Annual Report 2014 TH

Page 1


สารบัญ สารจากประธานกรรมการบริ ษทั รายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผูต้ รวจสอบภายใน และหัวหน้างานกากับดูแล การปฏิบตั ิงานของบริ ษทั ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ส่ วนที่ 2

ส่ วนที่ 3

2 3 11

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ รกิจ

13

ลักษณะการประกอบธุ รกิจ

16

ปัจจัยความเสี่ ยง

46

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจ

48

ข้อพิพาททางกฎหมาย

50

ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

51

ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุ ้น

55

โครงสร้างการจัดการ

58

การกากับดูแลกิจการ

71

ความรับผิดชอบต่อสังคม

98

การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี่ ยง

109

รายการระหว่างกัน

112

ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ข้อมูลทางการเงินที่สาคัญ

การวิเคราะห์และอธิบายของฝ่ ายจัดการ รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคระกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 20/2557 งบการเงิน

114 119 122 123 124 133










(อายุ 68 ปี)





1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) มีบริ ษทั ในกลุม่ ทั้งสิ้น 14 บริ ษทั ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยที่ SNC ถือหุน้ โดยตรงจานวน 9 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยที่ SNC ถือหุน้ ผ่านบริ ษทั ย่อย จานวน 2 บริ ษทั บริ ษทั ร่ วม จานวน 2 บริ ษทั และกิจการที่ควบคุมร่ วมกันจานวน 1 บริ ษทั โดยในปัจจุบนั กลุ่มบริ ษทั มีการประกอบธุรกิจ โดย แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มดังนี้ AUTO PART OEM OTHER

= = = =

ชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับยานพาหนะ ชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทาความเย็น รับจ้างผลิตและประกอบเครื่ องทาความเย็น การดาเนินงานอื่นๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่ องซักผ้า เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ ประกอบด้วยเหล็กทังสเตนคาร์ไบค์ ผลิตฮีตปั มพ์สาหรับเครื่ องทาน้ าร้อน ประเภทธุรกิจ กลุ่มบริ ษทั AUTO PART OEM OTHER บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) (SNC)   1.1 สาขา 2 (Branch 2)  1.2 สาขา 4 (Branch 4) บริ ษทั ย่อยทางตรง  บริ ษทั เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชนั่ จากัด (SPEC)  บริ ษทั เอส เอ็น ซี คูลลิ่ง ซัพพลาย จากัด (COOL)  บริ ษทั อิมมอทัล พาร์ท จากัด (IMP)  บริ ษทั พาราไดซ์ พลาสติก จากัด (PRD)  บริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จากัด (TTD)  บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จากัด (SCAN)  บริ ษทั เอส เอ็น ซี แอตแลนติก ฮีต ปั มพ์ จากัด (SAHP)  บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟูกอู ิ โฮลี อินซูเลชัน่ จากัด (SFHI)  บริ ษทั เมอิโซะ เอสเอ็นซี พริ ซิชน่ั จากัด (MSPC) บริ ษทั ย่อยทางอ้อม   บริ ษทั อัลทิเมท พาร์ท จากัด (UMP)    บริ ษทั อินฟิ นิต้ ี พาร์ท จากัด (IPC) บริ ษทั ร่ วม  บริ ษทั เอส เอ็น ซี แอตแลนติก วอเตอร์ ฮีตเตอร์ เอเชีย จากัด (SAWHA)  บริ ษทั ฟูโซ่ อินดัสตรี ส์ (ไทยแลนด์) จากัด (FUSO) บริ ษทั ที่ควบคุมร่ วมกัน    บริ ษทั เอส เอส เอ็ม ออโต้เมชัน่ จากัด (SSMA)

หน้า 13


1.1

วิสัยทัศน์ และพันธกิจ วิสัยทัศน์ (Vision) : SNC Superstore เอส เอ็น ซี ศูนย์รวมของผลิตภัณฑ์ และบริ การแบบครบวงจรใน อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่ องทาความเย็น เครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเลคทรอนิค พันธกิจ (Mission) 1) คานึงถึงคุณภาพของสิ นค้าเป็ นอันดับแรก (Quality First) 2) สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และบริ การเพื่อตอบสนองความต้องการทุกรู ปแบบของ ลูกค้า (Differentiation) 3) สร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพในราคาที่ลูกค้าสามารถซื้อไปแข่งขันได้ (Cost Effectiveness) 4) ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยความรวดเร็ ว (Quick Response) 5) ปรับระบบการผลิตให้ยดื หยุน่ ทันต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว (Flexible Manufacturing System) 6) ให้ความสาคัญกับผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมและผูม้ ีส่วนได้เสี ยทั้งทางตรงและทางอ้อม (Focus on Products and Stakeholders 7) มีจิตวิญญาณและความตั้งใจในเรื่ องบริ การ เพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจสูงสุด (Service Mind)

1.2

การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญ 15 มกราคม 2557 บริ ษทั ได้ลงทุนเพิ่มในบริ ษทั เอส เอส เอ็ม ออโต้เมชัน่ จากัด ซึ่งเป็ นกิจการที่ควบคุม ร่ วมกันจานวน 300,000 หุน้ ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาทต่อหุน้ จานวนรวมทั้งสิ้น 30 ล้านบาท คิดเป็ น สัดส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 49 25 มีนาคม 2557 บริ ษทั ลงทุนในหุ ้นสามัญของ บริ ษทั เอส เอ็น ซี แอตแลนติก ฮีต ปั มพ์ จากัด จานวน 330,000 หุ ้น ซึ่ งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาทต่อหุ ้น จานวนรวมทั้งสิ้ น 33.3-ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนการถือหุ ้น ร้อยละ 74-โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจผลิตฮีตปั มพ์สาหรับเครื่ องทาน้ าร้อน 30 พฤษภาคม 2557 บริ ษทั ลงทุนในหุ ้นสามัญของ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟูกูอิ โฮลี อินซูเลชัน่ จากัด จานวน 349,996 หุน้ ซึ่งมีมูลค่าที่ตราไว้ 100 บาทต่อหุ ้น จานวนรวมทั้งสิ้ น 35-ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนการถือหุ ้น ร้อยละ 70-โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจผลิตชุดท่อทองแดงหุ ้มฉนวนที่ใช้ในการติดตั้งเครื่ องทา ความเย็น และ ฉนวนหุม้ ท่อ 10 พฤศจิกายน 2557 บริ ษทั และบริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จากัด ได้ลงทุนในหุ ้นสามัญของ บริ ษทั เมอิโซะ เอสเอ็นซี พริ ซิชนั่ จากัด จานวน 39,999 หุ ้น และ 29,999 หุ ้นตามลาดับ ซึ่ งมีมูลค่าที่ ตราไว้ 100 บาทต่อหุน้ จานวนรวมทั้งสิ้น 4 ล้านบาท และ 3 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นสัดส่วนการถือหุน้ ทางตรงร้อย

หน้า 14


ละ 40 และทางอ้อมร้อยละ 30-โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประกอบธุ รกิจผลิตและรับบริ การผลิตแม่พิมพ์ที่ใช้ ในการผลิตอุปกรณ์ต่างๆ ทุกชนิด

1.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท โครงสร้างการประกอบธุรกิจและการถือหุน้ ของกลุ่มบริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) สรุ ปตาม แผนภาพ ได้ดงั นี้

หน้า 15


2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปั จจุบนั กลุ่มบริ ษทั มีการประกอบธุรกิจ โดยแบ่งออกเป็ น 4 สายผลิตภัณฑ์หลักดังนี้ 2.1 ชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับยานพาหนะ 2.2 ชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทาความเย็น 2.2.1 ชิ้นส่วนท่อทองแดง 2.2.2 ชิ้นส่วนโลหะแผ่นขึ้นรู ป 2.2.3 ชิ้นส่วนพลาสติก 2.2.4 อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน 2.3 รับจ้างผลิตและประกอบเครื่ องทาความเย็น 2.4 การดาเนินงานอื่นๆ โดยในปี 2557 บริ ษทั มีรายได้จากธุรกิจชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องปรับอากาศที่ใช้สาหรับยานพาหนะ ร้อยละ 13 ธุรกิจชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทาความเย็นร้อยละ 40 ธุรกิจรับจ้างผลิตและประกอบเครื่ องทา ความเย็นร้อยละ 42 และการดาเนินงานอื่นๆ ร้อยละ 5 (อ้างอิงหมายเหตุประกอบงบการเงิน หัวข้อส่วนงาน ดาเนินงาน)

2.1 ชิ้นส่ วนอุปกรณ์ สาหรับเครื่องปรับอากาศทีใ่ ช้ สาหรับยานพาหนะ 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ เป็ นชิ้นส่ วนสาหรับเครื่ องปรับอากาศภายในรถยนต์ โดยเป็ นส่ วนประกอบของท่อที่ ทามาจากอลูมิเนี ยม น ามาขึ้ น รู ป และประกอบเข้า กับ ชิ้ น ส่ ว นโลหะต่ า งๆ และประกอบเป็ นชุ ด จ าหน่ า ยให้กับ ผูป้ ระกอบ เครื่ องปรับอากาศรายใหญ่ ซึ่ งจะส่ งมอบและจาหน่ายให้แก่โรงงานผูผ้ ลิตรถยนต์ต่อไป ตัวอย่างของสิ นค้า เช่น Inlet/Outlet Pipe Assembly, Header, Suction Pipe, Flange Inlet/Outlet, Pipe and Hose Assembly, Liquid Pipe, Pipe Assembly with Flange, Discharge Pipe, Insulator Pipe Assembly, Hose-Heather Assembly, Compressor Part โดยมีการเพิ่มส่ วนของผลิตภัณฑ์ในชิ้นส่ วน Plastic, Sheet Metal Fabrication และ Stamping โดยสามารถแบ่งสายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มธุรกิจรถยนต์ได้ดงั นี้ 1. Machine Part

หน้า 16


ผลิตภัณฑ์ Machine Part เป็ นการขึ้นรู ปจากวัตถุดิบประเภทอลูมิเนียม, Extradition, Dai – Casting, ท่อ แสตนเลส, เหล็ก, ทองเหลือง โดยใช้เป็ นส่วนประกอบสาหรับระบบปรับอากาศภายในรถยนต์, ปั๊ มน้ ามัน ดีเซล คอมเพรสเซอร์และชิ้นส่วนยานยนต์ โดยผลิตภัณฑ์ Machine Part จะผลิตเพื่อประกอบภายใน และส่ง ให้กบั กลุ่มลูกค้า เช่น Valeo, Denso, Keihin, Halla, Calsonic เป็ นต้น Product Connector Yoke

Customer Valeo Denso Keihin Calsonic SNSS

Car Mitsubishi Toyota Honda Nissan, Isuzu Isuzu, GM

2. Aluminum Pipes

ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Aluminum Pipes เป็ นการประกอบท่ออลูมิเนียมกับ Connector อลูมิเนียมโดยเป็ น ส่วนประกอบของระบบปรับอากาศภายในรถยนต์ ซึ่งส่งให้กบั ลูกค้า Valeo, Denso, Halla, Calsonic, Keihin Product Pipe Liquid Pipe Suction Pipe Discharge Pipe Inlet Pipe Outlet Pipe Ass’y

Customer Valeo Denso Halla

Car Mitsubishi Toyota GM, Ford

Calsonic

Isuzu

Keihin

Honda

3. Steel Pipes

หน้า 17


ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Steel Pipes เป็ นการประกอบท่อเหล็กกับ Bracket เหล็ก และมีการชุบผิว MF-Zn+3 และ EDP โดยเป็ นส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน กลุ่มลูกค้าหลักคือ Denso, Calsonic, Halla Product Water Pipe

Customer Denso Calsonic Halla

Car Toyota Isuzu Ford

4. Hose Assembly เป็ นการประกอบท่ อ อลู มิ เ นี ย มกับ สาย Hose ใช้ใ นระบบปรั บ อากาศภายใน รถยนต์ ผลิตในกลุ่มลูกค้า Valeo ซึ่ งใช้ ในรถยนต์ Mitsubishi Triton และ Pajero Sport ทั้งขายภายในประเทศและส่งออก Product Hose Discharge Hose Suction Hose Liquid

Customer

Car

Valeo

Mitsubishi, Nissan

5. Plastic ผลิ ตภัณฑ์ในกลุ่ม Plastic สาหรั บระบบปรั บอากาศภายใน รถยนต์ เช่น ชิ้นส่ วนของ Shroud Fan โดยเริ่ มต้นผลิตในกลุ่ม ลูกค้า Denso Product Shroud Fan Frame

Customer Denso Honda

Car Toyota Honda

6. Stamping & Forging - Metal Stamping เป็ นส่ วนประกอบของ Pipe Water และ Bracket ในระบบปรับอากาศรถยนต์ โดยมีการ ขยายผลิตภัณฑ์ไปในชิ้นส่วนอื่นๆ (แกนที่ปัดน้ าฝนในรถยนต์) เป็ นต้น เช่น ชุด Viper

หน้า 18


Pipe Water และ Bracket

Product Viper Bracket -

Customer Denso Denso

Car Toyota Toyota

Aluminum Stamping เป็ นการขยายผลิตภัณฑ์ของ Stamping Process จาก Metal เป็ น Aluminum โดย นาไปใช้ประกอบกับ Evaporator และ Condenser ของระบบปรับอากาศรถยนต์ Side Plate EVA Side Plate Ass’y

Product Side Plate EVA Side Plate Ass’y -

Viper

Customer Keihin Keihin

Car Honda / Mitsubishi Honda

Aluminum Forging ในปี 2557 เริ่ มสายการผลิตของ Aluminum Forging โดยมีเป้ าหมายการผลิตชิ้นส่ วน ให้กบั ระบบเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ เช่น Header End, Flange Header End Flange

หน้า 19


ลูกค้ า Valeo Group Calsonic

Keihin Keihin USA Keihin China Denso Thailand Delphi Siam NSK Halla Climate Visteon India Sanden Subros

กลุ่มชิ้นส่ วนเครื่องปรับอากาศภายในรถยนต์ ค่ ายรถ ชื่อรุ่น Nissan Navara, Teana, Sunny Mitsubishi Lancer, Triton, Pajero Sport Isuzu D-Max Ford Ranger Isuzu New D-Max Mitsubishi New Triton Honda, Mitsubishi Civic, Accord, CRV, New Triton Mitsubishi Toyota

Vigo, Camry, Yaris

Isuzu Isuzu GM Ford Mazda GM Ford (Export) Tata

D-Max New D-Max New Colorado New Ranger, Focus, Fiesta New BT50, Mazda 2, 3 Optra KA Xenon, CNC

หน้า 20

ชิ้นส่ วนประกอบ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วน Intercooler, Compressor ชิ้นส่วน Intercooler ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์

ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ และหม้อน้ า ชิ้นส่วนปั๊ มน้ ามันดีเซล ชิ้นส่วนแกนพวงมาลัย ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์ ชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศรถยนต์


2)

การตลาดและการแข่ งขัน ปริ มาณการผลิตและจาหน่ายรถยนต์ในประเทศ ในช่วงปี 2547 – 2557 3.0

2.45

2.5

1.88

2.0

1.63

1.5 1.0

2.46

0.96 0.63

1.19

1.13 0.70

1.30

1.00 0.68

0.63

0.61

1.44

1.46

1.39 0.79

1.33 0.88

0.80

0.55

0.5 0.0 2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

ที่มา : สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย

ก.

การตลาดของผลิตภัณฑ์ สิ่ งที่บริ ษทั มุ่งเน้นในการทาตลาด คือ การให้ความสาคัญกับคุณภาพสิ นค้า และความพอใจของลูกค้าเป็ น อันดับแรก จึงได้ดาเนินกลยุทธ์ดา้ นการตลาดมาอย่างต่อเนื่อง คือ กลยุทธ์ดา้ นลูกค้าภายนอก 1. Quality First คานึงถึงคุณภาพของสิ นค้าเป็ นลาดับแรก 2. Differentiation สร้ างความหลากหลายของผลิ ตภัณฑ์และบริ การ เพื่อตอบสนองความต้องการทุ ก รู ปแบบของสิ นค้า 3. Cost Effectiveness สร้างผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพในราคาที่ลูกค้าสามารถซื้อไปแข่งขันได้ 4. Quick Response ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ ว 5. Flexible Manufacturing system ปรับระบบการผลิตให้ทนั ต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว 6. Focus on Products and Stakeholders ให้ความสาคัญกับผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมและผูม้ ีส่วน ได้เสี ยทั้งทางตรงและทางอ้อม 7. Service Mind มีจิตวิญญาณและความตั้งใจในเรื่ องการบริ การ เพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจสูงสุด 8. การสร้างความเชื่ อมัน่ ให้กับลูกค้า ด้วยระบบบริ หารการผลิ ต ทั้งในด้านคุณภาพและ Capacity ที่ สามารถรองรับ Order ของลูกค้าได้

หน้า 21


กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจภายในองค์กร 1. การสร้างแรงจูงใจ โดยมุ่งเน้นให้ผลตอบแทน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กบั พนักงานที่มีประวัติ และผลการ ทางานที่ดี โดยนาผลการประเมินผลทุกวันมาใช้ในการประเมินผลตอบแทนกลับสู่พนักงาน 2. สร้างแรงจูงใจ ให้กบั ผูบ้ ริ หารระดับกลาง MINI MD โดยมีผลตอบแทนตามผลงาน และการวัดผลตาม KPI ขององค์กร สาหรับการประเมินผลพนักงานในระดับ Operator และ Supervisor 3. การดาเนิ นการปรั บปรุ งพัฒนาองค์กร ผ่านกิ จกรรม 5ส และ Zero Claim เพื่อปลูกจิ ตสานึ กให้กับ พนักงานในด้าน 5ส, Safety และการปรับปรุ งคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดการแข่งขันในด้าน 5ส, การคานึงถึง Safety และด้านคุณภาพภายในองค์กร สาหรั บแผนพัฒนาบุ คลากรในปี 2557 ได้มีการมุ่ งเน้นการพัฒนาและสร้ างบุ คลากรที่ เป็ นพื้นฐานของ โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเตรี ยมรับ AEC ในปี หน้า โดยพัฒนาทักษะการทางานของพนักงานปั จจุบนั และ รับพนักงานระดับ ปวส. เพื่อเพิ่มทักษะของพนักงานระดับ High Skill โดยมี จุดมุ่งหมายที่ จะยกระดับ คุณภาพและการทางานให้เท่าเทียมกับ First Tier และให้สามารถแข่งขันได้กบั คู่แข่งทั้งในและต่างประเทศ ได้

ข.

สัดส่ วนการจัดจาหน่ าย

ในปี 2557 ยอดขายในกลุ่มธุรกิจรถยนต์น้ ีมีการลดจากปี 2556 24% โดยในปี 2558 คาดว่าน่าจะมียอดขาย ใกล้เคียงกับปี 2557 เติบโตเพียง 5-10% ซึ่งเป็ นผลมาจากการชะลอตัวของยอดขายภายในประเทศจากการ หมดสิ ทธิ์รถคันแรกรวมถึงภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย โดยแผนธุรกิจ 3-5 ปี ข้างหน้า บริ ษทั ยังคงมีนโยบาย จะเติบโตในอุตสาหกรรมรถยนต์ ทั้งจากธุรกิจเดิมและจากผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อย่างไรก็ตามผลกระทบทางลบ ที่สาคัญต่ออุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทยมีดงั นี้

หน้า 22


ประการที่ 1 ความมีเสถียรภาพในรัฐบาล รวมถึงความขัดแย้งทางการเมืองเป็ นสิ่ งที่ผลู ้ งทุนในภาคต่างๆ ได้ คานึ งถึงว่ามี การเปลี่ยนรัฐบาลจะทาให้นโยบายเปลี่ยน โดยส่ งผลต่อความเชื่ อมัน่ ต่อค่ายรถยนต์ ในการ ตัดสิ นใจเพิ่มการผลิตในประเทศไทย หรื อย้ายฐานการผลิตไปที่อื่น ประการที่ 2 ความชัดเจนของนโยบายทางด้านพลังงาน ซึ่ งความชัดเจนดังกล่าวจะส่ งผลต่ออุตสาหกรรม รถยนต์ โดยตรง ดังนี้ 1. ส่งผลต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยจะต้องมีความชัดเจนการพัฒนาพลังงานในอนาคต เพื่อกาหนดแนวทาง การพัฒนารถยนต์ให้สอดคล้องกับพลังงานในอนาคต 2. การเปลี่ยนนโยบายการคุมราคาของพลังงาน เช่น NGV ทาให้ตน้ ทุนพลังงานของ NGV และน้ ามันไม่มี ความแตกต่าง จึงทาให้แนวโน้มรถยนต์ที่ใช้ NGV ลดลง ถ้าต้นทุนมีค่าเท่ากันกับน้ ามัน ประการที่ 3 คูแ่ ข่งขันจากต่างประเทศ จากการเติบโตแบบก้าวกระโดดของอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศ ไทยในปี 2555 ทาให้คู่แข่งขันในประเทศมีการขยายกาลังการผลิตและยังมีคู่แข่งจากต่างประเทศที่ เข้ามา ใหม่ ซึ่ งในปี 2556 ยอดการผลิตมีการลดลง จึ งทาให้เกิ ดภาวการณ์แข่งขันกันอย่างรุ นแรง ทั้งด้านต้นทุน และราคา เสมือนว่าเป็ นตลาดผูซ้ ้ือโดยสมบูรณ์ ประการที่ 4 ความท้าทายจากข้อตกลงเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (AFTA) นับเป็ นทั้งโอกาสและภยันตราย สาหรับประเทศไทย โดยบริ ษทั รถยนต์ส่วนใหญ่มีโรงงานหลายแห่ งในภูมิภาคอาเซี ยนจะเลือกผลิตรถยนต์ ในประเทศที่ มีตน้ ทุนการผลิตต่ าสุ ด และลดหรื อยกเลิกการผลิตในประเทศที่มีตน้ ทุนการผลิตสู งกว่า แม้มี การคาดหมายว่าประเทศไทยจะได้เปรี ยบในการเปิ ดเสรี สินค้าหมวดยานยนต์ แต่ก็ไม่ได้เปรี ยบมากมายอย่าง ที่คิด เพราะหากมีการกาหนดกฎระเบี ยบหรื อภาษีอากรที่เป็ นอุปสรรคต่ออุตสาหกรรมรถยนต์แล้ว บริ ษทั รถยนต์ก็มีแนวโน้มย้ายฐานการผลิ ตไปยังประเทศอื่นๆ ซึ่ งปั จจุ บนั บริ ษทั รถยนต์ยงั ต้องเผชิ ญกับปั ญหา กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการลงทุนมากมายหลายประการในการดาเนินธุรกิจในประเทศไทย ประการที่ 5 แรงงานและบุคลากรที่มีทกั ษะ ซึ่ งยังเป็ นที่ขาดแคลนของตลาดแรงงาน และมีการแข่งขันกัน ในเรื่ องของค่าจ้างที่สูงขึ้นซึ่งมีแนวโน้มที่จะขาดแคลนต่อไปเรื่ อยๆ

หน้า 23


3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์ - Machine Part

PROCESS CUTTING

- Aluminum Pipes

MACHINE

PROCESS

CUTTING M/C

CUTTING

MACHINE CUTTING M/C

SINGLE LATHE M/C

DEBURRING

DEBURRING M/C

DRILLING

MILLING M/C

FORMING HU

FORMING M/C

FINISHING

FINISHING MANUAL

BENDING

CNC BENDING M/C

WASHING

WASHING ULTRASONIC M/C

WASHING

WASHING ULTRASONIC M/C

LATHE

PACK

PACKING MANUAL

หน้า 24

TEST

LEAK TEST M/C

PACK

-


- Steel Pipe

PROCESS CUTTING

WASHING, DEBURRING

FORMING O-RING 1

-HoseAssembly

MACHINE CUTTING M/C

DEBURRING M/C

FORMING M/C

PROCESS

MACHINE

CUTTING PIPE

CUTTING M/C

DEBURRING PIPE

DEBURRING M/C

WASHING PIPE 1

WASHING ULTRASONIC M/C OUT SOURCE TURNING NIPPLE

FORMING O-RING 2

FORMING M/C

BENDING CNC

BENDING M/C

WASHING

WASHING ULTRASONIC M/C

BRAZING

-

OUT SOURCE

PLATING

WASHING PIPE 2

WASHING ULTRASONIC M/C

BENDING PIPE

BENDING M/C

DRILLING & FINISHING

CNC LTHE M/C

WASHING PIPE 3

BRAZING UNION

TEST JIG

-

BRAZING FLANGE

PACKING

-

WASHING PIPE 4

WASHING ULTRASONIC M/C

CUTTING INSULATOR

-

LEAK TEST

PRESSURRE DROP

BRAZING M/C, CUTTING M/C

BRAZING M/C CUTTING HOSE

HOSE ASSEMBLY

CNC LATHE M/C

CUTTING M/C WASHING ULTRASONIC M/C

CRIMPING HOSE

CRIMPING M/C

ASS'Y ORING & VALVE

-

AIR TEST

LEAK TEST

AIR TEST M/C

LEAK TEST M/C

HEATING

OVEN M/C

FINAL & PACKING

-

หน้า 25


กาลังการผลิตปี 2558

Note : 1. Production Capacity is estimated based on 8 hours / shift : 2 Shift / day : 25 days / month 2. Current capacity used 60-65%

2.2 ชิ้นส่ วนอุปกรณ์ สาหรับเครื่องทาความเย็น 2.2.1 ชิ้นส่ วนท่ อทองแดง ในปัจจุบนั ชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทาความเย็นที่ทาด้วยทองแดง ยังไม่มีวตั ถุดิบชนิดใดที่มีคุณสมบัติ ในการใช้งานที่จะนามาทดแทนทองแดงได้ 100 % ดังนั้นชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทาความเย็น จึง ยังคงใช้ท่อทองแดงเป็ นชิ้นส่วนหลัก 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วนที่ใช้ในเครื่ องปรับอากาศ ที่ทาด้วยท่อทองแดง (Copper Pipe) ที่บริ ษทั ผลิตประกอบด้วย 1) Inlet pipe ,Outlet pipe ,Header pipe สาหรับ เชื่อมต่อ Condenser

หน้า 26

2) Suction pipe , Discharge pipe สาหรับ เชื่อมต่อ Compressor และ Condenser เข้าด้วยกัน


3) Accumulator ใช้สาหรับเป็ นท่อพักแรงดัน

4) Strainer ใช้สาหรับกรองเศษผงในระบบ เพื่อ ป้ องกันการอุดตันภายในระบบ

5) U-Bend สาหรับเชื่อมต่อ Condenser หรื อ คอยล์ร้อน

6) Capillary Tube Ass’y. ใช้เป็ นท่อลดแรงดัน ในระบบ

7) Pipe Connector ( Pipe Kit) ใช้สาหรับการติดตั้ง เพื่อเชื่อมระบบ Indoor และ Outdoor

นอกจากนี้ บริ ษทั ยังผลิตชิ้นส่ วนที่ทาจากทองแดงที่นามาประกอบเป็ นคอมเพรสเซอร์ เช่น Suction Pipe, Muffler Pipes, Oil Pipe, Discharge Pipe

หน้า 27


ปั จจุบนั บริ ษทั มีการพัฒนาชิ้นส่วนทองแดงเพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบร่ วมกับลูกค้า โดยใช้เหล็กชุบทองแดง หรื ออลูมิเนียมเชื่อมต่อทองแดงมาผลิตเป็ นชิ้นส่วน Compressor เช่น Inlet Tube, Dis Joint Pipe, Inlet Pipe Ass’y เป็ นต้น

เหล็กชุบทองแดง

อลูมิเนียมเชื่อมต่อทองแดง

นอกจากนี้ทางบริ ษทั อยูร่ ะหว่างการพัฒนากระบวนการชุบทองแดง ให้สามารถชุบเฉพาะตาแหน่ง (พื้นที่) ที่ตอ้ งการ เพื่อลดขั้นตอนในการเจียรผิว ซึ่ งมีค่าใช้จ่ายสู งและใช้เวลาในการผลิตมาก ซึ่ งผลจากการพัฒนา กระบวนการนี้ จะสามารถทาให้ลดต้นทุนการผลิตลงได้ 2)

การตลาดและการแข่ งขัน กลุ่มลูกค้าชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศ ประกอบด้วย 1) กลุ่มลูกค้าจากประเทศญี่ปุ่น เช่น Daikin, Mitsubishi, Fujitsu, Sharp, Panasonic, MACO, MACOT 2) กลุ่มลูกค้าจากประเทศเกาหลี LG, Samsung 3) กลุ่มลูกค้าจากประเทศจีน เช่น Haier 4) กลุ่มลูกค้าที่บริ ษทั ส่งออกไปต่างประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น ตะวันออกกลาง ยุโรป และอเมริ กา ทั้งนี้ช่องทางการจัดจาหน่ายของบริ ษทั มีท้ งั ผลิตชิ้นส่วนส่งไปยังโรงงานผูผ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศโดยตรง เพื่อให้ลูกค้านาไปประกอบกับชิ้นส่วนภายในโรงงานของลูกค้าผลิตเป็ นสิ นค้าของลูกค้าเอง ผลิตและใช้ ประกอบในสายการผลิต OEM แล้วส่งต่อไปยังลูกค้า ตลอดจนผลิตและส่งออกโดยตรงไปยังต่างประเทศ กลุ่มลูกค้าชิ้นส่วนคอมเพรสเซอร์ส่วนใหญ่จะเป็ นลูกค้าที่ผลิตคอมเพรสเซอร์ เพื่อส่งมอบให้กบั โรงงาน ผูผ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศ เครื่ องทาความเย็น ที่มีการจาหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ อาจกล่าวได้วา่ ผูผ้ ลิตคอมเพรสเซอร์ หลักในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็ นลูกค้าของบริ ษทั ฯ เกือบทั้งสิ้น ประกอบด้วย Siam

หน้า 28


Compressor, Hitachi Compressor, Kulthorn Kirby, Emerson, TCFG, Kulthorn Premier, Daikin, LG นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังได้เตรี ยมการสาหรับการผลิตให้กบั ตลาดต่างประเทศเพิ่มเติมด้วย อัตราการขยายตัวและการเจริ ญเติบโตของธุรกิจชิ้นส่ วนเครื่ องปรับอากาศมีอตั ราการขยายตัวเติบโตควบคู่ ไปกับการเติบโตของลูกค้าและเศรษฐกิ จ และในปี 2556 บริ ษทั ฯได้มีการลงทุนในส่ วนของโรงงานและ เครื่ องจักรเพิ่มขึ้น โดยมีการปรับปรุ งสายการผลิตใหม่แตกออกเป็ นธุรกิจขนาดย่อม (SMEs) เพื่อรับสิ ทธิ ประโยชน์ทางภาษี รวมทั้งมีการย้ายฐานการผลิตใหม่ ให้เหมาะสม และสามารถรองรับการเจริ ญเติบโตใน การเข้าสู่ AEC ในปี 2558 ขณะเดียวกันในส่วนของอุตสาหกรรมคอมเพรสเซอร์มีการเจริ ญเติบโตควบคู่ไป กับอุตสาหกรรมเครื่ องทาความเย็น ทั้งในส่วนของเครื่ องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ตูแ้ ช่อาหาร 3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์

กรรมวิธีการผลิต - ชิ้นส่วนอุปกรณ์เครื่ องปรับอากาศ วัตถุดิบ

ขบวนการแปรรู ป

ทองแดง

ตัด ดัด ขึ้นรู ป เชื่อม บรรจุ

สิ นค้า Inlet Out Let Suction Dis.charge Accumulater U-ben ect.

ลูกค้า Daikin Mitsubishi Fujitsu Sharp Panasonic MACO, MACOT LG, Samsung Haier ect.

สิ นค้า Suction Pipe Muffler Pipe Oil Pipe Discharge Pipe Inlet Tube Dis Joint Pipe

ลูกค้า Siam Compressor Hitachi Compressor, Kulthorn kirby, Fujitsu, Copeland , Daikin , LG ,Kulthorn Pemier etc.

- ชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมเพรสเซอร์ วัตถุดิบ

ทองแดง เหล็ก

ขบวนการแปรรู ป ตัด ดัด ขึ้นรู ป เชื่อม ตรวจสอบ บรรจุ

บริ ษทั มีการสั่งซื้ อวัตถุดิบที่เป็ นทองแดงทั้งในประเทศ และต่างประเทศจากผูผ้ ลิตโดยตรงเข้ามาที่ โรงงาน แล้วนาไปเข้าสู่ กระบวนการผลิตตามขั้นตอนของแต่ละชิ้นส่ วนตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ ซึ่ งเป็ นไปตาม

หน้า 29


ระบบคุณภาพ ISO เพื่อให้ได้สินค้ามีมาตรฐานตรงตามข้อกาหนดของลูกค้า แล้วจึงส่ งมอบให้ลูกค้าต่อไป (ตามผังการผลิต) ปั จจุบนั บริ ษทั มีโรงงานที่ ผลิตชิ้นส่ วนยู่ที่จงั หวัดสมุทรปราการ และจังหวัดระยอง ส่ งผลให้มีกาลังการ ผลิตหลายล้านชิ้นต่อปี ซึ่งโรงงานส่วนใหญ่สามารถผลิตชิ้นส่วนทดแทนกันได้ ทั้งยังสามารถเพิ่มกาลังการ ผลิตโดยการปรับชัว่ โมงการทางานตามความต้องการของลูกค้า ข

ด้ านวัตถุดบิ วัตถุดิบที่ ใช้ในการผลิตส่ วนใหญ่จะเป็ นมาตรฐานที่ ลูกค้า เป็ นผูก้ าหนด และโรงงานผูผ้ ลิต วัตถุดิบ เป็ น โรงงานที่ ได้มาตรฐานผ่านการรับรองจากลูกค้าทั้งสิ้ น ซึ่ งระยะเวลาในการส่ งมอบหลังจากรั บคาสั่งซื้ อ ประมาณ 2 สัปดาห์ บริ ษทั มีการสั่งซื้ อทองแดงทั้งในประเทศ และต่างประเทศ (ประเทศจีน) ทั้งนี้ เป็ นไป ตามที่ตกลงไว้กบั ลูกค้า เพื่อให้ได้วตั ถุดิบที่ดีมีคุณภาพในระดับต้นทุนที่เหมาะสม โดยราคาที่ทาการซื้ อขาย เป็ นไปตามที่บริ ษทั ได้กาหนดกับลูกค้าไว้แล้ว

ด้ านเครื่องจักร และอุปกรณ์ การผลิต เครื่ องจักรหลักที่ใช้ในสายการผลิต ได้แก่ เครื่ องตัดCNC, เครื่ องเจาะ, เครื่ องดัดCNC, เครื่ องปั๊ มขึ้นรู ปCNC, เครื่ องเชื่อมอัตโนมัติ, โต๊ะเชื่อมประกอบ ซึ่งบริ ษทั มีแผนจะนาระบบอัตโนมัติมาใช้มากขึ้นในอนาคต โดยเครื่ องจักรในแต่ละขั้นตอนการผลิตเป็ นเครื่ องจักรที่ทนั สมัย นับตั้งแต่กระบวนการตัด ดัด ขึ้นรู ป และ เชื่อม ซึ่งส่วนใหญ่บริ ษทั สัง่ โดยตรงจากผูผ้ ลิตและมีตวั แทนจาหน่ายในประเทศไทย เพื่อป้ องกันเรื่ องระบบ การดูแล บารุ งรักษา และบริ การ ทั้งนี้ยงั มีเครื่ องจักรบางส่วนที่บริ ษทั จัดสร้างขึ้นเอง รวมถึงบริ ษทั มีระบบ การดูแล บารุ งรักษาเชิงป้ องกัน เพื่อป้ องกันเครื่ องจักรชารุ ดในขณะผลิตสิ นค้า นอกจากนี้เครื่ องจักรในกลุม่ SNC เป็ นเครื่ องจักรจากผูผ้ ลิตรายเดียวกัน สามารถใช้งานทดแทนกันได้ เพื่อให้มีความยืดหยุน่ ในการผลิต สาหรับอุปกรณ์การผลิตอื่นๆ เช่น แม่พิมพ์ Jig Fixture บริ ษทั มีแผนกจัดทาอุปกรณ์การผลิตไว้คอย สนับสนุนกันเองในแต่ละโรงงาน

2.2.2 ชิ้นส่ วนโลหะแผ่นขึน้ รู ป 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ ปั จจุบนั ชิ้นส่วนที่นามาประกอบเป็ นผลิตภัณฑ์ถูกพัฒนาขึ้น โดยมีการใช้วสั ดุต่างๆไม่วา่ จะเป็ นเหล็ก พลาสติก กระจก ไม้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความคงทน สวยงาม มีคุณภาพตามมาตรฐาน เหมาะสมกับการใช้ งาน และต้นทุนการผลิตที่ต่า อย่างไรก็ตามชิ้นส่วนโลหะยังคงมีความสาคัญที่จะนามาผลิตเป็ นชิ้นส่วนหลัก ของผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้เพราะราคาไม่สูงมากนัก มีความคงทนแข็งแรง มีลกั ษณะรู ปแบบตามต้องการ บริ ษทั มีการผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมขึ้นรู ปโลหะ โดยโรงงานสามารถผลิตได้ท้ งั ที่จงั หวัดสมุทรปราการ และจังหวัดระยอง ลูกค้าหลักของบริ ษทั ในส่วนของชิ้นส่วนโลหะแผ่นขึ้นรู ปในเครื่ องปรับอากาศ เช่น Daikin, Mitsubishi, LG, Siam Compressor, Other

หน้า 30


2)

การตลาดและการแข่ งขัน ด้วยการรักษามาตรฐานทั้งด้านคุณภาพ การส่งมอบ และการบริ การที่ดี ทาให้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า ทั้งรายเก่าและรายใหม่ ในการมอบหมายงานผลิตให้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้บริ ษทั มองว่าคู่แข่งของบริ ษทั ก็คือ ลูกค้า บริ ษทั จึงต้องผลิตให้ดีกว่า ถูกกว่า และเร็ วกว่าสิ่ งที่ลูกค้าทาอยู่ และด้วยความเป็ น SNC Super Store มีการผลิตที่ครบวงจร มีระบบ MINI MD บริ การลูกค้าตลอดเวลา จึงสามารถช่วยแบ่งเบาภาระด้านการ จัดซื้อให้กบั ลูกค้าได้ ส่งผลให้บริ ษทั มีการเจริ ญเติบโตควบคู่ไปกับลูกค้ามาโดยตลอด

3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์

กระบวนการผลิต วั ดุ บ (Sheet)

Turrent Punch Stamping Press

Bending

Ass'y

Painting

Packing

Customer

จากวัตถุ ดิ บซึ่ งมี ล ักษณะที่ เป็ นแบบแท่ ง แบบท่ อ และแบบแผ่นจะถู ก ส่ ง เข้า กระบวนการผลิ ต โดยใช้ เครื่ องจักรต่างๆ กัน มีท้ งั เครื่ องตัด เครื่ องกลึ ง เครื่ องดัด และเครื่ องปั๊ ม ซึ่ งล้วนแล้วแต่เป็ นเครื่ องจักรที่ ทันสมัย หลังจากนั้นจะนามาประกอบหรื อพ่นสี ส่งให้ลูกค้าเพื่อให้ลูกค้านาไปประกอบเป็ นตัวสิ นค้าต่อไป ยังผูบ้ ริ โภค ข

ด้ านวัตถุดบิ วัตถุดิบที่ บริ ษทั นามาใช้ในการผลิต ไม่ว่าจะเป็ นแบบแท่ ง แบบท่อ หรื อแบบเป็ นแผ่นก็ตาม ทั้งหมดจะ เป็ นไปตามตามที่ลูกค้ากาหนด ทั้งด้านคุณภาพ ราคา และแหล่งผลิต ส่วนใหญ่วตั ถุดิบจะเป็ นแบบมาตรฐาน ที่ใช้อยูใ่ นอุตสาหกรรมทัว่ ไป สาหรับแหล่งผลิตส่วนใหญ่จะนาเข้าจากต่างประเทศ ทั้งญี่ปุ่น จีน และเกาหลี ซึ่ งเป็ นไปตามที่ ลูกค้ากาหนดไว้ เรื่ องราคาของวัตถุดิบที่ นามาใช้ผลิตก็ได้มีการตกลงกันไว้แล้วกับลูกค้า ทั้งนี้เพื่อป้ องกันการขาดทุนจากราคาวัตถุดิบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา

ด้ านเครื่องจักร เนื่องจากบริ ษทั มีนโยบายเป็ น Super Store เพราะฉะนั้นบริ ษทั จึงมีเครื่ องจักรที่ได้มาตรฐาน มีความทันสมัย ตลอดทั้งวิธีการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพ เครื่ องจักรที่บริ ษทั ใช้ผลิตอยูไ่ ม่วา่ จะเป็ นเครื่ องกลึง เครื่ องดัด เครื่ อง ปั๊ ม ล้วนเป็ นเครื่ องที่ควบคุมด้วยระบบ CNC ทั้งสิ้น และเครื่ องแต่ละขบวนการผลิตก็ยงั สามารถใช้ทดแทน กันได้อีกด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพในต้นทุนที่ต่า นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีการจัดทา Spare Part

หน้า 31


และแผนซ่ อมบารุ งประจาปี ทั้งนี้ เพื่อป้ องกันเครื่ องจักรเสี ย และให้สามารถใช้งานได้ยาวนานที่ สุด เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า 2.2.3 ชิ้นส่ วนพลาสติก (Plastic) 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ เป็ นชิ้นส่ วนพลาสติก ซึ่ งผลิตโดยระบบ INJECTION MOULDING เพื่อนาไปใช้ในการประกอบเป็ น เครื่ องใช้ไฟฟ้ า เช่น ตูเ้ ย็น พัดลม เครื่ องปรับอากาศ เป็ นต้น

2)

การตลาดและการแข่ งขัน ลูกค้าหลักของบริ ษทั เช่น Sharp, Mitsubishi, Toshiba, Daikin ซึ่งเป็ นผูผ้ ลิตชั้นนาในธุรกิจเครื่ องใช้ไฟฟ้ า แม้วา่ ธุรกิจในกลุ่มนี้จะมีการแข่งขันสูง แต่บริ ษทั สามารถเพิ่มคาสัง่ ซื้อชิ้นงานใหม่ๆ จากลูกค้าได้อย่าง ต่อเนื่อง จากการที่บริ ษทั รักษาระดับคุณภาพของสิ นค้า ต้นทุน และการส่งมอบที่ตรงเวลา ( QCD : Quality Cost Delivery ) นอกจากนี้บริ ษทั ได้ลงทุนใน Software ที่ช่วยในการปรับปรุ งและวิเคราะห์ปัญหาของ แม่พิมพ์ที่ใช้ในขบวนการผลิต ซึ่งตอบโจทย์ให้กบั ลูกค้า ในการมีส่วนร่ วมพัฒนาสิ นค้า และการลดต้นทุน บริ ษทั มีนโยบายในการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าโดยใช้หลักการ SNC ONE STOP SERVICE โรงงานผลิตชิ้นส่วนพลาสติกจึงเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งในการผลักดันนโยบายดังกล่าว โดยสร้างความพึงพอใจ ในความความสะดวกและประหยัดเวลา ให้กบั ลูกค้า เมื่อมาติดต่อซื้อชิ้นส่วนกับ SNC แล้วจะได้ชิ้นส่วนเพื่อ ประกอบเป็ นผลิตภัณฑ์ ทั้งชิ้นส่วนโลหะและพลาสติกในคราวเดียวกัน

3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์

ด้ านวัตถุดบิ วัตถุดิบที่ใช้ คือ เม็ดพลาสติกชนิ ดต่างๆ เช่น ABS, PP, PSGP, PSHI, PE, AS เป็ นต้น โดยลูกค้าจะเป็ นผู ้ กาหนดชนิดและเกรดต่างๆ ของวัตถุดิบตามลักษณะของงาน เพื่อรักษาคุณภาพและราคา วัตถุดิบที่ใช้ ส่ วน ใหญ่สามารถผลิตได้ในประเทศ มีเพียงวัตถุดิบชนิ ดพิเศษบางชนิ ดที่ตอ้ งสั่งจากต่างประเทศ โดยราคาของ

หน้า 32


วัตถุดิบจะขึ้น-ลง ตามราคาตลาด แต่ลูกค้าจะนาจานวนการใช้ไปตกลงกับผูผ้ ลิตและยืนยันราคาเป็ นไตรมาส ซึ่ งถ้ามีการปรับเปลี่ยนจะแจ้งล่วงหน้าเพื่อปรับราคาของชิ้นงานตามราคาวัตถุดิบที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้ บริ ษทั ไม่ตอ้ งรับภาระความเสี่ ยงทางด้านราคาของวัตถุดิบ ข

ด้ านเครื่องจักร เครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตพลาสติกเป็ นเครื่ องจักรใหม่จากต่างประเทศซึ่งที่มีเทคโนยีการผลิตสูง การทางาน รวดเร็ วและประหยัดพลังงาน ดังนั้น บริ ษทั จึงมีความเชื่อมัน่ ในประสิ ทธิภาพการทางานของเครื่ องจักรเป็ น อย่างมากตลอดจนวิธีการบริ หารจัดการในการบารุ งรักษา ทาให้เครื่ องจักรสามารถใช้งานได้ดีและมี ประสิ ทธิภาพ อีกทั้งในปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ยังได้ลงทุนเพิ่มจานวนเครื่ องจักรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ ผลิต ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

