู ลอาจมี รายใหญ่ หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ของบริษัทฯ ตกลงจะเสนอโอกาสหรือข้อเสนอทางธุรกิจดังกล่าวให้กับบริษัทฯ ก่อน โดย บนรายใหญ หหุถีส่ยาร หุงี่มอนของบริ รายใหญ ทอนเกี วโอกาส นเกี ษัทรฯับหรืหรื ไดรับโอกาส (2) หากในอนาคตกรรมการ ริือทหอีสื หุี่มผูผูาร นอถรายใหญ วับได ่ยของบริ ฯหรื ได โอกาส หรือ ห (2) หากในอนาคตกรรมการ หากในอนาคตกรรมการ ริหผูหถาร หรื ทของบริ อี่มงรวข งีสับของบริ ษของบริ ได โอกาส (2) บอืารริผูหุผูอหทนบผูหรื นือวหรื รายใหญ หรื ี่มผูนเกี ีสทอวได ่ยโอกาส ของบริ ัทของบริ (2) หากในอนาคตกรรมการ หากในอนาคตกรรมการ หากในอนาคตกรรมการ ผูหากในอนาคตกรรมการ ผูหบารผูริหถผูหากในอนาคตกรรมการ าร รายใหญ หุรินห่อผูรายใหญ หรื วริือะแนนเสี ี่มผูรายใหญ นเกี นเกี ่ยหุผูวข งผูวทนเกี ัทวข ฯษหรื ฯีสของบริ รผูวข หรื อวข หากในอนาคตกรรมการ ถผูทัาร ี่มอษี่มหรื ีสผูัทีสษว่ยทอฯวนเกี ่ยัทีมรงอ่ยนเกี ัทหรื รษฯรับับทได โอกาส (2) ผูนือบเพื าร ผูง่ยยือหรื ทวข ษอวข ฯออ่ยงษได รัทฯอับฯอษมงได โอกาส (2)(2)จะน� ผูบ(2) ริบหริาร ือถษหุือัทผูนหุฯถรายใหญ หรื ี่มถรายใหญ วข ของบริ ได ับวข โอกาส หรื ำเสนอต่ อที่ป(2) ระชุ มคณะกรรมการบริ พิผูบบจริผูารณา ้งนีหุวนีส้คถทนเกี งข้ าอีสผูงมากของกรรมการที ่มงัทาประชุ และมี สรับิทอโอกาส ธิ ออหรือ เสนอทางธุ จของบริ ซึษวามขั ่งอาจมี คกััทบจบวามขั ดหรื แย งของบริ กักิบริ ธุษัทบริ รกิษยและ ษหรืหรื ัทษอฯอัทบริ และ อ บริ ัทยอย/ทางกรรมก ขรคอาจมี ใดๆ อาจมี วามขั บอษกิธุัทบริ ษฯหรื และ ยอษย/ทางกรรมการ เสนอทางธุ คร่งวามขั ดษคแย และ บริ ษย/ทางกรรมการ ัทยอยอษบริ อหรื กิอาจมี ซึรกัรกิ่วจ่งบกิอาจมี แย งธุแย กัรกิบกิจงหรื หรื องเสนอทางธุ ขจะไม่ อเสนอทางธุ รจขกิใดๆ ใดๆ กิขจซึขอใดๆ ่งขอาจมี ซึอย่งเสนอทางธุ คจเสนอทางธุ วามขั ดร่งใดๆ แย บ่มคอาจมี ธุคซึจใดๆ ของบริ จสีคของบริ ัทธุและ ฯดธุของบริ อษัทของบริ ษจย/ทางกรรมการ อัทของบริ ัทย/ทางกรรมการ อและ รขรกิคอกิดจวามขั ใดๆ ่งกัจธุ่งอาจมี งฯษรดงกักิและ รและ ัทบริ ย/ทางกรรมการ อจรเสนอทางธุ กิอวามขั ใดๆ ซึจแย ดกิวามขั บฯแย ฯองที อฯย/ทางกรรมการ บริ ยอษอหรื ขอขยเสนอทางธุ ่งอซึเสนอทางธุ อาจมี งจกัดรซึงใดๆ บกิซึแย รงธุีสกิวามขั ษษบจและ ออกเสี นับรกิรวมคะแนนเสี งของกรรมการที นได้ เแย ยดกััทและในกรณี ทจธุกัของบริ ี่มรของบริ ติจขอรหรื ่ปัทยฯัทอฯระชุ มยัทคณะกรรมการบริ ษัทย/ทางกรรมการ ัทษยอฯัทย/ทางกรรมการ มีมติ ผูหุวนีสบถทนเกี หหุถีส่ยาร หุนอีสผูรายใหญ อ่ยนเกี ผูวข วษอวข นเกี ษออัทเสนอทาง ตกลงจะเสนอโอกาสหรื อขอเสนอทา นอถรายใหญ ผูนเกี วนทอนเกี ่ยของบริ ขี อเสนอทาง ผูบบริผูหรื ริหผูหถาร หรื ทงของบริ ี่มหรื งีสของบริ ษของบริ อขขอออเสนอทาง บอืารริหุผูผูอหทนบผูหรื นือวหรื รายใหญ ี่มวข้ ีสทอาวยัที่มงตกลงจะเสนอโอกาสหรื ่ยอี่มงทางกรรการ วข งัทของบริ อเสนอทาง ผูหไม่ บารผูริใหถห้ผูาร ือผูนหุถรายใหญ หุรินหผูรายใหญ หรื วริือี่มผูรายใหญ นเกี นเกี ่ยหุผูวข งผูวดัทนเกี ัทวข ฯษหรื ฯีสของบริ ตกลงจะเสนอโอกาสหรื ตกลงจะเสนอโอกาสหรื อฯอขตกลงจะเสนอโอกาสหรื ขฯืออหุเสนอทาง ถผูาร รายใหญ ี่มอษกล่ ีสผูัทีสษว่ยทาอฯวนเกี วข ัทัทตกลงจะเสนอโอกาสหรื ฯอฯษผูง ้บัทของบริ ตกลงจะเสนอโอกาสหรื อหรื ผูนือบรายใหญ าร ผูง่ยือหรื ทวข ฯอ่ยงษวข อขอเสนอทาง ผูบผูริบหริอาร ือคถหุวามสนใจโอกาสหรื ี่มถรายใหญ วข ของบริ อหัทขาร เสนอทาง ปฏิเสธหรื อริือทหีสือข้หุี่มผูาร อนเสนอทางธุ รงี่มกิอของบริ จหรื งต้ ริษฯตกลงจะเสนอโอกาสหรื ผู้ถตกลงจะเสนอโอกาสหรื ้นรายใหญ่ ผูข้ทออี่มเสนอทาง จับับทดับริ ัทระชุ กมาเสนอต อคณะกรรมการบริ ที่อจเพื ่ปพิมารณา ระชุ คณะกรรมการบริ ษทัพิัท้งจ่อนีฯารณา เพื่อ้งนีนีพิ้ ทั้ จ้งารณา ดัธุรบริ กาัทนฯวให ับเสนอต บริ ฯอระชุ อคณะกรรมการบริ ทีข้คณะกรรมการบริ ระชุ คณะกรรมการบริ ษฯ่อพิัทพิเพื เพื กิบริ วให บริ ฯษอกโดยจะนํ กทีอัทออก่ปนษฯทีรนับระชุ ที่ปม่ประชุ กิกงัทกล ับษัทอบริ อคณะกรรมการบริ ทีเสนอต ัทาารณา ่อารณา นีทั้ ้งนี้ ทั้งน งากล วให กัทกิบริ ับจฯบริ ัทจธุดักฯาษรดันงอวให อฯร้ทดันกิโดยจะนํ อกล นรับงากิกกล โดยจะนํ ากกล อบริ ทีนมกาษมี่ปเสนอต มนิทฯคณะกรรมการบริ ฯคณะกรรมการบริ ษ่ปอเพื ัทเสนอทางธุ จ่อารณา พิษจมารณา นีจเพื ้ ่อวข้ ธุษดักธุรซึับงทรกิษ่งกล ากี่ไกงาจวให ษกเสนอต อาอทีเสนอต ารณา ฯงวให อนทีาบโดยจะนํ ่ปเสนอต ระชุ ัทรทักิฯ้งทัจนีษเพื้งษดั้ ัทนีง่อัททัฯ้ กล่ พิฯ้งษเพื ธุรธุ่ยกิรวข้ จกิดัธุจองรดักล าดัวให กธุาษับรวให ฯจเป็ เสนอต ษาระชุ ัทษ่ปอมอฯัทมระชุ เพื ่อมอพิฯคณะกรรมการบริ ส่วนเกี งกิงจกล ของบริ ผูธุนจกล ด้ับโดยจะนํ ข้ษกวให อาเสนอทางธุ กิัท่ปกโดยจะนํ จโดยจะนํ สโดยจะนํ ธิาโดยจะนํ จเสนอต ะรั โอกาสหรื าจฯจงต้ นได้พิ้ ทัจทั้งารณา ยและมี ามงมากของกรรมการที ธิยงรวมคะแนนเสี นับยรวมคะแนนเสี ยา่มงข งมากของกรรมการที ่มงทีมาประชุ ยอกเสี นจะไม ับรวมคะแนนเสี คะแนนเสี ยงขงข่มาคะแนนเสี าประชุ ิทและมี ับจะไม รวมคะแนนเสี ยงของ งของ ยางมากของกรรมการที งข งมากของกรรมการที และมี ธิสดจะไม อิทแย้ อกเสี นยงับรวมคะแนนเสี คะแนนเสี คะแนนเสี ยอาคะแนนเสี งข งมากของกรรมการที างมากของกรรมการที าประชุ าประชุ มงข ส่มนได้ อ่มิทาประชุ อกเสี ธิมอเและมี ยยจะไม นธิอสับออกเสี รวมคะแนนเสี คะแนนเสี และมี สนอกเสี ิทับวามขั ธิรวมคะแนนเสี ยธิยงองงสอกเสี จะไม นกิยนงับจงของ รวมคะแนนเสี งขคะแนนเสี ายงมากของกรรมการที ิทงมน่ธิจะไม อับาประชุ ยมิทอกเสี งและมี ยงของ คะแนนเสี ย(3) ข้ งขยงข างมากของกรรมการที าประชุ มาหรื สและมี ธิสิทอ่วธิอกเสี ย่มสีอกเสี งาประชุ ตกลงไม่ ปยคะแนนเสี ระกอบกิ จ่มงมากของกรรมการที การ อและมี เข้ า่มิทมีสาประชุ ่จะไม อสยและมี าจมี คมสรวมคะแนนเสี กันยิทจะไม บยับงของ ธุองของ รจะไม ในอนาคตต่ อบริ ษยัทงของ ฯยงของยงของ นได เคณะกรรมการบริ ขษ่ปมหองที สธหรื ใหคว วยตินได สีและในกรณี ขทัทองที คณะกรรมการบริ อใวาม ไม หอคไมวาม เขีส่มสียองที ี่มตินติขกรรมการ องที ่ปติระชุ ัทหฯติอใฯคษหปไม มีคฏิัทมใมวาม ติปัทคมีปฯฏิวาม เอขสธหรื สีาดจากการเป็ ท่ปของที ี่มระชุ ติทขี่มปมองที มฏิเติมีษสธหรื ปมัทไม ฏิติฯเปใมีสธหรื หคใวาม กรรมการที กรรมการที ว่มกรรมการที นได ีสกเวถอนได้ เยกรรมการที สีกรรมการที ยเและในกรณี สีกรรมการที ย่มเว้ีสและในกรณี ี่มสขและในกรณี ติว่มเทองที องที ่ปีสยเวระชุ ระชุ มี่ และในกรณี คณะกรรมการบริ ษผูี่มปมฯัทบ้ มติระชุ มีระชุ ัทมติาร มฯคณะกรรมการบริ ปมระชุ ติเปสธหรื ่ม่มีสผีสทกรรมการที วเรู้ วสีี่มนได สีนได ี่มและในกรณี คณะกรรมการบริ ัทใมของรายใหญ่ มีวาม อหฏิอมไม ใปทั หใอฏิฯหไม คเความ วแต่ นได ยติรองได้ ติสีขยมททองที คณะกรรมการบริ ษมถ้ฏิคณะกรรมการบริ ัทอื เอสธหรื ฯหุไมษอมีน้ ษไม เษฯติหสธหรื คเไม วาม ีส่มวอีสนได สีนได และในกรณี ่ปขเ่มและในกรณี ระชุ ม่ปยทคณะกรรมการบริ ษระชุ มีฯริคณะกรรมการบริ ปติมี่ปมฏิและผู เฏิสธหรื นี้ ไม่กรรมการที อาจยกเลิ ก่มหรื เพิ นกรรมการที บั ท่มนได ขและในกรณี องบริ ษติสธหรื อดังตรขทางกรรการ จผูหนดับาาร กล าหุือทรั วข ผูนอถรายใหญ หุี่มอนอีสผูรายใหญ อาาเสนอทางธุ ดัผูนริารงบหากิทางกรรการ กล ริือทเกณฑ์ หอีสื หุี่มผูผูาร ขาอดัอวข จทรั นาผูงวข ผูทางกรรการ ริหผูหถาร หุวนีสบถทนรายใหญ ผูวทนที่มอี่มหรื สนใจโอกาสหรื ขาองต กิพงกล จกล กล วข งต ทางกรรการ บอืารริผูหุผูอหทนบผูหรื นือคี่วหรื รายใหญ หรื ีสทวี่มอนีสผูวทนี่มีส ออขเสนอทางธุ ออเสนอทางธุ ขสนใจโอกาสหรื เสนอทางธุ รเสนอทางธุ ดักล งาอเสนอทางธุ กล วข งต านทางกรรการ นกกิจเสนอทางธุ ริงต ริทางกรรการ หถทางกรรการ ผูาาร ผูนหุนถรายใหญ รายใหญ หนผูรายใหญ หรื วริือี่มผูรายใหญ นหหุทถีสาร นหุณะกรรมการ สนใจโอกาสหรื อกิงอขจกล เสนอทางธุ ดัทางกรรการ งต บอบริตามหลั ถผูาร ีสผูีสวทอวนี่มผูนหรื สนใจโอกาสหรื จเสนอทางธุ งรกิอกล ารดังวข ผูาพนือทางกรรการ บงต าร ผูหรื ผูือหรื ทหรื รสนใจโอกาสหรื กิอรจขกิดัอจงสนใจโอกาสหรื นกิวอยหลั ผูงาจวข บวข าร ือนถกงต หรือสนใจโอกาสหรื เป็สนใจโอกาสหรื นบุคสนใจโอกาสหรื คลทีม่ ลี อกั ขษณะต้ อองห้ ามตามกฎหมายว่ ด้ขรวข ย์ราดักิาแงต ละตลาดหลั ย์หุริหรื กี่มถรายใหญ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด ที่จะส่งผลให้หมดจากความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ แล้ว
ือ3หุาน3หนา 3 ผูหุถานาือ5. หุ3นผูาถหน ถือ5.ือหุาหุผูน5. นถ3หน ือหน ถนือหน หุา น3าหน 35.าผู3ถือ5.5. 3หน หุผูนผูถหน 5. 5. ผูถผูือถ5.หุือนผูหุหน
5.5 การออกหลักทรัพย์อื่น
- ไม่มี-
64
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
6.
นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล
6.นโยบายการจ่ ยเงินนปั นปัผลของบริ นผล ษัทฯ และบริษัทย่อย นโยบายการจ่ าายเงิ
นโยบายการจ่ ายเงิ ษัทฯาและบริ ัทย่อย ตราไม่น้อยกว่าร้ อยละ 40.00 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษี บริ ษัทฯ และบริ ษัทนย่ปัอนยมีผลของบริ นโยบายการจ่ ยเงินปั นษผลในอั
จากงบเฉพาะกิ บริษทั ฯจและบริ ษทั ย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40.00ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษี จาก การและหลังหักเงินสารองต่างๆ ทุกประเภทตามที่กฎหมายกาหนดและตามที่กาหนดไว้ ในข้ อบังคับของ งบเฉพาะกิ จการและหลังหักเงินส�ำรองต่างๆ ทุกประเภทตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดและตามทีก่ ำ� หนดไว้ในข้อบังคับของบริษทั ฯ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย โดยคณะกรรมการบริ ษัทจะพิจารณาการจ่ายเงินปั นผลโดยคานึงถึงผลประโยชน์ตอ่ ผู้ถือหุ้นเป็ นหลัก และบริษทั ย่อยโดยคณะกรรมการบริษทั จะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ เป็นหลัก และการ และการจ่ายเงินปั นผลนันจะต้ ้ องไม่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานตามปกติของบริ ษัท อย่างมีนยั สาคัญ ทังนี ้ ้การจ่ายเงินปั น จ่ายเงินปันผลนัน้ จะต้องไม่มผี ลกระทบต่อการด�ำเนินงานตามปกติของบริษทั อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทัง้ นีก้ ารจ่ายเงินปันผลดังกล่าว ผลดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ขึ ้นอยู่กบั ผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน สภาพคล่อง แผนการขยายธุรกิจ ความ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน สภาพคล่อง แผนการขยายธุรกิจ ความจ�ำเป็นและ จาเป็ นและความเหมาะสมอื่นใดในอนาคตและปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารงานของบริ ษัทตามที่ค ณะกรรมการ ความเหมาะสมอืน่ ใดในอนาคตและปัจจัยอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารงานของบริษทั ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั และ/หรือ บริ ษัทและ/หรื อผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเห็นสมควร ผู้ถือหุ้นของบริษัทเห็นสมควร ทังนี ้ ้ คณะกรรมการบริ ษัทอาจพิจารณาจ่ายเงินปั นผลประจาปี ของบริ ษัท โดยจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจาก
ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทอาจพิจารณาจ่ายเงินปันผลประจ�ำปีของบริษัท โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้ นแต่เป็ นการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลซึ่งคณะกรรมการบริ ษัทมีอานาจอนุมตั ิให้ จ่ายเงินปั นผลได้ เป็ น ประชุมผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีอำ� นาจอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลได้เป็นครัง้ ครัง้ คราวเมื่อเห็นว่า บริ ษัทมีผลกาไรสมควรพอจะทาเช่นนันได้ ้ แล้ วให้ รายงานที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราว คราวเมื่อเห็นว่าบริษัทมีผลก�ำไรสมควรพอจะท�ำเช่นนั้นได้ แล้วให้รายงานที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป ต่อไปโดยข้ อมูลกาไรสุทธิและการจ่ายปั นผลย้ อนหลังมีดงั นี ้ โดยข้อมูลก�ำไรสุทธิและการจ่ายปันผลย้อนหลังมีดังนี้ งบเฉพาะกิจการของบริษัทฯ (ล้ านบาท) เงินปั นผลจ่าย
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
16.001/
352.002/
235.973/
-
กาไรสุทธิ4/
110.78
119.91
122.83
73.77
อัตราเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ (%)
14.44
293.56
192.10
-
หมายเหตุ 1/ เงินปั นผลจ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในระหว่างปี 2557 2/
เงินปั นผลจ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในระหว่างปี 2558
3/
เงินปั นผลจ่ายจากกาไรสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กาไรสุทธิจากงบเฉพาะกิจการของบริษัทฯ
4/
ผูชวยประธานเจาหนาที่บริหาร (1) นายจักรพงส สุเมธโชติเมธา
มาตรฐานและความปลอดภัย นายจักรพงส สุเมธโชติเมธา (รักษาการณ)
สำนักงานตรวจสอบภายใน
คณะกรรมการตรวจสอบ
ผูจัดการแผนกกฎหมาย นายจักรพงส สุเมธโชติเมธา (รักษาการณ)
รองประธานเจาหนาที่บริหาร นางธนาพณ สุเมธโชติเมธา
รองประธานเจาหนาที่บริหารอาวุโส นางอารีย สุเมธโชติเมธา
ประธานเจาหนาที่บริหาร นายชัยชัย สุเมธโชติเมธา
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริษัท
ผูจัดการแผนกพัฒนาธุรกิจ นายชินดิษฐ สุรักษรัตนสกุล
ผูจัดการแผนกเทคโนโลยี สารสนเทศ นายพรเทพ กอนทอง
ผูจัดการแผนกบัญชี และงบประมาณ น.ส.เพียงใจ วงศพราวมาศ
7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 1
หมายเหตุ:* ในปี 2560 บริษัทว่าจ้างหน่วยงานภายนอก คือ บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จ�ำกัด เป็นผู้ตรวจสอบระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ
ผูจัดการแผนกวิศวกรรม นายสุรพงษ แปนโพธิ์
ผูจัดการแผนกการเงิน น.ส. ณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล (รักษาการณ)
ผูจัดการแผนกบริหารงานทั่วไป น.ส. ณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล (รักษาการณ)
ผูชวยประธานเจาหนาที่บริหาร (2) น.ส. ณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
คณะกรรมการสรรหาและ กำหนดคาตอบแทน
หมายเหตุ : * ปั จจจุบนั บริษัทว่าจ้ างหน่วยงานภายนอก คือ บริษัท ดีลอยท์ ผูทูจ้ ชัดการแผนกระบบงาน โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จากัด เป็ นผู้ตรวจสอบระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ
เลขานุการบริษัท
โครงสร้ างองค์กรของ บริ ษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) เป็ นดังนี ้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
7. โครงสร้ างการจัดดการ 7.โครงสร้ างการจั การ
ผูจัดการแผนกบุคคล น.ส. อนงค ชำนาญดี
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
65
7.1
66
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้ างการจัดการ
โครงสร้ 7.1 างการจั โครงสร้ างการจัดการ ดการของบริ ษั ทฯ ประกอบด้ วยคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุด ย่อยจานวน 3 ชุด
างการจัดการของบริษัทคณะกรรมการบริ ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุ อยจ�ำนวน โดยมี 3 ชุดซึ่ง ซึ่งประกอบด้ วโครงสร้ ย คณะกรรมการตรวจสอบ ห าร คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ดาย่ตอบแทน ประกอบด้ รายละเอี ยด ดังนีวย้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยมีราย ละเอียด ดังนี้ 7.1.1 คณะกรรมการบริ ษัท 7.1.1 คณะกรรมการบริ ษัท วันที่ 2560 31ธันวาคม2560คณะกรรมการบริ ษัทวประกอบด้ วยกรรมการจ� ณ วันที่ 31 ธัณ นวาคม คณะกรรมการบริ ษัท ประกอบด้ ยกรรมการจ านวน 11 ท่ำานวน น ดังนี11้ ท่านดังนี้ รายชื่อ
ตาแหน่ ง
1. นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ
ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ
2. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
กรรมการบริษัท
3. นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา
กรรมการบริษัท
4. นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา
กรรมการบริษัท
5. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
กรรมการบริษัท
6. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา
กรรมการบริษัท
7. นางธนิภา พวงจาปา
กรรมการบริษัท
8. พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรีชา
ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
9. นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี
กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
10. นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต
กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
11. นายอัฐวุฒิ ปภังกร
กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
โดยมี นายฐิ ตวันต์ เทียรฆศิริ เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษั ท แต่งตัง้ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2560 ตามมติ โดยมี นายฐิตวันต์ เทียรฆศิริ เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท แต่งตั้งเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน2560 ตามมติ ที่ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ครั ง้ ที่ 4/2560 และได้ ลาออกจากการเป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษั ท ตัง้ แต่วัน ที่ 8 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 4/2560และได้ลาออกจากการเป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษทั ตัง้ แต่วนั ที่ 8 ธันวาคม ธันวาคม 2560 2560 โดยบริษทั ได้มอบหมายให้นางสาวภัทราภรณ์ เขียวรุง้ เพชร ท�ำหน้าทีด่ งั กล่าวแทน ้ ้ รายละเอี ยดของกรรมการของ ทังนี กรรมการผู ้มีอ�ำนาจลงนามผูกพับรินษบริัทษฯัทปรากฏในเอกสารแนบ 1 กรรมการผู (1) นายชั ชชัย สุเมธโชติ ้ มีอานาจลงนามผู กพัเมธา นบริหรื ษัทอ นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา ลงลายมือชือ่ ร่วมกับนางอารีย์ สุเมธโชติเมธา หรือ นางธนิภา พวงจ�ำปา หรือนางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล หรือนายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา หนึ่งในสี่คนนี้ รวมเป็นสองคน (1) นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา หรื อ นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา ลงลายมือชื่อร่ วมกับนางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา และประทั บตราส�ำคัญของบริษัท หรือ หรื อนางธนิ ภ า พวงจ าปา หรื ภัสสร เจียมวิอจชืิต่อรกุ ล หรืบนายธนาพณ อนายจักรพงส์สุเมธโชติ สุเมธโชติ เมธา หนึ่งในสีบ่คตราส� นนี ้ รวมเป็ นสองษัท (2) นายชั ชชัอยนางสาวณั สุเมธโชติเฐมธา ลงลายมื ร่วมกั เมธา และประทั ำคัญของบริ คนและประทับตราสาคัญของบริ ษัท หรื อ (2)
นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา ลงลายมือชื่อร่วมกับนายธนาพณ สุเมธโชติเมธา และประทับตราสาคัญของบริ ษั ท
7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 2
รายงานประจำ �ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยีจากั จำ�ดกัด(มหาชน) (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี
67
การประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุ มคณะกรรมการบริ การประชุ มคณะกรรมการบริ ษัท ษัท รายละเอี ยดของกรรมการที ่เข้ าร่ว่เมประชุ มเป็ นดัมงเป็ นี ้ รายละเอี ยดของกรรมการที าร่วมประชุ รายละเอี ยดของกรรมการที ่เข้ าร่วข้มประชุ มเป็ นดังนีน้ ดังนี้
จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครั ง้ ที่เข้ าประชุมทัง้ หมด จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครั ง้ ที่เข้ าประชุมทัง้ หมด ปี 2559 ปี 2560 ปี 2559 ปี 2560
รายชื่อคณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท
1. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา 1. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา 2. นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา 2. นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา 3. นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา 3. นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา 4. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล 4. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล 5. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา 5. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา 6. นางธนิภา พวงจาปา 6. นางธนิภา พวงจาปา 7. พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรี ชา 7. พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรี ชา 8. นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล1 8. นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล1 9. นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี 9. นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี 10. นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต 10. นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต 11. นายอัฐวุฒิ ปภังกร2 11. นายอัฐวุฒิ ปภังกร2 12. นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ3 12. นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ3 หมายเหตุ 1. หมายเหตุ 2.1. 3.2. 3.
5/6 5/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 5/6 5/6 5/6 5/6 4/6 4/6 5/6 5/6 5/6 5/6 2/6 2/6 -
6/7 6/7 6/7 6/7 6/7 6/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 -/7 -/7 4/7 4/7 7/7 7/7 7/7 7/7 5/7 5/7
นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล ได้ ลาออกและพ้ นจากตาแหน่งกรรมการบริ ษัท เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2560 นายสุฐรวุชัฒยิ ปภั ดนัยงกร ตังตระกู ้ ได้ เข้ าลดได้ ลาออกและพ้ นจากตาแหน่ งกรรมการบริ 2560 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 นายอั ารงต าแหน่งกรรมการบริ ษัท ตามมติ ที่ประชุษมัทวิสเมืามั่อวัญนผูที้ ถ่ 23 ือหุ้นมีนครัาคม ง้ ที่ 1/2559 นายอั ได้ เลาวั ข้ าดณารงต ที่ประชุษมัทวิแทนกรรมการที สามัญผู้ถือหุ้น ครั ง้ ที่ 1/2559 นที่ ม1 คณะกรรมการ กันยายน 2559 ศจ. กิตฐติวุคฒณ ุ ิ ปภั ดร.งกร ดิเรก ย์ศริ าแหน่ ิ ได้ เข้งากรรมการบริ ดารงตาแหน่ษงัทเป็ตามมติ นกรรมการบริ ่ลาออก ตามมติเมืท่อี่ปวัระชุ ตติง้คทีณ ุ ่ 2/2560 ดร. ดิเรก ริ ิ ได้ เข้ าด2560 ารงตาแหน่งเป็ นกรรมการบริ ษัทแทนกรรมการที่ลาออก ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริศจ. ษัทกิครั เมื่อลาวั วันทีณ่ 5ย์ศเมษายน บริ ษัท ครัง้ ที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560
7.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ 7.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ 7.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบของ บริ ษัทฯ มีจานวน 4 ท่าน ประกอบด้ วย นวาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบของ บริ ษบริ ัทฯษมีัทจฯานวน 4 ท่าน4ท่ประกอบด้ วย วย ณ วัณนทีวั่ น31ที่ ธั31ธั นวาคม2560คณะกรรมการตรวจสอบของ มีจ�ำนวน าน ประกอบด้ 1. 1. 2. 2. 3. 3. 4. 4.
รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรีชา พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรีชา นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต นายอัฐวุฒิ ปภังกร นายอัฐวุฒิ ปภังกร
ตาแหน่ ง ตาแหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยมี นางสาวพิมล ชนชนะชัย เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ตัง้ แต่วนั ที่ 5 เมษายน 2560 ตามมติที่
นางสาวพิ มล มชนชนะชั ย เป็ยนเป็เลขานุ การคณะกรรมการตรวจสอบ วนั วทีัน่ 5ทีเมษายน 25602560 ตามมติ ที่ ท่ี โดยมี โดยมี นางสาวพิ ล ชนชนะชั นเลขานุ การคณะกรรมการตรวจสอบตัง้ แต่ ตั้งแต่ ่ 5 เมษายน ตามมติ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครัง้ ที่ 2/2560 ประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบครั ง้ ที่ 2/2560 ประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบครั ้งที่ 2/2560 ทัง้ นี้ นายอัฐวุฒิ ปภังกร เป็นกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ทางด้านบัญชีและ การเงินเพียงพอทีจ่ ะท�ำหน้าทีส่ อบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงินของบริษทั ฯ โดยนายอัฐวุฒิ ปภังกรจบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาการบัญชีและปริญญาโท หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต 7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 3 7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 3
การเงิ นเพียงพอที าหน้ าทีร่สรกิกิอบทานความน่ ่อและปริ ถือของงบการเงิ นกของบริ ปริญญญาตรี ญาตรี หลักกสูสู่จตตะท รบริ ารธุ สาขาการบัญญาชีเชื ชี และปริ ญาโทหลั หลั กสูสูตตรบั รบัษญญัทชีชีฯมมโดยนายอั หาบัณณฑิฑิตตฐวุฒิ ปภังกร จบการศึกษาระดับ ปริ หลั รบริ หหารธุ จจ สาขาการบั ญญญาโท หาบั ปริ ญญาตรี รายงานประจำ หลักสูตรบริ�ปีห2560 ารธุรกิจ สาขาการบัญชี และปริ ญญาโท หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต
68
บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
การประชุมมคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ การประชุ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุ มดของกรรมการตรวจสอบที คณะกรรมการตรวจสอบ ่เข้ าร่วมประชุมเป็ นดังนี ้ รายละเอี รายละเอี ยยดของกรรมการตรวจสอบที ่เข้ าร่ว่เข้มประชุ มเป็ นมดังเป็นีน้ ดังนี้ รายละเอี ยดของกรรมการตรวจสอบที าร่วมประชุ รายละเอียดของกรรมการตรวจสอบที่เข้ าร่วมประชุมเป็ นดังนีจานวนครั ้ ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครั ง้ ที่เข้ าประชุมทัง้ หมด รายชื่ อ่ อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ รายชื รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ พล.ต.อ.วรพงษ์ วรพงษ์ ชิชิววปรี ปรีชชาา 1.1.พล.ต.อ.
จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครั ง้ ที่เข้ าประชุมทัง้ หมด จานวนครั ง้ ที่เข้ าร่ วม / จานวนครั ง้ ที่เข้ าปีประชุ มทัง้ หมด 2559 ปี 2560 2560 ปีปี 2559 ปี 5/5 2559 5/5
ปี 4/4 2560 4/4
1. นายสุรรชัชัยวรพงษ์ ยดนั ดนัยยตัตัชิงตระกู ้ วปรีชลาล11 2.2.พล.ต.อ. นายสุ ้ งตระกู
5/5 4/5 4/5
4/4 -/4 -/4
2. ตังตระกู ้ ล1 นายวิฑรฑชัรู รูยย์ย์ดนั ะโชคดี 3.3.นายสุ นายวิ สิสิมมยะโชคดี 3. สิมะโชคดี นางรวิฑฐฐรู าาย์พงศ์ พงศ์ 4.4.นายวิ นางรวิ นนชุ ชุ ิติต
4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5
-/4 3/4 3/4 3/4 4/4 4/4
4. ิต22 นายอัฐฐวุาวุฒฒพงศ์ ปภันงงชุกร กร 5.5.นางรวิ นายอั ิ ิปภั
5/5 2/5 2/5
4/4 4/4 4/4
2
5. นายอัฐ1.วุฒิ ปภั งกรรชัย ดนัยตังตระกู 2/5 หมายเหตุ นายสุ าออกและพ้นนจากต จากตาแหน่ าแหน่งงกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ่ 23มีมีนนาคม าคม2560 2560 4/4 หมายเหตุ 1. นายสุ รชัย ดนัยตังตระกู ้ ้ ลลได้ได้ลลาออกและพ้ เมืเมื่อ่อวัวันนทีที่ 23 นายอัรฐฐชัวุวุยฒฒดนั ิ ปภั กร ารงต าแหน่งงกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ตามมติทที่ปี่ประชุ ระชุมมเมืวิวิส่อสามั ผู้ ถ้ ถื อมีื อหุนหุ้ น้ าคม นครั ครัง้ ง2560 ้ ทีที่ ่1/2559 1/2559เมืเมื่อ่อวัวันนทีที่ ่11กักันนยายน ยายน นายอั ิ ปภั ดดารงต าแหน่ ตามมติ หมายเหตุ 1.2.2. นายสุ ยงตังกร งตระกู ้ ได้ได้เเข้ลข้าาได้ ลาออกและพ้ นจากตาแหน่งกรรมการตรวจสอบ วัามั นญ ทีญ่ ผู23 2559ฐวุฒิ ปภังกร ได้ เข้ าดารงตาแหน่งกรรมการตรวจสอบ ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 2. นายอั
2559 หหาร 7.1.3 คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ าร 7.1.3 7.1.3 คณะกรรมการบริ หาร 7.1.3 คณะกรรมการบริ ห าร 31 ธันนวาคม วาคม 2560 คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริหหารของ ารของ บริษษัทัทษฯฯัทมีมีฯจจานวน ประกอบด้ 2560 บริ 55 ท่ท่าานท่นาประกอบด้ ววยย วย ณณวัณวันนทีวัที่ น่ 31 ที่ ธั31ธั นวาคม2560คณะกรรมการบริ หารของบริ มีานวน จ�ำนวน5 น ประกอบด้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริ หารของ บริ ษัทฯ มีจานวน 5 ท่าน ประกอบด้ วย
รายชื่ อ่ อคณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริหหาร าร รายชื รายชื หาร นายชั สุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา 1.1. นายชั ชชชัชัย่ อยสุคณะกรรมการบริ
าแหน่งง ตตาแหน่ ประธานกรรมการบริหหาราร ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ
1. 2.2. 2. 3.3.
ประธานกรรมการบริ กรรมการบริหหาราร หาร กรรมการบริ กรรมการบริ กรรมการบริหหหาร กรรมการบริ าราร
นายชั ชชัยย์ ์สุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา นางอารี นางอารี นางอารี ย์ สุเมธโชติ เมธาเเมธา นายธนาพณ มธโชติ มธา นายธนาพณ สุสุเเมธโชติ
3. มธโชติ เมวิ มธา นางสาวณัฐฐภัภัสุสสเสร สรเจีเจียยมวิ รกุลล 4.4. นายธนาพณ นางสาวณั จจิติตรกุ 4. ฐภัสสุสุสร เจียมวิ จิตรกุล นายจักกรพงส์ รพงส์ มธโชติ มธา 5.5. นางสาวณั นายจั เเมธโชติ เเมธา
กรรมการบริ กรรมการบริหหหาร กรรมการบริ าราร
5. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา
กรรมการบริหาร
กรรมการบริ กรรมการบริหหหาร กรรมการบริ าราร
โดยมี ายฐิ รฆศิ ้ ง้ แต่ววนั วนั ทีนั ที่ ที่ 99่ 9มิมิมิถถนุ นุ ายน ายน 2560 2560 ตามมติ ตามมติทททปี่ ี่ปี่ประชุ ระชุมมมคณะ โดยมี โดยมี นายฐิ ต์เทีเที ยรฆศิ นเลขานุ เลขานุกการคณะกรรมการบริ การคณะกรรมการบริ ารคณะกรรมการบริ หารตัตังแต่ ตั้งแต่ 2560ตามมติ นนายฐิ ตตวัวันตนวัต์ต์นเที ยยรฆศิ รริ ิ รเป็เป็ิ เป็ นนเลขานุ หหาราร ระชุ โดยมีนหายฐิ ตครั วัครัง้นงที้ งต์้ ทีที่ ่5/2560และได้ เที ยรฆศิและได้ รและได้ ิ เป็ นลเลขานุ การคณะกรรมการบริ หารคณะกรรมการบริ าร ตังแต่ ้ วนั ที่ 9 หมิหารตั ถารตั นุ ายน ระชุม โดย คณะกรรมการบริ หารารครั ่5/2560 5/2560 าออกจากการเป็ เลขานุกกการคณะกรรมการบริ ้ วว2560 ธันนวาคม วาคมที่ป2560 2560 กรรมการบริ นนนเลขานุ ง้งแต่ แต่ นั นั ทีที่ ่88 ธัตามมติ 2560 คณะกรรมการบริ หาร ลลาออกจากการเป็ าออกจากการเป็ เลขานุ ารคณะกรรมการบริ ้งแต่ คณะกรรมการบริ หาร ครัง้ นทีางสาวภั ่ 5/2560ทและได้ ลาออกจากการเป็ เลขานุ ารคณะกรรมการบริ หารตังแต่ ้ วนั ที่ 8 ธันวาคม 2560 บริษทั ได้ มอบหมายให้ ราภรณ์ เขียาาวรุ ง้ เพชร ท�ำนหน้ าทีด่ งักกล่ าวแทน 7.1.4 คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ ตอบแทน 7.1.4 คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ ตอบแทน 7.1.4
คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ าตอบแทน าหนดค่ วันนทีที่ ่ 31 31คณะกรรมการสรรหาและก� วาคม 2560 2560 คณะกรรมการสรรหาและก คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่าาตอบแทนของ ตอบแทนของ บริ บริษษัทัทฯฯ มีมีจจานวน านวน 22 ท่ท่าานน ประกอบด้ ประกอบด้ววยย ณณวั7.1.4 ธัธันนวาคม ำหนดค่าตอบแทน ณ วัณนทีวั่น31ที่ ธั31ธั นวาคม 2560รายชื คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ บริ ษษัทตทั ฯาแหน่ ประกอบด้ วยวย นวาคม2560คณะกรรมการสรรหาและก� ำหนดค่าตอบแทนของ าตอบแทนของบริ ฯมีจมีานวน จงำ� นวน2 2ท่าท่นานประกอบด้ ่อ รายชื่อ คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่าาตอบแทน ตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและก รายชื่อ าหนดค่ าหนดค่ าตอบแทน นางรวิฐฐาาพงศ์ พงศ์นนชุ ชุ ิติต 1.1. คณะกรรมการสรรหาและก นางรวิ 1. ฐา พงศ์ ชุ ิตเจีเจียยมวิ นางสาวณั สร มวิจจิติตรกุ รกุลล 2.2. นางรวิ นางสาวณั ฐฐภัภัสสนสร
ตาแหน่ ง ตาแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่ าหนดค่าาตอบแทน ตอบแทน ประธานกรรมการสรรหาและก
ประธานกรรมการสรรหาและก าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่ าหนดค่าาาหนดค่ ตอบแทน กรรมการสรรหาและก ตอบแทน
2. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน โครงสร้าางการจั งการจั การหน้ หน้าา44 ำหนดค่าตอบแทนแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2560 โดยปัจจุบนั โครงสร้ ดดการ หมายเหตุ 1. นางสาวพิศชามญช์ เจียมวิจติ รกุล ได้ล7.7. าออกจากการเป็ นกรรมการสรรหาและก� 7. โครงสร้ บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการสรรหากรรมการเพิ ม่ เติม างการจัดการ หน้ า 4
โดยมีนายฐิตวันต์ เทียรฆศิริ เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ตัง้ แต่วนั ที่ 21 มิถนุ ายน 2560ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ครัง้ ที่ 3/2560และได้ลาออกจากการเป็นเลขานุการคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนตัง้ แต่วนั ที่ 8 ธันวาคม 2560 โดยบริษทั ได้มอบหมายให้นางสาวภัทราภรณ์ เขียวรุง้ เพชร ท�ำหน้าทีด่ งั กล่าวแทน
โดยมีนายฐิ ตวันต์ เทียรฆศิริ เป็ นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ตังแต่ ้ วนั ที่ 21 มิถนุ ายน 2560 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ครัง้ ที่ 3/2560 และได้ ลาออกจากการเป็ นเลขานุ การ รายงานประจำ �ปี 2560 บริ ษ ท ั สากล เอนเนอยี จำ � กั ด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนตังแต่ ้ วนั ที่ 8 ธันวาคม 2560
69
ผู้บริ7.2 หาร ผู(ตามค านิ(ตามค� ยามผู้บำนิริ หยาร ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 ง การกาหนดบทนิ ยามำหนด ้บริหาร ามผู* ้บของประกาศคณะกรรมการ ริหาร * ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ.เรื่ อ17/2551 เรื่อง การก� ในประกาศเกี ่ยวกั บการออกและเสนอขายหลั กทรัพย์ (รวมทังที ้ ่มีการแก้กไทรั ขเพิพ่มย์เติ(รวมทั ม)) ้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม))ณ วันที่ บทนิ ยามในประกาศเกี ่ยวกับการออกและเสนอขายหลั
7.2
วาคม2560ผู ารของบริ �ำนวน6ท่ ประกอบด้ววยย ณ วันที่ 3131ธั ธันนวาคม 2560 ผู้บ้บริริหหารของ บริ ษษัทัทฯฯมีมีจจานวน 6 ท่ าน ประกอบด้ รายชื่อผู้บริหาร 1. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
ประธานเจ้ าหน้ าทีบ่ ริหาร
2. นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา
รองประธานเจ้ าหน้ าที่บริหารอาวุโส
3. 4. 5. 6.
รองประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ผู้ชว่ ยประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ผู้ชว่ ยประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ผู้จดั การแผนกบัญชีและงบประมาณ
นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล นางสาวเพียงใจ วงศ์พราวมาศ
ตาแหน่ ง
หมายเหตุ: * ผู้บริ หาร หมายความว่า ผู้จดั การ หรือผู้ดารงตาแหน่งระดับบริ หารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จดั การลงมา ผู้ซงึ่ ดารงตาแหน่ง เทียบเท่ากับผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารรายที่สที่ กุ ราย และให้ หมายความรวมถึงผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารในสายงาน บัญ ชีห รื อการเงินที่ เป็ นระดับผู้จัด การฝ่ ายขึน้ ไปหรื อ เทียบเท่า ทัง้ นี ้ รายละเอียดของผู้บ ริ ห ารของบริ ษั ทฯ ปรากฏใน เอกสารแนบ 1
7.2.1
ประธานเจ้ หน้ าที่บริหาาร 7.2.1 าประธานเจ้ หน้าที่บริหาร
ขอบเขตอ ขอบเขตอ� ำนาจหน้ าที่ และความรั บผิดชอบของประธานเจ้ านาจหน้ าที่ และความรั บผิดชอบของประธานเจ้ าหน้ าทีา่บหน้ ริ หาารที่บริหาร (1) ดูแล บริหาร ด�ำเนินงาน และปฏิบัติงานประจ�ำตามปกติธุรกิจเพื่อประโยชน์ของบริษัทให้เป็นไปตามนโยบาย (1) ดูแล บริ หาร ดาเนิ นงาน และปฏิ บัติงานประจาตามปกติธุรกิ จเพื่ อประโยชน์ ของบริ ษั ทให้ เป็ นไปตาม วิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผนการด�ำเนินธุรกิจ และงบประมาณที่ก�ำหนดโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือตามที่ได้ นโยบาย วิสยั ทัศน์ เป้าหมาย แผนการดาเนินธุรกิจ และงบประมาณที่กาหนดโดยที่ประชุมคณะกรรมการ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร บริ ษัท และ/หรื อตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ หาร (2) บริหารจัดการการด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามภารกิจหลักที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมการบริหารเพื่อให้ (2)องกับแผนการด� บริ หารจัดำการการด นงานของบริ ษัทให้ เป็ษนัทไปตามภารกิ หลักที่กำาหนดโดยคณะกรรมการบริ หาร สอดคล้ เนินธุรกิจาเนิ และงบประมาณของบริ และกลยุทธ์จในการด� เนินธุรกิจ เพื่อกให้ สอดคล้ องกับแผนการดาเนิ ธุรกิ จ และงบประมาณของบริ ษัท และกลยุทธ์ ในการดาเนินธุรกิ จ ที่เกี่ยวข้องตามที �ำหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัทนและ/หรื อ คณะกรรมการบริหาร องตามทีำเนิ ่กาหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัท งานบริ และ/หรืหอารบุ คณะกรรมการบริ หาร บัติงานอื่นๆ โดยรวมเพื่อ (3) ก�ทีำ่เกักีบ่ยดูวข้แลการด� นการด้านการเงิน การตลาด คคล และด้านการปฏิ ให้เป็(3) นไปตามนโยบาย ำเนิานนการเงิ งานของบริ ษัทที่ก�ำหนดไว้ ษัท บตั ิงานอื่นๆ โดยรวม กากับดูแและแผนการด� ลการดาเนินการด้ น การตลาด งานบริโหดยคณะกรรมการบริ ารบุคคล และด้ านการปฏิ และ/หรือ คณะกรรมการบริ หาร เพื่ อ ให้ เป็ น ไปตามนโยบาย และแผนการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ที่ กาหนดไว้ โดยคณะกรรมการบริ ษั ท (4) มีและ/หรื อ�ำนาจจ้อาคณะกรรมการบริ ง แต่งตั้ง โยกย้ายหาร ปลดออก และเลิกจ้างพนักงานบริษัทในต�ำแหน่งที่ต�่ำกว่าประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย บริหาร ง แต่งตตัราค่ ง้ โยกย้ งพนัลกเงิ งานบริ ในตาแหน่ ประธานเจ้ าที่ ษทั (4) (5) มีมีออำ� านาจจ้ นาจก�ำาหนดอั าจ้างายค่าปลดออก ตอบแทนและเลิ บ�ำเหน็กจ้จารางวั นโบนัษสัทและปรั บขึงน้ ทีเงิ่ตน่าเดืกว่อานส� ำหรับพนัากหน้งานบริ ายบริ หาร าหน้าทีฝ่ า่ ยบริหาร ภายใต้กรอบและนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริหารก�ำหนดไว้และ/หรือตาม ในต�ำแหน่งทีต่ ฝ่ำ�่ กว่ าประธานเจ้ ที่ก�ำหนดไว้ในอ�ำนาจอนุมัติ (Authority Limits) (6) เจรจา และเข้าท�ำสัญญา สั่งจ่ายเงิน และ/หรือ ธุรกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจปกติของบริษัท ทั้งนี้ วงเงินส�ำหรับแต่ละรายการให้เป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการบริหารก�ำหนดและ/หรือตามทีก่ ำ� หนดไว้ในอ�ำนาจอนุมตั ิ (Author7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 5 ity Limits) (7) อนุมตั แิ ต่งตัง้ ทีป่ รึกษาด้านต่าง ๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ภายในวงเงินตามทีก่ ำ� หนดไว้ในอ�ำนาจ อนุมัติ (Authority Limits) (8) อนุมัติการกู้ยืมเงิน และการขอสินเชื่อใด ๆ จากสถาบันการเงิน การให้กู้ยืม ตลอดจนการจ�ำน�ำ จ�ำนอง หรือเข้า เป็นผูค้ ำ�้ ประกันของบริษทั และบริษทั ย่อย และการลงทุนของบริษทั ภายในวงเงินตามทีก่ ำ� หนดไว้ในอ�ำนาจอนุมตั ิ (Authority Limits)
70
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(9) อนุมตั คิ า่ ใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ การจัดสัมมนา จัดกิจกรรมสันทนาการ และจัดประชุมสัมพันธ์ ภายในวงเงินตามที่ก�ำหนดไว้ในอ�ำนาจอนุมัติ (Authority Limits) (10) ออกค�ำสั่ง ระเบียบ ประกาศ และบันทึกต่างๆ ภายในบริษัทเพื่อให้การด�ำเนินงานของบริษัทเป็นไปตาม นโยบาย และเพื่อผลประโยชน์ของบริษัท รวมถึงรักษาระเบียบวินัยภายในองค์กร (11) ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร รวมทั้งมี อ�ำนาจด�ำเนินการใดๆ ที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว (12) มอบอ�ำนาจให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนปฏิบตั กิ ารอย่างหนึง่ อย่างใดแทนประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบริหาร
ทัง้ นี้ การมอบอ�ำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบริหารนัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบ อ�ำนาจหรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรือ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อยของบริษัท ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตาม นโยบายและหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติไว้ ทั้งนี้ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหารตามตารางอ�ำนาอนุมัติแสดงไว้ในหัวข้อที่ 10.6 อ�ำนาจด�ำเนินการ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
7.3 เลขานุการบริษัท
71
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559มีมติแต่งตั้ง นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา ท าและเก็ รั ก ษาทะเบี งสือ นัในด ประชุ คณะกรรมการบริ ั ท รายงานการประชุ เป็นเลขานุ(1) การบริษจัทั ดโดยมี หน้าทีบแ่ ละความรั บผิยดนกรรมการ ชอบตามทีก่ หนั ำ� หนดไว้ พ.ร.บ.มหลั กทรัพย์ โดยคุณษสมบั ตขิ องผูด้ ำ� รงต�ำแหน่มง ษัท รายงานประจาปี ของบริ ษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นเลขานุการบริษคณะกรรมการบริ ัท ษัท และ/หรืบอผิดคณะกรรมการ ขอบเขตอ�ในนามของบริ ำนาจหน้าที่และความรั ชอบของเลขานุการบริษัทฯ (1) จั รักษาทะเบียนกรรมการ นัดประชุมคณะกรรมการบริ (2) ดท�ำและเก็ เก็ บ รั กบษารายงานการมี ส่ว นได้หนั เสียงทีสือ่ รายงานโดยกรรมการหรื อ ผู้ษบทั ริ หรายงานการประชุ ารในนามของบริมษคณะกรรมการ ั ท และ/หรื อ บริษทั รายงานประจ�คณะกรรมการ ำปีของบริษทั หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ในนามของบริษทั และ/หรือ คณะ กรรมการ (3) ดาเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด และจัดส่งสาเนารายงานการมีสว่ น (2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหารในนามของบริษัท และ/หรือ คณะ ได้ เสียตามมาตรา 89/14 ซึ่งจัดทาโดยกรรมการให้ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ 7 วันค่ ณะกรรมการก� ทาการ นับแต่วำนั กัทีบ่บตลาดทุ ริ ษัทได้ นรับประกาศก� รายงานนัำนในนามของบริ ้ หนด และจัดส่งษส�ัทำเนารายงานการมี และ/หรื อ คณะกรรมการ (3) ด�ำเนินทราบภายใน การอืน่ ใดตามที สว่ นได้เสีย าเบื ้องต้ นเกี่ยวกัปบระธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน ข้ อกฎหมาย และระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ของบริ ษัท ที่คณะกรรมการบริ ัท ตามมาตรา(4)89/14ให้ซึค่งจัาแนะน ดท�ำโดยกรรมการให้ 7 วันท�ำษการ นับแต่วันที่บริษัทได้ต้รอับงการทราบและติ รายงานนั้นในนามของบริ และ/หรื คณะกรรมการ ดตามให้ มษีกัทารปฏิ บัติตอามอย่ างถูกต้ องสม่าเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลง (4) ให้คำ� แนะน� ำเบือ้ งต้ นเกีย่ วกั บข้อกฎหมาย อบังคับต่างๆษของบริ ษทั ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ต้องการ ข้ อกาหนด และ/หรื อ กฎหมายที ่มีนยั และระเบี สาคัญให้ยคบข้ ณะกรรมการบริ ัทรับทราบ ทราบและติ(5)ดตามให้จัมดีกการประชุ ารปฏิบัตมิตผูามอย่ กต้องสม�่ำเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี อก�ำหนดข้และ/หรื กฎหมาย ้ ถือหุ้นางถู และการประชุ มคณะกรรมการบริ ษัทให้ เป็่ยนนแปลงข้ ไปตามกฎหมาย อบังคับอของบริ ษัท ที่มีนัยส�ำคัญให้คณะกรรมการบริ ษ ท ั รั บ ทราบ และข้ อพึงปฏิบตั ิที่เกี่ยวข้ อง (5) จัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษทั และข้อ ้ ดตามให้ มีการปฏิบตั ิ พึงปฏิบัติท(6)ี่เกี่ยวข้อบัง นทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมของคณะกรรมการบริ ษัท รวมทังติ ที่ประชุมผู้ถมือผูหุถ้ ้ นอื และที ่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท (6) บันทึกตามมติ รายงานการประชุ หุน้ และการประชุ มของคณะกรรมการบริ ษทั รวมทัง้ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ าม มติที่ประชุ(7) มผู้ถือหุ้นดูแและที ษัท ลให้ ม่ปี กระชุ ารเปิมคณะกรรมการบริ ดเผยข้ อ มูลและรายงานสารสนเทศในส่ วนที่ รับ ผิดชอบต่อหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง ตาม (7) ดูแลให้ระเบี มีการเปิ ดเผยข้ อมูลและรายงานสารสนเทศในส่ ยบและข้ อกาหนดของหน่ วยงานดังกล่าว วนที่รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามระเบียบ และข้อก�ำหนดของหน่วยงานดังกล่าว (8) ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษัท และการดาเนินการอื่นใดให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และ/หรื อ ตามที่ (8) ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท และการด�ำเนินการอื่นใดให้เป็นไปตามกฎหมาย และ/หรือ ตามที่คณะ คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด และ/หรื อ ตามที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท กรรมการก�ำกับตลาดทุนประกาศก�ำหนด และ/หรือ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท
7.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ าตอบแทนกรรมการ 7.4.1 7.4 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
7.4.1 (ก) ค่าค่ตอบแทนกรรมการ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน (ก) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2559เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2560เมื่อ 2560 เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2560 ได้ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย ในรู ปค่าตอบแทนรายเดือนและเบีย้ วันที่ 6มีนาคม 2560ได้อนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย ในรูปค่าตอบแทนรายเดือนและเบีย้ ประชุมต่อครัง้ ประชุมต่อครัง้ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ - คณะกรรมการบริ ษัท - คณะกรรมการบริ ษัท ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษัท กรรมการบริ ษัท* หมายเหตุ : 1
ค่ าตอบแทนรายเดือน 20,000 บาท 10,000 บาท
ค่ าเบีย้ ประชุมต่ อครัง้ 25,000 บาท 15,000 บาท
ที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจาปี 2559 เมื่ อวันที่ 4 เมษายน 2559 และที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจาปี 2560 เมื่ อวันที่ 6 มี นาคม 2560 ได้ อนุมัติค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย (ไม่นับรวมกรรมการตรวจสอบ) ในรู ปค่าตอบแทนรายเดือนและเบี ย้ ประชุมต่ อครั ง้ ในวงเงินไม่เกิน 2,200,000 บาทต่อปี
7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 7
72
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) 2
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 3/2559 มีมติรับทราบการสละสิทธิ์ไม่รับค่าตอบแทนรายเดือน ในการดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการบริ ษัท ของกรรมการจานวน 5 ท่าน ได้ แก่ นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา, นางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา, นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา, นางสาวณัฐภัสสร เจียม วิจิตรกุล, และนายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา โดยให้ มีผลตังแต่ ้ เดือน เมษายน 2559 เป็ นต้ นไป
-
คณะกรรมการตรวจสอบ
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
-
ค่ าตอบแทนรายเดือน -
ค่ าเบีย้ ประชุมต่ อครัง้ 20,000 บาท 12,000 บาท
คณะกรรมการบริ หาร
ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 3/2559 มีมติรับทราบการกาหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการ บริ หาร ในการขอดารงตาแหน่งกรรมการบริ หารของบริ ษัทโดยไม่รับค่าตอบแทน ทังที ้ ่เป็ นค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี ้ย ประชุม และจะยังคงปฏิบตั ิหน้ าที่อย่างเต็มความสามารถเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทต่อไป โดยให้ มีผลตังแต่ ้ เดือนเมษายน 2559 -
คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน1 หมายเหตุ :
1
ค่ าตอบแทนรายเดือน -
ค่ าเบีย้ ประชุมต่ อครัง้ 12,000 บาท 10,000 บาท
ค่าเบี ย้ ประชุมของกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจานวน 12,000 บาท สาหรับ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนซึ่งดารง ตาแหน่งเป็ นผู้บริ หารเท่านัน้ สาหรับกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนที่ไม่ได้ ดารงจาแหน่งเป็ นผู้บริ หารไม่มีคา่ ตอบแทน
7. โครงสร้ างการจัดการ หน้ า 8
30,000 30,000 30,000 30,000 120,000 120,000 120,000 120,000 120,000 40,000 820,000
90,000 90,000 90,000 90,000 75,000 75,000 60,000 75,000 75,000 30,000 875,000
2. นางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา
3. นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา
4. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
5. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา
6. นางธนิภา พวงจาปา
7. พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรี ชา
8. นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล
9. นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี
10. นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต
11. นายอัฐวุฒิ ปภังกร
- ไม่มี -
(ข) ค่าตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเงิน
รวม
60,000
ค่ าตอบแทน รายเดือน
125,000
ค่ าเบีย้ ประชุม
คณะกรรมการบริษัท
1. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
รายชื่อกรรมการบริ ษัท
ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 9
292,000
24,000
60,000
60,000
48,000
100,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
44,000
-
24,000
-
-
-
-
-
20,000
-
-
-
ค่ าตอบแทนกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) คณะกรรม คณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่ าตอบแทน การตรวจสอบ ค่ าตอบแทน ค่ าตอบแทน ค่ าเบีย้ ประชุม ค่ าเบีย้ ประชุม รายเดือน รายเดือน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2,031,000
94,000
279,000
255,000
228,000
295,000
195,000
120,000
140,000
120,000
120,000
185,000
รวม
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
73
-
9. นายสุรชัย ดนัยตังตระกู ้ ล
810,000
120,000
120,000
120,000
30,000
120,000
120,000
-
-
-
-
-
180,000
ค่ าตอบแทน รายเดือน
312,000
72,000
72,000
48,000
-
120,000
-
-
-
-
-
-
-
- ไม่มี -
(ข) ค่าตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเงิน ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 10
หมายเหตุ : 1 ศจ. กิตติคณ ุ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศริ ิ ได้ เข้ าดารงตาแหน่งประธานกรรมการบริษัทและกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560
975,000
90,000
8. พล.ต.อ. วรพงษ์ ชิวปรี ชา
รวม
90,000
7. นางธนิภา พวงจาปา
105,000
90,000
6. นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา
12. นายอัฐวุฒิ ปภังกร
90,000
5. นางสาวณัฐภัสสร เจียมวิจิตรกุล
105,000
75,000
4. นายธนาพณ สุเมธโชติเมธา
11. นางรวิฐา พงศ์นชุ ิต
75,000
3. นางอารีย์ สุเมธโชติเมธา
60,000
95,000
2. นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา
10. นายวิฑรู ย์ สิมะโชคดี
100,000
ค่ าเบีย้ ประชุม
คณะกรรมการบริษัท
1. นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ1
รายชื่อกรรมการบริ ษัท
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
88,000
-
48,000
-
-
-
-
-
40,000
-
-
-
-
ค่ าตอบแทนกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560) คณะกรรม คณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่ าตอบแทน การตรวจสอบ ค่ าตอบแทน ค่ าตอบแทน ค่ าเบีย้ ประชุม ค่ าเบีย้ ประชุม รายเดือน รายเดือน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
2,185,000
225,000 297,000
345,000 2974,000
300,000 228,000
30,000 78,000
210,000 330,000
330,000 210,000
90,000
130,000
75,000
75,000
95,000
280,000
รวม
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
74 รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
75
รายงานประจำ�ปี 2560 ัท สากลเอนเนอยี เอนเนอยี จำ�จกัากั ด (มหาชน) บริษบริัทษสากล ด (มหาชน)
7.4.2 7.4.2 ค่าตอบแทนของผู ้บริหารของบริ ัทฯ และบริ ค่ าตอบแทนของผู ้ บริหารของบริ ษัทฯ ษและบริ ษัทย่ อษยัทย่อย (ก) ค่ ่เป็นตัวเ่ เงิป็ นนตัวเงิน (ก) าตอบแทนที ค่าตอบแทนที ปี2559และงวดหกเดือน ปี 2560บริษัทฯได้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้บริหาร เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้นจ�ำนวน 11,173,232บาท 2559 และ งวดหกเดือน ปี 2560 บริ ษั ทฯ ได้ จ่ายค่าตอบแทนให้ แก่ผ้ ูบ ริ หาร เป็ นจานวนเงิ นทัง้ สิน้ และ 6,546,010บาทปี ตามล� ำดับ โดยค่าตอบแทนดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนในรูปแบบ เงินเดือน โบนัสและอื่นๆ เช่น กองทุน จ านวน 11,173,232 บาท และ ส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยสรุปได้ดังนี้ 6,546,010 บาท ตามลาดับ โดยค่าตอบแทนดังกล่าวเป็ นค่าตอบแทนในรู ปแบบ เงินเดือน โบนัส และอื่นๆ เช่น กองทุนสารองเลี ้ยงชีพ โดยสรุปได้ ดงั นี ้
ปี 2559 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร เงินเดือนและโบนัส อื่นๆ
รวม
หมายเหตุ
จานวน (คน) 5
1/
ปี 2560 จานวนเงิน (บาท) 10,996,800 176,432 11,173,232
จานวน (คน) 5 -
จานวนเงิน (บาท) 6,303,047 242,963 6,546,010
ค่าตอบแทนผู้บริ หารในตารางข้ างต้ น เป็ นค่าตอบแทนของผู้บริ หารตามนิยามของสานักงาน ก.ล.ต. ซึง่ แตกต่างจากค่าตอบแทนผู้บริ หาร สาคัญตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล สาหรับ งวดสามเดือนสิ ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560
โดยผู้บริหารของบริ ัทฯ ตามตารางดั งกล่าวประกอบด้ นายชัชชัย วสุยเมธโชติ โดยผู้บ ริ หษารของบริ ษั ท ฯ ตามตารางดั ง กล่าววย ประกอบด้ นายชัเชมธา, ชัย สุนางอารี เมธโชติยเ์ มธา, นางอารี ย์ สุสุเมธโชติ มธโชติเเมธา มธา และนางสาวณั และนางสาวณัฐฐภัภัสสสร สรเจีเจียยมวิมวิจจิติตรกุรกุลล เมธโชติเมธา, เมธา,นายธนาพณ นายธนาพณสุสุเเมธโชติ มธโชติเเมธา, มธา, นายจั นายจักกรพงส์ รพงส์ สุสุเเมธโชติ
(ข) ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน - (ข) ไม่มี - ค่าตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเงิน - ไม่มี -
ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 11
76 7.5
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
บุคลากร
7.5 บุคลากร
จานวนพนักงาน 7.5.1 7.5.1 จ�ำนวนพนักงาน วาคม 2561บริบริษษัทัทฯฯและบริ และบริ ษัทย่อย มีพนักงานจ ้งสิ้น้น79 ณณ วันที3่ 31 1ธัธันนวาคม2561 งานจ�านวนทั ำนวนทังสิ 79 คน คน โดยแบ่ โดยแบ่งงตามแผนก ตามแผนกดัดังนีงนี้ ้ ธันวาคม 2558
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
จานวน (คน)
จานวน (คน)
จานวน (คน)
จานวน (คน)
ผู้บริ หาร
6
6
6
6
ฝ่ ายบริ หาร – พนักงาน
0
0
3
2
แผนกวิศวกรรม
21
29
28
29
แผนกบุคคล
11
10
15
15
แผนกบริ หารงานทัว่ ไป
6
6
7
7
แผนกระบบงานมาตรฐานฯ
3
3
3
3
แผนกบัญชีและงบประมาณ
1
3
4
6
แผนกพัฒนาธุรกิจ
1
2
3
3
แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ
0
1
1
1
แผนกการเงิน
1
0
1
2
แผนกกฎหมาย
0
0
2
2
แผนกตรวจสอบภายใน
0
0
0
2
แผนกลงทุนสัมพันธ์
0
0
0
1
50
60
73
79
ฝ่ ายงาน
รวม
ณ วัน 31
ณ วันที่ 31
ธันวาคม 2557
หมายเหตุ (1) ข้ อมูลของ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้ แก่ บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน), บริษัท เอสเค 15 จากัด, บริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์ 15 จากัด และบริษัท สากล ไบโอแมส พาวเวอร์ จากัด (เลิกกิจการและชาระบัญชีในปี 2559)
ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 12
77
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษบริัทษสากล ด (มหาชน) ัท สากลเอนเนอยี เอนเนอยี จำ�จกัากั ด (มหาชน)
ค่ าตอบแทนของพนั กงานของบริ ษัทฯ ษและบริ ษัทย่ อษยัทย่อย 7.5.2 7.5.2 ค่าตอบแทนของพนั กงานของบริ ัทฯ และบริ ในปี2559บริ 2559 บริ จ่าายค่ าตอบแทนให้ นักงานรวม ราย นับบ้ รวมผู ริ หนาร) เป็ นจานวนเงิ นทังสิ ้ ้น ในปี ษทั ษฯั ทได้ฯ จได้า่ ยค่ ตอบแทนให้ แก่พแนัก่กพงานรวม 68ราย68(ไม่ นบั (ไม่ รวมผู ริหาร)้ บเป็ จ�ำนวนเงิ นทัง้ สิน้ ประมาณ ประมาณ 18,935,853ำบาท และสาหรัอบนปี งวดหกเดื อนปีษทั 2560 ษัทาตอบแทนให้ ฯ ได้ จ่ายค่าตอบแทนให้ แก่พนั68ราย(ไม่ กงานรวมน68 ราย (ไม่ บั 18,935,853บาทและส� หรับงวดหกเดื 2560บริ ฯ ได้จบริา่ ยค่ แก่พนักงานรวม บั รวมผู บ้ ริหนาร) บ ริ ห าร)นทัเป็้งสิน้นจประมาณ านวนเงิ น12,188,653 ทัง้ สิน้ ประมาณ บาท โดยค่ ตอบแทนดั งกล่า วเป็ ปนแบบเงิ ค่าตอบแทนในรู เป็รวมผู นจ�ำ้ นวนเงิ บาท12,188,653 โดยค่าตอบแทนดั งกล่าาวเป็ นค่าตอบแทนในรู นเดือนโบนัปสแบบ และ นเดือนโบนั่นสๆและค่ รายละเอี ยดดังต่อไปนี ้ ค่เงิาตอบแทนอื โดยมีาตอบแทนอื รายละเอีย่นดดัๆ งโดยมี ต่อไปนี ้ ค่ าตอบแทนพนักงาน เงินเดือนและโบนัส ค่าล่วงเวลา เบี ้ยเลี ้ยงและเบี ้ยขยัน อื่นๆ รวม
ปี 2559
ปี 2560
15,857,944 869,260 849,365 1,359,284 18,935,853
21,777,455 1,100,368 624,393 1,983,384 25,485,600
้ ส�ำ้ รองเลี กองทุน้ยสงชีารองเลี บริ ษัทษฯัทและบริ อย่อวัจันดทีตั่งเมื ้ 25่อสิวังนหาคม ที่ 25 สิ2559 งหาคม 2559 โดยทางส กงานฯได้ ทั้งนี้ กองทุทันงนี พของ ้ยงชี บริษพัทของ ฯ และบริ ย่อย จัษดัทตัย่้งเมื โดยทางส� ำนักงานฯานัก.ล.ต. ได้ รยับนแล้ จดทะเบี ยนแล้มวีผและให้ ั1้ ตุลวนัาคม ที่ 1 2559 ตุลาคม 2559 รัก.ล.ต. บจดทะเบี ว และให้ ลบังคับมใช้ีผลบั ตั้งงแต่คับวันใช้ทีต่ งแต่ นโยบายในการพั ฒนาพนั กงานกงาน 7.5.3 7.5.3 นโยบายในการพั ฒนาพนั บริบริษษัทัทฯฯ มีมีคความมุ ฒนาบุ อาชีพพ เปิเปิดดโอกาสให้ โอกาสให้พพนันักกงานได้ งานได้แแสดงศั สดงศักกยภาพ ยภาพ วามมุ่ง่งมัมั่นน่ ในการพั ในการพัฒ นาบุคคลากรให้ ลากรให้ มมีคีคุณ ณ ุ ภาพระดั ภาพระดับบมืมือออาชี อย่อย่าางเต็ กระดั บอย่ างต่างต่ อเนืออ่เนืง่อเพืง อ่ เพืสนั บสนุ นให้นพให้นัพกนังานมี ความก้ าวหน้ าตามสายอาชี พไปพร้ อมกัอมกั บความ งเต็มมความสามารถ ความสามารถในทุ ในทุ กระดั บอย่ ่อสนั บสนุ กงานมี ความก้ าวหน้ าตามสายอาชี พไปพร้ บ ส�ความส ำเร็จในการด� ำเนินการของบริ ษัทฯ ษโดยมี แนวปฏิ บัติดังบนีตั ้ ิดงั นี ้ าเร็ จในการด าเนินการของบริ ัทฯ โดยมี แนวปฏิ 1. จัดให้มีการฝึกอบรมทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยพิจารณาตามความเหมาะสมตามต�ำแหน่งหน้าที่ของ จัดให้ มีการฝึ กอบรมทังภายในและภายนอกองค์ ้ กร โดยพิจารณาตามความเหมาะสมตามตาแหน่งหน้ าที่ของ พนักงานแต่1.ละคน ละคน พนักงานแต่ 2. บริ ษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานที่เข้ารับการฝึกอบรมได้มีโอกาสแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการ 2. งพนั บริกษงานคนอื ัทฯ ส่งเสริ่นมๆให้ด้พวยนักเพืงานที บการฝึ กอบรมได้ มีโ้แอกาสแบ่ งปั นความรู ้ และประสบการณ์ ี่ได้ รับจากการ ฝึกอบรมไปยั ่อให้่เข้กิาดรัการถ่ ายทอดความรู ละประสบการณ์ ภายในองค์ กร ในรูปทแบบการบริ หาร จัฝึดกการความรู อบรมไปยั้ ง(Knowledge พนักงานคนอื่นManagement) ๆ ด้ วย เพื่อให้ เกิดการถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ภายในองค์กร ในรูปแบบการบริ หาร จัดการความรู 7.5.4 ้ (Knowledge ข้อพิพาทด้าManagement) นแรงงาน ในระยะเวลา ที่ผ่านมาบริ ษัทฯไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานที่บริษัทฯเป็นคู่ความหรือคู่กรณี ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัย 7.5.4 ข้ อพิ3 พปีาทด้ านแรงงาน ส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา บริ ษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทด้ านแรงงานที่บริ ษัทฯเป็ นคู่ความหรื อคูก่ รณี ซึ่งอาจมีผลกระทบ ยั สาคัอ�ญำต่นาจด� อการดำเนิ าเนินนการ ธุรกิจของบริ ษัทฯ อย่างมีน7.6
7.6 บริอานาจด ษทั ฯ ได้าเนิ จดั ท�นำการ คูม่ อื อ�ำนาจการด�ำเนินการ เพือ่ ใช้แบ่งแยกขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละเป็นเกณฑ์ในการปฎิบตั งิ าน ของผู้จัดการ ผู้บริหารและคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในองค์กร โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2560 บริ ษัทฯ ได้ จดั ทา คูม่ ืออานาจการดาเนินการ เพื่อใช้ แบ่งแยกขอบเขตอานาจหน้ าที่และเป็ นเกณฑ์ในการปฎิบตั ิงาน เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560ได้อนุมัติคู่มืออ�ำนาจการด�ำเนินการของบริษัท ซึ่งสามารถสรุปธุรกรรมที่ส�ำคัญ ได้ดังนี้ ของผู้จัดการ ผู้บริ หารและคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ ยวข้ องในองค์ กร โดยที่ป ระชุมคณะกรรมการบริ ษั ท ครัง้ ที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 ได้ อนุมตั ิคมู่ ืออานาจการดาเนินการของบริ ษัท ซึง่ สามารถสรุปธุรกรรมที่สาคัญ ได้ ดงั นี ้
ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 13
78
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ลาดับ
เรื่อง
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) BOD
EX-COM
ผู้อนุมัติ CEO SVP, VP ASS-CEO
M
1. งบประมาณ 1.1 งบประมาณรายได้ ต้ นทุนและค่าใช้ จา่ ยประจาปี A1 A2 A2 A2 A2 G1 1.2 งบประมาณการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรประจาปี A1 A2 A2 A2 A2 G1 1 2. การลงทุนในธุรกิจและโครงการ 2.1 วงเงินไม่เกิน 10 ล้ านบาท / การลงทุน A1 A2 A2 G1 2.2 วงเงินไม่เกิน 180 ล้ านบาท / การลงทุน A1 A2 A2 A2 G1 2.3 วงเงินเกิน 180 ล้ านบาท / การลงทุน A1 A2 A2 A2 A2 G1 3. การกู้ยืมเงินและการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้ ก้ ูยืม ตลอดจนการจานา จานอง หรื อการเข้ าเป็ นผู้คา้ ประกันของ บริษัทฯ และบริษัทย่ อย 3.1 วงเงินไม่เกิน 10,000,000 บาท A1 A2 G1 G1 3.2 วงเงินมากกว่า 10,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 200,000,000 บาท A1 A2 G1 G1 G1 3.3 วงเงินมากกว่า 200,000,000 บาท A1 A2 G1 G1 G1 G1 1 4. การร่ วมทุน 4.1 การร่วมทุน (ทังมี ้ และไม่มีสว่ นร่วมในการบริหารงาน) A1 A2 A2 A2 A2 G1 4.2 การลงทุนซื ้อหุ้น / ขายหุ้นบริษัทอื่น A1 A2 A2 A2 A2 G1 4.3 ตังกิ ้ จการใหม่ / เลิกกิจการ A1 A2 A2 A2 A2 G1 หมายเหตุ
1/ 2/
ตารางอานาจอนุมตั ใิ ห้ เป็ นไปตามเงื่อนไข พรบ. บริ ษัทมหาชนฯ และพรบ. ตลาดหลักทรัพย์ฯ ความหมายของอักษรย่อในช่องผู้มีอานาจ
BOD EX-COM CEO SVP VP ASS-CEO M 3/
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร รองประธานเจ้ าหน้ าที่บริหารอาวุโส รองประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ผู้ชว่ ยประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ผู้จดั การแผนก
ความหมายของอักษรย่อในช่องอนุมตั ิ
A1 (Approve)
หมายถึง
A2 (Approve)
หมายถึง
G1 (Guarantee)
หมายถึง
I1 (Issued)
หมายถึง
อานาจอนุมตั ิคนสุดท้ าย (หลัก) ผู้มีอานาจในการพิจารณาอนุมตั ิรายการธุรกรรมหรื อคา ขอที่ถกู นาเสนอขึ ้นมาตามลาดับขันตอน ้ คนสุดท้ ายเป็ นคนหลัก แต่ต้องอยูภ่ ายใต้ เงื่อนไข ที่บริษัทฯ กาหนดไว้ อานาจอนุมตั ิตามลาดับขัน้ ผู้มีอานาจในการพิจารณาให้ ความเห็นชอบรายการธุรกรรม หรื อคาขอ ตามลาดับขันตอนการพิ ้ จารณาอนุมตั ิ ซึ่งหากไม่เห็นชอบ เรื่ องดังกล่าวจะถูก ปฏิเสธยกเลิก หรือตีกลับให้ แก้ ไข ลงนามรับ ทราบ ผู้บ ริ ห ารที่ มีหน้ า ที่ ในการตรวจสอบความถูกต้ องและเหมาะสมของ รายการน าเสนอ ก่อนลงนามรับรองและนาส่งต่อผู้บริ ห ารที่ มีอานาจ เพื่ อพิจารณาใน ลาดับขันตอนต่ ้ อไป ไม่มีอานาจดาเนินการ ไม่สามารถพิจารณาให้ ความเห็นชอบหรื ออนุมตั ิรายการธุรกรรม หรือคาขอดังกล่าวได้
ส่วนที่ 2.3.10 หน้ า 14
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
79
8. การก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท รวมทั้งได้ยึดถือและปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยก�ำหนด เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน และยังท�ำให้ เกิดความโปร่งใสต่อนักลงทุน อันจะท�ำให้เกิดความเชือ่ มัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯต่อบุคคลภายนอก โดยนโยบายการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทครอบคลุมหลักการ 5 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น(The Rights of Shareholders) บริษทั ฯ ตระหนักและให้ความส�ำคัญในสิทธิขนั้ พืน้ ฐานต่างๆของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ในฐานะของนักลงทุนในหลักทรัพย์ และเจ้าของบริษทั เช่น สิทธิในการซือ้ ขาย โอน หลักทรัพย์ที่ ตนถืออยู่ สิทธิในการทีจ่ ะได้รบั ส่วนแบ่งผลก�ำไรจากบริษทั ฯ สิทธิในการได้รบั ข้อมูลอย่างเพียงพอ สิทธิตา่ งๆในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ สิทธิในการแสดงความคิดเห็น สิทธิในการร่วมตัดสิน ใจในเรื่องส�ำคัญของบริษัทฯ เช่น การจัดสรรเงินปันผล การ แต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การอนุมัติธุรกรรมที่ส�ำคัญและมีผลต่อทิศทางในการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงการแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิและ ข้อบังคับของบริษัท เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ มีพันธกิจในการส่งเสริมและอ�ำนวย ความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ (1) บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้ง ข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้นรับ ทราบล่วงหน้าและประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน หรือระยะเวลาอื่นใดตาม ที่กฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องประกาศก�ำหนด (2) ในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วย ตัวเอง บริษัทฯ จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้กรรมการอิสระหรือบุคคลอื่นใดเข้าร่วมประชุมแทนได้ (3) ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะใช้สถาน ที่ซึ่งสะดวกแก่การเดินทาง รวมถึงเลือกวันเวลาที่เหมาะสม และจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ เพื่อให้ เป็นไปตามนโยบายที่จะอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้น ของบริษัท (4) ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จะเปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงความคิด เห็น ข้อเสนอแนะหรือตั้งค�ำถามในวาระต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้
อย่างอิสระก่อนการลงมติในวาระใดๆ และจะมีกรรมการและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมในการประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อตอบค�ำถามในที่ประชุม (5) ภายหลังการประชุมผู้ถือหุ้นแล้วเสร็จ บริษัทฯ จะจัดท�ำรายงานการประชุมทีบ่ นั ทึกข้อมูลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วนในสาระส�ำคัญเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders) บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุก รายอย่างเท่าเทียมกัน ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูถ้ อื หุ้นรายย่อย ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นที่มิได้เป็นผู้ บริหาร ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทยหรือต่างด้าว โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (1) ในการด�ำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง บริษัทฯ จะให้โอกาสแก่ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยก่อนเริม่ การประชุม ประธานในทีป่ ระชุมจะชีแ้ จงวิธกี าร ใช้สทิ ธิออกเสียง และวิธนี บั คะแนนเสียงของผูถ้ อื หุน้ ทีต่ อ้ งลง มติในแต่ละวาระ และยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบ ฉันทะที่เข้าร่วมประชุมทุกรายสามารถแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ รวมทั้งซักถามในแต่ละวาระโดยใช้เวลาอย่าง เหมาะสมและเพียงพอ โดยประธานในที่ประชุมจะด�ำเนิน การประชุมตามระเบียบวาระที่ก�ำหนดไว้ (2) ในวาระเลือกตัง้ กรรมการ บริษทั ฯ จะสนับสนุน ให้มีการเลือกตั้งเป็นรายคน (3) บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้กรรมการรายงานการ มีส่วนได้เสียในวาระการประชุมใดๆ อย่างน้อยก่อนการ พิจารณาในวาระที่เกี่ยวข้องในการประชุมคณะกรรมการ
80
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทและบันทึกส่วนได้เสียดังกล่าวในรายงานการประชุม คณะกรรมการบริษัท รวมทั้งห้ามมิให้กรรมการที่มีส่วนได้ เสียอย่างมีนัยส�ำคัญในลักษณะที่จะไม่สามารถให้ความเห็น ได้อย่างอิสระในวาระที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประชุมใน วาระนั้นๆ (4) บริษัทฯ ได้ก�ำหนดแนวทางในการเก็บรักษา และป้องกันการน�ำข้อมูลภายในของบริษัทฯไปใช้ โดยห้าม บุคคลหรือหน่วยงานที่ทราบข้อมูลภายในน�ำข้อมูลดังกล่าว ไปเปิดเผยต่อหน่วยงานหรือบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ในกรณี ที่บุคคลใดเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวหรือน�ำข้อมูลนั้นไปใช้ไม่ว่า เพือ่ ประโยชน์ของตนเองหรือผูอ้ นื่ หรือกระท�ำรายการทีอ่ าจ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ถือเป็นความผิดอย่างร้าย แรงและจะถูกลงโทษทางวินัย หมวดที่ 3การค�ำนึงถึงบทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Consideration on the Role of Interested Persons) บริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียภายใน ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ และ พนักงานของบริษัท หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก เช่น คู่ค้า ลูกค้า เป็นต้น โดยบริษัทฯ ตระหนักดีว่าการสนับสนุนและ ข้อคิดเห็นจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุ่มจะเป็นประโยชน์ในการ ด�ำเนินการและการพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จะปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ให้สทิ ธิ ของผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวได้รับการดูแลอย่างดี นอกจากนี้ ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯได้ค�ำนึงถึงสิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ตามแนวทางดังต่อไปนี้ ผู้ถือหุ้น : บริษทั ฯ จะด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสและมี ประสิทธิภาพ โดยมุ่งมั่นที่จะสร้างผลการด�ำเนินงานที่ดีและ การเจริญเติบโตที่มั่นคง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือ หุ้นในระยะยาว รวมทั้งด�ำเนินการเปิดเผยข้อมูลด้วยความ โปร่งใสและเชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน : บริษัทฯ จะปฏิบัติต่อพนักงานทุกรายอย่างเท่า เทียม เป็นธรรม และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม นอกจาก นี้ บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถและศักยภาพของพนักงานอย่างสม�ำ่ เสมอ เช่น การจัดอบรม การสัมมนา และการฝึกอบรม โดยให้โอกาส อย่างทั่วถึงกับพนักงานทุกคนและพยายามสร้างแรงจูงใจ ให้พนักงานที่มีความรู้ความสามารถสูงให้คงอยู่กับบริษัท เพื่อพัฒนาองค์กรต่อไป อีกทั้งยังได้ก�ำหนดแนวทางในการ
ต่อต้านการทุจริตคอรัปชัน่ รวมทัง้ ปลูกฝังให้พนักงานทุกคน ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เช่น การห้ามใช้ข้อมูลภายในอย่างเคร่งครัด เป็นต้น คู่ค้า : บริษัทฯ มีกระบวนการในการคัดเลือกคู่ค้าโดย การให้คู่ค้าแข่งขันบนข้อมูลที่เท่าเทียมกัน และคัดเลือกคู่ ค้าด้วยความยุติธรรมภายใต้หลักเกณฑ์ในการประเมินและ คัดเลือกคู่ค้าของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดท�ำ รูปแบบสัญญาที่เหมาะสมและเป็นธรรมแก่คู่สัญญาทุกฝ่าย และจัดให้มีระบบติดตามเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตาม เงือ่ นไขของสัญญาอย่างครบถ้วน และป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในทุกขั้นตอนของกระบวนการจัดหา โดย บริษัทฯ ซื้อสินค้าจากคู่ค้าตามเงื่อนไขทางการค้า ตลอดจน ปฏิบัติตามสัญญาต่อคู่ค้าอย่างเคร่งครัด ลูกค้า : บริษัทฯ รับผิดชอบต่อลูกค้าโดยการ รักษาคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าและบริการ รวมถึง การตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าให้ครบถ้วนและ ครอบคลุมให้มากที่สุด เพื่อมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ข้อมูลที่ ถูกต้องเกี่ยวกับสินค้าและบริการของบริษัท รวมทั้งยังจัดให้ มีชอ่ งทางให้ลกู ค้าของบริษทั ฯ สามารถแจ้งปัญหาหรือการให้ บริการที่ไม่เหมาะสมเพื่อที่บริษัทฯ จะได้ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาเกีย่ วกับสินค้าและบริการของบริษทั ฯ ได้อย่างรวดเร็ว เจ้าหนี้ : บริษัทฯ จะปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ตาม สัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้เป็นส�ำคัญ รวมทั้ง การช�ำระคืนเงินต้น ดอกเบี้ยและการดูแลหลักประกันต่างๆ ภายใต้สัญญาที่ เกี่ยวข้อง คูแ่ ข่ง : บริษทั ฯ ประพฤติตามกรอบการแข่งขันทีด่ ี มีจรรยาบรรณและอยูใ่ นกรอบของกฎหมาย รวมทัง้ สนับสนุน และส่งเสริมนโยบายการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม สังคมและส่วนรวม : บริษัทฯ ใส่ใจและให้ความ ส�ำคัญต่อความปลอดภัยของสังคม สิง่ แวดล้อม และคุณภาพ ชีวติ ของผูค้ นทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และส่งเสริมให้พนักงานของบริษทั ฯ มีจติ ส�ำนึกและความรับ ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม รวมทัง้ จัดให้มกี ารปฏิบตั ติ าม กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บริษทั ฯ พยายามเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ ป็นการสร้างและรักษาไว้ซงึ่ สิง่ แวดล้อมและสังคม ตลอดจน ส่งเสริมวัฒนธรรมในท้องถิน่ ทีบ่ ริษทั ด�ำเนินกิจการอยู่
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
นอกจากนี้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียสามารถสอบถามรายละเอียด แจ้งข้อร้องเรียนหรือเบาะแสการกระท�ำผิดทางกฎหมาย ความไม่ ถูกต้องของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายในทีบ่ กพร่อง หรือการผิดจรรยาบรรณธุรกิจของบริษทั ฯ ผ่านกรรมการอิสระ หรือกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ได้ ทั้งนี้ข้อมูลร้องเรียนและเบาะแสที่แจ้งมายังบริษัทฯ จะถูก เก็บไว้เป็นความลับ โดยกรรมการอิสระหรือกรรมการตรวจ สอบจะด�ำเนินการสั่งการตรวจสอบข้อมูลและหาแนวทาง แก้ไข (หากมี) และจะรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) (1) บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่องบการเงินของบริษทั และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎในรายงานประจ�ำปี โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้สอบทานคุณภาพของ รายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน รวมถึงการเปิด เผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการ เงินและรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบ นอกจากนี้ คณะกรรมการยังสนับสนุนให้มีการจัดท�ำค�ำอธิบายและการ วิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis) เพือ่ ประกอบการเปิดเผยงบการเงินในทุกไตรมาส (2) บริษัทฯ จะจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ กรรมการแต่ละท่าน บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ จ�ำนวนครั้ง ของการประชุมและการเข้าประชุมในปีทผี่ า่ นมา ณ ส�ำนักงาน ใหญ่ของบริษัทฯ (3) บริษัทฯ จะเปิดเผยค่าสอบบัญชีและค่าบริการ อื่นที่ผู้สอบบัญชีให้บริการ (4) บริษัทฯ จะจัดให้มีรายงานนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการ จรรยาบรรณธุรกิจ นโยบายด้านการบริหาร ความเสี่ยง และนโยบายเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อม ทีไ่ ด้ให้ความเห็นชอบไว้โดยสรุป และผลการ ปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวรวมทั้งกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติ ตามนโยบายดังกล่าวได้พร้อมด้วยเหตุผล หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board of Directors) 1. โครงสร้างคณะกรรมการและคณะกรรมการชุด ย่อย คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นผู้มีความรู้
81
ความสามารถและประสบการณ์ที่สามารถเอื้อประโยชน์ให้ กับบริษัท โดยเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบาย และภาพรวมขององค์กร ตลอดจนมีบทบาทส�ำคัญในการ ก�ำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานของ บริษัทให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ปัจจุบนั คณะกรรมการบริษทั มีจำ� นวน 11 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการบริษัทที่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 5 ท่าน (Executive Directors) และกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 6 ท่าน (Non-executive Directors) โดยมีกรรมการที่มี คุณสมบัตเิ ป็นอิสระ 5 ท่าน ซึง่ คิดเป็นจ�ำนวนเกินกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการบริษัททั้งคณะ อันจะท�ำให้เกิดการถ่วง ดุลในการพิจารณาและออกเสียงในเรือ่ งต่างๆอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ ไม่เกิน 3 ปีตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยกรรมการอิสระจะ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่องไม่เกิน 9 ปี เว้นแต่คณะ กรรมการบริษัทจะเห็นว่าบุคคลนั้นสมควรด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นกรรมการอิสระของบริษทั ต่อไปเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของ บริษทั นอกจากนี้ กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั สามารถ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทในเครือ หรือบริษทั อืน่ ได้ แต่ตอ้ งเป็นไปตามกฎหมายหรือกฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยจะต้องแจ้งต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ให้รับทราบด้วย นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังได้แต่งตั้งคณะ อนุกรรมการเพือ่ ช่วยในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ดังนี้ (1) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ ว ย กรรมการตรวจสอบจ�ำนวนอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อท�ำหน้าที่ ช่วยสนับสนุนคณะกรรมการบริษัทในการก�ำกับดูแลและ ตรวจสอบการบริหารงาน การควบคุมภายในและการปฏิบตั ิ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการจัดท�ำรายงานทางการ เงิน เพื่อให้การปฏิบัติงานและการเปิดเผยข้อมูลของบริษัท เป็นไปอย่างโปร่งใสและน่าเชื่อถือ (2) คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ บริหารจ�ำนวนอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อท�ำหน้าที่ช่วยสนับสนุน คณะกรรมการบริษัทในการบริหารจัดการกิจการของบริษัท ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน ข้อบังคับ และค�ำสั่งใดๆ รวมทั้งเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ภายใต้กรอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท
82
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(3) คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้ ว ยกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน อย่างน้อย 3 ท่านเพื่อท�ำหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงเพื่อเสนอความเห็นต่อ คณะ กรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติและ/หรือน�ำเสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติต่อไป (แล้วแต่กรณี) รวมถึง พัฒนาผู้บริหารระดับสูงของบริษัท นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มเี ลขานุการบริษทั เพือ่ ท�ำหน้าที่ในการด�ำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการประชุมคณะ กรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งสนับสนุน งานของคณะกรรมการบริษัท โดยการให้ค�ำแนะน�ำในเรื่อง ข้อก�ำหนดตามกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับ การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ รวมทัง้ ประสานงานให้มี การปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัท 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และมีหน้าที่ก�ำหนด นโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ รวมทัง้ ก�ำกับ ดูแลให้การบริหารจัดการเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทาง เพื่อประโยชน์ระยะยาวแก่ผู้ถือหุ้นภายใต้กรอบข้อก�ำหนด ของกฎหมายและหลักจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ ขณะ เดียวกันก็คำ� นึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่าย ทั้งนี้ โดยมีรายละเอียดตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของคณะ กรรมการบริษัท (1) นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทฯ ได้จัดให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษัทเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อน�ำเสนอที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัทได้ให้ความเห็นชอบนโยบายดังกล่าว ทั้งนี้ การจัดท�ำคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น แนวทางแก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการปฏิบัติ ตามนโยบายดังกล่าว โดยบริษัทฯ จะจัดให้มีการทบทวน นโยบายดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปี (2) หลักจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ บริษัทฯ มีเจตนารมณ์ในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ อย่างโปร่งใส มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยบริษัท ได้ก�ำหนดข้อพึงปฏิบัติเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้คณะ กรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นหลักใน การปฏิบัติ ดังนี้ (ก) จรรยาบรรณว่าด้วยความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ (ข) จรรยาบรรณว่าด้วยความสัมพันธ์ต่อลูกค้า (ค) จรรยาบรรณว่าด้วยความสัมพันธ์ต่อคู่ค้า คู่ แข่งทางการค้า และเจ้าหนี้ (ง) จรรยาบรรณว่ า ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ พนักงาน (จ) จรรยาบรรณว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะประกาศและแจ้งให้พนักงานทุก คนรับทราบและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด (3) ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ มีนโยบายขจัดปัญหาความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างรอบคอบด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีเหตุผล และเป็นอิสระภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน์ ของบริษัทเป็นส�ำคัญ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือ เกีย่ วโยงกับรายการทีพ่ จิ ารณาเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้ เสียของตนและผู้ที่เกี่ยวข้องให้บริษัททราบ และต้องไม่เข้า ร่วมการพิจารณา รวมถึงไม่มอี ำ� นาจอนุมตั ใิ นรายการดังกล่าว
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทฯ มีนโยบายในการท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน และรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่สอดคล้อง กับกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (4) การควบคุมภายใน บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบควบคุมภายในเพื่อการ ก�ำกับดูแลและการควบคุมภายใน ทั้งในระดับบริหารและ ระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ มีการจัดตั้ง ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เพื่อท�ำหน้าที่ประเมิน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในและรายงานผลต่อ คณะกรรมการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบที่วางไว้ (5) การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้จัดให้มีการก�ำหนดนโยบายด้านการ บริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้งองค์กร รวมทั้งการก�ำกับ ดูแลให้มีระบบ หรือกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อธุรกิจของบริษัทอย่างเหมาะสม (6) รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบมี ห น้ า ที่ ส อบทาน รายงานทางการเงิ น โดยมี ฝ ่ า ยบั ญ ชี แ ละผู ้ ส อบบั ญ ชี ม า ร่วมประชุมกัน และน�ำเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะ กรรมการบริษัททุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษัทเป็น ผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษทั และบริษทั ย่อย รวม ทั้งสารสนเทศทางการเงิน 3. การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และการ ประเมินตนเอง บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท อย่างน้อยทุกไตรมาส และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความ จ�ำเป็น โดยมีการก�ำหนดวาระประชุมชัดเจนล่วงหน้า และมี วาระพิจารณาติดตามผลการด�ำเนินงานเป็นประจ�ำ บริษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบการประชุมให้กรรมการทุกท่านล่วง หน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม เพือ่ ให้คณะกรรมการได้ มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม เว้นแต่ กรณี มีเหตุจ�ำเป็นเร่งด่วน และจะจัดให้มีการบันทึกรายงาน การประชุมและจัดเก็บรวบรวมเอกสารที่รับรองแล้วเพื่อใช้ ในการอ้างอิงและสามารถตรวจสอบได้ โดยในการประชุม ทุกครัง้ ควรจัดให้มผี บู้ ริหารและผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุม เพือ่ ให้ขอ้ มูลและรายละเอียดประกอบการตัดสินใจทีถ่ กู ต้อง และทันเวลา
83
ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทให้ ถือมติของเสียงข้างมาก โดยให้กรรมการหนึ่งคนมีหนึ่งเสียง โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสียในวาระใดจะไม่เข้าร่วมประชุม และใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระนั้น ทั้งนี้ ในกรณีท่ี คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในทีป่ ระชุมจะออกเสียงเพิม่ ขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั สนับสนุนให้มกี าร ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อปรับปรุงและแก้ไขการด�ำเนินงาน โดยมีการก�ำหนด หัวข้อทีจ่ ะประชุมชัดเจนก่อนทีจ่ ะวัดผลการประเมินดังกล่าว เพื่อรวบรวมความเห็นและน�ำเสนอต่อที่ประชุม 4. ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนของกรรมการ คือ ค่าตอบแทนรายเดือน และ ค่าเบี้ยประชุม ซึ่งจะต้องอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบกับ อุตสาหกรรมเดียวกัน โดยจะค�ำนึงถึงความเพียงพอต่อการ ปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ส่วนผู้บริหารจะได้รับผลตอบแทนที่เป็นเงินเดือนและโบนัส ประจ�ำปี โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ ค่าตอบแทนรายปีของคณะกรรมการและผู้ บริหารรวมกันจะต้องไม่เป็นจ�ำนวนทีส่ งู ผิดปกติเมือ่ เทียบกับ ผลตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหารโดยเฉลีย่ ของบริษทั ที่ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยจะค�ำนึง ถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นเป็นหลัก ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนเพือ่ พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑ์การ จ่ายค่าตอบแทนกรรมการเพื่อน�ำเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติ 5. การพัฒนากรรมการบริษัทและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมและอ�ำนวยความ สะดวกให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องใน ระบบการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท เช่น กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท เป็นต้น เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง การฝึก อบรมและให้ความรู้อาจกระท�ำเป็นการภายในบริษัท หรือ ใช้บริการของสถาบันภายนอกก็ได้ ในกรณีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงกรรมการหรือมีกรรมการเข้าใหม่ ฝ่ายจัดการจะจัดให้มีเอกสารและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการเข้าใหม่ รวมถึงจัดให้มีการ
84
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
แนะน�ำลักษณะธุรกิจ และแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทให้แก่กรรมการใหม่ คณะกรรมการบริษัทจะจัดให้มีการหมุนเปลี่ยน งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายตามความถนั ด ของผู ้ บ ริ ห ารและ พนักงาน โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของงานและเวลา เป็นหลัก โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะก�ำหนดช่วงเวลา และพิจารณาผลการปฏิบัติงานดังกล่าวเพื่อเป็นแผนพัฒนา และสืบทอดงานของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาผู้บริหารและ พนักงานให้มคี วามรู้ ความสามารถในการท�ำงานมากขึน้ และ ให้สามารถท�ำงานแทนกันได้
8.2 โครงสร้างการจัดการ
โครงสร้างการจัดการของบริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยคณะกรรมการ จ�ำนวน 4 ชุด คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร และคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนโดย มีรายละเอียดดังนี้ 8.2.1 คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริษัท (1) ปฏิบตั หิ น้าที่ และก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ให้ เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติทปี่ ระชุมคณะ กรรมการบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความรับ ผิดชอบ ความระมัดระวัง ความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัท (2) ก�ำหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ทิศทางของธุรกิจ นโยบาย เป้าหมาย แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงสร้างการ บริหารจัดการ และอ�ำนาจอนุมัติของบริษัทและบริษัทย่อย ตามทีฝ่ า่ ยจัดการน�ำเสนอ และก�ำกับดูแลการบริหารงานและ
ผลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการชุดย่อยของ บริษัทหรือบุคคลใดๆ ซึ่งได้รับมอบหมายให้ท�ำหน้าที่ดังกล่าวเพื่อให้เป็นไปตาม นโยบายทีก่ ำ� หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพือ่ เพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้น (3) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของ ฝ่ายจัดการ และ/หรือ คณะกรรมการชุดย่อยของบริษทั อย่าง ต่อเนื่องและสม�่ำเสมอเพื่อให้บรรลุกลยุทธ์และเป็นไปตาม แผนงานและงบประมาณ (4) ด�ำเนินการให้บริษทั และบริษทั ย่อยมีระบบงาน บัญชีทเี่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ และจัดให้มกี ารรายงาน ทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งจัดให้มี ระบบควบคุมภายใน และระบบตรวจสอบภายในที่เพียงพอ และเหมาะสม (5) ก�ำหนดกรอบและนโยบายส�ำหรับการก�ำหนด เงินเดือน การปรับขึ้นเงินเดือน การก�ำหนดเงินโบนัสค่า ตอบแทน และบ�ำเหน็จรางวัลของผูบ้ ริหาร รวมถึงดูแลระบบ กลไกการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร ที่เหมาะสม (6) พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท (7) พิจารณาประเมินและทบทวนลักษณะความ เสี่ยงที่บริษัทประสบอยู่หรือคาดว่าจะเกิดขึ้นและส่งผลกระ ทบต่อบริษัท (Identification of Risk) และก�ำหนดระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของบริษัท (Risk Appetite) (8) พิ จ ารณาก� ำ หนดและทบทวนนโยบายการ บริหารความเสี่ยงทั้งภายนอก และภายในบริษัทให้มีความ ครอบคลุม และสอดคล้องกับกลยุทธ์และทิศทางของธุรกิจ ทั้งนี้ ต้องครอบคลุมความเสี่ยงอย่างน้อย 4 ประการ ดังนี้ (ก) ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) (ข) ความเสีย่ งด้านการด�ำเนินงาน (Operational Risk) (ค) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจ (Strategic Rick) (ง) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(9) พิจารณาก�ำหนดและทบทวนกลยุทธ์และแนวทาง ปฏิบตั ใิ นการบริหารความเสีย่ งให้สอดคล้องกับนโยบายการ บริหารความเสีย่ งให้สามารถประเมิน ติดตามผล และก�ำกับดูแล ระดับความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ (10) พิจารณาการก�ำหนดงบประมาณและวิธีการ ตอบสนองต่อความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและอาจเกิดขึ้นกับบริษัท เพื่อใช้เป็นกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติงานตามสถานการณ์ความ เสีย่ งแต่ละประเภท รวมถึงก�ำหนดโครงสร้างและแต่งตัง้ คณะ ท�ำงานบริหารความเสี่ยง เพื่อท�ำหน้าที่ประเมินและติดตาม ผลการจัดการความเสี่ยง (11) สอบทานนโยบายในการก�ำกับดูแลกิจการ และความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงการต่อต้านคอร์รัปชั่น (Anti-Corruption) ของบริษัท และพิจารณาอนุมัติรายงาน ผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการและความรับผิดชอบ ต่อสังคมและการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ประจ�ำปีทจี่ ดั ท�ำโดยคณะ กรรมการชุดย่อยที่ได้รับมอบหมาย (12) ดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผล ประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทและบริษัทย่อย ทัง้ นี้ ในกรณีทกี่ รรมการรายใดมีสว่ นได้เสียในธุรกรรมใดทีท่ ำ� กับบริษัท หรือมีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทและ/หรือบริษัท ย่อยเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ให้กรรมการรายดังกล่าวแจ้งให้บริษทั ทราบโดยไม่ชักช้า (13) แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยเหลือ และสนับสนุนการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ตาม ความเหมาะสม (14) แต่งตัง้ เลขานุการบริษทั และ/หรือ เลขานุการ คณะกรรมการบริษัท เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการบริษัทใน การปฏิบัติงานต่างๆ เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทเป็น ไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง (15) ว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลทีม่ คี วามเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็นหรือค�ำแนะน�ำตามความจ�ำเป็น (16) จัดท�ำรายงานประจ�ำปี และรับผิดชอบต่อ การจัดท�ำและเปิดเผยงบการเงินเพื่อแสดงถึงฐานะทางการ เงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทในรอบปีที่ผ่านมาเพื่อ เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น (17) จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุม สามัญประจ�ำปีภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปี บัญชีของบริษัท
85
(18) พิจารณาอนุมัติเรื่องต่างๆ โดยค�ำนึงถึงผล ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มของบริษัท อย่างเป็นธรรม (19) จัดให้มีการก�ำหนดแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท (20) ทบทวนและแก้ ไ ขกฎบั ต รคณะกรรมการ บริษัทให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ (21) มอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลาย คนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนคณะ กรรมการบริษัทได้ ทัง้ นี้ การมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิด ชอบของคณะกรรมการบริษัทนั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการ มอบอ�ำนาจ หรือมอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการ บริ ษั ท หรื อ ผู ้ รั บ มอบอ� ำ นาจจากคณะกรรมการบริ ษั ท สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทย่อยของ บริษัท ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ทที่ ปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัติไว้ ทั้งนี้ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทตามตารางอ�ำนาจอนุมัติแสดงไว้ในส่วนที่ 2 การ จัดการและการก�ำกับดูแลกิจการ – 7 โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ 7.6 อ�ำนาจด�ำเนินการ
86
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
8.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ (1) สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงิน อย่างถูกต้องและเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ (2) สอบทานให้บริษัทมีระบบควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลและพิจารณา ความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน (3) สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายที่ เกีย่ วข้องซึง่ มีผลใช้บงั คับกับบริษทั และ/หรือธุรกิจของบริษทั (4) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความ เป็นอิสระเพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้ สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง (5) พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการ ที่ อ าจจะมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ มีผลใช้บงั คับกับบริษทั และ/หรือธุรกิจ ของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวมีความสม เหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท (6) จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดย จะต้องมีการลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็น ที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบ ควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายที่ เกีย่ วข้องและมีผลใช้บงั คับกับบริษทั และ/หรือธุรกิจของบริษทั (ง) ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัด แย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
(ช) ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะ กรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอืน่ ใดทีเ่ ห็นว่าผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ และ ผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั (7) ตรวจสอบและสอบสวนผู้ที่เกี่ยวข้องภายใต้ อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ และมีอ�ำนาจ ในการว่าจ้างหรือหรือน�ำผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วยงาน ตรวจสอบและสอบสวน (8) ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็นหรือค�ำแนะน�ำตามความจ�ำเป็น (9) หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการก ระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้คณะ กรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจ สอบเห็นสมควร (ก) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ข) การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ ห รื อ มี ค วาม บกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน (ค) การฝ่าฝืนกฎหมายที่เกี่ยวข้องและมีผลใช้ บังคับกับบริษัท และ/หรือธุรกิจของบริษัท (10) ให้ความเห็นต่อฝ่ายจัดการเกี่ยวกับการแต่ง ตั้ง เลิกจ้าง ผลการด�ำเนินงาน งบประมาณ และอัตราของ ฝ่ายตรวจสอบภายใน (11) สอบทานและให้ ค วามเห็ น ในรายงานผล การประเมินการก�ำกับดูแลกิจการและความรับผิดชอบต่อ สังคมและการต่อต้านคอร์รัปชั่นประจ�ำปี ซึ่งจัดท�ำโดยคณะ กรรมการชุดย่อยที่ได้รับมอบหมาย (12) ท บ ท ว น ก ร ะ บ ว น ก า ร ก า ร ก� ำ กั บ ดู แ ล กิจการและความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงการต่อต้าน คอร์รัปชั่นของบริษัท (13) ทบทวนและเสนอแก้ ไ ขกฎบั ต รของคณะ กรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ (14) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมายด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
8.2.3 คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริหาร (1) จัดท�ำและก�ำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผน ธุรกิจ งบประมาณ โครงสร้างการบริหารงาน และอ�ำนาจการ บริหารงานเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ และ ด�ำเนินการตามทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั รวมถึงตรวจสอบและติดตามผลการด�ำเนินงานดังกล่าวให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (2) เป็นผูบ้ ริหารจัดการและควบคุมดูแลการด�ำเนิน กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารงานทัว่ ไปของบริษทั (3) อนุมัติการเข้าท�ำสัญญาและ/หรือธุรกรรมใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินธุรกิจปกติของบริษทั ฯ (เช่น การซือ้ ขาย การลงทุนหรือร่วมทุนกับบุคคลอื่นเพื่อการท�ำธุรกรรมตาม ปกติของบริษทั ฯ และเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินงาน ตามวัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ) ภายในวงเงินตามทีก่ ำ� หนดไว้ ในอ�ำนาจอนุมตั ิ (Authority Limits) หรือตามทีค่ ณะกรรมการ บริษทั ก�ำหนด (4) อนุมตั กิ ารกูย้ มื เงิน และการขอสินเชือ่ ใดๆ จาก สถาบันการเงิน การให้กยู้ มื ตลอดจนการจ�ำน�ำ จ�ำนอง หรือ เข้าเป็นผูค้ ำ�้ ประกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ภายในวงเงิน ตามทีก่ ำ� หนดไว้ในอ�ำนาจอนุมตั ิ (Authority Limits) หรือตาม ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด (5) อนุมตั แิ ต่งตัง้ ทีป่ รึกษาด้านต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็นต่อการ ด�ำเนินงานของบริษทั ฯ โดยอยูภ่ ายใต้กรอบงบประมาณทีผ่ า่ น การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละปี (6) ก�ำหนดกรอบและนโยบายส�ำหรับการก�ำหนดเงิน เดือน การปรับขึน้ เงินเดือน การก�ำหนดเงินโบนัส ค่าตอบแทน และบ�ำเหน็จรางวัลของพนักงานและผูบ้ ริหาร (ทีไ่ ม่ใช่ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร) (7) ด� ำ เนิ น การอื่ น ใดตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั หรือตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด (8) ทบทวนและเสนอแก้ ไ ขกฎบั ต รของคณะ กรรมการบริหารให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ (9) มอบอ�ำนาจให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคน ปฏิบตั กิ ารอย่างหนึง่ อย่างใดแทนคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ การมอบอ�ำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะ
87
กรรมการบริหารนัน้ จะไม่มลี กั ษณะเป็นการมอบอ�ำนาจหรือ มอบอ�ำนาจช่วงที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารหรือผู้รับมอบ อ�ำนาจจากคณะกรรมการบริหารสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ น หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน่ ยิ ามไว้ในประกาศคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน) อาจมีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจ ได้รบั ประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อนื่ ใดกับบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ยกเว้น เป็นการอนุมตั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั ไิ ว้ ทั้งนี้ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารตาม ตารางอ�ำนาจอนุมตั แิ สดงไว้ในส่วนที่ 2 การจัดการและการ ก�ำกับดูแลกิจการ – 7 โครงสร้างการจัดการ หัวข้อ 7.6 อ�ำนาจ ด�ำเนินการ 8.2.4 คณะกรรมการสรรหาและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน (1) ก�ำหนดคุณสมบัตแิ ละหลักเกณฑ์ในการสรรหา กรรมการบริษทั (รวมถึงสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยของ บริษทั ) และผูบ้ ริหารระดับสูง และพิจารณาคัดเลือกผูท้ มี่ คี วาม เหมาะสมในด้านความรู้ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญเพือ่ เสนอชือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ และ/หรือ น�ำ เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตัง้ ต่อไป (แล้วแต่กรณี) (2) พิจารณาความเป็นอิสระของกรรมการอิสระ แต่ละท่านเพื่อให้แน่ใจว่ากรรมการอิสระของบริษัทเป็นผู้มี คุณสมบัตคิ รบถ้วน (3) พิจารณารูปแบบและกระบวนการในการพัฒนา ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจของ บริษทั ฯ และสภาวการณ์ (4) พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑ์การจ่ายค่า ตอบแทน (ไม่วา่ จะอยูใ่ นรูปเงินสด หลักทรัพย์ หรืออืน่ ใด) ของ กรรมการบริษทั กรรมการชุดย่อยของบริษทั และประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหารให้เหมาะสม เป็นธรรม และเป็นไปตามทีก่ ฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้อง (5) พิจารณาเกณฑ์ประเมินผลประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาให้ความ เห็นชอบ
88
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(6) ทบทวนและเสนอแก้ไขขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาฯ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ (7) ด�ำเนินการอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั หรือตามนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด
8.3 การสรรหาและการแต่งตั้งกรรมการและผู้ บริหารระดับสูงสุด คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะ เป็นผู้พิจารณากลั่นกรองบุคคลที่จะเข้ามาเป็นกรรมการ บริษัท (รวมถึงสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยของบริษัท) และผูบ้ ริหารระดับสูง และพิจารณาคัดเลือกผูท้ มี่ คี วามเหมาะ สมในด้านความรู้ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ เพื่อ เสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้ง และ/หรือ น�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งต่อไป 8.3.1 กรรมการบริษัท องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท สรุปสาระ ส�ำคัญได้ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริษทั ไม่จำ� เป็นต้องเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษัท (2) คณะกรรมการบริษทั ให้มจี ำ� นวนตามทีท่ ปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้นก�ำหนด แต่ต้องมีจ�ำนวนอย่างน้อย 3 คน และ กรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการทัง้ หมดนัน้ ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรไทย (3) คณะกรรมการบริ ษั ท จะต้ อ งประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดแต่ต้องไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการบริษัทเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็น
“ประธานกรรมการบริษัท” และในกรณีที่คณะกรรมการ บริษัทเห็นสมควร อาจพิจารณาเลือกกรรมการอีกคนหนึ่ง หรือหลายคนเป็น “รองประธานกรรมการบริษัท” ก็ได้ การแต่งตัง้ และด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการบริษทั สรุป สาระส�ำคัญได้ดังนี้ (1) คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้ท�ำหน้าที่สรรหา และเสนอชื่อบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมในการด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการบริษัท เพื่อน�ำเสนอชื่อบุคคลดังกล่าวต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติเลือกตั้งต่อไป (2) ให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูเ้ ลือกตัง้ กรรมการบริษทั แต่ในกรณีทเี่ ป็นการเลือกตัง้ กรรมการแทนต�ำแหน่งกรรมการ ทีว่ า่ งลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะ กรรมการบริษทั สามารถเลือกตัง้ บุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการได้ ทัง้ นี้ บุคคลซึง่ เข้ารับต�ำแหน่ง เป็นกรรมการในกรณีดงั กล่าวให้อยูใ่ นต�ำแหน่งเพียงเท่าวาระ ทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการซึง่ ตนแทน (3) ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวนหนึง่ ในสามของจ�ำนวน กรรมการทัง้ หมด ถ้าจ�ำนวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็น สามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งใน สาม โดยกรรมการซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งอาจได้รับเลือกให้ กลับเข้ามารับต�ำแหน่งได้ ทั้งนี้ กรรมการที่จะต้องออกจาก ต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท นั้นให้จับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการซึ่งถ้นจากต�ำแหน่งตามวาระ อาจได้รับเลือกตั้งให้ กลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่งได้อีกวาระหนึ่ง ทั้งนี้ กรรมการอิสระ จะมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งรวมไม่เกิน 9 ปี เว้นแต่คณะ กรรมการบริษัทจะเห็นว่าบุคคลนั้นสมควรด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นกรรมการอิสระของบริษัทต่อไปเพื่อประโยชน์สูงสุด ของบริษัท ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดคุณสมบัตไิ ว้ ดังนี้ (1) เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีความ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจและมีเวลาอย่าง เพียงพอที่จะอุทิศความรู้ความสามารถและปฏิบัติหน้าที่แก่ บริษัทได้ (2) มี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งต้องไม่มีลักษณะที่แสดงถึงการ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ขาดความเหมาะสมทีจ่ ะได้รบั ความไว้วางใจให้บริหารจัดการ กิจการทีม่ มี หาชนเป็นผูถ้ อื หุน้ ตามทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คระกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ำกับตลาด ทุน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประกาศ ก�ำหนด (รวมเรียกว่า “กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง”) (3) ไม่เป็นบุคคลซึง่ ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเข้า เป็นหุน้ ส่วน หรือกรรมการในนิตบิ คุ คลอืน่ ซึง่ ประกอบกิจการ อันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบ ริษทั ฯ ไม่วา่ จะท�ำเพือ่ ประโยชน์ของตนหรือผูอ้ นื่ เว้นแต่จะได้ แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง (4) กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับความ เป็ น อิ ส ระตามที่ บ ริ ษั ท ก� ำ หนดและเป็ น ไปตามแนวทาง เดียวกันกับกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องที่ก�ำหนดคุณสมบัติของ กรรมการอิสระ และต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือ หุ้นทุกรายได้เท่าเทียมกันและไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ นอกจากนั้นยังต้องสามารถเข้าร่วมประชุมคณะ กรรมการบริษัทโดยให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระได้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ก�ำหนดให้กรรมการที่ไม่ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหาร เป็นกรรมการที่เป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นที่มี อ�ำนาจควบคุมและเป็นผู้ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษัทในลักษณะที่จะให้มีข้อจ�ำกัดในการแสดงความเห็นที่ เป็นอิสระและจะต้องมีคุณสมบัติเพิ่มเติมคือ (ก) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละหนึง่ ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระราย นั้นๆ ด้วย (ข) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงานที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้ มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือของผูม้ ี อ�ำนาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดัง กล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นวันทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ ทัง้ นี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทกี่ รรมการอิสระเคย เป็นข้าราชการ หรือทีป่ รึกษาของส่วนราชการ ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั
89
(ค) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือ ผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (ง) ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อ�ำนาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวาง การใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือ เคยเป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วาม สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั เว้นแต่จะ ได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ น วันที่ได้รับการเลือกตั้ง ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า ว รวมถึ ง การท� ำ รายการ ทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการการเช่าหรือ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงินด้วยการรับ หรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้ สิน รวมถึงพฤติการณ์อนื่ ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้บริษทั หรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ การ ค�ำนวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่า ของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามกฎเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้อง ว่าด้วย หลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิด ขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บุคคลเดียวกัน (จ) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ ือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มอี �ำนาจ ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอ�ำนาจ ควบคุม หรือหุ้นส่วนของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบ บัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู่ เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการเลือกตั้ง
90
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
(ฉ) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจาก บริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทและไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ย กว่าสองปีกอ่ นวันทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ (ช) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็น ตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือ หุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (ซ) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มี สภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการขอ งบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย (ฌ) ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างเป็นอิสระเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ
8.3.2 กรรมการตรวจสอบ องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบสรุป สาระส�ำคัญได้ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระ อย่างน้อย 3 คน โดยกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ต้อง เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นการบัญชีหรือการเงินอย่าง เพียงพอในการท�ำหน้าทีส่ อบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการ เงินได้ ทัง้ นี้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบเลือกกรรมการตรวจ สอบ 1 คน ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นประธานคณะกรรมการตรวจ สอบ และแต่งตัง้ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ ช่วย เหลือการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับการ นัดหมายการประชุม จัดเตรียมวาระการประชุม น�ำส่งเอกสาร ประกอบการประชุม และบันทึกรายงานการประชุม การแต่งตัง้ และด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการ ตรวจสอบ สรุปสาระส�ำคัญได้ดงั นี้ ให้คณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผู้ แต่งตัง้ กรรมการอิสระของบริษทั เป็นกรรมการตรวจสอบ โดย วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบให้เป็นไปตาม วาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ กรรมการตรวจ สอบซึง่ พ้นต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการ ตรวจสอบได้อกี ในกรณีที่กรรมการตรวจสอบครบวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งหรือไม่อาจด�ำรงต�ำแหน่งจนครบก�ำหนดวาระ ซึง่ ส่ง ผลให้มจี ำ� นวนกรรมการตรวจสอบต�ำ่ กว่า 3 คน คณะกรรมการ บริษทั หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ควรจะแต่งตัง้ กรรมการตรวจสอบ รายใหม่ให้ครบถ้วนในทันทีหรืออย่างช้าภายใน 3 เดือนนับจาก วันทีจ่ ำ� นวนกรรมการตรวจสอบไม่ครบถ้วน เพือ่ ให้เกิดความต่อ เนือ่ งในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดคุณสมบัตขิ อง คณะกรรมการตรวจสอบ ไว้ดงั นี้ (1) เป็นผูม้ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนในการเป็นกรรมการ อิสระตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประกาศก�ำหนด (2) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะ กรรมการบริษัทให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัท
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท (3) ไม่เป็นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือ บริษัทล�ำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน (4) มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถ ท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ และมีกรรมการตรวจ สอบอย่างน้อย 1 คน มีความรูแ้ ละประสบการณ์ในด้านบัญชี หรือการเงินอย่างเพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบ ทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ 8.3.3 การสรรหากรรมการและผูบ้ ริหารสูงสุด การสรรหากรรมการ ในการแต่งตั้งกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำหนดค่าตอบแทนซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 1 ราย จากจ�ำนวนคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า ตอบแทนทั้งหมด 3 ราย มีหน้าที่รับผิดชอบในการพิจารณา คัดเลือก และกลัน่ กรองบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมตามข้อ บังคับของบริษัทฯ และเป็นผู้เสนอชื่อผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะ สมเพือ่ ให้ได้กรรมการมืออาชีพ และมีความหลากหลาย และ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขอความเห็น ชอบจากกรรมการ จากนั้นจะน�ำเสนอรายชื่อกรรมการดัง กล่าวต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการตาม หลักเกณฑ์ต่อไป ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จะพิจารณาและดูแลให้คณะกรรมการบริษทั มีขนาดและองค์ ประกอบที่เหมาะสม รวมถึงมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกรรมการจะต้อง เป็นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถและคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสม ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนได้เปิดโอกาส ให้กรรมการและผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการเสนอชื่อกรรมการ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม การแต่งตั้งกรรมการผ่านที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีหลัก เกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ในการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการให้ถอื ว่า ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับ 1 หุ้นต่อ 1 เสียง (2) ผู้ถือหุ้นจะใช้สิทธิเลือกเพียงบุคคลเดียวหรือ หลายคนเป็ น กรรมการก็ ไ ด้ แต่ ทั้ ง นี้ ต ้ อ งไม่ เ กิ น จ� ำ นวน กรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น (3) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเลือกบุคคลมากกว่า
91