2.2.4 อุปกรณ์ แลกเปลีย่ นความร้ อน (Heat Exchanger) 2.2.4.1 อุปกรณ์ แลกเปลีย่ นความร้ อน (Heat Exchanger ทีท่ าจากทองแดง 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ ภายในเครื่ องทาความเย็นภายในบ้านหรื อภายในตัวอาคาร จะมีชิ้นส่วนหลักในการถ่ายเทความร้อนหรื อ “คอยล์” (Heat Exchanger) ซึ่งมีท้ งั คอยล์เย็นและคอยล์ร้อน ทาหน้าที่ส่งผ่านและแลกเปลี่ยนความเย็นหรื อ ความร้อนภายในตัวเครื่ องปรับอากาศ โดยทัว่ ไปโครงสร้างของคอยล์จะประกอบไปด้วย 3 ส่วนด้วยกันคือ ก) แผ่นอลูมิเนียมขึ้นรู ป (Aluminum Fin) ทาหน้าที่เป็ นแผ่นครี บแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างอากาศ ภายนอกกับน้ ายาทาความเย็นที่ไหลอยูใ่ นท่อทองแดง ข) ท่อทองแดงดัด (Hairpin) ทาหน้าที่เป็ นเส้นทางการไหลของน้ ายาทาความเย็นเพื่อให้เกิดกลไกการ แลกเปลี่ยนความร้อนกับอากาศภายนอก ค) แผ่นประกบข้าง (Side Plate) ทาหน้าที่ประกบแผ่นอลูมิเนียมและท่อทองแดงเข้าด้วยกัน และใช้เป็ น ตัวกลางในการจับยึดตัวคอยล์เข้ากับโครงสร้างอื่นๆ ของเครื่ องปรับอากาศ ซึ่งบริ ษทั มีการผลิตชิ้นส่วนหลักทั้ง 3 ส่วน และนามาประกอบขึ้นเป็ นคอยล์เย็นและคอยล์ร้อนเพื่อใช้ใน กระบวนการผลิตเครื่ องปรับอากาศต่อไป

2)

การตลาดและการแข่ งขัน เนื่องจากลูกค้ามีการผลิตคอยล์ใช้เองส่วนหนึ่งและซื้อมาจากผูผ้ ลิตคอยล์อีกส่วนหนึ่ง ทาให้บริ ษทั ต้อง แข่งขันกับลูกค้าและผูผ้ ลิตคอยล์รายอื่น อย่างไรก็ดีบริ ษทั ยังคงมีขอ้ ได้เปรี ยบด้านต้นทุนที่ถูกกว่า คู่แข่งอยูพ่ อสมควร เนื่องจากงานคอยล์เป็ นงานที่บอบบางจึงมีตน้ ทุนการขนส่งสิ นค้าค่อนข้างสูง ซึ่ง บริ ษทั เน้นผลิตคอยล์เพื่อใช้ประกอบเครื่ องปรับอากาศเอง โดยการผลิตกว่า 90%เป็ นการผลิตเพื่อใช้ใน เครื่ องปรับอากาศแบบติดหน้าต่าง (Window Type Air-Conditioner) ของลูกค้า Fujitsu General ที่บริ ษทั ประกอบ OEM ให้ ที่เหลือจะเป็ นการผลิตเพื่อใช้ประกอบเป็ นเครื่ องปรับอากาศที่บริ ษทั ประกอบและ จาหน่ายออกไปยังลูกค้าต่างประเทศโดยตรง (ลูกค้ากลุ่ม ODM) และเป็ นการผลิตเพื่อจาหน่ายในรู ปแบบ ของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนไปยังผูผ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศที่อยูภ่ ายในประเทศ

หน้า 33


เนื่องจากอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนของบริ ษทั เกือบทั้งหมดเป็ นการผลิตเพื่อใช้ในเครื่ องปรับอากาศที่ บริ ษทั ประกอบเองเป็ นหลัก ดังนั้นสภาวะการแข่งขันจะเป็ นไปในลักษณะของการแข่งขันกับลูกค้า กล่าวคือ ถ้าบริ ษทั สามารถการควบคุมต้นทุนการผลิตให้ต่ากว่าที่ลูกค้าผลิตเองได้ ลูกค้าก็จะยังคงให้ความไว้วางใจ ให้บริ ษทั ผลิตเพื่อใช้ในเครื่ องปรับอากาศของลูกค้าต่อไป ซึ่งบริ ษทั ได้มีกิจกรรมและแผนงานในการควบคุม และปรับปรุ งประสิ ทธิภาพในการผลิตอย่างต่อเนื่องเพื่อรักษาขีดความสามารถในการแข่งขันเอาไว้ 3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์

กรรมวิธีการผลิตและกาลังการผลิต 1. อะลูมิเนียมแผ่นทั้งแบบไม่เคลือบสี (Bare Fin), เคลือบสารสี ฟ้า (Blue Fin) หรื อสี ต่าง ๆ ตามที่ลูกค้า ต้องการและนามาขึ้นรู ปด้วยเครื่ องปั๊ มขึ้นรู ปอะลูมิเนียม (Fin Press) ตาม pattern ที่ลูกค้ากาหนด 2. ท่อทองแดง ประเภทท่อม้วน โดยนามาผ่านขั้นตอนการตัดและดัดตามความยาวที่ตอ้ งการ ด้วยเครื่ อง ตัดและดัดท่อ (Hairpin Bender) นาอะลูมิเนียมที่ผา่ นการขึ้นรู ปเรี ยบร้อยด้วยเครื่ องปั๊ มอะลูมิเนียม (Fin Press) มาร้อยด้วยท่อทองแดง (Hairpin Tube) ที่ตดั ไว้แล้วด้วยเครื่ องตัดและดัดท่อ (Hairpin Bender) ขนาดของตัวคอยล์จะถูกตั้งไว้ดว้ ยโต๊ะร้อยคอยล์ดว้ ยกระบวนการร้อยท่อ (Insert Hairpin) นาคอยล์ที่ ได้ดงั กล่าวไปเข้าเครื่ องอัดแน่น (Expander Machine) เพือ่ อัดคอลย์ให้แน่นและได้ขนาดตรงตาม ข้อกาหนด หลังจากนั้นนาคอยล์ไปผ่านตูอ้ บร้อน (Dry oven) เพื่อขจัดน้ ามันที่มาจากกระบวนการก่อน หน้าด้วยอุณหภูมิประมาณ 160 oC เป็ นเวลา 5 นาที และต่อด้วยกระบวนการประกอบคอยล์ (Coil Assembly) ด้วยการเชื่อม U-pipe และท่อเฮดเดอร์ (Header) ด้วยเครื่ องเชื่อมอัตโนมัติหรื อเชื่อมด้วยมือ (Auto/ Manual Brazing) โดยทุกกระบวนการผลิตคอยล์ต้งั แต่เริ่ มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการจะต้องผ่าน ขั้นตอนการควบคุมคุณภาพที่มีมาตรฐานและตรงตาม Spec ของลูกค้า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อทองแดง 7.00 mm 7.94 mm 9.53 mm รวม

กาลังการผลิตต่อเดือน (ชิ้น) 20,000 40,000 60,000 120,000

การจัดหาวัตถุดบิ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่จะเป็ นมาตรฐานตามข้อกาหนด ของโรงงานผูผ้ ลิตวัตถุดิบเป็ นหลักและยัง ต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดต่างๆที่ทางโรงงานผูผ้ ลิตได้ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานสากล โดยระยะเวลาในการ ผลิตพร้อมส่งมอบจะใช้เวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ และ 4-5 สัปดาห์สาหรับอะลูมิเนียมขึ้นอยูก่ บั ความยาก ง่ายของการผลิตวัตถุดิบ สาหรับท่อทองแดงบริ ษทั เลือกซื้อจากผูผ้ ลิตท่อทองแดงรายใหญ่ในประเทศเป็ น หลัก ส่วนอลูมิเนียมนาเข้ามาจากประทศจีน ซึ่งทางบริ ษทั จะเป็ นผูค้ วบคุมวัน เวลา จานวน ที่ตอ้ งการให้กบั ผูผ้ ลิตวัตถุดิบเพื่อให้ผผู ้ ลิตส่งมอบตามกาหนด สถานการณ์ในอดีตจนถึงปั จจุบนั ราคาวัตถุดิบมีการผันผวน เป็ นอย่างมากและเปลี่ยนแปลงค่อนข้างเร็ ว อีกทั้งแผนการผลิตของลูกค้าก็ยงั คงมีการปรับเปลี่ยนอยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ทางบริ ษทั ได้ทาการตกลงกับลูกค้าและผูผ้ ลิตวัตถุดิบใน ระบบการซื้อและขาย เช่น ทางบริ ษทั ได้ทาการตกลงกับบริ ษทั ลูกค้าในเรื่ องการขายสิ นค้า จะใช้ราคาขายที่

หน้า 34


เป็ นค่าเฉลี่ยของราคาซื้อทองแดง 2 เดือนย้อนหลังมาขายในเดือนปั จจุบนั ซึ่งในลักษณะเดียวกันทางบริ ษทั ก็ จะทาการตกลงกับทางผูผ้ ลิตทองแดงว่าเราจะทาการซื้อทองแดงในราคาเฉลี่ยย้อนหลัง 2 เดือนเช่นกับเพื่อ ลดอัตราความเสี่ ยงทางด้านราคาการซื้อขายได้มากขึ้น ค

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม วัตถุดิบที่ใช้ประกอบเป็ นอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน โดยส่ วนใหญ่จะประกอบด้วย เหล็ก ทองแดง และ อลูมิเนียม ซึ่งวัตถุดิบที่เหลือใช้จากกระบวนการผลิตจะถูกจาหน่ายออกไปยังผูร้ ับซื้อเศษวัสดุเพื่อนา กลับไปยังโรงงานผูผ้ ลิตวัตถุดิบเหล่านั้นทาการ Recycle ดังนั้นผลกระทบโดยตรงต่อสิ่ งแวดล้อม จึงมีอยูน่ อ้ ยมาก ในขณะเดียวกันโรงงานที่แหลมฉบัง ซึ่งตั้งอยูใ่ นเขตนิคมอุตสาหกรรม จะต้องทาการ ตรวจวัดน้ าทิ้ง การปล่อยก๊าซ ต่างๆ ออกจากบริ ษทั และรายงานให้ทางการนิ คมอุตสาหกรรมทราบทุกเดือน ซึ่งบริ ษทั ก็สามารถควบคุมค่าต่างๆทางสิ่ งแวดล้อมได้เป็ นอย่างดี

2.2.4.2 อุปกรณ์ แลกเปลีย่ นความร้ อน (Heat Exchanger ทีท่ าจากอลูมเิ นียม) 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัย เป็ นอุตสาหกรรมที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ในประเทศไทย และบริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) ก็ผลิตและจาหน่ายชิ้นส่วนต่างๆ ที่ใช้ในเครื่ องปรับอากาศ สาหรับที่อยูอ่ าศัยเป็ นหลัก หนึ่งในอุปกรณ์สาคัญในเครื่ องปรับอากาศก็คือ เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) ซึ่งในเครื่ องปรับอากาศ 1 ชุด จะประกอบด้วย เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน 2 ตัว ด้วยกัน คือ คอยล์เย็น (Evaporator) และคอยล์ร้อน (Condenser) ในปั จจุบนั คอยล์ร้อน (Condenser ) ที่ใช้กนั อยูใ่ นระบบเครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยจะเป็ นแบบท่อ ทองแดงติดด้วยแผ่นครี บระบายความร้อนอลูมิเนี ยม (Aluminum Fin-Copper Tube Type, F&T Type) (ดูรูปประกอบ) เป็ นส่ วนใหญ่ ในขณะที่ Aluminum Condenser ซึ่ งใช้กนั อย่างแพร่ หลายในระบบ เครื่ องปรับอากาศสาหรับรถยนต์ ยังไม่ได้ถูกนามาใช้ในระบบเครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยมากนัก คอนเดนเซอร์ แบบปัจจุบัน (Fin & Tube)

ท่อทองแดง (Copper Tube)

หน้า 35

ครี บอลูมิเนียม (Aluminum Fin)


อลูมเิ นียมคอนเดนเซอร์ (Aluminum Condenser)

ท่ออลูมิเนียม (ภาพตัด)

จากปั ญหาราคาทองแดงในตลาดโลกที่ ผนั ผวนค่อนข้างมากในช่วง 5 - 6 ปี ที่ ผ่านมา ประกอบกับความ ต้อ งการเครื่ อ งปรั บ อากาศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการประหยัด พลัง งานที่ สู ง ขึ้ น ท าให้แ นวโน้ม ที่ ผูผ้ ลิ ต เครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยจะหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนโดยใช้ Aluminum Condenser แทน F&T Condenser จึงมีมากขึ้นเป็ นลาดับ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จากัด (มหาชน) ได้เล็งเห็นถึงแนวโน้มของตลาดดังกล่าว จึงได้ลงทุนก่อตั้ง บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จากัด (SCAN) ขึ้นที่ พื้นที่ ของบริ ษทั ฯ ที่ จงั หวัดระยอง เพื่อผลิต และจาหน่ าย Aluminum Condenser โดยใช้เทคโนโลยีจากบริ ษทั Keihin Thermal Corporation ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งบริ ษทั Keihin เป็ นผูผ้ ลิตอุปกรณ์และระบบปรับอากาศที่ใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์ช้ นั นา โดยมีลูกค้าหลักคือรถยนต์ Honda ลักษณะเด่นของ Aluminum Condenser เมื่อเปรี ยบเที ยบกับ F&T Condenser คือ ใช้อลูมิเนี ยมเป็ น วัตถุดิบหลัก ซึ่ งอลูมิเนี ยมมีน้ าหนักที่เบากว่าทองแดง และมีราคาที่ถูกกว่า มีความผันผวนของราคาน้อย กว่าทองแดงค่อนข้างมาก ประกอบกับลักษณะการออกแบบทางเดินของน้ ายาทาความเย็นที่แตกต่างกัน ทา ให้ Aluminum Condenser มีพ้ืนที่ผิวที่สัมผัสกับน้ ายาทาความเย็นมากกว่า ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพในการ ถ่ายเทความร้อนทาได้ดีกว่า ดังนั้น เมื่อนาเอา Aluminum Condenser ไปใช้แทน F&T Condenser ใน ระบบปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยจะทาให้ระบบมีประสิ ทธิ ภาพเชิงพลังงานที่สูงขึ้น และใช้ปริ มาณน้ ายา ท าความเย็ น น้ อ ยลงและมี น้ าหนั ก โดยรวมลดลง ซึ่ งความแตกต่ า งนี้ จะยิ่ ง เห็ น ได้ ชั ด มากขึ้ นใน เครื่ องปรับอากาศที่มีขนาดใหญ่ (ตั้งแต่ 12,000 BTU/hour ขึ้นไป) อย่างไรก็ตาม อุปสรรคที่ทาให้ยงั ไม่มีการใช้ Aluminum Condenser กันอย่างแพร่ หลายในระบบ เครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยก็คือ ปั ญหาการผุกร่ อน รั่วซึมของอลูมิเนียม เมื่อถูกใช้งานไปสักระยะ หนึ่งซึ่งผูผ้ ลิตแต่ละรายก็จะมีเทคโนโลยีในการเลือกใช้วสั ดุ การออกแบบและการผลิตที่แตกต่างกันใน รายละเอียด สาหรับ SCAN เองนั้น ก็ได้เล็งเห็นถึงอุปสรรคข้อนี้ จึงเป็ นเหตุผลหลักที่ทางบริ ษทั ฯ เลือกที่ จะใช้เทคโนโลยีจากบริ ษทั Keihin ของประเทศญี่ปนุ่ เพราะทาง Keihin มีความรู ้และประสบการณ์ที่ ยาวนานกว่า 30 ปี ในการผลิตผลิตภัณฑ์น้ ีใช้ในรถยนต์ Honda และอื่นๆ มาอย่างยาวนาน นอกจากนี้ ทาง SCAN ยังได้ลงทุนจัดตั้งหน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Development Center) ขึ้นภายในบริ ษทั ฯ โดย

หน้า 36


ใช้เงินลงทุนในขั้นต้นสาหรับอาคาร, เครื่ องจักรและอุปกรณ์กว่า 80 ล้านบาท เพื่อที่จะตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าทั้งในด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าแต่ละราย สร้าง ความเชื่อมัน่ ของตัวสิ นค้า และปรับปรุ งต้นทุนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มความสามารถในเชิงการ แข่งขันกับผูผ้ ลิตรายอื่น 2)

การตลาดและการแข่ งขัน ในด้านการตลาด กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของ SCAN ก็คือ ผูผ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศสาหรับที่อยูอ่ าศัยชั้นนา ใน ประเทศ โดยเฉพาะผูผ้ ลิตจากประเทศญี่ปนุ่ ซึ่งในปี 2557 ทาง SCAN ได้มีการทดสอบผลิตภัณฑ์ของเรา เปรี ยบเทียบกับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่ง ทั้งในด้านประสิ ทธิภาพเชิงพลังงาน ความทนทานต่อการผุกร่ อน ฯลฯ ซึ่งได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ และเราได้นาผลลัพธ์ที่ได้น้ ีนาเสนอต่อลูกค้าที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมายของเรา ซึ่งก็ได้รับ การตอบรับที่ดี ในด้านการแข่งขัน ปัจจุบนั มีผผู ้ ลิต Aluminum Condenser สาหรับเครื่ องปรับอากาศที่ใช้ในที่อยูอ่ าศัยเพียง 4 – 5 ราย เท่านั้นในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็ นผูผ้ ลิตสัญชาติเกาหลี และญี่ปุ่น เนื่องจากผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ ยังเป็ นตลาดที่ค่อนข้างใหม่ ลูกค้าที่เป็ นผูผ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศยังคงใช้งานกันไม่มากนัก แต่ทุกรายกาลังอยู่ ในระหว่างการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตน โดยใช้ Aluminum Condenser ดังนั้นในอนาคตอีก 1 – 2 ปี ข้างหน้า นี้ ตลาดของ Aluminum Condenser สาหรับเครื่ องปรับอากาศมีโอกาสที่จะเติบโตอย่างมาก

3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์ ปี 2556 เป็ นปี แห่งการเตรี ยมการของ SCAN ซึ่งทาง SCAN ได้ทาการก่อสร้างโรงงานขนาด 5,000 ตาราง เมตร และได้ทาการติดตั้งเครื่ องจักรที่จาเป็ นสาหรับการผลิตแล้วเสร็ จในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2556 โดย มีกาลังการผลิตในขั้นต้นอยูท่ ี่ 100,000 เครื่ องต่อปี และจะเพิม่ เติมเครื่ องจักรบางส่วนอีกในปี 2557 นี้ เพื่อให้มีกาลังการผลิตรวมอยูท่ ี่ 500,000 เครื่ องต่อปี กระบวนการผลิต Aluminum Condenser ของ SCAN จะเป็ นไปดังนี้ ั้ ขึ้ ู ช้ สว

อบ ช้ สว ข้ ด้ว ั

ชือ่ ส ช้ สว ข้ ด้ว ั

ว สอบ คุ ภ พ

โดยที่ชิ้นส่วนทั้งหมดจะทาจากอลูมิเนียมเป็ นหลัก มีเพียงเฉพาะส่วนที่เป็ นท่อน้ ายาที่ทางเข้า – ออก เท่านั้น ที่จะใช้ท่อทองแดง ซึ่งวัตถุดิบทั้งหมดจะซื้อจากตัวแทนจาหน่ายในประเทศเป็ นหลัก

4.3

การรับจ้ างผลิตและประกอบเครื่องทาความเย็น (OEM และ ODM)

1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจมีลกั ษณะที่หลากหลายขึ้นอยูก่ บั ความต้องการของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ แต่ผลิตภัณฑ์โดย หลักแล้วจะเป็ นเครื่ องปรับอากาศทั้งแบบติดหน้าต่าง (Window Type), แบบแขวนผนัง (Wall Type) แบบฝัง ใต้ฝ้า (Ducted Type) ตลอดจนถึงชุดปรับอากาศขนาดใหญ่ต้งั แต่ 100,000 – 300,000 บีทียู ต่อชัว่ โมง นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้ร่วมมือกับลูกค้าในการพัฒนาและผลิตสิ นค้าที่ไม่ใช่เครื่ องปรับอากาศ อาทิเช่นเครื่ อง

หน้า 37


ทาน้ าร้อน (Heat Pump Water Heater) ซึ่งจุดเด่นของบริ ษทั ในด้านนี้คือการตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้มากตามที่ตอ้ งการ กล่าวคือ บริ ษทั สามารถปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง หรื อ แม้กระทัง่ ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้เหมาะสมตามความต้องการของลูกค้าแต่ละรายได้เป็ นอย่างดี 2)

การตลาดและภาวะแข่ งขัน บริ ษทั ไม่มีนโยบายที่จะออกผลิตภัณฑ์ที่เป็ นตราสิ นค้าของบริ ษทั เอง บริ ษทั มุ่งเน้นในธุรกิจ OEM (Original Equipment Manufacturer) และ ODM (Original Design Manufacturer) โดยทาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย ซึ่งในปั จจุบนั บริ ษทั ได้ติดต่อกับลูกค้าในต่างประเทศหลาย รายด้วยกัน อาทิ เช่น สาธารณรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริ กา และ ญี่ปุ่น เป็ นต้น กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย 1. กลุ่ม OEM ลูกค้าในกลุ่มนี้ของบริ ษทั ประกอบด้วย - บริ ษทั ฟูจิตสึ เจนเนอรัล (ประเทศไทย) จากัด โดยผลิตภัณฑ์ที่บริ ษทั ฯรับจ้าง ประกอบให้เป็ น เครื่ องปรับอากาศแบบติดหน้าต่าง (Window Type) ขนาดตั้งแต่ 8,000 – 27,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง - บริ ษทั ชาร์ปแอพพลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จากัด โดยผลิตภัณฑ์ที่บริ ษทั ฯรับจ้างประกอบให้ เป็ นชุดคอนเดนซิ่งยูนิต (Condensing Unit) สาหรับเครื่ องปรับอากาศแบบติดกาแพงขนาดตั้งแต่ 5,000 – 9,000 บีทียตู ่อชัว่ โมง 2. กลุ่ม ODM ลูกค้าในกลุ่มนี้ของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วย - ผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่าย เครื่ องปรับอากาศที่มีชื่อเสี ยง ซึ่งในปัจจุบนั บริ ษทั ได้ ทาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร่ วมกับลูกค้า ได้แก่ MITSUBISHI ELECTRIC, Goodman (USA), TRANE (Canada) เป็ นต้น - ผูอ้ อกแบบ จาหน่ายติดตั้ง และให้บริ การระบบปรับอากาศ สาหรับโครงการต่างๆ ในต่างประเทศ ซึ่งลูกค้ากลุ่มนี้จะมีโครงการต่างๆ ที่รับผิดชอบอยู่ หลากหลายและมีความต้องการ ระบบปรับ อากาศที่มีลกั ษณะเฉพาะสาหรับโครงการนั้นๆ ซึ่งในกลุ่มนี้บริ ษทั มีลูกค้ารายสาคัญคือ Westair Industries Inc., Sakura Air Conditioner - ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มที่ไม่ใช่เครื่ องปรับอากาศ ซึ่งในปี นี้บริ ษทั ได้เริ่ มทาการผลิตสิ นค้ากลุ่มเครื่ องทา น้ าร้อน (Air-to-Water Heat Pump) ร่ วมกับลูกค้า Atlantic จากประเทศฝรั่งเศสแล้ว และกาลัง พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าในกลุ่มนี้ร่วมกับลูกค้าเพิ่มเติมอีกหลายรายการ สาหรับกลุ่มลูกค้า OEM ทั้ง 2 รายนี้ซ่ ึงมีสดั ส่วนรวมกันมากกว่า 90% ของธุรกิจประกอบเครื่ องปรับอากาศ บริ ษทั จะจาหน่ายสิ นค้าไปยังบริ ษทั ลูกค้าที่อยูใ่ นประเทศโดยตรง แต่ในส่วนของกลุ่มลูกค้า ODM ซึ่งส่ วน ใหญ่จะอยูท่ ี่ต่างประเทศ อาทิ เช่น สาธารณรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริ กา และ ญี่ปุ่นเป็ นต้น บริ ษทั จะทาการส่งออกสิ นค้าไปให้ลูกค้าโดยตรง ภาวะการแข่งขัน จากการที่ผปู ้ ระกอบธุรกิจผลิตเครื่ องปรับอากาศในประเทศไทยที่มีขนาดใหญ่และมีศกั ยภาพเท่าบริ ษทั มี จานวนไม่มากนักส่วนใหญ่จะเป็ นโรงงานขนาดเล็กและมีกาลังการผลิตไม่มาก ดังนั้นคู่แข่งขันภายใน ประเทศที่แท้จริ งของบริ ษทั จึงเป็ นตัวลูกค้าของบริ ษทั เอง บริ ษทั จึงต้องผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพและ

หน้า 38


ประสิ ทธิภาพที่สูงกว่าด้วยต้นทุนที่ต่า จึงจะสามารถจูงใจให้ลกู ค้ามอบความไว้วางใจให้บริ ษทั เป็ นศูนย์ กลางการผลิตเครื่ องปรับอากาศได้ตลอดไป สาหรับคู่แข่งขันภายนอกประเทศ ส่วนใหญ่เป็ นบริ ษทั จากประเทศจีน ซึ่งมีตน้ ทุนด้านแรงงานและวัตถุดิบ ที่ต่ากว่า อย่างไรเครื่ องปรับอากาศจากประเทศจีนก็ยงั คงมีภาพลักษณ์ ของสิ นค้าราคาถูก คุณภาพยังไม่สูด้ ี นัก ในสายตาของผูบ้ ริ โภค เมื่อเทียบกันแล้วเครื่ องปรับอากาศจากไทยดูจะมีภาพลักษณ์ที่ดีกว่า นอกจากนี้ กฎหมายสวัสดิการแรงงานของประเทศจีนที่บงั คับใช้กบั นายจ้างอย่างเข้มงวดมากขึ้น ประกอบกับค่าแรงขั้น ต่าของประเทศจีนที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับปั ญหาเรื่ องกาแพงภาษีที่เครื่ องปรับอากาศจากจีนต้องเผชิญ เมื่อนาเข้าไปยังประเทศต่างๆ ก็ช่วยให้ความได้เปรี ยบของสิ นค้าจากจีนลดลง โดยเฉพาะกับประเทศต่างๆที่ ไทยมีขอ้ ตกลงเรื่ องสิ ทธิประโยชน์ทางภาษี แม้วา่ บริ ษทั จะมีคู่แข่งเป็ นจานวนมากในประเทศจีนและบริ ษทั ยังมีขนาดที่เล็กกว่า แต่บริ ษทั มีประสบการณ์ และความชานาญในอุตสาหกรรมชิ้นส่วน เครื่ องปรับอากาศมากกว่า 30 ปี มีบุคลากรที่มีความรู ้ในการ ออกแบบและพัฒนา เครื่ องปรับอากาศ ที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าแต่ละรายได้ ตลอด จนถึงภาพลักษณ์ ของเครื่ องปรับอากาศไทยทาให้บริ ษทั สามารถแข่งขันกับคู่แข่งทั้งหลายในต่างประเทศได้ ในขณะที่ผผู ้ ลิตที่มีชื่อเสี ยงระดับโลกทั้ง ญี่ปุ่น เกาหลี หรื อ อเมริ กา ถึงแม้วา่ จะมีเทคโนโลยีที่สูงกว่าบริ ษทั แต่ในขณะเดียวกัน ต้นทุนการผลิตของบริ ษทั เหล่านี้ก็สูงด้วยเช่นกัน สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรม ในส่วนของกลุ่ม OEM การแข่งขันกับผูผ้ ลิต OEM รายอื่นๆในประเทศยังไม่มี ทั้งนี้เนื่องจากผูผ้ ลิต OEM ในประเทศส่วนใหญ่ยงั ไม่มีกาลังการผลิตที่มากเพียงพอที่จะรองรับความต้องการของลูกค้าได้ ที่สาคัญ การ ที่บริ ษทั มีธุรกิจชิ้นส่วนของเครื่ องปรับอากาศเป็ นฐานอยูแ่ ล้ว ทาให้สามารถควบคุมปั จจัยในการผลิตทั้งใน ด้านคุณภาพ ราคา และการส่งมอบได้ ส่งผลให้บริ ษทั ฯมีขอ้ ได้เปรี ยบเชิงการแข่งขันมากกว่าผูผ้ ลิต OEM ในประเทศอยูพ่ อสมควร การแข่งขันกับผูป้ ระกอบการภายในประเทศลักษณะของธุรกิจเครื่ องปรับอากาศที่ผลิตเพื่อการส่งออกใน ลักษณะ ODM มีผปู ้ ระกอบการอยูห่ ลายรายในประเทศไทย อาทิเช่น บริ ษทั ยูนิแฟ๊ บ บริ ษทั Bitwise เป็ นต้น โดยเกือบทั้งหมดจะเป็ นบริ ษทั ของไทย ในขณะที่ผผู ้ ลิตเครื่ องปรับอากาศข้ามชาติที่มีชื่อเสี ยง ( เช่น มิตซูบิซิ ไดกิ้น, แอลจี ฯลฯ ) จะไม่เน้นในตลาดส่วนนี้มากนัก บริ ษทั มีคู่แข่งหลายรายซึ่งส่วนใหญ่จะกระจายอยูต่ ามเมืองต่างๆ ในประเทศจีน ซึ่งจะเน้นกลยุทธ์ ด้านราคา ถูกเป็ นหลัก ในขณะที่บริ ษทั จะไม่พยายามแข่งขันในด้านราคา แต่จะเน้นไปที่การการตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้าแต่ละรายเป็ นหลัก นอกเหนือจากนี้ บริ ษทั กาลังพยายามที่จะขยายธุรกิจในส่วนของ ODM ให้มีขนาดใหญ่ข้ นึ โดยเราจะเน้น เรื่ องการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์ที่บริ ษทั ผลิต และเป็ นการช่วยให้ลูกค้ามี ทางเลือกมากขึ้น

หน้า 39


3) การจัดหาผลิตภัณฑ์ การผลิต ในปัจจุบนั บริ ษทั ฯ มีโรงงานที่ใช้ผลิตเครื่ องปรับอากาศสาหรับการส่งออกโดยตรงอยู่ 1 แห่งคือ โรงงานที่ นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง โดยวัตถุดิบส่วนใหญ่จะซื้อมาจากผูผ้ ลิตภายในประเทศเป็ นส่วน ใหญ่ โดยแบ่งได้ดงั นี้ - คอมเพรสเซอร์ ซื้อมาจากผูผ้ ลิตในประเทศ เช่น Copeland และ Siam compressor และมีบางส่วนที่ อาจนาเข้าจากต่างประเทศโดยตรง เช่น SANYO - MOTOR ซื้อจากผูผ้ ลิตในประเทศเป็ นหลัก - อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ผลิตขึ้นมาจากกระบวนการผลิตภายในบริ ษทั - ชิ้นส่วนเหล็ก ผลิตขึ้นมาจากกระบวนการผลิตภายในบริ ษทั - ชิ้นส่วนพลาสติก มีท้ งั ชิ้นส่วนที่ซ้ือจากภายนอกบริ ษทั (ในประเทศไทย) และ ชิ้นส่วนที่ผลิตจากบริ ษทั ในกลุ่มซึ่งกล่าวโดยรวมแล้วบริ ษทั ซื้อ วัตถุดิบจากผูจ้ ดั จาหน่ายในประเทศกว่า 80% ของมูลค่าทั้งหมด นอกจากการรั บจ้างผลิ ตและประกอบเครื่ องปรับอากาศแล้ว บริ ษทั ยังประกอบเครื่ องทาความเย็น กลุ่ม อุตสาหกรรมอาหาร เช่น Freezer ซึ่งลูกค้าของบริ ษทั ในกลุ่มนี้ได้แก่ BIG, Air products

2.4 กลุ่มการดาเนินงานอืน่ ๆ 2.4.1 ผลิตเครื่องมือ อุปกรณ์ อุตสาหกรรม

วันที่ 30 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั ได้มาซึ่ งอานาจควบคุมในบริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จากัด ซึ่ ง เป็ นผูใ้ ห้บริ การรับสั่งทา ซ่ อมแซม ผลิตเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย เหล็ก ทังสเตน คาร์ ไบค์ โดยการซื้ อหุ น้ ทุนร้อยละ-60 การมีอานาจควบคุมในบริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จากัด ทา ให้เกิ ดการผนึ กกาลังในการบริ หารงานร่ วมกัน ขยายตลาดเข้าสู่ ธุรกิ จใหม่ เพิ่มโอกาสในการสร้าง รายได้ ประหยัดเวลาและขั้นตอนในการสร้างองค์กร ประหยัดเวลาในการสร้างที มงาน ต้นทุนการ

หน้า 40


ผลิตที่ถูกลงจากการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ขยายวงมากขึ้ น อานาจการต่อรองมากขึ้นและกระจายความ เสี่ ยงจากการพึ่งพาธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง เกิดการชดเชยซึ่ งกันและกันของกระแสรายได้แต่ละด้าน 1)

ลักษณะของผลิตภัณฑ์ เป็ นเครื่ องมืออุปกรณ์อุตสาหกรรม (Cutting Tools) ที่ใช้ในงานกลึง กัด เจาะ เจียร ตัด ชิ้นส่วน โดยเน้น เฉพาะเครื่ องมือพิเศษ (Special Tools) ที่มีส่วนประกอบของเหล็ก ทังสเตน คาร์ไบด์ ที่ติดหัวเพชร สังเคราะห์ หรื อ PCD (Polycrystalline Diamond) มีอานาจในการกัด เซาะ เจาะ ที่แข็งแรงเป็ นพิเศษ และมี อายุการใช้งานยาวนานกว่า จึงสามารถเพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตได้มากกว่าการใช้เครื่ องมือมาตรฐาน ทัว่ ไป ปั จจุบนั ใช้ในชิ้นส่วนที่เป็ นเหล็ก และอลูมิเนียมในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วน อิเล็คโทรนิคส์ อุตสาหกรรมไม้ฝาเทียม อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมสิ่ งพิมพ์ รวมถึง อุตสาหกรรมต้นน้ า อาทิ การหลอมโลหะ และการขึ้นรู ปโลหะ เป็ นต้น โดยเป็ นการผลิตตามความต้องการ ของลูกค้าโดยเฉพาะ

2)

การตลาดและการแข่ งขัน ในปัจจุบนั การตลาดเครื่ องมือ อุปกรณ์ ที่ประกอบด้วย เหล็ก ทังสเตน คาร์ไบด์ (Cutting tools) มากกว่า 70% ประเทศไทยยังต้องนาเข้าเครื่ องมือดังกล่าว จากต่างประเทศ อันได้แก่ ประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน และประเทศจีน ดังนั้น ตลาด เครื่ องมือ อุปกรณ์เหล่านี้ จึงยังมีโอกาส เติบโต โดยมีเหตุผล ดังนี้ (1) ส่วนแบ่งการตลาดโดยรวมเมื่อเทียบกับ การนาเข้า ยังมีโอกาสที่เติบโตได้อีกมาก รวมทั้งความสามารถ ในการแข่งขันได้ ทั้งในเรื่ องของ ต้นทุน คุณภาพ และการส่งมอบที่ทาได้เร็ วกว่า (2) แม้วา่ ในปี ที่ผา่ นมาธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ได้รับผลกระทบจากการชะลอ ตัวของเศรษฐกิจก็ตาม แต่เนื่องจากการส่งออกยานยนต์สามารถเติบโตได้อีก ดังนั้นการใช้เครื่ องมือตัดพิเศษนี้ยงั มีความต้องการที่ ไม่เปลี่ยนแปลง (3) ในกลุ่มเครื่ องมือตัด Cutting tools ยังสามารถแตกย่อยไปได้อีกหลายสาขา อาทิ เครื่ องมือ กลึง กัด ตัด ใส เจาะ หรื อไปจนถึงกลุ่มงานแม่พิมพ์ Die & Punch Dies ซึ่งบริ ษทั กาลังดาเนินการเตรี ยมแผนที่จะขยาย ธุรกิจ ให้ครอบ คลุมมากขึ้นต่อไป

3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์

ด้ านวัตถุดบิ วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต คือ เหล็กชนิดเนื้อดีคุณภาพสูง, คาร์ไบด์ (Carbide)ที่มีคุณภาพสูง รวมทั้ง PCD(Polycrystalline Diamonds , CBN(Cubic Boron Nitride) ซึ่งลูกค้าจะเป็ นผูก้ าหนดชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ ในแต่ละงานพร้อมส่งแบบให้กบั บริ ษทั ทางแผนกวางแผนผลิตเป็ นผูก้ าหนดเกรดของวัตถุดิบที่ใช้ให้ เหมาะกับ การนาไป ใช้งาน ของลูกค้า โดยคานึงถึง ประสิ ทธิภาพการใช้งานที่ลูกค้าต้องการเป็ นหลัก ซึ่ง ปั จจุบนั โดยวัตถุดิบส่วนใหญ่ยงั คงต้องนาเข้าจากต่างประเทศ

ด้ านเครื่องจักร เครื่ องจักรที่ ใช้ในการผลิ ต เครื่ องมื อ อุปกรณ์ (Cutting tools) นั้นมี ความจาเป็ นต้องใช้เครื่ องจักรที่ มี ความละเอี ยดสู งสุ ด จึ งต้องใช้เครื่ องจักรที่ ได้ มาตรฐาน ดี ที่สุด ที่ นาเข้าจากต่างประเทศทั้งหมด เนื่ อง จะต้องผลิ ตสิ นค้า รวมทั้ง การหมัน่ เอาใจใส่ ดู แลตามระบบ TPM (Total Preventive Maintenance)

หน้า 41


เพื่อให้เครื่ องสามารถใช้ งานได้ อย่างเต็มประสิ ทธิภาพ อีกทั้งการคานึงถึงสภาพแวดล้อมที่ดี โด ยที่ บ ริ ษั ท ได้รับการรับรอง ISO 14001 จาก Moody เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้วเมื่อเดือนธันวาคม 2556 ค

ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ถือเป็ นนโยบายหลักที่สาคัญเนื่องจากสิ นค้าของบริ ษทั ต้องการทักษะในการผลิตที่สูง ดังนั้น คนจึงเป็ น ปั จจัยที่สาคัญที่สุดที่จะขับเคลื่อนองค์กร จึงได้กาหนดแนวคิดในการบริ หารงานไว้ ดังนี้ - การดาเนินนโยบายตามแผนการสร้างเถ้าแก่นอ้ ยหรื อ Mini MD ยังคงดาเนินการต่อไป เพื่อให้เกิดผลใน เชิงประจักษ์ ซึ่งในปัจจุบนั ได้แยกเป็ น 4 กลุ่มธุรกิจ ตามผลิตภัณฑ์ เพื่อให้สามารถมีอิสระในการ บริ หารงาน ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ - ได้ริเริ่ มดาเนิ นการสร้างช่างเครื่ องมือกล Cutting tools ภายใต้ความ ร่ วมมือกับสถาบันการอาชีวศึกษา โดยได้จดั หลักสูตรทวิภาคีข้ ึน เป็ น ครั้งแรก ในประเทศไทย คาดว่าจะสามารถผลิตช่างเทคนิคด้าน เครื่ องมือ กลที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้ จริ งของอุตสาหกรรม เครื่ องมือกลนี้ได้

2.4.2 ผลิตชิ้นส่ วนเครื่องซักผ้า 1)

ลักษณะผลิตภัณฑ์ บริ ษทั ผลิตชิ้นส่วนทั้งที่เป็ นชิ้นส่วนโลหะและชิ้นส่วนพลาสติก ที่ใช้ประกอบทั้งภายในและภายนอกเครื่ อง ซักผ้า เพื่อป้ อนให้กบั ลูกค้าที่เป็ นผูป้ ระกอบ เครื่ องซักผ้ารายใหญ่ในประเทศ

2)

การตลาดและการแข่ งขัน ชิ้นส่วนโลหะสาหรับเครื่ องซักผ้า ลูกค้าหลักของบริ ษทั คือ Electrolux ซึ่ งส่ วนใหญ่จะผลิตเพื่อการส่ งออก และมีความต้องการที่จะโอนย้ายการผลิตมาที่ประเทศไทยมากขึ้น ซึ่ งชิ้นส่ วนที่ผลิตนี้ ตอ้ งการใช้เครื่ องจักร ใหญ่ที่มีคุณภาพและความแม่นยาสูง เช่น Turret Punch, CNC Bending Machine เป็ นต้น จึงนับเป็ นโอกาส ที่ดีเนื่องจากบริ ษทั มีความพร้อมในด้านนี้อยูแ่ ล้ว ในส่ วนของชิ้นส่ วนพลาสติก ลูกค้าหลักของบริ ษทั คื อ Sharp และ Toshiba ซึ่ งขายทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ชิ้นส่วนที่ผลิตเป็ นชิ้นงานขนาดใหญ่ เพื่อใช้เป็ นโครงทั้งภายในและภายนอกของเครื่ องซักผ้า จาเป็ นต้องใช้เครื่ องจักรขนาดใหญ่ ซึ่ งบริ ษทั มีความพร้อม อีกทั้งสถานที่ ผลิตอยู่ใกล้กบั ลูกค้าจึ งไม่เป็ น ภาระด้านการขนส่ง เนื่ องจากลูกค้าหลักทางด้านเครื่ องซักผ้าของบริ ษทั เป็ นผูผ้ ลิตชั้นนาในตลาด มีศกั ยภาพด้านการผลิตและ การแข่งขันสูง จึงเป็ นช่องทางหนึ่งที่ทาให้การผลิตชิ้นส่วนของบริ ษทั สูงตามไปด้วย

3)

การจัดหาผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วนโลหะ จะขึ้นรู ปโดยการนาเหล็กแผ่นมาผ่านกระบวนการแปรรู ป โดยใช้ Turret Punch Machine และ CNC Bending Machine แปรรู ปเป็ นชิ้นงานต่างๆ ตามความต้องการที่ลูกค้ากาหนด ลักษณะการแปร รู ปจะเป็ นขบวนการ ตัด เจาะ พับ เชื่อม หลังจากนั้นชิ้นงานบางส่วนก็จะถูกนาไปผ่านกระบวนการพ่นสี ชิ้นงานจะต้องถูกตรวจสอบคุณภาพในแต่ละขบวนการก่อนนาส่งไปยังโรงงานประกอบของลูกค้า

หน้า 42


ชิ้นส่วนพลาสติก จะใช้เม็ดพลาสติกฉี ดเข้าในแม่พิมพ์ที่ทาขึ้นมาโดยเฉพาะ โดยใช้เครื่ องฉีดที่มีความ แม่นยาและมีเทคโนโลยีการผลิตสูง ซึ่งบริ ษทั ใช้เครื่ องจักรใหม่ที่ทนั สมัยและออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อ ตอบสนองรู ปแบบใหม่ๆจากลูกค้า ในการผลิตทั้งสองส่วนนี้ ต้องมีมาตรฐานการผลิตที่ดี และคานึงถึงสภาพแวดล้อม ทั้งนี้บริ ษทั ได้รับการ รับรองมาตรฐานการผลิต ISO 9001 : 2008 และ ISO 14001 : 2004 รวมทั้งยังมีการทบทวนฝึ กอบรมผู ้ ปฏิบตั ิการอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ด้ านแรงงานของกลุ่มบริษัท บริ ษทั มีการผลิตชิ้นส่ วนมาเป็ นระยะเวลานานและก้าวขึ้นเป็ น OEM ให้กบั ลูกค้า บริ ษทั มีนโยบายเพิ่มผูบ้ ริ หาร ระดับกลาง หรื อ MINI MD เพื่อรองรับการเติบโตของบริ ษทั ในอนาคต โดยการจัดการอบรมหลักสู ตร MINI MD ขึ้นภายในองค์กร ซึ่ งใช้วิทยากรที่มีความรู ้ความสามารถทั้งภายใน และภายนอกมาฝึ กอบรม อีกทั้งยังมีผบู ้ ริ หารที่ เปี่ ยมด้วยความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางด้านเครื่ องปรับอากาศ เพื่อก้าวขึ้นเป็ น ODM และเพื่อลด ความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต บริ ษทั ตระหนักดีว่าในอนาคตแรงงานในตลาดจะขาดแคลน ด้วยวิสัยทัศน์ของประธานกรรมการบริ หาร จึ งได้มี โครงการโรงงานในโรงเรี ยน และโรงเรี ยนในโรงงาน โดยมีการประสานงานกับสถานศึ กษาชั้นนา โดยการนา นัก ศึ ก ษามาท างานร่ ว มกับ บริ ษ ัท ตามความเหมาะสม ซึ่ ง โครงการนี้ ถื อ ว่า เป็ นความร่ ว มมื อ กัน ทั้ง นัก ศึ ก ษา สถานศึกษา และบริ ษทั ซึ่งนักศึกษาได้ฝึกงานจากโรงงานที่มีมาตรฐาน และบริ ษทั ได้แรงงานที่ดีมาช่วยอีกทางหนึ่ง ด้วย ในส่ วนพนักงานระดับต้น ทางบริ ษทั มีการฝึ กอบรมอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้พนักงานมีความรู ้ ความชานาญ ความสามารถ ควบคู่ไปกับการนาเครื่ องจักรและวิธีการผลิตที่ทนั สมัยมาใช้

บริษัท เอส เอส เอ็ม ออโต้ เมชั่น จากัด (SSMA) บริ ษทั เอส เอส เอ็ม ออโต้เมชัน่ จากัด (SSMA) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2554 โดยการร่ วมทุนระหว่าง ไทยกับญี่ปุ่น ด้วยทุนจดทะเบียน 100,000,000 บาท ตั้งอยูท่ ี่ 88/19 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 ประกอบธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานพาหนะและเครื่ องใช้ไฟฟ้ าประเภทขึ้นรู ปโลหะแผ่น โดยมีสดั ส่วนการถือหุน้ ดังนี้ ที่

ผูร้ ่ วมทุน

1 2 3 3

บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) SUGIMOTO METAL MANUFACTURING CO., LTD MR. MASAHIRO SUGIMOTO MR. MASAYASU MASUDA รวม

หน้า 43

สัดส่วนการ ถือหุน้ 49% 48% 2% 1% 100%

ทุนจดทะเบียน(บาท) 79,000,000 76,000,000 3,000,000 3,000,000 100,000,000


SSMA 1.