หนึ่งคนเป็นกรรมการ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิลงคะแนนเสียงให้แก่ บุคคลแต่ละท่านนั้นได้เท่ากับจ�ำนวนคะแนนเสียงที่ตนมีอยู่ ทัง้ นี้ โดยจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (4) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลง มาเป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณบุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้ง ในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการ ที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ประธานในที่ประชุมเป็นผู้ออก เสียงชี้ขาดเพื่อให้ได้จ�ำนวนกรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้ง นั้น ในกรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึง คราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด ค่าตอบแทนเลือกบุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้อง ห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะ กรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการผูน้ นั้ จะเหลือ น้อยกว่า 2 เดือน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ อง กรรมการที่ตนเข้ามาแทน การสรรหาผู้บริหารสูงสุด ในการสรรหาผู้มาด�ำรงต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ ประธานกรรมการบริหาร/กรรมการผู้จัดการของ บริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนจะ เป็นพิจารณาเบื้องต้น ในการกลั่นกรองและสรรหาคัดเลือก ผู้ที่มีความเหมาะสมในด้านความรู้ ประสบการณ์ และความ เชี่ยวชาญ ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ และเข้าใจธุรกิจของบริษทั ฯ เป็นอย่างดี และสามารถบริหาร งานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่บริษัทฯก�ำหนดไว้ได้ เพื่อน�ำเสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้ง
8.4 การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม
บริษทั สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) มีนโยบายการ ลงทุนและบริหารงานในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม โดยจะลงทุน ในธุรกิจทีม่ คี วามเกีย่ วเนือ่ ง ใกล้เคียง หรือก่อให้เกิดประโยชน์ และสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ เพือ่ เสริมสร้างความ มัน่ คงและผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ นอกจากนี้ ในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมนัน้ บริษทั ฯจะส่งตัวแทนของบริษทั ซึง่ มี
92
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
คุณสมบัตแิ ละประสบการณ์ทเี่ หมาะสมกับธุรกิจทีบ่ ริษทั เข้า ลงทุนเข้าเป็นกรรมการในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมของบริษทั ดังกล่าว โดยตัวแทนดังกล่าวอาจเป็นประธานกรรมการ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการ ผูบ้ ริหารระดับสูง หรือบุคคลใดๆ ของบริษทั ทีป่ ราศจากผลประโยชน์ขดั แย้งกับธุรกิจของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมเหล่านัน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้บริษทั สามารถควบคุม ดูแลกิจการ และการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมได้ เสมือนเป็นหน่วยงานหนึง่ ของบริษทั บริษทั จึงก�ำหนดให้ตวั แทน ของบริษทั จะต้องบริหารจัดการธุรกิจของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมให้เป็นไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของ บริษทั ย่อย และ/หรือ บริษทั ร่วมนัน้ ๆ นอกจากนี้ การส่งตัวแทน เพือ่ เป็นกรรมการในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมดังกล่าวให้เป็นไป ตามสัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั และ/หรือ ข้อตกลงร่วมกันใน กรณีของบริษทั ร่วม ทัง้ นี้ บริษทั จะติดตามผลประกอบการและผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมอย่างใกล้ชดิ รวมถึง ก�ำกับให้มกี ารจัดเก็บข้อมูลและบันทึกบัญชีของบริษทั ย่อยและ บริษทั ร่วมให้บริษทั ตรวจสอบ
8.5 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
บริษทั สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญ ต่อการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั โดยบริษทั ฯ มีนโย บายห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั น�ำข้อมูลต่างๆ ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ หรือข้อมูลที่หากมีการเปิดเผยออกไปแล้วจะท�ำให้บริษัทฯ เสียหาย หรือเสียเปรียบ ถือเป็นข้อมูลที่เป็นความลับและ ความส�ำคัญ รวมถึงข้อมูลภายในของบริษทั ทีย่ งั ไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไปเปิดเผยหรือแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือ ผูอ้ นื่ ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รบั ผลตอบแทน หรือไม่กต็ าม ทัง้ นี้ บริษทั ฯได้กำ� หนดแนวทางป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในโดยการให้ความรูแ้ ก่กรรมการและผูบ้ ริหารของ บริษทั เกีย่ วกับหน้าทีใ่ นการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของ ตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามแนวทาง ทีก่ ำ� หนดไว้ในมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษตามมาตรา275 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) รวมทัง้ การรายงานการได้มาหรือ จ�ำหน่ายไปซึง่ หลักทรัพย์ของตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่
บรรลุนติ ภิ าวะต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 246 และบทก�ำหนดโทษตามมาตร 298 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) เพือ่ เป็นการเตรียมการให้ บริษทั รวมถึงกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั มีความพร้อมที่ จะเสนอขายหุน้ ต่อประชาชน และน�ำเอาหุน้ สามัญของบริษทั เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
8.6 ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี
ส�ำหรับงวดปีบญ ั ชี 2558 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าตอบแทนให้แก่ผสู้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด จ�ำนวน 3,024,781 บาท ส�ำหรับการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ส�ำหรับงวดปีบญ ั ชี 2559 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าตอบแทนให้แก่ผสู้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด จ�ำนวน 2,064,766 บาท ส�ำหรับการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ส�ำหรับงวดปีบญั ชี 2560 สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ ได้จา่ ยค่าตอบแทนให้แก่ผสู้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ คือ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด จ�ำนวน 2,723,300 บาท ส�ำหรับการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ทัง้ นี้ บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ อบบัญชีและ ส�ำนักงานทีผ่ สู้ อบบัญชีสงั กัดข้างต้นไม่เป็นบุคคลหรือกิจการที่ เกีย่ วข้องกับบริษทั ฯ ค่าตอบแทนอื่น (Non-Audit Fee) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มกี ารจ่ายค่าตอบแทนอืน่ ให้แก่ผสู้ อบบัญชีในปี 2558 ปี 2559 และปี 2560
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
9.ความรับผิดชอบต่อสังคม
9.1 นโยบายภาพรวม
บริษัท สากล เอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยัง่ ยืนภาย ใต้ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibilities) โดยมุง่ เน้นการประกอบกิจการด้วยความดูแลเอาใจ ใส่ต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม อย่างมี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ซึ่งบริษัทหวังว่าการ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคมจะก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวมพร้อมกับการเจริญเติบโตของบริษัท ควบคู่กันไปด้วย
9.2 การด�ำเนินงานและการจัดท�ำรายงาน
ด้วยความตระหนักถึงบทบาทความส�ำคัญของความ รับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการบริษัทจึงได้มีการประชุม เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม2559 และก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับความ รับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษัทฯ มุ่งเน้นที่จะประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เป็นธรรม มีจรรยาบรรณ และตั้งมั่นที่จะแข่งขันทางการ ค้ า ตามหลั ก จริ ย ธรรมในการประกอบการค้ า กฎหมาย และหลักการแข่งขันทางการค้าอย่างเสมอภาคกัน รวมถึง ปฏิเสธพฤติกรรมใด ๆ ก็ตามที่ขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็น ธรรม เช่น การแสวงหาข้อมูลที่ความเป็นความลับของคู่แข่ง ทางการค้า การเรียก รับ และไม่ให้ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่ สุจริตทางการค้าในการจัดซื้อเครื่องจักร เป็นต้น นอกจาก นี้ บริษัทฯ ยังได้เคารพต่อสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของผู้ อื่น โดยบริษัทฯ มีนโยบายให้บุคลากรปฏิบัติตามกฎหมาย หรือข้อก�ำหนดเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา อาทิ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทมี่ ลี ขิ สิทธิถ์ กู ต้องตามกฎหมาย เป็นต้น อีกทั้ง บริษัทฯ มีโครงการรณรงค์การส่งเสริมและ ปลูกจิตใต้ส�ำนึกให้แก่บุคลากรของบริษัทในทุกระดับชั้นให้ เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมด้วย 2. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทฯ มีการบริหารกิจการบนพื้นฐานความโปร่งใส มี จริยธรรม ยึดมั่นในหลักการการก�ำกับดูแลกิจการ และ ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและต่อต้าน
93
การทุจริตคอร์รัปชั่นโดยมีรายละเอียดปรากฏในนโยบาย และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้านทุจริตและการติดสินบน (Anti-Corruption and Bribery) ของบริษัท 3. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิ มนุษยชน โดยการปฏิบัติต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น พนักงาน ชุมชน และสังคมรอบข้างด้วยความเคารพในคุณค่า ของความเป็นมนุษย์ ค�ำนึงถึงความเสมอภาคและเสรีภาพที่ เท่าเทียมกัน ไม่ละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน และไม่เลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ภาษา สี ผิว เพศ อายุ การศึกษา สภาวะทางร่างกาย หรือสถานะ ทางสังคม รวมถึงจัดให้มีการดูแลไม่ให้ธุรกิจของบริษัท เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น การ ใช้แรงงานเด็ก และการคุกคามทางเพศ เป็นต้น นอกจาก นี้ บริษัทฯ ได้ส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้าน สิทธิมนุษยชน โดยจัดให้มีการมีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น และช่องทางในการร้องเรียนส�ำหรับผู้ที่ได้รับความ เสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิอันเกิดจากการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ และด�ำเนินการเยียวยาตามสมควร ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการสร้างองค์ความรู้ ด้านสิทธิมนุษยชนและปลูกจิตส�ำนึกให้บุคลากรของบริษัท ปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน 4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์และปฏิบตั ติ อ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม อันเป็นปัจจัยที่ จะช่วยเพิม่ มูลค่าของกิจการและเสริมสร้างความสามารถใน การแข่งขันและการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ใน อนาคต ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. เคารพสิทธิของพนักงานตามหลักสิทธิมนุษยชน และปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน 2. จัดให้มีกระบวนการจ้างงาน และเงื่อนไขการ จ้างงานเป็นธรรม รวมถึงการก�ำหนดค่าตอบแทน และ การพิจารณาผลงานควารมดีความชอบภายใต้กระบวนการ ประเมินผลการท�ำงานที่เป็นธรรม 3. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากร โดยจัดให้มีการ อบรม สัมนา ฝึกอบรม รวมถึงส่งบุคลากรเข้าร่วมสัมมนา
94
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
และฝึกอบรมวิชาการด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ พัฒนาความรู้ ความสามารถศักยภาพของบุคลากร รวมถึงปลูกฝังทัศนคตด ทีด่ ี มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และการท�ำงานเป็นทีมแก่บคุ ลากร 4. จัดให้มีสวัสดิการด้านต่างๆ ส�ำหรับพนักงาน ตามที่กฎหมายก�ำหนด เช่น ประกันสังคม เป็นต้น และนอก เหนือจากที่กฎหมายก�ำหนด เช่น ประกันอุบัติเหตุ เป็นต้น รวมถึงการให้เงินช่วยเหลือประเภทต่างๆ แก่พนักงาน เช่น เงินช่วยฌาปนกิจ เป็นต้น 5. จัดให้มบี ริการตรวจสุขภาพประจ�ำปีแก่บคุ ลากร ทุกระดับชั้นของบริษัท โดยพิจารณาจากปัจจัยความเสี่ยง ตามระดับ อายุ เพศ และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของ แต่ละบุคคล 6. ด� ำ เนิ น การให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า ง ปลอดภัยและมีสุขอนามัยในสถานที่ท�ำงานที่ดี โดยจัดให้มี มาตรการป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ และเสริมสร้างให้พนักงาน มีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย รวมถึงจัดการฝึกอบรม และ ส่งเสริมให้พนักงานมีสุขอนามัยที่ดี และดูแลสถานที่ท�ำงาน ให้ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัยอยู่เสมอ 7. เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานสามารถแสดงความ คิดเห็น หรือร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม หรือการกระท�ำที่ไม่ถูกต้องในบริษัท รวมถึงให้การคุ้มครอง พนักงานที่รายงานเรื่องดังกล่าว
5. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะพัฒนาสินค้าและบริการของบริษัทและ บริษัทในเครือเพื่อความพึงพอใจและประโยชน์สูงสุดของ ลูกค้าและยึดมั่นในการปฏิบัติต่อลูกค้าด้วยความรับผิด ชอบ ความซื่อสัตย์ และเอาใจใส่ลูกค้าเสมือนเป็นบุคคลใน ครอบครัวของบริษัทฯ ดังนี้ 1. บริษทั ฯ ค�ำนึงถึงคุณภาพและประสิทธิภาพใน การให้บริการของบริษทั ซึง่ นอกเหนือจากการพัฒนาระบบ การบริหารการบริการที่มีคุณภาพแล้ว บริษัทฯ ยังใส่ใจใน การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพื่อให้ลูกค้าได้ รับบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ 2. บริษัทฯ ยึดมั่นในการตลาดที่เป็นธรรม โดยมี นโยบายในการด�ำเนินการให้ลูกค้าได้รับข้อมูลเกี่ยวกับ บริการของบริษัทที่ถูกต้อง ไม่บิดเบือน คลุมเครือ หรือ โฆษณาเกินจริง เพื่อให้ลูกค้ามีข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอ ในการตัดสินใจ 3. บริษัทฯ ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของลูกค้า และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้ลกู ค้าได้รบั บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีความ ปลอดภัยตามมาตรฐานและกฎระเบียบข้อบังคับด้านความ ปลอดภัยในระดับสากล และตามที่กฎหมายก�ำหนด รวม ถึงมีการพัฒนาและปรับปรุงพัฒนาบริการอยู่เสมอ เพื่อให้ ลูกค้ามีความมัน่ ใจในคุณภาพมาตรฐาน และความปลอดภัย ของบริการของบริษัท
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
4. บริษัทฯ จัดให้มีระบบลูกค้าสัมพันธ์เพื่อใช้ใน การสือ่ สารติดต่อกับลูกค้า รวมถึงการรับเรือ่ งร้องเรียนเกีย่ ว กับคุณภาพของบริการอย่างมีประสิทธิภาพผ่านทางโทรศัพท์ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่าง รวดเร็ว 5. บริษัทฯ จะรักษาข้อมูลของลูกค้าไว้เป็นความ ลับ และจะไม่ใช้ข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในทางที่มิชอบ 6. บริษทั ฯ จัดให้มกี จิ กรรมต่างๆ เพือ่ เสริมสร้างความ สัมพันธ์ระหว่างลูกค้า และระหว่างลูกค้ากับบริษทั ให้ยงั่ ยืน 6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อความรับผิดชอบต่อสังคมใน การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ฯ ด�ำเนินการและควบคุม ให้การผลิตสินค้าและการให้บริการของบริษทั ฯ และบริษทั ใน เครือมีการปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด โดยมีแนวปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. บริษทั ฯ มีการออกแบบและพัฒนากระบวนการ ผลิต เครื่องจักร อุปกรณ์ให้สามารถควบคุมมลพิษและ/หรือ ลดมลพิษโดยให้ครอบคลุมเรื่องน�้ำเสีย ฝุ่น ก๊าซ รวมทั้งของ เสียต่างๆ 2. บริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดผู ้ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ์ โดยต้ องควบคุ มดูแลไม่ใ ห้เ กิดผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม เกิ น กว่ า ที่ ม าตรฐานก� ำ หนดไว้ และต้ อ งควบคุ ม การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3. บริษัทฯ มีนโยบายในการลดการเกิดขยะหรือ ของเสีย และให้ความร่วมมือในการก�ำจัดขยะหรือของเสีย ด้วยวิธีการที่ถูกต้อง 4. บริษัทฯ มีการประเมินความเสี่ยง และผลก ระทบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความ ปลอดภัย ก่อนที่จะมีการลงทุนหรือร่วมทุนในกิจการใดๆ โดยบริษทั ได้ดำ� เนินกิจการภายใต้แนวคิดการใส่ใจและรักษา สิ่งแวดล้อม 5. บ ริ ษั ท ฯ มี แ น ว ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ใ ช ้ ทรั พ ยากรธรรมชาติ วั ส ดุ หรื อ อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 6. บริ ษั ท ฯ มี ม าตรการด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น นโยบาย 3R (Reduce, Reuse/ Recycle, Replenish)
95
7. การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม บริษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม จึง มีนโยบายในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาสังคม ดังนี้ 1. บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุน และให้ความช่วย เหลือที่เหมาะสมกับสังคม และชุมชน โดยเฉพาะชุมชนที่อยู่ รอบสถานประกอบการของบริษัท 2. บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ ชุ ม ชนและผู ้ มี ส ่ ว น เกีย่ วข้องมีสว่ นร่วมในการให้ขอ้ คิดเห็นส�ำหรับโครงการต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน รวมทั้งการเสนอความคิดเห็น หรือข้อร้องเรียนต่างๆที่เป็นผลมาจากการด�ำเนินงานของ บริษัท 3. บริษัทฯ ให้ความร่วมมือในการด�ำเนินงานตาม มาตรฐานหรือข้อตกลงระดับสากลในเรื่องต่างๆที่จัดท�ำขึ้น เพื่อช่วยป้องกันหรือลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 4. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะให้การสนับสนุนทาง ด้านการศึกษาแก่เยาวชนโดยการสนับสนุนเงินทุนการศึกษา สนับสนุนอุปกรณ์เสริมทักษะเพือ่ การเรียนรูต้ า่ งๆแก่โรงเรียน และการจัดกิจกรรมบูรณะซ่อมแซมและทาสีอาคารโรงเรียน 5. บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการตอบสนองต่อ เหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อชุมชนสังคมและสิ่งแวดล้อมกัน เนื่องมาจากการด�ำเนินงานของบริษัทด้วยความรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ 6. บริ ษั ท ฯ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานของบริ ษั ท มี จิตส�ำนึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
96
1
2
3
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
9.3 การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม และกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรมเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สังคม และสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง โดยตัวอย่างกิจกรรมเพือ่ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมสามารถสรุปได้ดังนี้ กิ จ กรรม “กาถ่ า ยทอดความรู ้ สู ่ เ ยาวชน เรื่ อ งก๊ า ซธรรมชาติ ” ประจ� ำ ปี 2555ณ โรงเรียนวัดโคกกรุง จังหวัดสระบุรี เป็ น กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น โดยบริ ษั ท ฯ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ กั บ เยาวชนภายในสถาน ศึกษา เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับก๊าซ ธรรมชาติ ผ ่ า นกิ จ กรรมนั น ทนาการ โดย มุ ่ ง หวั ง ให้ เ ยาวชนเข้ า ใจและน� ำ ความรู ้ ไ ป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
กิ จ กรรม “การถ่ า ยทอดความรู ้ สู่เยาวชน เรื่องก๊าซธรรมชาติ” ประจ�ำปี 2555 ณ โรงเรียนวัดป่างิ้ว จังหวัดปทุมธานี เป็ น กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น โดยบริ ษั ท ฯ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ กั บ เยาวชนภายในสถาน ศึกษา เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับก๊าซ ธรรมชาติ ผ ่ า นกิ จ กรรมนั น ทนาการ โดย มุ ่ ง หวั ง ให้ เ ยาวชนเข้ า ใจและน� ำ ความรู ้ ไ ป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
กิจกรรม “สังคมพลังงานสีเขียวสร้าง ได้” เนือ่ งในวันเด็กเหตุชาติประจ�ำปี โดยจัด ต่อเนือ่ งกันตัง้ แต่ปี 2557-2560เป็นกิจกรรมที่ จัดขึน้ โดยบริษทั ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เสริม สร้างความรูเ้ กีย่ วกับก๊าซธรรมชาติให้กบั ชุมชน และมีกจิ กรรมนันทนาการทีส่ อดแทรกความรู้ ให้เยาวชนได้รว่ มสนุกควบคูไ่ ปกับความรูจ้ าก การเล่นกิจกรรม
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
4
5
6
7
กิจกรรม “ลั่นบุญ” วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือและสงเคราะห์เด็กพิการทาง สมอง โดยแจกทุนอาหารกลางวัน และพา เด็กพิการทางสมองและปัญญา เที่ยวและ ทัศนศึกษา ณ สวนสนุกดรีมเวิลด์ พร้อมทั้ง มอบสิ่งชองและเลี้ยงอาหารเย็นให้กับเด็ก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัท สากล เอนเนอยี ไบโอแมส พาวเวอร์15 จ�ำกัด (บริษัทย่อย)
กิจกรรม “งานปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ ตามโครงการบริหารจัดการและเพิ่มผลผลิต เกษตรปลอดภัยฯ”บริษัทฯ เข้าร่วมเป็นส่วน หนึ่งในการปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ ขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลท่ามะปราง อ�ำเภอแก่งคอย เพือ่ เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของสภาพแวดล้อม ภายในพื้นที่ชุมชน ณ อ่างเก็บน�้ำโป่งก้อนเส้า อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีในวันที่ 15 ธันวาคม 2559
กิ จ กรรม “บริ จ าคข้ า วสารแก่ โรงเรียนในชุมชน”ปี 2556บริษัทฯ มอบ ข้าวสารให้แก่โรงเรียนในชุมชนบริเวณใกล้ เคี ย งกั บ ที่ ตั้ ง ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ โรงเรียนในด้านอาหารแห้งอย่างสม�่ำเสมอ ณ โรงเรียนบ้านเชียงรากน้อย ต�ำบลเชียงราก น้อย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
กิจกรรม “บริจาคตู้ท�ำน�้ำเย็นให้ แก่โรงเรียนในชุมชน”ปี 2556บริษัทฯ มอบ ตู ้ ก ดน�้ ำ เย็ น พร้ อ มเครื่ อ งกรองน�้ ำ ให้ แ ก่ โรงเรียนบ้านเชียงรากน้อย จังหวัดปทุมธานี เพื่อให้เด็กนักเรียนใช้กดดื่มได้อย่างสะดวก ปลอดภัย ทดแทนตู้กดน�้ำดื่มเดิมที่ช�ำรุด
97
98 8
9
10
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
กิ จ กรรม “สนั บ สนุ น ข้ า วสารแก่ เยาวชนด้อยโอกาส”บริษทั ฯ มอบข้าวสารพร้อม น�ำ้ ดืม่ ให้แก่เยาวชนด้อยโอกาสเพือ่ สนับสนุนเด็ก นักเรียนทีม่ ฐี านะยากจนทัง้ หมด 120 คน จาก โรงเรียน 6 แห่ง ประกอบด้วย โรงเรียนวัดศรัทธา เรื่องศรี โรงเรียนวัดหนองสองห้อง โรงเรียน วัดบ้านบุรกี ารม โรงเรียนวัดห้วยคงคาวราวาส โรงเรียนวัดเขาลาดวนาราม และโรงเรียนวัด ท่ามะปราง จังหวัดสระบุรใี นวันที่ 22สิงหาคม 2559
กิจกรรม “รณรงค์การรักษาความ สะอาด”บริษทั ฯ ด�ำเนินกิจกรรมรณรงค์การ รั ก ษาความสะอาดในย่ า นชุ ม ชนใกล้ เ คี ย ง กับสถานที่ตั้งของสถานีก๊าซธรรมชาติของบ ริษทั ฯ ทัง้ 2 สถานี ได้แก่ สถานีกา๊ ซธรรมชาติ หลักเอกชนจังหวัดปทุมธานี และสถานีก๊าซ ธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัดสระบุรี ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560
กิจกรรมรณรงค์ กลับบ้านปลอดภัย บริษทั ฯ ได้มอบเงินสนับสนุน กิจกรรม เครือข่าย ลดอุบตั เิ หตุ ส่งมอบความห่วงใย รณรงค์ “กลับ บ้านปลอดภัย” เทศกาลสงกรานต์ ปี 2560 เร่งสร้างความตระหนักขับขีป่ ลอดภัย “ดืม่ ไม่ ขับ - ไม่ขบั เร็ว” ลดอุบตั เิ หตุ ลดความสูญเสีย ช่วงเทศกาลในช่วง 7 วันอันตรายช่วงเทศกาล สงกรานต์ ณ อบต.ท่ามะปราง และอบต. ห้วย แห้ง จังหวัดสระบุรี ในวันที่ 12 เมษายน 2560
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
11
99
กิจกรรม “โครงการ CSR คืนความดี สูส่ งั คม “บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรม คืนความดีสู่ สังคม เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พอ่ หลวงรัช การที่ 9 เป็นการท�ำกิจกรรมสร้างความรักความ สามัคคี มีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ตี อ่ กันของพนักงานทุก ระดับชัน้ ด้วยการทาสีโรงเรียน ณ โรงเรียนบ้าน ท่าแย้ อ�ำเภอด่านมะข้ามเตีย้ จังหวัดกาญจนบุรี และสร้างฝายชะลอน�ำ้ ตามแนวพระราชด�ำริ ณ หมูบ่ า้ นองธิ จังหวัดกาญจนบุรี
12 กิจกรรม “โครงการล้อเลื่อเพื่อคน พิการ ” บริษัทฯ ได้จัดท�ำโครงการล้อเลื่อน เพื่อคนพิการ ร่วมกับมูลนิธิคนพิการ เพื่อส่ง เสริมและสนับสนุนกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ แก่คนพิการทั่วประเทศ และเพื่อเป็นองค์กร หรือสถานสาธารณกุล ล�ำดับที่ 551 ของ ประกาศกระทรวงการคลัง โดยบริษทั ได้มอบ อะไหล่ส�ำหรับประกอบรถวิลแชร์ และรถ สามล้อโยกจ�ำนวน 3 คัน แด่มูลนิธิคนพิการ ไทย
10.การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
10.1 ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ
คณะกรรมการของบริษทั สากลเอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรือ่ งความเพียงพอและเหมาะ สมของระบบการควบคุมภายใน จึงได้มอบหมายให้ผตู้ รวจสอบภายในของบริษทั ฯ ท�ำการประเมินความเพียงพอและเหมาะ สมของระบบการควบคุมภายใน อีกทัง้ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานผลการประเมินการควบคุมภายใน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทัง้ ในด้านการใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สนิ การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น และจัดให้มีรายงานทางการเงินที่มีความถูกต้องและเชื่อถือ ได้ ตลอดจนการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในการประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯครั้งที่2/2561.เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมีคณะกรรมการอิสระจ�ำนวน 6 ท่าน ซึ่งคณะกรรมการ บริษัทได้พิจารณาความเพียงพอเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน และให้ความเห็นชอบตามที่คณะกรรมการตรวจ สอบให้ความเห็นเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ในด้านต่างๆ ตามแบบประเมินของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ตาม 5 องค์ประกอบ ซึ่งประกอบด้วย (1) การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) (2) การ
100
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) (3) การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) (4) ระบบสารสนเทศและการ สื่อสารข้อมูล (Information & Communication) (5) ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) ว่าระบบการควบคุม ภายในของบริษัท สากลเอนเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) มีความเพียงพอและเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงที่ส�ำคัญ ส�ำหรับการ ด�ำเนินธุรกิจ อีกทัง้ ได้มกี ารจัดบุคลากรเพือ่ จะด�ำเนินงานตามระบบควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพ และติดตาม ควบคุม ดูแล การท�ำงานให้เป็นไปตามระบบควบคุมภายในที่ดี และสอดคล้องกับกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ผลการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท ตามแนวทางของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) สามารถสรุปสาระส�ำคัญจากความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ที่มีระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ทั้ง 5 ด้าน มีดังนี้ 1. การควบคุมภายในองค์กร ( Control Environment) ซึ่งบริษัทมีการก�ำหนด นโยบาย ระเบียบงานปฏิบัติงาน โครงสร้างองค์ ไว้อย่างชัดเจน โดยเราให้ความส�ำคัญกับการบริหารงานที่โปรงใส คือ การมีธรรมภิบาล 2. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) บริษทั ได้กำ� หนดคูม่ อื การบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เป็นแนวทางในการ บริหารจัดการความเสี่ยงในทุกประเภทให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมถึงบริษัท ให้ความส�ำคัญในการป้องกันการทุจริตเป็น อย่างมาก โดยก�ำหนดนโยบายต่างๆ ขึ้นมาเพื่อป้องกัน เช่น นโยบายการต่อต้านการทุจริตและการติดสินบน และนโยบาย การเข้าท�ำรายการระหว่างกัน เป็นต้น 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) บริษัทได้มีการก�ำหนดระเบียบวิธีปฏิบัติงานเกี่ยวกับธุรกรรม ต่างๆ ทั้งด้านการเงิน การจัดซื้อ ด้าน IT และการบริหารงานทั่วไป ตลอดจนก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจหน้าที่ ล�ำดับชั้นการ อนุมัติ ไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้พนักงานได้ถือปฏิบัติ 4. ระบบสารสนเทศและการสือ่ สาร (Information & Communication) บริษทั ให้ความส�ำคัญต่อระบบสารสนเทศ และการสื่อสารของบริษัท ปัจจุบันบริษัทก�ำลังด�ำเนินการจัดท�ำระบบ ERP เพื่อให้การก�ำกับดูแลในทุกระบบ และทุกแผนก งานมีการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เป็นระบบ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน อีกทั้งเรามีการสื่อสารกันอย่างสม�่ำเสมอในทุกๆระดับ ผ่านทาง Mail การประชุม รวมถึงผ่านทาง APP Line ดังนั้นจะท�ำให้พนักงานทุกคนรับทราบข่าวสารของบริษัททุกครั้ง 5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) บริษทั ก�ำหนดให้มกี ารติดตามการปฏิบตั งิ านตามล�ำดับชัน้ ในการบังคับ บัญชา รวมถึงการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านจากบริษทั ดีลอยท์ฯ และรายงานตรงต่อ AC ซึง่ ในในปี 2561 บริษทั อาจพิจารณา ให้มผี ตู้ รวจสอบภายในโดยตรง ทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นการตรวจสอบภายในของบริษทั แทนการว่าจ้างบริษทั ดีลอยท์ฯ
10.2 หัวหน้างานตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 ครั้งที่ 2/2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาแต่งตั้ง บริษัท ดีลอยท์ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จ�ำกัด ให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท ประจ�ำ ปี 2560คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคุณสมบัติของ บริษัท ดีลอยท์ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จ�ำกัด โดยนาย วีรพงษ์กฤษดาวัฒน์ แล้วเห็นว่า มีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว เนื่องจากมีความเป็นอิสระ และมี ประสบการณ์ใน การปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายใน
11.
รายการระหว่ างกัน
มีก รรมการร่ วมกัน 2 ท่าน ได้ แ ก่ นายชัชชัย สุเมธโชติ เมธา และนางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา นางอารี ย์เป็ นคู่สมรสของนายชัชชัย สุเมธโชติเมธา ซึ่งนางอารี ย์ สุเมธโชติ เมธา เป็ นกรรมการบริ ษัทฯและเป็ นผู้บริ หารบริ ษัทฯ ในตาแหน่ง รองประธาน เจ้ าหน้ าที่บริ หารอาวุโส นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา และนางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริ ษั ท ธารสุว รรณ จ ากัด ในสัด ส่ว นร้ อยละ 57.85 และร้ อยละ 41.32 ตามลาดับ ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่านได้ แก่ นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธาเป็ นบุตรชายของนายชัชชัย สุเมธโชติเมธาและ เป็ นผู้บริ หารบริ ษัทฯในตาแหน่งผู้ช่วยประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร นายชัชชัย สุเมธโชติเมธา เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริ ษัท ทรานส์ เอนเนอยี จากัด ในสัดส่วนร้ อยละ 80.00 ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2560
ประกอบธุรกิจขนส่งสินค้ าประเภทเกษตรกรรม และ ตู้ คอนเทนเนอร์ ถ่ า นหิ น ปู น ซี เ มนต์ และ ก๊ าซ ธรรมชาติ NGV
ประกอบธุ ร กิ จ รั บ เหมาก่ อ สร้ างโรงงาน และ สานักงาน
1. บริ ษัท ธารสุวรรณ จากัด
2. บริ ษัท ทรานส์ เอนเนอยี จากัด
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 1
ความสัมพันธ์
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
ชื่อผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีการทารายการระหว่างกันกับบุคคลและนิติบคุ คลที่อาจมีความขัดแย้ ง ซึง่ สามารถสรุปความสัมพันธ์ ได้ ดงั นี ้
สรุ ปรายละเอี ยดรายการระหว่ างกัานงกัของบริ ษัทษฯัทกัฯบกับุบคบุคลที ่ อาจมี ความขั ใน ปี 2559 2559 และ และ ปีปี 22560 11.1 11.1 สรุ ปรายละเอี ยดรายการระหว่ นของบริ คคลที ่อาจมี ความขัดดแย้แย้งงทางผลประโยชน์ ทางผลประโยชน์ทท่ เี ี่เกิกิดดขึขึ้นน้ ในปี 560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีการท�ำรายการ ระหว่างกันกับบุคคลและนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่งสามารถสรุปความสัมพันธ์ ได้ดังนี้
11.รายการระหว่างกัน
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
101
มี ก รรม ก ารร่ วม กั น 2 ท่ าน ได้ แ ก่ น างอ ารี ย์ สุ เ ม ธโช ติ เม ธา แ ล ะ นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา นางอารี ย์ สุเมธโชติเมธา และนายชัชชัย สุเมธโชติเมธา เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริ ษัท พีทีซี โฮลดิ ้ง จากัด ในสัดส่วนร้ อยละ 50.00 และ 41.67 ตามลาดับ ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 นายจักรพงส์ สุเมธโชติเมธา เป็ น ผู้ถือหุ้นของบริ ษัท พี ทีซี โฮลดิง้ จากัด ใน สัดส่วนร้ อยละ 8.33 ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 ดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษัทฯ และประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารของ บริ ษัทฯ ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ในสัดส่วนร้ อยละ 41.78 ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2560 ดารงตาแหน่งกรรมการของบริ ษัทฯ
ประกอบธุรกิจขายเชื ้อเพลิงชีวมวล และให้ เช่าพื ้นที่ สานักงาน
-
3. บริ ษัท พีทีซี โฮลดิ ้ง จากัด
4. คุณชัชชัย สุเมธโชติเมธา
5. คุณธนิภา พวงจาปา
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 2
ความสัมพันธ์
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
ชื่อผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
102 รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
2. บริษัท ทรานส์ เอนเนอยี จากัด
1. บริษัท ธารสุวรรณ จากัด
ชื่อผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
- รายได้ คา่ เช่าสานักงาน
-
30,092.68
31,540.30
10,000.00
213,279.00
ปี 2560
192,681.00
ปี 2559
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท)
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 3
รายได้ คา่ เช่าสานักงาน ณ วันที่ 16 มกราคม 2558 บริ ษัทฯ เข้ าทาบันทึกข้ อตกลงระหว่างบริ ษัท ให้ เช่า พื น้ ที่ /บริ ก าร กับ บจ. ทรานส์ เอนเนอยี เพื่ อ ใช้ เป็ น สถานที่ ตัง้ บริ ษั ท ซึ่งมี พื ้นที่ ขนาด 20 ตารางเมตร ซึ่งตัง้ อยู่ชนั ้ 2 เลขที่ 15 ม.1 ต. เชี ย งรากน้ อ ย อ.สามโคก จ.ปทุม ธานี สัญ ญามี ระยะเวลา 1 ปี จะ สิน้ สุด ลงในวัน ที่ 29 กุม ภาพัน ธ์ 2559 อัต ราค่า เช่า 5,000 บาท/เดื อ น หรือคิดเป็ นอัตราค่าเช่า 250 บาท ต่อตารางเมตร
- รายได้ คา่ สาธารณูปโภค - รายได้ ค้างรับ
รายได้ คา่ สาธารณูปโภค เนื่องจากตามสัญ ญาที่ทากับ บมจ.ปตท. ที่ ให้ บ ริ ษั ทฯ ด าเนิ นการเป็ น สถานีแม่สาหรับกระจายก๊ าซธรรมชาติ กาหนดให้ ผ้ ูให้ บริ การต้ องมีการ เตรี ยมพืน้ ที่ ให้ บริ ษั ท ขนส่งที่ ได้ รับ สัมปทานจาก บมจ. ปตท. ใช้ เป็ น สานักงาน ทางบริษัทฯ จึงจาเป็ นให้ บริการดังกล่าว และมีการเรียกเก็บค่า สาธารณูปโภคสาหรับบริการดังกล่าว โดยค่าสาธารณูปโภคที่เรียกเก็บจา กบจ. ธารสุว รรณ เป็ น อัต ราเดี ยวกัน กับ อัต ราที่ บ ริ ษั ท ฯ เรี ย กเก็ บ จาก บริษัทขนส่งรายอื่นๆ ที่ได้ รับสัมปทานจาก บมจ. ปตท.
ลักษณะรายการ
รายละเอียดรายการระหว่ างกัางกั นของบริ าจมีคความขั วามขัดดแย้แย้ง ง 11.2 11.2 รายละเอี ยดรายการระหว่ นของบริษษัทัทฯฯและบริ และบริษษัทัทย่ย่ออยกั ยกับบบุบุคคคลที คลที่อ่ อาจมี
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เนื่ องจากบริ ษั ท ฯ ยังไม่มีแ ผนในการด าเนิ น การใดๆ ใน พื น้ ที่ ดังกล่ า ว การให้ เช่า พื น้ ที่ ส านั ก งาน จึง ก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ต่อบริ ษัทฯ โดยบริ ษัทฯ มีการคิดค่าเช่าในอัตรา ใกล้ เคียงกับราคาตลาด เมื่อสัญญาการเช่าสานักงานได้ สิ ้นสุดลงในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 บริ ษัทฯ ไม่มีการต่อ สัญญา เห็นว่า บริษัทดาเนินการตามความเหมาะสมแล้ ว
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เนื่ องจากการเข้ า ท ารายการดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไข ของสัญญาที่บริษัทฯ เข้ าทากับ บมจ. ปตท. และบริษัทฯ เรียกเก็บค่าบริการ ในอัตราเดียวกับที่เก็บจาก บริษัทอื่น ๆ รวมถึงการเรี ยกเก็บค่าบริ การนี ้ ทางสถานีแม่ อื่น ๆ ก็ มี ก ารเรี ย กเก็ บ ตามปกติ เห็ น ว่า การด าเนิ น การ ดังกล่า วเป็ น การด าเนิ น การตามความเหมาะสมและถื อ ปฏิบตั ิเสมือนกับปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ าทัว่ ไป
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
103
3. บริษัท พีทีซี โฮลดิ ้ง จากัด
ชื่อผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง ปี 2559
ปี 2560
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท)
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 4
อย่างไรก็ตาม ค่าบริ การอื่นจากการเช่าสานักงานจะไม่รวมถึงค่าบริ การ อื่นๆ ซึง่ เป็ นการเช่าพื ้นที่นอกเวลาทาการจะคิดตามสัดส่วนของเวลา
นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังสามารถใช้ การบริ การอื่นร่ วมกับบริ ษัท พีทีซี โฮ ลดิ ง้ จ ากัด อาทิ ค่ า โทรศัพ ท์ แ ละค่า อิ น เทอร์ เน็ ต ค่า เช่า เครื่ อ งถ่ า ย เอกสาร ค่าพนักงานเดินเอกสาร ค่านา้ มันรถเดินเอกสาร และค่าวัสดุ สิ ้นเปลือง เป็ นต้ น โดยไม่เสียค่าใช้ จา่ ย
ค่าเช่าสานักงาน/ค่าบริการอื่นจากการเช่าสานักงาน เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2558 บริ ษั ทฯ ได้ ทาสัญ ญาเช่า พืน้ ที่ สานักงาน ตังอยู ้ ่ที่ 444 อาคารโอลิมเปี ยไทยทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงสาม เสนนอก เขตห้ วยขวาง กรุงเทพมหานคร เนื ้อที่รวมประมาณ 103 ตร.ม. จากบริ ษั ท พี ที ซี โฮลดิ ง้ จ ากัด ระยะเวลาสัญ ญา 1 ปี ตัง้ แต่วัน ที่ 1 มกราคม 2559 - 31 ธันวาคม 2559 ในอัตราค่าเช่า 362 บาทต่อตร.ม. ต่อเดือน และค่าบริการอื่นจากการเช่าสานักงาน จานวน 55,929 บาท ต่อเดือน หรื อเทียบเป็ นอัตราค่าบริ การ 543 บาทต่อตร.ม. ซึ่งขอบเขต ของการบริ การ ได้ แก่ 1) การบริ การดูแลและรักษาและบริการทัว่ ไป 2) บริ การเครื่ องปรับอากาศและการปรับภาวะอากาศ 3) บริ การเกี่ยวกับ ระบบไฟฟ้าภายใต้ อาคาร 4) บริการให้ ใช้ ที่จอดรถภายในอาคาร
ลักษณะรายการ
ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เห็น ว่า รายการดังกล่า วเป็ นรายการปกติ และมีเงื่อนไขที่ เหมาะสม
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ สาหรับการเช่า พื ้นที่เป็ นสานักงานของบริ ษัทฯ เป็ นความ จาเป็ นต่อการดาเนินธุรกิจ ซึ่งมีทาเลสะดวกและอยู่ในย่าน ธุรกิจที่เหมาะสม ทังนี ้ ผ้ ลรวมการเพิ่มขึน้ ของอัตราค่าเช่า และค่ า บริ ก ารในปี 2560 มี ใ นอัต ราที่ ต่ า กว่ า อัต ราการ เพิ่มขึ ้นของผลรวมอัตราค่าเช่าและค่าบริการ ที่ บริษัท พีที ซี โฮลดิ ง้ จ ากั ด ท าสัญ ญาเช่า และบริ ก าร (Lease and Service Agreements) โด ย ต ร ง กั บ บ ริ ษั ท อ า ค า ร โอลิ ม เปี ย ไทย จ ากัด อี ก ทัง้ มี ก ารคิ ด อัต ราค่า เช่า และ ค่ า บริ ก ารอื่ น ที่ เกี่ ย วข้ องทัง้ หมดใกล้ เคี ย งกั บ พื น้ ที่ เช่ า สานักงานในบริ เวณใกล้ เคียงกัน อาทิเช่น ตึกโอลิมเปี ย ตึก เอเชียเซ็นเตอร์ ตึกไซเบอร์ เวิลด์ ตึกเลอคองคอร์ ด และตึก เมืองไทยภัทร ซึ่งมีการคิด อัตราค่าเช่า ค่าบริ การอื่น และ อื่ น ๆ อยู่ร ะหว่ า ง 921 บาทต่ อ ตารางเมตรต่ อ เดื อ น ถึ ง 1,099 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
104 รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
4. คุณชัชชัย สุเมธโชติเมธา
3. บริษัท พีทีซี โฮลดิ ้ง จากัด (ต่อ)
ชื่อผู้ท่ เี กี่ยวข้ อง
- ค่าใช้ จา่ ยที่อยูใ่ นการตังส ้ านักงาน
ไม่มีคา่ ตอบแทน
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ
สาหรับการเข้ าท ารายการดังกล่าว เป็ น การใช้ เพียงที่อยู่ สาหรับตัง้ สานักงานใหญ่ ของบริ ษั ท ย่อย (SK 15)เท่านัน้ โดยบริ ษั ท ไม่ ได้ เสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยใดๆ ปั จ จุบัน บริ ษั ท ย่อ ย ดังกล่า ว ยังอยู่ระหว่า งการศึก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการ พัฒนาโครงการในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตามหากบริษัท ย่อย (SK15) มี ค วามชัด เจนในการพัฒ นาโครงการ หรื อ สามารถหาพื ้นที่ตัง้ สานักงานใหม่ได้ แล้ วนัน้ ทาง SK15 ก็ จะพิจารณาย้ ายที่ตงไปในที ั้ ่ใหม่ที่เหมาะสม ไม่มีคา่ ตอบแทน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เห็ น ว่า รายการดังกล่า วไม่มี ผ ลกระทบกับ บริ ษั ท ฯ และ เกิดขึ ้นอย่างสมเหตุสมผล
-
1,518,000.00
671,148.00 4,331.75
1,021,200.00
ปี 2560
447,432.00
ปี 2559
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท)
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 5
ปั จจุบันบริ ษั ทย่อ ย (SK15) มี ส านัก งานใหญ่ ตัง้ อยู่ที่ เลขที่ 15 ถนน ประเสริ ฐมนูกิจ แขวงเสนานิคม เขตจตุจกั ร กทม. โดยที่อยูด่ งั กล่าวเป็ น กรรมสิ ท ธิ์ ข องคุณ ชัช ชัย สุเมธโชติ เมธา ซึ่ งด ารงต าแหน่ ง ประธาน เจ้ าหน้ าที่บริหารของบริษัทฯ อย่างไรก็ตามคุณชัชชัยมีความยินยอมให้ ใช้ พื ้นที่ดงั กล่าวในการเป็ นที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่ของบริ ษัทย่อย โดยไม่มี การจัดทาสัญญาใดๆ และไม่มีการคิดค่าตอบแทน
การจดทะเบียนที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่ของบริษัทย่อย
- ค่าเช่าสานักงาน - ค่าบริการอื่นจากการเช่าสานักงาน - ค่าบริการอื่นๆ (การเช่าพื ้นที่ชว่ งนอกเวลาทาการ)
ทัง้ นี เ้ มื่ อวัน ที่ 27 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ได้ ต่อ อายุการเช่าส านักงาน/ ค่าบริ การอื่นจากการเช่าสานักงาน ระยะเวลาสัญญา 1 ปี ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 มกราคม 2560 - 31 ธั น วาคม 2560 โดยมี การเปลี่ ยนแปลงพื น้ ที่ เช่า เพิ่มขึน้ เป็ น 230 ตร.ม. และเพิ่มอัตราค่าเช่าเป็ น 370 บาทต่อตร.ม. ต่อ เดื อ น และส าหรั บ ค่า บริ ก ารอื่ น จากการเช่า ส านัก งาน เป็ นจ านวน 126,500 บาทต่ อ เดื อ น หรื อ เที ย บเป็ นอั ต ราค่ า บริ ก าร 550 บาท ต่อตร.ม.
ลักษณะรายการ
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
105
4. คุณชัชชัย สุเมธโชติเมธา (ต่อ)
ชื่ อผู้ที่เกีย่ วข้ อง
-
ไม่มีค่าตอบแทน
ไม่มีค่าตอบแทน ไม่มีค่าตอบแทน
ไม่มีค่าตอบแทน ไม่มีค่าตอบแทน
-
ไม่มีค่าตอบแทน
ปี 2560
ไม่มีค่าตอบแทน
ปี 2559
มูลค่ารายการระหว่ างกัน (บาท)
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 6
ค้ าประกันหนังสื อค้าประกัน, ค้ าประกันวงเงิน O/D และ ค้ าประกันตัว๋ สัญญาใช้เงิน รวม 90,000,000 ล้านบาท
รายการค้ าประกันสิ นเชื่ อธนาคารพาณิ ชย์ บริ ษทั ฯ มีสินเชื่ อกับธนาคารพาณิ ชย์และสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อใช้ใน การดาเนิ นธุรกิจ ในวงเงินสิ นเชื่อรวมประมาณ 310 ล้านบาท และ 495 ล้านบาท ในปี 2559 และ ณ วันที่ 30 กันยายน ปี 2560 ตามลาดับ โดยมีกรรมการบริ ษทั ค้ าประกันสิ นเชื่ อบริ ษทั ได้แก่ 1) คุณ ชัชชัย สุเมธโชติเมธา และ 2) คุณธนิ ภา พวงจาปา โดยการค้ าประกันหนี้ จานวนรวม 234.99 ล้านบาท และ 91.01 ล้านบาท ตามลาดับ โดยการค้ าประกันทั้งหมดคุณชัชชัย สุ เมธโชติเมธา ซึ่งเป็ นกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้เป็ นผูค้ ้ าประกันการชาระหนี้ ดงั กล่าวโดยไม่มีค่าตอบแทนใน การค้ าประกันดังกล่าว - ค้าประกันเงินกูย้ มื ระยะยาวและหนังสื อค้าประกัน 87,390,000 บาท - ค้าประกันวงเงิน O/D 7,200,000 บาท - ค้าประกันหนังสื อค้าประกันรวม 50,400,000 บาท
ลักษณะรายการ
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ หนังสื อค้าประกัน เป็ นความจาเป็ นในการดาเนิ นธุรกิจของบริ ษทั ฯ และการที่ธนาคารพาณิ ชย์มีเงื่อนไขให้กรรมการบริ ษทั ฯ ค้ า ประกันวงเงิน ถือเป็ นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิ ชย์ ซึ่ งบริ ษทั ฯ ไม่มีภาระค่าใช้จ่ายในการที่ คุณชัชชัย สุ เมธโชติเมธา ค้ าประกัน ดังกล่าว ทั้งนี้ ธนาคารพาณิ ชย์ 2 แห่ ง ระบุวา่ จะพิจารณาการปลดภาระค้ า ประกันจากกรรมการบริ ษทั ฯ หากบริ ษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาด ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเสนอขายหุ้น IPO แล้วเสร็ จ นอกจากนี้ธนาคารพาณิ ชย์รายใหม่ที่อนุมตั ิสินเชื่ อในช่วงไตร มาส 3/2560 ได้ระบุ หากบริ ษทั ฯเข้าจดทะเบียนเป็ นบริ ษทั ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และนาส่ งจดหมายแสดง เจตจานงขอถอนบุคคลค้ าประกันกับธนาคารแล้ว ธนาคารยินดี จะ พิจารณาเรื่ องการถอนบุคคลค้ าประกัน ของกรรมการดังกล่าวจาก การค้ าประกันสิ นเชื่ อของธนาคาร ในเดือน กุมภาพันธ์ 2561 ธนาคารพาณิ ชย์ 1 แห่ ง ได้มี หนังสื อถอดถอนการค้าประกันมายังบริ ษทั โดยหนังสื อฉบับ ดังกล่าว ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่ อง การถอนภาระค้า ประกัน ของ นายชัชชัย สุ เมธโชติเมธา ตามสัญญาค้ าประกัน ฉบับ ลงวันที่ 13 สิ งหาคม 2558 จานวนเงินค้ าประกัน 87,390,000.-บาท ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่าการที่กรรมการบริ ษทั ฯค้ าประกันสิ นเชื่ อนั้น เป็ นปกติของ การดาเนิ นธุรกิจ ซึ่งบริ ษทั ไม่มีภาระค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ จึงถือว่า รายการดังกล่าวเหมาะสมแล้ว
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
106 รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ไม่มีค่าตอบแทน
ไม่มีค่าตอบแทน ไม่มีค่าตอบแทน
ปี 2560
ไม่มีค่าตอบแทน
ปี 2559
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 7
ค้ าประกันสัญญาเช่ายานพาหนะมูลค่า 6,226,107 บาท
-
-
ค้ าประกันสัญญาเช่าซื้ อยานพาหนะกับบริ ษทั ลีสซิ่ งมูลค่า 2,640,000 บาท ค้ าประกันสัญญาเช่าซื้ อยานพาหนะกับธนาคารพาณิ ชย์แห่ ง หนึ่งมูลค่า 580,800 บาท
รายการค้ าประกันยานพาหนะ มีรายการค้ าประกันสัญญาเช่าซื้ อ และเช่ายานพาหนะ โดยมีกรรมการ บริ ษทั คือ คุณชัชชัย สุ เมธโชติเมธา เป็ นผูค้ ้ าประกันการชาระหนี้ ดังกล่าวโดยไม่มีค่าตอบแทนในการค้าประกันดังกล่าวจนกว่าจะสิ้ นสุ ด อายุสญ ั ญา โดยสรุ ปรายการรายการค้ าประกันยานพาหนะกับผู ้ ที่ผา่ น มาดังนี้ ณ วันที่ 4 ตุลาคม 2556 มีสญ ั ญาเช่าซื้ อยานพาหนะกับ ธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ ง สาหรับใช้ภายในกิจการ ณ วันที่ 2 เมษายน 2557 บริ ษทั ฯ มีสญ ั ญาเช่าซื้ อ ยานพาหนะกับบริ ษทั ลิสซิ่ งในเครื อผูผ้ ลิตรถยนต์รายหนึ่ ง สาหรับรถประจาตาแหน่ง ณ วันที่ 2 กรกฏาคม 2558 บริ ษทั ฯ มีสญ ั ญาเช่ากับ บริ ษทั ลิสซิ่ งในเครื อธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ ง สาหรับรถ ประจาตาแหน่ง โดยสรุ ปมูลค่ าคา้ ประกันยานพาหนะทั้งหมดได้ ดังนี้
4. คุณชัชชัย สุเมธโชติเมธา (ต่อ)
-
ลักษณะรายการ
ชื่ อผู้ที่เกีย่ วข้ อง
มูลค่ ารายการระหว่ างกัน (บาท)
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ฯ มีสญ ั ญาเช่าซื้ อ/เช่ายานพาหนะ กับบริ ษทั ลิสซิ่งนั้น เป็ นรถ กะบะเพื่อใช้กิจการภายใน และ รายการรถประจาตาแหน่ง สาหรับ ตาแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ตาแหน่งรองประธานเจ้าหน้าที่ บริ หาร และตาแหน่งผูช้ ่วยประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ตามประกาศของ บริ ษทั ฯ เลขที่ ป.22-01/2558 และ ป.22-02/2558 ประกาศเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2558 เรื่ องการจัดหาอุปกรณ์ให้ ผูบ้ ริ หาร เพื่อใช้ในการปฎิบตั ิงาน ทั้งนี้บริ ษทั ลิสซิ่ งในเครื อธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่ งได้มีหนังสื อแจ้ง ว่าจะพิจารณาการปลดภาระค้าประกันจากกรรมการบริ ษทั ฯ หาก บริ ษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดตลาดหลักทรัพย์ฯ และสาหรับบริ ษทั ลิสซิ่ งในเครื อผูผ้ ลิตรถยนต์รายหนึ่ง ได้มีหนังสื อแจ้งกลับ ยินยอมใน การปลดภาระผูค้ ้ าประกันภายใต้สญ ั ญาค้ าประกันให้ เมื่อบริ ษทั จ่าย เช็คลงวันที่สงั่ จ่ายล่วงหน้า จานวน 12 ฉบับ จานวนเงินฉบับละ 55,000 บาท มาส่งมอบให้บริ ษทั ภายในเดือนพฤศจิกายน 2559 ซึ่ งต่อมาทางบริ ษทั ได้ดาเนินการเป็ นที่แล้วเสร็ จ อีกทั้งสาหรับการค้ าประกันสัญญาเช่าซื้ อยานพาหนะกับธนาคาร พาณิ ชย์แห่งหนึ่ ง บริ ษทั ได้ดาเนิ นการชาระค่างวดเพื่อปิ ดบัญชี ในช่วง มิถุนายน 2560 และโอนกรรมสิ ทธิ์มาเป็ นสิ นทรัพย์ ของบริ ษทั ฯ แล้วในเดือนกรกฎาคม 2560 ทาให้ภาระการค้ าประกันสิ้นสุ ดลง ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่าการที่กรรมการบริ ษทั ฯค้ าประกันการเช่าซื้ อขอองบริ ษทั นั้น เป็ นปกติของการดาเนิ นธุรกิจ ซึ่ งบริ ษทั ไม่มีภาระค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ จึงถือว่ารายการดังกล่าวเหมาะสมแล้ว
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
107
5.
คุณธนิภา พวงจาปา
ชื่ อผู้ที่เกีย่ วข้ อง ปี 2559
-
11. รายการระหว่างกัน หน้ า 8
ค้ าประกันหนังสื อค้ าประกัน, ค้ าประกันวงเงิน O/D และ ค้ าประกันตัว๋ สัญญาใช้เงิน รวม 35,000,000.- บาท
ไม่มีค่าตอบแทน
ไม่มีค่าตอบแทน ไม่มีค่าตอบแทน
ไม่มีค่าตอบแทน
ปี 2560
มูลค่ารายการระหว่ างกัน (บาท)
รายการค้ าประกันสิ นเชื่ อธนาคารพาณิ ชย์ บริ ษทั ฯ มีสินเชื่ อกับธนาคารพาณิ ชย์ต่างๆ เพื่อใช้ในการดาเนินธุรกิจ ในวงเงินสิ นเชื่อรวมประมาณ 310 ล้านบาท และ 435 ล้านบาท ในปี 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ปี 2560 ตามลาดับ โดยที่ ผ่านมาในปี 2559 มีกรรมการบริ ษทั ค้ าประกันสิ นเชื่ อบริ ษทั ได้แก่ 1) คุณชัชชัย สุ เมธโชติเมธา และ 2) คุณธนิภา พวงจาปา โดย การค้ าประกันหนี้ จานวนรวม 234.99 ล้านบาท และ 91.01 ล้านบาท ตามลาดับ โดยไม่มีค่าตอบแทนในการค้ าประกันดังกล่าว โดยการค้ าประกันทั้งหมดคุณธนิ ภา พวงจาปา ซึ่ งเป็ นกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้เป็ นผูค้ ้ าประกันการชาระหนี้ ดงั กล่าวโดยไม่มี ค่าตอบแทนในการค้ าประกันดังกล่าว - ค้าประกันเงินกูย้ มื ระยะยาว และหนังสื อค้าประกันรวม ไม่มีค่าตอบแทน 33,610,000 บาท ไม่มีค่าตอบแทน - ค้าประกันวงเงิน O/D 2,800,000 บาท ไม่มีค่าตอบแทน - ค้าประกันหนังสื อค้าประกัน 19,600,000 บาท
ลักษณะรายการ
ความจาเป็ นและความเหมาะสม ของรายการระหว่ างกัน / ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ หนังสื อค้ าประกัน เป็ นความจาเป็ นในการดาเนิ นธุรกิจของบริ ษทั ฯ และการที่ธนาคารพาณิ ชย์มีเงื่อนไขให้กรรมการบริ ษทั ฯ ค้ าประกัน วงเงิน ถือเป็ นเงื่อนไขปกติของธนาคารพาณิ ชย์ ซึ่ งบริ ษทั ฯ ไม่มี ภาระค่าใช้จ่ายในการที่ คุณธนิ ภา พวงจาปา ค้าประกันดังกล่าว ทั้งนี้ ธนาคารพาณิ ชย์ท้ งั 2 แห่ ง ระบุวา่ จะพิจารณาการปลดภาระ ค้าประกันจากกรรมการบริ ษทั ฯ หากบริ ษทั ฯ เข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเสนอขายหุ้น IPO แล้วเสร็ จ นอกจากนี้ ธนาคารพาณิ ชย์รายใหม่ที่อนุมตั ิสินเชื่อในช่วงไตร มาส 3/2560 ได้ระบุ หากบริ ษทั ฯเข้าจดทะเบียนเป็ นบริ ษทั ใน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และนาส่ งจดหมายแสดง เจตจานงขอถอนบุคคลค้ าประกันกับธนาคารแล้ว ธนาคารยินดี จะ พิจารณาเรื่ องการถอนบุคคลค้ าประกัน ของกรรมการดังกล่าวจาก การค้ าประกันสิ นเชื่ อของธนาคาร ในเดือน กุมภาพันธ์ 2561 ธนาคารพาณิ ชย์ 1 แห่ ง ได้มี หนังสื อถอดถอนการค้ าประกันมายังบริ ษทั โดยหนังสื อฉบับ ดังกล่าว ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่ อง การถอนภาระค้ า ประกัน ของ นางธนิ ภา พวงจาปา ตามสัญญาค้ าประกัน ฉบับลง วันที่ 13 สิ งหาคม 2558 จานวนเงินค้ าประกัน 33,610,000.-บาท ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่าการที่กรรมการบริ ษทั ฯคาประกันสิ นเชื่ อนั้น เป็ นปกติของ การดาเนิ นธุรกิจ ซึ่ งบริ ษทั ไม่มีภาระค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ จึงถือว่า รายการดังกล่าวเหมาะสมแล้ว
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
108 รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
109
11.2 มาตราการและขั้นตอนการอนุมัติรายการระหว่างกัน บริษัทฯ จะปฏิบัติตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับประกาศค�ำสั่งหรือข้อก�ำหนด ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ผู้บริหารหรือผู้ที่มีมีส่วนได้เสียจะไม่สามารถ เข้าร่วมอนุมัติรายการดังกล่าวได้ ในกรณีที่กฏหมายดังกล่าวก�ำหนดให้รายการระหว่างกันนั้นต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ จะจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการท�ำ รายการและความสมเหตุสมผลของรายการนั้นๆ ทั้งนี้ ในการเข้าท�ำรายการที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดย ทั่วไป และรายการที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่ไม่เป็นเงื่อนไขโดยทั่วไป ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (1) การท�ำรายการที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่เป็นเงื่อนไขการค้าทั่วไป การท�ำรายการทีเ่ ป็นข้อตกลงทางการค้าทีม่ เี งือ่ นไขโดยทัว่ ไประหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับกรรมการบริหารหรือบุคคล ที่มีความเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เสนอขออนุมัติในหลักการจากคณะกรรมการบริษัท ให้คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมตั กิ ารท�ำธุรกรรมดังกล่าวได้ หากรายการดังกล่าวมีขอ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียว กับทีว่ ญ ิ ญูชนพึงกระท�ำกับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกันด้วยอ�ำนาจต่อรองทางการค้าทีป่ ราศจากอิทธิพลในการทีต่ น มีสถานะเป็นกรรมการผูบ้ ริหารทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับบริษทั ฯ จะจัดท�ำรายงานสรุปการท�ำธุรกรรมดังกล่าวเพือ่ รายงานในการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการประชุมคณะกรรมการในทุกไตรมาส (2) การท�ำรายการที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่ไม่เป็นเงื่อนไขการค้าทั่วไป การท�ำรายการทีเ่ ป็นข้อตกลงทางการค้าทีไ่ ม่เป็นเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไปจะต้องถูกพิจารณาและให้ความเห็นโดยคณะกรรมการ ตรวจสอบก่อนน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามกฏ หมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับประกาศค�ำสั่งหรือข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรวมถึงการปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกีย่ วโยงกัน
11.3 นโยบายทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต
รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริษัทต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฏหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์และข้อบังคับประกาศค�ำสัง่ หรือข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันของ บริษัทฯ หรือบริษัท ย่อยตามมาตราฐานการบัญชีที่ก�ำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบรับอนุญาตแห่งประเทศไทย
110
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
ส่วนที่ 3 ฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน 111 - 118 ข้อมูลที่สำ�คัญทางการเงิน 119 - 136 การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) 137 - 210 รายงานและงบการเงินรวม
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
111
12.ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ ผูล้ งทุนควรพิจารณางบการเงินรวมทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที3่ 1ธันวาคม2558และส�ำหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31ธันวาคม 2559และส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และผู้ลงทุนควรอ่านหมายเหตุประกอบงบการเงินในงบ การเงินรวม ซึ่งประกอบไปด้วยเกณฑ์การจัดท�ำงบการเงินรวมดังกล่าว และนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญของกลุ่มบริษัทฯ เพื่อ ประกอบการพิจารณาเว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารนี้มีข้อความในลักษณะที่เป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต (Forward-Looking Statements)ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเห็นของฝ่ายบริหาร ณ ปัจจุบันต่อเหตุการณ์ในอนาคตและ ผลประกอบการทางการเงินของกลุม่ บริษทั ฯ ดังนัน้ ผลการด�ำเนินงานจริงของกลุม่ บริษทั ฯ อาจแตกต่างอย่างมีนยั ส�ำคัญจาก ผลการด�ำเนินงานทีค่ าดการณ์ไว้จากปัจจัยต่างๆ ซึง่ รวมถึงปัจจัยทีร่ ะบุภายใต้หวั ข้อ “ปัจจัยความเสีย่ ง”และทีไ่ ด้ระบุไว้ในที่ อื่นๆในเอกสารฉบับนี้
12.1 สรุปรายงานผู้สอบบัญชี สรุปรายงานการตรวจสอบบัญชี • งบการเงินรวมส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตรวจสอบโดย นางสาวนภาพร สาธิตธรรมพร ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 7494 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็น ว่างบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน • งบการเงินรวมส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตรวจสอบโดย นางสาวนภาพร สาธิตธรรมพร ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 7494 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็น ว่างบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน • งบการเงินรวมส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สอบทานโดย นางสาวนภาพร สาธิตธรรมพร ผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 7494 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ผู้สอบบัญชีได้ให้ความเห็น ว่างบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน
112
12.2
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ตารางสรุ ปงบการเงิน
12.2 ตารางสรุปงบการเงิน
บริษษัทัท สากล สากล เอนเนอยี เอนเนอยีจ�จำากั (มหาชน) บริ กัดด(มหาชน) งบแสดงฐานะการเงินน งบแสดงฐานะการเงิ 31 ธันวาคม 2558 จานวน ร้ อยละ เงิน
(หน่วย : ล้ านบาท)
31 ธันวาคม 2559 จานวน ร้ อยละ เงิน
31 ธันวาคม 2560 จานวน ร้ อยละ เงิน
สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
12.62
1.92
8.57
1.12
21.78
2.09
6.53
0.99
96.77
12.70
425.40
40.87
72.82
11.07
122.75
16.11
57.27
5.50
15.11
2.30
20.12
2.64
16.70
1.60
1.09
0.17
1.18
0.15
1.65
0.16
1.65
0.25
0.91
0.12
1.26
0.12
109.82
16.70
250.30
32.84
524.07
50.34
231.90
35.27
221.66
29.08
210.61
20.23
อะไหล่และวัสดุสิ ้นเปลืองไม่หมุนเวียน
-
-
1.29
0.17
1.48
0.14
อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน
-
-
12.12
1.59
171.62
16.49
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
315.38
47.97
273.42
35.87
128.31
12.33
สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ
0.42
0.06
3.38
0.44
3.89
0.37
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
-
-
-
-
0.98
0.09
รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
547.70
83.30
511.87
67.16
516.89
49.66
รวมสินทรัพย์
657.52
100.00
762.18
100.00 1,040.95
100.00
เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงินที่ถงึ กาหนดชาระ ภายใน 1 ปี ลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น อะไหล่และวัสดุสิ ้นเปลืองหมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน ลูกหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 2
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
113
(หน่วย : ล้ านบาท) 31 ธันวาคม 2558 จานวน ร้ อยละ เงิน หนีส้ นิ และส่ วนของผู้ถอื หุ้น หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถงึ กาหนด ชาระภายในหนึง่ ปี หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึง่ ปี รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่ หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงินและสัญญาเช่าซื ้อ หนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนสาหรับ ผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชาระแล้ ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ ว – ทุนสารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น
31 ธันวาคม 2559 จานวน ร้ อยละ เงิน
31 ธันวาคม 2560 จานวน ร้ อยละ เงิน
44.04 10.76
6.70 1.64
31.49 14.70
4.13 1.93
40.00 28.80 15.85
3.84 2.77 1.52
13.56
2.06
14.04
1.84
14.68
1.41
1.57
0.24
1.62
0.21
1.08
0.10
69.93
10.64
61.85
8.12
100.41
9.65
70.25 4.21 9.82
10.68 0.64 1.49
56.25 2.59 9.80
7.38 0.34 1.29
41.57 1.51 9.85
3.99 0.15 0.95
0.77
0.12
1.11
0.15
0.60
0.06
85.05 154.98
12.93 23.57
69.74 131.60
9.15 17.27
1.09 54.62 155.03
0.10 5.25 14.89
346.40 346.40 -
52.68 52.68 -
465.00 346.40 -
61.01 45.45 -
465.00 465.00 297.62
44.67 44.67 28.59
16.00 140.08 0.07 502.55 657.52
2.43 21.30 0.01 76.43 100.00
22.20 261.52 0.46 630.58 762.18
2.91 26.00 34.31 96.40 0.06 0.90 82.73 885.92 100.00 1,040.95
2.50 9.26 0.09 85.11 100.00
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 3
114
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) บริษบริ ัท ษสากล เอนเนอยี จากัจ�ดำกั(มหาชน) ัท สากล เอนเนอยี ด (มหาชน) งบกงบก� าไรขาดทุ น น ำไรขาดทุ
(หน่วย : ล้ านบาท)
ปี บัญชีสนิ ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558
2559
2560
จานวน เงิน
ร้ อยละ
จานวน เงิน
ร้ อยละ
จานวน เงิน
ร้ อยละ
340.36
93.72
385.55
93.04
310.15
92.94
19.94
5.49
22.18
5.35
21.43
6.42
2.87
0.79
6.65
1.60
2.12
0.64
363.17
100.00
414.38
100.00
333.70
100.00
199.62
54.97
236.63
57.11
190.13
56.98
39.27
10.81
47.74
11.52
61.25
18.36
4.41
1.21
4.11
0.99
8.35
2.50
รวมค่ าใช้ จ่าย
243.30
66.99
288.49
69.62
259.73
77.83
กาไรก่ อนภาษีเงินได้ จากการดาเนินงาน ต่ อเนื่อง
119.87
33.01
125.89
30.38
73.98
22.17
0.86
0.24
0.31
0.07
0.06
0.02
กาไรสาหรับปี จากการดาเนินงานต่ อเนื่อง
119.01
32.77
125.58
30.31
73.92
22.15
กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานที่ ยกเลิก - สุทธิจากภาษี
(2.44)
(0.67)
2.06
0.50
-
-
กาไรสาหรับปี
116.57
32.10
127.64
30.80
73.92
22.15
รายได้ รายได้ จากการให้ บริ การ รายได้ ตามสัญญาเช่าการเงิน รายได้ อื่น รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้ นทุนการให้ บริการ ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน
ค่าใช้ จา่ ยภาษี เงินได้
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 4
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
115
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
บริษบริัทษสากล เอนเนอยี จ�ำกัจดากั(มหาชน) ัท สากล เอนเนอยี ด (มหาชน) งบกระแสเงิ นสดนสด งบกระแสเงิ (หน่วย : ล้ านบาท) สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี (กาไร) ขาดทุนสาหรับปี จากการดาเนินงานที่ยกเลิก กาไรสาหรับปี จากการดาเนินงานต่ อเนื่อง ปรับรำยกำรทีก่ ระทบกำไรเป็ นเงิ นสดรับ (จ่ำย) ภาษี เงินได้ ต้ นทุนทางการเงิน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย กาไรจากการจาหน่ายกองทุนเปิ ด (กาไร)ขาดทุนจากการจาหน่ายทีด่ ินและอุปกรณ์ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ดอกเบี ้ยรับ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลงใน สินทรัพย์และหนี ้สินดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ดาเนินงาน ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้หมุนเวียนอื่น ลูกหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงิน อะไหล่และวัสดุสิ ้นเปลือง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้หมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี ้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ภาษี เงินได้ จา่ ยอออก กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 5
2559
2560
116.57 2.44 119.01
127.64 (2.06) 125.58
73.92 73.92
0.86 4.41 5.93 (1.19) 0.14 (0.83)
0.31 4.11 5.86 (0.48) (5.24) 0.34 (0.05)
0.06 8.35 5.73 (0.78) 0.22 0.60 (0.10)
128.34
130.44
87.99
(21.17) 0.05 (1.11) 1.76 23.14 3.53 (0.03) (0.21) 134.31
(49.93) (2.37) 5.23 (0.55) (12.56) 4.31 (0.34) 74.23
65.49 (0.13) 14.47 (0.54) (0.98) (2.69) 1.08 1.09 (0.25) (0.42) 165.10
116
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) (หน่วย : ล้ านบาท) สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 2560
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายกองทุนเปิ ด เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อกองทุนเปิ ด เงินสดรับจากการขายที่ดินและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดสุทธิได้ จากการดาเนินงานที่ยกเลิก รับดอกเบี ้ย เงินฝากประจาในสถาบันการเงินลดลง รับคืนเงินให้ ก้ ยู มื แก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินให้ ก้ ยู ืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุ้นทุน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินสดจ่ายเพื่อชาระเงินกู้ยมื ระยะสันจากสถาบั ้ นการเงิน เงินสดจ่ายเพื่อชาระเงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดที่ผ้ เู ช่าจ่ายเพื่อลดจานวนหนี ้สินซึง่ เกิดจากสัญญาเช่าการเงิน และสัญญาเช่าซื ้อ เงินปั นผลจ่ายให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริษัท ดอกเบี ้ยจ่าย เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ชาระคืนเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ชาระคืนทุนให้ ผ้ ถู ือหุ้นของบริษัท กระแสเงินสดสุทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรม จัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
407.33 (376.51) (5.37) (0.24) 0.03 0.86 30.00 27.90 (27.90) 56.11
283.33 (372.70) 32.19 (2.90) (3.04) 4.08 0.05 (58.98)
527.55 (854.96) 0.0002 (20.22) (0.62) 0.10 (348.15)
202.40 (12.92)
(13.52)
416.22 250.00 (210.00) (14.04)
(1.37)
(1.57)
(1.62)
(352.00) (4.47) 70.00 (70.00) (16.00)
(4.22) -
(235.97) (8.33) -
(184.35)
(19.30)
196.26
6.07 6.55 12.62
(4.05) 12.62 8.57
13.22 8.57 21.78
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 6
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
117
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
บริ กัดด(มหาชน) บริษษัทัท สากล สากล เอนเนอยี เอนเนอยีจ�จำากั (มหาชน) อัอัตตราส่ ราส่ววนทางการเงิ นทางการเงินน อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
2558
2559
2560
1.57
4.05
5.22
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)
1.32
3.69
5.02
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)
2.40
1.13
2.04
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี ้การค้ า (เท่า)
5.47
3.94
3.45
65.83
91.31/5
104.48/5
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า)/1
n/a
n/a
n/a
ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีย่ (วัน) /1
n/a
n/a
n/a
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี ้ (เท่า)
6.15
6.27
6.31
58.56
57.45
57.07
Cash Cycle (วัน) /2
7.27
33.85/5
47.41/5
อัตรากาไรขันต้ ้ น (%)
41.35
38.62
38.70
อัตรากาไรจากการดาเนินงาน (%)
36.51
33.72
26.54
0.79
1.60
0.64
108.07
57.10
200.56/6
อัตรากาไรสุทธิ (%)
32.10
30.80
22.15
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)
22.12
22.53
9.75
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)
17.32
17.98
8.20
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%)
21.88
24.78
18.29
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า)
0.54
0.58
0.37
อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)
0.31
0.21
0.17
31.68
19.12
20.79
0.28
3.53
0.34
293.56
192.10
-
ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ (วัน)
ระยะเวลาชาระหนี ้ (วัน)
อัตรากาไรอื่น อัตราส่วนเงินสดต่อการทากาไร (%)
อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี ้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (เท่า) /3 อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%)/4 หมายเหตุ:
/1 /2 /3
/4 /5
เนื่องจากบริษัทฯ และบริ ษัทย่อยดาเนินธุรกิจการให้ บริ การอัดก๊ าซธรรมชาติ จึงไม่มีรายการสินค้ าคงเหลือ Cash Cycle ของบริษัทฯ และบริ ษัทย่อย ในปี 2558 - 2560 คานวณจาก ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ หักด้ วย ระยะเวลาชาระหนี ้ บริ ษัทฯ มีอตั ราส่วนความสามารถชาระภาระผูกพันน้ อยกว่า 1 เนือ่ งจากการจ่ายเงินปั นผลจากผลการ ดาเนินงานในปี 2558 และปี 2560 อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 บริ ษัทฯ มีการประกาศจ่ายเงินผลสาหรับงวด การดาเนินงาน แต่จ่ายจริ งในปี 2560 ส่งผลให้ ในปี 2559 ไม่มีผลกระทบจากการจ่ายเงินปั นผล อัตราเงินปั นผล คิดจากอัตราเงินปั นผลจ่ายจากผลประกอบการของบริ ษัทฯ หารด้ วยกาไรส่วนที่เป็ นส่วนของ ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ซึง่ คิดคานวณจากงบเฉพาะกิจการ บริ ษัทฯ มีระยะเวลาเก็บหนี ้และ Cash Cycle สูงกว่าปกติ เนื่องจากการแปรสภาพจากบริ ษัทจากัดเป็ น บริ ษัทมหาชน ทาให้ สง่ ผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงสัญญากับ ปตท. ซึง่ ต้ องใช้ เวลาในการเปลีย่ นแปลง 12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 7
118
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
/6
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ระยะหนึง่ ส่งผลให้ มกี ารชาระหนี ้ล่าช้ าออกไป อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ รับชาระหนี ้จานวน 61.78 ล้ านบาท จาก ปตท. เป็ นทีเ่ รี ยบร้ อยแล้ ว ทังนี ้ ้ หากคานวณอัตราส่วน โดยการตัดรายการผิดปกติดงั กล่าวทีเ่ กิดขึ ้น เพียงครัง้ เดียวออก บริ ษัทฯ จะมีระยะเวลาเก็บหนี ้ เท่ากับ 62.46 วัน และ 68.62 วัน และมี Cash Cycle เท่ากับ 5.01 และ 11.55 วัน สาหรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31 ธันวาคม 2560 ตามลาดับ ซึง่ ใกล้ เคียงกับปี ก่อนหน้ า ณ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีลกู หนี ้การค้ าส่วนหนึง่ จานวน 61.78 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นรายการที่ค้างชาระ เกินกว่าปกติ เนื่องจากการเปลีย่ นแปลงสัญญาของบริษัท ในระหว่างการแปลงสภาพเป็ นบริ ษัทมหาชน โดย ลูกหนี ้การค้ าดังกล่าวได้ รับชาระเงินแล้ วในเดือนมกราคม 2560
12. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ หน้ า 8
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
119
13.การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A)
13.1 ภาพรวมของการด�ำเนินงานที่ผ่านมา
บริษทั ฯ จดทะเบียนจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ด�ำเนินกิจการให้บริการการอัดก๊าซธรรมชาติ (NaturalGas Vehicles: NGV) ให้รถ ขนส่งก๊าซธรรมชาติของ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (“ปตท.”) หลังจากทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกจาก ปตท. ในโครงการจัดตัง้ สถานี ก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน (Private Mother Station) ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดปทุมธานีและจังหวัดสระบุรี โดยมีอายุสญ ั ญา 20 ปี ปัจจุบันบริษัทฯ มีสถานีก๊าซธรรมชาติหลัก จ�ำนวน 2 แห่ง คือ สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชน ต�ำบลเชียงราก น้อย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติสูงสุด เท่ากับ 350 ตันต่อวัน และสถานีก๊าซธรรมชาติ หลักเอกชน ต�ำบลท่ามะปราง อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี มีก�ำลังการอัดก๊าซธรรมชาติสูงสุด เท่ากับ 400 ตันต่อวัน โดยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้เปลี่ยนมาใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่งใช้ใน การจัดท�ำงบการเงินรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และส�ำหรับปีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 การถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานรายงานทางการเงินดังกล่าวมีผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงนโยบายการ บัญชีของกลุม่ บริษทั ฯ ในบางเรือ่ ง ซึง่ รวมถึงการเริม่ ใช้การตีความมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC4)ทีก่ ำ� หนด ให้ประเมินว่าข้อตกลงเป็นสัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบหรือไม่ โดยพิจารณาจากเนื้อหาของข้อตกลงและ ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไขหรือไม่ ซึ่งมีข้อตกลงที่เข้าเงื่อนไขได้แก่ การใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และการให้สิทธิใน การใช้สินทรัพย์นั้น ทั้งนี้ การประเมินดังกล่าวให้รวมถึงข้อตกลงซึ่งไม่ได้มีรูปแบบของสัญญาเช่าตามกฎหมาย บริษัทฯ และ บริษัทย่อยได้น�ำการตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ เนื่องจากบริษัทฯ มีสัญญาให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. ที่เนื้อหาของสัญญามีสัญญาเช่าทางการเงินเป็นส่วนประกอบ ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมารายได้หลักของบริษัทฯ และบริษัทย่อยมาจากการให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติ ให้แก่ ปตท. ซึ่งเป็นรายได้ที่ค่อนข้างมีความแน่นอน เนื่องจากเป็นการให้บริการภายใต้สัญญาระยะยาวที่มีการก�ำหนดปริมาณขั้น ต�่ำในการจ�ำหน่าย และก�ำหนดสูตรราคาให้บริการอย่างชัดเจน โดยรายได้รวมของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยส�ำหรับงวดปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 เท่ากับ 363.17 ล้านบาท และ 414.38 ล้านบาทตามล�ำดับ โดยในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้เพิ่มขึ้น 51.21 ล้านบาทจากปีก่อน สาเหตุหลักจากการที่1) บริษัทฯ มีปริมาณการอัดก๊าซ ธรรมชาติเพิม่ ขึน้ ท�ำให้รายได้จากการให้บริการเพิม่ ขึน้ 2) บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้ในส่วนของการปรับปรุงคุณภาพก๊าซของสถานี ก๊าซธรรมชาติปทุมธานีตลอดทั้งปี เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งรับรู้รายได้เพียง 4 เดือน (กันยายน ถึง ธันวาคม 2558) ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานในงวดปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายได้รวมเท่ากับ 333.70 ล้านบาท ซึง่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายได้รวมลดลง 80.68 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 19.47 เนือ่ งจากการรับ รูร้ ายได้ทล่ี ดลงโดยมีสาเหตุหลักจาก 1) รายได้ในส่วนการปรับปรุงคุณภาพลดลง ตามสัดส่วนปริมาณการผสมระหว่างก๊าซเฉือ่ ย ต่อก๊าซ NGV ทีล่ ดลงตามนโยบายของปตท.โดยปตท.ได้มกี ารทีป่ รับค่าพลังงานความร้อนสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ค่าพลังงานความ ร้อนดังกล่าวยังอยูใ่ นระดับทีก่ รมธุรกิจพลังงานก�ำหนดโดยระดับค่าพลังงานความร้อน (Wobbe Index) ทีเ่ หมาะสมกับรถยนต์ อยูใ่ นช่วงระหว่าง 37 ถึง 42 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร 2) ปริมาณการอัดก๊าซธรรมชาติลดลง ตามความต้องการของผูใ้ ช้ทลี่ ดลง บางส่วน และ 3) อัตราค่าบริการอัดก๊าซธรรมชาติและปรับปรุงคุณภาพก๊าซลดลง ตามสูตรราคาให้บริการ
13.2
การวิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน
120
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) 13.2.1 รายได้
ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย รายได้ จากการให้ บริ การอัดก๊ าซธรรมชาติให้ กับ ปตท. 13.2รายได้ การวิรเวมของบริ คราะห์ผลการด� ำเนินงาน