ลักษณะธุรกิจและผลิตภัณฑ์ ธุรกิจโลหะแผ่นขึ้นรู ปของ SSMA มีลกั ษณะเด่นที่แตกต่างจากผูผ้ ลิตทัว่ ๆ ไปในประเทศ คือ เป็ นสายการ ผลิตที่ใช้หุ่นยนต์ (Robot Line) และสายการผลิตแบบต่อเนื่องอัตโนมัติ (Transfer Line และ Progressive Line) เป็ นหลักโดยมุง่ เน้นที่จะผลิตชิ้นส่วนสาหรับอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ า โดยมีรายละเอียด ของแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์หลัก ๆ ดังนี้ 1.1 ชิ้นส่วนรถยนต์ ปั จจุบนั SSMA ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ให้กบั บริ ษทั Suzuki Motors (Thailand), บริ ษทั H-One Parts (Thailand) (ชิ้นส่วนสาหรับรถยนต์ Honda และ Mitsubishi), บริ ษทั Kyokuyo Industrial (Thailand) (ชิ้นส่วนสาหรับรถยนต์ Nissan) และบริ ษทั BESTEX (Thailand) (ชิ้นส่วนสาหรับรถยนต์ Honda) 1.2 ชิ้นส่วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ลูกค้าหลักของบริ ษทั ในกลุ่มนี้ได้แก่ บริ ษทั Mitsubishi Electric Consumer Product , บริ ษทั Sharp Appliances (Thailand) , บริ ษทั Electrolux และบริ ษทั SNC Former เป็ นต้น

2.

กลยุทธ์ การตลาดและการแข่ งขัน อุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศไทย เป็ นอุตสาหกรรมที่มีการเจริ ญเติบโตสูงมาก ในขณะเดียวกัน การ แข่งขันในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนโลหะแผ่นขึ้นรู ปสาหรับรถยนต์กม็ ีสูงมากเช่นกัน ในการที่จะก้าวขึ้นมา เป็ นผูผ้ ลิตชั้นนาให้ได้น้ นั จาเป็ นที่จะต้องมีลกั ษณะเฉพาะที่จะใช้เป็ นจุดขายสาหรับลูกค้า บริ ษทั SSMA จึงได้สร้างสายการผลิตที่มุ่งเน้น “คุณภาพ” (Quality) และ ”ผลิตภาพ” (Productivity) โดยลงทุนใน Robot Line, Transfer Line และ Progressive Line เพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั ลูกค้าว่า ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั SSMA จะเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ “ถูกกว่า” “ดีกว่า” และ “เร็ วกว่า” ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งรายอื่นๆ บริ ษทั SSMA มีเป้ าหมายที่จะเป็ น Tier 1 Supplier สาหรับชิ้นส่วนรถยนต์ภายในปี 2557 และเราก็ได้ ดาเนินการจนบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว โดยที่ในปี 2557 นี้ เราได้กลายเป็ นหนึ่งในบรรดา Tier 1 Supplier ให้กบั บริ ษทั Suzuki Motors (Thailand) ในขณะเดียวกันก็ผลิตชิ้นส่วนส่งให้กบั ลูกค้าทางด้านอุตสาหกรรม

หน้า 44


เครื่ องใช้ไฟฟ้ า อาทิเช่น บริ ษทั Mitsubishi Electric Consumer Product (เครื่ องปรับอากาศ), บริ ษทั Sharp Appliances (Thailand) (ตูเ้ ย็น Sharp) เป็ นต้น 3.

การจัดหาผลิตภัณฑ์ การผลิตจะแบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอนหลักๆ คือการตัด การปั๊ มขึ้นรู ป และการประกอบ โดยเริ่ มจากการนา โลหะแผ่นมาตัดขึ้นรู ป จากนั้นนาเหล็กแผ่นดังกล่าวมาปั๊ มขึ้นรู ปเป็ นชิ้นส่วนต่างๆ และนาชิ้นส่วนต่างๆ มา เชื่อมเข้ากับชิ้นส่วนอื่นๆ ทาการตรวจสอบคุณภาพ และนาไปบรรจุเพื่อส่งมอบให้กบั ลูกค้าต่อไป อย่างไรก็ ตามงานบางประเภทจะทาเพียงการปั๊ มขึ้นรู ปเท่านั้น (ไม่มีการเชื่อมประกอบ) ปั จจุบนั SSMA มีสายการผลิตทั้งสิ้น 4 สายการผลิต ดังนี้ 3.1 Robot Line ประกอบด้วยเครื่ องเครื่ อง Press ขนาด 800 ตัน และ 500 ตัน รวมทั้งสิ้น 4 เครื่ อง และหุ่นยนต์ 5 ตัว

Robot Line 3.2 Transfer Line ประกอบด้วยเครื่ อง Press ขนาด 500 ตัน และชุด Transfer 3.3 Progressive Line ประกอบด้วยเครื่ อง Press ขนาด 250 ตัน และ 80 ตัน พร้อมทั้งชุด feeder 3.4 Tandem Line ประกอบด้วยเครื่ อง Press ขนาด 300 ตัน 5 เครื่ อง ขนาด 160 ตัน 1 เครื่ อง และขนาด 80 ตัน 2 เครื่ อง ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานของบริ ษทั บริ ษทั ใช้เครื่ องมือ Balanced Scorecard (BSC)ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานขององค์กร 1) มุมมองทางด้านการเงิน เช่น รายได้ ผลกาไร ROA ROE 2) มุมมองทางด้านลูกค้า เช่น การส่ งมอบ คุณภาพของสิ นค้าที่ส่งมอบให้ลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้า 3) มุมมองด้านกระบวนการภายใน เช่น การใช้คน การใช้พ้นื ที่ จานวนอุบตั ิเหตุ 4) การเรี ยนรู ้และพัฒนา เช่น จานวนการฝึ กอบรมของพนักงาน อัตราการเข้าออกของพนักงาน

หน้า 45


3.

ปัจจัยความเสี่ ยง

ปั จจัยความเสี่ ยงในการประกอบธุ รกิ จของบริ ษทั ที่ อาจมีผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุ นของผู ้ ลงทุนอย่างมีนยั สาคัญสามารถสรุ ปได้ ดังนี้ 3.1

ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 3.1.1 ความเสี่ ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ วัตถุดิบที่สาคัญในการผลิตของบริ ษทั คือ ทองแดง อลูมิเนียม ทองเหลือง เหล็กแผ่น และเม็ดพลาสติก โดย ทองแดงเป็ นวัตถุดิบหลักในการผลิต ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นสิ นค้าประเภท Commodity ที่ประเทศไทยต้องนาเข้า จากต่างประเทศ ราคาซื้อขายเปลี่ยนแปลงตามราคาตลาดโลก ความผันผวนของราคาทองแดงอาจส่ งผลให้ ต้นทุนในการผลิตของบริ ษทั เพิ่มสู งขึ้น อย่างไรก็ตามผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ได้วางแนวทางในการปฏิ บตั ิเพื่อ ลดความเสี่ ยงจากความผันผวนของราคาทองแดงในอนาคตโดย 1. จับคู่ราคาซื้อทองแดงให้เท่ากับต้นทุนที่ใช้กาหนดราคาขาย โดยบริ ษทั สามารถเลือกซื้อทองแดง ได้จาก ซัพพลายเออร์รายใหญ่ 3 ราย เพื่อให้ได้ราคาซื้อที่เท่ากับราคาขาย 2. สัง่ ซื้อทองแดงในปริ มาณที่ไม่เกินกว่าที่จะผลิตและขายให้กบั ลูกค้า โดยกาหนดให้มีการประชุมกับ ลูกค้าอย่างชัดเจนสาหรับจานวนการซื้อและขายแต่ละเดือน 3. ควบคุมการสัง่ ซื้อและการบริ หารสิ นค้าคงคลังให้มีปริ มาณสิ นค้าคงเหลือในมือน้อยที่สุด 4. ลูกค้าสั่งจองทองแดงกับซัพพลายเออร์ โดยบริ ษทั จะสั่งซื้ อทองแดงตามราคาที่ลูกค้าสั่งจองและใช้ใน การกาหนดราคาขายกับลูกค้า 3.1.2 ความเสี่ ยงจากการพึ่งพิงลูกค้ารายใหญ่ บริ ษทั มีลูกค้ารายใหญ่ 4 ราย มียอดรายได้รวมคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 60 หากลูกค้าเหล่านี้ ยกเลิก หรื อลด ปริ มาณการว่าจ้างลงอย่างมีนยั สาคัญ จะส่ งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริ ษทั อย่างไรก็ดี บริ ษทั มี ความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ารายดังกล่าว บริ ษทั สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็ นอย่างดี ทั้ง ในด้านคุ ณภาพ ราคา การส่ งมอบตรงตามกาหนดเวลา ตลอดจนการบริ การทั้งก่ อนและหลังการขายที่ มี ประสิ ทธิ ภาพ ทาให้ลู กค้ามี ความเชื่ อ มัน่ ต่อบริ ษทั และมี แนวโน้มของการทาธุ รกิ จร่ วมกันมากขึ้ นใน อนาคต โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) และแผนการผลิตร่ วมกับลูกค้าตั้งแต่เริ่ มต้น ซึ่ งส่ งผลให้บริ ษทั และลูกค้ามีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกันอย่างแน่นแฟ้ น และเพื่อเป็ นการกระจายสัดส่ วนการขาย บริ ษทั ได้มี การจัดหาลูกค้าใหม่เพิ่มเติม โดยการเพิ่มฐานลูกค้าในกลุ่ม ODM และมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับลูกค้า นอกจากนี้บริ ษทั ยัง ได้มีการเพิ่มฐานลูกค้าในกลุ่มงานส่วนอื่นๆ ส่งผลให้จานวนลูกค้ารายย่อยของบริ ษทั มี จานวนเพิ่มมากขึ้นจากปี ก่อน 3.1.3 ความเสี่ ยงที่ลูกค้าจะย้ายฐานการผลิตไปประเทศอื่น กลุ่มลูกค้าหลักของบริ ษทั คื อ ผูผ้ ลิ ตและจาหน่ ายเครื่ องปรั บอากาศในอาคารและเครื่ องปรั บอากาศใน รถยนต์ต่างชาติที่มีฐานการผลิตในประเทศไทย ดังนั้นหากลูกค้าย้ายฐานการผลิตเครื่ องปรับอากาศไปยัง ประเทศอื่นที่มีตน้ ทุนการผลิตที่ถูกกว่าประเทศไทยในอนาคต เช่น ประเทศจีน และประเทศเวียดนาม อาจ ส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยได้

หน้า 46


อย่างไรก็ดี ประเทศไทยยังมี ศักยภาพในการเป็ นผูผ้ ลิตเครื่ องปรั บอากาศเหนื อคู่ แข่งในภูมิภาคเดี ยวกัน เนื่องจากประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางวัตถุดิบและชิ้นส่ วนการผลิตของเครื่ องปรับอากาศทั้งหมด ซึ่ งการย้าย ฐานการผลิตไปที่ ประเทศอื่น นั้น อาจส่ งผลกระทบต่อคุณภาพของสิ นค้า เช่น ท่อทองแดง เกิ ดสนิ มจาก สภาวะอากาศที่ช้ืน หรื อหักงอเนื่ องจากบรรจุภณ ั ฑ์ และกระบวนการขนส่ ง รวมถึงต้นทุนของผลิตภัณฑ์ที่ เพิ่มขึ้นจากค่าขนส่งและค่าประกันภัยสิ นค้า นอกจากนี้ปัจจัยสาคัญในการตัดสิ นใจของลูกค้าที่คงฐานการผลิตอยูใ่ นประเทศไทย โดยไม่ยา้ ยไปประเทศ จีนและเวียดนาม ได้แก่ ปั ญหาเรื่ องลิขสิ ทธิ์ และทรัพย์สินทางปั ญญาที่รัฐบาลจีนยังไม่สามารถหามาตรการ ป้ องกันได้ ปั ญหาความขัดแย้งทางด้านเชื้อชาติซ่ ึ งส่ งผลให้การบริ หารงานเกิดความไม่คล่องตัว รวมถึงยัง ไม่มีสาธารณูปโภคที่ครบครันและเทคโนโลยีที่ทนั สมัยที่ สามารถรองรับอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพเทียบเท่าประเทศไทย 3.2

ความเสี่ยงด้ านการเงิน ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริ ษทั มีการนาเข้าวัตถุดิบและการจาหน่ายสิ นค้าไปยังต่างประเทศ โดยมี Credit term ประมาณ 30 - 60 วัน ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนจึงอาจกระทบต่อผลการดาเนิ นงาน ทั้งนี้ บริ ษทั ได้พิจารณาใช้เครื่ องมือ ทางการเงินในการบริ หารความเสี่ ยงดังกล่าวทั้งจานวน โดยบริ ษทั มีการซื้อวัตถุดิบที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ 12% ของยอดซื้อวัตถุดิบทั้งสิ้น และยอดขายที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ 5% ของยอดขายรวม

หน้า 47


4. ทรัพย์ สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ 4.1

ทรัพย์ สินถาวรหลักทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทรัพย์สินถาวรหลักที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยใช้ในการประกอบธุรกิจ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ มูลค่าสุ ทธิ (ลบ.)

ภาระผูกผัน

เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ

34.97 30.90 25.80

ปลอดภาระ ปลอดภาระ จานองธนาคาร

เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เช่า

69.99 101.22 143.24 21.94 226.48

ปลอดภาระ ปลอดภาระ ปลอดภาระ จานองธนาคาร ปลอดภาระ

เป็ นเจ้าของ สัญญาเช่าการเงิน เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ สัญญาเช่าการเงิน เป็ นเจ้าของ

1,027.94 15.88 132.78 29.95 15.08 0.7 44.49

จานาธนาคาร 2.7 ล้านบาท ปลอดภาระ ปลอดภาระ ปลอดภาระ ปลอดภาระ ปลอดภาระ ปลอดภาระ

รายละเอียด ทรัพย์สินที่ใช้ ดาเนินธุรกิจหลัก - ที่ดนิ และส่ วนปรับปรุ งที่ดนิ ระยอง จานวน 4 แปลง สมุทรปราการ จานวน 2 แปลง Top tech จานวน 2 แปลง

รวม 48.5 ไร่ รวม 6 ไร่ รวม 5 ไร่

- อาคารและ โรงงาน สานักงานใหญ่ SNC Branch 4 SPEC Top tech โรงงานแห่งอื่นๆ - เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่ องจักร เครื่ องจักร เครื่ องมือเครื่ องใช้และอุปกรณ์โรงงาน อุปกรณ์สานักงานและเครื่ องตกแต่ง ยานพาหนะ ยานพาหนะ สิ นทรัพย์ระหว่างติดตั้ง รวมทรัพย์สินที่ใช้ ดาเนินธุรกิจหลัก ทรัพย์สินที่ใช้ ประโยชน์ อนื่ - ที่ดนิ ระยอง เพือ่ ใช้ ในการขยายธุรกิจในอนาคต - โรงงานและที่ดนิ ระยอง ให้ บริษทั ร่ วมเช่ า

1,921.36 เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ

86.14 48.66 134.80 2,056.16

รวมทรัพย์สินที่ใช้ ประโยชน์ อนื่ รวมทั้งสิ้น

หน้า 48

ปลอดภาระ ปลอดภาระ


สรุปสัญญาทีส่ าคัญของบริษัท และบริษัทย่ อย ผู้เช่ า 1) เอส เอ็น ซี คูลลิ่ง ซัพพลาย 2) อิมเมอทัล พาร์ท

3) เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ สาขา 2

4) เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ สาขา 4

ผู้ให้ เช่ า บจก. เคอาร์ซี ดิเวลลอป เม้นท์ นายชลอ แก้ว สนธิ

สัญญา เช่ า อาคาร โรงงาน ที่ดิน

บจก.ศิริโกมล พร็ อพเพอร์ต้ ี

อาคาร โรงงาน

บจก. โกดัง แสงฟ้ า

อาคาร โรงงาน

บจก. โกดัง แสงฟ้ า

อาคาร โรงงาน

บจก. โกดัง จงศิริ

อาคาร โรงงาน

บจก. บาง เพรี ยงพัฒนา

อาคาร โรงงาน

บจก.ไทย ฮาร์ดเน็ต เซอร์วิส บจก. บาง เพรี ยงพัฒนา

อาคาร โรงงาน

บจก. บาง เพรี ยงพัฒนา

อาคาร โรงงาน

บจก. บาง เพรี ยงพัฒนา

อาคาร โรงงาน

บจก.เคอาร์ซี ดิเวลลอป เม้นท์ การนิคม อุตสาหกรรม

อาคาร โรงงาน

อาคาร โรงงาน

ที่ดิน โรงงาน

อายุสัญญา

สถานที่ต้งั

เนือ้ ที่

3 ปี (15 พ.ค. 5514 พ.ค. 58) 2 ปี (1 ม.ค. 56 31 ธ.ค.57) 1 ปี (1 ม.ค. 57 31 ธ.ค.57) 2 ปี 11 เดือน (1 พ.ย. 55 31 ต.ค. 58) 3 ปี (1 ก.ย. 55 31 ส.ค. 58) 1 ปี (1 ม.ค. 57 31 ธ.ค.57) 3 ปี (1 ก.ย.55 31 ส.ค.58) 1 ปี (1 ก.ย.57 1 ก.ย.58) 1 ปี (1 ต.ค.57 – 30 ก.ย. 58)

เลขที่ 333/6 ม. 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ โฉนดเลขที่ 31575 ถ.ลาดหวาย ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ สมุทรปราการ เลขที่ 242/4 ม.6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ สมุทรปราการ เลขที่ 333/2 ม.6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ เลขที่ 333/4 ม.6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ เลขที่ 242/12 ม. 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ สมุทรปราการ เลขที่ 128/888 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ เลขที่ 129/891 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ เลขที่ 128/888 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ

8,000 ตรม.

อัตราค่าเช่ า บาท/เดือน 840,000

360 ตรม.

7,000

2,500 ตรม.

270,000

4,000 ตรม

460,000

9,000 ตรม

945,000

300 ตรม.

30,000

6,600 ตรม.

520,000

700 ตรม.

60,000

1,000 ตรม.

70,000

3 ปี (1 ก.ย.55 31 ส.ค.58) 3 ปี (1 ก.ย.55 31 ส.ค.58) 3 ปี (1 ก.ย.55 31 ส.ค.58) 10 ปี (1 ต.ค.50 -

เลขที่ 129/892 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ เลขที่ 129/893 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 333/5 ม.6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ เลขที่ 49/40 ม. 5 นิคมอุตสาหกรรม

1,944 ตรม. (ไม่รวมที่จอด รถ) 3,200 ตรม. (ไม่รวมที่จอด รถ) 3,600 ตรม.

147,000

หน้า 49

48 ไร่ 42.51 ตรว.

ธ.ค.55-ส.ค. 58 : 288,000 414,000

880,405


ผู้เช่ า

ผู้ให้ เช่ า

สัญญา เช่ า

แหลมฉบัง

5) พาราไดซ์ พลาสติก

บจก.เคอาร์ซี ดิเวลลอป เม้นท์

อาคาร โรงงาน

อายุสัญญา

สถานที่ต้งั

30 ก.ย. 60)

แหลมฉบัง ต.ทุ่งสุ ขลา อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี

3 ปี (1 ก.ย.55 31 ส.ค.58)

333/5 ม.6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

เนือ้ ที่

อัตราค่าเช่ า บาท/เดือน

2,400 ตรม.

276,000

สินทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนประเภท software และ ค่าสิ ทธิ ใน การใช้ใบอนุญาตและประโยชน์อื่นๆ จานวน 55.09 ล้านบาท ทั้งนี้ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงตามราคาทุน หักค่าตัดจาหน่ายสะสม ค่าตัดจาหน่ายของสิ นทรัพย์ที่ไม่มีตวั ตนคานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์ โดยวิธี เส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบ งบการเงิน หัวข้อ 13 ) 4.2

นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั มี น โยบายลงทุ น ในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ที่ ด าเนิ นธุ รกิ จในกลุ่มงานชิ้ นส่ วนยานยนต์ กลุ่ ม ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า และกลุ่มธุรกิจที่เกี่ยวเนื่ องกับธุรกิจเดิมของบริ ษทั เป็ นหลัก เพื่อเสริ มศักยภาพการ ผลิ ต ตอบสนองการขยายงาน และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้แ ก่ บ ริ ษ ัท ในระยะยาว ตลอดจนพิ จ ารณาสิ ท ธิ ประโยชน์จากการขอรับการส่งเสริ มการลงทุนจาก BOI เป็ นปั จจัยสาคัญร่ วมด้วย รายละเอียดของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน แสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ข้อที่ 9-10

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมาย ในคดีดงั ต่อไปนี้ o คดีที่อาจมีผลกระทบด้านลบต่อสินทรัพย์ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย o คดีที่กระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ o คดีที่มิได้เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริ ษทั

หน้า 50


6. ข้ อมูลทัว่ ไป 6.1

ข้ อมูลบริษัท

บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ทะเบียนเลขที่ 01075 47000 371 มีชื่อย่อหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยว่า SNC เริ่ มก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2537 และนาหุ ้นเข้าจดทะเบียนเป็ น หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนตุลาคม 2547 บริ ษทั ประกอบธุรกิจผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับยานพาหนะ ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับเครื่ องทา ความเย็น และรับจ้างผลิตและประกอบเครื่ องทาความเย็น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนและเรี ยกชาระแล้วทั้งสิ้น 287,777,339 บาท โดยมีบริ ษทั เอส เอ็น ซี โฮลดิ้ง จากัด ซึ่งเป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่โดยถือหุน้ คิดเป็ นร้อย ละ 30 ของหุน้ สามัญที่ออกและชาระแล้ว บริ ษทั มีสานักงานใหญ่ต้ งั อยูท่ ี่ 333/3 หมู่ที่ 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 0-2763-8961-3 โทรสาร 0-2763-8964 โฮมเพจบริ ษทั www.sncformer.com ที่ต้ งั สาขา 2 : 128/888 หมู่ที่ 1 ถ.เทพารักษ์ ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 0-2763-8961-3 โทรสาร 0-2763-8964 6.2

ที่ต้ งั สาขา 4 : 49/40 หมู่ที่ 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0-3849-3400-19 โทรสาร 0-3849-3423-4

นิตบิ ุคคลทีบ่ ริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึน้ ไปของจำนวนหุ้นทีจ่ ำหน่ ำยได้ แล้ ว (ข้ อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557)

ชื่อและทีต่ ้งั บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

สัดส่ วน กำร ถือหุ้น (%)

บริ ษทั ย่ อยที่ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จากัด (มหาชน) ถือหุ้นโดยตรง บริษัท เอส เอ็น ซี ไพยองซำน อีโวลูชั่น จำกัด 88/9, 88/18 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 0-3889-3620-27 โทรสาร 0-3889-3618, 0-3889-3619

ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับ เครื่ องทาความเย็น และรับจ้าง ผลิตและประกอบเครื่ องทา ความเย็น

220 ล้านบาท หุน้ สามัญ 22,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท

99.99%

บริษัท เอส เอ็น ซี คูลลิง่ ซัพพลำย จำกัด 333/6 หมู่ที่ 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 0-2108-0360-66 (อัตโนมัติ 7 สาย)

ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับ เครื่ องปรับอากาศที่ใช้สาหรับ ยานพาหนะ

30 ล้านบาท หุน้ สามัญ 300,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้

99.99%

หน้า 51


ชื่อและทีต่ ้งั บริษัท

ประเภทธุรกิจ

โทรสาร 0-2108-0367-8 บริษัท อิมมอทัล พำร์ ท จำกัด สานักงานใหญ่ 333/2, 333/4 หมู่ที่ 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 0-2108-0370-76 (อัตโนมัติ 7 สาย) โทรสาร 0-2108-0369, 0-2108-0377

ทุนชำระแล้ ว

สัดส่ วน กำร ถือหุ้น (%)

ละ 100 บาท

ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับ เครื่ องทาความเย็น

70 ล้านบาท หุน้ สามัญ 700,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

99.99%

ผลิตชิ้นส่วนพลาสติกสาหรับ

30 ล้านบาท หุน้ สามัญ 300,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

99.99%

80 ล้านบาท หุน้ สามัญ 800,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

60%

200 ล้านบาท หุน้ สามัญ 2,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

99.99%

ที่ต้ งั สาขา 242/4 หมูท่ ี่ 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 0-2705-6750-1, 0-2706-6753-4 โทรสาร 0-2706-6952 บริษัท พำรำไดซ์ พลำสติก จำกัด 333/5 หมู่ที่ 6 ต.บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 0-2108-0378-82 โทรสาร 0-2763-8964 บริษัท ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จำกัด 56 หมู่ที่ 3 ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 0-2182-1275-82 โทรสาร 0-2182-1283-4

เครื่ องใช้ไฟฟ้ าและชิ้นส่วน ยานพาหนะ

ผลิตเครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ ประกอบด้วยเหล็ก ทังสเตน คาร์ไบค์

บริษัท เอส เอ็น ซี ครี เอติวิตี้ แอนโทโลจี จำกัด

88/21-22 หมู่ที่ 2 ตาบลมะขามคู่ อาเภอนิ คม ผลิตชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศ พัฒนา จังหวัดระยอง สาหรับที่อยูอ่ าศัยและรถยนต์ โทรศัพท์ 0-3802-6750-8 โทรสาร 0-3802-6759

หน้า 52


ชื่อและทีต่ ้งั บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

สัดส่ วน กำร ถือหุ้น (%)

บริษัท เอส เอ็น ซี แอตแลนติก ฮีต ปัมพ์ จำกัด 88/18 ม.2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 038-893620-7

ผลิตฮีตปั มพ์สาหรับเครื่ องทา น้ าร้อน

45 ล้านบาท

74%

บริษัท เอส เอ็น ซี ฟูกูอิ โฮลี อินซูเลชั่น จำกัด 333/3 หมู่ 6 ต. บางเพรี ยง อ.บางบ่อ จ. สมุทรปราการ 10560 โทรศัพท์ 02 108-03670-76

ผลิตชุดท่อทองแดงหุม้ ฉนวนที่ ใช้ในการติดตั้งเครื่ องทาความ เย็น และ ฉนวนหุม้ ท่อ

บริษัท เมอิโซะ เอสเอ็นซี พริซิชั่น จำกัด 56/2 หมูท่ ี่ 3 ต.บางปลา อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท์ 0-2182-1280-81 โทรสาร 0-2182-1282

ผ ลิ ต แ ล ะ รั บ บ ริ ก า ร ผ ลิ ต แ ม่ พิ ม พ์ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต อุปกรณ์ต่างๆ ทุกชนิด

หุน้ สามัญ 450,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท 50 ล้านบาท

70%

หุน้ สามัญ 500,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท 10 ล้านบาท

70%

หุน้ สามัญ 100,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

บริ ษทั ย่ อยที่ ถือหุ้นโดยอ้ อมผ่ านบริ ษทั เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชั่น จากัด บริษัท อัลทิเมท พำร์ ท จำกัด 88/18 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 0-3889-3620-27 โทรสาร 0-3889-3619 บริษัท อินฟิ นิตี้ พำร์ ท จำกัด 88/18 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 0-3889-3619 โทรสาร 0-3889-3620

ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับ 40 ล้านบาท เครื่ องทาความเย็นและรับจ้าง หุน้ สามัญ 400,000 ผลิตและประกอบเครื่ องแช่แข็ง หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ถนอมอาหาร ละ 100 บาท

ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สาหรับ เครื่ องทาความเย็น

หน้า 53

20 ล้านบาท หุน้ สามัญ 200,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

99.99%

99.99%


ชื่อและทีต่ ้งั บริษัท

สัดส่ วน กำร ถือหุ้น (%)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

ผลิตและขาย เครื่ องทาน้ าร้อนไฟฟ้ า

45 ล้านบาท หุน้ สามัญ 450,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

49%

100 ล้านบาท

20%

บริ ษทั ร่ วม บริษัท เอส เอ็น ซี แอตแลนติก วอเตอร์ ฮีท เตอร์ เอเซีย จำกัด 88/9,88/18 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 0-3889-3619 โทรสาร 0-3889-3620 บริษัท ฟูโซ่ อินดัสตรี้ส์ (ไทยแลนด์ ) จำกัด 99/1 หมู่ที่ 3 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 0-2397-9140-50 โทรสาร 0-2397-9151-2

ผลิตชิ้นส่วนทองแดง ชิ้นส่วน โลหะ และชิ้นส่วนทองเหลือง

หุน้ สามัญ 1,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

กิจการที่ ควบคุมร่ วมกัน บริษัท เอส เอส เอ็ม ออโต้ เมชั่น จำกัด 88/19 หมู่ที่ 2 ต.มะขามคู่ อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศัพท์ 0-3889-3619 โทรสาร 0-3889-3620 6.3

ผลิตและแปรรู ปแผ่นโลหะเป็ น 160 ล้านบาท ชิ้นส่วนของเครื่ องใช้ ไฟฟ้ า หุน้ สามัญ 1,000,000 และยานยนต์ หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท

ข้ อมูลบุคคลอ้ ำงอิงอืน่

นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยชั้น 4, 6, 7 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุ งเทพ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259

หน้า 54

ผูส้ อบบัญชี บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด เลขที่ 1 อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ สาทรใต้ แขวงยานนาวา กรุ งเทพ 10120 โทรศัพท์ 0-2677-2000 โทรสาร 0-2677-2222

49%


7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1

จำนวนทุนจดทะเบียนและทุนชำระแล้ ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียน และเรี ยกชาระแล้ว 287,777,339 บาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ จานวน 287,777,339 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท

7.2 ผู้ถือหุ้น 7.2.1 รำยชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ รายชื่ อและสัดส่ ว นการถื อ หลักทรั พย์ของกลุ่มผูถ้ ื อหุ ้นที่ ถือครองสู งสุ ด 10 รายแรก ที่ มีชื่อปรากฏตาม ทะเบียนหุน้ ณ วันที่ 18 สิ งหาคม 2557 มีดงั นี้ ลำดับที่ 1 2 3

4 5 6 7 8 9 10

ชื่อ กลุ่ม ไทยสงวนวรกุล* ASIA INVESTMENT PARTNERS LIMITED THE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORPORATION LIMITED, FUND SERVICES DEPARTMENT HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD STATE STREET BANK EUROPE LIMITED นายพิทกั ษ์ พิเศษสิ ทธิ์ นายสุเมธ กิตติพร้อมพงษ์ นายวันชัย ชัยสวัสดิ์ นายสกล งามเลิศชัย นายอนุชา กิจธนามงคลชัย รวม

สัดส่ วนกำรถือหลักทรัพย์ หุ้น ร้ อยละ 110,360,712 38.35 45,816,400 15.92 18,000,000 6.25

12,409,600 4,602,100 4,020,000 2,940,000 2,474,100 2,349,000 2,180,000 202,151,912

4.31 1.60 1.40 1.02 0.86 0.82 0.76 71.29

หมายเหตุ *กลุ่มไทยสงวนวรกุล ประกอบด้วย บริ ษทั เอส เอ็น ซี โฮลดิ้ง จากัด 31.62% ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล 3.92 %คุณสิ นีนา รถ ไทยสงวนวรกุล 2.19% คุณอนงค์นารถ ไทยสงวนวรกุล 0.59% และคุณชนิสรา 0.03%

หน้า 55


7.2.2 รำยชื่อผู้ถือหุ้นของบริษัท เอส เอ็น ซี โฮลดิง้ จำกัด ลำดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ชื่อ ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล นางอนงค์นารถ ไทยสงวนวรกุล นางสาวสิ นีนารถ ไทยสงวนวรกุล นางสาวเนตรชนก ไทยสงวนวรกุล นางสาวชนิสรา ไทยสงวนวรกุล นายเคอิชิน นาคาโมโตะ นายเคนจิ โคดามะ นายฟูมิเอกิ ทาคาฮาชิ นางสาวพิไลลักษณ์ ขุนรักษ์พรหม นายทศพร ไทยสงวนวรกุล นายสมบุญ เกิดหลิน อื่น ๆ รวม

สัดส่ วนกำรถือหลักทรัพย์ หุ้น ร้ อยละ 2,235,157 22.13 1,193,594 11.82 1,000,000 9.90 1,000,000 9.90 1,000,000 9.90 757,500 7.50 505,000 5.00 505,000 5.00 257,500 2.55 257,500 2.55 252,500 2.50 1,136,249 11.25 10,100,000 100.00

7.2.3 รำยชื่อผู้ถือหุ้นของนักลงทุนสถำบัน ลำดับที่

ชื่อ

1 2

ASIA INVESTMENT PARTNERS LIMITED THE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORPORATION LIMITED HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด STANDARD CHARTERED BANK CITIBANK บริ ษทั ประกันคุม้ ภัย จากัด (มหาชน) รวม

3 4 5 6 7

สัดส่ วนกำรถือหลักทรัพย์ หุ้น ร้ อยละ 45,816,400 15.92 18,000,000 6.25 12,409,600 6,140,454 4,602,100 2,026,100 913,000 89,907,654

4.31 2.13 1.60 0.70 0.32 31.23

ทั้งนี้ เพื่อให้เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีและแสดงถึงการบริ หารงานอย่างโปร่ งใส โครงสร้าง การถือหุน้ ของบริ ษทั จึงไม่มีการถือครองหุน้ ไขว้ในกลุ่มบริ ษทั หรื อการถือหุน้ แบบปิ รามิดในกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 บริ ษทั มีผถู ้ ือหุน้ รายย่อย จานวน 3,490 ราย หรื อคิดเป็ น 31.12% ของหุน้ ที่เรี ยก ชาระแล้ว ซึ่งได้เผยแพร่ รายงานการกระจายหุน้ ไว้ในเว็ปไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว

หน้า 56


7.2.3 ข้ อตกลงระหว่ ำงผู้ถือหุ้นใหญ่ ASIA INVESTMENT PARTNERS LIMITED ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ลาดับที่ 2 ส่งตัวแทน คือ นายสุรศักดิ์ เคารพธรรม เข้ามาเป็ นกรรมการบริ ษทั เมื่อปี 2551 7.3

กำรออกหลักทรัพย์ อนื่ บริ ษทั ไม่มีการออกหุน้ และหลักทรัพย์ประเภทอื่น

7.4

นโยบำยกำรจ่ ำยเงินปันผล บริ ษทั มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษีและสารองตาม กฎหมาย หากไม่มีเหตุจาเป็ นอื่นใดและการจ่ ายเงิ นปั นผลนั้นไม่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานปกติของ บริ ษทั อย่างมี นัยสาคัญ ทั้งนี้ การจ่ ายเงิ นปั นผลให้นาปั จจัยต่าง ๆ มาประกอบการพิจารณา เช่ น ผลการ ดาเนินงานในอนาคต ฐานะทางการเงิน สภาพคล่อง แผนการขยายงาน และภาวะทางเศรษฐกิจ เป็ นต้น ซึ่ ง การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลดัง กล่ า วข้า งต้น ต้อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากผู ้ถื อ หุ ้ น หรื อความเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการบริ ษทั การจ่ายเงินปันผลที่ผา่ นมาของบริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) เป็ นดังนี้ กำรจ่ ำยเงินปันผลของปี บัญชี เงินปันผลต่อหุน้ (บาท) กาไรสุทธิต่อหุน้ (บาท) อัตราการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุทธิ

2552 0.70 0.48 145%

2553 1.00 1.33 75%

2554 1.60 1.81 89%

2555 1.60 1.72 93%

2556 1.0 1.47 68%

หมายเหตุ: * ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 มีมติเห็นชอบให้บริ ษทั ฯ จ่ายเงินปันผลสาหรับผล การดาเนินงาน สาหรับปี 2557 ในงวดสิ้ นปี อันเป็ นงวดสุ ดท้ายในอัตราหุน้ ละ 0.36 บาท โดยกาหนดจ่ายเงินปันผล ในวันที่ 24 เมษายน 2558 ซึ่งเมื่อรวมกับเงินปันผลระหว่างกาลหุน้ ละ 0.30 บาท รวมเป็ นอัตราหุน้ ละ 0.66 บาท

นโยบำยกำรจ่ ำยเงินปันผลของบริษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยมีกาหนดจ่ายเงินปั นผลทุก ๆ เดือน มิถุนายน และธันวาคม เพื่อให้บริ ษทั แม่ (SNC) มีกาไรสะสม มากพอสาหรับการจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ต่อไป

หน้า 57

2557 0.66 1.31 50%


8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 คณะกรรมกำรบริ ษทั มีจำนวน 10 ท่ำน ประกอบด้วย  กรรมกำรอิสระ 6 ท่ำน (เป็ นจำนวนเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของคณะกรรมกำรทั้งคณะ)  กรรมกำรที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หำร 7 ท่ำน ( เป็ นจำนวนร้อยละ 70 ของคณะกรรมกำรทั้งคณะ)  กรรมกำรอิสระที่เป็ นผูห้ ญิง 1 ท่ำนคือ นำงชนิสำ ชุติภทั ร์ ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 โดยมี

รายชื่อ นำยสำธิต ดร.สมชัย นำยวิศำล นำยชัยศักดิ์ นำยสุชำติ นำงชนิสำ พล. ต. ต. นพ. นพศักดิ์ นำยสุระศักดิ์ นำยสมบุญ นำยสำมิตต์ น.ส.รัตนำภรณ์

ตาแหน่ ง ชำญเชำวน์กลุ ประธำนกรรมกำรบริ ษทั และกรรมกำรอิสระ ไทยสงวนวรกุล ประธำนกรรมกำรบริ หำร วุฒิศกั ดิ์ศิลป์ กรรมกำรอิสระ อังค์สุวรรณ กรรมกำรอิสระ บุญบรรเจิดศรี กรรมกำรอิสระ ชุติภทั ร์ กรรมกำรอิสระ ภูวฒั นเศรษฐ กรรมกำรอิสระ เคำรพธรรม กรรมกำร เกิดหลิน กรรมกำรและกรรมกำรบริ หำร ผลิตกรรม กรรมกำรและกรรมกำรบริ หำร ลีนะวัต เป็ นเลขำนุกำรบริ ษทั

ทั้งนี้ นิ ยำมควำมเป็ นอิสระของกรรมกำรบริ ษทั เข้มกว่ำตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกำศคณะกรรมกำร กำกับตลำดทุน ได้แก่ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำนวนหุน้ ที่มีสิทธิออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย ทั้งนี้ให้นบั รวมกำร ถือหุน้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องของกรรมกำรอิสระรำยนั้น ๆ ด้วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมกำรที่มีส่วนร่ วมในกำรบริ หำรงำน ลูกจ้ำง พนักงำน ที่ปรึ กษำที่ได้เงินเดือนประจำใน บริ ษทั บริ ษทั ย่อย หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย เว้นแต่จะพ้นจำกกำรมีลกั ษณะดังกล่ำวมำแล้วไม่ น้อยกว่ำสองปี 3. ไม่เป็ นบุคคลที่มีควำมสัมพันธ์ทำงสำยโลหิ ต หรื อโดยกำรจดทะเบียนตำมกฎหมำยในลักษณะที่เป็ น บิดำ มำรดำ คู่สมรส พี่นอ้ ง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผูบ้ ริ หำร ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ ผูม้ ีอำนำจควบคุม หรื อบุคคลที่ จะได้รับกำรเสนอให้เป็ นผูบ้ ริ หำรหรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย 4. ไม่มีหรื อเคยมีควำมสัมพันธ์ทำงธุรกิจกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อย ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของบริ ษทั ในลักษณะที่อำจเป็ นกำรขัดขวำงกำรใช้วจิ ำรณญำณอย่ำงอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั

หน้ำ 58


5.

6.

7. 8.

9.

หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของผูท้ ี่ มีควำมสัมพันธ์ทำงธุรกิ จกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อย ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจ ควบคุมของบริ ษทั เว้นแต่จะได้พน้ จำกกำรมีลกั ษณะดังกล่ำวมำแล้วไม่นอ้ ยกว่ำสองปี ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย และไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของ บริ ษทั และไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั ผูม้ ีอำนำจควบคุม หรื อหุ ้นส่ วนของสำนักงำนสอบบัญชี ซึ่ งมีผสู ้ อบบัญชีของ บริ ษทั บริ ษทั ย่อย ผูถ้ ือหุน้ รำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมของบริ ษทั สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จำกกำรมีลกั ษณะ ดังกล่ำวมำแล้วไม่นอ้ ยกว่ำสองปี ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บริ กำรทำงวิชำชี พใด ๆ ซึ่ งรวมถึงกำรให้บริ กำรเป็ นที่ ปรึ กษำกฎหมำยหรื อที่ ปรึ กษำ ทำงกำรเงิน ซึ่งได้รับค่ำบริ กำรเกินกว่ำสองล้ำนบำทต่อปี จำกบริ ษทั บริ ษทั ย่อย ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจ ควบคุมของบริ ษทั และไม่เป็ นผูถ้ ือหุน้ ที่มีนยั ผูม้ ีอำนำจควบคุม หรื อหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริ กำรทำงวิชำชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จำกกำรมีลกั ษณะดังกล่ำวมำแล้วไม่นอ้ ยกว่ำสองปี ไม่เป็ นกรรมกำรที่ได้รับกำรแต่งตั้งขึ้นเป็ นตัวแทนของกรรมกำรของบริ ษทั ผูถ้ ือหุ ้นรำยใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ ้นซึ่ ง เป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ รำยใหญ่ ไม่ประกอบกิจกำรที่มีสภำพอย่ำงเดียวกันและเป็ นกำรแข่งขันที่มีนยั กับกิจกำรของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ น หุ ้นส่ วนที่ มี นัย ในห้ำงหุ ้น ส่ ว น หรื อ เป็ นกรรมกำรที่ มีส่ วนร่ ว มบริ หำรงำน ลูก จ้ำ ง พนักงำน ที่ ป รึ กษำที่ รั บ เงินเดือนประจำ หรื อถือหุน้ เกินร้อยละหนึ่ งของจำนวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั อื่น ซึ่ งประกอบ กิจกำรที่มีสภำพอย่ำงเดียวกันและเป็ นกำรแข่งขันที่มีนยั กับกิจกำรของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สำมำรถให้ควำมเห็นอย่ำงเป็ นอิสระเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของบริ ษทั บริ ษทั ย่อย

กรรมการผู้มอี านาจลงนามผูกพัน กรรมกำรผูม้ ีอำนำจลงนำมแทนบริ ษทั คือ ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล ลงลำยมือชื่อร่ วมกับกรรมกำรท่ำนอื่น คือ นำยสมบุญ เกิดหลิน หรื อ นำยสำมิตต์ ผลิตกรรม คนใดคนหนึ่ งรวมเป็ นสองคนและประทับตรำสำคัญของ บริ ษทั ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ 1. มีอำนำจดูแลและจัดกำรบริ ษทั ให้เป็ นไปตำมกฎหมำย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ ง รวมถึงกำรดูแลและจัดกำรบริ ษทั ให้เป็ นไปตำมข้อพึงปฏิบตั ิที่ดีสำหรับกรรมกำรบริ ษทั จดทะเบียน ตำมแนวทำง ของตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย คณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ เว้นแต่เรื่ องที่ตอ้ ง ได้รับอนุมตั ิจำกที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ก่อนดำเนินกำร เช่น เรื่ องที่กฎหมำยกำหนดให้ตอ้ งได้รับมติที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น กำรทำรำยกำรที่ เกี่ ยวโยงกัน และกำรซื้ อหรื อขำยสิ นทรั พย์ที่สำคัญตำมกฎเกณฑ์ของตลำดหลักทรั พย์แห่ ง ประเทศไทย หรื อตำมที่หน่วยงำนรำชกำรอื่น ๆ กำหนด เป็ นต้น 2. มีอำนำจอนุ มตั ิกำรแก้ไขข้อบังคับ กำรเพิ่มทุน กำรลดทุน กำรจัดสรรหุ ้นเพิ่มทุน กำรเปลี่ยนแปลงสิ ทธิ ในหุ ้น สำมัญ 3. มีอำนำจอนุมตั ิกำรจัดตั้งบริ ษทั อื่นใด หรื อกำรเข้ำมีสิทธิประโยชน์ในบริ ษทั อื่นใด 4. มี อำนำจอนุ มตั ิ โครงกำรลงทุ น และกำรกู้ยืมหรื อกำรระดมเงิ นหรื อกำรขอรั บ เงิ นกู้จำกธนำคำรหรื อ ควำม ช่วยเหลือทำงกำรเงิน

หน้ำ 59


5. มีอำนำจอนุมตั ิกำรก่อให้เกิดภำระจำนอง หรื อภำระติดพัน หรื อภำระต่ำง ๆ ที่มีผลผูกพันเช่นเดียวกันนั้นต่อกำร งำน ทรัพย์สิน หรื อสิ นทรัพย์ท้ งั หมดหรื อแต่บำงส่ วนที่เป็ นสำระสำคัญของบริ ษทั เว้นแต่กรณี ที่เป็ นปกติธุรกิจ ของบริ ษทั 6. มีอำนำจอนุมตั ิกำรให้กยู้ มื เงินหรื อให้สินเชื่อในรู ปแบบใด เว้นแต่กรณี ที่เป็ นปกติธุรกิจของบริ ษทั 7. มีอำนำจในกำรยินยอมหรื อไม่ยนิ ยอมในกำรจัดกำรใด ๆ ที่ทำให้ธุรกิจทั้งหมดหรื อบำงส่วนของบริ ษทั อยูภ่ ำยใต้ กำรควบคุมดูแลของบุคคลอื่นที่ไม่ใช่กรรมกำรบริ ษทั 8. มีอำนำจอนุมตั ิกำรยืน่ ฟ้ องคดี หรื อกำรประนีประนอมยอมควำม หรื อกำรตกลงตำมที่มีกำรเรี ยกร้องใด ๆ เว้นแต่ กรณี ที่เป็ นธุรกิจของบริ ษทั 9. มี อ ำนำจแต่ ง ตั้ง กรรมกำรคนหนึ่ งเป็ นประธำนกรรมกำร และแต่ ง ตั้ง รองประธำนกรรมกำร ตำมที่ คณะกรรมกำรบริ ษทั เห็นสมควร 10. มีอำนำจกำหนด และแก้ไขเปลี่ยนแปลงกรรมกำรซึ่งมีอำนำจลงนำมผูกพันบริ ษทั ได้ 11. มีอำนำจแต่งตั้งกรรมกำรบริ ษทั เป็ นกรรมกำรบริ หำร และแต่งตั้งประธำนกรรมกำรบริ หำรตำมที่คณะกรรมกำร บริ ษทั เห็นสมควร 12. มี อำนำจแต่ง ตั้ง คณะกรรมกำรก ำหนดค่ ำตอบแทน และคณะกรรมกำรสรรหำตำมที่ คณะกรรมกำรบริ ษ ัท เห็นสมควร 13. มีอำนำจแต่งตั้งเลขำนุกำรบริ ษทั และเลขำนุกำรคณะกรรมกำรบริ ษทั ตำมที่คณะกรรมกำรบริ ษทั เห็นสมควร 14. มีอำนำจกำรอนุมตั ิแก้ไขเปลี่ยนแปลงตำแหน่งและ/หรื ออำนำจของกรรมกำรผูจ้ ดั กำร 15. มีหน้ำที่กำหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทำง และกลยุทธ์ของบริ ษทั 16. มีหน้ำที่ให้ควำมเห็นชอบนโยบำยที่สำคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้ ำหมำยทำงกำรเงินและแผนธุรกิจของบริ ษทั รวมทั้งติดตำมดูแลให้มีกำรปฏิบตั ิตำมแผนที่กำหนด รวมทั้งกำกับ ดูแลให้ฝ่ำยจัดกำรดำเนิ นงำนตำมนโยบำยที่ กำหนดไว้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพและประสิ ทธิผล 17. มี หน้ำที่ กำหนดแนวทำงกำรบริ หำรจัด กำรควำมเสี่ ยงอย่ำงครอบคลุม และดู แลให้ผูบ้ ริ หำรมี ระบบ หรื อ กระบวนกำรที่มีประสิ ทธิภำพในกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ ยง 18. มี หน้ำที่ พิ จำรณำอนุ มตั ิ นโยบำยกำรจ่ ำยค่ำตอบแทนที่ เหมำะสม ตำมที่ ค ณะกรรมกำรกำหนดค่ำ ตอบแทน นำเสนอเพื่อพิจำรณำ 19. มีหน้ำที่ประเมินผลงำนของคณะกรรมกำรบริ หำร ประธำนกรรมกำรบริ หำร และผูบ้ ริ หำรระดับสูง 20. มีหน้ำที่ดูแลผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นทั้งรำยใหญ่และรำยย่อยตำมสิ ทธิ อย่ำงเป็ นธรรม และดูแลให้มีช่องทำง กำรสื่ อสำรกับผูถ้ ือหุน้ แต่ละกลุ่มและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยของบริ ษทั อย่ำงเหมำะสม 21. พิจำรณำเรื่ องควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์อย่ำงรอบคอบ และกำหนดแนวทำงกำรพิจำรณำกำรทำรำยกำรที่อำจ มีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ที่ชดั เจนและเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ โดยรวมเป็ นสำคัญ 22. มีหน้ำที่เปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน โปร่ งใส น่ำเชื่อถือ 23. มีหน้ำที่จดั ให้มีกำรประชุมคณะกรรมกำรบริ ษทั อย่ำงน้อยไตรมำสละ 1 ครั้ง หรื อแล้วแต่ประธำนกรรมกำรจะ พิจำรณำเห็ นสมควรเรี ยกประชุมเป็ นวำระพิเศษเพิ่มเติมตำมควำมจำเป็ น โดยมี กำรกำหนดวำระกำรประชุ ม ล่วงหน้ำที่ชดั เจน เป็ นระเบียบวำระ พร้อมเอกสำรประกอบกำรประชุมที่เพียงพอ แนบกับหนังสื อเชิญประชุม ให้แก่กรรมกำรทุกท่ำนก่อนกำรประชุมไม่น้อยกว่ำ 7 วันเพื่อให้คณะกรรมกำรได้มีเวลำศึกษำข้อมูลก่อนกำร

หน้ำ 60


ประชุม เว้นแต่กรณี มีเหตุจำเป็ นเร่ งด่วนที่จะต้องรักษำสิ ทธิและประโยชน์ของบริ ษทั ซึ่งต้องแจ้งนัดประชุมโดย วิธีอื่นและกำหนดวันประชุมให้เร็ วกว่ำนั้นก็ได้ และให้มีกำรบันทึ กรำยงำนกำรประชุม และจัดเก็บรวบรวม เอกสำรรำยงำนที่ รับรองแล้ว เพื่อใช้ในกำรอ้ำงอิงและสำมำรถตรวจสอบได้ และเปิ ดโอกำสให้มีกำรแสดง ควำมเห็นอย่ำงเป็ นอิสระ มีกำรแบ่งเวลำไว้อย่ำงเพียงพอเพื่อกำรอภิปรำยและแสดงควำมคิดเห็นอย่ำงรอบคอบ โดยประธำนกรรมกำรเป็ นผูด้ ูแลให้ใช้เวลำในกำรประชุมอย่ำงเหมำะสม ในกำรประชุมคณะกรรมกำรจะต้องมี กรรมกำรมำร่ วมประชุมไม่นอ้ ยกว่ำกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมกำรทั้งหมดจึงจะครบองค์ประชุม 24. กรรมกำรบริ ษทั มีหน้ำที่ในกำรเข้ำร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครั้ง 25. กรรมกำรบริ ษทั มีอิสระในกำรเข้ำถึงและติดต่อสื่ อสำรกับฝ่ ำยบริ หำร และเลขำนุกำรบริ ษทั ได้โดยตรง ในกรณี ที่ตอ้ งกำรข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ ยวกับผลกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั และข้อมูลอื่น ๆ นอกเหนื อจำกที่ ได้รับจำกกำร ประชุมตำมวำระปกติประจำทุกไตรมำส 26. คณะกรรมกำรบริ ษทั เฉพำะกรรมกำรที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หำรให้ประชุมระหว่ำงกันเองเป็ นประจำ เพื่อเปิ ดโอกำสให้มี กำรอภิปรำยปั ญหำ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริ ษทั และเรื่ องที่อยูใ่ นควำมสนใจ โดยไม่มีฝ่ำยบริ หำรร่ วมด้วย 27. ห้ำ มมิ ใ ห้ ก รรมกำรบริ ษ ัท ท ำกำรซื้ อ ขำยหลัก ทรั พ ย์ข องกลุ่ ม บริ ษ ัท โดยใช้ข ้อ มู ล ภำยในของบริ ษ ัท ที่ มี สำระสำคัญและยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสำธำรณชน เพื่อประโยชน์ตนเองและผูอ้ ื่น รวมทั้งกำหนดไว้ในจรรยำบรรณ ของบริ ษทั ให้กรรมกำร ผูบ้ ริ หำร และพนักงำน หลี กเลี่ ยงหรื องดกำรซื้ อขำยหลักทรั พย์ของกลุ่มบริ ษทั ใน ช่วงเวลำ 1 เดือน ก่อนกำรเปิ ดเผยงบกำรเงินให้แก่สำธำรณชน 28. ห้ำมมิให้กรรมกำรบริ ษทั ประกอบกิ จกำรอันมีลกั ษณะอย่ำงเดี ยวกันและเป็ นกำรแข่งขันกับกิจกำรของบริ ษทั หรื อเป็ นหุ ้นส่ วนในห้ำงหุ ้นส่ วนสำมัญ หรื อเป็ นหุ ้นส่ วนไม่จำกัดควำมรับผิดในห้ำงหุ ้นส่ วนจำกัด หรื อเป็ น กรรมกำรของบริ ษทั จำกัด หรื อบริ ษทั มหำชนจำกัดอื่นใดที่ประกอบกิจกำรอันมีสภำพอย่ำงเดียวกันและเป็ นกำร แข่งขันกับกิจกำรของบริ ษทั เว้นแต่จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ทรำบก่อนจะมีมติแต่งตั้งกรรมกำรผูน้ ้ นั 29. กรรมกำรบริ ษทั ต้องแจ้งให้บริ ษทั ทรำบโดยไม่ชกั ช้ำ ในกรณี ที่กรรมกำรมีส่วนได้เสี ยในสัญญำใดที่บริ ษทั ทำขึ้น หรื อในกรณี ที่จำนวนหุน้ หรื อหุน้ กูข้ องกรรมกำรที่มีอยูใ่ นบริ ษทั ในเครื อเพิ่มขึ้นหรื อลดลง 30. กรรมกำรบริ ษทั จะอุทิศตนและเวลำเพื่อบริ ษทั โดยไม่แสวงหำผลประโยชน์แก่ตนเองหรื อผูห้ นึ่ งผูใ้ ด และไม่ ดำเนิ น กำรใด ๆ ที่ เ ป็ นกำรขัดแย้ง หรื อแข่ง ขัน กับ ผลประโยชน์ ของบริ ษ ัทหรื อ บริ ษทั ในเครื อ ส่ งเสริ มให้ พนักงำนทุกระดับมีจิตสำนึ กในจริ ยธรรมและคุณธรรม โดยตระหนักถึ งควำมสำคัญของระบบควบคุมและ ตรวจสอบภำยใน เพื่อลดควำมเสี่ ยงด้ำนกำรทุจริ ตและกำรใช้อำนำจอย่ำงไม่ถูกต้อง รวมทั้งป้ องกันกำรกระทำ ผิดกฎหมำยด้วย 31. เป็ นผูน้ ำและเป็ นตัวอย่ำงในกำรปฏิบตั ิงำนที่ดี

หน้ำ 61


บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จำกัด (มหำชน)

8.2

โครงสร้ างการบริหาร

โครงสร้ างการจัดการ คณะกรรมการบริ ษทั ประธาน นายสาธิต ชาญเชาวน์กลุ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง

คณะกรรมการบริ หาร

คณะกรรมการสรรหา & ค่าตอบแทน

คณะกรรมการ CSR และ CG

ประธาน นายสุชาติ บุญบรรเจิ ดศรี

ประธาน ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล

ประธาน ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล

ประธาน นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ

ประธาน ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล

รองประธานกรรมการบริ หาร

รองประธานกรรมการบริ หาร

รองประธานกรรมการบริ หาร

รองประธานกรรมการบริ หาร

นายฟูมิเ อกิ ทาคาฮาชิ

นายเคนจิ โคดามะ

นายสามิตต์ ผลิตกรรม

นายสมบุญ เกิดหลิน

หน่ วยงานตรวจสอบภายใน

รองกรรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ ายบัญชีและการเงิน นายรัฐภูมิ นันทปถวี

หน้ำ 62


ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 กลุ่มบริ ษทั มีผบู ้ ริ หำร 5 ท่ำน ดังต่อไปนี้ ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5

รายชื่อ ดร.สมชัย นำยสำมิตต์ นำยสมบุญ นำยฟูมิเอกิ นำยเคนจิ นำยรัฐภูมิ

ไทยสงวนวรกุล ผลิตกรรม เกิดหลิน ทำคำฮำชิ โคดำมะ นันทปถวี

ตาแหน่ ง ประธำนกรรมกำรบริ หำร รองประธำนกรรมกำรบริ หำร และกรรมกำรผูจ้ ดั กำร รองประธำนกรรมกำรบริ หำร และกรรมกำรผูจ้ ดั กำร รองประธำนกรรมกำรบริ หำร รองประธำนกรรมกำรบริ หำร รองกรรมกำรผูจ้ ดั กำรฝ่ ำยบัญชีและกำรเงิน

อำนำจหน้ำที่ของประธำนกรรมกำรบริ หำร 1. ดำเนินกำรหรื อปฏิบตั ิงำนให้เป็ นไปตำมนโยบำย แผนงำนและงบประมำณที่ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำร 2. มีอำนำจจ้ำง แต่งตั้ง โยกย้ำย บุคคลตำมจำนวนที่จำเป็ นและเห็ นสมควร ให้เป็ นผูบ้ ริ หำรหรื อพนักงำนของ บริ ษทั เพื่อปฏิ บตั ิหน้ำที่ ทุกตำแหน่ง รวมถึงกำรกำหนดขอบเขตอำนำจหน้ำที่ และผลประโยชน์ตอบแทนที่ เหมำะสม และมีอำนำจในกำรปลดออก ให้ออก ไล่ออกพนักงำนตำมควำมเหมำะสม 3. มีอำนำจในกำรกำหนดเงื่อนไขทำงกำรค้ำ เช่น วงเงินเครดิต ระยะเวลำกำรชำระเงิน กำรทำสัญญำซื้ อขำย กำร เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขทำงกำรค้ำ เป็ นต้น 4. มี อ ำนำจอนุ ม ัติ ค่ำ ใช้จ่ำ ยตำมโครงกำรที่ ไ ด้รั บ อนุ ม ัติ จำกคณะกรรมกำรบริ ษ ัท แล้ว และมี อำนำจอนุ ม ัติ ค่ำใช้จ่ำยหรื อกำรจ่ำยเงินแต่ละครั้งในกิจกำรของบริ ษทั ไม่เกิน 20 ล้ำนบำท 5. พิจำรณำเรื่ องกำรลงทุนในโครงกำรประเภทต่ำง ๆ รวมถึงกำรซื้ อขำยทรัพย์สินเพื่อเสนอต่อคณะกรรมกำร บริ ษทั ในกำรพิจำรณำเห็นชอบกับโครงกำรดังกล่ำว 6. มีอำนำจกระทำกำรและแสดงตนเป็ นตัวแทนบริ ษทั ต่อบุคคลภำยนอกในกิจกำรที่เกี่ยวข้องและเป็ นประโยชน์ ต่อบริ ษทั 7. อนุมตั ิกำรแต่งตั้งที่ปรึ กษำด้ำนต่ำง ๆ ที่จำเป็ นต่อกำรดำเนินงำน 8. ดำเนินกิจกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรบริ หำรงำนทัว่ ไปของบริ ษทั ทั้งนี้ กำรมอบอำนำจดังกล่ำวข้ำงต้นให้แก่กรรมกำรผูจ้ ดั กำรนั้น ต้องอยูภ่ ำยใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมำยและ กฎระเบียบข้อบังคับของบริ ษทั และไม่รวมถึงกำรมอบอำนำจให้กรรมกำรผูจ้ ดั กำรอนุมตั ิรำยกำรที่ตนหรื อบุคคลที่ อำจมีควำมขัดแย้งมีส่วนได้เสี ยหรื ออำจมีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ซึ่ งกำรตกลงเข้ำทำรำยกำรที่เกี่ยวโยง หรื อรำยกำรเกี่ ยวกับกำรได้มำหรื อจำหน่ ำยไปซึ่ งสิ นทรัพย์ของบริ ษทั หรื อ บริ ษ ัทย่อยตำมควำมหมำยที่ กำหนดตำมประกำศสำนักงำนกำกับ หลักทรั พ ย์แ ละตลำดหลักทรั พ ย์ และตลำด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ปฏิบตั ิตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรตำมที่ประกำศดังกล่ำวกำหนดไว้ในเรื่ องนั้น ๆ

หน้ำ 63


ประวัตกิ ารทาผิดกฎหมาย ในระยะเวลำ 10 ปี ที่ผำ่ นมำ คณะกรรมกำรและคณะผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั ไม่มีผใู ้ ดเคยถูกไล่ออก ปลดออก ให้ออก หรื อต้องคดี เนื่องจำกกำรกระทำทุจริ ต หรื อเคยถูกฟ้ องล้มละลำย หรื อถูกต้องโทษอำญำ หรื อมีขอ้ พิพำท หรื อกำรถูกฟ้ องร้องซึ่งอยูร่ ะหว่ำงกำรตัดสิ น 8.3

เลขานุการบริษัท บริ ษทั จัดให้มีฝ่ำยเลขำนุ กำรบริ ษทั ซึ่ งปั จจุ บนั คือ นำงสำวรั ตนำภรณ์ ลีนะวัต (ประวัติเลขำนุ กำรบริ ษทั รำยละเอียดเกี่ยวกับวุฒิกำรศึกษำ ประสบกำรณ์กำรทำงำน ดังปรำกฏในเอกสำรแนบ 1) มีหน้ำที่รับผิดชอบ ดำเนินกำรดังต่อไปนี้ 1. ให้คำแนะนำด้ำนกฎหมำยและกฎเกณฑ์ต่ำง ๆ ที่ คณะกรรมกำรต้องทรำบและปฏิ บัติ รวมทั้งดู แ ล กิ จกรรมต่ำง ๆของคณะกรรมกำรเพื่อให้กรรมกำรสำมำรถปฏิ บตั ิหน้ำที่ ได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพและ ประสิ ทธิผล 2. ดูแลให้ กรรมกำรบริ ษทั ผูบ้ ริ หำร และพนักงำนทุกคน ปฏิ บตั ิตำมนโยบำยกำรกำกับดูแลกิ จกำรและ จรรยำบรรณธุรกิจของบริ ษทั 3. ดูแลให้มีกำรเปิ ดเผยข้อมูลและรำยงำนสำรสนเทศในส่ วนที่รับผิดชอบตำมระเบียบและข้อกำหนดของ ตลท. และกลต. 4. จัดกำรประชุมผูถ้ ือหุน้ และประชุมคณะกรรมกำรให้เป็ นไปตำมกฎหมำย ข้อบังคับของบริ ษทั และข้อพึง ปฏิบตั ิ 5. บันทึกรำยงำนกำรประชุมผูถ้ ือหุน้ รวมทั้งติดตำมให้มีกำรปฏิบตั ิตำมมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 6. จัดทำและเก็บเอกสำร ได้แก่ ทะเบียนกรรมกำร หนังสื อนัดประชุมคณะกรรมกำร รำยงำนกำรประชุม คณะกรรมกำร รำยงำนประจำปี หนังสื อนัดประชุม และรำยงำนกำรประชุมผูถ้ ือหุน้ 7. เก็บรักษำรำยงำนกำรมีส่วนได้เสี ยที่รำยงำนโดยกรรมกำรหรื อผูบ้ ริ หำร 8. ติดต่อและสื่ อสำรกับผูถ้ ือหุน้ ทัว่ ไปให้ได้รับทรำบสิ ทธิต่ำง ๆ ของผูถ้ ือหุน้ และข่ำวสำรของบริ ษทั

8.4

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ าตอบแทนกรรมการ ค่ำตอบแทนของคณะกรรมกำร พิจำรณำเปรี ยบเทียบกับบริ ษทั ในอุตสำหกรรมเดียวกันที่อยูใ่ นตลำด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งพิจำรณำควำมเหมำะสมกับประสบกำรณ์ ภำระหน้ำที่ ขอบเขตของ บทบำทและควำมรับผิดชอบ รวมถึงประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกรรมกำรแต่ละท่ำน

หน้ำ 64


บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จำกัด (มหำชน)

ในปี 2557 คณะกรรมกำรบริ ษทั ได้รับค่ำตอบแทน โดยมีรำยละเอียดดังนี้ ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่ อ

นายสาธิต ชาญเชาวน์กลุ ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล นายวิศาล วุฒิศกั ดิ์ศลิ ป์ นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ นายสุชาติ บุญบรรเจิ ดศรี นางชนิ สา ชุตภิ ทั ร์ พล. ต. ต. นพ. นพศักดิ์ ภูวฒั นเศรษฐ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม นายสมบุญ เกิดหลิน นายสามิตต์ ผลิตกรรม ดร.ศรี เ มือง* เจริ ญศิริ นายสุกจิ * พันธ์วศิ วาส ศ.ดร.บุญทัน* ดอกไธสง นายอานะวัฒน์* นาวินธรรม นายสุรพล* แย้มเกษม นายสมชาย* งามกิจเจริ ญลาภ * กรรมการออกระหว่างปี 2557

ค่ าตอบแทน กรรมการบริ ษทั ประจา

กรรมการ ตรวจสอบ

1,200,000 -

180,000 90,000 90,000 60,000

75,000 90,000 90,000 15,000 30,000 75,000 75,000 90,000 90,000

30,000 10,000 10,000 80,000 -

1,200,000

1,050,000

130,000

หน้ำ 65

ค่ าเบีย้ ประชุ ม กรรมการ กรรมการสรร กรรมการบริ หาร กรรมการ CSR กาหนด ค่ าตอบ หา ความเสี่ ยง และ CG แทน 20,000 40,000 40,000 20,000 20,000 20,000 10,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 70,000

60,000

80,000

60,000

รวม

1,380,000 110,000 130,000 90,000 115,000 110,000 130,000 35,000 60,000 75,000 195,000 130,000 90,000 2,650,000


ค่ าตอบแทนประธานกรรมการบริหาร และผู้บริหาร ค่ำตอบแทนประธำนกรรมกำรบริ หำร และผูบ้ ริ หำรจะพิจำรณำจำกผลกำรปฏิบตั ิงำนรำยบุคคลและผลกำร ดำเนินงำนของบริ ษทั ประกอบ กับ ผลกำรปฏิ บัติ ง ำนตำมเป้ ำหมำยที่ ไ ด้ก ำหนดไว้ล่ ว งหน้ำ ของแต่ ล ะสำยงำน นอกจำกนี้ยงั มีกำรสำรวจ เปรี ยบเที ยบค่ำตอบแทนของบริ ษทั ชั้นนำซึ่ งอยู่ในธุ รกิ จเดี ยวกับบริ ษทั เพื่อให้มี ข้อมูลที่เพียงพอในกำร กำหนดค่ำตอบแทน โดยในปี 2557 ได้จ่ำยค่ำตอบแทนให้ผบู ้ ริ หำรของบริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยจำนวน 5 ท่ำน ดังนี้ รายการ

ล้ านบาท

เงินเดือน รถประจำตำแหน่ง เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ค่ำโทรศัพท์ เงินประกันสังคม

19.51 3.86 0.95 0.30 0.04

อื่น ๆ

2.37 รวม

27.03

หน้ำ 66


การถือครองหุ้นของคณะกรรมการบริษัทฯ และ ผู้บริหาร จานวนหุ้น 19 สิงหาคม 2556

ชื่อ-สกุล 1 2

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

นำยสำธิต ชำญเชำวน์กลุ ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล (ทำงตรง) คุณ อนงค์นำรถ ไทยสงวนวรกุล (ทำงอ้อม) คุณ สิ นีนำรถ ไทยสงวนวรกุล (ทำงอ้อม) คุณ ชนิสรำ ไทยสงวนวรกุล (ทำงอ้อม) บริ ษทั เอส เอ็น ซี โฮลดิ้ง จำกัด (ทำงอ้อม) นำยสมบุญ เกิดหลิน นำยสำมิตต์ ผลิตกรรม นำยสุชำติ บุญบรรเจิดศรี นำงชนิสำ ชุติภทั ร์ นำยชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ นำยวิศำล วุฒิศกั ดิ์ศิลป์ พล ต.ต. นพ. นพศักดิ์ ภูวฒั นเศรษฐ นำยสุระศักดิ์ เคำรพธรรม นำยฟูมิเอกิ ทำคำฮำชิ นำยเคนจิ โคดำมะ นำยรัฐภูมิ นันทปถวี

หน้ำ 67

10,755,610 1,698,300 6,309,600 92,800 91,000,100 15,533 431,377 1,240,610 1,765,611 22,642

การซื้อขายระหว่ างปี ซื้อเพิม่ จาหน่ าย 501,602 7,584 2,313 0 2,903 2,900 1,780 -

18 สิงหาคม 2557 11,257,212 1,698,300 6,309,600 92,800 91,000,100 7,949 433,690 1,243,513 1,768,511 24,422


8.5

บุคคลากร จำนวนพนักงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีพนักงำน แบ่งได้ตำมฝ่ ำยงำนดังนี้

ฝ่ ายงานหลัก ฝ่ ำยผลิตสำยธุรกิจธุรกิจผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สำหรับเครื่ องปรับอำกำศภำยในรถยนต์ ฝ่ ำยผลิตสำยธุรกิจผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์สำหรับเครื่ องทำควำมเย็น ฝ่ ำยผลิตรับจ้ำงผลิตและประกอบเครื่ องทำควำมเย็น (OEM) ฝ่ ำยผลิตสำยธุรกิจอื่น ๆ ฝ่ ำยตรวจสอบคุณภำพ ฝ่ ำยกำรตลำด ฝ่ ำยทรัพยำกรบุคคล ฝ่ ำยเทคโนโลยีและสำรสนเทศ ฝ่ ำยวิจยั และพัฒนำและซ่อมบำรุ ง ฝ่ ำยขนส่งและฝ่ ำยจัดซื้อ ฝ่ ำยบัญชีและกำรเงิน ฝ่ ำยคลังสิ นค้ำ อื่น ๆ รวม

จานวนพนักงาน (คน)

313 819 594 222 106 19 46 10 81 26 38 92 82 2,448

ค่ำตอบแทนพนักงำน บริ ษทั ฯ มีมุมมองว่ำพนักงำนคือสมำชิกในครอบครัวที่ตอ้ งดูแลเอำใจใส่ ไม่วำ่ จะทำงำนอยูส่ ่วนใด ฝ่ ำยใด โดยปรำศจำกกำรเลือกปฏิบตั ิ บริ ษทั ฯ จึงมีนโยบำยในกำรจ่ำยค่ำตอบแทนที่เหมำะสมกับกำรทำงำน มี สวัสดิกำรที่ดีให้กบั พนักงำน รวมถึงกำรสร้ำงสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนที่ดี ปลอดภัย เพรำะบริ ษทั ฯ ถือ ว่ำพนักงำนของบริ ษทั ฯทุกคนเป็ นส่วนสำคัญในกำรดำเนินธุรกิจ นอกจำกนี้บริ ษทั ฯ ยังได้จดั ตั้งคณะกรรมกำรสวัสดิกำรบริ ษทั ขึ้นตำมระเบียบของกระทรวงแรงงำนและ สวัสดิกำรสังคม ซึ่ งประกอบด้วยฝ่ ำยนำยจ้ำงและลูกจ้ำง เพื่อพิจำรณำเรื่ องสวัสดิกำรของพนักงำนโดยเฉพำะ เพื่อเป็ นกำรสร้ำงแรงจูงใจให้พนักงำนที่มีคุณค่ำต่อบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิงำนให้แก่องค์กรอย่ำงต่อเนื่อง อันเป็ น กำรส่งเสริ มให้บริ ษทั เติบโตอย่ำงยัง่ ยืนในระยะยำวเป็ นประโยชน์ร่วมกันระหว่ำงบริ ษทั ฯกับพนักงำน ทั้งนี้ นโยบำยดังกล่ำวได้รวมถึงกำรดำเนินกิจกำรของบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม

หน้ำ 68


ในปี 2557 บริ ษทั จ่ำยค่ำตอบแทนพนักงำนดังนี้ หน่ วย : ล้านบาท

รายการ

%

ปี 2557

ปี 2556

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

เงินเดือนและค่ำล่วงเวลำ สวัสดิกำร โบนัส ค่ำตอบแทนพิเศษ ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

535 94 68 12 11 9

572 116 75 16 10 8

(37) (22) (7) (4) 1 1

-6% -19% -9% -25% 10% 13%

เงินสมทบตำมโครงกำร EJIP

0

5

(5)

-100%

อื่นๆ

24

19

5

26%

รวม

753

821

(68)

-8%

นโยบำยกำรบริ หำรและกำรพัฒนำบุคลำกร 1. หน่วยงำน HR รับผิดชอบในสรรหำพนักงำนใหม่ ผ่ำนกำรประกำศรับสมัครหลำยช่องทำง เช่น ท ำ ง internet ติดประกำศตำมสถำนที่ชุมชน เข้ำร่ วมมหกรรมรับสมัครงำนตำมสถำนที่ต่ำงๆ ตลอดจนกำร สื่ อสำรให้พนักงำนภำยในทรำบ จัดให้มีกำรสัมภำษณ์เพื่อคัดเลือกผูท้ ี่มีคุณสมบัติตำมที่กำหนด แ ล ะ ดำเนินกำรจัดปฐมนิเทศ พนักงำนใหม่ก่อนส่งให้หน่วยงำน 2. นำหลักควำมต้องกำรของมนุษย์ตำมทฤษฎีของ Maslow มำเป็ นพื้นฐำนในกำรบริ หำรบุคลำกรเพื่อให้ สอดคล้องกับพนักงำนของบริ ษทั ในระดับต่ำงๆ ได้แก่ระดับพนักงำน/ผูบ้ ริ หำรระดับต้น ผูบ้ ริ หำร ระดับกลำง และผูบ้ ริ หำรระดับสูง 3. ออกแบบสำรวจควำมต้องกำรฝึ กอบรมประจำปี เพื่อเปิ ดโอกำสให้พนักงำนได้เสนอหลักสูตรที่ตอ้ งกำร 4. ดำเนินกิจกรรม QCC โดยกำหนดให้พนักงำนเข้ำร่ วมกิจกรรม Action Plan อย่ำงน้อย 2 กิจกรรม ต่อปี เพื่อสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมกลุ่ม แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น และใช้ประโยชน์จำกแนวคิดดังกล่ำว 5. Daily Management & Policy Management โดยให้พนักงำนทรำบเป้ ำหมำยงำน คุณภำพงำน และ วิธีกำรที่ ดำเนิ น งำนให้สำเร็ จ ด้วยตนเอง มี ระบบกำรวิเครำะห์ กำรรำยงำน และกำรประเมิ นผล ตลอดจนกำรให้ขอ้ มูลป้ อนกลับแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงำน 6. มี ระบบกำรวัดควำมสำมำรถพนักงำน SNC 9 Basic Need Skill Matrix แบ่ งกำรวัดเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ 1) Functional Competency 2) Core Competency 3) Work Permit โดยบริ ษทั จะทำกำร สอบวัดผลปี ละ 1 ครั้ง เพื่อออกใบอนุญำตปฏิบตั ิงำน 7. มีระบบกำรประเมินผลกำรทำงำนของพนักงำน เพื่อใช้ในกำรพิจำรณำปรับค่ำจ้ำงและโบนัสประจำปี พร้อมกับกำรจัดกิจกรรมส่งเสริ มพนักงำนที่มีผลงำนดีเด่น

หน้ำ 69


8. หน่วยงำน HRD ประเมินประสิ ทธิ ภำพกำรฝึ กอบรม โดยประเมินผลกำรฝึ กอบรมร่ วมกับกำรประเมิน ควำมพึงพอใจในหลักสูตรฝึ กอบรม 9. พัฒนำบุคลำกรให้มี Multi skill และ Multifunction เพื่อให้พนักงำนมีขีดควำมสำมำรถ ที่ พร้อมต่อกำร เปลี่ยนแปลง 10. พัฒนำผูน้ ำในอนำคต โดยพัฒนำทักษะควำมเป็ นผูน้ ำควบคู่ไปกับกำรเพิม่ ควำมรู ้ใหม่ๆ เสริ มสร้ำงควำม เชี่ยวชำญในกำรบริ หำรจัดกำร อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ เป็ นกำรเตรี ยมควำมพร้อมก้ำวสู่ ควำมเป็ นผูน้ ำทั้ง ในธุ ร กิ จที่ ด ำเนิ นอยู่ใ นปั จจุ บันและอนำคต ผ่ำนกำรฝึ กอบรมทั้ง ภำยในและภำยนอก ตลอดจนให้ ทุนกำรศึกษำ เพื่อศึกษำต่อในระดับที่สูงขึ้น 11. รักษำพนักงำนที่มีผลกำรปฏิบตั ิงำนดีและมีศกั ยภำพสูง โดยเตรี ยมวำงแผนควำมก้ำวหน้ำในอำชีพ เช่น กำรหมุนงำนให้ครอบคลุม กำรมอบหมำยงำนพิเศษ เพื่อให้พนักงำนได้แสดงควำมรู ้ ควำมสำมำรถอย่ำงเต็มที่ 12. ดำเนินนโยบำย 4Q คือ Quality of Product ผลิตสิ นค้ำที่ดีมีคุณภำพ Quality of Service กำรบริ กำรที่เปี่ ยมไปด้วยคุณภำพ Quality of Environment ใส่ใจในสภำพแวดล้อมที่ดี Quality of work life คุณภำพชีวติ ที่ดีในกำรทำงำน

หน้ำ 70


9.

การกากับดูแลกิจการ

9.1

นโยบายการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จากัด (มหาชน) มัน่ ใจว่าการกากับดูแลกิ จการที่ ดีเป็ นปั จจัย สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงการมีระบบบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมัน่ และความมัน่ ใจต่อผูถ้ ือหุน้ ผูล้ งทุน ผูม้ ีส่วนได้เสี ยและผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ซึ่ งจะนาไปสู่ ความสาเร็ จในการดาเนิ น ธุรกิจและเพื่อเพิ่มมูลค่าและส่งเสริ มการเติบโตอย่างยัง่ ยืนของบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั จึ งได้พิจารณาจัดทานโยบายเกี่ ยวกับจรรยาบรรณธุ รกิ จ ตลอดจนจริ ยธรรมในการ ประกอบธุรกิจของคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ฝ่ ายจัดการ และพนักงาน ตามระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี พร้อมทั้งจัดทาคู่มือการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียนมาเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ โดยสรุ ปสาระสาคัญการดาเนินการด้านการกากับดูแลกิจการได้ดงั นี้ 1.

สิทธิของผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการตระหนักและให้ความสาคัญถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น ทุ กราย ทั้งนักลงทุ นชาวไทย นักลงทุ น ต่างประเทศ นักลงทุนรายย่อย และนักลงทุนสถาบัน และจะไม่กระทาการใด ๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อริ ดรอน สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ รวมถึงไม่กระทาการใด ๆ ที่เป็ นการจากัดโอกาสของผูถ้ ือหุ ้นในการศึกษาสารสนเทศของบริ ษทั และการเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ โดยสิ ทธิข้ นั พื้นฐานของผูถ้ ือหุ ้น ได้แก่ การซื้ อขายหรื อโอนหุ ้น การมีส่วนแบ่งใน กาไรของกิ จการ การได้รับข่าวสาร ข้อมูลของกิจการอย่างเพียงพอ การเข้าร่ วมประชุมเพื่อใช้สิทธิ ออกเสี ยงในที่ ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อแต่งตั้งหรื อถอดถอนกรรมการ แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และเรื่ องที่มีผลกระทบต่อ บริ ษทั เช่น การจัดสรรเงินปั นผล การกาหนดหรื อการแก้ไขข้อบังคับและหนังสื อบริ คณห์สนธิ การลดทุนหรื อเพิ่ม ทุน และการอนุมตั ิรายการพิเศษ เป็ นต้น นอกจากนี้ ผูถ้ ือหุ ้นทุกรายยังได้รับสิ ทธิ อย่างเท่าเที ยมตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับบริ ษทั และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.1 สิ ทธิ ในการรับทราบข้อมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจนข้อมูลทั้งหมดที่ เกี่ ยวข้องกับ เรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจในที่ประชุมแก่ผถู ้ ือหุน้ เป็ นการล่วงหน้าอย่างเพียงพอและทันเวลา โดยบริ ษทั จะแจ้งให้ ผูถ้ ือหุ ้นทราบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และวิธีการในการเข้าร่ วมประชุ ม การมอบฉันทะให้ผูอ้ ื่ นเข้าร่ วมประชุ ม รวมถึงขั้นตอนลงมติ รวมถึงการเผยแพร่ ขอ้ มูลดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริ ษทั เป็ นการล่วงหน้าก่อนที่จะ จัดส่ งเอกสาร เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นได้มีเวลาศึ กษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอ ก่อนได้รับข้อมูลในรู ปแบบเอกสารจากบริ ษทั 1.2 สิ ทธิในการเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ ้น แสดงความเห็น ตั้งคาถาม ให้ขอ้ เสนอแนะ และร่ วมพิจารณาตัดสิ นใจ ในการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญต่าง ๆ โดยประธานในที่ประชุมจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสมและส่ งเสริ มให้มี การแสดงความเห็นและตั้งคาถามในที่ประชุม ในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ได้ รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้น สามารถส่ งคาถาม รวมทั้งการเสนอวาระการประชุ มและเสนอชื่ อบุ คคลที่ มีความรู ้ ความสามารถและ คุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็ นกรรมการของบริ ษทั ล่วงหน้าก่อนวันประชุม โดย กรรมการของบริ ษทั ทุกคนควรเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อตอบคาถามผูถ้ ือหุน้ ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง

หน้า 71


2. 2.1

การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน การประชุมผูถ้ ือหุน้ คณะกรรมการจัดกระบวนการประชุมผูถ้ ือหุ ้น ในลักษณะที่ สนับสนุ นให้มีการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกราย อย่างเท่าเทียมกัน โดยบริ ษทั จะมีการจัดประชุมผูถ้ ือหุ ้นอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วนั สิ้นสุดรอบปี บัญชีของบริ ษทั และหากมีความจาเป็ นเร่ งด่วนต้องเสนอวาระเป็ นกรณี พิเศษซึ่งเป็ นเรื่ องที่กระทบหรื อ เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ หรื อเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขหรื อกฎเกณฑ์ กฎหมายที่ใช้บงั คับที่ตอ้ งได้รับการ อนุมตั ิจากผูถ้ ือหุน้ แล้ว บริ ษทั จะเรี ยกประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ เป็ นกรณี ไป บริ ษทั ฯ ได้กาหนดนโยบายในการอานวยความสะดวกและส่ งเสริ มให้ผูถ้ ือหุ ้น ทั้งนักลงทุนชาวไทย นัก ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนรายย่อย และนักลงทุนสถาบัน ได้มีส่วนร่ วมในการเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ ้น โดยบริ ษทั ฯ จะดาเนินการดังนี้ 2.1.1 ก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุน้ บริ ษ ัทให้สิ ทธิ ผูถ้ ื อหุ ้นทุ กรายอย่างเท่ า เที ยมกัน ในการได้รั บ เอกสารพร้ อมข้อ มูล ประกอบการ ประชุ ม โดยการจัด ท าเป็ นภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ และเผยแพร่ ข ้อ มู ล บนเว็บ ไซต์ข องบริ ษ ัท ที่ http://www.sncformer.com เป็ นการล่วงหน้าถึง 30 วัน ก่อนจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบมากกว่า 21 วันก่อนการประชุม และได้ทาการประกาศลงในหนังสื อพิมพ์รายวันติดต่อกันต่อเนื่ องก่อนวันประชุม 3 วัน เพื่ อ บอกกล่ า วเรี ย กประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้น เป็ นการล่ ว งหน้า ส าหรั บ การเตรี ย มตัว ก่ อ นมาเข้า ร่ ว มประชุ ม นอกจากนี้ บริ ษทั ยังอานวยความสะดวกให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในการเสนอเพิ่มวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคล เพื่อเข้าดารงตาแหน่งกรรมการเป็ นการล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือนก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุ ้นโดยกาหนดเกณฑ์ ที่ชดั เจนเป็ นการล่วงหน้าเพื่อพิจารณาว่าจะเพิ่มวาระที่ผถู ้ ือหุน้ เสนอมา และกาหนดวิธีการให้ผถู ้ ือหุน้ เสนอ ชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้า ด ารงต าแหน่ ง กรรมการ โดยให้ เ สนอชื่ อ ผ่ า นคณะกรรมการสรรหา พร้ อ มข้อ มู ล ประกอบการพิจารณาด้านคุณสมบัติและการให้ความยินยอมของผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อ ทั้งนี้ไม่ให้ผถู ้ ือหุน้ ที่ เป็ นผูบ้ ริ หารเพิ่มวาระการประชุมที่ไม่ได้แจ้งล่วงหน้าโดยไม่จาเป็ นโดยเฉพาะวาระที่สาคัญที่ผถู ้ ือหุ ้นต้อง ใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสิ นใจ ทั้งนี้ คณะกรรมการเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ ที่ไม่สามารถเข้าประชุม ด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงโดยมอบฉันทะให้ผอู ้ ื่นมาประชุมและออกเสี ยงลงมติแทน โดยจะมี การเสนอชื่อกรรมการอิสระ เป็ นทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถ้ ือหุน้ และใช้หนังสื อ มอบฉันทะรู ปแบบที่ผถู ้ ือหุน้ สามารถกาหนดทิศทางการลงคะแนนได้ในแต่ละวาระ และในการลงคะแนน เสี ยงนั้นได้ 2.1.2 วันประชุมผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั อานวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยต้อนรับและอานวยความสะดวก ในการตรวจสอบเอกสารให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นแต่ละรายที่ จะเข้าร่ วมประชุม พร้อมทั้งจัดให้มีอากรแสตมป์ เพื่อ อานวยความสะดวกแก่ผูถ้ ือหุ ้นที่ มอบ/ได้รับมอบฉันทะ โดยก่ อนเริ่ มการประชุมเลขาที่ ประชุมจะแจ้ง รายละเอียดขององค์ประชุม วิธีปฏิบตั ิในการนับคะแนน และระหว่างดาเนินการประชุมบริ ษทั ได้เปิ ดโอกาส ให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมซักถามแสดงความคิดเห็น โดยบริ ษทั ได้ตอบคาถามของผูถ้ ือหุ ้นอย่างครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็นในทุกคาถาม บริ ษทั ดาเนิ นการประชุมตามลาดับวาระการประชุมโดยไม่มีการเพิ่มวาระการ ประชุมนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในหนังสื อนัดประชุม ทั้งนี้ สาหรับวาระการเลือกตั้งกรรมการจะดาเนิ นการ

หน้า 72


ลงมติเป็ นรายคน และในการประชุมทุกครั้งจะมีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน รวมทั้งการจัด ให้มีการบันทึกภาพการประชุมในลักษณะวีดีทศั น์และเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ด้วย 2.1.3 หลังวันประชุม บริ ษทั จะจัดส่งรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเผยแพร่ รายงานการประชุมใน เว็บไซต์ของบริ ษทั ภายใน 14 วันหลังจากการประชุมเสร็ จสิ้น จากการพัฒนาปรับปรุ งการจัดประชุมผูถ้ ือหุน้ อย่างต่อเนื่อง ทาให้ในปี นี้บริ ษทั ฯ ได้รับการประเมิน คุณภาพการจัดประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นอยู่ในเกณฑ์ “ดี เยี่ยม” ในโครงการประเมิ นคุ ณภาพการจัดประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2557 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริ มผูล้ งทุนไทย นโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการกาหนดให้มี “จรรยาบรรณธุรกิจ” เพื่อให้บุคลากรทุกระดับได้ยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิงานนั้น และเพื่อให้มนั่ ใจว่าบุคลากรของบริ ษทั ฯ ได้รับทราบนโยบายการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และไม่ปฏิบตั ิงานที่ขดั กับ นโยบายและผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ บุคลากรทุกระดับจึงต้องเปิ ดเผยรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตามจรรยาบรรณธุรกิจ ในเรื่ องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ ดังนี้ 2.2.1 กรรมการและพนักงานพึงหลีกเลี่ยงการกระทาใดๆอันเป็ นการขัดต่อผลประโยชน์ของบริ ษทั ไม่วา่ จะเกิ ดจากการติดต่อกับผูเ้ กี่ ยวข้องทางการค้าของบริ ษทั เช่น คู่คา้ ลูกค้า คู่แข่งขัน หรื อจากการใช้ โอกาสหรื อข้อมูลที่ได้จากการเป็ นกรรมการ หรื อพนักงานในการหาประโยชน์ส่วนตน และในเรื่ อง การท าธุ ร กิ จ ที่ แ ข่ ง ขัน กับ บริ ษัท หรื อ การท างานอื่ น นอกเหนื อ จากงานของบริ ษ ัท ซึ่ งส่ ง ผล กระทบกระเทือนต่องานในหน้าที่ 2.2.2 กรรมการและพนักงานพึงละเว้นการถือหุ ้นในกิ จการคู่แข่งของบริ ษทั หากทาให้กรรมการและ พนักงานกระทาการ หรื อละเว้นการกระทาการที่ ควรทาตามหน้าที่ หรื อมีผลกระทบกระเทือนต่อ งานในหน้าที่ ในกรณี ที่กรรมการและพนักงานได้หุน้ นั้นมาก่อนการเป็ นกรรมการและพนักงาน 2.2.3 หรื อก่อนที่บริ ษทั จะเข้าไปทาธุรกิจนั้น หรื อได้มาโดยทางมรดก กรรมการและพนักงานต้องรายงาน ให้ผบู ้ งั คับบัญชาตามลาดับชั้นทราบ 2.2

3.