เป็ นรายได้ หลักของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย โดยปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติที่เพิ่มขึ ้นหรื อลดลง ในแต่ละปี ไม่แตกต่าง ซึง่ ถือ13.2.1 รายได้ ก เนื ่องจากบริษษทั ัทฯฯ และบริ มีลกู ค้ าษรายเดี คือ ปตท.วซึย่งมีรายได้ การให้จากการให้ บริ การภายใต้ สญ ั ดญาระยะยาวที กันมากนั รายได้ รวมของบริ ทั ย่อยยวประกอบด้ บริการอั ก๊าซธรรมชาติ่มให้ีกการก บั าหนดปริ ปตท. ซึง่ มถืาณ อ ขันต ้ ่าในการจ าหน่ษาทั ยอย่ างชัดเจน มาณการอั ดก๊ าดซที พิ่มขึ ้นหรื อทลดลงในแต่ ะปี เป็ นในแต่ ผลจากความต้ องการใช้ ก๊าซ เป็นรายได้ หลักของบริ ฯ และบริ ษทั ย่โดยปริ อย โดยปริ มาณการอั ก๊า่เซธรรมชาติ เี่ พิม่ ขึน้ หรือลลดลง ละปีไม่แตกต่ างกันมาก ธรรมชาติ นัก เนื อ่ งจากบริณษขณะนั ทั ฯ มีลน้ กู ค้ารายเดียว คือ ปตท. ซึง่ มีการให้บริการภายใต้สญ ั ญาระยะยาวทีม่ กี ารก�ำหนดปริมาณขัน้ ต�ำ่ ในการ จ�ำหน่ายอย่างชัทัดงนี โดยปริสมญ ก๊าซที ม่ ขึน้ หรือลดลงในแต่ ละปีบริเป็ษนัทผลจากความต้ องการใช้ กา๊ ซธรรมชาติ ณ ขณะนั น้ ้ เจน้ ภายใต้ ั าณการอั ญาบริ กดารอั ดก๊เ่ าพิซธรรมชาติ ให้ แก่ ปตท. ฯ จะรับรู้ รายได้ ค่าตอบแทนจากการบริ การตาม จานวนที ทั้งนี่อ้ ดั ภายใต้ สัญญาบริ ดก๊งาเป็ซธรรมชาติ ก๊ าซธรรมชาติ จริ งการอั โดยแบ่ น 2 ส่วน ใดัห้งแนีก่้ ปตท. บริษัทฯ จะรับรู้รายได้ค่าตอบแทนจากการบริการตาม จ�ำนวนที่อัดก๊าซธรรมชาติจริง โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1) ค่าตอบแทนการลงทุน (Availability Payment: AP) ซึ่งจะเป็ นค่าตอบแทนคงที่ตลอดอายุสญ ั ญาที่ ปตท. 1) ค่าตอบแทนการลงทุน (Availability Payment: AP) ซึ่งจะเป็นค่าตอบแทนคงที่ตลอดอายุสัญญาที่ ปตท. จ่ายให้ บริ ษัทฯ สาหรั บค่าก่อสร้ างสถานีก๊าซธรรมชาติ รวมถึงภาระเงินกู้และผลตอบแทนของบริ ษัทฯ(Capacity Cost) จ่ายให้บริษัทฯ ส�ำหรับค่าก่อสร้างสถานีก๊าซธรรมชาติ รวมถึงภาระเงินกู้และผลตอบแทนของบริษัทฯ(Capacity Cost) โดยบริ ษัทฯ จะรับรู้เป็ นรายได้ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน โดยบริษัทฯ จะรับรู้เป็นรายได้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน าเนิน(Energy การ (Energy Payment: ซึ่งจะแปรผั นตามการด าเนิดนก๊การอั ดก๊ าำเนิ ซและด าเนิบนปรุ การปรั บ ปรุ ง 2) ค่2)าด�ำค่เนิานดการ Payment: EP) ซึง่ EP) จะแปรผั นตามการด� ำเนินการอั าซและด� นการปรั งคุณภาพ ่เกิดขึ ้นจริ นทึกเป็ นรายได้ จบากการให้ ก๊าซทีคุณ ่เกิภาพก๊ ดขึ้นจริาซที ง โดยบริ ษัทงฯโดยบริ จะบันษทึัทกฯเป็จะบั นรายได้ จากการให้ ริการ บริ การ ดังนัดั้นงรายได้ หลักหของบริ ษัทฯษและบริ ษัทย่ษอัทยย่ประกอบด้ วย 1) จากการให้ บริกบารอั ก๊าดซธรรมชาติ และและ นัน้ รายได้ ลักของบริ ัทฯ และบริ อย ประกอบด้ วยรายได้ 1) รายได้ จากการให้ ริ กดารอั ก๊ าซธรรมชาติ 2) รายได้ ตามสัตามสั ญญาเช่ าทางการเงิ น เนืน่อเนื งจากบริ ษัทฯษัทและบริ ษัทษย่ัทอย่ยได้ น�ำนการตี ความมาตรฐานรายงานทางการเงิ 2) รายได้ ญญาเช่ าทางการเงิ ่องจากบริ ฯ และบริ อยได้ าการตี ความมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบั นฉบับทีบ่ที่ 4 (TFRIC4) มาถืมาถื อปฏิอบปฏิ ัติตบามที ่กล่า่กวไว้ ้างต้ข้านงต้ น 4 (TFRIC4) ตั ิตามที ล่าขวไว้
ทั้งนี้ โครงสร้ ษัทฯษและบริ ัทย่อบยปี ส�2558 ำหรับถึปีง 2560 2558 สามารถจ ถึง 2560าแนกได้ สามารถจ�ดังำนีแนกได้ ดังนี้ ทังนี ้ ้ โครงสร้ างรายได้างรายได้ ของบริ ษขัทองบริ ฯ และบริ ัทย่อย สษาหรั ้ ปี 2558 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ รายได้ รายได้ จากการให้ บริการ รายได้ ตามสัญญาเช่าการเงิน รายได้ อื่น/1 รวมรายได้ หมายเหตุ
340.36 19.94 2.87 363.17
ปี 2559 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ
93.72 5.49 0.79 100.00
385.55 22.18 6.65/2 414.38
93.04 5.35 1.60 100.00
/1
รายได้ อื่น ได้ แก่ กาไรจากการจาหน่ายกองทุนเปิ ด ดอกเบี ้ยรับ รายได้ คา่ เช่าและค่าสาธารณูปโภค เป็ นต้ น
/2
รายได้ อื่นที่เพิ่มขึ ้นในปี 2559 เนื่องจากบริ ษัทฯ มีการรับรู้ กาไรจากการขายที่ดนิ
ปี 2560 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ 310.15 21.43 2.12 333.70
92.94 6.42 0.64 100.00
1.1.รายได้ รายได้จจากการให้ ากการให้บบริริกการ าร ในปีในปี 25592559 บริษบริัทฯษัทและบริ ษัทษย่ัทอย่ยอมียรายได้ จากการให้ บริบกริารเท่ ากัาบกับ385.55 ่มขึ่ม้นขึ 45.19 ฯ และบริ มีรายได้ จากการให้ การเท่ 385.55ล้าล้นบาท านบาทซึ่งซึเพิง่ เพิ ้น 45.19ล้าล้นบาท านบาท หรือหรื เพิอ่มเพิ ขึ้น่มคิขึด้นคิ เป็ดนเป็ร้อนยละ 13.28 เมื อ ่ เที ย บกั บ ปี ก อ ่ น โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก จาก 1) บริ ษ ท ั ฯ มี ป ริ ม าณการอั ด ก๊ า ซธรรมชาติ เพิ่ม ร้ อยละ 13.28 เมื่อเทียบกับปี ก่อน โดยมีสาเหตุหลักจาก 1) บริ ษัทฯ มีปริ มาณการอัดก๊ าซธรรมชาติเพิม่ ขึ ้น ขึน้ ท�ำให้รายได้จากการให้บริการเพิม่ ขึน้ 2) บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้ในส่วนของการปรับปรุงคุณภาพก๊าซของสถานีกา๊ ซธรรมชาติ ทาให้ รายได้ จากการให้ บริ การเพิ่มขึ ้น 2) บริ ษัทฯ รับรู้ รายได้ ในส่วนของการปรับปรุ งคุณภาพก๊ าซของสถานีก๊าซธรรมชาติ ปทุมธานีตลอดทั้งปี เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งรับรู้รายได้เพียง 4เดือน (กันยายน ถึง ธันวาคม 2558) ปทุมธานีตลอดทังปี ้ เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึง่ รับรู้รายได้ เพียง 4 เดือน (กันยายน ถึง ธันวาคม 2558) รายได้จากการให้บริการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 310.15 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากงวดเดียวกันของปี ก่อนเท่ากับ 75.40 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 19.56 โดยมีสาเหตุหลักจาก 1) รายได้ในส่วนการปรับปรุงคุณภาพ การวิ่อเยต่ คราะห์ าอธิบทีายของฝ่ ายจัดการ หน้ า 2 ลดลง ตามสัดส่วนปริมาณการผสมระหว่างก๊13.าซเฉื อก๊าแซละคNGV ่ลดลงตามนโยบายของปตท.โดยปตท.ได้ มีการที่ปรับค่า พลังงานความร้อนสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ค่าพลังงานความร้อนดังกล่าวยังอยูใ่ นระดับทีก่ รมธุรกิจพลังงานก�ำหนด โดยระดับค่า
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
121
พลังงานความร้อน (Wobbe Index) ทีเ่ หมาะสมกับรถยนต์อยูใ่ นช่วงระหว่าง 37 ถึง 42 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร 2) ปริมาณ การอัดก๊าซธรรมชาติลดลง ตามความต้องการของผูใ้ ช้ทลี่ ดลงบางส่วน และ 3) อัตราค่าบริการอัดก๊าซธรรมชาติและปรับปรุง คุณภาพก๊าซลดลง ตามสูตรราคาให้บริการ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่เดือนกันยายน 2560 บริษัทฯ มีปริมาณการอัดก๊าซส่วนหนึ่งที่เพิ่มเติม เนื่องจากสถานีแม่ของ ปตท. ที่บริเวณปทุมธานีปิดซ่อมบางส่วนประมาณ 12 เดือน จึงท�ำให้ปริมาณอัดก๊าซธรรมชาติบางส่วนมายังสถานีของบ ริษัทฯ ที่จังหวัดปทุมธานีมากขึ้น ซึ่งท�ำให้ปริมาณอัดก๊าซธรรมชาติรวมในเดือนกันยายน 2560 สูงขึ้นกว่าที่ผ่านมา 2. รายได้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน เนื่องจากบริษัทฯ เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี โดยเริ่มใช้การตีความมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC4) ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ซึง่ จะส่งผลกระทบต่องบการเงินของบริษทั ฯ กล่าวคือ บริษทั ฯ ต้องรับรูส้ นิ ทรัพย์ภายใต้ สัญญาเช่าการเงินเป็นลูกหนีใ้ นงบแสดงฐานะการเงินด้วย จ�ำนวนทีเ่ ท่ากับเงินลงทุนสุทธิในสัญญาเช่า ซึง่ ถือว่าลูกหนี้สญ ั ญา เช่า คือ สินทรัพย์ที่จะท�ำให้บริษัทฯ ได้รับเงินต้นพร้อมกับรายได้ทางการเงินเพื่อชดเชยและตอบแทนส�ำหรับการลงทุนและ บริการที่ให้ ทั้งนี้บริษัทฯ จะรับรู้รายได้ตามสัญญาเช่าทางการเงินตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีการรับรูร้ ายได้ตามสัญญาเช่าทางการ เงินเท่ากับ 19.94 ล้านบาท 22.18 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 5.49 และร้อยละ 5.35ของรายได้รวมตามล�ำดับ โดยรายได้ ตามสัญญาเช่าทางการเงินที่เพิ่มขึ้นมีสาเหตุจาก บริษัทฯ มีการท�ำสัญญาปรับปรุงคุณภาพก๊าซที่เข้าเงื่อนไขเป็นสัญญาเช่า ทางการเงินเพิ่มเติมที่สถานีปทุมธานี ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีการรับรูร้ ายได้ตามสัญญาเช่าทางการเงินเท่ากับ 21.43 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 6.42 ของรายได้รวม ทั้งนี้รายได้ตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ลดลงจากปีก่อน เป็นไปตาม ลักษณะปกติของสัญญาเช่าทางการเงินตามที่อธิบายไว้ข้างต้น 3. รายได้อื่น บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายได้อนื่ ได้แก่ 1) รายได้คา่ สาธารณูปโภค จากการให้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� หรับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง และบริษัทอื่นๆ 2) รายได้ดอกเบี้ยรับ 3) ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายกองทุนเปิด ซึ่งการลงทุนในกองทุนเปิดนั้น เป็นการบริหาร เงินสดคงเหลือ โดยจะลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี้ ที่มีสภาพคล่องสูงและมีความเสี่ยงต�่ำ และ 4) รายได้อื่นๆ เช่น ราย ได้จากการขายเศษวัสดุ เป็นต้น ส�ำหรับงวดปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2558 และ 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้อื่น เท่ากับ 2.87 ล้าน บาท และ 6.65 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยในปี 2559 มีรายได้อื่นเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า เป็นผลมาจากบริษัทย่อยได้ขายที่ดิน จ�ำนวนหนึ่งท�ำให้รับรู้ก�ำไรจากการขายที่ดินเป็นจ�ำนวนเงิน 6.56 ล้านบาท ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้อื่นเท่ากับ 2.12 ล้านบาท ทั้งนี้ รายได้ อืน่ ทีล่ ดลงจากปีกอ่ น สาเหตุหลักเกิดจาก บริษทั เคยรับรูก้ ำ� ไรจากการขายทีด่ นิ ในช่วงพฤษภาคมของปี 2559 ขณะทีป่ นี ไี้ ม่มี รายการขายที่ดินดังกล่าว
122
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
13.2.2 ต้ นทุนการให้ บริการ กาไรขัน้ ต้ นและอัตรากาไรขัน้ ต้ น
13.2.2 ต้นทุนการให้บริการ ก�ำไรขั้นต้นและอัตราก�ำไรขั้นต้น 1. ต้ นทุนการให้ บริ การ 1. ต้นทุนการให้บริการ การให้บริบกริารของบริ การของบริษัทษฯั ท ฯและบริ และบริษษัทั ทย่ย่ออยยเป็เป็นนต้ต้นนทุทุนนทีที่ใช้่ ใช้สส�ำหรั าหรับบการอั การอัดก๊ดาก๊ซธรรมชาติ าซธรรมชาติโดยต้ โดยต้นทุนนทุนการให้ การ ต้ต้นนทุทุนนการให้ ริ การหลั าไฟฟ้ าจากการให้ การอัดก๊ดาก๊ซธรรมชาติ าซธรรมชาติซึซึ่งง่ มีมีออัตตั ราคิ ราคิดดค่ค่าาไฟเป็ ไฟเป็นนไปตามข้ ไปตามข้ ออกก�าหนดของการไฟฟ้ บริให้กบารหลั ก ได้กแได้ก่แค่ก่าค่ไฟฟ้ าจากการให้ บริบกริารอั ำหนดของการไฟฟ้าาส่ส่ววนน (กฟภ.)ตามปริ ตามปริมมาณการใช้ าณการใช้จริจงริและค่ งและค่ าซเฉื ่ อยที ในการปรั บปรุ ณภาพก๊ าซธรรมชาติโดยสามารถแยกราย โดยส ามารถแยก ภูภูมมิภิภาคาค(กฟภ.) าก๊าาก๊ซเฉื ่อยที ่ใช้่ใใช้นการปรั บปรุ งคุงณคุภาพก๊ าซธรรมชาติ รายละเอี นทุนการให้ บริ การหลั ละเอี ยดต้นยทุดต้นการให้ บริการหลั กได้ดกังได้นีด้ งั นี ้ ปี 2558 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ ต้ นทุนการให้ บริการ ต้ นทุนจากการให้ บริการอัดก๊ าซธรรมชาติ เงินเดือนและสวัสดิการ ต้ นทุนการให้ บริการอื่นๆ รวมต้ นทุนการให้ บริการ
181.88 6.18 11.56 199.62
91.11 3.10 5.79 100.00
ปี 2559 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ 214.89 7.71 14.03 236.63
90.81 3.26 5.93 100.00
ปี 2560 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท ร้ อยละ 169.78 8.42 11.93 190.13
89.30 4.43 6.27 100.00
โดยต้ นทุนการให้ บริ การ ประกอบด้ วย
1.1. ต้นทุนจากการให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติ 1.1. ต้ นทุนจากการให้ บริ การอัดก๊ าซธรรมชาติ ต้นทุนจากการให้บริการอัดก๊าซธรรมชาติประกอบด้วย 1) ค่าไฟฟ้า ในอัตราคิดค่าไฟฟ้าซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนดของ กฟภ. ต้ นทุนจากการให้ บริ การอัดก๊ าซธรรมชาติประกอบด้ วย 1) ค่าไฟฟ้า ในอัตราคิดค่าไฟฟ้าซึ่งเป็ นไปตาม ตามปริมาณการใช้จริงซึ่งตามสัญญาจ้างอัดก๊าซธรรมชาติที่ท�ำกับ ปตท.บริษัทฯ จะมีการด�ำเนินการเตรียมพร้อมการผลิต ข้ อกาหนดของ กฟภ. ตามปริ มาณการใช้ จริ งซึง่ ตามสัญญาจ้ างอัดก๊ าซธรรมชาติที่ทากับ ปตท.บริ ษัทฯ จะมีการดาเนินการ ตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น อัตราค่าไฟจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา On-peak และ Off-peak ตามแต่ความต้องการใช้ เตรี ยมพร้ อมการผลิตตลอด 24 ชั่วโมง ดังนัน้ อัตราค่าไฟจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา On-peak และ Off-peak ก๊าซธรรมชาติและปริมาณรถขนส่งจาก ปตท.ที่จะเข้ารับบริการอัดก๊าซธรรมชาติจากบริษัทฯ และ ตามแต่ความต้ องการใช้ ก๊าซธรรมชาติและปริ มาณรถขนส่งจาก ปตท.ที่จะเข้ ารับบริ การอัดก๊ าซธรรมชาติจากบริ ษัทฯ และ 2)ค่ าก๊าซเฉื่อยที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพก๊าซธรรมชาติซึ่งคิดจากค่าด�ำเนินการ ตามปริมาณน�้ำหนักก๊าซเฉื่อยที่ใช้จริงโดย 2)ค่ าซเฉื่อยที่ใช้ ในการปรั ปรุงคุาณซเฉื ภาพก๊ าซธรรมชาติซงึ่ คิดจากค่าดาเนินการ ตามปริ มาณน ้าหนักก๊ าซเฉื่อยที่ใช้ จริ งโดย อ้างอิางก๊ตามราคาตามสั ญญาซื้อบขายก๊ ่อยระยะยาว ญญาซื ่อยระยะยาว อ้ างอิงตามราคาตามสั 1.2. ต้นทุนการให้ บริก้อขายก๊ ารอีกส่าซเฉื วนหนึ ง่ ได้แก่ เงินเดือนและสวัสดิการของพนักงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ มีนโยบาย 1.2. ต้ น ทุ น การให้ บ ริ ก ารอี ก ส่ ว ่ง ได้ แก่ เงิรวมถึ นเดืองนและสวั ดิการของพนักงานที่เกีา่ยนต่วข้าองๆง โดยบริ ฯ มีบ ปรับขึน้ ตามความสามารถและผลงานของพนักนหนึ งานแต่ ละคน บริษทั พิจสารณาผลตอบแทนในด้ ให้ทดั เทีษยัทมกั บขึ ้นตามความสามารถและผลงานของพนั กงานแต่ กลุนโยบายปรั ่มธุรกิจประเภทเดี ยวกัน ตามนโยบายด้านบุคลากรของบริ ษัทลฯะคน รวมถึงบริ ษัทพิจารณาผลตอบแทนในด้ านต่างๆ ให้ บกลุต้ม่ นธุทุรนกิการให้ จประเภทเดี ยวกั่นนๆตามนโยบายด้ านบุคและค่ ลากรของบริ ษัทฯ ่องมือและเครื่องจักร ที่บริษัทฯ และบริษัท ทัดเทียมกั 1.3. บริการอื เช่น ค่าเสื่อมราคา าซ่อมแซมเครื 1.3. ำรุงรัต้กนษาเป็ ทุนการให้ บริำการอื ่นๆ แเช่ลรันกค่ษาเครื าเสื่อมราคา มแซมเครื ่ องจักร ที่บริงษานได้ ัทฯ และ ย่อยมีแผนการบ� นประจ� มีการดู ่องจักรอุและค่ ปกรณ์าซ่อและเครื ่องมื่ อองมืให้อสและเครื ามารถคงสภาพใช้ อย่าง บริ ษ ั ท ย่ อ ยมี แ ผนการบ ารุ ง รั ก ษาเป็ น ประจ า มี ก ารดู แ ลรั ก ษาเครื ่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ และเครื ่ อ งมื อ ให้ ส ามารถคงสภาพใช้ ง านได้ เหมาะสม (Preventive Maintenances) อย่างเหมาะสม ส�ำหรับปี(Preventive บัญชีสิ้นสุดวัMaintenances) นที่ 31ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนการให้บริการเท่ากับ 236.63 ล้าน บาท ซึ่งคิดสเป็าหรั นร้บอปียละ รวม โดยในปี บริษัทษฯัทย่และบริ อย มีตบ้นริทุการเท่ นการบริ ารเพิ่มขึล้้นานบาท 37.02 บญ ั ชี57.11 สิ ้นสุดวัของรายได้ นที่ 31ธันวาคม 2559 บริ2559 ษัทฯ และบริ อยมีต้ษนทุัทนย่การให้ ากับก236.63 ล้าซึนบาท เพิ่มขึ57.11 ้นคิดเป็ของรายได้ นร้อยละร18.54 จากปี2559 ก่อน บริ เป็ษนผลมาจากบริ ก๊าซธรรมชาติ เพิ่มล้ขึา้นนบาท และ ่งคิดเป็ นหรืร้ ออยละ วม โดยในปี ัทฯ และบริ ษัทษย่ัทอฯย มีมีปต้รินมทุาณการอั นการบริ กดารเพิ ่มขึ ้น 37.02 ปริหรืมอาณการปรั ภาพก๊ าซของสถานี ปทุมธานี ้งปี ที่เพิ่มดขึก๊้นาซธรรมชาติเพิ่มขึ ้น และปริ มาณการ เพิ่มขึ ้นคิดบเป็ปรุนงร้คุอณยละ 18.54 จากปี ก่อนก๊าเป็ซธรรมชาติ นผลมาจากบริ ษัทฯตมีลอดทั ปริ มาณการอั ปรับปรุงส�คุำณหรัภาพก๊ บปี 2560 บริษัทฯก๊าและบริ ษัทย่ปอทุยมมีธานี ต้นตทุลอดทั นการให้ าซของสถานี ซธรรมชาติ งปี ้ บทีริ่เพิการเท่ ่มขึ ้น ากับ 190.13ล้านบาท ซึ่งลดลง 46.50 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 19.65 โดยแปรผันตามรายได้ของกิจการ ประกอบกับราคาค่าก๊าซเฉือ่ ยและอัตราค่าไฟฟ้าทีป่ รับลด สาหรับปี 2560 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีต้นทุนการให้ บริ การเท่ากับ 190.13 ล้ านบาท ซึ่งลดลง 46.50 ล้ านบาท ลง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีต้นทุนการให้บริการในส่วนของเงินเดือนเพิ่มขึ้น เนื่องจากค่าใช้จ่ายเงินเดือนที่สูงขึ้นจากจ�ำนวน หรื อลดลงคิดเป็ นร้ อยละ 19.65 โดยแปรผันตามรายได้ ของกิจการ ประกอบกับราคาค่าก๊ าซเฉื่อยและอัตราค่าไฟฟ้าที่ปรับ พนักงานที่จ้างงานเพิ่มขึ้นรวมถึงการปรับเงินเดือนประจ�ำปี 13. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ หน้ า 4
ลดลง นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังมีต้นทุนการให้ บริ การในส่วนของเงินเดือนเพิ่มขึ ้น เนื่องจากค่าใช้ จ่ายเงิ นเดือนที�ปี่ส2560 งู ขึ ้นจาก รายงานประจำ บริ ษ ท ั สากล เอนเนอยี จำ � กั ด (มหาชน) จานวนพนักงานที่จ้างงานเพิ่มขึ ้นรวมถึงการปรับเงินเดือนประจาปี
123
าไรขั้นนต้ ้ต้นนและอั และอัตตราก� รากำาไรขั ้ ต้น 2.2.ก�กำไรขั ไรขั้นนต้ ปี
2558
ปี
(ตรวจสอบ) ล้ านบาท รายได้ จากการให้ บริ การ ต้ นทุนการให้ บริ การ กาไรขัน้ ต้ น
340.36 199.62 140.74
ร้ อยละ
100.00 58.65 41.35
2559
ปี 2560
(ตรวจสอบ) ล้ านบาท
385.55 236.63 148.91
ร้ อยละ
100.00 61.38 38.62
(ตรวจสอบ) ล้ านบาท
310.15 190.13 120.02
ร้ อยละ
100.00 61.30 38.70
ในปี2559 2559บริ บริษษัทัทฯฯ และบริ และบริ ษษัทัทย่ย่ออยย มีมีกกาไรขั ้ ้นต้นนเท่เท่าากักับบ148.91 ่มขึ่ม้นขึ้น8.17 ล้ านบาท หรื อหรื เพิอ่มเพิ ขึ ้น่ม ในปี �ำไรขันต้ 148.91ล้ าล้นบาท านบาทซึ่งซึเพิ่งเพิ 8.17 ล้านบาท ขึ้นคิคิดดเป็เป็นนร้ อยละ ร้อยละ5.81 5.81เมืเมื่อเที ่อเทียบกั ยบกับปีบกปี่อกน่อนสาเหตุ สาเหตุหลัหกลัมาจากการเพิ กมาจากการเพิ่ม่มขึขึ้นของรายได้ ้นของรายได้จจากการให้ ากการให้บบริริกการารอัอันนมีมีสสาเหตุ าเหตุจจาก าก 1)1) าณการอัดดก๊ก๊าซธรรมชาติ าซธรรมชาติเพิเพิ่ม่มขึขึ้น้นท ายได้จจากการให้ ากการให้บบริริกการเพิ ารเพิ่ม่มขึขึ้น้น 2) บริ ษัทฯ รับรูรู้ ร้รายได้ บริบริษษัทัทฯฯมีมีปปริมริ มาณการอั ท�ำาให้ ให้รรายได้ ายได้ใในส่ววนของการ นของการ บ ปรุงคุงณคุภาพก๊ ณ ภาพก๊ า ซของสถานี ก๊ า ซธรรมชาติ ทุมตธานี ต ลอดทั ่ อ เทีบปีย บกั บ ปี ซึ2558 ่ง รั บ รูเ้ พีรายได้ อน ปรัปรับปรุ าซของสถานี กา๊ ซธรรมชาติ ปทุมปธานี ลอดทั ง้ ปี เมือ่ง้ ปีเทีเมื ยบกั 2558 ง่ รับรูร้ ซึายได้ ยง 4เดืเ พีอยนง(กั4นเดืยายน ง ธันวาคม 2558)่อัตในขณะที าไรขั2559 นต้ ้ นในปี เท่ากั38.62 บร้ อยละ 38.62 ซึ่งลดลงจากปี เนื่อษงจาก ถึง(กัธันนยายน วาคม ถึ2558) ในขณะที ราก�ำไรขั่อ้นตั ต้ราก นในปี เท่ากั2559 บร้อยละ ซึ่งลดลงจากปี 2558 เนื่อ2558 งจากบริ ัทฯ มี บริ ษัทบฯริกมีารการปรั การให้ บริ กบารการปรั บปรุงาคุซเพิ ณภาพก๊ การให้ ปรุงคุณภาพก๊ ่มขึ้นาซเพิ่มขึ ้น ส�ำสหรั บปีบปี 2560 บริษบริ ัทฯษัและบริ ษัทย่อยษั มีทย่ ก�ำอไรขั เท่ากับน้ ต้120.02ล้ ซึ่งลดลง 28.89 ล้ซึา่ งนบาท เทียบ าหรั 2560 ทฯ และบริ ย ้นมีต้กนาไรขั นเท่ า กัาบนบาท 120.02 ล้ านบาท ลดลงเมื่อ28.89 กับล้ าปีนบาท ก่อน หรื ยละอลดลงคิ 19.40ดมีเป็สนาเหตุ หลัก19.40 มาจากรายได้ บริการอัจดากการให้ ก๊าซธรรมชาติ ลดลงตามปริ มาณ เมือ่อลดลงคิ เทียบกับดปีเป็กน่อร้นอหรื ร้ อยละ มีสาเหตุจหากการให้ ลักมาจากรายได้ บริ การอั ดก๊ าซธรรมชาติ การอั ดก๊าซธรรมชาติ ประกอบกั บปริมาณก๊ประกอบกั าซเฉือ่ ยทีบใ่ ปริ ช้ในการปรั บปรุ่องยที คุณ่ใช้ภาพที ล่ ดลงตามนโยบายของ ปตท. และค่าบริการ ลดลงตามปริ มาณการอั ดก๊ าซธรรมชาติ มาณก๊ าซเฉื ในการปรั บปรุ งคุณภาพที่ลดลงตามนโยบายของ อัดปตท. ก๊าซธรรมชาติ งคุณภาพก๊ าซลดลงอย่ ตามาซลดลง ส�ำหรับอย่ ในปีางไรก็ 2560ตาม บริสษาหรั ัทฯ บมีในปี อัตราก� ำไรขับริ้นษต้นัทฯเท่มีาอกัตั บราก ร้อยละ และค่าบริแกละปรั ารอัดบก๊ าปรุซธรรมชาติ และปรั บปรุงคุาณงไรก็ ภาพก๊ 2560 าไร 38.70 ่งใกล้ ก่อน ซึง่ ใกล้ เคียงกับปี ก่อน ขันต้ ้ นซึเท่ ากับเคีร้ ยองกั ยละบปี38.70 13.2.3 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน และอัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงาน 1. ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายหลักได้แก่ ค่าตอบแทนพนักงาน โดยบริษัทฯ มีนโยบายปรับเงินเดือนตาม ความสามารถและผลงานของพนักงานแต่ละคน รวมถึงบริษทั ฯ พิจารณาผลตอบแทนในด้านต่างๆ ให้ทดั เทียมกับกลุม่ ธุรกิจ ประเภทเดียวกัน ตามนโยบายด้านบุคลากรของบริษัทฯ รองลงมาเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหาร เช่น ค่ารักษาความปลอดภัย ค่าเสื่อมราคา และค่าที่ปรึกษา เป็นต้น บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายในการบริหารในปี 2559 เท่ากับ 47.74 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2558 เท่ากับ 8.47 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 21.56 มีสาเหตุหลักจากค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร เงินเดือน และผลประโยชน์ พนักงานทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากมีการปรับฐานเงินเดือน เพิม่ สวัสดิการ รวมไปถึง ค่าตอบแทนกรรมการทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามการประชุม ของกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆระหว่างปี 2559 นอกจากนี้ บริษัทฯ มีค่าบริการอื่นเพิ่มขึ้น เนื่องจาก บริษัทย่อยมีการจัดท�ำประชาพิจารณ์ในการที่จะก่อตั้งโรงไฟฟ้าชีวมวล ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 61.25ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 13.51 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น หรือเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 28.31 สาเหตุหลักจากค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับบุคลากรทีส่ งู ขึน้ จากจ�ำนวน พนักงานทีจ่ า้ งงานเพิม่ ขึน้ ในปีนี้ รวมถึงการปรับเงินเดือนประจ�ำปี นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้ยา้ ยส�ำนักงานและปรับขยายพืน้ ที่ เช่าเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคตท�ำให้มีรายการค่าเช่าที่เพิ่มขึ้นอีกทั้ง บริษัทฯมีค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการเตรียมความ พร้อมเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ได้แก่ ค่าทีป่ รึกษาด้านประชาสัมพันธ์ ค่าธรรมเนียมจดทะเบียน 13. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ หน้ า 5 และค่าสอบบัญชีที่เพิ่มขึ้น
ขยายพื ้นที่เช่าเพื่อรองรับการเติ บโตในอนาคตทาให้ มีรายการค่าเช่าที่เพิ่มขึ ้น อีกทัง้ บริ ษัทฯมีค่าใช้ จ่ายอันเนื่องมาจากการ เตรี ย มความพร้ รายงานประจำอมเข้ �ปี 2560า จดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง ได้ แ ก่ ค่ า ที่ ป รึ ก ษาด้ า นประชาสัม พัน ธ์ บริ ษ ท ั สากล เอนเนอยี �กัด (มหาชน) ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนจำและค่ าสอบบัญชีที่เพิ่มขึ ้น
124
2. 2.กาไรจากการด าเนิำเนิ นงาน ตราก าไรจากการด าเนินำเนิ งาน ก�ำไรจากการด� นงานและอั และอั ตราก� ำไรจากการด� นงาน ปี 2558 (ตรวจสอบ) ล้ านบาท กาไรขันต้ ้ น รายได้ ตามสัญญาเช่าการเงิน รายได้ อื่น ค่าใช้ จา่ ยในการบริหาร กาไรจากการดาเนินงาน
ปี 2559 (ตรวจสอบ)
ร้ อยละ
ล้ านบาท
ปี 2560 (ตรวจสอบ)
ร้ อยละ
ล้ านบาท 120.02
ร้ อยละ 38.70 6.91 0.68
140.74
41.35
148.91
38.62
19.94
5.86
22.18
5.75
2.87
0.84
6.65
1.72
21.43 2.12
39.27
11.54
47.74
12.38
61.25
19.75
124.28
36.51
130.01
33.72
82.32
26.54
หมายเหตุ การคานวณร้ อยละตามตารางด้ านบน อ้ างอิงเทียบกับรายได้ จากการให้ บริการ
ในปี2559 2559บริ บริษษัทัทฯฯ และบริ ษัทย่อยมีกาไรจากการด ในปี �ำไรจากการด�าเนิ ำเนินงาน เท่ เท่าากับ 130.01 130.01ล้ล้าานบาท นบาทซึซึ่ง่งเพิเพิ่ม่มขึขึ้น้น5.73 5.73ล้ล้าานบาท นบาท มปีมปีจากการปรั บปรุบปรุ งคุณ าซทีาซ่ หรืหรืออเพิเพิ่ม่มขึขึ้น้นคิ คิดดเป็เป็นนร้อยละ 4.61 เมื่อเทียบกับบปีปี 2558 2558เนืเนื่อ่องจากการรั งจากการรับบรู้รรูายได้ ้รายได้ที่เทพิี่เ่มพิขึ่ม้นเต็ ขึ้นเต็ จากการปรั งคุภาพก๊ ณภาพก๊ ทีสถานี ่สถานีปปทุทุมมธานี เป็เป็นนหลั หลักก อย่ อย่าางไรก็ งไรก็ตตาม าม อัอัตตราก ราก�าไรจากการด ำไรจากการด�าเนิ ำเนินงานปี 2559 2559 เท่เท่าากักับบร้ร้อยละ อยละ33.72 33.72ซึซึ่ง่งลดลงจากปี ลดลงจากปี2558 2558 เนืเนื่อ่องจากการให้ ภาพก๊ อัตอราก� ำไรขั ้นต้นต้ าราย งจากการให้บบริกริ การปรั ารปรับบปรุปรุงคุงคุณณภาพก๊ ภาพก๊าซที าซที่เพิ่เพิ่มขึ่ม้นขึ ้นแต่แต่รายได้ รายได้จากการปรั จากการปรับปรุ บปรุงคุงณ คุณ ภาพก๊าซมี าซมี ตั ราก าไรขั ้ นต�น่ำตกว่่ากว่ า ได้รายได้ จากการให้ บริการอั าซธรรมชาติ รวมถึงมีรวมถึ คา่ ใช้จงมีา่ ยในการบริ หารทีเ่ พิม่ หขึารที น้ จากการปรั บฐานเงินบเดืฐานเงิ อน และการเพิ ม่ ขึน้ ของ จากการให้ บริดกก๊ารอั ดก๊ าซธรรมชาติ ค่าใช้ จ่ายในการบริ ่เพิ่มขึ น้ จากการปรั นเดือน และการ การประชุ มคณะกรรมการชุ ดต่างๆระหว่ดาต่งาปีงๆระหว่ 2559าเพื มีความพร้ ยนในตลาดหลั กทรัพย์ นอกจากนี เพิ่มขึ ้นของการประชุ มคณะกรรมการชุ ง ปี่อให้ 2559 เพื่อให้อมมในการจดทะเบี ีความพร้ อมในการจดทะเบี ยนในตลาดหลั กทรัพย์ ้ บรินอกจากนี ษัทฯ มีค้่าบริบริษกัทารอื ้น เนื่น่อเพิงจากบริ ย่อยมีกษารจั ท�ำกประชาพิ จารณ์ในการที อตั้งโรงไฟฟ้ า้ ชีวมวลาชีวมวล ฯ มี่นคเพิ า่ บริ่มกขึารอื ่มขึ ้น เนืษ่อัทงจากบริ ัทย่อดยมี ารจัดทาประชาพิ จารณ์่จใะก่ นการที ่จะก่อตังโรงไฟฟ้ ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีก�ำไรจากการด�ำเนินงานเท่ากับ 82.32 ล้านบาท ซึ่งลดลง 47.69 ล้าน 13. 36.68 การวิเคราะห์ ละคาอธิบายของฝ่ ดการ หน้ า ก6๊าซเฉื่อยในการปรับปรุงคุณภาพลดลง บาท จากปีก่อน หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ เป็นแผลมาจาก 1) ปริายจั มาณการใช้ ตามปริมาณการอัดก๊าซธรรมชาติทลี่ ดลง 2) ปริมาณการอัดก๊าซธรรมชาติลดลง และ 3) อัตราค่าบริการอัดก๊าซธรรมชาติและ ปรับปรุงคุณภาพก๊าซลดลง ตามสูตรราคาให้บริการ อีกทั้ง สาเหตุจากค่าใช้จ่ายในการบริหารที่ยังเพิ่มขึ้น อาทิเช่น ค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับจ�ำนวนบุคลากรที่เพิ่มขึ้น การปรับเงินเดือนประจ�ำปี รวมถึงมีการจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการอื่น เช่น โบนัส เป็นต้น นอกจากนีบ้ ริษทั ได้ยา้ ยส�ำนักงานและปรับขยายพืน้ ทีเ่ ช่าเพือ่ รองรับการเติบโตในอนาคตท�ำให้มรี ายการค่าเช่าทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทัง้ บริษทั ฯมีคา่ ใช้จา่ ยอันเนือ่ งมาจากการเตรียมความพร้อมเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วย เหตุผลหลักข้างต้นจึงท�ำให้อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2560 เท่ากับร้อยละ 26.54 ลดลงจากปีก่อน ซึ่งมีอัตรา ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน เท่ากับร้อยละ 33.72 13.2.4 ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรสุทธิและอัตราก�ำไรสุทธิ 1. ต้นทุนทางการเงิน ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 4.11 ล้านบาท ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนทางการเงินของปี 2558 ซึ่งเท่ากับ 4.41 ล้านบาท ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 8.35 ล้านบาท ซึ่งมีต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้น จากปีก่อน เนื่องจากบริษัทมีเงินกู้ยืมเงินระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นในระหว่างปีเพื่อใช้หมุนเวียนในกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มียอดเงินกู้ยืมระยะสั้นจ�ำนวน 40.00 ล้านบาท 2. ก�ำไรสุทธิและอัตราก�ำไรสุทธิ ในปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีก�ำไรสุทธิเท่ากับ 127.64 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 11.07 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อย ละ 9.50 เมื่อเทียบกับปีก่อน สาเหตุหลักมาจากรายได้จากการให้บริการเพิ่มขึ้น ในขณะที่อัตราก�ำไรสุทธิในปี 2559 เท่ากับ ร้อยละ 30.80 ซึง่ ลดลงจากปี 2558 เนือ่ งจากอัตราก�ำไรขัน้ ต้นและอัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงานทีล่ ดลงตามเหตุผลทีอ่ ธิบาย
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
125
ข้างต้น ในขณะที่ ปี 2559 ต้นทุนทางการเงินใกล้เคียงกับต้นทุนทางการเงินของปี 2558 ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีก�ำไรสุทธิเท่ากับ 73.92 ล้านบาท ซึ่งลดลง 53.72 ล้านบาท จากปีก่อน หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 42.09 เป็นผลมาจากรายได้จากการให้บริการส�ำหรับปี 2560 ลดลงเท่ากับ 75.40 ล้านบาท โดย บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีก�ำไรจากการด�ำเนินงานลดลง 47.69 ล้านบาท จากปีก่อน เป็นผลมาจากรายได้จากการให้บริการ ทีล่ ดลง และค่าใช้จา่ ยในการบริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการเพิม่ การจ้างงานพนักงาน การปรับเงินเดือนประจ�ำปี การย้ายส�ำนักงาน และปรับขยายพืน้ ทีเ่ ช่าเพือ่ รองรับการเติบโตในอนาคต รวมถึงค่าใช้จา่ ยอันเนือ่ งมาจากการเตรียมความพร้อมเข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในขณะที่อัตราก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี 2560 เท่ากับร้อยละ 22.15 ซึ่งลดลงจากปีก่อน บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) 13.3 การวิ 13.3 การวิเเคราะห์ฐานะทางการเงิน
13.3.1 สิสินนทรั ทรัพพย์ย์ 13.3.1 ปกรณ์ ้ตามสั ญญา สินทรัพย์รวมของบริ วมของบริษษัทัทฯฯและบริ และบริษษัทัทย่ย่ออยยมีมีองค์ องค์ปประกอบหลั ระกอบหลัก กได้ได้แแก่ก่ทีที่ดิน่ดินอาคาร อาคารและอุ และอุ ปกรณ์ลูกลูหนีกหนี ้ตามสั ญญา ธันวาคม 255825582559 2559 และและ 25602560สิ สินทรัพนย์ทรัรวมของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยษัท เช่าทางการเงิน และเงิ และเงินนลงทุ ลงทุนนชัชัว่ คราว ่วคราวณณวันวัทีน่ 31 ที่ 31 ธันวาคม พย์รวมของบริ ษัทฯ และบริ ล้ านบาท 762.18762.18 ล้ านบาท ล้ านบาทล้ตามล บ ซึง่ สามารถแยกรายละเอี ยดได้ ดงั นีย้ ดได้ดังนี้ ย่เท่อายกับเท่657.52 ากับ 657.52 ล้านบาท ล้าและ นบาท1,040.95 และ 1,040.95 านบาทาดัตามล� ำดับ ซึ่งสามารถแยกรายละเอี รายการ
31 ธันวาคม 2558 ล้ านบาท
ร้ อยละ
31 ธันวาคม 2559 ล้ านบาท
ร้ อยละ
31 ธันวาคม 2560 ล้ านบาท
ร้ อยละ
สินทรัพย์หมุนเวียน
109.82
16.70
250.30
32.84
524.07
50.34
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
547.70
83.30
511.87
67.16
516.89
49.66
657.52
100.00
762.18
100.00
1,040.95
100.00
สินทรัพย์ รวม
ษัทษฯัทและบริ ษัทษย่ัทอย่ยมี สินสทรั พย์พหย์มุหนมุเวีนยเวีนยน ณ วันที่่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559เทีเทียยบกั บกับบณณวัวันนทีที่ 31 ่ 31ธันธัวาคม นวาคม2558 2558บริบริ ฯ และบริ อยมี ินทรั ้ สิ้น้น 250.30 ล้ล้าานบาท จ�จำานวนทั นวนทั้งงสิ นบาท และ และ109.82 109.82ล้ าล้นบาท านบาทตามล ตามล�าดัำดับบซึ่งซึคิ่งคิดดเป็เป็นนสัสัดดส่ส่ววนต่นต่ออสิสินนทรัทรัพพย์ย์รวมอยู รวมอยู่ทที่ ร้ี่ อยละ ร้อยละ32.84 32.84 และร้ อยละ 16.70 นร้นอร้ยอย และร้ 16.70 ตามล ตามล�าดั ำดับ โดยกลุม่ บริ บริษัททฯมี ฯมีสสนิ นิ ทรั ทรัพพย์ย์หหมุมุนนเวีเวียยนเพิ นเพิ่มม่ ขึขึ้นจน้ จ�านวน ำนวน140.48 140.48ล้ าล้นบาท านบาทหรืหรือเพิ อเพิ่มขึม่ ้นคิ ขึน้ ดคิเป็ดเป็ 127.92 เนือ่ งจากมีการลงทุนเพิ่มขึ น้ ้นในเงิ าเนิำเนิ นงาน หารหาร ละ 127.92เนื ในเงินลงทุ ลงทุนนชัชัว่ ว่ คราวตามที คราวตามที่บบ่ ริริษษัททั ฯฯได้ได้รับรบั กระแสเงิ กระแสเงินสดจากการด นสดจากการด� นงานจึงจึบริงบริ สดโดยการนำาไปลงทุ เงินสดโดยการน� ไปลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี รวมตราสารหนี้ โดยปี โดยปี 2559 2559กลุ กลุม่ ่มบริบริษษัทัทฯฯมีมีเงิเนงินลงทุ ลงทุนนชัว่ชัคราวเพิ ่วคราวเพิ่ม่มขึ ขึ้น้น90.24 90.24ล้ าล้นบาท านบาท เทียบกับปีปีก่อนหน้ นหน้าา ส�ำสหรัาหรั บสิบนสิทรั พย์พไย์ม่ไหม่มุหนมุเวีนยเวีนยนณณ3131ธันธันวาคม 31 ธัธันนวาคม วาคม 2558 2558บริบริษษัทัทฯ ฯและบริ และบริ นทรั วาคม2559 2559เทีเทียยบกั บกับบ ณณ วัวันนทีที่่ 31 ษัทษัท ย่ย่ออยมี ทรัพพย์ย์ไไม่ม่หหมุมุนนเวีเวียยนเป็ นเป็นนจจ�านวนรวมทั ำนวนรวมทังสิ 511.87ล้ าล้นบาท านบาทและและ 547.70 ล้านบาท ดส่อวน ยมีสสินนิ ทรั ้ ้งสิ้น้น511.87 547.70 ล้ านบาท ตามลตามล� าดับำซึดัง่ บคิดซึเป็่งคินดสัเป็ ดส่นวสันต่ ต่สิอนสิทรันพทรัย์รพวมอยู ย์รวมอยู ี่ร้อยละ 67.16 ยละ 83.30 ำดับ สโดยมี ม่หยมุนลดลง นเวียนลดลง นบาท หรือ ท่ ี่ร้อ่ทยละ 67.16 และร้และร้ อยละอ83.30 ตามลตามล� าดับ โดยมี นิ ทรัพสย์ินไทรั ม่หพมุย์นไเวี 35.83 ล้35.83 านบาทล้าหรื อลดลง ลดลงคิ นร้อ6.54 ยละโดยมี 6.54สโดยมี หลักมาจากบริ ษัททย่าสั อยได้ ท�ำสัญญาขายที ิน ดทีสงขลา ่จังหวัดสงขลา คิดเป็ นร้ดอเป็ยละ าเหตุหสาเหตุ ลักมาจากบริ ษัทย่อยได้ ญญาขายที ่ดิน ที่จงั ่ดหวั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีสินทรัพย์หมุนเวียนจ�ำนวนทั้งสิ้น 524.07 ล้านบาท นที่ 31 จาก ธันวาคม ัทฯ และบริ ย์หนมุร้นอเวียละ ยนจ109.37 านวนทังสิ 524.07 านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 273.76 ณล้าวันบาท ณ วัน2560 ที่ 31บริธันษวาคม 2559ษัทหรืย่ออยเพิมี่มสขึนิ ้นทรัคิดพเป็ มี้ ส้นาเหตุ หลักล้มาจากการ ซึ่ง่มเพิขึ่ม้นขึสุ้นทธิ273.76 านบาท จาก ณส�ำวัหรั นทีบ่ 31 ธันพวาคม ดเป็ธันนร้วาคม อยละ2560 109.37 หลักมาจากการ เพิ ของเงินล้ลงทุ นชั่วคราว สินทรั ย์ไม่ห2559 มุนเวียหรืนอณเพิ่มวันขึที้นคิ่ 31 เท่ามีกัสบาเหตุ 516.89 ล้านบาท ซึ่ง ้นสุทธิขเองเงิ ชัว่ พคราว นทรัพ2559จ� ย์ไม่หมุำนนวน เวียน511.87 ณ วันทีล้่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 516.89 ล้ านบาท ซึง่ มี มีเพิจ่ม�ำขึนวนใกล้ คียงกันลงทุ บสินนทรั ย์ไม่หสมุาหรั นเวีบยสินในปี านบาท จานวนใกล้ เคียงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในปี 2559 จานวน 511.87 ล้ านบาท รายละเอียดของสินทรัพย์ที่สาคัญของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย สามารถสรุปได้ ดงั นี ้ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 และ 2560 เท่ากับ 12.62 ล้ านบาท 8.57 ล้ านบาทและ 21.78 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 1.92 ร้ อยละ 1.12 และร้ อยละ 2.09 ของ สินทรัพย์รวม ตามลาดับ ซึง่ ประกอบด้ วย เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสันที ้ ่มีสภาพคล่องสูง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีเงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสดลดลงจานวน 4.05
126