การคานึงถึงบทบาทของผู้มสี ่ วนได้ เสีย คณะกรรมการกาหนดให้บริ ษทั มีการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ได้แก่ ลูกค้า พนักงาน คู่คา้ ผูถ้ ือหุ ้น เจ้าหนี้ และชุมชน โดยคานึงถึงสิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ยตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงที่มีกบั บริ ษทั และไม่กระทา การใด ๆ ที่เป็ นการละเมิดสิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ย เพื่อให้กิจการของบริ ษทั ดาเนิ นไปด้วยดี เพื่อสร้างความมัน่ คง อย่างยัง่ ยืน และตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย นโยบายความรับผิดชอบต่อผูถ้ ือหุน้ 1. ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์สุจริ ต และอย่างสุ ดความสามารถ และดาเนิ นการใด ๆ ด้วยความเป็ นธรรมต่อผู ้ ถือหุน้ ทุกราย 2. รายงานให้ผถู ้ ือหุน้ ทราบถึงสถานการณ์ขององค์กรโดยสม่าเสมอ และครบถ้วนตามความเป็ นจริ ง 3. รายงานให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบถึงแนวโน้มในอนาคตขององค์กร ทั้งในด้านบวกและลบ ด้วยเหตุผลสนับสนุนอย่าง เพียงพอ

หน้า 73


4. ให้ความสาคัญสิ ทธิข้ นั พื้นฐานของผูถ้ ือหุน้ ดังนี้ 4.1 สิ ทธิการซื้อขายหรื อโอนหุน้ 4.2 สิ ทธิการมีส่วนแบ่งในกาไรของกิจการ 4.3 สิ ทธิการได้รับข่าวสาร ข้อมูลของกิจการอย่างเพียงพอ 4.4 สิ ทธิการเข้าร่ วมประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อแต่งตั้งหรื อถอด ถอนกรรมการ แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และเรื่ องที่มีผลกระทบต่อบริ ษทั 4.5 สิ ทธิการรับทราบกฏเกณฑ์และวิธีการในการเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ 4.6 สิ ทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผูถ้ ือหุน้ นโยบายและการปฏิบตั ิต่อพนักงาน 1 มีการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็ นธรรมดังนี้ รถรับส่งพนักงานให้ครอบคลุมพื้นที่พกั อาศัยของพนักงาน โรงอาหารที่ถูกสุขลักษณะในราคาที่เหมาะสมจาหน่ายที่บริ ษทั ฯ เงินช่วยเหลือการศึกษาของบุตร ทุนการศึกษา (เรี ยนต่อ) ในระดับต่าง ๆ ในสถาบันของรัฐบาล สวัสดิการกองทุนสารองเลี้ยงชีพ เพื่อให้พนักงานมีเงินเก็บเงินออม จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจาปี ให้แก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน โบนัสประจาปี

สวัสดิการมงคลสมรสสาหรับพนักงานทุกระดับ สวัสดิการคลอดบุตรสาหรับพนักงานทุกระดับ สวัสดิการเงินช่วยเหลือกรณี เสี ยชี วิตของพนักงาน สวัสดิการครอบครัวเสี ยชีวิตสาหรับพนักงานทุกระดับ สวัสดิการค่าเช่าที่พกั อาศัย สวัสดิการโครงการร่ วมทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง

2 ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สินของพนักงาน 3 การแต่งตั้ง และโยกย้ายพนักงาน รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษ ต้องกระทาด้วยความสุ จริ ต และตั้งอยู่ บนพื้นฐานความรู ้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน 4 ให้ความสาคัญต่อการา ความสามารถ และทักษะของพนักงาน โดยให้โอกาสอย่างทัว่ ถึงและสม่าเสมอ 5 ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่ งครัด 6 บริ ษทั เปิ ดช่องทางให้พนักงานได้ร้องเรี ยนเรื่ องที่อาจเป็ นการกระทาผิด และได้กาหนดแนวทางในการปกป้ อง พนักงานหรื อผูแ้ จ้งเบาะแสในการกระทาผิด นโยบายในการปฏิบตั ิต่อลูกค้า 1. ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตรงตาม หรื อสูงกว่าความคาดหมายของลูกค้า ภายใต้เงื่อนไขที่เป็ นธรรม 2. ให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับผลิตภัณฑ์และบริ การที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้ามีขอ้ มูล เพียงพอในการตัดสิ นใจ โดยไม่มีการกล่าวเกินความเป็ นจริ งทั้งในการโฆษณา หรื อในการสื่ อสารช่องทางอื่น ๆ กับลูกค้า อันเป็ นเหตุให้ลูกค้าเกิ ดความเข้าใจผิดเกี่ ยวกับคุณภาพ ปริ มาณ หรื อเงื่ อนไขใดๆ ของสิ นค้าและ บริ การ 3. รักษาความลับของลูกค้าและไม่นาไปใช้ประโยชน์ของตนเอง หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ 4. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยความรวดเร็ ว และจัดให้มีระบบและช่องทางให้ลูกค้าร้องเรี ยนเกี่ยวกับ คุณภาพของสิ นค้าและบริ การได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ นโยบายและการปฏิบตั ิต่อคู่แข่ง 1. บริ ษทั ส่งเสริ มนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี และเป็ นธรรม

หน้า 74


2. ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี 3. ไม่แสวงหาข้อมูลที่ เป็ นความลับของคู่คา้ ด้วยวิธีการที่ ไม่สุจริ ต หรื อไม่เหมาะสม เช่น การจ่ ายสิ นจ้างให้แก่ กรรมการและพนักงานของคู่แข่ง เป็ นต้น 4. ไม่ทาลายชื่อเสี ยงของคู่แข่ง ด้วยการกล่าวหาในทางร้าย นโยบายและการปฏิบตั ิต่อคู่คา้ 1. ปฏิบตั ิกบั คู่คา้ ซึ่งถือเป็ นหุ ้นส่ วนและปั จจัยแห่ งความสาเร็ จทางธุรกิจที่สาคัญด้วยความเสมอภาค และคานึ งถึง ผลประโยชน์ร่วมกัน 2. คัดเลือกคู่คา้ เป็ นไปอย่างโปร่ งใส มีระบบ และมีมาตรฐาน มีการพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพที่ยงั่ ยืนกับคู่คา้ และคู่สญ ั ญา 3. มีความเชื่อถือซึ่งกันและกัน 4. ปฏิบตั ิตามนโยบายการปฏิบตั ิต่อคู่คา้ อย่างเคร่ งครัด โดยมีการคัดเลือกคู่คา้ ที่มีมาตรฐาน มีการเปรี ยบเทียบราคา ก่อนการสัง่ ซื้อ มีการประเมินคู่คา้ โดยใช้เกณฑ์ที่มีมาตรฐานสากล นโยบายและการปฏิบตั ิต่อเจ้าหนี้ 1. ปฏิบตั ิต่อเจ้าหนี้อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม และตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรมต่อทั้ง สองฝ่ าย 2. ปฏิบตั ิตามสัญญา หรื อเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่ งครัด กรณี ที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้อใดข้อ หนึ่ง ต้องรี บแจ้งให้คู่คา้ และ/ หรื อเจ้าหน้าที่ทราบล่วงหน้า เพื่อร่ วมกันพิจารณาหาแนวทางการแก้ไข 3. ในการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ พึงละเว้นการเรี ยก รับ หรื อจ้างผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่สุจริ ตในการค้า 4. หากมีขอ้ มูลว่ามีการเรี ยก รับ หรื อจ้างผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่สุจริ ตเกิดขึ้น พึงเปิ ดเผยรายละเอียดต่อเจ้าหนี้ และ ร่ วมกันแก้ไขปั ญหาโดยยุติธรรมและรวดเร็ ว 5. รายงานข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วน และตรงเวลาให้กบั เจ้าหนี้อย่างสม่าเสมอ นโยบายการไม่ละเมิดสิ ทธิมนุษยชนแก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง 1 บริ ษทั ไม่กีดกัน หรื อไม่ให้สิทธิพิเศษหรื อเลือกปฏิบตั ิแก่ผใู ้ ดผูห้ นึ่ง 2 บริ ษทั ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุและสถาบันการศึกษา 3 บริ ษทั คานึงถึงสิ ทธิในร่ างกาย ทรัพย์สิน และความปลอดภัยของพนักงาน 4 บริ ษทั ให้เสรี ภาพแก่พนักงานในการมีส่วนร่ วมทางการเมืองภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย นโยบายการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาหรื อลิขสิ ทธิ์ 1 บริ ษทั จะไม่ละเมิดลิขสิ ทธิ์ สิ ทธิบตั ร และเครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่นโดยเด็ดขาด 2 พนักงานของบริ ษทั มีหน้าที่รักษาความลับทางการค้า วิธีประกอบธุรกิจที่เป็ นความลับ ไม่วา่ จะเป็ นของบริ ษทั , ลูกค้า หรื อคูค่ า้ 3 พนักงานของบริ ษทั ต้องใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการทางาน ไม่ใช้ คอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิด กฎหมาย ศีลธรรม ขนบธรรมเนียมและจารี ตประเพณี 4 พนักงานของบริ ษทั ต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิ ทธิ์ถูกต้อง ห้ามติดตั้งและ ใช้งานโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิ ทธิ์ไม่ถูกต้องในบริ ษทั โดยเด็ดขาด

หน้า 75


นโยบายเกี่ยวกับการทุจริ ต เนื่องจากการให้ของขวัญ ทรัพย์สิน ของกานัล หรื อประโยชน์อื่นใด ที่ไม่เหมาะสมย่อมจะทาให้เกิดภาพลักษณ์ของ การเกื้อหนุน หรื อมีพนั ธะต่อกัน อันอาจมีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจในการปฏิบตั ิหน้าที่ และอาจทาให้บริ ษทั เสี ย ประโยชน์ในที่สุด ซึ่ งบริ ษทั ไม่สนับสนุนการกระทาดังกล่าว บริ ษทั จึงได้กาหนดนโยบายการรับและให้ของขวัญ ทรัพย์สิน ของกานัล และประโยชน์อื่นใด ไว้ในจริ ยธรรมธุรกิจ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการถือปฏิบตั ิต่อไป โดยในปี ที่ผา่ นมาบริ ษทั ได้ดาเนินกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับการทุจริ ตดังนี้  ไม่มีกรณี การกระทาผิดด้านการทุจริ ต หรื อกระทาผิดจริ ยธรรม  ไม่มีกรรมการลาออกอันเนื่ องจากประเด็นเรื่ องการกากับดูแลกิจการของบริ ษท ั  ไม่มีกรณี เกี่ยวกับชื่อเสี ยงในทางลบของบริ ษท ั อันเนื่องมาจากความล้มเหลวในการทาหน้าที่สอดส่องดูแลของ คณะกรรมการ นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม 1 รับผิดชอบและยึดมัน่ ในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี ทอ้ งถิ่นที่องค์กรตั้งอยู่ 2 ดาเนินกิจกรรมเพื่อร่ วมสร้างสรรค์สังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อมอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ชุมชนที่บริ ษทั ตั้งอยูม่ ี คุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน ทั้งที่ดาเนินการเองและร่ วมมือกับรัฐ และชุมชน 3 ป้ องกันอุบตั ิเหตุ และควบคุมการปล่อยของเสี ยให้อยูใ่ นระดับต่ากว่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ 4 ตอบสนองอย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้อ มและชุ ม ชน อัน เนื่ องมาจากการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที่ กบั เจ้าหน้าที่ ภาครั ฐ และหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง 5 ส่งเสริ มให้พนักงานของบริ ษทั มีจิตสานึกและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมภายในระบบการจัดการ สิ่ งแวดล้อม (ISO 14001) และส่งเสริ มให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิภาพ 4.

การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการดูแลให้บริ ษทั เปิ ดเผยข้อมูลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ ข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่ งใส โดยการเผยแพร่ ขอ้ มูลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริ ษทั โดยมีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้นกั ลงทุนและผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ มีขอ้ มูลตัดสิ นใจอย่างเพียงพอและเท่าเทียมกัน การเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ขอ้ มูลทางการเงินที่สาคัญ มีดงั นี้ 1. แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) และรายงานประจาปี 2. นโยบายการกากับดูแลกิจการและผลการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว 3. นโยบายเกี่ยวกับการดูแลสิ่ งแวดล้อมและสังคมและการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว 4. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิ นแสดงควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบ บัญชีในรายงานประจาปี 5. การเปิ ดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย จานวนครั้งของการประชุม และจานวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่ วมประชุมในปี ที่ผา่ นมา 6. เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูง

หน้า 76


นอกจากนี้ บริ ษทั ได้จดั ตั้งหน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อทาหน้าที่ สื่อสารประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลที่ เป็ น ประโยชน์ให้ผถู ้ ือหุ ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และประชาชนทัว่ ไป ผ่านช่องทางต่าง ๆ การประชุมนักวิเคราะห์ การประชุมทางโทรศัพท์ การตอบคาถามทางโทรศัพท์ และ ผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั เป็ นต้น ในปี 2557 บริ ษทั ได้ดาเนินการปรับปรุ งเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ เพื่อให้ ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทั้งชาวต่างชาติและชาว ไทยสามารถเข้าถึงข้อมูลของบริ ษทั ได้ และบริ ษทั ได้มีการนาเสนอข้อมูลทั้งทางตรงและทางอ้อมดังนี้  การนาเสนอข้อมูลในงานบริ ษทั จดทะเบียนพบนักลงทุน  การเผยแพร่ ข่าว ในกรณี ที่บริ ษทั มีกิจกรรมการลงทุนหรื อกิจกรรมทางธุรกิจที่สาคัญ  การออกเอกสารข่าวผลประกอบการ  การเข้าเยีย่ มชมกิจการของบริ ษทั หรื อพูดคุยกับผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ  การประชุมนักวิเคราะห์ นักลงทุน

บริ ษทั เข้าร่ วมกิจกรรมบริ ษทั จดทะเบียนพบนักลงทุนเป็ นวันแรกอย่างสม่าเสมอต่อเนื่องกันมาโดยตลอด 5.

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการมีบทบาทสาคัญในการกากับดู แลกิ จการเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั คณะกรรมการมี ภาวะผูน้ า วิสัยทัศน์ และมีความเป็ นอิ สระในการตัดสิ นใจเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้ นโดยรวม คณะกรรมการได้จดั ให้มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการที่ ชัดเจน และดูแลให้บริ ษทั มีระบบงานที่ให้ความเชื่อมัน่ ได้วา่ กิจกรรมต่าง ๆ ของบริ ษทั ได้ดาเนินไปในลักษณะที่ ถูกต้อง ตามกฎหมายและมีจริ ยธรรม และมีบทบาทสาคัญในการร่ วมกาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจร่ วมกับผูบ้ ริ หาร ระดับสูง รวมทั้งพิจารณาทบทวนวิสยั ทัศน์และภารกิจของบริ ษทั อย่างน้อยทุก 5 ปี เพื่อวางแผนการดาเนิ นงานใน ระยะสั้ น และระยะยาว นโยบายการเงิ น การบริ ห ารความเสี่ ย ง และภาพรวมขององค์ก รทั้ง หมดโดยอิ ส ระ นอกจากนี้ยงั มีบทบาทในการกากับดูแลฝ่ ายจัดการให้ดาเนินงานเป็ นไปตามแผนธุรกิจอย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผล เช่น การจัดให้มีระบบควบคุมภายใน การประเมินผลการดาเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของผูถ้ ือหุน้ อีกทั้งคณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมหารื อทิศทางการดาเนิ นธุรกิจ อย่างต่อเนื่ อง และเป็ นผูร้ ิ เริ่ มสนับสนุนการดาเนิ นงานที่สาคัญ อาทิ นโยบายพัฒนาทรัพยากรบุคคล นโยบายการ พัฒ นาสิ่ ง แวดล้อ ม และการสร้ างวัฒ นธรรมนวัต กรรม ที่ ส าคัญอี ก ประการหนึ่ ง คื อ คณะกรรมการบริ ษ ัท ให้ ความสาคัญกับการเข้าสัมมนาหลักสู ตรที่ เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความคิดเห็ น จากผูบ้ ริ หารขององค์กรอื่น ๆ เพื่อนาความรู ้มาพัฒนาปรับปรุ งกลุ่มบริ ษทั ทั้งนี้ บริ ษทั ได้มีการชี้ แจงข้อมูลทัว่ ไป

หน้า 77


ให้แก่กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั เป็ นครั้งแรก ตลอดจนสนับสนุนค่าใช้จ่ายสาหรับกรรมการ บริ ษทั ที่ประสงค์จะเข้ารับการอบรมหลักสูตรที่เป็ นประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ในฐานะกรรมการบริ ษทั นโยบายการกากับดูแลกิจการและจริ ยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการได้จดั ให้มีนโยบายการกากับดูแลกิ จการและจรรยาบรรณธุ รกิ จของบริ ษทั เป็ นลายลักษณ์ อักษร เพื่อให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนเข้า ใจถึงมาตรฐานด้านจริ ยธรรมที่ บริ ษทั ใช้ในการดาเนิ น ธุรกิจ นอกจากนี้ คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และได้มีการติดตามให้มีการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว บริ ษทั ฯ กาหนดการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจเพื่อเป็ นกรอบในการปฏิบตั ิงานด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน จะปฏิ บตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณ ธุรกิจของบริ ษทั ฯ ด้วยความเชื่อมัน่ ศรัทธา 2. กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน จะนานโยบายการกากับดูแลกิจการและจรรยาบรรณธุ รกิ จไป ปฏิบตั ิในการบริ หารจัดการธุรกิจทุกระดับ 3. กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน จะยึดมัน่ ในความเป็ นธรรม และปฏิ บตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยอย่าง เท่าเที ยมกัน และปฏิ บตั ิ งานเพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความสุ จริ ตโปร่ งใส ตรวจสอบได้ บริ ษทั ฯ ตระหนักว่าการมีนโยบายฯ ที่ดี โดยปราศจากการนาไปปฏิบตั ิอย่างจริ งจัง ย่อมไม่ก่อให้เกิดผลดีต่อ องค์กร บริ ษทั ฯ จึงส่งเสริ มวัฒนธรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี โดย  จัดอบรมเรื่ องการกากับดูแลกิจการที่ดี  ประธานกรรมการบริ หารมีส่วนร่ วมเผยแพร่ หลักการกากับดูแลกิ จการที่ ดี โดยได้รับเชิ ญเป็ น วิทยากรถ่ายทอดนโยบายและประสบการณ์การกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ในโอกาสต่างๆ

ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล ประธานกรรมการบริ หาร เข้าร่ วมกิจกรรมกับ “CEO CG Talk: ในฐานะ บริ ษทั แม่แบบด้านการนา CG ไปปฏิบตั ิอย่างเป็ นรู ปธรรม สร้างความยัง่ ยืนในกิจการด้วยหลักบรรษัทภิบาล

ภาวะผูน้ า วิสยั ทัศน์และพันธกิจ คณะกรรมการบริ ษทั ดูแลให้มีการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย นโยบาย ทิศทางการดาเนิ นงาน แผน กลยุทธ์ระยะยาว แผนงานและงบประมาณประจาปี และนโยบายการกากับดูแลกิจการ ของบริ ษทั ฯ โดยมอบหมาย

หน้า 78


ให้ฝ่ายบริ หารเป็ นผูน้ าเสนอ และคณะกรรมการบริ ษทั แสดงความคิดเห็นและอภิปรายร่ วมกับฝ่ ายบริ หารอย่างเต็มที่ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเห็ น ชอบร่ ว มกัน ก่ อ นที่ จ ะพิ จ ารณาอนุ ม ัติ โดยคณะกรรมการบริ ษัท ได้แ ต่ ง ตั้ง ประธาน กรรมการบริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การให้เป็ นผูร้ ับผิดชอบในการพัฒนากลยุทธ์และนากลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ และได้ พิจารณากาหนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ชดั เจนระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ ายบริ หาร นโยบายในการดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียน คณะกรรมการมีความเห็นว่า เพื่อให้แน่ใจว่า กรรมการสามารถอุทิศเวลาในการกับดูแลกิจการของบริ ษทั อย่างมีประสิ ทธภาพ กรรมการไม่ควรดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบี ยนเกิ น 3 บริ ษทั และเปิ ดเผย รายละเอียดข้อมูลการดารงตาแหน่งของกรรมการแต่ละท่านในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ให้ผู ้ ถือหุ ้นทราบ ซึ่ งสามารถดู ได้จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (www.set.or.th) ซึ่ งปั จจุ บนั มี กรรมการที่ดารงตาแหน่งดังกล่าวเกินกว่าที่กาหนด 1 ท่าน อย่างไรก็ตามการดารงตาแหน่งกรรมการดังกล่าวไม่มี ผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่กรรมการแต่อย่างใด นโยบายในการดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั อื่น เพื่อประสิ ทธิ ภาพในการปฏิ บตั ิหน้าที่ ในฐานะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการได้กาหนดนโยบายในการ ดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษทั อื่นของกรรมการแต่ละท่านไม่เกิน 5 บริ ษทั และเปิ ดเผยรายละเอียดข้อมูลการ ดารงตาแหน่ งของกรรมการแต่ละท่ านในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ให้ผูถ้ ื อหุ ้นทราบ ซึ่ ง สามารถดูได้จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (www.set.or.th) ซึ่ งปั จจุบนั มีกรรมการจานวน 5 ท่านที่ดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั อื่นมากกกว่า 5 บริ ษทั อย่างไรก็ตามการดารงตาแหน่งกรรมการดังกล่าวไม่ มีผลกระทบต่อการปฎิบตั ิหน้าที่กรรมการแต่อย่างใด โดยกรรมการ 3 ท่านเป็ นการดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ เอง นโยบายในการดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั อื่นของกรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดนโยบายในการดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั อื่นของกรรมการผูจ้ ดั การ โดยกาหนดให้ก่อนที่กรรมการผูจ้ ดั การจะไปดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษทั อื่น จะต้องแจ้งให้คณะกรรมการ บริ หารทราบเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ ทั้งนี้ ต้องไม่เป็ นกรรมการในบริ ษทั ที่ดาเนิ นธุรกิจสภาพอย่างเดียวกับบริ ษทั หรื อ เป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษทั โครงสร้างคณะกรรมการ 1. เพื่อให้เกิ ดความสมดุลในอานาจการดาเนิ นงานบริ ษทั ได้แยกตาแหน่งประธานกรรมการบริ ษทั และประธาน กรรมการบริ หาร มิให้เป็ นบุคคลคนเดี ยวกัน โดยประธานกรรมการของบริ ษทั เป็ นกรรมการอิสระและไม่มี ความสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ ายบริ หาร 2. คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 10 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการที่ เป็ นผูบ้ ริ หาร 3 ท่ าน กรรมการที่ ไม่เป็ น ผูบ้ ริ หาร 7 ท่าน ( 6 ใน 7 เป็ นกรรมการอิสระ) ซึ่ งตามข้อบังคับบริ ษทั กาหนดให้บริ ษทั มีคณะกรรมการของ บริ ษทั ไม่นอ้ ยกว่า 5 ท่าน และตามหลักการกากับดูแลกิจการกาหนดให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ อิสระอย่างน้อย 1 ใน 2 ของกรรมการทั้งคณะ

หน้า 79


3. บริ ษทั มีการกาหนดวาระการดารงตาแหน่ งของกรรมการไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียนและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยดังนี้ ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้กรรมการซึ่งอยูใ่ นตาแหน่งนานที่สุดออกจากตาแหน่งจานวน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด ถ้าจานวนกรรมการแบ่งออกให้ตรงเป็ นสามส่ วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดย จานวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1ใน 3 ทั้งนี้ กรรมการที่พน้ จากตาแหน่งตามวาระดังกล่าวอาจได้รับการแต่งตั้งจาก ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นให้กลับเข้าดารงตาแหน่งต่อไปได้ กรรมการแต่ละรายมีวาระในการดารงตาแหน่ ง 3 ปี ใน กรณี ที่ตาแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่ งมี คุณสมบัติและไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมายเข้าเป็ นกรรมการแทน โดยกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งใหม่จะมีวาระการ ดารงตาแหน่งเพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการซึ่ งตนแทน ทั้งนี้ การแต่งตั้งดังกล่าวต้องผ่านมติอนุมตั ิ ของคณะกรรมการด้วยคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู่ 4. บริ ษทั กาหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไว้อย่างชัดเจน 5. คณะกรรมการกาหนดนโยบายจากัดจานวนปี ในการดารงตาแหน่งของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 6 ปี คณะกรรมการชุดย่อย 1. นอกจากคณะกรรมการตรวจสอบที่ ตอ้ งจัดให้มีตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยแล้ว คณะกรรมการได้จดั ให้มีคณะกรรมการชุดย่อยอื่นเพื่อการกากับดูและกิจการที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่ให้ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน การปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั ให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี และ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง มีหน้าที่กาหนดกลยุทธ์ กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการบริ หารความเสี่ ยง จัดทาระบบเตือนภัย ของความเสี่ ยงทุกประเภทเพื่อจัดการความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่สามารถยอมรับได้ ให้สอดคล้องกับ นโยบายการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั ฯ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่พจิ ารณาคัดเลือกบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ระดับสูงของบริ ษทั รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการที่จะทาให้ผถู ้ ือหุน้ มีส่วนร่ วมในการสรรหาและแต่งตั้ง กรรมการ และนาเสนอรายชื่อคณะกรรมการให้คณะกรรมการบริ ษทั นาเสนอให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เป็ น ผูแ้ ต่งตั้ง รวมทั้ง มีหน้าที่พจิ ารณาแนวทางกาหนดค่าตอบแทนที่จาเป็ นและเหมาะสม ทั้งที่เป็ นตัวเงิน และมิใช่ตวั เงิน ของคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริ หาร และผูบ้ ริ หาร ระดับสูงของบริ ษทั ในแต่ละปี อย่างอิสระและเที่ยงธรรม

หน้า 80


คณะกรรมการ CSR และ CG มีหน้าที่กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามหลักบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่ งแวดล้อม คณะกรรมการบริ หาร มีหน้าที่ในการกากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกลยุทธ์และทิศทางการดาเนิ นธุรกิ จ รวมทั้งสร้างระบบการทางานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ให้เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน 2. สมาชิกส่วนใหญ่ของกรรมการชุดย่อยของบริ ษทั เป็ นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ เพื่อความโปร่ งใสและเป็ นอิสระใน การปฏิบตั ิหน้าที่ 3. ประธานคณะกรรมการบริ ษทั ไม่เป็ นประธานหรื อสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้การทาหน้าที่ของ คณะกรรมการชุดย่อยมีความเป็ นอิสระอย่างแท้จริ ง 4. เพื่อให้การปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและบรรลุวตั ถุประสงค์ต่อหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ควรมีการประชุมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี เพื่อพิจารณา หารื อ และดาเนินการใดๆ ให้สาเร็ จลุล่วงตามหน้าที่ความรับผิดชอบของตน บทบาท หน้าที่ ของคณะกรรมการและฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และฝ่ ายบริ หารออกจากกัน อย่างชัดเจน และกาหนดให้ประธานกรรมการบริ ษทั เป็ นบุ คคลคนละคนกับประธานกรรมการบริ หาร โดยมี บทบาท อานาจ และหน้าที่ แบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจน เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการบริ หารและการกากับ ดูแลกิจการที่ดี การพัฒนากรรมการและ ผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการมีการส่ งเสริ มให้มีการฝึ กอบรม และให้ความรู ้แก่ผเู ้ กี่ ยวข้องในระบบการกากับดูแลกิ จการ ของบริ ษทั เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เลขานุการคณะกรรมการ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ผู ้ ประสานงานตลาดหลักทรัพย์ และเลขานุการบริ ษทั เป็ นต้น เพื่อให้มีการปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่ อง และ การทางานที่มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น ปั จจจุบนั มีกรรมการบริ ษทั ที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของกรรมการ รวม 9 ท่านจาก 10 ท่าน และในปี 2557 มีกรรมการที่เข้ารับการอบรมของสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) คือ ดร. สม ชัย ไทยสวนวรกุล การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดให้มีการปฐมนิ เทศกรรมการใหม่ทุกคน เพื่อสร้างความรู ้ความเข้าใจในธุรกิจ และการดาเนินการด้านต่างๆ ของบริ ษทั ฯ เพื่อเตรี ยมความพร้อมในกรปฏิบตั ิหน้าที่ของกรรมการ ขณะเดียวกันก็มี นโยบายที่ จ ะเสริ มสร้ างความรู ้ แ ละมุม มองใหม่ๆ ให้กับกรรมการทุ กคนทั้งในแง่ ก ารก ากับดู แลกิ จ การ ภาวะ อุตสาหกรรม ธุรกิจเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อช่วยสนับสนุนการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างมีประสิ ทธิ ภาพของ กรรมการให้สามารถเข้ารับตาแหน่งได้เร็ วที่สุด ในปี 2557 มีกรรมการเข้าใหม่จานวน 4 ท่าน ได้รับการปฐมนิเทศแล้วในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558

หน้า 81


การประชุมคณะกรรมการ 1. บริ ษทั จัดให้มีกาหนดตารางการประชุมคณะกรรมการเป็ นการล่วงหน้า โดยในแต่ละปี ต้องจัดประชุมไม่นอ้ ย กว่า 6 ครั้ง และแจ้งให้กรรมการแต่ละท่านทราบกาหนดการดังกล่าว เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาและเข้า ร่ วมประชุมได้ อย่างไรก็ตาม ในกรณี จาเป็ นเร่ งด่วน บริ ษทั อาจมีการเรี ยกประชุมคณะกรรมการเพิ่มเติมได้ บริ ษทั ได้กาหนดตารางการประชุมคณะกรรมการล่วงหน้าในปี 2558 ดังนี้ ครั้งที่ 1/2558 วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 ครั้งที่ 4/2558 วันพุธที่ 5 สิ งหาคม 2558 ครั้งที่ 2/2558 วันพุธที่ 6 พฤษภาคม 2558 ครั้งที่ 5/2558 วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน 2558 ครั้งที่ 3/2558 วันพุธที่ 10 มิถุนายน 2558 ครั้งที่ 6/2558 วันพุธที่ 2 ธันวาคม 2558 2. จานวนองค์ประชุมขั้นต่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุม ต้องมีกรรมการอยูไ่ ม่นอ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด 3. ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริ หารได้มีการร่ วมกันพิจารณาการเลือกเรื่ อง เพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระ การประชุ มคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแต่ละท่ านมี ความเป็ นอิ สระที่ จะเสนอเรื่ องเข้าสู่ วาระการ ประชุม 4. บริ ษทั จัดส่ งเอกสารประกอบการประชุมให้แก่กรรมการเป็ นการล่วงหน้า โดยเอกสารมีลกั ษณะโดยย่อ แต่ให้ สารสนเทศครบถ้วน สาหรับเรื่ องที่ไม่ประสงค์จะเปิ ดเผยเป็ นลายลักษณ์อกั ษรนั้น จะให้นาเรื่ องมาอภิปรายกัน ในที่ประชุม 5. ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอที่ ฝ่ายจัดการจะเสนอเรื่ อง และมากพอที่กรรมการจะอภิปราย ปั ญหาสาคัญกันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน 6. คณะกรรมการสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่จาเป็ นเพิ่มเติมได้จากกรรมการผูจ้ ดั การ หรื อเลขานุการบริ ษทั หรื อ ผูบ้ ริ หารอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กาหนดไว้ 7. คณะกรรมการมีนโยบายให้กรรมการที่ ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร มีโอกาสที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจาเป็ น เพื่ออภิปรายปั ญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดการที่อยูใ่ นความสนใจ โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่ วมด้วย และมีการแจ้งให้ กรรมการผูจ้ ดั การทราบถึงผลการประชุมด้วย ในปี 2557 กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร มีการประชุมระหว่างกันเอง 2 ครั้ง

หน้า 82


ในปี 2557 คณะกรรมการมีการจัดประชุมดังนี้ การประชุมในปี 2557 ลาดับที่

รายชือ่

ตาแหน่ง

กรรมการ บริ ษทั

กรรมการ ตรวจสอบ

กรรมการ กรรมการสรร กาหนด ค่าตอบ หา

1

นายสาธิต

ชาญเชาวน์กลุ

ประธานกรรมการบริษทั

6/6

-

-

-

2

ดร.สมชัย

ไทยสงวนวรกุล

ประธานกรรมการบริหาร

6/6

-

-

-

3

นายวิศาล

วุฒิศกั ดิ์ศิลป์

กรรมการอิสระ

6/6

-

นายชัยศักดิ์

อังค์สุวรรณ

กรรมการอิสระ

4/6

4

นายสุระศักดิ์

เคารพธรรม

6

นายสมบุญ

7

9 10 11 12 13 14 15 16

3/4

กรรมการ CSR และ CG

-

-

2/2

-

-

-

-

-

-

-

-

(แต่งตัง้ 3 เมษายน 2557)

5

8

2/2

กรรมการบริ หาร ความเสีย่ ง

กรรมการ

5/6

-

-

-

เกิดหลิน

กรรมการและกรรมการบริหาร

6/6

-

-

-

นายสามิตต์

ผลิตกรรม

กรรมการและกรรมการบริหาร

6/6

-

-

ศ.ดร.บุญทัน

ดอกไธสง

กรรมการอิสระ

5/6

-

-

2/2

2/2 -

-

2/2

-

2/2

-

-

(ลาออก 25 ธันวาคม 2557) นายอานะวัฒน์

นาวินธรรม

กรรมการอิสระ

5/6

4/4

-

2/2

2/2

-

(ลาออก 25 ธันวาคม 2557) นายสุรพล

แย้มเกษม

กรรมการบริหาร

6/6

-

6/6

-

2/2

-

-

2/2

-

-

-

-

-

-

-

-

(ลาออก 25 ธันวาคม 2557) นายสมชาย

งามกิจเจริญลาภ

กรรมการบริหาร

-

(ลาออก 25 ธันวาคม 2557) ดร.ศรีเมือง

เจริญศิริ

กรรมการอิสระ

1/1

1/4

2/5

1/4

1/1

(ลาออก 11 กุมภาพันธ์ 2557) นายสุกิจ

พันธ์วิศวาส

กรรมการอิสระ

-

2/2

(ลาออก 4 พฤศจิ กายน 2557) นายสุชาติ

บุญบรรเจิ ดศรี

กรรมการอิสระ (แต่งตัง้ 25 ธันวาคม 2557)

นางชนิสา

ชุตภิ ทั ร์

-

กรรมการอิสระ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(แต่งตัง้ 25 ธันวาคม 2557) พล. ต. ต. นพ. นพศักดิ์

ภูวฒ ั นเศรษฐ

กรรมการอิสระ (แต่งตัง้ 25 ธันวาคม 2557)

การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการจัดให้มีการประเมินผลงานของคณะกรรมการทั้งคณะ คณะกรรมการชุดย่อย การประเมินตนเอง รายบุคคล และ การประเมินผลงานของประธานกรรมการบริ หาร (CEO) โดยมีกระบวนการในการประเมินดังนี้ 1. คณะกรรมการสรรหาและคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนทบทวนแบบประเมินผล ให้มีความ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด 2. คณะกรรมการประเมินประสิ ทธิภาพในการทางานประจาปี 3. เลขานุการบริ ษทั ฯ สรุ ปผลการประเมิน และรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั

หน้า 83


4. คณะกรรมการดาเนินการปรับปรุ งการดาเนินงานให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น การประเมินคณะกรรมการทั้งคณะ แบบประเมินผลของคณะกรรมการ มุ่งเน้นการนาผลประเมินไปใช้ประโยชน์ เพื่อการปรับปรุ งการปฏิบตั ิ หน้าที่ของคณะกรรมการ โดยมีเกณฑ์การประเมินผล ดังนี้ 4 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นอย่างดีเยีย่ ม 3 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นดี 2 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นพอสมควร 1 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นเล็กน้อย 0 = ไม่มีการดาเนินการในเรื่ องนั้น คณะกรรมการมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานด้วยตนเองเป็ นรายปี เพื่อให้คณะกรรมการร่ วมกันพิจารณา ผลงานและปั ญหา เพื่อการปรับปรุ งแก้ไขต่อไป โดยได้กาหนดหัวข้อในการประเมินอย่างชัดเจน เพื่อเป็ นบรรทัด ฐานที่จะใช้เปรี ยบเทียบผลการปฏิบตั ิงานอย่างมีหลักเกณฑ์ แบบประเมินผลคณะกรรมการ ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คื อ โครงสร้างและคุ ณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาทหน้าที่ แ ละความรั บ ผิด ชอบของคุ ณกรรมการ การประชุ ม คณะกรรมการ การท าหน้าที่ ของกรรมการ ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและพัฒนาผูบ้ ริ หาร สรุ ปผลการประเมินผลคณะกรรมการ ในภาพรวม 6 หัวข้อ เห็นว่าการดาเนิ นการส่ วนใหญ่จดั ทาได้ดีเยี่ยม เหมาะสม การประเมินคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการได้กาหนดให้มีการประเมินผลคณะกรรมการชุดย่อยเป็ นประจาทุกปี ซึ่ งผลการประเมินในปี 2557 มี เกณฑ์การประเมินผล ดังนี้ 4 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นอย่างดีเยีย่ ม 3 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นดี 2 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นพอสมควร 1 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นเล็กน้อย 0 = ไม่มีการดาเนินการในเรื่ องนั้น สรุ ปผลการประเมินปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบ ผลการประเมินรายคณะ อยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย่ ม คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน ผลการประเมินรายคณะอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย่ ม คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ผลการประเมินรายคณะอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย่ ม คณะกรรมการCG & CSR ผลการประเมินรายคณะอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย่ ม

หน้า 84


การประเมินตนเองรายบุคคล นอกจากการประเมิ นตนเองของคณะกรรมการแล้ว คณะกรรมการได้ก าหนดให้มีการประเมิ นผลกรรมการ รายบุคคลเป็ นประจาทุกปี ซึ่งผลการประเมินในปี 2557 มีเกณฑ์การประเมินผล ดังนี้ 4 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นอย่างดีเยีย่ ม 3 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นดี 2 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นพอสมควร 1 = มีการดาเนินการในเรื่ องนั้นเล็กน้อย 0 = ไม่มีการดาเนินการในเรื่ องนั้น สรุ ปผลการประเมินปี 2557 กรรมการมีคุณสมบัติและได้ปฏิบตั ิภาระหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างดีเยี่ยมและ เหมาะสมตามแนวทางการปฏิบตั ิที่ดีของกรรมการ การประเมินผลงานของประธานกรรมการบริ หาร (CEO) คณะกรรมการเป็ นผู ้ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านประจ าปี ของประธานกรรมการบริ ห าร ซึ่ ง การประเมิ น โดย เปรี ยบเทียบกับความสาเร็ จของเป้ าหมายในระดับบริ ษทั และความสามารถในระดับบุคล การบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการได้กาหนดนโยบายด้านการบริ หารความเสี่ ยงให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดยให้ฝ่ายจัดการเป็ นผู ้ ปฏิ บตั ิ ตามนโยบายและรายงานให้คณะกรรมการทราบเป็ นประจา และจัดให้มีการทบทวนระบบและประเมิ น ประสิ ทธิผลของการจัดการความเสี่ ยงอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง หรื อเมื่อพบว่าระดับความเสี่ ยงมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ รวมถึงการให้ความสาคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าและรายการผิดปกติต่าง ๆ ในปี 2557 คณะกรรมการได้วิเคราะห์ และประเมิ นความเสี่ ยงของแต่ล ะสายธุ รกิ จร่ ว มกับหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อ งพร้ อ มกับ หามาตรการจัด การ/ควบคุ ม ความเสี่ ย งของแต่ ล ะธุ ร กิ จ แล้วน าแผนจัด การความเสี่ ย งเข้า ปรึ กษาหารื อในที่ ประชุมคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาและรายงานผลความคื บหน้าในการดาเนิ นงานตามแผน ดังกล่าวเป็ นประจา ซึ่งรายละเอียดของความเสี่ ยงและการจัดการความเสี่ ยงแสดงในหัวข้อปั จจัยความเสี่ ยง 9.2

คณะกรรมการชุดย่ อย

คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ ได้มี ก ารแต่ งตั้ง คณะกรรมการชุ ด ย่อยทั้ง สิ้ น 5 ชุ ด ได้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ CSR และ CG และ คณะกรรมการบริ หาร โดยได้มีการกาหนดอานาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน

หน้า 85


9.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั มีคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้ ลาดับ รายชื่อ ตาแหน่ ง 1 นายสุชาติ บุญบรรเจิดศรี ประธานกรรมการตรวจสอบ 2

นายชนิสา

ชุติภทั ร์

กรรมการตรวจสอบ

3

ดร. ชัยศักดิ์

อังค์สุวรรณ

กรรมการตรวจสอบ

คุณสมบัติ กรรมการที่เป็ นอิสระ และมีความรู ้ดา้ นบัญชีการเงิน กรรมการที่เป็ นอิสระ และมีความรู ้ดา้ นบัญชีการเงิน กรรมการที่เป็ นอิสระ

ขอบเขตอานาจหน้ าทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ 2. สอบทานให้บริ ษทั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 3. สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายในตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใด ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 4. สอบทานให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 5. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเลิกจ้างผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้ง เข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. พิจารณารายการที่เกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์ สูงสุดต่อบริ ษทั 7. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่งรายงานดังกล่าวต้อง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 7.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั 7.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน 7.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 7.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี 7.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 7.6 จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ 7.7 ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎบัตร 7.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผูถ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 8. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริ ษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

หน้า 86


ในปี 2557 มีการประชุมร่ วมกับผูต้ รวจสอบบัญชีภายนอกและฝ่ ายบัญชี ในการสอบทานงบการเงินราย ไตรมาส การตรวจสอบงบการเงินประจาปี และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั 9.2.2 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง บริ ษทั มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ดังนี้ ลาดับ รายชื่อ ตาแหน่ ง คุณสมบัติ 1 ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล ประธานกรรมการบริ หารความ กรรมการ เสี่ ยง 2 นายสามิตต์ ผลิตกรรม กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการ 3 นายสมบุญ เกิดหลิน กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการ ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กาหนดนโยบายและกรอบการดาเนินงานการบริ หารความเสี่ ยงทุกประเภทของบริ ษทั 2. จัดวางรู ปแบบโครงสร้างของการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั กาหนดกลยุทธ์ที่ใช้ในการบริ หารความเสี่ ยง และจัดทาระบบเตือนภัยของความเสี่ ยงทุกประเภทเพื่อจัดการความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่สามารถยอมรับได้ ให้ สอดคล้องกับนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั 3. กากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการดาเนิ นงาน เพื่อทบทวนและพัฒนาระบบความเสี่ ยงให้มีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งให้มีการจัดทาวิเคราะห์ประเมินปั จจัยความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้น และจะมีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ทั้งความเสี่ ยงที่มาจากภายนอกและที่จะเกิดขึ้นภายในบริ ษทั 4. ดาเนินการอื่นตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย 9.2.3 คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่ าตอบแทน บริ ษทั มีคณะกรรมการกาหนดค่าตอบสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนแทน ดังนี้ ลาดับ รายชื่อ ตาแหน่ ง 1

นายวิศาล

วุฒิศกั ดิ์ศิลป์

2

นายชัยศักดิ์

อังค์สุวรรณ

3

พล.ต.ต. นพ. นพศักดิ์

ภูวฒั นเศรษฐ

ประธานกรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน

คุณสมบัติ กรรมการที่เป็ นอิสระ กรรมการที่เป็ นอิสระ กรรมการที่เป็ นอิสระ

โดยคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนมีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่ าตอบแทน 1. พิจารณาหลัก เกณฑ์ในการสรรหาบุ คคลที่ มีคุ ณสมบัติเ หมาะสม เพื่ อดารงต าแหน่ งคณะกรรมการบริ ษ ัท รวมทั้งคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม และเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการซึ่งจะนาเสนอที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ให้เป็ นผูแ้ ต่งตั้งกรรมการ 2. พิจารณาหลักเกณฑ์ในการสรรหาบุคคลที่ มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดารงตาแหน่ งผูบ้ ริ หารระดับสู ง รวมทั้ง คัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม และเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่ออนุมตั ิ

หน้า 87


3. พิจารณากาหนดความรู ้ ความสามารถของกรรมการที่ตอ้ งสรรหาโดยพิจารณาจากทักษะที่จาเป็ นที่ยงั ขาดอยูใ่ น คณะกรรมการ โดยใช้เครื่ องมือ Skill Matrix 4. พิจ ารณาแนวทางก าหนดค่ าตอบแทน และรู ปแบบของค่า ตอบแทน ทั้ง ที่ เป็ นตัวเงิ นและมิ ใ ช่ ตวั เงิ นของ คณะกรรมการบริ ษทั และเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 5. พิ จ ารณาแนวทางก าหนดค่ า ตอบแทน และรู ป แบบของค่ า ตอบแทน ทั้ง ที่ เ ป็ นตัว เงิ น และมิ ใ ช่ ต ัว เงิ น คณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงคณะกรรมการบริ หาร และผูบ้ ริ หารระดับสู งของของบริ ษทั และนาเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 6. ดู แ ลให้มี ร ะบบหรื อ กลไกการจ่ า ยค่ า ตอบแทนผู ้บ ริ ห ารระดับ สู ง ที่ เ หมาะสม เพื่ อ ก่ อ ให้เ กิ ด แรงจู ง ใจ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 7. คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนมีหน้าที่รายงานตรงต่อคณะกรรมการบริ ษทั และมีหน้าที่ให้คาชี้แจง ตอบ ข้อซักถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั ในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 8. รายงานนโยบายการกาหนดค่าตอบแทนกรรมการ เปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี 9. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย 9.2.4 คณะกรรมการ CSR และ คณะกรรมการ CG บริ ษทั มีคณะกรรมการ CSR และ คณะกรรมการ CG ดังนี้ ลาดับ รายชื่อ ตาแหน่ ง คุณสมบัติ 1 ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล ประธานกรรมการ CSR และ CG กรรมการ 2 นายสามิตต์ ผลิตกรรม กรรมการ CSR และ CG กรรมการ 4 นายสมบุญ เกิดหลิน กรรมการ CSR และ CG กรรมการ ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ CSR และ คณะกรรมการ CG 1. เสนอนโยบายเกี่ ย วกับ หลัก บรรษัท ภบาลและความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้อ มของบริ ษ ัท ต่ อ คณะกรรมการ 2. กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามหลักบรรษัทภิบาลของสถาบันกากับ เช่น ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็ นต้น ด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม 3. พิจารณาทบทวนเกี่ยวกับนโยบายด้านบรรษัทภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมของบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ิของสากล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. เสนอแนะข้อกาหนดเกี่ยวกับจรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจของบริ ษทั และข้อพึงปฏิบตั ิของผูบ้ ริ หารb 5. ส่งเสริ มการเผยแพร่ วฒั นธรรมในการกากับดูแลกิจการที่ดี และการมีส่วนร่ วมในการดาเนิ นกิจกรรมเพื่อสังคม และสิ่ งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนให้เป็ นที่เข้าใจทัว่ ทุกระดับ และมีผลในทางปฏิบตั ิ 6. ดาเนินการอื่นตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย

หน้า 88


9.2.5 คณะกรรมการบริหาร บริ ษทั มีกรรมการบริ หาร ดังนี้ ลาดับ รายชื่อ 1 ดร. สมชัย ไทยสงวนวรกุล 2 นายสามิตต์ ผลิตกรรม 3 นายสมบุญ เกิดหลิน

ตาแหน่ ง ประธานกรรมการบริ หาร รองประธานกรรมการบริ หาร รองประธานกรรมการบริ หาร

ขอบเขตและอานาจหน้ าทีก่ รรมการบริหาร หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการบริ หาร 1. ให้คาปรึ กษาและข้อเสนอแนะต่อประธานกรรมการบริ หาร ในการตัดสิ นใจในประเด็นที่ สาคัญต่อกลยุทธ์ องค์กรและทิศทางการดาเนินธุรกิจ แผนการลงทุน งบประมาณ การจัดสรรทรัพยากรให้กบั บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย รวมทั้งสร้างระบบการทางานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ให้เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน 2. จัดลาดับความสาคัญของผลการตัดสิ นใจของคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อนาไปสู่การดาเนินการอย่างมีประสิ ทธิผล 3. กลัน่ กรองระเบียบวาระการประชุมก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั 4. มีอานาจในการอนุมตั ิการดาเนินการทางการเงิน ในวงเงินไม่เกิน 50 ล้านบาท รวมถึงการอนุมตั ิค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดาเนิ นการตามปกติธุรกิจ เงินลงทุนในโครงการ (Investment) การลงทุนในสิ นทรัพย์ฝ่ายทุน (Capital Expenditure) หรื อสิ นทรัพย์ถาวร การกูย้ มื เงิน การให้กยู้ มื เงิน การจัดหาวงเงินสิ นเชื่อ การออกตราสารหนี้ การ บริ หารเฉพาะด้านการฝากเงิ น การกูเ้ งิ น การจัดทาเครื่ องมือบริ หารความเสี่ ยงของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตรา ดอกเบี้ย รวมถึงการให้หลักประกันการค้ าประกันเงินกูห้ รื อสิ นเชื่อ เป็ นต้น 5. จัดลาดับความสาคัญในการจัดสรรทรัพยากรบุคคลและการเงินให้กบั บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย 6. ตรวจสอบติดตามผลการดาเนินงานของบริ ษทั ที่กาหนดให้เป็ นไปตามแผนธุรกิจที่ได้รับอนุมตั ิไว้ 7. กาหนดมาตรฐานระบบบริ หารธุรกิจ ระบบทรัพยากรบุคคล ระบบข้อมูล รวมทั้งโครงสร้างองค์กรในบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย 8. กาหนดนโยบายการบริ หารทรัพยากรบุคคล 9. กาหนดนโยบายบริ หารความเสี่ ยง 10. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทาการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย โดยใช้ขอ้ มูล ภายในของบริ ษทั ที่ มีสาระสาคัญและยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อประโยชน์ตนเองและผูอ้ ื่น รวมทั้ง ก าหนดไว้ใ นจรรยาบรรณของบริ ษ ัท ให้ ก รรมการ ผู ้บ ริ ห าร และพนัก งาน หลี ก เลี่ ย งหรื อ งดการซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิ ดเผยงบการเงินให้แก่สาธารณชน อานาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ หารมีอานาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริ หารบริ ษทั ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และ จะต้องบริ หารบริ ษทั ตามแผนงานหรื องบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการอย่างเคร่ งครัด ซื่ อสัตย์ สุ จริ ต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ อย่างดีที่สุด อานาจหน้าที่ของประธานกรรมการ บริ หาร ให้รวมถึงเรื่ องหรื อกิจการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ดว้ ย 1. เป็ นผูก้ าหนดภารกิ จ วัตถุประสงค์ แนวทาง นโยบายของกลุ่มบริ ษทั รวมถึงการกากับดู แลการดาเนิ นงาน โดยรวม ผลผลิต ความสัมพันธ์กบั ลูกค้าและรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั

หน้า 89


2. ดาเนิ นการให้มีการจัดทาและส่ งมอบนโยบายทางธุ รกิ จของกลุ่มบริ ษทั รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อ คณะกรรมการเพื่อขออนุ ม ัติ และมี หน้า ที่ รายงานความก้าวหน้าตามแผนและงบประมาณที่ ได้รับ อนุ ม ัติ ดังกล่าวต่อคณะกรรมการในทุก ๆ 3 เดือน 3. ดาเนินการหรื อปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ 4. เป็ นผูม้ ีอานาจในการบริ หารกิจการของกลุ่มบริ ษทั ตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย ระเบี ยบ ข้อกาหนด คาสัง่ และมติที่ประชุมคณะกรรมการ และ/หรื อมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั 5. เป็ นผูม้ ีอานาจในการบังคับบัญชา ติดต่อ สั่งการ ดาเนิ นการ ตลอดจนเข้าลงนามในนิ ติกรรม สัญญา เอกสาร คาสัง่ หนังสื อแจ้งหรื อหนังสื อใด ๆ ที่ใช้ติดต่อกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและบุคคลอื่น ตลอดจนให้มี อานาจกระทาการใด ๆ ที่จาเป็ นและสมควร เพื่อให้การดาเนินการข้างต้นสาเร็ จลุล่วงไป 6. ให้มีอานาจในการมอบอานาจช่วง และ/หรื อมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิ บตั ิ งานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยการ มอบอานาจช่วง และ/หรื อ การมอบหมายดังกล่าวให้อยูภ่ ายใต้ขอบเขตแห่ งการมอบอานาจตามหนังสื อมอบ อานาจ และ/หรื อให้เป็ นไปตามระเบียบ ข้อกาหนด หรื อคาสัง่ ที่คณะกรรมการของบริ ษทั และ/หรื อกลุ่มบริ ษทั กาหนดไว้ บริ ษทั ได้กาหนดให้กรรมการผูจ้ ดั การเป็ นผูม้ ีอานาจอนุมตั ิค่าใช้จ่ายหรื อจ่ายเงินแต่ละครั้งของบริ ษทั ไม่เกิน 20 ล้านบาท ทั้งนี้การอนุมตั ิค่าใช้จ่ายหรื อจ่ายเงินเกินกว่า 20 ล้านบาท ถือเป็ นอานาจการพิจารณาของคณะ กรรมการบริ หาร นอกจากนี้ อานาจการลงนามผูกพันของบริ ษทั กาหนดให้เป็ นการลงนามโดย ดร. สมชัย ไทย สงวนวรกุล ลงลายมือชื่อร่ วมกับกรรมการท่านอื่น คือ นายสุรพล แย้มเกษม หรื อ นายสามิตต์ ผลิตกรรม หรื อ นาย สมบุญ เกิดหลิน คนใดคนหนึ่ง รวมเป็ นสองคนพร้อมประทับตราสาคัญของบริ ษทั ทั้งนี้การใช้อานาจของประธานกรรมการบริ หารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทาได้หากประธานกรรมการ บริ หารมีส่วนได้ส่วนเสี ยหรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใดๆกับบริ ษทั ในการใช้อานาจดังกล่าว 9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสู งสุ ด คณะกรรมการบริ ษทั ได้ทาการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อทาหน้าที่สรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลให้ดารงตาแหน่งประธานกรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั คณะอนุกรรมการ ประธาน กรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และเลขานุการบริ ษทั พร้อมทั้งพิจารณาผลตอบแทนให้เหมาะสมกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ โดยการสรรหาบุคคลเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการ ในกรณี ที่ตาแหน่งกรรมการว่างลงไม่วา่ ด้วย เหตุใด คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะดาเนิ นการสรรหา คัดเลื อกบุ คคลเข้าดารงตาแหน่ ง กรรมการและนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ ยกเว้นกรณี ที่มีการแต่งตั้งกรรมการเข้าใหม่หรื อ กรรมการออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะดาเนิ นการสรรหา คัดเลือกบุคคลเข้า ดารงตาแหน่งกรรมการ และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา ก่อนที่จะนาเสนอที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นเพื่อ พิจารณาต่อไป นอกจากนั้นบริ ษทั ยังได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล โดย บริ ษทั ได้เสนอชื่อกรรมการให้ผถู ้ ือหุน้ ลงคะแนนทีละคน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผูถ้ ือหุน้ มีสิทธิเลือกกรรมการ ที่ตอ้ งการได้อย่างแท้จริ ง ทั้งนี้ สาหรับการเลือกตั้งกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน จะดาเนิ นการสรรหา คัดเลือก บุคคลที่ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติของกรรมการอิสระที่ คณะกรรมการ บริ ษัท ได้ก าหนดไว้ ซึ่ งสอดคล้อ งกับ กฎระเบี ย บของตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย และส านั ก งาน

หน้า 90


คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เข้ามาดารงตาแหน่งกรรมการอิสระ นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษทั ยังได้แต่งตั้งคณะอนุ กรรมการขึ้ นเพื่อช่ วยแบ่ งเบาภาระของคณะกรรมการบริ ษทั ในการ ตรวจสอบ หรื อพิจารณาเรื่ องต่างๆ ที่ สาคัญต่อบริ ษทั ซึ่ งประกอบด้วยคณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการCG & CSR และคณะกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน ทั้งนี้สาหรับการคัดเลือกกรรมการเข้าดารงตาแหน่งในคณะอนุกรรมการดังกล่าว จะต้องผ่านขั้นตอน การสรรหา คัดเลือกบุคคลเข้าดารงตาแหน่งจากคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อนาเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิต่อไป โดยการสรรหาบุคคลเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการ จะต้องพิจารณาคุณสมบัติข้ นั ต้นที่กรรมการต้องทราบ ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยบริ ษทั มหาชนจากัด รวมทั้ง ต้องไม่มีลกั ษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้วางใจให้บริ หารจัดการบริ ษทั จาก ผูถ้ ือหุน้ ตามที่คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประกาศกาหนด 2. มีความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ หรื ออื่นๆ ที่คณะกรรมการเห็นสมควร 3. สามารถอุ ทิ ศ ตนให้ อ ย่า งเต็ ม ที่ โดยเฉพาะในการตัด สิ น ใจที่ ส าคัญ ๆ และในการท าหน้า ที่ เ พื่ อ ผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ 4. ความรู ้ ความสามารถของกรรมการที่ ต ้อ งสรรหา พิ จ ารณาจากทัก ษะที่ จ าเป็ นที่ ย ัง ขาดอยู่ ใ น คณะกรรมการ โดยใช้เครื่ องมือ Skill Matrix

1 2 3 4 5 6 7 8

นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล นายสมบุญ เกิดหลิน นายสามิตต์ ผลิตกรรม นายสุชาติ บุญบรรเจิดศรี นางชนิสา ชุติภทั ร์ นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ นายวิศาล วุฒิศกั ดิ์ศิลป์

9 พล ต.ต. นพ. นพศักดิ์ ภูวฒั นเศรษฐ 10 นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

       

       

     

       

อืน่ ๆ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

การเงิน- การบริหารเงินลงทุน

การบัญชี

การส่ งเสริมการลงทุน

กฎหมาย

การวางแผนเชิ งกลยุทธ์

เกีย่ วข้ องกับอุตสาหกรรมโดยอ้ อม

ชื่อ-สกุล

เกีย่ วข้ องกับอุตสาหกรรมโดยตรง

ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์

ธุรกิจ/ การจัดการ

Board skill matrix

       

     



  

  





     

         การนาเข้า-ส่ งออก  และการพัฒนาระบบ ควบคุมทางศุลกากร

  

 

 

หน้า 91

 

 

 

 

 

 


แผนการสืบทอดงาน บริ ษทั ได้เล็งเห็นถึงความจาเป็ นและความสาคัญของการสื บทอดงาน ในกรณี ที่มีตาแหน่งว่างลง ซึ่ งนอกจากบริ ษทั จะตั้งคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อทาหน้าที่สรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลเข้าดารงตาแหน่ง กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งแล้ว บริ ษทั ยังได้จดั ทาแผนสื บทอดงานขึ้น โดยทาการคัดเลือกบุคคลที่ จะปฏิ บัติ หน้าที่ในตาแหน่งดังกล่าว และพัฒนาเพื่อเตรี ยมความพร้อมให้สามารถรองรับตาแหน่งได้ในอนาคต ทั้งนี้เพื่อสร้าง ความเชื่ อมัน่ ให้กบั นักลงทุ น ผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนพนักงาน ว่าการดาเนิ นงานของบริ ษทั จะได้รับการสานต่ออย่าง ทันท่วงที ทั้งนี้บริ ษทั มีการกาหนดแผนสื บทอดงานดังนี้ 1. ประธานกรรมการบริ หาร/กรรมการผูจ้ ดั การ เมื่ อตาแหน่ งประธานกรรมการบริ หาร/กรรมการผูจ้ ัดการว่างลง หรื อผูท้ ี่ อยู่ในตาแหน่ งไม่สามารถ ปฏิ บัติหน้าที่ ในตาแหน่ งได้ บริ ษทั ฯ จะมีระบบให้ผูบ้ ริ หารในระดับใกล้เคี ยงหรื อระดับรองเป็ นผู ้ รักษาการในตาแหน่งจนก่าจะมีการสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่ มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่บริ ษทั ฯ กาหนด 2. กรรมการบริ หาร เมื่อตาแหน่งระดับผูบ้ ริ หารว่างลง หรื อผูท้ ี่อยูใ่ นตาแหน่งไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ในตาแหน่งได้ บริ ษทั มีการวางแผนการสื บทอดตาแหน่งดังนี้ 1. ประเมินความพร้อมของกาลังคนให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ท้ งั ในระยะสั้นและระยะยาว 2. กาหนดแผนสร้างความพร้อมของกาลังคน โดยพัฒนาพนักงานหรื อสรรหา 3. สร้างแผนสรรหาพนักงานและพัฒนาฝึ กอบรมไว้ล่วงหน้า 4. คัดเลือก ประเมินผลงาน และประเมินศักยภาพของพนักงานเพื่อพิจารณาความเหมาะสม 9.4

การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม

กรรมการในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมดาเนินการโดยฝ่ ายจัดการ โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นกรรมการ ในบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วม มีหน้าที่ดาเนิ นการเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วมนั้นๆ (ไม่ใช่ ต่อบริ ษทั ) นอกจากนี้ ในกรณี เป็ นบริ ษทั ย่อย บุคคลที่ ได้รับแต่งตั้งจากบริ ษทั นั้นต้องดูแลให้บริ ษทั ย่อยมีขอ้ บังคับใน เรื่ อ งการทารายการเกี่ ยวโยงที่ ส อดคล้องกับ บริ ษทั มี ก ารจัด เก็ บข้อมู ลและการบัน ทึ ก บัญ ชี ใ ห้บ ริ ษ ัทสามารถ ตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดทางบการเงินรวมได้ทนั กาหนดด้วย 9.5

การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน ในการดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายในของบริ ษทั ฯ นั้น บริ ษทั มีมาตรการป้ องกันข้อมูลภายในอย่างเคร่ งครัด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลภายในที่ยงั ไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณะ หรื อข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุรกิจหรื อราคา หุน้ โดยมีนโยบายดังนี้ 1. กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานพึ่งหลีกเลี่ยงการใช้ขอ้ มูลภายใน เพื่อประโยชน์ของตนในการซื้ อ หรื อขายหุ ้นของบริ ษทั หรื อให้ขอ้ มูลภายในแก่บุคคลอื่น เพื่อประโยชน์ในการซื้ อหรื อขายหุ ้นของ บริ ษทั

หน้า 92


2. กรรมการและผูบ้ ริ หาร ต้ องแจ้ งการซื ้อขายหลักทรั พย์ ของบริ ษัทล่ วงหน้ าอย่ างน้ อย 1 วันก่ อนทาการ ซื ้อขายหุ้น โดยแจ้งผ่านเลขานุการบริ ษทั ให้ทราบ และเลขานุการบริ ษทั ต้องแจ้งต่อคณะกรรมการให้ ทราบ และเมื่ อ ซื้ อ ขายเรี ยบร้ อ ยแล้ว ให้ มี ก ารเพื่ อ จัด ท ารายงานการถื อ ครองหลัก ทรั พ ย์น าส่ ง คณะกรรมการก ากับหลักทรั พย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ และให้ กรรมการและผู้ บริ หารรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือหลักทรั พย์ ให้ ที่ประชุมคณะกรรมการทราบ เพื่อป้ องกันการซื้ อหรื อขายหุ ้นโดยใช้ ข้อมูลภายใน และเพื่อหลีกเลี่ยงข้อครหาเกี่ ยวกับความเหมาะสมของการซื้ อหรื อขายหุ ้นของบุคคล ภายใน 3. กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ควรละเว้ นการซื ้อขายหุ้ นของบริ ษัทในช่ วงเวลาก่ อน 1 เดือนที่ จะ เผยแพร่ งบการเงิน หรื อเผยแพร่ สถานะของบริ ษทั รวมถึงข้อมูลสาคัญอื่น ๆ และควรรอคอยอย่างน้อย 24 ชัว่ โมงภายหลังการเปิ ดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว ก่อนที่จะซื้อหรื อขายหุน้ ของบริ ษทั 4. กรณี ที่มีการฝ่ าฝื นในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่ วนตัว มีโทษตั้งแต่การ ตักเตือนด้วยวาจาจนถึงขั้นให้ออกจากงาน 9.6 1.

ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่ าตอบแทนจากการสอบบัญชีสาหรับปี 2557

บริ ษทั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน จ่ายค่าสอบบัญชี ในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมามีจานวนเงินรวม 3,750,000 บาท (สามล้านเจ็ดแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ประกอบด้วย 1) จ่ายให้กบั บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด จานวน 3,540,000 บาท บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) จานวน 800,000 บาท บริ ษทั ย่อยโดยตรง บริ ษทั เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชนั่ จากัด จานวน 400,000 บาท บริ ษทั เอส เอ็น ซี คูลลิ่ง ซัพพลาย จากัด จานวน 450,000 บาท บริ ษทั อิมมอทัล พาร์ท จากัด จานวน 450,000 บาท บริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จากัด จานวน 210,000 บาท บริ ษทั พาราไดซ์ พลาสติก จากัด จานวน 150,000 บาท บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จากัด จานวน 100,000 บาท บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟูกอู ิ โฮลี อินซูเลชัน่ จากัด จานวน 80,000 บาท บริ ษทั เอส เอ็น ซี แอตแลนติก ฮีต ปัมพ์ จากัด จานวน 80,000 บาท บริ ษทั เมอิโซะ เอสเอ็นซี พริ ซิชนั่ จากัด จานวน 50,000 บาท บริ ษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล เทคโน ไพพ์ จากัด จานวน 50,000 บาท บริ ษทั ย่อยที่ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อย บริ ษทั อัลทิเมท พาร์ท จากัด จานวน 250,000 บาท บริ ษทั อินฟิ นิต้ ี พาร์ท จากัด จานวน 170,000 บาท บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ฟูโซ่ อินดัสตรี้ ส์ (ไทยแลนด์) จากัด จานวน 130,000 บาท กิจการที่ควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั เอส เอส เอ็ม ออโต้เมชัน่ จากัด จานวน 170,000 บาท

หน้า 93


2) จ่ายให้กบั บริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด จานวน 210,000 บาท บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั เอส เอ็น ซี แอตแลนติก วอเตอร์ จานวน ฮีทเตอร์ เอเซีย จากัด

2.

210,000 บาท

ค่ าบริการอืน่ (Non-Audit Fee) บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยไม่มีการรับบริ การอื่นจากสานักงานสอบบัญชีที่ผสู ้ อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกับผูส้ อบบัญชีและสานักงานบัญชีที่ผสู ้ อบบัญชีสงั กัด*ในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมา * บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกับผูส้ อบบัญชีและสานักงานบัญชีที่ผสู ้ อบบัญชีสงั กัด ให้รวมถึง 1. คู่สมรสและบุตรที่ยงั ต้องพึ่งพิงหรื ออยูใ่ นอุปการะของผูส้ อบบัญชี 2. กิจการที่มีอานาจควบคุมสานักงานสอบบัญชี กิจการที่ถูกควบคุมโดยสานักงานสอบบัญชี และ กิจการที่อยู่ ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับสานักงานสอบบัญชี ไม่วา่ จะเป็ นทางตรงหรื อทางอ้อม 3. กิจการที่อยูภ่ ายใต้อิทธิพลอย่างเป็ นสาระสาคัญของสานักงานสอบบัญชี 4. หุน้ ส่วนหรื อเทียบเท่าของสานักงานสอบบัญชี 5. คู่สมรสและบุตรที่ยงั ต้องพึ่งพิงหรื ออยูใ่ นอุปการะของบุคคลตามข้อ(4) 6. กิจการที่ผสู ้ อบบัญชี บุคคลตาม (1) (4) หรื อ (5) มีอานาจควบคุมหรื อมีอิทธิพลอย่างเป็ น สาระสาคัญไม่วา่ จะ เป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม

10. การต่ อต้ านการทุจริต บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) มีอดุ มการณ์ในการดาเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โดยยึดมัน่ ในความ รับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี และจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายและแนว ปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่าง ๆ ของบริ ษทั ฯ ในปี 2557 “ได้ เข้ าร่ วมปฏิ บัติ ของภาคเอกชนไทย ในการต่ อต้ านการทุจริ ต คอร์ รัปชั่น “ เพื่อแสดงเจตนารมณ์ และความมุ่งมัน่ ในการต่อต้านการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ในทุกรู ปแบบ โดยจัดให้มีการ ประเมินความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับการทุจริ ตภายในบริ ษทั รวมทั้งการทบทวนการปฏิบตั ิตามนโยบายการต่อต้านการทุจริ ต เพื่อให้มนั่ ใจว่า บริ ษทั ฯ มีนโยบายการกาหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และข้อกาหนดในการดาเนินการที่ เหมาะสม เพื่อป้ องกันการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ กับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริ ษทั ฯ และเพื่อให้การตัดสิ นใจและการ ดาเนินการทางธุรกิจที่อาจมีความเสี่ ยงด้านการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ได้รับการพิจารณา และปฏิบตั ิอย่างรอบคอบ บริ ษทั ฯ จึงได้ จัดทา “นโยบายการต่อต้านการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ” เป็ นลายลักษณ์อกั ษรขึ้น เพื่อเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิที่ชดั เจนในการ ดาเนินธุรกิจ และพัฒนาสู่องค์กรแห่งความยัง่ ยืน

หน้า 94


5 พฤศจิกายน 2557 ผูบ้ ริ หารและพนักงานทุกท่านร่ วมให้คาปฏิฎาณตน ต่อต้านยาเสพติดและการทุจริ ต นโยบายการต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั่น 1. ห้ ามกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทยอมรั บหรื อให้ การสนับสนุนการทุจริ ตคอร์ รั ปชั่ น ในทุ ก รู ปแบบทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยครอบคลุมทั้งกลุ่มบริ ษทั ฯ กาหนดให้มีการสอบทานการปฏิ บตั ิตาม นโยบายต่ อต้านการคอร์ รั ปชั่นอย่างสม่ าเสมอ และทบทวนแนวปฏิ บัติใ ห้ส อดคล้องกับระเบี ย บปฏิ บัติ ข้อบังคับ ประกาศ กฎหมายและการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ 2. บริ ษทั พัฒนามาตรการการต่อต้านทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ ยวข้องรวมถึงหลักปฏิ บตั ิ ด้านศีลธรรม โดยจัดให้ มีการประเมินความเสี่ ยงในกิจกรรมที่ เกี่ยวข้ องหรื อสุ่มเสี่ ยงต่ อการทุจริ ตคอร์ รัปชั่น 3. บริ ษทั ไม่ กระทาหรื อสนับสนุนการให้ สินบนในทุกรู ปแบบ ทุกกิจกรรม รวมถึงการคบคุมการบริ จาคให้แก่ พรรคการเมือง มีความโปร่ งใสและไม่มีเจตนาเพื่อโน้มน้าวให้เจ้าหน้าที่ ภาครั ฐหรื อเอกชนดาเนิ นการไม่ เหมาะสม 4. บริ ษทั จัดให้ มีการควบคุมภายในที่ เหมาะสม สม่าเสมอเพื่อป้ องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบตั ิที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะด้านงานขาย การตลาด และ จัดซื้อ จัดจ้าง 5. บริ ษทั จัดให้ มีกลไกการรายงานสถานะการเงินที่ โปร่ งใสและถูกต้ องแม่ นยา 6. นโยบายต่อต้านการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ นี้ให้ครอบคลุมไปถึงกระบวนการบริ หารงานบุคคล ตั้งแต่กรรมการสรร หาและการคัดเลือกบุคลากร การเลื่อนตาแหน่ง การฝึ กอบรม และการประเมินผลการปฏิ บตั ิงานพนักงาน และการให้ผลตอบแทน แนวปฏิบัตกิ ารต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั่น กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ลูกจ้างของบริ ษทั ต้องปฏิ บตั ิตามนโยบายการต่อต้านการทุจริ ต คอร์ รัปชัน่ และจรรยาบรรณทางธุรกิจ อย่างเคร่ งครัด ไม่วา่ จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ทั้งทางตรง หรื อ ทางอ้อม โดย

หน้า 95


1. ไม่ทาพฤติกรรมใด ที่ แสดงให้เห็ นว่าเป็ นการรับสิ นบน หรื อติดสิ นบน แก่ผูม้ ีส่วนได้เสี ยในเรื่ องที่ ตนทา หน้าที่รับผิดชอบทั้งโดยตรง หรื อโดยอ้อม เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ในทางมิชอบต้องปฏิบตั ิดงั นี้ 1.1 ไม่รับ หรื อ ให้ของขวัญ ของที่ ระลึก ที่ เป็ นเงินสด เช็ ค พันธบัตร หุ้น ทองคา อัญมณี อสั งหาริ มทรั พย์ หรื อ สิ่ งของในทานองเดียวกัน กับผูม้ ี ส่วนเกี่ ยวข้องที่ ตนได้เข้าไปติ ดต่อ ประสานงาน ทั้งในหน่วยงานราชการ และหน่วยงานเอกชน 1.2 ไม่รับทรัพย์สิน สิ่ งของ ของขวัญ ของกานัลใดๆ หรื อประโยชน์อื่น อันเป็ นการชักนาให้เกิดการ ละเว้นการปฏิ บตั ิหน้าที่ของตนทั้งนี้ ก่อนการรับของที่ ระลึกควรตรวจสอบให้แน่ ใจว่าได้ปฏิ บตั ิ ถูกต้องตามกฎหมายและข้อบังคับของบริ ษทั โดยสิ่ งของ หรื อของขวัญที่ให้แก่กนั ในหน้าที่การ งานควรมีราคาไม่มากและเหมาะสมในแต่ละโอกาส 1.3 ไม่ให้ทรัพย์สิน สิ่ งของ ของขวัญ หรื อของกานัลใดๆ หรื อประโยชน์อื่น เพื่อจูงใจในการตัดสิ นใจ หรื อมี ผลท าให้ผูร้ ั บไม่ปฏิ บัติตามวิธีปฏิ บัติ ทางการค้าเช่ นเดี ย วกันกับคู่ค ้ารายอื่ นทั้งนี้ การให้ สิ่ งของตามโอกาสหรื อวาระต่างๆ ต้องมีมูลค่าไม่มากจนเกินปกติ วิสยั 1.4 ไม่เป็ นตัวกลางในการเสนอ เงิน ทรัพย์สิน สิ่ งของ หรื อประโยชน์อื่นใดกับผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ หน่วยงานราชการ หรื อองค์กรใดๆ เพื่อแลกกับสิ ทธิพิเศษที่ไม่ควรได้ หรื อทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ละเว้นการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบข้อบังคับ และข้อ ปฏิบตั ิทางกฎหมายตามที่กาหนดไว้ 2. ในการจัดซื้อ จัดจ้าง ต้องดาเนินการผ่านขั้นตอนตามระเบียบของบริ ษทั มีความโปร่ งใส สามารถตรวจสอบ ได้ 3. การใช้จ่ายสาหรับการเลี้ยงรับรองทางธุรกิจ และการใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิตามสัญญาทาง ธุรกิจสามารถกระทาได้ แต่ตอ้ งใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ 4. ในการบริ จาคเพื่อการกุศล ต้องปฏิบตั ิดงั นี้ 4.1 การใช้เงิน หรื อ ทรัพย์สินของบริ ษทั เพื่อบริ จาคการกุศล ต้องกระทาในนามบริ ษทั เท่านั้น โดยการ บริ จาคเพื่อการกุศล ต้องเป็ น มูลนิ ธิ องค์กรสาธารณะกุศล วัด โรงพยาบาล สถานพยาบาลหรื อ องค์กรเพื่อประโยชน์ต่อสังคม ที่มีใบรับรอง หรื อเชื่อถือได้ สามารถตรวจสอบได้ และดาเนิ นการ ผ่านขั้นตอนตามระเบียบของบริ ษทั 4.2 การบริ จาคเพื่อการกุศล ในนามส่ วนตัวพึงกระทาได้ แต่ตอ้ งไม่เกี่ยวข้อง หรื อทาให้เกิดข้อสงสัย ได้วา่ เป็ นการกระทาที่ทุจริ ตคอร์รัปชัน่ เพื่อหวังผลประโยชน์ใด 5. ในการให้เงินสนับสนุน ต้องปฏิบตั ิดงั นี้ 5.1 การใช้เงิน หรื อ ทรัพย์สินของบริ ษทั เพื่อสนับสนุนโครงการ ต้องระบุชื่อในนามบริ ษทั เท่านั้นโดย เงินสนับสนุนที่ จ่ายไป ต้องมีวตั ถุประสงค์เพื่อธุ รกิจ ภาพลักษณ์ที่ดีและชื่อเสี ยงของบริ ษทั ทั้งนี้ การเบิ กจ่ายต้องระบุวตั ถุประสงค์ที่ชดั เจน และมีหลักฐาน ที่ ตรวจสอบได้ และดาเนิ นการผ่าน ขั้นตอนตามระเบียบของบริ ษทั 6. ไม่กระทาการอันใดที่เกี่ยวข้องกับการเมืองภายในบริ ษทั และไม่ใช้ทรัพยากรใดของบริ ษทั เพื่อ ดาเนินการดังกล่าว ทั้งนี้บริ ษทั เป็ นองค์กรที่ยึดมัน่ ในความเป็ นกลางทางการเมือง สนับสนุนการปฏิบตั ิตาม กฎหมาย และการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย รวมถึงไม่มีแนวทางในการให้การช่วยเหลือทางการเมือง แก่พรรคการเมืองใด ไม่วา่ จะโดยทางตรง หรื อทางอ้อม

หน้า 96


7. หากพบเห็นการกระทาที่เข้าข่ายการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ หรื อส่ อไปในการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ที่มีผลเกี่ยวข้องกับ บริ ษทั ทั้งทางตรง หรื อทางอ้อม ต้องไม่ละเลย หรื อเพิกเฉยต่อพฤติ กรรมดังกล่าว ควรแจ้งให้ กรรมการบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การ หรื อรองประธานกรรมการบริ หาร ทราบทันที หรื อแจ้งผ่านช่อง ทางการแจ้งเบาะแส ตามที่ได้กาหนดไว้ในนโยบายนี้ 8. กรรมการ และผูบ้ ริ หารต้องตระหนักถึงความสาคัญในการเผยแพร่ ให้ความรู ้ ให้คาปรึ กษา เพื่อสร้างความ เข้าใจให้แก่ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา เกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ เพื่อให้พนักงานได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไป ตามนโยบายการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ฉบับนี้ รวมถึงเป็ นแบบอย่างที่ ดี ในเรื่ องการมีความซื่ อสัตย์ จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ช่ องทางการรับแจ้ งเบาะแส หรือร้ องเรียน เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้เสี ยมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและร้องเรี ยนโดยตรงต่อคณะกรรมการบริ ษทั ใน กรณี ได้รับความไม่เป็ นธรรมหรื อความเดือนร้อนจากการกระทาของบริ ษทั นอกจากนี้ พนักงานทุกคนมีหน้าที่ตอ้ งรายงาน เหตุการณ์หรื อพฤติกรรมในที่ทางานที่ไม่ถูกต้องหรื อสงสัยว่าจะไม่ถูกต้องหรื อละเมิดต่อธรรมภิบาลของบริ ษทั กฎระเบียบ หรื อกฎหมายใดๆ ต่อผูบ้ งั คับบัญชา และบริ ษทั ได้จดั ช่องทางสาหรับพนักงานเพื่อปรึ กษาหรื อแจ้งเหตุโดยตรง โดยผ่าน ช่องทางดังนี้ 1. แจ้งผ่านช่องทาง อีเมล์ของประธานกรรมการบริ ษทั satit.ck@gmail.com) หรื อ 2. แจ้งผ่านช่องทาง อีเมล์ของประธานกรรมการบริ หาร ที่ somchai@sncformer.com หรื อ 3. แจ้งผ่านช่องทาง อีเมล์ของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ bsuchat@yahoo.com หรื อ 4. แจ้งผ่านช่องทาง เว็บไซต์ของบริ ษทั http://www.sncformer.com (หัวข้อ แจ้งเบาะแส) หรื อ 5. แจ้งผ่านช่องทาง โทรศัพท์ เบอร์ 02-108-0360-66 (ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ / เลขานุการบริ ษทั ) 6. แจ้งผ่านช่องทาง กล่องแดงรับแจ้งเบาะแส (ตั้งอยูท่ ี่ตึกสานักงานใหญ่) และบริ ษทั ยังเปิ ดให้บุคคลทัว่ ไป สามารถร้องเรี ยนเมื่อพบพฤติกรรมของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานที่ไม่ เหมาะสมหรื อขัดต่อจรรยาบรรณธุรกิจของบริ ษทั ฯ ต่อกรรมการตรวจสอบ โดยบริ ษทั ฯ จะรับฟังทุกข้อร้องเรี ยนอย่างเสมอ ภาค โปร่ งใส เอาใจใส่ และให้ความเป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย มีการกาหนดระยะเวลาดาเนินการที่เหมาะสม มีการรักษาความลับ และคุม้ ครองผูร้ ้องเรี ยน โดยส่งอีเมล์ถึงประธานคณะกรรมการตรวจสอบ bsuchat@yahoo.com ในปี 2557 ไม่มีขอ้ ร้องเรี ยนในกรณี ละเมิดต่อธรรมภิบาล กฎระเบียบ หรื อกฎหมาย จากผูม้ ีส่วนได้เสี ย

หน้า 97


10. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibilities : CSR) วิสัยทัศน์ (Vision) : เป็ นองค์กรธุรกิจที่มีความยัง่ ยืนด้วยการดาเนินธุรกิจอย่างเป็ นธรรมต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย มี ความรับผิดชอบต่อ ชุมชน สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีความมุ่งมัน่ ในความเป็ นหนึ่งด้านการนานวัตกรรมการพัฒนา คนเพื่อพัฒนาสังคมต่อไป รางวัล ESG100 สถาบันไทยพัฒน์ จัดอันดับธุรกิจด้านพัฒนาความยัง่ ยืนเป็ นครั้งแรกในปี 2558 และบริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) เป็ น 1 ใน 100 บริ ษทั จะทะเบียนฯ ที่ผา่ นเกณฑ์การประเมินจากสถานบันไทยพัฒน์ ได้รับรางวัล ESG100 เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2558 ที่ผา่ นมา

พันธกิจ (Mission) 1. ดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อผลกระทบต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย และสิ่ งแวดล้อม 2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรโปร่ งใส ตรวจสอบได้ 3. บริ หารงานโดยยึดหลักความเป็ นธรรมและเสมอภาค ให้พนักงานมีส่วนร่ วมในการบริ หารธุรกิจ 4. ร่ วมมือกับภาครัฐในการพัฒนาสังคม ชุมชน โดยมุ่งเน้นการให้ศึกษา เพื่อให้คนไปพัฒนาสังคม

หน้า 98


กลยุทธ์ (Strategy) 1. กาหนดค่านิยมขององค์กร ปลูกฝังให้พนักงานงานทุกคนมีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย และ สิ่ งแวดล้อม 2. รณรงค์ต่อต้านการทุจริ ตคอรัปชัน่ ในองค์กรอย่างจริ งจัง ปลูกฝังให้พนักงานทุกคนปฏิบตั ิงานโดยตั้งอยูบ่ นความ ถูกต้องโปร่ งใสไม่ขดั ต่อทั้งหลักกฎหมาย ศีลธรรม 3. สร้าง Business Unit และพัฒนาพนักงานเป็ นเจ้าของธุรกิจ สามารถกาหนด ยอดขาย รายได้ของทีมงานอย่างเป็ น ธรรมภายใต้การกากับดูแลของฝ่ ายบริ หาร 4. ปรับองค์กรให้เป็ นองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้จดั ทาโครงการสนับสนุนการศึกษาให้กบั พนักงาน และร่ วมกับ อาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาเยาวชนให้ความรู ้ความสามารถสอดคล้องกับภาคอุตสาหกรรม 5. มีส่วนร่ วมในการพัฒนาชุมชน การช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม รวมถึงการต่อต้านยาเสพติด การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษทั ดาเนินธุรกิจตามกรอบการแข่งขันทางการค้าที่เป็ นธรรม และเสมอภาค ภายใต้กฎหมายและจริ ยธรรมทาง ธุรกิจ ยึดถือแนวทางการทางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต มีคุณธรรม มีความโปรดใสสามารรถตรวจสอบได้โดยได้ กาหนดแนวทางในการดูแลผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยไว้ในคู่มือจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งคานึงถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย ได้แก่ สังคมชุมชน พนักงาน ผูถ้ ือหุน้ นักลงทุน ลูกค้า คูค่ า้ คู่แข่ง ตลอดจนหน่วยราชการ และได้กาหนดแนวปฏิบตั ิที่ครอบคลุมถึงสิ ทธิและผลประโยชน์ที่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยพึงได้รับอย่างทัว่ ถึง ไม่วา่ จะเป็ น สิ ทธิที่กาหนดตามกฎหมายหรื อข้อตกลงที่ทาร่ วมกัน โดยมีกระบวนการและแนวปฏิบตั ิในการสร้างความมีส่วน ร่ วมดังนี้

สื่ อมวลชน

หน่วยงาน ราชการ

สังคม ชุมชน

พนักงาน

ผูถ้ ือหุ้น นักลงทุน

SNC Group

ลูกค้า

คู่แข่ง คู่คา้

หน้า 99


ผูม้ ีส่วนได้เสี ย สังคมชุมชน

ช่องทางการมีส่วนร่ วม - รับฟังข้อคิดเห็นและข้อ ร้องเรี ยน - การมีส่วนร่ วมกับชุมชนตาม แผนงานของบริ ษทั

ความคาดหวัง - การดาเนินธุ รกิจไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ชุมชน สิ่ งแวดล้อมและสังคม - สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน

พนักงาน

- ผูบ้ ริ หารมีการประชุมหน้า แถว (morning talk) กับ พนักงานทุกเช้าวันจันทร์ หรื อเปิ ดงานวันแรกหลังจาก วันหยุดยาว - กิจกรรมต่างๆ ของบริ ษทั

ผูถ้ ือหุ น้ นักลงทุน

- การประชุมสามัญประจาปี - รายงานประจาปี - กิจกรรมนักลงทุนพบ ผูบ้ ริ หารรายไตรมาส - การร่ วมงาน road show

- การจ่ายค่าตอบแทนที่ดี - จ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการอย่าง - มีความก้าวหน้าในอาชีพการ เหมาะสม งาน ได้รับการพัฒนาความรู ้ - ส่งเสริ มให้เติบโตตามสายงานที่สอดคล้อง ความสามารถให้สอดคล้องกับ กับความรู ้ความสามารถของพนักงาน การเติบโตในอาชีพการงาน - เปิ ดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่ วมในการ - คุณภาพชีวติ ในการทางานที่ดี จัดการด้านสวัสดิการและคุณภาพชีวติ ในการ ทางาน เช่น การเข้าร่ วมคณะกรรมการ สวัสดิการ คณะกรรมการอาชีวอนามัย และ ความปลอดภัย - ผลตอบแทนจากการลงทุนที่ดี ปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ น้ ตามนโยบายจรรยาบรรณ อย่างต่อเนื่อง ทางธุ รกิจ รวมทั้งเคารพสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ใน - มีการกากับดูแลกิจการที่ดี การได้รับข้อมูลที่จาเป็ น ถูกต้องตามความ - มีการเปิ ดเผยข้อมูลที่เพียงพอ จริ ง ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อการตัดสิ นใจลงทุน (ตลท.) และสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กาหนด

ลูกค้า

- การสื่ อสารตามแผนงาน - การพบปะลูกค้าในแต่ละ สัปดาห์ / เดือน - การเข้าพบของลูกค้าในวาระ ต่างๆ - การสารวจความพึงพอใจของ ลูกค้า

สิ นค้ามีคุณภาพและจัดส่งตรง ตามเวลาในราคาที่เหมาะสม

พัฒนาสิ นค้าและบริ การเพื่อตอบ สนองความ ต้องการที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง ตลอดจน ร่ วมดาเนินธุ รกิจบนหลักความไว้วางใจ และ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน

คู่คา้

- การสื่ อสารผ่านทางสื่ ออิเล็ก ทรอนิกและโทรศัพท์ - การประชุมร่ วมกับคู่คา้ ตาม แผนงานบริ ษทั

- การคัดเลือกที่เป็ นธรรมและ โปร่ งใส - เงื่อนไขการชาระเงินเป็ นที่ ยอมรับได้

ให้ความสาคัญของ “คู่คา้ ” ในฐานะพันธมิตร โดยปฏิบตั ิกบั คู่คา้ อย่างเป็ นธรรมและเสมอภาค เพื่อสร้างความเชื่อถือ พัฒนาและรักษา สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน โดย - คานึงถึงผลประโยชน์ร่วมกัน - สร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู ้ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ - มีส่วนร่ วมและสนับสนุนในกิจกรรม สร้างสรรค์ของคู่คา้ อย่างต่อเนื่อง