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดของสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 เท่ากับ 12.62 ล้านบาท 8.57 ล้านบาทและ 21.78 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.92 ร้อยละ 1.12 และร้อยละ 2.09 ของสินทรัพย์รวม ตามล�ำดับ ซึ่งประกอบด้วย เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงจ�ำนวน 4.05 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 32.12 เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการ บริหารเงินสดส่วนหนึ่งไปใช้ส�ำหรับการลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เท่ากับ 21.78 ล้าน บาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 13.22 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 154.28 มีสาเหตุหลักมาจากการได้รับเงินจากการขายกองทุน เปิด 2. เงินลงทุนชั่วคราว บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีการบริหารเงินสดเพื่อการลงทุนในเงินฝากประจ�ำสถาบันการเงิน และตราสารหนี้ระยะ สัน้ เช่น กองทุนเปิดตราสารหนี้ เป็นต้น ซึง่ มีความเสีย่ งต�ำ่ และผลตอบแทนคงที่ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 เท่ากับ 6.53 ล้านบาท 96.77 ล้านบาท และ 425.40 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ หรือคิดเป็น ร้อยละ 0.99 ร้อยละ 12.70 และร้อยละ 40.87 ของสินทรัพย์รวม ตามล�ำดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 90.24 ล้านบาท หรือเพิ่ม ขึ้นคิดเป็นร้อยละ 1,382.23 เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีการบริหารเงินสด ที่ได้จากการประกอบกิจการและเงินสดที่เหลือหลังใช้หมุนเวียนในกิจการ มาลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเงินลงทุนชั่วคราว เท่ากับ 425.40 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น จากสิ้นปีก่อนจ�ำนวน 328.63 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 339.60 มีสาเหตุหลักมาจากการบริหารเงินสดที่ใช้ใน การด�ำเนินงานตามนโยบายของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งมีรายการที่ส�ำคัญ ได้แก่ เงินสดรับจากการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก(IPO) 3. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 เท่ากับ 72.82 ล้านบาท 122.75 ล้านบาท และ 57.27 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 11.07 ร้อยละ 16.11 และร้อยละ 5.50 ของสินทรัพย์รวม ซึ่งลูกหนี้การค้าหลักของบริษัทฯ จะมี เพียง ปตท. เท่านั้น ทั้งนี้ โดยปกติมีระยะเวลาการให้เครดิตแก่ ปตท. เป็นระยะเวลา 30 วันนับแต่วันที่บริษัทได้วางเอกสาร การแจ้งหนี้ครบถ้วนถูกต้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เทียบกับ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีลกู หนีก้ ารค้าเท่ากับ122.75 ล้านบาท และ 72.82 ล้านบาท ตามล�ำดับ โดยเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 49.93 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 68.57 เป็นผลมา จากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการให้บริการประกอบกับในปี 2559 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีลกู หนีก้ ารค้าทีค่ า้ งเกินก�ำหนด ช�ำระเนื่องจากบริษัทฯ มีการแปรสภาพจากบริษัทจ�ำกัดเป็นบริษัทมหาชน จึงต้องยื่นเรื่องเปลี่ยนแปลงชื่อในสัญญาที่ท�ำกับ ปตท. ในช่วงเดือนกันยายน 2559 ส่งผลให้การการรับช�ำระเงินจาก ปตท. ล่าช้า อย่างไรก็ตามปัจจุบันบริษัทได้รับช�ำระหนี้ ดังกล่าวแล้วในเดือนมกราคม 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีลูกหนี้การค้าเท่ากับ 57.27 ล้านบาท ซึ่งลดลง 65.49 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 53.35 มีสาเหตุหลักมาจากการได้รับคืนช�ำระหนี้จาก ปตท. ที่ล่าช้าจากการการแปรสภาพของบริษัทฯ ซึ่งปัจจุบันลูกหนี้การค้าได้ช�ำระหนี้ตามปกติแล้ว
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
127
ลูกหนี้หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้หมุนเวียนอืน่ ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้รายได้คา้ งรับ และลูกหนี้อนื่ จากกิจการที่เกีย่ วข้อง กันและกิจการภายนอก ซึ่งส่วนใหญ่เกิดการค้างช�ำระจากค่าเช่า ค่าสาธารณูปโภค และค่าเบี้ยประกัน เป็นต้น โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีลูกหนี้หมุนเวียนอื่น เท่ากับ 1.09 ล้านบาท 1.18 ล้านบาท และ 1.65 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.17 ร้อยละ 0.15 และร้อยละ 0.16ของสินทรัพย์รวม ตามล�ำดับ ทั้งนี้โดยปกติมี บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน) ระยะเวลาการให้เครดิตเป็นระยะเวลา 30 วัน 4. 4. กหนี ้ตามสั ญาเช่ าทางการเงิน น ลูกลูหนี ต้ ามสั ญญ ญาเช่ าทางการเงิ (หน่ วย : ล้ านบาท) ส่วนที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ถึงห้ าปี ส่วนที่ครบกาหนดเกินกว่าห้ าปี สุทธิ
2558 15.11 46.16 185.74 247.01
ณ 31 ธันวาคม 2559 20.12 49.91 171.75 241.78
2560 16.70 54.03 156.58 227.31
เนืเนื่อ่องจากบริ ารท�าสั ำสัญญาจ้าางอั ำเนินนการรั การรับบจ้จ้าางอังอัดดก๊ก๊าาซธรรมชาติ ซธรรมชาติสาหรั ส�ำหรับ บ งจากบริษษัทัทฯฯ มีการท งอัดดก๊ก๊าาซธรรมชาติ ซธรรมชาติกกับบั ปตท. เพืเพื่อ่อดด�าเนิ ยานยนต์ ปตท. ซึซึง่ ่งบริ บริษษัทัทฯฯต้ต้อองปฏิ งปฏิบบตั ัติ ิตามเงื ามเงื่อ่อนไขต่ นไขต่างๆ างๆที่รทีะบุ ่ระบุ ในสั ญญาโดยสั โดยสัญญญาดั ญาดังกล่ งกล่าวาว ยานยนต์ใให้ห้รรถขนส่ ถขนส่งก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ไว้ ใไว้นสั ญญา เข้เข้าาเงืเงื่อ่อนไขสั นฉบั บทีบ่ 4ที่ จึ4งบัจึงนบัทึนกทึลูกกลูหนี ้ตามสั ญญาเช่ าการเงิ น ตาม นไขสัญญญาเช่ ญาเช่าตามการตี าตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบั กหนี ้ตามสั ญญาเช่ าการเงิ น รายละเอี ยดดังยนีดดั ้ งนี ้ ตามรายละเอี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายการลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 และ 2560 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายการลูกหนี ้ตามสัญญาเช่าการเงินรวม เท่ากับ 247.01 ล้านบาท 241.78ล้านบาท และ 227.31 ล้านบาท ตามล�ำดับโดยสาเหตุหลักมาจากการทยอยลดลงของลูก เท่ากับ 247.01 ล้ านบาท 241.78 ล้ านบาท และ 227.31 ล้ านบาท ตามลาดับโดยสาเหตุหลักมาจากการทยอยลดลงของ หนี้ตามสัญญาเช่าทางการเงินจากการรับช�ำระค่า AP จาก ปตท. ลูกหนี ้ตามสัญญาเช่าทางการเงินจากการรับชาระค่า AP จาก ปตท. 5. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 5. อสังงหาริ หาริมมทรัทรัพพ ่ อการลงทุ น อสั ย์เย์พืเ่อพืการลงทุ น ประกอบด้ วยอสังหาริมทรัพย์เพื่อค้าที่ให้เช่าแก่บุคคลที่สาม โดยในปี 2559 กลุ่มบริษัทอสั ได้งจหาริ ัดประเภทรายการทางบั โดยโอนที่ดวินยอสั ที่จังงหวั หาริ่สมาม ทรัพโดยในปี ย์เพื่อการลงทุ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อ การลงทุญนชีประกอบด้ หาริดนครสวรรค์ ม ทรั พ ย์ เ พื่ อบค้างส่ า ทีว่ ในไปเป็ ห้ เช่ าแก่นอสั บุคงคลที 2559น เนืกลุ่อม่งจากมี ครองเพื่อหาผลประโยชน์ ากรายได้่ดคิน่าทีเช่่จงั าหวัส่งดผลให้ ณ วันบทีางส่ ่ 31วธันไปเป็ นวาคมนอสั 2559 ่มบริ บริ ษัทกได้ารถื จดั อประเภทรายการทางบั ญชีโจดยโอนที นครสวรรค์ งหาริกลุ มทรั พย์ษเพืัท่อการลงทุน มีเนือสั่ องงจากมี หาริมทรักพารถื ย์เพือ่อครองเพื การลงทุ่ อนหาผลประโยชน์ เท่ากับ 12.12 ล้าจนบาท ากรายได้ ค่ า เช่ า ส่ ง ผลให้ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 กลุ่ ม บริ ษั ท มีอสังหาริณมทรั วันพทีย์่ 31 นวาคมน2560 ษัทฯล้และบริ เพื่อธัการลงทุ เท่ากับบริ12.12 านบาทษัทย่อย มีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เท่ากับ 171.62 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 159.50 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีสาเหตุหลักมาจากการโอนที่ดินที่จังหวัดสงขลาและจังหวัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เท่ากับ 171.62 ล้ านบาท นครสวรรค์ไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ซึง่ มีมลู ค่าตามบัญชี 159.50 ล้านบาท เนือ่ งจากปัจจุบนั กลุม่ บริษทั ให้บคุ คล ซึ่งเพิ่มขึ ้น 159.50 ล้ านบาท จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีสาเหตุหลักมาจากการโอนที่ดินที่จงั หวัดสงขลาและจังหวัด ภายนอกเช่าที่ดินบางส่วนและยังไม่ได้ใช้งานที่ดินดังกล่าว นครสวรรค์ไปเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชี 159.50 ล้ านบาท เนื่องจากปั จจุบนั กลุ่มบริ ษัทให้ บุคคลภายนอกเช่าที่ดินบางส่วนและยังไม่ได้ ใช้ งานที่ดินดังกล่าว 6. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สทุ ธิ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 และ 2560 เท่ากับ 315.38 ล้ านบาท 273.42 ล้ านบาท และ 128.31 ล้ านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 47.97 ร้ อยละ 35.87 ร้ อยละ 12.33 ของสินทรัพย์รวมซึง่ สามารถแสดงรายละเอียดได้ ดงั ตารางด้ านล่าง 2558 275.00
ณ 31 ธันวาคม 2559 238.13
อาคารและสิ่งปลูกสร้ าง
6.23
6.02
2560 78.63 5.69
เครื่องจักรและอุปกรณ์
17.55
16.67
18.03
(หน่ วย : ล้ านบาท) ที่ดิน
128
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
6. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560 เท่ากับ 315.38 ล้านบาท 273.42ล้านบาท และ 128.31 ล้านบาท ตามล�ำดับ หรือคิดเป็นร้อยละ 47.97 ร้อยละ 35.87 ร้อยละ บริษัท สากล เอนเนอยี จํากัด (มหาชน) 12.33 ของสินทรัพย์รวมซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดได้ดังตารางด้านล่าง 2558 275.00
ณ 31 ธันวาคม 2559 238.13
อาคารและสิ่งปลูกสราง
6.23
6.02
2560 78.63 5.69
เครื่องจักรและอุปกรณ
17.55
16.67
18.03
ระบบไฟฟา
0.22
0.54
1.98
เครื่องมือเครื่องใช
0.58
0.41
0.33
เครื่องตกแตงติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน
2.29
2.34
10.71
ยานพาหนะ
13.40
8.38
5.73
สินทรัพยระหวางกอสราง
0.11
0.94
7.21
315.38
273.42
128.31
(หนวย : ลานบาท) ที่ดิน
รวม
่ 31ธัธันนวาคม วาคม 2559และ 2559และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ปกรณ ณณวัวันนทีที่ 31 2558 ฯฯและบริ และบริษษัทัทยย่ออยยมีมีทที่ดี่ดินินอาคาร อาคารและอุ และอุ ปกรณ์จํจ�านวน ำนวน 273.42 และ 315.38 315.38ลาล้นบาท านบาทตามลํ ตามล� ซึ่งลดลง41.96ล้ านบาท อลดลงคิ นร้อยละ13.31 ่อเทีกยอบปี 273.42 ล้ลานบาท และ าดัำบดัซึบ่งลดลง41.96ล านบาท หรือหรื ลดลงคิ ดเปนดรเป็อยละ13.31 เมื่อเทีเมืยบป น ก่เนือนเนื ่องจากการขายที ที่จดังสงขลาบางส หวัดสงขลาบางส่ วนประกอบกั บมีดกประเภทรายการที ารจัดประเภทรายการที ินทีด่จนครสวรรค ังหวัดนครสวรรค์ บางส่วนน ่องจากการขายที ่ดินที่ด่จินังหวั วนประกอบกั บมีการจั ่ดินที่จัง่ดหวั บางสวนไปเป ไปเป็ อสัมงทรั หาริพยมเทรั ย์เพื่อการลงทุ นเนื่องจากบริ ษัทฯษและบริ ช่าที่ดวินนประมาณ บางส่วนประมาณ ไร่แก่บุคคลภายนอก อสังนหาริ พื่อพการลงทุ นเนื่องจากบริ ษัทฯ และบริ ัทยอย ษใหัทเย่ชอายที่ดให้ินเบางส 5 ไรแกบ5ุคคลภายนอก ณณวัวันนทีที่ ่ 3131ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จ�ำนวน 128.31ล้านบาท ซึ่งลด ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีที่ดิน อาคาร และอุปกรณ จํานวน 128.31ลานบาท ลง145.11ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 53.07เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่องจากโอนที่ดินที่จังหวัด ซึ่งลดลง 145.11ลานบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 53.07เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่องจากโอนที่ดินที่ สงขลาและจังหวัดนครสวรรค์ไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ซึง่ มีมลู ค่าตามบัญชี 159.50 ล้านบาท เนือ่ งจากปัจจุบนั จังหวัดสงขลาและจังหวัดนครสวรรคไปเปนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ซึ่งมีมูลคาตามบัญชี 159.50 ลานบาท เนื่องจาก กลุม่ บริษทั ให้บคุ คลภายนอกเช่าทีด่ นิ บางส่วนและยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากทีด่ นิ ดังกล่าว นอกจากนี้ ในระหว่างปีบริษทั ฯ และ ษัท ใหบุคคลภายนอกเชาที่ดินบางสวนและยัง ไมไดใชประโยชนจากที่ดินดังกลาว นอกจากนี้ ใน บริปจษจุัทบย่ันอกลุ ย มมีบริ การซื ้ออาคาร และอุปกรณ์ซึ่งได้แก่ ค่าตกแต่งและเครื่องใช้ส�ำนักงานใหม่ งานก่อสร้างจุดเติมก๊าซเพื่อขนส่ง ระหว า งป บ ริ ษ ท ั ฯ และบริ มีการซื้ออาคาร และอุ แก คาทตกแต (Trailer Bay) และการปรัษบัทปรุยองยระบบไฟฟ้ าและเครื ่องจัปกกรณ รเพื่อซึเพิ่งได ่มประสิ ธิภาพงและเครื่องใชสํานักงาน ใหม งานกอสราง าซเพืสิ่อนขนส Bay) และการปรับปรุงระบบไฟฟาและเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ จุดเติมก7. ทรัพงย์(Trailer ไม่มีตัวตน 1. สิสินนทรัทรัพพย์ไยม่ไมมีตมัวีตตน ได้แก่ ค่าลิขสิทธิ์โปรแกรมการใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งตัดจ�ำหน่ายตามวิธีเส้นตรงตาม ัวตน อายุสัญญาสิสินนทรัทรัพพยไย์มไมม่ีตมัวีตตน ัวตนของบริ ษัทย่อย ณงวัานในเครื นที่ 31 ่อธันงคอมพิ วาคม ว25582559 เท่าธกัีเสบน0.42 ล้าน ไดแก คาษลิัทขฯสิทและบริ ธิ์โปรแกรมการใช เตอร ซึ่งตัดจํและ าหน2560 ายตามวิ ตรงตาม บาท ตามล�ำษดััทบฯหรืและบริ อคิดเป็ ร้อยละ 0.4425582559 และร้อยละ0.37 ของสิเทนาทรั ย์รวมลาน อายุส3.38 ัญญาล้าสินบาท นทรัพยและ ไมมีต3.89 ัวตนของบริ ษัทนยร้ออยยละ ณ วั0.06 นที่ 31 ธันวาคม และ 2560 กับพ0.42 ณบาท วันที3.38 ่ 31 ลธันานบาท วาคม 2559 สินทรั พย์ไาม่ดัมบีตหรื ัวตนของบริ ฯ และบริ ย่อย0.44 เพิ่มและร ขึ้นจาก ณ วันที่ ของสิ 31 ธันนวาคม และ 3.89 ตามลํ อคิดเปนรษอัทยละ 0.06 รษอัทยละ อยละ0.37 ทรัพยร2558 วม จ�ำนวน 2.96 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 709.65 เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุนในระบบเชื่อมโยงข้อมูลองค์กร ERPSoftณ วันที่ 31 ธันวาคมPlanning)เพิ 2559 สินทรัพม่ ยเติไมมมเพืีตัวอ่ ตนของบริ ษัทฯาจดทะเบี และบริษยัทนในตลาดหลั ยอย เพิ่มขึ้นจาก ที่ 31 ธัม่ นประสิ วาคมท2558 ware (Enterprise Resource รองรับการเข้ กทรัพณย์วัฯนและเพิ ธิภาพ จํ า นวน 2.96 ล า นบาท หรื อ เพิ ม ่ ขึ น ้ คิ ด เป น ร อ ยละ 709.65 เนื อ ่ งจากบริ ษ ท ั ฯ มี ก ารลงทุ น ในระบบเชื อ ่ มโยงข อ มู ล องค ก ร ในการท�ำงานของกลุ่มบริษัท ่มเติม เพืษ่อทรองรั บการเขษาทั จดทะเบี และเพิ2559 ่ม ERPSoftware ณ วันที(Enterprise ่ 31 ธันวาคม Resource 2560 สินทรัPlanning)เพิ พย์ไม่มตี วั ตนของบริ ั ฯ และบริ ย่อย เพิยม่ นในตลาดหลั ขึน้ จาก ณ วันกทีทรั่ 31พยธัฯนวาคม ธิภาพในการทํ ษัทนร้อยละ 15.01 เนื่องจากการซื้อลิขสิทธิ์ในการใช้โปรแกรมส�ำนักงาน (Microsoft จ�ประสิ ำนวนท0.51 ล้านบาทางานของกลุ หรือเพิ่มขึ้นมคิบริดเป็ Office)เพิ่มณเติวัมนที่ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพยไมมีตัวตนของบริษัทฯ และบริษัทยอย เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 0.51 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 15.01 เนื่องจากการซื้อลิขสิทธิ์ในการใชโปรแกรมสํานักงาน (Microsoft Office)เพิ่มเติม
129
รายงานประจำ�ปี(มหาชน) 2560 บริษัทบริสากล เอนเนอยี ษัท สากล เอนเนอยี จำจํ�ากักัดด(มหาชน)
โครงสรางเงินทุนของบริษัทฯ
โครงสร้างเงินทุนของบริษัทฯ 13.3.2 หนี้สิน หนี้สินนรวมของบริ นวาคม25582559 25582559 2560เท บ 154.98 ลานบาท รวมของบริษษัททั ฯฯและบริ และบริษษัททั ยอย่ยอยณณวันวันทีที่ ่ 3131ธันธัวาคม และและ 2560เท่ ากับากั154.98 ล้านบาท 131.60 131.60 นบาท155.03ล้ และ 155.03ล บ นคิดสัเป ดสวยนเที บสิพนย์ทรัรวมร้ พยรอวมร รอยละ 17.27 และอยละ ล้านบาทลาและ านบาทานบาท ตามล�ำตามลํ ดับ คิาดดัเป็ ดส่นวสันเที บกับยสิบกันทรั ยละอยละ 23.5723.57 ร้อยละ 17.27 และร้ ร14.89 อยละ ของสิ 14.89นของสิ พยรวมในแต ละป ำตามลํ าดับ โดยหนี ินสวนใหญ ในรูาหนี ปเจ้กาารค้ หนี้กาารค กูยืมระยะสั ้น และเงิ ทรัพย์นรทรั วมในแต่ ละปี ตามล� ดับ โดยหนี ้สินส่ว้สนใหญ่ อยู่ในรูอปยูเจ้ เงินากู้ยเงิืมนระยะสั ้น และเงิ นกู้ยนืมกูระยะ ยืยาว มระยะยาว ซึ่งสามารถจํ าแนกรายละเอี ดังต้ อไปนี้ ซึ่งสามารถจ� ำแนกรายละเอี ยดได้ ดัยงดได ต่อไปนี 13.3.2 หนี้สิน
รายการ
31 ธันวาคม 2558 ลานบาท
รอยละ
31 ธันวาคม 2559 ลานบาท
รอยละ
31 ธันวาคม 2560 ลานบาท
รอยละ
หนี้สินหมุนเวียน
69.93
45.12
61.85
47.00
100.41
64.77
หนี้สินไมหมุนเวียน
85.05
54.88
69.74
53.00
54.62
35.23
154.98
100.00
131.60
100.00
155.03
100.00
หนี้สินรวม
ณ ษัทษยัทอย่ยอมียหมีนีห้สนีิน้สหมุินหมุ นเวีนยเวี น ยน ณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม2559 2559และ และณณวัวันนทีที่ 31 ่ 31ธันธัวาคม นวาคม2558ตามลํ 2558ตามล�าดัำบดับบริบริษัทษฯัทและบริ ฯ และบริ จํจ�าำนวนทั 61.85ลาานบาท 69.93 ลล้าานบาท 47.00และ และ นวนทั้ง้งสิสิ้น้น 61.85ล้ นบาท และ และ 69.93 นบาท ตามลํ ตามล�าำดัดับบซึซึ่ง่งคิคิดดเปเป็นนสัสัดดสส่ววนต นต่ออหนีหนี้ส้สินินรวมอยู รวมอยูที่ร่ทอี่รยละ ้อยละ 47.00 รร้ออยละ ษัทษฯัทและบริ ษัทยษอัทยมี นี้สหินนีหมุ เวียนนลดลงจํ านวนำนวน 8.088.08 ลานบาท หรือลดลงคิ ดเปนรดอเป็ยละ ยละ 45.12 45.12ตามลํ ตามล�าดัำบดับบริบริ ฯ และบริ ย่อหยมี ้สินนหมุ เวียนลดลงจ� ล้านบาท หรือลดลงคิ นร้อย 11.55 จากปจากปี 25582558 สืบเนืสื่อบงมาจากการลดลงของเจ าหนี้กาารค านวน ลานบาท และการเพิ ่มขึ้น่มของเจ าหนี้อาหนี ื่น ้อื่น ละ 11.55 เนื่องมาจากการลดลงของเจ้ หนีา้กจํารค้ าจ�ำนวน12.56 12.56 ล้านบาท และการเพิ ขึ้นของเจ้ จํจ�าำนวน ากัาบกับ69.74 ซึ่งลดลง นวน 3.94 3.94 ลล้าานบาท นบาทเปเป็นนหลั หลักกสํส�าหรั ำหรับบหนีหนี้สิน้สไม ินไม่หมุหนมุเวีนยเวีนยนณณวัวันนทีที่ 31 ่ 31ธันธัวาคม นวาคม2559 2559เทเท่ 69.74ลาล้นบาท านบาท ซึ่งลดลง 15.30 หลัหกลัมาจากบริ ษัทษฯัทและบริ ษัทยษอัทยมี ารจการจ่ ายคืานยคื เงิน เงิน 15.30 ลล้าานบาท นบาทหรืหรืออลดลงคิ ลดลงคิดดเปเป็นนรอร้อยละ ยละ17.99 17.99จากป จากปี2558 2558มีสมีาเหตุ สาเหตุ กมาจากบริ ฯ และบริ ย่อกยมี กูย้ ืมระยะยาวบางส ระยะยาวบางส่ววนแก นแก่สสถาบั ถาบันนการเงิ การเงินน ณ วันที่ ณ วันที31 ่31 ธัธันนวาคม วาคม 2560 2560บริบริษษัทัทฯ ฯและบริ และบริ ินหมุ ำนวนทั 100.41ลาล้นบาท านบาทซึ่งคิซึด่งคิเปดนเป็น ษัทษยัทอย่ยอมียหมีนีห้สนีิน้สหมุ นเวีนยเวีนจํยานจ� นวนทั ้งสิ้น้งสิ้น100.41 นต่ออหนี หนี้ส้สินินรวมอยู รวมอยูท่ที่รี่รอ้อยละ ยละ64.77 64.77โดยบริ โดยบริ ฯ และบริ นี้สนินเวีหมุ นเวี่มยขึนเพิ ขึ้นจ�ำ38.56 นวน ล38.56 สัสัดดสส่ววนต ษัทษฯ ัทและบริ ษัทยษอยัทย่มีอหยนี้สมีินหหมุ ยนเพิ ้นจํา่มนวน านบาทล้าหรืนบาท อ หรื่มอขึเพิ้นคิ่มดขึเป ้นคินดรเป็ นร้อ62.33 ยละ 62.33 ธันวาคม จากการเพิ ขึ้นของเงิ กู้ยืมระยะสั ้นจากสถาบั นการเงิ เพิ อยละ จาก ณจาก วันทีณ่ วัน31ที่ ธั31 นวาคม 25592559 จากการเพิ ่มขึ้น่มของเงิ นกูยืมนระยะสั ้นจากสถาบั นการเงิ น น หรับบหนี หนี้ส้สินินไมไม่หหมุมุนนเวีเวียยนนณณวัวันนทีที่3่311ธันธันวาคม วาคม2560 2560เทเท่ากัาบกับ54.62 54.62ลาล้นบาท านบาทซึ่งซึลดลง ่งลดลง15.12 15.12ลาล้นบาท านบาทหรืหรื อลดลงคิ สํส�าำหรั อลดลงคิ ดเปดนเป็น ยละ 21.68 21.68จาก จากณณวัวันนทีที่ 31 ่ 31ธันธันวาคม วาคม2559 2559มีสมีาเหตุ สาเหตุ มาจากบริ ฯ และบริ มีการจ่ ้ยืมระยะยาวจาก รร้ออยละ มาจากบริ ษัทษฯัทและบริ ษัทษยอัทยย่อมียการจ ายคืานยคื เงินนกูเงิยนืมกูระยะยาวจาก สถาบันนการเงิ การเงินนสส่ววนที นที่ถ่ถึงึงกํก�าำหนดชํ หนดช�าำระระ สถาบั รายละเอียดของหนีรายละเอี ้สินที่ส�ำคัยญดของหนี ของบริ้สษินัททีฯ่สและบริ ษัทย่ษอัทยฯสามารถสรุ ังนี้ ําคัญของบริ และบริษัทปยได้ อยดสามารถสรุ ปไดดังนี้ 1. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้หมุนเวียนอื่น 1. เจา้กหนี าและเจปาระกอบด้ หนี้หมุนวเวียยเจ้ นอืา่นหนี้ค่าก๊าซเฉื่อย และเจ้าหนี้ค่าไฟฟ้า เป็นหลัก ในขณะที่เจ้าหนี้หมุนเวียน เจ้าหนี ารค้้กาารค ส่วนใหญ่ อื่น ประกอบด้เจวยาหนี ภาษี้การค มูลค่าาสเพิ ่ม โบนัปสระกอบด พนักงานค้ ยเป็้คานกหลั ก โดย ณ วันาทีหนี ่ 31้คาธัไฟฟ นวาคม และ่เ2560 วนใหญ วยาเจงจ่าาหนี าซเฉื ่อย และเจ า เป25582559 นหลัก ในขณะที จาหนี้ บริษัทฯ และบริ ัทย่่นอประกอบด ย มีเจ้าหนีว้กยารค้ นบาท 31.49 ล้านบาท หรือคิดเป็และ นร้อย หมุ นเวียษนอื ภาษีาเท่ มูลาคกัาบเพิ44.04 ่ม โบนัล้สาพนั กงานค างจายเป นหลักและ โดย 28.80 ณ วันทีล้่ านบาท 31 ธัตามล� นวาคมำดับ25582559 ละ 6.70 4.13ษัทและร้ พย์รวมลาตามล� บ ส�ำหรั เจ้าหนีและ ้หมุน28.80 เวียนอืลา่นนบาท ของบริตามลํ ษัทฯาและบริ 2560 บริษร้ัทอฯยละ และบริ ยอย อมียละ เจาหนี2.77 ้การคของสิ าเทานกัทรั บ 44.04 นบาทำดั31.49 ลาบนบาท ดับ หรือษัท ยณ ที่ 316.70 ธันวาคม ากับ น10.76 านบาท นบาท านบาท ตามล� คิย่ดอเป นรอวันยละ รอยละ25582559 4.13 และรอและ ยละ2560เท่ 2.77 ของสิ ทรัพยล้รวม ตามลํ14.70 าดับ สํล้าหรั บเจาและ15.85 หนี้หมุนเวียล้นอื ่นของบริ ษัทฯำดับ หรือคิดษเป็ัทนยอร้อยยละ 1.9325582559 และร้อยละ ของสิากันบทรั10.76 พย์รวมลาตามล� บ ลานบาท และ15. 85 ลานบาท และบริ ณ วั1.64 นที่ 31ร้อธัยละ นวาคม และ1.52 2560เท นบาทำดั14.70 ณ วันาทีดั่ 31 ที่ 311.93 ธันวาคม บริษของสิ ัทฯ และบริ ย มีเจ้าาดัหนี ตามลํ บ หรืธันอวาคม คิดเปน2559 รอยละและ 1.64ณรวัอนยละ และรอ2558 ยละ 1.52 นทรัพยษรัทวมย่อตามลํ บ ้การค้าเท่ากับ31.49ล้านบาท และ 44.04 ล้านบาท ซึ่งลดลงจ�ำนวน 12.56 ล้านบาทหรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 28.51 เป็นผลจากการลดลงของเจ้าหนี้การ ค้า เนื่องจากในช่วง 2 เดือนสุดท้ายของปี 2559 ปริมาณก๊าซเฉื่อยและราคาลดลง ส�ำหรับเจ้าหนี้หมุนเวียนอื่นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ แวัละคํ นที่ า31ธั นวาคมายจั 2558 มีจา�ำนวนทั ้งสิ้น 14.70 ล้านบาท และ 10.76 13. การวิ เคราะห อธิบายของฝ ดการหน 2
ของเจาหนี้การคา เนื่องจากในชวง 2 เดือนสุดทายของป 2559 ปริมาณกาซเฉื่อยและราคาลดลง สําหรับเจาหนี้หมุนเวียนอื่น ของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31ธันวาคม 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 14.70 ลานบาท และ รายงานประจำ�ปี 2560 10.76 ลบริาษนบาท าดัจำบ�กัซึด่ง(มหาชน) เพิ่มขึ้นจํานวน 3.94 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 36.62 เมื่อเทียบกับปกอน โดยมี ัท สากลตามลํ เอนเนอยี สาเหตุหลักจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นและโบนัสพนักงานคางจายเพิ่มขึ้น
130
ล้านบาท ตามล�ณำดัวับนทีซึ่ ่ง31 เพิ่มธัขึน้นวาคม จ�ำนวน2560 3.94บริล้ษาัทนบาท หรืษอัทเพิย่มอยขึ้นมีคิเจดาเป็หนีน้กร้อารค ยละาเท36.62 ่อเทียบกั บปีก่อนโดยมี โดยมี าเหตุ ฯ และบริ ากับ เมื28.80 ลานบาท เจาสหนี ้ หลั ก จากยอดขายที เ ่ พิ ม ่ ขึ น ้ และโบนั ส พนั ก งานค้ า งจ่ า ยเพิ ม ่ ขึ น ้ การคา ลดลงจํานวน 2.69ลานบาท หรือ ลดลงคิดเปนรอยละ 8.54เปนผลจากปริมาณกาซเฉื่อย ที่ใชในการผสมกับ NGV ณลดลงตามนโยบายของปตท. วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริและราคาก ษัทฯ และบริ ษัท่อย่ยที อยล่ ดลง มีเจ้าสํหนี ้การค้ นบาทษโดยมี เจ้าหนีษ้กัทารค้ าซเฉื าหรั บเจาาเท่ หนีา้หกัมุบน28.80 เวียนอืล้่นาของบริ ัทฯ และบริ ยอาย ลดลงจ� ณ วันทีำ่ นวน 31 2.69ล้ า นบาท หรื อ ลดลงคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 8.54เป็ น ผลจากปริ ม าณก๊ า ซเฉื อ ่ ยที ใ ่ ช้ ใ นการผสมกั บ NGV ลดลงตามนโยบายของ ธันวาคม2560 มีจํานวนทั้งสิ้น 15.85 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจํานวน 1.15 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอย 7.84เมื่อเทียบกับป ปตท. และราคาก๊าซเฉือ่ ยทีล่ ดลง ส�ำหรับเจ้าหนีห้ มุนเวียนอืน่ ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม2560 มีจำ� นวน กอน โดยมีสาเหตุหลักจากโบนัสพนักงานคางจายเพิ่มขึ้น ยอดคางจายคาตกแตงสํานักงานใหม และคาสอบบัญชีที่เพิ่มขึ้น ทั้งสิ้น 15.85 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1.15 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อย7.84เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยมีสาเหตุหลัก 2. กงานค้ เงินกูยาืมงจ่จากสถาบั จากโบนัสพนั ายเพิ่มขึ้นนการเงิ ยอดค้นางจ่ายค่าตกแต่งส�ำนักงานใหม่ และค่าสอบบัญชีที่เพิ่มขึ้น 2. เงินเงิกูน้ยกูืมยจากสถาบั ืมจากสถาบันการเงิ นการเงินนของบริษัทฯ และบริษัทยอย เปนเงินกูยืมจากสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงคใน การลงทุนเงิสํนากูหรั้ยบืมโครงการใหม จากสถาบันการเงิ นของบริ ษัทฯจทีและบริ ย่อย เป็แลนวเงิเปนนกูหลั ้ยืมกจากสถาบั ีวัตถุนปสกุระสงค์ ในการ หรือขยายกิ จการกิ ่ไดดําเนิษนัทการอยู โดยเงินนกูการเงิ ยืมดังนกลทีา่มวเป ลเงินบาท ลงทุ นส�ำหรับโครงการใหม่ หรือขยายกิจการกิจทีไ่ ด้ดำ� เนินการอยูแ่ ล้วเป็นหลัก โดยเงินกูย้ มื ดังกล่าวเป็นสกุลเงินบาททัง้ หมด ทั้งหมด รายการ ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งป ครบกําหนดหลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวมเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน
2558 13.56 70.25 83.81
ณ 31 ธันวาคม 2559 14.04 56.25 70.29
2560 54.68 41.57 96.25
ธันวาคม ่ 31ธัธันนวาคม วาคม 2558 2558 บริษัททฯฯและบริ ทธิทธิ ณ วันณที่ วั31นทีธั่ 31 นวาคม 25592559 และและณ ณวันวัทีน่ ที31 และบริษษัทัทยอย่ยอยมีเมีงินเงิกูนยกูืม้ยระยะยาวสุ ืมระยะยาวสุ นวน 70.29 70.29 ลล้านบาท และ านวน ลานบาทหรื อลดลงคิ ดเปดนเป็ รอนยละ 16.13 เปนผลมา จ�จํำานวน และ83.81 83.81ลาล้นบาท านบาทโดยลดลงจํ โดยลดลงจ� ำนวน13.52 13.52 ล้านบาทหรื อลดลงคิ ร้อยละ 16.13 เป็นผล จากการชําระเงิ นกูนยกูืม้ยระยะยาวแก สถาบั นการเงิ น น มาจากการช� ำระเงิ ืมระยะยาวแก่ สถาบั นการเงิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ษัทฯ และบริ ษัทษย่ัทอฯยและบริ มีเงินกูษ้ยัทืมยสุอทยธิจมี�ำเงินวน นบาท โดยเพิ จ�ำนวนโดยเพิ 25.96 ณ วันที2560 ่ 31 ธับริ นวาคม 2560 บริ นกูย96.25 ืมสุทธิจล้ําานวน 96.25่มลขึา้นนบาท ่มขึ้นล้าน บาท หรือ25.96 เพิ่มขึล้นาคินบาท ดเป็นร้หรือยละ เป็นนรผลมาจากการกู เงินระยะสั้นเพืย่อืมใช้เงิหนมุระยะสั นเวียนในกิ จํานวน อเพิ่ม36.93 ขึ้นคิดเป อยละ 36.93 เป้ยนืมผลมาจากการกู ้นเพื่อจใชการ หมุนเวียนในกิจการ 3. หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินและสัญญาเช่าซื้อ ้สินตามสัญญาเชาทางการเงินและสัญญาเชาซื้อ หนี3.้สินหนี ตามสั ญญาเช่าทางการเงินและสัญญาเช่าซื้อของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้แก่ เจ้าหนี้ลีสซิ่ง และเจ้าหนี้เช่า หนี้สินตามสั่อญ าทางการเงิ ซื้อ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทยมีอยรายการดั ไดแก เจงากล่ หนีา้ลวจ�ีสซิำนวน ่ง และ5.78 ซื้อ ส�ำหรับยานพาหนะเพื ใช้ญาเช ในการด� ำเนินงานนและสั ณ วันญที่ ญาเช 31ธันาวาคม 25582559 และ 2560 าหนี้เชา4.21 ซื้อ สํล้าาหรันบาท บ ยานพาหนะเพื ในการดํตามล� าเนินำงาน ล้เจานบาท และ 2.59 ่อล้ใชานบาท ดับ ณ วันที่ 31ธันวาคม 25582559 และ 2560 มีรายการดังกลาว จํานวน 5.78 ณ วันลทีา่นบาท 31 ธัน4.21 วาคมล2559 นที่ 31 ธันวาคม 2558 านบาทและ และณ วั2.59 ลานบาท ตามลํ าดับบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าทางการ เงินและสัญญาเช่ ้นจ�ำนวน นบาทบริโดยลดลงจากปี 1.57ญญาเช ล้านบาท ณาวัซืน้อทีรวมทั ่ 31 ธัน้งสิวาคม 25594.21 และล้ณานบาทและ วันที่ 31 ธัน5.78 วาคมล้า2558 ษัทฯ และบริษัทย2558 อยมีหจ�นีำ้สนวน ินตามสั า หรื อ ลดลงคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 27.15 เนื อ ่ งจากบริ ษ ท ั ฯ และบริ ษ ท ั ย่ อ ย มี ก ารจ่ า ยช� ำ ระตามสั ญ ญาเช่ า ทางการเงิ น และสั ญ ญาเช่ า ทางการเงินและสัญญาเชาซื้อ รวมทั้งสิ้นจํานวน 4.21 ลานบาทและ 5.78 ลานบาท โดยลดลงจากป 2558 จํานวน 1.57 ซืล้อาบางส่ วน ประกอบกับไม่มีการท�ำสัญญาเช่าทางการเงินและสัญญาเช่าซื้อเพิ่มเติม นบาท หรือลดลงคิดเปนรอยละ 27.15 เนื่องจากบริษัทฯ และบริษทั ยอย มีการจายชําระตามสัญญาเชาทางการเงินและ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินและสัญญาเช่าซื้อ จ�ำนวน สัญญาเชาซื้อบางสวน ประกอบกับไมมีการทําสัญญาเชาทางการเงินและสัญญาเชาซื้อเพิม่ เติม 2.59 ล้านบาท โดยลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 1.62 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 38.55 เป็นผล มาจากการจ่ายช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินและสัญญาเช่าซื้อบางส่วน 13. การวิเคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการหนา 3
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินและสัญญาเชาซื้อ จํานวน 2.59 ลานบาท โดยลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 1.62 ลานบาท หรือลดลงคิ ดเปนรอ�ยละ รายงานประจำ ปี 256038.55 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) เปนผลมาจากการจายชําระหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินและสัญญาเชาซื้อบางสวน
131
ินภาษี งินรไดอการตั รอการตั 4. 4.หนีหนี ้สิน้สภาษี เงินเได้ ดบัดญบัชีญชี (หนวย : ลานบาท)
2558
หนี้สินตามภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี - ผลตางจากการรับรูรายไดทางบัญชีและภาษีสําหรับรายได ตามสัญญาเชาทางการเงิน
ณ 31 ธันวาคม 2559
2560
9.05
9.05
9.12
- ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ
0.73
0.71
0.70
- หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน
0.03
0.03
0.03
9.82
9.80
9.85
สุทธิ
ตามมาตรฐานการบั เรื่อเงงินภาษี เงินไดให้ระบุ ษัทฯ และบริ ัทยอองบั ยตนอทึงบักสินนทึทรั กสิพนทรั ยและ้สิน ตามมาตรฐานการบั ญชีฉบับญทีชี่ ฉ12บับเรืที่อ่ ง12ภาษี ได้ ระบุ บริษใัทหบฯริและบริ ษัทย่อษยต้ ย์แพละหนี หนีเ้สงินินได้ ภาษี เงินไดรดอการตั ดบัญชีในงบการเงิ โดยคํานวณผลแตกต างชั่วคราวที ดขึ้นาระหว ลคาตามบั ญชีขนองสิ ภาษี รอการตั บัญชีในงบการเงิ น โดยค�นำนวณผลแตกต่ างชั่วคราวที ่เกิดขึ้น่เกิระหว่ งมูลาค่งมู าตามบั ญชีของสิ ทรัพนย์ทรัหรืพอย ้สินำและจํ ชเพื่อำผลคํ านวณทางภาษี นได โดยบริ ัทฯ และบริ ยอเยได ่ยนแปลงนโยบายการบั หนีหรื้สินอหนี และจ� นวนทีานวนที ่ใช้เพื่อ่ใผลค� นวณทางภาษี เงินได้เงิโดยบริ ษัทฯษและบริ ษัทย่ษอัทยได้ ปลี่ยเปลี นแปลงนโยบายการบั ญชีญ ย้อชีนหลัง เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบั เพืย่ออให้นหลั เป็นงไปตามมาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้ ญชีฉบับนี้ ณ วันทีณ่ 31วันธัทีน่ วาคม วันทีณ่ 31วันธัทีน่ วาคม ษัทฯบริและบริ ษัทย่อษยัทมียกอารเปลี ่ยนแปลงการบั นทึก 31 ธัน2559 วาคม และ 2559ณและ 31 ธัน2558 วาคม บริ 2558 ษัทฯ และบริ ย มีการเปลี ่ยนแปลงการ บัญบัชีนหทึนีกบั้สินญตามภาษี เงินได้รอการตั บัญชีเพีดยบังเล็ ย กนอย ชีหนี้สินตามภาษี เงินไดรดอการตั ญชีกเพีน้ยองเล็ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 9.85 ล้าน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรวมทั้งสิ้นจํานวน 9.85 บาท ซึ่งเปลี่ยนแปลงจาก ณ วันที่ 31ธันวาคม 2560 เพียงเล็กน้อย ซึ่งเปลี่ยนแปลงจาก ณ วันที่ 31ธันวาคม 2560 เพียงเล็กนอย ลานบาท13.3.3 ส่วนของผู้ถือหุ้น 13.3.3 ส่วสนของผู ้ถือหุถือ้นหุของบริ วนของผู น ษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนประกอบหลักได้แก่ 1) ทุนจดทะเบียนที่ออกช�ำระแล้ว 2)ส่วน เกินมูลค่าหุ้นสามัญ3) ก�ำไรสะสมที่จัดสรรแล้ว และยังไม่ได้จัดสรร 4) องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ และบริษัทยอยมีสวนประกอบหลักไดแก 1) ทุนจดทะเบียนที่ออกชําระแลว 2) บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี25582559 และ 2560จ�ำนวน 502.55 ล้านบาท 630.58 ล้านบาท และ สวนเกินมูลคาหุนสามัญ3) กําไรสะสมที่จัดสรรแลว และยังไมไดจัดสรร 4) องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน 885.92 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ษัทยอ2559 ยมีสวบริ นของผู หุน ณษสิัท้นย่ปอยมี 25582559 502.55ล้ลานบาท านบาทซึ630.58 าน ณบริวันษทีัท่ ฯ31และบริ ธันวาคม ษัทฯถือและบริ ส่วนของผูและ ้ถือหุ2560จํ ้น เท่าากันวน บ 630.58 ่งเพิ่มขึ้นลจาก านบาทเท่โดยมี ายละเอียล้ดดั งนี้ หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 25.48สาเหตุหลักมาจากก�ำไรสุทธิของบ ณบาท วันทีและ ่ 31 ธั885.92 นวาคมล2558 ากับ ร128.04 านบาท ริษณ ัทฯวันและบริ บปี 2559 ส่งษผลให้ ก�ำไรสะสมเพิ ่มขึส้นวนของผูถือหุน เทากับ 630.58 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก ณ ที่ ษัทย่อ31ยส�ธัำนหรั วาคม 2559 บริ ัทฯ และบริ ษัทยอยมี วันที่ 31นอกจากนี ้ ในการประชุ วิสามัญลผูา้ถนบาท ือหุ้นของบริ ้งทีน่ 1/2559 เมื่อวันที่ 1 กัหนลัยายน 2559ผู อนุมษัติกัทาร ธันวาคม 2558 เทากับ ม128.04 หรือเพิษ่มัทขึ้นฯคิครั ดเป รอยละ 25.48สาเหตุ กมาจากกํ าไรสุ้ถทือธิหุข้นองบริ ฯ ลดมู ลค่าหุษ้นัททีย่ตอยสํ ราไว้าหรั เดิบมป100 อหุ้นกําเป็ไรสะสมเพิ น 0.50 บาทต่ และบริ 2559บาทต่ สงผลให ่มขึ้น อหุ้น และเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จ�ำนวน 118.60 ล้าน บาท จากทุนจดทะเบียนเดิม 346.40 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน 465.00 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจ�ำนวน นอกจากนี้ ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559ผูถือหุนอนุมัติการ 237.20ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท 100 บาทตอหุน เปน 0.50 บาทตอหุน และ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จํานวน 118.60 ลดมูลคณาหุวันนทีที่ต่ ราไว 31 เธัดินมวาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ล า นบาท จากทุ น จดทะเบี ย นเดิ นทุนจดทะเบี ยน 465.00 ลานบาท้นใหม่ โดยการออกหุ นสามั่วญไปเป็ เพิ่มนทุครั น ้ง จ�ำนวน 255.34 ล้านบาท หรือมเพิ่ม346.40 ขึ้นคิดเป็ลนานบาท ร้อยละเป40.49 เป็นผลจากการเสนอขายหุ แก่ประชาชนทั จํานวน น มูลคาหุำนระแล้ ที่ตราไว 0.50 บาท แรก (IPO)237.20ล ท�ำให้ทุนาทีนหุ่ออกและช� วเพิห่มุนขึละ ้น 118.60 ล้านบาท เป็นเท่ากับ 465 ล้านบาท และมีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ จ�ำนวน 297.62 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีกำ� ไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรรลดลง เนือ่ งจากการจ่ายเงินปันผล ณ วันที่ 6 มีนาคม 2560 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรก�ำไรเป็นเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.3406 บาท เป็นจ�ำนวนเงินทั้ง 13. การวิเคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการหนา 4 สิ้น 235.97ล้านบาท ซึ่งการจ่ายเงินปันผลดั งกล่าวเป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท
จํานวน 297.62 ลานบาท นอกจากนี้ บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกําไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรลดลง เนื่องจากการจายเงินปน �ปี 2560 ผล ณ วัรายงานประจำ นที่ 6 มีนาคม 2560 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรกําไรเปนเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.3406 บาท เปน จํานวนเงิน บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) ทั้งสิ้น 235.97ลานบาท ซึ่งการจายเงินปนผลดังกลาวเปนไปตามนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท
132 13.4
การวิ กระแสเงิ นสดของบริ ษัทฯ ษและบริ ษัทยษอัทยย่อย 13.4 เคราะห การวิเคราะห์ กระแสเงิ นสดของบริ ัทฯ และบริ
(หนวย : ลานบาท) เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิไดมา (ใชไป) จากกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิไดมา (ใชไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ
2558 134.31 56.11 (184.35) 6.07
2559 74.23 (58.98) (19.30) (4.05)
2560 165.10 (348.15) 196.26 13.22
1. 1. กระแสเงิ กระแสเงินสดจากการด� นสดจากการดํำเนิ าเนินนงาน งาน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25582559 และ 2560กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัท สําหรับล้ปาสนบาท ิ้นสุดวัน74.23 ที่ 31 ล้ธัานนบาท วาคม และ 25582559 2560กระแสเงิ ย่อย เท่ากับ 134.31 165.10และ ล้านบาท ตามล�ำดันบสดจากการดําเนินงานของบริษัทฯ และ เทาบกัปีบบญ นบาทกระแสเงิ และ 165.10 บริษัทยอส�ยำหรั ั134.31 ชีสนิ้ สุดลวัานนบาท ที่ 31 74.23 ธันวาคมลา2558 นสดสุลทาธินบาท จากกิจตามลํ กรรมด�าำดัเนิบ นงานของบริษทั ฯเท่ากับ 134.31 ล้าน บาท โดยมีสาเหตุสํหาหรั ลักบมาจากการเพิ ไรจากการด� เนินงานของบริ และบริ ษทั ย่อาเนิ ย และเจ้ าหนีค้ า่ ษก๊ัทาซที ปบัญชีสิ้นสุดม่ วัขึน้ ทีจากผลก� ่ 31 ธันำวาคม 2558ำกระแสเงิ นสดสุษททั ธิจฯากกิ จกรรมดํ นงานของบริ ฯเทเ่ พิากัม่ บขึน้ 134.31 ลส�าำนบาท หรับปีสโดยมี นิ้ สุดสวัาเหตุ นที่ 31ธั วาคม2559 กระแสเงิ นสดสุาทไรจากการดํ ธิจากกิจกรรมด� เนินงานของบริ ทั ฯ และบริ ษยทั ย่อายเท่ หลักนมาจากการเพิ ่มขึ้นจากผลกํ าเนินำงานของบริ ษัทฯ ษและบริ ษัทยอและเจ หนีา้คกัาบ 74.23ล้ กาซที่เาพินบาท ่มขึ้น มีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของลูกหนีก้ ารค้าเป็นหลัก เนือ่ งจากการแปรสภาพจากบริษทั จ�ำกัดเป็นบริษทั มหาชน ท�ำให้มผี ลกระทบการการเปลี ย่ นแปลงทางสัญญากับ ปตท. ซึง่ ส่งผลให้มกี ารชะลอการช�ำระหนีใ้ ห้กบั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม2559 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทยอย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เทากับ 74.23ลานบาท มีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การคาเปนหลัก เนื่องจากการแปรสภาพจากบริษัทจํากัดเปน เท่ากับ 165.10 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เกิดจากการเพิ่มขึ้นจากผลก�ำไรจากการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย และ บริษัทมหาชน ทําใหมีผลกระทบการการเปลี่ยนแปลงทางสัญญากับ ปตท. ซึ่งสงผลใหมีการชะลอการชําระหนี้ใหกับบริษัทฯ และ การลดลงของลูกหนี้การค้า จ�ำนวน 65.49 ล้านบาท บริษัทยอย 2. กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน วันทีธั่ น31วาคม25582559 ธันวาคม 2560 กระแสเงิ นสดสุษทัทธิฯจากกิ จกรรมดํ ษัทฯ มและบริ ษัทไยปใน) อย ส�ำหรับสําปีหรั สิ้นบสุปดสวัิ้นนสุทีด่ 31 และ 2560บริ และบริ ษัทย่าอเนิ ยมีนกงานของบริ ระแสเงินสดได้ าจาก(ใช้ ากับ 165.10 โดยสล้าวนบาท นใหญเ(58.98) กิดจากการเพิ ่มขึ้นจากผลกํ าไรจากการดํ าเนินตามล� งานของบริ ษัทฯรและบริ ยองยนีและการ กิเทจกรรมลงทุ น เท่ลาากันบาท บ 56.11 ล้านบาท และ (348.15) ล้านบาท ำดับ โดยมี ายละเอีษยัทดดั ้ กหนีบปี้การค ลานบาท ลดลงของลู ส�ำหรั บัญชีา สจํิ้นาสุนวน ดวัน65.4 ที่931 ธันวาคม 2558 กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุนของบริษัทฯ และบริษัท ย่อยเท่2.ากับกระแสเงิ 56.11 นล้สดจากกิ านบาท จเป็กรรมลงทุ นผลมาจากเงิ น นลงทุนชั่วคราวสุทธิลดลง จ�ำนวน 30.82 ล้านบาท และได้รับเงินฝากประจ�ำ ในสถาบันการเงินคืนจ�ำนวน 30 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดลดลงส่วนหนึ่ง จ�ำนวน 5.37ล้าน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทยอยมีกระแสเงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) บาท ซึง่ ส่วนใหญ่ใช้ซอื้ สินทรัพย์ประเภทยานพาหนะ เครือ่ งตกแต่ง และเครือ่ งใช้สำ� นักงาน รวมถึงมีการให้เงินกูย้ มื แก่กจิ การ กิจกรรมลงทุน เทากับ 56.11 ลานบาท (58.98) ลานบาท และ (348.15) ลานบาท ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ที่เกี่ยวข้องกัน และได้รับเงินกู้ยืมคืนในปีเดียวกัน ธันวาคม กระแสเงิ ธิไดมาจากกิ จกรรม ลงทุนษของบริ ษัทฯษและบริ ส�สํำาหรัหรับบปีปบบญั ัญชีสชีนิ้ สสุิ้นดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31 ธันวาคม 25592558 กระแสเงิ นสดสุนทสดสุ ธิใช้ไทปจากกิ จกรรมลงทุ นของบริ ทั ฯ และบริ ทั ย่อยเท่ษาัทกับ ยอยเทล้าากันบาท บ 56.11 ลานบาท เปนผลมาจากเงิ ลงทุนนชัชัว่ คราวสุ ่วคราวสุทธิทธิจ�ลำดลง านวน ล้30.82 นบาท ับเงินฝากประจําใน 58.98 มีสาเหตุ หลักมาจากการซื อ้ เงินนลงทุ นวนจํ89.37 านบาทลาเพื อ่ บริหและได ารเงินรสดตามนโยบายของบ นการเงิษนทั คืย่นอจํยทั านวน 30วลงพฤษภาคม านบาท ทั้งนี2559 ้ บริษบริ ัทฯษและบริ อย ด่ มีนิ กออกไป ระแสเงิเป็ นสดลดลงส ่ง จําล้นวน ริสถาบั ษทั ฯ และบริ ง้ นีใ้ นช่ ทั ย่อย ษได้ัทขยายที นจ�ำนวนเงิวนนหนึ 32.19 านบาท5.37ลานบาท ใชบซื้อบัสิญนชีทรั เครื่องตกแต ง และเครื ํานักงาน รวมถึงมีกนารให เงินษกูัทยฯืมแก กิจการที ซึ่งสวนใหญ ส�ำหรั สิ้นพสุยดปวัระเภทยานพาหนะ นที่ 31 ธันวาคม 2560 กระแสเงิ นสดสุท่อธิงใช ใช้ไสปจากกิ จกรรมลงทุ ของบริ และบริ ษัทย่่ อย งกัน และได รับเงินมีกูสยาเหตุ ืมคืนหในป เดียวกัน นลงทุนชั่วคราวสุทธิเพิ่มขึ้น จ�ำนวน 327.41 ล้านบาท ซึ่งมาจากการบริหาร เท่เกีา่ยกัวข บ อ348.15 ล้านบาท ลักมาจากเงิ เงินสดที่ใช้ในการด�ำเนินงานตามนโยบายของบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการที่ส�ำคัญ ได้แก่ เงินสดรับจากการเสนอขาย 13. การวิรวมถึ เคราะห าอธิบาายของฝ ดการหนา 5 ปกรณ์ซึ่งได้แก่ ค่าตกแต่งและเครื่อง หุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) งมีแเละคํ งินสดจ่ ยเพื่อซืา้อยจัอาคารและอุ ใช้ส�ำนักงานใหม่ งานก่อสร้างจุดเติมก๊าซเพื่อขนส่ง (Trailer Bay) และการปรับปรุงระบบไฟฟ้าและเครื่องจักรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ 3. กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เท่ากับ (184.35) ล้านบาท (19.30) ล้านบาท และ 196.26 ล้านบาท ตามล�ำดับ ส�ำหรับปีบญ ั ชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเท่ากับ
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
133
184.35 ล้านบาท มีสาเหตุหลักมาจากการจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 352.00 ล้านบาท การช�ำระคืนทุนให้ผู้ถือ หุ้นของบริษัทฯ จ�ำนวน 16.00 ล้านบาท และช�ำระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 12.92 ล้านบาท แต่ทั้งนี้ในช่วงปีเดียวกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้รับเงินจากการออกหุ้นสามัญ จ�ำนวน 202.40ล้านบาทจึงส่งผลให้โดย รวมแล้วกลุ่มบริษัทมีกระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน นอกจากนี้มีการกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยได้รับ เงินคืนในปีเดียวกัน ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินของบริษัทฯ และบริษัท ย่อยเท่ากับ 19.30ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการช�ำระคืนเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินบางส่วนจ�ำนวน 13.52 ล้านบาท ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เท่ากับ 196.26 ล้านบาท เป็นผลมาจากเงินสดรับจากการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) นอกจาก นี้ เมื่อเดือนมีนาคม 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีการจ่ายเงินฝันผลให้ผู้ถือหุ้น
13.5 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ 1. อัตราส่วนสภาพคล่อง • อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว และอัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ที่ 4.05 เท่า อัตราส่วนสภาพคล่อง หมุนเร็วอยู่ที่ 3.69 เท่า และอัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดอยู่ที่ 1.13 เท่า โดยอัตราส่วนสภาพคล่อง และอัตราส่วน ษัท สากล เอนเนอยี สภาพคล่องหมุนเร็ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริ 2558 เนื่องจากสิ นทรัจพากัย์หดมุ(มหาชน) นเวียนเพิ่ม ขึ้น ส่วนของหนี้สินหมุนเวียนลดลงในขณะที่อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดลดลง เนื่องจากมีลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น สาหรับปี บญ ั ชีสิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอตั ราส่วนสภาพคล่องอยูท่ ี่ 5.22 ส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีอัตราส่วนสภาพคล่องอยู่ที่ 5.22 เท่า เท่ า อั ต ราส่ ว นสภาพคล่ อ งหมุ น เร็ วอยู่ ที่ 5. 02 เท่ า และอั ต ราส่ ว นสภาพคล่ อ งกระแสเงิ น สดอยู่ ที่ 2. 04 เท่ า อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็วอยู่ที่ 5.02 เท่า และอัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดอยู่ที่ 2.04เท่า โดยอัตราส่วนสภาพคล่อง และอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว ณ 31 ธันวาคม 2560 เพิ่มขึ ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยอัตราส่วนสภาพคล่อง และอัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว ณ 31 ธันวาคม2560เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เนื่องจากเงินลงทุนชัว่ คราวที่เพิ่มขึ ้นจากเงินสดรับจากการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทัว่ ไปเป็ นครัง้ แรก (IPO) ในขณะที่ เนื่องจากเงินลงทุนชั่วคราวที่เพิ่มขึ้นจากเงินสดรับจากการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก(IPO)ในขณะที่ อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดเพิ่มขึ ้น จากการลดลงของลูกหนี ้การค้ า อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสดเพิ่มขึ้น จากการลดลงของลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็ บหนี ้และระยะเวลาช • ระยะเวลาเก็ บหนี้และระยะเวลาช� ำระหนีาระหนี ้เฉลี่ย ้เฉลีย่ รายการ
31 ธันวาคม 2558
2559
2560
ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย (วัน)
65.83
91.31
104.48/1
ระยะเวลาชาระหนี ้เฉลี่ย (วัน)
58.56
57.45
57.07
/1
47.41/1
Cash Cycle (วัน) หมายเหตุ
/1
7.27
/1
33.85
บริ ษัทฯ มีระยะเวลาเก็บหนี ้และ Cash Cycle สูงกว่าปกติ เนื่องจากการแปรสภาพจากบริ ษัทจากัดเป็ นบริ ษัทมหาชน ทาให้ สง่ ผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงสัญญากับ ปตท. ซึง่ ต้ องใช้ เวลาในการเปลี่ยนแปลงระยะหนึง่ ส่งผลให้ มีการชาระหนี ้ล่าช้ าออกไป อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ ้ ้ หากคานวณอัตราส่วน โดยการตัดรายการผิดปกติดงั กล่าวที่ ได้ รับชาระหนี ้จานวน 61.78 ล้ านบาท จาก ปตท. เป็ นที่เรี ย บร้ อยแล้ ว ทังนี เกิดขึ ้นเพียงครัง้ เดียวออก บริ ษัทฯ จะมีระยะเวลาเก็บหนี ้ เท่ากับ 62.46 วัน และ 68.62 วัน และมี Cash Cycle เท่ากับ 5.01 และ 11.55 วัน สาหรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31 ธันวาคม 2560 ตามลาดับ ซึง่ ใกล้ เคียงกับปี ก่อนหน้ า
บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2559 และ 2560 เท่ากับ 65.83 วัน 91.31 วัน และ 104.48 วัน ตามลาดับเนื่องจากลูกหนี ้การค้ า ปตท.จะมีเครดิตเทอมระยะเวลา 30 วัน นับ แต่วนั ที่ผ้ รู ับจ้ างได้ รับเอกสารการแจ้ งหนี ้ครบถ้ วนถูกต้ องโดยกาหนดให้ จดั ทาเอกสารการแจ้ งหนี ้เดือนละครัง้ ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ทาให้ ระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ ของบริ ษัท ใช้ เวลาประมาณ 60-65 วัน ทังนี ้ ้สาหรับปี 2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัท ย่อยมีระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลีย่ นานกว่าปกติ เนื่องจากการแปรสภาพจากบริ ษัทจากัดเป็ นบริ ษัทมหาชน ทาให้ สง่ ผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสัญญากับ ปตท. ส่งผลให้ มีการชะลอการชาระหนี ้ให้ กบั บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย อย่างไรก็ตาม ลูกหนี ้
134
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560เท่ากับ 65.83 วัน 91.31 วัน และ 104.48 วัน ตามล�ำดับเนื่องจากลูกหนี้การค้า ปตท.จะมีเครดิตเทอมระยะเวลา 30 วัน นับแต่วัน ที่ผู้รับจ้างได้รับเอกสารการแจ้งหนี้ครบถ้วนถูกต้องโดยก�ำหนดให้จัดท�ำเอกสารการแจ้งหนี้เดือนละครั้ง ภายในวันที่ 5 ของ เดือนถัดไป ท�ำให้ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัท ใช้เวลาประมาณ 60-65 วัน ทั้งนี้ส�ำหรับปี 2559 บริษัทฯ และบริษัท ย่อยมีระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย่ นานกว่าปกติ เนือ่ งจากการแปรสภาพจากบริษทั จ�ำกัดเป็นบริษทั มหาชน ท�ำให้สง่ ผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงทางสัญญากับ ปตท. ส่งผลให้มีการชะลอการช�ำระหนี้ให้กับบริษัทฯ และบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม ลูกหนี้ การค้าของกลุ่มบริษัทซึ่งค้างช�ำระเกินวันครบก�ำหนดจ�ำนวน 61.78 ล้านบาท ได้จ่ายช�ำระเงินแล้วในเดือนมกราคม 2560 ส�ำหรับระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยส�ำหรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระยะเวลา เก็บหนี้เฉลี่ยที่อาจนานกว่าปกติ ถึงแม้จะมีการช�ำระลูกหนี้การค้าที่ 61.78 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2560 แล้ว แต่จาก การค�ำนวณตามสูตรระยะเวลาเก็บหนี้ เท่ากับ 104.48 วัน เนื่องจากสัดส่วนรายได้จากการให้บริการเฉลี่ยลดลง มากกว่า การลดลงของลูกหนี้การค้าเฉลี่ย โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในเครดิตเทอมใดๆ จากทาง ปตท. บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระยะช�ำระหนี้เฉลี่ยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560เท่ากับ 58.56 วัน 57.45 วัน และ 57.07 วัน โดยระยะเวลาช�ำระหนี้เฉลี่ยปกติของกลุ่มบริษัทฯ อยู่ในช่วงประมาณ 50-60 วัน ซึ่ง ในปี 25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีระยะช�ำระหนี้เฉลี่ยใกล้เคียงกัน ที่ผ่านมาส�ำหรับปี25582559 และ 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีวงจรเงินเงินสด (Cash Cycle) เท่ากับ 7.27 วัน 33.85 และ 47.41 วัน ตามล�ำดับ โดยตั้งแต่ปี 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีระยะเวลาในการเก็บหนี้เฉลี่ยนานขึ้น เนื่องจากการแปรสภาพจากบริษัทจ�ำกัดเป็นบริษัทมหาชน ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสัญญากับ ปตท. ท�ำให้มี การชะลอการช�ำระหนี้ให้กับบริษัทฯ และบริษัทย่อยส่งผลให้วงจรเงินสดเพิ่มขึ้นอย่างมาก ภายหลังจากได้รับช�ำระเงินจาก ปตท.ท�ำให้วงจรเงินสดของบริษัทกลับสู่ภาวะปกติ 2. อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ รวมอยู่ที่ร้อยละ 17.32 ร้อยละ 17.98 และร้อยละ 8.20 ตามล�ำดับ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวรอยู่ที่ร้อยละ 21.88 ร้อยละ 24.78 และร้อยละ 18.29 ตามล�ำดับ และอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์มีอัตราอยู่ที่ 0.54 เท่า 0.58 เท่าและ 0.37 เท่า ตามล�ำดับ ซึ่งโดยภาพรวมในช่วงที่ผ่านมา อัตราดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์ที่ดี แสดงให้เห็นว่าสินทรัพย์ที่บริษัทฯ และ บริษัทย่อยลงทุนมีความสอดคล้องกับการด�ำเนินธุรกิจและสามารถใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อย อัตราส่วนความสามารถในการ ช�ำระดอกเบี้ยเท่ากับ 31.68 เท่า 19.12 เท่าและ 20.79 เท่า ตามล�ำดับ โดย ณ 31 ธันวาคม2560บริษัทฯ และบริษัทย่อย อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยที่สูงกว่าปกติ เนื่องจากบริษัทฯ มีกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงานจากการลด ลงของลูกหนี้การค้าเป็นหลักเนื่องจาก บริษัทฯ ได้รับช�ำระคืนหนี้จากปตท.จ�ำนวน 61.78 ล้านบาท ซึ่งค้างช�ำระเกินวันครบ ก�ำหนด จากการเปลี่ยนแปลงสัญญาของบริษัท ในระหว่างการแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน ในขณะที่ดอกเบี้ยจ่ายของบ ริษัทฯ ยังอยู่ในระดับต�่ำเมื่อเทียบกับรายได้จากการด�ำเนินกิจการอัดก๊าซธรรมชาติที่เกิดขึ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีแหล่งทีม่ าของเงินทุนจากเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน และส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็นหลัก โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม25582559 และ 2560บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินต่อผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 0.31 ร้อย ละ 0.21 และร้อยละ 0.17 ตามล�ำดับ
135
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ในปี2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากการลดลงของ ปั จจัยที่อาจมีผลต่ อผลการดาเนินงานหรือฐานะทางการเงินในอนาคต หนี้สินเนื่องจากบริษัทมีสภาพคล่องสูง จากกระแสเงินสดรับจากการด�ำเนินงาน ดก๊ าซธรรมชาติ ปตท. หมดอายุ ส�ำหรับปีส1)ิ้นสุดสัวัญ นทีญาจ้ ่ 31 าธังอั นวาคม2560 บริษัทกฯับ และบริ ษัทย่อย มีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง เนื่องจากการ เนืแ่อก่งจากสั ญญาจ้่วไปเป็ างอัดนก๊ครั าซธรรมชาติ ับ ปตท.ทั ง้ 2 สถานี คือ สถานีก๊าซธรรมชาติหลักเอกชนจังหวัด เสนอขายหุ้นใหม่ ประชาชนทั ้งแรก(IPO)กในช่ วงปลายปี ก๊าซธรรมชาติ หลักำเอกชนจั งหวัดอสระบุ รี มีอายุสญ ั นญา 20 ปี ซึ่งจะครบกาหนดในปี 2572 และปี 2573 ปทุมธานีปัและสถานี จจัยที่อาจมี ผลต่อผลการด� เนินงานหรื ฐานะทางการเงิ ในอนาคต ทังนี ้ ญ้ หากสั กล่าวครบกาหนด และไม่ มีการต่อสัญญา อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ ของบริ ษัทฯ ได้ อย่างไร ตามลาดับ1) สั ญาจ้าญงอัญาดั ดก๊างซธรรมชาติ กับ ปตท. หมดอายุ ที่สญ ั ญาครบก สญ ั ญาก20 และปตท.ยั งไม่ได้คืมอีการตกลงท าสัญญาใหม่ ถือว่าต่องหวั อายุดปทุ สญ ั มญา ก็ตามในกรณี เนื่องจากสั ญญาจ้างอัาหนดอายุ ดก๊าซธรรมชาติ ับ ปีปตท.ทั ้ง 2 สถานี สถานีก๊าซธรรมชาติ หลันกนั ้ เอกชนจั ธานี และสถานี ๊าซธรรมชาติ กเอกชนจั งหวัดสระบุ รี มีมอธานี ายุสัญและต่ ญา 20 ซึ่งจะครบก�กำคราวละ หนดในปี22572 ออกไปอีกกคราวละ 1-5 ปีหสลัาหรั บสัญญาสถานี ของปทุ อสัญปีญาออกไปอี ปี สาหรัและปี บสถานี2573ตามล� ของสระบุรำี ดับ ทัง้ นี้ หากสัญญาดั งกล่าวครบก� ำหนด มกี ารต่ อสัญญา อาจส่งาผลกระทบต่ รายได้ยัขงคงเป็ องบรินษทีทั ่ตฯ้ อได้ อย่าแม้ งไรก็ ามในกรณี นอกจากนี ้ ทางบริ ษัทฯและไม่ มีมมุ มองว่ าหากในอนาคตก๊ ซธรรมชาติ อNGV งการ ว่าตในสภาวะ ทีราคาน ส่ ญ ั ญาครบก� ำหนดอายุสญ ั ญา 20 ปี และปตท.ยังไม่ได้มกี ารตกลงท�ำสัญญาใหม่นนั้ ถือว่าต่ออายุสญ ั ญาออกไปอีก้ คราวละ ้ามันที่ต่าเช่นปั จจุบนั และยังคงมีส่วนต่างของราคาระหว่างก๊ าซ NVG และราคาน ้ามันมันระดับหนึ่ง อีกทังความ 1-5 ปีส�ำหรับสัญญาสถานีของปทุมธานี และต่อสัญญาออกไปอี กคราวละ 2 ปีส�ำหรับสถานีของสระบุรี ต้ องการใช้ ก๊าซ NGV ในภาคขนส่งที่มีอย่างต่อเนื่องนันท ้ าให้ บริ ษัทฯ มีโอกาสที่จะเข้ าเจรจาสัญญาใหม่กับทางปตท.ใน นอกจากนี้ ทางบริษัทฯ มีมุมมองว่าหากในอนาคตก๊าซธรรมชาติ NGV ยังคงเป็นที่ต้องการ แม้ว่าในสภาวะราคาน�้ำมันที่ต�่ำ อนาคตได้ ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั การพิจารณาของปตท. เช่นปัจจุบัน และยังคงมีส่วนต่างของราคาระหว่างก๊าซ NVG และราคาน�้ำมันมันระดับหนึ่ง อีกทั้งความต้องการใช้ก๊าซ NGV รกิบจใหม่ ษัทฯ มี่จแะเข้ ผนที ่จะจัดตัญงสถานี ้ ญาใหม่ บริกกับารก๊ าซธรรมชาติ NGV Conventional ในภาคขนส่งที่มในแง่ ีอย่าขงต่องการพั อเนื่องนัฒ้นนาธุ ท�ำให้ ริษัทฯโดยบริ มีโอกาสที าเจรจาสั ทางปตท.ในอนาคตได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ แบบ จEx-Pipeline ในบริ เวณ จังหวัดนครสวรรค์ โดยดาเนินการเป็ นสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ NGV ซึ่งจะดาเนินการรับซื ้อ การพิ ารณาของปตท. าไปจฒาหน่ กแก่โดยบริ ประชาชนผ่ ริ กดารก๊ ซธรรมชาติ นการสร้NGV างรายได้ ในอนาคตให้ แบบ แก่ ก๊ าซจากปตท.และน ในแง่ของการพั นาธุารยปลี กิจใหม่ ษทั ฯ ามีนสถานี แผนทีจบ่ ะจั ตัง้ าสถานี บริการก๊ซึาง่ จะเป็ ซธรรมชาติ Conventional องค์กร Ex-Pipeline ในบริเวณ จังหวัดนครสวรรค์ โดยด�ำเนินการเป็นสถานีบริการก๊าซธรรมชาติ NGV ซึง่ จะด�ำเนินการรับซือ้ ก๊าซจาก ปตท.และน�2)ำไปจ�ราคาก๊ ำหน่าายปลี กแก่ประชาชนผ่ ซธรรมชาติ เทียบกัาบนสถานี ราคานบา้ริมัการก๊ น าซธรรมชาติ ซึง่ จะเป็นการสร้างรายได้ในอนาคตให้แก่องค์กร 2) ราคาก๊ าซธรรมชาติเทียบกับราคาน�้ำมัน จากเหตุการณ์ที่ราคาน ้ามันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ ้นในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา เป็ นองค์ประกอบหนึง่ ซึง่ ทา จากเหตุการณ์ที่ราคาน�้ำมันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา เป็นองค์ประกอบหนึ่งซึ่งท�ำให้ผู้ ให้ ผ้ บู ริ โภคส่วนใหญ่ให้ ความสนใจใช้ ก๊าซธรรมชาติสาหรับ ยานยนต์เพิ่มมากขึ ้น เนื่องจากมี สว่ นต่างในระดับราคาต่ากว่า บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสนใจใช้กา๊ ซธรรมชาติสำ� หรับยานยนต์เพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากมีสว่ นต่างในระดับราคาต�ำ่ กว่าเมือ่ เทียบ เมื่อเทียบกับราคาน ้ามันอย่างมีนยั สาคัญ อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ราคาก๊ าซธรรมชาติมีการปรับตัวสูงขึ ้น อีกทังราคาน ้ ้ามัน กับราคาน�ำ้ มันอย่างมีนยั ส�ำคัญ อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั ราคาก๊าซธรรมชาติมกี ารปรับตัวสูงขึน้ อีกทัง้ ราคาน�ำ้ มันเริม่ ปรับตัว เริ่ มปรับตัวลดลงมาในระดับที่ต่า ทาให้ มีแนวโน้ มที่ผ้ บู ริ โภคจะกลับมาใช้ น ้ามันเพิ่มขึ ้น และใช้ ก๊าซธรรมชาติลดลง ซึ่งหากมี ลดลงมาในระดับที่ต�่ำ ท�ำให้มีแนวโน้มที่ผู้บริโภคจะกลับมาใช้น�้ำมันเพิ่มขึ้น และใช้ก๊าซธรรมชาติลดลง ซึ่งหากมีการใช้ก๊าซ การใช้ ก๊าซธรรมชาติลดลง จะส่งกระทบต่อรายได้ ของบริ ษัทฯ ในอนาคตได้ อย่างไรก็ดีผ้ บู ริ โภคหลักสาหรับก๊ าซธรรมชาติ ธรรมชาติลดลง จะส่งกระทบต่อรายได้ของบริษทั ฯ ในอนาคตได้อย่างไรก็ดผี บู้ ริโภคหลักส�ำหรับก๊าซธรรมชาติ ได้แก่ ผูบ้ ริโภค ได้ แก่ ผู้บริ โภคประเภทรถบรรทุก หรื อรถขนส่ง เป็ นหลัก ซึง่ ยังคงมีความต้ องการใช้ ก๊าซธรรมชาติในการขนส่งมากกว่าน ้ามัน ประเภทรถบรรทุก หรือรถขนส่ง เป็นหลัก ซึ่งยังคงมีความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติในการขนส่งมากกว่าน�้ำมัน เนื่องจาก เนื่องจากต้ นทุนที่ถกู กว่า แม้ วา่ ราคาน ้ามันจะปรับตัวลดลงก็ตาม ต้นทุนที่ถูกกว่า แม้ว่าราคาน�้ำมันจะปรับตัวลดลงก็ตาม 3) ความผันผวนของอั นผวนของอั ตราค่ าตอบแทนการอั ก๊ าซธรรมชาติ รียกเก็ บจาก ปตท. 3) ความผั ตราค่ าตอบแทนการอั ดก๊ดาซธรรมชาติ ที่เรีทย่ เี กเก็ บจาก ปตท. เนื่องจากอั ตราค่ตาราค่ ตอบแทนการอั ดก๊าซธรรมชาติ ที่เรียทกเก็ จากบจาก ปตท.ปตท. บริษบริัทษฯัทจะค� ำนวณจ� ำนวนเงิ นทีน่เทีรีย่เรีกเก็ เนื่องจากอั าตอบแทนการอั ดก๊ าซธรรมชาติ ี่เรี ยบกเก็ ฯ จะค านวณจ านวนเงิ ยก บ ตามปริ มาณการอั ดก๊าซธรรมชาติ จริง จประกอบด้ วย ว2ยส่2วนหลั ก คืกอคือ(1)(1)ค่าค่ตอบแทนการลงทุ Payment: : เก็บตามปริ มาณการอั ดก๊ าซธรรมชาติ ริ ง ประกอบด้ ส่วนหลั าตอบแทนการลงทุนน(Availability (Availability Payment AP) สัญสญา และและ (2)(2) ค่าด�ค่ำาเนิด าเนิ นการนการ (Energy Payment นค่นาค่ตอบแทนที ่ปรั่บ AP) ซึซึ่ง่งเป็เป็นนค่ค่าาตอบแทนคงที ตอบแทนคงที่ตลอดอายุ ่ ตลอดอายุ ัญญา (Energy Payment: EP) : EP)ซึ่งซึเป็่ง เป็ า ตอบแทนที เปลี นได้ย่ ในได้ นแต่ใลนแต่ ะปีโลดยจะผั นแปรตามราคาไฟฟ้ า อัตาราแลกเปลี ่ยน ย่ดันชนีดัผชู้บนีริผโ้ บู ภคริ โภค และดั ชนีชคนี่าบริ งทางถนน ปรับ่ยเปลี ะปี โดยจะผั นแปรตามราคาไฟฟ้ อัตราแลกเปลี และดั คา่ กบริารขนส่ การขนส่ งทางถนนซึ่งซึการ ง่ เปลี ่ยนแปลงของตั วแปรดั งกล่งากล่ ว าจะส่ งผลต่ อผลการด� ำเนิาเนิ นงานที ่เพิ่เ่มพิขึ่ม้นขึ ้นหรืหรืออลดลงของบริ โดยสามารถพิจารณา จารณา การเปลี ย่ นแปลงของตั วแปรดั ว จะส่ งผลต่ อผลการด นงานที ลดลงของบริษษัทัทฯฯ ได้ได้โดยสามารถพิ ผลกระทบต่ ำเนินนงานได้ งานได้ ซึซึง่ มี่งมีสสมมติ มมติฐฐานให้ านให้รายได้ รายได้จากการให้ จากการให้บริบกริารและต้ การและต้ นการให้ ริกเพิ าร่มขึเพิ้นในอั ่มขึ้นตในอั ผลกระทบต่ออผลการด� ผลการดาเนิ นทุนนทุการให้ บริ กบาร ราเท่ตราเท่ ากัน า กัตามตารางตั น ตามตารางตั วอย่วาอย่ งด้าางด้ นล่าานล่ ง าง ค่ าไฟฟ้ าที่เปลี่ยนแปลง1/ รายได้ จากการให้ บริการ
ปี 2560 310.15
+ 5% 317.59
เพิ่มขึน้ +10% 325.04
+15% 332.48
13. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ หน้ า 19
-5% 302.71
ลดลง -10% 295.20
-15% 287.82
136
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท สากล เอนเนอยี จากัด (มหาชน)
ต้ นทุนการให้ บริการ กาไรสุทธิ อัตราเปลี่ยนแปลงกาไร
190.13 73.77 -
ดัชนีราคาผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง2/
ปี 2560
รายได้ จากการให้ บริการ ต้ นทุนการให้ บริการ กาไรสุทธิ อัตราเปลี่ยนแปลงกาไร
310.15 190.13 73.77 -
อัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลง3/ รายได้ จากการให้ บริการ ต้ นทุนการให้ บริการ กาไรสุทธิ อัตราเปลี่ยนแปลงกาไร
ปี 2560 310.15 190.13 73.77 -
194.10 77.24 4.71%
198.07 80.71 9.41%
202.04 84.19 14.12%
186.16 70.30 -4.71%
182.19 66.83 -9.41%
178.22 63.35 -14.12%
+ 5% 310.61 191.74 72.63 -1.55%
เพิ่มขึน้ +10% 311.08 193.34 71.49 -3.10%
+15% 311.54 194.95 70.34 -4.64%
- 5% 309.68 188.52 74.91 1.55%
ลดลง -10% 309.22 186.92 76.05 3.10%
-15% 308.75 185.31 77.20 4.64%
+ 5% 311.54 190.37 74.93 1.57%
เพิ่มขึน้ +10% 312.94 190.61 76.08 3.13%
- 5% 308.75 189.89 72.61 -1.57%
ลดลง -10% 307.36 189.65 71.46 -3.13%
-15% 305.96 189.41 70.30 -4.70%
+15% 314.34 190.85 77.24 4.70%
หมายเหตุ1/ในสูตรการคานวณรายได้ คา่ ดาเนินการ (EP) จะใช้ คา่ ไฟฟ้าในปี ก่อนหน้ าเพื่อมาคานวณ กล่าวคือ รายได้ จากการให้ บริการปี 2560จะ ใช้ ค่าไฟฟ้าของปี 2559 มาคานวณรายได้ ดงั กล่าว ซึ่งการเปลี่ยนแปลงตามตารางข้ างต้ น เป็ นการเปลี่ยนแปลงค่าไฟฟ้าที่เพิ่มขึ ้น หรื อค่า ไฟฟ้า ที่ล ดลงจากปี 2559 ตามสูต รการค านวณที่กาหนด ในขณะที่ การเปลี่ยนแปลงค่า ไฟฟ้า ที่ กระทบกับต้ นทุนการ ให้ บริการตามตารางข้ างต้ น จะเป็ นค่าไฟฟ้าที่ใช้ จริงในปี 2560 ที่ใช้ ในการคานวณการเปลี่ยนแปลง 2/
ในสูตรการคานวณรายได้ คา่ ดาเนินการ (EP) จะใช้ ดชั นีราคาผู้บริโภคในปี ก่อนหน้ าเพื่อมาคานวณ กล่าวคือ รายได้ จากการให้ บริการ ปี 2560 จะใช้ ดัช นี ร าคาผู้บ ริ โ ภคของปี 2559 มาค านวณรายได้ ดัง กล่า ว ซึ่ง การเปลี่ ย นแปลงตามตารางข้ า งต้ น เป็ น การ เปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริ โภคเพิ่มขึน้ หรื อดัชนีราคาผู้บริ โภคที่ลดลงจากปี 2559 ตามสูตรการคานวณที่กาหนด ในขณะที่การ เปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคที่กระทบกับต้ นทุนการให้ บริการตามตารางข้ างต้ น จะใช้ เฉพาะต้ นทุนเงินเดือนพนักงานมาคานวณ การเปลี่ยนแปลง
3/
ในสูตรการคานวณรายได้ คา่ ดาเนินการ (EP) จะใช้ อตั ราแลกเปลี่ยนในปี ก่อนหน้ าเพื่อมาคานวณ กล่าวคือ รายได้ จากการให้ บริ การ ปี 2560 จะใช้ อตั ราแลกเปลี่ยนของปี 2559 มาคานวณรายได้ ดงั กล่าว ซึง่ การเปลี่ยนแปลงตามตารางข้ างต้ น เป็ นการเปลี่ยนแปลง อัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ ้นหรืออัตราแลกเปลี่ยนที่ลดลงจากปี 2559 ตามสูตรการคานวณที่กาหนด ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงอัตรา แลกเปลี่ยนที่กระทบกับต้ นทุนการให้ บริการตามตารางข้ างต้ น จะใช้ เฉพาะต้ นทุนการนาเข้ าอะไหล่มาคานวณการเปลี่ยนแปลง
ตามข้อมูลข้างต้นจะพบว่า ต้นทุนค่าไฟฟ้าเป็นตัวแปรส�ำคัญหลัก หากต้นทุนไฟฟ้าเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงจะ ตามข้ อมูลข้ างต้ นจะพบว่า ต้ นทุนค่าไฟฟ้าเป็ นตัวแปรสาคัญหลัก หากต้ นทุนไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ ้นหรื อ กระทบกับผลประกอบการของบริษทั ในปีนนั้ ๆ มากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับการเปลีย่ นแปลงของดัชนีราคาผูบ้ ริโภคหรืออัตราแลก ลดลงจะกระทบกับผลประกอบการของบริ ษัทในปี นนๆ ั ้ มากที่สดุ เมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริ โภคหรื อ เปลีย่ น ทัง้ นีต้ น้ ทุนการให้บริการของบริษทั ฯ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปีปจั จุบนั (t) จะไม่สามารถสะท้อนส่งผ่านเข้าในรายได้จากการให้ อัตราแลกเปลี่ยน ทังนี ้ ้ต้ นทุนการให้ บริ การของบริ ษัท ฯ ที่เพิ่มขึ ้นในปี ปัจจุบนั (t) จะไม่สามารถสะท้ อนส่งผ่านเข้ าในรายได้ บริการในปีปจั จุบนั (t) แต่อตั ราต้นทุนผันแปรดังกล่าวจะสามารถชดเชยกลับเข้าไปในรายได้จากการให้บริการในปีถดั ไป (t+1) จากการให้ บริ การในปี ปัจจุบนั (t) แต่อตั ราต้ นทุนผันแปรดังกล่าวจะสามารถชดเชยกลับเข้ าไปในรายได้ จากการให้ บริ การใน ในส่วนของค่าด�ำเนินการ Energy Payment ตามสูตรอัตราค่าบริการอัดก๊าซธรรมชาติ ดังนัน้ จะพบว่าความผันผวนของอัตรา ปี ถดั ไป (t+1) ในส่วนของค่าดาเนินการ Energy Payment ตามสูตรอัตราค่าบริ การอัดก๊ าซธรรมชาติ ดังนัน้ จะพบว่าความ ค่าตอบแทนทีค่ ำ� นวณจากปัจจัยแปรผันจะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อผลประกอบการของบริษทั ในระยะยาว ผันผวนของอัตราค่าตอบแทนที่คานวณจากปั จจัยแปรผันจะไม่สง่ ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อผลประกอบการของบริ ษัท ส�ำหรับตัวแปร ดัชนีค่าขนส่งสินค้าทางถนน ที่ส่งผลเฉพาะกับรายได้ในส่วนปรับปรุงคุณภาพ นั้นจะไม่มีผลกระทบ ในระยะยาว ต่อต้นทุน หรือก�ำไรขั้นต้น เนื่องจากบริษัทฯ ได้ใช้สูตรการค�ำนวณเดียวกันทั้งในส่วนการคิดราคาต้นทุนซื้อ ก๊าซเฉื่อย และ ในส่วนการรับรายได้จาก ปตท. อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการรับรู้ค่าตอบแทนการลงทุน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในองค์ประกอบรายได้จากการอัดก๊าซแก่ การวิเคราะห์ และคและไม่ าอธิบายของฝ่ ายจันดผวนตามตั การ หน้ า 20วแปรอื่น ปตท. และเป็นอัตราตอบแทนที่คงที่ต13.ลอดอายุ สัญญา มีความผั
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
137
138
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
139
140
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
141
142
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
143
144
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
145
146
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
147
148
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
149
150
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
151
152
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
153
154
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
155
156
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
157
158
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
159
160
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
161
162
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
163
164
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
165
166
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
167
168
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
169
170
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
171
172
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
173
174
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
175
176
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
177
178
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
179
180
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
181
182
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
183
184
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
185
186
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
187
188
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
189
190
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
191
192
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
193
194
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
195
196
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
197
198
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
199
200
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
201
202
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
203
204
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
205
206
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
207
208
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
209
210
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
211
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่แสดงใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท
212
รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท สากล เอนเนอยี จำ�กัด (มหาชน)
บร�ษัท สากล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน)
15 หมู 1 ตำบลเชียงรากน อย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย 12160
+66(0)2 593-7217 +66(0)2 593-7216
www.sakolenergy.com