คู่แข่ง

การดาเนินงานทางธุ รกิจ

ประพฤติปฏิบตั ิภายใต้กรอบ กติกาของการแข่งขันที่ดี

- ส่งเสริ มนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่าง เสรี และเป็ นธรรม - ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็ นความลับของคูแ่ ข่ง ทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริ ต หรื อไม่ เหมาะสม เช่น การจ่ายสิ นจ้างให้แก่ กรรมการและพนักงานของคู่แข่ง - ไม่ทาลายชื่อเสี ยงของคู่แข่งทางการค้า ด้วย

หน้า 100

แนวปฏิบตั ิ - ดาเนินโครงการเพื่อชุมชน ให้การสนับสนุ น ในด้านอาชีพ การศึกษา และอื่นๆ ตาม โอกาส - ติดตามดูแลคุณภาพสิ่ งแวดล้อม


ผูม้ ีส่วนได้เสี ย

ช่องทางการมีส่วนร่ วม

ความคาดหวัง

แนวปฏิบตั ิ การกล่าวหาในทางร้าย

หน่วยงานราชการ

- การจัดส่งรายงานให้กบั หน่วยงานราชการ - การเข้าร่ วมในกิจกรรมและ โครงการของหน่วยงาน ราชการ

ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

- ปฏิบตั ิตามกฎหมายและรายงานผล ปฏิบตั ิงานอย่างเคร่ งครัด - จ่ายภาษีและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามระเบียบและ กฎเกณฑ์ที่ภาครัฐกาหนด

สื่ อมวลชน

- กิจกรรมนักลงทุนพบ ผูบ้ ริ หารรายไตรมาส - Company visit - การสัมภาษณ์ตามสื่ อต่างๆ

เปิ ดเผยข้อมูล ข่าวสาร อย่าง โปร่ งใส ถูกต้อง รวดเร็ ว

- ปฏิบตั ิต่อสื่ อมวลชนทุกแขนงอย่างเป็ นธรรม และเท่าเทียม

การจัดการทรัพยากร การดาเนินการด้านสิ่ งแวดล้อมของบริ ษทั ฯ ในรอบปี ที่ผ่านมา เป็ นไปตามข้อกาหนดทางกฎหมาย และระบบการ จัดการด้านสิ่ งแวดล้อม (ISO14001) ที่ ได้รับการรับรองอย่างต่อเนื่ อง บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้พนักงานของบริ ษทั มี จิ ตสานึ กและความรั บผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม และส่ งเสริ มให้มีการใช้ทรั พยากรอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ตลอดจนมีมาตรการควบคุม บาบัด และตรวจวัดคุณภาพสิ่ งแวดล้อมภายในโรงงาน แนวทางปฏิบตั ิ 1. พัฒนาและแสวงหาความรู ้เพื่อจัดการและป้ องกันมลภาวะที่เกิดขึ้นอย่างครบถ้วน 2. ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน 3. ส่งเสริ มการทางานในกิจการ เพื่อลดและปรับปรุ งภาวะโลกร้อนให้กบั สิ่ งแวดล้อม 4. ส่งเสริ มให้มีการให้ความรู ้เรื่ องสิ่ งแวดล้อมกับพนักงาน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และได้ปลูกฝังให้เป็ นวัฒนธรรม องค์กร การเคารพสิทธิมนุษยชน บริ ษทั ยึดหลักสิ ทธิมนุษยชนเป็ นหลักปฏิบตั ิร่วมกัน พนักงานทุกคนจะต้องไม่กระทาการใดๆ หรื อส่งเสริ มให้มีการ ละเมิดสิ ทธิมนุษยชนโดยเคร่ งครัด โดยได้กาหนดให้มีนโยบายและแนวทางในการปฏิบตั ิดงั นี้ - บริ ษทั ให้การดูแลข้อมูลส่ วนตัวของพนักงาน โดยถือเป็ นความลับ ไม่ส่งข้อมูลหรื อกระจายข้อมูลส่ วนบุคคล ไปยังบุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง การเปิ ดเผยหรื อถ่ายโอนข้อมูลส่ วนบุคคลจะกระทาได้เมื่อได้รับการยินยอมจาก เจ้าของข้อมูล - บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรี แห่ งความเป็ นมนุษย์หรื อใช้สิทธิ และเสรี ภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิ ทธิ และเสรี ภาพ ของบุคคลอื่น - บริ ษทั ปฏิ บตั ิ ต่อพนักงานทุกคนด้วยความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิ บัติไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องของเชื้ อชาติ สัญชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ และการศึกษา - พนักงานต้องปฏิ บตั ิต่อกันด้วยความเคารพ ให้เกียรติซ่ ึ งกันและกัน ประพฤติตนเหมาะสมกับหน้าที่การงาน ตามระเบียบข้อบังคับของบริ ษทั และตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี โดยไม่สร้างความเสื่ อมเสี ยต่อภาพลักษณ์ บริ ษทั

หน้า 101


- ช่วยกันสอดส่องดูแลให้สภาพการทางานปราศจากการกดขี่ข่มเหงหรื อการกระทาที่ไม่เป็ นธรรม การปฏิบัติต่อเพือ่ นร่ วมงานอย่ างเป็ นธรรม บริ ษทั ตระหนักอยูเ่ สมอว่าพนักงานทุกคนคือเพื่อนร่ วมงาน และเป็ นทรัพยากรที่มีค่าต่อการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ ความสาเร็ จ บริ ษทั จึงให้การดูแลและการปฏิบตั ิที่เป็ นธรรมดังนี้ - เคารพสิ ทธิ ในการทางานตามหลักสิ ทธิ มนุษยชน - การให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและเป็ นธรรมโดยคานึ งถึงหลักการจูงใจให้พนักงานปฏิบต ั ิงาน อย่างเต็มความสามารถเหมาะสมกับระดับหน้าที่ความรับผิดชอบ สอดคล้องกับการดาเนินธุรกิจ และอยูใ่ น ระดับที่สามารถแข่งขัน - ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการทางานให้มีความปลอดภัยต่อชีวต ิ และทรัพย์สินของพนักงาน ่ นพื้น - การแต่งตั้ง และโยกย้ายพนักงาน รวมถึงการให้รางวัลและการลงโทษ กระทาด้วยความสุ จริ ต และตั้งอยูบ ฐานความรู ้ ความสามารถ และความเหมาะสมของพนักงาน - ปฏิบต ั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่ งครัด - ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาความรู ้ ความสามารถ และทักษะของพนักงาน โดยให้โอกาสอย่างทัว่ ถึง และ สม่าเสมอ สร้างองค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ เพื่อให้พนักงานทุกคนของบริ ษทั มีโอกาสเติบโตในสายอาชีพจึงได้กาหนดแนวทางการเรี ยนรู่ ควบคู่กบั การเติบโต ในอาชีพไว้ดงั ต่อไปนี้

o การวางแผนสื บทอด ตาแหน่งงานสาคัญ การส่งเสริ มและพัฒนากลุ่มพนักงาน ที่มีศกั ยภาพสูงให้เป็ นกาลัง สาคัญในการขับเคลื่อนองค์กรในอนาคต o การเสริ มสร้างสมรรถนะด้านการบริ หารและการพัฒนาภาวะผูน้ า โดยการจัดโครงการสร้างผูบ้ ริ หารยุคใหม่ “โครงการ MINI MD” ซึ่ งบริ ษทั ได้ดาเนิ นการมาอย่างต่อเนื่ อง ปั จจุบนั เป็ นรุ่ นที่ 6 บริ ษทั จะทาการคัดเลือก พนักงานที่ มีคุณสมบัติ เข้า รั บการอบรมตามหลักสู ตรที่ ได้จัดทาขึ้ นโดยเฉพาะ ซึ่ งเป็ นการประยุกต์มาจาก หลักสู ตร MBA นามาสอนโดยวิทยากรระดับบริ หารของบริ ษทั ซึ่ งมีความรู ้และประสบการณ์ในเรื่ องนั้นๆ

หน้า 102


โดยตรง พร้อมปลูกฝังแนวคิดความเป็ นเจ้าของตามการบริ หารงานแบบ Mini MD มีการสอบวัดประเมินผล เพื่อให้มนั่ ใจว่าพนักงานที่ ผ่านหลักสู ตรมีความรู ้ครอบคลุมในทุกด้านที่จาเป็ น สามารถนาไปต่อยอด เตรี ยม ความพร้อมพนักงานให้กา้ วขึ้นสู่ผบู ้ ริ หารระดับกลางได้

o สนับสนุนทุนการศึกษาแก่พนักงานในการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโท o การส่งเสริ มและพัฒนาบุคลกร ให้มีความรู ้ เป็ นไปตามกฎหมายการส่ งเสริ มและพัฒนาฝี มือแรงงาน สอดคล้อง

กับลักษณะการประกอบธุรกิจของบริ ษทั การฝึ กอบรมพัฒนา ปี 2557 บริ ษทั จัดให้มีการฝึ กอบรมพัฒนาตามแผนงานของบริ ษทั โดยมีตวั อย่างหลักสูตรที่ฝึกอบรมดังนี้ 9 Basic Needs รุ่ นที่ 9 การพัฒนาบุคลากร Supervisor รุ่ นที่ 1 9 การต่อต้านการทุจริ ตคอรัปชัน่ การกากับและจัดการกากของเสี ยในนิคมอุตสาหกรรม การประยุกต์และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ PLC ความปลอดภัยในการขับรถยก UP DATE มาตราฐานบัญชีฉบับใหม่ที่มีผลบังคับใช้ปี58 การเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การใช้เครื่ องCHECK LEAK การกากับและจัดการกากของเสี ยในนิคมอุตสาหกรรม การตรวจสอบรอยรั่วระบบเครื่ องปรับอากาศ การเชื่อมท่อทองแดงในระบบเครื่ องปรับอากาศ

หน้า 103

ISO 50001 ทางเลือกใหม่ของการอนุรักษ์พลังงาน ความรู ้เรื่ อง ISO 9000 ระบบ ISO 9001 : 2008 ความรู ้ระบบ มอก.18001 (พนักงาน) ISO 50001 ทางเลือกใหม่ของการอนุรักษ์พลังงาน ข้อกาหนด และการตรวจประเมินภายในระบบคุณภาพ ISO 9001 ISO 31000 : 2009 ยุทธศาสตร์การบริ หารงานจัดซื้อ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่ อสาร การวิเคราะห์งบการเงิน การปรับปรุ งแก้ไขกฎหมายการอนุรักษ์พลังงานและ ผลิตพลังงานควบคุม การขับรถโฟล์คลิฟท์อย่างปลอดภัย


การดูแลด้านความปลอดภัยและชีวอนามัย o จัดทานโยบายและแผนงาน ด้านการบริ หารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางานตลอดจนการออกแบบเครื่ องมือ อุปกรณ์ ระเบียบปฏิบตั ิตลอดจนคู่มือความปลอดภัย โดยมีการจัด ฝึ กอบรมพนักงานให้มีความรู ้ความเข้าใจและได้รับข้อมูลข่าวสารในเรื่ องความปลอดภัยที่เพียงพอ และ กาหนดให้เรื่ องความปลอดภัย ให้อยูใ่ นหลักสูตรการฝึ กอบรมพนักงานใหม่ o จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัย (Safety Week) เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงานและผูเ้ กี่ ยวข้องตระหนักถึงความสาคัญ ในเรื่ อง ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมในการทางาน และได้รับความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ องอาชีวอนามัย o การตรวจสุขภาพประจาปี ตามความเสี่ ยงของพนักงาน o การซ้อมอพยพหนีไฟ

การดูแลนักศึกษาที่มาร่ วมฝึ กงานกับบริ ษทั บริ ษทั ดูแลนักศึกษาที่มาร่ วมฝึ กงานกับบริ ษทั ให้มีความเป็ นอยูแ่ ละสวัสดิการเทียบเท่าพนักงานของบริ ษทั โดยจัด ให้มีที่พกั รถรับส่งพนักงาน การดูแลรักษาพยาบาล การให้บริ การโรงอาหาร ตลอดจนเข้าร่ วมกิจกรรมต่างๆของ บริ ษทั

ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค บริ ษทั ให้ความสาคัญและมุ่งมัน่ ที่จะสร้างความพึงพอใจ ลูกค้าจึงได้กาหนดนโยบายการปฏิบตั ิต่อลูกค้าดังนี้ - ส่ งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตรงตาม หรื อสู งกว่าความคาดหมายของลูกค้า ภายใต้เงื่อนไขที่เป็ นธรรม - ให้ขอ ้ มูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริ การที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันต่อเหตุการณ์แก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้ามีขอ้ มูล เพียงพอในการตัดสิ นใจ โดยไม่มีการกล่าวเกินความเป็ นจริ งทั้งในการโฆษณา หรื อในการสื่ อสารช่องทางอื่นๆ อันเป็ นเหตุให้ลูกค้าเกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับคุณภาพ ปริ มาณ หรื อเงื่อนไขใด ๆ ของสิ นค้าและบริ การ - รักษาความลับของลูกค้าและไม่นาไปใช้ประโยชน์ของตนเอง หรื อผูท ้ ี่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ - ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยความรวดเร็ ว และจัดให้มีระบบและช่องทางให้ลูกค้าร้องเรี ยนเกี่ยวกับ คุณภาพของสิ นค้าและบริ การได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ - สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในอันที่จะเสริ มสร้างและธารงรักษาไว้ซ่ ึงความสัมพนธ์อนั ดีระหว่างลูกค้ากับบริ ษทั ให้ยงั่ ยืนสืบไป

หน้า 104


การร่ วมพัฒนาชุนชนและสังคม โครงการ “SNC พัฒนาคน คนพัฒนาสังคม”

การดาเนินการ - สนับสนุนนโยบายภาครัฐ ส่งเสริ มการอาชีวศึกษา โดยทาความร่ วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษากว่า 30 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ เพื่อให้นกั เรี ยนนักศึกษามีโอกาสเข้ามาฝึ กงานในรู ปแบบทวิภาคี

- โครงการ “โรงเรี ยนในโรงงาน” คือการให้โอกาสนักเรี ยน นักศึกษาได้เข้ามาฝึ กประสบการณ์โดยมีการปรับ หลักสูตรการฝึ กงานร่ วมกับสถานศึกษาเพื่อให้นกั เรี ยนนักศึกษาที่ผา่ นการฝึ กประสบการณ์แล้วมีความรู ้และ ทักษะสอดคล้องกับภาคอุตสาหกรรมต้องการ

หน้า 105


- โครงการ “โรงงานในโรงเรี ยน” เปิ ดศูนย์ปฏิบตั ิการทางเทคโนโลยีการผลิต การฉี ดพลาสติก การกลึง CNC และ โรงงานผลิตเครื่ องปรับอากาศที่วทิ ยาลัยเทคนิคมหาสารคาม และวิทยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด เพื่อให้นกั เรี ยน นักศึกษามีโอกาสได้สมั ผัสและเรี ยนรู ้กบั เครื่ องจักรที่ทนั สมัย และกระบวนการผลิตเสมือนจริ ง

- ปั จจุบนั มีสถานศึกษาอาชีวศึกษาเข้าร่ วมโครงการ 22 แห่งและมีนกั เรี ยน นักศึกษาเข้าร่ วมโครงการแล้วจานวน 9 รุ่ น หรื อ 5,387 คน สรุปข้ อมูลจานวนนักศึกษาโครงการความร่ วมมือ รุ่นที่ 1สรุ– ป9ข้ อมูลจานวนนักศึกษาโครงการความร่ วมมือ รุ่นที่ 1 – 9

สถานศึกษา รุ่ นที1่ ลัยเทคนิคมหาสารคาม 327 ลัยเทคนิคร้ อยเอ็ด 256 ลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ ลัยเทคนิคยโสธร ลัยเทคนิคเดชอุดม 18 ลัยเทคนิคนครราชสีมา ลัยเทคนิคศีรสะเกษ ลัยเทคนิคสุรินทร์ ลัยเทคนิคสุวรรณภูมิ ลัยเทคนิคหนองบัวลาภู ลัยเทคนิคอานาจเจริ ญ ลัยสารพัดช่างกาฬสินธุ์ ลัยสารพัดช่างอุบล ลัยการอาชีพห้วยผึ้ง ลัยการอาชีพวาปี ปทุม ลัยการอาชีพร้ อยเอ็ด ลัยการอาชีพโพนทอง ลัยการอาชีพพนมไพร ลัยการอาชีพชุมแพ ลัยการอาชีพขอนแก่น ลัยการอาชีพเกษตรวิสยั ลัยการอาชีพกระนวน รวมทั้งสิ้ น 601

รุ่ นที่2 รุ่ นที่3 รุ่ นที่4 251 271 261 161 213 199 250 202 82 17 17 19 49 37 18

20 25

10 48 17 100 10 5 105 79 20 119 975

40 18

56 73

20 764 1073

รุ่ นทีที่ ่5 รุ่ นที่6 สถานศึ รุ่ นที่7 รุก่ นษาที่8 รุ่ นที9่ 248 1 วิทยาลั 294ยเทคนิ 265คมหาสารคาม 293 232 134 2 วิทยาลั 126ยเทคนิ 156คร้ อยเอ็ 84 ด 3 วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ 74 4 วิทยาลัยเทคนิคยโสธร 5 วิทยาลั 12 ยเทคนิคเดชอุดม 6 วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา 7 วิทยาลัยเทคนิคศีรสะเกษ 8 วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ 9 วิทยาลัยเทคนิคสุวรรณภูมิ 10 วิทยาลัยเทคนิคหนองบัวลาภู 11 วิทยาลัยเทคนิคอานาจเจริ ญ 12 วิทยาลัยสารพัดช่างกาฬสินธุ์ 13 วิทยาลัยสารพัดช่างอุบล 14 วิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 15 24 วิทยาลัยการอาชีพวาปี ปทุม 16 วิทยาลัยการอาชีพร้ อยเอ็ด 17 วิทยาลัยการอาชีพโพนทอง 18 วิทยาลัยการอาชีพพนมไพร 19 วิทยาลัยการอาชีพชุมแพ 20 วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น 21 วิทยาลัยการอาชีพเกษตรวิสยั 22 วิทยาลั 32 ยการอาชีพกระนวน 480 464 รวมทั 421้ งสิ้ น377 232

หน้า 106

รุรวมสุ ่ นที1่ ทรุ่ น ธิ ที่2 327 2,442251 256 1,329161 250 358 18 30 17 17 19 49 49 37 38 18 25 10 10 48 48 41 100 100 10 10 5 5 201 105 170 79 20 20 171 119 601 5,387975

รุ่ นที่3 รุ่ นที่4 271 261 213 199 250 202 82

รุ่ นที่5 รุ่ นที่6 รุ่ นที่7 รุ่ นที่8 รุ่ นที9่ รว 248 294 265 293 232 2 134 126 156 84 1 74 12

17 17 19 37 20 25

17

40 18

24

56 73

20 764 1073 480

32 464

421

377

232

5


- โครงการทุนการศึกษาระดับปริ ญญาตรี SNC-KMUTT สร้างช่างเทคนิ คระดับปริ ญญาตรี ซ่ ึ งเป็ นที่ตอ้ งการของ อุตสาหกรรม โดยทาความร่ วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สร้างหลักสู ตรปริ ญญาตรี เทคโนโลยีบณ ั ฑิต เพื่อต่อยอดให้นกั เรี ยนนักศึกษาที่เค้าร่ วมโครงการ ฯ ได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับปริ ญญา ตรี โดยให้ทุนๆละประมาณ 2 แสนบาท โดยไม่มีเงื่อนไขผูกมัดใดๆหลังจบการศึกษา ระหว่างการศึกษาสามารถ เรี ยนไปด้วยทางานไปด้วย มีรายได้ส่งให้ครอบครัว

- ปั จจุบนั โครงการ SNC-KMUTT ได้ดาเนินการมาแล้ว 3 รุ่ น มีจานวนนักศึกษาเข้าร่ วมโครงการ 80 คน สาเร็ จ การศึกษาแล้ว 25 คน การจัดการสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม จึงได้ยดึ หลักปฏิบตั ิดงั นี้ - รับผิดชอบและยึดมัน ่ ในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณี ทอ้ งถิ่นที่องค์กรตั้งอยู่ - ดาเนิ นกิ จกรรมเพื่อร่ วมสร้างสรรค์สังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อมอย่างสม่ าเสมอ เพื่อให้ชุมชนที่ บริ ษท ั ตั้งอยู่มี คุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน ทั้งที่ดาเนินการเองและร่ วมมือกับรัฐ และชุมชน - ป้ องกันอุบต ั ิเหตุ และควบคุมการปล่อยของเสี ยให้อยูใ่ นระดับต่ากว่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ - ตอบสนองอย่างรวดเร็ วและอย่างประสิ ทธิ ภาพต่อเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและชุมชน อันเนื่ อง มา จากการดาเนินงานของบริ ษทั โดยให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที่กบั เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริ มให้พนักงานของบริ ษทั มีจิตสานึกและความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมภายในระบบการจัดการ สิ่ งแวดล้อม (ISO 14001) - ให้ความสาคัญกับประโยชน์สุขของสังคม โดยสร้างความสัมพันธ์กบั ชุมชนและรักษาสภาพแวดล้อมอย่าง ต่อเนื่อง มีโครงการและกิจกรรมร่ วมกับชุมชนและสถานศึกษาในพื้นที่ อาทิ ร่ วมกับพนักงานและนักศึกษา ที่มาฝึ กงาน ลอกคลองเก็บขยะและผักตบชวา เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและให้น้ าไหลได้ตามธรรมชาติ อีกทั้ง เพื่อให้ประชาชนส่วนหนึ่งที่ใช้เรื อเป็ นพาหนะใช้คลองต่างๆเป็ นเส้นทางสัญจรในชีวติ ประจาวันทั้งการเดินทาง ไปส่งบุตรหลานและไปทางาน เดินทางได้สะดวกยิง่ ขึ้น

นอกจากนี้บริ ษทั ได้สนับสนุนโครงการต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงการสนับสนุนการจัด กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์และกิจกรรมสาธารณประโยชน์อื่นๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม อย่างต่อเนื่อง

หน้า 107


ตัวอย่างเช่น - สนับสนุนโครงการวิจยั TSAE Auto Challenge 2013 ชิงแชมป์ ประเทศไทย ของสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย จากคณะคุรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - การมอบทุนการศึกษาแก่บุตรหลาน ข้าราชการตารวจ สถานีตารวจ อาเภอ คลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ - สนับสนุนงบประมาณกิจกรรมวันพ่อ อบต.บางเพรี ยงสนับสนุนงบประมาณกิจกรรมวันเด็ก โรงเรี ยน คลอง กระแชงเตย โรงเรี ยนคลองเจริ ญราษฎร์ โรงเรี ยนอนุบาลชุมชนบางบ่อ - การจัดกิจกรรมให้โอกาสแก่สังคมได้ศึกษาดูงานการผลิตของบริ ษทั เช่น โครงการเยีย่ มชมกิจการจาก คณะแพทย์และผูบ้ ริ หาร โรงพยาบาลสมิติเวช จากัด (มหาชน) โครงการ SET Internship Academy ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นานักศึกษาปริ ญญาโท จากสถาบันการศึกษาต่างๆ ศึกษาดูงาน - สถานศึกษาในพื้นที่ ได้สร้างความสัมพันธ์และเข้าร่ วมกิจกรรมอย่างใกล้ชิด อาทิ เข้าร่ วมจัดบอร์ดถวายพระ พร ซ่อมแซมอาคาร ให้การสนับสนุนในส่วนที่สถาน ศึกษาเหล่านั้นต้องการเท่าที่จะทาได้ ปลูกฝังการ ช่วยเหลือสังคม เป็ นตัวอย่างที่ดีให้เยาวชน เนื่องจากนักเรี ยนและเยาวชนเป็ นกาลังสาคัญของชาติในอนาคต ควรได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่ - การป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด ยังร่ วมกับสานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด และเจ้า หน้าที่ตารวจในพื้นที่ช่วยกันปราบปรามยาเสพติด โดยจัดการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในทุกรู ปแบบ ทั้งในองค์กรและนอกองค์กร ให้ความร่ วมมือและประสานงานเมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นโดยแจ้งให้เจ้าหน้าที่เข้า มาตรวจสอบทันที ขณะเดียวกันได้ให้ความรู ้กบั นักเรี ยนตามสถานศึกษาและเยาวชนในพื้นที่ ให้รู้ถึงภัยของ ยาเสพติด แจ้งเบาะแส เพื่อช่วยกันป้ องกันชุมชน

- ด้านศาสนา ได้ทะนุบารุ งศาสนาทุกโอกาส เข้าร่ วมกิจกรรมกับวัดและชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่นเข้าร่ วม สนับสนุนกิจกรรมสัมมนาของชมรมครู และวิทยากรอิสลามศึกษาใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ ทาความสะอาด วัดในพื้นที่

- การร่ วมพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม อาทิ มีโครงการร่ วมกับกรมราชทัณฑ์ฝึกอาชีพให้ ผูต้ อ้ งขัง เพื่อโอกาสที่ดีในอนาคต เมื่อกลับสู่สงั คมจะได้มีอาชีพรองรับต่อไป

หน้า 108


11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง 11.1 ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อการประเมินประสิ ทธิภาพของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั เพื่อให้มีความมัน่ ใจว่า รายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ รวมทั้งข้อมูลที่ใช้ในการตัดสิ นใจมีความถูกต้อง ครบถ้วน และน่าเชื่อถือ โดยบริ ษทั ฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบจานวน 3 ท่าน เพื่อดูแลและกากับระบบควบคุมภายในของ บริ ษทั ให้ปฏิบตั ิตามนโยบายและข้อพึงปฏิบตั ิที่ได้รับมอบหมาย และให้เป็ นไปตามแผนงานที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั และสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์และคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ในปี 2557 คณะกรรมการได้ประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในโดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ าย บริ หาร ประกอบการตรวจสอบเอกสารที่ ฝ่ายบริ หารจัดทา และการตอบแบบประเมิ นระบบควบคุมภายในของ บริ ษทั ฯ ด้วยตนเอง ซึ่งสรุ ปผลการประเมินระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ด้านต่างๆ 5 ส่ วน คือ การควบคุมภายใน องค์กร การประเมินความเสี่ ยงการควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมูล และระบบการ ติดตาม คณะกรรมการมีความเห็นว่าบริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอในสภาพปั จจุบนั รวมทั้งมีการควบคุมภายในในหัวข้ออื่นของระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสมในสภาพปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในโดยเฉพาะในเรื่ องการทาธุรกรรมกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผู ้ ที่ เกี่ ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว อย่างเพียงพอเหมาะสมและสามารถป้ องกันทรั พย์สินของบริ ษทั อันเกิ ดจากการที่ ผูบ้ ริ หารนาไปใช้โดยมิชอบหรื อไม่มีอานาจเพียงพอ ในส่วนของการควบคุมภายในของบริ ษทั ย่อยนั้น บริ ษทั ฯ ได้กาหนดให้บริ ษทั ย่อยดาเนิ นการจัดให้มีระบบ การควบคุมภายในที่สอดคล้องกับแนวทางการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯโดยบริ ษทั ฯ มีการเข้าไปตรวจสอบการ ดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยเป็ นประจา ซึ่งที่ผา่ นมาพบว่า บริ ษทั ย่อยได้จดั ให้มีการควบคุมภายในด้านต่างๆทั้ง 5 ส่ วน ที่เพียงพอเช่นเดียวกับบริ ษทั ฯ สรุ ปผลการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ มีดงั นี้ การควบคุมภายในองค์ กร (Control Environment) บริ ษทั มีการกาหนดเป้ าหมายชัดเจนและวัดผลได้โดยมีการพิจารณาถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและความเป็ นไป ได้ของเป้ าหมาย เพื่อให้สามารถบรรลุเป้ าหมายที่กาหนด มีการกาหนดค่าตอบแทนให้พนักงานตามผลการ ปฏิบตั ิงานของพนักงานในแต่ละปี อย่างสมเหตุสมผลโดยไม่มีการจูงใจหรื อให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่เกินสมควร แก่พนักงานในลักษณะที่อาจนาไปสู่การกระทาทุจริ ตหรื อประพฤติมิชอบ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้จดั โครงสร้างองค์กร โดยมีการแบ่งแยกอานาจหน้าที่ กนั อย่างชัดเจน พร้อมทั้งได้ จัดทาจรรยาบรรณธุรกิ จ ครอบคลุมหลักการดาเนิ นธุ รกิ จ และการปฏิบตั ิงานไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และในการ กาหนดนโยบายและแผนการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ บริ ษทั ฯ ได้คานึ งถึงความเป็ นธรรมต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย ตามหลักการ กากับดูแลกิจการที่ดี

หน้า109


การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) บริ ษทั มีการประเมินความเสี่ ยง ทั้งปั จจัยความเสี่ ยงที่มาจากภายนอกและภายในบริ ษทั และมีการวิเคราะห์ เหตุการณ์ที่จะทาให้ปัจจัยที่เป็ นความเสี่ ยงนั้นเกิดขึ้นผ่านการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ทุกไตรมาส นอกจากนี้ บริ ษทั มีการกาหนดให้มีมาตรการในการติดตามเหตุการณ์ที่เป็ นสาเหตุของปัจจัยความเสี่ ยง และมาตรการในการลด ความเสี่ ยงเหล่านั้น โดยบริ ษทั ได้แจ้งให้พนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้องรับทราบและปฏิบตั ิตามมาตรการบริ หารความ เสี่ ยงที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ บริ ษทั มีการติดตามแต่ละหน่วยงาน ถึงการปฏิบตั ิตามแผนการบริ หารความเสี่ ยงที่กาหนดไว้ ผ่านการประชุมระดับผูบ้ ริ หารและระดับคณะกรรมการอย่างสม่าเสมอ การควบคุมการปฏิบัติ (Control Activities) บริ ษทั มีการกาหนดขอบเขต อานาจหน้าที่ และวงเงินอนุมตั ิของผูบ้ ริ หารในแต่ระดับไว้อย่างชัดเจน กาหนด นโยบายการทาธุรกรรมกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวโดยจัดให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการ กาหนดให้ฝ่าย กฎหมายของบริ ษทั ทาหน้าที่ในการตรวจสอบและให้คาแนะนาให้การดาเนินงานของบริ ษทั เป็ นไปตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง นโยบายการควบคุมภายใน และระเบียบหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้ อมูล (Information and Communication) ในการจัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั บริ ษทั มีการจัดส่งข้อมูลประกอบการพิจารณาและหนังสื อเชิญ ประชุมโดยแสดงรายละเอียดของเรื่ องที่จะนาเสนอทุกครั้งเพื่อให้คณะกรรมการมีขอ้ มูลที่เพียงพอในการตัดสิ นใจ โดยคณะกรรมการจะได้รับหนังสื อเชิญประชุมก่อนการประชุมโดยเฉลี่ย 7 วัน และมีการจัดทารายงานการประชุม โดยระบุความเห็นและมติของที่ประชุม เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ สามารถสอบทานความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที่ของ คณะกรรมการภายหลังได้ ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) บริ ษทั กาหนดให้มีฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อทาหน้าที่ในการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการควบคุม ภายในของพนักงานในแต่ละส่วนงานโดยมีการกาหนดให้ผตู ้ รวจสอบภายในต้องรายงานผลการตรวจสอบโดยตรง ต่อคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเฉพาะในกรณี ที่ตรวจพบข้อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ จะต้องรายงานเพื่อพิจารณาสัง่ การแก้ไขภายในระยะเวลาอันสมควร 11.2 ความเห็นของกรรมการตรวจสอบต่ อการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิ บตั ิ หน้าที่ ตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั ฯ โดยในปี 2557 ได้มีการจัดประชุมทั้งสิ้ น 4 ครั้ง เป็ นการร่ วมประชุมกับผูบ้ ริ หาร ผูส้ อบ บัญชี และผูต้ รวจสอบภายในตามความเหมาะสม ซึ่งสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและรายงานทางการเงินสาหรับปี 2557 ร่ วมกับผูบ้ ริ หารและ ผูส้ อบบัญชี เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายงานทางการเงิ นของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควรใน

หน้า110


สาระสาคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปและมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน และเชื่อถือได้ พร้อม ทั้งให้ขอ้ สังเกตและรับทราบแนวทางแก้ไขปั ญหาให้เกิดประโยชน์แก่บริ ษทั ฯ 2. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิ ทธิ ผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้าที่ ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วย 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย และข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สูงสุ ด ต่อบริ ษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ ได้ติดตามการดาเนิ นงานในปี 2557 ตามขอบเขตอานาจหน้าที่ความ รั บผิดชอบ ที่ ได้รับมอบหมาย โดยมี ความเห็ นว่า บริ ษทั ฯ ได้จัดทางบการเงิ นอย่างถูกต้องในสาระสาคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป มีการเปิ ดเผยข้อมูลรายการระหว่างกันหรื อรายการที่อาจก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างเพียงพอ มีระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ ยงที่ เหมาะสมกับสภาพธุ รกิจ มีการ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 11.3 หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน และหัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบัตงิ านของบริษัท 1. นายพรชัย ศิริกจิ พาณิชย์ กลู ตาแหน่งผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบภายใน (รายละเอียดตามเอกสารแนบ 3) เป็ นผูด้ ารงตาแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่านายพรชัย ศิริกิจพาณิ ชย์กูล มี คุณสมบัติเหมาะสมที่ จะปฏิ บัติหน้าที่ ดังกล่าวได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เนื่ องจากเป็ นผูท้ ี่ มี ความรู ้ ความสามารถ ประสบการณ์โดยตรงในงานตรวจสอบภายในสามารถสื่ อสารทาความเข้าใจและให้คาแนะนาหน่วยงานต่างๆ เพื่อ สนับสนุนให้การทางานมีประสิ ทธิภาพมากขึ้นได้เป็ นอย่างดีท้ งั นี้กรณี ที่มีการแต่งตั้ง ถอดถอน และโยกย้ายผูด้ ารง ตาแหน่งหัวหน้างานผูต้ รวจสอบภายใน ต้องได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการการตรวจสอบ 2. นางสาวรั ตนาภรณ์ ลีนะวัต ตาแหน่ง เลขานุการบริ ษทั และเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งหัวหน้างานกากับดูแล การปฏิบตั ิงานของบริ ษทั

หน้า111


12. รายการระหว่างกัน 12.1 ลักษณะรายการระหว่ างกัน ในระหว่างปี 2557 บริ ษทั มีรายการกับบริ ษทั ย่อย โดยเป็ นรายการซื้ อขายสิ นค้าและวัตถุดิบระหว่างกันตาม สายการผลิตของแต่ละบริ ษทั ซึ่งรายการธุรกิจดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ที่ตกลงกันตามปกติ ธุรกิจ และมีรายการระหว่างบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันอื่นได้แก่ การกูย้ มื ระยะสั้นและระยะยายระหว่างกลุ่มบริ ษทั รายการระหว่างกันของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้เปิ ดเผยไว้ครบถ้วนแล้วในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หัวข้อ 4 12.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมตั ริ ายการระหว่ างกัน บริ ษทั ได้มีการกาหนดมาตรการและขั้นตอนการทารายการระหว่างกัน โดยให้มีการปฏิ บตั ิตามข้อกาหนด กฎระเบียบของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย หากมี รายการระหว่างกันของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยเกิ ดขึ้ นกับบุ คคลที่ อาจมี ส่วนได้ส่วนเสี ย หรื ออาจก่ อให้เกิ ดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผูพ้ ิจารณาความสมเหตุสมผลของการเข้าทารายการ และ เสนอแนะต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ ม ัติ โดยค านึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษ ัท ในกรณี ที่ คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริ ษทั ได้ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ อิสระ หรื อผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ประกอบการ ตัดสิ นใจของคณะกรรมการ หรื อผูถ้ ือหุ ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้ การกาหนดราคาและเงื่ อนไขการทารายการ จะต้อง เป็ นไปตามลักษณะธุรกิจปกติ เป็ นไปตามราคายุติธรรม หรื อมีการเปรี ยบเทียบกับราคาตลาด นอกจากนี้ ผูม้ ีส่วนได้ เสี ย อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรายการระหว่างกันนั้น ๆ จะไม่สามารถมีส่วนร่ วมในการพิจารณาอนุมตั ิ รายการระหว่างกันนั้น ๆ ได้ ทั้งนี้ บริ ษทั จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผูส้ อบ บัญชีของบริ ษทั 12.3 นโยบายหรือแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต หากบริ ษทั มีการเข้าทารายการระหว่างกันในอนาคต บริ ษทั จะปฏิบตั ิตามมาตรการการอนุมตั ิรายการระหว่าง กันตามข้อ 12.2 โดยการเข้าทารายการระหว่างกันของบริ ษทั ในอนาคตนั้น จะเป็ นรายการตามปกติธุรกิจที่มี เงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันตามปกติธุรกิจ ไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริ ษทั กับกิจการที่ เกี่ยวข้องและผูถ้ ือหุน้ ส่วนนโยบายการกาหนดราคาระหว่างบริ ษทั กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันนั้น จะกาหนดจาก ราคาตามปกติของธุรกิจเช่นเดียวกับที่กาหนดให้กบั บุคคลหรื อกิจการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกัน สาหรับราคาสิ นค้าที่ซ้ือ จากบริ ษทั ย่อยจะเป็ นไปตามราคาขายของบริ ษทั ย่อยที่กาหนดจากราคาทุนบวกกาไรส่วนเพิม่ โดยเทียบเคียงได้กบั ราคาตลาด

หน้า 112


การเปิ ดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกัน จะเป็ นไปตามระเบียบของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รวมทั้งเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี เรื่ องการเปิ ดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งกาหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี

หน้า 113


13. ตารางสรุปงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน

ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท

%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ล้านบาท

%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท

%

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นที่ถือไว้เพื่อขาย รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในตราสารทุนที่บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสี ย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ค่าซื้อสิ นทรัพย์ที่กาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวที่กาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่กาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน เจ้าหนี้ค่าซื้อสิ นทรัพย์ เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน

348.95 1,173.13 83.00 280.81 46.23 1,932.12

8.38% 28.16% 1.99% 6.74% 1.11% 46.38%

372.48 959.62 64.00 247.29 45.94 8.17 1,697.50

9.75% 25.11% 1.67% 6.47% 1.20% 0.21% 44.43%

577.45 1,232.14 5.00 229.12 42.06 2,085.77

14.77% 31.51% 0.13% 5.86% 1.08% 53.34%

75.53 134.80 1,921.37 55.09 8.20 38.56 2,233.55 4,165.67

1.81% 3.24% 46.12% 1.32% 0.20% 0.93% 53.62% 100%

56.55 115.43 1,846.38 44.78 17.29 43.07 2,123.50 3,821.00

1.48% 3.02% 48.32% 1.17% 0.45% 1.13% 55.57% 100%

34.49 75.10 1,648.69 18.94 8.50 38.67 1,824.39 3,910.16

0.88% 1.92% 42.16% 0.48% 0.22% 0.99% 46.66% 100%

70.00 1,381.79 35.76 35.61 3.03 2.79 15.34 1,544.32

1.68% 33.17% 0.86% 0.85% 0.07% 0.07% 0.37% 37.07%

273.00 1,152.41 187.73 7.20 6.48 9.06 12.15 1,648.03

7.14% 30.16% 4.91% 0.19% 0.17% 0.24% 0.32% 43.13%

1,508.03 161.72 11.76 7.39 1.35 22.55 1,712.80

38.57% 4.14% 0.30% 0.19% 0.03% 0.58% 43.80%

9.86 242.25 49.51 8.76 310.38 1,854.70

0.24% 5.82% 1.19% 0.21% 7.45% 44.52%

10.76 7.55 3.08 39.35 6.14 66.88 1,714.91

0.28% 0.20% 0.08% 1.03% 0.16% 1.75% 44.88%

119.41 14.00 5.49 29.54 7.65 176.09 1,888.89

3.05% 0.36% 0.14% 0.76% 0.20% 4.50% 48.31%

หน้า 114


งบแสดงฐานะการเงิน ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียนที่ออกและชาระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ ้นสามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของบริษทั รวมส่ วนของบริษทั -สุ ทธิ ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

งบกาไรขาดทุน รายได้จากการขายและบริ การ ต้นทุนขายและบริ การ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท 287.78 1,213.60

% 6.91% 29.13%

67.79 1.63% 647.28 15.54% 2,216.45 53.21% 2,216.45 53.21% 94.52 2.27% 2,310.97 55.48% 4,165.67 100.00%

ปี 2557

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ล้านบาท 287.78 1,213.60

% 7.53% 31.76%

66.52 1.74% 472.63 12.37% 2,040.53 53.40% 2,040.53 53.40% 65.56 1.72% 2,106.09 55.12% 3,821.00 100.00%

ปี 2556

ล้านบาท % 7,404.79 100.00% - 6,583.18 - 88.90%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ล้านบาท 287.78 1,213.60

% 7.36% 31.04%

61.66 1.58% 399.62 10.22% 1,962.66 50.19% 1,962.66 50.19% 58.61 1.50% 2,021.27 51.69% 3,910.16 100.00%

ปี 2555

ล้านบาท % 7,154.78 100.00% - 6,305.95 - 88.14%

ล้านบาท % 7,648.02 100.00% - 6,806.74 - 89.00%

กาไรขั้นต้ น

821.61

11.10%

848.83

11.86%

841.28

11.00%

รายได้ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อบริ ษทั ย่อย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกาไรขาดทุนจากบริ ษทั ร่ วมและกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน กาไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี ส่วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม ส่ วนที่เป็ นของบริษทั ใหญ่

4.30 34.12 - 71.27 -274.49 - 82.25 - 16.63 - 11.01 404.38 - 27.76 376.62 - 0.74 377.36

0.06% 0.46% - 0.96% - 3.71% - 1.11% - 0.22% - 0.15% 5.46% - 0.37% 5.09% - 0.01% 5.10%

3.72 42.27 - 83.40 - 237.91 - 94.99 - 6.01 - 20.00 452.51 - 22.36 430.15 6.94 423.21

0.05% 0.59% - 1.17% - 3.33% - 1.33% - 0.08% - 0.28% 6.32% - 0.31% 6.01% 0.10% 5.92%

7.75 31.91 7.08 - 91.32 - 196.61 - 65.42 -12.56 - 1.60 - 13.37 507.14 - 9.13 498.01 3.09 494.92

0.10% 0.42% 0.09% - 1.19% - 2.57% - 0.86% - 0.16% - 0.02% - 0.17% 6.63% - 0.12% 6.51% 0.04% 6.47%

หน้า 115


งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรสาหรับปี รายการปรับปรุ ง ค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ขาดทุนการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ (กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (กลับรายการ) กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น รายได้ดอกเบี้ยรับ ผลประโยชน์พนักงาน ต้นทุนทางการเงิน หนี้สงสัยจะสูญ กาไรจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย (กาไร)ขาดทุนจากการจาหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อบริ ษทั ย่อย กาไรจากการขายสิ นทรัพย์สุทธิ ในบริ ษทั ย่อย กาไรจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน-สุทธิจากภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไรจากการดาเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลงใน สินทรัพย์และหนีส้ ินดาเนินงาน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน จ่ายผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน

หน้า 116

ปี 2557

ปี 2556

ปี 2555

376.62

430.15

498.01

257.08 1.96 7.44 -0.16 -0.21 -3.91 -4.30 10.75 16.63 2.00 -5.22 0.74 -0.02 11.02 27.76

226.31 1.60 7.93 1.12 0.54 -0.34 -3.71 10.35 6.01 0.63 -0.44 20.00 22.36

183.88 1.61 1.51 3.38 12.56 -0.88 -7.75 5.07 1.60 -2.82 -7.08 -0.93 13.37 9.13

698.18 -215.58 -33.36 -0.29 4.51 233.37 -0.60 3.18 689.41 -22.31 667.10

722.51 273.79 -19.29 -4.00 -4.39 -357.18 -0.54 -10.51 600.39 -24.97 575.42

710.66 -486.10 -4.38 -17.88 0.86 615.29 0.58 819.03 -18.72 800.31


งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย ขายสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย ซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ขายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจากเงินให้กยู้ มื แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กยู้ มื แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลงทุนในเงินลงทุนชัว่ คราวลดลง (เพิ่มขึ้น) ซื้อเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่ วมกัน ขายสิ นทรัพย์สุทธิ ในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการรวมธุรกิจ ซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินสดสุ ทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย เงินสดรับจากเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน จ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน จ่ายเงินปันผลให้ผถู ้ ือหุ้นบริ ษทั การได้มาซึ่ งส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

หน้า 117

ปี 2557

ปี 2556

ปี 2555

4.30 13.40 -11.38 -509.76 7.17 -8.52 0.19 30.00 -49.00 -30.00 -553.60

3.83 -60.15 -500.91 4.19 -33.77 5.00 -64.00 -42.05 -687.86

8.99 -542.56 22.40 -9.65 -5.00 395 16.82 -6.87 -120.87

-16.63 2,036.30 -1,976.20 -8.76 -201.44 29.70 -137.03 -23.53 372.48 348.95

-5.88 273.00 -11.01 -3.31 -345.33 -92.53 -204.97 577.45 372.48

-1.60 -22.28 -8.89 -460.44 -493.21 186.23 391.22 577.45


อัตราส่ วนทางการเงิน

ปี 2557

อัตราส่ วนแสดงสภาพคล่ อง อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า) อัตราส่ วนแสดงการดาเนินงาน อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้ การค้า (ครั้ง) ระยะเวลาเก็บหนี้ เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ (ครั้ง) ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (ครั้ง) ระยะเวลาชาระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัตราส่ วนการชาระหนี้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีดอกเบี้ยต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร อัตรากาไรขั้นต้น (%) อัตรากาไรสุทธิ (%) กาไรต่อหุ้น (บาท) อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ้น (%) อัตราการจ่ายเงินปั นผลต่อกาไรสุ ทธิ (%)

หน้า 118

ปี 2556

ปี 2555

1.25 1.06

1.03 0.88

1.22 1.09

6.98 52.31 24.93 14.64 5.23 69.79 -2.84

6.60 55.32 26.47 13.79 4.76 76.76 -7.65

7.92 46.09 30.56 11.94 5.70 64.04 -6.00

0.80 0.15 25.31

0.81 0.14 76.32

0.94 0.02 316.99

11.10 5.10 1.31 10.54 17.73 50.33

11.86 5.92 1.47 11.88 21.19 68.00

11.00 6.47 1.72 14.56 25.36 93.24


14.

การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ

14.1 การวิเคราะห์ ผลการดาเนินงาน รายได้ จากการขาย จานวน 7,405 ล้านบาท (2556: 7,155 ล้านบาท) เพิ่มขึ้น 250 ล้านบาท คิดเป็ น 4% มาจาก 1. รายได้จากธุรกิจรับจ้างประกอบเครื่ องปรับอากาศจานวน 3,152 ล้านบาท (2556: 2,457 ล้านบาท) เพิ่มขึ้น 695 ล้านบาท คิดเป็ น 28% เนื่องจาก 1) ในปี 2557 มาตรฐานของสินค้าถูกปรับปรุ งให้ดีข้ ึนตามมาตรฐาน การใช้พลังงาน EER ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มขึ้น2) เนื่องจากได้รบั คาสังซื ่ อ้ ให้ประกอบเครื่องปรับอากาศ รุ่นใหม่ซง่ึ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมทีใ่ ช้น้ายา R-32 เพิ่มขึ้น 3) งาน Export ที่มียอดผลิตเพิ่มจากงานลูกค้า Atlantic 2.

รายได้จากการขายชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศและเครื่ องทาความเย็นจานวน 2,946 ล้านบาท (2556: 3,279 ล้านบาท) ลดลง 333 ล้านบาท คิดเป็ น 10% มาจากรายได้จากขายชิ้นส่วนเครื่ องปรับอากาศลดลง ซึ่งเดิมปี 2556 ดาเนินการาายใต้บริ ัทั อินเตอรเเนชัน่ แนล เทคนน ไพพเ จากัด แต่ปี 255 การผลิตและขายดังกล่าว ดาเนินการาายใต้บริ ัทั ฟูนซ่ อินดัสตรี้ สเ (ไทยแลนดเ) จากัด ซึ่งบริ ัทั ถือหุน้ 20% รับรู ้เฉพาะผลกาไรสุทธิ ตามวิธีการบัญชีส่วนได้เสี ย

3.

รายได้จากการขายชิ้นส่วนยานยนตเจานวน 931 ล้านบาท (2556: 1,012 ล้านบาท) ลดลง 81 ล้านบาท คิดเป็ น 8% เนื่องจาก การขายชิ้นงานพลาสติกสาหรับยานยนตเ ลดลง ตามสาาวะอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตเใน ประเทศไทย

4.

รายได้จากธุรกิจอื่นๆ มีจานวน 376 ล้านบาท (2556: 406 ล้านบาท) ลดลง 30 ล้านบาท คิดเป็ น 7% เนื่องจาก การขายชิ้นส่วนพลาสติกสาหรับเครื่ องซักผ้าและธุรกิจ diamond tools ลดลง

ต้ นทุนขาย จานวน 6,583 ล้านบาท คิดเป็ น 89% ของรายได้จากการขาย (2556: 6,306 ล้านบาท คิดเป็ น 88%) อัตราต้นทุนขายต่อรายได้เพิ่มขึ้น 1% จากการที่สดั ส่วนรายได้รับจ้างประกอบเครื่ องปรับอากาศเพิม่ ขึ้น ซึ่งรายได้ ชนิดนี้จะมีตน้ ทุนขายที่สูงกว่ารายได้ปกติ ค่ าใช้ จ่ายในการขาย จานวน 71 ล้านบาท คิดเป็ น 0.96% ของรายได้จากการขาย (2556: 83 ล้านบาท คิดเป็ น 1.2%) ค่าใช้จ่ายในการขายลดลง 0.24% จากการควบคุมงบประมาณค่าขนส่งและค่าใช้จ่ายสนับสนุนการขาย ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร จานวน 274 ล้านบาท คิดเป็ น 3.70% ของรายได้จากการขาย (2556: 238 ล้านบาท คิดเป็ น 3.3%) ค่าใช้จ่ายในการบริ หารเพิม่ ขึ้น 36 ล้านบาท เป็ นค่าใช้จ่ายสานักงานและบริ หารของบริ ัทั ใหม่ที่เพิ่มขึ้น ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร จานวน 82 ล้านบาท คิดเป็ น 1.1% ของรายได้จากการขาย (2556: 95 ล้านบาท คิด เป็ น 1.3%) ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารลดลง 13 ล้านบาท เนื่องจากการควบคุมงบประมาณผลตอบแทน ผูบ้ ริ หาร กาไรสุ ทธิ จานวน 377 ล้านบาท คิดเป็ น 5.1% ของรายได้จากการขาย (2556: 423 ล้านบาท คิดเป็ น 5.9%) กาไรสุทธิ ลดลง 46 ล้านบาท คิดเป็ น 10.9% เนื่องจาก การลงทุนในธุรกิจใหม่บางส่วน ยังไม่ก่อให้เกิดรายได้ แต่มีค่าใช้จ่าย บริ หารและค่าใช้จ่ายก่อนการดาเนินงาน นดยคิดเป็ นกาไรต่อหุน้ เท่ากับ 1.31 บาทต่อหุน้ (2556: 1.47 บาทต่อหุน้ )

หน้า 119


14.2 ฐานะการเงินของบริษัท สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีสินทรัพยเรวมจานวน 4,166 ล้านบาท (ปี 2556: 3,821 ล้านบาท) เพิ่มขึ้น 345 ล้านบาท คิดเป็ น 9.1% นดยสิ นทรัพยเหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 234 ล้านบาท คิดเป็ น 13.8% สิ นทรัพยเไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 111 ล้านบาท คิดเป็ น 5.3% รายการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญมีดงั นี้  ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น เพื่มขึ้นจากปี ก่อน 213 ล้านบาท เนื่องจากรายได้ในไตรมาส 4 เพิ่มขึ้น ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยปี 2557 เท่ากับ 52 วัน (ปี 2556: 56 วัน) ระยะเวลาเก็บหนี้ เร็ วขึ้นเนื่องจากสัดส่วน งานรับจ้างประกอบเครื่ องปรับอากาศเพิ่มขึ้น ซึ่งมีระยะเวลาการเก็บเงินที่เร็ วกว่า  ที่ดิน อาคาร และอุปกรณเ เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจานวน 75 ล้านบาท จากการลงทุนในนรงงานและเครื่ องจักรใน บริ ัทั SCAN นดยอัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพยเถาวรคิดเป็ นร้อยละ 22.35 (ปี 2556: ร้อยละ 26.17) บริ ัทั มีค่าเสื่ อมราคาจานวน 257 ล้านบาท (ปี 2556: 226 ล้านบาท)  สิ นค้าคงเหลือ เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจานวน 34 ล้านบาท ซึ่งผันแปรตามรายได้ในไตรมาส 4 ที่เพิ่มขึ้น  อสังหาริ มทรัพยเเพื่อการลงทุน เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจานวน 19 ล้านบาท จากบริ ัทั ย่อยซื้ อที่ดินเพื่อรองรับ การขยายธุรกิจในอนาคต  เงินลงทุนในตราสารทุนที่บน ั ทึกตามวิธีส่วนได้เสี ย เพิ่มขึ้นจากปี ก่อน 19 ล้านบาท จากการลงทุนเพิ่มใน บริ ัทั SSMA 30 ล้านบาท และส่วนแบ่งผลกาไรขาดทุนจากบริ ัทั SSMA, SAWHA, FUSO  เงิ นให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่ เกี่ ยวข้องกัน เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนจานวน 19 ล้านบาท จากการให้บริ ัทั SSMA กูย้ มื 72 ล้านบาท บริ ัทั SAWHA 11 ล้านบาท หนีส้ ิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีหนี้ สินรวมจานวน 1,855 ล้านบาท (ปี 2556: 1,715 ล้านบาท) เพิ่มขึ้นจานวน 140 ล้าน บาท ประกอบด้วย  การเพิ่มขึ้ นของเจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นจานวน 230 ล้านบาท ซึ่ งผันแปรตามยอดซื้ อวัตถุดิบและ ยอดขายในช่วงปลายปี 2557  การเพิ่มขึ้นของเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 234 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นไปตามมูลค่าของการขยายการ ลงทุนในปี ที่ผา่ นๆ มา  การลดลงของเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 203 ล้านบาท  การจ่ายชาระเจ้าหนี้ค่าซื้อทรัพยเสิน 152 ล้านบาท ที่ครบกาหนดชาระในระหว่างปี  อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (D/E) เท่ากับ 0.80 เท่า ( ปี 2556 : 0.81 เท่า) หนี้ สินส่ วนใหญ่เป็ น เจ้าหนี้การค้า  อัตราส่วนหนี้สินที่มีดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ( D(int) /E) เท่ากับ 0.15 เท่า (ปี 2556 : 0.14 เท่า) ส่ วนของผู้ถือหุ้น

หน้า 120


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส่วนของผูถ้ ือหุน้ จานวน 2,311 ล้านบาท (ปี 2556 จานวน 2,106 ล้านบาท) เพิ่มขึ้นจานวน 205 ล้านบาท จากการที่บริ ัทั มีกาไรสุทธิสาหรับปี 2557 จานวน 377 ล้านบาท บริ ัทั ได้จดั สรรเงินปั นผลระหว่าง กาลสาหรับปี 2557 ในอัตราหุน้ ละ 0.30 บาทต่อหุน้ สาหรับหุน้ สามัญจานวน 287,777,339 หุน้ คิดเป็ นจานวนเงิน 86.33 ล้านบาท และในงวดสิ้นปี อันเป็ นงวดสุดท้ายในอัตราหุน้ ละ 0.36 บาท สาหรับหุน้ สามัญจานวน 287,777,339 หุน้ คิดเป็ นจานวนเงิน 103.60 ล้านบาทนดยกาหนดจ่ายเงินปั นผลงวดสุดท้ายในวันที่ 24 เมัายน 2558 บริ ัทั จัดสรรเงินปันผลรวมเป็ นอัตราหุน้ ละ 0.66 บาท หรื อคิดเป็ นอัตราร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิ (นนยบาย: จ่ายเงินปั น ผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิ) นดยมีอตั ราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ (ROE) ร้อยละ 17.73 (ปี 2556: ร้อยละ 21.19)

หน้า 121


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ตามที่บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) ได้จดั ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายสุ ชาติ บุ ญบรรเจิ ดศรี ประธานกรรมการตรวจสอบ นางชนิ สา ชุ ติ ภทั ร์ และ นายชัยศัก ดิ์ อัง ค์สุวรรณ เป็ นกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิ บัติหน้าที่ ตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั ฯ โดยในปี 2557ได้มีการจัดประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง เป็ นการร่ วมประชุมกับผูบ้ ริ หาร ผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายในตามความเหมาะสม ซึ่งสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและรายงานทางการเงินสาหรับปี 2557 ร่ วมกับผูบ้ ริ หารและผูส้ อบ บัญชี เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นอย่างถูกต้องตามที่ควรใน สาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปและมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน และเชื่ อถือได้ พร้อมทั้งให้ขอ้ สังเกตและรับทราบแนวทางแก้ไขปั ญหาให้เกิดประโยชน์แก่บริ ษทั ฯ 2. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิ ทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความ เห็นชอบพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหน่วยงานตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บ ริ ษ ัท ฯ ปฏิ บัติ ต ามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ข้อ ก าหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้าที่ ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วย 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มนั่ ใจว่า รายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สูงสุ ด ต่อบริ ษทั ฯ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ ได้ติดตามการดาเนิ นงานในปี 2557 ตามขอบเขตอานาจหน้าที่ความ รับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมาย โดยมีความเห็นว่า บริ ษทั ฯ ได้จดั ทางบการเงินอย่างถูกต้องในสาระสาคัญตามหลักการ บัญชีที่รับรองทัว่ ไป มีการเปิ ดเผยข้อมูลรายการระหว่างกันหรื อรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างเพียงพอ มีระบบการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี่ ยงที่ เหมาะสมกับสภาพธุ รกิ จ มีการปฏิ บตั ิตาม กฎหมาย ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

(นายสุชาติ บุญบรรเจิดศรี ) ประธานกรรมการตรวจสอบ

หน้า 122


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฎในรายงานประจาปี งบการเงินดังกล่าวจัดทาขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการ จัดทา รวมทั้งการเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิดความโปร่ งใสและเป็ น ประโยชน์ต่อผูถ้ ือหุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป คณะกรรมการได้จดั ให้มีและดารงรักษาไว้ซ่ ึงระบบบริ หารความเสี่ ยงและการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมี ประสิ ทธิภาพ เพื่อให้มนั่ ใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางการบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอที่จะดารงรักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดการทุจริ ตหรื อการดาเนินการที่ผดิ ปกติอย่างมีสาระสาคัญ ทั้งนี้คณะกรรมการได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็ นกรรมการอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพ ของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายในและความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่ องนี้ปรากฏใน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจาปี นี้แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย โดยรวมอยูใ่ นระดับที่น่า พอใจและสามารถสร้างความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินและงบการเงินรวมของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

นายสาธิต ชาญเชาวน์กลุ ประธานกรรมการบริ ษทั

หน้า 123

ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล ประธานกรรมการบริ หาร


บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) รายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 20/2557 วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2557 ณ ห้องประชุมสานักงานใหญ่ บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จากัด (มหาชน) เริ่ มประชุมเวลา 14.00 น. คุณสาธิต ชาญเชาวน์กลุ ประธานกรรมการบริ ษทั ทาหน้าที่เป็ นประธานที่ประชุม คุณอนะรัช ชัยธนะภิญโญ เลขานุการที่ประชุม ได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบจานวนหุน้ ทั้งหมดและหุน้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงของบริ ษทั ดังนี้ หุน้ จดทะเบียนและมีสิทธิออกเสียง จานวน 287,777,339 หุน้ ผูถ้ ือหุน้ ที่มีสิทธิออกเสี ยง จานวน 3,645 ราย เริ่ มประชุม 104 ราย 69 ราย 35 ราย 212,865,867 หุน้ 73.97

ผูถ้ ือหุน้ ที่มาประชุมทั้งหมดจานวน มาด้วยตนเอง รับมอบฉันทะ จานวนหุน้ ทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละของหุน้ ที่จาหน่ายได้ท้ งั หมด

ปิ ดประชุม 118 ราย 82 ราย 36 ราย 213,692,841 หุน้ 74.26

จานวนหุน้ ที่ลงทะเบียนเกินกว่า 1 ใน 3 ของจานวนหุน้ ที่มีอยูท่ ้ งั หมด ครบเป็ นองค์ประชุมตามมาตรา 103 แห่ง พระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และข้อบังคับของบริ ษทั ฯ แล้ว คุณสาธิต ชาญเชาวน์กลุ ประธานกรรมการบริ ษทั กล่าวเปิ ดประชุม เลขานุการที่ประชุมได้แนะนาคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และผูส้ อบบัญชีดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

คุณสาธิต ดร.สมชัย ศ.ดร.บุญทัน คุณวิศาล คุณสุระศักดิ์ คุณอานะวัฒน์ คุณสุกิจ คุณสามิตต์ คุณสมบุญ คุณสุรพล คุณสมชาย คุณรัฐภูมิ คุณวิภาวรรณ

ชาญเชาวน์กลุ ไทยสงวนวรกุล ดอกไธสง วุฒิศกั ดิ์ศิลป์ เคารพธรรม นาวินธรรม พันธ์วศิ วาส ผลิตกรรม เกิดหลิน แย้มเกษม งามกิจเจริ ญลาภ นันทปถวี ปั ทวันวิเวก

ประธานกรรมการบริ ษทั , กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีการเงิน ผูส้ อบบัญชี

หน้า 124


เลขานุการที่ประชุมได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบว่า บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นเสนอวาระการประชุม ส่ ง คาถามล่วงหน้า และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็ นกรรมการ นับตั้งแต่วนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2556 ถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2556 ปรากฏว่าไม่มีผถู ้ ือหุน้ ท่านใดเสนอวาระการประชุม ส่งคาถามล่วงหน้าและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ เลือกตั้งเป็ นกรรมการมาแต่อย่างใด รวมทั้งบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ือหุ ้นทุกท่านมีสิทธิ เข้าร่ วมสังเกตการณ์นับ คะแนนเสี ยงโดยผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ นับตั้งแต่วนั ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2557 แต่ปรากฏว่าไม่มี ผูถ้ ือหุน้ ท่านใดสมัครเข้าร่ วมสังเกตการณ์นบั คะแนนเสี ยงเข้ามาแต่อย่างใด ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ในครั้งนี้ มติของที่ประชุมให้ถือตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ “ข้อ 34” โดยมติของที่ประชุม ผูถ้ ือหุน้ ให้ถือคะแนนเสี ยงข้างมากของผูถ้ ือหุน้ ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสี ยงลงคะแนน โดยให้นบั หนึ่ งหุ ้นเป็ นหนึ่ ง เสี ยง ถ้ามีคะแนนเสี ยงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสี ยงเพิม่ ขึ้นอีกเสี ยงหนึ่งเป็ นเสี ยงชี้ขาด และในการลงคะแนน ของวาระการประชุมทุกวาระ ขอให้ท่านผูถ้ ือหุน้ โปรดกาเครื่ องหมาย  ลงในช่อง ว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรื องด ออกเสี ยง ลงในบัตรลงคะแนนที่ ได้มอบให้ล่วงหน้าไว้ก่อนแล้ว โดยในการลงคะแนนในบัตรนี้ จะใช้เวลาประมาณ 1 นาที เมื่อครบเวลา จะมีเจ้าหน้าที่เป็ นผูจ้ ดั เก็บและทาการรวบรวมคะแนน การนับคะแนน จะนับเสี ยงที่ไม่เห็นด้วย นับ เสี ยงที่งดออกเสี ยง และที่เหลือ คือเสี ยงที่เห็นด้วยเพื่อประกาศให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 รับทราบรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 19/2556 วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ รับทราบรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 19/2556 ซึ่ งประชุม เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 ความเห็ นของคณะกรรมการ เห็ นสมควรเสนอต่อที่ ประชุมสามัญผูถ้ ื อหุ ้นเพื่อรับ ทราบรายงานการประชุ ม ดังกล่าว มติทปี่ ระชุม ที่ประชุมรับทราบรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 19/2556 วาระที่ 2 รับทราบผลการดาเนินงานประจาปี 2556 วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ รับทราบผลการดาเนินงานประจาปี 2556 ของบริ ษทั ฯ คุณสามิตต์ ผลิตกรรม รองประธานกรรมการบริ หารเป็ นผูร้ ายงานผลการดาเนิ นงาน ดังนี้ ในรอบปี 2556 ที่ ผ่านมาบริ ษทั ฯ มีรายได้จากการขาย 7,155 ล้านบาท รายได้อื่นและดอกเบี้ยรับรวม 46 ล้าน ต้นทุนขายและบริ การ 6,306 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร 322 ล้านบาท ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร 95 ล้านบาท ต้นทุนทาง การเงิน 6 ล้านบาท ภาษีเงินได้นิติบุคคล 22 ล้านบาท ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษทั ที่ควบคุมร่ วมกัน 20 ล้าน บาท ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนน้อย 7 ล้านบาท ดังนั้น บริ ษทั ฯ จึงมีกาไรสุทธิ 423 ล้านบาท ความเห็นของคณะกรรมการ เห็นสมควรเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อรับทราบผลการดาเนินงาน มติทปี่ ระชุม ที่ประชุมรับทราบผลการดาเนินงาน วาระที่ 3 พิจารณาอนุมตั ิงบการเงินประจาปี 2556 คุณรัฐภูมิ นันทปถวี รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน เป็ นผูช้ ้ ีแจงต่อที่ประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้เป็ นไปตามพรบ.บริ ษทั มหาชน ซึ่ งกาหนดให้บริ ษทั ต้องจัดงบการเงิน ณ วัน สิ้นสุดของรอบปี บัญชีที่ผา่ นการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแล้ว ให้ผถู ้ ือหุน้ พิจารณาอนุมตั ิงบการเงินประจาปี 2556 ซึ่ง แสดงอยูใ่ นรายงานประจาปี ที่ส่งให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ล่วงหน้าแล้ว หน้า 125


ความเห็นคณะกรรมการ เห็นสมควรเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิงบการเงินประจาปี 2556 ซึ่ง ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ ได้ตรวจสอบและรับรองเรี ยบร้อยแล้ว คุณชัยรัตน์ ผลาติกานนท์ สอบถาม เหตุใดไม่ให้บริ ษทั ย่อยจ่ายเงิ นปั นผลเข้าบริ ษทั แม่ทุกไตรมาสเพื่อให้ สะท้อนความจริ งในงบการเงิน คุณรัฐภูมิ นันทปถวี อธิ บายว่า งบการเงินมี 2 ส่ วน คือ งบการเงินเฉพาะบริ ษทั และงบการเงินรวม ซึ่ งกาไร จากบริ ษทั ย่อยจะถูกแสดงในงบการเงินรวม ส่ วนเรื่ องเงินปั นผลรับจากบริ ษทั ย่อย ตามปกติกาหนดไว้ปีละ 2 ครั้ง คือ กลางปี และปลายปี เพื่อให้บริ ษทั แม่มีกาไรสะสมเพียงพอสาหรับการจ่ายเงินปั นผล ซึ่ งหากกาไรสะสมของบริ ษทั แม่มี มากพอ ก็จะไม่มีการเรี ยกรับเงินปั นผลจากบริ ษทั ย่อย เพื่อลดเวลาในการจัดทาเอกสารต่างๆ คุณสุระศักดิ์ เคารพธรรม อธิบายเพิม่ เติม หากต้องการดูวา่ บริ ษทั มีความสามารถในการจ่ายเงินปั นผลให้ดูที่งบ ดุลรวม ถึงแม้วา่ กาไรสะสมของงบเดี่ยวมีนอ้ ย แต่บริ ษทั แม่ก็สามารถให้บริ ษทั ลูกที่มีกาไร จ่ายเงินปั นผลเข้ามาได้ ว่าที่ร้อยตรี พิสิฐ สุ ธีลกั ษณาพร สอบถาม จากรายงานประจาปี หน้า 180 บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวิต้ ี แอน โทโลจี จากัด เพิ่มทุน 200 ล้าน แต่ลงทุน 180 ล้าน เทียบสัดส่วนการถือหุน้ แล้วไม่เป็ น 99.99 คุณรัฐภูมิ นันทปถวี อธิ บายว่า บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวิต้ ี แอนโทโลจี จากัด จดทะเบียนครั้งแรก 20 ล้าน และมีการเพิ่มทุนอีก 180 ล้านบาท รวมเป็ น 200 ล้านบาท สัดส่ วนการถือหุ ้นครั้งแรกและหลังจากเพิ่มทุนเป็ นสัดส่ วน เดียวกัน คุณสุระศักดิ์ เคารพธรรม อธิ บายเพิ่มเติม การเทียบสัดส่ วนการถือหุ ้นให้เทียบสัดส่ วนจากจานวนที่เราลงทุน เทียบกับจานวนเงินทุนทั้งหมด ผูถ้ ื อหุ ้ นไม่มี ขอ้ ซัก ถามหรื อ แสดงความคิ ดเห็ น เพิ่ มเติ ม เลขานุ การที่ ป ระชุ ม จึ ง ขอให้ที่ป ระชุ ม พิจ ารณา ลงคะแนนโดยที่ประชุมพิจารณาแล้วออกเสี ยงลงคะแนนดังนี้ เห็นด้วยจานวน 213,642,841 เสี ยง ไม่เห็นด้วยจานวน เสี ยง งดออกเสี ยงจานวน 25,900 เสี ยง มติที่ประชุม

ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติดว้ ยเสี ยงข้างมากอนุมตั ิงบการเงินประจาปี 2556

วาระที่ 4 พิจารณาอนุมตั ิจดั สรรเงินปั นผลสาหรับปี 2556 คุณสามิตต์ ผลิตกรรม รองประธานกรรมการบริ หาร เป็ นผูช้ ้ ีแจงต่อที่ประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล ตามผลประกอบการของบริ ษทั ที่มีกาไร บริ ษทั ฯ จึงเห็นสมควรจัดสรรเงินปั นผล และ เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัดซึ่งกาหนดให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ อนุมตั ิการจัดสรรกาไรดังกล่าว โดยมีขอ้ มูลเปรี ยบเทียบการจ่ายเงินปั นผลที่ผา่ นมาดังนี้ เงินปันผล ปี 2556 เงินปันผลระหว่างกาล เงินปันผลงวดสิ้นปี รวมเงินปันผลจ่ายปี 2556

จานวนหุน้

เงินปันผลจ่ายต่อหุน้

รวมเป็ นเงินปั นผลจ่าย

287,777,339 287,777,339

0.60 บาท 0.40 บาท 1.00 บาท

172,666,403 บาท 115,110,936 บาท 287,777,339 บาท

หน้า 126


ปี 2555 เงินปันผลระหว่างกาล เงินปันผลงวดสิ้นปี รวมเงินปันผลจ่ายปี 2555

287,777,339 287,777,339

1.00 บาท 0.60 บาท 1.60 บาท

287,777,339 บาท 172,666,403 บาท 460,443,742 บาท

ความเห็นคณะกรรมการ เห็นสมควรเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิจดั สรรเงินปั นผลจากผลการ ดาเนินงานประจาปี 2556 ในงวดสิ้นปี อันเป็ นงวดสุดท้ายในอัตราหุน้ ละ 0.40 บาท โดยกาหนดจ่ายเงินปั นผลในวันที่ 30 เมษายน 2557 ซึ่งเมื่อรวมกับเงินปั นผลระหว่างกาลหุน้ ละ 0.60 บาท รวมเป็ นเงินปั นผลอัตราหุน้ ละ 1.00 บาท ทั้งนี้บริ ษทั จัดสรรสารองตามกฎหมาย ไว้ครบถ้วนแล้ว 10% ของทุนจดทะเบียน ผูถ้ ื อหุ ้นไม่มี ขอ้ ซัก ถามหรื อ แสดงความคิ ดเห็ น เพิ่ มเติ ม เลขานุ การที่ ป ระชุ ม จึ ง ขอให้ที่ป ระชุ ม พิจ ารณา ลงคะแนนโดยที่ประชุมพิจารณาแล้วออกเสี ยงลงคะแนนดังนี้ เห็นด้วยจานวน 213,668,741 เสี ยง ไม่เห็นด้วยจานวน - เสี ยง งดออกเสี ยงจานวน - เสี ยง มติที่ประชุม

ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติเป็ นเอกฉันท์อนุมตั ิให้จดั สรรเงินปั นผลประจาปี 2556 ได้ตามที่เสนอมา

วาระที่ 5 พิจารณาเลือกตั้งกรรมการแทนผูท้ ี่ออก คุณสามิตต์ ผลิตกรรม กรรมการสรรหา เป็ นผูช้ ้ ีแจงต่อที่ประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั ฯ ทดแทนกรรมการที่ตอ้ งออกจาก ตาแหน่งตามวาระจานวนหนึ่งในสาม (1/3) ของจานวนกรรมการที่มีอยูท่ ้ งั หมด ตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ ข้อที่ 16 ได้กาหนดว่าในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี ทุกครั้งให้กรรมการต้อง ออกจากตาแหน่งตามวาระเป็ นจานวน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด ซึ่งปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีกรรมการรวมทั้งหมด 12 ท่าน ดังนั้นที่ครบวาระต้องออก 1 ใน 3 ก็คือจานวน 4 ท่าน ซึ่งรายนามกรรมการทั้งหมด 4 ท่าน ที่จะต้องออกจาก ตาแหน่งตามวาระในปี 2557 นี้ คือ 1. นายอานะวัฒน์ นาวินธรรม 2. นายสุกิจ พันธ์วศิ วาส 3. ศ.ดร.บุญทัน ดอกไธสง 4. ดร.ศรี เมือง เจริ ญศิริ (ลาออกจากตาแหน่ง) ความเห็นคณะกรรมการ คณะกรรมการได้พิจารณาถึงคุณสมบัติ ประสบการณ์ ความเหมาะสมกับการดาเนิน ธุรกิจของบริ ษทั อีกทั้งจากการตรวจสอบผลงาน ความเป็ นอิสระ และความ เชี่ยวชาญของกรรมการที่ครบกาหนดวาระ ต้องออกทั้ง 3 ท่าน แล้วเห็นว่ากรรมการทั้ง 3 ท่าน นี้สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ในฐานะกรรมการตอบสนองความต้องการทั้ง ในปัจจุบนั และในอนาคตของบริ ษทั และคณะกรรมการได้เป็ นอย่างดี จึงขอเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ ที่ครบวาระต้องออกทั้ง 3 ท่าน ดังกล่าวกลับเข้าเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯต่อไปอีกวาระหนึ่ง และเสนอที่ประชุมเลือกตั้ง นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ เป็ นกรรมการท่านใหม่แทนกรรมการที่ลาออก กรรมการสรรหาเชิญกรรมการทั้ง 3 ท่านออกจากห้องประชุมชัว่ คราว หน้า 127


ผูถ้ ือหุน้ ไม่มีขอ้ ซักถามหรื อแสดงความคิดเห็น เลขานุการที่ประชุมจึงขอให้ที่ประชุมพิจารณาลงคะแนนโดย ที่ประชุมพิจารณาแล้วออกเสี ยงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการที่ออกจากตาแหน่ งตามวาระ เพื่อกลับเข้ามาเป็ นกรรมการ ของบริ ษทั ฯ ต่ออีกวาระหนึ่ง และเสนอเลือกตั้งกรรมการท่านใหม่แทนกรรมการที่ลาออก ดังนี้ (1) นายอานะวัฒน์ นาวินธรรม เห็นด้วยจานวน ไม่เห็นด้วยจานวน งดออกเสี ยงจานวน

213,688,141 1,700

เสี ยง เสี ยง เสี ยง

(2) นายสุกิจ พันธ์วศิ วาส เห็นด้วยจานวน ไม่เห็นด้วยจานวน งดออกเสี ยงจานวน

213,687,141 2,700

เสี ยง เสี ยง เสี ยง

(3) ศ.ดร.บุญทัน ดอกไธสง เห็นด้วยจานวน ไม่เห็นด้วยจานวน งดออกเสี ยงจานวน

213,605,741 81,400 2,700

เสี ยง เสี ยง เสี ยง

(4) นายชัยศักดิ์ อังค์สุวรรณ เห็นด้วยจานวน ไม่เห็นด้วยจานวน งดออกเสี ยงจานวน

213,674,384 15,457

เสี ยง เสี ยง เสี ยง

มติที่ประชุม

ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติดว้ ยเสี ยงข้างมากเลือกตั้งกรรมการทั้ง 4 ท่านเป็ นกรรมการบริ ษทั ฯ

วาระที่ 6 พิจารณากาหนดค่าตอบแทนกรรมการ คุณวิศาล วุฒิศกั ดิ์ศิลป์ ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทน เป็ นผูช้ ้ ีแจงต่อที่ประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด ซึ่ งกาหนดให้ที่ประชุมผูถ้ ือ หุน้ อนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการเป็ นประจาทุกปี โดยมีรายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการสาหรับปี 2557 ดังนี้ 1. ค่ าเบีย้ ประชุมคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่ อย 1.1 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริ ษทั คน ประธานกรรมการ 1 กรรมการ 11

บาท/ครั้ง 30,000 15,000

หน้า 128

ครั้ง 6 6

บาท/ปี 180,000 990,000 1,170,000


1.2 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ คน บาท/ครั้ง ประธานกรรมการ 1 20,000 กรรมการ 2 10,000

ครั้ง 4 4

บาท/ปี 80,000 80,000 160,000

1.3 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน คน บาท/ครั้ง ประธานกรรมการ 1 20,000 กรรมการ 2 10,000

ครั้ง 2 2

บาท/ปี 40,000 40,000 80,000

1.4 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการสรรหา คน ประธานกรรมการ 1 กรรมการ 2

บาท/ครั้ง 20,000 10,000

ครั้ง 2 2

บาท/ปี 40,000 40,000 80,000

1.5 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ CG & CSR คน บาท/ครั้ง ประธานกรรมการ 1 20,000 กรรมการ 2 10,000

ครั้ง 2 2

บาท/ปี 40,000 40,000 80,000

1.6 ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ Risk Management คน บาท/ครั้ง ประธานกรรมการ 1 20,000 กรรมการ 2 10,000

ครั้ง 2 2

บาท/ปี 40,000 40,000 80,000

1.7 สารองเบี้ยประชุมอื่นๆ รวม 2. ค่ าตอบแทนของประธานกรรมการบริษัท คน 2.1 ค่าตาแหน่ง 1 2.2 ค่าเบี้ยประชุม 1 รวม รวมทั้งสิ้น

บาท/ปี 150,000 1,800,000 บาท/ครั้ง 100,000 20,000

ค่าตอบแทนกรรมการปี 2557 จานวน 3,240,000 บาท เท่ากับปี 2556 หน้า 129

ครั้ง 12 12

บาท/ปี 1,200,000 240,000 1,440,000 3,240,000


ความเห็ นคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาความเห็ นของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน แล้ว เห็นสมควรเสนอที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นพิจารณา อนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการ สาหรับปี 2557 จานวน 3,240,000 บาท ซึ่งเป็ นค่าตอบแทนที่อยูใ่ นระดับเดียวกับบริ ษทั จดทะเบียนอื่นในหมวดอุตสาหกรรมเดียวกัน ผูถ้ ือหุ ้นไม่มีขอ้ ซักถามหรื อแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม ลงคะแนนโดยที่ประชุมพิจารณาแล้วออกเสี ยงลงคะแนนดังนี้ เห็นด้วยจานวน 213,680,841 ไม่เห็นด้วยจานวน งดออกเสี ยงจานวน 9,000

เลขานุ การที่ประชุมจึงเสนอขอให้ที่ประชุมพิจารณา เสี ยง เสี ยง เสี ยง

มติที่ประชุม ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติดว้ ยเสี ยงข้างมากอนุมตั ิมอบอานาจให้คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ เป็ นผูม้ ี อานาจพิจารณาจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการของบริ ษทั ฯ ได้ตามที่เสนอมา วาระที่ 7 พิจารณาแต่งตั้งผูส้ อบบัญชีและกาหนดค่าสอบบัญชี คุณอานะวัฒน์ นาวินธรรม ประธานกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูช้ ้ ีแจงต่อที่ประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผล เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด ซึ่ งกาหนดให้ที่ประชุมผูถ้ ือ หุน้ สามัญประจาปี แต่งตั้งผูส้ อบบัญชีและกาหนดค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ฯ ทุกปี คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาแล้วเห็ นสมควรเสนอที่ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาแต่งตั้งนางสาววิภา วรรณ ปั ทวันวิเวก ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4795 และ/หรื อ นายวีระชัย รัตนจรั สกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4323 และ/หรื อ นางสาวอรวรรณ ศิริรัตนวงศ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3757 จากบริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม สาหรับปี 2557 โดยผูส้ อบบัญชีมีความ เป็ นอิสระ และไม่มีผลประโยชน์ส่วนได้ส่วนเสี ยใดๆ กับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย และ บริ ษทั ร่ วม โดยกาหนดค่าสอบบัญชี สาหรับปี 2557 ภายในวงเงินไม่เกิ น 3,200,000 บาท (ค่าสอบบัญชี ปี 2556:3,300,000 บาท) โดยมีรายละเอียดค่าสอบ บัญชีดงั นี้ หน่ วย : บำท ประจำปี ไตรมำส รวมทั้งสิ้น 1 บริ ษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จำกัด (มหำชน) 500,000 300,000 800,000 2 บริ ษทั อิมมอทัล พำร์ท จำกัด 300,000 150,000 450,000 3 บริ ษทั เอส เอ็น ซี คูลลิ่ง ซัพพลำย จำกัด 300,000 150,000 450,000 4 บริ ษทั เอส เอ็น ซี ไพยองซำน อีโวลูชนั่ จำกัด 300,000 100,000 400,000 5 บริ ษทั อัลทิเมท พำร์ท จำกัด 200,000 50,000 250,000 6 บริ ษทั ท็อปเทค ไดมอนด์ ทูลส์ จำกัด 160,000 50,000 210,000 7 บริ ษทั อินฟิ นิ ต้ ี พำร์ท จำกัด 120,000 50,000 170,000 8 บริ ษทั เอส เอส เอ็ม ออโต้เมชัน่ จำกัด 120,000 50,000 170,000 9 บริ ษทั พำรำไดซ์ พลำสติก จำกัด 100,000 50,000 150,000 10 บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จำกัด 100,000 100,000 11 บริ ษทั อินเตอร์เนชัน่ แนล เทคโนไพพ์ จำกัด 50,000 50,000 2,250,000 950,000 3,200,000 หน้า 130


ความเห็นคณะกรรมการ เห็นควรเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อแต่งตั้งผูส้ อบบัญชีจาก บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด เป็ นผูส้ อบบัญ ชี ข องบริ ษ ัท ฯ บริ ษ ัท ย่อ ย และบริ ษ ัท ร่ ว ม โดยก าหนดค่ า สอบบัญ ชี ภายในวงเงิ น 3,200,000 บาท สาหรับปี 2557 ตามที่กล่าวข้างต้น ไม่ผถู ้ ือหุน้ อื่นใดมีขอ้ ซักถามหรื อแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เลขานุการที่ประชุมจึงขอให้ที่ประชุมจึงขอให้ที่ ประชุมพิจารณาลงคะแนน โดยที่ประชุมพิจารณาแล้วออกลงคะแนนดังนี้ เห็นด้วยจานวน 213,243,541 เสี ยง ไม่เห็นด้วยจานวน 446,300 เสี ยง งดออกเสี ยงจานวน - เสี ยง มติที่ประชุม ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติ ดว้ ยเสี ยงข้างมาก อนุ มตั ิให้แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี จากบริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จากัด เป็ นผูส้ อบบัญชีประจาปี 2557 โดยกาหนดค่าสอบบัญชีภายในวงเงินไม่เกิน 3,200,000 บาท วาระที่ 8 เรื่ องอื่น ๆ คุณสุ รฑิ ณ จุ ฬาโอฬาร สอบถามการเตรี ยมความพร้ อมการกาหนดนโยบายการต่อต้านการทุ จริ ตและการ คอรัปชัน่ เพื่อให้ได้การรับรองจากสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย คุณสาธิต ชาญเชาวน์กลุ ทางบริ ษทั ฯ ถือหลักบริ หารงานด้วยความโปร่ งใสและหลักธรรมมาภิบาล ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล บริ ษทั ไม่ทาธุ รกิ จกับบุ คคลที่ มีประวัติคอรั ปชั่น มี Internal Auditor เป็ นผู ้ ตรวจสอบ ส่วนเรื่ อง CG มีเจ้าหน้าที่คอยดูแลเรื่ องข้อกาหนด รวมถึงมีการปลูกฝังพฤติกรรมที่ดีให้กบั พนักงาน คุณชัยรัตน์ ผลาติกานนท์ สอบถามดังนี้ 1. รายได้จากการขาย ได้รับผลกระทบจากการเมืองเพียงใด 2. บริ ษทั เน้นธุรกิจผลิตแอร์สาหรับตลาดรถยนต์ เพราะสาเหตุใด 3. บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จากัด เริ่ มสร้างรายได้หรื อยัง 4. บริ ษทั ลงทุนในบริ ษทั ฟูโซ่ ในสัดส่วน 20% เพราะเหตุผลใด 5. บริ ษทั มีการลงทุนสูง มีเงินกูเ้ พิ่มขึ้น มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น แต่เหตุใดยังคงจ่ายเงินปั นผล ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล 1. ลูกค้าของSNCส่ วนใหญ่ผลิตสิ นค้าเพื่อส่ งออก จึงพึ่งพิงตลาดต่างประเทศเป็ นส่ วนใหญ่ ดังนั้น บริ ษทั จึ ง ได้รับผลกระทบเพียงบางส่วน จากเหตุการเมืองในประเทศ 2. SNCเน้นธุรกิจผลิตแอร์สาหรับตลาดรถยนต์ เนื่องจากเป็ นธุรกิจที่ให้ผลกาไร คู่แข่งน้อยราย ซึ่งก็มีแต่คู่แข่ง ที่แข็งแกร่ ง 3. บริ ษทั เอส เอ็น ซี ครี เอติวติ ้ ี แอนโทโลจี จากัด ผลิต aluminum condenser สาหรับแอร์ บา้ น โดยผูบ้ ริ หารที่ บริ ษทั เชิ ญมา เป็ นผูท้ ี่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตและมีศกั ยภาพด้านการตลาด ขณะนี้ สินค้าตัวอย่างผ่านแล้ว ช่วงไตรมาสสี่ จะเริ่ มมีการผลิต ในกรณี ช่วง low season ของแอร์ บา้ น บริ ษทั สามารถจัดสรรกาลังการผลิตไปใช้สาหรับ ลูกค้าผูผ้ ลิตแอร์รถยนต์ได้ดว้ ย เพราะบริ ษทั ใช้เครื่ องจักรแบบเดียวกับที่ลูกค้าผูผ้ ลิตแอร์รถยนต์ใช้ 4. ฟูโซ่ มีความชานาญการผลิตแอร์ ขนาดใหญ่ในญี่ปุ่น ส่ วน SNCมีความรู ้การทาธุรกิ จในเมืองไทย ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ซ่ ึงกันและกัน จึงเกิดการร่ วมทุน โดย SNC ร่ วมถือหุน้ 20% 5. แม้ SNC จะมีการลงทุนสู ง มีเงินกูเ้ พิ่มขึ้น มีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น แต่เพราะ SNCต้องการดูแลผูถ้ ือหุ ้นราย ย่อย จึงได้จ่ายเงินปั นผล ภาระดอกเบี้ยเป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริ หารที่ตอ้ งบริ หารจัดการ หน้า 131


คุณสัญญลักษณ์ ศรี มงั คละ สอบถาม ดังนี้ 1. บริ ษทั มีรายได้จากการประกอบเครื่ องปรับอากาศ ลดลง 635 ล้านบาท เนื่องจากประเทศในตะวันออกกลาง ปรับเพิ่มมาตรฐานการใช้พลังงาน Energy Efficiency ratio (EER) หากลูกค้าของบริ ษทั ได้ปรับปรุ งสิ นค้าให้ได้ตาม มาตรฐานดังกล่าวแล้ว รายได้ฯจะกลับมาเหมือนเดิมหรื อไม่ 2. ในปี 2557 และในอนาคต บริ ษทั จะมีการลงทุนโครงการใหญ่อีกหรื อไม่ ดร.สมชัย ไทยสงวนวรกุล 1. ที่ ผ่า นมาบริ ษ ัท มี ร ายได้จ ากงานรั บ จ้า งประกอบเครื่ อ งปรั บ อากาศลดลง อัน เนื่ อ งมาจากประเทศใน ตะวันออกกลางปรับค่ามาตรฐานเรื่ องการประหยัดไฟ ซึ่ งปั จจุบนั ทางลูกค้าได้มีการปรับปรุ งสิ นค้าให้ได้ตามมาตรฐาน ดังกล่าวแล้ว ตัวเลขของตะวันออกกลางก็จะกลับมานิ่ ง นอกจากนี้ บริ ษทั ได้มีการพัฒนาสิ นค้าตัวใหม่ร่วมกับลูกค้า เพื่อ ทาการขยายตลาด โดยจะทาการ mass production ในเดือนพฤษภาคม 57 นี้ 2. บริ ษทั ยังมีการลงทุนที่ระยอง ซึ่งหากมีการเงินจากธนาคารและมีภาระดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นมาก ก็อาจชะลอการ ลงทุน แต่หากมีโครงการลงทุนที่น่าสนใจ ก็จะนาเสนอผูถ้ ือหุน้ ให้ทราบในโอกาสต่อไป ผูถ้ ือหุน้ ไม่มีขอ้ ซักถามหรื อแสดงความคิดเห็นเพิม่ เติม ประธานกรรมการบริ ษทั กล่าวปิ ดประชุม ปิ ดประชุมเวลา 15.44 น. (1 ชัว่ โมง 44 นาที)

หน้า 132


บริษทั เอส เอ็น ซี ฟอร์ เมอร์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกำรเงินสำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2557 และ รำยงำนของผู้สอบบัญชีรับอนุญำต

หน้า 133





































































































Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.